ABACA Profile Magazine Oct-Nov 2014

Page 1

ISSUE OCTOBER-NOVEMBER 2014

TUF

ธีรพงศ์ จันศิริ SUSTAINABILITY


EDITOR'S NOTE การเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ เป็นเรื่องดี ซึ่ง ABACA PROFILE ฉบับเดือน ต.ค. - พ.ย. นี้ ตอบทิศทางใหม่ๆ ที่ชัดเจน ในความพยายามของ สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญในการสร้างสัมพันธ์อันดี ต่อกันระหว่างสมาคม กับศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน และรวมถึงผู้อ่าน ทุ ก กลุ ่ ม นอกเหนื อ จากช่ อ งทางโซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร ์ ก บนเว็ บ ไซต์ www.auaa.au.edu ของสมาคม ในรูปแบบ E-Magazine และ ทีเ่ ฟซบุค๊ www.facebook.com/abaca.auaa ซึง่ นับเป็นความส�ำเร็จ ก้าวเล็กๆ ที่น่าภูมิใจ ABACA PROFILE ฉบับนีไ้ ด้รวบรวมแง่มมุ ของ ‘Eco Lifestyle’ มาบอกเล่าให้เราตระหนักถึงคุณประโยชน์ ซึ่งปรับใช้ได้อย่างลงตัว ในวิถีชีวิตประจ�ำวัน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดคุณภาพของชีวิตวันนี้ และใน อนาคตด้วยบทสรุปที่เราอยู่ได้อย่างมีความสุข ผ่านความทันสมัย ในแง่มุมของแนวคิดจากบทสัมภาษณ์นักบริหาร ตลอดจนถึงผ่าน งานดีไซน์ที่ยึดแนวคิดการอนุรักษ์พลังงานในการสร้างสรรค์ และ ข่าวสารรอบโลกเกี่ยวกับพลังงานและสิ่งแวดล้อมเปี่ยมคุณภาพ เพื่อการสร้างอนาคตสีเขียวร่วมกัน

และเนื่องในวาระที่สมาคมฯ จะครบรอบ 25ปี ในปีนี้ ผมมี ความยินดีที่จะเรียนเชิญทั้งศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน ร่วมสร้าง สัมพันธ์อันดีในการท�ำกิจกรรมที่สมาคมฯ จะจัดให้มีขึ้น ซึ่งเป็น กิจกรรมที่เอื้อประโยชน์ต่อส่วนรวมและต่อสังคม โดยท่านสามารถ ติ ด ตามข่ า วสารกิ จ กรรมดี ๆ ได้ จ ากทุ ก ช่ อ งทางการสื่ อ สารของ สมาคมฯ โดยผมหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าความร่วมมือร่วมใจของทุกท่าน จะมีส่วนให้สังคมได้รับประโยชน์ที่ดีในแง่มุมต่างๆ ได้ครับ

ดร. อุดม หงส์ชาติกุล นายกสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ บรรณาธิการบริหาร

OWNER: ABACA

Alumni Queen’s Tower (Q), Fl.13, 592/3 Ramkhamhaeng 24 Rd., Hua Mak, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel. 0-2719-1573-5, 0-2300-4543-53 Ext. 3735 Fax: 0-2300-5098 Email: abaca@au.edu Website: www.auaa.or.th EDITOR: คุณอภิภพ พึ่งชาญชัยกุล MARKETING & ADVERTISING DEPARTMENT: Bosphorus • คุณอรุณี แก้วทิพรัตน์ Mobile: 08-1647-3163 Email: amy_go@hotmail.co.th PRODUCTION: Bosphorus Co., Ltd. 9/2 Seri Villa Soi 44, Ladprao Soi 101, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel. 0-2736-8646 Mobile: 08-6313-8853 Fax: 0-2731-4195 Email: mybosphorus@yahoo.com DISTRIBUTION: Assumption Business Administration College (ABAC), Starbucks Coffee 30 Branches, True Coffee 30 Branches, Au Bon Pain 8 Branches MAILING: ABACA Alumni about 50,000 name lists CONTRIBUTORS อภิภพ พึ่งชาญชัยกุล ศิษย์เก่า ABAC / รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก และรองประธานสถาบันการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์ และรีไซเคิลเพือ่ สิง่ แวดล้อม (TIPMSE) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

จารุนันท์ วิสุทธิพิทักษ์กุล ศิษย์เก่า ABAC / เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานเกษตร สถานเอกอัครราชทูตไทยประจ�ำกรุงจาการ์ตา, อดีตอาจารย์ประจ�ำ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, อดีต Account Manager : P&G Thailand, อดีต Chain Account Manager : PT. Unilever Indonesia charunan13@hotmail.com

ดร.ปราโมทย์ เหรียญเจริญสุข ศิษย์เก่า ABAC / บรรณาธิการนิตยสาร IAMWATCH, Gaysorn Timepiece Ambassador และแฟนพันธุ์แท้นาฬิกาข้อมือ บุญชัย สุขสุริยะโยธิน ศิษย์เก่า ABAC / นักเขียนอิสระและเจ้าของเอเจนซี่โฆษณา ชูใจ

นิติ เนื่องจ�ำนงค์ ศิษย์เก่า ABAC / อาจารย์และที่ปรึกษากฎหมาย, AVP Retail Business Development Modernform Group PCL

ศุภางค์ จิระรัตนวรรณะ อาจารย์พิเศษโครงการภาษาอังกฤษ ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน, อาจารย์พิเศษภาษาอังกฤษ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

นรเศรษฐ หมัดคง นักเขียน / นักวิจารณ์อิสระ / ดีเจ / โปรดิวเซอร์ / อาจารย์พิเศษ seeeddj@gmail.com

ABACA PROFILE

2

MAGAZINE



20

24

39

28

35

12

26

32

CONTENTS ABACA NEWS GREEN INNOVATION COVER INTERVIEW PROFILE Y-FILE

6 8 12 18 24

SPOT STYLE WORLD NEWS JOURNEY IN STYLE I AM WATCH

25 26 28 32 34

ABACA PROFILE

DESIGN DIGEST 35 ENTERBRAIN 36 FIND YOUR MIND 37 BIZ GURU 38 LAW-GIC 39

4

MAGAZINE

REWARD YOURSELF BETWEEN THE LINE

40 42


ABACA NEWS STORY : กองบรรณาธิการ

Pan Am Thailand

ประธานกรรมการ ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิ้ง คนใหม่

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จับมือสายการบิน ANA หรือในนาม All Nippon Airways และ Nok Air เปิดศูนย์ฝึกการบินนานาชาติ Pan Am Thailand อย่างเป็นทางการ ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ โดยความ ร่วมมือครัง้ นีถ้ อื เป็นการพลิกโฉมวงการธุรกิจการบินในไทย ทีจ่ ะสร้างศูนย์ฝกึ การบินที่ได้มาตรฐานสากล และทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งใน Southeast Asia ที่ พร้อมให้บริการฝึกอบรมนักบิน ให้แก่สายการบินต่างๆ โดยเปิดให้บริการแล้ว ตั้งแต่เดือนกันยายน 2557 เป็นต้นไป

คุณสุพัตรา เป้าเปี่ยมทรัพย์ (AU Alumni Class #14) ได้เข้าพบภราดา บั ญ ชา แสงหิ รั ญ อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ ในโอกาสที่ คุณสุพัตราได้รับต�ำแหน่ง ประธานกรรมการของ ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิ้ง ในโอกาสเดียวกัน ดร.อุดม หงส์ชาติกุล นายกสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ พร้อมด้วย คุณชัยวัฒน์ วงศ์ศรีชนาลัย คุณพนัส อัสสรัตนกุล และ คุณอภิภพ พึ่งชาญชัยกุล ร่วมให้การต้อนรับและแสดงความยินดี ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตหัวหมาก

สมทบทุนสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ คุณวีระศักดิ์ สุตัณฑวิบูลย์ รองผู้จัดการใหญ่ฝ่ายลูกค้าธุรกิจรายกลาง ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) และคุณวรรณสุดา ธนสรานาต SVP. ธนาคาร กรุงเทพ เป็นผู้แทนมอบเงินจ�ำนวน 200,000 บาท เพื่อร่วมสมทบทุน ช่วยการ สร้างอาคารอเนกประสงค์ โรงเรียนเชียงรายปัญญานุกูล ที่เสียหายจาก เหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อ 5 พ.ค. 2557 โดย ดร.อุดม หงส์ชาติกุล นายก สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ พร้อมด้วย คุณพิทยากร เนาถาวร คุณอภิชิต ประสพรัตน์ คุณพนัส อัสสรัตนกุล และคุณชัยวัฒน์ วงศ์ศรีชนาลัย ได้เป็นคณะผูแ้ ทนรับมอบ ณ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ สีลม

งานสัมมนาพระปรีชาสามารถของล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 AUAA ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก อาจารย์ ไ กรฤกษ์ นานา นั ก วิ ช าการอิ ส ระ ผู ้ เ ป็ น เจ้ า ของผลงานหนั ง สื อ ประวั ติ ศ าสตร์ ส มั ย รั ช กาลที่ 4-5 หลายเล่ ม ได้ ม าบรรยาย พระอั จ ฉริ ย ภาพและพระปรี ช าสามารถ ของล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 ในโครงการ Mega Project ต่างๆ ทั้งโครงการ คอคอดกระ และโครงการรถไฟ Trans เมาะละแหม่ง สู่ยูนนาน ผ่านสยาม ประเทศ ตลอดจนพระปรี ช าสามารถในการรั ก ษาประเทศสยาม ให้พน้ จากการรุกรานของจักรวรรดินยิ ม โดยงานสัมมนาจัดขึน้ ที่ บริษทั หลัก ทรัพย์จัดการกองทุน กรุงศรี จ�ำกัด ABACA PROFILE

5

MAGAZINE




GREEN INNOVATION STORY : อภิภพ พึ่งชาญชัยกุล

DRINK till the last DROP ถาม: รู้ไหมว่าในร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยน�้ำกี่เปอร์เซ็นต์ ตอบ: กว่า 70% ของร่างกายมีน�้ำเป็นส่วนประกอบ

ราคาก็ถูกเมื่อผลิตจ�ำนวนมากๆ และเพราะมันจะถูกเมื่อผลิตมากๆ นี่แหละ จึงถูก โฆษณาประชาสัมพันธ์อย่างเต็มที่ ท�ำให้ในวันๆ หนึ่งมนุษย์ที่ต้องออกจากบ้าน ไปไหนมาไหนมักซื้อน�้ำบรรจุขวด PETE นี้กัน แบบไม่ได้คิดอะไรมาก แต่มีสักกี่คน ที่ดื่มน�้ำที่ซื้อมาไม่ว่าจากร้านสะดวกซื้อ หรือในร้านอาหารจนหมดขวด ผมเริ่มตั้งข้อสังเกตเรื่องการดื่มน�้ำไม่หมดขวดนี้ จากการไปเล่นฟุตบอลกับ เพื่อนๆ หลังจากที่เพื่อนๆ เริ่มทยอยกันกลับบ้าน ก็จะปรากฏขวดน�้ำดื่มที่เหลือน�้ำ อยู่ครึ่งขวดบ้าง เกือบหมดขวดบ้าง หรือแย่หน่อยบางขวดก็เหมือนถูกจิบไปแค่ ไม่กี่อึก ถูกวางทิ้งไว้จ�ำนวนเกินกว่าจ�ำนวนคนที่มาเล่นเกือบ 2 เท่า ค�ำถามคือท�ำไมน�ำ้ ดืม่ เหล่านีจ้ งึ ถูกทิง้ ไว้อย่างนัน้ ผมเริม่ สังเกตในสถานทีอ่ นื่ ๆ ก็พบเหตุการณ์แบบเดียวกัน ในห้องประชุม ห้องสัมมนา ในร้านอาหาร ขวดน�้ำดื่ม มักมีน�้ำเหลืออยู่เสมอ ริมสนามฟุตบอลนั้น มักจะจ�ำสับสนว่าขวดไหนเป็นของใคร เลยมั ก แก้ ป ั ญ หากั นด้ ว ยการเปิ ดขวดใหม่ ดื่มเลยเวลาจบเกม ในร้ า นอาหาร เมื่อเช็กบิลค่าอาหารเสร็จ การที่จะหยิบขวดน�้ำที่เหลืออยู่ติดมือไปบางคนก็คิดว่า เป็นเรื่องน่าอาย กลัวว่าพนักงานจะว่าขี้เหนียวไม่เข้าเรื่อง แน่นอนว่าการที่จะไปบอกให้คนที่เข้ามาใช้บริการต่อจากเราดื่มต่อให้หมด คงเป็ น เรื่ อ งที่ เ ป็ น ไปไม่ ไ ด้ เพราะจะมี ค� ำ ถามเกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย และ สาธารณสุขค�ำโตๆ ตามมาแน่ เราจะรูไ้ ด้ไงว่าน�ำ้ ทีเ่ หลืออยูใ่ นขวดถูกดืม่ มาอย่างไร ยกดื่มโดยตรงทั้งขวด หรือรินใส่ถ้วยน�้ำแล้วดื่ม ถ้าท�ำกันแบบนั้นจริงๆ ปัญหา โรคติดต่อต่างๆ คงตามมากันอีกเป็นพรวน ขวดพลาสติก 1 ขวดนั้นต้องผ่านกระบวนการต่างๆ มากมาย กว่าจะน�ำมา บรรจุน�้ำให้เราได้ดื่ม ไม่ต้องย้อนต้นก�ำเนิดไปไกลมากเกินไป เอาแค่ตอนที่มันเป็น ส่วนหนึ่งของปิโตรเลียม น�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ผ่านกระบวนการปิโตรเคมี จนได้ มาเป็นเม็ดพลาสติก ถูกส่งต่อไปยังโรงงานฉีดพรีฟอร์ม เป่าเป็นขวด บรรจุน�้ำ ปิดฝาพลาสติก (PP หรือ PE) ติดฉลาก บรรจุลงลัง ขนขึ้นรถ ส่งเข้าร้านค้า แช่ในตู้ แช่เย็น คิดแล้วก็เสียดายถ้ามันจะถูกจิบแค่ 1-2 อึกแล้วกลายเป็นขยะภายใน ไม่กี่นาทีหลังจากถูกเปิด จนในยุคสมัยที่มีการใช้พลาสติกแบบทิ้งๆ ขว้างๆ ทั่วไป นัน้ ท�ำให้มขี ยะพลาสติกเป็นปริมาณมากมายท่วมท้นตามทีท่ งิ้ ขยะในประเทศต่างๆ ในเอเชีย และไหลหลุดไปอยู่ในทะเลและเป็นอันตรายต่อสัตว์และพืชในน�้ำ แล้วเราจะแก้ปญ ั หานีก้ นั อย่างไรล่ะ! ง่ายมากๆ ก็ดมื่ น�ำ้ ให้หมดสิ อย่าให้เหลือ ไม่ครับ ไม่ต้องดื่มรวดเดียวหมดขวด เพราะมันไม่ดีต่อสุขภาพเช่นกัน ดื่ม ไม่หมดก็ถือติดมือไป เอาไว้ค่อยๆ ดื่ม แบ่งปันกับคนที่นั่งประชุมอยู่ข้างๆ เปิดทีละ ขวด เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมนิดๆ หน่อยๆ ของเรา ก็ชว่ ยโลกให้มสี ขุ ภาพดีขนึ้ ได้แล้ว ค�ำถามสุดท้าย: วันนี้คุณดื่มน�้ำ (หมดขวด) หรือเปล่า?

ถาม: แล้วเราควรดื่มน�้ำภายใน 1 วันเป็นปริมาณเท่าไร ตอบ: ประมาณ 1.5-2 ลิตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่ที่ว่าคนคนนั้น มีน�้ำหนักตัวเท่าไร และมีการท�ำกิจกรรมอะไรบ้าง เช่น คนน�้ำหนักตัว 60 กิโลกรัม ควรดื่มน�้ำ 1.9 ลิตร ค�ำถามค�ำตอบ 2 ข้อข้างบนเป็นพื้นฐานความรู้ด้านสุขภาพที่ต่างก็รู้ดี และท�ำบ้าง ไม่ท�ำบ้าง ตามแต่ระเบียบวินัยของแต่ละคน แต่ใครจะรู้ว่าพฤติกรรมการดื่มน�้ำ ของมนุษย์เราทุกวันนี้ มีผลกระทบต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และเรือ่ งขยะ เรียกว่า เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาวกันเลยทีเดียว มาดูกนั ว่าท�ำไม และอย่างไร ด้วย Lifestyle ที่เปลี่ยนไป ชุมชนที่ขยายใหญ่ขึ้น ความเร่งรีบในชีวิตประจ�ำวัน รวมไปถึงความเข้าใจ และปัญหาด้านสาธารณสุข การดืม่ น�ำ้ ทีค่ วรเป็นเรือ่ งธรรมดา จึงกลายเป็นเรื่องที่ยุ่งยากซับซ้อน ถึงขนาดเคยเป็นวาระแห่งชาติที่รัฐบาลต้องลง มายุ่ง ถึงกับต้องมีการก�ำหนดและควบคุมราคา โดยหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ดูแล ผู้บริโภคอย่าง ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเลยทีเดียว ใช่! เพราะน�้ำที่พูดถึงกันอยู่นี้ถูกบรรจุมาในขวดหรือถ้วยที่เป็นบรรจุภัณฑ์ หลากหลายรูปแบบ และราคาตั้งแต่แบบถ้วยพลาสติกขนาด 220 มล. ที่เสิร์ฟตาม งานสวดอภิธรรมในวัด จนถึงขวดขนาดครอบครัวแบบ 2 ลิตร ซึ่งมีราคาถ้วยละ 4-5 บาท ไปจนถึงแบบที่เป็นน�้ำแร่ธรรมชาติจากแหล่งต่างๆ ขวดละหลายสิบบาท น�ำ้ ดืม่ บรรจุขวดเหล่านีแ้ หละทีน่ ำ� มาซึง่ ปัญหาขยะทีเ่ พิม่ ขึน้ แบบทีเ่ ราไม่ทนั ได้สงั เกต พอมารู้ตัวกันอีกทีก็แทบเป็นเรื่องที่เหลือเชื่อว่า มันเป็นปัญหาใหญ่ทีเดียว จริงๆ แล้วน�ำ้ ดืม่ ได้ถกู บรรจุขวดขายมานานแล้ว คือขวดแก้วขนาดสักครึง่ ลิตร ซึง่ ร้านอาหารต่างๆ ในบ้านเราใช้เสิรฟ์ ลูกค้า ข้อดีของขวดแก้วนัน้ ก็คอื Reuse หรือ เอากลับมาท�ำความสะอาด ฆ่าเชื้อ และบรรจุขายใหม่ได้ แต่มีข้อเสียคือแตกง่าย และมีน�้ำหนักบรรจุภัณฑ์ต่อปริมาตรน�้ำสูงมาก ท�ำให้ใช้พลังงานหรือน�้ำมันในการ ขนส่งเยอะ เพราะพาหนะทีใ่ ช้ในการขนส่งต้องแบกน�ำ้ หนักของขวดแก้วด้วย ท�ำให้ ไม่เป็นทีน่ ยิ มในการพกพาไปไหนมาไหน จึงเกิดโอกาสของขวดพลาสติกแบบขาวขุน่ (พลาสติกชนิด PE) แทรกตัวเข้ามา แน่นอนว่ามีนำ�้ หนักเบากว่าขวดแก้ว แต่กระนัน้ ก็ยังไม่เป็นที่นิยมในการพกพา เพราะยังมีปัญหาเรื่องปิดฝา ที่เมื่อเปิดดื่มแล้ว จะปิดให้แน่นและไม่รั่วได้ยาก ความนิยมจ�ำกัด จนกระทั่งมีการน�ำขวดพลาสติก แบบใส (พลาสติกชนิด PETE) มาใช้บรรจุนำ�้ เพือ่ วางขาย แม้วา่ จะมาหลังสุด เพราะ เครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ใช้ผลิตราคาสูง แต่ขวดชนิดนี้ตอบโจทย์ และแก้ปัญหา ทีม่ อี ยูไ่ ด้ทงั้ หมด ทัง้ เบา ทัง้ ใสเหมือนแก้ว มีฝาแบบเกลียวทีเ่ ปิดง่ายและปิดได้สนิท ABACA PROFILE

อ้างอิง: • www.facebook.com/ThalasSiMeiyThalaseemia/posts/458799447538303 • www.the-than.com/saranalu/S1/26.html • www.waternetplc.com/th/index.php?option=com_content&view=article&id=244&Itemid=362 • www.wongpanit.com/wpnnew/ (20 กันยายน 2557) 8

MAGAZINE



TROJANS NIGHT STORY : กองบรรณาธิการ

สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ร่วมฉลองและแสดงความยินดีให้กับบัณฑิตใหม่ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ รุ่นที่ 42 จัดงานฉลอง Trojans Night 2014 - Secret of the Golden Stone เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2014 ณ บางกอก คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์

