ความรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

Page 1

1

ความรูเกี่ยวกับ การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม Small and Medium Enterprises SMEs ยอมาจากภาษาอังกฤษ Small and Medium Enterprises หรือแปลเปนภาษาไทยวา "วิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอม" สําหรับความหมายของวิสาหกิจ (Enterprises) ครอบคลุมกิจการ 3 กลุมใหญ ๆ ไดแก 1. กิจการการผลิต (Production Sector) ครอบคลุมการผลิตในภาคเกษตรกรรม (Agricultural Processing) ภาคอุตสาหกรรม(Manufacturing) และเหมืองแร(Mining) 2. กิจการการคา (Trading Sector) ครอบคลุมการคาสง (Wholesale) และการคาปลีก (Retail) 3. กิจการบริการ (Service Sector) สวนลักษณะขนาดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กําหนดจากมูลคาชั้นสูงของสินทรัพยถาวร สําหรับ กิจการแตละประเภท ดังนี้

1. กิจการการผลิต 2. กิจการบริการ 3. กิจการการคา - คาสง - คาปลีก

ขนาดกลาง ไมเกิน 200 ลานบาท ไมเกิน 200 ลานบาท

ขนาดยอม ไมเกิน 50 ลานบาท ไมเกิน 50 ลานบาท

ไมเกิน 100 ลานบาท ไมเกิน 60 ลานบาท

ไมเกิน 50 ลานบาท ไมเกิน 30 ลานบาท

สวนลักษณะขนาดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กําหนดจากจํานวนการจางงาน สําหรับกิจการ แตละประเภท ดังนี้ 1. กิจการการผลิต 2. กิจการบริการ 3. กิจการการคา - คาสง - คาปลีก

ขนาดกลาง ไมเกิน 200 คน ไมเกิน 200 คน

ขนาดยอม ไมเกิน 50 คน ไมเกิน 50 คน

ไมเกิน 50 คน ไมเกิน 30 คน

ไมเกิน 25 คน ไมเกิน 15 คน


2

ความสําคัญของ SMEs ตอระบบเศรษฐกิจ SMEs คือ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เปนวิสาหกิจที่มีความเหมาะสม มีความคลองตัวในการปรับ สภาพใหเขากับสถานการณทั่วไปของประเทศอีกทั้งยังเปนวิสาหกิจที่ใชเงินทุนในจํานวนที่ต่ํากวาวิสาหกิจ ขนาดใหญ และยังชวยรองรับแรงงานจากภาคเกษตรกรรมเมื่อหมดฤดูกาลเพาะปลูก รวมถึงเปนแหลงที่ สามารถรองรับแรงงานที่เขามาใหมเปนการปองกนการอพยพของแรงงานเขามาหางานทําในเขตกรุงเทพฯและ ปริมณฑล ซึ่งชวยกระจายการกระจุกตัวของโรงงานกิจการวิสาหกิจในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลไปสูภูมิภาค กอใหเกิดการพัฒนาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทั้งในสวนภูมิภาคและของประเทศอยางยั่งยืนตอไป กลาวโดยสรุป SMEs มีความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจ คือ 1. ชวยการสรางงาน 2. สรางมูลคาเพิ่ม 3. สรางเงินตราตางประเทศ 4. ชวยประหยัดเงินตราตางประเทศ โดยการผลิตเพื่อทดแทนการนําเขาจากตางประเทศ 5. เปนจุดเริ่มตนในการลงทุน และสรางเสริมประสบการณ 6. ชวยเชื่อมโยงกับกิจกรรมขนาดใหญ และภาคการผลิตอื่น ๆ เชน ภาคเกษตรกรรม 7. เปนแหลงพัฒนาทักษะฝมือ ปญหาเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ซึ่งพอจะสรุปได 8 ประการใหญ 1. การขาดซึ่งจิตวิญญาณของการเปนผูประกอบการ (Lack of Entreprenuership) การเปนผูประกอบการ จะตองมีคุณสมบัติหลายประเภท เชน ความเปนผูนํา การกลาไดกลาเสีย ตองเปนนายของตัวเอง การรักความ ทาทาย รักความเปนอิสระ มีระเบียบวินัยในตัวเองสูง 2. การจัดการและการบริหารไมมีประสิทธิภาพ ความสามารถในดานการจัดการองคกร การเงิน การบัญชี การตลาด บุคลากร ซึ่งถือเปนหัวใจหลักของ SMEs 3. การขาดบุคลากรหรือผูเชี่ยวชาญธุรกิจ SMEs มักจะเริ่มตนจากความถนัดหรือความชํานาญเฉพาะดานของ ผูประกอบการ นั้นตั้งแตเริ่มกอตั้งและดําเนินตอไป จนกวาจะเริ่มเขาที่เขาทาง 4. การขาดแรงงานทีมีฝมือแรงงานที่มีฝมือ (Skilled Worker) คือจุดเริ่มตนของคุณภาพสินคา ซึ่งพนักงานทีมี ฝมือจะตองไดรับการฝกฝน ดังนั้นฝูประกอบการรายใหมจึงตองสรางและสงวนแรงงานเหลานี้ใหได 5. ตนทุนการผลิตสูงการจัดการที่ไมดี การผลิตที่ขาดประสิทธิภาพ ไมมีการใชเครื่องจักรหรือเทคโนโลยีเขามา ชวยจะทํา ใหตนทุนของสินคาสูง ซึ่งนําไปสูการเสียเปรียบในเชิงการคากับคูแขง


