Aw 169 p1 92 pages for web

Page 1



รายนามสมาชิก

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.

บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด

27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52.

บริษัท ซันฟีด จำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท บุญพิศาล จำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แม่ทา วี.พี.ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำกัด บริษัท เจบีเอฟ จำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท โกลเด้น ฟีด (ไทยแลนด์) จำกัด

ิน ภ อ

น ท นั

ร า าก


คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประจำปี 2558-2559

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์ นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประกิต เพียรศิริภิญโญ นางเบญจพร สังหิตกุล นายสถิตย์ บำรุงชีพ นายโดม มีกุล นายวราวุฒิ วัฒนธารา นางสาวถนอมวงศ์ แต้ไพสิฐพงษ์ นายหัสดิน ทรงประจักษ์กุล นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายสมภพ เอื้อทรงธรรม

นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เลขาธิการ รองเลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด


แถลง

บรรณาธิการ

ถ้าไม่ค้าน ไม่ออกมาร้องผ่านสื่อ นโยบายรัฐ ก็อาจจะต้องกลายเป็นการทำลายอุตสาหกรรมไก่ ไปแล้ว เพราะขณะที่กำลังจะมีการพิจารณา (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. .... โดยเจตนารมณ์และสาระสำคัญก็คือ ต้องการพัฒนาโรงฆ่าสัตว์ให้ได้มาตรฐานและสร้างความปลอดภัยด้าน อาหารเพือ่ ให้ผบู้ ริโภคได้บริโภคเนือ้ สัตว์ทถี่ กู สุขอนามัย ไม่มโี รค และสารตกค้างในเนือ้ สัตว์ แต่ (ร่าง) พ.ร.บ. ฉบับนี้ กลับมีการทำตารางแนบท้ายให้มีการเก็บค่าอากร และค่าธรรมเนียมจำหน่ายเนื้อสัตว์ ซึ่งคาดเดาได้ว่าจะส่งผล กระทบต่ออุตสาหกรรมปศุสัตว์ของไทยที่เป็นอุตสาหกรรมที่ทำรายได้สู่ประเทศชาติ ปีละหลายแสนล้านบาทด้วย อันที่จริง (ร่าง) พ.ร.บ. ดังกล่าวนับว่า มีเจตนารมณ์ที่ดีเพื่อการยกระดับมาตรฐานอาหารปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค มุ่งหวังให้มีการลดการใช้โรงฆ่าสัตว์เถื่อน และหันไปใช้บริการโรงฆ่าสัตว์มาตรฐานที่มีสุขอนามัยที่ดี แต่การที่มี การเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมจำหน่ายเนื้อสัตว์ดังกล่าว เป็นการขัดแย้งกันในตัว เพราะการเก็บค่าอากร และค่าธรรมเนียมต่างๆ ส่งผลให้มีการฆ่าเถื่อนกันมากขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียอากร ดังจะเห็นได้จากกลุ่ม สุกรและวัวควาย ที่มีการเก็บค่าอากรกันอยู่ในปัจจุบัน มีการฆ่าเถื่อนกันมาก แต่หากเปรียบเทียบกับสัตว์ปีก ขนาดเล็ก เช่น ไก่เนือ้ หรือเป็ด ทีส่ ว่ นใหญ่มกี ารฆ่าในโรงฆ่ามาตรฐาน เพราะปัจจุบนั ไม่มกี ารเก็บค่าอากรต่างๆ จึงไม่ต้องหลบเลี่ยง ด้านภาครัฐเองก็มีความเข้าใจและต้องการให้คนไทยมีอาหารปลอดภัยรับประทาน รวมถึง สนับสนุนให้อตุ สาหกรรมไก่เนือ้ ของไทยสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก จึงยกเว้นการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียม จำหน่ายเนื้อสัตว์มาโดยตลอด กระทั่งอุตสาหกรรมไก่เนื้อไทยได้รับความเชื่อมั่นจากนานาประเทศ ล่าสุดแล้ว เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2559 พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ได้รับ การพิจารณาทบทวนตารางแนบท้ายให้ปรับลดลงจากความคิดเดิมทีป่ รับขึน้ เป็น 2 บาท ลงมาเหลือ 20 สตางค์ (เดิม 10 สตางค์) แต่ก็ยังไม่ได้สร้างความมั่นใจแก่อุตสาหกรรมไก่ เพราะยังต้องมีการแข่งขันกับประเทศ ผู้ส่งออกไก่ทั่วโลก ที่มีต้นทุนที่ถูกกว่าของไทยอีกมาก จึงยังคงต้องขอรับความสนับสนุนเห็นใจให้ยกเว้นการเก็บ ค่าอากรและค่าธรรมเนียมจำหน่ายเนื้อสัตว์ต่อไปก่อน นอกจากการบริโภคเนื้อไก่แล้ว ไข่ยังเป็นอาหารที่คนไทย ยังต้องช่วยกันรณรงค์ให้มีการกินให้มากยิ่งขึ้น เพราะการผลิตไข่ไก่ของประเทศไทย ผลิตได้ตามมาตรฐานของกรมปศุสัตว์ โดยมีการดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ คือ พันธุ์สัตว์ ตลอดจนกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย จนถึงมือผู้บริโภค โดยในไข่ไก่ 1 ฟอง มีกรดอะมิโนจำเป็นทุกชนิด มีวิตามิน และเกลือแร่อีกหลายชนิด เช่น วิตามิน A B2 B6 B9 (กรดโฟลิก) และ B12 เหล็ก แคลเซี่ยม ฟอสฟอรัส โพแทสเซี่ยม และวิตามิน E นอกจากนั้น ไข่ยังเป็นหนึ่งในอาหาร ธรรมชาติไม่กี่ชนิดที่มีวิตามิน D และไข่แดงยังมีปริมาณเลซิติน และโคลีน มากกว่าครึ่งหนึ่งของปริมาณที่ ร่างกายต้องการต่อวัน เลซิติน และโคลีน เป็นสารอาหารที่มีความสำคัญต่อร่างกายและสมองของมนุษย์ เช่น ช่วยเพิ่มเซลล์สมอง และพัฒนาระบบประสาทให้กับเด็ก ช่วยปรับไขมันในเลือดให้ดีขึ้น โดยเพิ่มเอชดีแอลคอเลสเตอรอล และลดแอลดีแอล-คอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ ต้องช่วยกันรณรงค์ กินไข่ให้ได้ 300 ฟอง/คน/ปี โดย กินไข่ทุกวัน กินไข่ทุกวัย กินอะไรใส่ไข่ด้วย บก.


ธุรกิจอาหารสัตว์

วารสาร

ปีที่ 33  เล่มที่ 169  ประจำเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2559 วัตถุประสงค์

Contents

1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิ จของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

Thailand Focus ค้าน (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์...สมาคมสัตว์ปีก ยื่นหนังสือนายกฯ วันนี้. ................................................................ 5 สมาคมสัตว์ปีก ตบเท้าเข้ายื่นหนังสือคัดค้าน พ.ร.บ. โรงฆ่าสัตว์ ต่อ สนช. หวั่นเก็บอากรการฆ่า ทำลายอุตสาหกรรมไก่เนื้อทั้งห่วงโซ่..........................................................................12 สภาหอการค้า...รับการร้องเรียนจาก 9 สมาคม ด้านปศุสัตว์สัตว์ปีก กับผลกระทบของ “พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อจำหน่ายเนื้อสัตว์”.........................................................................16 นโยบายรัฐ…ทำลายอุตสาหกรรมไก่..................................................................................................................................19

Food Feed Fuel

"ไข่ไก่" อาหารมหัศจรรย์ ทานวันละกี่ฟองดี?.....................................................................................................................21 พาณิชย์คาดส่งออกข้าว 6 เดือนหลัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น....................................................................................................23 พาณิชย์ระบายข้าวตามเป้า มั่นใจ ส่งออกเกิน 9 ล้านตัน. .................................................................................................25 โรงแป้งมัน-มันเส้นวิกฤติ วัตถุดิบขาดแคลนหนัก/จีนหวดซํ้าส่งออกวูบ............................................................................. 27 สางปม 'อาหารสัตว์' ไม่ง่าย ผู้ผลิต-ผู้ใช้-เกษตรกรร้องหาสมดุล.....................................................................................30 รายงานการสำรวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 2/2559.........................................................................................................32

Market Leader

3 สมาคมไก่ไข่ ร่วมรณรงค์คนไทยกินไข่ ตั้งเป้าปี 61 บริโภค 300 ฟอง..............................................................................41 นักวิชาการแนะ รับมือการเปลี่ยนแปลงด้วยความรู้และการปฏิบัติ.................................................................................... 48 'Agri-Map' เครื่องมือสู่การพัฒนาวงการเกษตรไทย.........................................................................................................53 ผวาเบอร์ 1 ไก่บราซิลปักฐานไทย ทำซัพพลายล้น ราคาดิ่ง/เป้าส่งออก 9.1 หมื่นล้านต้องลุ้น. ...........................................56

Around The World

รับฟังบรรยายพิเศษ เรื่อง “มาตรการภาษี เพื่อส่งเสริมการลงทุนในประเทศ”...................................................................58 สภาหอการค้า...ชี้ ผลการจัดอันดับ TIP Report 2016 กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ.....................................................60 แนวทางการลดมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs) ภาคสินค้าเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ในกลุ่มประเทศประชาคมอาเซียน +6..............................................................63 คุมเข้มชายแดนสกัดไข้หวัดนก ปศุสัตว์สั่งเฝ้าระวังหลัง "โอไออี" เตือน............................................................................... 67 ชูมาตรฐาน 'จีเอพี' ปูทางเกษตร 4.0................................................................................................................................68 Tier ดันส่งออกฟื้นไตรมาส 4/59 หวั่น "ปลา-ปลาหมึก" ขาดตลาด.................................................................................... 70 ปลดล็อก TIER 3 ประมงไทยสดใส.................................................................................................................................... 72 ขอบคุณ.............................................................................................................................................................................. 76   ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย   : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร    รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น  นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล     กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร  นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์  นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม  นายอดิเรก ศรีประทักษ์  นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล  นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง  นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์  นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์     บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ     กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง  นายอรรถพล ชินภูวดล  นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง  นางสาววริศรา ธรรมเจริญ  นางสาววริศรา คูสกุล  

   ประธานกรรมการที่ปรึกษา

สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4   โทรสาร 0-2675-6265   Email: tfma44@yahoo.com   Website: www.thaifeedmill.com




เนื่องจากพบว่า หากมีการประกาศใช้ (ร่าง) พ.ร.บ. ดังกล่าว โดยเฉพาะ การกำหนดให้เก็บอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมการรับรองให้จำหน่ายเนื้อไก่ เป็ด ห่าน จะส่งผลให้เกิดการหลีกเลีย่ งไม่แจ้งการเคลือ่ นย้ายสัตว์ปกี อย่างถูกต้อง และลักลอบนำสัตว์ปีกไปชำแหละนอกโรงฆ่าสัตว์ ซึ่งจะส่งผลเสียต่อภาคอุตสาหกรรมสัตว์ปีกทั้งระบบ กล่าวคือ ทำให้ระบบการควบคุมโรคระบาดในสัตว์ปีก ของประเทศไทยเป็นไปอย่างไร้ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการป้องกันโรค ไข้หวัดนก และผู้บริโภคต้องรับความเสี่ยงต่อการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ไม่ปลอดภัย และมีราคาสูงขึ้น การเรียกเก็บอากรดังกล่าวจึงขัดกับเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ. ที่ ต้องการยกระดับมาตรฐานการฆ่าสัตว์ให้เป็นสากล และควบคุมการแพร่ระบาด ของโรคในสัตว์โดยสิน้ เชิง ตลอดจนไม่สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐทีต่ อ้ งการ ลดค่าครองชีพให้ประชาชน รวมทัง้ ลดต้นทุนการผลิตเพือ่ เพิม่ ศักยภาพการแข่งขัน กับสินค้าเกษตรของไทย

5 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นางฉวีวรรณ คำพา นายกสมาคมส่งเสริมการเลีย้ งไก่แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เปิดเผยถึงกรณีที่ภาครัฐกำลังผลักดัน (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. .... ว่า ขณะนี้ 9 สมาคม ผูผ้ ลิตสัตว์ปกี ประกอบด้วย สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่เพือ่ การส่งออก สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย สมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและการส่งออก สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสัตว์ปกี สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยฯ สมาคม ส่ ง เสริ ม การเลี้ ย งไก่ แ ห่ ง ประเทศไทยฯ สมาคมผู้ เ ลี้ ย งไก่ พั น ธุ์ และสมาคม ผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย เตรียมยืน่ หนังสือคัดค้าน พ.ร.บ. ดังกล่าวต่อ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อให้มีการทบทวนพิจารณาอย่างรอบคอบ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

วันนี้ (2 มิถุนายน 2559) ผู้แทน 9 สมาคมผู้ผลิตสัตว์ปีกเข้ายื่นหนังสือ ถึงนายกรัฐมนตรี คัดค้าน (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์ หวัน่ ส่งผลถึงหายนะ อุตสาหกรรมไก่ของไทย จะเกิดการลักลอบนำสัตว์ปีกไปชำแหละนอกโรงฆ่า เสีย่ งโรคระบาด และสุขอนามัยผูบ้ ริโภค ตลอดจนขีดความสามารถในการแข่งขัน ของไก่ไทยในตลาดโลก วอนนายกฯ พิจารณารอบคอบ

Thailand Focus

ค้าน (ราง) ่ พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสั ตว์... สมาคมสัตว์ปีก ยื่นหนังสือนายกฯ วันนี้


ทั้งนี้ ที่ผ่านมาภาครัฐให้ความสำคัญต่ออุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ปีกเพื่อการส่งออก จึงไม่มีการเก็บอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมจำหน่ายเนื้อสัตว์ปีก ส่งผลให้อุตสาหกรรมสัตว์ปีก ของไทยสามารถแข่งขันได้ในระดับโลก นำเงินตราเข้าประเทศได้ปลี ะเกือบ 9 หมืน่ ล้านบาท ซึง่ หาก (ร่าง) พ.ร.บ. ดังกล่าว ออกมาบังคับใช้จริงจะกลายเป็นอุปสรรคสำคัญของภาคส่งออก และลด ศักยภาพในการแข่งขันของไทยลงทันที เนือ่ งจากปัจจุบนั ต้นทุนการผลิตของไทยก็สงู กว่าบราซิล และ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ส่งออกไก่อันดับ 1 และ 2 ของโลกอยู่แล้ว นายวีระพงษ์ ปัญจวัฒนกุล นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ ระบุว่า การเรียกเก็บค่าอากร และค่าธรรมเนียมอย่างละ 2 บาทต่อตัว เป็นการซ้ำเติมเกษตรกรให้ต้องมีภาระต้นทุนที่สูงขึ้น และเมือ่ เกิดภาวะราคาเนือ้ สัตว์ตกต่ำ เกษตรกรก็จะประสบภาวะขาดทุนมากยิง่ ขึน้ ไปอีก ซึง่ ปัจจุบนั เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ก็ประสบปัญหาราคาเนื้อไก่ตกต่ำมาตั้งแต่ปีที่แล้ว

6 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ทีผ่ า่ นมา เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่ ได้ให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการแจ้งการนำสัตว์ปกี เข้าโรงฆ่า ทุกครั้งโดยไม่มีการหลบเลี่ยง หากมีการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียม จึงเกรงว่าหากมีบางราย หลบเลี่ยงไม่แจ้งการเคลื่อนย้าย และเกิดโรคหวัดนกขึ้นมา จะส่งผลเสียร้ายแรงอย่างมาก ถึงวันนี้ เกษตรกรเลีย้ งไก่ยงั คงจดจำวิกฤตหวัดนกปี 2547 ได้ไม่ลมื ดังนัน้ ขอให้นายกรัฐมนตรีชว่ ยพิจารณา ทบทวนร่าง พ.ร.บ. นี้ใหม่อย่างรอบคอบ โดยเฉพาะการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมที่จะส่ง ผลกระทบต่อเกษตรกร ต่อผู้บริโภค และต่อประเทศชาติ ด้านนายสุเทพ วงศ์รื่น นายกสมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กล่าวว่า มีขอ้ สงสัยเกีย่ วกับตารางแนบท้าย (ร่าง) พ.ร.บ. ดังกล่าว ทีม่ กี ารกำหนดค่าอากรฯ ไก่ไว้สงู มากถึง 2 บาทต่อตัว หากคำนวณจากราคาไก่ที่ 90 บาท ต่อตัว เท่ากับเสียอากรฯ สูงถึงร้อยละ 2.22 ของมูลค่า หรือสุกรตัวละ 7,500 บาท ตั้งอากรไว้ที่ 15 บาทต่อตัว คิดเป็นร้อยละ 0.2 ไม่ทราบว่าใช้หลักเกณฑ์ใดเป็นตัวกำหนด จึงตัง้ อากรสำหรับไก่ สูงขนาดนี้ ซึ่งหากคำนวณเฉพาะค่าอากร 2 บาท กับการชำแหละไก่ของประเทศไทยราว 1,400 ล้านตัวต่อปี เท่ากับเงินมหาศาลถึง 2,800 ล้านบาทต่อปี นี่ยังไม่นับรวมค่าธรรมเนียมการ จำหน่ายอีก 2 บาทต่อตัว ถ้าต้นทุนต้องสูงขึน้ ขนาดนี้ ไก่ไทยก็ขายแข่งกับประเทศอืน่ ๆ ในตลาดโลก ไม่ได้ สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทยฯ 02-579-7102-3 สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ 038-758-214-6 สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยฯ 02-251-3745


สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปภัมภ์ สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อเพื่อการส่งออก สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย สมาคมผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ สมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและการส่งออก สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

วันที่ 27 มิถุนายน 2559 เรื่อง ขอคัดค้านร่างพระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ....... เรียน ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)

2. เนือ้ สัตว์ปกี เป็นเนือ้ สัตว์ทเี่ กีย่ วข้องกับสุขอนามัยคนไทยทัง้ ประเทศ เนือ่ งจากเนือ้ สัตว์ปกี เป็นอาหารโปรตีนราคาถูกที่บริโภคกันทุกครัวเรือน และทุกศาสนา ดังนั้น รัฐบาลจึงควรมุ่งเน้น และส่งเสริมให้มีการผลิตเนื้อสัตว์ปีกที่ปลอดโรค ปลอดภัย และถูกสุขอนามัย มากกว่าที่จะมุ่งเน้น การเก็บอากรการฆ่าสัตว์ปีกและค่าธรรมเนียมต่างๆ หากภาครัฐส่งเสริมให้มีโรงงานมาตรฐาน มากขึ้น ประชาชนก็จะได้บริโภคเนื้อสัตว์ปีกที่สะอาด ถูกสุขลักษณะในราคาถูกอย่างทั่วถึง ซึ่งเป็น ไปตามนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการให้ประชาชนมีสุขอนามัยที่ดีขึ้น

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

1. อุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ปีกของไทย นับว่าเป็นอุตสาหกรรมการเกษตรที่มีความ สำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เนื่องจากเป็นตลาดรองรับพืชผลทางการเกษตรจำพวก ข้าวโพด ถั่วเหลือง เพื่อนำมาใช้เป็นอาหารสัตว์สำหรับไก่และเป็ด รวมทั้งยังก่อให้เกิดการสร้าง อาชีพและจ้างแรงงานรวมทั้งธุรกิจต่อเนื่องจำนวนมากทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งคาดว่ามีคนที่ เกี่ยวข้องไม่ต่ำกว่า 2 ล้านคน นอกจากนี้ยังช่วยนำเงินตราต่างประเทศเข้าประเทศอีกปีละเกือบ 90,000 ล้านบาท และหากไม่มีอุปสรรค หรือไม่มีภาระต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะ สามารถนำเงินตราเข้าประเทศได้ถึงปีละ 100,000 ล้านบาท

7 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ตามที่รัฐบาลกำลังพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ..... อยู่ในขณะนี้ สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคม ผู้เลี้ยงไก่เนื้อ สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อเพื่อการส่งออก สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย สมาคมผู้เลี้ยง ไก่พันธุ์ สมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและการส่งออก สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสัตว์ปีก สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย และสมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยฯ ขอคัดค้านร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าว เนือ่ งจากมีความกังวลว่าหากมีผลบังคับใช้ จะสร้างปัญหาและส่งผลกระทบตามมามากมาย โดยเฉพาะ การกำหนดอัตราค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมการรับรองให้จำหน่ายเนื้อไก่ เป็ด ห่าน ที่ กำหนดไว้สงู ถึงอัตราละ 2 บาท/ตัว พร้อมทัง้ ขอชีแ้ จงข้อมูลและแสดงข้อคิดเห็นเกีย่ วกับผลกระทบ ที่จะตามมาดังนี้


3. ดังนั้นจะเห็นว่า ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ภาครัฐได้ให้ความสำคัญต่ออุตสาหกรรมการ ผลิตเนือ้ สัตว์ปกี จึงไม่มนี โยบายในการเก็บค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมจำหน่ายเนือ้ สัตว์ปกี ทำให้ โรงฆ่าสัตว์ปีกของไทยมีการลงทุนและพัฒนาด้านสุขอนามัยอย่างต่อเนื่องในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา ซึง่ ผูบ้ ริโภคได้ประโยชน์จากการได้รบั เนือ้ สัตว์ปกี ทีป่ ลอดโรค ถูกสุขอนามัย ขณะเดียวกันก็สามารถ พัฒนาจนแข่งขันกับคูแ่ ข่งต่างประเทศได้ ปัจจุบนั ไทยมีโรงงานมาตรฐานส่งออกเนือ้ สัตว์ปกี ถึง 28 โรงงาน และหลายประเทศใน ASEAN พยายามเข้ามาดูงานและลอกเลียนแบบเพื่อนำไปพัฒนา โรงงานของตัวเองให้ได้มาตรฐานและสามารถส่งออกเนื้อสัตว์ปีกได้เหมือนประเทศไทย นอกจากนี้ หากเปรียบเทียบกับโรงฆ่าสัตว์ชนิดอื่น เช่น โค กระบือ สุกร ที่มีการเก็บค่าอากรการฆ่าและ ค่าธรรมเนียมต่างๆ จะเห็นว่าการลงทุนสร้างโรงงานมาตรฐานที่ถูกสุขอนามัยเกิดขึ้นน้อยมาก ดังนัน้ หากภาครัฐมีการแก้กฎหมายเพือ่ มุง่ เน้นให้มกี ารเก็บค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียม การรับรองให้จำหน่ายเนื้อสัตว์ปีกดังกล่าว ก็นับว่าเป็นการสร้างอุปสรรคต่อการพัฒนาโรงฆ่าสัตว์ มาตรฐานที่ถูกสุขอนามัย รวมทั้งจะเกิดผลกระทบตามมาอีกมากมายดังนี้

8

1. กระทบต่อผู้บริโภค ผู้บริโภคต้องรับภาระราคาเนื้อสัตว์ปีกที่สูงขึ้นจากการเก็บค่าอากร การฆ่าและค่าธรรมเนียมฯ แต่รายได้จากการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมฯ จากโรงฆ่าสัตว์ปีก จะตกเป็นรายได้ของจังหวัดซึ่งโรงงานตั้งอยู่เพียง 16 จังหวัด แต่ผู้บริโภคทั้งประเทศต้องรับภาระ ค่าใช้จ่ายในการซื้อเนื้อสัตว์ปีกที่สูงขึ้น ซึ่งขัดกับนโยบายลดค่าครองชีพของภาครัฐ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

2. กระทบต่อสุขภาพของผูบ้ ริโภค ผูบ้ ริโภคจะเสีย่ งต่อการบริโภคเนือ้ สัตว์ปกี ทีไ่ ม่ถกู สุขอนามัย เพราะจะมีการลักลอบฆ่าสัตว์นอกโรงฆ่าสัตว์มากขึน้ เพือ่ หลีกเลีย่ งการชำระอากรและค่าธรรมเนียม ต่างๆ ทำให้ไม่มีการตรวจสอบคุณภาพเนื้อสัตว์ก่อนออกจำหน่าย ซึ่งเสี่ยงต่อการปนเปื้อนและ การแพร่กระจายของเชื้อโรคต่างๆ ทำให้ภาครัฐต้องเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่จะมี มากขึ้น 3. กระทบต่อระบบการควบคุมโรคระบาดในสัตว์ปกี ระบบการควบคุมโรคระบาดในสัตว์ปกี จะมีประสิทธิภาพ ต้องได้รบั ความร่วมมือจากทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ จากเกษตรกร และผูป้ ระกอบการ ซึง่ ในปัจจุบนั เกษตรกร และผูป้ ระกอบการได้ให้ความร่วมมืออย่างดียงิ่ กับกรมปศุสตั ว์ โดยแจ้งกรมฯ ทุกครั้งที่มีการเคลื่อนย้ายสัตว์ปีกจากฟาร์มเข้าโรงฆ่าโดยไม่มีการหลบเลี่ยง เนื่องจากได้รับการ ยกเว้นค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมต่างๆ ส่งผลให้ระบบการควบคุมโรคไข้หวัดนกของไทยเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งต่างจากหลายประเทศที่ยังมีปัญหาการระบาดซ้ำของโรคไข้หวัดนกทุกปี หากร่างพระราชบัญญัติที่แก้ไขใหม่นี้มีการเก็บค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมการ รับรองให้จำหน่ายเนื้อไก่ เป็ด ห่าน จนทำให้เกิดการหลีกเลี่ยง ไม่แจ้งการเคลื่อนย้ายสัตว์ปีก อย่างถูกต้อง และนำสัตว์ปีกไปฆ่านอกโรงฆ่าสัตว์ เพื่อจะได้ไม่ต้องชำระค่าอากรและค่าธรรมเนียม ต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้ระบบควบคุมโรคระบาดในสัตว์ปีกเป็นไปอย่างไร้ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ หากมี


การกลับมาระบาดซ้ำของโรคไข้หวัดนกในประเทศไทย จะส่งผลกระทบรุนแรงต่อการส่งออก เนือ้ สัตว์ปกี เพราะทุกประเทศจะระงับการนำเข้าเนือ้ สัตว์ปกี จากไทยทันที และกว่าจะเจรจาเปิดตลาด ให้สามารถส่งเนื้อสัตว์ปีกสดได้อีกครั้งต้องใช้เวลานานเกือบ 10 ปี ซึ่งส่งผลเสียหายต่อเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศอย่างมาก และสูญเสียโอกาสในการส่งออกเนื้อสัตว์ปีกสดอีกปีละ 20,000 ล้านบาท ดังเช่นที่เคยเกิดขึ้นแล้วในอดีต และจะเป็นเรื่องน่าเสียดายอย่างมากที่ระบบควบคุมโรค ที่วางไว้อย่างดีต้องพังทลายไป 4. กระทบต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีก เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีกต้องรับภาระค่าอากรการฆ่า และค่าธรรมเนียมฯ โดยเฉพาะในช่วงที่ภาวะราคาเนื้อสัตว์ปีกตกต่ำ ซึ่งจะเป็นช่วงที่เกษตรกรจะ ประสบปัญหาขาดทุนอยู่แล้ว และหากมีค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมฯ ก็จะเป็นการซ้ำเติม การขาดทุนเข้าไปอีก ซึ่งเป็นการทำลายอาชีพการเลี้ยงไก่เป็ดของเกษตรกร

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ดังนั้น เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบตามที่กล่าวมาข้างต้น และเพื่อให้ผู้บริโภค หรือประชาชน ได้บริโภคเนื้อสัตว์ปีกที่สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัยจากสารตกค้าง อีกทั้งไม่เป็นการเพิ่มภาระ ค่าครองชีพให้ประชาชน รวมทั้งเพื่อให้อุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ปีกส่งออกของไทยยังคง ความสามารถในการแข่งขันกับคูแ่ ข่งในตลาดโลกได้อยู่ สมาคมฯ จึงใคร่ขอความกรุณาจาก ฯพณฯ พิจารณาทบทวนร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ใหม่อย่างรอบคอบ เป็นธรรมกับทุกฝ่าย รวมทั้งเพื่อ ไม่เป็นการเปิดโอกาสให้มีการแสวงหาผลประโยชน์จากพระราชบัญญัติฉบับนี้

9 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

5. กระทบต่อการส่งออก ปัจจุบันการผลิตเนื้อสัตว์ปีกส่งออกของไทยต้องมีการแข่งขันกับ คู่แข่งต่างประเทศ ได้แก่ บราซิล สหรัฐฯ และจีน ซึ่งต้นทุนการผลิตของไทยก็สูงกว่าคู่แข่ง ต่างประเทศ เนือ่ งจากต้องรับภาระด้านราคาวัตถุดบิ ทีส่ งู เพือ่ คุม้ ครองเกษตรกรผูป้ ลูกพืชอาหารสัตว์ ดังนั้นหากมีการเพิ่มภาระต้นทุนให้อีกก็จะเป็นการลดศักยภาพในการแข่งขัน ทำให้เนื้อสัตว์ปีกของ ไทยแข่งกับต่างประเทศได้ลำบาก หากแข่งขันไม่ได้ การส่งออกเนื้อสัตว์ปีกของไทยก็จะลดลง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่และเป็ด และสุดท้ายก็จะกระทบต่อเนื่องไปถึง เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดและถั่วเหลือง นอกจากนี้ ยังจะกระทบต่อความสามารถในการแข่งขันทั้ง ในเวที FTA และ TPP ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย


บัญชีแนบท้ายร่างพระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ..... อัตราอากรการฆ่าสัตว์ ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการฆ่าสัตว์

ชนิดสัตว์

โค กระบือ สุกร สุกรที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 22.5 กิโลกรัม นกกระจอกเทศ แพะ หรือแกะ ไก่ เป็ด หรือห่าน สัตว์อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

10 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

โค กระบือ สุกร สุกรที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 22.5 กิโลกรัม นกกระจอกเทศ แพะ หรือแกะ ไก่ เป็ด หรือห่าน สัตว์อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

อัตราอากรและค่าธรรมเนียม ตามพระราชบัญญัติควบคุม การฆ่าสัตว์และจำหน่าย เนื้อสัตว์ พ.ศ. 2535 อากรการฆ่าสัตว์ ตัวละ 12 บาท ตัวละ 15 บาท ตัวละ 10 บาท ตัวละ 5 บาท ตัวละ 4 บาท ตัวละ 10 สตางค์* ตัวละ 4 บาท ค่าธรรมเนียมการรับรอง ให้จำหน่ายเนื้อสัตว์ (ไม่ได้มีการกำหนดไว้) ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี

* ได้รับการยกเว้น (ตามประกาศกฎกระทรวง พ.ศ. 2552) พ.ร.บ. ปี 2535 - ถ้าเป็นโรงฆ่าของเทศบาลจะมีค่าธรรมเนียมโรงฆ่าและโรงพักสัตว์ - ค่าธรรมเนียมประทับตรารับรองให้จำหน่ายเนื้อสัตว์ จะเก็บเฉพาะสัตว์ตายเอง