ABACA PROFILE

10

MAGAZINE


ABACA PROFILE

11

MAGAZINE


ABACA PROFILE

12

MAGAZINE


COVER INTERVIEW STORY : นิธิ ท้วมปฐม

ธีรพงศ์ จันศิริ

SUSTAINABILITY หากพูดถึง บริษทั ไทยยูเนีย่ น โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ผูผ้ ลิตปลาทูนา่ กระป๋อง รายใหญ่ทสี่ ดุ ของโลก ภายใต้แบรนด์ ทีห่ ลากหลาย จ�ำหน่ายครอบคลุมใน หลายทวีป ทัง้ ทวีปอเมริกา ยุโรป รวมถึงเอเชีย คงต้องพูดถึงหัวเรือใหญ่ แห่ง TUF นัน่ คือ คุณธีรพงศ์ จันศิริ ประธานกรรมการบริหาร TUF ผูข้ ยายอาณาจักร TUF จากโรงงาน รับจ้างผลิตปลาทูนา่ ขนาดเล็ก สูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ น�ำระดับโลก ในน่านน�ำ้ อุตสาหกรรมผูผ้ ลิตและ แปรรูปอาหารทะเลรายใหญ่ของโลก ทีต่ งั้ เป้ารายได้ในปี 2020 ไว้ท่ี 8,000 ล้านเหรียญสหรัฐ

ศิษย์เก่าจากรั้ว ABAC รุ่น 14/2 ท่านนี้ จบมา ด้วยการเรียนสาขา Marketing เพราะมีความตัง้ ใจใน การสานต่อธุรกิจของครอบครัว กระทั่งเป็นเรี่ยวแรง ส�ำคัญทีส่ ร้าง TUF จากธุรกิจรับจ้างผลิต มาสูก่ ารเป็น เจ้าของแบรนด์ การเติบโตทางธุรกิจของ TUF นับว่ารวดเร็วและ ก้าวกระโดด ด้วยกลยุทธ์ที่ใครก็ยากจะลอกเลียน แบบ นั่นคือการท�ำธุรกิจแบบ Diversification และ เข้าซื้อกิจการแบรนด์ที่เป็นเบอร์ 1 หรือเป็นผู้น�ำใน ตลาดต่างประเทศ ไม่ใช่การสร้างแบรนด์ใหม่แล้วบุก ตลาด เพราะเขาถือว่าการซื้อแบรนด์เก่า เป็นทางลัด ในการเข้าถึงผู้บริโภคโดยตรงและรวดเร็วกว่าการ สร้างแบรนด์ใหม่ เขาเชื่อว่าการเป็นเจ้าของแบรนด์ตัวเองคือ ความฝันของทุกคน แต่ไม่ใช่ว่าทุกคนจะท�ำความฝัน นั้นให้เป็นจริงได้ แม้การเติบโตทางธุรกิจของ TUF อยู่ในระดับ ทีว่ า่ 2 ปี ต้องมีรายได้เติบโต 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ และเป้ารายได้ 8,000 ล้านเหรียญในปี 2020 ซึง่ ถือว่า เป็นรายได้ที่มหาศาล และท�ำให้ TUF กลายเป็นหนึ่ง ในบริษัทระดับโลกได้อย่างเต็มภาคภูมิแล้วก็ตาม แต่...สิ่งที่คุณธีรพงศ์ตั้งเป้าความหวัง และวาง ความหมายของค�ำว่า ‘ความส�ำเร็จ’ ไว้นนั้ ต่างกับของ ใครหลายคน บางคนอาจมองความส�ำเร็จไว้ที่ ‘ตัวเงิน’ บางคนอาจมองไว้ ที่ ค วามเป็ น ‘เบอร์ 1’ ขณะที่ คุณธีรพงศ์มองว่าวันนี้ยังไม่รู้ว่าส�ำเร็จหรือไม่ ความ ส�ำเร็จจะสรุปกันในวันที่เลิกท�ำงาน แต่ที่แน่ๆ วันนี้ TUF คือผู้ผลิตปลาทูน่ากระป๋องที่ใหญ่ที่สุดในโลก และยังมีสงิ่ ทีต่ อ้ งท�ำคือ เมือ่ วันทีข่ นึ้ เป็นเบอร์ 1 ก็ตอ้ ง พัฒนาตัวเองอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ทงิ้ ห่างคูแ่ ข่งออกไป ความส�ำเร็จและเป้าหมายของเขาไม่ใช่เงิน แต่คือ ‘ความยั่งยืน’ เขาย�้ำกับ ABACA ว่าเขาไม่ได้ ต้องการเห็นว่า TUF จะมีรายได้ปีละเท่าไหร่ และ เติบโตไปได้อีกขนาดไหน แต่สิ่งที่เขาต้องการเห็นคือ อยากเห็น TUF เติบโตต่อไปในอนาคตได้อีกเป็นร้อยปี

ABACA PROFILE

13

MAGAZINE

ซึ่งการที่จะท�ำให้องค์กรอย่าง TUF อยู่อย่างยั่งยืนได้ อีก 100 ปีนนั้ เป็นโจทย์อนั ดับต้นทีเ่ ขาให้ความส�ำคัญ อย่างมาก คุณธีรพงศ์ย�้ำว่าความยั่งยืนของ TUF จะเกิด ขึ้นได้ก็ต่อเมื่อรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจของ TUF เป็น ในแบบยั่งยืนควบคู่ไปด้วย เพราะเมื่อธุรกิจมีความ ยั่งยืน องค์กรก็ต้องยั่งยืน ซึ่งการด�ำเนินธุรกิจแบบ ยัง่ ยืนนัน้ เขาบอกว่า TUF ได้กำ� หนดให้เป็น Business Strategy ไว้เลย “TUF ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ Sustainable Development มาก โดยเฉพาะเมื่อเราเป็น Global Business เรื่องนี้ ไม่ใช่แค่ Activity แต่คือ Business Strategy ของเรา และต้องการใช้ความยัง่ ยืนนีใ้ ห้เป็น หนึ่งในจุดแข็ง เพราะเราไม่ได้ท�ำธุรกิจแค่ในเอเชีย ซึ่งเอเชียยังไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับเรื่องความยั่งยืน มากเท่ากับประเทศในยุโรป ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึง่ ธุรกิจส่วนใหญ่ของเราอยูใ่ นประเทศทีพ่ ฒ ั นา ดังนัน้ เราจึงให้ความส�ำคัญของเรื่องนี้มาก วันนี้ผู้บริโภค ไม่ ไ ด้ ต ้ อ งการรู ้ ว ่ า สิ น ค้ า คื อ อะไร ราคาเท่ า ไหร่ ปลอดภัยหรือไม่ แต่ต้องการรู้ว่าสินค้าที่เขาบริโภค มาจากไหน วิ ธี ก ารได้ ม าซึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นี้ ถู ก ต้ อ ง เหมาะสม และสนับสนุนกับความยั่งยืนได้หรือไม่” ในวันนี้ TUF ได้แบ่ง Sustainable Development ออกเป็น 3 มิติ คือ หนึ่ง, เรื่องทรัพยากร ที่ต้อง ท�ำให้ทุกคนรู้ว่าทรัพยากร (ปลาทูน่า) ที่น�ำมาใช้นั้น ต้องมีอยู่อย่างยั่งยืน ผ่านวิธีการจับที่ถูกต้อง มีการ อนุรักษ์อยู่ในตัว เรื่องของพลังงาน การใช้น�้ำ การใช้ พลังงานต่างๆ ต้องใช้ให้น้อยลง แต่มีประสิทธิภาพ ทีส่ ดุ สอง, สิง่ แวดล้อมต้องได้รบั การปกป้องและดูแล อย่างเต็มที่ และสาม, สังคม โดยเฉพาะเรื่องของ ทรัพยากรบุคคล ที่ต้องได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ไม่ ว ่ า จะเป็ น การสร้ า งโอกาสให้ พนักงาน และชุมชนที่อยู่โดยรอบ คุณธีรพงศ์ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งของการสร้าง บุคลากรอย่างมาก เพราะเขามองว่า การพัฒนา


TUF ให้ความส�ำคัญกับ Sustainable Development มาก โดยเฉพาะเมื่อเราเป็น Global Business เรื่องนี้ไม่ใช่แค่ Activity แต่คือ Business Strategy ของเรา และต้องการ ใช้ความยั่งยืนนี้ให้เป็น หนึ่งในจุดแข็ง

บุคลากร การสร้าง Human Capital เป็นการสร้าง ความยัง่ ยืนให้กบั องค์กร การส่งมอบธุรกิจในอนาคต เพื่ อ ให้ เ ดิ น หน้ า ไปได้ อี ก 100 ปี บุ ค ลากรก็ เ ป็ น รากฐานที่ส�ำคัญ “เราไม่เชือ่ เรือ่ งการบริจาค เป็นอะไรทีห่ า่ งไกลตัว ท�ำให้เกิดผลกระทบน้อย แต่เราเชื่อในเรื่องการคืน ก�ำไรให้กบั สังคม วิธคี ดิ ของเราคือเน้นจาก Inside Out เชือ่ ว่าถ้าคนใกล้ตวั เรายังไม่ดี อย่าไปคิดถึงคนไกลตัว ดังนั้น เราจะเน้นพนักงานของเราก่อน ครอบครัวของ พนักงานก่อน ชุมชนทีอ่ ยูก่ อ่ น ชุมชนทุกทีท่ วั่ โลกทีเ่ รา อยู่ เรามีความเกีย่ วข้อง เราต้องให้ความส�ำคัญก่อน” และโครงการ Child Care Center คือหนึ่งใน โครงการที่ TUF ใช้พัฒนาชุมชนรอบๆ โรงงานที่ จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งโครงการนี้จะเข้ามาช่วยดูแล ลูกหลานแรงงานต่างชาติ ที่โยกย้ายมาท�ำงานใน ประเทศไทย ซึ่งเด็กในช่วงวัยก่อนเรียนเหล่านี้ ยังไม่ สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษาของประเทศได้ ท�ำให้

เกิดปัญหาไม่มีใครดูแล พ่อแม่ท�ำงานโรงงาน ท�ำให้ เกิดความเข้าใจผิดในบางกรณี เช่น พ่อแม่ไปท�ำงาน ในโรงงานแล้วน�ำลูกหลานไปด้วย เลยเกิดการโจมตี ว่าใช้แรงงานเด็ก โครงการนีจ้ ะรับเด็กก่อนวัยเรียน และปูพนื้ ฐาน ให้ มี ค วามพร้ อ มทั้ ง ด้ า นการศึ ก ษาและเรื่ อ งของ วัฒนธรรม เพือ่ น�ำไปสูร่ ะบบการศึกษาของไทยต่อไป ซึ่งปัจจุบัน TUF เปิดศูนย์ Child Care Center แล้ว 2 แห่ง และจะให้ครบ 5 ศูนย์ฯ ในอนาคต โดย คุณธีรพงศ์ต้องการให้โครงการนี้เป็นต้นแบบให้กับ ผู้ประกอบการอื่นๆ และจังหวัดอื่นๆ เนื่องจากเรื่องนี้ ไม่สามารถเดินได้ด้วยตัวคนเดียว การเริ่มต้นครั้งนี้ เป็นเพียงแค่การจุดประกายให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ประเทศไทย ซึ่งเขาหวังว่า ประกายไฟเล็กๆ แบบนี้ จะสามารถจุดให้เกิดกองไฟที่ยิ่งใหญ่ต่อไปได้ ดังนัน้ ความเป็นผูน้ ำ� ของ TUF ไม่ได้อยูท่ คี่ วาม เป็ น ผู ้ น� ำ ในอุ ต สาหกรรมเท่ า นั้ น แต่ คุ ณ ธี ร พงศ์

ABACA PROFILE

14

MAGAZINE

ยังต้องการเป็นผูน้ ำ� ในเรือ่ งของ Sustainability อีกด้วย ซึ่งที่ผ่านมา แม้ว่าคนไทยจะไม่มีโอกาสได้รับรู้รายละเอียดในเรื่องนี้ของ TUF มากนัก แต่สิ่งที่ TUF ท�ำนั้นได้รับการพิสูจน์มากมาย ผ่านการได้รับให้ เข้าไปอยู่ใน Sustainability Index ของ ดาวน์โจนส์ ซึ่งมีบริษัทระดับชาติได้รับรางวัลนี้ประมาณ 10 กว่า บริษัทเท่านั้นในประเทศไทย นอกจากนี้ TUF ยังได้ รับรางวัล Rising Star ในเรือ่ งของ Corporate Social Responsibility (CSR) จากตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยอีกด้วย ในวันนี้ ก้าวย่างของ TUF ภายใต้การบริหาร ของ คุณธีรพงศ์ จันศิริ จึงไม่ได้วัดความส�ำเร็จที่เงิน และความใหญ่โตในอาณาจักรธุรกิจเท่านัน้ แต่ความ ส�ำเร็จของ TUF วัดจากความยัง่ ยืนขององค์กร ทีห่ าก องค์กรมีความยั่งยืนแล้ว เงิน และการเติบโตนั้น ก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งของความยั่งยืนนั่นเอง



เส้นทางสู่ความยั่งยืนทางธุรกิจของ

TUF

จากหลักปรัชญาด้านความยั่งยืน ที่ประกอบด้วย ‘We Can, We Care, We Connect’ ที่ทุกวันนี้ทียูเอฟน�ำมาใช้เป็นกรอบการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อขับเคลื่อนการเติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนขององค์กร ภายใต้บริบทของการยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล การท�ำงานร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย การปกป้องสิทธิมนุษยชน และยกระดับคุณภาพชีวิต การปกป้องสิ่งแวดล้อม และการสร้างคุณค่าร่วม

ABACA PROFILE

16

MAGAZINE


ด้วยความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเชือ่ มโยงธุรกิจเข้าสูก่ ระบวนการจัดการอย่างรับผิดชอบในทุก มิตทิ เี่ กีย่ วข้อง ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมกับการด�ำเนินธุรกิจของเรา และเส้นทางแห่ง ความส�ำเร็จนี้ คือ การที่บริษัทได้น�ำศักยภาพทางธุรกิจที่มีอยู่เข้ามาช่วยส่งเสริม เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาและสร้างให้เกิดความยั่งยืนตลอด ห่วงโซ่การจัดการของบริษัท ซึ่งจุดยืนดังกล่าวนี้ ท�ำให้ทียูเอฟได้รับการยอมรับ เข้าร่วมข้อตกลงระดับสากลมากมาย อาทิ การได้รบั คัดเลือกเข้าเป็นสมาชิกดัชนีความยัง่ ยืนของดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI) ประจ�ำปี 2557 ในกลุม่ ดัชนีตลาดเกิดใหม่ (DJSI Emerging Markets) โดยเป็นบริษทั ไทยบริษทั แรกในกลุม่ อุตสาหกรรมอาหารทีไ่ ด้ รับคัดเลือกเข้าเป็นสมาชิก การเข้าร่วม ‘Global Compact’ ซึ่งเป็นข้อตกลงสากล เรื่องการยึดมั่นหลัก ปฏิบัติระดับสากล 10 ประการ ว่าด้วยเรื่องสิทธิมนุษยชน มาตรฐานแรงงาน สิ่งแวดล้อม และการต่อต้านคอร์รัปชั่น การเข้าร่วมเป็นหนึง่ ในผูร้ ว่ มก่อตัง้ มูลนิธเิ พือ่ ความยัง่ ยืนของอาหารทะเลสากล (International Sustainable Seafood Foundation: ISSF) เพือ่ สนับสนุนการศึกษา วิจัยและผลักดันข้อเสนออันเป็นหลักปฏิบัติที่ดีแก่อุตสาหกรรมการประมงทูน่า

ABACA PROFILE

การลงทุนเพื่อชุมชนและสังคม เป็นอีกหนึ่งมิติที่ทียูเอฟให้ความส�ำคัญ เพราะเป็นการขับเคลื่อนแนวคิดด้านความยั่งยืนเข้าสู่ภาคปฏิบัติอย่างแท้จริง ดังจะเห็นได้จากโครงการ ‘TUF Child Care Center’ หรือ ‘ศูนย์เตรียมความพร้อม เด็กก่อนวัยเรียน’ ที่ต้องการมอบโอกาสให้กับเยาวชนทุกเชื้อชาติได้รับความ เท่าเทียมทางสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ว่าด้วยเรื่องของการศึกษา และโครงการ ‘การพัฒนาวิถีที่ยั่งยืนของชุมชนอ่าวบางสน จังหวัดชุมพร’ ที่เน้นการท�ำงานแบบ การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นส�ำคัญ เพื่อพัฒนาให้เกิดแผนแม่บทชุมชนที่ยั่งยืน ภายใต้บริบทของเศรษฐกิจชุมชน ทรัพยากรท้องถิ่น และวิถีชีวิตชุมชน อันจะน�ำ ไปสูก่ ารพัฒนาแบบยัง่ ยืน และสามารถยกระดับเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้เข้มแข็ง ส�ำหรับการขับเคลือ่ นตนเองในอนาคต ซึง่ แนวคิดดังกล่าวนีเ้ ป็นการตอบแทนชุมชน และสังคมรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า Creating Shared Value หรือ CSV คือ การสร้าง คุณค่าร่วมกันระหว่างธุรกิจและสังคม บนเส้นทางของการด�ำเนินธุรกิจด้วยความยัง่ ยืนนัน้ ย่อมต้องมีผมู้ สี ว่ นได้เสีย มากมายที่เข้ามาเกี่ยวข้อง และจะท�ำอย่างไรให้ผู้มีส่วนได้เสียได้มีโอกาสเดินทาง ไปพร้อมกัน ซึง่ ทียเู อฟมีมมุ มองว่า ความร่วมมือหรือการท�ำงานร่วมกัน โดยการแลก เปลีย่ นมุมมองอย่างสร้างสรรค์ จะท�ำให้เกิดคุณค่าร่วมตลอดทัง้ กระบวนการ อันจะ น�ำไปสู่ความยั่งยืนอย่างแท้จริง 17

MAGAZINE


PROFILE STORY : วรรณวรรณ

Shaping Our Future ก่อร่างสร้างอนาคตสีเขียว

เพือ่ ให้สภาวะภายในโลกสะอาด เหมาะสมกับการใช้ชวี ติ มนุษย์ คุณยอมทุม่ เทแค่ไหน ต่อให้คำ� ตอบของคุณคือ ‘ทุม่ สุดตัว ต้องประหยัดอดออมใช้สงิ่ แวดล้อม ในโลกนี้แค่ไหนก็ยอม’ อย่าเพิ่งชะล่าใจเกินไป มนุษย์เรารักการท�ำลายและไม่สร้างสิ่งแวดล้อมทดแทนมาแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ในความอุตสาหะแห่ง ความพยายาม ‘ก่อร่างสร้างอนาคตสีเขียว’ ของคนยุคนี้ เป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่และต้องปรบมือชมเปาะจากใจจริง

EcoArk กับการเป็นเมืองสีเขียวของไทเป ปีที่แล้ว กรุงไทเป แห่งไต้หวัน มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดงานใหญ่ระดับโลกอย่าง Taipei International Flora Festival ว่าด้วยเรือ่ งสวยๆ งามๆ ของดอกไม้ ซึง่ มีเป้าหมายในการ ‘สร้าง’ ทิศทางใหม่ของเมือง ที่ต้องการให้ไทเปกลายเป็นเมืองสีเขียวและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในอนาคต แน่นอนว่า การจะสร้างความคิดแบบนั้นได้ในเวลาอันสั้นย่อมไม่ใช่เรื่องง่าย ตัวอย่าง น่าทึง่ ทีส่ ดุ คือ EcoArk ซึง่ เป็นอาคารทันสมัยสวยงาม ทีเ่ นือ้ แท้แล้วสร้างมาจากขวดพลาสติก รีไซเคิลกว่า 1.5 ล้านขวด จนออกมาดูดีกว่าการเป็นแค่วัสดุเหลือใช้ โดยอาคารที่ใช้เป็น พาวิเลียนหลักของการจัดงาน เพื่อตั้งใจให้เป็นแบบอย่างของสิ่งปลูกสร้างสมัยใหม่ ที่เป็น มิตรกับสิง่ แวดล้อมให้มากทีส่ ดุ Arthur Huang สถาปนิกหนุม่ ซึง่ มีดกี รีจบจากฮาร์วาร์ดและ คอร์เนล เป็นผู้ออกแบบ EcoArk ด้วยโจทย์ที่ท้าทายคือ ท�ำให้พลาสติกเหล่านี้ แข็งแรง ทนทาน และคุ้มค่าจะสร้างที่ไม่ใช่อาคารเล็กๆ เพราะเมื่อสร้างเสร็จจะมีขนาดเท่ากับสนาม บาสเกตบอล 7 สนาม และมีความสูงเท่ากับตึก 9 ชั้น ไอเดียของอาเธอร์เริ่มจากที่ว่าคนไทเปนั้นชอบดื่มชาจากขวดกันมาก ทุกวันจึงมีขยะ จากขวดพลาสติก Pete ปริมาณมหาศาล เขาจึงเริ่มวางแผนที่จะน�ำขวดเหล่านี้กลับมา ใช้งานใหม่ จนได้บริษัทฟาร์อีสต์ ซึ่งเป็นผู้ผลิตชาขวด รับหน้าที่ในการจัดหาขวดในการ ก่อสร้าง อาเธอร์ลองใช้ขวดชาปกติ แต่พบว่ามีปัญหาเรื่องของการรองรับแรงกด จนพบว่า การจะต่อขวดให้สามารถทนต่อแรงกดได้ต้องเชื่อมกันแบบรังผึ้ง ซึ่งเป็นรูปแบบที่มีความ แข็งแรงและรับน�้ำหนักได้ดี โดยขวดพลาสติกถูกหลอมใหม่ให้มีร่องที่สอดรับกันพอดี น�ำมา ประกอบต่อกันเป็นตารางสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ยึดรวมกับแผ่นอะคริลคิ ซึง่ เจาะรูให้มขี นาดพอดีกบั ปากขวดก่อนปิดฝา เพื่อใช้ฝาเป็นตัวยึดทั้งสองเข้าด้วยกันอีกครั้ง วิธีการนี้ท�ำให้ได้ผนัง ส�ำเร็จรูปทีม่ นี ำ�้ หนักเบาเพียง 70 กิโลกรัม และยกไปติดตัง้ กับโครงเหล็กซึง่ เป็นส่วนโครงสร้าง ท้ายที่สุดมันผ่านการทดสอบทั้งการทนแรงแผ่นดินไหว พายุ และยังทนไฟอีกด้วย แถมมีนำ�้ หนักเบากว่าอาคารแบบเดียวกันถึง 50% ทีส่ ำ� คัญมันสามารถถอดประกอบและน�ำไป ใช้ใหม่ได้ นอกเหนือจากตัวอาคารจะท�ำจากวัสดุรไี ซเคิล EcoArk สามารถผลิตกระแสไฟฟ้า ได้เอง จากแผงโซลาร์เซลล์ทตี่ ดิ ตัง้ ไว้รอบอาคาร ตัวอาคารไม่มเี ครือ่ งปรับอากาศ แต่ใช้หลักการ หมุนเวียนและดักอากาศจากลม และใช้นำ�้ ทีเ่ ปิดไหลเวียนอยูภ่ ายนอกเพือ่ ช่วยในการถ่ายเท ความร้อน โดยด้านล่างอาคารที่ยกขึ้นสูงเล็กน้อยท�ำหน้าที่ดักลมและส่งเข้าไปในตัวอาคาร และขวดพลาสติกที่โปร่งแสงยังสามารถดึงเอาธรรมชาติมาใช้ในตัวอาคารได้อีกด้วย EcoArk ประสบความส�ำเร็จ สร้างความตืน่ ตาตืน่ ใจให้กบั ผูเ้ ข้าชม แต่ทมี่ ากไปกว่านัน้ ส�ำหรับรัฐบาลไต้หวัน และเทศบาลเมืองไทเป ความส�ำคัญของ EcoArk คือกระบวนการเรียนรู้ ของทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งฝ่ายผังเมือง ทีมวิศวกร ทีมผู้รับเหมา สถาปนิก แม้กระทั่ง ผู้บริจาคขวดพลาสติก EcoArk ที่ได้สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ต่อสิ่งที่ทุกคนคิดว่า เป็นไปไม่ได้-ให้เป็นไปได้ ABACA PROFILE

