คดี 99ศพ1

Page 1

คดี¦่าปรÐชาชน 99ศพ 1


คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ รวบรวม/เรียบเรียง

บุญร่วม เทียมจันทร์ อดีตอธิบดีอัยการฯ ศรัญญา วิชชาธรรม ทนายความชั้น ๑ พิมพ์ครั้งที่ 1 เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ xxx-xxxxx-x-x

ราคา 220

ที่ปรึกษากฎหมาย

ศรัญญา วิชชาธรรม

บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา อุดมเกียรติ ปานมี

ศิลปกรรม afdol

จัดจ�ำหน่าย

บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

พิมพ์ที่

บริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

ด�ำเนินการผลิต

ส�ำนักพิมพ์ ณัฐฐินีย์ 90/86 ซอยสายไหม 51 ถนนสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220. โทร. 0-2994-3617 อีเมล: cst_variety@yahoo.com

2

บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม

สงวนลิขสิทธิ์


พระบรมราโชวาท

“ประชาชนในที่บางส่วนนั้นไม่ทราบถึงกฎหมาย ด้วยเหตุที่เจ้าหน้าที่หรือ ฝ่ายปกครองไม่ได้มีโอกาสไปชี้แจง และประชาชนเหล่านั้นก็ไม่มีโอกาสที่จะทราบ ว่าเราจะวางหลักเกณฑ์ไว้อย่างไร อันนีเ้ ป็นปัญหาใหญ่ทจี่ ะให้ปกครอง หรือความ เรียบร้อยเกิดขึ้นได้ ก็ต้องน�ำความรู้ไปถึงประชาชน” คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 3


...การตายจากวันแรก 26 ศพ ต้ อ งหยุ ด หรื อ ทบทวนการป¯Ô บั ตÔ ปรับยุทธวิธี แต่ไม่หยุด ยังสั่งต่อไปอีก 5 ครั้ ง สั่ ง ซ�้ า เติ ม แล้ ว ตายทุ ก ครั้ ง ... ย่อมเล็งเห็นผลได้ว่า การใช้ก�าลังแบบนี้ การใช้อาวุธ แบบนี้มีการสูญเสีย การตาย เข้าข่าย เจตนาเล็งเห็นผล... “

นายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดี “ดีเอสไอ”

รูป http://sut1919.blogspot.com

4

บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


“...Áีคíาสั่งชัดเ¨นว่าควรãช้กระสุน¨รÔงอย่างäร...เพือ่ ป‡องกันตัวเอง.. áÅะการเสีย ชีวตÔ ของประชาชน.. ¶้าãช้คíาสั่งนีé áปÅว่า พวกเราสั่งãห้Áีการฆ่าคน ผÁคÔดว่าäÁ่á¿ร ...” นายอÀÔสทÔ ¸Ôì เวชชาชีวะ ผูต้ อ้ งหาคดีฆา่ ประชาชน ãห้สัÁÀาÉณ âทรทัÈน บีบี«ี อังกÄÉ วันที่ 10 ¸.ค.55

“.. Áผี ã้ ู ช้อาวุ¸ทíาร้ายเ¨้าหน้าที่ ¨Öงต้องป‡องกันตัว áÅะควบคุÁส¶านการณ สาเหตุ ของการบาดเ¨çบÅ้ÁตายของประชาชนáÅะเ¨้าหน้าที่ Áา¨ากผูก้ อ่ การร้ายชุดดíา. .” นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ผู้ต้องหาคดีฆ่าประชาชน นสพ.ข่าวสด วันที่ 11 พ.ย.55

คดี¦่าปรÐชาชน 99ศพ 5


ค�ำน�ำ ส�ำนักพิมพ์ ณัฐฐินีย์ ซึ่งมีนายอุดมเกียรติ ปานมี เป็นบรรณาธิการ ภูมิใจที่ได้ร่วม งานกับอัยการนักเขียน... บุญร่วม เทียมจันทร์ ซึ่งมีผลงาน “เบ้สเซลเล่อร์” มาแล้วหลาย เล่ม และอาจารย์ศรัญญา วิชชาธรรม ทนายความชั้น ๑ ผู้มีผลงานเขียนมาแล้วมากมาย “คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ” เป็นเรื่องใหญ่ระดับโลก ที่ประชาชนคนไทย ผู้มาขอ ประชาธิปไตยคืนด้วยมือเปล่า กลับถูกพวกเผด็จการใช้อาวุธปืนยิงตายถึง 99 ศพ บาด เจ็บอีกประมาณ 2,000 คน ..บ้านเมืองก�ำลัง “กระชับพื้นที่” เอาผู้กระท�ำความผิดตัวจริงที่ฆ่าประชาชน ไปประหารชีวติ ให้จงได้ นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี พรรคประชาธิปตั ย์ และ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้อ�ำนวยการศูนย์ “ศอฉ.” ก�ำลังตกเป็นผู้ต้องหา ฐานร่วมกันก่อหรือใช้ให้ผอู้ นื่ ฆ่าคนตายหลายศพและคดีพยายามฆ่าประชาชนอีกมากมาย ก�ำลังจะตามมา กฎแห่งกรรมมันมี เดี๋ยวนี้นรกติดจรวดแล้วใครท�ำอะไรก็ต้องรับกรรมนั้น ท่านอาจารย์บุญร่วม เทียมจันทร์ และอาจารย์ศรัญญา วิชชาธรรม ได้บันทึก เหตุการณ์ไว้อย่างดี ให้ความรู้กฎหมายแก่ประชาชนในคดีนี้อย่างมากมาย ส�ำนักพิมพ์หวังว่าท่านผูอ้ า่ นคงจะได้รคู้ วามจริงและรูก้ ฎหมายเกีย่ วกับคดีนเี้ ป็นอย่างดี

6

บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม

ด้วยความจริงใจ ส�ำนักพิมพ์ ณัฐฐินีย์


ค�ำน�ำ ระหว่างวันที่ 12 มีนาคม ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 กลุ่ม “นปช..” (คนเสื้อแดง) หลายหมื่ น คนได้ชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยให้ นายอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี วะ นายก รั ฐ มนตรี จ ากพรรคประชาธิ ป ั ต ย์ ยุ บ สภาเลื อ กตั้ ง ใหม่ ที่ บ ริ เวณสะพานผ่ า นฟ้ า ลี ล าศ สี่แยกราชประสงค์และอีกหลายแห่งในกทม. นายกรัฐมนตรีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน แต่งตั้งให้นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้อ�ำนวยการ ศูนย์อ�ำนวยการ แก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) มีต�ำรวจ ทหารหลายหมื่นคนพร้อมอาวุธปืน สกัดกั้น ผู้ชุมนุม วันที่ 10 เมษายน 2553 เกิดการปะทะขึ้น มีผู้ชุมนุมเสียชีวิตรวม 26 ราย หลังจากนั้น ผู้ชุมนุมได้ถูกยิงเสียชีวิต และบาดเจ็บเป็นจ�ำนวนมาก วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ฝ่ายทหารได้ปิดล้อมผู้ชุมนุมอย่างเข้มข้น ทั้งๆ ที่ ผูช้ มุ นุมประกาศสลายการชุมนุมแล้ว ผูช้ มุ นุมต่างหลบหนีเพือ่ เอาชีวติ รอด แต่ฝา่ ยปิดล้อมก็ยัง ใช้อาวุธปืนยิงประชาชนต่อไป หลังจากนั้นได้มีกลุ่มคนร้ายวางเพลิงเผาอาคารในเขตกทม.และต่างจังหวัด ทรัพย์สินของเอกชนและราชการเสียหายมากมาย หลังเหตุการณ์สงบลงปรากฏว่า ประชาชนถูกยิงด้วยอาวุธปืนเสียชีวติ 99 คน บาด เจ็บอีกประมาณ 2,000 คน แกนน�ำ “นปช..” ประกอบด้วย นายวีระ มุสิกพงศ์ นายจตุพร พรหมพันธุ์ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ กับพวก ถูกจับกุมด�ำเนินคดีฐานเป็นผู้ก่อการร้าย ต่อมาพรรคเพื่อไทยได้เป็นรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร น้องสาวของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ (ดีเอสไอ) สอบสวนด�ำเนินคดีแก่ผฆู้ า่ ประชาชน 99 ศพ และผูบ้ าดเจ็บอีก 2,000 คน

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 7


มีการไต่สวนชันสูตรพลิกศพตามกฎหมาย ศาลมีค�ำสั่งว่าผู้ตายถูกอาวุธปืนของ ทหารยิงจากการปฏิบัติหน้าที่ตามค�ำสั่งของ “ศอฉ.” นายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีกรม “ดี เอสไอ” จึงแจ้งข้อหาแก่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้น�ำสูงสุด และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” ฐานร่วมกันท�ำให้คนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, 288 เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ของบ้านเมือง และดังไปทั่วโลก เพราะเป็นเรื่องที่ประชาชน มาร้องขอประชาธิปไตย แต่ถูกเจ้าหน้าที่ทหารและคนร้ายยิงตายถึง 99 ศพ บาดเจ็บถึง 2,000 คน แม้กระทัง่ ชาวบ้านหนีตายไปพึง่ พระในวัด ในเขตอภัยทาน ก็ถกู ยิงตายถึง 6 ศพ อย่างโหดเหีย้ มที่สุด แน่นอน... ความตายมากมายเช่นนี้ จะต้องมีฆาตกรถูกประหารชีวติ ตายตกกันไป ตามกัน ข้าพเจ้าเห็นว่าเป็นเรื่องส�ำคัญ ควรบันทึกไว้เป็นหลักฐานในประวัติศาสตร์ชาติ ไทยว่า “เผด็จการฆ่าประชาชน ที่มาขอประชาธิปไตยถึง 99 ศพ”ข้าพเจ้าได้บันทึก เหตุการณ์ด้วยความเป็นธรรมให้ความรู้กฎหมายแก่ประชาชนในคดีฆ่าประชาชน 99 ศพ อย่างมากมาย หวังว่าพีน่ อ้ งทีไ่ ด้อา่ นหนังสือเล่มนี้ คงจะเก็บรักษาหนังสือทีม่ ปี ระโยชน์เล่มนีไ้ ว้ให้ลกู หลานสืบไป ด้วยรักและผูกพัน บุญร่วม เทียมจันทร์ ศรัญญา วิชชาธรรม

8

บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


สารบัญ หน้า จากรัฐธรรมนูญ 2540 ถึงวันวิปโยค 10 เมษายน – 19 พฤษภาคม 2553 รายงานของ “คอป.” กรณีประชาชนเสียชีวิตและผู้บาดเจ็บ ในเหตุการณ์รุนแรง ระหว่างเมษายน – พฤษภาคม 2553 ประชาชนมาขอประชาธิปไตย กลับถูกฆ่าตาย และบาดเจ็บมากมาย จ�ำนวนผู เ้ สียชีวติ และผู บ้ าดเจ็บบางส่วนจาก “บันทึกดีเอสไอ” 6 ศพ ทีว่ ดั ปทุมวนาราม ชายชุดด�ำ ไอ พ้ วกเผาบ า้ นเผาเมือง สรุปค�ำพิพากษาศาลแพ่ง คดีเผาเซ็นทรัลเวิลด์ สรุปค�ำพิพากษาศาลอาญา คดีเผาเซ็นทรัลเวิลด์ สรุปค�ำพิพากษาศาลเยาวชนฯ คดีเผาเซ็นทรัลเวิลด์ เอกสารลับ “ศอฉ.” กับการใช อ้ าวุธป ืน หลักฐานการใช ก้ ระสุนป ืนจริง การไต่สวน ชันสูตรพลิกศพ คดีฆา่ ประชาชน 99 ศพ ผลการไต่สวน คดีชันสูตรพลิกศพ คดีฆา่ ประชาชน 99 ศพ ค�ำสัง่ ศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 1) นายพัน ค�ำกอง (ผู ต้ าย) ค�ำสัง่ ศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 2) นายชาญณรงค์ พลศรีลา (แท็กซีแ่ ดง)

14 24 32 36 37 38 46 49 52 57 60 68 69 73 78 81 คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 9


สารบัญ หน้า ค�ำสัง่ ศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 3) นายชาติชาย ชาเหลา (ผู ต้ าย) ค�ำสัง่ ศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 4) เด็กชายคุณากร ศรีสวุ รรณ (ผู ต้ าย) ค�ำสัง่ ศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ 6 ศพ ทีว่ ดั ปทุมวนาราม - นายธาริต อธิบดีกรม “ดีเอสไอ” เปิดใจ การด�ำเนินคดีฆ่าประชาชน 99 ศพ - อธิบดี “ดีเอสไอ.” แถลงกรณีด�ำเนินคดีแก่ นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนา - “ดีเอสไอ.” แจ้งข้อหาฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่น ฆ่าคนตายโดยเจตนาแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ - บันทึก “ดีเอสไอ.” กรณีด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ - ทัศนะของนายธาริต อธิบดี “ดีเอสไอ.” กรณีด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ และ นายสุเทพ - อภิสิทธิ์ – สุเทพ โต้ข้อหา “ฆ่าคนตาย” - อภิสิทธิ์ ให้สัมภาษณ์โทรทัศน์ “บีบีซี” กรณี “คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ” - อภิสิทธิ์ และสุเทพ ฟ้องธาริต อธิบดี “ดีเอสไอ.” ฐานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ 10 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม

85 88 92 97 101 106 108 114 116 121 125


สารบัญ หน้า - ความแตกต่างระหว่างอัยการฟ้องจ�ำเลย กับนายอภิสิทธิ์ กับ นายสุเทพฟ้องจ�ำเลยต่อศาล มีผลต่างกัน - ธาริต โต้ค�ำฟ้องของอภิสิทธิ์และสุเทพ - การสู้คดีชั้นศาล คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ - กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (1) เจตนากระท�ำผิด – กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (2) ร่วมกันกระท�ำผิด – กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (3) ใช้ หรือก่อให้ผู้อื่นกระท�ำผิด – กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (4) ป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (5) พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ยกเว้นความผิดใคร ? กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (6) กระท�ำผิดตามค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (7) พยายามกระท�ำผิด – พยายามฆ่าประชาชน - นานาทัศนะ - ชมรมช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย (ชมรม “ชชก.”) - เกี่ยวกับผู้เขียน - กฎแห่งกรรม

130 134 138 144 148 152 157 164 168 172 178 193 194 195 คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 11


“...คิดว่าการฆ่าครั้งนี้ ฆ่าใหญ่กว่า ฆ่าเพื่อก�ำราบไปตลอดกาล ต่อไป... จะไม่มีประชาชนโงหัวออกมาได้อกี แต่เขาก็รสู้ จั ธรรมว่า ยิง่ ฆ่าเท่าไหร่ ประชาชนยิง่ เพิม่ มากขึน้ เท่านั้น ไม่เคยมีผู้มีอ�ำนาจใด ได้อ�ำนาจมาด้วยการฆ่า หรือรักษาอ�ำนาจ ด้วยการฆ่าแล้วจะครองอ�ำนาจอยู่ได้...” จตุพร พรหมพันธุ์ แกนน�ำ “นปช..”

12 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


หนี จะหนีคนหนีผีพอหนีได้ หนีปืนผาหน้าไม้มีทางหนี หนีคุกหนีตะรางได้บางที สิ่งหนึ่งไม่อาจหนี คือ หนีกรรม บุญร่วม เทียมจันทร์

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 13


จากรัฐธรรมนูญ 2540 ถึงวันวิปโยค 10 เมษายน 2553 ถึง 19 พฤษภาคม 2553 การเมืองไทยตั้งแต่ พ.ศ.2540 ปีที่มีกฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 จนถึงวันวิปโยค ประชาชนถูกฆ่าตาย 99-100 ศพ บาดเจ็บประมาณ 2,000 คน ระหว่างวันที่ 10 เมษายน 2553 ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 การเมืองไทยมีการเลือกตั้ง มีนายกรัฐมนตรีหลายคน... พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นายกฯ คนที่ 22 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ คนที่ 23 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกฯ คนที่ 24 นาย สมัคร สุนทรเวช นายกฯ คนที่ 25 นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกฯ คนที่ 26 นายอภิสิทธิ์ เวชชา ชีวะ นายกฯ คนที่ 27 ... การเมืองไทย ประชาธิปไตยก�ำลังเบ่งบาน ด�ำเนินการไปด้วยดี บ้านเมืองก�ำลังพัฒนา ไปด้วยดี แล้วบ้านเมืองก็เกิดเหตุมี “คนเสื้อเหลือง” มาขับไล่รัฐบาล ทหารท�ำรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 “คนเสื้อแดง” ลุกขึ้นต่อสู้กับ “เผด็จการ” ประชาชนถูกฆ่าตาย 99-100 ศพ บาดเจ็บประมาณ 2,000 คน น่าสงสาร ประเทศไทยจริงๆ ...

ประกาศใช้กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ฉบับประชาชน

สมัยรัฐบาล พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี ได้ร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 โดย ตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ รวม 99 คน จากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ประกาศใช้ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 ถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่มีประชาชนมีส่วนร่วมร่าง เรียกว่า “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” เป็นรัฐธรรมนูญที่ถือว่าดีที่สุดฉบับหนึ่ง

พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540

การเลือกตัง้ ทัว่ ไป วันที่ 6 มกราคม 2544 พรรคไทยรักไทย โดยการน�ำของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรชนะการเลือกตั้ง ได้เป็นรัฐบาลร่วมกับพรรคต่างๆ เช่น พรรคความหวังใหม่ พรรคชาติไทย รวมรัฐบาลมี 344 เสียง ถือว่าเป็นรัฐบาลมีเสียงข้างมากที่เข้มแข็งมาก พ.ต.ท.ทักษิณฯ ถูกด�ำเนิน “คดีซกุ หุน้ ” ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 มาตรา 295 ศาลรัฐธรรมนูญพิพากษาเมื่อเดือนธันวาคม 2544 ว่า พ.ต.ท.ทักษิณฯ ไม่ผิด 14 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ตามฟ้อง พิพากษายกฟ้อง ด้วยคะแนนเสียง 8 ต่อ 7 เสียง

การเลือกตั้งทั่วไป 6 กุมภาพันธ์ 2548

หลังจากรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณฯ ได้บริหารประเทศครบ 4 ปี ได้มกี ารเลือกตั้ง เมื่อวัน ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2548 การเลือกตัง้ ครัง้ นี้ พรรคเพือ่ ไทย ชนะการเลือกตัง้ อย่างถล่มทนาย ได้ถงึ 377 คน จาก ส.ส.ทั้งหมด 500 คน ด้วยคะแนนเสียงกว่า 19 ล้านเสียง พรรคประชาธิปัตย์ได้ ส.ส.รวม 96 คน พรรคเพื่อไทยตั้งรัฐบาลพรรคเดียว พ.ต.ท.ทักษิณฯ ขึ้นเป็นนายก รัฐมนตรี ครั้งที่ 2

พ.ต.ท.ทักษิณ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 2

รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ครั้งที่ 2 มีเหตุการณ์ที่กล่าวหารัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ หลายอย่าง เช่น การจัดซื้อเครื่องตรวจจับวัตถุระเบิดซีทีเอ็กซ์ 900 (CTX – 900) ใน โครงการสร้างสนามบินสุวรรณภูมิ คดีซุกหุ้น (ภาค 2) ของ พ.ต.ท.ทักษิณฯ การทุจริต เชิงนโยบาย การปราบยาเสพติด โดยการฆ่าตัดตอนกว่า 2,500 คน กรณีฆ่าประชาชน ที่กรือเซะ และตากใบ ใน 3 จังหวัดภาคใต้ ท�ำให้กลุ่มคนรวมตัวกันขึ้น เรียกว่า “กลุ่ม พันธมิตร” เพื่อขับไล่รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ

กลุ่ม “พันธมิตร” (พธม.) รวมตัวกันขับไล่รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ

กลุ่ม “พันธมิตร” (เสื้อเหลือง) ประกอบด้วย นายสนธิ ลิ้มทองกุล เจ้าของ หนังสือพิมพ์ “ผู้จัดการ”พล.ต.จ�ำลอง ศรีเมือง นายพิภพ ธงไชย นายสมศักดิ์ โกศัยสุข กับพวก เป็นแกนน�ำ โดยสมาชิกใส่ “เสื้อสีเหลือง” เป็นสัญลักษณ์ รวมตัวกันเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2549กลุ่ม “พันธมิตร” ได้ชุมนุมขับไล่รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ตลอดมา

พ.ต.ท.ทักษิณ ประกาศยุบสภา

หลังจากรัฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณบริหารประเทศมานาน ประมาณ 1 ปี ท่ามกลาง มรสุมทางการเมืองอย่างหนัก พ.ต.ท.ทักษิณ จึงประกาศยุบสภา เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549 เพื่อเลือกตั้งใหม่ ในวันที่ 2 เมษายน 2549

การเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2549 ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้การ เลือกตั้งเป็นโมฆะ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 15


การเลือกตั้งทั่วไป วันที่ 2 เมษายน 2549 ปรากฏว่าพรรคฝ่ายค้าน คือ พรรค ประชาธิปัตย์ พรรคชาติไทย พรรคมหาชน ไม่ส่งผู้สมัครลงรับเลือกตั้ง พรรคไทยรักไทย ชนะการเลือกตั้งกว่า 16 ล้านเสียง ได้คะแนนกว่าร้อยละ 50 ของผู้ที่มาลงคะแนน พรรค ประชาธิปัตย์ร้องเรียนต่อ “กกต.” กล่าวหาว่า พรรคไทยรักไทยจ้างพรรคการเมืองเล็กๆ ลงเลือกตั้ง ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ พรรคไทยรักไทย ร้องเรียนว่า พรรคประชาธิปัตย์จ้างพรรคเล็กใส่ร้ายพรรคไทยรักไทย กกต.ลงมติว่า พรรคไทยรักไทย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคพัฒนาชาติไทย พรรคแผ่นดินไทย พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า กระท�ำผิดต่อ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2541 ส่งส�ำนวนต่อ อัยการสูงสุดเพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญ มีค�ำสั่งยุบพรรคทั้ง 5 พรรค

เหตุการณ์ก่อนรัฐประหาร – 19 กันยายน 2549

วันที่ 24 สิงหาคม 2549 มีคนร้ายใช้รถยนต์บรรทุกระเบิด หรือคาร์บอม พยายามลอบสังหาร พ.ต.ท.ทักษิณ เหตุเกิดใน กทม. ต�ำรวจจับกุมทหารจาก “กอ.รมน.” หลายคน ซึ่งได้รับสารภาพชั้นสอบสวนถึงแผนการสังหาร พ.ต.ท.ทักษิณ พ.ต.ท.ทักษิณ นายกรัฐมนตรี สั่งให้พลเอก วัลลภ ปิ่นมณี รอง ผอ.กอ.รมน. พ้นจากหน้าที่ใน “กอ.รมน.” พ.ต.ท.ทักษิณได้เดินทางไปประชุมใหญ่ที่สหประชาชาติ กรุงนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา และ ได้เกิดรัฐประหารขึ้น เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549

รัฐประหาร – 19 กันยายน 2549

วันที่ 19 กันยายน 2549 พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ผูบ้ ญั ชาการทหารบกขณะนัน้ เป็นหัวหน้าคณะ “คปค.” (คณะปฏิรปู การปกครอง ต่อมาเปลีย่ นเป็นคณะมนตรีความ มัน่ แห่งชาติ (คมช.) ประกอบด้วย ผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศขณะนัน้ ผูบ้ ญ ั ชาการทหารเรือ ผูบ้ ญ ั ชาการต�ำรวจแห่งชาติ เข้ายึดอ�ำนาจจากรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ จัดตัง้ รัฐบาลชัว่ คราว ขึน้ ให้ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี เป็นนายกรัฐมนตรี “คปค.” ประกาศใช้รฐั ธรรมนูญ (ฉบับชัว่ คราว) พ.ศ.2549 เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2549

เกิดกลุม่ “นปก.” (นปช.คนเสือ้ แดง) ขึน้ ต่อต้านรัฐประหาร 19 กันยายน 2549

หลังรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ได้เกิดกลุ่มประชาชนหลายกลุ่ม รวมตัวกัน ต่อต้านรัฐบาล กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่ม “แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการ” (นปก.) 16 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ค�ำเดิม...ต่อมาเปลี่ยนเป็น “นปช.” (แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ) มีนายวีระ มุสิกพงศ์ นายจตุพร พรหมพันธุ์ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ นายจักรภพ เพ็ญแข นาย ก่อแก้ว พิกุลทอง เป็นแกนน�ำ โดยใส่เสื้อสีแดง เป็นสัญลักษณ์ เริ่มชุมนุมที่สนามหลวง เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 เรียกว่า “คนวันเสาร์ ไม่เอาเผด็จการ” และมีการชุมนุม ต่อต้าน “คมช.” และรัฐบาลเผด็จการทุกวันเสาร์

ศาลรัฐธรรมนูญ ยุบ 4 พรรคการเมือง

วันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ศาลรัฐธรรมนูญ มีค�ำวินิจฉัยยุบพรรคไทยรักไทย พรรคแผ่นดินไทย พรรคพัฒนาชาติไทย และพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า รวม 4 พรรค เพราะเหตุการณ์วันเลือกตั้งทั่วไป วันที่ 2 เมษายน 2549 ให้เพิกถอนสิทธิคณะกรรมการ บริหารพรรคที่ถูกยุบ เป็นเวลา 5 ปี

นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี

รัฐบาล พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ บริหารประเทศได้ 1 ปี จัดให้มีการเลือกตั้ง ทั่วไป เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า “พรรคพลังประชาชน” (พรรคไทยรักไทยเก่าที่ถูกยุบไปแล้ว) มีนายสมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้าพรรค ชนะการ เลือกตัง้ ได้ ส.ส.รวม 232 คน พรรคพลังประชาชน ได้จดั ตัง้ รัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวช ขึ้น เป็นนายกรัฐมนตรี

กลุ่มพันธมิตร (คนเสื้อเหลือง) ต่อต้านรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช

กลุ่มพันธมิตร (คนเสื้อเหลือง) ชุมนุมขับไล่รัฐบาลนายสมัคร ตลอดเวลา ได้เข้า ยึดท�ำเนียบรัฐบาล ปิดกั้นสนามบินดอนเมือง – สนามบินสุวรรณภูมิ

พ.ต.ท.ทักษิณ อดีตนายกรัฐมนตรี กลับเข้าประเทศไทยครั้งแรก

หลังจากถูกรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 พ.ต.ท.ทักษิณ อยู่ต่างประเทศตลอด ครั้นวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 พ.ต.ท.ทักษิณ จึงเดินทางกลับประเทศไทย เพื่อมาสู้คดี ทุจริตที่ดินรัชดา และคดีอื่น และเดินทางออกนอกประเทศ เมื่อเดือนสิงหาคม 2551 รวม เวลาอยู่ประเทศไทย ประมาณ 5 เดือนเศษ วันที่ 2 ธันวาคม 2550 ศาลรัฐธรรมนูญมีคำ� วินจิ ฉัยให้นายสมัคร สุนทรเวช พ้นจาก ต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีในข้อหาเป็นลูกจ้างบริษทั เอกชนรับจ้างจัดรายการท�ำอาหารทางโทรทัศน์ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 17


นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี นายสมชาย จากพรรคพลังประชาชน ขึ้นด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อจาก นายสมัคร สุนทรเวช กลุ่ม “พันธมิตร” (คนเสื้อเหลือง) ได้ชุมนุมขับไล่รัฐบาลนาย สมชายตลอดเวลา เข้ายึดท�ำเนียบรัฐบาล จนนายสมชายไม่สามารถเข้าท�ำงานใน ท�ำเนียบรัฐบาลได้ กลุ่ม “นปช.” (คนเสื้อแดง) ได้จัดชุมนุมต่อต้าน “กลุ่มพันธมิตร” (คนเสื้อ เหลือง) เมื่อวันที่ 1-2 กันยายน 2551 เกิดปะทะกันที่บริเวณถนนราชด�ำเนินนอก ผู้ชุมนุม “นปช” เสียชีวิต 1 คน บาดเจ็บ 42 คน ระหว่างการชุมนุมของ “พันธมิตร” คนร้ายได้ ยิงระเบิดเอ็ม 79 เข้าใส่ที่ชุมนุม ผู้ชุมนุม “พันธมิตร” เสียชีวิต 4 คน ระหว่างการชุมนุม ที่ท�ำเนียบรัฐบาล และที่สนามบินดอนเมือง

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง พิพากษาจ�ำคุก พ.ต.ท.ทักษิณ คดีซื้อที่ดินรัชดา

วันที่ 20 ตุลาคม 2550 ศาลฎีกาแผนกคดีการเมือง พิพากษาว่า พ.ต.ท.ทักษิณ มีความผิดฐาน ใช้อ�ำนาจโดยมิชอบ เกี่ยวกับคุณหญิงพจมาน ภรรยา ซื้อที่ดินที่ถนนรัชดา จ�ำคุก 2 ปี ขณะที่ พ.ต.ท.ทักษิณ อยู่ต่างประเทศ

ศาลรัฐธรรมนูญ พิพากษายุบพรรคพลังประชาชน นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พ้นจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี

วันที่ 2 ธันวาคม 2551 ศาลรัฐธรรมนูญพิพากษาให้ยุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย พรรคมัชฌิมาธิปไตย เป็นเหตุให้นายสมชาย หัวหน้าพรรคพลังประชาชน พ้นจากต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามกฎหมาย ต่อมาสมาชิกพรรคพลังประชาชน ได้ตั้ง พรรคเพื่อไทยขึ้นแทน สมาชิกพรรคส่วนหนึ่งไปเข้าพรรคภูมิใจไทย

นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปตั ย์ ขึน้ เป็นนายกรัฐมนตรี

หลั ง จากศาลรั ฐ ธรรมนู ญ สั่ ง ยุ บ พรรคพลั ง ประชาชนแล้ ว ก็ เ กิ ด การเปลี่ ย น ขั้วการเมืองขึ้น พรรคที่เคยสนับสนุนพรรคพลังประชาชน ก็หันไปสนับสนุนพรรค ประชาธิปัตย์ (ฝ่ายค้าน) ลงมติให้นายอภิสิทธิ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เป็นนายก 18 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


รัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2551 หลังจากที่พรรคประชาธิปัตย์ไม่ได้เป็นรัฐบาลมา นาน 8 ปี การสลับขั้วการเมืองครั้งนี้ “นปช.” คนเสื้อแดง กล่าวหาว่า กองทัพและพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี อยูเ่ บือ้ งหลังการจัดตัง้ รัฐบาล ถึงกับมีการกล่าวหาว่า พรรคประชาธิปัตย์ “ตั้งรัฐบาลในกองทัพ” การที่พรรคประชาธิปัตย์ซึ่งมีคะแนนเสียงน้อยกว่าพรรคพลังประชาชนแต่ ได้เป็นรัฐบาลครั้งนี้ เป็นเหตุที่ท�ำให้ “คนเสื้อแดง” (นปช.) ซึ่งสนับสนุนพรรคพลัง ประชาชน (พรรคไทยรักไทย) ไม่พอใจรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ ทหารและพลเอกเปรม เป็น อย่างยิ่ง เพราะประชาชนเลือกพรรคพลังประชาชน (พรรคไทยรักไทย) ด้วยเสียงส่วน มากเข้ามาเป็นรัฐบาล แต่กลับมีการเล่นแร่แปรธาตุ เอาพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีคะแนน เสียงน้อยกว่าพรรคพลังประชาชน (พรรคไทยรักไทย) มาเป็นรัฐบาล นี่คือรากเหง้าของ ปัญหา ที่ท�ำให้เกิดเหตุนองเลือด “ฆ่าประชาชน 99 ศพ” ในเวลาต่อมา

กลุ่ม “นปช.” ชุมนุมขับไล่รัฐบาลอภิสิทธิ์ และพวกอ�ำมาตย์ ที่สนับสนุน รัฐบาลอภิสิทธิ์

“นปช.” ชุมนุมขับไล่รัฐบาลอภิสิทธิ์ และพวกอ�ำมาตย์หลายครั้ง... วันที่ 12 เมษายน 2552 “นปช.” ชุมนุมที่กระทรวงมหาดไทย ท�ำลายรถยนต์ ของนายกรัฐมนตรี ยึดอาวุธเจ้าหน้าที่ วันที่ 13 เมษายน 2552 “นปช.” ชุมนุมที่สี่แยกดินแดง ทหารใช้แก๊สน�้ำตา กระสุนปืนจริงสลายการชุมนุม มีการเผารถยนต์โดยสาร เกิดการปะทะกันระหว่าง “นปช.” กับผู้ชุมนุมตลาดนางเลิ้ง มีผู้เสียชีวิต 2 คน บาดเจ็บหลายคน วันที่ 14 เมษายน 2552 “นปช.” ประกาศยุติการชุมนุม แกนน�ำ “นปช.” โดย นายวีระ มุสิกพงศ์ นายแพทย์เหวง โตจิราการ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ เข้ามอบตัวต่อต�ำรวจ

นายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนน�ำ “พันธมิตร” ถูกลอบยิงบาดเจ็บสาหัส

วันที่ 17 เมษายน 2552 นายสนธิ แกนน�ำพันธมิตร (คนเสื้อเหลือง) ถูกคนร้าย ลอบยิงด้วยอาวุธปืนสงคราม บาดเจ็บสาหัส ที่บริเวณสี่แยกบางขุนพรหม โดยนายสนธิ นั่งอยู่ในรถยนต์

“นปช.” ชุมนุมต่อ เกิดเหตุคนร้ายวางระเบิด

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 19


วันที่ 17 สิงหาคม 2552 “นปช.” ชุมนุมที่สนามหลวง น�ำรายชื่อ 3 ล้านกว่าคน เพื่อถวายฎีกาต่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่สนามหลวง วันที่ 3 กันยายน 2552 คนร้ายวางระเบิดหน้าศาลรัฐธรรมนูญ วันที่ 10 ตุลาคม 2552 คนร้ายวางระเบิด บริเวณหน้า “ปปช.” ระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 “นปช.” ได้ร่วมกันชุมนุมขับ ไล่รัฐบาลอภิสิทธิ์ และกลุ่มอ�ำมาตย์อีกหลายครั้ง

ศาลฎีกาพิพากษายึดทรัพย์ พ.ต.ท.ทักษิณ

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 ศาลฎีกาคดีแผนกการเมือง พิพากษายึดทรัพย์ พ.ต.ท.ทักษิณ อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นเงิน 46,000 ล้านบาท ในคดีร�่ำรวยผิดปกติฯ

รัฐบาลอภิสิทธิ์ ประกาศใช้ พ.ร.บ.ความมั่นคงในราชอาณาจักร

วันที่ 9 มีนาคม 2553 รัฐบาลประกาศใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักร พ.ศ.2551 จัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) ที่กรมทหารราบที่ 11 มีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้อ�ำนวยการ

นปช.” ชุมนุมให้รัฐบาลอภิสิทธิ์ ยุบสภา

วันที่ 14 มีนาคม 2553 “นปช.” ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ ถนนราชด�ำเนิน สี่แยกสวนมิสกวัน ถนนพิษณุโลก เรียกร้องให้รัฐบาลยุบสภา ภายใน 24 ชั่วโมง วันที่ 15 มีนาคม 2553 “นปช.” กว่า 30,000 คน ชุมนุมขับไล่นายอภิสิทธิ์ รัฐบาลปฏิเสธการยุบสภา เกิดเหตุคนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 ใส่กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ หลายลูก ทหารบาดเจ็บ 2 นาย “นปช.” แถลงว่า พล.ต.ขัตติยะ สวัสดิผล (เสธ.แดง) และนายสุรชัย ด่านวัฒนา นุสรณ์ ไม่ใช่กลุ่ม “นปช.” อีกต่อไป

เกิดเหตุร้ายระเบิดหลายแห่ง

วันที่ 20 มีนาคม 2553 คนร้ายยิงจรวดอาร์พีจี เข้าไปในกระทรวงกลาโหม ทหารบาดเจ็บ 1 นาย วันที่ 22 มีนาคม 2553 คนร้ายขว้างระเบิดเอ็ม 67 ใส่ป้อมยาม หมวดการทาง 20 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ตลิ่งชัน ถนนสิรินธร วันที่ 23 มีนาคม 2553 คนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 ที่อาคารกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 24 มีนาคม 2553 คนร้ายวางระเบิดข้างห้างเซ็นทรัลพลาซ่า เชียงใหม่ วางระเบิดซีโฟร์ ข้างศาลากลางจังหวัดนนทบุรี ขว้างระเบิดเอ็ม 67 ใส่กรมบังคับคดี เขต ตลิ่งชัน กรุงเทพ วันที่ 27 มีนาคม 2553 คนร้ายขว้างระเบิดเอ็ม 67 ใส่กรมศุลกากร สถานีโทรทัศน์ กองทัพบก ช่อง 5 มีผู้บาดเจ็บ 7 คน วันที่ 28 มีนาคม 2553 คนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 ใส่สนามฟุตบอล ในกองพัน ทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 11 ทหารบาดเจ็บ 4 นาย

รัฐบาลเจรจากับ “นปช.” (คนเสื้อแดง)

วันที่ 28 มีนาคม 2553 รัฐบาลกับ “นปช.” เจรจากัน ฝ่ายรัฐบาลมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ นายช�ำนิ ศักดิ์เศรษฐ์ ฝ่าย “นปช.” (คนเสื้อแดง) มีนายวีระ มุสิกพงศ์ นายจตุพร พรหมพันธุ์ นายแพทย์เหวง โตจิราการ แต่การเจรจาล้มเหลว...

