หนังสือชาวยอง1

Page 1


ชื่อ

หนังสือสงเสริมวัฒนธรรมชาวยอง

ผูศึกษา

นายสุริยา กลาถิ่นภู นายวรเชษฐ สิทธิตรี

ที่ปรึกษา

อาจารยปลูกเกษม ชูตระกูล อาจารยอรนุช คำแปน หนังสือเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาวิชาโครงงานศึกษา วิชา เอกเทคโนโลยีการพิมพ สาขาเทคโนโลยีศิลป คณะศิลปกรรมและ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม


คำนำ หนังสือสงเสริมวัฒนธรรมชาวยองจัดทำขึ้น เพื่อสงเสริมให

นักเรียนไดศึกษาและเรียนรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปนมาของ วัฒนธรรมชาวยองจังหวัดลำพูน เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจใน วัฒนธรรมของตนเอง พรอมทั้งตระหนักถึงคุณคาและความสำคัญของ วัฒนธรรมที่มีการสืบสานมายาวนาน โดยคณะผูจัดทำหวังอยางยิ่ง ที่จะใหนักเรียนไดนำความรู ความ เขาใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมชาวยองไปใชอยางเปนประโยชน เพื่อชวยกัน สืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามไว ใหสืบตอไปในอนาคต

คณะผูจัดทำ นายวรเชษฐ สิทธิตรี นายสุริยา กลาถิ่นภู


คำอธิบาย วัฒนธรรมเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นมาไดแก ภาษา อาหาร

ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศิ ล ปะ จริ ย ธรรม และเทคโนโลยีตางๆ อาจกลาวไดวา วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ชวยใหมนุษย สามารถดำเนินชีวิตรวมกันไดอยางสงบสุข เพราะมนุษยจะตองอาศัย ประโยชนจากธรรมชาติและจะตองรูจักควบคุมความประพฤติของ มนุษยดวยกันใหสามารถอยูรวมไดอยางสงบสุข วัฒนธรรมจึงเปนสิ่งที่ หลอหลอมใหมนุษยมคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ แี ละดำเนินชีวติ ไดอยางมีความสุข วัฒนธรรมชาวยองเปนสิง่ ทีถ่ กู สรางขึน้ และสืบทอดวัฒนธรรม มายาวนาน ชาวยองมีวิถีการดำเนินชีวิตแบบเรียบงายตามธรรมชาติ มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อีกทั้งวัฒนธรรม ชาวยองไดสรางความสามัคคี ความสุข และความเจริญรุงเรือง ใหแก ชาวยองตลอดมา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน


สารบัญ เรื่อง ๑. กำเนิดวัฒนธรรมชาวยอง ๒. สงครามขยายอำนาจ ๓. การอพยพเคลื่อนยายชาวยอง ๔. วัฒนธรรมการดำเนินชีวิตของชาวยอง ๕. วัฒนธรรมการแตงกายของชาวยอง ๖. วัฒนธรรมความศรัทธาชาวยอง - ประเพณีสลากยอม ๗. วัฒนธรรมการบูชา - ประเพณีบูชาเสาอินทขิล - ประเพณีการไหวพระธาตุ - ประเพณีบูชาเทวบุตรหลวง ๘. วัฒนธรรมดนตรีชาวยอง - กลองหลวง ๙. สรุป คำศัพทนารู ประวัติผูเชี่ยวชาญดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมชาวยอง ประวัติผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบสื่อการเรียนรู ประวัติผูเชี่ยวชาญดานนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 3

