รายนามสมาชิก
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด
27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52.
บริษัท ซันฟีด จำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท บุญพิศาล จำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำกัด บริษัท บีทีจี ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แม่ทา วี.พี.ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำกัด บริษัท เจบีเอฟ จำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด
ิน ภ อ
น ท นั
ร า าก
คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำปี 2558-2559 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์ นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประกิต เพียรศิริภิญโญ นางเบญจพร สังหิตกุล นายสถิตย์ บำรุงชีพ นายโดม มีกุล นายวราวุฒิ วัฒนธารา นางสาวถนอมวงศ์ แต้ไพสิฐพงษ์ นายหัสดิน ทรงประจักษ์กุล นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายสมภพ เอื้อทรงธรรม
นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เลขาธิการ รองเลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด
บรรณาธิการ
แถลง
มาตรการทางสังคม ทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ การค้าระหว่างประเทศ รุมเร้า ให้ต้องแก้ไขกันตลอดเวลา การพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ การนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ จากประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ กำลังประสบปัญหาโรคไข้หวัดนกในรัฐต่างๆ ทีเ่ ป็นแหล่งผลิตไก่ ทำให้ประเทศผู้นำเข้าลูกไก่เพื่อมาผลิตพ่อแม่พันธุ์ไก่ เป็นลูกไก่เลี้ยงเป็นอาหารเพื่อส่งออก เนือ้ ไก่ ตลอดห่วงโซ่อาหาร ได้รบั ผลกระทบตามไปด้วย ทำให้ตอ้ งมีการวางแผนการผลิตเพือ่ ไม่ให้กระทบต่อปริมาณความต้องการโดยรวม แม้วา่ ประเทศไทยจะปลอดภัยจากโรคระบาด และมีการควบคุมกันอย่างดี จากประสบการณ์ในอดีตทำให้ประเทศไทยสามารถผลิตไก่ จนเป็นที่ยอมรับการส่งเนื้อไก่สดและผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูปส่งไปได้จากที่เคยถูกควบคุม แต่ อย่างไรก็ตาม ทุกฝ่ายยังต้องเข้มงวดและเฝ้าระวัง มีความรัดกุมมากยิ่งขึ้น ไก่เนื้อ นับเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีศักยภาพในการทำรายได้เข้าประเทศ และเป็นที่ต้องการ เพื่อการบริโภคของคนทั่วโลก แม้ว่าประเทศไทยจะเป็นผู้ส่งออกอันดับที่ 5 ของโลก และ ยากที่จะขยับขึ้นอันดับที่สูงขึ้น เพราะประเทศผู้ส่งออกรายต้นๆ จะได้เปรียบในเรื่องของต้นทุน การเลี้ยงที่เป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบที่สำคัญทั้ง ข้าวโพด และกากถั่วเหลือง ดังนั้น ประเทศไทย ต้องแข่งขันด้วยประสบการณ์ด้านฝีมือการเลี้ยง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ต้องการของ ตลาดแต่ละประเทศ เพื่อเพิ่มมูลค่า นอกจากนี้ สิ่งที่ต้องคำนึงเป็นหลักก็คือการสร้างระบบ ความยั่งยืน และคืนความสมดุลสู่ธรรมชาติ ดังนั้น ทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกันวางระบบ สร้างมาตรฐานที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป มีกำหนดเวลาที่ ชัดเจนว่าจะไปถึงเป้าหมายได้เมื่อไหร่ การแก้ไขปัญหาประมงและการค้ามนุษย์ ยังเป็นปัญหาที่ทุกฝ่ายช่วยกันแก้ไข อย่าง ตั้งใจจริง แม้ว่าจะมีอุปสรรคมากมาย แต่ก็ด้วยการร่วมประกาศเจตนารมย์ว่า จะส่งเสริม และสนับสนุนให้ทำตามกฎระเบียบ การไม่รับซื้อผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ได้มาจากการทำประมง ที่ไม่ถูกต้อง เรียกร้องให้ภาครัฐบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเสมอภาคโดยเข้มงวด และเอาจริงเอาจังกับเรือประมงทีท่ ำผิดกฎหมาย สนับสนุนให้ตลอดห่วงโซ่การผลิตอุตสาหกรรม อาหารทะเลของไทย ร่วมกันรับผิดชอบ มีความโปร่งใสตรวจสอบได้เพื่อความยั่งยืนของ อุตสาหกรรมการประมงและอาหารทะเลของไทย ซึ่งหวังเหลือเกินว่า การเดินทางมาได้ถูกทาง แล้วที่จะให้มีการบูรณาการการทำประมงให้เป็นอาชีพที่มีความมั่นคง คืนธรรมชาติให้กลับสู่ ทะเลของไทยชั่วลูกชั่วหลาน ได้มีอาหารจากการทำประมงที่ยั่งยืน ตลอดไป....
บก.
ธุรกิจอาหารสัตว์
วารสาร
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
ปีที่ 32 เล่มที่ 162 ประจำเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2558
Contents Thailand Focus
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การกำหนดเขตเหมาะสมสำหรับการเลี้ยงสัตว์..................................... 5 เศรษฐกิจการเลี้ยงปลากะพงขาวในบ่อ จังหวัดฉะเชิงเทรา.................................................................................. 12 Food Feed Fuel
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 1 ปี 2558 และแนวโน้มปี 2558...................................................................... 16 ผลพยากรณ์การผลิต..................................................................................................................................... 32 ข้าวนาปี • ข้าวนาปรัง • ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • ถั่วเหลือง • มันสำปะหลัง ไก่เนื้อ • สุกร • กุ้งขาวแวนนาไม สถานการณ์ถั่วเหลือง..................................................................................................................................... 50 สถานการณ์กากถั่วเหลือง............................................................................................................................... 54 สถานการณ์ปลาป่น....................................................................................................................................... 55 เรื่องเก่า เรื่องใหม่ เรื่องจริง ของคอเลสเตอรอลกับไข่ไก่................................................................................... 57 Market Leader
ราคาไข่ไก่ดิ่ง สวนทางภัยแล้ง......................................................................................................................... 61 Around The World
เสวนา "วิกฤตการณ์ ไข้หวัดนกต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อและเนื้อไก่ไทย" ................................................................. 63 ทางออก วิกฤตการณ์ ไข้หวัดนกต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อและเนื้อไก่ไทย ............................................................... 64 วิกฤตการณ์ ไข้หวัดนกต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อ และเนื้อไก่ไทย.............................................................................. 69 สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย นำทีมสมาคม-เอกชน สนองนโยบายรัฐ แก้ปัญหาประมง และค้ามนุษย์................ 73 เกษตรอุตสาหกรรมไทยก้าวไกลสู่ CLMV.......................................................................................................... 76 ภาคสถิติ.......................................................................................................................................................... 81 ขอบคุณ........................................................................................................................................................... 90 ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง
ประธานกรรมการที่ปรึกษา
สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com
Thailand Focus
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง
การกำหนดเขตเหมาะสม สำหรับการเลี้ยงสัตว์ ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556
คณะรัฐมนตรี: ให้ความสำคัญอย่างจริงจังกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน พัฒนาคุณภาพ และคุณค่าสินค้าเพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกร
นายกรัฐมนตรี: กำหนดพื้นที่ zoning สำหรับปลูกพืชให้เหมาะสม ปลูกพืชที่เป็นเอกลักษณ์ คำนวณ ราคาต้นทุน และราคาจำหน่ายสินค้าให้เป็นระบบเหมาะสม และเป็นธรรม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์: หลักการ แนวทาง และการบริหารเขตเศรษฐกิจเกษตร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์: ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การกำหนดเขตเหมาะสมสำหรับการ เลี้ยงสัตว์ 5 ชนิด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์: คณะอนุกรรมการบริหารการผลิตกลุ่มสินค้าปศุสัตว์ (นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล ประธาน)
กรมปศุสัตว์: คณะกรรมการกำหนดเขตเศรษฐกิจเกษตรเพื่อการลงทุนด้านปศุสัตว์ (นายอยุทธ์ หรินทรานนท์ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ ประธาน) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
5
เกณฑ์พิจารณาพื้นที่เหมาะสมสำหรับเลี้ยงสัตว์ 9 เกณฑ์ 25 ตัวชี้วัด 3 High + 3 Low + 3 NO High Potential High Demand High Quality
Low Risk Low cost Low competition
No pollution No rejection No disease
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
High Potential ศักยภาพสูง
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
High Demand ความต้องการสูง
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
6 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
High Quality คุณภาพสูง ปลอดภัย
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
Low Risk Low cost Low competition
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
No pollution No rejection No disease
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
7
คณะกรรมการ Zoning คณะกรรมการยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ สถิติการผลิตสัตว์ ปี 2555 จังหวัดที่เหมาะสม
อำเภอที่เหมาะสม
ตำบลที่เหมาะสม
ประชาพิจารณ์โดย ปศุสัตว์เขต ปศุสัตว์จังหวัด สำนัก กอง ประกาศกระทรวงฯ ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
1. พื้นที่เหมาะสมสำหรับเลี้ยงโคเนื้อ ทั่วประเทศ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ
จังหวัด 25 2 0 4 15 3 1
อำเภอ 343 14 0 38 241 42 8
ตำบล 1744 63 0 191 1320 134 36
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
2. พื้นที่เหมาะสมสำหรับเลี้ยงโคนม ทั่วประเทศ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ
จังหวัด 14 3 1 4 3 0 3
อำเภอ 87 14 6 22 23 0 23
ตำบล 296 60 17 88 69 0 69
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
8 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
3. พื้นที่เหมาะสมสำหรับเลี้ยงสุกร ทั่วประเทศ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ
จังหวัด 26 7 3 2 6 4 4
อำเภอ 275 62 27 17 64 54 51
ตำบล 893 235 94 87 149 178 159
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
4. พื้นที่เหมาะสมสำหรับเลี้ยงไก่เนื้อ ทั่วประเทศ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ
จังหวัด 32 12 5 2 4 5 4
อำเภอ 276 99 33 17 53 46 28
ตำบล 966 370 146 82 157 144 67
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
5. พื้นที่เหมาะสมสำหรับเลี้ยงไก่ไข่ ทั่วประเทศ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ
จังหวัด 19 8 4 1 3 1 2
อำเภอ 91 29 24 7 15 4 12
ตำบล 229 72 74 15 27 11 30
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
9
เขตเศรษฐกิจโคเนื้อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เขตเศรษฐกิจโคเนื้อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เขตเศรษฐกิจโคเนื้อภาคกลาง เขตเศรษฐกิจโคเนื้อภาคใต้ ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
เขตเศรษฐกิจโคนมภาคเหนือ เขตเศรษฐกิจโคนม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขตเศรษฐกิจโคนมภาคกลาง เขตเศรษฐกิจโคนมภาคตะวันตก ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
เขตเศรษฐกิจสุกรภาคตะวันออก เขตเศรษฐกิจสุกรภาคตะวันตก
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
10 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
เขตเศรษฐกิจไก่เนื้อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เขตเศรษฐกิจไก่เนื้อภาคกลาง
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
เขตเศรษฐกิจไก่ ไข่ภาคตะวันออก เขตเศรษฐกิจไก่ ไข่ภาคตะวันตก
ประชุมคณะทำงานโครงการกำหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานด้านปศุสัตว์ ครั้งที่ 1
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
11
Thailand Focus
เศรษฐกิจการเลี้ยงปลากะพงขาวในบ่อ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ï พงศ์พัฒน์ บุญชูวงศ์ ï
ในระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมานี้ ประเทศไทยได้ประสบความสำเร็จในการ ศึกษาทดลองและวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ กร่อยมากขึ้น พร้อมกันนั้นก็ได้เริ่มส่งเสริมให้คำ แนะนำ ตลอดจนการสาธิต และฝึกอบรมวิธีการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเกษตรแก่เกษตรกร จึงได้ รับความสนใจและยึดถือเป็นอาชีพกันทัว่ ไป เริม่ จาก บริเวณชายฝั่งของอ่าวไทยตอนบน ในท้องที่จังหวัดสมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ชลบุรี และ เพชรบุรี ซึ่งเป็นแหล่งที่มีความเหมาะสมกับการประกอบกิจกรรมดังกล่าว ได้เป็นอย่างดี การทำนากุ้งนับเป็นอาชีพที่ทำกันอย่างจริงจัง เพราะได้รับผล ตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุน ราษฎรก็ได้ใช้ประโยชน์ที่ดินชายทะเลและแหล่ง น้ำตื้นชายฝั่งเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำกันมาเป็นเวลานาน ด้วยเหตุผลที่สภาพ ภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยสำคัญอื่นๆ ตามชายฝั่งทะเลของ ประเทศไทยมีความเหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอย่างมาก กิจกรรม ดังกล่าวจึงขยายตัวออกไปอย่างกว้างขวาง ซึ่งปรากฏว่าที่ดินชายทะเลทั้งใน ท้องที่อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ถูกแปรสภาพและใช้ประโยชน์ ในการเพาะเลี้ยงชายฝั่งมากยิ่งขึ้น ที่สำคัญได้แก่ การเลี้ยงกุ้ง การเลี้ยง ปลากะพงขาว และการเลี้ยงหอย เป็นต้น จากการศึกษาโดยการสำรวจผู้เลี้ยงปลากะพงขาวในบ่อ ในพื้นที่อำเภอ บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 11 ราย พบว่าการเลี้ยงกะพงขาวในบ่อ เริ่มเป็นที่นิยม หลังการเลี้ยงกุ้งไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร และการเลี้ยง ปลากะพงขาวในกระชังลดน้อยลง พื้นที่เลี้ยงในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เคย 12 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
เลี้ยงกุ้งและปลาสลิด โดยปรับมาเป็นการเลี้ยง ปลากะพง โดยมีขนาดบ่อประมาณ 2-3 ไร่ มีพื้นที่การเลี้ยงค่อนข้างมากโดยเฉลี่ย 60.3 ไร่ตอ่ ราย การเลีย้ งแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะ แรกเป็นการอนุบาลลูกปลาจากขนาดความยาว 1 ซม. อัตราการปล่อยประมาณ 100,000 ตัว ต่อไร่ ใช้เวลาอนุบาล 2 เดือน ได้ปลาขนาด 3-4 นิว้ ระยะทีส่ อง คัดแยกทีไ่ ด้จากการอนุบาล ลงบ่อเลี้ยงต่ออีก 7 เดือน ได้ปลาขนาด 0.71.0 กก.ต่อตัว ทำการคัดและจับขายบางส่วน และระยะทีส่ าม คัดปลาทีเ่ หลือการเลีย้ งต่อเป็น ปลาขนาดใหญ่อีกประมาณ 8 เดือน ได้ปลา ขนาด 3-5 กก. ต่อตัว ได้ผลผลิตรวมใน รอบการเลี้ยงเฉลี่ย 3,600 กิโลกรัมต่อไร่ ใน ปัจจุบันการเลี้ยงปลากะพงขาวในบ่อได้มีการ พัฒนาใช้อาหารเม็ดสำเร็จรูปเข้ามาทดแทน อาหารปลาสดมากขึ้น ทำให้สามารถบริหาร จั ด การการเลี้ ย งในเชิ ง พาณิ ช ย์ ใ ห้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ จากการสำรวจพบว่าอาหารเม็ด เข้ามาทดแทนอาหารปลาสดได้ถึงร้อยละ 40
61.5 ของทัง้ หมด รองลงมาเป็นปัญหาอาหาร ปลาสดมีราคาสูงและหายาก ร้อยละ 15.4 นอกนั้น เป็นปัญหาคุณภาพลูกพันธุ์ ปัญหา การตลาด และอื่นๆ รวมกัน คิดเป็นร้อยละ 23.1 ของทั้งหมด อย่างไรก็ตาม จากการ ศึกษาพบว่าเกือบทั้งหมดของผู้เลี้ยงปลากะพง ขาวในบ่อยังต้องการเลี้ยงปลากะพงขาวต่อไป เนื่องจากเป็นอาชีพที่มั่นคงในภาวะเศรษฐกิจ ในปัจจุบัน
จากการศึกษาพบว่าผูเ้ ลีย้ งปลากะพงขาว ในบ่ อ ในปั จ จุ บั น ส่ ว นใหญ่ เ คยมี อ าชี พ ในการ เพาะเลี้ยง โดยเคยเลี้ยงกุ้งทะเล (กุ้งกุลาดำ และกุ้งขาวแวนนาไม) มาก่อน คิดเป็นร้อยละ 60.9 ของทัง้ หมด รองลงมาเคยเลีย้ งปลาสลิด ร้อยละ 26.0 อาชีพอนุบาลลูกปลา ร้อยละ 8.7 และค้าขาย ร้อยละ 4.4 สำหรับปัญหา ในการประกอบอาชีพเลีย้ งปลากะพงในปัจจุบนั ที่สำคัญ ได้แก่ ปัญหาโรคปลา คิดเป็นร้อยละ
รายได้ ร วมต่ อ รอบของการเลี้ ย งปลา กะพงขาวในบ่อเฉลี่ย 540,000 บาทต่อไร่ มีกำไรเหนือต้นทุนเงินสดเฉลีย่ 152,125 บาท ต่อไร่ กำไรจากการดำเนินงานเฉลีย่ 151,881 บาทต่ อ ไร่ และกำไรสุ ท ธิ เ ฉลี่ ย 149,973 บาทต่อไร่ อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาพบว่า ผลตอบแทนต่ อ ต้ น ทุ น ทั้ ง หมดของการเลี้ ย ง ปลากะพงขาวในบ่ อ อยู่ ใ นระดั บ ร้ อ ยละ 38 รายละเอียดตามตารางที่ 2
การศึกษาโครงสร้างต้นทุนในการเลี้ยง ปลากะพงขาวในบ่อในรอบการผลิตปี 2555/ 2556 พบว่า มีตน้ ทุนทัง้ หมดเฉลีย่ 390,027 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปรคิดเป็นร้อยละ 99.5 ของต้นทุนทั้งหมด รายการค่าใช้จ่าย ผันแปรที่สำคัญในการเลี้ยง ได้แก่ ค่าอาหาร ปลา คิดเป็นร้อยละ 82.2 ของทัง้ หมด รองลงมา เป็นค่าพลังงาน (ไฟฟ้า และน้ำมันเชื้อเพลิง) คิดเป็นร้อยละ 12.1 และทีเ่ หลือเป็นค่าแรงงาน ค่าพันธุ์ปลา และอื่นๆ รวมกันคิดเป็นร้อยละ 5.2 รายละเอียดตามตารางที่ 1
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
13
ตารางที่ 1 โครงสร้างต้นทุนการเลี้ยงปลากะพงขาวในบ่อ จังหวัดฉะเชิงเทรา
รายการ
1. ต้นทุนคงที่ 1.1 ค่าใช้ที่ดินหรือค่าเช่าที่ดิน 1.2 ค่าเสื่อมราคาบ่อเลี้ยง 1.3 ค่าเสื่อมราคาเครื่องมืออุปกรณ์ 2. ต้นทุนผันแปร 2.1 ค่าลูกพันธุ์ 2.2 ค่าอาหาร 2.3 ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง และหล่อลื่น 2.4 ค่าไฟฟ้า 2.5 ค่าปุ๋ย ยา และสารเคมี 2.6 ค่าเสียโอกาสแรงงานในครัวเรือน 2.7 ค่าแรงงานจ้าง (ดูแล และเก็บเกี่ยวผลผลิต) 2.8 อื่นๆ 3. ต้นทุนทั้งหมด
บาทต่อไร่ 1,908 955 808 145 388,119 2,833 320,625 13,933 33,250 2,760 244 14,207 267 390,027
ร้อยละ
0.5 0.2 0.2 0.1 99.5 0.7 82.2 3.6 8.5 0.7 0.1 3.6 0.1 100
ตารางที่ 2 รายได้ และผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจของการเลี้ยงปลากะพงขาวในบ่อ จังหวัดฉะเชิงเทรา
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.
รายการ
พื้นที่การเลี้ยง (ไร่) อัตราการปล่อยลูกพันธุ์ (ตัวต่อไร่) ขนาดลูกพันธุ์ (นิ้ว) ระยะเวลาการเลี้ยง (ปี) อัตราการรอด (%) ปริมาณผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) ขนาดผลผลิต (กิโลกรัม/ตัว) รายได้ (บาทต่อไร่) กำไรเหนือต้นทุนเงินสด (บาทต่อไร่) กำไรจากการดำเนินการ (บาทต่อไร่) กำไรสุทธิ (บาทต่อไร่) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด (%)
บาทต่อไร่ 60.3 1,750 3-4 1 ปี 7 เดือน 51 3,600 3-5 540,000 152,125 151,881 149,973 38
ช่องทางการตลาด หรือการกระจายผลผลิตจากผลผลิตจากการเลี้ยงปลากะพงขาวในบ่อ พื้นที่บางปะกง มีลักษณะการค้าค่อนข้างผูกขาด มีการแข่งขันน้อยเนื่องจากเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ มีแพปลา หรือผู้รวบรวมในท้องถิ่นน้อยราย ผู้รวบรวบในท้องถิ่นสามารถรับซื้อได้ทุกขนาดตั้งแต่ ขนาด 0.5 กก. ต่อตัว ถึงขนาด 7.0 กก. ต่อตัว โดยปลาที่มีขนาด 0.5-2.0 กก. ต่อตัว ผู้ซื้อ รวบรวมส่งขายเป็นปลาสดแช่เย็นในตลาด และภัตตาคารเขตกรุงเทพฯ และแหล่งท่องเที่ยว ในภาคตะวันออก ปลาขนาด 3 กก. ต่อตัว ส่งขายให้โรงงานห้องเย็นแปรรูปเป็นปลา Fillet 14 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
เพื่อการส่งออก ส่วนปลาขนาดใหญ่มากกว่า 3 กก. ต่อตัว ส่งขายตลาดภาคใต้ซึ่งนิยมบริโภค ปลาขนาดใหญ่ (ภาพที่ 1)
ภาพที่ 1 ช่องทางการตลาดปลากะพงจากการเลี้ยงในบ่อ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผู้เลี้ยงปลากะพงในบ่อ
ผู้รวบรวมท้องถิ่น
ผู้ค้าส่งในเขตกรุงเทพฯ และภาคตะวันออก (ปลาขนาดน้อยกว่า 3 กก.)
ผู้ค้าส่งในภาคใต้ (ปลาขนาด น้อยกว่า 3 กก.)
ห้องเย็นแปรรูป เพื่อการส่งออก (ปลาขนาดน้อยกว่า 3 กก.)
ผู้ค้าปลีกภัตตาคาร
ผู้บริโภค
ส่งออก
สรุป การเลี้ยงปลากะพงขาวในบ่อมีการลงทุน หรือต้นทุนและรายได้สูง เนื่องจากเป็นการ เลี้ยงปลากะพงขาวขนาดตัวใหญ่ และมีระยะเวลาการเลี้ยงนาน การเลี้ยงในพื้นที่ชายฝั่งอำเภอ บางปะกง เป็นการดำเนินการในพื้นที่ที่ไม่ไกลจากแหล่งที่มีความต้องการบริโภคภายในประเทศ และการส่งออก สามารถกระจายผลผลิตได้ทั้งในรูปแบบปลามีชีวิตไปยังตลาดหลัก ได้แก่ ภัตตาคารในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และบริเวณแหล่งท่องเที่ยวชายฝั่งตะวันออก ปลากะพงขาวขนาดใหญ่กระจายสูง ภาคใต้ที่นิยมบริโภคปลาขนาดใหญ่ทดแทนปลากะพง จากทะเลซึ่งมีแนวโน้มลดลง และในบางช่วงที่มีผลผลิตมากสามารถรวบรวมส่งเข้าห้องเย็น ในสมุทรปราการ และกรุงเทพฯ แปรรูปเพื่อการส่งออก อย่างไรก็ตาม ระบบการกระจายสัตว์น้ำ ของผู้ ค้ า ในพื้ น ที่ อ ำเภอบางปะกงซึ่ ง มี ก ารพั ฒ นาการมายาวนานได้ มี ก ารปรั บ ให้ ส อดรั บ กั บ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทั้งเชิงปริมาณ ชนิดสัตว์น้ำ และคุณภาพ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
15
Food Feed Fuel
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ไตรมาส 1 ปี 2558 และแนวโน้ม ปี 2558 ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 1 ปี 2558 ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 1 ปี 2558 หดตัวร้อยละ 1.5 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี 2557 โดยสาขาพืชและสาขาบริการทางการเกษตร หดตัวลง ขณะที่สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง และสาขาป่าไม้ ขยายตัวเพิ่มขึ้น สำหรับปัจจัยลบที่ทำให้ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร หดตัวในไตรมาสนี้คือ ปัญหาภัยแล้ง ซึ่งส่งผลกระทบค่อนข้างมากต่อการเพาะปลูกพืชหลายชนิด ในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา และลุ่มน้ำแม่กลอง โดยเฉพาะข้าวนาปรัง สำหรับการผลิตสาขาปศุสัตว์ ทัง้ ไก่เนือ้ สุกร ไข่ไก่ และน้ำนมดิบ มีทศิ ทางเพิม่ ขึน้ จากระบบการผลิตทีไ่ ด้มาตรฐาน การดูแลและ เฝ้าระวังโรคระบาดอย่างต่อเนื่อง รวมถึงความต้องการบริโภคจากตลาดภายใน และต่างประเทศ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ทำให้มกี ารขยายการเลีย้ งเพือ่ รองรับความต้องการดังกล่าว ส่วนสาขาประมง สถานการณ์ การผลิตกุ้งทะเลเพาะเลี้ยง มีทิศทางดีขึ้น เนื่องจากปัญหาโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome: EMS) คลี่ ค ลายลง ส่ ง ผลให้ มี ผ ลผลิ ต กุ้ ง ทะเลเพาะเลี้ ย งออกสู่ ต ลาดมากขึ้ น อย่างไรก็ตาม ผลผลิตประมงน้ำจืด อาทิ ปลานิล และปลาดุก มีแนวโน้มลดลงจากปัญหาภัยแล้ง ทำให้เกษตรกรต้องงดการเลี้ยงปลาในบางพื้นที่ หรือชะลอการเลี้ยงออกไป
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
16 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจ การเกษตร ปี 2558 แนวโน้ ม ภาวะเศรษฐกิ จ การเกษตร ปี 2558 คาดว่าจะหดตัวอยู่ในช่วงร้อยละ (-1.8)-(0.8) โดยสาขาการผลิตที่หดตัวลง ได้แก่ สาขาพืช และสาขาบริการทางการเกษตร ส่วนสาขาปศุสตั ว์ สาขาประมง และสาขาป่าไม้ ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น สำหรั บ ผลผลิ ต พื ช ที่ ล ดลง ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สับปะรดโรงงาน ยางพารา ลำไย มังคุด และ เงาะ ขณะทีผ่ ลผลิตปศุสตั ว์ทงั้ ไก่เนือ้ สุกร ไข่ไก่ และน้ำนมดิบ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนการผลิต กุ้งทะเลเพาะเลี้ยงปรับตัวดีขึ้นจากการดำเนิน มาตรการในการแก้ไขปัญหาของกรมประมง ร่วมกับภาคเอกชน ทำให้ปัญหาโรคตายด่วน คลี่คลายลง อย่างไรก็ตาม การผลิตทางการ เกษตรในช่ ว งปี 2558 ยั ง คงมี ค วามเสี่ ย ง อย่างมากจากภาวะภัยแล้ง ซึ่งจะสร้างความ เสียหายให้กับผลผลิตสินค้าเกษตรมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ จำเป็นต้องมีการติดตาม และประเมิน สถานการณ์ดังกล่าวอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง เพื่อเตรียมมาตรการบรรเทาความเดือดร้อน ให้แก่เกษตรกร รวมทั้งการปรับแผนการผลิต สินค้าเกษตร
ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่สำคัญ
เศรษฐกิจโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ได้ปรับ คาดการณ์เศรษฐกิจโลกในปี 2558 ขยายตัว อยู่ที่ร้อยละ 3.5 ลดลงจากที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนตุลาคม 2557 ว่าจะขยายตัวร้อยละ
>>IMF คาดว่าเศรษฐกิจโลกในปี 2558 จะขยายตัวประมาณร้อยละ 3.5<<
3.8 เนื่องจากปัจจัยการลงทุนที่อ่อนแอ และ เศรษฐกิจในหลายประเทศยังคงซบเซา แม้ว่า จะมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำมันดิบที่อยู่ใน ระดับต่ำก็ตาม สำหรั บ เศรษฐกิ จ ของสหรั ฐ อเมริ ก า ขยายตัวร้อยละ 3.6 เนื่องจากตลาดแรงงาน ปรับตัวดีขึ้น ประกอบกับความต้องการสินค้า และบริการในประเทศเพิม่ ขึน้ โดยธนาคารกลาง สหรัฐฯ (FED) เริ่มส่งสัญญาณถึงความเป็น ไปได้ที่จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในช่วง กลางปี 2558 เศรษฐกิจยูโรโซน (เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน) ยังคงอ่อนแอ โดยขยายตัว ร้อยละ 1.2 เพราะผลจากวิกฤตทางการเงิน ยังคงมีอยู่ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม 2558 ที่ผ่านมา ธนาคารกลางยุโรป (ECB) ได้เริ่ม ทำการซือ้ พันธบัตรรัฐบาล มูลค่า 60 ล้านยูโร/ เดือน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของมาตรการ QE เศรษฐกิจญี่ปุ่น ขยายตัวได้ค่อนข้างต่ำ ร้อยละ 0.6 ตามการบริโภคและการลงทุน ในประเทศที่ฟื้นตัวอย่างช้าๆ เศรษฐกิ จ จี น ชะลอตั ว ลงจากการปรั บ สมดุลเพื่อสร้างเสถียรภาพทางการเงิน แต่ ยังคงขยายตัวอย่างเข้มแข็งที่ร้อยละ 6.8 ในส่วนของเศรษฐกิจอาเซียน 5 (อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียดนาม) ขยายตัวได้ดีต่อเนื่องร้อยละ 5.2 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
17
ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และประเทศต่างๆ
ประเทศ เศรษฐกิจโลก สหรัฐอเมริกา ยูโรโซน* ญี่ปุ่น จีน อาเซียน 5**
2556 3.3 2.2 -0.5 1.6 7.8 5.2
2557 3.3 2.4 0.8 0.1 7.4 4.5
2558f 3.5 3.6 1.2 0.6 6.8 5.2
ที่มา : World Economic Outlook, January 2015, IMF หมายเหตุ : *เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน **อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียดนาม
เศรษฐกิจการเกษตรโลก สถานการณ์ด้านราคาสินค้าเกษตรและอาหารในตลาดโลก เมื่อพิจารณาจากดัชนีราคา อาหารซึ่งจัดทำโดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) พบว่า ดัชนีราคา อาหารเฉลี่ยในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 อยู่ที่ระดับ 180.3 ลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปี 2557 ซึง่ อยูท่ รี่ ะดับ 205.9 หรือลดลงร้อยละ 12.4 โดยกลุม่ สินค้าทีม่ รี าคาลดลง ได้แก่ ธัญพืช น้ำมันพืช น้ำตาล และผลิตภัณฑ์นม เนื่องจากมีปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตรในกลุ่มดังกล่าว ออกสู่ตลาดค่อนข้างมาก สำหรับกลุ่มสินค้าที่มีราคาเพิ่มขึ้นคือ เนื้อสัตว์ โดยราคาสุกรปรับตัว เพิ่มขึ้น หลังจากที่ราคาตกต่ำมาตั้งแต่ช่วงปี 2557 ดัชนีราคาอาหารโลก (Food Price Index, 2002-2004=100)
