Chapter 1 วิวัฒนาการเว็บ

Page 1

บทที่ 1 วิวัฒนาการเว็บ ในปจจุบันจะเห็นไดวาคุณประโยชนของอินเทอรเน็ตและอิทธิพลของอินเทอรเน็ตที่มีตอโลก มีอยูมากจนกลาวกันวา “อินเทอรเ น็ต จะเปลี่ยนวิถีการดํ ารงชีวิตของเรา อินเทอรเ น็ตจะเปลี่ยนวิธีการศึกษาหา ความรูของเราอินเทอรเน็ตจะเปลี่ยนวิธีการทํางานของเรา อินเทอรเน็ตจะเปลี่ยนวิธีการหาความสุข สนุกสนานของเราอินเทอรเน็ตจะเปลี่ยน ทุกสิ่งทุกอยางและทุกสิ่งทุกอยางก็จะมาเชื่อมโยงกันอยูที่ อินเทอรเน็ต” (Bill Gate, 2005) อยางแนนอนวาอินเทอรเน็ตไดสงผลตอการศึกษา โดยที่ผูเรียนมีโอกาสที่จะหาความรูไดดวย ตนเองโดยการใชอินเทอรเน็ต ฉะนั้นรูปแบบของการเรียนการสอนควรเนนสอนวิธีการเรียนใหผูเรียน ไมใชสอนแตเนื้อหาวิชาเพียงอยางเดียว (Teaching how to learn - not what to learn!) และการ เรียนการสอนในรูปแบบนี้ยังเปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต (Lifelong learning) อีกดวย

1.1 วิวฒ ั นาการของเว็บ (Web Technology) เว็บเทคโนโลยี (Web Technology) คือ บริการหนึ่งในรูปแบบตางๆของการใหบริการของ อิน เตอร เ น็ต สํ า หรั บผู พัฒนาเว็ บ หรือผูที่ตองการเขียนโปรแกรมเพื่อติดตอสื่อสารผานเว็บ หรือ อินเตอรเน็ต แลวจะตองรูและเขาใจเรื่องเกี่ยวกับโปรโตคอล (Protocal) ปจจุบันเว็บเปรียบเสมือนกับจักรวาลที่กําลังขยายตัวอยางตอเนื่อง ซึ่งประกอบไปดวยหนา เว็บตางๆ ที่โยงใยเขาดวยกัน รวมถึงเว็บแอปพลิเคชันจํานวนมากที่เต็มไปดวยวิดีโอ รูปถาย และ เนื้อหาแบบอินเตอรแอคทีฟ โดยสิ่งที่ผูใชทั่วไปไมสามารถมองเห็นได ก็คือการทํางานรวมกันระหวาง เทคโนโลยีเว็บและเบราวเซอร ซึ่งถือเปนสวนสําคัญในการผลักดันใหทุกสิ่งสามารถเกิดขึ้นได การนําเสนอขอมูลในระบบ WWW (World Wide Web) พัฒนาขึ้นมาในชวงปลายป 1989 โดยทีมงานจากหองปฏิบัติการทางจุลภาคฟสิกสแหงยุโรป (European Particle Physics Labs) หรือ ที่รูจักกันในนาม CERN (Conseil European pour la Recherche Nucleaire) การเผยแพรขอมูลทางอินเทอรเน็ตผานสื่อประเภทเว็บเพจ (Webpage) เปนที่นิยมกันอยาง สูงในปจจุบัน ไมเฉพาะขอมูลโฆษณาสินคา ยังรวมไปถึงขอมูลทางการแพทย การเรียน งานวิจัยตางๆ เพราะเขาถึงกลุมผูสนใจไดทั่วโลก ตลอดจนขอมูลที่นําเสนอออกไป สามารถเผยแพรไดทั้งขอมู ล ตัวอักษร ขอมูลภาพ ขอมูลเสียง และภาพเคลื่อนไหว มีลูกเลนและเทคนิคการนําเสนอที่หลากหลาย อัน ส งผลให ร ะบบ WWW เติ บ โตเปน หนึ่งในรูป แบบบริการที่ไดรับ ความนิย มสูงสุดของระบบ อิน เทอร เ น็ตการนํ า เสนอขอมู ล เว็ บ เพจ คือ สามารถเชื่อมโยงขอมูล ไปยังจุดอื่นๆ บนหนาเว็บ ได ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บอื่นๆ ในระบบเครือขาย อันเปนที่มาของคําวา HyperText หรือ ขอความที่มีความสามารถมากกวาขอความปกตินั่นเอง จึงมีลักษณะคลายกับวาผูอานเอกสารเว็บ