3

6. การแขงขันสูงสภาพการเศรษฐกิจและแขงขันในปจจุบัน เปนสาเหตุใหเกิดการแขงขันกันสูงมากเพื่อความ อยูรอดของธุรกิจของตนเอง ดังนั้นผูประกอบการหนาใหมที่เขามาในตลาดที่มีการแขงขันกันสูง จึงมีความ ยากลําบากในการดําเนิน ธุรกิจ 7. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่ําการบริหารจัดการการผลิตไมเหมาะสม ทําใหเกิดสูญเสียในการผลิต ผลผลิตต่ํา ไมได มาตรฐาน ซึ่งนําไปสูสินคาไมมีคุณภาพและไมสามารถแขงขันได 8. ปญหาของระบบราชการก็เปนที่ทราบกันดีอยูทั่วไปวา ปญหาดานเอกภาพและการประสานงานของ หนวยงานที่รับผิดชอบ ในการสงเสริมพัฒนา SMEs ก็ตองมีความสําคัญดวย ดังนั้นเมื่อเราไดทราบปญหา หลักของธุรกิจ SMEs แลว ก็จะนําไปสูการแกไขปญหา และนําไปสูการพัฒนาตอไป กลยุทธของเจาของกิจการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม เถาแกใหมสําหรับ SMEs เถาแกใหมหรือผูประกอบการอิสระ หรือ เจาของกิจการรายใหม กําลัง เปนที่สนใจของทั้งภาครัฐและเอกชน โดยยอมรับกันวา เถาแกใหมนั้นจะเปนรากฐานสําคัญของธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอม โดยเถาแกใหมจะเปนผูที่มองเปนโอกาสและชองทางตางๆแลวสรางธุรกิจของตนอยาง สรางสรรค และจะเปนผูที่เปลี่ยนวิกฤติใหเปนโอกาสหรือจะมองในแงของ " ชวงภาวะแหงอันตราย คือ โอกาส" คุณสมบัติขั้นต่ํา 7 ประการสําหรับ เถาแกใหม 1. ตองเปนนักแสวงหาโอกาส ตองมองเห็น " โอกาส" แมตกอยูในภาวะวิกฤติ โดยมองเห็นโอกาสแลวหยิบฉวยขึ้นไดอยาง เหมาะสม ไมใชมองเห็นโอกาสแลวไมมีความสามารถหรือไมกลา นั่นถือวา " เสียของ " 2. ตองเปนนักเสี่ยง ตองกลาเสี่ยงที่จะลุยเขาไปเลย เพราะการที่จะเปนเถาแกนั่นคือ คุณจะมีโอกาสทั้งขาดทุน และกําไร นั้นคือสิ่งที่คุณ จะไดรับ ความเปนนักเสี่ยงนั้นไมใชทําแบบบาบิ่นหรือไมมีหลักการและเหตุผลเอาซะเลย 3. ตองมีความคิดริเริ่มสรางสรรค เปนคุณสมบัติที่สําคัญสําหรับเถาแกใหม เพราะการที่จะเขาไปแขงขันกับเถาแกเดิมหรือสินคาที่มี อยูในตลาดนั้นจําเปน จะตองมีความคิดใหมๆ และสรางสรรค แตไมใชเพอฝนในสิ่งที่เปนไปไมได 4. ตองไมทอถอยงาย เถาแกใหมจะตองมี "ความอึด" โดยเฉพาะเริ่มแรกของการทําธุรกิจใหมๆ ความมุมานะไมยอทอ ความลําบาก และมุงมั่น ที่จะใหธุรกิจที่ตนสรางนั้นประสบความสําเร็จ และหวังที่จะเก็บดอกออกผลในอนาคต 5. ตองใฝรูเสมอ เถาแกใหมจะตองมีความตื่นตัว ใฝหาความรูเพื่อใหเกิดความคิดสรางสรรคและปรับเปลี่ยนเขากับ สถานการณตางๆไดดี และยังเปนการปรับปรุงงานตางๆดวย