18

MAGAZINE


Kitakyushu เมืองนิเวศในญี่ปุ่น คนในท้องถิ่น ดั่งที่เริ่มต้นที่ เมืองคิตะคิวชู จังหวัดฟุกุโอกะ ทางตอนใต้ของญี่ปุ่น เมื่อคิตะคิวชูเป็นผลพวงจากการที่ญี่ปุ่นมุ่งฟื้นฟูประเทศอย่างดียิ่ง ภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นส�ำคัญ ผ่านการส่งเสริมการ พัฒนาอุตสาหกรรม โดยมีภาครัฐ และกลุ่มทุนเป็นแกนหลัก ผลที่ได้คือภาค อุตสาหกรรมเป็นแกนน�ำทางเศรษฐกิจ และน�ำไปสู่การเติบโตทางเศรษฐกิจของ ญี่ปุ่น โดยเฉพาะช่วงทศวรรษ 1970-1980 รวมทั้งท�ำให้วิถีชีวิตของคนญี่ปุ่น เปลี่ยนไป คือสะดวกสบายมากขึ้นนั่นเอง การพัฒนาดังกล่าวมีขอ้ เสียคือน�ำปัญหามาให้ดว้ ย โดยเฉพาะด้านสิง่ แวดล้อม ทีเ่ กิดจากการผลิตทางอุตสาหกรรม คือ คุณภาพน�ำ้ และอากาศเลวลง เนือ่ งจากการ ปล่อยของเสีย ปัญหาขยะและมลพิษต่างๆ ปัญหาการกระจุกตัวของอุตสาหกรรม การใช้เชื้อเพลิงและพลังงานมหาศาล ซึ่งในระยะต่อมาได้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัย และวิถชี วี ติ ความเป็นอยูข่ องชาวชุมชน ผูท้ อี่ าศัยอยูใ่ นพืน้ ทีใ่ กล้กบั โรงงาน อุตสาหกรรม ดังนัน้ เพือ่ น�ำไปสูก่ ารอยูร่ ว่ มกันของชุมชน อุตสาหกรรมและสิง่ แวดล้อมอย่าง สมดุล เมืองคิตะคิวชู จึงได้เป็นเมืองต้นแบบของการจัดการด้านปัญหาสิง่ แวดล้อม โดยเมืองนี้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมเริ่มขึ้นในปี 2504 เมื่อมีการก่อตั้งโรงเหล็ก ยาฮาตะ และได้มีการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องจนท�ำให้เป็น 1 ใน 4 เขตนิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของญี่ปุ่น และน�ำมาซึ่งปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่าง รุนแรง โดยกลุม่ แม่บา้ นของเมืองคิตะคิวชู ได้สงั เกตเห็นน�ำ้ ในอ่าวโดไกวัน กลายเป็น สีส้ม ท้องฟ้ามีควันปกคลุม ฝุ่นละอองที่จับตามหลังคาบ้าน จึงท�ำให้เกิดการหา แหล่งที่มาของมลพิษ ด้วยการเริ่มเข้าไปศึกษาหาข้อมูลจากสถาบันการศึกษา การขอเข้าเยี่ยมชมโรงงาน การแจ้งต่อเทศบาลนคร และการร่วมมือกับสื่อมวลชน จนท�ำให้คนในชุมชนตื่นตัวต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เผชิญอยู่ ปี 2540 รัฐบาลกลาง จึงส่งเสริมการจัดตั้ง Eco-Town ขึ้น และเปิดโอกาสให้ เมืองเสนอโครงการ ขอรับการสนับสนุนจากรัฐบาล โดยเน้นการน�ำของเสียมาใช้ เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตของอุตสาหกรรมประเภทอืน่ ๆ มีเป้าหมายคืออัตราการปล่อย ของเสียจากโรงงานเป็นศูนย์ โดยภาคอุตสาหกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อน โดยใช้เทคโนโลยีสะอาด ตามหลักการ 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) เมืองคิวชูใช้โอกาสนี้พัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ให้เป็นศูนย์กลางธุรกิจด้าน สิง่ แวดล้อมและรีไซเคิล กลายเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศทีป่ ระสบความส�ำเร็จ อย่างเหลือเชื่อ พื้นที่เมืองทั้งหมดมีการปล่อยมลพิษต�่ำมาก มีการส่งเสริมการวิจัย ด้านสิง่ ปฏิกลู การพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการของเสียอย่างต่อเนือ่ ง สามารถปฏิบตั ิ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ท�ำให้คนที่นี่อาศัยอยู่ร่วมกับอุตสาหกรรมได้อย่างมีความสุข

แนวทางการพัฒนาเมืองของญี่ปุ่น เข้าสู่กระแสทางเลือกที่เน้น ‘การพัฒนาอย่าง ยั่งยืน (Sustainable Development)’ ให้ความส�ำคัญกับ ‘การพัฒนาที่สอดคล้อง กับสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ และค�ำนึงถึงคนรุ่นหลัง’ เป็นอีกปัจจัยส�ำคัญต่อการ เปลี่ยนแปลงกระแสแนวทางการพัฒนาของญี่ปุ่น โดยเฉพาะแนวคิดเกี่ยวกับการ ปล่อยของเสียเป็นศูนย์ (Zero-emission Concept) ของ United Nations University ในปี 1994 นับว่ามีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม เกิดการ เปลี่ยนและเน้นการพัฒนา ที่ประสานระหว่างอุตสาหกรรมกับสิ่งแวดล้อม ท้องถิ่น และชุมชน น�ำไปสู่ ‘ความอยูด่ มี สี ขุ ทางสิง่ แวดล้อม (Environmental Well-being)’ ขณะเดียวกันชุมชนและท้องถิ่น ซึ่งได้รับผลกระทบจากปัญหาการพัฒนา อุตสาหกรรมเอง ได้ตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมส�ำคัญในการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาสังคมทีย่ งั่ ยืน การพัฒนาทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยใช้เทคโนโลยีสะอาด ควบคุมการปล่อยของเสีย การประหยัดพลังงาน รวมทั้ง การรีไซเคิลเพื่อลดการใช้ทรัพยากรและลดขยะ แนวทางการพัฒนานี้ คือ การส่งเสริมแนวคิด ‘เมืองนิเวศ (Eco-Town)’ เกิดขึน้ จากรัฐบาลกลางญีป่ นุ่ เป็นแกนน�ำในปี 1997 มอบหมายให้ 2 กระทรวงหลัก เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดอีโคทาวน์ขึ้น โดยหน่วยงานที่มีบทบาทดังกล่าวคือกระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรม และกระทรวงสิง่ แวดล้อม เพราะช่วงเวลาดังกล่าว ญีป่ นุ่ ประสบปัญหาการขาดแคลน ที่ทิ้งขยะ และความจ�ำเป็นในการฟื้นฟูเศรษฐกิจท้องถิ่น รวมทั้งแรงกดดันในการ ส่งเสริมให้เกิด Zero Emission รัฐบาลจึงต้องตัง้ อีโคทาวน์ขนึ้ เพือ่ แก้ปญ ั หาทีท่ งิ้ ขยะ และช่วยเหลือบริษทั ต่างๆ ในการบรรลุเป้าหมาย น�ำของเสียทีเ่ กิดขึน้ กลับมารีไซเคิล เพือ่ ใช้เป็นวัตถุดบิ อีกครัง้ รวมทัง้ การควบคุมมลพิษต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากกิจกรรมทาง อุตสาหกรรม ซึ่งแนวคิด Zero Emission นี้เกิดขึ้นโดย United Nations University ในปี 1994 โดยมีเป้าหมายเพื่อ 1) ท�ำให้ของเสียเข้าใกล้ศูนย์ 2) ลดปัญหาเรือนกระจก และส่งเสริมการประหยัดพลังงาน 3) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรมในสาขาต่างๆ อีโคทาวน์ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อผสมผสานความพยายามในการบ�ำบัดของเสีย (Waste Treatment) การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Preservation) และ การส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม (Industrial Development) โดยมีวตั ถุประสงค์ หลักเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนที่ทิ้งขยะ และเพื่อแก้ปัญหาการชะงักงันของ อุตสาหกรรมท้องถิ่น ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมอุตสาหกรรมทีเ่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ภายใต้หลักการปล่อยของเสียเป็นศูนย์ ภายใต้ความร่วมมือกับอุตสาหกรรมและ ABACA PROFILE

19

MAGAZINE


PROFILE

SGBW สัปดาห์อาคารสีเขียวสิงคโปร์ 2014 เมื่อเดือนกันยายน สิงคโปร์จัดงาน ‘สัปดาห์อาคารสีเขียว (SGBW) 2014’ และมัน ได้กลายเป็นโมเดลระดับโลก ส�ำหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนภายในเวลาอันรวดเร็ว เพราะมีการรวมตัวกันของภาครัฐและธุรกิจทั่วโลกร่วมสร้างเครือข่าย ซึ่งมันบรรลุ ผลส�ำเร็จทั้งในด้านการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการสร้างสภาพแวดล้อม ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม งานสัปดาห์อาคารสีเขียวทีส่ งิ คโปร์ (SGBW) 2014 ครัง้ ที่ 6 นี้ จัดโดยกองงาน อาคารและการก่อสร้างแห่งสิงคโปร์ (BCA) ซึ่งเป็นสุดยอดหน่วยงานทางด้านการ พัฒนาการสร้างสภาพแวดล้อมทีด่ เี ลิศส�ำหรับสิงคโปร์ รวม 2 อีเวนท์ใหญ่พร้อมกัน นั่นคือ IGBC 2014 : เป็นผู้น�ำ, มีส่วนร่วม และพัฒนาอย่างยั่งยืน (Lead, Engage and Sustain) และ BEX Asia 2014 - Building Today, Sustaining Tomorrow ณ สถานที่แห่งนี้ โดยสามารถดึงดูดผู้คนมากกว่า 10,000 คนจากกว่า 30 ประเทศ ขึ้นเมื่อวันที่ 1-3 กันยายน 2014 ที่มารีนา เบย์ แซนด์ส เอ็กซ์โป แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ ประเทศสิงคโปร์ การประชุมนานาชาติอาคารสีเขียว (IGBC) 2014 ภายใต้ธีมงาน ‘สร้างโลก สีเขียว: Lead, Engage and Sustain’ ได้สะกดทุกคนภายในงาน ด้วยด้านการสร้าง และการพัฒนาอาคารสีเขียวอย่างยั่งยืนรายแรก ๆ ของเอเชีย เพราะมีผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านอาคารสีเขียวระดับนานาชาติ ผู้ก�ำหนดนโยบาย นักวิชาการ และผู้ปฏิบัติ งานทางด้านการสร้างสิง่ แวดล้อมสีเขียว ร่วมส่งเสริมการระดมความคิด การท�ำงาน ร่วมกัน และการเรียนรู้เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ร่วมกันในการสร้างสิ่งก่อสร้างที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนเพิ่มมากขึ้น Build Eco Xpo (BEX) Asia 2014 อีกหนึ่งงานที่จัดควบคู่กัน คืองานแสดง นิทรรศการทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส�ำหรับอุตสาหกรรม การก่อสร้างอาคารสีเขียว - Build Eco Xpo (BEX) Asia 2014 ด้วยธีม ‘Building Today, Sustaining Tomorrow’ BEX Asia 2014 เพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเชิงธุรกิจ การติดต่อ โอกาสในการท�ำธุรกิจค้าร่วมและการค้าขาย ให้บรรลุวิสัยทัศน์ร่วมกัน ในการเพิ่มการใช้เทคโนโลยีสีเขียว ส�ำหรับออกแบบอาคารและสถาปัตยกรรม ABACA PROFILE

โดยบริษัทกว่า 350 แห่งทั่วโลกร่วมจัดแสดงสินค้าและนวัตกรรม เช่น จัดแสดง ระบบการจัดการพลังงาน (EMS) โดยพานาโซนิค ช่วยให้มองเห็นการใช้พลังงาน ได้สะดวก การจัดหาข้อมูลการใช้พลังงานผ่านการสื่อสารไร้สาย และเทคโนโลยี เครือข่าย เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมเล็ก ๆ ทีม่ ผี ลต่อการประหยัด พลังงานและค่าใช้จ่าย ส�ำหรับพื้นที่ที่อยู่อาศัย ระบบนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ทดสอบ Punggol Eco Town ในปี 2013 ระบบการจัดการพลังงาน (EMS) เมื่อใช้ ควบคูก่ บั เครือ่ งปรับอากาศพานาโซนิค ทีม่ รี ะบบประหยัดพลังงาน มีผลท�ำให้คา่ เฉลีย่ รายเดือนในการใช้พลังงานภาคครัวเรือนลดลงกว่า 20% ผลลัพธ์เชิงบวกนี้ ท�ำให้ พานาโซนิคคิดน�ำไปประยุกต์และปรับแต่ง ระบบส�ำหรับการใช้งานในหอพัก โรงแรม และอาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่อื่น ๆ ในอนาคต การรวมตัวกันในระดับนานาชาตินี้ เป็นการตอกย�้ำความแข็งแกร่งของ BEX Asia 2014 คือการกลับมาขององค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญีป่ นุ่ (เจโทร) และพาวิเลียนไต้หวัน หลังจากประสบผลส�ำเร็จจากการเข้าร่วมงาน BEX Asia เมื่อปีที่แล้ว พาวิเลียนของเจโทรในปีนี้จะมีขนาดใหญ่กว่าเดิม โดยประกอบด้วย บริษัท SME จากญี่ปุ่นหลากหลายแห่งที่จะมาร่วมแสดงเทคโนโลยีของตนเอง เพื่อเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจ นับเป็นการแสดงนิทรรศการของผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุด และโซลูชั่นสีเขียวที่มี ความหลากหลาย เป็นเวทีส�ำหรับผู้เข้าเยี่ยมชมและบริษัท ในการสร้างเครือข่าย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มขึ้นของบริษัทที่มีความ เชี่ยวชาญด้านไม้และอุตสาหกรรมไม้ เช่นเดียวกับผู้ให้บริการโซลูชั่นแสงสว่าง เหล่านี้คือส่วนหนึ่งของนักสร้างสรรค์ในเอเชีย ที่มีความอุตสาหะและ ความพยายาม ‘ก่อร่างสร้างอนาคตสีเขียว’ กอบกู้ระบบนิเวศของธรรมชาติ ทีเ่ สียหายอย่างมาก ให้คอ่ ยๆ กลับคืนมาสูเ่ พือ่ นของเขา เพือ่ ต่อคุณภาพดีๆ ของธรรมชาติให้กบั มนุษย์รนุ่ แล้วรุน่ เล่าต่อไปในอนาคต เมือ่ สภาวะภายใน โลกสะอาดขึ้น วิถีชีวิตที่ด�ำเนินไปก็ย่อมจะดีขึ้นอย่างน่ายินดี 20

MAGAZINE



Work is Wonderful

ทวีสิน ภาณุพัฒนพงศ์ กับการผลักดัน

CGA-KBank Credit Card

ถือแล้วภูมิใจ ใช้แล้วได้บุญ นับจากโครงการบัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย ทีธ่ นาคารกสิกรไทย ร่วมกับ สมาพันธ์ สมาคมศิษย์เก่าคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย (CGA-Confederation of St.Gabriel’s Alumni Associations of Thailand) เปิดตัวเมื่อครั้งถือเอาวาระ การฉลองครบรอบ 100 ปีแห่งการเดินทางมายังประเทศไทยของคณะภราดา เซนต์คาเบรียล ควบกับการเปิดแนวรุกครั้งใหญ่ของธนาคารกสิกรไทยในธุรกิจ บัตรเครดิต กอปรไปกับกลยุทธ์ Image Management เกี่ยวเนื่องกับเครือข่าย ความสัมพันธ์ของผู้คน ส่งผลให้ในวันนี้ บัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย เติบโต รวดเร็วและเป็นที่น่าจับตามองอย่างที่สุด CGA-KBank Credit Card เป็ น โครงการบั ต รเครดิ ต โดยการริ เ ริ่ ม ของ คุณวัลลภ เจียรวรานนท์ ขณะด�ำรงต�ำแหน่ง นายกสมาคมอัสสัมชัญ ที่ต้องการ ช่วยเหลือและพัฒนาด้านการศึกษา ให้กับโรงเรียนและศิษย์เก่าในเครือคณะ เซนต์คาเบรียลทั้งหมด ประกอบด้วย 14 สถาบัน ภายใต้คณะฯ ซึ่งประกอบไปด้วย โรงเรียนอัสสัมชัญฯ เซนต์คาเบรียล มงฟอร์ด เซนต์หลุยส์ และเป็นการรวบรวมและ สร้างเครือข่ายซึ่งมีศิษย์เก่ามากกว่าสองแสนคน ด้วยหนึ่งในกิจกรรมซึ่งหารายได้ ให้กับสมาพันธ์ฯ นี้ คือการร่วมกับธนาคารกสิกรไทย จัดท�ำโครงการนี้ขึ้นมา รวมเวลาประมาณ 13 ปีแล้ว โดยธนาคารกสิกรไทยจะมอบเงินบริจาคให้กับทาง สมาพันธ์ฯ จากทุกยอดการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย เพื่อให้ทาง สมาพันธ์ฯ น�ำไปใช้ในการพัฒนาทางด้านการศึกษา และสาธารณประโยชน์ต่างๆ และเป็นที่น่ายินดีอย่างมาก ที่ตลอดระยะ 2 ปีที่ผ่านมา ภายใต้การดูแลของ คุณทวีสิน ภาณุพัฒนพงศ์ ประธานโครงการ CGA-KBank Credit Card ซึ่งเป็น ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ อีกทั้งด�ำรงต�ำแหน่งอุปนายกสมาพันธ์สมาคม ศิษย์เก่าคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย และอุปนายกฝ่ายกิจกรรมพิเศษ สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เป็นผลให้ CGA-KBank Credit Card น่าจับตามองในวงการบัตรเครดิต ด้วยความที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องและ กว้างขวาง สะท้อนความสามารถอันดีเยี่ยมของผู้บริหารได้อย่างชัดเจน “ปีแรกที่ผมเข้ามาท�ำงาน สามารถบริหารงานให้มียอดค่าใช้จ่ายผ่านบัตร สูงกว่าที่ธนาคารตั้งไว้ ล่าสุดผลของปีที่แล้วมียอดค่าใช้จ่ายผ่าน CGA-KBank ABACA PROFILE

