สารเครือข่าย สฉพ ปีที่ 2 ฉบับที่ 4

Page 1

à¤Ã×Í¢‹ÒÂ

¡ÒÃá¾·Â©Ø¡à©Ô¹

สาร www.niems.go.th

ปที่ 2 : ประจำเดือน เมษายน - มิถุนายน พ.ศ. 2559 ฉบับที่

04

นโยบายการขับเคลื่อน งานการแพทย์ฉุกเฉินไทย

ส�ำนักประสานการแพทย์ฉุกเฉินและเครือข่ายสัมพันธ์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ


บทบรรณาธิการ สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉิน ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 4 ในปีงบประมาณ 2559 มีวัตถุประสงค์ เพื่ อ สื่ อ สารและแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ก ารพั ฒ นาระบบ นวัตกรรมงานการแพทย์ฉุกเฉิน และจุดประกายในการขับ เคลื่อนงานการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศ ฉบับนี้น�ำเสนอ ประเด็น นโยบายการขับเคลื่อนงานการแพทย์ฉุกเฉินไทยของ ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข /ประธานกรรมการ การแพทย์ฉุกเฉิน โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง (Advance EMS Project) การรับรองรถบริการ การแพทย์ ฉุ ก เฉิ น การศึ ก ษาและฝึ ก อบรมในระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน การแพทย์ฉุกเฉินในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ การช่ ว ยฟื ้ น คื น ชี พ (CPR) ในระบบการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น และบทเรี ย นจากการค้ น หาผู ้ ป ระสบภั ย ใต้ น�้ ำ มาสู ่ งานการป้ องกั น การจมน�้ำในชุมชน หวั ง ว่ า สารเครื อ ข่ า ย จะเป็ น พื้ น ที่ ใ นการสื่ อ สาร แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กั บ เครื อ ข่ า ยการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น หาก มีข้อเสนอแนะ เรายินดีพัฒนาและปรับปรุง ให้เป็นประโยชน์ ต่อทุกท่าน

คณะที่ปรึกษา

นายแพทย์อนุชา เศรษฐเสถียร นายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิริค�ำชัย นายแพทย์ภูมินทร์ ศิลาพันธุ์ นายสุรชัย ศิลาวรรณ นายพรชัย โควสุรัตน์ นายนิพนธ์ บุญญามณี

บรรณาธิการ

นายพิเชษฐ์ หนองช้าง

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

นายสาวชฎารัตน์ เกิดเรียน

กองบรรณาธิการ

นายพงษ์พิษณุ ศรีธรรมานุสาร ว่าที่ร้อยเอกอรรณพ สุขไพบูลย์

3 5 7 10 12 13 15

สารบัญ นโยบายการขับเคลื่อนงานการแพทย์ฉุกเฉินไทย ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข/ ประธานกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับสูง (Advance EMS Project) การรับรองรถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน การศึกษาและฝึกอบรม ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

งานกู้ชีพของเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ

การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จากการค้นหาผู้ประสบภัยใต้น�้ำมาสู่การป้องกัน การจมน�้ำในชุมชน

นางนลินรัตน์ เรืองจิรยศ นายบัณฑิต พีระพันธ์ นางนวนันทน์ อินทรักษ์ ว่าที่ร้อยตรีการันต์ ศรีวัฒนบูรพา นางพัชรี รณที นางสาวเทียมจันทร์ ฉัตรชัยกนันท์ นางสาวชฎารัตน์ เกิดเรียน

ติดต่อประสานงาน

email : chadarat.k@niems.go.th


นโยบายการขับเคลื่อนงานการแพทย์ฉุกเฉินไทย

ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข/ประธานกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน

การด�ำเนินงานกันให้เกิดประสิทธิภาพ ทั้งด้านปฏิบัติการ วิชาการ และการบริหารจัดการ เพื่อท�ำให้แต่ละพื้นที่ ขยายการบริการให้ มากขึ้น ทั้งในพื้นที่ปกติ พื้นที่พิเศษ ให้ครอบคลุมรวมไปถึงกลุ่ม ด้อยโอกาสทางสังคม ผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือแม้แต่ชาวต่างชาติ 2. พัฒนาบุคลากรพร้อมขวัญก�ำลังใจ : บุคลากรใน ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ต้องได้รับการพัฒนา เพิ่มพูนความรู้ให้ ได้มาตรฐาน และพร้อมบริการ ตลอด 24 ชั่วโมง มีขวัญก�ำลังใจ มีความปลอดภัย และมีความเจริญก้าวหน้าในสายงานที่ชัดเจน สืบเนื่องจากการประชุมเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉิน ระดั บ ภู มิ ภ าคและท้ อ งถิ่ น ณ โรงแรมมณเฑี ย ร สุ ร วงศ์ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2559 โดย ศาสตราจารย์ คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข/ประธานกรรมการการแพทย์ ฉุกเฉิน ได้มอบนโยบายการขับเคลื่อนงานการแพทย์ฉุกเฉินไทย ไว้ดังนี้ 1. การบูรณาการความร่วมมือ : งานการแพทย์ฉุกเฉิน ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย จึงขอให้ทุกฝ่ายบูรณาการ ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹Ò ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹

3


3. พัฒนาศูนย์รับแจ้งเหตุ : พัฒนาศูนย์รับแจ้งเหตุและ ประสานการจ่ายงานของจังหวัด พร้อมเปิดโอกาสและขยายผล ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมาร่วมจัดการ ให้มีบุคลากรที่ พร้ อ ม มี อุป กรณ์ ที่ทั น สมัย และสามารถรวมเอาการแจ้งเหตุ ฉุกเฉินทุกประเภทเข้ามาอยู่ด้วยกัน 4. Trauma Emergency Administrative Unit : ผู้ป่วยวิกฤติและผู้เจ็บป่วยที่ต้องการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ควร ได้รับการช่วยเหลือด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉินในสัดส่วนที่เพิ่ม มากขึ้นในทุกจังหวัด พร้อมไปกับการขยายการพัฒนาระบบ บริการอุบัติเหตุฉุกเฉินในโรงพยาบาล ตามนโยบายTrauma Emergency Administrative Unit

4 ¡ÒÃá¾·Â©Ø¡à©Ô¹ ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹ÒÂ

5. ให้ความรู้และอบรมประชาชนทั่วไป : ประชาชน ทั่วไปควรได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการแจ้งเหตุขอความช่วยเหลือ ด้านการแพทย์ฉุกเฉินได้ และสามารถให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ได้ เพื่อเริ่มช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินในชุมชนได้ทันเวลาก่อน ทีมกู้ชีพจะมาถึง โดยเน้นย�้ำขอความร่วมมือผู้บริหารทุกท่าน น�ำแนว นโยบายทั้ง 5 ข้อนี้ ไปด�ำเนินงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ในแต่ละจังหวัด และติดตามความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องทุกปี


Advance EMS Project ALS

FR BLS

โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับสูง

(Advance EMS Project)

ดร.นพ.ไพโรจน์ บุญศิริคำ�ชัย รองเลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติได้รับการช่วยเหลือไม่ทัน ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ป่วยฉุกเฉินเสียชีวิตก่อนถึงโรงพยาบาล 60,000 คน/ปี ถ้าพัฒนาระบบการช่วยเหลือได้ดี จะสามารถลดอัตราการ เสียชีวิตถึงร้อยละ 20 โดยเฉพาะผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติจะต้องได้รับ การช่วยเหลือจากชุดปฏิบัติการระดับสูงภายใน 8 นาที ปัญหาใน ปัจจุบันยังต้องใช้ชุดปฏิบัติการระดับสูงรับช่วงต่อระหว่างทาง ซึ่งอาจไม่ทันเวลาในการช่วยชีวิต แม้กระนั้นชุดปฏิบัติการต่างๆที่ เข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติภายใน 8 นาทีก็ยังมีเพียงร้อยละ 45.78 เท่านั้น เนื่องจากจ�ำนวนและกระจายของชุดปฏิบัติการระดับสูง ไม่ครอบคลุมเพียงพอ ผู้ป่วยฉุกเฉิน ต้ อ ง เสี ย ชี วิ ต ระหว่าง น� ำ ส่ ง ถึ ง ร้ อ ยละ 5.7 ถ้ า เป็ น กรณี ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ จะมีอัต ราเสีย ชีวิต ระหว่ า งน�ำ ส่ ง สูง มาก นอกจากนี้ยัง มี

ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ไปไม่ถึงห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลเอง ไม่ได้น�ำส่ง โดยระบบการแพทย์ฉุกเฉินถึงร้อยละ 86.77 ดังนั้นความสามารถ ในการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ ณ จุดเกิดเหตุ ยังไม่ครอบคลุม และมี ประสิทธิภาพไม่เพียงพอ ความส�ำเร็จของจังหวัดอุบลราชธานี เป็นการบูรณาการ ร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งจังหวัดโดย มีองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นหลักในการด�ำเนินงานบริหาร จัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินร่วมกัน และการมีส่วนร่วมของ ภาคีเครือข่าย ด้วยศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับจังหวัด สามารถสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อื่นๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบการแพทย์ ฉุกเฉินได้ โดยเฉพาะเป็นการพัฒนาขีดความสามารถของ ชุดปฏิบัติการระดับสูงและขีดความสามารถของระบบปฏิบัติการ ฉุกเฉิน เพื่อให้ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ ได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุอย่างทันท่วงทีได้ตามมาตรฐาน โดยกระจายจุด จอดรถพยาบาลระดับสูงอย่างทั่วถึง มีระบบสื่อสารการแพทย์ ทางไกล และการอ�ำนวยการทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ อบจ.อุบลราชธานี นอกจากจัดหารถปฏิบัติการฉุกเฉิน 220 คัน ครอบคลุมผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งจังหวัดแล้ว จึงได้ริเริ่มจัดหาชุดปฏิบัติ การระดับสูงขึ้นได้ส�ำเร็จในปี พ.ศ.2558

จังหวัดอุบลราชธานี อําเภอเมืองและอําเภอวาริ นชําราบ

ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹Ò ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹

5


จังหวัดอุบลราชธานี มี พื้ น ที่ อ� ำ เภอเมื อ ง 406.4 ตารางกิ โ ลเมตร ประชากร 211,855 คน ความหนาแน่น 366 คน/ตารางกิโลเมตร 112 ครัวเรือน/ตารางกิโลเมตร ต้องมี ชุดปฏิบัติการระดับสูงที่จะต้องเดินทางด้วยความเร็วเฉลี่ย 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง เข้าถึงจุดเกิดเหตุภายในเวลา 8 นาที รัศมี 8 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 201 ตารางกิโลเมตร จ�ำนวน

1,025.4/201 เท่ากับรถรถพยาบาลระดับสูง 5.09 คัน ครอบคลุม ประชากร 73,642 คน หรือ 22,659 ครัวเรือน ต่อรถรถพยาบาล ระดับสูง 1 คัน (ประเทศฝรั่งเศส รถพยาบาลระดับสูง 1 คัน/ ประชากร 100,000 คน (กลางวัน) 200,000 คน (กลางคืน SAMU92 ครอบคลุม 176 ตารางกิโลเมตร) ด้ ว ยการบู ร ณาการหลายหน่ ว ยงาน โดยเฉพาะ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี องค์การบริหารส่วน จังหวัดอุบลราชธานี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ โรงพยาบาล 50 พรรษา โรงพยาบาลวารินช�ำราบ โรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิ ประสงค์ กระทรวงกลาโหม ในการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบการออก ปฏิบัติการของชุดปฏิบัติการระดับสูงส�ำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ โดยการจ่ายงานของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ 1669 ที่อยู่ใน ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2559 ปรากฎผลดังนี้

ข้อมูลการออกปฏิบัติการของชุดปฏิบัติการระดับสูง เดือนมกราคม - เมษายน พ.ศ. 2559 หน่วย ปฏิบัติการ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด

รพ.วารินชำ�ราบ

รพ.ค่ายสรรพสิทธิ ประสงค์

รพ.สรรพสิทธิ ประสงค์

รพ.50 พรรษา รวม

6 ¡ÒÃá¾·Â©Ø¡à©Ô¹ ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹ÒÂ

เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. 4 เดือน 121 วัน

จำ�นวน เหตุ 21 28 47 46 22 27 39 34 6 5 6 3 49 35 42 47 14 13 15 10 509 4.2/วัน

Response Time (นาที) 5.50 4.25 3.93 4.71 4.95 5.40 5.23 6.14 5.50 4.25 5.20 3.67 4.50 4.59 4.34 4.64 4.55 6 5.33 4 4.80

RT เฉลี่ย 4.47 นาที

5.47 นาที

4.82 นาที

4.52 นาที

5.00 นาที 4.80 นาที

Non-Trauma

Trauma

15 24 32 34 11 16 26 17 3 1 1 2 36 27 37 34 6 7 9 6 344 67.58%

6 4 15 12 11 11 13 17 3 4 5 1 13 8 5 13 8 6 6 4 165 32.42%

เสียชีวิต 0 1 ระหว่างนำ�ส่ง 1 ระหว่างนำ�ส่ง 2 จุดเกิดเหตุและนำ�ส่ง 0 2 จุดเกิดเหตุและนำ�ส่ง 1 ระหว่างนำ�ส่ง 1 จุดเกิดเหตุ 0 0 0 0 2 จุดเกิดเหตุ 2 จุดเกิดเหตุและนำ�ส่ง 1 ระหว่างนำ�ส่ง 8 จุดเกิดเหตุ 4 และนำ�ส่ง 4 1 จุดเกิดเหตุ 0 0 0 22 (4.32%) จุดเกิดเหตุ 11 (2.16%) ระหว่างนำ�ส่ง 11 (2.16%)


การรับรอง

รถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน นายวัฒนา ทองเอีย ผู้จัดการงานจัดระบบหน่วยปฏิบัติการ

คุณลักษณะยานพาหนะและเกณฑ์ การตรวจประเมิน

1. เกณฑ์การตรวจประเมิน เพื่อสนับสนุนจัดส่งความช่วยเหลือทางด้านการแพทย์ และเพื่อการล�ำเลียงหรือขนส่งผู้ป่วยฉุกเฉินจากจุดเกิดเหตุ หรือ จากสถานที่ ใ ห้ ก ารบ�ำ บัด รัก ษาพยาบาลเบื้อ งต้ น นอกสถาน พยาบาล มายังสถานพยาบาลอย่างรวดเร็ว และปลอดภัย โดย ระหว่างการล�ำเลียงหรือขนส่งนั้น ผู้ป่วยฉุกเฉินจะได้รับการดูแล บ�ำบัด รักษา ตามขอบเขต ระดับขีดความสามารถ ความรับผิดชอบ ของผู ้ ป ฏิ บั ติ ก ารในแต่ ล ะชุ ด ปฏิ บั ติ ก าร จนเต็ ม ขี ด ความ สามารถ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการป้องกันการเสียชีวิตหรือ ความรุนแรงขึ้นของการเจ็บป่วยฉุกเฉินนั้น พาหนะเพื่อการล�ำเลียง หรื อ ขนส่ ง ของชุด ปฏิ บั ติ ก ารทางบก เรี ย กว่ า “รถบริ ก าร การแพทย์ฉุกเฉิน (รถปฏิบัติการฉุกเฉิน)” (Emergency Medical Service Ambulance : EMS Ambulance) พาหนะดังกล่าวให้ แสดงสัญญลักษณ์บ่งบอกการเป็น พาหนะปฏิบัติการฉุกเฉินตาม ที่ก�ำหนด โดยหน่วยปฏิบัติการมีหน้าที่ในการตรวจ ดูแล บ�ำรุง รักษาให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานเสมอ ต้องผ่านการจดทะเบียน ตรวจสภาพ ต่อใบอนุญาตประจ�ำปีของกรมการขนส่งทางบก มีการประกันภัยตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องก�ำหนด โดยรถที่จะเข้า ร่วมปฏิบัติการฉุกเฉินในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ต้องมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ก. รถบริก ารการแพทย์ ฉุก เฉิน ประเภทฉุก เฉิน ล�ำเลียงผู้ป่วย แบ่งเป็น 2 ระดับ ดังต่อไปนี้ 1. ระดับปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูง หมายถึง รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินส�ำหรับชุดปฏิบัติการระดับกลาง และ ชุดปฏิบัติการระดับสูง 2. ระดับปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐาน หมายถึง รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินส�ำหรับชุดปฏิบัติการเบื้องต้น และชุด ปฏิบัติการระดับต้น

