วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 193

Page 1



รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

1. บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด

28. บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด

2. บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด

29. บริษัท ยู่สูง จ�ำกัด

3. บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด

30. บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด

4. บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด

31. บริษัท บางกอกแร้นซ์ จ�ำกัด (มหาชน)

5. บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)

32. บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด

6. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)

33. บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด

7. บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน)

34. บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน)

8. บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน)

35. บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุป ๊ จ�ำกัด

9. บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด

36. บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จ�ำกัด

10. บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด

37. บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด (มหาชน)

11. บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จ�ำกัด

38. บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด

12. บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด

39. บริษัท บุญพิศาล จ�ำกัด

13. บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จ�ำกัด

14. บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

40. บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จ�ำกัด 41. บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จ�ำกัด

15. บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุร)ี จ�ำกัด

42. บริษัท ไทย ฟูด ้ ส์ อาหารสัตว์ จ�ำกัด

16. บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน)

43. บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

17. บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด

44. บริษัท วีพีเอฟ กรุป ๊ (1973) จ�ำกัด

18. บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

45. บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด

19. บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จ�ำกัด

46. บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จ�ำกัด

20. บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จ�ำกัด

47. บริษัท เจบีเอฟ จ�ำกัด

21. บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จ�ำกัด

48. บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด

22. บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด

49. บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด

23. บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด

50. บริษัท ไทสัน ฟีด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

24. บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด

51. บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จ�ำกัด

25. บริษัท อีสเทิรน์ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด

52. บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด

26. บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด

53. บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด

27. บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

54. บริษัท แสงทองอาหารสัตว์ จ�ำกัด

อภินันทนาการ


คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจ�ำปี 2562 - 2563

1. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล

นายกสมาคม

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)

2. นายชยานนท์ กฤตยาเชวง

อุปนายก

บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน)

3. นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์

อุปนายก

บริษัท ป. เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด

4. นายไพศาล เครือวงศ์วานิช

อุปนายก

บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน)

5. นางเบญจพร สังหิตกุล

เหรัญญิก

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)

6. นายบุญธรรม อร่ามศิรวิ ัฒน์

เลขาธิการ

บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน)

7. น.ส. สุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์

รองเลขาธิการ

บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จ�ำกัด

8. นายสมภพ เอื้อทรงธรรม

รองเลขาธิการ

บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด

9. นายโดม มีกุล

ประชาสัมพันธ์

บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุร)ี จ�ำกัด

10. นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์

ปฏิคม

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด

11. นายเธียรเทพ ศิรชิ ยาพร

นายทะเบียน

บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด

12. นายสุจิน ศิรม ิ งคลเกษม

กรรมการ

บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน)

13. น.ส. รติพันธ์ หิตะพันธ์

กรรมการ

บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด

14. นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล

กรรมการ

บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด

15. นายจ�ำลอง เติมกลิ่นจันทน์

กรรมการ

บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด

16. นายพน สุเชาว์วณิช

กรรมการ

บริษัท บางกอกแร้นช์ จ�ำกัด (มหาชน)


บรรณาธิการแถลง วิกฤต โควิด-19 ยังอีกยาวนานทีจ่ ะผ่านพ้นกันไปได้ทงั้ โลก หากยังมีผทู้ ยี่ งั ดือ้ ดึงทีจ่ ะ  ไม่ปฏิบตั ติ ามสุขอนามัยเบือ้ งต้น และปล่อยให้การระบาดของเชือ้ โรค ทีย่ งั แพร่กระจาย  ออกไปทุกหนแห่ง ข้ามน�ำ้ ข้ามทะเลข้ามแผ่นดินข้ามฟ้าไปทัว่ ทัง้ โลกนี้ แล้ววัคซีนก็ไม่ใช่วา่   จะผลิตคิดค้น และน�ำออกมาใช้ได้อย่างทันทีทันใด วิกฤตเศรษฐกิจได้รับผลกระทบกันอย่างมหันต์ ยากที่จะปรับตัวได้ในเร็ววัน  การค้าทัว่ โลกยังต้องใช้เวลาอีกนาน ดังนัน้ คนในประเทศต้องช่วยเหลือกันภายในก่อน  แล้วค่อยปรับตัวหาทางออกที่ดีที่สุด ซึ่งนับว่าเป็นความโชคดีที่ประเทศไทยยังควบคุม  สถานการณ์ไว้ได้ดใี นระดับหนึง่ และขอให้ภาคเกษตร และปศุสตั ว์ของไทย ต้องช่วยกัน  ป้องกัน และใช้มาตรการต่างๆ ที่เราได้เตรียมตัวกันมาในระยะหนึ่งแล้ว ในเรื่องของ  การรักษาคุณภาพ และการออกมาตรฐาน และมีการน�ำมาใช้ปฏิบัติ ทั้งเรื่อง Safety   Security และ Sustainability และมันก็ได้ผลดีในระดับหนึ่งแล้ว อย่างเช่นที่เห็นผล  ในเรือ่ งของการปฏิบตั ทิ ดี่ ตี อ่ การดูแลเรือ่ งการเลีย้ งหมู ซึง่ โรคระบาด ASF ทีป่ ระเทศไทย  ก็ผา่ นพ้นมาได้ ท�ำให้ผลิตภัณฑ์เนือ้ หมูของไทยเป็นทีต่ อ้ งการของประเทศต่างๆ ทีต่ อ้ งการ  บริโภคเนื้อหมู เนื้อไก่ ไข่ไก่ และกุ้ง ก็เช่นกัน เราได้รับการตอบรับที่ดี มียอดการ  สั่งซื้อที่เพิ่มขึ้นจากการร่วมแรงร่วมใจกัน ท�ำให้ประเทศปลอดภัยจากโรคระบาดต่างๆ จึงหวังให้การท�ำความดี ช่วยดูแลกันและกัน และปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำทีด่ ใี นด้านการ สาธารณสุข และการดูแลสุขอนามัยเบื้องต้น ที่ท�ำกันมาอย่างดีแล้ว ท�ำให้ทุกคนปลอดภัย และเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมปลอดภัย แม้จะมีบางหน่วยที่ต้องได้รับผลกระทบ แต่ พวกเราต้องช่วยกันดูแลซึง่ กันและกัน เพือ่ ให้ประเทศผ่านพ้นวิกฤตโรคโควิด-19 ไปด้วยกัน บก.


Contents Thailand Focus

วารสาร

ธุรกิจอาหารสัตว์

ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรูแ ้ ละเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และการปศุสัตว์ ่ี ยวข้ ่ ่ 2. เพื่อเป็ นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ทเกี องทัวไป ่ 3. เพือพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ ่ นประโยชน์ ของประเทศให้เจริญรุง ่ เรืองในแนวทางทีเป็ ต่อเศรษฐกิจของชาติ ่ 4. ไม่เกียวข้ องกับการเมือง

ด�ำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย

ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร

รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล 

กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร  นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม  นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร  นางเบญจพร สังหิตกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง  นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ

กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง  นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวดวงกมล รัชชะกิตติ นางสาวกรดา พูลพิเศษ 

ส�ำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4   โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com

นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ย�ำ้ กากถั่วเหลืองในอาหารไก่ไทยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม..................5 ผลกระทบของการแบนสารเคมีทางการเกษตรต่อ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และปศุสัตว์ไทย.........................................6 แกนน�ำเกษตรกร ยื่นร้องทุกข์ถึงนายกรัฐมนตรี แก้ความเดือดร้อนหลังแบนพาราควอต.......................................... 10 ศาลรับฟ้อง แบน “พาราควอต-คลอร์ไพริฟอส”................................. 12 ปศุสัตว์เตือนเกษตรกรดูแลสัตว์ เฝ้าระวังอหิวาต์แอฟริกาในสุกร....... 14 จุดเปลี่ยนประเทศไทย “จุรินทร์-เฉลิมชัย” ผนึกก�ำลัง “เกษตร-พาณิชย์” ลุยตลาดส่งออก “อาหารไทยอาหารโลก”.........16 อธิบดีกรมปศุสัตว์ ติดตามงานจุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพ น�ำ้ เหือง ไทย-ลาว เน้นป้องกันควบคุมเข้มโรคตามชายแดน...........22 ศึกอาหารสัตว์เดือด ‘หมู-กุ้ง-ไก่ไข่’ หนุน ประมงค้านลดภาษี............24

Food Feed Fuel “ซีพีเอฟ” คุมเข้มรับซื้อข้าวโพด จากพื้นที่มีเอกสารสิทธิ์เท่านั้น.........28 ป้องข้าวโพดเถื่อนทะลักสวมสิทธิ์แลกน�ำเข้าข้าวสาลี.......................... 31 กกร. ขึ้นบัญชีคุม “กาก DDGS” รง. อาหารสัตว์โวยมัดตราสัง...........32 การันตีไก่เนื้อไทยมาตรฐานโลก สบายใจได้...ไม่ใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต...............................34 ไก่ไทยยอดทะลัก “ญี่ปุ่น-จีน” รุมซื้อ อานิสงส์บราซิลซมพิษโควิด......36 คนเลี้ยงหมู … กับภาระที่น่าเห็นใจ...................................................39 พาณิชย์ จ่อคุมราคาหมูหน้าฟาร์ม-เขียง “ห้ามส่งออก” หากเอาไม่อยู.่ ........................................................ 41

Market Leader กรมการค้าภายในอย่าเดินหมากผิด ยามทั่วโลกเจอวิกฤต ASF เป็นโอกาสของไทย อย่ากดราคาหมู ปล่อยให้เกษตรกรไทยได้ลืมตาอ้าปาก...........................................43 สินค้าปศุสัตว์ ความหวังหลังโควิด-19............................................... 46 แจงปม ‘หมูแพง’ ยันเป็นไปตามกลไกตลาด เผยหมูไทยถูกสุด ในภูมิภาค เตรียมจัดอีเว้นต์ขายตรงไม่ผ่านคนกลาง......................48 เอ้กบอร์ดปรับลดแม่ไก่ยืนกรง ดันราคาไข่ไก่.....................................50 โควิด-ASF ป่วนอุตสาหกรรมหมูโลก โอกาสทอง “หมูไทย”...............52 ‘เฉลิมชัย’ สั่งลุย ดันกุ้งแช่แข็งไทยไปตลาดจีนเพิ่ม ใช้โอกาสระงับน�ำเข้าจากเอกวาดอร์หลังเจอเชื้อโควิด-19............... 55

Around the World กรมปศุสัตว์ ชูสวัสดิภาพสัตว์ เปิดรับรองมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่ แบบไม่ใช้กรง (Cage free)..........................................................57 ปศุสัตว์ย�้ำหมูไทยปลอดภัย ชี้เชื้อ G4 พบเฉพาะในจีน..................... 59 ผู้เลี้ยงกุ้งไทยเพิ่มมาตรการป้องกันโควิดเข้มข้น ผลิตกุ้งสะอาด ปลอดภัย...............................................................60 การจัดการเมื่อเกิดโรคในฟาร์มเลี้ยง..................................................63 ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์.....................................................................71 ขอบคุณ............................................................................................80



ระบบมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง

GMP / HACCP

ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015


T

Thailand Focus

นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ย้�ำ กากถั่วเหลืองในอาหารไก่ไทย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิต อาหารสัตว์ไทย กล่าวว่า กรณีห้างเทสโก้ของสหราชอาณาจักร น�ำผลิตภัณฑ์น�้ำมะพร้าว และน�้ำกะทิของไทย ออกจากชั้นวาง โดยอ้างว่า แหล่งทีม่ าของมะพร้าวมาจากการใช้แรงงานลิงทีถ่ กู จับ มาจากป่า มาฝึกเพื่อใช้งาน เป็นการทารุณกรรมสัตว์นั้น เป็น คนละประเด็นกับเนื้อไก่ส่งออกของไทย ซึ่งจะมีมุมมองในด้าน สิง่ แวดล้อม โดยเทสโก้ มีมาตรการเข้มในการตรวจสอบย้อนกลับ ถึงกากถั่วเหลือง ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์เลี้ยงไก่ ว่าต้องเป็นกากถั่วเหลืองที่ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน มีบริษัทผู้ผลิตไก่จากไทย 3 บริษัท ที่ส่งเนื้อไก่ เข้าไปจ�ำหน่ายยังเทสโก้ ซึ่งได้รับการตรวจสอบย้อนกลับถึง วัตถุดบิ กากถัว่ เหลืองดังกล่าวแล้ว พบว่า ผ่านมาตรฐานทัง้ หมด มาโดยตลอดจนถึงทุกวันนี้ หากบริษัทอื่นใดที่ต้องการส่งออก ไปยังเทสโก้ ก็ต้องด�ำเนินการเช่นเดียวกัน ดังนั้น ประเด็นที่ โลกสังคมออนไลน์มองว่าเทสโก้อาจแบนไก่ไทยต่อจากประเด็น ของน�้ำกะทินั้น จึงไม่น่ากังวล

่ : HoonSmart.com วันศุกร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

5

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

ผลกระทบของการแบนสารเคมีทางการเกษตร ต่ออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และปศุสัตว์ไทย • โดย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย •

เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2562 คณะกรรมการวัตถุอันตราย มีมติให้ยกเลิก การใช้พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต ในภาคเกษตร และให้มีผล บังคับใช้วันที่ 1 ธันวาคม 2562 เป็นต้นไป ซึ่งอ้างถึงเหตุผลทางด้านสุขภาพ ของประชาชนชาวไทย สิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่ 1 ธันวาคม 2562 ประเทศไทย จะต้องปลอดสารเคมี ทั้ง 3 ชนิดโดยทันที ซึ่งท�ำให้เกิดผลกระทบหลัก 2 ส่วนดังนี้ 1. ผลกระทบต่อการเกษตรกร และอุตสาหกรรมอาหาร เนื่องจากการ ใช้สารทั้ง 3 ชนิดในภาคเกษตร มีความจ�ำเป็นต่อเกษตรกร เพื่อป้องกัน และก�ำจัด วัชพืชและศัตรูพืช การลงมติยกเลิกสารทั้ง 3 ชนิด เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2562 ของคณะกรรมการวัตถุอนั ตรายนัน้ ไม่ได้ออกมาพร้อมกับแนวทางรองรับผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นในกลุ่มเกษตรกร และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ผลผลิตทาง การเกษตร ทั้งนี้การห้ามใช้ 3 สารในภาคเกษตรโดยทันที จะส่งผลกระทบโดยตรง ต่อเกษตรกร ด้านต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น และปริมาณผลผลิตที่ลดลง รวมทั้ง อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ที่น�ำเข้าวัตถุดิบ ทางการเกษตรมาใช้ในการผลิต จะมีขดี ความสามารถในการแข่งขันลดลงตามไปด้วย 2. ผลกระทบต่อผู้น�ำเข้าวัตถุดิบทางการเกษตรและอาหารเพื่อแปรรูป ประเทศไทยเป็นผู้ผลิต และส่งออกอาหารรายใหญ่เป็นอันดับต้นของโลก โดยที่ การผลิตเพื่อบริโภค และส่งออกของประเทศไทย จ�ำเป็นต้องน�ำเข้าสินค้าเกษตร จากต่างประเทศ เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบส�ำหรับการแปรรูปเป็นอาหาร และอาหารสัตว์ อาทิ ถั่วเหลือง ข้าวสาลี และแป้งข้าวสาลี กาแฟ โกโก้ ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งปัจจุบัน การส่งออกสินค้าของไทย ผ่านมาตรฐานสากลด้านความปลอดภัยทางอาหาร และ เป็นที่ยอมรับจากประเทศคู่ค้าทั่วไป

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

6


T

Thailand Focus

อย่ า งไรก็ ดี การน� ำ เข้ า วั ต ถุ ดิ บ และการ ส่งออกสินค้าอาหารของไทย เป็นไปตามมาตรฐาน สินค้าเกษตรเรือ่ ง สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษ ตกค้างสูงสุด โดยส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 387 พ.ศ. 2560 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง ซึ่ง ก�ำหนดให้ปริมาณสูงสุดของสารตกค้างในสินค้า เกษตรในระดับที่ปลอดภัย ต้องเป็นไปตามค่าที่ ประเทศไทยก�ำหนด หรืออ้างอิงกับค่าที่ก�ำหนด โดยคณะกรรมาธิการโครงการมาตรฐานอาหาร (Codex; Joint FAO/WHO Food Standards Programme) และต้องไม่พบวัตถุอนั ตรายทางการ เกษตรชนิดที่ 4 ตามพระราชบัญญัตวิ ตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งประเด็นนี้ ท�ำให้ประเทศไทยมีเงื่อนไข zero tolerance ต่อ การตกค้างของวัตถุอันตรายทางการเกษตรชนิด ที่ 4 ในวัตถุดบิ น�ำเข้า แม้วา่ ระดับการตกค้างจะอยู่ ในเกณฑ์ปลอดภัยของ Codex

ทัง้ นี้ ประเทศผูผ้ ลิต และส่งออกสินค้าเกษตร รายหลัก ไม่ได้ยกเลิกการใช้สารทั้ง 3 ชนิด และ ยังคงใช้ในขบวนการเพาะปลูกตามปกติ บนพืน้ ฐาน ของการใช้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย เพื่อจะได้ ไม่มีสารตกค้างในผลผลิต หรือหากมี ก็อยู่ใน ระดับที่ต�่ำกว่าเกณฑ์สูงสุดที่ประเทศไทย หรือ Codex ก�ำหนดไว้ การที่ประเทศไทยประกาศ ยกเลิกการใช้สารทัง้ 3 ชนิดอย่างกระทันหัน และ ไม่มแี ผนรองรับผลกระทบ จะส่งผลให้อตุ สาหกรรม ของไทยที่ต้องน�ำเข้าวัตถุดิบทางการเกษตรจาก ประเทศอื่น ที่ไม่ได้ยกเลิกการใช้สารทั้ง 3 ชนิด แต่มีค่าสารอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับของระดับสากล จะเกิดปัญหาในการน�ำเข้าวัตถุดิบทันที ส่งผล กระทบต่อการผลิตที่ต้องหยุดชะงัก เกิดวิกฤตการณ์ขาดแคลนอาหารทั้งในประเทศ และเพื่อ การส่งออก กระทบต่อประชาชนผู้บริโภค และ ระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ

7

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

ปัจจุบันประเทศไทยมีการผลิตอาหารสัตว์ 20 ล้านตันต่อปี มีการพึ่งพิงวัตถุดิบอาหารสัตว์ จากต่างประเทศเกินกว่าครึ่ง แต่ละปีจึงมีการ น�ำเข้าวัตถุดิบมาใช้กว่า 10 ล้านตัน ในปี 2562 มีการน�ำเข้าถัว่ เหลือง และกากถัว่ เหลือง ประมาณ 6 ล้านตัน ข้าวสาลีประมาณ 1.8 ล้านตัน น�ำเข้า ถั่วเหลือง กากถั่วเหลือง ข้าวสาลี จากประเทศ ที่ ยั ง คงใช้ ส ารเคมี ทั้ ง 3 ชนิ ด อาทิ บราซิ ล อาร์เจนติน่า สหรัฐอเมริกา ยูเครน แคนาดา เป็นต้น หากประเทศไทยประกาศแบน 3 สาร เคมี จะท�ำให้ไม่สามารถน�ำเข้าวัตถุดบิ จากประเทศ เหล่านี้ได้ ส่งผลให้โรงงานอาหารสัตว์ทั้งประเทศ ต้ อ งทยอยปิ ด กิ จ การลง และเกิ ด การเลิ ก จ้ า ง ตามมาอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ เมื่ อ โรงงานผลิ ต อาหารสัตว์ ซึง่ ถือเป็นส่วนต้นน�ำ้ ของห่วงโซ่อาหาร ถูกปิดกิจการลง ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ คือ เกษตรกร ผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กว่า 4 แสนครัวเรือน ต้องหมดอาชีพเพราะขาดตลาดรองรับ เนื่องจาก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยเกือบ 100% ขายเข้าสู่โรงงานผลิตอาหารสัตว์ทั้งหมด วัตถุดิบ อาหารสัตว์อื่นๆ ในประเทศ อาทิ มันส�ำปะหลัง ผลิตภัณฑ์ขา้ ว ขาดตลาดรองรับไปด้วย นอกจากนี้ ยังกระทบต่อเนื่องไปยังภาคการเลี้ยงสัตว์ ที่จะ ไม่มีอาหารสัตว์ไปใช้ในการเลี้ยง กระทบต่อไป ยังโรงงานแปรรูปเนื้อสัตว์ และการผลิตอาหาร ซึ่งปัจจุบันมีมูลค่าร่วม 8 แสนล้านบาท สิ่งที่จะ เกิดขึ้นตามมาคือ ความมั่นคงทางอาหารภายใน ประเทศ เกิดวิกฤตอาหารขาดแคลน และมีราคา แพงตามมา โดยจะต้ อ งหั น มาน� ำ เข้ า อาหาร ทดแทน จากสาเหตุข้างต้น สมาคมผู้ผลิตอาหาร สัตว์ไทย จึงได้มีหนังสือลงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 แจ้งผลกระทบจากการแบน 3 สารเคมี ไปยัง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี (ดร.สมคิด) รัฐมนตรีกว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงพาณิชย์ และเดินหน้าหารือกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ทั้งรัฐ และเอกชน อาทิ กระทรวง พาณิชย์ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมวิชาการเกษตร และได้เข้าร่วมหารือกับสภาหอการค้า แห่งประเทศไทย เพื่อรวบรวมข้อมูลจากผู้ได้รับ ผลกระทบทั้ง 10 สมาคม ได้แก่ สมาคมผู้ผลิต อาหารส�ำเร็จรูป, สมาคมผู้ผลิตน�้ำมันถั่วเหลือง และร�ำข้าว, สมาคมอุตสาหกรรมทูนา่ ไทย, สมาคม นั ก วิ ช าการอ้ อ ยและน�้ ำ ตาลแห่ ง ประเทศไทย, สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย, สมาคมการค้า เมล็ ด พั น ธุ ์ ไ ทย, สมาคมคนไทยธุ ร กิ จ เกษตร, สมาคมการค้านวัตกรรมเพือ่ การเกษตรไทย, กลุม่ ผูร้ วบรวมข้าวโพดหวานอุตสาหกรรม และสมาคม ผู ้ ผ ลิ ต อาหารสั ต ว์ ไ ทย เพื่ อ ออกหนั ง สื อ ไปยั ง รัฐบาลอีกครัง้ จนกระทัง่ เมือ่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2562 คณะกรรมการวัตถุอันตราย ได้มีมติถอน สารเคมีไกลโฟเซตออกจากการแบน แต่ยงั คงการ แบนสารพาราควอต และคลอร์ไพรีฟอสอยู่ และ ขยับวันบังคับใช้ออกไปจากวันที่ 1 ธันวาคม 2562 เป็นวันที่ 1 มิถนุ ายน 2563 โดยระหว่างนี้ ให้กรม วิชาการเกษตรศึกษาผลกระทบ และหาแนวทาง รองรับ รวมถึงหาสารทดแทนให้กับเกษตรกร มติดงั กล่าวไม่ใช่การแก้ไขข้อผิดพลาด เป็น เพียงการยื้อเวลาที่จะเกิดผลกระทบเท่านั้น เมื่อ วัตถุดิบทางการเกษตรที่น�ำเข้า ยังมีการใช้สาร พาราควอต และคลอร์ไพรีฟอสอยู่ หากประเทศ ไทยยังยืนกรานทีจ่ ะแบนสารเคมีทงั้ สองตัวทีเ่ หลือ อุตสาหกรรมอาหาร และอาหารสัตว์ก็ยังคงได้รับ ผลกระทบเช่นเดิมอยู่ดี

8


T

Thailand Focus

ทางออกหนึ่งที่ภาครัฐก�ำลังพิจารณาเพื่อลดผลกระทบ คือ การก�ำหนดค่า สารตกค้าง (MRLs) ตามมาตรฐานสากลโลก (Codex) เพื่อให้สามารถน�ำเข้า วัตถุดิบได้ แต่จะต้องตอบค�ำถามเกษตรกรภายในประเทศให้ได้ว่า ท�ำไมถึงห้าม ไม่ให้ใช้ในประเทศ แต่กลับยอมให้น�ำเข้าได้วัตถุดิบที่มีการใช้สารได้ ซึ่งรัฐจะต้อง เป็นผู้ตอบค�ำถามนี้ ในข้อเท็จจริง หากย้อนไปดูมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเมื่อครั้งประชุม ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 ที่ประชุมมีมติให้จ�ำกัดการใช้สารเคมีทั้ง 3 ชนิด โดยให้ใช้ในพืชบางชนิด ผู้จ�ำหน่าย และผู้ใช้จะต้องขึ้นทะเบียน และรับการอบรม ให้ความรู้ก่อน โดยมีกรอบระยะเวลาด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปี ซึ่งมีการ ด�ำเนินการได้เพียงปีเศษก็ต้องหยุดชะงักลง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี จนกระทั่งน�ำไปสู่มติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเมื่อในวันที่ 22 ตุลาคม 2562 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ขอเสนอให้กลับไปใช้มติเดิมในคราวที่ประชุม คณะกรรมการวัตถุอันตรายเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 ซึ่งถือเป็นมติที่สร้าง ความสมดุลระหว่างการดูแลสุขภาพประชาชน การด�ำรงชีพของเกษตรกร และ การด�ำเนินธุรกิจการค้า

9

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

แกนน�ำเกษตรกร ยื่นร้องทุกข์ถึงนายกรัฐมนตรี

แก้ความเดือดร้อนหลังแบนพาราควอต แกนน�ำเกษตรกรจาก 11 สมาคมด้านการเกษตร ยืน่ หนังสือร้องทุกข์  ถึงนายกรัฐมนตรี ประยุทธ์ จันทร์โอชา อีกครั้ง หลังจากพยายามยื่น  มาแล้วหลายครัง้ เพือ่ ขอให้เร่งแก้ปญ ั หาความเดือดร้อนของเกษตรกร และ  ขอให้ทบทวนการยกเลิกสารพาราควอต หลังจากกรมวิชาการเกษตร ไร้  แนวทางจัดการและไม่มีสารทดแทน นายสุกรรณ์ สังข์วรรณะ เลขาธิการสมาพันธ์เกษตรปลอดภัย และ นายกสมาคมเกษตรปลอดภัย เปิดเผยว่า “กลุ่มเกษตรกรได้เดินทาง และ ท�ำหนังสือมาร้องเรียนต่อนายกรัฐมนตรี ประยุทธ์ จันทร์โอชา หลายครัง้ แล้ว แต่ยงั ไม่ได้รบั แนวทางการจัดการปัญหาทีช่ ดั เจน เพราะนับตัง้ แต่ 1 มิถนุ ายน ทีผ่ า่ นมา มีคำ� สัง่ กรมวิชาการเกษตร ไม่ให้ใช้ หรือครอบครองสารพาราควอต หากฝ่าฝืนมีโทษจ�ำคุกสูงสุด 10 ปี และปรับเงินสูงสุด 1 ล้านบาท เกษตรกร ผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ อ้อย ปาล์มน�้ำมัน มันส�ำปะหลัง ยางพารา

่ : พิมพ์ไทย วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

10


T

Thailand Focus

ข้าวโพดหวาน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และผลไม้ ประสบปัญหา และเสียหายอย่างหนัก เนื่องจาก ภาครัฐยังไม่มีมาตรการรองรับที่ชัดเจน ไร้มาตรการเยียวยาบรรเทาความเดือดร้อนให้เกษตรกร มี แ ต่ เ สนอสารเคมี เ กษตรอื่ น ๆ มาให้ เ ป็ น ทาง เลือก แต่ไม่สามารถใช้แทนพาราควอตได้ โดย เฉพาะ กลูโฟซิเนต ซึง่ กรมวิชาการเกษตรแนะน�ำ คุณสมบัติ ราคา และประสิทธิภาพแตกต่างกับ พาราควอตอย่ า งสิ้ น เชิ ง แถมท� ำ ให้ เ กิ ด ความ เสียหายต่อพืชปลูกมากกว่าเดิม สมาพันธ์เกษตรปลอดภัย ได้เปิดรับฟัง ความคิดเห็นจากเครือข่ายผ่าน 11 สมาคม ด้าน การเกษตร ได้ แ ก่ สมาคมเกษตรปลอดภั ย สมาคมชาวสวนปาล์ ม น�้ ำ มั น แห่ ง ประเทศไทย สมาคมชาวสวนปาล์มน�ำ้ มันจังหวัดชุมพร สมาคม ผู ้ ป ระกอบการส่ ง ออกทุ เ รี ย นและมั ง คุ ด แห่ ง ประเทศไทย ชมรมผูป้ ลูกมะนาวแห่งประเทศไทย ศูนย์ประสานงานโรงงานน�้ำตาลลุ่มน�้ำแม่กลอง กลุ่มเกษตรกรผู้รวบรวมข้าวโพดหวาน สมาคม ส่งเสริมธุรกิจพืชอาหารสัตว์ สมาคมชาวไร่มัน ส�ำปะหลังแห่งประเทศไทย สภาเครือข่ายสถาบัน เกษตรกรชาวสวนยางแห่งประเทศไทย และกลุ่ม เกษตรกรผูป้ ลูกมันส�ำปะหลังจังหวัดนครราชสีมา พบว่า ช่วงฤดูฝนนี้ วัชพืชเติบโตอย่างรวดเร็ว แย่งอาหารจากพืชปลูก การใช้แรงงานคนก�ำจัด วัชพืชแทนพาราควอตไม่สามารถท�ำได้เลย เพราะ ต้ น ทุ น สู ง แรงงานภาคการเกษตรไม่ เ พี ย งพอ เครือ่ งจักรกลจะใช้กม็ ขี อ้ จ�ำกัดทัง้ ในแง่ตน้ ทุน และ พื้นที่แต่ละแปลงปลูก

“เกษตรกรไทย จึงต้องรับกรรม รับภาระ จากแนวทางการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ที่ไม่เป็นธรรม จึงขอร้องทุกข์ต่อ นายกรัฐมนตรี ให้ลงมาแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนโดยด่วน และ ทบทวนมาตรการยกเลิกพาราควอตโดยเร็วที่สุด ทัง้ นี้ เกษตรกรได้ยนื่ หนังสือมาแล้วหลายครัง้ และ ครัง้ นี้ หวังว่า นายกรัฐมนตรี จะให้ความเป็นธรรม แก่เกษตรกรไทย เพราะเกษตรกรไม่รู้จะพึ่งใคร อีกแล้ว ส�ำหรับแนวทางที่ดีที่สุด สมาพันธ์เกษตร ปลอดภัยมีความคิดเห็นว่า ควรส่งเสริมมาตรการ จ�ำกัดการใช้สารเคมีเกษตร และฝึกอบรมเกษตรกร ทั่วประเทศให้มีความรู้ เพื่อให้สามารถใช้สารเคมี เกษตรได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย ตามแนวทาง การปฏิบัติทางเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) หรือเกษตรปลอดภัย นั่นเอง” นายสุกรรณ์ กล่าว

11

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

พ าราคว อ ต

ศาลรับฟ้อง

พ าราคว อ ต ไ ก ลโฟเซ ต

ค ลอรไ์ พรฟิ อ ส

ค ลอรไ์ พรฟิ อ ส

ไ ก ลโฟเซ ต

แบน “พาราควอต-คลอร์ไพร ิฟอส” เกษตรกรทัง้ ประเทศ มีลนุ้ เครือข่ายอาสาคนรักแม่กลอง เผย ศาลรับฟ้อง  แล้ว รอฟังค�ำตัดสินใจว่า จะคุ้มครองชั่วคราว ระงับการแบน “พาราควอต-  คลอร์ไพริฟอส” เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศ 19 พฤษภาคม 2563 ลงนาม โดย นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม “ประกาศ กระทรวงอุตสาหกรรม” เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่6) พ.ศ. 2563 อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคสอง และมาตรา 18 วรรคสอง แห่ง พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวัตถุอันตราย ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกรายการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ในบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย แนบท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง บัญชีรายชือ่ วัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2556 ลงวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ดังต่อไปนี้ โดยให้รายการตามบัญชีรายชื่อ วัตถุอันตรายแนบท้ายประกาศฉบับนี้แทน บัญชีที่ 1 ทีก่ รมวิชาการเกษตรรับผิดชอบ บัญชี 1.1 รายชือ่ สารควบคุม ล�ำดับที่ 53 คอลร์ไพริฟอส ล�ำดับที่ 54 คลอร์ไพริสฟอส-เมทิล ล�ำดับที่ 352 พาราควอต ล�ำดับที่ 353 พาราควอตไดคลอไรด์ และล�ำดับที่ 354 พาราควอตไดคลอไรด์

