ของรางวัล มูลคากวา
18 ลานบาท อาทิ
สแกน คิวอารโคด บนคูปอง แลวกรอกขอมูล (สงฟรี) สงรหัสชิงโชคมาที่ SMS หมายเลข 4141234 (คาบริการครั้งละ 3 บาท)
รหัสชิงโชค xxxxxxxxxx สงรหัสชิงโชคมาที่ SMS หมายเลข 4141234
วิธีที่
หยอนลงกลองรับชิ้นสวน ณ รานคาที่รวมรายการ
4
สงคูปองมาที่ตู ปณ.8 ปณ.หลักสี่ กรุงเทพ 10210
รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จ�ำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จ�ำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด
28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54.
บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ยู่สูง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จ�ำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท บุญพิศาล จ�ำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จ�ำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จ�ำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จ�ำกัด บริษัท เจบีเอฟ จ�ำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด บริษัท แสงทองอาหารสัตว์ จ�ำกัด
อภินันทนาการ
คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจ�ำปี 2562-2563
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ น.ส. สุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายสุจิน ศิริมงคลเกษม น.ส. รติพันธ์ หิตะพันธ์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจ�ำลอง เติมกลิ่นจันทน์ นายพน สุเชาว์วณิช
นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิก เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ป. เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นช์ จ�ำกัด (มหาชน)
บรรณาธิการแถลง วิกฤตการณ์ ทีภ่ าคปศุสตั ว์ตอ้ งระมัดระวังอย่างมากในขณะนี้ มีหลายเหตุการณ์ ทัง้ ภาวะภัยแล้งทีผ่ า่ นมา และจะต้องมารับสภาพวิกฤตมรสุมทีอ่ าจจะท�ำให้เกิดภาวะ น�ำ้ ท่วมขัง ผลผลิตเสียหาย และอาจจะเกิดภาวะรุมเร้าให้เกิดภาวะฝนทิง้ ช่วงในพืน้ ที่ ที่มีความต้องการน�้ำ เรียกว่า ไม่แน่นอน ท�ำให้การวางแผนการผลิตของเกษตรกร เป็นไปด้วยความยากล�ำบาก นอกจากนี้ ภาวะโรคระบาดทีจ่ ะต้องเฝ้าระวังอย่างมาก ในขณะนี้ คือ อหิวาต์แอฟริกาในสุกร หรือ ASF ซึ่งทั้งภาครัฐ และเอกชน ต้อง ร่วมมือกันควบคุมสถานการณ์อย่าให้มีการหลุดรอดเข้ามาในประเทศให้ได้ แม้ว่า ข่าวคราวการเข้ามาประชิดเขตประเทศเพือ่ นบ้านเรามาก และมีกระแสข่าวทีถ่ กู ปล่อย ให้สบั สน ตืน่ ตกใจ ซึง่ ก็ตอ้ งให้ภาครัฐเป็นผูใ้ ห้ความกระจ่างแก่ทกุ ภาคส่วน ให้ได้รบั ข่าวสารทีถ่ กู ต้อง ไม่ถกู การเอาเปรียบ สร้างสถานการณ์ทำ� ให้ราคาตกต�ำ่ แก่เกษตรกร ผู้เลี้ยง แล้วฉวยโอกาสไปขึ้นราคาแก่ผู้บริโภค นอกจากนี้ ภาวะการขาดแคลนวัตถุดิบอาหารสัตว์ จากวิกฤตภัยแล้ง หรือ โรคหนอนกระทู้ลายจุดในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ต่างก็ต้อง หาทางแก้ไขให้ได้โดยเร็ว มิฉะนัน้ โครงสร้างต้นทุนการเลีย้ งสัตว์ของเกษตรกรก็จะต้อง สูงขึ้น แล้วจะกระทบต่อผู้บริโภคเนื้อสัตว์และการส่งออกไปแข่งขันด้านราคาก็จะยาก ยิ่งขึ้น ดังนัน้ ภาครัฐจะต้องเข้ามาช่วยเหลือเกษตรกรให้มวี ตั ถุดบิ หลากหลายทีม่ โี อกาส น�ำมาใช้ได้ในการเลีย้ งสัตว์ ให้มกี ารน�ำมาทดแทนส่วนทีข่ าดแคลนไม่เพียงพอในประเทศ เพื่อให้ภาคปศุสัตว์ท่ีทุกภาคส่วนได้ท�ำมาอย่างดีแล้ว เติบโตต่อไปในอัตราที่เพิ่มขึ้น ไม่ยอมให้ประเทศเพือ่ นบ้าน หรือคูแ่ ข่งทางการค้า จะมาแซงหน้าประเทศไทยไปได้ เพราะ ถ้าแซงหน้าไปได้แล้ว โอกาสที่ภาคปศุสัตว์ประเทศไทยจะกลับมาเป็นผู้น�ำได้อีก คงจะ ยากยิ่งขึ้น จึงหวังว่าจะได้รับความสนับสนุนอย่างดี จากผู้เกี่ยวข้องตลอดไป บก.
วารสาร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 ประจำ�เดือน กรกฎาคม - สิงหาคม 2562 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
Contents 25 27 29 31
Food Feed Fuel
ตลาดสัตว์ปีกโลก เท่กว่าถ้ากล้าแตกต่าง ไข่ไก่และหมูไทย...เริม ่ สมดุล สถานการณ์ ถั่วเหลือง สถานการณ์ กากถั่วเหลือง สถานการณ์ ปลาป่น มุ่งสู่มาตรฐาน ยกระดับอุตสาหกรรมปาล์มน้�ำมันที่ย่ังยืน มาตรการรับมือ สถานการณ์ปาล์มโลกของไทย นโยบายสิ่งแวดล้อม EU ใหม่ สะเทือน “ปาล์มน้�ำมัน” ทั่วโลก โปรไบโอติค มีความส�ำคัญอย่างไรต่อการเลี้ยงกุ้ง
34 36 38 40 42 44 50 54 52
‘ไทย’ ร่วมกับ ‘FAO’ จัดงาน IUU DAY หวังกระตุ้นให้เห็นคุณค่าของทรัพยากรประมง ผู้วา ่ ฯ ลพบุรไี ฮเทค ใช้โดรน - เฮลิคอปเตอร์ ปราบหนอนกระทู้ 9 หมื่นไร่
61 63
Market Leader
Thailand Focus
ทิศทางและโอกาสของข้าวโพดและข้าวฟ่าง ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารและอาหารสัตว์ พบคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาศึกษาปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่�ำ นายกหมูโต้ข่าวลือ โรค ‘ASF’ ยังไม่ระบาดเข้าไทย ราชบุรด ี ึงอีสาน สกัด ASF ห่างไทย 8 กม. ลงขันซื้อหมูชายแดนมุกดาหาร-ขอรัฐ 500 ล. ไร้ผล กรมปศุสัตว์-ซีพีเอฟ บูรณาการ จ.ยโสธร และจังหวัดในภาคกลางต่อเนื่อง เร่งติวเกษตรกรรายย่อยทั่วไทยรูแ ้ ละเข้าใจ ป้องกัน ASF กรมปศุสัตว์-ซีพีเอฟ ผนึกก�ำลังป้องกัน อหิวาต์แอฟริกาในสุกร ส่งมอบศูนย์ท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรค จ.เชียงราย CPF ผนึกกรมปศุสัตว์ ช่วยเกษตรกรรายย่อย สกัดโรค ASF 10 ขั้นตอนท�ำความสะอาดและพ่นยาฆ่าเชื้อรถรับสุกร
การป้องกันก�ำจัด หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดในข้าวโพดชนิดต่างๆ คาร์กิลล์ เตรียมปิดโรงงานอาหารในจีน หลังยอดการใช้หายวูบ ASF
Around the World
ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง ก�ำหนด รายชื่อยาที่ห้ามใช้ผสมในอาหารสัตว์ในวัตถุประสงค์ เพื่อการป้องกันโรค พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๕๘ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๑๗ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธก ี ารในการขออนุญาต การอนุญาต แบบหนังสืออนุญาต และวิธก ี ารขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ขอบคุณ
5 14 19 22
65 66 67 69 72 80
ด�ำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประธานกรรมการที ป ่ รึ ก ษา : นายประเสริ ฐ พุ ง ่ กุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิต ิ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง นางสาวกรดา พูลพิเศษ ส�ำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com
ระบบมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง
GMP / HACCP
ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015
Thailand Focus เอกสารประกอบการอภิปราย งานประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง ครั้งที่ 39
ทิศทางและโอกาสของ ข้าวโพดและข้าวฟ่าง ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารและอาหารสัตว์
นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ เลขาธิการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย วันที่ 27 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมลพบุรีอินน์ รีสอร์ท จังหวัดลพบุรี
เอกสารปร งานประชุมวิชาการข
ทิศทางและโอกาส สาหรับอุตสาหกร เอกสารป
งานประชุมวิชาการ นายบุญธ เลขาธิการสมา ทิศทางและโอกาส
วันที่ 2 สาหรับอุณตโรงแรมลพบุ สาหกร 5 ร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
6
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
ห่วงโซ่อุตสาหกรรมอาหารประเทศไทย มูลค่าผลิตภัณฑ์ปศุสตั ว์ และประมง 600,000 ล้านบาท
มูลค่าอาหารสัตว์ 300,000 ล้านบาท
มูลค่าบริโภคภายในประเทศ และส่งออก 800,000 ล้านบาท ป้ อนในประเทศ 80 %
ครัวไทย วัตถุดิบ การเกษตร
โรงงานอาหาร สัตว์
แปรรูป ผลิตภัณฑ์สตั ว์
การลี้ ยงสัตว์
อาหาร
ครัวโลก ส่งออกต่างประเทศ 20 %
มาตรฐาน มันคง ่
ปลอดภัย
ยังยื ่ น
3
ทิศทางอาหารสัตว์ไทย การเติบโตอาหารสัตว์ปี 2531-2562 เฉลี่ยปี ละ = 9.43% การเติบโตอาหารสัตว์ปี 2561-2562 = 1.28%
ล้านตัน
20.18 วิกฤตการเงินอเมริกา
2562
2561
2560
2559
2558
2557
2556
2555
2554
2553
2552
2551
2550
2549
2548
2547
2546
2545
2544
2543
ไข้หวัดนก
2542
2541
2540
2539
2538
2537
2536
2535
2534
วิกฤตการเงินไทย
2533
2532
2531
22 20 18 16 14 12 10 8 6 5.12 4 2 0
ที่มา: สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย * ข้อมูล ณ วันที่ 1 ก.ค. 2562
4
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
7
Thailand Focus
ความต้องการวัตถุดิบข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ล้านตัน 9 8 7 6 5 4.62 4 3.84 4.67 3 3.12 2 1 0 2541
2542
ความต้องการข้าวโพดเลี้ ยงสัตว์ ปี 2541-2562 เฉลี่ยปี ละ = 5.71% การเติบโตของผลผลิตข้าวโพดเลี้ ยงสัตว์ ปี 2541-2562 เฉลี่ยปี ละ = 0.52%
บาท/กก. 12
8.44
10
9.31 5.12
8
5.55 6
4
2 2543
2544
2545
2546
2547
ความต้องการใช้
2548
2549
2550
2551
ผลผลิตข้าวโพด
2552
2553
2554
2555
ราคาตลาดโลก
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562*
0
ราคาหน้าโรงงาน
ที่มา: สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย * ข้อมูล ณ วันที่ 1 ก.ค. 2562
5
สถานการณ์วตั ถุดิบข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พื้ นที่ปลูกไม่เหมาะสม
ผลผลิตไม่เพียงพอผลิต 5 ล้านตัน ต้องการ 8.4 ล้านตัน
ประกันราคา 8 บาท
ประสิทธิภาพการผลิตต ่า และ เก็บเกี่ยวกระจุกตัวในฤดูฝน ส่งออกเสรี
จากัดการนาเข้า
6
8
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
ปั ญหาสินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1.ประสิทธิภาพการผลิตของข้าวโพดเลี้ ยงสัตว์ไทยต ่ากว่าค่าเฉลี่ยของโลก
ประเทศ
ผลผลิต (ล้านตัน)
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม)
ไทย อเมริกา จีน บราซิล อาเจนติน่า ยูเครน อื่นๆ รวม
5 353 254 101 50 36 309 1,108
699 1,702 992 893 1,312 1,192 923
ที่มา: USDA August 2019
7
สาเหตุเพราะพื้นที่ปลูกไม่เหมาะสม
(พื้ นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ 47% ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก 12%)
ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน
8
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
9
Thailand Focus
ปั ญหาสินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2.ผลผลิตออกกระจุกตัวทาให้ราคาผันผวน ต้นฝน : ปลายฝน : แล้ง สัดส่วน 72 : 23 : 5 (ร้อยละของผลผลิตทั้งปี )
ร้อยละผลผลิตทั้งปี 30.00
25.00 20.00
8.09
8.22
8.42 8.18
21.33 8.25
8.27
15.00
9.37
10.00 5.00 0.00
2.16
2.59
มีค.
เมย.
0.64
0.62
พ.ค.
มิย.
ส.ค.
7.19
ก.ย.
ต.ค.
9.00 8.50
21.08
7.49
2.50 ก.ค.
24.06
บาท/กก. ณ ไร่นา
11.25 7.48 7.34
7.98
ธ.ค.
8.00 7.50
2.94 พ.ย.
8.18
ม.ค.
1.46 ก.พ.
7.00 6.50
9
ที่มา : เอกสารโครงการข้าวโพดหลังนา กรมส่งเสริมการเกษตรฯ (เฉลี่ยปี 2555-2559)
การเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูทานา
ปี 2559/2560 เป้ าหมาย 2 ล้านไร่ ปี 2560/2561 เป้ าหมาย 0.7 ล้านไร่ ปี 2561/2562 เป้ าหมาย 2 ล้านไร่
พื้ นที่เข้าร่วมโครงการจานวน 148,949 ไร่ พื้ นที่เข้าร่วมโครงการจานวน 452,828 ไร่ พื้ นที่เข้าร่วมโครงการจานวน 724,932 ไร่ 10
10
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
ปั ญหาสินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3.ปั ญหาหมอกควัน
.
11
แนวทางแก้ไขปั ญหาหมอกควัน การผลักดันการผลิตข้าวโพดเลี้ ยงสัตว์ให้เข้าสู่มาตรฐาน GAP มกษ. 4402 .
12
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
11
Thailand Focus
แนวทางแก้ไขปั ญหาหมอกควัน โครงการสวมหมวกใส่รองเท้า ให้ภูเขาหัวโล้น อ.เวียงสา จ.น่าน .
60 % ไม้ยืนต้น 30 % พืชทำกิ น
10 % พืชชุ่มน้ำ สมาคมฯ ร่วมกับ มจธ. และวิทยาลัยชุมชนน่าน
13
ปั ญหาสินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 4.ภัยแล้ง และแมลงศัตรูพืชหนอนกระทูล้ ายจุด
.
14
12
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
ข้อเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่ 1
ปั ญหาข้าวโพด ประสิทธิภาพการผลิตต ่า
2
ผลผลิตออกกระจุกตัวทาให้ราคา ประกันรายได้เกษตรกร ตามนโยบายเร่งด่วนข้อที่ 4 และ ผันผวน ส่งเสริมโครงการข้าวโพดหลังนาเพื่อกระจายผลผลิต และ ลดการใช้น้ าในระบบชลประทาน ปั ญหาหมอกควัน ส่งเสริมการปลูกข้าวโพดตามมาตรฐาน GAP ของ มกอช. ภัยแล้งและหนอนกระทูร้ ะบาด ชดเชยรายได้เกษตรกรปั จจุบนั และส่งเสริมการทา ประกันภัยผลผลิตข้าวโพดในอนาคต
3 4
แนวทางแก้ไขปั ญหา ลดการปลูกข้าวโพดในพื้ นที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งลดการ ปลูกข้าวโพดในพื้ นที่ที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์
15
บทสรุป ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็ นวัตถุดิบหลักในการผลิตอาหารสัตว์ และยังมีความต้องการในตลาดจานวนมาก
เกษตรกรจะต้องเร่งพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต และเดินหน้าเข้าสูร่ ะบบการผลิตที่ได้มาตรฐาน เพื่อตอบโจทย์บริบทการค้าของโลกในปั จจุบนั 16
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
13
Thailand Focus
พบ คณะกรรมาธิการวิสามัญ พิ จารณาศึกษาปัญหา
ราคาพื ชผลทางการเกษตรตกต�่ำ วันที่ 30 กรกฏาคม 2562 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ได้รับเชิญจาก คณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาศึกษาปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต�่ำ เพื่อให้ข้อมูลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ์วัตถุดิบอาหารสัตว์ไทย ปัญหา และ แนวทางการแก้ เพือ่ เป็นประโยชน์ในการน�ำไปผลักดันนโยบายรัฐเพือ่ แก้ไขปัญหา ในองค์รวมต่อไป ห่วงโซ่อุตสาหกรรมอาหารประเทศไทย มีความส�ำคัญต่อเศรษฐกิจของ ประเทศ ซึ่งประกอบด้วย ภาคการเกษตร อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ปศุสัตว์ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร และอุตสาหกรรมอาหาร โดยในปัจจุบัน ประเทศไทย ผลิตอาหาร 80% ป้อนภายในประเทศ และส่งออก 20% ในอดีตตลอด 30 ปี ที่ผ่านมา ถือว่าอุตสาหกรรมอาหารเติบโตมาอย่างต่อเนื่อง ตอบสนองนโยบาย ครัวไทยครัวโลกของภาครัฐ จนกระทัง่ ในปี 2560 - 2562 อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ เติบโตแบบถดถอย โดยมีอัตราการเติบโตเพียง 1% ต่อปี ปัจจุบนั การผลิตอาหารสัตว์ปี 2562 มีปริมาณอยูท่ ี่ 20.18 ล้านตัน มีการใช้ วัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์แบ่งเป็น 4 ส่วนหลักๆ ได้แก่ 1. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผลิตภัณฑ์ข้าว มันส�ำปะหลัง และข้าวสาลี 60% 2. ถั่วเหลืองและกากถั่วเหลือง 28% 3. ปลาป่น 3% และ 4. อื่นๆ 9%
14
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
ภาพที่ 1 ห่วงโซ่อุตสาหกรรมอาหารประเทศไทย
ภาพที่ 2 วัตถุดิบหลักในการผลิตอาหารสัตว์ 1) สถานการณ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา จะพบว่าผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศมีไม่เพียงพอต่อ ความต้องการใช้ในประเทศ โดยในปี 2553 ผลผลิตมี 4.86 ล้านตัน ในขณะทีค่ วามต้องการใช้มี 5.09 ล้านตัน ในปี 2562 ส�ำนักเศรษฐกิจการเกษตรคาดการณ์ผลผลิตจะมี 5.12 ล้านตัน ในขณะที่ความ ต้องการใช้มี 8.44 ล้านตัน สรุปได้ว่าผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายในประเทศขาดแคลน ด้านราคาจะพบว่า ในปี 2553 ราคาข้าวโพดตลาดโลกอยูท่ ี่ 5.19 บาท/กก. ราคาทีโ่ รงงานรับซือ้ อยู่ที่ 9.06 บาท/กก. ต้นทุนการผลิตข้าวโพดของเกษตรกรไทยอยู่ที่ 5.55 บาท/กก. ในปี 2562 (ม.ค. - มิ.ย.) ราคาข้าวโพดตลาดโลกอยู่ที่ 5.55 บาท/กก. ราคาที่โรงงานรับซื้ออยู่ที่ 9.27 บาท/กก. ต้นทุนการผลิตข้าวโพดของเกษตรกรไทยอยู่ที่ 5.88 บาท/กก. สรุปได้ว่าราคาข้าวโพดในประเทศ สูงกว่าราคาตลาดโลก 3 - 4 บาท/กก. และต้นทุนการผลิตข้าวโพดของเกษตรกรไทยสูงกว่าต่างประเทศ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
15
Thailand Focus
ภาพที่ 3 สถานการณ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2553 - 2562 (ม.ค. - มิ.ย.) 2) มาตรการภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ก�ำหนดให้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ อยู่ในสินค้าควบคุม และสินค้าส�ำคัญ ที่ติดตามดูแล ต้องมีการรายงานการซื้อ - ขาย สต็อก และมีหน่วยงานรัฐเข้าตรวจสต็อกในโรงงาน ขอความร่วมมืออาหารสัตว์ซอื้ ข้าวโพดในราคาไม่ตำ�่ กว่า 8 บาท/กก. ณ โรงงาน กทม. ปริมณฑล (เริ่มปี 58 - ปัจจุบัน) ก�ำหนดช่วงเวลาน�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ น�ำเข้าได้ในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ - สิงหาคม และ ไม่จ�ำกัดเวลาหากน�ำเข้าผ่าน อคส. น�ำเข้าผ่านด่านตรวจพืชและด่านกักสัตว์ ก�ำหนดมาตรการควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลี โดยจะต้องซื้อข้าวโพดในประเทศ 3 ส่วน ถึงจะน�ำเข้าข้าวสาลีได้ 1 ส่วน (เริ่มปลายปี 59 - ปัจจุบัน) ส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนาแทนข้าวนาปรัง (เริ่มตั้งแต่ปี 60 - 62) 3) ปั ญหาสินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ประสิทธิภาพการผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไทยต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยของโลก ในปี 2562 ประเทศไทยผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่อยู่ 769 กก. ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของโลกอยู่ที่ 918 กก. ประเทศชั้นน�ำ ในการผลิตข้าวโพดอย่างสหรัฐอเมริกา มีผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่อยูท่ ี่ 1,667 กก. จีน 992 กก. บราซิล 892 กก. อาร์เจนติน่า 1,312 กก. และยูเครน 1,156 กก. ผลผลิตออกกระจุกตัวท�ำให้ราคาผันผวน การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบ่งออกเป็น ต้นฝน ปลายฝน และแล้ง โดยมีสดั ส่วนการผลิตอยูท่ ี่ 72 : 23 : 5 ท�ำให้ผลผลิตจะออกสูต่ ลาดมากในช่วงเดือน สิงหาคม - พฤศจิกายน ในขณะที่ความต้องการใช้คงทีทุกเดือน ท�ำให้ราคาผลผลิตในช่วงดังกล่าว
16
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
ลดต�ำ่ ลง นอกจากปัจจัยการกระจุกตัวทีท่ ำ� ให้ราคาผลผลิตลดต�ำ่ ลงแล้ว การเก็บเกีย่ วในช่วงฝนจะท�ำให้ คุณภาพผลผลิตไม่ดี หากใช้เครือ่ งจักรเก็บเกีย่ วจะเกิดเมล็ดแตก หากทิง้ ไว้ไม่เกิน 2 วัน เชือ้ รา (อัลฟ่า ท็อกซินจะเกิดทันที) ท�ำให้ไม่สามารถน�ำมาใช้ผลิตอาหารสัตว์ได้ พื้นที่เพาะปลูกไม่เหมาะสม ข้อมูลจากกรมพัฒนาที่ดินปี 2556 ระบุว่าพื้นที่เพาะปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 7.84 ล้านไร่ เป็นเขตป่าไม่มีเอกสารสิทธิ์ 3.72 ล้านไร่ และเป็นพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม กับการเพาะปลูกข้าวโพด 0.89 ล้านไร่ เหมาะสมเล็กน้อย 1.32 ล้านไร่ จากข้อมูลดังกล่าว ท�ำให้เห็นถึง ปัญหาในอนาคตว่า หากยังคงใช้พนื้ ทีท่ ไี่ ม่เหมาะสมในการเพาะปลูกต่อไป จะน�ำพาไปสูป่ ญ ั หาข้อกีดกัน ทางการค้า และไม่สามารถพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรได้
ภาพที่ 4 สัดส่วนผลผลิตออกสู่ตลาดและราคาที่เกษตรกรได้รับ 4) ข้อเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่
ปัญหา
1
ภัยแล้งและหนอนกระทู้ระบาด
2
ราคาผันผวนเพราะผลผลิต ออกกระจุกตัว
3
ประสิทธิภาพการผลิตต�่ำ
4
ปัญหาหมอกควัน
ข้อเสนอ ชดเชยรายได้เกษตรกรปัจจุบัน และส่งเสริมการท�ำประกันภัยผลผลิต ข้าวโพดในอนาคต ประกันรายได้เกษตรกร ตามนโยบายเร่งด่วนข้อที่ 4 และส่งเสริม โครงการข้าวโพดหลังนาเพื่อกระจายผลผลิต และลดการใช้น�้ำในระบบ ชลประทาน ลดการปลูกข้าวโพดในพื้นที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งลดการปลูกข้าวโพด ในพื้นที่ที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ ส่งเสริมการปลูกข้าวโพดตามมาตรฐาน GAP ของ มกอช.
