รายนามสมาชิก
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด
27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52.
บริษัท ซันฟีด จำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท บุญพิศาล จำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แม่ทา วี.พี.ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำกัด บริษัท เจบีเอฟ จำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท โกลเด้น ฟีด (ไทยแลนด์) จำกัด
ิน ภ อ
น ท นั
ร า าก
คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประจำปี 2558-2559
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์ นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประกิต เพียรศิริภิญโญ นางเบญจพร สังหิตกุล นายสถิตย์ บำรุงชีพ นายโดม มีกุล นายวราวุฒิ วัฒนธารา นางสาวถนอมวงศ์ แต้ไพสิฐพงษ์ นายหัสดิน ทรงประจักษ์กุล นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายสมภพ เอื้อทรงธรรม
นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เลขาธิการ รองเลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด
แถลง
บรรณาธิการ
ภาคปศุสัตว์ เป็นห่วงโซ่หนึ่งที่จะดึงให้สายโซ่ที่เกี่ยวเนื่องอยู่ได้อย่างยั่งยืน และมั่นคง แต่ไม่ใช่วา่ จะให้ภาคปศุสตั ว์ ต้องไปแบกรับภาระของทุกสายโซ่ไว้ทงั้ หมด ก็จะทำให้ตงึ และขาด ในที่สุด ทุกหน่วยรับรู้ในภาระปัญหาของแต่ละส่วน และต้องดิ้นรนหาทางลดภาระ ทั้งต้นทุน ความเสี่ยง ตลอดทุกวิถีทางที่เกิดขึ้น ดังนั้น ภาระที่อาจจะเกิดขึ้นในทุกขณะ จะต้องเป็นภาระ ที่ต้องหาทางแก้ไขด้วยศักยภาพของแต่ละหน่วยนั้นๆ ไม่ใช่ผลักภาระโดยการสร้างทางกีดกัน หรือโยนภาระมาให้ภาคปศุสัตว์ต้องแบกไว้ทั้งหมด ทั้งๆ ที่ ภาคผู้เลี้ยงสัตว์ต่างก็ต้องดิ้นรน หาทางลดภาระต้นทุนเพื่อความอยู่รอดที่จะทำให้ผู้บริโภคทั้งในประเทศได้กินของถูกและการ แข่งขันการส่งออกกับประเทศคู่แข่งที่มีต้นทุนที่ถูกกว่า ทำให้ภาคการส่งออกผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ต้องการสินค้าที่มีคุณภาพและราคาที่จะแข่งขันได้ จึงเป็นความลำบากที่ผู้เลี้ยงสัตว์ทั้งหมด จะต้องทำการศึกษาและพัฒนานำเทคโนโลยีเข้ามาปรับปรุงเพื่อแข่งขันให้ได้ ซึ่งต้องการความ ช่วยเหลือและสนับสนุนจากทุกภาคส่วนเช่นเดียวกัน ฟังผู้เลี้ยงสัตว์บ่นมานาน ว่าภาคเกษตรพืชไร่ ผู้ผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีอยู่ในประเทศ รวมทัง้ พ่อค้าผูร้ วบรวมวัตถุดบิ ส่งต่อให้ผเู้ ลีย้ งสัตว์ผา่ นผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ ต้องแบกรับภาระทุกอย่างไว้ และพยายามกีดกันไม่ให้มีการนำวัตถุดิบอื่นๆ ที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกใช้กันอย่างมากมาย และมี ราคาที่ถูกลง เพราะต้นทุนที่ถูกและมีปริมาณที่เหลือล้น และประเทศคู่แข่งที่เลี้ยงสัตว์เพื่อส่งออก สัง่ นำเข้าโดยไม่มภี าระภาษีและมาตรการควบคุมมากมายเท่าประเทศไทย จึงเกิดความไม่เป็นธรรม ที่ภาคปศุสัตว์จะได้รับการคุ้มครองที่ดูเหมือนจะน้อยกว่าภาคเกษตรอื่นๆ เกิดความน้อยเนื้อต่ำใจ และมองว่าเป้าหมายของรัฐบาลจะมองภาพรวมทั้งประเทศอย่างไร จะให้เตี้ยอุ้มค่อมตลอดไป อย่างนัน้ หรือ เพราะ ณ เวลานี้ ไม่มใี ครใหญ่กว่าใครแล้ว ไม่มใี ครรวยกว่าใครแล้ว ทุกหน่วยทุกฝ่าย ต่างก็ลำบากเท่าๆ กัน บนศักยภาพของตัวตนเอง และอยู่ที่ว่า ใครแข่งกับใคร อย่าเปรียบเทียบ ข้ามรุ่น ตัวตนเองต้องแข่งกับตัวตนเอง ถึงจะรู้ว่าตัวตนเองนั้น ไม่ได้มีอะไรที่ต่างจากตัวตนของ คนอื่นเลย ดังนั้น ถ้าจะมองทั้งประเทศแล้ว ต้องช่วยกันพาประเทศไปข้างหน้าและแข่งขันทั่วโลก เมื่อประเทศไปได้ดี ห่วงโซ่ที่คล้องรวมกันอยู่ก็จะแข็งแรงและเหนียวแน่นยิ่งขึ้น ดีกว่ามาขัดกันเอง แล้วกลายเป็นการถ่วงให้ล้าหลัง....เรื่อยไป บก.
ธุรกิจอาหารสัตว์
วารสาร
ปีที่ 33 เล่มที่ 168 ประจำเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2559 วัตถุประสงค์
Contents
1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิ จของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
Thailand Focus สัมมนาวิชาการ "เสริมสร้างศักยภาพกุ้งไทย : สด สะอาด ปราศจากสารตกค้าง"................................................................ 5 สภาเกษตรฯ ค้านร่วม 'ทีพีพี' แฉเปิดทางพืช 'จีเอ็มโอ' ขายในไทย...................................................................................... 9
Food Feed Fuel สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญ และแนวโน้ม ปี 2559 • ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์....................................................................................................................................................12 • มันสำปะหลัง......................................................................................................................................................... 20 • ถั่วเหลือง...............................................................................................................................................................28 • ไก่เนื้อ.................................................................................................................................................................... 34 • ไข่ไก่.......................................................................................................................................................................41 • สุกร....................................................................................................................................................................... 45 • กุ้ง.........................................................................................................................................................................53 • ปลาป่น..................................................................................................................................................................65
Market Leader เลี้ยงกุ้งให้สำเร็จ ด้วยแนวทาง 3 สะอาด...............................................................................................................................71
Around The World มาตรฐานสินค้าเกษตร (มกษ.6903-2558) การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่พันธุ์............................................. 75 ขอบคุณ..............................................................................................................................................................................80
ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง นางสาววริศรา ธรรมเจริญ นางสาววริศรา คูสกุล
ประธานกรรมการที่ปรึกษา
สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com
สัมมนาวิชาการ “เสริมสร้างศักยภาพกุ้งไทย :
ดร.จิราพร เกษรจันทร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคสัตว์น้ำ
เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2559 ที่ผ่านมา กรมประมง จัดสัมมนาวิชาการ เรื่อง “เสริมสร้างศักยภาพกุ้งไทย : สด สะอาด ปราศจากสารตกค้าง” ณ โรงแรม มิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ โดยมี ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง เป็นประธานเปิดงานฯ และได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ มาร่วมบรรยายหลายท่าน การจัดงานครั้งนี้เพื่อให้เกษตรกร และผู้เข้าร่วมสัมมนามีความรู้ความเข้าใจ ในการใช้ยา และสารเคมี รวมทั้งทราบแนวทางที่ถูกต้องในการป้องกันการเกิด โรคระบาด โดยสรุปสาระสำคัญมานำเสนอทุกท่านดังนี้
สถานการณ์กุ้งไทยในตลาดโลก
โดย นายบรรจง นิสภวาณิชย์ (แทน ดร.สมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย นายกสมาคมกุ้งไทย)
การผลิตกุ้งของไทยในปี 2559 มีแนวโน้มดีขึ้น เนื่องจากเกษตรกรไทยมี ปรับเปลีย่ นรูปแบบการเลีย้ ง รวมทัง้ กรมประมงช่วยเหลือในการผลิตจุลนิ ทรีย์ ปม.1 มาช่วยบำบัดพื้นและน้ำ เพื่อสู้กับโรคอีเอ็มเอสได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังคงคุณภาพ กุ้งไทยให้ปราศจากสารตกค้าง จึงเป็นโอกาสของกุ้งไทยที่จะแข่งขันในตลาดโลก ที่มา : วารสารข่าวกุ้ง ปีที่ 28 ฉบับที่ 333 เดือนเมษายน 2559
5 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
นายบรรจง นิสภวาณิชย์ ปธ.สมาพันธ์เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งไทย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการประมง
Thailand Focus
สด สะอาด ปราศจากสารตกค้าง”
ในขณะที่ ป ระเทศผู้ ผ ลิ ต รายอื่ น มี แ นวโน้ ม ผลผลิตลดลงเนื่องจากปัญหาเรื่องโรค และมี ปัญหาด้านการส่งออกเนื่องจากปัญหายาปฏิชีวนะตกค้าง ส่วนประเด็นปัญหาและอุปสรรค ของกุ้งไทยที่สำคัญ คือเรื่องของแรงงาน การ ทำประมงไอยูยู ซึง่ ส่งผลในด้านภาพลักษณ์และ จิตวิทยาต่อการบริโภค กรมประมงควรช่วยเหลือ ผลักดันเปิดให้มีการจดทะเบียนแรงงานในด้าน การเพาะเลี้ยง และควรให้ความรู้แก่เกษตรกร ในเรื่องพระราชกำหนดประมง
มิตคิ วามปลอดภัยด้านอาหารของกุง้ ไทย ในตลาดต่างประเทศ
ความรู้แก่เกษตรกร และรณรงค์ไม่ใช้ยาและ สารเคมีที่ห้ามใช้ หรือไม่ได้รับการขึ้นทะเบียน จาก อย. เป็นต้น ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ ภาครัฐฯ ได้พยายามทำอย่างเต็มที่ ด้ า นเกษตรกรสามารถปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี การเลี้ยง หรือใช้โปรไบโอติก เช่น ปม.1 เข้า มาช่วยในการควบคุมดูแลสภาพแวดล้อมในบ่อ และช่วยเสริมสร้างสุขภาพกุง้ ให้แข็งแรง ป้องกัน การเกิดโรคกุ้งโดยไม่ต้องพึ่งพายาปฏิชีวนะ ซึ่ง จะไม่เป็นปัญหาในด้านการส่งออก อีกทั้งยังคง คุณภาพของกุง้ ไทย ไร้สารตกค้าง ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภค
โดย ดร.จิราพร เกษรจันทร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคสัตว์น้ำ
6
อภิปราย เรือ่ ง เสริมสร้างศักยภาพกุง้ ไทย : ตัง้ แต่ปี 2537 ไทยได้เข้าเป็นสมาชิกของ สด สะอาด ปราศจากสารตกค้าง องค์การการค้าโลก (WTO) ซึ่งมีข้อตกลงด้าน ภาคผู้ส่งออก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ที่กำหนด ให้แต่ละประเทศสมาชิกสามารถที่จะกำหนด เงือ่ นไขด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร เพื่อควบคุมการส่งออก/การนำเข้าสินค้าเกษตร และอาหาร เพื่อไม่ให้เกิดโทษต่อชีวิต หรือ ส่งผลเสียต่อชีวติ มนุษย์ พืชและสัตว์ของประเทศ นั้นๆ โดยการกำหนดมาตรการต่างๆ ต้องไม่ ก่อให้เกิดอุปสรรคทางการค้า และต้องมีเหตุผล ทางวิทยาศาสตร์รองรับ ซึง่ ประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำคัญ ของไทย ต่างก็มีมาตรฐานที่เข้มงวดแตกต่าง กันไป ด้านหน่วยงานภาครัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับ อุตฯ กุ้งไทยได้ดำเนินการจัดทำมาตรฐานการ ผลิตกุ้งทะเล เช่น การตรวจรับรองฟาร์ม การ ตรวจรั บ รองปั จ จั ย การผลิ ต มี ก ารควบคุ ม ป้องกันโรค ตรวจโรคในพ่อแม่พันธุ์กุ้งนำเข้า จากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งลูกกุ้ง เพื่อลดความเสี่ยงในการแพร่กระจายเชื้อ ให้
โดย ดร.ผณิศวร ชำนาญเวช : นายกกิตติคุณสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย
ผลผลิตกุ้งไทยเดือนแรก ปี 59 เพิ่มขึ้น 5% เมื่อเทียบกับปี 58 ส่วนการส่งออกของ กุ้งไทย 2 เดือนแรกของปี 59 เพิ่มขึ้น 8% มูลค่าลดลง 12% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน แนวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ในตลาดเวี ย ดนาม และจี น ส่วนกุง้ แปรรูปมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในตลาดอเมริกา และกุ้ ง กุ ล าดำมี แ นวโน้ ม ดี ใ นตลาดจี น และ ออสเตรเลีย การนำเข้ากุง้ สหรัฐเดือน ม.ค.-ก.พ. ปี 59 ไทยเพิ่ม 16% เป็นอันดับ 4 รองจากประเทศ อินเดีย อินโดนีเซีย และเอกวาดอร์ ตามลำดับ ไทยยังคงเป็นอันดับ 1 ในด้านกุ้งแปรรูป ปัญหาและอุปสรรคของอุตฯ กุ้งไทย คือ เรื่อง เอดี ปัญหาแรงงาน ปัญหาการบิดเบือน
(จากซ้ายไปขวา) นายมานิตย์ จิตรชุ่ม, นายสมบูรณ์ หลาวประเสริฐ, นายสมชาย ฤกษ์โภคี, ดร.ผณิศวร ชำนาญเวช และดร.พุทธ ส่องแสงจินดา ร่วมกันอภิปรายในงานสัมมนาฯ
โดย นายสมชาย ฤกษ์โภคี : ปธ.ชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี
ช่วงที่ อีเอ็มเอส เริม่ ระบาดในไทย ชมรม ผู้เลี้ยงกุ้งทางใต้ มีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ อีเอ็ ม เอส ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ แล้ ว นำมา วิเคราะห์ปรับใช้ โดยเปลี่ยนรูปแบบการเลี้ยง ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะในการต่อสู้กับ อีเอ็มเอส เลย คือเปลี่ยนรูปแบบการเลี้ยงเป็น แบบน้ำสะอาด ไม่มีตะกอน มีการปรับปรุง โครงสร้างฟาร์ม โดยลดพื้นที่เลี้ยง เพิ่มพื้นที่ เก็บน้ำ และมีพื้นที่เก็บสารอินทรีย์ สารอินทรีย์ ทีด่ ดู ออกจากบ่อ ไม่ปล่อยลงแหล่งน้ำธรรมชาติ บ่ อ เลี้ ย งปู พี อี ตรงกลางขุ ด หลุ ม เพื่ อ ดู ด สาร อินทรีย์ทุกวัน บางฟาร์มมีการอนุบาลเพื่อดู ความแข็งแรงของลูกกุ้ง และกักกันโรคก่อน ปล่อยลงบ่อเลี้ยง มีการทำน้ำพร้อมใช้ให้เพียง-
ตัง้ แต่ทำระบบรีไซเคิลมา ปีนคี้ วามเค็มสูง แต่ไม่พบเรืองแสง คุณภาพน้ำดี จึงอยากผลักดัน ให้ฟาร์มทั้งประเทศหันมาทำเป็นระบบนี้ เพื่อ เข้ามาตรฐานฟาร์มของกรมประมงด้วย
ภาครัฐ
โดย นายสมบูรณ์ หลาวประเสริฐ : ผูอ้ ำนวยการสถาบันวิจยั และพัฒนาการเพาะเลีย้ งกุง้ ทะเล
ในภาวะวิกฤติเรื่องโรค เกษตรกรไทย สามารถพ้นวิกฤติได้ทุกครั้ง เนื่องจากมีเทคโนโลยีที่ดีเป็นของตัวเอง และมีการปรับตัวได้ดี เช่น การเลี้ยงระบบน้ำโปร่ง แม้พื้นที่เลี้ยงจะ เล็กลง แต่สามารถเพิ่มผลผลิตได้ แต่ก็มีข้อ ระวั ง ในเรื่ อ งของสารอิ น ทรี ย์ ที่ ล ะลายในน้ ำ บางตัว อาจต้องใช้พืช เช่น สาหร่ายพวงองุ่น เป็นตัวดูดสารเหล่านั้นออก ซึ่งก็จะทำให้การ
7 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ภาคผู้เลี้ยง
พอตลอดการเลี้ยง สิ่งที่สำคัญของการเลี้ยง ระบบนี้คือ พื้นต้องสะอาด น้ำต้องสะอาด ไม่มี กองเลนตรงกลาง ทำให้ ส ามารถเพิ่ ม ความ หนาแน่นของกุง้ ในการเลีย้ งได้ ผลผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ ต่อไร่มาชดเชยกับพื้นที่การเลี้ยงซึ่งลดลง ระยะ เวลาในการเลี้ยงลดลง ออกซิเจนที่ใส่ลงไปใน บ่อ กุ้งสามารถนำไปใช้ได้เต็มที่ ของเสียในบ่อ เหลือน้อย บ่อก็มีเชื้อโรคน้อย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ข้อมูลบนฉลากสินค้าอาหารทะเล การทำประมง ผิดกฎหมายไอยูยู จีเอสพี ส่วนในเรื่องปัญหา สารตกค้างในสินค้ากุ้งนั้น ไม่ถือว่าเป็นปัญหา ของกุ้ ง ไทย แต่ ก ลั บ เป็ น จุ ด แข็ ง ซึ่ ง เกษตรกร ต้องรักษามาตรฐานการผลิตกุ้งคุณภาพอย่างนี้ ไว้ตลอดไป
เลีย้ งยัง่ ยืนขึน้ และในส่วนของห้องเย็นของไทยก็มคี วามพร้อม สามารถควบคุม คุณภาพ ความสด สะอาดของกุ้งได้ดี เรื่องปัญหาสารตกค้าง เกษตรกรก็ให้ความสนใจและตื่นตัวมากตั้งแต่ อดีต และทางภาครัฐเองก็มีการตรวจสารตกค้าง และส่งรายงานให้อียู ทราบตลอด มีการตรวจรับรองฟาร์มเลี้ยง และตรวจปัจจัยการผลิต กรมประมงให้บริการตรวจเชือ้ โรคไวรัส และแบคทีเรีย ตัง้ แต่พอ่ แม่พนั ธุ์ การนำเข้าพ่อแม่พนั ธุต์ อ้ งได้รบั การรับรองว่าปลอดโรค และเข้าสูส่ ถานกักกัน ก่อนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด นอกจากนี้ ยังมีโปรแกรมเฝ้าระวังในเรื่อง ยาตกค้างโดยการสุ่มตรวจกุ้งในฟาร์มเกษตรกร รวมทั้งมีการให้ความรู้กับ เกษตรกร และคำแนะนำในเรื่องการใช้ยาฯ
ภาคผู้ค้าปัจจัยฯ
โดย นายมานิตย์ จิตรชุ่ม : นายกสมาคมการค้าปัจจัยการผลิตสัตว์น้ำไทย
8
ทางผู้ค้าปัจจัยฯ ยืนยันส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์น้ำให้มีคุณภาพ เน้นเรื่อง อาหารปลอดภัย โดยต้องไม่มสี ารตกค้าง ส่งเสริมการใช้วติ ามิน อาหารเสริม แร่ธาตุ สมุนไพร สารกระตุ้นภูมิให้กุ้งโตดี แข็งแรง หรือลดเชื้อโรคโดยการ ใช้จุลินทรีย์ หรือยาฆ่าเชื้อ ไม่ส่งเสริมเรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ผู้ค้าปัจจัยฯ จะดำเนินการทำเอกสารวิชาการ และฝึกอบรมให้แก่ พนักงานขาย และตัวแทนฯ ให้มคี วามรูเ้ รือ่ งสารเคมี และยาทีไ่ ม่ควรให้ตกค้าง ในกุ้ง และเผยแพร่ข้อมูลการใช้เคมีภัณฑ์ที่ถูกต้องให้เกษตรกรอย่างทั่วถึง อนาคตจะทำโครงการ TABA BRAND ติดฉลากสินค้ารับรองเพือ่ สร้างความ มั่นใจให้ผู้ใช้ปัจจัยการผลิตว่าไม่มียาตกค้างแน่นอน จากการสัมมนาฯ ครั้งนี้ เกษตรกรไทยสามารถเสริมสร้างศักยภาพ กุ้งไทยให้เป็นที่ต้องการของตลาดต่างประเทศได้ โดยมุ่งมั่นรักษามาตรฐาน คุณภาพการผลิตไว้ให้ “กุ้งไทย สด สะอาด ปลอดภัย ไร้สารตกค้างและ ปราศจากโรค” เพื่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมกุ้งไทย
สภาเกษตรฯ ค้านร่วม 'ทีพีพี'
Thailand Focus
แฉเปิดทางพืช 'จีเอ็มโอ' ขายในไทย
อีกทั้งร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืชฉบับใหม่ ซึ่งมีข้อมูลไม่เป็น ทางการระบุว่า เป็นการแก้ไขเพื่อให้สอดรับอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย การคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (International Convention for the Protection of ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
9 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
เมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา สภาเกษตรกรแห่งชาติ โดย นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ ได้ยื่นเอกสารข้อสรุป เพื่อ แสดงจุดยืนคัดค้านการเข้าเป็นสมาชิก ความตกลงหุน้ ส่วนทางเศรษฐกิจภาคพืน้ แปซิฟิก (Trans-Pacific Partnership Agreement: TPP) แก่ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี พล.อ.ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เพื่อแสดงจุดยืน คัดค้านการเข้าเป็นสมาชิก ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Partnership Agreement: TPP) ซึ่ง ณ เวลานี้ ดูเหมือนว่า รัฐบาลมีท่าทีจะดำเนินการเจรจาเข้าเป็นสมาชิก โดยได้มอบหมายให้กระทรวง พาณิชย์เร่งพิจารณาศึกษาให้ขอ้ คิดเห็นการเข้าเป็นสมาชิกความตกลงดังกล่าวนัน้ ภาคเกษตรยังคงแสดงจุดยืนไม่เห็นด้วยต่อการเข้าร่วม
New Varieties of Plants) ฉบับปี ค.ศ. 1991 หรือที่เรียกว่า "อนุสัญญายูพอฟ 1991" เพื่อ เตรียมการเข้าร่วมเป็นสมาชิก TPP
10
นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรกั ษ์ ประธาน สภาเกษตรกรแห่ ง ชาติ กล่ า วว่ า จากการ สังเกตการณ์ท่าทีของรัฐบาลแล้ว ดูเหมือนว่า รัฐบาลมีท่าทีจะเข้าร่วมการเป็นสมาชิกใน 1-2 ปีนี้ ซึ่งกระทรวงพาณิชย์รับหน้าที่เร่งพิจารณา ข้อมูลและสรุปข้อคิดเห็น ขณะที่ภาคปศุสัตว์ คัดค้าน ล่าสุดคือการเปิดเวทีรับฟังข้อคิดเห็น โดยสภาเกษตรกรแห่งชาติ ซึ่งได้ติดตามศึกษา วิเคราะห์ความตกลง TPP มาโดยตลอด เห็น ว่าการเข้าเป็นสมาชิกความตกลงจะไม่เป็นผลดี ต่อเกษตรกรและภาคเกษตรกรรม แม้ว่าจะมี การเปิดเวทีจากภาคเกษตรหลายครั้ง รัฐบาล ก็ยังคงมีแนวโน้มเข้าร่วม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
"หากอนาคตรั ฐ บาลจะเข้ า ร่ ว ม TPP จริง กรณีไม่มีทางเลือกและเลี่ยงไม่ได้ ภาค เกษตรเราก็เลี่ยงไม่ได้เช่นกัน คงต้องมีเสียง คัดค้านจากเกษตรกรทัว่ ประเทศในไม่ชา้ เพราะ ที พี พี จะมี ผ ลกระทบกั บ เกษตรกรซึ่ ง เป็ น คน ส่วนใหญ่ของประเทศ หากมองภาพรวมแล้ว ไทยยังไม่พร้อมทีจ่ ะเข้าร่วมทำความตกลงนี้ ควร ให้เกษตรกรมีการพัฒนาตนเองจากการผลิต ที่ขายวัตถุดิบเป็นมีการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า ผลผลิต และมุ่งการผลิตที่มีคุณภาพ มีความ แตกต่าง เพื่อให้มีความมั่นคงในอาชีพเกษตรกรรมก่อนที่จะเข้าร่วมความตกลงใดๆ ที่มีผล กระทบกับเกษตรกร" นายประพัฒน์กล่าว ขณะที่ รศ.ดร.สุรวิช วรรณไกรโรจน์ อาจารย์คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวเช่นเดียวกันว่า การเข้าร่วมทีพีพีเป็นสิ่ง
ที่ไทยอาจเลี่ยงไม่ได้ และมีแนวโน้มว่ารัฐบาล เห็นด้วยในการเข้าร่วมทีพีพี ดังนั้นก่อนที่จะถึง เวลานั้น ภาคเกษตรต้องพร้อมปรับตัวสำหรับ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะผลกระทบต่อ ทรัพย์สนิ ทางปัญญาเกีย่ วกับพันธุพ์ ชื ทรัพยากร ชีวภาพ และสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ตามความ ตกลง TPP ข้อบทที่ 18 ว่าด้วย "ทรัพย์สิน ทางปัญญา" ข้อ 18.7 ได้กำหนดให้ประเทศ สมาชิก TPP ต้องให้การรับรอง หรือเข้าเป็น สมาชิ ก ของสนธิ สั ญ ญา อนุ สั ญ ญา พิ ธี ส าร ระหว่างประเทศ อีก 9 ฉบับ โดยมี "อนุสญ ั ญา ยูพอฟ 1991" และ "สนธิสัญญาบูดาเปสต์" เป็นสนธิสัญญา/อนุสัญญา 3 ใน 9 ฉบับ ที่ต้องให้การรับรอง หรือเข้าเป็นสมาชิก ซึ่ง จะมีผลให้ประเทศไทยต้องยอมรับการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญาตามมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา จะก่อให้เกิดผลเสียหายต่อเกษตรกร ภาคเกษตรกรรม และความหลากหลายทาง ชีวภาพ อาทิ มีความเป็นไปได้สูงที่จะมีการ ปรับปรุงพัฒนาพันธุ์พืชใหม่ด้วยวิธีการตัดต่อ พันธุกรรมเป็นพืช "จีเอ็มโอ" เนือ่ งจากไม่ได้มกี าร บัญญัติวิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชไว้ในอนุสัญญา ยูพอฟ 1991 ซึ่งจนถึงปัจจุบัน ยังไม่ชัดเจนใน ผลดี ผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากพืชจีเอ็มโอ ซึ่งหาก เกิ ด สถานการณ์ ข องการผู ก ขาดด้ า นพั น ธุ์ พื ช รวมไปถึงภาคปศุสัตว์ ด้าน นางสาวกรรณิการ์ กิจติเวชกุล กลุม่ ศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน กล่าวว่า การยอมรับกลไกการคุม้ ครองนักลงทุน (SDS) ตามความตกลง TPP จะเปิดโอกาส ให้นักลงทุนต่างชาติสามารถฟ้องร้องรัฐบาลได้ ในกรณีที่มีการดำเนินนโยบายที่ถูกตีความว่า เป็นการขัดขวางการลงทุน หรือส่งผลกระทบ
ดังนัน้ ภาคเกษตรขอเรียกร้องให้รฐั บาล ได้พิจารณาการจะเข้าเป็นสมาชิกความตกลง TPP ด้วยความรอบคอบ โดยมีข้อเสนอต่อ รัฐบาล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณา ดำเนินการ คือ 1. ขอให้เปิดเผยผลการศึกษา และให้ภาคเกษตรได้มีส่วนร่วม 2. ขอให้มี การพิจารณาศึกษาความเหมาะสม เป็นไปได้ ในการเลื อ กยุ ท ธศาสตร์ ก ารเข้ า ร่ ว มกรอบ ความร่วมมือ RCEP แทนการเข้าร่วมเป็น สมาชิกความตกลง TPP 3. ขอให้รัฐบาล และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ได้ใช้โอกาสนีใ้ นการ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร และ ภาคเกษตรกรรมของไทย เช่น การลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตเพื่อยกระดับภาคเกษตรไทยให้ มากขึ้นเสียก่อนการตัดสินใจเข้าร่วม
11 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
นางสาวกรรณิการ์ ยังตั้งข้อสังเกตว่า การพิจารณาข้อศึกษาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงาน วิ จั ย สถาบั น ปั ญ ญาภิ วั ฒ น์ ทำไมถึ ง ไม่ มี ก าร
เปิดเผยการรายงานต่อเกษตรกรให้รับรู้ และ จากการศึ ก ษา FTA และบทเรี ย นที่ ผ่ า นมา ภาคเกษตร และหลายอาชีพได้รับผลกระทบ หนัก เมื่อไม่สามารถปรับตัว ตั้งรับมือไม่ได้ ก็ ล้ ม เลิ ก กิ จ การกั น ไปหลายราย นางสาว กรรณิการ์ กล่าว
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ต่อรายได้ผลตอบแทน และการดำเนินงานของ บริษัท เช่น หากรัฐบาลผลิตเมล็ดพันธุ์แจกจ่าย หรือจำหน่ายเกษตรกรในราคาถูก จนส่งผล กระทบต่อยอดขายเมล็ดพันธุ์ของบริษัทที่เข้า มาลงทุ น หรื อ รั ฐ บาลออกกฎหมายความ ปลอดภั ย ทางชี ว ภาพที่ ถู ก ตี ค วามว่ า สร้ า งผล กระทบต่อการนำเข้าพืชจีเอ็มโอ เพื่อมาปลูกใน ประเทศ เป็นต้น นักลงทุนต่างชาติสามารถ ฟ้องร้องรัฐบาลผ่านกลไก "อนุญาโตตุลาการ ระหว่ า งประเทศ" ซึ่ ง จากการศึ ก ษาพบว่ า อนุ ญ าโตตุ ล าการที่ พิ จ ารณาและตั ด สิ น ข้ อ พิพาทมักจะเป็นผู้ที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน เป็น ผูด้ ำรงตำแหน่งเป็นทีป่ รึกษาทางกฎหมาย หรือ อยู่ในคณะกรรมการบริหารของบริษัทเอกชน จึงมีความเป็นไปได้สูงที่อนุญาโตตุลาการดัง กล่าวจะโน้มเอียงปฏิบตั หิ น้าทีเ่ อือ้ ประโยชน์ หรือ ปกป้องผลประโยชน์ของนักลงทุนมากกว่าที่จะ พิจารณาข้อพิพาทด้วยความเป็นอิสระ เป็นกลาง โดยเที่ยงธรรม
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญ และแนวโน้ม ปี 2559
Food Feed Fuel
12
• ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • 1. สถานการณ์ ปี 2558 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2553/54-2557/58 การ ผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 835.32 ล้านตัน ในปี 2553/54 เป็น 1,008.68 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.97 ต่อปี ปี 2557/58 การผลิตมีปริมาณ 1,008.68 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 991.42 ล้านตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 1.74 โดยสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกผลิตได้เพิ่มขึ้น จาก 351.27 ล้านตัน ในปี 2556/57 เป็น 361.09 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.80 นอกจากนี้ บราซิล สหภาพยุโรป เม็กซิโก และอาร์เจนตินา ผลิตได้เพิ่มขึ้น 1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2553/54-2557/58 ความต้องการใช้มแี นวโน้มเพิม่ ขึน้ จาก 851.87 ที่มา : สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐฏิจการเกษตร
ล้านตัน ในปี 2553/54 เป็น 988.53 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.80 ต่อปี โดยสหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นจาก 284.55 ล้านตัน ในปี 2553/54 เป็น 301.85 ล้านตัน ในปี 255/58 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.72 ต่อปี ปี 2557/58 ความ ต้องการใช้มีปริมาณ 988.53 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จาก 953.46 ล้านตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 3.68 โดยสหรั ฐ อเมริ ก ามี ค วามต้ อ งการใช้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้นจาก 292.97 ล้านตัน ในปี 2556/57 เป็น 301.85 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.03 นอกจากนี้ บราซิล จีน สหภาพยุโรป อินเดีย และเม็กซิโก มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
(2) การค้า
ปี 2553/54-2557/58 การค้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 91.71 ล้านตัน ในปี 2553/57 เป็น 127.08 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.19 ต่อปี
ปี 2557/58 ราคาข้าวโพด เลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก ตันละ 4,925 บาท ลดลงจากตันละ 6,451 บาท ในปี 2556/57 หรือลดลงร้อยละ 23.66 เนื่ อ งจากสถานการณ์ ก ารผลิ ต โลกกลั บ เข้ า สู่ ภาวะปกติหลังจากที่ผลผลิตได้รับความเสียหาย จำนวนมากจากคลื่นความร้อนในปี 2555/56 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ปี 2553/54-2557/58 เนือ้ ที่ เพาะปลูกมีแนวโน้มลดลงจาก 7.48 ล้านไร่ ในปี 2553/54 เหลือ 7.29 ล้านไร่ ในปี 2557/58 หรื อ ลดลงร้ อ ยละ 0.47 ต่ อ ปี เนือ่ งจากราคาทีเ่ กษตรขายได้ไม่จงู ใจ เกษตรกร จึงปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชที่ให้ผลตอบแทนดีกว่า เช่น มันสำปะหลัง และอ้อยโรงงาน สำหรับ ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 650 กิโลกรัม ในปี
ปี 2557/58 เนื้อที่เพาะปลูก มี 7.29 ล้านไร่ ลดลงจาก 7.43 ล้านไร่ ในปี 2556/57 ร้อยละ 1.88 เนื่องจากปี 2556/ 57 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปรับตัวลดลงมาก ไม่จูงใจให้เกษตรกรทำการเพาะปลูก สำหรับ ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 657 กิโลกรัม ในปี 2556/57 เป็น 659 กิโลกรัม ในปี 2557/58 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.30 เนื่องจากไม่กระทบ แล้งในช่วงออกดอก สำหรับผลผลิตรวมลดลง จาก 4.88 ล้านตัน ในปี 2556/57 เหลือ 4.80 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 1.64 ตามการลดลงของเนื้อที่เพาะปลูก 1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2553/54-2557/58 ความต้องการใช้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 4.28 ล้านตัน ในปี 2553/54 เป็น 5.04 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.15 ต่อปีเนื่องจากความต้องการใช้เป็นวัตถุดิบใน อุตสาหกรรมอาหารสัตว์มีมากขึ้น ตามการ ขยายตัวของการเลี้ยงสัตว์ ปี 2557/58 ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีปริมาณ 5.04 ล้าน ตัน เพิม่ ขึน้ จาก 4.72 ล้านตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 6.78
13 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2553/54-2557/58 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาด ชิคาโก มีแนวโน้มลดลงจากตันละ 6,669 บาท ในปี 2553/54 เหลือตันละ 4,925 บาท ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 7.95 ต่อปี