อัตราอากร ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายตาม ร่างพระราชบัญญัติควบคุม การฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่าย เนื้อสัตว์ พ.ศ. .... อากรการฆ่าสัตว์ ตัวละ 20 บาท ตัวละ 25 บาท ตัวละ 15 บาท ตัวละ 10 บาท ตัวละ 15 บาท ตัวละ 10 บาท ตัวละ 2 บาท ตัวละ 20 บาท ค่าธรรมเนียมการรับรอง ให้จำหน่ายเนื้อสัตว์ ตัวละ 20 บาท ตัวละ 25 บาท ตัวละ 15 บาท ตัวละ 10 บาท ตัวละ 15 บาท ตัวละ 10 บาท ตัวละ 2 บาท ตัวละ 20 บาท


อัตราอากรการฆ่าสัตว์ ร่าง พ.ร.บ. ใหม่ ไม่เป็นธรรมกับสัตว์ปีก

เปรียบเทียบค่าอากรการสัตว์ของร่าง พ.ร.บ. ใหม่ กับมูลค่าของสัตว์

โค สุกร ไก่

ค่าอากรของร่าง พ.ร.บ. ใหม่ ตัวละ (บาท) 20.00 15.00 2.00

มูลค่าสัตว์ ตัวละ (บาท) 50,000 7,500 90

คิดเป็น ร้อยละ 0.04 0.20 2.22

เปรียบเทียบค่าอากรการฆ่าสัตว์ที่ปรับเพิ่มขึ้นจาก พ.ร.บ. ปี 2535 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 66.67 50.00 1,900.00

หมายเหตุ : *การฆ่าไก่ เป็ด ห่าน ได้รับการยกเว้นค่าอากร ทั้งจำหน่ายภายในและส่งออก ตามประกาศกฎกระทรวง ปี 52

ตารางอัตราอากรของร่าง พ.ร.บ. ใหม่ แสดงให้เห็นว่า

1. ไม่เป็นธรรมกับสัตว์ปีก เพราะกำหนดอัตราไว้สูงกว่า โค และสุกร หลายเท่า และปรับ เพิ่มจากอัตราเดิมสูงมากถึง 1,900% ขณะที่สุกร โค ปรับเพิ่มเพียง 50-60%

2. สัตว์ที่มีการส่งออกมาก ก็จะถูกเก็บอากรในอัตราสูง สัตว์ที่ส่งออกน้อย ก็จะถูกเก็บอากร ในอัตราต่ำ การกำหนดอัตราเช่นนี้แสดงว่าไม่อยากสนับสนุนให้มีการส่งออก

สำหรับอัตราค่าธรรมเนียมการรับรองให้จำหน่ายเนื้อสัตว์ ก็ทำนองเดียวกัน คือ เป็นอัตราที่ไม่เป็นธรรม และเป็นการเก็บซ้ำซ้อน เนื่องจาก พ.ร.บ. ปี 2535 ไม่มีการเก็บ ค่าธรรมเนียมนี้

11 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ค่าอากรร่าง พ.ร.บ. ใหม่ ตัวละ (บาท) 20.00 15.00 2.00

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

โค สุกร ไก่

ค่าอากรของร่าง พ.ร.บ. ปี 35 ตัวละ (บาท) 12.00 10.00 0.10*


สมาคมสัตวป์ ี ก ตบเทา้ เขา้ ยื่นหนังสือคัดคา้ น

พ.ร.บ. โรงฆา่ สัตว์ ตอ่ สนช. หวัน่ เก็บอากรการฆา่ ทำลายอุตสาหกรรมไกเ่ นื้อทัง้ ห่วงโซ่

12 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

9 สมาคมสัตว์ปกี และเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ ยืน่ หนังสือต่อประธานสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) คัดค้านร่าง พ.ร.บ. โรงฆ่าสัตว์ ขอให้ทบทวนใหม่ กังวล พ.ร.บ. ฉบับนี้ จะส่งผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจไทยอย่างมหาศาล ฉุดขีดความสามารถในการแข่งขันไก่ไทยลดลง สูญเสียตลาด ส่งออก และสร้างความเสียหายต่อห่วงโซ่การผลิตทั้งระบบ นายแพทย์อนันต์ ศิริมงคลเกษม นายกสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย พร้อมเกษตรกร ผู้เลี้ยงไก่ และตัวแทน 9 สมาคมผู้ผลิตสัตว์ปีก ประกอบด้วย นายกสมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่ แห่งประเทศไทยฯ สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ สมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อ การค้าและการส่งออก สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ เพือ่ การส่งออก สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสัตว์ปกี สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยฯ สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทยฯ สมาคมผู้เลี้ยง ไก่พันธุ์ และสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เข้ายื่นหนังสือต่อ ศ.พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ เพือ่ ขอคัดค้าน (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพือ่ การจำหน่าย เนื้อสัตว์ พ.ศ. .... เนื่องจาก (ร่าง) พ.ร.บ. ดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไก่เนื้อของไทย ตลอดห่วงโซ่การผลิต และทำให้ไก่ไทยไม่สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก


นายแพทย์อนันต์กล่าวว่า ภาคอุตสาหกรรมสัตว์ปีกจะเดินหน้าคัดค้าน (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์อย่างถึงที่สุด เนื่องจากการกำหนดให้จ่ายอากรการฆ่าสัตว์ปีกในอัตราตัวละ 2-4 บาทนี้ จะเกิดเป็นต้นทุนการผลิตเนื้อไก่ที่สูงขึ้นอย่างมหาศาล จนทำให้ความสามารถในการ แข่งขันของไก่ไทยในตลาดโลกลดลง หากประเทศไทยต้องสูญเสียตลาดส่งออกไก่ จะส่งผล กระทบไปถึงห่วงโซ่การผลิตไก่เนื้อของไทยทั้งระบบ ตั้งแต่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ เกษตรกรผู้ปลูกพืช อาหารสัตว์ ทั้งข้าวโพดและถั่วเหลือง ภาคการแปรรูป ภาคผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ รวมถึงภาคผู้ขนส่ง และภาคการส่งออก

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ด้าน ศ.พิเศษ พรเพชร กล่าวหลังจากรับหนังสือคัดค้านร่าง พ.ร.บ. ว่า ร่าง พ.ร.บ. ฉบับนี้ อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญร่างรธน. ซึ่งสภาฯ จะส่งหนังสือชี้แจงของ 9 สมาคมฯ ให้คณะกรรมาธิการฯ เพื่อได้พิจารณาทบทวนร่าง พ.ร.บ. ต่อไป

13 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

“การมายื่นหนังสือเพื่อคัดค้าน ร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าว เพราะ 9 สมาคมฯ และเกษตรกร กังวลว่า การกำหนดค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมฯ จะส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตไก่เนื้อ ของไทยทั้งระบบ ไม่เป็นผลดีต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติหรือ GDP ของประเทศตั้งแต่ ผูบ้ ริโภคต้องรับภาระซือ้ ไก่เนือ้ แพงขึน้ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่แบกภาระต้นทุนการเลีย้ งเพิม่ และทีส่ ำคัญ การส่งออกไก่เนื้อที่ทำเงินตราให้กับประเทศปีละเกือบ 100,000 ล้านบาท หากมีการเก็บอากร จะมีผลทำให้ขีดความสามารถแข่งขันลดลง ไทยต้องสูญเสียตลาดส่งออกให้กับคู่แข่งรายใหญ่อย่าง บราซิล สหรัฐอเมริกา และจีน ได้ หากการส่งออกลดลงก็จะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ถึงห่วงโซ่การ ผลิตไก่เนือ้ ของไทยทัง้ ระบบไปถึงเกษตรกรในประเทศทีป่ ลูกพืชอาหารสัตว์ทงั้ ข้าวโพด และถัว่ เหลือง เพราะปัจจุบัน 80% ของวัตถุดิบอาหารสัตว์มาจากในประเทศ” นายแพทย์อนันต์กล่าว


14 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ในอุตสาหกรรมไก่ไทยมีผู้คนอยู่ในห่วงโซ่การผลิตทั้งระบบมากกว่า 2 ล้านคน มีการใช้ วัตถุดิบในประเทศเพื่อการผลิตอาหารสัตว์คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 80 ซึ่งเป็นรายได้หมุนเวียน ภายในประเทศ ช่วยเศรษฐกิจชาติมาโดยตลอด การเก็บอากรฯ จะส่งผลให้ต้นทุนการผลิตไก่ เพิ่มขึ้น กระทบห่วงโซ่การผลิตทั้งหมด ฉุดความสามารถในการแข่งขันของเนื้อไก่ไทย เมื่อเทียบ กับคู่แข่งสำคัญอย่างบราซิล สหรัฐอเมริกา และจีน ที่มีต้นทุนการผลิตต่ำกว่าและได้เปรียบไทย มากอยู่แล้ว โดยรัฐบาลของบราซิลนอกจากจะไม่มีการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมต่างๆ แล้ว ยังให้การสนับสนุนอุตสาหกรรมนี้ในทุกด้าน ทำให้บราซิลมีต้นทุนผลิตเนื้อไก่ต่ำเพียง 25 บาท ต่อกก. ขณะที่ประเทศไทยมีต้นทุนการผลิตสูงถึง 34-35 บาทต่อกก. ซึ่งนับว่าแข่งขันยากอยู่แล้ว จึงจำเป็นต้องขอให้ผบู้ ริหารประเทศช่วยพิจารณาถึงผลดีผลเสียของ ร่าง พ.ร.บ. นีอ้ กี ครัง้ อย่างรอบคอบ ก่อนจะเป็นการทำลายอุตสาหกรรมดาวเด่นของประเทศอุตสาหกรรมนี้ลงอย่างย่อยยับ อนึ่ง (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. .... มาตรา 42 และ มาตรา 43 กำหนดให้ผู้ประกอบการธุรกิจโรงฆ่าสัตว์ต้องจ่ายค่าอากรการฆ่าสัตว์และจ่ายค่า ธรรมเนียมการรับรองให้จำหน่ายเนื้อสัตว์ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งเป็นค่าอากร การฆ่าไก่ 2 บาทต่อตัว และค่าธรรมเนียมการจำหน่ายเนื้อสัตว์อีก 2 บาทต่อตัว รวมเป็น 4 บาท ผลผลิตไก่ของประเทศไทยมีจำนวนราว 1,400 ล้านตัวต่อปี คิดเป็นต้นทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ประมาณ 5,600 ล้านบาท ดังนั้น สมาคมผู้ประกอบการด้านปศุสัตว์จึงจำเป็นต้องยื่นคัดค้าน (ร่าง) พรบ. ดังกล่าวอย่างถึงที่สุด

สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ 03875-8214-6



สภาหอการค้า...รับการร้องเรียนจาก 9 สมาคม ด้านปศุสัตว์สัตว์ปีก

กับผลกระทบของ “พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อจำหน่ายเนื้อสัตว์”

Thailand Focus

16 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

กรุงเทพฯ 13 กรกฎาคม 2559 - ตามทีส่ ภาหอการค้าแห่งประเทศ ได้รบั ข้อร้องเรียนจาก 9 สมาคม ด้านปศุสตว์สัตว์ปีก ที่เป็นสมาชิกของสภาหอการค้าฯ ประกอบด้วย 1) สมาคมส่งเสริม การเลีย้ งไก่แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2) สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ 3) สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ เพือ่ การส่งออก 4) สมาคมผูผ้ ลิตไก่เพือ่ ส่งออกไทย 5) สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่พนั ธุ์ 6) สมาคมผูเ้ ลีย้ งเป็ดเพือ่ การค้าและการส่งออก 7) สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสัตว์ปกี 8) สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย และ 9) สมาคมสั ต วบาลแห่ ง ประเทศไทย ในพระราชู ป ถั ม ภ์ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี เกี่ยวกับร่าง พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์ และจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. .... ซึ่งได้ เข้าสู่การพิจารณาของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. แล้วนั้น ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานกรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ ประธานกลุ่มธุรกิจเกษตรและอาหาร หอการค้าไทย กล่าวว่า จากรายละเอียดหนังสือร้องเรียน ของ 9 สมาคม ด้านปศุสัตว์สัตว์ปีก สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เห็นว่า ร่าง พ.ร.บ. ควบคุม การฆ่าสัตว์เพื่อจำหน่ายเนื้อสัตว์ มีเจตนารมณ์เพื่อการยกระดับมาตรฐานอาหารปลอดภัยให้แก่ ผู้บริโภค มุ่งหวังให้มีการลดการใช้โรงฆ่าสัตว์เถื่อน และหันไปใช้บริการโรงฆ่าสัตว์มาตรฐานที่มี


สุขอนามัยดี ตลอดจนการส่งเสริมมาตรฐานโรงฆ่าสัตว์ในประเทศให้ได้มาตรฐานสากลเพื่อการ บริโภคของประชาชนคนไทย และรองรับตลาดส่งออก แต่การเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียม จำหน่ายเนื้อสัตว์ดังกล่าว อาจจะเป็นอุปสรรคในการนำมาเพื่อประโยชน์สูงสุดของพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ เพราะจะส่งผลให้มีการฆ่าเถื่อนกันมากขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียอากร ดังจะเห็นได้จากกลุ่ม สุกร วัว และกระบือ ที่มีการเก็บค่าอากรกันอยู่ในปัจจุบัน ทำให้มีโรงฆ่าและการฆ่าเถื่อนเกิดขึ้น มากมาย แต่หากเปรียบเทียบกับสัตว์ปีกขนาดเล็ก เช่น ไก่เนื้อ หรือเป็ด ที่ส่วนใหญ่มีการฆ่า ในโรงฆ่ามาตรฐาน และไม่มีการเก็บอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมการรับรองให้จำหน่ายเนื้อไก่ เป็ด ห่าน จึงไม่จำเป็นต้องหลบเลีย่ ง แต่รา่ ง พ.ร.บ. ฉบับใหม่นี้ มีการได้กำหนดอัตราค่าธรรมเนียม การรับรองให้จำหน่ายเนือ้ สัตว์ โดยที่ พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์และจำหน่ายเนือ้ สัตว์ พ.ศ. 2535 ไม่ได้กำหนดไว้ สร้างความกังวลใจให้กับผู้ประกอบการด้านปศุสัตว์สัตว์ปีกเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งจะ ส่งผลกระทบ ดังนี้

3. ลดขีดความสามารถในการแข่งขันตลาดโลก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเนือ้ สัตว์ปกี ของไทย จะเกิดต้นทุนการผลิตทีส่ งู กว่าคูแ่ ข่งทันที เมือ่ เทียบกับประเทศบราซิล สหรัฐฯ และจีน หากแข่งขัน ไม่ได้ การส่งออกเนื้อสัตว์ปีกของไทยจะลดลง ส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ และ เป็ด รวมถึงเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด และถั่วเหลืองในห่วงโซ่อุปทาน การยกเว้นการเก็บค่าอากร

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

2. กระทบต่อเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสัตว์ปกี ทีผ่ า่ นมาทัง้ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสัตว์ปกี และผูป้ ระกอบการ ในอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกของไทย ไม่ว่าจะเป็นไก่ หรือเป็ด ต่างก็ทุ่มเทงบประมาณลงทุน ด้านความปลอดภัยอาหาร เช่น GAP, ISO, GMP, HACCP เป็นต้น การป้องกันโรคด้วยระบบ Bio-Security และการตรวจสารตกค้างรวมถึงมาตรฐานสิ่งแวดล้อมต่างๆ ซึ่งเป็นการลงทุนที่ ค่อนข้างสูง ส่งผลให้กระบวนการผลิตสัตว์ปีกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานอาหาร ปลอดภัยในระดับสากล ประชาชนในประเทศจึงได้ประโยชน์จากบริโภคอาหารโปรตีนชั้นดีในราคา ที่เหมาะสม ซึ่งเป็นการช่วยลดค่าครองชีพให้ประชาชนอีกทางหนึ่ง หากมีค่าอากรการฆ่าและ ค่าธรรมเนียมฯ มาซ้ำเติมเพิ่มภาระต้นทุนขึ้นอีก อาจจะส่งผลต่อการขาดทุนและอาจเป็นการ ทำลายอาชีพการเลี้ยงไก่เป็ดของเกษตรกรที่มีอยู่ทั่วประเทศ

17 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

1. กระทบต่อผู้บริโภค ผู้บริโภคทั้งประเทศต้องรับภาระราคาเนื้อสัตว์ปีกที่สูงขึ้นจากการ เก็บค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมฯ แต่รายได้จากการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมฯ จาก โรงฆ่าสัตว์ปีกจะตกเป็นรายได้ของจังหวัด ซึ่งโรงงานตั้งอยู่เพียง 16 จังหวัด แต่ผู้บริโภคทั้ง ประเทศต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการซื้อเนื้อสัตว์ปีกที่สูงขึ้น ซึ่งขัดกับนโยบายลดค่าครองชีพของ ภาครัฐ ผู้บริโภคจะเสี่ยงต่อการบริโภคเนื้อสัตว์ปีกที่ไม่ถูกสุขอนามัย เพราะจะมีการลักลอบฆ่าสัตว์ นอกโรงฆ่าสัตว์มากขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงการชำระอากรและค่าธรรมเนียมต่างๆ ทำให้ไม่มีการ ตรวจสอบคุณภาพเนื้อสัตว์ก่อนออกจำหน่าย ซึ่งเสี่ยงต่อการปนเปื้อนและการแพร่กระจายของ โรคระบาด และโรคต่างๆ ภาครัฐอาจจะต้องจัดสรรงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ป่วยมากขึ้น


และค่าธรรมเนียมฯ ในอุตสาหกรรมไก่และเป็ดในปัจจุบันมีส่วนทำให้ไก่และเป็ดของไทยแข่งขันได้ ในเวทีโลกได้ในระดับหนึง่ หากมีการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมขึน้ มาในช่วงรัฐบาลนี้ ย่อมส่งผล ต่ออุตสาหกรรมไก่ และเป็ดของไทยอย่างชัดเจน

18 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ในนามของสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ 9 สมาคม ด้านปศุสตั ว์ ขอสนับสนุน พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อจำหน่ายเนื้อสัตว์ เพื่อการส่งเสริมมาตรฐานและยกระดับอุตสาหกรรม ปศุสัตว์สัตว์ปีกไทยให้ได้มาตรฐานสากลและส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อย่างไรก็ดี เพือ่ ตอบสนองเป้าประสงค์แห่ง พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพือ่ จำหน่ายเนือ้ สัตว์ ขอเสนอ ให้พิจารณายกเลิกในการเก็บค่าอากรการฆ่าและค่าธรรมเนียมการรับรองให้จำหน่ายเนื้อไก่ เป็ด ห่าน ตาม พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อจำหน่ายเนื้อสัตว์ฉบับใหม่ และขอให้คงไว้ตามเดิม

ข้อมูลโดย : ฝ่ายธุรกิจเกษตร อาหาร และบริการ หอการค้าไทย


นโยบายรัฐ…ทำลายอุตสาหกรรมไก่ ผู้เขียน รศ.ดร.ศรเทพ ธัมวาสร คณะเกษตรฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผมเห็ น ด้ ว ยกั บ ข้ อ เสนอแนะดั ง กล่ า ว อย่างยิ่ง โดยเฉพาะในเรื่องของกฎหมายและ กฎระเบียบที่ควรเอื้ออำนวยความสะดวกด้าน การค้าและการลงทุน ไม่ใช่เป็นกฎหมายทีร่ า่ งขึน้ ที่มา : มติชนออนไลน์

ขณะนีก้ ำลังจะมีการพิจารณา (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. .... โดยเจตนารมณ์และสาระสำคัญก็คือ ต้องการพัฒนาโรงฆ่าสัตว์ให้ได้มาตรฐานและ สร้างความปลอดภัยด้านอาหาร เพือ่ ให้ผบู้ ริโภค ได้บริโภคเนื้อสัตว์ที่ถูกสุขอนามัย ไม่มีโรคและ สารตกค้างในเนือ้ สัตว์ แต่ (ร่าง) พ.ร.บ. ฉบับนี้ กลับมีการทำตารางแนบท้ายให้มกี ารเก็บค่าอากร และค่าธรรมเนียมจำหน่ายเนื้อสัตว์ ซึ่งคาดเดา ได้วา่ จะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมปศุสตั ว์ของ ไทยทีเ่ ป็นอุตสาหกรรมทีท่ ำรายได้สปู่ ระเทศชาติ ปีละหลายแสนล้านบาทด้วย อันที่จริง (ร่าง) พ.ร.บ. ดังกล่าวนับว่า มี เ จตนารมณ์ ที่ ดี เ พื่ อ การยกระดั บ มาตรฐาน อาหารปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค มุ่งหวังให้มีการ ลดการใช้โรงฆ่าสัตว์เถื่อน และหันไปใช้บริการ โรงฆ่าสัตว์มาตรฐานที่มีสุขอนามัยที่ดี แต่การ ที่มีการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมจำหน่าย เนือ้ สัตว์ดงั กล่าว เป็นการขัดแย้งกันในตัว เพราะ การเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมต่างๆ ส่งผล ให้มีการฆ่าเถื่อนกันมากขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงการ

Thailand Focus

ทำไมจึงกล่าวเช่นนั้น?

19 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นอกจากนี้ ยังแนะนำให้รัฐปรับบทบาท ให้พร้อมกับบริบทใหม่ซึ่งมี 2 ส่วนสำคัญ คือ 1) รัฐควรเปลี่ยนบทบาทจาก “การควบคุมและ กำกับ” มาเป็นการสนับสนุนให้กลไกตลาดทำงาน มากขึน้ และ 2) ภาครัฐต้องทบทวนกฎระเบียบ ทีม่ อี ยูใ่ ห้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบนั เพราะไทยมี กฎหมายไม่ต่ำกว่า 1 แสนฉบับ ใบอนุญาตที่ ภาคธุรกิจต้องขอ 1,500 ใบอนุญาต กฎระเบียบ ที่มากเกินพอดีเช่นนี้ทำให้เกิดต้นทุน 10-15% ของจีดีพีประเทศ

มาสร้างอุปสรรค หรือเพิม่ ภาระต่างๆ ให้เกิดขึน้ แก่ภาคการผลิตและประชาชน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

คุณประสาร ไตรรัตน์วรกุล อดีตผู้ว่า การธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าว ปาฐกถาในเวทีเสวนาแห่งหนึง่ ว่า การรับมือการ เปลี่ยนแปลงของโลกนั้น หลายภาคส่วนล้วน ต้องปรับตัว ขณะทีภ่ าครัฐเองก็เป็นภาคส่วนหนึง่ ที่จำเป็นต้องปรับตัวเพื่อการขับเคลื่อนประเทศ ซึ่งมีข้อเสนอแนะให้รัฐควรปรับตัวในหลายด้าน เช่น ที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยเติบโตได้จากการ ผลักดันของภาคธุรกิจ ซึ่งภาครัฐควรต้องปรับ กลยุทธ์ใหม่ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประเทศมากขึ้น


20 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

เสียอากร ดังจะเห็นได้จากกลุม่ สุกรและวัวควาย ที่ มี ก ารเก็ บ ค่ า อากรกั น อยู่ ใ นปั จ จุ บั น มี ก าร ฆ่าเถื่อนกันมาก แต่หากเปรียบเทียบกับสัตว์ปีก ขนาดเล็ก เช่น ไก่เนือ้ หรือเป็ด ทีส่ ว่ นใหญ่มกี าร ฆ่าในโรงฆ่ามาตรฐาน เพราะปัจจุบนั ไม่มกี ารเก็บ ค่าอากรต่างๆ จึงไม่มีต้องหลบเลี่ยง

นอกโรงฆ่าสัตว์มากขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงการชำระ อากรและค่าธรรมเนียมต่างๆ ซึง่ จะทำให้ผบู้ ริโภค เสีย่ งต่อการบริโภคเนือ้ สัตว์ปกี ทีไ่ ม่ถกู สุขอนามัย และเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด โรคระบาด โดยเฉพาะ ไข้หวัดนกที่หากกลับมาระบาดซ้ำอีกจะเรียกว่า ได้ไม่คุ้มเสีย สาหัสกันทั้งประเทศแน่นอน

ที่ผ่านมาทั้งเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีกและ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีก ของไทย ไม่ว่าจะเป็นไก่ หรือเป็ด ต่างก็ทุ่มเท งบประมาณลงทุนด้านความปลอดภัยอาหาร การป้องกันโรคและการตรวจสารตกค้าง รวมถึง มาตรฐานสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นการลงทุนที่ค่อน ข้างสูง ส่งผลให้กระบวนการผลิตสัตว์ปกี เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานอาหาร ปลอดภัยในระดับสากล ประชาชนในประเทศ จึงได้ประโยชน์จากบริโภคอาหารโปรตีนชัน้ ดีใน ราคาที่ลดลง ซึ่งเป็นการช่วยลดค่าครองชีพให้ ประชาชนอีกทางหนึ่ง

การยกเว้นการเก็บค่าอากรและค่าธรรมเนียมฯ ในอุตสาหกรรมไก่และเป็ดตลอดช่วงที่ ผ่านมา มีสว่ นทำให้ไก่และเป็ดของไทยแข่งขันได้ ในเวทีโลก หากมีการค่าเก็บอากรและค่าธรรมเนียมขึน้ มาในช่วงรัฐบาลนี้ ย่อมส่งผลให้อตุ สาหกรรมไก่และเป็ดของไทยมีตน้ ทุนส่งออกทีส่ งู ขึน้ ความสามารถในการแข่งขันกับบราซิล สหรัฐฯ และประเทศผูส้ ง่ ออกอืน่ ๆ ย่อมลดน้อยถอยลง… นีค่ งเป็นตัวอย่างหนึง่ ของกฎระเบียบทีม่ ากเกินไป และทำให้เกิดต้นทุน 10-15% ของจีดพี ปี ระเทศ อย่างที่คุณประสารกล่าวไว้….สุดท้าย ต้นทุนที่ เพิ่มขึ้นนี้จะถูกผลักดันให้ราคาเนื้อไก่สูงขึ้นและ ผู้บริโภคจะได้รับผลกระทบจากการซื้อเนื้อไก่ที่ แพงขึ้นแน่นอน

ด้านภาครัฐเองก็มคี วามเข้าใจและต้องการ ให้คนไทยมีอาหารปลอดภัยรับประทาน รวมถึง สนับสนุนให้อตุ สาหกรรมไก่เนือ้ ของไทยสามารถ แข่งขันได้ในเวทีโลก จึงยกเว้นการเก็บค่าอากร และค่าธรรมเนียมจำหน่ายเนือ้ สัตว์มาโดยตลอด กระทัง่ อุตสาหกรรมไก่เนือ้ ไทยได้รบั ความเชือ่ มัน่ จากนานาประเทศ กลายเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4 ของโลก การตัง้ ใจเรียกเก็บอากรและค่าธรรมเนียมฯ กับสัตว์ปกี ไก่และเป็ดด้วยนัน้ ไม่วา่ จะเรียกเก็บใน อัตราใดย่อมส่งผลลัพธ์ทสี่ วนทางต่อเจตนารมณ์ ของ พ.ร.บ. กล่าวคือ จะทำให้มกี ารลักลอบฆ่าสัตว์

การเปลี่ยนแปลงของโลกเกิดขึ้นทุกวัน การปรับตัวให้ทันโลกทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อ ความอยูร่ อดของประเทศก็เป็นสิง่ จำเป็น บทบาท ของรัฐควรเป็นผู้สนับสนุนให้ประเทศสามารถ รับมือต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนับเป็นกลไก สำคัญในการขับเคลื่อนประเทศ “นโยบายรัฐ” จึงเป็นตัวแปรที่ช่วยจะลดอุปสรรคทางการค้า ให้ประเทศเดินหน้าต่อ… ไม่ใช่รา่ งขึน้ มาเพือ่ เป็น อุปสรรคของประเทศชาติเสียเอง




"ไข่ไก่" อาหารมหัศจรรย์ ทานวันละกี่ฟองดี?