2 สามารถโตตอบกับเอกสารนั้นๆ ดวยตนเอง ตลอดเวลาที่มีการใชงานนั่นเอง ดวย ความสามารถดังกลาวขางตน จึงมีผูใหคํานิยาม Web ไวดังนี้ - The Web is a Graphical Hypertext Information System. การ นําเสนอขอมูลผานเว็บ เปน การนําเสนอดวยขอมูลที่สามารถเรียกหรือโยงไปยังจุดอื่นๆ ในระบบกราฟก ซึ่งทําใหขอมูลนั้นๆ มีจุด ดึงดูดใหนาเรียกดู - The Web is Cross-Platform. ขอมูลบนเว็บไมยึดติดกับ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เนื่องจากขอมูลนั้นๆ ถูกจัดเก็บเปน Text File ดังนั้นไมวาจะถูกเก็บไวในคอมพิวเตอรที่ใช OS เปนUNIX หรือ Windows NT ก็สามารถเรียกดูจากคอมพิวเตอรที่ใช OS ตางจากคอมพิวเตอรที่เปน เครื่องแมขายได - The Web is distributed. ขอมูลในเครือขายอินเทอรเน็ตมีปริมาณมากจากทั่วโลก และผูใชจาก ทุกแหงหนที่สามารถตอเขาระบบอินเทอรเน็ตได ก็สามารถเรียกดูขอมูลไดตลอดเวลา ดังนั้นขอมูลใน ระบบอินเทอรเน็ตจึงสามารถเผยแพรไดรวดเร็ว และกวางไกล - The Web is interactive. การทํางานบนเว็บเปนการทํางาน แบบโตตอบกับผูใชโดยธรรมชาติอยู แลว ดังนั้นเว็บจึงเปนระบบ Interactive ในตัวมันเอง เริ่มตั้งแตผูใชเปดโปรแกรมดูผลเว็บ (Browser) พิมพชื่อเรียกเว็บ (URL: Uniform Resource Locator) เมื่อเอกสารเว็บแสดงผลผานเบราวเซอร ผูใชก็สามารถคลิกเลือกรายการ หรือขอมูลที่สนใจ อันเปนการทํางานแบบโตตอบไปในตัวนั่นเอง

รูปที่ 1.1 เทคโนโลยี web 1.0 – web 4.0 Web 1.0 คือ การใชงานอินเทอรเน็ต (Internet) ในอดีต เปนการใชขอมูลดานเดียว(One way Communication) ระหวางเว็บ 1 เว็บจะมีผูใช 1 คนคือ web master หรือผูสรางเว็บเปนผูให ขอมูล และ ผูเขาชมเว็บเปนผูรับขอมูล จะรูจักแค E-Mail, Chat Room, Download, Search Engine, Web board สวนมากจะใชภาษา HTML (HyperText Markup Language ) ตอมาเริ่มมี การนําเอา Java Script และภาษา PHP (HyperText preprocessor) มาใชงาน