“นปช.” ชุมนุมใหญ่ ที่สี่แยกราชประสงค์

วันที่ 3 เมษายน 2553 “นปช.” เคลื่อนขบวนออกจากสะพานผ่านฟ้า ถนนราชด�ำเนิน ไปตั้งเวทีชุมนุมใหญ่ ที่สี่แยกราชประสงค์

“นปช.” ปิดล้อมรัฐสภา รัฐบาลตั้ง “ศอฉ.”

วันที่ 7 เมษายน 2553 “นปช.” เข้าปิดล้อมรัฐสภา รัฐบาลประกาศสถานการณ์ ฉุกเฉินในเขต กทม. ตั้งศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)

ฝ่ายทหาร กับ “นปช.” ปะทะกัน ที่อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี

สถานีโทรทัศน์ “พีเพิ่ล แชนแนล” (สถานีโทรทัศน์ประชาชน) ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ได้ถ่ายทอดการชุมนุมของกลุ่ม “นปช.” ส่วน “ศอฉ.” มี ค�ำสั่งระงับการออกอากาศของสถานี โทรทัศน์ดังกล่าว เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 ครั้น วันที่ 9 เมษายน 2553 กลุ่ม “นปช.” ประมาณ 10,000 คน เคลื่อนขบวนไปยังสถานี โทรทัศน์ดังกล่าว เพื่อเรียกร้องให้ “ศอฉ.” ยกเลิกค�ำสั่ง การระงับการออกรายการ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 21


โทรทัศน์ของ “สถานีโทรทัศน์ประชาชน” ทั้งฝ่ายทหารและ “นปช.” เกิดการปะทะกัน มีผู้บาดเจ็บหลายคน วันเดียวกันศาลได้อนุมัติหมายจับแกนน�ำ “นปช.” รวม 17 คน เช่น นายวีระ มุสิกพงศ์ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ นายแพทย์เหวง โตจิราการ นายก่อแก้ว พิกุลทอง ฐานร่วม กันสนับสนุนให้เกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน ตาม พ.ร.บ.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548

เหตุการณ์วันวิปโยค วันที่ 10 เมษายน 2553 ประชาชนถูกฆ่าตาย จ�ำนวนมาก

วันที่ 10 เมษายน 2553 เกิดการปะทะกัน ระหว่างทหารกับ “นปช.” ที่บริเวณ ถนนข้าวสาร ถนนตะนาว ถนนดินสอ ถนนราชวิถี ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สี่แยกคอก วัว หน้าโรงเรียนสตรีวทิ ยา “คอป.” รายงานว่า มีผเู้ สียชีวติ 26 คน บาดเจ็บกว่า 800 คน

จากเหตุการณ์รุน แรง วั น ที่ 10 เมษายน 2553 ถึ ง วั น ที่ 19 เมษายน 2553 วันยุติการชุมนุม

มีการปะทะกัน ระหว่างทหารกับ “นปช.” ปรากฏว่า จากการส�ำรวจของเจ้า หน้าที่ มีคนตายประมาณ 99-100 ศพ บาดเจ็บประมาณ 2,000 คน

22 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 23


รายงานของ “คอป.”กรณีประชาชนผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บ ในเหตุการณ์รุนแรง ระหว่างเดือนเมษายน–พฤษภาคม 2553 หลังจากเกิดเหตุการณ์วิปโยค ฆ่าประชาชนตายประมาณ 99 ศพ บาดเจ็บ ประมาณ 2,000 คน ระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2553 แล้ว รัฐบาลได้แต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ และค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) โดยมี ดร.คณิต ณ นคร อดีตอัยการสูงสุด เป็นประธานกรรมการ “คอป.” ได้แถลงต่อประชาชน เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2555 เป็นรายงานรวม 269 หน้า รวม 5 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับ “คอป.” ส่วนที่ 2 ที่ 3 เป็นเรื่องสาเหตุ และรากเหง้าของปัญหา ส่วนที่ 4 แนวทางเยียวยา ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ต่อไปนี้เป็นรายงานของ “คอป.” เกี่ยวกับเหตุการณ์รุนแรง ระหว่างเดือน เมษายน – พฤษภาคม 2553 บางตอน ในกรณีที่ผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บในรายงาน “คอป.” ข้อ 2.2.7 ดังต่อไปนี้

(มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจ�ำนวนมาก บริเวณสี่แยกคอกวัว หน้าโรงเรียน สตรีวิทยา ถนนราชด�ำเนิน ถนนตะนาว ถนนดินสอ – ผู้รวบรวม)

วันที่ 10 เมษายน 2553 ช่วงบ่าย ผู้ชุมนุมทราบข่าวการเคลื่อนก�ำลังของเจ้า หน้าที่ทหารเพื่อเตรียมการสลายการชุมนุม นายขวัญชัย ไพรพนา แกนน�ำ นปช. จึงน�ำ ผู้ชุม นุม เคลื่ อนขบวนไปปิดล้อมประตูก องบัญชาการกองทั พ ภาคที่ 1 ถนน ราชด�ำเนินนอก เจ้าหน้าที่ทหารจึงเข้าสลายการชุมนุม เพื่อผลักดันให้ผู้ชุมนุมกลับมา รวมตัวกันทีเ่ วทีสะพานผ่านฟ้า เหตุการณ์ดงั กล่าว มีผชู้ มุ นุมถูกยิงเสียชีวติ ในเวลาต่อมา จ�ำนวน 1 คน ช่วงเย็นเจ้าหน้าที่ทหารพร้อมอุปกรณ์ควบคุมฝูงชนและอาวุธสงคราม ได้เคลื่อน ก�ำลังเข้าสลายการชุมนุมของกลุ่มนปช. โดยเคลื่อนก�ำลังส่วนหนึ่งมาจากฝั่งธนบุรี ข้าม สะพานปิ่นเกล้ามา เพื่อสมทบกับเจ้ าหน้ าที่ทหารอีก ส่ ว นและเคลื่อนก�ำลังเข้าควบคุม 24 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


พื้นที่ ถนนข้าวสาร ถนนตะนาว และถนนดินสอเพือ่ ขอคืนพืน้ ทีแ่ ละเปิดช่องจราจร บริเวณถนนราชด�ำเนิน สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า และสะพานพระราม 8 ผู้ชุมนุม พยายามต่อสู้ขัดขวางเจ้าหน้าที่ จนกระทั่งช่วงเวลาค�่ำ ประมาณ 20.00 น. เหตุการณ์ ปะทะทวีความรุนแรง เป็นเหตุให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 800 คน ในจ�ำนวนนี้เป็นเจ้าหน้าที่ ทหารกว่า 300 นาย และมีผู้เสียชีวิตอีก 25 คน รวมกับผู้เสียชีวิต 1 คน จากเหตุการณ์ ช่วงบ่ายเป็น 26 คน ในจ�ำนวนนี้เป็นเจ้าหน้าที่ทหาร 5 นาย รวมถึง พ.อ.ร่มเกล้า ธุวธรรม เป็นพลเรือน 21 คน รวมถึงนักข่าวต่างประเทศชาวญี่ปุ่น ทั้งในเหตุการณ์ดัง กล่าว ผู้ชุมนุมได้ยึดอาวุธของเจ้าหน้าที่ทหารไปจ�ำนวนมากและมีการปรากฎตัวของกอง ก�ำลังไม่ทราบฝ่าย ที่เรียกว่า “คนชุดด�ำ” ใช้อาวุธสงครามโจมตีเจ้าหน้าที่ทหาร ในวันเกิดเหตุการณ์ปะทะกันที่สี่แยกคอกวัวและหน้าโรงเรียนสตรีวิทยา ได้ เกิดเหตุร้ายหลายแห่งอย่างต่อเนื่อง ในช่วงเช้ามืดวันเดียวกัน เวลาประมาณ 03.30 น. เกิดเหตุคนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 เข้าใส่รั้วสังกะสีที่ก�ำลังก่อสร้างของกองบัญชาการปราบ ปราม และเวลาประมาณ 20.00 น. เกิดเหตุคนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 ใส่ตึกนารีสโมสร ท�ำเนียบรัฐบาล แต่ระเบิดไม่ท�ำงาน เวลาประมาณ 20.15 น. เกิดเหตุคนร้ายยิงระเบิด เอ็ม 79 ใส่ห้องสีงาช้าง ชั้น 2 ตึกไทยคู่ฟ้า ท�ำเนียบรัฐบาล แต่ไม่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ เวลา ประมาณ 21.00 น. เกิดเหตุการณ์วางระเบิด 6 ลูก ที่เสาไฟฟ้าแรงสูงขนาด 230 กิโล โวลต์ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตเนื่องจากระเบิดไม่ท�ำงาน 3 ลูก (โดยตรวจพบเมื่อวันที่ 13 เมษายน 2553)

(“นปช.” ฟ้องนายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ขอให้สหประชาชาติคุ้มครอง การชุมนุม กลุ่มคนรักสีลม ชุมนุมคัดค้าน “นปช.” – ผู้รวบรวม)

วันที่ 22 เมษายน 2553 พ.อ.สรรเสริญ แก้วก�ำเนิด โฆษก ศอฉ. แถลงก�ำชับเจ้า หน้าที่เพิ่มการดูแล ไม่ให้กลุ่ม นปช.ปะทะกับกลุ่มที่ไม่พอใจการชุมนุม นายจตุพร พรหมพันธุ์ แกนน�ำกลุ่มเป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายกรัฐมนตรีและนาย สุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี และขอให้ศาลมีค�ำสั่งชั่วคราว ห้ามไม่ให้นายก รัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรี สั่งการให้ใช้ก�ำลังทหารเข้าสลายการชุมนุมของกลุ่ม นปช.ที่แยกราชประสงค์ ศาลแพ่งมีค�ำวินิจฉัย ตามคดีหมายเลขด�ำที่ 1455/2553 ลงวัน คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 25


ที่ 22 เมษายน 2553 ว่า มีเหตุจ�ำเป็นที่จ�ำเลยทั้งสองต้องใช้มาตรการขอคืนพื้นที่เพื่อให้ สังคมกลับคืนสู่ภาวะปกติ จึงไม่มีเหตุผลเพียงพอที่ศาลจะมีค�ำสั่งตามที่โจทก์ขอได้ ขณะ ที่ นพ.เหวง โตจิราการ เดินทางไปอาคารส�ำนักงานสหประชาชาติ ถนนราชด�ำเนินนอก เพื่อยื่นหนังสือผ่านผู้แทนส�ำนักงานในประเทศไทยถึงนายบัน คีมูน เลขาธิการองค์การ สหประชาชาติ เพื่อขอก�ำลังสหประชาชาติคุ้มครองการชุมนุมของกลุ่ม นปช. แดง ทั้งแผ่นดิน ขณะที่กลุ่มคนรักสีลม ชุมนุมคัดค้านการชุมนุมของกลุ่ม นปช. เวลาประมาณ 20.30 น. มีคนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 จ�ำนวน 5 ลูก จุดแรก 3 ลูก ลงที่หลังคาสถานี รถไฟฟ้าศาลาแดง จุดที่ 2 บริเวณถนนชั้น 2 เส้นทางสกายวอล์ค ของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อม ต่อกับห้างสรรพสินค้า จุดที่ 3 หน้าธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด สาขาซิลลิค เฮ้าส์ ท�ำให้ มีผู้บาดเจ็บ 87 คน ในจ�ำนวนนี้เสียชีวิต 1 คน คือ นางธัญยนันท์ แถบทอง อายุ 50 ปี หนึ่งในผู้ชุมนุมกลุ่มชาวสีลม

(คนร้ายขว้างระเบิดหน้าบ้านพักของนายบรรหาร มีผู้บาดเจ็บหลายคน – ผู้รวบรวม)

วันที่ 25 เมษายน 2553 การ์ด นปช.ได้แจกจ่ายเสื้อผ้าสีต่างๆ ให้แก่ผู้ชุมนุม ขณะที่การรักษาความปลอดภัยเป็นไปอย่างเข้มงวด โดยมีการเพิ่มก�ำลังการ์ดในจุดสุ่ม เสี่ยง รวม 6 ด่าน วันเดียวกัน เกิดเหตุคนร้ายขว้างระเบิดเอ็ม 79 ใส่รถยนต์ ที่บริเวณ หน้าบ้านพักของนายบรรหาร ศิลปอาชา ซอยจรัญสนิทวงศ์ 55 มีผู้บาดเจ็บ 11 คนเป็น พลเรือน 8 คน และทหาร 3 คน และคนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 ใส่อาคารบัญชาการภาค 5 จังหวัดเชียงใหม่

(“นชป.” ปะทะทหาร ต�ำรวจ บริเวณหน้าอนุสรณ์สถานแห่งชาติ มีผู้เสีย ชีวิต และบาดเจ็บ – ผู้รวบรวม)

วันที่ 28 เมษายน 2553 เวลาประมาณ 09.30 น. นายขวัญชัย ไพรพนา น�ำ ผู้ชุมนุมกว่า 1,000 คน เคลื่อนขบวนรถกระบะและรถจักรยานยนต์ ออกจากแยกราช ประสงค์ไปตลาดไท เพื่อสนับสนุนกลุ่ม นปช.ที่ถูกสกัดอยู่ที่ตลาดไท เมื่อเคลื่อนขบวนมา ถึงหน้าอนุสรณ์สถานแห่งชาติ ได้ปะทะกับเจ้าหน้าที่ทหารและต�ำรวจที่ตั้งด่านสกัดอยู่ มี 26 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ผู้บาดเจ็บอย่างน้อย 19 คน เป็นพลเรือน 17 คน และเจ้าหน้าที่ทหาร 2 คน หลังจาก เหตุการณ์ปะทะกัน พลทหารณรงค์ฤทธิ์ สาละ สังกัดกองพลทหารราบที่ 9 ถูกยิงเสีย ชีวิตในที่เกิดเหตุ ขณะซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ในกลุ่มหน่วยทหารเคลื่อนที่เร็ว ซึ่งก�ำลัง มุ่งหน้าไปยังแนวเจ้าหน้าที่ต�ำรวจและทหาร ซึ่งตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีขาออก

(คนร้ายยิ ง อาวุ ธ ปื น ที่ ถ นนสี ล ม มี ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต และบาดเจ็บหลายคน – ผูร้ วบรวม) วันที่ 7 พฤษภาคม 2553 เวลาประมาณ 20.45 น. บริเวณแยกศาลาแดง เกิด เหตุคนร้ายใช้อาวุธปืนยิงไปยังธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด สาขาย่อย อาคารซิลลิค เฮ้าส์ ถนน สีลม มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 5 ราย และเสียชีวิต 1 ราย คือ ส.ต.อ.กานต์นุพันธ์ เลิศจันทร์เพ็ญ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่อยู่บริเวณดังกล่าว

(คนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 บริเวณทางเข้าสวนลุมพินี ประตู 3 มีผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บหลายคน – ผู้รวบรวม)

วันที่ 8 พฤษภาคม 2553 เกิดเหตุคนร้ายยิงระเบิดเอ็ม 79 ที่บริเวณทางเข้า สวนลุมพินี ประตู 3 บริเวณตรงข้ามอาคารอื้อจื่อเหลียง ถนนพระราม 4 ซึ่งเป็นบริเวณที่ ตั้งด่านตรวจความมั่นคงสนธิก�ำลัง ระหว่างต�ำรวจกับทหาร ศูนย์เอราวัณ รายงานผู้ได้รับ บาดเจ็บจากเหตุดังกล่าว 8 ราย ในจ�ำนวนนี้ มีเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ 5 คน และเจ้าหน้าที่ ทหาร 3 คน และมีเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ เสียชีวิต 1 คน คือ จ.ส.ต.วิทยา พรหมสาลี

(ศอฉ.แถลงจะปิดล้อมพื้นที่ที่ชุมนุม พลตรีขัตติยะ (เสธแดง) ถูกยิงเสีย ชีวิต – ผู้รวบรวม)

วันที่ 13 พฤษภาคม 2553 เวลา 11.30 น. ศอฉ.แถลงผลการประชุมว่า ตั้งแต่ เวลา 18.00 น.เป็นต้นไป จะมีการปิดล้อมพื้นที่อย่างสมบูรณ์ พื้นที่ที่มีผลกระทบทาง ด้านเหนือ เริ่มตั้งแต่แยกราชเทวีไปตามถนนเพชรบุรี จนถึงแยกขึ้นทางด่วนเพชรบุรี ทาง ทิศใต้ตั้งแต่แยกทางขึ้นทางด่วนเพชรบุรีตามถนนวิทยุจนกระทั่งสี่แยกถนนวิทยุเรื่อย มาจนถึงถนนพระราม 4 จนถึงแยกสามย่าน และขึ้นเหนือไปบรรจบจุดเริ่มต้นตามถนน พญาไท จนกระทั่งถึงแยกราชเทวี ซึ่งเป็นลักษณะกรอบสี่เหลี่ยม... คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 27


ในการกระชั บวงล้อมอาจเป็นไปได้ว่า กลุ่มก่อการร้ายในพื้นที่จะเคลื่อนที่เข้า ปะทะเจ้าหน้าที่ ดังนั้น เจ้าหน้าที่จ�ำเป็นต้องด�ำเนินการตามขั้นตอนหลักสากลจากเบาไป หาหนัก 7 ขั้นตอน และมีการใช้อาวุธกระสุนจริงด้วย หากพยายามเคลื่อนที่เข้ามาและ ขอให้หยุดแล้ว แต่ยังไม่หยุด จึงมีความจ�ำเป็น ต้องใช้กระสุนยางที่ยิงจากปืนลูกซอง หาก ยังเข้ามาอีก เจ้าหน้าที่จ�ำเป็นต้องใช้ปืนลูกซองกระสุนจริง ในการยิงสกัดไม่ให้เข้ามา แต่ เป็นการยิงที่ไม่ต้องการมุ่งท�ำร้ายเอาชีวิตประชาชน... เวลาประมาณ 19.00 น. พล.ต.ขัตติยะ สวัสดิผล ถูกยิงด้วยอาวุธปืความเร็ว สูงที่ศีรษะ ระหว่างให้สัมภาษณ์แก่ผู้สื่อข่าวต่างประเทศ บริเวณทางลงคนพิการ สถานี รถไฟฟ้ามหานคร สถานีสีลม ฝั่งสวมลุมพินี ใกล้กับพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 6 ได้รับบาดเจ็บสาหัส โดยเจ้าหน้าที่ได้น�ำตัวส่งโรงพยาบาลหัวเฉียวและเสียชีวิตอีก 4 วัน ต่อมา หลังเหตุการณ์ พล.ต.ขัตติยะถูกยิง เหตุการณ์ทวีความรุนแรงขึ้น มีเสียงคล้าย ระเบิดและเสียงปืนดังขึ้นหลายครั้ง มีการประกาศให้ผู้ชุมนุมเฝ้าระวังการเข้ามาสลาย การชุมนุม และใช้ต าข่ายกรองแสง หรือสแลนสีด�ำมาขึ ง ด้า นบนของเวทีปราศรัยเพื่อ ระวังป้องกันต่อมาเวลาประมาณ 23.00 น. เกิดเหตุปะทะระหว่างเจ้าหน้าที่ทหารและ ผู้ชุมนุมบนถนนพระราม 4 บริเวณหน้าอาคารอื้อจื่อเหลียง ในเหตุการณ์ดังกล่าวมี ผู้ชุมนุมถูกยิงเสียชีวิต 1 คน และมีผู้บาดเจ็บจ�ำนวนหนึ่ง

(ศอฉ.ประกาศห้ามใช้ถนนบางสาย – ผู้รวบรวม)

วันที่ 14 พฤษภาคม 2553 ศอฉ.ออกประกาศห้ามใช้เส้นทางเพิ่มเติม บนถนน พระราม 4 ตั้งแต่แยกสามย่านถึงแยกปากซอยงามดูพลี ทั้งนี้วันที่ 14 พฤษภาคม 2553 ได้เกิดเหตุความรุนแรงกระจายวงกว้างออกไปจากพื้นที่การชุมนุมที่แยกราชประสงค์ มาถึงบริเวณถนนวิทยุ ถนนพระรามที่ 4 – บ่อนไก่ ถนนราชปรารภ – สามเหลี่ยม ดินแดง โดย ศอฉ.ด�ำเนินมาตรการปิดล้อม ถึงวันที่ 18 พฤษภาคม 2553 ซึ่งในระหว่าง นี้มีการปะทะกันต่อเนื่องระหว่างเจ้าหน้าที่ ผู้ชุมนุมและคนชุดด�ำ โดยช่วงเวลาดังกล่าว มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจ�ำนวนมาก และมีการเผาอาคารร้านค้าต่างๆ หลายจุดทั่ว กรุงเทพฯ ตลอดจนถึงการสลายการชุมนุมโดยการกระชับพื้นที่รอบสวนลุมพินี และแยก ราชประสงค์ ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2553... 28 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


(สมาชิกวุฒิสภา เสนอให้ “นปช.” กับ “รัฐบาล” เจรจากัน แต่ไม่เป็นผล)

วันที่ 18 พฤษภาคม 2553 พล.อ.เลิศรัตน์ รัตนวานิช สมาชิกวุฒิสภาและ คณะ เข้าพบแกนน�ำ นปช.เสนอเป็นตัวกลางเจรจา นายอภิสิทธิ์เสนอให้ นปช.ต้องยุติ การชุมนุมก่อน โดยให้แกนน�ำส่งผู้ชุมนุมกลับบ้านให้เรียบร้อย และเข้ามอบตัวกับต�ำรวจ ขณะที่แกนน�ำ นปช.ชี้แจงว่า นายกรัฐมนตรีไม่ยอมเปิดการเจรจาอีก และต้องการสลาย การชุมนุม ท้ายที่สุดการเจรจาไม่บรรลุผล และ พล.อ.เลิศรัตน์ ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน ต่อมาในวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ว่า ไม่มีการเจรจา “เนื่องจากท่าทีของรัฐบาล มีความชัดเจนแล้วว่า จะสลายการชุมนุม”

(“นปช.” ประกาศยุติการชุมนุม ผู้ชุมนุมในวัดปทุมวนาราม ถูกยิงเสีย ชีวิต 6 คน – ผู้รวบรวม)

วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 เวลา 13.25 น. แกนน�ำ นปช.ประกาศยุติการชุมนุม ซึ่งขณะที่แกนน�ำ นปช.ได้ยืนแถลงข่าวอยู่ในเวลาประมาณ 13.20 น. มีเสียงอาวุธปืนดัง ขึ้นมาจากฝั่งสี่แยกประตูน�้ำ ท�ำให้แกนน�ำต้องสลายตัวลงจากบนเวทีราชประสงค์ และ ผู้เข้าร่วมชุมนุมประมาณ 4,000 คน ได้เข้าไปหลบอยู่ในวัดปทุมวนาราม ซึ่งได้รับการ ประกาศเป็นพื้นที่เขตอภัยทาน ตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2553 บางส่วนได้เดินไปทาง สนามกีฬาแห่งชาติ และส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ มีผู้ชุมนุมบางส่วนได้ขว้างระเบิดขวด ระเบิดเพลิง จุดไฟเผายางรถยนต์บริเวณหน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ห้างสรรพสินค้า เซน ต่อมาแกนน�ำ นปช.ประกอบด้วย นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ นายวิภูแถลง พัฒนภูมิไทย นายขวัญชัย ไพรพนา นายนิสิต สินธุไพร นายยศวริศ ชูกล่อม (เจ๋ง ดอกจิก) ได้เข้ามอบตัว ที่ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ก่อนจะถูกน�ำไปควบคุมตัวไว้ที่ค่ายนเรศวร (ค่ายต�ำรวจ ตระเวนชายแดน) อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ขณะที่ ศอฉ.มีค�ำสั่งให้หยุดการปฏิบตั กิ าร และปรับก�ำลังรักษาพืน้ ทีบ่ ริเวณแนวปัจจุบนั ตัง้ แต่เวลา 13.30 น. เป็นต้นไป และมีประกาศ ห้ามมิให้บุคคลใดในเขตพื้นที่กรุงเทพฯออกนอกเคหสถาน ภายในเวลาตั้งแต่ 20.00 น. ของวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ถึงเวลา 06.00 น. ของวันที่ 20 พฤษภาคม 2553 และ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงเพิ่มเติมอีก 2 จังหวัด คือ กาฬสินธุ์ และ มุกดาหาร คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 29


ด้านถนนพระราม 1 นั้น เจ้าหน้าที่พยายามเข้าดับเพลิง ซึ่งก�ำลังโหมโรงหนัง สยาม ช่วงเวลาประมาณ 18.00 น. เกิดเหตุยิงกันบริเวณแยกเฉลิมเผ่า และมีการยิง เข้าไปในบริเวณวัดปทุมวนาราม มีผู้ถูกยิงเสียชีวิต 6 คน คือ นายสุวัน ศรีรักษา นาย อัฐชัย ชุมจันทร์ นายมงคล เข็มทอง นายรพ สุขสถิต นางสาวกมลเกด อัคอาด นายอัคร เดช ขันแก้ว และบาดเจ็บจ�ำนวนหนึ่ง รวมถึงนายแอนดริว บันคอมบ์ (Andrew Buncombe) ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ The Independent ประจ�ำภูมิภาคเอเชีย ซึ่งก�ำลังวิ่ง เข้าไปภายในวัดปทุมวนาราม ถูกยิงได้รับบาดเจ็บที่ขาขวา หลังจากนั้นได้มีการประสาน ไปยังสภากาชาดไทย เพื่อให้รถพยาบาลสามารถเข้ามารับผู้บาดเจ็บ ซึ่งมีผู้บาดเจ็บถูก ล�ำเลียงออกไปทั้งหมด รวม 6 คน ในเวลาประมาณ 22.00 น. เกิดเหตุการณ์จลาจลและเพลิงไหม้อาคารสถานที่ราชการในหลายจังหวัด เช่น จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีรายงานผู้เสียชีวิต 2 คน ที่จังหวัดอุดรธานี และมีผู้เสียชีวิต 1 คน ที่จังหวัด ขอนแก่น

30 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 31


ประชาชนมาขอประชาธิปไตย กลับถูกฆ่าตาย 99 ศพ บาดเจ็บประมาณ 2,000 ระหว่างเดือนเมษายน–พฤษภาคม 2553 การประชุมของประชาชนคนเสื้อแดง (นปช.) หลายหมื่นถึงแสนกว่าคน เพื่อขอให้ รั ฐ บาลนายอภิ สิ ท ธิ์ ยุ บ สภาเลือกตั้งใหม่ ระหว่างเดือนเมษายนถึ ง เดือน พฤษภาคม 2553 โดยมีทหารต�ำรวจหลายหมื่นคน ภายใต้การปฏิบัติการของรัฐบาลนาย อภิสิทธิ์ มี “ศอฉ.” โดยนายอภิสิทธิ์ นายกรัฐมนตรี แต่งตั้งให้นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี ขณะนั้นเป็นผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” ด�ำเนินการควบคุมสถานการณ์ ฉุกเฉิน ได้เกิดการปะทะกันระหว่างทหาร ต�ำรวจกับประชาชนคนเสื้อแดง (นปช.) เป็น เหตุให้ประชาชนถูกยิงเสียชีวิตถึง 99 ศพ บาดเจ็บอีกประมาณ 2,000 คน ตัวอย่าง เหตุการณ์ปฏิบัติการของฆาตกรเหี้ยมโหดต่อประชาชน ดังนี้...

เหตุการณ์วันที่ 10 เมษายน 2553

เกิดการปะทะกันบริเวณสะพานผ่านฟ้า ถนนตะนาว ถนนดินสอ และสี่แยกคอก วัว ประชาชนถูกยิงตาย 21 ศพ ทหาร 6 ศพ รวม 27 ศพ พันเอกร่มเกล้า ธุวธรรม รอง เสธ.พล ร.2 รอ.ถูกยิงเสียชีวิต

เหตุการณ์วันที่ 13 พฤษภาคม 2553

เวลาประมาณ 18.30 น. พลตรีขัตติยะ สวัสดิผล (เสธ.แดง) ผู้ทรงคุณวุฒิ กองทัพบก หัวหน้าการ์ดของ “นปช.” ก�ำลังตรวจเยี่ยมการ์ด “นปช.” ที่บริเวณอนุสาวรีย์ ร.6 สวนลุมพินี ถูกคนร้ายใช้อาวุธปืนส่องทางไกล “สไนเปอร์” ยิงถูกที่ศีรษะถึงแก่ความ ตายทีโ่ รงพยาบาลวชิระฯ นปช.เชือ่ ว่า เป็นการกระท�ำของทหาร เพือ่ ตัดก�ำลังส�ำคัญของ “นปช.”

เหตุการณ์ระหว่างวันที่ 13 – 17 พฤษภาคม 2553

มีการปะทะกันระหว่างทหาร ต�ำรวจกับฝ่าย “นปช.” ที่บริเวณราชประสงค์ สามเหลี่ยมดินแดง ถนนราชปรารภ ซอยรางน�้ำ เขตราชเทวี ชุมชนบ่อนไก่ สวนลุมพินี มี ประชาชนเสียชีวิต 35 คน บาดเจ็บอีก 300 ราย 32 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


เหตุการณ์วันที่ 19 พฤษภาคม 2553

เวลา 05.45 น. “ศอฉ.” เริ่มปฏิบัติการ “กระชับพื้นที่” ทหารใช้รถหุ้มเกราะปิด ล้อมพวกเสื้อแดง พร้อมกับตัดน�้ำ ตัดไฟ ไม่ให้ส่งเสบียง ที่บริเวณศาลาแดง พระรูป ร.6 สวนลุมพินี ทหารเข้ายึดพื้นที่ ได้ปิดเส้นทางแยกเข้าราชประสงค์ เกิดการปะทะกันหลาย จุด เช่น ที่บ่อนไก่ ถนนพระราม 4 แยกดินแดง ถนนพระราม 1 ประตูน�้ำ สามย่าน เวลา 10.00 น. มีคนถูกยิงตาย 37 ศพ ประชาชนหนีตายเข้าไปในวัดปทุมฯ หลายพันคน เวลา 13.30 น. “นปช.” ประกาศยุติการชุมนุม ทหารเข้ายึดพื้นที่ราชประสงค์ คนร้ายเผาห้างเซ็นทรัลเวิลด์ โรงภาพยนตร์สยาม อาคารตลาดหลักทรัพย์ ถนนรัชดา

6 ศพ ที่วัดปทุม

เวลา 18.00 น. คนร้าย (มีพยานยืนยันว่าเป็นทหาร) ใช้อาวุธปืนยิงจากบนราง รถไฟหน้าวัดปทุม ท�ำให้คนที่หนีภัยในวัดตาย 6 ศพ รวมทั้งพยาบาลและเจ้าหน้าที่มูลนิธิ “ปอเต็กตึ๊ง” ด้วย เวลา 19.00 น. เศษ “ศอฉ.” ประกาศ “เคอร์ฟิว” ห้ามคนใน กทม.และ 23 จังหวัด ออกนอกบ้านเวลากลางคืน

เหตุการณ์วันที่ 20 พฤษภาคม 2553

ทางราชการแจ้งว่า ในเขต กทม.อาคารพาณิชย์ ถูกคนร้ายวางเพลิงรวม 36 แห่ง ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น อุบล มุกดาหาร ถูกวางเพลิง

จ�ำนวนผู้เสียชีวิต

นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ (ฉบับวันที่ 11 – 17 มิ.ย.53) รายงานว่าศูนย์เอราวัณ แจ้งยอดผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ ระหว่างวันที่ 10 เมษายน ถึงวันที่ 7 มิถุนายน 2553 ว่า มีผู้เสียชีวิต 87 ราย บาดเจ็บประมาณ 1,500 ราย หลังจากเหตุการณ์สงบลงจนถึงปัจจุบันจากการส� ำ รวจของเจ้ า หน้ า ที่ของรัฐ ปรากฏว่า มีผู้ถูกอาวุธยิงตายถึง 99 ศพ บาดเจ็บอีกประมาณ 2,000 คน

นายทหารชั้นผู้ใหญ่ ที่เข้าร่วมปฏิบัติการกับ “ศอฉ.”

นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ (ฉบับวันที่ 11 – 17 มิถุนายน 2553) เผยรายชื่อนาย ทหารชั้นผู้ใหญ่ ดังนี้ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 33


(1).พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผบ.ทบ. (2).พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา รอง ผบ.ทบ. (3).พลโท ดาว์พงษ์ รัตนสุบรรณ รองเสธ.ทบ. และนายทหารชัน้ ผูใ้ หญ่อกี หลายคน

พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผบ.ทบ.

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา รอง ผบ.ทบ. 34 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม

พลโท ดาว์พงษ์ รัตนสุบรรณ รองเสธ.ทบ.


ี ชวี ต เสธแดงถูกยิงเสย ิ เมือ ่ วันที่ 13 พฤษภาคม 2553 คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 35


จ�ำนวนผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บบางส่วนจาก “บันทึกดีเอสไอ” “ดีเอสไอ” ได้บันทึกการด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล โดยได้แถลงต่อสื่อมวลชน เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555 โดยระบุจ�ำนวนผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บบางส่วนในเหตุการณ์รุนแรงเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2553 ได้ดังนี้... วันที่ 10 เมษายน 2553 มีผู้เสียชีวิต 26 คน วันที่ 18 – 26 เมษายน 2553 มีผเู้ สียชีวติ หลายคน บาดเจ็บกว่า 1,700 คน วันที่ 14 พฤษภาคม 2553 มีผู้เสียชีวิต 20 คน วันที่ 15 พฤษภาคม 2553 มีผู้เสียชีวิต 15 คน วันที่ 16 พฤษภาคม 2553 มีผู้เสียชีวิต 6 คน วันที่ 17 พฤษภาคม 2553 มีผู้เสียชีวิต 2 คน วันที่ 18 พฤษภาคม 2553 มีผู้เสียชีวิต 1 คน วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 มีผู้เสียชีวิต 11 คน หลักฐานเท่าที่ “ดีเอสไอ” แถลงประมาณมีผู้เสียชีวิตประมาณ 81 คน บาดเจ็บ ประมาณ 1,700 คน ต่อมาภายหลังจากการส�ำรวจผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บแล้ว ประมาณ ได้ว่ามีผู้เสียชีวิต ประมาณ 99-100 คน บาดเจ็บประมาณ 2,000 คน

36 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


6 ศพ ที่วัดปทุม

เย็นวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 หลังจากทหารกดดันกระชับพื้นที่บริเวณสี่แยก ราชประสงค์ และคนเสื้อแดง (นปช.) ถูกยิงตายเป็นจ�ำนวนมากแล้ว แกนน�ำ “นปช.” จึงประกาศสลายการชุมนุม “นปช.” และประชาชนก็พากันหลบหนีทหารเพื่อหาทาง กลับบ้านประชาชนเป็ น จ� ำ นวนมากหลบหนี ภั ย เข้ า ไปอยู ่ ใ นบริ เวณวั ด ปทุ ม วนาราม ราชวรวิหาร อันเป็นเขตอภัยทาน หวังว่าเข้าพึ่งพระจะปลอดภัย ปรากฏว่าถูกคนร้ายไล่ ยิงประชาชนตายในวัดถึง 6 ศพ อย่างโหดเหี้ยมที่สุด รายชื่อผู้เสียชีวิต ในวัดปทุมฯ มีดังนี้ 1.นายรพ สุขสถิต อายุ 66 ปี คนขับรถ “ลีมูซีน” ส่งผู้โดยสารสนามบิน สุวรรณภูมิ เข้าร่วมชุมนุมกับ “นปช.” ที่บริเวณสี่แยกราชประสงค์ 2.นางสาวกมนเกด อัคฮาด (น้องเกด) พยาบาลอาสาประจ�ำเต็นท์หน้าวัดปทุม วนาราม เข้าไปช่วยเหลือคนป่วยเจ็บในวัด กลับถูกยิงด้านหลังทะลุฝงั ศีรษะ 1 นัด 3.นายอัครเดช ขันแก้ว ผู้ช่วยพยาบาล ภายในเต็นท์ อาสาเข้าไปช่วยเหลือคน ป่วยเจ็บ กลับถูกยิงทะลุโหนกแก้มขวา 1 นัด 4.นายมงคล เข็มทอง อายุ 37 ปี เจ้าหน้าที่ “ปอเต็กตึง้ ” ถูกยิงทีห่ น้าอกข้างขวา 5.นายสุวนั ศรีรกั ษา อาชีพช่างก่อสร้าง ท�ำหน้าทีก่ าร์ด “นปช.” ถูกยิงทีห่ น้าอกซ้าย 6.นายอัฐชัย ชุมจันทร์ อายุ 28 ปี นิติศาสตร์บัณฑิต รามค�ำแหง ท�ำหน้าที่ช่วย ดูแลแจกอาหารแก่ประชาชน ถูกยิงด้วยอาวุธสงคราม กระสุนเข้าด้านหลัง ทะลุหน้าอก นี่คือ ผลงานความอ�ำมหิตของมนุษย์ใจเดรัจฉาน

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 37


ชายชุดด�ำ “คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ” นี้ มีประเด็นเรื่อง “ชายชุดด�ำ” เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เพราะฝ่ายทหารและผู้ต้องหาอ้างว่า เหตุที่เกิดขึ้นเป็นเพราะการกระท�ำของผู้ก่อการร้าย ชายชุดด�ำ...

คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่ง ชาติ (คอป.) รายงานเรื่อง “คนชุดด�ำ” หรือ “ชายชุดด�ำ”

หลังจากเกิดเหตุการณ์เดือนเมษายน – พฤษภาคม 2553 มีประชาชนถูกฆ่าตาย 99 คน และบาดเจ็บอีกประมาณ 2,000 คนแล้ว รัฐบาลได้แต่งตั้งคณะกรรมการอิสระ ตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ขึ้น โดยมี ดร.คณิต ณ นคร อดีตอัยการสูงสุด เป็นประธาน ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ ตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อความปรองดองแห่งชาติ ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2553 “คอป.”ได้ท�ำรายงานสรุปเหตุการณ์ความรุนแรงและการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วรวม 269 หน้า แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้น เกี่ยวกับ “คอป.” ส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เป็นเรื่องของสาเหตุและรากเหง้าแห่งปัญหา ส่วนที่ 4 แนวทางเยียวยาและส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

คณะ “คอป.” ได้แถลงรายงานของ “คอป.” แก่ประชาชน เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2555

ในรายงานของ “คอป.” ส่วนที่ 2 เรื่องสาเหตุและรากเหง้าแห่งปัญหา ในข้อ ว่าด้วยความรุนแรงในเหตุการณ์สี่แยกคอกวัวและหน้าโรงเรียนสตรีวิทยา ได้สรุป เหตุการณ์ไว้ว่า ในวันที่ 10 เมษายน 2553 กลุ่มผู้ชุมนุม “นปช.” เป็นจ�ำนวนมาก ได้ ชุมนุมอยู่บริเวณถนนราชด�ำเนินกลาง บริเวณถนนตะนาว ถนนข้าวสาร ถนนดินสอ สี่แยกคอกวัว วงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยและบริเวณหน้าโรงเรียนสตรีวิทยา เวลา ประมาณ 17.00 น. เจ้าหน้าที่ทหารเคลื่ อ นก� ำ ลั ง เพื่ อ สลายการชุ ม นุ ม บริเวณพื้นที่ ราชด�ำเนินกลาง ฝ่ายทหารได้ใช้เฮลิคอปเตอร์บนิ วนทิง้ แก๊สน�ำ้ ตาและโปรยใบปลิวใส่ผชู้ ุมนุม 38 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ผู้ชุมนุมโกรธแค้นใช้ไม้ อิฐ ขวดน�้ำปะทะกับฝ่ายทหาร และเวลาประมาณ 19.00 น. มี ผู้ยิงระเบิดเอ็ม 79 ไปที่แนวทหาร ถนนตะนาว ฝ่ายทหารจึงใช้อาวุธปืนยิงโต้ตอบ ผลปรากฏว่า พลเรือนเสียชีวิต 8 คน ทหารเสียชีวิต 1 คน รวมเสียชีวิต 9 คน ส่วนเหตุการณ์ที่หน้าโรงเรียนสตรีวิทยา พลเรือนเสียชีวิต 11 คน ทหารเสีย ชีวติ 4 คน รวมผูเ้ สียชีวติ บริเวณสีแ่ ยกคอกวัว และหน้าโรงเรียนสตรีวทิ ยา รวม 24 คน เป็นพลเรือน 19 คน ทหาร 5 คน นอกจากนี้ “คอป.” ยังได้ระบุในรายงานเกี่ยวกับ “คนเสื้อด�ำ” ไว้ในรายงานข้อ 2.3.2.6 ว่าด้วยการ “ปรากฏตัวของคนเสื้อด�ำ” ดังต่อไปนี้... 2.3.2.6 การปรากฏตัวของคนชุดด�ำ 1) มีผู้ชุมนุมบางคนใช้ผ้าปกปิดใบหน้า ผู้ปกปิดใบหน้าบางคนปีนขึ้นไปใช้ถุง ด�ำคลุมหรือหันกล้องซีซีทีวีบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยไปในทิศทางที่ไม่สามารถ บันทึกภาพเหตุการณ์ได้ ทางศอฉ.เห็นว่า เป็นการกระท�ำอย่างมีแผนการ เพื่อจะปกปิด การกระท�ำผิดกฎหมายของผู้ชุมนุม ขณะที่นปช.อธิบายว่าเพื่อไม่ให้เจ้าหน้าที่ล่วงรู้ความ เคลื่อนไหวของผู้ชุมนุม เป็นการป้องกันไม่ให้เจ้าหน้าที่เข้าสลายการชุมนุม 2) พบการปรากฏตัวของคนชุดด�ำ พร้อมอาวุธสงคราม 5 คน อยู่ในที่ชุมนุม ในจ�ำนวนนี้มีผู้ใกล้ชิดกับ พล.ต.ขัตติยะ สวัสดิผล (เสธ.แดง) ด้วยผู้สื่อข่าวต่าง ประเทศคนหนึ่ง พบเห็นกลุ่มบุคคลดังกล่าวถืออาวุธ ปลย.ชนิดเอเค 47 และชนิ ด เอ็ ม 16 เครื่องยิงลูกระเบิดชนิดเอ็ม 79 และปืนพก ที่บริเวณปากซอยข้างร้านแมคโดนัลด์ ที่เชื่อมต่อไปออกถนนตะนาว ตรงด้านหลัง อาคารส� ำ นั ก งานสลากกิ น แบ่ งรั ฐ บาล (ซอยหลังอาคารกองสลากเก่า) ถนนราชด�ำเนินกลาง โดยพบเมือ่ เวลาประมาณ 17.30 น. ก่อนที่ทหารบนถนนตะนาว และบนถนนดินสอจะถู ก โจมตี ด้ วยอาวุ ธสงครามไม่ นาน นอกจากนี้ในช่วงเหตุการณ์ปะทะกัน เจ้าหน้าที่ต�ำรวจฝ่ายสืบสวนของกองบังคับการ ต�ำรวจนครบาล 6 พบคนชุดด�ำจ�ำนวน 4 คน ถืออาวุธ ปลย.ชนิดเอเค 47 และ ปลย. ไม่ทราบชนิด เดินออกมาจากถนนตะนาว ฝั่งอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา เข้าไปในกลุ่มผู้ ชุมนุมที่บริเวณที่สี่แยกคอกวัวและหลังจากเหตุการณ์รุนแรง เจ้าหน้าที่ต�ำรวจคนดัง กล่าวได้ยดึ อาวุธเครือ่ งยิงลูกระเบิดชนิดเอ็ม 79 จากคนชุดด�ำ ทีบ่ ริเวณสีแ่ ยกคอกวัว คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 39


ได้จ�ำนวน 1 กระบอก หลังเกิดเหตุรุนแรงบริเวณถนนตะนาว เวลา 20.37 น. มีนัก ข่าวชาวต่างประเทศคนหนึ่ง พบคนชุดด�ำถืออาวุธ ปลย.ชนิดเอเค 47 ในบริเวณ เดียวกันและได้ถ่ายภาพไว้ด้วย ยังปรากฏภาพถ่ายคนถืออาวุธ ปลย.ชนิดเอ็ม 16 ยืน อยู่ปะปนกับกลุ่มผู้ชุมนุมในช่วงเกิดเหตุรุนแรง สอดคล้องกับค�ำบอกเล่าของอาสาสมัคร กู้ชีพคนหนึ่งซึ่งอยู่ในเหตุการณ์ นอกจากนี้ เวลาประมาณ 19.00 น. ก่อนที่เจ้าหน้าที่ ทหารจะถูกโจมตีด้วยระเบิด มีผู้พบเห็นรถตู้สีขาวขนคนชุดด�ำสองสามคนพร้อมอาวุธ สงครามมาส่งลงบริเวณวงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ด้านร้ า นหนั ง สื อ เมื อง โบราณและร้านเมธาวาลัย (ศรแดง) โดยมีการ์ด นปช.คอยห้อมล้อมเดินไปทางร้าน แมคโดนัลด์ หัวมุมถนนดินสอติดกับโรงเรียนสตรีวิทยา เข้าไปในกลุ่มผู้ชุมนุม โดยการ์ด นปช.ห้ามมิให้ใครถ่ายรูปและมีผู้ชุมนุมบางคนพูดว่า “ส่งคนมาช่วยแล้ว” แต่ถูกการ์ด นปช.ห้ามไม่ให้พูด ยังปรากฏภาพรถตู้สีขาวในกล้องวงจรปิด บริเวณวงเวียนสี่กั๊กพระยา ศรี 2 ครั้ง ระบุเวลา 20.19 น. และอีกครั้งในเวลา 21.01 น. และยังปรากฏภาพคน ชุดด�ำถือเครื่องยิงลูกระเบิดเอ็ม 79 ยืนอยู่ข้างรถตู้สีขาวจอดอยู่ในบริเวณที่มีผู้ชุมนุม อยู่ แต่ไม่สามารรถยืนยันแหล่งที่มาของภาพได้ เจ้าหน้าที่ทหารคนหนึ่งให้ข้อมูลว่า หลัง เหตุการณ์ความรุนแรง มีรถตู้สีขาวซึ่งมีกลุ่มคนชุดด�ำมีอาวุธสงครามโดยสารมาด้วย ขับผ่านมาที่บริเวณหน้าวัดตรีทศเทพ คนในรถโผล่หน้าออกมาเยาะเย้ยทหารที่ได้รับบาด เจ็บ โดยเจ้าหน้าที่ทหารคนหนึ่งยืนยันว่า เห็นชายฉกรรจ์พร้อมอาวุธสองสามคนนั่งอยู่ใน รถคันดังกล่าว 2.3.2.7 ความรุนแรงในเหตุการณ์สี่แยกคอกวัว 1) ในเวลาประมาณ 17.00 น. ถึง 18.00 น. ระหว่างเจ้าหน้าที่ทหารเข้าควบคุม พื้นที่บนถนนตะนาว และถนนข้าวสารมุ่งหน้าสี่แยกคอกวัว เกิดการกระทบกระทั่งกัน ระหว่างเจ้าหน้าที่ทหารกับกลุ่มผู้ชุมนุม ทหารตั้งแถวผลักดันผู้ชุมนุม โดยใช้โล่ กระบอง ปืนลูกซอง แถวหลังมี ปลย. (ปืนเล็กยาว) ขณะที่ผู้ชุมนุมขัดขวางเจ้าหน้าที่ โดยใช้ขวดน�้ำ และสิ่งเทียมอาวุธต่างๆ มีการใช้อาวุธมีด และปืนพกไม่ทราบชนิดท�ำร้ายเจ้าหน้าที่ทหาร ได้รับบาดเจ็บจากการถูกยิงจ�ำนวน 2 นาย และมีการผลักดันกันในลักษณะดังกล่าวอีก หลายครั้ง จนกระทั่งเวลาประมาณ 19.20 น. เมื่อเจ้าหน้าทหารพยายามรุกคืบหน้าไป 40 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ทางสี่แยกคอกวัวโดยใช้แก๊สน�้ำตา แต่ถูกกลุ่มผู้ชุมนุมต้านทานไว้ ด้วยการขว้างปาสิ่งของ ใส่เจ้าหน้าที่ทหาร ประกอบกับแก๊สน�้ำตาถูกลมพัดหวนกลับมาใส่เจ้าหน้าที่ทหาร ท�ำให้ ต้องถอยร่นไปตามถนนตะนาว และถนนข้าวสารดังเดิม 2) จนเมื่อเวลาประมาณ 20.00 น. มีผู้ยิงลูกระเบิดเอ็ม 79 ไปที่แนวเจ้าหน้าที่ ทหารบนถนนตะนาว ขณะที่ผู้ชุมนุมยังคงขว้างปาสิ่งเทียมอาวุธ และระเบิดเพลิงใส่เจ้า หน้าที่ทหารและพบว่ามีกระสุนปืนความเร็วสูง ถูกยิงจากทิศทางที่เจ้าหน้าที่ทหารปฏิบัติ หน้าที่อยู่มาทางสี่แยกคอกวัว จากการตรวจสอบพบว่า มีคนชุดด�ำ สองสามคนที่ ปะปนกั บ กลุ ่ ม ผู ้ ชุ ม นุม บริเวณหน้ า ร้ า นเบอร์เกอร์คิงส์ บนถนนตะนาวและบริเวณสี่แยกคอกวัวได้ใช้อาวุธ สงครามรวมทั้ง ปลย.ชนิดเอเค 47 ยิงไปทางวงเวียนวัดบวรนิเวศน์วิหารและไปทาง ถนนข้าวสารที่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการอยู่ มีหลักฐานเป็นภาพถ่ายคลิปวิดีโอ ประจักษ์ พยาน และมีภาพคลิปวิดีโอคนชุดด�ำที่ปะปนอยู่กับผู้ชุมนุม ยิงปลย.ชนิดเอเค 47 ไปยังสิ่ง ต้องสงสัยว่าเป็นคนซุ่มยิง ตรงระเบียงชั้นสามของอาคารส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ซึ่งตั้งอยู่ตรงปากถนนตะนาวต่อกับถนนราชด�ำเนิน จากการตรวจสอบในเวลาต่อมาพบว่าน่าจะเป็นภาพของต้นปาล์มและที่ปรากฏ เป็นเหมือนควันออกจากปลายกระบอกปืนนั้น น่าจะเป็นฝุ่นของผนังปูนของอาคารที่ แตกฟุ้งกระจายออกมาเมื่อถูกยิงด้วยกระสุนปืน กองพิสูจน์หลักฐานพบรอยกระสุนบน ก�ำแพงขอบระเบียงดังกล่าวหลายจุด โดยพบหลักฐานว่า บางจุดเป็นรอยที่ถูกยิงด้วยลูก กระสุน ปลย.ชนิดเอเค 47 พบร่องรอยกระสุน ปลย.ยิงจากสี่แยกคอกวัวไปในถนนตะนาว ทิศทางวงเวียนวัดบวรนิเวศน์วิหารและในทิศทางกลับกันและยิงจากถนนตะนาวเข้าไป ในถนนข้าวสาร มีทั้งในแนวเฉียงขึ้นและในแนวระนาบ ไม่พบร่องรอยกระสุนที่ยิงลงมา จากที่สูง เจ้าหน้าที่กลุ่มงานตรวจสถานที่เกิดเหตุ กองพิสูจน์หลักฐานกลาง ส�ำนักงาน ต�ำรวจแห่งชาติ พบหลุมระเบิดทั้งบนผิวจราจรและทางเท้าของถนนตะนาว ตั้งแต่บริเวณ แยกถนนข้าวสารไปจนถึงวงเวียนวัดบวรนิเวศน์วิหารทั้งสิ้น 8 จุด แต่ไม่สามารถยืนยัน ได้ว่าเป็นระเบิดชนิดใด นอกจาก นี้เจ้าหน้าที่กลุ่มงานตรวจอาวุธปืน กองพิสูจน์หลัก ฐานกลางยังพบรอยกระแทกและรอยสะเก็ดที่สามารถยืนยันได้ว่า เกิดจากลูกระเบิดเอ็ม คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 41


79 อีกจ�ำนวน 2 จุด ที่ฝาปิดกระบะท้ายรถยนต์บรรทุกเล็กและป้ายโฆษณาสายการบิน แอร์เอเชียที่แขวนอยู่หน้าอาคารพาณิชย์ โดยมีวิถีการยิงจากสี่แยกคอกวัวไปทางวงเวียน วัดบวรนิเวศน์วิหารและยังพบร่องรอยที่เกิดจากสะเก็ดระเบิดอีกหลายแห่ง เหตุการณ์ รุนแรงที่สี่แยกคอกวัว ท�ำให้เจ้าหน้าที่ทหารเสียชีวิต 1 นาย จากสะเก็ดระเบิดเอ็ม 79 คือ ส.อ.อนุพนธ์ หอมมาลี มีเจ้าหน้า ที่ทหารหลายคนบาดเจ็บจากสะเก็ดระเบิด และ 28 นายบาดเจ็บจากลูกกระสุนปืนเล็กยาวด้วย 3) ในสภาพที่ มี ก ารชุ ล มุ น จากการที่ เจ้ า หน้ า ที่ ท หารถู ก โจมตี ด ้ ว ยอาวุ ธ สงครามโดยคนชุดด�ำ ปรากฏภาพวิดีโอและประจักษ์พยานว่า เจ้าหน้าที่ทหารที่อยู่บน ถนนตะนาวด้านวงเวียนวัดบวรนิเวศน์วิหารและในถนนข้าวสาร ยิงปลย.ไปทางสี่แยก คอกวัว และกองพิสูจน์หลักฐานกลางพบร่องรอยจ�ำนวนมาก กระสุนจริงที่ยิงจาก ปลย. มาจากทิศทางที่ทหารปฏิบัติการอยู่ ทั้งการยิงในแนวเฉี ย งขึ้น และในแนวระนาบมายัง บริเวณสี่แยกคอกวัวที่มีผู้ชุมนุมอยู่และการปรากฎตัวของคนชุดด�ำอยู่ มีร่องรอยกระสุน ที่ยิงจากทิศทางดังกล่าวไปยังอาคารและระเบียงอาคารส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ซึ่งเป็นจุดเดียวกับที่ปรากฏภาพวิดีโอของสิ่งต้องสงสัยว่าเป็นคนซุ่มยิง ดังที่ได้กล่าวแล้ว ในข้อ 2.3.2.7 (2) เหตุการณ์สี่แยกคอกวัวมีผู้ชุมนุมเสียชีวิตจากกระสุนปืนอย่างน้อย 8 คน คือ นายสวาท วางาม, นายเทิดศักดิ์ ฟุ้งกลิ่นจันทร์, นายธวัฒนะชัย กลัดสุข, นาย ไพรศล ทิพย์ลม, นายอ�ำพน ตติยรัตน์, นายอนันต์ สิริกุลวาณิชย์, นายบุญธรรม ทองผุย, นายสมศักดิ์ แก้วสาร และผู้ชุมนุมบาดเจ็บจ�ำนวนมาก...” สรุปก็คือ “คอป.” รายงานว่า ในวันที่ 10 เมษายน 2553 เวลากลางวันติดต่อกับ เวลากลางคืน มีชายชุดด�ำประมาณ 5 คน มีอาวุธปืนร่วมอยู่ในผู้ชุมนุม ที่บริเวณสี่แยก คอกวัวด้วย ในระยะเวลาก่อนที่ฝ่ายทหารกับฝ่ายผู้ชุมนุมเกิดปะทะกัน จนมีผู้เสียชีวิต หลายคน

“นปช.” ไม่เห็นด้วยกับรายงานของ “คอป.” เกี่ยวกับเรื่อง “ชายชุดด�ำ” (คนเสื้อด�ำ) และยืนยันว่า “นปช.” ไม่มีชายชุดด�ำ

หลังจาก “คอป.” ได้จัดท�ำรายงานดังกล่าวแล้ว ฝ่าย “นปช.” เห็นว่า รายงาน ของ “คอป.” ไม่น่าเชื่อถือ เพราะในกลุ่ม “นปช.” ไม่มีคนเสื้อด�ำหรือชายชุดด�ำ มีแต่ 42 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


“คนเสื้อแดง” นอกจากนี้ “นปช.” ยังได้ท�ำรายงานข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นด้วย โดยระบุว่า “นปช.” ไม่มี “คนเสื้อด�ำ” หรือ “ชายชุดด�ำ” และระบุด้วยว่า “นปช.” ถูกฝ่ายทหารยิง ฆ่าฝ่ายเดียว

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่อง “ชายชุดด�ำ”

ผู้ที่มาชุมนุมจะมี “ชายชุดด�ำ” หรือไม่ เป็นเรื่องข้อเท็จจริงที่จะต้องพิสูจน์กัน ด้วยพยานหลักฐานในชั้นสอบสวนและชั้นศาลต่อไป ฝ่ายทหารและผู้ต้องหาอ้างว่ามีชาย ชุดด�ำ ทหารและผู้ต้องหา ก็ต้องน�ำพยานบุคคล พยานเอกสารมาสืบพิสูจน์ว่า มีชายชุด ด�ำจริง ฝ่าย “นปช.” อ้างว่า “ไม่มชี ายชุดด�ำ” ก็ตอ้ งเอาพยานมาสืบพิสจู น์สกู้ นั ต่อไป ฝ่ายผู้เสียหายอาจพิสูจน์และอ้างว่า “ไม่มีชายชุดด�ำ” เพราะถ้ามีจริง ต�ำรวจ ก็ต้องจั บ กุ ม ชายชุ ด ด� ำ มาด� ำ เนิ น คดี ไ ด้ แล้วและผู้เสียหายอาจอ้ า งต่ อ ไปว่ า แม้ ใ นการ ไต่สวนชันสูตรพลิกศพผู้ตายเพื่อพิสูจน์ว่าผู้ตายคือใคร ? ตายที่ไหน ? เมื่อใด ? และ เหตุพฤติการณ์แห่งการตายตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 ศาลอาญาได้สั่งคดีไต่สวนชันสูตรผู้ตายแล้วหลายคดี คือ คดีที่ 1 นายพัน ค�ำ กอง (ผู้ตาย) คดีที่ 2 นายชาญณรงค์ พลศรีลา (ผู้ตาย) คดีที่ 3 นายชาติชาย ชาเหลา (ผู้ตาย) คดีที่ 4 เด็กคุณากร ศรีสุวรรณ (ผู้ตาย) และคดีที่ 5 นายบุญมี เริ่มสุข (ผู้ตาย) การพิจารณาคดี และค�ำสัง่ คดีของศาลอาญาดังกล่าว ไม่ปรากฏ “คนเสือ้ ด�ำ” หรือ ชายชุดด�ำ” ในค�ำสั่งของศาลอาญาแต่อย่างใด การที่จะพิสูจน์ว่ามีชายชุดด�ำอยู่ในกลุ่มผู้ชุมนุมหรือไม่ จึงเป็นเรื่องข้อเท็จจริงที่ จะต้องพิสูจน์สู้กันในชั้นการพิจารณาคดีของศาลต่อไป

“ชายชุดด�ำ” จะมีผลต่อคดีฆ่าประชาชน 99 ศพ หรือไม่ ?

เอาละ... สมมุติฟังได้ว่ามี “ชายชุดด�ำ” ดังที่ฝ่ายจ�ำเลยกล่าวอ้าง จ�ำเลยอาจ อ้างว่า “ชายชุดด�ำ” เป็น “กองก�ำลังไม่ทราบฝ่าย” เป็น “ผู้ก่อการร้าย” แฝงตัวอยู่ใน กลุ่มผู้ชุมนุม ฝ่ายทหารจึงต้องยิง “ชายชุดด�ำ” เพื่อท�ำลาย “ผู้ก่อการร้าย” ก็สู้กันไป แต่ ประเด็นที่ว่า เหตุการณ์ฆ่าประชาชน 6 ศพ ที่วัดปทุมฯ น่ะ ตอนนั้นเลิกชุมนุมกันแล้วนะ ประชาชนเขาหลบหนีเข้าไปพึ่งวัดในเขตอภัยทาน มีพยาบาล มีปอเต็กตึ๊งคอยช่วยเหลือ คนป่วยเจ็บอยู่ในวัด แล้วประชาชนถูกยิงตายอย่างทารุณถึง 6 ศพในวัด ในเขตอภัยทาน คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 43


น่ะ ถามว่าตอนนั้นมี “ชายชุดด�ำ” รึเปล่า หรือมีแต่ “ชายชุดเหลือง” (พระ) กับ “หญิง ชุดขาว” (ชี) อยู่ในวัดกับ “คนเสื้อแดง” ที่หนีตาย... ถึงค�ำถามนี้แล้ว ไม่ทราบว่าคนร้ายที่ยิงชาวบ้านตายในวัดปทุมฯ 6 ศพ และ จ�ำเลยในคดีนี้จะตอบค�ำถามนี้ได้อย่างไรว่า “เจ้าหน้าที่ต้องยิง “ชายชุดด�ำ” ในวัด” เพราะในวัดไม่มีใครเห็น “ชายชุดด�ำ” เลยซักคน นอกจากเห็น “คนใจด�ำ” ยิงคนตาย ในเขตอภัยทานเท่านั้น ดังนั้น การจะมี “ชายชุดด�ำ” ในกลุ่มผู้ชุมนุมจะล้างความผิดฐานฆ่าประชาชน 99 ศพได้นั้น มีอยู่ทางหนึ่งที่พอจะสู้คดีได้ คือ ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า “ข้าพเจ้าได้ยิงคนตาย 99 ศพนี้ เพราะชายชุดด�ำเป็นพวกผู้ก่อการร้าย ข้าพเจ้าตั้งใจจะฆ่าชายชุดด�ำ แต่กระสุน พลาดไปถูกประชาชนตายถึง 99 ศพ ข้าพเจ้าฆ่าคนตายเพราะต้องป้องกันตัวโดยชอบ ด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 จึงไม่ผิดกฎหมายอะไร แต่กระสุน พลาดไปถูกประชาชนตายโดยไม่มีเจตนาฆ่าประชาชนทั้งเก้าสิบเก้าศพ” แต่ใครที่อ้าง อย่างนี้ได้ เขาจะต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า “ชายชุดด�ำ” เป็น “ผู้ก่อการร้าย” เป็น “กองก�ำลัง ไม่ทราบฝ่าย” และ “ชายชุดด�ำ” เหล่านี้ ก�ำลังจะฆ่าทหาร หรือจะฆ่าประชาชน ทหาร จึงต้องฆ่าชายชุดด�ำก่อน เพื่อป้องกันตัวเอง และป้องกันชีวิตของประชาชน นีค่ อื กลยุทธ์การสูค้ ดีของผูต้ อ้ งหา หรือจ�ำเลย ในคดีฆา่ ประชาชน 99 ศพ แต่ถ้าท่านใด ท�ำผิดจริง ขอแนะแนะน�ำด้วยความปรารถนาดีว่า “รับสารภาพ ซะดีกว่า” เพราะศาลอาจจะลดโทษให้ถึงครึ่งหนึ่ง คือ ลดโทษ จากประหารชีวิต 99 ครั้ง 99 คดี เป็นเหลือจ�ำคุกตลอดชีวิต รวม 99 คดี คือ จ�ำคุกตลอดชีวิตรวม 99 ชีวิต 99 ชาติ

44 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 45


ไอ้พวกเผาบ้านเผาเมือง การที่ “ศอฉ.” สั่งให้ทหารกระชับพื้นที่บริเวณถนนราชประสงค์ ซึ่งกลุ่มคนเสื้อ แดง (นปช.) ชุมนุมอยู่ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 และกลุ่ม “นปช.” ได้สั่งสลาย การชุมนุมแล้ว ได้มีกลุ่มคนร้าย (ไม่ทราบ ฝ่าย) บุกเข้าไปในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และห้างเซน ใช้ถังแก๊ส น�้ำมัน ยางรถยนต์เผาห้างดังกล่าว เป็นเหตุให้ห้างฯ เซ็นทรัลเวิลด์ และห้างเซน ได้รับความเสียหาย ต�ำรวจจับคนร้ายซึ่งมีทั้งเยาวชน และผู้ใหญ่ รวม 4-5 คน ด�ำเนินคดีฐานร่วมกัน วางเพลิงเผาทรัพย์ห้างเซ็นทรัลเวิลด์ ต่อมาเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2555 ศาลเยาวชนและครอบครัว ได้พิพากษา ยกฟ้องจ�ำเลยทั้งสองซึ่งเป็นเยาวชน เพราะพยานหลักฐานไม่พอฟังว่า จ�ำเลยทั้งสอง กระท�ำผิดตามฟ้อง ตามคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 1550/2555 ของศาลเยาวชนและ ครอบครัวกลาง

คนเสื้อแดงถูกกล่าวหาว่าเป็นคนเผาบ้านเผาเมือง

หลังจากการสลายการชุมนุมของคนเสือ้ แดงยุตลิ งแล้ว เมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 และผู้ชุมนุมถูกฆ่าตายถึง 99 ศพ และบาดเจ็บกว่า 2,000 คน และห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลเวิลด์ ห้างเซนในกทม.ถูกวางเพลิงได้รับความเสียหายแล้ว และบรรดาแกนน�ำ ของ “นปช.” หลายคนถูกจับกุมด�ำเนินคดี ฐานร่วมกันเป็นผู้ก่อการร้าย และข้อหาอื่น อีกหลายฐานความผิด ข้างฝ่ายพรรคการเมืองบางพรรค ซึง่ ตรงกันข้ามกับพรรคเพือ่ ไทยก็มกี ารกล่าวหาว่า “พวกเสื้อแดงเป็นพวกเผาบ้านเผาเมือง” ท�ำให้คนในกรุงเทพมหานครเป็นจ�ำนวนมาก เกลียดชังพวกเสื้อแดง เพราะเชื่อค�ำกล่าวหาของคนบางคนว่า “คนเสื้อแดงเป็นคนเผา บ้านเผาเมือง” จึงฝังรอยบาปแก่คนเสื้อแดงตลอดมาว่า “เป็นคนเผาบ้านเผาเมือง” ค�ำกล่าวหาว่า “คนเสื้อแดงเป็นคนเผาบ้านเผาเมือง” เลยกลายเป็นข้อกล่าวหา ในทางการเมือง เพราะคนเสื้อแดง (นปช.) เป็นพวกสนับสนุนพรรคเพื่อไทย ท�ำให้เห็นว่า พรรคเพื่อไทยไดรับความเสียหาย เพราะมีพวกที่เผาบ้านเผาเมืองร่วมอยู่ด้วย 46 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ตัวอย่างที่เห็นผลกับข้อกล่าวหา “คนเสื้อแดงเผาบ้านเผาเมือง” ก็คือ การเลือก ตั้งผู้ว่า กทม. เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 เป็นการต่อสู้ระหว่างสองพรรคใหญ่ คือ พรรค ประชาธิปัตย์ และพรรคเพื่อไทย พรรคประชาธิปัตย์ส่ง ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ลง แข่งขัน พรรคเพื่อไทยส่ง พล.ต.อ.พงศพัศ พงษ์เจริญ ลงแข่งขัน มี สส.พรรคประชาธิปัตย์ คนหนึง่ โพสต์ภาพไฟไหม้อยูข่ า้ งหลังภาพของ พล.ต.อ.พงศพัศฯ กับพวก ขณะออกหาเสียง ออกเผยแพร่ทางสื่อมวลชน เพื่อแสดงให้เห็นว่า พล.ต.อ.พงศพัศฯ กับพวกของพรรค เพื่อไทยเป็นพวกเผาบ้านเผาเมือง ท�ำให้ประชาชนรู้สึกเกลียดชังว่า พล.ต.อ.พงศพัศฯ กับพวกเป็นพวกเผาบ้านเผาเมือง และในที่สุด พล.ต.อ.พงศพัศฯ แห่งพรรคเพื่อไทยก็แพ้ การเลือกตั้งกับ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ แห่งพรรคประชาธิปัตย์ ส่วนหนึ่งก็มาจากข้อกล่าวหา... “คนเสื้อแดงเป็นพวกเผาบ้านเผาเมือง...” ข้อกล่าวหาว่า คนเสือ้ แดงเป็นพวกเผาบ้านเผาเมือง จึงติดตัวคนเสือ้ แดงตลอดมา ครั้นต่อมา ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางได้พิพากษายกฟ้อง ปล่อยตัวจ�ำเลย ทัง้ สองคน ซึง่ เป็นเยาวชน ท�ำให้ขอ้ หาคนเสือ้ แดง “เป็นคนผาบ้านเผาเมือง” นัน้ อ่อนลง เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 ศาลแพ่งได้พิพากษาคดีแพ่ง ระหว่าง บริษัทเซ็นทรัล เวิลด์ จ�ำกัด กับ พวก โจทก์, บริษัทเทเวศประกันภัย (จ�ำกัด) จ�ำเลย ฐานผิดสัญญาประกัน วินาศภัย กรณีเผาห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์และห้างสรรพสินค้าเซน ในวันที่ยุติการ ชุมนุมของคนเสื้อแดง เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 โดยศาลแพ่งวินิจฉัยว่า... “... เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ฟังไม่ได้ว่าเป็นการก่อการร้าย...” หมายความว่า การเผาห้างเซ็นทรัลเวิลด์ และห้างเซน ไม่ใช่เป็นการกระท�ำของ ผู้ก่อการร้าย ท�ำให้ข้อกล่าวหาต่อแกนน�ำของคนเสื้อแดง ฐานร่วมกันเป็นผู้ก่อการร้ายใน คดีอาญานั้นอ่อนลงไปอีก ซึ่งฝ่ายแกนน�ำคนเสื้อแดงที่ถูกด�ำเนินคดี ฐานเป็นผู้ก่อการร้าย ในคดีอาญา จะต้องไปพิสูจน์ความบริสุทธิ์ในคดีอาญาต่อศาลอาญาต่อไป แม้ถึงวันนี้วาทกรรมทางการเมืองที่ว่า “คนเสื้อแดงเป็นพวกเผาบ้านเผาเมือง” ก็ยังคงเสียดแทงหัวใจของคนเสื้อแดงต่อไป จนกว่าศาลจะพิพากษาถึงที่สุดว่า... “คนเสื้อแดงไม่ใช่คนเผาบ้านเผาเมือง” หมดข้อหานี้ อาจมีข้อหาใหม่ส�ำหรับคนเสื้อแดงก็ได้ เช่น... “คนเสื้อแดงเป็นพวกท�ำลายโลก”ข้อหานี้... เท่ห์ดีมั้ยครับท่าน... คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 47


48 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


สรุปย่อค�ำพิพากษาศาลแพ่ง คดีเผาเซ็นทรัลเวิลด์ สรุปย่อค�ำพิพากษาศาลแพ่ง คดีหมายเลขด�ำที่ ผบ.4326/2554 ดังนี้... หมายเลขด�ำที่ ผบ.4326/2554

ระหว่าง

1.กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 2.บริษัทเซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด 3.บริษัทเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด 4.บริษัทห้างเซ็นทรัล ดีพาร์ทเม้นสโตร์ จ�ำกัด

โจทก์

บริษัทเทเวศประกันภัย (จ�ำกัด)

จ�ำเลย

ฐานผิดสัญญาประกันวินาศภัย และสัญญาประกันภัยธุรกิจหยุดชะงักเรียกค่า สินไหมทดแทน ทุนทรัพย์ 3,838,296,969 บาท เหตุที่เกิด เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 กรณีไฟไหม้ห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลเวิลด์ระหว่างการกระชับพื้นที่ของศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ในการชุมนุมทางการเมืองของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่ง ชาติ (“นปช.”) โจทก์ฟ้องสรุปว่า โจทก์ทั้งสี่และส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ รวม ทั้งบริษัท อิเซตัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ท�ำสัญญาประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิด (Indusstrial All Risks) และสัญญาประกันภัยธุรกิจหยุดชะงักไว้กับบริษัทเทเวศประกัน ภัย จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำเลย โดยมีศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และร้านค้าเป็นสถานที่เอา ประกันภัยตามกรมธรรม์มีส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้รับประโยชน์ ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ วงเงินประกันภัย จ�ำนวน 13,224,000,000 บาท คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 49