4

6. ตองมีวิสัยทัศนกวางไกล โดยจะตองมีจุดมุงหมายที่ชัดเจน วาจะไปไหนและมีแนวทางในการดําเนินการอยางไร คลายกับยิง ธนูจะตองเหนี่ยว ยิงลูกธนูนั้นใหถูกทิศทางและเปาหมายนั่นเอง 7. ตองมีเครือขายที่ดี เถาแกใหมมีเครือขายที่ดีจะหมายถึง มีคนชี้แนะ สนับสนุนมาก มีแหลงขอมูลมาก และรวมไปถึง เพื่อน หรือญาติพี่นองที่จะชวยเหลือ โดยคุณสมบัติดังกลาว ไมใชคุณสมบัติที่จะตองมีมาแตกําเนิด เราทุกคนสามารถมีได และพัฒนาขึ้น มาไดแตตองใชเวลา นี่ไมใชพรสวรรค แต เปนพรแสวงที่ตัวคุณเองเทานั้นที่จะแสวงหาสิ่งนั้นดวยตัวคุณเอง ถา ไมเชื่อ คุณลองไปถามเถาแกเกาที่ประสบความสําเร็จมาแลวในอดีตแรงกดดันที่ทําให SMEs ตองมีการปรับตัว ครั้งใหญปญหาของอุตสาหกรรมไทยที่ผานมามีหลายประการ เชนดานการผลิต การจัดการบริหาร แหลง เงินทุน การตลาด แรงงาน คุณภาพสินคา และเทคโนโลยีเปนตน ซึ่งปญหาเหลานั้นทําใหอุตสาหกรรมขาด ความสามารถในการทํากําไร " แรงกดดัน 4 C " เปนแรงกดดันหลักที่ทําให ธุรกิจ SMEs เกิดการปรับตัวครั้งใหญ 1. Customer (ลูกคา) โดยลูกคามีความตองการที่หลากหลาย มีการเรียกรองที่ไมรูจบ เนื่องจากเปนตลาดของ ผูซื้อ มีสินคาในตลาดมากมาย หรือเมื่อลูกคาไดยินสินคาใหมหรือมีสิ่งใหมที่ไมซ้ําซาก ซึ่งอาจรวามถึงราคาที่ ดึงดูดใจดวย ดังนั้น SMEs ตองตอบสนองตอความตองการของลูกคาใหทันการณ โดย มีการวิเคราะหลูกคา อยูเสมอ 2. Competition (การแขงขัน) สภาพการแขงขันในตลาดเสรีนอกจากจะเพิ่มทั้งจํานวน และขนาดแลว คูแขงจะ มีทั้งสินคาทั้งในและตางประเทศ ซึ่งสินคาเหลานั้นจะรวมไปถึง สินคานําเขา สินคาหนี ภาษี และ สินคาที่ทุมตลาดดวยการลดราคาเปนตน SMEs จึงตองพยายามคิดเสมอวา คูแขงของเราผลิตสินคา ที่ดีกวา ถูกกวา และใหบริการเร็วกวา เพื่อที่เราจะไดมีการตื่นตัวและปรับปรุงอยางตอเนื่อง มากกวานั้นเรา จะตองพยายามรักษาฐานลูกคาเดิม และสรางสรรคฐานลูกคาใหมดวย 3. Cost (ตนทุน) การลดตนทุนการผลิต (Cost Reduction) เปนเรื่องที่ SMEs ตองให ความสําคัญอยางยิ่ง เพราะหากตนทุนการผลิตสูง ราคาขายของสินคาหรือบริการก็จะสูงไปดวยทําใหเสีย ความสามารถในการแขงขันและยังทําใหความสามารถในการทํากําไรลดลงไปดวย อยางไรก็ตามก็ตอง คํานึงถึงคุณภาพของสินคาเชนเดียวกัน 4. Crisis มีคํากลาววา " ยามศึกเรารบ ยามสงบเราฝก" ซึ่งก็คือการที่เรามีการเตรียมความ พรอมไวสําหรับเหตุการณรายแรงที่ไมไดคาดการณไวกอน ซึ่งจะเปนการปองกันลวงหนา เราจะมีทางหนีทีไร อยางไร มากกวานั้น ยังเปนการปรับตัวและยืดหยุนตามวิกฤติเฉพาะหนาไดเปนอยางดีและเร็วทันทวงที ดังนั้น


