รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จ�ำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จ�ำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด
28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53.
บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ยู่สูง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จ�ำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท บุญพิศาล จ�ำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จ�ำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จ�ำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จ�ำกัด บริษัท เจบีเอฟ จ�ำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด
ท
ร า ก นา
อ
ัน ภนิ
คณะกรรมการบริ ห าร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำ�ปี 2560-2561
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นางสาวสุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจ�ำลอง เติมกลิ่นจันทน์
นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด
บรรณาธิการ
แถลง
อากาศเปลี่ยนแปลง ฝนตก น�้ำท่วม ปศุสัตว์ต้องระวัง มีการป้องกัน การเคลื่อนย้ายและเฝ้าระวัง โรคระบาดที่อาจจะเข้ามาในประเทศได้ ซึ่งมีประกาศฯ ของกรมปศุสัตว์เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2561 โดย น.สพ.สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ทางองค์การสุขภาพสัตว์โลกรายงานการเกิดโรคไข้หวัดนก สายพันธุ์รุนแรง H5N1 ในฟาร์มสัตว์ปีก เมืองตัวราน รัฐซาบาห์ สหพันธรัฐมาเลเซีย จึงได้ออกประกาศ กรมปศุสัตว์ชะลอการน�ำเข้า หรือน�ำผ่านราชอาณาจักร ได้แก่ นก ไก่ เป็ด ห่าน น�้ำเชื้อส�ำหรับผสมพันธุ์ ไข่ส�ำหรับท�ำพันธุ์ รวมถึงซากสัตว์ปีกดังกล่าวที่มีแหล่งก�ำเนิดจากมาเลเซีย ขณะนี้ก�ำลังเสนอเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้มีผลบังคับใช้เร็วที่สุด โรคไข้หวัดนก สามารถแพร่กระจายอย่างกว้างขวาง โดยสาเหตุสำ� คัญมาจากการเคลื่อนย้ายสัตว์ป่วย หรือสัตว์ที่เป็นพาหะโรค รวมทั้งซากสัตว์ที่ป่วยตายจากประเทศที่ระบาดเข้ามายังประเทศไทย ซึ่งจะส่งผล กระทบต่อการเลี้ยงสัตว์ปีก และสุขภาพของคนไทยด้วย ส่วนอีกฉบับหนึ่ง กรมปศุสัตว์ได้มีประกาศชะลอการน�ำเข้า หรือน�ำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสุกรมีชีวิต และซากสุกรทุกชนิด เนื่องจากขณะนี้เกิดโรคอหิวาต์อัฟริกันในสุกรระบาดในฟาร์มเลี้ยงที่มณฑลเหลียวหนิง สาธารณรัฐประชาชนจีน หากน�ำสุกร หรือซากสุกรจากพืน้ ทีร่ ะบาดเข้ามา อาจเกิดการระบาดในประเทศไทยได้ โดยประกาศฉบับนี้ให้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 90 วันนับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไป ด้าน นสพ.วิวฒ ั น์ ชุณห์รกั ษา นักวิชาการได้รว่ มเสวนา และแสดงทัศนะเพือ่ กระตุน้ เตือนให้คนในวงการ ปศุสัตว์ตระหนักรู้ โดยเสนอแนะไว้คือ
1. ต้องมีการวางแผนแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน 2. สื่อสารให้ฟาร์มรับรู้ เตรียมมาตรการรับมือ 3. เมื่อเกิดแล้วต้องวางมาตรการปฏิบัติที่รัดกุมชัดเจนทั้งการเคลื่อนย้ายสุกรมีชีวิต ซากสุกร เพราะ เชื้อทนต่อสภาพแวดล้อม 4. ขอเงินชดเชยจากภาครัฐกรณีทเี่ กิดปัญหาเตรียมไว้เลย เพราะไม่งนั้ ไม่ได้รบั ความร่วมมือจากฟาร์มแน่ 5. ตั้ง วอร์รูม ติดตามความเคลื่อนไหวได้แล้ว ทั้งในส่วนกลาง และภาคเหนือที่เป็นด่านหน้า
ในเล่มนี้ ยังมีงานวิจยั เรือ่ ง มาตรการเฝ้าระวังและป้องกัน โรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั ส�ำหรับประเทศไทย โดย อรพันธ์ วาสวรกุล ส�ำนักควบคุม ป้องกัน และบ�ำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์ ได้เขียนไว้ จึงขออนุญาต น�ำมาเสนอไว้ ณ โอกาสนี้
บก.
ธุรกิจอาหารสัตว์
วารสาร
ปีที่ 35 เล่มที่ 181 ประจำ�เดือน กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Thailand Focus Food Feed Fuel
สถานการณ์ถั่วเหลือง........................................................................................................... 11 สถานการณ์กากถั่วเหลือง..................................................................................................... 14 สถานการณ์ปลาป่น............................................................................................................. 17 สินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์................................................................................................... 20 สินค้าไข่ไก่และผลิตภัณฑ์...................................................................................................... 23 สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์...................................................................................................... 26 เล็งตัดจีเอสพี 1.7 หมื่นล. มะกันตอบโต้ไทย ห้ามน�ำเข้าเนื้อหมู................................................. 29 รู้ทันภัยร้าย...จากสารเร่งเนื้อแดง........................................................................................... 31 การเลี้ยงกุ้งขาวในเขตพื้นที่ความเค็มต�ำ่ ในช่วงฤดูฝน................................................................. 37 5 พันธมิตรปศุสัตว์ ประกาศเจตนารมณ์ คุมใช้ยาปฏิชีวนะ!!....................................................... 43 การสร้างระบบจัดการฟาร์มใหม่ในการเลี้ยงสุกร ลดการใช้ปฏิชีวนะในการผลิตสุกร......................... 47
Around the World
‘กรมประมง’ แจงมาตรการรัฐรับซื้อเรือคืน มุ่งบริหารจัดการทรัพยากรให้ยั่งยืน ไม่เอื้อประโยชน์ใคร......................................................... 5 สมาคมพืชสวนค้านปลูกมันเขตชลประทาน................................................................................ 8 เกษตรฯ ดึงเกษตรกรเป็นศูนย์กลางสร้างรายได้อย่างมั่นคง เร่งเครื่องพัฒนาผลิตถั่วเหลือง................. 9
Market Leader
Contents
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
มาตรการเฝ้าระวังและป้องกันโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันส�ำหรับประเทศไทย...................................... 57 การส�ำรวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 2/2561.......................................................................... 73 ขอบคุณ............................................................................................................................ 80
ด�ำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิต ิ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง นางสาวกรดา พูลพิเศษ นายธีรพงษ์ ศิริวิทย์ภักดีกุล
ประธานกรรมการที่ ป รึ ก ษา
ส�ำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com
ระบบมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง
GMP / HACCP
ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015
Thailand Focus
‘กรมประมง’ แจงมาตรการรัฐรับซื้อเรือคืน
มุ่งบริหารจัดการทรัพยากรให้ยั่งยืน ไม่เอื้อประโยชน์ใคร จากกรณีที่ประธานสมาคมรักษ์ทะเลไทยน�ำเสนอข่าวผ่านสื่อมวลชนว่า มาตรการซื้อเรือประมงคืนของรัฐบาลไม่ได้ท�ำให้อวนลากหมดไปจากประเทศไทย โดยจ�ำนวนเรือทีม่ กี ารรับซือ้ ไม่ได้คำ� นวณบนพืน้ ฐานของจ�ำนวนสัตว์นำ�้ ทีม่ อี ยูใ่ นทะเล เพื่อลดระดับการประมงเกินสมดุล (Over Fishing) ซึ่งเรือประมงที่เตรียมซื้อมี หลายล�ำเป็นชื่อของผู้ประกอบการขนาดใหญ่ และนายทุนจากประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งนี้ รัฐบาลควรจัดการท�ำประมงอวนลาก และด�ำเนินการฟื้นฟูทรัพยากรทาง ธรรมชาติตามข้อตกลงการพัฒนาที่ยั่งยืน นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า การควบคุมการจับสัตว์นำ�้ มิให้เกินกว่าก�ำลังผลิตของสัตว์นำ�้ ตามธรรมชาตินนั้ ตามพระราชก�ำหนดการประมง พ.ศ. 2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 36 ได้จ�ำกัดอ�ำนาจในการออกใบอนุญาต ท�ำการประมงว่า จะต้องสอดคล้องกับปริมาณผลิตผลสูงสุดของสัตว์นำ�้ ทีส่ ามารถท�ำ การประมงได้อย่างยั่งยืน ซึ่งกรมประมงได้รับความเห็นชอบกรอบในการออกแบบ ใบอนุญาตฯ จากคณะกรรมการนโยบายประมงแห่งชาติแล้ว ซึง่ การออกใบอนุญาต ครัง้ แรกในปี 2559 - 2560 และครัง้ ทีส่ อง ในปีการประมง 2561 - 2562 ก็สอดคล้อง กับกรอบดังกล่าว ซึ่งแนวทางดังกล่าวเป็นการจ�ำกัดจ�ำนวนเรือประมงให้สอดคล้อง ที่มา : มติชนออนไลน์ วันที่ 3 สิงหาคม 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
5
Thailand Focus
กับศักยภาพการผลิตของท้องทะเล ส่งผลให้มี เรือประมงจ�ำนวนหนึ่งไม่ได้รับใบอนุญาตการท�ำ ประมง หากปล่อยให้เรือประมงดังกล่าวอยูใ่ นระบบ ต่อไป จะท�ำให้เกิดความเสีย่ งต่อการกระท�ำประมง ที่ผิดกฎหมาย และเป็นการลดผลกระทบต่อชาว ประมงที่ไม่ได้รับใบอนุญาตท�ำการประมง และ ประสงค์จะออกจากระบบ จึงต้องมีมาตรการน�ำเรือ จ�ำนวนดังกล่าวออกจากระบบ ดังอารยประเทศด�ำเนินการ ซึ่งด�ำเนินการ โดยการซื้อเรือคืน โครงการซื้อเรือคืนนั้น ได้ถูก บรรจุไว้ในแผนบริหารจัดการประมงทะเล (FMP) ทีค่ ณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบไว้ตงั้ แต่วนั ที่ 3 พฤศจิกายน 2558 แผนดังกล่าวเป็นการซื้อเรือที่ไม่มี ใบอนุญาตท�ำการประมงออกนอกระบบ เพือ่ ไม่ให้ มีความเสี่ยงที่จะกลับมาท�ำประมงผิดกฎหมาย
6
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
อีกต่อไป ซึ่งจะเป็นการลดจ�ำนวนเรือประมงให้ สอดคล้องกับสภาวะทรัพยากรสัตว์นำ�้ ของประเทศ และเพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการทรัพยากร ประมงทะเลอย่างยั่งยืน การจัดซื้อจะด�ำเนินการ ในราคาตามสภาพที่แท้จริง แต่จะไม่เกินร้อยละ 50 ของราคากลางที่ได้จัดท�ำไว้ โดยจะมีการน�ำ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อขออนุมัติเรือที่เข้าร่วม โครงการฯ นัน้ ร้อยละ 80 เป็นเรือขนาดเล็ก ซึง่ คาด ว่าจะเริม่ ด�ำเนินการได้ในเดือนสิงหาคมเป็นต้นไป และในส่วนของเรือล�ำที่ยังมีสภาพดี จะน�ำไปท�ำ เป็นปะการังเทียมเพื่อฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น�้ำของ ประเทศต่อไป ทัง้ นี ้ การซือ้ เรือคืน ถือเป็นการช่วย เหลือให้ผู้ที่แสดงความสมัครใจออกจากระบบ การประมงได้มีทุนในการไปประกอบอาชีพอื่นๆ ซึ่งไม่ได้เป็นการเอื้อประโยชน์ต่อกลุ่มบุคคลใด บุคคลหนึง่ ทัง้ นี ้ ในเรือ่ งของการฟืน้ ฟู และอนุรกั ษ์ ทรัพยากรสัตว์น�้ำนั้น กรมประมง และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องได้ด�ำเนินการในหลายมาตรการควบคู่ กันไป เช่น การบริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น�้ำ ในฤดูปลามีไข่ วางไข่ และเลี้ยงตัวในวัยอ่อน การ ก�ำหนดเขตห้ามเรือประมงพาณิชย์เข้ามาท�ำการ ประมงในเขตทะเลชายฝั่ง และมาตรการก�ำหนด วันท�ำการประมงให้กับเรือที่มีประสิทธิภาพสูง ในการจับสัตว์น�้ำ เป็นต้น ส�ำหรับการท�ำการประมงโดยใช้เครื่องมือ ท�ำการประมงอวนลากนั้น เป็นการใช้เครื่องมือ ตามที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย เป็นเครื่องมือ ทีใ่ ช้ในการจับสัตว์นำ�้ เป็นการโดยทัว่ ไปในประเทศ ต่างๆ แต่เนือ่ งจากเป็นเครือ่ งมือท�ำการประมงทีม่ ี ประสิทธิภาพสูง จึงต้องมีการควบคุมประสิทธิภาพ ทั้งในด้านพื้นที่การท�ำประมง โดยไม่สามารถท�ำ การประมงในเขตประมงชายฝัง่ (3 ทะเลไมล์) ได้
Thailand Focus การควบคุมประสิทธิภาพของเครือ่ งมือโดยการก�ำหนดมาตรฐานของเครือ่ งมือ เช่น การควบคุมความยาวของเชือกคร่าวล่าง ต้องไม่เกินตามก�ำหนดไว้ในใบอนุญาต ก�ำหนดจ�ำนวนถุงอวนในอวนลากบางชนิด หากใช้เครื่องมือที่แตกต่างออกไปจะ เป็นความผิดตามกฎหมาย มีการก�ำหนดขนาดของช่องตาอวนก้นถุงไม่ให้เล็กเกิน ไป (ต้องเกินกว่า 4 เซนติเมตร) เพื่อมิให้มีการจับสัตว์น�้ำขนาดเล็ก มีการก�ำหนด ควบคุมจ�ำนวนเรืออวนลาก และเครือ่ งมือประสิทธิภาพสูงอืน่ ทุกชนิดด้วย นอกจากนี้ ยังมีประเด็นข้อเสนอจากประมงพืน้ บ้าน เรียกร้องให้มกี ารศึกษาว่าเครือ่ งมือท�ำการ ประมงประเภทอวนลาก ท�ำลายทรัพยากรหรือไม่ ซึ่งกรมประมง กลุ่มประมง พื้นบ้าน กลุ่มประมงพาณิชย์ และสถาบันการศึกษา อยู่ระหว่างร่วมกันศึกษาอยู่ หากผลการศึกษาเป็นประการใด ก็จะน�ำมาก�ำหนดเป็นมาตรการต่อไป การออกใบอนุญาตท�ำการประมงของเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงทุกชนิด จะมีการก�ำหนดห้วงเวลาในการท�ำการประมงในแต่ละปี จะต้องไม่เกินที่ก�ำหนดไว้ เช่น เครือ่ งมืออวนลากฝัง่ อ่าวไทย ก�ำหนดไว้ไม่เกินปีละ 240 วัน เครือ่ งมืออวนลาก ฝั่งอันดามัน ไม่เกินปีละ 270 วัน ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณผลิตผลสูงสุดของสัตว์ น�้ำที่สามารถท�ำการประมงได้อย่างยั่งยืน ตามที่ก�ำหนดหลักการไว้ตามพระราช ก�ำหนดการประมง พ.ศ. 2558 เพื่อให้ทรัพยากรสัตว์น�้ำคงอยู่ต่อไปให้ชาวประมง รุ่นต่อๆ ไปสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืนต่อไป
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
7
Thailand Focus
สมาคมพืชสวน ค้านปลูกมันเขตชลประทาน “สมาคมพืชสวน″ ระบุ นโยบายกระทรวง เกษตรฯ ส่งเสริมการปลูกมันส�ำปะหลังในเขต ชลประทานไม่ถกู ต้อง เหตุเสีย่ งน�ำ้ ท่วมขัง ผลผลิต เสียหาย ท�ำลายดิน ผลตอบแทนต�ำ่ แนะให้ลงพืน้ ที่ เก็บข้อมูลก่อนวางแผนส่งเสริม
ทั้งนี้ หากน�ำมาปลูกในพื้นที่การเกษตรใน เขตชลประทาน ซึ่งปลูกพืชได้หลากหลายชนิด หมุนเวียนสับเปลี่ยนกันไปตลอดทั้งปี เป็นระบบ เกษตรทีท่ ำ� ให้เกษตรกรมีงานท�ำทัง้ ปี มีรายได้อย่าง ต่อเนื่องต้องสูญเสียโอกาสนี้ไป
นายอนันต์ ดาโลดม นายกสมาคมพืชสวน แห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่ นายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ มีนโยบายลดพื้นที่การปลูกข้าว 2 - 3 ล้านไร่ ในเขตชลประทานที่เคยปลูกข้าวนาปรัง ในรอบที่ 2 และรอบที่ 3 โดยจะให้เกษตรกรปลูก ข้าวโพด และมันส�ำปะหลังทดแทนนั้น สมาคม เห็นว่าเป็นเรื่องไม่ถูกต้อง และเป็นการท�ำลาย ระบบการท�ำเกษตรในเขตชลประทาน จะสร้าง ความเสียหายต่อพื้นที่การเกษตรที่มีศักยภาพดี ที่สุดของประเทศไทย เพราะมันส�ำปะหลังเป็นพืช ที่ท�ำให้เกิดปัญหา และลดความอุดมสมบูรณ์ของ ดิน ท�ำให้ดินมีสภาพเสื่อมโทรมมากที่สุดในระยะ ยาว ซึ่งในอดีตเคยเกิดขึ้นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาแล้ว โดยมันส�ำปะหลังเป็นพืชที่ให้ผล ตอบแทนต�ำ่ ทีส่ ดุ เมือ่ เปรียบเทียบกับการปลูกพืช ชนิดอื่นๆ เกษตรกรที่เลือกปลูกมันส�ำปะหลัง จะ เป็นผูม้ รี ายได้นอ้ ย อีกทัง้ มันส�ำปะหลังยังเป็นพืชที่ มีอายุตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวยาวที่สุดประมาณ 10 - 14 เดือน เมือ่ เทียบกับการปลูกพืชไร่ชนิดอืน่ ๆ
นอกจากนี้ พื้นที่ในเขตชลประทาน เป็น พืน้ ทีล่ มุ่ ในฤดูฝนจะมีนำ�้ ขัง การปลูกมันส�ำปะหลัง ที่มีอายุอยู่ในดินประมาณ 1 ปี ในช่วงฤดูฝนที่มี น�้ำขังอยู่ในพื้นที่ มันส�ำปะหลังหลังจะเสียหาย ไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้ และพื้นที่ที่ใช้ปลูกมัน ส�ำปะหลังในระยะยาว จะกลายเป็นพื้นที่ที่เสื่อมโทรม ไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิม ไม่สามารถ ปลูกพืชได้หลากหลายชนิด เป็นความเสียหายที่ ผูร้ บั เคราะห์กค็ อื เกษตรกรทีจ่ ะเข้าร่วมโครงการนี้ ในระยะยาว “ตามนโยบายของกระทรวงเกษตร ที่สนับสนุนให้ปลูกข้าวโพดหลังนา ซึ่งด�ำเนินการ มาแล้ว 2 ปี ทดแทนการท�ำนาปรัง และเป็นการ ลดพืน้ ทีป่ ลูกข้าวโพดบนดอย โดยรัฐบาลจะจ่ายเงิน ชดเชยกับเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการไร่ละ 2,000 บาท แต่โครงการนีไ้ ม่ประสบผลส�ำเร็จ ปี 2560/61 มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการเพียง 2 แสนไร่ จาก เป้าหมายทั้งสิ้น 2.5 ล้านไร่ เนื่องจากเกษตรกร รู้ว่าปลูกไปแล้ว ต้องเจอกับปัญหาน�้ำท่วม เพราะ เขตชลประทานเป็นที่ลุ่ม ดังนั้น ก่อนที่กระทรวง เกษตรฯ จะก�ำหนดนโยบายให้เกษตรกรปลูกพืช ชนิดใด ควรลงพื้นที่สอบถามข้อมูลจากเกษตรกร ก่อน″
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
8
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Thailand Focus
เกษตรฯ ดึงเกษตรกรเป็ นศูนยก์ ลางสร้างรายไดอ้ ยา่ งมัน่ คง
เร่งเครื่องพัฒนาผลิตถั่วเหลือง
สศก. บูรณาการเดินเครือ่ งโครงการพัฒนาการผลิตถัว่ เหลือง ดึงเกษตรกร เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา เผยปัจจุบันไทยสามารถผลิตได้เพียง 37,911 ตัน ในขณะทีม่ คี วามต้องการใช้ถงึ 2.93 ล้านตัน ซึง่ ยังต้องพึง่ พาการน�ำเข้าถึงร้อยละ 98.70 นายวิณะโรจน์ ทรัพย์สง่ สุข เลขาธิการส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า อุตสาหกรรมถั่วเหลืองของไทยมีความต้องการใช้ผลผลิตถั่วเหลือง จ�ำนวนมาก แต่ปัจจุบันมีการผลิตถั่วเหลืองในประเทศเพียงร้อยละ 1.30 ของ ความต้องการใช้ จ�ำเป็นต้องพึ่งพาการน�ำเข้าจากต่างประเทศถึงร้อยละ 98.70 ซึ่ง หากเกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อการน�ำเข้า จะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม ถั่วเหลือง และอุตสาหกรรมต่อเนื่องของไทยเป็นวงกว้าง ดังนั้น การเพิ่มผลผลิต ถัว่ เหลืองในประเทศ จึงมีความจ�ำเป็นเพือ่ สร้างความมัน่ คงด้านอาหาร (food security) ของไทยในอนาคต โดยเมื่อช่วงเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา สศก. จึงได้จัดให้มีการ ประชุมหารือร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันเกษตรกร โดยมีที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (มีนายเลอศักดิ์ ริว้ ตระกูลไพบูลย์) เป็นทีป่ รึกษาการประชุม และมีรองเลขาธิการ สศก. (นางอัญชนา ตราโช) เป็นประธานการประชุม เพือ่ ร่วมกันพิจารณาสถานการณ์การผลิตถัว่ เหลือง และหาแนวทางการเร่งขยายผลผลิตถั่วเหลืองของไทย เลขาธิการ สศก. กล่าวว่า ส�ำหรับผลการหารือทุกฝ่ายเห็นพ้องกันว่า ควร ส่งเสริมให้เกิดการผลิตถั่วเหลืองในประเทศ เนื่องจากมีความต้องการสูง อีกทั้ง ถั่วเหลืองที่ผลิตได้ภายในประเทศ เป็นสายพันธุ์ธรรมชาติที่ปราศจากการตัดต่อ พันธุกรรม (Non GMOs) จึงเป็นทีต่ อ้ งการของตลาดในการผลิตเป็นอาหารปลอดภัย (food safety) ดังนัน้ ทุกฝ่ายควรร่วมมือกันหาปัจจัยทีจ่ ะสามารถกระตุน้ ให้เกษตรกร ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
9
Thailand Focus หันมาปลูกถั่วเหลืองกันมากขึ้น โดยให้เกษตรกร เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ในลักษณะ Consumer Centric มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาตลอดห่วงโซ่ การผลิต เกษตรกรมีองค์ความรู้ในเรื่องของการ ผลิตถั่วเหลืองให้ได้คุณภาพ มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตทีเ่ หมาะสม นอกจากนี้ ควรส่งเสริม ให้ เ กษตรกรรวมกลุ ่ ม ในลั ก ษณะเกษตรกรรม แปลงใหญ่ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรการผลิต ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดต้นทุนการ ผลิตและการตลาด ซึ่งขณะนี้ กรมวิชาการเกษตร ได้เตรียมการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองชั้นพันธุ์ ขยาย ที่สามารถรองรับพื้นที่การปลูกถั่วเหลืองได้ ประมาณ 200,000 ไร่ นายวิณะโรจน์ กล่าวว่า ทั้งนี้ สถานการณ์ การผลิตถั่วเหลืองของไทย ปี 2561/62 พบว่า มีเนื้อที่เพาะปลูก 0.132 ล้านไร่ ผลผลิต 37,911 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2560/61 ลดลงจากเนื้อที่ 0.135 ล้านไร่ และผลผลิต 38,079 ตัน (ลดลง ร้อยละ 2.22 และร้อยละ 0.44 ตามล�ำดับ) ในขณะทีผ่ ลผลิตต่อไร่อยูท่ ี่ 287 กิโลกรัม เพิม่ ขึน้ จากปี 2560/61 ที่ให้ผลผลิต 281 กิโลกรัม ต่อไร่ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.14) ซึ่งเนื้อที่เพาะปลูก และผลผลิตลดลงเนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงและ
10 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
ต้องใช้แรงงานคนในการเก็บเกี่ยว ประกอบกับ ผลตอบแทนจากการปลู ก ถั่ ว เหลื อ งต�่ ำ กว่ า พื ช แข่งขันชนิดอื่น ส่วนผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น เนื่อง จากภูมอิ ากาศเอือ้ อ�ำนวย โดยราคาเมล็ดถัว่ เหลือง เกรดคละที่เกษตรกรขายได้ปี 2561 (มกราคม - พฤษภาคม) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.68 บาท “หากมองถึงความต้องการใช้ คาดว่าปี 2561 จะมีความต้องการใช้ 2.93 ล้านตัน แต่จะเห็นได้ ว่าผลผลิตในประเทศมีเพียง 37,911 ตัน หรือ คิดเป็นร้อยละ 1.30 เท่านั้น ที่เหลือจึงต้องน�ำเข้า ร้อยละ 98.70 จากประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา และแคนาดา โดยน�ำมาใช้ส�ำหรับ กลุม่ สกัดน�ำ้ มัน กลุม่ อาหารสัตว์ (ถัว่ นึง่ ) และกลุม่ แปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร ดังนั้น การส่งเสริมให้ เกิดการผลิตถั่วเหลืองในประเทศ ทุกฝ่ายต้อง ร่วมมือกันก�ำหนดแนวทางเพื่อให้เกิดความยั่งยืน อุตสาหกรรมที่ใช้ถั่วเหลืองเป็นวัตถุดิบ มีความ มั่นใจในเรื่องปริมาณและคุณภาพ และเกษตรกร ผูป้ ลูกถัว่ เหลืองมีรายได้อย่างยัง่ ยืน ซึง่ สศก. จะได้ จัดประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ เดินหน้าจัดท�ำรายละเอียดโครงการพัฒนาการ ผลิตถั่วเหลืองร่วมกันต่อไป″
Food Feed Fuel
สถานการณ์
ถั่วเหลือง
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน)
ปี 58
ปี 59
ปี 60
ปี 61
1.1 ผลผลิตพืชน�้ำมัน – โลก 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก 1.2.2 ไทย - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 1.5 น�ำเข้า 1.6 ส่งออก ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 เกษตรกรขายได้ (ชนิดคละ) 2.2 ขายส่ง ตลาด กทม. - เกรดแปรรูปอาหาร - เกรดผลิตอาหารสัตว์ - เกรดสกัดน�้ำมัน 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน
538.890
524.690
574.230
573.670
319.960 0.042 0.024 0.018
315.580 0.038 0.021 0.017
348.120 0.038 0.021 0.017
336.700 0.038 0.021 0.017
302.620 313.920 328.870 2.605 2.657 2.705 16.145 15.789 15.553 2.557 2.957 2.746 0.009 0.005 0.004 บราซิล 62% สหรัฐอเมริกา 35% แคนาดา 2% ลาว 70% กัมพูชา 18% เวียดนาม 11% ปี 59 ปี 60 มิ.ย. 61 14.47 15.73 16.60
339.390 2.933*
(ประมาณการ)
2.900* 0.008*
ก.ค. 61
-
19.02 18.02 16.64
20.55 18.64 18.32
20.50 18.50 18.50
20.50 18.50 18.50
12.86 362.84
12.24 358.66
11.09 339.93
10.45 312.53
ที่มา : 1.1, 1.2.1, 131.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ 1.2.2, 13.2, 1.4 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.5, 1.6 กรมศุลกากร 2.1 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2.2 กรมการค้าภายใน 2.3 www.cmegroup.com *ประมาณการโดยส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
11
Food Feed Fuel
1. สถานการณ์ ปี 2561 1.1 เดือนกรกฎาคม ราคาขายส่งตลาด กทม. ทุกเกรดคุณภาพทรงตัว ในช่วง ม.ค. - มิ.ย. 61 น�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองแล้ว 1,379,281 ตัน สูงขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีก่อนร้อยละ 8 แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา แคนาดา ราคาซือ้ ขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกลดลงจากเดือนก่อนตันละ 27.40 US$ โดยราคาถัว่ เหลือง ยังคงปรับลดลงต่อเนื่อง เนื่องจากสหรัฐอเมริกาไม่สามารถจัดการปัญหาข้อพิพาททางการค้ากับจีนได้ ซึ่งปัญหาดังกล่าว เริ่มส่งผลกระทบรุนแรงมากขึ้นต่อผู้ส่งออกถั่วเหลือง ธุรกิจ แรงงาน เกษตรกร รวมถึง ผู้บริโภคในสหรัฐอเมริกา 1.2 แนวโน้ม คาดว่าความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อการอุปโภคบริโภคยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจีนซึ่งเป็นผู้ใช้รายใหญ่ของโลก กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน สิงหาคม 2561
ราคาเมล็ดถั่วเหลือง
ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. ราคาที่เกษตรกรขายได้ เมล็ดถั่วเหลืองชนิดคละ 2558 - 15.52 15.62 15.25 2559 - 15.00 14.50 14.02 14.22 2560 - 16.45 16.78 16.95 - 12.90 13.45 2561 16.39 16.75 15.94 17.06 17.23 16.60 2. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร ตลาด กทม. 2558 20.50 20.50 19.79 19.89 20.50 18.77 18.50 19.15 2559 19.50 18.90 18.50 18.50 18.50 19.27 19.50 19.50 2560 18.50 20.39 20.50 20.50 20.50 20.59 21.50 21.50 2561 21.26 21.50 21.50 21.50 21.21 20.50 20.50 3. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดผลิตอาหารสัตว์ ตลาด กทม. 2558 18.50 18.50 17.79 17.89 18.50 17.64 17.50 18.15 2559 18.50 17.90 17.50 17.50 17.50 18.27 18.50 18.50 2560 17.50 18.45 18.50 18.50 18.50 18.59 19.50 19.50 2561 19.26 19.50 19.50 19.50 19.21 18.50 18.50
12 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
ก.ย.