โดยกรมธรรม์จะแตกต่างจากสัญญาประกันอัคคีภัยธรรมดากล่าวคือ ครอบคลุม ถึ ง ความเสี่ ย งภั ย ทุ ก ชนิ ด ไม่ ว ่ า ความเสี่ ย งนั้ น จะเกิ ด จากไฟไหม้ ฟ้าผ่า ภัยลมพายุ ภัยระเบิด ภัยจากควัน ภัยเนื่องจากน�้ำ รวมถึงระบบเครื่องพรมน�้ำดับเพลิงรั่วไหล ภัยจากการนัดหยุดงาน การจลาจล หรือการกระท�ำอันมีเจตนาร้าย และอุบัติเหตุจาก สาเหตุภายนอกอื่น จ�ำเลยซึ่งตกลงรับประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิดให้แก่โจทก์ทั้งสี่ และ ส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ รวมทั้งบริษัทอิเซตันฯ ต้องรับผิดชอบทุกกรณี เว้นแต่ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นนั้น เข้าข้อยกเว้นตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์เท่านั้น ทั้ ง นี้ ต ามกรมธรรม์ มี ข ้ อ ยกเว้ น ไม่ คุ ้ ม ครองกรณี ค วามเสี ย หายอั น เป็ น ผล โดยตรงหรือโดยอ้อมมาจากหรือสืบเนื่องจากเหตุการณ์ก่อความไม่สงบของประชาชน ถึงขนาดลุกฮือต่อต้านรัฐบาล การกบฏ การปฏิวัติ การยึดอ�ำนาจ การปกครองโดยทหาร แต่ถ้าทรัพย์สินที่เอาประกันภัยได้รับความเสียหายอันเกิดจากอัคคีภัยแม้ว่าอัคคีภัย จะเป็นผลโดยตรงหรือโดยอ้อมมาจากหรือสืบเนื่องจากเหตุการณ์การก่อการร้าย กรมธรรม์นี้ก็ยังให้การคุ้มครอง ข้อยกเว้นความคุ้มครองของกรมธรรม์ในเรือ่ งภัยก่อการ ร้าย จึงไม่ใช้บงั คับกับความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากอัคคีภัย จ�ำเลยให้การปฏิเสธอ้างว่าเหตุเพลิงไหม้เกิดจากการก่อการร้ายซึ่งกรมธรรม์ จะไม่คุ้มครอง ศาลมีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยว่าความเสียหายที่โจทก์ได้รับเป็นข้อยกเว้นตาม กรมธรรม์ประกันภัยหรือไม่ ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า ทางน�ำสืบของจ�ำเลยไม่ปรากฏชัดว่าเป็นการกระท�ำ ของผู ้ เข้ า ร่ ว มชุ ม นุ ม คนใดหรื อ สั่ ง การจากแกนน� ำ ส่ ว นที่ แ กนน� ำ กลุ ่ ม คนเสื้ อ แดง ปราศรัยมีเนื้อหาส่งเสริมความรุนแรงนั้น ถ้ามีการท�ำร้ายคนเสื้อแดงจะเกิดความรุนแรง ขึ้น แต่ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า รัฐบาลจะสลายการชุมนุมเมื่อใด การปราศรัยจึงเป็นการ ป้องกันเพื่อไม่ให้มีการสลายการชุมนุม ส่วนที่รัฐบาลประกาศให้ยุติการชุมนุมแต่ผู้ชุมนุม ไม่ได้ยุติและก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น จะมีความผิดเกี่ยวกับกฎหมายใด ย่อมเป็น อีกเรื่องหนึ่ง จะเห็ น ได้ วา่ กลุม่ คนร้ายที่ บุก รุ ก และเผาทรั พ ย์ ใ นห้ า งสรรพสิ น ค้ า เซน มีจ�ำนวนไม่มาก ใช้วิธีการไม่สลับซับซ้อน ไม่ได้ใช้ทักษะพิเศษใดๆ ที่เป็นความช�ำนาญ 50 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ส�ำหรับถังแก๊ส น�้ำมัน ยางรถยนต์ หยิบฉวยได้ในบริเวณใกล้เคียง ความเสียหายที่เกิดขึ้น ไม่ได้ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศตกต�่ำ ที่ส�ำคัญขณะเผาห้างเซน แกนน�ำก็ประกาศ ยุติการชุมนุมแล้วคนร้ายที่เผาห้างสรรพสินค้าเซน ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มใดก็มิได้ต้องการ ให้ข่มขู่รัฐบาลยุบสภาหรือนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ลาออกจากนายกรัฐมนตรี จึงไม่ใช่ เป็นการกระท�ำทีห่ วังผลทางการเมือง เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ฟังไม่ได้วา่ เป็นการ ก่อการร้าย อย่างไรก็ดี การกระท�ำดังกล่าวเป็นการไม่น�ำพาต่อค�ำสั่งรัฐบาล ก่อให้เกิดความ ปั่นป่วนวุ่นวาย ไม่มีระเบียบจนไม่สามารถควบคุมได้ ถือได้ว่าอยู่ในความหมายของค�ำ ว่า “จลาจล” เมื่อความเสียหายที่โจทก์ได้รับเป็นภัยที่เกิดจากการจลาจล ซึ่งเป็นภัย ที่ได้รับการคุ้มครองจากกรมธรรม์ จ�ำเลยจึงต้องชดใช้ค่าเสียหายทดแทนแก่โจทก์ทั้งสี่ พิพากษาให้จ�ำเลยช�ำระค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ประกันภัยความ เสี่ยงทุกชนิดแก่โจทก์ทั้งสี่ หรือส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นเงิน 2,719,734,975.29 บาท และให้จ�ำเลยช�ำระค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ประกัน ภัยธุรกิจหยุดชะงักให้แก่โจทก์ที่ 1 และ 3 เป็นจ�ำนวนเงิน 989,848,850,01 บาท รวม เป็นเงิน 3,709,583,829.30 บาท และให้จ�ำเลยช�ำระดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของค่าเสียหายทั้งสองแก่โจทก์ทั้งสี่และหรือส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กับ โจทก์ที่ 1 และ 3 ตามล�ำดับ นับแต่วันที่ 31 มีนาคม 2554 ไปจนกว่าจะช�ำระเสร็จ กับให้ จ�ำเลยช�ำระค่าธรรมเนียมต่อศาลในนามโจทก์ก�ำหนดค่าทนายความให้ 60,000 บาท หมายเหตุ – คดีนี้เป็นคดีแพ่ง ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด ฟ้องให้บริษัท ประกันภัยชดใช้ค่าเสียหายกรณีที่ห้างฯ ได้รับความเสียหายเพราะถูกไฟเผา ซึ่งศาลแพ่ง วินิจฉัยว่า เหตุที่เกิดเพราะ “การจลาจล” ไม่ใช่ “การก่อการร้าย” ท�ำให้ข้อกล่าวหาที่ ว่า “พวกเสื้อแดงเป็นผู้ก่อการร้ายและเป็นพวกเผาบ้านเผาเมือง” นั้นอ่อนลง

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 51


สรุปค�ำพิพากษาศาลอาญา คดีเผาเซ็นทรัลเวิลด์ ศาลอาญา ได้พิพากษายกฟ้อง นายสายชล แพบัว จ�ำเลยที่ 1 และนายพินิจ จันทร์ณรงค์ จ�ำเลยที่ 2 ฐานร่วมกันวางเพลิงห้างเซ็นทรัลเวิลด์ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2556 มีข้อความบางตอนในค�ำพิพากษาดังกล่าว ดังต่อไปนี้... ศาลอาญา

ระหว่าง

คดีอาญา

คดีอาญาด�ำที่ ด.2478/2553

พนักงานอัยการ ส�ำนักงานอัยการสูงสุด

โจทก์

นายสายชล แพบัว นายพินจิ จันทร์ณรงค์

จ�ำเลยที่ 1 จ�ำเลยที่ 2

ฐานความผิด ร่วมกันวางเพลิงเผาทรัพย์ห้างฯ เซ็นทรัลเวิลด์และฝ่าฝืนพระราช ก�ำหนด (พ.ร.ก.) การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ค�ำฟ้องโจทก์ (ผู้รวบรวม) อัยการโจทก์ฟ้องว่า เมื่อวันที่ 19 พ.ค.2553 เวลากลางวัน จ�ำเลยทั้งสองกับ พวก ร่วมกันชุมนุมและมั่วสุมกัน บริเวณสี่แยกราชประสงค์ กรุงเทพฯ ซึ่งอยู่ในช่วงเวลา การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง และเข้าไปในบริเวณอาคารห้างสรรพ สินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ใช้ก�ำลังท�ำลายบานกระจกผนังอาคารบานกระจกประตู อาคารเซ็น ทาวเวอร์ อาคารเซ็นทรัลเวิลด์ ที่ตั้งอยู่ภายในบริเวณห้างสรรพสินค้าดังกล่าวจนแตกเสีย หายเป็นการกีดขวางการจราจร ขัดขวางต่อการประกอบกิจการของห้าง ท�ำให้ประชาชนเดือด ร้อนเสียหายและเกรงกลัวอันตรายที่อาจเกิดขึ้นต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน ซึ่งอยู่ในเขต 52 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


พื้นที่ที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง และจ�ำเลยทั้งสองกับพวก ได้ร่วมกันเข้าไปภายในบริเวณอาคารเซ็นทาวเวอร์และอาคารเซ็นทรัลเวิลด์ ที่เป็นทรัพย์ โรงเรือนที่เก็บสินค้าของส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จากนั้นจ�ำเลยกับพวกได้ร่วมกันวางเพลิงเผาทรัพย์ จนท�ำให้เกิดเพลิงลุกไหม้ ลุกลาม เผาอาคารเซ็นทาวเวอร์และเผาทรัพย์สินต่างๆ ของผู้เสียหาย 270 ราย รวมค่า เสียหาย 8,890,578,649.61 บาท และเป็นเหตุให้ นายกิตติพงษ์ หรือกิตติพงษ์ สมสุข ที่อยู่ภายในอาคารดังกล่าวถึงแก่ความตาย เหตุเกิดที่แขวงและเขตปทุมวัน ขอให้ ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33, 83, 91, 217, 218, 224 และพระราช ก�ำหนด (พ.ร.ก.) การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 มาตรา 4, 5, 9, 11 และข้อก�ำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่ง พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ลงวันที่ 7 เม.ย. 2553 และประกาศศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ ฉุกเฉิน เรื่องห้ามมิให้มีการชุมนุมหรือมั่วสุม ลงวันที่ 8 เม.ย.2553 ชั้นพิจารณา จ�ำเลยทั้งสองให้การปฏิเสธ โจทก์น�ำสืบ (ผู้รวบรวม) โจทก์น�ำสืบว่า ระหว่างเดือน มี.ค. – พ.ค. 2553 กลุ่ม นปช.ได้จัดชุมนุม ทางการเมืองที่แยกราชประสงค์ เขตปทุมวัน ซึ่งมีผลท�ำให้ประชาชนไม่สามารถเข้าไปซื้อ สินค้า และบริการภายในห้างสรรพสินค้าเซน และเซ็นทรัลเวิลด์ทไี่ ด้ปดิ บริการชั่วคราว แต่ ยังจัดให้มีการรักษาความปลอดภัย 24 ช.ม. เพื่อดูแลความเรียบร้อยรวมทั้งป้องกันเหตุ เพลิงไหม้ ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวรัฐบาลได้ประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ในพื้นที่กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ห้ามชุมนุมตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป โดยหลังจากที่แกนน�ำประกาศยุติการชุมนุม แล้ว ได้มีกลุ่มคนร้ายใช้ไม้และเหล็กทุบกระจกเข้าไปในห้างเซ็น แล้วใช้ขวดเครื่องดื่ม ชูก�ำลังที่บรรจุน�้ำมันเป็นเชื้อเพลิงจุดไฟโยนเข้าไปในบริเวณชั้น 1 ของห้าง ซึ่งเป็นแผนก เครื่องส�ำอาง น�้ำหอม และเสื้อผ้า ท�ำให้เพลิงไหม้อย่างรวดเร็ว รปภ.ควบคุมเพลิงไหม้ได้ เป็นเหตุให้นายกิติพงษ์ หรือ กิตติพงษ์ สมสุข ถึงแก่ความตาย ซึ่งผลการตรวจพิสูจน์พบ ว่า ส�ำลักควันและขาดอากาศหายใจ

ศาลอาญาพิเคราะห์พยานหลักฐาน (ผู้รวบรวม)

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 53


ศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานแล้ว มีประเด็นต้องวินิจฉัยว่า จ�ำเลยที่ 1 ท�ำผิด ตามฟ้องหรือไม่ เห็นว่าโจทก์มี รปภ.ซึ่งเป็นประจักษ์พยานที่เห็นเหตุการณ์และถ่ายภาพ จ�ำเลยที่ 1 ขณะถือถังดับเพลิงสีเขียวของห้างไว้ได้ เมื่อเวลา 14.00 น. วันที่ 19 พ.ค. เบิกความว่า เห็นจ�ำเลยกับกลุ่มคนร้าย 5-6 คน ใช้ไม้ทุบกระจกเข้ามาภายในห้าง เลย เกิดความหวาดกลัว จึงหลบไปอยู่บนชั้น 3 ระหว่างนั้นได้ถ่ายภาพจ�ำเลยไว้ด้วย ขณะ ที่ พงส.สน.ชนะสงคราม ได้ขอหมายศาลจับกุมจ�ำเลยที่ 1 ได้ที่สนามหลวง หลังเกิด เหตุ ซึ่งได้พูดคุยกับจ�ำเลยที่ 1 แล้ว ไม่ได้ขัดขืนการจับกุมและยอมให้การแต่โดยดีว่าเป็น คนเดียวกันกับบุคคลตามหมายจับของศาล ขณะที่ พงส.สน.ปทุมวัน เบิกความว่า หลัง ต�ำรวจ สน.ชนะสงคราม ส่งตัวจ�ำเลยมาให้ พยานซึ่งเป็น รปภ.ชี้ตัวได้ถูกต้องถึง 2 ครั้ง ในชั้นจับกุม และชั้นสอบสวน จ�ำเลยที่ 1 รับว่าอยู่ในที่เกิดเหตุ แต่ไม่ใช่ผู้กระท�ำผิด ส่วน พงส.ดีเอสไอ เบิกความหลังจากรับคดีนี้มาเป็นคดีพิเศษ จ�ำเลยที่ 1 ให้การใหม่ว่า ขณะเกิดเหตุ ขายซีดีอยู่ที่ห้างอิมพีเรียลเวิลด์ อ่านและเขียนหนังสือไม่ได้ เขียนได้เฉพาะ ชื่อตนเอง

ศาลพิพากษายกฟ้องจ�ำเลยที่ 1 ฐานร่วมกันวางเพลิง (ผู้รวบรวม)

ศาลเห็นว่า แม้โจทก์มีพยานเป็น รปภ. ซึ่งเป็นผู้ถ่ายภาพของจ�ำเลยที่ 1 ได้ ในที่เกิดเหตุ แต่อยู่ห่างจากจุดเกิดเหตุ 30 เมตร และเห็นเพียงว่าจ�ำเลยที่ 1 ถือ ถังดับเพลิงซึ่งไม่ใช่อุปกรณ์ที่จะใช้ในการวางเพลิง แม้จะอนุมานไม่ได้ว่า จ�ำเลยที่ 1 จะเข้าไปช่วยดับเพลิงหรือไม่ ประกอบกับพยานโจทก์ปากนี้ ก็ตอบค�ำถามทนายจ�ำเลย ไม่ได้ว่า เห็นจ�ำเลยที่ 1 เป็นผู้วางเพลิงหรือไม่ นอกจากนี้ โจทก์ยังไม่มีพยานปากอื่นที่ จะมาเบิกความชี้ชัด ถึงพฤติการณ์จ�ำเลยที่ 1 ในการวางเพลิงหรือสนับสนุนการวางเพลิง แต่อย่างใด นอกจากภาพถ่ายเพียงใบเดียวที่แสดงให้เห็นเพียงช่วงเวลาหนึ่ง แต่ไม่มีใคร เห็นว่าจ�ำเลยที่ 1 จะท�ำอย่างไรต่อไป พยานโจทก์จึงยังมีเหตุสงสัยว่า จ�ำเลยที่ 1 เป็น คนร้ายที่ร่วมท�ำผิดในคดีนี้หรือไม่ จึงยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จ�ำเลย

ศาลอาญาพิพากษายกฟ้องจ�ำเลยที่ 2 ฐานร่วมกันวางเพลิง (ผู้รวบรวม)

ส่วนจ�ำเลยที่ 2 โจทก์มีพนักงานห้างเบิกความว่า ขณะเกิดเหตุเห็นคนร้าย 4050 คน มีชาย 4-5 คน เดินน�ำหน้า ใช้หนังสติ๊กยิงใส่เป็นระยะ พนักงานจึงหลบหาที่ก�ำบัง 54 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


และเห็นชายชุดด�ำลายพราง สวมหมวกปีก ใช้ระเบิดโยนใส่ มีคนเจ็บ 9 คน ต่อมาเจ้า หน้าที่ต�ำรวจจับกุมคนร้ายภายในห้างได้ 9 คน มีจ�ำเลยที่ 2 รวมอยู่ด้วย จึงพาไปคุมตัวที่ ลานจอดรถ อย่างไรก็ตาม ค�ำเบิกความของพยานโจทก์กลุ่มนี้ สามารถจดจ�ำรูปพรรณ สัณฐานจ�ำเลยที่ 2 ได้ตรงกันหมด ยกเว้นเพียงสีเสื้อ ไม่ตรงกับภาพที่ปรากฏ ทั้งที่ระหว่าง นั้นพยานต้องคอยหลบลูกหินที่กลุ่มคนร้ายยิงเข้าใส่ อีกทั้งพยานอยู่ห่างไปกว่า 30 เมตร นั้น น่าสงสัยว่าจะจ�ำคนร้ายได้จริงหรือไม่ นอกจากนี้ โจทก์ยังไม่น�ำเจ้าหน้าที่ซึ่งจับกุม จ�ำเลยที่ 2 มาเบิกความถึงการจับกุมจ�ำเลยว่า จับกุมได้ที่ชั้นไหน มีวัสดุหรืออุปกรณ์ หรือมีร่องรอยหลักฐานตามตัวในการวางเพลิงหรือไม่ อย่างไร พยานโจทก์ที่น�ำสืบมา ยังมีเหตุสงสัยว่า จ�ำเลยที่ 2 จะกระท�ำผิดตามฟ้องจริงหรือไม่ จึงยกประโยชน์แห่ง ความสงสัยให้จ�ำเลย จึงพิพากษายกฟ้องจ�ำเลยทั้งสองในข้อหาวางเพลิงเผาทรัพย์ โรงเรือนที่เก็บสินค้าเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย

ศาลอาญาพิพากษาลงโทษจ�ำเลยที่ 1 ฐานร่วมกันกระท�ำผิด พ.ร.ก.ฉุก เฉินฯ (ผู้รวบรวม)

ส่วนที่โจทก์ฟ้องจ�ำเลยทั้งสองท�ำผิด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ นั้น เห็นว่า แม้จ�ำเลยที่ 1 จะให้การปฏิเสธในภายหลังว่า ไม่ได้อยู่ในที่เกิดเหตุ แต่จากค�ำให้การของจ�ำเลยที่ 1 ใน ชั้นจับกุม ซึ่งให้การไม่นานหลังเกิดเหตุว่าเข้าไปในห้างสรรพสินค้าที่เกิดเหตุ เนื่องจาก ได้รับค�ำสั่งจากหัวหน้าการ์ด นปช.ให้เข้าไประงับเหตุ ขณะนั้นเป็นช่วงที่รัฐบาลประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ห้ามชุมนุมประกอบกับพยานโจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ ไม่มีเหตุโกรธเคือง กับจ�ำเลยมาก่อน จึงเชื่อว่าค�ำให้การไม่ใช่การให้ร้ายจ�ำเลยเพื่อให้ได้รับโทษ ข้ออ้างของ จ�ำเลยที่ 1 ในภายหลัง จึงไม่มีน�้ำหนักรับฟังได้ พิพากษาลงโทษ จ�ำเลยที่ 1 ในความ ผิด ฐานฝ่าฝืน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็นเวลา 1 ปี ค�ำให้การเป็นประโยชน์ ลดโทษให้ 1 ใน 4 คง จ�ำคุกเป็นเวลา 9 เดือน ส่วนจ�ำเลยที่ 2 เนื่องจากพนักงานอัยการได้เคยยื่นฟ้องจ�ำเลยที่ 2 ในอีกคดีหนึ่งของศาลอาญากรุงเทพใต้ ที่ได้พิพากษาลงโทษจ�ำคุกจ�ำเลยในความผิด ฐานฝ่าฝืน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มาแล้ว เป็นเวลา 6 เดือน เมื่อเดือน ธ.ค.2554 ซึ่งพฤติการณ์ ตามวัน เวลาและสถานที่เกิดเหตุคดีนั้นเกี่ยวพั น กับ คดี นี้ ถือเป็นความผิดกรรมเดียว คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 55


จึงไม่สามารถน�ำคดีมาฟ้องให้ศาลลงโทษได้อีก พิพากษายกฟ้อง (จ�ำเลยที่ 2)

56 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


สรุปค�ำพิพากษาศาลเยาวชน และครอบครัวกลาง คดีเผาเซ็นทรัลเวิลด์ สรุ ป ย่ อค�ำพิพ ากษาศาลเยาวชน และครอบครั วกลาง คดี เ ผาเซ็ นทรั ล เวิ ล ด์ หมายเลขด�ำที่ 1682/2553 คดีหมายเลขแดงที่ 1550/2555 ซึ่งศาลเยาวชนและ ครอบครัวกลาง พิพากษายกฟ้องจ�ำเลยทัง้ สอง ฐานร่วมกันวางเพลิงห้างเซ็นทรัลเวิลด์ ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

คดีอาญาด�ำที่ 1682/2553 คดีอาญาแดงที่ 1550/2555 คดีอาญา พนักงานอัยการ ส�ำนักงานอัยการสูงสุด ระหว่าง นายหนึ่ง (นามสมมุติ – เยาวชน) นายสอง (นามสมมุติ – เยาวชน)

โจทก์ จ�ำเลยที่ 1 จ�ำเลยที่ 2

ฐานความผิด วางเพลิงเผาทรัพย์ โจทก์ฟ้องว่า เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 เวลากลางวัน จ�ำเลยทั้ง สองกับนายสายชล แพบัว จ�ำเลยที่ 1 และนายพินิจ จันทร์ณรงค์ จ�ำเลยที่ 2 ในคดี อาญาหมายเลขด�ำที่ 2478/2553 ของศาลอาญากรุ ง เทพใต้ แ ละพวกอี ก หลายคน ไม่ปรากฏจ�ำนวนแน่ชัดซึ่งหลบหนีไป ได้ร่วมกัน กัน เข้า ไปในอาคารเซ็ น ทาวเวอร์ และ อาคารเซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่งเป็นทรัพย์สินโรงเรือนอันเป็นที่เก็บสินค้าของส�ำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ นิติบุคคลตามกฎหมาย ที่ให้บริษัทสรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ และกองทุนรวมธุรกิจไทย 4 ผู้เสียหายที่ 268 และผู้เสียหายที่ 269 นิติบุคคลตามกฎหมาย เป็นผู้เช่าครอบครองใช้ประโยชน์เปิดเป็นห้างสรรพสินค้า เป็นโรง เรือนอันเป็นที่เก็บสินค้า แล้วจ�ำเลยทั้งสองกับพวก ได้ร่วมกันวางเพลิงเผาทรัพย์ โดย ทุบท�ำลายแผ่นกระจก บานประตู แผ่นกระจก คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 57


ผนังปิดกัน้ อาคารโรงเรือน อันเป็นทีเ่ ก็บสินค้าทัง้ สองหลังดังกล่าวจนแตกช�ำรุดเสียหาย และได้ใช้ล้อยางรถยนต์ วัสดุประเภทติดไฟง่ายชนิดต่างๆ หลายประเภท แก๊ส หุงต้ม น�้ำมันเชื้อ เพลิงจ�ำนวนมาก เป็นเชื้อเพลิงวางกองสุมรวมกันไว้ในบริเวณต่างๆ ของอาคารทั้งสองหลังดังกล่าวแล้วใช้ไฟจุดเผากองเชื้อเพลิงที่วางกองสุมรวมกันไว้ใน บริเวณต่างๆ ของอาคารทั้งสองดังกล่าว จนท�ำให้เกิดเพลิงลุกไหม้เผากองเชื้อเพลิง แล้ว ไฟลุกลามเผาอาคารเซ็นทาวเวอร์ และในวันเกิดเหตุ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจก็จับตัวผู้ต้องหาได้ 9 คน แต่กลับตั้งข้อหา ตามฟ้องกับจ�ำเลยทั้งสองเท่านั้น ส่วนผู้ต้องหาอีก 7 คน ไม่ได้ตั้งข้อหาเช่นเดียวกับจ�ำเลย ทั้งสองแต่อย่างใด และแม้เพลิงจะไหม้ห้างสรรพสินค้าทั้งสองห้างในเวลาไล่เลี่ยและต่อเนื่อง กัน ตั้งแต่เวลาประมาณ 13.30 น. แต่ปรากฎว่า จ�ำเลยทั้งสองถูกจับเวลาประมาณ 17.00 น. ซึ่งเป็นเวลาห่างจากเวลาที่เริ่มมีการวางเพลิงแล้วหลายชั่วโมง และโจทก์ ก็ไม่มีหลักฐานมาแสดงว่าจ�ำเลยทั้งสองร่วมประชุมวางแผนที่จะวางเพลิงเผาห้าง สรรพสินค้าทั้งสองแห่งกับนายสายชล แพบัว นายพินิจ จันทร์ณรงค์ และพวกที่หลบ หนีมาแต่ต้น และอยู่ด้วยในขณะที่มีผู้ร่วมกันวางเพลิงเผาห้างสรรพสินค้าทั้งสองแห่ง ประกอบกับขณะทีจ่ ำ� เลยทัง้ สองเข้าไปในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์นั้น ภายนอก ห้างสรรพสินค้ า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ ก็ มี ท หารล้ อ มพื้ น ที่ชุมนุม มีเสียงปืนดังอยู่เป็นระยะๆ จ� ำ เลยทั้ ง สองอาจเข้ า ไปในห้ า งสรรพสิ น ค้ า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ เ พื่ อ หาทาง ห ล บ หนี อ อกจากบริ เ วณพื้ น ที่ ชุ ม นุ ม ตามที่ จ� ำ เลยทั้ ง สองต่ อ สู ้ ค ดี ก็ เ ป็ น ได้ พยานหลักฐานที่โจทก์น�ำสืบมา ยังไม่พอฟังว่า จ�ำเลยทั้งสองกระท�ำความผิด ตามฟ้อง ไม่จ�ำเป็นต้องวินิจฉัยพยานหลักฐานจ�ำเลยทั้งสองอีกต่อไป พิพากษายกฟ้องโจทก์ สรุปว่า คดีเผาห้างเซ็นทรัลเวิลด์นั้น มี 2 คดี คือ คดีนี้ซึ่งจ�ำเลยทั้งสองเป็น เยาวชน กับจ�ำเลยที่เป็นผู้ใหญ่อีก 2 คน คือ นายสายชล แพบัว และนายพินิจ จันทร์ ณรงค์ ในคดีอาญาหมายเลขด�ำที่ ด.2478/2553 ซึ่งศาลอาญาได้พิพากษายกฟ้องไปแล้ว รวมความว่าศาลอาญาและศาลเยาวชนได้พิพากษายกฟ้องจ�ำเลยทั้ง 4 ฐานร่วมกันวาง 58 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


เพลิงห้างเซ็นทรัลเวิลด์ไปแล้ว แล้วพวกที่ด่าว่า “ไอ้พวกเผาบ้านเผาเมือง” จะท�ำยังไง ? เพราะศาลพิพากษายกฟ้องจ�ำเลยหมดทั้ง 4 คนแล้ว

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 59


เอกสารลับ “ศอฉ.” กับการใช้อาวุธปืน เมือ่ ประมาณเดือนพฤษภาคม - มิถนุ ายน 2554 หนังสือพิมพ์หลายฉบับ เช่น มติชน และข่าวสด ได้น�ำเอกสารซึ่งระบุว่าเป็น “เอกสารลับของ “ศอฉ.” ซึ่งได้สั่งการให้เจ้า หน้าที่ต�ำรวจ ทหาร ปฏิบัติการกับผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ระหว่างวันที่ 10 เมษายน และวัน ที่ 13 เมษายน 2553 ซึ่งขณะนั้นประชาชนถูกยิงฆ่าตายเป็นจ�ำนวนมากแล้ว ในเอกสารดังกล่าว มีทั้งหมด 3 แผ่น เปิดเผยโดย “กลุ่มทหาร ต�ำรวจ ประชาธิปไตย 2554”

เอกสารฉบับลงวันที่ 10 เมษายน 2553 มีข้อความดังต่อไปนี้...

1.อ้างถึง 1.1 วิทยุ ผอ.ศอฉ.ลับ – ด่วนที่สุด ที่ กห 0407.45/4 ลง 7 เม.ย.53 1.2 ค�ำสั่งปฏิบัติการที่ 1/53 – ศอฉ. 2.ตามที่ นรม.สั่งการให้ศอฉ.ท�ำการผลักดันกลุ่มผู้ชุมนุมเพื่อขอคืนพื้นที่และพื้นผิว การจราจร บริเวณสะพานผ่านฟ้า และพื้นที่ใกล้เคียง ตั้งแต่วันที่ 10 เม.ย.56 เวลา 13.30 น. เป็นต้นไป เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่รับผิดของ ศอฉ.เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสถานการณ์นั้น ดังนั้น เพื่อเป็นการด�ำเนินการตามสั่งการ ดังกล่าว จึงให้ ทภ.2 กกล.รส.ทภ.1 และหน่วยเกี่ยวข้องปรับก�ำลัง/จัดก�ำลังเพิ่มเติม เพื่อปฏิบัติภารกิจ ดังนี้ 2.1 พล.1 รอ. ปรับก�ำลังในพื้นที่รับผิดชอบ จ�ำนวน 21 ร้อย.รส.เข้าผลักดัน และควบคุมพื้นที่การชุมนุมในทิศทางแยกมิสกวัส ไปยังแยก จปร., แยกเทวกรรม ไปยัง สะพานมัฆวานรังสรรค์ และรักษาแนวที่บริเวณเชิงสะพานชมัยมรุเชฐ 2.2 มทบ.11 ปรับก�ำลังของ ทภ.3 จ�ำนวน 11 ร้อย.รส. จาก บก.ศอฉ. ขึ้น ควบคุมทางยุทธการกับ พล.1 รอ. เพื่อเพิ่มเติมการปฏิบัติในข้อ 2.1 2.3 พล.ร.2 รอ. ปรับก�ำลังในพื้นที่รับผิดชอบจ�ำนวน 14 ร้อย.รส. เข้าผลักดัน 60 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


และควบคุมพื้นที่ชุมนุมในทิศทางแยกคอกวัว ไปยังอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย 2.4 พล.ร.9 ปรับก�ำลังในพื้นที่รับผิดชอบ จ�ำนวน 10 ร้อย.รส. ขึ้นควบคุมทาง ยุทธการ กับพล ร.2 รอ. เพื่อเพิ่มเติมการปฏิบัติในข้อ 2.3 2.5 นปอ.ปรับก�ำลัง รปภ. บริเวณสถานีดาวเทียมไทยคม 2 จ�ำนวน 18 ร้อย.รส. เข้าผลักดัน และควบคุมเส้นทางที่มุ่งเข้าสู่พื้นที่ชุมนุมบริเวณแยกการเรือน, แยกอู่ทอง, แยกวังแดง, แยกวัดเบญจมบพิตร, แยกอุทัย, แยกเสาวนีย์ และแยกเทวกรรม 2.6 พล.ม.2 รอ. จัดก�ำลังเพิ่มเติมจากอ้างถึงในข้อ 1.1 จ�ำนวน 1 ร้อย.รส.ขึ้น ควบคุมทางยุทธการกับ พล.ร.2 รอ. เพื่อเพิ่มเติมการปฏิบัติในข้อ 2.3 2.7 นปพ.ทบ. จัดชุดปฏิบัติการพิเศษ ปฏิบัติภารกิจร่วมกับหน่วยบินเฉพาะกิจ ศอฉ.ในการตรวจการณ์และการใช้แก๊สน�้ำตาทางอากาศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของ ทภ.1/ กกล.รส.ทภ.1 บริเวณพื้นที่ชุมนุมตามขั้นตอนของกฎการใช้ก�ำลัง 2.8 สยก.ศอฉ. และ สกร.ศอฉ. จัดชุด ปจว.ทางอากาศ ปฏิบัติภารกิจโปรย เอกสารค�ำชี้แจงของ ศอฉ. สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องแก่กลุ่มผู้ชุมนุม 2.9 หน่วยบินเฉพาะกิจ ศอฉ. จัดอากาศยานสนับสนุนภารกิจ ตามข้อ 2.7 – 2.8 3.มาตรการควบคุม 3.1 การใช้อุปกรณ์ควบคุมฝูงชน ให้ยึดแนวทางและขั้นตอนตามค�ำสั่งปฏิบัติการ ที่ 1/53 – ศอฉ. ตามอ้างถึง ในข้อ 1.2 อย่างเคร่งครัด 3.2 การใช้อาวุธ 3.2.1 อนุญาตให้เจ้าหน้าที่ใช้อาวุธในการป้องกันตนเอง และรักษา ความปลอด ภัยให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 3.2.2 การใช้อาวุธตามข้อ 3.2.1 ต้องเป็นการด�ำเนินการเมื่อ 3.2.2.1 เจ้าหน้าที่พบผู้กระท�ำผิดซึ่งหน้า โดยเป็นการท�ำเพื่อ ป้องกันตนเองและประชาชนที่ได้รับการคุ้มครองจากเจ้าหน้าที่ไม่ให้ได้รับอันตราย 3.2.2.2 เป็นการป้องกั นภั ย อั นตรายที่ ใกล้ จะถึ ง และเป็น อันตรายต่อชีวิตของเจ้า หน้าที่หรือประชาชนที่ได้รับการคุ้มครองจากเจ้าหน้าที่ 3.2.3 หากจ�ำเป็นต้องใช้อาวุธแล้ว การใช้อาวุธต้องใช้ตามล�ำดับขัน้ ดังนี้ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 61


3.2.3.1 ขั้นที่ 1 ให้แจ้งเตือนด้วยวาจา เพื่อให้ผู้ก่อเหตุหยุด การกระท�ำดังกล่าว 3.2.3.2 ขั้นที่ 2 การยิงเตือนขึ้นฟ้า หรือเป็นการยิงในทิศทางที่ ปลอดภัย 3.2.3.3 ขั้นที่ 3 การใช้อาวุธตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการ ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย และสมควรแก่เหตุ เอกสารซึ่งอ้างว่าเป็นเอกสารลับ “ศอฉ.” ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 13 เมษายน 2553 มีข้อความดังต่อไปนี้ 1.ตามที่ในห้วงเวลาได้มีกลุ่มติดอาวุธแฝงตัวเข้ามาอยู่ในกลุ่มผู้ชุมนุมเพื่อสร้าง สถานการณ์ความวุ่นวาย ด้วยการลอบยิงเจ้าหน้าที่และประชาชนผู้บริสุทธิ์นั้น 2.เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจศอฉ.เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ สถานการณ์ จึงให้หน่วยพิจารณาใช้ปืนลูกซองซึ่งเป็นอาวุธที่ไม่ร้ายแรงและควบคุม การยิงได้ในการป้องกันตนเองของเจ้าหน้าที่และประชาชนผู้บริสุทธิ์ โดยก�ำหนดแนวทาง ใช้ ดังนี้ 2.1 ใช้อาวุธท�ำการยิง เมื่อปรากฏภัยคุกคาม หรือกลุ่มติดอาวุธที่มีท่าที คุกคามต่อชีวิตของเจ้าหน้าที่ หรือประชาชนผู้บริสุทธิ์ 2.2 ให้ใช้อาวุธต่อเป้าหมาย ตามข้อ 2.1 ในระยะ 30 – 50 เมตร ทั้งนี้ เพื่อเป็นการควบคุมวิถีกระสุนและควบคุมความเสียหายที่จะเกิดขึ้นให้สมควรแก่เหตุ และห้ามใช้อาวุธต่อเป้าหมายที่เป็นผู้หญิงและเด็ก 2.3 การใช้อาวุธให้ด�ำเนินการโดยไม่มุ่งประสงค์ต่อชีวิตของเป้าหมาย ดังนั้น จึงให้เล็งส่วนล่างของร่างกาย (ตั้งแต่เข่าลงมา) เพื่อระงับยับยั้งการกระท�ำของ กลุม่ ติดอาวุธ ซึง่ มีทา่ ทีคกุ คามต่อชีวติ ของเจ้าหน้าทีแ่ ละประชาชนผูบ้ ริสุทธิ์ ลงชื่อ................................... (ลายเซ็น) ผบ.ทบ./ผช.ผอ.ศอฉ. (3) (ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ “ศอฉ.” (3)) 62 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


พิจารณาเอกสารลับ “ศอฉ.” กับการใช้อาวุธปืนกับผูช้ มุ นุมเอกสารดังกล่าว มีผลต่อคดีฆ่าประชาชน 99 ศพ หรือไม่ ?