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
17
Thailand Focus
5) ข้อเท็จจริงในการผลิตอาหารสัตว์
การผลิตอาหารสัตว์ในปัจจุบันต้องพึ่งพิงการน�ำเข้าวัตถุดิบกว่า 50% ต้องน�ำเข้าถั่วเหลือง และกากถั่วเหลืองปีละกว่า 6 ล้านตัน เนื่องจากมีผลผลิตภายในประเทศเพียง 3 - 4 หมื่นตัน และ จะต้องน�ำเข้าวัตถุดบิ ข้าวสาลีเข้ามาเพิม่ เติมในส่วนทีข่ าดอีกประมาณ 3 ล้านตัน โดยปัจจุบนั มีการน�ำเข้า ข้าวสาลี และข้าวบาร์เลย์ มาทดแทนบางส่วน อาหารสัตว์มีการใช้มันส�ำปะหลังเป็นส่วนผสมอยู่แล้ว คิดเป็น 10% ของปริมาณผลผลิตมันส�ำปะหลัง และมีข้อจ�ำกัดในการใช้ เนื่องจากมันส�ำปะหลัง มีค่าโปรตีนที่ต�่ำ มีเพียง 2% ในขณะที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และข้าวสาลี มีโปรตีน 8 - 10% โดยหาก ใช้มันส�ำปะหลังมากขึ้น จะต้องน�ำเข้าวัตถุดิบโปรตีนเข้ามามากขึ้นด้วย นอกจากนี้ การใช้มันส�ำปะหลัง ขึ้นอยู่กับประเภทอาหารของสัตว์ในแต่และช่วงวัยด้วย
18
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
นายกหมูโต้ข่าวลือ
โรค ⁽ASF ⁾
ยังไม่ระบาดเข้าไทย ‘สุรชัย’ เต้น ข่าวลือสะพัดอหิวาห์แอฟริการะบาดถึงไทย เกษตรกรตื่นเร่งขายหมู ทุบราคาดิ่งหนัก บางรายต้องเว้นหมูไม่ลง เลี้ยง ยันไทยปลอดระบาด 100% วอนอย่าหลงเชื่อ หากสงสัย ให้เช็คที่กรมปศุสัตว์จังหวัดทั่วประเทศได้ทุกช่องทาง นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ เผยว่า ขณะนี้มีการปล่อยข่าวลือตามชายแดนไทยว่า โรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร หรือ ASF ระบาดถึงไทยแล้ว ได้ส่งผลในเชิงจิตวิทยาไปยัง เกษตรกรหลายรายที่เร่งขายสุกร (หมู) ก่อนเวลาอันควร ท�ำให้ ระดับราคาหมูเป็นหน้าฟาร์มลดลงอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรบางราย ก็เว้นวรรคไม่ลงหมูเข้าเลีย้ ง เพือ่ เลีย่ งทีจ่ ะเผชิญความเสีย่ ง ซึง่ ไม่เป็น ผลดีต่อปริมาณผลผลิตสุกรในประเทศ “ระดับราคาหมูเป็นหน้าฟาร์มลดลงอย่างต่อเนื่องมาหลาย สัปดาห์แล้ว จากราคากิโลกรัมละ 75 บาท ไล่ลงมาที่ 71 และ 69 บาทตามล�ำดับ ขณะที่ต้นทุนเฉลี่ยอยู่ที่ 68.40 บาท ใกล้จุดขาดทุน เต็มที ซึ่งเกิดจากภาวะข่าวลือดังกล่าวที่ท�ำให้เกษตรกรเกิดความ ตื่นตระหนก เนื่องจากโรคนี้สามารถท�ำลายฟาร์มเลี้ยงหมูได้ทั้งฟาร์ม เกษตรกรจึงหวาดกลัวกันมาก พากันเทขายออกมา และงดลงหมูเข้า เลี้ยง”
ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
19
Thailand Focus ทั้งนี้ ขอให้ทุกฝ่ายหยุดการปล่อยข่าวลือดังกล่าว เพราะหากท�ำเพื่อกดราคาซื้อหมูจากเกษตรกร ถือเป็นสิ่งที่ซ�้ำเติมความเดือดร้อนของเกษตรกรที่มีความกังวลอย่างยิ่งกับสถานการณ์โรค ASF ที่ก�ำลัง ระบาดในประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งยังต้องเพิ่มการเฝ้าระวัง และวางระบบป้องกันโรค ASF ขั้นสูงสุด ปัจจุบันปริมาณสุกรยังเพียงพอต่อความต้องการบริโภค และระดับราคาขายปลีกหมูเนื้อแดง 138 - 140 บาท/กก. นั้น เป็นค่าการตลาดด้วย โดยในหมู 1 ตัว ราว 100 กก. จะมีส่วนที่เป็นเนื้อแดง ซึ่งเป็นส่วนที่ขายได้ในราคาดีที่สุดเพียง 40 กก. เท่านั้น
20
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ระบุอีกว่า ASF ยังไม่ได้ระบาดเข้ามาในประเทศไทย และ ขอให้เกษตรกรรับฟังข้อมูลจากกรมปศุสตั ว์เท่านัน้ อย่าหลงเชือ่ ข่าวลือ รวมทัง้ ขอให้ทกุ ฟาร์มปฏิบตั กิ าร ตามระบบการป้องกันโรคอย่างเคร่งครัดดังที่ผ่านมา พร้อมทั้งขอร้องสื่อมวลชน และผู้คนในสังคม ออนไลน์ งดแชร์ภาพหมูป่วยในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อช่วยลดความตื่นตระหนก และตื่นกลัวของทั้ง เกษตรกร และผู้บริโภคด้วย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
21
Thailand Focus
ผนึกก�ำลังต้าน - สถานการณ์การระบาด ของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรในประเทศเพื่อนบ้านสัปดาห์นี้ มีความรุนแรงหนักขึ้น โดยเฉพาะชายแดนภาคอีสานที่ติดกับ สปป.ลาว และชายแดนภาคตะวันออกที่ติดกับกัมพูชา ดังนั้น วงการผู้เลี้ยงหมู จึงผนึกก�ำลังกันอย่างเต็มที่ในการป้องกันโรค เพื่อสกัดโรคไม่ให้เข้าประเทศไทย
ราชบุรีดึงอีสาน
สกัด ASF ห่างไทย 8 กม.
ลงขันซื้อหมูชายแดนมุกดาหาร - ขอรัฐ 500 ล. ไร้ผล ราชบุรผี นึก 16 จังหวัดอีสาน สกัดโรค ASF พร้อมน�ำเงินกองทุนชดเชยฯ จากราชบุรหี นุนทัพหน้า ให้ยมื ซือ้ หมูจากผูเ้ ลีย้ งรายย่อยติดชายแดนในมุกดาหาร หลังโรคระบาดหนักแขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว อยู่ห่างไทยแค่ 8 กม. หวัง สร้าง buffer zone ก่อนโรคแพร่ระบาดเสียหายยับทั้งระบบ 2 แสนล้าน เผย วิ่งพบ รมช.ประภัตร ลุ้นของบฯ รัฐ 500 ล้านบาท ซื้อหมูจากผู้เลี้ยงรายย่อย ริมโขง 1 ล้านตัว แต่คงอีกยาวไกล เหตุวาระแห่งชาติ 1 ปียังไร้ผลทางปฏิบัติ ที่ควรจะเป็น ท่ามกลางความเคลื่อนไหวที่ร้อนแรงในวงการผู้เลี้ยงสุกร 6 ภาค เนื่องจาก “โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร” (African Swine Fever หรือ ASF) ได้แพร่ระบาด มาประชิดติดชายแดนไทยเพียงไม่กี่กิโลเมตร โดยเฉพาะ 3 จังหวัด สปป.ลาว ที่ติดกับชายแดนภาคอีสานของไทย คือ สะหวันนะเขต สาละวัน เวียงจันทร์ และ ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
22
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
5 จังหวัดในกัมพูชาที่ติดกับชายแดนภาคตะวันออกของไทย ได้แก่ รัตนคีรี ตโบงฆมุม สวายเรียง ตาแก้ว กันดาล ท�ำให้มีความเสี่ยงสูงที่โรคจะระบาดเข้าสู่ ประเทศไทย ส่งผลให้ผู้เลี้ยงในจังหวัดราชบุรี ที่เปรียบเสมือน “เมืองหลวง” ของคนเลี้ยง สุกร ลงขันเพื่อจัดตั้ง “กองทุนชดเชยและป้องกัน ASF” ขึ้นมา ขณะที่ “วาระ แห่งชาติ” ที่ผ่านมติคณะรัฐมนตรีตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน 2561 ไม่ได้รับการ ตอบสนองในทางปฏิบัติอย่างจริงจัง นายสัตวแพทย์วิวัฒน์ พงษ์วิวัฒนชัย อุปนายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ และประธานสหกรณ์การเกษตรปศุสัตว์ราชบุรี จ�ำกัด เปิดเผยว่า เมื่อสัปดาห์ก่อน ได้ไปพบนายประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ให้น�ำเงินงบประมาณ 300 - 500 ล้านบาท ไปใช้ซื้อลูกหมู จากผูเ้ ลีย้ งรายย่อยใน 16 จังหวัด บริเวณริมแม่นำ�้ โขงทีม่ ชี ายแดนติดกับ ประเทศกัมพูชา และ สปป.ลาว ประมาณ 1 ล้านตัว เพื่อสร้างเขต กันชน (buffer zone) ที่ชายแดน เนื่องจากก�ำลังเกิดการระบาดหนัก ใน 2 ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อป้องกันไม่ให้โรค ASF เกิดการระบาด เนือ่ งจากผูเ้ ลีย้ งรายย่อยส่วนใหญ่ไม่มรี ะบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ซึ่งนายประภัตรตระหนักถึงปัญหา และให้กรมปศุสัตว์ รวบรวมข้อมูลอยู่ ระหว่างนี้ผู้เลี้ยงต้องร่วมมือร่วมใจลงขันช่วยเหลือ กันเองไปก่อน “บทเรียนการระบาดของโรค ASF ไล่ตั้งแต่ยุโรป รัสเซีย จีน มาถึง สปป.ลาว และกัมพูชา จุดอ่อนของการแพร่ระบาดคือ ความไม่ร่วมมือกัน เกิดความเห็นแก่ตัว มีการลักลอบเชือดหมูไปขาย ท�ำให้เกิดการกระจายของโรค อย่างรวดเร็ว การแพร่ระบาดในจีน ‘ล้มเหลว’ เพราะคิดว่ารัฐบาลปกครองโดย ระบบคอมมิวนิสต์จะควบคุมป้องกันโรคได้ แต่ใช้เวลาเพียง 4 เดือนระบาดไป ทั่วประเทศ หรือในเวียดนามแพร่ระบาดจากฮานอยไปโฮจิมินห์เพียงคืนเดียว” นายแพทย์ววิ ฒ ั น์ กล่าวว่า นีเ่ ป็นเหตุให้ผเู้ ลีย้ งสุกรในราชบุรรี ะดมทุนกันอย่าง รุนแรง เพราะราชบุรีจะเกิดการระบาดของโรคไม่ได้ ถ้าราชบุรีเกิดโรคระบาด เท่ากับเสียเมืองหลวง เท่ากับอุตสาหกรรมการเลีย้ งสุกรทัง้ ห่วงโซ่มลู ค่ากว่า 2 แสน ล้านบาท จะได้รับผลกระทบ ดังนั้น เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ทางสมาคมผู้เลี้ยงสุกร จังหวัดราชบุรี และสหกรณ์การเกษตรปศุสัตว์ราชบุรี จ�ำกัด จึงมีมติเอกฉันท์ ร่วมมือร่วมใจกันหาแนวทางป้องกันเป็น “ราชบุรโี มเดล” และพร้อมใจจัดตัง้ กองทุน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
23
Thailand Focus
โดยเก็บเงินจากผู้เลี้ยงที่มีแม่พันธุ์ 30 บาท/แม่ และหมูขุน 5 บาท/ตัว คาดว่าจะได้เงินประมาณ 15 ล้านบาท ขณะเดียวกัน ทางสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่ง ชาติ ได้ท�ำหนังสือถึงผู้เลี้ยงทั่วประเทศ เพื่อขอ ความร่วมมือในการส่งเงินสมทบเข้ากองทุน โดย ข้อมูลจากกรมปศุสตั ว์รายงานว่า ปัจจุบนั มีแม่หมู ทั่วประเทศ 1.4 ล้านตัว หมูขุน 24 ล้านตัว มี เกษตรกร 196,000 ราย คาดว่าน่าจะเก็บเงิน ได้ประมาณ 100 ล้านบาท แต่คงไม่เพียงพอไป ซื้อหมูชายแดนทั้งหมด แต่ซื้อได้เพียงบางส่วน ปัจจุบันราคาหมูขุนตัวละ 5,000 บาท ก็จ่ายให้ ผู้เลี้ยงรายย่อยตัวละ 5,500 บาท เพื่อจูงใจก่อน และหากโรคเข้ามา เกิดการระบาดต้องฝังท�ำลาย สามารถน� ำ เงิ น จากกองทุ น นี้ ไ ปจ่ า ยชดเชยให้ ผู้เลี้ยงรายย่อยก่อน เพราะเงินชดเชยจากภาครัฐ ยังไม่มีการหารือกัน
24
“อย่างตอนนีก้ ารระบาดของโรคใกล้สดุ อยูท่ ี่ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว อยู่ห่างจากจังหวัด มุกดาหารเพียง 8 กม. มีแม่นำ�้ โขงกัน้ ดังนัน้ จึงได้ หารือกับนายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรภาคตะวันออก เฉียงเหนือ เดินแผน 2 ถึงความเป็นไปได้ในการ ซื้อหมูจากผู้เลี้ยงรายย่อยในรัศมี 1 กม. บริเวณ ด่านประเพณี (ช่องทางธรรมชาติตามแนวชายแดน) 3 แห่งในมุกดาหารทีเ่ ป็นจุดเสีย่ งมาบริหาร จัดการ โดยทางราชบุรีอาจจะให้ยืมเงินไปก่อน เพราะสมาคมภาคอีสานจะนัดคุยเรื่องการจัดตั้ง กองทุ น ในวั น ที่ 25 ก.ค. นี้ และหากรอเงิ น งบประมาณจากภาครัฐคงไม่ทัน” ส�ำหรับข้อมูลด่านชายแดนทั้งหมด มีด่าน หลักที่อยู่ติดกับกัมพูชา 8 ด่าน ขณะที่มีด่าน ย่อยอีก 168 ด่าน ปัจจุบันกรมปศุสัตว์ได้ย้าย เจ้าหน้าที่จากกองสารวัตร และด่านกักกันจาก ทั่วประเทศไปเฝ้าตามด่านทั้งหมดแล้ว
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus
กรมปศุสัตว์ - ซีพีเอฟ บูรณาการ จ.ยโสธร และจังหวัดในภาคกลางต่อเนื่อง
เร่งติวเกษตรกรรายย่อยทั่วไทยรู้และเข้าใจป้องกัน ASF บริ ษั ท เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ อ าหาร จ� ำ กั ด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ร่วมมือปศุสัตว์จังหวัด เดินสายให้ความรู้การป้องกัน โรค ASF ใน สุกรแก่เกษตรกรรายย่อยในพื้นที่จังหวัดยโสธร พร้อมทั้งจัดอบรมต่อเนื่องให้กับเกษตรกรใน จังหวัดฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ นครนายก และ อ่างทอง ช่วยเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูรายย่อยกว่า 3,000 คน ในกว่า 20 จังหวัดรู้ทัน และเข้าใจ การป้องกันโรค นางสาวสิริมา วัฒโน รองผู้ว่าราชการ จังหวัดยโสธร กล่าวว่า การป้องกันโรค ASF ใน สุกรเป็นวาระแห่งชาติที่ต้องระดมความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนป้องกันโรค ASF ในสุกร แม้ว่า ในขณะนี้ยังไม่พบการระบาดของโรคในประเทศ ไทย การจัดอบรมให้ความรูแ้ ก่เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งหมู รายย่อยในจังหวัดยโสธร จะช่วยสร้างความตืน่ ตัว ให้เกษตรกรรายย่อยทีเ่ ป็นฟันเฟืองทีส่ ำ� คัญมีความ พร้อมในการป้องกันอย่างเข้มแข็ง น.สพ.ปั ญ ญา มู ล ค� ำ กาเจริ ญ ปศุ สั ต ว์ จังหวัดยโสธร กล่าวว่า ประเทศไทยไม่มีการแพร่ ระบาดของโรคนี้ และเป็นโรคที่เกิดเฉพาะในสุกร เท่านั้น ไม่ติดต่อ หรือเป็นอันตรายต่อสัตว์อื่น ผูบ้ ริโภคสามารถรับประทานหมูได้อย่างปลอดภัย 100% ปศุสตั ว์จงั หวัดบูรณาการท�ำงานกับภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งการป้องกันโรค การ
ปราบปรามการลักลอบน�ำเข้าสินค้า รวมถึงการ เตรียมความพร้อมให้กับเกษตรกรรายย่อยได้มี ความรูค้ วามเข้าใจโรคนีม้ ากขึน้ และน�ำไปสูก่ ารยก ระดับการป้องกันโรคในฟาร์มเกษตรกรทีส่ ว่ นใหญ่ เป็นการเลี้ยงในระบบเปิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ “การอบรมให้ความรู้เกษตรกรรายย่อย ยังน�ำไปสู่การตั้งกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรในการ แจ้งข่าวสาร และช่วยเตรียมความพร้อมเกษตรกร ช่ ว ยยกระดั บ การป้ อ งกั น โรคอย่ า งมี เ อกภาพ” น.สพ. ปัญญากล่าว น.สพ.จตุรงค์ โยธารักษ์ รองกรรมการ ผู้จัดการอาวุโส ซีพีเอฟ กล่าวว่า บริษัทฯ ได้ ร่วมมือกับปศุสัตว์จังหวัด ปศุสัตว์อ�ำเภอ สมาคม ผู้เลี้ยงสุกร และบริษทั เวชภัณฑ์ค่คู ้า มาช่วยสร้าง ความรู้ความเข้าใจโรค ASF และแนวทางการ ป้องกันโรคแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยใน จังหวัดต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และร่วมกับปศุสัตว์ อ�ำเภอ ลงพื้นที่ให้ความรู้เกษตรกรรายย่อยใน พืน้ ทีต่ า่ งๆ พร้อมทัง้ มอบน�ำ้ ยาฆ่าเชือ้ และอุปกรณ์ ที่ใช้ในการป้องกันโรค จนถึงปัจจุบัน ได้ด�ำเนิน การอบรมทั้งในระดับจังหวัด 20 จังหวัด และให้ ความรูแ้ ก่ผเู้ ลีย้ งรายย่อยถึงทีบ่ า้ นรวม 38 จังหวัด สามารถช่วยให้เกษตรกรรายย่อยเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้กว่า 3,000 ราย
ที่มา : www.ryt9.com วันอังคารที่ 6 สิงหาคม 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
25
Thailand Focus
“บริษัทฯ ร่วมกับปศุสัตว์ในพื้นที่เดินหน้า ให้ความรู้การป้องกันโรคแก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับจังหวัด และระดับชุมชน ครอบคลุม ทุกจังหวัดทั่วประเทศ โดยเร่งด�ำเนินการในพื้นที่ที่มี ความเสี่ยงมากเป็นอันดับแรก” น.สพ.จตุรงค์ กล่าว ที่ผ่านมา ซีพีเอฟยังได้สนับสนุนงบประมาณ ก่อสร้างศูนย์ท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะบรรทุกสินค้าปศุสัตว์ 2 แห่ง ที่ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย และที่จังหวัดมุกดาหาร รวมเป็นมูลค่า เกือบ 4 ล้านบาท ภายใต้โครงการความร่วมมือ ระหว่างกรมปศุสตั ว์ และสมาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ ในการป้องกันโรคตามแนวชายแดนใน 5 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย มุกดาหาร นครพนม สระแก้ว และ หนองคาย บริ ษั ท ฯ ได้ ร ่ ว มกั บ กรมปศุ สั ต ว์ ติ ด ตาม สถานการณ์อย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งยกระดับการ ป้องกันในฟาร์มระบบปิด ที่มีระบบการป้องกันโรค ให้เข้มข้นยิ่งขึ้น อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรคอนแทรคฟาร์มมิ่งของบริษัททุกราย และเพิ่มการซ้อม แผนฉุกเฉินในฟาร์ม เพือ่ เตรียมความพร้อมต่อเนือ่ ง
26
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus กรมปศุสัตว์ - ซีพีเอฟ ผนึกก�ำลังป้องกัน
“อหิวาต์แอฟริกาในสุกร”