18 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ตารางที่ 2 ดัชนีราคาอาหารโลก จำแนกตามกลุ่มสินค้า
กลุ่มสินค้า ธัญพืช น้ำมันพืช น้ำตาล เนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์นม
เฉลี่ย ม.ค.-ก.พ. 2557 2558 195.0 174.6 193.2 156.3 228.5 212.4 182.0 188.8 271.5 177.8
อัตราการเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ) -10.5 -19.1 -7.0 3.8 -34.5
ที่มา : จากการคำนวณ โดยใช้ข้อมูลจาก www.fao.org
ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยเดือนมกราคมกุมภาพันธ์ 2558 อยูท่ ี่ 51.2 ดอลลาร์สหรัฐฯ/ บาร์เรล ลดลงค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับช่วง เดี ย วกั น ของ ปี 2557 ซึ่ ง อยู่ ที่ 104.6 ดอลลาร์สหรัฐฯ/บาร์เรล หรือลดลงถึงร้อยละ 51.0 เนือ่ งจากอุปทานน้ำมันดิบของโลกเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ทั้งจากกลุ่ม OPEC และ NonOPEC ขณะที่อุปสงค์น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นไม่มาก นัก เพราะเศรษฐกิจในหลายประเทศยังคงซบเซา ส่งผลให้เกิดภาวะน้ำมันล้นตลาด กดดันให้ ราคาน้ำมันมีทิศทางลดลงตั้งแต่ช่วงปลายปี 2557
อัตราแลกเปลี่ยน 1. อั ต ราแลกเปลี่ ย นบาทต่ อ ดอลลาร์ สหรัฐฯ เฉลีย่ เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 อยู่ที่ 32.7 บาท/ดอลลาร์สหรัฐฯ มีแนวโน้ม แข็งค่าขึ้นเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ 32.8 บาท/ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.4 2. อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อยูโร เฉลี่ย เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 อยู่ที่ 37.5
ราคาน้ำมันดิบดูไบ
ที่มา : World Bank
บาท/ยูโร มีทศิ ทางแข็งค่าขึน้ เมือ่ เทียบกับช่วง เดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ 44.7 บาท/ ยูโร หรือแข็งค่าขึ้นร้อยละ 16.1 การเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทเมื่อเทียบ กั บ ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ และยู โ ร ในช่ ว งเดื อ น มกราคา-กุมภาพันธ์ 2558 มีแนวโน้มแข็งค่า ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ภายหลังธนาคารกลางสหรัฐฯ ชะลอการขึน้ ดอกเบีย้ ขณะทีธ่ นาคารกลางยุโรป ได้ประกาศใช้มาตรการ QE ทำให้นักลงทุน ในตลาดเงินเทขายเงินยูโร และหันมาซื้อเงิน ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ แทน ประกอบกั บ ในช่ ว ง ดังกล่าวมีเงินทุนไหลเข้ามาในตลาดพันธบัตร ของไทยอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ค่าเงินบาท แข็งค่าขึ้น ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
19
บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ
บาทต่อยูโร
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
ภาพรวมเศรษฐกิจไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2558 ขยายตัวประมาณร้อยละ 3.5-4.5 โดยมีปจั จัยสนับสนุนจากการส่งออก ที่ฟื้นตัวตามเศรษฐกิจโลก การบริโภค และการลงทุนภาคเอกชน รวมถึงภาคการท่องเที่ยว มีแนวโน้มดีขึ้น การเร่งรัดการใช้จ่าย และการดำเนินโครงการลงทุนที่สำคัญของภาครัฐ ตลอด จนการลดลงของราคาน้ำมันในตลาดโลก อย่างไรก็ตาม การขยายตัวทางเศรษฐกิจยังมีข้อจำกัด หลายประการ เช่น ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกยังไม่มีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างชัดเจน ส่งผล กระทบต่อการขยายตัวของภาคเกษตร สำหรับระบบเศรษฐกิจ และการเงินโลกยังคงมีความผันผวน นอกจากนี้ สกุลเงินในประเทศคู่ค้า และคู่แข่งก็มีแนวโน้มอ่อนค่าลง สำหรับอัตราดอกเบี้ยนโยบาย จากการประชุมของคณะกรรมการนโยบายการเงิน เมื่อ วันที่ 11 มีนาคม 2558 มีมติ 4 ต่อ 3 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 จากร้อยละ 2.00 เหลือร้อยละ 1.75 ต่อปี ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปปรับตัวลดลง และ ติดลบตามราคาน้ำมันในตลาดโลกทีอ่ ยูใ่ นระดับต่ำ โดยอัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปเฉลีย่ ในเดือนมกราคมกุมภาพันธ์ 2557 อยู่ที่ร้อยละ -0.5 ต่ำกว่าช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 1.9 อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาอัตรา อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เงินเฟ้อพืน้ ฐานยังคงเป็นบวก เพราะ ราคาสินค้าและบริการส่วนใหญ่ยัง คงปรับตัวเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ กระทรวง พาณิชย์ได้ปรับลดกรอบเงินเฟ้อในปี 2558 อยู่ในกรอบร้อยละ 0.61.3 ที่มา : สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
20 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ไตรมาส 1 ปี 2558
เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร 1. ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร เฉลี่ยในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 อยู่ที่ระดับ 124.8 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 126.5 หรือลดลงร้อยละ 1.4 ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ มีทิศทางลดลงเช่นกัน อยู่ที่ระดับ 139.7 ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ระดับ 150.0 หรือลดลงร้อยละ 6.9 ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร (ปีฐาน = 2548)
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ (ปีฐาน = 2548)
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษกิจการเกษตร
2. ดัชนีผลผลิตหมวดพืชผล เฉลี่ยในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 อยู่ที่ระดับ 130.9 ลดลงร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 135.0 ขณะที่ดัชนี ราคาหมวดพืชผลที่เกษตรกรขายได้ อยู่ที่ระดับ 141.7 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ระดับ 150.3 หรือลดลงร้อยละ 5.7 ดัชนีผลผลิตหมวดพืชผล (ปีฐาน = 2548)
ดัชนีราคาหมวดพืชผลที่เกษตรกรขายได้ (ปีฐาน = 2548)
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษกิจการเกษตร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
21
3. ดัชนีผลผลิตหมวดปศุสัตว์ เฉลี่ยในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 อยู่ที่ระดับ 124.2 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 122.4 ขณะที่ ดัชนีราคาหมวดปศุสัตว์ที่เกษตรกรขายได้ อยู่ที่ระดับ 128.3 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี ที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ระดับ 137.5 หรือลดลงร้อยละ ดัชนีผลผลิตหมวดปศุสัตว์ (ปีฐาน = 2548)
ดัชนีราคาหมวดปศุสัตว์ที่เกษตรกรขายได้ (ปีฐาน = 2548)
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษกิจการเกษตร
4. ดัชนีผลผลิตหมวดประมง เฉลีย่ ในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 อยูท่ รี่ ะดับ 54.0 เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.8 จากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 39.5 ขณะที่ดัชนีราคาหมวด ประมงที่เกษตรกรขายได้ อยู่ที่ระดับ 164.6 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ระดับ 218.7 หรือลดลงร้อยละ 24.8 ดัชนีผลผลิตหมวดประมง (ปีฐาน = 2548)
ดัชนีราคาหมวดประมงที่เกษตรกรขายได้ (ปีฐาน = 2548)
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษกิจการเกษตร
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรไตรมาส 1 ปี 2558 หดตัวร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี 2557 โดยสาขาพืช และสาขาบริการทางการเกษตร หดตัวลง ขณะที่สาขา ปศุสัตว์ สาขาประมง และสาขาป่าไม้ ขยายตัวเพิ่มขึ้น สำหรับปัจจัยลบที่ทำให้ภาวะเศรษฐกิจ 22 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
การเกษตรหดตัวในไตรมาสนี้คือ ปัญหาภัย แล้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ ช่ ว งปลายปี 2557 ต่ อ เนื่องมาจนถึงไตรมาสแรกของปี 2558 ทำให้ ปริมาณน้ำในเขื่อนหลักมีน้อย ส่งผลกระทบ ค่อนข้างมากต่อการเพาะปลูกพืชหลายชนิดใน พื้ น ที่ ลุ่ ม น้ ำ เจ้ า พระยา และลุ่ ม น้ ำ แม่ ก ลอง โดยเฉพาะข้าวนาปรัง ซึ่งกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เห็นควรให้งดการปลูกข้าวนาปรัง ในปี 2557/58 จำนวน 7.77 ล้านไร่ ใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา และลุ่มน้ำแม่กลองโดย เด็ ด ขาด และส่ ง เสริ ม ให้ ป ลู ก พื ช ไร่ พื ช ผั ก ที่ใช้น้ำน้อยแทน สำหรับการผลิตสาขาปศุสัตว์ ขยายตัวได้ต่อเนื่องทั้งการผลิตไก่เนื้อ สุกร ไข่ไก่ และน้ำนมดิบ เนื่องจากระบบการผลิต ที่ ไ ด้ ม าตรฐาน การดู แ ลและเฝ้ า ระวั ง โรค ระบาดอย่างต่อเนือ่ ง ประกอบกับสภาพอากาศ เย็นในช่วงต้นปี ทำให้สัตว์เจริญเติบโตได้ดี รวมถึงความต้องการจากตลาดภายใน และ ต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้มี การขยายการเลี้ยงเพื่อรองรับความต้องการ ดังกล่าว ส่วนการผลิตสาขาประมง สถานการณ์ ก ารผลิ ต กุ้ ง ทะเลเพาะเลี้ ย งมี ทิ ศ ทาง ดีขึ้น เนื่องจากปัญหาโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome: EMS) คลี่คลายลง ส่ง ผลให้มีผลผลิตกุ้งทะเลเพาะเลี้ยงออกสู่ตลาด มากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลผลิตประมงน้ำจืด อาทิ ปลานิล และปลาดุก มีแนวโน้มลดลง จากปัญหาภัยแล้ง ทำให้เกษตรกรต้องงดการ เลี้ ย งปลาในบางพื้ น ที่ หรื อ ชะลอการเลี้ ย ง ออกไป
สาขาพืช สาขาพืชในไตรมาส 1 ปี 2558 หดตัว ร้อยละ 3.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี
2557 โดยพื ช ที่ มี ผ ลผลิ ต ลดลง ได้ แ ก่ ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ สับปะรดโรงงาน ยางพารา และปาล์มน้ำมัน ข้าวนาปรัง มี ผลผลิตลดลง เนื่องจากปริมาณน้ำในเขื่อน ขนาดใหญ่ของประเทศมีน้อยกว่าปีที่ผ่านมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้ออกประกาศ งดการส่ ง น้ ำ เพื่ อ การเพาะปลู ก ข้ า วนาปรั ง ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2557 จนถึง 30 เมษายน 2558 ในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา และ ลุ่มน้ำแม่กลอง รวม 26 จังหวัด ทำให้เนื้อที่ เพาะปลูกข้าวนาปรังลดลง ประกอบกับราคา ข้าวมีแนวโน้มลดลง ส่งผลให้เกษตรกรบางส่วน ลดเนือ้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวลง โดยปล่อยให้พนื้ ทีว่ า่ ง หรือปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ใช้น้ำน้อย กว่า เช่น พืชตระกูลถั่ว และข้าวโพดหวาน เป็นต้น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีผลผลิตลดลง เนื่องจากเกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกพืช ที่ ใ ห้ ผ ลตอบแทนดี ก ว่ า เช่ น มั น สำปะหลั ง และอ้อยโรงงาน สับปะรดโรงงาน มีผลผลิต ลดลง เนื่องจากเกษตรกรไม่สามารถปลูกแซม ในสวนยางพาราได้ อี ก เพราะต้ น ยางโตขึ้ น ประกอบกับสภาพอากาศที่แห้งแล้ง ทำให้ผล สับปะรดไม่สมบูรณ์ ยางพารา มีผลผลิตลด ลงเนื่ อ งจากสภาพภู มิ อ ากาศไม่ เ หมาะสม อากาศร้อน ทำให้น้ำยางออกมาน้อยกว่าปกติ ปาล์มน้ำมัน มีผลผลิตลดลงจากสภาพอากาศ ที่แห้งแล้ง สำหรั บ พื ช ที่ มี ผ ลผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น ได้ แ ก่ ข้าวนาปี มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน และผลไม้ (ลำไย ทุเรียน และมังคุด) โดยข้าวนาปี ผล ผลิตเพิ่มขึ้นเนื่องจากผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก การดูแลเอาใจใส่ และปริมาณน้ำฝนเพียงพอ ต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว มันสำปะหลัง ผลผลิตเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากราคามันสำปะหลังอยู่ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
23
ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรหันมาปลูกทดแทน ในพื้นที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน และ พืน้ ทีว่ า่ งเปล่า ประกอบกับเกษตรกรมีการบำรุง รั ก ษาที่ ดี ขึ้ น ส่ ง ผลให้ ผ ลผลิ ต ต่ อ ไร่ เ พิ่ ม ขึ้ น อ้อยโรงงาน ผลผลิตเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากเนือ้ ทีเ่ ก็บ เกี่ยวเพิ่มขึ้นจากการที่ภาครัฐมีนโยบายขยาย พื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ ลำไย ผลผลิตเพิ่ม ขึ้นเนื่องจากเนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นจากต้นที่ปลูก ใหม่ในปี 2555 ทุเรียน ผลผลิตเพิ่มขึ้นเนื่อง จากเนื้อที่ปลูกใหม่ในปี 2553 เพื่อทดแทน การโค่นต้นทุเรียนที่มีอายุมาก และการปลูก แทนผลไม้อื่นๆ เริ่มทยอยให้ผลผลิต มังคุด ผลผลิตเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากแหล่งผลิตในภาคเหนือ และภาคกลาง มีเนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นจากต้นที่ ปลูกใหม่ในปี 2551 ด้า นราคา สิน ค้าพื ชที่มีร าคาเพิ่มขึ้ น ได้แก่ ข้าวเปลือกเจ้า ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง สับปะรด และปาล์มน้ำมัน ข้าวเปลือกเจ้า มีราคาเพิม่ ขึน้ ตามกลไกตลาด โดย ไม่มีนโยบายแทรกแซงราคาข้าว แม้ว่าผลผลิต ข้าวนาปรังจะลดลงอย่างมาก แต่ปริมาณข้าว ในสต็อกของรัฐบาลก็ยงั คงมีปริมาณมาก ส่งผล ให้ราคาข้าวไม่ปรับตัวสูงขึ้นมากนัก ข้าวโพด เลีย้ งสัตว์ มีราคาเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากความต้องการ ใช้เป็นวัตถุดบิ อาหารสัตว์ภายในประเทศเพิม่ ขึน้ มันสำปะหลัง มีราคาเพิ่มขึ้นเนื่องจากความ ต้องการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และ เอทานอลเพิ่ ม ขึ้ น สั บ ปะรด มี ร าคาเพิ่ ม ขึ้ น เนื่องจากผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย ไม่เพียงพอ ต่อความต้องการของโรงงานแปรรูปสับปะรด ปาล์มน้ำมัน มีราคาเพิ่มขึ้นเนื่องจากผลผลิต มีค่อนข้างน้อย ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ภายในประเทศ 24 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
สิ น ค้ า พื ช ที่ มี ร าคาลดลง ได้ แ ก่ อ้ อ ย โรงงาน ยางพารา และลำไย โดยอ้อยโรงงาน มี ร าคาลดลงตามราคาน้ ำ ตาลในตลาดโลก เนื่องจากผลผลิตอ้อยของบราซิล ซึ่งเป็นผู้ผลิต รายใหญ่ของโลกเพิ่มขึ้น ยางพารา มีราคา ลดลงเนื่องจากอุปทานในตลาดโลกมีค่อนข้าง มาก ขณะที่เศรษฐกิจโลกยังคงซบเซา ลำไย มี ราคาลดลงเนื่องจากมีผลผลิตออกสู่ตลาดมาก ด้านการส่งออก ในช่วงเดือนมกราคม 2558 สินค้าพืชและผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณและ มูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้นคือ ลำไยและผลิตภัณฑ์ เนื่องจากความต้องการในฮ่องกงเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ขณะที่สินค้าที่มีปริมาณการส่งออก เพิ่มขึ้น แต่มีมูลค่าส่งออกลดลง ได้แก่ น้ำตาล และผลิ ต ภั ณ ฑ์ เนื่ อ งจากผลผลิ ต อ้ อ ยของ บราซิ ล เพิ่ ม ขึ้ น จากสภาพอากาศที่ เ หมาะสม ประกอบกับรัฐบาลอินเดียได้อนุมัติเงินอุดหนุน การส่งออกน้ำตาลทรายดิบในปี 2557/2558 เป็นจำนวน 1.4 ล้านตัน ในอัตรา 4,000 รูป/ี ตัน (64 เหรียญสหรัฐฯ) ส่งผลให้อุปทานใน ตลาดโลกเพิ่มสูงขึ้น และราคามีแนวโน้มลดลง สินค้าทีม่ ปี ริมาณและมูลค่าส่งออกลดลง ได้แก่ ข้าวรวม มันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ยางพารา น้ ำ มั น ปาล์ ม สับปะรดและผลิตภัณฑ์ ทุเรียนและผลิตภัณฑ์ มั ง คุ ด และผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยข้ า วมี ป ริ ม าณและ มูลค่าส่งออกลดลง เนื่องจากประเทศผู้นำเข้า ข้าวจากไทย โดยเฉพาะประเทศในแถบตะวันออกกลาง และไนจีเรีย ได้รับผลกระทบจาก ราคาน้ำมันที่ลดลง ทำให้ลดการนำเข้าข้าว จากไทยด้วย อย่างไรก็ตาม รัฐบาลยังคงเร่ง ระบายข้าวในสต็อกผ่านการประมูลทั่วไป และ ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าสำหรับตลาดภาย
ในประเทศ และตลาดต่ า งประเทศ ทำให้ ปริ ม าณและมู ล ค่ า การส่ ง ออกข้ า วไทยลดลง ไม่ ม ากนั ก มั น สำปะหลั ง และผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลงเนื่องจากมีการ ผลิตเอทานอลเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนภาย ในประเทศเพิม่ สูงขึน้ หลังจากมีมาตรการยกเลิก การใช้เบนซิน 91 ส่งผลให้การส่งออกลดลง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีปริมาณและมูลค่าส่งออก ลดลง จึงทำให้การส่งออกลดลง ยางธรรมชาติ มี ป ริ ม าณและมู ล ค่ า ส่ ง ออกลดลงเนื่ อ งจาก เศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัวอย่างช้าๆ ขณะที่อุปทาน ยางธรรมชาติในโลกยังมีอยู่มาก และราคา ยางธรรมชาติ ใ นตลาดโลกมี แ นวโน้ ม ลดลง น้ำมันปาล์ม มีปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลง เนือ่ งจากราคาน้ำมันปาล์มของไทยสูงกว่าตลาด โลกค่ อ นข้ า งมาก ทุ เ รี ย นและผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลงเนื่องจากความ ต้องการในตลาดฮ่องกง และจีนลดลง มังคุด และผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ป ริ ม าณและมู ล ค่ า ส่ ง ออก ลดลงเนื่องจากความต้องการในตลาดจีน และ เวียดนามลดลง
สาขาปศุสัตว์ ไตรมาส 1 ปี 2558 สาขาปศุสัตว์ ขยายตัวร้อยละ 1.6 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี 2557 เนือ่ งจากการผลิตปศุสตั ว์โดยรวม อยู่ในเกณฑ์ดี มีระบบการผลิตที่ได้มาตรฐาน มีการดูแลและเฝ้าระวังโรคระบาดอย่างต่อเนือ่ ง รวมทั้ ง สภาพอากาศเย็ น ในช่ ว งต้ น ปี ทำให้ สัตว์เจริญเติบโตได้ดี ส่งผลให้ไก่เนื้อ สุกร ไข่ไก่ และน้ำนมดิบ มีผลผลิตเพิ่มขึ้น โดย ไก่เนื้อมีการขยายการเลี้ยงเพื่อรองรับความ ต้องการบริโภคภายในประเทศ และการส่งออก
ไปยังต่างประเทศ ประกอบกับราคาที่ต่ำกว่า เนื้ อ สั ต ว์ ป ระเภทอื่ น ทำให้ มี ค วามต้ อ งการ ของตลาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่สุกร มีการขยายการผลิตเพื่อรองรับความต้องการ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ก รและสุ ก รมี ชี วิ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จาก ประเทศคูค่ า้ แม้วา่ ในช่วงต้นปีจะพบโรคระบาด ในบางพื้นที่ แต่การจัดการฟาร์มที่มีมาตรฐาน ทำให้สามารถควบคุมโรคได้ดี สำหรับปริมาณ ผลผลิตไข่ไก่เพิ่มขึ้นจากระบบการจัดการฟาร์ม ที่ได้มาตรฐาน และจำนวนแม่ไก่ยืนกรงที่มาก ขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการขยายการเลี้ยงในช่วงที่ ผ่านมา ในส่วนของการผลิตน้ำนมดิบ การปรับ ราคารับซื้อน้ำนมดิบหน้าโรงงานเพิ่มขึ้นกิโลกรัมละ 1 บาท จูงใจให้เกษตรกรเก็บรักษา แม่โครีดนม ประกอบกับประเทศเพื่อนบ้านได้ ชะลอการสั่งซื้อแม่โคนมของไทย รวมทั้งมีการ พัฒนาระบบการจัดการฟาร์มเลี้ยงโคนม ทำ ให้อตั ราการให้นำ้ นมเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ และคุณภาพ อยู่ในเกณฑ์ดี ส่งผลให้ปริมาณการผลิตน้ำนม ดิบเพิ่มขึ้น ด้านราคา ราคาสินค้าปศุสัตว์ส่วนใหญ่ ปรับตัวลดลง โดยราคาไก่เนื้อ สุกร และไข่ไก่ เฉลี่ยในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 ลดลงร้อยละ 10.2, 11.1 และ 19.9 เมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา เนื่องจาก ปริ ม าณผลผลิ ต ที่ อ อกสู่ ต ลาดมากขึ้ น ส่ ว น ราคาน้ำนมดิบปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากการปรับ ราคารับซือ้ น้ำนมดิบหน้าโรงงานทีเ่ พิม่ ขึน้ และ คุณภาพน้ำนมดิบดีขึ้น ด้ า นการส่ ง ออก การส่ ง ออกสิ น ค้ า ปศุสัตว์ในช่วงเดือนมกราคม 2558 ขยายตัว เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2557 โดย ปริมาณและมูลค่าการส่งออกเนื้อไก่และผลิตธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
25
ภัณฑ์เพิ่มขึ้นจากการส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็น แช่แข็งที่ขยายตัวต่อเนื่องตามความต้องการ ของตลาดญี่ปุ่น ภายหลังการยกเลิกมาตรการ ห้ า มนำเข้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สั ต ว์ ปี ก สดแช่ แ ข็ ง จาก ไทย โดยการส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง มีปริมาณส่งออกเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 152.8 และ มู ล ค่ า การส่ ง ออกเพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง ร้ อ ยละ 186.8 สำหรับการส่งออกเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์เพิ่ม ขึ้นจากความต้องการของตลาดสำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น ฮ่องกง และลาว รวมทั้งการส่งออกเนื้อ สุกรไปยังตลาดรัสเซียทีเ่ ริม่ มีการส่งออกในช่วง ปลายปี 2557 ส่วนการส่งออกนมและผลิตภัณฑ์ มีปริมาณส่งออกลดลง ขณะทีม่ ลู ค่าการส่งออก เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจากราคาที่ปรับเพิ่มขึ้น
สาขาประมง สาขาประมงในไตรมาส 1 ของปี 2558 ขยายตัว ร้อยละ 6.5 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี 2557 เนื่องจากผลผลิตประมงทะเลมี แนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งในส่วนของการเพาะเลี้ยง และการจับตามธรรมชาติ โดยผลผลิตกุ้งทะเล เพาะเลี้ ย งในช่ ว งเดื อ นมกราคม-กุ ม ภาพั น ธ์ 2558 เริ่มออกสู่ตลาดมากขึ้น โดยมีปริมาณ 26,697 ตัน เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่งมีปริมาณ 23,649 ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.9 เพราะปัญหาโรคตายด่วย (Early Mortality Syndrome: EMS) คลีค่ ลายลง ทำให้เกษตรกร ผู้ผลิตส่วนใหญ่มีความมั่นใจมากขึ้น จึงขยาย การผลิตเพิ่มขึ้น สำหรับการทำประมงทะเล ปริ ม าณสั ต ว์ น้ ำ นำขึ้ น ท่ า เที ย บเรื อ ในภาคใต้ ในเดือนมกราคม 2558 มีปริมาณ 19,971.8 ตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึ่ง มีปริมาณ 19, 556.4 ตัน หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 26 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
2.1 ส่วนผลผลิตประมงน้ำจืด เช่น ปลานิล และ ปลาดุก มีแนวโน้มลดลง เนือ่ งจากปัญหาภัยแล้ง ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคกลาง และภาคเหนือตอน ล่าง ซึ่งเป็นแหล่งผลิตที่สำคัญ ทำให้เกษตรกร ผู้เลี้ยงปลาน้ำจืดทั้งในบ่อดิน และในกระชัง ตามริมฝั่งแม่น้ำลำคลอง ลดเนื้อที่เลี้ยงปลาลง มีการปล่อยลูกปลาในอัตราน้อยกว่าปกติ หรือ ชะลอการเลี้ยงออกไป ด้านราคา ราคากุง้ ขาวแวนนาไม ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม ที่เกษตรกรขายได้ในช่วง เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 เฉลี่ยอยู่ที่ กิโลกรัมละ 201 บาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปี 2557 ซึง่ มีราคาเฉลีย่ อยูท่ ี่ 267 บาทต่อ กิโลกรัม หรือลดลงร้อยละ 24.8 เนื่องจาก ผลผลิตกุง้ ในแหล่งผลิตทีส่ ำคัญเริม่ ทยอยออกสู่ ตลาดมากขึ้น ประกอบกับประเทศคู่ค้าหลัก อย่างสหรัฐอเมริกา ชะลอการนำเข้าจากไทย เนื่องจากสต็อกกุ้งตั้งแต่ปี 2557 ยังมีเป็น จำนวนมาก นอกจากนี้ สหรัฐฯ ยังหันไปนำเข้า กุ้งจากเวียดนามมากขึ้นเนื่องจากราคาถูกกว่า สำหรับญี่ปุ่นประสบปัญหาค่าเงินเยนอ่อนค่า ทำให้ตลาดชะลอตัวเช่นกัน ด้านการส่งออก การส่งออกสินค้าประมง ของไทยในช่วงเดือนมกราคม 2558 สินค้า ประมงทีม่ ปี ริมาณและมูลค่าส่งออกลดลง ได้แก่ ปลาและผลิตภัณฑ์ มีปริมาณส่งออก 90.65 พันตัน คิดเป็นมูลค่า 9,010.29 ล้านบาท ลดลงทั้ ง ปริ ม าณและมู ล ค่ า จากช่ ว งเดี ย วกั น ของปี 2557 ซึง่ มีปริมาณส่งออก 93.72 พันตัน คิดเป็นมูลค่า 10,565.14 ล้านบาท หรือลดลง ร้อยละ 3.3 และ 14.7 ตามลำดับ สำหรับ ปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ มีปริมาณส่งออก 4.65 พันตัน คิดเป็นมูลค่า 892.49 ล้านบาท ลดลง
ทั้ ง ปริ ม าณและมู ล ค่ า จากช่ ว งเดี ย วกั น ของปี 2557 ซึ่งมีปริมาณส่งออก 4.90 พันตัน คิดเป็นมูลค่า 978.06 ล้านบาท หรือลดลง ร้อยละ 5.0 และ 8.8 ตามลำดับ ส่วนกุ้งและ ผลิตภัณฑ์ มีปริมาณส่งออก 12.92 พันตัน คิดเป็นมูลค่า 4,535.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้นทั้ง ปริมาณและมูลค่าจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ซึง่ มีปริมาณส่งออก 10.91 พันตัน คิดเป็นมูลค่า 4,445.55 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 18.4 และ 2.0 ตามลำดับ
สาขาบริการทางการเกษตร สาขาบริการทางการเกษตรในไตรมาส 1 ปี 2558 ลดลงร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบ กับช่วงเดียวกันของปี 2557 เนื่องจากพื้นที่ เพาะปลูกข้าวนาปรังลดลง จากปริมาณน้ำทีใ่ ช้ การได้ในเขื่อนหลัก เช่น เขื่อนภูมิพล และ เขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้อย กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ จึงได้ออกประกาศงดการส่งน้ำ เพื่อการเพาะปลูกข้าวนาปรัง ส่งผลให้พื้นที่ ภาคเหนื อ ตอนล่ า ง และภาคกลางตอนบน บางแห่งไม่สามารถปลูกข้าวนาปรัง หรือปลูก ข้าวนาปรังรอบสองได้ ทำให้การจ้างบริการ เตรี ย มดิ น ไถพรวนดิ น และการให้ บ ริ ก าร เกี่ยวนวดข้าวลดลงตามไปด้วย
สาขาป่าไม้ สาขาป่าไม้ในไตรมาสแรกของปี 2558 ขยายตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.4 เมือ่ เทียบกับช่วง เดียวกันของปี 2557 เนื่องจากไม้ยางพารา ไม้ยคู าลิปตัส น้ำผึง้ ธรรมชาติ ครัง่ และถ่านไม้ เพิ่มขึ้นเป็นสำคัญ โดยไม้ยางพาราขยายตัว เพิ่มขึ้นตามนโยบายการตัดโค่นต้นยางพารา เก่าเพื่อปลูกทดแทนด้วยยางพาราพันธุ์ดี หรือ
พืชอื่น เช่น ปาล์มน้ำมัน และผลไม้ ของ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) ขณะทีไ่ ม้ยคู าลิปตัสมีการตัดโค่นเพิม่ ขึน้ จากความต้องการใช้ภายในประเทศ สำหรับ ผลผลิตน้ำผึ้งธรรมชาติคาดว่าจะขยายตัวได้ดี เนื่องจากสภาพอากาศเอื้ออำนวย ทำให้แหล่ง อาหารของผึ้งมีความอุดมสมบูรณ์ ผลผลิต ครั่ ง ดิ บ กลั บ มาขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ครั้ ง จาก สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยในการเจริญเติบโต ของครัง่ ส่วนถ่านไม้เพิม่ ขึน้ ตามความต้องการ ใช้ถ่านไม้ของครัวเรือน และธุรกิจร้านอาหาร ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ด้านการส่งออก การส่งออกผลิตภัณฑ์ จากป่าในเดือนมกราคม 2558 ที่เพิ่มขึ้นทั้ง ปริมาณและมูลค่าการส่งออก ได้แก่ น้ำผึ้ง และครั่ง โดยน้ำผึ้งขยายตัวเพิ่มขึ้นมากกว่า 2.5 เท่าของเดือนมกราคม 2557 เนื่องจาก ตลาดหลั ก เช่ น เยอรมนี สหรั ฐ อเมริ ก า สหราชอาณาจักร ซาอุดิอาระเบีย และไต้หวัน มี ค วามต้ อ งการเพิ่ ม ขึ้ น ขณะที่ ก ารส่ ง ออก ครั่งเม็ดก็ขยายตัวได้ดีเช่นกัน สำหรับไม้ยูคาลิ ป ตั ส ปริ ม าณการส่ ง ออกค่ อ นข้ า งทรงตั ว แต่มูลค่าการส่งออกขยายตัวร้อยละ 1.7 ส่วน ถ่านไม้ ปริมาณการส่งออกขยายตัวประมาณ ร้อยละ 17.0 แต่มูลค่าส่งออกลดลง
แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2558 แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2558 คาดว่าจะหดตัวอยูใ่ นช่วงร้อยละ (-1.8)(-0.8) โดยสาขาการผลิตที่หดตัวลง ได้แก่ สาขาพืช และสาขาบริการทางการเกษตร ส่วน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
27
สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง และสาขาป่าไม้ ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น สำหรั บ ผลผลิ ต พื ช ที่ ล ดลง ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สับปะรดโรงงาน ยางพารา ลำไย มังคุด และ เงาะ ขณะที่ ผ ลผลิ ต ปศุ สั ต ว์ ทั้ ง ไก่ เ นื้ อ สุ ก ร ไข่ไก่ และน้ำนมดิบ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วน การผลิตกุ้งทะเลเพาะเลี้ยง ปรับตัวดีขึ้น จาก การดำเนินมาตรการในการแก้ไขปัญหาของ ประมงร่วมกับภาคเอกชน ทำให้ปัญหาโรค ตายด่วนคลี่คลายลง อย่างไรก็ตาม การผลิต ทางการเกษตรในช่วงปี 2558 ยังคงมีความ เสี่ยงอย่างมากจากภาวะภัยแล้ง รวมถึงปัญหา ฝนทิ้งช่วงที่อาจยาวนานไปจนถึงต้นฤดูเพาะ ปลูกในเดือนพฤษภาคม 2558 ซึ่งจะสร้าง ความเสียหายให้กับผลผลิตสินค้าเกษตรมาก ยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง นี้ จำเป็ น ต้ อ งมี ก ารติ ด ตามและ ประเมินสถานการณ์ดังกล่าวอย่างใกล้ชิดและ ต่อเนื่อง เพื่อเตรียมมาตรการบรรเทาความ เดือดร้อนให้แก่เกษตรกร รวมทั้งการปรับแผน การผลิตสินค้าเกษตร
สาขาพืช สาขาพืชในปี 2558 คาดว่าจะหดตัว อยูใ่ นช่วงร้อยละ (-4.2)-(-3.2) โดยผลผลิตพืช ที่มีแนวโน้มลดลง ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สับปะรดโรงงาน ยางพารา และผลไม้ เช่น ลำไย มังคุด และเงาะ สำหรับ ผลผลิ ต พื ช ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ได้ แ ก่ มั น สำปะหลั ง อ้อยโรงงาน ปาล์มน้ำมัน และทุเรียน ทั้งนี้ การผลิตสาขาพืชในช่วงปี 2558 ยังคงมีความ เสีย่ งเกีย่ วกับภาวะฝนทิง้ ช่วง ซึง่ จะทำให้ปญ ั หา ภั ย แล้ ง ทวี ค วามรุ น แรงมากขึ้ น รวมถึ ง การ เปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ และการระบาด ของศัตรูพืชต่างๆ ด้วย 28 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ด้ า นราคาพื ช ในปี 2558 คาดว่ า จะ ใกล้เคียงกับปี 2557 เนื่องจากสถานการณ์ เศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัวอย่างเต็มที่ อีกทั้ง อุปทานสินค้าเกษตรหลายชนิดในตลาดโลกทีม่ ี อยูม่ าก ได้แก่ ข้าว อ้อยโรงงาน และยางพารา นอกจากนี้ สภาพอากาศทั่วโลกที่มีความแปรปรวนมากขึน้ อาจก่อให้เกิดภัยธรรมชาติทสี่ ร้าง ความเสียหายต่อผลผลิตพืชของโลก และส่งผล กระทบต่อเนื่องมายังการผลิต ราคา และการ ส่งออกสินค้าเกษตรของไทยด้วย
สาขาปศุสัตว์ ปี 2558 คาดว่าสาขาปศุสตั ว์จะขยาย ตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 1.3-2.3 โดยปริมาณ การผลิ ต ทั้ ง ไก่ เ นื้ อ ไข่ ไ ก่ สุ ก ร และโคนม มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรมีการ ขยายปริมาณการผลิตเพือ่ รองรับความต้องการ ของตลาดภายใน และต่างประเทศที่มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ประกอบกับมีระบบการเลี้ยงและการ บริหารจัดการฟาร์มที่ได้มาตรฐานสากล และ มีการควบคุม เฝ้าระวังโรคระบาด และสาร ปนเปื้อนอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ยังมี ปั จ จั ย เสี่ ย งจากสภาพอากาศแปรปรวน ภั ย ธรรมชาติ และโรคระบาด อาทิ โรคปากและ เท้าเปือ่ ย โรคท้องร่วงติดต่อ (Porcine Epidemic Diarrhea: PED) และโรคทางระบบสืบพันธุแ์ ละ ระบบทางเดินหายใจ (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) ใน สุกร รวมทั้งต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ เช่น กากถั่วเหลือง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่อยู่ใน ระดับสูง อาจส่งผลกระทบต่อการผลิตสินค้า ปศุสัตว์ได้ ด้ า นราคาสิ น ค้ า ปศุ สั ต ว์ ใ นปี 2558 คาดว่าราคาไก่เนื้อจะอยู่ในระดับใกล้เคียงกับ
ปี 2557 สำหรับราคาสุกร และไข่ไก่มแี นวโน้ม ลดลง เนื่ อ งจากปริ ม าณผลผลิ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งไรก็ ต าม หากมี ก ารควบคุ ม และรั ก ษา ระดั บ ปริ ม าณผลผลิ ต ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความ ต้องการของตลาด อาจทำให้ราคาปรับตัวลด ลงไม่มากนัก ส่วนราคาน้ำนมดิบในปี 2558 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากปี 2557 เนื่องจากมีการ ปรับราคารับซื้อน้ำนมดิบหน้าโรงงานเพิ่มขึ้น กิโลกรัมละ 1 บาท ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 การส่งออกสินค้าปศุสัตว์ในปี 2558 คาดว่าจะขยายตัวตามความต้องการบริโภค ของตลาดต่างประเทศ โดยการดำเนินการ เรื่องระบบการเลี้ยง และการตรวจสอบย้อน กลับตามมาตรฐานสากล ทำให้ประเทศคู่ค้า มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในมาตรฐานการผลิ ต และ คุณภาพสินค้าของไทย โดยการส่งออกเนื้อไก่ และผลิตภัณฑ์ยงั มีทศิ ทางขยายตัวได้ดที งั้ ตลาด ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และกลุ่มตะวันออกกลาง ประกอบกับโอกาสในการขยายการส่งออกไปยัง ตลาดรัสเซีย และฟิลิปปินส์ รวมถึงการส่งออก ไปยังเกาหลีใต้ที่คาดว่าจะสามารถเริ่มส่งออก ได้ในช่วงกลางปีนี้ ส่วนการส่งออกเนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากความต้อง การของประเทศในกลุม่ อาเซียนตะวันออกกลาง และญี่ปุ่น
สาขาประมง สาขาประมงในปี 2558 คาดว่าจะ ขยายตัวอยูใ่ นช่วงร้อยละ 5.0-6.0 เนือ่ งจาก การผลิตกุ้งทะเลเพาะเลี้ยงฟื้นตัวขึ้นจากปัญหา การระบาดของโรค EMS ทำให้มีผลผลิตกุ้ง ออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น สำหรับผลผลิตจากการทำ ประมงทะเลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน อย่างไร
ก็ตาม ผลผลิตประมงน้ำจืดมีทิศทางลดลงจาก ภาวะภัยแล้ง ทำให้มีปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อ การเลี้ยงปลาน้ำจืด สำหรับราคาสินค้าประมงส่วนใหญ่ คาด ว่าจะยังอยู่ในเกณฑ์ดี เนื่องจากความต้องการ ของตลาดทั้งในและต่างประเทศยังมีอย่างต่อ เนื่อง ด้านการส่งออกสินค้าประมงในปี 2558 อาจประสบปั ญ หาบางประการ เนื่ อ งจาก ประเทศผู้นำเข้ารายใหญ่ อาทิ สหรัฐอเมริกา กำลังจับตามองอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุ้ง ของไทย ซึ่งอยู่ในบัญชีรายชื่อสินค้าที่เกี่ยวข้อง กับการค้ามนุษย์อย่างร้ายแรง (Tier 3) และ พร้อมที่จะถูกคว่ำบาตร ขณะที่สหภาพยุโรป ให้ความสนใจกับเรือประมงที่ทำผิดกฎหมาย IUU Fishing ซึ่งหากไทยไม่มีการแก้กฎหมาย และดำเนินคดีอย่างจริงจัง สหภาพยุโรปจะ แจกใบเหลืองให้ไทยปรับปรุงอย่างเร่งด่วนใน เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ก่อนที่จะห้ามนำเข้า อาหารทะเลแปรรู ป จากไทยภายในเดื อ น สิงหาคม 2558
สาขาบริการทางการเกษตร สาขาบริการทางการเกษตรในปี 2558 คาดว่าจะหดตัวอยู่ในช่วงร้อยะละ (-3.0)(-2.0) เนือ่ งจากพืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวนาปรังลดลง จากปริ ม าณน้ ำ ในเขื่ อ นขนาดใหญ่ มี ป ริ ม าณ น้อยกว่าปีที่ผ่านมา ทำให้พื้นที่ภาคเหนือและ ภาคกลางส่วนใหญ่ ไม่สามารถปลูกข้าวนาปรัง หรือปลูกข้าวนาปรังรอบสองได้ ส่งผลให้การ ใช้บริการทางการเกษตรลดลง อย่างไรก็ตาม การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตามมาตรการ กำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตร (Zoning) ประกอบกับปัญหาการขาดแคลน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
29
แรงงานด้านเกษตรที่ส่งผลให้ค่าจ้างแรงงานภาคเกษตรมีอัตราค่อนข้างสูง เป็นผลให้เกษตรกร เปลีย่ นมาใช้บริการทางการเกษตร เช่น การเตรียมดิน การไถพรวนดิน รถเกีย่ วข้าว และรถตัดอ้อย เพิ่มขึ้น
สาขาป่าไม้ สาขาป่าไม้ในปี 2558 คาดว่าจะขยายตัวได้ในช่วงร้อยละ 3.0-4.0 เนื่องจากผลผลิต ไม้ยางพารา ไม้ยูคาลิปตัส น้ำผึ้งธรรมชาติ ครั่ง และถ่านไม้ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นที่ ต้องการของตลาดภายในและต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องเฝ้าระวังผลกระทบจากปัญหา อากาศร้อนในช่วงไตรมาสที่ 1 ต่อเนื่องไปยังไตรมาสที่ 2 ที่จะเกิดขึ้นกับสาขาป่าไม้ โดยเฉพาะ การเพาะเลี้ยงผึ้งและครั่ง ซึ่งเป็นแมลงที่ไม่ชอบอากาศร้อน ตารางที่ 3 อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร
ไตรมาส 1 (ม.ค.-มี.ค.) -1.5 -3.8 1.6 6.5 -2.7 3.4
สาขา ภาคเกษตร สาขาพืช สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง สาขาบริการทางการเกษตร สาขาป่าไม้
หน่วย : ร้อยละ
2558 ทั้งปี (-1.8)-(-0.8) (-4.2)-(-3.2) 1.3-2.3 5.0-6.0 (-3.0)-(-2.0) 3.0-4.0
ที่มา : จากการประมาณการโดยสำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตารางที่ 4 ผลผลิตของสินค้าเกษตรที่สำคัญ ปี 2557-2558 (ปีปฏิทิน)
สินค้า ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ไก่เนื้อ (ล้านตัว) สุกรมีชีวิต (ล้านตัว) ไข่ไก่ (ล้านฟอง) น้ำนมดิบ
ทั้งปี
2557 2558* 27.11 26.83 9.67 5.53 4.89 4.77 30.12 31.17 4.432 4.427 12.50 12.57 1,209.52 1,235.27 12.82 13.03 11,717.71 11,939.00 1.067 1.068
การเปลี่ยนแปลง ม.ค.-มี.ค. การเปลี่ยนแปลง 2557 2558* (ร้อยละ) (ร้อยละ) -1.04 1.51 1.53 1.08 -42.80 3.29 1.96 -40.58 -2.54 0.46 0.39 -14.06 3.47 15.65 16.60 6.10 -0.11 1.154 1.043 -9.66 0.57 3.04 2.17 -28.70 2.13 300.69 305.48 1.59 1.59 3.26 3.30 1.43 1.89 2,793.50 2,844.71 1.83 0.04 0.270 0.271 0.36
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หมายเหตุ : *ข้อมูลพยากรณ์ ณ เดือนมีนาคม 2558 (เบื้องต้น)
30 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
หน่วย : ล้านตัน
ตารางที่ 5 ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้
สินค้า ข้าวเปลือกเจ้า ความชื้น 15% (บาท/ตัน) ข้าวนาปีหอมมะลิ (บาท/ตัน) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ความชื้น 14.5% หัวมันสำปะหลังสดคละ ผลปาล์มน้ำมันทั้งทะลายมีน้ำหนัก > 15 กก. ไก่รุ่นพันธุ์เนื้อ สุกร น้ำหนัก 100 กก. ขึ้นไป ไข่ไก่สดคละ (บาท/ร้อยฟอง) น้ำนมดิบ กุ้งขาวแวนนาไม ขนาด 70 ตัว/กก.
หน่วย : บาท/กก.
2557 2558 ทั้งปี ม.ค.-ก.พ. ม.ค.-ก.พ. 7,753 7,877 7,886 12,914 14,248 12,635 7.13 6.19 8.61 2.18 2.18 2.23 4.27 5.38 5.64 42.34 43.42 39.01 75.08 71.93 63.97 309 327 262 16.91 16.83 17.38 223 267 201
การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ) 0.11 -11.32 39.11 2.38 4.78 -10.16 -11.06 -19.91 3.30 -24.77
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตารางที่ 6 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรที่สำคัญ
สินค้า สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ ข้าวรวม (ล้านตัน) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ (ล้านตัน) ยางพารา (ล้านตัน) น้ำมันปาล์ม (ล้านตัน) เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ เนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ นมและผลิตภัณฑ์ ปลาและผลิตภัณฑ์ กุ้งและผลิตภัณฑ์
ปริมาณ (พันตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 2557 2558 2557 2558 %∆ %∆ ทั้งปี ม.ค. ม.ค. ทั้งปี ม.ค. ม.ค. - 1,308,905.40 108,612.89 91,747.34 -15.53 10.97 0.70 0.61 -12.64 174,853.41 12,372.31 10,887.56 -12.00 631.50 104.14 6.21 -94.04 5,154.83 794.33 52.83 -93.35 9.84
1.05
3.79 0.36 545.56 20.37 197.68 1,145.23 167.15
0.36 0.015 41.16 1.49 17.18 93.72 10.91
0.83 -20.48
90,798.25
-15.07 -65.20 16.89 27.74 -9.82 -3.27 18.40
244,748.02 11,298.08 73,963.33 3,008.63 8,073.51 120,657.32 65,004.87
0.30 0.005 48.11 1.91 15.49 90.65 12.92
9,073.39
7,733.59 -14.77
28,086.51 15,967.86 -43.15 545.11 160.21 -70.61 5,796.84 6,292.47 8.55 230.51 274.36 19.02 564.27 671.21 18.95 10,565.14 9,010.29 -14.72 4,445.55 4,535.65 2.03
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ หมายถึง สินค้าในพิกดั ศุลกากร ตอนที่ 1-24, 35.05.10, 35.05.20, 40.01, 40.05, 44.03, 50.01-50.03, 52.01
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
31
Food Feed Fuel
ผลพยากรณ์การผลิต ข้าวนาปี ปี 2558 ปี 2557 2558 ผลต่าง % การเปลี่ยนแปลง
(ปีเพาะปลูก 2558/59)
เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) (ไร่) 61,739,500 59,026,720 61,179,100 58,864,240 -560,400 -162,480 -0.91 -0.28
ผลผลิต (ตัน) 27,106,445 26,576,150 -530,295 -1.96
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) ปลูก เก็บ 439 459 434 451 -5 -8 -1.14 -1.74
สถานการณ์การผลิต เนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าลดลงจากปีที่แล้ว เนื่องจากการคาดหมายลักษณะอากาศปี 2558 ของกรมอุตุนิยมวิทยา ว่าปีนี้ฝนจะมาล่าช้ากว่าปีที่แล้ว คือประมาณครึ่งเดือนหลังของเดือน พฤษภาคม 2558 และมีปริมาณน้ำฝนน้อยจนถึงปลายเดือนมิถุนายน 2558 ทำให้เกษตรกร ต้องปลูกข้าวล่าช้า ซึง่ มีผลทำให้บางพืน้ ทีป่ ลูกข้าวนาปีได้เพียงรอบเดียว โดยเฉพาะภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลาง ประกอบกับราคาข้าวมีแนวโน้มลดลง เกษตรกรบางส่วนในภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง จึงปรับเปลีย่ นไปปลูกพืชอืน่ หรือสินค้าเกษตรอืน่ ขายได้ ราคาดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน การเพาะเลี้ยงกุ้ง เป็นต้น สำหรับผลผลิตต่อไร่ลดลง เนื่องจากคาดว่าภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคกลาง ปริมาณน้ำฝนน้อยในระยะต้นกล้า และระยะแตกกอ ส่งผลต่อการงอกของต้นกล้า การเจริญเติบโตและการสร้างรวงอ่อน นอกจากนัน้ ยังเสีย่ งต่อโรคและแมลงศัตรูพชื ระบาด ส่งผล ให้ภาพรวมทั้งประเทศผลผลิตลดลง สำหรับสถานการณ์รายภาคเป็นดังนี้ ภาคเหนือ เนือ้ ทีเ่ พาะปลูกคาดว่าลดลงจากปีทแี่ ล้ว โดยเฉพาะภาคเหนือตอนล่าง เนือ่ งจาก ปีนี้ฝนมาล่าช้า เกษตรกรต้องปลูกข้าวล่าช้า ทำให้ปลูกข้าวนาปีได้เพียงรอบเดียว ประกอบกับ เกษตรกรบางส่วนปรับเปลีย่ นไปปลูกพืชอืน่ เช่น อ้อยโรงงาน ซึง่ มีโรงงานน้ำตาลสนับสนุนเงินทุน
32 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
และปัจจัยการผลิต และบางส่วนเห็นว่าได้ผลตอบแทนที่ดีกว่า มีแหล่งรับซื้อแน่นอน ได้แก่ จังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ เป็นต้น สำหรับผลผลผลิตต่อไร่ลดลงจากการคาดว่าปริมาณ น้ำฝนจะน้อย ต้นข้าวขาดน้ำในช่วงต้นฤดูปลูก ส่งผลให้การเจริญเติบโตไม่ดี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื้อที่เพาะปลูกลดคาดว่าลงจากปีที่แล้ว เนื่องจากเกษตรกร บางส่วนปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน ซึ่งให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า มีโรงงานน้ำตาลให้การ ส่งเสริม เช่น จังหวัดเลย ขอนแก่น ส่วนผลผลิตต่อไร่ลดลง ผลผลิตบางส่วนจะเสียหาย เนื่องจากคาดการณ์ว่าฝนมาล่าช้า ปริมาณน้ำฝนจะไม่เพียงพอ ภาคกลาง เนื้ อ ที่ เ พาะปลู ก ลดลงจากปี ที่ แ ล้ ว เนื่ อ งจากปี นี้ ฝ นมาล่ า ช้ า ปริ ม าณน้ ำ ในแหล่งน้ำมีน้อย ทำให้บางพื้นที่ต้องปลูกข้าวล่าช้า และปลูกได้เพียงรอบเดียว ประกอบกับบาง พืน้ ทีเ่ กษตรกรปรับเปลีย่ นไปปลูกอ้อยโรงงาน เช่น จังหวัดชัยนาท สระแก้ว เป็นต้น และบางส่วน เปลี่ยนไปเพาะเลี้ยงกุ้ง เช่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนผลผลิตต่อไร่คาดว่า ใกล้เคียงกับปีที่แล้ว ภาคใต้ เนื้อที่เพาะปลูกลดลง เนื่องจากราคาข้าวมีแนวโน้มลดลง ต้นทุนการผลิตสูง ได้ผลตอบแทนไม่ดี เกษตรกรปลูกมากในเดือนกันยายน ถึงตุลาคม 2558 และมกราคม 2559 สำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น เนื่องจากคาดว่าปริมาณน้ำฝนในช่วงปลายปีเพียงพอต่อการเจริญ เติบโตของต้นข้าว เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตข้าวนาปี
ร้อยละผลผลิตข้าวนาปีรายเดือน
แหล่งผลิต 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. จ.อุบลราชธานี 2. จ.นครราชสีมา 3. จ.สุรินทร์ 4. จ.ร้อยเอ็ด 5. จ.ศรีสะเกษ
สถานการณ์ตลาดและราคา จากการคาดการณ์ของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ณ เดือน มีนาคม 2558 ผลผลิตข้าวโลก ปี 2557/58 มีปริมาณ 474.856 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก ปี 2556/57 ร้อยละ 0.47 การใช้ในประเทศมีปริมาณ 483.674 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก ปี 2556/57 ร้อยละ 0.60 การค้าข้าวโลกมีปริมาณ 42.617 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก ปี 2556/57 ร้อยละ 1.40 และสต็อกปลายปีมีปริมาณ 97.637 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก ปี 2556/57 ร้อยละ 8.28 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
33
ราคาที่เกษตรกรขายได้ ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% (บาท/ตัน)
หมายเหตุ : ปี 2558 เฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม (สัปดาห์ที่ 4)
สำหรับแนวโน้มการส่งออกข้าวปี 2558 คาดว่าจะส่งออกได้ประมาณ 10 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2557 ร้อยละ 8.83 เนื่องจากเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ประกอบกับประเทศ ผูน้ ำเข้ามีนโยบายทีจ่ ะเพิม่ พืน้ ทีป่ ลูกและผลผลิตข้าวให้เพียงพอกับความต้องการบริโภคในประเทศ และลดการนำเข้าลง โดยการส่งออกข้าวในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2558 (ม.ค.-ก.พ. 58) ไทย ส่งออกข้าวปริมาณ 1.341 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 22,854 ล้านบาท ทั้งปริมาณและมูลค่า ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ร้อยละ 4.67 และร้อยละ 7.12 ตามลำดับ ตลาด ส่งออกข้าวที่สำคัญของไทยส่วนใหญ่อยู่ในภูมิภาคแอฟริกาที่นิยมบริโภคข้าวนึ่ง รองลงมาได้แก่ ตลาดภูมิภาคเอเชีย อเมริกา และยุโรป ตามลำดับ
ข้าวนาปรัง ปี 2558 ปี 2557 2558 ผลต่าง % การเปลี่ยนแปลง
เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) (ไร่) 15,055,076 14,891,157 8,865,760 8,687,476 -6,189,316 -6,203,681 -41.11 -41.66
(ปีเพาะปลูก 2557/58) ผลผลิต (ตัน) 9,672,093 5,514,940 -4,157,153 -42.98
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) ปลูก เก็บ 642 650 622 635 -20 -15 -3.12 -2.31
สถานการณ์การผลิต เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตคาดว่าลดลงจากปีที่แล้ว เนื่องจากภาพรวมปริมาณน้ำใน เขื่อนขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่ใช้การได้มีน้อย และไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้ออกประกาศงดการส่งน้ำเพื่อการเพาะปลูกข้าวนาปรัง ตั้งแต่ 34 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
วันที่ 7 ตุลาคม 2557 จนถึง 30 เมษายน 2558 ในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาและลุ่มน้ำ แม่กลอง รวม 26 จังหวัด ประกอบกับราคาข้าวมีแนวโน้มลดลง ทำให้เกษตรกรลดเนื้อที่ เพาะปลูกลงโดยปล่อยพื้นที่ว่าง และบางรายปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชที่ใช้น้ำน้อยกว่า เช่น พืช ตระกูลถั่ว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวโพดหวาน เป็นต้น ในพื้นที่ที่ปลูกข้าวนาปรังได้คาดว่าจะปลูก ได้เพียงรอบเดียว อย่างไรก็ตาม เกษตรกรบางส่วนในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยา และลุ่มน้ำแม่กลอง เสี่ยงปลูกข้าวนาปรัง เนื่องจากยังมีน้ำนอนคลองและอยู่ใกล้แหล่งน้ำ สำหรับผลผลิตต่อไร่ คาดว่าลดลงจากปีที่แล้ว เนื่องจากต้นข้าวได้รับน้ำไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต และบางแหล่ง ผลิต ได้แก่ ภาคเหนือตอนล่าง ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศหนาวในช่วงเดือนมกราคม 2558 ส่งผลให้ข้าวเมล็ดลีบเนื่องจากไม่ผสมเกสร ภาคเหนือ เนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าลดลง เนื่องจากมีน้ำไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก และ ราคาข้าวเปลือกไม่จูงใจให้เกษตรกรขยายเนื้อที่เพาะปลูก บางส่วนปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น เช่น พืชตระกูลถั่ว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น แต่บางพื้นที่เกษตรกรเริ่มเพาะปลูกข้าวนาปรัง โดยใช้ น้ำบาดาลขุดเอง น้ำนอนคลอง อย่างไรก็ตาม เกษตรกรที่อยู่ใกล้แม่น้ำก็ยังปลูกข้าวนาปรังอยู่ เช่น จังหวัดสุโขทัย นครสวรรค์ เป็นต้น แม้ว่ากรมชลประทานประกาศงดการจัดสรรน้ำในเขต ลุ่มน้ำเจ้าพระยาก็ตาม แต่คาดว่าจะปลูกได้เพียงรอบเดียว ผลผลิตในภาคเหนือจะเก็บเกี่ยวมาก ในเดือนมีนาคม ถึงเมษายน 2558 สำหรับผลผลิตต่อไร่ลดลง เนื่องจากปริมาณน้ำไม่เพียงพอ ประกอบกับบางจังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ กำแพงเพชร เป็นต้น ได้รับผลกระทบจาก สภาพอากาศหนาวในช่วงเดือนมกราคม 2558 ส่งผลให้ข้าวเมล็ดลีบเนื่องจากไม่ผสมเกสร ภาพรวมผลผลิตทางภาคเหนือจึงลดลง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าลดลง เนื่องจากเกษตรกรต้องงดปลูก ข้าวนาปรังจากปริมาณน้ำไม่เพียงพอ และเกรงว่าจะประสบภัยแล้งจึงปล่อยพืน้ ทีว่ า่ ง โดยส่วนใหญ่ เกษตรกรปลูกในเดือนมกราคม 2558 ส่วนผลผลิตต่อไร่คาดว่าใกล้เคียงกับปีที่แล้ว ภาคกลาง เนื้ อ ที่ เ พาะปลู ก คาดว่ า ลดลง เนื่ อ งจากปริ ม าณน้ ำ ที่ ใ ช้ ก ารได้ ใ นเขื่ อ น ขนาดใหญ่ ได้ แ ก่ เขื่ อ นภู มิ พ ล เขื่ อ นสิ ริ กิ ต ติ์ เขื่ อ นศรี น คริ น ทร์ และเขื่ อ นวชิ ร าลงกรณ์ เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตข้าวนาปรัง
ร้อยละผลผลิตข้าวนาปรังรายเดือน
แหล่งผลิต 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. จ.สุพรรณบุรี 2. จ.พิษณุโลก 3. จ.พิจิตร 4. จ.อยุธยา 5. จ.กำแพงเพชร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
35
มีปริมาณน้ำใช้การได้ลดลงจากปีที่แล้ว และไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ส่งผลให้ กรมชลประทานประกาศงดจั ด สรรให้ เ กษตรกรใช้ ใ นการเพาะปลู ก ข้ า วนาปรั ง ในแถบลุ่ ม น้ ำ เจ้าพระยา และลุ่มน้ำแม่กลอง แต่อย่างไรก็ตาม เกษตรกรบางรายยังเสี่ยงปลูกข้าวนาปรังเพื่อ ให้มีรายได้ สำหรับผลผลิตต่อไร่ลดลง เนื่องจากปริมาณน้ำไม่เพียงพอ ทำให้ต้นข้าวเจริญเติบโต ไม่ดี ผลผลิตเสียหาย ภาคใต้ เนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจังหวัดนครศรีธรรมราช และปัตตานี เนื่องจากปีที่แล้วประสบภัยแล้ง ไม่มีน้ำสำหรับการเพาะปลูกข้าวนาปรัง จึงต้องเลื่อนไปปลูกใน ฤดูการผลิตข้าวนาปี แต่ปีนี้ภาครัฐมีแผนในการจัดสรรน้ำสำหรับข้าวนาปรัง จึงคาดว่าจะ สามารถปลูกได้มากกว่าปีที่แล้ว สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วเล็กน้อย สถานการณ์ตลาดและราคา จากการคาดการณ์ของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ณ เดือน มีนาคม 2558 ผลผลิตข้าวโลก ปี 2557/58 มีปริมาณ 474.856 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก ปี 2556/57 ร้อยละ 0.47 การใช้ในประเทศมีปริมาณ 483.674 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก ปี 2556/57 ร้อยละ 0.60 การค้าข้าวโลกมีปริมาณ 42.617 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก ปี 2556/57 ร้อยละ 1.40 และสต็อกปลายปีมีปริมาณ 97.637 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก ปี 2556/57 ร้อยละ 8.28 สำหรับแนวโน้มการส่งออกข้าวปี 2558 คาดว่าจะส่งออกได้ประมาณ 10 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2557 ร้อยละ 8.83 เนื่องจากเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ประกอบกับประเทศ ผูน้ ำเข้ามีนโยบายทีจ่ ะเพิม่ พืน้ ทีป่ ลูกและผลผลิตข้าวให้เพียงพอกับความต้องการบริโภคในประเทศ และลดการนำเข้าลง โดยการส่งออกข้าวในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2558 (ม.ค.-ก.พ. 58) ไทย ส่งออกข้าวปริมาณ 1.341 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 22,854 ล้านบาท ทั้งปริมาณและมูลค่า ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ร้อยละ 4.67 และร้อยละ 7.12 ตามลำดับ ตลาด ส่งออกข้าวที่สำคัญของไทยส่วนใหญ่อยู่ในภูมิภาคแอฟริกาที่นิยมบริโภคข้าวนึ่ง รองลงมาได้แก่ ตลาดภูมิภาคเอเชีย อเมริกา และยุโรป ตามลำดับ ราคาที่เกษตรกรขายได้ ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% (บาท/ตัน)
หมายเหตุ : ปี 2558 เฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม (สัปดาห์ที่ 4)
36 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2558 (ปีเพาะปลูก 2558/59) ปี 2557 2558 ผลต่าง % การเปลี่ยนแปลง
เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) (ไร่) 7,292,697 7,073,303 7,231,451 7,002,496 -61,246 -70,807 -0.84 -1.00
ผลผลิต (ตัน) 4,804,670 4,810,083 5,413 0.11
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) ปลูก เก็บ 659 679 665 687 6 8 0.91 1.18
สถานการณ์การผลิต เนื้อที่เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทั้งประเทศคาดว่าลดลง โดยเฉพาะของเนื้อที่เพาะปลูก รุ่น 1 เนื่องจากปีที่แล้วราคาที่เกษตรกรขายได้ไม่จูงใจ ราคาเฉลี่ยตั้งแต่มีนาคมถึงตุลาคม 2557 กิโลกรัมละ 7.30 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 8.04 บาท ในช่วงเดียวกันของปี 2556 หรือลดลงร้อยละ 9.19 ทำให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น มันสำปะหลังโรงงาน และอ้อยโรงงาน สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำ เพียงพอต่อการเจริญเติบโต และไม่กระทบแล้งในช่วงออกดอก ภาคเหนือ เนื้อที่เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์คาดว่าลดลง จากแหล่งผลิต รุ่น 1 เนื่องจาก ราคาที่เกษตรกรขายได้ไม่จูงใจ ทำให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น มันสำปะหลังโรงงาน และอ้อยโรงงาน ประกอบกับเกษตรกรที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ แซมสวนยางพารา ซึ่งในปัจจุบันต้นยางพาราเจริญเติบโต จึงไม่สามารถปลูกแซมได้ สำหรับ ผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ร้อยละผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รายเดือน
แหล่งผลิต 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. จ.เพชรบูรณ์ 2. จ.น่าน 3. จ.เลย 4. จ.ตาก 5. จ.นครราชสีมา ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
37
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื้อที่เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์คาดว่าลดลง เนื่องจากราคา ที่เกษตรกรขายได้ไม่จูงใจ ทำให้เกษตรกรในแหล่งผลิตที่สำคัญปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง โรงงาน และอ้อยโรงงานที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจาก มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโต และไม่กระทบแล้งในช่วงออกดอก ภาคกลาง เนื้อที่เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์คาดว่าลดลง เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อ ยโรงงาน และมันสำปะหลังโรงงาน ซึ่งให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีปริมาณน้ำฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโต และไม่กระทบแล้งในช่วงออกดอก
สถานการณ์ตลาดและราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อยู่ในช่วงปลายฤดูการผลิต ปี 2557/58 คาดว่าจะมีผลผลิตคงเหลือ ออกสู่ตลาดในช่วงไตรมาส 2 (เดือนเมษายน-มิถุนายน) ประมาณร้อยละ 2-3 ของปริมาณ ผลผลิตทั้งหมด ดังนั้น จึงคาดว่าราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในช่วงดังกล่าวจะยังอยู่ในเกณฑ์ดี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรควรให้ความสำคัญกับการรักษาคุณภาพโดยเฉพาะความชื้น เนื่องจาก ขณะนี้เริ่มมีฝนตกในบางพื้นที่ นอกจากนี้ควรให้ความสำคัญกับการลดต้นทุนการผลิต เนื่องจาก ผู้ใช้ในภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์อาจเลือกใช้พืชชนิดอื่นที่มีราคาถูกกว่าทดแทน หรือนำเข้า ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ราคาถูกจากประเทศเพื่อนบ้านมาใช้เพิ่มขึ้น เพื่อลดต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์ ราคาที่เกษตรกรขายได้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ความชื้น 14.5% (บาท/กก.)