- เอกสารดังกล่าว ยังไม่มีการพิสูจน์จากผู้เชี่ยวชาญว่า เป็นเอกสารของทาง ราชการจริงหรือไม่ ลายมือชื่อ (ที่ปรากฏในเอกสารลับ ฉบับลงวันที่ 10 เมษายน 2553) ว่า “นายสุเทพ...” นั้น เป็นลายมือชื่อของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ผอ.ศอฉ. หรือไม่ ? และลายมือในเอกสารฉบับลงวันที่ 13 เมษายน 2553 เป็นลายมือชื่อของ ผบ.ทบ.ขณะ นั้นหรือไม่ ? ประเด็นนี้ต้องพิสูจน์กันต่อไป - หากพิสูจน์ได้ว่า เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารจริง การที่ “ศอฉ.” สั่งว่าอนุญาต ให้เจ้าหน้าที่ใช้อาวุธปืนเพื่อป้องกันตนเองและป้องกันประชาชนก็เป็นค�ำสั่งที่ชอบ ด้วยกฎหมาย เพราะการสั่งให้ใช้อาวุธปืนป้องกันตนเองและผู้อื่น ตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 68 นั้น เจ้าหน้าที่ใช้อาวุธป้องกันตัวเองและประชาชน ได้กระท�ำไปโดยไม่ ผิดกฎหมาย ผู้สั่งก็ไม่ควรผิดด้วย แต่...ต้องพิจารณาว่า การใช้อาวุธปืนในกลุ่มประชาชนเป็นจ�ำนวนมากนั้น อาจ เล็งเห็นผลได้หรือไม่ จะท�ำให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์ได้รับอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ถ้าเล็งเห็น ผลได้ก็ไปเข้าข้อกฎหมายที่ว่า มีเจตนาเล็งเห็นผล ท�ำให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์ถึงแก่ความ ตายได้ ผู้สั่งการอาจมีความผิดถึงขั้นก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ตามที่ “ดีเอสไอ” กล่าวหาได้ - แม้ค�ำสั่งในเอกสารลับ ฉบับลงวันที่ 13 เมษายน 2553 จะระบุว่า ให้ใช้อาวุธ ปืนเล็งส่วนล่างของร่างกายตั้งแต่เข่าลงมา แสดงว่าไม่มีเจตนาสั่งให้ฆ่าคนตาย แต่ ถ้าฟังได้ว่า การยิงคนไปในกลุ่มผู้ชุมนุมเป็นจ�ำนวนมากนั้น จะจ้องแต่เล็งจะยิงขาคนได้ อย่างไร ก็อาจจะเล็งเห็นผลได้ว่า กระสุนปืนที่ยิงไปอาจท�ำให้คนตายได้ ซึ่งผู้สั่งก็อาจมี ความผิดฐานก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ตามที่ “ดีเอสไอ” กล่าวหาได้ เป็นข้อเท็จจริงที่จะต้องสู้คดีกันต่อไปในชั้นศาล - อย่างไรก็ดี เหล่านีเ้ ป็นเรือ่ งค�ำสัง่ ในเอกสารลับเหล่านัน้ แต่การที่ “ดีเอสไอ” แจ้งข้อหาฐานก่อให้ผอู้ นื่ ฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผลต่อนายอภิสทิ ธิแ์ ละนายสุเทพนั้น มีข้อเท็จจริงมากกว่านี้เพราะนายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดี “ดีเอสไอ” ได้แถลงต่อสื่อมวลชน คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 63


หลายครั้งถึงเหตุผลที่ต้องด�ำเนินคดีต่อนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ว่า... “...มีค�ำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ใช้อาวุธปืนจริง กระสุนปืนจริงถึง 5 ครั้ง ต่อเนื่องกัน...แกนน�ำยุติการชุมนุมแล้ว...แต่บุคคลทั้งสองยังสั่งให้ฝ่ายทหารปฏิบัติ การด้วยอาวุธปืนจริง กระสุนจริงต่อไป จนเกิดการสูญเสียอย่างมาก...” (นายธาริต โต้ค�ำฟ้องของนายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2556) “ดีเอสไอ” คงมีพยานเอกสารสั่งการให้ใช้อาวุธปืน กระสุนปืนจริง นายธาริต จึง กล้าแถลง ยืนยันเช่นนั้น ซึ่งถ้าเป็นจริงดังที่นายธาริตแถลง นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพก็ เสี่ยงอันตรายในการสู้คดีฆ่าประชาชน

64 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ส�ำเนาเอกสารลับ

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 65


ส�ำเนาเอกสารลับ

66 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ส�ำเนาเอกสารลับ

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 67


หลักฐานการใช้กระสุนปืนจริง วันที่ 18 มีนาคม 2554 พ.ต.ท.สมชาย เพศประเสริฐ ส.ส.นครราชสีมา พรรคเพือ่ ไทย ฐานะประธานกรรมาธิการทหาร สภาผู้แทนราษฎร ได้น�ำรายงานบัญชีสรุปการเบิกจ่าย กระสุนจากหน่วยคลังแสงสรรพวุธทหารบก เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานของศูนย์อ�ำนวยการ แก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ตั้ง แต่วันที่ 11 มีนาคม 2553 จนเสร็จสิ้นภารกิจดังกล่าว มี รายละเอียด ดังนี้... - เบิกกระสุนปืนจากคลังแสง 597,500 นัด ทหารเบิก - ส่งคืน 479,577 นัด - ใช้ไป 117,923 นัด - เบิกกระสุนซุ่มยิง 3,000 นัด - ส่งคืน 880 นัด - ใช้ไป 2,120 นัด - เบิกกระสุนซ้อม 10,000 นัด - ส่งคืน 3,380 นัด - ใช้ไป 6,620 นัด สรุป : ใช้กระสุนจริง จ�ำนวน 117,923 นัด และใช้กระสุนซุ่มยิง (สไนเปอร์) จ�ำนวน

2,120 นัด รวมใช้กระสุนปืนจริง จ�ำนวน 120,043 นัด

68 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


การไต่สวนการชันสูตรพลิกศพ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ เมื่อคนเราตายโดยผิดธรรมชาติ ไม่ใช่ป่วยตายหรือแก่ตายตามธรรมชาติ เช่น ฆ่าตัวตายหรือถูกฆ่าตาย กฎหมายบังคับให้มีการตรวจชันสูตรพลิกศพ โดยให้นายแพทย์ พนักงานสอบสวนและอัยการร่วมกันท�ำการชันสูตรพลิกศพ พนั ก งานสอบสวนและแพทย์ จ ะบั น ทึ ก การชั น สู ต รพลิ ก ศพไว้ เ ป็ น หลั ก ฐาน มีรายละเอียด เช่น บาดแผล สาเหตุการตายไว้เป็นหลักฐาน เพื่อเป็นวัตถุพยานในการ ด�ำเนินคดีอาญาเกี่ยวกับความตายดังกล่าว ถ้าหากมีผู้กระท�ำผิด นั่นเป็นการตายโดยผิดธรรมชาติทั่วๆ ไป แต่ถ้าการตายเกิดขึ้นโดยการกระท�ำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติการ ตามหน้าที่ หรือตายระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติการ ตามหน้าที่เหล่านี้เป็นเรื่องส�ำคัญ เพราะเป็นเรื่องของการถูกเจ้าหน้าที่บ้านเมืองท�ำให้ตาย กฎหมายจึงบังคับว่า จะให้เพียงเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ อัยการ แพทย์ ชันสูตรพลิกศพแค่นั้น ไม่พอ จะต้องให้ศาลไต่สวนชันสูตรพลิกศพด้วย เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ประชาชนที่ ถึงแก่ความตาย เพราะการกระท�ำของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตัวอย่าง (ตายโดยผิดธรรมชาติ) แดงถูกด�ำยิงฆ่าตาย อย่างนี้เรียกว่า ตายผิดธรรมชาติ ต้องมีการชันสูตรพลิกศพ ทั่วไปโดยต�ำรวจ อัยการและแพทย์ ตัวอย่าง (ตายเพราะการกระท�ำของเจ้าหน้าที่) แดงถูกต�ำรวจยิงตาย เพราะแดงยิงต่อสู้กับต�ำรวจ ดังนี้ ถือว่าแดงตายเพราะ การกระท�ำของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติการตามหน้าที่ ดังนี้ ต�ำรวจ อัยการ แพทย์ ต้ อ งชั น สู ต รพลิ ก ศพทั่ ว ไปก่ อ นแล้ ว อั ย การต้ อ งยื่ น ค� ำ ร้ อ งให้ ศ าลไต่ ส วนการชั น สู ต ร พลิกศพแดงด้วย และศาลต้องมีค�ำสั่งว่า ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และพฤติการณ์ ที่แดงตายด้วย ตัวอย่าง (ตายระหว่างการควบคุมของเจ้าพนักงาน) คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 69


แดงถูกต�ำรวจจับมาขังที่สถานีต�ำรวจ ปรากฏว่าแดงตายในห้องขัง ดังนี้ ถือว่า แดงตายในระหว่างการควบคุมของเจ้าพนักงาน ตายแบบนี้ต�ำรวจ อัยการ แพทย์ ต้อง ชันสูตรพลิกศพทั่วไป อัยการต้องยื่นค�ำร้องต่อศาล ให้ศาลไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพและ ศาลต้องมีค�ำสั่งว่าผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด พฤติการณ์ที่แดงตายด้วย

การไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพของศาล

มีอยู่ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคห้า ดังนี้ “...ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระท�ำของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้าง ว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ ให้พนักงานอัย การและพนั ก งานฝ่ า ยปกครอง ต� ำ แหน่ ง ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ปลั ด อ� ำ เภอหรื อ เที ย บเท่ า ขึ้ น ไปแห่ ง ท้ อ งที่ ที่ ศ พนั้ น อยู ่ เ ป็ น ผู ้ ชั น สู ต รพลิ ก ศพร่ ว มกั บ พนั ก งานสอบสวนและแพทย์ ต ามวรรคหนึ่ ง และให้ น� ำ บทบัญญัติในวรรคสองมาใช้บังคับ เมื่อได้มีการชันสูตรพลิกศพตามวรรคสามแล้ว ให้พนักงานสอบสวนแจ้งให้ พนักงานอัยการเข้าร่วมกับพนักงานสอบสวนท� ำ ส� ำ นวนชั น สู ต รพลิ ก ศพให้ เ สร็ จ ภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งถ้ามีความจ�ำเป็นให้ขยายระยะเวลาออกไปได้ ไม่เกินสองครั้ง ครั้งละไม่เกินสามสิบวันแต่ต้องบันทึกเหตุผลและความจ�ำเป็นในการ ขยายระยะเวลาทุกครั้งไว้ในส�ำนวนชันสูตรพลิกศพ เมื่อได้รับส�ำนวนชันสูตรพลิกศพแล้ว ให้พนักงานอัยการท�ำค�ำร้องขอต่อศาล ชั้นต้นแห่งท้องที่ที่ศพนั้นอยู่ เพื่อให้ศาลท�ำการไต่สวนและท�ำค�ำสั่งแสดงว่าผู้ตายคือ ใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงเหตุและพฤติการณ์ที่ตาย ถ้าตายโดยคนท�ำร้ายให้กล่าว ว่าใครเป็นผู้กระท�ำร้ายเท่าที่จะทราบได้...” อัยการจะน�ำพยานบุคคลและพยานเอกสารต่างๆ เกี่ยวกับการตายของผู้ตาย ไปเบิกความต่อศาลและยื่นพยานเอกสารต่อศาล ศาลมีสิทธิที่จะเรียกพยานอื่นมาเบิก ความประกอบได้

ญาติของผู้ตายมีสิทธิน�ำพยานเข้าร่วมไต่สวนกับอัยการได้

70 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


นอกจากอัยการจะยื่นค�ำร้องต่อศาล ให้ศาลไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพแล้ว ญาติ ของผู้ตาย สามี ภรรยา บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล มีสิทธิน�ำ พยานมาให้ศาลไต่สวนได้ด้วย หรือญาติของผู้ตายจะแต่งตั้งทนายความด�ำเนินการแทน ก็ได้ เพราะถือว่าญาติของผู้ตายเป็นผู้เสียหายโดยตรง

ผลค�ำสั่งของศาล คดีไต่สวนชันสูตรพลิกศพ

ค�ำสั่งของศาลที่ว่า ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด เหตุและพฤติการณ์ที่ตาย ใคร ท�ำให้ตายแล้วค�ำสั่งของศาลให้ถือเป็นที่สุด ห้ามอุทธรณ์ฎีกาต่อไป

ค�ำสั่งของศาลไม่กระทบกระเทือนถึงการฟ้องร้องพิจารณาพิพากษาคดี เกี่ยวกับการตายนั้น หมายความว่า เมื่อศาลสั่งคดีไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพแล้ว ห้ามอุทธรณ์ฎีกา เฉพาะคดีชันสูตรพลิกศพนั้น แต่ไม่เกี่ยวกับคดีอื่นที่จะมีการฟ้องร้องเกี่ยวกับการตายนั้น ตัวอย่าง หนึ่งถูกต�ำรวจฆ่าตาย ศาลไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพแล้วมีค�ำสั่งว่า “ผู้ตาย คือ นายหนึ่ง นามสกุล นิรันดร ตายที่สี่แยกพัฒนาการ แขวง-เขตประเวศ กทม. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2556 เวลา 20.00 น. เพราะถูกกระสุนปืนของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ในการที่ ผู้ตายยิงต่อสู้กับต�ำรวจ” ดังนี้ หลังจากนั้นอัยการหรือญาติของผู้ตายก็มีสิทธิฟ้องจ�ำเลยที่ ฆ่านายหนึ่งตายได้ แต่ส�ำนวนการไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพนี้ เป็นพยานเอกสารที่คู่กรณี จะน�ำไปอ้างต่อศาลในคดีที่ฟ้องร้องกันได้

การด�ำเนินการหลังจากศาลมีค�ำสั่งคดีชันสูตรพลิกศพแล้ว

หลังจากศาลมีค�ำสั่งคดีชันสูตรพลิกศพแล้ว ศาลจะส่งส�ำนวนการไต่สวนไปยัง อัยการ (ผู้ร้อง) อัยการจะส่งส�ำนวนนั้นไปยังพนักงานสอบสวนต่อไป

ต�ำรวจด�ำเนินคดีแก่ผู้กระท�ำผิดต่อไป

เมื่อต�ำรวจได้รับส�ำนวนชันสูตรพลิกศพจากอัยการแล้ว ต�ำรวจก็จะด�ำเนินคดีแก่ ผู้กระท�ำผิดต่อไป ตัวอย่าง (ต�ำรวจยิงคนร้าย) ร.ต.อ.หนึ่ง ยิงสองคนร้ายตายระหว่างยิงต่อสู้กัน การตายเกิ ด เพราะการ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 71


กระท�ำของเจ้าพนักงาน ต้องให้ศาลไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพนายสองตามกฎหมาย ศาลสั่งว่า “นายสองตายที่สี่แยกพัฒนาการ แขวง-เขตประเวศ กทม. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2556 เวลา 20.00 น. เพราะถูกอาวุธปืน ซึ่ง ร.ต.อ.หนึ่ง ยิงถึงแก่ความตาย...” ศาลสั่ง แล้วส่งส�ำนวนให้อัยการ อัยการส่งส�ำนวนต่อให้พนักงานสอบสวน พ.ต.ท.สาม พนักงาน สอบสวนด�ำเนินคดีแก่ ร.ต.อ.หนึ่ง ฐานฆ่านายสองตายต่อไป พ.ต.ท.สาม ต้องท�ำส�ำนวนคดีฆ่าคนตายโดยเจตนาใหม่ โดย ร.ต.อ.หนึ่ง เป็น ผู้ต้องหา ส่งส�ำนวนการสอบสวนให้อัยการสั่งคดีว่า จะสั่งฟ้อง ร.ต.อ.หนึ่ง ผู้ต้องหา ฐาน ฆ่าคนตายโดยเจตนาหรือไม่ อัยการพิจารณาแล้ว ถ้าเห็นว่าการกระท�ำของ ร.ต.อ.หนึ่ง เป็นการป้องกันตัวไม่ ผิดกฎหมาย ก็สั่งไม่ฟ้อง ร.ต.อ.หนึ่ง ผู้ต้องหา ถ้าเห็นว่าไม่ใช่การป้องกันตัว แต่เป็นการ ฆ่าคนตายโดยเจตนา อัยการก็สั่งฟ้อง ร.ต.อ.หนึ่ง ฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาต่อไป ส่วนส�ำนวนคดีไต่สวนชันสูตรพลิกศพนายสอง ผู้ตาย ที่ศาลสั่งมาแล้ว ในการ ด�ำเนินคดีฐานฆ่าคนตายในศาล โจทก์ จ�ำเลยหรือศาล จะน�ำส�ำนวนคดีไต่สวนฯ นั้น มา ประกอบการพิจารณาคดีฆ่าคนตายก็ได้

72 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ผลการไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ เหตุเกิดระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2553 ใน เขต กทม. กรณี “นปช.” (คนเสื้อแดง) ชุมนุมขับไล่รัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายก รัฐมนตรี ปรากฏว่า “ศอฉ.” ด�ำเนินการให้ทหารเข้ากระชับพื้นที่ ประชาชนถูกคนร้ายใช้ อาวุธปืนยิงตายถึง 99 ศพ บาดเจ็บกว่า 2,000 คน การที่ประชาชนถูกฆ่าตายถึง 99 ศพ โดยอ้างว่าเป็นการกระท�ำของเจ้าพนักงาน จึงต้องให้ศาลไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพทั้ง 99 ศพ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา 150 เพื่อจะด�ำเนินคดีแก่ผู้กระท�ำผิดฐานฆ่าประชาชนต่อไป คดีเหล่านี้ส�ำนักงาน “ดีเอสไอ” โดยนายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีดีเอสไอ ได้ด�ำเนิน คดีไต่สวนชันสูตรพลิกศพที่ถูกฆ่าตายทั้ง 99 ศพ ในที่สุดอัยการก็ยื่นค�ำร้องต่อศาล ให้ ศาลไต่สวนและมีค�ำสั่งคดีฆ่าประชาชน 99 ศพดังกล่าว ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2556 ศาลได้มีค�ำสั่งคดีไต่สวนชันสูตรพลิกศพ คดีฆ่า ประชาชน 99 ศพไปแล้ว 4-5 คดี

คดีที่ 1 นายพัน ค�ำกอง (ผู้ตาย)

ศาลอาญาไต่สวนแล้ว... ได้ความว่า วันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลากลางคืน นายสมร ไหมทอง ขับรถตู้ถึงบริเวณถนนราชปรารภ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กทม. ในเขตทหารควบคุมพื้นที่ เจ้าหน้าที่ทหารประกาศให้หยุดรถ แต่นายสมรกลับขับรถตู้ต่อ ไปถึงบริเวณสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ ถูกเจ้าหน้าที่ทหารใช้อาวุธปืนยิงหลายนัด นาย สมรบาดเจ็บที่ล�ำตัว นายพัน ค�ำกอง ถูกกระสุนปืนเสียชีวิต ที่หน้าคอนโดมิเนียม “ไอดีโอ” ศาลอาญาไต่สวนแล้ว มีคำ� สัง่ เมือ่ วันที่ 17 กันยายน 2555 ว่า... “...ผู้ตาย ชื่อ นายพัน ค�ำกอง ตายที่หน้าส�ำนักงานขายคอนโดมิเนียม ชื่อ ไอดี โอ คอนโด ถนนราชปรารภ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลากลางคืนก่อนเที่ยง เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเกิดจากการถูกลูก กระสุนปืนขนาด.223 (5.56 มม.) จากอาวุธปืนที่ใช้ในราชการสงครามที่เจ้าพนักงาน คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 73


ทหารร่วมกันยิงไปที่รถยนต์ตู้ หมายเลขทะเบียน ฮค 8561 กรุงเทพมหานคร ซึ่งมี นายสมร ไหมทอง เป็นผู้ขับ แล้วลูกกระสุนปืนไปถูกผู้ตายถึงแก่ความตายในขณะเจ้า พนักงานทหารก�ำลังปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบ ปิดล้อมพื้นที่ควบคุมตามค�ำสั่งของ ศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.)...”

คดีที่ 2 นายชาญณรงค์ พลศรีลา (ผู้ตาย)

ได้ความว่า เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลาประมาณ 15.00 น. นาย ชาญณรงค์ ผู้ตาย อาชีพขับแท็กซี่ หนึ่งในกลุ่ม “นปช.” น�ำเอายางรถยนต์ไปวางเป็น บังเกอร์ บริเวณหน้าปั๊มน�้ำมันเชลล์ บริเวณถนนราชปรารภ ถูกทหารยิงและเสียชีวิต ที่ โรงพยาบาลพญาไท กทม. ศาลไต่สวนแล้ว มีค�ำสั่งเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2555 ว่า... “...ผู้ตาย คือ นายชาญณรงค์ ตายที่โรงพยาบาลพญาไท 1 แขวงถนน พญาไท เขตราชเทวี กทม. เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลาประมาณ 14.00 น. เหตุและพฤติการณ์ที่ตาย คือ ถูกทหารที่มาปฏิบัติหน้าที่ตามค�ำสั่ง ศอฉ.ในการ ด�ำเนินการตามมาตรการปิดล้อมและสกัดกั้นกลุ่มผู้ชุมนุม เพื่อขอคืนพื้นที่และผิวการ จราจร บริเวณถนนราชปรารภ ยิงด้วยอาวุธปืนความเร็วสูง ขนาด .223 หรือ 5.56 มิลลิเมตร หัวกระสุนปืนลูกโดด ถูกหน้าท้องและแขนขวา เป็นเหตุให้ล�ำไส้เล็กขาด หลายต�ำแหน่ง...”

คดีที่ 3 นายชาติชาย ชาเหลา

ได้ความว่า เมือ่ วันที่ 13 พฤษภาคม 2553 เวลาประมาณ 21.00 น. นายชาติชาย ผู้ตายกับพวกกลุ่ม “นปช.” ได้รวมตัวกันเคลื่อนที่มาที่ด่านตรวจของเจ้าหน้าที่ทหาร ที่ บริเวณถนนพระราม 4 โดยยิงพลุและตะไลเข้าใส่เจ้าหน้าที่ทหาร ผู้ตายถือกล้องถ่าย วีดีโอถ่ายภาพไว้ได้ถูกคนร้ายใช้อาวุธปืนยิงถูกบริเวณศีรษะ ไปเสียชีวิตที่โรงพยาบาล ศาลอาญาได้ไต่สวนแล้ว มีค�ำสั่งเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2555 ว่า... “ผู้ตาย คือ นายชาติชาย ชาเหลา ถึงแก่ความตาย ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ถ.พระราม 4 เขตปทุมวัน กทม. เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 เวลา 13.37 น. โดย เหตุและพฤติการณ์การตายสืบเนือ่ งมาจากการถูกยิงด้วยกระสุนปืนขนาด.223 (5.56 มม.) เป็น เหตุ ใ ห้ ส มองฉี ก ขาดร่ว มกับกะโหลกศีรษะแตกอย่างมาก ซึ่งวิถีกระสุนปืนมา 74 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


จากแนวด่านตรวจแข็งแรงของเจ้าพนักงาน ซึ่งก�ำลังปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบ เรียบร้อย ถนนพระราม 4 โดยยังไม่ทราบว่าใครเป็นผู้ลงมือกระท�ำ...”

คดีที่ 4 เด็กชายคุณากร ศรีสุวรรณ (ผู้ตาย)

ได้ความว่า เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลากลางคืน นายสมร ไหมทอง ขับรถตู้เข้าไปบริเวณสี่แยกมักกะสัน พื้นที่ควบคุมของเจ้าหน้าที่ทหาร เจ้าหน้าที่ทหาร ประกาศห้ามรถตู้ดังกล่าวเข้าไปในพื้นที่ควบคุม นายสมรขับรถตู้ต่อไปทางสถานีรถไฟฟ้า แอร์พอร์ตลิ้งก์ เสียงปืนดังขึ้นหลายนัด นายสมรถูกกระสุนปืนที่เอวและท้องและถูกนาย พัน ค�ำกอง (ผู้ตายคดีไต่สวนที่ 1) และเด็กชายคุณากรฯ (ผู้ตาย อายุ 14 ปี) ถึงแก่ความ ตายบริเวณพื้นถนน ในซอยโรงภาพยนตร์โอเอ ศาลอาญาไต่สวนแล้ว มีค�ำสั่งว่า... ผู้ตาย คือ เด็กชายคุณากร ศรีสุวรรณ ตายระหว่างถูกน�ำส่งโรงพยาบาล พญาไท 1 ถนนศรีอยุธยา แขวงพญาไท เขตราชเทวี กทม. เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลากลางคืนก่อนเที่ยง เหตุและพฤติการณ์ที่ตาย คือ ผู้ตายถูกลูกกระสุนปืน ซึ่งยิงจากอาวุธปืนของเจ้าหน้าที่ทหารที่ก�ำลังปฏิบัติหน้าที่

คดีที่ 5 นายบุญมี เริ่มสุข (ผู้ตาย)

ได้ความว่า เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 เจ้าหน้าที่ทหารจากค�ำสั่งจาก “ศอฉ.” ตรึงก�ำลังอยู่ที่บริเวณถนนพระราม 4 และมีกลุ่ม “นปช.” ชุมนุมอยู่ด้านถนนพระราม 4 ด้านบ่อนไก่ นายบุญมี ผู้ตาย อายุ 71 ปี อาชีพเซลแมนขายปุ๋ย ไม่ได้ร่วมชุมนุมด้วย ขณะ เดินทางกลับบ้านถูกยิงด้วยกระสุนปืนขนาด .223 (5.56 มม.) ที่ใช้กับปืนเล็กกล M 16 ซึ่งใช้ในราชการทหารฝังอยู่ในร่างกายของนายบุญมี ผู้ตาย ต่อมานายบุญมีถึงแก่ความ ตายที่โรงพยาบาล เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ปัญหามีว่ากระสุนปืนที่ยิงนายบุญมีนั้น เป็นกระสุนปืนที่มาจากฝ่ายทหารหรือไม่ ? ประเด็นดังกล่าว ศาลอาญาวินิจฉัยว่า... “แม้พนักงานสอบสวนเบิกความว่า หัวกระสุนที่ได้จากตัวผู้ตายเป็นขนาด .223 (5.56 มม.) ที่ใช้กับปืนเล็กกล M 16 เช่น เดียวกัน ซึ่งพยานผู้ตรวจพิสูจน์อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืน ก็เบิกความว่า ลูกกระสุน ปืนของกลางในตัวผู้ตายมีลักษณะคล้ายลูกกระสุนปืนที่ยิงถูกเจ้าพนักงาน จึงเชื่อว่านอก จากฝ่ายเจ้าพนักงานจะใช้กระสุนปืนขนาด .223 (5.56 มม.) แล้ว ยังมีบุคคลที่มีอาวุธ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 75


ปืนปะปนอยู่ในกลุ่ม นปช.และใช้กระสุนปืนขนาด.223 (5.56 มม.) ยิงตอบโต้กับฝ่ายเจ้า พนักงานด้วย” ฉะนั้น กระสุนปืนที่นายบุญมี ผู้ตายถูกยิงจะเป็นกระสุนปืนที่มาจากฝ่ายทหาร หรือฝ่ายใดกันแน่ ? ศาลอาญาไต่สวนแล้ว มีค�ำสั่งว่า... “ผู้ตาย คือ นายบุญมี เริ่มสุข ถึงแก่ความตายที่โรงพยาบาลต�ำรวจ แขวง ปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2553 เหตุและ พฤติการณ์แห่งการตาย สืบเนื่องจากติดเชื้อในกระแสเลือดร่วมกับประวัติถูกยิงที่ บริเวณช่องท้องด้วยกระสุนปืนขนาด .223 (5.56 มม.) ขณะอยู่บริเวณ ถ.พระราม 4 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โดยยังไม่ทราบว่าใครเป็นผู้ลงมือกระท�ำ” บทสรุป ผลการไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพทั้ง 5 คดีดังกล่าว คือ 4 คดี ผู้ตาย ถึงแก่ความตาย เพราะการกระท�ำของเจ้าพนักงานทหารปฏิบัติหน้าที่ตามค�ำสั่งของ “ศอฉ.” ส่วนอีก 1 คดี คือ นายบุญมี ผู้ตาย ศาลสั่งว่ายังไม่ทราบว่าใครท�ำให้นายบุญ มีถึงแก่ความตาย นอกจากนี้ศาลอาญาได้มีค�ำสั่งไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพ 6 ศพที่วัดปทุม วนาราม โดยศาลสั่งเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556 ว่า ผู้ตาย คือ นายสุวัน ศรีรักษา นาย อัฐชัย ชุมจันทร์ นายมงคล เข็มทอง นายรพ สุขสถิต นางสาวกมนเกด อัคฮาด (น้อง เกด) และนายอัครเดช ขันแก้ว ตายรวม 6 ศพ ตายเพราะถูกยิงด้วยกระสุนปืนฯ ซึ่งวิถี กระสุนมาจากเจ้าพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อย บนรางรถไฟฟ้า บีทีเอส ที่หน้าวัดปทุมวนาราม เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 นอกจากศาลจะสั่งทั้ง 5 คดีดังกล่าวแล้ว อัยการก็จะได้ยื่นค�ำร้องต่อศาล ให้ศาล ท�ำการไต่สวนคดีชันสูตรพลิกศพให้ครบทั้ง 99 ศพ เพื่อให้ศาลสั่งว่าผู้ตายคือใคร ตาย อย่างไร เมื่อใด พฤติการณ์และเหตุแห่งการตาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มาตรา 150 ต่อไป หลังจากศาลสั่งคดีไต่สวนชันสูตรพลิกศพแล้ว ศาลก็จะคืนส�ำนวนการไต่สวน ชันสูตรพลิกศพให้อัยการ อัยการส่งส�ำนวนให้พนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวน ก็ ท� ำ การสอบสวนรวบรวมพยานหลั ก ฐานด� ำ เนิ น คดี แ ก่ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด และส่ ง ส� ำ นวน 76 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


การสอบสวนให้อัยการฟ้องผู้กระท�ำผิดต่อศาลต่อไป ส่วนผู้เสียหายก็มีสิทธิฟ้องร้องผู้ กระท�ำผิดต่อศาลได้ เพราะเป็นความผิดอาญาต่อแผ่นดิน ตัวอย่างคดีฆ่าประชาชน 99 ศพนี้ หลังจากศาลสั่งคดีชันสูตรพลิกศพ 3 ราย คือ นายพัน ค�ำกอง ผูต้ าย นายชาญณรงค์ พลศรีลา ผูต้ าย และนายชาติชาย ชาเหลา ผู้ตาย แล้ว “ดีเอสไอ” ก็แจ้งข้อหาด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี และนายสุเทพ อดีต ผูอ้ ำ� นวยการ “ศอฉ.” ฐานร่วมกันก่อให้ผอู้ นื่ ฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, 288 จากนัน้ “ดีเอสไอ” ก็จะส่งส�ำนวนการสอบสวนไปให้ อัยการพิจารณาสัง่ ฟ้อง หรือสัง่ ไม่ฟอ้ งนายอภิสทิ ธิ์ กับนาย สุเทพ ต่อไป

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 77


ค�ำสั่งศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 1) นายพัน ค�ำกอง ผู้ตาย ค�ำสั่งศาลอาญา ลงวันที่ 17 กันยายน 2555 คดีหมายเลขด�ำที่ อช.2/2555 หมายเลขแดงที่ อช.7/2555 พนักงานอัยการฝ่ายคดีอาญา 9 ผูร้ อ้ ง และนางหนูชดิ ค�ำกอง ภรรยาผูต้ าย ผูร้ อ้ งร่วม ยืน่ ค�ำร้องขอให้ศาลชันสูตรสาเหตุการเสียชีวติ ของนายพัน ค�ำกอง ชาวจังหวัดยโสธร อาชีพขับรถแท็กซี่ กลุม่ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ทีเ่ สียชีวติ หน้าคอนโดมิเนียมใกล้สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิง้ ก์ ถนนราชปรารภ เมื่อ วันที่ 15 พฤษภาคม 2553 ระหว่างเหตุการณ์ทหารกระชับพื้นที่ราชประสงค์ สมัยนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามค�ำร้องสรุปว่า เมื่อวันที่ 12 มีนาคม – 19 พฤษภาคม 2553 มีการชุมนุม เรียกร้องประชาธิปไตยของกลุ่ม นปช. ให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประกาศยุบสภา ที่ บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศและสี่แยกราชประสงค์ ต่อมานายกรัฐมนตรีได้ออกประกาศ ตามพระราชก�ำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ.2548 ทีม่ คี วามร้ายแรง เพื่อควบคุมผู้ชุมนุมและตั้งศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) และแต่งตั้ง นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้อ�ำนวยการ ต่ อ มามี ก ารประกาศห้ า มใช้ ถ นนราชปรารภตั้ ง แต่ สี่ แ ยกประตู น�้ ำ ถึ ง สี่ แ ยก มักกะสัน โดยมีเจ้าหน้าที่ทหารควบคุมพื้นที่พร้อมติดป้ายเขตใช้กระสุนจริง เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 นายสมร ไหมทอง ขับรถยนต์ตู้กลับบ้านพัก ผ่านถนนราชปรารภ เจ้า หน้าที่ทหารประกาศให้หยุดรถ แต่นายสมรขับรถไปต่ อ ถึ ง บริ เวณสถานี ร ถไฟฟ้ า แอร์ พอร์ตลิ้งก์ ถูกเจ้าหน้าที่ทหารใช้อาวุธยิงหลายนัดอันเป็นการปฏิบัติหน้าที่ ท�ำให้นายสมร ถูกยิงได้รับบาดเจ็บที่ล�ำตัวด้านหลังและนายพัน ค�ำกอง ถูกกระสุนยิงตายหน้าส�ำนักงาน ขายคอนโดมิเนียมไอดีโอ อันเป็นการตายที่เกิดจากการกระท�ำของเจ้าพนักงานที่อ้างว่า ปฏิบัติหน้าที่ 78 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ขอให้ศาลมีค�ำสั่งว่า ผู้ตายเป็นใคร ตายที่ใด ตายเมื่อไร สาเหตุและ พฤติการณ์ การตายเกิดจากอะไร ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 พิเคราะห์แล้วข้อเท็จจริงฟังยุติว่า ระหว่างวันที่ 12 มีนาคม 2553 ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 มีการชุมนุมทางการเมืองของประชาชนเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยที่ใช้ ชื่อว่า “กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ” (นปช.) ให้นายกรัฐมนตรี ประกาศยุบสภา อยู่ที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศและบริเวณสี่แยกราชประสงค์ ระหว่าง มีการชุมนุม นายกรัฐมนตรีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงเพื่อควบคุม สถานการณ์ชุมนุม มีการจัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) แล้วแต่ง ตั้ง นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้อ�ำนวยการ ตามค�ำสั่งนายก รัฐมนตรีที่พิเศษ 1/2553 ลงวันที่ 7 เมษายน 2553 และวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 ต่อ มาศูนย์อ�ำนวยการดังกล่าว ประกาศห้ามใช้เส้นทางคมนาคมหรือใช้ยานพาหนะใดๆ เข้าออกในเส้นทางที่ก�ำหนด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ บริเวณถนน ราชปรารภ ตั้งแต่สี่แยกประตูน�้ำถึงสี่แยกมักกะสัน โดยมีเจ้าพนักงานทหารปืนใหญ่ที่ 31 และกองพันทหารราบที่ 3 ไปปฏิบัติหน้าที่ควบคุมการใช้เส้นทางคมนาคมในบริเวณดัง กล่าว มีการปิดแผ่นป้ายข้อความว่า “เขตใช้กระสุนจริง” จากพยานหลั ก ฐานของผู ้ ร ้ อ งและของผู ้ ร ้ อ งร่ ว มอั น ประกอบด้ ว ยประจั ก ษ์ พยาน พยานแวดล้อมกรณี เจ้าพนักงานทหารผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องต่างๆ และพนักงาน สอบสวนรวมถึงภาพถ่าย ภาพเคลือ่ นไหวเหตุการณ์ ได้ความว่า พันโทวรการ ฮุ่นตระกูล ผู้บังคับกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 31 รักษาพระองค์ เบิกความว่า หลังเวลา 20.00 น. ของ วันที่ 14 พฤษภาคม 2553 มีคนร้ายยิงลูกระเบิดแบบเอ็ม 79 เข้าไปในบริเวณที่ พันโท วรการ รับผิดชอบและมีวิทยุเครือข่ายทหารแจ้งว่า ให้ระวังรถยนต์ตู้สีขาว อาจมีการท�ำ คาร์บอม หรือขนอาวุธสงครามใช้ท�ำร้ายทหาร ร้อยเอก เสริมศักดิ์ ค�ำละมูล ผู้บังคับกองร้อยทหารปืนใหญ่ที่ 31 รักษาพระองค์ เบิกความว่า ได้รับแจ้งจากผู้บังคับบัญชาว่า ให้สังเกตรถยนต์ตู้จะมีการขนอาวุธและใน วันเกิดเหตุ เวลาเที่ยงคืน มีรถยนต์ตู้คันเกิดเหตุขับไปจอดที่หน้าปากซอยราชปรารภ 8 (ซอยวัฒนวงศ์) ร้อยเอกเสริมศักดิ์ จึงสั่งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาใช้เครื่องขยายเสียง (โทรโข่ง) คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 79


ประกาศให้รถยนต์ตู้แล่นกลับไปในทิศทางเดิม หรือเลี้ยวซ้ายไปทางประตูน�้ำ และต่อจาก นั้นได้ใช้เครื่องขยายเสียงขนาดใหญ่ที่ติดตั้งอยู่บนรถประชาสัมพันธ์ประกาศให้ทราบอีก ครั้ง รวมเวลาที่รถยนต์ตู้จอดอยู่ประมาณ 30 นาที นายคมสันติ ทองมาก ผู้สื่อข่าวส�ำนักเนชั่นทีวี เบิกความว่า ได้ยินเสียงประกาศ ของเจ้าพนักงานทหารและได้ยินเสียงปืนดัง จึงใช้ก ล้ อ งถ่ า ยภาพบั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ที่ เกิดขึ้นโดยไม่ตัดต่อ นอกจากนี้ นายอเนก ชาติโกฏิ พนักงานรักษาความปลอดภัย ของคอนโดมิเนียมไอโอดี เบิกความว่าก่อนเกิดเหตุ นายพัน ค�ำกอง ผู้ตาย มาขอพักที่ ส�ำนักงานขายคอนโดมิเนียม ต่อมาได้ยินเสียงประกาศของเจ้าพนักงานทหาร หลังจาก นั้นก็ได้ยินเสียงปืนดังทีละนัด เห็นว่าช่วงระยะเวลาที่ร้อยเอก เสริมศักดิ์ เบิกความว่า เห็นรถยนต์ตู้จอดอยู่ เป็นเวลาประมาณ 30 นาที ซึ่งเป็นเวลานานพอสมควรที่เจ้าพนักงานทหารที่ควบคุม สถานการณ์ขณะนั้น สามารถด�ำเนินการบางอย่าง เพื่อให้ทราบว่ารถยนต์ตู้ดังกล่าว มี พฤติการณ์ดังที่ร้อยเอกเสริมศักดิ์ และพันโทวรการ ได้ข้อมูลหรือไม่ แต่เจ้าพนักงาน ทหารก็มิได้ด�ำเนินการอะไร กลับปล่อยให้รถยนต์ตู้แล่นเลี้ยวขวาไปทางสถานีรถไฟฟ้า แอร์พอร์ตลิ้งก์ ซึ่งเป็นเขตพื้นที่ควบคุม โดยมีคอนโดมิเนียมไอดีโอ ตั้งอยู่ริมถนนด้าน ขวาของรถยนต์ตู้ ตามแผนที่สังเขป เอกสารหมาย ร.25 ร้อยเอกเสริมศักดิ์ สิบเอก วรากรณ์ ผาสุก สิบเอกชิตณรงค์ สุดชัย ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุกลับยืนยันว่า ขณะที่มีการ ระดมยิงรถตู้ ไม่มีใครเห็น และไม่ทราบว่าใครเป็นคนยิง ทั้งไม่ปรากฏในสรุปสถานการณ์ ความเคลื่อนไหวเอกสารหมาย ร.84 ถึง ร.86 มีรายงานข่าวว่าในวันเกิดเหตุจะมีการท�ำ คาร์บอมหรือขนอาวุธ

80 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ค�ำสั่งศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 2) นายชาญณรงค์ พลศรีลา (แท็กซี่แดง)

เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2555 ศาลอาญาได้อ่านค�ำสั่งคดีชันสูตรพลิกศพ (คดี ที่ 2) นายชาญณรงค์ พลศรีลา (แท็กซี่แดง - นปช.) ซึ่งอัยการฝ่ายคดีอาญา 6 เป็นผู้ยื่น ค�ำร้องขอให้ศาลมีค�ำสั่ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 ว่า ผู้ตายคือใคร ? และตายเพราะเหตุใด ? คดีเกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 นายชาญณรงค์ (นปช.) ถูกคนร้ายยิงเสีย ชีวิต บริเวณหน้าปั๊มน�้ำมัน “เชลล์” ซอยรางน�้ำ กทม. ในกรณีที่กลุ่ม “นปช.” เสื้อแดง ชุมนุมเรียกร้องให้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ยุบสภา เลือกตั้งใหม่ ศาลอาญาได้มีค�ำสั่งว่า “นายชาญณรงค์ ตายเพราะถูกทหารที่มาปฏิบัติ หน้าที่ตามค�ำสั่งของ “ศอฉ.” ในการด�ำเนินการปิดล้อมสกัดกั้นกลุ่มผู้ชุมนุม เพื่อขอ พื้นที่คืนบริเวณถนนราชปรารภยิงเสียชีวิต เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553...”

