87654321

Page 1



รูปหลวงปู่ทวด

ภาพวาดเจาประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย ( โต พฺรหมฺรํสี) ขณะอายุได ๒๐ ป ประดิษฐานภายในอุ ๑ โบสถ วัดคณิกาผล กรุงเทพมหานคร





ที่มาของพระคาถา ยอดพระกัณฑไตรปฎก ถาจะพูดถึงเรื่องพระคาถายอดพระกัณฑไตรปฎก หรือ พระคาถาตางๆ ที่คัดลอกสืบตอกันมา หลายทอด หลายตอน หลายๆ ครั้ง จากลายมือการเขียนคาถาตนฉบับ จากลายมือของ ผูลอกตอ แลวนํามาพิมพจากการลอกผิดๆ ทําใหการพิมพพลอย ผิดไปดวย ทั้งพระคาถาคอนขางยาว ที่ผิดจึงแตกตางกันออกไป ผิดมากบางนอยบาง ทั้งตนฉบับจริงนั้น เราทานก็ไมเคยไดเห็น กัน ทํ า ให เ ราๆ ท า นๆ ยึ ด มั่ นวา พระคาถาที่ มีอยูใ นมื อ เรานั้ น ถูกตอง ของคนอื่นผิด แลวก็สวดกันผิดๆ ตอไป จนขณะนี้มีพระ คาถาเกิดขึ้นหลายเลม หลายสํานักพิมพ บางก็วาถูกตอง เพราะ คัดลอกมาจากตนฉบับเดิม จนวันหนึ่งขาพเจาไดพบพระพิมพสมเด็จสององค ขนาด กวาง ๒.๘ ซ.ม. สูง ๔.๒ ซ.ม. เนื้อทองแดงองคหนึ่ง สวนอีก องคเปนเนื้อผง ลงลักปดทองทั้งสององค ทั้งลักและทองหลุด รอนลอกออกไปบางแลวตามอายุขัย เมื่อพลิกดูดานหลังองคพระ ปรากฎวา มีพระคาถายอดพระกัณฑไตรปฎก ถามองดวยตาเปลา


ไมสามารถอานได เพราะตัวหนังสือเล็กมากเทามดตัวเล็กๆ ตอง ใชแวนขยายที่ใชสําหรับสองดูพระเครื่องขยายจึงอานได และกวา จะถอดพระคาถาออกมาครบ ใชเวลาหลายวัน องคพระที่เปนเนื้อ ทองแดงดูจะอานงายกวาองคพระเนื้อผง ผูที่ใหมาบอกวาไดมา จากกรุวัดพระแกว เท็จจริงอยางไรไมทราบได ถาจริงแสดงวา ผูสรางพระตองการใหพระคาถา สืบทอดในพระพุทธศาสนาสืบ ตอไป เพราะพระคาถาทั้ง ๒๗ ขอ ลงครบทั้งหมด นาทึ่งมาก เรา ทานทั้งหลายไดพบของดี ของเลิศ ของประเสริฐกันแลว โปรด อยาละเลย จงหมั่นสาธยายพระคาถาใหเปนประจํา โดยตั้งสัจจะ กับตัวเองไว สั จ จะนี่ เ ป น ธรรมข อ แรกของฆราวาสธรรม ที่ พึ ง รั ก ษา ปฏิบัติ คือ สัจจะ - ใหคํามั่นสัญญาอยางไรทําตามนั้น ทมะ - การขมใจ ขันติ - อดทนอดกลั้น จาคะ - การบริจาคทรัพยสินสิ่งของ


บทสวดมนต



คํานมัสการพระพุทธเจา นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

คํานมัสการพระรัตนตรัย บูชาคุณบิดามารดา และครูบาอาจารย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ) มัยหัง มาตาปตูนัง วะปาเทวันทามิ สาทะรัง (กราบ) ปญญาวุฑฒิ กะเร เต เต ทินโน วาเท นะมามิหัง (กราบ)


บทสวดไตรสรณคมณ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ

พระพุทธเจากําจัดภัยไดจริง พระธรรมกําจัดภัยไดจริง พระสงฆกําจัดภัยไดจริง

ทุติยัมป พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ แมครั้งที่สองพระพุทธเจากําจัดภัยไดจริง ทุติยัมป ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ แมครั้งที่สองพระธรรมกําจัดภัยไดจริง ทุติยัมป สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ แมครั้งที่สองพระสงฆกําจัดภัยไดจริง ตะติยัมป พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ แมครั้งที่สามพระพุทธเจากําจัดภัยไดจริง ตะติยัมป ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ แมครั้งที่สามพระธรรมกําจัดภัยไดจริง ตะติยัมป สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ แมครั้งที่สามพระสงฆกําจัดภัยไดจริง

