หนังสือชาวยอง7 7 59

Page 1


หนังสือสงเสริมการอาน เรื่อง

คณะผูจัดทำ

นายสุริยา กลาถิ่นภู นายวรเชษฐ สิทธิตรี

อาจารยที่ปรึกษา อาจารยปลูกเกษม ชูตระกูล อาจารยอรนุช คำแปน ที่มา

หนังสือสงเสริมการอาน เรื่องวัฒนธรรมชาวยองจัดทำขึ้นเพื่อ การศึกษาในรายวิชาโครงงานศึกษา วิชาเอกเทคโนโลยีการพิมพ หลักสูตรสาขาเทคโนโลยีศิลป สาขาเทคโนโลยีศิลป คณะ ศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา เชียงใหม

พิมพครั้งที่

๑ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๙ จำนวน ๑๔ เลม


คำนำ หนังสือสงเสริมการอานวัฒนธรรมชาวยอง จัดทำขึ้นเพื่อ ใชประกอบในกิจกรรมลดเวลาเพิ่มเวลารู ของโรงเรียนบานปาซาง จังหวัดลำพูน ซึ่งไดดำเนินกิจกรรมตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีจุดมุงหมายใหผูเรียนไดเรียนรู และเขาใจวัฒนธรรมทองถิ่น ของตนเอง เพื่อตระหนักถึงความสำคัญ และคุณคาของวัฒนธรรม ดั้งเดิม เพื่อชวยกันสืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามไว ใหคงอยูตลอดไป


คำอธิบาย วัฒนธรรมเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นมาไดแก ภาษา อาหาร ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศิลปะ จริยธรรม และ เทคโนโลยีตา งๆ อาจกลาวไดวา วัฒนธรรมเปนสิง่ ทีช่ ว ยใหมนุษย สามารถดำเนินชีวิตรวมกันไดอยางสงบสุข เพราะมนุษยจะตอง อาศัยประโยชนจากธรรมชาติ และจะตองรูจ กั ควบคุมความประพฤติ ของมนุษยดว ยกัน ใหสามารถอยูร ว มกันไดอยางสงบสุข วัฒนธรรม จึงเปนสิ่งที่หลอหลอมใหมนุษยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และดำเนินชีวิต ไดอยางมีความสุข วัฒนธรรมชาวยองเปนสิ่งที่ถูกสรางขึ้น และมีการสืบทอด มายาวนาน ชาวยองมีวถิ กี ารดำเนินชีวติ แบบเรียบงายตามธรรมชาติ มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ อีกทัง้ วัฒนธรรม ชาวยองไดสรางความสามัคคี ความสุข และความเจริญรุงเรือง ใหแกชาวยองตลอดมา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน


สารบัญ เนื้อเรื่อง ๑. กำเนิดวัฒนธรรมชาวยอง ๒. สงครามขยายอำนาจ ๓. การอพยพเคลื่อนยายชาวยอง ๔. วัฒนธรรมการดำเนินชีวิตของชาวยอง ๕. วัฒนธรรมการแตงกายของชาวยอง ๖. วัฒนธรรมความศรัทธาชาวยอง • ประเพณีสลากยอม ๗. วัฒนธรรมการบูชา • ประเพณีบูชาเสาอินทขิล • ประเพณีการไหวพระธาตุ • ประเพณีบูชาเทวบุตรหลวง ๘. วัฒนธรรมดนตรีชาวยอง • ประเพณีแขงกลองหลวง ๙. สรุป

หนา ๑ ๒ ๔ ๖ ๗ ๘

คำศัพทนารู คำถามทายเรื่อง ประวัติผูเชี่ยวชาญ • ดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมชาวยอง • ดานการออกแบบสื่อการเรียนรู • ดานนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ ๓ บรรณานุกรม