หนา ๑ ๒ ๔ ๖ ๗ ๘ ๑๒

๑๘ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔


แนะนำตัวละคร หนุมสาวชาวยอง ครอบครัวชาวยอง

พระเจากาวิละ กษัตริยพมา

ชาวลัวะ ชาวยอง

พระสงฆชาวยอง



๒. สงครามขยายอำนาจ ในขณะนัน้ ประเทศพมาเปนประเทศทีม่ อี ำนาจใหญกวาดินแดนใกลเคียง

กษัตริยพ มาทรงมีนโยบายขยายอำนาจไปยังดินแดนตางๆ ทีอ่ ยูร ายรอบ เพือ่ สรางความยิง่ ใหญ โดยจะสงไพรพลไปทำสงครามเพือ่ ยึดเมืองตางๆ ซึง่ รวมถึงเมืองยองทีต่ ง้ั อยูในเขตรัฐฉานตะวันออกติดกับดินแดนลานชาง และสิบสองพันนาและไดเกณฑ ไพรพลรวมถึงชาวยอง เพื่อรวมทำ สงครามขยายอำนาจ

เหลาทหารพมาทั้งหลาย ทานจงไปยึดเมืองลานนามาให ได


จนกระทั่งกองทัพพมาเดินทางมาถึงดินแดนลานนา ซึ่งในขณะนั้น

“ พระเจากาวิละ ”เปนผูนำในดินแดนลานนา ทรงรวบรวมไพรพลมา อยูท ่ี เวียงปาซาง เขตเมืองลำพูนระหวางป พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๓๙ เพือ่ จัดตัง้ กองทัพตอสูก บั กองทัพพมาและปกปองดินแดนลานนา จนในทีส่ ดุ กองทัพพมาไดยกทัพหนีกลับไป หลังจากการทำสงครามในครั้งนี้ เกิดความเสียหายอยางมากทำใหผูคนในดินแดนลานนาลดนอยลง

พวกเราจงรวมกัน ปกปองดินแดนลานนา ของเราไว


๓. อพยพเคลือนย้ายชาวยอง ภายหลังเสร็จสิ้นจากการทำสงครามกับพมาในครั้งนั้น ทำใหเกิดการ

สูญเสียเปนอยางมาก ทัง้ บานเมืองและผูค น พระเจากาวิละจึงไดรวบรวม ผูค นจากเมืองตางๆ เพือ่ ดำเนินการฟน ฟูดนิ แดนลานนา ซึง่ พระเจากาวิละ ไดมีแนวคิดในการรวบรวมผูคน โดยมีเปาหมายหลักอยูที่ เมืองยอง เนื่องจากชาวยองเปนผูที่ความเรียบงาย มีวัฒธรรมที่เขมแข็งดีงาม และที่มีความสามารถในดานตางๆ ซึ่งจะสงผลดีตอการฟนฟูบานเมือง

เราขออพยพชาวยองเพื่อ ชวยกันฟนฟูดินแดนลานนา


พระเจากาวิละจึงไดมอบหมายใหเจาอุปราชธัมมลังกาและเจ า

คำฝ  น นำกองทั พ เชี ย งใหม ย กไปเมื อ งยอง ในป ๒๓๔๓-๒๓๔๘ เพื่อรวบรวมชาวยอง โดยอพยพชาวเมืองเปนจำนวนมาก เรียกวา การอพยพแบบการเทครัว ซึง่ ประกอบดวย เจาเมือง ผูน ำชุมชน พระสงฆ ชาวบาน เพือ่ เขามาฟน ฟูดนิ แดนลานนา บริเวณเมืองลำพูน จึงเปนสาเหตุให ชาวยองจำนวนมาก เขามาจัดตั้งชุมชนในจังหวัดลำพูน และเปนสาเหตุ สำคัญของการเขามาของวัฒนธรรมของชาวยองในดินแดนลานนา อีกดวย


๔. วัฒนธรรมการดำเนินชีวิต เมื่อชาวยองอพยพเขามาฟนฟูดินแดนลานนาแลว ไดสรางบานเรือน

และตัง้ ชุมชนอยูบ ริเวณเมืองลำพูน ชาวยองไดดำเนินชีวติ อยางเรียบงาย และสงบสุข ผูช ายชาวยองสวนใหญมกั ประกอบอาชีพทำการเกษตร เลีย้ ง สัตว ทำไร ทำนา สวนผูห ญิงชาวยองมีนสิ ยั เรียบรอย ประณีต ประหยัด มัธยัสถ มีความเปนแมบา นแมเรือนชอบตัดเย็บมี ฝมอื และความชำนาญ ในการทอผาอยางมาก

เราสามารถเรียนร� วัฒนธรรมชาวยองที่นาสนใจใน หนาตอไปนะครับ..มอ..มอ.!!!