๑๐


บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะ มะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหิติฯ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

๑๑


๑๒


๑๓


หลัง

๑๔


พระคาถายอดพระกัณฑไตรปฎก ๑. อิติปโส อิติปโส อิติปโส อิติปโส อิติปโส

ภะคะวา ภะคะวา ภะคะวา ภะคะวา ภะคะวา

อะระหัง วัจจะโส ภะคะวาฯ สัมมา สัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวาฯ วิชชาจะระณะสัมปนโน วัจจะโส ภะคะวาฯ สุคะโต วัจจะโส ภะคะวาฯ โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา

๒. อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ อะระหันตัง สิระสา นะมามิฯ สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิฯ วิชชาจะระณะสัมปนนัง สะระณัง คัจฉามิ วิชชาจะระณะสัมปนนัง สิระสา นะมามิฯ สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ สุคะตัง สิระสา นะมามิฯ โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ โลกะวิทัง สิระสา นะมามิฯ

๑๕


๓. อิติปโส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวาฯ อิติปโส ภะคะวา ปุริสะทัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวาฯ อิติปโส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวาฯ อิติปโส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวาฯ ๔. อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิฯ ปุริสะ ทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ ปุริสะ ทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิฯ สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิฯ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ พุทธัง สิระสา นะมามิ อิติปโส ภะคะวาฯ ๕. อิติปโส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปนโน อิติปโส ภะคะวาฯ อิติปโส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปนโน อิติปโส ภะคะวาฯ อิติปโส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี

๑๖


จะ สัมปนโน อิติปโส ภะคะวาฯ อิติปโส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปนโน อิติปโส ภะคะวาฯ อิติปโส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปนโน อิติปโส ภะคะวาฯ ๖. อิติปโส ภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ ๗. อิติปโส ภะคะวา ยามา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา ตุสิตา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ

๑๗


อิติปโส ภะคะวา นิมมานะระตี ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา กามา วะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ ๘. อิติปโส ภะคะวา ปะถะมะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา ตะติ ยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา ปญจะมะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ ๙. อิติปโส ภะคะวา อากาสานัญจายะ ตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะ ตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา วิญญาณัญจายะ ตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะ ตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา อากิญจัญญายะ ตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะ ตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ ๑๐. อิติปโส ภะคะวา โสตาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ

๑๘


อิติปโส ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ ๑๑. อิติปโส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะ ปะฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะนาคามิอะระหัตตะ ปะฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโนฯ ๑๒. กุสะลา ธัมมา อิติปโส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ชมภูทีปญจะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะฯ ปญจะพุทธา นะมามิหัง

๑๙


อาปามะจุปะ ทีมะสังอังขุ สังวิธาปุกะ ยะปะฯ อะปะสะชะ สุเห ปาสายะ โสโส สะสะ อะอะอะอะนิ เตชะสุเนมะฯ ภูจะนาวิเว อะสังวิสุโล ปุสะพุภะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ กุสะลา ธัมมา จิตติ วิอัตถิฯ ๑๓. อิติปโส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพธิปญจะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมาฯ ๑๔. กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมา สัมพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา อิติ วิชชา จะระณะสัมปนโนฯ อุ อุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมาฯ นันทะปญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรัหมมาสัททะปญจะสัตตะ สัตตาปาระมี อะนุตตะโรฯ

๒๐


ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ๑๕. ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุยะปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ๑๖. นิมมานะระตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะมะนุสสานังฯ ตะถะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ๑๗. ปะระนิมมิตตะวะสะวะตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธฯ พุทธะปะผะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ ๑๘. พรัหมมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัตถิปจจะยา วินะปญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิฯ นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะฯ พุทธิลาโลกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะฯ

๒๑


๑๙. นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะฯ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ วัตติ วัตติ วัตติ ฯ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหะยะฯ ๒๐. อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรัหมมะสาวัง มะหาพรัหมมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสีสาวัง มะหาอิสีสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง พุทธะสาวัง ปจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธาระนัง สาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุฯ ๒๑. สาวัง คุณณัง วิชชา พะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิ กัมมังฯ นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานะ สีลังฯ ปญญา นิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปง สุขัง สิริรูปงฯ