ส่งมอบศูนย์ท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรค จ.เชียงราย นายสัตวแพทย์ สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นประธานเปิดศูนย์ท�ำความสะอาด และ ฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะขนส่งสินค้าปศุสัตว์ ด่านกักกันสัตว์เชียงราย สาขาเชียงแสน อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ซึง่ ครบ 5 จังหวัดชายแดน ตามโครงการความร่วมมือระหว่าง กรมปศุสตั ว์ และสมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ โดยมี นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรฯ และผู้บริหารบริษัท ซีพีเอฟ ร่วมส่งมอบศูนย์ฯ แก่ นายประสงค์ หล้าอ่อน นายอ�ำเภอเชียงแสน จ.เชียงราย น.สพ.สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า การเปิดศูนย์ท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรค ยานพาหนะบรรทุกสินค้าปศุสัตว์ ด่านกักกันสัตว์เชียงราย เป็นหนึ่งใน 5 จังหวัดชายแดน ได้แก่ จังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนม จังหวัดสระแก้ว จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดเชียงราย ที่ภาครัฐ และเอกชนร่วมมือด�ำเนินการตามมาตรการป้องกันและลดความเสี่ยงการระบาดของเชื้อโรคเข้ามา ในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน แม้ว่าโรค ASF จะไม่มีผลกระทบกับคน แต่เป็นโรคระบาดที่ ร้ายแรงในสุกร ยังไม่มียารักษา หรือวัคซีนป้องกัน ต้องท�ำลายหมูทิ้งอย่างเดียว และศูนย์ฆ่าเชื้อ ยานพาหนะที่ด่านเชียงแสน มีความพิเศษตรงที่จะช่วยป้องกันความเสี่ยงจากการปนเปื้อนที่อาจเกิดขึ้น ระหว่างการขนถ่ายสินค้าปศุสัตว์จากเรือที่มาจากประเทศเมียนมา ลาว และจีน ซึ่งสองประเทศหลัง มีการพบการระบาดของโรค ASF แล้ว ที่มา : www.ryt9.com วันพุธที่ 10 กรกฎาคม 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
27
Thailand Focus “กรมปศุสตั ว์ ขอขอบคุณทุกภาคส่วน รวม ทั้ง ซีพีเอฟ เป็นหนึ่งในองค์กรเอกชนที่ให้การ สนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างศูนย์ฯ 2 แห่ง คือที่เชียงราย และมุกดาหาร ซึ่งจะช่วยป้องกัน ความเสี่ยงในการระบาดของโรค ASF ที่ส่งผล กระทบต่ออาชีพของเกษตรกร ขณะเดียวกัน ยัง ช่วยเพิม่ โอกาสให้กบั ภาคปศุสตั ว์ของไทยอีกด้วย” น.สพ.สรวิศกล่าว ทางด้าน นายประสงค์ หล้าอ่อน นาย อ�ำเภอเชียงแสน กล่าวว่า เชียงราย มีอาณาเขต ติดกับ สปป.ลาว โดยทางแม่น�้ำโขง และสะพาน เชือ่ มถึงกัน ขณะทีภ่ ายในจังหวัดเชียงราย มีผเู้ ลีย้ ง สุกรประมาณ 7,000 ราย มีสกุ รรวมกันประมาณ 144,000 ตัว ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงในโรงเรือน ระบบปิดที่ได้มาตรฐาน แต่ก็ยังมีรายย่อยที่อาจ มีความเสี่ยง และหากเกิดโรคจะท�ำให้เสียหาย จึงเป็นเรื่องน่ายินดีที่มีการตั้งศูนย์ฯ ที่ชายแดน ดังกล่าว นายวิรตั น์ ตันหยง รองกรรมการผูจ้ ดั การ อาวุโส ซีพีเอฟ กล่าวว่า ซีพีเอฟตระหนักถึงผล กระทบของโรคระบาด ASF ที่จะมีต่อเกษตรกร และผูบ้ ริโภค รวมถึงเศรษฐกิจโดยรวม ซีพเี อฟ จึง สนับสนุนงบประมาณสร้างศูนย์ท�ำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะบรรทุกสินค้าปศุสัตว์ 2 แห่ง ที่ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย และที่จังหวัด มุกดาหาร รวมเป็นมูลค่าเกือบ 4 ล้านบาทนอก
28
จากนี้ ยังร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ลงพื้นที่ให้ความรู้ แก่เกษตรกร และผูท้ เี่ กีย่ วข้องได้เข้าใจ และมีความ รู้เรื่อง ASF เพื่อที่จะเป็นประโยชน์ในการป้องกัน โรค ASF และโรคระบาดอื่นๆ ที่จะเข้ามาส่งผล กระทบต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ในประเทศ ไทย ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว น.สพ. ด�ำเนิน จตุรวิธวงศ์ รองกรรมการ ผูจ้ ดั การอาวุโส ซีพเี อฟ กล่าวว่า ซีพเี อฟ ยังให้ความ ร่วมมือในการสร้างเครือข่ายของการรับรู้ข่าวสาร ในเรื่องของโรค ASF ระหว่างผู้เลี้ยงสุกรรายย่อย ผูเ้ ลีย้ งในโครงการคอนแทร็กฟาร์มมิง่ กรมปศุสตั ว์ และผู้ประกอบการ เพื่อเตรียมความพร้อมใน กรณีทโี่ รคระบาดเกิดขึน้ ในประเทศ สามารถเข้าไป จัดการกับสุกรทีต่ ดิ โรค และควบคุมการระบาดของ โรคได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึง กระบวนการจัดการชดเชยเพื่อให้สามารถยุติการ แพร่ระบาดโรคให้เร็วที่สุด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
มัยโคฟกซ 5.0
M YC OF I
Mycofix® 5.0
ปกปองสมบูรณแบบ
การดูดซับ การเปลี่ยนโครงสรางทางชีวภาพ การปองกันทางชีวภาพ
*ผานการขึ้นทะเบียนแลวจากสหภาพยุโรป (อียู) ทะเบียนเลขที่ 1115/2014, 1060/2013, 1016/2013, 2017/913 และ 2017/930 เพื่อลดการปนเปอนของสารพิษจากเชื้อรากลุมฟูโมนิซิน
อะฟลาทอกซิน และไตรโคทีซีน
บริ ษัท เออร์ เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จํากัด 1/913 ถ.พหลโยธิน 60 ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทร: (02)993-7500, แฟกซ: (02)993-8499 mycofix.biomin.net
Naturally ahead
ยี น เล ขท
30 17 /9
ะเบ )ู ท
การทํางานประสานกันของ 3 กลยุทธ
(อ ยี
ขับเคลื่อนวิทยาการ เพื่อจัดการความเสี่ยงของสารพิษจากเชื้อราหลากหลายชนิด*
ี่
2 3, 91 17/ , 20 1060/2013
0
X
Thailand Focus
CPF ผนึกกรมปศุสัตว์ ช่วยเกษตรกรรายย่อย
สกัดโรค ASF ๏ พงษ์พันธุ์ ๏
จากสถานการณ์การระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร(African Swine Fever: ASF) ที่คืบเข้าใกล้ประเทศไทยทุกขณะ สร้างความกังวลให้คนที่เกี่ยวข้อง กับวงการเลี้ยงหมูไทย เพราะ ASF เป็นโรคระบาดในหมูที่ร้ายแรง ยังไม่มียารักษา หรือวัคซีนป้องกัน ต้องท�ำลายหมูทิ้งอย่างเดียว แม้ว่าโรค ASF จะไม่มีผลกระทบ กับคน หากเกิดระบาดขึ้นจริงจะสร้างความเสียหายกับภาคปศุสัตว์ของไทย ซึ่ง ในที่นี้มีเกษตรกรเลี้ยงหมูรายย่อยเกือบ 200,000 ราย ผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยซึ่งส่วนใหญ่เลี้ยงหมูในคอกเลี้ยงแบบเปิด นับว่าเป็น กลุม่ ทีม่ คี วามเสีย่ งต่อโรคระบาดมากทีส่ ดุ ทัง้ นี้ บทเรียนจากประเทศทีพ่ บโรคระบาด ทั้งจีน เวียดนาม หรือ กัมพูชา จะพบโรคติดต่อในฟาร์มขนาดเล็ก หรือเลี้ยงหมู หลังบ้าน เป็นผลจากผู้เลี้ยงรายย่อยอาจจะมีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูล และการ มีระบบป้องกันโรคในฟาร์มที่มียังไม่เพียงพอ ดังนั้น บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ สายธุรกิจสุกร จึงร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ ปศุสัตว์ จังหวัด ปศุสัตว์อ�ำเภอ สมาคมผู้เลี้ยงสุกรในภูมิภาค และคู่ค้า จัดโครงการอบรม ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรค ASF ให้กับผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยทั่วประเทศขึ้น เพื่อแบ่งปันความรู้ให้แก่ผู้เลี้ยงหมูรายย่อย สร้างเครือข่ายแจ้งข่าวสาร และเพิ่ม เกษตรกรแนวร่วมในการเฝ้าระวังโรคให้เกิดขึน้ กระจายทุกพืน้ ทีค่ รอบคลุมทุกจังหวัด ทั่วประเทศ ซึ่งโครงการฯ ตั้งเป้าเดินสายการอบรมเกษตรกรรายย่อยให้ครบ ทุกจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาทิ นครราชสีมา ขอนแก่น บุรีรัมย์ มุกดาหาร กาฬสินธุ์ เป็นต้น มีเกษตรกรเข้าอบรมรวมกว่า 1,600 ราย และจะ ขยายผลจัดอบรมให้กับเกษตรกรรายย่อยในภูมิภาคอื่นอย่างต่อเนื่อง
ที่มา : แนวหน้า ฉบับวันอาทิตย์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
29
Thailand Focus
เกษตรกรรายย่อยมีให้ความส�ำคัญกับการ ขับเคลื่อนเฝ้าระวัง และป้องกันการระบาดโรค ได้ อ ย่ า งเข้ ม แข็ ง บริ ษั ท ยั ง ร่ ว มมื อ กั บ ปศุ สั ต ว์ อ�ำเภอ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ท�ำกิจกรรมเดินสาย เยี่ยมผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยถึงบ้าน เพื่อให้ความรู้ เรื่องโรคระบาด พร้อมทั้งแนะน�ำการปฏิบัติ เพื่อ ลดความเสีย่ งการติดต่อโรค อาทิ การห้ามน�ำเศษ อาหารเหลือจากการบริโภคมาให้หมูกิน การล้าง ท�ำความสะอาดฟาร์ม และอุปกรณ์ด้วยยาฆ่าเชื้อ การใส่รองเท้าบู๊ทในฟาร์ม การพ่นยาฆ่าเชื้อยานพาหนะที่ขนส่งหมู และอาหารสัตว์ การเข้มงวด ห้ามบุคคลภายนอกเข้ามาในฟาร์ม เป็นต้น พร้อม ทั้งมอบโปสเตอร์มาตรการป้องกันโรค ยาฆ่าเชื้อ และรองเท้าบู๊ท รวมถึงสิ่งจ�ำเป็นแก่เกษตรกร ผู้เลี้ยงสุกรรายย่อย ซึ่งที่ผ่านมา สามารถเยี่ยม บ้ า นเกษตรกรรายย่ อ ยแล้ ว 500 ราย และ โรงช�ำแหละในชุมชน 2 แห่ง ในพื้นที่ 21 จังหวัด ซีพีเอฟ ท�ำงานร่วมกับกรมปศุสัตว์อย่าง ใกล้ชิด โดยติดตามสถานการณ์การระบาด และ เตรียมแผนการรับมือมาล่วงหน้ากว่า 3 ปีแล้ว และเมื่ อ สถานการณ์ โ รคแพร่ ร ะบาดเข้ า มาใน ภูมิภาคเอเชียแล้ว ทางบริษัทจึงพร้อมด�ำเนินการ ตามมาตรการป้องกันตามแผนที่วางไว้ทันที
30
ทีผ่ า่ นมา กรมปศุสตั ว์ ได้รว่ มมือกับสมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ จัดสร้างศูนย์ท�ำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะบรรทุกสินค้าปศุสัตว์ ใน 5 จังหวัดชายแดน เพื่อลดความเสี่ยงการ ปนเปื้อนเชื้อโรคของยานพาหนะบรรทุกสินค้า ปศุสัตว์เข้าสู่ประเทศ และประเทศเพื่อนบ้านได้ ในจั ง หวั ด ชายแดนจ� ำ นวน 5 จั ง หวั ด ได้ แ ก่ หนองคาย นครพนม มุกดาหาร เชียงราย และ สระแก้ว โดย ซีพเี อฟ ได้ให้การสนับสนุน สร้างที่ ด่านกักกันสัตว์ ที่จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัด เชี ย งราย ความระดมทุ ก สรรพก� ำ ลั ง ในระดั บ เกษตรกร ระดับชุมชน และระดับประเทศ จึงเป็น อีกความพยายามหนึ่งของภาครัฐ และเอกชน ที่จะช่วยสร้างภูมิคุ้มกัน และความเข้าใจในการ ป้องกันโรคระบาดไม่ให้เกิดโรคในประเทศได้ ซึ่ง ไม่เพียงช่วยปกป้องอุตสาหกรรมเลี้ยงหมูที่มูลค่า รวม 7 หมื่นล้านบาท ยังช่วยเพิ่มโอกาสทาง เศรษฐกิจให้กับประเทศอีกทางหนึ่งด้วย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
31
Thailand Focus
32
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
33
Food Feed Fuel
ตลาดสัตว์ปีกโลก
เท่กว่าถ้ากล้าแตกต่าง ๏ เขียนโดย Asst. Prof.Dr. Wisanu Wanasawaeng ๏
้ โตช้า จะเติบโต “ โรโบแบงค์ ท�ำนายว่า ตลาดไก่เนือ จากร้อยละ 8 เป็นร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2568 นี ้ ” ตลาดค้าสัตว์ปีกโลกก�ำลังฉายไฟบนเวทีต้อนรับเนื้อไก่โตช้า ผู้ประกอบการ ที่ชาญฉลาด ไวต่ออนาคตกล้าสร้างความแตกต่าง แสวงหาโอกาสของตลาด ทางเลือกใหม่ในการผลิต แทนที่จะลุยถั่วกับสงครามการตลาดในน่านน�้ำสีแดง ผู้ประกอบการในยุโรปขยับปรับตัวแล้ว ด้วยความเป็นผู้ซื้อรายส�ำคัญ และมีความ เป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใครในโลก ย่อมสร้างความได้เปรียบเหนือกว่า สหภาพยุโรป พื้นที่การผลิตที่แพงที่สุดในโลก หากเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตในประเทศผูผ้ ลิตสัตว์ปกี ส�ำคัญทัว่ โลก จะพบ ว่า ยุโรปเป็นภูมิภาคที่มีการผลิตไก่เนื้อที่ใช้ต้นทุนแพงที่สุดในโลก ผู้ประกอบการ ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เข้มงวดที่สุด เผชิญหน้ากับความกดดันจากองค์กร ด้านสวัสดิภาพสัตว์ ภายใต้ขอ้ จ�ำกัดของต้นทุนการผลิต และทีด่ นิ ราคาแพง ตลอดจน ค่าแรงที่สุด ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยของไก่เนื้ออยู่ที่ 28.50 บาทต่อน�้ำหนักไก่มีชีวิต 1 กิโลกรัม และต้นทุนการแปรรูปการผลิต 50.43 บาท ขณะที่ คู่แข่งขันในตลาด อย่างบราซิล และยูเครน สามารถผลิตไก่แบบเดียวกันถูกกว่า 13.13 บาท และ มีก�ำไรอยู่ได้ร้อยละ 22 ถึง 24 แม้กระทั่งประเทศที่ต้องถูกจัดเก็บภาษีเต็มพิกัด เพื่อส่งออกไปยังสหภาพยุโรปก็ยังสามารถแข่งขัน และท�ำก�ำไรได้ดีอีกด้วย
ที่มา : ข่าวสารสัตว์ปีก วันพุธที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
34
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Food Feed Fuel (แหล่งภาพ https://pixabay.com/photos/hot-air-balloon-balloon-air-vessel-3536944/)
การเลี้ยงไก่เนื้อโตช้าเพิ่มมูลค่าสินค้า กลยุทธ์การตลาดที่เป็นแรงขับเคลื่อนส�ำคัญในสหภาพยุโรปที่ได้รับการกล่าวขวัญกันอย่างมาก คือ การเลี้ยงไก่เนื้อโตช้า จะเป็นปัจจัยที่เพิ่มมูลค่าสินค้าส�ำหรับผลิตในสหภาพยุโรป ในระยะที่ผ่านมา ไม่ว่าบทความข่าวสารสัตว์ปีกประเภทใดก็ต้องมีค�ำส�ำคัญค�ำว่า ไก่เนื้อโตช้า ปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของ บทความเสมอ แสดงให้เห็นว่า ทิศทางนี้ถูกขับเคลื่อนอย่างแน่นอน การปรับเปลี่ยนมาเลี้ยงไก่เนื้อโตช้า ครั้งนี้ สหภาพยุโรปตั้งใจยกระดับสวัสดิภาพสัตว์ในภูมิภาค เพื่อให้อุตสาหกรรมการผลิตไก่เนื้อ ในยุโรปเพิ่มมูลค่าสินค้าของตนเอง ราคาสินค้าพรีเมียมนี้จะถูกปรับขึ้นอย่างแน่นอน ในกรณีของไก่ ของวันพรุ่งนี้ (Chicken of Tomorrow) ใช้เวลาเลี้ยงราว 48 วัน ก็จะได้ราคาพิเศษขึ้นมาร้อยละ 19 และชีวิตที่ดีกว่าเดิม 1 ดาว (Better life 1 star) ใช้เวลาเลี้ยง 56 วัน ก็จะได้ราคาพิเศษอีก ร้อยละ 39 อย่างไรก็ตาม ก่อนจะคล้อยตาม ก็ยังต้องฟังความต้องการสังคมให้ชัดเจนมากขึ้น และ ผู้ประกอบการก็ต้องลงทุนมากขึ้น ราคาค้าปลีกของเนื้อไก่ของวันพรุ่งนี้ปาเข้าไป 276 บาทต่อกิโลกรัม และชีวิตที่ดีกว่าเดิมแค่ 1 ดาว ก็ทะลุ 380 บาท เข้าไปแล้ว ตลอดห่วงโซการผลิตเนื้อไก่ทุกส่วน สามารถหยิบส่วนต่างของก�ำไรออกมาได้ไม่ยาก เอกสารอ้างอิง Van Horne P. 2019. Global poultry markets: It’s smart to be different. [Internet]. [Cited 2019 Jun 19]. Available from: https://www.poultryworld.net/Meat/Articles/2019/6/Global-poultry-markets-Its-smartto-be-different-440091E/?cmpid=NLC|worldpoultry|2019-06-28|Global_poultry_markets:_It?s_smart_ to_be_different
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
35
Food Feed Fuel
ไข่ไก่ และ หมูไทย...เริม่ สมดุล ๏ พี รชา พั ฒนวิชาญ ๏
ความสุขของเกษตรกรไม่ว่าชาติใดในโลก ก็หนีไม่พ้นการที่ผลผลิตของตนสามารถขายได้ ในราคาที่ดี เพราะกว่าจะฝ่าด่านการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ให้ได้ผลงานออกมานั้น ไม่ง่าย มีปัจจัย กระทบมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ดินฟ้าอากาศ และปัจจัยการผลิต ทั้งพันธุ์พืช หรืออาหารสัตว์ ที่ล้วนต้องเลือก ต้องใช้ในสิ่งที่จะเอื้อให้พืชผล หรือสัตว์ที่เลี้ยงนั้น มีการเติบโตอย่างเหมาะสม ตลอดจนปัจจัยสุดท้ายคืออุปสงค์ - อุปทานทีจ่ ะเป็น ตัวก�ำหนดว่าเกษตรกรจะได้ก�ำไร หรือขาดทุน ประเทศไทยของเราก็เช่นกัน ความหวัง ของเกษตรกรทุกคนคือรายได้ที่มากพอจะเลี้ยง ครอบครัวได้ แต่ที่ผ่านมา คนกลุ่มนี้กลับได้ชื่อว่า เป็นกลุ่มอาชีพที่มีรายได้ต�่ำ ที่ส�ำคัญคือผลผลิต ของเขาเป็นสินค้าชุมชนที่อุปสงค์อุปทานมีผลต่อ ราคาค่อนข้างมาก เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ เป็นตัวอย่างหนึ่งที่ ชัดเจน ล่าสุด อธิบดีกรมการค้าภายในออกมา ระบุว่า ราคาไข่ไก่ขยับขึ้นมาอยู่ที่ฟองละ 3 บาท เป็นสถานการณ์ที่ตลาดไข่ไก่เข้าสู่ภาวะสมดุลขึ้น หลังเกษตรกรต้องแบกภาระขาดทุนมายาวนาน ราว 2 ปี ตัง้ แต่ชว่ งปลายปี 2560 ทีร่ าคาไข่ตกต�ำ่ เหลือเพียงฟองละ 2.20 - 2.30 บาท ซึ่งนอกจาก เกษตรกรจะขายไข่ในราคาต�่ำกว่าทุนแล้ว ยังต้อง แบกต้นทุนค่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของไทยที่มีราคา