๕. วัฒนธรรมการแต่งกาย ผูชาย นิยมโพกหัวดวยผาสีออน เพื่อปองกันความรอนจากแสงแดด

และเหงื่อไคลจากการทำงาน โดยจะนิยมสวมเสื้อแขนยาวผาหนาอก คอเสื้อมีลักษณะคอกลมหรือคอตั้ง และสวมกางเกง (เตี่ยว) สะดอ

ผูหญิง นิยมเกลาผมมวยสูง และใชผาโพกหัวเก็บผมเวลาออก

นอกบาน โดยจะสวมเสื้อแขนยาว ปายตรงดานหนา เรียกวา “เสื้อปด” ตัดเย็บ ดวยผาฝายทีม่ สี อี อ น เชน สีขาว สีฟา หรือสีชมพู ผูห ญิงยองนิยม ใสผาซิ่นที่ทอดวยตนเอง ลักษณะตีนซิ่นนิยมใชผาสีเขียว

ผาโพกหัว

ผาโพกหัว

เสือ้ ปด�

เสือ้ แขนยาว

ซิน่ ตีนเขียว

กางเกงสะดอ ๗


๖. วัฒนธรรมความศรัทธา ชาวยองมีความศรัทธาตอพระพุทธศาสนาเปนอยางมาก ตองอาศัยความเพียรพยายาม จึงจะสามารถกระทำสิ่งที่ยิ่งใหญใหสำเร็จได

ประเพณีสลากยอม หญิงสาวชาวยองกอนที่จะแตงงานออกเรือน จะตองเปนผูที่มีนิสัย

ประหยัด อดออม เก็บหอมรอมริบขาวของเครื่องใช เพื่อเตรียมทำ ตนสลากยอม เมื่อหญิงสาวมีเงินพอที่จะทำตนสลากยอมแลว จึงเริ่ม ซื้อ ของเพื่อตระเตรียมไวทีละเล็กทีละนอย เชน สรอยคอทองคำ เข็มขัดเงิน และเครื่องเรือนเพื่อสรางตนสลากยอม ถือเปนการทำบุญ ครั้งใหญของผูหญิงชาวยอง

คุณแมคะลูกเก็บออม จนพรอมที่จะทำสลากยอม แลวคะ


การเตรียมเครื่องตกแตงตนสลากยอม หญิงสาวชาวยองจะใชเวลาวางในตอนเย็น เริ่มจากการ “จาตอง ”

คือ การรีดใบตอง ดวยเตารีดถานเพื่อใชสำหรับมวนบุหรี่ ซึ่งตองใช เปนจำนวนมากแลวนำบุหรี่ดังกลาวมาถักเปนแพ เรียกวา “มูลีแป ” (บุหรี่ที่ถักเรียงกันลงมามีความยาว ๓-๔ เมตร) เพื่อใชแขวนประดับ กับตนสลากยอม รอบๆ ขอบชายรมก็จะนำเหรียญสตางค ถักดวย ขาวเปลือกเรียงรอบขอบเหรียญดวยฝมือประณีตสวยงาม เรียกวา การถัก “ขะจา ” มารอยแขวนตกแตงโดยรอบๆ ขอบรม