๒๑ ๒๒

๑๒

๑๘ ๒๐


ทิศเหนือ

แผนทีเมืองยอง จีน เชียงรุง เชียงตุง

พมา

สิบสองพันนา

เมืองยอง ลานชาง

ลาว เชียงใหม ลำพูน

ไทย


ครอบครัวชาวยอง

แนะนำตัวละคร

พระเจากาวิละ กษัตริยพมา ชาวลัวะ

ชาวยอง พระสงฆชาวยอง



ดินแดนพืน้ ทีท่ างดานตะวันออกของประเทศพมา ซึง่ มีแมนำ้ สาย สำคัญไหลผาน เรียกวา ”แมน้ำยอง” เนื่องจากมีความอุดมสมบูรณ จึงมีคนพืน้ เมือง เรียกวา “ชาวลัวะ หรือทมิละ“ เขามาอาศัยอยูภ ายหลัง มีชาวไทลือ้ จากเมืองเชียงรุง ไดอพยพเขามาอยูร ว มกันในบริเวณนีด้ วย จึงเกิดการความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมของคนพื้นเมือง และ วัฒนธรรมชาวไทลื้อผสมผสานกัน กอกำเนิดการดำเนินวิถีชีวิตที่ เรียกวา ”วัฒนธรรมชาวยอง” ขึน้ ชาวยองมีความเชือ่ และความศรัทธา ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จึงรวมกันสรางพระมหาธาตุจอมยองเพื่อเปนสิ่งยึด เหนี่ยวจิตใจและเคารพบูชาสูงสุดของชาวยอง


๒. สงครามขยายอำนาจ ในขณะนั้นประเทศพมาเปนประเทศที่มีอำนาจใหญกวา ดินแดนใกลเคียง กษัตริยพมาทรงมีนโยบายขยายอำนาจไปยังดินแดน ตางๆ ทีอ่ ยูร ายรอบ เพือ่ สรางความยิง่ ใหญ โดยจะสงไพรพลไปทำสงคราม เพือ่ ยึดเมืองตางๆ ซึง่ รวมถึงเมืองยองทีต่ ง้ั อยูในเขตรัฐฉานตะวันออกติด กับดินแดนลานชางและสิบสองพันนา และไดเกณฑ ไพรพลรวมถึง ชาวยอง เพื่อรวมทำสงครามขยายอำนาจ

เหลาทหารพมาทั้งหลาย จงไปยึดเมืองลานนามาให ได


จนกระทั่งกองทัพพมาเดินทางมาถึงดินแดนลานนา ซึ่งในขณะ นั้นพระเจากาวิละ เปนผูนำในดินแดนลานนา ทรงรวบรวมไพรพล มาอยูท ่ี เวียงปาซาง เขตเมืองลำพูนระหวางป พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๓๙ เพือ่ จัดตัง้ กองทัพตอสูก บั กองทัพพมาและปกปองดินแดนลานนา จนในทีส่ ดุ กองทัพพมาไดยกทัพหนีกลับไป หลังจากการทำสงครามในครั้งนี้ เกิดความเสียหายอยางมากทำใหผูคนในดินแดนลานนาลดนอยลง พวกเราจงรวมกัน ปกปองดินแดนลานนา ของเราไว


๓. อพยพเคลือนย้ายชาวยอง ภายหลังเสร็จสิ้นจากการทำสงครามกับพมาในครั้งนั้น ทำให เกิดการสูญเสียเปนอยางมาก ทัง้ บานเมืองและผูค น พระเจากาวิละจึงได รวบรวมผูคนจากเมืองตางๆ เพื่อดำเนินการฟนฟูดินแดนลานนา ซึ่ง พระเจากาวิละไดมีแนวคิดในการรวบรวมผูคน โดยมีเปาหมายหลักอยู ที่ เมืองยอง เนื่องจากชาวยองเปนผูที่ความเรียบงาย มีวัฒนธรรมที เ่ ขมแข็งดีงาม และมีความสามารถในดานตางๆ ซึง่ จะสงผลดีตอ การฟน ฟู บานเมือง