ต.ค.
หน่วย : บาท/กก. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย
15.41 14.93 15.35 - 15.46 14.17 13.20 14.00 - 14.47 13.17 12.52 15.75 16.24 15.73 16.48 19.50 19.50 19.50 19.50 19.63 19.50 19.50 18.55 18.50 19.02 21.12 20.50 20.50 20.50 20.55 21.14 18.50 18.50 18.50 18.50 18.21 18.50 18.50 17.55 17.50 18.02 19.12 18.50 18.50 18.50 18.64 19.14
Food Feed Fuel
ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 4. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดสกัดน�้ำมัน ความชื้น 13.0% ตลาด กทม. 2558 16.53 16.49 16.36 16.49 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 2559 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.99 17.25 16.80 16.60 16.50 16.50 2560 16.50 18.39 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 2561 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2558 12.09 11.93 11.78 11.66 11.79 12.02 12.83 12.34 11.69 11.74 11.47 2559 11.74 11.44 11.57 12.54 13.81 14.94 13.76 12.92 12.43 12.62 13.09 2560 13.52 13.41 12.85 12.04 12.15 11.48 12.39 11.58 11.78 11.97 11.96 2561 11.46 11.75 12.01 11.98 12.02 11.09 10.45 6. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton , 1 ton = 36.743 Bushel) 2558 367.46 364.70 359.58 356.89 351.92 354.79 372.29 346.99 323.51 327.39 318.84 2559 323.17 319.90 326.91 355.65 388.47 421.20 390.37 370.28 355.64 358.35 368.87 2560 379.56 381.13 366.07 347.82 350.15 336.35 365.41 345.50 353.68 358.24 361.39 2561 356.84 371.20 381.85 381.23 374.81 339.93 312.53
ธ.ค.
เฉลี่ย
16.50 16.49 16.50 16.64 18.50 18.32 18.50 11.78 11.93 13.49 12.86 11.77 12.24 11.54 325.78 347.51 375.25 362.84 358.44 358.65 359.77
ที่มา : 1 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเฉลี่ยทั้งปีแบบถ่วงน้้าหนักจ�ำนวนผลผลิต 2 - 4 กรมการค้าภายใน 5 - 6 www.cmegroup.com
ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออกเมล็ดถั่วเหลือง ปี ม.ค. ก.พ. ปริมาณน�ำเข้า 2558 128,352 148,493 2559 308,363 104,921 2560 123,980 332,007 2561 145,133 254,338 ปริมาณส่งออก 2558 3,344 144 2559 599 218 2560 486 271 2561 269 279
มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 154,784 254,770 214,215 295,790
289,615 250,275 266,820 260,211
247,945 222,404 291,089 278,182
139 640 317 309
254 744 269 240
488 390 516 239
ก.ค.
ส.ค.
หน่วย : ตัน ก.ย.
ต.ค. พ.ย.
ธ.ค.
รวม
144,371 344,892 229,067 244,003 173,423 158,263 294,175 2,557,384 299,465 187,572 300,477 278,178 224,440 162,008 364,856 2,957,729 270,122 354,438 195,851 110,752 176,699 192,104 217,611 2,745,687 145,627 1,379,281 781 222 529 240
1,416 287 458
778 600 117
200 608 219
908 157 305
418 523 278
447 488 195
9,317 5,477 3,960 1,577
ที่มา : กรมศุลกากร ปี 2558-2561 พิกัด 12011009000 12019010001 และ 12019090090
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
13
Food Feed Fuel
สถานการณ์
กากถั่วเหลือง
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิต – โลก 1.1.1 วัตถุดิบอาหารสัตว์หมวดโปรตีน 1.1.2 กากถั่วเหลือง 1.2 ผลผลิต - ไทย 1.2.1 จากเมล็ดถั่วเหลืองในประเทศ 1.2.2 จากเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 น�ำเข้า
ปี 58
ปี 59
ปี 60
ปี 61
(ประมาณการ)
300.950 208.520 1.241 0.014 1.227
306.090 215.860 1.434 0.011 1.423
321.510 225.900 1.413 0.008 1.405
332.660 233.260 1.445 0.009 1.437
201.560 4.351 2.695
212.990 4.506 2.578
222.030 4.674 2.958
233.780 4.789 3.352
(ม.ค.- มิ.ย. 61)
1.5 ส่งออก (ตัน) 15,900 24,897 ไทยน�ำเข้าจาก บราซิล 66% อาร์เจนตินา 20% สหรัฐอเมริกา 12% ปารากวัย 2% ไทยส่งออกไป ลาว 68% กัมพูชา 29% เวียดนาม 3% 2. ราคา (บาท/กก.) ปี 59 ปี 60 มิ.ย. 61 ก.ค. 61 2.1 ขายส่ง ตลาด กทม. - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดฯ ในประเทศ โปรตีน 44-48% 19.54 20.50 - เมล็ดฯ น�ำเข้า โปรตีน 44-46% 15.74 14.08 15.52 15.31 - กากถั่วเหลืองน�ำเข้า - โปรตีน 46-48% 15.30 13.87 15.20 15.01 2.2 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. 12.42 11.86 12.44 12.21 - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 350.48 347.50 381.34 365.13 ที่มา : 1.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) 1.2 โรงงานสกัดน�้ำมันรายงานตามบันทึกข้อตกลงการรับซื้อกากถั่วเหลือง 1.3.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) 1.3.2 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1.4, 1.5 กรมศุลกากร 2.1 กรมการค้าภายใน, 2.2 www.cmegroup.com
14 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Food Feed Fuel
1. สถานการณ์ ปี 2561 1.1 เดือนกรกฎาคม ราคาขายส่งตลาด กทม. กากถัว่ เหลืองผลิตจากเมล็ดถัว่ เหลืองน�ำเข้า และ กากถั่วเหลืองน�ำเข้าลดลงจากเดือนก่อน สอดคล้องกับราคาต่างประเทศ ในช่วง ม.ค. - มิ.ย. 61 น�ำเข้ากากถั่วเหลือง 1,709,650 ตัน สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 12 แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ บราซิล อาร์เจนตินา สหรัฐอเมริกา ราคาซือ้ ขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกลดลงจากเดือนก่อนตันละ 16.21 US$ เนือ่ งจากนักลงทุน ต่างวิตกกังวลนโยบายการค้าที่สหรัฐอเมริกาน�ำมาใช้กับจีน สภาพยุโรป แคนาดา และเม็กซิโก ขณะที่ ปัญหาข้อพิพาททางการค้าระหว่างจีน และสหรัฐอเมริกา มีความตึงเครียดมากขึ้น หลังจากที่รัฐบาล สหรัฐอเมริกาประกาศเรียกเก็บภาษีสินค้าที่น�ำเข้าจากจีนในอัตราร้อยละ 25 1.2 แนวโน้ม คาดว่าความต้องการกากถั่วเหลืองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ตามการขยายตัวของ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และภาคปศุสัตว์ กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน สิงหาคม 2561
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
15
Food Feed Fuel ราคากากถั่วเหลือง
หน่วย : บาท/กก.
ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย 1. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดในประเทศ โปรตีน 44-48% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2558 18.63 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.37 2559 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 19.78 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 19.54 2560 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 2561 20.50 20.50 20.50 2. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดน�ำเข้า โปรตีน 44-46% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2558 17.20 17.47 16.38 15.88 15.05 14.86 14.39 15.48 15.75 15.75 15.75 15.75 15.81 2559 15.67 15.55 15.33 15.05 15.58 17.18 17.75 16.30 15.19 14.45 15.40 15.40 15.74 2560 15.19 15.03 14.59 14.30 14.18 13.49 13.57 13.52 13.51 13.64 13.53 14.35 14.08 2561 15.11 14.88 14.73 14.73 14.91 15.52 15.31 15.03 3. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองน�ำเข้าจากต่างประเทศ โปรตีน 46-48% ณ โกดังผู้น�ำเข้า ตลาด กทม. 2558 17.29 17.17 16.45 16.10 14.54 14.43 13.94 15.49 15.78 15.35 15.25 15.39 15.60 2559 15.26 15.05 14.83 14.55 14.75 16.41 16.75 15.89 15.19 14.45 15.31 15.13 15.30 2560 14.93 14.81 14.51 14.16 14.03 13.30 13.46 13.32 13.31 13.39 13.15 14.06 13.87 2561 14.65 14.49 14.40 14.40 14.59 15.20 15.01 14.68 4. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2558 12.47 12.24 11.95 11.42 11.41 11.99 13.61 13.17 12.39 12.11 11.52 11.19 12.12 2559 10.79 10.42 10.48 11.65 14.52 15.73 14.21 12.72 11.97 11.87 12.27 12.44 12.42 2560 12.99 13.07 12.53 11.86 11.36 11.08 12.11 11.21 11.21 11.64 11.58 11.68 11.86 2561 11.54 12.58 13.00 13.19 13.60 12.44 12.21 12.65 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton , 1 ton = 1.1023 shortton) 2558 379.04 374.25 364.86 349.71 340.47 353.90 394.90 370.40 342.95 337.64 320.34 309.54 353.17 2559 297.17 291.33 296.07 330.53 408.26 443.41 403.28 364.48 342.40 337.13 345.84 345.83 350.48 2560 364.70 371.52 356.88 342.63 327.30 324.52 357.23 334.55 336.64 348.42 349.90 355.76 347.50 2561 359.30 397.39 413.49 419.73 423.84 381.34 365.13 394.32 ที่มา : 1-3 กรมการค้าภายใน, 4-5 www.cmegroup.com
ปริมาณการน�ำเข้ากากถั่วเหลือง ปี 2558 2559 2560 2561
ม.ค. 334,956 156,369 326,955 185,574
ก.พ. 155,171 183,446 124,199 197,553
มี.ค. 134,282 230,664 230,786 307,289
เม.ย. 288,818 333,744 201,149 325,268
พ.ค. 316,874 267,025 387,340 393,978
มิ.ย. 253,597 239,435 257,665 299,988
หน่วย : ตัน ก.ค. 289,297 254,968 166,003
ส.ค. 241,220 84,030 256,745
ก.ย. 107,049 243,874 292,628
ต.ค. 114,604 97,205 168,728
พ.ย. 240,591 263,869 359,410
ที่มา : กรมศุลกากร ปี 2558-มิ.ย.60 พิกัด 23040090000 ตั้งแต่ มิ.ย.60 เป็นต้นไป พิกัด 23040090001
16 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
ธ.ค. รวม 218,290 2,694,748 223,371 2,578,000 186,331 2,957,938 1,709,650
Food Feed Fuel
สถานการณ์
ปลาป่น
1. ผลผลิตและการใช้ 1.1 ผลผลิต (ล้านตัน) - โลก (USDA) - ไทย (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 1.2 ความต้องการใช้ (ล้านตัน) - โลก (USDA) - ไทย (กรมปศุสัตว์) 1.3 น�ำเข้า (ตัน) (กรมศุลกากร) 1.4 ส่งออก (ตัน) (กรมศุลกากร)
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561*
∆ %
(มิ.ย.)
4.51 0.38
4.88 0.31
4.63 0.29
4.60 0.35
0.64 19.59
4.75 0.57 31,106 155,914
5.44 0.51 72,654 154,572
4.78 0.53 62,601 78,829
4.79 0.55 **32,520 **57,798
0.20 4.28 -
* = ประมาณการ, ** = ข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค. 61
2. ราคาปลาเป็ดและปลาป่น 2.1 ปลาเป็ด (บาท/กก.) (1) ดี (สด) (2) รอง (ไม่สด) 2.2 ปลาป่น_ขายส่ง (บาท/กก.) (1) โปรตีน ต�่ำกว่า 60% - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 (2) โปรตีน 60% ขึ้นไป - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 2.3 ปลาป่นตลาดเปรู โปรตีน 65% ขึ้นไป - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน (คิดเป็น โปรตีน 60% : บาท/กก.)
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560
ปี 2561 พ.ค. มิ.ย.
8.97 6.51
8.87 6.64
8.65 6.87
9.09 7.00
8.56 6.74
39.18 36.94
36.19 31.13
34.33 31.64
34.38 31.38
33.00 30.00
41.10 39.31
38.49 33.78
37.33 33.96
37.38 33.38
36.00 32.00
1,622 1,432 1,207 (51.31) (46.87) (37.97)
1,257 (37.31)
1,304 (39.31)
∆ % 5.83 3.71
4.01 4.39
3.69 4.13
3.74 -
ที่มา : 2.1, 2.2 สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย, 2.3 http://hammersmithltd.blogspot.com
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
17
Food Feed Fuel
1. สถานการณ์ปลาป่น ปี 2561 1.1 สถานการณ์ปลาป่น เดือนมิถุนายน 2561 ผลผลิตในประเทศน้อยแต่มีการน�ำเข้าอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์คุณภาพดี ราคาปรับตัวลงเล็กน้อย 1.2 น�ำเข้า - ส่งออก ปี 2561 เดือนพฤษภาคม 2561 มีการน�ำเข้าปลาป่น ปริมาณ 5,616 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 12 ทั้งนี้ เมี่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 22 โดย น�ำเข้าแล้ว (ม.ค. - พ.ค. 61) ปริมาณ 32,520 ตัน ส่วนการส่งออกมีปริมาณ 7,774 ตัน ลดลงจาก เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 10 ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 12 โดยส่งออกแล้ว (ม.ค. - พ.ค.61) ปริมาณ 57,798 ตัน สูงขึ้น
1.3 แนวโน้ม คาดว่าราคายังเคลือ่ นไหวทรงตัวในเกณฑ์ดี จากราคาตลาดโลกทีม่ แี นวโน้มปรับตัว กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน กรกฎาคม 2561
ราคารับซื้อปลาเป็ดและปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1. ปลาเป็ด (ดี/สด) (บาท/กก.) 2559 8.38 8.34 8.41 8.44 8.51 8.77 2560 9.18 9.24 9.24 8.93 8.49 8.20 2561 8.95 8.98 9.31 9.28 9.09 8.56 2. ปลาเป็ด (รอง/ไม่สด) (บาท/กก.) 2559 6.53 6.24 6.20 6.22 6.34 6.58 2560 6.83 6.91 6.95 6.90 6.80 6.76 2561 6.99 7.05 7.13 7.07 7.00 6.74 3. ปลาป่น เกรดกุ้ง (บาท/กก.) 2559 40.30 40.00 40.00 40.71 41.72 43.09 2560 39.00 40.00 39.87 37.84 36.50 36.50 2561 42.00 42.00 42.00 40.24 38.38 37.00 4. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 1 (บาท/กก.) 2559 35.30 35.00 35.00 35.71 36.72 38.09 2560 33.25 35.00 34.87 33.81 33.00 33.00 2561 37.00 37.00 37.00 35.47 34.38 33.00
18 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
9.09 8.20 9.03
9.38 8.28
9.34 8.37
6.81 6.74
7.07 6.78
7.01 6.87
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
(สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย)
9.27 8.37
9.33 8.37
9.14 8.87
(สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย)
6.92 6.95
6.89 6.94
6.89 6.95
เฉลี่ย 8.87 8.65 6.64 6.87 7.00
(สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย)
44.00 44.64 43.55 40.10 40.64 39.15 41.49 36.92 38.32 39.00 39.00 39.00 40.53 38.54 40.27 (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย)
39.00 39.64 37.95 34.10 34.64 33.15 36.19 33.42 34.55 35.00 35.00 35.00 36.11 34.33 35.64
Food Feed Fuel
เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 5. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 2 (บาท/กก.) 2559 31.45 31.00 31.00 31.00 31.28 32.00 31.44 2560 30.25 32.00 31.87 31.00 31.00 31.00 31.42 2561 34.00 34.00 34.00 32.47 31.38 30.00 6. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 1 (บาท/กก.) 2559 37.30 37.00 37.00 37.71 38.72 40.09 41.00 2560 36.25 38.00 37.87 36.81 36.00 36.00 36.42 2561 40.00 40.00 40.00 38.47 37.38 36.00 7. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 2 (บาท/กก.) 2559 33.45 33.00 33.00 33.00 33.28 34.00 34.00 2560 33.25 35.00 34.87 33.81 33.00 33.00 33.42 2561 36.00 36.00 36.00 34.47 33.38 32.00 8. ปลาป่น โปรตีน 65% F.O.B. ตลาดเปรู (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2559 1,550 1,333 1,366 1,363 1,350 1,655 1,605 2560 1,277 1,272 1,217 1,180 1,118 1,060 1,122 2561 1,569 1,545 1,472 1,403 1,257 1,304 9. ปลาป่น โปรตีน 60% F.O.B. ตลาดเปรู (บาท/กก.) 2559 51.99 44.00 44.66 44.35 44.37 54.19 52.21 2560 41.99 41.30 39.38 37.71 35.74 33.42 35.11 2561 46.43 45.12 42.71 40.77 37.31 39.31
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
(สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย)
31.64 31.95 30.00 30.77 30.00 31.13 32.00 32.00 32.00 32.00 33.11 31.64 32.64 (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย)
41.64 40.55 37.10 37.64 36.15 38.49 37.55 38.00 38.00 38.00 39.11 37.33 38.64 (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย)
34.64 35.09 34.00 34.77 33.15 33.78 34.00 34.00 34.00 34.00 35.11 33.96 34.64 (http://hammersmithltd.blogspot.com)
1,550 1,340 1,365 1,373 1,333 1,432 1,160 1,160 1,191 1,260 1,463 1,207 1,425 (ค�ำนวณเป็นเงินบาท)
49.92 43.16 44.37 44.99 44.22 46.87 35.79 35.67 36.74 38.50 44.28 37.97 41.94
ปริมาณน�ำเข้าและส่งออกปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ปริมาณน�ำเข้า (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) 2559 8,557 5,941 5,857 6,570 5,615 2560 7,493 3,829 6,933 5,306 7,181 2561 8,652 7,258 5,962 5,032 5,617 ปริมาณส่งออก (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) 2559 7,041 15,215 18,941 13,158 18,436 2560 8,710 9,184 9,317 7,340 8,861 2561 16,891 11,638 12,836 8,659 7,774
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
รวม
(กรมศุลกากร)
6,475 6,890 5,702 5,546 7,753 4,641 2,846 72,394 7,401 3,269 3,923 3,169 5,867 4,175 4,055 62,601 32,520 (กรมศุลกากร)
19,991 16,713 12,005 7,953 8,517 9,139 6,785 153,894 7,862 7,963 6,187 4,133 3,337 3,024 2,912 78,829 57,798
หมายเหตุ : ปี 2558-2561 พิกัดอัตราศุลกากร 2301 2010 000, 2301 2020 000 , 2301 2090 001, 2301 2090 090 และ 2301 1000 000
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
19
Food Feed Fuel
สินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ ประจ�ำไตรมาสที่ 2/2561 เดือนมิถุนายน
เป้าหมาย ปี 2560 - 2564 : เพิ่มศักยภาพการแข่งขันขยายตลาดภายใน และต่างประเทศ เป้าหมายการผลิตและส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี
สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต ประมาณผลผลิตไก่เนื้อ ปี 2561 เพิ่ม 3% เป็น 1,660 ล้านตัว คิดเป็นมูลค่า 148,155 ล้านบาท ปริมาณการผลิต ไก่เนื้อ (ล้านตัว) เนื้อไก่ (พันตัน) ขนาด (กก.)