การทำตนสลากตอง เตรียมของตกแตงกอน ใชไหมคะ

ใชแลวคะลูก เรามาชวยกัน นะคะ


การทำตนสลากยอม การทำตนสลากยอม จะนิยมทำตนสลากยอมใหมีขนาดใหญและสูง

ลำตนสลากยอมจะใชฟางมัดลอมรอบ เพือ่ งายแกการปกไมสำหรับแขวน สิ่งของตางๆ ใชกระดาษที่มีสีสันมาประดับจำนวนมาก มีการยอมสี บริเวณปลายไมไผ ซึ่งจะทำใหมีลักษณะคลายดอกไมไผ (ดอกฮองเฮ็ง) ดวยสีสันตางๆ ซึ่งทำใหเปนที่มาของคำวา “สลากยอม” ดานบนสุด ของยอดตนสลากยอม จะปกรมกางไวประดับดวยเหรียญถัก (ขะจา) และของมีคาอยางสวยงาม คือการนำไมไผ มาเหลาแลวนำไปยอมสี ใหสวยงามไงครับลูก

พอครับคำวา สลากยอม คืออะไรหรอ ครับ

๑๐


สวนประกอบตนสลากยอม ๑. สวนยอด จะนำรมมาปกกางไวบริเวณเชิงชายก็จะหอยรอยไปดวย เงินขะจาที่ตกแตงมาอยางสวยงาม ๒. สวนลำตน แกนดานในของตนสลากยอมทำจากฟางขาวมัดรวมกัน สำหรับเสียบไมไผปลายเปนดอกฮองเฮ็ง ยอมสีตางๆ ๓. สวนฐาน ของตนสลากยอมเปนสวนที่รับน้ำหนักของตนสลาก จึงตองมีความแข็งแรงอยางมาก

สวนยอด

สวนลำตน

สวนฐาน

๑๑


ประเพณีใสขันดอกบูชาเสาอินทขิล

เมื่อพระเจากาวิละไดอพยพชาวยองเขามาอยูที่จังหวัดลำพูนบริเวณ เวียงปาซาง พระเจากาวิละและชาวยองไดกำหนดวัดอินทขิลที่ตั้งอยู กลางใจเวียงปาซางจัดตั้งเสาหลักเมือง เรียกวา เสาอินทขิล อยูที่ วัดอินทขิล เพื่อใหชาวยองไดระลึกถึงการปกปองบานเมือง จากการ รุกรานของกองทัพพมารวมถึงการสรางบานเมืองใหเจริญมาจนถึง ปจจุบันอีกดวย

๑๒


ซึ่งในวันเดือนแปดเขา เดือนเกาออก (ชวงระหวางเดือนพฤษภาคม

และเดือนมิถุนายน) ของทุกปชาวยองจึงไดรวมกันระลึกถึงเหตุการณ สำคัญในการสรางบาน สรางเมือง จึงไดนำดอกไม ธูปเทียน มาบูชา เสาอินทขิล เปนประจำทุกปจนเปนประเพณีสืบทอดตอกันมา เรียกวา ประเพณี ใสขันดอกไมบูชาเสาอินทขิล วัดอินทขิล เวียงปาซาง

วันเดือนแปดเขา เดือนเกาออก เรานำดอกไมมาบูชา เสาอินทขิลกันครับ

เรามาบูชาเสาอินทขิล ดวยกันนะคะ

๑๓


ประเพณีการไหวพระธาตุ ครั ้ ง เมื่อชาวยองอยูที่เมืองยอง ไดยึดถือพระมหาธาตุจอมยอง

เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพบูชา แตเมื่อชาวยองไดอพยพเขามาอยูที่เมือง ลำพูน ก็ขาดที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ชาวยองจึงไดนำเอาความเชื่อเรื่อง การบูชาพระมหาธาตุจอมยอง เมื ่ อ อพยพเข า มาสู  เ มื อ งลำพู น ด ว ย

เราชาวยองมีความสุขที่ได บูชาพระมหาธาตุจอมยอง

๑๔


โดยชาวยองที่อพยพมาจากเมืองยองไดชวยกันสราง พระมหาธาตุ

จอมยององคจำลอง ไวที่วัดฉางขาวนอย ตำบลปาซาง เพื่อเปนที่ เคารพบูชากราบไหวของชาวยองที่อพยพเขามาอยูที่เมืองลำพูนซึ่ง ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนเกี๋ยง ของทุกป (ประมาณเดือนพฤษภาคม) ชาวยองไดจัดใหมีการบูชาพระธาตุและปฏิบัติสืบตอกันมา เรียกวา ประเพณีการไหวสาพระธาตุจอมยอง วัดฉางขาวนอย

