รายนามสมาชิก
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด
27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52.
บริษัท ซันฟีด จำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท บุญพิศาล จำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แม่ทา วี.พี.ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำกัด บริษัท เจบีเอฟ จำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท โกลเด้น ฟีด (ไทยแลนด์) จำกัด
ิน ภ อ
น ท นั
ร า าก
คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประจำปี 2558-2559
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์ นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประกิต เพียรศิริภิญโญ นางเบญจพร สังหิตกุล นายสถิตย์ บำรุงชีพ นายโดม มีกุล นายวราวุฒิ วัฒนธารา นางสาวถนอมวงศ์ แต้ไพสิฐพงษ์ นายหัสดิน ทรงประจักษ์กุล นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายสมภพ เอื้อทรงธรรม
นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เลขาธิการ รองเลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด
แถลง
บรรณาธิการ
ความร่วมมือในการจัดการเสวนา ปศุสตั ว์ไทย พร้อมก้าวไปกับ AEC และเวทีการค้าโลก ครัง้ ที่ 9 ผ่านไปเมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2559 โดยคณะกรรมการธุรกิจปศุสตั ว์ สภาหอการค้า แห่งประเทศไทย และสมาคมด้านปศุสัตว์ เป็นการร่วมมือที่จะทำให้ห่วงโซ่ธุรกิจปศุสัตว์ได้มา พบปะแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารอย่างน้อยปีละครัง้ ทำให้เกิดความสัมพันธ์และอย่างน้อยได้เล่าสู่ สาธารณะผ่านสือ่ ต่างๆ ให้ได้รบั รูค้ วามก้าวหน้าและความมัน่ คงมัง่ คัง่ และยัง่ ยืน พร้อมทัง้ ความ ปลอดภัยสู่ผู้บริโภค และสื่อสารไปยังผู้เกี่ยวข้องได้รับรู้ถึงความเดือดร้อนจากมาตรการต่างๆ และการเตรียมพร้อมที่จะรับสถานการณ์ทั้งภายในประเทศและระดับภูมิภาคทั่วโลก ซึ่งความเห็นในแต่ละมุมมอง ความพร้อม ความเดือดร้อนเฉพาะกลุ่มและแต่ละทัศนะ ทีต่ อ้ งการได้รบั การแก้ไข ช่วยเหลือ มาเล่าสูก่ นั ฟัง ซึง่ สุดท้ายยังไม่มขี อ้ สรุปทีช่ ดั เจนว่าจะมีผลลัพธ์ ออกมาอย่างไร ทางที่ดีที่สุดคือ ต้องเตรียมพร้อม สร้างมาตรฐานของกลุ่มธุรกิจให้ชัดเจนและ ปฏิบัติได้ทุกฝ่าย อย่างน้อยผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ซื้อ ผู้ขาย ผู้นำเข้า จะมีทางเลือกที่มั่นใจและลด ข้อโต้แย้งถ้าทุกหน่วยสามารถทำมาตรฐานได้เท่าเทียมกัน สินค้าต่างๆ จะสามารถกระจายไปได้ ทัว่ โลกและโลกทัง้ โลกก็จะไม่เกิดความสูญเสีย ลดข้อโต้แย้งการกีดกันทางกฎระเบียบทีต่ า่ งคิดขึน้ มา เพื่อปกป้องกันเอง นั่นคือข้อสรุปที่ไม่ใช่ข้อสรุป เพียงแต่เราต้องไม่ตีกันเอง ถึงจะอยู่รอดได้.... ข้อมูลที่วิทยากรเตรียมมานำเสนอที่เป็นรูปแบบทั้งข้อมูล ข้อคิดเห็น และการนำเสนอ ที่แตกต่างกันในรูปแบบที่ถนัด ทางวารสารฯ ก็ได้แปลงโฉมเพื่อให้สามารถบรรจุลงในวารสาร แต่ ก็ต้องขออภัยที่ไม่มีบทบรรยาย เพียงแต่ปรับรูปแบบเท่านั้น ซึ่งหากจะใช้ข้อมูลที่มีอยู่ในแต่ละสไลด์ แล้ว จะเห็นข้อมูลที่มีอยู่มากมายที่ผู้บรรยายอยากจะนำเสนอ แต่ถ้าจะทิ้งไปทั้งหมด ก็จะเสียดาย อย่างที่มีคำกล่าวไว้ว่า ภาพหนึ่งภาพมีคำบรรยายอยู่หลายหมื่นคำบรรยาย สุดแท้แต่ผู้มองภาพ เหล่านั้น แล้วนำผลประโยชน์จากภาพเหล่านั้นไปใช้ แม้เพียงภาพเดียวก็ไม่อยากเลือกทิ้งออกไป แต่กข็ ออภัยทีไ่ ม่ได้เอามานำเสนอในทีน่ ที้ งั้ หมด เนือ่ งจากพืน้ ทีว่ ารสารฯ มีจำกัดจริงๆ และบางเรือ่ ง อาจจะสื่อสารยากที่จะเข้าใจ เพราะผู้บรรยายแต่ละท่านมีลูกเล่นที่จะทำให้บรรยากาศตื่นเต้นและ น่าติดตาม จึงขอเสนอให้เป็นทางเลือกในการรับข้อมูลข่าวสารอีกแบบหนึ่ง ซึ่งเพียงภาพเดียว ที่คุณมองเห็นอาจจะเป็นประโยชน์ที่คุณกำลังค้นหาอยู่พอดี เราหวังเป็นเช่นนั้น..... บก.
ธุรกิจอาหารสัตว์
วารสาร
ปีที่ 33 เล่มที่ 167 ประจำเดือนมีนาคม-เมษายน 2559 วัตถุประสงค์
Contents
1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิ จของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
Thailand Focus TRACEABILITY เจาะลึกระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้าประมง EU...................................................................................... 5 สหกรณ์บริการเครื่องจักรกลทางการเกษตร ลดต้นทุนได้จริง............................................................................................. 8 ส่อเลื่อนนาปี เป็นกลาง ก.ค. ยืนเป้า 24 ล้านตัน. ..............................................................................................................10 ต้นทุนการผลิตพืชปี 59 ราคาลดลง แต่ค่าแรงยังทรงตัว. .................................................................................................. 11
Food Feed Fuel
สภาหอการค้าฯ จัดสัมมนา เรื่อง ธุรกิจปศุสัตว์ ................................................................................................................13 • ผลกระทบจาก AEC และ TPP ต่อ ปศุสัตว์ไทย : น.สพ.อยุทธ์ หรินทรานนท์.............................................................17 • วัตถุดิบและอาหารสัตว์ไทย...ยั่งยืน : นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล........................................................................ 22 • RELATIONSHIP BETWEEN TRANS PACIFIC AND FEED RAW MATERIALS USED IN THAILAND: ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร................................................28 • อนาคตปศุสัตว์ไทยกับ FTA และ TPP วัตถุดิบอาหารสัตว์, อาหารสัตว์, เวชภัณฑ์สัตว์, สุกร, โคเนื้อ, โคนม : นายชยานนท์ กฤตยาเชวง........................................................................ 37 • ปศุสัตว์ไทยพร้อมก้าวไปกับ AEC : นายสิทธิพร บุรณนัฏ........................................................................................39 • อนาคตสุกรไทย กับ FTA และ TPP : น.สพ.วิวัฒน์ พงษ์วิวัฒนชัย............................................................................ 43 • Egg Industry Overview 2016: นายมงคล พิพัฒสัตยานุวงศ์....................................................................................51 • อนาคตปศุสัตว์ไทย...ไก่และไข่ ที่มั่นคงยั่งยืน : นายคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์...................................................................55 • อนาคตปศุสัตว์ไทย...ไก่และไข่ ที่ยั่งยืน ปี 2016 : นายสมศักดิ์ ฤทธิ์จรุง...................................................................61
Market Leader
รัฐชู ศกอ. ทำเกษตรผสมผสาน นำร่องเลี้ยงกุ้งขาวในบ่อน้ำจืด............................................................................................. 67 งานวันกุ้งสุราษฎร์ฯ เรียกคืนความเชื่อมั่นการกลับมาของกุ้งไทย...........................................................................................69
Around The World
กระแส...ออร์แกนิก ORGANIC ดันอุตสาหกรรม "วัตถุกันเสียจากธรรมชาติ". ........................................................................ 76 สภาหอการค้าฯ องค์การสะพานปลา จับมือร่วมภาคเอกชนไทย หนุนการจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ (MCPD) เพื่อแก้ไขปัญหาประมงอย่างยั่งยืน....................................... 78 ขอบคุณ..............................................................................................................................................................................80 ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง นางสาววริศรา ธรรมเจริญ นางสาววริศรา คูสกุล
ประธานกรรมการที่ปรึกษา
สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com
TRACEABILITY เจาะลึกระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้าประมง EU “ระบบตรวจสอบย้อนกลับ” ในสหภาพยุโรป ปัจจุบันห่วงโซ่อุปทานของสินค้าอาหาร เริ่มต้นอย่างไร?
สหภาพยุโรปให้ความสำคัญและเข้มงวด กับระบบดังกล่าวมาก มีการกำหนดให้ผปู้ ระกอบการต้องทราบแหล่งทีม่ า หรือส่วนประกอบของ อาหารตั้งแต่ระดับฟาร์มไปจนถึงมือผู้บริโภค (from farm to fork) เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ และ ช่วยลดความเสี่ยงของผู้บริโภคในการบริโภค สินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ต่อมาในปี 2545 คณะกรรมาธิการฯ ได้ ออกกฎระเบียบความปลอดภัยอาหาร (Regulation (EC) 178/2002) ให้อาหารทุกประเภท และทุกขั้นตอน ตั้งแต่การผลิต แปรรูป จัดส่ง และจำหน่าย ต้องมีระบบการตรวจสอบย้อนกลับ ที่ น่ า เชื่ อ ถื อ สามารถแสดงรายละเอี ย ดที่ ม า ของอาหาร หรือส่วนประกอบที่ใช้ในอาหารได้ ส่วนอาหารทีไ่ ม่ปลอดภัย จะต้องถูกนำออกจาก ตลาด หรือถูกเรียกคืนจากผูบ้ ริโภค ทัง้ นี้ อาหาร นำเข้าจากประเทศที่สามก็ต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบนี้เช่นเดียวกัน
ที่มา : สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาตื (มกอช.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5 มีนาคม-เมษายน 2559
ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (traceability system) หมายถึง ระบบติดตามการเดินทางของ อาหารตลอดทั้งวงจร ตั้งแต่วัตถุดิบ การผลิต การแปรรูป การขนส่งสินค้า การกระจายสินค้า ไปจนถึงมือผู้บริโภค โดยแต่ละขั้นตอนต้องเก็บ รวบรวมข้อมูลการผลิตของตัวสินค้าไว้ เพื่อ อำนวยความสะดวกในการเรียกตรวจสอบย้อน กลับ และเพือ่ ให้การติดตามแหล่งทีม่ าของสินค้า ทำได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
หลังจากโรควัวบ้าระบาดหนักในหลาย ประเทศของสหภาพยุโรปในช่วง 20 ปีกอ่ น ความ ต้องการซื้อเนื้อวัวในสหภาพยุโรปก็ตกต่ำลง ผู้ บริโภคขาดความเชื่อมั่นในคุณภาพและความ ปลอดภัย เพื่อเรียกความเชื่อมั่นของผู้บริโภค กลับคืนมา ในปี 2543 คณะกรรมาธิการยุโรป จึงออกกฎระเบียบติดฉลากเนื้อวัว (Regulation (EC) 1760/2000) กำหนดให้ผู้ผลิตและผู้ จัดจำหน่ายต้องเก็บข้อมูลและจัดทำฉลากแสดง ข้อมูลแหล่งที่มาของเนื้อวัวให้ผู้บิโภคทราบ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีความซับซ้อนมากขึน้ ในขณะเดียวกัน ผูบ้ ริโภค ก็หันมาให้ความสำคัญและใส่ใจกับแหล่งที่มา ของสินค้า โดยคาดหวังว่าสินค้าที่ซื้อมานั้น จะ ต้องมีคณ ุ ภาพและปลอดภัย จากการเปลีย่ นแปลง นี้ ทำให้การตรวจสอบย้อนกลับเพือ่ หาแหล่งทีม่ า ของสินค้ามีความสำคัญมากขึ้นตามไปด้วย
Thailand Focus
“ระบบตรวจสอบย้อนกลับ” คืออะไร?
นอกจากนีใ้ นปี 2548 คณะกรรมาธิการฯ ยังได้ออกกฎระเบียบว่าด้วยการตรวจสอบย้อนกลับ และการติดฉลากอาหารที่ผลิตจากสิ่งมี ชีวิตที่ดัดแปรพันธุกรรม (GMOs) เพื่อให้การ ตรวจสอบย้อนกลับครอบคลุมไปยังอาหารที่ใช้ หรือมีส่วนประกอบที่เป็น GMOs ด้วย
“ระบบตรวจสอบย้อนกลับมีประโยชน์ อย่างไร?”
6 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ระบบตรวจสอบย้อนกลับมีบทบาทสำคัญ ในการช่วยแก้ปัญหาด้านคุณภาพ และความ ปลอดภัยอาหารในหลายกรณี ไม่ว่าจะเป็นการ ช่วยหาสาเหตุ และระงับการจัดจำหน่ายสินค้าทีม่ ี ปัญหาได้กอ่ นทีอ่ าหารจะถึงมือผูบ้ ริโภค หลังจาก ตรวจพบสาร dioxins ตกค้างในนมที่ประเทศ เนเธอร์แลนด์ เมื่อปี 2547 การช่วยแก้ปัญหา เมื่อตรวจพบเชื้อ E.coli สายพันธุ์ใหม่ที่มีความ รุนแรงสูงจากถัว่ งอกทีป่ ลูกด้วยเมล็ด fenugreek ซึ่งนำเข้าจากประเทศอียิปต์ เมื่อปี 2554 รวม ถึงการช่วยหาสาเหตุ และคัดแยกอาหารที่มี เนือ้ ม้าปลอมปนออกจากตลาดได้หลังจากตรวจ พบ DNA ของเนื้อม้าในผลิตภัณฑ์อาหารที่ทำ จากเนื้อวัวในปี 2556
อาจกล่าวได้วา่ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ ในห่วงโซ่อุปทานเป็นกลไกที่สำคัญยิ่งต่ออุตสาหกรรมอาหารทั้งในแง่ของผู้บริโภค และผู้ ประกอบการ ดังนี้ · ในแง่ ข องผู้ บ ริ โ ภค การตรวจสอบ ย้ อ นกลั บ ที่ ถู ก ต้ อ งคื อ ต้ อ งมี ค วามโปร่ ง ใส จะช่วยป้องกันอาหารที่ไม่ปลอดภัย สร้างความ เชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค และทำให้ผู้บริโภคมีส่วน ร่วมในการสนับสนุนสังคม หรือด้านอื่นๆ โดย ผ่านการเลือกซื้ออาหารที่ตนเองสนใจ · ในแง่ ข องผู้ ป ระกอบการ แม้ ค วาม คิดเห็นบางส่วนจะระบุว่า ข้อบังคับเรื่องการ ตรวจสอบย้อนกลับอาจจะทำให้ผู้ประกอบการ ในประเทศกำลังพัฒนามีความยุ่งยาก มีต้นทุน สูงขึ้น และลดโอกาสในการส่งออกสินค้าไป สหภาพยุโรป แต่หากพิจารณาอย่างถีถ่ ว้ นจะพบ ว่าการตรวจสอบย้อนกลับช่วยให้ผู้ประกอบการ สามารถสืบหาแหล่งที่มาของอาหารได้อย่าง รวดเร็ว ลดความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ เนือ่ งจาก ผูป้ ระกอบการสามารถเรียกคืน หรือรับผิดชอบ เฉพาะสินค้าทีม่ ปี ญ ั หาเท่านัน้ ช่วยเพิม่ โอกาสใน การเข้าถึงตลาด เพราะผู้บริโภคมั่นใจในแหล่ง ที่มาและความปลอดภัยอาหาร ตลอดจนทำให้ การแข่งขันในตลาดเป็นธรรมมากขึ้น เพราะ ผูผ้ ลิตไม่ตอ้ งแข่งขันกับอาหารต้นทุนต่ำทีม่ าจาก การทุจริตในวงจรอาหาร