่ : ฐานเศรษฐกิจมัลติมีเดีย วันพฤหัสที ่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

12


T

Thailand Focus

ข้อ 2 ให้ผู้ผลิต ผู้น�ำเข้า ผู้ส่งออก หรือ ผู้มีไว้ครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย ชนิดที่ 4 ตาม ประกาศฉบั บ นี้ ที่ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การอยู ่ ก ่ อ นวั น ที่ ประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ปฏิบัติตามค�ำสั่ง ของพนักงานเจ้าหน้าที่ในระยะเวลาที่พนักงาน เจ้าหน้าที่ก�ำหนด ข้อ 3 ประกาศนี้ ใ ห้ มี ผ ลใช้ บั ง คั บ ตั้ ง แต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2563 เป็นต้นไป อัญชุลี ลักษณ์อ�ำนวยพร

จากกรณีดงั กล่าวนี้ นางสาวอัญชุลี ลักษณ์-  อ�ำนวยพร ประธานเครือข่ายอาสาคนรักแม่กลอง เผยว่า วันนี้มีคดีความคืบหน้าศาลปกครอง ท่าน รับค�ำฟ้องคดีนี้แล้ว เพราะท่านเห็นเกษตรกร เดือดร้อนจริง จากการที่กระทรวงอุตสาหกรรม ได้มีค�ำสั่งแบน 2 สาร ก็คือ “พาราควอต-คลอร์ไพริฟอส” ซีง่ ก�ำลังพิจารณา ค�ำขอคุม้ ครองชัว่ คราว เนื่องจากข้อมูลที่ใช้ในการแบนเป็นเท็จทั้งหมด ซึ่งตอนนี้อยู่ในกระบวนการพิจารณาประมาณ 1-2 อาทิตย์ ซึง่ ในขณะนีก้ ำ� ลังรอการไต่สวนผลคดี จะเป็นอย่างไร “ที่ผ่านมา ไทยไม่ใช่จะเพิ่งจะมีการแบน แต่มีการแบนสารเคมีมากว่า 100 ตัวแล้ว แต่ 2 ตัวนี้ไม่ได้เป็นอันตรายอย่างที่อีกฝ่ายโจมตี กล่าวหา และยืนยันค�ำเดิมว่า การน�ำไปใช้ผิด วัตถุประสงค์ แล้วมาแบน โดยที่ไม่มีทางเลือกให้ เกษตรกรจะไปใช้สารทดแทนอะไร ด้วยเหตุผลนี้ จึงเป็นที่มาให้ลุกขึ้นต่อสู้”

13

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

ปศุสัตว์ เตือนเกษตรกรดูแลสัตว์

เฝ้าระวังอหิวาต์แอฟริกาในสุกร

“ปศุสัตว์ เตือนเกษตรกร ดูแลสัตว์เข้มข้น

ชี้สภาพอากาศแปรปรวน

จากฝน จะท�ำร่างกายสัตว์ อ่อนแอ-ภูมิคุ้มกันต่�ำ เฝ้าระวังพิเศษ

อหิวาต์แอฟริกาในสุกร ก�ำลังระบาดรอบไทย”

เมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคม 2563 นายสัตวแพทย์  สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสตั ว์ กล่าวว่า ระยะนี้ ฝนเริ่มกลับมาตกในหลายพื้นที่หลังทิ้งช่วง จึงขอ ให้เกษตรกรเฝ้าระวังสุขภาพสัตว์ เนือ่ งจากสภาพ อากาศแปรปรวน ฝนตกหนัก น�ำ้ ท่วมขัง สัตว์เกิด ความเครียด และร่างกายอ่อนแอ ท�ำให้ภูมิคุ้มกัน โรคลดต�่ำลง ส่งผลให้มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อโรค ต่างๆ ได้งา่ ย โรคสัตว์ทอี่ าจจะพบได้ในช่วงหน้าฝน ได้แก่ โรคปากและเท้าเปือ่ ย เป็นโรคระบาดทีส่ ำ� คัญ ที่สุดโรคหนึ่งใน โค กระบือ แพะ แกะ สุกร ซึ่ง สร้างความเสียหายต่อเกษตรกร และเศรษฐกิจ ของประเทศอย่างร้ายแรง เนื่องจากติดต่อกันง่าย และแพร่ระบาดได้รวดเร็วมาก โดยสั ต ว์ จ ะติ ด เชื้ อ ไวรั ส จากการสั ม ผั ส สัตว์ป่วยโดยตรง การกินอาหาร และน�้ำที่มีเชื้อ ปนเปื้อน รวมถึงการหายใจเอาเชื้อไวรัสเข้าไป สัตว์ป่วยจะแสดงอาการหลังจากได้รับเชื้อ 2 - 7 วัน คือ ซึม มีไข้ เบื่ออาหาร มีเม็ดตุ่มพองเกิดขึ้น ภายในปาก จมูก และไรกีบ ท�ำให้สัตว์เกิดความ เจ็บปวด น�ำ้ ลายไหล กินอาหารไม่ได้ เดินกะเผลก กีบหลุด ซูบผอม โตช้า แท้งลูก ผสมไม่ติด ส่วน โรคคอบวม ท�ำให้กระบือ และโคมีอาการคอ หรือ

่ : เดลินิวส์ วันพุธที ่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

14


T

Thailand Focus

หน้าบวมแข็ง หายใจเสียงดัง หรือหอบ ยืดคอไป ข้างหน้า ส่วนใหญ่มักมีอาการแบบเฉียบพลัน คือ ไข้สูง น�้ำลายฟูมปาก หยุดกินอาหาร และตาย ภายในไม่กี่ชั่วโมง อย่างไรก็ตาม โรคปากและ เท้าเปื่อย และโรคคอบวม สามารถป้องกันได้โดย การฉีดวัคซีนให้กับสัตว์เป็นประจ�ำทุกปี ทัง้ นี้ ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ คือ โรคอหิวาต์ แอฟริกาในสุกร (ASF) ซึ่งระบาดในประเทศจีน และประเทศเพือ่ นบ้าน เป็นโรคทีเ่ กิดจากเชือ้ ไวรัส ยังไม่มีวัคซีนป้องกัน หรือยาในการรักษา อาการ ของโรคมีดงั นี้ ตายเฉียบพลัน มีไข้สงู นอนสุมกัน ผิวหนังแดง มีจดุ เลือดออก หรือรอยช�ำ้ โดยเฉพาะ ใบหู ท้อง ขาหลัง มีอาการทางระบบอืน่ เช่น ทาง เดินหายใจ ทางเดินอาหาร การแท้งในทุกช่วงอายุ ของการตั้งท้อง หากสุกรป่วยแล้วจะตายเกือบ ร้อยเปอร์เซ็นต์ โดยที่ผ่านมาเกษตรกรให้ความ ร่วมมือในการป้องกันโรคเป็นอย่างดี ท�ำให้ไม่มี การระบาดในไทย นอกจากนี้ ยังต้องป้องกันโรค PRRS เกิด จากเชื้อไวรัส ส่งผลกระทบต่อระบบสืบพันธุ์ และ ระบบทางเดินหายใจ ท�ำให้สุกรมีการแท้งลูก ใน ระยะท้ายของการตัง้ ท้อง สุกรในฝูงจะติดโรคจาก การสัมผัสสุกรป่วย และการผสมพันธุ์ การป้องกัน โรคคือ ควบคุมการน�ำสุกรใหม่เข้าฝูง โดยการ แยกเลี้ยงประมาณ 1 เดือน และต้องเป็นสุกร ที่มาจากฟาร์มที่มีระบบป้องกันโรคที่ดี หรือเป็น ฟาร์มมาตรฐานที่กรมปศุสัตว์รับรอง รวมทั้งใช้ พ่อพันธุ์ หรือน�้ำเชื้อจากฟาร์มในกลุ่มผู้เลี้ยงเดียว กัน และปลอดจากเชื้อไวรัส PRRS อีกทั้งต้องมี การสุขาภิบาลการเลี้ยงสุกรที่ดี

ส่วนโรคระบาดในสัตว์ปีกที่เกษตรกรควร เฝ้าระวังในฤดูฝน ได้แก่ โรคไข้หวัดนก โรค นิวคาสเซิล และโรคอหิวาต์สัตว์ปีก โดยเฉพาะ โรคไข้หวัดนก ที่ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะไม่พบ โรคนี้มานานกว่า 8 ปีแล้ว แต่ยังคงมีความเสี่ยง ที่ อ าจกลั บ มาแพร่ ร ะบาดในประเทศไทยได้ อี ก เนื่องจากมีการพบการระบาดของโรคไข้หวัดนก ในประเทศต่างๆ ทั้งนี้ หากพบสัตว์ปีกป่วยตาย ไม่ทราบสาเหตุ หรือมีอาการทางระบบทางเดิน หายใจ เช่น หายใจล�ำบาก หน้าบวม น�้ำตาไหล อาการทางระบบประสาท เช่น คอบิด ชักเกร็ง และอาการอื่นๆ เช่น ท้องเสีย ขนยุ่ง ซึม ไม่กิน อาหาร ไข่ลด ไข่รูปร่างผิดปกติ หงอน เหนียง สีคล�้ำ หรือหน้าแข้งมีจุดเลือดออก ให้รีบแจ้ง เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ในพื้นที่ทันที เพื่อด�ำเนินการ ควบคุมโรคไม่ให้โรคแพร่กระจายออกไป นายสัตวแพทย์สรวิศ กล่าวต่อว่า ขอเน้น ย�ำ้ เกษตรกรให้ความส�ำคัญกับการจัดการโรงเรือน หรือคอกเลี้ยงสัตว์ท่ีดี มีหลังคา ป้องกันฝน ลม และละอองฝนได้เป็นอย่างดี หรือจัดเตรียมสถานที่ ที่ให้สัตว์สามารถหลบฝนได้ มีการจัดเตรียมน�้ำ อาหาร ยา และเวชภัณฑ์ให้พร้อม ท�ำวัคซีนตาม โปรแกรมอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ เสริมสร้างให้สขุ ภาพ สัตว์แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยได้ง่าย และต้องใช้หลัก ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ในการ ป้องกันโรคเข้าสู่ฟาร์ม เช่น โรงเรือนมีรั้วรอบ ขอบชิด สามารถป้องกันสัตว์อื่นๆ หรือสัตว์พาหะ เข้าสู่ฟาร์ม ห้ามบุคคลภายนอกเข้าฟาร์ม หาก จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนรองเท้าบูทที่ใช้เฉพาะในฟาร์ม และเดิ น ผ่ า นอ่ า งน�้ ำ ยาฆ่ า เชื้ อ ทุ ก ครั้ ง ก่ อ นเข้ า โรงเรือน ห้ามยานพาหนะทุกชนิด เช่น รถรับซื้อ สั ต ว์ รถขนอาหารสั ต ว์ รถรั บ ซื้ อ มู ล สั ต ว์ เ ข้ า ภายในฟาร์มโดยเด็ดขาด หากจ�ำเป็น ต้องพ่นยา ฆ่าเชื้อโรค

15

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

จุดเปลี่ยนประเทศไทย “จุรน ิ ทร์-เฉลิมชัย”

ผนึ กก�ำลัง “เกษตร - พาณิ ชย์” ลุยตลาดส่งออก “อาหารไทยอาหารโลก”

จุดเปลี่ยนประเทศไทย “จุรินทร์ - เฉลิมชัย” ผนึ กก�ำลัง “เกษตร - พาณิ ชย์” ลุยตลาด ส่งออก “อาหารไทยอาหารโลก” เดินหน้าพร้อมภาคเอกชน และเกษตรกรปรับแผนสู้ ผลักดันให้ส่งออกอาหาร ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก จากเดิมรั้งล�ำดับที่ 11

นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ หัวหน้าพรรค ประชาธิปัตย์ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน  เลขาธิการพรรคประชาธิปตั ย์ และรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดงานร่วมกับ นายบุ ณ ยฤทธิ์ กั ล ยาณมิ ต ร ปลั ด กระทรวง พาณิชย์ นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ ปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ นายกลินท์ สารสิน ประธาน สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย นายพจน์ อร่าม-  วัฒนานนท์ นายกสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย นายปราโมทย์ เจริญศิลป์ นายกสมาคมชาวนา และเกษตรกรไทย ในงาน “อาหารไทย อาหารโลก” จากวิสยั ทัศน์ “เกษตรผลิต พาณิชย์ตลาด” ทีห่ อ้ ง แกรนด์บอลรูม โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพฯ

่ : คมชัดลึก วันพฤหัสที ่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

16


T

Thailand Focus

นายจุรนิ ทร์ กล่าวว่า วันนีถ้ อื ว่าเป็นภาคต่อ หรือภาคสองของวิสัยทัศน์ “เกษตรผลิต พาณิชย์ ตลาด” ภายใต้ยุทธศาสตร์ ตลาดน�ำการผลิต ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวง พาณิชย์ ได้จบั มือกันก�ำหนดเดินหน้าไปสูเ่ ป้าหมาย 1 สร้าง 3 เพิ่ม 1. สร้างที่ว่าก็คือ สร้างประเทศไทยให้เป็น ศูนย์กลางสินค้าเกษตรและอาหารคุณภาพของ โลก “ถ้าถามว่า แล้วอาหารไทยจะพัฒนาตนเอง ขึ้ น ไปเป็ น อาหารโลกมี ค วามเป็ น ไปได้ ห รื อ ไม่ ผมขอตอบตรงนี้เลยว่าเป็นไปได้ เพราะวันนี้การ ส่งออกอาหารของประเทศไทยขึน้ ไปอยูล่ ำ� ดับที่ 11 โดยมีพันธกิจร่วมกันระหว่างกระทรวง  ของโลกแล้ว โอกาสทีจ่ ะขึน้ ไปสูอ่ นั ดับต่อไป ท�ำไม เกษตร และกระทรวงพาณิชย์ 4 พันธกิจ ด้วย เราจะเดินไปไม่ได้ ถ้าเราจับมือกัน และร่วมมือกัน เพราะมีสัญญาณที่บอกเหตุชัดเจน นอกจากเรา กัน ขึน้ มาเป็นล�ำดับที่ 11 ของโลกแล้ว อย่างน้อยทีส่ ดุ 1. เราจะสร้าง Single Big Data ร่วมกัน ภายใต้สถานการณ์โลกที่ผ่านมาจนถึงวันนี้ ไม่ว่า ทัง้ สองกระทรวง มี Data ของตัวเอง แต่ เราจะต้องเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ต่อไปนี้ เกษตรกับพาณิชย์ต้องมี Big เผชิญกับปัญหาสงครามการค้าซึ่งยังไม่รู้ว่าจะจบ Data เดียวคือ Single Big Data เมื่อไหร่ และค่าเงินบาทแข็ง ที่ความต้องการ 2. การสร้างแพลตฟอร์มกลางให้เกิดขึ้น เสนอขายแข่งกับประเทศคู่แข่งของโลก เราต้อง ภายใต้วิสัยทัศน์ “เกษตรผลิต พาณิชย์ แบกรับภาระ อาจจะท�ำให้ราคาสูง หรือศักยภาพ ตลาด” เพื่อใช้ร่วมกันของทุกฝ่าย ในการแข่งขันของเราด้อยลงไป สุดท้ายเราก็ต้อง 3. การร่วมกันสร้างความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้น มาเผชิญกับสถานการณ์โควิด แต่การส่งออก กับสินค้าเกษตร และอาหารไทย ทั้งใน อาหารของประเทศไทยก็ ยั ง เดิ น หน้ า ต่ อ ไปได้ เรื่องคุณภาพมาตรฐานความปลอดภัย อย่างมีศักยภาพ ไม่ว่าจะเป็นผัก ผลไม้ อาหาร ทะเลแช่แข็ง ไก่สดแช่แข็ง ทูน่ากระป๋อง กุ้งสด และการตรวจสอบย้อนกลับได้ แช่แข็ง / แปรรูป น�้ำตาลทราย เครื่องดื่ม เครื่อง 4. การทีจ่ ะต้องท�ำงานร่วมกันในการพัฒนา ปรุงรส หรืออาหารสัตว์เลี้ยงที่ก�ำลังก้าวขึ้นมา คน บุคลากร และผลิตภัณฑ์ให้มคี ณ ุ ภาพ เป็นล�ำดับที่จะเป็นอันดับ 4 ของโลกแล้ว” นาย และศักยภาพตามเป้าหมาย จุรินทร์ กล่าว 3 เพิม่ ก็คอื 1. เพิม่ ขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ 2. เพิ่มจีดีพีให้กับประเทศ 3. เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร และผู้ประกอบการ ทุกระดับ

17

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

นายจุ ริ น ทร์ กล่ า วว่ า ตั ว เลขล่ า สุ ด ใน สถานการณ์โควิด และสถานการณ์ทเี่ รียนให้ทราบ การส่งออกอาหารของเรา เฉพาะเดือนพฤษภาคม ปีนี้ ตัวเลขล่าสุดเรายังเป็นบวกถึง 15.1% เฉพาะ ผักผลไม้แปรรูปแช่แข็งบวกถึง 83.5% ไก่แช่แข็ง บวก 13% และเฉพาะ 5 เดือนแรกของไก่สด แช่แข็ง เราบวกถึง 27.9% นี่คือสัญญาณที่บอก ว่า ท�ำไมอาหารไทยจะผงาด อาจขึน้ มาเป็นเบอร์ตน้ ในอนาคตไม่ได้ ถ้าเราจับมือร่วมกันในการเดินไป ข้างหน้ายุทธศาสตร์ “อาหารไทย อาหารโลก”  ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ “เกษตรผลิต พาณิชย์ตลาด” จึงเกิดขึ้นเพื่อพาประเทศของเราไปสู่ความเป็น เบอร์ต้นของอาหารโลกด้วยเหตุผลหลายประการ อย่างน้อยที่สุด ประการที่ 1 ประเทศไทย เป็นประเทศ เกษตรกรรมห่วงโซ่การผลิตตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ เกษตรกร ที่มีศักยภาพการผลิตต่างๆ วัตถุดิบเรามีความ พร้อม ขณะเดียวกันกลางน�ำ้ การแปรรูป และการ ตลาดเราก็ไม่แพ้ประเทศไหนในโลก ประการที่ 2 อาหารไทยเป็ น ที่ ย อมรั บ ทั้งในเรื่องคุณภาพ มาตรฐานความปลอดภัย ที่ ท่านรัฐมนตรีเกษตรตัง้ เป็นเป้าหมายส�ำคัญเพราะ ถัดจากนี้ไป ความปลอดภัยจะเป็นปัจจัยเบอร์ ต้นต้นของโลกที่จะเลือกซื้อ หรือไม่ซื้ออาหารของ ประเทศไหนในโลก รวมทั้งประเทศไทย ประการที่ 3 อาหารไทยมีอัตลักษณ์ของ ตัวเอง และมีความหลากหลายที่ไม่แพ้ใครในโลก ประการที่ 4 อาหารไทยสอดคล้องกับ เทรนด์ความต้องการของโลกสมัยใหม่ ที่เรามี ส่วนผสม ส่วนประกอบของสมุนไพร และส่วนผสม หลายชนิดที่ผมคิดว่าสามารถสนองตอบความ ต้องการของตลาดโลกได้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

ประการที่ 5 ผู้ประกอบการของไทย มี ศักยภาพ มีความแข็งแกร่ง มีศักยภาพในการ แข่งขันสูงไม่แพ้ชาติใดในโลก ประการที่ 6 การพัฒนาเทรนด์เทคโนโลยี นวัตกรรมต่างๆ เรามีพัฒนาการขึ้นเป็นล�ำดับ ในการที่จะท�ำให้อาหารไทยสามารถผงาดขึ้นมา เป็นอาหารของโลกได้ในอนาคต รวมทัง้ ตลาดของ ประเทศไทย และเครือข่ายพันธมิตรทั่วโลกที่เรา มีอยู่ในปัจจุบันที่เราสามารถที่จะขยายออกไปได้ มาถึงวันนี้ ผมคิดว่าภายใต้ความร่วมมือ ร่วมใจของพวกเรา และภายใต้ค�ำมั่นสัญญาที่ เราจะต้องยึดมั่นต่อไปนี้ ที่จะจับมือเดินหน้าไป ด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นกระทรวงเกษตร กระทรวง พาณิชย์ หน่วยงานภาครัฐอื่น รวมทั้งภาคเอกชน ให้เกษตรกรเราสามารถทีจ่ ะบรรลุ 4 พันธกิจ และ บรรลุเป้าหมายอื่นๆ ได้อย่างแน่นอน อย่างน้อย ที่สุด เราจะต้องร่วมมือร่วมใจกัน ประการที่หนึ่ง เพิ่มมูลค่าด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อผลิตอาหารไทยป้อนตลาดโลก ประการทีส่ อง เราจะต้องจับมือ ร่วมมือร่วมใจกัน เดินหน้าท�ำการตลาดเชิงรุกด้วยการรักษาตลาด เดิม เพิ่มตลาดใหม่ ฟื้นตลาดเก่าที่เรามีอยู่ และ ปรับรูปแบบการตลาด เราจะต้องมีทีมเซลล์แมน จังหวัดทีป่ ระกอบด้วย พาณิชย์จงั หวัด ภาคเอกชน ในจังหวัด ทีมเซลล์แมนประเทศ ที่ประกอบด้วย ทีมไทยแลนด์ รวมทั้งทูตพาณิชย์ในต่างประเทศ และภาคเอกชนที่จับมือร่วมใจกันเข้าสู่การตลาด ยุคใหม่ ไม่วา่ จะเป็นตลาดออฟไลน์ ตลาดออนไลน์ ตลาดเกษตรพันธสัญญา หรือว่าตลาดเคาน์เตอร์เทรด ที่เราจะต้องปรับรูปแบบที่จะสนองตอบต่อ ความเติบโตของอาหารไทยให้ผงาดมาเป็นอาหาร โลกต่อไปในอนาคต

18




T

Thailand Focus

ด้านอาหาร สามารถที่จะท�ำได้อย่างมีศักยภาพ มากขึน้ รวมทัง้ ในเรือ่ งของการทีจ่ ะต้องเร่งรัดการ ท�ำข้อตกลงทางการค้าทั้งพหุภาคี ทวิภาคี และ ในรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้เราสามารถที่จะแสวงหา ความได้เปรียบ หรือไม่เสียเปรียบในทางการค้า ในการก้ า วเข้ า สู ่ ค วามเป็ น หนึ่ ง ในตลาดโลกใน อนาคตให้ได้ รวมทั้งการที่จะต้องเตรียมการ และ เตรียมความพร้อมในเรือ่ งของการทีจ่ ะเดินหน้า พา อาหารไทยเข้าสู่ยุค Post-Covid คือหลังสถานการณ์โควิด หรือแม้แต่ในช่วงวิกฤตโควิดที่เรา ไม่รู้ว่าจะต้องใช้เวลาเท่าไหร่ ในเรื่องของคุณภาพ มาตรฐาน และทีเ่ น้นย�ำ้ ไปแล้วเรือ่ งความปลอดภัย “ผมคิดว่า ถ้าเราร่วมมือร่วมใจกันได้ ทาง กระทรวงเกษตร กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอืน่ ๆ ภาคเอกชน และภาคเกษตรกร วันนี้จะเป็นอีก วันหนึ่งที่จะได้นับหนึ่ง พาประเทศของเราเดินไป ข้างหน้า ท�ำให้อาหารไทยของเราสามารถไปเป็น อาหารโลกได้ต่อไปในอนาคต ได้ประสบความ ส�ำเร็จอย่างแน่นอน” นายจุรินทร์ กล่าว ประการถัดมา อย่างน้อยทีส่ ดุ หวังว่าจะได้ ความคิ ด เห็ น จากภาคเอกชน และพวกเราใน วันนี้ โลจิสติกส์ก�ำลังเป็นเงื่อนไขส�ำคัญ และเป็น กุญแจแห่งความส�ำเร็จที่เราจะเดินหน้าไปสู่การ เป็นอาหารโลก ท่านอยากเห็นอย่างไร กระทรวง เกษตร และกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอื่นๆ จะ เข้าไปช่วยเหลืออย่างไร เป็นสิ่งที่เราจะต้องจับ มือกันเพื่อลดต้นทุน และใช้ระบบโลจิสติกส์ที่มี ประสิทธิภาพ เพือ่ ส่งเสริมการตลาดภายในประเทศ และส่งออกต่อไปในอนาคต นอกจากนั้น การที่จะต้องจับมือร่วมกัน ปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ ที่เป็นอุปสรรค ท�ำให้ การประกอบธุรกิจง่ายขึน้ การทีจ่ ะประกอบกิจการ

ด้านนายเฉลิมชัย ศรีอ่อน เลขาธิการ พรรคประชาธิปัตย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ แสดงวิสยั ทัศน์ เน้นการเกษตร ไทย มาตรฐานโลกในการจับมือน�ำพาอาหารไทย ป้อนให้ชาวโลกทั่วทุกทวีป พร้อมผลักดันให้ไทย ส่งออกอาหารติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก โดย กล่าวว่า วันนีเ้ ป็นอีกครัง้ ทีจ่ ะเป็นจุดเปลีย่ นประเทศ ไทย ที่กระทรวงเกษตรฯ และกระทรวงพาณิชย์ จะได้ท�ำงานร่วมกัน โดยต้องยอมรับว่า วันนี ้ ไม่วา่ อุตสาหกรรม  หรือธุรกิจทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มา แต่ประเทศไทยก็ยงั เป็น  ประเทศเกษตรกรกรรม จากจ�ำนวนพื้นที่ 138  ล้านไร่ ถือว่าเป็น 40 กว่าเปอร์เซนต์ของประเทศ

19

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

คือพืน้ ทีท่ ำ� การเกษตร ดังนัน้ จึงหลีกเลีย่ งไม่ได้วา่   ประเทศไทยคือประเทศเกษตรกรรม และจีดีพี  ของประเทศ มาจากสินค้าภาคการเกษตร อยู่ท ี่ เกือบ 20% เพราะฉะนั้นชีวิตความเป็นอยู่ของ  คนไทยที่อยู่ในแวดวงเกษตรกรทั้งหมด จ�ำนวน  กว่า 30 ล้านคน หมายถึงว่า วันนี ้ หากท�ำให้พนี่ อ้ งเกษตรกร ก้าวผ่านความยากจน มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้นได้ จึงหมายถึงความเข้มแข็งของประเทศ หมายถึง จี ดี พี ข องประเทศในภาคการเกษตรจะเพิ่ ม ขึ้ น โดยสิ่งที่กระทรวงเกษตรฯ ท�ำในวันนี้ ก็คือความ ตั้งใจยกระดับพี่น้องเกษตรกรให้มีชีวิตความเป็น อยู่ที่ดีขึ้น นั่นหมายถึง การเติมเงินในกระเป๋าให้ กับพี่น้องประชาชน ซึ่งเป็นหน้าที่ของราชการ “เราท�ำอาชีพเกษตรกรรมมาคู่กับประเทศ ไทยมาแล้วหลายร้อยล้านปี เท่าที่ประเทศไทยมี หรือก่อนมีประเทศไทย แต่สิ่งที่ปรากฏเห็น นั่น คือพีน่ อ้ งเกษตรกรของเรายังยากจน ประเทศชาติ รัฐบาล ยังต้องใช้เม็ดเงินจ�ำนวนมหาศาลเข้าไป ดูแลเกื้อกูลพี่น้องเกษตรกร ผมให้มองย้อนไปว่า ถ้าพี่น้องเกษตรกรของเราสามารถที่จะยืนได้ด้วย ล�ำแข้งตัวเอง สามารถมีเงินในกระเป๋าเพิม่ ขึน้ ยก ระดับคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น งบประมาณที่จะน�ำไป ดูแลพีน่ อ้ งเกษตรกรตรงนีก้ จ็ ะช่วยพัฒนาประเทศ ให้เจริญ เดินไปข้างหน้าได้มากกว่านี้อีกมากมาย เม็ดเงินก็จะเข้าประเทศ” นายเฉลิมชัย กล่าว ดังนัน้ สิง่ ทีก่ ระทรวงเกษตรฯ เน้นก็คอื การ ทีจ่ ะรักษาคุณภาพ เพิม่ ผลผลิต ใช้หลักการตลาด น�ำการผลิต มาเป็นแนวทางในการที่จะให้พี่น้อง เกษตรกรด�ำเนินวิถีชีวิตของเขา ตั้งแต่ตนเข้ามา รับต�ำแหน่งรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงฯ มีสิ่งหนึ่ง ทีไ่ ด้ประกาศเป็นนโยบายก็คอื การปฏิรปู ภาคการ เกษตร ก็หมายถึงว่า ต้องให้พี่น้องเกษตรกร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

ก้าวผ่านวิถีชีวิตเดิมๆ ของเขาให้ได้ หมายถึงว่า สิ่งที่เขาเคยท�ำด้วยความเคยชิน ที่ผ่านมาจะต้อง เข้าไปปรับเปลีย่ น ไปเป็นพีเ่ ลีย้ งให้ เพือ่ ให้เขาก้าว ไปสูเ่ กษตกรทันสมัยให้ได้ ในวันนี้ สิง่ ทีเ่ ป็นปัญหา ใหญ่ที่สุด ที่ประเทศไทยต้องต่อสู้กับประเทศที่ ประกอบอาชีพเกษตรเหมือนกัน ก็คือต้นทุนการ ผลิต จ�ำนวนผลผลิตต่อหน่วย “กรณีที่เราต้องเสียแชมป์เรื่องการส่งข้าว ไป เพราะว่า 1. ต้นทุนการผลิตของเราสูงกว่า 2. ช่วงทีผ่ า่ นมา เราขาดการน�ำงานวิจยั นวัตกรรม ไปพัฒนาพันธุข์ า้ ว ไปพัฒนาสิง่ ทีเ่ ราควรท�ำ เรือ่ งนี้ เป็นโจทย์ข้อนึงที่นายกรัฐมนตรีบอกว่า ภายใน ระยะเวลา 2 ปี จะต้องทวงแชมป์กลับคืนมาให้ได้ งานวิจยั ทีม่ คี วามจ�ำเป็น จะต้องถูกน�ำมาใช้ มีการ ไปต่อยอดถึงการน�ำเทคโนโลยีตา่ งๆ มาใช้เพือ่ เพิม่ มูลค่าผลิต ลดต้นทุนให้ได้” นายเฉลิมชัย กล่าว ดังนั้นการเกษตรในวันนี้ จึงต้องหลุดพ้น จากวิถเี ดิมๆ ของเกษตรกรทีม่ มี าเป็นร้อยๆ ปี แต่ การปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ ก็ไม่ใช่เรือ่ งง่าย เพราะหาก เป็นเรื่องง่าย ก็คงมีการปรับเปลี่ยนไปเรียบร้อย แล้ว แต่การปรับเปลีย่ นตอนนีไ้ ม่ใช่วา่ ภาคราชการ สามารถด�ำเนินการได้เพียงหน่วยงานใดหน่วยงาน หนึ่ง แต่จะต้องเป็นความร่วมมือของทุกภาคส่วน

20


T

Thailand Focus

โดยเฉพาะภาคเอกชน ผู ้ ป ระกอบการ จะต้องมาช่วยเป็นหลักในการเปลี่ยนวิถีชีวิตของ พี่ น ้ อ งเกษตรกร จากการผลิ ต สิ น ค้ า ที่ ท� ำ ตาม ฤดูกาล เป็นการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ตรงตาม ความต้องการของตลาด ส่วนราชการมีหน้าที่ ลดต้นทุนการผลิตของพี่น้องเกษตรกรให้ได้ น�ำ งานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี ไปช่วยพี่น้อง เกษตรกร เพือ่ เพิม่ ผลผลิตลดต้นทุน เพิม่ คุณภาพ สินค้า “1 ในนโยบายที่ ส� ำ คั ญ ของกระทรวง เกษตรฯ คื อ นโยบายเกษตรปลอดภั ย และ เกษตรอินทรีย์ เนื่องจากวันนี้ ในสภาพความ เป็นจริง การจะก้าวสูเ่ กษตรอินทรียไ์ ด้ จะต้องผ่าน เกษตรปลอดภัย ดังนั้นการจะท�ำเกษตรอินทรีย์ เพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการของโลก ณ วันนี้ได้ เพราะต้องใช้เวลา และต้องเตรียมการ