Credit Card จ�ำนวน 1,500 ล้านบาท ทางสมาพันธ์ฯ ก็ได้รับเงินสนับสนุน ในรูปของ Endowment Fund ซึ่งเราน�ำไปใช้ในสาธารณกุศลเป็นหลัก ทั้งการมอบ ทุนการศึกษา การสนับสนุนสถาบันในเครือ และเป็นทุนส�ำหรับการบริหารสมาพันธ์ฯ จากการตกลงของทุกฝ่ายที่เห็นประโยชน์ของสังคมร่วมกัน” คุณทวีสินกล่าว บัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย ออกมาเพื่อช่วยเหลือในเรื่องการเงินของ ผูป้ กครอง เป็นสิทธิประโยชน์ของผูป้ กครอง ในการช�ำระค่าเล่าเรียนในเครือของบุตร หลาน โดยมีสิทธิผ่อน 0% นาน 6 เดือน ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครองได้ เป็น สิทธิประโยชน์ทที่ ำ� ให้ทงั้ ศิษย์เก่าและผูป้ กครองในเครือ โดยบัตรนีย้ งั ให้สทิ ธิเหมือน บัตรอื่นๆ ของกสิกรไทยทุกอย่าง เรียกว่าเป็นสิทธิประโยชน์ที่มากกว่าบัตรอื่น แล้วโรงเรียนในเครือบางแห่งก็ไม่รับบัตรเครดิตอื่นๆ ด้วย “ล�ำพังการใช้บัตรเครดิตเป็นเครื่องมือในการช�ำระค่าเล่าเรียนของนักศึกษา จ�ำนวนนับหมื่นคน ในมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ยอดค่าใช้จ่ายเกินเป้าที่ก�ำหนดได้ อย่างแน่นอน ศิษย์เก่าของสถาบันในเครือใช้ CGA-KBank Credit Card แทนบัตร อื่น ทางสมาพันธ์ฯ จะมีเงินทุนส�ำหรับด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ได้ จึงเป็นที่มาของ ค�ำขวัญประจ�ำบัตรเครดิตนี้ คือ ‘ถือแล้วภูมิใจ ใช้แล้วได้บุญ’ ซึ่งตอบคุณสมบัติ พิเศษของบัตรเครดิตใบนี้ได้ครบถ้วน” คุณทวีสินกล่าว เมื่อถามถึงเคล็ดลับการท�ำงานให้มีผลงานที่น่าพอใจเช่นนี้ คุณทวีสินบอก อย่างอารมณ์ดวี า่ น�ำวิชาความรูท้ รี่ ำ�่ เรียนด้านการตลาดจากมหาวิทยาลัย มาปรับ ใช้กับประสบการณ์ท�ำงาน อีกทั้งได้ผู้ร่วมท�ำงานที่ดีก็ท�ำให้ผลการท�ำงานออกมาดี “ผมจบด้านการตลาดมา ผนวกเข้ากับด้านการบริหารในระดับปริญญาโท ก็เอามาปรับใช้ ซึ่งบัตรเครดิตก็เป็นผลิตภัณฑ์หนึง่ ทีส่ ามารถท�ำการตลาดได้ อีกทัง้ ต้องขอบคุณผูร้ ว่ มท�ำงานทุกท่าน เพราะผมคนเดียวใช้ไม่ได้ สิง่ นีแ้ หละคือหลักของ ความเป็นหนึ่งเดียวกัน (Unity) เพราะทุกท่านต้องการให้เครือข่ายของพวกเรา มารวมพลังท�ำกิจกรรมหรือรูจ้ กั กันในความเป็นยูนติ ี้ ผมไปแต่ละโรงเรียน ไปแต่ละ สถาบัน แต่ละสมาคมศิษย์เก่าก็ให้ความร่วมมือ เพราะเห็นประโยชน์ที่เราบอก เป็นความร่วมมือเหมือนไตรภาคี โรงเรียน สมาคมผู้ปกครอง และสมาคมศิษย์เก่า” 22

MAGAZINE


CGA-KBank Credit Card

Proud used Merit

สุขสันต์ วัฒนายากร

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารผลิตภัณฑ์ และการตลาดบัตรเครดิต ธนาคารกสิกรไทย

ตลาดบัตรเครดิตนับวันยิง่ ขยายตัวสูงขึน้ เพราะเอือ้ ประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินชีวติ ของ คนรุ่นใหม่ได้ครบถ้วน ขณะนี้มีผู้ที่สามารถถือบัตรเครดิตอยู่ประมาณ 7 ล้านคน ขณะที่จ�ำนวนบัตรเครดิตหมุนเวียนในตลาดแล้วกว่า 18 ล้านใบ นับเป็นความ ท้าทายไม่นอ้ ย ทีธ่ นาคารกสิกรไทยเปิดแนวรุกครัง้ ใหม่กา้ วไกลกว่าเดิม นัน่ ก็หมายถึง การสร้างภาพลักษณ์ให้ตนเอง เพือ่ ให้บตั รเครดิตในกลุม่ ธนาคารกสิกรไทย ครองใจ ผู้ใช้ในวงกว้างยิ่งๆ ขึ้น คุณสุขสันต์ วัฒนายากร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารผลิตภัณฑ์ และการตลาด บัตรเครดิต ธนาคารกสิกรไทย ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินและผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ซึง่ มีประสบการณ์ในสายธุรกิจการเงินและธนาคารเป็นเวลา 20 ปี และเป็นศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญด้วย ได้เข้ามาดูแลส่วนงานบัตรเครดิตตั้งแต่เมื่อ 4 ปีที่แล้ว มีหน้าที่หลักในการคิดค้นบัตรเครดิตรูปแบบใหม่ๆ และหาพันธมิตรมาท�ำบัตร ร่วมกับธนาคารกสิกรไทย “ธนาคารให้ความส�ำคัญกับบัตรเครดิตค่อนข้างมาก เนือ่ งจากเป็นผลิตภัณฑ์ ที่สร้างรายได้ให้กับธนาคารค่อนข้างดี เรามุ่งขยายลูกค้าใหม่ให้กับธนาคาร และ มีหน้าทีเ่ พิม่ ค่าธรรมเนียมซึง่ เป็นรายได้ให้กบั ธนาคาร เป้าหมายของทุกปีทไี่ ด้รบั มา เป็นเป้าหมายทีท่ า้ ทายตลอดเวลา เพราะเราต้องโตด้วยเลข 2 หลักมาตลอด สิง่ ส�ำคัญ คือต้องโตมากกว่าตลาดทุกครัง้ เพือ่ ให้เราได้เป็นทีห่ นึง่ ของตลาดบัตรเครดิตนัน่ เอง” จุดแข็งของบัตรเครดิตกสิกรไทยคือมีพนั ธมิตรทีเ่ ข้มแข็ง และสร้างบัตรเครดิต ร่วมที่เสนอสิทธิประโยชน์ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า “ตลาดบัตรเครดิตเป็นตลาดของผูใ้ ช้ ไม่ใช่ตลาดของผูอ้ อกบัตร ผูใ้ ช้ยอ่ มเลือก ในสิ่งที่คุ้มค่าที่สุด เรามีของ แต่จะท�ำอย่างไรให้เขาเลือกเรา การตลาดจึงมีความ ส�ำคัญ และสิทธิประโยชน์พิเศษเฉพาะของบัตรแต่ละประเภทเป็นตัวตอบโจทย์ ความต้องการของผู้ถือบัตร” บัตรเครดิตแต่ละแบบล้วนออกแบบให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ นอกเหนือไปจาก รับประทานอาหาร ช้อปปิ้ง หรือท่องเที่ยว ยิ่งไปกว่านั้นจะมีบัตรเครดิตสักกี่ใบที่จะ ท�ำให้ผถู้ อื บัตรได้เป็นผูใ้ ห้ไปด้วย อย่างบัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย ซึง่ เป็นความ ร่วมมือระหว่างสมาพันธ์สมาคมศิษย์เก่าคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย (CGA) และธนาคารกสิกรไทย ABACA PROFILE

พันธกิจส�ำคัญคือการสร้างบุคลิกภาพให้กับ บัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย เพื่อให้ทุกคนมองเห็นเป็นภาพเดียวกันว่า ‘ถือแล้วภูมิใจ ใช้แล้วได้บุญ’ และสามารถส่งต่อ พันธกิจนี้ จากรุ่นสู่รุ่นให้กันได้ต่อไป “นี่คือจุดเด่นของบัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย” คุณสุขสันต์กล่าว บัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย มีสโลแกนที่อธิบายตัวบัตรได้เป็นอย่างดีว่า ‘ถือแล้วภูมิใจ ใช้แล้วได้บุญ’ ทุกครั้งที่ใช้จ่ายผ่านบัตร คือการได้มีส่วนร่วมในการ บริจาค และสนับสนุนการพัฒนาด้านการศึกษาแก่เยาวชน รวมถึงโรงเรียนในเครือ เซนต์คาเบรียลและเครือครอบครัวซาเลเซียน รวมถึงสร้างความสะดวกให้กับผู้ปกครองที่ไม่ต้องถือเงินสดมาจ่ายค่าลง ทะเบียนเรียนให้กับบุตรหลาน สามารถยืดระยะเวลาการช�ำระเงินได้ 45 วัน และ มีแคมเปญผ่อนช�ำระในระยะเวลา 3 เดือนหรือ 6 เดือน ผูป้ กครองจึงสามารถบริหาร จัดการเงินได้ง่ายขึ้น ในมุมของโรงเรียนก็ได้รับข้อดี คือไม่จ�ำเป็นต้องเก็บเงินสด จ�ำนวนมาก เงินที่ช�ำระผ่านบัตรเครดิต ธนาคารจะน�ำเข้าบัญชีโรงเรียนให้โดย ไม่ต้องมีปัญหาเรื่องสูญหาย หรือปัญหาเรื่องการนับเงิน ในฐานะศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คุณสุขสันต์เข้ามาดูแลบัตรเครดิต ร่วม CGA-กสิกรไทย ก็นับเป็นการได้ช่วยเหลือสมาคมศิษย์เก่าฯ ซึ่งเป็นองค์กร เอกชนที่ไม่หวังผลก�ำไรในทางธุรกิจ “เรามีการสร้างฐานความสัมพันธ์ เกี่ยวเนื่องกับผู้คนที่มีอ�ำนาจในการใช้จ่าย กว้างขวางที่สุดในสังคมไทยในตอนนี้” คุณสุขสันต์กล่าวอย่างอารมณ์ดี ขณะนี้และต่อไปในอนาคต หนุ่มใหญ่มีพันธกิจส�ำคัญ ซึ่งก็คือการสร้าง บุคลิกภาพให้กับบัตรเครดิตร่วม CGA-กสิกรไทย เพื่อให้ทุกคนมองเห็นเป็นภาพ เดียวกันว่า ‘ถือแล้วภูมิใจ ใช้แล้วได้บุญ’ และสามารถส่งต่อพันธกิจนี้ จากรุ่นสู่รุ่น ให้กันได้ต่อไป 23

MAGAZINE


Y FILE STORY : วรรณ ฟื้นวงศ์เฟื่อง PHOTO: ดีซี คอนซัลแทนส์ แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง คอมมูนิเคชั่น

แบ่งปันความรู้จากความรัก

We Care, We Share

We Care, We Share คือนักศึกษาพม่าจ�ำนวน 5 คน ได้แก่ Brang Moon San, Sai Htun Htun Oo, Nang Layoi, Thiri May, Brang Lawt Aung, In Gyin Nge Nge และ Khun Moe Li ต่างชั้นปี ต่างคณะ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ร่วมท�ำกิจกรรมสร้างสรรค์ชวี ติ ในฐานะ Executive Committee, Assumption University Myanmar Students Community (AUMSC) เพือ่ ช่วยเด็กในชุมชนแรงงานพม่า ต่างๆ โดยเริ่มต้นที่มหาชัย สมุทรสาคร ด้วยความเต็มใจ ด้วยความรู้ ด้วยความรัก เป็นการเตรียมตัวให้กับเพื่อน ชาวพม่าหลากรุน่ พร้อมรับการเปิดการค้าเสรีของอาเซียนในปี 2558 ทีก่ ำ� ลังจะมาถึง ในอีกไม่กี่เดือนนี้ ABACA ได้พดู คุยกับ Nang Layoi ชัน้ ปีที่ 4 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เลขานุการ ของ AUMSC ตัวแทนของกลุ่ม We Care, We Share มาแบ่งปันแนวคิดเกี่ยวกับ กิจกรรมที่พวกเขาท�ำ กลุ่ม ‘We Care, We Share’ เริ่มโดย Assumption University Myanmar Students Community (AUMSC) และประธานของ AUMSC เป็นผู้ตั้งชื่อกลุ่มให้ ด้วยความเชื่อที่ว่านักศึกษาชาวพม่า จะร่วมใจกันช่วยเหลือแรงงานชาวพม่าที่มา ท�ำงาน เพือ่ ดิน้ รนหาทางช่วยเหลือครอบครัวทีย่ ากจนในประเทศพม่า และเป็นทีม่ า ของคอนเซ็ปต์ในการแบ่งปันสิ่งที่พวกเขามี นั่นคือความรู้นั่นเอง “ไม่จ�ำเป็นว่าเราจะเรียนอยู่หรือจบแล้ว พวกเราคนรุ่นใหม่ต้องเรียนรู้ที่จะ แบ่งปัน ช่วยเหลือ และท�ำเพื่อสังคม เราต้องช่วยเหลือแรงงานต่างด้าว โดยเฉพาะ เด็กๆ เพราะเด็กๆ พวกนั้นไม่ได้โชคดีเหมือนเรา นักศึกษาชาวพม่า ถึงแม้ว่าเราจะ มาจากประเทศเดียวกัน” Nang Layoi กล่าว พวกเขาท�ำมาแล้ว 2 โครงการ คือ ‘We Care, We Share I & II’ คณะกรรมการ บริหาร AUMSC จึงท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมภายนอกมหาวิทยาลัย โดยช่วยเหลือ

แรงงานต่างด้าวที่มหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร เนื่องจาก มีแรงงานพม่าจ�ำนวนมากท�ำงาน อีกทัง้ ติดต่อโบสถ์นกิ าย คาทอลิกให้ช่วยเหลือเด็กๆ ของแรงงานพม่า “หวังจะช่วยให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เพื่อให้พวกเขา ช่วยเหลือตัวเองได้ แต่ค่อนข้างยาก เพราะเป็นครั้งแรกที่ ต้องลงพื้นที่ ใน ‘We Care, We Share I’ เราให้ความรู้ ทั่วไปอย่างเช่น สุขภาพ จริยธรรม กับลูกของแรงงาน ชาวพม่ากว่า 100 ชีวิต และบริจาคเครื่องเขียนให้กับศูนย์ แรงงานต่างด้าวอีกด้วย โครงการที่ 2 ‘We Care, We Share II’ เราตัดสินใจท�ำ ASEAN Workshop กับเด็กนักเรียนที่นั่นอีกครั้ง ตอนเริ่ม โครงการ We Care, We Share II เราวางแผนจะสร้างศูนย์การเรียนรู้ ซึ่งรวมถึง ห้องสมุดทีเ่ ด็กๆ สามารถเรียนรูถ้ งึ ประวัตปิ ระเทศพม่า และสมาชิกประเทศอาเซียน ด้วย แต่โชคไม่ดี โบสถ์ไม่สามารถหาห้องให้เราได้ เราจึงได้จัด ASEAN Workshop ให้เด็กเตรียมพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนในปี 2558 นอกจากนี้ ยังให้ความส�ำคัญ กับ GEN A ในโครงการ We Care, We Share II ด้วย เพื่อให้รับรู้ถึงข้อมูลแรงงาน ต่างด้าวและสถานการณ์ในประเทศไทย” ประสบการณ์ที่พวกเขาได้รับระหว่างการเข้าร่วมโครงการนั้น Nang Layoi บอกว่าดีมาก เพราะแรงงานพม่ารู้สึกได้ถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันระหว่าง นักเรียน และระหว่างนักศึกษากับเด็กๆ แรงงานต่างด้าว ตรงกันกับความคาดหวัง ของกลุม่ ทีต่ อ้ งการให้เพือ่ นแรงงานพม่าได้นำ� ความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน “เป็นสิ่งเล็กๆ ที่เราสามารถท�ำให้ได้ ตอนนี้เราวางแผนถึงโครงการต่อไป ที่จะ ท�ำให้ติดต่อกับแรงงานพม่าได้โดยตรง เพราะเราจะท�ำ First Aid Workshop เพื่อช่วยเหลือและเยียวยาในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ เรารู้สึกดีใจที่เราสามารถด�ำเนิน โครงการทัง้ 2 โครงการได้สำ� เร็จ และเราหวังว่าจะท�ำให้ดกี ว่าเดิมในอนาคต” Nang Layoi กล่าวทิ้งท้าย

Contact : Executive Committee, Assumption University Myanmar Students Community, Info.aumsc@gmail.com

ABACA PROFILE

24

MAGAZINE


SPOT STYLE STORY : อัศวภัทร์ จินดาโชติรัศมิ์

WINTER

IS CALLING เป็นประจ�ำทุกปีที่สายลมหนาวเริ่มพัด เข้ามาเยือน เชือ่ ว่าหนุม่ ๆ หลายคนคงเริม่ มองหาของขวั ญ ชิ้ น ใหม่ ใ ห้ กั บ ตั ว เอง ส�ำหรับฤดูกาลที่ก�ำลังจะมาถึง เสื้อผ้า โทนสีดำ� และสีเทายังคงกลับมาพร้อมกับ หน้าหนาวของทุกๆ ปี แต่หากว่าการกลับ มาครั้งนี้ได้กลับมาในวัสดุและเทคนิคที่ แปลกใหม่ทจี่ ะท�ำให้คณ ุ ลืมของเก่าในตู้ ไปได้เลย

แจ๊คเก็ตบอมเบอร์ ผ้านีโอพรีน เย็บบุลายพราง จาก DKNY JEANS

เสื้อสเว็ตเตอร์ทอลายทาง จาก BLACKBARRETT น�้ำหอม L’HOMME IDEAL จาก GUERLAIN

กางเกงยีนส์ ตกแต่ง Badges จาก DKNY JEANS

ถุงมือหนังขอบไหมพรม จาก EMPORIO ARMANI

กระเป๋าหนังตัดต่อจาก GIORGIO ARMANI รองเท้าบู๊ทหนัง ตกแต่งเข็มขัด จาก EMPORIO ARMANI

BLACKBARRETT ชั้น 2 สยามดิสคัฟเวอรี่, ชั้น 3 เซ็นทรัล ชิดลม DIESEL BLACK GOLD ชั้น 1 สยามดิสคัฟเวอรี่, ชั้น G เซ็นทรัล ชิดลม DKNY JEANS ชั้น 1 สยามเซ็นเตอร์, ชั้น 2 เซ็นทรัล ชิดลม, ชั้น 1 ดิ เอ็มโพเรียม EMPORIO ARMANI ชั้น 1 สยามพารากอน GIORGIO ARMANI ชั้น M สยามพารากอน

ABACA PROFILE

25

MAGAZINE


WORLD NEWS STORY : วรรณวรรณ

02 นิเวศนวัตกรรม เมื่อเทคโนโลยีสามารถท�ำให้จีนเติบโตในทุกด้านได้แล้ว แน่นอนว่า ในปี 2014 จีนก็เปิดเผยการรับรู้เกี่ยวกับโลก สีเขียว ซึ่งหมายถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการ พัฒนาประเทศพร้อมๆ กัน รัฐบาลจีนจึงแสดงความ ตระหนั ก เรื่ อ งนี้ อ ย่ า งชั ด เจน โดยจั ด ตั้ ง ตนเองเป็ น ศูนย์กลางของนิเวศนวัตกรรม คือ นวัตกรรมของผู้บริโภค สีเขียว และสนับสนุนแบรนด์ชั้นน�ำของจีน เช่น มือถือ ระบบการสื่อสาร แฟชั่น เฟอร์นิเจอร์ หรือแม้แต่ระบบ ขนส่งมวลชน ให้ปรับตนเองสู่การใส่ใจสิ่งแวดล้อม อาทิ แบรนด์ Haworth ทีป่ กั กิง่ เพิง่ ได้รบั การรับรองจาก LEED ว่าเป็นโชว์รูมสีเขียวแรกของโลก ระบบรถไฟใต้ดินของ ปักกิ่ง รางวัลผู้โดยสาร เพื่อการรีไซเคิลขวดพลาสติก หรือโชว์รมู ไนกีท้ เี่ ซีย่ งไฮ้ ใช้วสั ดุทงั้ หมดจากถังขยะ รวมทัง้ กระป๋องเครื่องดื่ม ขวดน�้ำ ซีดีเก่าและดีวีดี โดยไม่ได้ ใช้กาวในการเชื่อมต่อวัสดุ ท�ำให้วัสดุทั้งหมดสามารถน�ำ มาใช้ใหม่ เป็นร้านต้นแบบให้กับร้านค้าอื่นๆ น�ำแนวคิด นี้ไปใช้ได้ด้วย เพื่อสร้างข้อได้เปรียบให้กับแบรนด์จีน ในตลาดโลก

01

ใบไม้เทียม สร้างออกซิเจน Silk Leaf แผ่นใบสังเคราะห์ทางชีวภาพ ที่ท�ำหน้าที่เหมือนใบไม้ตาม ธรรมชาติ คิดค้นขึ้นโดย Julian Melchiorri นักศึกษาจาก RCA (Royal College of Art) ที่สกัดจากสาร Chloroplasts จากเซลล์ของพืช ผสมผสานกับโปรตีนจากเส้นไหม น�ำไปผ่านกระบวนการ จนได้เป็น ใบไม้เทียม เกิดเป็นวัสดุสังเคราะห์ที่สามารถดูดซึมน�้ำและคาร์บอนไดออกไซด์ ไ ด้ แถมยั ง ปล่ อ ยออกซิ เ จนออกมาได้ อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง จะมี ประโยชน์ส�ำหรับนักบินอวกาศ ที่ใบไม้ไม่สามารถเติบโตได้ในสภาวะ ไร้น�้ำหนัก และช่วยผลิตออกซิเจนได้ เพียงแค่มีน�้ำกับแสงอาทิตย์ และ ที่ส�ำคัญ ไม่จ�ำเป็นต้องพกถังออกซิเจนจ�ำนวนมากขึ้นไปอีกด้วย www.creativemove.com/design/silk-leaf/

