การบริหารวิสาหกิจขนาดกลาง

Page 1

การบริหารวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม Small and Medium Enterprises Management : SMEs


หนวยที่ 1

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการบริหาร วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม Small and Medium Enterprises Management : SMEs


ความหมายของ SMEs วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม มีชื่อภาษาอังกฤษ คือ Small and Medium Enterprises หรือที่มีชื่อยอภาษาอังกฤษวา SMEs วิสาหกิจ ตามพจนานุกรม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ใหความหมายวา หมายถึง “การประกอบกิจการเพื่อ รายได”


จุดกําเนิดของ SMEs มาจากประเทศอิตาลี ซึ่ง SMEs เปนตนแบบใหประเทศกําลังพัฒนา หลายประเทศไดศึกษาและนํามาประยุกต SMEs ของอิตาลีเกิดจากอุตสาหกรรมในครัวเรือน ซึ่งมักเปนครอบครัวใหญ ไดเปรียบคาแรง มี ทรัพยากร ในทองถิ่น มีความรูภูมิปญญา มีวิญญาณศิลปนและ ความคิดริเริ่มสรางสรรค


ความสําคัญของ SMEs ที่มีตอระบบเศรษฐกิจ SMEs เปนวิสาหกิจที่มีความเหมาะสม มีความคลองตัวเปนวิสาหกิจที่ใชเงินทุนในจํานวนที่ต่ํากวาวิสาหกิจขนาดใหญ ยังชวยรองรับแรงงานจากภาคเกษตรกรรมเมื่อหมดฤดูกาลเพาะปลูก เปนแหลงที่สามารถรองรับแรงงานที่เขามาใหม เปนการปองกนการอพยพ ของแรงงานเขามาหางานทําในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ชวยกระจายการกระจุกตัวของโรงงานกิจการวิสาหกิจในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลไปสูภูมิภาค กอใหเกิดการพัฒนาความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจทั้งในสวนภูมิภาคและ ของประเทศอยางยั่งยืนตอไป


ความสําคัญของ SMEs ชวยสรางงาน สรางมูลคาเพิ่ม สรางเงินตราตางประเทศ ชวยประหยัดเงินตราตางประเทศ โดยการผลิตเพือ่ ทดแทน การนําเขาจากตางประเทศ เปนจุดเริ่มตนในการลงทุน และสรางเสริมประสบการณ ชวยเชื่อมโยงกับกิจกรรมขนาดใหญ และภาคการผลิตอื่น ๆ เชน เกษตรกรรม เปนแหลงพัฒนาทักษะฝมือ


วิสาหกิจ (Enterprises) วิสาหกิจ ครอบคลุมกิจการ 3 กลุมใหญ ๆ ไดแก 1. กิจการการผลิต (Production Sector) ครอบคลุมการ ผลิตในภาคเกษตรกรรม (Agricultural Processing) ภาคอุตสาหกรรม (Manufacturing) และเหมืองแร (Mining)

2. กิจการการคา (Trading Sector) ครอบคลุมการคา สง (Wholesale) และการคาปลีก (Retail) 3. กิจการบริการ (Service Sector)


ประเภท

ขนาดยอม

ขนาดกลาง

จํานวน (คน)

สินทรัพยถาวร (ลานบาท)

จํานวน (คน)

สินทรัพยถาวร (ลานบาท)

กิจการการผลิต

ไมเกิน 50

ไมเกิน 50

51-200

เกินกวา 50 200

กิจการบริการ

ไมเกิน 50

ไมเกิน 50

51-200

เกินกวา 50 200

กิจการคาปลีก

ไมเกิน 15

ไมเกิน 30

16-30

เกินกวา 30-60

กิจการคาสง

ไมเกิน 25

ไมเกิน 50

26-50

เกินกวา 50 100

ที่มา : กฎกระทรวง กําหนดจํานวนการจางงานและมูลคาสินทรัพยถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม พ.ศ. 2545


ปญหาและขอจํากัดของ SMEs ในภาพรวม


ปญหาและขอจํากัดของ SMEs 1. ปญหาดานการตลาด 2. ขาดแคลนเงินทุน 3. ปญหาดานแรงงาน 4. ปญหาขอจํากัดดานเทคโนโลยีการผลิต 5. ขอจํากัดดานการจัดการ 6. ปญหาการเขาถึงบริการการสงเสริมของรัฐ 7. ปญหาขอจํากัดดานบริการสงเสริมพัฒนาขององคการภาครัฐ และเอกชน 8. ปญหาขอจํากัดในการรับรูขาวสารขอมูล