วัดฉางขาวนอย

๑๕


ประเพณีบูชาเทวบุตรหลวง ชาวยอง มีความเชื่อวา มีเทวดาที่คอยเฝาดูแลรักษาพระมหาธาตุ

จอมยอง อยู ๔ องค เรียกวา เทวบุตรหลวง องคที่ ๑ ชื่อ สุรณะ เปนตัวแทนของความกลาหาญ การตอสู องคที่ ๒ ชื่อ มหิณิยังคะ เปนตัวแทนของความรักสามัคคี องคที่ ๓ ชื่อ ปทธิวระ เปนตัวแทนของการขยันทำมาหากิน ทำการเกษตร องคที่ ๔ ชื่อ ลักขณา เปนตัวแทนแหงการมีจิตใจและรางกายแข็งแรง

ปทธิวระ

มหิณิยังคะ สุรณะ

๑๖

ลักขณา


ชาวยองจึงไดอัญเชิญเทวะบุตรหลวง จากเมืองยองมาไวที่ วัดหัวขัว

และในวันที่ ๑๖ เดือนเมษายนของทุกป จะมีประเพณีบชู าเทวะบุตรทัง้ สี่ เรียกวา ประเพณีบูชาเทวะบุตรหลวง จัดขึ้นที่วัดหัวขัว ตำบลเวียงยอง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน โดยจะเตรียมของบูชา เชน มะพราว กลวยดิบ ออย ขาวเปลือก เทียนขีผ้ ง้ึ ผาขาวผาแดง และดอกไม เปนตน เพือ่ บูชา ใหกบั เทวบุตรหลวงทัง้ สีอ่ งคทค่ี อยปกปกรักษาพระมหาธาตุจอมยองและ บานเมืองไว

๑๗


๘. วัฒนธรรมดนตรี วัฒนธรรมดนตรีของชาวยอง เกิดขึ้นหลังจากฤดูการทำไร ทำนา ชาวยอง จะมารองรำทำเพลงอยางครื้นเครง เพื่อสรางความสามัคคี และเปนการผอนคลาย

ประเพณีแขงกลองหลวง

กลองหลวง เปนกลองทีช่ าวยองนิยมใชในการแหพธิ ี และงานประเพณี สำคัญตางๆ ของจังหวัดลำพูน เนื่องจากกลองหลวงเปนเครื่องดนตรี ที่มีขนาดใหญมีเสียงดังกังวาน เมื่อนำมาแหประเพณีตางๆ จึงทำใหดู ยิ่งใหญ ตอมานำมาตีแขงขันกันโดยใหเกิดเสียงดังกังวาน เพื่อความ สนุกสนาน

๑๘


สวนประกอบของกลองหลวง ๑. หนากลอง ทำมาจากหนังวัวตากแหงทั้งผืน นำมาขึงตึงเพื่อใหเกิด เสียง แลวนำขาวเหนียวผสมขี้เถาและทราย บดใหเขากันมาพอกเปน วงกลม เรียกวา จากลอง ๒. ตัวกลอง หรือไหกลอง ทำจากตนไมขนาดใหญทั้งตน นำมาควาน แกนดานในออกใหกลวง แลวใชเชือกขึงหนากลองที่ทำจากหนังวัวมา หมุนเปนเกลียว เพื่อยึดหนังกลองกับตัวกลอง ๓. เอวกลอง เปนไมทอนเดียวกับตัวกลอง แตมีเทคนิคในการสราง เอวกลองโดยการเจาะกลึงใหเปนวงกลมแลวคอยๆ ขยายกวางออก ไปจนถึงกนกลอง ๔. กนกลอง เปนสวนปลายสุดทีเ่ ชือ่ มจากเอวกลอง ซึง่ เสียงกลองจะดัง ออกมาจากบริเวณนี้ ดังนัน้ หากจะฟงเสียงกลองทีต่ แี ขงขันกันนัน้ จะตอง นั่งฟงบริเวณดานทายกลอง จากลอง