๒๒


สุวิสสะติ เสนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะฯ ๒๒. นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตาฯ รูปะขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปโส ภะคะวาฯ ๒๓. นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตาฯ รูปะขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโมฯ ๒๔. นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตาฯ รูปะขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโมฯ ๒๕. นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตาฯ รูปะขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆฯ

๒๓


๒๖. นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปรติ ตังฯ ๒๗. นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะ หาโย โมนะ อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตาฯ อุอะมะอา วันทา นะโมพุทธายะ นะอะกะติ นิสะระณะ อาระปะขุธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตาฯ

๒๔


วิปสสิต สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วินาสสันตุ (กรวดน้ํา) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ดวยเดชะผลบุญแหงขาพเจาไดสราง และ สวดยอดพระกัณฑไตรปฎกนี้ ขออุทิศสวนกุศลใหแกคุณ บิดามารดา และ ๑๖ ชั้นฟา ๑๕ ชั้นดิน ผูมีพระคุณ ญาติกา ครู อุปชฌายอาจารย เจากรรมนายเวร บูรพระมหากษัตริยไทย ทุกๆ พระองค ผูมีคุณตอชาติ และ มิตรรักสนิท (ชื่อ...ถามี) เพื่อนสาราสัตวนอยใหญ สรรพสัตวทั้งหลายที่เวียนวายตาย เกิดอยูในวัฏสงสาร เจากรุงพาลี แมพระธรณี แมพระคงคา แมพระเพลิง แมพระพาย แมพระโพสพ เจาปา เจาเขา เจาทุง เจาที่ เจาทา เจาถ้ํา พระภูมิเจาที่ พระพิรุณ พระยายมราช นายนิรยบาล ทั้งทาวจัตุโลกบาล สิริพุทธอํามาตยชั้นจาตุมหาราชิกาเบื้องบน จนถึงที่สุดพรหมมาเบื้องต่ํา ตั้งแตอเวจี ขึ้นมา จนถึงมนุษยโลก โดยรอบสุดขอบจักรวาล อนันตจักรวาล คุณพระศรีรัตนตรัยและเทพยดาทั้งหลาย รวมทั้งเทพยดาที่ คุมครองรักษาขาพเจา ตลอดทั้งอินทร พรหม ยมยักษ คนธรรพ

๒๕


นาคา ครุฑ ทานทั้งหลายที่ตองทุกขขอใหพนจากทุกข ทาน ทั้งหลายที่ไดสุข ขอใหไดสุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป ดวยเดชะผลบุญแหง ข าอุ ทิ ศให ไปนี้ จงเป นอุ ปนิ สั ย ป จจั ยให ถึ งพระนิ พพานใน ปจจุบัน และอนาคตกาลเบื้องหนาโนนเทอญฯ พุทธังอนันตัง สังฆังนิพพานัง

ธัมมังจักรวาลัง ปจจโยโหนตุ

๒๖


หน้า

๒๗


หลัง

๒๘


พระคาถาชินบัญชร สมเด็จพระพุฒาจารย (โต พรหมรังสี) กอนที่จะเจริญภาวนา ใหตั้งนะโม ๓ จบ แลวระลึกถึง และบูชา เจาพระคุณสมเด็จฯ ดวยคําวา ปุตตะกาโมละเภปุตตัง อัตถิกาเยกายะญายะ อิติปโสภะคะวา ทาวเวสสุวัณโณ อะระหังสุคะโต

ธะนะกาโมละเภธะนัง เทวานังปยะตังสุตตะวา ยะมะราชาโน มรณังสุขัง นะโมพุทธายะ

ชะยาสะนากะตา พุทธา จะตุสัจจา สะภัง ระสัง ตัณหังกะราทะโย พุทธา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง

เชตะวา มารัง สะวาหะนัง เย ปวิงสุ นะราสะภา อัฏฐะวีสะติ นายะกา มัตถะเก เต มุนิสสะรา พุทโธ ธัมโม ทวิโลจะเน อุเร สัพพะคุณากะโร