เราขออพยพชาวยอง เพื่อชวยฟนฟูดินแดนลานนา


พระเจากาวิละจึงไดมอบหมายให้ เจาอุปราชธัมมลงั กา และ เจาคำฝนนำกองทัพเชียงใหมยกไปเมืองยอง ในป ๒๓๔๗-๒๓๔๘ เพื่อรวบรวมชาวยอง โดยอพยพชาวเมืองเปนจำนวนมาก เรียกวา “การอพยพแบบเทครัว” ซึง่ ประกอบดวย เจาเมือง ผูน ำชุมชน พระสงฆ และชาวบาน เพื่อเขามาฟนฟูดินแดนลานนา บริเวณเมืองลำพูน จึงเปน สาเหตุใหชาวยองจำนวนมาก เขามาจัดตัง้ ชุมชนในจังหวัดลำพูน และเปน สาเหตุสำคัญของการเขามาของวัฒนธรรมของชาวยองในดินแดนลานนา อีกดวย


๔. วัฒนธรรมการดำเนินชีวิต เมื่อชาวยองอพยพเขามาฟนฟูดินแดนลานนาแลว ไดสรางบาน เรือน และตั้งชุมชนอยูบริเวณเมืองลำพูน ชาวยองไดดำเนินชีวิตอยาง เรียบงายและสงบสุข ผูชายชาวยองสวนใหญมักประกอบอาชีพทำการ เกษตร เลีย้ งสัตว ทำไร ทำนา สวนผูห ญิงชาวยองมีนสิ ยั เรียบรอย ประณีต ประหยัด มัธยัสถ มีความเปนแมบานแมเรือน ชอบตัดเย็บ มีฝมือและ ความชำนาญในการทอผาอยางมาก

เราสามารถเรียนร� วัฒนธรรมชาวยองที่นาสนใจใน หนาตอไปนะครับ..มอ..มอ.!!!


๕. วัฒนธรรมการแต่งกาย ผูชาย นิยมโพกหัวดวยผาสีออน เพื่อปองกันความรอนจากแสงแดด

และเหงื่อไคลจากการทำงาน โดยจะนิยมสวมเสื้อแขนยาวผาหนาอก คอเสื้อมีลักษณะคอกลมหรือคอตั้ง และสวมกางเกง (เตี่ยว) สะดอ

ผูหญิง นิยมเกลาผมมวยสูง และใชผาโพกหัวเก็บผมเวลาออก

นอกบาน โดยจะสวมเสื้อแขนยาว ปายตรงดานหนา เรียกวา “เสื้อปด” ตัดเย็บดวยผาฝายทีม่ สี อี อ น เชน สีขาว สีฟา หรือสีชมพู ผูห ญิงชาวยอง นิยมใสผาซิ่นที่ทอดวยตนเอง ลักษณะตีนซิ่นนิยมใชผาสีเขียว

ผาโพกหัว

ผาโพกหัว

เสือ้ ปด�

เสือ้ แขนยาว

ซิน่ ตีนเขียว

กางเกงสะดอ ๗


๖. วัฒนธรรมความศรัทธา ชาวยองมีความศรัทธาตอพระพุทธศาสนาเปนอยางมาก ตองอาศัยความเพียรจึงจะสามารถกระทำสิ่งที่ยิ่งใหญใหสำเร็จได

• ประเพณีสลากยอม หญิงสาวชาวยองกอนที่จะแตงงานออกเรือน จะตองเปนผูที่ มีนิสัย ประหยัด อดออม เก็บหอมรอมริบขาวของเครื่องใชเพื่อเตรียม ทำตนสลากยอม เมือ่ หญิงสาวมีเงินพอทีจ่ ะทำตนสลากยอมแลวจึงเริ่ม ซื้อ ของเพื่อตระเตรียมไวทีละเล็กทีละนอย เชน สรอยคอทองคำ เข็มขัดเงิน และเครื่องเรือน เพื่อสรางตนสลากยอมถือเปนการทำบุญ ครั้งใหญของผูหญิงชาวยอง