“ระบบตรวจสอบย้อนกลับ” ในสินค้าสัตว์น้ำ/สินค้าประมง สำหรับสินค้าสัตว์นำ้ นอกจากต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ความปลอดภัยอาหารแล้ว ยังต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ ควบคุมการทำประมงของสหภาพยุโรป (Regulation (EC) 1224/2009 และ Regulation (EC) 404/2011) ซึ่งกำหนดให้สินค้าสัตว์น้ำที่วางจำหน่ายในสหภาพยุโรป ต้องมีระบบการตรวจสอบย้อนกลับทุกขั้นตอน ตั้งแต่ การจับ หรือเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ ไปจนกระทัง่ สินค้าจัดจำหน่าย ในร้านค้าปลีก ซึ่งฉลากสินค้าสัตว์น้ำต้องระบุข้อมูล เช่น รหั ส กำกั บ สิ น ค้ า (lot number) ชื่ อ การค้ า และชื่ อ วิทยาศาสตร์ ชื่อเรือประมง หรือผู้เพาะเลี้ยง รหัส สายพันธุ์ (FAO species code) วิธกี ารผลิต พืน้ ที่ ในการทำประมง/สถานที่เพาะเลี้ยง เป็นต้น
ที่มา : สำนักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่างประเทศประจำสหภาพยุโรป (สรุปโดย : สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ)
ภาพประกอบ : 1. http://fishingrigz.com/wp-content/files_mf/snapper.jpg 2. https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/1/12/Tomato-cut_horizontal.png 3. http://www.specialtyproduce.com/sppics/1769.png 4. http://images6.fanpop.com/image/photos/35200000/Lemon-lemons-35206955-400-400.jpg
มีนาคม-เมษายน 2559
7 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 เป็น ต้นมา สหภาพยุโรปยังกำหนดให้สินค้าสัตว์น้ำ ที่ น ำเข้ า มาจำหน่ า ยในสหภาพยุ โ รปต้ อ งมี ใ บ รับรองการจับสัตว์น้ำ (catch certificate) ตาม กฎระเบียบป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการทำประมงที่ ผิดกฎหมาย ไม่รายงานและไร้การควบคุม (IUU fishing) ประกอบขั้นตอนการนำเข้าด้วยโดยข้อมูลในใบรับรองฯ จะเชื่อมโยงกับระบบตรวจสอบย้อนกลับ เพื่อยืนยัน แหล่งที่มาของสัตว์น้ำว่าไม่ได้มาจากการทำประมงแบบ IUU ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการค้ามนุษย์ และ สนับสนุนการทำประมงอย่างยั่งยืน
สหกรณ์ บริการเครื่องจักรกล ทางการเกษตร
ลดต้นทุนได้จริง
Thailand Focus
8 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
นางสาวจริ ย า สุ ท ธิ ไ ชยา รองเลขาธิ ก ารและโฆษกสำนั ก งาน เศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ตามที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนิน โครงการส่ ง เสริ ม การให้ บ ริ ก าร เครื่องจักรกลทางการเกษตรเพื่อลด ต้นทุนสมาชิก ระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่ ปี 2558-2562 งบประมาณรวม ทั้ ง สิ้ น 3 , 3 2 2 ล้านบาท ซึ่งปี 2558 ที่ผ่านมา เป็น การดำเนินโครงการในระยะนำร่อง และปี 2559-2562 เป็นการดำเนินโครงการระยะขยายผล โดยสนับสนุนรถเกี่ยวนวดข้าว 2 คัน รถเทรเลอร์ 1 คัน ต่อสหกรณ์ผู้ปลูกข้าว และเครื่องสีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3 คัน พร้อมอุปกรณ์ 3 ชุด ต่อสหกรณ์ผู้ปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ในการนี้ได้มีการติดตามผลการดำเนินงานโครงการ ในช่ ว งระหว่ า งวั น ที่ 10-26 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 ที่ ผ่านมา จากสหกรณ์การเกษตร และสหกรณ์นิคมที่เข้าร่วม โครงการทั้ ง 19 แห่ ง พบว่ า มี ก ารดำเนิ น การจั ด ซื้ อ และส่ ง มอบเครื่ อ งจั ก รกลทางการเกษตรแก่ ส หกรณ์
ที่มา : เดลินิวส์ ฉบับที่ 24284 วันศุกร์ท่ี 8 เมษายน พ.ศ. 2559
แต่ ทั้ ง นี้ ยั ง ไม่ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ที่ อ ยู่ ใ น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ของ กระทรวงเกษตรฯ หากแต่จะดำเนินการในพืน้ ที่ ความรับผิดชอบหลักของสหกรณ์ โดยเฉพาะใน พื้นที่ของสมาชิกที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว และผลิต ข้าวให้กับสหกรณ์ตามบทบาทหน้าที่เป็นหลัก ซึง่ หากสหกรณ์ได้รบั มอบหมายให้ขยาย ผลการดำเนินในโครงการนี้สู่เกษตรกรโดย ทั่วไป โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตรแปลงใหญ่ ตามนโยบายของรัฐบาลนัน้ ก็จะสามารถช่วย ในการลดต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกรโดย ทั่วไปได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น
9 มีนาคม-เมษายน 2559
นอกจากนี้ สหกรณ์ผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5 แห่ง ได้ให้บริการสีข้าวโพดแก่สมาชิก สหกรณ์แล้ว 1 แห่ง ในช่วงเดือนธันวาคม 2558 ทีผ่ า่ นมาโดยไม่เก็บค่าบริการ เนือ่ งจาก สหกรณ์ ไ ด้ รั บ ผลพลอยได้ จ ากเปลื อ ก และ ซังข้าวโพดที่นำไปผลิตเป็นปุ๋ย และเชื้อเพลิง ชี ว มวลอั ด แท่ ง ในโรงอบของสหกรณ์ ทำให้ สมาชิ ก สหกรณ์ ไ ม่ ต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยในส่ ว น ดังกล่าว ในขณะทีผ่ ปู้ ระกอบการทัว่ ไปคิดอัตรา ค่าบริการ 200 บาทต่อตัน ส่วนสหกรณ์ที่ ยังไม่ได้ให้บริการในเบื้องต้นได้กำหนดอัตรา ค่าบริการรถเกีย่ วนวดข้าวไว้ที่ 350-500 บาท ต่อไร่ และค่าสีขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์ 80-150 บาท ต่อตัน
ภาพรวมพบว่ า เจ้ า หน้ า ที่ แ ละสมาชิ ก สหกรณ์มีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับ มาก ทั้งในด้านการชี้แจงรายละเอียดโครงการ การสนั บ สนุ น เครื่ อ งจั ก รกลทางการเกษตร อัตราค่าบริการ การดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ สหกรณ์ และความรวดเร็วในการให้บริการ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
แล้ว 15 แห่ง และอีก 4 แห่ง อยู่ระหว่างการ จัดซื้อ โดยสหกรณ์ผู้ปลูกข้าว 10 แห่ง ให้ บริการเกี่ยวนวดข้าวแก่สมาชิกแล้ว 2 แห่ง ในช่วงเดือนธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา ถึง มกราคม 2559 คิดอัตราไร่ละ 300-400 บาท ขณะทีผ่ ปู้ ระกอบการเอกชนทัว่ ไปคิดอัตรา ไร่ละ 500-550 บาท ทำให้สมาชิกสหกรณ์ สามารถลดต้นทุนค่ารถเกีย่ วนวดได้ไร่ละ 200250 บาท
ส่อเลื่อนนาปี เป็นกลาง ก.ค. ยืนเป้า 24 ล้านตัน Thailand Focus
10 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
"พล.อ.ฉั ต รชั ย " ตั้ ง คกก.ประเมิ น สถานการณ์ น้ ำ ก่ อ นตั ด สิ น ใจว่ า จะประกาศ เลื่อนการทำนาปีหรือไม่ พล.อ.ฉัตรชัย สาริกัลยะ รมว.เกษตร และสหกรณ์ เปิ ด เผยว่ า ได้ สั่ ง การให้ นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ รองปลัดกระทรวง เกษตรฯ เป็ น ประธานคณะทำงานประเมิ น สถานการณ์น้ำ และวางแผนการผลิตข้าวในฤดู การผลิต 2559/2560 เพื่อสรุปและวางแผน การผลิตให้สอดคล้องกับสถานการณ์นำ้ จากนัน้ จะแจ้ ง ให้ เ กษตรกรรั บ ทราบหลั ง พ้ น เทศกาล สงกรานต์นี้ "กระทรวงเกษตรฯ จะใช้บทเรียนจาก ปีที่ผ่านมา ซึ่งมีการแจ้งเกษตรกรล่าช้าจนทำ ให้เกิดความเสียหายในการเพาะปลูก ส่วนจะมี การประกาศให้เลื่อนการทำนาปีหรือไม่ ขอให้ คณะทำงานสรุปข้อเท็จจริงมาก่อน" พล.อ.ฉัตรชัย กล่าว แหล่งข่าวจากกระทรวงเกษตรฯ เปิดเผย ว่า มีความเป็นไปที่กระทรวงจะออกประกาศ ขอความร่วมมือจากเกษตรกรให้เลื่อนการปลูก ข้าวนาปีออกไป โดยจะไม่ใช่คำว่าขอให้เลือ่ นการ ปลูกข้าว แต่จะใช้คำว่าให้ปลูกข้าวให้สอดคล้อง ที่มา : โพสต์ทูเดย์ ฉบับที่ 4810 วันศุกร์ท่ี 8 เมษายน พ.ศ. 2559
กับฤดูการผลิต ซึง่ อาจทำให้เกษตรกรต้องเลือ่ น การปลูกข้าวนาปีเป็นกลางเดือน ก.ค. เพราะ เป็นช่วงที่มีอิทธิพลเอลนินโญลดลงแล้ว นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ อธิบดีกรมการข้าว กล่าวว่า ในปี 2559 กรมมีแผน จัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชนเพิ่มขึ้นอีก 15 แห่ง ซึ่งจะ เพิ่มผลผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ประมาณ 3 หมื่น ตัน จากปัจจุบันที่ผลิตได้ 1.2 แสนตัน/ปี ใน ขณะที่ความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์ทั้งประเทศ อยูท่ ี่ 9 แสนตัน/ปี โดยเมล็ดพันธุ์ 4.4 แสนตัน จะเป็นเมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้ทำพันธุ์เอง ส่วนอีกประมาณ 4.8 แสนตัน เกษตรกรจะ ซือ้ จากเอกชน หรือได้รบั การสนับสนุนจากกรมการข้าว ทั้งนี้ กรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ร่วมกันกำหนดทำเป้าหมายการผลิตและการ ตลาดข้าวครบวงจรฤดูการผลิต 2559/2560 โดยฤดูกาลนี้ตั้งเป้าหมายการปลูกข้าว 24.25 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งเป็น ข้าวหอมมะลิ 9.57 ล้านตัน ข้าวหอมปทุม 8.6 แสนตัน ข้าวขาว 8 ล้านตัน ข้าวเหนียว 5.71 ล้านตัน ข้าวเปลือก ข้าวสีและข้าวอื่นๆ 8 หมื่นตัน แต่คาดว่าจะมี ผลผลิตจริงประมาณ 25.01 ล้านตันข้าวเปลือก
ต้นทุนการผลิตพืชปี 59 ราคาลดลง
แต่ค่าแรงยังทรงตัว
สำหรับสาเหตุที่ต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตร ปี 2559 มีแนวโน้มลดลงหลายชนิด นอกจากปัจจัยการผลิตหลายตัวที่มีราคาลดลงแล้ว ยังเกิดจากนโยบายของภาครัฐที่ ช่วยเหลือลดภาระต้นทุนการผลิตของเกษตรกรในหลายมาตรการ เช่น นโยบายทีข่ อความ ร่วมมือกับหลายภาคส่วนในการลดค่าบริการเครื่องจักรกลการเกษตรในการเตรียมดิน และเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งเรื่อง Motor Pool ที่จะทำให้ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนการผลิต ลดลง ตลอดจนนโยบายแปลงใหญ่ นโยบายเรื่องลดราคาเมล็ดพันธุ์ และการควบคุมดูแล ในเรือ่ งค่าเช่าทีด่ นิ ทางการเกษตร ซึง่ สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติได้มมี ติผา่ นร่างแก้ไขเพิม่ เติม พระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม แล้วเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2559 ที่ผ่านมา โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการดูแลเรื่องค่าเช่าที่ดินให้มีความยุติธรรมได้มากขึ้น นอกจากนี้ เกษตรกรเองยังได้มีการปรับตัว โดยพยายามที่จะลดต้นทุนของตนเอง ที่มา : เดลินิวส์ ฉบับที่ 24296 วันพุธที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2559
11 มีนาคม-เมษายน 2559
ในภาพรวม พบว่า ค่าจ้าง ค่าแรง ในภาคการผลิ ต เกษตรยั ง คงทรงตั ว เมื่อเทียบกับปีก่อน ขณะที่ราคาปัจจัยการผลิตหลายชนิดลดลง เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง ปุ๋ยเคมี สารเคมี รวมทั้งค่าเช่าค่าใช้ที่ดิน ค่าจ้างบริการเครื่องจักรกลเตรียมดินและ เก็บเกี่ยวเริ่มมีแนวโน้มลดลงบ้างแล้ว
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
นายสุรพงษ์ เจียสกุล เลขาธิการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิด เผยถึงผลการวิเคราะห์ประมาณการ ต้นทุนการผลิตพืชเศรษฐกิจทีส่ ำคัญปี 2559 รอบไตรมาสที่ 1 ณ มีนาคม 2559
Thailand Focus
Photo by: J@P
ด้วยการปลูกพืชให้เหมาะสมกับศักยภาพของ พื้นที่ ลดการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี หรือใช้เท่าที่ จำเป็น และใช้ปุ๋ยอินทรีย์ สารอินทรีย์ทดแทน ซึง่ นอกจากลดต้นทุนแล้ว ยังปลอดภัยต่อตนเอง และผู้บริโภคอีกด้วย
12 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ด้ า น นายคมสั น จำรู ญ พงษ์ รองเลขาธิการ สศก. กล่าวว่า จากราคาปัจจัยการ ผลิตหลายตัวทีล่ ดลง ได้สง่ ผลให้ตน้ ทุนการผลิต หลายชนิดมีต้นทุนต่อไร่ลดลงไปด้วย ซึ่งเมื่อ แยกตามกลุม่ ชนิดพืช พบว่า กลุม่ ข้าว ข้าวนาปี ปี 2559 ต้นทุนรวมต่อไร่ ลดลงจากปีก่อน เนื่องจากเกษตรกรมีการปรับตัวและภาครัฐมี นโยบายช่ ว ยลดต้ น ทุ น ด้ า นปั จ จั ย การผลิ ต ใน เรื่องราคาปุ๋ย ราคาค่าบริการเครื่องจักรกล ในการเก็บเกี่ยว และดูแลเรื่องค่าเช่าที่ดินทาง การเกษตรให้มคี วามเหมาะสม ประกอบกับราคา ปุย๋ เคมี สารเคมี และราคาน้ำมันเชือ้ เพลิงลดลง ในขณะที่การพยากรณ์ผลผลิตต่อไร่ช่วงก่อน ต้นฤดูการผลิต คาดว่าส่วนผลผลิตต่อไร่จะไม่ ต่ำกว่าปีกอ่ น ถ้าผลกระทบจากภัยแล้งไม่รนุ แรง ซึ่งจะส่งผลทำให้ต้นทุนต่อหน่วย (ตัน) ของ ข้าวนาปีปีเพาะปลูกที่จะถึงนี้ ลดลงจากปีก่อน กลุ่มพืชไร่ ต้นทุนต่อไร่ และต้นทุนต่อ หน่วยลดลง ยกเว้นมันสำปะหลังที่ต้นทุนหน่วย เพิ่มขึ้นจากปีก่อน เนื่องจากผลผลิตต่อไร่ของ
มันสำปะหลังปีนี้คาดว่าจะลดลงจากปีก่อนเล็ก น้อย ซึ่งเป็นผลจากช่วงระยะการเติบโตกระทบ แล้ง ส่วนกลุ่มถั่วมีต้นทุนต่อไร่ เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ในขณะทีต่ น้ ทุนต่อหน่วยลดลง กลุม่ ไม้ผล ต้นทุน รวมต่อไร่เพิ่มขึ้นจากปีก่อน เนื่องจากผลผลิต ต่อไร่เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น ทำให้มคี า่ ใช้จา่ ยในการ เก็บเกีย่ ว และดูแลรักษาเพิม่ ขึน้ ยกเว้น ลองกอง ส้มโอ และส้มเขียวหวาน ที่ต้นทุนรวมต่อไร่ ลดลง เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ลดลง จากการทีเ่ กษตรกรขาดความมัน่ ใจในด้าน ราคาและปัญหาภัยแล้ง ส่วนต้นทุนต่อหน่วย (ตัน) ลดลงจากปีก่อนทุกชนิด เฉลี่ยลดลง ซึ่ง เป็นผลมาจากผลผลิตต่อไร่ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบ กับปีที่ผ่านมา กลุ่มไม้ยืนต้น ปาล์มน้ำมัน และยางพารา มีตน้ ทุนรวมต่อไร่ลดลงจากปีกอ่ น จาก ราคาปัจจัยการผลิตทีล่ ดลง ในขณะทีย่ างพารา มีการดูแลรักษาน้อยลงเนือ่ งจากราคาไม่จงู ใจ สำหรับต้นทุนต่อหน่วยลดลงจากปีก่อน ทั้ง ปาล์มน้ำมัน และยางพารา และกลุ่มพืชผัก หอมใหญ่ หอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง และ กล้วยไม้ตัดดอก มีต้นทุนต่อไร่ลดลง ส่วน ต้นทุนต่อหน่วยก็ลดลง ทั้งนี้เป็นผลจากการ ที่ราคาปัจจัยการผลิตที่ลดลง ประกอบกับ ผลผลิตที่ได้อยู่ในเกณฑ์ดี