3

รูปที่ 1.2 Web 2.0 = Read/Write, Dynamic Data through Web Services Web 2.0 คือ เครือขายทางสังคม (Social network) ที่เนนการแบงปน (Sharing) รูปภาพ สื่อตางๆ (Multimedia) รวมทั้งขอมูลที่สมาชิกภายในกลุมเครือขายสังคมนั้นมีอยูอยางแทจริง Web 2.0 เปนการติดตอ 2 ทาง (Two-way Communication) และผูใชยังมีสวนรวมในการ สรางสรรค (Co-Creation) และนําเสนอ Content ไมใช Content Provider (ผูนําเสนอเนื้อหา ขอมูล ความรู) อีกตอไป ตัวอยางเว็บไซตยุค Web 2.0 ที่ติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลกMySpace

รูปที่ 1.3 การเปรียบเทียบความแตกตางระหวาง Web 1.0 และ Web 2.0


4

รูปที่ 1.4 แสดงแนวคิดของ Web 1.0 กับ Web 2.0 Web 3.0 เปนการนําแนวคิดของ Web 2.0 มาทําให Web นั้นสามารถจัดการขอมูลจํานวน มากๆ ใหอยูในรูปแบบ Metadata ที่หมายถึงขอมูลที่บอกรายละเอียดของขอมูล (Data about data) ทําใหเว็บกลายเปน Semantic Web คือ ตัว Web จะทําหนาที่ประมวลผลขอมูลและ วิเคราะหขอมูลเหลานั้น แลวให Tags ตามความเหมาะสมใหเราแทน โดยขอมูลแตละ Tag จะมี


5 ความสัมพันธกับอีก Tag หนึ่งโดยปริยาย ทําใหอินเตอรเน็ตกลายเปนฐานขอมูล ความรูขนาดใหญ ที่ ขอมูลทุกอยางถูกเชื่อมตอกันอยางเปนระบบมากขึ้น Web 3.0 จะพัฒนาไปในลักษณะ Segment of One คือ Segment ที่มีบุคคลแคคนเดียว หรือ ตอบโจทย ความเป นสว นบุ คคล เช น อยากไปเที่ย วภู เขาไฟฟู จิ เมื่อคนข อมูล แล วเว็ บไซตจ ะ เชื่อมโยงขอมูลทั้งหมดออกมา ไมวาจะจากสายการบินตางๆ แพ็กเกจไหนดีที่สุด และนํามาเช็ค กับ ตารางของผู ใช ว า ตารางเวลาตรงกัน ไหม หรือจะนําไปเช็คกั บ ตารางของเพื่อ นที่ ญี่ปุ น ใน Social Network เพื่อนัดเวลาที่ตรงกันเพื่อพบปะทานขาวรวมกันก็ได ในยุ ค สื่ อ ดิ จิ ต อล โลกอิ น เทอร เ น็ ต เป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ ในการประยุ ก ต ใ ช ไ อที เ พราะ อินเทอรเน็ตชวยให เขาถึงขอมูลขาวสารรอบโลกไดอยางรวดเร็วชวยใหติดตอกับคนหรือหนวยงาน ภายในและนอกประเทศได ภายในพริบตา รูปแบบที่ผูบริโภคสามารถเขาถึง (view ,create ,copy ,share etc.) ไดทุกที่ ทุกเวลา ดวย อุปกรณใดๆที่ เชื่อมตออินเทอรเน็ตได กาวตอไปของสื่อใหมจะ เปนการเชื่อมโยงและผสมผสาน Digital content เหลานั้นเขาดวยกันที่เรียกวา Mash Up อันเปน พื้นฐานของเว็บ 3.0 ที่ไดรับการพัฒนาใหมี ความฉลาดรู หรือ มี AI (Artificial Intelligence) สามารถคนหา และคาดเดาความตองการของผูบริโภค แตละคนได อุปกรณไอที Gadget ตางๆ ไม วาจะเปน Notebook/ Netbook/ Smart Phone / MID (Mobile Internet Device), Digital Photo frame, Ebook หรือแมแตอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในบาน (Digital home appliance)จะไดรับการ พัฒนาใหมีความฉลาดในการทํางานมากขึ้น ทั้งขนาด คุณสมบัติ การทํางาน และราคา