03 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

พิพธิ ภัณฑ์ประวัตศิ าสตร์ธรรมชาติแห่งเดนมาร์ก ออกแบบโดย Kengo Kuma & Associates, Erik Møller สถาปนิก และ JAJA สถาปนิก พวกเขามุ่งเน้นไปที่การสร้างประสบการณ์ที่ ‘สอดคล้องกัน’ และ ‘แยกกันไม่ออก’ ซึ่งผสมประสบการณ์ของพิพิธภัณฑ์ทั่วไปและสวนคลาสสิก ส่งผลให้เกิด สถาปัตยกรรมทีน่ า่ ทึง่ การสร้างสรรค์ชอ่ งว่างระหว่างพืน้ ทีภ่ ายในต่อพืน้ ทีภ่ ายในด้วยกัน เกิดความ สวยงาม และรวบรวมประวัตศิ าสตร์พฤกษศาสตร์ของเมือง โดยมีเป้าหมายให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ ใจกลางโคเปนเฮเกน แสดงความเป็นสวนพฤกษศาสตร์ในพิพิธภัณฑ์ และพิพิธภัณฑ์ในสวน พฤกษศาสตร์ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ต้องการให้มนั กลายเป็นสวนประวัตศิ าสตร์ธรรมชาติ เป็นสถานทีซ่ งึ่ สามารถ เหมือน ‘เดินเล่นในสวน’ ที่ไม่น่าเบื่อหน่าย โดยการสร้างความหลากหลายระหว่างพื้นที่ภายใน พิพิธภัณฑ์ โดยสร้างสรรค์แสง จัดกลุ่มพืชที่ครอบคลุมมากที่สุดในโลก ด้วยภูมิทัศน์ที่ผ่านการ ออกแบบอย่างเข้มงวด เพื่อให้เกิดมุมมองที่สมบูรณ์แบบ ส�ำหรับสร้างแรงบันดาลใจ ความอยากรู้ อยากเห็น และเชื้อเชิญทุกคนร่วมเก็บประสบการณ์อันล�้ำค่า

ABACA PROFILE

26

MAGAZINE


มีพละก�ำลังขนาด 5 แรงม้า และใช้แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนในการส่งก�ำลัง ใช้พลัง ขับเคลื่อนด้วยสองล้อหน้า อีกหนึ่งล้ออยู่ด้านหลังใช้ส�ำหรับเลี้ยว สามารถเข้าโค้ง แบบ Active Lean หรือการเอียงตัวรถเข้าโค้งได้อย่างสมดุลนั่นเอง ท�ำให้การขับขี่ มีความคล่องตัวคล้ายคลึงกับมอเตอร์ไซค์ แต่มีความปลอดภัยกว่า จุดสะดุดตา ของ i-Road คือ รถเอียงท�ำมุมได้แคบมากเมื่อตีวงเลี้ยว โตโยต้าเปิดให้ผู้สนใจ ทดลองขับในกรุงโตเกียว หลายคนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าขับสนุก และเหมาะส�ำหรับ การขับขี่ในเมือง สิ้นสุดการรอคอยกันสักทีกับนวัตกรรมรุ่นล่าสุดจากทางโตโยต้า ทีมงานออกแบบของโตโยต้า ท�ำการดีไซน์ตัวรถให้ขนาดมีมิติอยู่ที่ความยาว 2,345 มม. กว้าง 870 มม. สูง 1,455 มม. ระยะฐานล้ออยู่ที่ 1,695 มม. มีน�้ำหนัก ทั้งคัน 300 กิโลกรัมเท่านั้น ส่วนยางล้อด้านหน้าใช้ขนาด 80/80 R16 และล้อหลัง 130/170 R10 ภายในสามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ 2 ที่นั่ง โดยพวงมาลัยถูกติดตั้ง อยู่บริเวณกลางตัวรถ ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าพร้อมแบตเตอรี่ที่สามารถวิ่งได้ ระยะทางสูงสุด 50 กิโลเมตร และท�ำความเร็วสูงสุดที่ 45 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และ ชาร์จประจุจนเต็มในเวลา 3 ชั่วโมง ยานพาหนะเพื่อคนเมืองสุดเท่ ลูกครึ่งมอเตอร์ไซค์-รถยนต์น้ี เปิดตัวในงาน มอเตอร์โชว์ไปเมื่อปี 2013 ได้รับความสนใจและส่งออกไปยังต่างประเทศให้ได้ขับ จริงแล้ว ในรูปแบบของ Car Sharing ที่เมือง Grenoble ประเทศฝรั่งเศส โดยลูกค้า สามารถเช่ารถดังกล่าวขับไปยังจุดหมาย แล้วจึงน�ำมาคืนที่สถานีชาร์จไฟตามจุด ต่างๆ ทั่วเมือง ล่าสุด โตโยต้าอวดโฉมรถพลังไฟฟ้ารุ่นนี้ในสีสันสดใส เป็นรถที่ ออกแบบส�ำหรับไปไหนมาไหนใกล้ๆ ในเขตเมือง นั่งได้ 2 คนเรียงต่อหลังกัน เหมาะส�ำหรับถนนแคบๆ และหาที่จอดรถยาก อย่างในกรุงโตเกียว

04

Toyota i-Road i-Road คือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่โตโยต้าออกแบบจากรถต้นแบบซึ่งผสานกัน ระหว่างรถมอเตอร์ไซค์แบบสามล้อและรถยนต์ โดยได้รบั การออกแบบส�ำหรับการ ใช้งานในเมืองเป็นหลัก ทั้งยังใช้พลังงานไฟฟ้าล้วนไม่ปล่อยมลพิษออกสู่อากาศ ส่วนของระบบขับเคลื่อนใช้มอเตอร์ไฟฟ้า 2 กิโลวัตต์ โดยติดตั้งที่บริเวณล้อหน้า

06 ตู้รีไซเคิลขยะ

05 เด็กไทยเจ๋ง คว้ารางวัลบ้านประหยัดพลังงาน นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ตัวแทนประเทศไทย สร้างชือ่ เสียงให้ประเทศส�ำเร็จ คว้ารางวัลที่ 2 ในการแข่งขันออกแบบและสร้างบ้านประหยัดพลังงาน หัวข้อ Public Choice Online Solar Decathlon Europe 2014 ณ ประเทศฝรั่งเศส กับผลงาน Baan Chaan บ้านประหยัดพลังงาน โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ น�ำเอารูปแบบของบ้านไทยสมัยก่อนออกแบบขึ้นใหม่ จุดเด่นคือการปรับใช้ พื้นที่ส่วนชานของบ้านไทย ให้เป็นพื้นที่ท�ำกิจกรรมของครอบครัวและเป็นมุมพักผ่อนกลางบ้าน โดย เอสซีจีร่วมสนับสนุนนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ตัวแทนหนึ่งเดียวของ ไทยและอาเซียน บ้านชานมีความหมายจากแนวคิดการออกแบบบ้านไทยซึง่ มีชานบ้านเป็นองค์ประกอบ แล้วค�ำว่า Baan Chaan เมือ่ อ่านด้วยภาษาไทยจะอ่านว่า ‘บ้านฉัน’ ท�ำให้รสู้ กึ อบอุน่ ส�ำหรับผูอ้ ยูอ่ าศัย โดยออกแบบ โซลาร์เซลล์ที่เก็บพลังงานไฟฟ้าไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินได้นานถึง 3 วัน ใช้คอนเซ็ปต์บ้านไทยทั้งการเลือกใช้ เฉดสี และการระบายของลม ช่วยประหยัดพลังงานมากขึ้น รวมถึงการยกบ้านและวางระบบปลั๊กไฟ สูงขึ้น ป้องกันปัญหาน�้ำท่วม และยังออกแบบรองรับการใช้งานส�ำหรับผู้สูงอายุหรือผู้ที่ใช้รถเข็นอีกด้วย ABACA PROFILE

27

MAGAZINE

เพื่อสุนัขจรจัด ขยะล้นเมืองและจ�ำนวนสุนขั จรจัด ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น และมี จ� ำ นวนถึ ง 150,000 ตัว ก�ำลังเป็นปัญหาส�ำคัญของเมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี ดังนัน้ Puged บริษทั ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์รไี ซเคิล จึงผุดไอเดีย ผลิตตู้รีไซเคิลขยะพลาสติกที่ให้อาหารและน�้ำ แก่สุนัขจรจัดไปได้พร้อมกัน แบบ 2 in 1 ให้เหล่าสุนัขจรจัด ไร้บ้านได้มีอาหารกิน เป็นไอเดียสร้างสรรค์ที่ได้ประโยชน์ แบบ 2 เด้ง Smart Recycling Boxes หรือตูร้ บั บริจาคขวดพลาสติก เหลื อ ใช้ นี้ ช่ ว ยลดปั ญ หาภาวะโลกร้ อ นวางไว้ ต ามสวน สาธารณะทัว่ เมืองอิสตันบูล โดยตูม้ ชี อ่ งส�ำหรับบริจาคน�ำ้ เปล่า ที่ประชาชนดื่มไม่หมด และช่องส�ำหรับบริจาคอาหารสุนัข ให้สุนัขจรจัดที่อดอยากที่มากกว่า 100,000 ตัวได้ดื่มกิน การท�ำงานของตู้รีไซเคิลเข้าใจและใช้ง่ายมาก เพียงหย่อน ขยะประเภทขวดพลาสติกลงไปที่ช่องด้านบน เครื่องจะจ่าย อาหารสุนขั พร้อมน�ำ้ ออกมาทีช่ อ่ งด้านล่าง ส�ำหรับคนทีเ่ ป็นห่วง เรื่องค่าใช้จ่ายส�ำหรับอาหารและน�้ำเหล่านี้ ทางบริษัทชี้แจง ว่าราคาขยะรีไซเคิลทีถ่ กู หย่อนลงมานัน้ ครอบคลุมค่าอาหาร และน�้ำได้ทั้งหมด


JOURNEY STORY / PHOTO : ฐิติมา เดชาอนันต์ชัย

Bhutan

เตร็ดเตร่ไปในอาณาจักรมังกรค�ำราม

ภูฏาน อาณาจักรเล็กๆ ที่แฝงตัวอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย คือดินแดนในฝันที่หลายคนอยากไปเยี่ยมเยือนสักครั้ง ด้วยเสน่ห์ของเมืองในหุบเขาที่ธรรมชาติยังสมบูรณ์งดงาม วิถีชีวิตผู้คนยังด�ำเนินไปตามวัฒนธรรมแห่งศรัทธาในพุทธมหายานแบบตันตระจากทิเบต ธงมนต์ปลิวไสวและกงล้อมนตราไม่เคยหยุดหมุนในดินแดนแห่งนี้ จึงชวนให้คิดว่าที่แท้แล้ว ‘แชงกรี-ลา’ ในหนังสือ Lost Horizon ของ James Hilton นั้นน่าจะอยู่ที่ใดกันแน่ ABACA PROFILE

28

MAGAZINE


• พาโรซอง หรือ รินปุงซอง

• พาโร เมืองในหุบเขา

ชาวภูฏานเรียกประเทศตัวเองว่า Druk Yul (Druk คือ มังกร Yul คือ ดินแดน) หมายถึง Land of the Thunder Dragon หรือ ‘ดินแดนแห่งมังกรค�ำราม’ แต่คนทั่วไปกลับคุ้นชื่อ ‘Bhutan’ ซึ่ ง นั ก ภาษาศาสตร์ สั น นิ ษ ฐานว่ า มาจากภาษาสั น สกฤตคื อ ‘Bhu-Uttan’ หมายถึง ‘ดินแดนบนที่สูง’ ดังนั้น คนไทยจากที่ราบ ระดับเดียวกับน�ำ้ ทะเลเมือ่ ไปเทีย่ วภูฏานต้องเจอกับความสูงกว่า 2,000 เมตรเหนือระดับน�้ำทะเล อาการ Altitude Sickness อาจเข้าก่อกวนได้ในวันแรกๆ แต่บรรยากาศแจ่มๆ ท้องฟ้าใสได้ใจ หุบเขาเขียวชอุ่มของป่าสนไซเปรสที่โอบล้อมรอบตัว มวลเมฆ ลอยระเรี่ยยอดเขาสวยจับใจ ก็ช่วยบรรเทาอาการป่วยได้เร็วไว เพราะใจอยากรีบๆ เที่ยว ภู ฏ านมี พื้ น ที่ เ พี ย งครึ่ ง หนึ่ ง ของภาคเหนื อ บ้ า นเรา มี ประชากรรวมทัง้ ประเทศไม่ถงึ 1 ล้านคน แหล่งท่องเทีย่ วยอดนิยม ของที่นี่จึงเป็นสูตรส�ำเร็จ คือสถานที่ส�ำคัญๆ ในเมืองพาโร เมือง หลวงทิมพู พูนาคา และบุมทัง ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือ ซอง (Dzong) วัด (Lhakhang) หรือเส้นทาง Trekking บนเทือกเขาหิมาลัย Dzong คือป้อมปราการที่สร้างขึ้นตามเมืองส�ำคัญต่างๆ แต่ละ แห่งมีอายุหลายร้อยปี มีประวัตศิ าสตร์ยาวนาน ในอดีตท�ำหน้าที่ เป็นป้อมปราการสู้รบ แต่ปัจจุบันถูกปรับให้เป็นศูนย์บริหาร ราชการ ภายในซองจะมีวัด ที่พ�ำนักสงฆ์ โรงเรียนสงฆ์ ที่ส�ำคัญ ทั้งซองและวัดในภูฏานล้วนมีสถาปัตยกรรมสง่างาม และใช้ เทคนิคขัน้ สูงในการสร้าง เพราะไม่ใช้ตะปูแม้แต่ตวั เดียว แต่ใช้วธิ ี การเข้าไม้แทน ซองที่ส�ำคัญ เช่น พาโรซอง หรือ รินปุงซอง (Rinpung Dzong) ที่ เ มื อ งพาโร ริ น ปุ ง ซองแปลว่ า ‘ป้ อ มเนิ น อั ญ มณี ’ มีสะพานไม้ยามิซัม มีหลังคาคลุมทอดข้ามแม่นำ�้ พาโรสู่ตัวป้อม ที่ มี รู ป ทรงสถาปั ต ยกรรมสี ข าวสวยที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของภู ฏ าน ทิมพูซอง หรือทาชิโชซอง (Tashicho Dzong) งดงามราวราชวัง ตั้งอยู่บนเชิงเขาริมแม่น�้ำ Wang ปัจจุบันเป็นที่ตั้งส�ำนักราชเลขาธิการ กระทรวงต่างๆ มีอาคารทรงงานของสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก กษัตริย์องค์ปัจจุบันด้วย ภายในซองยังแบ่งเป็นเขตสังฆาวาส มีหอกลาง ลานจัดเทศกาล ส�ำคัญของชาติ (เซซู) ภายใน Main Hall ประดิษฐานพระพุทธรูป พระโพธิสัตว์ รูปเคารพต่างๆ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังทรงคุณค่า และพูนาคาซอง (Punakha Dzong) ตัง้ อยู่ ณ จุดบรรจบของแม่นำ�้ Po Chhu (แม่น�้ำพ่อ) และแม่น�้ำ Mo Chhu (แม่น�้ำแม่)

ABACA PROFILE

29

MAGAZINE

• ทิมพูซอง หรือ ทาชิโชซอง

• พูนาคาซอง


• วัดทักซัง เมืองพาโร

ABACA PROFILE

30

MAGAZINE


เมืองพูนาคาเคยเป็นเมืองหลวงเก่า ซองแห่งนีเ้ คยถูกไฟไหม้ และภัยธรรมชาติท�ำลายหลายครั้ง แต่ได้รับการบูรณะขึ้นใหม่ ทุกครั้ง เพราะเป็นสถานที่ส�ำคัญของชาติ โดยสังขารของท่าน ซับดรุง งาวัง นัมเกล ผู้รวบรวมภูฏานเป็นปึกแผ่นเก็บรักษาไว้ใน วิหารมาเชภายในป้อมแห่งนี้ และยังใช้ประกอบพระราชพิธี ราชาภิเษกพระเจ้าอูเกน วังชุก ปฐมกษัตริย์แห่งภูฏาน เมื่อ ค.ศ. 1907 และจัดพระราชพิธีอภิเษกสมรสสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคซอร์ นัมเกล วังชุก กษัตริย์องค์ปัจจุบันที่คนไทยรู้จักกันดีเมื่อปี ค.ศ. 2011 อีกด้วย นอกจากนีไ้ ฮไลท์เด่นทีใ่ ครไม่ได้ไปถือว่ามาไม่ถงึ ภูฏาน คือ การเดินขึ้นเขาสู่ วัดทักซัง (Tiger’s Nest) ที่เมืองพาโร เป็นวัด ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของภูฏาน แขวนอยู่บนหน้าผาสูงราว 3,100 เมตร จากระดับน�้ำทะเล ต�ำนานเล่าว่ากูรู รินโปเช ผู้น�ำพุทธตันตรยาน จากทิเบตเข้ามาเผยแผ่ในภูฏานเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 8 ท่านอยู่ ในร่างยักษ์ประทับบนหลังเสือเหาะขึ้นมาวิปัสสนากรรมฐาน ในถ�้ำนาน 3 เดือน ซึ่งเสือตัวนี้เป็นหนึ่งในภรรยาที่แปลงร่างมา ท่านได้เทศนาสัง่ สอนผูค้ นในหุบเขาพาโรจนหันมายอมรับนับถือ พุทธศาสนากันถึงปัจจุบัน ความทรงจ� ำ ดี ๆ ในการท่ อ งเที่ ย วคงไม่ เ พี ย งได้ สั ม ผั ส ประวัตศิ าสตร์และสถานทีส่ วยงามเท่านัน้ แต่เสน่หช์ วี ติ ของผูค้ น อาหารพื้นถิ่น สภาพบ้านเมืองก็น่าสนใจไม่แพ้กัน ที่ภูฏานเรายัง ได้เห็นผูช้ ายใส่ Gho ผูห้ ญิงใส่ Kera ชุดประจ�ำชาติเดินกันขวักไขว่ บ้านเมืองมีกฎหมายควบคุม อาคารบ้านเรือนต้องเป็นสถาปัตยกรรมแบบภู ฏ าน ท� ำ ให้ ภ าพรวมของเมื อ งดู ดี มี เ อกลั ก ษณ์ น่าชื่นชม ส่วนอาหารนั้นคนไทยไปภูฏานน่าจะถูกใจใช่เลยกับ จานเด็ ด ประจ� ำ ชาติ Ema Datshi คื อ พริ ก กั บ ชี ส เคล้ า กั น กลมกล่อมแต่เผ็ดสะใจ เพราะพริกกับชีสเป็นอาหารหลักของคน ทีน่ ี่ ส่วนผักผลไม้กเ็ ป็นออร์แกนิกล้วน เพราะภูฏานเน้นเศรษฐกิจ สีเขียว Green Economic โดยวางโรดแม็ปเป็นประเทศผลิต สินค้าออร์แกนิก 100% ในปี 2020 ทุกวันนี้คนภายนอกมักมองว่าภูฏานอนุรักษนิยม แม้จะมี รายการวิทยุให้ฟังเพียง 5 ช่อง รายการโทรทัศน์ภูฏานแค่ 2 ช่อง แต่จริงๆ แล้วสามารถรับสัญญาณดาวเทียมได้กว่า 200 ช่อง บวกกับประเทศนี้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองรองจากภาษา ซองคา ท�ำให้เข้าใจความเคลื่อนไหวทั่วโลกตลอดเวลา จึงไม่ แปลกใจที่เห็นคนรุ่นใหม่ในทิมพูใส่เสื้อยืด กางเกงยีนส์ เทรนด์ เกาหลีมาแรงทั้งเสื้อผ้า หน้า ผม ใช้ระบบ 3G ในมือถือ iPhone สังคมก้มหน้าจึงมีให้เห็นทั่วไป ชื่นชอบหนังไทยเรื่อง ‘ต้มย�ำกุ้ง’ กับ ‘องค์บาก’ ผับ เทค คาราโอเกะ บันเทิงครบทั้งเพลงภูฏาน ฝรั่ง อินเดีย และไทย ขณะเดียวกันกลับเห็นหนุ่มๆ ผมทรงเกาหลี เคี้ยวหมากปากแดง เพราะบุหรี่ที่นี่เป็นสิ่งผิดกฎหมาย แต่หมาก เป็นวัฒนธรรมทีเ่ คีย้ วกันมาแต่เด็กเพือ่ ให้ความอบอุน่ แก่รา่ งกาย ดูไปกลายเป็นวัฒนธรรมสองขั้วที่เข้ากันได้ดี ภูฏานวันนีแ้ ม้จะมีความเป็นตัวของตัวเอง แต่กส็ ง่ สัญญาณ ให้เห็นแล้วว่าไม่อาจทวนกระแสโลกไปได้ ดังนั้น Tshering Tobgay นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบนั ของภูฏานได้วางทิศทางพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศตามแนวทุนนิยม เน้นการเติบโตของรายได้ ประชาชาติ (GDP) น�ำหน้าความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH) ไม่วา่ ภูฏานจะไปทางไหน อนาคตจะเปลีย่ นไปอย่างไร แต่สำ� หรับ นักเดินทางแล้ว ภูฏานยังเป็นเมืองน่ารักในหุบเขาที่ควรไปเยือน สักครั้งในชีวิตจริงๆ