คุณแมคะลูกเก็บออม พรอมที่จะทำสลากยอมแลวคะ


การเตรียมเครื่องตกแตงตนสลากยอม หญิงสาวชาวยองจะใชเวลาวางในตอนเย็น เริม่ จาก การจาตอง คือ การรีดใบตอง ดวยเตารีดถานเพื่อใชสำหรับมวนบุหรี่ ซึ่งตองใช เปนจำนวนมากแลวนำบุหรี่ดังกลาวมาถักเปนแพ เรียกวา “มูลีแป ” (บุหรี่ที่ถักเรียงกันลงมามีความยาว ๓-๔ เมตร) เพื่อใชแขวนประดับ กับตนสลากยอม รอบๆ ขอบชายรมก็จะนำเหรียญสตางค ถักดวย ขาวเปลือกเรียงรอบขอบเหรียญดวยฝมือประณีตสวยงาม เรียกวา “การถักขะจา ” มารอยแขวนตกแตงโดยรอบๆ ขอบรม

มูลีแป

จาตอง

เหรียญขะจา


การทำตนสลากยอม การทำตนสลากยอม จะนิยมทำตนสลากยอมใหมขี นาดสูง และ ใหญ ลำตนสลากยอมจะใชฟางมัดลอมรอบ เพื่องายแกการปกไมไผ บริเวณปลายไมจะมีการยอมสีใหมสี สี นั หลากหลาย และจะใชกระดาษสีมา ประดับจำนวนมาก ทำใหมลี กั ษณะคลายดอกไมไผท่ี เรียกวา “ดอกฮองเฮ็ง” ดวยสีสันตางๆ ซึ่งทำใหเปนที่มาของคำวา “สลากยอม”

การนำไมไผ ยอมสีใหสวยงาม ไงครับลูก

พอครับคำวา สลากยอม คืออะไรหรอ ครับ

๑๐


สวนประกอบตนสลากยอม ๑. สวนยอด ดานบนสุดของยอดของตนสลากยอมจะนำรมมาปกกางไว บริเวณเชิงชายก็จะประดับไปดวย เหรียญขะจา ทีต่ กแตงอยางสวยงาม ๒. สวนลำตน แกนดานในของตนสลากยอม ทำจากฟางขาวมัดลอม รอบแกนดานใน สำหรับเสียบไมไผที่มีสวนปลายเปนดอกฮองเฮ็ง ยอมดวยสีตางๆ ๓. สวนฐาน ทำจากโครงไมไผเปนสวนที่รับน้ำหนักของตนสลากยอม จึงตองมีความแข็งแรงอยางมาก

สวนยอด

สวนลำตน

สวนฐาน

๑๑


วัฒนธรรมการบูชา เปนการยกยอง เชิดชูสิ่งที่ เคารพนับถือโดยการบูชาดวยสิ่งของที่สวยงาม เชน ดอกไม

• ประเพณี ใสขันดอกบูชาเสาอินทขิล เมื่อพระเจากาวิละไดอพยพชาวยองเขามาอยูที่จังหวัดลำพูน บริเวณเวียงปาซาง พระเจากาวิละและชาวยองไดกำหนดวัดอินทขิล ทีต่ ง้ั อยูก ลางใจเวียงปาซางจัดตัง้ เสาหลักเมือง เรียกวา “เสาอินทขิล” อยูท ่วี ดั อินทขิล เพือ่ ใหชาวยองไดระลึกถึงการปกปองบานเมือง จาก การรุกรานของกองทัพพมา รวมถึงการสรางบานเมืองใหเจริญมา จนถึงปจจุบันอีกดวย

วัดอินทขิล

๑๒


ซึ่งในวันเดือนแปดเขา เดือนเกาออก (ชวงระหวางเดือน พฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน)ของทุกป ชาวยองจึงไดรวมกันระลึกถึง เหตุการณสำคัญในการสรางบานเมือง จึงไดนำดอกไม ธูปเทียน มาบูชา เสาอินทขิล เปนประจำทุกป จนเปนประเพณีสืบทอดตอกันมา เรียกวา “ประเพณี ใสขนั ดอกบูชาเสาอินทขิล ” วัดอินทขิล ตำบลปาซาง จังหวัด ลำพูน

