การจัดทำและดำเนินงานโครงการที่ดี

Page 1

การจัดทําและการดําเนินงานโครงการที่ดี

รองศาสตราจารยอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ


โครงการ หมายถึง กิจกรรมหรืองานที่เกี่ยวกับการ ใชทรัพยากร เพือ่ หวังผลประโยชนตอบแทน โครงการตองเปนหนวยอิสระหนวยหนึ่ง ที่สามารถทําการวิเคราะห วางแผน และนํา ไปปฏิบัติพรอมทั้งมีจุดเริ่มตนและสิ้นสุด


ลักษณะของโครงการ • วัตถุประสงคของโครงการชัดเจน • ความเปนอิสระหรือความเปนเอกเทศ • กิจกรรมการดําเนินงานเปนขั้นตอนชัดเจนและตอเนื่อง • มีสถานที่ตั้งของโครงการ • กําหนดระยะเวลาการดําเนินงานชัดเจน


ตาราง เปรียบเทียบขั้นตอนการบริหารโครงการ 3 ขั้นตอน

5 ขั้นตอน

8 ขั้นตอน

1. ขั้นการศึกษาและกําหนด 1. ขั้นการวางแผน โครงการ 2. ขั้นการจัดเตรียมโครงการ โครงการ 2. ขั้นการดําเนินงานตาม 3. ขั้นการประเมินและอนุมัติ โครงการ โครงการ

1. ขั้นกําหนดหลักการ 2. ขั้นกําหนด โครงการ 3. ขั้นการวิเคราะหและ ประเมินโครงการ 4. ขั้นอนุมัติโครงการ

4. ขั้นการดําเนินงานและติดตาม โครงการ ประเมินผลโครงการ

5. ขั้นการปฏิบัติงาน 6. ขั้นติดตามและรายงาน ผลการปฏิบัติงาน 7. ขั้นเปลี่ยนเปนงาน บริหาร 8. ขัตามปกติ ้นการประเมินผล โครงการ

3. ขั้นการติดตามและ

5. ขั้นการติดตามและประเมิน ผลการประเมินผลโครงการ


วงจรโครงการ


การศึกษาความเปนไปไดของโครงการ เปนการศึกษาหาขอมูลเพื่อประเมินความ คุมคาของโครงการ ซึ่งความคุมคาของโครงการนี้อาจพิจารณา จากการเปรียบเทียบระหวาง • คาใชจาย กับ ผลตอบแทนของโครงการ


วัตถุประสงคของการศึกษาความเปนไปได ของโครงการ

• เพื่อเปนการจัดหาขอมูลที่เพียงพอตอการ ตัดสินใจลงทุน • เพื่อใหการใชทรัพยากรทีม่ ีอยูจํากัดเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ


ประเภทของการศึกษาความเปนไปได 1. การศึกษาความเปนไปไดดานเศรษฐกิจ 2. การศึกษาความเปนไปไดดานสิ่งแวดลอมและ สังคม 3. การศึกษาความเปนไปไดดาน

การตลาด 4. การศึกษาความเปนไปไดดาน เทคนิค 5. การศึกษาความเปนไปไดดานเศรษฐศาสตรและ การเงิ น 6. การศึกษาความเปนไปไดดานการจัดการ


ประเภทของการศึกษาความเปนไปได 3. การตลาด 1. เศรษฐกิจ

4. เทคนิค 5. การเงิน 6. การจัดการ

2. สิ่งแวดลอม


การศึกษาความเปนไดดานเศรษฐกิจ • ภาวะเศรษฐกิจในอนาคต • รายไดประชาชาติ • อัตราดอกเบี้ย • อัตราเงินเฟอ • อัตราแลกเปลี่ยน