แพงทีส่ ดุ ในโลกไว้ดว้ ย เพราะข้าวโพดเป็นวัตถุดบิ หลักของอาหารไก่ เรียกว่าบอบช�้ำทั้งขึ้นทั้งล่อง บางรายถึงกับต้องพักการเลี้ยง ซึ่งเป็นเรื่องน่า เห็นใจมาก ภาวะขาดทุนที่ผ่านมา ท�ำให้ได้เห็นความ ร่วมมือ และเสียสละของทุกฝ่ายในห่วงโซ่การผลิต ทั้ ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เอ้ ก บอร์ ด ผูป้ ระกอบการ ภาคเอกชน และเกษตรกร ทีช่ ว่ ย กันวางมาตรการแก้ปญ ั หา ไม่วา่ จะเป็นการปรับลด การน�ำเข้าปู่ - ย่าพันธุ์, พ่อ - แม่พันธุ์ ลดจ�ำนวน แม่ไก่ไข่ยนื กรง การส่งออกไข่ไก่ หรือการรณรงค์ บริโภคไข่ ฯลฯ เพื่อปรับระดับอุปทานให้สมดุล กับอุปสงค์ เมื่อสามารถลดปริมาณผลผลิตจาก 48 ล้านฟอง ลงมาให้ใกล้เคียงความต้องการบริโภค ไข่ที่วันละ 40 ล้านฟองได้ จึงเป็นที่มาของ ผลลัพธ์อันน่าพอใจในวันนี้
ที่มา : มติชน ฉบับวันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
36
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
ประเทศไทยผ่านประสบการณ์โรคระบาด สัตว์อย่างไข้หวัดนกที่รุนแรงกว่า ASF มาแล้ว และสามารถใช้บทเรียนนัน้ สร้างระบบป้องกันหวัด นกมาได้กว่า 10 ปี ซึ่งเป็นที่ยอมรับของนานา ประเทศ ขณะที่มาตรการรัฐของกรมปศุสัตว์ที่ วางไว้ป้องกัน ASF นั้นครบถ้วน รอบด้าน มีการ เตรียมความพร้อมโดยยกระดับขึ้นเป็นวาระแห่ง ชาติ ผนวกความร่วมมือ ร่วมใจของผูป้ ระกอบการ ภาคเอกชนและเกษตรกรทั่วประเทศ แม้กระทั่ง นักท่องเทีย่ วทีง่ ดน�ำเข้าอาหารจากเนือ้ สุกร ซึง่ ถือ เป็นปรากฏการณ์ความร่วมมือที่ดีมากครั้งหนึ่ง ของทุกภาคส่วน สร้างความมัน่ ใจให้ผคู้ นในแวดวง การเลี้ยงสุกรได้มากพอควร
Food Feed Fuel
ด้ า นเกษตรกรผู ้ เ ลี้ ย งหมู ก็ ก� ำ ลั ง เผชิ ญ ความกังวลจากโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร หรือ ASF ผู้เลี้ยงหมูทั่วประเทศต่างเพิ่มมาตรการเฝ้า ระวังอย่างเข้มข้น ไม่ให้โรคดังกล่าวย่างกรายเข้า มาติดหมูในประเทศไทย เพราะแม้โรคนี้ไม่ติดต่อ สูค่ น แต่มนั สามารถท�ำลายหมูได้ทงั้ ประเทศ เนือ่ ง จากยังไม่มียา หรือวัคซีนในการรักษาหมู ท�ำให้ เกษตรกรกลัวกันมาก
หลายรายเร่งขายหมูก่อนเวลาอันควร กลายเป็น ผลต่อเนื่องให้ราคาหมูหน้าฟาร์มตกต�่ำลงเป็น ล�ำดับติดต่อกันหลายสัปดาห์ ราคาขายต�ำ่ ลงจนใกล้ ระดับขาดทุน ทั้งๆ ที่เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูของไทย ควรจะได้รับราคาที่ดีตามราคาหมูทั่วโลกที่ขยับ สูงขึ้นจากภาวะ ASF ระบาดในหลายประเทศ นอกจากนี้ ระดับราคาขายปลีกหมูเนื้อ แดง ตามเขียงต่างๆ ก็ยังคงเป็นปกติที่ กก. ละ 140 บาท ไม่ใช่ 200 บาท อย่างที่มีคนพยายาม สร้างความเข้าใจผิด ซึ่งน่าจะเป็นการกระท�ำที่ มุ่งประโยชน์ส่วนตนเป็นส�ำคัญ
ความเข้มแข็งของมาตรการป้องกัน ASF ของไทยนี้ ถือว่าอยู่ในระดับสูงสุด วางแผนแม้ กระทัง่ หากพบโรคจริงจะจ�ำกัดวงไม่ให้ระบาดออก นอกพืน้ ทีไ่ ด้อย่างไร ผูบ้ ริโภคไทยแทบไม่ตอ้ งกังวล เลยว่า ปริมาณหมูบา้ นเราจะขาดแคลน ซึง่ แน่นอน ว่าระดับราคาหมูจะไม่แพงจนผู้ซื้อเดือดร้อน
อาจกล่าวได้ว่า “เกษตรกร” เป็นอาชีพที่ อ่ อ นไหว ระดั บ ราคาขายผลผลิ ต ของพวกเขา ทีก่ ำ� ลังจะเริม่ มีเสถียรภาพ มักจะถูกข่าวลือกระทบ เข้ามาให้สังคมเข้าใจคลาดเคลื่อนอยู่เสมอ เป็น อุปสรรคของการลืมตาอ้าปากมาโดยตลอด...คง ได้แต่ขอฝากท่านรัฐมนตรีใหม่ อย่าให้เกษตรกร ต้องเป็นเหยื่อของความเข้าใจคลาดเคลื่อน และ โปรดช่วยสานต่อมาตรการรักษาเสถียรภาพราคา สินค้าเกษตร โดยเฉพาะไข่ไก่ และหมู ซึ่งเป็น สินค้าขายกันในประเทศที่ก�ำลังเข้าสู่ภาวะสมดุล ให้อยู่ในระดับที่เกษตรกรอยู่ได้ และผู้บริโภค ไม่เดือดร้อนเช่นนี้ต่อไป
ในทางกลับกัน วันก่อนนายกสมาคมผูเ้ ลีย้ ง สุกรแห่งชาติ ออกมาระบุวา่ มีขา่ วลือโรคดังกล่าว เข้าไทยแล้ว ส่งผลในเชิงจิตวิทยาให้เกษตรกร
เพื่ อ ให้ เ กษตรกรเป็ น อาชี พ ที่ มี ร ายได้ มัน่ คงเฉกเช่นอาชีพอืน่ และยืนหยัดผลิตอาหาร เพื่อผู้บริโภคได้อย่างยั่งยืนต่อไป
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
37
Food Feed Fuel
สถานการณ์
ถั่วเหลือง
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน)
ปี 59
1.1 ผลผลิตพืชน�้ำมัน - โลก (USDA) 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก (USDA) 1.2.2 ไทย (สศก.) - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก (USDA) 1.3.2 ไทย (สศก.) 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) : (สศก.) 1.5 น�ำเข้า : กรมศุลกากร 1.6 ส่งออก : กรมศุลกากร ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป
ปี 61
ปี 62
(ประมาณการ)
575.000
580.700
602.380
586.040
350.582 0.038 0.021 0.017
341.532 0.043 0.024 0.019
362.870 0.043 0.024 0.019
347.042 0.043 0.024 0.019
331.540 2.990 15.13
338.430 2.787 15.11
347.650 2.956 14.99
355.060 2.946 14.90
2.958 2.746 2.723 0.005 0.004 0.003 สหรัฐอเมริกา 53% บราซิล 45% แคนาดา 1% ลาว 53% กัมพูชา 36% เวียดนาม 9%
2. ราคา (บาท/กก.) ปี 60 2.1 เกษตรกรขายได้ (ชนิดคละ) : สศก. 14.91 2.2 ขายส่ง ตลาด กทม. : กรมการค้าภายใน - เกรดแปรรูปอาหาร 20.55 - เกรดผลิตอาหารสัตว์ 18.64 - เกรดสกัดน�้ำมัน 18.32 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก : www.cmegroup.com - บาท/กก. 12.24 - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 358.65
38
ปี 60
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
ปี 61 16.68
มิ.ย. 62
-
(ม.ค.-มิ.ย. 62)
1.649 0.002
ก.ค. 62
-
20.53 18.53 18.50
20.50 18.50 18.50
20.50 18.50 18.50
11.11 342.50
10.23 326.58
10.08 325.43
Food Feed Fuel
1. สถานการณ์เดือนกรกฎาคม 2562 ในประเทศ ผลผลิตถัว่ เหลืองฤดูฝน ปี 62 ยังไม่ออกสูต่ ลาด ปริมาณผลผลิตในตลาดลดน้อยลง ในขณะทีภ่ าวะการค้าค่อนข้างชะลอตัว ส่งผลให้ราคาทรงตัวทุกเกรดคุณภาพเมือ่ เทียบกับเดือนทีผ่ า่ นมา ส�ำหรับการน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง เดือนมกราคม - มิถุนายน 2562 มีจ�ำนวน 1,649,240 ตัน สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีจ�ำนวน 1,379,282 ตัน หรือสูงขึ้นร้อยละ 19.57 ต่างประเทศ จากสภาพอากาศที่ดีขึ้นในแหล่งเพาะปลูกส�ำคัญของสหรัฐฯ ซึ่งเอื้ออ�ำนวยต่อ การเพาะปลูก ท�ำให้ปริมาณผลผลิตในตลาดมีมากขึ้น ส่งผลให้ราคาซื้อขายล่วงหน้าลาดชิคาโกปรับ อ่อนตัวลงจากเดือนก่อนที่ตันละ 326.58 US$ เหลือตันละ 325.43 US$ 2. แนวโน้มเดือนสิงหาคม 2562 คาดว่าผลผลิตฤดูฝนจะออกสู่ตลาดช่วงราวเดือนสิงหาคม 2562 ราคาผลผลิตในประเทศ มีแนวโน้มลดลงตามคุณภาพผลผลิตถั่วเหลืองฤดูฝน ที่ส่วนใหญ่ จะมีความชื้นสูง และคุณภาพไม่ดีนักเมื่อเทียบกับถั่วเหลืองฤดูแล้ง ส่วนผลผลิตในท้องตลาดส่วนใหญ่ เป็นการน�ำเข้ามาจากต่างประเทศ เพือ่ ให้ปริมาณเพียงพอต่อความต้องการใช้ ราคาตลาดโลกมีแนวโน้ม อ่อนตัวลง ตามความต้องการใช้ของจีนซึ่งเป็นผู้ซื้อรายใหญ่ที่ชะลอตัวจากภาวะโรคระบาดในสุกร กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน สิงหาคม 2562
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
39
Food Feed Fuel
สถานการณ์
กากถั่วเหลือง
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิต - โลก (USDA) 1.1.1 วัตถุดิบอาหารสัตว์หมวดโปรตีน 1.1.2 กากถั่วเหลือง 1.2 ผลผลิต - ไทย (รายงานตามบันทึกข้อตกลงการรับซื้อกากถั่วเหลือง) 1.2.1 จากเมล็ดถั่วเหลืองในประเทศ 1.2.2 จากเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก (USDA) 1.3.2 ไทย 1.4 น�ำเข้า : กรมศุลกากร 1.5 ส่งออก (ตัน) : กรมศุลกากร ไทยน�ำเข้าจาก (ข้อมูลปี 61) ไทยส่งออกไป (ข้อมูลปี 61)
ปี 59
ปี 61
ปี 62
(ประมาณการ)
320.190 225.934 1.434 0.011 1.423
331.530 232.347 1.413 0.008 1.405
335.930 235.874 1.445 0.009 1.437
342.720 241.309 1.508 0.009 1.499
221.761 4.506
229.259 4.674
232.395 4.789
237.899 4.789
2.578 2.949 2.954 27,240 15,900 44,596 บราซิล 71% สหรัฐอเมริกา 14% อาร์เจนตินา 12% ลาว 59% กัมพูชา 36% พม่า 4%
2. ราคา (บาท/กก.) ปี 60 2.1 ขายส่ง ตลาด กทม. : กรมการค้าภายใน - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดฯ ในประเทศ โปรตีน 44-48% 20.50 - เมล็ดฯ น�ำเข้า โปรตีน 44-46% 14.08 - กากถั่วเหลืองน�ำเข้า โปรตีน 46-48% 13.87 2.2 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก : www.cmegroup.com - บาท/กก. 11.86 - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 347.50
40
ปี 60
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
ปี 61
มิ.ย. 62
(ม.ค.-มิ.ย. 62)
1.694 29,088
ก.ค. 62
20.50 14.64 14.36
13.34 13.22
13.31 13.16
12.05 371.75
10.97 350.18
10.47 337.74
Food Feed Fuel
1. สถานการณ์เดือนกรกฎาคม 2562 ในประเทศ ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองผลิตจากเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้า และกากถั่วเหลืองน�ำเข้า ตลาด กทม. อ่อนตัวลงจากเดือนก่อน ซึ่งสอดคล้องกับภาวะตลาดโลกที่โน้มลดลง ส�ำหรับการน�ำเข้ากากถั่วเหลือง เดือนมกราคม - มิถุนายน 2562 มีจ�ำนวน 1,693,766 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีจ�ำนวน 1,709,650 ตัน หรือลดลงร้อยละ 0.93 โดยน�ำเข้าจาก ประเทศบราซิล (60%) อาร์เจนติน่า (31%) สหรัฐอเมริกา (6%) และปารากวัย (3%) ต่างประเทศ สภาพอากาศในแหล่งปลูกถั่วเหลืองที่ส�ำคัญของสหรัฐฯ เอื้อต่อการเพาะปลูก ถั่วเหลืองมากขึ้น และ USDA รายงานปริมาณกากถั่วเหลืองโลกที่สูงขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 2.30 ส่งผลให้ราคาซือ้ ขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก กากถัว่ เหลืองปรับตัวลดลงจากเดือนก่อน จากตันละ 350.18 US$ เหลือตันละ 337.74 US$ 2. แนวโน้มเดือนสิงหาคม 2562 คาดว่าความต้องการใช้กากถั่วเหลืองในตลาดโลกช่วงนี้ยังคง ค่อนข้างชะลอตัว เป็นผลจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา ส่งผลให้ราคากากถั่วเหลืองตลาดต่างประเทศ และกากถั่วเหลืองน�ำเข้าของไทยมีแนวโน้มลดลงตามความต้องการใช้และภาวะตลาดโลก กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน สิงหาคม 2562
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
41
Food Feed Fuel
สถานการณ์
ปลาป่น
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิต 1.1.1 โลก : USDA 1.1.2 ไทย : สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 1.2 ความต้องการใช้ 1.2.1 โลก : USDA 1.2.2 ไทย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1.3 น�ำเข้า (ตัน) : กรมศุลกากร 1.4 ส่งออก (ตัน) : กรมศุลกากร ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) : สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 2.1 ปลาเป็ด - ดี (สด) - รอง (ไม่สด) 2.2 ปลาป่น ขายส่ง โปรตีน ต�่ำกว่า 60% - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 2.3 ปลาป่น ขายส่ง โปรตีน 60% ขึ้นไป - เบอร์ 1 - เบอร์ 2
ปี 59
ปี 60
ปี 61
4.87 0.31
4.98 0.29
4.70 0.39
4.92 0.35
5.42 0.73
5.32 0.77
5.46 0.78
5.52 0.78
72,506 62,394 62,230 154,572 81,429 105,922 เยอรมนี 26.09% สเปน 15.85% ฝรั่งเศส 14.57% จีน 53.42% ญี่ปุ่น 16.91% เวียดนาม 12.14% ปี 60
ปี 61
พ.ค. 62
(ม.ค.-มิ.ย. 62)
29,699 63,305
มิ.ย. 62
8.64 6.87
8.78 6.87
7.87 6.39
7.65 6.28
34.33 31.64
34.51 31.13
29.58 26.00
29.00 26.00
37.33 33.96
37.65 33.82
32.58 29.58
32.00 29.00
1,290 35.40
1,283 35.01
2.4 ปลาป่น ตลาดเปรู โปรตีน 65% ขึ้นไป : https://hammersmithltd.blogspot.com/ - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 1,207 1,350 - (คิดเป็น โปรตีน 60% : บาท/กก.) 37.97 40.43
42
ปี 62
(ประมาณการ)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Food Feed Fuel
1. สถานการณ์เดือนกรกฎาคม 2562 ในประเทศ ปลาเป็ดมีปริมาณในตลาดลดลงเล็กน้อย เนื่องจากกรมประมงประกาศปิดอ่าวไทย ฝั่งตะวันตก ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน - 15 สิงหาคม ของทุกปี อย่างไรก็ดี ความต้องการใช้โดยรวม ค่อนข้างชะลอตัว ส่งผลให้ราคาปลาเป็ด และปลาป่นลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ส�ำหรับการน�ำเข้าปลาป่น ปี 2562 (ม.ค. - มิ.ย. 62) มีจำ� นวน 29,699 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปีก่อนที่มีจ�ำนวน 35,036 ตัน หรือลดลงร้อยละ 15.23 ต่างประเทศ ความต้องการใช้จากจีนซึ่งเป็นผู้ซื้อรายใหญ่ของตลาดโลกชะลอตัวลง ทั้งจากภาวะ เศรษฐกิจที่ซบเซา และภาวะโรคระบาดในสุกรยังคงแพร่ระบาดในจีน ส่งผลให้ราคาปลาป่นในตลาด ต่างประเทศลดลงจากเดือนที่ผ่านมา 2. แนวโน้มเดือนกรกฎาคม 2562 คาดว่าราคาปลาป่นในประเทศจะอ่อนตัวลงเล็กน้อย เป็น ผลจากความต้องการเพื่อส่งออกชะลอตัวตามความต้องการใช้ของจีนซึ่งเป็นผู้ซื้อรายใหญ่ลดลง ส่งผล ให้ปริมาณปลาป่นในตลาดในประเทศมีมากขึ้น และราคาตลาดต่างประเทศแนวโน้มลดลงเช่นกัน กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน สิงหาคม 2562
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
43
Food Feed Fuel
มุ่งสู่มาตรฐาน
ยกระดับอุตสาหกรรมปาล์มน�้ำมันที่ยั่งยืน “ปาล์มน�้ำมัน” (Oil Palm) พืชน�้ำมันที่มี ความส�ำคัญต่อเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ด้วย น�้ำมันจากพืชดังกล่าว มีต้นทุนการผลิตต�่ำ ทั้งยัง ให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูงกว่าพืชน�้ำมันอื่นถึง 6 - 10 เท่า น�ำ้ มันปาล์มยังเป็นน�ำ้ มันมีคณ ุ ภาพสูง สามารถ น�ำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ทั้งในการผลิต สินค้าบริโภค - อุปโภค (เช่น ไอศครีม เนย ขนมเค้ก สบู่ เครื่องส�ำอาง และสิ่งทอ) และการน�ำมาผลิต เป็นเชื้อเพลิงชีวภาพ (biofuels) ส�ำหรับภาคการ ขนส่ง ส่งผลให้ความต้องการใช้นำ�้ มันปาล์มทัว่ โลก เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง น�้ำมันปาล์มส่งผลกระทบอย่างไร?