วันเดือนแปดเขา เดือนเกาออก เรามาบูชาเสาอินทขิลกันครับ

เรามาบูชาเสาอินทขิล ดวยกันนะคะ

๑๓


• ประเพณีการไหวพระธาตุ ครั้งเมื่อชาวยองอยูที่เมืองยอง ไดยึดถือพระมหาธาตุจอมยอง เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพบูชา แตเมื่อชาวยองไดอพยพเขามาอยูที่เมือง ลำพูน ก็ขาดที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ชาวยองจึงไดนำเอาความเชื่อเรื่อง การบูชาพระมหาธาตุจอมยอง เมื ่ อ อพยพเข า มาสู  เ มื อ งลำพู น ด ว ย

เราชาวยองมีความสุขที่ได บูชาพระมหาธาตุจอมยอง

๑๔


โดยชาวยองทีอ่ พยพมาจากเมืองยองไดชว ยกันสราง พระมหาธาตุ จอมยององคจำลอง ไวที่วัดฉางขาวนอย ตำบลปาซาง เพื่อเปนที่ เคารพบูชากราบไหวของชาวยองที่อพยพเขามาอยูที่เมืองลำพูนซึ่ง ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนเกี๋ยง ของทุกป (ประมาณเดือนตุลาคม) ชาวยองไดจัดใหมีการบูชาพระธาตุและปฏิบัติสืบตอกันมา เรียกวา ประเพณีการไหวสาพระธาตุจอมยอง

วัดฉางขาวนอย

๑๕


• ประเพณีบูชาเทวบุตรหลวง

ชาวยอง มีความเชื่อวา มีเทวดาที่คอยเฝาดูแลรักษาพระมหาธาตุ

จอมยอง อยู ๔ องค เรียกวา เทวบุตรหลวง องคที่ ๑ ชื่อ สุรณะ เปนตัวแทนของความกลาหาญ การตอสู องคที่ ๒ ชื่อ มหิณิยังคะ เปนตัวแทนของความรักสามัคคี องคที่ ๓ ชื่อ ปทธิวระ เปนตัวแทนของการขยันทำมาหากิน ทำการเกษตร องคที่ ๔ ชื่อ ลักขณา เปนตัวแทนแหงการมีจิตใจและรางกายแข็งแรง

ปทธิวระ

มหิณิยังคะ สุรณะ

๑๖

ลักขณา


ชาวยองจึงไดอัญเชิญเทวะบุตรหลวงจากเมืองยอง โดยสราง หอเทวบุตรหลวง ไวที่ วัดหัวขัว และในวันที่ ๑๖ เดือนเมษายนของ ทุกป จะมีประเพณีบูชาเทวะบุตรทั้งสี่องคเรียกวา “ประเพณีบูชาเทวะ บุตรหลวง” จัดขึน้ ทีว่ ดั หัวขัว ตำบลเวียงยอง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน โดยจะเตรียมของบูชา เชน มะพราว กลวยดิบ ออย ขาวเปลือก เทียนขีผ้ ง้ึ ผาขาว ผาแดง และดอกไม เปนตน เพือ่ บูชาใหกบั เทวบุตรหลวงทัง้ สีอ่ งค ทีค่ อยปกปกรักษาพระมหาธาตุจอมยองและบานเมืองไว

หอเทวบุตรหลวง

วัดหัวขัว

๑๗


๘. วัฒนธรรมดนตรี วัฒนธรรมดนตรี เกิดขึ้นหลังฤดูการเก็บเกี่ยวพืชผล มีการรองรำทำเพลงอยางครื้นเครง เพื่อเปนการผอนคลาย และสรางความสามัคคี