แต่ วั น นี้ ส� ำ หรั บ การบริ โ ภคแล้ ว ถื อ ว่ า เกษตรปลอดภัยก็มีความเพียงพอ เพราะกว่า จะมาถึงเกษตรปลอดภัยได้ ต้องมีกระบวนการ ผลิต กระบวนการตรวจสอบ กระบวนการการันตี จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องออกมาพร้อมกับ ผลผลิ ต สิ่ ง เหล่ า นี้ ถื อ ว่ า จะเป็ น สิ่ ง ที่ พู ด กั น ว่ า New Normal หรือวิถีปกติใหม่ โดยจะต้องท�ำให้ พี่น้องเกษตรกรมีความรู้สึกตรงนี้ให้ได้ ในสภาวะ โควิด-19 ตอนนี้ท่ัวโลกประสบเหมือนกัน เป็น วิกฤติที่ไม่เลือกเขาเลือกเรา เป็นเหมือนกันหมด แต่ความได้เปรียบทางภูมิภาคของประเทศไทย ท�ำให้วันนี้ทั้งภาคการเกษตร และการแปรรูป สามารถรักษาระดับการส่งออกสินค้า และมูลค่า ไว้ได้” รมว.เกษตรฯ กล่าว

21

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

'อธิบดีปศุสัตว์' ติดตามงานจุดผ่านแดนถาวร สะพานมิตรภาพน�้ำเหืองไทย-ลาว

เน้นป้องกันควบคุมเข้มโรคตามชายแดน

นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรม ปศุสัตว์ ลงพื้นที่ติดตามงานจุดผ่านแดนถาวร สะพานมิตรภาพน�ำ้ เหืองไทย - ลาว ด่านกักกันสัตว์ เลย ที่ด่านศุลกากรท่าลี่ อ.ท่าลี่ จ.เลย พร้อม ด้วย นายสุรเดช สมิเปรม รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์ ปศุสัตว์เขต 4 และเจ้าหน้าที่ด่านกักกันสัตว์เลย กองสารวัตรและกักกัน จุดผ่านแดนถาวรสะพาน มิตรภาพน�้ำเหืองไทย - ลาว สินค้าปศุสัตว์น�ำเข้า ที่ส�ำคัญคือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งได้รับการอนุมัติ จากกองควบคุมอาหารและยาสัตว์ สินค้าปศุสัตว์ ส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่ สินค้าแปรรูป (ไส้กรอก) ซากไก่แช่แข็ง ซากสุกรแช่แข็ง และอาหารสัตว์ ส�ำเร็จรูป (สุกร)

่ : แนวหน้า วันพฤหัสที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

22

ภาพประกอบ : https://sunitasaisorn.wordpress.com/

Thailand Focus


T

Thailand Focus

มีภารกิจการควบคุมป้องกันโรคระบาดสัตว์ตามแนวชายแดนไทย - ลาว ประกอบด้วย การตรวจ สินค้าปศุสตั ว์ และการควบคุมการเคลือ่ นย้าย การพ่นน�ำ้ ยาฆ่าเชือ้ สัตว์ และยานพาหนะทีเ่ ข้า - ออกด่าน การพ่นน�้ำยาฆ่าเชื้อในพื้นที่เสี่ยงตามแนวชายแดน การตรวจสอบโรงฆ่าสัตว์ และสถานที่จ�ำหน่าย เนื้อสัตว์ การประชาสัมพันธ์ในการควบคุมป้องกันและก�ำจัดโรคระบาดสัตว์ และการบังคับใช้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง และด�ำเนินการตามมาตรการควบคุมป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) ซึ่งจาก การด�ำเนินงานอย่างเข้มแข็งต่อเนื่อง ท�ำให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่สามารถป้องกัน และปลอดโรค ASF จนถึงปัจจุบันนี้ ทัง้ นี้ ต้องขอขอบคุณ และให้กำ� ลังใจเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั งิ านทุกคน ทีช่ ว่ ยกันปฏิบตั งิ านอย่างเข้มงวด ช่วยควบคุม ป้องกัน และก�ำจัดโรคระบาดที่จะเข้ามาประเทศไทย

23

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

ศึกอาหารสัตว์เดือด

‘หมู-กุ้ง-ไก่ไข่’ หนุน ประมงค้านลดภาษี ศึกลดภาษี น�ำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์เดือด

ผู้เลี้ยง หมู-กุ้ง-ไก่ไข่ หนุนสุดตัว ช่วยลดต้นทุน ลุ้น 30 มิถุนายน ฝันเป็นจริง

อีกฟากสมาคมประมงฯ ค้านสุดโต่ง เตรียมจัดประชุมด่วน รับมือผลกระทบ หวั่นเจ๊งทั้งประเทศ ด้านโรงงานอาหารสัตว์ช้ล ี ดภาษี

ใช่ว่าลดราคาได้ จากต้นทุนในประเทศยังสูง

จากการประชุมคณะอนุกรรมการฟืน้ ฟูและพัฒนาศักยภาพการเพาะเลีย้ งสัตว์น�้ำ ครัง้ ที่ 3/2563 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2563 ที่มี นายถาวร จิระโสภณรักษ์ รองอธิบดีกรมประมง เป็นประธาน ได้มีมติให้เลขานุการคณะอนุกรรมการฯ เชิญผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมาหารือเรื่องการปรับลดภาษีน�ำเข้า วัตถุดบิ อาหารสัตว์ เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรจากปัญหาราคาสัตว์นำ�้ ตกต�ำ่ และเป็นการ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านราคา เนื่องจากค่าอาหารสัตว์น�้ำคิดเป็น 40% ของต้นทุน การผลิต โดยจะมีการประชุมในวันที่ 30 มิถุนายนนี้

่ : ฐานเศรษฐกิจมัลติมีเดีย วันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

24


T

Thailand Focus

นายครรชิต เหมะรักษ์ ประธานเครือข่าย ผู้เลี้ยงกุ้งไทย และกรรมการในคณะอนุกรรมการ ฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ เผยว่า ในการประชุมเมือ่ วันที่ 9 มีนาคม ได้มกี าร พูดถึงขีดความสามารถการลดต้นทุนการผลิต โดย มุ่งเน้นปัจจัยที่เป็นค่าอาหารในการเลี้ยงกุ้ง หรือ สัตว์น�้ำ ที่คิดเป็น 40% ของต้นทุน ในส่วนของ อาหารสัตว์กม็ วี ตั ถุดบิ ทีน่ ำ� มาใช้ผลิต ซึง่ เป็นต้นทุน หลัก และโครงสร้างภาษีเป็นต้นทุนอย่างหนึ่งของ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ จะมีแนวทางอย่างไรในการ ปรับลดเพื่อท�ำให้ราคาอาหารสัตว์ถูกลง ซึ่งหาก มีการปรับลดภาษีน�ำเข้าวัตถุดิบ สัตว์บกก็จะได้ ประโยชน์จากตรงนีด้ ว้ ย จากข้อเรียกร้องนี้ จึงเป็น ทีม่ าของการประชุมทีจ่ ะมีขนึ้ ในวันที่ 30 มิถนุ ายน เรื่องการปรับลดภาษีน�ำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ นายสุ ร ชั ย สุ ท ธิ ธ รรม นายกสมาคม ผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ กล่าวว่า ในส่วนของอาหาร สุกร จะใช้กากถัว่ เหลืองเป็นวัตถุดบิ หลัก ผสมกับ เนื้อป่น หากภาษีน�ำเข้ากากถั่วเหลืองปรับลดลง จาก 2% เป็นศูนย์เปอร์เซ็นต์หรือต�่ำลงจะท�ำให้ ราคาอาหารสั ต ว์ ถู ก ลงจะเป็ น ผลดี ดั ง นั้ น จึ ง สนับสนุนเห็นด้วย เช่นเดียวกับนายมาโนช ชูทับทิม นายก สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ กล่าวว่า ส่วนผสมหลักของ อาหารไก่ คือ กากถั่วเหลือง และข้าวโพด จะต้อง พิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับภาษีว่าอยู่ที่เท่าไร เห็นด้วยในหลักการการลดภาษีน�ำเข้าวัตถุดิบ จะท�ำให้ต้นทุนการเลี้ยงไก่ต�่ำลง แต่กลุ่มที่ได้ ประโยชน์ต้องไม่ใช่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่ ผู้ประกอบการที่ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ต้องได้รับ ประโยชน์กันถ้วนหน้า ซึ่งเมื่อต้นทุนวัตถุดิบ และ ราคาอาหารสัตว์ต�่ำลงทุกคนจะไปแข่งขันกันเลี้ยง ผลประโยชน์จะตกถึงผู้บริโภค

25

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


T

Thailand Focus

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กล่าวว่า ในแต่ละปี ไทย น�ำเข้าถั่วเหลือง กากถั่วเหลือง และข้าวสาลีปีละ กว่า 7 ล้านตัน ซึง่ มีหลายรายทีน่ ำ� เข้า ช่วงทีผ่ า่ นมา จนถึงปัจจุบนั ในการน�ำเข้าข้าวสาลีจากต่างประเทศ รั ฐ บาลมี ม าตรการก� ำ หนดสั ด ส่ ว นการน� ำ เข้ า ข้าวสาลีต่อการรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ ในอัตรา 1 : 3 และรัฐบาลได้ขอความร่วมมือผูผ้ ลิต อาหารสัตว์รับซื้อข้าวโพดจากเกษตรกรไม่ต�่ำกว่า 8 บาทต่อกิโลกรัม (กก.) บางครัง้ สูงกว่าราคาตลาด กว่า 3 บาทต่อกก. เพือ่ แลกกับโควตาน�ำเข้าข้าวสาลี ท�ำให้มตี น้ ทุนทีส่ งู แล้ว อย่างนี้จะให้ปรับลดราคาอาหารสัตว์ลงได้อย่างไร ในส่วนนี้หากรัฐอยากให้ เกษตรกรได้ราคาเท่าไรต้องรับผิดชอบไม่ใช่โยนภาระมาให้เอกชน และควร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

26


T

Thailand Focus

ปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาด และเสรีทกุ ห่วงโซ่ เช่นเดียวกับกากถัว่ เหลือง ท�ำไมต้องคิดภาษีน�ำเข้า 2% ทั้งที่ผู้ประกอบการซื้อถั่วเหลืองจากเกษตรกร ในประเทศทั้งหมดอยู่แล้ว ไม่น่าห่วงที่จะกระทบเกษตรกร สรุปการลดภาษี น�ำเข้าไม่ใช่ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์อย่างเดียว นายมงคล สุขเจริญคณา ทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย เผยว่า กรม ประมงยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาราคาสัตว์น�้ำตกต�่ำ ได้ แล้วจะมาซ�้ำเติมโดยการเสนอลดภาษีน�ำเข้า วัตถุดิบอาหารสัตว์ ซึ่งใช้สัตว์น�้ำจากต่างประเทศ เข้ามาผลิต จะยิ่งท�ำให้ราคาสัตว์น�้ำในประเทศทั้ง ระบบตกต�่ำลงมากกว่าในปัจจุบัน 20-30% ทั้งนี้ ถ้าหน่วยงานภาครัฐเอาใจแต่ผู้น�ำเข้า-ส่งออก ชาว ประมงตายเรียบแน่นอน วันที่ 26 มิถุนายนนี้ จะมี การประชุมหารือ และก�ำหนดท่าทีวา่ จะแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของชาวประมงอย่างไร

27

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


F

Food Feed Fuel

“ซีพีเอฟ”คุมเข้มรับซื้อข้าวโพด จากพื้นที่มีเอกสารสิทธิ์เท่านั้น "ซีพเี อฟ ผนึกก�ำลังบริษัทในเครือซีพี

ยกระดับเข้มนโยบายรับซื้อข้าวโพดเลีย ้ งสัตว์ ไม่บุกรุกป่า ทั้งใน และต่างประเทศ

ตอกย้�ำท�ำธุรกิจ ร่วมพัฒนาเกษตรกร และคู่ค้า โตไปด้วยกัน"

รายงานข่าวจากบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เผยว่า ได้น�ำ เทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยยกระดับ “ระบบตรวจสอบย้อนกลับแหล่งที่มาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์” สนับสนุน ให้คู่ค้ามีส่วนร่วมในระบบตรวจสอบย้อนกลับเพื่อความแม่นย�ำ และโปร่งใสยิ่งขึ้น ตอกย�้ำการท�ำธุรกิจ ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างยัง่ ยืน ค�ำนึงถึงสิง่ แวดล้อม พร้อมเดินหน้าพัฒนาศักยภาพเกษตรกร และคู่ค้าเติบโตไปด้วยกัน นายไพศาล เครือวงศ์วานิช รองประธานคณะผู้บริหาร กลุ่มธุรกิจการค้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทผู้พัฒนาแหล่งผลิต เพิ่มคุณค่าสินค้าเกษตร และธุรกิจ การค้าสินค้าเกษตรแปรรูปสู่ผู้บริโภคในระดับโลก โดยเป็นผู้จัดหาวัตถุดิบอาหารสัตว์ให้ซีพีเอฟ กล่าว ว่า การประกาศรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์บนพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ถูกต้อง และใช้ระบบตรวจสอบ ย้อนกลับ (Corn Traceability) ได้ด�ำเนินการมาตั้งแต่ต้นปี 2559 ที่ยืนยันเจตนารมณ์การจัดหา ่ : ฐานเศรษฐกิจมัลติมีเดีย วันจันทร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

28


F

Food Feed Fuel

วัตถุดิบทางการเกษตรที่มาจากแหล่งผลิตที่รับ ผิดชอบ และสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ มี ฐานข้ อ มู ล ในระบบการขึ้ น ทะเบี ย นเกษตรกร ที่มีเอกสารสิทธิ์ถูกต้อง เพื่อให้สอดคล้องตาม นโยบายการจัดหาอย่างยั่งยืน พร้อมกันนี้ ยังเดิน หน้าขับเคลื่อนน�ำระบบบริหาร และเทคโนโลยี สมัยใหม่ ส่งเสริมการใช้ระบบ GPS เพื่อติดตาม  รถขนส่ง รวมถึงการพัฒนาเครื่องมือต่างๆ เพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพในการตรวจสอบย้อนกลับแหล่ง ปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ให้มคี วามถูกต้อง และชัดเจน ยิ่งขึ้น

“เพื่อยกระดับระบบตรวจสอบย้อนกลับ ดังกล่าว บริษทั ฯ ได้รบั ความร่วมมือจากคูค่ า้ ธุรกิจ และผู้รวบรวมข้าวโพดในการติดตั้งระบบ GPS Tracking บนรถขนส่ ง ทุ ก คั น ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 กรกฎาคม 2563 ที่ผ่านมา เพื่อใช้ในการติดตาม ข้อมูลแบบ real time ส�ำหรับการขนส่งข้าวโพด เข้าสู่โรงงานอาหารสัตว์ซีพีเอฟในเขตประเทศ ไทย ได้ครบ 100% ท�ำให้ระบบตรวจสอบย้อนกลับ มีความแม่นย�ำ และโปร่งใสยิง่ ขึน้ ทราบแหล่งทีม่ า ที่ชัดเจน นอกจากนี้ ระบบดังกล่าวยังจะช่วยให้ บริษัทฯ สามารถอ�ำนวยความสะดวก เพิ่มความ คล่องตัว และประสิทธิภาพการขนส่งให้แก่คู่ค้า อีกด้วย” ซีพีเอฟ ยังได้เริ่มน�ำระบบตรวจสอบย้อน กลับดังกล่าวไปขยายผลในประเทศเพือ่ นบ้าน โดย ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2563 ที่ผ่านมา เครือ เจริญโภคภัณฑ์ (ซีพ)ี โดยซีพเี อฟ และกลุม่ ธุรกิจ การค้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ประกาศรับซื้อผลผลิต ข้าวโพดจากแหล่งผลิตที่มีเอกสารสิทธิ์ถูกต้อง ในเขตประเทศเมียนมา ภายใต้ระบบตรวจสอบ ย้อนกลับเท่านั้น โดยเกษตรกรมอบความมั่นใจ ให้กับโรงงานอาหารสัตว์ซีพีเขตประเทศเมียนมา

29

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


F

Food Feed Fuel

และร่วมลงชือ่ เพือ่ ขึน้ ทะเบียนตามการก�ำหนดมาตรฐานการรับซือ้ จากแหล่งผลผลิต ข้าวโพดที่มีเอกสารสิทธิ์ และเป็นส่วนหนึ่งในการรักษาผืนป่าที่อุดมสมบูรณ์ที่สุด แห่งหนึ่งในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ ซีพีเอฟ ยังได้มุ่งเน้นการสร้างพันธมิตรในห่วงโซ่การผลิตอาหาร ทั้งคู่ค้าธุรกิจต่อเนื่องจนถึงเกษตรกร เพื่อให้เติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน ผ่าน โครงการ “เกษตรกรพึ่งตน ข้าวโพดยั่งยืน” ตั้งแต่ปี 2558 ส่งเสริมเกษตรกร ให้มีความรู้สมัยใหม่ในการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ต้นทุนการผลิตลดลง พัฒนาผลผลิต ที่มีคุณภาพสามารถขายตรงให้กับโรงงานอาหารสัตว์ได้ ด้วยการถ่ายทอดองค์ ความรู้ ตั้งแต่ขั้นตอนการเพาะปลูกที่ถูกต้อง การวิเคราะห์ดิน การใช้ปุ๋ย การใช้ สารเคมีทเี่ หมาะสม รวมทัง้ กระบวนการจัดการหลังเก็บเกีย่ วเพือ่ รักษาคุณภาพของ ผลผลิต โดยในปี 2563 นี้ บริษัทฯ มีเป้าหมายที่จะขยายผลโครงการในพื้นที่ อ.ด่านขุนทด อ.สีคิ้ว และ อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา ตั้งเป้าส่งเสริมเกษตรกรทั้งสิ้น 1,000 ราย พื้นที่เพาะปลูก 30,000 ไร่ ทัง้ นี้ ซีพเี อฟ ยังได้รว่ มมือกับ กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวง แรงงาน ด�ำเนินแผนงานโครงการ ความร่วมมือพัฒนาคูค่ า้ สูร่ ะบบมาตรฐานแรงงาน ไทย เพื่อยกระดับขีดความสามารถของคู่ค้าในหลากหลายธุรกิจ และผู้รวบรวม ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในห่วงโซ่อปุ ทาน มีการบริหารจัดการแรงงานด้วยความรับผิดชอบ และถูกต้องตามกฎหมาย และผลักดันให้ผู้ประกอบการได้การรับรองมาตรฐาน แรงงานไทยอีกด้วย เป็นการยกระดับคุณภาพชีวติ แรงงาน ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ซึง่ เป็น ปัจจัยส�ำคัญอีกองค์ประกอบหนึ่งของนโยบายการจัดหาอย่างยั่งยืน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

30


เครื่องจักรสำหรับผลิต อาหารสั ต ว์ , มวลชี ว ภาพ, ปุ ๋ ย และ กระบวนการ รี ไ ซเคิ ล

www.lameccanica.it made in Italy

phone +39 049 941 9000 lameccanica@lameccanica.it thaioffice@lameccanica.it tel.027115470 ext 107


มัยโคฟกซ 5.0

M YC OF I

Mycofix® 5.0

ปกปองสมบูรณแบบ

การดูดซับ การเปลี่ยนโครงสรางทางชีวภาพ การปองกันทางชีวภาพ

*ผานการขึ้นทะเบียนแลวจากสหภาพยุโรป (อียู) ทะเบียนเลขที่ 1115/2014, 1060/2013, 1016/2013, 2017/913 และ 2017/930 เพื่อลดการปนเปอนของสารพิษจากเชื้อรากลุมฟูโมนิซิน

อะฟลาทอกซิน และไตรโคทีซีน

บริ ษัท เออร์ เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จํากัด 1/913 ถ.พหลโยธิน 60 ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทร: (02)993-7500, แฟกซ: (02)993-8499 mycofix.biomin.net

Naturally ahead

ยี น เล ขท

30 17 /9

ะเบ )ู ท

การทํางานประสานกันของ 3 กลยุทธ

(อ ยี

ขับเคลื่อนวิทยาการ เพื่อจัดการความเสี่ยงของสารพิษจากเชื้อราหลากหลายชนิด*

ี่

2 3, 91 17/ , 20 1060/2013

0

X


F

Food Feed Fuel

ป้องข้าวโพดเถื่อน

ทะลักสวมสิทธิแ ์ ลกน�ำเข้าข้าวสาลี “เกษตรกร” ผงะ พาณิชย์ระบุ ปี 63 ตาม  ข้อตกลงไทย - ออสเตรเลีย จะต้องยกเลิกโควตา  และภาษีนำ� เข้าข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ขณะทีส่ มาคม  การค้าพืชไร่ ขอปรับเวลาน�ำเข้าใหม่ ป้องสวมสิทธิ์  ข้าวโพดเถื่อนแลกน�ำเข้าข้าวสาลี แหล่งข่าวจากที่ประชุมสรุปประชุมหารือ มติเห็นชอบนโยบายและมาตรการน�ำเข้าวัตถุดิบ อาหารสัตว์ (กากถั่วเหลือง ปลาป่น และข้าวโพด เลี้ยงสัตว์) เผยถึงผลการประชุมว่า 1. มาตรการ น�ำเข้ากากถัว่ เหลืองปี 2564 - 2566 ให้เป็นไปตาม ปี 2561 - 2563 2. มาตรการน� ำ เข้ า ปลาป่ น ส�ำหรับปี 2564 - 2566 ให้เป็นไปตาม ปี 2561 2563 3. พ่อค้าพืชไร่ เสนอให้มีการปรับเวลา น�ำเข้า จากเดือน 2 - 8 เป็น 4 - 8 เพือ่ ไม่ให้กระทบ กั บ ผลผลิ ต ข้ า วโพดนาที่ จ ะออก และขอให้ รั ฐ มีมาตรการแยกแยะข้าวโพดเพือ่ นบ้านเพือ่ ป้องกัน การสวมสิทธิแ์ ลกซือ้ ข้าวสาลี ท�ำให้นำ� เข้าข้าวสาลี มากกว่าความเป็นจริง

ด้านสภาเกษตรกรแห่งชาติ เสริมว่า “รัฐ ส่งเสริมข้าวโพดนา แต่ปล่อยให้มกี ารน�ำเข้าในช่วง ข้าวโพดนาออก ถือเป็นการขัดแย้งกัน ขณะที่ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย แจ้งว่า หากมอง ในมุมของผู้ใช้ อยากให้มองในภาพกว้าง ในเมื่อ ผลผลิตข้าวโพดไทยขาดแคลน เราต้องพึ่งพิง การน�ำเข้า หากข้าวโพดไทยมีจำ� นวนมากกว่าความ ต้องการใช้ ก็จะเห็นด้วยที่จะออกระเบียบห้าม น�ำเข้า แต่ข้อเท็จจริงไม่ใช่ เรื่องนี้ควรหารือกัน ในเวทีคณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ข้าวโพด” ส่ ว นเรื่ อ งแยกแยะข้ า วโพด ขอเสนอให้ ขึ้นทะเบียนพ่อค้าพืชไร่ทั้งหมด อาหารสัตว์รับซื้อ ข้าวโพดหน้าโรงงานจากพ่อค้าคนกลางทัง้ นัน้ การ บริหารจัดการ ควรมองทั้งห่วงโซ่ให้อยู่ได้ท้ังหมด ทั้งเกษตรกรข้าวโพด อาหารสัตว์ และเกษตรกร ภาคปศุสัตว์ พ่อค้าอยากได้ขายข้าวโพดราคาสูง อาหารสัตว์ก็อยากได้ข้าวโพดราคาไม่แพงเพื่อ แข่งขันได้ เพราะฉะนัน้  ควรมาคุยกันว่าราคาเท่าไร ถึงสมดุล และอยูด่ ว้ ยกันได้ทงั้ หมด ดังนัน้  สมาคม ขอให้กระทรวงพาณิชย์เร่งด�ำเนินการออกประกาศ น�ำเข้ากากถั่วเหลือง เพื่อให้สามารถด�ำเนินธุรกิจ ได้อย่างต่อเนื่อง

่ : ฐานเศรษฐกิจมัลติมีเดีย วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

31

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


F

Food Feed Fuel

กกร. ขึ้นบัญชี คุม “กาก DDGS” รง. อาหารสัตว์โวยมัดตราสัง

กกร. ขึ้นบัญชีควบคุมกาก DDGS จ่อ  ออกมาตรการ 8 กรกฎาคมนี้ “พรศิลป์” โอด  มาตรการรัฐมัดตราสังอาหารสัตว์ ทั้งปิดประตู  น�ำเข้าวัตถุดบิ ราคาถูก บังคับซือ้ ข้าวโพดในประเทศ  3 ต่อ 1 ราคาสูงกว่า 8 บาท/กก. แถมคุมราคา  ขายปลีกอาหารสัตว์ หวัน่ 50 โรงงานหมดทางออก  ขึน้ ราคาไม่ได้ จ่อปิดกิจการ ลามกระทบปศุสตั ว์

ก� ำ หนดจะประชุ ม คณะกรรมการนโยบายและ บริหารจัดการข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (นบขพ.) เพื่อ ก�ำหนดมาตรการดูแล DDGS พร้อมทั้งประเมิน สถานการณ์การผลิตข้าวโพดปี 2563/2564 ใน วันที่ 8 กรกฎาคม 2563 นี้

กระทั่งสมาคมการค้าพืชไร่ท�ำหนังสือถึง กระทรวงพาณิชย์ ขอให้ค�ำนึงถึงผลกระทบจาก การน�ำเข้า DDGS ต่อราคาข้าวโพดที่เกษตรกร จะได้รับ เสถียรภาพของตลาดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่ผลิตในประเทศ โดยหลังจากนี้ นายจุรินทร์ มี

อาหารสัตว์ต้องซื้อข้าวโพดจากภายในประเทศ 3 ส่วน เพื่อน�ำเข้าข้าวสาลีมาได้ 1 ส่วน โดยขอ ความร่วมมือให้ซื้อข้าวโพดในราคาไม่ต�่ำกว่า กก. ละ 8 บาท ซึง่ เท่ากับว่า ตอนนีไ้ ด้ถกู ควบคุมการใช้ วัตถุดิบทั้งหมดแล้ว

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เปิดเผยว่า มาตรการขึ้น ที่ ป ระชุ ม คณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อ วั น ที่ 30 บัญชีควบคุมสินค้า DDGS ซึ่งเป็นหนึ่งในวัตถุดิบ มิถุนายน ได้พิจารณาก�ำหนดรายการสินค้า และ ส�ำหรับผลิตอาหารสัตว์ ถือเป็นหนึ่งในมาตรการ บริการควบคุมปี 2563 ตาม พ.ร.บ. ว่าด้วย จะส่งผลกระทบซ�้ำเติมโรงงานผู้ผลิตอาหารสัตว์ ราคาสินค้าและบริการปี 2542 ตามมติคณะ 50 โรงงาน จากก่อนหน้านี ้ โรงงานก็ประสบปัญหา กรรมการกลางว่ า ด้ ว ยราคาสิ น ค้ า และบริ ก าร ด้ า นวั ต ถุ ดิ บ ทั้ ง จากการที่ ค ณะกรรมการวั ต ถุ ครั้งที่ 5/2563 ซึ่งมีนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์  อันตรายประกาศห้ามน�ำเข้าสินค้าเกษตร ซึ่งมี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ส่วนผสมของสารเคมีทางการเกษตรพาราควอต พาณิชย์ เป็นประธานกรรมการ ได้ประชุมไปเมื่อ และคลอร์ไพริฟอส วันที่ 25 มิถนุ ายน 2563 ให้ปรับเพิม่ สินค้า “กาก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายนที่ผ่านมา ท�ำให้ไม่ DDGS” เป็นสินค้าควบคุม เนื่องจากมีการน�ำเข้า สามารถน�ำเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศได้ เพราะ สินค้าดังกล่าวมาใช้เป็นวัตถุดิบผลิตอาหารสัตว์ แหล่งผลิตต่างๆ ยังมีการใช้สารเคมีดงั กล่าวในการ ที่มีส่วนประกอบของคาร์โบไฮเดรต และโปรตีน ปลูก ซึง่ ไม่เพียงเท่านัน้ ก่อนหน้านี้ รัฐบาลได้กำ� หนด มากขึ้น ให้มีกลไกยกระดับราคาข้าวโพด โดยให้ผู้ผลิต

่ : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

32


F

Food Feed Fuel

ขณะที่ ผู ้ ผ ลิ ต ไม่ ส ามารถปรั บ ขึ้ น ราคา อาหารสัตว์ได้ตามต้นทุนวัตถุดิบที่ขยับขึ้น เพราะ ถูกควบคุมโดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งจัดสินค้านี้ ให้อยู่ในบัญชีสินค้าควบคุม อีกทั้งเมื่อเกษตรกร ประสบปัญหาราคาปศุสตั ว์ หรือสินค้าประมงตกต�ำ่ เช่น กุ้ง หรือไข่ ประสบปัญหาราคาตกต�่ำ ก็ยัง มาขอให้ช่วยลดราคาจ�ำหน่ายอาหารสัตว์เพื่อช่วย เหลือเกษตรกรอีก และเมือ่ ทางโรงงานอาหารสัตว์ ขอให้รัฐพิจารณาลดภาษีน�ำเข้ากากถั่วเหลืองจาก 2% เหลือ 0% กลับไม่ได้รับการพิจารณา “ตอนนี้ ก ลุ ่ ม อาหารสั ต ว์ เ หมื อ นถู ก มั ด ตราสัง จะใช้วัตถุดิบในประเทศไม่พอ ข้าวโพด ผลิตได้ปีละ 5 ล้านตัน ต้องการใช้ปีละ 8 - 9 ล้านตัน โรงงานต้องน�ำเข้าวัตถุดิบอื่นที่มีราคาถูก ทดแทน ทั้งข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ หรือ DDGS พอน�ำเข้ามาก็ถกู คุม ข้าวสาลีถกู คุมด้วยมาตรการ 3 ต่อ 1 ให้ซอื้ ข้าวโพดภายใน 3 ส่วน ถึงจะน�ำเข้า ได้ 1 ส่วน และให้ซอื้ ราคาไม่ตำ�่ กว่า กก. ละ 8 บาท อีก ตอนนี้เราซื้อ กก. ละ 9 บาทกว่าแล้ว พ่อค้า และเกษตรกรได้ราคา รัฐก็ได้ประโยชน์ เพราะไม่ ต้องจ่ายชดเชยประกันรายได้ให้เกษตรกร เราช่วย รับซื้อในราคาสูงกว่าราคาประกันรายได้ กก. ละ 8.50 บาท เราน�ำเข้า DDGS ต้นทุนภาษีก็สูงถึง 9% จะขึน้ ราคาขายปลายทางไม่ได้ ถูกควบคุมอีก

อีกทั้งเมื่อเกิดปัญหากับสินค้าไข่ กุ้งราคาตกก็มา ขอให้เราช่วยลดราคา ซึ่งขอให้ช่วยลดภาษีน�ำเข้า กากถั่วเหลือง 2% ก็ไม่ให้เพราะโรงสกัดไม่ยอม สุดท้ายเราคงต้องยกธุรกิจให้พวกเขาไป หรือจะ ให้ปิดโรงงานไปเลยไหม” ส�ำหรับแนวโน้มสินค้าอาหารสัตว์ในปีนี้ จะยังคงรักษาก�ำลังการผลิตที่ 20 ล้านตัน อาจ จะเพิ่มขึ้นประมาณ 1 - 2% เป็นผลจากการแพร่ ระบาดของโควิด-19 ท�ำให้ตลาดปศุสัตว์ของโลก ได้รับผลกระทบมาก สหรัฐฯ ซึ่งเป็นผู้ผลิตหลัก ประสบปัญหาการแพร่ระบาดของโควิด-19 และ มีการปิดโรงงาน ท�ำให้ประเทศที่ต้องการสินค้า ดังกล่าวต้องหันมาสัง่ ซือ้ จากไทย แต่นนั่ ไม่ใช่เพราะ ไทยมีความสามารถแข่งขันดีขึ้น เพราะเป็นปัจจัย ชั่วคราว ซึ่งหากสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย ความต้องการสินค้ากลุม่ นีล้ ดลง ก็สง่ ผลต่อสินค้า อาหารสัตว์ด้วย ทัง้ นี้ เป็นทีน่ า่ ห่วงว่า หลังจากการใช้มาตรการดูแลการน�ำเข้า แต่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด เลี้ ย งสั ต ว์ ก็ ยั ง ไม่ ไ ด้ มี ก ารพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพ การปลูก ยังอยูท่ ปี่ ลี ะ 5 ล้านตัน ซึง่ ยังไม่เพียงพอ ต่อการใช้ และยังมีปญ ั หาเรือ่ งการรุกป่า และปัญหา สิ่งแวดล้อมตามมาอีก