หมายเหตุ : ปี 2558 เฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม (สัปดาห์ที่ 4)
38 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ถั่วเหลือง ปี 2558 ปี 2557 2558 ผลต่าง % การเปลี่ยนแปลง
เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) (ไร่) 189,225 186,342 186,555 183,949 -2,670 -2,393 -1.41 -1.28
(ปีเพาะปลูก 2558/59) ผลผลิต (ตัน) 51,740 51,589 -151 -0.29
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) ปลูก เก็บ 273 278 277 280 4 2 1.47 0.72
สถานการณ์การผลิต เนื้อที่เพาะปลูกถั่วเหลืองลดลงจากปีที่แล้ว เนื่องจากการขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ และต้นทุน การผลิตถั่วเหลืองสูงขึ้นตามปัจจัยการผลิต เช่น ค่าปุ๋ย ค่ายา ปราบศัตรูพืช และค่าแรงงาน เป็นต้น รวมทั้งเกษตรกรบางส่วนหันไปปลูกเป็นถั่วเหลืองฝักสดเพิ่มมากขึ้น ถึงแม้ว่าจะมีการ ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกถั่วเหลืองรุ่น 2 เพิ่มขึ้นแทนนาปรังที่ไม่สามารถปลูกได้จากสถานการณ์ น้ำน้อย แต่การขยายพื้นที่ปลูกมีเพียงเล็กน้อยในบางจังหวัด ส่งผลให้พื้นที่ปลูกรวมทั้งประเทศ ยังคงลดลง ส่วนผลผลิตต่อไร่ของถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น จากปริมาณน้ำฝนเพียงพอต่อการเจริญ เติบโต และไม่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์แล้ง เนื่องจากถั่วเหลืองเป็นพืชที่ใช้น้ำน้อย ในการปลูก อย่างไรก็ตาม ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศลดลงตามการลดลงของเนื้อที่เพาะปลูก ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ เนื้อที่เพาะปลูกถั่วเหลืองทั้ง 2 รุ่น ลดลง เนื่องจาก เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน และยางพารา รวมทั้ง เกษตรกรบางส่วนหันไปปลูกเป็นถั่วเหลืองฝักสดเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับเกษตรกรประสบปัญหา ต้นทุนการผลิตถั่วเหลืองสูงขึ้นตามปัจจัยการผลิต แม้บางจังหวัดเกษตรกรจะมีการขยายพื้นที่ เพาะปลูกถัว่ เหลืองรุน่ 2 แทนพืน้ ทีน่ าปรังทีไ่ ม่สามารถปลูกได้จากสถานการณ์นำ้ น้อย แต่มเี พียง เล็กน้อยในบางจังหวัด ส่งผลให้เนื้อที่เพาะปลูกรวมทั้งหมดยังคงลดลง สำหรับผลผลิตต่อไร่ทั้ง สองรุ่นคาดว่าเพิ่มขึ้นจากการมีปริมาณน้ำเพียงพอต่อการเจริญเติบโต และไม่มีแมลงรบกวน ภาคกลาง เนื้อที่เพาะปลูกถั่วเหลืองรุ่น 2 ลดลง เนื่องจากเมล็ดพันธุ์มีราคาสูง และ ขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ ทำให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า ประกอบ กับเกษตรกรบางส่วนหันไปปลูกเป็นถั่วเหลืองฝักสด ซึ่งให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า สำหรับผลผลิต ต่อไร่เพิ่มขึ้น จากการมีปริมาณน้ำเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
39
เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตถั่วเหลือง
ร้อยละผลผลิตถั่วเหลืองรายเดือน
แหล่งผลิต 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. จ.แม่ฮ่องสอน 2. จ.เชียงราย 3. จ.ขอนแก่น 4. จ.เลย 5. จ.เชียงใหม่
สถานการณ์การตลาด การตลาด คณะกรรมการพืชน้ำมันและน้ำมันพืช ได้มีการประชุมเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 และมีมติ ดังนี้ 1. เห็นชอบให้บริหารการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองภายในกรอบการค้า โดยมีผู้มีสิทธินำเข้า 7 สมาคม และ 11 บริษทั หากมีผขู้ อเป็นผูม้ สี ทิ ธินำเข้ารายใหม่ ให้คณะอนุกรรมการกำกับ ดูแล เมล็ดถั่วเหลืองเป็นผู้พิจารณา และนำเสนอคณะกรรมการพืชน้ำมันและน้ำมันพืชเพื่อทราบ 2. ให้ผู้มีสิทธินำเข้าให้การสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตถั่วเหลืองภายในประเทศ โดย รับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตได้ภายในประเทศในราคาตามกลไกตลาด แต่ไม่ต่ำกว่าราคาขั้นต่ำ ตามชัน้ คุณภาพทีก่ ำหนด และให้ผมู้ สี ทิ ธินำเข้าลงนามในสัญญารับซือ้ เมล็ดถัว่ เหลือง เป็นลายลักษณ์ อักษรกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงพาณิชย์ 3. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกำกับ ดูแล เมล็ดถั่วเหลือง ปี 2558-2559 ทำหน้าที่กำกับ ดูแลการรับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตได้ภายในประเทศ การนำเข้าและการใช้เมล็ดถั่วเหลืองนำเข้า ให้เป็นไปตามนโยบายและมาตรการ ในปี 2558 คาดว่าความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลือง 2.14 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 10.35 เป็นเมล็ดถั่วเหลืองนำเข้า 2.10 ล้านตัน โดยนำเข้าจากผู้ผลิตสำคัญของโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล และอาร์เจนตินา ส่วนการส่งออกคาดว่ามีปริมาณ 12,000 ตัน
40 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ª·Á ¦µ³®r°µ®µ¦Â¨³°µ®µ¦´ ªr°¥nµ ¦ª Á¦Èª oª¥ TANGO
TANGO is the next-generation FT-NIR spectrometer ®r ¦µ³ · Á ª ¦ µ 宦 ´ ¥ » ªo ¡Á· «¬ ®µ¦ ´ ª r ° om °µ °o Á GO ker.c
N bru TA PT.TH@
Inf · °n Ä
o. B
O
Á à 襸 )7 1,5 ¦´ ¦° à ¥ %UXNHU Ä o µ nµ¥ oª¥® oµ °´¤ ´ ¨³¦³ µ¦ ´ µ¦ ´ª°¥nµ Á¡¸¥ ¦¦ »Ä oª¥ª´ ¦³ ´ µ¦´ µ Â È ¦µª r° ´ à ¤´ · nµ¥Ã° ¤ µ¦¦³®ªnµ Á ¦º°É %UXNHU 2SWLFV 1,5 Á à ¦¤·Á °¦r » ¦» n Å o à ¥ ¦ ¤ µ¦¤µ ¦ µ 宦´ ¨· £´ r®¨µ ®¨µ¥ · Ťnªµn ³Á È °µ®µ¦´ ªr εÁ¦È ¦¼ ª´ » · °µ®µ¦´ ªr  o Á ¦º°É ¦» ¦ ¨· £´ rÄ °» µ ¦¦¤ Îʵ µ¨ ¤ µ¦ ° %UXNHU µ¤µ¦ ÎµÅ Ä oÅ oà ¥ ¦ ¨³®µ εÁ È µ¤µ¦ ¦´ Á ¨¸¥É Á¡º°É Ä®oÁ oµ ´ ´ª°¥nµ Ä Â n¨³ o° ¸ÅÉ o
Á à 襸Á ¸¥¦r° · ¢¦µÁ¦ Á à ¦Ã ¸ 1HDU ,QIUDUHG 6SHFWURVFRS\ 1,56 Á È »  ε ´ nª¥Ä®o µ¦ª·Á ¦µ³®r » £µ¡ ° ´ª°¥nµ εŠo°¥nµ ¦ª Á¦ÈªÃ ¥Å¤n °o 娵¥ ´ª°¥nµ ®¦º°Ä oµ¦Á ¤¸Ä Ç ¸É µÎ ´ µ¦ª·Á ¦µ³®r ªo ¥ 1,5 Á¡¸¥  n® ¹É ¦´ Ê µ¤µ¦ Ä®o °o ¤¼¨ ° r ¦³ ° µ Á ¤¸ ° ´ª°¥nµ Å o®¨µ ®¨µ¥ · Ťn µÎ Á È o° ε µ¦ª·Á ¦µ³®r ʵΠÁ®¤º° µ¦ª·Á ¦µ³®r µ Á ¤¸Â °º É Ç °Á · Á oµ¦nª¤ µ¦´¤ µÃ ¥ª· ¥µ ¦ ¼Áo ¸É¥ª µ Ä ¦³ ´ µ µ µ · µ ¦¼Á °¦r ª´ ¡§®´ ¸ ¸É ¦ µ ¤ µ Á¨º° Ä®¤n n¼ µ¦ ª »¤ » £µ¡ ¨· ¨ µ µ¦Á ¬ ¦Â¨³°µ®µ¦´ ªr°¥nµ ¦ª Á¦Èª ¨³Å¤n µÎ ¨µ¥ ´ª°¥nµ oª¥Á · )7 1,5 µ %UXNHU æ ¦¤°¤µ¦¸ª°¦Á °¦rÁ ¦³ ¼ Êε ¦» Á ¡¤®µ ¦ ª· ¥µ ¦ µ ¦¼Á °¦rµÎ ´ µ Ä® n ¦³Á «Á¥°¦¤´ Å o n 0U -RHUJ +DXVHU ¼Áo ¸¥É ª µ ¨³¤¸ ¦³ µ¦ r µo µ¦ ª·Á ¦µ³®r ª´ °¥nµ ®¨µ ®¨µ¥ · µ ´ªÃ¨ ¨³ ¦ «· É ¦ · £µ «¦´ ¥rª «r ¼Áo ¸¥É ª µ oµ 1,5 ¹ É Îµ µ Ä nµ ¦³Á «Â¨³ ´ » °» µ® ¦¦¤Â¨³ª· ¥µ µ¦ oµ 1,5 Ä Á°Á ¸¥ ªnµ· ¸
Ä · n° Info.BOPT.TH@bruker.com
Bruker BioSpin AG Bangkok - Thailand Phone +66 2 642 6900 Fax +66 2 642 6901
F T-NIR
Innovation with Integrity
ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาถั่วเหลืองคละ (บาท/กก.)
หมายเหตุ : ปี 2558 เฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม (สัปดาห์ที่ 4)
ราคา ปี 2558 ความเคลื่อนไหวราคาเมล็ดถั่วเหลืองภายในประเทศเฉลี่ย ดังนี้
· ราคาเมล็ดถัว่ เหลืองคละเกรดทีเ่ กษตรกรขายได้ เดือนมีนาคม เฉลีย่ 4 สัปดาห์ กิโลกรัม ละ 15.32 บาท (เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 ไม่มีการซื้อขาย)
· ราคานำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง (มกราคม-กุมภาพันธ์) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.20 บาท ลดลง จาก 18.91 บาท ของช่วงเวลาเดียวกันในปี 2557 ร้อยละ 16.73
มันสำปะหลัง ปี 2558 ปี 2557 2558 ผลต่าง % การเปลี่ยนแปลง
(ปีเพาะปลูก 2557/58)
เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต (ไร่) (ตัน) 8,431,223 30,022,052 8,591,761 30,909,720 160,538 887,668 1.90 2.96
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 3,561 3,598 37 1.04
สถานการณ์การผลิต เนื้อที่เก็บเกี่ยวรวมทั้งประเทศเพิ่มขึ้น จากการที่เกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกทดแทนพื้นที่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงานที่รื้อตอทิ้ง และพื้นที่ว่างเปล่า ซึ่งเป็นผลจากการที่ราคาที่ เกษตรกรขายได้ของปีที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรปลูกเพิ่มขึ้น สำหรับผลผลิต ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
41
เนื้อที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตมันสำปะหลังโรงงาน
ร้อยละผลผลิตมันสำปะหลังโรงงานรายเดือน
แหล่งผลิต 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. จ.นครราชสีมา 2. จ.กำแพงเพชร 3. จ.กาญจนบุรี 4. จ.ชัยภูมิ 5. จ.อุบลราชธานี
ต่อไร่เพิ่มขึ้น จากการที่เกษตรกรมีการบำรุงรักษาที่ดี เช่น การเลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่ให้ผลผลิต ต่อไร่สูงและต้านทานโรคได้ดี การแช่ท่อนพันธุ์ก่อนการเพาะปลูกเพื่อป้องกัน การระบาดของ เพลี้ยแป้ง และการใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิต แม้ว่าจะมีการระบาดโรคโคนเน่า-หัวมันสำปะหลังเน่า ในบางพื้นที่ แต่พื้นที่ของการระบาดมีขนาดเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับพื้นที่เก็บเกี่ยวทั้งหมด ส่ง ผลให้ผลผลิตรวมทั้งประเทศเพิ่มขึ้น ภาคเหนือ เนื้อที่เก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาที่เกษตรกรขายได้ในปีที่ผ่านมาอยู่ใน เกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกทดแทนพื้นที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และพื้นที่ว่างเปล่า สำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น จากการที่เกษตรกรบำรุงดูแลรักษาที่ดี เช่น การแช่ท่อนพันธุ์ก่อน การเพาะปลูกเพื่อป้องกันการระบาดของเพลี้ยแป้ง และการใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื้อที่เก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้น จากการที่เกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูก ทดแทนพื้นที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงานที่รื้อตอทิ้ง และพื้นที่ว่างเปล่า แม้ว่าบางพื้นที่ เนื้อที่ จะลดลงจากการที่เกษตรกร ไม่สามารถปลูกมันสำปะหลังแซมในสวนยางพาราที่โตแล้วได้อีก สำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น จากการที่เกษตรกรดูแลเอาใจใส่ โดยการเลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่ให้ ผลผลิตต่อไร่สูง และต้านทานโรคได้ดี การแช่ท่อนพันธุ์ ก่อนการเพาะปลูกเพื่อป้องกันการ ระบาดของเพลี้ยแป้ง และการใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิต แม้ว่าจะมีการระบาดของเพลี้ยแป้งและ โรคหัวมันเน่าบางพื้นที่ แต่พื้นที่เสียหายมีขนาดเล็กน้อยเมื่อเทียบกับพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด ภาคกลาง เนื้อที่เก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกทดแทนในพื้นที่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และพื้นที่ว่าง สำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรดูแลรักษาดี เช่น มีการคัดเลือกท่อนพันธุ์ที่ให้ ผลผลิตต่อไร่สูง และการใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิต 42 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ราคาที่เกษตรกรขายได้ หัวมันสำปะหลังสดคละ (บาท/กก.)
หมายเหตุ : ปี 2558 เฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม (สัปดาห์ที่ 4)
สถานการณ์การตลาด ประเทศไทยส่งออกผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลังอันดับ 1 ของโลก ผลผลิตมันสำปะหลังประมาณ ร้อยละ 75 เป็นการส่งออก ที่เหลือร้อยละ 25 เป็นการใช้ในประเทศ ในปี 2558 คาดว่าราคา หัวมันสำปะหลังจะใกล้เคียงกับ ปี 2557 เนือ่ งจากผลผลิตมันสำปะหลังในปี 2558 ใกล้เคียงกับ ปี 2557 ประกอบกับประเทศผู้นำเข้า โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งเป็นคู่ค้าหลักของไทย ยังคงมี ความต้องการผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลังของไทยอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงความต้องการใช้ภายในประเทศ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งในรูปของมันเส้น แป้งมันสำปะหลัง และเอทานอล
ไก่เนื้อ ปี 2558 ปี 2557 2558 ผลต่าง % การเปลี่ยนแปลง
จำนวนไก่เนื้อ ปริมาณการผลิตไก่เนื้อ ณ วันที่ 1 มกราคม (ตัว) (ตัว) 153,398,856 1,209,522,081 157,735,316 1,307,932,108 4,336,460 98,410,027 2.83 8.14
สถานการณ์การผลิต ปี 2558 คาดว่าจำนวนไก่เนือ้ ณ วันที่ 1 มกราคม และปริมาณการผลิตเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจาก เนื้อไก่ยังเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งตลาดในประเทศ และตลาดต่างประเทศ โดยสหภาพยุโรป ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
43
(EU) ได้แก่ อังกฤษ เยอรมัน เนเธอร์แลนด์ นำเข้าเนื้อไก่สดจากไทยตั้งแต่กลางปี 2555 และ ตลาดในเอเชียซึ่งมีประเทศญี่ปุ่นซึ่งเป็นตลาดส่งออกที่สำคัญ เปิดให้นำเข้าเนื้อไก่สดจากไทย ตั้งแต่เมื่อปลายปี 2556 จึงคาดว่าการส่งออกเนื้อไก่ปีนี้จะมีแนวโน้มสูงขึ้น ขณะเดียวกัน ประเทศเกาหลีใต้ได้อนุญาตให้นำเข้าเนื้อไก่สดจากไทยอีกครั้ง ภายหลังจากระงับการนำเข้า ไก่สดจากไทยตั้งแต่ปี 2547 เนื่องจากปัญหาไข้หวัดนกระบาด โดยคาดว่าไทยจะสามารถ ส่งออกไก่สดไปยังประเทศเกาหลีใต้ได้ภายในเดือนมิถนุ ายน 2558 ทำให้เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งปรับตัว ขยายการเลี้ยง เพื่อรองรับการขยายตัวของตลาดส่งออก ประกอบกับเนื้อไก่ยังเป็นที่ต้องการของ ตลาดในประเทศ เนื่องจากมีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่นๆ โดยเกษตรกรมีการพัฒนาการเลี้ยง การจัดการฟาร์ม และระบบการผลิตที่ปลอดภัยซึ่งเป็นผลมาจากผู้บริโภคหันมาให้ความสำคัญ ต่อความปลอดภัยด้านอาหาร จำนวนตัว ณ วันที่ 1 ม.ค. และปริมาณการผลิตไก่เนื้อ
ร้อยละปริมาณการผลิตไก่เนื้อรายเดือน
แหล่งผลิต 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. จ.ชลบุรี 2. จ.ฉะเชิงเทรา 3. จ.ระยอง 4. จ.ปราจีนบุรี 5. จ.นครนายก
สถานการณ์การตลาดและราคา การส่งออกเนื้อไก่ของไทยในปี 2558 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นสอดรับกับปริมาณความ ต้องการบริโภคของตลาด ทั้งตลาดญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป ซึ่งถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย และตลาดอื่นๆ ที่มีแนวโน้มนำเข้าเนื้อไก่จากไทยเพิ่มขึ้น อาทิ ฟิลิปปินส์ ที่ให้การรับรองโรงงาน เนื้อไก่ของไทย โดยคาดว่าไทยจะสามารถส่งออกเนื้อไก่ปรุงสุกไปยังฟิลิปปินส์ได้ ตั้งแต่ไตรมาส ที่ 1 ของปี 2558 และเกาหลีใต้ ที่อนุญาตให้นำเข้าเนื้อไก่สดจากไทยหลังจากระงับการนำเข้า ไก่สดจากไทยตัง้ แต่ปี 2547 เนือ่ งจากปัญหาไข้หวัดนก ซึง่ คาดว่าไทยจะสามารถส่งออกเนือ้ ไก่สด ไปยังเกาหลีใต้ได้ภายในเดือนมิถุนายน 2558 นอกจากนี้ การดำเนินการเรื่อง Compartment และ Traceability ยังสร้างความมั่นใจในคุณภาพการผลิตเนื้อไก่ของไทยให้ประเทศคู่ค้ายอมรับ โดยคาดการณ์ว่าในปี 2558 ไทยจะมีโอกาสส่งออกไก่สดแช่แข็งไปยังประเทศอื่นๆ ทำให้ไทย สามารถขยายการส่งออกเนื้อไก่ได้เพิ่มขึ้น
44 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ราคาที่เกษตรกรขายได้ ไก่รุ่นพันธุ์เนื้อ (บาท/กก.)
หมายเหตุ : ปี 2558 เฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม (สัปดาห์ที่ 4)
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2558 ลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีที่ผ่านมา เนื่องจากมีผลผลิตออกสู่ตลาดมาก สำหรับราคาส่งออกเนื้อไก่สดแช่แข็ง และเนื้อไก่ แปรรูปในปี 2558 คาดว่าจะสูงขึ้นจากปี 2557
สุกร ปี 2558 ปี 2557 2558 ผลต่าง % การเปลี่ยนแปลง
จำนวนสุกร ณ วันที่ 1 มกราคม (ตัว) 7,591,530 7,693,970 102,440 1.35
ปริมาณการผลิต (ตัว) 12,822,990 13,297,208 474,218 3.70
จำนวนแม่พันธุ์เฉลี่ย ในรอบปี (ตัว) 848,317 874,897 26,580 3.13
อัตราการเกิด (ตัว/แม่) 15.12 15.20 0.08 0.53
สถานการณ์การผลิต จำนวนสุกร ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 และปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากแนวโน้ม ความต้องการของตลาดภายในประเทศที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับเมื่อปลายปี 2557 ได้มีการเจรจา เพื่อเปิดตลาดใหม่โดยขยายการส่งออกเนื้อสุกรไปยังประเทศรัสเซีย เบลารุส และคาซัคสถาน จึงจูงใจให้เกษตรกรขยายการเลี้ยงเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการขยายตัวของตลาดส่งออก รวมทั้ง เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรมีการปรับปรุงฟาร์มให้ได้มาตรฐานทั้งด้านความสะอาด และสุขอนามัย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
45
จำนวนแม่พันธุ์สุกร และปริมาณการผลิตสุกร
ร้อยละปริมาณการผลิตสุกรรายเดือน
แหล่งผลิต 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. จ.ราชบุรี 2. จ.นครปฐม 3. จ.ฉะเชิงเทรา 4. จ.ชลบุรี 5. จ.สระบุรี
สามารถจัดการฟาร์มป้องกันโรคได้ดีขึ้น ส่งผลให้อัตราการรอดของลูกสุกรเพิ่มขึ้น แม้ว่า บางจังหวัดจะพบว่ามีการระบาดของโรคทางระบบสืบพันธุ์และระบบทางเดินหายใจ (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) จากอากาศที่เปลี่ยนแปลงในช่วงต้นปี ในแม่สุกรอุ้มท้อง เกิดการแท้ง และส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจของสุกรอนุบาล และสุกรเล็ก เช่น จังหวัดบุรรี มั ย์ และสุรนิ ทร์ ทำให้ลกู สุกรตาย ในส่วนจังหวัดนครปฐม ปริมาณการผลิตลดลง เนือ่ งจากเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสุกรประสบปัญหาขาดทุนจากโรค PRRS และโรคท้องร่วงติดต่อ (Porcine Epidemic Diarrhea: PED) ระบาดในลูกสุกร เมื่อปี 2557 จึงทำให้ผู้เลี้ยงสุกรรายกลาง และรายย่อยเลิกเลี้ยง แต่ในภาพรวมทั้งประเทศไม่กระทบต่อปริมาณการผลิตมากนัก
สถานการณ์การตลาดและราคา ราคา ปี 2558 คาดว่าราคาสุกรทีเ่ กษตรกรขายได้โดยเฉลีย่ จะลดลงเมือ่ เทียบกับปี 2557 โดยราคาเฉลี่ยปี 2558 (ม.ค.-มี.ค.) กิโลกรัมละ 63.32 บาท เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557 ลดลงร้อยละ 13.09 เนื่องจากปริมาณการผลิตสุกรเพิ่มขึ้น การส่งออก ปี 2558 (ม.ค.-ก.พ.) การส่งออกเนื้อสุกรชำแหละ ปริมาณ 773 ตัน มูลค่า 42.04 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557 สูงขึ้นร้อยละ 169.34 และ 155.41 ตามลำดับ เนื่องจากมีการส่งออกไปประเทศ สปป.ลาว และฮ่องกง เพิ่มขึ้น ส่วนการส่งออก เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ 2,805 ตัน มูลค่า 463.32 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557 สูงขึ้นร้อยละ 75.86 และ 33.35 ตามลำดับ เนื่องจากตลาดยังมีความต้องการ เพิ่มขึ้น สำหรับสุกรมีชีวิต ส่งออกปริมาณ 123,738 ตัว มูลค่า 574.19 ล้านบาท เมื่อเทียบ กับช่วงเดียวกันของปี 2557 สูงขึ้นร้อยละ 121.12 และ 152.09 ตามลำดับ เนื่องจากมีการ ส่งออกสุกรไปยังประเทศกัมพูชา สปป.ลาว และเมียนมาร์เพิ่มขึ้น
46 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ราคาที่เกษตรกรขายได้ สุกรน้ำหนักมากกว่า 100 กก. (บาท/กก.)
หมายเหตุ : ปี 2558 เฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม (สัปดาห์ที่ 4)
การนำเข้า ปี 2558 (ม.ค.-ก.พ.) การนำเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องใน อื่นๆ) และผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ปริมาณ 6,612 ตัน มูลค่า 142.35 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557 สูงขึ้นร้อยละ 160.31 และ 225.97 ตามลำดับ
กุ้งขาวแวนนาไม ปี 2558 ปี 2557 2558 ผลต่าง % การเปลี่ยนแปลง
เนื้อที่เลี้ยง (ไร่) 175,910 185,770 9,860 5.61
ผลผลิต (ตัน) 244,277 285,925 41,648 17.05
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) 1,389 1,539 150 10.80
สถานการณ์การผลิต คาดว่าปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรค EMS ได้ดีขึ้น โดยที่เกษตรกรมีการบริหารจัดการฟาร์มที่ดี ปรับปรุงสภาพแวดล้อมบ่อได้ดีขึ้น มีบ่อพักน้ำที่เพียงพอ พร้อมฆ่าเชื้อในบ่อก่อนนำกุ้งลงเลี้ยง ใช้พันธ์กุ้งที่ต้านทานต่อโรค ทำให้มี อัตราการรอดสูง รวมทัง้ ภาครัฐให้การส่งเสริมเพือ่ เพิม่ ผลผลิต โดยกรมประมงร่วมกับภาคเอกชน ได้มกี ารนำเข้าพ่อแม่พนั ธ์กงุ้ เข้ามาในช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคมในปีทผี่ า่ นมา เพือ่ ผลิตลูกพันธุก์ งุ้ คุณภาพจำหน่ายให้แก่เกษตรกรเพิ่มขึ้น รวมทั้งภาครัฐและภาคเอกชน/สมาคมผู้เลี้ยงกุ้งไทย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
47
เนื้อที่เลี้ยงและผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไม
แหล่งผลิต 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. จ.สระบุรี 2. จ.นครราชสีมา 3. จ.ลพบุรี 4. จ.ราชบุรี 5. จ.สระแก้ว
มีนโยบายทีจ่ ะเร่งฟืน้ ฟูการผลิตกุง้ ให้กลับสูส่ ภาวะปกติโดยเร็วเพือ่ เพิม่ ความมัน่ ใจให้กบั ภาคส่งออก และลูกค้าในต่างประเทศด้วย ประกอบกับราคามีแนวโน้มปรับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะกุง้ ขนาดเล็ก (80-100 ตัว/กิโลกรัม) จูงใจให้เกษตรกรขยายเนื้อที่เพาะเลี้ยงกุ้ง สำหรับผลผลิต ต่อไร่เพิ่มขึ้นเนื่องจากอัตราการรอดเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปริมาณการผลิตเพิ่ม
สถานการณ์ตลาดและราคา ราคา ราคากุ้งขาวแวนนาไมที่เกษตรกรขายได้ ปี 2558 (ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม) คาดว่าลดลงจากปี 2557 ราคากุง้ ในช่วง 3 เดือนแรกของปี 2558 (ม.ค.-ก.พ.) เฉลีย่ กิโลกรัมละ 199.33 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 263.09 ของช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 24.23 เนื่องจากมีปริมาณผลผลิตกุ้งออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้นจากปี 2557 ประกอบกับมีคำสั่งซื้อจากประเทศ คู่ค้าน้อย ทำให้ผู้ประกอบการแปรรูปและห้องเย็นชะลอการซื้อกุ้งเข้าสู่โรงงาน การส่งออก การส่งออกกุ้งขาวและผลิตภัณฑ์ของไทยในปี 2558 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นจาก ปี 2557 ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2558 (ม.ค.-ก.พ.) ไทยส่งออกกุ้งขาวแวนนาไมปริมาณ 18,906 ตัน เพิม่ ขึน้ จาก 17,453 ตัน ของช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 8.33 แต่มมี ลู ค่า การส่งออก 6,846 ล้านบาท ลดลงจาก 7,512 ของช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 8.87 ส่วนใหญ่ส่งออกในรูปกุ้งปรุงแต่ง และกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง ตามลำดับ เนื่องจากประเทศคู่แข่ง เช่น อินโดนีเซีย อินเดีย เอกวาดอร์ และเวียดนาม มีผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไมมากทำให้การ แข่งขันค่อนข้างรุนแรง ส่งผลให้ราคากุง้ ในตลาดโลกลดต่ำลง ตลาดส่งออกหลักของไทยยังคงเป็น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป
48 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ราคาที่เกษตรกรขายได้ กุ้งขาวแวนนาไม ขนาด 70 ตัว/กก. (บาท/กก.)
หมายเหตุ : ปี 2558 เฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม (สัปดาห์ที่ 4)
การนำเข้า คาดว่าปี 2558 ไทยมีแนวโน้มการนำเข้ากุ้งขาวและผลิตภัณฑ์ลดลงจากปี 2557 ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2558 (ม.ค.- ก.พ.) ไทยนำเข้ากุง้ ขาวปริมาณ 543 ตัน มูลค่า 141 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ1,104 ตัน มูลค่า 325 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 50.83 และ 56.54 ตามลำดับ โดยส่วนใหญ่ไทยจะนำเข้ากุ้งขาวจาก ประเทศเอกวาดอร์ และประเทศอินเดีย เพราะมีราคาถูกกว่าราคาที่ผลิตได้ในประเทศ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
49
Food Feed Fuel
สถานการณ์
ถั่วเหลือง
1. สภาพปัญหา/สาเหตุ
ผลผลิตเมล็ดถัว่ เหลืองในประเทศมีไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ตอ้ งนำเข้าจากต่างประเทศ ร้อยละ 95 เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการสกัดน้ำมันพืช การผลิตอาหารสัตว์ และการแปรรูป ผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ
2. มาตรการแก้ไขปัญหา การกำหนดนโยบายและมาตรการนำเข้ า เมล็ ด ถั่ ว เหลื อ ง เป็ น อำนาจหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการพืชน้ำมันและน้ำมันพืช ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะรัฐมนตรี โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย) เป็นประธาน ผู้แทนจากหน่วยราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นกรรมการและเลขานุการ นโยบายและมาตรการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง ปี 2557-59 คณะรัฐมนตรีมีมติ (15 ต.ค. 56) เห็นชอบตามมติคณะกรรมการพืชน้ำมันและน้ำมันพืช (30 ส.ค. 56) กำหนดมาตรการนำเข้าไว้ดังนี้ 2.1 ภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก (WTO) 1) การขยายระยะเวลาเปิดตลาดนำเข้า 1.1) ขยายระยะเวลาเปิดตลาดเมล็ดถัว่ เหลืองจากคราวละ 1 ปี เป็นคราวละ 3 ปี โดยปี 2557-59 นำเข้าได้ไม่จำกัดปริมาณและช่วงเวลานำเข้า อัตราภาษีนำเข้าในโควตาร้อยละ 0 นอกโควตาร้อยละ 80 1.2) ให้คณะกรรมการพืชน้ำมันและน้ำมันพืชกำหนดแนวทางและมาตรการการ บริหารการนำเข้าปีต่อปี และเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ 2) แนวทางและมาตรการการบริหารการนำเข้า ปี 2557 2.1) ผู้มีสิทธินำเข้าในโควตารวม 18 ราย คือ 1. สมาคมผู้ผลิตน้ำมันถั่วเหลือง และรำข้าว 2. สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย 3. สมาคมส่งเสริมผูใ้ ช้วตั ถุดบิ อาหารสัตว์ 4. สมาคม ปศุสตั ว์ไทย 5. สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ เพือ่ การส่งออก 6. สมาคมผูผ้ ลิตไก่เพือ่ ส่งออกไทย 7. บริษทั กรีนสปอต จำกัด 8. บริษัท แลคตาซอย จำกัด 9. บริษัท ไทยเทพรสผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) 10. บริษทั แดรี่ พลัส จำกัด 11. บริษทั ไทยชิม จำกัด 12. ห้างหุน้ ส่วนจำกัดคิคโคเคน 13. สมาคมผูค้ า้ สินค้าเกษตรกับประเทศเพือ่ นบ้าน 14. บมจ.อาหารสากล 15. บริษทั นอร์ธเทอร์น 50 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ฟู้ด คอมเพล็กซ์ จำกัด 16. บริษัท เอคิววาย ซอส จำกัด 17.บริษัท บุญเจริญโภคภัณฑ์ จำกัด และ 18. บริษทั โทฟุซงั จำกัด หากมีผยู้ นื่ ขอสิทธิรายใหม่ให้คณะกรรมการพืชน้ำมันและน้ำมันพืช เป็นผู้พิจารณา และเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ ดังนี้
2.2) ผู้มีสิทธินำเข้าให้การสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตถั่วเหลืองภายในประเทศ
(1) รับซื้อผลผลิตเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตได้ภายในประเทศในราคาตามกลไก ตลาด แต่ไม่ต่ำกว่าราคาขั้นต่ำตามชั้นคุณภาพ ดังนี้ เกรด สกัดน้ำมัน แปรรูปอาหารสัตว์ แปรรูปอาหาร
ณ ไร่นา ปี 54 ปี 55-56 12.75 14.00 13.00 14.25 15.00 16.25
หน่วย : บาท/กก.