• ประเพณีแขงกลองหลวง กลองหลวง เปนกลองที่ชาวยองนิยมใช ในพิธี และงานประเพณี สำคัญตางๆ ของจังหวัดลำพูน เนือ่ งจากกลองหลวงเปนเครือ่ งดนตรีทม่ี ี ขนาดใหญมีเสียงดังกังวาน เมื่อนำมารวมแหในงานพิธีตางๆ จะทำใหดู ยิง่ ใหญ ตอมาเริ่มนำมาตีแขงขันเพื่อความสนุกสนาน

๑๘


๑. หนากลอง ทำมาจากหนังวัวตากแหงทั้งผืน แลวนำมาขึงตึง เพื่อให เกิดเสียง แลวนำขาวเหนียวผสมขี้เถาและทราย บดใหเขากันพอก เปนวงกลม เรียกวา “จากลอง” ๒. ตัวกลอง หรือไหกลองทำจากตนไมขนาดใหญทง้ั ตน นำมาควานแกน ดานในออกใหกลวง แลวใชเชือกขึงหนากลองทีท่ ำจากหนังวัวมาหมุน เปนเกลียว เพื่อยึดหนังกลองกับตัวกลอง ๓. เอวกลอง เปนไมทอ นเดียวกับตัวกลอง แตมเี ทคนิคในการสรางเอว กลองโดยการเจาะกลึงใหเปนวงกลม แลวคอยๆ ขยายกวางออกไป จนถึงกนกลอง ๔. กนกลอง เปนสวนปลายสุดทีเ่ ชือ่ มจากเอวกลอง ซึง่ เสียงกลองจะดัง ออกมาจากบริเวณนี้ ดังนัน้ หากจะฟงเสียงกลองทีต่ แี ขงขันกัน จะตอง นั่งฟงบริเวณดานทายกลอง หนากลอง

จากลอง

ตัวกลอง เอวกลอง กนกลอง


สรุป วัฒนธรรมชาวยอง เปนวัฒนธรรมที่ดีงาม และมีเอกลักษณ เปนของตนเอง วัฒนธรรมไดสรางความสามัคคีใหแกสังคมชาวยอง มีรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เรียบงาย สงบสุขตลอดมา ตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบัน ชาวยองไดรวมกันรักษาวัฒนธรรม ประเพณี จารีตของตนเอง มายาวนาน อันเนือ่ งมาจากวัฒนธรรมชาวยองไดสรางความเจริญรุง เรือง แกบา นเมือง หากเมือ่ วัฒนธรรมสูญหายไปตามกาลเวลาและสภาพสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไป ความดีงามที่บรรพบุรุษไดสรางไว ใหกับลูกหลานก็ จะสูญหายไปดวย ดังนั้นเราควรอนุรักษวัฒนธรรมที่มีคุณคาของ เราและสืบทอดวัฒนธรรมไว ใหอยูคูกับชาวยองตลอดไป