จากความต้ อ งการน�้ ำ มั น ปาล์ ม ทั่ ว โลกที่ สูงขึ้น ท�ำให้เกษตรกรเพิ่มพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ำมัน อย่างกว้างขวาง โดยบางส่วนรุกล�ำ้ พืน้ ทีป่ า่ ไม้ เกิด การท�ำลายป่า และท�ำลายแหล่งที่อยู่อาศัยตาม ธรรมชาติของสัตว์ และพันธุ์พืช ส่งผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ ตัวอย่างเช่น พื้นที่ป่าของเกาะบอร์เนียวที่ใหญ่ เป็นอันดับ 3 ของโลก ครอบคลุมพืน้ ทีข่ องประเทศ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ทีเ่ ป็นผูผ้ ลิตและส่งออก ปาล์มน�ำ้ มันรายใหญ่ของโลก ถูกแผ้วถางเป็นสวน ปาล์มน�้ำมัน ส่งผลกระทบต่อสัตว์ป่า โดยเฉพาะ ลิงอุรังอุตังที่อาศัยอยู่บนเกาะบอร์เนียวตายไป ร่วม 150,000 ตัว จนมีสถานะเป็น “สิ่งมีชีวิตที่มี ความเสี่ยงขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์ (Critically endangered species)” น�้ำมันพืชชนิดอื่น มี ศักยภาพเพียงพอต่อการใช้ทดแทนน�้ำมันปาล์ม หรือไม่? แม้ว่าการใช้น�้ำมันพืชชนิดอื่นช่วยแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้าได้ แต่การผลิตน�้ำมันพืชชนิด อืน่ ทดแทน เช่น ทานตะวัน ถัว่ เหลือง และเรพซีด อาจจะต้องใช้พื้นที่ในการเพาะปลูกพืชทดแทน เพิม่ ขึน้ มากกว่าปาล์มน�ำ้ มันถึง 4 - 10 เท่า ซึง่ อาจ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิง่ แวดล้อมอย่างรุนแรง กว่าการปลูกปาล์มน�้ำมัน
ที่มา : วารสารเพื่อการเตือนภัยสินค้าเกษตรและอาหาร ปีที่ 11 รายไตรมาส เดือนเมษายน - มิถุนายน 2562
44
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Food Feed Fuel
จากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมดังกล่าว ในปี 2001 องค์กรกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (World Wide Fund for Nature: WWF) จึงได้จับมือกับบริษัทซื้อขายปาล์มน�้ำมันรายใหญ่ ร่วมกันสร้างมาตรฐาน การผลิตน�้ำมันปาล์ม และสวนปาล์มน�้ำมันอย่างยั่งยืน ที่มีชื่อว่า “มาตรฐานการผลิตน�้ำมันปาล์ม อย่างยั่งยืน (Roundtable on Sustainable Palm oil: RSPO)” มาตรฐาน RSPO มีความส�ำคัญอย่างไร? มาตรฐานการผลิตน�้ำมันปาล์มอย่างยั่งยืน (RSPO) เป็นมาตรฐานการผลิตน�้ำมันปาล์มที่มีการ จัดการ และด�ำเนินการที่ถูกต้องตามกฎหมาย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่บุกรุกพื้นที่ป่า หรือท�ำลาย ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งมาตรฐานดังกล่าวจะถูกตรวจสอบอย่างเข้มงวด ตั้งแต่เกษตกร ผู้ผลิตปาล์มน�้ำมัน โรงสกัดน�้ำมันปาล์ม และโรงกลั่นน�้ำมันปาล์ม โดยมีการก�ำหนดหลักการให้แก่ เกษตรกร และโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์ม ยึดเป็นแนวทางการปฏิบัติจ�ำนวน 8 ข้อ
ความมุ่งมั่นให้เกิดความโปร่งใส และตรวจสอบได้ การปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบปฏิบัติ การปฏิบัติตามแบบแผนในด้านเศรษฐกิจและการเงิน การใช้วิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดส�ำหรับผู้ปลูกน�้ำมันปาล์ม และโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์ม ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลาย ทางชีวภาพ ความรับผิดชอบต่อบุคลากร และชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากผู้ปลูกปาล์มน�้ำมัน และ โรงสกัดน�้ำมันปาล์ม ความรับผิดชอบต่อการพัฒนาการปลูกปาล์มน�้ำมันในพื้นที่ใหม่ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมที่ส�ำคัญ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
45
Food Feed Fuel
ล่าสุด เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 RSPO ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของเกษตรรายย่อย และ ความจ�ำเป็นในการชักน�ำเกษตรกรรายย่อยเข้าระบบมาตรฐาน RSPO จึงได้มีการก�ำหนด “ทฤษฎี การเปลีย่ นแปลง RSPO (The RSPO Theory of Change: ToC)” ใหม่ ซึง่ ทฤษฎีดงั กล่าวจะมีความ สอดคล้องกับมาตรฐานเดิม และมีการก�ำหนดเป้าหมายในการสร้างความร่วมมือกับเกษตรกรรายย่อย มากยิ่งขึ้น เพื่อก่อให้เกิดการผลิตอย่างยั่งยืนไปพร้อมๆ กับการเสริมสร้างการด�ำรงชีวิตอย่างยั่งยืน จากการผลิตปาล์มน�้ำมัน โดยทฤษฎีดังกล่าวมีโครงสร้างแบ่งตามเป้าหมาย/ผลกระทบที่คาดหวัง ออกเป็น 3 ด้านดังนี้
46
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
สินค้ำ คุณภำพ สำหรับปศุสตั ว์ไทย
ผลิตจำกเมล็ดถัว่ เหลื องเกรดอำหำรสัตว์ 100% อุดมด้วยกรดไขมันไม่อ่ ิมตัวซึ่งจำเป็ นต่อกำรเจริ ญเติบโตของสัตว์ ควบคุมกำรผลิตด้วยเทคโนโลยี และเครื่ องจักรที่ทนั สมัย โปรตีน ไม่ต่ ำกว่ำ 36% ไขมัน ไม่ต่ ำกว่ำ 18% เมทไธโอนี น มำกกว่ำ 5,000 ppm ไลซีน มำกกว่ำ 6 กรัม/100 กรัมโปรตีน
สินค้ำ Premium Grade รับรองมำตรฐำน GMP & HACCP
บริษทั ยูนีโกร อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด 120 หมู ่ 4 ตำบลสำมควำยเผื อก อำเภอเมื อง จังหวัดนครปฐม 73000 โทร. 0-3430-5101-2, 0-3439-5209 แฟกซ์ 0-3430-5103
www.unigrointer.com,
e-mail : unigro_inter@hotmail.com
Food Feed Fuel
มาตรฐาน RSPO สู่ประโยชน์การพัฒนาปาล์มน�้ำมันอย่างยั่งยืน หากทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง RSPO ได้มก ี ารด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกษตรกร ปาล์มน้�ำมันมีส่วนร่วมในทฤษฎีดังกล่าวมากขึ้น จะน�ำไปสู่ผลลัพธ์ในระดับกลาง ทั้ง - ลดมลพิษ และการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) - การเคารพสิทธิในการใช้ท่ด ี ิน - การปกป้องระบบนิเวศที่ดีขึ้น - ลดการใช้ทรัพยากร (ดิน น้�ำ พลังงาน) - ปัจจัยการผลิต การเพิ่มผลผลิตอย่าง เหมาะสม - การท�ำงานที่ปลอดภัยและเหมาะสมกับ ทุกคน - ยกระดับมนุษยชน - PO & PKO ที่ย่ังยืน มีอยู่ท่ว ั โลก
จากปัญหาสู่ความยั่งยืนของภาคอุตสาหกรรมน�้ำมันปาล์ม ในสถานการณ์ การแข่งขันสูง การยกระดับคุณภาพผลผลิตให้ตรงตามมาตรฐาน RSPO ซึ่ง มาตรฐานดังกล่าว นับว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อตลาดการค้าระหว่างประเทศ เนือ่ งจาก ประเทศคู่ค้ามีการพิจารณารับซื้อปาล์มน�้ำมันผ่านมาตรฐาน RSPO เพิ่มขึ้น จึง นับว่าเป็นแรงกระตุ้นให้กับประเทศไทย ผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์ปาล์มน�้ำมันอันดับ 3 ของโลก ในการเริ่มผลักดันให้ไทยมีมาตรฐานการผลิตปาล์มน�้ำมันให้เป็นที่ยอมรับ ของประเทศคูค่ า้ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในอุตสาหกรรมปาล์มน�ำ้ มันของไทยในเวทีการค้า โลก ซึ่งส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ร่วมกับ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
47
Food Feed Fuel
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงเร่งจัดท�ำร่างมาตรฐานสินค้า เกษตรเกี่ยวกับ “แนวการผลิตปาล์มน�้ำมัน และ น�้ ำ มั น ปาล์ ม อย่ า งยั่ ง ยื น ของประเทศไทย (TSPO)” เพื่ อ ยกระดั บ น�้ ำ มั น ปาล์ ม ให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากล นั บ ว่ า เป็ น กุ ญ แจ ส�ำคัญต่อการส่งออกน�้ำมันปาล์มของไทยไปยัง ประเทศทีเ่ ริม่ มีขอ้ ก�ำหนดการน�ำเข้าน�ำ้ มันปาล์ม ที่ผ่านการผลิตอย่างยั่งยืนแล้ว คู ่ ค ้ า ส� ำ คั ญ ที่ มี ป ั จ จั ย ท้ า ทายส� ำ หรั บ การตลาด ปาล์มน�้ำมัน ได้แก่ สหภาพยุโรป ผู้ค้ารายใหญ่ที่ซื้อขายน�้ำมัน ปาล์มเป็นอันดับ 2 ของโลก มีความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มมากถึง 10 ล้านตัน ล่าสุดสภายุโรปได้มีข้อมติเรียกร้องให้ยกเลิกการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพจากน�้ำมันพืช ปลูกทดแทนได้ (renewable energy) ทั้งน�้ำมันจาก ปาล์มน�้ำมัน ถั่วเหลือง และ เรพซีด ภายในปี 2563 และได้มีการเสนอให้เพิ่มความเข้มงวดในการตรวจสอบ ย้อนกลับจากการใช้มาตรฐาน RSPO ที่จะรับรองการผลิตปาล์มน�้ำมันอย่างยั่งยืน ซึ่งจากการปรับเปลี่ยนการรับซื้อปาล์มน�้ำมันที่จะต้องผ่านมาตรฐานการผลิตปาล์ม น�้ำมันอย่างยั่งยืน ส่งผลกระทบต่อกลุ่มผู้ประกอบการน�้ำมันปาล์มที่ส่งออกไปยัง สหภาพยุโรปที่จะต้องเตรียมการรับมือกับสถานการณ์การรับซื้อที่เปลี่ยนแปลงไป
48
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Food Feed Fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
49
Food Feed Fuel
มาตรการรับมือ
สถานการณ์ ปาล์มโลกของไทย การประกาศยุติการใช้น�้ำมันปาล์มในฐานะเชื้อเพลิงชีวภาพ ในปี 2564 ของสหภาพยุโรป (EU) สร้างความกังวลต่อประเทศ ผู้ส่งออกส�ำคัญ เช่น อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ที่มีสัดส่วนผลผลิต ปาล์มน�้ำมันรวมกันกว่า 80% ของผลผลิตทั้งโลก เนื่องจาก EU เป็น ประเทศผู้น�ำเข้ารายใหญ่ มีความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มปีละประมาณ 10 ล้านตัน โดยร้อยละ 46 ผลิตไบโอดีเซล ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและ อาหารสัตว์ร้อยละ 45 และใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อน ร้อยละ 9 อุตสาหกรรมปาล์มน้�ำมันในไทย แม้ว่าไทยจะสัดส่วนส่งออกปาล์มน�้ำมันเพียง 0.5% จากทั่วโลก โดยมี ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ น�้ำมันปาล์มดิบ และน�้ำมันเมล็ดในปาล์ม ที่ส่งออกคิดเป็น สัดส่วน 17% และ 23% ของปริมาณการผลิตในประเทศตามล�ำดับ แต่ไทยก็ถอื เป็น ผูผ้ ลิตปาล์มน�ำ้ มันอันดับ 3 ของโลก ทีม่ สี ดั ส่วนการผลิตประมาณร้อยละ 4 ของโลก สถิติปี 2560 ไทยมีพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ำมัน 5.3 ล้านไร่ สามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตได้ 4.7 ล้านไร่ โดยพื้นที่ประมาณ 85% อยู่ในภาคใต้ อีก 15% อยู่ใน ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ มีพนื้ ทีป่ ลูกเพิม่ ขึน้ ส่วนหนึง่ หลังการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ปาล์มน�้ำมันและน�้ำมันปาล์มปี 2558 - 2569 ที่ ส่งเสริมการขยายพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ำมันควบคู่กับการเพิ่มปริมาณการผลิต และ แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 (Alternative Energy Development Plan: AEDP2015) ทีส่ นับสนุนการปลูกปาล์มน�ำ้ มันเพือ่ เป็น วัตถุดิบไบโอดีเซล
ที่มา : วารสารเพื่อการเตือนภัยสินค้าเกษตรและอาหาร ปีที่ 11 รายไตรมาส เดือนเมษายน - มิถุนายน 2562
50
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Food Feed Fuel
ผลกระทบต่อไทย ในฐานะผู้ผลิตและส่งออก ไทยมีโอกาสได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ปาล์มน�้ำมันโลก ทั้ง ในเชิงบวก และเชิงลบ ดังนี้
แง่บวก
แง่ลบ
ธุรกิจเชื้อเพลิงชีวภาพจะได้ประโยชน์จาก ราคาน�้ำมันปาล์มที่ลดลงเช่นกัน เนื่องจาก ธุรกิจดังกล่าวใช้นำ�้ มันปาล์มเป็นต้นทุนร้อยละ 80
โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์ม และโรงกลั่นน�้ำมัน ปาล์ม ก็มคี วามเสีย่ งทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบจาก น�ำ้ มันปาล์มของอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ทีม่ ี แนวโน้มทะลักสู่ตลาดไทยด้วยราคาต�่ำกว่าถึง 2 บาทต่อกิโลกรัม
กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ ป าล์ ม น�้ ำ มั น เป็ น วัตถุดิบ อาทิ อุตสาหกรรมอาหาร เครื่อง ส�ำอาง และยา ได้รับผลกระทบเชิงบวก สอด คล้องกับสถติในช่วง 2 - 3 ปี ที่แสดงให้เห็น ความต้องการภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 8 ต่อปี ท�ำให้ราคาวัตถุดบิ ทีม่ แี นวโน้ม ลดลงอาจเป็นประโยชน์ต่อต้นทุนของอุตสาหกรรมเหล่านี้
เกษตรกรชาวสวนปาล์ ม ไทยจะได้ รั บ ผล กระทบเพราะตลาดรองรับการส่งออกน�้ำมัน ปาล์มไทย อาจหดตัวลงได้สงู สุดถึง 6 ล้านตัน เมื่อค�ำนวณเฉพาะปริมาณการน�ำเข้าของ EU และอาจส่งผลให้มีผลผลิตปาล์มน�้ำมันส่วน เกิน ทัง้ ราคาปาล์มน�ำ้ มันของไทยยังปรับลดลง โดยในช่วง มกราคม - เมษายน 2562 มีราคา เฉลี่ยเพียง 2.36 บาทต่อกิโลกรัม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
51
Food Feed Fuel
แนวทางรับมือภาครัฐ มาตรการปรับสมดุลน�้ำมันปาล์มในประเทศ ได้ถูกก�ำหนดขึ้นโดยรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 มีจุดประสงค์หลักในการแก้ปัญหาปาล์มน�้ำมันราคาตกต�่ำ และลดปริมาณส�ำรอง น�้ำมันปาล์มดิบคงค้างที่มีมากกว่า 350,000 ตัน ก�ำหนดแผนปฏิบัติให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) รับซื้อน�้ำมัน ปาล์มดิบจากแหล่งพืน้ ทีผ่ ลิตทีส่ ำ� คัญ อาทิ จังหวัดกระบี่ สุราษฎร์ธานี และชุมพร ในปริมาณ 160,000 ตัน ในราคากิโลกรัม ละ 18 บาท เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในการ ผลิตไฟฟ้าที่โรงไฟฟ้าบางปะกง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ซึ่งจะมีผลต่อการพยุงราคา ผลปาล์มจากเกษตรกรให้อยู่ในระดับสูง กว่า 3 บาทต่อกิโลกรัม
52
เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2562 คณะ รัฐมนตรี อนุมัติเงินงบประมาณให้ กฟผ. รับซื้อน�้ำมันปาล์มดิบเพิ่มอีก 200,000 ตัน เป็นสินค้าคงคลังส�ำรอง และแก้ไข ปัญหาผลน�้ำมันปาล์มตกต�่ำ รวมถึงให้ กฟผ. พิจารณาราคารับซือ้ ในระดับ 16.2516.50 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม เพื่ อ ดึ ง ราคา ผลผลิตปาล์ม ตั้งเป้าหมายขั้นต�่ำที่กิโลกรัมละ 3.20 บาท คาดว่าจะด�ำเนินการ จัดซื้อเสร็จสิ้นในเดือนมิถุนายน 2562
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
• เร่งผลักดันการใช้นำ�้ มันดีเซล บี20 วันละ 20 ล้านลิตร • ลดราคาจ�ำหน่าย บี20 ต�ำ่ กว่าน�ำ้ มันดีเซล ลิตรละ 5 บาท • ประกาศรับรองมาตรฐานคุณภาพน�ำ้ มัน ดีเซล บี20 • ก�ำหนดยี่ห้อ และรุ่นรถยนต์ที่สามารถ ใช้ได้ • เพิ่มสถานที่จ�ำหน่ายให้ครอบคลุมทุก พื้นที่ • ส่งเสริมผูผ้ ลิตรถยนต์พฒ ั นาเครือ่ งยนต์ รองรับน�้ำมันดีเซล บี20 • สนับสนุนการน�ำน�้ำมันดีเซล บี100 ให้ เกษตรกรใช้กบั เครือ่ งมือทางการเกษตร
Food Feed Fuel
มาตรฐานสินค้าเกษตร ปั จ จุ บั น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย ส� ำ นั ก งานมาตรฐานสิ น ค้ า เกษตรและอาหารแห่ ง ชาติ (มกอช.) ได้ประกาศมาตรฐานสินค้าเกษตร เพื่อรับรองทะลายปาล์มน�้ำมันที่มีคุณภาพ ปลอดภัย เหมาะแก่การใช้เป็นวัตถุดิบที่ดีในกระบวนการผลิต น�้ำมันปาล์ม และสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการขับ เคลือ่ นอุตสาหกรรมปาล์มน�ำ้ มัน จ�ำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานทะลายปาล์มน�้ำมัน (มกษ. 5702 - 2552) การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�ำหรับ ปาล์มน�้ำมัน (มกษ. 5904 - 2553) และการปฏิบัติ ที่ดีส�ำหรับลานเททะลายปาล์มน�้ำมัน (มกษ. 9037 2555) ล่าสุดเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2562 มกอช. ได้เปิดเวทีระดมความคิดเห็นต่อร่างมาตรฐานสินค้า เกษตร เรื่อง ทะลายปาล์มน�้ำมัน โดยจะพิจารณาแก้ไขร่างมาตรฐานฯ ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และอยู่ในแนวทางที่สามารถน�ำไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
53
Food Feed Fuel
นโยบายสิง่ แวดล้อม EU ใหม่
สะเทือน “ปาล์มน�้ำมัน” ทั่วโลก สหภาพยุโรป (EU) หนึ่งในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจส�ำคัญ ที่ให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลก หรือ สภาวะ “โลกร้อน” ได้รเิ ริม่ แนวทางปฏิบตั ิ Renewable Energy Directive (RED) เมื่อปี 2552 โดยก�ำหนดเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้ พลังงานหมุนเวียนในประเทศสมาชิกให้ถึงร้อยละ 20 และร้อยละ 10 ส�ำหรับภาคขนส่ง ภายในปี 2563 การประกาศ RED ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การขยายตั ว ของการผลิ ต พลั ง งาน หมุนเวียน โดยเฉพาะการเพิ่มพื้นที่ปลูกพืชที่สามารถใช้ผลิต หรือเป็นเชื้อเพลิง ชีวภาพ เช่น ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง และปาล์มน�้ำมัน อย่างกว้างขวาง ท�ำให้ หลายฝ่ายเกิดความกังวลต่อปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่า ท�ำลายระบบนิเวศ รวมทั้ง เป็นสาเหตุของภาวะเรือนกระจก