2553/54 เป็น 659 กิโลกรัม ในปี 2557/58 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.05 ต่อปี เนือ่ งจากปริมาณ น้ำฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ไม่กระทบ แล้งในช่วงออกดอก สำหรับผลผลิตรวมลดลง จาก 4.86 ล้านตัน ในปี 2553/54 เหลือ 4.80 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 0.43 ตามการลดลงของเนื้อที่เพาะปลูก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ปี 2557/58 การค้ามี ปริมาณ 127.08 ล้านตัน ลดลงจาก 130.15 ล้านตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 2.36 โดย สหรัฐอเมริกาซึง่ เป็นผูส้ ง่ ออกสำคัญ ส่งออกลดลง จาก 50.68 ล้านตัน ในปี 2556/57 เหลือ 46.80 ล้านตัน ในปี 2557/58 หรือลดลง ร้อยละ 7.66 นอกจากนี้ ประเทศผูน้ ำเข้า ได้แก่ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอียิปต์ มีการนำเข้า ลดลง (3) ราคา
(2) การส่งออก
ปี 2553/57-2557/58 การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.20 ล้านตัน มูลค่า 1,558.66 ล้านบาท ในปี 2553/54 เป็นปริมาณ 0.25 ล้านตัน มูลค่า 2,221.66 ล้านบาท ในปี 2557/58 หรือ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 17.07 และร้อยละ 17.83 ต่อปี ตามลำดับ เนื่องจากปี 2556/57 มีการใช้ มาตรการผลักดันการส่งออกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สำหรับตลาดส่งออกทีส่ ำคัญ ได้แก่ จีน ฟิลปิ ปินส์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย
14 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2557/58 การส่งออก มีปริมาณ 0.25 ล้านตัน มูลค่า 2,221.69 ล้านบาท ลดลงจาก 0.99 ล้านตัน มูลค่า 7,493.01 ล้านบาท ในปี 2556/57 หรือลดลง ร้อยละ 74.75 และร้อยละ 70.35 ตามลำดับ เนือ่ งจากปี 2556/57 มีการใช้มาตรการผลักดัน การส่ ง ออกข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ต ามมาตรการ แทรกแซงตลาดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปี 2556/57
(3) การนำเข้า
ปี 2553/54-2557/58 การนำเข้ามีแนวโน้มลดลงจากปริมาณ 0.35 ล้านตัน มูลค่า 1,333.91 ล้านบาท ในปี 2553/54 เหลือ 0.15 ล้านตัน มูลค่า 702.53 ล้านบาท ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 18.94 และร้อยละ 14.33 ต่อปี ตามลำดับ เนื่องจากผลผลิตภายในประเทศเพิ่มขึ้น และ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการบริหารจัดการช่วง เวลานำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สำหรับผู้นำเข้า ทัว่ ไปทีน่ ำเข้าภายใต้กรอบความตกลงเขตการค้า เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) และโครงการลงทุนเกษตรแบบมีสัญญา
กับประเทศเพื่อนบ้าน (Contract Farming) ภายใต้ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Stratege: ACMECS) ปี 2557/58 การนำเข้า มีปริมาณ 0.15 ล้านตัน มูลค่า 702.53 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.14 ล้านตัน มูลค่า 570.89 ล้านบาท ในปี 2556/57 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7.14 และร้อยละ 23.06 ตามลำดับ เนื่องจากผลผลิตภายในประเทศลดลง ขณะที่ ความต้องการใช้มีเพิ่มขึ้น ประกอบกับมีการ ผลักดันนโยบายการนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ภายใต้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยนำร่องที่ จังหวัดตาก
(4) ราคา
ร า ค า ปี 2 5 5 3 / 5 4 2557/58 มีแนวโน้มลดลงในทุกตลาด ดังนี้ 1) ราคาที่เกษตรกรขาย ได้ (ความชืน้ ไม่เกิน 14.5%) ลดลงจากกิโลกรัม ละ 8.13 บาท ในปี 2553/54 เหลือกิโลกรัมละ 7.31 บาท ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 2.93 ต่อปี 2) ราคาขายส่งในตลาด กรุงเทพฯ ราคาโรงงานอาหารสัตว์รบั ซือ้ ลดลง จากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในปี 2553/54 เหลือกิโลกรัมละ 9.37 บาท ในปี 2557/58 หรือ ลดลงร้อยละ 1.16 ต่อปี และราคาไซโลรับซื้อ ลดลงจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ในปี 2553/ 54 เหลือกิโลกรัมละ 8.51 บาท ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 1.47 ต่อปี
2. แนวโน้ม ปี 2559 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปี 2558/59 คาดว่าการผลิต มีปริมาณ 972.60 ล้านตัน ลดลงจาก 1,008.68 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 3.58 โดย สหรัฐอเมริกาผลิตได้ลดลงจาก 361.09 ล้านตัน ในปี 2557/58 เหลือ 344.31 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 4.65 เนื่องจาก ผลกระทบจากภัยแล้งทำให้เนือ้ ทีเ่ พาะปลูกลดลง นอกจากนี้ บราซิล สหภาพยุโรป ยูเครน อาร์เจนตินา เม็กซิโก และอินเดีย ผลิตได้ลดลง 2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2558/59 คาดว่าความ ต้องการใช้ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์มปี ริมาณ 980.79 ล้านตัน ลดลงจาก 988.53 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 0.78 โดยสหภาพยุโรป เม็กซิโก และยูเครน มีความต้องการใช้ลดลง (2) การค้า ปี 2558/59 คาดว่ า ปริมาณการค้าของโลกมี 127.74 ล้านตัน
(3) ราคา
ปี 2558/59 คาดว่าราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก มีแนวโน้มลดลงจากปี 2557/58 เนื่องจาก สต็อกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลกยังคงมีปริมาณ มาก ขณะที่ความต้องการใช้ลดลง นอกจากนี้ ราคาธัญพืชโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลง 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ปี 2558/59 คาดว่ า เนื้ อ ที่ เพาะปลูกมี 7.24 ล้านไร่ ลดลงจาก 7.29 ล้านไร่ ในปี 2557/58 ร้อยละ 0.69 เนื่อง จากประสบปัญหาภัยแล้ง ทำให้เกษตรกรปรับ เปลี่ยนไปปลูกพืชที่ทนแล้ง และใช้น้ำน้อยกว่า เช่น อ้อยโรงงาน และมันสำปะหลัง ส่งผลให้ ผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก 659 กิโลกรัม ในปี 2557/58 เหลือ 651 กิโลกรัม ในปี 2558/ 59 หรื อ ลดลงร้ อ ยละ 1.21 และปริ ม าณ ผลผลิตรวมลดลงจาก 4.80 ล้านตัน ในปี 2557/58 เหลือ 4.71 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 1.87 2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2558/59 คาดว่าความ ต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีปริมาณ 5.34
15 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ราคาข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ปี 2557/58 ปรับตัวสูงขึน้ ในทุกตลาดเมือ่ เทียบ กับปี 2556/57 เนือ่ งจากปริมาณผลผลิตลดลง ขณะที่ความต้องการใช้มีเพิ่มขึ้น
เพิม่ ขึน้ จาก 127.08 ล้านตันของปี 2557/58 ร้อยละ 0.52 โดยประเทศผู้ส่งออก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย อินเดีย และ แอฟริกาใต้ จะมีการส่งออกเพิม่ ขึน้ และประเทศ ผู้นำเข้า ได้แก่ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และอียิปต์ จะมีการนำเข้าเพิ่มขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
3) ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี ลดลงจากตันละ 9,832 บาท ในปี 2553/54 เหลือตันละ 9,675 บาท ในปี 2557/58 หรือ ลดลงร้อยละ 1.48 ต่อปี
ล้ า นตั น เพิ่ ม ขึ้ น จาก 5.04 ล้ า นตั น ในปี 2557/58 ร้อยละ 5.95 เนื่องจากการขยาย ตัวของภาคอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ ทำให้ ความต้ อ งการใช้ ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ เ พื่ อ เป็ น วัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
ปี 2558/59 คาดว่าการ ส่งออกมีแนวโน้มลดลงจากปี 2557/58 เนื่อง จากปริ ม าณผลผลิ ต ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ล ดลง จากผลกระทบของภัยแล้ง ขณะทีค่ วามต้องการ ใช้ภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์มีเพิ่มขึ้น
16
(3) การนำเข้า
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2558/59 คาดว่าการ นำเข้ า มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2557/58 เนื่องจากปริมาณผลผลิตภายในประเทศมีไม่ เพียงพอกับความต้องการใช้ ประกอบกับรัฐบาล มีนโยบายผลักดันการนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ภายใต้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(4) ราคา
ปี 2558/59 คาดว่าราคา จะมีแนวโน้มสูงกว่าปี 2557/58 เนื่องจาก ปัญหาภัยแล้งส่งผลกระทบต่อเนื้อที่เพาะปลูก ส่ ง ผลให้ ผ ลผลิ ต ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ล ดลง ใน ขณะที่ความต้องการใช้ยังคงมีทิศทางเพิ่มขึ้น 2.3 ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อปริมาณการผลิต การตลาด และการส่งออก 2.3.1 ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อปริมาณ การผลิต และการตลาด (1) พืน้ ทีป่ ลูกไม่เหมาะสม พืน้ ที่ ปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์อยูใ่ นเขตไม่เหมาะสม และ เหมาะสมน้อย ประมาณร้อยละ 21 ของพื้นที่
ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทั้งประเทศ ส่งผลทำให้ ปริมาณผลผลิตต่อไร่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ (2) ปัญหาภัยธรรมชาติ พื้นที่ ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มากกว่าร้อยละ 90 ของ พื้ น ที่ ป ลู ก ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ทั้ ง ประเทศ อยู่ นอกเขตชลประทาน และอาศัยน้ำฝนในการ เพาะปลูกเพียงอย่างเดียว การเกิดปัญหาภัยแล้ง และภาวะฝนทิง้ ช่วงอาจส่งผลต่อปริมาณผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (3) ความต้องการใช้ของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ปริมาณผลผลิตมากกว่า ร้อยละ 90 ของผลผลิตทั้งหมดใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์เป็นหลัก การเพิ่มขึ้น หรือ ลดลงของความต้องการใช้ จะส่งผลต่อราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายในประเทศ (4) การนำเข้ า จากประเทศ เพื่อนบ้าน อาจส่งผลกระทบต่อราคาภายใน ประเทศ โดยเฉพาะช่วงทีผ่ ลผลิตภายในประเทศ ออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนสิงหาคม ถึงเดือน ธันวาคม (5) การนำเข้าพืชทดแทน การ นำข้าวสาลีราคาถูกมาใช้ทดแทนข้าวโพดเลี้ยง สัตว์บางส่วนในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ อาจ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ราคาข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ที่ เกษตรกรขายได้ 2.3.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ ส่งออก ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การส่ ง ออก ได้ แ ก่ ปริ ม าณผลผลิ ต ภายใน ประเทศ ความต้องการใช้ และราคาผลผลิต ภายในประเทศ
ตารางที่ 1 บัญชีสมดุลข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2553/54-2558/59 ปี 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2558/59* ผลต่าง 2557/58 และ 2558/59 (ร้อยละ)
สต็อก ผลผลิต ต้นปี 143.63 835.32 127.08 889.77 132.80 870.31 137.92 991.42 175.88 1,008.68 4.99 4.97 196.03 972.60 11.46
-3.58
หน่วย : ล้านตัน
ปริมาณการค้า นำเข้า ส่งออก 91.71 91.71 103.68 103.68 100.53 100.53 130.15 130.15 127.08 127.08 9.19 9.19 127.74 127.74 0.52
0.52
851.87 884.05 865.19 953.46 988.53 3.80 980.79
สต็อก ปลายปี 127.08 132.80 137.92 175.88 196.03 12.16 187.83
-0.78
-4.18
การใช้
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ผลต่างร้อยละ (2)-(1) -4.65 -5.88 -23.42 -6.00 -12.13 -9.43 2.68 -3.58
ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 3 ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2553/54-2558/59 อัตราเพิ่ม 2558/59 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (1) (ร้อยละ) (2) สหรัฐอเมริกา 284.55 277.96 262.97 292.97 301.85 1.72 302.40 บราซิล 49.50 50.50 52.50 55.00 57.00 3.74 59.00 จีน 180.00 188.00 200.00 212.00 217.00 5.06 219.00 สหภาพยุโรป 64.90 69.50 69.60 76.50 78.50 4.88 76.50 อินเดีย 18.10 17.20 17.50 19.60 22.00 5.35 22.30 เม็กซิโก 29.50 29.00 27.00 31.70 34.25 3.95 34.00 ยูเครน 6.50 7.80 8.10 9.70 9.40 10.03 8.40 อื่นๆ 218.82 244.09 227.51 255.99 268.53 4.68 259.19 รวม 851.87 884.05 865.19 953.46 988.53 3.80 980.79 ประเทศ
ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
หน่วย : ล้านตัน
ผลต่างร้อยละ (2)-(1) 0.18 3.51 0.92 -2.55 1.36 -0.73 -10.64 -3.48 -0.78
17 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
อัตราเพิ่ม 2558/59 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (1) (ร้อยละ) (2) สหรัฐอเมริกา 315.62 312.79 273.19 351.27 361.09 3.93 344.31 บราซิล 57.40 73.00 51.50 80.00 85.00 9.16 80.00 สหภาพยุโรป 58.27 68.12 58.90 64.63 75.73 4.83 58.00 เม็กซิโก 21.06 18.73 21.59 22.88 25.00 5.59 23.50 ยูเครน 11.92 22.84 20.92 30.90 28.45 22.66 25.00 อาร์เจนตินา 25.20 21.00 27.00 26.00 26.50 3.19 24.00 อื่นๆ 345.86 373.30 417.20 415.73 406.91 4.42 471.80 รวม 835.32 889.77 870.31 991.42 1,008.68 4.97 972.60 ประเทศ
หน่วย : ล้านตัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ตารางที่ 2 ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2553/54-2558/59
ตารางที่ 4 ปริมาณการส่งออกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2553/54-2558/59 อัตราเพิ่ม 2558/59 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (1) (ร้อยละ) (2) สหรัฐอเมริกา 45.16 38.34 18.26 50.68 46.80 3.57 47.00 บราซิล 11.58 12.67 26.04 22.04 22.00 20.16 31.00 รัสเซีย 0.04 2.03 1.92 4.19 2.90 157.27 4.00 อินเดีย 3.38 4.67 4.77 3.89 1.10 -21.55 2.00 แอฟริกาใต้ 2.84 1.83 2.40 2.10 0.80 -21.29 1.00 อื่นๆ 28.72 44.13 47.14 47.24 53.48 14.01 42.74 รวม 91.71 103.68 100.53 130.15 127.08 9.19 127.74 ประเทศ
หน่วย : ล้านตัน
ผลต่างร้อยละ (2)-(1) 0.43 40.91 37.93 81.82 25.00 -20.08 0.52
ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 5 ปริมาณการนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2553/54-2558/59 ประเทศ
18
ญี่ปุ่น เม็กซิโก สหภาพยุโรป อียิปต์ อื่นๆ รวม
อัตราเพิ่ม 2558/59 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (1) (ร้อยละ) (2) 15.65 14.89 14.41 15.12 14.70 -1.09 14.80 8.25 11.17 5.68 10.95 11.00 5.71 10.50 7.39 6.11 11.36 15.92 8.60 13.45 16.00 5.80 7.15 5.06 8.73 7.50 7.38 8.00 54.63 64.35 64.02 79.43 85.28 11.64 78.44 97.71 103.68 100.53 130.15 127.08 9.19 127.74
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ที่มา : Grain: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 6 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก ปี 2553/54-2557/58 ปี 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ราคาตลาดชิคาโก (บาท/ตัน) 6,669 8,060 8,933 6,451 4,925 -7.95
หน่วย : ล้านตัน
ผลต่างร้อยละ (2)-(1) 0.68 -4.55 86.05 6.67 -8.02 0.52
ตารางที่ 7 เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี 2553/54-2558/59 ปี 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2558/59*
เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่) 7.48 7.40 7.53 7.43 7.29 -0.47 7.24
ผลผลิต (ล้านตัน) 4.86 4.97 4.95 4.88 4.80 -0.43 4.71
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) 650 672 657 657 659 0.05 651
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ตารางที่ 8 การใช้ในประเทศ การส่งออก และการนำเข้าของไทย ปี 2553/54-2558/59
4.28 4.36 4.67 4.72 5.04 4.15 5.34
การนำเข้า2/ ปริมาณ มูลค่า (ล้านตัน) (ล้านบาท) 0.35 1,333.91 0.21 743.82 0.10 410.47 0.14 570.89 0.15 702.53 -18.94 -14.33 0.20 -
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : 1/ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร
ตารางที่ 9 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ และส่งออก เอฟ.โอ.บี. ปี 2553/54-2557/58 ปี 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ เกษตรกร ส่งออก เอฟ.โอ.บี. ขายได้ โรงงานอาหารสัตว์ ไซโลรับซื้อ (บาท/ตัน) (บาท/กก.) รับซื้อ (บาท/กก.) (บาท/กก.) 8.13 9.42 8.60 9,832 7.63 9.66 8.58 10,053 9.34 10.39 8.35 10,679 7.01 8.70 7.57 8,941 7.31 9.37 8.51 9,675 -2.93 -1.16 -1.47 -1.48
19 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2558/59*
การส่งออก2/ ปริมาณ มูลค่า (ล้านตัน) (ล้านบาท) 0.20 1,558.66 0.32 2,950.21 0.04 391.10 0.99 7,493.01 0.25 2,221.69 17.07 17.83 0.10 -
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ปี
การใช้ในประเทศ1/ (ล้านตัน)
• มันสำปะหลัง •
1. สถานการณ์ ปี 2558 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต
Food Feed Fuel
20 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2554-2558 ผลผลิตของ โลกขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.31 ต่อปี เนื่อง จากประเทศผูผ้ ลิตมันสำปะหลังได้ขยายการผลิต เพิ่มขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ทั้งด้านความมั่นคง อาหาร ความมัน่ คงพลังงาน และความเป็นอยูท่ ดี่ ี ของเกษตกร โดยพืน้ ทีป่ ลูกมันสำปะหลังส่วนใหญ่ อยู่ในทวีปแอฟริกาประมาณร้อยละ 56 รอง ลงมาคือ เอเชีย ร้อยละ 32 ละตินอเมริกา ร้อยละ 11 และโอเชียเนีย ร้อยละ 1 ตามลำดับ ทัง้ นี้ ในทวีปแอฟริกา มันสำปะหลังยังคงเป็นพืช อาหารหลักที่สำคัญต่อความมั่นคงด้านอาหาร ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของคนชนบท สำหรับทวีป เอเชีย มีความต้องการใช้มันสำปะหลังในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ เช่น อุตสาหกรรม แอลกอฮอล์ เอทานอล อาหาร และอาหารสัตว์ เป็นต้น โดยประเทศอินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ และ เอเชียใต้ มันสำปะหลังมีความสำคัญต่อความ มั่นคงด้านอาหาร สำหรับเวียดนาม มีนโยบาย จำกัดพื้นที่ปลูกไม่เกิน 2.81 ล้านไร่ (0.45 ล้านเฮกตา) เพื่อป้องกันการบุกรุกพื้นที่ป่า ปี 2 5 5 8 โ ล ก มี ผ ล ผ ลิ ต มันสำปะหลัง 288.85 ล้านตัน เมื่อเทียบกับ ปี 2557 ที่มีผลผลิต 288.26 ล้านตัน พบว่า ผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.20 โดยทวีปเอเชีย ละตินอเมริกา และโอเชียเนีย มีผลผลิตเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 2.75 ร้อยละ 3.78 และร้อยละ 3.63 ตามลำดับ ส่วนทวีปแอฟริกา ผลผลิตลดลง ร้ อ ยละ 1.88 เนื่ อ งจากสภาพภู มิ อ ากาศที่ แห้งแล้ง ส่งผลให้ผลผลิตมันสำปะหลังลดลงใน รอบ 10 ปี ทัง้ นีผ้ ผู้ ลิตรายใหญ่ 5 อันดับแรก คือ ไนจีเรีย ไทย อินโดนีเซีย บราซิล และคองโก 1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ประเทศผู้ ผ ลิ ต ที่ ส ำคั ญ ทั้งในทวีปแอฟริกา เอเชีย และละตินอเมริกา ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้มันสำปะหลังเพื่อ บริโภคภายในประเทศเป็นหลัก โดยอยู่ในรูป หัวมันสด และในรูปผลิตภัณฑ์ ยกเว้นประเทศไทย และเวียดนาม ที่มีการใช้ในประเทศประมาณ ร้อยละ 25 ของผลผลิตที่ผลิตได้ ที่เหลือเป็น การส่งออก ปี 2558 ความต้องการ ใช้มันสำปะหลังเพิ่มขึ้นจากปี 2557 ซึ่งเพิ่ม ขึ้นในส่วนที่ใช้เพื่อผลิตเป็นอาหาร พลังงาน และอาหารสัตว์ สำหรับทวีปเอเชีย อุตสาหกรรมเอทานอลเป็ น ปั จ จั ย หลั ก ที่ ท ำให้ ค วาม ต้องการใช้มันสำปะหลังขยายตัวเพิ่มขึ้น โดย จีนมีหลายมณฑล ได้บังคับให้ผสมเอทานอล ในน้ำมันเบนซิน ทำให้มีความต้องการใช้มันสำปะหลังเพื่อผลิตเอทานอลประมาณ 500 ล้านลิตร และยังคงต้องนำเข้าวัตถุดิบจากต่าง ประเทศ สำหรับเวียดนามตั้งแต่ปลายปี 2557 รัฐบาลบังคับให้ผสมเอทานอลร้อยละ 5 ในน้ำมัน
(2) การส่งออก ปี 2553-2557 มูลค่า การส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น สำปะหลั ง ของโลก (มันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันสำปะหลัง) ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.80 ต่อปี เนื่องจาก ตลาดโลกมีความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลั ง โดยเฉพาะความต้ อ งการใช้ มั น เส้ น และแป้ ง มั น สำปะหลั ง ของจี น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง ต่อเนื่อง สาเหตุจากผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง
สามารถใช้ ใ นอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งได้ ห ลาก หลาย ประกอบกับราคาผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลัง มีแนวโน้มสูงขึ้น ปี 2557 โลกมีมูลค่าการ ส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น สำปะหลั ง 3,688.14 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เมื่อเทียบกับปี 2556 ทีม่ มี ลู ค่าการส่งออก 3,820.05 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ พบว่า มูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 3.45 ทั้งนี้ประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่คือ ไทย มีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 76 รองลงมา คือ เวียดนาม และกัมพูชา มีส่วนแบ่งการ ตลาดประมาณร้ อ ยละ 16 และร้ อ ยละ 3 ตามลำดับ 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต
ปี 2558 มีเนือ้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว 8.96 ล้านไร่ ผลผลิต 32.36 ล้านตัน และผลผลิต ต่อไร่ 3.61 ตัน เทียบกับเนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.43 ล้านไร่ ผลผลิต 30.02 ล้านตัน และผลผลิต ต่อไร่ 3.56 ตัน ในปี 2557 พบว่า เนื้อที่ เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.29 ร้อยละ 7.79 และร้อยละ 1.40
21 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2554-2558 เนือ้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว ผลผลิ ต และผลผลิ ต ต่ อ ไร่ ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น ร้อยละ 4.68 ร้อยละ 8.17 และร้อยละ 3.34 ต่อปี ตามลำดับ เนื่องจากราคามันสำปะหลัง อยู่ในเกณฑ์ดี ภาครัฐได้ดำเนินโครงการและ มาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูก มันสำปะหลังอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกษตรกร ขยายพื้นที่ปลูก และการระบาดของเพลี้ยแป้ง ลดลงมาก รวมถึงเกษตรกรมีการดูแลรักษา ดีขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มสูงขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
เบนซิน และในปี 2558 รัฐบาลได้การเก็บ ภาษีสง่ ออกมันสำปะหลังร้อยละ 5 เพือ่ ให้มนั่ ใจ ว่า ผลผลิตมันสำปะหลังในประเทศมีเพียงพอ สำหรับการผลิตเอทานอล สำหรับไทยมีการใช้ เอทานอลผสมในน้ำมันเบนซินร้อยละ 20 และ ร้ อ ยละ 85 และปริ ม าณรถยนต์ ที่ ใ ช้ น้ ำ มั น เบนซิน E85 มีมากขึ้น ซึ่งเอทานอลของไทย ผลิตจากกากน้ำตาล และมันสำปะหลังเป็นหลัก และคาดว่าจะมีการใช้เอทานอลประมาณ 3 ล้าน ลิตรต่อวัน สำหรับความต้องการใช้มนั สำปะหลัง เพื่อแปรรูปเป็นอาหาร ส่วนใหญ่จะอยู่ในทวีป แอฟริกา ละตินอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศบราซิล ได้มีมาตรการให้ผสมแป้งมัน สำปะหลังในแป้งสาลี สำหรับทวีปเอเชีย โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ประเทศอิ น เดี ย อิ น โดนี เ ซี ย และฟิลิปปินส์ มีการบริโภคมันสำปะหลังอย่าง แพร่หลาย สำหรับความต้องการใช้มนั สำปะหลัง เพื่ อ เป็ น วั ต ถุ ดิ บ อาหารสั ต ว์ มี ม ากในละติ น อเมริกา และแคริบเบียน โดยเฉพาะในบราซิล สำหรับเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มันสำปะหลังยังคงเป็นวัตถุดิบอาหาร สัตว์ที่สำคัญ โดยเฉพาะจีนที่มีความต้องการใช้ เพิ่ ม ขึ้ น สำหรั บ ไทย ความต้ อ งการใช้ ล ดลง เนื่องจากไม่สามารถแข่งขันกับพืชทดแทนได้
ตามลำดับ เนื่องจากราคาในปีที่ผ่านมาอยู่ใน เกณฑ์ดี ส่งผลให้เกษตรกรปลูกทดแทนพื้นที่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงานที่รื้อตอทิ้ง และ พืน้ ทีว่ า่ งเปล่า ประกอบกับเกษตรกรมีการบำรุง รักษาที่ดีขึ้น เช่น การเลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่ดี การใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิต และการแช่ท่อนพันธุ์ ก่อนการเพาะปลูกเพื่อป้องกันการระบาดของ เพลี้ยแป้ง ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น 1.2.2 การตลาด
22 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ผลผลิ ต มั น สำปะหลั ง เข้ า สู่ กระบวนการแปรรูปทั้งหมด โดยแปรรูปเป็น มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลัง และ เอทานอล เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ต่อเนือ่ ง เช่น อาหาร อาหารสัตว์ สารความหวาน ผงชูรส กระดาษ สิ่งทอ เป็นต้น โดยความ ต้องการใช้ภายในประเทศในแต่ละปีประมาณ ร้อยละ 20-25 ที่เหลือร้อยละ 75-80 เป็น การส่งออก ประเทศ
(1) ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ใ น
ปี 2554-2558 ความ ต้ อ งการใช้ มั น สำปะหลั ง ในประเทศขยายตั ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.23 ต่อปี โดยเฉพาะความ ต้องการใช้เพื่อผลิตเอทานอลที่มีแนวโน้มเพิ่ม สูงขึ้นเป็นอย่างมาก ความต้องการใช้เพื่อผลิต แป้งมันสำปะหลังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นไม่มากนัก ส่วนความต้องการใช้เพือ่ ผลิตมันเส้นเป็นวัตถุดบิ อาหารสัตว์มีแนวโน้มลดลง โดยผู้ประกอบการ อุ ต สาหกรรมอาหารสั ต ว์ หั น ไปใช้ ก ากมั น สำปะหลัง หรือพืชทดแทนอื่นๆ เนื่องจากราคา มันเส้นปรับตัวสูงขึ้น
ปี 2558 คาดว่าความ ต้องการใช้มันสำปะหลังในประเทศประมาณ 9.48 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2557 ที่มีความ ต้องการใช้ประมาณ 8.64 ล้านตัน พบว่า ความต้องการใช้เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.72 เนือ่ งจาก ความต้องการใช้เพื่อผลิตเอทานอลเพิ่มสูงขึ้น จากนโยบายยกเลิกน้ำมันเบนซิน 91 ปัจจุบัน มีโรงงานที่ใช้เฉพาะมันสำปะหลังเป็นวัตถุดิบ ในการผลิตเอทานอล 7 แห่ง ส่วนความต้องการ ใช้เพื่อผลิตแป้งมันสำปะหลังเพิ่มขึ้น เนื่องจาก แป้งมันสำปะหลังใช้เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรม ต่ อ เนื่ อ งได้ ห ลากหลาย ส่ ว นมั น เส้ น มี ค วาม ต้องการใช้ลดลง เนื่องจากผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารสัตว์หันไปใช้พืชทดแทนอื่นๆ ที่มีราคาถูก ประกอบกับราคามันเส้นปรับตัว สูงขึ้น (2) การส่งออก ปี 2554-2558 การ ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ได้แก่ มันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันสำปะหลัง มีปริมาณ และมู ล ค่ า การส่ ง ออกขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 15.46 และร้อยละ 11.81 ต่อปี ตามลำดับ โดยการส่งออกมันเส้น และแป้งมันสำปะหลัง มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนการส่งออกมันอัดเม็ด มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากอดีต ไทยส่งออกมัน อัดเม็ดไปสหภาพยุโรปเป็นหลัก แต่ปจั จุบนั ราคา มันอัดเม็ดจากไทยไม่สามารถแข่งขันกับธัญพืช ของสหภาพยุโรปได้ ส่งผลให้การส่งออกมัน อัดเม็ดลดลงมาก ผู้ประกอบการไทยจึงหันไป หาตลาดใหม่ๆ ทดแทน เช่น จีน และญี่ปุ่น เป็นต้น
(3) ราคา
ปี 2554-2558 ราคาที่ เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา ลดลงร้อยละ 2.43 ต่อปี เนือ่ งจากในปี 2553-2554 เกิดปัญหาการ ระบาดของเพลีย้ แป้ง ทำให้ผลผลิตมันสำปะหลัง ลดลงมาก ไม่เพียงพอต่อความต้องการของ ผู้ประกอบการ ส่งผลให้ราคาที่เกษตกรขายได้ ปรับตัวสูงขึ้นมาก ภายหลังปี 2554 สามารถ ควบคุมการระบาดของเพลีย้ แป้งได้ทำให้ผลผลิต
ปี 2558 คาดว่า ราคา ทีเ่ กษตรกรขายได้ เฉลีย่ กิโลกรัมละ 2.18 บาท เมื่อเทียบกับปี 2557 พบว่า ราคาที่เกษตรกร ขายได้ทรงตัว สำหรับราคาส่งออกมันเส้นเฉลีย่ กิโลกรัมละ 7.25 บาท ราคาส่งออกมันอัดเม็ด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.98 บาท และราคาส่งออก แป้งมันสำปะหลังเฉลีย่ กิโลกรัมละ 14.24 บาท เมื่อเทียบกับปี 2557 พบว่า ราคาส่งออก มันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันสำปะหลัง เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.83 ร้อยละ 5.98 และร้อยละ 4.17 ตามลำดับ เนื่องจากประเทศคู่ค้ายังคงมีความ ต้องการผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังอย่างต่อเนื่อง
2. แนวโน้ม ปี 2559 2.1 ของไทย 2.1.1 การผลิต ปี 2559 คาดว่ามีเนือ้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว 8.71 ล้านไร่ ผลผลิต 31.04 ล้านตัน และ ผลผลิตต่อไร่ 3.56 เมื่อเทียบกับปี 2558 ที่มี เนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.96 ล้านไร่ ผลผลิต 32.36 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.61 ตัน พบว่า พืน้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลง ร้อยละ 2.79 ร้อยละ 4.08 และร้อยละ 1.39 ตามลำดับ เนื้อที่เก็บเกี่ยวลดลง จากสภาวะ
