TYPR Vol.01

Page 1

TYPOGRAPHER'S

M AGA Z I N E

VOL .01 MA RC H 2014

1 5 0 B HT

W W W . F B . C O M / M O S H M L W



N OT T H E O W LY O N E .

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

M O S H M E L LO W - W W W. F B . C O M / M O S H M LW - M E L LO W M O S H @ H OT M A I L . C O M


2

editor's quote

editor's quote

DESIGNER’S REMINDER by MOSHMELLOW TYPR MAGAZINE - MAR 2014


3 editor's talk

h l

e l

o

“TYPR” (ไทป์ -เปอร์) นิตยสารส�ำหรับนักออกแบบตัวอักษร โดยเล่มนี้เป็นเล่ม แรกและเล่มเดียว ไม่ตีต่ออีกแล้ว เพราะเป็นโปรเจ็คต์ในวิชาออกแบบสิ่งพิมพ์ ซึ่ งสอน โดย อ.บ�ำรุ ง อิศรกุล โดยเล่มนี้เรื่องราวหลักที่เราจะพู ดถึงก็คือ โปรเจ็กต์ออกแบบ ตั ว อั ก ษรสุ ด คราฟต์ จ ากคอลั ม ภ์ ใ หญ่ ก ลางเล่ ม ที่ มี ช่ ื อว่ า “TYPRO” กั บ โปรเจ็ ค ต์

ทดลองตั ว อั ก ษรส� ำ หรั บ งานประชุ ม สั ม นาด้ า นการออกแบบระดั บ นานาชาติ ! ของ

พงศธร กราฟิ กดีไซเนอร์ของโปรเจ็กต์นี้ จะมาเล่าถึงกระบวนการท�ำงานตั้งแต่ต้น จนจบ และด้ ว ยความที่ เป็ น Work In Progress เล่ ม นี้ เ ราจึ ง พาไปดู ก ระบวนการ ท�ำงานแบบละเอียดยิบของโปรเจ็กต์ออกแบบตัวอักษรมันส์ๆในคอลัมภ์ “TYPESHOW” โดย “YONG BLOOD” ของเรา “พงศธร คุ้มปลี” และคอลัมภ์ “TYPESTER” ที่จะพา ไปรู ้ จั ก กั บ นั ก ออกแบบตั ว อั ก ษรมื อ อาชี พจากหลากหลายประเทศ ที่ ส� ำ คั ญ อย่ า ลื ม พลิกไปหน้าหลัง ท�ำงานทดลองตัวอักษรได้ใน นิตยสารเล่มนี้เลย!

เราได้คัดสรรแรงบันดาลใจดีๆ มาไว้ในเล่มนี้แล้ว หวังว่าจะถูกใจ คุณผู ้อ่าน และเป็นแรงบันดาลใจให้ขีดเขียนสร้างสรรค์งานตัวอักษรมันส์ๆได้ ที่ส�ำคัญถ้าท�ำใน คอมก็หมั่นเซฟบ่อยๆด้วยนะครับ ด้วยความปรารถนาดี...

PONGSATORN KUMPLEE EDITOR, WRITER, GRAPHIC DESIGNER, LABOR

E-MAIL: MELLOWMOSH@HOTMAIL.COM FACEBOOK: WWW.FB.COM/MOSHMLW

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

editor's talk

คณะศิลปะและการออกแบบ ม.รังสิต “Work In Progress 2: Crafting Culture” โดย “อ.ดนุ ภู่มาลี” (อาร์ตไดเร็ก เตอร์) และ “พงศธร คุ้มปลี” (กราฟิ กดีไซเนอร์) ซึ่ ง


4 featured 1 8

YO NG B LO O D - PONGSATORN KUMPLE E นั ก ออกแบบเลื อ ดใหม่ จากรั้ ว รั ง สิ ต ผู ้ ห ลงไหลในงานออกแบบ

ตั ว อั ก ษรแบบ Lettering งานทดลอง และการท� ำ งานอย่ า งบ้ า คลั่ ง

26

TYPRO - WORK IN PROGRESS 2: CRAFTING CULT UR E ง า น ท ด ล อ ง ตั ว อั ก ษ ร แ บ บ ค ร า ฟ ต์ ๆ ส� ำ ห รั บ สื่ อ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์

ง า น ป ร ะ ชุ ม สั ม น า ด้ า น ก า ร อ อ ก แ บ บ ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ ข อ ง

featured

ม.รังสิต โดยอ.ขวัญใจนศ. และนิสิตซอมบี้

18

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


5

29

featured

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


6 c on t e n t typester 1 0

I N T R O DUCT IO N

youngblood 1 8

นั ก อ อ ก แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร มื อ อ า ชี พ แ ล ะ โ ป ร เ จ็ ก ต์ ที่

contents

I N TRODUCTI ON นั ก อ อ ก แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร

เ ลื อ ดใ ห ม่ อ น า ค ต ข อ ง

พวกเขาภาคภูมิใจ

1 7

32

ชาติ!

1 9

47

MARTIN SCHMETZER SABEENA KARNICK

JESSICA WALSH

23

PONGSATORN KUMPLEE

55

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


7

typro 26

INT RODUCTI ON

typetips 59

ง า น ท ด ล อ ง ตั ว อั ก ษ ร สุ ด

1 0 เ ค ล็ ด ลั บ ที่ จ ะ ช่ ว ยใ ห้

ของเล่ มนี้

อักษรของคุณดีขึ้ น

ค ร า ฟ ต์ โ ป ร เ จ็ ก ต์ เ ด่ น

กระบวนการออกแบบตั ว

typeshow 44

I NTRODUCTI O N

INT RODUCTI ON

type - x 62

I NTRODUCTI O N

โ ช ว์ ก ร ะ บ ว น ก า ร

ส นุ ก กั บ ก า ร ท ด ล อ ง ตั ว

ตัวอักษรแบบละเอียดยิบ

เล่มได้เลย!

ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ง า น อ อ ก แ บ บ

63

contents

STILL (EXPERIMENT)

อั ก ษ ร ด้ ว ย ตั ว คุ ณ เ อ งใ น

ROLLING (EXPERIMENT)

CONCIOUS (LETTERING) BAEL FRUITS PRODUCT’S LABEL (LETTERING)

53

DICUT - TYPOGRAPHY EXPERIMENT

TYPR MAGAZINE - MAR 2014



Sandwich by Oishi Ads by MOSHMELLOW


introduction

S AB EENA KARNIK PAGE 14

JESS IC A WALS H PAGE 16

MA RT IN S C HMET Z ER PAGE 12

10


11 typester professional typographer showcase เ ร า จ ะ พ า คุ ณไ ป พ บ กั บ เ ห ล่ า นั ก อ อ ก แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร มื อ อ า ชี พ แ ล ะ โปรเจ็กต์ที่ พวกเขาภาคภูมิใจ เพื่ อเป็ นแรงบันดาลใจให้กับคุณ

F EAT URE D :

SABEENA

PAGE 12

PAGE 14

SCHMETZER

JESSICA

WALSH PAGE 16

KARNIK

introduction

MA RT IN


martin schmetzer

12

โปรเจ็กต์ที่เขาภูมิใจเสนอ ซึ่งท�ำร่วมกับแบรนด์ WeSC ออกแบบลายเสื้อยืด และเสก็ตบอร์ด แบบลิมิเต็ดอิดิชั่น TYPR MAGAZINE - MAR 2014


13 martin schmetzer STOCKHOLM, SWE DE N WWW. M ARTINSCH M ETZER.COM

คุ ณ ค่ า กั บ งานของเขามาก เอเจนซี่ บอกเขาว่างานของเขามีค่า มาก ไม่ ควรจะมีราคาที่ต�่ำเกินไป เวลาเขารับ งานเขาไม่เคยคิดที่จะตัดราคา เพราะ เขาคิ ด ว่ า มั น เป็ น เรื่ องส� ำ คั ญ มากใน ระยะยาว ซึ่งอาจส่งผลให้งานของเขา มีคุณค่าน้อยลง ศิลปินคนโปรดของ เขาคือ Aaron Horkey นักวาดภาพ ประกอบชาวอเมริกา Martin มักจะหา แรงบั น ดาลใจจากสิ่ ง รอบตั ว ทั้ ง จาก กราฟิตี้, อาหาร หรือรร้านค้าต่างๆ เขากระตื อ รื อ ร้ น ที่ จ ะค้ น หาแรง บั น ดาลใจใหม่ ๆ อยู ่ เ สมอ เขามั ก จะบั น ทึ ก รายละเอี ย ดของสิ่ ง ที่ เขา สนใจในแต่ละวันเพื่อน�ำมาใช้กับการ ท�ำงาน

Martin มักจะเริ่มงานด้วย ดิ น สอก่ อนเสมอ แล้ ว จึ งน� ำ ไปท� ำ เป็น Vector ใน Illustrator