๒๐


๑. ขะจา (ขะ-จา) เหรียญสตางคที่ถักขอบดวยขาวเปลือก ๒. จากลอง (จา-กลอง) วงกลมสีดำบริเวณหนากลองทำจากขาวเหนียว ผสมขี้เถาและทราย บดหรือตำใหเขากัน แลวนำมาพอกบริเวณ หนังกลอง ๓. จาตอง (จา-ตอง) การรีดใบตองดวยความรอน ๔. ซิ่น (ซิ่น) ผาสำหรับนุงของผูหญิง ๕. ดอกฮองเฮ็ง (ดอก-ฮอง-เฮ็ง) ดอกไมไผ ๖. เดือนเกี๋ยง (เดือน-เกี๋ยง) เดือนสิบเอ็ดหรือเดือนตุลาคม ๗. เตี่ยวสะดอ (เตี่ยว-สะ-ดอ) กางเกงทรงหลวมที่ปลายขากวาง ความยาวขากางเกงอยูระหวางนองถึงขอเทา ๘. มูลแี ป (มู-ลี-แป) การนำใบตองทีจ่ า ตองแลว นำมามวนใหมลี กั ษณะ คลายมวนบุหรี่นำมาถักตอกันเปนแพยาว ๙. วัฒนธรรม (วัด-ทะ- นะ-ทำ) การกระทำใหเกิดความเจริญ ๑๐. เสือ้ ปด (เสือ้ -ปด ) เสือ้ ผูห ญิงมีลกั ษณะแขนยาว ผาหนาอกลักษณะ ปายเฉียงถึงบริเวณเอว ๑๑. เทครัว (เท-ครัว) การอพยพทั้งระบบการปกครอง ๑๒. สิบสองพันนา (สิบ-สอง-พัน-นา) ดินแดนประกอบดวย ๑๒ หัวเมือง ไดแก เมืองฮาย เมืองมาง เมืองหุน เมืองแจ เมืองฮิง เมืองลวง เมืองอิงู เมืองลา เมืองพง เมืองอู เมืองออง และ เมืองเชียงรุง ๑๓. ชาวลัวะ (ชาว-ลัวะ) ชนพื้นเมืองกลุมหนึ่ง มักอาศัยอยูบริเวณ เชิงเขา ๑๔. ชาวไทลือ้ (ชาว-ไท-ลือ้ ) เปนชาวไทกลุม หนึง่ มีถน่ิ ฐานเดิมอยูใน แถบสิบสองพันนาของประเทศจีน ๑๕. ออกเรือน (ออก-เรือน) การที่หญิงสาวแตงงานมีครอบครัว

๒๑


คำถามท้ายเรือง ๑. วัฒนธรรมชาวยองเกิดจากการผสมผสานระหวางวัฒนธรรมใด ? ๒. สิ่งที่ชาวยองเคารพนับถือสูงสุด คืออะไร ? ๓. การอพยพชาวยองครั้งสำคัญที่สุด เรียกวาอะไร? ๔. เหตุใดพระเจากาวิละจึงอพยพชาวยองจากเมืองยองเขามาอยูที่ดินแดนลานนา ? ๕. กลองหลวงมีสวนประกอบ อะไรบาง ? ๖. หญิงสาวชาวยองมีความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีการทำสลากยอม อยางไรบาง ? ๗. เหตุใดชาวยองจึงสรางพระมหาธาตุจอมยององคจำลองไวที่วัดฉางขาวนอย ? ๘. พระเจากาวิละมีเปาหมายการรวบรวมผูคนเพื่ออพยพครั้งสำคัญที่เมืองใด ? ๙. บริเวณตีนผาซิ่นของหญิงสาวชาวยองมักจะเปนสีใด ? ๑๐. พระเจากาวิละรวบรวมไพลพลเพื่อปองกันกองทัพพมาที่บริเวณใด ?