๒๙


หะทะเย เม อะนุรุทโธ โกณฑัญโญ ปฏฐิภาคัสมิง ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง กัสสะโป จะ มะหานาโม เกสะโต ปฏฐิภาคัสมิง นิสินโน สิริสัมปนโน กุมาระกัสสะโป เถโร โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ เถรา ปญจะ อิเม ชาตา เสสาสีติ มะหาเถรา เอเตสีติ มะหาเถรา ชะลันตา สีละเตเชนะ ระตะนัง ปุระโต อาสิ ธะชัคคัง ปจฉะโต อาสิ ขันธะโมระ ปะริตตัญจะ อากาเส ฉะทะนัง อาสิ

๓๐

สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โมคคัลลาโน จะ วามะเก อาสุง อานันทะราหุโล อุภาสุง วามะโสตะเก สุริโย วะ ปะภังกะโร โสภีโต มุนิปุงคะโว มะเหสี จิตตะวาทะโก ปะติฏฐาสิ คุณากะโร อุปาลี นันทะสีวะลี นะลาเฏ ติละกา มะมะ วิชิตา ชินะสาวะกา ชิตะวันโต ชิโนระสา อังคะมังเคสุ สัณฐิตา ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง วาเม อังคุลิมาละกัง อาฏานาฏิยะสุตตะกัง เสสา ปาการะสัณฐิตา


ชินา นานาวะระสังยุตตา วาตะปตตาทิสัญชาตา อะเสสา วินะยัง ยันตุ วะสะโต เม สะกิจเจนะ ชินะปญชะระมัชฌัมหิ สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ อิจเจวะมันโต ชินานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ สัทธัมมานุภาวะปาลิโต

๓๑

สัตตัปปาการะลังกะตา พาหิรัชฌัตตุปททะวา อะนันตะชินะเตชะสา สะทา สัมพุทธะปญชะเร วิหะรันตัง มะหีตะเล เต มะหาปุริสาสะภา สุคุตโต สุรักโข ชิตุปททะโว ชิตาริสังโฆ ชิตันตะราโย จะรามิ ชินะปญชะเรติ


คาถามงกุฎพระพุทธเจา (๑๘ จบ ขอสําเร็จผล) อิติปโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปติอิ

คาถาบูชา หลวงปูทวด วัดชางไห นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิตภิ ะคะวา นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา

คาถาสมเด็จพระพุฒาจารย (โต พรหมรังสี) (หลวงปูโตบอกวามาจากพระคาถาทวัตติงสาการะปาโฐ ซึ่งสวนใหญพิมพอักขระไมถูกตอง) ใชทําน้ํามนต เมื่อสวดเสร็จนําน้ํามาดื่ม เพื่อรักษาโรคภัยไขเจ็บ และคุมครองปองกันภัย

เกโลนะทะ อะวะหะยะ อะอุกะป เมอะวะเข

ตะมังนะอะ กิปปะอะ เสปุโลเส สิงละมุมะ ๓๒


คาถากอนกินขาว ของหลวงพอเปลื้อง วัดสุวรรณภูมิ จังหวัดสุพรรณบุรี พุทธัง เปนยา ธัมมัง รักษา สังฆัง หาย หาย หาย (หลวงพอเปลื้อง ทานใชพระคาถานี้ตอนตักขาวกอนใสปากฉัน คําแรก วานะโม ๓ จบ แลวกลาวคําคาถา เพียงเทานี้ แลวฉัน ทานวาเปนวิธีทําใหหายโรคภัยไขเจ็บ ในกายตนได อายุยืนดวย หลวงพอเปลื้อง เปนพระมีอายุยืนถึง ๑๐๑ ป จึงมรณะภาพ)

คาถาของหลวงปูช ู วัดโปรดเกศ สาธุ พุทธัง ปาการัง อะชิตะจามิ อิติ อะระหัง เว เว สิ นะโมพุทธายะ (เปนคาถาปองกันตัว ภาวนากอนออกจากบานใหได ๑๘ จบ แคลวคลาดพนภัย)

๓๓


คาถาเสกน้ําลางหนา ทานจะไมเจ็บตาเลย สะหัสสะเนตโต เทวินโท ทิพพะจักขุง วิโสธะยิ อิกะวิติ พุทธะสังมิ โลกะวิทู (คาถานี้ เสกน้ําลางหนาทุกวันจะไมเปนโรคตา เสกยาหยอดตาก็ได ใชเบิกเนตรพระพุทธรูปหรือกุมารไดเชนกัน)

คาถาพญายม (สวดปองกันการตายกอนอายุขัยยามเจ็บไขไดปวย) ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ

๓๔


การทําบุญปลอยปลา การทําบุญปลอยปลา ควรเลือกซื้อปลาในตลาดที่เคาจะฆา จะทุบหัว เปนการดีที่สุด เพราะเราไดใหชีวิตกับเคา แทนการ ถูกฆา และใหเลือกสถานที่ปลอย เชน ในคลอง หรือแมน้ําที่ กวาง สะอาดไมสกปรก เคาจะไดมีชีวิตอยูไปไดอีกไกล (พระพุทธเจาทานทรงตรัสวา " ผูใหชีวิต ยอมไดชีวิต ") สวนการทําบุญปลอยปลา มักมีการพูดกันมากวา ปลอยปลาชนิดใด หามกินปลาชนิดนั้น อยานําไปยึดติดในจิต เปนความเชื่อที่คิดกันเอง เพราะเราไดทาํ บุญ ไดใหชวี ติ เคาแลว เราไมไดไปกินปลาตัวที่ เราปลอย *** เมือ่ ซือ้ ปลามาแลว กอนกลาวคําอธิษฐานทําบุญปลอย ปลา ควรหาขันน้ํา ตักน้ําในคลอง/แมน้ํา ที่เราจะปลอยปลา โดยตักน้ําใสลงไปในถุงปลาอีกพอประมาณ แลวคอยเริ่มตั้ง จิตอธิษฐาน ทัง้ นีเ้ พือ่ เปนการชวยใหปลาไดปรับตัวกับสภาพ น้าํ ทีเ่ ราจะปลอยเสียกอน

๓๕


กอนปลอยปลา ใหตั้งจิตอธิษฐานวา “ ขาพเจา ใหชีวิตทาน ขาพเจา ขอฝาก ทุกขโศก โรคภัย (ถามี โรคอะไร ก็ใหกลาวบอกมาดวย) เสนียดจัญไร สิ่งอัปมงคล อุปสรรคตาง ๆ สิ่งตางๆ ที่ไมดีในตัวขาพเจา และ/หรือ (ชื่อ………………… สกุล……………………ของคนที่เราทําแทน) ฝากใหทานชวยนําไปทิ้งใหดวย ” เมื่อกลาวอธิษฐานปลอยปลาเสร็จแลว ใหกลาวตอโดย อุทิศผลบุญที่เราไดกระทําเอง หรือไดกระทําแทนใหกับผูอื่น “ ขอผลบุญที่ขาพเจาไดกระทําในครั้งนี้ ขออุทิศใหกับ เจากรรมนายเวรทั้งหลายของขาพเจา ทั้งอดีตชาติและชาติ ปจจุบัน (และ/หรือเจากรรมนายเวรของ ชื่อ................ นามสกุล ............... ของผูที่เราทําแทน) ปูยา ตายาย บิดามารดา ญาติทั้งหลาย ครู อาจารย เทพยดา อารักษ เทพเจาทั้งหลายทั่วสากลพิภพ เทพยดาที่ปกปกรักษา ขาพเจา พญายมราช ทานทาวจตุโลกบาลทั้ง ๔ พระแมธรณี พระแมคงคา พระเพลิง พระพาย แมพระโพสพ เจาปา เจาเขา

๓๖


เจาทุง เจาทา เจาที่ เจาถ้ํา ผีสางนางไมทั้งหลาย เปรต อสูรกาย สัตวนรก สัมภเวสี และดวงวิญญาณที่อยู ณ สถานที่ แหงนี้” ***** เมื่ออธิษฐานและอุทิศผลบุญเรียบรอยแลว ก็ใหปลอย ปลาไดทันที ***** หมายเหตุ ! บางครั้งมีผูสงสัยวาฝากสิ่งไมดีตาง ๆ ไปทิ้ง หมายความวา ฝากไวกับปลาหรือ? ซึ่งจริง ๆ แลว เราฝากใหเคาชวยนําสิ่งที่ เราบอกไปทิ้งใหดวยในตอนที่ปลอยเคาเทานั้น ไมไดฝากไป ไวกับเคาเลย