• กงล้อมนตรา กับศรัทธา ที่ไม่เคยเสื่อม

• ธงมนต์ปลิวไสว

ABACA PROFILE

• ประเทศเดียวในโลกที่ไม่มีไฟจราจร ยังใช้คนโบกรถอยู่

• เห็ดชิตาเกะออร์แกนิก

• เมื่อเข้าซอง ผู้ชายต้องมี ผ้าคาดไหล่ Kabney

31

MAGAZINE

• Ema Datshi


IN STYLE

James Mar STORY : ภรภัค

หลั ง ครองใจผู ้ ห ญิ ง ทั่ ว ไทยจาก บทบาท หม่อมราชวงศ์รณพีร์ จุฑาเทพ ในละครชุ ด สุ ภ าพบุ รุ ษ จุ ฑ าเทพ เป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ย ท� ำ ให้ ร ะยะเวลา ที่ ผ ่ า นมา จะได้ เ ห็ น เจมส์ มาร์ รั บ บทบาทใหม่ อี ก หลากหลาย รูปแบบ ทัง้ งานถ่ายแบบและโฆษณา ซึ่งชายหนุ่มมาพร้อมกับลุคสุดหล่อ เนี้ยบ และเขาก็ได้แสดงให้เห็นแล้ว ว่ า มี ค วามสามารถที่ ห ลากหลาย จริงๆ ล่าสุด เจมส์ มาร์ ก�ำลังแสดง ละครเรื่องใหม่ที่ขออุบเงียบไว้ก่อน ซึ่ ง เป็ น บทบาทใหม่ ที่ เ ชื่ อ แน่ ว ่ า จะครองใจขาละครได้ทวั่ บ้านทัว่ เมือง อีกเช่นเคย โดย ณ วันนี้ ในแต่ละวันชายหนุ่มต้องท�ำงาน และมีแนวคอนเซ็ปต์ ของงานคอยก�ำกับบทบาทของเขามากบ้างน้อยบ้าง แต่ เจมส์ มาร์ บอกว่า เขาเต็มที่ และสนุกกับงานทุกๆ วัน ซึ่งเมื่อจบวัน เขาก็รู้สึกได้ถึงพลังการท�ำงานที่เต็มเปี่ยม พร้อมจะมองไปในวันพรุ่งนี้อย่างกระตือรือร้น เจมส์ มาร์ ให้เกียรติพูดคุยกับ ABACA Profile ในช่วงเวลาสั้นๆ ถึงตัวตนของ เขาอีกแง่มุมหนึ่ง ในบทบาทของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปศาสตร์ สาขาอังกฤษ ธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ แน่นอนว่าจะท�ำให้คุณตกหลุมรักเขาได้อีกแล้ว

รูปแบบอยู่แล้ว แต่การท�ำงานจะ ต่างตรงที่ผมเดินทางตลอด และได้ เจอ ได้รู้จักคนเยอะเลย ทุกวันนี้ผมท�ำงานตลอด และ เป็นงานที่ผมต้องเดินทางตลอดเลย ครับ อาทิตย์นี้อยู่กรุงเทพฯ อาทิตย์ ถัดไปอยู่กาญจนบุรี อาทิตย์ต่อไป อยู ่ อ ยุ ธ ยา คื อ จะไปจั ง หวั ด ต่ า งๆ ตลอดเวลา การท� ำ งานก็ ท� ำ ให้ มี ความรับผิดชอบมากขึ้น การเรียนที่เอแบคเป็นเรื่องดี ส�ำหรับผมมาก เพราะเอแบคสร้าง วิธีคิดในแง่ของการท�ำงานให้ครับ ท�ำให้เข้าใจถึงการรู้หน้าที่ให้ดี การ ท�ำงานของเราให้ดที สี่ ดุ เช่น การเรียน ก็มีจ�ำนวนครั้งคอยก�ำกับให้เราต้องมาเรียน ซึ่งเป็นเรื่องดีส�ำหรับผมที่ใส่ใจและ ให้ความส�ำคัญเรื่องของเวลา ท�ำให้ผมเติบโตและท�ำงานได้ง่ายขึ้น ส�ำหรับวิธกี ารเลือกรับงาน เป็นส่วนของผูจ้ ดั การครับ เท่าทีผ่ มทราบคือเป็นการ รับงานให้เหมาะกับตัวผมจริงๆ คิวไม่ชนกัน ถ้าเป็นละคร ก็เป็นผู้ใหญ่คุยกันว่า ผมเหมาะกับบทอะไร ส่วนเวลาท�ำงาน ผมให้ความส�ำคัญกับความส�ำเร็จของงาน และความเต็มที่ ที่เราใส่เข้าไป คือความส�ำเร็จจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อคนฟีดแบ็คกลับมา ฟีดแบ็คคือ สิง่ ทีผ่ มใส่ใจมาก แต่สง่ิ ทีผ่ มใส่ใจมากกว่านัน้ คือผมจะคอยบอกตัวเองว่า เราใส่ใจ ไปเต็มร้อยหรือยัง คือใส่ไปร้อยแล้ว ก็ใส่ไปอีกๆ และสุดท้ายต้องท�ำงานให้มคี วามสุข ซึ่งผมจะท�ำงานอย่างมีความสุข ท�ำเสร็จแล้วก็มีความสุข นี่ล่ะคือสิ่งที่ผมใส่ใจ

ช่วงวันที่คุณเรียนเป็นอย่างไรบ้าง

วันที่ผมเรียนหนังสือ เป็นช่วงเวลาที่มีความสุขมาก ตั้งแต่ปี 1 ที่ผมได้เรียนที่ แคมปัสหัวหมาก เป็นชีวิตวัยรุ่น ตอนนั้นรู้สึกว่าตัวเองยังเด็กอยู่ จะเฮฮา สนุกกับ การเรียน เวลามีเบรกก็ไปหาอะไรกินอร่อยๆ กับเพื่อนบ้าง คนเดียวบ้าง ไล่กินหมด ทุกร้านเลยครับ เป็นช่วงที่ได้เอนจอยกับชีวิต สนุกมากๆ กับเพื่อนๆ พอขึ้นปี 2 และย้ายไปแคมปัสบางนา ก็คือตอนนี้ เป็นเทอม 1 ครับ ก็เหมือน ได้เติบโตขึ้น เอแบคเป็นมหาวิทยาลัยที่ดีมากๆ อาจารย์ให้เราคิด ยืดหยุ่นกับการ ค้นหาสิ่งที่สงสัย และวิชาเรียนในคลาส ไม่ได้ต้องท่องเป๊ะอย่างนกแก้ว เวลาเรียน จึงสนุกมากๆ ได้รู้ความสามารถทางความคิดของเราในรูปแบบใหม่ๆ สาขาทีผ่ มเรียน ค่อนข้างได้ทำ� สิง่ ต่างๆ ด้วยตัวเอง จากทีเ่ ราพูดภาษาอังกฤษ ได้อยู่แล้ว การเรียนก็มีสิ่งที่ให้เราได้ท�ำอะไรหลายๆ อย่าง และเรียนรู้อะไรหลายๆ อย่าง เช่น การพรีเซนต์ การเขียนจดหมายหลายๆ แบบ และได้เรียนรูถ้ งึ การท�ำงาน การร่วมงานกับคนที่หลากหลาย ช่วงที่ผ่านมา ผมต้องท�ำโปรเจ็กต์ส�ำหรับวิชาที่เรียน ผมเลือกท�ำโปรเจ็กต์ ปลูกป่าชายเลน ก็ต้องมีการคิดวางแผน ท�ำงานส่ง เพื่อเสนอแนวคิดและแนวทาง การท�ำงาน จากนั้นได้ไปปลูกป่าชายเลนกันจริงๆ กับเพื่อนๆ สนุกมากครับ

ความมีชื่อเสียงช่วยให้คุณพบความท้าทายใหม่ๆ ในชีวิตอย่างไรบ้าง

ตั้งแต่เริ่มต้นท�ำงานมาจากวันแรกจนถึงตอนนี้ ผมรู้ตัวเลยว่าเป็นคนแอคทีฟ เป็นคนครีเอทีฟ ไม่อยู่นิ่ง จะให้นั่งท�ำงานในออฟฟิศก็ท�ำไม่ได้ จะให้นั่งเรียน อย่างเดียวก็ท�ำไม่ได้ ผมจะเบื่อ ชีวิตจะขี้เกียจไปเลย ถ้ามีอะไรให้ตลอด ผมก็จะสู้ สู้เต็มที่กับมัน ทุกงานเป็นความท้าทายใหม่ๆ ให้กับผม ทั้งเรื่องของความคิดและ ความสามารถ ฟีลเหมือนนักกีฬา แต่ผมไม่ได้เป็นนักกีฬา ผมเป็นนักแสดง แต่ความ รู้สึกคล้ายๆ กันครับ

คุณแบ่งเวลาที่จะอยู่กับตัวเอง และสนุกกับกิจกรรมโปรดได้อย่างไร

การรับงานและการเรียน เป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้ผมรู้เวลาของตัวเองชัดเจน ว่าจะท�ำอะไรได้บ้าง ซึ่งก็ท�ำให้แบ่งเวลาได้ชัดเจน การเรียนเป็นเรื่องส�ำคัญมาก ส�ำหรับผม และการท�ำงานก็เช่นเดียวกัน ดังนั้น เมื่อถึงเวลาเรียนคือเรียนให้ชัดเจน เวลาท�ำงานใส่เต็มที่เช่นกัน วันพักก็พัก สบายๆ ส�ำหรับกิจกรรมโปรด ผมชอบตีกอล์ฟ ซึ่งจะตีในวันที่มีเรียนก็ได้ครับ เพราะ มีสนามกอล์ฟข้างมหาวิทยาลัยที่บางนา ถ้าวันไหนมีคลาสแคนเซิล ผมกับเพื่อน จะไปตีกอล์ฟเลยครับ ได้ผ่อนคลาย สนุก

ช่วงเวลาที่คุณท�ำงาน คุณให้ความส�ำคัญกับสิ่งใดบ้าง

ช่วงนี้ถ่ายละครอยู่ครับ การท�ำงานจะคล้ายๆ กันกับการอยู่มหาวิทยาลัย เพราะเราเจอคนตลอดเวลา แต่สิ่งที่แตกต่างคือเรามีความรับผิดชอบมากขึ้น เราต้องรับผิดชอบในหน้าทีข่ องเรา คือต้องรูว้ า่ ควรท�ำอะไร ไม่ควรท�ำอะไร นีล่ ะ่ ครับ คือสิ่งที่ส�ำคัญ ในมหาวิทยาลัยผมจะสบายกว่าด้วย เพราะเราเลือกวิชาเรียนที่รู้ ABACA PROFILE

สไตล์การแต่งตัวในวันที่คุณอยู่กับตัวเอง

32

สบายๆ ครับ วันนี้ (วันที่สัมภาษณ์ เจมส์ ให้เวลากับเราหลังจากท�ำงานเป็น

MAGAZINE


ช่วงเวลาสั้นๆ) นี่คือชุดท�ำงานครับ ปกติถ้าอยู่กับบ้านผมจะใส่อะไรง่ายๆ เสื้อยืด กางเกงยีนส์ กางเกงขาสั้น ธรรมดาๆ เรียบๆ เลยครับ เพราะผมไม่ชอบแต่งอะไร มาก เพราะในวันท�ำงานจะมีคนเตรียมไว้ให้แล้ว ตามคอนเซ็ปต์เสื้อผ้าให้เราต้อง แต่ง นี่โชคดีนะครับที่เห็นผมในลุคงาน เวลาไม่ท�ำงาน จะเป็นอะไรที่คนจะเห็นผม ในชุดนักศึกษาบ่อยมาก เพราะเวลาเรียน ผมจะเรียนยาวทั้งวัน

เพื่อดูว่ามีอะไรมาแต่งรถได้บ้าง และกอล์ฟครับ ดูข่าวสารของกอล์ฟ มีสองอย่าง นี่ล่ะที่อัพเดทตลอดเวลา

ก่อนเข้านอน เรื่องใดที่คุณจะทบทวนเพื่อการท�ำสิ่งดีๆ ในวันต่อไป

จะเป็นลักษณะการเตรียมตัวว่าวันพรุ่งนี้จะท�ำอะไร เหมือนการท�ำการบ้าน ไปส่งอาจารย์ คล้ายๆ กันเลย แต่ไม่ถึงกับทบทวนว่าดีมั้ย เพราะเรื่องการท�ำงาน ผมรู้แก่ใจว่าท�ำงานเต็มที่กับงานอยู่แล้ว ไม่ต้องมานั่งทบทวน แต่นั่งทบทวนว่า ต้องท�ำอะไรบ้างในวันถัดไปครับ

เรื่องราวที่คุณสนใจอัพเดทเพื่อไม่ให้ตกเทรนด์

ฟุตบอลครับ และข่าวสารบ้านเมือง ผมชอบอัพเดทเรื่องของรถด้วย ชอบรถ จึงจะรู้ว่ารถรุ่นนี้ใหม่ รุ่นนั้นเก่า ก็คอยอัพเดทอ่านเรื่องรถ และของแต่งรถตลอด ABACA PROFILE

33

MAGAZINE


I AM WATCH STORY / PHOTO : ดร.ปราโมทย์ เหรียญเจริญสุข

Eco

Watch รักษ์สิ่งแวดล้อม

เรื่องของพลังงานและสิ่งแวดล้อม เป็นหัวข้อและ เรื่องราวที่สังคมโลกในปัจจุบันต่างตระหนักถึงความ ส�ำคัญ สิ่งของเครื่องใช้ตลอดจนเครื่องอ�ำนวยความ สะดวกต่ า งๆ ในปั จ จุ บั น เริ่ ม ถู ก สร้ า งให้ ส ามารถ ประหยัดพลังงาน และลดการท�ำร้ายสิ่งแวดล้อมกัน มากขึน้ ตัง้ แต่อาคารบ้านเรือน ยานพาหนะ เครือ่ งใช้ ไฟฟ้า แม้กระทั่งนาฬิกาเองก็ตาม นาฬิกาข้อมือโดยเฉพาะประเภทกลไกควอตซ์ ซึง่ ใช้พลังงานจากแบตเตอรีเ่ ป็นก�ำลังในการขับเคลือ่ น ให้วงจรท�ำงาน มีส่วนที่ท�ำร้ายสิ่งแวดล้อมอยู่บ้าง เหมือนกัน เพราะสารพิษที่อยู่ในแบตเตอรี่นั้น ย่อมมี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง ตั้งแต่กระบวนการผลิตไปจนถึงปัญหาในการก�ำจัด ยามหมดอายุการใช้งาน ลองคิดดูว่าในปีหนึ่งๆ นั้น มี จ� ำ นวนแบตเตอรี่ ส� ำ หรั บ นาฬิ ก ากลไกควอตซ์ ที่ต้องผลิตขึ้นและต้องถูกก�ำจัดเป็นจ�ำนวนมากมาย เพียงใด คิดแค่นาฬิกาที่อยู่บนข้อมือของผู้คนทั่วโลก ก็เป็นจ�ำนวนมหาศาลแล้ว ด้วยความตระหนักถึงผลกระทบนี้ ทางผู้ผลิต นาฬิการายใหญ่แห่งประเทศญี่ปุ่น 2 ราย นั่นก็คือ Seiko กับ Citizen ได้พร้อมใจกันพัฒนาเทคโนโลยี ทีจ่ ะลดความสิน้ เปลืองในการใช้แบตเตอรีใ่ นนาฬิกา ข้อมือกลไกควอตซ์ของตัวเอง โดยค้นหาวิธีที่จะน�ำ เอาพลังงานธรรมชาติมาแปรเปลี่ยนเป็นพลังงาน กักเก็บไว้ในแบตเตอรี่แบบชาร์จได้ หรือตัวเก็บประจุ ซึ่งจะช่วยลดขยะอิเล็กทรกนิกส์ในรูปของแบตเตอรี่ ใช้แล้ว อันเป็นภาระในการก�ำจัดและสร้างผลเสียให้ กับสิ่งแวดล้อมลงได้มาก หากผู้คนหันมาใช้นาฬิกา ข้อมือลักษณะนี้กันมากขึ้น Seiko พัฒนากลไกควอตซ์ที่ใช้แสงสว่างไป แปลงเป็นประจุไฟฟ้า เก็บไว้ในแบตเตอรี่แบบชาร์จ เพื่อเป็นพลังงานในการท�ำงานขึ้นมา โดยเรียกว่า กลไก Solar ขณะที่กลไกของค่าย Citizen ก็ใช้ หลักการลักษณะเดียวกัน คือ กลไก Eco-Drive นาฬิกาพลังงานแสงยุคปัจจุบันไม่ว่าจะเป็น ของ Seiko หรือ Citizen ก็ตาม จะไม่มีการเปิดแผง

SEIKO Astron GPS Solar Chronograph นาฬิกาสปอร์ต ขอบตัวเรือนเซรามิก เรือนงามที่ล�้ำหน้าด้วยกลไกควอตซ์ โครโนกราฟพลังงานแสง ซึ่งติดตั้ง เทคโนโลยีการรับสัญญาณเวลาจากระบบ ดาวเทียม GPS รวมไปถึงการแสดงค่า วันที่ที่จะถูกปรับตั้งตามสัญญาณเวลา ไปพร้อมกัน ในภาพเป็นรุ่นตัวเรือนและ สายวัสดุไทเทเนียมน�้ำหนักเบาเคลือบสีด�ำ

CITIZEN Eco-Drive Satellite Wave F100 นาฬิกาสปอร์ตกึ่งเดรสเรือนหรูในวัสดุ ตัวเรือนและสายไทเทเนียมรุ่นนี้ ใช้กลไก ระบบ Eco-Drive พลังงานแสง ที่มา พร้อมกับเทคโนโลยีการรับสัญญาณเวลา จากระบบดาวเทียม GPS ซึ่งรวมไปถึงการ แสดงค่าวันกับวันที่ที่จะแสดงอย่างถูกต้อง แม่นย�ำไปพร้อมกับค่าเวลา ทั้งยังเพิ่ม ความมั่นใจในการใช้งานด้วยการมอบ มาตรแสดงก�ำลังส�ำรองมาให้บนหน้าปัด เป็นการตอบโจทย์เพื่อไม่ให้ต้องคอยกังวล เรื่องนาฬิกาหยุดเดิน

โซลาร์เซลล์รับแสงให้เห็นกันชัดๆ เหมือนกับนาฬิกาพลังงานแสงในยุคก่อนๆ อีกแล้ว ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า และลักษณะของการออกแบบหน้าปัดที่แนบเนียน จนแทบมองไม่เห็นความเป็นแผงโซลาร์เซลล์ หรือช่องที่ให้ แสงผ่านไปยังแผงโซลาร์เซลล์ดา้ นใน หากมองจากภายนอกจึงแทบจะไม่มอี ะไรแตกต่างไปจากนาฬิกาปกติทวั่ ไป เลย นอกจากค�ำว่า Solar หรือ Eco-Drive ที่มักจะมีการระบุเอาไว้บนหน้าปัดเพื่อบ่งบอกความเป็น Eco Watch เท่านั้น และส�ำหรับผู้ที่เกรงว่าหากไม่ได้น�ำมาสวมใส่บ่อยๆ แล้ว นาฬิกาพลังงานแสงจะหยุดเดิน ท�ำให้ต้องเสีย เวลาน�ำมาผึ่งแสงจัดๆ แล้วก็ตั้งเวลาใหม่ อันน�ำมาซึ่งความยุ่งยากในการใช้งานนั้น ปัจจุบันนี้หายห่วงได้แล้ว เพราะทาง Seiko และ Citizen ตระหนักถึงความจริงในข้อนี้ดี จึงได้พัฒนาให้กลไกควอตซ์พลังงานแสงของ ตัวเองสามารถเก็บประจุไฟเพื่อรักษาการเดินของนาฬิกาเอาไว้ได้เป็นเวลานานหลายเดือน นี่คือตัวอย่างเทคโนโลยีสมัยใหม่ของนาฬิกายุคปัจจุบันที่มีส่วนในการลดขยะซึ่งเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งยังถูกพัฒนาควบคู่ไปกับความสะดวกในการใช้งานอีกด้วย โดยทั้ง Seiko และ Citizen ต่างก็ผลิตนาฬิกาที่ใช้ กลไกลักษณะนีอ้ อกมาให้เป็นเจ้าของกันในหลากหลายรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นนาฬิกาเดรสหรู นาฬิกาสไตล์ลำ� ลอง หรือนาฬิกาสปอร์ตลักษณะต่างๆ ทั้งยังมีฟังก์ชันการใช้งานที่แตกต่างกันให้เลือกอีกมากมาย ตั้งแต่ฟังก์ชัน บอกเวลาธรรมดา ฟังก์ชันโครโนกราฟ ฟังก์ชันจีเอ็มที ไปจนถึงฟังก์ชันซับซ้อนอย่างเพอร์เพทชวลคาเลนดาร์ และล�ำ้ สุดๆ กับนาฬิกาพลังงานแสงทีบ่ อกเวลาได้อย่างแม่นย�ำทีส่ ดุ ไม่วา่ จะอยูท่ ใี่ ดบนโลก ด้วยการรับสัญญาณ เวลาจากระบบดาวเทียม GPS ข้อมูลเพิ่มเติม: www.iamwatch.net

