ห้องเรียนคุณภาพ- CKK-AC-KM 07/2557
ห้องเรียนคุณภาพ แนวคิด-นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่สากล
ศตวรรษที่ 21 เอกสารกลุ่มงานบริหารวิชาการหมายเลขที่ KM-07/2557
โรงเรียนจักรคาคณาทร จังหวัดลาพูน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ห้องเรียนคุณภาพกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ความหมายของห้องเรียนคุณภาพ พระราชบั ญญัติการศึ กษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุว่ า การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อั น เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคมการเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ห้องเรียนคุณภาพ หมายถึง ห้องเรียนที่มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกที่เอื้อต่อคุณภาพ นักเรียนเกิดขึ้นในชั้นเรียนอย่างแท้จริง มีครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ได้คุณภาพมาตรฐาน และ นักเรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การประกันคุณภาพทางการศึกษาตามเกณฑ์รอบ 4 (2559-2563) สมศ.ระบุในตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์ สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ ดังนี้
1
ห้องเรียนคุณภาพ- CKK-AC-KM 07/2557 ครู/อาจารย์ นาประสบการณ์จากการสอนมาสร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร โดยเน้นความเหมาะสม สอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน ทา ให้ผู้เรียนใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และมาใช้บริการห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้นั้นอย่างสม่าเสมอ เกณฑ์พิจารณา 1. ปฏิบัติโดยผู้เรียนสามารถเข้าใช้ได้จริง 2. ประหยัด ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือใช้เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า 3. ประโยชน์ผู้เรียนได้รับความรู้ และเกิดทักษะในการปฏิบัติงาน 4. แปลกใหม่ ประยุกต์หรือริเริ่ม โดยความร่วมมือกับครู/อาจารย์ 5. ปลอดภัยต่อตนเอง และผู้อื่น บทความนี้เป็นเพียงองค์ความรู้และแนวคิดหนึ่ง ที่ผู้รวบรวมได้ศึกษา เพื่อนาเสนอเพื่อนครู ผู้บริหาร ได้ รู้ จั กนวัต กรรม “ห้ อ งเรี ย นคุณ ภาพ” ที่ อาจตอบโจทย์ ก ารพัฒ นาคุ ณภาพการศึ กษา สู่ การยกระดั บคุ ณภาพ การศึกษาสู่สากล
ห้องเรียนคุณภาพ คืออะไร สพฐ.ได้กาหนดเป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนโดยตรง ที่จะจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพให้เกิดขึ้นในชั้นเรียน ภายใต้แนวทาง 5 ประการ อันได้แก่ 1) นาการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียน 2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 3) การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research: CAR) 4) การใช้ ICT เพื่ออานวยการเรียนรู้ และสนับสนุนการเรียนรู้ 5) การสร้ างวินั ยเชิงบวก (Positive Discipline) เช่น หลั ก 7 ประการของส านักงานวิช าการและ มาตรฐานการศึกษา ได้แก่ เคารพศักดิ์ศรีของนักเรียน พยายามพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การให้ มีส่วนร่วม คานึงถึงความต้องการและคุณภาพชีวิต สร้างแรงจูงใจ ยุติธรรม สร้างสามัคคีในกลุ่ม โดย ใช้ความรัก ความอบอุ่น ความไว้ใจ และเอาใจใส่ดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด ร่วมมือกับครอบครัวของ นักเรียน บริบทของจักรคา ณ ปัจจุบัน จากปัจจัย 5 ข้อข้างต้น ชาวจักรคาได้ผ่านการสร้างความตระหนักมาระยะ หนึ่ง และลงมือปฏิบัติบางตามกระแส แต่จะให้เกิดผลจริง ๆ นั้นยังต้องพยายามกันต่อ ไป ทั้งนี้ต้องอาศัยความ ร่วมมือกันหลายฝ่าย ตามแนวทางสู่ห้องเรียนคุณภาพ ระดับโรงเรียนโดยฝ่ายบริหาร ในฐานะผู้บริหารจัดการหลักสูตร (Curriculum Manager) ต้องริเริ่ ม สนับสนุนส่งเสริม กากับติดตาม ด้านการพัฒนาหลักสูตร สนับสนุนด้านครุภัณฑ์ ICT โดยกาหนดเป็นนโยบาย ปฏิทินการทางาน (School Agenda) ประเมินผลและส่งต่อไปสู่รอบปีการศึกษาใหม่ (Spiral)
4 ก้าวสู่ภาคปฏิบัติของครู 1) 2) 3) 4)