5

การที่มีจิตนึกในการจัดการวิกฤติการณ (Crisis Management) จะสอนเราใหเปน"นักปองกันและแกปญหา" ไมใช "นักผจญเพลิง" ดังนั้น SMEs จะตองเปดหูเปดตาเพื่อใหทันกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงตางๆ ปญหาและขอจํากัดของ SMEs ในภาพรวม 1. ปญหาดานการตลาด SMEs สวนใหญมักตอบสนองความตองการของตลาดในทองถิ่น หรือตลาด ภายในประเทศ ซึ่งยังขาดความรูความสามารถในดานการตลาดในวงกวาง โดยเฉพาะตลาดตางประเทศ ขณะเดียวกันความสะดวกรวดเร็วในการคมนาคมขนสงตลอดจนการเปดเสรีทางการคา ทําใหวิสาหกิจขนาด ใหญ รวมทั้งสินคาจากตางประเทศเขามาแขงขันกับสินคาในทองถิ่นหรือในประเทศที่ผลิตโดยกลุมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมมากขึ้น 2. ขาดแคลนเงินทุน SMEs มักประสบปญหาการขอกูเงินจากสถาบันการเงิน เพื่อมาลงทุนหรือขยายการ ลงทุนหรือเปนเงินทุนหมุนเวียนทั้งนี้เนื่องจากไมมีการทําบัญชีอยางเปนระบบและขาดหลักทรัพยค้ําประกัน เงินกูทําใหตองพึ่งพาเงินกูนอกระบบ และตองจายดอกเบี้ยในอัตราที่สูง 3. ปญหาดานแรงงาน แรงงานที่ทํางานใน SMEs จะมีปญหาการเขาออกสูง กลาวคือ เมื่อมีฝมือและมีความ ชํานาญมากขึ้นก็จะยายออกไปทํางานในโรงงานขนาดใหญที่มีระบและผลตอบแทนที่ดีกวา จึงทําใหคุณภาพ ของแรงงานไมสม่ําเสมอการพัฒนาไมตอเนื่องสงผลกระทบตอประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพสินคา 4. ปญหาขอจํากัดดานเทคโนโลยีการผลิต โดยทั่วไป SMEs มักใชเทคนิคการผลิตไมซับซอนเนื่องจากการ ลงทุนต่ําและผูประกอบการ/พนักงานขาดความรูพื้นฐานที่รองรับเทคนิควิชาที่ทันสมัยจึงทําใหขาดการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑตลอดจนการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานที่ดี 5. ขอจํากัดดานการจัดการ SMEs มักขาดความรูในการจัดการหรือการบริหารที่มีระบบใชประสบการณจาก การเรียนรู โดยเรียนถูกเรียนผิดเปนหลักอาศัยบุคคลในครอบครัวหรือญาติพี่นองมาชวยงานการบริหารภายใน ลักษณะนี้แมจะมีขอดีในเรื่องการดูแลที่ทั่วถึง (หากธุรกิจไมใหญนัก) แตเมื่อกิจการเริ่มขยายตัวหากไมปรับปรุง การบริหารจัดการใหมีระบบก็จะเกิดปญหาเกิดขึ้นได 6. ปญหาการเขาถึงบริการการสงเสริมของรัฐ SMEs จํานวนมากเปนการจัดตั้งกิจการที่มีรูปแบบไมเปน ทางการ เชน ผลิตตามบานผลิตในลักษณะโรงงานทองแถวไมมีการจดทะเบียนโรงงาน ทะเบียนพาณิชย หรือ ทะเบียนการคาดังนั้นกิจการโรงงานเหลานี้ จึงคอนขางปดตัวเองในการเขามาใชบริการของรัฐ เนื่องจากปฏิบัติ ไมคอยถูกตองเกี่ยวกับการเสียภาษี การรักษาสภาพสิ่งแวดลอม หรือรักษาความปลอดภัยที่กําหนดตาม กฎหมาย นอกจากนี้ในเรื่องการสงเสริมการลงทุนก็เชนเดียวกัน แมวารัฐจะไดลดเงื่อนไขขนาดเงินทุนและการ จางงาน เพื่อจูงใจให SMEsเพียง 8.1 % เทานั้นที่มีโอกาสไดรับการสงเสริมการลงทุนจากรัฐ 7. ปญหาขอจํากัดดานบริการสงเสริมพัฒนาขององคการภาครัฐและเอกชน การสงเสริมพัฒนา SMEs ที่ผานมาไดดําเนินการโดยหนวยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ เชน กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กรมพัฒนา