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

martin schmetzer

Martin Schmetzer ดีไซเนอร์ ชาวสวีเดนผู้น�ำความหลงไหลในด้าน การออกแบบตัวอักษรมาผสมผสาน เข้ากับงานภาพประกอบ จนเกิดเป็น ชิ้นงานออกแบบ ตัวอักษรที่โดด เด่น น่าจดจ�ำ และละเอียดยิบ จนได้ ร่วมงานกับแบรนด์ชนั้ น�ำมากมายเช่น Ford, Men’s Health Magazine และ ล่าสุดยังได้รว่ มงานกับ PILOT แบรนด์ ปากกาชื่อดังอีกด้วย เขาเป็นที่รู้จักใน วงการออกแบบจากงานรีดีไซน์ โลโก้ ของเกม Grand Theft Auto 5 ในแบบ เล่มของเขาเอง เขาเริ่มรับงานเองมา 2 ปี แล้วโดยอาศัยอินเตอร์เน็ตในการ เผยแพร่ผลงาน และงานของเขายังได้ รับการดูแลโดย เอเจนซี่ Popill ใน กลุ ่ ม ประเทศในแถบแสกนดิ เ นเวี ย และ Red Ape ในทวีปออสเตรเลีย และเอเชีย ซึ่งเอเจนซี่ของเขานั่นให้


14 sabeena karnik

โปรเจ็ ก ต์ ที่ ท� ำให้ เ ธอ เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก

sabeena karnik

MUMB AI, I NDI A WWW. B E . N ET/SABEENU

Sabeena Karnik นั ก ออกแบบตั ว อั ก ษร, นั ก วาดภาพ ประกอบ และศิ ล ปิ น อิ ส ระ จาก มุ ม ไบ ประเทศอิ น เดี ย เธอ เชี่ยวชาญในการใช้กระดาษในการ สร้างงานกราฟิก เธอถนัดที่จะตัด กระดาษ, ม้วน หรือพับมัน งานของ เธอจึงมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดด เด่น ไปด้วยเส้นสาย ความโค้งมน และรายละเอียดทีน่ า่ สนใจ เธอเป็น ที่รู้จักจากงาน ตัวอักษร A-Z โดย เทคนิคการตัด-พับ-ม้วน กระดาษ ในแบบของเธอ ซึง่ เธอโพสต์ผลงาน ชิ้ น นี้ ล งบนเว็ บ Behance โดยมี ยอดการเข้าชมทั่วโลกกว่า 2แสน

ครั้ง ผู้ที่เป็นแรงบันดาลใจให้กับเธอ คื อ Jen Stark ศิ ล ปิ น Paper Sculpture อายุน้อยชาวอเมริกา Sabeena เริ่มเป็นฟรีแลนซ์เมื่อปี 2008 ในช่ ว งแรกงานส่ ว นใหญ่ ที่ เธอรับเป็นงานออกแบบโลโก้ เธอ ท�ำงานในแอฟริกาอยู่ช่วงหนึ่งกับ บริ ษั ท ออกแบบกระดาษให้ กั บ องค์กร NGO และเขียนภาพให้กับ ร้านขายงานศิลปะ เธอไม่ได้ตั้งใจ จะเป็นฟรีแลนซ์ แต่เธอเบื่อกับงาน ประจ� ำ และต้ อ งการค้ น พบอะไร ใหม่ๆในชีวิต ในปีสุดท้ายของการ ท� ำ งานประจ� ำ เธอจึ ง มุ ่ ง ท� ำ งาน ออกแบบตัวอักษรเพียงอย่างเดียว

และเริ่มท�ำโปรเจ็กต์ส่วนตัว ท�ำงาน ตั ว อั ก ษรจากกระดาษ และเธอก็ พั ฒ นาเรื่ อ ยๆนั บ แต่ บั ด นั้ น ซึ่ ง ระยะหลังมานี้ เธอได้ร่วมงานกับเอ เจนซี่ โ ฆษณาจากทั่ ว โลกทั้ ง จาก อเมริกา, ยุโรป, ตะวันออกกลาง, อเมริ ก าใต้ และ แอฟริ ก าใต้ ซึ่ ง ท� ำ ให้ เ ธอยุ ่ ง มาก แต่ เ ธอก็ ยั ง คง รักษามาตรฐาน และพัฒนางานให้ ดีขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการทุ่มเทเวลาใน การท�ำงานให้มากขึ้น เพื่อให้งาน ออกมาน่าสนใจและดึงดูดเช่นเคย

ผลงานตั ว อั ก ษรจาก การม้วนกระดาษของ Sabeena

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


15

sabeena karnik

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


jessica walsh

16


17 jessica walsh N E W YORK , USA WWW. SAGM EISTERWALSH.COM

Graphis และเธอยั งได้ รั บเลื อกให้ เ ป็ น สุ ด ยอดดาวรุ่งในวงการออกแบบ และสิ่งพิมพ์ ของนิตยสาร Computer Arts ล่าสุดเธอได้ เข้าร่วมเป็นหุ้นส่วนกับ สตูดิโอของ Stefan Sagmeister และได้เปลี่ยนชื่อสตูดิโอเป็น Sagmeister & Walsh เธอให้ค�ำจ�ำกัดความ งานของเธอเองว่ า เป็ น การผสมผสาน ระหว่าง ความหลงไหล, ขี้เล่น,แนวคิด และ รูปร่าง

โปรเจ็กต์ล่าสุดที่ท�ำให้กับ Aizone ห้าง สรรพสิ น ค้ า ชื่ อ ดั ง ในแถบตะวั น ออกกลาง ที่ แสดงถึงความมีชวี ติ ชีวาของแบรนด์ ซึง่ น�ำเสนอ ในรู ป แบบของแคมเปญ ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ย โฆษณาหนังสือพิมพ์, นิตยสาร และ บิลบอร์ด ทั่วทั้งประเทศเลบานอน

jessica walsh

Jessica Walsh นักออกแบบมาก ความสามารถ จาก Sagmeister & Walsh แห่งมหานครนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา เธอผสมความรักที่เธอก�ำลังประสบพบเจอ อยู่เข้ากับงานออกแบบกราฟิก, ตัวอักษร, จิตรกรรม และประติมากรรม งานของเธอมี ความโดดเด่นในด้านเซนส์ของงานออกแบบ, องค์ประกอบ, ภาพลวงตา และความเตะตา งานของเธอส่วนใหญ่มักท�ำด้วยมือ เธอได้ รั บ รางวั ล จาก Type Director Club, Art Director Club Society of Publication Designers (SPD), Print magazine, และ


18 young blood yo ung blood typographer s h ow c a s e นั ก อ อ ก แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร เ ลื อ ดใ ห ม่ ที่ เ ร า จ ะ พ า คุ ณไ ป รู ้ จั ก อ ย่ า ง ลึ ก ซึ้ ง ถึ ง เม็ ด เลื อ ด แ ด ง เ ล ย ที เ ดี ย ว ซึ่ ง เ ล่ ม นี้ เ ร า จ ะ พ าไ ป รู ้ จั ก กั บ นั ก ศึ ก ษ า ออกแบบชาวไทย “ม้ อ ช พงศธร คุ้ ม ปลี ” แห่ ง สาขาออกแบบนิ เ ทศ ศิ ล ป์ คณะศิ ล ปะและการออกแบบ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ซึ่ งจะมาเล่ า

introduction

ถึงชี วิตการเรียนออกแบบของเขาให้ฟั งกัน

pongsatorn kumplee

เ ต็ ม ที่ กั บ ทุ ก งาน และ ต้ อ ง เ ก่ ง ขึ ้ น ก ว่ า เ มื่ อ ว า น

B ANG KO K , THA I LAND WWW. FB. C O M/M OSH M LW

สวัสดีครับผม พงศธร คุ้มปลี จะเรี ย กสั้ น ๆว่ า “ม้ อ ช” ก็ ไ ด้ ค รั บ ปัจจุบนั ผมเรียนอยู่ ปี2 สาขาออกแบบ นิ เ ทศศิ ล ป์ คณะศิ ล ปะ และ การ ออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ผมเข้า มาเรียนออกแบบ แบบงงๆ ด้วยความ รู ้ ติ ด ตั ว คื อ ใช้ โ ปรแกรม Photoshop เป็นเลยคิดอยากจะเรียน เพราะไม่มีที่ ไปแล้ว แอดมิชชัน่ ก็ตดิ นะครับ แต่เป็น คณะทีไ่ ม่ใช่ ลงไปอย่างนัน้ ไม่ให้พอ่ แม่ เสียใจ แล้วค่อยหาทางเรียนทีพ่ อจะไป ได้ทีหลัง ซึ่งก็มาเจอกับนิเทศศิลป์นี่ล่ะ ครับ ที่คิดว่าพอจะไปได้ ผมลองหา ข้อมูลดู เอกชนก็น่าจะเป็นที่ม.รังสิตนี่ ล่ะ ที่น่าจะโอเค ผมก็เข้ามาเรียนเลย ตอนแรกเขาบอกว่ามีเรียนดรออิ้งด้วย

ผมก็ ส งสั ย ไม่ ส อนใช้ ค อมเลยเหรอ แล้ ว ดรออิ้ ง กั บ อะไรดิ น สอกดได้ มั้ ย ช่วงแรกที่ผมไปเรียนผมท�ำไม่เป็นเลย สั ก วิ ช า ตามเพื่ อ นแทบไม่ ทั น ด้ ว ย ความทีไ่ ม่เคยติวทีไ่ หนมาก่อนเลย พอ มีบ้างก็ความชอบวาดรูปการ์ตูนเล่น ตอนสมัยมัธยม ซึ่งถึงจะพูดว่าชอบก็ เถอะ แต่ น านๆก็ จ ะวาดที ผมเลย อาศัยความขยันและท�ำงานอย่างบ้า คลั่งเข้าว่า ท�ำให้เยอะ ท�ำให้มากกว่า ชาวบ้านเขา จะได้ตามเขาทัน จนใน ที่สุดผมก็พออยู่รอด และคิดว่าคงจะ ไปทางนี้ได้แน่ล่ะ จนพอขึ้นเทอม 2 ผมเริ่มอยู่ตัวและได้เรียน Photoshop เรียนใช้คอมพิวเตอร์เสียที แต่เมื่อถึง ตอนนั้ น ผมกลั บ สนใจงานวาดภาพ