33

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


F

Food Feed Fuel

การันตีไก่เนื้อไทยมาตรฐานโลก

สบายใจได้…ไม่ใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต ประเทศไทยได้รับการยกย่องจากเอกอัครราชทูตแห่งสหราชอาณาจักร ประจ�ำประเทศไทย ว่าเป็นแหล่งผลิตไก่เนื้อที่มีศักยภาพสูง มีกระบวนการผลิต อาหารที่เคร่งครัด ได้มาตรฐานในระดับสากล ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูง ปลอดภัย เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคชาวยุโรป

รศ.ดร.ยุวเรศ เรืองพานิช ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร ก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

นอกจาก สหภาพยุโรปที่น�ำเข้าผลิตภัณฑ์ไก่เนื้อของไทยแล้ว ประเทศญี่ปุ่น ยังเป็นตลาดหลักที่น�ำเข้าผลิตภัณฑ์ไก่เนื้อไทยในแต่ละปีจ�ำนวนไม่น้อย เป็นที่ ทราบกันดีวา่ ผูบ้ ริโภคทัง้ ในอียู และญีป่ นุ่ ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพ และมาตรฐาน ความปลอดภัยของอาหารขัน้ สูงสุด แต่ละประเทศจึงมีการตรวจสอบคุณภาพ ความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารที่น�ำเข้าจากประเทศต่างๆ อย่างเข้มงวด การเลีย้ งไก่เนือ้ ของไทยในปัจจุบนั นัน้ เป็นการเลีย้ งทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน การส่งออก ที่ควบคุมการใช้ยาตามมาตรฐานของทั้งประเทศไทย และประเทศคู่ค้า ซึง่ ห้ามไม่ให้มกี ารใช้ฮอร์โมนเพือ่ เร่งการเจริญเติบโตในการเลีย้ งอย่างเด็ดขาด หาก ตรวจพบว่ามีตัวยา หรือฮอร์โมนตกค้างในเนื้อไก่ที่ส่งออก จะถูกตีกลับมา และ

่ : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันพุธที ่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

34


F

Food Feed Fuel

ยกเลิกการเป็นคู่ค้า จึงไม่มีการใช้ฮอร์โมนเร่งโต ในการเลี้ ย งไก่ แ น่ น อน และประเทศไทยยั ง มี กฎหมายควบคุมในเรือ่ งการใช้ฮอร์โมนในการผลิต ไก่เนื้อมาตั้งแต่เดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 2529 ดังนั้น จึงไม่ต้องกังวลกันว่า การให้บุตรหลานกิน เนื้อไก่นั้น จะท�ำให้เด็กได้รับฮอร์โมนตกค้างในไก่ และท�ำให้เด็กมีร่างกายที่เจริญเติบโตไวกว่าปกติ อุตสาหกรรมการผลิตไก่เนื้อของไทย มี ศักยภาพในการผลิตโปรตีนคุณภาพดี ไม่จ�ำเป็น ต้องใช้ฮอร์โมนเร่งโตแต่อย่างใด ซึ่งเป็นผลจาก เทคโนโลยีมาพัฒนาสายพันธุ์ไก่ให้เป็นสายพันธุ์ ทีส่ ามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว และใช้เวลา ในการเลี้ยงที่สั้นลง ควบคู่กับระบบการเลี้ยงใน โรงเรือนระบบปิดทีท่ นั สมัย มีระบบการป้องกันโรค ที่ดี รวมถึงการผลิตอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย ของการเติบโตของไก่ ช่วยให้ไก่ไทยเติบโตได้ตาม ลักษณะของสายพันธุ์ นอกจากนี้ ปัจจัยที่ช่วยให้ไก่เจริญเติบโต ได้เต็มที่ คือ ระบบการเลี้ยงในโรงเรือนระบบปิด ที่ทันสมัย การมีระบบการป้องกันโรคที่ดี ไม่ให้ เชื้อโรคเข้ามาท�ำให้ไก่เจ็บป่วย เช่น พื้นที่เลี้ยงไก่ ทีม่ รี วั้ รอบขอบชิด การฆ่าเชือ้ พาหนะและอุปกรณ์ ก่อนเข้าฟาร์ม เจ้าหน้าทีต่ อ้ งอาบน�ำ้ สระผม เปลีย่ น เสื้อผ้าที่สะอาด เปลี่ยนรองเท้าบู๊ทก่อนเข้าฟาร์ม เป็นต้น ที่ส�ำคัญ ในสภาวการณ์ปัจจุบันที่มีการ งดใช้ยาปฏิชีวนะในลักษณะเร่งการเจริญเติบโต และเน้นการเลี้ยงที่ยึดตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ ทีย่ กหลักอิสรภาพ 5 ประการ ในการปฏิบตั ติ อ่ สัตว์ ประกอบด้วย ความเป็นอิสระจากความหิวกระหาย (Freedom from hunger and thirst) อิสระจาก

ความไม่สบายกาย (Freedom from discomfort) อิสระจากความเจ็บปวดและโรค (Freedom from pain injury and disease) อิสระจากความกลัว และความทุกข์ทรมาน (Freedom from fear and distress) และอิสระในการแสดงพฤติกรรมตาม ธรรมชาติ (Freedom to express normal behavior) ไก่ ส ามารถแสดงพฤติ ก รรมตาม ธรรมชาติได้อย่างเต็มที่ ช่วยให้ไก่อยูอ่ ย่างสุขสบาย มีความเครียดลดลง ซึ่งส่งผลให้ไก่แข็งแรง ไม่ เจ็บป่วยง่าย จึงไม่จ�ำเป็นต้องใช้ยา สามารถให้ ผลผลิตได้ดี แม้ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ ด้ ว ยสถานการณ์ ป ั จ จุ บั น ที่ ไ ม่ มี ก ารใช้ ฮอร์โมนเร่งโตในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ จึง กล่าวได้วา่ การรับประทานเนือ้ ไก่นนั้ ไม่เป็นสาเหตุ ให้เด็กเจริญเติบโตไวกว่าปกติอย่างแน่นอน นอก จากนี้ เนื้อไก่ยังมีไขมันน้อย ดีต่อสุขภาพ แล้ว ยังมีรสชาติอร่อยอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ในการบริโภคสินค้าโปรตีน จากสัตว์นนั้ ผูบ้ ริโภคควรใส่ใจเลือกสินค้าเนือ้ สัตว์ ที่มีความปลอดภัย จากสถานที่จ�ำหน่ายที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ สามารถตรวจสอบย้อนกลับถึง แหล่งทีม่ าทีเ่ ชือ่ ถือได้ มีเครือ่ งหมายรับรอง มีการ ตรวจสอบในการกระบวนการผลิตตามมาตรฐาน การผลิตทีด่ ี และรับประทานอาหารทีผ่ า่ นการปรุง สุก ไม่ผา่ นขัน้ ตอนการเสริมแต่งด้วยวัตถุเคมีภณ ั ฑ์ ที่มีความสุ่มเสี่ยงมากเกินความเหมาะสม เพียง เท่านี้ ผู้บริโภคก็จะห่างไกลจากโรค ห่างไกลจาก สารตกค้างต่างๆ ท�ำให้สามารถบริโภคอาหารได้ อย่างมั่นใจ

35

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


F

Food Feed Fuel

ไก่ไทยยอดทะลัก “ญี่ปุ่น-จีน” รุมซื้อ อานิสงส์บราซิลซมพิษโควิด

โควิดพ่นพิษหนัก บราซิลผูส้ ง่ ออกไก่เบอร์หนึง่ ของโลกต้องสัง่ ปิดโรงเชือด  “ซีพีเอฟ” มั่นใจส้มหล่น ยอดส่งออกไก่ไทยครึ่งปีหลังสดใส สมาคมส่งออกไก่  ชี้ทิศทางส่งออกหลังบราซิลชะลอผลิตออร์เดอร์ญี่ปุ่น-จีนทะลักเข้าไทย ลุ้นยอด  ส่งออกทั้งปีเข้าเป้า 9.08 แสนตัน การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทั่วโลกยังมีแนวโน้มรุนแรง โดยเฉพาะใน บราซิล ซึ่งเป็นประเทศผู้ส่งออกไก่อันดับ 1 ปรากฏว่ามีประชาชนติดเชื้อโควิด-19 เป็นอันดับ 2 ของโลก

่ : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

36


F

Food Feed Fuel

ล่ า สุ ด ทางส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การค้ า ใน ต่างประเทศ ณ นครเซาเปาโล ประเทศบราซิล รายงานว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด-19 ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไก่ ในบราซิลอย่างมาก เนื่องจากถึงขณะนี้มีคนงาน ในโรงเชือด และบรรจุผลิตภัณฑ์ติดเชื้อ 2,399 คน ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ขณะเดียวกัน การใช้มาตรการเว้นระยะห่าง ทางสังคม (social distancing) ท�ำให้บราซิล ไม่สามารถขยายปริมาณการผลิตไก่ได้ กระทบ ต่อเนื่องถึงการบริโภค ขณะที่ราคาสินค้าทั้งใน ประเทศ และทีส่ ง่ ออกไปต่างประเทศยังปรับลดลง ด้วย มีการคาดการณ์วา่ ภาพรวมเศรษฐกิจบราซิล ไตรมาส 1 ขยายตัวลดลง 1.5% จากไตรมาสก่อน ส่วนไตรมาส 2 จะติดลบราว 10% ทัง้ นี้ บราซิลเป็นประเทศผูผ้ ลิตไก่รายใหญ่ อันดับ 1 ใน 3 ของโลก และเป็นผู้ส่งออกไก่ รายใหญ่อันดับ 1 ของโลก ในปี 2562 ที่ผ่านมา บราซิลผลิตไก่เนือ้ ปริมาณ 12.86 ล้านตัน จ�ำหน่าย เพื่อบริโภคในประเทศ 68% และส่งออก 32% หรือ 4.214 ล้านตัน มูลค่า 6,994 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ ตลาดส่งออกส�ำคัญ ได้แก่ ตลาดเอเชีย 37.53% ตะวันออกกลาง 34.39% และแอฟริกา 12.84% ซึ่งในช่วง 4 เดือนแรกปีนี้ (ม.ค.-เม.ย.) ยอดส่งออกไก่จากบราซิลเพิ่มขึ้น 5.1% เป็น 1.365 ล้านตัน เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ที่แล้ว ส่วนเดือนเมษายนมีการส่งออก 343,300 ตัน ลดลง 4.7% จากเดือนเมษายน 2562 มูลค่า ส่งออกอยู่ที่ 515.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 13.9% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

บราซิลซมพิษโควิดโอกาสไก่ไทย

นายประสิทธิ์ บุญดวงประเสริฐ ประธาน คณะผู้บริหาร บมจ.เจริญโภคภัณฑ์อาหาร หรือ ซีพเี อฟ เปิดเผยว่า กรณีโรงงานเชือดไก่ของบราซิล ประสบปัญหาเรื่องการระบาดโควิด-19 จะส่งผล กระทบต่อการผลิต ท�ำให้ผู้บริโภคอาจหันมาซื้อ ไก่จากประเทศผู้ส่งออกรายอื่นแทน เป็นโอกาส ในการส่งออกของอุตสาหกรรมไก่ส่งออกของไทย ไม่ใช่เฉพาะซีพีเอฟแต่ผู้ส่งออกไทยทุกราย ได้ ประโยชน์ เพราะที่ผ่านมาไทยเป็นผู้ส่งออกไก่ ไปป้อนตลาดโลกเป็นเบอร์ 2 รองจากบราซิล แต่ มีปริมาณการส่งออกห่างกันมาก โดยในแต่ละปี บราซิลส่งออกประมาณ 4 ล้านตัน ส่วนไทย ส่งออก 9 แสนตันเท่านัน้ และมีการแข่งขันส่งออก ไปยังตลาดต่างๆ เช่นเดียวกับไทย ไม่ว่าจะเป็น สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น “จากที่ติดตามสถานการณ์ บราซิลมีการ ติดเชือ้ โควิดเพิม่ ขึน้ แต่ละวันเยอะมาก มีแนวโน้ม ว่าผู้บริโภคส่วนหนึ่งอาจจะกังวล หันมาซื้อไก่จาก ผู ้ ส ่ ง ออกรายอื่ น ๆ แต่ ก็ ค งไม่ ถึ ง กั บ ท� ำ ให้ ย อด ส่งออกไก่ของไทยพุ่งขึ้นทันที ไทยซึ่งคอนโทรล การแพร่ระบาดได้ดี และที่ผ่านมาสามารถดูแล เรือ่ งความปลอดภัยได้เป็นทีน่ า่ พอใจ จึงต้องรีบคว้า โอกาสนี้ อย่างไรก็ตาม จุดหนึ่งที่เรายังต้องจับตา คือเรื่องค่าเงิน เพราะเงินบราซิลอ่อนค่า จึงยังมี ความได้เปรียบไทยระดับหนึ่ง”

37

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


F

Food Feed Fuel

ลุ้นยอดส่งออกเข้าเป้า 9 แสนตัน

ตลาดญี่ปุ่น-จีนขยายตัวเพิ่ม

นายคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ ผู้จัดการสมาคม ผู ้ ผ ลิ ต ไก่ เ พื่ อ ส่ ง ออกไทย เปิ ด เผยในท� ำ นอง เดียวกันว่า สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัส โควิด-19 ท�ำให้บราซิลมีปัญหาในการผลิต และ ส่งออกไก่ ประเด็นนี้ส่งผลดีต่อการส่งออกไก่ของ ไทย เพราะช่วงนีต้ ลาดจีน และญีป่ นุ่ กลับมาสัง่ ซือ้ ไก่จากไทยมากขึ้น ช่วง 4 เดือนแรกปีนี้ (ม.ค.เม.ย.) ภาพรวมการส่งออกไก่ขยายตัวดีมาก โดยเฉพาะตลาดญี่ปุ่น ตลาดอันดับ 1 ของ การส่งออกไก่ไทยส่งออกได้เพิ่มขึ้น ขณะที่ตลาด จีนก็เติบโตขึน้ ถึง 60% จากที่ก่อนหน้านี้ โรงงาน ของไทยได้รบั การรับรองมาตรฐานความปลอดภัย ให้ส่งออกไปจีนได้ 8 โรงงาน จึงสามารถส่งออก ได้ 60,000 ตัน จากเดิมทีเ่ คยท�ำได้เพียง 18,000 ตัน นอกจากนี้ ยังท�ำให้ราคาไก่ไทยปรับตัวดีขึ้น จาก กก. ละ 27-28 บาท เป็น 34-35 บาท ระดับ ใกล้เคียงกับช่วงก่อนการระบาดของโควิด

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

“ครึ่งปีหลังก็มีแนวโน้มว่ายอดส่งออกไก่ ไทยไปจีนจะขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก เพราะยังเหลือ โรงงานที่รอการรับรองอีก 6-7 โรงงาน ซึ่งคาดว่า จะได้รับการพิจารณาในช่วงครึ่งปีหลังนี้ น่าจะ ส่งผลด้านบวก ท�ำให้มีค�ำสั่งซื้อไก่จากไทยทั้งปี เพิ่มขึ้นเป็น 80,000-100,000 ตัน เป็นปีแรก ถื อ ว่ า เป็ น ตลาดใหม่ ที่ จ ะมาช่ ว ยชดเชยตลาด สหภาพยุโรปตลาดหลักที่ได้รับผลกระทบจาก ล็อกดาวน์หลังโควิด-19 ช่วยผลักดันภาพรวม การส่งออกไก่ทงั้ ปีได้ 908,000 ตัน ตามเป้าหมาย ส่วนปีหน้าต้องรอผลอังกฤษออกจากสหภาพยุโรป หรือ Brexit ในวันที่ 1 มกราคม 2564 ซึ่งอาจ จะท�ำให้โควตาไก่ไปยังสหภาพยุโรปเปลีย่ นแปลง” ทั้งนี้ ปัจจุบันไทยมีการเลี้ยงไก่ประมาณ 1,680 ล้านตัว เป็นการผลิตเพือ่ ขายภายในประเทศ 70% และส่งออก 30% ตลาดหลักคือญีป่ นุ่ 400,000 ตัน สหภาพยุโรป 300,000 ตัน ตะวันออกกลาง 70,000-80,000 ตัน และจีน 10,000-20,000 ตัน ซึ่งแต่ละตลาดจะเน้นการบริโภคชิ้นส่วนไก่คนละ ประเภท อาทิ ตลาดจีน นิยมตีนไก่ และปีก ตลาดญี่ปุ่น นิยมส่วนน่อง และสะโพก ตลาดอียู นิยมอกไก่ เป็นต้น

38


F

Food Feed Fuel

คนเลี้ยงหมู …

กับภาระที่น่าเห็นใจ

ราคาเนือ้ หมูหน้าเขียงทีป่ รับสูงขึน้ จนเป็นค�ำถามว่าเกิดขึน้ ได้อย่างไร ในเมือ่   คนเลีย้ งหมู ยืนยันหนักแน่นว่า ยังคงยืนหยัดให้ความร่วมมือกับกรมการค้าภายใน  ดูแลราคาหมูหน้าฟาร์มไม่ให้เกิน 80 บาทต่อกิโลกรัม มาโดยตลอด เพือ่ ไม่ให้ราคา  หมูหน้าเขียงที่ปลายทางขายเกินกิโลกรัมละ 160 บาท เป็นการคุ้มครองพี่น้อง  ประชาชนไทยให้บริโภคเนื้อหมูในราคาที่เป็นธรรม ยิง่ หาค�ำตอบก็ยงิ่ ท�ำให้รวู้ า่ ทีผ่ า่ นมาคนเลีย้ งหมูตอ้ งเจอกับอะไร และน่าเห็นใจ แค่ไหน อย่างที่ นายสมชาย ผสมทรัพย์ เจ้าของฟาร์มสุกร “พลวงทองฟาร์ม”  ต�ำบลพลวงทอง อ�ำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี ที่เลี้ยงหมูมาถึง 16 ปีฟาร์มเลี้ยงหมู ให้ความจริงในเรื่องหมูๆ ว่า สาเหตุที่ราคาเนื้อหมูปรับขึ้นนั้นเกิดจากหลายปัจจัย โดยนับตั้งแต่ปัญหาราคาหมูตกต�่ำเมื่อปี 2560 ต่อเนื่องมาถึงปัญหาโรค  แอฟริกันสไวน์ฟีเวอร์ หรือ ASF ในหมู ที่ระบาดในประเทศเพื่อนบ้าน ส่งผล ทางจิตวิทยาต่อเกษตรกรท�ำให้ผู้เลี้ยงหมูในระบบหายไปมากกว่า 20% จนมาถึง วิกฤตโควิด ท�ำให้ราคาหมูตกต�่ำอย่างหนัก กลายเป็นวิกฤตใหญ่ที่คนเลี้ยงหมู ต้องเผชิญ ท�ำให้ฟาร์มหมูกว่า 10% ต้องเลิกกิจการไปอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ปริมาณ หมูจึงลดลงไปอีก ขณะที่ความต้องการบริโภคเนื้อหมูของคนไทยที่เพิ่มขึ้น เป็นเพราะตลาด กลับมาฟื้นตัว การบริโภคของคนไทยดีขึ้น หลังจากที่รัฐบาลผ่อนคลายมาตรการ คุมเข้มโควิด-19 ผนวกกับเป็นช่วงที่โรงเรียนต่างๆ เปิดเทอม ท�ำให้ความต้องการ เนื้อหมูเพิ่มขึ้นในเวลาที่รวดเร็ว ่ : ปศุศาสตร์ นิวส์ วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

39

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


F

Food Feed Fuel

อย่างไรก็ตาม สมชายเชือ่ ว่า หมูจะมีราคา  แพงแค่ช่วงสั้นๆ และราคาจะปรับลดลงเรื่อยๆ  หลังจากผ่านช่วงนี้ไปอีกระยะหนึ่ง ทั้งหมดนี้ชี้ให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าเป็นผล มาจาก “กลไกตลาด” ที่เริ่มท�ำงาน จากอุปสงค์ และอุปทาน ความต้องการที่เพิ่มขึ้นอย่างฉับพลัน ทันใด และในความจริงแล้ว ราคาหมูของไทยถือว่า ถูกทีส่ ดุ ในภูมภิ าค เพราะแทบทุกประเทศในละแวก เพือ่ นบ้านเรานี้ ต่างได้รบั ผลกระทบจากโรค ASF ที่แพร่ระบาดทั้งใน จีน เวียดนาม กัมพูชา ลาว ท�ำให้ประเทศเหล่านี้ประสบปัญหาขาดแคลนหมู อย่างหนัก ราคาหมูจงึ ปรับสูงขึน้ เป็นประวัตกิ ารณ์ อย่างเช่น เนื้อหมูจีนราคาพุ่งไปถึง 300-350  บาทต่อกิโลกรัม เวียดนาม 250 บาทต่อกิโลกรัม  เมียนมาประเทศติดกับเรา เนือ้ หมูราคา 200 กว่า  บาทไปแล้ว ขณะที่ประเทศไทยยังคงสถานะปลอดโรค นีไ้ ว้ได้อย่างเข้มแข็ง ด้วยความร่วมมือของทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องที่ต่างระดมทุนทรัพย์กันเอง เพื่อ ป้องกันอุตสาหกรรมหมูของไทยเอาไว้ และปกป้อง ชาวไทยไม่ให้ประสบปัญหาหมูราคาแพงอย่างที่ หลายประเทศต้องเผชิญ

จะมีช่วงนี้ที่เห็นราคาหมูกระเตื้องขึ้น ส�ำคัญที่สุด คือเพิง่ มีครัง้ นีท้ ปี่ ระเทศไทยสามารถส่งออกหมูได้ เพราะก่อนนี้เรามีประเด็นเรื่องโรคในสุกรที่กลาย เป็นปัจจัยส�ำคัญทีห่ ลายประเทศใช้กดี กัน เพือ่ ไม่ให้ ไทยส่งออกหมูที่มีคุณภาพออกไปได้ แต่ในวันนี้ คนเลี้ยงหมูแสดงศักยภาพให้เห็นแล้วว่า สามารถ ป้องกันโรคส�ำคัญอย่าง ASF ได้เป็นอย่างดี จน กลายเป็นไข่แดงประเทศเดียวที่ปลอดจากโรคนี้ ได้ตลอดมา

ผลตอบแทนที่พวกเขาควรได้รับ จึงควร  จะเป็นการผลักดันให้เกิดเสถียรภาพราคาหมู  ให้พวกเขาสามารถเดินหน้าอาชีพเดียวนี้ไว้ ทั้ง  ปกป้ อ งอาชี พ ของพวกเขาเอง และปกป้ อ ง  ที่ส�ำคัญ ที่ผ่านมาเกษตรกรต้องแบกรับ  ผู้บริโภคดังที่ตั้งใจท�ำมาตลอดต่อไป ด้วยการ  ภาระขาดทุนสะสมมานานกว่า 3 ปี และต้องมี  ปล่ อ ยให้ ก ลไกตลาดท� ำ หน้ า ที่ ข องมั น อย่ า ง  ต้นทุนที่สูงขึ้นถึง 100-200 บาทต่อตัว จากการ สมบูรณ์ เพียงเท่านี้ก็สามารถแก้ปัญหาทั้งหมด  ด�ำเนินการตามมาตรการป้องกันโรค ASF เพิ่ง ได้แล้ว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

40




F

Food Feed Fuel

พาณิชย์ จ่อคุมราคาหมูหน้าฟาร์ม-เขียง

“ห้ามส่งออก” หากเอาไม่อยู่

กรมการค้าภายในแก้ปัญหาหมูแพง ท�ำข้อตกลงกับสมาคมผู้เลี้ยงสุกร  แห่งชาติ ขายหมูเป็นไม่เกินกิโลละ 80 บาท หมูหน้าเขียง เนือ้ แดง 150 เนือ้ สัน  160 เกินจากนี้ งัดไม้แข็งเสนอ กกร. คุมราคาสูงสุด หากยังเอาไม่อยู่ จะจ�ำกัด  การส่งออก จนถึงห้ามส่งออก พร้อมน�ำหมูราคาถูกขายผ่านแม็คโคร พาณิชย์  จังหวัด กิโลละ 130 บาท เตรียมเชือดตลาดขายแพงโชว์ หลังยังพบโขกราคา นายวิชัย โภชนกิจ อธิบดีกรมการค้าภายใน เปิดเผยว่า กรมฯ ได้หารือกับ สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ และห้างค้าปลีกรายใหญ่ เพื่อพิจารณามาตรการดูแล ราคาเนือ้ สุกร โดยได้มขี อ้ ตกลงกับสมาคมฯ จะจ�ำหน่ายสุกรมีชวี ติ ในราคากิโลกรัม  (กก.) ละ 80 บาท เพื่อให้ราคาหน้าเขียง หมูเนื้อแดง กก. ละ 150 บาท และ  เนื้อสัน กก. ละ 160 บาท แต่หากพบว่าราคาเกินไปจากที่ได้ตกลงกันไว้ จะใช้ มาตรการเข้มงวดขึน้ โดยจะเสนอคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ควบคุมราคาสูงสุดต่อไป “ถ้าการคุมราคาจ�ำหน่ายสูงสุด ทัง้ ราคาหมูเป็น กก. ละ 80 บาท หมูเนือ้ แดง กก. ละ 150 บาท และเนือ้ สันกก. ละ 160 บาท ไม่ได้ผล ก็จะมาดูเรือ่ งการส่งออก ระยะแรกจะจ�ำกัดการส่งออกไม่ให้เกินวันละ 5,000 ตัว จากตอนนี้ส่งออกวันละ 10,000 ตัว แล้วจะมาดูร่วมกันว่าจะให้ใครเป็นผู้ส่งออกได้บ้าง และถ้าปัญหา ยังไม่คลีค่ ลาย ก็จะใช้มาตรการรุนแรงสุด คือ การระงับการส่งออกชัว่ คราว จนกว่า สถานการณ์จะดีขึ้น” นายวิชัยกล่าว

่ : ปศุศาสตร์ นิวส์ วันอังคารที ่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

41

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


F

Food Feed Fuel

นายวิชัยกล่าวว่า ในด้านการดูแลผู้บริโภค กรมฯ ได้ร่วมมือ กับผู้ผลิต น�ำสุกรช�ำแหละกระจายผ่านห้างค้าปลีกสมัยใหม่ และส�ำนักงานพาณิชย์จงั หวัดทัว่ ประเทศ โดยจะจ�ำหน่าย หมูเนือ้ แดง กก. ละ 130 บาท เริม่ ทีห่ า้ งแม็คโคร วันที ่ 22 กรกฎาคม 2563 ทั่วประเทศ เพื่อช่วย ผู้บริโภคให้สามารถซื้อหมูราคาถูก ส่วนที่ ส�ำนักงานพาณิชย์จงั หวัด ก�ำลังอยูร่ ะหว่างการ ประสานงาน และจะมีจ�ำหน่ายในระยะต่อไป ทั้ ง นี้ กรมฯ ยั ง ได้ จั ด ส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ อ อกไป ตรวจสอบการจ�ำหน่ายเนื้อหมูตามตลาดต่างๆ โดย ปัจจุบันพบว่า ราคาจ�ำหน่ายเฉลี่ยอยู่ที่ 150-160  บาท ยกเว้นบางตลาดที่มีการจ�ำหน่ายในราคา สู ง กว่ า นี้ เช่ น ตลาดพรานนก กก. ละ 170 บาท ตลาด รามอินทรา กม. 2 กก.ละ 170 บาท และตลาดดาวคะนอง กก. ละ 170-175 บาท ซึ่งได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปตรวจสอบ และด�ำเนินการตามกฎหมายแล้ว ส�ำหรับสาเหตุที่ท�ำให้มีความต้องการหมูเพิ่มขึ้น มาจากการแพร่ระบาดของ โรคอหิวาต์แอฟริการะบาด (ASF) ท�ำให้ผลผลิตหมูในจีน เวียดนาม กัมพูชา และ สปป.ลาว เสียหาย จึงมีความต้องการน�ำเข้าเพิม่ ขึน้ และมีการสัง่ ซือ้ จากไทยเพิม่ ขึน้ ท�ำให้ยอดส่งออกเพิ่มจากวันละ 5,000-6,000 ตัว เป็น 10,000 ตัว และยังมี ความต้องการบริโภคจากการคลายล็อกดาวน์ และเปิดเทอม

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

42


M

Market Leader

กรมการค้าภายใน อย่าเดินหมากผิด ยามทัว่ โลกเจอวิกฤต ASF เป็นโอกาสของไทย อย่ากดราคาหมู ปล่อยให้เกษตรกรไทยได้ลืมตาอ้าปาก จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 รวมไปถึง  การระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกนั ในสุกร (African Swine  Fever หรือ ASF) ที่กระจายไปทั่วเอเชีย ส่งผลให้ราคาหมู  ในหลายประเทศเพิ่มขึ้น จากการที่หมูเริ่มขาดแคลน ถือเป็น  โอกาสทองของประเทศไทย ที่จะได้ส่งออกหมูไปต่างประเทศ เพิ่ม  เงินตราเข้าประเทศ และยังเป็นโอกาสในการสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร  ผูเ้ ลีย้ งสุกรของไทยให้หลุดพ้นจากวังวน “อาชีพเลีย้ งหมู เสีย 3 ปี ดี 1 ปี”  แต่กลับปรากฏเสียงคัดค้าน สกัดการส่งออกหมูไทยไปตลาดโลก แหล่งข่าวระดับสูงจากกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า เป็นที่ทราบ กันดีว่า ไทยเป็นประเทศที่มีการฟื้นตัวจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ได้ดีที่สุด ในอันดับที่ 1 ของเอเชีย และอันดับที่ 2 ของโลก และไทยยังสามารถคงสถานะ การเป็นประเทศที่ปลอดจาก ASF ส่งผลให้หมูไทยเป็นที่ต้องการของทุกประเทศ จึงถือเป็นโอกาสครั้งส�ำคัญของอุตสาหกรรมหมู และภาคปศุสัตว์ไทย ซึ่งกระทรวง พาณิชย์ พร้อมประสานความร่วมมืออย่างเต็มที่กับภาคเอกชน และเกษตรกร เพื่อร่วมมือกันผลักดันอุตสาหกรรมหมูไทยสู่ตลาดโลก และที่ส�ำคัญ จะเป็นโอกาส ครั้งส�ำคัญที่จะช่วยพลิกชีวิตเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูของไทย ทั้งนี้ ยังสอดคล้องกับความเห็นของสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ โดย น.สพ.  วิวัฒน์ พงษ์วิวัฒนชัย อุปนายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า ปัจจุบัน ราคาหมูในหลายประเทศเพิม่ ขึน้ ไม่วา่ จะเป็นทีจ่ นี หรือเวียดนาม ซึง่ เป็นผลมาจาก ความต้องการเพือ่ การบริโภค และน�ำเข้ายังมีตอ่ เนือ่ ง การทีร่ าคาหมูสง่ ออกเพิม่ ขึน้ ่ : ผู้จัดการออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

43

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


M

Market Leader

ถือเป็นโอกาส และสร้างรายได้ให้กับผู้เลี้ยง และ ผูส้ ง่ ออก ต้องให้โอกาสผูเ้ ลีย้ งได้รบั ประโยชน์จาก การที่หมูมีราคาสูงขึ้น ขณะที่  นายวิ ศิ ษ ฐ์ ลิ้ ม ลื อ ชา ประธาน กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย กล่าวว่า หากรัฐบาลจะใช้มาตรการ จ�ำกัดการส่งออกหมู เพื่อรักษาเสถียรภาพราคา ในประเทศ ก็ควรต้องพิจารณาด้วยว่า ส่วนทีเ่ หลือ จากการบริโภคภายในประเทศควรจะต้องเพิ่ม หรือขยายการส่งออกได้หรือไม่ เพราะในภาพของ อุตสาหกรรมต้องมองอีกแง่ว่า เราส่งออกหมู ได้มากขึ้นนั้น เพราะสินค้าเกษตรเรามีมาตรฐาน มากขึ้นเช่นกัน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