ABACA PROFILE

34

MAGAZINE


DESIGN DIGEST STORY / PHOTO : Greenergy

iameco v3

เดสก์ทอปพีซีรักษ์โลก

คอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง โต๊ ะ ที่ เ หมาะส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ รั ก สิ่งแวดล้อมสุดๆ เพราะผลิตจากวัสดุรีไซเคิล ถึ ง 98% หลอดไฟและระบบจอภาพใช้ เทคโนโลยี LED และช่วยลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้มากถึง 75% http://iameco.com

Econista จากแนวคิด Eco Design เกิดเป็น Eco Products ที่มีครบทั้งประโยชน์ใช้สอย ความสวยงาม และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นี่คือผลิตภัณฑ์บางส่วนที่เราคัดสรรมาฝาก

Electree Mini บอนไซ พลังแสงอาทิตย์

Small Ville

ฝาปิดปลั๊กรักธรรมชาติ

อุ ป กรณ์ ช าร์ จ สมาร์ ท โฟน จากพลั ง แสงอาทิ ต ย์ ที่ ถู ก ออกแบบให้ ดู เ หมื อ นต้ น บอนไซขนาดจิ๋ว สามารถ ดั ด -ปรั บ ทิ ศ ทางของใบที่ เป็นแผงโซลาร์เซลล์เพือ่ เก็บ พลังงานได้อย่างอิสระ ใต้ฐาน สามารถเปลี่ยนพอร์ต USB ให้เป็น Light Sensor เปล่ง แ ส ง สี ส ว ย ง า ม ส ร ้ า ง บรรยากาศในยามค�่ำคืนได้ http://vivien-muller.fr

อย่าปล่อยให้ปลั๊ก USB เปล่าเปลือย เสี่ยงต่อความเสียหาย ด้วยฝาปิด USB คอลเลคชั่นพิเศษ ‘Small Ville’ ในลุคสุดชิค ผลิตจากไม้ปลอดสารพิษ วางขาย เป็นคู่ เช่น ภูเขาและต้นไม้ บ้านหลังเล็กและปุยเมฆ ตึกระฟ้าและเครื่องบิน www.guruwan.com

ABACA PROFILE

Hourglass

แสงสว่างจาก พลังของเม็ดทราย

โคมไฟ LED ทีส่ อ่ งสว่างจาก เม็ ด ทราย อาศั ย หลั ก การ ควบคุ ม พลั ง งานจลน์ จ าก เม็ดทรายที่ร่วงหล่นเปลี่ยน เป็นระบบเปิด-ปิดทีส่ ามารถ ใช้ ง านได้ เ พี ย งหมุ น กลั บ ด้าน ผลงานของ Danielle Trofe ที่ต้องการสื่อสารให้ ผู ้ ค นตระหนั ก ถึ ง แหล่ ง พลั ง งานที่ ก� ำ ลั ง หมดไป เหมือนเม็ดทรายที่ร่วงหล่น ลงไปทุกที http://danielletrofe.com

35

MAGAZINE

Nemus Cajalun Bike จักรยานรักษ์สิ่งแวดล้อม

จักรยานต้นแบบผลงานของผู้ผลิต LignoTUBE Technologies จากประเทศเยอรมนี ที่น�ำเสนอ เทคโนโลยี ใ นการน� ำ ไม้ แ ผ่ น บางมาซ้ อ นกั น หลายชั้น ยึดติดกันด้วยกาวแรงดันสูงจนกลาย เป็นท่อกลวงที่แข็งแกร่งแต่มีน�้ำหนักเบา ท่อ ‘LignoTUBE’ ที่มีสีธรรมชาติให้เลือก 3 สี คือ ไม้แอช โอ๊ก และวอลนัท ถูกน�ำมาใช้ประกอบ เข้ากับเฟรมอะลูมินัมคุณภาพสูงของจักรยาน คันงาม สมญานาม Nemus Cajalun ทีม่ นี ำ�้ หนัก รวมทั้งคันไม่ถึง 9 กิโลกรัมเท่านั้น ที่ส�ำคัญยังได้ รับรางวัลชนะเลิศจาก Red Dot Award 2014 ในสาขาการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ ใช้ ใ น กลางแจ้ง เพือ่ การพักผ่อน เพือ่ การออกก�ำลังกาย และเพื่อความบันเทิง http://nemuscycles.com


ENTERBRAIN STORY : นรเศรษฐ หมัดคง / Dj Seed Norasate - seeeddj@yahoo.com

…หนังสือบางเล่ม ภาพยนตร์บางเรื่อง และเพลงบางเพลง อาจเปลี่ยนความคิดและชีวิตเราได้ แต่กว่าจะเจอ หนังสือ ภาพยนตร์ และเพลงเหล่านี้ ชีวิตและความคิดของเราอาจสิ้นหวังและไร้คุณค่าใดๆ ถ้ามัวแต่รอคอยให้อะไรๆ เหล่านั้นมาเป็นแรงผลักดัน บางที อาจไม่มีวันได้เจออะไรดีๆ แบบนี้เลยก็ได้ เพราะบางคนไม่ชอบอ่านหนังสือ ทั้งดูหนัง และฟังเพลง ตามกระแสหรือความโด่งดังของมันเท่านั้น...

MUSIC

MOVIE

Artist : Robbie Williams Album : In And Out Of Consciousness Label : Universal Music

Transformers : Age Of Extinction ก�ำกับโดย : ไมเคิล เบย์ แสดงน�ำโดย : มาร์ค วอห์ลเบิร์ก, แจ็ค เรย์เนอร์

เขาคือป๊อปสตาร์จากต้นยุค 90s ที่แจ้งเกิดมาจากวง บอยแบนด์ชอื่ ดังนาม Take That แล้วแยกตัวออกมา เป็ น ศิ ล ปิ น เดี่ ย วจนโด่ ง ดั ง ไปทั่ ว โลก มาถึ ง วั น นี้ เขาผ่านร้อนผ่านหนาว ทั้งประสบความส�ำเร็จอย่าง สูงสุดจนถึงจุดต�ำ่ สุดมาแล้ว เพราะบนถนนสายดนตรี ย่อมเปลีย่ นแปลงไปตามยุคสมัยตลอดเวลา แต่ในวันนี้ เขาได้เป็นดาวค้างฟ้าไปแล้ว กับผลงานจากอัลบัม้ ชุด ต่างๆ ที่ประสบความส�ำเร็จอย่างท่วมท้น อัลบั้มชุดนี้ เป็นการรวมเพลงฮิ ตทุ กเพลงในชี วิต ของการเป็ น ศิลปินเดีย่ ว และแสดงให้เห็นถึงการเป็นนักแต่งเพลง ที่ดีที่สุดในโลกคนหนึ่งของเขามาให้คนที่รักในเสียง เพลงป๊อปชัน้ ดีได้รบั ฟังและเป็นเจ้าของ ซึง่ ไม่ตา่ งจาก การได้ศึกษาชีวิตและการเดินทางบนถนนสายดนตรี ของเขาอย่างละเอียดผ่านบทเพลงต่างๆ ที่รวมไว้ใน ซีดี 2 แผ่น อย่างเต็มอิ่ม

อีกหนึง่ มหากาพย์ของภาพยนตร์ไซ-ไฟของโลกในยุค ไซเบอร์ ที่ได้สะท้อนให้เห็นถึงโลกแห่งอนาคต ที่ถูก หุ ่ น ยนต์ จ ากต่ า งกาแลคซี เ ดิ น ทางมารุ ก รานเพื่ อ ต้องการยึดครองโลกตามสไตล์ของหนังแนวนี้ได้ อย่างเหนือจริง ซึง่ ได้นำ� เสนอมาแล้ว 3 ภาค ภาคนีจ้ งึ เป็นภาคล่าสุด ที่เปลี่ยนแปลงดาราน�ำจากทั้ง 3 ภาค ที่ผ่านมา คือ ไชอา ลาบัฟ ในบทของ แซม วิทวิคกี้ เด็กเนิร์ดผู้ซึ่งมีบุคลิก ‘แปลกแยกและไม่อาจหลอม รวมกับผูค้ นในสังคมปกติได้’ มาเป็นดาราดังคือ มาร์ค วอห์ลเบิร์ก แทน ความยาว 165 นาทีของหนังเรือ่ งนี้ แน่นอนว่ามี การต่อสูฆ้ า่ ฟันกันอย่างดุเดือด ทัง้ มีฉากทีว่ บิ ตั มิ ากมาย ถูกใจคอหนังแนวนีแ้ น่นอน แต่อรรถรสทีแ่ อบแฝงไว้ใน แก่นแท้ของเรื่อง ทั้งความสามัคคี สัจธรรมของการ มีชวี ติ อยู่ จนถึงการแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้าเพือ่ เอาชีวติ รอด ได้ถูกลดทอนลงไปเยอะ และรู้สึกแปร่งๆ กับ พระเอกคนใหม่ ทีท่ กุ คนอาจคุน้ เคยกับพระเอกคนเดิม ทัง้ 3 ภาคทีผ่ า่ นมา โดยรวมยังคงเป็นหนังทีน่ า่ สนใจ เสมอ และน่าจะเป็นหนังไซ-ไฟสุดคลาสสิกตลอดกาล ของผูค้ นในยุค 2000 ไม่แพ้หนังชุดคลาสสิกอย่าง สตาร์ วอร์ส ของผูค้ นในยุคก่อนหน้า ABACA PROFILE

36

MAGAZINE

BOOK

The Walking Backpack ออกเดินแล้ว อย่าหันหลังกลับ จิรภัทร พัวพิพัฒน์-เขียน / สนพ.ไออุ่น / 199 บาท ความฝันของหนุ่มสาวส่วนใหญ่ คือการได้ออกจาก บ้านไปท่องโลกกว้างด้วยการแบกกระเป๋าใบเดียว คล้ายหนุ่มสุดขั้วในรายการสารคดีชื่อดัง Lonely Planet แต่ในความเป็นจริงแล้ว มีนอ้ ยมากทีจ่ ะได้ทำ� ตามที่ฝันไว้ หนังสือเล่มนี้เป็นเรื่องราวของเด็กหนุ่ม คนหนึ่งที่มีประวัติส่วนตัวน่าสนใจ เขาได้เปิดเพจใน facebook ด้วยการน�ำเสนอเรื่องราวของการเดินทาง ไปในแต่ละประเทศด้วยมุมมองและความคิดทีน่ า่ ทึง่ อาจสร้างแรงบันดาลใจให้กับคุณและทุกๆ คนได้ ถ้าคุณมีความกล้าหาญทีจ่ ะลุกขึน้ และก้าวเดินออกไป ค้นหาความมหัศจรรย์อกี มากมายในโลกใบใหญ่ใบนี้ ที่ไม่ได้แค่นั่งคลิกดูรูปแต่ในโลกโซเชียลอยู่ที่บ้าน เท่านั้น


FIND YOUR MIND STORY : กองบรรณาธิการ

NATURE

originally came from Latin ‘Natura’, which meant

BIRTH

ABACA PROFILE

37

MAGAZINE


BIZ GURU

insight Indonesia

STORY : จารุนันท์ วิสุทธิพิทักษ์กุล

อินโดนีเซีย

สูก่ ารค้าเสรีตลาด AEC

อินโดนีเซีย เป็นประเทศทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ ในกลุม่ อาเซียน ปัญหาทีท่ า้ ทายต่อรัฐบาลอินโดนีเซีย ในเวลานีก้ ค็ อื จะกลายเป็นศูนย์กลางการค้าทีม่ อี ำ� นาจและศักยภาพ หรือจะกลายเป็นเพียงแค่ตลาด ขนาดใหญ่ ให้กับประเทศเพื่อนบ้าน ดังนั้น ในเวลานี้ รัฐบาลอินโดนีเซียเริ่มแสดงความกังวล และ พยายามกระตุ้นให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายในประเทศทุกภาคฝ่าย ให้ความส�ำคัญทั้งในเรื่องการเพิ่ม ผลผลิต และการพัฒนาแรงงานที่มีฝีมือ ให้ทันรับมือกับการเปิดตลาดการค้าเสรีที่จะมีขึ้นในเร็ววัน ที่น่าสนใจก็คือ เศรษฐกิจของประเทศอินโดนีเซียขยายตัวสูงเป็นอันดับ 3 ของโลกในช่วงระยะ เวลาทศวรรษที่ผ่านมา ท�ำให้นักลงทุนทั้งหลายต่างสนใจ แม้ในช่วงวิกฤติการณ์การเงินทั่วโลกที่เกิด จากการผิดพลาดในการปล่อยสินเชื่อที่ไม่มีคุณภาพของสหรัฐฯ เอง การเปลี่ยนแปลงราคาน�้ำมันดิบ แต่ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GDP ในปี พ.ศ. 2552 นั้นก็ยังเพิ่มสูงถึงร้อยละ 6.1 ขณะที่ตัวเลข GDP ในไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2557 นี้ รายงานโดยส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ คือ ร้อยละ 5.21 และ ตัวเลข GDP เฉลี่ยจากปี พ.ศ 2543-2557 คือร้อยละ 5.42 สรุปโดยภาพรวมแล้ว เสถียรภาพทาง เศรษฐกิจยังปรับตัวดีขนึ้ อย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ มีรายงานการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันขึน้ เมื่อปีที่แล้วขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 25 จากอันดับที่ 89 เมื่อ 6 ปีที่แล้ว (พ.ศ. 2550) เรียกว่าน�ำหน้า ประเทศในอาเซียนทัง้ หลายแล้ว รวมทัง้ ประเทศไทยด้วย นอกจากนีส้ ำ� นักวิจยั ต่างๆ มีการคาดการณ์ เศรษฐกิจของอินโดนีเซียในอีก 15 ปีข้างหน้าว่าจะใหญ่เป็นอันดับ 7 ของโลก แทนที่จากอันดับที่ 16 ในเวลานี้ ซึ่งจะเป็นรองเพียงแค่จีน สหรัฐฯ รัสเซีย อินเดีย ญี่ปุ่น และบราซิล อินโดนีเซียมีประชากรประมาณ 240 ล้านคน และร้อยละ 50 มีอายุต�่ำกว่า 30 ปี นั่นหมายถึง ก�ำลังแรงงานและชนชัน้ บริโภคจ�ำนวนมหาศาล ทีน่ า่ สนใจก็คอื เศรษฐกิจในประเทศเติบโตจากความ ต้องการภายในประเทศเป็นหลัก ไม่ใช่มาจากภาคการส่งออกผลิตผลจากทรัพยากรธรรมชาติ ก๊าซ น�้ำมัน โดยมีการคาดการณ์ว่า จ�ำนวนชนชั้นกลางในอินโดนีเซียจะเพิ่มกว่าเท่าตัวจากประมาณ 45 ล้านคน เป็น 93 ล้านคนในทศวรรษหน้า หมายถึงตลาดผู้บริโภคขนาดใหญ่ที่น่าจับตามอง ซึง่ ส่งผลต่อจ�ำนวนอุปสงค์สนิ ค้าและอาหารในประเทศไม่พอเพียง ท�ำให้ตอ้ งพึง่ พาการน�ำเข้าอยูเ่ สมอ จนกลายเป็นปัญหาใหญ่ของรัฐบาลในเวลานี้ แม้แต่อาหารพื้นฐานอย่างเช่น ข้าว ถั่วเหลือง เนื้อวัว น�้ำตาล เป็นต้น รัฐบาลอินโดนีเซียมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ เพื่อให้การค้าเป็นไปอย่างเสรี ตามข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน ASEAN Free Trade Area (AFTA) และการเข้าสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) และบางอุตสาหกรรมให้สิทธิ พิเศษส�ำหรับนักลงทุนจากอาเซียน เช่น อนุญาตให้ถือหุ้นในกิจการให้บริการขนส่งทางทะเลได้ ร้อยละ 60 ในขณะที่นักลงทุนจากที่อื่นจะถือหุ้นได้เพียงแค่ร้อยละ 49 เท่านั้น รวมทั้งมีนโยบาย สนับสนุนบรรยากาศในการลงทุน ได้แก่ • ปรับปรุงกฎระเบียบเพือ่ เอือ้ ให้เอกชนสามารถเข้ามาลงทุนพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในประเทศ เช่น ปัญหาการครอบครองที่ดิน (Land Acquisition) • One Stop Service จัดตั้งศูนย์ให้บริการด้านการลงทุนเพื่ออ�ำนวยความสะดวกต่อการลงทุน • Logistic Development มีการพัฒนา แผนแม่บทโลจิสติกแห่งชาติ และแผนพัฒนาเขต เศรษฐกิจ 6 เขต ABACA PROFILE

38

MAGAZINE

แนวทางการลงทุนทีน่ า่ สนใจในอินโดนีเซีย

การลงทุนก่อสร้างเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การ พัฒนาท่าเรือ สนามบิน ถนน โดยรัฐบาลได้สนับสนุนให้มีการ ลงทุนในรูปแบบ Public Private Partnership การลงทุนด้านพลังงาน เช่น ถ่านหิน น�้ำมัน และก๊าซ ธรรมชาติ รวมทัง้ พลังงานไฟฟ้า เพราะทีผ่ า่ นมารัฐวิสาหกิจบริษทั PLN ที่ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อใช้ในประเทศ ไม่สามารถผลิตให้ เพียงพอต่อความต้องการได้ รวมทัง้ หม้อแปลงทีม่ อี ายุใช้งานนาน ช�ำรุดบ่อยจนไฟฟ้าต้องดับอยู่เสมอ อุตสาหกรรมการแปรรูปสินค้าประมง โดยรัฐบาลมุ่งจะ ส่งออกสินค้าแปรรูปประมงให้มีมูลค่า 2.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี พ.ศ. 2553 ส่งผลให้นักลงทุนต่างชาติร่วมทุนกับบริษัท ท้องถิ่น เพื่อให้เพิ่มมูลค่าสินค้าประมง อุตสาหกรรมการเกษตร เช่น การปลูกอ้อยและผลิตน�ำ้ ตาล โดยปัจจุบันต้องน�ำเข้าจากประเทศไทย การเพาะปลูกปาล์ม น�้ำมัน เพราะอินโดนีเซียเป็นประเทศผู้ส่งออกปาล์มน�้ำมันมาก ที่ สุ ด ในโลก และการเพาะปลู ก ไม่ ต ้ อ งใช้ แ รงงานที่ มี ทั ก ษะ สามารถปลูกได้เองโดยไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เป็นการสร้างงานและรายได้ให้กับแรงงานทักษะต�่ำ ในครัวเรือน ที่ อ ยู ่ ห ่ า งไกลพื้ น ที่ เ ศรษฐกิ จ โดยสมาคมปาล์ ม น�้ ำ มั น ของ อินโดนีเซียได้ประมาณการว่าสามารถท�ำให้ 1.3 ล้านครัวเรือน หรือประมาณ 5.2 ล้านคนมีงานท�ำ (ประชากรอินโดนีเซียจ�ำนวน 30 ล้านคนด�ำรงชีวิตต�่ำกว่าเส้นความยากจน) อย่างไรก็ตาม มีข้อควรระวังหลายประการในการลงทุน ที่ ป ระเทศอิ น โดนี เ ซี ย ประการแรกคื อ ปั ญ หาหลั ก เรื่ อ ง สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน อาทิ สะพาน ท่าเรือ ถนน ไฟฟ้า น�ำ้ ประปา ทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพเพียงพอ ท�ำให้การน�ำเข้าสินค้าจาก ต่างประเทศมีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าน�ำมาจากภูมิภาคอื่นๆ ภายใน ประเทศ รวมไปถึงปัญหาคอร์รัปชั่นและความไม่โปร่งใสในการ ด�ำเนินงาน รวมทั้งนโยบายระหว่างรัฐบาลกลาง และองค์การ ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั น มี ก ารเปลี่ ย นแปลง กฎระเบียบบ่อย ท�ำให้ส่งผลกระทบต่อนักลงทุน นอกจากนี้ ยังรวมถึงปัญหาแรงงานที่ไม่มีคุณภาพ ขาดทักษะในการท�ำงาน ในหลายภาคอุตสาหกรรม ท�ำให้ต้องมีการอบรมแรงงานก่อน รวมถึงอินโดนีเซียเองมีกฎหมายแรงงานที่เข้มงวดมาก ดังนั้น นักลงทุนต้องศึกษาและเตรียมการให้ดีเพื่อไม่ให้ท�ำผิดกฎ