ประกอบด้วยมือมากกว่า เลยไม่ค่อย สนุกกับวิชาที่ใช่คอมเท่าไหร่นัก ช่วง นั้นผมชอบวาดรูปนกฮูก วาดจนเกิด เป็ น งานมาสคอตประจ� ำ ตั ว ไปเลย หลายคนติดภาพนกฮูกของผม เมือ่ พูด ถึงนกฮูกก็จะนึกถึงผม จนพอไกล้จบ ปี1 ผมเริ่มวางแผนว่าจะท�ำอะไรช่วง ปิดเทอมดี เพราะปิดตั้งหลายเดือน แต่พอปิดเทอมแผนที่วางไว้ก็เป็นอัน พับไป เพราะติดเรียนซัมเมอร์ และ ช่ ว งต้ น ของปิ ด เทอมได้ มี โ อกาสไป ท�ำงานเพ้นท์ ก�ำแพงโรงเรียนอนุบาล จากการชวนของอ.จั้ ม ซึ่ ง เป็ น แรง บั น ดาลใจให้ ผ มเริ่ ม ท� ำ งานด้ า น ออกแบบตัวอักษรในเวลาต่อมา...

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


19

pongsatorn kumplee

งานออกแบบตัวอักษรไว้ใช้เอง ซึ่งจนถึงตอนนี้ก็ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ดี

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


pongsatorn kumplee

20

งานออกแบบตั ว อั ก ษรไว้ ใช้ เองซึ่งเป็นลายเสื้อยืดศิลปกรรม รังสิต แต่น�ำมาดัดแปลงเป็นโปสเตอร์ธง TYPR MAGAZINE - MAR 2014


21 h w w k y

งานออกแบบตั ว อั ก ษรส� ำ หรั บ ลาย เสื้อยืด ศิลปกรรม รังสิต

งาน Lettering ส�ำหรับโปสเตอร์ TYPR MAGAZINE - MAR 2014

ซึ่งก็ออกมาอย่างที่เห็น หลังจากจบ โปรเจ็กต์นั้นผมก็เขียน Lettering ไป เรื่อยๆจนเปิดเทอม ผมรู้สึกอิ่มกับมัน จนได้โปรเจ็กต์ใหม่เข้ามา ออกแบบ ลายเสื้อยืด ศิลปกรรม รังสิต ผมเลย ลองท�ำตัวอักษรแบบกราฟิกเนี้ยบๆดู บ้าง ซึง่ ผลออกมาก็เป็นทีน่ า่ พอใจ ผม ได้ฟอนต์ไว้ใช้เองชุดนึง ถึงแม้ว่าทุก วันนี้จะยังไม่สมบูรณ์ครบทุกตัวอักษร ก็ ต าม หลั ง จากนั้ น ผมก็ ไ ด้ มี โ อกาส ท� ำ งานทดลองตั ว อั ก ษรมากมาย (ติดตามได้ในคอลัมภ์ TYPESHOW) ซึ่งท�ำให้ผมสนุกกับงานออกแบบตัว อักษรมากๆ...

a r d o r o n ' i l o u

ตัวอักษรที่พัฒนาขึ้นาใช้เอง

k t l .

pongsatorn kumplee

มีอยู่วันหนึ่งในช่วงปิดเทอม ผมกลั บ บ้ า นไปอยู ่ กั บ ครอบครั ว ผม เลื่ อ นหน้ า ฟี ด ของเฟซบุ ๊ ค ไปเจอกั บ ภาพถ่ า ยของอ.จั้ ม ซึ่ ง เป็ น งาน ออกแบบตัวอักษรภาษาไทยของร้าน กาแฟแห่งหนึง่ ซึง่ ผมเห็นว่าสวยดีเลย ลองท� ำ มั่ ง หลั ง จากนั้ น ผมก็ ห ยิ บ ปากกาเมจิ ค แล้ ว เริ่ ม เขี ย นบน กระดานไวท์บอร์ด ตั้งแต่นั้นผมก็เริ่ม สนใจงานออกแบบตัวอักษร ซึ่งมารู้ที หลั ง ว่ า ที่ ผ มเขี ย นๆนั้ น เรี ย กว่ า Lettering พอช่วงไกล้เปิดเทอม ผมได้ ท� ำ โปรเจ็ ก ต์ เ สื้ อ ยื ด เฟรชชี่ ของ ม.รังสิต ผมก็เลยลองเขียน Lettering ดูซึ่งแบบนั้นก็ไม่ได้น�ำไปใช้จริงเพราะ อ่านยากเกินไป ท�ำให้อ่านผิดได้ ผม จึงเปลี่ยนไปใช้ตัวอักษรแนวกีฬาแทน


22 w h a w h d

pongsatorn kumplee

ก่อนจะจบเทอมแรก ใน วิชาออกแบบตัวอักษร อ.เอิร์ท ผู้ สอนวิ ช านี้ ได้ เชิ ญ รุ ่ น พี่ ที่ ท� ำ งาน ด้านนี้มาสอนวิธีการท�ำฟอนต์ และ เล่าประสบการณ์การณ์การท�ำงาน ให้ ฟ ั ง ซึ่ ง ท� ำ ให้ ผ มมี ไ ฟในการ ท�ำงานออกแบบตัวอักษรมากยิง่ ขึน้ และน� ำ ความรู ้ ไ ปท� ำ ไฟนอลโปร เจ็กต์ สร้างฟอนต์ขนึ้ มากโดยได้แรง บันดาลใจจากอ.ปากช่อง โปรเจ็กต์ นี้ท�ำงานร่วมกับเพื่อนอีก 2 คน ซึ่ง เป็นโปรเจ็กต์ที่สดชื่นมากๆ เพราะ ช่ ว งรี เ สิ ร ์ ช ได้ ไ ปที่ ป ากช่ อ งจริ ง ๆ และได้ขนึ้ ไปเขาใหญ่ดว้ ย ซึง่ อากาศ ช่วงนั้นถือว่าดีมากๆ ถึงแม้จะมีฝน

o r k a r d n d o r k a r e r .

ตกบ้างก็ตาม ฟอนต์ที่ออกมาเลยมี ความเป็นเขาใหญ่มากๆ พอเริม่ เข้า สู่เทอม2 ผมมีโอกาสได้ท�ำงานร่วม กับอ. หลายๆท่าน ซึ่งโชคดีที่เป็น โปรเจ็กต์เกี่ยวกับตัวอักษรแทบทั้ง นั้น ทั้ง Lettering และงานทดลอง ตัวอักษร ซึ่งแต่ละโปรเจ็กต์ก็จะมี เสน่ห์และความท้าทายที่แตกต่าง กันไปไม่ซ�้ำกัน ซึ่งถือว่าโชคดีมากๆ และท�ำให้ผมสนุกกับตัวอักษรมาก ขึ้น ซึ่งโปรเจ็กต์ที่ผมได้ท�ำนั้นได้แก่ “ออกแบบฉลากผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก ม ะ ตู ม นิ่ ม ส� ำ ห รั บ โ ค ร ง ก า ร พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระ ราชด� ำ ริ ของคณะเภสั ช ศาสตร์

โปรเจ็กต์ที่ถูกพูดถึงในคอลัมภ์ TYPESHOW

s e e you on t y p e s h o w

มหาวิทยาลัยรังสิต” และ โปรเจ็กต์ ทดลองตั ว อั ก ษรเพื่ อ ใช้ กั บ สื่ อ ประชาสัมพันธ์ ส�ำหรับงาน Work In Progress 2: Crafting Culture ซึง่ โปรเจ็ ก ต์ สุ ด ท้ า ยผมสนุ ก ที่ สุ ด เหนื่อยที่สุด และท�ำนานที่สุด แต่ ผลที่ อ อกมาก็ ดี สุ ด ๆไปเลยครั บ ตอนที่งานเริ่มออกมาเป็นชิ้นเป็น อัน ผมปลื้มปริ่มมาก ซึ่งโปรเจ็กต์ เหล่านี้จะถูกพูดถึงในคอลัมภ์อื่นๆ ด้วย “อย่าเพิ่งเบื่อชื่อผมซะก่อนล่ะ ครับ”...