ผลกระทบที่มีตอ SMEs   

วิกฤตการณทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นตัง้ แตกลางป 2540 อํานาจซื้อการบริโภคของประชาชนลดนอยลง ขาดสถาพคลองทางการเงิน


แนวทางการดําเนินงานเพื่อพัฒนา SMEs 1. เพื่อบรรเทาปญหาของ SMEs ที่กําลังประสบอยูในปจจุบัน และชวย พยุงกลุม SMEs ใหดํารงอยูรอดพนจากวิกฤติเศรษฐกิจมีแนวทาง ดําเนินการ คือ 1.1 ปรับปรุงเพิ่มเติม เสริมแตงในจุดที่ SMEs มีปญหา - เทคโนโลยีการผลิตและการบริหาร - การตลาด - การเขาถึงแหลงเงินทุน - การพัฒนาบุคลากร - การเขาถึงแหลงขอมูล


1.2 สรางเครือขายการปฏิบัติงานของหนวยงานปฏิบัติการ 1.3 สรางเครือขายการปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหสนับสนุนซึ่งกันและกัน - องคกรภารัฐ เอกชน ทั้งสวนกลางและภูมิภาค - สถาบันอิสระเฉพาะทาง - สถาบันการศึกษา


2. พัฒนา SMEs ที่ดําเนินการอยูแลวใหขยายตัวเจริญเติบโต และ สามารถแขงขันไดทั้งในระดับประเทศและระดับโลกโดยมี ความสามารถเทียบไดกับวิสาหกิจ SMEs ตางชาติ และสามารถ ออกไปแขงขันในตางประเทศ มีแนวทางดําเนินการคือ 2.1 เนนการพัฒนาไปสูมาตรฐาสสากล - มาตรฐานคุณภาพสินคา - ความรวดเร็วในการสงมอบสินคา และการใหบริการ - มาตรฐานระบบการบริหารการผลิต เชน ISO 9000 หรือ ISO 14000 - มาตรฐานสุขอนามัย - การปองกันสิ่งแวดลอมและธรรมชาติ - การคุมครองแรงงาน และสิทธิมนุษยชน


2.2 เนนกลไกการสนับสนุนเงินทุน การรวมทุน (Venture Capital) และการระดมทุนในตลาด หลักทรัพยสําหรับ SMEs - เพื่อปรับปรุงผลผลิต (Productivity) - เพื่อปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิตและนวัตกรรม - เพื่อปรับปรุงระบบการจําหนายและบริการให รวดเร็ว - เพื่อขยายกิจการ


3. สราง SMEs ที่มีอนาคต มีนวัตกรรม หรือเปนกลุม SMEs ดานนโยบายการพัฒนาใหเกิดขึ้น และ เติบโตอยางยั่งยืนมีแนวทางดําเนินการคือ 3.1 เนนในเรื่องขอมูลขาวสารการลงทุนสาขาที่มี ศักยภาพ 3.2 เนนกลไกการสงเสริมอยางใกลชิดและครบ วงจรในลักษณะการบอมเฉพาะ (Incubation)


3.3 เนนกลไกสินเชื่อเพื่อการเริ่มตนกิจการ (Star-up Loans)

3.4 เนนกลุมเปาหมายดานนโยบาย เชน - กลุมผูมีความรูและประสบการณการทํางาน - กลุมผูจบการศึกษาใหมที่มีความสามารถเชิง นวัตกรรม - กลุมราษฎร หรือราษฎรอิสระ ที่จะจัดตั้งหนวย ผลิตหรือธุรกิจชุมชน


ผูประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม


ผูประกอบการ (Entrepreneur) ผูประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง บุคคลที่จัดตัง้ องคการธุรกิจขึ้นโดยยอมรับ ความเสี่ยงภัยเพื่อหวังกําไร


ผูประกอบการ ตองพิจารณาถึงปญหาความทาทายและความไม แนนอนในการทําธุรกิจ โดยมีสิ่งที่ตองพิจารณาเบื้องตนอยู 3 ประการ คือ