รูปที่ 1.5 การเปรียบเทียบพัฒนาการตั้งแต Web 1.0 - Web 3.0


6

รูปที่ 1.6 การเปรียบเทียบแนวคิดของ Web 1.0 - Web 3.0 web 4.0 หรือที่เรียกกันวา “A Symbiotic web” (Ubiquitous Web) คือ web ที่มี ทํางานแบบ Artificial Intelligence (AI) หมายถึง การสรางใหคอมพิวเตอรใหสามารถคิดได (Human mind & Machines หรือ Human & Robot coexistence) มีความฉลาดมากขึ้น ในการ อานทั้งเนื้อหา (text) และรูปภาพ (graphic) และสามารถตอบสนองดวยการคํานวณ หรือ สามารถ ตัดสินใจไดวาจะ load ขอมูลใดที่จะใหประสิทธิภาพดีที่สุดมาใหกอน และมีรูปแบบการนํามาแสดงที่ รวดเร็ว


7 Web 4.0 นั้นประกอบดวย 3 องคประกอบ Ubiquity, Identity และ Connection กลาวคือ จะพบไดทุกหนทุกแหง ไมจํากัดวาจะเปน Device ใด สามารถระบุตัวตนของผูใชงานได อยางแนชัด รวมถึงอาจจะ Integrate ไปกับอุปกรณอื่นๆ ที่ชวยในการระบุตัวตน เชน GPS และก็ สามารถใชงาน ไดทุกหนทุกแหง สามารถเชื่อมตอไดงายจนไมรูสึกถึงความยุงยากใด ในระหวางการ ทํา งานหนึ่ งๆ อาจจะมี ขอความแทรกขึ้น มาทันทีก็ได ลักษณะของ Web 4.0 จะไมได มองไปที่ “ขอมูล” อีกตอไป เพราะจะกาวขามกลายเปน Activity หรือกิจกรรมแทน เพราะไดผานจุดของ Web 3.0 ที่สามารถ สื่อสารกันไปแลว ขอมูลทุกอยางจึงแลกเปลี่ยนไดอยางอิสระจนมองขามมันไปได วา ข อมู ล อยู ที่ไหนหรื อมาจากไหน แตกลับ ไปสนใจแทนวา หากจะทํากิจ กรรมหนึ่งๆ มีที่ไหนที่มี Application ที่จะสนับสนุนกิจกรรม ที่ผูใชงานตองการได เชน หากตองการจะซื้อเสื้อ ขอมูลเสื้อจาก ทุกๆ แหลงที่รองรับกิจกรรมนี้ก็ จะถูกสงมารวมกัน โดยอาจมีขอมูลประกอบวารานอยูที่ไหนจาก Application ดานขอมูลสถานที่ และสามารถเลือกผูสงสินคาได จาก Application จากผูใหบริการ ดานการสง เปนตน ลักษณะของ Web 4.0 1) More access to data (สามารถเขาถึง data ไดมากขึ้น) 1.1 Access to more products (เขาถึงผลิตภัณฑไดหลายตัวมากขึ้น) อยางเชน เสื้อผา เครื่องประดับ อุปกรณการกีฬา 1.2 Access to more images (เขาถึงรูปภาพไดมากขึ้น) 1.3 All customer reviews (สามารถดึงคําติชมของลูกคาทุกคน) 1.4 More product attributes (สามารถเขาถึงขอมูลของสินคามากขึ้น) 2) Extended cabilities (มีความสามารถมากขึ้น) 2.1 Extended Search functionality (คนหาขอมูลดวยรายละเอียดมากขึ้น) 2.2 Save for Later remote shopping cart (เลือกสินคาโดยที่ไมใสตะกราได) 2.3 Wish list search (สามารถคนหาสินคาในรายการที่ผูอื่นตองการ) 3) Improved usability 3.1 More documentation and code samples (มีคูมือการใชและโปรแกรมตัวอยาง มากขึ้น) 3.2 Localized error messages. New error messages include very specific information about errors in your requests and provide troubleshooting guidelines (error messagesมีขอมูลมากขึ้นที่บอกถึงความผิดพลาดและชวยบอกถึงวิธีแก) 3.3 Built-in help functionality ทําใหผูพัฒนาสามารถเขาถึง API ไดงาย ชวยในการ เรียนรูและการนําไปใช