หน่วยงานตรวจรับรองและอนุญาต 1. หน่วยงานตรวจรับรองรถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับจังหวัด กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักการแพทย์กรุงเทพมหานคร ต่างจังหวัด : ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง

2. หน่วยงานรับรองรถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 3. หน่วยงานออกใบอนุญาตให้ใช้ไฟสัญญาณวับวาบ และเสียงสัญญาณไซเรน กรุงเทพมหานคร : กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล โดย ยื่นเอกสารที่กองบังคับการต�ำรวจจราจร ต่างจังหวัด : ผู้ว่าราชการจังหวัด โดยยื่นเอกสารที่ ส�ำนักงานต�ำรวจภูธรจังหวัด

เงื่อนไขของการตรวจรับรองและ อนุญาต หน่วยงานที่ประสงค์จะขอรับการตรวจรับรองและ ขออนุญาตเป็นรถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จะต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 1. เป็นหน่วยปฏิบัติการที่ด�ำเนินงานด้านการแพทย์ ฉุกเฉิน และได้ขึ้นทะเบียนไว้กับส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือส�ำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร 2. มีก ารบั น ทึ ก ข้ อ มู ล หน่ ว ยปฏิบั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น ใน โปรแกรม ITEMS 3. มีการปฏิบัติการฉุกเฉินต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง และมี ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินที่ผ่านการฝึกอบรมและได้รับประกาศนียบัตร สามารถออกปฏิบัติการฉุกเฉินได้อย่างมีคุณภาพ และเพียงพอ 4. หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินที่ประสงค์จะขอรับการตรวจ รับรองและอนุญาตต้องเป็นนิติบุคคล เช่น โรงพยาบาลของรัฐ และเอกชน รวมถึงสถานพยาบาลที่มีปฏิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มูลนิธิ สมาคม เป็นต้น ในกรณีพื้นที่ขาดแคลนพาหนะฉุกเฉิน หรือมีพาหนะ ฉุกเฉินไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติการฉุกเฉิน อาจใช้รถหรือ พาหนะฉุกเฉินของบุคคลธรรมดามาร่วมปฏิบัติการฉุกเฉิน โดย หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินตามข้อ 1, 2 และ 3 สามารถให้การ รั บ รองพาหนะของ บุคคลธรรมดานั้นเพื่อ เข้ า ร่ ว มปฏิ บั ติ ก าร ฉุกเฉินได้ ตามสมควร (ทั้งนี้ ให้เป็นตาม ดุลยพินิจ ของผู้อนุญาต ในแต่ละ พื้นที่) ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹Ò ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹

7


การแสดงเครื่องหมายและตราสัญลักษณ์ เพื่อให้ประชาชนโดยทั่วไปและผู้ป่วยฉุกเฉิน ได้รับรู้ถึง พาหนะที่ใช้เพื่อการล�ำเลียงและการขนส่ง กรณีการเจ็บป่วย ฉุกเฉินอย่างชัดเจน จึงก�ำหนดมาตรฐานการน�ำเครื่องหมายและ ตราสัญลักษณ์เพื่อไปแสดงหรือติดไว้กับพาหนะเพื่อการล�ำเลียง หรือขนส่ง ส�ำหรับการปฏิบัติการฉุกเฉิน เครื่องหมายหรือตราสัญลักษณ์ หมายถึง ตรา เครื่องหมายของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ รวมถึงชื่อ ข้อความ หรือตัวอักษรที่บ่งบอกว่าเป็นการด�ำเนินการ หรือด้วย ความยินยอม หรือการตรวจรับรองจากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน ชื่อหน่วยปฏิบัติการ หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรที่ปฏิบัติการ ฉุกเฉินทั้งนี้รวมถึงสถานพยาบาลที่มีการปฏิบัติการฉุกเฉินด้วย การแสดงเครื่องหมายหรือตราสัญลักษณ์บนรถ บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1. กระจกหน้าด้านในฝั่งซ้าย ติดป้ายระบุผ่านการ รับรองรถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน โดยแสดงหมายเลขทะเบียน วันหมดอายุ การรับรอง โดยมี QR code ประจ�ำรถคันนั้นๆ แสดงอยู่ด้วย 2. กระจกหน้าด้านบน ติดชื่อหน่วยปฏิบัติการตัวอักษร สีน�้ำเงินบนพื้นสติ๊กเกอร์สีขาว หรือตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีด�ำ หรือสีอื่นที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน 3. ใต้ ก ระจกด้ า นหน้ า ติ ด แสดงตั ว อั ก ษรค� ำ ว่ า “AMBULANCE” สีแดง เพื่อให้รถที่ขับอยู่ด้านหน้ามองกระจกหลัง สามารถมองเห็นว่าเป็นรถบริการการแพทย์ฉุกเฉินได้อย่าง ชัดเจน 4. กระจกหลังติดข้อความ “เจ็บป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุ โทร 1669” ด้วยตัวอักษรสีแดงขอบสีขาว หรือเพิ่มเติมค�ำอื่นๆ (ถ้ามี) เพื่อสื่อสารให้ประชาชนรับรู้ ประชาสัมพันธ์ การเข้าถึง บริการ

8 ¡ÒÃá¾·Â©Ø¡à©Ô¹ ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹ÒÂ

5. ใต้กระจกด้านหลัง ติดชื่อหน่วยปฏิบัติการ ตัวอักษร สีน�้ำเงินขอบสีขาว 6. แสดงสัญลักษณ์หน่วยปฏิบัติการต้นสังกัดที่ประตู ด้านหน้าทั้งสองข้าง 7. แสดงชื่อหน่วยงานปฏิบัติการ พร้อมหมายเลข โทรศัพท์ 1669 ด้วยตัวอักษรสีน�้ำเงินขอบสีขาว ด้านข้างรถทั้ง สองข้าง 8. ติดแถบสีสะท้อนแสง ด้านข้างรถตลอดแนว รอบคัน 9. ติดข้อความ “รถฉุกเฉินได้รับการอนุญาตแล้ว” เป็น ตัวอักษรสีแดง 10. ด้านข้างช่วงหลังทั้งสองข้าง ติดสติ๊กเกอร์ระบุผ่าน การรับรองรถบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยสถาบันการแพทย์ ฉุกเฉินแห่งชาติ โดยมี QR code ประจ�ำรถคันนั้นๆ แสดงอยู่ด้วย และติดสติ๊กเกอร์เครือข่ายรถบริการการแพทย์ฉุกเฉินระบุ จังหวัดพื้นที่ให้บริการ การหมดอายุ และการต่ออายุการรับรองรถบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน หนังสือรับรองและให้ความเห็นชอบในการขอขึ้น ทะเบียนรถบริการการแพทย์ฉุกเฉินและการขอไฟสัญญาณวับ วาบ/เสียงสัญญาณเพื่อปฏิบัติการในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน มีอายุ 2 ปี นับจากเดือนที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้ ออกหนังสือรับรองฯให้ โดยหน่วยปฏิบัติการสามารถต่ออายุการ รับรองรถบริการการแพทย์ฉุกเฉินได้ ก่อนก�ำหนดหมดอายุ 3 เดือน ได้ที่ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด/ส�ำนักการ แพทย์กรุงเทพมหานครที่รับผิดชอบพื้นที่ปฏิบัติการของหน่วย งานนั้น การตรวจสอบรถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อให้รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินสามารถใช้ประโยชน์ ได้สูงสุด หน่วยปฏิบัติการจึงควรดูแลรักษารถ อุปกรณ์ และ เวชภัณฑ์ต่างๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้อยู่เสมอ ซึ่งอาจมีการ ตรวจสอบได้จาก 1. ประชาชน สามารถตรวจสอบรถบริการการแพทย์ ฉุกเฉิน ผ่าน QR code ปรากฏอยู่ที่ สติ๊กเกอร์รับรองมาตรฐาน รถบริการแพทย์ฉุกเฉิน หรือป้ายติดหน้ารถ 2. เจ้าหน้าที่ อาจมีการเรียกตรวจ เมื่อมีการร้องเรียน หรืออาจมีการสุ่มตรวจเพื่อตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ และรถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน


การออกปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน สามารถออกปฏิบัติ การได้เฉพาะเขตพื้นที่ที่ได้รับผิดชอบเท่านั้น เว้นแต่ได้รับค�ำสั่ง จากแพทย์อ�ำนวยการ ให้ออกปฏิบัติการนอกพื้นที่ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนปฏิบัติการฉุกเฉินเป็นกรณีพิเศษ การติดตั้งและการใช้สัญญาณไฟวับวาบ ให้รถที่ผ่านการรับรองและได้รับการอนุญาตเป็นรถ บริการการแพทย์ฉุกเฉินแล้ว ให้ติดตั้งไฟสัญญาณวับวาบไว้บน หลังคารถ โดยวางต�ำแหน่งของสัญญาณไฟวับวาบสีแดงไว้ด้าน ขวา เหนือคนขับ ดังรูปต่อไปนี้

ECNALUBMA

การติดตั้งและการใช้สัญญาณไฟวับวาบ การใช้ไฟสัญญาณวับวาบและเสียงสัญญาณไซเรน ในการปฏิบัติการฉุกเฉิน (ส�ำหรับบุคลากรทุกระดับ) การใช้สัญญาณไฟวับวาบให้เป็นไปตามความเร่งด่วน ของผู้ป่วยฉุกเฉินตามเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการแพทย์ของผู้ช่วย เวชกรรมตามค�ำสั่งแพทย์และการอ�ำนวยการ

เมื่อได้รับแจ้งหรือประสานจากศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ ให้ออกปฏิบัติการฉุกเฉินให้ ผู้ขับขี่พาหนะที่ได้รับอนุญาตติดตั้ง สัญญาณไฟวับวาบและเสียงไซเรน ให้ปฏิบัติดังนี้ 1. กรณีที่ได้รับแจ้งจากศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการให้ ออกปฏิบัติการฉุกเฉิน ต่อผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (สีแดง) และผู้ป่วย ฉุกเฉินเร่งด่วน (สีเหลือง) ทั้งขณะออกไปรับผู้ป่วยฉุกเฉินและน�ำส่ง ผู้ป่วยฉุกเฉินไปโรงพยาบาล ให้ผู้ขับขี่มีสิทธิตามมาตรา 75 แห่ง พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ดังนี้ 1.1 เปิดสัญญาณไฟวับวาบและเสียงสัญญาณไซเรน หลายเสียง (เสียงสูง-ต�่ำสลับกัน) พร้อมกัน 1.2 หยุดรถหรือจอดรถ ณ ที่ห้ามจอด 1.3 ขับรถเกินอัตราความเร็วที่ก�ำหนดไว้ 1.4 ขับรถผ่านสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจร ใดๆ ที่ให้รถหยุด แต่ต้องลดความเร็วของรถให้ช้าลงตามสมควร 1.5 ไม่ต้องปฏิบัติตามบทแห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก พ.ศ.2522 หรือข้อบังคับการจราจรเกี่ยวกับช่องเดินรถ ทิศทางของการขับรถหรือการเลี้ยวรถที่ก�ำหนดไว้ 1.6 การปฏิบัติตาม 1.3-1.4 ผู้ขับขี่ต้องใช้ความ ระมัดระวังตามควรแก่กรณี 2. กรณีได้รับแจ้งจากศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการให้ ออกปฏิบัติการฉุกเฉินต่อผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง (สีเขียว) และ ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินอื่นๆ ขณะออกไปรับผู้ป่วยและน�ำส่งผู้ป่วยไป โรงพยาบาล ให้ปฏิบัติตามกฎจราจรปกติ

ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹Ò ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹ 9


การศึกษาและฝึกอบรม ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

นางสาวเพ็ญรุ่ง บุญรักษ์ ผู้จัดการงานจัดระบบพัฒนากำ�ลังคนในระบบการแพทย์ฉุนเฉิน

การศึกษาและฝึกอบรมในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้ พัฒนาขึ้นตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 ให้ สอดคล้องกับอ�ำนาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ และข้อ จ�ำกัดในการปฏิบัติการฉุกเฉินของผู้ปฏิบัติการ มุ่งเน้นให้ผู้ปฏิบัติการ มี ค วามรู ้ ทั ก ษะ และเจตคติ ใ นการปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น แก่ ผู้ป่วยฉุกเฉิน อันได้แก่บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วย กะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการด�ำรงชีวิตหรือการท�ำงานของ อวัยวะส�ำคัญ จ�ำเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการ และการ บ�ำบัดรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรือการ รุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรือการป่วยนั้น โดยใช้ศาสตร์และ ศิลป์อย่างเป็นองค์รวมในการปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน นับแต่การรับรู้ถึงภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉินจนถึงการด�ำเนินการ ให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการบ�ำบัดรักษาให้พ้นภาวะฉุกเฉินซึ่งรวมถึง การประเมิ น การจั ด การ การประสานงาน การควบคุ ม ดู แ ล การติดต่อสื่อสารการล�ำเลียงหรือขนส่งการตรวจวินิจฉัยและการ บ�ำบัดรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน ทั้งภาวะปกติและสาธารณภัย ตลอดจนการด� ำ เนิ น งานหรื อ บริ ห ารจั ด การระบบการแพทย์ ฉุกเฉินระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ 1. หลักสูตรและองค์กรการศึกษาในระบบการแพทย์ ฉุกเฉิน มีดังนี้ 1.1 หลักสูตรระดับปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ (ศึกษา 140-160 หน่วยกิต) คุณสมบัติผู้เข้ารับการศึกษา 1) เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาไม่ต�่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ โปรแกรมวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ หรือเป็น ผู้ได้รับอนุมัติประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ 2) มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจไม่เจ็บป่วย หรือเป็นโรคติดต่อร้ายแรงหรือมีความผิดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อ การศึกษาไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหาย ไม่เคยต้องโทษจ�ำคุก โดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดในคดีที่ อศป. เห็นว่าอาจจะน�ำมาซึ่ง ความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งผู้ปฏิบัติการ 3) มีคุณสมบัติอื่นๆตามที่คณะกรรมการการแพทย์ ฉุกเฉินและสถาบันการศึกษาก�ำหนด