23

pongsatorn kumplee

ลายเสื้อยืดเฟรชชี่ ม.รังสิต ปี56 ที่ไม่ได้ใช้


pongsatorn kumplee

24

งานออกแบบ ดิ ส เพลย์ ฟ อนต์ แรงบั น ดาลใจ จาก อ.ปากช่ อ ง ท� ำ ร่ ว มกั บ เพื่อนอีก 2 คน

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


25

pongsatorn kumplee ภ า พ ป ร ะ ก อ บ โ ด ย สุทธิกาญจน์ จุลวานิช

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


work in progress 2: crafting culture


work in progress 2: crafting culture

typro work in progress2: cra ft ing cu lt ure งานออกแบบตัวอักษร แบบคราฟต์ๆ ส�ำหรับโปสเตอร์ของงาน

ประชุ มสั มนาด้ า นการออกแบบระดั บ นานาชาติ ของคณะศิลปะ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต โดย อ.ดนุ ขวัญใจนศ. นิเทศศิลป์ และ นิสิตซอมบี้ แห่งสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ A RT DIRECTOR

DANU PHUMALEE

GRAPHIC DESIGNER PONGSATORN KUMPLEE


28 briefing

work in progress 2: crafting culture โ ป ร เ จ็ ค ต์ อ อ ก แ บ บ สื่ อ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ทั้ ง ห ม ดใ ห้ กั บ ง า น ป ร ะ ชุ ม สั ม น า ด้ า น ก า ร อ อ ก แ บ บ ร ะ ดั บ นานาชาติ ของคณะศิ ล ปะและการออกแบบ แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ซึ่ งครั้ ง นี้ เ ป็ น ครั้ ง ที่ 2 แล้ ว โดยคอนเซปต์ของงานในคราวนี้ คือ “Crafting Culture”

brief ing

k m

e a

DANU PHUMALEE

อาจารย์สาขา ออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ผู้คร�่ำวอดในวงการ ออกแบบมา ยาวนาน ผู้ดูแลและ ผู ้ ก� ำ หนดทิ ศ ทาง การท�ำงานของโปร เจ็คต์นี้ และยังให้ค�ำ แ น ะ น� ำ ใ น ด ้ า น ต่างๆจนโปรเจ็คต์นี้ ลงตั ว และลุ ล ่ ว งไป ด้วยด้วยดี

PONGSATORN KUMPLEE

นั ก ศึ ก ษ า ส า ข า ออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต รั บ หน้ า ที่ เ ป็ น กรา ฟิ ก ดี ไ ซเนอร์ ข อง โปรเจ็คต์นี้ ซึ่งก็คือ ผ ม เ อ ง นี่ ล ่ ะ ค รั บ “ท�ำงานกับอาจารย์ ดนุ ค รั้ ง นี้ ไ ด้ อ ะไร เ ย อ ะ ม า ก ๆ ค รั บ รู้สึกว่าคิดถูกแล้วมี วั น นั้ น ตกลงรั บ โปร เจ็คต์นี้”

y n b r i f i n

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


29

brief ing

e g

จากคอนเซปต์ “Crafting Culture” อ.ดนุได้จ�ำกัดความว่า “การสร้างวัฒนธรรม” และให้ผมไปหาค�ำจัดกัดคามในมุมมองของผมเองด้วย ซึ่งในขั้นแรกผมได้แปลหัวข้อนี้ เป็นภาษาไทยที่ผมคุ้นเคยเสียก่อน เพื่อให้เข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยจากการเข้าไป คุยกับอ.ดนุอยู่หลายรอบ จนผมได้ความหมายของคอนเซปต์นี้ในมุมมองของผมเองว่า “วัฒนธรรมของการเอาใจใส่ในการท�ำงาน” และก็ได้คีย์เวิร์ดส�ำหรับการเริ่มออกแบบคือ ความประณีต ท�ำงานด้วยมือเปล่า และ การเอาใจใส่

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


30 ph a s e 1

พั ฒ น า ตั ว อักษรไว้ใช้เองส�ำหรับ งานชิ้นนี้โดยเฉพาะ

ideas คิดหาเทคนิคที่ จะเอามาทดลองจนท้ายที่ สุดก็ได้เทคนิคที่ น่าสนใจ

ideas

i d e a s

ในตอนแรกผมเจอเทคนิคมากมายทัง้ ทีอ่ .ดนุแนะน�ำ และไปหาเพิม่ เองแต่สดุ ท้ายหลังจาก คุยและเลือกกันแล้วก็ย่อยจนเหลือไม่กี่ไอเดียได้แก่ เลเซอร์คัทแล้วน�ำมาจัดวาง, การใช้แป้งท�ำ อาหารท�ำเป็นตัวอักษร, และตัดกระดาษแล้วน�ำมาจัดวาง น�ำมาเสก็ตช์หยาบๆดูแล้วคิดถึงความ เป็นไปได้ว่าเมื่อทดลองแล้วอันไหนน่าจะออกมาดีที่สุด ซึ่งสุดท้ายแล้วก็ตกลงเลือกเลเซอร์คัท

s i

k e t c d e a

h s TYPR MAGAZINE - MAR 2014


31 p ha s e 2

เตรียมไฟล์ในคอมพิวเตอร์เพื่อน�ำไปเลเซอร์คัท ควรท�ำเป็น vector แบบ outline ในโปรแกรม Illustrator จะดเรียงไฟล์ให้ดีว่าจะเจาะหรือปล่อยไว้

sketch

น�ำไอเดียสุดท้ายมาพัฒนา โดยมีเรฟเฟอเรนซ์ เพื่ อ ให้เห็นภาพตรงกัน

sketch

งานทดลองที่ ไ ม่ ไ ด้ ใช้ ผมลองเอาดินสอ2B มาเหลาแล้ว เอาเศษมาจั ด วางดู ต ามที่ อ .ดนุ แนะน�ำให้ลองไปท�ำดู

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


32 ph a s e 3 (pa rt 1 )

typog r a p h exper i m e n

y t

typography experiment

LAS ERCU T T I NG & P REPA R AT IO N

สาเหตุทเี่ ลือกเทคนิค “เลเซอร์คทั ” เพราะผม เคยมีโอกาสได้ลองท�ำมาก่อนแล้วตอนทีช่ ว่ ยอ.เอกชัย ท�ำตาลปัตร ซึง่ ผมคิดว่าสักวันหนึง่ ากมีโอกาสก็จะลอง ใช้เทคนิคนี้ท�ำโปรเจ็คต์สักโปรเจ็คต์หนึ่งขึ้นมา และ สุดท้ายก็ได้ท�ำจริงๆกับโปรเจ็คต์ชิ้นนี้ และผมเลือก เลเซอร์คัทลงบนไม้ก้อกด้วยแล้ว ก็ยิ่งคราฟต์สุดๆไป เลย เพราะจะมีเขม่า ร่องรอยจากการเลเซอร์คัท และ กลิ่นเหม็นไหม้ แต่ก็มีแต่คนท�ำเท่านั้นที่ได้กลิ่นอยู่คน เดียว (ฮา)

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


33

typography experiment

หลังจากเลเซอร์คัทเรียบร้อย ก็แยกชิ้นส่วน ต่างๆ ให้เป็นระเบียบจะได้หยิบจับง่าย แล้วลองน�ำมา จัดวางก่อนอย่างคร่าวๆ แล้วจึงเริ่มทดลองจริงจัง

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


typography experiment

34

แบ บ ห้ อ ย ล อ ย แบบห้อยลอยเป็นแบบที่ท�ำยากมาก เพราะมีความซับซ้อนเรื่องล�ำดับว่าชิ้นไหนอยู่ระยะ หน้า-หลัง แถมยังต้องอาศัยความใจเย็นในการผู้เส้นเอ็นเข้ากับตะแกรง ซึ่งกว่าจะเสร็จก็กินเวลาไป เยอะพอสมควร แต่ผลทีอ่ อกมาไม่เป็นทีน่ า่ พอใจเท่าไหร่ จากปัญหาของการจัดแสงทีท่ ำ� ให้ระยะไม่ ชัดเจนเท่าที่ควร อาจจะเพราะตะแกรงมีความยาวไม่พอด้วย แถมยังพะรุงพะรังไปหมด ชั้นนี้จึงไม่ ได้น�ำไปใช้ในที่สุด

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


35 p ha s e 3 (pa rt 2)

typog r a p h exper i m e n

y t

EXP E R IME N TAL

แบบวางระนาบกับพื้นจัดวางง่ายมากๆ แต่ด้วยความที่จัดวางง่ายจึงไม่ค่อยน่า สนใจ เลยต้องหามุมกล้องแปลกๆ จนได้มุมกล้องตามที่เห็นนี้ แต่จริงๆแล้วค�ำว่า WORK IN PROGRESS มีขนาดที่เท่าๆกับ CRAFTING CULTURE แต่ อ.ดนุแนะน�ำให้ปรับให้เล็ก ลงหน่อย ผมเลยเอาไปรีทัชให้เล็กลงเพื่อเพิ่มระยะให้กับชิ้นงาน และท�ำให้งานไม่น่าเบื่อ จนสุดท้ายชิ้นนี้ผ่าน และได้รับเลือกให้เอาไปพัฒนาต่อเป็นโปสเตอร์

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

typography experiment

แ บบ ว า ง ระน าบ กั บ พื้ น


36 แบ บ โ ต๊ ะ ท� ำ ง า น

typography experiment

ชิ้นนี้อ.ดนุบอกให้ไปลองท�ำดู ซึ่งชิ้นนี้ไม่ค่อยยากมากเพราะนั่งเก้าอี้ท�ำได้เลย ไม่ต้องนั่ง กับพืน้ หลังขดหลังแข็งแล้ว แต่จะล�ำบากหน่อยตอนถ่ายภาพทีต่ อ้ งยืนทรงตัวบนเก้าอี้ และต้องคอย ระวังเงาตัวเราจะไปทับชิ้นงานด้วย ลองถ่ายหลายๆแบบ ลองเพิ่มมือเข้าไปในงานเพื่อให้ดูเป็น Work In Progress แต่สดุ ท้ายก็มาลงตัวทีร่ ปู ใหญ่ดา้ นขาวมือนีค้ รับ ซึง่ เท่าทีท่ ำ� มาชิน้ นีส้ นุกทีส่ ดุ แล้ว แถมยังใช้เวลาไม่มากด้วย