ตองการสิง่ ใดเปนผลตอบแทนจากการเปน เจาของธุรกิจ  ตรวจสอบอุปสรรคตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น  ประเมินทักษะและความสามารถของตนเองที่ จะชวยใหประสบความสําเร็จ 


เหตุผลสําคัญที่ทําใหบุคคลประสงคจะเปน ผูประกอบการเอง ไดแก กําไรและความมั่งคั่ง ความพอใจสวนบุคคล ความเกี่ยวของกับครอบครัว ความเปนอิสระและอํานาจ สถานภาพทางสังคม


ผูประกอบการตองเผชิญกับปญหาตาง ๆ และ ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ ไดแก การสูญเสียทางการเงิน การขาดความมั่นคงในการทํางาน สภาพแวดลอมที่ไมสามารถควบคุมได การทํางานหลายดานและใชเวลามาก ผลกระทบตอครอบครัว


คุณสมบัติของผูประกอบธุรกิจขนาดยอม พรอมที่จะทํางานหนัก หนักเอา-เบาสู มีอัธยาศัยดี พูดจาสื่อความเขาใจกับคนอื่นไดดี รูจักที่จะเปน “แมงาน” หรือ “พองาน” คือรูจักวางรูปงาน มีความภาคภูมิใจในสิ่งที่ตนเองกําลังทํา รูจักสรางและรักษามิตรภาพ เปนคนกอรางสรางตัว ยินดีที่จะแบกภาระรับผิดชอบ มีความกลาในการตัดสินใจ


คุณสมบัติที่ผูประกอบการควรมี        

เปนผูนํา กลาริเริ่ม กลาเสี่ยง มีความคิดสรางสรรค ขยัน อดทน กลาตัดสินใจ และรับผิดชอบตอการตัดสินใจนั้น ๆ มีไหวพริบทางการเงิน ไมทอถอยงาย ๆ ยอมรับสภาพความลําบากไดในบางครั้ง


ผูประกอบการที่ประสบความสําเร็จ 1. มีความตองการแนวแน 1.1 มีความรับผิดชอบสูง 1.2 ประเมินผลงานทันที 1.3 มีพลังงานสูง 1.4 มองไปขางหนา 1.5 มีทักษะประกอบการในองคการ 1.6 เนนคุณคาความสัมฤทธิ์ผลงานมากกวาผลเงิน


2. กลาเสี่ยง 3. เชื่อมั่นในตนเอง

มีความเชื่อมั่นวาทําไดสําเร็จ 3.2 มีความคิดริเริ่มสรางสรรค 4. ตองการทํางานอิสระ ชั่วโมงทํางาน 3.1


แบบทดสอบคุณสมบัติ ของการเปนผูประกอบการ คําชี้แจง ใหกรอกคะแนนคุณลักษณะของทาน โดยมีคะแนนมากที่สุด = 5 และคะแนนที่นอยที่สุด = 1


ลําดับ คุณลักษณะ ที่ 1 ความสามารถในการติดตอสื่อสาร 2 ความสามารในการจูงใจผูอื่น 3 ความสามารถในการจัดองคการ 4 ความรับผิดชอบ 5 ความสามารถในการปรับตัว 6 7 8 9

ความสามารถในการตัดสินใจ แรงกระตุนตนเอง สุขภาพที่ดี มนุษยสัมพันธที่ดี

10

ความคิดริเริ่ม

คะแนน


11

ความสนใจในตัวตน

12

การเปดใจ ยอมรับฟงความคิดเห็น

13

ความรอบคอบ

14

ความสามารถในการวางแผน

15

ความมั่นคงทางจิตใจ

16

ความเชื่อมั่นในตนเอง

17

การมีสติปญญาที่ดี

18

การเริ่มงานดวยตัวเอง

19

ความสนใจในการขาย

20

การฉวยโอกาสทางธุรกิจ รวม


สรุปวาเราควรทําอะไรกันแน ? ถาไมเกิน 30 คะแนน ถาได 30 – 50 คะแนน ถาได 51 – 65 คะแนน ถาได 66 คะแนนขึ้นไป

จงเปนลูกจางเขาตอไปดีกวา ทํางานในธุรกิจของครอบครัวใน ฐานะผูรับคําสั่ง แสดงวามีคณ ุ สมบัตทิ ี่ดใี นการ เปนผูรวมทุน แสดงวามีความเหมาะสมทีจ่ ะ เปนเจาของธุรกิจ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.