2560 1,605 2,336 2.54
2561 1,660 2,580 2.55
2/61 405.06 715.25 2.65
2/60 60/61 chg (%) 408.12 -0.75 598.26 19.56 2.53 4.74
ที่มา : คณะกรรมการบริหารสินค้าไก่เนื้อฯ (ระบบ e-service)
• การผลิตเนือ้ ไก่ 2/2561 คาดว่าจะปรับเพิม่ 19.56% เนือ่ งจากปริมาณ และขนาดน�ำ้ หนักตัว เพิม่ ขึน้ ตลาดส่งออกยังคงเป็นกลุม่ เดิมคือ EU เช่น อังกฤษ เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ญีป่ นุ่ ส�ำหรับเกาหลีใต้ น�ำเข้าเนื้อไก่แปรรูปจากไทยเพิ่มขึ้น • จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตไก่เนื้อที่ส�ำคัญปี 2560 ปี 2561 เพิ่มขึ้น 3% แหล่งผลิต ลพบุรี นครราชสีมา สระบุรี ชลบุรี การญจนบุรี
ไก่เนื้อ (พันตัว) เนื้อไก่ (พันตัน) 362,501.50 580,074.90 142,114.60 227,411.78 139,082.13 222,559.22 138,264.54 221,250.92 127,828.38 204,550.97
สัดส่วน (%) 22.75 8.92 8.73 8.68 8.02
ที่มา : กรมปศุสัตว์
ศักยภาพการผลิต (ข้อมูลกรมปศุสัตว์ 2561) เกษตรกรทั้งหมด 36,363 ราย จ�ำนวนไก่เนื้อ 345.82 ล้านตัว/รุ่น • ได้มาตรฐาน 6,462 ฟาร์ม สามารถเลี้ยงไก่เนื้อ 348.30 ตัว/รุ่น (กปศ. 61) - โรงฆ่าภายใน 485 โรง (815,330 ตัว/วัน) : ส่งออก 27 โรง (3.67 ล้านตัว/วัน) - โรงงานแปรรูปสัตว์ปีกเพื่อส่งออก 62 โรง (กปศ. 61)
20 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Food Feed Fuel 2. การตลาด เป้าหมายส่งออกเพิ่ม 3% เป็น 820,000 ตัน มูลค่า 106,026 ล้านบาท (เนื้อ ไก่แปรรูป 574,000 ตัน = 70% เนื้อไก่สด 246,000 ตัน = 30%) ราคาไก่เนื้อมีชีวิต ไตรมาส 2/61 เฉลี่ย 32 บาท/กก. ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 20.53% • ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ รายไตรมาส ปี 2559-2561 ไตรมาส/ปี 2/61 (เม.ย. - มิ.ย.) 2/60 (เม.ย. - มิ.ย.) 1/61 (ม.ค. - มี.ค.) ∆ 2/61/2/60 (%) ∆ 2/61/1/61 (%)
ราคารายเดือน (บาท/กก.) 32.00 32.00 32.00 40.00 41.00 39.80 32.00 32.00 32.00 -20.00 -21.95 -19.60 0.00 0.00 0.00
เฉลี่ย 32.00 40.27 32.00 -20.56 0.00
ที่มา : กรมปศุสัตว์
• ต้นทุนไก่เนื้อ ไตรมาส 2/2561 เฉลี่ย 32.34 บาท/กก. ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ร้อยละ 13 และลดลงจากไตรมาส 1/2561 ร้อยละ 3.4 เนื่องจากพันธุ์สัตว์ราคาปรับลดลง และขนาดน�้ำหนักไก่เนื้อเพิ่มขึ้น • ปริมาณการส่งออกไก่เนื้อของไทย ปี 2559 - 2561 เดือน/ปี ม.ค. - ธ.ค. 59 ม.ค. - ธ.ค. 60 ∆ 60/59 (%) ม.ค. - มิ.ย. 60 ม.ค. - มิ.ย. 61 ∆ 61/60 (%)
เนื้อไก่แปรรูป ตัน ล้านบาท 503,046 74,545 546,359 102,668 8.61 37.73 258,372 37,430 264,209 35,686 2.26 -4.66
เนื้อไก่สด ตัน ล้านบาท 240,299 21,365 253,175 24,198 5.36 13.26 117,267 10,597 183,571 17,396 56.54 64.16
รวมทั้งหมด ตัน ล้านบาท 743,345 95,910 799,534 126,866 7.56 32.20 375,639 48,027 447,780 53,082 19.20 10.53
ที่มา : กรมปศุสัตว์
ปี 2561 (ม.ค. - มิ.ย.) ส่งออกเนื้อไก่รวม 447,780 ตัน มูลค่า 53,082 ล้านบาท เพิ่มจาก ช่วงเดียวกันของปีที่แล้วทั้งปริมาณและมูลค่า คิดเป็น 19.20% และ 10.53% ตามล�ำดับ สัดส่วน ส่งออกญี่ปุ่น 46.39% อังกฤษ 17.79% EU 18.06%
สถานการณ์ภายนอกประเทศ 3. การผลิตและการส่งออกไก่เนื้อโลก • การผลิตของโลกปี 2561 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดว่า (เม.ย. 61) จะผลิตไก่เนือ้ 92.50 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 1.93% สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุด ผลิต 19.00 ล้านตัน รองลงมาคือ บราซิล 13.38 ล้านตัน สหภาพยุโรป 12.00 ล้านตัน และจีน 11.70 ล้านตัน ตามล�ำดับ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
21
Food Feed Fuel • การตลาด ญี่ปุ่น ผู้น�ำเข้าเนื้อไก่รายใหญ่ของโลกปี 61 ต้องการน�ำเข้า 1.15 ล้านตัน รองลง มาเป็นเม็กซิโก อียู และอิรัก 0.82, 0.71 และ 0.69 ล้านตัน ตามล�ำดับ ส�ำหรับไทยส่งออกเนื้อไก่สด แช่เย็นแช่แข็งไป EU ได้ตั้งแต่ 1 ก.ค. 55 และได้โควตาการส่งออก ดังนี้ ๏ ไก่หมักเกลือ 92,610 ตัน/ปี ภาษีโควตาร้อยละ 15.4 นอกโควตา 1,300 ยูโร/ตัน ๏ ไก่สดแช่เย็น/แช่แข็ง 5,100 ตัน/ปี ภาษีในโควตาร้อยละ 0 นอกโควตา 602-1,024 ยูโร/ตัน ๏ ไก่ปรุงสุก 160,033 ตัน ภาษีในโควตาร้อยละ 8 นอกโควตา 1,024 ยูโร/ตัน ๏ ไก่แปรรูป 2 พิกัด (พิกัด 16023230 ได้ปริมาณโควตา 14,000 ภาษีโควตาร้อยละ 10 นอกโควตา 2,765 ยูโร/ตัน พิกดั 16023290 ปริมาณโควตา 2,100 ตัน ภาษีโควตาร้อยละ 10 นอกโควตา 2,765 ยูโร/ตัน) เปิดตลาดเนื้อไก่ EU มี.ค. 56 ญี่ปุ่น 25 ธ.ค. 56 4. ปัญหาอุปสรรค
• EU จัดสรรโควตาน�ำเข้าเนื้อไก่สดและแปรรูปให้ไทยน้อย ภาษีนอกโควตาสูง • EU ตรวจเชื้อ Salmonella ในไก่หมักเกลือเข้มงวด ท�ำให้ส่งออกเนื้อไก่สดหมักเกลือลดลง • ตลาดตะวันออกกลางมีขนาดใหญ่ แต่น�ำเข้าเนื้อไก่จากไทยปริมาณน้อยมาก • สภาพอากาศแปรปรวน หลายประเทศเกิดโรคไข้หวัดนกระบาด • วัตถุดิบอาหารสัตว์ไม่พอ ราคาสูง โดยเฉพาะข้าวโพดอาหารสัตว์ • กฎหมายแรงงานไม่เอื้ออ�ำนวยต่อการปฏิบัติงานในฟาร์มเลี้ยงสัตว์
22 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Food Feed Fuel
สินค้าไข่ ไก่และผลิตภัณฑ์ ประจ�ำไตรมาสที่ 2/2561 เดือนมิถุนายน
เป้าหมายมี 3 ยุทธศาสตร์ 1) เพิ่มการบริโภคและส่งเสริมการแปรรูปไข่ไก่ 2) สร้างความมั่นคง ในอาชีพการเลี้ยงไก่ไข่ 3) สร้างความเชื่อมั่นให้ผู้บริโภคไข่ไก่และผลิตภัณฑ์
สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต ประมาณการผลผลิตไข่ไก่ปี 2561 คาดว่าผลผลิตไข่ไก่ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว ร้อยละ 0.96 เป็นจ�ำนวน 16,600 ล้านฟอง คิดเป็นมูลค่า 46,206 ล้านบาท • ข้อมูลปริมาณการผลิตไข่ไก่ปี 2560-2561 ผลผลิตไข่ไก่ แม่ไก่ไข่ (ล้านตัว) ไข่ไก่ (ล้านฟอง)
2560 55.64 16,502
2561 ไตรมาส 2/60 56.84 55.42 16,600 4,102
ไตรมาส 2/61 chg 61/60 (%) 56.92 1.01 4,143 -3.52
ที่มา : กรมปศุสัตว์
• จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตไข่ไก่ที่ส�ำคัญปี 2561 แหล่งผลิตส�ำคัญ ฉะเชิงเทรา นครนายก นครปฐม พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี
แม่ไก่ไข่ (ตัว) 5,859,056 5,407,315 4,625,461 3,655,471 3,486,399
ไข่ไก่ (ฟอง) 1,699,126,373 1,568,121,286 1,387,638,396 1,022,011,777 1,011,055,640
สัดส่วน (%) 10.30 9.52 8.43 6.21 6.14
ที่มา : กรมปศุสัตว์
2. ศักยภาพการผลิต (กปศ. 60-61) ปี 2560 น�ำเข้า GP = 5,998 ตัว P.S. = 605,273 ตัว ปี 2561 (ม.ค. - มี.ค.) น�ำเข้า GP = 2,117 ตัว P.S. = 251,958 ตัว • จ�ำนวนฟาร์มทั้งหมด 117,683 ฟาร์ม (กปศ. 61) • จ�ำนวนฟาร์มได้มาตรฐาน 1,506 ฟาร์ม (1.3%) = 64.21 ล้านตัว (กปศ. 61) • ศูนย์รวบรวมไข่ไก่ขนึ้ ทะเบียน 83 แห่ง (18.26 ล้านฟอง/วัน) ได้แก่ GMP 33 แห่ง (7.85 ล้านฟอง/วัน) ส่งออก 4 แห่ง/สถานที่จ�ำหน่ายไข่ไก่ OK 625 แห่ง (1.20 ล้านฟอง/วัน) Q mark 18 แห่ง (4.697 ล้านฟอง/วัน) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
23
Food Feed Fuel • โรงงานแปรรูปไข่ไก่ จ�ำนวน 10 โรง ได้ GMP/HACCP 10 แห่ง • ต้นทุนไข่ไก่ไตรมาส 2/61 เฉลี่ยฟองละ 2.84 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยฟองละ 2.80 บาท ของไตรมาส 1/61 ร้อยละ 1.41 และปรับตัวลดลงจากฟองละ 2.89 บาท ของช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้วร้อยละ 1.73 3. การตลาด ราคาไข่ไก่คละที่เกษตรกรขายได้ไตรมาส 2/61 เฉลี่ย 2.58 บาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาส 1/61 ร้อยละ 17.28 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 8.86 เนื่องจากการส่งออกไข่ไก่เพิ่มขึ้น ภายใต้โครงการ P.S. Support • ราคาไข่ไก่คละที่เกษตรกรขายได้ : รายไตรมาส ปี 2560-2561 ไตรมาส/ปี 2/61 (เม.ย. - มิ.ย.) 2/60 (เม.ย. - มิ.ย.) 1/61 (ม.ค. - มี.ค.) ∆ 2/61:2/61 (%) ∆ 2/61:1/61 (%)
ราคารายเดือน (บาท/ฟอง) 2.46 2.68 2.60 2.13 2.48 2.50 2.10 2.30 2.20 15.50 8.07 4.00 17.15 16.53 18.19
เฉลี่ย 2.58 2.37 2.20 8.86 17.28
ที่มา : กรมปศุสัตว์
• การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ไข่แดงผง ไข่ขาวผง ไข่เหลว ปี 2561 (ม.ค. - มิ.ย.) จ�ำนวน 938 ตัน เพิ่มจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 16.54 • การส่งออกไข่ไก่ ปี 2561 (ม.ค. - พ.ค.) จ�ำนวน 119.29 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้วร้อยละ 105.37 ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญคือ ฮ่องกง 94.71% • การส่งออกผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปี 2561 (ม.ค. - พ.ค.) จ�ำนวน 2,640 ตัน เพิม่ ขึน้ จากช่วงเวลา เดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 12.57 ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญคือ ญี่ปุ่น 45.95% • ปริมาณการน�ำเข้า-ส่งออกไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ของไทย ปี 2560-2561 รายการ 2559 2560 ∆ 60/59 (%) ม.ค. - มิ.ย. 60 ม.ค. - มิ.ย. 61 ∆ 61/60 (%)
น�ำเข้า ส่งออก ไข่ไก่สด (ล้านฟอง) ผลิตภัณฑ์ (ตัน) ไข่ไก่สด (ล้านฟอง) ผลิตภัณฑ์ (ตัน) 1,209 132.410 4,606 1,620 159.009 3,738 34.00 20.09 -18.84 805 58.09 2,345 939 119.29 2,640 16.53 105.36 12.56
ที่มา : กรมศุลกากร
24 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Food Feed Fuel
สถานการณ์ภายนอกประเทศ การผลิตไข่ไก่ของโลก ปี 2561 คาดว่ามีไข่ไก่ 1,450,793 ล้านฟอง ขยายตัวเพิ่มขึ้น 2% AEC ขยายตัว 5% = 67,299 ล้านฟอง (ข้อมูล USDA/IEC/FAO)
ปัญหาอุปสรรค • โครงสร้างการผลิตไข่ไก่ขยายตัวเพิม่ ขึน้ อุตสาหกรรมแปรรูปไข่ไก่นอ้ ย ท�ำให้ผลผลิตเกินความ ต้องการบริโภค และราคาปรับตัวลดลง • ราคาอาหารสัตว์สงู วัตถุดบิ หลักสูงกว่าราคาตลาดโลก เช่น ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ นโยบายรัฐขอให้ ผู้ผลิตอาหารสัตว์รับซื้อ ณ หน้าโรงงาน กก. ละ 8 บาท • ขาดความสมดุลการผลิตและบริโภคไข่ไก่ (การบริโภคต่อคนค่อนข้างต�่ำ) • EU ยังไม่ได้รับรองไข่ไก่ และห้ามน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ที่มีไข่จากไทยผสม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
25
Food Feed Fuel
สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ ประจ�ำไตรมาสที่ 2/2561 เดือนมิถุนายน
ยกระดับการผลิตสุกรของประเทศทั้งระบบให้ได้มาตรฐานตั้งแต่พัฒนาฟาร์ม จัดการมลภาวะ ควบคุมป้องกันโรคระบาดสัตว์ พัฒนาโรงฆ่า - ช�ำแหละ การขนส่ง สถานทีจ่ ำ� หน่าย ตรวจรับรองคุณภาพ อาหารสัตว์ โรงงานแปรรูป และสถานทีจ่ ำ� หน่ายให้ถกู สุขลักษณะเพือ่ ผลิตเนือ้ สุกรและผลิตภัณฑ์สะอาด ปลอดภัยส�ำหรับผู้บริโภค
สถานการณ์ภายในประเทศ 1. การผลิต ประมาณการผลผลิตสุกร ปี 2561 เป็น 21 ล้านตัว Pig Board ปรับลด 4% เป็น 19.24 ล้านตัว มูลค่า 105,820 ล้านบาท • ข้อมูลปริมาณการผลิตสุกรปี 2560-2561 ปริมาณการผลิต 2560 2561 ไตรมาส 2/60 สุกรมีชีวิต (ล้านตัว) 20.63 19.24 4.91 เนื้อสุกร (พันตัน) 1,547.25 1,443.00 368.25
ไตรมาส 2/61 5.40 405.00
61/60 (%) 9.98 9.98
ที่มา : กรมปศุสัตว์
• ปริมาณการผลิตสุกรไตรมาส 2/2561 มีจำ� นวน 5.40 ล้านตัว ปรับตัวสูงขึน้ จากช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 9.98% • จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตสุกรที่ส�ำคัญปี 2561 แหล่งผลิตส�ำคัญ ราชบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครราชสีมา
สุกร (ตัว) 3,203,705 1,130,987 1,095,606 964,475 850,743
เนื้อสุกร (ตัน) 240,227 84,824 82,170 72,335 63,805
สัดส่วน (%) 17.29 6.10 5.91 5.21 4.59
ที่มา : กรมปศุสัตว์
ศักยภาพการผลิต ฟาร์มสุกรขุน 75,628 ฟาร์ม ได้มาตรฐาน 3,546 ฟาร์ม คิดเป็น 4.69% (กปศ. 61) • โรงฆ่าภายใน 1,373 โรง ได้ GMP 24 โรง ส่งออก 10 โรง • โรงงานแปรรูป 4 โรง (ส่งออก 3 โรง สุกร + ไก่ 32 โรง) (กปศ. 61)
26 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Food Feed Fuel 2. การตลาด • ปริมาณผลผลิตสุกรเข้าสู่ตลาดเพิ่มมากกว่าความต้องการบริโภค การค้าชายแดนส่งออก สุกรมีชวี ติ ลดลงจากปีทแี่ ล้ว การแก้ปญ ั หาผลผลิต ระบายผลผลิตส่วนเกินส่งผลให้ราคาสุกรมีชวี ติ ขยับ ตัวจากต้นปี เฉลีย่ ไตรมาส 2/61 เท่ากับ 63.43 บาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้วร้อยละ 4.91% และเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 24.56 • ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ ปี 2560-2561 ไตรมาส/ปี 2/61 (เม.ย. - มิ.ย.) 2/60 (เม.ย. - มิ.ย.) 1/61 (ม.ค. - มี.ค.) ∆ 2/61/2/60 (%) ∆ 2/61/1/61 (%)
ราคารายเดือน (บาท/กก.) 64.90 63.05 62.33 64.50 69.10 66.02 48.76 49.45 54.55 0.62 9.60 5.93 33.10 27.50 14.25
เฉลี่ย 63.43 66.54 50.92 4.91 24.56
ที่มา : กรมปศุสัตว์
สถานการณ์ต่างประเทศ 3. การผลิตและการส่งออกของโลก • ปี 61 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดว่าการผลิตเนื้อสุกรโลกมีปริมาณรวม 113.07 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 1.83% จากปี 60 ประเทศจีนผู้ผลิตรายใหญ่จ�ำนวน 54.75 ล้านตัน ไม่เพียงพอกับความ ต้องการบริโภคในประเทศ สหภาพยุโรป 23.35 ล้านตัน และสหรัฐอเมริกา 12.19 ล้านตัน การผลิต ส่วนใหญ่เพิ่มจากปีที่แล้ว เนื่องจากสหรัฐฯ และจีน ผลิตสุกรมากขึ้นร้อยละ 1.83 และ 2.34% ตาม ล�ำดับ ปริมาณความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของโลก 112.58 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 1.8% ประเทศจีนเป็นผู้น�ำเข้าเนื้อสุกรรายใหญ่ของโลกปี 61 น�ำเข้าจ�ำนวน 1.60 ล้านตัน หรือ 19.884% ของปริมาณการน�ำเข้าเนื้อสุกรทั้งหมดของโลก • ประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ส�ำคัญของโลก ได้แก่ สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา จ�ำนวน 2.80 และ 2.7 ล้านตัน ตามล�ำดับ มีสว่ นแบ่งการตลาดคิดเป็น 64.83% ของการส่งออกโลก รองลงมา เป็น แคนาดา 1.35 ล้านตัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
27
Food Feed Fuel • ปริมาณส่งออกสุกรมีชีวิตของไทย ปี 2560 จ�ำนวน 390,165 ตัว ปี 2561 (ม.ค. - มิ.ย.) จ�ำนวน 293,708 ตัว เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 42.10 รายการ รวมทั้งหมด (ตัน) ส่วนที่บริโภคได้ - หนัง เนื้อสุกร ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร
ปี 2560 ม.ค. - มิ.ย. 60 ม.ค. - มิ.ย. 61 41,149 21,586 19,515 23,990 11,856 9,584 6,518 4,215 4,489 10,641 5,515 5,442
∆ 61/60 -10.61 -23.71 6.10 -1.34
ที่มา : กรมปศุสัตว์
• ปริมาณการน�ำเข้าสุกรและผลิตภัณฑ์ปี 2561 (ม.ค. - มิ.ย.) รายการ รวมทั้งหมด (ตัน) ส่วนที่บริโภคได้ - หนัง เนื้อสุกร ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร
ปี 2560 ม.ค. - มิ.ย. 60 ม.ค. - มิ.ย. 61 107,708 56,159 50,690 107,470 56,159 50,690 0 0 0 238 0 0
∆ 61/60 -9.74 -9.74 0 0
ที่มา : กรมปศุสัตว์
4. ปัญหาอุปสรรค • ผลผลิตสุกรเกินความต้องการบริโภคในประเทศ และราคาตกต�่ำ • การผลิตเพื่อบริโภคร้อยละ 95 ส่งออกเพียงร้อยละ 5 และน�ำเข้าเครื่องในจ�ำนวนมาก • การส่งออกเนื้อสุกร และเนื้อสุกรแปรรูปของไทยไปต่างประเทศค่อนข้างจ�ำกัด เนื่องจาก ประเทศไทยยังไม่ได้มีการรับรองให้ปลอดโรค FMD
28 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader
เล็งตัดจีเอสพี 1.7 หมื่นล.
มะกันตอบโต้ไทย ห้ามน�ำเข้าเนื้อหมู
‘ชุติมา’ น�ำทีมกระทรวงเกษตรฯ - สาธารณสุข บินร่วมเวทีประชาพิจารณ์ ที่สหรัฐฯ ก.ค. นี้ หลังสภาผู้ผลิตหมูมะกันร้องส�ำนักผู้แทนการค้าสหรัฐฯ ให้ตัด จีเอสพีสินค้าเกษตรของไทยกว่า 56 รายการ มูลค่า 17,172 ล้านบาท กรณีไทย ไม่ยอมน�ำเข้าหมูที่มีการใช้สารเร่งเนื้อแดงแรคโตพามีน แหล่งข่าวจากกระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เปิดเผยว่า เดือน ก.ค. นี้ น.ส.ชุตมิ า บุณยประภัศร รมช.พาณิชย์ จะเป็นหัวหน้าทีมน�ำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ กระทรวงสาธารณสุข เดินทางไปสหรัฐอเมริกา ร่วมฟังการท�ำประชาพิจารณ์ หรือ รับฟังความคิดเห็นในการแสดงข้อเท็จจริงต่อสาธารณชนในสหรัฐฯ หลังส�ำนักผูแ้ ทน การค้าสหรัฐอเมริกาประกาศยอมรับค�ำร้องของสภาผูผ้ ลิตหมูของสหรัฐฯ ทีเ่ สนอให้ ทบทวนการให้ภาครัฐตัดสิทธิประโยชน์ทางภาษี (จีเอสพี) กรณีไม่ให้มกี ารน�ำเข้าหมู สหรัฐฯ มาไทย ด้วยเหตุผลทีร่ ะบุวา่ หมูสหรัฐฯ มีการใช้สารเร่งเนือ้ แดงแรคโตพามีน ในการเลี้ยง ทั้งนี้ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) คาดการณ์ผลกระทบ หาก ไทยถูกตัดจีเอสพีของสหรัฐอเมริกา จะกระทบสินค้าเกษตรบางรายการ แต่สินค้า เกษตรที่ได้รับจีเอสพีขณะนี้มีจ�ำนวน 56 รายการ มูลค่า 17,172 ล้านบาท หรือ คิดเป็น 14.9% ของสินค้าไทยจ�ำนวน 4,600 รายการ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์ด้าน จีเอสพี มูลค่า 114,905 ล้านบาท
ที่มา : ข่าวสด ฉบับวันที่ 02 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
29
Market Leader
สินค้าเกษตรที่ได้รับสิทธิประโยชน์ภายใต้ โครงการจีเอสพีของสหรัฐอเมริกา มีเครื่องดื่ม ไม่มีแอลกอฮอล์ ผลไม้ปรุงแต่ง ซอส และ เครื่องปรุง ถั่วปรุงแต่ง พาสตา ปูปรุงแต่ง น�้ำตาลดิบ มังคุด มะม่วง ฯลฯ ส่วนสินค้า ยางธรรมชาติที่ส่งออกไปสหรัฐอเมริกา ไม่ ได้รบั สิทธิประโยชน์ ตามโครงการจีเอสพี เนือ่ ง จากอัตราน�ำเข้าของภาษีอยู่ที่พิกัด 0% อยู่แล้ว ส�ำหรับการพิจารณาจีเอสพีไทยยอมรับมีความกังวลในเรื่องนี้ โดยปกติ สหรัฐอเมริกาจะมีการทบทวนการให้จเี อสพีเป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ ปรับปรุง แก้ไข และ เพิ่มเติมรายการสินค้าที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี หรือจีเอสพี หรือเพิกถอน ให้สิทธิ เมื่อพิจารณาเฉพาะสินค้าเกษตรที่ส�ำคัญพบว่า หากไทยถูกสหรัฐอเมริกา ตัดสิทธิประโยชน์ทางภาษีผ่านโครงการจีเอสพี จะส่งผลให้การน�ำเข้าสินค้าที่ต้อง เสียภาษี 0% มาอยู่ในอัตราภาษีระดับ 1 - 17.9% แตกต่างตามชนิดสินค้า ซึ่งจะ ส่งผลกระทบต่อรายได้ของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ในเรื่องนี้กระทรวงพาณิชย์ไทยแจ้งความคืบหน้าต่อคณะ รัฐมนตรี (ครม.) ภายใต้กรอบการลงทุนไทย - สหรัฐฯ ประจ�ำปี 2561 ว่าไทย ยอมรับค่าความปลอดภัยของสารเร่งเนือ้ แดงในเนือ้ หมูและเครือ่ งใน ตามมาตรฐาน อาหารระหว่างประเทศ ต่อเมื่อผลการศึกษามีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ระดับความปลอดภัยของการใช้สารเร่งเนื้อแดง รองรับความปลอดภัยของผู้บริโภค เพื่อยืนยันความปลอดภัยของผู้บริโภค
30 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader
รู้ทันภัยร้าย...จากสารเร่งเนื้อแดง!! “การเลี้ยงสุกร″ จัดเป็นหนึ่งในธุรกิจด้าน ปศุสัตว์ที่มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ เนือ้ สุกรและผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ สะอาด ถูกสุข - อนามัย นับตั้งแต่กระบวนการเลี้ยงภายในฟาร์ม การฆ่า ช�ำแหละ จนถึงการแปรสภาพและแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ เพือ่ ให้คณ ุ ภาพการผลิตมีมาตรฐาน ในระดับสากล ซึ่งจัดเป็นการยกระดับคุณภาพ เนื้อสุกร โดยหวังให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ ปลอดภัย ที่ ผ ่ า นมา ทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข กรมปศุสตั ว์ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ได้ตระหนัก และด�ำเนินการศึกษา และดูแลเรือ่ งนีม้ าตลอด โดยเฉพาะกรมปศุสตั ว์ ได้ เร่งปราบปรามการลักลอบการใช้ “สารเร่งเนือ้ แดง″ ในการเลีย้ งสุกรอย่างเข้มข้น ดังจะเห็นได้จากการทีม่ กี ารด�ำเนินคดี กับผู้กระท�ำผิดอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การประกาศให้ “สารเร่ง เนื้อแดง″ เป็นสารอันตราย โดยห้ามมิให้ใช้ในกระบวนการเลี้ยง สัตว์ “อย่างเด็ดขาด″ ตามประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2545 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546 ล่าสุด กรมปศุสัตว์ ตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการแก้ไข ปัญหาการใช้สารเร่งเนือ้ แดงในการเลีย้ งสัตว์ และคณะท�ำงานปราบ ป ร า ม ก า ร ใ ช ้ สารเร่งเนื้อแดง เพื่อกวาดล้างสารอันตรายนี้ให้หมดไปจากประเทศไทย หากพบ การกระท�ำความผิดมีการฝ่าฝืนใช้ จะมีโทษหนักตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการ ฆ่าสัตว์เพื่อการจ�ำหน่ายเนื้อสัตว์มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
31
Market Leader บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ และมีโทษตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุณภาพอาหาร สัตว์ ให้จำ� คุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ในขณะ เดียวกัน ก็ยังมีเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจสอบที่สถานที่จ�ำหน่าย เพื่อไม่ให้มี สารอันตรายตกค้างในเนื้อสัตว์ที่ประชาชนบริโภคด้วย ทั้ ง นี้ ผศ.น.สพ.ดร.ทิ ล ดิ ส ร์ รุ ่ ง เรื อ งกิ จ ไกร คณะสั ต วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เสนอความคิดเห็นว่า การที่ภาครัฐได้ออกกฎหมาย มาควบคุมเรื่องนี้มานานกว่า 16 ปี น่าจะเป็นตัวชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนถึงการ ให้ความส�ำคัญต่อภัยอันตรายของสารเร่งเนื้อแดง ที่หากปล่อยให้มีการใช้ ย่อมส่งผลกระทบต่อทั้งตัวสัตว์เลี้ยง และกลายเป็นภัยร้ายที่แฝงมากับ เนื้อสัตว์ที่ผู้บริโภคซื้อหามารับประทานอย่างแน่นอน ดังนั้น ผู้บริโภค ควรท�ำความรู้จักกับสารนี้ว่าคืออะไร และมีอันตรายอย่างไร....สาร เร่งเนื้อแดง หรือ Leanness - enhancing agents เป็นสารเคมีในกลุ่ม Beta Adrenergic agonists หรือ Beta agonist ซึง่ ใช้เป็นยาขยายหลอดลม ในคน และใช้เป็นยารักษาโรคในสัตว์ สารที่พบบ่อยในประเทศไทย ได้แก่ ซัลบูทามอล (Salbutamol) และเคลนบิวเทอรอล (Clenbuterol) ซึ่งที่ผ่านมา มีเกษตรกรบางกลุ่มน�ำมาใช้ผิดวัตถุประสงค์ โดยน�ำสารเร่งเนื้อแดงไปผสมกับ อาหารของสุกรเพือ่ ลดต้นทุนการผลิต เพราะสารนีจ้ ะท�ำให้สกุ รมีนำ�้ หนักตัวเพิม่ ขึน้ โดยทีก่ นิ อาหารน้อยลง สุกรจะมีรปู ร่างก�ำย�ำ มีกล้ามเนือ้ มาก สีแดงสด มีไขมันน้อย ซึ่งแน่นอนว่าย่อมขายได้ราคาดีกว่าชิ้นส่วนที่เป็นไขมัน แต่สารนีจ้ ะส่งผลข้างเคียงต่อตัวสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ ได้รบั ในปริมาณ มาก เพราะจะมีผลกระทบต่อการขยายตัวของหลอดลมและหลอดเลือด สัตว์เลี้ยง จะมีอาการตื่นตกใจง่ายกล้ามเนื้อขาสั่น และอาจถึงขั้นช็อกหมดสติได้ในกรณีที่ ผู้บริโภครับประทานเนื้อสัตว์ที่มีสารเร่งเนื้อแดงตกค้างอยู่ สารนี้จะไปมีผลในการ กระตุ้นการเต้นของหัวใจ ส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวมากกว่าปกติ อัตราการ เต้นของหัวใจสูงขึน้ กระวนกระวาย วิงเวียน และปวดศีรษะ และท�ำให้กล้ามเนือ้ สัน่ กระตุก จึงเป็นอันตรายอย่างมากต่อผู้ที่เป็นโรคหัวใจ โรคลมชัก และโรคเบาหวาน เมื่อทราบถึงโทษ และพิษภัยที่เกิดกับสัตว์เลี้ยงและผู้บริโภคเช่นนี้แล้ว ทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องไม่อาจนิ่งเฉยได้ และต้องช่วยกันป้องกันสารนี้ไม่ให้มาท�ำร้ายผู้บริโภค อย่างเราๆ ได้
32 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader
หากติดตามข่าวจากหนังสือพิมพ์หรือสื่อต่างๆ จะพบว่าสหรัฐอเมริกาก�ำลังรุกหนัก และกดดัน ให้ไทยเปิดตลาดน�ำเข้าเนื้อสุกรจากสหรัฐฯ ที่อนุญาตให้ใช้แรคโตพามีน (Ractopamine) ซึ่งเป็นสาร เร่งเนื้อแดงได้อย่างเสรี ในขณะที่ประเทศไทยมีกฎหมายควบคุมเรื่องนี้อย่างเข้มงวดดังกล่าวข้างต้น เรือ่ งนีเ้ ป็นสิง่ ทีไ่ ม่อาจเพิกเฉยได้ เพราะต้องไม่ลมื ว่า หากมีเนือ้ สุกรทีม่ สี ารเร่งเนือ้ แดงจากสหรัฐฯ หรือ จากประเทศใดก็ตาม มาขายปะปนกับเนื้อสุกรของไทยจริง ผู้บริโภคก็ไม่สามารถแยกแยะได้อย่าง แน่นอน นัน่ ถือเป็นมหันตภัยร้ายแรงทีแ่ ฝงมากับเนือ้ สุกรสหรัฐฯ ทีค่ นไทยจ�ำต้องยอมโดยไม่มแี ม้โอกาส ที่จะปฏิเสธได้ วันนีค้ งต้องฝากให้รฐั บาลของไทยเข้มแข็งและยึดมัน่ ในจุดยืน “ห้ามน�ำเข้าสุกรทีเ่ สีย่ งต่อการ ปนเปื้อนสารเร่งเนื้อแดงอย่างเด็ดขาด″ เพื่อปกป้องความปลอดภัยในอาหารให้กับชาวไทย อย่าให้ ความพยายามของภาครัฐที่ท�ำมาตลอด 16 ปี ต้องสูญเปล่า และสิ่งส�ำคัญคือ ต้องไม่ยอมให้สุกร ที่มีสารเร่งเนื้อแดงของบางประเทศมาเป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมให้สินค้าอาหารไทยเป็นสินค้าที่มี มาตรฐานความปลอดภัย และกีดขวางหนทางสู่การเป็นครัวโลกด้วย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
33
ได้รับข้อมูลวัตถุดิบและสินค้าคงคลังในไซโลขนาดใหญ่ครบถ้วนอย่างแม่นย�าตลอดเวลา โดยใช้ระบบ 3D Scanners
เป็นการวัดพื้นผิวแบบสามมิติ xyz มากกว่า 300 จุด ใช้คลื่นเสียงความถี่ต�่า ทะลุทะลวงฝุ่นได้ดี ชนิดของวัสดุไม่มีผลกระทบต่อความแม่นย�า เป็นการวัดแบบไม่สัมผัสกับวัสดุโดยตรง สามารถท�า การเซ็ทระบบผ่าน WiFi สามารถวัดในทุกขนาดของไซโล
3D Scanner ได้เปลี่ยนวิธีในการบริหารจัดการวัตถุดิบและสินค้า คงคลังในไซโลขนาดใหญ่ของอุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ อาหารสัตว์ ส่งออกข้าว ฯลฯ จากการเปลี่ยนวิธีการวัดระดับจากจุดเดียว เป็น การสร้างจุด xyz ทั่วพื้นผิวของวัสดุในไซโล และการค�านวณที่ แม่นย�าทางคณิตศาสตร์แคลคูลสั ท�าให้ได้ผลการวัดปริมาตรของวัสดุ แบบตลอดเวลาและแม่นย�ามาก ด้วยอุปกรณ์พิเศษที่ไม่ต้องการ การซ่อมบ�ารุง และช่วยให้ทา่ นประหยัดค่าใช้จา่ ย เพิม่ ความปลอดภัย ประสิทธิภาพและศักยภาพสูงสุดของการบริหารจัดการไซโลทุกขนาด
การควบคุม และบริหารจัดการสินค้าคงคลัง และวัตถุดิบในไซโล ขนาดใหญ่และมีจา� นวนมาก จะต้องมีการวัดทีแ่ ม่นย�าและให้ขอ้ มูล ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏
เพิ่มประสิทธิภาพของการใช้งานของระบบไซโล เพิ่มขีดความสามารถของการบริหารจัดการวัสดุทั้งระบบ ลดการสูญเสีย สามารถจัดเก็บวัสดุเต็มขอบไซโล ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต ลืมความผิดพลาดในการเติมวัสดุจนล้นไปได้เลย ให้ข้อมูลที่แม่นย�า ท�าไห้พร้อมเสมอเมื่อต้องตัดสินใจ ได้รับการพิสูจน์มาแล้วทั่วโลกว่าคุ้มค่าในการลงทุนกับการติดตั้ง ใช้งานมาแล้วนานกว่าสิบปี
3D Scanner เหมาะส�าหรับการวัดวัสดุทเี่ ป็นผงเช่นปูนซีเมนต์ หรือ เม็ด เช่น ข้าว ข้าวโพด เมล็ดพืชทุกชนิด อาหารสัตว์ที่เป็นของแข็ง ทุกขนาด เลิกวัดทีละจุดได้แล้ว มาใช้ 3D Scanner กันเถอะ
AEC Innovatec Co.,ltd.