ปี 57 15.50 15.75 17.75
ณ โรงงานแปรรูป กทม. ปี 54 ปี 55-56 ปี 57 13.50 14.75 16.25 13.75 15.00 16.50 15.75 17.00 18.50
(2) ผู้มีสิทธินำเข้าให้ความร่วมมือรับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองภายในประเทศ และ การใช้เมล็ดถั่วเหลืองนำเข้าตามนโยบาย เป็นลายลักษณ์อักษรกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงพาณิชย์ (3) เพื่อมิให้การเปิดตลาดเมล็ดถั่วเหลืองส่งผลกระทบต่อเกษตรกรภายใน ประเทศ เห็นควรให้คณะอนุกรรมการ กำกับ ดูแล เมล็ดถั่วเหลือง ทำหน้าที่กำกับดูแลการรับซื้อ เมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตได้ภายในประเทศ การนำเข้าและการใช้เมล็ดถั่วเหลืองนำเข้าให้เป็นไปตาม มาตรการและนโยบาย โดยมีองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับปี 2557 2.2 ภายใต้กรอบเขตการค้า AFTA ไม่จำกัดปริมาณ ภาษีนำเข้าร้อยละ 0 2.3 ภายใต้กรอบเขตการค้า FTA ไทย-ออสเตรเลีย ไทย-นิวซีแลนด์ ไม่จำกัดปริมาณ ภาษีนำเข้าร้อยละ 0 ไทย-ญี่ปุ่น อาเซียน-เกาหลี โควต้า 10,922 ตัน ภาษีนำเข้าในโควตาร้อยละ 0 นอกโควตาร้อยละ 80 อาเซียน-ญีป่ นุ่ อาเซียน-AUS-NZ อาเซียน-อินเดีย โควต้า 10,922 ตัน ภาษีนำเข้า ในโควตา ร้อยละ 20 นอกโควตาร้อยละ 80 2.4 ACMECS ภาษีนำเข้าร้อยละ 0 ปริมาณตาม Contract ทั้งนี้ การนำเข้าตามข้อ 2.2-2.4 การบริหารการนำเข้าเช่นเดียวกับ WTO และการนำเข้า ทั่วไป ภาษีนำเข้าร้อยละ 6 หรือ กก. ละ 0.30 บาท และต้องขออนุญาต
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
51
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตพืชน้ำมันโลก 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก 1.2.2 ไทย - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 1.5 นำเข้า 1.6 ส่งออก ไทยนำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 เกษตรกรขายได้ (คละ) 2.2 ขายส่ง กทม. - เกรดแปรรูปอาหาร - เกรดผลิตอาหารสัตว์ - เกรดสกัดน้ำมัน 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน
ปี 53/54 ปี 54/55 ปี 55/56 ปี 56/57 ปี 57/58 (พ.ค. 58) 460.020 447.820 475.870 505.710 531.160 264.345 0.152 0.106 0.046
240.427 0.096 0.065 0.031
268.824 0.064 0.045 0.019
283.253 0.052 0.033 0.019
317.300 0.052 0.032 0.019
(ประมาณการ)
(พ.ค. 58)
258.400 261.870 274.063 291.760 (ประมาณการ) 304.280 2.132 2.204 1.743 1.951 2.152 11.35 12.50 13.57 14.41 15.05 ปี 54 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 (ม.ค.-เม.ย. 58) 1.994 2.120 1.679 1.898 0.721 0.0026 0.0019 0.0020 0.0116 0.0039 บราซิล 64% สหรัฐอเมริกา 26% อาร์เจนตินา 4% แคนาดา 2% กัมพูชา 1% ไนจีเรีย 89% เวียดนาม 4% ลาว 3% มัลดิฟส์ 3% ปี 54 ปี 55 ปี 56 ปี 57 เม.ย. 58 พ.ค. 58 15.30 16.79 18.33 14.36 15.62 15.46 21.95 20.36 16.17
23.83 22.61 18.24
24.42 23.35 19.43
23.81 22.60 19.30
19.89 17.89 16.49
20.50 18.50 16.50
14.69 484.03
16.79 537.80
15.95 517.33
14.93 457.77
11.66 356.89
11.79 351.92
ที่มา : 1.1, 1.2.1, 1.3.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ 1.2.2, 1.3.2, 1.4 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.5-1.6 กรมศุลกากร 2.1 สศก. 2.2 กรมการค้าภายใน 2.3 www.cmegroup.com
52 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
3. สถานการณ์ ปี 2558 3.1 ในเดือนพฤษภาคม ถั่วเหลืองฤดูแล้งออกสู่ตลาดหมดในช่วงสัปดาห์ที่ 2 ของเดือน ส่วนราคาขายส่งตลาด กทม. ที่โน้มสูงขึ้นทุกเกรดคุณภาพ เนื่องจากความต้องการใช้ของตลาด มีอย่างต่อเนือ่ ง ในขณะทีป่ ริมาณผลผลิตออกสูต่ ลาดเพียง 32,354 ตัน โดยในช่วง ม.ค.-เม.ย. 58 ผู้ประกอบการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองปริมาณ 721,244 ตัน เมื่อเทียบกับปีก่อนสูงขึ้นร้อยละ 21.39 ราคาซือ้ ขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกเฉลีย่ พ.ค. 58 ลดลงจากเดือนก่อน เนือ่ งจากความ วิตกกังวลเกีย่ วกับสภาพอากาศทีอ่ บอุน่ ในเขตมิดเวสต์ของสหรัฐฯ คาดว่าการเก็บเกีย่ วจะได้ผลผลิต ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ และได้รบั แรงกดดันจากการแข็งค่าของสกุลเงินดอลลาร์ฯ โดยเมือ่ เทียบราคาซือ้ ขาย เป็นเงินบาททำให้ราคาสูงขึ้น 3.2 แนวโน้ม คาดว่าปริมาณผลผลิตของไทยยังคงโน้มลดน้อยลง เนื่องจากเกษตรกร นิยมปลูกพืชอื่นที่ดูแลง่ายกว่า โดยผู้ประกอบการนำเข้าจากตลาดโลกในปริมาณมากขึ้นเพื่อให้ เพียงพอกับความต้องการใช้และตลาดโลกขณะนี้เป็นช่วงที่ปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดมากขึ้น ส่งผลให้ราคาตลาดโลกอ่อนตัวลง กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
53
Food Feed Fuel
สถานการณ์
กากถั่วเหลือง
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตโลก 1.2 ผลผลิตในประเทศ - เมล็ดในประเทศ - เมล็ดนำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.4 นำเข้า 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 ขายส่ง กทม. - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดในโปรตีน 44-48% - เมล็ดนำเข้าโปรตีน 42-45% - กากถั่วเหลืองนำเข้า - โปรตีน 46-48% 2.2 ตลาดต่างประเทศ - ตลาดชิคาโก (บาท/กก.) (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน)
ปี 54 174.430 1.234 0.015 1.219 3.746 2.399 ปี 55
ปี 55 180.444 1.148 0.013 1.135 4.125 2.815 ปี 56
ปี 56 ปี 57 181.237 189.007 1.014 1.020 0.015 0.016 0.999 1.004 3.953 4.209 2.820 2.888 ปี 57 เม.ย. 58
ปี 58 (พ.ค. 58) 209.795 (ประมาณการ) 1.066 0.016 1.050 4.187 (ประมาณการ) 2.900 พ.ค. 58
18.66 17.83
19.84 17.97
19.99 19.06
18.35 15.88
18.35 15.05
17.22
18.35
18.95
16.10
14.54
14.78 473.29
14.74 477.26
15.23 466.95
11.42 349.71
11.41 340.47
ที่มา : 1.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ 1.2 แบบแจ้ง 1.3 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.4 กรมศุลกากร 2.1 กรมการค้าภายใน 2.2 www.cmegroup.com
3. สถานการณ์ ปี 2558 3.1 ในเดือนพฤษภาคม ราคาตลาด กทม. เฉลีย่ เดือน พ.ค. 58 กากผลิตจากเมล็ดนำเข้า และกากนำเข้าลดลงตามราคาตลาดต่างประเทศที่ลดลง ส่วนกากจากเมล็ดในประเทศทรงตัว โดยในช่วง ม.ค.-เม.ย. 58 มีการนำเข้าแล้วปริมาณ 913,228 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 1.59 ราคาตลาดชิคาโกเฉลีย่ เดือน พ.ค. 58 ลดลงจากเดือนก่อน เนือ่ งจากได้รบั แรงกดดัน จากการแข็งค่าของสกุลเงินดอลลาร์ฯ และสภาพอากาศที่เหมาะแก่การเพาะปลูกถั่วเหลือง ทำให้ คาดว่าปริมาณผลผลิตเมล็ดถั่วเหลืองจะมีปริมาณมากขึ้น 3.2 แนวโน้ม คาดว่าราคากากถั่วเหลืองในประเทศและตลาดโลกจะเคลื่อนไหวอยู่ใน เกณฑ์สูง และมีแนวโน้มอ่อนตัวลงเนื่องจากเป็นช่วงที่เมล็ดถั่วเหลืองในตลาดโลกมีปริมาณมาก ทำให้ปริมาณกากถั่วเหลืองในตลาดโลกมีปริมาณมากขึ้นในช่วงนี้ด้วย กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2558
54 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
Food Feed Fuel
สถานการณ์
ปลาป่น
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตโลก 1.2 ผลผลิตในประเทศ 1.3 ความต้องการใช้ 1.4 นาเข้า 1.5 ส่งออก * = ประมาณการ 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 ปลาเป็ด - ดี (สด) - รอง (ไม่สด) 2.2 ปลาป่น กทม. เกรดกุ้ง โปรตีน 60% ขึ้นไป กลิ่นเบอร์ 1 โปรตีน 60% ลงมา กลิ่นเบอร์ 1 กลิ่นเบอร์ 2 กลิ่นเบอร์ 3 2.3 ปลาป่นต่างประเทศโปรตีน 60% - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน
ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557* ปี 2558* (พ.ค. 58) 5.020 4.180 4.370 4.140 4.250 0.503 0.493 0.497 0.478 0.420 0.638 0.615 0.579 0.646 0.701 0.016 0.018 0.008 0.021 0.030 0.074 0.063 0.126 0.172 0.180 ปี 2555 7.38 5.76
ปี 2556 7.90 5.67
ปี 2557 7.90 5.47
เม.ย. 58 9.81 6.48
พ.ค. 58 8.27 6.24
33.63 33.13 32.43 30.64 29.07
34.93 32.93 32.17 26.93 24.64
35.61 33.55 31.66 29.26 26.24
46.75 44.31 42.81 40.81 26.80
38.71 37.70 37.70 35.23 26.80
40.53 1,408
43.52 1,553
50.04 1,694
51.55 1,710
48.63 1,569
ที่มา : 1.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ 1.2 สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 1.3 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1.4-1.5 กรมศุลกากร 2.1 สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 2.2 กรมการค้าภายใน 2.3 http://hammersmithltd.blogspot.com/
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
55
3. สถานการณ์ ปี 2558 3.1 ในเดือนพฤษภาคม เมื่อเทียบราคากับเดือนก่อน ปลาเป็ดและปลาป่นเกรดกุ้ง และ เกรดโปรตีน 60% ลงมา กลิ่นเบอร์ 1 และ 2 ราคาลดลง เนื่องจากความต้องการใช้ในสัตว์ ลดลงจากสภาพอากาศร้อนจัด และผลกระทบจากสหภาพยุโรป (EU) ให้ใบเหลืองแก่ไทยจาก ผลการประเมินการทำประมงของไทยไม่สอดคล้องกับกฎระเบียบที่ออกโดย EU ซึ่งในช่วง ม.ค.เม.ย. 58 มีการนำเข้าปลาป่นแล้ว 7,230 ตัน สูงขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 421 และส่งออกแล้ว 64,747 ตัน สูงขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 47 ราคาตลาดเปรูเฉลี่ยเดือน พ.ค. 58 ลดลงจากเดือนก่อน เนื่องจากความต้องการใช้ จากจีนชะลอตัวและสต็อกของเปรูที่เพิ่มขึ้นในช่วงนี้ ส่งผลให้ผู้ซื้อต่างชะลอคำสั่งซื้อ เพื่อรอดู ราคาให้ลดต่ำลงไปกว่านี้อีก 3.2 แนวโน้ม คาดว่าราคาทั้งตลาดในประเทศ และต่างประเทศจะโน้มลดลง กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2558
56 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
» ¶ ° ° µ¦¦oµ ¢µ¦r¤ ¨³ ¨· °µ®µ¦´ ªr
by
Food Feed Fuel
เรื่องเก่า เรื่องใหม่ เรื่องจริง ของคอเลสเตอรอลกับไข่ไก่ สมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ จัดประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2557 เมื่อ วันที่ 8 พฤษภาคม ที่ผ่านมา เพื่อรายงาน กิจกรรมต่างๆ ในรอบปีให้สมาชิกได้รบั ทราบ และกำหนดทิศทาง วางนโยบายดำเนินงาน ปีต่อไป นอกจากนั้น สมาคมฯ ยังได้เชิญ วิทยากรด้านโภชนาการทีม่ ปี ระสบการณ์ มา ให้ความรู้เกี่ยวกับคอเลสเตอรอลในไข่ โดย ดร.ศิริพร พิพัฒสัตยานุวงศ์ (ฉั่ว) บริษัท อินโนเฟรช จำกัด ดร.ศิรพิ ร กล่าวว่า จากงาน วิจัยต่างๆ ที่จะนำเสนอเป็นข้อมูล เป็นเรือ่ งเล่าเดิมๆ ทีข่ อ้ มูลฝังใจ ประชากรทั่วโลกมานานนับ ร้ อ ยปี เมื่ อ ก่ อ นจะกล่ า ว ขานกันมาว่า ไข่มคี อเลสเตอรอลสูง กินไข่ทำให้มี คอเลสเตอรอลในเลือดสูง คอเลสเตอรอลสูง ทำให้เสี่ยงเป็นโรคหัวใจ ดังนั้น กินไข่จึงเสี่ยง ต่อการเป็นโรคหัวใจ ซึ่งข้อมูลเก่าๆ เหล่านี้ มี ม านานกว่ า 100 ปี โดยผลการศึ ก ษา
ทดลองของนั ก วิ ท ยาศาสตร์ รุ่ น เก่ า ซึ่ ง การ จะเปลี่ ย นความคิ ด เก่ า นั้ น ก็ เ ป็ น เรื่ อ งยาก ประมาณปี 1769 มีคุณหมอสามารถสกัด คอเลสเตอรอลบริสุทธิ์ออกมาได้เป็นครั้งแรก จากการศึกษาจะเห็นคอเลสเตอรอลมีลักษณะ เป็นสารสีเหลืองๆ ขาวๆ เมือกๆ คล้ายน้ำมัน และคุณหมอก็ทำการศึกษาต่อเนื่องมาเรื่อยๆ โดยใช้คน 1,800 กว่าคน คุณหมอเริ่มสังเกต ว่าคนทีเ่ ป็นโรคหัวใจวายตายนัน้ ทำไมเส้นเลือด ขรุขระ มีอะไรเหลืองๆ เมือกๆ เกาะอยู่ใน เส้นเลือด แต่คนที่ไม่ตายด้วยโรคหัวใจ หรือ ตายด้วยโรคอืน่ ๆ ทำไมเส้นเลือดเรียบขาว ไม่มี สีเหลือง คุณหมอก็เริ่มทำการศึกษาจนพิสูจน์ ได้ ว่ า คนที่ ต ายด้ ว ยโรคหั ว ใจส่ ว นใหญ่ จ ะมี คอเลสเตอรอลในเลื อ ดสู ง โดยคุ ณ หมอผ่ า เส้นเลือดออกมาให้ดู จากหนังสือ TIME Magazine เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 1984 กล่าวว่า คอเลสเตอรอล ได้ รั บ การพิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า เป็ น อั น ตรายถึ ง ตาย โรคหัวใจเกี่ยวพันโดยตรงกับปริมาณคอเลสเตอรอลในเลือด การลดคอเลสเตอรอลจะทำให้
ที่มา : สาส์นไก่ & สุกร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
57
ลดการตายจากโรคหัวใจได้ ถ้าลดอาหารที่มี ไขมัน 10-15% จะทำให้ลดคอเลสเตอรอลได้ และจะทำให้ ก ารตายด้ ว ยโรคหั ว ใจล้ ม เหลว ลดลง 20-30% สิ่งเหล่านี้ถูกพูดมานานตั้งแต่ ปี 1960-1970 จนปี 1984 ก็ยังมีอยู่ ซึ่ง มันได้ถูกปลูกฝังอยู่ในความคิด และความรู้สึก ของคนหลายชั่วอายุที่ผ่านมา พอประมาณ ปี 1913 มีนกั วิทยาศาสตร์ ทำการทดลองกั บ กระต่ า ยโดยให้ กิ น อาหาร ที่มีคอเลสเตอรอลเยอะๆ แล้วทำการผ่าซาก กระต่ายดู จะเห็นได้วา่ ในเลือดกระต่ายมีคอเลสเตอรอลติดอยู่ ข้อสรุปของการวิจัยนี้ก็คือว่า มีการเชื่อมโยงกันระหว่างอาหารกับโรคที่เกี่ยว กับเส้นเลือดในหัวใจ Ancel Keys-1947 ศึกษาประชากร จาก 7 ประเทศทั่วโลก คือ สหรัฐอเมริกา กรีซ ฟินแลนด์ ญีป่ นุ่ อิตาลี อาฟริกาใต้ สเปน โดยศึกษา 3 อย่างคือ อาหารที่กินมีปริมาณ ไขมันสัตว์มากน้อยแค่ไหน ประชากรประเทศ นั้นๆ มีระดับคอเลสเตอรอลสูง หรือต่ำแค่ไหน และที่ศึกษาอีกประการคือ มีคนเป็นโรคหัวใจ มากน้อยแค่ไหนในแต่ละประเทศ เพราะเขา ต้องการศึกษาว่ามันมีความสัมพันธ์กนั ไหม จาก การศึกษาพบว่า อาหารทีก่ นิ กับคอเลสเตอรอล ในอาหารมีความเกี่ยวโยงกันโดยตรง N.H.L.B.I. Study-1984 ศึกษาจาก ผู้ชายจำนวน 3,806 คน อายุระหว่าง 3959 ปี ทำไมต้องเป็นการศึกษาจากผูช้ าย เพราะ มี ส ถิ ติ ก ารตายจากคอเลสเตอรอลสู ง จาก การศึกษาพบว่ามีระดับคอเลสเตอรอล 265 มิลลิกรัม นับว่าสูงมาก ศึกษาวิจยั เป็นเวลานาน 10 ปี ใช้เงินในการวิจัย 150 ล้านดอลล่าร์ฯ 58 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
โดยเอาชายเหล่านีม้ าแบ่งเป็น 2 กลุม่ กลุม่ แรก กินยาลดคอเลสเตอรอลทุกวัน กลุ่มสองไม่กิน ยาลดคอเลสเตอรอล ผลการศึกษาพบว่า กลุ่ม กินยาคอเลสเตอรอลลดลง 8.5% การเป็นโรค หัวใจวายน้อยกว่า 19% การตายทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับ โรคหัวใจน้อยกว่า 24% สรุปว่า ทุกๆ การลด คอเลสเตอรอลลง 1% จะลดความเสี่ยงจาก การตายลงด้วย 2% จากการศึ ก ษาทดลองของนั ก วิ ท ยาศาสตร์หลายสถาบัน ทำให้สหรัฐอเมริกาได้ออก มาแนะนำว่า ผู้ชายควรกินอาหารที่มีคอเลสเตอรอลวันละ 300 มิลลิกรัม ผู้หญิงกินวันละ 225 มิลลิกรัม ดังนัน้ ในไข่ 1 ฟอง มีคอเลสเตอรอลประมาณ 230 มิลลิกรัม ผลการทดลอง ออกมาเช่นนี้คนก็เริ่มกลัว เพราะนอกจากกิน ไข่แล้วก็ต้องกินอาหารอย่างอื่นด้วย การสะสม ของคอเลสเตอรอลก็ต้องมากกว่า 300 มิลลิกรัมต่อวันแน่นอน แต่รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ก็ไม่ออกมาพูดอะไร มีแต่สมาคมที่เกี่ยวข้อง ออกมาพูด เมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกดดัน มากๆ ขึ้น รัฐบาลก็ออกประกาศคำแนะนำ ทัว่ ไปว่า กรุณาหลีกเลีย่ งอาหารทีม่ ไี ขมันอิม่ ตัว ที่ ม ากเกิ น ไป ซึ่ ง จะเป็ น การพู ด แบบกลางๆ จากนั้น 20 ปีต่อมา คนกินน้ำมันสัตว์ลดลง 60 เปอร์เซ็นต์ต่อคนต่อปี หันมากินน้ำมันพืช การกินเนยก็ลดลง 30% ไข่ก็กินลดลง 14% ผลที่ตามมาคือ อัตราการตายด้วยโรคหัวใจ ก็ตายลดลง 30% นักวิทยาศาสตร์ก็ได้โอกาส ออกมาพูดว่า เพราะงดกินอาหารที่มีคอเลสเตอรอลจึงทำให้การตายด้วยโรคหัวใจลดลง 20 ปีต่อมา นักวิทยาศาสตร์อีกกลุ่ม บอกว่า โรคหัวใจลดลง 30 เปอร์เซ็นต์ ไม่ใช่
เพราะกินคอเลสเตอรอลลดลง แต่เป็นเพราะ วิวัฒนาการด้านวิทยาศาสตร์ต่างๆ ดีขึ้น เช่น ปี 1980 หัวใจวายแล้วไม่ตาย ซึ่งการศึกษา ของนักวิทยาศาสตร์ก็ไม่เคยหยุดนิ่ง ศึกษาหา ข้อมูลอยู่เรื่อยๆ การศึกษาก็มีเรื่อยๆ กระทั่งปี 1999 TIME MAGAZINE ได้ ตีพิมพ์ผลการทดลองกับประชากรชายจำนวน 37,851 คน อายุ 40-75 ปี และประชากร หญิง 80,082 คน อายุ34-59 คน การศึกษา ทดลองครั้งนี้จะใช้แบบสอบถามข้อมูลที่เกี่ยว โยงกับการกินคอเลสเตอรอล สรุปว่า กินไข่ 1 ฟอง ไม่มีผลต่อการเสี่ยงเป็นโรคหัวใจสำหรับ คนที่ร่างกายปกติ แต่คนที่เป็นเบาหวาน ไม่ แนะนำ ต้องปรึกษาแพทย์ เพราะระบบอินซูลนิ ในเลือดไม่ปกติ สำหรับในไข่ วิเคราะห์ออกมา แล้วว่า ในไข่ 1 ฟอง มีคอเลสเตอรอลเยอะ และมีคณ ุ ค่าอาหารมากมายทีเ่ ป็นประโยชน์ เช่น โปรตีน โอเมก้า 3 ไรโบฟลาวิน โคลีน โฟเลต เลซิตนิ วิตามินดี บี6 บี12 แร่ธาตุอกี มากมาย เหล่ า นี้ ช่ ว ยลดปั ญ หาเรื่ อ งโรคหั ว ใจได้ ด้ ว ย เรื่องเล่าเดิมๆ คือ กินไข่แล้วจะเป็นโรคหัวใจ แต่ผลการศึกษาใหม่พบว่า กินไข่แล้วช่วยป้องกัน
โรคหัวใจ โคลีน โฟเลตที่ทำให้เกิดโรคหัวใจ นั้นมาจากการสร้างขึ้นเองของร่างกาย โดย การที่เรากินอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว หรือกิน อาหารประเภททรานส์ แต่ไขมันในไข่จะไปช่วย ลดปริมาณคอเลสเตอรอล LDL ซึง่ เป็นคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดีในเลือด โปรตีนในไข่ และ L-arginine เป็นกรดไขมันที่จำเป็นต่อร่างกาย ช่วยในการหลั่ง growth hormone (ฮอร์โมน เพือ่ การเจริญเติบโต) ลูซนี ในไข่ชว่ ยในการผลิต growth hormone และช่วยควบคุมปริมาณ น้ำตาลในเลือด DGAC ของอเมริกาได้แนะนำให้รัฐบาล อเมริกา ลบรายการอาหารที่มีคอเลสเตอรอล สู ง ออกจากรายการอาหารต้ อ งระวั ง ในการ บริโภค สำหรับคู่มือแนะนำด้านอาหารสำหรับ ชาวอเมริกัน ปี 2015 คอเลสเตอรอลใน เลือดที่มาจากอาหารมีประมาณ 20% ที่เหลือ 80% มาจากร่างกายสร้างขึ้นเองที่ตับ และที่ ตับต้องสร้างคอเลสเตอรอล ก็เนือ่ งจากร่างกาย ต้องการใช้คอเลสเตอรอล
เรือ ่ งจริงเกีย ่ วกับคอเลสเตอรอล 1. สร้างสเตอรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งเป็น ฮอร์ โ มนเพศทั้ ง ผู้ ห ญิ ง และผู้ ช าย 2. เป็ น องค์ประกอบของไมอีลินชีท ที่ทำหน้าที่หุ้ม เซลล์ประสาท เซลล์สมอง 3. เป็นองค์ประกอบ ของเยื่ อ หุ้ ม เซลล์ ต่ า งๆ ร่ ว มกั บ ฟอสโฟลิ ฟิ ต และไกลโคลิฟติ 4. เป็นสารเริม่ ต้นสำหรับสร้าง วิตามินดีที่ผิวหนังเมื่อมีแสงอาทิตย์ และตับ ใช้คอเลสเตอรอลเพื่อสร้างกรดน้ำดี และเกลือ น้ำดี เพื่อช่วยย่อยและดูดซึมไขมัน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
59
ไข่ไก่ 1 ฟอง มีคอเลสเตอรอลอยู่ ประมาณ 200 มิลลิกรัม ไข่เป็ดมี 600 มิลลิกรัม ไข่นกกระทา 76 มิลลิกรัม ไข่หา่ น 1,226 มิลลิกรัม ร่างกายต้องการคอเลสเตอรอลวันละ ประมาณ 600 มิลลิกรัม หากได้รบั ไม่เพียงพอ เซลล์ ป ระสาท เซลล์ ส มองอาจมี ปั ญ หาได้ ควรทานผัก และผลไม้ทุกมื้อเพื่อดูดซับน้ำดี ที่ ผ ลิ ต มาให้ อ อกไปกั บ อุ จ จาระ ไม่ เ ช่ น นั้ น ร่างกายก็ดูดซึมน้ำดีกลับไปใช้ใหม่ คอเลสเตอรอลทีท่ านเข้าไปก็ไม่ถกู นำมาใช้ แต่สะสม ไว้ในร่างกายจนก่อให้เกิดปัญหาได้ LDL (Low Density Lipoprotein) ทำ หน้าที่ขนย้ายคอเลสเตอรอลจากตับเข้าสู่ใน กระแสเลื อ ด เพื่ อ ส่ ง ไปให้ เ ซลล์ ต่ า งๆ ทั่ ว ร่างกาย อาจทำให้อุดตันเส้นเลือดได้ LDL เป็นคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี HDL (High Density Lipoprotein) ทำ หน้าทีข่ นย้ายคอเลสเตอรอลทีม่ ากเกินพอจาก เนื้อเยื่อ และหลอดเลือดกลับมายังตับ เพื่อ หมุนเวียนมาใช้ใหม่ หรือขับทิ้ง HDL เป็น คอเลสเตอรอลชนิดดี
สารอาหารในไข่
Nutrient สารอาหาร Whole Egg Egg White Egg Yolk (unit) ไข่ทั้งฟอง ไข่ขาว ไข่แดง Calories (kcal) 75 17 59 Protein (g) 6.25 3.52 2.78 Total lipid (g) 5.01 0 5.12 Total carbohydrate (g) 0.6 0.3 0.3 Fatty acids (g) 4.33 0 4.33 Saturated fat (g) 1.55 0 1.55 Monounsaturated fat (g) 1.91 0 1.91 Polyunsaturated fat (g) 0.68 0 0.68 Cholesterol (mg) 213 0 213 Thiamin (mg) 0.031 0.002 0.028 Riboflavin (mg) 0.254 0.151 0.103 Niacin (mg) 0.036 0.031 0.005 Vitamin B6 (mg) 0.070 0.001 0.0069 Folate (mcg) 23.5 1.0 22.5 Vitamin B12 (mcg) 0.50 0.07 0.43 Vitamin A (IU) 317.5 0 317 Vitamin E (mg) 0.70 0 0.70 Vitamin D (IU) 24.5 0 24.5 Choline (mg) 215.1 0.42 214.6 Biotin (mcg) 9.98 2.34 7.58 Calcium, Mg (mg) 25 2 23 Iron, Fe (mg) 0.72 0.01 0.59 Magnesium, Mg (mg) 5 4 1 Copper, Cu (mg) 0.007 0.002 0.004 Iodine, I (mg) 0.024 0.001 0.022 Zinc, Zn (mg) 0.65 0 0.52 Sodium, Na (mg) 63 55 7 Manganese, Mn (mg) 0.012 0.001 0.01
ไข่มีคอเลสเตอรอลสูง จริง
http://www.thaiclinic.com/ โดย พญ.รุ่งทิพย์ วรรณวิมลสุข Sources: Updated data for eggs supplied by the Egg Nutrition Center, 1819 H Street, NW, Suite 520, Washington, DC 20006 All other values from Pennington JAT. Food Values of Portions Commonly Used. 15th ed. New York, NY: Harper Collins; 1989
กินไข่ทำให้มีคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ไม่จริง
องค์ประกอบของไข่
สรุป
คอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทำให้เสีย่ งกับการ เป็นโรคหัวใจ ถูกต้อง กินไข่ ทำให้เสี่ยงกับการเป็นโรคหัวใจ ไม่จริง 60 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
% ไข่ทั้งฟอง ไข่ขาว ไข่แดง
น้ำ โปรตีน ไขมัน 74 13 11 88 11 0 48 17 13
เถ้า
1 0 0
Market Leader
ราคาไข่ไก่ดิ่ง
สวนทางภัยแล้ง "เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่อ่วม ราคาไข่ดิ่ง 2.5 บาทต่อฟอง สวนทางภัยแล้ง เหตุผลผลิตเกินความต้องการ เฉียด 2,000 ล้านฟองต่อปี จี้รัฐดูแล"
นายมงคล พิพัฒสัตยานุวงศ์ นายก สมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ เปิดเผยว่า ขณะนี้ราคาไข่ไก่ปรับตัวลดลงอยู่ระดับ 2.402.50 บาทต่อฟอง สำหรับไข่คละหน้าฟาร์ม ทั้งๆ ที่ช่วงฤดูร้อนของทุกปี ราคาไข่ไก่จะปรับ ตัวสูงขึ้นเฉลี่ยที่ 3.50 บาทต่อฟอง เนื่องจาก ถูกพ่อค้าต่อรองราคาให้ต่ำลง จากปริมาณ ผลผลิตไข่ไก่ทมี่ มี ากถึง 40 ล้านฟองต่อวัน หรือ ไม่ตำ่ กว่า 15,000 ล้านฟองต่อปี ซึง่ เกินความ ต้องการของตลาดวันละ 2-5 ล้านฟอง หรือ เกินความต้องการเกือบ 2,000 ล้านฟองต่อปี ส่งผลให้เกษตรกรได้รับความเดือดร้อนอย่าง หนักเพราะต้องรับภาระต้นทุนการผลิตที่อยู่ ระดับ 3 บาทต่อฟอง
ไม่ต่ำกว่า 700,000 ตัว และพ่อแม่พันธุ์ก็จะ ผลิตลูกไก่ได้ 70 ล้านตัว ขณะที่แม่ไก่ยืนกรง ก็จะมีไม่ต่ำกว่า 50 ล้านตัว แต่ละตัวก็จะ ออกไข่ได้ไม่ตำ่ กว่า 300 ฟอง จึงทำให้ผลผลิต ออกมาจำนวนมาก แต่ความต้องการบริโภคก็ ยังเท่าเดิม
สำหรับ สาเหตุทที่ ำให้ปริมาณไข่ไก่ออกสู่ ตลาดมาก เกิดจากการที่ปล่อยให้มีการนำเข้า พ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่อย่างเสรีโดยไม่มีการเข้าไป ควบคุมใดๆ ซึง่ คาดว่าขณะนี้น่าจะมีพ่อแม่พันธุ์
ทั้งนี้ หากสถานการณ์ดังกล่าว ยังเป็น ลักษณะนี้ อนาคตก็อาจส่งผลต่อราคาไข่ไก่ปี หน้า ซึ่งอาจสูงถึง 4 บาทต่อฟอง เนื่องจาก สมาชิก ของสมาคมเป็น ผู้ประกอบการขนาด
“ผลผลิตไข่ไก่จะผลิตได้ 40 ล้านฟอง ต่อวัน หรือไม่ต่ำกว่า 15,000 ล้านฟองต่อปี แต่ความต้องการจริงจะมีแต่ 13,000 ฟองต่อปี หรือ 35-38 ล้านฟองต่อวัน หรือเกินความ ต้องการวันละ 2-5 ล้านฟอง หรือเกินความ ต้องการ 2,000 ล้านฟองต่อปี ซึ่งเป็นเหตุให้ ราคาตกต่ำ จนทำให้ผู้ประกอบการเลิกกิจการ ไปไม่ต่ำกว่า 20 ราย”
ที่มา : เดลินิวส์ วันอังคารที่ 30 มิถุนายน 2558 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
61
กลาง และใหญ่จำนวนมาก ต้องปิดกิจการ หาก หน่ ว ยงานภาครั ฐ ไม่ เ ร่ ง เข้ า มาให้ ค วามช่ ว ย เหลือผู้ประกอบการ โดยเฉพาะการควบคุม การนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ เพราะผู้ประกอบการ บางราย สมาคมฯ ไม่สามารถ เข้าไปขอความ ร่วมมือได้ เนื่องจากมีกำลังการผลิต และมี ส่วนแบ่งตลาดสูง และถือว่าเป็นสิทธิทจี่ ะนำเข้า มาได้ โดยไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไข่ไก่ทั้งระบบ