หนากลอง

เอวกลอง กนกลอง ๑๙


สรุป วัฒนธรรมชาวยอง เปนวัฒนธรรมที่ดีงามและมีเอกลักษณเปน

ของตนเอง วัฒนธรรมชาวยองไดสรางความสามัคคีใหแกสงั คมชาวยอง มีรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เรียบงาย สงบสุขตลอดมา ตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบัน ชาวยองไดรวมกันรักษาวัฒนธรรม ประเพณี จารีตของตนเอง มายาวนานอันเนือ่ งมาจาก วัฒนธรรมชาวยองไดสรางความเจริญรุง เรือง แกบานเมือง หากเมื่อวัฒนธรรมชาวยองสูญหายไปตามกาลเวลาและ สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ความดีงามที่บรรพบุรุษไดสรางไว ใหกับ ลูกหลานก็จะสูญหายไปดวย ดังนั้นเราควรอนุรักษวัฒนธรรมที่มี คุณคาของเราและสืบทอดวัฒนธรรมไว ใหอยูคูกับชาวยองตลอดไป

๒๐


1. ขะจา (ขะ-จา) เหรียญสตางคที่ถักขอบดวยขาวเปลือก 2. จากลอง (จา-กลอง) วงกลมสีดำบริเวณหนากลองทำจาก ขาวเหนียวผสมขี้เถาและทราย บดหรือตำใหเขากันแลวนำมา พอกบริเวณหนังกลอง 3. จาตอง (จา-ตอง) การรีดใบตองดวยความรอน 4. ซิ่น (ซิ่น) ผาสำหรับนุงของผูหญิง 5. ดอกฮองเฮ็ง (ดอก-ฮอง-เฮ็ง) ดอกไมไผ 6. เดือนเกี๋ยง (เดือน-เกี๋ยง) เดือนสิบเอ็ดหรือเดือนตุลาคม 7. เตี่ยวสะดอ (เตี่ยว-สะ-ดอ) กางเกงทรงหลวมที่ปลายขากวาง ความยาวขากางเกงอยูระหวางนองถึงขอเทา 8. มูลีแป (มู-ลี-แป) การนำใบตองที่จาตองแลวนำมามวนใหมี ลักษณะคลายมวนบุหรี่นำมาถักตอกันเปนแพยาว 9. วัฒนธรรม (วัด-ทะ- นะ-ทำ) การกระทำใหเกิดความเจริญ 10. เสื้อปด (เสื้อ-ปด) เสื้อผูหญิงมีลักษณะแขนยาว ผาหนาอก ลักษณะปายเฉียงถึงบริเวณเอว