แม้วา่ ไข่จะมีประโยชน์มากมาย แต่ทผี่ า่ นมากลับพบว่าคนไทยมีอตั ราการบริโภคไข่ไก่ เพียง 200 ฟองต่อคนต่อปีเท่านั้น ซึ่งถือว่าต่ำมากเมื่อเทียบประเทศอื่นๆ อย่างเช่น เม็กซิโก ทีบ่ ริโภคมากถึง 430 ฟองต่อคนต่อปี ขณะที่ จีน ญีป่ นุ่ มาเลเซีย บริโภค 340 330 และ 300 ฟองต่อคนต่อปีตามลำดับ ส่วนสหรัฐอเมริกา และรัสเซีย บริโภคคนละ 290 และ 280 ต่อปีตามลำดับ (ข้อมูลจาก FAOSTAT: FAO Statistics) ที่เป็นเช่นนี้ อาจเป็นเพราะบางคนยังกังวลเกี่ยวกับเรื่องไขมัน และคอเลสเตอรอลในไข่ อย่างไรก็ตาม แม้ในไข่แดง 1 ฟอง จะมีปริมาณคอเลสเตอรอลสูงถึง 186 มิลลิกรัม แต่การดูดซึมคอเลสเตอรอลของแต่ละบุคคลก็แตกต่างกันไป และยังขึ้นกับ อาหารอย่างอื่นที่รับประทานด้วยกัน โดยมีผลงานวิจัยรับรองว่าคอเลสเตอรอลที่ได้รับ ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันพุธที่ 20 กรกฎาคม 2559

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ไข่ยังอุดมไปด้วยแร่ธาตุ ทั้งธาตุเหล็ก แคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส โดยเฉพาะซิลิเนียม (Selenium) ที่มีมากถึง 1 ใน 4 ของ ปริมาณที่ร่างกายของคนเราต้องการในแต่ละวัน โดยเป็นสารสำคัญ ที่ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอความชรา ป้องกันโรคสมองเสื่อมหรืออัลไซเมอร์ได้

21 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

"ไข่ไก่" เป็นแหล่งโปรตีนคุณภาพดีและเต็มไปด้วยวิตามิน และ แร่ธาตุทจี่ ำเป็นต่อร่างกาย เหมาะสำหรับคนทุกเพศทุกวัย ในไข่ไก่ 1 ฟอง มีสารอาหารสำคัญมากมาย ทั้งอัลบูมิน (Albumin) ที่ช่วยซ่อมแซม ส่วนต่างๆ ของร่างกาย และเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ส่วนโคลีน (Choline) ที่พบมากในไข่แดงนั้น ช่วยบำรุงสมองและระบบประสาท โฟเลท (Folate) ช่วยให้ทารกในครรภ์มารดามีสุขภาพดี

Food Feed Fuel

โดย ดร.สุดาทิพย์ แซ่ตั้น ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : fagists@ku.ac.th


จากอาหารที่ จ ะมี ผ ลต่ อ ระดั บ ไขมั น ใน เลือดนัน้ ไม่ได้มผี ลมาจากคอเลสเตอรอล จากไข่เท่านั้น แต่มีผลมาจากอาหารอื่น ทีร่ บั ประทานร่วมกัน และความสามารถ ในการดูดซึมคอเลสเตอรอลของแต่ละ บุคคลด้วย

22 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

จากงานทบทวน (review) บทความ การวิจัยหลายๆ ชิ้น พบว่า  ไม่มีความ สัมพันธ์ระหว่างการบริโภคไข่กับความ เสี่ ย งต่ อ การเป็ น โรคหลอดเลื อ ดหั ว ใจ ในกลุม่ ตัวอย่างทีส่ ขุ ภาพดี ทำให้สมาคม โรคหัวใจของสหรัฐอเมริกา (American Heart Association: AHA) ทำการ เปลีย่ นแปลงข้อแนะนำการบริโภคไข่ จาก เดิมแนะนำไว้ว่าไม่ควรทานเกิน 3 ฟอง ต่อสัปดาห์ เป็นสามารถทานได้วันละ ไม่เกิน 1 ฟอง ยกเว้นผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน และผู้ที่ต้องควบคุมระดับคอเลสเตอรอล ทัง้ หมด และ LDL-cholesterol ในเลือด ไม่ควรรับประทานไข่แดงเกิน 3 ฟองต่อสัปดาห์ และควรอยู่ภายใต้คำแนะนำของ แพทย์ ที่ผ่านมา ทั้งภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต่างร่วมกันรณรงค์ให้คนไทย มีความเข้าใจที่ถูกต้องและบริโภคไข่ให้เหมาะสมกับเพศและวัย ทำให้คนไทยเพิ่มการ บริโภคไข่ไก่เป็นลำดับ แต่ก็ยังไม่เท่าเทียมกับประเทศที่พัฒนาแล้วดังกล่าวข้างต้น ทั้งที่ไข่ไก่เป็นอาหารมหัศจรรย์ที่มีประโยชน์มหาศาล ราคาไม่แพง แถมซื้อหาได้ง่าย ทุกตลาดทั่วไทย ลองคิดเมนูไข่ที่หลากหลาย ปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการปรุงและการ รับประทาน รวมทัง้ สอดแทรกไข่เข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ของอาหารจานโปรด เพือ่ เพิม่ สิง่ ดีๆ สู่ร่างกาย รับรองว่าคุณจะทั้งสนุกและอร่อยกับอาหารจานไข่ไปพร้อมๆ กับการได้รับ วิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ สร้างสุขภาพที่แข็งแรงขึ้นทุกวัน


ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ภาพประกอบ : http://www.hakanfoods.com/sites/default/files/images/ziStock_000011230252Medium_hessian_sack_of_rice_512x384.jpg

23 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นางอภิ ร ดี ตั น ตราภรณ์ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงพาณิ ช ย์ เปิดเผยว่า กระทรวงพาณิชย์คาดการณ์ การส่งออกข้าวในช่วงครึง่ หลังของ ปี 2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากตลาดข้าวทั้งในและต่างประเทศ ยังมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง มีสัญญาณที่ดีจากผู้นำเข้าสำคัญ ได้แก่ จี น ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ และอิ น โดนี เ ซี ย พร้ อ มจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การตลาด อย่างต่อเนื่อง เตรียมจัดคณะเยือน สิงคโปร์ จีน ฮ่องกง โมซัมบิก และ เคนยา มั่นใจภาพรวมของการส่งออกข้าวปี 2559 เป็นไปตามเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ที่ประมาณ 9.50 ล้านตัน การส่งออกข้าวในช่วง 6 เดือนแรก ของปี 2559 ได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งในแง่ปริมาณและมูลค่า การ ประมวลข้อมูลจากใบอนุญาตส่งออกข้าว ในช่วง 6 เดือนแรก (มกราคม20 มิถนุ ายน 2559) ไทยส่งออกข้าวปริมาณ 4.71 ล้านตัน มูลค่า 1,546 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 73,898 ล้านบาท ปริมาณส่งออกข้าวเพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันของปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 11.42 และมูลค่าเงินบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.81 ซึ่งประเทศไทยได้ส่งออกข้าวขาวเป็นอันดับหนึ่งมาก กว่าครึง่ หนึง่ ของการส่งออกในภาพรวม รองลงมาเป็นข้าวหอมมะลิ ข้าวนึง่ ข้าวเหนียว ข้าวปทุมธานี และข้าวกล้อง โดยตลาดส่งออกข้าวที่สำคัญของ ไทยส่วนใหญ่เป็นตลาดในภูมิภาคแอฟริกา รองลงมา ได้แก่ ตลาดภูมิภาค เอเชีย อเมริกา และยุโรป

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

พาณิชย์คาดส่งออกข้าว 6 เดือนหลัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มั่นใจ ภาพรวมการส่งออกข้าวทั้งปี ได้ตามเป้าหมาย

Food Feed Fuel

พาณิชย์คาด ส่งออกข้าว 6 เดือนหลัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น


P by: Ja photo

24 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

สำหรับการส่งออกข้าวในช่วงครึ่งหลังของปี 2559 คาดว่า จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากตลาดข้าวทั้งใน และต่างประเทศยังมีความต้องการอย่างต่อเนือ่ ง โดย ในส่วนของการส่งมอบข้าวแบบรัฐต่อรัฐให้แก่รฐั บาล จีนยังคงมีอย่างต่อเนื่อง โดยจะเริ่มต้นส่งมอบข้าว ภายใต้สญ ั ญาใหม่ประมาณอีก 1 ล้านตัน ในเดือน สิงหาคม 2559 รวมทั้ง คาดว่าประเทศผู้นำเข้า ข้าวหลัก อาทิ ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย จะมีการ นำเข้ า ข้ า วในรู ป แบบรั ฐ ต่ อ รั ฐ เพิ่ ม เติ ม ในครึ่ ง หลั ง ของ 2559 ในขณะที่อินเดียซึ่งเป็นประเทศคู่แข่งสำคัญ ได้ ประสบปัญหาภัยแล้ง ทำให้ต้องมีการเก็บข้าวในสต็อกเพิ่มขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศ ซึ่งส่งผลต่อศักยภาพในการส่งออก ที่ลดลง ทั้งนี้ ภาพรวมของการส่งออกข้าวปี 2559 น่าจะเป็นไปตามเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ที่ประมาณ 9.50 ล้านตัน โดยกระทรวงพาณิชย์มีแผนงานและ กิจกรรมการตลาดในช่วงครึง่ หลังของปี เพือ่ ผลักดันการส่งออกข้าวและผลิตภัณฑ์ ข้าวอย่างต่อเนื่อง ทั้งในรูปแบบของการจัดผู้แทนการค้าภาครัฐ และภาคเอกชน เดินทางขยายตลาด และกระชับความสัมพันธ์ทางการค้า รวมทั้งประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์ข้าวไทย อาทิ ประเทศสิงคโปร์ จีน ฮ่องกง โมซัมบิก และเคนยา เป็นต้น


พาณิชย์ระบายข้าวตามเป้า

“ในครึ่งปีแรกไทยส่งออกข้าวได้ดีโดยสามารถส่งออกได้แล้วเกือบ 5 ล้านตัน ทั้งปีนี้ไทยน่าจะได้เกิน 9 ล้านตันแน่นอน โดยคาดว่าข้าวไทย น่าจะกลับมาดีขึ้นในช่วงไตรมาส 4 เพราะผู้นำเข้าหลักๆ อย่างฟิลิปปินส์

ที่มา : หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีท่ี 36 ฉบับที่ 3,170 วันที่ 30 มิถุนายน- 2กรกฎาคม พ.ศ. 2559

25 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิส์ มาคมผูส้ ง่ ออกข้าวไทย เปิดเผยว่า การระบายข้าวในสต็อกรัฐบาลรอบล่าสุด (ครั้งที่ 4/2559) ปริมาณ 2.23 ล้านตัน ที่สามารถระบายได้ถึง 1.11 ล้านตัน ถือเป็น ปริมาณที่มากพอสมควร ส่วนสถานการณ์การส่งออกข้าวในช่วงไตรมาส 3 ของปีนี้คาดจะเริ่มชะลอลงโดยเฉลี่ยคาดจะส่งออกได้เดือนละประมาณ 7 แสนตัน จากครึ่งปีแรกที่ส่งออกได้เฉลี่ย 8-9 แสนตันต่อเดือน จาก ราคาข้าวไทยช่วงนี้สูงกว่าคู่แข่งขัน ซึ่งเป็นผลกระทบจากภัยแล้งที่ทำให้ ผลผลิตลดลง ล่าสุดราคาข้าวขาว 5% เอฟโอบี (ราคา ณ ท่าเรือต้นทาง) อยูท่ ี่ 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ขณะทีข่ า้ วประเภทเดียวกันของเวียดนาม อยูท่ ี่ 375 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน และข้าวอินเดียที่ 385 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน สาเหตุทรี่ าคาของเวียดนามลดลงมาเนือ่ งจากจีนซึง่ เป็นลูกค้าสำคัญ ของเวียดนามได้ชะลอการนำเข้า

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

เอกชนชม ก.พาณิชย์ ระบายข้าวได้ตามเป้า ครึง่ ปีแรกส่งออกได้เกือบ 5 ล้านตัน มัน่ ใจ 9 ล้านตันปีนถี้ งึ ฝัง่ เล็งไตรมาส 4 ฟิลปิ ปินส์-อินโดฯ จะกลับมาไทย “ประยุทธ์” ไฟเขียวขายเปิดประมูลล็อตล่าสุด 1.99 ล้านตัน ให้เอกชน 39 ราย ทำสต็อกรัฐลดเหลือ 9.5 ล้านตันด้าน “อภิรดี” เผย มีต่างประเทศสนใจซื้ออีกเฉียดล้านตัน

Food Feed Fuel

มั่นใจ ส่งออกเกิน 9 ล้านตัน


อินโดนีเซีย จะกลับมาซือ้ ในช่วงนัน้ และจะเป็นช่วงทีไ่ ทยมีผลผลิตข้าวนาปรัง รอบ 2 ออกมาในช่วงเดือนกันยายน ซึ่งประเทศเหล่านี้จะมีความต้องการ ซื้อข้าวในฤดูกาลใหม่” นายชูเกียรติกล่าว ด้านนางดวงพร รอดพยาธิ์ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ (คต.) เปิดเผยว่า ล่าสุด พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะ ประธานกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ได้เห็นชอบให้ กระทรวงพาณิชย์โดยกรมการค้าต่างประเทศจำหน่ายข้าวสารในสต็อกของ รัฐเป็นการทัว่ ไป ครัง้ ที่ 4/2559 ให้แก่ผชู้ นะการประมูล 29 ราย จำนวน 84 คลัง รวมปริมาณ 1.11 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่าเสนอซื้อ 11,541.03 ล้านบาท

26

ทั้งนี้ หลังจากการจำหน่ายข้าวสารในสต็อกของรัฐเป็นการทั่วไป ครั้งนี้แล้วจะคงเหลือในสต็อกรัฐบาลประมาณ 9.5 ล้านตัน และนับแต่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้เข้ามาบริหารประเทศ ต่อเนื่อง ถึงรัฐบาลชุดปัจจุบัน สามารถระบายสต็อกได้แล้ว 9.7 ล้านตัน (ยังไม่รวม การเปิดประมูลครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. ที่ผ่านมา) แบ่งเป็น การเปิดประมูลทั่วไป 6.4 ล้านตัน และการขายแบบรัฐต่อรัฐ (จีทูจี) 3.3 ล้านตันให้แก่ จีน ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

สอดรับกับนางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ ที่ระบุว่าล่าสุดมี 2 ประเทศ คือ ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย ได้แสดง ความจำนงจะซื้อข้าวจากไทยในรูปแบบรัฐจีทูจี คาดว่าจะมีปริมาณรวมกัน เกือบ 1 ล้านตัน ขณะนี้อยู่ระหว่างการหารือถึงความชัดเจน ขณะที่มี แผนจะนำคณะเดินทางเยือนประเทศสิงคโปร์ ช่วงเดือนกรกฎาคมนีเ้ พือ่ เปิด ตลาดข้าวเพิ่มขึ้น

ภาพประกอบ : http://www.gov.ph/images/uploads/rice.png


ª·Á ¦µ³®r°µ®µ¦Â¨³°µ®µ¦­´ ªr°¥nµ ¦ª Á¦Èª oª¥ TANGO

TANGO is the next-generation FT-NIR spectrometer

³®r Á· ¦µ ª ¦ µ ´ ­Îµ®¦ r ªo ¥ » ­ ¬ ª °¡Á· « µ¦­ ´ o Á­ °µ® ° O r.com

NG bruke TA .BOPT.TH@ o

°n Inf · Ä ­

Á à 襸 )7 1,5 ¦´ ¦° à ¥ %UXNHU Ä o µ nµ¥ oª¥® oµ °­´¤ ´­ ¨³¦³ µ¦ ´ µ¦ ´ª°¥nµ Á¡¸¥ ¦¦ »Ä oª¥ ª´ ¦³ ´ µ¦­´ µ Â È ¦µª r° ´ à ¤´ · nµ¥Ã° ­¤ µ¦¦³®ªnµ Á ¦º°É %UXNHU 2SWLFV 1,5 ­Á à ¦¤·Á °¦r » ¦»n Å o à ¥ ¦ ­¤ µ¦¤µ ¦ µ ­Îµ®¦´ ¨· £´ r®¨µ ®¨µ¥ · Ťnªµn ³Á È °µ®µ¦ ­´ ªr­ÎµÁ¦È ¦¼ ª´ » · °µ®µ¦­´ ªr  o Á ¦º°É ¦» ¦­ ¨· £´ rÄ °» ­µ ¦¦¤ Îʵ µ¨ ­¤ µ¦ ° %UXNHU ­µ¤µ¦ εŠoÅ oà ¥ ¦ ¨³®µ εÁ È ­µ¤µ¦ ¦´ Á ¨¸¥É Á¡º°É Ä®oÁ oµ ´ ´ª°¥nµ Ä Â n¨³ o° ¸ÅÉ o

Á à 襸Á ¸¥¦r° · ¢¦µÁ¦ ­Á à ¦­Ã ¸ 1HDU ,QIUDUHG 6SHFWURVFRS\ 1,56 Á È »  ­Îµ ´ nª¥Ä®o µ¦ª·Á ¦µ³®r » £µ¡ ° ´ª°¥nµ εŠo°¥nµ ¦ª Á¦ÈªÃ ¥Å¤n °o 娵¥ ´ª°¥nµ ®¦º°Ä o­µ¦Á ¤¸Ä Ç ¸­É ε ´ µ¦ª·Á ¦µ³®r ªo ¥ 1,5 Á¡¸¥  n® ¹É ¦´ ­µ¤µ¦ Ä®o Ê °o ¤¼¨° r ¦³ ° µ Á ¤¸ ° ´ª°¥nµ Å o ®¨µ ®¨µ¥ · Ťn µÎ Á È o° ε µ¦ª·Á ¦µ³®r ʵΠÁ®¤º° µ¦ª·Á ¦µ³®r µ Á ¤¸Â °º É Ç °Á · ª³ ¤Á ¦º°É ¤º° ¡ ³ ¼Áo ¸¥É ª µ ¨³¦´ ¢´ ­´¤ µ¡¦o°¤°µ®µ¦ªnµ ¼ ¦· ¬ ´ ¦¼Á °¦r°°¡ · ­r Ä µ 9,&7$0 $6,$ «¼ ¥r­ ­· oµÅ Á ¦» Á ¡¤®µ ¦ Ä ¦³®ªnµ ª´ ¸É ¤¸ µ ¤ µ¦­µ · Á ¦º°É ¤º°Ã ¥ ¼Áo ¸¥É ª µ ¦³ ´ µ µ µ · ¡¦o°¤ ¦· µ¦ ° ªnµ 6QDFN /HDUQ ¦· µ¦ » ª´ ¼ & ¨³ ­µ · £µ¬µÅ ¥ ­µ · £µ¬µ°´ §¬

­ Ä · n° Info.BOPT.TH@bruker.com

Innovation with Integrity

Bruker BioSpin AG Bangkok - Thailand Phone +66 2 642 6900 Fax +66 2 642 6901

F T-NIR



โรงแป้งมัน-มันเส้นวิกฤติ

ปี 2556 2557 2558 2559 (ม.ค.-เม.ย.)

ปริมาณ (ล้านตัน) 9.70 11.19 11.68 4.12

มูลค่า (ล้านบาท) 98,007 114,356 117,325 38,507

ที่มา : กรมศุลกากร

นายปรีชา เต็มพร้อม นายกสมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย และกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บางนาแป้งมัน จำกัด (บจก.) เปิดเผยว่า ขณะนี้ผู้ประกอบการแป้งมันสำปะหลังที่เป็นสมาชิก ของสมาคมประมาณ 100 ราย กำลังได้รับผลกระทบอย่างมากจากวัตถุดิบมันสำปะหลังป้อน โรงงานขาดแคลน อันเนื่องมาจากวิกฤติภัยแล้งที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ได้ส่งผลกระทบอย่าง รุนแรงต่อผลผลิตหัวมันสดของเกษตรกรได้รับความเสียหาย รวมถึงต้องปลูกซ่อมแซม ขณะที่ หัวมันสดทีข่ ดุ ขึน้ มาแล้วก็มคี ณ ุ ภาพเชือ้ แป้งทีล่ ดลง เช่น จากทีเ่ คยมีเชือ้ แป้ง 25-30% ก็ลดลงเหลือ 15-20% เป็นต้น

ที่มา : หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีท่ี 36 ฉบับที่ 3,167 วันที่ 19-22 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ภาพประกอบ : https://purinaproclub.com/media/1661/cassava-root.png

27 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

สถิติการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังทุกประเภทของไทย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

100 โรงแป้งมันจ่อหยุดผลิตยาวถึงปลายปี หลังขาดแคลนวัตถุดิบหนัก จากแล้งจัดทำผลิตวูบ และบางส่วนเสียหาย รายใหญ่ “บางนาแป้งมัน” คาดปีนผี้ ลผลิต และยอดขายวูบ 10% ขณะโรงงานมันเส้นโดนด้วย “เอสทีซี ทาปิโอก้า กรุ๊ป” คาดปีนี้ส่งออก ลดลงกว่าครึง่ จากหัวมันขาด จีนลดนำเข้า ฟันธงภาพรวมส่งออกมันเส้นไทยปีนลี้ ดเหลือระดับ 5 ล้านตัน จาก 7.2 ล้านตัน ปี 58 ขณะผลผลิตมันปี 59/60 ยังต้องลุ้น

Food Feed Fuel

วัตถุดิบขาดแคลนหนัก/จีนหวดซํ้าส่งออกวูบ


ภาพประกอบ : http://acsh.org/wp-content/uploads/2015/10/shutterstock_283737440.jpg http://www.ghanaclass.com/wp-content/uploads/2015/12/Cassava-root-web.png

28 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

“ภัยแล้งในปีนรี้ นุ แรงมาก หัวมันสำปะหลัง ทั่วประเทศตอนนี้ก็ใกล้หมด จะมีผลผลิตใหม่ อีกทีในช่วงเดือนตุลาคม แต่ปีนี้คาดผลผลิต จะออกช้าเพราะได้รบั ผลกระทบจากภัยแล้ง ทำให้ การปลูกและการเก็บเกี่ยวของเกษตรกรต้อง ล่าช้าออกไป คาดปีนี้จะมีของออกมาอีกทีช่วง เดือนธันวาคม 2559-มกราคม 2560 ดังนั้น สิ้นเดือนนี้ โรงงานแป้งมันส่วนใหญ่คงปิดกัน เป็นแถวเพราะไม่มีวัตถุดิบใช้ในการผลิต และ จากปกติ จ ะไปเปิ ด การผลิ ต กั น อี ก ที ช่ ว งเดื อ น ตุ ล าคม แต่ ปี นี้ ค งเปิ ด ผลิ ต ล่ า ช้ า ออกไปตาม วัตถุดบิ ภาพรวมอุตสาหกรรมแป้งมันปีนไี้ ม่คอ่ ย ดี” สำหรับการผลิตแป้งมันของบริษทั บางนา แป้งมัน ซึง่ มี 3 โรงงานผลิต ในแต่ละปีทผี่ า่ นมา จะผลิตสินค้าได้ 6-7 เดือนต่อปี และเฉลี่ย สามารถผลิตสินค้าได้ราว 8 หมื่นตันต่อปี ใน จำนวนนี้ส่งออกต่างประเทศสัดส่วน 80% (ส่ง ออกไปตลาดจี น สั ด ส่ ว น 35% อิ น โดนี เ ซี ย

35% และอีก 30% จำหน่ายในประเทศ) ซึ่ง จากผลกระทบจากภั ย แล้ ง วั ต ถุ ดิ บ ขาดแคลน คาดยอดขายของบริษัทในปีนี้ทั้งในแง่ปริมาณ และมูลค่าจะลดลงในเบื้องต้น 10% เช่ น เดี ย วกั บ นายเจน วงศ์ บุ ญ สิ น ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ(อาวุโส) บจก.เอสทีซี ทาปิ โ อก้ า กรุ๊ ป หนึ่ ง ในผู้ ผ ลิ ต และส่ ง ออก ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังรายใหญ่ ที่กล่าวว่า ใน ภาพรวมการส่ ง ออกมั น เส้ น ซึ่ ง เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มันสำปะหลังกลุ่มหลักของไทยในช่วง 5 เดือน แรกของปี นี้ มี ผ ลผลิ ต และส่ ง ออกลดลงจาก ช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมาประมาณ 1.5 ล้านตัน อันเนื่องมาจาก 1. ผลผลิตหัวมันสดของไทย ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ทำให้ผลผลิตลดลง 15% และ 2. ราคาข้าวโพดในจีน (ซึ่งรัฐบาล จีน ให้ใช้ผลิตแอลกอฮอล์แทนมันเส้น) ลดลงจาก 2,300 หยวนต่อตัน เหลือราว 2,000 หยวน ต่อตัน กระทบต่อราคามันเส้นลดลงไปด้วย


“ทั่วโลกกำลังจับตามองสหรัฐฯ ที่กำลังปลูกข้าวโพดในคร็อปใหม่ว่าในอีก 6-7 สัปดาห์ นับจากนี้จะได้รับผลกระทบจากภัยแล้งหรือไม่ ถ้าเขาแล้งและผลผลิตเขาเสียหายราคาธัญพืชก็ จะสูงขึ้น ขณะที่เวลานี้ราคามันเส้นส่งออก (FOB) อยู่ที่ 185-190 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน (ราคา ณ 14 มิ.ย. 59) ลดลงจากปี 2558 ที่ราคาเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 205-235 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน” ทั้งนี้จากวัตถุดิบหัวมันสดของไทยที่ลดลงจากผลกระทบภัยแล้ง และจีนผู้นำเข้ามันเส้น รายใหญ่ของไทยลดการนำเข้า คาดในปีนี้การส่งออกมันเส้นของไทยอาจลดลงเหลือระดับ 5 ล้านตัน จากปี 2558 ส่งออกได้ 7.2 ล้านตันหรือลดลง 2.2 ล้านตัน โดยในส่วนของเอสทีซีฯ ในปีนี้การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของบริษัทอาจจะลดลง 50% จากปี 2558 ส่งออกได้ กว่า 4 แสนตัน รวมถึงผู้ประกอบการรายอื่นก็จะส่งออกลดลงเช่นเดียวกัน

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

29 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ขณะที่ นางสุรีย์ ยอดประจง นายกสมาคมการค้ามันสำปะหลังไทย เผยว่า สมาคม การค้ามันสำปะหลังทุกสมาคม และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้เคยประเมินร่วมกันถึง ผลผลิตหัวมันสดของไทยในปีการผลิต 2558/2559 (จะเก็บเกี่ยวแล้วเสร็จภายใน ต.ค. 59) จะมี ผลผลิต 32 ล้านตัน แต่ผลการสำรวจล่าสุดคาดจะอยู่ที่ 28-30 ล้านตัน ขณะที่ในปีการผลิต 2559/2560 ที่สัดส่วนประมาณ 20% เกษตรกรได้เริ่มปลูกมันในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2558 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2559 คาดผลผลิตจะเสียหายจากภัยแล้งประมาณ 10% ส่วนสัดส่วนอีก 80% ที่เริ่มปลูกในช่วงเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมายังต้องลุ้นว่าจะมีฝนตก และทำให้ผลผลิตไม่ได้รับความ เสียหายมากน้อยเพียงใด อย่างไรก็ดี ผลผลิตหัวมันในปี 2559/2560 คาดการเก็บเกี่ยวจะล่าช้า ออกไป โดยจะเริ่มเก็บผลผลิตในเดือนธันวาคม 2559 ถึงมกราคม 2560 รวมถึงผลผลิตต่อไร่ ก็คาดว่าจะลดลง


สางปม 'อาหารสัตว์' ไม่ง่าย ผู้ผลิต-ผู้ ใช้-เกษตรกรร้องหาสมดุล

Food Feed Fuel

30 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ปมขัดแย้งระหว่างสมาพันธ์ปศุสัตว์และ เพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ 11 สมาคม กับสภาเกษตรกร แห่งชาติ เกีย่ วกับ การปรับลดภาษีนำเข้าวัตถุดบิ อาหารสัตว์ ยืดเยื้อมานานนับเดือนยังไม่ได้ ข้ อ สรุ ป โดยฝ่ า ยผู้ ผ ลิ ต อาหารสั ต ว์ ยื น ยั น ว่ า ต้องนำเข้าข้าวสาลีและกากข้าวโพดเอทานอล (Distillers Dried Grains with Solubles หรือ DDGS) เพราะวัตถุดบิ ภายในมีไม่เพียงพอ หาก ลดภาษีจะช่วยทำให้ต้นทุนวัตถุดิบต่ำลง เพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน ขณะทีเ่ กษตรกร กังวลว่า หากลดภาษีจะทำให้ราคาสินค้าเกษตร ไม่สามารถแข่งขันกับวัตถุดิบนำเข้าได้ ล่ า สุ ด สำนั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร (สศก.) จั ด ทำผลวิ เ คราะห์ ผ ลได้ - ผลเสี ย การ ปรั บ ลดภาษี น ำเข้ า และปรั บ สู ต รอาหารสั ต ว์ 3 กรณีศึกษา โดยสรุปว่าการลดภาษีนำเข้า กากข้าวโพดเอทานอล (DDGS) กากคาโนลา และกลูเทนข้าวโพด จะทำให้รฐั บาลสูญเสียภาษี เกษตรกรสูญเสียรายได้จากการจำหน่าย ซึ่ง เมื่อหักลบกันแล้วไม่คุ้มค่ากับต้นทุนอาหารสัตว์ ที่ลดลง (ตามตาราง) ส่วน "ข้าวสาลี" ไม่ได้อยู่ในกลุ่มสินค้า วัตถุดิบอาหารสัตว์ควบคุมเฉพาะ จึงทำให้ไม่ สามารถหยิบยกขึ้นมาหารือทั้งในวงของ สศก. ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

และในวงที่ประชุมคณะทำงานกำกับดูแลสินค้า อาหารสัตว์ครบวงจรของกระทรวงพาณิชย์ แต่ด้วยข้อเท็จจริงปรากฏชัดเจนว่า การ นำเข้าข้าวสาลี ปี 2558 มีปริมาณเกือบ 4 ล้านตัน จากช่วงปี 2553-2554 ที่เคยนำเข้า สูงสุดเพียง 3-4 แสนตัน เพือ่ มาทดแทนข้าวโพด ซึ่งไทยผลิตไม่เพียงพอ และมีราคาสูง กก. ละ 8.50 ส่วนข้าวสาลี กก. ละ 7-8 บาท ต่างกัน 2-3 บาท แต่ยงั หาข้อสรุปไม่ได้ ประเด็นนีม้ คี วาม สำคัญมาก เพราะแนวโน้มการผลิตปศุสัตว์ไทย เพิ่มขึ้นทุกปี ทำให้ความต้องการอาหารสัตว์ เพิ่มขึ้นตามไปด้วยจาก 16 ล้านตัน เป็น 18 ล้านตันในปีนี้ ขณะทีป่ ริมาณวัตถุดบิ ในประเทศ ลดลง ส่งผลให้แนวโน้มราคาวัตถุดบิ ในประเทศ ขยับสูง ดังนัน้ รัฐต้องหาทางออกทีส่ มดุลให้กบั ผู้ ผ ลิ ต -ผู้ ใ ช้ อ าหารสั ต ว์ เกษตรกรผู้ ป ลู ก พื ช ข้าวโพด มันสำปะหลัง รวมถึงผูข้ ายบายโปรดักต์ เช่น โรงสีข้าว หลายล้านคน


อย่ า งไรก็ ต าม สมาคมยั ง ไม่ ส ามารถ การันตีได้ว่าราคาอาหารสัตว์ปลายทางจะปรับ ลดลงกี่บาท เพราะราคาวัตถุดิบนำเข้ามีการ ผันแปรไปตามราคาตลาดโลก โดยบางครั้ง ราคาข้าวสาลีไม่ได้ต่ำกว่าข้าวโพด และปัจจุบัน ธุรกิจอาหารสัตว์มีการแข่งขันสูง และมีปัญหา ขาดทุน ซึ่งการลดต้นทุนนี้จะส่งผลต่อผู้ผลิต ได้ไม่เท่ากัน

นอกจากนี้ยืนยันได้ว่าการนำเข้าวัตถุดิบ อาหารสัตว์กลุ่มนี้ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อราคา สินค้าเกษตรในประเทศ เพราะผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ ยังมีข้อตกลงที่จะซื้อข้าวโพดจากเกษตรกรตาม นโยบายพยุงราคา เฉลี่ยประมาณกิโลกรัมละ 8.50 บาท หรือในราคาที่สูงกว่าตลาดโลก

เกษตรกรฝากโจทย์รัฐ ในอีกมุมหนึ่งเกษตรกรฝากความหวังว่า เป็นไปได้หรือไม่ 1) หากไทยจะถอยหลังกลับไป ตัง้ กำแพงภาษีนำเข้าข้าวสาลี เพราะไม่ได้ผกู พัน ไว้ใน WTO หรือ 2) หากไม่ปรับภาษีนำเข้า อาจต้องให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ กรมปศุสตั ว์ กรมการค้า ต่างประเทศ เพิ่มความเข้มงวดใน การกำหนดมาตรฐาน หรือให้ขอหนังสือรับรอง ใบอนุญาตนำเข้า หรือ 3) ผูผ้ ลิตอาหารต้องชีแ้ จงให้ชดั เจน ว่า เกษตรกรจะได้ประโยชน์อย่างไร ต้นทุน ภาษีอาหารสัตว์ที่ลดลงทำให้ราคาอาหารสัตว์ ลดลงอย่างมีนยั สำคัญหรือไม่ และมีการเยียวยา เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด โดยออกประกาศล็อก เวลานำเข้าเฉพาะในช่วงเดือน ก.พ.-ส.ค. ของ ทุกปี ไม่ให้กระทบราคาผลผลิต และขอให้ผผู้ ลิต อาหารสัตว์รบั ซือ้ ข้าวโพดจากเกษตรกรในราคา กก. ละ 8.50 บาท ไม่ใช่จำกัดเรือ่ งเอกสารสิทธิ ได้หรือไม่

31 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ในมุม นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ในฐานะ เลขาธิการสมาพันธ์ปศุสตั ว์และเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ เห็นว่า ผลวิเคราะห์ สศก. เป็นการมองในมิติ ด้านการผลิตเพียงอย่างเดียว แต่ยังขาดข้อมูล ในมิติด้านการตลาด ทางผู้ผลิตอาหารสัตว์จะ ขอชี้แจงกับ สศก. อีกครั้ง เพื่อยืนยันว่าสาเหตุ ที่ผู้ผลิตอาหารสัตว์จำเป็นต้องนำเข้าข้าวสาลี และกากข้าวโพดเอทานอล (DDGS) มาทดแทน ผลผลิ ต ข้ า วโพดในประเทศ ซึ่ ง ผลิ ต ได้ เ พี ย ง 4.5-4.6 ล้านตันต่อปี ขณะที่ความต้องการใช้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อยู่ที่ 7.8-7.9 ล้านตันต่อปี ทำให้มสี ว่ นต่าง 3 ล้านตัน จึงต้องนำเข้าวัตถุดบิ จากต่ า งประเทศ ทั้ ง ข้ า วโพดจากประเทศ เพือ่ นบ้าน ในปีนจี้ ะมีการนำเข้าปริมาณ 1 ล้าน ตัน ส่วนที่เหลือ 2 ล้านจะนำเข้าข้าวสาลี และ DDGS แต่อาจจะมีปริมาณสูงกว่า 2 ล้านตัน เพราะไม่สามารถเทียบสัดส่วน 1 ต่อ 1 แบบ ข้าวโพดได้ ขึ้นอยู่กับสูตรอาหารของวัตถุดิบ แต่ละชนิดต่างกัน

แต่รฐั บาลไม่ควรจำกัดการนำเข้าข้าวสาลี เพราะสินค้านี้เปิดแบบเสรี และหากนำมาใช้ เพื่อผลิตอาหารสัตว์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ข้อกำหนดของกรมปศุสตั ว์ ซึง่ มี พ.ร.บ. อาหาร สัตว์ควบคุมอยู่

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ผู้ผลิตอาหารสัตว์แย้งสูตร สศก.


รายงานการสำรวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 2/2559 โดย คณะสำรวจสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ระหว่างวันที่ 2-5 สิงหาคม 2559

Food Feed Fuel

32

รายชื่อผู้เข้าร่วมสำรวจ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

1. น.ส.นิชนันท์ วัตถุรัตน์ บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด 2. นางจิรพรรณ์ รัตนราช บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด 3. น.ส.ธาวินี ดำเนินวุฒิ บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด 4. น.ส.จุฑามาศ วัฒนสินพาณิช บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) 5. น.ส.ลัดดา แก้วกาหลง บริษัท เซนทาโกไซโล จำกัด 6. น.ส.รัฌดา อินทรกำชัย บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด 7. นายชูเกียรติ ตันตมณีรัตน์ บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) 8. นายวรวุฒิ เบญจรัตนานนท์ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) 9. นางนิภาพร โรจน์รุ่งเรืองกิจ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) 10. น.ส.ชุลีพร ยิ่งยง บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด 11. นายอรรถพล ชินภูวดล สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 12. น.ส.กรกมล เสนีวงศ์ ณ อยุธยา สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

การสำรวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 2/2559 ระหว่างวันที่ 2-5 สิงหาคม 2559 โดย ออกสำรวจพื้นที่ในจังหวัด ลพบุรี - เพชรบูรณ์ - เลย - พิษณุโลก - นครสวรรค์ ครั้งนี้ทางคณะสำรวจ ได้มีการรวบรวมและประมวลข้อมูลจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และเกษตรจังหวัด เพื่อนำ มาใช้พิจารณาประกอบการสำรวจ ร่วมกับการลงสำรวจพื้นที่เพาะปลูก สอบถามกับเกษตรกร ผู้เพาะปลูกโดยตรง พร้อมทั้งการเข้าพบพ่อค้าท้องถิ่น/ไซโล จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ รวมกัน พบว่า


การเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ฤดูกาลใหม่ ปี 2559/2560 สภาพโดยรวมพื้นที่ในการ เพาะปลูกมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยเกษตรกรที่เพาะปลูกมันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน และข้าว นั้น ในช่วงปีที่ผ่านมาเกิดปัญหาภาวะภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วงจึงทำให้ผลผลิตเสียหาย อีกทั้งพื้นที่นาข้าวนั้น น้ำไม่เพียงพอในการเพาะปลูก เกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนมาปลูกข้าวโพดทดแทน เนื่องจากข้าวโพด ใช้ระยะเวลาในการเพาะปลูกสั้นกว่า หาเมล็ดพันธุ์ได้ง่ายกว่า พร้อมทั้งการใช้น้ำที่น้อยกว่าพืชอื่นๆ จึงทำให้ลดความเสี่ยงจากการได้รับความเสียหายน้อย หากเทียบกับการปลูกพืชชนิดอื่นๆ และ อีกปัจจัยหนึ่งคือ การที่เกษตรกรได้รับการสนับสนุนจากทางภาครัฐบาลในการส่งเสริมการปลูก ข้าวโพดทดแทน ด้านผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของข้าวโพดในฤดูกาลผลิตปี 2559/2560 นี้นั้น จากการสำรวจ พบว่ามีแนวโน้มที่จะได้ผลผลิตสูงขึ้นถึง 31% ซึ่งในช่วงต้นปีภาวะภัยแล้งฝนตกลงมาล่าช้า ร่วมเดือนกว่าๆ นัน้ ทำให้เกษตรกรลงมือทำการเพาะปลูกล่าช้าไปด้วย ซึง่ ช่วงทีผ่ ลผลิตออกดอกช่อนัน้ มีปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาในช่วงที่ต้นข้าวโพดเจริญเติบโตพอดี

ตารางสรุปผลผลิตการสำรวจในพื้นที่ จังหวัด

พื้นที่ปลูก (ไร่)

ปี 58/59 ปี 59/60 เพิลด่ม/ ลพบุรี 204,609 229,162 12% เพชรบูรณ์ 799,784 799,784 0% เลย 607,854 595,697 -2% พิษณุโลก 257,963 257,963 0% นครสวรรค์ 265,766 268,423 1% รวม 2,135,976 2,151,479 1%

ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (กิโลกรัม) ผลผลิตรวม (ตัน) ปี ปี เพิ่ม/ 58/59 59/60 ลด ปี 58/59 ปี 59/60 512 819 60% 104,760 187,683 567 805 42% 453,478 643,826 464 603 30% 282,044 359,205 737 737 0% 190,119 190,119 616 678 10% 163,712 181,991 559 726 30% 1,194,113 1,562,824

เพิ่ม/ ลด 79% 42% 27% 0% 11% 31%

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

อย่างไรก็ตาม จะทำการออกพืน้ ทีส่ ำรวจปริมาณผลผลิตอีกครัง้ หนึง่ เนือ่ งจากในการสำรวจ ครั้งนี้นั้นพบว่า เกษตรกรในหลายพื้นที่มีการทยอยการเพาะปลูกเพราะรอดูสถานการณ์สภาพ ฝนฟ้า จึงทำให้ต้นข้าวโพดมีอายุไล่ลดหลั่นกันไป โดยช่วงที่เกษตรกรทำการเก็บเกี่ยวข้าวโพดนั้น อยู่ในช่วงตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม - ต้นเดือนกันยายน และคาดว่าน่าจะออกหนาแน่นหลัง กลางเดือนกันยายน - เดือนตุลาคม และต่อเนื่องจนถึงเดือนพฤศจิกายน เป็นต้นไป

33 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ด้านต้นทุนการผลิต เมล็ดพันธุข์ า้ วโพดในปีนมี้ รี าคาเพิม่ สูงขึน้ กว่าปีทแี่ ล้ว จากราคา 140-160 บาท/กก. เป็นราคา 170-200 บาท/กก. สำหรับค่าปุ๋ย ค่าสารเคมี ค่าน้ำมันนั้น ในปีนี้พบว่า ราคาลดลงเช่นเดียวกัน อีกทั้งเกษตรกรได้ลงมือทำการเพาะปลูกช่วงที่มีปริมาณน้ำฝนตกลงมา เพียงพอดี ปริมาณฝนที่ตกลงมาในช่วงที่ข้าวโพดออกดอกหัว ทำให้ต้นข้าวโพดเจริญเติบโตดี ซึ่ง ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตข้าวโพดในปี 2559/2560 ปีนี้มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น


จังหวัดลพบุรี แหล่งข้อมูล : ร้านชาญชัยการเกษตร ตำบลโคกตูม อำเภอเมือง และร้านศรีพงษ์พานิชย์ อำเภอชัยบาดาล ฤดูการผลิต ปี 2558/2559 ปี 2559/2560 เพิ่ม/ลด (%)

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 204,609 229,162 12%

ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 512 819 60%

ผลผลิตรวม (ตัน) 104,760 187,683 79%

สภาพทั่วไป

34

จังหวัดลพบุรี มีพื้นที่ปลูกประมาณ 229,162 ไร่ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วประมาณ 12% เนื่องจากเกษตรกรบางส่วนที่เคยปลูกอ้อยและมันสำปะหลัง เปลี่ยนมาปลูกข้าวโพดมากขึ้น และ ในส่วนพื้นที่การเพาะปลูกที่เป็นส่วนของทหาร ทางทหารไม่อนุญาตให้ปลูกมันสำปะหลังและอ้อย เกษตรกรจึงปลูกข้าวโพดทดแทน นอกจากนี้ หลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวโพดแล้วจะมีการปลูกพืชอื่น ต่อเนื่อง อำเภอเมือง จะปลูกถั่วและงา ส่วนอำเภอชัยบาดาล ทำการปลูกทานตะวัน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ส่วนผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่คาดว่ามีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ ถึง 60 % อยูท่ ี่ 819.2 กก./ไร่ เนือ่ งจาก เกษตรกรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากภัยแล้งปีทแี่ ล้ว มีความระมัดระวังในการเพาะปลูกมากขึน้ โดยเลือก ทำการเพาะปลูกในช่วงที่มีปริมาณน้ำฝนพอเหมาะ ประกอบกับปริมาณน้ำฝนปีนี้เพียงพอต่อการ เจริญเติบโตของข้าวโพด และต้นทุนด้านการผลิตที่ลดลง อาทิเช่น ราคาค่าปุ๋ย ทำให้เกษตรกร ใส่ปุ๋ยมากขึ้น แม้ว่าค่าเมล็ดพันธุ์ยังคงมีราคาสูงอยู่ที่ 180 บาท/กิโลกรัม ก็ตาม


ด้านการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะทำการเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนกันยายน - ตุลาคม ด้านคุณภาพ ของข้าวโพดพบว่า การหักสีเมล็ดข้าวโพด ทำให้เมล็ดข้าวโพดมีคุณภาพดีกว่าการใช้รถเก็บเกี่ยว เนื่องจากเมล็ดข้าวโพดที่สีเองไม่เกิดรอยแตกร้าว

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ

- พ่อค้ามีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ จากการทำเอกสารสิทธิ์ เนือ่ งจากเกษตรกรมีคา่ เรียกเก็บค่าใช้จา่ ย เพิ่มเติมในการแสดงเอกสารสิทธิ์

- ในพื้นที่มีเมล็ดพันธุ์ไม่เพียงพอต่อการจำหน่าย เนื่องจากกลุ่มผู้ซื้อขายเมล็ดพันธุ์ไม่นำมา จำหน่ายมากนัก เพราะเกรงว่าผลกระทบจากภัยแล้งในปีที่แล้วจะส่งผลทำให้เกษตรกร ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์น้อยลง

จังหวัดเพชรบูรณ์

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 799,784 799,784 0

ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 567 805 42%

ผลผลิตรวม (ตัน) 453,478 643,826 42%

สภาพทั่วไป จังหวัดเพชรบูรณ์ มีพนื้ ทีเ่ พาะปลูก 779,784 ไร่ คงทีจ่ ากปีทแี่ ล้ว เนือ่ งจากมีการสลับพืน้ ที่ การเพาะปลูกระหว่างมันสำปะหลัง อ้อย และข้าวโพด จึงทำให้ปริมาณพื้นที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง โดยเกษตรกรที่ขาดทุนจากปีที่แล้วได้เปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง เนื่องจากมีต้นทุนต่ำ แต่อย่างไร ก็ตาม พื้นที่ที่เคยปลูกมันสำปะหลังบางส่วนได้ที่รับความเสียหายจากฝนที่มาล่าช้า ทำให้เกษตรกร กลับมาปลูกข้าวโพดอีกครั้ง นอกจากนี้ ในบางพื้นที่ได้มีปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นๆ ทดแทน อาทิ อ.ซับพุทรา เกษตรกรหันไปปลูกถัว่ แขก ถัว่ เขียว และถัว่ แดง เนือ่ งจากมีตน้ ทุนการเพาะปลูกน้อยกว่า ข้าวโพด และอำเภอหล่มสัก ปลูกยาสูบ หลังจากการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่อยู่ที่ 805 กก./ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วประมาณ 42% เนื่องจาก ปริมาณน้ำฝนที่มากขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ทำให้ต้นข้าวโพดมีการเจริญเติบโตได้ดี ปริมาณน้ำฝน ที่ใช้ในการเจริญติบโตช่วงที่ข้าวโพดออกดอกหัว มีเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ในกลุ่มเกษตรกร

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ฤดูการผลิต ปี 2558/2559 ปี 2559/2560 เพิ่ม/ลด (%)

35 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

แหล่งข้อมูล : ร้านธนากร อำเภอชนแดน ร้านไซโล ฮัว่ ฮงพืชผล อำเภอหนองไผ่และ ร้านตงพืชไร่ อำเภอหล่มสัก คุณกฤษณา เกษตรกร ตำบลซับพุทรา คุณเปรมศักดิ์ เกษตรกร ตำบลซับไม้แดง


ที่คณะสำรวจได้เข้าไปพบมีการนำเมล็ดพันธุ์ นครสวรรค์ 3 ซึ่งเป็นพันธุ์ของภาครัฐมาใช้ในการ เพาะปลูกทำให้ตน้ ทุนเมล็ดพันธุล์ ดลง นอกจากนี ้ พืน้ ทีท่ ที่ ำการสำรวจยังคงมีการใช้เมล็ดพันธุ์ แปซิฟกิ , NK, ดีคาล์บ

36

จังหวัดเพชรบูรณ์มกี ารเพาะปลูกข้าวโพด 2 ช่วงจากเดิมช่วงแรกจะเริม่ เพาะปลูกในช่วงเดือน เมษายน - พฤษภาคม ช่วงที่สองในช่วงมิถุนายน แต่ในปีนี้เกษตรกรรอน้ำฝน เลยทำให้เปลี่ยนมา ปลูกในช่วงเดือนมิถุนายนมากขึ้น โดยผลผลิตบางส่วนจะออกในช่วงเดือนสิงหาคม แต่จะออกมาก ในช่วงเดือนกันยายนเป็นต้นไป

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ส่วนต้นทุนในการเพาะปลูกของปีนมี้ กี ารลดลงจากปีทแี่ ล้ว ซึง่ มาจากราคาปุย๋ น้ำมันทีล่ ดลง และเกษตรกรหันมาใช้ปุ๋ยหมักกันมากขึ้น ด้านราคาเมล็ดพันธุ์ยังมีคงราคาสูง ในพื้นที่ที่ทำการสำรวจมีการดำเนินการโครงการประชารัฐโดยเป็นพื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ จำนวน 157 แปลง คิดเป็นพืน้ ทีก่ ว่า 5,000ไร่ นอกจากนี ้ ยังมีมาตรการขอคืนพืน้ ทีป่ า่ ประมาณกว่า 60,000ไร่ อีกด้วย แต่พื้นที่ขอคืนส่วนมากจะเป็นพื้นที่ของนายทุนหรือพื้นที่ปลูกพืชอื่นทั่วๆ ไป

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ

- พื้นที่ลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากปริมาณน้ำฝนที่มากเกินไป ทำให้พื้นที่เพาะปลูกข้าวโพด เกิดความเสียหายบางส่วน - เมล็ดพันธุ์ CP301 งอกไม่ดี, อาหารสัตว์ไม่รับซื้อเนื่องจากเมล็ดข้าวโพดมีขนาดเล็ก


จังหวัดเลย แหล่งข้อมูล : ร้านวัชราพร อำเภอปากชม และร้านไทรงามพืชผล อำเภอด่านซ้าย ฤดูการผลิต ปี 2558/2559 ปี 2559/2560 เพิ่ม/ลด (%)

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 607,854 595,697 -2%

ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 464 603 30%

ผลผลิตรวม (ตัน) 282,044 359,205 27%

สภาพทั่วไป

ช่วงการเพาะปลูกข้าวโพดในจังหวัดเลย แบ่งเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกทำการเพาะปลูก ในช่วง เดือนพฤษภาคม ช่วงที่ 2 ทำการเพาะปลูกในช่วงเดือนสิงหาคม โดยผลผลิตข้าวโพดจังหวัดเลย ในปีนี้จะออกสู่ท้องตลาดมากในช่วงเดือนธันวาคม 2559 - มกราคม 2560 เป็นต้นไป

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ อยู่ที่ 603 กิโลกรัม/ไร่ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น 30% สืบเนื่องมาจากในปี 2559 ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปี 2558 และเกษตรกรเลือกช่วงทำการเพาะปลูกในช่วงที่มีปริมาณ น้ำฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด ประกอบกับราคาปัจจัยการผลิต ในเรื่องราคาปุ๋ย และราคาสารเคมีลดลง ทำให้เกษตรกรมีกำลังในการซือ้ ปุย๋ มากขึน้ ซึง่ ปัจจัยเหล่านีส้ ง่ ผลให้ผลผลิต เฉลี่ยของข้าวโพดเขตจังหวัดเลยในปี 2559 มีแนวโน้มสูงขึ้น

37 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

จังหวัดเลยมีพื้นที่เพาะปลูก 595,697 ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 2% โดยเกษตรกรผู้เคยปลูก ข้าวโพดเปลี่ยนมาปลูกมันสำปะหลังทดแทน เนื่องจากความเสี่ยงจากการปลูกมันสำปะหลัง น้อยกว่าการเพาะปลูกข้าวโพด ซึ่งในส่วนของอำเภอปากชม เป็นอำเภอที่มีพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพด มากเป็นอันดับ 1 ของจังหวัดเลย ซึ่งโดยปกติพื้นที่นี้เพาะปลูกข้าวโพดและมันสำปะหลังใกล้เคียง กั น แต่ ใ นปี นี้ พื้ น ที่ เ พาะปลู ก มั น สำปะหลั ง สู ง กว่ า ส่ ว นทางอำเภอด่ า นซ้ า ยพื้ น ที่ ป ลู ก ทรงตั ว เท่าเดิม นอกจากนี้ พื้นที่จังหวัดเลย ยังพบว่ามีการเพาะปลูกพืชอื่นๆ อาทิเช่น ปาล์ม, แก้วมังกร, สับปะรด


จังหวัดพิษณุโลก แหล่งข้อมูล : ร้านทวีพร, ร้านอ.เจริญชัย อำเภอนครไทย คุณเฉลิมพันธุ์ อ.วังทรายพูน (จ.พิจติ ร) และบรรจงพืชไร่ อ.วังทรายพูน (จ.พิจิตร)

38

ฤดูการผลิต ปี 2558/2559 ปี 2559/2560 เพิ่ม/ลด (%)

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 257,963 257,963 0

ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 737 737 0

ผลผลิตรวม (ตัน) 190,119 190,119 0

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

สภาพทั่วไป จังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ปลูกประมาณ 257,963 ไร่ คงที่จากปีที่แล้ว โดยในสภาพการ เพาะปลูกเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งในปีที่ผ่านมาจากการปลูกข้าวโพด ปรับเปลี่ยนไป เพาะปลูกอ้อย มันสำปะหลัง และในบางพื้นที่มีน้ำหลาก เกษตรกรจึงเลือกปลูกข้าวโพดในที่ดอน และปลูกข้าวในทีล่ มุ่ ทำให้พนื้ ทีก่ ารเพาะปลูกข้าวโพดมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย ในขณะเดียวกันก็พบ ว่ามีปัจจัยส่งเสริมให้เกิดพื้นที่ปลูกข้าวโพดชดเชยพื้นที่ที่เปลี่ยนไป อาทิ เกษตรกรบางส่วนที่เคย เพาะปลูกมันสำปะหลังในปีที่ผ่านมา ปรับเปลี่ยนกลับมาเพาะปลูกข้าวโพด และโครงการสนับสนุน การปลูกข้าวโพดหลังนาของทางภาครัฐ อีกทั้งปัจจัยด้านต้นทุนการผลิตลดลง อาทิเช่น ค่าปุ๋ย ค่าน้ำมัน ทำให้เกษตรกรทีพ่ อมีกำลังทุนเปลีย่ นกลับมาปลูกข้าวโพดอีกครัง้ เพือ่ ให้มรี ายได้หมุนเวียน ผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่ 737 กก. ต่อไร่ คาดว่ามีผลผลิตคงที่ เนือ่ งจากปีทผี่ า่ นมาเขตพืน้ ทีน่ ครไทย และเนินมะปราง ได้รับความเสียหายจากภัยแล้งไม่มากนัก แม้ปีนี้ปริมาณน้ำฝนจะมีมากขึ้น ก็ไม่ ส่งผลต่อปริมาณผลผลิตในปีนี้ ทั้งนี้ทั้งนั้นคาดว่าผลผลิตของจังหวัดมีการเก็บเกี่ยวล่าช้ากว่า 1 เดือนเป็นอย่างน้อย ทำให้การเก็บเกี่ยวผลผลิตน่าจะออกชุกมากในช่วงเดือนตุลาคม การรับซือ้ ผลผลิต จากการสอบถามพ่อค้าในเขต อ.วังทรายพูน พบว่า ราคาข้าวโพดเมล็ดสด อยู่ที่ 6.50 บาท/กิโลกรัม


จังหวัดนครสวรรค์ แหล่งข้อมูล : หจก.ฮั่งเส็งตาคลีขนส่ง อำเภอตาคลี และ ลานธนปณชัย อำเภอพยุหะคีรี ฤดูการผลิต ปี 2558/2559 ปี 2559/2560 เพิ่ม/ลด (%)

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) 265,766 268,423 1%

ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 616 678 10%

ผลผลิตรวม (ตัน) 163,712 181,991 11%

สภาพทั่วไป จังหวัดนครสวรรค์ มีพื้นที่เพาะปลูกอยู่ที่ 268,423 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วประมาณ 1% เกษตรกรที่เคยใช้พื้นที่ในการเพาะปลูกมันสำปะหลังและอ้อยหันมาปลูกข้าวโพด เนื่องจากอ้อย ราคาไม่ดี นอกจากนี้ ยังมีโครงการจากภาครัฐให้การสนับสนุนในเรื่องการปลูกข้าวโพดหลังนา ส่งผลให้มีปริมาณพื้นที่ในการปลูกข้าวโพดเพิ่มขึ้น

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

การเก็บเกี่ยวผลผลิตจะเริ่มในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน และคาดว่าจะออกชุกมากในช่วง เดือนกันยายน ในปัจจุบันพ่อค้าในพื้นที่ชะลอการรับซื้อ และจะเปิดรับซื้ออีกครั้งช่วงปลายเดือน สิงหาคม ส่วนเมล็ดพันธุ์ที่นิยมปลูกในพื้นที่ที่พบ ได้แก่ ไพโอเนียร์ 46, 888, NK

39 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ผลผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ 678 กก./ไร่ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วประมาณ 10% เนื่องจาก ต้นทุน การผลิตลดลง อาทิ ค่าปุ๋ยและค่าน้ำมัน ถึงแม้ว่าเมล็ดพันธุ์จะยังคงขึ้นราคาก็ตาม นอกจากนี้ บริเวณที่ทำการเพาะปลูกได้รับปริมาณน้ำฝนอย่างพอเหมาะ ภาครัฐมีการส่งเสริมความรู้ด้าน การเพาะปลูกให้กับเกษตรกร สำหรับภาพรวมมีข้าวโพดบางส่วนที่สามารถปลูกได้ในช่วงปลาย เดือนพฤษภาคม และมีการปลูกต่อเนื่องตามปริมาณน้ำฝน ซึ่งจะครบอายุเก็บเกี่ยวในปลายเดือน สิงหาคม


ปัญหาและอุปสรรคที่พบ

- โรงงานอาหารสัตว์มีการนำเข้าข้าวสาลีเข้ามาใช้ทดแทนข้าวโพดเป็นจำนวนมาก ทำให้ ชะลอการรับซื้อข้าวโพด ส่งผลให้พ่อค้าคนกลางไม่สามารถรับซื้อข้าวโพดจากเกษตรกร ได้ตามปกติ และมีความกังวลว่าการนำเข้าข้าวสาลี จะส่งผลให้ราคาข้าวโพดตกต่ำ

- ด้านนโยบายการนำเข้าข้าวโพดชายแดน จะส่งผลให้ปริมาณการปลูกข้าวโพดในประเทศ เพื่อนบ้านสูงขึ้นได้ในอนาคต แต่ในระยะสั้นอาจยังไม่ได้รับผลกระทบมากนัก - ข้าวโพดค้างสต็อกเก็บจากปีที่ผ่านๆมายังคงมีปริมาณมาก

สรุปโดย นางสาวกรกมล เสนีวงศ์ ณ อยุธยา สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย : 16 สิงหาคม 2559

40 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559




3 สมาคมไก่ไข่ ร่วมรณรงค์คนไทยกินไข่

Market Leader

ตั้งเป้าปี 61 บริโภค 300 ฟอง

เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2559 สมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ และสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ภาคใต้ จับมือร่วมรณรงค์คนไทย บริโภคไข่ไก่ 300 ฟองต่อคนต่อปี ภายในปี 2561 ตัง้ เป้าคนไทยทุกเพศทุกวัย มีสุขภาพแข็งแรง จากการบริโภคโปรตีนคุณภาพสูง ราคาถูก

ที่มา : สาสน์ไก่ & สุกร

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

41 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

3 สมาคมไก่ไข่ ภายใต้การสนับสนุนของคณะกรรมการนโยบายพัฒนา ไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) ร่วมกันจัดงานแถลงข่าวเปิดตัว “โครงการ รณรงค์บริโภคไข่ไก่ 300 ฟอง” ตามแผนยุทธศาสตร์ไก่ไข่ พ.ศ. 2557-2561 ทีต่ อ้ งการเพิม่ ปริมาณการบริโภคไข่ไก่ของคนไทย ปัจจุบนั บริโภคแค่ 220 ฟอง ต่อคนต่อปี ซึ่งยังอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้ว เช่น จีน 340 ฟอง ญี่ปุ่น 330 ฟอง มาเลเซีย 300 ฟอง และสหรัฐฯ 290 ฟอง โดยโครงการรณรงค์การบริโภคไข่ไก่ในครัง้ นีจ้ ะเน้นให้คนไทย “กินไข่ทกุ วัน กินไข่ ทุกวัย กินอะไรใส่ไข่ด้วย”


42 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ทั้งนี้ อุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ของไทย มีการพัฒนาเป็นฟาร์มขนาดใหญ่มากขึน้ มีเทคโนโลยีและกระบวนการจัดการทันสมัยเข้ามาใช้ ในกระบวนการผลิตเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ทำให้ ได้ผลผลิตไข่ไก่มากขึ้น ส่งผลให้ไทยมีผลผลิต ไข่ไก่ประมาณ 15,500 ล้านฟองต่อปี คิดเป็น มูลค่าปีละกว่า 50,000 ล้านบาท เกีย่ วข้องกับ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ ง ผูค้ า้ และผูส้ ง่ ออกมากกว่าหมืน่ ครอบครัว แต่ในด้านการบริโภค คนไทยยังมี ความเข้าใจผิดเกีย่ วกับการบริโภคไข่ ว่าจะทำให้ คอเลสเตอรอลเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้คนไทยบริโภคไข่ น้อยลง จึงทำให้ร่างกายขาดโปรตีน คุณมงคล พิพัฒสัตยานุวงศ์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ กล่าวถึง จุดเริม่ ต้นของโครงการนีใ้ ห้ฟงั ว่า ต้องขอขอบคุณ ดร.สมบัติ ท่านเป็นประธานคณะกรรมการธุรกิจ ปศุสัตว์ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ที่ไป รวบรวมงานวิจัยต่างๆ จากมหาวิทยาลัยชื่อดัง และก็เป็นมหาวิทยาลัยต่างประเทศทีไ่ ด้รบั ความ เชื่อถือว่า ไข่ไม่มีผลกระทบกับผู้บริโภคในด้าน สุขภาพ ท่านก็พยายามไปหาข้อมูลเหล่านี้มา ก็จุดประกายให้ทางสมาคมร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกท่านมองเห็นช่องทางในการที่จะรณรงค์ให้ คนไทยมีการบริโภคไข่ที่มากขึ้น

ทั้งนี้เนื่องจากคนไทยยังมีการบริโภคไข่ น้อยอยู่ ส่วนหนึ่งก็มาจากความเข้าใจที่ผิดๆ ว่าไข่นนั้ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทำให้เสียโอกาส ไปในด้านสุขภาพของประชาชน ทั้งๆ ที่ไข่เอง ก็เป็นอาหารโปรตีนทีม่ รี าคาถูก หาซือ้ ง่ายอีกด้วย ดังนั้น เราจึงพยายามรณรงค์ด้วยการพยายาม สร้างความเข้าใจว่ามีคุณภาพและมีประโยชน์ ต่อร่างกาย อย่างไรก็ดี โครงการดังกล่าวนี้ ได้รับความร่วมมือจากสมาคมทั้ง 3 สมาคม รวมถึงทางภาครัฐที่เข้ามาช่วยให้การสนับสนุน ไม่ว่าจะเป็นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรม ปศุสัตว์ กระทรวงพาณิชย์ ที่ได้เข้ามาจัดทำ การรณรงค์ครัง้ นีข้ นึ้ มา และนีก่ ค็ อื จุดเริม่ ต้นของ โครงการ สำหรับโครงการนี้ เริม่ ต้นขึน้ เมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม 2559 เป็นวันแรก และจะไปสิ้นสุด ในวันที่ 31 ธันวาคม 2561 คือจะใช้ระยะเวลา ประมาณ 2 ปีครึ่ง และจะมีการประเมินผลกัน ทุกๆ ปี ว่าสิ่งที่เราทำนี้ เป็นไปตามเป้าหมายที่ ตั้งใจไว้หรือไม่ หากยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ก็อาจจะต้องมีการปรับเปลีย่ นกลยุทธ์ เพราะการ ดำเนินงานในครัง้ นี้ เราจะไม่ได้ทำแบบทีผ่ า่ นมา คือทำไม่ตอ่ เนือ่ ง แต่ครัง้ นีเ้ ราจะทำแบบต่อเนือ่ ง เพราะคิดว่าการทำอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ สร้างความ เข้าใจให้กับทุกคนได้นั้น จะทำในระยะเวลาอัน สั้นๆ ไม่ได้แล้ว การจะสร้างความเข้าใจให้กับ ทุกคน หรือคนส่วนใหญ่ได้นั้นต้องมากกว่านี้ ซึ่งนั่นก็หมายความว่าต้องใช้ระยะเวลาในการ ดำเนินงานพอสมควร แผนงานที่ ณ ปัจจุบันนี้ที่เราเน้นก็คือ การทำความเข้าใจกับผู้บริโภค ทำให้ผู้บริโภค เข้าใจถึงคุณประโยชน์ของไข่ไก่ทมี่ คี ณ ุ ประโยชน์