การทดลองทั้งหมดรวมขั้น ตอนคิดในช่วงแรก กินเวลาทั้งหมด 1 เดือนเต็ม โดยเวลาส่วนใหญ่หมด ไปกับขั้นตอนการคิด กว่าจะหาไอ เดี ย สุ ด ท้ า ยเพื่ อ น� ำ มาทดลองได้ ก็ เสียเวลาไปมาก เพราะในช่วงเริ่ม โปรเจ็คต์ผมยังติดงานเรียนไฟนอล ของเทอม 1 อยู่ แต่โชคดีที่พอเข้า ช่ ว งทดลองแล้ ว เป็ น ช่ ว งปิ ด เทอม พอดี ผมเลยได้ทดลองเต็มที่ มีบาง ครั้งแอบหนีอ.ดนุกลับบ้านบ้างด้วย ความคิ ด ถึ ง พ่ อ แม่ ( ขอโทษครั บ อ.แหะๆ) แต่สุดท้ายการทดลองก็ จบลงในช่วงท้ายของปิดเทอมพอดี (ปาดเหงื่อ) แต่ถือว่าคุ้มกับเวลาและ แรงที่ ล งไป เพราะสนุ ก กั บ การ ทดลองมาก ถึ ง ชิ้ น แรกจะเหนื่ อ ย มากและไม่ได้ใช้ก็ตาม TmT

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


37

develope

เมื่ อทดลองและเก็ บ ภาพเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ก็ น� ำไปพั ฒ นาต่ อ เป็ น โปสเตอร์ ซ่ ึ งถื อ เป็ น

ขั้ น ต อ น สุ ด ท้ า ย แ ล้ ว โ ด ย อ . ด นุ ใ ห้ ล อ ง ป ริ้ น ท์ อ อ ก ม า เ ป็ น โ ป ส เ ต อ ร์ ข น า ด จ ริ ง แ ล้ ว เ อ า ไปถือถ่ายภาพอีกที โดยได้อ.พิสิฐ สาขาศิลปะภาพถ่ายช่ วยถ่ายภาพให้

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

typography develope experiment

p h as e 4 (f in a l )


develope

38


39 p o s t e r 1 - 4

develope โปสเตอร์ท�ำออกมาทั้งหมด 6 แบบ โดย การทดลองแบบวางระนาบกับพื้นมีเยอะสุดคือ 4 แบบ และแบบโต๊ะท�ำงาน 2 แบบ ท�ำออกมาใน แบบเรียบๆเน้นพื้นที่ว่าง กริดไลน์ เป็นส�ำคัญเพื่อ ให้งานออกมาเนี้ยบ สะดอาด ดูเป็นทางกาล แต่ก็ ยังเน้นความน่าสนใจไปที่การทดลองตัวอักษรที่ เป็นพระเอกของโปสเตอร์ ซึ่งอ.ดนุเป็นผู้ควบคุม ทิศทางการออกแบบและแนะน�ำให้แก้จนลงตัว ซึ่ง กว่าจะลงตัวได้ผมก็เกือบตาลายเพราะเส้นกริด (TAT) แต่งานออกมาแล้วก็ลงตัวอย่างทีผ่ มไม่คดิ มา ก่อนว่าจะลงตัวได้ ท�ำให้ผมหวนคิดถึงค�ำพูดขอ งอ.เจ๊กกี้ ที่ว่า “อาร์ทไดเรคชั่น คือสิ่งศักสิทธิ์”


develope

40


41 p o s t e r 5 - 6 ถ้าสังเกตให้ดีจะเห็นว่าในโปสเตอร์จะมี แจ้งบอกว่าในงานประชุมสัมนาครั้งนี้มีนิทรรศการ พิเศษเพื่อระลึกถึงพี่ตั้ม พฤษ์พล มุกดาสนิท หรือ พี่ ตั้ ม MAMAFAKA ด้ ว ย ซึ่ ง ตอนแรกโปสเตอร์ ออกแบบเรียบร้อยพร้อมปริ้นท์แล้ว แต่ทางคณะ ได้ แ จ้ ง มาเพื่ อ ให้ แ ก้ แ บบโดยเพิ่ ม ส่ ว นของ นิทรรศการนี้เข้าไปด้วย ซึ่งผมรู้สึกดีใจมากกับการ แก้แบบครั้งนี้ เพราะพี่ตั้มเป็นแรงบันดาลใจให้ผม ตั้งแต่ผมเข้ามาเรียนที่นี่ใหม่ๆแล้ว และถือเป็น เกียรติอย่างยิ่งครับที่ได้มีส่วนในนิทรรศการครั้งนี้ ถึงเพียงเล็กน้อยแต่ผมก็ดีใจมากๆเลยครับ

ROLL UP FLAG

BACK DR O P

develope

o t h e r m e d i a

นอกจากโปสเตอร์แล้วผมยังได้มีโอกาส ท�ำสื่ออื่นด้วยคือ บิลบอร์ด, โรลอัพแสตนดี้ และ แบ๊คดรอป ตัวแบ๊คดรอปนั้นต้องกะระยะคนที่มา ยื น ให้ พ อดี ด ้ ว ย และต้ อ งเน้ น ตรงส่ ว นล่ า งพอ สมควรเพราะ จั ด วางโลโก้ ไว้ ด ้ า นล่ า ง ท� ำ ให้ มี ปัญหาเรื่องการมองเห็นเล็กน้อย เลยต้องปรับให้ ใหญ่ขึ้นกว่าที่คิดไว้


42

thank you

B ILL B OAR D

สุดท้ายนี้ผมต้องขอขอบพระคุณอ.ดนุ ภู่มาลี เป็นอย่างมากครับที่

ให้โอกาสผมได้ท�ำโปรเจ็คนี้ ผมได้รู้อะไรนอกเหนือวิชาเรียนเยอะมากๆเลย ครับ ไหนจะเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยอีกมากมาย แนวคิดในการท�ำงาน แม้กระทั่ง การบริหารเวลา ถึงแม้อาจารย์จะให้ปรับแก้งานบ้างแต่ผมก็ยินดีแก้ เพราะ

ถ้าไม่แก้งานก็จะไม่ลงตัวซะที และบางครัง ้ ก้ท�ำให้งานดูดีขึ้นอย่างมาก “อาร์ท ่ ่ ์ ไดเรคชั น คือสิงศักสิทธิ”จริงๆครับ และที่ปลื่มปริ่มที่สุดเลยคือ การได้ท�ำงาน ทดลองตัวอักษร แบบไม่ต้องลงทุนเอง เพราะผมอยากท�ำมานานแล้ว หลัง

จากได้ทดลองกับโปรเจ็คเรียน วิชาเทคนิคนิเทศศิลป์ และวิชาออกแบบตัว อั ก ษร (ซึ่ งผมจะพู ดถึ งในอี ก คอลั ม ภ์ ห นึ่ งครั บ ) ซึ่ งผมติ ดใจมาก อยาก

ทดลองอีก แล้วยิ่งได้ทดลองท�ำเลเซอร์คัทอีก ผมยิ่งสนุกเลยครับ ถึงแม้จะ เหนื่อยยาก บางทีทดลองไปก็มองไม่เห็นตอนจบงานเสียที แต่ผมก็พยายาม ท�ำต่อไปและสนุกกับการทดลอง เพราะยิ่งเดาตอนจบไม่ถูกยิ่งสนุกครับ ก็มัน คือการทดลองนี่นะครับ และที่ส�ำคัญที่สุดเลย คือผมรู ้สึกว่าผมคิดถูกแล้วที่ ตัดสินใจรับปากท�ำโปรเจ็คนี้กับอ.ดนุ โดยไม่ลังเลเลย(ถึงแม้จะชะงักไปครู ่หนึ่ง

ก็เถอะครับ) ผมรู ้สึกตื้นตันมากจนพู ดไม่ออกเลย ตอนที่อ.ดนุ กลับมาจาก ประชุ มงานครั้งแรกๆที่ผมส่งพรีเซนเทชั่ นไป แล้วอ.ดนุ บอกว่าอาจารย์ทุก คนชอบงานมาก และรอเห็นชิ้ นงานตอนที่เสร็จสมบู รณ์แล้ว ตอนนัน ้ อ.ดนุ ส่ง ่ ่ ข้อความมาทางแชท ผมนังอ่านอยู ่หน้าคอม ผมนีกระโดดแหกปากร้องดีใจ เลยครับ แหะๆ

TYPR MAGAZINE - MAR 2014



introduction

C O NC IO US ( LETTERING ) PAGE 5 4

RO LLING ( EXPERIMENT ) PAGE 5 0

STILL ( EXPERIMENT ) PAGE 46

44

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


‘S LAB EL ( L ET T ERING ) PAGE 5 6

B AEL F RUIT P RO D UC T

45 typeshow typ ogra p hy p roj ec t s h ow c a s e เ ร า จ ะ พ า คุ ณไ ป พ บ กั บ ขั้ น ต อ น ก า ร ท� ำ ง า น แ บ บ ล ะ เ อี ย ด ยิ บ ข อ ง ผ ล ง า น อ อ ก แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร โ ด ย Yo u n g Ty p e s t e r ข อ ง เ ร า “ พ ง ศ ธ ร คุ้ ม ปลีิ ” นั ก ศึ ก ษาออกแบบนิ เ ทศศิ ล ป์ แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ที่ เขา จะมาเล่าคุณฟั งเองแบบเนื้ อเน้นๆ