๒๑


ประวัติผ ้เชีู ยวชาญ ดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมชาวยอง อาจารยแสวง มาละแซม ประวัตกิ ารศึกษา - จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่จังหวัด ลำพูน - ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง( ปก.ศ.สูง) จากวิทยาลัย ครูเชียงใหม - การศึกษาบัณฑิต(กศ.บ.) จากวิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร (ศศ.ม.) จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ผลงานทางวิชาการ - พ.ศ. 2556 : ทองถิ่นศึกษา: ยองศึกษา เทศบาลตำบลเวียงยอง อ.เมือง จ.ลำพูน พิมพ เผยแพร พ.ศ. 2556 - พ.ศ.2556 : ลุกเมืองยองมาฮอดลานนา - พ.ศ.2556 : “พัฒนาการของรัฐไทในตำนาน : กรณีเมืองยองในรัฐฉาน พุทธศตวรรษ ที่ 18-21 ” ในหนังสือชุดดวยรักเลมที่ 2 ชนชาติไทรวมบทความในโอกาส ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร.ฉัตรทิพย นาถสุภา อายุ 72 ป พ.ศ.2556 - พ.ศ.2554 : เมืองยอง ฅนยอง : ตำนาน ประวัติศาสตร สังคมและวัฒนธรรม - พ.ศ.2553 : ฅนยองเมืองลำพูน ฅนยองปาซาง : พัฒนาการทางประวัติศาสตร สังคมและ วัฒนธรรม, เอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุมการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม สาระประวัติศาสตรทองถิ่น, โรงเรียนบานหนองเกิด อ.ปาซาง จ.ลำพูน พ.ศ.2553 - พ.ศ.2553 : สืบสานตำนานฅนยองลำพูน-ยองโลก, จังหวัดลำพูน พิมพเผยแพร สิงหาคม 2553 - พ.ศ.2552 : ฅนยอง : ตำนาน การเดินทางและการสรางบานแปลงเมืองจัดพิมพเผยแพร โดย จังหวัดลำพูน, เทศบาลตำยลเวียงยอง, สมาคมชาวยอง, สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดลำพูน, 2552 - พ.ศ.2538 : รางวัลมูลนิธิโตโยตาประเทศไทย (Toyota Thailand Foundation Award: TTF Award) ประจำป พ.ศ.๒๕๓๘ จากมูลนิธิโตโยตาประเทศไทย จากผลงานการ วิจัยทางวิชาการดีเดนสาขามนุษยศาสตร เรื่อง “ประวัติศาสตรทองถิ่น : คนยองยาย แผนดิน” รางวัลผูนำเสนอผลงานวิจัยดีเดน สาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตร

๒๒


ประวัติผ ้เชีู ยวชาญ ดานการออกแบบสื่อการเรียนร�

อาจารยระรินทร โรจนวัฒนวุฒิ การศึกษา - ระดับ ปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบณ ั ฑิต สาขา ออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม - ระดับ ปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีสอ่ื และการสือ่ สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

การทำงาน - อาจารยพเิ ศษมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพเชียงใหม - อาจารยพเิ ศษมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

๒๓


ประวัติผ ้เชีู ยวชาญ คร�ผูสอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3

ครูพกิ ลุ ทอง หมอศาสตร การศึกษา

- ระดับ ปริญญาตรี วิชาเอกภาษาอังกฤษ วิทยาลัยครูเชียงใหม - ระดับ ปริญญาโท วิชาเอก การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยฐานะ

- ครูชำนาญการพิเศษ ระดับ คศ. 3(4)

สถานทีท่ ำงาน

- โรงเรียนบานปาซาง อำเภอปาซาง จังหวัดลำพูน

๒๕


บรรณานุกรม แสวง มาลาแซม. (2540) . ฅนยองยายแผนดิน . กร�งเทพมหานคร : สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. แสวง มาลาแซม. (2552). คนยอง : ตำนาน การเดินทางและสรางบาน แปงเมือง . เชียงใหม .จรัสธุรกิจการพิมพ แสวง มาลาแซม. (2558). เอกสารความร�สลากภัต สลากยอม. สมาคม ฅนยอง. เชียงใหม .โรงพิมพแม็กซพริ้นติ้ง. โครงการพิพิธภัณฑวัฒนธรรมและชาติภัณฑลานนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม .ไทยอง.(ออนไลน).สืบคนจาก http:// www.sri.cmu.ac.th/ethnictai/TaiYongEtc.htm (วันที่ สืบคน 15 กุมภาพันธ 2559) นำชัย โอวานิต. (2558) “เตวะบุตรโหลง” ศูนยรวมใจของคนยองเมือง ลำพูน (ออนไลน).สืบคนจาก http://www.chiangmainews.co.th/ page/?p=403002 (วันที่สืบคน 20กุมภาพันธ 2559 ) สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน 2549 มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม กลองหลวงจังหวัดลำพูน สืบคนจาก http://ich.culture.go.th/ index.php/th/ich/performing-arts/236-performance/249 -----m-s (วันที่สืบคน 7 กันยายน 2558 )

๒๕



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.