ต่อไปนี้เป็นค�ำสั่งของศาลอาญา (บางส่วน) ดังนี้…

ข้อเท็จจริงรับฟังเป็นยุติจากพยานทุกปากว่า เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 กลุ่ม นปช.จัดชุมนุมเรียกร้องให้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีขณะนั้น ประกาศยุบ สภา โดยตั้งเวทีปราศรัยและชุมนุมบริเวณสะพานผ่านฟ้า ถนนราชด�ำเนิน ต่อมาไปตั้ง เวทีปราศรัยบริเวณสี่แยกราชประสงค์ โดยรัฐบาลประกาศใช้พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 จากนั้นวันที่ 7 เมษายน 2553 ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ตาม พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามค�ำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 1/2553 ตั้ง ศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) และตั้งนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รอง นายกรัฐมนตรี เป็นผู้อ�ำนวยการ ตามค�ำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 2/2553 ต่อมามีค�ำสั่งนายก รัฐมนตรีที่พิเศษ 93/2553 ให้ พล.อ.อนุพงศ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.) ขณะนั้น เป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 81


เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2553 ศอฉ.ส่งก�ำลังเข้าขอคืนพื้นที่บริเวณถนนราชด�ำเนิน เกิดการปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ทหารและกลุ่มผู้ชุมนุมมีผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บ จ�ำนวนมาก ต่อมาศาลแพ่งมีค�ำสั่งให้ ศอฉ.ด�ำเนินการตามมาตรการสากลและเท่าที่ จ�ำเป็นต่อผู้ชุมนุม จากนั้นวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 ศอฉ.ใช้มาตรการปิดล้อมและสกัดกั้นผู้ชุมนุม บริเวณถนนราชปรารภ ถนนศรีอยุธยา ถนนเพชรบุรี และถนนราชวิถี เวลา 14.00 น. ส่ง ทหารเข้าวางก�ำลังบนถนนราชปรารภ ระหว่างซอย 12-14 กระทั่งวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลา 15.00 น. นายชาญณรงค์ ผู้ตาย ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่ม นปช. น�ำเอายางรถยนต์ ไปวางเป็นแนวบังเกอร์บริเวณหน้าสถานีบริการน�้ำมันเชลล์ มีเสียงปืนดังขึ้นเป็นชุดๆ และนายชาญณรงค์ถูกกระสุนปืนถึงแก่ความตาย มีปัญหาต้องวินิจฉัยว่า ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด ได้ความจาก นางสุริยัน พลศรีลา ภรรยาผู้ตายว่า ผู้ตายเป็นสามี ชื่อ นายชาญณรงค์ พลศรีลา อาชีพขับแท็กซี่ มีบุตรด้วยกัน 2 คน ก่อนเกิดเหตุผู้ตายโทรศัพท์มาบอกว่าจะไปร่วมชุมนุมกับกลุ่ม นปช. โดยติดต่อได้ครั้งสุดท้ายเวลา 11.00 น. วันที่ 15 พฤษภาคม 2553 หลังจากนั้นไม่ สามารถติดต่อได้ กระทั่งมาพบภาพในหนังสือพิมพ์ว่า สามีถูกยิงเสียชีวิต จึงไปติดต่อรับ ศพ ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี นอกจากนี้ได้ความจาก นายนิโคลัส นอร์ทิส ช่างภาพอิสระ ชาวเยอรมัน เบิก ความว่า ไปถ่ายภาพเหตุการณ์ชุมนุมในที่เกิดเหตุ พบผู้ตายอยู่ในที่เกิดเหตุและได้ขอ ถ่ายภาพผู้ตายที่ก�ำลังถือหนังสติ๊กไว้ ต่อมามีการน�ำยางรถยนต์มาเป็นแนวบังเกอร์ที่หน้า ปั๊มเชลล์ ห่างแนวเจ้าหน้าที่ทหารประมาณ 150-300 เมตร กระทั่งมีเสียงปืนดังขึ้น เห็น ผู้ตายถูกยิงที่ท้องและแขน คิดว่าไม่ปลอดภัย จึงไปหลบในห้องน�้ำปั๊มกับผู้ตาย และได้ ถ่ายภาพผู้ตายไว้ ต่อมามีทหารเข้ามาในปั๊มน�้ำมัน จึงพยายามปีนข้ามรั้วก�ำแพงเข้าไปในบ้านหลัง หนึ่งที่ติดกับปั๊มพร้อมกับผู้ตายและคนอื่นๆ แต่ผู้ตายเสียหลักตกลงไปในสระน�้ำ เมื่อ ทหารตามมาถึง ใช้อาวุธปืนขู่ให้มอบตัวและให้ปีนก�ำแพงกลับมา พร้อมให้พาผู้ตายข้าม ก�ำแพงด้วย แต่ตนพยุงผูต้ ายไม่ไหวเนือ่ งจากตัวใหญ่ ทหารสัง่ ให้ชว่ ยกันแบกผูต้ ายข้ามมา 82 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ขณะนั้นผู้ตายไม่ขยับตัวแล้ว รวมทั้งได้ความจากพนักงานสอบสวนและนักข่าวชาวไทยและต่างประเทศที่ไป ถ่ายภาพท�ำข่าวในที่เกิดเหตุเป็นพยานเบิกความประกอบภาพถ่ายที่เกิดเหตุ ข้อเท็จจริง รับฟังได้ว่า ผู้ตายชื่อ นายชาญณรงค์ ตายที่โรงพยาบาลพญาไท 1 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลาประมาณ 14.00 น. ตามรายงานการตรวจศพ ปัญหาต้องวินิจฉัยว่า เหตุและพฤติการณ์ที่ตาย และใครเป็นผู้ท�ำให้ตาย ส�ำหรับ เหตุที่ตาย มีแพทย์ผู้ตรวจชันสูตรศพผู้ตายเบิกความว่า นายชาญณรงค์ ถูกกระสุน ความเร็วสูงเข้าที่ท้อง ท�ำให้ล�ำไส้ขาดหลายแห่ง และเก็บหัวกระสุนที่ได้จากศพผู้ตายส่ง ไปตรวจโดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านการตรวจอาวุธปืนตรวจพิสูจน์แล้วยืนยันว่า เป็นหัวกระสุน ขนาด.223 หรือ 5.56 มิลลิเมตร และหัวกระสุนดังกล่าวใช้กับปืนความเร็วสูงชนิดเอ็ม 16, เอชเค .. และทาวอร์-ทาร์ 21 ส�ำหรับพฤติการณ์ที่ตายและใครท�ำให้ตายนั้น ได้ความจากพยานกลุ่มที่เป็น นักข่าวทั้งชาวไทยและต่างประเทศที่ไปถ่ายภาพและรายงานข่าวในที่เกิดเหตุ ประจักษ์ พยานที่ส�ำคัญเบิกความว่า กระสุนปืนถูกยิงมาจากทางที่ทหารประจ�ำการอยู่หลังรั้วลวด หนามหีบเพลงและกระสอบทราย บริเวณถนนราชปรารภฝั่งประตูน�้ำ กระสุนถูกผู้ตาย ผู้ชุมนุมคนอื่นๆ มีสื่อมวลชนถ่ายภาพเหตุการณ์ไว้ นอกจากนี้มีเจ้าหน้าที่จากกองพิสูจน์หลักฐานตรวจสอบที่เกิดเหตุ เบิกความ ยืนยันว่า พบรอยกระสุนปืนฝั่งที่ผู้ตายและผู้ชุมนุมอยู่ โดยกระสุนปืนถูกยิงมาจากทางที่ ทหารประจ�ำการ มีแผนที่สังเขปและภาพถ่ายเหตุการณ์ขณะเกิดเหตุเป็นพยาน ด้านพยานที่เป็นเจ้าหน้าที่ทหารปฏิบัติหน้าที่บริเวณดังกล่าว สังกัดกองพัน ทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ เบิกความยอมรับว่า ท�ำหน้าที่ที่ ถนนราชปรารภตามศอฉ. แต่ไม่มีทหารในสังกัดยิงใส่ผู้ชุมนุม ขัดกับพยานหลักฐานรอย กระสุนปืนที่พบ ค�ำเบิกความของพยานกลุ่มนี้ จึงมีพิรุธ ขัดแย้งกับหลักฐานภาพถ่าย ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า กระสุนปืนที่ยิงนายชาญณรงค์ มาจากทางทหาร แต่เมื่อ ค�ำสั่ง ศอฉ.ให้ พล.1 รอ. ไปท�ำหน้าที่บริเวณดังกล่าว ไม่ปรากฏว่ากองพันทหารราบที่ 3 สังกัด พล.1 รอ. หรือไม่ เนื่องจากผู้ร้องไม่น�ำสืบให้ชัดว่าเป็นหน่วยใด และบริเวณที่เกิด คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 83


เหตุมีทหารหน่วยกองพันทหารราบที่ 3 เพียงหน่วยเดียวเท่านั้น แต่ไม่มีพยานเห็นขณะ ยิง จึงฟังไม่ได้ว่า ทหารจากกองพันทหารราบที่ 3 เป็นผู้ยิง อาจเป็นหน่วยอื่นก็เป็นได้ จึงฟังได้เพียงว่าทหารที่ ศอฉ.ส่งไปปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ท�ำให้ตาย ส่วนผลการตรวจปืน ไม่ สามารถยืนยันได้แน่นอนว่าทหารไม่ได้ยิง เพราะเปลี่ยนล�ำกล้องได้ ดังนั้น ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่า เหตุและพฤติการณ์ที่ตายเป็นอย่างไร และ จากใครเป็นผู้กระท�ำร้ายผู้ตายเท่าที่จะทราบได้ จึงรับฟังได้ว่า ผู้ตายเสียชีวิตเพราะถูก กระสุนปืนจากอาวุธปืนความเร็วสูง ขนาด .223 หรือ 5.56 มิลลิเมตร ของทหารที่ ศอฉ. ส่งไปด�ำเนินการตามมาตรการปิดล้อมและสกัดกั้นกลุ่มผู้ชุมนุมเพื่อขอคืนพื้นที่และผิว จราจรบริเวณถนนราชปรารภ อาศัยเหตุผลดังที่ได้วินิจฉัยมาขั้นต้น จึงมีค�ำสั่งว่าผู้ตาย คือ นายชาญณรงค์ ตายที่โรงพยาบาลพญาไท 1 แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลาประมาณ 14.00 น. เหตุและพฤติการณ์ที่ตาย คือ ถูกทหาร ที่มาปฏิบัติหน้าที่ตามค�ำสั่ง ศอฉ.ในการด�ำเนินการตามมาตรการปิดล้อมและสกัดกั้น กลุ่มผู้ชุมนุม เพื่อขอคืนพื้นที่และผิวการจราจรบริเวณถนนราชปรารภ ยิงด้วยอาวุธ ปืนความเร็วสูง ขนาด .223 หรือ 5.56 มิลลิเมตร หัวกระสุนปืนลูกโดด ถูกหน้าท้อง และแขนขวา เป็นเหตุให้ลำ� ไส้เล็กฉีกขาดหลายต�ำแหน่ง

84 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


เปิดค�ำสั่งศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 3) นายชาติชาย ชาเหลา (ผู้ตาย)

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2555 ศาลอาญาได้อ่านค�ำสั่งชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 3) นายชาติชาย ชาเหลา (ผู้ตาย) อายุ 25 ปี ชาวสุรินทร์ อาชีพขับแท็กซี่ เหตุเกิดเมื่อวัน ที่ 13 พฤษภาคม 2553 ที่ถนนพระราม 4 กทม. ซึ่งอัยการส�ำนักงานอัยการสูงสุด ได้ยื่น ค�ำร้องขอให้ศาลมีค�ำสั่งว่า ผู้ตายคือใคร พฤติการณ์และเหตุแห่งความตาย ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 ศาลพิเคราะห์จากพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่ายแล้ว ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ระหว่างวันที่ 12 มีนาคม 2553 – 19 พฤษภาคม 2553 กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตย ต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ชุมนุมเพื่อเรียกร้องให้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายก รัฐมนตรีขณะนั้น ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดให้มีการเลือกตั้ง ส.ส.ขึ้นใหม่ แต่ นายกรัฐมนตรีปฏิเสธค�ำเรียกร้อง กลุ่ม นปช.จึงมีการชุมนุมทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง โดยมีการขยายพื้นที่การชุมนุมไปยังสี่แยกราชประสงค์ ถนนเพลินจิต ถนนพระราม 1 ถนนพระราม 4 กระทั่งเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 รัฐบาลพิจารณาเห็นว่า การชุมนุมทางการ เมืองดังกล่าวก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยภายในประเทศ จึงได้ออกประกาศสถานการณ์ ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขต กทม. และอีกหลายพื้นที่ โดยนายกรัฐมนตรีได้ออกค�ำ สั่งที่พิเศษ 1/2553 จัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) โดยมีนายสุ เทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็น ผอ.ศอฉ. และมีข้าราชการทหาร ต�ำรวจและ พลเรือนเป็น ผช.ผอ. และค�ำสั่งที่พิเศษ 2/2553 แต่งตั้งผู้ก�ำกับการปฏิบัติงานหัวหน้า ผู้รับผิดชอบและพนักงานเจ้าหน้าที่ โดยเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และมีอ�ำนาจเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ำรวจ ตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา และได้มีการออกข้อก�ำหนดโดยประกาศของ ศอฉ. ห้ามกระท�ำการ ต่างๆ เพื่อให้เจ้าพนักงานสามารถปฏิบัติหน้าที่แก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินได้ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 85


โดยระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 เวลา 06.00 น. – 14 พฤษภาคม 2553 เวลา 06.00 น. ศอฉ. มีค�ำสั่งให้เจ้าพนักงานซึ่งมีอาวุธประจ�ำกาย ได้แก่ ปืนเล็กยาว เอ็ม 16 ปืนเล็กสั้นเอ็ม 653 ปืนเล็กยาวแบบ 11 (HK 33) ปืนลูกซองและปืนพก ออก ไปตั้งด่านแข็งแรงบริเวณถนนพระราม 4 ซึ่งในวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 เวลาประมาณ 21.00 น. ระหว่างเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่ ผู้ตายกับพวกซึ่งเป็นผู้ชุมนุมกลุ่มแนวร่วม ประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ ได้มีการรวมตัวกันทยอยเคลื่อนที่เข้าหาด่าน ตรวจแข็งแรงของเจ้าพนักงาน และได้ยิงพลุและตะไลเข้าใส่เจ้าพนักงาน ส่วนผู้ตาย ถือกล้องถ่ายวีดีโอถ่ายภาพระหว่างเคลื่อนที่เข้าหาด่านตรวจแข็งแรงของเจ้าพนักงาน ระหว่างนั้นมีเสียงปืนดังขึ้น กระสุนปืนถูกผู้ตายที่ศีรษะทะลุด้านหลัง ไปเสียชีวิตที่โรง พยาบาลจุฬาลงกรณ์ ปัญหาต้องวินิจฉัยมีเพียงว่าเหตุและพฤติการณ์แห่งการตายของผู้ตายเป็น อย่างไร เห็นว่า ผู้ร้องมีประจักษ์พยานยืนยันว่า เห็นแสงซึ่งเชื่อว่าเป็นกระสุนปืนมา จากแนวตั้งด่านของฝ่ายเจ้าพนักงาน พยานเป็นคนกลาง ซึ่งไม่มีส่วนได้เสียกับฝ่ายใด เชื่อว่าพยานเบิกความตามความจริงที่รู้เห็นมาเมื่อรับฟังประกอบความเห็นของพยาน ผู้เชี่ยวชาญ เชื่อได้ว่าวิถีกระสุนมาจากทางแยกศาลาแดง ซึ่งเป็นแนวตั้งด่านตรวจแข็ง แรงของเจ้าพนักงาน ทั้งปรากฏจากทางไต่สวนว่าจุดเกิดเหตุอยู่ใกล้กับบริษัท กฤษณา มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด และอาคารอื้อจื่อเหลียง ถนนพระราม 4 ซึ่งบริเวณนั้นมีเพียงเจ้า พนักงานตั้งด่านตรวจแข็งแรงและเจ้าพนักงานมีอาวุธประจ�ำกาย ได้แก่ ปืนเล็กยาวเอ็ม 16 ปืนเล็กสั้น 653 ปืนเล็กยาวแบบ 11 (HK 33) ปืนลูกซองและปืนพก ดูแลพื้นที่ตาม ค�ำสั่ง ศอฉ. และด้านหลังแนวตั้งด่านตรวจแข็งแรงของเจ้าพนักงานเป็นบังเกอร์ ซึ่งบุคคล ภายนอกไม่สามารถผ่านเข้าไปได้ ยกเว้นรถพยาบาลเท่านั้น เมื่อไม่ปรากฏจากการไต่สวนว่า มีบุคคลฝ่ายที่สามเข้ามาก่อเหตุใดๆ ทั้ง กระสุน ปืนขนาด .223 ที่ยิงมาถูกผู้ตายก็เป็นขนาดเดียวกับกระสุนปืนที่ใช้กับอาวุธปืนเล็กยาว เอ็ม 16 ปืนเล็กสั้นเอ็ม 653 ปืนเล็กยาวแบบ 11 (HK 33) ซึ่งเจ้าพนักงานใช้ประจ�ำการ ในการดูแลความสงบเรียบร้อยบริเวณที่เกิดเหตุ พฤติการณ์จึงเชื่อได้ว่า กระสุนดังกล่าว ถูกยิงมาจากกลุ่มเจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติหน้าที่อยู่ที่ด่านตรวจแข็งแรงดังกล่าว โดยยัง 86 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ไม่ทราบแน่ชัดว่า ใครเป็นผู้กระท�ำ ศาลจึงมีค�ำสั่งว่า ผู้ตาย คือ นายชาติชาย ชาเหลา ถึงแก่ความตายที่โรง พยาบาลจุฬาลงกรณ์ ถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน กทม. เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 เวลา 23.37 น. โดยเหตุและพฤติการณ์แห่งการตาย สืบเนื่องมาจากการถูก ยิงด้วยกระสุนปืนขนาด.223 (5.56 มม.) เป็นเหตุให้สมองฉีกขาดร่วมกับกะโหลก ศีรษะแตกอย่างมาก ซึ่งวิถีกระสุนปืนมาจากแนวด่านตรวจแข็งแรงของเจ้าพนักงาน ซึ่งก�ำลังปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อย ถนนพระราม 4 โดยยังไม่ทราบว่า ใคร เป็นผู้ลงมือกระท�ำ

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 87


ค�ำสั่งศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ (คดีที่ 4) เด็กชายคุณากร ศรีสุวรรณ (ผู้ตาย) คดีนี้ผู้ร้องยื่นค�ำร้องว่า เมื่อระหว่างวันที่ 12 มีนาคม 2553 – 19 พฤษภาคม 2553 มีกลุ่มประชาชนใช้ชื่อว่า กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ได้ชุมนุมเรียกร้องให้รัฐบาลยุบสภา ที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศ และสี่แยก ราชประสงค์ ระหว่างการชุมนุม นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ตามพ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 เพื่อควบคุมการชุมนุมโดยจัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) มีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีขณะนั้น เป็นผู้อ�ำนวยการ ต่อมาวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 ศอฉ.ได้ออกประกาศการห้ามใช้เส้นทาง โทรคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะใดๆ เข้าหรือออกเส้นทางตรงบริเวณถนนราชปรารภ ตั้งแต่สี่แยกประตูน�้ำถึงสี่แยกมักกะสัน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ โดยมีเจ้าหน้าที่ทหารกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 31 รักษาพระองค์ และกองพันทหารราบที่ 3 ซึ่งได้รับค�ำสั่งจากผู้บังคับบัญชา ให้ปฏิบัติหน้าที่ควบคุมการใช้เส้นทางคมนาคมบริเวณ ดังกล่าว มีการติดแผ่นป้ายข้อความว่าเขตใช้กระสุนจริง จากนั้นในวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลาประมาณ 00.10 น. นายสมร ไหมทอง ขับรถตู้หมายเลขทะเบียน ฮค 8561 กรุงเทพมหานคร ไปตามถนนราชปรารภ มุ่งหน้าแยกมักกะสัน ซึ่งเป็นพื้นที่ควบคุมของเจ้าหน้าที่ทหาร มีการวางก�ำลังทหารอยู่ บริเวณบังเกอร์ริมถนนราชปรารภ ใต้สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ทั้งสองด้าน เจ้าหน้าที่ ทหารใช้เครื่องขยายเสียงประกาศเตือนนายสมรให้ออกจากพื้นที่ แต่นายสมรยังคงขับรถ ตู้แล่นไปในพื้นที่ควบคุม เจ้าหน้าที่ทหารจึงใช้อาวุธปืนระดมยิงรถตู้หลายนัด กระสุนปืน ถูกรถตู้ได้รับความเสียหายและนายสมรได้รับบาดเจ็บตรงบริเวณล�ำตัว และ ด.ช.คุณากร ถึงแก่ความตาย อันเป็นการตายที่เกิดจากการกระท�ำของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติ 88 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ราชการตามหน้าที่ ขอให้ศาลไต่สวนและมีค�ำสั่ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มาตรา 150 โดยศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า ผู้ร้องน�ำสืบว่า ด.ช.คุณากร ผู้ตาย มีภูมิล�ำเนาอยู่ บ้านเลขที่ 44 หมู่ 1 แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กทม. กระทั่งปี 2547 ย้ายไปอยู่ไป ความปกครองของสถานสงเคราะห์เด็กก�ำพร้าองค์กรสงเคราะห์มุสลิมนานาชาติ แห่งราช อาณาจักร ซาอุดีอาระเบีย ที่ตั้งอยู่เขตสวนหลวง โดยระหว่างวันที่ 12 มีนาคม 2553 – วัน ที่ 19 พฤษภาคม 2553 นายอภิสิทธิ์ นายกรัฐมนตรีขณะนั้น ได้ออกประกาศสถานการณ์ ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ตาม พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และ จัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ที่มีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รอง นายกรัฐมนตรี เป็น ผอ.ศอฉ. และ ศอฉ. ได้ออกประกาศควบคุมการใช้เส้นทางคมนาคม เข้า-ออกถนนราชปรารภ ตั้งแต่สี่แยกประตูน�้ำถึงสี่แยกมักกะสัน ที่มีเจ้าหน้าที่ทหารจาก กองพลที่ 1 รักษาพระองค์ ได้รับค�ำสั่งจากผู้บังคับบัญชา ให้ปฏิบัติหน้าที่ควบคุมพื้นที่ทั้ง 2 ฝั่งถนน และตามแนวบังเกอร์ ประกอบด้วยกองทัพทหารปืนใหญ่ที่ 31 รักษาพระองค์ และกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และจัดวางลวด หนามตั้งแต่บริเวณปากซอยราชปรารภ 6 ถึงสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 เวลา 23.00 น.เศษ นายคมสันติ ทองมาก ผู้สื่อข่าวซึ่ ง ไปท� ำ ข่ า วเกี่ ย วกั บ ผู ้ ชุ ม นุ ม นปช.บริ เวณถนนราชปรารภ พบเห็นผู้ตาย วิ่งเล่นอยู่บริเวณบังเกอร์ที่เจ้าหน้าที่ทหารวางไว้ตามสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ฝั่ง โรงภาพยนตร์โอเอ ต่อมาเวลาประมาณเที่ยงคืนของวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 นายสมร ไหมทอง ได้ขับรถตู้ หมายเลขทะเบียน ฮค 8561 กรุงเทพมหานคร ออกจาก ซอยวัฒนวงศ์ แล้วเลี้ยวขวาไปที่สี่แยกมักกะสันซึ่งเป็นพื้นที่ควบคุมของเจ้าหน้าที่ทหาร ร.อ.เสริมศักดิ์ ค�ำละมูล ซึ่งประจ�ำอยู่บริเวณหน้าร้านอาหารอินเดียฟู้ด จึงแจ้งไปยังชุด ตรวจที่อยู่ใกล้ปากซอย ให้ประกาศห้ามรถตู้เข้าไปในพื้นที่ควบคุม แต่นายสมรยังคงขับ รถตู้ต่อไปทางสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ เมื่อแล่นผ่านจุดที่ ร.อ.เสริมศักดิ์ กับพวก ประจ�ำอยู่ มีเสียงปืนดังขึ้นหลายนัดมาจากหลายทิศทาง นายสมรพยายามขับรถตู้ต่อไป จนข้ามทางรถไฟไปถึงสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ เมื่อสิ้นเสียงปืนก็พบว่า นายสมรถูก คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 89


กระสุนปืนที่เอวและท้อง นอกจากนี้ยังพบว่า มีผู้ถูกกระสุนปืนยิงใส่อีก 2 คน คือ นายพัน ค�ำกอง และ ผู้ตาย โดยผู้ตายมีบาดแผลถูกกระสุนปืนยิงเข้าที่ด้านหลัง บริเวณกึ่งกลางล�ำตัว ทะลุช่อง ท้อง นอนอยู่ที่พื้นถนนในซอยโรงภาพยนตร์โอเอ ห่างจากปากซอยซึ่งติดถนนราชปรารภ ประมาณ 20 เมตร ถัดจากปากซอยไปไม่ไกล เป็นจุดที่รถตู้คันที่นายสมรขับจอดอยู่ ส่วน นายพัน ค�ำกอง ถูกกระสุนปืนขณะยืนอยู่ตรงบริเวณทางเข้าออกอาคารคอนโดมิเนียมไอ ดีโอ ตรงกันข้ามและเยื้องกับซอยโรงภาพยนตร์โอเอ ส�ำหรับสาเหตุที่ผู้ตายถูกยิงนั้น ได้ความจากนายสมรว่า ขณะขับรถเลี้ยว ขวาออกจากซอยได้ประมาณ 30 เมตร มีเสียงปืนดังขึ้น โดยเจ้าหน้าที่ทหารทั้งสอง ฝั่งระดมยิงมายังรถตู้ที่ก�ำลังขับอยู่ ซึ่งสอดคล้องกับที่ให้การไว้ในชั้นสอบสวนว่า เห็น ทหารจ�ำนวน 3 คน ยิงปืนมาที่รถ นอกจากนี้ ยังได้ความจากนายคมสันติว่า ก่อนที่ รถตู้จะแล่นเข้ามา เจ้าหน้าที่ทหารประกาศผ่านเครื่องขยายเสียงขอให้ผู้ขับหยุดรถ มิฉะนั้นจะยิงสกัด เมื่อสิ้นเสียงประกาศจึงมีเสียงปืนดังมาจาก 2 ฝั่งถนน โดยทั้ง 2 ฝั่ง ถนน มีเจ้าหน้าที่ทหารประจ�ำอยู่ตั้งแต่สี่แยกประตูน�้ำถึงสี่แยกมักกะสัน ซึง่ พยานได้ บันทึกภาพเหตุการณ์รถตูเ้ ข้าไปในพืน้ ที่ จนกระทัง่ ถูกยิงสกัดได้ อีกทั้งพยานผู้ร้องซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ทหารประจ�ำอยู่บริเวณที่เกิดเหตุ ต่างเบิก ความตรงกันสรุปได้ว่า เจ้าหน้าที่ทหารจากกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 31 รักษาพระองค์ มีหน้าที่รับผิดชอบตั้งแต่สี่แยกมักกะสันไปจนถึงซอยราชปรารภ 6 ฝั่งซ้าย มุ่งหน้าสี่แยก ประตูน�้ำ แบ่งก�ำลังคุมพื้นที่ 4 แห่ง แต่ละแห่งมีเจ้าหน้าที่ทหารประมาณ 6 นาย โดยก่อน เกิดเหตุ พยานแต่ละคนได้ยินเสียงเจ้าหน้าที่ทหารประกาศผ่านเครื่องขยายเสียง ห้ามไม่ ให้รถตู้นายสมรแล่นผ่านเข้าไปยังสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ แต่รถตู้ยังแล่นต่อไป จาก นั้นมีเสียงปืนดังหลายนัดมาจากหลายทิศทาง แม้พยานผู้ร้องจะไม่มีใครสามารถระบุตัวได้แน่ชัดว่า ผู้ใช้อาวุธปืนยิงผู้ตายเป็น ใคร แต่เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า ในวันเกิดเหตุ ถนนราชปรารภ ตั้งแต่สี่แยกประตูน�้ำไป จนถึงสี่แยกมักกะสันเป็นพื้นที่ควบคุม โดยมีเจ้าหน้าที่ทหารจากกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 31 รักษาพระองค์ น�ำโดย พ.ท.วรการ ฮุ่นตระกูล และกองพันทหารราบที่ 3 กรมทหาร 90 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ประจ�ำอยู่ตลอดแนวถนนราชปรารภทั้ง 2 ฝั่ง ตั้งแต่สี่ แยกประตูนำ�้ ไปจนถึงสีแ่ ยกมักกะสัน และปากซอยหมอเหล็ง เฉพาะหน่วยของ พ.ท.วรการ เอง มีทหารถึง 150 นาย มีกองบัญชาการอยู่บนสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ จึงเป็นการ ยากที่บุคคลอื่นซึ่งไม่ใช่เจ้าหน้าที่ทหารจะเข้าไปอยู่ในพื้นที่เกิดเหตุได้ โดยไม่ถูกเจ้าหน้าที่ ทหารซึ่งประจ�ำการอยู่พบเห็น อีกทั้ง พล.อ.ต.วิชาญ เปียวนิ่ม แพทย์ผู้ตรวจศพผู้ตาย ได้เบิกความรับรองว่า พบโลหะชิ้นเล็กที่บาดแผลของผู้ตาย สันนิษฐานว่า เป็นโลหะจาก หัวกระสุนปืนความเร็วสูง ซึ่งเป็นปืนที่ใช้ในราชการสงคราม ประเภทเอ็ม 16 หรืออาก้า ซึ่งเมื่อพิจารณาค�ำเบิกความของพยานผู้ร้องและภาพที่ปรากฏในแผ่นดีวีดีหลักฐาน จะเห็นว่า เจ้าหน้าที่ทหารที่ประจ�ำการบริเวณที่เกิดเหตุหลายคน มีอาวุธปืนเอ็ม 16 อยู่ ด้วย ข้อเท็จจริงจึงไม่อาจรับฟังเป็นประการอื่นได้ คดีจึงต้องรับฟังว่า คืนเกิดเหตุ ขณะที่นายสมรขับรถตู้เข้าไปในถนนราชปรารภ มุ่งหน้าสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ ซึ่งเป็นพื้นที่ควบคุมตามประกาศของ ศอฉ. เมื่อ เจ้าหน้าที่ทหารประจ�ำการอยู่ ประกาศผ่านเครื่องขยายเสียงห้ามเข้าไปในพื้นที่แล้ว นาย สมรยังขับรถตู้ต่อไป เจ้าหน้าที่ทหารซึ่งประจ�ำอยู่บริเวณที่เกิดเหตุ จึงได้ใช้อาวุธปืนยิงใส่ รถตู้ของนายสมร เป็นเหตุให้ลูกกระสุนปืนไปถูกผู้ตายจนถึงแก่ความตาย จึงมีค�ำสั่งว่า ผู้ตาย คือ ด.ช.คุณากร ศรีสุวรรณ ตายระหว่างถูกน�ำส่งโรง พยาบาลพญาไท 1 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 เวลากลางคืนก่อนเที่ยง เหตุและพฤติการณ์ที่ตาย คือ ถูกลูกกระสุนปืน ซึ่งยิงจากอาวุธปืนของเจ้าหน้าที่ทหารที่ก�ำลังปฏิบัติหน้าที่

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 91


ค�ำสั่งศาลอาญา คดีชันสูตรพลิกศพ 6 ศพ ที่วัดปทุมวนาราม คดีที่พนักงานอัยการฝ่ายคดีอาญากรุงเทพใต้ 4 ยื่นค�ำร้องต่อศาลอาญากรุงเทพ ขอให้ศาลฯ ไต่สวนชันสูตรพลิกศพการเสียชีวิตของบุคคลดังต่อไปนี้ (1).นายสุวัน ศรีรักษา อายุ 30 ปี อาชีพเกษตรกร (2).นายอัฐชัย ชุมจันทร์ อายุ 28 ปี บัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง (3).นายมงคล เข็มทอง อายุ 36 ปี เจ้าหน้าที่อาสามูลนิธิปอเต็กตึ๊ง (4).นายรพ สุขสถิต อายุ 66 ปี พนักงานขับรถรับจ้างในสนามบิน (5).นางสาวกมนเกด ฮัคฮาด (น้องเกด) อายุ 25 ปี พยาบาลอาสา (6).นายอัครเดช ขันแก้ว อาชีพรับจ้าง ผู้เสียชีวิตทั้ง 6 ศพ ถูกยิงเสียชีวิตบริเวณวัดปทุมวนาราม ใกล้แยกราชประสงค์ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ช่วงสลายการชุมนุมกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้าน เผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ระหว่างที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และนาย สุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี ศาลอาญากรุงเทพกรุงเทพ ได้อ่านค�ำสั่งเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556 คดีชันสูตร พลิกศพ 6 ศพที่วัดปทุม ในประเด็นที่ว่าผู้ตายเป็นใคร ตายที่ใด ตายเมื่อไร สาเหตุและ พฤติการณ์ตายเกิดจากอะไร ตามประมวลกฎหมายกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 มีข้อความส�ำคัญ ดังต่อไปนี้ ศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานของผู้ร้องและญาติผู้ตายทั้ง 6 คน ทั้งประจักษ์ พยาน พยานแวดล้อมและผู้เชี่ยวชาญต่างๆแล้ว ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่าเจ้าหน้าที่ผู้ เชี่ยวชาญด้านอาวุธปืนจากกองพิสูจน์หลักฐาน (พฐ.) ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ (ตร.) ได้ตรวจสอบภายในวัดปทุมวนารามฯ และบริเวณรถไฟฟ้าบีทีเอสพบรอยคล้ายถูกอาวุธ ปืนยิงในที่เกิดเหตุหลายนัด เมื่อพิจารณาผลการชันสูตรศพผู้เสียชีวิตทั้ง 6 ศพ ได้ความ ว่า ด้านหลังสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสมีเพียงอาคารของ ตร.แห่งเดียว และอยู่ห่างจากสถานี 92 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