10 ¡ÒÃá¾·Â©Ø¡à©Ô¹ ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹ÒÂ

องค์กรการศึกษาที่ได้รับการรับรองจาก อศป. และ เปิดสอน จ�ำนวน 3 แห่ง 1) คณะแพทยศาสตร์ โ รงพยาบาลรามาธิ บ ดี มหาวิทยาลัยมหิดล 2) คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช 3) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถาบันการศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชกิจฉุกเฉิน จ�ำนวน 1 แห่ง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา 1.2 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขา ปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์(ศึกษา 78-90 หน่วยกิต) คุณสมบัติผู้เข้ารับการศึกษา 1) เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาไม่ต�่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ 2) มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่เจ็บป่วย หรือเป็นโรคติดต่อร้ายแรงหรือมีความผิดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อ การศึกษาไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสียหาย ไม่เคยต้องโทษจ�ำคุก โดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดในคดีที่ อศป.เห็นว่า อาจจะน�ำมาซึ่ง ความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งผู้ปฏิบัติการ 3) มีคุณสมบัติอื่นๆตามที่คณะกรรมการการแพทย์ ฉุกเฉินและสถาบันการศึกษาก�ำหนด องค์กรการศึกษาที่ได้รับการรับรองจาก อศป. และ เปิดสอน จ�ำนวน 1 แห่ง โรงเรียนนาวิกเวชกิจ ศูนย์วิทยาการ กรมแพทย์ทหารเรือ สถาบันการศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ จ�ำนวน 5 แห่ง 1) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น 2) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา 3) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี 4) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง 5) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี


2. หลักสูตรและองค์กรการฝึกอบรมในระบบการ แพทย์ฉุกเฉิน มีดังนี้ 2.1 หลักสูตรการปฐมพยาบาลและช่วยปฏิบัติการ แพทย์ขั้นพื้นฐาน (ฝึกอบรม 40-60 ชั่วโมง และฝึกปฏิบัติใน สถานการณ์จริง) จ�ำนวนองค์กรฝึกอบรมที่ผ่านการรับรองจาก อศป. จ�ำนวน 181 แห่ง 2.2 หลักสูตรปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐานและช่วย ปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูง (ฝึกอบรม 115-130 ชั่วโมง และฝึก ปฏิบัติในสถานการณ์จริง) จ�ำนวนองค์กรฝึกอบรมที่ผ่านการ รับรองจาก อศป. จ�ำนวน 36 แห่ง 2.3 หลักสูตรการกู้ชีพขั้นสูงและการอ�ำนวยการระบบ การแพทย์ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล (ภาคปฏิบัติ 4-16 สัปดาห์ จ�ำนวนองค์กรฝึกอบรมที่ผ่านการรับรองจาก อฝส. สาขา เวชศาสตร์ฉุกเฉิน และ อศป. จ�ำนวน 3 โครงการ 2.4 หลักสูตรหลักการก�ำกับการปฏิบัติการฉุกเฉิน (ฝึกอบรม 20-30 ชั่วโมง) จ�ำนวนองค์กรฝึกอบรมที่ผ่านการ รับรองจาก อศป. จ�ำนวน 8 แห่ง 2.5 หลั ก สู ต รหลั ก การจ่ า ยงานปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิน (ฝึกอบรม 40-60 ชั่วโมง และฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จ�ำลอง) จ�ำนวนองค์กรฝึกอบรมที่ผ่านการรับรองจาก อศป. จ�ำนวน 8 แห่ง 2.6 หลัก สูต รหลัก การประสานปฏิบัติก ารฉุก เฉิน (ฝึกอบรม 16-20 ชั่วโมง) จ�ำนวนองค์กรฝึกอบรมที่ผ่านการ รับรองจาก อศป. จ�ำนวน 8 แห่ง 2.7 หลักสูตรหลักการรับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉิน (ฝึกอบรม 18-24 ชั่วโมง) จ�ำนวนองค์กรฝึกอบรมที่ผ่านการ รับรองจาก อศป. จ�ำนวน 8 แห่ง

3.2 เกณฑ์ ก ารประเมิ น และการสอบเพื่ อ การ ให้ประกาศนียบัตร 1) ประกาศนียบัตรปฏิบัติการฉุกเฉินส�ำหรับผู้ส�ำเร็จ การศึกษาจากองค์การศึกษาที่ อศป. รับรอง จะต้องมีผลการ ประเมินและการสอบ ดังนี้ (1) สอบภาคทฤษฏี (MCQ) (2) สอบภาคปฏิบัติ (OSCE) (3) ผลการประเมินเจตคติจากองค์กรการศึกษา หมายเหตุ : ระเบียบการและก�ำหนดวันเวลาสอบ ติดตามจากเว็บไซต์สถาบัน การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

2) ประกาศนียบัตรปฏิบัติการฉุกเฉินส�ำหรับผู้ผ่านการ ฝึกอบรมจากองค์กรการฝึกอบรมที่ อศป. รับรอง จะต้องสอบ มีผลการประเมินและการสอบ ดังนี้ (1) สอบภาคทฤษฏี (2) ผลการประเมินเจตคติจากองค์กรการฝึกอบรม (3) ฝึกปฏิบัติครบทักษะตามที่หลักสูตรก�ำหนด (4) การฝึกปฏิบัติการฉุกเฉินในสถานการณ์จริง หมายเหตุ : องค์กรฝึกอบรมจะเป็นผู้ด�ำเนินการการประเมินและสอบในห้วง เวลาระหว่างการฝึกอบรม องค์กรการศึกษาหรือฝึกอบรมที่ได้รับการรับรองจาก อศป. หรือสภาวิชาชีพ ปีงบประมาณ 2555-ปัจจุบัน องค์กรการศึกษาหรือฝึกอบรมที่ได้รับการรับรองจาก อศป. หรือสภาวิชาชีพ ปีงบประมาณ 2555-ปัจจุบัน

จํานวนองค์ กรที่ อศป. หรื อสภาวิชาชีพรับรอง จํานวนองค์ กรที่ อศป. หรื อสภาวิชาชีพจํารันวนองค์ บรอง กรที่ดําเนินการ จํานวนองค์ กรทีด่ าํ เนินการหลักสู ตรผู้ จํานวนองค์ กรที่ดําเนินการ นวนองค์ กรทีด่ าํ เนินการหลักสู ตรผูห้ ลั ก สู ต ร ผู้ ป ฏิ บั ติ ก า ร ปี งบประมาณ ปฏิบัตจํิกาารแพทย์ ห ลั ก สู ต ร ผู้ ป ฏิ บั ติ ก า ร อํานวยการ ปี งบประมาณ ปฏิบัติการแพทย์ อํานวยการ พรจ. ผปป. ผจป. อฉพ. พฉพ. จฉพ. นฉพ. พรจ. ผปป. ผจป. พอป. ผกป. อฉพ. พฉพ. จฉพ. นฉพ. พอป. 2555 77 44 12 - ผกป. 2556 2555 77 77 44 44 12 12 - - - -2557 2556 77 77 44 44 12 12 - - - -2558 2557 116 77 34 44 - 12 2 - 8 32558 116 34 2 8 มี.ค. 2559 181 36 1 2 8 33 มี.ค. 2559 181 36 1 2 8 3 จํานวนบุคลากรในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ปีงบประมาณ 2555-2558 จํานวนบุคลากรในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ปีงบประมาณ 2555-2558

3. การให้ประกาศนียบัตรปฏิบัติการฉุกเฉิน 3.1 คุณสมบัติผู้ที่จะได้รับประกาศนียบัตรปฏิบัติการ ฉุกเฉิน 1) เป็นผู้มีคุณสมบัติด้านการศึกษาพื้นฐานตามที่ อศป. ผู้ปฏิบัติการแพทย์ (ราย) ก�ำหนดไว้ในแต่ระดับของประกาศนียบัตรปฏิบัติการฉุกเฉิน ผู้ปฏิบัติการแพทย์ (ราย) ปีงบประมาณ ที่มาของข้อมูล อมูล 2) เป็นผู้มีความรู้ ทักษะ และเจตคติในการปฏิบัติการ ปีงบประมาณ ที่มาของข้นฉพ. EMT-I EMT-B FR นฉพ. EMT-I EMT-B FR ฉุกเฉินโดยผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมตามหลักสูตรหลักจาก 2555 ITEMS - 1,909 5,058 97,110 2556 2555 ITEMS ITEMS - 2,1091,909 5,4845,058 110,485 97,110 องค์กรการศึกษาหรือฝึกอบรมที่ อศป. รับรอง 2557 2556 ITEMS ITEMS - 3,3422,109 5,6755,484 123,562 110,485 2558 2557 ITEMS ITEMS - 2,4383,342 5,8325,675 129,331 3) สอบผ่านความรู้ ทักษะ เจตคติ และการฝึกหัด 2558 2558 สสจ./ รพ.ITEMS 27 - 2,3732,438 4,4895,832 66,208123,562 129,331 27 2,373 4,489 66,208 ปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามวิธีการและเกณฑ์ประเมินและการสอบที่ 2558 สสจ./ รพ.(นฉพ. ฝึกหัด (นฉพ. 120 ฝึกหัด อศป. ก�ำหนด ตามประเภทและระดับประกาศนียบัตรปฏิบัติการ คน) 120 คน) ฉุกเฉิน