23 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ตลาดหลั ก ที่ ส ำคั ญ ของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น สำปะหลั ง ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นทวี ป เอเชีย มันเส้น ได้แก่ จีน มันอัดเม็ด ได้แก่ จีน และญี่ปุ่น แป้งมันสำปะหลังดิบ ได้แก่ จีน อิ น โดนี เ ซี ย ไต้ ห วั น มาเลเซี ย และญี่ ปุ่ น แป้งมันสำปะหลังดัดแปร ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้
มันสำปะหลังเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้ราคามันสำปะหลัง อ่อนตัวลง แต่ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ดี นอกจากนี้ ราคามันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ยังขึ้นอยู่กับ ราคาสินค้าพืชทดแทน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และข้าวสาลี โดยราคาส่งออกมันอัดเม็ด ขยาย ตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.21 ต่อปี ส่วนราคาส่งออก มันเส้นและแป้งมันสำปะหลัง ลดลงร้อยละ 1.77 และร้อยละ 1.52 ต่อปี ตามลำดับ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ปี 2558 คาดว่ามีปริมาณ การส่งออก 11.19 ล้านตัน มูลค่า 116,080 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2557 ที่มีปริมาณ การส่งออก 10.76 ล้านตัน มูลค่า 111,716 ล้านบาท พบว่า ปริมาณและมูลค่าการส่งออก เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.98 และร้อยละ 3.91 ตาม ลำดับ เนือ่ งจากประเทศคูค่ า้ ยังมีความต้องการ ใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น สำปะหลั ง เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ทั้ ง นี้ การส่ ง ออกมั น เส้ น ขึ้ น อยู่ กั บ ราคาธั ญ พื ช ของ ประเทศคู่ค้า สำหรับแป้งมันสำปะหลัง มีการ ใช้ในอุ ตสาหกรรมที่ หลากหลายมากขึ้ น ทำ ให้ความต้องการใช้ขยายตัว ปัจจุบัน จีนเป็น ประเทศผูน้ ำเข้าผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลังรายใหญ่ ทีส่ ดุ ของไทย เนือ่ งจากมีความต้องการใช้มนั เส้น เพือ่ นำไปผลิตแอลกอฮอล์ และแป้งมันสำปะหลัง เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งทอ
24 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
อากาศแห้งแล้งเป็นเวลานาน ทำให้มนั สำปะหลัง บางพื้นที่ตาย เกษตรกรขาดแคลนท่อนพันธุ์ ทีจ่ ะใช้ปลูกทดแทนจึงปล่อยพืน้ ทีว่ า่ งไว้ บางราย ปลูกพืชชนิดอื่นที่หาพันธุ์ง่ายกว่าปลูกทดแทน เช่น ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ อ้อย ถัว่ เป็นต้น สำหรับ ผลผลิ ต ต่ อ ไร่ ล ดลง เนื่ อ งจากประสบปั ญ หา ภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน เกษตรกรจึง เก็ บ เกี่ ย วก่ อ นครบอายุ ประกอบกั บ เกิ ด การ ระบาดของเพลี้ยแป้ง ทำให้ผลผลิตบางส่วน เสียหายจึงต้องปลูกใหม่หลายรอบ บางพื้นที่ ขาดแคลนท่อนพันธุ์ที่จะปลูกใหม่ จึงหันไปใช้ ท่อนพันธุ์นอกพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมกับสภาพเดิม ส่งผลทำให้ผลผลิตต่อไร่ลดลง ภาพรวมผลผลิต รวมทั้งประเทศจึงลดลงด้วย 2.1.2 การตลาด (1) ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ใ น ประเทศ ปี 2559 คาดว่าความ ต้องการใช้ในประเทศจะเพิ่มขึ้นจากปี 2558 โดยเฉพาะความต้องการใช้มันสำปะหลังเพื่อ เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอลจะเพิ่มขึ้นจาก 2.30 ล้านตัน หัวมันสดในปี 2558 เป็น 2.90 ล้านตัน หัวมันสด ในปี 2559 ส่วน ความต้องการใช้เพื่อผลิตเป็นมันเส้นและแป้ง มันสำปะหลังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (2) การส่งออก ปี 2559 คาดว่ า การ ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังจะใกล้เคียงกับ ปี 2558 เนื่องจากประเทศคู่ค้ายังคงมีความ ต้องการผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังทั้งในรูปของ มั น เส้ น และแป้ ง มั น สำปะหลั ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศผู้นำเข้า หลักของไทย
(3) ราคา
ปี 2559 คาดว่าราคามันสำปะหลังที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา ราคา ส่งออกมันเส้นและราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง จะใกล้เคียงกับปี 2558 อย่างไรก็ตาม หาก ผลผลิตมันสำปะหลังของเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะ กัมพูชา เวียดนาม และลาว มีปริมาณเพิ่มขึ้น หรือราคาพืชทดแทน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปรั บ ตั ว ลดลง จะส่ ง ผลกระทบต่ อ ราคามั น สำปะหลังและผลิตภัณฑ์ของไทยเป็นอย่างมาก 2.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต และ การตลาดมันสำปะหลัง เกษตรกรผูป้ ลูกมันสำปะหลังส่วนใหญ่ จะประสบปั ญ หาต้ น ทุ น การผลิ ต สู ง ผลผลิ ต ต่อไร่ต่ำ รวมถึงราคามันสำปะหลังตกต่ำ ซึ่ง ปัญหาราคามันสำปะหลังตกต่ำส่วนใหญ่จะเกิด ขึ้นในช่วงที่ผลผลิตออกสู่ตลาดมากเกินกำลัง การผลิตของโรงแป้งมันสำปะหลังและลานมัน โดยในปี 2559 คาดว่าผลผลิตมันสำปะหลัง จะออกสู่ ต ลาดมากในช่ ว งเดื อ นมกราคม ถึ ง เมษายน ปริมาณ 21.22 ล้านตัน หรือคิดเป็น ร้อยละ 68 ของผลผลิตมันสำปะหลังทั้งหมด ดังนั้น หากเกษตรกรชะลอการเก็บเกี่ยว เพื่อ ไม่ให้ผลผลิตออกมากระจุกตัว จะช่วยให้ราคา มันสำปะหลังไม่ตกต่ำในช่วงเวลาดังกล่าว และ หากเกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้เพิ่ม สูงขึ้น ก็จะสามารถช่วยให้ต้นทุนการผลิตลดลง ได้ ดั ง นั้ น คณะกรรมการนโยบายและการ บริหารจัดการมันสำปะหลัง (นบมส.) จึงมีมติ เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม 2558 เห็นชอบแนวทาง การบริ ห ารจั ด การตลาดมั น สำปะหลั ง ปี 2558/59 เพื่อช่วยเกษตรกร ดังนี้
เพือ่ ให้เกษตรกรมีเงินทุนใช้จา่ ย ในครั ว เรื อ นในช่ ว งชะลอขุ ด หั ว มั น สำปะหลั ง และลดปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาด กำหนด เป้าหมายเกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกมันสำปะหลัง
2.2.3 โครงการสนับสนุนสินเชือ่ เพือ่ รวบรวมและสร้างมูลค่าเพิ่มมันสำปะหลัง ปี 2558/59 เพือ่ สร้างความเข้มแข็งและเพิม่ สภาพคล่องให้กับสหกรณ์ภาคการเกษตร กลุ่ม เกษตรกรและกลุม่ วิสาหกิจชุมชน ในการรวบรวม รั บ ซื้ อ หั ว มั น และแปรรู ป ซึ่ ง มี เ ป้ า หมายเพื่ อ รวบรวม หรือรับซือ้ มันสำปะหลัง 500,000 ตัน โดยให้สหกรณ์ภาคการเกษตร กลุ่มเกษตรกร และกลุม่ วิสาหกิจชุมชน กูเ้ งินจาก ธ.ก.ส. อัตรา ดอกเบีย้ กูร้ อ้ ยละ 5 ต่อปี โดยรัฐชดเชยดอกเบีย้ อัตราร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลาชดเชย 6 เดือน ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2558-31 ตุลาคม 2559
ตารางที่ 1 เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของโลก ปี 2554-2558 รายการ เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่)
2554 128.67 255.40 1,860
2555 143.11 266.13 1,860
2556 127.46 276.76 2,171
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : Food and Agriculture Organization of The United Nations (FAO), October 2015
2557* 2558* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) n.a. n.a. 288.26 288.85 3.31 n.a. n.a. -
25 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2.2.2 โครงการชะลอการเก็บเกี่ยว มันสำปะหลัง ปี 2558/59
100,000 ราย โดยเกษตรกรกู้เงินจาก ธ.ก.ส. วงเงินกูร้ ายละไม่เกิน 50,000 บาท อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 7 ต่อปี ซึง่ รัฐชดเชยดอกเบีย้ อัตรา ร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลา 6 เดือน กำหนด ชำระคืนไม่เกิน 6 เดือน ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวคม 2558-31 ตุลาคม 2559
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
2.2.1 โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การเพาะปลูกมันสำปะหลังในระบบน้ำหยด ปี 2558/59 เพื่ อ สนั บ สนุ น เงิ น ทุ น ในการ พัฒนาการปลูกมันสำปะหลังในระบบน้ำหยดให้ แก่เกษตรกร และช่วยเหลือเกษตรกรในการลด ต้นทุนและเพิ่มผลผลิต เป้าหมายคือ เกษตรกร รายย่อยผูป้ ลูกมันสำปะหลัง 20,000 ราย โดย ให้เกษตรกรกู้เงินจาก ธ.ก.ส. วงเงินกู้รายละ ไม่เกิน 230,000 บาท อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 7 ต่อปี ซึ่งรัฐชดเชยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลา 24 เดือน กำหนดชำระคืนไม่เกิน 5 ปี ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2558-31 ธันวาคม 2561
ตารางที่ 2 ประเทศผู้ผลิตที่สำคัญของโลก 5 อันดับแรก ปี 2555-2558 ประเทศ
พื้นที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) ไนจีเรีย 40.01 1/ ไทย 8.51 อินโดนีเซีย 7.06 บราซิล 10.58 คองโก 12.38 รวมของโลก 143.11
2555 2556 2557* 2558* ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิต ผลผลิต (ล้านตัน) (กก./ไร่) (ล้านไร่) (ล้านตัน) (กก./ไร่) (ล้านตัน) (ล้านตัน) 50.95 1,954 23.75 53.00 2,232 55.00 57.00 29.85 3,506 8.66 30.23 3,492 30.02 31.10 24.18 3,424 6.66 23.94 3,594 25.00 24.50 23.04 2,178 9.54 21.48 2,253 23.05 24.20 16.00 1,293 12.81 16.50 1,288 16.82 15.30 266.13 1,860 127.46 276.76 2,171 288.26 288.85
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : Food and Agriculture Organization of The United Nations (FAO), October 2015 1/ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ตารางที่ 3 มูลค่าส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของโลก ปี 2553-2557 ประเทศ ผู้ส่งออก
26 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ไทย เวียดนาม กัมพูชา คอสตาริกา อินโดนีเซีย อื่นๆ รวมของโลก
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
2553
2554
2555
2556
2557
1,568.58 564.10 2.87 51.01 45.43 82.68 2,314.68
1,900.88 938.97 5.25 64.40 79.06 110.54 3,099.11
2,078.41 1,347.78 11.59 60.57 15.56 103.13 3,617.04
2,456.78 1,093.91 14.55 65.30 59.50 130.00 3,820.05
2,790.43 583.70 99.75 70.38 35.51 108.38 3,688.14
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 15.13 2.23 125.09 6.80 -7.48 7.29 12.08
หมายเหตุ : ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง คือ มันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันสำปะหลัง ที่มา : International Trade Centre, October 2015
ตารางที่ 4 เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี 2554-2559 รายการ เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2554
2555
2556
2557
7.096 21.912 3,088
8.513 29.848 3,506
8.657 30.228 3,492
8.431 30.022 3,561
อัตราเพิ่ม 2559* (ร้อยละ) 8.961 4.68 8.713 32.358 8.17 31.040 3,611 3.34 3,562
2558
ตารางที่ 5 ความต้องการใช้มันสำปะหลัง ปี 2554-2558 รายการ ส่งออก1/ ใช้ในประเทศ* อุตสาหกรรมต่อเนื่อง* เอทานอล2/ รวมความต้องการใช้
หน่วย : ล้านตันหัวมันสด
2554
2555
2556
2557
2558*
19.599 7.094 6.444 0.650 26.693
23.372 6.996 6.528 0.468 30.368
26.945 8.234 6.634 1.600 35.179
31.705 8.64 6.740 1.900 40.345
32.408 9.48 7.180 2.300 41.888
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 14.01 8.23 2.51 48.12 12.58
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : 1/ กรมศุลกากร 2/ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ตารางที่ 6 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกมันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ ปี 2554-2558 ปริมาณ : ล้านตัน, มูลค่า : ล้านบาท
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 0.037 284 3.694 29,252 0.084 577 4.612 33,239 0.059 416 5.755 39,515 0.023 157 6.777 48,873 0.037 280 7.300 52,400
2554 2555 2556 2557 2558* อัตราเพิม่ -12.15 -12.45 (ร้อยละ)
19.09
16.78
แป้งมันสำปะหลัง รวมผลิตภัณฑ์ แป้งดิบ แป้งดัดแปร ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 1.888 28,238 0.793 19,056 6.412 76,830 2.236 30,796 0.846 18,930 7.778 83,542 2.446 34,880 0.897 20,038 9.157 94,849 3.012 41,053 0.947 21,633 10.759 111,716 2.910 41,200 0.940 22,200 11.187 116,080 12.34
10.99
4.63
4.49
15.46
11.81
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร
ตารางที่ 7 ราคาผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ปี 2554-2558 รายการ ราคาหัวมันสดที่เกษตรกรขายได้1/ ราคาส่งออกมันเส้น2/ ราคาส่งออกมันอัดเม็ด2/ ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง2/ หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : 1/ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร
2554 2.53 7.92 7.40 15.27
2555 2.07 7.20 7.04 13.85
หน่วย : บาท/กก.
2556 2.10 6.90 7.51 14.26
2557 2.18 7.19 7.53 13.67
2558* 2.18 7.25 7.98 14.24
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -2.43 -1.77 2.21 -1.52
27 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
มันเส้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ปี
มันอัดเม็ด
• ถั่วเหลือง • 1. สถานการณ์ ปี 2558 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต
Food Feed Fuel
28
ปี 2553/54-2557/58 ผลผลิต ถั่วเหลืองของโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.52 ต่อปี โดยในปี 2557/58 มีผลผลิตรวม 318.68 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 283.15 ล้านตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 12.55 ประเทศผูผ้ ลิตสำคัญ 3 ลำดับแรก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล และ อาร์เจนตินา ปริมาณผลิตรวม 265.35 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 82.66 ของผลผลิตโลก 1.1.2 การตลาด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
(1) ความต้องการใช้
ปี 2553/54-2557/58 ความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อสกัดน้ำมัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.96 ต่อปี ในปี 2557/58 มี ปริมาณ 261.50 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 241.28 ล้ า นตั น ในปี 2556/57 ร้ อ ยละ 8.38 ประเทศที่มีความต้องการใช้มากที่สุด คือ จีน รองลงมาได้ แ ก่ สหรั ฐ อเมริ ก า โดยทั้ ง 2 ประเทศ มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ปี 2556/57 สำหรับสต็อกสิ้นปี 2553/542557/58 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.38 ต่อปี อย่างไร ก็ตาม ในปี 2557/58 มีปริมาณ 77.58 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 62.68 ล้านตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 23.77
(2) การส่งออก
ปี 2553/54-2557/58 การส่งออกเมล็ดถั่วเหลืองโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.82 ต่อปี ในปี 2557/58 มีการส่งออก 126.62 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 112.64 ล้านตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 12.41 ประเทศส่งออก สำคัญอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ และใต้ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล และอาร์เจนตินา โดย ทั้ง 3 ประเทศ มีปริมาณส่งออกรวม 111.85 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 88.34 ของปริมาณ ส่งออกโลก
(3) การนำเข้า
ปี 2553/54-2557/58 การนำเข้ า เมล็ ด ถั่ ว เหลื อ งโลกเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 8.50 ต่อปี ในปี 2557/58 มีปริมาณการนำเข้า 122.08 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 111.71 ล้านตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 9.28 โดยจีนมีการ นำเข้ า มากที่ สุ ด เท่ า กั บ 78.35 ล้ า นตั น คิดเป็นร้อยละ 64.18 ของปริมาณนำเข้าโลก เนื่องจากผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ สกัดน้ำมันภายในประเทศ สำหรับประเทศไทย นำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองเป็นอันดับ 5 ของโลก ปี 2557/58 นำเข้าปริมาณ 2.41 ล้านตัน หรือร้อยละ 1.97 ของปริมาณนำเข้าโลก
ª·Á ¦µ³®r°µ®µ¦Â¨³°µ®µ¦´ ªr°¥nµ ¦ª Á¦Èª oª¥ TANGO
TANGO is the next-generation FT-NIR spectrometer
³®r Á· ¦µ ª ¦ µ ´ 宦 r ªo ¥ » ¬ ª °¡Á· « µ¦ ´ o Á °µ® ° O r.com
NG bruke TA .BOPT.TH@ o
°n Inf · Ä
Á à 襸 )7 1,5 ¦´ ¦° à ¥ %UXNHU Ä o µ nµ¥ oª¥® oµ °´¤ ´ ¨³¦³ µ¦ ´ µ¦ ´ª°¥nµ Á¡¸¥ ¦¦ »Ä oª¥ ª´ ¦³ ´ µ¦´ µ Â È ¦µª r° ´ à ¤´ · nµ¥Ã° ¤ µ¦¦³®ªnµ Á ¦º°É %UXNHU 2SWLFV 1,5 Á à ¦¤·Á °¦r » ¦»n Å o à ¥ ¦ ¤ µ¦¤µ ¦ µ 宦´ ¨· £´ r®¨µ ®¨µ¥ · Ťnªµn ³Á È °µ®µ¦ ´ ªrεÁ¦È ¦¼ ª´ » · °µ®µ¦´ ªr  o Á ¦º°É ¦» ¦ ¨· £´ rÄ °» µ ¦¦¤ Îʵ µ¨ ¤ µ¦ ° %UXNHU µ¤µ¦ εŠoÅ oà ¥ ¦ ¨³®µ εÁ È µ¤µ¦ ¦´ Á ¨¸¥É Á¡º°É Ä®oÁ oµ ´ ´ª°¥nµ Ä Â n¨³ o° ¸ÅÉ o
Á à 襸Á ¸¥¦r° · ¢¦µÁ¦ Á à ¦Ã ¸ 1HDU ,QIUDUHG 6SHFWURVFRS\ 1,56 Á È »  ε ´ nª¥Ä®o µ¦ª·Á ¦µ³®r » £µ¡ ° ´ª°¥nµ εŠo°¥nµ ¦ª Á¦ÈªÃ ¥Å¤n °o 娵¥ ´ª°¥nµ ®¦º°Ä oµ¦Á ¤¸Ä Ç ¸É ε ´ µ¦ª·Á ¦µ³®r ªo ¥ 1,5 Á¡¸¥  n® ¹É ¦´ µ¤µ¦ Ä®o Ê °o ¤¼¨° r ¦³ ° µ Á ¤¸ ° ´ª°¥nµ Å o ®¨µ ®¨µ¥ · Ťn µÎ Á È o° ε µ¦ª·Á ¦µ³®r ʵΠÁ®¤º° µ¦ª·Á ¦µ³®r µ Á ¤¸Â °º É Ç °Á · ª³ ¤Á ¦º°É ¤º° ¡ ³ ¼Áo ¸¥É ª µ ¨³¦´ ¢´ ´¤ µ¡¦o°¤°µ®µ¦ªnµ ¼ ¦· ¬ ´ ¦¼Á °¦r°°¡ · r Ä µ 9,&7$0 $6,$ «¼ ¥r · oµÅ Á ¦» Á ¡¤®µ ¦ Ä ¦³®ªnµ ª´ ¸É ¤¸ µ ¤ µ¦µ · Á ¦º°É ¤º°Ã ¥ ¼Áo ¸¥É ª µ ¦³ ´ µ µ µ · ¡¦o°¤ ¦· µ¦ ° ªnµ 6QDFN /HDUQ ¦· µ¦ » ª´ ¼ & ¨³ µ · £µ¬µÅ ¥ µ · £µ¬µ°´ §¬
Ä · n° Info.BOPT.TH@bruker.com
Innovation with Integrity
Bruker BioSpin AG Bangkok - Thailand Phone +66 2 642 6900 Fax +66 2 642 6901
F T-NIR
ปี 2553/54-2557/58 ราคาเมล็ดถั่วเหลืองในตลาดสหรัฐอเมริกาลด ลงร้อยละ 6.22 ต่อปี แต่ในปี 2557/58 ราคา 356 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงจาก 487 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 26.90 เนื่องจากปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.95 จากสาเหตุสภาพดินฟ้าอากาศเอือ้ อำนวยต่อการ ผลิต สำหรับตลาดบราซิล ราคาเมล็ดถัว่ เหลือง ปี 2553/54-2557/58 ลดลงร้อยละ 5.87 ต่อปี แต่เมือ่ เทียบปี 2557/58 กับปี 2556/57 ราคา ลดลงร้อยละ 24.51 จาก 514 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน เป็น 388 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน เนื่องจากปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของบราซิล เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.96 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ปี 2553/54-2557/58 เนือ้ ที่ เพาะปลูกและผลผลิตถั่วเหลืองมีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 24.99 ต่อปี และร้อยละ 24.04 ต่อปี ตามลำดับ ในปี 2557/58 มีเนื้อที่เพาะปลูก 0.19 ล้านไร่ และผลผลิต 51,910 ตัน ลดลง จาก 0.196 ล้านไร่ และผลผลิต 52,740 ตัน ในปี 2556/57 ร้อยละ 3.06 และร้อยละ 1.57 ตามลำดับ การลดลงของเนื้อที่เพาะปลูกและ ผลผลิตมีสาเหตุสำคัญคือ ผลตอบแทนต่ำกว่า พืชแข่งขัน และการขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ดี ส่วน ผลผลิตต่อไร่ในปี 2553/54-2557/58 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.33 ต่อปี ในปี 2557/58 ผลผลิต ต่อไร่ 273 กิโลกรัม เพิม่ ขึน้ จาก 270 กิโลกรัม ในปี 2556/57 ร้อยละ 1.11
1.2.2 การผลิต (1) ความต้องการใช้ ปี 2553-2557 ความ ต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองลดลงร้อยละ 2.33 ต่อปี แต่ในปี 2558 ความต้องการใช้มปี ริมาณ 2.15 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.95 ล้านตัน ในปี 2557 ร้อยละ 10.35 การใช้ประโยชน์มหี ลาย วัตถุประสงค์ ได้แก่ สกัดน้ำมัน ทำพันธุ์ และ แปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร คิดเป็นร้อยละ 82.62 ร้อยละ 0.17 และร้อยละ 16.66 ของความ ต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองทั้งหมด (2) การส่งออก การส่งออกของไทย ส่วน ใหญ่ เ ป็ น การส่ ง ออกเมล็ ด ถั่ ว เหลื อ งสายพั น ธุ์ ธรรมชาติ (Non-GMOs) ที่ ผ ลิ ต ได้ ภ ายใน ประเทศ ในช่วงปี 2553-2557 ปริมาณส่งออก อยูร่ ะหว่าง 954-11,595 ตัน โดยในปี 2558 คาดว่าส่งออก 12,000 ตัน ตลาดส่งออก ส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย และไนจีเรีย (3) การนำเข้า ไทยพึ่งพาการนำเข้าเมล็ด ถัว่ เหลืองประมาณร้อยละ 97 ของความต้องการ ใช้ทั้งหมด โดยปี 2553-2557 ปริมาณการ นำเข้าลดลงร้อยละ 0.86 ต่อปี โดยในปี 2558 คาดว่านำเข้า 2.10 ล้านตัน แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา และ แคนาดา (4) ราคา ปี 2557-2558 ราคาเมล็ด ถั่วเหลืองและน้ำมันถั่วเหลืองภายในประเทศ เคลือ่ นไหวในทิศทางเดียวกับราคาตลาดโลก โดย ราคามีการเคลื่อนไหว ดังนี้
29 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
(4) ราคา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
- ราคาเมล็ ด ถั่ ว เหลื อ ง คละเกรดทีเ่ กษตรกรขายได้ ปี 2558 กิโลกรัม ละ 15.52 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 18.08 บาท ของปี 2557 ร้อยละ 14.16 - ราคานำเข้ า เมล็ ด ถั่ ว เหลือง ปี 2558 กิโลกรัมละ 15.54 บาท ลดลง จากกิโลกรัมละ 18.44 บาท ของปี 2557 ร้อยละ 15.73 - ราคาขายส่งน้ำมันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ ปี 2558 กิโลกรัมละ 44.52 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 50.08 บาท ของ ปี 2557 ร้อยละ 11.10
2. แนวโน้ม
30 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปี 2558/59 คาดว่าผลผลิต เมล็ดถั่วเหลืองโลกมีปริมาณ 321.02 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 318.68 ล้านตัน ของปี 2557/58 ร้อยละ 0.73 เนื่องจากผลผลิตถั่วเหลืองของ ประเทศผูผ้ ลิตทีส่ ำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา และ บราซิล เพิ่มขึ้น โดยในปี 2558/59 คาดว่า สหรัฐอเมริกา และบราซิล สามารถผลิตถัว่ เหลือง ได้ 108.35 ล้านตัน และ 100.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 106.88 ล้านตัน และ 96.20 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 1.38 และ ร้อยละ 3.95 ตามลำดับ สำหรับอาร์เจนตินา ผลผลิตลดลง โดยในปี 2558/59 ผลิตได้ 57.00 ล้านตัน ลดลงจาก 60.80 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 6.25 2.1.2 การตลาด (1) ความต้องการใช้ ปี 2558/59 คาดว่า ความ
ต้ อ งการใช้ เ มล็ ด ถั่ ว เหลื อ งเพื่ อ สกั ด น้ ำ มั น มี ปริมาณ 273.36 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 261.50 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 4.54 เนื่อง จากความต้องการใช้น้ำมันถั่วเหลืองเพื่อการ อุปโภคและบริโภคของโลกยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจีนที่มีนโยบายส่งเสริมให้สกัดน้ำมัน ถั่วเหลืองใช้ภายในประเทศ เพื่อเพิ่มมูลค่าใน รู ป ของผลผลิ ต กากและน้ ำ มั น ตอบสนอง ความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ (2) การส่งออก ปี 2558/59 คาดว่า ผู้ ส่งออกถั่วเหลืองรายใหญ่ ได้แก่ บราซิล และ อาร์เจนตินา สามารถส่งออกเมล็ดถั่วเหลืองได้ เพิ่มขึ้น โดยมีปริมาณ 57.00 ล้านตัน และ 10.75 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 51.11 ล้านตัน และ 10.57 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 11.52 และร้อยละ 1.67 ตามลำดับ สำหรับ สหรัฐอเมริกา ส่งออกถัว่ เหลืองลดลงจาก 50.17 ล้านตัน ในปี 2557/58 เป็น 46.68 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 6.96 ด้วย เหตุดังกล่าวส่งผลให้ ในปี 2558/59 การ ส่งออกถั่วเหลืองของโลกมีปริมาณ 129.08 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 126.62 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 1.94 โดยปริมาณสต็อก ถั่วเหลืองโลกเพิ่มขึ้นจาก 77.58 ล้านตัน ในปี 2557/58 เป็น 82.86 ล้านตัน ในปี 2558/ 59 ร้อยละ 6.80 (3) การนำเข้า ปี 2558/59 คาดว่า การ นำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองโลกมีปริมาณ 125.67 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 122.08 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 2.94 โดยจีนนำเข้ามาก
(2) การส่งออก
ปี 2559 คาดว่า ปริมาณ การส่งออกเมล็ดถั่วเหลืองของไทยมีปริมาณ 12,000 ตัน ทรงตัวเท่ากับปี 2558 โดยเป็น การส่งออกเมล็ดถั่วเหลืองสายพันธุ์ธรรมชาติ ไม่มีการดัดแปลงพันธุกรรม (Non-GMOs) ที่ ผลิตได้ภายในประเทศ และตลาดส่งออกส่วนใหญ่ อยู่ในทวีปเอเชีย
(3) การนำเข้า
การนำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ คาดว่า ปี 2559 การนำเข้ามีปริมาณ 2.20 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 2.10 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 4.76 (4) ราคา
ปี 2559 คาดว่า ราคา เมล็ดถั่วเหลืองที่เกษตรกรขายได้จะปรับลดลง เมือ่ เทียบกับปี 2558 เช่นเดียวกับราคาถัว่ เหลือง นำเข้าที่จะปรับตัวลดลงตามราคาตลาดโลกที่มี แนวโน้มลดลง 2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตถั่วเหลือง 2.3.1 ปัจจัยภายในประเทศ (1) นโยบายส่งเสริม/พัฒนา การผลิตถั่วเหลือง เช่น ส่งเสริมการผลิตเมล็ด พันธุ์คุณภาพดี การใช้เครื่องจักรกลทดแทน แรงงาน และการให้ความรูด้ า้ นการผลิตถัว่ เหลือง แก่เกษตรกร ส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิต ถั่วเหลืองเพิ่มสูงขึ้น ผลผลิตต่อไร่ถั่วเหลืองจึง เพิ่มขึ้น
31 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ที่สุด ปริมาณ 80.50 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 78.35 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 2.74 โดยในปี 2558/59 จีนนำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง ร้อยละ 64.06 ของปริมาณการนำเข้าโลก (4) ราคา ปี 2557/58 คาดว่า ราคา เมล็ดถั่วเหลืองในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัว ลดลงเมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2556/57 เนื่ อ งจาก ปริมาณผลผลิตถัว่ เหลืองโลกเพิม่ สูงขึน้ โดยในปี 2557/58 (พฤศจิกายน 2558) ราคาเมล็ด ถั่วเหลืองในตลาดสหรัฐอเมริกาปรับตัวลดลง เป็น 356 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน จากราคา เฉลีย่ 487 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในปี 2556/ 57 ร้อยละ 26.90 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต เนื้ อ ที่ เ พาะปลู ก และผลผลิ ต ถัว่ เหลืองยังคงลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นีม้ สี าเหตุ จากการขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ดี การดูแลรักษา ยุ่งยาก และผลตอบแทนต่ำกว่าพืชแข่งขันอื่นๆ เช่น ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ โดยคาดว่า ปี 2558/59 จะมีเนือ้ ทีเ่ พาะปลูก 0.19 ล้านไร่ ผลผลิต 51,776 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 276 กิโลกรัม 2.2.2 ตลาด (1) ความต้องการใช้ ปี 2559 คาดว่า ความ ต้องการใช้เมล็ดถัว่ เหลืองมีปริมาณ 2.24 ล้าน ตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.15 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 4.19 โดยในปี 2559 มีสัดส่วนการ ใช้ผลผลิตภายในประเทศ ร้อยละ 2.30 และ นำเข้าร้อยละ 97.70 ของปริมาณความต้องการ ใช้ทั้งหมด
(2) เกษตรกรบางส่วนหันไปปลูกพืชทดแทนชนิดอื่นที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า และ ดูแลรักษาง่ายกว่าการปลูกถั่วเหลือง ส่งผลกระทบให้เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตถั่วเหลืองลดลง 2.3.2 ปัจจัยภายนอกประเทศ (1) คาดการณ์ว่าผลผลิตของประเทศบราซิลจะเพิ่มขึ้นมาก นอกจากนั้น สภาพ ภูมิอากาศในปีการผลิต 2558/59 เอื้ออำนวยต่อการปลูกถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ ปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกาเพิ่มสูงขึ้น (2) ความต้องการใช้ถวั่ เหลืองเพือ่ สกัดน้ำมันของจีนผูน้ ำเข้าถัว่ เหลืองรายใหญ่ของ โลกเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ประกอบกับแนวโน้มความต้องการใช้กากถัว่ เหลืองเพือ่ ผลิตอาหารสัตว์ และใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประเทศผู้ผลิตถั่วเหลืองรายใหญ่ เพิ่มพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผลผลิตเพียงพอกับปริมาณความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้น
ตารางที่ 1 สมดุลเมล็ดถั่วเหลืองโลก ปี 2553/54–2558/59 รายการ
32 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1. 2. 3. 4. 5.