๓๗


วิธีลอดโบสถเพื่อสะเดาะเคราะห ลงไปใตโบสถ ตั้งนะโม ๓ จบ ปดทองลูกนิมิต แลวเดินขึ้นดานบน เลี้ยวขวาเดิน ๓ รอบ, ๕ รอบ หรือ ๙ รอบใหทองขอ ๑ ถึง ๙ ไปเรื่อย ๆ ขาพเจา ป ดทองลอดโบสถ ทุกข โทษนาๆ ติ ดเนื้อ หนังมังสา กรรมปจจุบันใหพน สวาหะสวาหาย ๑. ขาพเจา ชื่อ ..................... อวมงคลติดเนื้อหนังมังสา แตใดมาใหหลุดพน สวาหะสวาหาย ๒. ขาพเจาตองธรณีสารอุบาทวแปดประการตามโบราณวา ตองแตใดมาใหหลุดพน สวาหะสวาหาย ๓. ขาพเจาตองน้ํามันผีพรายติดเนื้อหนังมังสาแตใดมาให หลุดพน สวาหะสวาหาย ๔. ขาพเจาตองเดียรฉานเสนหยาติดเนื้อหนังแตใดมาใหหลุด พน สวาหะสวาหาย ๕. ขาพเจาตองคุณ ๑๒ ภาษาติดเนื้อหนังแตใดมาใหหลุดพน สวาหะสวาหาย

๓๘


๖. ขาพเจาตองมนตดํามนตแดงแตใดมาใหหลุดพน สวาหะ สวาหาย ๗. ขาพเจาตองโรคพญาธิเกิดโรคมิไดสรางซา ขอใหหลุดพน สวาหะสวาหาย ๘. ขาพเจาตองโรคกรรมโรคเวรปจจุบัน โรคกรรมพลัน สวาหะสวาหาย ..... โสธายะ ๙. ขาพเจาปดทองลอดโบสถครั้งนี้จงหนุนวาสนาหนุนบารมี ใหมั่งมีศรีสุข สิ่งที่ปรารถนาจงสําเร็จดวยเทอญ (คัดลอกมาจากที่โบสถวัดพระยาสุเรนทร ถนนพระยาสุเรนทร แขวงสามวาตะวันตก เขตคลองสามวา กทม.)

๓๙


รายนามผูร ว มจัดพิมพหนังสือ เผยแพรเปนธรรมทาน พระศุภวัฒน ปญญาธโร คุณชาญชัย โพธิ์พิพัฒน คุณกัญญา โพธิ์พิพัฒน คุณนัชรียา โพธิ์พิพัฒน คุณสุดาวดี โพธิ์พิพัฒน คุณสงบ รัศมี คุณเผือน รัศมี คุณเจริญ อนุรกั ษ คุณอนงค อนุรักษ คุณวรยุทธ รัศมี คุณสุจันทรา รัศมี เด็กหญิงทัศนกัลย รัศมี เด็กชายภูทศั น รัศมี คุณชัยพร รัศมี คุณวันเพ็ญ รัศมี คุณกานตพชิ ชา ทิวพนัส คุณมลิวัลย ชินวงศเวท ด.ต.วุฒิศักดิ์ มาสินทพันธุ คุณสุวรีย รัตนวัย คุณธนภัทร รัตนวัย เด็กชายจิรันธนิน รัตนวัย เด็กชายธัชธรรม รัตนวัย เด็กชายวรกันต รัตนวัย ครอบครัว พงศวุฒิเศรษฐ

คุณบุญโชค นวมงคลวัฒนา คุณศิรพร นวมงคลวัฒนา คุณภัคพล นวมงคลวัฒนา คุณจิรายุ นวมงคลวัฒนา คุณระเบียบ พันธทับทิม คุณมนูญ พันธทับทิม คุณสุดา พันธทับทิม คุณสุนยี  โกสกุล คุณวันทนา ขาวคม คุณสิริรัตน พรหมอาภรณ คุณเรณู พรหมอาภรณ คุณจตุพล พรหมอาภรณ คุณถนัด สัมฤทธิ์นิรันดร คุณอัญญรัตน จรัสวิมลใส คุณอรวรรณ จรัสวิมลใส คุณสุจินตนา เลาหจินดา และครอบครัว คุณทวีวฒ ั น - คุณสุธาริน ขันธริโย และครอบครัว คุณวลัยพรรณ พงศธํารงค คุณสุเทพ – คุณอรุณรัตน ศรีสุวรรณ และคณะ พ.ต.ท.วิศรุตม โสมทัต และครอบครัว พลตรีทวี – คุณทวีทรัพย นาคทอง คุณภานุมาส นาคทอง และครอบครัว คุณมาลี รัตนอุบล และครอบครัว คุณรสิตา โอสถานนท และครอบครัว

๔๐




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.