บริษัท เออีซี อินโนเวเทค จ�ำกัด
158/11 ซอย 1 ถนนพิชัยณรงค์สงคราม ต.ปากเพรียว อ.เมือง จ.สระบุรี 18000
คุณอลงกฎ จอมหงษ์ โทร. 061-619-7471 ››› alonggot@aecinnovatec.com ‹‹‹ ››› www.aecinnovatec.co ‹‹‹
หลักการท�างานของระบบ
3D Level Scanners
ติดตั้งหัววัด 3D Scanner ในต�ำแหน่งที่คลื่นเสียงควำมถี่ต�่ำ สำมำรถครอบคลุมพื้นผิวของวัสดุที่จะวัดให้มำกที่สุด เครื่องจะ ส่งคลื่นเสียงเป็นค่ำออกไป และวัดกำรสะท้อนกลับมำ R = Vel x (time/2) โดย Vel คือควำมเร็วเสียง 343 m/sec กำรใช้หัววัด สำมหัว ท�ำให้สำมำรถค�ำนวณหำทิศทำง และระยะทำงในรูปแบบ สำมมิติ x y z
เนื่องจากหัววัดสแกนเนอร์ติดตั้งอยู่ที่ต�าแหน่ง x0 y0 z0 ค่า ของ ระยะการวัดจะเป็น
เมือ่ รูม้ ติ ขิ องไซโลทีจ่ ะวัดน�ำมำบันทึกในระบบ เครือ่ งมีระบบซอฟแวร์ทสี่ ำมำรถกรองเอำสัญญำณคลืน่ สะท้อนทีไ่ ม่ใช่คำ่ วัดทีถ่ กู ต้อง ออกไปได้ เมื่อได้ค่ำ xyz ของพื้นผิวเป็นแผ่นภำพสำมมิติของพื้นผิววัสดุทั้งหมดแล้ว กำรหำค่ำปริมำตรของวัสดุสำมำรถท�ำได้ โดยกำรอินทิกรัลสมกำรดังกล่ำวด้วยวิธที ำงคณิตศำสตร์ จะได้ปริมำตรของอำกำศทีอ่ ยูเ่ หนือวัสดุ ระบบซอฟแวร์ของ 3D Scanner จะท�ำกำรค�ำนวณลบปริมำตรที่อยู่เหนือพื้นผิวออกจำกปริมำตรไซโลทั้งหมด เรำก็จะได้ปริมำตรของวัสดุในไซโลเป็นลูกบำศก์เมตร หรือตำมหน่วยที่เรำต้องกำร ถ้ำเรำรู้ควำมหนำแน่น เรำก็สำมำรถคูณ และจะได้ค่ำวัดออกมำเป็นน�้ำหนัก นอกจำกนี้ ระบบยังมี กำรจ�ำแนกเสียงสะท้อนที่ไม่ต้องกำร โดยกำรใช้กลุ่มสัญญำณทำงดิจิทัลส่งเป็นค่ำออกไป สัญญำณที่สะท้อนกลับมำจะอยู่ใน รูปแบบที่เหมือนกับสัญญำณที่ส่งออกไป จึงจะถือว่ำเป็นสัญญำณที่ถูกต้อง ประโยชน์ของกำรใช้คลื่นเสียงควำมถี่ต�่ำคือ ควำม สำมำรถในกำรทะลุทะลวงฝุ่นได้ดีกว่ำคลื่นควำมถี่สูง และล�ำของคลื่นสำมำรถแผ่ออกไปกว้ำงถึง 90 องศำส�ำหรับควำมถี่ต�่ำสุด (ประมำณ 2,000 Hz) และแคบสุดประมำณ 60 องศำ ที่ 6,000 Hz ระบบจะท�ำกำรส่งสัญญำณสลับกันทีละหัวจำกคลื่นต�่ำ กลำง สูง และสลับหัวกันไปเรื่อยๆ เพื่อวัดทั้งระยะทำงและทิศทำง เพื่อให้ได้ค่ำ xi yi zi ในแต่ละจุดสูงสุดและต�่ำสุดตลอดทั่ว พื้นผิวของวัสดุ วัสดุโดยทั่วไปไม่ว่ำจะเป็นผงละเอียดแบบผงปูนซีเมนต์ หรือเป็นเม็ดแบบข้ำว ส�ำหรับไซโลขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง ประมำณ 20 เมตร เครื่องจะวัดจุดสูงสุดต�่ำสุดบนพื้นผิวมำกกว่ำ 300 จุด จึงได้ค่ำที่ผิดพลำดต�่ำกว่ำ 3% จำกเทคโนโลยีทำงคอมพิวเตอร์และกำรต่อสัญญำณ ระบบของ 3D Scanner สำมำรถเชื่อมข้อมูลเข้ำกับระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผ่ำน RS 485 และซอฟแวร์ 3D Multivision ให้ขอ้ มูลทีค่ รบถ้วนส�ำหรับกำรบริหำรกำรรับจ่ำยวัสดุคงคลังในไซโล ตลอด 24 ชัว่ โมง และยังสำมำรถดูวัสดุเหลือตกค้ำงในไซโลจำกภำพสำมมิติ เพื่อช่วยในกำรลดควำมถี่ในกำรปิดเพื่อท�ำควำมสะอำดไซโลอีกด้วย
ไดเจสตารอม ดีซี
เพิ่มประสิทธิภาพการไดรับประโยชนจากสารอาหาร
Digestarom DC ®
The Feed Converter.
ไดเจสตารอม ดีซี Digestarom® DC
ใหประโยชนอยางชัดเจนตอสัตวเลี้ยงและตอผูประกอบการ • นวัตกรรมใหมลาสุดของผลิตภัณฑไฟโตเจนนิกเพื่อเพิ่มการกินไดของสัตว • ดวยสูตรการทํางาน 3 ขั้นตอน เพื่อประสิทธิภาพการเลี้ยงที่ดีขึ้น • ดวยเทคโนโลยี ไบโอมิน ดูเพล็กซ แคปซูล Biomin® Duplex Capsule ที่มีคุณลักษณะเฉพาะ เพื่อชวยปรับปรุงประสิทธิภาพการแลกเนื้อ บริ ษัท เออร์ เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จํากัด 1/913 ถ.พหลโยธิน 60 ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท: (02) 993 7500, แฟกซ: (02) 993 8499
www.thefeedconverter.com
Naturally ahead
Market Leader
การเลี้ยงกุ้งขาว ในเขตพื้นที่ความเค็มต�่ำในช่วงฤดูฝน การเลีย้ งกุง้ ขาวเมือ่ เข้าสูช่ ว่ งฤดูฝน ความเค็มในการเลีย้ งอาจจะลดลงจนถึง 0 - 5 พีพที ี เป็นผลให้การเลีย้ งกุง้ ขาวไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าทีค่ วร จึงขอน�ำเสนอ การเลี้ยงกุ้งตามแนวทาง 3 สะอาด และข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงกุ้งในความ เค็มต�ำ่ แก่เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ ให้มคี วามเข้าใจ มีการวางแผนเตรียมความพร้อม และ มีการจัดการเลีย้ งทีด่ ี เพือ่ ให้การเลีย้ งกุง้ ในฤดูฝนนีป้ ระสบความส�ำเร็จเพิม่ มากขึน้
ปรับโครงสร้างฟาร์มเพื่อให้มีน้ำ�สะอาดใช้อย่างเพียงพอ การมีน�้ำสะอาดอย่างเพียงพอเป็นหัวใจส�ำคัญที่มีผลต่อความส�ำเร็จของการ เลี้ยงกุ้งในปัจจุบัน เนื่องจากแนวทางการเลี้ยงกุ้งในปัจจุบันให้ความส�ำคัญกับการ ควบคุมปริมาณสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ยงซึ่งเป็นอาหารของแบคทีเรีย เพื่อควบคุมการ เพิ่มจ�ำนวนของแบคทีเรียที่มีอยู่ในบ่อไม่ให้มีปริมาณมากเกินไปจนสร้างปัญหาต่อ กุ้ง จึงต้องมีการดูดตะกอน และเปลี่ยนถ่ายน�้ำเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ยังช่วยให้ สภาพแวดล้อมในบ่อเหมาะสมกับการเลี้ยง โดยท�ำให้พื้นบ่อสะอาด ลดปัญหาการ เกิดสารพิษต่างๆ ในน�้ำ จึงท�ำให้กุ้งมีสุขภาพดี แข็งแรง และมีการเจริญเติบโต ที่ดี น�้ำสะอาด หมายถึง น�้ำที่ปลอดจากเชื้อก่อโรค รวมทั้งตะกอน และสารอินทรีย์ ต่างๆ ดังนั้น การจะได้น�้ำที่สะอาดมาใช้ในการเลี้ยง จึงต้องผ่านขั้นตอนการบ�ำบัด ซึ่งจะต้องมีบ่อที่ท�ำหน้าที่แตกต่างกัน ได้แก่ บ่อพักน�้ำ บ่อบ�ำบัดน�้ำ และบ่อน�้ำ พร้อมใช้ เพื่อให้มีน�้ำสะอาดเพียงพอส�ำหรับใช้เปลี่ยนถ่ายตลอดระยะเวลาของ การเลีย้ ง นอกจากนี้ ต้องมีบอ่ เก็บตะกอน แยกเก็บตะกอนขีก้ งุ้ คราบกุง้ ฯลฯ ออก จากระบบการบ�ำบัดน�้ำ เพื่อให้น�้ำที่ผ่านการเลี้ยงสามารถหมุนเวียนกลับมาบ�ำบัด ได้ง่าย และรวดเร็วขึ้น โดยสัดส่วนของระบบบ�ำบัดน�้ำ และพื้นที่เก็บน�้ำต่อพื้นที่ บ่อเลี้ยงที่เหมาะสมไม่ควรต�่ำกว่า 70:30
ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 30 ฉบับที่ 359 มิถุนายน 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
37
Market Leader รูปที่ 1 โครงสร้างฟาร์มตามแนวทาง 3 สะอาด
1. ลักษณะบ่อเลี้ยง บ่อเลี้ยงควรเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส ขนาดบ่อ 2 - 2.5 ไร่ ความลึกบ่อ 2 - 2.5 เมตร เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการระหว่างการเลี้ยง โดยมี หลุมรวมตะกอนทรงกรวย ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เมตร/ไร่ ความลึกของหลุม 2 เมตร และ ใส่ท่อซีเมนต์ปลายปิด ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร ความสูง 80 เซนติเมตร ที่ก้นหลุมเพื่อ รวมตะกอน พื้นบ่อควรมีความลาดเอียงจากทุก ด้านเข้าสู่หลุมรวมตะกอน ในอัตราส่วน 1.5:100 2. บ่อเลี้ยง และบ่อบ�ำบัดน�้ำควรปูด้วย พีอี 100% การปู ด ้ ว ยพี อี ทั้ ง บ่ อ ท� ำ ให้ ส ามารถ ก�ำจัดตะกอนที่ตกค้าง ขัดล้างท�ำความสะอาด พื้นบ่อ และฆ่าเชื้อด้วยสารเคมีที่เหมาะสมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การปูบ่อด้วยพีอี ยังช่วยให้การรวมตะกอนในระหว่างการเลีย้ ง ท�ำให้ ก�ำจัดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังช่วยให้ ระยะเวลาในการเตรียมบ่อสั้นลงอีกด้วย
38 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
3. ระบบดูดตะกอน ในการก�ำจัดตะกอนให้มีประสิทธิภาพ นั้น ควรมีเครื่องดูดตะกอน ขนาดท่อ 4 นิ้ว มอเตอร์ 5 แรงม้า จ�ำนวน 2 เครื่อง โดยเครื่อง ตัวที่ 1 ใช้ดูดตะกอนขี้กุ้ง เปลือกกุ้ง และซาก แพลงก์ตอนที่ก้นหลุม โดยวางปลายท่อห่างจาก พื้นก้นหลุม 10 เซนติเมตร ส่งไปทิ้งยังบ่อเก็บ ตะกอน ส่วนเครือ่ งตัวที่ 2 ใช้ดดู ตะกอนแขวนลอย บริเวณกลางหลุม โดยวางปลายท่อห่างจากพื้น ก้นหลุมประมาณ 1.5 เมตร ส่งไปยังบ่อพักน�ำ้ เพือ่ น�ำน�้ำกลับมาบ�ำบัดใช้ใหม่ 4. ระบบป้องกันโรค ควรมี รั้ ว รอบฟาร์ ม เพื่ อ ป้ อ งกั น สั ต ว์ ต่างๆ รวมทั้งคน รั้วกันปู ตาข่ายกันนก ขนาดตา 5 เซนติเมตร และจะต้องมีจุดฆ่าเชื้อยานพาหนะ ต่างๆ ก่อนทีจ่ ะเข้าฟาร์ม รวมทัง้ มีอปุ กรณ์สำ� หรับ ฆ่าเชือ้ ประจ�ำบ่อ เพือ่ ให้ผทู้ จี่ ะเข้าไปปฏิบตั งิ านใน บ่อฆ่าเชือ้ ทีม่ อื และเท้าก่อนเข้าทุกครัง้ นอกจากนี้ อุปกรณ์การเลี้ยงที่ใช้งานประจ�ำควรมีประจ�ำบ่อ ส่วนอุปกรณ์บางอย่างที่จ�ำเป็นต้องใช้ร่วมกัน จะ ต้องท�ำการฆ่าเชื้อก่อนทุกครั้งที่จะใช้งานในบ่อ
Market Leader
น้ำ�สะอาด น�้ำสะอาด คือน�้ำที่มีปริมาณสารอินทรีย์ ละลายน�้ำ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า ค่าดีโอซี (Dissolved Organic Carbon, DOC) ต�่ำ ไม่มีตะกอน ไม่มีสาหร่ายสีเขียวแกมน�้ำเงิน และไม่มีเชื้อโรค ต่างๆ และต้องมีปริมาณน�ำ้ สะอาดทีเ่ พียงพอตลอด ระยะเวลาการเลี้ยงกุ้ง ในเขตพื้นที่ความเค็มต�่ำ ต้ อ งมี ก ารปรั บ เพิ่ ม ความเค็ ม ในน�้ ำ ให้ ไ ด้ ค วาม เค็ม 5 พีพีที และค�ำนึงถึงสารอินทรีย์ที่อยู่ในรูป ตะกอนแขวนลอย และแพลงก์ ต อนที่ มี อ ยู ่ ใ น แหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ จึงต้องมีการเติมสารจับตะกอน เคลียร์วอเตอร์ โดยสามารถหาปริมาณความเข้มข้น ของสารจับตะกอนที่ใช้ (พีพีเอ็ม) ได้จากการน�ำ น�้ ำ จากแหล่ ง น�้ ำ ธรรมชาติ ไ ปตรวจหาค่ า ความ ต้องการสารจับตะกอน (Jar Test) ก่อน จึงเริ่ม ขั้นตอนการบ�ำบัดน�้ำดังนี้ เริ่มจากการสูบน�้ำจากแหล่งธรรมชาติเข้า สู่บ่อบ�ำบัด โดยลงสารจับตะกอนเคลียร์วอเตอร์ ความเข้มข้นตามผลตรวจ Jar Test จากนัน้ ปล่อย ให้สารจับตะกอนตกตะกอนจนน�ำ้ ใส จึงท�ำการลง คลอรีน ฮาร์ดคลอร์ 15 - 20 พีพีเอ็ม วันถัดไป ท�ำการสูบย้ายน�ำ้ ผ่านใยฟูไปยังบ่อน�ำ้ พร้อมใช้ ท�ำ การลงด่างทับทิม 5 พีพีเอ็ม ทิ้งไว้ประมาณ 3 - 6 ชั่วโมง แล้วลงซุปเปอร์เซฟ 10 พีพีเอ็ม หลังจาก ทิ้งน�้ำไว้ 12 ชั่วโมง (ดังรูปที่ 2) สามารถน�ำน�้ำ ไปใช้ได้ โดยน�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดแล้ว เมื่อตรวจวัด ค่าความขุ่นใส (Turbidity) จะต้องมีค่าไม่เกิน 1 NTU และต้องไม่พบเชื้อแบคทีเรียในน�้ำ
รูปที่ 2 ขั้นตอนการบำ�บัดน้ำ�ก่อนนำ�ไปใช้
กรณี ฤ ดู ฝ น แหล่ ง น�้ ำ ธรรมชาติ มั ก จะมี ปัญหาความขุ่นของน�้ำจากตะกอนต่างๆ ที่แขวน ลอยในน�้ำมากกว่าปกติ ดังนั้น การบ�ำบัดน�้ำต้อง ให้ความส�ำคัญในการตกตะกอนมากขึน้ จึงจ�ำเป็น ต้องน�ำน�้ำจากแหล่งน�้ำธรรมชาติไปตรวจหาค่า ความต้องการของสารจับตะกอน (Jar Test) ทุกครัง้ ที่มีการสูบน�้ำเข้ามาใช้
การวางเครื่องตีน้ำ� และระบบการให้อากาศใต้น้ำ� การวางเครื่องตีน�้ำ ควรค�ำนึงถึงประสิทธิภาพการรวมตะกอน โดยติดตั้งเครื่องตีน�้ำจ�ำนวน 9 แรงม้า/ไร่ ใบพัดควรเป็นแบบใบพาย รอบการ ตีน�้ำอยู่ที่ 75 รอบ/นาที และติดตั้งเครื่องรูท โบลเวอร์ 10 แรงม้า พร้อมจานให้อากาศ 50 จาน/ ไร่ วางสลับฟันปลารอบบ่อ 2 วง โดยเริ่มต้นวาง ห่างจากขอบบ่อ 2 เมตร และมีระยะห่างระหว่าง จาน 3 เมตร เพื่อเพิ่มและกระจายออกซิเจน ในน�้ำให้ทั่วทั้งบ่อ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
39
Market Leader
การเลี้ยงกุ้งในเขตพื้นที่ความเค็มต่ำ� โดยเริม่ จากการสูบน�ำ้ จากบ่อน�ำ้ พร้อมใช้ เข้าสูบ่ อ่ เลีย้ งโดยผ่านการกรองด้วยใยฟู ให้ได้นำ�้ ทีร่ ะดับ ความลึก 1.2 - 1.5 เมตร มีการปรับค่าคุณภาพน�้ำให้เหมาะสม (ตารางที่ 1) ก่อนการปล่อยกุ้งก็มีการ ท�ำความสะอาดโดยดูดตะกอน 3 ครัง้ /วัน ลูกกุง้ ทีล่ ง ต้องเป็นลูกกุง้ คุณภาพของบริษทั ซีพเี อฟ ทีป่ ลอด เชื้อโรค ทนทานโรค โตเร็ว ซึ่งอัตราความหนาแน่นในการปล่อยอยู่ที่ 100,000 - 200,000 ตัว/ไร่ ขึ้นอยู่กับศักยภาพ และความพร้อมของแต่ละฟาร์ม ตารางที่ 1 ค่าคุณภาพน้ำ�ทีเ่ หมาะสมต่อการเลีย้ งกุง้ ในเขตพืน้ ทีค่ วามเค็มต่ำ� คุณภาพน�้ำระหว่างการเลี้ยง พีเอช ออกซิเจน แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม แอมโมเนีย ไนไตรท์ อัลคาไลน์ ความโปร่งแสงของน�้ำ
ค่าที่จัดการได้ในพื้นที่ 7.6 - 8.0 (ไม่ควรเกิน 0.4/วัน) มากกว่า 6 พีพีเอ็ม ไม่ต�่ำกว่า 200 พีพีเอ็ม ไม่ต�่ำกว่า 200 พีพีเอ็ม ไม่ต�่ำกว่า 200 พีพีเอ็ม ไม่เกิน 0.5 พีพีเอ็ม ไม่เกิน 0.5 พีพีเอ็ม ไม่ต�่ำกว่า 150 พีพีเอ็ม เดือนที่ 1 : 60 - 80 ซม. เดือนที่ 2 : 40 - 60 ซม. เดือนที่ 3 : 30 - 40 ซม.
ตารางที่ 2 การให้วิตามินและอาหารเสริม การคลุกวิตามินและอาหารเสริม (สัดส่วนต่ออาหาร 1 กิโลกรัม) 1. เบต้ามิน 2. ไซมิติน 3. ซานาคอร์ 4. โค้ส
10 10 5 3
กรัม กรัม กรัม ซีซี/น�้ำ 100 ซีซี
***ทุกมื้อ ช่วง 1 เดือนแรก***
40 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader การให้อาหารช่วงอายุ 1 - 15 วัน ให้ตาม โปรแกรมอาหารของบริษัท ซีพีเอฟ และหลังจาก นัน้ เริม่ เช็คยอ และปรับอาหารตามความต้องการ ของกุ้ง โดยอาหารที่ให้ มีการผสมวิตามิน และ อาหารเสริมตามตารางที่ 2 ระหว่างการเลี้ยง มี การเก็บตัวอย่างน�ำ้ และกุง้ ส่งตรวจคุณภาพทีห่ อ้ ง ปฏิบัติการแล็ปทุกสัปดาห์ และน�ำผลจากการ ตรวจมาช่วยในการตัดสินใจในการท�ำงาน โดยมี การควบคุมคุณภาพน�้ำให้ได้ตามตารางที่ 1 เชื้อ แบคทีเรียในกระเพาะกุง้ ต้องมีคา่ ไม่เกิน 103 ส�ำหรับ การดูดตะกอนก้นหลุม (เครื่องตัวที่ 1) ในช่วง 1 - 10 วัน จะท�ำการดูดตะกอน 3 ครัง้ /วัน หลักการ ดูดคือ ดูดจนกว่าจะเห็นน�้ำใส โดยระยะเวลาของ การดูดแต่ละครัง้ จะต้องเผือ่ เวลาไว้ เพือ่ กันตะกอน บางส่วนทีย่ งั ค้างไหลตามมาอีก หลังจากนัน้ ตัง้ แต่
15 วันขึน้ ไป จะตัง้ ดูดแบบอัตโนมัติ เริม่ แรกจะตัง้ เวลาดูดตะกอน 5 นาที ทุกๆ 2 ชัว่ โมง หลังจากนัน้ ความถี่ และระยะเวลาในการดูดตะกอนจะขึ้น อยู่กับปริมาณอาหารที่กิน และความเข้มของสีน�้ำ ในบ่อเลีย้ ง รวมทัง้ ถ้าผลตรวจกุง้ พบเชือ้ แบคทีเรีย ในกระเพาะกุง้ มีคา่ ตัง้ แต่ 103 ขึน้ ไป จะต้องท�ำการ เปลี่ยนถ่ายน�้ำมากขึ้นกว่าโปรแกรมที่ตั้งไว้ และ การดูดตะกอนแขวนลอยกลางหลุม (เครื่องตัว ที่ 2) เริ่มต้นตั้งเวลาดูด 5 นาที ทุกๆ 6 ชั่วโมง ตั้งแต่วันแรกที่ปล่อยกุ้ง หลังจากนั้นความถี่ และ ระยะเวลาในการดูดตะกอนแขวนลอยจะขึ้นอยู่ กับความเข้มของสีน�้ำ นอกจากนี้ ยังจ�ำเป็นต้อง ลงจุลินทรีย์ระหว่างการเลี้ยงเป็นโปรแกรม เพื่อ ควบคุมปริมาณสารอินทรีย์ที่ละลายในน�้ำ
ตารางที่ 3 ผลการเลี้ยงกุ้งด้วยแนวทาง 3 สะอาด รายละเอียด พื้นที่บ่อเลี้ยง (ไร่) จ�ำนวนลูกกุ้งปล่อย (PL) (ตัว) ระยะเวลาการเลี้ยง (วัน) ขนาดกุ้ง (ตัว/กก.) ปริมาณกุ้งทั้งหมด (กก.) ผลผลิต (กก./ไร่) อัตราการเจริญเติบโต (กรัม/ตัว/วัน) อัตราแลกเนื้อ อัตรารอด (%) ความเค็มในการเลี้ยง (พีพีที)
คุณวีระศักดิ์ 2 250,000 104 38 6,560 3,280 0.25 1.23 100 5
คุณเอก 3 500,000 94 36 13,700 4,567 0.30 1.44 99 5
คุณวิโรจน์ คุณส�ำเริง คุณส�ำเริง 4 3 3 700,000 700,000 700,000 92 103 116 46 32 28 14,700 15,500 17,100 3,675 5,167 5,700 0.24 0.30 0.31 1.12 1.48 1.55 97 71 68 4 4 4
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
41
Market Leader ในช่วงฤดูฝน เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจะต้อง ระมัดระวังปัญหาการเปลีย่ นแปลงของคุณภาพน�ำ้ ในบ่อ โดยเฉพาะในช่วงที่อากาศปิด หรือมีฝนตก ติดต่อกันหลายๆ วัน ท�ำให้อุณหภูมิของน�้ำในบ่อ ลดลง มีผลต่อการกินอาหารของกุ้ง จ�ำเป็นต้อง หมั่นตรวจเช็คการกินอาหารของกุ้ง และปรับ อาหารให้เหมาะสมทันการณ์ตลอดเวลา นอกจาก นี้ ยังมีผลต่อกระบวนการสังเคราะห์แสง ส่งผล ให้ปริมาณออกซิเจนอาจมีไม่เพียงพอ มีผลท�ำให้ พีเอช และอัลคาไลนิตี้ของน�้ำในบ่อต�่ำกว่าระดับ ที่เหมาะสม จึงต้องหมั่นตรวจเช็ค และปรับให้อยู่ ในช่วงที่เหมาะสม ในพื้นที่การเลี้ยงกุ้งที่มีความ เค็มต�่ำจะประสบปัญหาแร่ธาตุต่างๆ ที่จ�ำเป็น มี ไม่เพียงพอต่อความต้องการของกุ้งรุนแรงขึ้น ท�ำ ให้กุ้งเครียด เป็นสาเหตุให้กุ้งติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น กุ้งเสียหายจากการลอกคราบมากขึ้น ดังนั้น เกษตรกรจะต้องหมั่นตรวจสอบแร่ธาตุที่ จ�ำเป็นต่างๆ ว่ามีเพียงพอต่อความต้องการของกุง้ หรือไม่ เกษตกรควรมีชุดทดสอบอย่างง่าย (Test Kit) ซึ่งเครือเจริญโภคภัณฑ์มีชุดตรวจวัดแร่ธาตุ ที่จ�ำเป็นในน�้ำอย่างครบถ้วน เกษตรกรสามารถ ตรวจวัดได้เองทีฟ่ าร์มเป็นประจ�ำ เนือ่ งจากเป็นวิธี
42 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
ที่ง่าย สะดวก รวดเร็ว รวมทั้งมีความถูกต้องและ แม่นย�ำ ซึ่งปริมาณที่เหมาะสมของแร่ธาตุแต่ละ ชนิดที่จ�ำเป็นต่อกุ้งคือ แคลเซียมไม่ควรน้อยกว่า 200 พีพีเอ็ม แมกนีเซียมไม่ควรน้อยกว่า 200 พีพีเอ็ม และโพแทสเซียมไม่ควรน้อยกว่า 100 พีพีเอ็ม ทั้งนี้เมื่อท�ำการตรวจวัดค่าแร่ธาตุต่างๆ ในน�ำ้ แล้ว พบว่าต�ำ่ กว่าค่าทีเ่ หมาะสม จะต้องมีการ เติมสารเพือ่ เพิม่ แร่ธาตุลงไปในน�ำ้ โดยสารส�ำหรับ เพิ่มแคลเซียมในน�้ำ ได้แก่ แคลเซียม - ทีเอ และ แคลเซียม - แมกซ์ สารส�ำหรับเพิ่มแมกนีเซียมใน น�้ำ ได้แก่ แมกนีเซียม - เอดี ส่วนสารส�ำหรับเพิ่ม โพแทสเซียมในน�้ำ ได้แก่ โพแทสเซียม - แมกซ์ และเค - แมก เป็นต้น ความส�ำเร็จในการเลีย้ งกุง้ นอกจากจะต้อง มีการเตรียมความพร้อมของฟาร์มให้เอือ้ กับระบบ การเลีย้ ง และมีการจัดการทีเ่ หมาะสมกับข้อจ�ำกัด ของแต่ละสภาพการเลีย้ งแล้ว เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ จะต้องมีการปรับตัว ยอมรับการเปลี่ยนแปลง และพร้อมที่จะรับความรู้ใหม่ เพื่อน�ำมาปรับใช้ให้ เหมาะสมกับสภาพการเลีย้ งของแต่ละฟาร์ม เพือ่ ให้ การเลีย้ งกุง้ ประสบความส�ำเร็จ มีความแน่นอน และ ผลการเลี้ยงที่สม�่ำเสมอมากยิ่งขึ้น
Market Leader
5 พันธมิตรปศุสัตว์ ประกาศเจตนารมณ์
คุมใช้ยาปฏิชีวนะ!!
สัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปภัมภ์ฯ ร่วมกับ กรมปศุสัตว์ สัตวแพทยสภา สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก และ สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกร ประกาศเจตนารมณ์ ควบคุมการใช้ ยาปฏิชีวนะในฟาร์มปศุสัตว์ ตั้งเป้าการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพของ ประเทศไทย ลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ลงร้อยละ 30 ภายในปี 2564 วันนี้ (7 ส.ค. 61) นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็น ประธานเปิดงานสัมมนาหลักสูตร “มุง่ มัน่ รวมใจ สินค้าปศุสตั ว์ไทย ปลอดภัย จาก ยาปฏิชีวนะ” พร้อมแสดงวิสัยทัศน์การใช้ยาปฏิชีวนะในวงการปศุสัตว์ โดยมี นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์ ในฐานะนายก สัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ ผศ.นายสัตวแพทย์ ดร.ธวัชชัย ศักดิ์ภู่อร่าม นายกสัตวแพทยสภา ผศ.นายสัตวแพทย์ ดร.สุเจตน์ ชื่ น ชม นายกสมาคมสั ต วแพทย์ ค วบคุ ม ฟาร์ ม สุ ก รไทย และน.สพ.สุ เ มธ ทรัพย์ชูกุล นายกสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก ร่วมแสดงวิสัยทัศน์ ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ ที่มา : สยามรัฐออนไลน์ 7 สิงหาคม 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
43
Market Leader นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรม ปศุสัตว์ กล่าวว่า กรมปศุสัตว์เป็นองค์กรหลัก ที่ขับเคลื่อนการปศุสัตว์ไทย สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่ ง ยื น ในตลาดโลก โดยมี ภ ารกิ จ ก� ำ หนด ทิศทาง นโยบาย ควบคุม ก�ำกับ ส่งเสริม วิจัย ถ่ายทอดเทคโนโลยี พัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับ การปศุสัตว์ เพื่อให้ปศุสัตว์และสินค้าปศุสัตว์ มี มาตรฐาน ถูกสุขอนามัย ปราศจากโรค สารตกค้าง และสารปนเปื้อน มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม และสามารถแข่งขันได้ในระดับ สากล ส�ำหรับปัญหาการดื้อยาปฏิชีวนะ ถือเป็น ปัญหาส�ำคัญ และก�ำลังอยู่ในความสนใจในระดับ นานาชาติ ประเทศไทยได้ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งนี้ ด้ ว ยเช่ น กั น โดยมี ก ารจั ด ท� ำ แผนยุ ท ธศาสตร์ การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศไทย นอกจากนี้ กรมปศุสัตว์ยังได้บรรจุโครงการ “การ เลี้ยงสัตว์ปลอดการใช้ยาปฏิชีวนะในระบบการ ผลิ ต สิ น ค้ า ปศุ สั ต ว์ ” ลงในแผนปฏิ บั ติ ก ารการ จัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560 - 2564 ทัง้ นี้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย ของแผนยุ ท ธศาสตร์ ที่ จ ะลดปริ ม าณการใช้ ย า ปฏิ ชี ว นะส� ำ หรั บ สั ต ว์ ล งร้ อ ยละ 30 ภายในปี 2564 อีกทัง้ การทีก่ รมปศุสตั ว์มหี น้าทีใ่ นการตรวจ ประเมิน รับรอง ก�ำกับ ดูแล การผลิตสินค้า ปศุสตั ว์ทงั้ ห่วงโซ่ โดยเริม่ ตัง้ แต่โรงงานผลิตอาหาร สัตว์ ฟาร์มมาตรฐาน รวมถึงสัตวแพทย์ผู้ควบคุม ฟาร์ม ที่เป็นภาคส่วนที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะ และ ในส่วนของโรงฆ่าสัตว์ สถานที่จ�ำหน่ายสินค้า ปศุสตั ว์ เป็นภาคส่วนทีม่ กี ารตรวจสอบการตกค้าง ของยาปฏิชีวนะ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า กรมปศุสัตว์ ได้บรรจุกฎระเบียบ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ ในการก�ำกับ ดูแล เช่น พระราชบัญญัติควบคุม คุณภาพอาหารสัตว์ มีการระบุสารต้องห้ามทีห่ า้ ม
44 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
ผสมในอาหารสัตว์ ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วย การขอรับและออกใบรับรองการปฏิบัติทางการ เกษตรทีด่ ดี า้ นปศุสตั ว์ หรือมาตรฐานฟาร์ม มีการ ระบุบทลงโทษในกรณีที่ตรวจพบสารตกค้าง หรือ สารต้องห้ามในผลิตภัณฑ์ ระเบียบกรมปศุสัตว์ ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรองสัตวแพทย์ ผู้ควบคุมฟาร์มเลี้ยงสัตว์ มีการระบุบทลงโทษใน กรณีที่ตรวจพบสารตกค้าง หรือสารต้องห้ามใน ผลิตภัณฑ์ ซึง่ มีสาเหตุมาจากสัตวแพทย์ผคู้ วบคุม ฟาร์ม โดยอาจจะพักใช้หรือเพิกถอนใบรับรอง สัตวแพทย์ผคู้ วบคุมฟาร์มเลีย้ งสัตว์ กิจกรรม Monitoring plan เพือ่ เฝ้าระวังสารตกค้างทีม่ กี ารเก็บ ตัวอย่างสินค้าส่งตรวจทั้งจากโรงฆ่าสัตว์ รวมถึง สถานทีจ่ ำ� หน่ายเนือ้ สัตว์ และขอย�ำ้ ว่ากรมปศุสตั ว์ จะเป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลือ่ นการลดการ ใช้ยาปฏิชวี นะในสินค้าปศุสตั ว์ รวมถึงการไม่ใช้ยา ปฏิชวี นะในการเลีย้ งสัตว์ ทัง้ นี้ เพือ่ ความปลอดภัย ในสินค้าปศุสัตว์ส�ำหรับผู้บริโภค ด้าน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิ บ ดี ก รมปศุ สั ต ว์ ในฐานะนายก สัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ฯ กล่าวว่า สัตวแพทยสมาคมแห่ง ประเทศไทยฯ เป็นสมาคมทีม่ ภี ารกิจหน้าทีใ่ นด้าน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสัตวแพทย์ เช่น ส่งเสริมการ ประกอบวิชาชีพสัตวแพทย์ให้ดียิ่งขึ้น ส่งเสริม วิชาชีพสัตวแพทย์ให้มีมาตรฐานสูงขึ้น เผยแพร่ ความรู้ทางวิชาการ และส่งเสริมวิชาชีพให้มีการ พัฒนาให้ทันสมัย โดยได้มีการจัดประชุมวิชาการ สัตวแพทย์ รวมถึงการให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำแก่บคุ คล ทั่วไปในด้านการปศุสัตว์ และการเลี้ยงสัตว์ เพื่อ ให้ผลิตภัณฑ์สินค้าปศุสัตว์มีความปลอดภัยต่อ ผู้บริโภค และเป็นไปตามมาตรฐานสากล ส�ำหรับ การใช้ยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงสัตว์นั้น สัตวแพทย์ ถือว่าเป็นผูท้ มี่ บี ทบาทส�ำคัญในการควบคุม ก�ำกับ
Market Leader
ดูแล การใช้ยาให้ถูกต้องเหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยต้องมีการวินิจฉัยโรคให้ถูกต้องก่อนการ ใช้ยาเพื่อการบ�ำบัดรักษาโรคในสัตว์ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในการใช้ยาปฏิชวี นะในการรักษาโรคสัตว์ ต้องมีการใช้อย่างเหมาะสม และใช้ตามความ จ�ำเป็นเท่านัน้ ซึง่ เป็นเป้าหมายส�ำคัญทีส่ ตั วแพทย์ สมาคมแห่งประเทศไทยฯ ได้ร่วมมือกับทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น สัตวบาล และเกษตรกร ผู้เลี้ยงสัตว์ ซึ่งสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ว่าด้วย การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศไทย ที่ มี เ ป้ า หมายส� ำ คั ญ คื อ ลดปริ ม าณการใช้ ย า ปฏิชีวนะในสัตว์ลงร้อยละ 30 ภายในปี 2564 “ทั้งนี้ สัตวแพทยสมาคมฯ ได้ร่วมมือกับ สัตวแพทยสภา และภาคมหาวิทยาลัยในการจัดท�ำ แนวทางปฏิบตั ิ (Guideline) การใช้ยาปฏิชวี นะใน สัตว์เพือ่ เป็นคูม่ อื ให้สตั วแพทย์มกี ารใช้ยาได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม และสัตวแพทยสมาคมแห่ง ประเทศไทยฯ ขอประกาศว่า จะเป็นองค์กรทีม่ งุ่ มัน่ ให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะในวงการปศุสัตว์อย่าง เหมาะสม เพื่อให้สินค้าปศุสัตว์ไทยปลอดภัยต่อ ผูบ้ ริโภค เป็นไปตามมาตรฐานสากล และเป็นสิง่ ที่ วิชาชีพสัตวแพทย์ได้ถอื ปฏิบตั มิ าโดยตลอด” นายก สัตวแพทยสมาคมฯ กล่าว
ผศ.นายสัตวแพทย์ ดร.ธวัชชัย ศักดิภ์ อู่ ร่าม นายกสัตวแพทยสภา กล่าวว่า สัตวแพทยสภา เป็นองค์การมาตรฐานวิชาชีพการสัตวแพทย์ เพือ่ ประโยชน์ต่อสังคม โดยร่วมมือจากทุกภาคส่วน ซึ่งวัตถุประสงค์ของสัตวแพทยสภา มีด้วยกัน หลายประการเช่น ควบคุมการประกอบวิชาชีพ การสัตวแพทย์ ควบคุมความประพฤติ และการ ด�ำเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ให้ถกู ต้องตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพสัตวแพทย์ ส่งเสริมการศึกษา การวิจยั และการประกอบวิชาชีพ การสัตวแพทย์ ช่วยเหลือ แนะน�ำ เผยแพร่ และ ให้การบริการทางด้านวิชาการแก่สมาชิก รวมทั้ง ประชาชนและองค์กรอื่นในเรื่องเกี่ยวกับวิชาชีพ การสัตวแพทย์ โดยมีการพัฒนาวิชาชีพการสัตวแพทย์ให้มคี ณ ุ ภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ องค์กรให้มีประสิทธิภาพ คุ้มครองผู้บริโภค และ ส่งเสริมการประกอบวิชาชีพให้เป็นไปตามมาตรฐาน และมีความเป็นธรรม และสร้างการมีส่วน ร่วมของทุกภาคส่วนส�ำหรับการใช้ยาปฏิชีวนะใน วงการปศุสัตว์สัตวแพทยสภา จะเป็นองค์กรที่ มุ่งมั่นให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะในวงการปศุสัตว์ อย่างเหมาะสม เพื่อความปลอดภัยต่อผู้บริโภค เป็นไปตามมาตรฐานสากล และเป็นสิ่งที่วิชาชีพ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
45
Market Leader สัตวแพทย์ได้ถือปฏิบัติมาโดยตลอด ดังปณิธาน ที่ว่า “สัตวแพทยสภา ยึดมั่นมาตรฐาน สานความ ร่วมมือ ยึดถือประโยชน์ต่อสังคม” ขณะที่ ผศ.นายสัตวแพทย์ ดร.สุเจตน์ ชืน่ ชม นายกสมาคมสั ต วแพทย์ ค วบคุ ม ฟาร์ ม สุ ก รไทย กล่าวว่า สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย มีภารกิจหน้าที่หลักในการส่งเสริมให้สมาชิกสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกร รับผิดชอบดูแลสุขภาพ และ ป้องกันโรคแก่สุกรตามหลักวิชาการ รวมถึงการให้ความรู้ค�ำแนะน�ำแก่บุคคลทั่วไปในด้านการจัดการ สุขภาพสุกร ทัง้ นีเ้ พือ่ ยกระดับวิชาชีพให้เป็นทีย่ อมรับแก่สงั คม และยังมีหน้าทีใ่ นการส่งเสริมการบริโภค เนือ้ สุกรทีม่ คี ณ ุ ภาพและความปลอดภัย ส�ำหรับแนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพในสุกร สมาชิกของสมาคม ถือเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการควบคุม ก�ำกับ ดูแล การใช้ยาอย่างถูกต้อง และสมเหตุสมผลตามหลัก วิชาการ ทัง้ นีส้ มาคมถือเป็นความรับผิดชอบทีจ่ ะผลิตเนือ้ สุกรทีป่ ลอดภัยจากการตกค้างของยาปฏิชวี นะ โดยสมาคมได้ร่วมมือกับภาคส่วนอื่นๆ เช่น เกษตรกร สัตวบาล ผู้บริโภค ในการแก้ปัญหาการดื้อยา เพื่อสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ว่าด้วยการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศไทย ที่มีเป้าหมาย ส�ำคัญคือ ลดปริมาณการใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์ลงร้อยละ 30 ภายในปี 2564 ต่อไป น.สพ.สุเมธ ทรัพย์ชูกุล นายกสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก กล่าวว่า ปัจจุบันภาค อุตสาหกรรมอาหารของไทย มีการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตตามหลักอาหารปลอดภัย ได้ มาตรฐานสากล ตรวจสอบย้อนกลับได้ เป็นทีย่ อมรับในเวทีระดับโลก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมไก่เนือ้ ไทย ทีส่ ามารถส่งออกเนือ้ ไก่ไปยังต่างประเทศโดยมีคคู่ า้ ทีส่ ำ� คัญทัง้ สหภาพยุโรป ญีป่ นุ่ และตะวันออกกลาง ซึง่ ยอมรับในมาตรฐานการผลิตของไทยทีส่ ะอาดปลอดภัย ตัง้ แต่การเลีย้ งในระบบโรงเรือน ความสามารถ ของนักโภชนาการอาหารสัตว์ ทีป่ รุงอาหารได้ตรงความต้องการ ไม่เหลือทิง้ ให้เป็นเชือ้ ก่อโรคเพิม่ จ�ำนวน และนักพันธุกรรมก็คัดเลือกสายพันธุ์ที่ มีความต้านทานโรคที่ดี สัตวแพทย์ขจัด โรคที่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ได้เด็ดขาด จึงไม่จ�ำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ หรือหาก มีการหลุดรั่วป่วยก็ต้องรักษา ใช้ยาเท่าที่ จ�ำเป็น ยาต้องมีคุณภาพเพื่อหวังผล
46 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader
การสร้างระบบจัดการฟาร์มใหม่ในการเลี้ยงสุกร
ลดการใช้ปฏิชีวนะในการผลิตสุกร •• รศ.ดร.เนรมิตร สุขมณี ••
การน�ำเสนอมีดังนี้ ๏ สิ่งพิจารณาในการท�ำ Biosecurity กับการผลิตสุกร ๏ สิ่งที่ควรพิจารณา การจัดการฟาร์มสุกร ๏ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงระบบการหย่านมลูกสุกร ๏ ผลลัพธ์จากตัวอย่างการหย่านม
๏ สิ่งพิจารณาในการทำ� Biosecurity กับการผลิตสุกร
• การน�ำสุกรจากที่อ่ืนเข้าฟาร์ม ควรมีการจ�ำกัด หรือไม่ควรน�ำเข้า ถ้าน�ำเข้าควรมีที่กักกัน อย่างน้อย 3 เดือน ให้สุกรที่น�ำเข้าได้ปรับตัวกับ ไวรัส และ แบคที่เรียในฟาร์ม • สัตว์ชนิดอื่นเลี้ยงอยู่ใกล้ มีการเลี้ยงสัตว์กีบ ชนิดอื่น เช่น โค กระบือ • ซากสุกรที่ตาย • การขนย้ายสุกร • ยูนิตใกล้เคียง • ถนนภายในฟาร์ม • ที่ปรึกษา • ผู้มาเยี่ยม ต้องมีเวลาพักโรคก่อนอย่างน้อย 48 ขั่วโมง และต้องมีการอาบน�้ำ เปลี่ยนชุด • อาหาร และน�้ำที่ให้แก่สุกร • นก หนู แมว สุนขั แมลงวัน หนูสามารถน�ำเชือ้ โรคได้หลายโรค แมลงวันน�ำเชือ้ Streptococci แพร่เชื้อได้ไกลถึง 3 กิโลเมตร • วัสดุรองพื้น • การน�ำอาหารที่ท�ำจากสุกรและผลิตภัณฑ์จากภายนอกเข้าฟาร์ม • เสื้อผ้าจากต่างยูนิต • คนขับรถ คนท�ำงานเดินทางไปภายนอกแล้วกลับมาภายในฟาร์ม ต้องมีการควบคุม • สิ่งแวดล้อมภายในฟาร์ม หญ้ารก ต้นไม้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
47
Market Leader
๏ สร้างระบบการจัดการฟาร์มสุกร ตัวสุกร ประกอบด้วย ลูกสุกร แม่สุกรพ่อสุกร สุกรขุน สิ่งแวดล้อม โรงเรือน สุกรกับโรงเรือน
หลายสิ่งที่ควรพิจารณาในการจัดการฟาร์ม • เกษตรกรคุณภาพ SMART FARMERS • การใช้แรงงานคุณภาพ SMART STOCKMANSHIP • 4 ขั้นตอนในการท�ำให้สิ่งแวดล้อมปราศจากโรค • สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกสุกร • การรวมกันของสุกร • การลดความเครียดในฝูงสุกร • การหย่านมลูกสุกร • สร้างความแข็งแรงให้สุกรสาว และนาง • การจัดการสุขภาพพ่อแม่พันธุ์ใน AI • การน�ำสุกรเข้าฟาร์ม • น�้ำ และคุณภาพน�้ำ • เกษตรกรคุณภาพ - อ่านและติดตามข่าวการผลิตใหม่ๆ - อย่าโทษใคร โทษตัวเอง - เข้าฟาร์มเองตลอด - อย่าไปเชื่อที่ปรึกษามาก - มีไหวพริบ - เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในยุคดิจิตอล • คนงานคุณภาพ - จ่ายเงินเพิ่มในแรงงานคุณภาพ แต่สามารถลดแรงงานด้อยคุณภาพลงได้ ท�ำให้ค่าใช้จ่าย เท่ากัน แต่ผลงานออกมามีคุณภาพมากกว่า • การท�ำให้สิ่งแวดล้อมปราศจากโรค - การล้างท�ำความสะอาดโรงเรือนให้ครบขบวนการ และทิ้งให้คอกว่างมากกว่า 7 วัน
48 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader ปริมาณเชื้อโรคหลังการล้างคอกแต่ละระยะ
การท�ำความสะอาดในระดับต่างๆ ต่อ PIA และ CIRCO ใน 5 สัปดาห์หลังคลอด
• สุขภาพลูกสุกร - การจัดการ 99% - การใช้ยา วัคซีน ปฏิชีวนะ 1%
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
49
Market Leader • การรวมลูกสุกร
สถานการณ์ A 5 ยูนิต 1 ยูนิต มีลูกสุกรป่วย 1 ตัว
สถานการณ์ B 1 ยูนิต มีลูกสุกรป่วย 1 ตัว
สถานการณ์ A มี 4 ยูนิต ลูกสุกร 5 ตัว ลูกสุกรป่วย 1 ตัว ท�ำให้เกิดติดเชื้อ 20%
สถานการณ์ B มี 1 ยูนิต ลูกสุกรป่วย 1 ตัว ท�ำให้เกิดติดเชื้อ 80%
แหล่ง: Gerard van Eijden
ตัวเสี่ยงส�ำหรับกลุ่มสุกร - ลูกสุกรหย่านม - ลูกสุกรที่ป่วย - ลูกสุกรที่เครียด - สุกรที่แก่กว่า การรวมสุกรอ่อนแอกับแข็งแรง เท่ากับการรวมโรค - รวมได้เฉพาะลูกสุกรที่แข็งแรง หรือที่ไม่ป่วย - ลูกสุกรที่อ่อนแอ หรือป่วย ต้องแยกออกไปต่างหาก หรือต้องหาที่อยู่ให้เหมาะสม - ลูกสุกรที่รักษา 3 วันแล้วไม่หาย แสดงว่าไม่ตอบสนองแล้ว ควรหาที่อยู่ให้เหมาะสม การสร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกสุกรโดยการจัดการนมน�้ำเหลือง - การรีดนมน�้ำเหลืองแล้วกรอกให้ลูกสุกรทุกตัว - การเก็บลูกสุกรที่ตัวใหญ่วันละชั่วโมงให้ตัวเล็กได้รับน�้ำนมเพิ่ม
50 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader
นมน�้ำเหลือง - เป็นแหล่งภูมิคุ้มกัน และพลังงานแก่ลูกสุกร - ผลิตจากแม่สุกร - ลูกสุกรแรกเกิดต้องอยู่กับแม่สุกร 12 ชั่วโมง - นมน�้ำเหลืองเพียงพอส�ำหรับลูกสุกร 18 ตัว - แม่สุกรสาวให้ปริมาณนมน�้ำเหลืองใกล้เคียงกับแม่สุกรนาง แต่ป้องกันโรคได้น้อยกว่า ระดับภูมิคุ้มกัน 12 ชั่วโมงหลังคลอด ค่าเฉลี่ยภูมิคุ้มกัน 45 กรัม /ครอก - มีความแปรปรวนมากระหว่างลูกสุกร - ถ้าระดับภูมิคุ้มกันในลูกสุกรเท่ากับ 0 กรัม เมื่อ 12 ชั่วโมง ลูกสุกรเหล่านั้นจะตายหมด - ถ้าระดับภูมิคุ้มกันในลูกสุกรอยู่ระหว่าง 5-10 กรัม เมื่อ 12 ชั่วโมง คาดว่าลูกสุกรน่าจะรอด - ถ้าระดับภูมิคุ้มกันในลูกสุกร อยู่ระหว่าง 15-55 กรัม เมื่อ 12 ชั่วโมง มีโอกาสรอด - ถ้าระดับภูมิคุ้มกันในลูกสุกรมากกว่า 55 กรัม เมื่อ 12 ชั่วโมง ลูกสุกรทั้งหมดรอดแน่นอน การเก็บนมน�้ำเหลืองด้วยมือ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
51
Market Leader การให้นมน�้ำเหลืองทางปาก
ลูกสุกรที่ท้องกลาง ต้องถูกกักไว้ในกล่องครั้งละชั่วโมง 2 ครั้งต่อวัน หรือแล้วแต่พิจารณา ของสัตวบาล
๏ การเปลี่ยนแปลงระบบการหย่านม การหย่านมลูกสุกรแบบ 3 Sites • แยกแม่สุกรกลับเข้าเล้าผสมเมื่ออายุเลี้ยงลูก 25 วัน แล้วเลี้ยงลูกต่อในเล้าคลอด • ลูกสุกรที่อ่อนแอ คัดทิ้งออกไป • ลูกสุกรอายุ 14 วัน มีการจัดขนาดตัวเล็ก น�ำไปรวมกัน • อัตราการสูญเสียในเล้าคลอด 8% • น�้ำหนักลูกสุกรเมื่อออกจากเล้าคลอด อายุ 40 วัน 10-11 กิโลกรัม
52 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader
การหย่านมลูกสุกร
• แยกแม่สุกรเมื่ออายุเลี้ยงลูก 25 วัน
• การจัดขนาดลูกสุกร เพื่อแยกลูกสุกรที่อ่อนแอ แหล่งน�ำโรคออกจากลูกสุกร สุขภาพดี
• อายุ 14 วัน แยกลูกสุกรน�้ำหนักน้อย มารวมกัน ก่อนท�ำวัคซีน PRRS • เลี้ยงลูกสุกรในเล้าคลอดจนอายุ 35-40 วัน
• มีการเสริมไฟกก เมื่อลูกสุกรต้องการ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
53
Market Leader
๏ ผลลัพธ์จากการหย่านม • เสียหายในเล้าคลอด 5 - 6% • ลูกสุกรเกรด เอ น�้ำหนัก >8 กก. 80% ของฝูง
• น�้ำหนักออกจากอนุบาลเฉลี่ย 28 กิโลกรัม • อายุออกจากอนุบาล 11 สัปดาห์ • ลูกสุกรเกรด บี น�้ำหนัก 6 - 7.9 กก. 17% ของฝูง
ภาพซ้าย
• ลูกสุกรเกรด ซี น�้ำหนัก <5 กก. 3% ของฝูง ภาพขวา
• เสียหายในอนุบาล 5 - 6%
54 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Market Leader
การหย่านมลูกสุกรแบบ 2 Sites • หย่านมลูกสุกรอายุ 28 วัน เลี้ยงลูกสุกร ในเล้าคลอดอีก 7 วัน
• เสียหายในเล้าคลอด 6-7 % เมื่ออายุ 35 วัน
• น�้ำหนักเฉลี่ยอายุ 35 วัน 7.5 กิโลกรัม
• น�้ำหนักแรกเกิด 1.4 กิโลกรัม • เพิ่มเล้าคลอด 40%
ผลการเลี้ยงในเล้าสุกรขุน • น�้ำหนักออกจากเล้า 95 - 105 กิโลกรัม ที่อายุ 22 สัปดาห์ มีการจ�ำกัดอาหาร 2.4 กิโลกรัม ช่วงท้ายของการขุน โปรตีน 17% 2,850 Kcal • เสียหายที่เล้าขุน 3% • ลดการใช้ยาปฏิชีวนะ เกือบ 85% ทั้งฟาร์ม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
55
Market Leader
ลดการใช้ปฏิชีวนะ • สร้างระบบใหม่ให้ลูกสุกร ไม่ใช่น�ำลูกสุกรไปใส่ระบบ
56 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World
มาตรการเฝ้าระวังและป้องกัน โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันส�ำหรับประเทศไทย
(African Swine Fever Surveillance and Preventive Measures for Thailand) •• อรพันธ์ ภาสวรกุล •• ส�ำนักควบคุม ป้องกัน และบ�ำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์
ð บทคัดย่อ ð โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน (African swine fever, ASF) เป็นโรคไวรัสที่ติดต่อร้ายแรง ในสุกรทุกชนิด เป็นโรคสัตว์แปลกถิ่น (exotic disease) ส�ำหรับประเทศไทย มีรายงานการ เกิดโรคนี้เป็นระยะๆ ในช่วงเวลา 3 ปีที่ผ่านมาจากหลายประเทศที่อยู่ตอนกลางของทวีปยุโรป โดยมีแนวโน้มที่จะแพร่กระจายออกไปในวงกว้าง และเข้าใกล้สู่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มากขึ้น กรมปศุสัตว์ในฐานะหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ อาจจ�ำเป็นต้องเริ่มทบทวนให้ความรู้ แก่เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ผู้เลี้ยงสุกรให้รับรู้ หรือด�ำเนินมาตรการที่อื่นๆ เพื่อเฝ้าระวังป้องกัน มิให้โรคระบาดสัตว์ชนิดนี้เข้ามาภายในประเทศได้ เอกสารนี้ได้รวบรวมองค์ความรู้ทางวิชาการ ที่ทันสมัย การควบคุมป้องกัน ข้อมูลทางระบาดวิทยา ปัจจัยเสี่ยง และน�ำเสนอวิธีการเพื่อ ด�ำเนินการเฝ้าระวังป้องกันโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันที่มีประสิทธิผลเหมาะสมส�ำหรับประเทศไทย เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรของประเทศ ค�ำส�ำคัญ : โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน อหิวาต์สุกร โรคสุกร ควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังโรค
ð Abstract ð African Swine Fever (ASF) is a highly contagious virus infection in pigs and is an exotic disease to Thailand. Over the past 3 years, the outbreaks occurred, from time to time, in countries in the Caucasus region and across the South of the Russian Federation with tendency to spread further. Currently, the disease was reported in much wider areas and possible to approach towards South East Asia. The Department of Livestock Development, in the capacity of the National Veterinary Authority, may need to initially raise measures such as reviewing knowledge for animal health officials, public awareness ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
57
Around The World and conduct surveillance in order to prevent the introduction of ASF into the country. This document reviews current knowledge and technical issues on ASF, epidemiology, risk factors, disease surveillance and preventive measures that appropriated for Thailand to protect the local pig industry. Keywords : African Swine Fever, ASF, Pig disease, Control, Prevention, Surveillance