๒๒



ประวัติผู้ เชียวชาญ ดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมชาวยอง อาจารยแสวง มาละแซม ประวัตกิ ารศึกษา - จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่จังหวัด ลำพูน - ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง( ปก.ศ.สูง) จากวิทยาลัย ครูเชียงใหม - การศึกษาบัณฑิต(กศ.บ.) จากวิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร (ศศ.ม.) จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ผลงานทางวิชาการ - พ.ศ. 2556 : ทองถิ่นศึกษา: ยองศึกษา เทศบาลตำบลเวียงยอง อ.เมือง จ.ลำพูน พิมพ เผยแพร พ.ศ. 2556 - พ.ศ.2556 : ลุกเมืองยองมาฮอดลานนา - พ.ศ.2556 : “พัฒนาการของรัฐไทในตำนาน : กรณีเมืองยองในรัฐฉาน พุทธศตวรรษ ที่ 18-21 ” ในหนังสือชุดดวยรักเลมที่ 2 ชนชาติไทรวมบทความในโอกาส ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร.ฉัตรทิพย นาถสุภา อายุ 72 ป พ.ศ.2556 - พ.ศ.2554 : เมืองยอง ฅนยอง : ตำนาน ประวัติศาสตร สังคมและวัฒนธรรม - พ.ศ.2553 : ฅนยองเมืองลำพูน ฅนยองปาซาง : พัฒนาการทางประวัติศาสตร สังคมและ วัฒนธรรม, เอกสารประกอบการเรียนการสอน กลุมการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม สาระประวัติศาสตรทองถิ่น, โรงเรียนบานหนองเกิด อ.ปาซาง จ.ลำพูน พ.ศ.2553 - พ.ศ.2553 : สืบสานตำนานฅนยองลำพูน-ยองโลก, จังหวัดลำพูน พิมพเผยแพร สิงหาคม 2553 - พ.ศ.2552 : ฅนยอง : ตำนาน การเดินทางและการสรางบานแปลงเมืองจัดพิมพเผยแพร โดย จังหวัดลำพูน, เทศบาลตำบลเวียงยอง, สมาคมชาวยอง, สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดลำพูน, 2552 - พ.ศ.2538 : รางวัลมูลนิธิโตโยตาประเทศไทย (Toyota Thailand Foundation Award: TTF Award) ประจำป พ.ศ.๒๕๓๘ จากมูลนิธิโตโยตาประเทศไทย จากผลงานการ วิจัยทางวิชาการดีเดนสาขามนุษยศาสตร เรื่อง “ประวัติศาสตรทองถิ่น : คนยองยาย แผนดิน” รางวัลผูนำเสนอผลงานวิจัยดีเดน สาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตร


ประวัติผู้ เชียวชาญ ดานการออกแบบสื่อการเรียนร�

อาจารยระรินทร โรจนวัฒนวุฒิ การศึกษา - ระดับ ปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบณ ั ฑิต สาขา ออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม - ระดับ ปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีสอ่ื และการสือ่ สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

การทำงาน - อาจารยพเิ ศษมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพเชียงใหม - อาจารยพเิ ศษมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม


ประวัติผู้ เชียวชาญ คร�ผูสอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3

ครูพกิ ลุ ทอง หมอศาสตร การศึกษา

- ระดับ ปริญญาตรี วิชาเอกภาษาอังกฤษ วิทยาลัยครูเชียงใหม - ระดับ ปริญญาโท วิชาเอก การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยฐานะ

- ครูชำนาญการพิเศษ ระดับ คศ. 3(4)

สถานทีท่ ำงาน

- โรงเรียนบานปาซาง อำเภอปาซาง จังหวัดลำพูน


บรรณานุกรม แสวง มาละแซม. (2540) . ฅนยองยายแผนดิน . กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. แสวง มาละแซม. (2552). คนยอง : ตำนาน การเดินทางและสรางบาน แปงเมือง . เชียงใหม .จรัสธุรกิจการพิมพ แสวง มาละแซม. (2558). เอกสารความรูสลากภัต สลากยอม. สมาคม ฅนยอง. เชียงใหม .โรงพิมพแม็กซพริ้นติ้ง. โครงการพิพิธภัณฑวัฒนธรรมและชาติภัณฑลานนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม .ไทยอง.(ออนไลน).สืบคนจาก http:// www.sri.cmu.ac.th/ethnictai/TaiYongEtc.htm (วันที่ สืบคน 15 กุมภาพันธ 2559) นำชัย โอวานิต. (2558) “เตวะบุตรโหลง” ศูนยรวมใจของคนยองเมือง ลำพูน (ออนไลน).สืบคนจาก http://www.chiangmainews.co.th/ page/?p=403002 (วันที่สืบคน 20กุมภาพันธ 2559 ) สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน 2549 มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม กลองหลวงจังหวัดลำพูน สืบคนจาก http://ich.culture.go.th/ index.php/th/ich/performing-arts/236-performance/249 -----m-s (วันที่สืบคน 7 กันยายน 2558 )



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.