เริม่ งาน ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานกรรมการสภาหอการค้า แห่งประเทศไทย ฐานะประธานสายงานธุรกิจเกษตรและอาหาร สภาหอการค้า แห่งประเทศไทย กล่าวต้อนรับผูเ้ ข้าร่วมงานสัมมนา “ปศุสตั ว์ไทย พร้อมสำหรับ AEC และเวทีการค้าโลก” ครัง้ ที่ 9 โดยการจัดงานเสวนาในครัง้ นีเ้ ป็นการ เตรียมความพร้อมให้แก่ผู้ประกอบการทุกภาคส่วน เพื่อรองรับการแข่งขัน สินค้าด้านเกษตรและปศุสัตว์ในตลาดภูมิภาคอาเซียน ด้าน น.สพ.อยุทธ์ หรินทรานนท์ อธิบดีกรมปศุสตั ว์กล่าวเปิดงานและปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “ผลกระทบจาก AEC และ TPP ต่อปศุสัตว์ไทย” โดยกล่าวว่า อนาคตหากประเทศไทยเข้าร่วม TPP อาจถูกประเทศยักษ์ใหญ่บางประเทศที่เป็นผู้นำด้านการผลิตและการตลาดภาคเกษตรและ ปศุสัตว์ ส่งสินค้ามายังประเทศสมาชิก ซึ่งแน่นอนว่าต้องมีผลกระทบกับประเทศไทยด้วย ด้าน ปศุสัตว์ไทยอาจต้องมีการพิจารณาว่าจะดำเนินการอย่างไร ในการปรับเปลี่ยนวิธีการใช้นวัตกรรม ต่างๆ เพื่อที่จะสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อตอบสนองตลาดมากขึ้น รวมทั้งภาคธุรกิจด้านปศุสัตว์ จะมีแนวทางอย่างไรที่เตรียมการให้รัฐบาลได้รับรู้ถึงผลกระทบนี้
Food Feed Fuel
13 มีนาคม-เมษายน 2559
เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2559 คณะกรรมการธุรกิจปศุสตั ว์ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ร่วมกับสมาคมการค้า 17 สมาคม จัดเสวนาเรื่อง “ปศุสัตว์ไทย พร้อมสำหรับ AEC และเวที การค้าโลก” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจอาหารสัตว์ และการเลี้ยงสัตว์ แก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน สื่อมวลชน และบุคคลทั่วไป รวมทั้งเป็นเวทีกลาง ของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งมีอยู่หลายธุรกิจได้รวมกลุ่มชี้แจ้งทำความเข้าใจ ภาพรวมของอุตสาหกรรมดังกล่าว และเป็นการเตรียมความพร้อมในการดำเนินธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพสอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจไทย และเศรษฐกิจโลก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
สภาหอการค้าฯ จัดสัมมนา เรื่องธุรกิจปศุสัตว์
ส่วน AEC ประเทศไทยมีสินค้าปศุสัตว์ ที่มีมูลค่าการส่งออก และได้เปรียบในภูมิภาคนี้ ดังนัน้ RCEP (ASEAN+6) มองว่าเกิดประโยชน์ กับประเทศในทุกด้าน และถือเป็นโอกาสของ ไทยทีเ่ ป็นผูน้ ำสินค้าด้านปศุสตั ว์ในภูมภิ าคนีด้ ว้ ย เนื่องจากตลาดมีความต้องการสูง และจำนวน ประชากรที่มากกว่า TPP
14
ด้านคุณพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ ผ ลิ ต อาหารสั ต ว์ ไ ทย และที่ ป รึ ก ษา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย กล่าวในหัวข้อ “วัตถุดบิ และอาหารสัตว์ไทย...ยัง่ ยืน” ว่า สำหรับ การเข้าร่วม TPP นั้น วัตถุดิบอาหารสัตว์ไม่ สามารถหลี ก เลี่ ย งได้ เพราะในฐานะผู้ ผ ลิ ต อาหารสัตว์ หากลูกค้าต้องการสินค้าอย่างไร ก็ตอ้ งปรับตามทีล่ กู ค้าต้องการ ฉะนัน้ หากลูกค้า นำเงือ่ นไขด้านสิง่ แวดล้อม หรืออืน่ ๆ มาเป็นข้อ กล่าวอ้าง จำเป็นต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข เพื่อ ความยั่งยืนในสถานการณ์โลก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ช่วงเช้าจัดเสวนาหัวข้อ “อนาคตปศุสัตว์ ไทย...วัตถุดบิ อาหารสัตว์, อาหารสัตว์, เวชภัณฑ์, สุกร, โคเนื้อ, โคนม กับ FTA และ TPP” ซึ่ง มีวิทยากรที่มากประสบการณ์จากหลายๆ ด้าน เริ่มด้วย ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นโภชนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ กล่าวว่า การเข้าร่วม TPP จะเป็น ประโยชน์กับกลุ่มอาหารสัตว์ เพราะการนำเข้า ข้าวโพด กากถั่วเหลือง และอื่นๆ ที่เป็นวัตถุดิบ อาหารสัตว์จะมีอัตราภาษี 0% แต่ทำให้เกิด ผลกระทบขึ้นกับเกษตรกร และผู้ประกอบการ ส่วนใหญ่ ส่วนผู้บริโภคจะไม่ได้รับผลกระทบ แต่อย่างใด ด้านคุณชยานนท์ กฤตยาเชวง นายกสมาคมธุรกิจเวชภัณฑ์สตั ว์ กล่าวว่า ควรเตรียม
ความพร้อมรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว โดย การปรับปรุงแก้ไข ทำเขตพื้นที่ปศุสัตว์ และที่ สำคัญควรทำตนให้เข้มแข็ง คุณสิทธิพร บุรณนัฏ เลขาธิการสมาคม โคเนือ้ แห่งประเทศไทย ให้ความเห็นกับ AEC ว่า โคเนือ้ เราเป็นทีห่ นึง่ ใน AEC เพราะว่ามีสายพันธุ์ และการจัดการฟาร์มที่ดี ความรู้และฝีมือใน การขุนโคก็เหนือกว่าทุกประเทศในแถบอาเซียน ด้านคุณนนทะชัย โนนพุดซา ผู้จัดการชุมนุม สหกรณ์โคนมภาคใต้ ภาคตะวันตก กล่าวว่า สำหรับโคนมไม่เกรงกลัวต่อการเข้าร่วม TPP เนื่องจากเคยได้รับผลกระทบจากการใช้มาตรการลดภาษี FTA ไทย-ออสเตรเลีย โดยเฉพาะ นมและผลิตภัณฑ์นม ส่วน น.สพ.วิวฒ ั น์ พงษ์ววิ ฒ ั นชัย กรรมการ บริหารสมาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ และประธาน สหกรณ์การเกษตรปศุสตั ว์ ราชบุรี จำกัด กล่าว ว่า TPP เป็นการสู้รบทางเศรษฐกิจระหว่าง อเมริกากับจีน เพื่อคานอำนาจกัน โดยดึงไทย เข้าไปมีส่วนด้วย ทำให้เกิดผลกระทบแน่นอน หากบรรลุขอ้ ตกลง โดยเฉพาะวงการปศุสตั ว์ไทย ดังนั้น จึงควรให้ความสำคัญกับผลกระทบที่จะ เกิดขึ้น สำหรับปาฐกถาพิเศษหัวข้อ “ปศุสัตว์ ปลอดภั ย และการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ” โดย คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบัน อาหาร กล่าวว่า โปรตีนทีร่ บั ประทานกันทุกวันนี้ ส่วนใหญ่ได้จาก Cereals (ซีเรียล) ถึง 40%
ต่อด้วยการเสวนา “อนาคตปศุสตั ว์ไทย... ไก่และไข่ที่มั่นคงและยั่งยืน?” โดยวิทยากร ที่ทรงคุณวุฒิ อาทิ คุณมงคล พิพฒ ั สัตยานุวงศ์ นายกสมาคม ผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ กล่าวว่า วงการ ไก่ ไ ข่ อ ะไรก็ ไ ม่ ส ำคั ญ เท่ า ดี ม านด์ กั บ ซั พ พลาย หากไม่สามารถควบคุมซัพพลายได้ ราคาไข่ไก่ ก็จะไม่ดีตามไปด้วย ส่วนเรื่องการบริโภคไข่ไก่
ด้านคุณคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ ผู้จัดการ สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย กล่าวว่า ภาค การส่งออกไก่สดขายได้มากขึน้ ไก่ปรุงสุกส่งออก ได้มากขึ้น แต่มูลค่าการส่งออกลดลง ดังนั้น ต้องหาวิธีการแก้ไขกันต่อไป ส่วนคุณสมศักดิ์ ฤทธิจ์ รุง นายกสมาคม ผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ กล่าวว่า คนไทยบริโภคเนื้อไก่ เพียง 24 กก./คน/ปี ซึ่งแตกต่างจากประเทศ อื่นอย่าง สิงคโปร์ ที่บริโภคกัน 36 กก./คน/ปี และยังเสริมอีกว่า ไก่ไม่มีฮอร์โมนเร่งโตทั้งสิ้น เนื่องจากมีการพัฒนาสายพันธุ์อย่างต่อเนื่อง ปิ ด ท้ า ยการเสวนาด้ ว ย น.สพ.กิ ต ติ ทรัพย์ชูกุล นายกสมาคมนิสิตเก่าคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวว่า ความมั่นคง และยั่งยืน คือสิ่งที่ทุกคนต้องร่วมมือกันบริหาร จัดการตั้งแต่ต้นน้ำยันปลายน้ำ และนำระบบ ไบโอซีเคียวริตี้เข้ามาใช้ควบคุมคุณภาพ และ มาตรฐานทัง้ ระบบ เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูบ้ ริโภค ส่วนเรือ่ งราคาทีม่ คี วามผันผวน จำเป็น ต้องควบคุมปริมาณแม่ไก่ไข่ หรือแม่พันธุ์ ซึ่ง ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 600,000 กว่าตัว เพื่อ ให้สอดคล้องกับตลาดในประเทศ
15 มีนาคม-เมษายน 2559
ช่วงบ่าย น.สพ.ชัย วัชรงค์ ได้ปาฐกถา พิเศษในหัวข้อ “นวัตกรรมปศุสตั ว์ ไปสูท่ ศวรรษ หน้า?” โดยเสนอนวัตกรรม 3 ด้าน 1. สร้าง นวั ต กรรมที่ ส ามารถคุ้ ม กั น และป้ อ งกั น โรค ด้วยวัคซีนและเครื่องมือที่สามารถเช็คเชื้อโรค ทราบผลทันทีโดยไม่จำเป็นต้องส่งเข้าห้องแล็ป 2. ระบบการให้นำ้ นมในลูกสุกร เนือ่ งจากปัจจุบนั อัตราการคลอดค่อนข้างสูง น้ำนมแม่สุกรที่ไม่ เพียงพอต่อการเลีย้ งลูก จึงสร้างระบบการให้นม ขึ้นมาแทน ส่วนข้อที่ 3 โปรแกรมคำนวณสูตร อาหารเฉพาะกิจเฉพาะฟาร์ม สายพันธุ์ และ รุน่ นัน้ ๆ เพือ่ เป็นแนวทางในการเลีย้ ง ระยะเวลา อาหารและต้นทุน
ของไทยได้อธิบายถึงคลอเรสเตอรอลดีในไข่ไก่ ทีถ่ กู ต้อง ซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ ผูบ้ ริโภค และเป็น สินค้าโปรตีนที่มีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
ได้จากเนือ้ สัตว์ประมาณ 17% และอืน่ ๆ อนาคต ปี 2040 จากการคาดการณ์อาหารจะขาดแคลน เพราะฉะนั้นแหล่งโปรตีนจากแมลงจะเป็นทาง เลื อ กหนึ่ ง ที่ ป ระชากรโลกอาจต้ อ งบริ โ ภคกั น มากขึ้น
ด้ า น ดร.สมบั ติ ธี ร ะตระกู ล ชั ย กรรมการบริ ห าร หอการค้าไทย และประธานคณะกรรมการธุรกิจปศุสัตว์ กล่าว สรุ ป ด้ ว ยวลี เ ด็ ด “เราต้ อ งไม่ ตี กั น เอง ถึ ง จะอยู่ ร อด” และ ปิดการสัมมนา การจัดสัมมนาครั้งนี้ ยังไม่มีบทสรุปว่าจะต้องเตรียมตัว อย่างไร เพื่อให้ปศุสัตว์ไทยแข่งขันได้ดีกว่าเดิมใน AEC และ ตลาดโลก
16 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ผลกระทบจาก AEC และ TPP ต่อปศุสัตว์ ไทย นายอยุทธ์ หรินทรานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ •
ประชากร-เศรษฐกิจ ASEAN+3/ASEAN +6
ที่มา : world Bank 2014
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
อินเดีย
17 มีนาคม-เมษายน 2559
และเศรษฐกิจ ข้อตกลงทางการค้า มูลค่า-ดุลการค้าสินค้าปศุสัตว์-อาหารสัตว์ ศักยภาพการแข่งขันสินค้าปศุสัตว์ ผลกระทบ-การเปิดตลาดของประเทศสมาชิก TPP
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
ประชากร
Food Feed Fuel
•
ประชากร-เศรษฐกิจ TPP
ที่มา : world Bank 2014
มูลค่าการค้าสินค้าปศุสัตว์ (ไทย กับ AEC)
มูลค่าการค้าสินค้าปศุสัตว์ (ไทย กับ TPP)
18 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ที่มา : ข้อมูล DLD 2015 รูปแผนที่ : Forbes
≈ มูลค่าการค้าสินค้าไก่และผลิตภัณฑ์ Thai กับ World, AEC, AEC+3, AEC+6, TPP) ≈ มูลค่า-ดุลการค้าเนื้อไก่สดและแปรรูป ปี 2558
ที่มา : ข้อมูลกรมปศุสัตว์
ดุลการค้า (ล้านบาท) 93,660.02 48,325.72 5,711.17 52,491.40 52,491.40
นำเข้า (ล้านบาท) 28.03 โอกาสขาดดุล -
ส่งออก (ล้านบาท) 93,688.05 48,325.72 5,711.17 52,491.40 52,491.40
สัดส่วนปริมาณการค้ากับประเทศค่คู่ค้าที่สำคัญ
นำเข้า 28 ตัน
ส่งออก 725,000 ตัน
≈ มูลค่าการค้าสินค้าสกุรและผลิตภัณฑ์ Thai กับ World, AEC, AEC+3, AEC +6,TPP) ≈ มูลค่าและดุลการค้าเนื้อสุกรสด-แปรรูป ปี 2558 สุกรสด-แปรรูป WORLD TPP AEC AEC+3 AEC+6
มูลค้าการค้า (ล้านบาท) 3,666.98 3,051.78 627.40 3,057.92 3,059.66
ดุลการค้า (ล้านบาท) 3,610.92 3,051.78 627.40 3,057.92 3,059.66
นำเข้า (ล้านบาท) 28.03 โอกาสขาดดุล -
ส่งออก (ล้านบาท) 3,638.95 3,051.78 627.40 3,057.92 3,059.66
สัดส่วนปริมาณการค้ากับประเทศค่คู่ค้าที่สำคัญ นำเข้า 320 ตัน
ส่งออก 20,700 ตัน
19 มีนาคม-เมษายน 2559
WORLD TPP AEC AEC+3 AEC+6
มูลค้าการค้า (ล้านบาท) 93,716 48,326 5,711 52,491 52,491
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
เนื้อไก่สด-แปรรูป
≈ มูลค่าการค้าสินค้าวัตถุดิบและอาหารสัตว์ Thai กับ World, AEC, AEC+3, AEC +6,TPP) ≈
การค้าสินค้าวัตถุดิบอาหารสัตว์และอาหารสัตว์ ปี 2558 มูลค้าการค้า (ล้านบาท) 154,358 55,237 10,875 25,058 14,456
วัตถุดิบอาหารสัตว์ WORLD TPP AEC AEC+3 AEC+6
ดุลการค้า (ล้านบาท) -81,584 -16,886 2,641 7,094 6,679
นำเข้า (ล้านบาท) 117,971 36,062 4,117 8,982 3,888
ส่งออก (ล้านบาท) 36,387 19,175 6,758 16,076 10,567
ที่มา: ข้อมูลกรมปศุสัตว์
สัดส่วนปริมาณการค้ากับประเทศค่คู่ค้าที่สำคัญ นำเข้า 8,032,029 ตัน
ส่งออก 556,696 ตัน
20 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ดุลการค้าสินค้าปศุสัตว์ไทย AEC-TPP 2015
ดุลการค้าปศุสัตว์ไทยกับ AEC อาหารสัตว์ +2,641 ล.บาท สัตว์มีชีวิต +15,919 ล.บาท เนื้อ-ซากสัตว์ +46,034 ล.บาท ผลิตภัณฑ์นม +11,441 ล.บาท ไข่สด-แปรรูป +174 ล.บาท
ดุลการค้าปศุสัตว์ไทย AEC+3 อาหารสัตว์ +7,094 ล.บาท สัตว์มีชีวิต +15,919 ล.บาท เนื้อ-ซากสัตว์ +42,969 ล.บาท ผลิตภัณฑ์นม +11,674 ล.บาท ไข่สด-แปรรูป +215 ล.บาท
ดุลการค้าปศุสัตว์ไทย AEC+6 อาหารสัตว์ +6,679 ล.บาท สัตว์มีชีวิต + 15,919 ล.บาท เนื้อซากสัตว์ +42,836 ล.บาท ผลิตภัณฑ์นม -443 ล.บาท ไข่สด-แปรรูป +157 ล.บาท
ดุลการค้าปศุสัตว์ไทย-TPP อาหารสัตว์ -16,886 ล.บาท สัตว์มีชีวิต -135 ล.บาท เนื้อ-ซากสัตว์ -10,173 ล.บาท ผลิตภัณฑ์นม -12,197 ล.บาท ไข่สด-แปรรูป +337 ล.บาท
ที่มา: กรมปศุสัตว์ 2558 ไทยขาดดุลการค้าสินค้าปศุสัตว์กับประเทศสมาชิก TPP ทกุประเภท โดยเฉพาะสินค้าเนื้อโค-ผลิตภัณฑ์-วัตถุดิบอาหารสัตว์
ผลกระทบภาคปศุสัตว์ไทยเข้าร่วม TPP
TPP · ผู้นำผลิต-ตลาดสินค้าปศุสัตว์ของโลก ได้เปรียบ Economy Of Scale · ไทยเสียเปรียบทุกสินค้าเนือ้ โค-สกุร-ไก่ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ และแข่ ง ขั น ส่ ง ออก เนื้อไก่ · ปัจจุบันภาษี 0% แต่ไทยขยายตลาด ไม่ได้
21 มีนาคม-เมษายน 2559
RCEP · ขนาดประชากรและเศรษฐกิจมากกว่า TPP · ไทยมีการค้ากับสมาชิกกลุ่มมากกว่า TPP · สมาชิก RCEP เข้า TPP ส่วนใหญ่เป็น ผู้บริโภคต้องการความมั่นคงอาหาร/ ประโยชน์อตุสาหกรรม อาหารทะเล และเครื่องนุ่งห่ม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
วัตถุดิบ และอาหารสัตว์ ไทย... Food Feed Fuel
ยั่งยืน
· พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล · นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย และที่ปรึกษาสภาหอการค้า
แง่คิดจากละครไทย
22 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
เมื่อราคาไข่ไก่ขึ้น? เมื่อราคาไข่ไก่ตก?