ผู้ปฏิบัติการอํานวยการ ผู้ปฏิบัต(ราย) ิการอํานวยการ (ราย) พรจ. ผปป. พอป. ผจป. พร จ.ผกป.ผปป . พอป. ผจป. ผกป. ----

---126 -

126

-

EP EP

ENP TENC ENP TENC

16 16 18 18 20 20 22 22 22 22

-1 11 12 22 2

---1 11 1

พยาบาล แพทย์เวชศาสตร์ วิชาชีพ พยาบาล ฉุกเฉิเวชศาสตร์ น : EP (ราย) แพทย์ วิช(ราย) าชีพ ฉุกเฉิน : EP (ราย) พยาบาลที ่ (ราย) ปฏิบัติงาน่ พยาบาลที ฉุกบเฉิัตนิงาน ปฏิ 240 ฉุ16,262 กเฉิน 17,638 24051 16,262 18,595 5159 17,638 18,999 5955 18,595 ENP/EN 55536 18,999 198/46 536 ENP/EN

198/46 -

ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹Ò ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹

11


งานกู้ชีพของเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ

นายวันจักร จันทร์สว่าง ที่ปรึกษาศูนย์ประสานงานกู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 2 (ภาคตะวันตก)

ลายคนอาจสงสัย ว่ า ท� ำ ไม เจ้ า หน้ า ที่อุท ยานแห่ ง ชาติ ต้ อ งมีค วามรู้ เรื่อ ง การปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตเบื้องต้น ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่าง ประเทศจ�ำนวนมากที่นิยมเข้าไปเที่ยวในอุทยานแห่งชาติต่างๆทั่วประเทศ อุทยานแห่งชาติ แต่ละแห่งมีที่ตั้งอยู่ตามภูมิประเทศที่แตกต่างกัน บางแห่งอยู่ติดถนนลาดยางการเดินทาง สะดวก แต่มีอีกหลายแห่งอยู่ลึกเข้าไปในป่า-เขา เส้นทางเป็นถนนดินธรรมชาติ เดินทาง ล�ำบาก ใช้เวลาในการเดินทางเข้าไปหลายชั่วโมง เมื่อนักท่องเที่ยวเจ็บป่วยฉุกเฉิน การเดินทางออกมาโรงพยาบาลยากล�ำบาก หรือ เมื่อโทรขอความช่วยเหลือผ่านสายด่วนหมายเลข 1669 ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ใช้เวลาเดินทางเข้าไปช่วยเหลือหลาย ชั่วโมงกว่าจะถึง หรือบางครั้งไม่สามารถเดินทางเข้าไปได้ด้วยรถพยาบาล รถยนต์กระบะกู้ชีพ เนื่องจากสภาพเส้นทาง ซึ่งในอดีต ที่ผ่านมาท�ำให้มีนักท่องเที่ยวที่เข้าไปเที่ยวในเขตอุทยานแห่งชาติหลายๆแห่ง แล้วเกิดเจ็บป่วยฉุกเฉินขึ้น มีอาการเจ็บป่วยหนักขึ้น หรือบางครั้งถึงขั้นเสียชีวิต เนื่องจากได้รับการรักษาพยาบาลล่าช้า

ดั

งนั้นเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติทุกอุทยานทั่วประเทศ จึงควรมีความรู้เรื่องการกู้ชีพ การปฐมพยาบาล การช่วยชีวิตเบื้องต้น เพื่อที่จะได้สามารถท�ำการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ ได้อย่างถูกวิธี เพื่อรอทีมปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินจากหน่วย งานภายนอกเข้ า ไปสนั บ สนุ น หรื อ ถ้ า ที ม จากภายนอก เข้าไปในจุดเกิดเหตุในเขตอุทยานไม่ได้ เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ จะต้ อ งสามารถเคลื่ อ นย้ า ยผู ้ บ าดเจ็ บ ออกมาส่ ง ให้ ที ม จาก ภายนอก หรือน�ำนักท่องเที่ยว ส่งโรงพยาบาลได้อย่างถูกวิธี ลดการบาดเจ็บสาหัส การพิการ หรือการเสียชีวิตของนักท่องเที่ยว ระหว่างน�ำส่งโรงพยาบาลได้

12 ¡ÒÃá¾·Â©Ø¡à©Ô¹ ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹ÒÂ


มีหลายคนสงสัยว่าหน้าที่การปฐมพยาบาลเป็นหน้าที่ ของเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติหรือไม่ เพราะเจ้าหน้าที่อุทยาน แห่งชาติมีหน้าที่หลัก คือการลาดตระเวน รักษาทรัพยากร ธรรมชาติก็หนักพออยู่แล้ว แต่อย่าลืมว่าอุทยานแห่งชาติ เปิดให้เป็นแหล่งบริการด้านการท่องเที่ยว มีการเก็บค่าบริการ เข้าเขตอุทยานแห่งชาติ ซึ่งในปี พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สามารถ เก็บค่าบริการได้มากกว่า 800 ล้านบาท ฉะนั้นหน้าที่การดูแล นักท่องเที่ยวจึงหนีไม่พ้น จึงต้องเป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่อุทยาน แห่งชาติด้วย และที่ส�ำคัญตัวเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติเอง เวลา ที่ออกปฏิบัติหน้าที่ลาดตระเวนในป่า–เขา ซึ่งการลาดตระเวน แต่ละครั้งใช้เวลาอยู่ในป่า 5-7 วัน ถ้าหากเกิดเจ็บป่วยฉุกเฉินขึ้นมา จะได้ ส ามารถใช้ ค วามรู ้ จ ากการอบรมช่ ว ยเหลื อ ตั ว เอง ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานได้อย่างถูกต้อง และถูกวิธี ช่วยชีวิตเพื่อน ร่วมงานได้ ส�ำหรับความรู้ที่เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติทั่วประเทศ ควรได้รับการอบรม คือ การประเมินอาการผู้ป่วย การปิดแผล ห้ามเลือด การดามกระดูกที่หักโดยใช้อุปกรณ์ตามธรรมชาติเท่าที่ หาได้ การยกเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ และการปั๊มหัวใจช่วยชีวิต (CPR) ซึ่งความรู้ที่ใช้อบรมควรใช้หลักสูตรอาสาฉุกเฉินชุมชน (อฉช.) หลักสูตร EMR ของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตามล�ำดับซึ่งที่ผ่านมามีหลายอุทยานแห่งชาติที่มีการจัดอบรม

หลักสูตรการช่วยชีวิตทั้ง 2 หลักสูตร ให้กับเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ แล้ ว และสามารถช่ ว ยเหลื อ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ถูกวิธี ได้เป็นจ�ำนวนมากหรือถึงขั้นช่วยชีวิตด้วยซ�้ำ แต่ยังมีอีก หลายอุทยานแห่งชาติที่เจ้าหน้าที่ยังไม่เคยได้รับการอบรม เรื่องการปฐมพยาบาลเลย ซึ่งควรมีการเร่งรัดจัดฝึกอบรมก่อนที่ จะมีนักท่องเที่ยวที่เจ็บป่วยฉุกเฉินในเขตอุทยานแห่งชาติ และได้ รับการช่วยเหลือที่ล่าช้าไม่ถูกต้อง ไม่ถูกวิธี จนท�ำให้บาดเจ็บ หนักกว่าเดิมจนถึงขั้นพิการ หรือรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต

การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ผู้ช่วยศาสตรจารย์ นายแพทย์ ไชยพร ยุกเซ็น

คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยายาบาลรามาธิดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ะบบการแพทย์ฉุกเฉินมีความส�ำคัญกับการช่วยฟื้น ชีวิตเป็นอย่างมาก มีตัวอย่างการศึกษามากมายที่กล่าวถึงความ ส�ำเร็จของการกู้ชีพในผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล เช่น การศึกษาใน King County Health Department, Seattle ในรั ฐ วอชิ ง ตั น พบว่ า ผู ้ ป ่ ว ยที่หั ว ใจหยุ ด เต้ น นอก โรงพยาบาลสามารถกู้ชีพได้ผลส�ำเร็จและสามารถจ�ำหน่าย ผู้ป่วยกลับบ้านได้ ถึง 16-49% และจากการศึกษาคลื่นไฟฟ้า หัวใจในกลุ่มผู้รอดชีวิต ส่วนมากเป็น ventricular fibrillation (VF) ซึ่งอัตราการรอดชีิวิตมีความสัมพันธ์กับช่วงเวลานับตั้งแต่ ผู้ป่วยหมดสติจนถึงเวลาที่ไดรับการ defibrillation โดยผู้ที่ได้ รับการ defibrillation ภายในระยะเวลา 4 นาทีหลังจากที่ผู้ป่วย หมดสติและมีคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นแบบ ventricular fibrillation มีโอกาสรอดชีวิตถึงร้อยละ 40 แต่ถ้าได้รับการ defibrillation หลังจาก 10 นาที โอกาสรอดชีวิตกลับลดลงเหลือร้อยละ 10 การฝึกให้ประชาชนทั่วไปและบุคลากรทางการแพทย์ฉุกเฉิน ทุกระดับ ซึ่งเป็นบุคคลที่ไปถึงที่เกิดเหตุเป็นอันดับแรกมีความ สามารถในการตรวจพบและท�ำการรักษาภาวะ ventricular fibrillation จึงมีความจ�ำเป็นเพราะจะช่วยใหอัตราการรอด ชีิวิตจากหัวใจหยุดเต้นและหัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ ventricular fibrillation มีมากขึ้น การช่วยฟื้นคืนชีพพื้นฐานตามแนวทางของสมาคม โรคหัวใจประเทศอเมริกาฉบับปรับปรุงปี ค.ศ. 2015 มีข้อ แตกต่างจากแนวทางเดิมไม่มาก ได้แก่ 1. การกดหน้าอก อัตราการกดหน้าอกจากเดิมที่เป็น 100 ครั้งต่อนาที จากการศึกษาใหม่ๆ พบว่าการกดหน้าอกให้อยู่ ในช่วง 100-120 ครั้งต่อนาทีได้ประโยชน์มากกว่า ส่วนความลึก ในการกดหน้าอกอยู่ในช่วง 5 ถึง 6 เซนติเมตร โดยในระหว่าง กดหน้าอกให้มีการรบกวนผู้ที่ท�ำการกดหน้าอกให้น้อยที่สุด ปล่อยมือให้สุดก่อนที่จะมีการกดหน้าอกครั้งต่อไป และควร เปลี่ยนคนกดหน้าอกทุก 2 นาทีเพื่อลดความเหนื่อยล้าซึ่งท�ำให้ คุณภาพของการกดหน้าอก ลดลง ในกรณีที่ผู้ช่วยเหลือ ไม่ มี อุ ป กรณ์ ช ่ ว ยในการ หายใจไม่มีความจ�ำเป็นต้อง เป่าปากผู้ป่วยอีกต่อไป ให้ ท�ำการกดหน้าอกเพียงอย่าง เดียวจนกว่าทีมช่วยเหลือจะ ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹Ò มาถึง ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹

13


2. การใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ (Automatic external defibrillators : AED) ซึ่งสามารถประเมินจังหวะการเต้นของ หัวใจและสามารถตรวจพบภาวะ ventricular fibrillation และสามารถท�ำการ defibrillation ได้โดยอัตโนมัติ ซึ่ง AED ถือว่าเป็น อุปกรณ์ที่ใช้งานได้ง่าย แม้แต่บุคลากรที่ไม่ได้รับการฝึกการใช้เครื่องก็สามารถใช้เครื่อง AED ได้เพราะมีการอธิบายขั้นตอนการใช้งาน เป็นเสียงพูดโดยตรง ซึ่งปัจจุบันแพทยสมาคมแหงสหรัฐอเมริกาได้ยอมรับให้ประชาชนทั่วไปควรสามารถทําการใช้เครื่อง AED ได และควรเปนมาตรฐานการรักษาสําหรับระบบเวชบริการฉุกเฉินทุกแห่งในสหรัฐอเมริกา เมื่อพบผู้ป่วยหมดสติและไม่มีชีพจรสิ่งที่ ส�ำคัญนอกเหนือจากการกดหน้าอกที่มีคุณภาพแล้วคือการติดเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจและการแจ้งเหตุเพื่อขอความช่วยเหลือที่เบอร์ โทร 1669 เพราะสาเหตุส�ำคัญของหัวใจหยุดเต้นในผู้ใหญ่มักเกิดจากหัวใจเต้นผิดปกติ มีความจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ โดยเร็ว 3. หลักการประเมินผู้ป่วยที่สงสัยภาวะหัวใจหยุดเต้น โดยกลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยว่ามีภาวะหัวใจหยุดเต้นคือผู้ป่วยที่หมดสติ หรือ หายใจเฮือก หรือ ชัก ซึ่งมีความจ�ำเป็นต้องประเมินโดยการคล�ำชีพจรที่คอโดยใช้เวลาทั้งหมดน้อยกว่า 10 วินาที เมื่อพบว่าไม่มี ชีพจรให้ท�ำการกดหน้าอกอย่างมีคุณภาพทันทีและผู้ช่วยเหลืออีกท่านท�ำการร้องขอเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจและโทรศัพท์ขอความ ช่วยเหลือ โดยเน้นหลักการดูแลแบบ CAB คือ Cardiac (เน้นการกดหน้าอกอย่างมีคุณภาพ) Airway (การเปิดทางเดินหายใจ) และ Breathing (การช่วยหายใจ) ภาวะหัวใจหยุดเตนในโรงพยาบาล (In-hospital Cardiac arrest; IHCA) เนนการสรางระบบเฝาระวังผูปวยกอนเกิดภาวะ หัวใจหยุดเตน เชน Early Waring System และระบบแจงทีมบุคลากรที่เกี่ยวของเขามาใหการดูแลผูปวยที่มีอาการเปลี่ยนแปลง เชน Rapid Response Team ซึ่งมีประสิทธิภาพในการลดอุบัติการณ ผูปวยหัวใจหยุดเตนทั้งในเด็กและผูใหญ

Primary providers

Code team Cath lab

ICU

ภาวะหัวใจหยุดเตนนอกโรงพยาบาล (Out-of-hospital Cardiac arrest; OHCA) จำเปนตองพึ่งพาความชวยเหลือจาก ชุมชน เริ่มตั้งแตมีผูพบเห็นโทรศัพทแจงเหตุเพื่อขอความชวยเหลือจากระบบการแพทยฉุกเฉิน (1669) เริ่มการชวยฟนคืนชีพ รวมกับการใชเครื่องช็อกไฟฟาหัวใจที่มีในที่สาธารณะ (Pulblic-Access Defibrillation: PAD)