คุณอรรณพ อัครนิธยิ านนท์ นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ กล่าว ในทำนองเดียวกันว่า ปัจจุบนั คนไทย กินไข่ประมาณ 200 ฟองต่อคน ต่อปี ซึง่ ทางเราได้รณรงค์ให้คนไทย กินไข่เพิ่มขึ้น เพื่อให้คนไทยได้รับ ประโยชน์จากโปรตีนจากไข่ตรงนี้ โดยเฉพาะ จะได้โปรตีนเพิ่ม 6 กรัมต่อวัน ซึ่งถ้าเด็กได้รับ ก็จะเข้าไปช่วยในเรือ่ งของการเจริญเติบโต และ เสริมสร้างกล้ามเนื้ออีกด้วย เช่นเดียวกับวัยรุ่น ที่จะเข้าไปช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อ นอกจากนี้

จะเห็นได้ว่า บางงานวิจัยได้กล่าวไว้ว่า หากรับประทานไข่ได้วันละ 3 ฟองยิ่งดี เพราะ จะทำให้ ร่ า งกายแข็ ง แรง ส่ ว นคนที่ มี โ รค ประจำตัวบางโรค อย่างเบาหวาน เท่าที่รู้มา จะให้รับประทานเป็นไข่ขาวแทน เป็นต้น ซึ่ง ในส่วนนีก้ ต็ อ้ งให้แพทย์ นักวิชาการ เข้ามาช่วย ในการให้คำแนะนำแก่ผู้บริโภค ดังนั้น ก็อยาก จะฝากไปถึ ง วงการแพทย์ นั ก วิ ช าการด้ ว ย เพราะบางครั้งคุณหมออาจจะต้องให้คำแนะนำ เป็นรายบุคคล บางคนอาจจะมีข้อยกเว้นใน บางเรื่อง แต่ถ้าหากไปดูตามผลงานวิจัยแล้ว จะพบว่า โดยรวมแล้ว ไข่สามารถรับประทานได้ และให้คุณมากกว่าให้โทษ นอกจากนี้ คุณอรรณพยังได้เสริมในเรือ่ ง ของแผนงานดังนี้ว่า ทางสมาคมทั้ง 3 สมาคม ที่นอกจากจะมารวมตัวกันแล้ว ก็ยังมีการตั้ง คณะกรรมการขึน้ มาอีก 1 ชุด เพือ่ จัดพิจารณา การใช้งบประมาณ และรูปแบบการรณรงค์เพื่อ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย โดยเน้นไปที่กลุ่มของ เด็กและกลุม่ แม่บา้ น รวมไปถึงทีก่ ลุม่ ของการกีฬา

43 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

"ไข่ ไ ก่ เ ป็ น อาหารโปรตี น คุ ณ ภาพสู ง ราคาย่อมเยา หาซื้อง่าย และมีประโยชน์ต่อ ร่างกายของคนทุกวัย โดยเฉพาะทารก และ เด็กวัยเรียน ซึ่งโครงการรณรงค์บริโภคไข่ไก่นี้ จะเป็นการกระตุน้ ให้คนไทยตืน่ ตัว มีความเข้าใจ เกี่ยวกับคุณค่าทางอาหารของไข่อย่างถูกต้อง และหันมาบริโภคไข่ไก่มากขึ้น โดยไข่ไก่เป็น อาหารเพือ่ สุขภาพทีท่ านได้ทกุ วัน เพือ่ ให้เป็นไป ตามเป้าหมาย 300 ฟองต่อคนต่อปี" คุณมงคล กล่าว

ยังช่วยในเรื่องของการป้องกันความจำเสื่อม (อัลไซเมอร์) ดังนั้น จะเห็นว่าไข่เหมาะกับคน ทุกเพศทุกวัย ไม่วา่ จะเป็นเด็ก วัยรุน่ วัยทำงาน หรือวัยชรา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ต่อร่างกาย ต่อสุขภาพ โดยการพยายามให้ขอ้ มูล ต่างๆ และกระจายข้อมูลนี้ไปถึงทุกภาคส่วน แม้แต่เด็กในโรงเรียนก็ต้องได้รับการสนับสนุน ด้วย โดยมีการตัง้ เป้าในสิน้ ปี 2559 ไว้วา่ คนไทย จะต้องบริโภคไข่ที่เพิ่มขึ้นเป็น 250 ฟองต่อคน ต่อปี ซึง่ ณ ขณะนี้ สมาคมก็ได้มกี ารเตรียมงาน ร่วมกับคณะทำงาน ได้มีโอกาสสื่อสารไปใน ทุกๆ ช่องทาง ไม่วา่ จะเป็นทาง TV โลกออนไลน์ สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ฯลฯ ซึ่งเราเน้นในด้านการ ทำความเข้าใจให้กบั ผูบ้ ริโภค ชักชวนให้ผบู้ ริโภค มาบริโภคไข่เพิ่มขึ้น


และแพทย์ดว้ ย โดยจะดำเนินงานภายใต้พนื้ ฐาน ของความเป็นจริง คือจะไม่โฆษณาที่เกินเลย ไปจากความเป็นจริง

44

“ปั จ จุ บั น ไทยมี ก ารผลิ ต ไข่ ไ ก่ เ ฉลี่ ย ประมาณปีละ 15,000 ล้านฟอง ขณะที่การ บริโภคของคนไทยย้อนหลัง 10 ปี มีการเติบโต เฉลี่ยปีละ 4% เท่านั้น เมื่อเทียบกับการผลิต ด้วยเทคโนโลยีและการจัดการที่ทันสมัย ทำให้ ประสิทธิภาพของไทยดี ผลผลิตออกมาจำนวน มาก ทำให้ประสบปัญหาราคาผันผวนมาโดย ตลอด ส่งผลให้เกษตรกรต้องแบกภาระการ ขาดทุน บางรายต้องเลิกอาชีพไปเพราะไม่มี หลั ก ประกั น หากมี ก ารบริ โ ภคเพิ่ ม ขึ้ น ตาม เป้ า หมาย 300 ฟอง น่ า จะทำให้ ร าคามี เสถียรภาพมากขึ้น ซึ่งจะส่งเสริมให้อาชีพเลี้ยง ไก่ ไ ข่ เ ป็ น อาชี พ ที่ ยั่ ง ยื น ต่ อ ไป” คุ ณ อรรณพ กล่าว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

เช่ น เดี ย วกั บ คุ ณ สุ เ ทพ สุวรรณรัตน์ นายกสมาคมผูเ้ ลีย้ ง ไก่ไข่ภาคใต้ ที่กล่าวว่า สำหรับ ในเรื่องของมาตรฐานในการผลิต ไข่นั้น อยากจะบอกว่าไม่น่ากังวล เพราะปัจจุบันนี้ การเลี้ยงไก่ไข่ จะ ต้องผ่านมาตรฐานฟาร์มของกรมปศุสัตว์ ไม่ว่า จะเป็นเรือ่ งของการเลีย้ ง การจัดการ การป้องกัน โรค สายพันธุ์สัตว์ รวมถึงพวกอาหารที่จะนำ ไปให้ไก่กนิ เรียกได้วา่ ตัง้ แต่ตน้ ทางถึงปลายทาง สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน ซึ่งต่อไป หาก จะเลี้ ย งโดยไม่ มี ใ บอนุ ญ าตคงจะเป็ น เรื่ อ งที่ ลำบากสำหรับผู้เลี้ยง ดังนั้น มั่นใจได้ว่า ไข่ในตลาดเวลาที่ ออกมาจะต้องได้รับมาตรฐาน เพราะเขาตรวจ

เข้ม ซึ่งทางเกษตรกรถ้าปฏิบัติได้ก็จะถือว่าเป็น ผลดี เพราะเขาตรวจเข้ม เดี๋ยวนี้มีอะไรไม่ดี โลกปัจจุบันมันเร็ว โดยเฉพาะเรื่องของการ สื่อสาร ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็สามารถรู้ได้ทันที ดังนั้น จะเห็นว่าเกษตรกรเองก็ยินดีที่จะปฏิบัติ ตาม ซึ่งก็สามารถแสดงให้เห็นถึงภาพรวมของ อุตสาหกรรมเราดีขึ้นด้วย สำหรั บ ตามพื้ น ที่ ห่ า งไกล หรื อ ตาม ชนบท จากการที่ได้ไปสำรวจ จะพบว่าเด็ก ส่วนใหญ่จะผอม เนื่องจากได้รับสารอาหารไม่ เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะทำ ยังไงให้เด็กเหล่านี้ได้สารอาหารอย่างครบถ้วน ซึ่งก็คิดว่าไข่ก็น่าจะช่วยตอบโจทย์ตรงนี้ได้พอ สมควร ดังนั้น จึงตั้งแผนงานไว้ว่าจะต้องให้ เด็กเหล่านี้ได้บริโภคไข่อย่างน้อย 3 ฟองต่อ สัปดาห์ เพราะเด็กบางคนสัปดาห์ทั้งสัปดาห์ ไม่ได้บริโภคไข่กม็ ี ซึง่ ตอนนีก้ รมอนามัยได้เข้ามา สนับสนุนให้เด็กได้กินไข่มากขึ้น นอกจากนี้ ก็จะให้กรมปศุสัตว์เข้าไปช่วย ดูแลด้วย ซึ่งอาจจะเป็นการเข้าไปให้ความรู้ ข้อมูลต่างๆ รวมถึงส่งเสริมให้มีการบริโภคไข่ กันมากขึ้น ปัจจุบัน หลายๆ พื้นที่ที่ห่างไกล หาซือ้ ไข่รบั ประทานลำบาก ก็จะมีการเลีย้ งไก่เพือ่ บริโภคเอง อย่างเช่น ตชด. เดี๋ยวนี้มีการเลี้ยง ไก่บริโภคไข่เอง ซึ่งก็ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี อย่างไรก็ดี ประมาณเดือนกันยายนนี้ ก็จะมี การประชุมเอ้กบอร์ดอีกครั้งหนึ่ง และต้องได้ ข้อสรุปที่ชัดเจนว่าจะไปในทิศทางไหน ซึ่งก็จะ ได้รบั ความร่วมมือจากทางกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษา ว่าจะทำอย่างไรให้เกิดการบริโภคไข่อย่างน้อย ให้ได้ 3 ฟองต่อสัปดาห์


“การผลิตไข่ไก่ของประเทศไทย ผลิตได้ ตามมาตรฐานของกรมปศุสัตว์ โดยมีการดูแล ตัง้ แต่ตน้ น้ำ คือ พันธุส์ ตั ว์ ตลอดจนกระบวนการ ผลิตที่ได้มาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย จนถึงมือ ผูบ้ ริโภค โดยในไข่ไก่ 1 ฟอง มีกรดอะมิโนจำเป็น ทุกชนิด มีวิตามิน และเกลือแร่อีกหลายชนิด เช่น วิตามินเอ วิตามินบี 2 วิตามินบี 6 วิตามินบี 9 (กรดโฟลิก) และวิตามินบี 12 เหล็ก

ขณะที่ ดร.สมบั ติ ธี ร ะตระกูลชัย ประธานคณะกรรมการ ธุรกิจปศุสัตว์ สภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย กล่าวด้วยว่า จากงาน วิจัยของ Frank B.Hu และคณะ จากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด สหรัฐอเมริกา ที่ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในปี ค.ศ. 1999 เกี่ยวกับการบริโภคไข่ไก่ และความเสี่ยงต่อโรค หัวใจและหลอดเลือดในชายและหญิง โดยเก็บ ข้อมูลจากกลุม่ คนกว่า 110,000 คน เป็นระยะ เวลา 14 ปี มีผลสรุปว่า การรับประทานไข่ไก่ วันละ 1 ฟอง ไม่ส่งผลให้เกิดโรคหลอดเลือด หัวใจ และยังมีงานวิจยั อืน่ ๆ เพิม่ เติมอีก 5 ฉบับ ที่ช่วยยืนยันได้อย่างแน่ชัดว่า ในผู้ที่มีร่างกาย ปกติ สามารถรับประทานไข่ไก่ได้สัปดาห์ละ 6 ฟอง โดยไม่สง่ ผลกระทบต่อร่างกาย ทัง้ ในด้าน โรคหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมอง แต่ จะมีความเสี่ยงในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จากผลการวิจยั ดังกล่าวของมหาวิทยาลัย ฮาร์เวิร์ด “ไข่ไก่” จึงควรเป็นอาหารปลอดภัย เพื่อสุขภาพอีกเมนูหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องหันมาให้

45 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ส่วนเรื่องของงบประมาณ เราตั้งเป้าใน ส่วนของค่าใช้จ่ายตั้งแต่วันที่เริ่มต้นโครงการ คือวันที่ 13 กรกฎาคม 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 เราตัง้ เป้าไว้ประมาณ 17-18 ล้านบาท ดังนั้น ส่วนที่เหลือก็ต้องขอความ อนุเคราะห์จากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการ บริจาค ซึ่งเงินบริจาคส่วนนี้ สมาคมก็จะมีคณะ กรรมการดูแลงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ แต่ละส่วนว่ามีความเหมาะสมกับความเป็นจริง หรือไม่ และทุกครัง้ ทีม่ กี ารดำเนินงานก็จะต้องมี แผนงานในการดำเนินงาน แล้วมานำเสนอให้กบั คณะกรรมการพิจารณาก่อนทีจ่ ะนำงบประมาณ ไปใช้ เพราะนัน่ มัน่ ใจได้เลยว่า ทุกบาททุกสตางค์ ที่ท่านบริจาคมานั้น ต้องใช้อย่างคุ้มค่าแน่นอน

แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และวิตามินอี นอกจากนั้น ไข่ยังเป็นหนึ่งในอาหารธรรมชาติ ไม่กี่ชนิดที่มีวิตามินดี และไข่แดงยังมีปริมาณ เลซิตนิ และโคลีน มากกว่าครึง่ หนึง่ ของปริมาณ ทีร่ า่ งกายต้องการต่อวัน เลซิตนิ และโคลีน เป็น สารอาหารทีม่ คี วามสำคัญต่อร่างกายและสมอง ของมนุษย์ เช่น ช่วยเพิม่ เซลล์สมอง และพัฒนา ระบบประสาทให้กบั เด็ก ช่วยปรับไขมันในเลือด ให้ดีขึ้น โดยเพิ่มเอชดีแอล-คอเลสเตอรอล และ ลดแอลดีแอล-คอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์” คุณสุเทพกล่าว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับในวันไข่โลก ทีจ่ ะถึงนีค้ อื ในวันที่ 14 ตุลาคม ทางเราก็ได้รบั ความร่ ว มมื อ จากสถาบั น ราชภั ฏ ทั่ ว ประเทศ ให้มกี ารจัดงานวันไข่โลก ส่วนจังหวัดไหนทีไ่ ม่มี สถาบันราชภัฏ ก็จะมีการจัดงานขึน้ ทีศ่ าลากลาง จังหวัด ซึง่ ผูท้ สี่ นใจก็สามารถไปร่วมกิจกรรมได้ ภายในงานก็จะมีกจิ กรรมมากมาย อาทิเช่น จะ มีการต้มไข่แล้วก็แจกให้กับผู้ที่มาร่วมงานฟรี นอกจากนี้ก็จะมีการจำหน่ายไข่ในราคาพิเศษ เป็นต้น


ความสำคัญและบริโภคมากขึ้น ที่สำคัญการ บริ โ ภคเพิ่ ม ขึ้ น จะช่ ว ยสนั บ สนุ น ให้ เ กษตรกร ผู้เลี้ยงไก่ไข่ มีอาชีพที่ยั่งยืนตลอดไป

46 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

คุ ณ เรวั ติ หทั ย สั ต ยพงศ์ ประธานโครงการรณรงค์บริโภค ไข่ไก่ กล่าวถึงที่มาของการจัดงาน รณรงค์ 300 ฟอง/คน/ปี ว่ า ธุรกิจไก่ไข่ทำกันมาหลายสิบปี ใน ธุ ร กิ จ นี้ มี ทั้ ง ดี ไ ม่ ดี ส ลั บ กั น ไปมา ธุรกิจไก่ไข่มีความเสี่ยงอยู่หลายเรื่อง เช่น 1. โรคระบาด 2. ราคาไข่ทขี่ ึ้นๆ ลงๆ ตามฤดูกาล หรือวัฏจักรของมัน 3. ต้นทุน โดยเฉพาะวัตถุดบิ เชื่อว่าต่อไปในอีก 20-30 ปีข้างหน้า พื้นที่ ในการเพาะปลูกจะขาดแคลน อาหารขาด และ อี ก เรื่ อ งอาจจะไม่ ใ ช่ ค วามเสี่ ย งแต่ อ าจเป็ น อุปสรรค หรือความท้าทายของผูบ้ ริโภคไทย 60 กว่าล้านคน จริงๆ ธุรกิจไก่ไข่ที่ออกสู่ผู้บริโภค ในปั จ จุ บั น เป็ น ฟาร์ ม ที่ ไ ด้ ม าตรฐาน สะอาด ปลอดภัย แต่สงิ่ หนึง่ ยังเป็นตราบาป ยังเป็นสิง่ ที่ ถูกยัดเยียดว่าไข่ไก่เป็นผู้ร้าย เป็นฆาตกรให้กับ ผู้บริโภค แต่เมื่อ 4-5 ปีที่ผ่านมา จะเห็นออกสื่อ อย่างต่อเนื่องว่า จริงๆ แล้ว ไข่ไก่ไม่ใช่ผู้ร้าย ไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคอย่างที่คิด แต่เป็น ประโยชน์ด้วยซ้ำไป ดังนั้น แนวทางที่เราจะ ต้องเดินไปข้างหน้าคือ การให้ความรูแ้ ก่ผบู้ ริโภค ไม่ว่าจะเป็นเด็ก นักเรียน คนทำงาน ผู้สูงอายุ แม้แต่หมอก็ตาม ต้องได้รับรู้ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ทั น สมั ย ให้ รู้ ว่ า ไข่ ไ ม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ ท ำอั น ตรายต่ อ ผู้บริโภค เมื่อภาพมันเปลี่ยนแต่คนยังไม่เปลี่ยน ยังเชือ่ แบบเดิมๆ การรณรงค์ทผี่ า่ นมา ช่วยกันทำ แต่ไม่ต่อเนื่อง จึงทำไม่สำเร็จ เมื่อวันนี้ เรา

มีความเห็นว่าต้องรณรงค์ให้ต่อเนื่อง ให้กินได้ 300 ฟอง/คน/ปี เหมือนกับหลายๆ ประเทศ ที่เรารู้ว่าเขากินเกือบ 300 ฟอง แต่บ้านเรา 200 ฟอง เมื่ อ เรามี แ ผนยุ ท ธศาสตร์ ที่ จ ะรณรงค์ ให้คนไทยกินไข่ 300 ฟอง/คน/ปี แล้ว เรา ต้องมียุทธศาสตร์ว่าทำอะไรบ้างภายใน 3 ปี ที่เราจะเดินไป ผมคิดว่าการทำกิจกรรมนี้ ทำ ปีเดียวไม่นา่ จะได้ผล ซึง่ ได้ปรึกษากับผูเ้ กีย่ วข้อง หลายท่าน รวมทั้งปรึกษานายกฯ ทั้งสามท่าน จึงคิดว่า อยากให้ทั้งสามสมาคม ซึ่งเป็นองค์กร ที่สังคมยอมรับ ให้รู้ว่าในหน้าที่ขององค์กรนั้น ควรจะทำเรื่องยุทธศาสตร์นี้ออกสู่สายตา ซึ่ง ทั้งสามท่านก็เห็นด้วย ดังนั้น เจ้าภาพ หรือ แม่งานของการรณรงค์บริโภคไข่ไก่ 300 ฟองนี้ จะเป็ น ของทั้ ง สามสมาคม ที่ จ ะเป็ น ทั พ หน้ า ขับเคลื่อน เมื่อยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน งบประมาณ ก็จะตามมา เงินจะมาจากไหน ก็ตอ้ งมาจากการ บริจาค เพราะทุกคนล้วนแต่มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการบริโภคไข่ให้เพิม่ ขึน้ ไม่วา่ จะเป็นฟาร์ม บริษัทผู้ผลิตพันธุ์ไก่ ขายอุปกรณ์ ขายอาหาร ขายยาวั ค ซี น แม้ แ ต่ ผู้ ค้ า เหล่ า นี้  ก็ มี ส่ ว น เกี่ยวข้องทั้งนั้น ฉะนั้น งานต่อไปคือ เรื่อง เงินบริจาคที่จะได้รับการสนับสนุนเป็นปัจจัย สำคัญ อันดับแรกที่เราจะหารายได้คือ การ จัดแข่งขันกอล์ฟการกุศล เพื่อช่วยให้งานนี้ ได้ขับเคลื่อนออกไป วันนี้เป็นวันสำคัญ การ รณรงค์ให้คนไทยบริโภคไข่นนั้ มีประโยชน์ จึง ขอเชิ ญ ชวนพวกเราช่ ว ยกั น เสี ย สละให้ กั บ โครงการนี้ และชวนเชิญคนที่อยู่ข้างนอกมา ร่วมกิจกรรมกัน ให้โครงการเกิดขึ้นได้ และ สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ในครั้งนี้


ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

สำหรับบริษทั ทีใ่ ห้การบริจาคในเบือ้ งต้น ดังนี้ บมจ.ซีพเี อฟ (ประเทศไทย) บริษทั แสงทองฟาร์ม จำกัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มกรุ๊ป บริษัท บีดี อะกริคัลเจอร์ (ประเทศไทย) จำกัด ซุ้นเซ้งฟาร์ม สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ภาคใต้ บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท อัลไลด์ อโกร จำกัด สุชาดาฟาร์ม และกรรณสูตรฟาร์ม

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

47


นักวิชาการแนะ

รับมือการเปลี่ยนแปลงด้วยความรู้และการปฏิบัติ

Market Leader

48

“รับมือการเปลี่ยนแปลงด้วยความรู้และการปฏิบัติ” ถือเป็นอีกหนึ่งหัวข้อ ที่น่าสนใจสำหรับงานสัมมนาเรื่อง “การปฏิรูปการเกษตร การปฏิรูปปศุสัตว์” เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559 ณ คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการสัมมนาในหัวข้อดังกล่าว ได้รับเกียรติจากวิทยากรมากประสบการณ์ในด้านต่างๆ มาถ่ายทอดความรู้และแนวปฏิบัติแก่ผู้เข้าร่วมงาน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ผศ.น.สพ.ดร.เดชฤทธิ์ นิลอุบล กล่าวเป็นท่านแรก ในประเด็นเรือ่ ง การผลิตสุกร : โรคระบาดและประสิ ท ธิ ภ าพ “คำตอบสูค่ วามยัง่ ยืน” โดยกล่าวว่า โรคระบาด ต่างๆ นั้น ถือว่ามีส่วนสำคัญอย่างมากสำหรับ การผลิตสุกร ทัง้ ในเชิงประสิทธิภาพและปริมาณ และก็ไม่ใช่ประเทศไทยประเทศเดียวทีต่ อ้ งเผชิญ กับโรคระบาด แต่รวมถึงทั่วทั้งโลกก็ต้องเผชิญ เช่นเดียวกัน ดังนัน้ ก็ขนึ้ อยูก่ บั ว่าแต่ละประเทศ จะมีวิธีรับมืออย่างไรกับโรคระบาดที่เกิดขึ้น สำหรับประเทศไทย โรคที่สร้างความ เสียหายหลักๆ ที่พบก็จะมีอยู่ประมาณ 3 โรค คือโรค PRRS, PED และขาเจ็บ แน่นอน โรคเหล่ า นี้ ล้ ว นแต่ ส ร้ า งความเสี ย หายให้ กั บ ผูป้ ระกอบการมาแล้วอย่างมหาศาล คำถามก็คอื ณ วันนี้ เรามีโรคเดิมอยู่แล้ว ต่อไปจะมีโรค ที่มา : สาสน์ไก่ & สุกร

อะไรเข้ามาในประเทศอีก ดังนั้น ก็อยากให้ เตรียมรับมือและป้องกันให้ดี ต้องมีการวางแผน ทีเ่ ป็นแนวทางในการป้องกัน รวมถึงการจัดการ ปัญหาโรคระบาดในประเทศและการเข้ามาของ โรคใหม่ด้วย อย่ า งไรก็ ดี ปั จ จุ บั น ประเทศได้ มี ก าร ปรับเปลี่ยนวิธีการเลี้ยง การจัดการ เพื่อให้ เข้าสู่มาตรฐานและการป้องกันโรคมากขึ้น ซึ่ง จะเห็นได้จากวิธีการเลี้ยงจากเดิมที่เลี้ยงแบบ หลังบ้าน ก็ปรับเปลี่ยนให้เข้าสู่การเลี้ยงแบบ อุตสาหกรรมมากขึ้น มีการนำระบบเทคโนโลยี เข้ า มาใช้ ไม่ ว่ า จะเป็ น ระบบโรงเรื อ นอี แ ว๊ ฟ รวมถึงระบบอุปกรณ์การเลี้ยง มีการใช้ระบบ การผลิตที่ลดแรงงาน ทั้งนี้ เนื่องจากค่าแรง ที่ค่อนข้างสูงและไม่แน่นอน จึงทำให้ต้องใช้ เทคโนโลยีในการลดการใช้แรงงาน โดยเฉพาะ เกษตรกรรุ่นใหม่ที่ต้องยอมรับว่า หลังจากที่


ดังนั้น อยากจะบอกว่า อย่ายึดติดกับ แนวคิดเดิมๆ ให้คิดนอกกรอบ แต่ต้องเป็น นอกกรอบที่อยู่บนพื้นฐานของข้อมูล นั่นคือ เราต้องมีข้อมูลพื้นฐานฟาร์ม พื้นฐานการผลิต ข้อมูลพื้นฐานของโลกและของประเทศ แล้วนำ ข้อมูลเหล่านัน้ มาวิเคราะห์ จากนัน้ นำมาประยุกต์ โดยใช้งานวิจัยนำหน้าเข้าไป แต่งานวิจัยอะไร ต้องตอบโจทย์กับความต้องการของสังคมกับ สิ่ ง ที่ มั น เพิ่ ม ผลผลิ ต แล้ ว ก็ แ ก้ ไ ขปั ญ หาได้ จ ริ ง ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งระบาด หรือการพัฒนาสายพันธุ์ เพราะการที่เราจะแก้ปัญหาได้ เราต้องเข้าสู่ ปัญหารู้จริง ทำจริง อย่ า งเช่ น เรื่ อ งของสายพั น ธุ์ ที่ อ ยากจะ บอกว่า อย่ายึดติดอยู่กับแนวคิดเดิมๆ อย่าง

น.สพ.ดำเนิน เสาะสื บ งาม กล่ า วในประเด็ น เรือ่ ง การผลิตไก่ : มาตรฐาน โลก “ปรับทิศทางในกระแส โลก” โดยกล่าวว่า ไก่ถือเป็น สินค้าเกษตรที่มีการส่งออกเยอะ สร้างมูลค่า ในการส่งออกมหาศาล ซึ่งปัจจุบันประเทศไทย เราเองก็เข้าเป็นสมาชิก AEC ซึ่งก็เป็นเหตุให้ จำนวนประชากร ผู้บริโภค หรือคนที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้น และนั่นก็หมายถึงโอกาสทางการค้า ที่จะเพิ่มขึ้น ทั้งของผู้ประกอบการ ผู้เลี้ยง และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ดี ในโอกาสก็อาจจะกลายเป็น วิ ก ฤตได้ ถ้ า หากเรามี ก ารจั ด การที่ ไ ม่ ดี พ อ โดยเฉพาะโรคระบาด ซึ่งต้องยอมรับว่าปัจจุบัน การเข้าถึงวัคซีนยังไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะกับผู้ที่ เลี้ยงไก่พื้นเมือง ซึ่งปัจจุบันทางกรมปศุสัตว์ก็ พยายามที่จะทำวัคซีน ผลิตวัคซีนเพื่อนำไปแจก จ่ายให้ทวั่ ถึง แต่ปญ ั หาก็คอื วัคซีนยังไม่สามารถ เข้าถึงไก่ได้ทั้งหมด ทั้งที่กรมปศุสัตว์ก็ได้นำ วั ค ซี น ไปไว้ ที่ อ ำเภอ และจั ง หวั ด แต่ ก็ ยั ง ไม่ สามารถเข้าถึงคนเลี้ยงได้ทั้งหมด โดยเฉพาะ ผูเ้ ลีย้ งไก่หลังบ้าน เพราะบริษทั หรือฟาร์มทีเ่ ลีย้ ง

49 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

กล่าวคือ ด้วยเทคโนโลยีตา่ งๆ ทีน่ ำเข้ามา ใช้นั้น ได้ทำให้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นลดลง ได้ด้วยการปรับเปลี่ยนการเลี้ยง การจัดการ ที่ นอกจากจะช่วยป้องกันโรคได้ในระดับหนึ่งแล้ว ก็ยังเป็นที่ยอมรับจากต่างประเทศมากขึ้น จน สามารถส่งออกได้ ดังนั้น ก็อยากจะบอกว่า หลังจากโรคระบาดทีเ่ กิดขึน้ ทุกคนอาจจะคิดว่า ประเทศไทยทุกวันนี้มีแต่โรคระบาด จริงๆ แล้ว ฟาร์มดีๆ ให้ผลผลิตดีๆ ก็มีอยู่ค่อนข้างเยอะ พอสมควร เพราะฉะนั้นอยากจะบอกว่า อะไร ก็แล้วแต่ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะโรคระบาด อย่า ทำให้ เ กิ ด ปั ญ หาจนไปกระทบต่ อ การส่ ง ออก จึงอยากให้ทุกคนร่วมมือกัน