ð บทนำ� (Introduction) ð โรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั เป็นโรคไวรัสติดต่อร้ายแรงทีเ่ กิดกับสัตว์ในตระกูลสุกรทุกชนิด (pig and its close relatives) เกิดได้ทกุ อายุ และทุกเพศ การเกิดโรคมักมีการระบาดรุนแรงท�ำสัตว์ทตี่ ดิ เชือ้ ตาย เกือบหมด แต่เชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรอัฟริกัน (African swine fever virus, ASFV) มีความทนทานต่อ สิ่งแวดล้อมสูง สุกรที่หายป่วยแล้วยังมีเชื้อไวรัสได้นาน (persistent infection) จึงสามารถเป็นพาหะ ของโรคได้ตลอดชีวิต (carrier for life) ท�ำให้เมื่อเกิดโรคขึ้นในประเทศแล้วยากที่จะก�ำจัดโรคได้หมด ซึ่งในปัจจุบันก็ยังไม่มีวัคซีนเพื่อใช้ป้องกันโรคนี้ ท�ำให้การเกิดโรคระบาดส่งผลกระทบรุนแรงโดยตรง ต่อเศรษฐกิจและสังคมได้สูง แม้ว่าเชื้อนี้จะไม่ติดคน (non-zoonosis) ก็ตาม โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน จึงเป็นความเสีย่ งใหม่อกี ชนิดหนึง่ ส�ำหรับอุตสาหกรรมการเลีย้ งและผลิตสุกรนอกเหนือจากโรคไข้สมอง อักเสบนิปาห์ (Nipah virus encephalitis) ที่ในกลุ่มของโรคสัตว์แปลกถิ่น (exotic diseases) และ โรคอุบัติใหม่ (emerging diseases) ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะพบมากขึ้นอันเป็นผลเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน โรคทั้งสองชนิดเป็นโรคระบาดสัตว์ตามกฎหมาย แต่ระยะต่อไปกรมปศุสัตว์อาจจ�ำเป็นจะต้องด�ำเนิน มาตรการเฝ้าระวังโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันที่เป็นรูปธรรมมากขึ้นเพิ่มเติมจากที่ได้ด�ำเนินการส�ำหรับโรค ไข้สมองอักเสบนิปาห์ เพื่อป้องกันมิให้โรคนี้เข้ามาภายในประเทศ ซึ่งมีอุตสาหกรรมการผลิต และเลี้ยง สุกรที่ก้าวหน้าจนอยู่ในล�ำดับต้นของภูมิภาค ผลผลิตเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์นอกจากเพียงพอส�ำหรับ การบริโภคภายในแล้วยังส่งออกด้วย จึงเป็นสินค้าปศุสัตว์ที่ส�ำคัญในอุตสาหกรรมการเกษตรที่มีมูลค่า มหาศาลของประเทศไทย
ไวรัสวิทยา (Virology) โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันเกิดจากเชื้อไวรัส icoxahedral ขนาดใหญ่ชนิด enveloped DNA แต่เดิม เรียกว่า iridovirus จัดอยู่ในสกุล iridoviridae แต่ได้ถูกจัดเป็นกลุ่มใหม่โดยเฉพาะคือ genus Asfivirus ของ family Asfarviridae ซึ่งมีที่มาจาก African Swine Fever And Related Virus (CIDRAP, 2009) เชื้อมี 1 serotype แต่พบลักษณะถึง 16 genotypes และอีกหลากหลายสเตรน (different strains) ที่ก่อโรคซึ่งมีความรุนแรง (virulence) แตกต่างกัน (FAO, 2007) และเชื้อ ASFV ยังเป็น DNA arbovirus เพียงชนิดเดียวที่ได้พบในปัจจุบัน
58 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World
สัตว์ทตี่ ดิ เชือ้ และแหล่งรังโรคในธรรมชาติ (Natural Hosts and Reservoirs)
ภาพที่ 1 : เชื้อไวรัสโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน ที่มา : FAO, 2007
ภาพที่ 2 : สุกรป่า (Feral pig) ซึ่งเป็นพาหะของ เชื้อไวรัสในธรรมชาติที่ก�ำจัดได้ยาก ที่มา : FAO, 2007
สัตว์ตระกูลสุกรทุกชนิด (all varieties of Sus scrofa) อยู่ใน family Suidae ทั้งสุกรเลี้ยง (domestic pigs หรือ Sus domestica ได้แก่ permanently captive and farmed free-range pigs) สุกรป่า (wild pigs including feral pigs and wild boar เช่น European wild boars และ American wild pigs) และสุกรป่าในทวีปอัฟริกา (African wild swine species) ซึง่ ได้แก่ Warthogs (Phacochoerus spp.) Bush pigs (Potamochoerus larvatus) Red River Hogs (Potamochoerus porcus) ซึ่งไม่แสดงอาการเมื่อติด เชื้อ (unapparent infection) (FAO, 2009) และ Giant forest hogs (Hylochoerus meinertzhageni) เป็น สุกรป่าที่ติดเชื้อไวรัสโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันได้ในธรรมชาติ (natural host) โดยมี African Warthogs และ Bush pigs เป็นแหล่งรังโรคในธรรมชาติ (Natural reservoir) ที่พบได้ [หมายเหตุ : สุกรเลี้ยงมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sus scrofa domesticus แต่มีผู้เขียนบางท่านอาจจะใช้ค�ำว่า Sus scrofa ให้ หมายความเฉพาะสุกรป่า (Wikipedia, 2010) แต่จริงๆ แล้ว ศัพท์ ค�ำนีค้ อื ทัง้ สุกรเลีย้ ง และสุกรป่า ส่วนค�ำว่า Sus domestica หมายถึง สุกรที่น�ำมาเลี้ยง ทั้งที่เลี้ยงในโรงเรือน และแบบปล่อยในทุ่งหญ้า (OIE, 2009)]
พาหะของเชื้อไวรัส
ภาพที่ 3 : เห็บอ่อน (solf ticks) เป็นพาหะ ที่ส�ำคัญของเชื้อไวรัส ASF ที่มา : FAO, 2007
เห็บอ่อน (Argasid ticks หรือ Tampans) ซึง่ ไม่มตี า (soft, eyeless ticks) ใน genus Ornithodoros (Ornithodorus moubata complex) อาศัยอยูใ่ นรังของ Warthog เป็นโฮสต์ ในธรรมชาติของเชื้อโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน และเป็นพาหะ ที่ท�ำให้เชื้อไวรัสเพิ่มปริมาณ (Biological vector) ได้ด้วย วิธีการต่างๆ คือ transstadial, transovarial และ sexual transmission ท�ำให้เชื้อไวรัสอยู่ในเห็บอ่อนได้นานหลายปี (FAO, 2007) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
59
Around The World
แหล่งของเชื้อไวรัส พบเชื้อไวรัสโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันได้ในเลือด เนื้อเยื่อ สิ่งคัดหลั่ง และสิ่งขับถ่ายจากสัตว์ที่ป่วย และตายด้วยโรคนี้ ส่วนสุกรที่หายจากอาการป่วยแบบเฉียบพลัน หรือป่วยแบบเรื้อรัง อาจมีเชื้ออยู่ ในตัวตลอด (persistently infected) จึงเป็นพาหะของเชื้อไวรัส ASF โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกสุกรป่า ในทวีปอัฟริกา และสุกรเลีย้ งทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีม่ โี รค (enzootic areas) รวมถึงเห็บอ่อนใน genus Ornithodoros ที่เป็น biological vector ตามธรรมชาติด้วย
ความทนทานของเชื้อ (Viability) เชือ้ ASFV มีความคงทนสูง (fairly hard) จึงอยูไ่ ด้ในสิง่ ขับถ่าย (excretion) ในซากสัตว์ ในเนือ้ สุกรและผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากเนื้อสุกร เช่น ไส้กรอก แฮม ซาลามี่ ไวรัสทนอุณหภูมิต�่ำได้ดี โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในผลิตภัณฑ์ดิบ หรือผ่านความร้อนที่ไม่สูงนัก (uncooked or undercook pork products) อยู่ได้นาน 3 - 6 เดือน แต่ความร้อนจะฆ่าเชื้อนี้ได้ที่ 56 °C นาน 70 นาที หรือที่ 60 °C นาน 20 นาที (OIE, 2010) เชื้อไวรัสมีชีวิตอยู่ในเลือดเน่าเสีย (putrefied blood) ได้นาน 15 สัปดาห์ อยู่ใน รอยเลือดที่เปื้อนแผ่นไม้ได้ 70 วัน ในอุจจาระเก็บที่อุณหภูมิห้องได้ 11 วัน ในเลือดสุกรที่อุณหภูมิ 4 °C ได้ 18 เดือน อยู่ในเนื้อติดกระดูกที่อุณหภูมิ 39 °C ได้ 150 วัน ในหมูแฮม (salted dried ham) ได้ 140 วัน และอยู่ที่อุณหภูมิ 50 °C ได้ 3 ชั่วโมง ใน serum - free medium เชื้อไวรัสสามารถถูกท�ำลายได้ที่ pH 3.9 และต�่ำกว่า หรือที่ pH 11.5 และสูงกว่า แต่ถ้ามีซีรั่ม 25% จะช่วยให้เชื้อมีชีวิตได้ที่ pH 13.4 ได้นานถึง 7 วัน (CIDRAP, 2009) และหากไม่ใส่ซีรั่ม เชื้อไวรัสนี้จะอยู่ได้เพียง 21 ชั่วโมงเท่านั้น (OIE, 2009) สารเคมีที่ใช้ท�ำลายเชื้อ ASFV ได้แก่ ether, chloroform และสารประกอบไอโอดีน หรือใช้ โซดาไฟ (Sodium hydroxide) ในอัตราส่วน 8/1000 หรือฟอร์มาลินในอัตราส่วน 3/1000 หรือ ผงฟอกขาว (hypochlorite) ที่ให้คลอรีน 2.3% หรือสารฟีนอล (ortho-phenylphenol) 3% แต่ต้อง ใช้เวลา 30 นาที (OIE, 2009)
ระยะฟักตัวของเชื้อโรค (Incubation period) เชือ้ ไวรัสโรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั มีระยะฟักตัว 3 - 15 วันในสุกร แต่ถา้ เป็นการเกิดโรคแบบเฉียบพลัน (acute) จะใช้เวลาเพียงแค่ 3 - 4 วัน (OIE, 2009)
การติด และแพร่กระจายเชื้อ (Route of Infection and Transmission) การติดเชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรอัฟริกันเกิดทางปากและจมูก (oro - nasal route) จากการสัมผัส สัตว์ปว่ ยโดยตรง หรือโดยอ้อมจาก fomites คือ สัมผัสโรงเรือน ยานพาหนะ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ เสือ้ ผ้า ทีป่ นเปือ้ นเชือ้ และการกินเศษอาหารทีม่ เี นือ้ สุกรติดเชือ้ ไวรัสผสมอยู่ หรือถูกกัดโดยเห็บอ่อนใน genus Ornithodoros
60 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World
ระบาดวิทยา (Epidemiology) โรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั เป็นโรคประจ�ำถิน่ (endemic) ของสัตว์ในตระกูลสุกรทุกชนิด (domestic and wild porcine species) ที่อาศัยอยู่ในอนุภูมิภาคซาฮาราของทวีปอัฟริกา เกาะมาดากัสการ์ และ ทีเ่ กาะซาร์ดเิ นียของอิตาลี (sub-Saharan Africa including Madagascar and Sardinia) และในทวีปยุโรป มีรายงานการเกิดโรคทีค่ าบสมุทรไอบีเรีย คือประเทศโปรตุเกส (1957, 1960 ครัง้ สุดท้ายเมือ่ ค.ศ. 1999) หมู่เกาะมาเดียราของโปรตุเกส (1965, 1974, 1976) ประเทศสเปน (1960 - 1995) พบในประเทศ ฝรัง่ เศส (1964, 1967, 1997) ประเทศอิตาลี (1967, 1978, 1980) ประเทศมอลต้า (1978) ประเทศ เบลเยีย่ ม (1985) ประเทศเนเธอร์แลนด์ (1985) ต่อมาได้กำ� จัดโรคนีส้ ำ� เร็จในคาบสมุทรไอบีเรีย (FAO, 2007) (CIDRAP, 2009)
ภาพที่ 4: พื้นที่เกิดโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันอนุภูมิภาคซาฮาราในอัฟริกา และยุโรปที่ซาร์ดิเนีย (กค.-.ธค. 2549)
ในช่วงทศวรรษ 1970 มีรายงานการเกิดโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันนอกทวีปอัฟริกา ในแถบทะเล คาริบเบียน คือสาธารณเฮติ (1978 - 1984) และสาธารณรัฐโดมินิกัน (1978) ประเทศคิวบา (1980) รวมทั้งทวีปอเมริกาใต้ที่ประเทศบราซิล (1978 - 1981) แต่ก�ำจัดโรคได้ ในปัจจุบัน ASF ยังเป็นโรค ประจ�ำถิ่นที่เกาะซาร์ดิเนีย (FAO, 2007) ยังไม่เคยมีรายงานการเกิดโรคในทวีปเอเชีย จนถึงวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 2007 ได้มีรายงานการเกิดโรค ASF ในเขตเทือกเขาคอเคซัสที่กั้นระหว่างทวีปยุโรป และเอเชีย ทีป่ ระเทศจอร์เจีย หลังจากทีห่ อ้ งปฏิบตั กิ ารอ้างอิงขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) ได้ยืนยันว่า เชื้อไวรัสมีลักษณะใกล้เคียงกับเชื้อจากกลุ่มประเทศโมแซมบิก มาดากัสการ์ และ แซมเบีย ทั้งนี้ในระยะแรก เมื่อพบสุกรตายมากผิดปกติ ประเทศจอร์เจียได้รายงาน OIE เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2007 ว่าเป็นโรค Post weaning multisystemic syndrome (PWMS) และในเวลา ต่อมามีการรายงานโรคจากประเทศอาเซอร์ไบจัน ประเทศอาร์เมเนีย สหพันธรัฐรัสเซีย (FAO, 2007) (FAO, 2009) (CIDRAP, 2009) (OIE, 2010) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
61
Around The World
ภาพที่ 5 : ความหนาแน่นของสุกรเลี้ยง และโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน ที่เกิดทั่วประเทศจอร์เจีย (มิ.ย. 2552)
ภาพที่ 6 : จุดเกิดโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันในสุกรเลี้ยง และสุกรป่า บริเวณพื้นที่คอเคซัส ช่วง พ.ศ. 2550 - 2552
ปัจจัยเสี่ยง (Risk factors) การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันในทวีปยุโรปที่ประเทศ จอร์เจีย ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ยังไม่พบแหล่งของการติดเชื้อ แต่ปัจจัยการเกิด และแพร่กระจายของโรคน่าจะเป็นคนงานเลีย้ งสุกร และผูเ้ ดินทางทีน่ ำ� อาหารซึง่ มีเนือ้ สุกรทีป่ นเปือ้ นเชือ้ ไวรัสเป็นส่วนประกอบติดตัวไปด้วย ในพืน้ ทีแ่ ถบนีม้ สี กุ รป่าทีอ่ าจเป็นทัง้ แหล่งรังโรค และพาหะแพร่เชือ้ ประกอบกับการขาดแคลนเจ้าหน้าทีร่ ฐั ท�ำให้ไม่สามารถควบคุมการเคลือ่ นย้ายทัง้ คน และสุกรได้อย่างมี ประสิทธิผล จึงมีโอกาสสูงที่โรคจะมีการแพร่กระจายออกไปทางทิศใต้ และตะวันออกของเขตเทือกเขา คอเคซัสในประเทศตุรกี คาซักสถาน และอิหร่าน ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมที่มิได้ให้ความ ส�ำคัญกับสุกร ทางทิศตะวันตกที่มีความเสี่ยงสูงคือ ฟินแลนด์ กลุ่มประเทศในแถบทะเลบอลติก และ ยูเครน เบลารุส หากมาทางทิศตะวันออกจะเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีน (FAO, 2009) ท�ำให้ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทรี่ วมถึงประเทศไทย จึงมีความเสีย่ งต่อโรคนีด้ ว้ ยเช่นกัน เนือ่ งจากมีการน�ำสุกร เข้ามาจากจีนทางตอนเหนือของเวียดนาม ประกอบกับปัจจุบันสินค้าต่างๆ จากจีนสามารถขนส่งผ่าน แม่น�้ำโขงทางเรือลงมาทางใต้ อีกทั้งในอนาคตอันใกล้นี้ จะมีเส้นทางการคมนาคมขนส่งทางบกภายใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (East - West and North-South corridors) ทีส่ ามารถเชือ่ มต่อโดยตรง ระหว่างจีน เมียนมาร์ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม จะแล้วเสร็จอย่างสมบูรณ์ ทั้งนี้ด้วยบทเรียนของ เส้นทางการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกจากจีน และฮ่องกงในอดีต (FAO, 2008) ดังนั้นทุกประเทศ ในอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงมีความเสี่ยงต่อโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน ประเทศไทยมีการน�ำลูกสุกรเล็ก (หมูกี้) เข้ามาจากเพื่อนบ้าน โดยที่สุกรนั้นอาจมีที่มาจาก เวียดนาม เส้นทางน�ำเข้าจากประเทศลาวเพื่อมาผลิตเป็นหมูหันที่จังหวัดนครปฐมส�ำหรับการบริโภค ในประเทศ จึงอาจต้องศึกษาข้อเท็จจริงเรือ่ งนี้ เพือ่ ด�ำเนินการบริหารจัดการความเสีย่ งได้อย่างเหมาะสม ต่อไป
62 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥
Pellet mill Dryer
Extruder
Pulverizer
Mixer
Hammer mill
Around The World การแพร่กระจายโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันในแถบคอเคซัสที่เป็นไปอย่างกว้างขวางเกิดจากสาเหตุ ดังนี้
• การขาดความรู้เกี่ยวกับโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน • ไม่มีเจ้าหน้าที่รัฐในพื้นที่ • ไม่สามารถเฝ้าระวังโรคและท�ำการแจ้งรายงานการเกิดโรคที่รวดเร็วพอ • ขาดความสามารถในการตรวจวินิจฉัยเพื่อคัดกรอง และยืนยันโรค • ลักษณะวิธกี ารเลีย้ งสุกรในพืน้ ทีแ่ ถบนีส้ ว่ นใหญ่เป็นแบบปล่อยหลังบ้าน หรือให้ขดุ คุย้ หาอาหาร กินในทุ่ง (open grazed field or free ranging system) สุกรเข้าไปหากินในบริเวณทิ้งขยะได้ ที่ท�ำเป็นฟาร์มรายย่อย หรือมีขนาดเล็กก็มีน้อยราย • สุกรเหล่านี้เป็นแหล่งอาหารของผู้คนในชนบท และรายได้ของเกษตรกร โดยฆ่าสุกรตามบ้าน เพื่อขายในตลาดท้องถิ่น หรือบริโภคเอง หรืออาจขายให้กับลูกค้าโดยตรง • การใช้เศษอาหารเลี้ยงสุกร • ประชากรสุกรป่าในพื้นที่มีจ�ำนวนมาก ซึ่งอาจเป็นแหล่งรังโรค และพาหะการแพร่ระบาด • มาตรการควบคุมโรคปัจจุบันมีการท�ำลายสุกรเฉพาะตัวที่แสดงอาการป่วยเท่านั้น • โรคมีการกระจายออกไปในวงกว้างตามเส้นทางการขนส่งหลัก
การวินิจฉัยทางอาการ (clinical diagnosis) สุกรทีป่ ว่ ยด้วยโรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั สามารถแสดงอาการได้ในหลายลักษณะ (CIDRAP, 2009) (OIE, 2010) ซึ่งขึ้นอยู่กับความรุนแรงของเชื้อที่ก่อโรค โดยสัตว์จะแสดงอาการที่ไม่แตกต่างจากโรค อหิวาต์สุกร (Hog cholera หรือ Classical swine fever, CSF) การวินิจฉัยโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน ไม่อาจบอกได้โดยดูจากอาการ ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาพที่ 6 : สุกรที่ป่วยด้วยโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันในแบบ เฉียบพลัน (Acute African swine fever) จะพบเลือดคั่ง ที่บริเวณผิวหนัง โดยเฉพาะที่ขาและท้อง (ภาพโดย J.A.W. Coetzer, R °C. Tustin, G.R. Thomson; University of Pretoria) ที่มา : FAO, 2007
สุกรแสดงอาการป่วยใน 4 แบบ คือ 1. แบบเฉียบพลันทันที (Peracute) เกิดจากเชือ้ ไวรัสทีม่ คี วามรุนแรงสูง (highly virulent virus) สุกรจะตายทันทีโดยไม่แสดงอาการ หรืออาจพบสัตว์นอน (recumbency) และมีไข้สูงก่อนตาย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
63
Around The World 2. แบบเฉียบพลัน (Acute form) เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีความรุนแรงสูง (highly virulent virus) มีไข้สูง 40.5 - 42 °C ในระยะ 2-3 วันแรกจะพบเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดต�่ำ (leucopoenia & thrombocytopenia) ไม่กนิ อาหาร ไม่ยอมเคลือ่ นไหว ไม่มแี รง นอนสุมกัน หาร่มเงา หรือน�ำ้ เจ็บปวดที่ บริเวณท้อง โก่งหลัง เคลื่อนไหวผิดปกติ เตะสีข้าง สุกรที่ผิวขาวพบหนังเป็นสีแดงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทีป่ ลายหู หาง ปลายขา ผิวส่วนล่างทีบ่ ริเวณอก และพืน้ ท้อง ผิวหนัง และเยือ่ เมือกเป็นสีคล�ำ้ (cyanosis) ในช่วง 1 - 2 วันก่อนสัตว์ตาย จะมีอาการทางประสาท เคลื่อนไหวไม่มั่นคง (incoordination) การเต้น ของหัวใจ และอัตราการหายใจสูง หายใจล�ำบาก หรือเป็นฟองเลือด พบขี้มูกขี้ตาเป็นหนอง (mucopurulent) อาเจียน ท้องเสีย บางครัง้ มีเลือดปน หรืออาจท้องผูก อุจจาระแข็งเป็นก้อนเล็ก มีเยือ่ เมือก และ เลือดคลุม สุกรจะตายภายใน 6 - 13 หรือ 20 วัน สุกรทีท่ อ้ งจะแท้งได้ทกุ ช่วง ในสุกรเลีย้ งอัตราการตาย สูงถึง 100% ส่วนสัตว์ทหี่ ายป่วยจากการติดเชือ้ แบบเฉียบพลันได้คอื มักไม่แสดงอาการ (asymtomatic) แต่มันจะเป็นพาหะของเชื้อ ASFV ตลอดชีวิต 3. แบบไม่เฉียบพลัน (Subacute) เกิดจากเชือ้ ไวรัสทีร่ นุ แรงปานกลาง (moderately virulent virus) ส่วนใหญ่พบในทวีปยุโรป สุกรจะแสดงอาการป่วยที่ไม่รุนแรง (less intense) มีไข้ต�่ำๆ (slight fever) หรือขึน้ ๆ ลงๆ (fluctuant fever) กินอาหารน้อยลง น�ำ้ หนักลด ซึม ปอดบวม (interstitial pneumonia) ท�ำให้หายใจล�ำบาก ไอชื้น ปอดอาจติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วย (secondary infection) ข้ออักเสบ บวม และปวด ป่วยนาน 5 - 30 วัน ถ้ามีเลือดคั่งที่หัวใจ (Acute or congestive heart failure) อาจท�ำให้ สุกรตาย สุกรท้องจะแท้ง สุกรตายภายใน 15 - 45 วัน มีอัตราการตายระหว่าง 30 - 70% สุกรอาจ หายป่วยได้ หรือป่วยต่อไปในแบบเรื้อรัง 4. แบบเรือ้ รัง (Chronic form) เกิดจากเชือ้ ไวรัสทีม่ คี วามรุนแรงปานกลาง หรือต�ำ่ (moderately or low virulent virus) ส่วนใหญ่พบในอังโกลา และทวีปยุโรป สุกรจะมีอาการได้หลากหลาย เช่น น�้ำหนักลด มีไข้ไม่สม�่ำเสมอ อาการทางระบบหายใจ ผิวหนังเป็นเนื้อตาย (necrosis) หรือมีแผลหลุม เรื้อรัง (chronic skin ulcers) ข้ออักเสบ (arthritis) เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (pericarditis) เนื้อปอด ติดกัน (adhesion of lungs) มีการบวมเหนือข้อต่างๆ ช่วงการพัฒนาอาการ 2 - 15 เดือน มีอัตราการ ตายต�่ำ และจะไม่ค่อยพบสุกรที่หายป่วยจากการติดเชื้อที่ท�ำให้เกิดโรคแบบเรื้อรัง
รอยโรค (Lesions) 1. รอยโรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั ทีพ่ บในสุกรป่วยแบบเฉียบพลัน (Acute form) ได้แก่ ต่อมน�ำ้ เหลือง ที่กระเพาะ ตับ และไต มีเลือดออกมาก (Pronounces haemorrhages in the gastrohepatic and renal lymph nodes) ไตมีเลือดออกเป็นจุด (renal cortex, medulla and pelvis of kidney) ม้ามโต มีเลือดคั่ง (congestive splenomegaly) ผิวที่ไม่มีขนจะมีสีคล�้ำ และบวมน�้ำ ผิวหนังที่ท้อง และขา พบปื้นเลือดออก (cutaneous ecchymoses) มีน้�ำอยู่รอบหัวใจและในช่องอก หรือช่องท้องมาก พบ จุดเลือดออกที่เยื่อเมือกของกล่องเสียง (larynx) กระเพาะปัสสาวะ (bladder) และที่ส่วนผิวอวัยวะ
64 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World (visceral surface of organ) ส่วนของล�ำไส้ใหญ่ (oedema in the mesenteric structure of the colon and adjacent to the gall bladder) และถุงน�้ำดีบวมน�้ำ 2. รอยโรคที่พบในสุกรป่วยแบบเรื้อรัง (Chronic form) อาจพบปอดแข็ง หรือมีจุดเนื้อตาย เป็นหนอง (focal caseous necrosis and mineralization of the lung may exist) ต่อมน�้ำเหลืองโต เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ปอดติดกัน (adhesions of lungs)
การวินิจฉัยแยกโรค (Differential diagnosis) โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน และโรคอหิวาต์สุกร (hog cholera หรือ classical swine fever, CSF) ไม่อาจวินิจฉัยแยกจากกันได้ด้วยวิธีดูอาการและรอยโรค ดังนั้นในทุกกรณี จึงต้องเก็บตัวอย่างส่งตรวจ วินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ ส�ำหรับโรคอื่นๆ ที่จะต้องวินิจฉัยแยกจาก ASF ให้ได้ คือ โรค Porcine reproductive and respiratory syndrome (PRRS) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง atypical form ของ PRRS โรค Swine Erysipelas โรค Salmonellosis โรค Pasteurellosis โรคติดเชือ้ Streptococcus suis infection โรคติดเชือ้ Hemophilus suis infection โรค Eperythrozoonosis โรค Porcine dermatitis and nephropathy syndrome โรค Aujeszky’s disease หรือ Pseudorabies ทีเ่ กิดในสุกรรุน่ และภาวะการติดเชือ้ อืน่ ๆ ในกระแสเลือด (All septicemic conditions) และการเป็นพิษจากยาเบือ่ หนูคมู าริน (Coumarin poisoning) และการเป็น พิษจากเกลือ (Salt poisoning)
การตรวจวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory diagnosis) 1. ชนิดของตัวอย่าง (Sample collection) ได้แก่ - เลือดสุกรเจาะในขณะทีม่ ไี ข้ชว่ งแรก เก็บในสาร EDTA 0.5% หรือ Heparin กันการแข็งตัว - ม้าม ต่อมน�้ำเหลือง ทอนซิล และไตสุกร เก็บแช่เย็นที่ 4 °C - ซีรมั่ จากสัตว์ทหี่ ายป่วย (convalescent animals) เก็บในระยะ 8 - 21 วันภายหลังการติดเชือ้ 2. วิธีการตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnostic techniques) ได้แก่ 2.1 การแยกเชื้อไวรัส (Isolation) โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน ประกอบด้วย 2.1.1 Cell culture inoculation โดยใช้ Primary culture of pig monocytes หรือ Bone marrow cell ซึ่งเชื้อ ASFV ที่แยกได้ส่วนใหญ่มักท�ำให้เกิด haemadsorption 2.1.2 Haemadsorption test (HAD) ผลบวกทั้ง 2 ขั้นตอนของ HAD จะยืนยันโรค อหิวาต์สุกรอัฟริกัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
65