การศึกษาความเปนไปไดดานสิ่งแวดลอม และสังคม

• การเมือง • กฎหมาย • เทคโนโลยี • สิ่งแวดลอม • สังคม


การศึกษาความเปนไปไดดานการตลาด • อุปสงค • ลูกคาเปาหมาย

• คูแขงขัน • Product • Place

• ขนาดของตลาด • แนวโนมการตลาด • สวนแบงการตลาด • Price • Promotion


การศึกษาความเปนไปไดดานเทคนิค • แหลงที่มาและปริมาณวัตถุดิบ ที่ใช • ปริมาณและคุณภาพแรงงานที่ ตองการ • เทคโนโลยีที่ใชใน กระบวนการผลิต

• เครื่องจักร อุปกรณ • สถานที่ตั้งของโครงการ • สาธารณูปโภคที่จําเปน • การออกแบบสถาน ประกอบการ


การศึกษาความเปนไปไดดานเศรษฐศาสตร และการเงิน

• แหลงที่มาของเงินทุน • การใชไปของเงินทุน • การวิเคราะหโครงการ –แบบคิดคาปจจุบัน –แบบไมคิดคาปจจุบัน


การศึกษาความเปนไปไดดานการจัดการ • การจัดโครงสรางองคกร • ระบบการบริหารและการควบคุมโครงการ • ปริมาณและคุณภาพของผูร วมโครงการ • การคัดเลือกและการพัฒนาบุคลากร


การบริหารโครงการสมัยใหม (Modern Project Management) • การบริหารในสภาวการณเปลี่ยนแปลง • สภาพแวดลอมที่สําคัญตอการบริหาร • การปรับแนวทางการบริหารใหเขากับการ เปลี่ยนแปลง


การบริหารในสภาวการณเปลี่ยนแปลง Managing Change Competitor

Technology Project Management

Economics

Consumer Behavior


สภาพแวดลอมภายนอก (External Environment) (ผลที่การคาเสรีมีตอ การบริหารโครงการสมัยใหม) • การแขงขันที่เพิ่มขึ้น • การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี • การเคลื่อนยายทางธุรกิจ • การเคลื่อนยายแรงงาน • พฤติกรรมผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลง • กฎระเบียบทางการคาระหวางประเทศ


Local Environment • การเมืองทองถิ่น • เศรษฐกิจทองถิ่น • คูแขงขันในทองถิน่ • วัฒนธรรมทองถิ่น • ผูบริโภคทองถิ่น • ระบบสนับสนุนพื้นฐาน

Local Politic Local Economics Competitors Local Culture Local Consumer Local Supporting System


การปรับแนวทางการบริหารโครงการ • สภาพแวดลอมภายนอกประเทศ • สภาพแวดลอมภายในประเทศ • การกําหนดกลยุทธ • กระบวนการบริหารโครงการ • กระบวนการประเมินผลโครงการ


โอกาส จุดแข็ง/จุดออน กลยุ ท ธ ภายในองคกร

อุปสรรค

การบริหาร โครงการ

ประเมิน


Suggestion: • 1. Continuous monitoring and adjustment of project profiles as time goes by • 2. Do not overlook certain crucial items such as tax regulation and legal issues , exchange rate risk • 3. Think-Through ควรวิเคราะหโครงการใหเบ็ดเสร็จทุกแง ทุกมุม ทุกปจจัยสําคัญ ที่มีผลไดผลเสียตอขีดความสามารถ ในการบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว


Suggestion: • 4. ควรมองนโยบายหรือดัชนีชี้วัดของภาครัฐและภาคธุรกิจที่จะ มีผลกระทบตอการยอมรับของโครงการ และ ความสําเร็จในผล ประกอบการของโครงการ เชน นโยบายการใชวัสดุ ภายในประเทศ หรือ นโยบายเนนการจางงานในประเทศ เปนตน • 5. เปดใจใหกวางในการยอมรับทางเลือกตางๆที่หลากหลาย ซึ่ง อาจเปนทางเลือกใหมที่ใชเทคโนโลยีทันสมัย หรือ วิธีปฏิบัติแนว ใหม หรือ อาจเปนทางเลือกแบบเกาที่มีอยูก็ได