เรื่องของสายพันธุ์ที่หลายคนยังคงคิดว่าลูกดก แล้วได้อะไร เลี้ยงไปก็ไม่รอด อยากจะบอกว่า ปัจจุบนั มีเทคโนโลยีทเี่ กิดขึน้ มากมายทีจ่ ะเข้ามา ช่วยให้ท่านทำได้ สำหรับหน่วยงานที่ทำงาน เกี่ ย วข้ อ งกั บ โรคระบาด ไม่ ว่ า จะเป็ น สั ต วแพทยสภา จุฬา หรืออีกหลายๆ หน่วยงานนั้น ได้มีการประชุมวิชาการที่จะนำเสนอว่าเราได้มี งานใหม่ๆ ออกไปสูส่ งั คม และก็มกี ารติดตามทุกปี นี่คือสิ่งที่อยากจะฝากบอกออกไป

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

เข้ามาบริหาร ก็เข้าถึงเทคโนโลยีมากขึ้น มีเงิน ซื้อของจากต่างประเทศมาใช้ จึงไม่ต้องกังวล เรื่องของการแพร่โรค รวมถึงเรื่องของการกิน อาหารที่สัตว์ได้รับไม่ทั่วถึง และยังรวมไปถึง เรื่องของแรงงานด้วย


เขามีการทำวัคซีนกันปกติอยู่แล้ว ดังนั้น เรื่อง ของโรคทีย่ งั เป็นปัญหาสำคัญในปัจจุบนั ก็คอื ไก่ พื้นเมืองยังไม่ได้รับวัคซีนที่เหมาะสมเท่านั้นเอง ซึ่งในส่วนนี้จะมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร ก็ต้อง เป็นความร่วมมือจากผูเ้ ลีย้ งทุกคนด้วย โดยเฉพาะ กับผู้เลี้ยงไก่พื้นเมือง

50

นอกจากการได้รับวัคซีนไม่เพียงพอแล้ว หรือได้รบั ไม่เหมาะสม เรือ่ งทีส่ ำคัญอีกอย่างคือ ยังปล่อยให้มีการเคลื่อนย้ายสัตว์ป่วย สัตว์ตาย ทำให้เกิดปัญหา ซึง่ สาเหตุของการแพร่เชือ้ หรือ สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาส่วนหนึ่งก็คือคนที่รับ ซือ้ แล้วไปนัง่ ขายต่อ บางทีตอ้ งใช้เวลา 2-3 วัน ทำให้เกิดการแพร่เชื้อ รวมถึงการแลกเปลี่ยน และถ่ายทอดพันธุกรรมของโรค ซึ่งในส่วนนี้ก็ ต้องหาวิธีการแก้ปัญหาเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ ของเชือ้ โรค และเพือ่ ป้องกันโรคทีจ่ ะเกิดขึน้ ด้วย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

อย่างไรก็ตาม ต้องนับว่าโชคดีที่ฟาร์ม ส่วนใหญ่ในประเทศ มีไบโอซิเครียวริตี้พื้นฐาน เหมือนกับต่างประเทศแล้ว คือมีการเลี้ยงใน ระบบมาตรฐาน ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนเสื้อผ้า การชุบตัว เปลี่ยนรองเท้าก่อนเข้าไปที่ฟาร์ม มีการควบคุมต่างๆ ตามระบบมาตรฐานที่ต่าง ประเทศยอมรับ ซึ่งปัจจุบันฟาร์มที่เลี้ยงไก่ใน ระบบอุตสาหกรรมจะเน้นอยู่ 6 เรื่องหลักๆ 1. พันธุ์ที่พัฒนาแล้ว 2. การดู แ ลจั ด การความปลอดภั ย ทาง ชีวภาพ 3. การควบคุ ม โรคที่ ใ กล้ ชิ ด มี ก าร วิเคราะห์ของโรคเร็ว และแก้ปัญหาให้ถูกต้อง 4. ให้อาหารแลกเนือ้ ทีต่ ำ่ โดยการให้หลัก สมดุลของสารอาหารที่ชัดเจน

5. การควบคุ ม อุ ณ หภู มิ เพราะว่ า  ถ้ า เล้ามันร้อนก็จบ มันไม่กินอาหารก็จบ 6. สัตวแพทย์มีความสำคัญมากในการ วินิจฉัยต่างๆ แต่อย่างไรก็ดี ส่วนตัวมองว่า เราจะ ผ่านปัญหาไปได้ถ้าเราร่วมมือกัน ซึ่งที่ผ่านมา ก็ ไ ด้ พิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น แล้ ว ในการต่ อ สู้ เ รื่ อ งวิ ก ฤต ไข้หวัดนก ซึ่งนอกจากจะผ่านปัญหานั้นมาได้ แล้ว ก็ยังทำให้เรารู้จักที่จะพัฒนาตัวเองด้วย ไม่วา่ จะเป็นในส่วนของการพัฒนารูปแบบสินค้า จากที่ส่งเป็นไก่สด ก็พัฒนามาเป็นไก่ปรุงสุก มี การพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ทีอ่ อกมา หลากหลายรูปแบบ ซึ่งก็ถือเป็นทางเลือกให้ กับผู้บริโภคได้มีทางเลือกมากขึ้นอีกด้วย ดังนั้น อยากจะบอกว่า เทรนด์ของไก่เนื้อ ไก่ไข่ใน ปัจจุบันอยู่ได้ก็คือมีการส่งออก และภาคของ การส่งออกซึง่ ลูกค้าจะเป็นคนกำหนดเรา ให้เรา ต้องปรับปรุงตัวเอง รศ.น.สพ.ดร.จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์ กล่าวใน ส่วนของสัตว์นำ้ ในประเด็น กุง้ ปลา มีอนาคต “ขอคำตอบ ชัดๆ” ซึ่งกล่าวว่า จริงๆ แล้ว สัตว์น้ำบ้านเราก็มีการเพาะเลี้ยงอยู่หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นปลา หรือกุ้ง และถ้าหากจะกล่าว ถึงความสามารถของเกษตรกรในการเพาะเลีย้ ง สัตว์น้ำบ้านเรานั้น ต้องยอมรับว่าเกษตรกร บ้านเราค่อนข้างมีความสามารถในการเพาะเลี้ยง การจัดการค่อนข้างดี มีการแปรรูป ซึ่ง เป็นที่ยอมรับ มีผู้ประกอบการที่มีศักยภาพสูง มีการพัฒนาตัวเองอยูต่ ลอด และมีการรวมกลุม่ อย่างเข้มแข็ง มีรูปแบบที่ชัดเจนในการเลี้ยง


อย่างไรก็ดี สำหรับในเรื่องของการใช้ แรงงาน เราก็จะเห็นว่าปัจจุบันทุกภาคส่วนก็ได้ มีการพยายามในการแก้ปญ ั หากันอยู่ และคิดว่า ถ้าหากทุกคนร่วมมือกันก็จะสามารถผ่านพ้น ปัญหานั้นไปได้ ส่วนเรื่องของโรคระบาดนั้น ส่วนหนึง่ คิดว่าเกิดจากการนำเข้าสายพันธุ์ แล้ว ไม่มีการตรวจสอบที่ละเอียดและเข้มงวดเท่าที่ ควร ดังนั้น จึงคิดว่าอาจจะต้องมีการควบคุม ในเรื่องของการนำเข้าสายพันธุ์ด้วย หรือถ้า หากมีการนำเข้ามาก็อยากให้มกี ารตรวจสอบให้ ละเอียดและเข้มงวดมากขึ้น นอกจากนี้ ส่วนตัว อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าไปตรวจ หรือ รักษาโรคสัตว์นำ้ อยากให้เข้าถึงฟาร์ม พร้อมกับ ดูแลเรือ่ งของสิง่ แวดล้อม โดยอาจจะมีการนำน้ำ ที่ใช้แล้วไปบำบัดแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น นอกจากนี ้ ก็อยากให้ดเู รือ่ งของคุณภาพน้ำ เรือ่ ง ของคุณภาพสัตว์ ซึ่งก็คิดว่าน่าจะช่วยลดปัญหา เรื่องของโรคลงไปได้

วันนีเ้ อง จากกระแสโลกเรือ่ งของวัตถุดบิ ก็คงจะรับทราบกันดีว่าในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา สิง่ ทีเ่ ป็นความต้องการของผูบ้ ริโภค ได้แก่ ราคา ทีเ่ หมาะสม ต้นทุนไม่สงู จนเกินไป คุณภาพอาหาร ต้องดี มีมาตรฐาน ซึ่งภาพการผลิตอาหารสัตว์ ของโลกเราในช่วง 4 ปีทผี่ า่ นมา มีการเปลีย่ นแปลงที่ ส ำคั ญ คื อ มี ก ารป้ อ นเข้ า ไปในวงจร ของสัตว์เศรษฐกิจ ปีล่าสุดก็ประมาณ 1,000 ล้านตัน จากสัดส่วนในจำนวน 1,000 ล้านตัน กว่าครึ่งเป็นสัตว์ปีก โค ทั้งเนื้อและนม อีก ประมาณ 20% สัตว์น้ำ 10% สัตว์เลี้ยง 2% (โดยประมาณ) ฉะนั้น โดยโครงสร้างจะเห็น ได้ว่า ตัวหลักๆ อาหารก็คือตัวสัตว์ปีก และโค ที่ใช้ในด้านของอาหารที่สูง

51 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

จนกระทั่งเกิดปัญหาโรคระบาดเกิดขึ้น แน่ น อนว่ า เป็ น ปั ญ หาที่ อ ยู่ เ หนื อ การควบคุ ม หรือควบคุมได้ยาก จนสร้างความเสียหายให้กบั ผู้ประกอบการไม่น้อย และหนึ่งในโรคที่สร้าง ความเสียหายให้กับผู้ประกอบการ และกระทบ ไปถึงการส่งออกก็คอื โรค EMS หรือทีเ่ รียกว่า โรคตายด่วนในกุง้ ส่งผลทำให้มลู ค่าการส่งออก ลดลง และลดลงอีกหลังจากที่เจอปัญหาเรื่อง ของแรงงานทีม่ กี ารตรวจพบว่ามีการใช้แรงงาน ผิดกฎหมาย ส่งผลทำให้ต่างประเทศสูญเสีย ความเชือ่ มัน่ ทีม่ ตี อ่ ประเทศไทย ซึง่ ก็สง่ ผลทำให้ มูลค่าการส่งออกลดลงไปด้วย

คุณบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ กล่าวในส่วนของ อุ ต สาหกรรมอาหารสั ต ว์ ในประเด็นทิศทางวัตถุดิบ อาหารสัตว์ 2559 : ความ ท้ า ทาย “รั บ มื อ ภั ย แล้ ง และโลกร้ อ น” โดย กล่าวว่า เนื่องจากอุตสาหกรรมอาหารสัตว์นั้น มีส่วนเกี่ยวข้องกับภาคปศุสัตว์ของไทยค่อนข้าง มาก รวมถึ ง ในด้ า นของวงจรห่ ว งโซ่ อ าหาร ดั ง นั้ น ความสำคั ญ ในการเปลี่ ย นแปลงของ ตั ว วั ต ถุ ดิ บ อาหารสั ต ว์ ก็ จ ะมี ผ ลกระทบมาก พอสมควร ซึ่งในอดีตเองทางสมาคมก็มักจะ วิเคราะห์ และมองในเรื่องของตัวสถานการณ์ ราคาวั ต ถุ ดิ บ พยายามวิ เ คราะห์ เ พื่ อ จะตอบ โจทย์ ลู ก ค้ า ไม่ ว่ า จะอยู่ ใ นประเทศใดก็ ต าม โดยว่าด้วยต้นทุนราคาที่สูง และต้องตอบโจทย์ ในเรื่องของความปลอดภัยทางด้านอาหารทั้ง ระบบด้วย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

สัตว์น้ำ จนเป็นที่ยอมรับจากหลายๆ ประเทศ ดังนั้น สัตว์น้ำจึงเป็นอีกหนึ่งสินค้าที่มีมูลค่า ในการส่งออกไม่น้อยเลยทีเดียว โดยเฉพาะกุ้ง


อย่างไรก็ดี ในธุรกิจอาหารสัตว์เองก็เจอ วิกฤตมาแล้วหลายๆ เรื่อง ตั้งแต่ไข้หวัดนก ค่าของอาหารและพลังงานแย่ เจอภาวะน้ำท่วม ใหญ่ เจอภาวะภัยแล้ง ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วน แล้วแต่ทำให้แหล่งวัตถุดิบมีการปรับตัวที่สูงขึ้น ซึ่งก็ส่งผลถึงราคาอาหารสัตว์ด้วย ฉะนั้น จาก การวิเคราะห์อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของไทย อาจจะเป็นตัวอธิบายวงจรห่วงโซ่อาหารของไทย ด้วยก็ได้

52 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

วัตถุดิบตลาดที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ของไทย ณ วันนี้ 60% เป็นพวกแป้ง เรามีการ ผลิตข้าวโพด ข้าว รำ หรือแม้กระทัง่ มันสำปะหลัง และประมาณ 1 ใน 10 ก็คอื โปรตีนจากถัว่ เหลือง และปลาป่น เราใช้ปลาป่นประมาณ 2-3% และ มีวตั ถุดบิ อืน่ อีก 12% กลุม่ นีจ้ ะเป็นกลุม่ โปรตีน โดยเฉพาะโปรตีนจากสัตว์ และถ้าหากดูจาก โครงสร้างในปัจจุบันประเทศไทย ถ้าเรามาดู 60% จริงๆ แล้ว ยังมีบางส่วนทีต่ อ้ งนำเข้าจาก ต่างประเทศ กรณีการใช้ผลิตภัณฑ์แป้งจาก ข้าวสาลีเข้ามาทดแทน เนื่องจากข้าวโพดผลิต ไม่ทัน การปลูกข้าวโพดประเทศไทยเราในช่วง 10 กว่าปีที่ผ่านมา ค่อนข้างคงที่ หรือลดลง ซึง่ โดยรวมในปัจจุบนั โครงสร้างทีผ่ ลิตในไทยเรา ต้องพึ่งพาวัตถุดิบจากต่างประเทศเกินครึ่ง ทั้ง ในเชิงปริมาณและคุณภาพ เราประเมินแล้ว การเติบโตของสัตว์ มีการเติบโตขึน้ ทุกปี แต่เรา ต้องมีวัตถุดิบในประเทศที่เติบโตเพิ่มขึ้นไปด้วย ไม่เช่นนั้นอาจมีปัญหาได้

ดังนั้น แนวคิดในอนาคต เราจะต้อง ลงไปตอบโจทย์ในการแก้ปัญหาการใช้พื้นที่ให้ ถู ก ต้ อ ง และทำให้ เ กิ ด ภาวะสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี หมายถึง ต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นี่ก็เป็น สิ่งที่คิดว่าน่าจะเป็นแนวคิดในอนาคตของเรา คงต้องปรับ เราคงไม่มาโฟกัสในเรื่องของการ ควบคุมอย่างเดียว ห่วงโซ่อปุ ทานอาหาร ประเทศ ไทยจากนีไ้ ปในอนาคต 20 ปี ต้องมียทุ ธศาสตร์ ทีจ่ ะตอบในเรือ่ งของ 3S นัน่ คือ Safety ตัง้ แต่ อุตสาหกรรมไปจนถึงส่งออก ต้องตอบโจทย์ ในเรื่องของความปลอดภัยให้ได้ security และ sustainability 3S ต้องเดินต่อ แล้วเอาภาพลักษณ์มาโชว์ในการทำให้เกิดภาพห่วงโซ่อปุ ทาน อาหารประเทศไทย มีการผลิตโดยใช้ GMP เป็นตัวนำร่อง สิ่งที่ต้องเดินต่อก็คือพวกวิธีการ ยั่งยืน มีตัวชี้วัดในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทีเ่ หมาะสม ต้องตามงานวันนี้ แต่แน่นอน พวกนี้ ต้องใช้เวลา มีการปรับปรุง และต้องทำคู่กับ การลดต้นทุนการผลิตสินค้า ต้องลดต้นทุนทีเ่ ป็น ปัญหาธรรมชาติ ต้องใช้ทรัพยากรให้เหมาะสม นี่เป็นเป้าหมาย และต้องเร่งทำด้วย สรุป การเติบโตอาหารสัตว์ของไทยใน ปัจจุบนั ถือว่าเรามีศกั ยภาพในการเป็นครัวของ โลกที่ ดี อุ ต สาหกรรมอาหารสั ต ว์ ถื อ เป็ น จุ ด สำคัญที่จะเป็นตัวเชื่อมโยง ทำให้ห่วงโซ่อาหาร มีมาตรฐาน มีความยั่งยืน ซึ่งภาครัฐ ภาค เอกชน ต้องร่วมมือกันอย่างจริงจังทีจ่ ะเข้าไปช่วย เกษตรกรของเรา แต่ระยะเวลามันหนีไม่พน้ การ เติบโตของประชากรโลก และสุดท้าย เราจำเป็น ต้องปฏิรูปให้ห่วงโซ่อุปทานอาหารของไทยมี แนวคิดการผลิตที่มีระบบที่ยั่งยืนต่อไป



1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ ­n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ­° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥

Pellet mill Dryer

Extruder

Pulverizer

Mixer

Hammer mill


'Agri-Map'

ขณะนีไ้ ด้จดั ส่ง Agri-Map ให้กบั คณะกรรมการขับเคลือ่ นนโยบายกระทรวง เกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command) ทัง้ 77 จังหวัดแล้ว เพือ่ ใช้เป็นกลไกหนึง่ ในการสร้างความเข้าใจให้กบั เกษตรกร นำไปสูก่ ารปรับเปลีย่ น

ที่มา : แนวหน้า ฉบับวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559

53 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นางสาวจริยา สุทธิไชยา รองเลขาธิการสำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก หรือ Agri-Map นั้น เป็นการบูรณาการข้อมูลจากหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ นำมาใส่ซ้อนทับลงในแผนที่ ดังกล่าว ได้แก่ ชัน้ ที่ 1 เป็นแผนทีค่ วามเหมาะสมของดิน แบ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ค วามเหมาะสมที่ สุ ด S1 เหมาะสม ปานกลาง S2 เหมาะสมน้อย S3 หรือไม่เหมาะสมเลย N แผนที่ชั้นที่ 2 เป็นข้อมูลแหล่งน้ำ ทั้งแหล่งน้ำในพื้นที่ เขตชลประทาน คลองส่งน้ำต่างๆ แผนที่ชั้นที่ 3 เป็น แหล่งข้อมูลด้านโลจิสติกส์ แหล่งทีต่ งั้ โรงงานอุตสาหกรรม หรือจุดรับซือ้ ผลผลิตภายในจังหวัดนัน้ ๆ พร้อมกับมีขอ้ มูล การวิเคราะห์สินค้าที่เหมาะสม ต้นทุนการผลิต ราคาสินค้า ปริมาณผลผลิต ช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม ไปจนถึงผลตอบแทนที่ได้รับ ฉะนั้น Agri-Map จึงมีข้อมูลทั้งด้านกายภาพและเศรษฐกิจรวบรวมไว้ เป็นข้อมูลของแต่ละจังหวัด

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จดั ทำแผนทีเ่ กษตรเพือ่ การบริหารจัดการ เชิงรุก หรือ Agri-Map (Agricultural Map for Adaptive Management) สำหรับเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ วางแผนพัฒนาการทำเกษตรให้กับ เกษตรกรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพพืน้ ทีแ่ ละสภาพเศรษฐกิจ ของจังหวัดนั้นๆ

Market Leader

เครื่องมือสู่ การพั ฒนาวงการเกษตรไทย


54 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

พฤติกรรมการทำการเกษตรให้มคี วามเหมาะสม กับสภาพพื้นที่ สภาพภูมิอากาศ ที่สำคัญสอดคล้องความต้องการของตลาดมากขึ้น โดยล่าสุด พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ เ ปิ ด ปฏิ บั ติ ก ารขั บ เคลื่ อ นการปรั บ เปลี่ ย น กิจกรรมทางการเกษตรทีไ่ ม่เหมาะสม ตามแผนที่ Agri-Map ทีจ่ งั หวัดชัยภูมิ พร้อมกันนีไ้ ด้คดั เลือก จังหวัดชัยภูมิ บุรีรัมย์ และอุทัยธานี เป็น 3 จังหวัดนำร่องทำกิจกรรมปรับเปลี่ยนการผลิต ในพืน้ ทีท่ ไี่ ม่เหมาะสม โดยใช้เครือ่ งมือ Agri-Map เป็ น ตั ว นำในการวางแผนการผลิ ต และดู ว่ า สินค้าเกษตรในจังหวัดนั้นที่ไม่เหมาะสมกับการ ผลิต หรือผลิตแล้วมีต้นทุนสูง แข่งขันในตลาด ได้ยาก ดังเช่นกรณีของจังหวัดชัยภูมิ และบุรรี มั ย์ จะพบว่าพืน้ ทีน่ าข้าวไม่เหมาะสมเลยอยูใ่ นระดับ

N มีพื้นที่หลายแสนไร่ แต่ตามนโยบายของ กระทรวงเกษตรฯ หากพืน้ ทีน่ าข้าวทีไ่ ม่เหมาะสม นัน้ มีการปลูกข้าวหอมมะลิ หรือข้าวเหนียว จะไม่ ปรับเปลีย่ น เพราะเป็นข้าวหอมมะลิทมี่ คี ณ ุ ภาพ ตลาดมีความต้องการ ขณะทีข่ า้ วเหนียว เป็นข้าว เพื่อการบริโภคของคนในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวมถึงภาคเหนือ ดังนัน้ จะปรับเปลีย่ น พื้นที่นาข้าวที่ไม่เหมาะสม เฉพาะพื้นที่ที่ปลูก ข้าวขาว ซึ่งมีความต้องการค่อนข้างน้อยกว่า ปริมาณผลผลิตที่ออกมา เบื้องต้นมีเป้าหมาย ปรับเปลี่ยนพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมของ 3 จังหวัด นำร่องประมาณ 1,300 ไร่ ไปทำกิจกรรมอื่น ที่เหมาะสมกว่าแทน สำหรั บ กิ จ กรรมที่ จ ะปรั บ เปลี่ ย นให้ กั บ เกษตรกรในพื้นที่ที่ไม่เหมะสมนั้น กระทรวง เกษตรฯ มีการบูรณาการหลายหน่วยงานใน


55 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นอกจากการใช้ Agri-Map เป็นเครือ่ งมือ ช่วยในการปรับการผลิตที่ไม่เหมาะสม เพื่อลด อุปทานของสินค้าทีป่ ลูกในพืน้ ทีท่ ไี่ ม่เหมาะสม N แล้ว ยังมีการใช้เครือ่ งมือของกระทรวงเกษตรฯ โดยเฉพาะการถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกร ผ่านศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร (ศพก. 882 ศูนย์) และกำกับ ดูแลโดย Single Command อีกทั้งมีผู้ตรวจ ราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลงพื้นที่ ไปตรวจเยี่ยมให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะ ทำให้การดำเนินการเป็นไปอย่างเป็นระบบและ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น จาก 3 จังหวัดนำร่อง ก็จะมีจังหวัดที่นำเครื่องมือเหล่านี้ไปปรับใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดในปีต่อๆ ไปได้

"การปรับเปลี่ยนอาชีพให้มีความเหมาะสมนั้ น ขึ้ น อยู่ กั บ ความสมั ค รใจของเกษตรกร ซึ่งสามารถแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ปรับเปลี่ยน ชั่วคราว คือปรับเปลี่ยนกิจกรรมบางกิจกรรม ทำเพิ่ ม ขึ้ น มาเพื่ อ มี ร ายได้ เ สริ ม อาชี พ หลั ก หรือปรับเปลี่ยนถาวร คือเลิกปลูกพืชแบบเดิม ไปทำกิ จ กรรมใหม่ ซึ่ ง ทั้ ง หมดนี้ ก็ ขึ้ น อยู่ กั บ ความเหมาะสมของชุดดิน สภาพดินฟ้าอากาศ แหล่งน้ำ โลจิสติกส์ และตลาด อย่างไรก็ตาม เกษตรกรต้องมีการรวมกลุ่มกันแม้จะเปลี่ยนไป ผลิตอะไรก็ตาม เพื่อสร้างความเข้มแข็งและ มัน่ คง โดยหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ พร้อมจะเข้าไปให้คำแนะนำ ช่วยเหลือในการปรับ เปลี่ยนอาชีพให้มีความเหมาะสมเพื่อให้สอดรับ กับนโยบายลดต้นทุน เพิม่ โอกาสในการแข่งขัน" รองเลขาธิการ สศก. กล่าว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

สังกัด ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมหม่อนไหม กรม วิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง โดย เลือกโครงการต่างๆ ไปลงในพื้นที่ เพื่อการ ปรับเปลี่ยนอาชีพจากพื้นที่ไม่เหมาะสม มาเป็น ทำเกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ เลี้ยง ปศุ สั ต ว์ ทำประมงและปลู ก หม่ อ นเลี้ ย งไหม เช่น ปรับเปลี่ยนจากนาข้าวที่ไม่เหมาะสมที่เป็น พืชเชิงเดีย่ ว ไปปลูกอ้อยทีเ่ ป็นเชิงเดีย่ วใหม่แทน หรือลดความเสี่ยงจากปลูกพืชอย่างเดียวมาทำ ผสมผสาน หรือไม่ปลูกพืชแล้วแต่หันมาเลี้ยง ปศุสัตว์โคเนื้อ โคนม กระบือ หรือไก่พื้นเมือง และปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไป หรือจะเปลี่ยน มาทำประมง หรือปลูกหม่อนเลี้ยงไหม แต่ ขณะเดียวกันก็สามารถปลูกข้าวไว้บริโภคได้


ผวาเบอร์ 1 ไก่บราซิลปักฐานไทย ทำซัพพลายล้น ราคาดิ่ง/เป้าส่งออก 9.1 หมื่นล้านต้องลุ้น

Market Leader

56

วงการสัง่ จับตา “บี อาร์ เอฟ” เบอร์ 1 ไก่บราซิล ทุม่ 1.2 หมืน่ ล้าน เทกโอเวอร์ “โกลเด้น ฟูด้ ส์ สยาม” บริษทั แปรรูปธุรกิจไก่ครบวงจร ชัน้ นำในไทย ผวาอนาคตขยายกำลังผลิตยิง่ ทำ ล้นตลาด ราคาดิง่ เหว ชีเ้ หตุลงทุนใช้เป็นฐาน ผลิตส่งออกตลาดญีป่ นุ่ อาเซียน ใช้โควตาไทย ส่งออกอียู อุบเงียบแผนลงทุน ขณะอุตสาหกรรม ไก่ไทยโอด ปีนไี้ ม่สดใส สารพัดปัญหารุม ตลาด ส่งออกราคารูดหนัก เป้า 9.1 หมื่นล้านต้อง ลุ้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

กรณีที่บริษัท บี อาร์ เอฟฯ หรือบราซิล ฟู้ดส์ ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิต และส่งออกผลิตภัณฑ์ ไก่รายใหญ่สดุ ของบราซิล ได้เข้าซือ้ กิจการ บริษทั โกลเด้น ฟู้ดส์สยาม จำกัด ผู้ดำเนินธุรกิจไก่ ครบวงจร และเป็นบริษัทแปรรูปไก่ชั้นนำของ ไทย ที่มีเครือข่ายใน 15 ประเทศทั่วโลก และ ติด 10 อันดับแรกของบริษัทผู้ผลิตและส่งออก สินค้าไก่ของไทย และล่าสุด บริษทั โกลเด้น ฟูด้ ฯ สยามฯ ได้เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท บี อาร์ เอฟ (ไทยแลนด์) จำกัด เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2559 นั้น แหล่งข่าวจากวงการผู้ผลิตและส่งออก สินค้าไก่ เปิดเผยว่า การซือ้ ขายดังกล่าวมีมลู ค่า ประมาณ 1.2 หมื่นล้านบาท ขณะนี้ทราบจาก วงในว่า บริษัทเตรียมขยายกำลังการผลิตทั้ง

ในส่วนของโรงเชือด และโรงแปรรูป แต่ยัง ไม่ทราบรายละเอียดทีช่ ดั เจน สำหรับการเข้าซือ้ กิจการในครั้งนี้มองว่า ทาง บี อาร์ เอฟ มี เป้าหมายการใช้ฐานการผลิตส่งออกสินค้าไปยัง ตลาดญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตลาดหลักสำหรับสินค้าไก่ จากประเทศไทย รวมถึงตลาดอาเซียนที่ตลาด กำลังขยายตัว เพราะฐานในไทยอยูใ่ กล้ญปี่ นุ่ และ อาเซียน ช่วยลดต้นทุนค่าขนส่ง ขณะที่การส่ง สินค้าตรงจากบราซิลมาจำหน่ายมีต้นทุนที่สูง กว่า นอกจากคงมาอาศัยโควตาไก่ไทยส่งออก ไปตลาดสหภาพยุโรป (อียู) ด้วย “แน่นอนว่าหากเขาขยายกำลังผลิต จะมี ผลทำให้สินค้าไก่ของไทยที่เวลาล้นตลาดเกิน ความต้องการอยูแ่ ล้ว จะยิง่ ล้นตลาด และทำให้ ราคาตกลงไปอีก ทัง้ ราคาในประเทศ ทีส่ ว่ นหนึง่ ไก่ทชี่ ำแหละเพือ่ ส่งออกจะมีบายด์โปรดักต์ทตี่ อ้ ง ขายในประเทศ เช่น โครงไก่ เครื่องใน ขา ปีก และอื่นๆ จากเวลานี้ การเลี้ยงไก่ในไทยมีการ ส่งลูกไก่เข้าเลีย้ ง 30-31 ล้านตัวต่อสัปดาห์ และ ยืนระดับนี้มาเป็นปีแล้ว จากปี 2556-2557 ไก่ราคาดี คนแห่เลี้ยง ทั้งที่ปริมาณที่เหมาะสม ควรลดลงประมาณ 10%” แหล่งข่าวกล่าว และว่า จากตัวเลขการเลีย้ งไก่ของไทย ณ ปัจจุบนั มี ผ ลให้ เ วลานี้ ราคาไก่ มี ชี วิ ต หน้ า ฟาร์ ม ที่

ที่มา : หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีท่ี 36 ฉบับที่ 3,172 วันที่ 7-9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559


เกษตรกรขายได้ เฉลีย่ ที่ 34-35 บาท ต่อกิโลกรัม จากต้นทุนการเลีย้ งของ เกษตรกรเฉลี่ยที่ 33-35 บาทต่อ กิโลกรัม ต้นทุนดังกล่าว บางราย ขาดทุน บางรายที่ลดต้นทุนได้ก็มี กำไรเพียงเล็กน้อย