ที่มา : วารสารเพื่อการเตือนภัยสินค้าเกษตรและอาหาร ปีที่ 11 รายไตรมาส เดือนเมษายน - มิถุนายน 2562
54
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Food Feed Fuel
จาก RED สู่ RED II ความต้องการพลังงานทดแทน และการ ขยายพืน้ ทีป่ ลูกทีเ่ พิม่ ขึน้ ทัว่ โลก ท�ำให้พชื เศรษฐกิจ ส�ำคัญของภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย คือ “ปาล์มน�้ำมัน” ถูก พิจารณาว่าเป็นจ�ำเลยปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญ ทั้งจากข้อสังเกตต่อการใช้พื้นที่ผลิต “พืชอาหาร” มาผลิต “พืชพลังงาน” การที่มีข้อพิจารณาว่า ปาล์ ม น�้ ำ มั น เป็ น พื ช ที่ ป ล่ อ ยคาร์ บ อนสู ่ ชั้ น บรรยากาศในปริมาณสูง ตลอดจนถึงข้อกังวลต่อ การขยายพืน้ ทีผ่ ลิตทีอ่ าจเป็นการบุกรุกและท�ำลาย พื้นที่ป่าเขตร้อนที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง จากสถานการณ์ดังกล่าว สหภาพยุโรป ในฐานะผู้ผลักดัน RED จึงได้ทบทวนแนวทาง นโยบายด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มของตนใหม่ และได้ ก�ำหนดเป้าหมายระยะยาวเพื่อให้สอดคล้องกับ การบังคับใช้ความตกลงปารีส (Paris Agreement) ภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันเป็นที่มาของ RED ฉบับปรับปรุงในปี 2561 หรือเป็นที่รู้จัก ในชื่อ RED II RED II ได้กำ� หนดเป้าหมายการใช้พลังงาน หมุนเวียนทั่วสหภาพยุโรปในปี 2573 ไว้ที่ร้อยละ 32 ใช้ในภาคขนส่งไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 14 พร้อม ทั้งยกเลิกการขออนุญาตใช้พืชอาหารมาผลิตเป็น เชื้อเพลิงชีวภาพ หรือที่เรียกอย่างไม่เป็นทางการ ว่าเป็นมาตรการ “Zero Palm Oil” นอกจากนี้ ยังเพิ่มข้อก�ำหนดการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพในภาค ขนส่งได้ไม่เกินร้อยละ 7 ตั้งแต่ปี 2563 ท�ำให้ ความต้องการรับซื้อผลผลิตจากปาล์มน�้ำมันของ สหภาพยุโรปมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผล ต่อราคาจ�ำหน่ายผลผลิตปาล์มน�้ำมันทั่วโลกอย่าง รุนแรง
ชูข้อกังวล - ภาคอุตฯ รับลูก นอกจากมาตรการที่ส่งผลต่อการค้าแล้ว ปาล์มน�้ำมันยังได้รับผลกระทบจากการเผยแพร่ ข้อมูลงานวิจยั ของหน่วยงานความปลอดภัยอาหาร แห่งสหภาพยุโรป (EFSA) ว่าด้วยความเสี่ยง ของสารปนเปื้อน 3 - monochloropropane diol (3 - MCPD) ที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการผลิต น�้ำมันพืชที่อุณหภูมิสูงกว่า 200 องศาเซลเซียส ต่อระบบสืบพันธุ์ และไต รวมทัง้ สารกลุม่ Glycidyl Fatty Acid Ester (GE) ที่อาจเป็นสารก่อมะเร็ง แม้ ว ่ า ในปั จ จุ บั น จะยั ง ไม่ มี ง านวิ จั ย ผล กระทบของปริมาณสาร 3 - MCPD และ GE ใน ปาล์มน�ำ้ มันต่อสุขภาพโดยเฉียบพลัน แต่งานวิจยั ของ EFSA ผนวกกับข้อกังวลด้านสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืน ท�ำให้ผู้ประกอบการหลายราย ในภาคอุตสาหกรรมอาหารของสหภาพยุโรปเกิด ความกังวล และมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไป ใช้น�้ำมันพืชชนิดอื่นๆ ซึ่งส่งผลต่อความต้องการ รับซื้อน�้ำมันปาล์มจากประเทศ โดยเฉพาะกลุ่ม อาเซียนเป็นอย่างมาก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
55
Food Feed Fuel
สู่มาตรฐานความยั่งยืน จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ท�ำให้ผู้ประกอบการผลิตปาล์มน�้ำมันและสินค้าที่เกี่ยวข้อง จ�ำเป็น ต้องปรับตัวในการเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐานความยั่งยืน เช่น Certified Sustainable Palm Oil (CSPO), Rainforest Alliance และ International Sustainability and Carbon Certification (ISCC) เพื่อให้ประเทศผู้น�ำเข้ามั่นใจว่า มีการตรวจสอบที่เป็นมาตรฐาน ผ่านการผลิตอย่างยั่งยืน และสื่อสาร ความเสีย่ งได้ตรงกับกระแสผูบ้ ริโภค ทัง้ ในสินค้าอาหาร และสินค้าอุปโภคอืน่ ๆ ท�ำให้สนิ ค้าอุปโภค และ บริโภคทีม่ สี ว่ นผสมของน�ำ้ มันปาล์มทีเ่ ข้าสูส่ หภาพยุโรป จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องผ่านการรับรองมาตรฐานความ ยั่งยืนทั้งหมดในระยะเวลาอันใกล้ ซึ่งน่าจะเป็นอุปสรรคของผู้ผลิตสินค้าน�้ำมันปาล์มและผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่อง เนื่องจากปัจจุบันมีผู้ผลิตปาล์มน�้ำมันเพียงจ�ำนวนน้อยที่ผ่านการรับรองมาตรฐานข้างต้น สองผู้ผลิตหลัก กับการปรับตัวรับมือขนานใหญ่ จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ท�ำให้อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งอยู่ในสถานะกลุ่มผู้ผลิตและส่งออก น�้ำมันปาล์มรายใหญ่ที่สุดของโลก ต้องมีการเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ราคาน�้ำมัน ปาล์มลดต�่ำลง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากสหภาพยุโรปมีนโยบายเลิกการใช้น�้ำมันปาล์มเพื่อผลิต เชื้อเพลิงชีวภาพ อินโดนีเซีย
1. ระงับเปิดสวนปาล์มใหม่ 3 ปี 2. อาจทบทวนและชะลอข้อตกลงการค้ากับสหภาพยุโรป 3. อาจพิจารณาออกจากการเป็นภาคีสมาชิกภายใต้ความตกลงปารีส (Paris Agreement) ว่า ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) 4. แนะน�ำให้เกษตรกรปลูกผลไม้เศรษฐกิจทีม่ คี วามต้องการในตลาดสูง ทดแทนปาล์มน�ำ้ มัน มาเลเซีย
1. ระงับการเปิดสวนปาล์มใหม่ 2. อาจทบทวนและชะลอข้อตกลงการค้ากับสหภาพยุโรป 3. อาจเพิ่มภาษีสินค้าน�ำเข้าจากสหภาพยุโรปบางประเภทเป็นการตอบโต้ 4. พิจารณาเปิดตลาดใหม่ เช่น ตุรกี แอฟริกา อิหร่าน ญี่ปุ่น และเพิ่มการส่งออกตลาดคู่ค้า ส�ำคัญเดิม เพื่อทดแทนตลาด EU
56
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Food Feed Fuel
โปรไบโอติก
มีความส�ำคัญอย่างไรต่อการเลี้ยงกุ้ง ความส�ำคัญของการใช้จุลินทรีย์โปรไบโอติก มีความส�ำคัญต่อการเลี้ยงกุ้ง อย่างไร ขอกล่าวถึงข้อมูลในหลายแง่มุมว่า ท�ำไมเราต้องใช้โปรไบโอติกส�ำหรับ การเลี้ยงกุ้ง 1. หลังการฆ่าเชื้อในน้�ำแล้ว ท�ำไมต้องเติมแบคทีเรียโปรไบโอติก
หลักการในการฆ่าเชือ้ ในน�ำ้ โดยส่วนใหญ่จะใช้สารเคมีทมี่ ฤี ทธิใ์ นการท�ำลาย เชื้อทุกชนิด ทั้งไวรัส และแบคทีเรียหลายชนิด ซึ่งจะท�ำลายทั้งแบคทีเรียที่ดี และ เชื้อก่อโรคให้เหลือน้อยที่สุด จากข้อมูลจะพบว่า ระยะเวลาเพียง 1 - 2 วัน หลังจาก ฆ่าเชื้อในน�้ำ จะพบเชื้อแบคทีเรียเจริญเติบโตกลับขึ้นมาใหม่ และโดยส่วนใหญ่ แบคทีเรียที่พบเจริญกลับมาใหม่เป็นอันดับแรกคือ แบคทีเรียกลุ่มวิบริโอ ที่เป็น เช่นนั้นเนื่องจากวิบริโอเป็นแบคทีเรียประจ�ำถิ่นที่พบในน�้ำเค็มซึ่งใช้ในการเลี้ยงกุ้ง อยู่แล้ว และมีอัตราการเพิ่มจ�ำนวนได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นกลไกธรรมชาติของ แบคทีเรียกลุม่ ทีก่ อ่ โรค ทีม่ กั จะมีอตั ราการเพิม่ จ�ำนวนได้รวดเร็วกว่าแบคทีเรียกลุม่ ที่ดี และจากงานวิจัยของ Prof. Dr. Ir. Peter Bossier (2019) ซึ่งกล่าวไว้ว่า ผลของขบวนการบ�ำบัดไนโตรเจนโดยการใช้จุลินทรีย์รูปแบบต่างๆ เปรียบเทียบกับ ระบบการถ่ายน�้ำมาก พบว่า การถ่ายน�้ำมากสามารถลดของเสียได้ดีที่สุด มากกว่า ระบบการใช้จุลินทรีย์ 20 เท่าก็ตาม แต่ถ้าหากกุ้งที่เลี้ยงโดยระบบที่ไม่มีจุลินทรีย์ เลย และมีการเปลี่ยนถ่ายน�้ำร้อยละ 80 ทุก 2 วัน เมื่อทดลองให้กุ้งสัมผัสกับ เชือ้ แบคทีเรียก่อโรคอีเอ็มเอส พบว่ามีอตั ราการรอดตายของกุง้ น้อยทีส่ ดุ คือต�ำ่ กว่า ร้อยละ 5 สาเหตุเป็นเพราะว่าแบคทีเรียก่อโรคจะเพิ่มจ�ำนวนได้อย่างรวดเร็ว ในสภาพที่ไม่มีแบคทีเรียชนิดอื่นๆ อยู่เลย ดังแสดงในรูปที่ 1
ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 31 ฉบับที่ 371 เดือนมิถุนายน 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
57
Food Feed Fuel
รูปที่ 1 แสดงอัตรารอดของกุ้งพีแอล 22 (0.25 กรัม) ที่เลี้ยงในระบบที่มีจุลินทรีย์แบบต่างๆ เป็นเวลา 21 วัน แล้วน�ำมาสัมผัสเชื้อแบคทีเรียก่อโรคอีเอ็มเอส
ดังนั้น หากไม่มีการเติมหัวเชื้อแบคทีเรีย โปรไบโอติกที่ดีลงในบ่อหลังการฆ่าเชื้อในน�้ำ เพื่อ แย่งอาหารและพื้นที่ในการยึดเกาะทั้งในน�้ำและ ในล�ำไส้กุ้ง เชื้อวิบริโอที่ส่วนใหญ่จะก่อโรคในกุ้ง ก็จะเพิ่มจ�ำนวนมาก จนกระทั่งส่งผลกระทบต่อ สุขภาพของกุ้งจากสารพิษที่วิบริโอสร้างออกมา ท�ำให้เกิดการตายของกุ้ง และผลผลิตลดต�่ำลง ดังนั้น การเพิ่มความหลากหลายของแบคทีเรีย ในระบบน�้ำเลี้ยงและตัวกุ้ง โดยการเติมแบคทีเรีย โปรไบโอติกตั้งแต่การเตรียมน�้ำ เตรียมบ่อ และ ในระหว่างการเลี้ยง จะช่วยสร้างความสมดุลด้าน ความหลากหลายของจุลินทรีย์ที่มีผลในการต้าน เชื้อก่อโรค การเสริมภูมิคุ้มกันของกุ้ง รวมไปถึง การสร้างสมดุลของสิ่งแวดล้อมในบ่อเลี้ยงกุ้ง
ตายของกุง้ สูงตัง้ แต่ชว่ งต้นของการเลีย้ ง จากข้อมูล การศึกษาพบว่า เมือ่ น�ำกุง้ ทีต่ ดิ เชือ้ EMS มาตรวจ หาจ�ำนวนชนิดของแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร กุ้ง จะพบว่าความหลากหลายของชนิดแบคทีเรีย มีจ�ำนวนชนิดลดน้อยลงอย่างชัดเจน เมื่อเทียบ กับกุ้งที่ไม่มีการติดเชื้อ (รูปที่ 2) และเชื้อที่พบ เป็นเชื้อวิบริโอที่ก่อโรค กอปรกับจะพบอัตราการ ตายของกุ้งที่สูงขึ้นในเวลาเดียวกัน
รูปที่ 2 แสดงระดับความหลากหลายของจุลินทรีย์ ในกุ้งที่ติดเชื้อแบคทีเรียวิบริโอที่ก่อโรคอีเอ็มเอส
2. ความหลากหลายของแบคทีเรีย ในล�ำไส้ของกุ้งที่ป่วยเป็นโรค ตายด่วน (EMS)
โรคตายด่วน หรือโรค EMS เป็นโรคที่ ติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่มวิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส (Vibrio parahaemolyticus) ทีส่ ง่ ผลต่ออัตราการ
58
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Food Feed Fuel
3. ความหลากหลายของแบคทีเรียในล�ำไส้กุ้งที่ป่วยด้วยโรคไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV)
โรคตัวแดงดวงขาวในกุ้งเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส WSSV ที่ส่งผลกระทบอัตรารอดของกุ้ง และ ผลผลิตอย่างรุนแรง แต่ในบางครั้งพบว่า ท�ำไมกุ้งในบ่อที่มีการติดเชื้อบางตัวถึงไม่ตาย และบางตัว ถึงไม่แสดงอาการติดเชื้อ ซึ่งจากการเก็บข้อมูลโดยการสุ่มตัวอย่างกุ้งในบ่อที่ติดเชื้อตัวแดงดวงขาว เปรียบเทียบกุ้งภายในบ่อเดียวกัน ที่มีการตรวจพบระดับการติดเชื้อตัวแดงดวงขาวที่ความรุนแรง แตกต่างกัน (ด้วยเทคนิค PCR) พร้อมทั้งเปรียบเทียบความหลากหลายของชนิดแบคทีเรียในล�ำไส้กุ้ง ในแต่ละชุดที่ติดเชื้อแต่ละระดับต่างๆ กัน พบว่ากุ้งที่ติดเชื้อตัวแดงดวงขาวในระดับความรุนแรงสูง จะมีความหลากหลายของชนิดแบคทีเรียน้อยกว่ากุ้งที่ติดเชื้อในระดับความรุนแรงต�่ำ (รูปที่ 3) ซึ่ง นั่นหมายความว่า สมดุลของชนิดแบคทีเรียในล�ำไส้กุ้ง จะส่งผลทางอ้อมต่อความรุนแรงในการติดเชื้อ ตัวแดงดวงขาว รูปที่ 3 แสดงระดับความหลากหลายของจุลินทรีย์ต่อระดับการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว
ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยจากประเทศจีน Jun wang และคณะ (2019) ท�ำการศึกษาความ หลากหลายของชนิดแบคทีเรียในล�ำไส้กุ้งที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) พบว่าชนิดแบคทีเรีย ในล�ำไส้กงุ้ ทีต่ ดิ เชือ้ ไวรัสตัวแดงดวงขาว จะพบปริมาณเชือ้ กลุม่ ไฟลัมโปรติโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) (เชือ้ วิบริโอก็อยูใ่ นกลุม่ นี)้ เพิม่ ขึน้ และจะพบฟูโซแบคทีเรีย (Fusobacteria) กลายเป็นตัวเด่น ในขณะที่ กลุ่มไฟลัมแบคทีรอยดีเทส และทีนีริคิวเทส (Bacteroidetes and Tenericutes) จะลดลงอย่างมี นัยส�ำคัญเมื่อกุ้งติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว ดังแสดงในรูปที่ 4 4. หลักการใช้โปรไบโอติกส�ำหรับสัตว์น้�ำ
โดยปกติการใช้โปรไบโอติกส�ำหรับคน หรือสัตว์บก จะเน้นโดยตรงไปที่การคัดเลือกจุลินทรีย์ โปรไบโอติกที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงจุลินทรีย์ภายในทางเดินอาหารของสัตว์โดยตรง เน้นจุลินทรีย์ที่ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
59
Food Feed Fuel
สร้างน�ำ้ ย่อยทีช่ ว่ ยย่อยอาหาร ท�ำให้สตั ว์ใช้อาหาร ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เน้นจุลนิ ทรียท์ สี่ ามารถ สร้างสารยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อก่อโรค หรือยับยั้งการยึดเกาะของเชื้อก่อโรคในทางเดิน อาหาร รวมถึงเน้นจุลินทรีย์ที่ช่วยกระตุ้นระบบ ภูมิคุ้มกันของสัตว์ ท�ำให้สัตว์แข็งแรง ต่อต้านเชื้อ ก่อโรคได้ดี ซึ่งการใช้โปรไบโอติกส�ำหรับคน และ สัตว์บก จะให้ผ่านทางการกินเท่านั้น ซึ่งแตกต่าง จากการใช้โปรไบโอติกในสัตว์น�้ำ ซึ่งสัตว์น�้ำจะมี สุขภาพดี หรือไม่ดีอย่างไร ยังเกี่ยวข้องกับสภาพ แวดล้อมทั้งในน�้ำและพื้นบ่อ ดังนั้น เราจึงต้อง ค�ำนึงถึงโปรไบโอติกที่ต้องใช้เพื่อปรับปรุงสุขภาพ สัตว์ทั้งระบบ ดังนี้
รูปที่ 4 แสดงสัดส่วนของจุลินทรีย์ต่างๆ ต่อการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว
1. เพื่อส่งเสริมให้ตัวกุ้งแข็งแรง โดยเน้น จุลินทรีย์โปรไบโอติกที่ผ่านการกิน โดยคัดเลือก จุลินทรีย์ที่ช่วยยับยั้งเชื้อก่อโรค
รูปที่ 5 ปัจจัยความส�ำเร็จของการเลี้ยงกุ้ง โดยการใช้ โปรไบโอติกผ่านตัวกุ้ง น้�ำ และพื้นบ่อ
2. เพื่อช่วยควบคุมคุณภาพน�้ำ ลดปริมาณ เชื้อก่อโรคในน�้ำ 3. เพื่อช่วยปรับปรุงพื้นบ่อ ลดปริมาณเชื้อ ก่อโรคที่พื้นบ่อ ลดก๊าซพิษในขี้เลน และตะกอน จะเห็ น ได้ ชั ด เจนว่ า การที่ เ กษตรกรจะ ประสบความส�ำเร็จในการเลี้ยงกุ้งนั้น นอกจาก การที่ มี ลู ก พั น ธุ ์ ที่ แ ข็ ง แรงปลอดโรค และการ จัดการคุณภาพน�้ำและของเสียในบ่อเลี้ยงที่ดีแล้ว นั้น ยังต้องประกอบไปด้วยการสร้างสมดุลของ แบคทีเรียในบ่อเลี้ยงและในตัวกุ้ง จากข้อมูลทั้ง หมดที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้น การใช้โปรไบโอติก หลากหลายชนิดอย่างเหมาะสม และสม�่ำเสมอ ตลอดระยะเวลาการเลีย้ ง เป็นวิธกี ารหนึง่ ทีจ่ ะช่วย เพิ่มความหลากหลายและสมดุลของแบคทีเรีย
60
ในบ่อเลีย้ งกุง้ ซึง่ สมดุลของแบคทีเรียนัน้ จะส่งผล ต่อกุ้ง โดยลดความเสี่ยงและความรุนแรงในการ ติดเชื้อ ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อเชื้อก่อโรค ลด อัตราการตาย และสุดท้าย เกษตรกรจะสามารถ สร้างผลก�ำไรจากการเลี้ยงกุ้งที่ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น ได้อย่างยั่งยืน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Market Leader
‘ไทย’ ร่วมกับ ‘FAO’ จัดงาน IUU DAY หวังกระตุ้นให้เห็นคุณค่าของทรัพยากรประมง
วันที่ 5 มิถุนายน 2562 ที่ผ่านมา ณ กรมประมง กรุงเทพมหานคร พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดงานวันสากลในการต่อต้าน การท�ำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (International Day for the Fight Against Illegal, Unreported and Unregulated Fishing) หรือ ไอยูยู เดย์ (IUU DAY) ซึ่งกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เป็นเจ้าภาพจัดขึน้ เพือ่ สร้างความตระหนักเกีย่ วกับภัยคุกคามของการท�ำประมงทีผ่ ดิ กฎหมาย หลังองค์การสหประชาชาติประกาศให้ วันที่ 5 มิถุนายน ของทุกปี เป็นวันสากลการต่อต้านการ ท�ำประมงผิดกฎหมาย พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า จากการที่ที่ประชุมสมัชชาใหญ่ แห่งองค์การสหประชาชาติ (The United Nations General Assembly) ได้ประกาศให้วันที่ 5 มิถุนายนของทุกปี เป็นวันสากลในการต่อต้านการท�ำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและ ไร้การควบคุม หรือ IUU DAY โดยประเทศไทยได้รว่ มกับองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ในการเป็นเจ้าภาพจัดงานในครั้งนี้ ซึ่งในโอกาสนี้ประเทศไทยจะได้ประกาศความส�ำเร็จในการ ขจัดการท�ำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม หลังจากทีไ่ ด้ยนื หยัดในการต่อต้าน การท�ำประมงแบบ IUU อย่างเต็มความสามารถมาตลอดระยะเวลากว่า 4 ปี จนสามารถพัฒนา ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 31 ฉบับที่ 371 เดือนมิถุนายน 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
61
Market Leader
Seafood Taskforce จับมือซีพีเอฟสู้ IUU คณะท�ำงานด้านอาหารทะเลไทย หรือ Seafood Taskforce ได้รว่ มมือกับ บมจ.