นายมงคล กล่าวว่า หากรายย่อยหายไป จากระบบ ก็แทบไม่มีผลกระทบต่อราคาไข่ไก่ ในประเทศ และส่วนใหญ่ก็ทำเป็นอาชีพเสริม ขณะที่รายใหญ่จะทำธุรกิจอย่างเดียว มีการ ลงทุนสูง เมื่อแบกรับการขาดทุนไม่ได้ก็ต้อง เลิกทำ ออกจากระบบไปเลย แต่ภาครัฐ หรือ คนส่วนใหญ่จะมองว่าไม่นา่ สงสารเท่าเกษตรกร รายย่อย จึงไม่ให้ความสนใจ ถ้าปีหน้า ราย ใหญ่ไม่ผลิตไข่ไก่ก็จะหายไปเยอะมาก
“เราคาดการณ์ว่าในช่วงหน้าร้อนทุกปี ราคาไข่ไก่หน้าฟาร์มจะไม่ต่ำกว่า 3 บาท แต่ กลับขายได้จริงในปีนี้แค่ 2.40 บาทเท่านั้น ที่ ผ่ า นมาก็ เ คยรายงานได้ ก รมปศุ สั ต ว์ คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (เอ้กบอร์ด) รับทราบถึงปัญหาของผูป้ ระกอบการ มาโดยตลอด แต่ก็ไม่ได้รับความใส่ใจ กลับยัง ปล่อยให้นำเข้าพ่อแม่พันธุ์ได้อย่างเสรี โดย อ้างข้อตกลงทางการค้าที่ว่า ต้องให้ทำการค้า ได้อย่างเสรี แต่กลับให้ความช่วยเหลือเกษตรกร รายย่อย ผู้ผลิตไข่ไก่ที่แทบจะไม่มีผลต่อตลาด เพราะรายย่อยจะมีแค่ 10% ของผู้ผลิตทั้ง หมด”
“ขณะนี้นั้น อย่ามาว่าพวกผม ถ้าราคา ไข่จะสูงขึ้น แต่ถ้าไม่อยากให้ไข่แพงภาครัฐก็ ควรเข้ามาช่วยตั้งแต่ตอนนี้ ไม่ใช่รอให้แพง ก่อนค่อยมาแก้เพราะตอนนั้นต้องเป็นไปตาม ภาวะตลาด”
62 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้กรมการค้าภายใน ได้จัดกิจกรรมโดยการร่วมกับ ผู้ เ ลี้ ย งไก่ ไ ข่ ร ายย่ อ ยรายกลาง และองค์ ก ร ผู้เลี้ยงไก่ไข่ในพื้นที่ต่างๆ นำไข่ไก่สดคุณภาพดี มาจัดจำหน่ายไข่ในราคาต่ำกว่าราคาขายปลีก ของตลาดสด ฟองละ 10-20 สต. มาจำหน่าย สำนักงานการค้าภายใน 76 จังหวัดทัว่ ประเทศ เพื่ อ บรรเทาความเดื อ นร้ อ นของเกษตรกร ผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่ ซึง่ สามารถแก้ปญ ั หาไข่ไก่ลน้ ตลาด ได้ไม่ต่ำกว่า 10 ล้านฟอง
Around the World
เสวนา “วิกฤตการณ์ไข้หวัดนก
ต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อและเนื้อไก่ไทย” รมว. กษ. เปิดงานเสวนา “วิกฤตการณ์ไข้หวัดนกต่ออุตสาหกรรม ไก่เนือ้ และเนือ้ ไก่ไทย” เพือ่ ร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้หวัดนก รวมถึง แนวทางในการปรับปรุงพันธุ์ และความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผย ภายหลังเปิดงานเสวนาเรื่องวิกฤตการณ์ไข้หวัดนกต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อและเนื้อไก่ไทย ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่า จากสถานการณ์โรคไข้หวัดนกรอบใหม่ที่กำลังแพร่ระบาดอย่าง กว้างขวางในหลายทวีปเป็นปัญหาต่อการเคลื่อนย้ายสัตว์ปีกตามกฎขององค์การโรคระบาดสัตว์ ระหว่างประเทศ หรือ OIE โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นแหล่งผลิตและส่งออกไก่ สายพันธุเ์ นือ้ ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของโลก และถือเป็นแหล่งนำเข้าไก่พนั ธุร์ ะดับปูย่ า่ ทีส่ ำคัญของประเทศไทย และของโลก ซึ่งไก่พันธุ์เนื้อที่ใช้อยู่ในประเทศไทยเป็นไก่ลูกผสม จำเป็นต้องนำเข้าไก่พันธุ์รุ่นใหม่ มาทดแทน เพื่อการขยายพันธุ์และผลิตเป็นลูกไก่เนื้อในอุตสาหกรรมการผลิตไก่เนื้อและเนื้อไก่ ของประเทศไทย นายปีติพงศ์ กล่าวต่อไปว่า หากเกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกจะทำให้ต้องมีการ ชะลอการนำเข้า ย่อมส่งผลให้เกิดการขาดแคลนลูกไก่เนือ้ ในอนาคต ซึง่ จะเกิดผลกระทบต่อเกษตรกร ผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ โรงเชือดและชำแหละไก่ ผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ เช่น ข้าวโพด ถัว่ เหลือง และมันสำปะหลัง จะมีราคาถูกลงและล้นตลาด แรงงานจำนวนมากจะขาดรายได้ เกิดการขาดแคลนเนื้อไก่บริโภค ในประเทศ รวมถึงทำให้การส่งออกเนื้อไก่แช่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปลดลง ซึ่งการเสวนาในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อร่วมกันวิเคราะห์ และระดมความรู้ ความคิดเห็นอันจะเป็น ประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของประเทศ จากสถานการณ์และปัญหาไข้หวัดนกใน ปัจจุบันซึ่งส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไก่พันธุ์ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อ และผลกระทบ ต่อเกษตรกรและผู้บริโภค รวมถึงแนวทางในการปรับปรุงพันธุ์ และความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชน โดยมีผู้เข้าร่วมเสวนาทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และประชาชนที่สนใจ เป็นจำนวนมาก “ในฐานะตัวแทนของรัฐบาลมีความรู้สึกห่วงใยต่อสถานการณ์ไข้หวัดนกเป็นอย่างมาก ซึ่ง รัฐบาลโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อมที่จะให้การสนับสนุนอย่างเหมาะสม เพื่อให้การ แก้ปัญหาสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี หรือเพื่อให้ปัญหาเหล่านั้นบรรเทาเบาบางลง โดยได้มีการเฝ้า ระวังโรคไข้หวัดนกอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งจะมีการพัฒนาสายพันธุ์เพื่อลดการนำเข้าในอนาคต อีกด้วย” นายปีติพงศ์ กล่าว ที่มา : สาส์นไก่ & สุกร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
63
Around the World
ทางออก
วิกฤตการณ์ไข้หวัดนก ต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อ และเนื้อไก่ไทย สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้จดั เสวนาในหัวข้อเรือ่ ง “วิกฤตการณ์ไข้หวัดนกต่ออุตสาหกรรมไก่เนือ้ และเนื้อไก่ไทย” เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ที่ผ่านมา ณ อาคารวชิรานุสรณ์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ โดยมี ฯพณฯ ปีตพิ งศ์ พึง่ บุญ ณ อยุธยา รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานในพิธีเปิด สำหรับวิทยากรผู้ร่วมเสวนาประกอบไปด้วย น.สพ.วัชรพงษ์ สุดดี ผู้อำนวยการสำนัก ควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสตั ว์ คุณประจิตต์ อุดหนุน รองกรรมการผูจ้ ดั การบริหาร บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) คุณคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ ผู้จัดการสมาคม ผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย คุณบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ เลขาธิการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย คุณทศพร ศรีศกั ดิ์ ผูอ้ ำนวยการสำนักพัฒนาพันธุส์ ตั ว์ กรมปศุสตั ว์ โดยมีคณ ุ ศิขณ ั ฑ์ พงษ์พพิ ฒ ั น์ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยฯ เป็นผู้ดำเนินการเสวนา คุณศิขัณฑ์ ผู้ดำเนินรายการ กล่าวนำก่อนว่า ปัจจุบันพ่อแม่พันธุ์ไก่เนื้อ 70-80% มาจากสหรัฐอเมริกา ดังนั้น เมื่อสหรัฐฯ เกิดผลกระทบไข้หวัดนก และไม่สามารถส่งออกได้ ไทยก็คงได้รับผลกระทบตรงนี้ไปด้วย เพราะ เมื่อไรที่ไก่หมดอายุ หรือปลดไปแล้วจะไม่มีพ่อแม่พันธุ์เข้ามาทดแทน สิ่งที่จะเกิดขึ้นคือ ลูกไก่ที่จะใช้ทำไก่เนื้อก็ต้องขาดแคลน ทำให้กำลัง การผลิ ต ลดลง และผลกระทบต่ อ เนื่ อ งที่ จ ะเกิ ด ก็ คื อ จะกลายเป็ น ผลกระทบที่กว้างเข้าไปเรื่อยๆ เมื่อไม่มีไก่ก็ไม่รู้จะผลิตอาหารสัตว์ไปทำไม เมื่อไม่มีการผลิต อาหารสัตว์ เกษตรกรผูป้ ลูกพืชอาหารสัตว์กไ็ ม่สามารถขายผลผลิตได้ ทำให้ไม่มรี ายได้ ประชากร ทั่วไปก็จะไม่มีไก่รับประทาน และอาจจะส่งผลไปถึงเนื้อสัตว์อื่นๆ ให้มีราคาสูงขึ้นอีกด้วย ซึ่งจะ เห็นว่าผลกระทบจะตกกันไปเป็นทอดๆ แล้วเราจะทำอย่างไร ที่มา : สาส์นไก่ & สุกร
64 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
น.สพ.วั ช รพงษ์ กล่ า วว่ า ต้องยอมรับว่าปัญหาไข้หวัด นกนั้ น กระทบในหลายๆ ด้ า น ทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ สังคม ฯลฯ และจะเห็นว่า สามารถพบและกระจายได้ ทั่วโลก นั่นก็รวมถึงประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง เป็นประเทศหลักในการส่งออกพันธุ์สัตว์ หรือ พันธุไ์ ก่เนือ้ ดังนัน้ เมือ่ เกิดโรคระบาดขึน้ ก็ทำ ให้ไม่สามารถส่งออกได้แน่นอน ส่งผลกระทบ ต่อผู้รับซื้อ หรือซื้อพันธุ์สัตว์นำเข้ามาเพื่อผลิต ลูก เมื่อไม่สามารถผลิตลูกได้ก็ไม่สามารถเลี้ยง ได้ ไม่สามารถผลิตเนื้อได้ และก็ไม่มีผลผลิต ออกจำหน่าย แน่นอนผลกระทบไม่ได้อยู่แค่ ในวงการเลี้ยงสัตว์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้ที่ เกี่ยวข้องทั้งวงจร สำหรับเชื้อที่พบในสหรัฐอเมริกา ที่พบ จะมี อ ยู่ 2 ชนิ ด หลั ก ๆ คื อ H5N2 กั บ H5N8 ซึ่ ง ในสหรั ฐ ฯ มี ทั้ ง หมด 50 รั ฐ ปรากฏว่าพบโรคไข้หวัดนกทัง้ ในสัตว์เลีย้ ง และ สัตว์ป่า หรือนกป่ารวมกันแล้ว 20 รัฐ ถ้า แยกเป็นสัตว์ปีกในฟาร์มเจอทั้งหมด 14 รัฐ จึงทำให้ไม่สามารถนำเข้าได้ ด้วยเงื่อนไขที่เรากำหนดไว้ต้องมาจาก ประเทศทีป่ ลอดไข้หวัดนกอย่างน้อย 12 เดือน มีการปรับเปลี่ยนตาม OIE สำหรับประกาศ ที่ปลอดโรค แต่ถ้าเกิดประเทศที่ประกาศว่า ตั ว เองปลอดโรคแล้ ว เจอ ก็ ส ามารถที่ จ ะขอ ยกเลิกย้อนกลับคืนได้ภายใน 3 เดือน ซึ่งเป็น ประเทศหลักๆ ที่เป็นเป้าหมายในการนำเข้า พันธุ์ตอนนี้ได้ถูกแบนไปแล้ว 9 ประเทศ ซึ่ง เป็นประเทศหลักๆ ทั้งนั้น ดังนั้น ต้องคิดว่า
เราจะทำอย่างไรถ้าเกิดการขาดแคลน อย่างไร ก็ดี จากปัญหาที่พบเจอ ทางกรมปศุสัตว์ก็ ไม่ได้นิ่งนอนใจเพราะเราก็มีการหารือ หรือ มีการประชุมร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อ หาทางแก้ไข คุ ณ ประจิ ต ต์ กล่ า วว่ า ถ้าดูในโลกจะพบว่ามีการผลิต ลู ก ไก่ เ นื้ อ ทั้ ง โลกประมาณ พั น ล้ า นตั ว ต่ อ สั ป ดาห์ มี พ่ อ แม่ พั น ธุ์ ทั้ ง หมด ประมาณ 500 ล้าน ตัว ส่วนไทยมีการผลิตประมาณ 3-4 ล้านตัว คิ ด เป็ น เปอร์ เ ซ็ น ต์ ก ารผลิ ต ของโลกจะอยู่ ที่ 3-4% ของโลก อย่างไรก็ดี ในผู้ผลิต GGP ทั้งหมด 14 ราย อเมริกา และยุโรป 2 ทวีป คิดเป็น 70% ของตลาดโลก ซึ่งใน 70% นี้ ต้องประสบปัญหาทำให้ส่งออกไม่ได้ ก็จะเกิด วิกฤตกับผู้เลี้ยงไก่เนื้อทั้งหลาย และจะกระทบ ทัง้ หมด ไม่ใช่แค่คนไทยเท่านัน้ แต่ยงั รวมไปถึง ประเทศอื่นๆ อีกหลายประเทศด้วย สำหรั บ ในประเทศไทยมี ผู้ ผ ลิ ต ลู ก ไก่ ทั้งหมด 6 บริษัท ผลิตลูกไก่ในปีที่ผ่านมา ประมาณ 15.6 ล้านตัว มีนำเข้าประมาณ 6 แสนตัว มี 4 สายพันธุ์ที่ใช้ ซึ่ง GGP ในการ นำเข้าประมาณ 5.2 แสนตัว ผลิตลูกไก่ได้ ประมาณ 16.3 ล้านตัว ได้ลูกไก่ประมาณ 32 ล้านตัวต่อสัปดาห์ คาดการณ์ว่าในปีหน้า ตลาดนำเข้ า 5% น่ า จะนำเข้ า ประมาณ 550,000 ตัว ผลิตลูกไก่พ่อแม่พันธุ์ประมาณ 17 ล้านตัว จะได้ลูกไก่ประมาณ 36 ล้านตัว แต่กลับมีการนำเข้าได้เมื่อประมาณต้นปีเพียง เล็กน้อยเท่านัน้ จากประเทศเล็กๆ เช่น ประเทศ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
65
นิ ว ซี แ ลนด์ ซึ่ ง นำเข้ า มาได้ ป ระมาณ 5-6 พันตัว และคิดว่าไตรมาสที่ 4 อาจจะลดลง อีกอย่างรุนแรง ดังนั้น จะทำอย่างไรให้ปัญหา ดั ง กล่ า วผ่ า นพ้ น ไปได้ ซึ่ ง ก็ คิ ด ว่ า หลายๆ บริษัทรวมถึงโดยส่วนตัวก็ได้มีการเตรียมการ ไว้บ้างแล้ว ซึ่งอาจจะต้องไปขอซื้อจากประเทศ อื่นๆ ถึงแม้ว่าจะเป็นประเทศที่ผลิตไม่มากแต่ ก็ถือว่าน่าจะเป็นการแก้ปัญหาการขาดแคลน ได้บ้าง ส่วนไก่ที่จะปลดก็อาจจะต้องยืดอายุใน การปลดออกไป เพื่อประคองให้มีพ่อแม่พันธุ์ ถึ ง แม้ ว่ า ไก่ ป ลดจะขยั น กิ น แต่ ไ ม่ ข ยั น ออกไข่ ก็ตาม คุ ณ คึ ก ฤทธิ์ กล่ า วว่ า สำหรับการผลิตของไทยมีการ ผลิตอยู่ที่ 2% เป็นผู้ ส่งออกอันดับ 4 ซึง่ มี อยู่ ป ระมาณ 5% ส่ ว นผู้ ส่ ง ออกราย ใหญ่นั้นก็คงหนีไม่พ้นอเมริกา ดังนั้น การเกิด โรคระบาดหวัดนกในอเมริกามีปัญหาแน่นอน นั่นก็คือ ทำให้การส่งออกของอเมริกาลดลง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะไปแย่งตลาดเขา ได้ เพราะการนำเข้าพันธุ์ในไทยก็จะลดลงด้วย เช่นกัน ดั ง นั้ น อย่ า คิ ด ว่ า จะแทรกแซงตลาด ของเขาได้ เพราะเราคงไม่มีสินค้าในการเข้า แทรกแซง เป้าหมายในตอนนี้ก็คือ การรักษา ตลาดเก่าไว้ให้ได้ และต้องติดตามสถานการณ์ อย่างใกล้ชิด ถ้าไม่ได้จริงๆ ก็อาจจะต้องมีการ ผลิตให้เต็มที่ และเก็บรักษาเข้าห้องเย็น ถึง แม้ว่าวิธีนี้จะเป็นการแก้ปัญหาระยะสั้น แต่ก็ คิดว่าน่าจะช่วยยืดเวลาออกไปได้ 66 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
คุ ณ บุ ญ ธรรม กล่ า วใน ส่วนของอาหารสัตว์ว่า ถ้ามอง โลกนี้ ว่ า ด้ า นสั ต ว์ เ ศรษฐกิ จ ที่ เ ลี้ ย งในปั จ จุ บั น เราใช้ ด้านอาหารสัตว์เป็นตัวชี้วัด และสัตว์ปีกถือเป็นตัวหลักในการเลี้ยงสัตว์ของ โลกประมาณ 45% และไก่เนื้อ ในภาคของ การเลีย้ งจะพบว่าเป็นภาคทีม่ ศี กั ยภาพค่อนข้าง สูง เพราะไก่เนื้อ 1 ตัว ใช้พื้นที่ในการเลี้ยง น้อย ใช้วัตถุดิบไม่มาก ทำให้มองว่ามีลักษณะ การเติ บ โตค่ อ นข้ า งสู ง มากเมื่ อ เที ย บกั บ สั ต ว์ เศรษฐกิจตัวอืน่ ส่งผลทำให้การผลิตอาหารสัตว์ มีการเติบโตขึ้นเรื่อยๆ อย่างไรก็ดี ไทยเอง มีการเติบโตมากกว่า 9% ต่อปี ถ้าเปรียบ เทียบกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ถือว่าไทยมี ศักยภาพค่อนข้างสูง เพราะประเทศอืน่ ๆ มีการ เติบโตเพียงแค่ 1-2% เท่านั้น แต่ไทยกลับมี การเติบโตมากกว่าค่าเฉลี่ยของโลก 2-3 เท่า เลยทีเดียว จากวิกฤตการณ์ในปี พ.ศ. 2547 ที่ ไทยเกิ ด วิ ก ฤตการณ์ ไ ข้ ห วั ด นกในไทยปี นั้ น มีผลกระทบทั้งไก่เนื้อ ไก่ไข่ เป็ด คาดว่าผล กระทบสัตว์ปีกปีนั้นน่าจะมากถึง 30% แต่ เราก็มีการปรับตัวในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง เรามีการเลีย้ งในระบบปิดมากขึน้ มีการปรับตัว เรื่องของการผลิตไก่ปรุงสุกทดแทนจากการ ห้ามส่งออกไก่สดแล้วก็ทำได้ดี ซึ่งเวลา 2-3 ปี ก็สามารถปรับตัวได้ และหลังจากนั้นก็มีการ เข้าสู่ภาวะปกติที่มีการเติบโตต่อ ก็มีการเติบโต มาได้ถึงปัจจุบันแม้จะเจออุปสรรคบ้าง ซึ่งก็ คิดว่าวิกฤตการณ์ครัง้ นีเ้ ราก็จะสามารถปรับตัว ได้ และผ่านไปได้เช่นกัน
อย่างไรก็ตาม ในปีปัจจุบันเราประมาณ ว่าไก่เนื้อจะเป็นสัตว์เศรษฐกิจตัวหลักอันดับ 1 ที่มีการใช้อาหารสำเร็จรูปเกือบ 40% หมู 32% ไก่ไข่ประมาณ 16% เป็ด 3% กุ้ง 5% ดังนั้น ไก่เนื้อจึงถือเป็นตัวแทนหลัก เนื่องจาก ไก่เนื้อเป็นสัตว์ที่มีการเจริญเติบโตเกินค่าเฉลี่ย ปัจจุบันไก่เนื้อมีการใช้วัตถุดิบหลักอยู่ 2 ประเภทคือ ข้าวโพด ใช้ 60% และกาก ถั่วเหลือง 30% ส่วนวัตถุดิบอื่นๆ ประมาณ 8% เท่านัน้ ดังนัน้ งานวิจยั จึงเน้นไปทีอ่ าหาร สัตว์ เพื่อใช้ในการศึกษาไปถึง ต้นน้ำ กลาง น้ำ ทำให้พบว่าในห่วงโซ่อาหารนั้นหลีกหนี ไม่พ้นเป้าหมายหลักๆ ดังนี้คือ ในด้านการ ผลิ ต อาหารปลอดภั ย เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น ต่อมาคือการผลิตให้ถูกต้องตามหลักการและ แหล่งวัตถุดิบที่มา และสุดท้ายคือ ความมั่นคง ซึ่ ง ทรั พ ยากรในปั จ จุ บั น กั บ ความต้ อ งการใน อนาคตหนีไม่พ้นในการต้องนำแนวความคิด ของความยั่งยืนมาใช้ อีกหนึ่งเรื่องที่พบและมองถึงแหล่งต้น น้ำว่าด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีในด้านการปรับ ปรุงพันธุ์ รวมทั้งระบบการควบคุมโรคระบาด ซึ่งจากนี้ไปคงปฏิเสธไม่ได้ว่าไข้หวัดนกกับการ เลี้ ย งไก่ ใ นทุ ก ทวี ป ทุ ก พื้ น ที่ ค งเป็ น ของคู่ กั น ดังนั้น ถ้าเรามีระบบการเลี้ยง การควบคุมที่ดี ก็คงสามารถป้องกันได้ และคิดว่าไทยคงต้อง เริ่มคิดที่จะผลิตสายพันธุ์ใช้เองในอนาคตแล้ว หรือหมายถึงเราคงต้องเข้าสู่การปรับตัวอีก ครั้ง
คุณทศพร กล่าวว่า เมื่อ เกิดปัญหาไข้หวัดนกในพื้นที่ ที่นำเข้าพันธุ์สัตว์ อาจ จะทำให้เราคิดว่าจะอยู่ ไม่ได้แล้ว เพราะไม่ได้รบั แต่พันธุ์ แต่เรารับของเขามาทั้งหมด ไม่ว่าจะ เป็นพันธุ์ เทคโนโลยี และองค์ความรู้ต่างๆ เราเป็ น เพี ย งผู้ ผ ลิ ต และส่ ง ต่ อ เท่ า นั้ น เมื่ อ ประเทศต้นน้ำเจอปัญหา เราก็ต้องรับปัญหา เหล่านัน้ ไปด้วย ถึงเวลาแล้วหรือยังทีเ่ ราจะต้อง พึ่งตัวเอง เพราะไทยเองก็มีดีไม่แพ้ใคร ไม่ว่า จะเป็นนักวิจัยเก่งๆ งบประมาณก็มี ดังนั้น จะดีกว่าไหมถ้าเราจะสร้างเทคโนโลยีเอง พัฒนา สายพันธุ์ไก่ขึ้นมาเอง พัฒนาให้เกิดเป็นไก่เนื้อ ไทยที่มีคุณภาพและรสชาติดีไม่แพ้ใคร จะเป็น ไปได้ไหมถ้าจะมีไก่เนื้อไทยซึ่งเป็นที่ยอมรับทั้ง ในไทย และต่างประเทศ อย่างไรก็ดี ในขณะนี้ กรมปศุสัตว์ก็มี ไก่พื้นเมืองที่ถูกพัฒนาจนนิ่งแล้ว ซึ่งมีทั้งหมด 4 สายพันธุ์ด้วยกันคือ ไก่แดงสุราษฎร์ ไก่โรด ไก่ชี และไก่เหลืองหางขาว ซึ่งจะเป็นไปได้ไหม ที่ จ ะเลื อ กนำมาพั ฒ นาต่ อ ยอดให้ เ ป็ น ไก่ เ นื้ อ ไทย พัฒนาให้เป็นไก่ไข่ไทย ทั้งนี้ถ้าเราไม่เริ่ม ตั้ ง แต่ วั น นี้ แ ล้ ว เมื่ อ ไรเราจะเห็ น ความสำเร็ จ และเมื่อไรที่เราจะได้เห็นโอกาสการชดเชยลด การนำเข้า ในตอนนี้ไทยเองก็มีไก่พันธุ์ดีแล้ว และก็เป็นที่สนใจของต่างประเทศ จะเป็นไป ได้ไหม ถ้าจะนำตรงนี้มาเจาะลึกว่าไก่ไทยมีดี ยังไง จะไปสู่การผลิตเป็นไก่เนื้อยังไง โดยส่วน ตัวมีความเชื่อว่าเราทำได้ และถ้าทำได้ก็จะถือ ว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
67
ถ้าไก่เนื้อไทยที่เราสร้างขึ้นมีรสชาติ ดีกว่า อร่อยกว่าไก่นำเข้า แถมยังได้เรื่อง ของสุขภาพ มันก็จะเป็นสินค้าไทย เป็นงานวิจยั ของคนไทย เป็นแบรนด์ ของคนไทย เราต้องสร้างนวัตกรรม ให้เกิดขึ้นในไทย ดังนั้น สิ่งที่เรา ต้องการคือ ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านสัตว์ปีกมาร่วม กั น พั ฒ นา และสามารถใช้ พันธุกรรมที่ไทยมีมาสร้างประโยชน์ให้ กับประเทศขึ้นให้ได้ ดังนั้น จึงคิดว่าสัตวบาลต้องเป็น ผู้นำร่อง โดยมีหน่วยงานต่างๆ เข้ามา ช่วยกัน ซึง่ ช่องทางดังกล่าวอาจเป็นช่องทาง หนึ่ ง ที่ จ ะนำพาไปสู่ ค วามสำเร็ จ ของวงการ ปศุ สั ต ว์ อาจจะไม่ ใ ช่ ทั้ ง หมด 100% แต่ ก็ คิดว่าน่าจะเป็นส่วนหนึ่งที่เราสามารถทำให้เกิด นวัตกรรมใหม่ขึ้นกับประเทศไทยได้ ซึ่งทั้งหมดนี้ ไม่ได้ทำเพื่อการแข่งขันเพียงอย่างเดียว แต่ยังถือ เป็นการทำเพือ่ การพึง่ พาตัวเองให้ได้ จะได้ไม่ตอ้ ง ไปพึ่ ง พาคนอื่ น ตลอดเวลา เพราะเมื่ อ เขาเกิ ด ปัญหาเราก็จะพลอยมีปญ ั หาไปด้วย กล่าวคือ เรา ต้องเดินหน้าต่อไปให้ได้โดยที่ไม่ต้องพึ่งใคร แต่เป็นการพึ่งตัวเอง ซึ่งทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นได้ก็ต้อง มาจากความสามัคคี และการร่วมมือจากทุกฝ่าย “การนำเข้าพันธุ์สัตว์จากสหรัฐอเมริกายังอยู่ในความดูแลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือ กรมปศุสัตว์ ซึ่งการที่จะเปิดให้นำเข้าเมื่อไหร่นั้น กรมปศุสัตว์จะมีการประชุมหารือกับบริษัท ผู้นำเข้าพันธุ์สัตว์ หารือกันอยู่ตลอดเวลา ส่วนภาคบริษัทก็ต้องการให้กรมปศุสัตว์ปลดล็อคให้ เร็วขึน้ อนุญาตให้นำเข้าเร็วกว่ากำหนด เกรงว่าถ้าช้าจะทำให้ปริมาณการผลิตมีปญ ั หา อย่างไรก็ดี ถ้านำเข้าอย่างไม่รอบคอบ เมื่อผลิตแล้วบริษัทที่รับซื้ออาจจะมีข้ออ้างได้ ดังนั้น การปลดล็อค การนำเข้าจึงต้องประชุมหารือพิจารณาร่วมกันอย่างรอบคอบ” คุณทศพร กล่าวตอนท้าย
68 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
Around the World
วิกฤตการณ์ ไข้หวัดนก ต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อและเนื้อไก่ ไทย นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ เลขาธิการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย วันที่ 15 พฤษภาคม 2558 อาคารวชิรานุสรณ์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปริมาณการใช้อาหารสัตว์ของโลก 980 ล้านตัน แบ่งตามประเภทสัตว์
โค 20%
อื่นๆ 8% สุกร 27%
สัตว์ปีก 45%
ที่มา : Alltech Global Feed Summary, 2015
ปริมาณการใช้อาหารสัตว์ปีกของโลก
ปี 2557 = 439 ล้านตัน
อัฟริกา 4.81% เอเชีย 34.46%
ตะวันออกกลาง ละตินอเมริกา 4.01% 17.54% อเมริกาเหนือ 19.82%
ยุโรป 19.36%
ที่มา : Alltech Global Feed Summary, 2015
ปริมาณความต้องการอาหารสัตว์ไทย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
69
ความต้องการอาหารสัตว์ไทยของไทยปี 2558
การบริโภคอาหารสัตว์ทั้งหมด 17.92 ล้านตัน สุกร 32%
ไก่เนื้อ 39%
ไก่ ไข่ 18% ปลา 3% กุ้ง โค เป็ด 2% 3% 3% ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, คาดการณ์ 2558
ความต้องการอาหารไก่เนื้อของไทย
วัตถุดิบหลักในอาหารไก่เนื้อ
ข้าวโพด 62%
อื่นๆ 8% กากถั่วเหลือง 30%
แหล่งที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ปี 2558
70 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ผลผลิตและราคาข้าวโพดของไทย
ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ปี 2575
Feed Safety
1. ส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ และการ จำหน่ายให้มีมาตรฐาน 2. ส่ ง เสริ ม การผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ อาหารสั ต ว์ ใ ห้ มี คุ ณ ภาพ ปลอดภัย ตามมาตรฐาน 3. ส่งเสริมการผลิตอาหารสัตว์ให้มีคุณภาพ ปลอดภัย และมีมาตรฐาน 4. สร้ า งความตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ภาพสิ น ค้ า และความ ปลอดภัยของการผลิตสินค้าการเกษตร
Feed Security
1. ผลิตวัตถุดบ ิ อาหารสัตว์ในปริมาณทีเ่ พียงพอกับความ ต้องการของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ 2. ให้ธร ุ กิจอาหารสัตว์สามารถเข้าถึงวัตถุดบ ิ อาหารสัตว์ ได้อย่างสะดวก และมีราคาเหมาะสม 3. ส่งเสริมการผลิตวัตถุดบ ิ อาหารสัตว์คณ ุ ภาพดี ลดการ สูญเสีย และมีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม 4. รักษาเสถียรภาพการผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ 5. การจัดการซื้อวัตถุดิบที่มีประสิทธิภาพ 6. การให้ความสำคัญกับการซื้อวัตถุดิบอาหารสัตว์
Feed Sustainability
1. การใช้ทรัพยากรทีม ่ ป ี ระสทิธภ ิ าพและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ตลอดห่วงโซ่ อาหาร 2. การพัฒนาการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. สร้างเครือข่ายผู้ผลิตในห่วงโซ่อาหารระดับประเทศ และเครือข่ายผู้ผลิตอาหารสัตว์ระดับภูมิภาค 4. การเป็นผู้นำด้านการผลิตตลอดห่วงโซ่อาหารอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ในอาเซียน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
71
กลยุทธภายใต้ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ปี 2575 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การผลิตอาหารสัตว์อย่างยั่งยืน (Feed Sustainability) กลยุทธ์ 1. การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม อาหารสัตว์ตลอดห่วงโซ่อาหาร
กลไกดำเนินงาน 1.1 ตั้งกองทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมตลอด ห่วงโซ่อาหาร 1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมตลอด ห่วงโซ่อาหาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตลอดห่วงโซ่อาหาร ทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ลดการแทรกแซงราคาสินค้าเกษตรที่เป็นอุตสาหรรมต้นน้ำ และผ่อนคลายการ ควบคุมราคาอาหารสัตว์และผลิตภัณฑ์สัตว์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมปลายน้ำ
๏ วิจัย พัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่ เช่น ส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ของประเทศ และการควบคุมโรคระบาด เป็นต้น
ระบบแจ้งเตือนความปลอดภัยด้านอาหารและอาหารสัตว์ของไทย เพื่อแจ้งเตือน สินค้าไม่ปลอดภัยให้ผู้ผลิตทุกภาคส่วน
2. การพัฒนาการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1. ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามแผนฯ ชาติ 11
3. สร้างเครือข่ายผู้ผลิตในห่วงโซ่อาหารระดับ ประเทศ และเครือข่ายผู้ผลิตอาหารสัตว์ระดับ ภูมิภาค
1. จัดการประชุมรายปี ระหว่างผู้ผลิตในห่วงโซ่อาหารระดับประเทศ ทั้งระดับ ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ส่วนราชการ นักวิชาการ เพื่อแลกเปลี่ยน แนวคิดการผลิตอาหารปลอดภัยทั้งอาหารสัตว์ อาหารคน (Feed and Food Safety) ศึกษา ปัญหา และอุปสรรค และร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไข 2. จัดตั้งเครือข่ายผู้ผลิตอาหารสัตว์ระดับภูมิภาค เพื่อร่วมกันกำหนดนโยบาย ห่วงโซ่อาหารของภูมิภาค (Regional Food Chain) ที่สอดคล้องกับห่วงโซ่ อาหารโลก (Global Food Chain) กำหนดหลักปฏิบัติในห่วงโซ่อาหารของ ภูมิภาค ร่วมดำเนินการในโครงการที่เกี่ยวข้อง เพื่อลดอุปสรรคและส่งเสริม การค้าระหว่างประเทศสมาชิก และเพื่อป้องกันการขาดแคลนอาหารของ ประชากรในภูมิภาค