Around The World Procedure 1 - เป็นขั้นตอนใน Primary leukocyte cultures Procedure 2 - เป็นการทดสอบ ‘autorosette’ test โดยใช้เม็ดเลือดขาว (periph eral blood leukocytes) จากสุกรที่ติดเชื้อ 2.1.3 Antigen detection โดยวิธี Fluorescent antibody test (FAT) ผลบวกของ FAT ร่วมกับลักษณะอาการ และรอยโรค สามารถบ่งชี้โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันได้ในเบื้องต้น 2.1.4 Detection of virus genome โดยวิธี Polymerase chain reaction (PCR) ซึ่ง PCR Technique นี้ จะมีประโยชน์มากในการตรวจตัวอย่างเลือดทีเ่ น่าเสีย (putrefaction) ซึง่ ไม่เหมาะสม ส�ำหรับการตรวจหาเชื้อ ASFV ด้วยวิธี Virus isolation หรือ Antigen detection แล้ว 2.1.5 Pig inoculation ปัจจุบนั ไม่แนะน�ำให้ใช้วธิ นี ี้ คือการฉีดเชือ้ ในสุกรทดลอง เนือ่ งจาก เสี่ยงต่อการแพร่กระจายโรคสูง 2.2 การตรวจทางซีรั่มวิทยาโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน ประกอบด้วย 2.2.1 Enzyme - linked immunosorbent assay (ELISA) เป็นวิธีการมาตรฐานที่ OIE แนะน�ำส�ำหรับทดสอบโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน 2.2.2 Indirect fluorescent antibody (IFA) test เป็นวิธกี ารทดสอบยืนยันโรค ส�ำหรับ ตัวอย่างซีรั่มที่เก็บจากสุกรในพื้นที่ปลอดโรค ASF แต่ให้ผลบวกในการทดสอบ ELISA หรือตัวอย่าง ซีรั่มที่เก็บจากสุกรในพื้นที่มีโรค (endemic area) และไม่อาจสรุปผลได้ด้วย ELISA 2.2.3 Immunoblotting test เป็นวิธีการทดสอบแทนวิธี IFA (alternative test) เพื่อ ยืนยันกรณีซีรั่มสุกรแต่ละตัว (individual sera) ให้ผลสงสัย (equivocal results) 2.2.4 Counter immunoelectrophoresis (immunoelectro - osmophoresis) test เป็น วิธีการทดสอบที่ใช้เพื่อตรวจคัดกรองโรค ASF ในกลุ่มสุกร (screening groups of pigs) แต่ไม่เหมาะ ส�ำหรับสุกรแต่ละตัว เนื่องจากมีความไวต�่ำ
การควบคุมและป้องกันโรค (Prevention and Control) เนือ่ งจากปัจจุบนั ยังไม่มที งั้ วัคซีนป้องกัน และยาทีร่ กั ษาโรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั ได้ ดังนัน้ มาตรการ เพื่อป้องกันและควบคุมโรค ควรจะด�ำเนินการ ดังนี้ (FAO, 2009) 1. การป้องกันโรค ประกอบด้วยมาตรการ คือ 1.1 ก�ำหนดนโยบายกักกันสินค้าน�ำเข้า (Import quarantine policy) ประเทศที่ปลอดจาก โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน จะต้องเพิ่มความระมัดระวังในการน�ำเข้าสุกรเลี้ยง สุกรป่า เนื้อและผลิตภัณฑ์ จากสุกร รวมถึงน�ำ้ เชือ้ ตัวอ่อน และไข่ อีกทัง้ เวชภัณฑ์ทมี่ สี ว่ นผสมของเนือ้ เยือ่ สุกร ต้องกักกันอาหาร และ วัตถุเสีย่ งต่างๆ ทีถ่ กู น�ำเข้ามาในประเทศ จากทุกๆ เส้นทาง (airport, seaport & border crossing points)
66 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World มีการตรวจสอบกระเป๋าและของใช้ส่วนตัว (luggage and personal effects) ที่น�ำมาจากประเทศที่มี โรคนี้ วัตถุเสีย่ ง/สิง่ ของต้องสงสัยทีต่ รวจยึดได้จะต้องฝัง หรือเผา ท�ำการก�ำจัดเศษอาหาร (disposal of waste food) และฆ่าเชือ้ โรคเศษขยะจากเครือ่ งบิน/เรือเดินสมุทรทีผ่ า่ น หรือมาจากประเทศทีม่ โี รค และ ฝังกลบลึก หรือเผาเพื่อป้องกันการขุดคุ้ย (scavenging) 1.2 ควบคุมการเลี้ยงสุกรด้วยเศษอาหาร (Swill feeding controls) การเลี้ยงสุกรด้วย เศษอาหาร เป็นความเสีย่ งสูงส�ำหรับการเกิด และแพร่โรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั เพราะเศษอาหารนัน้ อาจมี ชิน้ ส่วนจากซากสุกรปนเปือ้ นเชือ้ ควรห้ามใช้เศษอาหารเลีย้ งสุกรในฟาร์มทีม่ คี วามปลอดภัยทางชีวภาพ สูง ส่วนในเกษตรกรรายย่อยหากไม่สามารถห้ามได้ตอ้ งแนะน�ำให้ตม้ อย่างน้อย 30 นาที ปล่อยเศษอาหาร ให้เย็นก่อนน�ำไปเลี้ยงสัตว์ 1.3 ควบคุมสุกรให้อยู่เฉพาะที่ (Containment of pigs) ควรเลี้ยงสุกรอยู่ในคอก/โรงเรือน/ พื้นที่เฉพาะ โดยไม่ปล่อยให้ออกหากินในพื้นที่เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ASFV จากการขุดคุ้ย กินเศษขยะ และการสัมผัสกับสุกรป่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่เกิดโรค 1.4 การสร้างความรับรู้ (Awareness) เริม่ จากให้เจ้าหน้าทีส่ ตั วแพทย์ในพืน้ ทีม่ คี วามรูเ้ บือ้ งต้น เกี่ยวกับโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน ส�ำหรับท�ำการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้แก่เกษตรกร และพ่อค้าสุกรให้รู้จักโรคนี้ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ และให้ข้อมูลในเบื้องต้นได้เมื่อมีสุกรป่วยที่สงสัยว่า อาจเป็นโรคนี้ได้ หรือเพื่อสร้างเครือข่ายการรายงานโรคต่อไป 1.5 ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) เกษตรกรควรปรับปรุงระบบการเลี้ยง สุกรให้มีความปลอดภัยทางชีวภาพ ได้แก่ - ลดคนที่เข้ามาภายในบริเวณฟาร์ม โดยให้มีผู้เข้ามาในส่วนที่เลี้ยงสุกรน้อยที่สุด - ด้านหน้าฟาร์มมีป้ายเตือนไม่ให้สัมผัสกับสุกร - ฟาร์มมีรวั้ กัน้ โดยรอบเพือ่ ป้องกันสุกรป่าเข้ามาขุดคุย้ ขยะ(ดีทสี่ ดุ เป็นรัว้ 2 ชัน้ ห่างกัน 1 ม.) - มีระบบการก�ำจัดของเสียที่เหมาะสม - ล้างท�ำความสะอาดยานพาหนะ และพ่นน�้ำยาฆ่าเชื้อโรค - ท�ำการบรรทุก/ขนถ่ายสุกรนอกบริเวณที่เลี้ยงสุกร - ท�ำความสะอาดอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในฟาร์มอย่างสม�่ำเสมอ - คนงานควรเปลี่ยนชุดเสื้อผ้า และใช้รองเท้าบูทเฉพาะส�ำหรับปฏิบัติงานอยู่ในฟาร์ม - จัดแปรงน�้ำยาฆ่าเชื้อ ถังน�้ำ หรืออ่างจุ่มเท้าเพื่อฆ่าเชื้อโรคให้พร้อมใช้งานไว้ที่หน้า โรงเรือน - เจ้าของ และคนเลี้ยง ไม่ควรสัมผัสกับสุกรในฟาร์มอื่น - ไม่ควรแลกเปลี่ยน หรือยืมเครื่องมือเครื่องใช้ระหว่างฟาร์ม ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
67
Around The World - ซื้อสุกรจากแหล่งที่เชื่อถือได้ว่าไม่มีโรค - โรงฆ่าสัตว์จะต้องระมัดระวังในเรื่องการก�ำจัดเศษเนื้อ เครื่องใน น�้ำเสีย ของเสีย ขยะ ที่มาจากสุกรให้ดีที่สุดเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งแพร่กระจายโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อ สถานที่ตั้งอยู่ในพื้นที่มีโรค 2. การควบคุมโรค ประกอบด้วยมาตรการหลักต่างๆ ดังนี้ 2.1 ด�ำเนินการประชาสัมพันธ์ (Public awareness) เสนอข่าวการเกิดโรคอหิวาต์สุกร อัฟริกันเป็นระยะ และประชาสัมพันธ์ให้ค�ำแนะน�ำกรณีที่ใช้เศษอาหารเลี้ยงสุกร เน้นย�้ำถึงความเสี่ยง ต่อโรค เสนอแนะวิธีการปรับปรุงมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม พยายามหาแนวร่วม หรือสร้างเครือข่ายความร่วมมือการรายงานโรค โดยแนะน�ำเจ้าของฟาร์ม ผู้เลี้ยงสุกร และพ่อค้าสุกร ให้หมั่นสังเกตอาการสัตว์อย่างสม�่ำเสมอ และแจ้งเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์เมื่อพบสุกรป่วย/ตายผิดปกติ ทุกครั้ง หรือมีอาการที่อาจสงสัยโรคนี้ได้ ต้องให้ความรู้แก่สาธารณชนว่าโรคนี้ไม่ติดคน เนื้อสุกรและ ผลิตภัณฑ์ที่มาจากสุกรที่ปลอดโรค มีความปลอดภัยส�ำหรับการบริโภค เจ้าหน้าที่สัตวแพทย์จะต้อง ตื่นตัวตลอดและให้ข้อมูลการเกิดโรคเป็นระยะๆ 2.2 มาตรการเฝ้าระวังโรค (Surveillance) การเฝ้าระวังโรคเชิงรับโดยเจ้าของฟาร์ม ผู้เลี้ยง สุกร หรือพ่อค้าสัตว์ในพื้นที่แจ้งรายงานเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์จะเป็นปัจจัยหลักในเบื้องต้นที่ช่วยให้รู้โรค ได้เร็วทีส่ ดุ เมือ่ พบฟาร์มต้องสงสัยโรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั แล้ว จะต้องด�ำเนินมาตรการเฝ้าระวังโรคอย่าง เข้มข้นเป็นเวลาอย่างน้อยอีก 40 วัน ซึ่งเป็นระยะฟักตัวนานที่สุดของโรคนี้ (FAO, 2009) หลังจากที่ พบสัตว์ป่วย หรือสงสัยว่าป่วยด้วยโรคนี้ตัวสุดท้าย โดยวิธีการตรวจดูอาการ ผ่าซากสุกร การตรวจ ทางซีรมั่ วิทยา ถ้าห้องปฏิบตั กิ ารยืนยันว่าเป็นโรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั จริง จะต้องท�ำสอบสวนโรคทัง้ ย้อน หลัง (trace - backward) เพือ่ ให้ทราบถึงแหล่งทีม่ า สาเหตุการเกิดโรค ปัจจัยเสีย่ ง และสอบไปข้างหน้า (trace - forward) เพื่อให้ทราบขอบเขตของการระบาด พื้นที่เสี่ยง และแหล่งฆ่าสุกรด้วย 2.3 การควบคุมเคลื่อนย้ายและกักกันสัตว์ (Quarantine and movement control) ต้อง ท�ำการกักกันฟาร์มสุกรที่สงสัยการเกิดโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันทุกแห่ง และระงับการเคลื่อนย้ายสุกร มีชวี ติ ผลิตภัณฑ์จากสุกร และวัตถุสงิ่ ของทีอ่ าจติดเชือ้ ในพืน้ ทีท่ นั ที หากมีสกุ รทีเ่ ลีย้ งปล่อย จะต้องเก็บ เข้าเลีย้ งในคอก กรณีทมี่ บี คุ คลจ�ำเป็นต้องออกนอกฟาร์มต้องสงสัย จะต้องมีการเปลีย่ นเสือ้ ผ้า รองเท้า และ ท�ำการฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะก่อน ทั้งนี้ จนกว่าการสอบสวนโรคจะแล้วเสร็จ หรือทราบผลการตรวจ วินิจฉัยโรคจากห้องปฏิบัติการแล้ว ก�ำหนดพื้นที่ควบคุมโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน (restricted area) ให้มีรัศมี 3 กิโลเมตร (FAO, 2009)และพืน้ ทีก่ นั ชนรอบนอกเพือ่ ป้องกันการระบาดของโรค หากจ�ำเป็นต้องมีการเคลือ่ นย้าย สิ่งของใดๆ (potentially infected materials) ก็ให้จ�ำกัดอยู่ภายในเขตพื้นที่กันชนรอบนอก เว้นแต่ จะได้รบั อนุญาตจากเจ้าหน้าที่ เช่น กรณีนำ� สุกรเข้าโรงฆ่า ทัง้ นีก้ ารเข้มงวดการเคลือ่ นย้ายสัตว์อาจท�ำได้ หลายระดับซึ่งขึ้นอยู่กับผลการทดสอบโรค
68 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World 2.4 การก�ำหนดเขตพืน้ ทีป่ ลอดโรค (Zoning) โรคอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั เป็นโรคทีพ่ บบ่อย หรือ เป็นโรคประจ�ำถิ่นเฉพาะในบางพื้นที่ ดังนั้นหากด�ำเนินมาตรการควบคุมการเคลื่อนย้ายสุกรมีชีวิต และผลิตภัณฑ์ได้อย่างเข้มข้นและมีประสิทธิภาพสูงสุด จะสามารถก�ำหนดเขตพื้นที่ติดเชื้อและพื้นที่ ปลอดโรคภายในประเทศได้ 2.5 การท�ำลายสัตว์และก�ำจัดซาก (Stamping-out and disposal) ต้องท�ำลายสุกรที่ติดเชื้อ และสุกรทีอ่ ยูร่ ว่ มฝูงทัง้ หมด เนือ่ งจากทุกตัวเสีย่ งต่อการรับเชือ้ ท�ำการก�ำจัดซากด้วยวิธกี ารทีเ่ หมาะสม เพื่อลดการปนเปื้อน หรือแพร่กระจายเชื้อไปสู่สิ่งแวดล้อม ลดปัญหาการสัมผัสกับสุกรป่า สัตว์ขุดคุ้ย ซาก หรือความเสีย่ งจากการต้องลากซากสุกรออกไปไกล จึงต้องเผา หรือฝังกลบลึกทีบ่ ริเวณฟาร์มแห่ง นั้น หรือในพื้นที่เกิดโรค ทั้งนี้หากมีสุกรจ�ำนวนมากๆ อาจต้องพิจารณาประเด็นด้านการขนส่ง และ สิ่งแวดล้อมด้วย 2.6 การจ่ายเงินค่าชดใช้การท�ำลายสัตว์ (Compensation) คือเครื่องมือที่ถือเป็นมาตรการ ส�ำคัญของการเพิม่ ประสิทธิภาพการก�ำจัดโรคด้วยมาตรการท�ำลายสัตว์ทงั้ หมด (stamping-out) หากรัฐ ไม่จ่ายเงินค่าชดใช้ หรือมีให้แต่ไม่มากและไม่เร็วพอ มักเป็นสาเหตุให้เจ้าของสัตว์ป่วยไม่แจ้งเจ้าหน้าที่ แต่จะน�ำสุกรหลบหนีไปทีอ่ นื่ หรือฆ่าเพือ่ บริโภคเอง หรือขายในท้องที่ เมือ่ ก�ำจัดเศษซากสุกรด้วยวิธกี าร ที่ไม่เหมาะสมก็จะเป็นสาเหตุให้โรคแพร่กระจายออกไปมากขึ้น 2.7 การท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรค (Cleaning and Disinfection) การเก็บล้างท�ำความ สะอาดเพื่อก�ำจัดสารอินทรีย์ออกจากคอก และโรงเรือนสุกรทั้งหมด เป็นขั้นตอนส�ำคัญก่อนท�ำการฆ่า เชื้อโรค ซึ่งรวมถึง สิ่งของยานพาหนะ เครื่องมือเครื่องใช้ในฟาร์ม เสื้อผ้ารองเท้า และอุปกรณ์ต่างๆ และบุคลากรจะต้องมีการฆ่าเชื้อโรคก่อนเข้า และออกจากฟาร์มที่เกิดโรค 2.8 การควบคุมแมลงพาหะ (Vector control) แมลงดูดเลือดบางชนิด เช่น แมลงวันคอก (Stomoxys calcitrans) และแมลง tsetse fly (Glossina mositrans) สามารถเป็นพาหะ (mechanically transmitted) แพร่เชื้อไวรัสภายในฝูงสุกรได้ ดังนั้นฟาร์มจึงควรต้องด�ำเนินการก�ำจัดแมลงด้วย 2.9 การควบคุมเห็บ (Tick control) การก�ำจัดเห็บอ่อน (Ornithodoros) ที่มีในคอกเป็น เรื่องยาก เพราะเห็บมีช่วงอายุค่อนข้างยาว และทนทานต่อสิ่งแวดล้อม สามารถมีชีวิตอยู่ในร่องไม้แตก ได้นานโดยไม่กนิ เลือด ในกรณีนยี้ าฆ่าเห็บ (acaricides) ก็ไม่อาจเข้าไปถึงตัวได้ ดังนัน้ จึงไม่ควรใช้คอก เก่าที่พบเห็บชนิดนี้เลี้ยงสุกร แต่ให้ทุบท�ำลายเผาไม้ทิ้ง แล้วสร้างคอกใหม่ในพื้นที่อื่นเพื่อใช้งานแทน 2.10 การใช้สกุ รเพือ่ เฝ้าระวังโรคและการเลีย้ งสุกรรุน่ ใหม่ (Sentinel animals and Restocking) ในฟาร์มที่เกิดโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันก่อนการน�ำสุกรรุ่นใหม่เข้ามาเลี้ยง (Restocking) ให้น�ำสุกรที่ ไม่มีภูมิคุ้มต่อโรคนี้ (Sentinel animals) เข้ามาเลี้ยงเพื่อเฝ้าระวังโรคอย่างน้อย 6 สัปดาห์ โดยปล่อย เลี้ยง หรือเดินรอบบริเวณ สังเกตดูอาการ และท�ำการทดสอบทางซีรั่มวิทยาสุกรเหล่านี้ เพื่อค้นหาการ ติดเชื้อซ�้ำ (Re-infection) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
69
Around The World 2.11 การควบคุมสัตว์ป่า (Wildlife control) ในประเทศที่มีโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันประจ�ำถิ่น (endemic area) หากสุกรป่าติดเชื้อไวรัสจะท�ำให้การก�ำจัดโรคเป็นไปได้ยากยิ่งขึ้น ดังนั้นกลยุทธ์ ทีส่ ำ� คัญคือ ต้องไม่ปล่อยให้สกุ รทีเ่ ลีย้ งสัมผัสกับสุกรป่า (Feral pigs & Wild boars) ได้ เช่น การท�ำรัว้ 2 ชัน้ รอบฟาร์มเพือ่ ไม่ให้สตั ว์ปา่ เข้ามาขุดคุย้ หากินขยะในบริเวณฟาร์มเลีย้ งสุกร หรือลดปริมาณสุกรป่า ในพืน้ ทีเ่ ลีย้ งสุกร โดยการล่าให้เหลือในปริมาณทีเ่ หมาะสมภายในพืน้ ทีท่ กี่ ำ� หนด/เขตควบคุม หรือจ�ำกัด การกระจายตัวของประชากรหมูป่าในพื้นที่ได้ เป็นต้น ทั้งนี้พราน หรือพ่อค้าสัตว์ป่าสามารถเป็นแหล่ง ข้อมูลที่ดีของเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์ และต้องท�ำการก�ำจัดซากสัตว์ เศษอาหาร และวัตถุสิ่งของติดเชื้อ ให้เหมาะสม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งให้สัตว์มาขุดคุ้ยหาอาหารได้ 3. การรักษาโรค ไม่มยี ารักษา และเนือ่ งจากเชือ้ ไวรัสอหิวาต์สกุ รอัฟริกนั มีหลายสายพันธุท์ ที่ ำ� ให้ เกิดโรคได้ในหลายลักษณะที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน โดยที่เชื้อแต่ละชนิดไม่ให้ภูมิคุ้มที่ข้ามสายพันธุ์ ดังนั้นจึงยากที่จะท�ำการพัฒนาวัคซีนส�ำหรับโรคนี้ (CIDRAP, 2009)
ข้อแนะน�ำ (Recommendations) เนื่องจากธรรมชาติของเชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรอัฟริกันที่คงทน หากเกิดโรคขึ้นในประเทศใดแล้ว ก็ยากที่จะก�ำจัดให้หมดไปได้ ดังนั้นประเทศที่ไม่มีโรคจะต้องด�ำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ มีการน�ำโรคนี้เข้ามาได้ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations, FAO) ได้แนะน�ำว่า ควรน�ำมาตรการส�ำหรับการป้องกันโรคสัตว์ ข้ามแดน (transboundary diseases) มาใช้กับโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน (FAO, 2007) โดยมีข้อแนะน�ำ เพิ่มเติม ดังนี้ (FAO, 2009) 1. เมื่อพบ หรือสงสัยการเกิดโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน ต้องระวังการเคลื่อนย้ายสุกรมีชีวิต และ ผลิตภัณฑ์ รวมถึงวัตถุติดเชื้อต่างๆออกจากพื้นที่นั้นทันที 2. น�ำสุกรที่เลี้ยงปล่อยเก็บเข้าไปอยู่ในโรงเรือนโดยตลอด 3. ตัง้ จุดตรวจสัตว์เพือ่ ควบคุมการเคลือ่ นย้ายทุกเส้นทางระหว่างพืน้ ทีเ่ กิดโรคและพืน้ ทีป่ ลอดโรค 4. สร้างความรับรู้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร พ่อค้าสัตว์ โดยสร้างเครือข่ายการรายงานโรค และ กระตุ้นเตือน การให้ข่าวสารข้อมูลโรคเป็นระยะๆ เพื่อไม่ก่อให้เกิดความตระหนก และประชาสัมพันธ์ ขอความร่วมมือประชาชน 5. ท�ำการสอบสวนโรคอย่างละเอียดทั้งแบบย้อนหลัง และไปข้างหน้า (tracing backwards & forwards) 6. จ่ายค่าชดใช้ท�ำลายสัตว์โดยเร็วและมากพอแก่เจ้าของสุกรที่ถูกท�ำลาย 7. ด�ำเนินทุกมาตรการเพื่อปกป้องพื้นที่ปลอดโรค พร้อมทั้งมีการประเมิน/ทบทวน/ปรับปรุง มาตรการควบคุมโรคในพื้นที่ หรือเพื่อป้องกันไม่ให้โรคแพร่ออกไป 8. พัฒนาห้องปฏิบัติการให้สามารถตรวจวินิจฉัยโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันได้ 9. ควบคุม หรือห้ามการใช้เศษอาหารในการเลีย้ งสุกร ถ้าจ�ำเป็นต้องใช้กใ็ ห้ตม้ ก่อนน�ำไปเลีย้ งสุกร
70 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World 10. ท�ำลายเศษอาหารที่มาจากเครื่องบินและเรือเดินสมุทรจากประเทศที่มีโรคด้วยวิธีการที่ เหมาะสม 11. ประสานงาน และให้ความร่วมมือกับสัตวแพทย์ในพื้นที่ข้างเคียง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ องค์การระหว่างประเทศเพื่อสกัดกั้นการแพร่ระบาดของโรค ทั้งนี้ปัจจัยส�ำเร็จของมาตรการควบคุมการระบาดของโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันขึ้นอยู่กับนโยบาย การท�ำลายสุกรทั้งหมดทันที ก�ำจัดซากสัตว์ วัสดุปูรอง ผลิตภัณฑ์ สิ่งของ หรือวัตถุติดเชื้อให้เร็วที่สุด ท�ำความสะอาด และพ่นน�้ำยาฆ่าเชื้อโรคให้ทั่วบริเวณ รวมถึงพื้นที่เสี่ยงทั้งหมด ก�ำจัดเห็บ และแมลง ก�ำหนดเขตโรคระบาดเพื่อควบคุมการเคลื่อนย้ายสุกรและผลิตภัณฑ์ ท�ำการสอบสวนทางระบาดวิทยา เพื่อค้นหาแหล่งที่มา และการแพร่กระจายของโรค ด�ำเนินการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่เกิดโรค และพื้นที่ เสี่ยง ฟาร์มเลี้ยงสุกรต้องเข้มงวดในมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพ เช่น ลดการเข้า - ออกให้เหลือ น้อยที่สุด ต้องอาบน�้ำทุกครั้งก่อนเข้า - ออก ซื้อสัตว์จากแหล่งที่เชื่อถือได้ ต้องกักกันสุกรที่เข้ามาเลี้ยง ใหม่อย่างน้อย 30 วันก่อนน�ำไปรวมฝูง เลี้ยงสัตว์แบบเข้าทั้งหมด/ออกทั้งหมด (all - in/all out) สร้าง โรงเรือนให้ห่างกันมากที่สุด ป้องกันสัตว์อื่น และสุกรป่าเข้ามาในฟาร์ม เป็นต้น ส�ำหรับประเทศที่มีโรคเกิดขึ้นเป็นโรคประจ�ำถิ่นก็ไม่ควรเลี้ยงสุกรแบบปล่อยเพื่อลดโอกาสการ สัมผัสกับเห็บอ่อนที่มีในถิ่นอาศัย มีมาตรการทางสุขอนามัยเพื่อจัดการสุกรที่หายป่วยซึ่งสามารถเป็น พาหะของเชื้อ ASFV ได้ตลอดชีวิต และท�ำการควบคุมประชากรสุกรป่าที่เป็นพาหะของโรค เชื้อโรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันไม่ติดคน แต่คุณสมบัติของเชื้อไวรัสที่มีความคงทน ท�ำให้เกิดโรคที่มี อัตราป่วย/อัตราตายสูง ติดต่อได้อย่างรวดเร็วทัง้ ทางตรง และทางอ้อม ไม่มยี ารักษา หรือวัคซีนป้องกัน ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคมได้สูง จึงท�ำให้เชื้อไวรัสนี้มีศักยภาพที่อาจถูกใช้เป็นอาวุธชีวภาพ ได้ (CIDRAP, 2009)
ð สรุป (Conclusion) ð โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกัน เป็นโรคระบาดร้ายแรงที่ท�ำให้สุกรตายเกือบ 100% ท�ำให้ส่งผลกระทบ ทางเศรษฐกิจสูง เมื่อเกิดขึ้นแล้วยากที่จะก�ำจัด เจ้าหน้าที่สัตวแพทย์ควรจะมีองค์ความรู้เกี่ยวกับ โรคอหิวาต์สุกรอัฟริกันที่ทันสมัยเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่เกษตรกร และแจ้งรายงานโรคเมื่อพบ สุกรป่วยด้วยอาการที่สงสัยได้ว่าอาจเป็นโรคชนิดนี้ ต้องท�ำการสอบสวนทางระบาดวิทยา และเก็บ ตัวอย่างส่งตรวจวินิจฉัยโรคทุกครั้ง ในอนาคตอันใกล้นี้ กรมปศุสัตว์อาจต้องด�ำเนินมาตรการเฝ้าระวัง โรคนี้อย่างมีประสิทธิผล เช่น ควบคุมพื้นที่ชายแดน และเก็บรวบรวมข้อมูลทุกชนิดที่เกี่ยวข้องกับการ น�ำเข้าลูกสุกรส�ำหรับบริโภค นับตั้งแต่ผู้น�ำเข้า เส้นทาง ผู้ค้า และ/หรือการเฝ้าระวังทางอาการในสุกร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
71
Around The World ที่เลี้ยงอยู่บริเวณพื้นที่ใกล้เคียง รวมถึงการพัฒนาห้องปฏิบัติการให้สามารถท�ำการตรวจวินิจฉัยโรค อหิวาต์สุกรอัฟริกันได้ และด�ำเนินมาตรการเฝ้าระวังโรคเชิงรุกโดยการเก็บตัวอย่างจากสุกรที่เลี้ยงใน บริเวณชายแดนหรือพื้นที่เสี่ยง ซึ่งจะขึ้นกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค หรือปัจจัยเสี่ยงทาง ระบาดวิทยา
ð เอกสารอ้างอิง (References) ð CIDRAP 2009 African Swine Fever. Center for Infectious Disease Research & Policy, Academic Health Center, University of Minnesota. (Access - 12 Jan 10: 10.42) http://www.Cidrap.umn.edu/cidrap/ content/biosecurity/ag-biosec/anim-disease/asf.html FAO 2007 African Swine Fever in Georgia. EMPRES WATCH - Emergency Prevention System (June 2007). Food and Agriculture Organization of the United Nations. FAO 2008 The epidemiology of avian influenza. Highly Pathogenic Avian Influenza and Beyond - The FAO Response. Emergency Centre for Transboundary Animal Diseases Operations. Food and Agriculture Organization of the United Nations Viale delle Terme di Caracalla 00153 Rome, Italy.www.fao.org FAO 2009 African Swine Fever Spread in the Russian Federation and the Risk for the Region. EMPRES WATCH - Emergency Prevention System (December 2009). Food and Agriculture Organization of the United Nations. OIE 2009 African Swine Fever. Chapter 15.1 Terrestrial Animal Health Code World Organisation for Animal Health, Paris, France. (Access - 12 Jan 2010: 11.03) OIE 2010 African Swine Fever (Updated: October 2009). Technical Disease Card. Animal Disease Information (Updated: 12 Jan 2010). World Organisation for Animal Health, Paris, France. (Access - 13 Jan 2 010: 11.30) http://www.oie.int/eng/maladies/Technical%20disease%20cards/AFRICAN% 20SWINE%20FEVER_FINAL.pdf Wikipedia 2010 Pig. Wikipedia, the Free Encyclopedia. (Access - 15 Jan 2010: 13.05) http://en.wikipedia. org/wiki/Pig หมายเหตุ : กรมปศุสัตว์ให้ทะเบียนวิชาการเลขที่ 54(2)-0105-019
72 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World
การสำ�รวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 2/2561 ระหว่างวันที่ 10 - 13 กรกฎาคม 2561 โดย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
รายชื่อผู้เข้าร่วมส�ำรวจ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.