หน่วย : ล้านตัน
2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58
ผลผลิต นำเข้า ส่งออก สกัดน้ำมัน สต็อกสิ้นปี
264.35 88.76 91.70 221.34 70.83
240.43 93.47 92.19 228.37 53.91
268.82 95.95 100.82 230.17 56.19
283.15 111.71 112.64 241.28 62.68
318.68 122.08 126.62 261.50 77.58
อัตราเพิ่ม คาดการณ์ (ร้อยละ) 2558/59 5.52 321.02 8.50 125.67 8.82 129.08 3.96 273.36 3.38 82.86
ที่มา : Oilseeds, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 20 15
ตารางที่ 2 ราคาเมล็ดถั่วเหลืองตลาดโลก ปี 2553/54-2558/59 รายการ 1. 2. 3. 4.
สหรัฐอเมริกา บราซิล (F.O.B) อาร์เจนตินา (F.O.B) รอตเตอร์ดัม (C.I.F)
2553/54
2554/55
2555/56
482 508 511 549
505 549 533 562
537 538 543 592
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐฯ/ตัน
2556/57 2557/58*
หมายเหตุ : *ข้อมูลเดือนพฤศจิกายน 2558 ที่มา : Oilseeds, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2015
487 514 517 542
356 388 401 407
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -6.22 -5.87 -5.02 -6.15
ตารางที่ 3 เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี 2553/54-2558/59 ่ม คาดการณ์ 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 2558/59 0.577 0.377 0.247 0.196 0.190 -24.99 0.188 152,047 96,153 63,503 52,740 51,910 -24.04 51,776 263 255 257 270 273 1.33 276
รายการ 1. เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่) 2. ผลผลิตทั้งหมด (ตัน) 3. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ตารางที่ 4 สมดุลเมล็ดถั่วเหลืองของไทย ปี 2553-2558 ปี
ผลิต
นำเข้า
2553 2554 2555 2556 25571/ อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 25582/
169,583 129,655 91,528 64,358 52,541
1,818,705 1,994,378 2,119,941 1,678,678 1,898,295
รวม (Supply) 1,988,288 2,124,033 2,211,469 1,743,036 1,950,836
-26.24
-0.86
-2.33
หน่วย : ตัน
ความต้องการใช้ภายในประเทศ สกัดน้ำมัน ทำพันธุ์ แปรรูปฯ 1,542,307 11,887 433,140 1,727,676 9,607 384,121 1,679,481 4,950 525,120 1,451,700 4,225 285,122 1,693,200 3,840 242,201 0.13
-26.52
-6.39
51,955 2,100,800 2,152,755 1,778,500
3,640
358,615
954 2,629 1,918 1,989 11,595
รวม (Demand) 1,988,288 2,124,033 2,211,469 1,743,036 1,950,836
-13.59
-2.33
ส่งออก
12,000 2,152,755
หมายเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ประมาณการ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/
ตารางที่ 5 ราคาถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ของไทย ปี 2554-2558 รายการ 1. ราคาเมล็ดถั่วเหลืองเกษตรกรขายได้ 2. ราคานำเข้า - ท่าเรือเกาะสีชัง - ตลาดชิคาโก 3. ราคาขายส่งน้ำมันถั่วเหลืองบริสุทธิ1/์
หน่วย : บาท/กิโลกรัม
่ม 2554 2555 2556 2557 2558 อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 15.30 15.75 18.24 18.08 15.52 1.68 17.23 18.86 18.60 18.44 15.54 14.81 16.78 15.93 14.91 12.07 49.24 50.08 50.08 50.08 44.52
-2.26 -5.14 -1.99
หมายเหตุ : 1/ รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่รวมภาชนะบรรจุ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ตารางที่ 6 ความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองของไทย ปี 2553-2558 รายการ ความต้องการใช้ 1. สกัดน้ำมัน 2. แปรรูป 3. ทำพันธุ์ 4. ส่งออก
2553
2554
2555
2556
หน่วย : ตัน
2557
1,988,282 2,124,033 2,211,469 1,743,036 1,950,836 1,542,307 1,727,676 1,679,481 1,451,700 1,693,200 433,140 384,121 525,120 285,122 242,201 11,887 9,607 4,950 4,225 3,840 954 2,629 1,918 1,989 11,595
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
อัตราเพิ่ม คาดการณ์ (ร้อยละ) 2558 -2.33 2,152,755 0.13 1,778,500 -6.39 358,615 -26.52 3,640 -13.59 12,000
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
33 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
1/
1. สถานการณ์ ปี 2558 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต
Food Feed Fuel
34
ปี 2554-2558 การผลิ ต เนื้อไก่ของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.01 ต่อปี โดยรัสเซียมีอัตราการขยายตัวสูง ทีส่ ดุ คือ ร้อยละ 8.15 ต่อปี ในปี 2558 การ ผลิตเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 87.94 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 86.55 ล้านตัน ในปี 2557 ร้อยละ 1.61 โดยสหรัฐอเมริกายังคงเป็นผูผ้ ลิต รายใหญ่ทสี่ ดุ คือ 17.97 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ บราซิล 13.08 ล้านตัน จีน 13.03 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 10.60 ล้านตัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2554-2558 การ บริโภคเนือ้ ไก่ของโลก มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตรา ร้อยละ 1.97 ต่อปี ในปี 2558 การบริโภค เนือ้ ไก่ของโลกมีปริมาณ 86.28 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 84.95 ล้านตันของปี 2557 ร้อยละ 1.56 โดยสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีการบริโภค เนือ้ ไก่มากทีส่ ดุ คือ 15.00 ล้านตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 12.88 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 10.16 ล้านตัน
(2) การส่งออก
ปี 2554-2558 การส่งออก เนื้อไก่ของโลกขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ
• ไก่เนื้อ • 1.72 ต่อปี โดยในปี 2558 การส่งออกเนื้อไก่ ของโลกมีปริมาณ 10.23 ล้านตัน ลดลงจาก 10.47 ล้านตัน ในปี 2557 ร้อยละ 2.28 ผล จากการระบาดของโรคไข้หวัดนกตัง้ แต่ปี 2547 ทำให้ บราซิ ลซึ่ งเป็ น ประเทศปลอดไข้ หวั ด นก ก้าวขึ้นมาเป็นผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลกแทน สหรัฐอเมริกา โดยในปี 2558 บราซิลสามารถ ส่งออกเนื้อไก่ได้ปริมาณ 3.74 ล้านตัน รอง ลงมา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 2.99 ล้านตัน สหภาพยุโรป 1.15 ล้านตัน และไทย 0.58 ล้านตัน ซึ่งไทยได้ก้าวมาเป็นประเทศผู้ส่งออก เนื้ อ ไก่ อั น ดั บ ที่ 4 ของโลกตั้ ง แต่ ปี 2551 เป็นต้นมา (3) การนำเข้า ปี 2554-2558 การ นำเข้าเนื้อไก่ของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 1.39 ต่อปี โดยในปี 2558 การนำเข้า เนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 8.64 ล้านตัน ลดลง จาก 8.89 ล้านตัน ในปี 2557 ร้อยละ 2.86 โดยญี่ปุ่น และซาอุดิอาระเบีย เป็นประเทศ ผูน้ ำเข้าเนือ้ ไก่เป็นอันดับ 1 ของโลก คือ 0.90 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ เม็กซิโก 0.76 ล้านตัน สหภาพยุโรป 0.71 ล้านตัน อิรกั 0.69 ล้านตัน และแอฟริกาใต้ 0.42 ล้านตัน 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ปี 2554-2558 การผลิตไก่เนือ้ ของไทยเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 7.13 ต่อปี โดย
ปี 2554-2558 การบริโภค เนื้อไก่ของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8.12 ต่อปี ในปี 2558 มีปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ 1.20 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.11 ล้านตัน ในปี 2557 ร้อยละ 7.56 โดยปริมาณการบริโภค มีสัดส่วนร้อยละ 66.60 ของปริมาณการผลิต ทั้งหมด (2) การส่งออก ปี 2554-2558 ปริมาณ การส่ ง ออกเนื้ อ ไก่ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องไทย มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.29 ต่อปี โดยในปี 2558 ไทยส่งออกเนื้อไก่รวมปริมาณ 600,000 ตัน มูลค่า 80,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 545,559 ตัน มูลค่า 73,963 ล้านบาท ของปี 2557 ร้อยละ 9.98 และร้อยละ 8.16 ตามลำดับ ตลาดส่งออกที่ สำคัญ ได้แก่ ญีป่ นุ่ (ร้อยละ 50.70) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 34.87) กลุม่ ประเทศในอาเซียน (ร้อยละ 7.43) และประเทศอื่นๆ (ร้อยละ 7.00) ด้านการส่งออกไก่สดแช่แข็ง ในปี 2558 ส่งออกปริมาณ 180,000 ตัน มูลค่า 15,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ
ด้ า นการส่ ง ออกเนื้ อ ไก่ แปรรูป ส่งออกปริมาณ 420,000 ตัน มูลค่า 64,500 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปริมาณ 399,016 ตัน มูลค่า 61,315 ล้านบาท ในปี 2557 ร้อยละ 2.38 และร้อยละ 3.10 ตามลำดับ เนือ่ งจากความต้องการบริโภคของประเทศคูค่ า้ ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยตลาดส่งออกไก่แปรรูป ทีส่ ำคัญ ได้แก่ ญีป่ นุ่ (ร้อยละ 48.68) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 40.33) กลุม่ ประเทศในอาเซียน (ร้ อ ยละ 3.55) และประเทศอื่ น ๆ (ร้ อ ยละ 7.44) (3) ราคา 1) ราคาที่เกษตรกรขาย ได้ ปี 2554-2558 ราคา ไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ มีแนวโน้มลดลงใน อัตราร้อยละ 1.61 ต่อปี โดยในปี 2558 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.34 บาท ในปี 2557 ร้อยละ 5.53 เนื่องจากมีปริมาณ ไก่เนื้อออกสู่ตลาดมากขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่าน มา 2) ราคาส่งออก ปี 2554-2558 ราคา ส่งออกไก่สดแช่แข็ง และเนือ้ ไก่แปรรูปมีแนวโน้ม
35 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1.2.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค
146,543 ตัน มูลค่า 12,648 ล้านบาท ของปี 2557 ร้อยละ 22.83 และร้อยละ 22.55 ตามลำดับ ตลาดส่งออกไก่สดแช่แข็งที่สำคัญ ได่แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 60.15) กลุ่มประเทศใน อาเซียน ซึง่ ส่วนใหญ่สง่ ไปยังประเทศ สปป.ลาว และมาเลเซีย (ร้อยละ 25.56) สหภาพยุโรป (ร้ อ ยละ 9.36) และประเทศอื่ น ๆ (ร้ อ ยละ 4.93)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ในปี 2558 มีการผลิตไก่เนือ้ 1,310.58 ล้านตัว หรือ 1.80 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,209.52 ล้านตัว หรือ 1.66 ล้านตัน ในปี 2557 ร้อยละ 8.35 เนื่องจากมีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้นเพื่อ ตอบสนองต่อความต้องการบริโภค และการ ส่งออกที่เพิ่มขึ้น เพราะการผลิตไก่เนื้อของไทย มีการจัดการฟาร์มที่ได้มาตรฐาน และมีระบบ การผลิตที่ปลอดภัยเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค
เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 9.68 ต่อปี และ 3.29 ต่อปี ตามลำดับ โดยในปี 2558 ราคาส่งออก ไก่ ส ดแช่ แ ข็ ง เฉลี่ ย กิ โ ลกรั ม ละ 86.11 บาท และราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปเฉลี่ยกิโลกรัมละ 153.57 บาท ใกล้เคียงกับราคาส่งออกไก่สด แช่เย็นแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูปของปีที่ผ่านมา
2. แนวโน้ม ปี 2559 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต
36
ปี 2559 คาดว่ า การผลิ ต เนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณ 89.34 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 87.94 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 1.58 การผลิตเนื้อไก่ของโลกขยายตัว ตามความต้องการบริโภคทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ประเทศผู้ผลิตที่สำคัญขยายการผลิต เพิ่มขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2559 คาดว่าการบริโภค เนือ้ ไก่ของโลกมีปริมาณ 87.38 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 86.28 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 1.27 ผูบ้ ริโภครายใหญ่ทสี่ ดุ คือ สหรัฐอเมริกา คาดว่าน่าจะมีการบริโภคปริมาณ 15.23 ล้าน ตัน รองลงมา ได้แก่ จีน 12.99 ล้านตัน และ สหภาพยุโรป 10.38 ล้านตัน
(2) การส่งออก
ปี 2559 คาดว่าการส่งออก เนื้ อ ไก่ ข องโลกมี ป ริ ม าณ 10.69 ล้ า นตั น เพิม่ ขึน้ จาก 10.23 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 4.47 ผู้ผลิตรายเดิม (บราซิล สหรัฐอเมริกา
สหภาพยุโรป) ยังคงเป็นผูค้ รองตลาด ในขณะที่ ผู้ผลิตรายเล็กมีส่วนแบ่งตลาดที่เพิ่มขึ้น และ บราซิลยังคงเป็นประเทศที่ส่งออกเนื้อไก่สูงสุด คือ 3.88 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 3.74 ล้านตัน ในปี 2557 ร้อยละ 3.74 รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย ตามลำดับ ซึ่งไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4 ของโลก
(3) การนำเข้า
ปี 2559 คาดว่า การนำเข้า เนือ้ ไก่ของโลกมีปริมาณ 8.69 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจาก 8.64 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 0.63 ประเทศผู้นำเข้าเนื้อไก่ 5 อันดับแรก ได้แก่ ญี่ปุ่น ซาอุดิอาระเบีย เม็กซิโก สหภาพยุโรป และอิรกั โดยในปี 2559 คาดว่าประเทศ ดังกล่าวจะมีปริมาณการนำเข้าเนือ้ ไก่ 0.88 0.85 0.77 0.72 และ 0.71 ล้านตัน ตามลำดับ 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ปี 2559 คาดว่ า การผลิ ต ไก่เนือ้ ของไทยยังคงขยายตัวเพิม่ ขึน้ ตามจำนวน ประชากรและความต้องการบริโภคที่ขยายตัว เพิ่มขึ้นทั้งตลาดภายในประเทศ และตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่าไทยจะผลิตไก่เนื้อปริมาณ 1,373.42 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 1,310.58 ล้านตัว ในปี 2558 ร้อยละ 4.80 2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2559 คาดว่าการบริโภค เนือ้ ไก่ของไทยมีปริมาณ 1.26 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 1.20 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 5.53 เนื่องจากเนื้อไก่ยังเป็นอาหารที่จำเป็นเพื่อการ
(2) การส่งออก
ปี 2559 การส่งออกเนือ้ ไก่ ของไทย คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นสอดรับกับ ปริมาณความต้องการบริโภคของตลาด ทั้ง ตลาดญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป ซึ่งถือเป็นตลาด ส่งออกหลักของไทย และตลาดอืน่ ๆ ทีม่ แี นวโน้ม นำเข้าเนื้อไก่จากไทยเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจาก มาตรการควบคุมป้องกัน และเฝ้าระวังโรคระบาด สัตว์ทเี่ ข้มงวด และการรักษามาตรฐานการผลิต และคุณภาพสินค้า จนเป็นทีย่ อมรับของผูบ้ ริโภค และประเทศคู่ค้า ทำให้ไทยสามารถขยายการ ส่งออกเนื้อไก่ได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปี 2559 คาดว่าการส่งออก เนื้อไก่รวมมีปริมาณ 620,000 ตัน มูลค่า 83,000 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จากปริ ม าณ 600,000 ตัน มูลค่า 80,000 ล้านบาท ในปี 2558 ร้อยละ 3.33 และร้อยละ 3.75 ตาม ลำดั บ โดยแยกเป็ น การส่ ง ออกไก่ ส ดแช่ แ ข็ ง ปริ ม าณ 190,000 ตั น มู ล ค่ า 16,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 180,000 ตัน มูลค่า 15,500 ล้านบาท ในปี 2558 ร้อยละ 5.56 และร้อยละ 6.45 ตามลำดับ และเป็น การส่งออกเนือ้ ไก่แปรรูปปริมาณ 430,000 ตัน มูลค่า 66,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 420,000 ตัน มูลค่า 64,500 ล้านบาท ในปี 2558 ร้อยละ 2.38 และร้อยละ 3.10 ตามลำดับ (3) ราคา ได้
1) ราคาที่เกษตรกรขาย
37 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2559 คาดว่าราคา ไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นเล็กน้อยจาก ปี 2558 เนื่องจากมีการวางแผนการผลิตให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2) ราคาส่งออก ปี 2559 คาดว่าราคา ส่งออกเนื้อไก่สดแช่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูปจะ สูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2558 2.3 ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อปริมาณการผลิต หรือการส่งออกของไทย 2.3.1 ปัจจัยด้านบวก (1) การเพิ่ ม ขึ้ น ของจำนวน ประชากรโลก ทำให้ ค วามต้ อ งการบริ โ ภค อาหารจากเนือ้ สัตว์โดยเฉพาะเนือ้ ไก่ปรับตัวเพิม่ ขึ้น เนื่องจากเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มีไขมัน ต่ำ นอกจากนี้ เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ส่งผล ให้ ผู้ บ ริ โ ภคหั น มาบริ โ ภคเนื้ อ ไก่ เนื่ อ งจากมี ราคาถูกเมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่นๆ (2) สินค้าอาหารจากไทย มี ภาพลักษณ์ทดี่ ที งั้ ในด้านคุณภาพและราคา ญีป่ นุ่ จึงได้อนุญาตให้ไทยส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง ได้อกี ครัง้ หนึง่ ตัง้ แต่วนั ที่ 25 ธันวาคม 2556 ประกอบกับมีปัญหาเรื่องความไม่ปลอดภัยทาง ด้านอาหาร ทำให้ญี่ปุ่นเพิ่มการนำเข้าเนื้อไก่ แปรรูปจากไทยเพื่อไปทดแทน ส่งผลให้การ ส่งออกเนื้อไก่ของไทยไปญี่ปุ่นขยายตัวเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง (3) การดำเนินการเรือ่ ง Compartment และ Traceability สามารถสร้าง ความเชื่อมั่นในคุณภาพการผลิตเนื้อไก่ของไทย ให้ประเทศคู่ค้ายอมรับ ทำให้ส่วนแบ่งตลาด ส่งออกเนื้อไก่ของไทยในตลาดโลกเพิ่มขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
บริโภค และมีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่นๆ โดยการบริโภคในประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 67.07 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด
2.3.2 ปัจจัยด้านลบ (1) ประเทศไทยต้ อ งพึ่ ง พา ปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยีจากต่างประเทศ โดยเฉพาะพันธุ์ไก่เนื้อ เมื่อเกิดสถานการณ์โรค ระบาดในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตพันธุ์ที่สำคัญ จึงทำให้เกิดความเสี่ยงในอุตสาหกรรมการผลิต ไก่เนื้อของไทย (2) ต้นทุนการผลิตไก่เนื้อของ ไทย โดยเปรียบเทียบสูงกว่าประเทศคูแ่ ข่ง อาทิ บราซิล สหรัฐอเมริกา และจีน
(3) แม้ปัจจุบัน (ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2558) ไม่มีรายงานการพบโรค ไข้หวัดนกในประเทศไทยเป็นเวลา 7 ปี นับ จากวั น ที่ ท ำลายสั ต ว์ ปี ก ตั ว สุ ด ท้ า ย เมื่ อ วั น ที่ 12 พฤศจิ ก ายน 2551 แต่ ป ระเทศคู่ ค้ า บางประเทศยังมีมาตรการห้ามนำเข้าเนื้อไก่สด จากไทย โดยต้องใช้ระยะเวลานานในการขอ ให้แต่ละประเทศพิจารณายกเลิกการห้ามนำเข้า เนือ้ ไก่จากไทย แม้วา่ สหภาพยุโรปได้อนุญาตให้ นำเข้าไก่สดจากไทยได้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2555 และญี่ปุ่นได้อนุญาตให้ไทยส่งออกไก่สด แช่เย็นแช่แข็งได้อีกครั้งหนึ่ง ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม 2556 เป็นต้นมา
38 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่สำคัญ ปี 2554-2559 ประเทศ สหรัฐอเมริกา บราซิล จีน สหภาพยุโรป อินเดีย รัสเซีย ไทย ประเทศอื่นๆ รวมทั้งหมด
2554
2555
2556
2557
16,694 16,621 16,976 17,299 12,863 12,645 12,308 12,692 13,200 13,700 13,350 13,000 9,320 9,565 9,910 10,330 2,900 3,160 3,450 3,725 2,575 2,830 3,010 3,260 1,350 1,550 1,500 1,570 22,257 23,211 23,990 24,673 81,159 83,282 84,494 86,549
หน่วย : พันตัน
่ม 25592/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 17,966 1.89 18,365 13,080 -0.79 13,480 13,025 0.37 13,100 10,600 3.40 10,845 3,900 7.86 4,200 3,550 8.15 3,650 1,650 4.23 1,650 24,173 2.24 24,046 87,944 2.01 89,336
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 2 ปริมาณการบริโภคเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่สำคัญ ปี 2554-2559 ประเทศ สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป อื่นๆ รวมทั้งหมด
2554
2555
2556
2557
13,660 13,346 13,691 14,034 13,016 13,543 13,174 12,830 9,010 9,198 9,498 9,906 44,149 45,553 46,624 48,182 79,835 81,640 82,987 84,952
หน่วย : พันตัน
่ม 2/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 2559 14,996 2.40 15,233 12,880 0.75 12,985 10,160 3.19 10,375 48,240 2.36 48,783 86,276 1.97 87,376
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
บราซิล สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ไทย จีน ตุรกี ประเทศอื่นๆ รวมทั้งหมด
2554
2555
2556
2557
3,443 3,508 3,482 3,558 3,165 3,299 3,332 3,312 1,044 1,094 1,083 1,133 467 538 504 546 422 411 420 430 206 284 337 379 826 953 1,097 1,112 9,573 10,087 10,255 10,470
่ม 25592/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 3,740 -1.49 3,880 2,990 -1.09 3,221 1,150 2.31 1,190 580 4.58 570 395 -0.87 375 340 13.78 360 1,036 6.26 1,092 10,231 1.72 10,688
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 4 ปริมาณการนำเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่สำคัญ ปี 2554-2559 ประเทศ ญี่ปุ่น ซาอุดิอาระเบีย เม็กซิโก สหภาพยุโรป อิรัก แอฟริกาใต้ ฮ่องกง แองโกล่า จีน คิวบา ประเทศอื่นๆ รวมทั้งหมด
2554 895 745 578 734 598 326 410 287 238 134 3,283 8,228
2555 877 750 616 727 610 371 300 301 254 196 3,538 8,540
2556 854 838 682 671 673 355 272 321 244 182 3,597 8,689
2557 888 775 722 709 722 369 299 365 260 186 3,598 8,893
หน่วย : พันตัน
่ม 2/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 2559 900 0.24 875 900 4.19 850 760 7.32 770 710 -0.91 720 690 4.65 710 420 5.14 440 360 -2.60 380 240 -1.64 260 250 1.23 260 210 8.83 235 3,199 -0.35 3,193 8,639 1.39 8,693
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
39 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ประเทศ
หน่วย : พันตัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ตารางที่ 3 ปริมาณการส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่สำคัญ ปี 2554-2559
ตารางที่ 5 การผลิต การบริโภคและส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของไทย ปี 2554-2559 ปี 2554 2555 2556 2557 25581/ อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 25592/
ผลผลิต3/ (ล้านตัว) 994.32 1,055.13 1,103.32 1,209.52 1,310.58
ผลผลิต บริโภค (ตัน) (ตัน) 1,362,997 896,152 1,446,352 908,251 1,512,418 1,008,012 1,657,994 1,112,435 1,796,515 1,196,515
7.13 1,373.42
ไก่สด 51,260 92,858 91,242 146,543 180,000
ส่งออก (ตัน) ไก่แปรรูป 415,585 445,243 413,164 399,016 420,000
รวม 466,845 538,101 504,406 545,559 600,000
7.13
8.12
34.56
-0.88
5.29
1,882,667
1,262,667
190,000
430,000
620,000
หมายเหตุ : ข้อมูลเบื้องต้น ประมาณการ ตั้งแต่ 2552 ปรับน้ำหนักไก่เฉลี่ยที่ใช้ในการคำนวณเพิ่มขึ้นจาก 2.00 เป็น 2.18 กก./ตัว ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร 1/
2/
3/
ตารางที่ 6 ปริมาณส่งออกไก่สดแช่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูป ปี 2554-2559 ประเทศ
40 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) เนื้อไก่แปรรูป ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) รวมทั้งหมด ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
2554
2555
2556
2557
51,260 92,858 91,242 146,543 3,247 5,880 6,330 12,648 415,585 445,243 413,164 399,016 57,045 61,968 60,476 61,315 466,845 538,101 504,406 545,559 60,292 67,848 66,805 73,963
่ม 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 180,000 34.56 15,500 47.58 420,000 -0.88 64,500 2.38 600,000 5.29 80,000 6.74
25592/ 190,000 16,500 430,000 66,500 620,000 83,000
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร
ตารางที่ 7 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออกไก่สดแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูป ปี 2554-2559 ประเทศ ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) ราคาส่งออก ไก่สดแช่แข็ง (บาท/กก.) เนื้อไก่แปรรูป (บาท/กก.) หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2554
2555
2556
2557
่ม 25592/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ)
46.81
42.03
43.25
42.34
40.00
-1.61
41.00
63.34 137.26
63.32 139.18
69.37 146.37
86.31 153.67
86.11 153.57
9.68 3.29
86.84 154.65
ปี 2554-2558 ปริมาณและ มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เพิ่มขึ้นใน อัตราร้อยละ 7.98 ต่อปี และร้อยละ 12.17 ต่อปี โดยในปี 2558 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่ปริมาณ 4,637.77 ตัน มูลค่า 410.71 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 4,077.74 ตัน มูลค่า 364.80 ล้านบาท ของปี 2557 ร้อยละ 13.37 และร้อยละ 12.58 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ ที่ส่งออกได้มากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาด ส่งออกทีส่ ำคัญคือ ญีป่ นุ่ ซึง่ มีสดั ส่วนการส่งออก ประมาณร้อยละ 65 ของปริมาณการส่งออก ไข่เหลวรวมทั้งหมด (3) การนำเข้า ปี 2554-2558 ปริมาณและ มูลค่าการนำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เพิ่มขึ้นใน อัตราร้อยละ 8.17 ต่อปี และร้อยละ 17.88 ต่อปีตามลำดับ โดยในปี 2558 มีการนำเข้า ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 2,388.00 ตัน
Food Feed Fuel
- การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่
41 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1.1 การผลิต ปี 2554-2558 ปริมาณการผลิต ไข่ไก่เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.00 ต่อปี ตาม ความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น โดยในปี 2558 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 12,399.74 ล้านฟอง เพิม่ ขึน้ จาก 11,705.65 ล้านฟอง ของปี 2557 ร้อยละ 5.93 เนื่องจากราคาไข่ไก่ปี 2557 อยู่ ใ นเกณฑ์ ค่ อ นข้ า งดี จึ ง เป็ น แรงจู ง ใจให้ เกษตรกรขยายการเลี้ยงไก่ไข่เพิ่มขึ้น 1.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค ปี 2554-2558 การบริโภคไข่ไก่ เฉลี่ยทั้งประเทศเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.84 ต่อปี โดยในปี 2558 มีปริมาณการบริโภค ไข่ ไ ก่ 12,212.96 ล้ า นฟอง เพิ่ ม ขึ้ น จาก 11,562.06 ล้านฟอง ของปี 2557 ร้อยละ 5.63 เนื่องจากไข่ไก่มีราคาถูกเมื่อเทียบกับ อาหารโปรตีนชนิดอื่น และสามารถปรุงอาหาร ได้ง่าย ประกอบกับภาครัฐ และภาคเอกชน มี การรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่เพื่อกระตุ้น การบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น (2) การส่งออก การส่งออกไข่ไก่แบ่งออกเป็น การ ส่งออกไข่ไก่สด และผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ - การส่งออกไข่ไก่สด ปี 2554-2558 ปริมาณและ มูลค่าการส่งออกไข่ไก่สดเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ
20.60 ต่อปี และร้อยละ 21.70 ต่อปี ตาม ลำดับ โดยในปี 2558 การส่งออกไข่ไก่สด มีปริมาณ 186.77 ล้านฟอง มูลค่า 558.23 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปริมาณ 143.59 ล้านฟอง มู ล ค่ า 445.62 ล้ า นบาท ของปี 2557 ร้อยละ 30.07 และร้อยละ 25.27 ตามลำดับ เนื่องจากในช่วงต้นปี 2558 ราคาไข่ไก่ตกต่ำ เกษตรกรและผู้ประกอบการจึงส่งออกไข่ไก่ไป ต่างประเทศเพื่อระบายผลผลิตในประเทศ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
1. สถานการณ์ ปี 2558
• ไข่ไก่ •
มูลค่า 728.47 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 1,831.80 ตัน มูลค่า 565.08 ล้านบาท ของ ปี 2557 ร้อยละ 30.36 และร้อยละ 28.91 ตามลำดั บ โดยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ น ำเข้ า จะใช้ เ ป็ น ส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ใน ประเทศ และส่งออก ผลิตภัณฑ์ที่นำเข้ามาก ที่สุดคือ ไข่ขาวผง โดยนำเข้ามากที่สุดจาก ประเทศอิตาลี คิดเป็นร้อยละ 28.85 ของ ปริมาณนำเข้าไข่ขาวผงทัง้ หมด รองลงมา ได้แก่ ฝรั่งเศส และอินเดีย (4) ราคา 1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
42 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2554-2558 ราคาไข่ไก่ ที่เกษตรกรขายได้ ลดลงในอัตราร้อยละ 0.29 ต่อปี โดยในปี 2558 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกร ขายได้เฉลี่ยฟองละ 2.70 บาท ลดลงจากฟอง ละ 3.09 บาท ของปี 2557 ร้อยละ 12.62 เนื่องจากมีผลผลิตออกสู่ตลาดมากในช่วงต้นปี 2558 แม้ว่าเกษตรกรบางส่วนมีการปรับลด การผลิต หรือปลดแม่ไก่ยนื กรงเร็วขึน้ แต่ระดับ ราคาก็ยังไม่สูงขึ้นมากนัก 2) ราคาส่งออก ปี 2554-2558 ราคาส่งออก ไข่ไก่สดเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 0.89 ต่อปี และ ราคาผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.00 ต่อปี โดยในปี 2558 ราคาส่งออกไข่ไก่สด เฉลีย่ ฟองละ 2.99 บาท ลดลงจากฟองละ 3.10 บาท ของปี 2557 ร้อยละ 3.69 และราคา ส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 88,558 บาท ลดลงจากตันละ 89,461 บาท ของปี 2557 ร้อยละ 1.01
3) ราคานำเข้า ปี 2554-2558 ราคานำเข้า ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 8.98 ต่อปี โดยในปี 2558 ราคานำเข้าผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่ เฉลี่ยตันละ 305,054 บาท ลดลง จากตันละ 308,483 บาท ของ 2557 ร้อยละ 1.11
2. แนวโน้ม ปี 2559 2.1 การผลิต ปี 2559 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิต ไข่ ไ ก่ 12,967.91 ล้ า นฟอง เพิ่ ม ขึ้ น จาก 12,399.74 ล้านฟอง ในปี 2558 ร้อยละ 4.58 เนื่องจากมีการขยายการผลิตตามความ ต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากร ประกอบกับเกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ทมี่ ี ประสิทธิภาพมากขึน้ ทำให้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ รวม ทั้งการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในเดือนธันวาคม 2558 เป็นโอกาสให้เกษตรกรขยายการเลี้ยง เพื่อรองรับตลาดส่งออกที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นได้ 2.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค ปี 2559 คาดว่ า ปริ ม าณการ บริโภคไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นจากปี 2558 เนื่องจาก ภาครัฐ และภาคเอกชน มีการรณรงค์ส่งเสริม การบริโภคไข่ไก่ ซึ่งเกี่ยวกับคุณประโยชน์ไข่ไก่ และปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่เหมาะสมกับทุก เพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง (2) การส่งออก ปี 2559 คาดว่ า การส่ ง ออก ไข่ ไ ก่ ส ดและผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากไข่ ไ ก่ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น
ปี 2559 คาดว่ า การนำเข้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากไข่ ไ ก่ จ ะทรงตั ว หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น เล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูปไข่ไก่ภายใน ประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ประเภทต่างๆ ได้อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรม แปรรูปอาหารเพื่อการส่งออกบางประเภทยัง ต้ อ งใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากไข่ ไ ก่ จ ากกลุ่ ม ประเทศ ที่ ส หภาพยุ โ รปให้ ก ารรั บ รองให้ ใ ช้ เ ป็ น ส่ ว น ประกอบได้ (4) ราคา ปี 2559 คาดว่ า ราคาไข่ ไ ก่ ที่ เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศจะค่อนข้าง ทรงตัว หรือปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจาก เกษตรกร สหกรณ์ และภาคเอกชน มีการ วางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการ บริโภค รวมทัง้ มีการรณรงค์สง่ เสริมการบริโภค ไข่ไก่ ทำให้ความต้องการบริโภคขยายตัวเพิ่ม ขึ้น
(1) เกิดปัญหาภัยแล้งในปี 2558 และ คาดว่าปี 2559 ปัญหาภัยแล้งจะรุนแรงขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบทำให้ผลผลิตพืชอาหารสัตว์ ได้รับความเสียหาย และส่งผลให้ราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์สูงขึ้น โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึง่ เป็นวัตถุดบิ หลักในอาหารไก่ไข่ ทำให้มตี น้ ทุน การผลิตเพิ่มขึ้น (2) สภาพอากาศที่แปรปรวน มีผล ต่อสุขภาพของไก่ไข่ อาจทำให้มีภูมิคุ้มกันลดลง และเป็นโรคได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้อัตราการให้ไข่ ลดลงได้ (3) หน่วยงานจากภาครัฐ และภาค เอกชน ได้มกี ารรณรงค์สง่ เสริมการบริโภคไข่ไก่ อย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดกิจกรรมที่สำคัญ ได้แก่ การจัดงานวันไข่โลก เพื่อประชาสัมพันธ์ คุณประโยชน์ไข่ไก่ และรณรงค์ส่งเสริมการ บริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้บริโภค หันมาบริโภคไข่ไก่มากขึน้ อย่างไรก็ตาม เกษตรกร ควรมีการจัดการฟาร์มทีด่ ี และมีการวางแผน การผลิต เพือ่ ลดต้นทุนการผลิตและแก้ไขปัญหา ผลผลิตเกินความต้องการบริโภค
43 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
(3) การนำเข้า
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและ การตลาด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
เล็กน้อย เมื่อเทียบกับปี 2558 เนื่องจากการ เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนในเดือนธันวาคม 2558 เป็นโอกาสให้ไทยส่งออกไข่ไก่ได้เพิ่มขึ้น
ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคไข่ไก่ของไทย ปี 2554-2559 รายการ ปริมาณการผลิต1/ (ล้านฟอง) ปริมาณการส่งออก2/ (ล้านฟอง) ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านฟอง) อัตราการบริโภค (ฟอง/คน/ปี)
2554
2555
2556
2557
2558*
10,024.43 10,998.33 11,148.49 11,705.65 12,399.74 71.71 149.72 177.91 143.59 186.77 9,952.72 10,848.61 10,970.58 11,562.06 12,212.96 155 168 169 180 n.a
อัตราเพิ่ม 2559** (ร้อยละ) 5.00 12,967.91 20.60 n.a. 4.84 n.a. n.a.