แหล่งข่าวจากวงการเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร เปิดเผยว่า นับจากปัญหาหมูลน้ ตลาดเมือ่ ปี 2560 ท�ำให้เกษตรกร และคนในวงการหมูตอ้ งพบปัญหา และอุปสรรคมากมาย เข้าสู่วังวนที่ว่า “อาชีพ เลี้ยงหมู เสีย 3 ปี ดี 1 ปี” ซึ่งหมายถึง ราคาหมู ตกต�ำ่ สามปี ราคาดีอยูแ่ ค่ปเี ดียว เกษตรกรผูเ้ ลีย้ ง หมู 200,000 ราย ต้องประสบปัญหาเดียวกันคือ ปัญหาราคาขึ้นลงตาม “วัฏจักรสุกร” หรือ “วงจร ราคาสุกร” (Hog Cycle) ทีเ่ ป็นภาพสะท้อนว่า การ เลี้ยงหมูเป็นอาชีพที่คนเลี้ยงมีรายได้ไม่แน่นอน เนื่องจากใช้ระยะเวลาเลี้ยงนาน มีต้นทุนสูง และ ในแต่ละช่วงเวลาคาดเดาราคาได้ยาก ท�ำให้ตอนที่ ขาดทุนเกษตรกรต้องขาดทุนอย่างหนัก วงการนี้

44


M

Market Leader

จึงต้องเป็นคนที่เลี้ยงมานาน และอาศัยประสบการณ์ที่มี มาแก้ไขปัญหาเพื่อให้ อยูร่ อด และปีทผี่ า่ นมา อุตสาหกรรมหมูยงิ่ ถูกท้าทายด้วยโรคแอฟริกนั สไวน์ฟเี วอร์ หรือ ASF ทีก่ ลายเป็นความกดดันให้คนเลีย้ งหมูตอ้ งท�ำทุกวิถที าง เพือ่ ป้องกันไม่ให้ โรคนีเ้ ข้ามาท�ำลายวงการหมูไทย และภาคผูป้ ลูกพืชเลีย้ งสัตว์ตลอดห่วงโซ่การผลิต ที่มีมูลค่าสูงถึง 2 แสนล้านบาท ถือว่าโชคดีที่ความพยายามของทุกภาคส่วน ทั้ง ทางภาครัฐ เอกชน และเกษตรกรทั่วประเทศ ที่ช่วยกันเฝ้าระวังและป้องกันโรคนี้ อย่างเข้มงวด ด้วยการปิดทุกความเสี่ยงจนท�ำให้ไทยครองอันดับ “ประเทศเดียว ในภูมิภาคนี้ที่ปลอดโรค ASF” สถานการณ์ปัจจุบันถือเป็นโอกาสทองของหมูไทย ขอให้ทุกฝ่ายเปิดใจกว้าง ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูไทย ก่อนที่คนเลี้ยงหมูต้องล้มหายตายจากไปอย่างที่ เป็นมา และต้องไม่ลมื ว่า เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งหมูมอี าชีพเดียว ไม่สามารถเปลีย่ นอาชีพ เป็นอย่างอื่นได้ แม้ต้องทนรับราคาตกต�่ำสามปีก็ต้องยอม เพราะทั้งชีวิตก็ท�ำอยู่ แค่อาชีพเดียวนี้ ขณะที่ผู้บริโภคเป็นกลุ่มคนที่มีทางเลือก สามารถเลือกบริโภค เนือ้ สัตว์ชนิดใดก็ได้ตามต้องการ ยิง่ ฤดูกาลนี้ มีอาหารธรรมชาติ และโปรตีนทดแทน ให้เลือกมากมาย ทั้งปลา ไข่ ไก่ ที่ล้วนราคาไม่แพงทั้งสิ้น หากสามารถคว้าโอกาสนี้ไว้ได้ ไม่เพียงช่วยให้คนเลี้ยงหมูทั่วประเทศกว่า 200,000 ราย ในจ�ำนวนนี้เป็นเกษตรกรรายย่อยมากถึง 90% หรือราว 180,000 ราย สามารถก้าวผ่านภาระขาดทุนสะสมตลอด 3 ปี ไปได้เท่านั้น ประโยชน์ยัง ต่อเนือ่ งถึงเกษตรกรผูป้ ลูกพืชอาหารสัตว์ ท�ำให้ราคาพืชผลกลับมาดีอกี ครัง้ ถือเป็น เรือ่ งทีค่ วรสนับสนุนให้หมูกลายเป็นกุญแจดอกส�ำคัญ ในการน�ำพาประเทศไปสูค่ วาม มั่งคั่ง

45

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


M สินค้าปศุสัตว์ ความหวังหลังโควิด-19

Market Leader

ขณะเดียวกัน สินค้าเกษตรของไทยได้รับ การยอมรับในด้านมาตรฐานการผลิต โดยเฉพาะ ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงหมู ที่พิสูจน์ถึงความ สามารถ และศักยภาพในการยกระดับมาตรฐาน การเลี้ยงและการป้องกันโรค จนท�ำให้ไทยกลาย เป็นประเทศเดียวที่ “ปลอดจาก ASF” โรคทีส่ ร้าง ความเสียหายให้แก่อุตสาหกรรมหมูทุกประเทศ ในภูมิภาค และวันนี้ก็ยังต้องเผชิญต่อปัญหานี้ ถ้วนหน้า ทั้งจีน เวียดนาม พม่า การที่ธนาคารแห่งประเทศไทยปรับลดการ คาดการณ์เศรษฐกิจไทย (จีดีพี) ปี 2563 ติดลบ 8.1% ต�่ำสุดเป็นประวัติการณ์ และหนักหนากว่า วิกฤตต้มย�ำกุ้ง รวมถึงคาดการณ์ผู้ว่างงานในภาค อุตสาหกรรม 8 ล้านคน ของสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นภาพสะท้อน ผลกระทบอย่างชัดเจนจากวิกฤตโควิด-19 วันนี้เห็นเพียงโอกาสเดียวเท่านั้น คือการ เร่งผลักดันการส่งออกสินค้าเพื่อน�ำเงินตราเข้า ประเทศ โดยเฉพาะสิ น ค้ า เกษตรปศุ สั ต ว์ ที่ มี ศักยภาพ และสามารถเป็นเรือธงน�ำเศรษฐกิจไทย หลังโควิด-19 ได้ไม่ยาก จากปัจจัยสนับสนุนทั้ง เรื่องมาตรฐานการป้องกันโควิด-19 ที่ไทยแสดง ให้ทั่วโลกเห็นแล้วว่า เป็นแนวหน้าในเรื่องนี้

แต่ไทยกลับประสบความส�ำเร็จในการสร้าง ปราการป้องกันโรคนี้ จนท�ำให้หมูไทย ได้ชื่อว่า เป็นหมูที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และปลอดโรค ทั้งหมดนี้ต้องยกเครดิตให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงทั้ง 2 แสนราย ที่พร้อมใจกันด�ำเนินทุกมาตรการ เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรค เพื่อคงสถานะ ปลอด ASF ไว้ ไม่เพียงแค่ปกป้องอาชีพเลี้ยง หมูของพวกเขาเท่านั้น แต่ยังเป็นการปกป้อง ผูบ้ ริโภคไม่ให้ได้รบั ความเดือดร้อน เหมือนอย่างที่ ทุกประเทศในภูมิภาคก�ำลังเผชิญอยู่ จากภาวะ ขาดแคลนหมูเพราะพิษของโรคนี้ จนราคาหมูปรับ สูงขึ้นหลายเท่าตัว

่ : ผู้จัดการออนไลน์ วันพุธที ่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

46


M

Market Leader

อย่างในจีน ที่ราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์ม ปรับขึน้ ไปถึง 141 บาทต่อกิโลกรัม เวียดนาม 109 บาท กัมพูชาราคา 97 บาท ขณะที่ราคาหมูไทย ยังอยูท่ ี่ 78 - 79 บาท เรียกได้วา่ “หมูไทยราคาถูก ทีส่ ดุ ในภูมภิ าค” ทัง้ ทีม่ มี าตรฐานการผลิตอยูร่ ะดับ แถวหน้า และต้องทุ่มเทกับการป้องกันโรคอย่าง สุดก�ำลัง แม้รู้ทั้งรู้ว่าเป็นเม็ดเงินที่ต้องจ่ายเพิ่ม เป็นต้นทุนทีต่ อ้ งแบกรับ แต่เกษตรกรทุกคนก็ยอม ขอเพียงป้องกันโรคนี้ให้ได้ จึ ง ไม่ น ่ า แปลกใจที่ ห มู ไ ทยจะกลายเป็ น ที่ต้องการของหลายประเทศ ทั้งจีน เวียดนาม สิงคโปร์ รวมถึงฮ่องกง ที่ระงับการน�ำเข้าหมูเป็น จากจี น ท� ำ ให้ ต ้ อ งหั น มาพึ่ ง พาการน� ำ เข้ า จาก ประเทศอื่นๆ แทน โดยเฉพาะหมูคุณภาพของ ไทย นี่จึงเป็น “โอกาสที่แท้จริง” ของอุตสาหกรรมหมูไทย เป็นโอกาสที่แทบไม่เคยมีมาก่อน เพราะก่อนนี้ การจะส่งออกหมูได้ ต้องผ่านด่าน เรื่องโรคในหมู ซึ่งถือเป็นอุปสรรคส�ำคัญ ต้องยอมรับว่าสินค้าปศุสัตว์ ถือเป็นความ หวั ง หลั ง วิ ก ฤตโควิ ด -19 และยั ง คงเห็ น โอกาส ในสินค้าเกษตรที่ยังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ทัว่ โลก ตราบใดทีค่ นยังต้องบริโภค อย่างหมูทคี่ วร สนับสนุนให้เป็นสินค้าเพื่อกอบกู้เศรษฐกิจไทย เพราะไม่เพียงแค่ช่วยคลายทุกข์ให้คนเลี้ยงหมู จากที่ต้องรับภาระขาดทุนมากว่า 3 ปีเท่านั้น แต่ ยังมีผลต่อเนื่องไปตลอดทั้งห่วงโซ่จนถึงเกษตร ผู้เพาะปลูกพืชอาหารสัตว์ที่เป็นวัตถุดิบภายใน ประเทศ ทั้งคนปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ชาวนา ที่จะได้ขายร�ำข้าว - ปลายข้าว ชาวไร่ผู้ปลูกมัน ส�ำปะหลัง ที่จะสามารถขายผลผลิตได้มากขึ้น ขายได้ราคาสูงขึ้น ได้ลืมตาอ้าปากได้อีกครั้ง

วันนี้ผลตอบแทนส�ำหรับความมุ่งมั่นของ คนเลีย้ งหมู จึงไม่ควรเป็นการถูกดึงเข้าดรามาเรือ่ ง เนื้อหมูราคาแพง ที่ทั้งผู้บริโภค คนขายหมูเขียง หรือแม้แต่คนค้าคนขายด้วยกันเอง พาทัวร์มาลง รุมชีว้ า่ เกษตรกรเป็นต้นเหตุ ทัง้ ๆ ทีเ่ กษตรกรยังยึด ราคาขายหมูเป็นไม่ให้เกิน 80 บาทต่อกิโลกรัม ตามที่ตกลงไว้กับกรมการค้าภายใน เพื่อไม่ให้ หมูหน้าเขียงขายเกิน 160 บาท เพราะไม่อยากให้ คนซื้อต้องแบกรับภาระค่าครองชีพซ�้ำเติม และแม้วันนี้ราคาจะปรับขึ้นก็เป็นเพียงช่วง สัน้ ๆ ตามกลไกตลาด จากดีมานด์ทเี่ พิม่ ขึน้ ทัว่ โลก สวนทางกั บ ซั พ พลายหมู ที่ ล ดลงจากภาวะโรค ที่ส�ำคัญ หมูไทยไม่ได้ราคาสูงไปกว่าประเทศอื่น ในภูมภิ าค และปริมาณหมูกม็ มี ากเพียงพอต่อการ บริโภค ไม่เคยต้องขาดแคลน ทั้งหมดนี้ เพราะ คนเลี้ยงหมูทุกคนต้องการรักษาอาชีพเดียวของ พวกเขาไว้ และต้องดูแลผู้บริโภคไม่ให้เดือดร้อน ไปพร้อมๆ กัน

47

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


M

Market Leader

แจงปม

‘หมูแพง’ ยันเป็นไปตามกลไกตลาด

เผยหมูไทยถูกสุดในภูมิภาค

เตร ียมจัดอีเว้นต์ขายตรงไม่ผ่านคนกลาง

นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า ขณะนีร้ าคาสุกรหน้าฟาร์มอยูท่ ี่ 78 - 79 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับราคาที่เกษตรกรทั่วประเทศยืนหยัดให้ความร่วมมือ กับกรมการค้าภายใน ดูแลราคาหน้าฟาร์มไม่เกิน 80 บาท ท�ำให้ ราคาขายหมูหน้าเขียงไม่เกิน 160 บาทต่อกิโลกรัม เป็นการดูแล ค่าครองชีพให้กับประชาชน โดยราคาเป็นไปตามกลไกตลาด จาก ความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น เหมือนกับทุกประเทศในภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ตาม ราคาหมูไทยยังคงถูกที่สุดในภูมิภาคนี้ ที่ส�ำคัญ เกษตรกรวอนขอความเห็นใจ เพราะมีอาชีพเดียว ไม่สามารถเปลีย่ น ไปท�ำอาชีพอื่นได้ ขณะที่ผู้บริโภคมีทางเลือกในการรับประทาน โปรตีนอื่นๆ ทดแทนได้ ทั้งไก่ ไข่ ปลา รวมถึงอาหารธรรมชาติ ที่ออกมามากในช่วงนี้ “การปรับเพิ่มขึ้นในช่วงสั้นๆ หลังจากหลายกิจการเริ่ม กลับมาด�ำเนินการ ประกอบกับโรงเรียนเปิดภาคเรียน แต่เกษตรกร ยังคงราคา 78 - 79 บาทต่อกิโลกรัม เพื่อให้เกษตรกรพออยู่ได้ โดยเพิ่งจะขายได้ราคานี้ หลังจากแบกรับภาระขาดทุนสะสมมาถึง 3 ปี จากภาวะหมูล้นตลาด และราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่สูงขึ้น เกษตรกรยืนราคานี้ไว้ไม่กระทบกับการใช้จ่ายของผู้บริโภคจน เกินไป ยืนยันว่าปริมาณหมูมีเพียงพอกับการบริโภคในประเทศ

่ : มติชนออนไลน์ วันพฤหัสที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

48


M

Market Leader

ผู้บริโภคไม่ต้องกังวล การปรับราคานี้สะท้อนกลไกตลาดที่แท้จริง นับว่าเป็นราคา ที่เหมาะสม นอกจากนี้ สมาคมฯ ได้ผนึกก�ำลังกับสมาชิก จัดกิจกรรมจ�ำหน่าย หมูสด ลดค่าครองชีพประชาชนทั่วไทย ส่งตรงจากฟาร์มถึงมือผู้บริโภค ไม่ผ่าน พ่อค้าคนกลาง น�ำร่องที่จังหวัดชลบุรีก่อนเป็นที่แรก ในวันที่ 21 กรกฎาคม และ ขายพร้อมกันทุกภูมิภาค วันที่ 7 สิงหาคม” นายสุรชัยกล่าว นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ กล่าวอีกว่า ที่ผ่านมามีความวิตกกังวล เรื่องโรค ASF ในสุกรที่ระบาดในหลายประเทศ เกษตรกรทุกคนต่างเข้าเลี้ยงสุกร อย่างระมัดระวัง พบว่า สุกรในระบบของไทยหายไปกว่า 20% จากเดิมในปี 2562 ไทยที่มีสุกรในระบบประมาณ 20,000,000 ตัว ที่ส�ำคัญเกษตรกรต้องแบกรับ ต้นทุนที่สูงขึ้น จากการเฝ้าระวังและป้องกัน ASF อย่างเข้มงวด ท�ำให้เกษตรกร มีค่าใช้จ่ายเพิ่มถึงตัวละ 100 บาท แต่ทุกคนยินดีด�ำเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้โรคนี้ มาท�ำลายอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร และเกษตรกรผู้เพาะปลูกในห่วงโซ่การผลิต ทั้งยังเป็นการปกป้องผู้บริโภคไม่ให้ต้องได้รับความเดือดร้อนเหมือนกับประเทศอื่น ในภูมิภาค

49

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


M

Market Leader

เอ้กบอร์ดปรับลดแม่ไก่ยืนกรง

ดันราคาไข่ไก่

รมว.เกษตรฯ เผยเอ้กบอร์ด มีมติปลดแม่ไก่ยืนกรงเร็วขึ้น ลดปริมาณการเลี้ยง เพื่อรักษา สมดุลผลผลิต กับความต้องการ บริโภค ขณะนี้ ตรึงราคาไข่ไก่ไว้ได้ ตั้งเป้าหมายราคารับซื้อ หน้าฟาร์มสูงขึ้น ตามนโยบาย ผู้บริโภคต้องไม่เดือดร้อน และเกษตรกรต้องอยู่ได้

นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประธานคณะกรรมการพั ฒ นานโยบายไก่ ไ ข่ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ (เอ้กบอร์ด) กล่าวแก่ผู้แทนสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ และสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ภาคใต้ ซึ่งเข้าพบเพื่อ ขอทราบนโยบายการแก้ปัญหาราคาไข่ไก่ว่า มอบ หมายให้กรมปศุสัตว์ปรับลดปริมาณไก่ไข่ยืนกรง เพื่อปรับสมดุลการผลิตไข่ไก่ภายในประเทศ จาก ปัจจุบันวันละ 42 ล้านฟองต่อวัน เหลือ 39 ล้าน ฟองต่อวัน เพื่อไม่ให้เกิดภาวะไข่ไก่ล้นตลาด ซึ่ง จากการด�ำเนินการมาเกือบ 1 เดือน ท�ำให้ราคา ซื้อขายไข่ไก่หน้าฟาร์มตรึงราคาอยู่ได้ขณะนี้ตาม ประกาศของสมาคมผู้เลี้ยง ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ นั้น ราคารับซื้อไข่คละอยู่ที่ฟองละ 2.40 บาท ทั้งนี้ ที่ผ่านมากรมปศุสัตว์ได้มีการประชุม หารือร่วมกับภาคเอกชนผูผ้ ลิตไก่ไข่ ประกอบด้วย สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ 3 สมาคม สหกรณ์ผู้เลี้ยง ไก่ไข่ 3 แห่ง และผู้ประกอบการเลี้ยงไก่ไข่พันธุ์ 16 ราย โดยที่ประชุมเห็นชอบให้ผู้เลี้ยงไก่ไข่ ยืนกรงทีม่ ขี นาดการเลีย้ งตัง้ แต่ 100,000 ตัวขึน้ ไป ปลดไก่ไข่ที่อายุ 75 สัปดาห์ จากเดิมที่ก�ำหนด ให้เลีย้ งได้ถงึ อายุ 80 สัปดาห์ เพือ่ ปรับลดก�ำลังการ ผลิตไข่ไก่ภายในประเทศในช่วงเศรษฐกิจชะลอตัว

่ : MCOT.net วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

50


M

Market Leader

และไม่มีการท่องเที่ยว เป้าหมายลดปริมาณไก่ไข่ ยืนกรง 3 ล้านตัว ด�ำเนินการแล้ว 2.1 ล้านตัว นอกจากนี้ ยังประสานกระทรวงพาณิชย์สนับสนุน การส่งออก โดยให้กลุ่มผู้ประกอบการเลี้ยงไก่ไข่ พันธุ์ 16 รายดังกล่าว ร่วมส่งออกไข่ไก่ตามสัดส่วน โควตาการเลีย้ งไก่พอ่ แม่พนั ธุเ์ พิม่ อีก 100 ล้านฟอง จากเดิมกระทรวงพาณิชย์สนับสนุนการผลักดัน การส่งออกไข่ไก่ 100 ล้านฟอง รวมทั้งหมด 200 ล้านฟองภายใน 6 เดือน เพือ่ เร่งระบายไข่ไก่ทสี่ ะสม ออกจากตลาดภายในประเทศ ผลการด�ำเนินการ ปัจจุบันมีการส่งออกไข่ไก่แล้ว 16.79 ล้านฟอง “สั่งกรมปศุสัตว์ประเมินสถานการณ์จาก ผลของมาตรการผลักดันการส่งออกไข่ไก่ และ ปรับลดปริมาณไก่ไข่ยนื กรงเป็นระยะ เพือ่ พิจารณา ปรับเปลี่ยนมาตรการให้มีความเหมาะสมตาม นโยบายของกระทรวงเกษตรฯ คือ ผู้บริโภคต้อง ไม่เดือดร้อนและเกษตรกรต้องอยูไ่ ด้” นายเฉลิมชัย กล่าว

นายสุเทพ สุวรรณรัตน์ นายกสมาคม ผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่ภาคใต้ กล่าวว่า ได้นำ� เกษตรกรผูเ้ ลีย้ ง ไก่ไข่เข้าขอบคุณ รมว.เกษตรฯ ทีช่ ว่ ยแก้ไขปัญหา ราคาไข่ไก่ตกต�่ำ เนื่องจากผลผลิตไข่ไก่ล้นตลาด ประมาณวันละ 3 ล้านฟองต่อวัน ซึ่งมาตรการ ปรับลดปริมาณไก่ไข่ยืนกรง เพื่อปรับสมดุลการ ผลิตไข่ไก่ภายในประเทศ รวมทั้งการขอความ ร่วมมือกระทรวงพาณิชย์สนับสนุนการส่งออกนัน้ ช่วยพยุงราคาไข่ไก่ไม่ให้ตกต�่ำลงไปกว่าฟองละ 2.40 บาทได้ หากด�ำเนินการต่อไปตามเป้าหมาย ที่ก�ำหนดไว้ จะท�ำให้ปริมาณแม่ไก่ยืนกรงลดลง ประกอบการส่งออกไข่ไก่เพิม่ ขึน้ ท�ำให้ภาวะไข่ไก่ ล้นตลาดคลี่คลาย ซึ่งคาดว่าจะท�ำให้ราคารับซื้อ หน้าฟาร์มปรับสูงขึน้ เป็นราคาทีเ่ กษตรกรรายย่อย ขายได้ไม่ต�่ำกว่าต้นทุนการผลิต

51

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


M

Market Leader

โควิด-ASF

ป่วนอุตสาหกรรมหมูโลก

โอกาสทอง “หมูไทย” ท่ามกลางการระบาดของโควิด-19 หลาย  ประเทศมีสัญญาณการระบาดระลอกที่ 2 ทั้งใน  สหรัฐฯ ยุโรปจีน และเกาหลีใต้ ขณะที่อุตสาห-  กรรมการผลิตเนื้อสัตว์ของผู้ผลิตยักษ์ใหญ่ของ  โลก ต้องถูกปิดเป็นการชั่วคราว หลังมีคนงาน  ติดเชื้อ และเสียชีวิต

ขณะที่อีกบริษัทผู้ผลิตเนื้อไก่ และเนื้อหมู ชั้นน�ำของโลก และของสหรัฐฯ ต้องปิดโรงงาน เช่นกัน เนื่องจากมีคนงานถึง 13% ของโรงงาน แปรรูปสัตว์ปีกใน Northwest Arkansas ติดเชื้อ โควิด รวมทัง้ ทีโ่ รงงานแปรรูปเนือ้ หมูในรัฐไอโอวา ที่มีผู้ป่วยติดเชื้อ และเสียชีวิตจากโควิด ซึ่งวันนี้ อย่างในประเทศผู้ผลิตเนื้อสัตว์อันดับ 1  ครอบครัวของพนักงาน 3 ราย ของบริษทั ทีเ่ สียชีวติ อย่างสหรัฐอเมริกาประเทศเดียว ต้องปิดโรง ได้ยื่นฟ้องบริษัท และผู้บริหาร โดยระบุว่า บริษัท ฆ่าสัตว์ และโรงงานแปรรูปไปเกือบ 100 แห่ง รู้ว่ามีโควิดระบาดอยู่ที่โรงงาน แต่ปิดบังพนักงาน ทัง้ โรงช�ำแหละหมู โรงช�ำแหละไก่ และโรงช�ำแหละ เพื่อให้ยังสามารถท�ำงานได้ต่อไป ข้ามฝัง่ มาทวีปยุโรป บริษทั แปรรูปเนือ้ สัตว์ วัว ส่งผลต่อปริมาณรวมของผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ในสหรัฐฯ ลดลงถึง 25% รายใหญ่ทสี่ ดุ ของเยอรมนี พบผูต้ ดิ เชือ้ โควิด 1,331 โดยเฉพาะบริษัทผู้ผลิตเนื้อหมูรายใหญ่ ราย ที่ท�ำงานในโรงฆ่าสัตว์ และแปรรูปเนื้อสัตว์ ของโลก ที่ต้องปิดโรงงานในรัฐไอโอวา เป็นการ ในเมืองกือเทอร์สโล รัฐนอร์ดไรน์-เวสท์ฟาเลิน ชั่วคราว หลังพบพนักงานติดเชื้อโควิด-19 เป็น ทางตะวั น ตกของเยอรมนี ซึ่ ง มี ก� ำ ลั ง การผลิ ต จ�ำนวนมาก โดยโรงงานแห่งนี้มีการช�ำแหละหมู เนือ้ สดและแช่แข็งราว 850 ตันต่อวัน มีการส่งออก ได้สงู สุดถึง 17,250 ตัวต่อวัน คิดเป็น 3.5% ของ ถึง 50% การพบผู้ติดเชื้อดังกล่าว ท�ำให้ทางการ เยอรมนี ต้ อ งตรวจสอบอุ ต สาหกรรมแปรรู ป ก�ำลังการผลิตในสหรัฐฯ เนื้อสัตว์รายอื่นๆ อย่างละเอียด

่ : ปศุศาสตร์ นิวส์ วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

52


M

Market Leader

ที่ส�ำคัญยังลุกลามไปถึงการที่จีน สั่งระงับ การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากโรงฆ่าสัตว์ โรงงานตัด แต่งเนื้อสัตว์ และห้องเย็นของบริษัทดังกล่าว ตั้ ง แต่ ก ลางเดื อ นมิ ถุ น ายน ขณะที่ จี น ซึ่ ง เป็ น ประเทศผู้บริโภคเนื้อสัตว์อันดับหนึ่งของโลก ใน ปี 2562 ที่ผ่านมาจีนบริโภคเนื้อหมูถึง 49 ล้าน ตัน และบริโภคเนื้อไก่ 13 ล้านตัน การประกาศ ห้ามน�ำเข้าเนือ้ หมูจากเยอรมนี รวมไปถึงการห้าม น�ำเข้าผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกจากสหรัฐฯ ย่อมกระทบ กับปริมาณเนื้อสัตว์ส�ำหรับผู้บริโภคชาวจีนอย่าง ไม่ต้องสงสัย

ขณะทีใ่ นเวียดนามเองก็ตอ้ งเผชิญกับ ASF ที่ระบาดเป็นระลอกที่สอง ท�ำให้ผลผลิตหมูใน เวียดนามลดลงอย่างมาก กระทรวงเกษตรและ การพัฒนาชนบท (MARD) ของเวียดนาม จึง อนุญาตให้นำ� เข้าหมูมชี วี ติ จากประเทศไทย ส�ำหรับ เลี้ยง และช�ำแหละเป็นครั้งแรก เพื่อแก้ไขปัญหา ราคาหมูที่เพิ่มสูงขึ้นในตลาดภายในประเทศ โดย หมูมีชีวิต 500 ตัวแรกจากไทยไปเวียดนามแล้ว เมื่อกลางเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา

การระบาดของ ASF ทั้งในจีน ฟิลิปปินส์  รัสเซีย และการกลับมาระบาดรอบใหม่ในมณฑล นอกจากนี้ ผลกระทบจากโรคแอฟริกัน  ยูนนานของจีน เวียดนาม และเมียนมา ส่งผลให้ สไวน์ฟีเวอร์ หรือ ASF ในหมู ที่ระบาดในจีน อุปทานหมูในภูมิภาคตึงตัวยิ่งขึ้น ขณะที่การผ่อน ก่อนหน้านี้ ท�ำให้จีนจ�ำเป็นต้องน�ำเข้าเนื้อสัตว์ คลายมาตรการล็อกดาวน์ของหลายประเทศ ช่วย จากประเทศอื่นมากขึ้น โดยเฉพาะจากประเทศ กระตุ้นการบริโภคเนื้อสัตว์ให้กลับมาเพิ่มขึ้น ทั้ง ข้างเคียงที่มีพรมแดนติดกัน อย่างเช่น เวียดนาม สองสถานการณ์ ผลักดันให้ราคาหมูมชี วี ติ ทัว่ โลก จึงคาดว่าผูป้ ระกอบการเลีย้ งหมูในเวียดนาม โดย และราคาหมูมีชีวิตในภูมิภาคกลับมาปรับตัวเพิ่ม เฉพาะในภาคเหนือ จะส่งออกหมูไปจีนมากขึ้น สูงขึ้นเกือบเท่าตัว ท�ำให้ราคาหมูเป็นเวียดนามปรับตัวสูงขึ้น

53

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


M

Market Leader

พบว่าราคาหมูมีชีวิตในจีนพุ่งขึ้นถึง 141 บาทต่อกิโลกรัม เวียดนาม ราคา  สูงถึง 109 บาทต่อกิโลกรัม กัมพูชาราคา 97 บาทต่อกิโลกรัม เมียนมา 81 บาท  ต่อกิโลกรัม ขณะทีป่ ระเทศไทยทีย่ งั คงสถานะปลอดโรค ASF จนถึงปัจจุบนั ราคาหมูเป็น ยังอยู่ที่ 70-78 บาทต่อกิโลกรัม ปริมาณการผลิตหมูยังคงเพียงพอกับการบริโภค ของคนไทย จนถึงขั้นเหลือเกินความต้องการในบางช่วง ไม่เคยมีปัญหาขาดแคลน ดังที่เกิดขึ้นกับแทบทุกประเทศในภูมิภาคนี้ และราคาหมูไทยยังถูกที่สุดด้วย การหยุดชะงักของอุปทานเนื้อสัตว์ในตลาดโลกจึงเป็นโอกาสทองที่ไทยต้อง รีบคว้า หลังจากหลายประเทศผ่อนคลายมาตรการ โดยเฉพาะผูบ้ ริโภคหลักของโลก อย่างจีน ที่เริ่มสั่งซื้อสินค้าเข้าประเทศแล้ว โดยเดือนเมษายน จีนท�ำสถิติน�ำเข้า เนื้อหมูมากถึง 400,000 ตัน หรือเพิ่มเกือบ 170% จากช่วงเดียวกันของปี 2562 หมูไทยทีม่ คี ณ ุ ภาพเป็นทีต่ อ้ งการ และถูกจับตามองจากทุกประเทศ จึงน่าจะ เป็นเรือธงน�ำพาเศรษฐกิจไทยให้ฟื้นหลังโควิดได้ไม่ยาก ขอเพียงความเข้าใจ และ การท�ำงานผลักดันอย่างจริงจังของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น เพราะหากหมูไทย โลดแล่นในตลาดโลกได้ เกษตรกรก็จะลืมตาอ้าปากได้หลังจากต้องเผชิญปัญหา ขาดทุนสะสมมาถึง 3 ปี ต่อเนื่องไปถึงเกษตรกรผู้เพาะปลูกพืชในห่วงโซ่ก็จะได้รับ ประโยชน์จากการขายผลผลิตเพื่อเป็นอาหารสัตว์ ช่วยหนุนราคาพืชผลเกษตรกร ให้พวกเขาต่อชีวิตได้หลังต้องทุกข์ระทมเพราะพิษโควิด เรียกว่า Win-Win กัน ทุกฝ่าย ทั้งประเทศชาติ และเกษตรกร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

54


สินค้ำ คุณภำพ สำหรับปศุสตั ว์ไทย      

ผลิตจำกเมล็ดถัว่ เหลื องเกรดอำหำรสัตว์ 100% อุดมด้วยกรดไขมันไม่อ่ ิมตัวซึ่งจำเป็ นต่อกำรเจริ ญเติบโตของสัตว์ ควบคุมกำรผลิตด้วยเทคโนโลยี และเครื่ องจักรที่ทนั สมัย โปรตีน ไม่ต่ ำกว่ำ 36% ไขมัน ไม่ต่ ำกว่ำ 18% เมทไธโอนี น มำกกว่ำ 5,000 ppm ไลซีน มำกกว่ำ 6 กรัม/100 กรัมโปรตีน