1. นโยบายปรับเปลี่ยนงบประมาณ ของรัฐบาล


คําแถลงนโยบายนายกรัฐมนตรี 26 ก.พ.44 “เรงรัดการปรับเปลีย่ นกระบวนการจัดทําและจัดสรร งบประมาณ ใหเปนเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรทีม่ ี ประสิทธิภาพ สอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตรใน การพัฒนาประเทศ และสงเสริมให กระทรวง ทบวง กรม มีบทบาทในการตัดสินใจมากขึ้น พรอมทั้งจัดใหมีระบบ ควบคุม ตรวจสอบที่มปี ระสิทธิภาพและโปรงใส”


ปญหาทีม่ ผี ลกระทบตอการบริหารประเทศ ไมสามารถใชงบประมาณ เปนเครื่องมือในการบริหารนโยบาย

ผูบริหารประเทศ Executive

เปนระบบรวมศูนยอํานาจ (Concentration of power)

ระบบไมเอื้ออํานวยใหมกี าร บริหารและรับผิดชอบอยางจริงจัง


เปาหมายของรัฐบาล เปาหมายระยะสั้น 1.กระตุนเศรษฐกิจใหฟน ตัวอยางรวดเร็วและมี เสถียรภาพ 2.การสรางการเจริญเติบโต อยางมีคุณภาพ 3.การแกไขปญหาเรงดวน ของสังคม

เปาหมายระยะยาว นโยบาย รัฐบาล

1.การวางรากฐานที่ดีของประเทศ 2.เพิ่มศักยภาพในการแขงขัน ของประเทศ 3.ยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน


2. งบประมาณแบบมุงเนนผลงาน ตามยุทธศาสตร


2.งบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร หลักการ เปนระบบที่เนนที่ผลผลิต (Outputs) และผลลัพธ (Outcomes) มากกวา ทรัพยากรที่ใชไป (Inputs) เพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการภาครัฐในอันที่ จะสนับสนุนงบประมาณสําหรับดําเนินภารกิจตาง ๆ ที่หลากหลาย โดยใชทรัพยากรทีม่ อี ยูจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยตองมีการจัดทํา แผนดําเนินงาน การนําแผนไปปฏิบัติ ติดตามและประเมินผล ผานขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน ไดแก (1) การจัดทําแผนดําเนินงาน (2) การนําแผนไปปฏิบัติ (3) การติดตามและประเมินผล


ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร : มุงเนนผลสําเร็จของงาน ตามผลผลิต ผลลัพธ • เปาหมายเชิงยุทธศาสตร ระดับชาติ • เปาหมายการใหบริการ ระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชีว้ ัด

องคประกอบที่สําคัญ

การประมาณการงบประมาณ รายจายลวงหนาระยะปานกลาง (MTEF)

การมอบอํานาจการบริหาร จัดการงบประมาณ • เนนใหกระทรวงมีอาํ นาจในการ บริหารจัดการงบประมาณเพื่อให บรรลุผลสําเร็จมากกวาเนน กฎระเบียบ

เนนหลักการธรรมาภิบาล

การเพิ่มขอบเขต ความครอบคลุม ของงบประมาณ ระบบการติดตามและประเมินผล ความสําเร็จตามเปาหมายเชิงยุทธศาสตร

• การแบงหนาที่และความ รับผิดชอบในแตละระดับ • มีระบบการติดตามประเมินผลและ การรายงานผลการดําเนินงานที่ โปรงใส และตรวจสอบได


1. การวางแผนงบประมาณ 2. การคํานวณตนทุนผลผลิต 3. การบริหารการจัดซื้อจัดจาง 4. การบริหารทางการเงินและการควบคุมทางการเงิน 5. การบริหารสินทรัพย 6. การตรวจสอบภายใน 7. การรายงานทางการเงินและผลการดําเนินงาน


การวางแผนงบประมาณ แผนการดําเนินงาน

แผนการใชจายเงิน ผลผลิต/ผลลัพธ ต น ทุ น ผลผลิ ต (OUTPUT COSTING)