หมายเหตุ : *ข้อมูลเบื้องต้น **ประมาณการ ที่มา : 1/, 3/ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2/ กรมศุลกากร
ตารางที่ 2 การส่งออกไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ ปี 2554-2558 รายการ ไข่ไก่สด ปริมาณ (ล้านฟอง) มูลค่า (ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
44
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
2554
2555
2556
2557
2558*
71.71 221.99
149.72 395.41
177.91 461.73
143.59 445.62
186.77 558.23
20.60 21.70
3,481.40 3,358.49 3,971.14 4,077.74 4,637.77 265.69 273.36 322.39 364.80 410.71
7.98 12.17
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ตารางที่ 3 การนำเข้าผลิตภัณฑ์ ไข่ไก่ ปี 2554-2558 รายการ ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
2554
2555
2556
2557
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
2558*
1,565.75 1,942.90 1,927.25 1,831.80 2,388.00 333.86 519.09 528.54 565.08 728.47
8.17 17.88
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร
ตารางที่ 4 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออก และราคานำเข้า ปี 2554-2558 รายการ
2554
2555
2556
2557
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2.70 -0.29 2.99 0.89
2558*
3.01 2.56 3.06 3.09 ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/ฟอง1/) 2/ 3.10 2.64 2.60 3.10 ราคาส่งออก (เอฟ.โอ.บี.) ไข่ไก่สด (บาท/ฟอง) ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ (บาท/ตัน) 76,317.00 81,394.00 81,183.00 89,461.00 88,558.00 2/ ราคานำเข้า (ซี.ไอ.เอฟ.) ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ (บาท/ตัน) 213,227.00 267,173.00 274,246.00 308,483.00 305,054.00 หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : 1/ สำนักงานเศรฐกิจการเกษตร, 2/ กรมศุลกากร
4.00 8.98
ปี 2554-2558 การผลิ ต เนื้ อ สุ ก รของประเทศต่ า งๆ เพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต รา ร้อยละ 1.82 ต่อปี ในปี 2558 การผลิต เนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 111.46 ล้าน ตัน เพิม่ ขึน้ จากปี 2557 ซึง่ มีปริมาณ 110.57 ล้านตัน ร้อยละ 0.80 ประเทศต่างๆ ส่วนใหญ่ ผลิตเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ ได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย เวียดนาม และแคนาดา ผลิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.07 ร้อยละ 7.60 ร้อยละ 1.50 ร้อยละ 4.78 ร้อยละ 1.02 และร้อยละ 1.94 ตามลำดับ ส่วนจีนผลิตลดลงร้อยละ 0.59 1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2554-2558 ความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรของประเทศต่างๆ เพิ่ม ขึ้นในอัตราร้อยละ 1.82 ต่อปี ในปี 2558 การบริโภคเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณ 110.94 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ซึ่งมีปริมาณ 110.04 ล้านตัน ร้อยละ 0.82 ประเทศต่างๆ ส่วนใหญ่มีการบริโภคเพิ่มขึ้น โดยจีน สหภาพยุ โ รป สหรั ฐ อเมริ ก า บราซิ ล ญี่ ปุ่ น และ เวียดนาม มีการบริโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.05 ร้อยละ 1.38 ร้อยละ 7.89 ร้อยละ 1.44 ร้อยละ 0.08 และร้อยละ 0.96 ตามลำดับ
(2) การส่งออก
ปี 2554-2558 การ ส่งออกเนือ้ สุกรของประเทศต่างๆ ลดลงในอัตรา ร้อยละ 0.20 ต่อปี ในปี 2558 การส่งออก เนื้อสุกรมีปริมาณรวม 7.15 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จากปี 2557 ซึ่งมีปริมาณ 6.87 ล้านตัน ร้อยละ 3.96 ประเทศเม็กซิโก และสหรัฐอเมริกา มีการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.95 และร้อยละ 8.49 ตามลำดับ ประเทศทีส่ ง่ ออกลดลง ได้แก่ แคนาดา และจีน ส่งออกลดลงร้อยละ 0.67 และร้ อ ยละ 9.75 ตามลำดั บ โดยจี น เป็ น ประเทศคู่ แ ข่ ง ในตลาดฮ่ อ งกงซึ่ ง เป็ น ตลาด ส่งออกเนื้อสุกรที่สำคัญของไทย
(3) การนำเข้า
ปี 2554-2558 การนำเข้า เนือ้ สุกรของประเทศต่างๆ ลดลงในอัตราร้อยละ 1.12 ต่อปี ในปี 2558 การนำเข้าเนื้อสุกร ของประเทศผู้นำเข้าเนื้อสุกรที่สำคัญมีปริมาณ รวม 6.44 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2557 ซึ่งมีปริมาณ 6.36 ล้านตัน ร้อยละ 1.26 ประเทศที่นำเข้าลดลง ได้แก่ ญี่ปุ่น ลดลง ร้อยละ 4.65 เนือ่ งจากความต้องการในประเทศ ลดลง สำหรับเม็กซิโก จีน เกาหลีใต้ สหรัฐ-
Food Feed Fuel
1.1.1 การผลิต
45 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1.1 ของโลก
ส่วนรัสเซียมีการบริโภคลดลง ร้อยละ 0.03 เนื่องจากมีการนำเข้าลดลงจากผลของการห้าม นำเข้าสินค้าอาหารจากสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ที่ดำเนินมาตรการ คว่ำบาตรต่อรัสเซีย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
1. สถานการณ์ ปี 2558
• สุกร •
46 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2554-2558 ความ ต้ อ งการบริ โ ภคเนื้ อ สุ ก รของไทย เพิ่ ม ขึ้ น ใน อั ต ราร้ อ ยละ 1.41 ต่ อ ปี สุ ก รที่ ผ ลิ ต ได้ ใ ช้ บริโภคภายในประเทศเป็นหลักประมาณร้อยละ 95 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด ปี 2558 มีปริมาณการบริโภคสุกร 12.17 ล้านตัว หรือ 0.974 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 0.52 (2) การส่งออก
โดยเป็นการส่งออกเนื้อสุกรและเนื้อสุกรแปรรูป ร้ อ ยละ 1-2 และสุ ก รมี ชี วิ ต ร้ อ ยละ 3-4 เนื้อสุกรส่งออกไปยัง สปป.ลาว รัสเซีย และ ฮ่องกง ส่วนเนื้อสุกรแปรรูปส่งออกไปยังญี่ปุ่น และฮ่ อ งกง สำหรั บ สุ ก รมี ชี วิ ต ส่ ง ออกไปยั ง ประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ และเวียดนาม ปี 2554-2558 ปริมาณการส่งออกเนื้อสุกรชำแหละเพิ่มขึ้นใน อัตราร้อยละ 6.98 ต่อปี ในปี 2558 ส่งออก เนื้อสุกรชำแหละปริมาณ 3,200 ตัน มูลค่า 200 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2557 ซึง่ ส่งออก ปริมาณ 2,635 ตัน มูลค่า 152.49 ล้านบาท ร้อยละ 21.44 และร้อยละ 31.16 ตามลำดับ ปี 2554-2558 ปริมาณการส่งออกเนื้อสุกร แปรรู ป เพิ่ ม ขึ้ น ในอั ต ราร้ อ ยละ 9.20 ต่ อ ปี ส่วนในปี 2558 ส่งออกเนือ้ สุกรแปรรูปปริมาณ 13,500 ตัน มูลค่า 2,600 ล้านบาท ลดลง จากปี 2557 ซึ่งส่งออกปริมาณ 14,592 ตัน มูลค่า 2,657.87 ล้านบาท ร้อยละ 7.48 และ ร้อยละ 2.18 ตามลำดับ สำหรับสุกรมีชีวิต ส่งออกปริมาณ 810,700 ตัว มูลค่า 3,700 ล้านบาท เป็นสุกรพันธุ์ 238,700 ตัว มูลค่า 1,100 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ซึ่ง ส่งออก 25,168 ตัว มูลค่า 141.91 ล้านบาท คิดเป็น 8.48 เท่า และ 6.75 เท่าตามลำดับ และเป็นสุกรมีชีวิตอื่นๆ 572,000 ตัว มูลค่า 2,600 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ซึ่ง ส่งออก 388,846 ตัว มูลค่า 1,765.06 ล้านบาท ร้อยละ 47.10 และร้อยละ 47.30 ตามลำดับ
การส่งออกสุกรมีปริมาณ เพียงร้อยละ 5 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด เนื่ อ งจากข้ อ จำกั ด จากโรคปากและเท้ า เปื่ อ ย
ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การนำเข้ า ส่วนอืน่ ๆ ทีบ่ ริโภคได้ของสุกรแช่เย็นแช่แข็ง (หนัง
อเมริกา และฮ่องกง นำเข้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 12.47 ร้อยละ 11.83 ร้อยละ 25.00 ร้อยละ 9.85 และร้อยละ 9.51 ตามลำดับ จีนมีการ นำเข้าเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีความต้องการบริโภค เพิ่มขึ้น ขณะที่ปริมาณการผลิตลดลง 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ปี 2554-2558การผลิตสุกร ของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.26 ต่อปี ในปี 2558 มีปริมาณการผลิตสุกร 13.30 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 12.82 ล้านตัว ของปี 2557 ร้อยละ 3.74 เนื่องจากราคาสุกรที่ เกษตรกรขายได้ในปี 2557 ปรับตัวสูงขึน้ ทำให้ ผู้เลี้ยงรายใหญ่ และรายกลางขยายการผลิต เพิม่ ขึน้ ถึงแม้จะมีปญ ั หาเรือ่ งโรคในสุกรเพิม่ ขึน้ แต่เกษตรกรส่วนใหญ่สามารถปรับปรุงด้านการ จัดการฟาร์ม และควบคุมโรคได้ดีขึ้น ส่งผลให้ ผู้เลี้ยงสุกรที่มีศักยภาพขยายการผลิตเพิ่มขึ้น 1.2.2 การตลาด (1) ความต้องการบริโภค
(3) การนำเข้า
เนื้อสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.50 บาท สูงขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 7.98 ส่วนในปี 2554-2558 ราคาเนื้อสุกรแปรรูปลดลงใน อั ต ราร้ อ ยละ 4.70 ต่ อ ปี โดยปี 2558 ราคาส่งออกเนื้อสุกรแปรรูป เฉลี่ยกิโลกรัมละ 192.59 บาท สูงขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 5.74 3) ราคานำเข้า
2. แนวโน้ม ปี 2559 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปี 2559 คาดว่ า การผลิ ต เนื้อสุกรจะมีปริมาณรวม 111.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 0.45 โดยคาดว่า ประเทศผู้ผลิตที่สำคัญหลายประเทศ ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย และเวียดนาม จะผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.22 ร้อยละ 1.40 ร้อยละ 1.71 ร้อยละ 5.70 และร้อยละ 1.20 ตามลำดั บ สหรั ฐ อเมริ ก ามี ก ารผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น เนื่องจากฟื้นตัวจากปัญหาโรคท้องร่วงติดต่อ (PED) ส่วนการผลิตสุกรในรัสเซียยังคงเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีความต้องการบริโภคภายในประเทศ สูง และราคาอาหารสัตว์มีเสถียรภาพ จึงมีการ ลงทุนขยายกำลังการผลิตเพิ่มขึ้น
47 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2554-2558 ราคา นำเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวมสูงขึ้น ในอัตราร้อยละ 17.53 ต่อปี โดยในปี 2558 ราคานำเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.16 บาท สูงขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 3.94 ส่วนราคานำเข้าตับ เฉลีย่ กิโลกรัมละ 29.66 บาท สูงขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 6.16
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ตับ และเครื่องในอื่นๆ) และผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ปี 2554-2558 ปริมาณการนำเข้าส่วนอืน่ ๆ ที่ บริโภคได้เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 18.94 ต่อปี ในปี 2558 นำเข้าส่วนอืน่ ๆ ทีบ่ ริโภคได้ปริมาณ 37,000 ตัน มูลค่า 820 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปริมาณ 26,956 ตัน มูลค่า 574.59 ล้านบาท ของปี 2557 ร้อยละ 37.26 และ ร้อยละ 42.71 ตามลำดับ โดยส่วนใหญ่นำเข้า ตั บ จาก เยอรมนี บราซิ ล เกาหลี ใ ต้ และ เดนมาร์ก และส่วนอืน่ ๆ จากอิตาลี เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี และสเปน ปี 2554-2558 ปริมาณ การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้ อ ยละ 5.14 ต่ อ ปี ในปี 2558 นำเข้ า ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรปริมาณ 950 ตัน มูลค่า 110 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2557 ซึ่งมีการนำเข้าปริมาณ 1,014 ตัน มูลค่า 81.26 ล้านบาท ปริมาณลดลงร้อยละ 6.31 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 35.37 (4) ราคา 1) ราคาที่เกษตรกรขาย ได้ ปี 2554-2558 ราคา ที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.01 ต่อปี ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ปี 2558 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ย กิโลกรัมละ 75.08 บาท ของปี 2557 ร้อยละ 12.09 เนื่องจากปริมาณการผลิตสุกรเพิ่มขึ้น ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศซบเซา ทำให้ตลาดชะลอตัว 2) ราคาส่งออก ปี 2554-2558 ราคา ส่งออกเนื้อสุกรชำแหละสูงขึ้นในอัตราร้อยละ 1.97 ต่อปี โดยในปี 2558 ราคาส่งออก
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2559 คาดว่าความ ต้ อ งการบริ โ ภคเนื้ อ สุ ก ร จะมี ป ริ ม าณรวม 111.23 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 0.25 โดยคาดว่าสหรัฐอเมริกา รัสเซีย บราซิล เวียดนาม และเม็กซิโก จะบริโภคเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.74 ร้อยละ 1.71 ร้อยละ 1.52 ร้อยละ 1.04 และร้อยละ 3.29 ตามลำดับ เนื่องจากผลผลิต ภายในประเทศเพิ่มขึ้น ส่วนจีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น การบริโภคจะลดลงร้อยละ 0.10 ร้อยละ 0.39 และร้อยละ 0.20 ตามลำดับ
48
(2) การส่งออก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ปี 2559 คาดว่ า การ ส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 7.26 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 1.60 โดยคาดว่าสหรัฐอเมริกา บราซิล ชิลี และเม็กซิโก จะส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.50 ร้อยละ 2.65 ร้อยละ 8.11 และร้อยละ 15.38 ตามลำดับ เนื่ อ งจากความต้ อ งการในตลาดโลกเพิ่ ม ขึ้ น สหรั ฐ อเมริ ก ามี ก ารส่ ง ออกเพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจาก สามารถแข่งขันด้านราคากับประเทศคู่แข่งได้ ทำให้การส่งออกเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในตลาด เม็กซิโก แคนาดา และจีน การส่งออกจะทรงตัว ส่วนสหภาพยุโรปจะส่งออกลดลงร้อยละ 0.85 (3) การนำเข้า ปี 2559 คาดว่ า การ นำเข้ามีปริมาณรวม 6.47 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก ปี 2558 ร้อยละ 0.43 โดยคาดว่า เม็กซิโก จีน เกาหลีใต้ และฮ่องกง จะนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.35 ร้อยละ 0.59 ร้อยละ 4.17 และร้อยละ 5.26 ตามลำดับ ส่วนญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา
จะนำเข้าลดลงร้อยละ 1.57 และร้อยละ 9.56 ตามลำดับ 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ปี 2559 คาดว่าการผลิตสุกร มี ป ริ ม าณ 13.662 ล้ า นตั ว เพิ่ ม ขึ้ น จาก 13.297 ล้านตัวของปี 2558 ร้อยละ 2.74 เนื่ อ งจากตลาดภายในประเทศยั ง คงมี ค วาม ต้องการบริโภคอย่างต่อเนื่อง และยังมีปัจจัย บวกจากความต้ อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากประเทศ เพือ่ นบ้าน เช่น กัมพูชา สปป.ลาว เป็นต้น และ คาดว่าจะสามารถส่งออกเนื้อสุกรไปรัสเซียได้ อย่างต่อเนื่อง สอดรับกับเศรษฐกิจของรัสเซีย ที่คาดว่าจะเติบโตขึ้นในปี 2559 2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2559 คาดว่าการบริโภค สุกรจะเพิม่ ขึน้ เมือ่ เทียบกับปี 2558 เนือ่ งจาก ปริมาณการผลิตเพิม่ ขึน้ โดยคาดว่าจะมีปริมาณ การบริโภคสุกร 12.50 ล้านตัว หรือ 1.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 2.67
(2) การส่งออก
ปี 2559 คาดว่ า การ ส่งออกเนื้อสุกรชำแหละจะเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ราคาสุ ก รที่ ล ดลง จะเอื้ อ อำนวยให้ ส ามารถ ส่งออกได้เพิม่ ขึน้ ประกอบกับการส่งออกเนือ้ สุกร ไปยังประเทศรัสเซียทีค่ าดว่าจะกลับมาส่งออกได้ อย่างต่อเนื่องหลังประสบปัญหาค่าเงินผันผวน ส่วนเนื้อสุกรแปรรูปคาดว่าการส่งออกยังคงมี แนวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากตลาดยั ง มี ค วาม ต้องการเพิ่มขึ้น สำหรับสุกรมีชีวิตที่ส่งออกไป
(3) การนำเข้า
ปี 2559 คาดว่าการนำเข้า ส่ ว นอื่ น ๆ ที่ บ ริ โ ภคได้ ข องสุ ก ร (หนั ง ตั บ และเครื่องในอื่นๆ) และการนำเข้าผลิตภัณฑ์ เนื้อสุกรจะใกล้เคียงกับปี 2558
(4) ราคา
ปี 2559 คาดว่ า ราคา สุกรที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ยจะใกล้เคียงกับ ปี 2558 หรือลดลงเล็กน้อยเนื่องจากปริมาณ การผลิตยังคงเพิม่ ขึน้ ส่วนราคาส่งออกเนือ้ สุกร ชำแหละและเนือ้ สุกรแปรรูป คาดว่าจะใกล้เคียง กับปี 2558 2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต หรือ การส่งออก 2.3.1 โรคระบาด เป็นปัจจัยสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณการผลิตสุกร โดย เฉพาะโรคทางระบบสืบพันธุ์และระบบทางเดิน หายใจ (PRRS) และโรคท้องร่วงติดต่อ (PED) ที่ทำให้ผลผลิตสุกรเกิดความเสียหาย แม้ว่า จะมีการจัดการฟาร์มที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ ก็ ยั ง มี โ อกาสเกิ ด โรคดั ง กล่ า วอยู่ ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ หากมีความแปรปรวน จะทำให้สกุ รมีภมู ติ า้ นทานต่ำ ส่งผลให้การผลิต ลดลง และต้นทุนการผลิตสูงขึ้น
2.3.3 ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อ ต้นทุนการผลิตสุกร (1) ภัยแล้ง ในช่วงระยะเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมา การผลิตทางการเกษตรใน หลายพื้ น ที่ ข องประเทศได้ รั บ ผลกระทบจาก ปั ญ หาภั ย แล้ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยในปั จ จุ บั น ภัยแล้งได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก ภาวะฝนทิ้งช่วง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการปลูก พืชอาหารสัตว์ โดยเฉพาะการปลูกข้าว ทำให้ ผลผลิตลดลง โดยปลายข้าวและรำจะลดลง ตามไปด้วย จึงเป็นปัจจัยลบที่ส่งผลให้ราคา วัตถุดิบอาหารสัตว์สูงขึ้น (2) ราคาน้ำมัน และก๊าซ มี แนวโน้มที่จะทรงตัวในระดับต่ำ ซึ่งจะส่งผลดี ต่อต้นทุนค่าขนส่ง ทำให้ตน้ ทุนค่าขนส่งวัตถุดบิ อาหารสัตว์และปัจจัยการผลิตต่างๆ ลดลง จึง เป็นปัจจัยบวกที่ช่วยลดต้นทุนการผลิตสุกร
49 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2.3.2 ค่าเงินผันผวน แม้จะยังมีการ ส่งออกสุกรไม่มากนักเมื่อเทียบกับปริมาณการ ผลิตทั้งหมด เนื่องจากข้อจำกัดจากโรคปาก และเท้ า เปื่ อ ย อย่ า งไรก็ ต าม ไทยสามารถ ส่ ง ออกเนื้ อ สุ ก รไปรั ส เซี ย ได้ เ ป็ น ครั้ ง แรกใน เดือนธันวาคม 2557 แต่รัสเซียเกิดปัญหา เศรษฐกิจทำให้ค่าเงินรูเบิลตกต่ำลงเป็นอย่าง มาก จึงต้องระงับการส่งออกชั่วคราวในช่วง เดือนมกราคม-พฤษภาคม 2558 และกลับมา ส่งออกได้อกี ครัง้ ในเดือนมิถนุ ายน 2558 จนถึง ปั จ จุ บั น (กั น ยายน 2558) และคาดว่ า จะ ส่งออกได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งหากค่าเงินมีความ ผันผวนน้อยก็จะทำให้การส่งออกมีเสถียรภาพ มากขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ยังประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะ สปป.ลาว คาดว่าจะไม่เพิม่ ขึน้ จากปี 2558 เนือ่ งจากความ เข้มงวดในการนำเข้าของจีนจะทำให้การส่งออก ไปจีนโดยผ่าน สปป.ลาว มีปัญหาหยุดชะงัก ในบางช่วง แม้ว่าความต้องการสุกรขุนของ สปป.ลาว และจีนยังคงมีต่อเนื่อง
ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตเนื้อสุกรของประเทศที่สำคัญ ปี 2554-2559 ประเทศ จีน สหภาพยุโรป* สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย เวียดนาม แคนาดา ฟิลิปปินส์ อื่นๆ รวม
2554
2555
2556
2557
50,604 53,427 54,930 56,710 22,953 22,526 22,359 22,533 10,331 10,554 10,525 10,370 3,227 3,330 3,335 3,400 2,064 2,175 2,400 2,510 2,262 2,307 2,349 2,425 1,817 1,844 1,822 1,805 1,288 1,310 1,340 1,353 9,035 9,395 9,763 9,460 103,581 106,868 108,823 110,566
หน่วย : พันตันน้ำหนักซาก
่ม 2/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 2559 56,375 2.80 56,500 23,000 0.04 22,900 11,158 1.37 11,314 3,451 1.56 3,510 2,630 6.48 2,780 2,450 2.12 2,475 1,840 0.04 1,880 1,370 1.57 1,390 9,184 0.40 9,213 111,458 1.82 111,962
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น, 2/ ประมาณการ, *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 2 ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรของประเทศที่สำคัญ ปี 2554-2559 ประเทศ
50 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
จีน สหภาพยุโรป* สหรัฐอเมริกา รัสเซีย บราซิล ญี่ปุ่น เวียดนาม เม็กซิโก อื่นๆ รวม
2554
2555
2556
2557
51,108 53,802 55,406 57,169 20,822 20,382 20,147 20,381 8,337 8,441 8,665 8,650 3,035 3,239 3,267 3,024 2,644 2,670 2,751 2,846 2,522 2,557 2,549 2,543 2,238 2,275 2,315 2,389 1,710 1,850 1,956 1,991 10,754 11,044 11,304 11,051 103,170 106,260 108,360 110,044
หน่วย : พันตันน้ำหนักซาก
่ม 25592/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 57,200 2.90 57,140 20,662 0.16 20,582 9,340 2.55 9,409 2,929 1.39 2,979 2,887 2.43 2,931 2,545 0.13 2,540 2,412 2.01 2,437 2,125 5.21 2,195 10,844 0.17 11,013 110,944 1.82 111,226
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น, 2/ ประมาณการ, *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 3 ปริมาณส่งออกเนื้อสุกรของประเทศที่สำคัญ ปี 2554-2559 ประเทศ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป* แคนาดา บราซิล จีน ชิลี เม็กซิโก เซอร์เบีย ออสเตรเลีย อื่นๆ รวม
2554
2555
2,357 2,150 1,197 584 244 139 86 4 41 153 6,955
2556
2,440 2,165 1,243 661 235 180 95 6 36 207 7,268
2,262 2,227 1,246 585 244 164 111 4 36 148 7,027
2557 2,203 2,166 1,218 556 277 163 117 25 37 111 6,873
หน่วย : พันตันน้ำหนักซาก
่ม 2/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 2559 2,268 -1.78 2,370 2,350 1.80 2,330 1,210 0.01 1,210 565 -2.36 580 250 2.15 250 185 4.84 200 130 10.90 150 40 82.80 45 38 -1.24 40 109 -12.20 84 7,145 -0.20 7,259
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น, 2/ ประมาณการ, *สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 4 ปริมาณการนำเข้าเนื้อสุกรของประเทศที่สำคัญ ปี 2554-2559 2555
1,254 594 758 640 364 432 175 145 2,196 6,558
2556
1,259 706 730 502 364 414 194 138 2,551 6,858
1,223 783 770 388 399 399 183 172 2,280 6,597
2557 1,332 818 761 480 457 347 191 200 1,772 6,358
่ม 25592/ 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 1,270 0.82 1,250 920 10.76 960 845 2.62 850 600 -1.72 625 502 9.09 454 380 -4.24 400 230 5.45 250 210 11.76 220 1,481 -10.88 1,457 6,438 -1.12 6,466
หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบื้องต้น, 2/ ประมาณการ ที่มา : Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
ตารางที่ 5 ปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร ปี 2554-2559 รายการ ปริมาณการผลิต1/ (ล้านตัว) (ล้านตัน) ปริมาณส่งออก2/ (ตัน) ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน)
2554
2555
2556
2557
2558*
11.886 0.951 12,027 0.901
12.829 1.026 14,416 0.984
13.072 1.046 15,957 1.010
12.823 1.026 17,227 0.969
13.297 1.064 16,700 0.974
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : 1/, 3/ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2/ กรมศุลกากร
อัตราเพิ่ม 2559* (ร้อยละ) 2.26 13.662 2.27 1.093 8.71 n.a. 1.41 1.000
51 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ญี่ปุ่น เม็กซิโก จีน เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์ อื่นๆ รวม
2554
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ประเทศ
หน่วย : พันตันน้ำหนักซาก
ตารางที่ 6 การส่งออกเนื้อสุกรชำแหละ เนื้อสุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต ปี 2554-2558 รายการ
2554
เนื้อสุกรชำแหละ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ (ตัน) มูลค่า : ล้านบาท สุกรพันธุ์ ปริมาณ (ตัว) มูลค่า : ล้านบาท สุกรมีชีวิตอื่นๆ ปริมาณ (ตัว) มูลค่า : ล้านบาท
2555
2,577 140.24 9,450 2,155.60 83,044 318.58 353,716*** 1,579.76
2556
2557
2558*
2,070 3,840 2,635 3,200 130.06 226.07 152.49 200.00 12,346 12,117 14,592 13,500 2,592.97 2,437.61 2,657.87 2,600.00 35,782** 17,988 25,168 238,700 67.98** 66.34 141.91 1,100.00 533,593 243,261 388,846 572,000 2,018.79 925.68 1,765.06 2,600.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 6.98 9.08 9.20 4.08 19.24 37.91 6.66 9.00
หมายเหตุ : *ประมาณการ **ปรับข้อมูลส่งออกที่ผิดปกติ เดือนมกราคม 2555 ***ปรับข้อมูลส่งออกที่ผิดปกติ เดือนธันวาคม 2554 ที่มา : กรมศุลกากร