รถไฟฟ้าเพียง 100 เมตร หากยิงจาก ตร.ต้องผ่านสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส จึงเป็นไปไม่ได้ที่ กระสุนปืนจะยิงมาจากอาคารของ ตร. อีกทั้งเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ 3 นาย เบิกความท�ำนองเดียวกันว่า พยานอยู่บนชั้น 12 อาคาร 19 ตร. ได้ยินเสียงปืนดังหน้า ตร.จึงใช้กล้องถ่ายรูปถ่ายเก็บไว้ และเห็นเจ้า พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่บนรางรถไฟฟ้าบีทีเอสบริเวณหน้าวัดปทุมวนารามฯ ใช้ปืนยิง ไปที่กลุ่มผู้ชุมนุมโดยไม่มีการต่อสู้ และไม่มีท่าทีหลบกระสุน นอกจากนี้ ทหารสังกัดกองพันจู่โจม กรมรบพิเศษที่ 3 ค่ายเอราวัณ จ.ลพบุรี เบิกความยอมรับว่า ได้รับค�ำสั่งจากศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ให้ ปฏิบัติหน้าที่บนรถไฟฟ้าบีทีเอส หน้าสนามกีฬาแห่งชาติ โดยคุ้มกันเจ้าหน้าที่ทหารสังกัด กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ที่อยู่บนถนนพระราม 1 ใช้ อาวุธปืนเอ็ม 16 ชนิด เอ 4 และ เอ 2 บนรางบีทีเอสชั้น 1-2 กระทั่งเวลา 15.00 น. วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 มีชาย 2 คนใช้ปืนยิงไล่เจ้า พนักงานที่ยืนประจ�ำอยู่แยกเฉลิมเผ่า จากนั้นเจ้าพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ได้เคลื่อนย้าย ไปบริเวณหน้าวัดปทุมวนารามฯ และเจ้าหน้าที่ทหารใช้ปืนยิงไปที่ตอม่อและก�ำแพงวัด ปทุมวนารามฯหลายนัด โดยอ้างว่าเห็นชายชุดด�ำยืนอยู่ แต่เมื่อพิจารณาภาพนิ่งและภาพ เคลื่อนไหว แสดงให้เห็นว่า ไม่มีใครเคลื่อนไหวบนรางรถไฟฟ้าบีทีเอส นอกจากทหาร สังกัดกองพันจู่โจมฯ เท่านั้น และเมื่อพิจารณาวัตถุของกลางจากการผ่าพิสูจน์ชันสูตรศพผู้ตาย พบเครื่อง กระสุนและเศษกระสุนปืนทองแดงหุ้มเหล็ก ขนาด .223 หรือ 5.56 มม. โดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านอาวุธปืนจากกรมสรรพาวุธเบิกความว่า กระสุนดังกล่าวใช้กับอาวุธปืนเอ็ม 16 ชนิด เอ 4 และ เอ 2 เป็นอาวุธประจ�ำกายของทหารและต�ำรวจที่ใช้ในการสงคราม ทหาร หน่วยกองพันจู่โจมฯ ก็ใช้อาวุธปืนดังกล่าวด้วย แม้ว่า สน.ปทุมวันจะส่งเศษกระสุนไปพิสูจน์เปรียบเทียบที่ ตร. และผลตรวจ ปรากฏว่าเศษกระสุนทีพ่ บไม่ได้ใช้ยงิ จากปืนดังกล่าว โดยพยานยืนยันอีกว่า การตรวจอาวุธ ปืนส่งไปตรวจหลังเกิดเหตุเป็นเวลานาน อีกทัง้ ชิน้ ส่วนของปืนสามารถถอดประกอบได้ หากมีการเปลี่ยนชิ้นส่วนก็ไม่สามารถน�ำไปเปรียบเทียบกับเศษกระสุนได้ และทุกครั้ง คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 93


ที่ใช้งานจะต้องท�ำความสะอาด ท�ำให้ร่องรอยเปลี่ยนแปลงได้ ท�ำให้ไม่ปรากฏว่าตรง กับความจริง ส่วนประเด็นที่อ้างว่า มีชายชุดด�ำในที่เกิดเหตุนั้นเห็นว่า ทหารสังกัดกองพัน ทหารราบที่ 2 เบิกความว่าเห็นชาย 2 คน ที่ตอม่อรถไฟฟ้าบีทีเอส ใช้ปืนยิงมานั้น เห็น ว่า ขณะเกิดเหตุเป็นช่วงเวลากลางวัน มีผู้สื่อข่าวทั้งไทยและต่างประเทศจ�ำนวนมาก แต่ไม่มีภาพชายชุดด�ำแม้แต่ภาพเดียว และไม่มีเจ้าหน้าที่รัฐได้รับบาดเจ็บจากการถูก ยิงต่อสู้ ค�ำเบิกความมีพิรุธน่าสงสัย ประกอบกับเจ้าหน้าที่ทหารที่ประจ�ำการอยู่ใกล้กัน ยังเบิกความว่า ไม่พบใครอยู่บริเวณดังกล่าว จึงไม่ได้ใช้ปืนยิง หากมีชายชุดด�ำยืนอยู่จริง คงไม่ปล่อยให้เจ้าพนักงานทหารยิงต่อสู้เพียง ล�ำพังนานถึง 40 นาที คงต้องเข้ามาช่วยเหลือสนับสนุน อีกทั้งทหารที่ประจ�ำการอยู่ บนรถไฟฟ้าบีทีเอสเบิกความยอมรับว่า ขณะปฏิบัติหน้าที่ไม่มีชายชุดด�ำในวัดปทุม วนารามฯ จึงไม่ได้ใช้ปืนยิงต่อสู้ แสดงให้เห็นว่าพยานที่เป็นเจ้าพนักงานของรัฐให้การขัดแย้งกันเอง จึงไม่มีน�้ำ หนักน่าเชื่อถือ และที่พยานซึ่งเป็นกลุ่มผู้ชุมนุมให้การกับเจ้าหน้าที่ต�ำรวจว่า เห็นปาก กระบอกปืนในกลุ่มผู้ชุมนุมนั้น ตรวจสอบพบว่า ก่อนหน้านี้เจ้าหน้าที่ทหารได้พาพยาน ไปที่ค่ายทหารแห่งหนึ่ง เพื่อรับเงินและน�ำตัวไปให้ต�ำรวจสอบปากค�ำ เห็นว่าทหารได้ พาพยานไปสอบสวนเอง ไม่ใช่เป็นการสมัครใจของพยานและยังมีการให้เงินจูงใจ พยาน ปากนี้จึงไม่มีน�้ำหนักรับฟังได้ ส� ำ หรั บ ประเด็นการตรวจคราบเขม่าดินปื น บนนิ้ วมื อ ผู ้ ตาย เห็นว่า ผล ตรวจของสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม และกองพิสูจน์หลักฐาน (พฐ.) ตร.ต่างกัน โดยพยานจากสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ เบิกความว่า ได้รับการประสานจาก กรมสอบสวนคดีพิเศษให้เข้าไปตรวจสอบคราบเขม่าดินปืนของผู้ตายทั้ง 6 ศพ โดย เข้าไปถึงในพื้นที่เป็นหน่วยงานแรกและการตรวจได้บันทึกและแสดงวิธีการจัดเก็บ อย่างละเอียด ขณะที่ผลตรวจสอบพฐ.ไม่ได้แสดงว่า มีการจัดเก็บส�ำลีพันปลายแหลม เมื่อใด เวลาใดและอย่างไร ผลตรวจของสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ จึงมีน�้ำหนักน่าเชื่อถือ มากกว่า พฐ.เชื่อว่ามือทั้งสองข้างของผู้เสียชีวิตทั้ง 6 ศพ ไม่มีคราบเขม่าดินปืน และ 94 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้อาวุธปืน ส�ำหรับประเด็นที่พบอาวุธปืนในวัดปทุมวนารามฯ เห็นว่าพยานเบิกความ ว่า ในระหว่างการชุมนุม ศอฉ.ได้ตั้งด่านตรวจเข้มแข็ง และมีการประกาศห้ามไม่ให้ บุคคลอื่นเข้ามาในพื้นที่ รวมทั้งสั่งห้ามใช้เส้นทางคมนาคมทางน�้ำและทางบก ระงับการ เดินรถไฟฟ้าโดยรอบการชุมนุม และห้ามน�ำอาวุธเข้ามาบริเวณที่ชุมนุมจนกว่าจะมีค�ำสั่ง เปลี่ยนแปลง แสดงให้เห็นว่า การตั้งด่านเข้มแข็งย่อมเป็นไปได้ยากที่คนจะน�ำอาวุธเข้ามา ในพื้นที่ควบคุมได้ เพราะแม้แต่เจ้าหน้าที่ต�ำรวจก็ไม่สามารถเข้าพื้นที่ได้ เว้นแต่เจ้าหน้าที่ ทหารจะอนุญาต และวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ทหารได้ยึดพื้นที่ทั้งหมด แต่ไม่พบว่า สามารถตรวจยึดอาวุธปืนและไม่สามารถจับกุมกลุ่มผู้ชุมนุมด�ำเนินคดีได้ ต่อมาได้มีการ ตรวจยึดอาวุธปืนหลังยุติการชุมนุมมาเป็นเวลานานหลายเดือน การตรวจยึดจึงเป็น ข้อพิรุธ จึงไม่น่าเชื่อว่าพบอาวุธปืนในวัด ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า ผู้ตายที่ 1 และที่ 3 - 6 ถึงแก่ความตายเพราะถูกยิง ด้วยกระสุนปืนความเร็วสูง ขนาด .223 หรือ 5.56 มม. จากเจ้าพนักงานซึ่งเป็นทหาร สังกัดกองพันจู่โจม กรมรบพิเศษที่ 3 ค่ายเอราวัณ ที่ประจ�ำการอยู่บนรถไฟฟ้าบีทีเอส และผู้ตายที่ 2 ถึงแก่ความตาย เพราะถูกยิงด้วยกระสุนปืนความเร็วสูง ขนาด .223 หรือ 5.56 มม. จากเจ้าพนักงานซึ่งเป็นทหารสังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหาร ราบที่ 31 รักษาพระองค์ ที่ประจ�ำการอยู่บนถนนพระรามที่ 1 ผู้ตายที่ 1 - 6 ถึงแก่ความตายในวัดปทุมวนารามฯ เวลากลางวัน เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 เหตุและพฤติกรรมที่ตายเนื่องจากถูกยิงด้วยกระสุนปืนขนาด .223 หรือ 2.56 มม. ซึ่งวิถีกระสุนมาจากเจ้าพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบ เรียบร้อยบนรางรถไฟฟ้าบีทีเอส หน้าวัดปทุมวนารามฯ และบริเวณถนนพระราม 1 ในการควบคุมพื้นที่บริเวณแยกราชประสงค์ ตามค�ำสั่งของ ศอฉ. เป็นเหตุให้ ผูต้ ายที่ 1 มีบาดแผลกระสุนปืนทะลุปอดและหัวใจ เสียโลหิตปริมาณมาก ผู้ตายที่ 2 มีบาดแผลกระสุนปืนท�ำลายปอด ผู้ตายที่ 3 มีบาดแผลกระสุนปืนท�ำลายปอด หัวใจ และตับ ผู้ตายที่ 4 มีบาดแผลกระสุนปืนท�ำลายปอดและตับ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 95


ผู้ตายที่ 5 มีบาดแผลกระสุนปืนท�ำลายสมอง และ ผู้ตายที่ 6 มีบาดแผลกระสุนทะลุในช่องปาก โดยยังไม่ทราบว่าใครท�ำ สรุป : ศาลอาญามีค�ำสั่งว่า ผู้ตายทั้ง 6 ตายเนื่องจากถูกยิงด้วยกระสุนปืนฯ ซึ่งวิถีกระสุนมาจากเจ้าพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยนรางรถไฟ ฟ้าบีทีเอส หน้าวัดปทุมวนารามฯ

96 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ธาริต อธิบดีกรม “ดีเอสไอ” เปิดใจการด�ำเนินคดีฆ่าประชาชน 99 ศพ นายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ให้สัมภาษณ์ น.ส.พ.ข่าวสด เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2555 หลังจากศาลมีค�ำสั่งคดีไต่สวน คดีชันสูตร พลิกศพ นายพัน ค�ำกอง (คดีที่ 1) และนายชาญณรงค์ พลศรีลา (คดีที่ 2) แล้ว “ขณะนี้เรารับส�ำนวนที่ศาลไต่สวนคดีของนายพัน ค�ำกอง เรียบร้อยแล้ว ถือเป็น ความจ�ำเป็นจะต้องเดินหน้าด�ำเนินคดีต่อไป ขอเรียนว่า การด�ำเนินคดีในเรื่องนี้ เป็นไปตามกฎหมาย คือ ประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 ที่ให้ศาลสถิตยุติธรรมเป็นผู้ไต่สวนเหตุการณ์ ตาย เพื่อให้เกิดความชอบธรรม โดยศาลมีค�ำสั่งแล้ว 2 คดี คือ นายพัน ค�ำกอง และนายชาญณรงค์ พลศรีลา ทั้ง 2 คดีคล้ายคลึงกันมาก ศาลพินิจพิเคราะห์แล้วมีค�ำสั่งว่า ทั้ง 2 คน เกิดจากกระสุน ปืนของเจ้าหน้าที่ทหารท�ำให้ตาย โดยทหารเหล่านั้นปฏิบัติหน้าที่ตามค�ำสั่ง ศอฉ. เมื่อเป็นเช่นนี้มันก็ชัดเจนว่า เป็นคดีที่มีคนท�ำให้ตาย ที่เราเรียกว่า “คดี ฆาตกรรม” ดังนั้น จะต้องหาตัวผู้กระท�ำความผิด และศาลชี้แล้วว่า ทหารเป็นเพียงผู้ที่ท�ำ ตามค�ำสั่ง ศอฉ. ซึ่งได้รับความคุ้มครอง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 70 ที่ไม่ ต้องรับโทษจากการกระท�ำของตน ที่ได้ท�ำตามค�ำสั่งโดยชอบ ผู้ที่รับผิดชอบก็คงหนีไม่พ้น คือ ศอฉ. แล้วใครที่เป็นผู้บริหารของ ศอฉ. มันก็ชัดเจนว่า นายกฯ เป็นผู้รับผิดชอบสูงสุด แล้วก็นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นผู้อ�ำนวยการ รับผิดชอบการออกค�ำสั่งต่างๆ มีคนพูดกันว่า การจะแจ้งข้อหากับนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายสุเทพมี พยานหลักฐานเพียงพออย่างไร พยานหลักฐานเหล่านี้ มันปรากฏในชั้นศาลที่ได้ไต่สวน นั่นเอง ไม่ใช่ดีเอสไอไปหามา เป็นพยานที่ไม่ได้ปรุงแต่ง มาจากการกลั่นกรองของศาล มีการไต่สวนชัดเจนว่า คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 97


เหตุการณ์ตายเกิดจากอะไร ใครท�ำให้ตาย แล้วไปยึดโยงกับ ศอฉ.อย่างไร ศาลก็ได้ผ่าน การพิสูจน์พยานมาแล้ว ดีเอสไอ ก็มาท�ำต่อยอดจากส�ำนวนของศาล เพือ่ ให้สอดคล้องจากทีศ่ าลด�ำเนินการ แล้ ว มั น ก็ ไ ม่ ส ามารถกลั่ น แกล้ ง กั น ได้ ด ้ ว ยเพราะเป็ น กระบวนการยุ ติ ธ รรมที่ ผ ่ า น กระบวนการกลั่นกรองโดยศาล นานาประเทศก็ใช้ระบบนี้ ถ้าในที่สุด วันที่ 6 ธ.ค. มีมติแจ้งข้อกล่าวหากับทั้ง 2 ท่าน ท่านก็มีสิทธิจะเข้า มาต่อสู้คดี เป็นเรื่องดีที่จะได้มาพิสูจน์ เมื่อท่านบอกว่าบริสุทธิ์ ไม่ได้ท�ำผิดก็มาพิสูจน์กัน สุดท้ า ยจะน� ำไปสู่ ก ารสั่งคดีอีกทีว่า จะฟ้อง หรือไม่ฟ้องอย่างไร ส่งต่ออัยการ อัยการจะส่งฟ้องต่อศาล ก็ว่ากันเป็นขั้นตอนไป

มั่นใจว่าให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย

ตรงนี้เป็นระบบความยุติธรรม ตามกระบวนการกฎหมายบ้านเรา อยากให้ ทุกฝ่ายเคารพ มิเช่นนั้นจะท�ำอะไรกันตามอ�ำเภอใจ บ้านเมืองก็ไม่สงบสุข สังคมที่จะอยู่กันอย่างผาสุก คือ สังคมที่มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง ทุกฝ่ายต้องเคารพกฎหมาย ไม่ใช่ใช้วิธีด�ำเนินการนอกศาล ผมขอวิพากษ์วิจารณ์ ไม่ว่าจะเป็นการตามหาชายชุดด�ำ เป็นกรณีอะไรที่ว่า กันอยู่ มันเป็นสิ่งนอกกระบวนการยุติธรรมทั้งนั้น ซึ่งไม่มีประโยชน์ ไม่ได้ช่วยพิสูจน์ ความถูกผิด ถ้าเราไม่เชื่อมั่นกระบวนการยุติธรรมแล้ว เราจะเชื่อใคร จะไปอาศัยศาลพระภูมิ ศาลเจ้าที่ไหน เราก็ต้องอาศัยศาลสถิตยุติธรรมในการด�ำเนินการเรื่องนี้ ยืนยันอีกครัง้ ว่า เราท�ำตามพยานหลักฐาน โดยเฉพาะพยานหลักฐานเรือ่ งนี้ ล้วนมาจากการพิสูจน์โดยศาล ไม่ใช่พยานที่สร้างขึ้นมาเอง แล้วก็น่าจะเป็นเรื่องดี จะได้เปิดโอกาสให้ทั้ง 2 ท่าน เข้ามาให้การในคดี คาดว่าท่านก็คงให้การปฏิเสธ แล้วคงจะมีข้ออ้างรวมถึงพยานหลักฐานต่างๆ จะได้น�ำมาพิสูจน์กันในส�ำนวนในคดี ก็จะเกิดความเป็นธรรมมากขึ้น

เข้ามาคุมคดี 99 ศพเอง ล�ำบากใจหรือไม่

ไม่ล�ำบากใจเลย ถือเป็นหน้าที่ ผมเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของดีเอสไอ คดีนี้เดิม

98 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ผู้ดูแลก็เป็นระดับรองอธิบดีฯ ผมก็ควรจะเข้ามารับผิดชอบเสียเอง ไม่ใช่โยนภาระให้คน อื่น มันจะดูไม่เหมาะสม เราท�ำงานด้านนี้ถือเป็นภารกิจ ต้องกล้าหาญไม่ใช่เอาตัวรอดไปวันๆ เมื่อมี ต�ำแหน่งหน้าที่ กินเงินเดือนของภาษีประชาชนก็ ต ้ อ งท� ำ งานตอบแทนให้ คุ้ ม ค่ า กับ ต�ำแหน่งที่เราเป็น

เสียงวิจารณ์ว่า การเมืองกดดันให้ดีเอสไอ ด�ำเนินคดีกับนายอภิสิทธิ์ และ นายสุเทพ

ยืนยันว่าไม่มี เรื่องใหญ่โตขนาดนี้ เรามากลั่นแกล้งกันไม่ได้หรอก เป็นเรื่องที่ ต้องเปิดเผย เมื่อศาลสั่งแล้วว่าการตายเกิดจากการกระท�ำของบุคคลก็ต้องหาตัวผู้กระท�ำ ความผิด เรื่องมันต้องไปแบบนี้อยู่แล้วไม่เคยมีค�ำสั่งจากใครให้มาจัดการบุคคลทั้งสอง ผม จะไปท�ำตามอ�ำเภอใจหรือท�ำตามค�ำสั่งใครได้อย่างไร และที่ส�ำคัญ 2 ท่านนี้ก็อาวุโส เป็น ผู้ใหญ่ในบ้านเมือง ผมจะไปกลั่นแกล้งได้อย่างไร ทุกอย่างตรงไปตรงมา เพราะในที่สุดคดีเหล่านี้ต้องขึ้นสู่ศาล จะต้องมีการพิสูจน์ ในศาล ถ้ามีการกลั่นแกล้งหรือช่วยเหลือกัน คนที่ท�ำเช่นนั้นจะเดือดร้อนเสียเองซึ่งผมไม่ ยอมไปติดคุกติดตะรางแทนใครหรอก ไม่เอาอยู่แล้ว

แนวทางการสอบสวนคดี จะแตกต่างจากยุคก่อนหรือไม่

ไม่แตกต่างกัน การสอบสวนนี้เป็นเรื่องที่ต้องท�ำตามกฎหมาย 2 ฉบับ คือ กฎหมายประมวลวิธีพิจารณาความอาญา และ พ.ร.บ.การสอบสวนคดี พิ เ ศษ ฉะนัน้ ไม่วา่ ใครเป็นพนักงานสอบสวนจะต้องท�ำตามนี้ ไม่ใช่เรือ่ งท�ำตามอ�ำเภอใจได้ ดังนั้น สิ่งที่ท่านประเวศน์เคยท�ำ ผมก็มาท�ำต่อ มันจึงมีความต่อเนื่อง ไม่มีการเปลี่ยนมิติ อะไรเลย เพียงแต่งานจะเร็วขึ้นอย่างที่บอก เพราะสายบังคับบัญชาสั้นลงส่วนการ เอาผิดกับผู้ออกค�ำสั่งนั้น ผมมั่นใจด้วยเหตุผลส�ำคัญ ประการแรก เป็นการพิสูจน์โดย ศาลมาแล้ว ซึ่งศาลได้พิจารณาสืบพยานจนมีค�ำสั่งประการที่สอง พยานเหล่านี้ มี การเปิดเผยในศาล จึงเป็นข้อเท็จจริงที่ยุติแล้วเป็นส่วนใหญ่ ดีเอสไอก็หาเพิ่มเติม เพื่อให้สมบูรณ์ขึ้น ฉะนั้น ไม่มีอะไรที่หนักใจเลย (ข้อมูล – ข่าวสด – 6 ธ.ค.2555) คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 99


100 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


อธิบดี “ดีเอสไอ” แถลงกรณีด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนา ภายหลั ง ที่ ศ าลสั่ ง คดี ไ ต่ ส วนการตายของนายพัน ค�ำกอง เป็นคดีแรกว่า “...การตายของนายพัน ค�ำกอง เกิดจากกระสุนปืนของทหารที่เข้าปฏิบัติการตามค�ำสั่ง ของ “ศอฉ.” แล้ว พนักงานสอบสวน ประกอบด้วย “ดีเอสไอ” ต�ำรวจ และอัยการจึง มีมติด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบสูงสุดของศูนย์ อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) และนาย สุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายก รัฐมนตรี และ ผอ.ศอฉ. ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ต่อมา เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2555 นายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) ได้ แถลงต่อสื่อมวลชนในเรื่องนี้... ...ที่ประชุมมีมติร่วมกันให้ด�ำเนินการแจ้งข้อหากับ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบสูงสุดของศูนย์ อ� ำ นวยการแก้ ไขสถานการณ์ ฉุ ก เฉิน (ศอฉ.) และนาย สุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผอ.ศอฉ. ว่า “ร่วมกันก่อ ให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, และ 288 ทั้งนี้สืบเนื่องจากศาลยุติธรรมได้มีค�ำสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มาตรา 150 ในคดีการไต่สวนเหตุการณ์ตายของนายพัน ค�ำกอง ว่า “การตาย ของนายพัน ค�ำกอง เกิดจากถูกกระสุนปืนของทหารที่เข้าปฏิบัติการตามค�ำสั่งของ ศอฉ.” และศาลยุติธรรมได้ส่งส�ำนวนการพิจารณาไต่สวนทั้งหมด พร้อมค�ำสั่งมายัง ต�ำรวจนครบาลและถึงดีเอสไอในที่สุดแล้ว ซึ่งคณะพนักงานสอบสวนจ�ำเป็นต้องยึดถือ เอาข้อเท็จจริงอันเป็นยุติโดยการไต่สวนของศาลดังกล่าว พยานหลักฐานอันส�ำคัญที่ท�ำให้คณะพนักงานสอบสวนทั้ง 3 ฝ่าย ต้องมีมติให้ แจ้งข้อหาแก่บุคคลทั้งสอง มาจากพยานที่ได้จากการไต่สวนและค�ำสั่งของศาลดังกล่าว คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 101


รวมทั้งพยานหลักฐานที่การสอบสวนได้เพิ่มเติม อาทิ การสั่งใช้ก�ำลังทหารที่มีอาวุธปืน เข้าปะทะกับกลุ่มชุมนุม (ศอฉ.เรียกว่า การกระชับพื้นที่และการขอคืนพื้นที่) การสั่งให้ อาวุธปืน การสั่งใช้พลซุ่มยิงและอื่นๆ โดยมีการออกค�ำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรจาก ผอ.ศอฉ. และได้อ้างไว้ในค�ำสั่งด้วยว่า เกิดจากการสั่งการของนายกรัฐมนตรีอย่าง ชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับพยานบุคคลที่ร่วมอยู่ใน ศอฉ.ว่า นายอภิสิทธิ์ในฐานะนายก รัฐมนตรี ได้รับรู้ร่วมสั่งการและพักอาศัยอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการของ ศอฉ.ตลอดเวลา ประการส�ำคัญ คือ การสั่งการของบุคคลทั้งสอง กระท�ำอย่างต่อเนื่องหลาย ครั้งหลายครา แม้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนแล้วก็หาได้ระงับยับยั้ง หรือใช้ ทางอื่นใดแต่อย่างใดไม่ รวมถึงพยานแวดล้อมกรณีอื่นๆ อีกจึงเป็นการบ่งชี้ได้ว่า เป็นเจตนาเล็งเห็นผลได้ว่า การร่วมกันสั่งการเช่นนั้น ย่อมท�ำให้เกิดการตายของ ประชาชนจ�ำนวนมากและต่อเนื่องกันหลายๆ วัน คดีเช่นนี้ ถือเป็นคดีส�ำคัญของสังคม เพราะการตายเกิดจากการกระท�ำของเจ้า หน้าที่รัฐ กฎหมายจึงบัญญัติไว้เป็นกรณีพิเศษ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มาตรา 150 ที่ต้องมีการไต่สวนเหตุการณ์ตายโดยศาลยุติธรรม เพื่อให้ข้อเท็จจริง เป็นที่ยุติโดยเป็นธรรม จากการสืบพยานไต่สวนโดยศาล ซึ่งพิจารณาโดยเปิดเผย ทุกฝ่าย สามารถน�ำพยานหลักฐานเข้ามาสืบได้ แล้วในที่สุดศาลก็จะได้มีค�ำสั่งว่าผู้ตายเป็นใคร ใครท�ำให้ตายและมีพฤติการณ์หรือสาเหตุอย่างไร ซึ่งในคดีนี้ศาลก็ได้มีค�ำสั่งครบถ้วน เช่นนั้น หน้าที่ของพนักงานสอบสวนจึงต้องด�ำเนินการต่อตามผลของการไต่สวนและค�ำ สัง่ ของศาล อาจกล่าวโดยง่ายๆ ว่า ต้องด�ำเนินการตามข้อเท็จจริงทีไ่ ด้ยตุ ชิ นั้ ศาลแล้วนั่นเอง คดีนศี้ าลได้สงั่ ว่า เหตุการณ์ตายเกิดจากกระสุนปืนของฝ่ายทหาร ทีเ่ ข้าปฏิบัติ การตามค�ำสั่งของ ศอฉ. พนักงานสอบสวนก็ต้องมาต่อยอดว่า ผู้มีอ�ำนาจสั่งการของ ศอฉ.ที่เป็นต้นเหตุของการสั่งการจนมีการตายเป็นใคร และมีรายละเอียดพร้อมพยาน หลักฐานว่าได้กระท�ำผิดเช่นใด ส่วนทหารที่ได้เข้าปฏิบัติการนั้น ศาลไม่ได้ระบุว่าเป็นผู้ใด และโดยผลการ สอบสวนไม่อาจระบุตัวตนได้ด้วย แต่ก็ได้รับผลตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 70 ว่า เมื่อเป็นการปฏิบัติตามการสั่งการย่อมได้รับการคุ้มครอง โดยไม่ต้องรับโทษ 102 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ดังนั้น ในชั้นนี้จึงไม่แจ้งข้อหาแก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร การด�ำเนินการสืบสวนสอบสวนคดีที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบและความ รุนแรงในช่วงเดือนเมษายน – เดือนพฤษภาคม 2553 ดีเอสไอไม่ได้ท�ำคดีตามกระแส หรือใบสั่งของฝ่ายการเมืองเพราะเป็นเรื่องใหญ่มาก คดีทุกคดีต้องไปจบที่ศาล พนักงาน สอบสวนไม่อาจกลั่นแกล้งใคร หรือช่วยเหลือใครได้ อีกทั้งการสอบสวนก็ร่วมกันถึง 3 ฝ่าย คือ ต�ำรวจ อัยการ และดีเอสไอ คดีทกุ คดีจงึ เป็นไปตามข้อกฎหมายและข้อเท็จจริง ที่ส�ำคัญเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้น มีผู้เข้าข่ายกระท�ำผิดทั้ง 2 ฝ่าย จนถึงขณะนี้กลุ่ม ฮาร์ดคอร์ของผู้ชุมนุมได้ถูกด�ำเนินคดี มีการฟ้องคดีต่อศาลไปแล้วถึง 62 คดี และมี ผู้ถูกฟ้องเป็นจ�ำเลยต่อศาลถึง 295 คน ส่วนกลุ่มผู้สั่งการของ ศอฉ.เพิ่งจะถูกด�ำเนินคดี นี้เป็นคดีแรก ซึ่งความจริงได้ด�ำเนินการคู่ขนานกันมา แต่คดีของกลุ่มผู้สั่งการของ ศอฉ. ต้องรอการไต่สวนของศาลก่อน จึงดูล่าช้า จึงอยากสรุปว่า ได้มีการด�ำเนินคดีทั้งสองฝ่าย เท่าเทียมกัน

การท�ำงานของ ศอฉ. มีรูปแบบของคณะกรรมการ เหตุใดจึงแจ้งข้อหาแค่ นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ

เรื่องดังกล่าวมีอยู่รายละเอียดการสอบสวน ไม่ขอเปิดเผย แต่บอกได้เพียงสั้นๆ ว่า เมื่อศาลสั่งว่าการเสียชีวิตมาจากการสั่งการของ ศอฉ. จึงต้องดูว่าใครมีอ�ำนาจ ใน ศอฉ. ซึ่งมี 2 คน คือ นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ทั้งนี้ ใน ศอฉ.มีคณะกรรมการ อยู่ 2 ชุด คือ ชุดทั่วไป กับชุดยุทธการ ซึ่งผมอยู่ในกรรมการชุดทั่วไป แต่ชุดยุทธการ ผม ไม่เคยเข้าร่วมประชุมแม้แต่ครั้งเดียว ซึ่งชุดทั่วไปไม่ได้เกี่ยวข้องกับการสั่งการ ขณะที่ชุด ยุทธการเองที่มีแม่ทัพนายกองคอยให้ค�ำปรึกษาหรือค�ำแนะน�ำ ก็เป็นเพียงแค่การให้ค�ำ แนะน�ำ แต่ส�ำคัญคือ คนที่เป็นผู้ตัดสินใจสั่งการ ผมเข้าร่วมประชุมทั่วไปเพื่อรายงานสถานการณ์หรือเหตุการณ์ในรอบวัน แต่ การใช้ก�ำลังหรืออาวุธเป็นการประชุมฝ่ายยุทธการ ที่ไม่เคยเข้าร่วมประชุมแม้แต่ครั้งเดียว ทั้งนี้การให้ความเห็นหรือเป็นที่ปรึกษาของเจ้าหน้าที่ฝ่ายยุทธการ ก็ไม่ได้หมายความว่า จะมีความผิด เพราะการตัดสินใจ คือ ผูม้ อี ำ� นาจสูงสุด ดังนัน้ เจ้าหน้าทีท่ หาร จึงมีมาตรา 70 คุ้มครอง

ขณะนั้นสถานการณ์ไม่ปกติ หากไม่สั่งการในขณะนั้น อาจถูกมองว่า คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 103


ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่

ประเด็นอยู่ที่การสั่งการว่า อยู่นอกเหนือหน้าที่หรือไม่ การที่พนักงานสอบสวน เห็นควรแจ้งข้อหา เพราะเห็นว่าการใช้อ�ำนาจตรงนี้เข้าข่ายก่อการเล็งเห็นผล ตาม มาตรา 59 เพราะการสั่งให้ทหารที่มีอาวุธเข้าปะทะกับประชาชนในที่ชุมนุมต่อเนื่อง ครั้งแล้วครั้งเล่า หลายวันหลายครั้งและมีการสูญเสีย มีการอนุมัติใช้พลซุ่มยิง ย่อม เป็นเจตนาที่เล็งเห็นผลได้ว่า อาจท�ำให้ผู้อื่นเสียชีวิต เป็นการท�ำเกินจากอ�ำนาจหน้าที่ ในฐานะ ศอฉ.