เท่ากับราคาอาหารสัตว์แพง
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 8.50 บาท/กิโลกรัม ซื้อต่ำกว่านี้ไม่ได้ ราคาอาหารสัตว์ ขายสูงกว่านี้ไม่ได้
ทูน่า-โลมา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
23
กุ้ง-เต่า
ประมงที่ผิดกฎหมาย (non IUU)
การบุกรุกป่า
24
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ปริมาณความต้องการอาหารสัตว์ไทย
ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, คาดการณ์ ธ.ค. 2558
ความต้องการอาหารสัตว์ ตามประเภทสัตว์ ปี 2559
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
25
ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, คาดการณ์ ธ.ค. 2558
วัตถุดิบหลักในอาหารสัตว์
ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, คาดการณ์ ธ.ค. 2558
การประมาณการประชากรสัตว์,ปริมาณอาหารสัตว์ และการใช้วัตถุดิบ ปี 2559
26
Value Chain อุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ และปศุสัตว์
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรม อาหารสัตว์ ปี 2575
มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และเหมาะสม (GOOD AGRICULTURAL PRACTICES: GAP) สำหรับการผลิตข้าวโพดเมล็ดแห้ง (มกษ. 4402-2553)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มาตรฐานระบบผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อย่างยั่งยืน (Standard for Sustainable Malze Production: SSMP)
มีนาคม-เมษายน 2559
27
RELATIONSHIP BETWEEN TRANS PACIFIC AND FEED RAW MATERIALS USED IN THAILAND •
Seksom Attamangkune, Ph.D. Kasetsart University •
Food Feed Fuel
Facts about Thailand
Area : 514,000 sq.km (200,000 sq. miles) [equivalent in size to France or Texas] Agriculture Land : 238,784 sq.km. Irrigation Area : 47,648 sq.km. (20%) No Irrigation Area : 191,136 sq.km. (80%) · 37.6% (24.5 millions) of total population (65 millions) are in Agricultural sector · 67% of farmers are in the range of 15-56 years old
28 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
Crop
production depends largely on natural resources and labors Crop production is 46.5% of total land Only 48% of crop area owned by farmers Multiple cropping index = 110
Thai’s major agricultural products Cash crops Area (Million Rai) Rice Rubber Corn Tapioca Sugar cane Palm oil
60+16 15 7-8 8 8 4-5
Memberships: USA Japan Malaysia Vietnam Singapore* Brunei* Australia New Zealand* Canada Mexico Chile* Peru
* P4 Trade Agreement
Global supply of major feedstuffs
Soybean Rapeseed
and Canola
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
World major oil seed production
มีนาคม-เมษายน 2559
29
Brasil
Soybean expansion in Brazil 30 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
Soybean production in Brazil
Soybean production in Argentina
31 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
Time table for global soybean production
Global Soybean Production by Country (Values in Metric Tons)
States: 105,732,000 Brazil: 97,000,000 Argentina: 57,000,000 Other: 21,191,000 United
China:
11,500,000 India: 11,500,000 Paraguay: 8,800,000 Canada: 6,200,000
Rape Seed and Canola
Global Rapeseed Production by Country (Values in Metric Tons)
Union: 21,400,000 Canada: 14,600,000 China: 14,100,000 European
32
Others:
9,580,000 India: 7,500,000 Japan: 2,000
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
World major grain production Corn
Wheat
Global Corn Production by Country (Values in Metric Tons)
States: 343,678,000 China: 229,000,000 Others: 96,254,000 Brazil: 77,000,000 EU-27: 65,773,000 Ukraine: 26,000,000 Argentina: 25,000,000 India: 23,500,000 Mexico: 23,500,000
United
Africa: 13,500,000 Russia: 13,000,000 Canada: 12,300,000 Indonesia: 9,600,000 Philippines: 8,300,000 Nigeria: 7,000,000 Ethiopia: 7,000,000 Serbia: 6,700,000 South
Global Wheat Production by Country (Values in Metric Tons)
EU-27: 147,875,000 China: 130,000,000 India: 90,000,000 United States: 58,456,000 Russia: 57,000,000 Others: 55,265,000 Canada: 27,500,000 Australia: 26,000,000 Pakistan: 25,000,000
Ukraine: 24,000,000 Turkey: 18,500,000 Iran: 14,000,000 Kazakhstan: 13,500,000 Argentina: 11,500,000 Egypt: 8,360,000 Morocco: 7,800,000 Uzbekistan: 7,200,000
Palm oil
มีนาคม-เมษายน 2559
33 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
Major countries 1. Indonesia 2. Malaysia 3. Thailand
IMF: Spot Crude, $/barrel
34
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
Biodiesel Production
Biodiesel yield per acre
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
35
Current Thai’s agriculture situation
Wheat grain imported to Thailand
By-products from food industries Rice bran Extracted rice Wheat bran Tapioca pulp
36
bran
Palm kernel meal Brewery dried grain Copra meal DDGS
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
Others potential By-products Glycerol Yeast Vinasses
Bagasses Algae Insects
Conclusions Benefit
in terms of imported RMs for Feed industry but detriment for Thai farmers and related industries
Too
much risks for cheaper imported foods from world leading countries in agricultural production i.e. Poultry from USA, Meat and milk from Australia and New Zealand
The
overall trading of the country and the government’s policies
ª·Á ¦µ³®r°µ®µ¦Â¨³°µ®µ¦´ ªr°¥nµ ¦ª Á¦Èª oª¥ TANGO
TANGO is the next-generation FT-NIR spectrometer
³®r Á· ¦µ ª ¦ µ ´ 宦 r ªo ¥ » ¬ ª °¡Á· « µ¦ ´ o Á °µ® ° O r.com
NG bruke TA .BOPT.TH@ o
°n Inf · Ä
Á à 襸 )7 1,5 ¦´ ¦° à ¥ %UXNHU Ä o µ nµ¥ oª¥® oµ °´¤ ´ ¨³¦³ µ¦ ´ µ¦ ´ª°¥nµ Á¡¸¥ ¦¦ »Ä oª¥ ª´ ¦³ ´ µ¦´ µ Â È ¦µª r° ´ à ¤´ · nµ¥Ã° ¤ µ¦¦³®ªnµ Á ¦º°É %UXNHU 2SWLFV 1,5 Á à ¦¤·Á °¦r » ¦»n Å o à ¥ ¦ ¤ µ¦¤µ ¦ µ 宦´ ¨· £´ r®¨µ ®¨µ¥ · Ťnªµn ³Á È °µ®µ¦ ´ ªrεÁ¦È ¦¼ ª´ » · °µ®µ¦´ ªr  o Á ¦º°É ¦» ¦ ¨· £´ rÄ °» µ ¦¦¤ Îʵ µ¨ ¤ µ¦ ° %UXNHU µ¤µ¦ εŠoÅ oà ¥ ¦ ¨³®µ εÁ È µ¤µ¦ ¦´ Á ¨¸¥É Á¡º°É Ä®oÁ oµ ´ ´ª°¥nµ Ä Â n¨³ o° ¸ÅÉ o
Á à 襸Á ¸¥¦r° · ¢¦µÁ¦ Á à ¦Ã ¸ 1HDU ,QIUDUHG 6SHFWURVFRS\ 1,56 Á È »  ε ´ nª¥Ä®o µ¦ª·Á ¦µ³®r » £µ¡ ° ´ª°¥nµ εŠo°¥nµ ¦ª Á¦ÈªÃ ¥Å¤n °o 娵¥ ´ª°¥nµ ®¦º°Ä oµ¦Á ¤¸Ä Ç ¸É ε ´ µ¦ª·Á ¦µ³®r ªo ¥ 1,5 Á¡¸¥  n® ¹É ¦´ µ¤µ¦ Ä®o Ê °o ¤¼¨° r ¦³ ° µ Á ¤¸ ° ´ª°¥nµ Å o ®¨µ ®¨µ¥ · Ťn µÎ Á È o° ε µ¦ª·Á ¦µ³®r ʵΠÁ®¤º° µ¦ª·Á ¦µ³®r µ Á ¤¸Â °º É Ç °Á · ª³ ¤Á ¦º°É ¤º° ¡ ³ ¼Áo ¸¥É ª µ ¨³¦´ ¢´ ´¤ µ¡¦o°¤°µ®µ¦ªnµ ¼ ¦· ¬ ´ ¦¼Á °¦r°°¡ · r Ä µ 9,&7$0 $6,$ «¼ ¥r · oµÅ Á ¦» Á ¡¤®µ ¦ Ä ¦³®ªnµ ª´ ¸É ¤¸ µ ¤ µ¦µ · Á ¦º°É ¤º°Ã ¥ ¼Áo ¸¥É ª µ ¦³ ´ µ µ µ · ¡¦o°¤ ¦· µ¦ ° ªnµ 6QDFN /HDUQ ¦· µ¦ » ª´ ¼ & ¨³ µ · £µ¬µÅ ¥ µ · £µ¬µ°´ §¬
Ä · n° Info.BOPT.TH@bruker.com
Innovation with Integrity
Bruker BioSpin AG Bangkok - Thailand Phone +66 2 642 6900 Fax +66 2 642 6901
F T-NIR
เสวนาเรื่อง “อนาคตปศุสัตว์ ไทย กับ FTA
และ TPP วัตถุดิบอาหารสัตว์, อาหารสัตว์, เวชภัณฑ์สัตว์, สุกร, โคเนื้อ, โคนม” · ชยานนท์ กฤตยาเชวง · นายกสมาคมธุรกิจเวชภัณฑ์สัตว์ “Begin with small local actions, drive by a deep sense of ethics and values”
37
กระแสต่างๆ ในโลกปัจจุบัน และอนาคตอันใกล้ One World One Health - AMR (Antimicrobial Resistance) VS Biosecurity System - Animal Welfare - Sustainability · สิ่งแวดล้อม, Global Warming · สังคม (มาตรฐานแรงงาน) · เศรษฐกิจ - ฟาร์มมาตรฐาน + GAP + GMP + HACCP · 100% · Traceability · Food Safety · มาตรฐานใหม่
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
สุขภาพหนึ่งเดียวทั้งโลก One World - One Health
Food Feed Fuel
จัดโดย คณะกรรมการกลุ่มธุรกิจปศุสัตว์ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย วันที่ 17 มีนาคม 2559 โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค
การค้าและการเมืองระหว่างประเทศ - FTA - TPP - RCEP - กฎเกณฑ์ใหม่ การขยายการลงทุนของต่างชาติใน AEC และไทย
จุดอ่อนของการปศุสัตว์ไทยที่ต้องรีบแก้ไข ขาดการจัดทำ Road Map ของอุตสาหกรรมปศุสัตว์ 2025 เพื่อรองรับ FTA+PTT โดย ภาครัฐ และเอกชน - การผลิตที่ได้มาตรฐานและต้นทุนตํ่า - การสร้างมูลค่าเพิ่ม - การพัฒนาตลาด และผู้บริโภค - การส่งเสริมจากภาครัฐ (การออกกฎหมายต่างๆ) เจ้าภาพหลัก : กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงพาณิชย์ สภาหอการค้า (คณะกรรมการอาหารและเกษตร)
38 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ขาดข้อมูลอุตสาหกรรมที่ชัดเจน และใช้เป็นฐานเดียวกัน - ข้อมูลการผลิต - ข้อมูลการบริโภค - ข้อมูลด้านการตลาดทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ (AEC) ขาดการใช้ประโยชน์จาก FTA อย่างจริงจัง เนือ่ งจากขาดการศึกษาจากภาครัฐ และเอกชน ในการปรับเปลีย่ นกฎหมายทีเ่ ป็นอุปสรรคในการใช้ประโยชน์ เช่น การขอคืนภาษีตา่ งๆ หรือ ยกเลิกการจัดเก็บในบางกลุ่มสินค้า ภาคผลิตขาดการพัฒนาตนเองและเตรียมการองรับกฎเกณฑ์ต่างๆ แต่ยังเน้นการพึ่งพา ภาครัฐในการแก้ปัญหา และการติดตามสถานการณ์ต่างๆ ที่กระทบกับการผลิตและการ บริโภคตลอด การไม่มีแผน Zoning ภาคปศุสัตว์ในปัจจุบันและอนาคต ที่ประกาศให้ทราบ การออกกฎหมายภาครัฐ มุ่งเพื่อควบคุมและบรรลุเป้าหมายของภาครัฐ ไม่ใช่ภาคปศุสัตว์ ของประเทศ - พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ฯ - ประกาศกระทรวงเกษตรฯ และกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับ AMR เช่น Medical Premix (ยาผสมอาหารสัตว์) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับปัจจุบันและอนาคต ไม่มีแผนการพัฒนาภาคปศุสัตว์ที่ชัดเจน
ปศุสัตว์ไทย พร้อมก้าวไปกับ AEC Food Feed Fuel
· สิทธิพร บุรณนัฏ · อุปการะโดยสมาคมโคเนื้อแห่งประเทศไทย ผู้จัดการสหกรณ์เครือข่ายโคเนื้อ จำกัด
ตลาดประชากรของ AEC 625 ล้านคน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
39 ส่วนใหญ่เป็นคนหนุ่มสาว มีมูลค่าทาง GDP เป็นอันดับ 7 ของโลก
และจะมีมูลค่า 3.6 ล้านล้านดอลล่าร์ ในปี 2563
คนหนุ่มสาวใน AEC มีรายได้สูงขึ้น
เกิดการเปลี่ยนแปลง ในพฤติกรรมการบริโภค
40 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
จากอาหารคาร์โบไฮเดรต (แป้ง) ที่ทำให้มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น
ไปสู่อาหารที่เป็นโปรตีน และไขมันที่ดี
ทำให้มีผลดีต่อธุรกิจอาหาร
ทางด้านโคเนื้อ
มีนาคม-เมษายน 2559
ตลาดทางประเทศจีน ในประเทศจีน มีประชากร 1400 ล้านคน เป็นประเทศที่มี การบริโภคเนื้อโค 10 กิโลกรัม ต่อ 1 คนใน 1 ปี
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
เรามีประชากรที่นับถือศาสนาอิสลาม ครึ่งหนึ่งของประชาการประมาณ 300 ล้านคน
41
ประเทศไทยมีผลผลิตมันสำปะหลัง ในปี 2558/2559 มีปริมาณ 31.81 ล้านตัน
เราสามารถใช้มันสำปะหลังในสูตรอาหาร เลี้ยงโคขุนได้ไม่ตํ่ากว่า 40%
42 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ในเรื่องการส่งเนื้อโคไปขาย ในตลาด AEC เรายังมีปัญหา ในเรื่องสุขอนามัย ในเรื่องโรค ปาก และเท้าเปื่อย
ปศุสัตว์ไทย พร้อมก้าวไปกับ AEC และเวทีการค้าโลก ครั้งที่ 9
อนาคตสุกรไทย กับ FTA และ TPP · น.สพ.วิวัฒน์ พงษ์วิวัฒนชัย · กรรมการบริหารสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ประธานสหกรณ์การเกษตรปศุสัตว์ราชบุรี จำกัด
Food Feed Fuel
17 มีนาคม 2559 โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
43
อนาคตสุกรไทยกับ FTA และ TPP กรอบการนำเสนอ
ภาพอุตสาหกรรมสุกรโลก TPP: “ม้าไม้เมืองทรอย” ที่มีตลาดสหรัฐอเมริกาเป็นตัวล่อ TTIP: Transatlantic Trade and Investment Partnership หรือ FTA USEU ทีฟ่ าร์มปศุสตั ว์ และสุกร EU จะถูกคุกคาม ต่อจาก TPP ในเอเชีย ภาพการผลิตสุกรไทยและมาตรฐานระดับแนวหน้า ASIA AFTA /JTEPA /RCEP กับการค้าเสรีในภูมิภาคเดียวกัน ภาพเปรียบเทียบอุตสาหกรรมสุกรในกลุ่มอาเซียน RTAs Thai-EEU กับกลุ่มประเทศรัสเซีย
การผลิตสุกรโลก ปี 2554-2559 Prodution China European Union United States Brazil Russia Vietnam Canada Phillppines Mexico Japan Kores, South Others TOTAL
Source : USDA
44
Pork Selected Countries Summary 1,000 Metric Tons (Carcass Weight Equivatent) 2011 2012 2013 2014 50,604 53,427 54,930 56,710 22,953 22,526 22,359 22,533 10,331 10,554 10,525 10,370 3,227 3,330 3,335 3,400 2,064 2,175 2,400 2,510 2,262 2,307 2,349 2,425 1,817 1,844 1,822 1,805 1,288 1,310 1,340 1,353 1,202 1,239 1,284 1,290 1,267 1,297 1,309 1,264 837 1,086 1,252 1,200 5,729 5,773 5,918 5,706 103,581 106,868 108,823 110,566
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
2015E 56,375 23,000 11,158 3,451 2,630 2,450 1,840 1,370 1,335 1,270 1,210 5,369 111,458
2016F 56,500 22,900 11,314 3,510 2,780 2,475 1,880 1,390 1,385 1,290 1,230 5,308 111,962
2015E 57,200 20,662 9,340 2,929 2,887 2,545 2,412 2,125 1,820 1,579 898 6,547 110,944
2016F 57,140 20,582 9,409 2,979 2,931 2,540 2,437 2,195 1,857 1,609 928 6,619 111,226
การบริโภคสุกรโลก ปี 2554-2559 Consumption China European Union United States Russia Brazil Japan Vietnam Mexico Kores, South Phillppines Taiwan Others TOTAL
Source: USDA