ตารางที่ 7 การนำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร และส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องในอื่นๆ) ปี 2554-2558 รายการ
52 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
2554
2555
2556
2557
2558*
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
836 54.00
793 55.90
801 65.20
1,014 81.26
950 110.00
5.14 19.69
21,463 289.48
14,140 161.76
12,548 161.90
26,956 574.59
37,000 820.00
18.94 39.79
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : กรมศุลกากร
ตารางที่ 8 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออก และราคานำเข้า ปี 2554-2558 รายการ ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) ราคาส่งออก (บาท/กก.) เนื้อสุกรชำแหละ เนื้อสุกรแปรรูป ราคานำเข้า (บาท/กก.) ส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม ตับ หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร : กรมศุลกากร
2554 65.50
2555 56.65
2556 65.35
2557 75.08
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 66.00 3.01
2558*
54.42 62.83 58.87 57.88 62.50 228.11 210.02 201.17 182.14 192.59 13.49 22.77
11.44 19.76
12.90 24.32
21.32 27.94
22.16 29.66
1.97 -4.70 17.53 9.15
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (25542558) ผลผลิตกุ้งทะเลจากการเพาะเลี้ยงของ โลก มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 1.28 ต่อปี สำหรับปี 2558 ประมาณการว่าจะมีปริมาณ ผลผลิตกุง้ จากการเพาะเลีย้ งของโลกรวม 2.18 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 2.01 ล้านตัน ของปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 8.46 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตหลัก ได้แก่ เอกวาดอร์ ไทย และอินโดนีเซีย ยังคง ขยายการผลิ ต จากราคากุ้ ง ที่ อ ยู่ ใ นเกณฑ์ สู ง ในปี 2557 จูงใจให้มีการเลี้ยงมากขึ้น แม้ บางประเทศยังคงประสบปัญหาโรคระบาด เช่น อินเดีย ประสบปัญหาจากโรคไมโครสปอริเดียน ส่วนเวียดนาม และไทยยังประสบปัญหาโรค ตายด่วน (EMS) โดยผลผลิตส่วนใหญ่มาจาก ประเทศในแถบเอเชีย 1.1.2 การตลาด
(1) การส่งออก
ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา (2554-2558) ปริ ม าณการส่ ง ออกกุ้ ง และ ผลิตภัณฑ์ในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้ง ปริมาณและมูลค่าในอัตราร้อยละ 1.53 และ ร้ อ ยละ 7.95 ต่ อ ปี ตามลำดั บ สำหรั บ ปี 2558 การส่งออกกุง้ และผลิตภัณฑ์ในตลาดโลก มีปริมาณทั้งสิ้น 2.28 ล้านตัน มูลค่า 20.10
(2) การนำเข้า
กลุ่มประเทศ และประเทศ ที่ น ำเข้ า กุ้ ง และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ส ำคั ญ ของโลก ได้แก่ 1) สหรั ฐ อเมริ ก า การ นำเข้ ากุ้ ง และผลิ ต ภัณ ฑ์ กุ้ งของสหรัฐ อเมริก า ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2554-2558) ปริมาณ และมูลค่ามีแนวโน้มการนำเข้าเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 0.72 และร้อยละ 5.52 ต่อปี ตาม ลำดับ เนือ่ งจากเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาเริม่ ฟืน้ ตัว ดีขนึ้ ประชาชนว่างงานน้อยลง ทำให้มกี ำลังซือ้ มากขึน้ จึงมีการนำเข้ากุง้ และผลิตภัณฑ์ปริมาณ 580 พันตัน เพิ่มจากปริมาณ 569 พันตัน ของปี 2557 ร้อยละ 1.93 แต่มีมูลค่าการ
Food Feed Fuel
1.1.1 การผลิต
53 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1.1 ของโลก
พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2557 ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.97 และร้อยละ 1.60 ตามลำดับ เนือ่ งจากแนวโน้ม ผู้บริโภคในตลาดหลักยังมีความต้องการอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยประเทศผูส้ ง่ ออกกุง้ อันดับหนึง่ ของ โลก คือ อินเดีย รองลงมา ได้แก่ เอกวาดอร์ และอินโดนีเซีย เนื่องจากทั้งสามประเทศไม่ได้ ประสบปั ญ หาโรค EMS จึ ง ทำให้ ป ระเทศ เหล่านี้มีส่วนแบ่งตลาดในประเทศผู้นำเข้าหลัก ของโลกเพิ่มขึ้นแทนที่ไทย ซึ่งเคยครองตลาด ส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ได้มากเป็นอันดับหนึ่ง ของโลกมาอย่างยาวนาน ปี 2558 ไทยมีสว่ นแบ่ง ตลาดลดลงมาอยู่ที่อันดับ 5 ของโลก รองจาก อินเดีย เอกวาดอร์ อินโดนีเซีย และจีน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
1. สถานการณ์ ปี 2558
• กุ้ง •
นำเข้า 5,514.15 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง จาก 6,703.73 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ของปี 2557 ร้อยละ 17.74 โดยในปี 2558 ผู้นำ ตลาดกุ้งในสหรัฐอเมริกา คือ อินโดนีเซีย ซึ่งมี ส่วนแบ่งตลาดเป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 20.68 ของปริมาณการนำเข้ากุ้งทั้งหมดของ สหรัฐฯ รองลงมาได้แก่ อินเดีย เอกวาดอร์ และเวียดนาม มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 18.62 ร้อยละ 14.83 และร้อยละ 8.79 ตามลำดับ ส่วนไทยมีส่วนแบ่งตลาดในสหรัฐฯ เป็นอันดับ 5 คือร้อยละ 7.07
54 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2) สหภาพยุโรป ในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (2554-2558) การนำเข้ากุง้ และ ผลิตภัณฑ์ของสหภาพยุโรป 28 ประเทศ (ไม่นบั รวมการค้าระหว่างกันในสหภาพยุโรป) ปริมาณ มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 0.03 ต่อปี แต่ มูลค่ามีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อัตราร้อยละ 3.73 ต่อปี เนือ่ งจากสภาพเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปยังคง ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนทั่วไป ต้องใช้ความระมัดระวังเกีย่ วกับค่าใช้จา่ ยในชีวติ ประจำวัน ทัง้ ด้านอุปโภคและบริโภค ในปี 2558 การนำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของสหภาพยุโรป มี ปริมาณ 581 พันตัน มูลค่า 4,800.94 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ลดลงจาก 601 พันตัน มูลค่า 5,511.53 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ของปี 2557 ร้อยละ 3.33 และร้อยละ 12.89 ตามลำดับ โดยมีการนำเข้าจากอินเดียมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 14.97 ของปริมาณนำเข้าทั้งหมด รองลงมานำเข้าจากเอกวาดอร์ เวียดนาม และ กรีนแลนด์ คิดเป็นร้อยละ 14.29 ร้อยละ 8.78 และร้อยละ 7.57 ตามลำดับ สำหรับไทยมีสว่ น แบ่งตลาดในสหภาพยุโรปเพียงร้อยละ 1.38
3) ญี่ ปุ่ น ในช่ ว ง 5 ปี ที่ผ่านมา (2554-2558) ปริมาณการนำเข้า กุ้งและผลิตภัณฑ์ของญี่ปุ่นมีแนวโน้มลดลง ทั้ง ปริมาณและมูลค่าในอัตราร้อยละ 7.52 และ ร้อยละ 5.59 ต่อปี ตามลำดับ สำหรับปี 2558 เศรษฐกิจญี่ปุ่นยังไม่เข้าสู่ภาวะปกติ ญี่ปุ่นยังคง ระมัดระวังในการนำเข้าสินค้าอาหาร เพือ่ ไม่ให้ ประเทศขาดดุลการค้าและสร้างเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ การนำเข้าสินค้ากุง้ โดยรวมของญีป่ นุ่ มีปริมาณ 216 พันตัน มูลค่า 2,350.35 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากปริมาณ 223 พันตัน มูลค่า 2,751.49 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ของปี 2557 ร้อยละ 3.14 และร้อยละ 14.58 ตาม ลำดับ โดยยังคงนำเข้าจากเวียดนามมากเป็น อันดับหนึ่ง คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 23.61 ของ ปริมาณการนำเข้ากุง้ ทัง้ หมด รองลงมาเป็นการ นำเข้าจากไทย อินโดนีเซีย และอินเดีย โดย มีสัดส่วนของปริมาณการนำเข้าคิดเป็นร้อยละ 17.13 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 16.20 ตาม ลำดับ 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ผลผลิ ต กุ้ ง จากการเพาะเลี้ ย ง ทั้งหมดของไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (25542558) มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 23.38 ต่อปี ในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ผลผลิตกุ้งของไทย ประสบปัญหาโรคกุง้ ตายด่วน หรือ EMS ทำให้ ผลผลิตกุง้ ลดลงจากภาวะปกติอย่างมาก ภาครัฐ โดยกรมประมงร่วมกับภาคเอกชน สามารถ แก้ไขปัญหาและควบคุมการระบาดของโรค EMS ได้ในระดับหนึ่ง แต่สถานการณ์การเลี้ยงยังไม่
(3) การนำเข้า
ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา (2554-2558) ปริมาณการนำเข้ากุ้งของไทย
55 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1.2.2 การตลาด (1) การบริโภค จากการที่ ผ ลผลิ ต กุ้ ง ไทย ลดลงมากในปี 2556 และต่อเนื่องมาถึงปี 2558 ในขณะที่ความต้องการกุ้งเป็นวัตถุดิบ แปรรูปเพือ่ ส่งออกสูงขึน้ จากภาวะปกติมาก ทำให้ ราคากุง้ ทุกขนาดยังอยูใ่ นระดับสูง แต่ไม่สง่ ผลต่อ ปริมาณการบริโภคในประเทศมากนัก เนือ่ งจาก สินค้าโปรตีนจากเนื้อสัตว์อื่นๆ ในประเทศก็มี ราคาสูงเช่นกัน ปริมาณการบริโภคในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 10 ของผลผลิตทั้งหมด และ ร้อยละ 90 ใช้เป็นวัตถุดิบแปรรูปในการผลิต สินค้ากุ้งเพื่อการส่งออก (2) การส่งออก ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา (2554-2558) แนวโน้ ม การส่ ง ออกกุ้ ง และ ผลิตภัณฑ์ของไทยลดลงทั้งปริมาณและมูลค่า ในอัตราร้อยละ 21.40 และร้อยละ 15.50 ต่อปี ตามลำดับ โดยเป็นการส่งออกกุ้งแช่เย็น แช่แข็งและผลิตภัณฑ์กุ้งแปรรูปประเภทต่างๆ ปี 2558 การส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ของไทย มีปริมาณ 171 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก 165
พันตัน ของปี 2557 ร้อยละ 3.64 แต่มมี ลู ค่า 57,818.31 ล้านบาท ลดลงจาก 64,342.93 ล้านบาท ของปี 2557 ร้อยละ 10.14 เป็น การส่ ง ออกกุ้ ง แช่ เ ย็ น แช่ แ ข็ ง ปริ ม าณ 82 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก 80 พันตัน ของปี 2557 ร้อยละ 2.50 แต่มมี ลู ค่า 24,859.47 ล้านบาท ลดลงจาก 29,185.35 ล้านบาทของปี 2557 ร้อยละ 14.82 สำหรับการส่งออกกุ้งแปรรูป ในปี 2558 มีปริมาณ 89 พันตัน เพิ่มขึ้น จาก 85 พันตัน ของปี 2557 ร้อยละ 4.70 แต่มีมูลค่า 32,958.84 ล้านบาท ลดลงจาก 35,157.58 ล้านบาท ของปี 2557 ร้อยละ 6.25 ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกลดลง เนื่องจาก คูแ่ ข่งมีผลผลิตเพิม่ ขึน้ และมีราคาถูกกว่ากุง้ ไทย กดดันให้ราคาส่งออกของไทยลดลง โดยตลาด ส่งออกทีส่ ำคัญของไทยยังคงเป็นตลาดเดิม ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป ขณะนี้ ผู้ส่งออกพยายามแสวงหาช่องทางการจำหน่าย ในตลาดใหม่ๆ เช่น ประเทศในแถบตะวันออกกลาง และตลาดอาเซียน ซึ่งในขณะนี้เวียดนาม มี ก ารนำเข้ า กุ้ ง จากไทยมากขึ้ น เพื่ อ ใช้ เ ป็ น วัตถุดิบในการแปรรูปอาหารเพื่อการส่งออก ให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนา อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อการส่งออกของ เวียดนาม เนื่องจากกุ้งที่ผลิตในเวียดนามพบ ปั ญ หาสารตกค้ า งเกิ น ค่ า มาตรฐาน ทำให้ สินค้าบางส่วนถูกส่งกลับ และขาดแคลนวัตถุดบิ กุ้ ง เพื่ อ อุ ต สาหกรรมแปรรู ป จากปั ญ หาการ ระบาดของโรค EMS เช่นเดียวกันกับไทย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
กลับสูภ่ าวะปกติ ปี 2558 มีปริมาณผลผลิตกุง้ 250,000 ตัน เพิม่ ขึน้ จาก 217,438 ตัน ในปี 2557 ร้อยละ 14.97 และมีเกษตรกรบางส่วน ปรับตัวในการเลี้ยงได้ดีขึ้น โดยการเปลี่ยนจาก การเลีย้ งกุง้ ขาวแวนนาไมไปเลีย้ งกุง้ กุลาดำมาก ขึน้ โดยเฉพาะพืน้ ทีเ่ ลีย้ งในแถบฝัง่ ทะเลอันดามัน สำหรับภาพรวมของประเทศไทยมีสัดส่วนการ เลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมร้อยละ 96 และสัดส่วน การเลี้ยงกุ้งกุลาดำร้อยละ 4 ของผลผลิตกุ้ง ทะเลจากการเพาะเลี้ยงทั้งหมด
มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 3.22 ต่อปี แต่มลู ค่ามีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 28.27 ต่อปี ในปี 2558 ปริมาณการนำเข้ากุ้งและ ผลิตภัณฑ์ มีปริมาณ 26 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก 24 พันตัน ของปี 2557 ร้อยละ 8.33 แต่ มีมูลค่าการนำเข้า 3,605.69 ล้านบาท ลดลง จากมูลค่า 3,749.15 ล้านบาท ของปี 2557 ร้อยละ 3.83 โดยนำเข้ามาในรูปกุ้งแช่เย็น แช่แข็งและกุ้งแปรรูป คิดเป็นร้อยละ 80.77 และร้อยละ 19.23 ตามลำดับ ส่วนใหญ่นำเข้า กุ้งแช่เย็นแช่แข็งมาเป็นวัตถุดิบแปรรูปเพื่อการ ส่งออก
56
(4) ราคา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1) ราคาที่เกษตรกรขาย ได้ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2554-2558) ราคากุง้ ขาวแวนนาไมทีเ่ กษตรกรขายได้ (ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 13.08 ต่อปี ปี 2558 มีราคาเฉลี่ย กิโลกรัมละ 180 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 223 บาท ของปี 2557 ร้อยละ 19.28 และ ราคาเฉลีย่ ของกุง้ ทุกขนาดเมือ่ เทียบกับปี 2557 ลดลงทั้งหมด 2) ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2554-2558) ราคา ส่งออกกุ้งแช่เย็นแช่แข็งและกุ้งแปรรูปในรูปเงิน บาท มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 7.23 และร้อยละ 7.41 ต่อปี ตามลำดับ ส่วนในรูป เงินเหรียญสหรัฐฯ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 4.49 และร้อยละ 4.67 ต่อปี ตามลำดับ ปี 2558 เมื่อเทียบกับปี 2557 ราคาส่งออก กุ้งแช่เย็นแช่แข็งและกุ้งแปรรูปในรูปเงินบาท ลดลงร้ อ ยละ 16.75 และร้ อ ยละ 10.63
ตามลำดับ ส่วนราคาในรูปเงินเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้ อ ยละ 20.29 และร้ อ ยละ 14.42 ตามลำดับ เนื่องจากราคาในตลาดโลกลดลง 3) ราคานำเข้า ซี.ไอ.เอฟ. ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2554-2558) ราคา นำเข้ากุ้งแช่เย็นแช่แข็งและกุ้งแปรรูปในรูปเงิน บาท มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 28.55 และร้อยละ 0.95 ต่อปี ตามลำดับ ส่วนในรูป เงินเหรียญสหรัฐฯ กุ้งแช่เย็นแช่แข็งมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 25.29 ต่อปี แต่กุ้ง แปรรูปมีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 1.61 ต่อปี ปี 2558 เมื่อเทียบกับปี 2557 ราคา นำเข้ า กุ้ ง แช่ เ ย็ น แช่ แ ข็ ง และกุ้ ง แปรรู ป ในรู ป เงินบาทลดลงร้อยละ 10.44 และร้อยละ 23.46 ตามลำดับ ส่วนราคาในรูปเงินเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 13.28 และร้อยละ 26.71 ตาม ลำดับ
2. แนวโน้ม ปี 2559 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปี 2559 คาดว่ า ปริ ม าณ ผลผลิตกุง้ จากการเพาะเลีย้ งของโลกโดยรวมจะ ลดลง เมือ่ เทียบกับปี 2558 จากการทีป่ ระเทศ ผู้เลี้ยงหลักต่างๆ เช่น อินเดีย อินโดนีเซีย เริ่ม ประสบปัญหาการระบาดของโรคช่วงปลายปี 2558 และคาดว่ า จะเผชิ ญ กั บ โรคต่ อ เนื่ อ ง ในปี 2559 ขณะทีไ่ ทยมีการปรับตัว และบริหาร จัดการการเลีย้ งได้ดขี นึ้ ทำให้ผลผลิตมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น 2.1.2 การตลาด
ปี 2559 คาดว่าภาวะเศรษฐกิจ
2.2.1 การผลิต ปี 2559 คาดว่าผลผลิตกุง้ จาก การเพาะเลี้ยงของไทยจะมีปริมาณ 300,000 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยภาครัฐได้พยายามแก้ไขปัญหาเรื่องโรคกุ้ง มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการพัฒนาสายพันธุ์ และดำเนินการฝึกอบรมเพื่อให้ความรู้แก่ เกษตรกรอย่างทัว่ ถึงมากยิง่ ขึน้ ประกอบกับการ ดำเนินงานตามโครงการรวมพลังยับยั้ง EMS ของกรมประมง ซึ่งมีนำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้งและ ผลิตลูกพันธุ์กุ้งคุณภาพจำหน่ายให้กับเกษตรกร ในราคาถูก นอกจากนี้ยังมีการตรวจคัดกรอง โรคให้กบั โรงเพาะฟัก และเกษตรกรผูเ้ พาะเลีย้ ง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่เกษตรกรในการ กลับมาทำการเลี้ยงกุ้งตามปกติต่อไป 2.2.2 การตลาด (1) การบริโภค ปี 2559 คาด ว่าความต้องการบริโภคในประเทศจะมีปริมาณ ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา และจากการที่ภาครัฐ ใช้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยวิธีต่างๆ เพื่อ เพิ่มอำนาจซื้อให้แก่ประชาชน จึงคาดว่าความ ต้องการบริโภคกุง้ และผลิตภัณฑ์จะยังคงมีอย่าง ต่อเนื่อง
(3) การนำเข้า ปี 2559 คาด ว่าไทยจะนำเข้ากุ้งในปริมาณที่ลดลง เมื่อเทียบ กับปีที่ผ่านมา หากสถานการณ์การผลิตกุ้งของ ไทยปรับเข้าสู่ภาวะปกติ ซึ่งการนำเข้าส่วนใหญ่ จะเป็นการนำเข้ากุ้งแช่เย็นแช่แข็ง สำหรับเป็น วัตถุดิบแปรรูปอาหารส่งออก เพื่อรักษาตลาด สินค้าเฉพาะ (Niche Market) และรักษาระดับ รายได้ของผู้ประกอบการแปรรูปอาหารส่งออก (4) ราคา ปี 2559 คาดว่า จะปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากสถานการณ์ผลผลิตกุง้ ของโลกลดลง ทำให้ผนู้ ำเข้าหันมานำเข้า
57 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2.2 ของไทย
(2) การส่งออก ปี 2559 คาด ว่าการส่งออกกุ้งของไทยจะเพิ่มขึ้นจากการที่ ประเทศคู่แข่งได้ลดลงจากปัญหาระบาด ทำให้ ผูน้ ำเข้าหันมาซือ้ กุง้ จากไทยเพิม่ ขึน้ แต่ไทยยังคง ต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ ที่เป็นข้อกีดกันทาง การค้าของประเทศผู้นำเข้าเกี่ยวกับมาตรฐาน สิ น ค้ า การพบสารตกค้ า ง การใช้ แ รงงาน ผิดกฎหมาย รวมทั้งปัญหาภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศผู้ น ำเข้ า สำคั ญ เช่ น สหรั ฐ อเมริ ก า สหภาพยุโรป และญีป่ นุ่ เป็นต้น นอกจากนี้ การ ถูกตัดสิทธิพิเศษทางภาษี (GSP) จากสหภาพยุโรป ทำให้กงุ้ แปรรูปจากไทยถูกเก็บอากรขาเข้า ในอัตราปกติ คือ ร้อยละ 20 จากเดิมเก็บ ในอัตราร้อยละ 7 และกุ้งแช่เย็นแช่แข็งของ ไทย เสียอากรขาเข้าในอัตราร้อยละ 12 จาก เดิมที่เสียร้อยละ 4.2 ขณะที่ประเทศคู่แข่งไทย ได้ แ ก่ เวี ย ดนาม ยั ง คงได้ สิ ท ธิ พิ เ ศษ GSP อยู่ต่อไป อัตราอากรขาเข้าที่แตกต่างกันเช่นนี้ จะทำให้ ไ ทยเสี ย เปรี ย บในด้ า นศั ก ยภาพการ แข่ ง ขั น ทางการค้ า สิ น ค้ า กุ้ ง และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น ตลาดสหภาพยุโรป
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
โลกจะยังคงชะลอตัวต่อไป แม้ความต้องการ บริโภคกุ้งจะมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แต่ผู้บริโภค ต้องการสินค้ากุ้งที่มีราคาไม่สูงมากนัก ทำให้ ผู้ค้าอาจจะไม่สามารถปรับราคาให้สูงขึ้น เพื่อ รักษาตลาดของผู้บริโภคหลักไว้ ภาวะการค้า สินค้ากุง้ ของโลกในปี 2559 คาดว่าจะไม่ขยาย ตัวจนกว่าเศรษฐกิจของประเทศผู้นำเข้าหลัก จะคืนสู่ภาวะปกติ
กุ้งจากไทยเพิ่มขึ้นและส่งผลให้ราคาในประเทศ ปรับตัวสูงขึ้นด้วย 2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต การ ตลาด และการส่งออก 2.3.1 การผลิต
58 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
การเพาะเลี้ ย งยั ง คงมี ปั ญ หา จากโรคตายด่วนในบางพื้นที่ แต่เกษตรกรเริ่ม มีการปรับตัว และมีการจัดการฟาร์มเลี้ยงได้ ดีขึ้น ทำให้สถานการณ์การผลิตกุ้งเริ่มฟื้นตัว และมีปริมาณผลผลิตกุ้งเพิ่มขึ้นในช่วงปลายปี ซึ่งเป็นผลมาจากความร่วมมือของภาครัฐและ เอกชน ในการจัดการตั้งแต่การผลิตพ่อแม่พันธุ์ กุ้งคุณภาพ การส่งเสริมการใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ ปม.1 และการตรวจคัดกรองโรคอย่างต่อเนื่อง ซึง่ การตรวจพบเชือ้ ทีก่ อ่ โรคมีแนวโน้มลดลง ทำ ให้เกษตรกรมั่นใจในการลงกุ้งมากขึ้น อย่างไร ก็ตาม เกษตรกรควรมีการปรับตัวเพื่อให้การ เลีย้ งมีความยัง่ ยืน เช่น การปรับปรุงฟาร์มเลีย้ ง ให้มีบ่อพักน้ำ การนำน้ำกลับมาใช้เพื่อให้การ ผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.3.2 การตลาด การส่ ง ออกกุ้ ง ของไทยต้ อ ง เผชิญกับปัญหากีดกันทางการค้าทั้งในเรื่องที่ ไทยถูกตัดสิทธิพิเศษทางศุลกากร (GSP) และ ปัญหาการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการ รายงานและไร้การควบคุม (IUU Fishing) จาก กลุ่มสหภาพยุโรป ทำให้การส่งออกของไทย
ในปี 2558 ลดลงทั้งปริมาณและมูลค่าร้อยละ 51.05 และร้อยละ 56.69 ตามลำดับ เมื่อ เทียบกับปีทผี่ า่ นมา หากไทยไม่สามารถแก้ปญ ั หา ได้ อาจทำให้ไทยสูญเสียตลาดในภูมภิ าคนีใ้ ห้กบั คู่แข่งอื่น นอกจากนี้ หากสหรัฐอเมริกา มี การนำกฎหมายเกีย่ วกับการค้าระหว่างประเทศ เพือ่ ขจัดการทำประมงทีผ่ ดิ กฎหมาย (Presidential Task Force on Combating IUU Fishing) ซึ่ ง คาดว่ า จะบั ง คั บ ใช้ ไ ด้ ใ นปี 2559 ซึ่ ง จะ ครอบคลุมการจับ (Catcher) ไปถึงการเพาะเลีย้ ง สัตว์น้ำ (Aquaculture) และการปิดฉลากต้อง ถู ก ตรวจสอบย้ อ นกลั บ ไปถึ ง ประเทศต้ น ทาง ให้ร่วมรับผิดชอบด้วย โดยสหรัฐฯ จะมีการ ตรวจสอบย้อนกลับตลอดห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain) ของแหล่งวัตถุดบิ กฎหมายดังกล่าว จะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงและ การส่งออกกุง้ ของไทยทัง้ ระบบ เนือ่ งจากสหรัฐฯ ถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย การเตรียม ความพร้อมของไทย ควรเร่งปรับโครงสร้างการ ผลิตกุ้งทั้งระบบให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับ ได้ ทั้งนี้ ภาครัฐควรเปลี่ยนจากเรื่องของการ อุดหนุน หรือการชดเชยด้านราคาไปเป็นการ ปรับโครงสร้างการผลิตของเกษตรกร เช่น เรือ่ ง ของการบริหารจัดการฟาร์ม สามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้ เพื่อให้เกิดการเลี้ยงที่ยั่งยืน และ สามารถแข่งขันได้ในทุกตลาด
178 240 170 600 565 150 414 2,317
2554 208 170 190 540 450 105 361 2,024
2555
2557* 278 400 350 217 270 225 270 2,010
2556 213 240 300 256 300 180 356 1,845
2554 2555 2556 2557 2558 ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 240 1,581.42 280 1,742.42 253 2,569.56 347 3,721.51 389 3,352.41 188 1,183.81 210 1,288.54 226 1,821.05 300 2,599.46 350 2,312.12 152 1,285.90 148 1,235.39 152 1,582.11 181 2,039.30 201 2,257.50 305 2,188.98 274 2,253.41 270 2,538.72 233 2,555.18 190 1,998.87 392 3,484.61 352 3,104.72 213 2,252.75 167 2,002.03 171 1,935.48 877 5,961.21 891 5,497.72 1,098 6,142.22 1,009 6,871.22 980 8,249.45 2,154 15,685.93 2,155 15,122.20 2,212 16,906.41 2,237 19,788.70 2,281 20,105.83
อัตราเพิ่ม ปริมาณ 12.53 17.35 7.90 -10.49 -21.37 3.52 1.53
(ร้อยละ) 2559* มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 25.38 400 3,500.00 22.64 385 2,450.00 17.67 210 2,400.00 -0.56 200 2,100.00 -14.91 195 2,145.00 9.12 910 8,405.00 7.95 2,300 21,000.00
ปริมาณ : พันตัน, มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
หมายเหตุ : *ประมาณการ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาดำ กุ้งก้ามกราม และกุ้งอื่นๆ ภายใต้พิกัดศุลกากรในระดับ 6 หลัก (Digit) ได้แก่ 030613 030623 และ 160520 ตามรหัส HS.2007 (ปี 2007-2011) และภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ 160529 ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012-2016) ที่มา : Global Trade Information Services, September 2015
อินเดีย เอกวาดอร์ อินโดนีเซีย จีน ไทย ประเทศอื่นๆ รวม
ประเทศ
*
่ม 2559* 2558* อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 321 15.83 345 320 15.38 300 280 17.45 270 250 -23.38 300 250 -19.28 230 230 17.55 220 529 2.02 450 2,180 -1.28 2,115
หน่วย : พันตัน
ตารางที่ 2 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์กุ้งในตลาดโลกแยกตามประเทศผู้ส่งออก ปี 2554-2559
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : สมาคมกุ้งไทย
เอกวาดอร์ เวียดนาม อินเดีย ไทย จีน อินโดนีเซีย ประเทศอื่นๆ รวม
ประเทศ
ตารางที่ 1 ผลผลิตกุ้งจากการเพาะเลี้ยงของโลก ปี 2554-2559
59
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
(ร้อยละ) 2559* มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 19.46 134 1,335.49 25.03 105 1,003.51 8.84 97 721.08 10.50 58 651.87 -17.74 42 805.91 14.09 27 368.84 -7.53 24 165.98 -9.12 15 135.38 7.59 92 411.95 5.52 594 5,600.00
ปริมาณ : พันตัน, มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