F EAT URE D :

ROLLING

PAGE 46

PAGE 50

(EXPERIMENT)

CONCIOUS

BAEL FRUIT PRODUCT

PAGE 54

PAGE 56

(LETTERING)

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

(EXPERIMENT)

‘S LABEL (LETTERING)

introduction

STILL


46 still typography experiment w i t h p ow d e r งานทดลองตัวอักษรโดยใช้แป้งฝุ่ นในการสร้างสรรค์ตัวอักษร

EXPERIMENT BY

briefing - still

PONGSATORN KUMPLEE

ถ้ าไ ม่ บ อ ก ห ล า ย ค น ค ง จ ะไ ม่ รู ้ ว่ า ง า น ตั ว อั ก ษ ร ชิ้ น นี้ ท� ำ ม า จ า ก แ ป้ ง พ ง ศ ธ ร คุ้ มปลี ผู ้ทดลองงานชิ้ นนี้ จะมาเล่าให้คุณฟั งอย่างละเอียด

เมื่ อ ผมได้ โ จทย์ ง านเรี ย นวิ ช า เทคนิคนิเทศศิลป์ ให้ไปทดลองออกแบบตัว อักษรด้วยเทคนิคอะไรก็ได้ ซึ่งช่วงนั้นเขา ก�ำลังสนใจงานออกแบบตัวอักษรอยู่พอดี “ตอนนั้นผมก�ำลังตื่นตัวกับงานไทโปมากๆ ผมตืน่ เต้นมากทีไ่ ด้โจทย์น”ี้ ด้วยความทีเ่ ป็น งานทดลองทีส่ ามารถท�ำอะไรก็ได้ตามใจ จึง สามารถก�ำหนดขอบเขตของงานได้ไม่ยาก “โปรเจ็กต์นี้คะแนนไม่มากครับ ผมลองคิด ว่าถ้าคะแนนคือบัดเจ็ตของลูกค้า คะแนน โปรเจ็กต์นี้ไม่มาก ผมก็ต้องท�ำออกมาโดย ใช้บัดเจ็คที่น้อย แต่ได้งานออกมาโอเค” เขาจึ ง เริ่ ม คิ ด งานโดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความง่ า ย ประหยัด แต่ลงตัว และจากความง่ายเลย มองหาสิ่ ง ของรอบตั ว ที่ ส ามารถเอามา ท�ำงานทดลองตัวอักษรได้ “เช้าวันหนึ่งผม ก�ำลังอาบน�้ำเตรียมตัวจะไปเรียนครับ หลัง

จากอาบน�้ำเสร็จ ผมเหลือบไปเห็นแป้งทา ตัวที่ผมซื้อมาแต่แทบไม่ได้ใช้ทาตัวเลย ผม กลับเอาไปใช้โรยไล่มด ซึ่งช่วงนั้นทั่วห้อง ผมก็จะเต็มไปด้วยร่องรอยของแป้งทีผ่ มโรย ไล่ ม ด บางที่ ผ มโรยเป็ น รู ป วงกลมบ้ า ง สามเหลีย่ มบ้าง ผมจึงคิดว่าน่าเอาแป้งมาท ดลองดีครับ” และหลังจากนั้นก็เริ่มคิดค�ำ ที่ เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของแป้ง ซึ่ง สุดท้ายก็ได้ค�ำว่า “Still” เพราะเมื่อเราโรย ไปบนตัวแล้วแป้งจะเกาะติดกับผิวเรา ซึ่ง ท�ำให้นึกถึงค�ำว่า “Still” พอได้ค�ำแล้วก็เริ่ม คิ ด ต่ อ ว่ า จะท� ำ การทดลองออกมาในรู ป แบบอย่างไรดี คิดไปคิดมาก็มาลงเอยที่ท�ำ ลงบนกระดาษแข็ง เอาไปแปะก�ำแพงแล้ว ถ่ายรูป ให้ออกมาอารมณ์เหงาๆ แต่ฉันก็ ยังคงอยู่ตรงนี้นะ ยังตั้งมั่นอยู่ตรงนี้ถึงแม้ เวลาจะผ่านไปยาวนานเพียงใด

b r i e f i n g

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


47

execution - still

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


48

process - still

เสก็ตช์ใน Illustrator

p c

r e

o s s

หลังจากเสก็ตช์เรียบร้อยแล้ว ก็เอาแบบไป ปริ้นท์ลงบนกระดาษ A1 แล้วเอามาตัดตามแบบให้ เป็นช่อง ระวังเรื่องรอยต่อเล็กๆขาดด้วย “ท�ำๆไปก็ รู้สึกเสียดายกระดาษอยู่เหมือนกันปริ้นท์มาก็ใหญ่” พอตัดเสร็จแล้วก็เอาไปวางทับกระดาษด�ำที่จะใช้ เป็น ชิ้นงานต่อไป แปะทับแนะน�ำให้ใช้เทปกาวนิตโต้แปะ จะได้เอากระดาษแบบออดได้ง่าย ไม่มีต�ำหนิทิ้งไว้บน ชิน้ งาน แล้วก็เริม่ ทากาวตามช่องว่าง โดบระหว่างทาก็ โรยแป้งไปด้วย เดี่ยวกาวแห้งแล้วจะโรยไม่ติด

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


49 พอทากาว-โรยแป้งเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ดึง กระดาษแบบออก แล้วค่อยๆใช้แปรงเล็กๆ หรือพู่กัน เกลี่ยไล่แป้งออกจากส่วนที่ไม่ต้องการ แล้วจึงเอาไป สะบัดอย่างช้าๆอีกทีก็จะได้ชิ้นงาน ที่มีแป้งติดอยู่บน กระดาษ แต่พอกางดูแล้วมันยังรู้สึกโล่งๆเหมือนงาน ยังไม่เสร็จ และยังไม่ให้อารมณ์เหงาๆอย่างที่ตั้งใจไว้ เท่าใดนัก เลยเพิ่มเทคเจอร์ลงไปให้ดูกรังจ์ๆ ด้วยการ โรยแป้งลงบนพืน้ หลังมัว่ ๆ บ้างท�ำให้ฟงุ้ โดยเอามือลูบ บ้างโรยให้เห็นเป็นเม็ด บ้างโรยแล้วยกชิ้นงานขึ้นให้ แป้งไหล พอได้ดั่งใจแล้วก็เอาชิ้นงานไปแปะที่ผนัง ระเบียงห้องให้แดดอ่อนๆยามเช้าส่อง เพื่อให้อารมณ์ เหงาๆแต่ยงั ยืนหยัดสูอ้ ยู่ ตามทีต่ งั้ ใจไว้ในตอนแรก ซึง่ ผลออกมาก็เป็นที่น่าพอใจมากๆ เพราะแสงสวยมาก เลยถ่ายภาพเก็บไว้หลายๆมุม แล้วเลือก ภาพทีด่ ที สี่ ดุ ไปรีทัชให้ภาพนวลๆ และเพิ่มบรรยากาศความเหงา ให้มากขึ้นจนพอใจ เป็นอันจบโปรเจ็คนี้ครับ

process - still

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


50 งานทดลองตัวอักษรง่ายๆที่ เล่นกับกระดาษทิชชู่ ที่ ใช้ กันอยู ่ ทุกวัน

งานทดลองนี้เป็นโปรเจ็กต์งาน ทดลองตัวอักษร ในวิชาเดียวกันกับงาน ทดลองก่อนหน้านี้ (Still) แต่คราวนี้โจทย์ แตกต่างออกไปตรงที่ คราวนี้บังคับให้ใช้ เฉพาะกระดาษเท่านั้น แต่ไม่จ�ำกัดว่าจะ เป็นกระดาษชนิดใด ผมใช้แนวคิดเดิมใน การทดลองครั้งนี้ คือคะแนนน้อย ก็ต้อง

ลงทุนน้อย (อะไรประหยัดได้ก็ประหยัด ครับ 555) ผมจึงคิดจะใช้ของทีม่ อี ยูร่ อ่ ยตัว มาท� ำ การทดลองอี ก เช่ น เคย ผมมองดู รอบตัวก็ไปเจอกับม้วนกระดาษทิชชู่วาง อยูบ่ นโต๊ะท�ำงาน ผมจึงเกิดไอเดียลองเอา มาทดลองดู เพราะกระดาษทิชชู่ม้วน ถ้า กลิ้งไปเรื่อยๆก็จะเกิดเป็นเส้น คล้ายกับ

e c i

e t n

การลากเส้นดินสอไปเรื่อยๆ ซึ่งลักษณะ ตรงนี้น่าสนใจที่จะเอาไปทดลองสร้างเป็น ตัวอักษรได้ ผมจึงคิดหาค�ำทีเ่ หมาะสมซึง่ ก็ ง่ายๆเลยค�ำว่า “Rolling” นั่นเอง แล้วจึง เริ่มเสก็ตช์คร่าวๆ โดยค�ำนึงถึงว่าเส้นต้อง ต่อเนื่องกันจนจบค�ำ เพราะจะเน้นความ ยาวของม้วนกระดาษทิชชู่ด้วย

briefing - rolling

b r i e f i n g

x u o

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


51 กระดาษทิชชู่ซื้อมาเป็นแพ๊คเลย เพราะยังไงก็ต้องใช้อยู่ แล้วในชีวิตประจ�ำวัน และเผื่อทดลองพลาดด้วย

rolling typography experiment with tissue pa p e r งานทดลองเอากระดาษทิชชู่ มากลิ้งเป็นตัว อักษร