แผนงาน/งาน/โครงการ

การวางแผนกลยุทธ

วิสัยทัศน (VISION) พันธกิจ (MISSION) จุดมุงหมาย (GOAL) วัตถุประสงค (OBJECTIVE) ผลผลิต(OUTPUT) ผลลัพธ (OUTCOME)

ตัวชี้วัด

การกําหนดกลยุทธมีหลายทางเลือก (ALTERNATIVE)

การวิPROJECT เคราะหคAPPRISAL วามคุมค/ PRE-EVALUATION า HEALTH ECONOMIC

การนํา(IMPLEMENTATION) แผนไปสูการปฏิบัติ

เงินงบประมาณ + เงิน นอกงบประมาณ

(COVERAGE BUDGET)

กรอบงบประมาณรายจาย ลวงหนาระยะปานกลาง

(MTEF)


นําแผนไปสูการปฏิบัติ (IMPLEMENTATION)

การบริหาร การควบคุมงบประมาณ

การบริหารสินทรัพย จัดซื้อจัดจาง

การตรวจสอบภายใน การรายงาน (Report) การรายงานผลการดําเนินงาน (Performance Audit) กระทรวง กรม

การรายงานผลผลทางการเงิน (Financial Audit) ผลสะทอนกลับ (Feed Back)

สงป. สตง. กรมบัญชีกลาง รัฐสภา


ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานเชิงยุทธศาสตร 1 2 3

เปาหมายระดับชาติ

ยุทธศาสตร ระดับชาติ

กระทรวง

เปาหมายกระทรวง

ยุทธศาสตร กระทรวง

หนวยงาน

เปาหมายหนวยงาน

กลยุทธ

แผนงาน/งาน

ผลผลิต

กิจกรรม

งบประมาณ

ตนทุนผลผลิต

ตนทุนกิจกรรม

รัฐบาล

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดQ,Q,T,C


1. รอบแนวคิดสําหรับการจัดการ งบประมาณรายจาย ประจําป งบประมาณป 2549


1.1 ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร : องคประกอบที่สําคัญ • เนนบทบาทหนาที่ในการบริหารจัดการงบประมาณของหนวยงาน • มุงเนนผลสําเร็จของผลผลิต ผลลัพธ ตามเปาหมายเชิงยุทธศาสตร • เนนระบบติดตามและประเมินผลสําเร็จตามเปาหมายเชิง ยุทธศาสตร • เพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • การประมาณการงบประมาณรายจายลวงหนาระยะปานกลาง (MTEF)

• เนนหลักการธรรมาภิบาล (ขั้นตอนชัดเจน โปรงใส - ประโยชน - ประหยัด )


1.2 การจัดทํางบประมาณในปที่ผานมา ( 2546 – 2548 ) : สาระสําคัญ ป 2546 ป 2547 ป 2548 • • •

• •

พัฒนาระบบงบประมาณเปน แบบมุง เนนผลงานตาม ยุทธศาสตร ใชยุทธศาสตรรัฐบาลเปน ตัวนําในการจัดสรร งบประมาณ นําแนวคิดในเรื่องขอตกลง การใหบริการ ( PSD : Public Service Agreement) มาใชกับระบบงบประมาณ กระทรวงเริ่มจัดทํา ยุทธศาสตรเพื่อเปนทิศทาง ในการจัดสรรงบประมาณ กําหนดแนวทางจัดสรร งบประมาณในเชิงบูรณาการ

• •

กําหนดเปาหมายและตัวชี้วัด ของยุทธศาสตรชาติ / ยุทธศาสตรกระทรวง พัฒนาระบบงบประมาณให สอดคลองกับยุทธศาสตรการ บริหารจัดการของรัฐบาลและ การพัฒนาประเทศ 3 มิติ - นโยบายสําคัญของรัฐบาล (Agenda) - กระทรวง (Function) - พื้นที่ (Area) จัดสรรงบประมาณตาม ยุทธศาสตรกระทรวง เปาหมายการใหบริการและ ยุทธศาสตรกระทรวง เริ่มจัดสรรงบประมาณ จังหวัดแบบบูรณาการ (CEO)