หมายเหตุ : *ประมาณการ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาดำ กุ้งน้ำเย็น และกุ้งอื่นๆ ไม่รวมกุ้งก้ามกราม ที่อยู่ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ 160529 ในระดับ 11 หลัก (Digit) ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012 2016) ที่มา : Global Trade Information Services, September 2015
อินโดนีเซีย อินเดีย เอกวาดอร์ เวียดนาม ไทย เม็กซิโก จีน มาเลเซีย ประเทศอื่นๆ รวม
ประเทศ
*
อัตราเพิ่ม 2554 2555 2556 2557 2558 ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ 70 695.10 74 658.82 81 909.27 103 1,319.33 120 1,195.09 15.13 48 523.90 66 575.02 94 1,043.53 109 1,382.65 108 1,032.18 23.66 74 531.02 81 559.90 74 654.86 92 901.42 86 639.30 4.37 45 521.15 41 448.08 60 729.08 74 1,005.49 51 573.20 8.77 186 1,718.95 136 1,203.40 84 906.49 65 814.74 41 786.72 -31.36 31 290.94 26 256.15 18 263.97 20 300.78 38 519.11 1.46 43 289.79 36 228.51 32 238.63 32 271.36 26 179.81 -10.63 29 209.45 23 171.00 10 79.52 18 180.57 14 126.35 -15.65 51 385.39 52 364.09 56 487.27 56 527.39 96 461.52 14.33 577 5,165.69 535 4,464.97 509 5,312.62 569 6,703.73 580 5,514.15 0.72
ตารางที่ 3 ปริมาณและมูลค่าการนำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของสหรัฐอเมริกา ปี 2554-2559
60
(ร้อยละ) 2559* มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 20.29 84 690.00 4.40 84 600.00 13.72 49 500.00 0.36 41 190.00 10.27 41 480.00 1.02 35 210.00 13.20 41 380.00 3.36 12 130.00 -32.59 7 100.00 1.18 186 1,420.00 3.73 580 4,700.00
ปริมาณ : พันตัน, มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
หมายเหตุ : *ประมาณการ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาดำ กุ้งน้ำเย็น และกุ้งอื่นๆ ไม่รวมกุ้งก้ามกราม ที่อยู่ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ 160529 ในระดับ 11 หลัก (Digit) ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012 2016) ที่มา : Global Trade Information Services, September 2015
อินเดีย เอกวาดอร์ เวียดนาม กรีนแลนด์ บังคลาเทศ จีน แคนาดา อินโดนีเซีย ไทย ประเทศอื่นๆ รวม
ประเทศ
*
อัตราเพิ่ม 2554 2555 2556 2557 2558 ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ 56 422.89 58 413.63 64 510.24 94 911.02 87 717.71 14.61 90 588.63 88 549.75 81 625.66 93 816.65 83 599.00 -1.06 42 366.57 32 271.71 34 320.38 43 472.67 51 528.67 7.08 66 286.23 40 132.23 39 136.01 54 248.74 44 212.50 -4.98 37 352.08 37 322.17 37 358.80 40 483.50 40 468.62 2.37 38 214.51 35 197.76 36 194.98 29 177.49 40 238.17 -0.85 26 212.20 28 230.17 35 267.85 34 308.25 37 340.85 9.41 17 168.00 10 93.85 11 122.45 15 183.17 13 141.84 -1.30 59 536.78 51 468.36 29 332.87 14 205.81 8 112.68 -41.07 178 1,522.53 166 1,357.60 165 1,454.95 184 1,704.23 178 1,440.90 1.03 611 4,670.42 545 4,037.23 534 4,324.19 601 5,511.53 581 4,800.94 -0.03
ตารางที่ 4 ปริมาณและมูลค่าการนำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของสหภาพยุโรป ปี 2554-2559
61
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
อัตราเพิ่ม ปริมาณ 0.00 -20.25 -2.79 3.50 -15.30 -6.65 -7.52
(ร้อยละ) 2559* มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 2.74 50 589.65 -17.97 40 423.75 -2.24 35 400.31 4.72 35 351.28 -14.39 14 126.28 -5.61 43 468.73 -5.59 217 2,360.00
ปริมาณ : พันตัน, มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
หมายเหตุ : *ประมาณการ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาดำ กุ้งน้ำเย็น และกุ้งอื่นๆ ไม่รวมกุ้งก้ามกราม ที่อยู่ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ 160529 ในระดับ 11 หลัก (Digit) ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012 2016) ที่มา : Global Trade Information Services, September 2015
เวียดนาม ไทย อินโดนีเซีย อินเดีย จีน ประเทศอื่นๆ รวม
ประเทศ
*
2554 2555 2556 2557 2558 ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 51 577.46 51 572.76 53 640.76 51 691.89 51 601.44 78 785.30 80 808.92 58 619.93 37 447.89 37 391.97 37 439.54 38 436.11 39 471.78 32 419.21 35 400.31 31 327.48 28 262.87 32 340.18 31 362.35 35 351.28 30 262.46 25 249.50 24 232.68 19 198.44 15 135.30 58 622.20 58 641.96 56 645.93 53 631.71 43 470.05 285 3,014.44 280 2,972.12 262 2,951.26 223 2,751.49 216 2,350.35
ตารางที่ 5 ปริมาณและมูลค่าการนำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของญี่ปุ่น ปี 2554-2559
62
2554 2555 2556 2557 2558 ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 392 110,031.42 349 95,751.30 211 68,790.56 165 64,342.93 171 57,818.31 201 52,235.51 184 45,605.48 97 29,470.56 80 29,185.35 82 24,859.47 191 57,795.91 165 50,145.82 113 39,320.00 85 35,157.58 89 32,958.84 30 1,408.71 25 2,036.28 24 3,134.33 24 3,749.15 26 3,605.69 20 1,284.17 18 1,944.67 21 3,093.19 20 3,689.66 21 3,544.85 10 124.54 7 91.61 3 41.14 4 59.49 5 60.84 *
อัตราเพิ่ม ปริมาณ -21.40 -23.10 -19.67 -3.22 2.05 -17.68
(ร้อยละ) 2559* มูลค่า ปริมาณ มูลค่า -15.50 195 65,000.00 -17.56 95 29,000.00 -13.74 100 36,000.00 28.27 23 3,335.00 30.62 20 3,300.00 -17.01 3 35.00
ปริมาณ : พันตัน, มูลค่า : ล้านบาท
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2554 2555 2556 2557 2558* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2559*
ปี
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ราคาที่เกษตรกรขายได้ กุ้งขาว ขนาด 70 ตัว/กก. (บาท/กก.) 129 127 198 223 180 13.08 182
ตารางที่ 7 ราคากุ้งขาวแวนนาไมเฉลี่ย ปี 2554-2559 ราคาตลาดกลาง กุ้งขาว ขนาด 70 ตัว/กก. (บาท/กก.) 135 129 205 211 163 9.08 165
หมายเหตุ : *ประมาณการ กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาดำ กุ้งน้ำเย็น และกุ้งอื่นๆ ไม่รวมกุ้งก้ามกราม ที่อยู่ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ 160529 ในระดับ 11 หลัก (Digit) ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012 2016) ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ส่งออก กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง กุ้งแปรรูป นำเข้า กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง กุ้งแปรรูป
รายการ
ตารางที่ 6 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกและการนำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย ปี 2554-2559
63
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
4.49
8,819.64
7.23
300.00
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2554 2555 2556 2557 2558* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2559*
ปี
4.67
365.00 10,730.56
7.41 160.00
28.55 4,650.62
25.29
12.00
0.95
348.80
-1.61
ราคาส่งออก (F.O.B.) ราคานำเข้า (C.I.F.) กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง กุ้งแปรรูป กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง กุ้งแปรรูป (เหรียญ (เหรียญ (เหรียญ (เหรียญ (บาท/กก.) สหรั ฐฯ/ตัน) (บาท/กก.) สหรัฐฯ/ตัน) (บาท/กก.) สหรัฐฯ/ตัน) (บาท/กก.) สหรัฐฯ/ตัน) 259.19 8,567.33 302.94 10,013.45 63.43 2,070.74 12.78 417.22 247.96 8,039.03 302.93 9,821.20 107.14 3,431.42 13.12 420.20 302.52 9,922.23 346.40 11,361.44 147.39 4,775.39 13.14 425.73 364.18 11,294.12 414.35 12,850.01 186.38 5,713.53 15.90 487.42 303.16 9,002.66 370.32 10,997.04 168.80 4,954.61 12.17 357.21
ตารางที่ 8 ราคาส่งออก-นำเข้ากุ้งของไทย ปี 2554-2559
64 34.0150
2.62
30.2533 30.8445 30.4891 32.2451 33.6745
ซื้อ
34.4040
2.60
30.6316 31.2232 30.8645 32.6208 34.0693
ขาย
อัตราแลกเปลี่ยน (บาท/เหรียญสหรัฐฯ)
1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥
Pellet mill Dryer
Extruder
Pulverizer
Mixer
Hammer mill
1.1.1 การผลิต ผลผลิตปลาป่นของโลกในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (2554-2558) มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.15 ต่อปี ซึง่ ประเทศ ผู้ผลิตหลักของโลกมีการผลิตที่คำนึงถึงความ ยั่งยืนของอุตสาหกรรมปลาป่นและสิ่งแวดล้อม โดยมีการบริหารจัดการที่รักษาสมดุลระหว่าง ปริมาณการจับสัตว์น้ำ และการฟื้นฟูทรัพยากร สัตว์น้ำไปด้วยพร้อมๆ กัน เช่น เปรู มีการ กำหนดโควตาปริมาณการจับปลาแองโชวี่ (Anchovy) ออกเป็นสองช่วงฤดูกาล คือ ฤดูกาลแรก ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ของปีเดียวกัน และฤดู ก าลที่ ส อง ตั้ ง แต่ เ ดื อ นพฤศจิ ก ายนมกราคมของปีถดั ไป เพือ่ ให้มรี ะยะเวลาการฟืน้ ฟู ทรัพยากรสัตว์น้ำและมีทรัพยากรสัตว์น้ำที่เป็น วัตถุดบิ ได้อย่างยัง่ ยืน สำหรับปี 2558 ผลผลิต ปลาป่นของโลกมีปริมาณ 4.25 ล้านตัน ลดลง จาก 4.29 ล้านตันจากปีทผี่ า่ นมา ร้อยละ 0.15 ประเทศผู้ผลิตปลาป่นที่สำคัญของโลก ได้แก่ เปรู ชิลี ไทย สหรัฐอเมริกา และจีน 1.1.2 การตลาด
(1) การบริโภค
การใช้ ป ลาป่ น ของโลก ในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 2554-2558) มีแนวโน้ม ลดลงในอัตราร้อยละ 1.42 ต่อปี แม้ว่าการ ขยายตัวด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของโลกเพิ่ม
65 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1.1 ของโลก
ขึ้ น เพื่ อ ทดแทนปริ ม าณการจั บ สั ต ว์ น้ ำ จาก ธรรมชาติที่ลดลง แต่ผู้ผลิตอาหารสัตว์น้ำใน บางประเทศได้ทำการปรับเปลี่ยนสูตรอาหาร สำเร็จรูปสำหรับสัตว์น้ำ โดยเฉพาะสัตว์น้ำที่ เพาะเลี้ยงเพื่อการส่งออก เพื่อหลีกเลี่ยงการ กีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี ซึ่งอ้างที่มาของ ปลาที่ใช้เป็นวัตถุดิบผลิตปลาป่นมาจากการจับ โดยเรือผิดกฎหมาย หรือใช้เครือ่ งมือจับสัตว์นำ้ ผิดประเภท สำหรับปี 2558 คาดว่าจะมีการ ใช้ปลาป่นในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์สำเร็จรูป ปริมาณทั้งสิ้น 4.57 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.33 จากปีที่ผ่านมา (2) การส่งออก ปริมาณการส่งออกปลาป่น ของโลกในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 2554-2558) มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 3.21 ต่อปี ประเทศผู้ส่งออกสำคัญ คือ เปรู ชิลี และ เดนมาร์ก ประเทศเหล่านี้สามารถผลิตปลาป่น คุณภาพดี ซึ่งมีโปรตีนสูงมากกว่าร้อยละ 60 เนือ่ งจากใช้ปลาแองโชวี่ (Anchovy) ทีส่ ด และมี คุณภาพเป็นวัตถุดิบ และมีผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมปลาป่น คือ น้ำมันปลา (Fish oil) ในสัดส่วนประมาณร้อยละ 15 ของผลผลิตจาก อุตสาหกรรมปลาป่น ซึ่งสามารถนำไปแปรรูป เป็นอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับมนุษย์ และใช้ ผสมในสูตรอาหารสัตว์สำเร็จรูป (3) การนำเข้า ปัจจุบนั ปริมาณการนำเข้า ปลาป่นของโลกมีแนวโน้มลดลง โดยการนำเข้า
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
1. สถานการณ์
Food Feed Fuel
• ปลาป่น •
ปลาป่นของโลกในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 25542558) ลดลงในอั ตราร้ อ ยละ 3.49 ต่ อ ปี ประเทศที่มีการนำเข้าปลาป่นมากที่สุด คือ จีน แม้ ว่ า จี น จะเป็ น ประเทศผู้ ผ ลิ ต ปลาป่ น อยู่ ใ น อันดับต้นๆ ของโลกก็ตาม แต่จีนก็เป็นประเทศ ที่มีการนำเข้าปลาป่นมากกว่าร้อยละ 50 ของ ปริมาณปลาป่นที่ส่งออกทั้งหมดของโลก เนื่อง จากจีนมีความต้องการปลาป่นเพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์สำเร็จรูปสำหรับการเพาะเลีย้ ง สัตว์น้ำเป็นจำนวนมากตามการขยายตัวของ ภาคปศุสัตว์ และภาคประมงเพาะเลี้ยง
66
(4) ราคา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ราคาปลาป่นของโลกอ้างอิง ราคาซื้อขายปลาป่นของเปรู ซึ่งเป็นผู้ผลิตและ ผูส้ ง่ ออกอันดับหนึง่ ของโลก ในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 2554-2558) ราคาส่งออก (F.O.B.) ปลาป่น คุณภาพโปรตีนร้อยละ 60 ขึน้ ไป มีแนวโน้มสูงขึน้ ในอัตราร้อยละ 8.98 ต่อปี โดยปี 2558 ราคา ปลาป่น F.O.B. เปรูเฉลี่ย 50.69 ต่อกิโลกรัม เพิ่ ม ขึ้ น จาก 50.04 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม ของปี 2557 ร้อยละ 1.30 เนือ่ งจากปริมาณการผลิต ทีล่ ดลงจากการขาดแคลนวัตถุดบิ ในขณะทีค่ วาม ต้องการจากจีน และสหภาพยุโรปยังเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนือ่ งจากการขยายตัวของอุตสาหกรรม ประมงจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต อุตสาหกรรมปลาป่นของไทย ในปัจจุบนั มีการพัฒนามากขึน้ โดยเฉพาะในด้าน การผลิตที่ได้มาตรฐานสากล ทำให้คุณภาพ ปลาป่นเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้ในอุตสาหกรรม อาหารสั ต ว์ ทั้ ง ในประเทศ และต่ า งประเทศ
ในปี 2557 ประเทศไทยมีโรงงานผลิตปลาป่น 86 แห่ง กระจายอยู่ใน 18 จังหวัด ที่ภาคใต้ และภาคตะวั น ออก ขณะนี้ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) แล้วจำนวน 67 โรงงาน โรงงานที่ได้รับ การรับรองมาตรฐานทั้ง GMP และ HACCP (Hazard Analysis Critical Point) จำนวน 48 โรงงาน โรงงานผลิตปลาป่นของไทย สามารถ ผลิตปลาป่นที่มีคุณภาพโปรตีนสูงกว่าร้อยละ 60 ได้ คิดเป็นร้อยละ 25 ของผลผลิตปลาป่น ทั้งหมด และร้อยละ 75 เป็นผลผลิตปลาป่น คุณภาพโปรตีนต่ำกว่าร้อยละ 60 สำหรับปริมาณ ผลผลิตในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 2554-2558) มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.03 ต่อปี เนือ่ งจากวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ผลิตปลาป่นมีปริมาณลดลง จากที่ปลาเป็ดลดลงเพราะสภาพภูมิอากาศที่ ส่งผลต่อการทำประมง ประกอบกับอินโดนีเซีย มี ก ารระงั บ การต่ อ ใบอนุ ญ าตการทำประมง ในช่วงต้นปี นอกจากนี้ ประเด็นการทำประมงที่ ผิดกฎหมายขาดการรายงานและไร้การควบคุม (Illegal Unreported and Unregulated fishing: IUU fishing) รวมถึงเรือและเครื่องมือการทำ ประมง และเรือ่ งการปฏิบตั แิ รงงานประมงอย่าง ไม่เป็นธรรม และข้อกำหนดต่างๆ เกี่ยวกับการ ทำประมงทะเล ซึ่งเป็นที่มาของปลาเป็ดที่ใช้ เป็นวัตถุดบิ ทีผ่ ซู้ อื้ ปลาป่น หรืออุตสาหกรรมผลิต อาหารสัตว์ รวมถึงผูน้ ำเข้าสินค้าประมงในต่างประเทศต้องการเป็นข้อมูลประกอบการซือ้ สินค้า ปลาป่ น และผลิ ต ภั ณ ฑ์ สั ต ว์ น้ ำ เพาะเลี้ ย งเพื่ อ การส่งออก เช่น กุ้งทะเล ปลาชนิดต่างๆ ที่มี ปลาป่นผสมในสูตรอาหาร ทำให้อุตสาหกรรม ปลาป่นต้องเข้มงวดในการรับซือ้ วัตถุดบิ ปลาเป็ด และปรับสัดส่วนการใช้วัตถุดิบในกระบวนการ
(1) การบริโภค
การใช้ปลาป่นเป็นวัตถุดิบ ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์สำเร็จรูปในประเทศ ทีผ่ า่ นมา ส่วนใหญ่ใช้ปลาป่นเป็นวัตถุดบิ ในสูตร อาหารสำหรับสัตว์น้ำ แนวโน้มการใช้ปลาป่น สำหรับอาหารสัตว์ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2554-2558) มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 2.42 ต่อปี จากการทีเ่ พาะเลีย้ งกุง้ ขาวแวนนาไม ประสบปัญหาโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome: EMS) ตัง้ แต่ปลายปี 2555 ทำให้ เกษตรกรลดปริมาณการเลี้ยงลงอย่างต่อเนื่อง มาในระยะหนึ่ง แต่ต่อมาเกษตรกรบางส่วนได้ ปรับการเลี้ยงใหม่เพื่อให้กุ้งรอด ประกอบกับ ภาครัฐมีการช่วยเหลือ โดยกรมประมงดำเนิน การจัดทำธนาคารพ่อแม่พันธุ์กุ้งทะเล (Marine Shrimp Broodstock Bank) นำเข้าพ่อแม่พนั ธุ์ เพื่อผลิตลูกพันธุ์กุ้งทะเลคุณภาพให้แก่เกษตรกร ทั่วประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพระบบคัดกรอง ป้องกันเฝ้าระวังโรคกุ้งทะเล รวมทั้งเพิ่มกำลัง การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ ปม.1 ให้เกษตรกร ทั่วประเทศ เกษตรกรจึงปรับตัวได้ระดับหนึ่ง
(2) การส่งออก
การส่งออกปี 2558 ไทย ส่งออกปลาป่นลดลง โดยส่งออกปลาป่นคุณภาพ โปรตีนสูงกว่าร้อยละ 60 และคุณภาพโปรตีน ต่ำกว่าร้อยละ 60 รวมกันปริมาณทัง้ สิน้ 0.134 ล้านตัน ลดลงจากปริมาณ 0.164 ล้านตัน ของปี 2557 เป็นร้อยละ 18.29 โดยมีตลาด ส่งออกหลัก คือ จีน เวียดนาม และญี่ปุ่น เนื่ อ งจากอุ ต สาหกรรมปลาป่ น ของไทยขาดแคลนวั ต ถุ ดิ บ สำหรั บ แนวโน้ ม การส่ ง ออก ปลาป่นของไทยในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 25542558) เพิ่มขึ้นอัตราร้อยละ 27.45 ปี เนื่อง จากปลาป่นไทยมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของ ตลาดต่างประเทศมากขึ้น ประกอบกับประเทศ ในแถบเอเชียมีนโยบายส่งเสริมและขยายการ ผลิ ต ด้ า นการเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ ำ เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ ทดแทนสัตว์น้ำตามธรรมชาติที่มีแนวโน้มลดลง รวมถึงมีความต้องการใช้เป็นวัตถุดิบให้แก่อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อบริโภคในประเทศ และเพื่อการส่งออกเพิ่มขึ้น
(3) การนำเข้า
ปลาป่นเป็นสินค้าควบคุม การนำเข้าตาม พ.ร.บ. การส่งออกไปนอก และ การนำเข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 และประกาศกระทรวงพาณิชย์ว่าด้วย การนำเข้าสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 72) พ.ศ. 2533 ให้การนำเข้าปลาป่นเฉพาะ
67 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1.2.2 การตลาด
มีการเลี้ยงกุ้งกันมากขึ้น ทำให้ความต้องการ ใช้ปลาป่นมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในช่วงครึง่ หลังของปี 2558 และคาดว่าความต้องการใช้ปลาป่นในปี 2558 มีปริมาณ 0.700 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.646 ล้านตันของปี 2557 เป็นร้อยละ 8.36
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ผลิต โดยใช้เศษเหลือจากอุตสาหกรรมปลาทูนา่ กระป๋องเพิ่มขึ้น ซึ่งการผลิตปลาป่นในปัจจุบัน ใช้เศษปลาที่ได้จากอุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น้ำ เช่น โรงงานซูริมิ โรงงานผลิตทูน่ากระป๋อง โรงงานผลิตลูกชิ้นปลา ฯลฯ มาใช้เป็นวัตถุดิบ มากถึงร้อยละ 61 ใช้ปลาเป็ดร้อยละ 28 และ ปลาอื่นๆ ร้อยละ 11 สำหรับปี 2558 คาดว่า ผลผลิ ต ปลาป่ น ของไทยจะมี ป ริ ม าณ 0.42 ล้านตัน ลดลงจากปี 2557 คิดเป็นร้อยละ 12.13
68 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
ชนิดคุณภาพโปรตีนต่ำกว่าร้อยละ 60 เป็น สินค้าที่ต้องขออนุญาตในการนำเข้าจากกรม การค้าต่างประเทศ ปัจจุบนั การกำหนดนโยบาย และมาตรการนำเข้าปลาป่นอยูภ่ ายใต้การกำกับ ดูแลของคณะกรรมการนโยบายอาหาร ซึ่งมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เป็นประธาน โดยความเห็ น ชอบของคณะรั ฐ มนตรี ซึ่ ง จะ พิจารณากำหนดนโยบายการนำเข้าทุกๆ 3 ปี โดยระหว่างปี 2558-2560 คณะรัฐมนตรี เห็นชอบตามมติคณะกรรมการนโยบายอาหาร กำหนดให้นำเข้าปลาป่นได้ในปริมาณไม่จำกัด แต่การนำเข้าปลาป่นคุณภาพโปรตีนต่ำกว่าร้อย ละ 60 ต้องขออนุญาตนำเข้าจากกรมการค้า ต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ สำหรับอากร ขาเข้าปลาป่นตามความตกลงการค้าเสรีกรอบ ต่างๆ ที่มีผลบังคับใช้แล้ว ได้รับการยกเว้นการ เก็บอากรทุกระดับโปรตีนของทุกกรอบความ ตกลง ยกเว้นการนำเข้าทั่วไป (MFN Applied Rate) ปลาป่นคุณภาพโปรตีนสูงกว่าร้อยละ 60 เก็บอากรขาเข้าร้อยละ 15 ปลาป่นคุณภาพ โปรตี น ต่ ำ กว่ า ร้ อ ยละ 60 เก็ บ อากรขาเข้ า ร้อยละ 6 ปัจจุบันการนำเข้าปลาป่น มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในช่วง 5 ปี (ปี 25542558) ปริมาณการนำเข้าเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 89.54 ต่อปี เนือ่ งจากอุตสาหกรรมผลิตอาหาร สัตว์สำเร็จรูปต้องการปลาป่นคุณภาพสูงในสูตร อาหารน้ำเป็นการเฉพาะตามชนิดของอาหาร สัตว์น้ำ เช่น กุ้งกุลาดำ ปลาบางชนิด ปัจจุบัน แหล่งนำเข้าปลาป่นหลักของไทย คือ สหภาพเมียนมาร์ และเวียดนาม
(4) ราคา
ราคาปลาป่ น ในประเทศ
กำหนดโดยใช้ราคาอ้างอิงตลาดต่างประเทศ คือ ตลาดเปรูตามชั้นคุณภาพ เป็นค่าร้อยละ ของคุณภาพโปรตีนในปลาป่น โดยในช่วง 5 ปี ทีผ่ า่ นมา (ปี 2554-2558) ราคาส่งออก (F.O.B.) เปรู มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8.98 ต่ อ ปี เนื่ อ งจากที่ ป ริ ม าณการผลิ ต ปลาป่ น มี แนวโน้มลดลง สำหรับการค้าปลาป่นในประเทศ จะมีการแบ่งชั้นคุณภาพตามกลิ่น และความสด ของปลาป่นโดยบริษทั ผูผ้ ลิตอาหารสัตว์รายใหญ่ ของประเทศ ปัจจุบันผู้ผลิตปลาป่นใช้ปลาเป็ด เป็นวัตถุดิบน้อยลงอย่างมากจากเงื่อนไขต่างๆ ทีผ่ ซู้ อื้ ปลาป่นกำหนด และการทีป่ ริมาณสัตว์นำ้ ลดลง สำหรับราคาปลาเป็ดในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 2554-2558) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 6.52 ต่อปี ราคาขายส่งปลาป่นคุณภาพ โปรตีนต่ำกว่าร้อยละ 60 เบอร์ 2 มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.71 ต่อปี และราคา ปลาป่นคุณภาพโปรตีนสูงกว่าร้อยละ 60 เบอร์ 1 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 6.17 ต่อ ปี
2. แนวโน้ม ปี 2559
2.1 ของโลก ปี 2559 คาดว่าผลผลิตปลาป่นของ โลกจะมีปริมาณลดลงเมือ่ เทียบกับปี 2558 จาก การที่ปริมาณปลาที่ใช้เป็นวัตถุดิบจับได้ลดลง ประกอบกับเปรูมนี โยบายอนุรกั ษ์สตั ว์นำ้ เพือ่ การ ทำประมงทีย่ งั่ ยืน ได้มกี ารกำหนดช่วงเวลาและ โควตาปริมาณการจับสัตว์น้ำในแต่ละปี เพื่อให้ ห่วงโซ่ชีวิตของสัตว์น้ำได้มีโอกาสฟื้นตัวเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ปริมาณปลา ทีจ่ บั ได้มปี ริมาณน้อยกว่าโควตาทีไ่ ด้รบั อนุญาต ให้จบั ได้ในแต่ละช่วงฤดู ซึง่ แสดงให้เห็นว่าปริมาณ สัตว์น้ำตามธรรมชาติมีแนวโน้มลดลง
2.2.1 การผลิต ปี 2559 สมาคมผูผ้ ลิตปลาป่น ไทย ประมาณการว่า ผลผลิตปลาป่นของไทย จะมีปริมาณลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปีที่ผ่าน มา เนื่องจากข้อจำกัดด้านวัตถุดิบ การหยุด และเลิกกิจการของโรงงานเก่าทีไ่ ม่สามารถปรับ เข้าสู่มาตรฐานสากลได้ 2.2.2 การตลาด ปี 2559 คาดว่าราคาปลาป่น ในประเทศจะมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากปริมาณ การผลิตที่ลดลง แต่ขณะที่ยังมีความต้องการ ใช้ในประเทศ และต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นจากปีที่ ผ่านมา หากการแก้ไขปัญหาโรค EMS ในกุ้ง
ตารางที่ 1 ผลผลิต การค้า และการใช้ปลาป่นของโลก ปี 2554-2558 รายการ สต็อกต้นปี ผลผลิต นำเข้า ใช้ในประเทศ ส่งออก สต็อกปลายปี
2554
2555
2556
2557
2558
0.61 4.18 2.92 4.92 2.59 0.20
0.20 4.37 2.36 4.49 2.13 0.31
0.31 4.14 2.62 4.66 2.18 0.22
0.22 4.29 2.39 4.51 2.21 0.19
0.19 4.25 2.43 4.57 2.16 0.14
ที่มา : World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2015
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -20.05 0.15 -3.49 -1.42 -3.21 -11.33
หน่วย : ล้านตัน
การเปลี่ยนแปลง 2557/2558 (ร้อยละ) -13.64 -0.93 1.67 1.33 -2.26 -26.32
69 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2.2 ของไทย
คลี่คลายสู่ภาวะปกติ เกษตรกรที่พักการเลี้ยง กลับมาลงกุ้งเลี้ยงตามปกติ และคาดว่าความ ต้องการปลาป่นเพื่อการส่งออกจะเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนือ่ ง และราคาปลาป่นในประเทศ และตลาด โลกก็จะมีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นกัน 2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต หรือ การส่งออก 2.3.1 สภาพอากาศแปรปรวน การ เกิ ด ปรากฏการณ์ เ อลนิ โ ญ่ มี ผ ลต่ อ ปริ ม าณ สัตว์น้ำในมหาสมุทร ประกอบกับทรัพยากร สัตว์น้ำเสื่อมโทรม ทำให้ปริมาณปลาที่จับได้ ลดลง รวมถึงสภาพภูมิอากาศแปรปรวน ทำให้ เรือประมงออกทำการประมงได้ยาก โดยเฉพาะ ฝั่งอ่าวไทย จังหวัดสงขลา และปัตตานี ทำให้ ปริมาณปลาเป็ดลดลง ขาดแคลนวัตถุดบิ ในการ ผลิตปลาป่น 2.3.2 ประเด็ น เรื่ อ งของการทำ ประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้ การควบคุม (Illegal Unreported and Unregulated fishing: IUU fishing) และเรื่อง การปฏิบัติต่อแรงงานประมงไม่เป็นธรรม ที่ สหภาพยุโรปกำลังติดตามผลการดำเนินการ ของไทยอย่างใกล้ชิด และข้อกำหนดต่างๆ จาก ประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะสหภาพยุโรปเกี่ยวกับ การทำประมงที่ชาวประมงไทยต้องปฏิบัติตาม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