เจริญ โภคภั ณ ฑ์ อ าหาร หรือ ซี พี เอฟ ในการพั ฒ นาอุ ป กรณ์ ก ารประมงและเทคโนโลยี เฝ้ า ระวั ง เพื่ อ การประมงที่ ย่ั ง ยื น ในการต่ อ สู้ กั บ การท� ำ ประมงที่ ผิ ด กฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม หรือ ไอยูยู โดยเริม ่ จากการไปดูงานที่ท่าเรือประมงในเมือง บริคซ์แฮม สหราชอาณาจักร เพื่อเรียนรูก ้ ารปฏิบัติด้านการประมงอย่างยั่งยืน และศึกษา นวัตกรรมที่สามารถน�ำกลับมาใช้ในอุตสาหกรรมประมงไทยได้ ที่มา : สรุปจาก Intra Fish, 14 มิ.ย. 62
กลไกเพื่อป้องกันและปราบปรามการท�ำประมง ผิดกฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมแสดง บทบาทและความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ในการ ด�ำเนินการตามกฎระเบียบสากล และสามารถ ปลดใบเหลืองการท�ำประมง IUU ได้ส�ำเร็จเมื่อ วันที่ 8 มกราคม 2562 ที่ผ่านมา ปั จ จุ บั น ไทยได้ ผ ลั ก ดั น การแก้ ไ ขปั ญ หา IUU ของประเทศจนเป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ นานาชาติ อาทิ การผลักดันนโยบายประมงร่วม อาเซียน (ASEAN General Fisheries Policy) การเข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น ข้อตกลงว่าด้วยการปฏิบัติตามบทบัญญัติ ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล เกี่ยวกับการอนุรักษ์และการบริหารจัดการมวล ปลาที่ย้ายถิ่น (UNFSA) ข้อตกลงตามมาตรการ ของรัฐเจ้าท่า (PSM) ข้อตกลงว่าด้วยการท�ำ ประมงในมหาสมุทรอินเดียตอนใต้ (SIOFA) รวม ถึงการลงนามความร่วมมือในการต่อต้านปัญหา การท�ำประมง IUU กับประเทศฟิลิปปินส์ และ ญี่ปุ่น การลงนามความร่วมมือทางด้านประมงกับ ประเทศเมียนมา เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้วาง
รากฐานการแก้ไขปัญหาการท�ำประมงของประเทศ ไปสู่การประมงอย่างยั่งยืน ทั้งด้านกฎหมาย การ บริหารจัดการทรัพยากรประมงและกองเรือ การ ติดตาม ควบคุม และเฝ้าระวัง (MCS) การตรวจ สอบย้อนกลับ รวมถึงด้านแรงงาน เรียกได้ว่า ไทยได้ปฏิรูปภาคการประมงทั้งระบบ ซึ่งเปลี่ยน แปลงจากอดีตไปอย่างสิ้นเชิง และพร้อมจับมือ กับประชาคมโลกในการร่วมรักษาทรัพยากรทาง ทะเล และน�ำพาการประมงของประเทศและโลก ไปสู ่ ค วามยั่ ง ยื น เพื่ อ สร้ า งความมั่ น คงทางด้ า น อาหารให้แก่ประชากรของโลกต่อไป ส� ำ หรั บ กิ จ กรรมภายในงานยั ง มี ก ารจั ด แสดงนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการท�ำประมง ผิดกฎหมาย การออกบูธแสดงสินค้า และการ จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระมง ทั้ ง แบบจ� ำ หน่ า ย หน้าร้าน และผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดย มีผู้เข้าร่วมงาน ประกอบด้วย คณะทูตานุทูตจาก ประเทศต่างๆ ผู้แทนองค์กรความร่วมมือระหว่าง ประเทศด้านการบริหารจัดการประมง หน่วยงาน ภาครั ฐ ภาคเอกชน สถาบั น การศึ ก ษา และ ภาคประชาสังคม ที่มา : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
62
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Market Leader
ผู้ว่าฯ ลพบุรี ไฮเทค ใช้ โดรน - เฮลิคอปเตอร์ ปราบหนอนกระทู้ 9 หมื่นไร่ เมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม นายสุปกิต โพธิป์ ภาพันธ์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดลพบุรี พร้อมด้วยนายสุรศักดิ์ ผลยังส่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี และนายศรีชัย ตัณฑโสภณ นายอ�ำเภอเมืองลพบุรี ได้รว่ มกันในการเปิดงานวันรณรงค์การป้องกัน ก�ำจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ด้วยวิธีผสมผสาน ณ แปลงเพาะปลูกข้าวโพด แปลงใหญ่เลี้ยงสัตว์ หมู่ที่ 7 ต.นิคมสร้างตนเอง อ.เมือง จ.ลพบุรี ซึ่งถือเป็นการ kick off พร้อมกันครอบคลุมพื้นที่ทั้ง 11 อ�ำเภอของจังหวัดลพบุรี โดยถือเป็น การรณรงค์ก�ำจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดครั้งใหญ่แบบผสมผสาน หลากหลาย วิธีเพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของ “หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด” ทั้งวิธีทาง ธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากภูมิปัญญา และเทคโนโลยีชาวบ้าน รวมถึงงานวิจัยของ กรมวิชาการเกษตร อาทิ การใช้กับดักกากน�้ำตาลล่อท�ำลายผีเสื้อตัวเต็มวัย การใช้ แมลงก�ำจัดแมลง ด้วยการปล่อยแมลงเบียน และแมลงหางหนีบลงสู่แปลงข้าวโพด ที่มา : มติชนออนไลน์ วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
63
Market Leader ที่มีการแพร่ระบาดเพื่อให้แมลงเบียน และแมลง หางหนีบ ไปกินไข่ และตัวอ่อนของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุด รวมถึงการใช้เทคโนโลยี และเคมี การเกษตรด้วยการใช้โดรน และเฮลิคอปเตอร์ ฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ก�ำจัดศัตรูพืชลงสู่แปลงปลูก ข้าวโพดเพือ่ ก�ำจัดไข่ และตัวอ่อน รวมถึงตัวเต็มวัย โดยเฉพาะพื้นที่ซ่ึงมีการระบาดรุนแรง ซึ่งวิธีการ ต่างๆ จะต้องน�ำไปใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่การ แพร่ระบาด และพื้นที่เฝ้าระวัง เนื่องจาก “หนอน กระทู้ข้าวโพดลายจุด” สามารถขยายพันธุ์ได้ รวดเร็ว โดยใช้เวลาแค่รุ่นละ 30 - 40 วัน วงจร ชีวิตตั้งแต่เป็น ไข่ - หนอน - ดักแด้ - ตัวเต็มวัย ใช้เวลาเพียง 31 วัน และเมื่อเป็นผีเสื้อ สามารถ บินได้ไกลเฉลี่ยคืนละ 100 กิโลเมตร และแมลง ศัตรูพืชที่กินพืชได้มากกว่า 80 ชนิด รวมถึง ข้าว อ้อย พืชตระกูลผักทัง้ หมด และไม้ดอกไม้ประดับ ด้วย หากไม่สามารถควบคุม หรือตัดวงจรการ แพร่ระบาดได้ จะสร้างความเสียหายกับเศรษฐกิจ ภาพรวมของประเทศได้
64
ส�ำหรับจังหวัดลพบุรี มีพื้นที่ปลูกข้าวโพด ทั้งหมดจ�ำนวน 123,833 ไร่ พบมีพื้นที่ระบาด ของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดจ�ำนวน 11,855 ไร่ และมีพื้นที่ต้องเฝ้าระวังจ�ำนวน 92,153 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 74.42 ของพื้นที่ปลูกข้าวโพด ทั้งหมด ส�ำนักงานเกษตรจังหวัดลพบุรี จึงได้เร่ง รณรงค์ ก ารป้ อ งกั น ก� ำ จั ด หนอนกระทู ้ ข ้ า วโพด ลายจุด โดยวิธีผสมผสาน เพื่อสร้างการรับรู้ และ ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรได้รู้จักหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุด พร้อมแนวทางในการควบคุม และป้ อ งกั น ก� ำ จั ด หนอนกระทู ้ ข ้ า วโพดลายจุ ด อย่างถูกต้องเหมาะสม และส่งเสริมการใช้แนวทาง ในการจัดการศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสานพร้อมกัน ทั้ ง 11 อ� ำ เภอ ครอบคลุ ม ทั้ ง จั ง หวั ด เพื่ อ ให้ เกษตรกรสามารถควบคุมการระบาดของหนอน กระทู้ข้าวโพดลายจุดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
65
Market Leader
คาร์กิลล์
เตรียมปิดโรงงานอาหารในจีน
หลังยอดการใช้หายวูบ ASF ๏ โดย Boss-TPB ๏
สถานการณ์โรคอหิวาต์สุกรแอฟริกัน หรือ ASF ที่ระบาดในประเทศจีน ไม่ได้สร้างความเสีย หายเฉพาะฟาร์มเลีย้ งสุกรเท่านัน้ แต่อตุ สาหกรรม อื่นที่เกี่ยวข้องก็ได้รับผลกระทบด้วยเช่นกัน คาร์กลิ ล์ ผูผ้ ลิตสัตว์และอาหารสัตว์รายใหญ่ ของโลก ก็ได้รบั ผลกระทบจากการระบาดของโรค ASF ในประเทศจีน ทีท่ ำ� ให้สกุ รทีห่ ายไปกว่า 30% ส่งผลต่อความต้องการอาหารสัตว์ และแผนการ ใช้วตั ถุดบิ อาหารสัตว์ เช่น ถัว่ เหลือง และพรีมกิ ซ์ ซึง่ คาร์กลิ ล์เตรียมทีจ่ ะปิดโรงงานอาหารสัตว์ 3 แห่ง เพื่อรับมือกับความต้องการที่ลดลง นาย Chuck Warta ประธานฝ่ายงาน พรีมกิ ซ์ของคาร์กลิ ล์ กล่าวว่า สถานการณ์ระบาด ของ ASF ไม่มีทีท่าว่าจะฟื้นกลับคืนมาในเร็ววันนี้ ถึงแม้จะสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ แต่การ ฟื้นฟูความเสียหายที่เกิดขึ้นคงไม่ได้ท�ำกันง่ายๆ
ในช่วงเวลา 5 - 6 เดือน แต่อาจจะยาวนานถึง 24 เดือน หรือ 36 เดือนเลยทีเดียว การปิ ด โรงอาหารสั ต ว์ ทั้ ง สามแห่ ง ใน ประเทศจีนนี้ ไม่ใช่คาร์กิลล์ถอดใจจากการลงทุน ในประเทศจีน แต่ปิดเพื่อที่จะให้การบริหารงาน เป็นไปโดยมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ และคาร์กลิ ล์ ยั ง มี แ ผนความร่ ว มมื อ ลงทุ น กั บ จี น ในอนาคต ข้างหน้าอีกด้วย ถื อ ว่ า ปี นี้ เ ป็ น ปี ช งของคาร์ กิ ล ล์ โ ดยแท้ เพราะปัญหาหลายอย่างรุมเร้า ทั้งการระบาดของ โรค ASF สงครามการค้าจีน - สหรัฐฯ และน�ำ้ ท่วม ที่มิดเวสต์อเมริกา ท�ำให้การประกาศตัวเลขผล ก�ำไรในไตรมาสที่ผ่านมาลดลงไปถึง 41%
ที่มา : thaipoultry.biz วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
66
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
ที่มา : Reuters
คุณภาพ มาตรฐาน พร้อมบริการวิชาการ
ผลิตภัณฑ์ ดูดความชื้นบนตัวสั ตว์ และพืน้ คอก
ดูดความชื้นบนตัวลูกสุ กรหลังคลอด ลดสูญเสียความร้อนภายในร่างกาย
เพิ่มความอบอุ่นให้ลูกสุ กร ฟื้ นตัวหลังคลอดได้เร็วกินอาหารได้ดี ช่วยการเจริ ญเติบโตดีข้ ึน ใช้โรยพื้นคอก ลดความชื้น เพิ่มสุ ขอนามัยที่ดี และเพื่อ ป้องกันการลื่นล้มให้เกิด อาการบาดเจ็บของขาและ กีบ, ลดการเกิดแอมโมเนีย วิธีการใช้ งาน
70 กรัม/ลูกสุ กรแรกคลอด1ตัว 110 กรัม/ตร.ม หรื อพิจารณาตามความเหมาะสมของความชื้นบนพื้นคอก มีส่วนประกอบของ Vegetable fiber, Aluminosilicate, Calcium carbonate
ขนำดบรรจุ
ผลิตโดย : บริษทั อินเทคค์ ฟี ด จำกัด จัดจำหน่ ำยโดย : บริษทั แลบ อินเตอร์ จำกัด
25
กิโลกรัม
(5 bag x5 Kg)
บริษัท แลบอินเตอร์ จากัด 77/12 หมู่ 2 ถ.พระราม 2 ต.นาโคก อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000
โทร. 034-886140-48, 034-851211 ext.2313 แฟกซ์. 034-886147 E-mail : techdep@inteqc.com
ราชกิจจานุเบกษา
Around the World
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๘๒ ง
๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒
ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง ก�ำหนด รายชื่อยาที่ห้ามใช้ผสมในอาหารสัตว์ในวัตถุประสงค์เพื่อการป้องกันโรค พ.ศ. ๒๕๖๒
โดยทีเ่ ป็นการสมควรก�ำหนด รายชือ่ ยาทีห่ า้ มใช้ผสมในอาหารสัตว์ในวัตถุประสงค์เพือ่ การป้องกัน โรค อาศัยอ�ำนาจตามความในข้อ ๔ (๒) แห่งประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง ก�ำหนด ลักษณะและเงื่อนไขของอาหารสัตว์ที่ผสมยาที่ห้ามผลิต น�ำเข้า ขาย และใช้ พ.ศ. ๒๕๖๑ อธิบดี กรมปศุสัตว์ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง ก�ำหนด รายชื่อยาที่ห้ามใช้ผสมใน อาหารสัตว์ในวัตถุประสงค์เพื่อการป้องกันโรค พ.ศ. ๒๕๖๒” ข้อ ๒ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ รายชื่อยาที่ห้ามใช้ผสมลงในอาหารสัตว์ในวัตถุประสงค์เพื่อการป้องกันโรค ดังต่อไปนี้ (๑) ยากลุ่มโพลีมิกซิน (Polymyxins) ได้แก่ (ก) โคลิสติน (Colistin) (ข) โพลีมิกซิน บี (Polymyxin B) (๒) ยากลุ่มเพนิซิลลิน (Penicillins) ได้แก่ (ก) อะม็อกซีซิลลิน (Amoxicillin) (ข) แอมพิซิลลิน (Ampicillin) (ค) แอสโพซีซิลลิน (Aspoxicillin) (ง) เบเนทามีน เพนิซิลลิน (Benethamine penicillin) (จ) เบนซาทีน เบนซิลเพนิซิลลิน (Benzathine benzylpenicillin) (ฉ) เบนซิลเพนิซิลลิน หรือ เพนิซิลลิน จี (Benzylpenicillin or Penicillin G) (ช) คลอกซาซิลลิน (Cloxacillin) (ซ) ไดคลอกซาซิลลิน (Dicloxacillin) (ฌ) ฮีตาซิลลิน (Hetacillin) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
67
Around the World
(ญ) มีซิลลินัม (Mecillinam) (ฎ) นาฟซิลลิน (Nafcillin) (ฏ) ออกซาซิลลิน (Oxacillin) (ฐ) เพเนทาเมท ไฮดริโอไดด์ (Penethamate hydriodide) (ฑ) เฟเนทิซิลลิน (Pheneticillin) (ฒ) ฟีนอกซีเมทิลเพนิซลิ ลิน หรือ เพนิซลิ ลิน วี (Phenoxymethylpenicillin or Penicillin V) (ณ) ทิคาร์ซิลลิน (Ticarcillin) (ด) โทบิซิลิน (Tobicillin)
(๓) ยากลุ่มฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolones) (ก) ไซโปรฟลอกซาซิน (Ciprofloxacin) (ข) ดาโนฟลอกซาซิน (Danofloxacin) (ค) ไดฟลอกซาซิน (Difloxacin) (ง) เอนโรฟลอกซาซิน (Enrofloxacin) (จ) มาร์โบฟลอกซาซิน (Marbofloxacin) (ฉ) นอร์ฟลอกซาซิน (Norfloxacin) (ช) ออฟลอกซาซิน (Ofloxacin) (ซ) ออร์บิฟลอกซาซิน (Orbifloxacin) (ฌ) พราโดฟลอกซาซิน (Pradofloxacin) (ญ) ซาราฟลอกซาซิน (Sarafloxacin)
68
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Around the World
ประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๕๘ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ __________________
ตามที่คณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ได้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกลาง ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การก�ำหนดสินค้าและบริการควบคุม ลงวันที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ จึงท�ำให้ประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สิน้ ผลใช้บงั คับ ประกอบกับคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ได้พจิ ารณา ทบทวนการใช้อ�ำนาจก�ำหนดมาตรการดังกล่าวแล้ว เห็นควรปรับมาตรการควบคุมการขนย้ายข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ โดยเพิ่มท้องที่อ�ำเภอที่มีเขตติดต่อกับประเทศเมียนมา ในพื้นที่จังหวัดตาก เป็นท้องที่ที่ต้อง ขออนุญาตขนย้าย เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในด้านราคา ปริมาณ และรักษาเสถียรภาพระบบตลาด ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ รวมทั้งเพื่อควบคุมการลักลอบน�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากประเทศ เพื่อนบ้านและอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการยิ่งขึ้น อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๙ (๒) และมาตรา ๒๕ (๔) (๗) แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วย ราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ จึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับในทุกท้องที่ท่ัวราชอาณาจักรเป็นระยะเวลาหนึ่งปี ตั้งแต่ วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป เว้นแต่จะมีการออกประกาศใหม่ ข้อ ๒ ห้ามมิให้บคุ คลใดขนย้ายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ซึง่ มีปริมาณครัง้ ละตัง้ แต่หนึง่ หมืน่ กิโลกรัม ขึ้นไป เข้ามาหรือออกจากท้องที่อ�ำเภอที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะได้รับหนังสืออนุญาตจากประธาน คณะกรรมการส่วนจังหวัดว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ หรือผู้ซึ่งประธานคณะกรรมการส่วนจังหวัด ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการมอบหมาย หรือพาณิชย์จังหวัด ส�ำหรับท้องที่ที่ท�ำการขนย้ายเข้ามาหรือ ออกจากท้องที่นั้นๆ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
69
Around the World
(๑) อ�ำเภอโป่งน�้ำร้อน และอ�ำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี (๒) อ�ำเภออรัญประเทศ อ�ำเภอคลองหาด อ�ำเภอตาพระยา และอ�ำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว (๓) อ�ำเภอสิรนิ ธร อ�ำเภอโขงเจียม อ�ำเภอโพธิไ์ ทร อ�ำเภอนาตาล อ�ำเภอเขมราฐ อ�ำเภอบุณฑริก อ�ำเภอนาจะหลวย อ�ำเภอน�้ำยืน และอ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี (๔) อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ อ�ำเภอสองแคว และอ�ำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน (๕) อ�ำเภอแม่สาย อ�ำเภอเชียงของ อ�ำเภอเวียงแก่น อ�ำเภอแม่ฟ้าหลวง อ�ำเภอเทิง และอ�ำเภอ แม่จัน จังหวัดเชียงราย (๖) อ�ำเภอท่าลี่ อ�ำเภอเชียงคาน อ�ำเภอปากชม อ�ำเภอนาแห้ว อ�ำเภอด่านซ้าย และอ�ำเภอภูเรือ จังหวัดเลย (๗) อ�ำเภอแม่สอด อ�ำเภอท่าสองยาง อ�ำเภอแม่ระมาด อ�ำเภออุ้มผาง และอ�ำเภอพบพระ จังหวัดตาก ข้อ ๓ กรณีที่บุคคลใดได้รับหนังสืออนุญาตให้ขนย้ายเข้ามาหรือออกจากท้องที่อ�ำเภอตาม ข้อ ๒ แล้ว ได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนญาตขนย้ายเข้ามาหรืออกจากท้องที่อ�ำเภออื่นตามข้อ ๒ อีก ข้อ ๔ ความในข้อ ๒ มิให้ใช้บงั คับกับการขนย้ายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์จากท้องทีอ่ นื่ ในราชอาณาจักร โดยใช้ท้องที่อ�ำเภอตามข้อ ๒ เป็นทางผ่านเพื่อไปยังสถานที่ปลายทาง ข้อ ๕ การขออนุญาตตามข้อ ๒ ให้ยื่นค�ำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ราชการ ดังต่อไปนี้ (๑) ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดแห่งท้องที่ซึ่งท�ำการขนย้ายเข้ามาหรือออกจากท้องที่นั้นๆ (๒) ทีท่ ำ� การปกครองอ�ำเภอแห่งท้องทีซ่ งึ่ ท�ำการขนย้ายเข้ามาหรือออกจากท้องทีน่ นั้ ๆ ส�ำหรับกรณี ทีป่ ระธานคณะกรรมการส่วนจังหวัดว่าด้วยราคาสินค้าและบริการมอบหมายให้นายอ�ำเภอเป็นผูอ้ นุญาต ขนย้าย การยื่นค�ำขอตามวรรคหนึ่ง จะยื่นค�ำขอผ่านทางระบบการขออนุญาตขนย้ายสินค้าควบคุมทาง อิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ โดยให้ถือวันที่ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้เข้าสู่ระบบการขออนุญาตขนย้ายสินค้า ควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์ของส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้า ภายใน กระทรวงพาณิชย์ เป็นวันยื่นค�ำขอ บุคคลทีป่ ระสงค์จะยืน่ ค�ำขอผ่านทางระบบการขออนุญาตขนย้ายสินค้าควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์ ต้องลงนามในบันทึกแสดงความตกลงกับส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ก่อน ตามระเบียบที่เลขาธิการก�ำหนด
70
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Around the World
หลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาต การอนุญาต แบบหนังสืออนุญาต และวิธีการขนย้าย ให้เป็นไปตามที่เลขาธิการก�ำหนด ข้อ ๖ ให้ผไู้ ด้รบั หนังสืออนุญาตขนย้ายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ต้องขนย้ายให้ตรงตามชนิด ปริมาณ ระยะเวลา สถานที่ และใช้ยานพาหนะที่มีหมายเลขทะเบียนตามที่ระบุไว้ในหนังสืออนุญาตขนย้าย รวมทั้งจะต้องน�ำหนังสืออนุญาตก�ำกับการขนย้ายไปด้วยทุกครั้ง หนังสืออนุญาตให้ใช้เฉพาะการขนย้ายครั้งเดียวเท่านั้น การขนย้ายที่ไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง และหลักเกณฑ์และวิธีการตามข้อ ๕ วรรคสี่ ให้ถือว่า เป็นการขนย้ายโดยไม่ได้รับอนุญาตตามประกาศฉบับนี้ ข้อ ๗ กรณีบุคคลใดได้รับหนังสืออนุญาตขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เข้ามาหรือออกจากท้องที่ ที่ก�ำหนดตามประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ และระยะเวลาที่ระบุไว้ ในหนังสืออนุญาตขนย้ายยังไม่สิ้นสุดลงในวันที่ประกาศฉบับนี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าบุคคลนั้นได้รับอนุญาต ขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ตามประกาศฉบับนี้และให้ใช้ได้จนกว่าระยะเวลาตามหนังสืออนุญาตขนย้าย ดังกล่าวสิ้นสุดลง