EXPERIMENT BY

PONGSATORN KUMPLEE

s t

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

k c

process - rolling

เสก็ตช์โดยค�ำนึงถึงความต่อเนื่องของเส้น ที่ ต้องต่อเนื่องกันจนจบค�ำเป็นหลัก

e h


52

process - rolling

พอได้แบบแล้วก็เริ่มกลิ้งกันได้เลย “เอียนกับ กลิ่นของกระดาษด�ำมากครับ” เวลากลิ้งต้องใจเย็น และต้ อ งค่ อ ยหาอะไรมาทั บ ส่ ว นที่ ก ลิ้ ง ไปแล้ ว ด้ ว ย เพราะกระดาษทิชชู่โดนลมพัดนิดหน่อยก็ปลิวแล้ว เวลาท�ำต้องทนร้อนหน่อยเพราะห้ามเปิดพัดลม ส่วน แอร์ก็ห้ามเปิดเพราะอากาศหนาวท�ำให้มือสั่นได้ ตรง รอยพับต้องคิดให้ดวี า่ ตรงไหนทับ ตรงไหนโดนทับ พอ ท�ำไปเรื่อยๆเหตุการณ์ไม่คาดฝันก้เกิดขึ้น คือกระดาษ ขาด แต่ดชคยังดีที่เป็นส่วนปลายๆแล้วก็เลย เนียน เอาเทปกาวใส่ติดได้ ตรงส่วนที่เป็นจุด ของตัวอักษร เช่นตัว i ก็ลองเอาตัวม้วนกระดาษมาแทนดู ซึ่งออก มาก็ไม่โอเคเลย ค่อยๆกลิ้งไปเรื่อยๆจนเสร็จ ก็ถ่าย ภาพงานเก็บไว้หลายๆมุม เหมือนเคย เสร็จแล้วก็ เลือกภาพที่ดีที่สุดเอาไปรีทัชให้ได้เห้นตรงส่วนที่ทับ กันชัดเจนยิ่งขึ้น

p c

r e

o s s ข้ อ ดี ข องงานทดลอง ชิ้ น นี้ คื อ เมื่ อ ท� ำ เสร็ จ แล้ ว สามารถรื้อเอากระดาษทิชชู่ไป ใช้งานต่อได้ ซึ่งถือว่าดีกว่างาน ชิ้นก่อนที่ท�ำเสร็จแล้วแปะไว้ได้ สักพักต้องทิ้ง เพราะฝุ่นจากผง แป้ง นับว่าเป็นการทดลองที่ไม่ เสียเปล่าเลยทีเดียว แถมผลที่ ออกมายั ง เป็ น ที่ น ่ า พอใจอี ก ด้วย

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


53

execution - rolling

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


54 concious เอาทีป่ ริน้ ท์แล้วมาฝน ด้วยดินสอ EE ด้านหลังแล้ว ทาบลงไปบนตาลปั ต รเพื่ อ ดราฟท์

thai - lettering on tali po t fa n งานเขียนตัวอักษรไทยบนตาลปั ตร

LETTERING BY

briefing - concious

PONGSATORN KUMPLEE

งานชิ้นนี้ถูกน�ำไป จัดแสดงในนิทรรศการของ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ชื่อว่า “100ปี สมเด็ จ พระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาปริณายก” ซึ่งจัด แสดงในระหว่างวันที่ 1-3 ตุ ล าคม พ.ศ.2556 ณ อาคารอาทิ ต ย์ อุ ไรรั ต น์ มหาวิทยาลัยรังสิต และน�ำ ไปจั ด แสดงต่ อ ที่ พั ฒ นา แกลอรี่ มหาวิทยาลัยรังสิต ต่ออีกเป็นเวลา 1 เดือน ซึ่ง นิ ท รรศการมี ก ารจั ด แสดง ผลงานศิ ล ปะบนตาลปั ต ร โดยฝี มื อ ของคณาจารย์ หลากหลายท่ า น และ นั ก ศึ ก ษา 3 คน “ผมรู ้ สึ ก ภาคภูมิใจมากๆครับ ที่ได้ ท�ำงานชิ้นนี้ ตอนที่อ.วิชัย เรี ย กเข้ า ไปคุ ย เพื่ อ มอบ หมายให้ ท� ำ งานชิ้ น นี้ ผม ตอบรับ อย่างไม่ลังเล ถึง

ทุ ก อย่างเริ่มต้น ด้ ว ยเสก็ ต ช์ เล็กๆเสมอ

แม้ในตอนแรกจะไม่รู้ว่าจะ ท�ำยังไงดี” หลังจากได้โจทย์ ไป ผมก็ลองไปคิดดูว่าควร จะท� ำ ออกมาในรู ป แบบ ไหนดี และสุ ด ท้ า ยก็ ม า ลงเอยที่ Lettering เพราะ ช่วงนั้นเป็นช่วงหลังจากที่ ผมเพิง่ เสร็จจากงานทดลอง ตัวอักษรพอดี ผมจึงอยาก ลองท�ำงานตัวอักษรต่ออีก สักชิ้น แต่คราวนี้ขอเปลี่ยน เป็นเน้นเขียนดีกว่าเพราะ เดี๋ยวจะเบื่องานทดลองได้ จากนั้นผมก็เริ่มคิดค�ำที่จะ ใช้ ซึ่งก็ไปเจอกับหลักธรรม หนึ่งที่น่าสนใจ และน่าจะ ไปอยู่บนตาลปัตรได้อย่าง ลงตั ว ซึ่ ง ก็ คื อ “สติ ม า... ปัญญาเกิด” และก็เริ่มคิด ต่อว่าจะใช้อะไรเขียนดีให้ดู เป็นตาลปัตร ซึ่งก็คือ สีอคริ ลิ ก สี ท องผสมกากเพชร นั่นเอง

b r i e f i n g

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


55

เสก็ตช์แล้วแสกนเข้า คอม เพื่อปรับขนาดให้เท่ากับ ตาลปัตร แล้วจึงปริ้นท์ออกมา เพื่อเอาไปดราฟท์ลงตาลปัตร`

p c

r e

o s s

process - concious

ท�ำไปท�ำมางานเลอะ รอยดินสอเต็มไปหมดเลย ต้อง เอาผ้ า ชุ บ น�้ ำ เปล่ า ผสมสบู ่ ม า เช็ดออก

execution - concious

เก็ บ รายละเอี ย ดจน เรียบร้อย และท�ำความสะอาด ส่วนที่เลอะ

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


56 “ ง า น อ อ ก แ บ บ ชิ้ น นี้ ไ ด้ น� ำ ขึ้ น ทู ล เ ก ล้ า ทู ล ก ร ะ ห ม่ อ ม ถ ว า ย ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ ส ย า ม บ ร ม ร า ช กุ มารี ซึ่ งถือเป็ นเกียรติแก่วงศ์ตระกูลผลมา กๆครับ”

“งานชิ้ น นี้ ผ มได้ รั บ มอบหมาย จาก อ.วิ ชั ย เมฆเกิ ด ชู ให้ ท� ำ หน้ า ที่ อ อ ก แ บ บ ฉ ล า ก ใ ห ้ กั บ ท า ง ค ณ ะ เภสัชศาสตร์” ซึ่งผมก็ตอบรับอีกเช่นเคย ซึ่ ง หลั ง จากตกลงรั บ งานชิ้ น นี้ เรี ย บร้ อ ย อ.วิชัยก็พาผมไปคุยกับอาจารย์ของคณะ เภสัชศาสตร์ ที่รับผิดชอบเรื่องนี้ และได้มี

โอกาสชิมชาสมุนไพรมะตูมนิ่ม “ซึ่งผมก็ จ� ำ รสและกลิ่ น ไว้ เ พื่ อ เอามาใช้ ใ นการ ก�ำหนดทิศทางของงานชิ้นนี้” และเมื่อคุย กั น เสร็ จ ก็ ส รุ ป ได้ ว ่ า ผมต้ อ งท� ำ ฉลาก ทั้งหมด 3 ชิ้น ได้แก่ ชาสมุนไพรมะตูมนิ่ม , ยาลู แ ปลกแม่ และ น�้ ำ หมั ก สมุ น ไพร มะตูมนิ่ม “งานชิ้นนี้มีระยะเวลาที่จ�ำกัด