สำหรับราคาปลาป่นในตลาดโลก คาด ว่ายังอยู่ในเกณฑ์สูงอย่างต่อเนื่องถึงปี 2559 เนื่องจากปริมาณผลผลิตปลาป่นโลกลดลง ใน ขณะที่จีนยังคงมีความต้องการปลาป่นในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์เพิ่มขึ้นตามการขยายตัว ของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อทดแทนปริมาณ สัตว์น้ำที่จับจากแหล่งน้ำธรรมชาติที่มีแนวโน้ม ลดลง และเป็นการตอบสนองความต้องการด้าน อาหารของประชากรที่มีรายได้สูงขึ้น และเพื่อ การส่งออกสินค้าสัตว์น้ำ
ตารางที่ 2 ประเทศผู้ผลิตปลาป่นที่สำคัญ 5 อันดับแรกของโลก ปี 2553-2557 รายการ เปรู ชิลี ไทย สหรัฐอเมริกา จีน อื่นๆ รวม
2553
2554
2555
2556
1.77 0.50 0.50 0.31 0.22 1.59 4.89
0.89 0.46 0.50 0.33 0.22 1.56 3.96
1.03 0.43 0.49 0.34 0.22 1.67 4.18
0.95 0.47 0.49 0.34 0.22 1.69 4.16
่ม 2557* อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 0.95 -11.12 0.48 -0.60 0.47 -1.43 0.35 2.76 0.22 1.69 2.04 4.16 -2.70
หน่วย : ล้านตัน
การเปลี่ยนแปลง 2557/2556 (ร้อยละ)
2.13 -4.08 2.94 -
หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2014
ตารางที่ 3 ปริมาณการผลิต การใช้ การนำเข้า และส่งออกปลาป่นของไทย ปี 2554-2558 ่ม 2554 2555 2556 2557 25581/ อั(ร้ตอราเพิ ยละ) 0.503 0.503 0.496 0.478 0.420 -4.03 0.637 0.614 0.579 0.646 0.700 2.42 0.001 0.014 0.006 0.019 0.021 89.54 0.067 0.058 0.119 0.164 0.134 27.45
รายการ
70
ผลผลิต ความต้องการใช้ นำเข้า* ส่งออก*
หน่วย : ล้านตัน
การเปลี่ยนแปลง 2557/2558 (ร้อยละ) -12.13 8.36 10.53 -18.29
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
หมายเหตุ : 1/ ประมาณการโดยสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย * ไม่รวมสัตว์น้ำอื่นๆ ป่น เช่น เปลือกกุ้งป่น ตับหมึกป่น ฯลฯ ที่มา : สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย และกรมศุลกากร
ตารางที่ 4 ราคาเฉลี่ย ปลาเป็ดและปลาป่นในประเทศ ณ ระดับตลาดต่างๆ และราคาปลาป่นตลาดต่างประเทศ ปี 2554-2558 หน่วย : บาท/กก. รายการ ราคาปลาเป็ด ขายส่งโปรตีนต่ำกว่า 60% เบอร์ 2 ขายส่งโปรตีนสูงกว่า 60% เบอร์ 1 F.O.B. เปรู หมายเหตุ : *ประมาณการ ที่มา : กรมการค้าภายใน
2554
2555
2556
2557 2558*
6.67 29.84 30.84 36.64
7.42 30.67 33.14 40.53
7.88 26.96 32.93 43.52
7.96 29.69 34.67 50.04
8.83 36.39 40.67 50.69
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 6.52 3.71 6.17 8.98
ปั จ จุ บั น โรคหลั ก ๆ ที่ ยั ง คงสร้ า งความ เสียหายกับอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งขาว ได้แก่ โรคตัวแดงดวงขาว (WSSV) ซึง่ เกิดจากเชือ้ ไวรัส โรคอีเอ็มเอส ซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ
ที่มา : วารสารข่าวกุ้ง ปีที่ 28 ฉบับที่ 333 เดือนเมษายน 2559
71 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
พาราฮีโมไลติคัส (Vibrio parahaemolyticus) สายพันธุ์ AHPND และโรคติดเชื้อไมโครสปอริเดีย ซึ่งเกิดจากเชื้อเอ็นเทอโรไซโตซูน เฮปพาโทพีนีอาย หรืออีเอชพี (Enterocytozoon hepatopenaei, EHP) ถึงแม้ว่าจะมีวิธีการ ป้องกัน และจัดการเพือ่ ลดผลกระทบ หรือจำกัด ความเสียหายจากโรคต่างๆ เหล่านี้ได้บ้างแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ เปลีย่ นแปลงไปอย่างต่อเนือ่ งในปัจจุบนั ทำให้มี โรคใหม่อุบัติขึ้นมาเรื่อยๆ รวมทั้งมีการพัฒนา การของความรุนแรงของเชื้อโรคต่างๆ เพิ่ม มากขึ้น ซึ่งการเลี้ยงกุ้งตามแนวทาง เริ่มต้น ด้วยน้ำใส ก้าวไปแบบน้ำโปร่ง ด้วยแนวทาง 3 สะอาด น่าจะเป็นแนวทางที่จะป้องกันและ ลดความเสียหายจากโรคต่างๆ ที่มีอยู่ในวันนี้ และที่อาจจะมีขึ้นในอนาคตได้ ซึ่งน่าจะเป็น ประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งโดยเฉพาะใน สภาวะปัจจุบนั ทีก่ ารเลีย้ งกุง้ ยังคงประสบปัญหา การตายของกุ้งจากโรคอีเอ็มเอส โดยแนวทาง การเลี้ยงเริ่มต้นด้วยน้ำใส ก้าวไปแบบน้ำโปร่ง ด้วยแนวทาง 3 สะอาด จะประกอบไปด้วย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
ในงานสัมมนาทางวิชาการ “งานวัน กุ้ ง ไทย ครั้ ง ที่ 26” ของชมรมผู้ เ ลี้ ย งกุ้ ง จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี เมื่ อ วั น ที่ 20-21 กุมภาพันธ์ 2559 ที่ผ่านมานั้น คุณไพโรจน์ อภิรักษ์นุสิทธิ์ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรื อ ซี พี เ อฟ ได้ เ ข้ า ร่ ว มบรรยายในหั ว ข้ อ “ปรับเปลี่ยนแล้วก้าวไปสู่เส้นชัย ปี 59” ซึ่ง นำเสนอแนวทางการเลี้ยงกุ้งโดยเริ่มต้นด้วย น้ำใส ก้าวไปแบบน้ำโปร่ง แล้วมุง่ สูค่ วามสำเร็จ ด้วยแนวทาง 3 สะอาด อันได้แก่ การใช้ ลูกกุง้ ทีส่ ะอาด ร่วมกับการจัดการทีเ่ น้นความ สะอาดของพื้นบ่อ และความสะอาดของน้ำ ซึ่ ง เกษตรกรผู้ เ ลี้ ย งกุ้ ง สามารถนำแนวทาง ต่างๆ เหล่านี้ ไปพิจารณาปรับใช้ให้เหมาะสม กับสภาพการเลี้ยงของแต่ละฟาร์มเพื่อให้การ เลี้ยงกุ้งประสบความสำเร็จอย่างสม่ำเสมอ และยั่งยืน
Market Leader
เลี้ยงกุ้งให้สำเร็จ ด้วยแนวทาง 3 สะอาด
รูปที่ 1 ลูกกุ้งคุณภาพดี แข็งแรง และปลอดเชื้อจากโรงเพาะฟักซีพเี อฟ
72 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
1. ลูกกุ้งสะอาด
2. พื้นบ่อสะอาด
ลูกกุ้งที่สะอาด คือลูกกุ้งที่ปลอดจากเชื้อ ต่างๆ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งที่มี ผลต่ อ ความสำเร็ จ ของการเลี้ ย งกุ้ ง ในสภาวะ ปัจจุบัน ดังนั้น เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจึงต้องให้ ความสำคัญเป็นพิเศษกับคุณภาพของลูกกุ้งที่ จะเลือกใช้ ควรพิจารณาเลือกใช้ลูกกุ้งที่มาจาก โรงเพาะฟักที่ได้มาตรฐาน พ่อแม่พันธุ์ที่ใช้ใน การผลิตลูกกุ้งจะต้องปลอดเชื้อ กระบวนการ ผลิตในโรงเพาะฟักนัน้ จะต้องให้ความสำคัญกับ ระบบไบโอซีเคียวเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของ เชือ้ ในทุกๆ ขัน้ ตอนของการผลิต ทัง้ ในระหว่าง การเลี้ยงและระหว่างรอบการเลี้ยง โดยลูกกุ้ง ทุกชุดก่อนที่จะส่งถึงมือเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง จะ ต้องผ่านการตรวจยืนยันว่าปลอดจากเชือ้ ก่อโรค ที่สำคัญทุกชนิด เช่น เชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว เชื้อวิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส สายพันธุ์ก่อโรค อีเอ็มเอส และเชื้อไมโครสปอริเดีย เป็นต้น ซึ่ง การใช้ลูกกุ้งที่มาจากโรงเพาะฟักที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพสูง และมีผลการเลี้ยงเป็นที่ยอมรับ กันโดยทั่วไป จะเป็นการเพิ่มโอกาสของความ สำเร็จในการเลี้ยงมากขึ้น
จะต้องทำความสะอาดพื้นบ่อเพื่อกำจัด ที่อยู่และอาหารสำหรับเชื้อโรค โดยถ้าเป็นบ่อ พีอี ก่อนลงกุง้ ต้องขัดถูเพือ่ ทำความสะอาด พืน้ พีอีจะต้องไม่รั่ว ทำการตรวจสอบรอยตามด และอุดรอยตามดให้หมด ส่วนบ่อดินจะต้องทำ การลากโซ่เพื่อไม่ให้เกิดไบโอฟิล์ม (Biofilm) ที่สำคัญจะต้องเก็บตัวอย่างทั้งดิน และน้ำมา ตรวจเชื้อก่อนที่จะปล่อยกุ้งลงเลี้ยง ถ้าตรวจ พบเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส แสดงว่ า ยั ง คงมี ไ บโอฟิ ล์ ม เกิ ด ขึ้ น ที่ พื้ น บ่ อ จะต้องทำการลากโซ่ใหม่ ในระหว่างการเลี้ยง จะต้องมีการกำจัดตะกอนซึ่งเกิดจากขี้กุ้งและ เศษอาหารที่เหลือจากการกินของกุ้ง โดยดูด ออกจากหลุ ม รวมตะกอนไปเก็ บ ไว้ ใ นบ่ อ เก็ บ ตะกอน ห้ามปล่อยลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ ซึ่ง หลุมรวมตะกอนจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 เมตรต่ อ ไร่ โดยทำหลุ ม เป็ น รู ป กรวย ลักษณะชัน ขนาดความลึก 2.0-2.5 เมตร หลุมรวมตะกอนจะต้องปูด้วยพีอี หรือถ้าเทปูน จะต้องทำการขัดมันเพื่อให้การพัดพาตะกอน ลงไปในหลุมได้ดี การดูดตะกอนต้องดูดตะกอน ออกตัง้ แต่เริม่ ต้น อย่าให้ตะกอนเปลีย่ นเป็นสีดำ
หรือมีเลนเกิดขึ้น ซึ่งการเลี้ยงกุ้งถ้าหากมีเลน เกิดขึ้นในบ่อแสดงว่ามีการจัดการที่ไม่ดี
3. น้ำสะอาด
รูปที่ 2 การฉีดล้างเพื่อทำความสะอาดบ่อพีอี
น้ำเริ่มต้นที่นำมาใช้ในการเลี้ยงกุ้ง จะ ต้ อ งมี ป ริ ม าณสารอิ น ทรี ย์ ที่ ล ะลายในน้ ำ ต่ ำ ซึ่งเมื่อตรวจวัดค่าดีโอซี โดยใช้วิธีเทียบกับค่า ความต้องการด่างทับทิมของน้ำ (Potassium Permanganate Demand) จะต้องมีคา่ ต่ำเท่ากับ ศูนย์ หรือเข้าใกล้ศูนย์ ซึ่งการตรวจวัดปริมาณ
73 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
เติมด่างทับทิม (Potassium Permanganate) ความเข้มข้น 5 พีพเี อ็ม ทำการตกตะกอนในน้ำ ด้วยสารตกตะกอน ความเข้มข้น 8 พีพีเอ็ม โดยการใส่ด่างทับทิมจะใส่ที่หัวดูดของเครื่อง สูบน้ำ ส่วนสารตกตะกอนจะใส่ที่ปลายท่อของ น้ำที่เข้ามาในบ่อ จากนั้นสูบน้ำกรองผ่านใยฟู เข้าบ่อบำบัดน้ำอีกบ่อ และทำการควบคุมเชือ้ โรค โดยใช้คลอรีนผง ความเข้มข้น 5 พีพีเอ็ม และ ปรับคุณภาพน้ำต่างๆ ในบ่อให้มีค่าที่เหมาะสม ต่อการเลีย้ งกุง้ ในบ่อน้ำพร้อมใช้ ก่อนนำไปใช้ใน การเลี้ยงกุ้ง ซึ่งในทุกๆ ขั้นตอนในการเคลื่อนย้ายน้ำ จะต้องกรองทุกครัง้ ในระหว่างการเลีย้ ง จะมีการดูดตะกอนและของเสียภายในบ่อไปเก็บ ไว้ในบ่อเก็บตะกอน และมีการหมุนเวียนน้ำจาก บ่อเก็บตะกอนเข้าสู่ระบบรีไซเคิลเพื่อนำน้ำซึ่ง เป็นน้ำทีม่ คี า่ แร่ธาตุทดี่ กี ลับมาใช้ในการเลีย้ งกุง้ ภายในฟาร์มอีกครั้ง
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
น้ำสะอาดคือน้ำที่มีปริมาณสารอินทรีย์ ที่ ล ะลายน้ ำ หรื อ ที่ เ รี ย กย่ อ ๆ ว่ า ค่ า ดี โ อซี (Dissolved Organic Carbon, DOC) ต่ำ ไม่ มี ต ะกอน ไม่ มี ส าหร่ า ยสี เ ขี ย วแกมน้ ำ เงิ น (Blue-green Algae) และไม่มีเชื้อโรคต่างๆ และต้ อ งมี ป ริ ม าณน้ ำ สะอาดที่ เ พี ย งพอตลอด ระยะเวลาการเลี้ยงกุ้ง เนื่องจากน้ำเป็นปัจจัยที่ สำคัญ ดังนั้น จึงต้องมีการวางแผนการเลี้ยง และทำการปรับปรุงโครงสร้างฟาร์มให้เหมาะสมกั บ แผนการเลี้ ย งเพื่ อ ให้ มี ร ะบบของน้ ำ สะอาดเพี ย งพอตลอดระยะเวลาการเลี้ ย งกุ้ ง ในฟาร์ม โดยสัดส่วนพื้นที่ระหว่างพื้นที่เก็บน้ำ ต่อพื้นที่การเลี้ยงที่เหมาะสมคือ 70:30 ซึ่ง การลดพื้ น ที่ ก ารเลี้ ย งกุ้ ง เพื่ อ นำไปใช้ ส ำหรั บ เป็นพื้นที่เก็บน้ำสะอาดมากขึ้นนั้น ไม่ได้หมาย ความว่าจะทำให้ผลผลิตกุ้งลดลงตามขนาดของ พื้นที่การเลี้ยงที่ลดลง แต่สิ่งที่จะได้กลับมาคือ อัตราการเจริญเติบโตทีส่ งู ขึน้ และผลผลิตต่อไร่ ที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากทำให้ในฟาร์มมีน้ำใช้ที่มี คุณภาพ สะอาด และมีการจัดการความสะอาด ภายในบ่อที่ดีขึ้น นอกจากนี้ ได้มีการศึกษาและนำระบบ การบำบัดน้ำของการประปามาพัฒนาปรับใช้ใน ฟาร์มเลี้ยงกุ้ง ทำให้ได้น้ำที่มีคุณภาพดี ปลอด เชื้อ และต้นทุนในการบำบัดน้ำลดลง โดยเริ่ม จากการสูบน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติเข้าสู่บ่อ พักน้ำพร้อมกับกำจัดพาหะด้วยไตรคลอร์ฟอน ความเข้มข้น 2 พีพีเอ็ม แล้วสูบน้ำกรองผ่าน ใยฟู และลดปริมาณสารอินทรีย์ในน้ำด้วยการ
สารอินทรีย์ที่ละลายน้ำก่อน และหลังบำบัด จะช่ ว ยให้ ส ามารถลดปริ ม าณการใช้ ส ารเคมี ทำให้ตน้ ทุนการบำบัดน้ำลดลง ในระหว่างเลีย้ ง จะต้องมีการจัดการและควบคุมคุณภาพน้ำให้มี ความโปร่งแสง (Transparency) ที่เหมาะสม ตามช่วงอายุของการเลีย้ งกุง้ โดยวิธกี ารวัดด้วย จานวัดความโปร่งใส (Secchi Disk) ซึง่ กำหนด ค่าดีโอซี และค่าความโปร่งแสงของน้ำ ตาม อายุของกุ้งที่เลี้ยงดังนี้ · เดือนแรก ค่าดีโอซี ≤ 10 พีพีเอ็ม ความโปร่งใสของน้ำ ≥ 50 เซ็นติเมตร · เดือนที่ 2 ค่าดีโอซี ≤ 15 พีพีเอ็ม ความโปร่งใสของน้ำ ≥ 40 เซ็นติเมตร
74
· เดือนที่ 3 ค่าดีโอซี ≤ 20 พีพีเอ็ม ความโปร่งใสของน้ำ ≥ 30 เซ็นติเมตร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
อีกปัจจัยหนึง่ ทีส่ ำคัญ ทีจ่ ะเพิม่ โอกาสของ ความสำเร็จในการเลี้ยงกุ้ง ได้แก่ การอนุบาล ลูกกุ้ง ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมของกุ้งใน ช่วง 30 วันแรก ก่อนปล่อยลงเลี้ยงในบ่อใหญ่ และเนื่องจากในฟาร์มสามารถบำบัดน้ำสะอาด
และมี ป ริ ม าณน้ ำ ที่ เ พี ย งพอแล้ ว ถ้ า บริ ห าร จัดการได้ดี ก็จะสามารถเพิ่มรอบการเลี้ยงกุ้ง ในบ่อใหญ่ได้มากกว่า 3 รุ่นต่อปี ทั้งนี้ การ อนุ บ าลลู ก กุ้ ง ไม่ ใ ช่ ท ำให้ เ ราสามารถเลี้ ย งกุ้ ง ในบ่อใหญ่ได้ต่อเนื่องเพียงอย่างเดียว แต่การ อนุบาลยังทำให้เราสามารถคัดกรองลูกกุ้งให้ ปลอดเชือ้ ได้อย่างดีเยีย่ ม ช่วยลดความเสีย่ งทีจ่ ะ เกิดขึ้นกับบ่อใหญ่ซึ่งมีต้นทุนสูงได้อีกด้วย ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น เป็นแนวทางการ เลี้ ย งกุ้ ง แบบเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยน้ ำ ใส ก้ า วไปแบบ น้ำโปร่ง แล้วมุ่งสู่ความสำเร็จด้วยแนวทาง 3 สะอาด ซึ่งจะต้องเริ่มจากการปรับเปลี่ยนแนว ความคิดการเลีย้ งกุง้ การปรับเปลีย่ นโครงสร้าง ฟาร์มเพื่อให้มีพื้นที่เก็บน้ำสะอาด และเพียงพอ สำหรับใช้ในฟาร์มตลอดระยะเวลาการเลี้ยงกุ้ง และกระบวนการในการเลี้ยงที่ให้ความสำคัญ ในการจัดการด้านความสะอาด ซึ่งเชื่อแน่ว่า เป็นแนวทางในการเลี้ยงกุ้งที่จะสามารถต่อสู้ กับโรคต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั หรือโรคใหม่ๆ ในอนาคตได้ ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งสามารถ ประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืนได้อย่างแน่นอน
Plexomin Cu24 Plexomin Fe20 Plexomin Mn22 Plexomin Zn26
Phytobiotics (Thailand) Co., LTd.
202 Le Concorde Tower, Rajchadapisek Road, Huaykwang, Huaykwang, Bangkok 10320 Tel. 02-6942498 Fax. 02-6942499 www.phytobiotics.com
มาตรฐานสินค้าเกษตร (มกษ. 6903-2558)
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่พันธุ์
2. นิยาม ความหมายของคำที่ใช้ในมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ มีดังต่อไปนี้ 2.1 ไก่พันธุ์ (chicken breeder) หมายถึง ไก่ปู่-ย่าพันธุ์ (grandparent stock) หรือไก่พ่อแม่พันธุ์ (parent stock) ที่สามารถผลิตไข่ให้ได้ลูกไก่พันธุ์เนื้อหรือพันธุ์ไข่ที่มีคุณภาพดี 2.2 ฟาร์มไก่พันธุ์ (chicken breeder farm) หมายถึง สถานที่เลี้ยงไก่พันธุ์เพื่อการค้า ซึ่งครอบคลุมถึงโรงเรือน สถานที่เก็บอาหารสัตว์ คัดไข่ เก็บไข่ บริเวณทำลายซาก เป็นต้น 2.3 โรงเรือน (chicken house) หมายถึง อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีหลังคาสำหรับใช้ เลี้ยงไก่พันธุ์ 2.4 โรงเรือนเปิด (conventional house/opened house) หมายถึง โรงเรือนที่มีสภาพ แวดล้อมตามธรรมชาติ โดยจะแปรผันไปตามสภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรือน 2.5 โรงเรือนปิด (enclosed house/environmentally controlled house) หมายถึง โรงเรือนที่สามารถควบคุมสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศ แสงสว่าง ให้เหมาะสมต่อความต้องการของไก่พันธุ์
3. ข้อกำหนด ข้อกำหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่พันธุ์ ให้เป็นไปตามตารางที่ 1 ดังนี้
75 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ครอบคลุมข้อกำหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์ม ไก่พนั ธุ์ เพือ่ การผลิตสัตว์ปกี ประเภทไก่พนั ธุเ์ นือ้ และไก่พนั ธุไ์ ข่ ตัง้ แต่องค์ประกอบฟาร์ม อาหาร น้ำ การจัดการฟาร์ม การจัดการสุขภาพสัตว์ การจัดการด้านสวัสดิภาพสัตว์ การจัดการสิ่งแวดล้อม และการบันทึกข้อมูล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตลูกไก่ที่มีสุขภาพแข็งแรงและมีคุณภาพดี
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
1. ขอบข่าย
Around the World
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 132 ตอนพิเศษ 179 ง วันที่ 4 สิงหาคม พุทธศักราช 2558
ตารางที่ 1 รายการข้อกำหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่พันธุ์ รายการ 1.องค์ประกอบฟาร์ม (1) สถานที่ตั้ง
(2) ผังและลักษณะฟาร์ม
(3) โรงเรือน
76 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
2. อาหารสำหรับไก่พันธุ์
3. น้ำสำหรับไก่พันธุ์
ข้อกำหนด 1.1 ต้องได้รับการยินยอมจากราชการส่วนท้องถิ่น 1.2 ตัง้ อยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงไก่พันธุ์ และมีแหล่งน้ำสะอาด เพียงพอต่อการเลี้ยงสัตว์ 1.3 อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนจากอันตรายทาง กายภาพเคมี และชีวภาพ 1.4 พื้นที่ฟาร์มมีขนาดเพียงพอเหมาะสมในการเลี้ยงไก่พันธุ์ ไม่ก่อให้เกิด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพสัตว์ มีรั้วรอบพื้นที่การเลี้ยงอย่าง เหมาะสม 1.5 แยกพื้นที่ปฏิบัติงานเป็นสัดส่วน เช่น พื้นที่สำหรับเลี้ยงสัตว์ เก็บ อาหาร เก็บอุปกรณ์ ทำลายซากสัตว์ ห้องคัดไข่ ห้องเก็บไข่ ที่พัก อาศัย 1.6 ต้องแข็งแรง ถูกสุขลักษณะ ง่ายต่อการบำรุงรักษา ทำความสะอาด และมีการระบายอากาศที่ดี 1.7 มีพื้นที่เพียงพอในการเลี้ยงไก่พันธุ์ 1.8 มีการควบคุมสภาพแวดล้อมภายในโรงเรือนให้เหมาะสมกับสายพันธุ์ ขนาดและอายุของไก่พันธุ์ 2.1 มีคุณภาพและมาตรฐานตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุณภาพ อาหารสัตว์ 2.2 การผสมยาในอาหาร ต้องอยู่ภายใต้การดูแลรับผิดชอบของสัตวแพทย์ ผู้ควบคุมฟาร์ม มีสถานที่หรือระบบการจัดการที่แยกเก็บอาหารสัตว์ ผสมยาออกจากการเก็บอาหารทั่วไป และมีป้ายบ่งชี้ 2.3 ตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว์ทางกายภาพเบื้องต้น และเก็บรักษา อาหารสัตว์ในสภาพที่ป้องกันการปนเปื้อนและเสื่อมสภาพ 2.4 การให้อาหารควรใช้ภาชนะที่สะอาดและเหมาะสมกับอายุ จำนวน ขนาดของไก่ และจัดวางในตำแหน่งที่ไก่ทุกตัวเข้าถึงอาหารสัตว์ได้ 3.1 แหล่งน้ำใช้ในฟาร์มต้องอยู่ในบริเวณที่ป้องกันการปนเปื้อนจากสิ่งที่ เป็นอันตราย 3.2 น้ำที่ใช้เลี้ยงไก่และใช้ในฟาร์ม ต้องเป็นน้ำที่สะอาดเหมาะสมในการ ใช้งาน 3.3 ไก่ทุกตัวมีโอกาสเข้าถึงน้ำได้
(3) การทำความสะอาด และบำรุงรักษา
(4) การจัดการไข่ (5) การใช้สารเคมี
4.1 มีคู่มือการจัดการฟาร์มที่แสดงรายละเอียดการปฏิบัติงานที่สำคัญ ภายในฟาร์ม ได้แก่ ระบบการเลี้ยง อาหารและน้ำสำหรับไก่พันธุ์ การจัดการฟาร์ม การจัดการด้านสุขภาพสัตว์ การจัดการ ด้านสวัสดิภาพสัตว์ การจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบการบันทึกข้อมูล 4.2 จำนวนบุคลากรพอเหมาะกับจำนวนไก่พันธุ์ที่เลี้ยง มีการจัดแบ่งหน้าที่ และความรับผิดชอบอย่างชัดเจน 4.3 บุคลากรต้องมีความรู้ และได้รับการฝึกอบรมเพื่อจัดการฟาร์มไก่พันธุ์ ได้ 4.4 มีสัตวแพทย์ที่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง และใบรับรองเป็นสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก 4.5 ผู้ปฏิบัติงานในฟาร์มมีสุขลักษณะส่วนบุคคลที่ดี เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด การปนเปื้อน 4.6 โรงเรือนและอุปกรณ์ ต้องสะอาด ถูกสุขลักษณะ 4.7 มีการบำรุงรักษาโรงเรือนและอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพดี มีความ ปลอดภัยต่อไก่พันธุ์และผู้ปฏิบัติงาน 4.8 หลังจากปลดไก่พันธุ์ ให้ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรงเรือนและอุปกรณ์ ตรวจประสิทธิภาพการทำความสะอาด เช่น การป้ายเชื้อ (swab) บริเวณที่ไก่เคยอยู่ เพื่อนำไปเพาะเชื้อ และปิดพักโรงเรือนตาม ระยะเวลาที่กรมปศุสัตว์กำหนด 4.9 วัสดุรองพื้นที่ใช้ภายในโรงเรือนและวัสดุรองรัง ต้องสะอาดและแห้ง มีการฆ่าเชื้อก่อนนำมาใช้หรือก่อนนำไก่เข้าเลี้ยง 4.10 มีการเก็บไข่ ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อไข่ฟักอย่างถูกสุขลักษณะ และ เก็บไข่ฟักไว้ในห้องเก็บไข่ที่มีสภาพเหมาะสม 4.11 สารเคมี ยาฆ่าเชื้อ หรือวัตถุอันตรายที่ใช้ในกระบวนการต่างๆ ให้ใช้ ตามคำแนะนำในฉลากผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์ หรือ ตามคำแนะนำของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก
77 พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
(2) บุคลากร
ข้อกำหนด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
รายการ 4. การจัดการฟาร์ม (1) คู่มือการจัดการฟาร์ม
รายการ 5. สุขภาพสัตว์ (1) การป้องกันและควบคุมโรค
(2) การบำบัดโรคสัตว์
78 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
6. สวัสดิภาพสัตว์
7. สิ่งแวดล้อม
ข้อกำหนด 5.1 การป้องกันและควบคุมโรคต้องอยู่ภายใต้ความดูแลของสัตวแพทย์ ผู้ควบคุมฟาร์ม หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากสัตว์แพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม 5.2 มีการป้องกันและฆ่าเชื้อยานพาหนะ อุปกรณ์ และบุคคลก่อนเข้า-ออก ฟาร์มหรือโรงเรือน รวมถึงมีการจดบันทึกการผ่านเข้า-ออกจากฟาร์ม ที่สามารถตรวจสอบได้ 5.3 มีแผนการเฝ้าระวังโรค เพื่อควบคุมและกำจัดโรคได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.4 ไก่ทุกตัวต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามแผนการให้วัคซีน และสุ่ม ตรวจระดับภูมิคุ้มกันโรคที่สำคัญ เพื่อทราบสภาวะของภูมิคุ้มกันโรค ในปัจจุบัน และเป็นข้อมูลกำหนดแผนการป้องกันโรคอย่างเหมาะสม 5.5 กรณีที่เกิดโรคระบาดหรือสงสัยว่าเกิดโรคระบาดต้องปฏิบัติตาม กฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์และคำแนะนำของกรมปศุสัตว์ 5.6 การบำบัดโรคสัตว์ต้องอยู่ภายใต้ความดูแลของสัตวแพทย์ผู้ควบคุม ฟาร์ม โดยปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวแพทย์ พ.ศ. 2545 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม และตามข้อกำหนดในมาตรฐาน สินค้าเกษตร มกษ. 9032 เรื่อง ข้อปฏิบัติการควบคุมการใช้ยาสัตว์ 6.1 ดูแลไก่พันธุ์ให้มีความเป็นอยู่ที่สบาย และหากไก่พันธุ์ป่วย บาดเจ็บ หรือพิการ ต้องได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้เกิดความ ทุกข์ทรมาน 7.1 การกำจัดซากไก่พันธุ์ให้อยู่ในดุลยพินิจของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม และกำจัดด้วยวิธีที่เหมาะสม 7.2 มีการป้องกันการรั่วไหลของน้ำเสีย หากกรณีต้องปล่อยน้ำเสียออกสู่ แหล่งน้ำสาธารณะให้บำบัดน้ำเสียจากฟาร์มตามที่กำหนดไว้ใน กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 7.3 การจัดการขยะมูลฝอย ของเสีย ควรรวบรวมไว้ในภาชนะซึ่งมีฝาปิด มิดชิด และนำไปกำจัดอย่างเหมาะสมและถูกสุขลักษณะ 7.4 ก่อนเคลื่อนย้ายวัสดุรองพื้นหลังการปลดไก่ ต้องป้องกันการฟุ้ง กระจายของวัสดุรองพื้น 7.5 ในกรณีเป็นขยะติดเชื้อ ให้แยกทำลายตามดุลยพินิจของสัตวแพทย์ ผู้ควบคุมฟาร์มและกำจัดด้วยวิธีที่เหมาะสม
ข้อกำหนด 8.1 ให้บันทึกข้อมูลผลการปฏิบัติงานในขั้นตอนที่สำคัญในการจัดการ ฟาร์ม ทั้งนี้ครอบคลุม 8.1.1 ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารฟาร์ม เช่น การจัดแบ่งโครงสร้าง การดำเนินงาน จำนวนแรงงาน การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ข้อมูลด้านสุขภาพ ประวัติและการฝึกอบรมของผู้ปฏิบัติงานในฟาร์ม 8.1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการด้านการผลิต เช่น ข้อมูลฝูงสัตว์ อาหารสัตว์ การจัดการฟาร์ม 8.1.3 ข้อมูลการควบคุมป้องกันและบำบัดโรค เช่น ข้อมูลการใช้ยา วัคซีน สารเคมี และใบสั่งยาสัตว์ 8.2 ให้เก็บรักษาบันทึกเป็นเวลาอย่างน้อย 3 ปี สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2561 2277 โทรสาร 0 2561 3357 www.acfts.go.th
พฤษภาคม-มิถุนายน 2559
79 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 168
รายการ 8. การบันทึกข้อมูล
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จำกัด บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โนวัส อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บรูเกอร์ ไบโอสปิน เอจี
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2694-2498 โทร. 02-661-8700 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 02-681-1329 โทร. 0-2642-6900