Pork Selected Countries Summary 1,000 Metric Tons (Carcass Weight Equivatent) 2011 2012 2013 2014 51,108 53,802 55,406 57,169 20,822 20,382 20,147 20,381 8,337 8,441 8,665 8,650 3,035 3,239 3,267 3,024 2,644 2,670 2,751 2,846 2,522 2,557 2,549 2,543 2,238 2,275 2,315 2,389 1,710 1,850 1,956 1,991 1,487 1,546 1,628 1,737 1,432 1,446 1,511 1,552 919 906 892 875 6,916 7,146 7,273 6,887 103,170 106,260 108,360 110,044
ผู้นำเข้าหลักสุกรโลก ปี 2554-2559 2016F 1,250 960 850 625 454 400 250 220 210 200 135 912 6,466
ผู้ส่งออกหลักสุกรโลก ปี 2554-2559 Total Exports United States European Union Canada Brazil China Chile Mexico Serbia Australia Vietnam South Africa Others TOTAL
Source: USDA
Pork Selected Countries Summary 1,000 Metric Tons (Carcass Weight Equivatent) 2011 2012 2013 2014 2,357 2,440 2,262 2,203 2,150 2,165 2,227 2,166 1,197 1,243 1,246 1,218 584 661 585 556 244 235 244 277 139 180 164 163 86 95 111 117 130 4 6 4 25 41 36 36 37 32 36 40 40 3 3 5 8 118 168 103 63 6,955 7,268 7,027 6,873
45 2015E 2,268 2,350 1,210 565 250 185 150 40 38 40 12 57 7,145
2016F 2,370 2,330 1,210 580 250 200 250 45 40 40 14 30 7,259
มีนาคม-เมษายน 2559
Source: USDA
2015E 1,270 920 845 600 502 380 230 210 220 300 130 831 6,438
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
Total Import Japan Mexico China Korea, South United States Hong Kong Australia Philippines Canada Russia Singapore Others TOTAL
Pork Selected Countries Summary 1,000 Metric Tons (Carcass Weight Equivatent) 2011 2012 2013 2014 1,254 1,259 1,223 1,332 594 706 783 818 758 730 770 761 640 502 388 480 364 364 399 457 432 414 399 347 175 194 183 191 145 138 172 200 204 240 220 214 971 1,077 868 515 97 105 98 117 924 1,129 1,094 926 6,558 6,858 6,597 6,358
โอกาส-ภัยคุกคาม จากอุตสาหกรรมสุกรโลก
ภาพการเติบโตสหรัฐอเมริกาผูส้ ง่ ออกสุกรโลกอันดับ 1 ของโลก ทีม่ กี ารผลิตเพิม่ 2-3% ต่อปี จากปี 1989 (USD 394 ล้าน) เป็นปีแรกที่ US ใช้ขอ้ ตกลงเขตการค้าเสรีมาขยายการ ส่งออกสุกรของประเทศจนถึงปี 2014 (USD 6,670 ล้าน) มีมูลค่าการค้าสุกรเพิ่ม 1,550% ปริมาณการค้าสุกรเพิ่ม 1,268%) ปี 2015 NPPC ตีปกี กับ TPP โดยนักเศรษฐศาสตร์สหรัฐฯ คาดว่าผูผ้ ลิตสุกรในสหรัฐฯ จะเติบโตอย่างก้าวกระโดด (Exponentially) หลัง TPP มีผล
TPP ภัยคุกคามโลก จากอุตสาหกรรมสุกรสหรัฐอเมริกา
46 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
การเติบโตของการส่งออกหมูสหรัฐผ่าน FTA
US ใช้ FTA ขยายตลาดสุกร FTA US-CHILE ปี 2004 ทำให้ยอดส่งออกสุกรเพิ่มขึ้น 2003 2014 USD 0.1 million USD 50.0 million ส่วนหนึ่งของเนื้อสุกรนำเข้าจากสหรัฐฯ ชิลีจะ Re-Export ต่อไปประเทศที่สาม FTA US-PERU ปี 2009 ทำให้ยอดส่งออกสุกรเพิ่มขึ้น 2008 2014 USD 0.65 million USD 6.7 million สหรัฐอเมริกาทำข้อตกลงการค้าเสรีพหุภาคี 10 NAFTA กับแคนาดา เม็กซิโก ตั้งแต่ปี 1994
ภัยคุกคาม จากอุตสาหกรรมสุกรโลก (สหรัฐอเมริกา)
การแข่งขันทางการค้าทั่วไปมี 3 ลักษณะ
1. ทำตลาดในส่วนที่ขาดในประเทศที่ผลิตไม่เพียงพอ โดยผู้ผลิตสุกรในนานาประเทศผลิต เพิ่มเพื่อขยายโอกาสทางการตลาด 2. สร้างตลาดขึ้นมาใหม่ (ส่งเสริมการบริโภคเพิ่มทั้งในประเทศและประเทศเป้าหมายอื่นๆ)
3. แข่งขันชิงตลาดโดยอาศัยความได้เปรียบด้านต้นทุนทำลายล้างผูผ้ ลิตผูค้ า้ เดิม จนกลาย เป็นผู้ผูกขาดในสินค้านั้นๆ
47 มีนาคม-เมษายน 2559
จากตัวเลขประมาณการผลิต - บริโภคสุกร ปี 2016 เท่ากับ 111.962 ล้านตัน 111.228 ล้านตัน = 0.734 ล้านตัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
ทำไมจึงมองสหรัฐฯ กำลังเป็นภัยคุกคามการค้าสุกรโลก
30 บริบทของ TPP
48 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
สหรัฐฯ ใช้ TPP มุ่งตลาดเนื้อสัตว์เอเชีย และใช้ TTIP ลุยตลาดเนื้อสัตว์ยุโรป
ผลผลิตของ อุตสาหกรรมสุกรไทย ปี 2555 2556 2557 2558 2559(f)
จำนวน แม่พันธุ์ ณ ต้นปี 840,000 920,000 950,000 990,000 1,030,000
จำนวน สุกรขุน ที่ผลิต ระหว่างปี 13,900,000 14,700,000 16,000,000 16,500,000 17,000,000
ที่มา สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ
อุตสาหกรรมสุกรไทย โตเฉลี่ย 5% ต่อปี 17
จำนวนมาตรฐานฟาร์มสุกร ในประเทศไทย
ที่มา : กรมปศุสัตว์
มาตรฐานฟาร์มสุกรของอาเซียน ASEAN GAP หรือ GAHP (Good Animal Husbandry Practices) ของแต่ละ ประเทศในอาเซี ย นที่ อุ ต สาหกรรมไทย สามารถเข้าเกณฑ์มาตรฐานได้ ประกอบ ด้วย
มีนาคม-เมษายน 2559
49 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
กรมปศุสัตว์ ณ วันที่ 13 มกราคม 2558 จำนวน จำนวน พื้นที่เขต ฟาร์ม สุกรรวม เขต 1 290 602,646 เขต 2 606 1,028,183 เขต 3 289 416,913 เขต 4 669 418,410 เขต 5 454 811,695 เขต 6 318 408,097 เขต 7 281 1,900,244 เขต 8 481 376,641 เขต 9 26 96,907 รวม 3,415 6,059,716
1. ไทย-Q และ GAP 2. อินโดนีเซีย - GAP 3. มาเลเซีย - SALM (Skim Amalan Ladang Baik Malaysia) หรือ Malaysian Farm Certification Scheme for GAP 4. ฟิลิปปินส์ - Phil GAP 5. เวียดนาม - Viet GAP (ที่มา : กรมปศุสัตว์-สำหรับ บรูไน, กัมพูชา, สปป.ลาว, สหภาพพม่า ยังไม่ชัดเจนเรื่องมาตรฐานด้านปศุสัตว์)
AFTA/JTEPA/RCEP กับการค้าภูมิภาคเดียวกัน
50
AFTA มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในฐานะที่เป็น ฐานการผลิตที่สำคัญเพื่อป้อนสินค้าสู่ตลาดโลก ใช้ระบบ CEPT (Common Effective Preferential Tariff Scheme) ซึง่ กำหนดให้ประเทศสมาชิกให้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีศลุ กากร แก่กันแบบต่างตอบแทน JTEPA เพือ่ ความร่วมมือในทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและญีป่ นุ่ ทีจ่ ะขยายการค้าระหว่างกัน โดยการปรับลดภาษีให้ต่ำลง และเป็นศูนย์ เพื่อเกิดการค้าอย่างเสรี RCEP จะสร้างโอกาสที่ต่อยอดไปทั้ง 16 ประเทศ ที่อุตสาหกรรมสุกรและปศุสัตว์ ไม่แตกต่างกัน ตามกฎเกณฑ์ที่แต่ละประเทศร่วมเจรจาด้วยกันมา
FTA อื่นๆ ในอนาคต Thai-EEU กลุ่มรัสเซีย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
การเปิดเสรีทางการค้าระหว่างไทย-สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย (Eurasian Economic Union: EEU) ประกอบด้วยสมาชิกรวม 5 ประเทศ คือ 1. รัสเซีย 2. เบลารุส 3. คาซัคสถาน 4. คีร์กีซสถาน 5. อาร์มีเนีย ซึ่งปัจจุบันกระทรวงพาณิชย์อยู่ระหว่างการตรวจรับรายงานการศึกษาดังกล่าว โดยไทยได้ ดุลการค้ากับรัสเซียต่อปี ประมาณ 1,100 ล้านบาท
ข้อคิดทิ้งท้าย อย่าหลงใหลกับ “ม้าไม้เมืองทรอย” จนกลายเป็น “ไก่ในเข่ง” ทั้ง…แต่ละภาคอุตสาหกรรมในไทยที่หวังภาษีศูนย์ เพื่อแลกกับ ความล่มสลายของภาคเกษตรภาคปศุสัตว์ และเพื่อน ประเทศสมาชิก ASEAN อย่าทิ้งกันอย่าลืม RCEP อย่าหลงใหล อเมริกา ภาษีศูนย์ จงเกื้อกูล จับมือไทย อย่าได้ถอย ทีพีพี เปรียบผีห่า ม้าเมืองทรอย ก่อนถูกสอย ไก่ในเข่ง เร่งเข้าใจ
Egg Industry Overview 2016
หน่วย
2555
2556
2557
2558
2559
ตัว
535,230
621,052
627,342
510,095 814,785*
ล้านตัว ล้านฟอง ล้านฟอง/วัน ล้านฟอง บาท/ฟอง บาท/ฟอง
45.54 13,320 37 272.78 2.43 2.58
48.16 13,519 37.04 274.88 3.02 2.86
51.26 14,265 39.04 245.27 2.87 2.99
53.74 15,103 41.38 340.37 2.49 2.8
ที่มา : กรมปศุสัตว์, สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมการค้าภายใน, กรมศุลกากร หมายเหตุ : * ตัวเลขตามแผนการนำเข้าของผู้ประกอบการ ** ตัวเลขเฉลี่ย ณ เดือน ม.ค.-ก.พ. 59 การผลิตไข่ไก่ในประเทศที่สำคัญ
ประเทศ 2555 2556 2557 จีน 484 490 496 สหรัฐฯ 93 93 94 อินเดีย 66 68 70 เม็กซิโก 48 48 48 ญี่ปุ่น 41 41 41 ไทย* 13.32 13.79 14.26 อื่นๆ 505 518 532 โลก 1,250 1,272 1,296
พันล้านฟอง 2558 2559 502 509 95 95 73 75 49 49 41 40 15.10 15.37 545 559 1,319 1,343
ที่มา : Livestock and Poultry: World Markets and Trade, ปี 2557-2559 คาดการณ์โดยสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออก ไข่ไก่ หมายเหตุ : *คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
การผลิตไข่ไก่ในประเทศที่สำคัญ ปี 2559 (พันล้านฟอง)
2.61** 2.78**
51 มีนาคม-เมษายน 2559
ชนิด แม่พันธุ์ PS (รวมนำเข้า+ผลิตในปท.) แม่ไก่ไข่ A8 ผลผลิตไข่ไก่ เฉลี่ย การส่งออกไข่ไก่สด ราคาไข่ไก่คละ** ต้นทุนผลิตไข่ไก่**
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
ภาพรวมอุตสาหกรรมไข่ไก่ของไทย ปี 2559
Food Feed Fuel
โดย นายมงคล พิพัฒสัตยานุวงศ์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่
ประเทศผู้ส่งออกไข่ไก่รายใหญ่ของโลก ประเทศ เนเธอร์แลนด์ ตุรกี โปแลนด์ เยอรมัน มาเลเซีย ไทย อื่นๆ โลก
2555 2556 2557 2558 2559 7.4 7.3 8.0 8.0 9.0 4.3 5.3 7.0 9.0 11.0 3.1 3.4 4.0 4.0 4.0 2.5 2.8 3.0 3.0 4.0 2.5 2.8 3.0 4.0 4.0 0.27 0.27 0.24 0.34 0.42 11.8 10.5 10.0 9.0 8.0 31.8 32.2 33.0 34.0 35.0
พันล้านฟอง สัดส่วนโลก 26% 32% 12% 11% 12% 1% 22% 100%
ที่มา : Livestock and Poultry: World Markets and Trade, ปี 2557-2559 คาดการณ์โดยสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ หมายเหตุ : *คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
ประเทศผู้ส่งออกไข่ไก่รายใหญ่ของโลก ปี 2559 (พันล้านฟอง) ประเทศผู้นำเข้าไข่ไก่รายใหญ่ของโลก ปี 2559 (พันล้านฟอง)
52 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ประเทศผู้นำเข้าไข่ไก่รายใหญ่ของโลก ประเทศ เยอรมัน อิรัก เนเธอร์แลนด์ ฮ่องกง สิงคโปร์ อื่นๆ โลก
2555 2556 2557 2558 2559 7.2 7.1 7.0 7.0 7.0 3.3 3.4 4.0 4.0 4.0 3.0 3.3 4.0 4.0 5.0 1.8 1.9 2.0 2.0 2.0 1.3 1.3 1.0 1.0 1.0 12.0 12.0 12.0 12.0 12.0 28.6 29.1 30.0 30.0 31.0
พันล้านฟอง สัดส่วนโลก 23% 12% 15% 7% 5% 39% 100%
ที่มา : Livestock and Poultry: World Markets and Trade, ปี 2557-2559 คาดการณ์โดยสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่
อัตราบริโภคไข่ไก่ของบางประเทศ ประเทศ เม็กซิโก จีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ไทย*
2555 427 357 326 331 204
2556 427 360 330 332 210
2557 428 363 334 333 215
2558 430 366 338 335 225
ฟอง/คน/ปี 2559 430 369 342 336 227
ที่มา : FAO, ปี 2557-2559 คาดการณ์โดยสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ หมายเหตุ : *คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
สัดส่วนต้นทุนการผลิตไข่ 1 ฟอง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด สภาพอากาศที่แปรปรวน มีผลต่อสุขภาพของแม่ไก่ไข่ ส่งผลให้อัตราการให้ไข่ลดลง โครงสร้างการผลิตไข่ไก่ขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่อุตสาหกรรมแปรรูปไข่ไก่มีน้อย การผลิตไม่สอดคล้องกับการบริโภคไข่ไก่ (การบริโภคต่อคนต่อปีอยู่ในเกณฑ์ต่ำ) การส่งออกไข่ไก่ของไทยมีข้อจำกัดทั้งในเรื่องของตลาด และราคา
ขีดความสามารถในการแข่งขันไข่ไก่ไทย จุดแข็ง มีระบบการตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มที่มีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการผลิตไข่ไก่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นผู้นำด้านมาตรฐานการจัดการฟาร์ม ความปลอดภัยด้านอาหารและระบบ มาตรฐานฟาร์มในอาเซียน จุดอ่อน วัตถุดิบอาหารสัตว์หลักต้องนำเข้าจากต่างประเทศ และมีราคาแพง ส่งผลทำให้ ต้นทุนการผลิตสูง การส่งออกไข่ไก่เป็นการส่งออกเพื่อระบายผลผลิตส่วนเกินและรักษาระดับราคา ภายในประเทศ
53 มีนาคม-เมษายน 2559
ที่มา : สมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
อัตราบริโภคไข่ไก่ของบางประเทศ ในปี 2559 (ฟอง/คน/ปี)
ข้อเสนอแนะ โครงสร้างการผลิตไข่ไก่ขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่อุตสาหกรรมแปรรูปไข่ไก่มีน้อย สนับสนุนภาคเอกชนลงทุนอุตสาหกรรมแปรรูปเพื่อรองรับผลผลิตไข่ไก่ส่วนเกิน เพิ่มการบริโภคไข่ไก่โดยให้ความรู้ความเข้าใจถึงคุณประโยชน์ไข่ไก่ที่ถูกต้อง เจรจาเปิดตลาดส่งออกผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ไปยังตลาดใหม่ โดยเฉพาะประเทศในกลุ่ม AEC
54 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
อนาคตปศุสัตว์ ไทย...
ไก่และไข่ ที่มั่นคงยั่งยืน 17 มีนาคม 2559
การแข่งขันในตลาดโลก
Food Feed Fuel
· คึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ · ผู้จัดการสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย
ประเทศผู้นำเข้าที่สำคัญของโลก 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
55
ตลาดเนื้อไก่ของไทย 2558
ตลาดญี่ปุ่น
56 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
การแข่งขันในตลาดญี่ปุ่น เนื้อไก่สด
ปี 2557
เนื้อไก่แปรรูป ปี 2558
แมคฯ ญี่ปุ่นจ่อใช้ไก่ไทย หลังโดนพิษเนื้อหมดอายุจากจีน (ก.ค. 57)
ตลาดสหภาพยุโรป
การแข่งขันในตลาด EU
เนื้อไก่สดหมักเกลิอ ปี 2557 ปี 2558
ปี 2557
เนื้อไก่แปรรูป ปี 2558
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
57
ปัญหาในตลาด EU รัสเซียได้ประกาศมาตรการห้ามนำเข้าสินค้าจำพวก
เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ ปลา และ ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากนมของสหภาพยุโรป, สหรัฐฯ, ออสเตรเลีย, แคนาดา และนอร์เวย์ ตั้งแต่กลางปี 2557 ค่าเงินยูโรอ่อนค่า ความเข้มงวดในการตรวจเชื้อซัลโมเนลล่าในสินค้าไก่หมักเกลือ การจำกัดโควต้านำเข้าเนื้อไก่ จีนฟ้อง EU ต่อ WTO เพื่อขอโควต้าเนื้อสัตว์ปีก
เปรียบเทียบค่าเงิน
การส่งออกเนื้อไก่ของไทย 43 ปี
58
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
การส่งออกเนื้อไก่ของไทย 43 ปี (ต่อ)
ทำอย่างไรให้มั่นคง ยั่งยืน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
59
ราคาไก่เนื้อ 2550-58
ความพร้อมในห่วงโซ่การผลิต
60 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ทำอย่างไรให้มั่นคง ยั่งยืน รักษาคุณภาพ ดูแลแรงงาน ปลอดภัยจากโรคสัตว์
ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ไม่เพิ่มภาระต้นทุน ไม่โจมตีกันเอง
1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥
Pellet mill Dryer
Extruder
Pulverizer
Mixer
Hammer mill
อนาคตปศุสัตว์ไทย...