8

รูปภาพแสดงแนวคิดของ Web 1.0 - Web 4.0

รูปที่ 1.7 แสดงเสนทางพัฒนาการของ Web 1.0 - Web 4.0

สรุป

วิวัฒนาการและเทคโนโลยีดานอีเลิรนนิ่งมีมาตั้งแตสมัยอดีต และปจจุบัน วิวัฒนาการและ เทคโนโลยีดานอีเลิรนนิ่งยังคงมีพัฒนาการที่กาวตอไปอยางไมหยุดนิ่ง วิวัฒนาการและเทคโนโลยีดานอีเลิรนนิ่งจะแบงออกเปนทั้งหมด 5 ยุด ยุคที่ 1. เริ่มขึ้นชวงปลายป พ.ศ. 2442 และตนป พ.ศ. 2443 ซึ่งรูจักกันในชื่อ“การเรียน โดยใชจดหมาย”คือสามารถทําผานอินเทอรเน็ตไดโดยสงทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกสหรืออีเมลแทนที่ จะสงทางจดหมายธรรมดา ยุคที่ 2 คือทุกคนสามารถที่จะลงทะเบียนเรียนโดยไมตองดูจากประสบการณกอนหนานี้ หรือการศึกษา โดยผานทางสื่อวิทยุและโทรทัศนความหมายอยางกวางๆ ของ “ใครทุกคน ทุกหนแหง และทุกเวลา” ยุคที่ 3 เมื่อประมาณป พ.ศ. 2523 เปนยุคที่มาพร อมกับวิดีโอเทป การกระจายเสีย ง ดาวเทียม และสายเคเบิ้ล องคกรใหญๆ ผานทางโทรทัศน ผานดาวเทียมสําหรับการพัฒนาอาชีพ การ รูหนังสือของผูใหญและหัวขอตางๆ สําหรับการศึกษาทางไกล