กาหนดหน่วยการเรียน/สาระการเรียนรู้ (Course Syllabus) บอกความเป็นนักวางแผนชั้นครู วางแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) บอกความเป็นนักออกแบบชั้นครู การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บอกความเป็นนักบริหารจัดการเรียนรู้ชั้นครู การประเมินการสอนรายวิชา บอกความเป็นนักวิจัยชั้นครู
2
3
ห้องเรียนคุณภาพ- CKK-AC-KM 07/2557
ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินห้องเรียนคุณภาพ (ตามเกณฑ์ สมป.นครราชสีมา เขต 3) องค์ประกอบที่ 1 การประเมินด้านกายภาพ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) รายการประเมิน
1
ระดับคะแนน 2 3 4
5
การจัดห้องเรียน 1.1.ผู้เรียนสามารถเข้าใช้ได้จริง 1.2.แหล่งสืบค้นข้อมูลและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 1.3.ความเป็นระเบียบ การตกแต่งห้องเรียน สะอาด เรียบร้อย 1.4.บรรยากาศเหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้ 1.5.ป้ายนิเทศให้ความรู้ที่ทันต่อเหตุการณ์ 1.6.วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวกในห้องเรียน 1.7.การนาความปลอดภัย และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน จัดการห้องเรียน 1.8.การนาเสนอและเผยแพร่ผลงานเด่นของห้องเรียน องค์ประกอบที่ 2 การประเมินด้านคุณภาพการจัดการเรียนรู้ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) ระดับคะแนน รายการประเมิน 1 2 3 4 คุณภาพการจัดการเรียนรู้ 2.1 ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่แปลกใหม่ โดยความร่วมมือหลายฝ่าย ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา 2.2 ครูจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และ พัฒนาการทางสติปัญญา 2.3 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมคุ้มค่า ผนวกกับการนาบริบทและ ภูมิปัญญาของท้องถิ่น มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ 2.4 ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย 2.5 ครูมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน 2.6 ครูให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการ เรียนและคุณภาพชีวิต
5
องค์ประกอบที่ 3 การประเมินด้านคุณภาพนักเรียน (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) รายการประเมิน คุณภาพนักเรียน 3.1 นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 3.2 นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว 3.3 นักเรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน
1
ระดับคะแนน 2 3 4
5
ห้องเรียนคุณภาพ- CKK-AC-KM 07/2557 3.4 นักเรียนสามารถนาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของ ตนเอง เช่น แสดงทักษะในการปฏิบัติงานอันเกิดจากการเรียนรู้ 3.5 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ 3.6 นักเรียนทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงาน ของตนเอง
ปัจจัยความสาเร็จ 1) ระบบสารสนเทศนักเรียนเพื่อการจัดการเรียนรู้ เช่น การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ระบบประเมินคุณภาพผู้เรียน เช่น สมรรถนะและศักยภาพผู้เรียน 2) ระบบและอุปกรณ์ด้าน ICT เพื่อการจัดการเรียนรู้ 3) แรงจูงใจ (Encouragement)
ครุภัณฑ์ประจาห้องเรียน เป็นเพียงข้อเสนอ 1) Active board, PC, เครื่องเสียง (เชื่อมสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง) 2) Tablet/PC ประจาห้อง 5-10 sets (เชื่อมสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง) 3) ป้ายนิเทศ และอุปกรณ์อื่นๆ
แหล่งอ้างอิง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3. คู่มือและแนวทางการประเมินห้องเรียนคุณภาพสู่ มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2555. สานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. http://guidance.mimoproject.co.th/wp-content/uploads/2012/09/05positive_discipline.pdf เข้าถึง 3 ก.พ.58. ห้องเรียนคุณภาพกับการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่สากล. https://www.gotoknow.org/posts/448009 เข้าถึง 3 ก.พ.58. Positive Discipline การสร้างวินัยเชิงบวก https://www.gotoknow.org/posts/234974. เข้าถึง 3 ก.พ.58
4