สินค้ำ Premium Grade รับรองมำตรฐำน GMP & HACCP

บริษทั ยูนีโกร อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด 120 หมู ่ 4 ตำบลสำมควำยเผื อก อำเภอเมื อง จังหวัดนครปฐม 73000 โทร. 0-3430-5101-2, 0-3439-5209 แฟกซ์ 0-3430-5103

www.unigrointer.com,

e-mail : unigro_inter@hotmail.com



M

Market Leader

‘เฉลิมชัย’ สั่งลุย ดันกุง ้ แช่แข็งไทย ไปตลาดจีนเพิ่ม ใช้โอกาสระงับน�ำเข้า จากเอกวาดอร์หลังเจอเชื้อโควิด-19

นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ส�ำหรับการให้ความช่วยเหลือสนับสนุนเกษตรกร และผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมกุ้ง ของประเทศไทย โดยเฉพาะจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ หรือโควิด-19 จนถึงขณะนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยังด�ำเนินการ อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งก�ำหนดเป็นนโยบายส�ำคัญ มอบหมายให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ไปเร่งด�ำเนินการ โดยเฉพาะการสนับสนุนด้านการส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ และ จากกรณีที่ได้มีรายงานข่าวว่า ประเทศจีนได้ตรวจพบเชื้อโควิด-19 ติดอยู่บนบรรจุภัณฑ์ และผนังด้านในของตู้บรรจุกุ้งแช่แข็งที่น�ำเข้ามาจากประเทศเอกวาดอร์ อีกทั้งส�ำนักงาน ศุลกากรของจีน ได้ประกาศผ่านทางเว็บไซต์อย่างเป็นทางการว่า จะด�ำเนินมาตรการระงับ การน�ำเข้ากุ้งแช่แข็ง รวมถึงเนื้อสัตว์จากอีก 23 บริษัทด้วย ตนมองว่าเป็นปัจจัยบวก ในการสร้างโอกาสให้ประเทศไทยเพื่อส่งกุ้งแช่แข็งไปทดแทน เพราะในเดือนมีนาคม ที่ผ่านมา จีนมีการน�ำเข้ากุ้งแช่แข็งจากเอกวาดอร์ถึง 30,000 ตัน ดังนั้น จึงมอบหมาย และก�ำชับให้กรมประมงได้ด�ำเนินการอย่างเร่งด่วนในการประสานงานกับทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อด�ำเนินการเจรจาเพื่อส่งกุ้งแช่แข็งเข้าไปยังประเทศจีนเพิ่มมากขึ้น “ไทยคือประเทศผูผ้ ลิตและส่งออกกุง้ รายใหญ่ของโลกทีม่ ศี กั ยภาพและความพร้อม โดยเฉพาะด้านการผลิตที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสากล อีกทั้งยังถือว่าเป็นประเทศผู้ผลิต อาหารที่มีการควบคุมการระบาดของเชื้อโควิด-19 ได้ดี ท�ำให้มีความเสี่ยงในเรื่องของการ พบการติดเชื้อโควิด-19 น้อยมาก จึงมั่นใจว่า จะสามารถผลักดันให้เกิดการส่งออกไปยัง

่ : มติชนออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

55

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


M

Market Leader

จีนเพิม่ ขึน้ ได้อย่างแน่นอน และน�ำมาซึง่ ประโยชน์ แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกุ้ง อันเป็น เป้าหมายส�ำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ ไ ด้ ทุ ่ ม เทด� ำ เนิ น การมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง” นาย เฉลิมชัยกล่าว ด้านนายมีศกั ดิ์ ภักดีคง อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับประเทศคู่ค้า ต่างๆ ที่น�ำเข้ากุ้งแช่แข็งจากประเทศไทย ถึงการ เป็นประเทศที่สามารถควบคุมการระบาดของเชื้อ โควิ ด -19 ได้ ใ นระดั บ ดี ดั ง นั้ น  กรมประมงจึ ง ก� ำ หนดมาตรการเพิ่ ม เติ ม จากมาตรการเดิ ม ที่ ปฏิบัติอยู่แล้ว คือ การก�ำหนดให้ผู้ส่งออกต้องมี ใบรับรองสุขอนามัย หรือ Health certificate ก�ำกับสินค้าประกอบการส่งออกกุ้งแช่แข็ง ถือว่า เป็นโครงการน�ำร่อง ก่อนขยายผลด�ำเนินการ ในสิ น ค้ า สั ต ว์ น�้ ำ ทุ ก ประเภท ขณะนี้  ได้ มี ก าร ประชุมสร้างความเข้าใจร่วมกับผู้ส่งออก และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงสาธารณสุข เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่ง ทุกฝ่ายได้เห็นชอบ และยินดีที่จะร่วมด�ำเนินการ เพราะจะเป็นใบรับรองให้ประเทศคู่ค้าได้รับทราบ ว่า ตลอดห่วงโซ่การผลิตในอุตสาหกรรมสัตว์น�้ำ ของประเทศไทยนั้ น มี ค วามปลอดภั ย ด้ ว ย โปรแกรมการตรวจสอบที่เข้มข้นเพื่อป้องกันการ ปนเปื ้ อ นต่ า งๆ รวมถึ ง เชื้ อ โควิ ด -19 ท� ำ ให้ ไ ด้ สินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ ได้มาตรฐานสากล ประเทศผูค้ า้ เกิดความมัน่ ใจในการสัง่ ซือ้ สินค้าจากประเทศไทย และกรณีของประเทศจีนนั้น กรมประมง ก็มั่นใจ ว่า จะสามารถส่งกุง้ แช่แข็งได้เพิม่ ขึน้ อย่างแน่นอน เมื่ อ พิ จ ารณาจากมาตรฐานเพื่ อ การส่ ง ออกทั้ ง ระบบแล้ว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

นางสุทธินี ลิ้มธรรมมหิศร ผู้อ�ำนวยการ กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่ง กรมประมง กล่าวเพิ่มเติมว่า ส�ำหรับพื้นที่การ เลี้ยงกุ้งในปัจจุบันมีทั้งสิ้น 316,787 ไร่ โดยเป็น ฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลตามมาตรฐาน GAP (Good Aquaculture Practice) จ�ำนวน 9,239 ฟาร์ม ปริ ม าณผลผลิ ต กุ ้ ง ของปี 2563 คาดว่ า อยู ่ ที่ ประมาณ 230,200 ตัน โดยในช่วงเดือนมกราคม ถึงพฤษภาคม มีปริมาณผลผลิตรวมอยูท่ ี่ 105,200 ตัน และในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคม ทีจ่ ะถึงนี้ คาดว่าจะมีผลผลิตรวมประมาณ 125,000 ตัน โดยแบ่งเป็น เดือนมิถนุ ายน มีผลผลิตประมาณ 15,000 ตัน เดือนกรกฎาคม มีผลผลิตประมาณ 20,000 ตัน เดือนสิงหาคม มีผลผลิตประมาณ 17,000 ตัน เดือนกันยายน มีผลผลิตประมาณ 20,000 ตัน เดือนตุลาคม มีผลผลิตประมาณ 13,000 ตัน เดือนพฤศจิกายน มีผลผลิตประมาณ 22,000 ตัน และเดือนธันวาคม มีผลผลิตประมาณ 20,000 ตัน “ทัง้ นี้ ประเทศจีนเป็น 1 ใน 5 ประเทศคูค่ า้ ที่มีการน�ำเข้ากุ้งจากประเทศไทยมากที่สุด ซึ่ง ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ประเทศใน อาเซียน และออสเตรเลีย โดยในปี 2563 ตัวเลข จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม ประเทศไทยสามารถ ส่งกุง้ ไปยังประเทศจีนแล้วจ�ำนวน 10,362.37 ตัน คิดเป็นมูลค่า 2,956.33 ล้านบาท” นางสุทธินี กล่าว

56


A

Around the World

กรมปศุสต ั ว์ ชูสวัสดิภาพสัตว์

เปิดรับรองมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่

แบบไม่ใช้กรง (Cage free)

กรมปศุสัตว์ ยกระดับสวัสดิภาพสัตว์ในฟาร์มไก่ไข่ เตรียมเปิดขอบข่าย การรับรองใหม่ส�ำหรับมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่แบบไม่ใช้กรง (Cage free) ซึ่งเป็น รูปแบบการเลีย้ งไก่ไข่ทสี่ อดคล้องกับความต้องการของผูบ้ ริโภคในปัจจุบนั ทีส่ นใจ หลักสวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare) ภายในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยว่ากรมปศุสัตว์ ในฐานะเป็นผู้ควบคุม ก�ำกับ ดูแลการเลี้ยงไก่ไข่ในประเทศ พร้อมเปิดขอบข่าย การรับรองมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่แบบไม่ใช้กรง (Cage free) ที่เป็นการต่อยอดจาก มาตรฐานฟาร์ม (GAP) ส�ำหรับผู้ประกอบการ และเกษตรกรที่สนใจ เพื่อเป็นการ สนับสนุนการพัฒนาสินค้าปศุสัตว์ทางเลือกส�ำหรับผู้บริโภค โดยไข่ไก่จากแม่ไก่ ที่เลี้ยงแบบไม่ใช้กรง หรือ Cage free egg นั้น เน้นการผลิตโดยค�ำนึงถึงหลัก

่ : ไทยแลนด์พลัส วันพุธที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ทีมา

57

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


A

Around the World

สวัสดิภาพสัตว์ (animal welfare) เลีย้ งไก่ไข่ในแบบ นอกกรง ท�ำให้ไก่สามารถคุย้ เขีย่ ไซร้ขน ท�ำความ สะอาดร่างกาย และเกาะคอน ซึ่งเป็นพฤติกรรม ตามธรรมชาติ ไ ด้ ส ่ ง ผลให้ ไ ก่ ไ ข่ อ ยู ่ ส บาย ลด ความเครียด มีสุขภาพที่แข็งแรง ลดความจ�ำเป็น ในการใช้ยาปฎิชีวนะหรือสารเคมีอื่นๆ ภายใน ฟาร์ม จึงเป็นทางเลือกให้แก่ผู้บริโภครุ่นใหม่ที่ ค�ำนึงถึงสวัสดิภาพของสัตว์ นอกจากนี ้ การรับรอง การผลิตไข่ไก่ cage free ดังกล่าวยังเป็นการริเริม่ ยกระดั บ มาตรฐานการผลิ ต ให้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวโน้มความต้องการของตลาดโลกในอนาคต เนื่ อ งจากข้ อ มู ล การบริ โ ภคไข่ ไ ก่ ใ นตลาดกลุ ่ ม สหภาพยุโรป พบว่าผู้บริโภคให้ความสนใจไข่ไก่ จากระบบ cage free โดยมีมูลค่ากว่า 50,000 ล้านบาท ในปี 2560 และขณะนีใ้ นหลายประเทศ ในสหภาพยุโรป สวิตเซอร์แลนด์ และออสเตรเลีย ฯลฯ ได้มีการสนับสนุนให้เลี้ยงแม่ไก่ไข่แบบไม่ใช้ กรง จึงมีแนวโน้มว่าความต้องการไข่ไก่ cage free จะยิ่งเพิ่มสูงขึ้นอีก

ส�ำหรับในประเทศไทย ในปัจจุบันเริ่มมี ผู้ประกอบการบางราย เช่น เทสโก้ โลตัส หรือ ผูน้ ำ� ร้านอาหารฟาสฟูดส์แม็คโดนัลล์ เป็นรายแรกๆ ที่ให้ความสนใจในการใช้ไข่ไก่ cage free โดย ประกาศว่าในอนาคตสินค้าไข่ไก่ทกุ ฟองทีจ่ ำ� หน่าย หรือใช้เป็นวัตถุดิบจะต้องมาจากฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ แบบไม่ใช้กรง (Cage Free) เท่านัน้ แสดงให้เห็นถึง ความมุ่งมั่นในการยกระดับมาตรฐานสวัสดิภาพ สัตว์ในประเทศไทยให้สอดคล้องกับแนวโน้มของ ตลาดโลก ปัจจุบนั มีผปู้ ระกอบการฟาร์มไก่ไข่ของ เครือบริษัทต่างๆ รวมถึงเกษตรกรรายย่อย ให้ ความสนใจปรับการเลี้ยงให้เข้าสู่มาตรฐานนี้แล้ว หลายราย ซึ่งผู้ประกอบการสามารถขอข้อมูล การรับรองได้ทกี่ ลุม่ รับรองด้านการปศุสตั ว์ ส�ำนัก  พัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสตั ว์  โทรศัพท์ 02-653-4444 ต่อ 3133 ทั้งนี้ หากผู้บริโภคสนใจ สามารถเลือกซื้อ ไข่ไก่ Cage Free ได้ตามสถานที่จ�ำหน่ายไข่ไก่ใน ห้างสรรพสินค้า หรือสถานทีจ่ ำ� หน่ายไข่สดปศุสตั ว์ OK เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า ไข่ไก่ทกุ ฟองมีมาตรฐานความ ปลอดภัย และตรวจสอบย้อนกลับได้ ข้อมูลโดย : กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

58


A

Around the World

ปศุสัตว์ย้�ำหมูไทยปลอดภัย

ชี ้ เชื้อ G4 พบเฉพาะในจีน กรมปศุสัตว์ เผยการผลิตหมูไทยมีมาตรฐานอาหารปลอดภัยในระดับสูง ย�้ำไม่เคยพบเชื้อ  G4 EA H1N1 ทีเ่ กิดในประเทศจีน เคลียร์ชดั ค�ำว่า “ไข้หวัดหมู” ไม่มคี วามเกีย่ วข้องกับใดๆ กับหมู นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสตั ว์ เปิดเผยถึงกรณีทนี่ กั วิทยาศาสตร์คน้ พบร่องรอย การติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ในจีน ที่ระบุว่าเป็นไข้หวัดหมู มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการ ว่า G4 EA H1N1 และผู้เชี่ยวชาญท�ำการศึกษาดังกล่าว ย�้ำว่า สถานการณ์ของไวรัสชนิดนี้ ยังไม่น่า วิตกมากนัก โดยรายงานการตรวจเชื้ออย่างต่อเนื่องในประเทศไทยพบว่า “ไทยยังไม่เคยพบเชื้อ  ดังกล่าว” ทีส่ ำ� คัญ การผลิตเนือ้ สัตว์ของไทย ได้มาตรฐานสากล และมีความปลอดภัยในอาหารระดับสูง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และปัจจุบันไทยยังถือเป็นประเทศ เดียวในภูมิภาค ที่สามารถป้องกันโรค ASF ในสุกรได้ ขอให้ชาวไทยอย่าตื่นตระหนกกับข่าวดังกล่าว “จากการเฝ้าระวัง และติดตามการระบาดของโรคในภาคปศุสัตว์มาอย่างต่อเนื่อง และมีการ สุม่ ตรวจหาเชือ้ ในสัตว์มาโดยตลอด ยังไม่พบเชือ้ G4 ดังกล่าวในหมูไทย ทีส่ ำ� คัญการระบุวา่ H1N1 เป็น ไข้หวัดหมูก็เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากค�ำว่าไข้หวัดหมูนั้น ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับหมูแม้แต่น้อย แต่ค�ำนี้เป็นค�ำที่องค์การอนามัยโลก หรือ WHO ใช้เรียกไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A H1N1 ที่มี การระบาดเมือ่ ปี 2009 และต่อมา WHO ได้เปลีย่ นชือ่ ให้ถกู ต้องดังกล่าวแล้ว” อธิบดีกรมปศุสตั ว์กล่าว อธิบดีกรมปศุสัตว์ ให้ค�ำแนะน�ำในการเลือกซื้อสินค้าปศุสัตว์ว่า ผู้บริโภคควรซื้อจากผู้ผลิต มาตรฐาน สังเกตสัญลักษณ์ “ปศุสัตว์ OK” เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภค ในการเลือกซื้อเนื้อสัตว์ ทีส่ ามารถตรวจสอบย้อนกลับได้จากฟาร์มถึงร้านจ�ำหน่าย และประชาชนสามารถติดตามความเคลือ่ นไหว เกี่ยวกับภาคปศุสัตว์ หรือข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ “DLD 4.0” ได้ตลอดเวลา หรือสอบถามข้อสงสัยด้านโรคสัตว์ได้ที่ส�ำนักควบคุม ป้องกันและบ�ำบัดโรคสัตว์ (สคบ.) กรมปศุสัตว์

่ : เกษตรโฟกัสนิวส์.คอม วันพฤหัสที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

59

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


A

Around the World

ผู้เลี้ยงกุ้งไทยเพิ่มมาตรการป้องกันโควิดเข้มข้น

ผลิตกุ้งสะอาด ปลอดภัย

นายสมชาย ฤกษ์ โภคี

นายกสมาคมผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไทย

เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ ไทย ได้ยดึ มัน่ และปฏิบตั ใิ นระบบการเลีย้ งกุง้ ทีม่ ี  ความปลอดภัยทางชีวภาพ หรือระบบไบโอซีเคียวริตี้ (Biosecurity System)  ซึง่ เป็นระบบทีม่ กี ารสกัดกัน้ โรคไม่ให้เข้าสูฟ่ าร์ม ทัง้ ทางพืน้ ดิน ทางน�ำ ้ และทาง  อากาศ มาอย่างเข้มแข็ง และยาวนาน แม้ขณะทีโ่ รคโควิด-19 ก�ำลังระบาด  ทั่วโลก ก็ไม่ได้ลด - ละการป้องกันแม้แต่น้อย ตรงกันข้าม กลับเพิ่มเติม  มาตรการป้องกันให้เข้มข้นขึ้นอีกด้วย ทั้งนี้ ต้องขอชื่นชมชมรมผู้เลี้ยงกุ้ง  สุราษฎร์ธานี และสมาคมผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไทย ที่ได้ออกมาให้ค�ำแนะน�ำ  มาตรการป้องกันผู้เลี้ยงกุ้ง และฟาร์มเลี้ยงกุ้งให้ปลอดภัย ปราศจากการ  ปนเปื้อนโรคโควิด-19 อันจะส่งผลให้กุ้งไทยสะอาด ปลอดภัย และเป็นที่  ยอมรับของผู้บริโภคทั่วโลกเพิ่มมากขึ้น ดังแสดงในรูปที่ 1 ขอน�ำแนวทางปฏิบตั ิ และความปรารถนาดีของผูน้ ำ� ชมรมฯ และสมาคมฯ ทั้ง 2 ท่าน มาให้ทุกท่านทราบ ดังนี้

นายชัยภัทร ประเสริฐมรรค

ประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี

นายสมชาย ฤกษ์โภคี นายกสมาคมผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไทย กล่าวว่า “การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ที่ท�ำให้เกิดโรคโควิด-19 ไม่เพียงส่งผลกระทบโดยตรงต่อการใช้ชีวิตของคนทั่วโลก และเศรษฐกิจทั้ง ระบบ แต่ประเทศทั่วโลกออกมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส จึงท�ำให้ความเป็นอยู่ และการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์นั้นเปลี่ยนไป ประชาชน กักตัวเองอยู่ที่บ้าน และงดการเดินทางเท่าที่จ�ำเป็น เพื่อลดการแพร่ระบาด ของเชื้อ ส่งผลท�ำให้ธุรกิจค้าปลีก ร้านอาหาร และบริการต่างๆ ก็ต้องหยุด ชะงักลง สินค้าอุปโภคบริโภคต้องมีการปรับตัวในการค้าขาย

่ : วารสารข่าวกุ้ง ปี ที่ 32 ฉบับที ่ 382 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

60


A

Around the World รูปที่ 1 การปฏิบัติตัวขณะอยู่ในฟาร์มเลี้ยงกุ้ง

สภาวะเหตุการณ์เช่นนี้ สิ่งที่คนเราจะค�ำนึงถึง มากที่สุดก็คือความเป็นอยู่ และอาหารที่สะอาด ปลอดภัย

การจับกุ้งที่ฟาร์ม/แพจับ

โดยเฉพาะเรื่องอาหาร ซึ่งเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น ของการด�ำรงชีวิต เราเป็นส่วนหนึ่งของผู้ผลิต อาหารเพือ่ เลีย้ งประชากรโลก ควรจะต้องตระหนัก เรือ่ งความสะอาด และความปลอดภัยในการผลิต ตั้งแต่ต้นทางของการผลิตอาหาร จนถึงผู้บริโภค ขบวนการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ควรเริ่มจาก ฟาร์มเลี้ยง จากแพ จากพ่อค้าคนกลางตลอดจน ถึงโรงงานแปรรูป บริโภคภายใน และส่งออก ผู ้ เ ลี้ ย งเองต้ อ งมี ม าตรการการจั ด การ ภายในฟาร์มให้มีความปลอดภัย ความเป็นอยู่ และการด�ำเนินงานของฟาร์มตามหลักการสากล ตลอดจนกระทัง่ แพทีม่ าจับกุง้ จะต้องมีการป้องกัน อย่างมีระบบ ขบวนการการขนส่ง จนถึงโรงงาน แปรรูป ผมเชือ่ ว่าโรงงานแต่ละโรงงานมีระบบ และ ระเบียบในการจัดการอย่างเข้มงวดอยูแ่ ล้ว ทุกภาค ส่วนต้องช่วยกัน เพื่อที่จะท�ำให้อาหารที่เราผลิต ออกไปสู่ผู้บริโภคได้อย่างปลอดภัย เกิดความ มั่ น ใจในขบวนการผลิ ต อาหารทุ ก ขั้ น ตอน ใน

พวกเราจะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ จ ะท� ำ ให้ ชี วิ ต มนุษย์ทั้งโลกนี้ด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข และประเทศไทยเป็นประเทศเล็กๆ แต่สามารถ ท�ำอะไรหลายๆ เรื่องที่ประสบความส�ำเร็จ โดย เฉพาะเรื่องการควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัสได้ดีระดับต้นๆ ของโลก และอีกด้าน เรื่อง การผลิตอาหาร เราก็ควรจะต้องช่วยกันท�ำให้ ประชากรโลกรับรู้ว่า ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิต อาหารที่มีคุณภาพปลอดภัย เป็นประเทศที่ได้ ชื่ อ ว่ า “Kitchen of The World” หรื อ เป็ น ครัวโลกที่ปลอดภัย” นายชัยภัทร ประเสริฐมรรค ประธานชมรม ผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี ให้ความเห็นว่า “โครงการ ป้องกันฟาร์มเลี้ยงกุ้งให้ปลอดเชื้อโควิด-19 และ เพือ่ ภาพลักษณ์ของอุตสาหกรรมกุง้ ไทยในขัน้ ตอน การจับ การคัดกุง้ นัน้ ชมรมฯ เล็งเห็นว่า สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชือ้ โควิด-19 เป็นปัญหาส�ำหรับ ทุกสาขาอาชีพ ในส่วนของผูเ้ ลีย้ งกุง้ ก็มคี วามกังวล ต่างๆ นานา เช่น กลัวราคาตกต�่ำ การส่งออกจะ มีปญ ั หา ห้องเย็นเกิดการติดเชือ้ ถูกสัง่ ปิด จะขาย กุ้งไม่ได้ ผู้เลี้ยงมีความกังวลมากในสถานการณ์ เกิดไวรัสโควิดระบาด ช่วงแรกๆ มีฟาร์มไม่น้อย คิดจะหยุด หรือลดปริมาณการเลีย้ งลงร้อยละ 50 จึงเป็นที่มาให้ชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี ต้อง ท�ำหน้าที่ประสานงานห้องเย็น ให้มาชี้แจงกับ ผูเ้ ลีย้ งว่า ห้องเย็นมีมาตรการจัดการป้องกันอย่าง เข้มงวด และเข้มข้น วางใจได้ ผู้เลี้ยงจึงลดความ กังวลในส่วนนี้ไป

61

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


A

Around the World

ส่วนเรื่องการตลาด ทางห้องเย็นชี้แจงถึงแนวทางสดใสจะเป็นโอกาสดี มากกว่า เพราะประเทศผู้บริโภคสนใจจะเจรจากับเรามากขึ้น เพราะสถานการณ์ ของไทยมีแนวโน้มดีกว่าประเทศคู่แข่ง ส่วนเรื่องคุณภาพ กุ้งไทยก็ดีกว่าเป็น ทุนเดิม ท�ำให้ผเู้ ลีย้ งเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี คลายกังวลไปได้ เมือ่ ผูเ้ ลีย้ งคลายกังวล เรื่องการขาย ก็ช่วยลดปัญหาไปได้เปราะหนึ่ง การด�ำเนินการเลี้ยงกุ้งจึงมีการเลี้ยง กันตามปกติ ในส่วนของผู้เลี้ยงกุ้ง ทางชมรมฯ เห็นว่า ก็ต้องมีมาตรการป้องกันเชื้อ โควิด-19 เข้าฟาร์มด้วยเช่นกัน ทั้งขบวนการเลี้ยง รวมถึงขั้นตอนการจับ จึงได้ สื่อสารถึงฟาร์มกุ้งสมาชิก และท�ำหนังสือขอความร่วมมือแพจับกุ้งในเขตจังหวัด สุราษฎร์ธานี ให้ช่วยป้องกันเชื้อโควิด-19 ในขั้นตอนการจับ การคัดกุ้ง อย่าง เข้มงวดตามที่ก�ำหนดในหนังสือขอความร่วมมือ คาดหวังว่า ถ้ามีความร่วมมือจาก แพอย่างจริงจังตามมาตรการที่ก�ำหนด ปัญหาที่จะเกิดการติดเชื้อโควิด-19 ที่ ฟาร์มคงจะน้อยลง การร่วมมือกันเพื่อป้องกันเชื้อโควิดเข้าฟาร์มในครั้งนี้ ถ้ายึด ปฏิบตั ไิ ด้อย่างต่อเนือ่ ง น่าจะเป็นภาพลักษณ์ของอุตสาหกรรมกุง้ ไทยได้อกี ส่วนหนึง่ ด้วย” อย่างไรก็ตาม ได้มีการออกส�ำรวจฟาร์มเลี้ยงกุ้งทั่วประเทศ พบเกษตรกร ปฏิบัติตามมาตรการของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมประมง กระทรวง พาณิชย์ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงมหาดไทย อย่างเข้มแข็ง และเคร่งครัด เพื่อให้ตัวเกษตรกรเอง และผลิตภัณฑ์กุ้งไทย ปราศจากการปนเปื้อนของเชื้อไวรัส โควิด-19

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

62


A

Around the World

การจัดการเมื่อเกิดโรคในฟาร์มเลี้ยง กุ้งเป็นสัตว์น�้ำเศรษฐกิจที่มีการบริโภค  และส่งออกมากเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ  ซึ่งการที่จะได้มาซึ่งผลิตผลที่ดี และคุณภาพที่ดี  นั้น ต้องผ่านขั้นตอน และกระบวนการผลิต  ที่ได้รับมาตรฐานอุตสาหกรรม การผลิตสัตว์น�้ำ  การประสบปัญหาการเกิดโรคต่างๆ กับกุง้ ทีเ่ ลีย้ ง  ในฟาร์ม เช่น โรคตัวแดงดวงขาว โรคหัวเหลือง  โรคอีเอ็มเอส หรือโรคติดเชื้ออีเอชพี เป็นต้น  ย่อมสร้างความเสียหายกับผลผลิต และท�ำให้  เกษตรกรต้องสูญเสียโอกาสที่จะได้รับผลตอบ  แทนจากการเลี้ยงกุ้งอย่างเต็มที่ ดังนั้น สิ่งที่  ส�ำคัญที่สุดของฟาร์มเลี้ยงกุ้งที่ดี คือจะต้องมี  มาตรการควบคุมเชื้อก่อโรค หรือแผนป้องกัน  และรับมือการเกิดโรคระบาดในระดับต่างๆ เพือ่   รองรั บ เหตุ ก ารณ์ ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ได้ ทุ ก ขณะ  ในระหว่างที่มีการเลี้ยงกุ้ง ถึงแม้จะอยู่ในช่วง  ฤดูกาลที่ปราศจากความเสี่ยงก็ตาม มาตรการป้องกัน และรับมือ การเกิดโรคระบาดในฟาร์มเลี้ยงกุ้ง

เลีย้ งแล้ว ควรมีขอ้ ปฏิบตั ทิ สี่ ามารถจ�ำกัดขอบเขต ของการระบาด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสีย หายต่อพื้นที่การเลี้ยงอื่นได้ โดยสามารถแบ่งได้ 3 ระดับดังนี้ 1. ระดับสีเขียว หมายถึง ระดับการเฝ้าระวัง ในสถานการณ์ปกติ ไม่พบการแพร่ระบาดของโรค ในฟาร์มเกษตรกรเอง และฟาร์มใกล้เคียง 2. ระดับสีเหลือง หมายถึง ระดับการเฝ้า ระวังในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ สภาวะอากาศปิด อากาศเย็น ไม่พบการแพร่ระบาด ของโรคในฟาร์มเกษตรกรเอง แต่พบว่าฟาร์ม ใกล้เคียงมีการติดเชื้อ 3. ระดับสีแดง หมายถึง ระดับการเฝ้าระวัง ในสถานการณ์ที่พบการติดเชื้อในฟาร์มเกษตรกร เอง เป็นมาตรการป้องกันรับมือ และควบคุมการ ระบาดของเชื้อไม่ให้เกิดการกระจายไปยังพื้นที่ อื่นๆ

ถึงแม้เราจะมีมาตรการป้องกัน และรับมือ การเกิดโรคระบาด แต่หากเกิดการติดเชื้อใน มาตรการป้องกัน และรับมือการเกิดโรค  ส่วนหนึ่งส่วนใดของพื้นที่การเลี้ยงแล้ว ควรมีข้อ ระบาด คือ ข้อปฏิบตั ิ มาตรการ หรือแนวทางการ ปฏิบัติที่สามารถจ�ำกัดขอบเขตของการระบาด ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพื้นที่การ ระบาดของโรคเข้าสู่พื้นที่การเลี้ยงกุ้งได้ และหาก เลี้ยงอื่นได้ ซึ่งเหตุการณ์สุดวิสัยเกิดขึ้นได้เสมอ เกิดการติดเชื้อในส่วนหนึ่งส่วนใดของพื้นที่การ ในฟาร์มเลีย้ งกุง้ แม้วา่ จะจัดการระบบไบโอซีเคียว ่ : วารสารข่าวกุ้ง ปี ที่ 32 ฉบับที ่ 382 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 ทีมา

63

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


A

Around the World

4. ประเมินศักยภาพของฟาร์ม ว่ามีความ พร้อมในการจัดการมากน้อยแค่ไหน คนเลี้ยง ภายในฟาร์มเข้าใจเรื่องโรคต่างๆ หรือไม่ รวมถึง สารเคมีสำ� หรับการก�ำจัดเชือ้ และบ�ำบัดน�ำ้ มีเพียง พอหรือไม่หากจะต้องมีการจัดการเพื่อเลี้ยงต่อไป

รูปที่ 1 การตรวจติดตามระบบไบโอซีเคียวในฟาร์ม

อย่างสม่�ำเสมอ

ได้ดแี ล้วก็ตาม แต่บางครัง้ มีการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคติดเชือ้ ไวรัส แบคทีเรีย หรืออีเอชพี ในฟาร์มได้ เมื่อมีกุ้งป่วยเกิดขึ้น การจัดล�ำดับความส�ำคัญใน การจัดการ มีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ส�ำหรับเกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้ง ต้องรีบด�ำเนินการเพื่อป้องกันการแพร่ กระจายของเชื้อโรค จากบ่อที่พบการเกิดโรคไปสู่ บ่ออืน่ ๆ ภายในฟาร์ม โดยมีขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ และ กระบวนการจัดการหลักๆ ดังนี้ 1. เก็บกุง้ ป่วยส่งตรวจวินจิ ฉัยอย่างรวดเร็ว ว่าสาเหตุของการป่วยเกิดจากโรคอะไร เพื่อการ จั ด การในขั้ น ตอนต่ อ ไปได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง และ เหมาะสมกับโรค 2. ระหว่างที่รอผลตรวจวินิจฉัยโรค ต้อง ด�ำเนินการฆ่าเชื้อโรคในน�้ำที่ปล่อยออกจากบ่อ เลีย้ ง หรือแยกน�ำ้ ทีถ่ า่ ยออกจากบ่อเลีย้ งไปเก็บใน บ่อทีว่ า่ ง หรือบ่อเก็บน�ำ้ ทิง้ ไม่ปล่อยลงคลองน�ำ้ ทิง้ โดยตรง โดยท�ำการฆ่าเชือ้ ในน�ำ้ ด้วยสารเคมี เช่น คลอรีน ความเข้มข้น 30 พีพีเอ็ม และเก็บน�้ำไว้ ในบ่อนีก้ อ่ นระหว่างรอผลการตรวจเพือ่ การจัดการ ให้เหมาะสมกับโรคต่อไป ส่วนซากกุ้งให้ก�ำจัด โดยการต้ม หรือเผาเพื่อท�ำลายเชื้อ 3. แยกคนเลี้ ย ง และอุ ป กรณ์ ที่ จ� ำ เป็ น ต้องใช้ร่วมกัน แจ้งให้ทุกคนในฟาร์ม และฟาร์ม ใกล้เคียงทราบ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของ เชื้อโรค ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