“ในปีนเี้ ป้าหมายการส่งออกผลิตภัณฑ์ไก่ของสมาคมทีต่ งั้ เป้าไว้ที่ 7 แสนตัน มูลค่า 9.1 หมืน่ ล้านบาท คงยังต้องลุน้ จากยังมีหลายปัจจัยเสีย่ งข้างต้น ส่วนกรณีของ บี อาร์ เอฟ จากบราซิลที่เข้ามาเทคโอเวอร์โกลเด้น ฟู้ดส์ สยาม ซึ่งเป็นสมาชิกของสมาคมฯ ที่หลาย ฝ่ายกังวลว่าเขาจะมาเพิ่มกำลังผลิต ทำให้ไก่ล้นตลาดมากขึ้นอีก และจะทำให้ราคา เรา ก็ได้แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้บริหารเขาเหมือนกันเรื่องราคา แต่เรื่องแผนการผลิต และ การขยายตลาดถือเป็นความลับของเขา อันนี้ไม่ทราบ แต่หากใครขยายผลิต หรือตั้ง โรงงานใหม่ช่วงนี้มองว่าน่าจะเจ็บตัวมากกว่า”

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นอกจากนี้ อุตสาหกรรมยังถูกเพ่งเล็งเรือ่ งแรงงานจากต่างประเทศ ถูกกล่าวหาว่า มีการนำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ทั้งข้าวสาลี กากข้าวโพดเข้ามามาก กระทบเกษตรกร ในประเทศ ทั้งที่ข้อเท็จจริงในประเทศผลิตได้ไม่เพียงพอ และอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ขยายตัวมาก กรณีอังกฤษจะออกจากอียู (เบร็กซิท) ทำให้ค่าเงินปอนด์ และยูโรอ่อน สินค้าเราราคาสูงขึน้ ถูกต่อรองราคามากขึน้ และล่าสุดกรณี (ร่าง) พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์ จะเรียกเก็บอาการการฆ่าไก่สูงถึงตัวละ 2 บาท ที่ทาง 9 สมาคมผู้ผลิตสัตว์ปีกได้ยื่น หนังสือถึงนายกรัฐมนตรี และสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) เพือ่ คัดค้าน เพราะจะกระทบ ต้นทุนและอุตสาหกรรมในภาพรวมอย่างมาก

57 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ด้านนายคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ ผู้ จั ด การ สมาคมผู้ ผ ลิ ต ไก่ เ พื่ อ ส่งออกไทย กล่าวว่า อุตสาหกรรมไก่ปีนี้ถือว่าไม่สดใส เพราะนอกจากผลผลิตล้นตลาด ทำให้ราคาไก่ในประเทศไม่ค่อยดีแล้ว ในส่วนของตลาดส่งออกก็ราคาตก อาทิ ในส่วน ของไก่สดแช่แข็งที่ส่งไปจำหน่ายในตลาดอียู ซึ่งเป็นอีกหนึ่งตลาดหลักของไทย จาก ราคาในปี 2557 เฉลี่ยขายได้ที่ 3,200 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ปัจจุบันลดลงเหลือ 2,400-2,500 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน หรือลดลง 700-800 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ขณะที่ไก่แปรรูปจากปี 2557 เฉลี่ยที่กว่า 4,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงเหลือ 3,500 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ผลจากผลผลิตไก่ในตลาดโลกมีมาก และไก่ไทยต้อง แข่งขันด้านราคากับไก่จากบราซิล และยุโรปตะวันออก


รับฟังบรรยายพิเศษ

เรื่อง “มาตรการภาษี

เพื่อส่งเสริมการลงทุนในประเทศ” โดย คุณอัครราชย์ บุญญาศิริ นักวิชาการภาษีชำนาญการ กลุ่มนโยบายภาษี สำนักวิชาการแผนภาษี กรมสรรพากร

Around the World

58

หลักการ • ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สำหรับเงินได้ที่ได้ จ่ายไปเพื่อการลงทุน หรือการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทําให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินที่ เกี่ยวเนื่องกับกิจการ แต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซม ให้คงสภาพเดิม เป็นจํานวนร้อยละ 100

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

• มีผลเท่ากับการให้หักรายจ่ายเพื่อการ ลงทุนฯ 2 เท่า • ต้องจ่ายไประหว่างวันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559

ประเภททรัพย์สิน 

ต้องเป็นทรัพย์สินดังต่อไปนี้

- เครื่องจักร ส่วนประกอบ อุปกรณ์ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ เครื่ อ งตกแต่ ง และ เฟอร์นิเจอร์ - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ - ยานพาหนะ แต่ไม่รวมถึงรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน ๑๐ คน ที่ มิได้มาเพื่อนำออกให้เช่า - อาคารถาวร แต่ไม่รวมถึงที่ดินและ อาคารถาวรที่ใช้เพื่อการอยู่อาศัย

ลักษณะทรัพย์สิน 

ทรัพย์สินต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้

- ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน - ต้ อ งได้ ม าและอยู่ ใ นสภาพพร้ อ มใช้ การได้ตามประสงค์ภายในวันที่ ๓๑ ธันวาคม 2559 และสามารถหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อม ราคาได้ (ยกเว้นทรัพย์สินประเภทเครื่องจักร และอาคารถาวรอาจได้มาและอยูใ่ นสภาพพร้อม ใช้การได้หลังวันที่ 31 ธันวาคม 2559) - ต้ อ งอยู่ ใ นราชอาณาจั ก ร ยกเว้ น ทรัพย์สินประเภทยานพาหนะ - ไม่เป็นทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์ ทางภาษีตามมาตรการภาษีอื่น - ไม่เป็นทรัพย์สินที่นําไปใช้ในกิจการ ทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลตามกฎหมาย ส่งเสริมการลงทุน เว้นแต่เป็นการนําไปใช้ใน โครงการตามมาตรการเร่งรัดการลงทุนของ BOI ที่ยังไม่มีการลงทุนจริงและเลือกที่จะไม่ใช้ สิทธิประโยชน์ตามมาตรการเร่งรัดการลงทุน ดังกล่าว - ต้องเกิดขึ้นจากสัญญา ใบสั่งซื้อ ใบ สั่งจ้าง หรือข้อตกลงในลักษณะทำนองเดียวกัน


• เริ่มใช้สิทธิตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่มต้นหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา • กรณีนำทรัพย์สนิ ไปใช้ในโครงการตาม มาตรการเร่งรัดการลงทุนของ BOI ให้เริ่มใช้ สิทธิตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีถัดจากรอบระยะ เวลาบัญชีที่สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตาม กฎหมายส่งเสริมการลงทุนสิ้นสุดลง • ต้องจัดทำรายงานแสดงรายละเอียด ทรัพย์สิน • ระยะเวลาในการใช้ สิ ท ธิ ข องแต่ ล ะ ทรัพย์สินเป็นดังนี้ - เครื่องจักร ส่วนประกอบ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ เครือ่ งตกแต่ง เฟอร์นเิ จอร์ และยานพาหนะให้ใช้สิทธิตามส่วนเฉลี่ย เป็น จำนวนเท่ากันเป็นเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชี ต่อเนื่อง - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้ใช้สิทธิ ตามส่วนเฉลี่ย เป็นจำนวนเท่ากันเป็นเวลา 3 รอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่อง - อาคารถาวร ให้ ใ ช้ สิ ท ธิ ต ามส่ ว น เฉลี่ย เป็นจำนวนเท่ากันเป็นเวลา 20 รอบ ระยะเวลาบัญชีต่อเนื่อง

• บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ คุ คลอาจถูก ยกเลิกสิทธิตามมาตรการในกรณีดังต่อไปนี้ - ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดใน รอบระยะเวลาบัญชีใด สิทธิจะสิ้นสุดลงในรอบ ระยะเวลาบัญชีนนั้ และต้องนําเงินได้ทใี่ ช้สทิ ธิไป แล้วไปรวมเป็นรายได้ในการคํานวณกำไรสุทธิ - ขายทรัพย์สนิ หรือทรัพย์สนิ ถูกทําลาย หรือสูญหายหรือสิน้ สภาพในรอบระยะเวลาบัญชี ใด สิทธิจะสิ้นสุดลงในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น โดยไม่ ต้ อ งนำเงิ น ได้ ที่ ใ ช้ สิท ธิ แ ล้ ว ไปรวมเป็น รายได้ในการคํานวณกําไรสุทธิอีก

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • พระราชกฤษฎี ก าออกตามความใน ประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 604) พ.ศ. 2559 • ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 266)

59 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

การใช้สิทธิ

การถูกยกเลิกสิทธิ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

หรื อ ต้ อ งขออนุ ญ าตก่ อ สร้ า ง หรื อ ดั ด แปลง และได้รับอนุญาตตามคำขอนั้นแล้วตั้งแต่วันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559


สภาหอการค้า...ชี้ ผลการจัดอันดับ TIP Report 2016 กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ โดย ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานกรรมการ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานคณะกรรมการธุรกิจประมง และประธานสมาพันธ์ผู้ผลิตสินค้าประมงไทย

Around the World

60 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

กรุ ง เทพ -4 กรกฎาคม 2559 กระทรวงการต่ า งประเทศสหรั ฐ ฯ แถลง รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ประจำปี พ.ศ. 2559 (Trafficking in Persons Report 2016) จัดอันดับประเทศไทยอยู่ในระดับ 2 บัญชีทตี่ อ้ งจับตามอง หรือ Tier 2 Watch List โดยระบุว่า รัฐบาลไทยได้ดำเนินความพยายาม อย่างมีนัยสำคัญในการขจัดการค้ามนุษย์ ทว่า การดำเนินงานนั้นยังมิได้เป็นไปตามมาตรฐาน ขั้นต่ำสุดอย่างครบถ้วน ซึ่งในรายงาน TIP Report 2016 ของกระทรวงต่างประเทศ สหรั ฐ ฯ ได้ ชี้ ถึ ง ปั ญ หาของประเทศไทย ทั้ ง ในด้านการค้ามนุษย์ ด้านแรงงาน การค้า ประเวณี และการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็ก เป็นต้น อย่างไรก็ดี ประเทศไทยได้มีการแก้ไข ปัญหาการค้ามนุษย์อย่างจริงจัง ทัง้ ด้านกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับ การบังคับใช้กฎหมาย การ จัดการกระบวนการการดำเนินคดีตามกฎหมาย ทั้งขั้นตอนและระยะเวลาที่รวดเร็วขึ้น การดูแล เหยือ่ การค้ามนุษย์ แต่ยงั มีปญ ั หาครอบคลุมอยู่ ในหลายด้ า น ดั ง นั้ น  กระทรวงต่ า งประเทศ ของสหรั ฐ ฯ จึ ง เสนอข้ อ แนะนำประเทศไทย ในการแก้ไขปัญหาและยินดีรว่ มแก้ไขปัญหาการ ค้ามนุษย์กับประเทศไทยอย่างเต็มที่

กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา จัดทำรายงานประจำปีเรื่องการค้ามนุษย์ โดย ประเมินสถานการณ์ และการดำเนินการต่อต้าน การค้ามนุษย์ของรัฐบาลประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวม 188 ประเทศ โดยเริม่ มีการจัดทำมาตัง้ แต่ ปี 2544 เป็นต้นมา ในส่วนของประเทศไทย ถูกจัดระดับให้อยูใ่ น “ระดับ 2” (Tier 2) หมายถึง ประเทศที่ดำเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐาน ขั้นต่ำตามกฎหมายสหรัฐฯ แต่มีความพยายาม ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข โดยระบุ ว่ า ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่มีการเดินทางเข้ามาในไทยอย่างผิด กฎหมายของคนต่างชาติจำนวนมาก เปิดโอกาส ให้เกิดการบังคับ หรือหลอกลวงแรงงานต่างชาติ มาใช้แรงงานเยี่ยงทาส หรือแสวงประโยชน์ ทางเพศ และในปี 2553 ไทยถูกลดระดับลง เป็น “ระดับ 2 บัญชีที่ต้องจับตามอง” (Tier 2 Watch List) ซึ่งมีความหมายเหมือน Tier 2 แต่เพิ่มเติมว่า มีจำนวนเหยื่อการค้ามนุษย์เพิ่ม ขึน้ หรือไม่มหี ลักฐานชัดเจนว่ารัฐบาลเพิม่ ความ พยายามดำเนินการต่อต้านการค้ามนุษย์ โดย ไทยอยู่ในระดับ Tier 2 Watch List ต่อเนื่อง เป็นเวลา 4 ปีติดต่อกัน โดยในรายงานระบุว่า เหยื่อค้ามนุษย์ที่พบในไทยส่วนใหญ่ เป็น แรงงานที่ถูกบังคับ หรือล่อลวงมาเพื่อบังคับใช้


ในเรื่องการค้ามนุษย์นี้ ทางรัฐบาลไทย โดย ฯพณฯ ท่านนายกรัฐมนตรี (พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้ให้ความสำคัญในการแก้ปัญหา มาโดยตลอด และจัดเรื่องดังกล่าวเป็นวาระ แห่งชาติ พร้อมกันนี้ ในส่วนภาคเอกชน โดย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ได้สนับสนุน

61 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นอกน่านน้ำไทย ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสมาชิกของ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รู้สึกยินดีเป็น อย่างมาก ที่กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ออกรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ประจำปี พ.ศ. 2559 (Trafficking in Persons Report 2016) โดยปรับระดับประเทศไทย ขึ้นเป็น “ระดับ 2 บัญชีที่ต้องจับตามมอง” (Tier 2 Watch List) โดยรายงานระบุว่า ปัญหาการ ค้ามนุษย์ในประเทศไทยยังมีอยู่กว้างขวาง แต่ เปรียบเทียบกับปีก่อน รัฐบาลมีความพยายาม ในการดำเนินการสืบสวนคดี รวมถึงดำเนินคดี และพิพากษาโทษผูท้ ำการค้ามนุษย์เพิม่ ขึน้ และ ขอให้ไทยดำเนินงานให้ก้าวหน้ามากขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในการต่อสู้กับการค้ามนุษย์ ตลอดจน การบังคับใช้กฎหมาย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

แรงงาน หรือแสวงประโยชน์ในธุรกิจทางเพศ รวมทั้ ง ในอุ ต สาหกรรมประมง เรื อ ประมง โรงงานผลิตอาหารทะเล โรงงานผลิตเสื้อผ้า ราคาถูก และงานรับใช้ตามบ้าน ต่อมาในปี 2557 และ 2558 ไทยถูกลดระดับเป็น “ระดับ 3” (Tier 3) ซึง่ เป็นระดับต่ำสุด หมายถึง ประเทศ ที่ดำเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต่ำ ตามกฎหมายสหรัฐฯ และไม่มคี วามพยายามแก้ไข โดยระบุในรายงานว่า ไทยเป็นประเทศต้นทาง ปลายทาง และทางผ่านสำหรับการค้าผู้ชาย ผู้หญิง และเด็ก เพื่อการบังคับใช้แรงงาน และ การบังคับค้าประเวณี ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธาน กรรมการสภาหอการค้ า แห่ ง ประเทศไทย กล่ า วว่ า ในนามของ หอการค้ า ไทยและ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสมาพันธ์ ผูผ้ ลิตสินค้าประมงไทย 7 สมาคม ประกอบด้วย สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย สมาคมผู้ผลิต อาหารสำเร็จรูป สมาคมอุตสาหกรรมทูน่าไทย สมาคมกุ้งไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผูผ้ ลิตปลาป่นไทย และสมาคมการประมง


62 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

และขั บ เคลื่ อ นการแก้ ไ ขปั ญ หามาโดยตลอด และผลักดันให้หอการค้าจังหวัด สมาคมการค้า ทีเ่ ป็นสมาชิกทัว่ ประเทศ ดำเนินการร่วมกันแก้ไข ปัญหาอย่างจริงจังในทุกรูปแบบ ทำให้สหรัฐฯ เห็นถึงความพยายามในการแก้ปัญหา รายงาน สถานการณ์ ก ารค้ า มนุ ษ ย์ ข องกระทรวงการ ต่างประเทศสหรัฐฯ ปีนี้ ซึง่ จะส่งผลให้ภาพลักษณ์ ของประเทศไทยดี ขื้ น สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ ผู้นำเข้า และผู้บริโภคมีความมั่นใจและสบายใจ ในการบริโภคสินค้าจากประเทศไทย พร้อมทั้ง ยั ง ส่ ง ผลให้ ก ารส่ ง ออกของไทยสามารถขั บ เคลือ่ นไปได้ดขี นึ้ ด้วย นอกจากนี้ การทีป่ ระเทศ ไทยถูกปรับระดับเป็น Tier 2 Watch List ยัง จะเป็นผลดีต่อเนื่องถึงการแก้ไขปัญหา การทำประมงผิ ด กฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม (Illegal, unreported and unregulated fishing: IUU) ซึ่งรวมเรื่อง ค้ามนุษย์ไว้ดว้ ย โดยรายงานของสหรัฐฯ ครัง้ นี้ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ผลของความพยายามในการ แก้ปัญหาของประเทศไทย

สภาหอการค้ า แห่ ง ประเทศไทย และ สมาพันธ์ผู้ผลิตสินค้าประมงไทย ขอขอบคุณ กระทรวงการต่ า งประเทศสหรั ฐ ฯ ที่ เ ชื่ อ มั่ น ในความพยายามแก้ ปั ญ หาของไทยในทุ ก มิ ติ และทบทวนปรั บ ระดั บ ประเทศไทยขึ้ น ซึ่งขอเชื่อมั่นว่า ในการดำเนินการที่มุ่งมั่นของ รัฐบาลไทย ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม กับ การแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย อย่างต่อเนือ่ งและจริงจัง จะทำให้ปญ ั หาข้างค้าง ในบรรลุผ่านจนสามารถปรับลำดับได้ดีขึ้น ทั้งนี้ ขอขอบคุณรัฐบาลไทย หน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนทุกภาคส่วน ทีไ่ ด้รว่ มมือแก้ไข ปัญหา และจะร่วมมือกันอย่างต่อเนื่องในการ ขจั ด ปั ญ หาการค้ า มนุ ษ ย์ ข องประเทศเพื่ อ ยก ระดั บ ให้ ป ระเทศไทยสู่ ป ระเทศที่ ด ำเนิ น การ สอดคล้องกับมาตรฐาน ทัง้ ด้านการป้องกันและ บังคับใช้กฎหมายต่อต้านการค้ามนุษย์และการ คุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ต่อไป ข้อมูลโดย ฝ่ายธุรกิจเกษตร อาหารและบริการ หอการค้าไทย


แนวทางการลดมาตรการ กีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี

(Non-Tariff Measures: NTMs) ภาคสินค้าเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ในกลุ่มประเทศประชาคมอาเซียน +6

"แต่ละประเทศมีความเข้มข้นในการบังคับใช้มาตรการแตกต่างกัน โดยทั่วไปประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ค่อนข้างเข้มงวดในการบังคับใช้มาตรการ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะประเทศดังกล่าว มีสภาพภูมิประเทศเป็นเกาะ จึงต้องมีความระมัดระวังเรื่องโรคและแมลง ที่อาจเข้ามาพร้อมกับผลไม้นำเข้า รวมถึงประเทศดังกล่าวนี้ ค่อนข้างให้ความสำคัญเรื่องความปลอดภัยทางด้านอาหารสำหรับผู้บริโภค"

Around the World

โดย สำนักพัฒนาองค์ความรู้ สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (ITD)

Barriers to Trade: TBT) เป็นต้น รวมถึง เพื่ อ การศึ ก ษาในการกำหนดมาตรการและ แนวทางส่ ง ออกสิ น ค้ า โดยการเปลี่ ย นแปลง คุณสมบัติ ปรับปรุงมาตรฐาน หรือปรับกลยุทธ์ ต่ า งๆ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรการกี ด กั น ทาง การค้า โดยมีจุดประสงค์ประการสุดท้ายเพื่อ เสนอแนะแนวทางการเจรจาการค้ า ระหว่ า ง ประเทศของหน่วยงานภาครัฐเพื่อขอลด หรือ ยกเลิกมาตรการกีดกัดทางการค้าที่มิใช่ภาษี มาตรการกี ด กั น ทางการค้ า ที่ มิ ใ ช่ ภ าษี (NTMs) โดยทั่วไปอาจหมายรวมถึงมาตรการ ทางการค้าต่างๆ ที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากรที่มีผล กระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ ทัง้ มาตรการ ทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ (NonTariff Barriers: NTBs) และมาตรการทีเ่ ป็นการ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง “แนวทาง การลดมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs) ภาคสินค้า เกษตร ปศุสัตว์ และประมง ในกลุ่มประเทศ ประชาคมอาเซียน +6 (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลี ย อิ น เดี ย นิ ว ซี แ ลนด์ ) ” นี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์มาตรการและ ผลกระทบจากมาตรการกี ด กั น ทางการค้ า ที่ มิใช่ภาษีของกลุ่มประชาคมอาเซียน +6 (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์) ในภาคเกษตร ปศุสัตว์ และการประมง ที่มี ต่ อ ผู้ ป ระกอบการไทยในรู ป แบบต่ า งๆ เช่ น มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและสัตว์ (Sanitary and Phytosanitary: SPS) มาตรการ หรืออุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Technical

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

63


64 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ทั้งนี้ รายงาน วิจัยดังกล่าวนี้เป็นการศึกษามาตรการที่เป็น อุ ป สรรคต่ อ การค้ า ระหว่ า งประเทศด้ า นการ นำเข้า ทั้งมาตรการทางเทคนิค (Technical Measures) เช่ น มาตรการสุ ข อนามั ย และ สุขอนามัยพืชและสัตว์ (SPS) อุปสรรคทาง เทคนิคต่อการค้า (TBT) และมาตรการตรวจสอบ และพิธกี ารอืน่ ๆ ก่อนการส่งสินค้า (Pre-shipment Inspection and other Formalities: PSI) และมาตรการทีไ่ ม่ใช่มาตรการทางเทคนิค (NonTechnical Measures) เช่น มาตรการการควบคุม ราคา (Price Control) และมาตรการควบคุม ปริมาณ (Quantity Control) เป็นต้น สำหรับผลการศึกษามาตรการกีดกันทาง การค้าทีม่ ใิ ช่ภาษี (NTMs) จากการส่งออกสินค้า เกษตรไปยังกรณีศึกษา 6 ประเทศ พบว่า การส่งออกผลไม้ไทยไปยังประเทศกรณีศึกษา แตกต่างกันไป เนื่องจากประเทศต่างๆ นำเข้า ผลไม้จากไทยเป็นบางชนิดเท่านัน้ โดยมีการระบุ ชนิ ด ผลไม้ ที่ อ นุ ญ าตนำเข้ า ไว้ ชั ด เจน กรณี

ข้าวไทย มีการส่งออกไปจีน ญีป่ นุ่ และออสเตรเลีย มาก การกำหนดมาตรการกีดกันทางการค้า ที่มิใช่ภาษี (NTMs) และการบังคับใช้มาตรการ กีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTMs) กับการ นำเข้ า สิ น ค้ า เกษตรชนิ ด ต่ า งๆ ของประเทศ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ ทั้งด้านกฎเกณฑ์ และมาตรฐาน การนำเข้าสินค้ามีความแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่ กับหลายปัจจัย ทั้งปัจจัยด้านสุขอนามัย เช่น ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาการนำเข้าสินค้าต่อ การบริโภคของผู้บริโภค (เช่น ประเด็นเกี่ยวกับ สารพิ ษ ตกค้ า งในผลไม้ ช นิ ด ต่ า งๆ และข้ า ว) และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นต่อผู้ผลิต (เช่น ประเด็น เกี่ยวกับโรคและแมลงที่เข้ามากับสินค้าเกษตร นำเข้ า ) หรื อ เป็ น ปั จ จั ย ด้ า นเศรษฐกิ จ เช่ น ความสามารถในการผลิ ต สิ น ค้ า ดั ง กล่ า วใน ประเทศผู้นำเข้า นอกจากนี้ แต่ละประเทศมีความเข้มข้น ในการบังคับใช้มาตรการแตกต่างกัน โดยทัว่ ไป ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และ


ด้านการส่งออกสินค้าปศุสตั ว์ (ผลิตภัณฑ์ เนือ้ ไก่และเนือ้ สุกร) ไปยัง 6 ประเทศกรณีศกึ ษา พบว่า กรณีเนือ้ ไก่มกี ารส่งออกทัง้ เนือ้ ไก่ปรุงสุก เนือ้ ไก่แปรรูป และเนือ้ ไก่แช่แข็ง สำหรับเนือ้ ไก่สด มีการส่งออกน้อย ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะ

ส่วนการส่งออกสินค้าประมง (ผลิตภัณฑ์ ปลาและกุ้ ง ) ไปยั ง 6 ประเทศกรณี ศึ ก ษา พบว่า ผลิตภัณฑ์ปลาส่วนใหญ่ส่งออกไปญี่ปุ่น และออสเตรเลีย ขณะที่ผลิตภัณฑ์กุ้งที่ปรุงแต่ง หรื อ ทำไว้ ไ ม่ ใ ห้ เ สี ย ส่ ว นใหญ่ ส่ ง ออกไปญี่ ปุ่ น และเกาหลีใต้มากที่สุด เช่นเดียวกับกรณีการ ส่ ง ออกสิ น ค้ า เกษตรและปศุ สั ต ว์ โดยทั่ ว ไป ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้ ให้ความสำคัญกับเรือ่ งความปลอดภัย ทางด้านอาหารสำหรับผูบ้ ริโภค จึงมีการกำหนด

65 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและสัตว์ (SPS) (ห้ามนำเข้า) ที่เกี่ยวกับการระบาดของ โรคไข้หวัดนก สำหรับกรณีเนือ้ สุกรมีการส่งออก ทั้งเนื้อสุกรปรุงสุก เนื้อสุกรแปรรูป และเนื้อ สุกรแช่แข็ง สำหรับเนือ้ สุกรสดมีการส่งออกน้อย ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเป็นเพราะมาตรการสุขอนามัย และสุขอนามัยพืชและสัตว์ (SPS) (ห้ามนำเข้า) ที่เกี่ยวกับการระบาดของโรคปากเท้าเปื่อยใน สัตว์ โดยทัว่ ไป ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ค่อนข้างเข้มงวดในการ บังคับใช้มาตรการ โดยมาตรการที่เกี่ยวข้อง จะเป็นมาตรการเกีย่ วกับความปลอดภัยทางด้าน อาหารเป็นหลัก (โดยเน้นเรื่องการคุ้มกันและ ควบคุมโรคระบาดสัตว์ รวมถึงมาตรการทีเ่ กีย่ ว กับการนำเข้าผลิตภัณฑ์เนือ้ สัตว์ปรุงสุก แปรรูป และแช่แข็ง เช่น มาตรการเกีย่ วกับกระบวนการ ผลิตและการติดฉลากตามที่กำหนด เป็นต้น) และยังมีมาตรการเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ด้วย สำหรับจีน และอินเดีย ไม่ได้มีมาตรการเข้มข้น มากนั ก (ยกเว้ น จี น มี ก ารกำหนดมาตรการ เกี่ยวกับการตรวจสอบย้อนกลับของอาหารสด บ้าง ในบางกรณี)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

เกาหลี ใ ต้ ค่ อ นข้ า งเข้ ม งวดในการบั ง คั บ ใช้ มาตรการ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะประเทศดังกล่าว มี ส ภาพภู มิ ป ระเทศเป็ น เกาะ จึ ง ต้ อ งมี ค วาม ระมัดระวังเรือ่ งโรคและแมลงทีอ่ าจเข้ามาพร้อม กั บ ผลไม้ น ำเข้ า รวมถึ ง ประเทศดั ง กล่ า วนี้ ค่อนข้างให้ความสำคัญเรือ่ งความปลอดภัยทาง ด้านอาหารสำหรับผู้บริโภค สำหรับประเทศ จีน และอินเดียนั้น พบว่า มีการนำมาตรการ กีดกันทางการค้าที่มีใช่ภาษี (NTMs) มาใช้ แต่ ส่วนใหญ่ไม่มีการตรวจสอบเข้มงวด อย่างไร ก็ตาม สำหรับทุกประเทศ การบังคับใช้มาตรการ มาก หรื อ น้ อ ยยั ง คงต้ อ งพิ จ ารณาถึ ง เรื่ อ ง ปริมาณผลผลิตและความต้องการของผู้บริโภค ในประเทศร่วมด้วย ในกรณีขา้ ว โดยทัว่ ไป ข้าว เป็นสินค้าที่ประเทศต่างๆ ยังพยายามปกป้อง และมักปรากฏอยู่ในรายการสินค้าอ่อนไหวใน ความตกลงการเจรจาการค้าต่างๆ จึงยังคงมี ภาษีอากรนำเข้าสินค้าอยู่ การนำมาตรการกีดกัน ทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTMs) มาบังคับใช้ ของประเทศผูน้ ำเข้าจึงไม่รนุ แรงมากนัก ขณะที่ ในกรณีของการนำเข้าผลไม้ของไทย 6 ประเทศ กรณีศึกษา ผลไม้ที่อนุญาตให้นำเข้าส่วนใหญ่ ได้รับการยกเว้นภาษีอากรนำเข้าทั้งจากความ ตกลงทวิภาคี หรือความตกลงของอาเซียนกับ ประเทศเหล่านี้ การนำมาตรการกีดกันทาง การค้าที่มิใช่ภาษี (NTMs) มาบังคับใช้จึงขึ้น อยู่กับปัจจัยหลายประการดังที่กล่าวข้างต้น


66 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ใช้มาตรการต่างๆ เช่น มาตรการเกี่ยวกับการ กำหนดรายการของสารเคมี ทั้ ง ในรู ป ของยา ปฏิชีวนะ สารเติมแต่งอาหาร สารเคมีตกค้าง หรือโลหะหนัก โดยกำหนดค่าสูงสุดที่ยอมรับ ได้ไว้ และมาตรการเกี่ยวกับกระบวนการแปรรูป อาหาร เป็นต้น นอกจากประเด็นเรื่องความ ปลอดภัยทางด้านอาหาร โดยทั่วไปการส่งออก สินค้าประมงยังมีข้อควรระวังเกี่ยวกับประเด็น การใช้แรงงาน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความ ยัง่ ยืนของสายพันธุป์ ลาด้วย อย่างไรก็ตาม เนือ่ ง จากในบางประเทศที่กล่าวมาข้างต้นนั้น สินค้าประมงไทยมีส่วนแบ่งใน ตลาดค่อนข้างสูง การนำมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTMs) ของประเทศเหล่านี้มาบังคับใช้กับสินค้าไทย อาจทำให้เกิดผลกระทบ ในวงกว้ า ง ประเทศเหล่ า นี้ จึ ง ยั ง ค่ อ นข้ า งระมั ด ระวั ง ในการบั ง คั บ ใช้ มาตรการดังกล่าวกับการนำเข้าสินค้าประมงจากไทย สำหรับกรณีการ นำเข้าสินค้าของประเทศจีนนั้น โรงงาน หรือสถานบรรจุสินค้าที่จะส่ง ผลิตภัณฑ์ประมงเข้าไปจำหน่ายยังประเทศจีนต้องผ่านการรับรองสุขลักษณะ ตามมาตรฐานของกรมประมง และกรมประมงได้แจ้งรายชื่อให้จีนทราบ และต้องมีใบรับรองสุขอนามัยประกอบการส่งออกทุกรุ่นตามกฎหมาย ความปลอดภัยทางด้านอาหาร (Food Safety Law) ของจีน (ซึ่งมีผล บังคับใช้ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2552) สำหรับประเทศอินเดีย ยังไม่พบ มาตรการที่ชัดเจน ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะการส่งออกสินค้าประมงไทย ไปอินเดียต้องเผชิญกับอัตราภาษีที่ค่อนข้างสูงอยู่แล้ว



Plexomin Cu24 Plexomin Fe20 Plexomin Mn22 Plexomin Zn26

Phytobiotics (Thailand) Co., LTd.