นางนิภาพร โรจน์รุ่งเรืองกิจ น.ส.พิมพ์ปวีณ์ ม่วงศรี น.ส.ทิพย์วรรณ โพธิ์งามวงศ์ น.ส.เจษฎาภรณ์ นันทะแสง น.ส.ลาวัณย อนุวัฒนา น.ส.วรรทนี เฉียงเมือง นายสมศักดิ์ สัพเนตร น.ส.ญาณี มีจ่าย น.ส.ธาวินี ด�ำเนินวุฒิ นางจิรพรรณ์ รัตนราช น.ส.ศยามล พวงขจร นายกิตติพงษ์ คงศรีไพร นายวิทยา ดีอินทร์ น.ส.ฉริยา คงสืบเสาะ น.ส.ธันย์ชนก พงศ์พุฒินันท์ น.ส.ภาณุมาศ ตุ้ยตาจม นายอรรถพล ชินภูวดล น.ส.กรดา พูลพิเศษ
บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์ สยาม จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ยูไนเต็ด ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท ยูไนเต็ด ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
การส�ำรวจข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ครัง้ ที่ 2/2561 ระหว่างวันที่ 10 - 13 กรกฎาคม 2561 ได้ออกส�ำรวจ พืน้ ทีท่ างเขตภาคตะวันออกในพืน้ ทีจ่ งั หวัด สระแก้ว - นครราชสีมา - เพชรบูรณ์ - นครสวรรค์ ซึง่ ได้ทำ� การ รวบรวมข้อมูลจากทางส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และส�ำนักงานเกษตรจังหวัด มาประกอบการส�ำรวจ ควบคู่กับข้อมูลที่ได้จากการเข้าพบพ่อค้า/ไซโล รวมถึงเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อีกด้วย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
73
Around The World การเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ฤดูกาลผลผลิตปี 2561/2562 ในพื้นที่ส�ำรวจจังหวัดเป้าหมาย พบว่าพื้นที่เพาะปลูกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากปัจจัยดังนี้ : - 1. สภาพอากาศเอื้ออ�ำนวยต่อการเพาะปลูก ซึ่งในปีนี้มีฝนตกลงมาเร็วท�ำให้มีปริมาณน�้ำมาก เพียงพอกว่าในช่วง 3 - 4 ปีที่ผ่านมา ซึ่งประสบกับปัญหาภัยแล้ง 2. ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในฤดูกาลผลิตปี 2560/61 นั้น ราคาค่อนข้างสูง จึงเป็นแรงจูงใจ เกษตรกรเพาะปลูกมากขึ้น 3. เกษตรกรบางส่วนปรับเปลีย่ นพืน้ ทีเ่ พาะปลูกจากอ้อยโรงงาน และมันส�ำปะหลัง เพือ่ มาเพาะปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทดแทน เนื่องจากได้ผลตอบแทนดีกว่าอ้อยโรงงานที่ราคาปีที่ผ่านมาอ่อนตัวลง และ มันส�ำปะหลังในช่วงปีที่ผ่านมามีปัญหาโรคจากผลกระทบภัยแล้ง ทางด้านผลผลิตรวม คาดการณ์ว่าน่าจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า เนื่องจาก ในช่วงเวลาทีล่ งพืน้ ทีส่ ำ� รวจหลายพืน้ ทีเ่ พิง่ เริม่ เก็บเกีย่ ว และบางพืน้ ทีเ่ กษตรกรยังไม่ได้เก็บเกีย่ วผลผลิต ซึ่งในการส�ำรวจพื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่ คาดว่าจะได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วด้วยสภาพภูมิอากาศ และปริมาณน�ำ้ ฝนทีต่ กลงมาในปีนคี้ อ่ นข้างดี และฝนตกลงมาอย่างสม�ำ่ เสมอตามช่วงเวลา ท�ำให้ปริมาณ น�ำ้ ฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ไม่พบพืน้ ทีก่ ระทบแล้ง อีกทัง้ เกษตรกรยังมี การใส่ปุ๋ยดูแลบ�ำรุงดินดี คณะส�ำรวจได้รับข้อมูลจากเกษตรจังหวัด พ่อค้าท้องถิ่น พ่อค้าพื้นที่ไซโล/ลาน และเกษตรกร ผูเ้ พาะปลูก ว่าในปีนเี้ กษตรกรด�ำเนินการเพาะปลูกเร็วซึง่ น่าจะเข้าสูฤ่ ดูกาลปกติ (ในช่วง 3 - 4 ปีทผี่ า่ นมา ประสบกับปัญหาภัยแล้ง) เนื่องจากปีนี้ฝนมาเร็วและตกอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นปัจจัยที่คาดว่าจะสามารถ เก็บเกี่ยวผลผลิตได้เร็วกว่าปีก่อนหน้าเล็กน้อย แต่จากการลงพื้นที่ ได้พบว่าหลายพื้นที่ยังไม่สามารถ เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ต้นข้าวโพดมีอายุตั้งแต่ 60 - 70 วัน บางพื้นที่เก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว และ เริ่มเตรียมดินบ�ำรุงส�ำหรับการเพาะปลูกรุ่น 2 โดยในส่วนของพ่อค้าเองอยู่ในช่วงรอการเปิดท�ำงาน รับซือ้ ผลผลิต โดยเปิดรับซือ้ ผลผลิตเต็มทีใ่ นเดือนสิงหาคมเป็นต้นไป สต็อกของพ่อค้ามีไม่มาก เนือ่ งจาก จะเริ่มเข้าสู่ช่วงการเก็บเกี่ยวผลผลิต ราคาข้าวโพดขยับปรับอ่อนตัวลง ท�ำให้พ่อค้ารับซื้อข้าวโพดเข้ามา และระบายขายออกทันที ดังนั้นในการลงพื้นที่ส�ำรวจในครั้งนี้ คณะส�ำรวจจึงไม่ได้พบการเก็บเกี่ยว ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ท�ำได้แค่เช็คสภาพผลผลิตที่ยังพอมีอยู่ในลานเท่านั้น แต่จากปริมาณน�้ำฝน ที่เพียงพอ และราคาในช่วงก่อนหน้าสูง ท�ำให้เกษตรกรลงทุนและดูแลผลผลิตเป็นอย่างดี คาดว่าจะ ได้ผลผลิตที่มากขึ้น และมีคุณภาพมากกว่าปีที่ผ่านมาเล็กน้อย ระบบการซื้อทุกพื้นที่ยังมีทั้งแบบ ขอเอกสารสิทธิ์ และไม่ขอเอกสารสิทธิ์ โดยจะมีส่วนต่างให้ 0.05 - 0.10 บาท/กก.
74 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World ตารางสรุปผลผลิตการส�ำรวจในพื้นที่ จังหวัด สระแก้ว นครราชสีมา เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ รวม
พื้นที่ปลูก (ไร่) ปี 60/61 ปี 61/62 117,926 126,180 792,935 808,793 793,784 807,782 261,713 268,424 1,972,358 2,011,179
เพิ่ม/ลด 7.00% 2.00% 1.00% 2.50% 1.97%
ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (กิโลกรัม) ผลผลิตรวม (ตัน) ปี 60/61 ปี 61/62 เพิ่ม/ลด ปี 60/61 ปี 61/62 เพิ่ม/ลด 631 694 10.00% 74,411 87,569 17.68% 748 755 1.00% 593,115 610,639 2.95% 821 829 1.00% 659,622 669,651 1.98% 685 719 5.00% 179.216 192,997 7.70% 762 776 1.82% 1,503,364 1,560,856 3.82%
**เนื่องจากระหว่างส�ำรวจ จ.นครราชสีมา อยู่ในระหว่างเตรียมพื้นที่เพาะปลูกรุ่น 2 และ จ.เพชรบูรณ์ ผลผลิตยังไม่ได้ถูกเก็บเกี่ยว ดังนั้นจะมีการน�ำข้อมูลทั้ง 2 จังหวัดมาทบทวนอีกครั้ง**
» จังหวัดสระแก้ว « แหล่งข้อมูล : บริษัท รุ่งเรืองผล จ�ำกัด ต.คลองหินปูน อ.วังน�้ำเย็น จ.สระแก้ว คุณอัมพร ปิยะทัศน์ศรี โทรศัพท์ 081 - 917 - 9947, เกษตรกร ต.ไทยอุดม อ.คลองหาด จ.สระแก้ว คุณทนอง ซ้อนกลิ่น, เกษตรกร ต.ไทยอุดม อ.คลองหาด จ.สระแก้ว คุณประเทือง โทรศัพท์ 081 - 3859416 ฤดูกาลผลิต ปี 2560/2561 ปี 2561/2562 เพิ่ม/ลด (%)
พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 117,926 126,180 7.00%
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 631 694 10.00%
ผลผลิตรวม (ตัน) 74,411 87,569 17.68%
สภาพทั่วไป พื้นที่เพาะปลูกในปี 2561/2562 เพิ่มขึ้นจาก 117,926 ไร่ เป็น 126,180 ไร่ เพิ่มขึ้น 7% จาก ปีที่แล้ว เนื่องจากราคาข้าวโพดในปีนี้จูงใจ รวมทั้งราคาอ้อยโรงงานอ่อนตัวลง อีกทั้งยังพบโรคในมัน ส�ำปะหลังผลกระทบจากภัยแล้ง ท�ำให้เกษตรกรปลูกข้าวโพดเพิม่ ขึน้ อีกทัง้ สภาพอากาศในปีนเี้ อือ้ อ�ำนวย ต่อการเพาะปลูก ต้นทุนในการเพาะปลูกอยู่ที่ 3,000 - 4,000 บาท/ไร่ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
75
Around The World ผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่ เมล็ดแห้งอยูท่ ี่ 694 กก./ไร่ เพิม่ ขึน้ จากปีทแี่ ล้ว 10% เนือ่ งจากปริมาณน�ำ้ ฝน มากเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และเกษตรกรเลือกเมล็ดพันธุ์เหมาะสมกับพื้นที่ พร้อมทัง้ บ�ำรุงรักษาดินและต้นข้าวโพดได้ดี เมล็ดพันธุท์ ใี่ ช้ในพืน้ ที่ เอ็นเค ซีพี 303, 640 โดยเกษตรกร ในพื้นที่ทดลองปลูกพันธุ์ที่หลากหลาย และพบว่าพันธุ์ เอ็นเค เหมาะสมกับพื้นที่และได้ผลผลิตดี พืชอืน่ ทีเ่ พาะปลูกในพืน้ ที่ ได้แก่ อ้อย มันส�ำปะหลัง และยูคาลิปตัสในบางพืน้ ที่ ในด้านของราคา เกษตรกรค่อนข้างพอใจ เนือ่ งจากราคารับซือ้ ในปีนดี้ กี ว่าปีทแี่ ล้วเล็กน้อย โดยในปีนอี้ ยูท่ ี่ 6 - 7 บาท/กก. เมล็ดแห้ง จากการสอบถามพ่อค้า และเกษตรกร ทราบว่ามีขา้ วโพดจากชายแดนเข้ามาในประเทศบางส่วน ขนส่งเข้ามาโดยรถพ่วง และกระจายไปตามลานรับซื้อในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว และพื้นที่ใกล้เคียง และ ปัจจุบันมีไซโลไปตั้งบริเวณชายแดนมากขึ้น
» จังหวัดนครราชสีมา « แหล่งข้อมูล : สหกรณ์การเกษตร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา คุณกุลวดี ก้อนทอง ผู้ช่วยผู้จัดการ ฝ่ายการตลาด โทรศัพท์ 098 - 2978996, ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ตรงพาณิชย์ ต.ปากช่อง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา คุณเบียร์ โทรศัพท์ 085 - 4199519, บริษัท ตั้งย่งง้วนพืชไร่ จ�ำกัด ต.ด่านขุนทด อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา คุณศราวุธ 081 - 8788201 ฤดูกาลผลิต ปี 2560/2561 ปี 2561/2562 เพิ่ม/ลด (%)
พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 792,935 808,793 2.00%
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 748 755 1.00%
ผลผลิตรวม (ตัน) 593,115 610,639 2.95%
สภาพทั่วไป พืน้ ทีเ่ พาะปลูก จากเดิม 792,935 ไร่ เป็น 808,793 ไร่ เพิม่ มากขึน้ 2% เนือ่ งจากราคาข้าวโพด จูงใจ อีกทัง้ อ้อยโรงงานราคาไม่คอ่ ยดี เกษตรกรเพาะปลูกข้าวโพดรุน่ 1 เพิม่ มากขึน้ จากเดิมจะเพาะปลูก ข้าวโพดรุ่น 2 เป็นหลัก เนื่องจากการเพาะปลูกข้าวโพดรุ่น 1 เสี่ยงต่อการกระทบแล้ง แต่ด้วยปีนี้ ฝนมาเร็วกว่าปีทผี่ า่ นมา อีกทัง้ ราคาทีค่ อ่ นข้างสูง ท�ำให้เกษตกรตัดสินใจเสีย่ งปลูก ต้นทุนในการเพาะปลูก อยู่ที่ 5,500 - 6,000 บาท/ไร่
76 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World ผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่ เนือ่ งจากสภาพอากาศดี และมีปริมาณน�ำ้ ฝนมากเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เกษตรกรมีการบริหารจัดการและดูแลผลผลิตที่ดี โดยเฉพาะ อ.สีคิ้ว และ อ.สูงเนิน จึงคาดว่าผลผลิตจะมากขึ้นจากปีที่แล้วประมาณ 2% อยู่ที่ 755 กก./ไร่ เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ ได้แก่ เอ็นเค, ไพโอเนีย พืชอืน่ ทีเ่ พาะปลูกในพืน้ ที่ ได้แก่ อ้อยโรงงาน มันส�ำปะหลัง และพืชสวน ฯลฯ เช่น มะม่วง น้อยหน่า ถัว่ เขียว แก้วมังกร ผักชี มีถวั่ เขียว และถัว่ ลิสงบ้าง ราคารับซือ้ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ชว่ งนีใ้ นพืน้ ที่ อ.ปากช่อง และอ.ด่านขุนทด อยูท่ ี่ 8.50 - 9.00 บาท/กก. เมล็ดแห้ง ทัง้ นีพ้ อ่ ค้าให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมว่าเกษตรกรในพืน้ ที่ อ.สีควิ้ และอ.ห้วยบง ยังคงปลูกมันส�ำปะหลังอยูแ่ ม้วา่ ราคาจะตก เนือ่ งจากในพืน้ ทีด่ งั กล่าวมีโรงงานแป้ง ส�ำหรับข้าวโพดชายแดนปีนี้ยังไม่พบเห็นรถบรรทุกขนเข้ามามากนัก เนื่องจากยังไม่ถึงช่วงเวลา ทีข่ นถ่ายเข้ามา โดยปีกอ่ นๆ จะมีรถขนเข้ามาในช่วงเดือน ก.ย. และ ต.ค. ซึง่ ข้าวโพดชายแดนมีจดุ สังเกต คือ จะไม่ใช่รถในท้องที่ และเป็นรถขนาดใหญ่ มีผา้ ใบคลุมมิดชิด ทัง้ นีว้ อนขอให้ภาครัฐรักษาเสถียรภาพ ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้อยู่ได้ทั้งเกษตรกร พ่อค้า โรงงานอาหารสัตว์
» จังหวัดเพชรบูรณ์ « แหล่งข้อมูล : เกษตรกร ต.พญาวัง อ.บึงสามพัน จ.เพชรบูรณ์ คุณภัทร มโนรา โทร 089 - 5483361 ร้านเด่นนาเฉลียง อ.หนองไผ่ และข้อมูลร้านเทพมิตร ต.เขาทราย อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร ฤดูกาลผลิต ปี 2560/2561 ปี 2561/2562 เพิ่ม/ลด (%)
พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 799,784 807,782 1.00%
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 821 829 1.00%
ผลผลิตรวม (ตัน) 656,622 669,651 1.98%
สภาพทั่วไป พื้นที่เพาะปลูกในปีนี้อยู่ที่ 807,782 ไร่ จากปีที่แล้ว 799,784 ไร่ เพิ่มขึ้น 1% เนื่องจากสภาพ อากาศ และราคาทีค่ อ่ นข้างสูงในปีนี้ รวมถึงราคาอ้อยโรงงานอ่อนตัวลง ท�ำให้เกษตรกรหันมาเพาะปลูก ข้าวโพดทดแทนบางส่วน แต่อย่างไรก็ตาม พืน้ ทีห่ ลักเป็นพืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวโพดอยูแ่ ล้ว จึงถือว่าไม่ได้มี พื้นที่เพิ่มเติมเท่าไรนัก ส�ำหรับต้นทุนในการเพาะปลูกอยู่ที่ 3,500 - 4,500 บาท/ไร่ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
77
Around The World ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ อยู่ที่ 829 กก./ไร่ จากปีที่แล้ว 821 กก./ไร่ เพิ่มขึ้น 5% จากสภาวะฝนดี เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อีกทั้งเกษตรกรมีการบริหารจัดการและดูแล ผลผลิตที่ดี เช่น เพิ่มจานวนต้นต่อไร่ เพิ่มปริมาณปุ๋ยที่ใช้บ�ำรุงมากขึ้น แต่เนื่องจากผลผลิตยังไม่ครบ ก�ำหนดที่จะเก็บเกี่ยว โดยจะเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงกลางเดือน ส.ค. เป็นต้นไป ทางคณะส�ำรวจ จึงประเมินให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย และจะท�ำการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมในช่วงผลผลิตออกอีกครั้ง เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ได้แก่ 303, 919 พืชอืน่ ทีเ่ พาะปลูกในพืน้ ที่ ได้แก่ มันส�ำปะหลัง และอ้อย ราคารับซือ้ ข้าวโพดปีทแี่ ล้ว 6.00 บาท/ กก. เมล็ดสดความชื้น 30% และคาดว่าปีนี้ราคาจะดีกว่าปีที่แล้ว ในพื้นที่ อ.บึงสามพัน เกษตรกรนิยม ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สลับกับถั่วเขียว โดยหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวโพดในเดือน ส.ค. แล้ว จะเริ่ม เตรียมดินเพื่อเพาะปลูกถั่วเขียวต่อไป ผลผลิตจะออกมากในช่วงปลาย ส.ค. - ก.ย. เป็นต้นไป
» จังหวัดนครสวรรค์ « แหล่งข้อมูล : ฮั่งเส็งพืชผล อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ คุณวิษณุ โทรศัพท์ 086 - 5916660 ฤดูกาลผลิต ปี 2560/2561 ปี 2561/2562 เพิ่ม/ลด (%)
พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 261,713 268,424 2.50%
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 685 719 5.00%
ผลผลิตรวม (ตัน) 179,216 192,997 7.70%
สภาพทั่วไป พื้นที่เพาะปลูก จากเดิม 261,713 ไร่ เป็น 268,424 ไร่ เพิ่มขึ้น 2.50% ผลมาจากเกษตรกร น�ำพื้นที่ที่เสียหาย และปล่อยว่างในปีที่แล้วกลับมาเพาะปลูกข้าวโพด และลดพื้นที่อ้อยมาปลูกข้าวโพด ทดแทนเนื่องจากราคาอ้อยที่อ่อนตัวลง
78 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Around The World ผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่ จากเดิม 685 กก./ไร่ เป็น 719 กก./ไร่ เพิม่ ขึน้ 5% เนือ่ งจากมีปริมาณน�ำ้ ฝน มากเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าวโพด และได้รับการสนับสนุนด้านปัจจัยในการผลิต เช่น ปุย๋ เมล็ดพันธุ์ อีกทัง้ ในพืน้ ที่ อ.ตาคลี เกษตรกรเพาะปลูกโดยใช้ระบบน�ำ้ หยด จึงสามารถให้นำ�้ บ�ำรุงได้ อย่างทั่วถึง และได้ผลผลิตที่ดี เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ ได้แก่ ไพโอเนีย แปซิฟิค เอ็นเค พืชอื่นที่เพาะปลูกในพื้นที่ ได้แก่ มันส�ำปะหลัง อ้อยโรงงาน ทานตะวัน และข้าวฟ่าง ปีนี้คาดว่า จะเปิดราคารับซื้อข้าวโพด 9.00 บาท/กก. เมล็ดแห้ง และปรับเปลี่ยนไปตามราคารับซื้อของโรงงาน อาหารสัตว์ จากการสอบถามพบว่า ส่วนใหญ่เกษตรกรจะปลูกข้าวโพดเพียงรุ่นเดียว โดยเริ่มปลูก ในเดือน เม.ย. และหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตในเดือน ส.ค. จะเพาะปลูกพืชอื่นๆ เช่น ทานตะวัน พ่อค้า มีความเป็นกังวลในเรื่องของการน�ำเข้าวัตถุดิบทดแทน หากมีมากจะท�ำให้รถส่งข้าวโพดตกค้าง คาดว่า ผลผลิตจะทยอยออกในช่วงกลาง ส.ค. - ต.ค. จัดท�ำโดย นางสาวกรดา พูลพิเศษ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 18 กรกฎาคม 2561
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 181 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
79
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำ�วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ 1 บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ 3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) 4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด 5 บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) 6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุรี 7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด 8 บริษัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด 9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จ�ำกัด 10 บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จ�ำกัด 11 บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด 12 บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จ�ำกัด 13 บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 14 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด 15 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 16 บริษัท พรีเมียร์ เทค โครโนส จ�ำกัด 17 บริษัท วี เอ็น ยู เอ็กซิบิชั่น เอเซีย แปซิฟิค จ�ำกัด 18 ลา เมคคานิค่า เอส อาร์ แอล ดิเรฟโฟ 19 บริษัท เออีซี อินโนเวเทค จ�ำกัด
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2694-2498 โทร. 0-2740-5001 โทร. 0-2670-0900 ต่อ 122 โทร. 098-248-9771 โทร. 061-619-7471