5. ตรวจสอบขนาดของกุ้ง อัตราการตาย และประเมินสุขภาพกุ้งที่เหลือภายในบ่อที่ติดโรค ถ้ากุง้ มีขนาดทีส่ ามารถขายได้ และค�ำนวณต้นทุน แล้วมีก�ำไร ให้รีบจัดการขาย แต่หากจ�ำเป็นต้อง เลี้ยงต่อไปอีก ให้พิจารณาค่า ADG รายสัปดาห์ เป็นหลัก เพือ่ ใช้ในการตัดสินใจว่าควรจับขาย หรือ เลี้ยงต่อไปได้ยาวนานแค่ไหน การจัดการเมื่อพบกุ้งติดเชื้อ อีเอชพี (Enterocytozoon hepatopenaei, EHP) การติดเชื้อ และการเพิ่มจ�ำนวนกุ้งติดเชื้อ อีเอชพีในบ่อ จะช้า หรือเร็ว ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณสปอร์ ของเชื้อที่ปนเปื้อนอยู่ในบ่อ และปัจจัยอื่นๆ เช่น เลี้ยงที่ความหนาแน่นสูง การจัดการตะกอน หรือ ของเสียในบ่อทีไ่ ม่ดพี อ หรือมีการติดเชือ้ อืน่ ๆ ร่วม ด้วย ส่งผลท�ำให้กงุ้ ป่วยกินอาหารลดลง อัตราการ เจริญเติบโตลดลง กล้ามเนือ้ ฝ่อ ท�ำให้กงุ้ มีลกั ษณะ กรอบแกรบ อ่อนแอ และอาจจะตายในทีส่ ดุ ในกรณี ที่พบกุ้งในบ่อป่วยจากเชื้ออีเอชพีแล้ว จะเลี้ยงต่อ หรือไม่นั้น ให้ประเมินจากความคุ้มทุนเป็นหลัก โดยมีแนวทางพิจารณาดังนี้ ๏ กรณีสามารถเลี้ยงต่อได้ จะต้องมีการ ปฏิบัติ และจัดการดังนี้ 1. ประเมินสุขภาพกุง้ ทีเ่ หลือภายในบ่อ  ทีต่ ดิ โรค สุขภาพกุง้ ส่วนใหญ่แข็งแรง มีเพียงส่วน

64


A

Around the World

รูปที่ 2 การท�ำความสะอาดยานพาหนะด้วยน้�ำยาฆ่าเชื้อก่อนเข้าโซนบ่อเลี้ยง

น้อยทีอ่ อ่ นแอ ประเมินแล้วว่าสามารถเลีย้ งต่อไปได้ สักระยะหนึ่ง หรือจนกระทั่งจับตามเป้าหมาย

ในตะกอน เช่นด่างทับทิม 300 พีพีเอ็ม นาน 24 ชัว่ โมง หรือโซดาไฟ 2,000 พีพเี อ็ม (พีเอช ≥ 12) 2. มีน�้ำสะอาด และบ่อรองรับน�้ำทิ้ง  นาน 24 ชั่วโมง และมีการเติมจุลินทรีย์ซุปเปอร์ เพียงพอ การมีน�้ำสะอาดเพียงพอส�ำหรับเปลี่ยน พีเอสเพิ่มขึ้นที่หลุมรวมเลน ในอัตรา 10 ลิตร/ไร่ ถ่ายน�ำ้ เพือ่ ลดปริมาณเชือ้ ในน�ำ้ อัตราการถ่ายน�ำ้ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 4. เสริ ม สุ ข ภาพกุ ้ ง ด้ ว ยจุ ลิ น ทรี ย ์ ที่ มี  ที่เหมาะสม ควรไม่น้อยกว่า 5 ลูกบาศก์เมตร/ กิโลกรัมอาหาร/วัน เนื่องจากจะต้องลดปริมาณ ประโยชน์ ในสภาวะที่มีการจัดการสิ่งแวดล้อม ตะกอนของเสียต่างๆ ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ จึงจ�ำเป็น ในบ่อเลี้ยงด้วยการเปลี่ยนถ่ายน�้ำให้เชื้ออีเอชพี ต้องใช้น�้ำสะอาดไปเจอจางเป็นโปรแกรมทุกวัน มีปริมาณต�ำ่ ๆ ต้องมีการจัดการสุขภาพกุง้ ควบคูก่ นั ฉะนั้นภายในฟาร์มต้องมีบ่อว่าง หรือบ่อส�ำหรับ ไปด้วย เพื่อป้องกันไม่ให้กุ้งเครียด และอาจจะส่ง รองรับน�้ำที่ถ่ายออกมาเพื่อบ�ำบัด และก�ำจัดเชื้อ ผลให้มีการติดเชื้อได้ง่าย ด้วยการผสมอาหารกับ ก่อนปล่อยทิง้ หรือรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่ โดยการ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ เช่น จุลินทรีย์ไซมิตินพลัส ใช้สารเคมี เช่น คลอรีน 15 พีพีเอ็ม และโพลี แนะน�ำให้ใช้ 10 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม ผสม อลูมเิ นียมคลอไรด์ (Polyaluminium Chloride, PAC) อาหารตลอดการเลี้ยง 25 พีพีเอ็ม จากนั้นพักน�้ำให้เกิดการตกตะกอน ๏ กรณีที่กุ้งมีขนาดใหญ่พอที่จะจับขาย  ของเชื้อ แล้วดูดน�้ำเฉพาะส่วนใสด้านบนปล่อยลง ได้ และทางฟาร์มไม่มีความพร้อมต่อการเลี้ยงต่อ คลองน�้ำทิ้ง หรือบางฟาร์มอาจจะน�ำน�้ำนี้เข้าสู่บ่อ ไป เพราะประเมินแล้วว่าไม่คมุ้ ทุน ระหว่างการจับ รีไซเคิลเพื่อกลับมาใช้ใหม่ โดยผ่านวิธีการเตรียม จะต้องมีการป้องกันการปนเปื้อนของเชื้ออีเอชพี น�ำ้ ของฟาร์ม ส่วนตะกอนก้นบ่อ ฆ่าเชือ้ ในตะกอน ไปสู่บ่อ เลี้ยงอื่นๆ ดังนี้ ด้วยโซดาไฟ 2,000 พีพีเอ็ม (พีเอช ≥ 12) นาน 1. ควบคุมพื้นที่เสี่ยง โดยก�ำหนดให้มี 24 ชั่วโมง แล้วสูบไปสู่บ่อเก็บตะกอนของฟาร์ม การล้อมสแลน หรือพีอี สูงอย่างน้อย 1.5 เมตร 3. มีวิธีก�ำจัดตะกอนที่เป็นแหล่งรวม  เชื้อในบ่อเลี้ยง ดูดตะกอนจากก้นบ่อเลี้ยงใน ระหว่างการเลีย้ งออกให้มากทีส่ ดุ เพือ่ น�ำไปก�ำจัด ในบ่อทิ้งตะกอน เพราะตะกอนเหล่านั้นส่วนหนึ่ง จะเกิดจากขี้กุ้ง ซึ่งกุ้งที่ติดเชื้อจะปล่อยสปอร์ของ เชื้ออีเอชพีออกมากับขี้กุ้ง ใช้สารเคมีก�ำจัดเชื้อ

รอบบ่อทีก่ งุ้ ติดเชือ้ และตลอดแนวถนนทีใ่ ช้ในการ ขนส่งกุ้ง เพื่อไม่ให้เชื้อจากละอองน�้ำกระเซ็นไปสู่ บ่อเลี้ยง หรือพื้นที่ข้างเคียง ขณะจับกุ้งต้องเฝ้า ติดตามระดับของน�้ำในคลองน�้ำทิ้ง ให้มีระดับต�่ำ กว่าพื้นถนน

65

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


A

Around the World

2. แยกอุปกรณ์ และคนทีป่ ฏิบตั งิ านใน  บ่อนี้ ไม่ให้ปะปนกับบ่ออื่น เครื่องสูบน�้ำ และ ท่อสูบน�ำ้ ทีใ่ ช้ ต้องไม่รวั่ หรือซึมออกมาขณะสูบน�ำ้ 3. การขนส่งไปยังลานคัด จัดเส้นทาง รถขนส่งกุง้ ให้ชดั เจน หลีกเลีย่ งเส้นทางทีต่ อ้ งผ่าน บ่อกุ้งก�ำลังเลี้ยง และห้ามรถขนส่งอาหาร หรือ บุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง ผ่านเส้นทางการจับกุ้ง สเปรย์นำ�้ ยาฆ่าเชือ้ ลงบนพืน้ ถนน เช่น คลอรีนน�ำ้ 1,000 พีพีเอ็ม ระหว่าง และหลังการขนส่ง เมื่อ จับกุ้งเสร็จ ให้เก็บซากกุ้งที่หลงเหลืออยู่ ท�ำการ เผา หรือต้มเพื่อท�ำลายเชื้อ

รูปที่ 3 อุปกรณ์ที่ใช้ประจ�ำบ่อเลี้ยง

ทิ้งไว้อย่างน้อย 8 ชั่วโมง เพื่อก�ำจัดเชื้ออีเอชพี ที่อาจมีหลงเหลืออยู่อีกครั้ง

2. การเตรียมน�ำ้ ส่วนของน�ำ้ ดิบทีเ่ ข้ามา ๏ กรณีการเลี้ยงกุ้งรอบใหม่ในบ่อเดิม  ในฟาร์ม ควรฆ่าพาหะด้วยไตรคลอร์ฟอน 2 พีพีที่ เ คยมี ป ระวั ติ ติ ด เชื้ อ อี เ อชพี จะต้ อ งจั ด การ เอ็ม ก่อน แล้วดูดมาเก็บในบ่อพักน�ำ้ เพือ่ ลดความ เตรียมบ่อใหม่อย่างพิถีพิถันมากเป็นพิเศษ ร่วม ขุ่น โดยให้เกิดการตกตะกอนขั้นต้น โดยใช้ด่าง กับพิจารณาการใช้สารเคมีที่มีความเข้มข้นสูง ที่ ทับทิม 5 พีพเี อ็ม และควรพักน�ำ้ ไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน มีประสิทธิภาพในการก�ำจัดสปอร์ของเชื้อที่อาจ จากนั้นสูบน�้ำส่วนใสด้านบนเข้าบ่อ เพื่อเข้าสู่ หลงเหลืออยู่ ขั้นตอนการฆ่าเชื้อ โดยใช้คลอรีนความเข้มข้น 1. การเตรียมบ่อ บ่อเลี้ยงควรท�ำความ 15 พีพีเอ็ม จากนั้นดูดส่วนใสผ่านใยกรองไปเก็บ สะอาดพื้นบ่อทันทีหลังจากจับกุ้งออกหมดแล้ว ในบ่อน�ำ้ พร้อมใช้ ปรับคุณภาพตามมาตรฐานการ เพือ่ ให้สงิ่ สกปรกต่างๆ ทีอ่ าจมีการปนเปือ้ นสปอร์ เลี้ยงกุ้ง และน�ำไปใช้ต่อไป ของเชื้อหลุดออกได้ง่าย โดยต้องท�ำทั้งส่วนพื้น 3. ใช้ลูกพันธุ์ขนาดใหญ่ เพื่อลดระยะ แนวสโลป รวมทั้งน�ำเลนที่สะสมอยู่ใต้แผ่นพีอี เวลาการเลี้ยง เนื่องจากสปอร์ของเชื้ออีเอชพีนี้ ออก พร้อมทั้งท�ำการซ่อมแซมจุดรั่วซึมต่างๆ ทั่ว มีผนังหนา ทนสารเคมี และอยู่ในสภาพแวดล้อม ทั้งบ่อ ในกรณีที่เปิดบ่อเพื่อฉีดล้างด้วยน�้ำสะอาด ได้นาน ในการเลีย้ งรอบนี้ เกษตรกรควรใช้ลกู พันธุ์ โดยบ่อที่ปูด้วยพีอีหนา 0.30 มิลลิลิตร ให้เปิด กุ้งที่มีขนาดใหญ่ มีความแข็งแรง ปลอดเชื้อโรค ล้างทัง้ บ่อ ส่วนบ่อทีป่ ดู ว้ ยพีอหี นา 0.75 มิลลิลติ ร จากฟาร์มผู้ผลิตที่ได้มาตรฐาน และเชื่อถือได้ จะ ให้เปิดล้างบริเวณจุดเสีย่ ง เช่น หลุมกลางบ่อ หลุม ช่วยลดความเสีย่ งทีอ่ าจท�ำให้เกิดโรคได้ เช่น การ จับกุ้ง และบริเวณที่มีเลนสะสม เป็นต้น จากนั้น ใช้ลกู กุง้ “บิก๊ พีแอล” (Big PL) ซึง่ มีขนาด 0.05 ฆ่าเชือ้ ทีพ่ นื้ ดินโดยใช้ปนู เผาปริมาณ 1.5 กิโลกรัม 0.08 กรัม หรือความยาว 20 - 25 มิลลิเมตร ต่อตารางเมตร ก่อนที่จะปิดแผ่นพีอี หลังจากปิด และลูกกุ้ง “ซุปเปอร์ พีแอล” (Super PL) ขนาด แผ่นพีอีแล้ว ให้ล้างบ่อด้วยน�้ำสะอาด สเปรย์ด้วย 0.2 - 0.3 กรัม หรือความยาว 30 - 35 มิลลิเมตร โซดาไฟความเข้มข้น 2,000 พีพเี อ็ม (พีเอช ≥ 12) ซึ่งข้อดีของ “บิ๊ก พีแอล” และ “ซุปเปอร์ พีแอล” ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

66


A

Around the World

ที่ปลอดเชื้อคือ มีความแข็งแรง ทนทานต่อสภาพ แวดล้อมได้ดี ลดระยะเวลาการเลีย้ ง ท�ำให้โอกาส ในการติดเชื้อน้อยลง

การติดเชือ้ อีเอชพี จะไม่พบการตายทีร่ นุ แรง แต่จะมีผลกระทบต่ออัตราการเจริญเติบโตของกุง้ ซึง่ สร้างความเสียหายมากมายแก่เกษตรกรผูเ้ ลีย้ ง 4. สร้างสมดุล และความหลากหลาย  กุ้ง ดังนั้นเมื่อเจอปัญหา ต้องตรวจสอบให้ชัดเจน ของจุลนิ ทรียท์ มี่ ปี ระโยชน์ จัดการสภาพแวดล้อม ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร เพื่อวางแผนในการรับมือ ในบ่อเลี้ยง ทั้งในส่วนของคุณภาพน�้ำ และพื้นก้น และมี ก ระบวนการจั ด การที่ ถู ก ต้ อ งเหมาะสม บ่อ เพื่อให้มีคุณภาพดีเหมาะสมกับการเลี้ยงกุ้ง สามารถเลี้ยงต่อไปได้จนได้ตามเป้าหมาย พร้อม รวมทัง้ ช่วยปรับสมดุลของจุลนิ ทรียใ์ นตัวกุง้ ท�ำให้ กับการวางแผนลดผลกระทบในรอบการเลี้ยงต่อ ไปด้วย จะท�ำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งรู้เท่าทันโรค กุ้งมีสุขภาพแข็งแรง เช่น และเลี้ยงได้อย่างยั่งยืนต่อไป 4.1 ซุ ป เปอร์ พี เ อส ประกอบด้ ว ย แบคทีเรียสังเคราะห์แสง ซึ่งได้รับการคัดเลือก การจัดการเมื่อพบกุ้งเป็นโรค สายพันธุ์มาเป็นพิเศษ มีความสามารถในการลด ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ และย่อยสลายสารอินทรีย์ อีเอ็มเอส หรือ AHPND ในน�ำ้ และพืน้ บ่อ ใช้ 5 - 10 ลิตร/ไร่/สัปดาห์ ผสม (Acute Hepatopancreatic จุลินทรีย์กับซีโอไลท์ หรือปูนดิบก่อนสาดทุกครั้ง Necrosis Disease) 4.2 ไบโอ - รีดอกซ์ เป็นจุลินทรีย์ กลุ่มบาซิลลัส 3 สายพันธุ์ ใช้ 2 - 5 กิโลกรัม/ไร่/ สัปดาห์ ผสมน�้ำเล็กน้อย สาดให้ทั่วบ่อ เพื่อสร้าง สมดุลของจุลนิ ทรีย์ และควบคุมปริมาณสารอินทรีย์ ในบ่อ 4.3 ไบโอทริม เป็นแบคทีเรียกลุ่ม บาซิลลัสหลายสายพันธุ์ ซึง่ มีความสามารถในการ ย่อยสลายสารอินทรียใ์ นน�ำ้ และตะกอนพืน้ บ่อได้ดี ใช้ปริมาณ 200 กรัม/ไร่/สัปดาห์ โดยละลายน�้ำ แล้วเติมในบ่อเลี้ยง เพื่อลดปริมาณสารอินทรีย์ ร่วมกับการดูดตะกอนเลน

โรคกุ้งตายด่วน หรือโรคอีเอ็มเอส ได้สร้าง ความเสียหายกับเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งเป็นอย่าง มาก สาเหตุทที่ ำ� ให้เกิดโรคนีค้ อื แบคทีเรียในกลุม่ วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส (Vibrio Parahaemolyticus) สายพันธุ์ที่สร้างสารพิษซึ่งมีความรุนแรง สูง แบคทีเรียกลุ่มนี้จะเจริญเติบโตได้ดีในน�้ำที่มี ความเค็มช่วง 20 - 40 พีพีที อุณหภูมิ 30 องศา เซลเซียส ซึ่งโรคนี้จะพบมากในหน้าร้อน แต่ อย่างไรก็ตาม การที่เชื้อแบคทีเรียจะเจริญเติบโต ได้มากน้อยเพียงไร ขึ้นอยู่กับปริมาณสารอินทรีย์ ที่มีอยู่ในบ่อ

4.4 ไซมิ ติ น พลั ส ประกอบด้ ว ย แบคทีเรียทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ กุง้ หลายกลุม่ ร่วมกับ สารเสริมชีวนะ และเอนไซม์ชนิดต่างๆ เพื่อปรับ สมดุลของจุลนิ ทรียใ์ นทางเดินอาหารของกุง้ ใช้ 10 กรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม ผสมอาหารตลอดการ เลี้ยง

กุ้งป่วยด้วยโรคอีเอ็มเอส ส่วนใหญ่ กุ้งมี ลักษณะสีซดี ขาวขุน่ เปลือกนิม่ ตับ และตับอ่อน ฝ่อ บางครัง้ มีสซี ดี ขาว หรือ เหลืองอ่อน บางครัง้ อาจพบจุดด�ำ หรือรอยขีด เมื่อบี้ตับ และตับอ่อน ด้วยนิ้วมือ จะรู้สึกค่อนข้างเหนียว และแข็งกว่า ปกติ อาหารไม่เต็มล�ำไส้ ขาดเป็นช่วงๆ พบกุ้ง

67

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


A

Around the World

3. มีนำ�้ สะอาดไว้สำ� หรับเปลีย่ นถ่ายเพียง  พอ และดูดตะกอนระหว่างเลีย้ งออกให้มากทีส่ ดุ   เพือ่ ให้พนื้ บ่อสะอาด อัตราการถ่ายน�ำ้ ทีเ่ หมาะสม ไม่ควรน้อยกว่า 5 ลูกบาศก์เมตร/กิโลกรัมอาหาร/ วัน เพือ่ เจือจางสารอินทรียใ์ นบ่อให้เหลือน้อยทีส่ ดุ แต่ไม่ควรเปลี่ยนถ่ายน�้ำปริมาณมากในช่วงระยะ เวลาสั้น เพราะอาจจะไปกระตุ้นให้กุ้งลอกคราบ มากขึ้น

รูปที่ 4 การจับกุ้ง

ตายจ�ำนวนมากบริเวณพื้นก้นบ่อ แตกต่างจากกุ้ง ทีป่ ว่ ยด้วยโรคตัวแดงดวงขาว หรือโรคหัวเหลือง ที่ พบกุง้ ลอยตายบริเวณขอบบ่อ เกณฑ์การประเมิน เมือ่ ตรวจพบกุง้ ตายจากโรคอีเอ็มเอสว่าจะเลีย้ งต่อ ไป หรือจัดการปิดบ่อ ใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับ โรคติดเชื้ออีเอชพี คือ การประเมินจากความคุ้ม ทุนเป็นหลัก แต่รายละเอียดการจัดการต่างๆ ใน บ่อ มีข้อแตกต่างกันบ้างตามชนิดของโรค

4. รักษาคุณภาพของน�ำ ้ และดินพืน้ ก้นบ่อ อาจใช้จลุ นิ ทรียโ์ ปรไบโอติกช่วยลดความเสีย่ ง และ ความรุนแรงของโรค เสริมสุขภาพกุง้ ด้วยจุลนิ ทรีย์ ทีม่ ปี ระโยชน์ ควบคุมคุณภาพน�ำ้ ไม่ให้แกว่งภายใน รอบวัน พีเอชต้องนิง่ ปริมาณออกซิเจนละลายน�ำ้ ต้องเพียงพอ

2. งดอาหารกุง้ ทันทีทพ่ี บกุง้ ตาย ประมาณ 7 วัน หรือจนกว่ากุ้งจะหยุดตาย โดยเฉพาะกุ้ง อายุน้อยกว่า 2 เดือน เมื่อกุ้งหยุดตายให้ค่อยๆ ปรับปริมาณอาหารขึ้นช้าๆ ระหว่างการปรับเพิ่ม ปริมาณอาหาร ให้สุ่มตรวจเช็คสุขภาพกุ้ง ความ สมบู ร ณ์ และปริ ม าณเม็ ด ไขมั น ของตั บ และ ตับอ่อน และปริมาณอาหารในล�ำไส้ หากพบความ ผิดปกติ ให้ลดปริมาณอาหารลง หรือหยุดการเพิม่ ปริมาณอาหาร ขึน้ อยูก่ บั ความรุนแรงของลักษณะ ที่ผิดปกติ

เมื่อตรวจพบว่ากุ้งในบ่อติดเชื้อไวรัส เช่น ไวรัสตัวแดงดวงขาว หรือไวรัสหัวเหลือง และ ท�ำการตรวจผลซ�้ำจนแน่ใจว่าเกิดจากเชื้อไวรัส แน่นอนแล้ว ต้องรีบตัดสินใจที่จะจับกุ้งขาย หรือ ท� ำ ลายทิ้ ง ทั น ที เนื่ อ งจากกุ ้ ง ป่ ว ยจะมี ก ารเพิ่ ม จ�ำนวน และแพร่กระจายเชื้อในบ่ออย่างรวดเร็ว หากปล่อยไว้ให้ติดเชื้อปริมาณมาก จะท�ำให้การ ป้องกันการแพร่กระจายเชือ้ ในฟาร์มท�ำได้ยาก จะ เกิดการระบาดขึ้นในฟาร์ม และบริเวณฟาร์มใกล้ เคียงได้ จึงจ�ำเป็นต้องรีบตัดสินใจท�ำทันที

การจับกุ้งบ่อที่ติดเชื้อ การเตรียมบ่อหลัง การติดเชื้อ และการจัดการเลี้ยงอื่นๆ ในรอบต่อ ไป ใช้หลักการเดียวกันกับการติดเชื้ออีเอชพี ซึ่ง 1. ประเมินสุขภาพกุ้งที่เหลือภายในบ่อ  มาตรการการจัดการบ่อที่ติดเชื้ออีเอชพี จัดว่า ที่ติดโรค สุขภาพกุ้งส่วนใหญ่แข็งแรง มีเพียง เป็นมาตรการที่เข้มงวดมากที่สุดแล้ว ฉะนั้นเรา ส่วนน้อยที่อ่อนแอ ประเมินแล้วว่าสามารถเลี้ยง สามารถใช้กับโรคอื่นๆ ได้ ต่ อ ไปได้ สั ก ระยะหนึ่ ง หรื อ จนกระทั่ ง จั บ ตาม เป้าหมาย เมื่อพบกุ้งตายโดยไม่ทราบสาเหตุ ให้ การจัดการเมื่อพบกุ้งติดเชื้อไวรัส รีบส่งตัวอย่างตรวจห้องปฏิบัติการทันที

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

68


A

Around the World

ขั้นตอนการปฏิบัติในบ่อที่มี การติดเชื้อไวรัส ต้องประกาศเป็นเขตการระบาด และเฝ้า ระวัง จ�ำกัดบุคคลเข้าท�ำงานในพื้นที่สีแดง แยก คน และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน บ่อที่อยู่ใกล้ บ่อที่เกิดการติดเชื้อ ควรงดเว้นการตรวจสอบ คุณภาพน�้ำจากห้องปฏิบัติการส่วนกลาง และให้ ใช้ชุดทดสอบ (Test kit) แทน

รูปที่ 5 การท�ำความสะอาดบ่อหลังจับกุ้ง

๏ กรณีที่กุ้งในบ่อมีขนาดขายได้ ต้อง ปฏิบตั ไิ ม่ให้เชือ้ ไวรัสแพร่กระจายไปยังบ่ออืน่ ๆ ใน ระหว่างการจับกุ้ง 1. ควบคุมพื้นที่เสี่ยง โดยก�ำหนดให้มี การล้อมสแลน หรือพีอี สูงอย่างน้อย 1.5 เมตร รอบบ่อกุ้งติดเชื้อ และตลอดแนวถนนที่ใช้ในการ ขนส่งกุง้ เพือ่ ไม่ให้เชือ้ จากละอองน�ำ้ เข้าสูบ่ อ่ เลีย้ ง หรือพื้นที่ข้างเคียง ขณะจับกุ้งต้องเฝ้าติดตาม ระดับของน�้ำในคลองน�้ำทิ้ง ให้มีระดับต�่ำกว่าพื้น ถนน 2. แยกอุปกรณ์ และคนที่ปฏิบัติงาน ในบ่อนี้ ไม่ให้ปะปนกับบ่ออื่น เครื่องสูบน�้ำ และ ท่อสูบน�ำ้ ทีใ่ ช้ ต้องไม่รวั่ หรือซึมออกมาขณะสูบน�ำ้ ออกจากบ่อ รวมทั้งลดความแรงของน�้ำที่กระเซ็น ออกนอกคลองน�้ำทิ้ง ให้ใส่สารฆ่าเชื้อในน�้ำด้วย คลอรีนความเข้มข้น 30 พีพเี อ็ม ตรงบริเวณปลาย ท่อในขณะที่สูบน�้ำออกตลอดเวลา 3. การขนส่งไปยังลานคัด จุ่มกุ้งลงใน สารละลายคลอรีน 200 พีพีเอ็ม เพื่อเป็นการ ฆ่าเชื้อแบบสัมผัสพื้นผิว ก่อนใส่ถังขนส่งที่วาง ในกะบะ ถังขนส่งต้องมีฝาปิดมิดชิด เพื่อป้องกัน ไม่ให้กุ้งกระเด็น และน�้ำหกลงบนถนนในขณะที่ ขนส่งกุง้ ไปยังลานคัด ควรสเปรย์สารละลายคลอรีน

รูปที่ 6 ลานคัดกุ้งที่ต้องท�ำความสะอาดก่อน

และหลังใช้งาน

1000 - 2000 พีพีเอ็ม บนถนนตามหลังรถขนส่ง กุ้งทุกครั้ง 4. เมื่อจับกุ้งเสร็จแล้ว อุปกรณ์ต่างๆ ส�ำหรับจับกุ้ง คัดแยกกุ้ง รถขนส่งกุ้ง และลานคัด ต้องสเปรย์ด้วยสารละลายคลอรีนความเข้มข้น 2000 พีพีเอ็ม หลังท�ำความสะอาดบ่อเสร็จ ให้ ตากบ่อให้แห้งสนิท โรยปูนเผาให้พีเอชสูงกว่า 12 เพื่อก�ำจัดเชื้อไวรัสที่หลงเหลืออยู่ในดิน 5. คนงานทีจ่ บั กุง้ และคัดแยกกุง้ ต้อง อาบน�้ำด้วยสารฆ่าเชื้อโบรโมเซฟ 200 พีพีเอ็ม เพื่อก�ำจัดเชื้อที่ปนเปื้อนตามร่างกาย ๏ กรณีที่กุ้งในบ่อมีขนาดเล็กเกินไป ไม่  สามารถจับขายได้ ให้ท�ำลายทิ้ง โดยมีขั้นตอน จัดการกุ้ง และน�้ำในบ่อที่ติดเชื้อดังนี้

69

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


A

Around the World

รูปที่ 7 การคัดขนาดกุ้งก่อนเข้าห้องเย็น

รูปที่ 8 ขั้นตอนการเตรียมน้�ำโดยใช้ใยกรอง

1. ควบคุมพื้นที่เสี่ยง โดยล้อมรั้วรอบ บ่อด้วยสแลนสูง 2 เมตร กางตาข่ายคลุม หรือ วัสดุกั้นรอบบ่อเลี้ยงเพื่อป้องกันพาหะ และการ กระจายเชื้อสู่บ่อเลี้ยงอื่นๆ 2. วัดปริมาตรน�ำ ้ เพือ่ ใช้ในการค�ำนวณ  สารเคมีในการฆ่าพาหะภายในบ่อที่ติดเชื้อ ท�ำ การเปิดเครื่องตีน�้ำทุกตัว ก่อนลงสารเคมีฆ่าเชื้อ ในน�้ำ ละลายไตรคลอร์ฟอน 2 พีพีเอ็ม ผสม กับน�้ำสะอาดในถังผสมสารเคมีก่อนสาดลงในบ่อ เลี้ยง จากนั้นเปิดเครื่องตีน�้ำต่อไปอีก 2 ชั่วโมง ปิดเครื่องตีน�้ำทิ้งไว้ 1 - 2 วัน จะมีกุ้งลอยติด ขอบบ่อ เก็บซากกุง้ ตามผิวน�ำ้ ท�ำการเผา หรือต้ม เพื่ อ ท� ำ ลายเชื้ อ ก� ำ จั ด เชื้ อ ที่ เ หลื อ ในน�้ ำ โดยใช้ คลอรีน 30 พีพเี อ็ม กักน�ำ้ ไว้ 7 - 14 วัน เพือ่ สลาย ซากกุ้ง และฆ่าเชื้อ 3. ท�ำการเก็บพาหะ หรือซากกุง้ ทีอ่ ยูใ่ น  บ่อ ส่งตรวจเชือ้ ไวรัส หลังการฆ่าเชือ้ น�ำ้ แล้ว ซาก กุ้งที่เหลือในบ่อ ต้องเก็บไปท�ำลายทิ้งด้วยคลอรีน ผง สัดส่วนกุง้ 1 กิโลกรัมต่อคลอรีนผง 1 กิโลกรัม ให้ฝังกลบ ห้ามทิ้งลงคลองส่งน�้ำ 4. หลังจากท�ำความสะอาดบ่อ ให้ตาก และพักบ่ออย่างน้อย 2 สัปดาห์ เพื่อตัดวงจรของ ไวรัสที่อาจจะหลงเหลืออยู่ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