บทสรุป 1. ไก่เนื้อเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีศักยภาพสูงในการเติบโตของประเทศไทย 2. ข้าวโพดเป็นวัตถุดิบหลักในการเลี้ยงไก่เนื้อ และมีการสร้างมูลค่าเพิ่มในห่วงโซ่ อุปทานอาหารของประเทศไทย 3. ประเทศไทยควรมีแนวทางในการพัฒนาพันธุ์ไก่เนื้อเองเพื่อสร้างความมั่นคง และ ความยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอาหารของประเทศ 72 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
Around the World
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย นำทีมสมาคม-เอกชน สนองนโยบายรัฐฯ
แก้ปัญหาประมงและค้ามนุษย์
ร่วมประกาศเจตนารมณ์ชัด สนับสนุน รัฐบาลในการใช้ พ.ร.บ. การประมง-พ.ร.บ. ค้ามนุษย์ฯ ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติมแก้ไข รับ ปฏิบัติเต็มที่ ไม่ซื้อวัตถุดิบอาหารทะเลจาก เรือประมงทีท่ ำการประมงผิดกฎหมาย (IUU) และใช้แรงงานเด็ก แรงงานการค้ามนุษย์ ผิดกฎหมาย พร้อมเรียกร้องรัฐให้บังคับใช้ กฎหมายฯ อย่างเคร่งครัด เมื่อ 16 มิ.ย. 2558 หอหารค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ในส่วน คณะกรรมการแรงงานและทรัพยากรมนุษย์ และคณะกรรมการธุรกิจการประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง นำโดย ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย ร่วมกับ สมาคมอาหารแช่เยือกแข็ง ไทย สมาคมอุตสาหกรรมทูน่าไทย สมาคม ผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป สมาคมกุ้งไทย และ สมาชิกทั้งหมดของทุกสมาคม โดยเฉพาะ บริษัทเอกชนซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ในห่วงโซ่ การผลิต บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพเี อฟ ไทยยูเนีย่ นกรุป๊ ซีแวลู กรุป๊ อันดามันซีฟดู้ กรุป๊ และบริษทั ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด แถลงข่าว ประกาศเจตนารมณ์
ชัดเจนสนองนโยบายรัฐ แก้ปัญหาประมงและ ค้ามนุษย์ สนับสนุนรัฐบาลในการใช้ พ.ร.บ. การประมง-พ.ร.บ. ค้ามนุษย์ ฉบับปรับปรุง เพิม่ เติมแก้ไข รวมถึงกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง รับปฏิบัติเต็มที่ ไม่ซื้อวัตถุดิบอาหารทะเลจาก เรือประมงที่ทำการประมงผิดกฎหมาย (IUU) และใช้แรงงานเด็ก แรงงานการค้ามนุษย์ผิด กฎหมาย พร้ อ มเรี ย กร้ อ งรั ฐ ให้ บั ง คั บ ใช้ กฎหมายฯ อย่างเคร่งครัด ณ ห้องวิมานสุรยิ า โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากตั้งแต่กลางปีที่แล้ว จนถึงปัจจุบัน อุตสาหกรรมการประมงของประเทศไทย ถูก สื่อต่างประเทศโจมตีหนัก เรื่องปัญหาการใช้ แรงงานเด็ก แรงงานทาส และการค้ามนุษย์ ของเรือประมงไทย รวมทัง้ การถูกสหภาพยุโรป หรื อ อี ยู ให้ ใ บเหลื อ งประเทศไทยในสิ น ค้ า ประมงเพื่ อ เร่ ง ให้ แ ก้ ไ ขการทำประมงผิ ด กฎหมายฯ ซึ่ ง ได้ ส ร้ า งความเสี ย หายส่ ง ผล กระทบต่ออุตสาหรรมอาหารทะเลของประเทศ ไทย และภาพลักษณ์ของประเทศโดยรวมอย่าง มากตามทีท่ ราบกัน ทีท่ างคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (คสช.) และรัฐบาลปัจจุบัน นำโดย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
73
ฯพณฯ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้า คสช. ได้ ให้ความสำคัญในการป้องกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวอย่างเต็มที่ ซึ่งได้ ปรากฏออกมาเป็นผลงานอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจนนั้น ในส่วนของภาคเอกชน นำโดย หอการค้าไทยและสภาหอการค้า แห่งประเทศไทย สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย สมาคมอุตสาหกรรมทูนา่ ไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป สมาคมกุ้งไทย และสมาชิกทั้งหมดของทุก สมาคม โดยเฉพาะบริษัทเอกชนซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ในห่วงโซ่การผลิต บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพเี อฟ ไทยยูเนีย่ นกรุป๊ ซีแวลูกรุป๊ อันดามันซีฟดู้ กรุป๊ และบริษทั ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด จึงได้ออก มาร่วมสนับสนุนนโยบายของรัฐอย่างเต็มทีใ่ นการดำเนินกิจกรรมทุกรูปแบบ ร่วมมือกับรัฐบาลเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว และเพื่อร่วมกันป้องกันแก้ไข ปัญหาแรงงานและการค้ามนุษย์ของประเทศอย่างยั่งยืน ได้ร่วมกันประกาศ เจตนารมณ์ ดังนี้ 1. สนับสนุน ส่งเสริม และปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึง พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. 2558 และ พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการ ค้ามนุษย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 อย่างเต็มที่/เคร่งครัด 2. ไม่ซื้อวัตถุดิบอาหารทะเลจากเรือที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย และ ยกเลิกสัญญา หากพบว่ามีความเกีย่ วข้องกับการทำประมงผิดกฎหมาย หรือ มีปัญหาเรื่องแรงงานและการค้ามนุษย์ 3. ขอเรียกร้องให้รัฐบาลบังคับใช้กฎหมายอย่างมี ประสิทธิภาพและเสมอภาคโดยเข้มงวด เคร่งครัด/จริงจัง กับเรือที่ทำผิดกฎหมาย ทำประมงผิดกฎหมาย (IUU) และเรือประมงทีม่ ปี ญ ั หาเรือ่ งแรงงาน และการค้ามนุษย์ที่ทำการประมงใน น่านน้ำไทย และนอกน่านน้ำไทย รวมถึงกับธุรกรรมอื่นๆ ใน อุตสาหกรรมการประมง ต่ อ เนื่ อ ง อาทิ เ ช่ น ปลาป่น เป็นต้น
74 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
4. สนับสนุนให้ทั้งตลอดสายห่วงโซ่การผลิตของอุตสาหกรรมอาหาร ทะเลของไทย ร่วมกันรับผิดชอบ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ เพือ่ ความยัง่ ยืน ของอุตสาหกรรมการประมง และอาหารทะเลของประเทศไทย การออกมาประกาศเจตนารมณ์นี้ เพือ่ ร่วมสนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการ ทั้งซัพพลายเชน หรือตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าประมง ทั้งจากการทำ ประมง และจากการเลี้ยงของไทย แสดงความรับผิดชอบร่วมกัน มีการผลิต อย่างถูกต้องทีย่ งั่ ยืน สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ปลอดจากการทำประมง ผิดกฎหมาย (IUU) ปลอดจากการใช้แรงงานผิดกฎหมายและการค้ามนุษย์ เป็นที่ยอมรับจากสังคมโลก ที่สำคัญ แสดงให้เห็นว่าภาครัฐ และเอกชน มีความจริงใจ พยายามแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานและการค้ามนุษย์ และ ปั ญ หาการทำประมงผิ ด กฎหมายอย่ า งเต็ ม ที่ โดยเฉพาะในส่ ว นของ หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคมอาหารแช่เยือกแข็ง ไทย สมาคมอุตสาหกรรมทูน่าไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป สมาคม กุ้งไทย และสมาชิกทั้งหมดของทุกสมาคม โดยเฉพาะบริษัทเอกชนซึ่ง เป็นผู้ผลิตรายใหญ่ในห่วงโซ่การผลิต บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ไทยยูเนี่ยนกรุ๊ป ซีแวลูกรุ๊ป อันดามันซีฟู้ดกรุ๊ป และบริษัททีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด ให้ความสำคัญอย่างมากกับเรื่อง ดังกล่าว ได้ปฏิบัติกันถูกต้องตามกฎหมายแรงงานในทุกระดับ ไม่มีการใช้ แรงงานเด็ก แรงงานที่ถูกบังคับ และการค้ามนุษย์ มีการดูแลแรงงานให้มี สวัสดิการที่ดีมาโดยตลอด ฯลฯ การออกกันมาประกาศชัดเจน เอาจริง โดยเฉพาะการไม่ซื้อวัตถุดิบที่ได้จากผู้ผลิต (เรือประมง, โรงงาน) ที่ผิด กฎหมาย และ/หรือทีใ่ ช้แรงงานผิดกฎหมาย/ค้ามนุษย์ โดยเด็ดขาด วัตถุดบิ ต้องมีที่มาที่ถูกต้องชัดเจนเท่านั้น (มีระบบที่สามารถตรวจสอบการซื้อได้) และเรียกร้องให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดนี้ก็เพื่อให้อุตสาหกรรม ประมงและปลาป่นของประเทศมีการพัฒนาในแนวทางที่ถูกต้อง และยั่งยืน ดร.พจน์ กล่าวย้ำอย่างหนักแน่นทิ้งท้าย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
75
Around the World
เกษตรอุตสาหกรรมไทยก้าวไกลสู่ CLMV • นางสาวสุทธิรัตน์ สุทธิมณฑล • ประเทศไทยมีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรอุตสาหกรรมและมีทำเลที่ตั้งที่เป็นศูนย์กลาง ของภูมิภาคอาเซียน โดยมีชายแดนติดกับทุกประเทศในกลุ่ม CLMV1 ยกเว้นเวียดนาม จาก ความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ ทำให้การลงทุนโดยตรงของไทย (Thai Direct Investment: TDI)2 ในกลุ่มประเทศ CLMV เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยในช่วงปี 2552-2556 ที่ผ่านมามีมูลค่า เฉลี่ยปีละ 1,205 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นถึง 8 เท่า จากช่วงปี 2545-2549 ที่มีมูลค่า เฉลี่ยเพียงปีละ 147 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ทั้งนี้ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (2547-2556) TDI ของไทยได้กระจายการลงทุนไปในสาขาการผลิตต่างๆ มากที่สุดคือ เหมืองแร่และย่อยหินร้อยละ 36 รองลงมาคือ ภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 29 การเงินและประกันภัยร้อยละ 21 และการค้าส่ง และปลีกร้อยละ 8 และเป็นที่น่าสังเกตว่า TDI ในช่วงนี้กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มประเทศ ASEAN ถึงร้อยละ 31 โดยเป็นการลงทุน ในกลุ่มประเทศ CLMV ร้อยละ 16 ของ TDI ขณะเดียวกันการลงทุนของไทยในกลุ่ม CLMV ไหลไปยังประเทศเมียนมาร์สูงถึง กว่าร้อยละ 61 จึงเป็นที่น่าสนใจว่าเหตุใด ประเทศไทยจึ ง ได้ เ ข้ า ไปลงทุ น ในประเทศ เหล่านี้ และมีการลงทุนทางด้านเกษตรอุตสาหกรรมบ้างหรือไม่ การลงทุนด้านเกษตรอุตสาหกรรมของไทยในกลุ่มประเทศ CLMV มีทั้งในลักษณะของ Contract farming เพื่ อ ทำการเพาะปลู ก และรั บ ซื้ อ พื ช ผลทางการเกษตรที่ ผ ลิ ต ได้ ก ลั บ มา แปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มต่อที่ไทย หรือรับซื้อเพื่อส่งออกต่อไปยังประเทศที่สาม การลงทุน อีกลักษณะหนึ่งคือ การขอรับสัมปทานจัดสรรพื้นที่เพาะปลูกจากรัฐบาล โดยพบว่าในช่วงที่ ผ่านมาการลงทุนเหล่านี้มีส่วนสำคัญในการเพิ่มมูลค่าการค้าชายแดนระหว่างไทยกับประเทศ กลุ่มประเทศ CLMV หมายถึง Cambodia, Laos, Myanmar และ Vietnam จาก “การลงทุนของไทยในประเทศเพือ่ นบ้าน : ก้าวสำคัญของการเข้าสูก่ ลุม่ เศรษฐกิจ AEC”, FOCUSED AND QUICK (FAQ) Issue 71, July 2, 2012 ธนาคารแห่งประเทศไทย 1 2
76 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
เพื่อนบ้านอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ นักลงทุนไทยยังได้ประโยชน์จากสิทธิพิเศษของประเทศ เพื่อนบ้านในสถานะประเทศด้อยพัฒนา (Least Developed Countries: LDCs) ซึ่งจะได้รับการ ยกเว้นภาษีอากรและลดอัตราภาษีศุลกากรสำหรับวัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดจากประเทศเหล่านี้ เพื่อ ใช้เป็นช่องทางกระจายสินค้าและเป็นฐานส่งออกสินค้าไปยังประเทศนอกกลุม่ อาเซียน เป็นสาเหตุ ที่ทำให้นักลงทุนของไทยที่มีความเชี่ยวชาญ และมีความสามารถในเชิงการแข่งขันด้านเกษตร อุตสาหกรรมเพียงพอให้ความสนใจที่จะเข้าไปลงทุนในกลุ่มประเทศ CLMV ดังนี้ “เมียนมาร์” มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the Union of Myanmar) มีประชากร 55 ล้านคน (ปี 2555) เป็นประเทศที่มีโอกาสในภาคเกษตรกรรม สูงสุดในกลุ่ม CLMV โดยมีพื้นที่ทำการเกษตรที่มากถึง 12 ล้านเฮกตาร์ แรงงานภาคเกษตร มีกว่า 19 ล้านคน และพบว่าค่าแรงงานเมียนมาร์ เพียง 1 ใน 3 ของค่าแรงคนไทยเท่านั้น (ค่ า แรงเมี ย นมาร์ ป ระมาณ 100 บาท) ปั จ จุ บั น ถื อ ว่ า เป็ น ประเทศที่ เ นื้ อ หอมที่ สุ ด ในกลุ่ ม ประเทศอาเซียน และจากข้อมูลของ DICA3 ณ เดือนพฤษภาคม 2555 ซึ่งระบุว่ามียอด การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) รวม 30,803.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จาก 215 บริษัท นั้น มีประเทศจีนลงทุนมากที่สุดถึง 13,870.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 45 ของ FDI ในเมียนมาร์ รองลงมาเป็นฮ่องกง ส่วนประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 4 เงินลงทุนประมาณ 2,460.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คิดเป็น ร้อยละ 8 และเป็น FDI ด้านการเกษตรเพียง 144.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.47 เท่านั้น ในขณะที่ภาคเกษตรกรรมของเมียนมาร์ มีแนวโน้มขยายตัวสูงจากการเปิดโอกาสให้ นักลงทุนต่างชาติเข้าไปทำ Contract Farming สะท้อนให้เห็นถึงโอกาสในการลงทุนด้าน เกษตรกรรม รวมถึงความต้องการเครื่องจักรกลการเกษตรเพื่อการใช้งานที่จะตามมา จึงเป็น โอกาสดีสำหรับนักลงทุนไทยเนื่องจากมีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก ปัจจุบันกลุ่มนักลงทุนของไทยที่เข้าไปลงทุนในเมียนมาร์ด้านเกษตรอุตสาหกรรมแล้วมีหลายราย ดังนี้ -
ธุรกิจของไทยที่ไปลงทุนในเมียนมาร์ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ (Myanmar CP Livestock & CP Yangon) กลุ่มบริษัทน้ำตาลมิตรผล บริษัทซูเทค เอ็นจิเนียริ่ง บริษัท Myanmar Impex Agro-Livestock Joint Venture Co., Ltd.
-
ธุรกิจที่ดำเนินการ สัมปทานปลูกข้าวโพดและพืชเลี้ยงสัตว์ และโรงงานผลิต อาหารสัตว์ที่ทันสมัย สัมปทานปลูกอ้อยและโรงงานน้ำตาล ปลูกอ้อยในลักษณะ Model contract farming การเกษตร (Farming business)
ที่มา : BOI, หอการค้าจังหวัดตาก
DICA=Directorate of Investment and Company Administraiton taken towards a more liberalized economy is to allow foreign direct investment and to encourage the private sector development.
3
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
77
“สปป.ลาว” หรือสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic: Lao PDR) มีประชากรประมาณ 6 ล้านคน (ปี 2555) เกษตรกรรมเป็นภาค เศรษฐกิจสำคัญที่สุดของ สปป.ลาว และกว่าร้อยละ 80 ของกำลังแรงงานทั้งหมดอยู่ในภาค เกษตรกรรม สปป.ลาว มีพื้นที่เกษตรกรรมร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมด ส่วนใหญ่อยู่ในเขต ภาคใต้ซงึ่ เป็นทีร่ าบลุม่ แต่ผลผลิตเฉลีย่ ต่อเฮกตาร์คอ่ นข้างต่ำ เนือ่ งจากมีขอ้ จำกัดด้านเทคโนโลยี การผลิต และต้องอาศัยธรรมชาติเป็นสำคัญ โดย สปป.ลาว มีพื้นที่เหมาะสมต่อการข้าวปลูก อยู่ในแขวงนครหลวงเวียงจันทร์ และสะหวันนะเขต ถั่วเหลืองในแขวงหัวพัน ข้าวโพดในแขวง ไชยะบูรี และอุดมชัย กาแฟในแขวงสาละวัน และจำปาสัก และอ้อยในแขวงหลวงน้ำทา พงสาลี นครหลวงเวียงจันทร์ บอลิคาชัย และสะหวันนะเขต สปป.ลาว มีแนวโน้มเศรษฐกิจที่สดใสและมีโอกาสทางธุรกิจมาก ปัจจัยหลักที่มีส่วนสำคัญ ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจคือการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ซึง่ ระหว่างปี 2532-2555 การลงทุนของไทยเป็นอันดับ 2 รองจากเวียดนาม ในการลงทุนโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ เช่น เขือ่ นผลิตไฟฟ้าพลังน้ำเหมืองทอง เหมืองดีบกุ รวมไปถึงการก่อสร้างโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ซึ่งรัฐบาล สปป.ลาว ได้ออกกฎหมาย การลงทุนฉบับปรับปรุงใหม่ปี 2552 เป็นกฎหมายที่ให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ที่ เ ท่ า เที ย มกั น ระหว่ า งนั ก ลงทุ น สปป.ลาว และนั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ และจาก แนวโน้มทีร่ ฐั บาล สปป.ลาว มีการวางแผนในการพัฒนาด้านต่างๆ โดยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรม ที่เน้นความร่วมมือกับต่างประเทศทำให้นักลงทุนไทยมีช่องทางเข้าไปทำธุรกิจด้านการเกษตร เพิ่มมากขึ้น โดยมีกลุ่มนักลงทุนไทยที่เข้าไปลงทุนในด้านเกษตรอุตสาหกรรมใน สปป.ลาว แล้ว ดังนี้ -
ธุรกิจของไทยที่ไปลงทุนใน สปป.ลาว Paksong Highland (กลุ่มอุตสาหกรรมน้ำตาลสุพรรณบุรี) Agarwood Lao Group (Thai/Lao) Mitr Lao Sugar Co. Ltd. (กลุ่มบริษัทน้ำตาลมิตรผล) Savannakhet Sugar Corp. (กลุ่มบริษัทน้ำตาลขอนแก่น) เครือเจริญโภคภัณฑ์ CP บริษัทไทฮั้วยางพารา บริษัทไชโยเอเอลาว (บริษัท Double A) บริษัทลาวเวอร์โรงสี จำกัด บริษัทสะหวันก้าวหน้าการเกษตร
-
ธุรกิจที่ดำเนินการ ธุรกิจด้านการผลิตเมล็ดกาแฟ ธุรกิจด้านไม้กฤษณา โรงงานน้ำตาล และสัมปทานที่ดินปลูกอ้อย โรงงานน้ำตาล และสัมปทานที่ดินปลูกอ้อย อาหารสัตว์ และสัมปทานปลูกข้าวโพดและพืชเลี้ยงสัตว์ ปลูกยางพารา ปลูกและรับซื้อยูคาลิปตัส ธุรกิจโรงสีข้าว ผลิตถั่วลิสง และร้านขายของพื้นเมืองลาว (ODOP)
Sources: Ministry of Planning and Investment of Lao , Royal Thai Consulate-General Savannakhet
“เวียดนาม” หรือสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) มีประชากรประมาณ 89 ล้านคน (ปี 2555) เป็นแหล่งลงทุนอันดับต้นๆ ของภูมิภาค ASEAN ทีน่ กั ลงทุนต่างชาติให้ความสนใจ ทัง้ นี้ รัฐบาลเวียดนามเร่งเปิดเสรีดา้ นการลงทุน ตัง้ แต่ปี 2550 มีการปรับปรุงหลักเกณฑ์ส่งเสริมการลงทุน ทำให้ดึงดูดเงินลงทุนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมี 78 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ปัจจัยบวกด้านแรงงานที่ถูกกว่าอินโดนีเซียและจีนถึงร้อยละ 30-40 และถูกกว่าไทยร้อยละ 60 โดยในปี 2555 ไทยเข้าไปลงทุนในเวียดนามเป็นอันดับ 10 จากข้อได้เปรียบที่ดึงดูดความ สนใจของนักลงทุนชาวไทยในด้านราคาค่าแรงที่ยังอยู่ในระดับต่ำประกอบกับความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรธรรมชาติ และการขยายตัวทางเศรษฐกิจทีม่ นั่ คง ปัจจุบนั กลุม่ นักลงทุนไทยทีเ่ ข้าไป ลงทุนด้านเกษตรอุตสาหกรรมในเวียดนามแล้ว มีดังนี้ -
ธุรกิจของไทยที่ลงทุนในเวียดนาม เครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทไทยวา โรงงานกระดาษ Vina Kraft Paper ในกลุ่ม SCG บริษัทเนสท์เล่ บริษัท Royal Foods บริษัท Skhon Kaen
-
ธุรกิจที่ดำเนินการ ลงทุนผลิตอาหารสัตว์และบรรจุภัณฑ์ ผลิตแป้งมันสำปะหลัง ผลิตกระดาษ ผลิตไมโลและกาแฟ โรงงานอาหารกระป๋อง โรงงานผลิตอาหารกระป๋องและไส้กรอก
ที่มา : Business Information Center, Royal Thai Embassy, Vietnam
อย่างไรก็ดี เวียดนามยังมีจุดอ่อนในเรื่องของกฎระเบียบทางการค้า การลงทุนที่มีการ เปลี่ยนแปลงบ่อย ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ยังไม่พร้อม รวมถึงปัญหาขาดแคลนแรงงาน ที่มีฝีมือ ซึ่งนักลงทุนมองว่าเป็นอุปสรรคและเป็นความท้าทายของเวียดนามที่ต้องเร่งดำเนิน การแก้ไข เนื่องจาก FDI ในเวียดนามกว่าร้อยละ 60 เป็นอุตสาหกรรมที่เน้นแรงงาน แต่ อย่างไรก็ตาม อาจเกิดปัญหาขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรมได้จากแรงกดดันทั้งจากเงินเฟ้อ และค่าแรงที่ต่ำมาก ทำให้มีกระแสเรียกร้องให้มีการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำภายในประเทศ “กัมพูชา” หรือราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) มีประชากรรวม 15 ล้ า นคน (ปี 2555) โครงสร้ า งอาชี พ หลั ก ของกั ม พู ช าอยู่ ใ นภาคเกษตรร้ อ ยละ 70 ภาคบริการร้อยละ 17 ภาคอุตสาหกรรมโรงงานร้อยละ 8 และภาคการก่อสร้างร้อยละ 5 การลงทุนจากต่างชาติในกัมพูชา มีจีนเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่มีสัดส่วนกว่าร้อยละ 22 (Investment Approved 1994-2012) ของการลงทุนทั้งหมดจากต่างชาติ สะท้อนความสนใจของนักลงทุน ต่างชาติที่เพิ่มขึ้นมาก การลงทุนในกัมพูชาส่วนใหญ่ใช้โอกาสทางด้านต้นทุนแรงงาน และ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเป็นลักษณะที่คล้ายคลึงกับประเทศอื่นๆ ใน CLMV จากแรงดึงดูดด้าน ต้นทุนแรงงานที่อยู่ในระดับเกือบต่ำสุดของอาเซียน รวมทั้งยังได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีจาก ประเทศพัฒนาแล้วอย่าง EU และสหรัฐฯ โดยภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะการแปรรูปสินค้า เกษตร/ประมง เป็นอีกหนึ่งแม่เหล็กที่ดึงดูดเม็ดเงินลงทุนต่างชาติเข้าไปในกัมพูชาอย่างต่อเนื่อง สำหรับการลงทุนของไทยในกัมพูชายอดสะสมตั้งแต่ปี 2537-2555 อยู่ที่ 746 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ แม้ว่ากัมพูชาจะมีข้อได้เปรียบทั้งด้านแรงงานราคาถูกและการได้รับสิทธิพิเศษ ทางการค้าก็ตาม แต่การลงทุนในกัมพูชาต้องศึกษาปัจจัยต่างๆ อย่างรอบคอบ อุปสรรคสำคัญ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
79
คือ ขัน้ ตอนการขอเปิดดำเนินธุรกิจกับหน่วยงานภาครัฐใช้เวลานานถึง 85 วัน4 หรือมากกว่านัน้ นอกจากนี้ โครงสร้างพื้นฐานยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควรโดยเฉพาะไฟฟ้า อีกทั้งมีต้นทุนแฝง จากผลิตภาพแรงงานที่ค่อนข้างต่ำ และมีการประท้วงหยุดงานเพื่อเรียกร้องการขึ้นค่าแรงอยู่ บ่อยครั้ง สำหรับธุรกิจไทยที่ไปลงทุนด้านเกษตรอุตสาหกรรมในกัมพูชาแล้ว มีดังนี้ -
ธุรกิจของไทยที่ลงทุนในกัมพูชา บริษัทเจริญโภคภัณฑ์ (CP) และเบทาโกร บริษัท TCCC หรือกลุ่ม Thai Bev กลุ่มบริษัทน้ำตาลขอนแก่น กลุ่มบริษัทมิตรผล กลุ่มสยามซีเมนต์
-
ธุรกิจที่ดำเนินการ โรงงานผลิตอาหารสัตว์ และโรงงานแปรรูปเนื้อสัตว์ ด้านโรงแรม ปลูกสวนปาล์มในเกาะกง และโรงงานผลิตไฟฟ้า โรงงานน้ำตาลและปลูกอ้อยในพื้นที่สัมปทานในเกาะกง โรงงานน้ำตาลและปลูกอ้อยในพื้นที่สัมปทานในอุดรเมียนเจย โรงงานผลิตปูนซิเมนต์, คอนกรีตผสมเสร็จ, ผลิตกระเบื้องมุงหลังคา, ผลิตซีเมนต์บล็อก และโครงการปลูกต้นไม้เพื่อทำกระดาษ
ที่มา : Royal Thai Embassy, Cambodia
บทสรุป TDI ของไทยในประเทศ CLMV ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมามีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนใหญ่อยู่ในภาคการผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ การผลิตอาหาร การผลิตเครื่องดื่ม การผลิตสิ่งทอ การผลิตเคมีภัณฑ์ การผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า เป็นต้น โดยมีแรงจูงใจด้านแรงงาน ทั้งปริมาณแรงงานที่พอเพียงและค่าแรงงานที่ต่ำ และแรงจูงใจด้านสิทธิพิเศษทางภาษี ประกอบ กับประเทศในภูมิภาคนี้นิยมบริโภคสินค้าไทยและเชื่อมั่นว่าเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ นอกจากนี้ ประเทศในกลุ่ม CLMV เป็นประเทศที่มีโครงสร้างอาชีพหลักที่คล้ายคลึงกันในด้านเกษตรกรรม จึงเป็นโอกาสของนักลงทุนไทยที่มีความเชี่ยวชาญและมีศักยภาพทางด้านเกษตรอุตสาหกรรมที่จะ นำอุตสาหกรรมเกษตรของไทยก้าวไปสู่กลุ่มประเทศ CLMV ด้วยความโดดเด่นด้านองค์ความรู้ เทคโนโลยี ปัจจัยการผลิต การตลาดภายในและต่างประเทศ ตลอดจนมีมาตรการส่งเสริมการ ลงทุนในต่างประเทศ แต่สิ่งที่ต้องคานึงถึงและไม่ควรมองข้ามคือ ความพร้อมของสาธารณูปโภค พื้นฐาน เสถียรภาพทางการเมือง และข้อจำกัดทางการลงทุนของประเทศเหล่านี้ด้วย ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวสุทธิรัตน์ สุทธิมณฑล โทร : 0-4333-3000 ต่อ 3422 E-mail : Sutthirs@bot.or.th
จาก Insight “กัมพชา” เหลียวมองกัมพูชา...แลโอกาสการลงทุน โดยศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ SCB
4
80 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
81
ม.ค. 8.10 9.46 10.14 10.23 7.49 9.44
ม.ค. 33.40 25.00 27.64 32.49 26.20 37.14
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ม.ค. 8.70 8.99 9.43 10.16 8.18 10.08
ราคารำสด
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาปลาป่น
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ก.พ. 9.21 10.18 9.20 10.03 8.36 10.31
ก.พ. 34.20 28.91 28.81 31.30 30.92 39.83
ก.พ. 8.37 9.57 10.19 10.19 8.43 9.39
ราคาข้าวโพดอาหารสัตว์
มี.ค. เม.ย. 9.47 9.34 9.97 9.70 8.62 8.72 8.63 7.71 9.31 9.15 10.92 10.79
มี.ค. เม.ย. 35.28 36.53 37.98 31.77 32.21 33.24 31.30 29.94 31.12 33.93 42.26 42.74
มี.ค. เม.ย. 8.92 9.24 10.01 10.65 10.35 10.51 10.15 10.21 8.75 9.20 9.48 9.55
พ.ค. 9.41 8.34 8.09 8.92 10.63 10.70