ไก่ และ ไข่
ที่ยั่งยืน ปี 2016
Food Feed Fuel
· นายสมศักดิ์ ฤทธิ์จรุง · นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่พันธุ์
อายุการเลี้ยงสั้น 35-40 วัน ให้ผลผลิต เป็นที่นิยมของผู้บริโภคทุกชนชาติ ผู้ประกอบการมีการปรับตัวเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว
ผู้บริโภคเพิ่มขึ้น การท่องเที่ยว แรงงาน วิกฤติช่วยปรับสมดุลย์การผลิต โรคระบาดในประเทศอื่นๆ สภาพแล้ง ขาดแคลนนํ้า
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
ไก่เนื้อ ธุรกิจที่มองเห็นโอกาสอยู่เสมอ
มีนาคม-เมษายน 2559
61
การผลิตและการตลาดไก่เนื้อของโลก การตลาด
การผลิต
ที่มา : คณะกรรมการบริหารสินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์
62 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
1. ภายใน 1.620 ล้านตัน 70%
2. ส่งออก 0.70 ล้านตัน 30%
แปรรูป 470,000 ตัน 67% เนื้อไก่สด 230,000 ตัน 33%
ที่มา : คณะกรรมการบริหารไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์
สถานการณ์การส่งออกไก่เนื้อของไทย
ที่มา : คณะกรรมการบริหารไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์
การผลิตไก่เนื้อของไทย ปี 2556
ที่มา : คณะกรรมการบริหารสินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
63
โครงสร้างต้นทุนการผลิตไก่เนื้อ
โครงสร้างต้นทุนการผลิตลูกไก่
ที่มา : คณะกรรมการบริหารสินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์
การบริโภคเนื้อไก่ของ ASEAN ประเทศ สิงคโปร์ บรูไน มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สปป.ลาว กัมพูชา พม่า
รายได้เฉลี่ย/คน/ปี (ดอลลาร์สหรัฐฯ) 50,714 36,521 8,617 5,281 3,469 2,255 1,362 1,204 912 804
การบริโภคเนื้อไก่/คน/ปี (กิโลกรัม) 36 53 38 24 26 10 7 3 2 2
ที่มา : คณะกรรมการบริหารสินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ กรมปศุสัตว์
FOOD SUPPLY CHAIN
64 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
โรงฟักไข่
ไก่เนื้อ
โรงเชือด, ชำแหละ
โรงแปรรูปเนื้อไก่
ช่องทางจำหน่าย
มีนาคม-เมษายน 2559
พ่อแม่พันธุ์
FOOD SAFETY 1. FARM animal welfare, farm standard, compartment 2. FOOD - Tracability - Standard System GMP, HACCP - Green Responsibility to the community, stakeholder, the environment - Quality clean, good taste - Innovation development, R&D - Added value new product, branding - Channel traditional trade, modern trade 3. customers’ needs packaging
1. STRENGTH
· โรคระบาด ถ้าไม่มีการจัดการควบคุมที่ดี · ปัญหาโรคระบาดในประเทศที่เราต้องนำเข้า GP, PS อาจทำให้กระทบปริมาณการผลิต · ความเป็นมาตรฐานของโรงเชือดย่อย ขนาดเล็กแบบดั้งเดิม · การขยายตัวภาคผลิตเพิ่มขี้นอย่างรวดเร็ว เติบโตเร็วเกินการขยายตัวของตลาด
3. TREAT 1. รัฐบาลไม่ได้ให้ความช่วยเหลือภาคการผลิตปศุสัตว์เท่าที่ควร · สภาวะราคาปศุสัตว์ตกต่ำ ปล่อยวาง · เมื่อสภาวะตลาดไก่เนื้อกำลังมีราคาสูงขึ้น กลับเข้าแทรกแซงการกำหนดราคาไก่เนื้อให้มี ราคาต่ำลง 2. การกีดกันทางการค้าในรูปแบบต่างๆ ของประเทศผู้นำเข้าหลัก 3. การแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ที่ได้เปรียบต้นทุนถูกกว่า
มีนาคม-เมษายน 2559
2. WEAKNESS
65 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
· ขีดความสามารถในการผลิตสูง เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์เชิงการค้ามากกว่าประเทศอื่นๆ · มีการพัฒนาระบบต่างๆ ที่ดีมาก สามารถป้องกันโรคระบาดได้ดี · อาหารปลอดภัย สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ · ช่องทางจำหน่ายมีหลากหลายขึ้น ผู้บริโภคตอบสนองมากขึ้น
4. OPPORTUNITY ภายในประเทศ 24 กก./คน/ปี 1. จากการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภค โดยผลิตจากสินค้า community มาเป็น comsumer product 2. รูปแบบผลิตภัณฑ์ เป็นที่น่าสนใจ ทันสมัย ดึงดูดผู้บริโภค 3. นวัตกรรมอาหาร เพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ ผลิตสินค้าใหม่ๆ ตอบสนองการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ของผู้บริโภค 4. ช่องทางจำหน่ายมีมากขึ้น
ต่างประเทศ ใช้ความได้เปรียบจากระบบการเลี้ยงที่มีการควบคุมโรคระบาดได้
· ญี่ปุ่น เกาหลี รัสเซีย ตะวันออกกลาง
Implementation Plan
66
ทำมาตรฐานทุกขั้นตอน FOOD SUPPLY CHAIN
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
1. ผู้เลี้ยงไก่เนื้อ ต้องมีประสิทธิภาพการผลิตให้ดีขึ้น เพื่อต้นทุนต่ำลง LOW COST, LOW LOST 2. ผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ อิสระ ต้องเปลีย่ นแนวคิดจากการผลิตไก่เนือ้ แบบเดิม ต่อยอดปลายนํา้ FOOD SUPPLY CHAIN · เดิมเลี้ยงแต่เพียงอย่างเดียว แล้วมีการขยายปริมาณการเลี้ยง แล้วให้พ่อค้ามาซื้อไก่เป็น · ปัจจุบนั ต้องคิดถึงการต่อยอดธุรกิจปลายน้ำ การทำโรงเชือด การชำแหละขายเป็นชิน้ ส่วน และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ 3. เพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยใช้นวัตกรรมผลิตจากสินค้า community เปลีย่ นมาเป็น comsumer product, สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ใส่ brand เรียนรู้ marketing 4. เพิ่ม หรือมีช่องทางจำหน่ายสินค้า หรือเป็นของตัวเอง
สำหรับนายพนม พิมพ์รัตน์ เศรษฐกิ จ การเกษตรอาสาของ สำนั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ฉบับที่ 4824 วันที่ 4-6 เมษายน พ.ศ. 2559
67 มีนาคม-เมษายน 2559
นายคมสัน จำรูญพงษ์ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร (สศก.) เปิดเผยภายหลังการลงพื้นที่ ตรวจเยีย่ มและติดตามการดำเนินงานของเศรษฐกิจ การเกษตรอาสา (ศกอ.) ของนายพนม พิมพ์รัตน์ ศกอ. อำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี ณ ศูนย์เรียนรูเ้ พือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร (ศพก.) พร้อมพบปะเกษตรกร ผู้เข้ารับการอบรม โครงการบูรณาการ มาตรการช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรที่ ไ ด้ รั บ ผล กระทบจากภั ย แล้ ง ตามนโยบายของ พลเอกฉัตรชัย สาริกลั ยะ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันศุกร์ที่ 18 มีนาคม ที่ผ่าน มา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรชูตัวอย่างเกษตรกรหัวก้าวหน้า ตัวแทนเศรษฐกิจการเกษตรอาสา จ.อุบลราชธานี กับผลงาน แนวคิด การทำการเกษตรแบบผสมผสาน ผันเลีย้ งกุง้ ขาวแวนนาไมในน้ำจืด เป็นผลสำเร็จ นำร่องในเขตอีสานใต้ ด้าน สศก. เตรียม ผลักดันขยายผลสูเ่ กษตรกรผูท้ สี่ นใจผ่านเศรษฐกิจการเกษตร อาสา ณ ศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
Market Leader
รัฐชู ศกอ. ทำเกษตรผสมผสาน นำร่องเลี้ยงกุ้งขาวในบ่อน้ำจืด
อำเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี นับว่าเป็นต้นแบบของการทำการ เกษตรผสมสานที่มีความยั่งยืนทั้งในด้านอาชีพและความมั่นคงทางด้าน อาหาร ให้แก่คนในชุมชนตลอดจนพื้นที่ใกล้เคียงได้ ซึ่งได้พลิกผันวิถีชีวิต จากการทำการเกษตรแบบเชิงเดีย่ วทีม่ งุ่ เน้นทีจ่ ะรวย รับจ้างผลิตให้บริษทั เปลี่ยนมาเป็นการทำการเกษตรแบบผสมผสาน โดยการปลูกพืชเลี้ยง สัตว์อยู่ในบริเวณเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นการเลี้ยงเป็ดไข่ ทำนาบัว นาข้าว เลี้ยงปลาในนาข้าว มะม่วงนอกฤดู ซึ่งทุกอย่างที่เพาะปลูกและที่เลี้ยง ใช้เทคนิคพึ่งพาอาศัยกันและกัน
68 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
รองเลขาธิการกล่าวต่อว่า นอกจากการทำเกษตรผสมผสานแล้ว นายพนม ยังมีแนวคิดในการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมในบ่อน้ำจืดอีกด้วย จากปกติเลี้ยงในน้ำเค็ม หรือน้ำกร่อย นับได้ว่าเป็นผู้นำร่องในเขตภาค อีสานใต้ โดยได้เริ่มมีการเลี้ยงกุ้งมาตั้งแต่ปี 2557 ขณะนี้เป็นรุ่นที่ 3 แล้ว โดยเริม่ แรกเป็นการเลีย้ งกุง้ กุลาดำ ต่อมาในรุน่ ที่ 2 ได้ทดลองเลีย้ ง กุง้ ขาวแวนนาไมในบ่อเดียวกันกับกุง้ กุลาดำ ซึง่ ได้ผลดีเป็นทีน่ า่ พอใจ โดย กุง้ ขาวแวนนาไมจะเจริญเติบโตดีกว่ากุง้ กุลาดำ และเก็บผลผลิตได้เร็วกว่า อันเป็นผลมาจากกุ้งขาวไม่จำเป็นต้องเลี้ยงด้วยอาหารที่มีโปรตีนสูงมาก เหมือนกุ้งกุลาดำ อีกทั้งกุ้งขาวแวนนาไม จะกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ที่อยู่ในบ่อได้อีก เช่น สาหร่าย แพลงก์ตอน สัตว์หน้าดิน ทั้งนี้ กุ้งขาวแวนนาไมที่เลี้ยงและโต ได้ขนาดประมาณ 50 ตัว ต่อกิโลกรัม ขายได้ในราคากิโลกรัมละประมาณ 300 บาท ซึ่งราคา สูงกว่าราคาตลาดทั่วไป เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในชุมชนและชุมชน ใกล้เคียง เนื่องจากผู้บริโภคมีความเชื่อใจในเรื่องความปลอดภัย สำหรับ รุ่นที่ 3 นี้ นายพนมได้ปล่อยลูกกุ้งขาวแวนนาไมอย่างเดียวทั้งหมด 50,000 ตัว เมือ่ เดือนมกราคม และในเบือ้ งต้นพบว่ามีการเจริญเติบโตดี คาดว่าสามารถขายได้ในช่วงเดือนเมษายนนี้ ซึ่งหากการทดลองเลี้ยง ในครั้งนี้ได้ผล ก็จะนำมาขยายผลให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจนำไปเลี้ยงต่อไป
¨±¾ĥ¬»£¢þ®¿µĥþ¤»Ï Æ ±±þ VGNKC ACKK XC?RS µ¼®ª»¦¥ÂþÆĪª¼º Pichia guilliermondii
ű¯º ·§Ĥû³®· þű¯º ·§¤¿ÎµĬ¼ » +?MM?M NKHFNR?AAG?QHBCR +-1 ஜ FKTA?M DZº MTAKCNSHBCR ƪÁηµÂ ¬¼ª¤¿ÎĤ¿ · ¤¼ ÆĤ¾¦·¼ĭ¼¯ DZºű¯ºµ¾¤¥¾¬¼ª ¼¯ÆĨ¯¾ · µ»ĥ³þ
Gut health
Body defense
¯ºĥÂû¦¬Ã¾ Âû »¦É¦¤¼ ÆĤ¾¦·¼ĭ¼¯ ÈĤ® ¯ºĥÂû¦ ¼¯¤Ĭ¼ ¼¦ · Æ ±±þÆÍĤƱÁ·Ĥ ¼³ L@BQNOG@FD ƪÁη Ĭ¼Ĩ»Ĥµ¾Î Çű± ű±·
Toxin binder
Growth performance
Cool technology to fight heat stress þíĆđ ì ĄùĒ úč ü Ļ ċ àÚċû Úüĉîđ ļ ò ùĒ úč Ýđ ļ ú ÚĊ ò ĕ÷čĝ ú ôüĉăč ð ñč ù ċ÷Úċüõþč î
Plexomin Cu24 Plexomin Fe20 Plexomin Mn22 Plexomin Zn26
Phytobiotics (Thailand) Co., LTd.
202 Le Concorde Tower, Rajchadapisek Road, Huaykwang, Huaykwang, Bangkok 10320 Tel. 02-6942498 Fax. 02-6942499 www.phytobiotics.com
งานวันกุ้งสุราษฎร์ฯ
ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีท่ี 28 ฉบับที่ 331 เดือนกุมภาพันธ์ 2559
ภายหลังพิธเี ปิดงานสัมมนาฯ ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง ได้ให้เกียรติบรรยายเรือ่ ง “นโยบาย และแผนฟืน้ ฟูกงุ้ ไทยปี 59” และยังมีนกั วิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิจากทั้งภาครัฐและเอกชน รวม ทั้งตัวแทนเกษตรกร มาให้ความรู้แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ดา้ นการเลีย้ ง การตลาด ฯลฯ โดย ได้รวบรวมสรุปรายละเอียดเนื้อหามานำเสนอ ดังนี้
นโยบายและแผนฟื้นฟูกุ้งไทยปี 59 โดย ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง ผู้อำนวยการกองผู้เชี่ยวชาญกรมประมง การเลี้ยงกุ้งของไทยเริ่มฟื้นตัวจากโรค อีเอ็มเอส แต่ยังไม่เข้าสู่ภาวะปกติ กรมประมง
69 มีนาคม-เมษายน 2559
เมื่อวันที่ 20-21 กุมภาพันธ์ 2559 ที่ผ่านมา สมาคมผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไทย ชมรม ผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี ร่วมกับกรมประมง จัดงานวันกุ้งไทย ครั้งที่ 26 ภายใต้แนวคิด “ศึกษาให้มั่นใจ ปรับเปลี่ยนแล้วก้าวไป นำ ไทยสู้ ต ลาดโลก” ขึ้ น ณ โรงแรมวั ง ใต้ จ.สุราษฎร์ธานี โดยมี ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง ผู้อำนวยการกองผู้เชี่ยวชาญกรมประมง ให้ เกียรติมาเป็นประธานเปิดงาน มีนายวงศศิริ พรหมชนะ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นผูก้ ล่าวต้อนรับ และนายสมชาย ฤกษ์โภคี ประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี เป็นผู้ กล่าวรายงาน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
(จากซ้าย) นายปรัชญา ศรีสวัสดิ์, ดร.ผณิศวร ชำนาญเวช, ท.พ.สุรพล ประเทืองธรรม, ดร.สมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย, นายวงศศิริ พรหมชนะ, นายบรรจง นิสภวาณิชย์, นายนิวตั ิ สุธมี ชี ยั กุล, ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง, นายสมชาย ฤกษ์โภคี และนายปกครอง เกิดสุข ให้เกียรติร่วมพิธีเปิดงานวันกุ้งไทย ครั้งที่ 26 ณ โรงแรมวังใต้ จ.สุราษฎร์ธานี
Market Leader
เรียกคืนความเชื่อมั่นการกลับมาของกุ้งไทย
จึงต้องเฝ้าระวังและให้การสนับสนุนด้านการ บริการคัดกรองตรวจเชือ้ ต่างๆ ทัง้ ในโรงเพาะฟัก โรงอนุบาล บ่อเลี้ยง ทั้งในน้ำและดินเพื่อเป็น ข้อมูลให้เกษตรกรใช้ในการบริหารและตัดสินใจ ในการจัดการฟาร์ม รวมทัง้ ได้เพิม่ กำลังการผลิต จุลินทรีย์ ปม. 1 ให้เพียงพอต่อความต้องการ ของเกษตรกร นอกจากนี้ กรมประมงยังได้เสนอโครงการผลิตฟาร์มกุ้งให้เป็นระบบที่สามารถกำจัด และบำบัดของเสียระหว่างการเลีย้ ง โดยได้เสนอ งบประมาณจากคณะกรรมการนโยบายและ มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) ซึง่ โครงการ นี้กำลังจะเข้าสู่การพิจารณา
70
ในด้านตลาด ปีนี้ กรมประมงตั้งเป้าผลิต กุ้งให้ได้ 300,000 ตัน ซึ่งมีความเป็นไปได้สูง แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งเฝ้าระวังและติดตามอย่างใกล้ชดิ คือ เรื่องมาตรฐานและเรื่องอาหารปลอดภัย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
“ประเทศไทยไม่ ถู ก ประกาศว่ า พบสาร ตกค้างมาเป็นระยะเวลา 10 ปีแล้ว เพราะฉะนัน้ นี่เป็นจุดแข็ง การที่กุ้งของเราเป็นที่เชื่อถือของ ตลาดโลก เพราะฉะนัน้ ท่านจะต้องรักษาคุณภาพ และมาตรฐานเรื่ อ งกุ้ ง ปลอดสารตกค้ า งให้ ดี เนือ่ งจากว่า หากเกิดปัญหาขึน้ มาแล้ว เวลาแก้ไข ปัญหามันยุ่งยาก และใช้ระยะเวลานานกว่าจะ เรี ย กคื น ความเชื่ อ มั่ น ของผู้ ซื้ อ กลั บ มา” ดร. วารินทร์ กล่าวย้ำถึงแนวทางการผลิตกุ้งไทย นอกจากนี้ กรมประมงยังได้ทำระบบเพือ่ รับรองวัตถุดิบที่ใช้ผลิตอาหารกุ้ง และระบบ ตรวจสอบย้อนกลับสินค้าประมงว่าไม่ได้มาจาก การทำประมง-แรงงานผิดกฎหมาย เพื่อให้กุ้ง ไทยสามารถส่งออกไปต่างประเทศได้ตามข้อ กำหนดของประเทศต่างๆ ในส่วนของเกษตรกร