202 Le Concorde Tower, Rajchadapisek Road, Huaykwang, Huaykwang, Bangkok 10320 Tel. 02-6942498 Fax. 02-6942499 www.phytobiotics.com


คุมเขมชายแดนสกั ดไขหวั ้ ้ ดนก

นายสัตว์แพทย์อยุทธ์ หรินทรานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวเพิ่มเติมว่า เพื่อเป็น การเฝ้าระวังป้องกันโรคระบาดในสัตว์ปีก จึง ขอความร่ ว มมื อ แต่ ล ะจั ง หวั ด เข้ ม งวดในการ ดำเนินงานตามมาตรการควบคุม ป้องกันโรค ในพืน้ ที่ ดังนี้ 1. เมือ่ ได้รบั แจ้ง หรือพบสัตว์ปกี

ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559

3. การเคลื่ อ นย้ า ยสั ต ว์ ปี ก และซาก สัตว์ปีก ต้องมีผลการตรวจรับรองโรคระบาด และใบอนุญาตการเคลือ่ นย้ายทุกครัง้ ตามทีก่ รม ปศุสตั ว์กำหนด 4. ระงับการนำเข้าไก่ เป็ด ห่าน และนก รวมถึงไข่ที่ใช้สำหรับทำพันธุ์ และซาก สั ต ว์ ปี ก ดั ง กล่ า วจากประเทศที่ มี ร ายงานโรค ไข้หวัดนกเข้าราชอาณาจักร จนกว่าสถานการณ์ โรคจะสงบ 5. ตลาดค้าสัตว์ปีกมีชีวิต ให้ทำ ความสะอาดและฆ่าเชื้อโรค 6. ฟาร์มเลี้ยง สัตว์ปีก ให้เข้มงวดระบบความปลอดภัยทาง ชี ว ภาพและปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บตามที่ ก รม ปศุสัตว์กำหนดอย่างเคร่งครัด "อยากขอความ ร่วมมือจากหน่วยงานทุกฝ่ายให้ดำเนินงานอย่าง เคร่งครัดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ไข้หวัดนกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศ ไทย"

67 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ป่วยตาย มีลักษณะอาการเหมือนนิยามโรค ไข้หวัดนก ต้องเข้าตรวจสอบและดำเนินการ ตามมาตรการควบคุ ม โรคทั น ที 2. จั ง หวั ด ที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ให้ เข้มงวดไม่ให้มีการลักลอบเคลื่อนย้ายสัตว์ปีก และซากสัตว์ปีกตามแนวชายแดน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ ปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ตามที่องค์การ สุขภาพสัตว์โลก (OIE) ได้มีรายงานพบการ ระบาดของโรคไข้หวัดนกชนิดรุนแรงในประเทศ เพื่อนบ้านของประเทศไทยเมื่อวันที่ 1 ม.ค.25 ก.ค. 2559 หลายชนิด เช่น H5N8 H5N1 เป็นต้น ทางไทยได้สงั่ การให้กรมปศุสตั ว์ และเจ้ า หน้ า ที่ เ ฝ้ า ระวั ง ในเขตแถบชายแดน ตลอดเวลา เนื่องจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา อาจส่ ง ผลทำให้ สั ต ว์ ปี ก อ่ อ นแอ ภูมิคุ้มกันต่ำลง มีความเสี่ยงในการเกิดโรคและ การระบาดโรคได้งา่ ย "ขณะนีย้ งั ไมได้รบั รายงาน ว่าโรคไข้หวัดนกระบาดเข้ามาในประเทศไทย แต่ทางกระทรวงเกษตรฯ ก็ได้สั่งเฝ้าระวังโรค ที่ จ ะติ ด ต่ อ มาทางเขตชายแดนเป็ น เรื่ อ งปกติ อยู่แล้ว ไม่ใช่เฉพาะโรคจากสัตว์ปีก ยังรวมถึง พวกแมลงต่างๆ และโรคระบาดในพืชด้วย"

Around the World

ปศุสัตวสั ์ ง่ เฝ้าระวังหลัง "โอไออี" เตือน


ชูมาตรฐาน 'จีเอพี' ปูทางเกษตร 4.0 พาณิชย์หวังสินค้านวัตกรรมเกิด 20% Around the World

68

ม.หอการค้า แนะปรับโครงสร้างภาคการเกษตรทั้งระบบ ผลิตสินค้า มาตรฐานจีเอพี อย่างน้อย 50% ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี ค้าขายผ่านระบบ อีคอมเมิร์ช ดันเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 คาดปี 63 มูลค่าการผลิตพุ่ง 40.4%

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นายอั ท ธ์ พิ ศ าลวานิ ช ผู้ อ ำนวยการศู น ย์ ศึ ก ษาระหว่ า งประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยในการสัมมนาเรื่องอนาคตไทยในยุค Thailand 4.0 รุ่ง หรือร่วง ว่า จากที่ไทยส่งออกสินค้าภาคการเกษตรในรูป ของวัตถุดิบในปัจจุบันซึ่งมีมูลค่า 4.3 แสนล้านบาท สูงกว่าการส่งออกสินค้า เกษตรแปรรูป ที่มีมูลค่า 3.8 แสนล้านบาท แต่การส่งออกสินค้าเกษตรในรูป วัตถุดบิ มีความผันผวนมาก เสีย่ งต่อระดับราคาทีเ่ กษตรกรได้รบั และเกิดปัญหา สินค้าล้นตลาด ความต้องการของตลาดมีแนวโน้มลดลง ต่างกับสินค้าเกษตร แปรรูปที่ความต้องการมากขึ้น ไม่มีความผันผวนทางด้านราคา ดังนั้น เพื่อ ภาคการเกษตรของไทยเข้าสูป่ ระเทศไทย 4.0 จำเป็นต้องปรับโครงสร้างการผลิต ภาคการเกษตรทั้งหมด เข้าสู่เกษตรแปรรูปเท่านั้น โดยหันมาใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมพัฒนาให้เป็นเกษตรสร้างสรรค์ ผลิตสินค้าที่ตรงกับความต้องการ และใช้ระบบอีคอมเมิร์ชเป็นช่องทางการตลาด ตั้งเป้าให้ ปี 2563 มูลค่า การผลิตเพิ่มขึ้น 10% จากปัจจุบันที่มีมูลค่า 2.7 ล้านล้านบาท จะส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการผลิต ในสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม มีการขยายอีก 1.1 ล้านล้านบาท หรือขยายตัว 40.4% ผลักดันให้จีดีพี ขยายตัว 1.3% ในขณะทีก่ ารส่งออกกรณีปกติ ไม่มกี ารส่งเสริม หรือใช้เทคโนโลยี ใดๆ เข้าช่วย มูลค่าการผลิตจะเพิม่ ขึน้ อีก 7.3 แสนล้านบาท อัตราการขยายตัว 26.3% เท่านั้น นางสาวพิมพ์ชนก วอนขอพร รองผู้อำนวยการสำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์ กล่าวว่า ปัจจุบันกระทรวงพาณิชย์ จัดตั้งสถาบันส่งเสริมนวัตกรรมเกษตรขึ้น เพื่อผลักดันให้สินค้าเกษตรและ ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2559


"ที่ ผ่ า นมาเกษตรกรไม่ เ ข้ า ใจ จึ ง ไม่ พยายามที่จะปรับปรุงเพื่อให้ได้จีเอพี ในขณะที่ ผู้ ป ระกอบการต้ อ งตี โ จทย์ เ ป็ น สิ น ค้ า อิ น ทรี ย์ ซึ่งไทยยังทำไม่ได้ ผมหวังเพียงให้เกษตรกร 1 ล้านราย จาก 23 ล้านรายเท่านั้น ให้เข้าถึง จีเอพี ก่อน ซึ่งในโครงการประชารัฐมีข้อมูล ที่จะยกระดับได้เร็วที่สุด" นายชูศักดิ์ กล่าว แต่ ทั้งนี้การส่งออกต้องส่งเสริมทั้งในรูปวัตถุดิบ หรืออาหารสดควบคู่ไปกับสินค้าแปรรูป เพราะ มีคุณภาพดีกว่า ผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ ยังต้องการ โดยเฉพาะสินค้าผักและผลไม้

69 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นางจันทร์ธิดา มีเดช รองเลขาธิการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กล่าว ว่า ตามแผนพัฒนาภาคการเกษตรใน 20 ปี ข้างหน้า จะสนับสนุนให้ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยการผลิตสินค้าทุกชนิด พัฒนา เกษตรกรเป็นสมาร์ทฟาร์มเมอร์ สถาบันเกษตรกร ให้เป็นสมาร์ทฟาร์มเมอร์กรุ๊ป และเจ้าหน้าที่รัฐ ให้เป็นสมาร์ทออฟฟิศเซอร์ พื้นสินค้าคุณภาพ ตามความเหมาะสมของพื้ น ที่ เ ชื่ อ มโยงตลาด สามารถแข่งขันตลาดได้ในตลาดโลก สอดรับกับ แผนพัฒนาฯ 12

นายชู ศั ก ดิ์ ชื่ น ประโยชน์ ประธาน คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมคุณภาพเกษตร ไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย กล่าวว่า การผลิตสินค้าจีเอพี อย่างน้อย 50% ของ ผลผลิตทั้งหมดนั้น ต้องใช้ความพยายามมาก แต่คิดว่าภาคการเกษตรไทยจะทำได้ เพราะ เป็นฐานที่ไทยจะไปถึง 4.0 ซึ่งหอการค้าได้ ส่งเสริมเกษตรรายใดต้องการมาตรฐาน จีเอพี จะสนับสนุนงบประมาณ 30% และสามารถ ใช้ติดบนฉลากสินค้าได้ ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นข้อ กำหนดทางกฎหมายภายใต้องค์การการค้าโลก หรือดับบลิวทีโอ และสินค้าเป็นทีต่ ลาดต้องการ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ผู้ประกอบการเป็นเวอร์ชั่น 4.0 ทำหน้าที่เป็น หน่วยงานที่ปรึกษาสนับสนุนให้เกษตรกรและ ผู้ ป ระกอบการใช้ น วั ต กรรมและเทคโนโลยี สร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ต รงกั บ ความต้ อ งการของ ตลาดเป้าหมายอย่างน้อย 20% ของผลิตภัณฑ์ สินค้าเกษตรในอีก 5 ปีขา้ งหน้า รวมทัง้ ส่งเสริม ให้ สิ น ค้ า ทุ ก ชนิ ด จดสิ ท ธิ บั ต รทั้ ง เครื่ อ งหมาย การค้าและสิง่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์ ทีจ่ ะช่วยพัฒนา ช่องทางการตลาดได้อีกมาก


Around the World

70

Tier ดันส่งออกฟื้นไตรมาส 4/59

หวั่น "ปลา-ปลาหมึก" ขาดตลาด ส.ค. ชี้ส่งออกฟื้นชัดเจน ไตรมาส 4/59 เตรียมเรียกเอกชนถกปรับแผน โปรโมชั่นหลัง Tier 2 Watch List เอกชนมั่นใจส่งออกกุ้ง ห่วงปลา-หมึกชอร์ต ซัพพลาย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นางมาลี โชคล้ำเลิศ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (สค.) เปิดเผย ถึงแนวโน้มการส่งออกไทยช่วงครึ่งปีหลังปี 2559 น่าจะปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะ สินค้ากลุม่ ประมงและอาหารทะเลแปรรูปประมาณ 1.7-1.8% ของยอดการส่งออกรวม ก็น่าจะดีขึ้นในแง่จิตวิทยาเชื่อมโยงไปยังสินค้าที่ใช้แรงงานอื่น เช่น อ้อย สิ่งทอ มะพร้าว ซึ่งทำให้ผู้นำเข้ามีความมั่นใจกับสินค้าไทยมากขึ้น และอาจจะมีผลดีต่อการ ปรับสถานะ IUU โดยในเดือนสิงหาคมนี้ จะประชุมร่วมกับผูส้ ง่ ออกสินค้ากลุม่ ประมงและอาหาร ทะเลแปรรูป เพือ่ ประเมินทิศทางการส่งออกหลังจากสหรัฐฯ ปรับลดสถานะการค้ามนุษย์ Tier 2 Watch List ซึ่งคาดว่าจะส่งผลดีด้านจิตวิทยา และจะเห็นคำสั่งซื้อสินค้า เพิ่มขึ้นชัดเจนในช่วงไตรมาสสุดท้าย หรือในอีก 3-5 เดือนข้างหน้า ซึ่งกรมฯ และ เอกชนประเมินสถานการณ์ซัพพลายการผลิตกุ้งในปีนี้ที่คาดว่าจะกลับสู่ภาวะปกติ จากที่ไทยสามารถแก้ไขปัญหาภาวะตายด่วนในกุ้ง (EMS) คลี่คลายไปแล้ว ส่วน เป้าหมายการส่งออกยังคงต้องรอการประชุมประเมินสถานการณ์อีกครั้งในเดือน กันยายน 2559 ซึ่งยังมีปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันพฤหัสที่ 7 กรกฎาคม 2559


"ปัจจัยเสี่ยงครึ่งปีหลังจากภาวะเศรษฐกิจโลกไม่ดี ผลกระทบจาก Brexit อัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งขณะนี้เงินบาทแข็งค่าไปที่ 35.35 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ สหภาพยุโรปตัดสิทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากร (GSP) การเจรจาความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (ทีพีพี) ซึ่ง ให้ความสำคัญด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อมมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หวังว่ากรณีจากที่สหรัฐฯ ปรับไทย เป็น Tier 2 Watch List ส่งผลต่อภาพลักษณ์สนิ ค้าไทย หวังว่าจากนีอ้ กี 2 ปี ไทยจะขึน้ ไปสูร่ ะดับ Tire 2 ได้ และเชื่อว่าจะส่งผลดีต่อเนื่องให้กับการพิจารณาแก้ไขปัญหาประมงผิดกฎหมาย (IUU) โดยสหภาพยุโรป"

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

นายพจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานกรรมการ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ นายกสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย กล่าวว่า การส่งออกไทยช่วง 5 เดือนแรกปี 2559 ติดลบ 1% แต่เชือ่ ว่าการส่งออกทัง้ ครึง่ ปีหลังจะดีขนึ้ เพราะจะมีคำสัง่ ซือ้ เข้ามามากขึน้ ส่งผลให้การส่งออก ทั้งปี 2559 กลับมาเป็นบวกอยู่ในกรอบ 2-3% ส่วนการส่งออกสินค้าประมง กลุ่มกุ้งจะเป็นบวก ส่วนสินค้าปลา-หมึกคาดจะลดลง เนือ่ งจากปัญหาของปริมาณวัตถุดบิ ประกอบกับมูลค่าการค้าลดลง การแข่งขันมากขึ้น

71 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

"ขณะนีไ้ ด้สงั่ การให้ทตู พาณิชย์ปรับแผนโปรโมชัน่ การส่งออกหลังจากสหรัฐฯ ปรับลดสถานะ เป็น Tier 2 Watch List ซึง่ เบือ้ งต้นทูตพาณิชย์ในกลุม่ ประเทศสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป รายงาน สถานการณ์เข้ามาว่า แนวโน้มน่าจะดีขึ้น แต่คำสั่งซื้อสินค้ารับไปล่วงหน้าหมดแล้ว จึงต้องรอดูใน ช่วงไตรมาสสุดท้าย หรืออีก 3-5 เดือน ก็ตอ้ งคุยกับผูส้ ง่ ออกว่า ถ้าเกิดมีคำสัง่ ซือ้ ทะลักเข้ามามาก ผลผลิตปีนี้น่าจะเพียงพอหรือไม่"


ปลดล็อก TIER 3

ประมงไทยสดใส

Around the World

72

หมายความว่า...ไม่ต้องมีคนอื่นมาฟ้องร้องเรา แต่ให้เราผลิตในกระบวนการมาตรฐานของเราเอง อย่างน้อยคนในประเทศปลอดภัย เรื่องของการบริโภค หรือกระบวนการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม... ต้องบริโภคที่ไหนก็ได้กับคนไหนก็ได้ คนในประเทศไทยบริโภคก็ปลอดภัย คนต่างประเทศก็ปลอดภัย มาตรฐานเดียวกัน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ปี 2557 ประเทศไทยถู ก ลดระดั บ อยู่บัญชี 3 หรือ TIER 3 ด้วยสถานการณ์ ค้ า มนุ ษ ย์ ที่ ย่ ำ แย่ ทั้ ง เป็ น ต้ น ทาง ปลายทาง และทางผ่าน หนำซ้ำยังไม่มีความพยายามพอ ในการแก้ไข วันเวลาผ่านมาถึงวันนี้กลางปี 2559 เราได้ ถู ก ปลดล็ อ กจากระดั บ ต่ ำ สุ ด ...จริ ย า สุทธิไชยา รองเลขาธิการ สำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร (สศก.) บอกว่า ถือว่าเป็นสัญญาณ ที่ดี เพราะเราถูกปรับมาเป็นระดับที่ดีขึ้น หมายถึ ง ว่ า ...ภาพลั ก ษณ์ ข องประเทศ ไทยในการจัดการแก้ไขปัญหาการต่อต้านการ

ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

“ค้ามนุษย์” ในสายตาของโลก ถือว่าเราได้ พยายาม แก้ไขปัญหาดีขึ้น “ตลาดอเมริ ก า” ของอุ ต สาหกรรม ประมงไทยใหญ่กว่า “ตลาดอียู” ...ช่วงก่อนปี 2553 เราเป็นผู้นำการส่งออกอุตสาหกรรม ประมงไทยไปอเมริกาเป็นที่หนึ่ง...สัดส่วนสูง มาก พอเราถูกรายงานและปรับมาเป็นระดับ ของ TIER 2 เฝ้าระวังฯ ตัง้ แต่ปี 2553-2556 ก็มีการส่งออกได้น้อยลง ...ปี 2557-2558 เราปรับมาเป็น TIER 3 ยิ่งลดลง เป็นปัจจัย กระทบภายนอกที่กระทบต่อเนื่องเป็นแรงบวก เสริมกับปัจจัยภายใน


“อย่าลืมว่าช่วงปี 2553 เป็นต้นมา ถึง ปัจจุบนั เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจอเมริกา ยุโรป หรือแม้แต่ญปี่ นุ่ เอง ค่อยๆ ซบเซาลง ช่วงสี.่ ..ห้าปี ค่อยๆ ซบเซาแล้วก็ค่อยๆ ฟื้นตัวช้าๆ แต่สินค้า อุตสาหกรรมประมงเป็นสินค้าที่เป็นผู้บริโภค ระดับรายได้สูง พอเศรษฐกิจโลก...เศรษฐกิจ ประเทศคูค่ า้ อย่างอเมริกามีปญ ั หา ความต้องการ บริโภคก็ลดลง”

จริยา บอกว่า อุตสาหกรรมประมงที่เรา ส่งออกมี 2 สินค้าหลัก คือ สินค้ากุง้ ...ผลิตภัณฑ์ กุ้งแปรรูป ทั้งกุ้งปรุงแต่ง แช่เย็น แช่แข็ง กับ ทูนา่ กระป๋อง ตลาดอเมริกาสัดส่วนใกล้เคียงกัน มาก...กุ้งแปรรูปอยู่ที่ 52% ทูน่าอยู่ที่ประมาณ 48% แต่ที่โดดเด่นคือกุ้งแปรรูป ทั้งแช่เย็น แช่แข็ง และปรุงแต่ง เพราะเป็นตลาดที่เรา บุกเบิกมานาน เงื่อนปัญหาใหญ่ IUU Fishing...การ ทำประมงผิดกฎหมาย ไร้การควบคุม กระทบ กระบวนการผลิตในประเทศ ทั้งการจับ การ เพาะเลี้ยงในประเทศ กระบวนการจับก็คือจับ

คำถามมีว่า...นับต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร ระดั บ ถู ก ปรั บ ดี ขึ้ น ไม่ แ น่ ว่ า วั น ข้ า งหน้ า อาจ ถูกลดอีก? จริยา มองว่า ผูป้ ระกอบการหรือนักธุรกิจ ไทยทีท่ ำอุตสาหกรรมประมงมีขดี ความสามารถ ในการแข่งขันระดับโลก เรามีธุรกิจประมงซึ่ง ทำธุรกิจประมงทั้งนอกน่านน้ำ ธุรกิจประมง เพาะเลี้ยงในประเทศ และเพาะเลี้ยงในประเทศ เพื่อนบ้าน เช่น เวียดนาม เราก็ลงทุนในเรื่อง ของการเพาะเลี้ยงกุ้ง “เราค่อนข้างจะมีเทคโนโลยีสมัยใหม่ แล้ว เกษตรกรผูเ้ พาะเลีย้ งก็ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ดว้ ย แถมยังเป็นเกษตรที่มีทักษะสูง ตั้งแต่โรงเพาะ ฟักกุง้ ...ในกระบวนการผลิตสินค้ากุง้ 94 เปอร์เซ็นต์ คือกุ้งขาวแวนนาไม และ 6 เปอร์เซ็นต์ คือกุ้งกุลาดำ สัดส่วนบริโภคในประเทศ 10 เปอร์เซ็นต์ เหลืออีก 90 เปอร์เซ็นต์ ส่งออก ทั้งเป็นวัตถุดิบ...แปรรูป”

73 กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

ต้ อ งยอมรั บ ว่ า ...นี่ คื อ ปั จ จั ย กระทบที่ สำคั ญ เมื่ อ บวกกั บ ปั จ จั ย ภายในของเราเอง อุตสาหกรรมประมงเจอปัญหา “โรคตายด่วน” ก็ยงิ่ กระทบหนัก ...ไม่มผี ลผลิตเพียงพอทีจ่ ะป้อน ตลาดโลก

โดยผ่านเรือประมง แต่กระบวนการเลี้ยงก็คือ การเพาะเลี้ยงซึ่งต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปัญหาทัง้ ภายใน...ภายนอกบวกกันทำให้ปริมาณ การส่งออกเราลดลง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

ประเด็ น ถั ด มา...พอติ ด ปั ญ หารายงาน การค้ามนุษย์จัดลำดับประเทศไทย ทำให้ใน สายตาผู้บริโภคประเทศอเมริกาอาจจะมองว่า ประเทศไทยผลิตสินค้าประมงที่ใช้แรงงานทาส แรงงานเด็ก ขัดกับสิทธิเสรีภาพ


ศั ก ยภาพภาคการผลิ ต กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พยายามจะแก้ ปัญหาโดยร่วมมือกับภาคเอกชนในเรื่องของ ศูนย์พัฒนาวิจัยพันธุ์กุ้งขาว มีโครงการรวม พลั ง  ยั บ ยั้ ง โรคตายด่ ว นของกุ้ ง ...ร่ ว มกั น ทำ ระบบการจัดการเลี้ยงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จัดระบบการเลี้ยงใหม่ ตั้งแต่การนำเข้าพ่อแม่ พันธุ์กุ้ง...ไปจนถึงตลาดกุ้ง จุดสำคัญ...คือ ระบบการตรวจสอบย้อน กลับ เพื่อตอบโจทย์เรื่องของมาตรฐาน ตั้งแต่ ปลายทาง ผู้บริโภคต่างประเทศตรวจย้อนกลับ มาได้ผ่านคิวอาร์โค้ด จะรู้เลยว่ามาจากฟาร์ม... โรงเพาะเลี้ยงไหน

74 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

“ถ้าเราก้าวขึน้ จากเทียร์สาม ซึง่ ต่ำสุดแล้ว ไปเทียร์สอง...เฝ้าระวัง ก็นา่ จะเพิม่ โอกาสมากขึน้ ในปี 2559...ปี 2560 ผลผลิตประมงไทย จะกลับไปที่อเมริกาอีกประมาณสักหนึ่งแสนตัน มูลค่าราวสองหมื่นล้าน” ปกติ แ ล้ ว ก่ อ นที่ จ ะเป็ น TIER 3 อุ ต สาหกรรมประมงไทยส่งไปอเมริกาเฉลี่ยตั้งแต่ ปี 2553-2556 อยูท่ ี่ 3.3 แสนตัน มูลค่า 6.5 หมื่นพันล้านบาท ...เป็นที่หนึ่งมีสัดส่วนเกือบ 20% จากความต้องการ 2 ล้านตัน ตอนนี้... ค่อยๆ ลดลงตามภาวะเศรษฐกิจ เหลือประมาณ สัก 1.6 ล้านตัน ปี 2558 ไทยส่ ง ออกเหลื อ 13% ขณะที่อินเดียมาเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาก็คือ อินโดนีเซีย อันดับสามคือเอกวาดอร์ อันดับสี่ คือเวียดนาม อันดับห้าคือไทย เมือ่ ปลดล็อกแล้ว ก็หวังว่าน่าจะเป็นอันดับที่ 4, 3, 2 ต่อไปใน อนาคต...ถ้าแก้ปัญหาทั้งสองเรื่องได้ ทั้งตลาด อียู และอเมริกาขยับกลับไปลำดับที่ 1 คงไม่ไกล เกินเอื้อม

ทำความเข้าใจอีกสักครั้งกับการจัดระดับ รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ (Trafficking In Persons Report: TIP ...ระดับ TIER 1 ก็คอื ประเทศที่ดำเนินการสอดคล้องกับมาตรฐาน ขั้นต่ำตามกฎหมายของสหรัฐฯ...ระดับ TIER 2 ก็ คื อ ประเทศที่ ด ำเนิ น การไม่ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรฐานขั้นต่ำตามกฎหมายสหรัฐฯ ซึ่งจะแยกย่อยไปอีก ระดับ TIER 2 เฝ้า ระวัง...ก็คือไม่ดำเนินการตามมาตรฐานขั้นต่ำ แล้วก็ยงั มีเหยือ่ ค้ามนุษย์เพิม่ ขึน้ โดยไม่มหี ลักฐาน ในการพยายามแก้ไข แล้วก็มาถึงระดับต่ำสุด TIER 3 ประเทศ ที่ดำเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต่ำ ตามกฎหมายของสหรั ฐ ฯ และสหรั ฐ ฯ อาจ พิ จ ารณาระงั บ การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ในด้ า น ต่างๆ อย่ า งที่ บ อกไปแล้ ว ว่ า “ตลาดประมง สหรั ฐ ฯ” สำคั ญ กั บ อุ ต สาหกรรมประมงไทย ไม่น้อย เป็นตลาดหลักเก่าแก่ดั้งเดิมมานาน มีกลุ่มผู้บริโภคประมาณ 500-600 ล้านคน... คงไม่ต้องถามว่าสำคัญไหม? “อเมริ ก าคื อ ตลาดใหญ่ ข องเราในอดี ต และ...ปัจจุบันก็เป็นตลาดใหญ่อันดับหนึ่ง รอง ลงมาคือสหภาพยุโรป แล้วก็ตะวันออกกลาง ถ้ า เราปลดล็ อ กตลาดใหญ่ ซึ่ ง เป็ น ตลาดที่ มี อำนาจ มาตรฐานสูงได้ เท่ากับว่าเราเปิดทาง ไปยังตลาดอื่นๆ ทั่วโลกได้หมดเลย เหมือน กับว่า...เราก้าวข้ามที่สูงไปแล้ว” เพราะฉะนัน้ การตอบโจทย์อเมริกาได้ เท่า กั บ ว่ า เราตอบโจทย์ ป ระเทศอื่ น ๆ ทั่ ว โลกได้ หมดเลย...ในการส่งออกอุตสาหกรรมประมง ไทย


ปัญหาเรื่องของการจัดระดับ TIER หรือ IUU Fishing เป็นปัญหา ภายนอกประเทศ ซึ่ ง แต่ ล ะประเทศก็ จ ะมี ม าตรฐานของเขาเอง...เป็ น เรื่ อ ง ที่เราต้องปรับตัว เพราะไทยเป็นประเทศเศรษฐกิจเปิด เราต้องค้าขายกับ ต่างประเทศ ที่สำคัญคือ...เรื่องของการพัฒนาศักยภาพของกระบวนการผลิต ในประเทศเราเองเป็นเรื่องสำคัญที่สุด หมายความว่า...ไม่ตอ้ งมีคนอืน่ มาฟ้องร้องเรา แต่ให้เราผลิตในกระบวนการ มาตรฐานของเราเองอย่างน้อยคนในประเทศปลอดภัย เรื่องของการบริโภค หรือกระบวนการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม...ต้องบริโภคที่ไหนก็ได้กับคนไหน ก็ได้ คนในประเทศไทยบริโภคก็ปลอดภัย คนต่างประเทศก็ปลอดภัย มาตรฐาน เดียวกัน เรือ่ งต่อมา...ถ้าเจอปัญหาก็เป็นกรณีเฉพาะรายไปทีต่ อ้ งสามารถตรวจสอบ ได้วา่ เกิดจากการกระทำทีค่ ลาดเคลือ่ นหรือระบบผิดพลาดของหน่วยใด ธุรกิจใด ฟาร์มใด เพือ่ ให้หน่วยงานรัฐเข้าไปแก้ไขปัญหาได้ถงึ ต้นตอไม่ให้ลกุ ลามบานปลาย ...ถ้าระบบดีแล้ว ทุกปัญหาย่อมจัดการได้ จริยา สุทธิไชยา รองเลขาฯ สศก. ฝากว่า

กรกฎาคม-สิงหาคม 2559

75 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 33 เล่มที่ 169

“อุตสาหกรรมประมง” หรือ “อุตสาหกรรมเกษตร” ประเทศไทยจะสดใส ต้องพัฒนาศักยภาพไปเรื่อยๆ...พยายามกระจายตลาดเท่าที่จะมากได้ ไม่พึ่ง ตลาดใดตลาดหนึ่งเพราะมีความเสี่ยง


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จำกัด บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โนวัส อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บรูเกอร์ ไบโอสปิน เอจี บริษัท วีเอ็นยู เอ็กซิบิชั่นส์ เอเซีย แปซิฟิค จำกัด

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2694-2498 โทร. 02-661-8700 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 02-681-1329 โทร. 0-2642-6900 โทร. 0-2670-0900 # 113




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.