6

ฝมือแรงงาน กรมสงเสริมการสงออก สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม ขนาดยอมบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หอการคาไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ตลอดจนสมาคมการคาและอุตสาหกรรมตาง ๆ อยางไรก็ตาม เนื่องจากอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาด ยอมมีจํานวนมากและกระจายอูทั่วประเทศ ประกอบกับขอจํากัดของหนวยงานดังกลาว เชน ในเรื่องบุคลากร งบประมาณ จํานวนสํานักงานสาขาภูมิภาคการใหบริการสงเสริมสนับสนุนดานตาง ๆ จึงไมอาจสนองตอบได ทั่วถึงและเพียงพอ 8. ปญหาขอจํากัดในการรับรูขาวสารขอมูล เนื่องจากปญหาและขอจํากัดตาง ๆ ขางตน SMEs โดยทั่วไป จึงคอนขางมีจุดออนในการรับรูขาวสารดานตาง ๆ เชน นโยบายและมาตรการของรัฐ ขอมูลขาวสารดาน การตลาด ฯลฯ ผลกระทบตอ SMEs จากวิกฤตการณทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นตั้งแตกลางป 2540 ซึ่งเริ่มจากสถาบันการเงินกอนจะลุกลามไปสูธุรกิจ เกือบทุกสาขาทั้งกิจการขนาดใหญและขนาดเล็กลวนไดรับผลกระทบจากเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นดวยกันทั้งสิ้น วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมซึ่งเปนภาคการผลิตที่แทจริงก็ไดรับ ผลกระทบจากเศรษฐกิจเชนเดียวกัน กลุม SMEs ลวนประสบปญหาขาดสภาพคลองจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ทําใหอํานาจซื้อการบริโภคของประชาชนลดนอยลงเปนผลใหกิจการ SMEs ตองชะลอหรือลดการผลิต การ จําหนายหรือถึงขึ้นปดกิจการไปในที่สุด โดยกลุมที่ไดรับผลกระทบมากที่สุดคือ กลุม SMEs ที่เปนการรับชวงการผลิตจากกลุมอุตสาหกรรม สนับสนุน ซึ่งเปนอุตสาหกรรมขนาดกลางที่ใชเทคโนโลยีพึ่งพาจากตางประเทศ เชน อุตสาหกรรมรถยนต เปน ตน สวนกลุม SMEs ที่พึ่งพาตนเองไดและมักจะใชภูมิปญญาไทยเปนพื้นฐานมาจากครอบครัวจะสามารถ ดํารงธุรกิจอยูได เนื่องจากกลุมนี้จะมีความคลองตัวในเรื่องการจัดการ เทคนิคการผลิต การจําหนาย ซึ่งมักจะมี ความยืดหยุนในการปรับตัว เพื่อรับมือกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจไดดีกวา กลุม SMEs ที่รับชวงการผลิตจาก บริษัทอุตสาหกรรมขนาดใหญและขนากลาง แตอยางไรก็ตามกลุม SMEs โดยทั่วไปก็ยังไดรับผลกระทบจาก อํานาจซื้อและการบริโภคที่นอยลงของประชาชน และมีปญหาคือสภาพคลองทางการเงิน ที่กระจายไปทั่ว ระบบเศรษฐกิจ หากภาครัฐไมยื่นมือเขาไปชวยเหลือ ผูประกอบการ SMEs เหลานี้ก็จะทยอยปดกิจการไปเรื่อย ๆ กระทั่ง กลายเปนปญหาเรื้อรังทางเศรษฐกิจและสงผลตอปญหาสังคมในที่สุด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.