ต้องเรียนรู้และปฏิบัติให้สอดคล้องกับพระราชกำหนดประมง ซึ่งอนาคตอันใกล้จะมีกฎหมาย ลูกออกมาบังคับใช้ในเรือ่ งการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ เพื่อให้สามารถส่งออกกุ้งได้อย่างราบรื่น และ สามารถเป็นผู้นำการส่งออกกุ้งได้ตลอดไป
รู้เขา รู้เรา... นำกุ้งไทยสู่ตลาดโลก ปี 59 โดย ดร.สมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย นายกสมาคมกุ้งไทย ปีทแี่ ล้วประเทศไทยเลีย้ งกุง้ เพิม่ ขึน้ นับว่า เป็นสัญญาณที่ดี แต่อีกหลายๆ ประเทศ การ เลี้ยงกลับไม่สู้ดี โดยรวมผลผลิตกุ้งโลกที่ได้จาก การเลี้ยงอยู่ที่ประมาณ 2 ล้านตัน ลดลง 8% สถานการณ์ ก ารเลี้ ย งของไทยยั ง คงมี ปัญหาเรื่องโรคอีเอ็มเอส แต่มีแนวโน้มดีขึ้น เนือ่ งจากมีแนวทางการจัดการการเลีย้ งทีช่ ดั เจน มากขึน้ คาดว่าปี 59 นี้ ผลผลิตจะเพิม่ ขึน้ 13% ในขณะที่ ป ระเทศผู้ ผ ลิ ต รายอื่ น กำลั ง ประสบ ปัญหาเรือ่ งโรคระบาด จึงคาดว่าผลผลิตกุง้ น่าจะ ลดลง สถานการณ์ดา้ นการตลาด ตลาดสหรัฐฯ แม้ ปี ที่ ผ่ า นมาเจอปั ญ หาแรงงาน แต่ ไ ทยก็ สามารถส่งออกได้เพิม่ ขึน้ คาดว่าปีนยี้ งั คงส่งออก ได้เพิ่มขึ้น โดยเน้นเรื่องคุณภาพและการตรวจ สอบย้อนกลับ ส่วนผู้ซื้อรายใหญ่มีข้อกำหนด มากขึน้ ด้านตลาดญีป่ นุ่ มีแนวโน้มผูซ้ อื้ จะกลับมา ซือ้ กุง้ ไทยมากขึน้ ตลาดยุโรปมีปญ ั หาด้านจีพเี อส ทำให้ตน้ ทุนสูงกว่าคูแ่ ข่ง และตลาดจีนเป็นตลาด ที่มีโอกาสเติบโตอย่างต่อเนื่อง เน้นกุ้งไซส์ใหญ่ โดยรวมแล้ว ปี 59 อุตฯ กุ้งไทยฟื้น ผลผลิตกุ้งโลกลดลง ราคาน่าจะดีขึ้น ดังนั้น เกษตรกรต้ อ งพยายามเลี้ ย งกุ้ ง โดยเน้ น เรื่ อ ง
ปัจจุบันการเลี้ยงกุ้งของไทยมีการพัฒนา ไปหลายๆ ด้าน (ทฤษฎีสมาร์ท ฟาร์มเมอร์ : Smart Farmer) 1. ด้านเทคโนโลยี ไทยมีเทคโนโลยีที่ สามารถจัดการโรคอีเอ็มเอสได้ เช่น การทำ อนุบาล การใช้จุลินทรีย์ควบคุมเชื้อ การใช้ ปริ ม าณออกซิ เ จนเป็ น ตั ว กำหนดการจั ด การ การใช้สาหร่ายบำบัดคุณภาพน้ำ 2. ด้านการพัฒนาพันธุกรรม มีการนำ เข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้ง โดยผ่านการตรวจสอบจาก กรมประมง แล้วนำไปพัฒนาสายพันธุ์ต่อ ซึ่ง ตรงนี้ประเทศไทยทำได้ดี แต่ยังคงต้องมีการ นำเข้าบ้าง เพื่อความมั่นคงทางด้านพันธุกรรม 3. ด้านการควบคุมโรคระบาด สามารถ ควบคุ ม โรคจากไวรั ส และแบคที เ รี ย ต่ า งๆ รูจ้ กั วิธปี อ้ งกัน และยังมีการวิจยั ต่างๆ สิง่ ทีส่ ำคัญ คือต้องมีการสื่อสารที่ดีระหว่างนักวิจัย และ ฟาร์มเลี้ยงเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ 4. การเข้าถึงระบบตลาด ประเทศไทย ทำได้ดี เกษตรกรมีความรูด้ า้ นตลาด จะช่วยให้ สามารถวางแผนการผลิตได้ ทันต่อสถานการณ์ ตลาด และสามารถสร้างมูลค่าให้กับสินค้าได้
นอกจากนี้ พระราชกำหนดประมงฉบับ ใหม่จะเข้ามาควบคุมการเพาะเลีย้ ง โดยเน้นเรือ่ ง ความปลอดภัยของผูบ้ ริโภค รวมทัง้ สิง่ แวดล้อม เกษตรกรควรยึดหลักใช้นโยบายของในหลวง คือ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ในอนาคตเกษตรกร เองสามารถทำตลาดเฉพาะ (Niche Market) ซึง่ จะเป็นเรื่องสำคัญต่อไป โดย ดร.ผณิศวร ชำนาญเวช นายกกิตติคุณสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย ตลาดสหรัฐฯ ยังคงเป็นตลาดทีส่ ำคัญของ กุ้งไทย ปีที่แล้วสหรัฐฯ นำเข้ากุ้งจากไทยอยู่ใน อันดับที่ 4 มีส่วนแบ่งตลาดอยู่ที่ 13% และ จากสถิตปิ ี 54 ซึง่ เป็นปีทไี่ ทยส่งออกกุง้ ได้สงู สุด เทียบกับปี 58 พบว่า ไทยส่งออกกุง้ ไปยังตลาด สหรัฐฯ ลดลง 48% ตลาดญี่ปุ่น ลดลง 52% ตลาดอียู ลดลง 85% ตามที่มีรายงานการปฏิเสธนำเข้ากุ้งของ สหรัฐฯ เนือ่ งจากยาตกค้าง พบว่า ปีทแี่ ล้วทำลาย สถิตสิ งู สุด จำนวน 389 ตู้ โดยประเทศมาเลเซีย เป็นประเทศที่ถูกปฏิเสธมากที่สุด ประเทศไทย ไม่พบการปฏิเสธ ซึ่งเป็นจุดแข็งที่ดีของกุ้งไทย ส่ ว นประเภทของสิ น ค้ า กุ้ ง ไทยที่ ค รองตลาด สหรัฐฯ เป็นอันดับหนึ่ง คือกุ้งต้มปอกเปลือก มีส่วนแบ่งตลาดอยู่ที่ 35% เนื่องจากลูกค้า มีความเชื่อมั่นในเรื่องคุณภาพและไม่มีปัญหา ยาตกค้าง
71 มีนาคม-เมษายน 2559
โดย นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล อดีตอธิบดีกรมประมง
5. การทำเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อ สื่ อ สารแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล หรื อ สถานการณ์ ซึ่งกันและกัน ทั้งภาคผู้เลี้ยง และภาคผู้ส่งออก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
คุณภาพเป็นสำคัญ แม้วา่ ในเรือ่ งคุณภาพกุง้ ไทย เป็นที่น่าเชื่อถืออยู่แล้วก็ควรจะปรับปรุงให้ดียิ่ง ขึ้นไปอีก และในอนาคต สินค้าที่มาจากทะเล จะมีปริมาณลดลง สินค้าจากการเพาะเลี้ยงก็จะ มาทดแทนโดยเฉพาะกุ้งและปลา ดังนั้น อาชีพ เลี้ยงกุ้งเป็นอาชีพที่มีอนาคตแน่นนอน
ทางด้ า นอี ยู ปี นี้ เ นเธอร์ แ ลนด์ จ ะขึ้ น เป็นประธานอียู คาดว่าจะตั้งนโยบายเน้นเรื่อง คุณภาพสุขอนามัย รักษาสิ่งแวดล้อม รักษา ทรัพยากร มาตรฐานต่างๆ ในส่วนปัญหาราคากุ้งตก เกิดจากความ ตึงตัวของสภาพการเงินของห้องเย็น ไม่มกี ารซือ้ กุ้งเก็บไว้ รวมทั้งโรงงานแปรรูปเบื้องต้น (ล้ง) หายไป ซึ่งส่วนใหญ่ล้งจะมีสภาพคล่องมากกว่า ห้องเย็นเพราะค้าขายในระยะสั้น ปัญหาราคา จึงมีแนวโน้มจะแกว่งตัวมากกว่าเดิม โดยรวมปี นี้ จ ะต้ อ งผลิ ต สิ น ค้ า กุ้ ง ให้ ไ ด้ คุณภาพตรงตามความต้องการของลูกค้า มี ความปลอดภัยและสามารถตรวจสอบย้อนกลับ ได้ เน้นคุณภาพไม่เน้นปริมาณ
72 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
สถานการณ์การเลี้ยงในปี 58 และแนวทางการเลี้ยงในปี 59 ภาคตะวันออก โดย นายสุพล สินไชยกิจ นายกสมาคมกุ้งตะวันออกไทย ในปี 58 โดยรวมผลผลิตค่อยๆ เพิ่มขึ้น แม้จะเจอกุง้ ไม่คอ่ ยโตช่วงกลางปี และปลายปีเจอ สภาพอากาศแปรปรวน เกิดโรคตัวแดงดวงขาว ระบาด เกษตรกรนิยมตรวจลูกกุ้ง ตรวจตับ ตรวจวิเคราะห์น้ำมากขึ้น แนวทางการเลี้ยงที่ ใช้มากคือ การใช้จุลินทรีย์ และการเลี้ยงแบบ น้ำโปร่ง ในปี 59 ยังคงยึดแนวทางการเลีย้ งเหมือน ปี 58 และมีแนวโน้มเรือ่ งของการทำบ่ออนุบาล เพิ่มขึ้น ส่วนปัญหาอากาศแปรปรวนเมื่อต้นปี ทำให้เกษตรกรไม่กล้าลงกุ้งมากนัก
“หลังจากเกิดปัญหาอีเอ็มเอส เกษตรกร ได้แลกเปลีย่ นความรู้ มีการค้นคว้า มีการทดลอง แต่ละพืน้ ทีท่ ดลองความถนัด... ถ้าเรายังยืนหยัด ที่จะแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ร่วมมือกัน ผมเชือ่ ว่าไม่เฉพาะภาคตะวันออก แต่ทงั้ ประเทศ ผลผลิตเราเพิ่มขึ้นแน่นอนครับ”
ภาคกลาง โดย นายพรศักดิ์ ลาโภดม อุปนายกสมาคมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำไทย ในปี 58 ยังคงไม่ได้รับผลกระทบจาก โรคอีเอ็มเอส แต่มกี ารระบาดของโรคหัวเหลือง เป็นหย่อมๆ ทำความเสียหายประมาณ 10% โดยรวมแล้ว ผลผลิตอยู่ประมาณ 60,00070,000 ตัน การเลี้ยง นิยมอนุบาลลูกกุ้งใน คอกที่มีความเค็ม 5 พีพีที จนลูกกุ้งแข็งแรงจึง ปล่อยลูกกุ้งออกจากคอก ปี 59 ต้นปี เจออากาศเปลีย่ นแปลง ทำ ให้เกิดโรคหัวเหลืองระบาด ซึง่ ทำความเสียหาย ไปแล้ว 10% และยังมีปัญหาเรื่องมาตรา 9 ทีอ่ าจจะทำให้พนื้ ทีก่ ารเลีย้ งหายไป รวมทัง้ จาก สถานการณ์ภัยแล้ง คาดว่าภาคกลางผลผลิต ลดลงเหลือประมาณ 40,000-50,000 ตัน ส่วนแนวทางการเลี้ยง พื้นที่น้ำจืดเน้นการเลี้ยง กึ่งธรรมชาติ ควรปล่อยลูกกุ้งไม่เกิน 80,000 ตัว/ไร่ เลีย้ งผสมผสานกับปลา หรือกุง้ ก้ามกราม เพื่อกำจัดสารอินทรีย์ในบ่อ
ภาคใต้ตอนบน โดย นายสมชาย ฤกษ์โภคี ประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี ปี 58 ผลผลิตเพิ่มขึ้น 100% แนวทาง การเลี้ยงชัดเจนมากขึ้น แบ่งเป็น 2 วิธี คือ
(จากซ้าย) นายบรรจง นิสภวาณิชย์ ปธ. สมาพันธ์เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ ไทย ผูด้ ำเนินรายการ, นายสมพงษ์ พรหมปลอด รองปธ. ชมรมฯ กุ้งปัตตานี, นายปกครอง เกิดสุข ปธ. ชมรมฯ กุ้งกระบี่ จ.กระบี่, นายสุพล สินไชยกิจ นายกสมาคมกุ้งตะวันออกไทย, นายสมชาย ฤกษ์โภคี ปธ. ชมรมฯ กุ้งสุราษฎร์ฯ และนายพรศักดิ์ ลาโภดม อุปนายกสมาคมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำไทย ร่วมบรรยายเสวนาฯ
“ผมไม่ค่อยห่วงภาคผู้เลี้ยงนะครับ ปีนี้ ผมว่าในห้องนีเ้ ริม่ ฮึกเหิมแล้วครับ... มันมีแนวทาง เด่นชัดมาก ผมไม่อยากจะฝากภาคผูเ้ ลีย้ งเพราะ ว่าผมมั่นใจนะครับว่าพวกเราทำได้... ผมอยาก จะฝากไปทางผู้ส่งออกมากๆ เลยนะครับ... ว่า ท่านอยากจะให้พวกเราช่วยอะไรก็ขอให้บอกมา อย่าได้เกรงใจนะครับ”
โดย นายสมพงษ์ พรหมปลอด รองประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งปัตตานี ปี 58 ผลผลิตกุ้งเพิ่มขึ้นประมาณ 20% เนือ่ งจากเกษตรกรเริม่ รูจ้ กั โรคอีเอ็มเอสมากขึน้ รู้วิธีจัดการ และมีแนวทางของตัวเองชัดเจนขึ้น แต่ปริมาณพืน้ ทีเ่ ลีย้ งยังน้อยอยู่ ส่งผลให้ผลผลิต ยังไม่มากนัก แนวทางการเลี้ยงที่ใช้ในพื้นที่มี หลากหลายแนวทาง เช่น การใช้ระบบจุลนิ ทรีย์ ระบบปลาพี่เลี้ยง รวมทั้งระบบน้ำโปร่ง ทุกวิธี ต่างมุง่ ไปทีก่ ารลดสารอินทรียใ์ ห้เหลือน้อยทีส่ ดุ ส่วนในปี 59 รูปแบบการเลีย้ งใกล้เคียงกับ ปี 58 แต่ใส่ใจรายละเอียดการเลี้ยงในขั้นตอน ต่างๆ เพิม่ ขึน้ และอาจจะค่อยๆ เพิม่ พืน้ ทีก่ ารเลีย้ ง ผลผลิตกุ้งคาดว่าจะเพิ่มแบบค่อยเป็นค่อยไป “ต้องขอขอบคุณทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง... โดย เฉพาะเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งตัวจริงที่ยังคงอยู่ ได้ ช่วยกัน ได้รว่ มมือกัน ช่วยคิดค้นหาวิธกี ารต่างๆ ให้วงการกุ้งไทยยังยืนหยัดอยู่ได้จนถึงทุกวันนี้ ผมเองก็คาดหวังว่า เราจะมีโอกาสได้หลุดพ้น จากภาวะโรคอีเอ็มเอสได้ในเร็ววันนี้นะครับ”
73 มีนาคม-เมษายน 2559
ส่วนในปี 59 มั่นใจพื้นที่การเลี้ยงจะ แอคทีฟขึ้น 100% และผลผลิตคาดว่าเพิ่มขึ้น 100% เช่นกัน
ภาคใต้ตอนล่าง
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
เขตน้ำจืด เลี้ยงแบบปลาผสมผสาน ข้อจำกัด ของระบบนี้คือความเค็มต้องไม่เกิน 12 พีพีที และปล่อยกุ้งไม่เกิน 100,000 ตัว/ไร่ ส่วน ในเขตความเค็มสูง เลี้ยงแบบน้ำโปร่ง มีการ เปลี่ยนถ่ายน้ำเพื่อลดสารอินทรีย์ภายในบ่อไป เก็บไว้ภายนอก มีการรีไซเคิลน้ำ ใช้พนื้ ทีเ่ ลีย้ งน้อย แต่ได้ผลผลิตสูง เนือ่ งจากการดูดสารอินทรียอ์ อก จากบ่อ ทำให้เพิม่ พืน้ ทีอ่ าศัยของกุง้ สามารถลง กุ้งหนาแน่นได้ ออกซิเจนที่ใส่ลงไปในบ่อเป็น ประโยชน์ต่อกุ้งอย่างแท้จริง
ภาคใต้ฝั่งอันดามัน โดย นายปกครอง เกิดสุข ประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัดกระบี่ ปี 58 เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงการ เลี้ยงมากที่สุด แต่ผลออกมายังไม่ชัดเจนเท่า ที่ควร เกษตรกรมีการลองผิดลองถูก ผลผลิต ยังทรงๆ เพิ่มประมาณ 10% ระบบที่สามารถ ทำให้เกษตรกรประสบผลสำเร็จนั้นขึ้นกับตัว เกษตรกรเองมีความรู้ ความเข้าใจระบบนั้นๆ มากน้อยเพียงใด “จุดหลักทีผ่ มอยากจะเน้น ฝากไปยังผูเ้ ลีย้ ง ทุกท่าน จะใช้วิธีการใดก็ตาม ขอให้ทำให้กุ้ง ของเราที่อยู่ในบ่อ อยู่อย่างสุขสบายที่สุด มีผล กระทบน้อยที่สุด”
74 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ปี 59 เป็นปีที่เกษตรกรรู้แนวทางและ ศักยภาพของตัวเอง คาดผลผลิตจะเพิม่ ขึน้ 20% และมีแนวโน้มเลี้ยงกุ้งขาวเพิ่มขึ้น “ฝากเป็นความหวังให้กบั ผูเ้ ลีย้ งกุง้ กุลาดำ ในเขตอันดามันสู้ต่อนะครับ ส่วนใครสู้ไม่ไหว ก็ไปขาว แต่ขาวต้องเลี้ยงด้วยความระมัดระวัง นะครับ เสียหายน้อยทีส่ ดุ เพือ่ ไม่ให้เจ็บ เพือ่ ให้มี กำลั ง ไว้ ต่ อ สู้ กั บ เมื่ อ ราคามั น อาจจะตกอี ก ใน ปีหน้า ก็ฝากความหวังให้กำลังใจทุกท่านนะครับ สู้ครับ สู้ๆ ครับ ขอบคุณครับ”
ปี 58 ผ่านไป แล้วจะก้าวอย่างไร ในปี 59 โดย ผศ.ดร.นิติ ชูเชิด ศูนย์วิจัยธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง ม.เกษตรศาตร์ ปี 58 อุ ต สาหกรรมกุ้ ง ไทยเผชิ ญ กั บ ปัญหามากมาย ได้แก่ การกีดกันทางการค้า การใช้แรงงานทาสในอุตฯ ประมง ปัญหาไอยูยู มาตรการตรวจเข้ ม ยาปฏิ ชี ว นะ ปั ญ หาด้ า น ภูมอิ ากาศ ปัญหาประกาศใช้กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กับสิ่งแวดล้อม ปัญหาคุณภาพลูกกุ้ง ฯลฯ การแก้ปัญหาด้านตลาด ต้องสร้างภาพลักษณ์ความเป็นผูน้ ำสินค้ากุง้ และคุณภาพ สร้าง มูลค่าสินค้า รวมทัง้ ต้องเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ฟาร์มควรร่วมมือกับผูส้ ง่ ออก จดทะเบียนฟาร์ม มาตรฐานตามความต้องการของผู้ซื้อ รวมทั้ง ต้องเพิ่มศักยภาพการผลิตและการตลาดให้กับ กุ้งกุลาดำ การวิจัยที่ผ่านมา มีการศึกษามากมาย เช่น 1. การศึกษาความหลากหลายของสาย พันธุ์กุ้งขาวที่เลี้ยงในประเทศไทย พบว่ามีกลุ่ม ที่มีโอกาสเลือดชิดสูง ซึ่งจะพบการเจริญเติบโต ช้า แต่เลือดชิดไม่เกี่ยวข้องกับโรคอีเอ็มเอส 2. การศึกษาโรคอีเอ็มเอสในฟาร์มเลี้ยง พบว่า แบคทีเรียก่อโรคในน้ำและดิน มีความ สัมพันธ์กับปริมาณสารอินทรีย์ในบ่อเลี้ยง สุขภาพความแข็งแรงของกุ้งไม่สัมพันธ์กับเชื้อโรค ดังนั้น การจัดการสุขภาพกุ้งให้แข็งแรงจึงเป็น สิ่งสำคัญมาก
3. การศึกษาจุลินทรีย์ในการควบคุมเชื้ออีเอ็มเอส พบว่า จุลินทรีย์ กลุ่มบาซิลลัส สามารถช่วยเพิ่มอัตรารอดเมื่อกุ้งมีการติดเชื้อ และช่วยลด วิบริโอในตับได้ ดังนั้น ไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ 4. การศึกษาเรื่องอีเอชพี พ่อแม่พันธุ์ติดเชื้ออีเอชพีจากอาหารมีชีวิต หรือใช้แม่พันธุ์จำนวนมากวางไข่พร้อมกัน ดังนั้นควรใช้แม่พันธุ์จำนวนน้อยๆ ในการวางไข่เพือ่ ง่ายต่อการแยกไข่ออกจากขีก้ งุ้ แล้วล้างทำความสะอาดให้ดี ในระยะนอเพลียสให้แยกนอเพลียสที่แข็งแรงไปอนุบาลต่อ การแพร่กระจายหลักของเชื้ออีเอชพีนั้น มาจากสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เลี้ยงอยู่แล้ว ระบบการเลี้ยงแบบน้ำโปร่งจะพบอีเอชพีน้อยที่สุด เพราะสาร อินทรีย์น้อย