9 ยุคที่ 4 สวนยุคนี้คือการเรียนการสอนผานทางเว็บ หรือผานทางอินเทอรเน็ตนั่นเอง โดย การใหความรูผานทางเวิลด ไวด เว็บ (World Wide Web) ยุคที่ 5 ยุคนี้จะพัฒนามาจากยุคที่ 4 โดยใชเทคโนโลยีทุกประเภทของอินเทอรเน็ต อาทิ เวิลด ไวด เว็บ (WWW) อีเมล (Email), หองสนทนา (Chat), หองประชุม (Forum), กลุมผูสนใจ (Mailing List), ปายประกาศ (Bulletin Board) หองสมุดดิจิทัล(Digital Library) ฯลฯ ยุคนี้จะเนนที่ การเรียนการสอนที่ผูเรียนมีสวน Web 1.0 ผูเขาชมสามารถอานไดอยางเดียว (Read-only) เปนเทคโนโลยีที่สามารถที่ สามารถแกไขขอมูล หนาตาของเว็บไซตไดเฉพาะผูดูแลเว็บไซต (Webmaster) เปนเว็บที่ผูเขาเยี่ยม ชมไมสามารถมีสว นรวมกับเว็บดังกลาวได ถือวาเปนเว็บรุนแรกของเทคโนโลยีเว็บไซต สวนมากจะใช ภาษา html เปนภาษาสําหรับการพัฒนา Web 2.0 ผูเขาชมสามารถอานและเขียนได (Read-Write) เปนเทคโนโลยีเว็บไซตที่พัฒนา ตอจาก web 1.0 เปนเทคโนโลยีเว็บไซตที่สามารถโตตอบกับผูใชงานได เชน เว็บบอรด เว็บบล็อก วิพี เดีย เปนตน ซึ่งจะใชฐานขอมูลมาเกี่ยวขอกับเทคโนโลยีนี้ดวย web 3.0 ผูชมสามารถอาน เขียน จัดการ ( Read-Write-Execute ) คือจากที่ผูเขาไปใช อาน และเพิ่มขอมูล ผูใชก็สามารถปรับแตงขอมูลหรือระบบไดเองอยางอิสระมากขึ้น สําหรับเมืองไทย นั้นจะนําเขามาใชในอนาคต เทคโนโลยีบางอยางที่คาดวาจะถูกนํามาใชใน web 3.0 ไดแก Artificial Intelligent (AI) เรียกวา ปญญาประดิษฐ หรือสมองกล,Semantic Web and SOA (Serviceoriented architecture)เปนเรื่องของการแลกเปลี่ยนขอมูลที่ตางระบบกัน, 3D หรือ Web3D Consortium เปนเว็บรูปแบบ 3 มิติ, Composite Applications เปนการผสมบริการระหวางกัน เชน การดึงบริการจากเว็บรูปแบบหนึ่งมาใชงานในเว็บไซตรูปแบบอื่นๆ ไดดวยเสมือนเปนเว็ปไซต เดียวกัน, Scalable Vector Graphic (SVG) เปนเทคโนโลยีที่เมื่อเราจะยอหรือขยายรูปภาพก็ไมแตก เปนเม็ดๆ,Semantic Wiki เปนการแสดงขอมูลของภาพที่เรากําลังอานอยู, Metadata ( Data about Data)เปนการอธิบายขอมูลดวยขอมูลในเชิงสัมพันธกัน จะเห็นไดวาวิวัฒนาการของเทคโนโลยีเว็บไดชวยใหนักพัฒนาสามารถสรางประสบการณการ ใชเว็บในรูปลักษณใหมที่มีความครอบคลุมและเปนประโยชนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ เว็บในปจจุบันเปนผล พวงมาจากความพยายามอยางตอเนื่องของชุมชนบนเว็บที่ชวยกําหนดทิศทางใหกับเทคโนโลยีเว็บ เชน HTML5, CSS3 และWebGL รวมทั้งยังชวยใหแนใจดวยวาเทคโนโลยีดังกลาวจะสามารถใชไดกับ เว็บเบราวเซอรที่มีอยูทั้งหมดแถบสีในการแสดงขอมูลนี้จะแทนการสื่อสารระหวางเทคโนโลยี เว็บกับเบราวเซอร ซึ่งชวยใหเว็บแอปพลิเคชันที่มีประสิทธิภาพจํานวนมากที่เราใชงานอยูในทุกวันนี้มี ชีวิตชีวายิ่งขึ้น. ดังนั้นการใชประโยชนของขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ตจึงตอบสนองความตองการของ ผูเรียนในพื้นที่หางไกลสามารถที่จะเขามาสูการเรียนแบบนี้ได ไมวาจะอยู ณ ที่ใด และเวลาใดก็ไดจึง ถือไดวาอินเทอรเน็ตนี้เองที่ชวยสรางโอกาสในการศึกษาทางไกลสําหรับ ใครทุกคน ทุกหนแหง และ ทุกเวลา 0

0


10 เอกสารอางอิง http://website-quality.blogspot.com/2010/01/web-40-newhttp://sethgodin.typepad.com/seths_blog/2007/01/web4.html http://samarn.multiply.com/journal/item/84/84 http://sethgodin.typepad.com/seths_blog/2007/01/web4.html http://www.zdnet.com/blog/btl/from-semantic-web-30-to-the-webos-40/4499 http://goo.gl/aRA2P http://goo.gl/0VMUS http://goo.gl/Q216Q http://www.blogger.com/goog_649426735 http://jonmell.co.uk/web-20-web-30-web-40-web-50-where-will/ http://www.techcrunch.com http://www.computers.co.th http://catadmin.cattelecom.com http://janyassattanako.blogspot.com/2011/03/web-10-web-40.html


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.