ก่อนเข้าบ่อน้�ำพร้อมใช้

นอกจากนี้ จะต้องทบทวนสาเหตุที่ท�ำให้ เกิดโรคในครัง้ นีก้ บั ทีมงาน เพือ่ ไม่ให้เกิดซ�ำ้ ในการ เลี้ยงครั้งต่อไป เนื่องจากไวรัสสามารถป้องกันได้ ด้วยระบบไบโอซีเคียวที่ดี และมีความเข้าใจที่ ถูกต้อง และต้องมีการปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอของ ทีมงานในฟาร์ม การป้องกัน และควบคุมโรคทีด่ ี เป็นพืน้ ฐาน ที่ส�ำคัญของการที่จะประสบความส�ำเร็จในการ เลี้ยงกุ้ง ถ้าเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งมีความรู้ ความ เข้าใจ มีการวางแผน และเตรียมความพร้อมต่างๆ ก่อนการเลี้ยง รวมทั้ง มีการสังเกต ติดตาม และ เอาใจใส่อย่างใกล้ชิดในระหว่างการเลี้ยง จะท�ำให้ โอกาสที่จะเกิดความเสียหายของผลผลิตกุ้งจาก โรคลดน้อยลงเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ถ้า กุ้งในฟาร์มเกิดการติดเชื้อในส่วนหนึ่งส่วนใดของ พื้นที่การเลี้ยงแล้ว ก็จะต้องมีมาตรการรองรับ และมีกระบวนการปฏิบตั ิ และการจัดการทีด่ ี ดังที่ กล่าวมาข้างต้นแล้ว ก็จะสามารถจ�ำกัดขอบเขต ของการระบาดภายในฟาร์ม และป้องกันไม่ให้เกิด การแพร่กระจายของเชื้อไปสู่ภายนอก และท�ำให้ ไม่เกิดความเสียหายกับพื้นที่การเลี้ยงอื่นๆ ได้

70



PROTORSAN

โปรโตรซาน

แหลงโปรตีนจากแบคทีเรียเซลลเดียว แหลงโปรตีนคุณภาพสูง ใชทดแทนปลาปน กากถั่วเหลือง และโปรตีนตาง ๆ ไดดี และชวยปรับปรุงคุณภาพซาก โปรตีน 70%

อุดมไปดวยวิตามินบี และวิตามินอี

บีเทน 4.5% ชวยเพิ่มปริมาณเนื้อแดง

ผลิตภัณฑมีกลิ่นหอมกระตุนการกิน

นิวคลีโอไทด 11% ชวยในการสรางเซลลใหม

กลูตาเมท 12% เปนแหลงพลังงานสําหรับลําไสเล็ก

คุณคาทางโภชนะ (%) โปรตีน

70

แคลเซียม

0.1

ความชื้น

7.8

ฟอสฟอรัส

1.0

ไขมัน

6.0

แมกนีเซียม

0.04

เยื่อใย

1.6

โพแทสเซียม

0.85

เถา

4.4

โซเดียม

0.60

พลังงานในสุกร (ME)

2,850 Kcal/kg

พลังงานในสัตวปก (ME)

3,015 Kcal/kg

กรดอะมิโน (%) ไลซีน

2.33

แอสปาติก

5.00

เมทไธโอนีน

0.90

อารจินีน

3.10

เมทไธโอนีน+ซีสทีน

1.15

ลิวซีน

3.10

ไทโรซีน

1.30

ทรีโอนีน

3.00

ไกลซีน

2.40

วาลีน

2.90

ฟนิลอะลานีน+ไทโรซีน

3.90

ไอโชลิวซีน

2.20

กลูตามีน

12.30

ฮิสติดีน

0.90

ทริปโตเฟน

0.20

อัตราการใช : 2.5-5% ในอาหารสัตว ผลิตโดย : บริษัท อายิโนะโมะโตะ ประเทศฝรั่งเศส

ขนาดบรรจุ : นํ้าหนักสุทธิ 25 กิโลกรัม


ม.ค. 9.44 9.01 8.00 9.62 9.97 8.72

71

ม.ค. 37.14 36.70 36.70 52.36 36.82 30.20

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 10.08 8.27 7.85 9.14 9.46 9.17

ราคาร�ำสด

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาปลาป่น

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ก.พ. 10.31 8.31 8.36 9.18 9.71 8.97

ก.พ. 39.83 36.27 37.29 53.20 33.45 28.99

ก.พ. 9.39 8.85 8.00 9.75 9.58 8.53

ราคาข้าวโพดอาหารสัตว์

มี.ค. 10.92 9.39 8.01 10.01 9.26 8.61

มี.ค. 42.26 33.96 39.48 51.20 30.47 28.58

มี.ค. 9.48 8.85 8.00 10.32 9.15 8.52

เม.ย. 10.79 10.01 7.86 10.07 9.36 9.35

เม.ย. 42.74 32.70 39.70 47.96 30.51 31.32

เม.ย. 9.55 8.85 8.00 10.67 8.99 8.78

พ.ค. 10.70 9.73 7.72 9.67 8.93 9.05

พ.ค. 37.58 33.61 39.14 42.76 30.80 35.20

พ.ค. 9.46 8.83 8.00 10.50 8.85 8.75

มิ.ย. 11.15 9.82 8.05 9.50 9.16 9.91

มิ.ย. 36.70 36.66 38.70 40.20 30.36 35.20

มิ.ย. 10.05 9.51 8.33 10.53 9.05 9.20

ก.ค. 11.64 10.19 8.29 8.52 9.34

ก.ค. 36.85 36.70 38.70 40.20 30.05

ก.ค. 10.75 9.32 8.45 9.43 9.10

ส.ค. 11.27 10.43 8.36 8.06 9.56

ส.ค. 36.70 38.90 38.70 40.20 31.82

ส.ค. 10.32 8.75 8.32 8.68 9.28

ก.ย. 8.87 10.30 7.76 8.03 9.40

ก.ย. 40.32 38.39 38.70 41.24 30.98

ก.ย. 9.21 8.08 8.10 8.76 9.07

ต.ค. 8.66 7.89 7.99 9.13 8.88

ต.ค. 43.39 34.93 38.70 42.20 30.75

ต.ค. 8.67 8.00 8.00 9.76 8.90

พ.ย. 8.23 7.05 8.22 9.75 8.49

พ.ย. 44.50 35.63 39.22 38.12 29.93

พ.ย. 8.69 8.00 8.35 10.14 9.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 10.04 7.89 11.64 9.07 7.05 10.43 8.09 7.72 8.66 9.21 8.03 10.07 9.18 8.49 9.71 9.18 8.61 9.91 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 7.89 7.46 8.66 9.42 8.65

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 39.73 36.70 44.50 35.81 32.70 38.90 39.42 36.70 48.05 43.90 37.20 53.20 31.35 29.93 36.82 31.58 28.58 35.20 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 38.70 35.28 48.05 37.20 30.20

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 9.45 8.44 10.50 8.67 8.00 10.75 8.23 8.00 9.22 9.85 8.68 10.67 9.15 8.81 9.97 8.75 8.52 9.20 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 8.44 8.00 9.22 10.07 8.81

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

Around the World

A

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


ม.ค. 18.12 16.57 15.92 13.28 13.79 11.73

ก.พ. 18.10 16.63 15.69 13.18 13.43 11.71

มี.ค. 18.01 15.81 15.52 13.25 13.31 11.71

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

72

ม.ค. 17.98 15.90 15.55 15.60 14.16 13.35

ก.พ. 17.55 15.90 15.55 15.37 13.95 13.01

มี.ค. 17.19 15.90 15.55 15.10 13.97 12.86

เม.ย. 16.45 15.90 14.85 15.10 14.10 13.26

เม.ย. 17.83 15.13 15.54 13.31 13.09 11.84

พ.ค. 15.85 16.02 14.85 15.62 13.73 13.30

พ.ค. 16.98 14.27 15.21 13.62 12.84 12.04

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 19.20 16.98 16.55 16.60 14.95 14.35

ก.พ. 18.95 16.90 16.55 16.37 14.97 14.01

มี.ค. 18.59 16.90 16.55 16.10 14.97 13.86

เม.ย. 18.11 16.90 15.85 16.22 15.10 14.26

พ.ค. 17.35 17.02 15.85 16.93 14.73 14.30

ราคากากถั่วเหลืองกะเทาะเปลือก (Dehulled)

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคากากถั่วเหลืองเมล็ดนำ�เข้า

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคากากถั่วเหลืองต่างประเทศ

มิ.ย. 16.63 18.68 15.45 17.10 14.70 13.84

มิ.ย. 15.13 17.49 14.45 16.10 13.70 12.84

มิ.ย. 15.78 13.49 14.70 14.12 12.62 11.85

ก.ค. 16.62 18.85 15.30 17.10 14.85

ก.ค. 15.10 17.75 14.30 16.10 13.85

ก.ค. 15.38 13.94 14.33 14.29 12.60

ส.ค. 17.13 17.99 15.35 17.10 14.44

ส.ค. 15.94 16.89 14.35 16.10 13.44

ส.ค. 15.39 14.24 13.92 14.19 12.49

ก.ย. 17.25 17.95 15.35 17.10 14.35

ก.ย. 16.10 16.85 14.35 16.10 13.35

ก.ย. 15.38 14.53 13.67 14.32 12.04

ต.ค. 17.25 16.99 15.35 16.35 14.45

ต.ค. 16.10 15.89 14.35 15.35 13.45

ต.ค. 16.30 14.94 13.56 14.27 11.83

พ.ย. 17.77 16.95 15.35 16.35 14.35

พ.ย. 16.72 15.85 14.35 15.35 13.35

พ.ย. 16.55 15.65 13.38 14.16 11.82

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 17.68 16.62 19.20 17.41 16.79 18.85 15.81 15.30 16.55 16.57 15.54 17.10 14.68 14.35 15.10 14.10 13.84 14.35 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 17.25 16.79 16.23 15.54 14.35

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 16.35 15.10 17.98 16.34 15.73 17.75 14.81 14.30 15.55 15.53 14.52 16.10 13.70 13.35 14.16 13.10 12.84 13.35 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 16.10 15.73 15.22 14.52 13.35

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 16.68 15.38 18.12 15.11 13.49 16.63 14.57 13.35 15.92 13.85 13.18 14.32 12.63 11.70 13.79 11.81 11.71 12.04 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 16.30 16.08 13.35 14.17 11.70

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

Around the World

A


ม.ค. 8.59 7.38 7.11 8.60 9.21 7.69

73

ม.ค. 9.82 10.51 10.77 10.11 10.78 11.22

ก.พ. 9.72 10.59 10.77 10.32 10.84 11.73

ก.พ. 8.62 7.29 7.66 8.34 9.31 7.13

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 6.89 6.08 5.81 6.74 6.88 6.74

ก.พ. 6.59 5.84 5.72 6.84 6.73 6.64

ราคามันสำ�ปะหลังเส้น

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาปลายข้าว

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคากากร�ำสกัดน�้ำมัน

มี.ค. 6.74 5.93 5.74 7.51 6.81 6.66

มี.ค. 9.75 10.74 10.53 10.75 10.70 11.79

มี.ค. 8.60 8.02 7.60 8.86 9.15 6.83

เม.ย. 6.74 6.09 5.53 7.91 6.97 6.65

เม.ย. 9.81 10.96 10.36 10.68 10.68 13.08

เม.ย. 8.49 8.57 7.30 8.74 8.90 7.20

พ.ค. 7.02 6.51 5.40 7.95 7.03 6.73

พ.ค. 9.85 11.28 9.83 10.89 10.70 12.74

พ.ค. 8.32 8.55 7.01 8.68 8.46 7.01

มิ.ย. 7.46 6.72 5.32 7.83 7.09 6.83

มิ.ย. 10.02 11.69 9.92 11.11 11.08 12.33

มิ.ย. 8.90 8.35 7.10 8.48 8.40 8.57

ก.ค. 7.74 6.69 5.41 7.67 7.14

ก.ค. 10.38 11.69 10.04 10.71 10.82

ก.ค. 9.37 8.01 7.12 7.83 8.40

ส.ค. 7.74 6.48 5.47 7.36 7.27

ส.ค. 10.50 11.68 10.01 10.35 10.86

ส.ค. 9.40 8.20 7.47 7.44 8.70

ก.ย. 7.66 6.28 5.61 7.38 7.36

ก.ย. 10.50 11.60 10.01 10.24 10.92

ก.ย. 7.94 8.01 7.52 7.43 8.64

ต.ค. 7.25 6.12 6.12 7.34 7.25

ต.ค. 10.28 11.00 10.15 10.36 10.86

ต.ค. 7.45 6.57 7.57 8.39 8.26

พ.ย. 6.74 6.10 6.37 7.30 7.00

พ.ย. 10.44 10.56 9.98 10.39 10.77

พ.ย. 7.04 5.87 7.75 9.06 8.05

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 7.08 6.40 7.74 6.24 5.84 6.72 5.75 5.32 6.53 7.41 6.74 7.95 7.03 6.73 7.36 6.71 6.64 6.83 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 6.40 6.02 6.53 7.12 6.86

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 10.13 9.72 10.52 11.08 10.51 11.69 10.20 9.83 10.77 10.53 10.11 11.11 10.82 10.68 11.08 12.15 11.22 13.08 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 10.52 10.60 10.03 10.50 10.79

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 8.30 6.90 9.40 7.60 5.87 8.57 7.45 7.01 8.22 8.42 7.43 9.22 8.61 7.83 9.31 7.41 6.83 8.57 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 6.90 6.43 8.22 9.22 7.83

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

Around the World

A

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


ม.ค. 32.50 36.00 36.00 35.00 33.00 31.00

ก.พ. 32.50 35.00 36.00 35.00 32.92 31.00

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

74

ม.ค. 92.89 76.00 68.97 76.96 59.78 60.08

ก.พ. 89.81 75.23 68.07 79.73 53.31 63.73

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 60.00 60.00 60.00 73.00 73.00 72.50

ก.พ. 60.00 60.00 60.00 73.00 72.50 72.50

ราคาน้ำ�มันปลา FO

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาปลาป่นนำ�เข้า

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาตับปลาหมึก SLP

มี.ค. 60.00 60.00 62.00 73.00 72.50 72.50

มี.ค. 85.62 74.58 67.92 72.41 53.82 62.80

มี.ค. 32.50 35.00 34.50 35.00 32.00 32.00

เม.ย. 60.00 60.00 62.00 73.00 72.50 72.50

เม.ย. 77.01 77.15 67.09 66.57 55.36 63.61

เม.ย. 32.50 35.00 34.50 35.00 32.00 32.00

พ.ค. 60.00 60.00 65.80 73.00 72.50 72.50

พ.ค. 74.37 77.58 67.23 60.71 58.51 61.38

พ.ค. 34.50 35.00 34.50 35.00 32.00 32.00

มิ.ย. 60.00 60.00 65.80 73.00 72.50 72.50

มิ.ย. 69.15 82.73 64.83 58.62 58.68 60.48

มิ.ย. 36.00 35.00 34.50 35.00 32.00 32.00

ก.ค. 60.00 60.00 65.80 73.00 72.50

ก.ค. 66.27 79.54 60.35 64.52 57.75

ก.ค. 35.80 35.00 35.00 35.00 31.00

ส.ค. 60.00 60.00 65.80 73.00 72.50

ส.ค. 68.89 75.99 60.74 65.87 57.71

ส.ค. 36.10 35.00 35.00 35.00 31.00

ก.ย. 60.00 60.00 68.00 73.00 72.50

ก.ย. 71.78 74.86 60.61 63.05 55.91

ก.ย. 36.79 35.00 35.00 35.00 30.74

ต.ค. 60.00 60.00 68.50 73.00 72.50

ต.ค. 71.81 66.61 60.75 63.04 53.70

ต.ค. 36.35 35.00 35.00 33.00 31.00

พ.ย. 60.00 60.00 69.00 73.00 72.50

พ.ย. 72.56 63.79 62.39 62.73 53.27

พ.ย. 35.50 35.00 35.00 33.00 30.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 65.14 60.00 69.00 73.00 73.00 73.00 72.54 72.50 73.00 72.50 72.50 72.50 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 60.00 60.00 69.00 73.00 72.50

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 76.00 66.27 92.89 74.26 63.79 82.73 65.27 60.35 74.28 66.30 58.62 79.73 55.79 51.68 59.78 62.01 60.08 63.73 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 71.79 67.04 74.28 61.41 51.68

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 34.75 32.50 36.79 35.08 35.00 36.00 35.00 34.50 36.00 34.50 33.00 35.00 31.56 30.00 33.00 31.67 31.00 32.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 36.00 35.00 35.00 33.00 31.00

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

Around the World

A


ม.ค. 52.00 54.10 57.00 60.00 62.00 46.00

75

ม.ค. 8.20 6.72 6.81 7.70 8.49 7.55

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 16.60 14.94 13.21 15.24 14.78 13.83

WHEAT FLOUR

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

WHEAT BRAN

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ก.พ. 16.26 14.70 13.21 15.00 14.69 13.87

ก.พ. 8.23 6.96 7.35 7.90 8.49 7.37

ก.พ. 52.00 54.00 60.00 60.00 57.33 45.38

WHEAT GLUTEN

มี.ค. 16.00 14.70 13.21 14.45 14.33 13.61

มี.ค. 8.36 7.80 7.33 8.01 8.49 6.99

มี.ค. 52.00 53.00 62.00 65.00 50.00 45.00

เม.ย. 16.13 14.70 13.07 14.48 14.25 13.63

เม.ย. 8.30 8.21 7.17 8.02 8.45 7.39

เม.ย. 52.00 53.00 58.00 67.00 48.00 49.00

พ.ค. 15.98 14.71 13.13 14.47 14.16 13.68

พ.ค. 8.33 7.80 6.76 8.21 8.14 7.33

พ.ค. 52.00 53.50 58.00 67.00 48.00 51.00

มิ.ย. 15.81 14.71 13.57 14.01 14.26 13.61

มิ.ย. 8.35 7.71 6.78 8.20 7.73 7.58

มิ.ย. 52.00 55.00 58.00 68.00 49.00 51.00

ก.ค. 15.57 14.71 13.58 14.01 13.88

ก.ค. 8.49 7.15 6.83 7.57 7.54

ก.ค. 50.00 55.00 60.00 68.00 49.00

ส.ค. 15.38 14.71 14.08 14.01 13.79

ส.ค. 8.58 6.43 7.00 7.34 7.47

ส.ค. 52.52 55.00 60.00 68.00 48.00

ก.ย. 15.11 14.70 14.86 14.20 13.76

ก.ย. 7.90 6.29 6.87 7.45 7.87

ก.ย. 53.50 55.00 60.00 66.00 47.16

ต.ค. 15.12 13.61 14.83 14.23 13.64

ต.ค. 7.21 6.72 7.13 7.72 8.05

ต.ค. 54.25 55.00 60.00 65.00 46.61

พ.ย. 15.12 13.34 14.75 14.24 13.36

พ.ย. 6.62 6.42 7.62 8.24 7.74

พ.ย. 54.00 55.00 60.00 66.00 46.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 15.68 15.04 16.60 14.39 13.18 14.94 13.84 13.07 14.86 14.43 14.01 15.24 14.02 13.36 14.78 13.71 13.61 13.87 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 15.04 13.18 14.60 14.77 13.36

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 7.90 6.24 8.58 7.05 6.29 8.21 7.14 6.76 7.97 7.89 7.34 8.27 8.02 7.47 8.49 7.37 6.99 7.58 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 6.24 6.42 7.97 8.27 7.74

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 52.48 50.00 54.25 54.55 53.00 57.00 59.42 57.00 62.00 65.50 60.00 68.00 49.84 46.00 62.00 47.90 45.00 51.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 53.50 57.00 60.00 66.00 47.00

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

Around the World

A

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


ม.ค. 28.00 27.00 27.75 28.75 28.50 32.75

ก.พ. 28.00 27.00 27.75 28.75 28.50 29.50

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

76

ม.ค. 120.00 120.00 150.00 170.00 220.00 207.00

ก.พ. 120.00 120.00 150.00 170.00 220.00 207.00

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 6.40 5.27 5.64 4.50 5.07 6.14

ก.พ. 6.20 5.38 5.66 4.50 5.07 5.91

ราคากากปาล์มเมล็ดใน

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาปลาหมึกป่น SLM

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาเปลือกกุ้ง

มี.ค. 5.17 5.04 5.26 4.47 4.68 5.40

มี.ค. 120.00 120.00 150.00 170.00 215.00 209.00

มี.ค. 28.00 27.00 27.75 28.63 28.96 29.50

เม.ย. 4.90 4.96 4.88 4.47 4.29 5.03

เม.ย. 120.00 120.00 150.00 178.00 215.00 215.00

เม.ย. 28.00 27.00 27.75 28.63 29.00 29.50

พ.ค. 4.90 5.08 4.67 4.47 3.97 5.00

พ.ค. 120.00 120.00 150.00 196.00 215.00 215.00

พ.ค. 28.00 27.00 27.75 28.75 29.00 29.50

มิ.ย. 4.90 5.30 4.39 4.70 4.08 5.00

มิ.ย. 120.00 120.00 150.00 200.00 215.00 215.00

มิ.ย. 28.00 27.25 28.25 28.75 29.00 29.50

ก.ค. 4.92 5.30 4.40 4.80 4.21

ก.ค. 120.00 130.00 150.00 200.00 215.00

ก.ค. 28.00 27.25 28.25 28.50 29.00

ส.ค. 4.97 5.37 4.50 5.31 4.25

ส.ค. 120.00 130.00 160.00 200.00 210.00

ส.ค. 28.00 26.50 28.25 28.50 29.00

ก.ย. 5.07 5.36 4.50 5.20 4.32

ก.ย. 120.00 130.00 170.00 230.00 210.00

ก.ย. 28.00 27.50 28.25 28.50 32.75

ต.ค. 5.07 5.25 4.50 4.97 4.76

ต.ค. 120.00 130.00 170.00 230.00 210.00

ต.ค. 28.00 27.50 28.25 28.50 32.75

พ.ย. 5.18 5.32 4.50 4.92 5.29

พ.ย. 120.00 130.00 170.00 230.00 207.00

พ.ย. 27.00 27.75 28.75 28.50 32.75

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 5.23 4.90 6.40 5.26 4.96 5.44 4.78 4.39 5.66 4.78 4.47 5.31 4.66 3.97 5.88 5.41 5.00 6.14 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 5.13 5.44 4.50 5.07 5.88

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 120.00 120.00 120.00 125.83 120.00 140.00 157.50 150.00 170.00 199.70 170.00 230.00 213.25 207.00 220.00 211.33 207.00 215.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 120.00 140.00 170.00 222.35 207.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 27.83 27.00 28.00 27.19 26.50 27.75 28.13 27.75 28.75 28.61 28.50 28.75 30.16 28.50 32.75 30.04 29.50 32.75 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 27.00 27.50 28.75 28.50 32.75

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

Around the World

A


ม.ค. 8.00 21.50 19.00 10.00 12.54 28.00

77

ม.ค. 125.50 146.75 140.50 129.50 132.50 150.50

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 248.00 263.00 253.00 217.00 249.00 264.00

ราคาไข่ ไก่คละ

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาไก่รุ่น-ไก่สาว

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาลูกไก่ ไข่

ก.พ. 233.00 279.00 236.00 239.00 248.00 253.00

ก.พ. 120.72 151.80 138.68 129.50 131.67 145.86

ก.พ. 8.00 23.52 18.27 10.00 14.17 28.00

มี.ค. 202.00 289.00 222.00 225.00 232.00 257.00

มี.ค. 98.70 155.50 133.46 129.50 120.50 140.50

มี.ค. 6.88 25.00 16.19 10.00 10.00 26.00

เม.ย. 239.00 268.00 223.00 253.00 251.00 277.00

เม.ย. 95.50 155.50 130.50 133.17 120.50 142.42

เม.ย. 6.00 25.00 15.00 12.48 13.00 26.00

พ.ค. 250.00 288.00 257.00 280.00 274.00 255.00

พ.ค. 103.79 155.89 135.50 140.50 130.29 142.04

พ.ค. 8.50 25.00 17.00 18.00 21.50 26.00

มิ.ย. 250.00 316.00 260.00 280.00 283.00 241.00

มิ.ย. 110.50 160.50 135.50 140.50 145.29 135.74

มิ.ย. 10.00 27.00 17.00 18.00 25.00 23.96

ก.ค. 267.00 320.00 257.00 280.00 294.00

ก.ค. 120.50 160.50 135.50 140.50 147.04

ก.ค. 13.00 27.00 17.00 18.00 25.92

ส.ค. 292.00 328.00 270.00 280.00 301.00

ส.ค. 140.50 162.30 137.50 140.50 150.50

ส.ค. 19.48 27.72 17.80 18.00 28.00

ก.ย. 300.00 324.00 272.00 278.00 303.00

ก.ย. 145.50 165.50 140.50 140.50 150.50

ก.ย. 21.00 29.00 19.00 18.00 28.00

ต.ค. 284.00 287.00 237.00 239.00 303.00

ต.ค. 145.50 160.50 130.50 134.34 150.50

ต.ค. 21.00 27.00 14.45 14.04 28.00

พ.ย. 264.00 267.00 231.00 247.00 284.00

พ.ย. 145.50 154.92 130.50 130.50 150.50

พ.ย. 21.00 24.77 11.77 11.00 28.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 256.92 202.00 300.00 289.50 245.00 328.00 245.17 222.00 272.00 255.42 217.00 280.00 274.33 232.00 303.00 257.83 241.00 277.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 254.00 245.00 224.00 247.00 270.00

หน่วย : บาท / 100 ฟอง

หน่วย : บาท/ตัว

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 124.81 95.50 145.50 156.04 142.77 165.50 135.12 130.50 140.50 134.96 129.50 140.50 140.02 120.50 150.50 142.84 135.74 150.50 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 145.50 142.77 132.76 130.50 150.50

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 13.66 6.00 21.00 25.20 19.91 29.00 16.24 11.77 19.00 14.04 10.00 18.00 21.84 10.00 28.00 26.33 23.96 28.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 21.00 19.91 12.35 11.00 28.00

หน่วย : บาท/ตัว

Around the World

A

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


ม.ค. 15.50 10.50 16.14 13.50 10.47 15.50

ก.พ. 10.54 10.50 17.50 12.25 11.42 15.50

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563

78

ม.ค. 38.10 35.50 29.92 28.60 30.77 35.38

ก.พ. 35.26 35.36 33.82 28.13 32.17 34.65

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 59.46 63.75 58.08 40.00 64.92 75.58

ก.พ. 57.65 63.61 60.64 42.00 70.00 69.25

ราคาสุกรขุนหน้าฟาร์ม

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาไก่เนื้อหน้าฟาร์ม

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาลูกไก่เนื้อ

มี.ค. 58.33 63.28 59.00 43.31 70.00 68.92

มี.ค. 35.00 36.81 32.00 28.00 33.00 33.54

มี.ค. 7.50 10.87 15.50 11.50 11.50 13.73

เม.ย. 59.64 67.92 61.00 56.76 70.00 61.69

เม.ย. 33.52 37.00 35.48 29.33 34.27 33.15

เม.ย. 8.41 11.50 17.41 10.26 11.50 7.58

พ.ค. 62.42 73.00 67.58 59.68 73.13 64.62

พ.ค. 36.83 36.43 37.57 31.04 35.07 34.00

พ.ค. 9.50 12.50 18.50 8.50 11.71 7.88

มิ.ย. 65.00 75.69 63.81 56.62 74.00 70.88

มิ.ย. 35.33 36.00 36.68 30.92 35.33 34.00

มิ.ย. 11.10 12.50 18.50 8.50 14.42 12.50

ก.ค. 65.65 71.36 58.09 56.75 68.71

ก.ค. 36.27 35.40 36.13 32.00 34.69

ก.ค. 11.50 12.74 18.50 9.00 14.50

ส.ค. 66.77 69.28 60.60 61.35 64.00

ส.ค. 35.25 39.76 36.00 32.19 35.54

ส.ค. 11.50 17.62 18.50 12.58 14.50

ก.ย. 69.53 67.10 60.15 62.04 58.80

ก.ย. 36.87 38.54 36.23 31.79 34.21

ก.ย. 12.50 17.35 18.50 12.34 13.98

ต.ค. 65.96 62.41 50.36 60.24 54.00

ต.ค. 32.96 31.95 33.27 30.23 33.03

ต.ค. 10.36 14.54 14.95 10.50 13.50

พ.ย. 60.68 61.77 50.65 63.77 56.54

พ.ย. 33.85 30.00 32.74 30.00 33.00

พ.ย. 10.02 14.50 13.50 10.50 14.19

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 62.79 57.65 69.53 66.58 59.82 75.69 57.96 45.57 67.58 55.30 40.00 63.77 65.71 54.00 74.00 68.49 61.69 75.58 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 62.33 59.82 45.57 61.13 64.45

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 35.25 32.96 38.10 35.12 28.64 39.76 34.13 29.70 37.57 30.19 28.00 32.19 33.74 30.77 35.54 34.12 33.15 35.38 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 33.71 28.64 29.70 30.00 33.77

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 10.74 7.50 15.50 13.37 10.50 17.62 16.75 13.50 18.50 10.83 8.50 13.50 13.10 10.47 15.50 12.12 7.58 15.50 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 10.50 15.36 13.50 10.50 15.50

หน่วย : บาท/ตัว

Around the World

A


ม.ค. 1,875.00 2,000.00 1,800.00 1,212.00 1,984.62 2,553.85

79

ม.ค. 19.00 23.50 26.00 24.56 22.00 23.00

ก.พ. 15.48 20.00 26.00 21.75 22.00 23.00

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ม.ค. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ก.พ. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ราคาเป็ดเชอร์รี่หน้าฟาร์ม

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

มี.ค. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

มี.ค. 14.00 20.00 26.00 17.46 22.00 23.00

เม.ย. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

เม.ย. 14.00 20.00 26.00 19.00 22.00 23.00

พ.ค. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

พ.ค. 15.50 20.00 26.00 19.00 22.00 23.00

มิ.ย. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

มิ.ย. 16.00 20.00 26.00 19.00 22.00 25.00

ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1,800.00 1,800.00 1,859.09 1,925.00 2,000.00 2,000.00 2,081.48 2,294.12 2,600.00 2,584.62 1,763.64 1,700.00 1,750.00 1,900.00 1,769.23 1,287.50 1,292.31 1,709.52 1,680.00 1,600.00 2,100.00 2,100.00 2,100.00 2,166.67 2,200.00 2,262.50 2,169.23 1,846.15 2,053.85 2,264.00

ราคาลูกเป็ดไข่ ซี พี โกลด์เด้น

เดือน 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ราคาลูกสุกรขุน

ก.ค. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ก.ค. 16.77 24.08 26.00 19.00 22.00

ส.ค. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ส.ค. 20.48 26.00 26.00 19.00 22.00

ก.ย. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ก.ย. 24.00 26.00 26.00 19.00 22.00

ต.ค. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ต.ค. 24.00 26.00 26.00 19.00 24.40

พ.ย. 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00

พ.ย. 24.00 26.00 26.00 22.00 25.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 60.92 60.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 60.00 61.00 61.00 61.00 61.00

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/ตัว

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 18.94 14.00 24.00 23.13 20.00 26.00 26.00 26.00 26.00 20.06 17.46 24.56 22.88 22.00 27.18 23.33 23.00 25.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 24.00 26.00 26.00 22.00 27.18

ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 2,000.00 2,027.33 2,200.00 2,069.23 2,000.00 2,000.00 1,962.97 1,800.00 2,200.00 2,340.00 2,300.00 2,257.69 2,008.00 1,919.23 1,831.82 2,184.75 1,831.82 2,600.00 1,600.00 1,616.00 1,700.00 1,418.18 1,300.00 1,230.43 1,628.96 1,230.43 1,900.00 1,600.00 1,726.92 1,776.00 1,700.00 1,788.46 1,730.43 1,591.93 1,212.00 1,788.46 2,030.77 1,646.15 1,420.00 1,300.00 1,438.46 1,986.36 1,872.75 1,300.00 2,200.00 2,191.60 1,846.15 2,553.85 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

หน่วย : บาท/ตัว

Around the World

A

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 193 กรกฎาคม - สิงหาคม 2563


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดท�ำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์

1 บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน)

โทร. 0-2833-8000

2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ โทร. 0-2680-4580 3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน)

โทร. 0-2473-8000

4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด

โทร. 0-2814-3480

5 บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน)

โทร. 0-2632-7232

6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุร ี

โทร. 0-2680-4500

7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด

โทร. 0-2194-5678-96

8 บริษัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด

โทร. 0-3488-6140-48

9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จ�ำกัด

โทร. 0-2937-4355

10 บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด

โทร. 0-2993-7500

11 บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

โทร. 0-3430-5101-3

12 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด

โทร. 0-2681-1329

13 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

โทร. 0-2694-2498

14 ลา เมคคานิค่า เอส.อาร์.ดิเรฟโฟ

โทร. 0-9824-9771

15 บริษัท อาซาฮี ไบโอไซเคิล จำ�กัด

โทร. 0-2028-9420




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.