พ.ค. 31.53 32.09 30.26 26.74 30.24 37.58
พ.ค. 9.31 10.49 10.24 9.89 9.33 9.46
มิ.ย. 9.98 8.20 7.76 10.32 10.96 11.15
มิ.ย. 28.31 31.29 29.38 24.80 29.74 36.70
มิ.ย. 9.64 9.68 10.76 10.24 10.23 10.05
ก.ค. 9.93 9.50 8.22 10.09 11.41
ก.ค. 28.92 32.32 31.53 29.84 29.70
ก.ค. 9.38 9.18 10.86 9.94 10.50
ส.ค. 9.76 9.49 10.55 10.53 11.15
ส.ค. 30.82 32.58 37.70 30.78 37.70
ส.ค. 9.01 9.04 11.60 9.26 9.87
ก.ย. 10.04 9.58 10.88 9.71 9.42
ก.ย. 29.78 31.42 35.06 29.00 37.70
ก.ย. 9.22 9.08 10.57 8.39 8.79
ต.ค. 9.30 9.51 10.80 8.59 8.83
ต.ค. 27.78 28.86 30.95 31.90 36.47
ต.ค. 9.24 9.45 10.14 8.06 8.26
พ.ย. 8.99 10.97 11.15 9.17 8.80
พ.ย. 25.28 28.46 32.83 26.59 34.78
พ.ย. 9.19 9.82 10.49 7.95 9.09
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 30.62 25.28 36.53 30.68 25.00 37.98 31.95 27.64 37.70 29.12 24.72 32.49 32.83 26.20 37.70 39.38 36.70 42.74 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย หน่วย : บาท/กิโลกรัม ธ.ค. เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 8.66 9.40 8.66 10.04 9.25 9.47 8.20 10.97 10.81 9.52 7.76 11.15 8.22 9.34 7.71 10.53 8.85 9.59 8.18 11.41 10.66 10.08 11.15 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ที่มา
ธ.ค. 25.57 27.50 33.80 24.72 35.45
ที่มา
ธ.ค. 9.13 9.92 10.25 7.32 9.21
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 9.06 8.10 9.64 9.70 9.04 10.65 10.51 10.14 11.60 9.32 7.32 10.24 9.10 7.49 10.50 9.56 9.39 10.05 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
82 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ม.ค. 15.30 13.10 13.95 18.77 18.75 18.12
ก.พ. 15.07 14.32 13.85 18.41 19.47 18.10
มี.ค. เม.ย. 15.75 15.75 15.21 15.29 12.88 12.73 18.25 17.96 20.52 19.88 18.01 17.83
ม.ค. 15.75 13.88 14.12 18.22 19.14 17.98
ก.พ. 15.11 14.15 15.13 18.15 18.88 17.55
มี.ค. เม.ย. 14.86 14.80 13.46 12.80 15.75 16.06 19.07 19.36 20.15 20.25 17.19 16.45
พ.ค. 14.09 12.59 16.23 17.89 20.03 15.85
พ.ค. 14.91 15.47 13.31 17.23 20.98 16.98
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ม.ค. 17.06 15.28 14.99 19.47 20.62 19.20
ก.พ. 16.29 15.47 16.01 19.35 20.38 18.95
มี.ค. เม.ย. 16.10 16.45 14.75 14.20 16.75 17.01 20.14 20.47 21.68 21.75 18.59 18.11
พ.ค. 15.28 14.20 17.20 19.35 21.58 17.35
ราคากากถั่วเหลืองกะเทาะเปลือก (Dehulled)
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคากากถั่วเหลืองเมล็ดนำเข้า
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคากากถั่วเหลืองต่างประเทศ
มิ.ย. 14.44 14.20 17.73 18.48 21.5 16.63
มิ.ย. 13.43 11.60 16.98 17.15 20.00 15.13
มิ.ย. 14.24 14.61 12.79 16.43 21.06 15.78
ก.ค. 14.26 14.88 20.02 18.30 20.90
ก.ค. 13.25 13.50 19.00 17.20 19.40
ก.ค. 12.76 14.50 14.23 16.16 20.84
ส.ค. 15.05 15.50 22.65 18.29 20.55
ส.ค. 14.05 14.33 21.80 17.29 19.05
ส.ค. 12.17 14.33 15.21 16.63 20.77
ก.ย. 15.02 15.45 22.69 18.89 20.55
ก.ย. 14.02 14.45 21.80 17.89 19.05
ก.ย. 12.10 14.27 17.17 17.30 20.45
ต.ค. 15.35 15.47 22.34 19.30 20.00
ต.ค. 14.35 14.32 21.09 18.05 18.50
ต.ค. 11.98 14.27 17.41 17.84 19.75
พ.ย. 15.64 15.57 21.48 20.23 19.95
พ.ย. 14.64 14.39 20.28 18.77 18.47
พ.ย. 12.10 14.59 18.85 18.26 19.41
ที่มา
ธ.ค. 14.98 14.34 20.08 20.85 19.95
ที่มา
ธ.ค. 13.62 13.44 18.88 19.45 18.45
ที่มา
ธ.ค. 12.14 14.31 20.06 18.47 19.02
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 15.49 14.26 17.06 14.94 14.20 15.57 19.08 14.99 22.69 19.43 18.29 20.85 20.78 19.95 21.75 18.14 16.63 19.20 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 14.33 13.25 15.75 13.58 11.60 14.45 18.09 14.12 21.80 18.21 17.15 19.45 19.28 18.45 20.25 16.69 15.13 17.98 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 13.69 11.98 15.75 14.52 13.10 15.47 15.20 12.73 20.06 17.64 16.16 18.77 20.08 18.75 21.06 17.47 15.78 18.12 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
83
ม.ค. 7.94 7.79 8.09 8.93 6.76 8.59
ม.ค. 13.41 11.33 16.31 14.98 9.45 9.82
ก.พ. 12.92 11.92 15.74 15.00 9.43 9.72
ก.พ. 8.05 7.99 7.45 8.96 6.71 8.62
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ม.ค. 5.54 7.86 7.53 6.79 6.64 6.89
ก.พ. 5.43 8.14 7.13 6.85 6.85 6.59
ราคามันสำปะหลังเส้น
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาปลายข้าว
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคากากรำสกัดน้ำมัน
มี.ค. เม.ย. 5.83 6.24 8.46 8.70 6.59 7.00 7.07 7.18 6.90 6.87 6.74 6.74
มี.ค. เม.ย. 12.15 10.24 11.63 11.39 15.78 15.94 15.06 15.39 9.49 9.52 9.75 9.81
มี.ค. เม.ย. 7.96 7.76 7.38 6.92 6.49 6.42 7.90 7.32 7.06 6.78 8.60 8.49
พ.ค. 6.51 8.62 7.29 7.19 6.88 7.02
พ.ค. 9.53 11.29 16.33 15.11 9.40 9.85
พ.ค. 7.26 6.33 6.21 8.16 8.67 8.32
มิ.ย. 6.81 8.00 7.25 7.26 6.93 7.46
มิ.ย. 9.60 11.65 16.44 15.10 9.75 10.02
มิ.ย. 7.19 6.41 5.82 9.58 9.14 8.90
ก.ค. 6.93 7.81 7.13 7.31 7.00
ก.ค. 9.88 12.42 16.27 14.26 10.46
ก.ค. 7.37 7.80 6.14 8.94 9.84
ส.ค. 7.00 7.54 7.39 7.32 7.25
ส.ค. 10.36 12.86 15.86 13.98 10.28
ส.ค. 7.58 8.07 8.43 9.33 10.58
ก.ย. 7.23 7.44 7.67 7.27 7.34
ก.ย. 11.50 13.68 15.67 13.09 9.69
ก.ย. 8.30 8.24 8.67 9.00 9.42
ต.ค. 7.30 7.34 7.65 7.15 7.38
ต.ค. 11.58 14.48 15.46 11.91 9.94
ต.ค. 8.14 8.32 8.81 7.74 8.67
พ.ย. 7.34 7.67 7.48 7.00 7.39
พ.ย. 11.61 15.66 15.45 10.55 9.94
พ.ย. 8.09 9.56 9.31 8.04 8.39
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 11.18 9.53 13.41 12.87 11.29 16.12 15.88 15.30 16.44 13.68 9.75 15.39 9.77 9.40 10.46 9.83 9.72 10.02 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย หน่วย : บาท/กิโลกรัม ธ.ค. เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 7.76 6.66 5.43 7.76 7.80 7.95 7.34 8.70 7.25 7.28 6.59 7.67 6.78 7.10 6.78 7.32 7.09 7.04 6.64 7.39 6.91 6.59 7.46 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ที่มา
ธ.ค. 11.36 16.12 15.30 9.75 9.84
ที่มา
ธ.ค. 7.89 8.05 9.23 7.05 8.00
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 7.79 7.19 8.30 7.74 6.33 9.56 7.59 5.82 9.31 8.41 7.05 9.58 8.34 6.71 10.58 8.59 8.32 8.90 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
84 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ม.ค. 29.30 30.04 28.00 31.00 31.50 32.50
ก.พ. 29.30 29.80 28.00 30.00 31.74 32.50
ม.ค. 57.93 57.70 49.83 52.88 59.27 92.89
ก.พ. 66.06 63.33 48.89 62.57 59.88 89.81
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ม.ค. 41.67 40.38 50.60 60.00 60.00 60.00
ก.พ. 41.70 45.23 50.60 60.00 60.00 60.00
ราคาน้ำมันปลา FO
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาปลาป่นนำเข้า
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาตับปลาหมึก SLP
มี.ค. เม.ย. 41.89 41.89 45.95 46.01 50.60 51.55 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00
มี.ค. เม.ย. 68.52 68.06 63.45 55.21 47.99 48.12 63.11 62.66 61.65 61.91 85.62 77.01
มี.ค. เม.ย. 29.30 29.30 29.80 29.80 28.00 25.00 30.00 29.50 32.00 32.00 32.50 32.50
พ.ค. 41.89 46.01 54.45 60.00 60.00 60.00
พ.ค. 67.90 51.97 55.35 59.57 63.10 74.37
พ.ค. 29.30 29.80 26.89 29.50 33.00 34.50
มิ.ย. 41.42 46.01 55.11 60.00 60.00 60.00
มิ.ย. 68.28 51.97 59.24 56.76 70.17 69.15
มิ.ย. 29.30 29.80 28.58 30.00 33.50 36.00
ก.ค. 40.91 47.72 53.54 60.00 60.00
ก.ค. 67.46 50.29 61.16 55.32 75.81
ก.ค. 29.46 29.52 33.70 30.00 33.00
ส.ค. 40.31 49.85 52.28 60.00 60.00
ส.ค. 65.40 48.17 63.33 56.79 78.17
ส.ค. 29.70 29.25 30.80 31.00 33.00
ก.ย. 40.21 50.01 55.85 60.00 60.00
ก.ย. 60.86 43.92 56.80 54.69 77.96
ก.ย. 29.56 29.25 35.04 31.50 33.00
ต.ค. 40.15 50.36 55.98 60.00 60.00
ต.ค. 57.26 45.13 54.22 53.43 76.86
ต.ค. 29.34 29.25 36.13 31.50 33.00
พ.ย. 40.27 50.60 55.71 60.00 60.00
พ.ย. 56.45 48.26 68.37 56.31 87.54
พ.ย. 30.04 28.00 36.13 31.50 33.50
ที่มา
ธ.ค. 40.38 50.60 55.08 60.00 60.00
ที่มา
ธ.ค. 56.45 48.61 74.33 58.46 91.82
ที่มา
ธ.ค. 30.04 28.00 36.13 31.50 33.00
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 41.06 40.15 41.89 47.39 40.38 50.60 53.45 50.60 55.98 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 63.39 56.45 68.52 52.33 43.92 63.45 57.30 47.99 74.33 57.71 52.88 63.11 72.01 59.27 91.82 81.48 69.15 92.89 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 29.50 29.30 30.04 29.36 28.00 30.04 31.03 25.00 36.13 30.58 29.50 31.50 32.69 31.50 33.50 33.42 32.50 36.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
85
ม.ค. 62.75 55.00 48.00 53.58 56.71 52.00
ก.พ. 63.09 53.33 48.00 58.85 53.00 52.00
ม.ค. 7.02 8.12 7.73 8.94 6.79 8.20
ก.พ. 7.25 8.20 7.45 9.15 6.67 8.23
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ม.ค. 16.69 19.28 18.73 17.75 16.40 16.60
ก.พ. 16.79 20.04 18.51 17.68 16.33 16.26
WHEAT FLOUR
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
WHEAT BRAN
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
WHEAT GLUTEN
มี.ค. เม.ย. 16.60 16.30 20.50 20.50 17.89 17.80 16.47 16.70 16.55 16.33 16.00 16.13
มี.ค. เม.ย. 7.59 7.55 7.76 7.52 6.67 6.41 7.66 7.29 6.88 6.86 8.36 8.30
มี.ค. เม.ย. 63.09 63.09 53.33 53.33 48.00 46.50 58.85 58.85 54.00 58.85 52.00 52.00
พ.ค. 15.72 20.45 17.50 17.00 16.77 15.98
พ.ค. 7.16 6.94 6.23 8.75 8.03 8.33
พ.ค. 64.71 53.33 46.50 58.85 57.25 52.00
มิ.ย. 15.72 19.94 17.20 16.90 16.72 15.81
มิ.ย. 6.90 6.61 5.86 8.82 8.39 8.35
มิ.ย. 64.78 53.33 48.54 58.85 56.71 52.00
ก.ค. 15.05 19.82 17.15 16.70 16.59
ก.ค. 6.87 7.44 5.93 8.62 8.99
ก.ค. 64.78 49.28 51.00 55.64 56.71
ส.ค. 15.44 19.50 17.73 16.51 16.60
ส.ค. 7.21 7.77 7.93 8.81 9.60
ส.ค. 64.78 48.75 50.05 58.85 56.71
ก.ย. 18.55 19.26 17.38 16.80 16.59
ก.ย. 8.08 7.98 8.79 8.55 9.43
ก.ย. 64.78 48.75 48.13 58.85 56.00
ต.ค. 19.28 18.97 17.58 16.57 16.59
ต.ค. 7.92 8.06 9.24 7.85 8.62
ต.ค. 64.78 48.75 47.50 60.99 52.00
พ.ย. 19.10 18.97 17.98 16.34 16.59
พ.ย. 7.88 8.43 8.80 7.87 8.27
พ.ย. 55.92 48.75 47.50 60.99 52.00
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 7.44 6.87 8.08 7.75 6.61 8.43 7.51 5.86 9.24 8.30 7.29 9.15 8.05 6.67 9.60 8.30 8.20 8.36 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย หน่วย : บาท/กิโลกรัม ธ.ค. เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 19.10 17.03 15.05 19.28 18.97 19.68 18.97 20.50 18.02 17.79 17.15 18.73 16.71 16.84 16.34 17.75 16.73 16.57 16.33 16.77 16.13 15.81 16.60 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ที่มา
ธ.ค. 7.80 8.17 9.10 7.29 8.03
ที่มา
ธ.ค. 55.00 48.23 47.50 55.64 52.00
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 62.63 55.00 64.78 51.18 48.23 55.00 48.10 46.50 51.00 58.23 53.58 60.99 55.16 52.00 58.85 52.00 52.00 52.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
86 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ม.ค. 23.24 25.86 28.01 27.44 25.79 28.00
ก.พ. 25.19 25.62 27.73 25.79 25.79 28.00
มี.ค. เม.ย. 25.56 25.90 27.40 27.64 27.45 31.30 25.79 25.79 25.79 25.79 28.00 28.00
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
พ.ค. 26.81 28.99 31.30 25.79 27.34 28.00
มิ.ย. 26.74 29.18 30.44 25.79 27.34 28.00
ม.ค. 4.48 7.24 4.90 5.91 6.65 6.40
ก.พ. 4.34 7.14 4.80 5.42 6.83 6.20
มี.ค. เม.ย. 3.92 3.88 5.77 4.71 4.75 4.71 5.02 4.94 6.60 5.52 5.17 4.90
พ.ค. 4.07 4.59 4.63 5.14 5.14 4.90
มิ.ย. 4.20 4.79 4.67 5.32 5.00 4.90
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 85.00 85.00 85.00 85.00 85.00 89.44 90.50 96.67 96.67 96.67 96.20 92.50 86.67 93.67 98.33 98.33 98.33 98.33 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00
ราคากากปาล์มเมล็ดใน
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาปลาหมึกป่น SLM
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาเปลือกกุ้ง
ก.ค. 4.30 4.84 4.85 5.38 5.05
ก.ค. 90.50 98.10 96.67 120.00 120.00
ก.ค. 27.03 29.40 26.85 25.79 27.34
ส.ค. 4.74 4.54 5.96 5.40 5.00
ส.ค. 90.50 98.33 98.33 120.00 120.00
ส.ค. 26.89 29.40 29.16 24.69 28.20
ก.ย. 5.46 4.41 5.96 5.42 5.06
ก.ย. 90.50 93.40 120.00 120.00 120.00
ก.ย. 26.69 29.12 27.24 25.79 28.25
ต.ค. 6.30 4.51 5.59 5.42 5.24
ต.ค. 90.50 86.67 120.00 120.00 120.00
ต.ค. 26.65 28.66 26.58 25.89 28.25
พ.ย. 7.12 4.86 5.81 5.81 5.66
พ.ย. 90.50 86.67 120.00 120.00 120.00
พ.ย. 26.29 28.66 26.72 25.79 28.45
ที่มา
ธ.ค. 7.12 5.03 6.00 6.37 6.04
ที่มา
ธ.ค. 90.50 86.67 120.00 120.00 120.00
ที่มา
ธ.ค. 26.00 28.23 26.74 25.79 28.00
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 4.99 3.88 7.12 5.20 4.41 7.24 5.22 4.63 6.00 5.46 4.94 6.37 5.65 5.00 6.83 5.41 4.90 6.40 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 88.12 85.00 90.50 93.25 86.67 98.33 104.06 86.67 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 26.08 23.24 27.03 28.18 25.62 29.40 28.29 26.58 31.30 25.84 24.69 27.44 27.19 25.79 28.45 28.00 28.00 28.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
87
ม.ค. 22.50 26.00 10.00 14.85 23.00 8.00
ก.พ. 24.50 26.00 10.00 16.00 23.00 8.00
ม.ค. ก.พ. 135.75 140.75 144.50 144.50 110.50 110.50 116.65 128.91 150.50 150.50 125.50 120.72
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
พ.ค. 27.00 28.00 8.67 23.25 20.28 8.50
มิ.ย. 29.15 28.00 11.00 25.00 21.00 10.00
มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 141.62 139.50 146.50 152.38 146.72 150.50 150.50 150.50 106.67 93.50 97.67 103.50 135.00 138.81 154.17 159.30 148.96 135.00 143.20 145.50 98.70 95.50 103.79 110.50
มี.ค. เม.ย. 24.85 24.00 26.74 28.00 8.68 7.00 16.00 18.57 22.38 17.00 6.88 6.00
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 205.00 251.00 241.00 241.00 255.00 276.00 264.00 270.00 284.00 304.00 300.00 282.00 213.00 254.00 260.00 227.00 254.00 268.00 267.00 280.00 270.00 276.00 313.00 323.00 313.00 317.00 285.00 267.00 319.00 307.00 248.00 233.00 202.00 239.00 250.00 250.00
ราคาไข่ไก่คละ
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาไก่รุ่น-ไก่สาว
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาลูกไก่ไข่
ก.ค. 278.00 282.00 229.00 291.00 297.00
ก.ค. 147.96 150.50 98.33 150.50 142.30
ก.ค. 27.38 28.00 7.50 23.00 19.40
ส.ค. 270.00 300.00 246.00 320.00 329.00
ส.ค. 144.50 150.50 93.50 153.87 148.83
ส.ค. 26.00 28.00 6.00 24.31 20.33
ก.ย. 272.00 300.00 240.00 348.00 289.00
ก.ย. 144.50 150.50 99.50 155.50 148.58
ก.ย. 26.00 28.00 8.40 25.00 18.69
ต.ค. 253.00 300.00 235.00 326.00 253.00
ต.ค. 144.50 150.50 105.50 153.77 137.35
ต.ค. 26.00 26.00 11.00 24.31 13.74
พ.ย. 253.00 313.00 236.00 300.00 273.00
พ.ย. 144.50 150.50 108.77 150.50 135.50
พ.ย. 26.00 26.00 11.88 23.00 13.00
หน่วย : บาท/ตัว เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 143.91 135.75 152.38 148.27 139.57 150.50 103.20 93.50 110.50 145.62 116.65 159.30 143.01 129.88 150.50 109.12 95.50 125.50 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย หน่วย : บาท/100 ฟอง ธ.ค. เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 253.00 254.00 205.00 278.00 258.00 288.08 258.00 313.00 240.00 241.83 213.00 268.00 313.00 302.25 267.00 348.00 234.00 290.25 234.00 329.00 237.00 202.00 250.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ที่มา
ธ.ค. 144.50 139.57 110.50 150.50 129.88
ที่มา
ธ.ค. 26.00 21.83 13.00 23.00 9.96
หน่วย : บาท/ตัว เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 25.78 22.50 29.15 26.71 21.83 28.00 9.43 6.00 13.00 21.36 14.85 25.00 18.48 9.96 23.00 7.90 6.00 10.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
88 พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
ม.ค. 18.00 17.50 14.50 16.19 19.50 15.50
ก.พ. 18.50 18.37 12.94 11.20 19.50 10.54
ม.ค. 44.33 45.24 36.20 42.69 40.80 38.10
ก.พ. 45.00 47.28 34.70 37.91 42.00 35.26
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ม.ค. 58.25 51.00 54.47 58.22 69.22 59.46
ก.พ. 60.19 58.86 49.63 68.28 72.00 57.65
ราคาสุกรขุนหน้าฟาร์ม
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาไก่เนื้อหน้าฟาร์ม
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาลูกไก่เนื้อ
มี.ค. เม.ย. 60.41 60.41 61.50 67.11 48.85 59.63 59.70 64.06 72.54 75.73 58.33 59.64
มี.ค. เม.ย. 40.96 42.09 48.30 52.10 27.53 33.13 38.97 44.88 38.85 39.50 35.00 33.52
มี.ค. เม.ย. 18.50 18.50 20.50 21.32 6.18 6.31 10.96 18.17 18.50 17.50 7.50 8.41
พ.ค. 60.50 70.00 62.50 64.53 77.00 62.42
พ.ค. 44.28 54.60 39.33 45.97 42.00 36.83
พ.ค. 20.07 22.50 11.33 18.67 17.50 9.50
มิ.ย. 60.50 70.00 55.15 65.15 79.52 65.00
มิ.ย. 42.46 50.25 38.22 43.04 43.00 35.33
มิ.ย. 19.35 20.96 12.50 17.50 17.50 11.10
ก.ค. 61.93 72.88 54.95 65.92 78.00
ก.ค. 37.47 43.60 35.20 44.00 43.00
ก.ค. 16.10 17.34 12.50 17.50 17.50
ส.ค. 59.37 80.40 54.31 70.54 77.50
ส.ค. 36.07 42.20 35.53 44.05 45.08
ส.ค. 12.58 15.73 12.50 19.27 19.33
ก.ย. 56.83 70.77 54.13 67.64 74.08
ก.ย. 37.63 41.74 33.58 37.64 44.69
ก.ย. 14.14 16.50 12.02 16.38 21.50
ต.ค. 51.52 55.50 47.65 65.00 65.72
ต.ค. 36.02 38.58 31.37 35.58 42.33
ต.ค. 14.50 14.58 6.96 13.50 18.17
พ.ย. 51.38 52.87 54.31 65.32 63.20
พ.ย. 37.33 37.67 40.73 35.31 40.24
พ.ย. 14.50 14.50 10.42 14.42 15.50
ที่มา
ธ.ค. 51.45 61.08 52.33 64.75 63.99
ที่มา
ธ.ค. 41.93 36.90 40.75 41.52 39.69
ที่มา
ธ.ค. 15.50 14.50 14.07 17.24 15.50
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 57.73 51.38 61.93 64.33 51.00 80.40 53.99 47.65 62.50 64.93 58.22 70.54 72.38 63.20 79.52 60.42 57.65 65.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 40.46 36.02 45.00 44.87 36.90 54.60 35.52 27.53 40.75 40.96 35.31 45.97 41.77 38.85 45.08 35.67 33.52 38.10 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
หน่วย : บาท/ตัว เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 16.69 12.58 20.07 17.86 14.50 22.50 11.02 6.18 14.50 15.92 10.96 19.27 18.13 15.50 21.50 10.43 7.50 15.50 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 32 เล่มที่ 162
พฤษภาคม-มิถุนายน 2558
89
ม.ค. 1,875.00 1,637.50 1,734.80 1,476.92 2,056.00 1,875.00
ก.พ. 1,900.00 1,930.43 1,552.00 1,786.96 2,269.57 1,800.00
มี.ค. 1,900.00 2,000.00 1,312.00 1,561.54 2,400.00 1,800.00
เม.ย. 1,900.00 2,000.00 1,452.38 1,866.67 2,600.00 1,859.09
ม.ค. 13.00 15.00 18.00 18.00 20.00 19.00
ก.พ. 13.00 15.00 18.00 17.22 20.00 15.48
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ม.ค. 58.00 58.00 60.00 60.00 60.00 61.00
ก.พ. 58.00 58.00 60.00 60.00 60.00 61.00
ราคาเป็ดเชอร์รี่หน้าฟาร์ม
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
มี.ค. เม.ย. 58.00 58.00 58.00 58.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 61.00 61.00
มี.ค. เม.ย. 13.00 13.00 16.78 18.00 18.00 18.00 16.00 16.00 20.00 20.00 14.00 14.00
ราคาลูกเป็ดไข่ ซี พี โกลด์เด้น
เดือน 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ราคาลูกสุกรขุน
พ.ค. 58.00 58.00 60.00 60.00 60.00 61.00
พ.ค. 13.00 18.00 18.00 18.00 20.00 15.50
พ.ค. 1,900.00 2,000.00 1,666.67 1,600.00 2,600.00 1,925.00
มิ.ย. 58.00 58.00 60.00 60.00 60.00 61.00
มิ.ย. 13.00 18.00 18.00 18.00 20.00 16.00
มิ.ย. 1,900.00 2,000.00 1,500.00 1,600.00 2,600.00 2,000.00
ก.ค. 58.00 58.00 60.00 60.00 60.00
ก.ค. 13.00 18.00 18.00 18.00 22.40
ก.ค. 1,900.00 2,000.00 1,500.00 1,676.92 2,600.00
ส.ค. 58.00 58.00 60.00 60.00 61.00
ส.ค. 13.00 18.00 18.00 18.00 23.00
ส.ค. 1,844.00 2,400.00 1,500.00 1,965.38 2,600.00
ก.ย. 58.00 58.00 60.00 60.00 61.00
ก.ย. 13.84 18.00 18.00 19.52 23.00
ก.ย. 1,720.00 2,161.54 1,476.00 1,796.00 2,484.62
ต.ค. 58.00 58.00 60.00 60.00 61.00
ต.ค. 15.00 18.00 18.00 20.00 23.00
ต.ค. 1,600.00 1,896.15 1,200.00 1,700.00 2,240.74
พ.ย. 58.00 58.00 60.00 60.00 61.00
พ.ย. 15.00 18.00 18.00 21.85 23.00
พ.ย. 1,600.00 1,746.00 1,376.92 1,746.15 2,200.00
หน่วย : บาท/ตัว เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 13.57 13.00 15.00 17.40 15.00 18.00 18.00 18.00 18.00 18.55 16.00 22.00 21.26 20.00 23.00 15.66 14.00 19.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย หน่วย : บาท/กิโลกรัม ธ.ค. เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 58.00 58.00 58.00 58.00 58.00 58.00 58.00 58.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 61.00 60.42 60.00 61.00 61.00 61.00 61.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ที่มา
ธ.ค. 15.00 18.00 18.00 22.00 20.75
ที่มา
ธ.ค. 1,600.00 1,965.22 1,256.52 1,800.00 2,166.67
หน่วย : บาท/ตัว เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด 1,803.25 1,600.00 1,900.00 1,978.07 1,637.50 2,400.00 1,460.61 1,200.00 1,734.80 1,714.71 1,476.92 1,965.38 2,401.47 2,056.00 2,600.00 1876.52 1800.00 2000.00 : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จำกัด บริษัท เวอร์แบค (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เวท อะกริเทค จำกัด บริษัท เอ็กซ์โปลิงค์ โกลบอล เน็ทเวอร์ค จำกัด บรูเกอร์ ไบโอสปิน เอจี
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2193-8288-90 โทร. 0-2575-5777-86 โทร. 0-2640-8013 ต่อ 25 โทร. 0-2642-6900