Lay rescuers

EMS

ED

Cath ICU lab

ภาพแสดงห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต

ห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต (Chain of Survival) ในแนวทางปฏิบัติฉบับใหม่ ห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิตจะถูกแบ่งแยกชัดเจน ระหว่างการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นในโรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาล ในกรณีผู้ป่วยมีภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล ในแนวทางปฏิบัติฉบับใหม่เน้นให้ผู้รับแจ้งเหตุและจ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน (Emergency Medical Dispatcher) สามารถระบุได้ว่า ผู้ป่วยมีภาวะหัวใจหยุดเต้น และให้ค�ำแนะน�ำผู้แจ้งเพื่อช่วยกู้ชีพเบื้องต้นได้ นอกจากนี้ยังมีค�ำแนะน�ำให้มีโครงการติดตั้งเครื่องช็อก ไฟฟ้าอัตโนมัติในที่สาธารณะ (Public Access Defibrillation; PAD) เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีหลักฐานสนับสนุนชัดเจนว่ามีผู้รอดชีวิต เพิ่มขึ้นจากภาวะหัวใจหยุดเต้นหากมีการใช้เครื่อง PAD อย่างรวดเร็ว ฉะนั้นการพัฒนาระบบการตอบสนองฉุกเฉินทางการแพทย์ การฝึกฝนบุคลาการทางการแพทย์ผู้ให้ความช่วยเหลือ และบุคคลทั่วไปให้เข้าใจระบบการแจ้งเหตุ การช่วยกู้ชีพเบื้องต้นตลอดจน การใช้ PAD จึงมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง อีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจ คือ การใช้สื่อสาธารณะ (Social Media) เพื่อรวบรวมผู้ให้การช่วยเหลือที่อยู่ใกล้เคียง โดยท�ำเป็น แอพลิเคชั่นแจ้งเตือนทางโทรศัพท์มือถือ การศึกษาในประเทศสวีเดนพบว่าสถิติการท�ำ CPR เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญหลังจากใช้ สื่อสาธารณะเข้าช่วย อย่างไรส�ำหรับประเทศไทยยังต้องมีการเก็บข้อมูลหลักฐานเพิ่มเติมต่อไปก่อนน�ำมาใช้

14 ¡ÒÃá¾·Â©Ø¡à©Ô¹ ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹ÒÂ


จากการค้นหาผู้ประสบภัยใต้น�้ำมาสู่ การป้องกันการจมน�้ำในชุมชน นายพิสิษฐ์ พงษ์ศิริศุภกุล เลขามูลนิธิพุทธธรรม 31 นครราชสีมา (ฮุก31)

จังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และมี จ� ำ นวนประชากรเป็ น ที่ 2 รองจากเมื อ งหลวง กรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีแม่น�้ำไหล ผ่ า นหลายสาย รวมทั้ ง ล� ำ คลอง บ่ อ ขุ ด แหล่ ง น�้ ำ เพื่ อ ใช้ ใ น การเกษตรกรรมในท้องถิ่นเป็นจ�ำนวนมาก มีจ�ำนวนการเสียชีวิต จากการจมน�้ำมากที่สุดของประเทศ ปี 2551-2556 เฉลี่ยปีละ 200 คน (อัตราต่อแสนประชากรเท่ากับ 6.4-9.3) ในจ�ำนวนนี้ เป็นเด็กอายุต�่ำกว่า 15 ปี เฉลี่ยปีละ 47 คน ทีมกู้ภัยใต้น�้ำ ฮุก31 เกิดจากการรวมตัวของเครือข่าย จิตอาสา มีบทบาทหลักในการค้นหาผู้ประสบภัยใต้น�้ำและได้มี การด�ำเนินการตามภารกิจในการค้นหาผู้ประสบภัยทางน�้ำตั้งแต่ ปี พ.ศ.2536-ปัจจุบัน โดยพบว่ากว่า 1,000 ราย ที่ได้รับแจ้งและ ลงไปค้นหาในน�้ำไม่มีรายใดเลยที่รอดชีวิต และสถานที่เกิดเหตุ มักพบว่าเป็นแหล่งน�้ำตามธรรมชาติในชุมชน จึงเกิดแนวคิด น่าจะมีวิธีการป้องกัน ไม่ให้เกิดเหตุมากกว่าที่จะมาแก้ไขปัญหา เมื่อเกิดเหตุแล้ว ซึ่งโอกาสรอดชีวิตไม่มีเลย

โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการด�ำเนินงานป้องกันการจมน�้ำ โดยเริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ ปี 2555 จากการสอนให้เด็กและผู้สนใจเรียนรู้เรื่องความ ปลอดภัยทางน�้ำ รู้วิธีการเอาชีวิตรอดโดยการสอนลอยตัวเปล่า ในน�้ำและการใช้อุปกรณ์ที่ลอยน�้ำได้อย่างง่าย (ขวดน�้ำพลาสติก เปล่า) ช่วยในการพยุงตัว และวิธีการช่วยเหลือผู้อื่นจากการ จมน�้ำที่ถูกต้อง โดยเปิดสอนฟรีเดือนละ 1 ครั้ง และได้มีการสร้าง ทีมเครือข่ายระดับชุมชนในการส�ำรวจแหล่งน�้ำเสี่ยงพร้อมทั้ง ด�ำเนินงานจัดการแหล่งน�้ำเสี่ยงในชุมชน ช่วงเทศกาลลอยกระทง และสงกรานต์โดยการติดตั้งป้ายเตือน ติดตั้งอุปกรณ์ช่วยเหลือ คนตกน�้ำที่หาได้ง่าย เช่น แกลลอนพลาสติกเปล่า ไม้ยื่น เชือก ทั้งนี้ การด�ำ เนิน การและวัส ดุอุป กรณ์ ที่ใ ช้ เ กิด จากความร่ ว มมือ ของคนในชุมชนและการบริจาคของภาคเอกชน

ÊÒÃà¤Ã×Í¢‹Ò ¡ÒÃá¾·Â ©Ø¡à©Ô¹

15


ลการด�ำเนินงานที่เกิดขึ้น ภายหลังการด�ำเนินงานมีเด็กนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 ที่ผ่านการฝึกภาคปฎิบัติทั้งหมด 6,114 คน เกิดเครือข่ายจิตอาสาผู้ฝึกสอน 606 คน เปิดสอนฟรีวิธีการเอาชีวิตรอดจากการจมน�้ำเดือนละ 1 ครั้ง รวม 35 ครั้งทั้งเด็ก ผู้ปกครอง ประชาชนทั่วไปที่สนใจ จ�ำนวน 350 คน มีการจัดการแหล่งน�้ำเสี่ยงโดยเครือข่ายการป้องกันเด็กจมน�้ำ 90 แห่ง และได้มีการด�ำเนินงาน ครอบคลุมทุก 1 ต�ำบลใน 32 อ�ำเภอ ของจังหวัดนครราชสีมา นอกจากนี้ยังพบว่าการแจ้งเหตุในการออกไปค้นหาผู้ประสบภัย ทางน�้ำลดลง

ากการด�ำเนินงานพบว่า การจมน�้ำเป็นสิ่งที่สามารถป้องกันได้ จากบทบาทของผู้ค้นหาผู้ประสบภัยใต้น�้ำมาสู่การป้องกัน การจมน�้ำในชุมชน ด้วยการด�ำเนินงานในมาตรการง่ายๆ เน้นการฝึกทักษะให้เด็ก การสร้างเครือข่ายจิตอาสา การจัดการแหล่ง น�้ำเสี่ยง ภายใต้ความร่วมมือของชุมชน นับว่าเป็นการเพิ่มโอกาสรอดชีวิตจากการจมน�้ำให้กับเด็กในจังหวัดนครราชสีมา

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)

88/40 หมู่ 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 84 พรรษา สาธารณสุข 6 ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวัญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0 2872 1669 โทรสาร 0 2872 1602-5 www.niems.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.