ประกาศ ณ วันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
(นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รักษาราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
71
Around the World
ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๑๗ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาต การอนุญาต แบบหนังสืออนุญาต และวิธีการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ __________________
ตามทีค่ ณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ได้ออกประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วย ราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๕๘ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ก�ำหนดห้ามมิให้บุคคลใดขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ซึ่งมีปริมาณ ครั้งละตั้งแต่หนึ่งหมื่นกิโลกรัมขึ้นไป เข้ามาหรือออกจากท้องที่อ�ำเภอที่ก�ำหนด เว้นแต่ได้รับหนังสือ อนุญาต โดยหลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาต การอนุญาต แบบหนังสืออนุญาตและวิธีการ ขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ให้เป็นไปตามที่เลขาธิการก�ำหนดไปแล้วนั้น อาศัยอ�ำนาจตามความในข้อ ๕ วรรคสี่ แห่งประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและ บริการ ฉบับที่ ๕๘ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เลขาธิการคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ จึงออกประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ “ประธาน กจร.” หมายความว่า ประธานคณะกรรมการส่วนจังหวัดว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ หมวด ๑ การขออนุญาต ข้อ ๓ ให้บุคคลที่ประสงค์จะขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เข้ามาหรือออกจากท้องที่อ�ำเภอที่ห้าม ขนย้ายตามประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๕๘ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ยื่นค�ำขอตามแบบท้าย
72
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Around the World
ประกาศฉบับนี้ ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานทีร่ าชการตามประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคา สินค้าและบริการ ฉบับที่ ๕๘ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๔ ให้บุคคลที่ประสงค์จะขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เข้ามาหรือออกจากท้องที่อ�ำเภอที่ห้าม ขนย้าย เป็นผู้ขออนุญาต กรณีค�ำขออนุญาตเป็นของนิติบุคคลให้ผู้มีอ�ำนาจผูกพันนิติบุคคลหรือตัวแทนผู้รับมอบอ�ำนาจ เป็นผูล้ งลายมือชือ่ ในค�ำขออนุญาต ส�ำหรับการยืน่ ค�ำขออนุญาต จะมอบอ�ำนาจให้บคุ คลใดเป็นผูย้ นื่ ก็ได้ ข้อ ๕ การขออนุญาตให้แนบเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ (๑) หนังสือรับรองของส�ำนักงานทะเบียนหุน้ ส่วนบริษทั แสดงวัตถุประสงค์ รายชือ่ กรรมการและ ผู้มีอ�ำนาจผูกพันนิติบุคคล ซึ่งรับรองไว้ก่อนยื่นค�ำขออนุญาตไม่เกินหกเดือน ในกรณีที่เป็นนิติบุคคล (๒) หนังสือมอบอ�ำนาจให้เป็นผู้ลงลายมือชื่อในค�ำขออนุญาต (๓) ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน ในกรณีที่เป็นบุคคลธรรมดา (๔) หลักฐานแสดงแหล่งทีม่ า การซือ้ ขาย การได้มาหรือการนาเข้ามาในราชอาณาจักรซึง่ ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ (๕) หลักฐานการสลักหลังรับรองของพนักงานเจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานพาณิชย์จงั หวัดหรือส�ำนักงาน คณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ในหนังสือ อนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กรณีผู้รับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ไม่สามารถรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ได้ ตามข้อ ๑๘ หมวด ๒ การอนุญาต ข้อ ๖ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับค�ำขอพร้อมเอกสารหลักฐานตามข้อ ๕ แล้ว ให้ตรวจสอบ ความถูกต้องของค�ำขอและเอกสารหลักฐาน เมื่อเห็นว่าถูกต้องครบถ้วน ให้เสนอความเห็นเบื้องต้น แล้วน�ำเสนอประธาน กจร. หรือผู้ซึ่งประธาน กจร. มอบหมาย หรือพาณิชย์จังหวัดซึ่งมีอ�ำนาจออก หนังสืออนุญาตการขนย้าย แล้วแต่กรณี ข้อ ๗ ให้ประธาน กจร. หรือผู้ซึ่งประธาน กจร. มอบหมาย หรือพาณิชย์จังหวัด แล้วแต่กรณี พิจารณาออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยค�ำนึงถึงความถูกต้องในการได้มาและ ความจ�ำเป็นในการขนย้าย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
73
Around the World
เมื่อได้ออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ประสานแจ้งส�ำนักงานพาณิชย์ จังหวัด ซึ่งเป็นท้องที่ปลายทางการขนย้าย เพื่อตรวจสอบการขนย้าย ข้อ ๘ หนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้เป็นไปตามแบบท้ายประกาศฉบับนี้ หนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ตามวรรคหนึ่ง ให้กรอกข้อความโดยการเขียนหรือ พิมพ์ให้ครบถ้วน ชัดเจน อ่านได้ง่าย พร้อมกับประทับตราชื่อส่วนราชการที่ออกหนังสืออนุญาต ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตไม่อาจแจ้งหมายเลขทะเบียนยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งพร้อมค�ำขอ อนุญาตได้ ให้ประธาน กจร. หรือผู้ซึ่งประธาน กจร. มอบหมาย หรือพาณิชย์จังหวัด แล้วแต่กรณี ออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้ก่อน โดยไม่มีข้อความเกี่ยวกับหมายเลขทะเบียน ยานพาหนะก็ได้ แต่เมือ่ ได้รบั แจ้งหมายเลขทะเบียนยานพาหนะจากผูข้ ออนุญาตแล้ว ให้บนั ทึกหมายเลข ทะเบียนยานพาหนะลงในคู่ฉบับ และส�ำเนาหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้ตรงตาม ที่ได้รับแจ้งด้วย ข้อ ๙ การแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อความในหนังสืออนุญาตจะกระท�ำมิได้ เว้นแต่เป็นการแก้ไข หรือเพิ่มเติมของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามข้อ ๘ วรรคสาม หรือผู้ขออนุญาตตามข้อ ๑๔ ข้อ ๑๐ กรณีประธาน กจร. หรือพาณิชย์จังหวัดเป็นผู้ออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ให้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) มอบต้นฉบับหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีขาวให้กับผู้ขออนุญาต (๒) เก็บคู่ฉบับหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีฟ้า พร้อมกับส�ำเนาหนังสือ อนุญาตฉบับสีชมพูไว้ที่หน่วยงานซึ่งเป็นผู้ด�ำเนินการออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (๓) ส่งส�ำเนาหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีเหลือง ให้ส�ำนักงานคณะ กรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ เป็นประจ�ำทุกเจ็ดวัน นับตั้งแต่วันที่ได้ออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้อ ๑๑ กรณีประธาน กจร. มอบหมายให้นายอ�ำเภอ หรือผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งอืน่ เป็นผูอ้ อกหนังสือ อนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ให้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) มอบต้นฉบับหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีขาวให้กับผู้ขออนุญาต (๒) เก็บคู่ฉบับหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีฟ้าไว้ที่หน่วยงานซึ่งเป็น ผู้ด�ำเนินการออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (๓) ส่งส�ำเนาหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ๒ ฉบับ คือ ฉบับสีชมพูและฉบับ สีเหลืองให้ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดที่ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดนั้น เป็นประจ�ำทุกสามวันนับตั้งแต่วันที่ได้ ออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
74
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Around the World
ให้ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดส่งส�ำเนาหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีเหลือง ตาม (๓) ให้ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวง พาณิชย์ เป็นประจ�ำทุกเจ็ดวันนับตั้งแต่วันที่ได้รับส�ำเนาหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้อ ๑๒ หนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้มีอายุการใช้ตามระยะเวลาดังต่อไปนี้ (๑) การขนย้ายทางบกโดยรถ ให้ค�ำนวณระยะเวลาที่อนุญาตให้ขนย้าย โดยถือระยะทางภายใน หนึ่งร้อยกิโลเมตรแรกต่อสามชั่วโมง และทุกระยะทางหนึ่งร้อยกิโลเมตรต่อไปต่อสามชั่วโมง เศษของ หนึ่งร้อยกิโลเมตรให้คิดเพิ่มได้อีกสามชั่วโมง (๒) การขนย้ายทางบกโดยรถไฟ การขนย้ายทางทะเล หรือการขนย้ายโดยช่องทางอืน่ ให้กำ� หนด ระยะเวลาได้ตามความเหมาะสม กรณีมีเหตุจ�ำเป็นที่ไม่อาจขนย้ายโดยถือระยะทางหนึ่งร้อยกิโลเมตรต่อสามชั่วโมงตาม (๑) ได้ ให้ประธาน กจร. หรือผู้ซึ่งประธาน กจร. มอบหมาย หรือพาณิชย์จังหวัด แล้วแต่กรณีเป็นผู้พิจารณา ให้ความเห็นชอบเป็นกรณีไป ให้ผู้ออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ระบุวันและเวลาเริ่มต้นกับวันและเวลา สิ้นสุดอายุการใช้หนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไว้ด้วย ข้อ ๑๓ ให้ผู้ได้รับหนังสืออนุญาตขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ไม่สามารถขนย้ายภายในเวลา และปริมาณที่ก�ำหนด ต้องขอยกเลิกหนังสืออนุญาตขนย้ายดังกล่าวต่อส�ำนักงานคณะกรรมการกลาง ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ หรือส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด ที่ด�ำเนินการออกหนังสืออนุญาตขนย้าย ภายในสามวันนับแต่วันที่หนังสืออนุญาตขนย้ายหมดอายุ เพื่อด�ำเนินการยกเลิกต่อไป เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้า ภายใน กระทรวงพาณิชย์ หรือส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด ได้รับหนังสืออนุญาตขนย้ายตามวรรคหนึ่ง ไว้แล้วให้น�ำเสนอเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย ประธาน กจร. หรือผู้ซึ่งประธาน กจร. มอบหมาย หรือพาณิชย์จังหวัด ซึ่งมีอ�ำนาจออกหนังสืออนุญาตขนย้าย แล้วแต่กรณี เพื่อด�ำเนินการ ยกเลิกหนังสืออนุญาตดังกล่าว หนังสืออนุญาตขนย้ายที่ได้ยกเลิกแล้ว ให้ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดส่งต้นฉบับหนังสืออนุญาต ขนย้ายดังกล่าวให้สำ� นักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวง พาณิชย์ ภายในเจ็ดวันนับตั้งแต่วันยกเลิก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
75
Around the World
หมวด ๓ การขนย้าย ข้อ ๑๔ กรณีหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ไม่มีข้อความเกี่ยวกับหมายเลข ทะเบียนยานพาหนะตามข้อ ๘ วรรคสาม ให้ผู้ขออนุญาตบันทึกหมายเลขทะเบียนยานพาหนะ ลงในหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์กอ่ นการขนย้าย และให้แจ้งส่วนราชการหรือส�ำนักงาน พาณิชย์จังหวัดที่ด�ำเนินการออกหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทันทีที่ได้มีการบันทึก หมายเลขทะเบียนยานพาหนะลงในหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แล้ว ข้อ ๑๕ ให้ผู้ขออนุญาตมอบต้นฉบับหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีขาว ให้ผู้ขับขี่หรือผู้ควบคุมยานพาหนะน�ำติดไปกับยานพาหนะด้วยทุกครั้ง เพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ ทุกเวลา ข้อ ๑๖ การขนย้ายจะต้องขนย้ายให้ตรงตามชนิด ปริมาณ ระยะเวลา สถานที่ที่อนุญาตให้ ขนย้าย และใช้ยานพาหนะที่มีหมายเลขทะเบียนตามที่ระบุไว้ในหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ รวมทั้งจะต้องน�ำหนังสืออนุญาตขนย้ายก�ำกับการขนย้ายไปด้วยทุกครั้ง ข้อ ๑๗ ในกรณีที่เกิดเหตุขัดข้องระหว่างการขนย้าย ซึ่งจะท�ำให้การขนย้ายไม่เป็นไปตาม ระยะเวลาที่ระบุไว้ในหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ให้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) ถ้าเกิดเหตุขัดข้องในท้องที่จังหวัดซึ่งเป็นต้นทางการขนย้ายให้ผู้ขออนุญาต ผู้ขับขี่หรือ ผู้ควบคุมยานพาหนะนั้นแจ้งเหตุขัดข้องต่อผู้มีอ�ำนาจในการอนุญาตขนย้ายโดยด่วน (๒) ถ้าเกิดเหตุขดั ข้องในท้องทีจ่ งั หวัดอืน่ ซึง่ มิใช่เป็นต้นทางในการขนย้าย ให้ผขู้ บั ขีห่ รือผูค้ วบคุม ยานพาหนะนั้นแจ้งเหตุขัดข้องต่อเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ราชการแห่งท้องที่ที่เกิดเหตุดังต่อไปนี้ เพื่อให้ สลักหลังรับรองในหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์โดยระบุถงึ เหตุขดั ข้องดังกล่าว พร้อมทัง้ ลงนามและระบุต�ำแหน่งไว้ด้วย (ก) พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจ�ำ ณ ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด หรือ (ข) ร้อยเวรที่ปฏิบัติงานประจ�ำ ณ สถานีต�ำรวจท้องที่ที่เกิดเหตุ หรือ (ค) เจ้าหน้าที่ต�ำรวจทางหลวงชั้นสัญญาบัตรขึ้นไปในเขตท้องที่ที่รับผิดชอบ ข้อ ๑๘ เมือ่ ได้ขนย้ายถึงปลายทางแล้ว ให้ผขู้ บั ขีห่ รือผูค้ วบคุมยานพาหนะมอบต้นฉบับหนังสือ อนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ฉบับสีขาวให้ผรู้ บั ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ตามทีร่ ะบุไว้ในหนังสืออนุญาต การขนย้าย เพื่อสลักหลังรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ให้ผู้ขออนุญาตขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีหน้าที่ด�ำเนินการเพื่อให้มีการน�ำส่งต้นฉบับหนังสือ อนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีขาว ซึ่งมีการสลักหลังรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ตามวรรคหนึ่ง ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานทีป่ ลายทาง ภายในเจ็ดวันนับตัง้ แต่เวลาทีไ่ ด้ขนย้ายถึงปลายทางแล้ว ดังนี้
76
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Around the World
(๑) ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายในกระทรวง พาณิชย์ กรณีที่กรุงเทพมหานครเป็นปลายทางการขนย้าย (๒) ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดแห่งท้องที่ปลายทางการขนย้าย กรณีปลายทางการขนย้ายเป็น จังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ถ้าระยะเวลาส่งต้นฉบับหนังสืออนุญาตตามวรรคสองสิ้นสุดลงในวันหยุดราชการ ให้น�ำส่ง ภายในวันแรกที่หน่วยงานตาม (๑) และ (๒) เปิดท�ำการตามปกติ ทั้งนี้ ผู้ขออนุญาตขนย้ายข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ตามวรรคสอง อาจส่งต้นฉบับหนังสืออนุญาตขนย้ายดังกล่าว โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ตอบรับก็ได้โดยให้ถือวันที่ประทับตราประจ�ำวัน ณ ที่ท�ำการไปรษณีย์ต้นทางเป็นวันส่ง กรณีที่ผู้รับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ตามที่ระบุไว้ในหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ไม่สามารถรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ได้ ให้ผู้ขออนุญาตขนย้าย ผู้ขับขี่หรือผู้ควบคุมยานพาหนะแจ้งเหตุ ขัดข้องต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด หรือส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วย ราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งเป็นปลายทางการขนย้ายข้าวโพด เลี้ยงสัตว์นั้น เพื่อสลักหลังรับรองในหนังสืออนุญาตให้ขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยระบุถึงเหตุขัดข้อง ดังกล่าว พร้อมทั้งลงนามและระบุต�ำแหน่งไว้ด้วย กรณีที่ไม่สามารถรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ได้ตามวรรคสี่ และพนักงานเจ้าหน้าที่ได้สลักหลังรับรอง ในหนังสืออนุญาตให้ขนย้ายแล้ว หากผู้ขออนุญาตขนย้ายประสงค์จะขนย้ายต่อไปโดยขนย้ายเข้ามา หรือออกจากท้องทีท่ กี่ ำ� หนดตามประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ ๕๘ พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่อง การควบคุมการขนย้ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ต้องด�ำเนินการขออนุญาตขนย้ายใหม่ตามประกาศนี้ ข้อ ๑๙ เมือ่ พนักงานเจ้าหน้าทีส่ ำ� นักงานพาณิชย์จงั หวัด รับต้นฉบับหนังสืออนุญาตการขนย้าย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฉบับสีขาวตามข้อ ๑๘ วรรคสอง ไว้แล้ว ให้ส่งต้นฉบับหนังสืออนุญาตการขนย้าย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ให้ส�ำนักงานคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ภายในเจ็ดวันนับตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้รบั ต้นฉบับหนังสืออนุญาตการขนย้ายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์
ประกาศ ณ วันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
วิชัย โภชนกิจ อธิบดีกรมการค้าภายใน เลขาธิการคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
77
Around the World
78
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 187 กรกฎาคม - สิงหาคม 2562
79
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดท�ำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์
1 บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ 3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) 4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด 5 บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) 6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุรี 7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด 8 บริษัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด 9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จ�ำกัด 10 บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด 11 บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 12 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด 13 บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จ�ำกัด 14 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 15 ลา เมคคานิค่า เอส.อาร์.ดิเรฟโฟ
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-2694-2498 โทร. 098-248-9771