•เริ่มพัฒนาการจัดทํายุทธศาสตรและ แผนปฏิบัติราชการใหสอดคลองกับ พรฎ. วาดวยหลักเกณฑและวีธีการ บริหารจัดการบานเมื่องที่ดี พ.ศ. 2546


2. นโยบายจัดทํางบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2549


2.นโยบายการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปพ.ศ.2549 จัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร สอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน 4 ป ตามนัยแหงพระราชกฤษฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 บูรณาการการจัดทํางบประมาณ (วงเงินและเปาหมาย) ตามยุทธศาสตรใน 3 มิติ คือ นโยบายสําคัญรัฐบาล (Agenda) กระทรวง (Function) และพื้นที่ (Area) ใหความสําคัญกับแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ ใหความสําคัญกับยุทธศาสตรกลุมจังหวัด / จังหวัด / กลุมประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และการใชจายงบประมาณภาครัฐเพื่อ ควบคุมรายจายประจํา เนนการติดตามประเมินผล ที่เปนระบบอยางตอเนื่อง


แนวทางการจัดสรรงบประมาณป 2549 วิสัยทัศนของรัฐบาล “-ในชวง 4 ปขางหนาตอไปนี้จะเปน 4 ปแหงการเปลี่ยนผานประเทศไทยไปสูความมั่นคง ยั่งยืนในทุกทาง รัฐบาลจะสรางโอกาสเพื่ออนาคต วางรากฐานใหมใหแกประเทศทั้ง ทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง โดยเนนการคืนความเขมแข็งสูทองถิ่น คืนความสมบูรณของดินและน้ําสูธรรมชาติ และคืนอํานาจการตัดสินปญหาสูชุมชน โดยให ความสําคัญแกการปรับโครงสรางเศรษฐกิจและสังคมใหมีความสมดุลมากยิ่งขึ้น สราง ภูมิคุมกันใหแกระบบเศรษฐกิจ ปฎิรูปการศึกษาเพื่อนําไปสูสังคมเศรษฐกิจพอเพียงตาม แนวพระราชดําริ เพื่อนําประเทศไปสูโครงสรางที่มีความสมดุล มั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน -เปาหมายเศรษฐกิจขยายตัวไดไมต่ํากวารอยละ 5-6 ตอป อัตราเงินเฟอพื้นฐานสูงกวา รอยละ 3.5 มีการสรางงานใหมใหประชาชนไมต่ํากวา 1 ลานคนในชวง 4 ปตอไป”


แนวทางการจัดสรรงบประมาณป 2549 ประเด็นยุทธศาสตรหลัก 1.ขจัดความยากจน 2.การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ 3.การปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและแขงขันได (กระทรวงอุตสาหกรรม) 4.การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5.การตางประเทศและเศรษฐกิจระหวางประเทศ 6.การพัฒนากฎหมายและสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 7.การสงเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม 8. การรักษาความมั่นคงของรัฐ 9. การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตโลก


ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณป 2549 1. ขจัดความยากจน 68,421.1 ลบ.

2. พัฒนาคนและสังคม 406,173.6 ลบ.

4.ทรัพยากรธรรมชาติ 21,089.0 ลบ.

3.ปรับโครงสรางเศรษฐกิจ 199,677.5 ลบ. 7.ประชาธิปไตย 18,992.3 ลบ.

งบประมาณ 1,360,000 ลบ. 5.ตางประเทศ 10,456.2 ลบ. 6. พัฒนากฎหมาย 45,959.2 ลบ.

8.ความมั่นคงของรัฐ 109,606.8 ลบ. 10.คาดําเนินการภาครัฐ 387,233.1 ลบ.

9.พลวัตรโลก 92,391.1 ลบ.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.