LAW-GIC STORY : อาจารย์ นิติ เนื่องจ�ำนงค์

Nerngchamnong.niti@gmail.com

New Look New Tax

ภาษีมรดก ภาษีที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง ในระยะนีท้ า่ นเจ้าสัว เศรษฐีทงั้ หลาย หรือทีเ่ รียกง่ายๆ ว่าบุคคล ที่เหลือกินเหลือใช้ คงรู้สึกหนาวๆ ร้อนๆ เป็นแน่ และแน่นอน คงไม่ใช่เพราะอากาศที่แปรปรวนแต่อย่างใด หากแต่เป็นเรื่อง ที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ประกาศเป็นหนึ่งใน นโยบายหลักต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เกี่ยวกับการ ออกกฎหมายการจัดเก็บภาษีมรดก ภาษีทดี่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง ซึ่ ง แน่ น อนเป็ น ที่ ส นใจกั บ บุ ค คลหลายๆ กลุ ่ ม เป็ น วงกว้ า ง ทั้งในเมืองหลวงและต่างจังหวัด หลายค�ำถามเกิดขึ้นมากมาย ถึงรูปแบบ ประเภท และหลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษี และ ความเหมาะสม ตลอดระยะเวลา20 ปีที่ผ่านมา กรมสรรพากร พยายามในการผลักดันกฎหมายภาษีมรดก แต่ยงั ไม่ประสบผล ส�ำเร็จ ในฉบับนีท้ า่ นผูอ้ า่ นจะได้รบั ทราบถึงหลักกว้างๆ ของภาษี มรดกและภาษีทดี่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง เราจะมาคุยเรือ่ งนีก้ นั ครับ การจัดเก็บภาษีมรดก เกิดจากแนวความคิดที่จะจัดเก็บ ภาษีจากกองทรัพย์สนิ ของผูต้ าย ทีม่ ที รัพย์สมบัตมิ ากถึงเกณฑ์ ทีก่ ฎหมายจะก�ำหนด โดยการจัดเก็บภาษีในแนวทางนี้ เป็นแนว ความคิดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้รัฐมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยรูปแบบ และวิธีการจัดเก็บนั้น ยังไม่อาจมีใครรู้แน่ชัดว่าร่างกฎหมาย จะเป็นเช่นไร แต่อย่างไรก็ดี มีแนวความคิดถึงเกณฑ์การจัดเก็บ ภาษีมรดกจากทรัพย์สนิ ของบุคคลทีต่ ายแล้ว โดยเก็บภาษีจาก ผูท้ ไี่ ด้รบั มรดกและจัดเก็บจากทรัพย์สนิ ทีจ่ ดทะเบียนเท่านัน้ เช่น บ้าน ที่ดิน รถยนต์ หุ้น เงินฝาก หรือพันธบัตร เป็นต้น ในส่วน ของทรัพย์สินที่ไม่มีการลงทะเบียน อาทิเช่น เครื่องประดับ พระเครื่อง จะไม่น�ำมาค�ำนวณในการเก็บภาษีมรดกจากกอง

ทรัพย์สินของผู้ตายที่มีทรัพย์สินมากกว่าห้าสิบล้านบาทขึ้นไป และจะจัดเก็บที่สิบเปอร์เซ็นต์จากกองทรัพย์สินดังกล่าว และ เป็ น กรณี ที่ ผู ้ ต ายไม่ มี ก ารโอนทรั พ ย์ สิ น ให้ ท ายาทหรื อ ผู ้ รั บ ก่อนตาย หรือในช่วง 2 ปีก่อนตาย ซึ่งภาษีมรดกจะมีการเรียก จัดเก็บในขณะที่มีการจัดสรรแบ่งปันทรัพย์มรดกแก่ทายาท หรือบุคคลผู้รับทรัพย์สินในกองมรดก ทั้ ง นี้ มี แ นวความคิ ด ที่ ก� ำ หนดทายาทและบุ ค คลผู ้ รั บ ทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ตอ้ งเสียภาษี ได้แก่ สามี หรือ ภรรยา ส่วนราชการ วัด องค์การ หรือสถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลของรัฐ สถานศึกษาของรัฐ ในส่วนภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง มีแนว ความคิดถึงเกณฑ์การจัดเก็บภาษี โดยแบ่งตามประเภท ดังนี้ ทีด่ นิ เกษตรในอัตรา 0.5% บ้านอยูอ่ าศัยในอัตรา 1% ส่วนทีด่ นิ อื่น ๆ และที่ดินรกร้างว่างเปล่าในอัตรา 4% ถ้ามองในภาพกว้างถึงการจัดเก็บภาษีมรดกและภาษี ที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง ในแง่ผลดีนั้น แน่นอน คือ 1. ภาครัฐจัดเก็บภาษีได้มากขึ้น 2. การกระจายที่ดินที่ถูกทิ้งร้างและไม่ได้ใช้ประโยชน์ น�ำมาจัดสรรหรือพัฒนามากขึน้ โดยมีแนวความคิดหลัก ที่ ว ่ า รายได้ ที่ ผู ้ ต ายมี ม ากมายนั้ น เกิ ด จากการใช้ ทรัพยากรในประเทศทีม่ ากเช่นกัน หรือในขณะเดียวกัน อย่างทีด่ นิ ต่างๆ ทีม่ มี ากมาย หากไม่ได้นำ� มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ ก็น่าจะน�ำกลับคืนมาเป็นของแผ่นดิน เพื่อ ให้เกิดการพัฒนาและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง เต็มที่ ในทางกลับกัน ผลเสียของการจัดเก็บภาษีมรดกและภาษี ทีด่ นิ คือ 1. ในทรัพย์สินชิ้นเดียวกัน อาจมีการจัดเก็บภาษีซ�้ำซ้อน เกินความจ�ำเป็น 2. การมีตวั แทน (nominee) มากขึน้ ทัง้ ในรูปบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล 3. การเปลี่ยนแปลงประเภทและรูปแบบการออมของ ประชาชน 4. การป้องกันในเรื่องที่ดินที่อาจมีความใกล้เคียงและมี ซ�้ำซ้อนกับกฎหมายที่มีอยู่ปัจจุบัน 5. กฎหมายมรดกอาจมีบทบาทน้อยลง เป็นต้น การพิ จ ารณาออกกฎหมายในเรื่ อ งนี้ มี ผ ลกระทบต่ อ เศรษฐกิ จ สั ง คม และวิ ถี ชี วิ ต ของประชาชนไม่ ม ากก็ น ้ อ ย บทสรุปของเรื่องนี้ กฎหมายจะออกมาเป็นอย่างไร และมีผล ใช้บังคับอย่างไร วันนี้คงยากที่จะตอบ คงต้องคอยดูกันต่อไป แต่แน่นอนเรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญเช่นนี้ คงต้องติดตามอย่างใกล้ชดิ ในที่สุดแล้วนอกจากวัตถุประสงค์หลักในการจัดเก็บรายได้ ทีม่ ากขึน้ แล้ว การพิจารณาออกกฎหมายทีส่ ำ� คัญเช่นนี้ คงต้อง พิจารณาถึงสภาพสังคมและประชาชนในประเทศด้วย ทีผ่ มกล่าวมาทัง้ หมดโดยสังเขป เป็นเพียงแนวทางให้ทา่ น ผูอ้ า่ นเห็นภาพโดยรวมเท่านัน้ ถ้าท่านผูอ้ า่ นมีขอ้ เสนอแนะหรือ ค�ำถาม โปรดส่งผ่านทางอีเมลข้างต้น ไว้ตดิ ตามกันในฉบับหน้า นะครับ

ABACA PROFILE

39

MAGAZINE


Reward yourself STORY : กองบรรณาธิการ

TRADER VIC’S

VANILLA BAKESHOP

แม้ไม่ใช่มหาสมุทรแปซิฟกิ โดยตรง แต่การได้นงั่ ทอดสายตาออกสูแ่ ม่นำ�้ เจ้าพระยา ในหนึ่งน่านน�้ำที่เงียบสงบที่สุดของเมืองกรุง จากอนันตรา กรุงเทพฯ ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ท แอนด์ สปา ก็นับว่าได้กลิ่นอายทะเลไม่แพ้กัน โดยเฉพาะในช่วงเวลาของ ครอบครัวกับบุฟเฟ่ตม์ อื้ สายวันอาทิตย์ ณ ห้องอาหารเทรเดอร์ วิคส์ ทีร่ วบรวมอาหาร จากทั่วทุกมุมโลกพร้อมแพ็คเกจเครื่องดื่มในราคาสุดคุ้มมาไว้ในที่เดียว ด้วยการตกแต่งห้องอาหารในสไตล์หมู่เกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิก ไม่ว่า จะเป็นเพดานไม้ไผ่สาน เสาไม้แกะสลักของชนเผ่าดั้งเดิม หน้ากากหนัง เรือของ ชาวเกาะทีแ่ ขวนบนเพดาน ตลอดจนตะเกียงโบราณ ส่งให้หอ้ งอาหารแห่งนีโ้ ดดเด่น และมีเสน่ห์ ซึ่งคุณสามารถเลือกที่นั่งได้ทั้งภายในห้องอาหาร หรือนั่งชิลด้านนอก กลางสวนสวยริมแม่น�้ำได้ตามความชอบ โดยมีพนักงานบริการผายมือต้อนรับ ทุกครัวเรือนด้วยความปีติยินดี ลิ้มลองอาหารนานาชาติทั้งตะวันออกและตะวันตกที่ปรุงสดพร้อมเสิร์ฟ นับร้อยชนิด ทั้งอาหารไทย จีน ญี่ปุ่น อินเดีย อาหรับ อิตาเลียน อาหารทะเลสด ชีสหลากรส รวมไปถึงอาหารประจ�ำห้องอาหารเทรเดอร์ วิคส์ พร้อมก�ำลังเสริมอย่าง กองทัพขนมหวานนานาชนิด ตัง้ แต่เวลา 11.30-15.00 น. เพียงท่านละ 1,699++ บาท พร้อมน�้ำผลไม้ 2,499++ บาท รวมค็อกเทล เบียร์สด ไวน์ และสปาร์กลิ้งไวน์ พิเศษสุด 3,999++ บาท พร้อมแชมเปญและครื่องดื่มแบบไม่อั้น

วานิลลา ขึน้ ชือ่ ว่าเป็นตัวจริงเรือ่ งขนมปังมาอย่างช้านาน ล่าสุดผุดโครงการเปลีย่ น ร้านอาหารจีนเก่ากลางสวนรืน่ รมย์ เป็นร้านอบขนมปังสไตล์โรงงานนามว่า วานิลลา เบกช็อป บนพื้นที่ของ วานิลลา การ์เด้น ในซอยเอกมัย 12 พร้อมตกแต่งร้าน เคล้าบรรยากาศอบอุน่ ทีอ่ บอวลไปด้วยกลิน่ หอมของขนมปังหอมทีเ่ ปิดให้ผมู้ าเยือน ได้เห็นกระบวนการอบกันแบบสดๆ และจัดพื้นที่ขนาดย่อมเยาให้เป็นห้องเรียน เวิร์กช็อปขนมปังอีกด้วย โรงงานหลังน้อยปล่อยพื้นที่โชว์วัสดุเปลือยเปล่า เพดานสูงโปร่งแบบลอฟต์ เผยให้เห็นการเดินท่อทีไ่ ม่เป็นระเบียบแบบโรงงานอย่างแท้จริง ส่วนผนังร้านทีเ่ ปิด โล่งด้วยกระจกบานใหญ่ ชวนแสงสว่างจากภายนอกลอดผ่านเข้ามาพบปะกับ แสงไฟจากหลอดนีออนสีเหลือง ความอบอุ่นของไม้ลงตัวกับความดิบของพื้นและ ผนัง ช่วยให้รา้ นดูนา่ นัง่ อย่างยิง่ นอกจากนีบ้ ริเวณด้านนอกยังมีพนื้ ทีใ่ ห้นงั่ ชิลส�ำหรับ ใครที่ชอบบรรยากาศริมสวน ชวนชมดอกไม้ใบหญ้าแนบชิดธรรมชาติเช่นกัน การเสิรฟ์ เมนูแบ่งปันทีม่ าพร้อมอุปกรณ์ขนาดใหญ่ น�ำโดย เบคอน เมเปิล ริงส์ ราดซอสคัสตาร์ดบนไอศกรีมวานิลลาคาราเมลแสนอร่อย ต่อด้วยเดนิสโทสต์ หอมกรุน่ อย่างสโมกแฮม มอสซาเรลลา และมิกซ์เบอร์รี่ หรือจิบเครือ่ งดืม่ เย็นๆ อาทิ ออเรนจ์ แครนเบอร์รี่ พันช์ และน�้ำแอปเปิลครีมโฟลตรสหวานอมเปรี้ยวเฉดสีสวย พร้อมหลากเมนูขนมและอื่นๆ ให้เลือกอีกมากมายนับไม่ถ้วน

ที่ตั้ง : โรงแรมอนันตรา กรุงเทพฯ ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ท แอนด์ สปา ถนนเจริญนคร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 ติดต่อ : ส�ำรองที่นั่งล่วงหน้าได้ที่ โทร. 0 2476 0022 ต่อ 1416 riversidedining@anantara.com

ที่ตั้ง : 53 ซอยเอกมัย 12 ถนนสุขุมวิท 63 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 เวลา : เปิดบริการทุกวันตั้งแต่ 10.00-22.00 น. ติดต่อ : โทร. 0 2381 6120-22 ต่อ 13 www.vanillaindustry.com

กลิ่นแปซิฟิกริมเจ้าพระยา

โรงงานขนมปังแสนอบอุ่น

ABACA PROFILE

40

MAGAZINE


Spa Cenvaree

My Collection home cuisine

ความส�ำเร็จในการสร้างความสมดุลให้กับองค์ประกอบที่ส�ำคัญต่อชีวิต 3 ประการ คือ ร่างกาย พลัง และจิตวิญญาณ ที่รวมเข้าด้วยกันเป็นหนึ่งเดียว คือความมุ่งมั่น ของ สปาเซ็นวารี ซึ่งในเรื่องของโปรแกรมสปาก็ได้เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ ที่รวม เข้ากับการตกแต่งภายในที่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อตอบโจทย์ทั้งหมดที่กล่าวมา การตกแต่งภายในแบบไทยๆ ตั้งแต่ประตูทางเข้าสู่ห้องสปาทั้งแบบเดี่ยว แบบคู่ รวมสมุนไพรไทยหอมๆ หลอมรวมสะท้อนสปาเซ็นวารีที่เป็นหนึ่งเดียว สร้างความผ่อนคลายสบายสมองและร่างกาย โดยสปาทรีตเมนต์ตอบสนองความ ต้องการของนักเดินทางทีม่ มี าตรฐานสากล ด้วยโปรแกรมสปาให้เลือกมากมาย คือ นวดแผนไทย นวดน�้ำมัน ท�ำทรีตเมนต์ รวมถึงการบ�ำบัดด้วยพลังน�้ำ ซึ่งทรีตเมนต์ ต่างๆ เป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของเซ็นวารีสปา ‘การนวดประคบร้อนด้วยหม้อเกลือ’ สปาทรีตเมนต์เอกลักษณ์เฉพาะทีโ่ ดดเด่น ในการน�ำสมุนไพรที่มีคุณสมบัติบ�ำบัดรักษาผสานเข้ากับเกลือบดหยาบ นวด ประคบร้อนหม้อเกลือควบคูไ่ ปกับการนวดผ่อนคลายกล้ามเนือ้ ทีบ่ า่ ไหล่ และแผ่นหลัง คืนพลังความสดใส ซึ่งความร้อนช่วยกระตุ้นให้นำ�้ มันยูคาลิปตัส ลาเวนเดอร์ และ พิตติเกรน ซึมสู่เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ เต็มประสิทธิภาพ ซึ่งน�้ำมันเหล่านี้ สามารถช่วยบ�ำบัดและคลายความอ่อนล้าของกล้ามเนื้อได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังสามารถช่วยกระตุ้นให้ระบบหมุนเวียนของเลือดท�ำงานได้ดีขึ้นอีกด้วย

ด้วยความรักและชอบเดินทางท่องเทีย่ วต่างประเทศของ คุณทิพย์-จิราทิพย์ พูนศิรวิ งศ์ และคุณเจน บูรณฤกษ์ - พี่สาว จึงได้สัมผัสกับอาหารหลากเชื้อชาติหลายความ อร่อย และน�ำกลับมาปรุงกินเอง เพราะความชืน่ ชอบการท�ำอาหาร กระทัง่ ตัดสินใจ เปิด My Collection Home Cuisine ให้บรรยากาศอบอุน่ อบอวลด้วยกลิน่ หอมของ อาหาร ทีป่ รุงเพือ่ เป็นคอลเลคชัน่ อาหารทีก่ รุน่ ลิน้ อร่อยล�ำ้ พิเศษเฉพาะของร้านแบบ Romantic & Cozy Home Cuisine โคโลเนียล สไตล์ และโมร็อกเคิล สไตล์ ถูกหลอมรวมให้การตกแต่งภายใน อ่อนหวานสไตล์วินเทจ มุมนั่งเล่นสุดชิลกับโซฟาลายม้าลาย และผนังสีชมพู ความต่างทีร่ วมกันกลายเป็นความเก๋ บวกกับเครือ่ งประดับและแอสเซสซอรีส่ ว่ นตัว ถูกน�ำมาตกแต่งตามมุมต่างๆ รวมถึงของเก่าอย่างโคมไฟวินเทจที่เลือกซื้อจาก ตลาดเก่าในต่างประเทศ เมนูเด็ดเป็นอาหารยุโรปทั้งอิตาเลียน อังกฤษ ฝรั่งเศส ปรับรสชาติให้ถูกปาก คนไทย ใช้วัตถุดิบน�ำเข้าอย่างดีสไตล์โฮมเมด เริ่มเบาๆ กับ Spicy Crispy Pizza แป้งพิซซ่าบางกรอบสอดไส้แฮม ชีส และพริกสด รสชาติจัดจ้าน หากใครชอบ ล็อบสเตอร์ต้อง Lobster Bisque Soup กุ้งล็อบสเตอร์ทุกส่วนตุ๋นกับผักนานาชนิด ตบด้วยน�ำ้ ผึง้ มะนาวให้ความเปรีย้ วก�ำลังดี กินกับน�ำ้ ผึง้ แท้ทหี่ ยดใส่หลังชงน�ำ้ มะนาว แล้ว เวลาดื่มจะให้ความหวานหอมชื่นใจมากๆ SPECIAL OFFER

ที่ตั้ง : ชั้น 26 Centara Grand Central World ติดต่อ : รายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0 2100 1234 ต่อ 6511, 6516 spacgcw@chr.co.th

ที่ตั้ง : ซอยเอกมัย 10 แขวงคลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 เวลา : 11.00-14.30 น. และ 17.30-23.00 น. ปิดวันจันทร์ ติดต่อ : โทร. 0 2714 4224 facebook.com/mycollectionhomecuisine

สร้างสมดุลคืนพลังชีวิต

อบอุ่น อบอวล กรุ่นลิ้นวินเทจ

ABACA PROFILE

41

MAGAZINE

ทานครบ 1,000 บาท รับของว่างประจำ�วัน ฟรี 1 ที่ ตั้งแต่วันนี้ ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2558


MEANING BETWEEN THE LINE STORY : Supang Chirarattanawanna

“Carpe Diem: Seize the Day...make your lives extraordinary” John Keating from Dead Poets Society

This article is dedicated to the memory of Robin Williams, a man whose life had inspired so many lives except… his. The news about one of the greatest Hollywood comedians and actors, Robin Williams, passing away might make many of us full of doubt as why such a man who seemed to have or could have everything chose to end his life at the age of 63. We have heard that he had been battling with depression for years. Who knows just how much he had suffered, how many times he had tried to get back to his normal life, or what wealth and fame had done to him. It is never fair to judge a person’s decision if you are not wearing his shoes. However, it is surely worthwhile to learn from his life and the path he walked. His death brought me back to one of the memorable quotes in Dead Poets Society, a 1989 American drama film, played by Robin Williams as poet John Keating, an English teacher: “We don’t read and write poetry because it’s cute. We read and write poetry because we are members of the human race. And the human race is filled with passion. And medicine, law, business, engineering, these are noble pursuits and necessary to sustain life. But poetry, beauty, romance, love, these are what we stay alive for. To quote from Whitman, “O me! O life!... of the questions of these recurring; of the endless trains of the faithless... of cities filled with the foolish; what good amid these, O me, O life?” Answer. That you are here - that life exists, and identity; that the powerful play goes on and you may contribute a verse. That the powerful play goes on and you may contribute a verse. What will your verse be?” Yes, the answer of living is life itself. As long as you’re breathing, life can’t be any better. You have to L I V E to be able to shape it or ABACA PROFILE

to change it so that you can live the life you love. And only then can you recite your verse to the world. Robin Williams left while leaving those who knew him with so many fond memories of laughter and clever thoughts both on screen and in real life. His death is after all not a waste as he also gave us his last thought-provoking lesson. Living a successful life has nothing to do with our job title, the amount of money we earn, the fame and praises we receive, the number of friends surrounding us, or even the property we possess. Rather, living a successful life is finding inner peace, showing loving kindness to ourselves and the world around us, and living each moment fully realizing that we are blessed with the greatest gift on earth…being alive as part of the mankind. Spend every second of your life to the fullest as when you lose it, the starting over, in whatever form, will never be the same. As John Keating said, “They’re not that different from you, are they? Same haircuts. Full of hormones, just like you. Invincible, just like you feel. The world is their oyster. They believe they’re destined for great things, just like many of you, their eyes are full of hope, just like you. Did they wait until it was too late to make from their lives even one iota of what they were capable? Because, you see gentlemen, these boys are now fertilizing daffodils. But if you listen real close, you can hear them whisper their legacy to you. Go on, lean in. Listen, you hear it? - Carpe - - hear it? - - Carpe, carpe diem, seize the day boys, make your lives extraordinary.” The choice is…always…y o u r s. And remember, seize the day! 42

MAGAZINE




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.