มากๆ แต่ ผ มก็ พ ยายามท� ำ ให้ ดี ที่ สุ ด ใน ระยะเวลาเท่านี้ และผลออกมาก็เป็นที่น่า พอใจของทุกๆคน ซึ่งผมรู้สึกปลื้มปิติมาก ถึงแม้ผมไม่ได้ถวายเองกับมือ แต่ก็ได้เป็น ส่วนหนึ่งของงานชิ้นนี้ก็ปลื้มปิติอย่างที่สุด แล้ว

process - bael fruit product's label

b r i e f i n g

l e t t e r i n g

หลังจากได้ชิม และได้พูดคุยกับเจ้าของ ผลิตภภัณฑ์แล้วก็คิดได้ ว่า มะตูมนิ่มเป็นของหา ยาก และทรงคุณค่าเป็น อย่ า งมาก เลยน� ำ ชื่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม าท� ำ เป็ น Lettering แล้วจึงน�ำไป ท�ำเป็นฉลาก

a r t w o r k

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


57 bael fruit products's label lettering for bael fruit product's l ab e l by fac ulty of p ha rmacy, rs u งานออกแบบตัวอักษรเพื่อใช้ประกอบ ฉลากผลิตภัณฑ์จากมะตูมนิ่ม ส�ำหรับ โครงการพันธุ กรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

DESIGN BY

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

execution - bael fruit product's label

PONGSATORN KUMPLEE



59 typetips

10 FOR

TYPOGRAPHY ตั ว อั ก ษ นั บ เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ส� ำ คั ญ ส� ำ ห รั บ ง า น อ อ ก แ บ บ เ กื อ บ จ ะ ทั้ ง ห ม ด อ ย่ า งไ ร ก็ ต ามคุ ณ ควรจะพั ฒ นาทั ก ษะการใช้ งาน และเรี ย นรู ้ ส่ ิ งใหม่ ๆ เกี่ ยวกั บ ตั ว อั ก ษรอย่ า งสม�่ ำเสมอ

แ ล ะ นี่ คื อ 1 0 เ ค ล็ ด ลั บ ง่ า ย ๆ ที่ จ ะ ช่ ว ย เ พิ่ ม ทั ก ษ ะ ก า รใ ช้ ง า น ตั ว อั ก ษ ร ข อ ง คุ ณใ ห้ ดี ขึ้ น แ ล ะ ช่ ว ย ท�ำให้ขั้ น ตอนการท�ำงานของคุณเร็วขึ้ น...

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

introduction

p r o t i p s p e r f e c t


60 1 . ไ ม่ ต้ อ ง รี บ เลือกตัวอักษรดีมีชัยไปกว่าครึ่ง อย่าพยายามที่จะใช้ตัวอักษรแบบเดียว ซ�้ำๆ อาจเริ่มด้วยการเลือกตัวอักษรหลายๆแบบ รวมเป็นชุดประจ�ำตัวที่เราชอบ และลองใช้เวลากับการค้นหาตัวอักษรใหม่ๆ หรือพัฒนาตัวอักษรไว้ใช้เอง

2 . อ ย่ า เยอ ะ

typetips

ถ้าคุณมีต่ วั อักษรกว่า 10 แบบในหน้าเดียว คุณก�ำลังท�ำผิดมหันต์ จ�ำกัด ตัวเองบ้าง การใช้ตัวอักษรน้อยแบบ จะช่วยให้คุณควบคุมได้ว่าจะให้ตัวไหนเด่น คุณสามารถสร้างความแตกต่างได้ง่ายๆเพียงแค่ปรับขนาด หรือน�้ำหนัก

3. อ ย่ า หลงไป ต าม กระแส อย่าใส่ใจกับกระแสมากนัก การที่คุณใช่ฟอนต์ใหม่ล่าสุด ไม่ได้แปลว่า งานของคุณจะออกมาดีเสมอไป ลองเปิดดูหนังสือ, ทดลองใช้ฟอนต์ที่มีอยู่แล้ว หรือใช้ฟอนต์เก่าๆดูบ้าง

4 . เ ลื อ กแบ บ อั ก ษ รที่ ต่ า ง กั น เมื่อคุณเลือกใช้ตัวอักษรคนละแบบมาอยู่ด้วยกัน ต้องมั่นใจว่าตัวอักษร แต่ละแบบนั้นองค์ประกอบที่แตกต่างกัน ถ้าหากคุณเลือกตัวอักษร 2 แบบมาอยู่ ด้วยกันแล้วคล้ายกันมาก ความแตกต่างเพียงเล็กน้อย จะถูกมองว่าเป็นข้อผิด พลาดของฟอนต์แบบเดียวไปได้

5 . อ ย่ า ลื ม Serif s ตัวอักษรแบบ San serifs อาจดูทันสมัย และสะอาด แต่ในเรื่องความ คลาสสิคแล้ว Serifs ก็เป็นค�ำตอบที่ดี จงกล้าหาญที่จะไม่ใช้ Helvetica เสียบ้าง แล้วทุกอย่างจะดีขึ้นเอง

Words and icons: Abby Wynne and Jesse Hora of Make And Co

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


61 6 . ก า รม อ ง เห็ น เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ทุกๆคนต้องการให้งานของตน แตกต่าง แต่ก็อย่าลืมไปว่า การมองเห็น หรืออ่านออกนั้นส�ำคัญที่สุด

7 . จั ด ล� ำ ดั บ ความ ส� ำ คั ญ ตัดสินใจให้ดีว่าจะใช้ตัวอักษรแบบใด เพื่ออะไร และสื่ออะไร จัดล�ำดับ ความส�ำคัญ แล้วก�ำหนดไว้ให้เป็นระบบ ซึ่งจะท�ำให้ง่ายเวลาหยิบขึ้นมาใช้งาน และท�ำให้ง่ายต่อผู้อ่านด้วย

ใช้ Leading, kerning และ tracking เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีชอ่ งว่างทีเ่ หมาะสม กับตัวอักษรของคุณ เพื่อการอ่านและความถูกต้อง

9 . อ ย่ าท� ำ ผิ ด กฏหม าย การที่คุณดาวน์โหลดฟอนต์จากในเน็ต หรือได้มาจากเพื่อนคุณ ไม่ได้ หมายความว่าคุณจะเอาฟอนต์ห้ ล่านัน้ ไปใช้ทำ� อะไรก็ได้ตามต้องการ คุณต้องรูว้ า่ ฟอนต์ที่คุณมีข้อตกลงการใช้งานอย่างไร น�ำไปใช้เชิงพาณิชย์ได้หรือไม่

1 0 . เ ล็ ก ๆอ าจ จ ะดี ก ว่ า วิธีที่ง่ายที่สุดที่จะท�ำให้งานของคุณ ดูซับซ้อนและมีรสนิยม คือใช้ตัว อักษรที่เล็กลง แต่ไม่ใช่เล็กซะจนอ่านไม่ออกนะ

Translate to Thai: Pongsatorn Ku mplee

TYPR MAGAZINE - MAR 2014

typetips

8 . ใ ห้ ตั ว อั ก ษ รได้ ห ายใ จ บ้ า ง


62 type - x t ypography experime n ta l พื้ น ที่ ก า า ร ท ด ล อ ง อ ยู ่ ที่ ห น้ า 6 3 นี้ แ ล้ ว เ ต รี ย ม อุ ป ก ร ณ์ ให้พร้อม อ่านขั้ น ตอนการทดลองให้ดี แล้วลุยเลย!

introduction

d i c u t

t y p o g r a p h y e x p e r i m e n t อุ ป ก รณ์ : คั ต เต อ ร์ , แผ่ นร องตั ด

วิ ธี ก า ร

1. น�ำแแผ่นรองตัดมารองระหว่างหน้า 63 และ 65 2. ใช้คัตเตอร์ กรีดตามเส้นประ 3. ฟินนน

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


63

type - x

TYPR MAGAZINE - MAR 2014



65

type - x


66

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


67

type - x

TYPR MAGAZINE - MAR 2014


68

colophon

colophon

PO NGSATO RN KUMP LE E AKA : MO SHMEL LOW EDI TO R, WRI T ER, GRA PH IC D ESIGNER, LA BOR ED U CATIO N: VI SUAL CO MMU N I C ATION DESIG N FACU LT Y O F ART A ND DESIG N RAN GSI T U N I VERSITY CO NTACT: T EL : +6687 355 7242 E - MAI L : MEL LO WM OSH@HOTM A IL .C OM FACEB O O K : WWW.FB.C OM /M OSH M LW

TYPR MAGAZINE - MAR 2014



fe at ur e d work in pr ogr e ss 2 : c r a f t in g c u lt ur e โ ป ร เจ็ ก ท ด ลอ งตั ว อั ก ษ ร แ บ บ คร า ฟ ต์ สุ ด ๆ

ส� ำ หรั บ งา น ป ร ะ ชุ ม สั ม น า ด้ า น ก า ร อ อ ก แ บ บ ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ !

M A RTIN SC HM ETZE R SA B EENA K A R NI K J ESSICA WA L S H AND INTRO D U C I N G P O NG SATO R N K UM P L E E -

typ es h ow โ ช ว์ ก ร ะ บ ว น ก า ร สร้ า งสร ร ค์ โ ป ร เจ็ ก ต์

อ อ ก แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร มั น ส์ ๆ แ บ บ ละ เอี ย ด ยิ บ

1 0 p roti p s for p erfec t typ ogra p hy 1 0 เคล็ ด ลั บ ที่ จ ะ ช่ ว ยให้ ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อ ก แ บ บ ตั ว อั ก ษ ร ขอ งคุ ณ ดี ขึ้ น

typ e- x สนุ ก กั บ ก า ร ท ด ลอ งตั ว อั ก ษ รได้ ใน นิ ต ย สา ร เล่ ม นี้ เ ลย !

BY


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.