มีนาคม-เมษายน 2559
“กุง้ ไทยจะยัง่ ยืนได้ดว้ ยคุณภาพ ไม่ใช่ปริมาณ และเป็นคุณภาพทีด่ ที สี่ ดุ ทั้งในแง่การผลิตและความปลอดภัย”
75 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
แนวทางการเลีย้ งปี 59 แนะนำบำบัดดินให้สารอินทรียเ์ หลือน้อย น้ำที่ ใช้เลีย้ ง ต้องแน่ใจว่าไม่มเี ชือ้ และพาหะของไวรัส และลดสารอินทรีย์ สารเคมี ที่ใช้ต้องประยุกต์ให้เข้ากับต้นทุน และต้องมีประสิทธิภาพสูงสุด คัดเลือก ลูกกุ้งให้ดี ปลอดเชื้อหลายโรค และปรสิต รวมทั้งต้องมีความสมบูรณ์ของ ระยางค์อนุบาลลูกกุง้ เพือ่ เป็นการคัดกรองลูกกุง้ ทีแ่ ข็งแรงลงบ่อเลีย้ ง ระหว่าง เลีย้ งต้องมีการลดสารอินทรีย์ มีการตรวจสอบสุขภาพกุง้ เช็คปริมาณการตาย ทุกวัน
ออร์แกนิก ORGANIC
กระแส... ดันอุตสาหกรรม “วัตถุกันเสียจากธรรมชาติ” Around the World
76 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ผูบ้ ริโภคให้ความ สนใจกับความปลอดภัยอาหารเป็นลำดับต้นๆ เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพ โดยการ ได้รับประทานอาหารที่มีโภชนาการและความ ปลอดภั ย ก็ จ ะส่ ง ผลดี ต่ อ สุ ข ภาพของผู้ บ ริ โ ภค นัน่ จึงเป็นสาเหตุให้กระแสการบริโภคอาหารเพือ่ สุขภาพของผู้บริโภค ควบคู่กับความต้องการ อาหารเกษตรอินทรีย์ (Organic food) นั้น เพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย นอกจากนี้ ยังกลายเป็นแรง ผลักดันในการขยายตัวของอุตสาหกรรมอาหาร ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุกันเสียที่ผลิตจากธรรมชาติ (Natural food preservatives) อีกด้วย
วัตถุกันเสีย วัตถุกันเสีย (Preservative) เป็นวัตถุ เจือปนอาหาร (Food additive) ที่ใช้เพื่อการ ถนอมอาหาร สามารถช่วยยับยั้ง หรือทำลาย จุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย ยีสต์ รา ที่ทำให้ อาหารเน่าเสีย ช่วยยืดอายุการเก็บรักษาของ อาหาร ทั้ ง นี้ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต อาหาร จำนวนมาก มีการนำวัตถุกนั เสียมาใช้ในกระบวน การผลิตสินค้าอาหาร เช่น ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ เนื้อสัตว์ปีก อาหารทะเล เบเกอรี่ เครื่องดื่ม
และนม เป็นต้น วัตถุกันเสียแบ่งได้ 2 ประเภท คือ วัตถุกันเสียจากการสังเคราะห์ และวัตถุ กันเสียจากธรรมชาติ ปัจจุบันวัตถุกันเสียส่วนมากที่นิยมใช้ใน อุตสาหกรรม จากการสังเคราะห์ขึ้น เนื่องจาก มีราคาถูก และไม่ทำให้รสชาติอาหารเปลี่ยน เช่ น ซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ ดิ น ประสิ ว และ โซเดียมเบนโซเอต เป็นต้น แต่หากใช้ในปริมาณ ทีม่ ากเกินความเหมาะสม อาจก่อให้เกิดอันตราย ต่อผู้บริโภคได้ หรืออาจทำให้เกิดอาการแพ้ โดยเฉพาะผู้ บ ริ โ ภคที่ มี ป ระวั ติ เ ป็ น โรคภู มิ แ พ้ ทัง้ นี ้ ปัญหาจุลชีพของอุตสาหกรรม อาหารและ เครื่องดื่ม ทำให้มีการค้นหาสารที่มีฤทธิ์ในการ ทำลายเชื้อจำเพาะเช่นเดียวกับสารปฏิชีวนะ แต่ มีความปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค ซึง่ พบว่าสารในกลุม่ ของ “แบคเทอริโอซิน” (Bacterocin) ที่เป็น สารสกัดจากธรรมชาติ สามารถนำมาใช้แทน สารปฏิชีวนะ
กฎหมายวัตถุเจือปนอาหาร และการ แสดงข้อมูลบนฉลาก US FDA ได้จัดวัตถุกันเสียให้อยู่ในกลุ่มย่อย ของวั ต ถุ เ จื อ ปนอาหาร จึ ง จำเป็ น ต้ อ งมี ก าร
ที่มา : สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาตื (มกอช.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภาพประกอบจาก : https://www.google.co.th/imgres?imgurl
ระบุชื่อสามัญ และชื่อที่ USFDA ใช้ เรียกชื่อสารนั้น เช่น ใช้กรรมวิธีถนอมอาหาร ระบุ “preservation” ใช้กรรมวิธีการยับยั้ง การขึ้นรา ระบุ “A mold inhibitor”
ทั้งนี้ การระบุข้อมูลโดยใช้ชื่อสารที่เป็น ส่วนประกอบ ซึง่ รวมถึงวัตถุกนั เสียในการแสดง ข้อมูลบนฉลาก จะทำให้ผู้บริโภคตระหนักได้ว่า ส่ ว นประกอบในผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารนั้ น ๆ มา จากธรรมชาติ หรือมาจากการสังเคราะห์
ปั จ จุ บั น ตลาดผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารทั่ ว โลก ส่วนมากมีการใช้วัตถุกันเสียจากการสังเคราะห์ เป็นวัตถุเจือปนอาหาร คิดเป็น 87% ส่วน อาหารที่ใช้วัตถุกันเสียจากธรรมชาติ คิดเป็น 12.9% อย่างไรก็ตาม มีการคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมีการสูญเสียตลาดอาหารที่ใส่วัตถุ กันเสียจากการสังเคราะห์ เนือ่ งจากกระแสความ นิยมของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ และเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น โดยคาดว่าตลาด อาหารที่ใช้วัตถุกันเสียจากธรรมชาติจะเพิ่มขึ้น 13.6% กระแสการบริ โ ภคอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพ และสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่สอดคล้องกับการให้ ความสนใจต่อการแสดงข้อมูลบนฉลากอย่าง ชัดเจน (Clean label) ของผูบ้ ริโภค นับเป็นแรง ผลักดันอุตสาหกรรมวัตถุกันเสียจากธรรมชาติ โดยมีขอ้ ได้เปรียบทัง้ ในเรือ่ งของความปลอดภัย และความมั่นใจของผู้บริโภค เนื่องจากไม่ใช่ สารที่ ไ ด้ จ ากการสั ง เคราะห์ ท างเคมี ทั้ ง นี้ ผู้ ประกอบการอาจพิ จ ารณาการใช้ วั ต ถุ กั น เสี ย จากธรรมชาติแทนการใช้วัตถุกันเสียจากการ สังเคราะห์ เพราะนอกจากจะทำให้ผบู้ ริโภคมัน่ ใจ ในความปลอดภัยแล้ว ยังเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ผลิตภัณฑ์ ทั้งสามารถพัฒนา สินค้าให้เป็นไปตามกระแสความต้องการของ ผูบ้ ริโภค และกฎระเบียบทีส่ หรัฐฯ กำหนดอีกด้วย ทีม่ า : Foodnavigator
77 มีนาคม-เมษายน 2559
FDA ได้ ป ระเมิ น ความปลอดภั ย ของ วั ต ถุ กั น เสี ย จากธรรมชาติ (สารในกลุ่ ม ของ แบคเทอริโอซิน) และอนุญาตให้สามารถใช้ใน อุตสาหกรรมการผลิตอาหารได้ ทั้งนี้เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์อาหารต้องติดฉลากก่อนนำออกวาง จำหน่ายแก่ผบู้ ริโภค กฎหมายการติดฉลากของ สหรัฐฯ ในการแสดงข้อมูลรายการส่วนประกอบ ของอาหารเกี่ ย วกั บ การถนอมอาหาร มี ข้ อ กำหนดดังนี้
โอกาสของผู้ประกอบการ ในการใช้ประโยชน์จาก “วัตถุกันเสียจากธรรมชาติ”
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
ประเมินความปลอดภัยของวัตถุดังกล่าว เมื่อ นำมาเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่ง ในประเทศสหรัฐอเมริกา หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ การตรวจประเมิน คือองค์การอาหารและยา สหรัฐฯ (USFDA) แต่ถ้าเป็นผลิตภัณฑ์จาก เนื้อสัตว์ สัตว์ปีก และไข่ USFDA กับหน่วย ความปลอดภัยของอาหารและบริการการตรวจ สอบ (The food safety and inspection service: FSIS) จะเป็นผู้รับผิดชอบการตรวจประเมิน
สภาหอการค้าฯ องค์การสะพานปลา จับมือร่วมภาคเอกชนไทย
หนุนการจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำ (MCPD) เพื่อแก้ไขปัญหาประมงอย่างยั่งยืน
Around the World
78 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
มีนาคม-เมษายน 2559
กรุงเทพ -27 เมษายน 2559 – องค์การ สะพานปลา กรมประมง ในกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ศูนย์บญ ั ชาการแก้ไขปัญหาการทำ การประมงผิดกฎหมาย (ศปมผ) สภาหอการค้า แห่งประเทศไทย ร่วมกับสมาพันธ์ผู้ผลิตสินค้า ประมงไทย ประกอบด้ ว ย สมาคมอาหาร แช่เยือกแข็งไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป สมาคมอุตสาหกรรม ทูน่าไทย สมาคมกุ้งไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผู้ผลิต ปลาป่นไทย สมาคมการประมงนอกน่านน้ำไทย และสมาคมการประมงแห่ ง ประเทศไทย ซึ่ ง แต่ ล ะสมาคมเป็ น สมาชิ ก สภาหอการค้ า แห่ ง ประเทศไทย ชี้แจงความร่วมมือในการลงนาม ความร่ ว มมื อ จั ด ทำหนั ง สื อ กำกั บ การซื้ อ ขาย สั ต ว์ น้ ำ MCPD และการพั ฒ นาสุ ข อนามั ย สั ต ว์ น้ ำ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ สั ต ว์ น้ ำ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เครื่องมือในระบบการตรวจสอบย้อนกลับแหล่ง ที่ ม าสั ต ว์ น้ ำ ของประเทศไทยอย่ า งถู ก ต้ อ ง รวดเร็ว สอดคล้องกับพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธาน กรรมการ สภาหอการค้ า แห่ ง ประเทศไทย กล่าวว่า สภาพปัญหาของธุรกิจประมง และ อุตสาหกรรมต่อเนื่องของประเทศไทย ได้ถูก สะสมมาเป็นเวลาหลายปี ทั้งปัญหาทรัพยากร สัตว์น้ำทะเลเสื่อมโทรมลง แหล่งทำการประมง ลดลง ปั จ จั ย การผลิ ต ที่ มี ร าคาสู ง ขึ้ น และ
ขาดแคลน ราคาสัตว์น้ำตกต่ำ รวมทั้งการที่ สหภาพยุโรปประกาศให้ใบเหลืองกับประเทศ ไทยในการทำประมงผิ ด กฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม (IUU Fishing) อย่างไรก็ดี รัฐบาล ได้มุ่งแก้ไขปัญหา การทำการประมง และประกาศเป็นวาระแห่งชาติ ต่อมาจึงได้ออก พระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 โดยมี เ ป้ า ประสงค์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ มี ก ารทำ ประมงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย รวมทั้งการ บริหารจัดการการทำการประมงให้สอดคล้อง กับการผลิตสูงสุดของธรรมชาติให้สามารถทำ การประมงได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งการคุ้มครอง สวัสดิภาพของแรงงานบนเรือประมงด้วย ตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 หมวด 7 การควบคุม เฝ้าระวัง สืบค้น และตรวจสอบ ซึง่ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างระบบ การควบคุม เฝ้าระวัง และตรวจสอบการทำ การประมงให้มีประสิทธิภาพ และสร้างระบบ การสื บ ค้ น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ให้ ส ามารถ ตรวจสอบแหล่งทีม่ าของสัตว์นำ้ หรือผลิตภัณฑ์ สั ต ว์ น้ ำ ได้ ตั้ ง แต่ ก ารทำการประมงไปจนถึ ง ผู้ บริโภครายสุดท้าย รวมทัง้ มาตรา 90 (3) กำหนด ให้เจ้าของท่าเทียบเรือประมง หรือผู้ประกอบ กิจการแพปลาต้องจัดทำหนังสือกำกับการซื้อ ขายสัตว์น้ำให้แก่ผู้ซื้อตามแบบและรายการที่ อธิบดีกรมประมงประกาศกำหนด
ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธาน กรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย กล่าว สรุ ป ว่ า การลงนามความร่ ว มมื อ การจั ด ทำ หนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำอิเล็กทรอนิกส์ (E-MCPD) และการพัฒนาสุขอนามัยสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ในวันนี้ ถือเป็นงานแรก ที่ดำเนินการและให้ความสำคัญกับระบบตรวจสอบย้อนกลับ (traceability) อย่างเป็นรูปธรรม โดยภาคเอกชนทุกภาคส่วนในอุตสาหกรรมนี้ ขอยืนยันและให้คำมั่นที่จะสนับสนุนนโยบาย ของรัฐบาล ในการแก้ไขปัญหา IUU Fishing และปัญหาแรงงานโดยจะปฏิบัติตามกฎหมาย กฎหมายระหว่ า งประเทศ มาตรฐานสากล หลักเกณฑ์ จริยธรรม เพื่อภาพลักษณ์ที่ดีของ สินค้าไทย ซึง่ จะทำให้อตุ สาหกรรมอาหารทะเล ของไทยมีความยั่งยืนต่อไป
79 มีนาคม-เมษายน 2559
จากที่กล่าวมาเบื้องต้น ในนามของสภา หอการค้ า แห่ ง ประเทศไทย สมาพั น ธ์ ผู้ ผ ลิ ต สินค้าประมงไทย และภาคเอกชนทุกภาคส่วน ดั ง กล่ า ว มุ่ ง หวั ง ในการแก้ ไ ขปั ญ หาการทำ การประมงผิดกฎหมาย หรือ IUU Fishing อย่าง จริงจัง จึงขอร่วมมือและสนับสนุนการจัดทำ หนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำอิเล็กทรอนิกส์ (E-MCPD) และการพัฒนาสุขอนามัยสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ร่วมกับองค์การสะพานปลา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบ สร้างความยั่งยืน และสร้างความเชื่อมั่นว่า ปัญหา IUU Fishing จะต้ อ งหมดไปโดยเร็ ว ที่ สุ ด ทั น ที เพื่ อ ความ สมบูรณ์มงั่ คัง่ ทางทรัพยากรสัตว์นำ้ ของประเทศ ไทย และสอดคล้ อ งกั บ มาตรฐานสากลโลก รวมทัง้ ต้องไม่มคี วามเสีย่ งของวัตถุดบิ ทีม่ าจาก การทำประมง IUU เข้ามาปะปนในห่วงโซ่การ ผลิ ต ของผู้ ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรมการ ประมง สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ (traceability) ตลอดห่วงโซ่อุปทานอย่างเป็นรูปธรรม เป็นต้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 167
จากข้อกำหนดตามพระราชกำหนดการ ประมง พ.ศ. 2558 ตามที่ได้กล่าวไปแล้วนั้น องค์การสะพานปลา ในกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ซึ่งดูแลรับผิดชอบสะพานปลาและท่า เทียบเรือประมง 18 แห่งทั่วประเทศ และให้ บริการการขนถ่ายและจำหน่ายสัตว์น้ำให้กับ ผู้ประกอบการประมง ชาวประมงตลอด 24 ชั่วโมง โดยจะดำเนินการตรวจสอบประเมิน สั ต ว์ น้ ำ ที่ น ำเข้ า มาขนถ่ า ยและจำหน่ า ย ซึ่ ง สามารถระบุ ช นิ ด และประเภทของสั ต ว์ น้ ำ ประเมินน้ำหนัก และราคาสัตว์น้ำ รวมถึงการ จัดทำรายงานสถิติเรือประมง ปริมาณสัตว์น้ำ ราคาสัตว์นำ้ และสถิตยิ านพานหนะทางรถยนต์ จึ ง ได้ จั ด หนั ง สื อ กำกั บ การซื้ อ ขายสั ต ว์ น้ ำ อิเล็คโทรนิคส์ (E-MCPD) เพื่อให้เกิดความ รวดเร็ว ถูกต้อง และสามารถตรวจสอบย้อน กลับแหล่งที่มาของสัตว์น้ำได้
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จำกัด บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โนวัส อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บรูเกอร์ ไบโอสปิน เอจี
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2694-2498 โทร. 02-661-8700 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 02-681-1329 โทร. 0-2642-6900