ขณะที่นายธาริตเคยเป็นหนึ่งในกรรมการ ศอฉ. ได้เคยมีความเห็นหรือไม่ ว่า ค�ำสั่งดังกล่าว เป็นค�ำสั่งที่เล็งเห็นผล

ไม่มี เพราะชุดที่ผมร่วมเป็นชุดทั่วไป ไม่เกี่ยวกับการสั่งใช้ก�ำลังที่เป็นชุดยุทธการ คนที่เข้าร่วมชุดทั่วไปก็เป็นโดยต�ำแหน่ง ท�ำหน้าที่แค่การติดตามสถานการณ์ และแนว โน้มเหตุการณ์

เจ้าหน้าที่ยุทธการจะถูกแจ้งข้อหาด้วยหรือไม่

ชุดยุทธการเป็นเพียงการให้ความเห็น แต่การสั่งการอยู่ที่สองคนนี้ ตามหลัก การด�ำเนินคดี ไม่ใช่ใครให้ความเห็นต้องผิด แต่อยู่ที่คนมีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุด ดีเอสไอจะแจ้งข้อหาเอาผิดเฉพาะนักการเมือง แต่ฝ่ายกองทัพจะไม่ คนใน กองทัพได้รับการคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย

ก่อนหน้าทีเ่ คยระบุวา่ เห็นด้วยกับการควบคุมสถานการณ์ความรุนแรงในช่วงนั้น

ความเห็นที่ผมให้ เป็นเพียงการให้ความเห็นในการด�ำเนินการ ไม่เกี่ยวกับการใช้ อาวุธหรือท�ำให้คนตาย ผมจ�ำได้ว่าผมเคยให้ความเห็นหรือสนับสนุนในเรื่องใดบ้าง และ จ�ำได้ว่าผมไม่พูดว่าผมสนับสนุนการใช้อาวุธสลายการชุมนุม หรือยิงประชาชนเป็นสิ่ง ที่ชอบ ถือว่ามีความผิดใช่หรือไม่ (ข้อมูล – มติชน – 7 ธ.ค.2555)

104 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 105


“ดีเอสไอ” แจ้งข้อหา ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนา แก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ การแจ้งข้อหาให้ผู้ต้องหาทราบนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 บัญญัติไว้ ดังนี้ “มาตรา 134 เมือ่ ผูต้ อ้ งหาถูกเรียก หรือส่งตัวมา หรือเข้าหาพนักงานสอบสวน เอง หรือปรากฏว่าผู้ใดซึ่งมาอยู่ต่อหน้าพนักงานสอบสวนเป็นผู้ต้องหา ให้ถามชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุล สัญชาติ บิดามารดา อายุ อาชีพ ที่อยู่ ที่เกิด และแจ้งให้ทราบถึงข้อ เท็จจริงเกีย่ วกับการกระท�ำทีก่ ล่าวหาว่าผูต้ อ้ งหาได้กระท�ำผิด แล้วจึงแจ้งข้อหาให้ทราบ การแจ้งข้อหาตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีหลักฐานตามสมควรว่าผู้นั้นน่าจะได้ กระท�ำผิดตามข้อหานั้น...” กฎหมายเขียนไว้ว่า “...พนักงานสอบสวนให้...แจ้งให้ (ผู้ต้องหา) ทราบถึงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ การกระท�ำที่กล่าวหาว่าผู้ต้องหาได้กระท�ำผิด แล้วจึงแจ้งข้อหาให้ทราบ...” ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ต้องหาเข้าใจว่า เหตุการณ์ที่กล่าวหานั้นเป็นอย่างไร เพราะถ้า ผู้ต้องหาไม่ทราบข้อเท็จจริงที่ถูกกล่าวหาแล้ว ผู้ต้องหาจะแก้ข้อหาได้อย่างไร ตัวอย่าง พนักงานแจ้งข้อหาต่อผูต้ อ้ งหาฐานปล้นทรัพย์ แต่ไม่ได้บอกว่าปล้นทีไ่ หน ปล้นใคร และปล้นอย่างไร ดังนี้ ถือว่าเป็นการแจ้งข้อหาไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถือได้ว่าไม่มีการแจ้ง ข้อหาให้ผู้ต้องหาทราบตามกฎหมาย แต่ถ้าพนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาให้ผู้ต้องหาทราบว่า ผู้ต้องหากับพวก 2 คน ร่วมกันปล้นนายแดง เอาเงินสด 5,000 บาท ของนายแดงไป โดยใช้อาวุธปืนจี้บังคับ เหตุ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2556 เวลา 21.00 น. ที่สี่แยกถนนศรีนครินทร์ แขวงประเวศ เขตประเวศ กทม. การแจ้งข้อเท็จจริงและข้อหาดังกล่าว จึงชอบด้วยกฎหมาย ในคดีฆ่า 106 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ประชาชน 99 ศพนี้ก็เหมือนกัน พนักงานสอบสวน “ดีเอสไอ” ได้แจ้งข้อเท็จจริงที่กล่าว หาให้นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพทราบ ก่อนที่จะแจ้งข้อหาฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคน ตายโดยเจตนาโดยเล็งเห็นผล ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, 288 ตาม วิธีการที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 ก�ำหนดไว้ ในบันทึก “ดี เอสไอ” กรณีด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตาย โดยเจตนาเล็งเห็นผล มีรายละเอียดปรากฎตามบันทึก “ดีเอสไอ” กรณีด�ำเนินคดีแก่ นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 107


บันทึก “ดีเอสไอ” กรณีด�ำเนินคดีแก่ นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล หลังจากที่ศาลได้สั่งคดีการไต่สวนการตายของนายพัน ค�ำกอง เด็กชายคุณากร ศรีสุวรรณ และนายสมร ไหมทอง ซึ่งได้รับบาดเจ็บจากการปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ ทหาร ตามค�ำสั่งของ “ศอฉ.” แล้ว ส�ำนักงาน “ดีเอสไอ” ได้แถลงต่อสื่อมวลชน ปรากฏ ตามหนังสือพิมพ์มติชน ฉบับวันที่ 14 ธันวาคม 2555 กรณีการด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี ผู้รับผิดชอบสูงสุดของ “ศอฉ.” และนายสุเทพ เทือก สุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” “ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อนื่ ฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, 288 เอกสารดังกล่าว มีสาระส�ำคัญ ดังนี้... กรณีการเสียชีวิตของนายพัน ค�ำกอง, เด็กชายคุณากร ศรีสุวรรณ และนาย สมร ไหมทอง ซึ่งได้รับบาดเจ็บจากการเข้าปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ทหารตามค�ำสั่ง ศอฉ. บริเวณถนนราชปรารภ ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 พนักงานอัยการได้ยื่นค�ำร้อง ต่อศาลให้มีการไต่สวนสาเหตุการตาย และมีค�ำสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา 150

ผลการไต่สวนรับฟังข้อเท็จจริงเป็นที่ยุติเกี่ยวกับพฤติการณ์ที่ท�ำให้ตาย สรุปสาระส�ำคัญว่า

ขณะเกิดเหตุที่เจ้าหน้าที่ทหารเข้าควบคุมพื้นที่บริเวณถนนราชปรารภ ตามค�ำ สั่ง ศอฉ. การเข้า-ออกต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานทหารก่อน แม้แต่ต�ำรวจก็ไม่ สามารถเข้า-ออกได้ เว้นแต่ได้รับอนุญาต ไม่มีผู้ใดเห็นชายชุดด�ำที่มีอาวุธกัน ขณะเกิด เหตุมีรถตู้คันหนึ่งขับเข้ามาจอดอยู่บริเวณซอยราชปรารภ 8 (ซอยวัฒนวงศ์) มีนายสมร ไหมทอง เป็นผู้ขับขี่ เจ้าพนักงานได้แจ้งผ่านเครื่องขยายเสียงให้หยุดรถและกลับไปใน ทิศทางเดิมแต่นายสมรกลับขับรถเลี้ยวขวาผ่านเข้ามาบริเวณถนนราชปรารภ มุ่งหน้าไป 108 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ยังสถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิ้งก์ ซึ่งเป็นพื้นที่ควบคุม ท�ำให้มีการระดมยิงรถตู้ทั้งทางด้าน หน้า ด้านซ้ายและด้านขวา เป็นเหตุให้นายสมรได้รับบาดเจ็บ ส่วนนายพัน ค�ำกอง อยู่ ภายในบริเวณส�ำนักงานขายไอดีโอคอนโด ได้ยินเสียงอาวุธปืน วิ่งออกมาดู จึงถูกกระสุน ปืนเข้าที่บริเวณหน้าอกซ้ายใต้ราวนมแฉลบทะลุไปถูกต้นแขนซ้าย และเส้นเลือดแดงใหญ่ ฉีกขาด เสียเลือดมาก แพทย์ผู้ผ่าชันสูตรพลิกศพ ยืนยันพบลูกกระสุนปืนรูปร่างปลายแหลมหุ้มทอง เหลืองที่ต้นแขนซ้ายเป็นเหตุแห่งการตาย เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจกระสุนที่ได้จากศพยืนยันว่า เป็นกระสุนปืนเล็กกล ขนาด .223 (5.56 มม.) และผู้เชี่ยวชาญด้านอาวุธปืนยืนยันว่า ลูก กระสุนปืนที่พบเป็นส่วนประกอบของกระสุนปืนเล็กกล ขนาด .223 ซึ่งเป็นกระสุนปืนที่ ใช้กับปืนความเร็วสูง ชนิดเอ็ม 16 รุ่นเอ 2 แต่อาจน�ำไปใช้กับเอ็ม 16 รุ่นเอ 1 ได้ เป็น อาวุธปืนที่ใช้ในราชการสงคราม ขณะเกิดเหตุมีการถ่ายภาพเคลื่อนไหวไว้ ไม่น่าเชื่อว่าจะมีการยิงต่อสู้ ขนาด หัวกระสุนที่พบในศพผู้ตายกับในตัวของนายสมรเป็นชนิดเดียวกัน วิถีกระสุนของผู้ตาย เปรียบเทียบกับวิถีกระสุนรถตู้อยู่ในระนาบเดียวกัน ศาลจึงมีค�ำสั่งว่า “ผู้ตายชื่อ นายพัน ค�ำกอง ตายที่หน้าส�ำนักงานขาย คอนโดมิเนียมชื่อไอดีโอคอนโด ถนนราชปรารภ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 พฤติการณ์ที่ตายเกิดจากถูกกระสุนปืนขนาด .223 จาก อาวุธปืนที่ใช้ในราชการสงครามที่เจ้าพนักงานทหารร่วมกันยิงไปที่รถตู้ คันหมายเลข ทะเบียน ฮค 8561 กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีนายสมร ไหมทอง เป็นผู้ขับ แล้วลูกกระสุน ไปถูกผู้ตาย ในขณะเจ้าพนักงานทหารก�ำลังปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบปิดล้อมพื้นที่ ควบคุมตามค�ำสั่งของ ศอฉ.” ส่วนเด็กชายคุณากร ศรีสุวรรณ อยู่ระหว่างรอค�ำสั่งการไต่สวนสาเหตุการ ตายจากศาล จากพยานหลักฐานเพียงพอให้เชื่อได้ว่า นายอภิสิทธิ์ในฐานะนายกรัฐมนตรี ซึ่ง ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการชุมนุมของกลุ่มนปช.ว่าต้องการเรียกร้องให้มีการยุบสภา เพือ่ ให้มกี ารเลือกตัง้ ทัว่ ไปใหม่ ย่อมทราบถึงสถานการณ์ทกี่ ลุม่ ผูช้ มุ นุมมีเป็นจ�ำนวนมาก คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 109


มีอารมณ์ความรู้สึกและความคิดเห็นที่แตกต่างกันอย่างรุนแรง ผู้ชุมนุมเชื่อโดยบริสุทธิ์ ใจว่า ต้องการเรียกร้องความเป็นธรรมภายหลังจากการรัฐประหาร ท�ำให้มกี ารต่อต้าน เจ้าหน้ า ที่ ที่ จ ะใช้ ก� ำ ลั ง เข้ า สลายการชุมนุม หากสั่งให้มีการใช้ก�ำลังเข้าปฏิบัติการ ถึงแม้จะหลีกเลี่ยงไม่ใช้ถ้อยค�ำว่า สลายการชุมนุม โดยเรียกว่าเป็นการขอคืนพื้นที่ หรือกระชับวงล้อมก็ตาม แต่ก็มีวิธีปฏิบัติที่จ ะต้ อ งเข้ า ปะทะกั นในระยะประชิ ด ย่อมจะต้องเกิดความสูญเสียต่อชีวิตร่างกายและทรัพย์สิน แต่นายอภิสิทธิ์ กลับสั่งการให้ ศอฉ. โดยนายสุเทพ ให้ทหารน�ำก�ำลังพร้อม อาวุธปืนและกระสุนปืนจริงเข้าขอยึดคืนพื้นที่ ในวันที่ 10 เมษายน 2553 จนเป็น เหตุให้มีผู้เสียชีวิตด้วยอาวุธปืนในวันนั้น ตั้งแต่ในช่วงบ่ายเป็นศพแรก ที่บริเวณหน้า กระทรวงศึ ก ษาธิ การต่อเนื่องไปจนถึงเวลาค�่ำ มีการปะทะกันที่บริเวณถนนตะนาว ต่อเนื่องสี่แยกคอกวัวและถนนดินสอ ต่อเนื่องอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นเหตุให้มีผู้ เสียชีวิตเพิ่มเติมอีก

สรุปมีผู้เสียชีวิตในวันที่ 10 เมษายน 2553 จ�ำนวน 26 ราย

เป็นผูช้ มุ นุมจ�ำนวน 21 ราย เจ้าหน้าทีท่ หารจ�ำนวน 5 ราย สือ่ มวลชนทุกแขนง ได้รายงานติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง ทัง้ ศอฉ.ก็ได้มกี ารประชุมสรุปรายงานเหตุการณ์อยูต่ ลอดเวลา นายอภิสทิ ธิ์ ซึง่ พักอาศัยและร่วมประชุมอยูท่ กี่ รมทหารราบ 11 รอ. ทีต่ งั้ ทีอ่ ำ� นวยการของ ศอฉ. ย่อมรู้ อยูแ่ ล้วหรือเล็งเห็นได้ถงึ ความสูญเสียทีอ่ าจเกิดขึน้ นอกจากนี้ นายสุเทพยังได้อนุมตั ใิ ห้ มีการใช้พลซุม่ ยิงเข้าปฏิบตั กิ ารในแต่ละพืน้ ที่ ซึง่ อยูน่ อกเหนือการปฏิบตั ติ ามหลักสากล แม้ตอ่ มาผูช้ มุ นุมได้เคลือ่ นย้ายไปรวมกันทีบ่ ริเวณแยกราชประสงค์ นายอภิสิทธิ์ ยังได้มีค�ำสั่งในวันที่ 18 และ 26 เมษายน 2553 ให้ ศอฉ. โดยนายสุเทพ ตั้งด่าน สกัดกั้นก�ำหนดพื้นที่ห้ามเข้าเด็ดขาด ซึ่งมีการติดป้ายในพื้นที่ว่า เขตใช้กระสุนจริง และให้ทหารใช้อาวุธปืนและกระสุนจริงเข้าปฏิบัติการยิงสกัดกั้นได้ จนเป็ น เหตุ ใ ห้ ผู้มีชื่อที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับการชุมนุมดังกล่าวถึงแก่ความตาย และมีผู้ได้ รับบาดเจ็บจ�ำนวนกว่า 1,700 คน อันเนื่องมาจากค�ำสั่งของตน ต่อมายังมีค�ำสั่งในวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 ให้ ศอฉ.ปิดล้อมและสกัด 110 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


กั้นกลุ่มผู้ชุมนุม เพื่อขอคืนพื้นที่พื้นผิวจราจรบริเวณสี่แยกราชประสงค์ ตั้งแต่ 14 พฤษภาคม 2553 เวลา 11.00 น. โดยใช้อาวุธปืนและกระสุนจริงเข้าปฏิบัติ เป็นเหตุ ให้มีผู้ชุมนุมและประชาชนเสียชีวิต ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 จ�ำนวน 20 ราย วัน ที่ 15 พฤษภาคม 2553 จ�ำนวน 15 ราย วันที่ 16 พฤษภาคม จ�ำนวน 6 ราย วันที่ 17 พฤษภาคม 2553 จ�ำนวน 2 ราย วันที่ 18 พฤษภาคม 2553 จ�ำนวน 1 ราย เมื่อประชาชนผู้ชุมนุมยังเสียชีวิตอย่างต่อเนื่อง นายอภิสิทธิ์ ซึ่งเป็นนายก รัฐมนตรี เป็นผู้บังคับบัญชา หรือก�ำกับดูแล ศอฉ.และเจ้าหน้าที่ทหาร อันมีอ�ำนาจสั่ง การให้ทบทวนวิธีปฏิบัติหรือระงับยับยั้งปรับเปลี่ยนวิธีปฏิบัติได้ แต่กลับละเว้นเพิกเฉย มิได้ด�ำเนินการแก้ไขใดๆ จนกระทั่งในวันที่ 18 พฤษภาคม 2553 สมาชิกวุฒิสภาจึง อาสาเป็นตัวแทนเจรจาเพื่อหาข้อตกลงไม่ให้เกิดความสูญเสียชีวิตเพิ่มอีก ในขณะนัน้ ฝ่ายแกนน�ำผู้ชุมนุมแสดงความจ�ำนงที่จะเจรจาและยอมรับข้อเสนอของวุฒิสภา โดยนาย อภิสิทธิ์ได้รับรู้การเจรจาผ่านนายประสพสุข บุญเดช ประธานวุฒิสภา มาโดยตลอด ผูแ้ ทนสมาชิกวุฒสิ ภา พร้อมด้วยแกนน�ำผูช้ มุ นุม ได้แถลงร่วมกันผ่านสือ่ มวลชนถึง ข้อตกลงและเงือ่ นไขทีจ่ ะยุตกิ ารชุมนุมแล้ว แต่หลังจากนัน้ วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 เวลา ประมาณ 03.00 น. นายอภิสทิ ธิส์ งั่ การให้ ศอฉ.ด�ำเนินการตามมาตรการปิดล้อมและสกัดกัน้ กลุม่ ผูช้ มุ นุมเพือ่ ขอยึดคืน กระชับพืน้ ที่ กระชับวงล้อมบริเวณสวนลุมพินี ราชประสงค์ และพืน้ ที่ ต่อเนือ่ งใกล้เคียงเพือ่ ยุตกิ ารชุมนุม ทัง้ ๆทีก่ ลุม่ ผูช้ มุ นุมได้ยอมยุตกิ ารชุมนุมแล้วตามข้อตกลง โดยยินยอมให้เจ้าหน้าทีท่ หารใช้อาวุธปืนและกระสุนจริงเข้าปฏิบตั กิ ารตามแผนทีเ่ ตรียม ไว้และมีการปะทะกับกลุม่ ผูช้ มุ นุมจนเป็นเหตุให้มผี มู้ ชี อื่ ผูร้ ว่ มชุมนุม ผูส้ อื่ ข่าวและประชาชน ผูอ้ นื่ ทีเ่ กีย่ วข้องและไม่เกีย่ วข้องกับการชุมนุมถูกยิงจนถึงแก่ความตายทันทีในทีเ่ กิดเหตุ หรือ ถึงแก่ความตายในเวลาต่อมาเพิม่ เติมอีกจ�ำนวน 11 ราย พฤติการณ์ของนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพซึ่งร่วมกันกระท�ำผิดโดยแบ่งหน้าที่ กันท�ำ โดยนายอภิสิทธิ์ ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรี มีอ�ำนาจหน้าที่บังคับบัญชา หรือก�ำกับ ดูแล ศอฉ.และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามกฎหมาย สั่งการมอบหมายนโยบายทั้งทาง ตรงและทางอ้อมให้นายสุเทพน�ำไปออกค�ำสัง่ ในนาม ผอ.ศอฉ.เพือ่ ปฏิบตั กิ ารขอคืนพื้นที่ กระชับพื้นที่ กระชับวงล้อม เพื่อสลายหรือยุติการชุมนุม คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 111


แม้นายอภิสทิ ธิจ์ ะไม่ประสงค์ตอ่ ผล ให้เจ้าหน้าที่ทหารไปยิงกลุ่มผู้ชุมนุมจนถึง แก่ความตาย แต่ยอ่ มเล็งเห็นผลได้วา่ การให้เจ้าหน้าที่ทหารใช้อาวุธปืนพร้อมกระสุน จริงปฏิบัติการตามค�ำสั่งดังกล่าว จะท�ำให้เจ้าหน้าที่ทหารผู้ปฎิบัติต้องเผชิญหน้ากับ ผูช้ มุ นุมซึง่ มีจำ� นวนนับหมืน่ คน และมีอารมณ์ความรูส้ กึ ทีข่ ดั แย้งกันอย่างรุนแรง จะต้อง เกิดเหตุการณ์ปะทะกันและใช้ปืนซึ่งเป็นอาวุธร้ายแรงโดยสภาพยิงใส่ผู้ชุมนุม และ กระสุนปืนอาจถูกผูช้ มุ นุมจนถึงแก่ความตาย บาดเจ็บได้รบั อันตรายแก่กายถึงสาหัส หรืออันตรายแก่กายได้ ซึง่ ได้เกิดขึน้ แล้วอย่างต่อเนือ่ งเรือ่ ยมาทัง้ ทีม่ โี อกาสทีจ่ ะระงับยับยัง้ หรือประเมินทบทวนวิธกี ารปฏิบตั วิ า่ เป็นไปตามกฎหมาย หรือตามหลักสากลหรือไม่ปรับ เปลีย่ นวิธกี ารปฏิบตั ไิ ด้หรือไม่ อีกทั้งยังไม่ยอมรับผลการเจรจา ระหว่างแกนน�ำ นปช.ผู้ชุมนุม กับ ตัวแทน สมาชิกวุฒิสภา ซึ่งแกนน�ำนปช.ยอมรับจะยุติการชุมนุม ประกอบกับการตายของ นายพัน ค�ำกอง ศาลอาญามีค�ำสั่งว่า พฤติการณ์ที่ท�ำให้ตายเกิดจากการกระท�ำของ เจ้าหน้าที่ทหาร จากการปฏิบัติหน้าที่ตามค�ำสั่งของศอฉ. ความตายจึงเป็นผลโดยตรง จากการสั่งการของนายอภิสิทธิ์ ทั้งทางตรงและทางอ้อมร่วมกับนายสุเทพ พยานหลั ก ฐานที่ ร วบรวมมามี น�้ ำ หนั ก มั่ น คงเพี ย งพอที่ จ ะเชื่ อ ได้ ว ่ า การ กระท�ำของนายอภิสทิ ธิ์ เป็นการกระท�ำละเว้นหรือนอกเหนืออ�ำนาจหน้าที่ที่มีอยู่ใน การบริหารราชการแผ่นดินหรือตามกฎหมาย พฤติการณ์แห่งการกระท�ำบ่งชีใ้ ห้เห็นว่า เป็นการร่วมกันฆ่าผูอ้ นื่ โดยเล็งเห็นผล พยานหลักฐานเท่าทีร่ วบรวมมา ฟังได้ตามสมควร ว่า นายอภิสทิ ธิ์ ผูต้ อ้ งหาที่ 1 และนายสุเทพ ผูต้ อ้ งหาที่ 2 ได้กระท�ำความผิดข้อหา “ร่วม กันก่อให้ผอู้ นื่ ฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, 288 เหตุเกิดตั้งแต่วันที่ 7 เมษายน 2553 ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 ต่อเนื่อง กัน ทีแ่ ขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร และพืน้ ทีอ่ นื่ หลายพืน้ ทีเ่ กีย่ วพันกัน (ข้อมูล – มติชน – 15 – 12 – 55) หมายเหตุ

112 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


เหล่านี้คือ บันทึกบางส่วนของ “ดีเอสไอ” ส่วนข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายว่า นาย อภิสิทธิ์ และนายสุเทพ จะมีความผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่ ศาลเท่านั้นจะเป็นผู้ตัดสิน

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 113


ทัศนะของนายธาริต อธิบดี “ดีเอสไอ” กรณีการด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพฯ หลังจาก “ดีเอสไอ” แจ้งข้อหาแก่นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ในข้อหา “ก่อ ให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล” คดีฆ่าประชาชน 99 ศพแล้ว น.ส.พ.มติชน ได้ ไปสัมภาษณ์นายธาริต อธิบดี “ดีเอสไอ” เกี่ยวกับคดีนี้ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2556 มี ข้อความบางตอน ดังนี้...

แนวโน้มคดีในปี 2556 เป็นอย่างไร

ช่วงปี 2556 คดีความขัดแย้งทางการเมืองจะมีปริมาณมากขึ้น เนื่องจากศาล เริ่มมีค�ำสั่งไต่สวนการเสียชีวิตออกมาเรื่อยๆ หลังจากคดีนายพัน ค�ำกอง ที่ศาลมีค�ำสั่งว่า เสียชีวิตจากกระสุนของเจ้าหน้าที่ภายใต้ค�ำสั่งศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) โดยศพที่พนักงานสอบสวนเห็นว่า การตายเกี่ยวข้องกับการกระท�ำของเจ้าหน้าที่ รัฐ ภายใต้ค�ำสั่ง ศอฉ.และส่งศาลไต่สวน มีจ�ำนวน 35 ศพ แต่นอกจากข้อหาคดีร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผลแล้ว ยังมีข้อหาพยายามฆ่า ซึ่งหมายถึง กลุ่มคนที่ได้รับบาดเจ็บสาหัสและบาดเจ็บเล็กน้อย จะเป็นคดีท�ำร้ายร่างกาย ทั้งนี้หากรวมจ�ำนวนตัวเลขแล้ว จะแยกเป็นบาดเจ็บสาหัส 700 คน ไม่สาหัส 1,300 คน นับเป็นคดีที่มีผู้เสียหายและเกี่ยวข้องจ�ำนวนมากเท่าที่ดีเอสไอ เคยรับผิดชอบ ดังนั้น ดีเอสไอจึงตั้งศูนย์ปฏิบัติการกลางเพื่อบริหารคดีโดยตรง อีกทั้ง เพื่อเป็นการอ�ำนวยความสะดวกให้ประชาชนที่ได้รับบาดเจ็บเข้ามาร้องทุกข์ ก่อนหน้านี้ดีเอสไอด�ำเนินคดีกลุ่ม นปช. จนกระทั่งฟ้องศาล 63 คดี มีจ�ำเลยใน ศาล 295 คน ส่วนเจ้าหน้าทีร่ ฐั ดีเอสไอเพิง่ เริม่ แจ้งข้อกล่าวหากับเจ้าหน้าทีผ่ อู้ อกค�ำสัง่ คดีแรก มีเสียงวิจารณ์ว่า การตั้งข้อกล่าวหาร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนา เล็งเห็นผล กับนายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ มีพยานหลักฐานจะเชื่อมโยงไปถึงหรือไม่ เรื่องนี้ไม่ซับซ้อน ใช้พยานเอกสารเป็นหลัก เพราะ ผอ.ศอฉ.สั่งการเป็นลาย ลักษณ์อักษรให้เจ้าหน้าที่รัฐใช้ก�ำลังเข้าปะทะกลุ่มผู้ชุมนุม เอกสารที่ใช้อ้างนายก รัฐมนตรีไว้ในค�ำสั่งที่เป็นลายลักษณ์อักษร 114 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


อยากบอกว่าการใช้ก�ำลังครั้งแรกอาจจะยังไม่ชัดว่าเป็นการเจตนาเล็งเห็นผล แต่ คนตายจากวันแรกมี 26 ศพ ต้องหยุดหรือทบทวนการปฏิบัติ ปรับยุทธวิธี แต่ไม่หยุด ยังสั่งต่อไปอีก 5 ครั้ง สั่งซ�้ำเติมแล้วตายทุกครั้ง ครั้งถัดมาย่อมเล็งเห็นผลได้แล้วว่า การใช้ก�ำลังแบบนี้ การใช้อาวุธแบบนี้ มีการสูญเสียการตาย เข้าข่ายเจตนาเล็งเห็น ผล ท่านไม่ได้ประสงค์ให้ทหารไปฆ่าใครหรอก แต่สิ่งที่ท�ำนอกจากกฎหมายเขียนว่า เจตนาประสงค์ต่อผลแล้ว เจตนาเล็งเห็นผลก็มีได้ด้วย เช่น การยิงปืนเข้าไปในรถประจ�ำ ทาง ไม่ได้ประสงค์ให้ใครตาย แต่ยอ่ มเล็งเห็นผลได้วา่ อาจเกิดการตายจากกระสุนปืนที่ยิง เช่นเดียวกับเรื่องนี้มุมมองของพนักงานสอบสวนเห็นว่า การกระท�ำเข้าข่ายเจตนา ไม่ใช่ ประมาท พยานหลักฐานทางคดีของนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย แต่ส่วนใหญ่เป็นเอกสารหลักฐานชุดเดียวกัน แต่ในส่วนของนายอภิสิทธิ์ จะมีพยาน บุคคลที่เกี่ยวข้องมาประกอบเอกสารหลักฐานที่ระบุว่า นายอภิสิทธิ์รับรู้รับเห็น กินอยู่ หลับนอนใน ศอฉ.มาประกอบพยานเอกสาร แต่ในฐานะผู้บริหารสูงสุดของประเทศ จะมาบอกว่าไม่รับรู้รับเห็นคงไม่ได้

คิดอย่างไรกับข้อกล่าวหาว่า ดีเอสไอ “ตั้งธง”

พูดหลายครั้งว่าเป็นเรื่องส�ำคัญของประเทศ เหตุเกิดกลางบ้านกลางเมือง พยานหลักฐานที่ปรากฎชัด ไม่ได้เลื่อนลอย ต่างประเทศก็รับรู้ ศาลมีค�ำสั่งชัดเจน เป้า หมายของกระบวนการยุติธรรม ต้องหาตัวคนผิดมาลงโทษ นี่คงไม่ใช่ตั้งธง

รู้สึกอย่างไร หลังแจ้งข้อหาอดีตผู้บังคับบัญชา

รู้สึกกระอักกระอ่วนใจมาก แต่สิ่งที่ไม่เคยเปิดเผยที่ไหนก็คือ หลังจากวันนั้น 2 คืน ต้องกินยานอนหลับ ยอมรับว่าเกิดความเครียด เพราะเป็นเรื่องส�ำคัญ แต่ผมไม่มี ทางเลือกและเชื่อว่าไม่ว่าใครก็ตามที่มานั่งในต�ำแหน่งผม ก็ต้องท�ำหน้าที่เช่นเดียวกับ ผม ในฐานะหัวหน้าพนักงานสอบสวน ไม่มีทางซ้ายขวาให้เลือก มีทางเดียวต้องเดินหน้า ถ้าผมไม่ทำ� ผมก็เดือดร้อน องค์กรเดือดร้อน ทัง้ ๆ ทีร่ วู้ า่ ข้างหน้าจะเกิดผลกระทบอย่าง รุนแรง เว็บไซต์แฟนคลับทั้งสองคน (นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ) โจมตีข้ามวันข้าม คืน ผมไม่สนใจ เพราะผมตอบตัวเอง ตอบฟ้าได้ว่า วันนี้ไม่ได้แกล้งใคร ท�ำตามหน้าที่ (ข้อมูล – มติชน – 1 ม.ค.56) คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 115


“อภิสิทธิ์ – สุเทพ โต้ข้อหา “ฆ่าคนตาย” ดีเอสไอ” แจ้งให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตผู้อ�ำนวยการศูนย์แก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ไปรับทราบข้อหา ฆ่าคนตายฯ กรณีการตายของนายพัน ค�ำกอง ผู้ร่วมชุมนุมทางการเมือง ระหว่างเดือน เมษายน – พฤษภาคม 2553 นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพได้แถลงข่าวต่อสื่อมวลชนโต้ข้อ กล่าวหาของดีเอสไอ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2555 ดังนี้...

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

“...ในหนังสือเชิญให้ถ้อยค�ำ ยังไม่มีการระบุรายละเอียดว่า พวกผมผิดอะไรและ ผิดอย่างไร เพียงแต่บอกว่าท�ำความผิดในคดีดังกล่าว ทั้งที่เป็นที่จะได้รับทราบ การที่นาย ธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีดีเอสไอ แถลงข่าวลงลึกไปในเนื้อหาสาระ โดยพูดถึงเหตุการณ์เมื่อ ปี 2553 ถือว่าเป็นการแถลงที่ไม่ครบถ้วน ท�ำให้ประชาชนเกิดความเข้าใจผิด อยากเรียน ว่า เรื่องนี้ผมและนายสุเทพปฏิบัติหน้าที่ในฐานะนายก และรองนายกฯ ในขณะนั้น เป็น ช่วงที่มีการชุมนุมของประชาชนจ�ำนวนหนึ่ง รัฐบาลได้ด�ำเนินการทางกฎหมาย โดยการ ขออ�ำนาจเช่นเดียวกับผู้ชุมนุมที่ขอให้ศาลให้ความคุ้มครองในทุกกรณีที่ไปถึงศาล ศาลได้ วินิจฉัยว่า การชุมนุมในขณะนั้น เป็นการชุมนุมที่เลยขอบเขตของรัฐธรรมนูญ และไม่ ชอบด้วยกฎหมาย ผมและนายสุเทพจึงมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยให้กับบ้านเมือง เพื่อน�ำบ้านเมืองกลับเข้าสู่ภาวะปกติ แต่เมื่อสถานการณ์ลุกลาม ได้ประกาศภาวะฉุกเฉิน ท�ำให้การบังคับบัญชาและการปฏิบัติงานเป็นไปตามโครงสร้างอ�ำนาจหน้าที่ที่กฎหมาย ก�ำหนดไว้ในกฎหมายการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน นโยบายที่เรามอบให้ ผู้ปฏิบัติชัดเจน คือ ไม่มีการสลายการชุมนุมและในค�ำสั่งบ่งชัดว่า ให้ปฏิบัติงานโดย หลีกเลี่ยงการเสี่ยงให้เกิดความสูญเสียชีวิตประชาชน ความจริงนายธาริตน่าจะทราบดี เพราะเป็นคนรับมอบนโยบายนี้ และเป็นกรรมการ ศอฉ.อยู่ด้วย เหตุการณ์ที่เป็นที่มาของคดีนี้ เกิดเมื่อทางศอฉ.ได้มีแนวทางปิดล้อมการชุมนุม ไม่ใช่การสลายการชุมนุม ในคืนที่เกิดเหตุ เมื่อมีการตั้งด่านมีรถตู้พยายามฝ่าด่านเข้า 116 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


มาจึงเกิดการยิง นายพัน ค�ำกอง ที่เป็นผู้เสียชีวิตในคดีนี้อยู่บริเวณนั้น ได้วิ่งออกมาดู เหตุการณ์จนกระทั่งเสียชีวิตจากกระสุนซึ่งศาลได้มีค�ำสั่งเบื้องต้นว่าเป็นกระสุนที่ใช้ใน ราชการทหาร ประชาชนคงมองออกว่า คดีนี้มีเจตนาฆาตกรรมหรือไม่ ไม่ว่ากรณีจะเป็น อย่างไร ผมและนายสุเทพขอยืนยันว่า ไม่มีใครในประเทศนี้อยู่เหนือกฎหมาย เราเปิด โอกาสให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม เราพร้อมยอมรับ และได้มีการตั้งคณะกรรมการอิสระขึ้นมาสอบสวนคดีต่างๆ อีกด้วย เป็นที่ทราบดีว่าได้ มีรายงานสรุปว่า ไม่ใช่การชุมนุมโดยปกติ แต่มีกลุ่มผู้ชุมนุมที่ติดอาวุธแฝงตัวอยู่และ เป็นผู้ด�ำเนินการก่อการร้าย ซึ่งดีเอสไอได้ด�ำเนินคดีในข้อหาก่อการร้ายกับคนจ�ำนวน มากไปแล้ว ฉะนั้น เมื่อกรมสอบสวนคดีพิเศษเดินในแนวทางนี้และออกหมายเชิญเราทั้ง สองพร้อมให้ความร่วมมือและจะเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ไม่หนีไปไหน และจะใช้สิทธิ ตามกฎหมายเพราะเมื่อเราท�ำหน้าที่ เราก็รู้ตลอดว่ามีความเสี่ยง แต่เรามั่นใจในเจตนาอัน บริสุทธิ์ ที่จะท�ำให้บ้านเมืองกลับสู่ภาวะปกติ โดยไม่มีการสลายการชุมนุม ฯลฯ เรื่องทั้งหมดที่เกิดขึ้นไม่น่าแปลกใจ เพราะตั้งแต่ต้นปีนี้มีการส่งสัญญาณมาถึง ผมทั้งทางตรงและทางอ้อมว่า จะต้องมีการด�ำเนินการกับผมและนายสุเทพในลักษณะที่ สอบถามว่าผมและนายสุเทพจะคิดอย่างไรกับการการออกกฎหมายนิรโทษกรรม มีหลาย ช่องทางและหลายบุคคลที่ได้ติดต่อประสานมาโดยตลอด ฉะนั้ น ตราบเท่าที่ผมและ นายสุเทพยังยืนยันว่าต้องการให้บ้านเมือง ระบบกฎหมาย ความถูกต้องมาก่อน ความ พยายามที่จะด�ำเนินการกับผมและนายสุเทพเพื่อน�ำไปใช้ในทางการเมืองเพื่อการ ต่อรองจะด�ำเนินต่อไป จึงอยากขอตั้งข้อสังเกตว่า ถ้อยแถลงของนายธาริต แทบจะล้อ ถ้อยค�ำของ ร.ต.อ.เฉลิม ค�ำต่อค�ำ ทั้งแง่ข้อกฎหมายและการสรุปข้อเท็จจริงในเหตุการณ์ เรียกได้วา่ มีธงล่วงหน้า อย่างทีน่ ายสุเทพได้กล่าวตัง้ แต่ ร.ต.อ.เฉลิม มาถึงมวลชนคนเสือ้ แดง ผมเข้าใจดีว่านี่เป็นกระบวนการ ผมไม่มีอะไร นอกจากจะฝากบอกไปยังคนที่ คิดวางแผนเรื่องนี้และคิดว่าในที่สุดจะได้รับประโยชน์ในเรื่องนี้ว่า ที่ท่านท�ำทั้งหมดไม่มี ผล เพราะอย่างไร ผมและคุณสุเทพก็ไม่สนใจที่จะไปต่อรองผลประโยชน์ในคดีใดๆ ทั้ง สิ้น ยืนยันว่าคนผิดต้องรับผิด กระบวนการปรองดองที่แท้จริง ต้องเกิดจากการแสวงหา ข้อเท็จจริง ไม่มีเหตุผลใดที่จะเอาสิ่งเหล่านี้ มาแลกเปลี่ยนกับการล้างผิดให้กับคนโกง คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 117


ชาติ โกงเมือง แม้ในที่สุดถ้ากระบวนการยุติธรรมจะตัดสินว่าผมและคุณสุเทพผิด ต้อง รับโทษประหารชีวิต หรือจ�ำคุก พวกผมก็พร้อมเคารพและยอมท�ำตาม เพราะผมมั่นใจ ว่าสิ่งที่ท�ำไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวมและท�ำอย่างตรงไปตรงมา ใครจะมาเอาชีวิตผมไปต่อ รองอะไร ผมไม่สนใจ แต่ผมจะไม่ยอมให้มีการล้างผิดคนโกงโดยเด็ดขาด ขอยืนยันว่า ที่ ท�ำทั้งหมดมีที่มาที่ไป และผมจะต่อสู้ตามกรอบกฎหมายจนถึงที่สุด เพราะสิ่งส�ำคัญ ต้องยึดความถูกต้องของประเทศชาติบ้านเมือง...”

นายสุเทพ เทือกสุบรรณ

“เมื่อวันที่ 6 ธันวาคมที่ผ่านมา นายธาริตได้ตั้งข้อกล่าวหา ผมและนายอภิสิทธิ์ ว่า เป็นผู้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ฆ่าคน เราคาดการณ์อยู่แล้วว่า จะมีการตั้งข้อหาในช่วง ปิดสมัยประชุมมาด�ำเนินคดีกับเรา เพราะก่อนหน้านี้เขาได้แถลงข่าวมาเป็นระยะ น�ำ โดย ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บ�ำรุง (รองนายกรัฐมนตรี) ฉะนั้น เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ผมได้ ตัดสินใจโทรศัพท์ไปหานายธาริต เพื่อบอกว่าจะให้ความร่วมมือกับนายธาริตและดีเอส ไอ เพราะผมเป็นคนดี ต้องการปฏิบัติตามกฎหมาย จึงได้นัดหมายให้ดีเอสไอมายื่นหมาย เชิญที่พรรคประชาธิปัตย์ ในวันที่ 7 ธันวาคม ปรากฏว่า นายธาริตไม่มา กลับให้พนักงาน ชั้นผู้น้อยมาแทน ขอขอบคุณนายธาริต ที่ไม่ได้ออกข่าวว่าพวกผมหลบหนีไม่รับหมาย และขอบคุณนายธาริต ที่เห็นว่าท�ำถูกต้องเป็นครั้งแรกที่ได้แถลงคดีนี้ว่า จะไม่ด�ำเนิน คดีกับเจ้าหน้าที่ทหารและต�ำรวจที่มาปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อย โดยจะ กันไว้เป็นพยาน เพื่อที่จะด�ำเนินคดีกับพวกผมในฐานะผู้สั่งการ ที่ต้องขอบคุณนายธาริต ได้สร้างความทุกข์ใจให้กับครอบครัวเจ้าหน้าที่ที่มา รักษาความสงบเพราะได้แสดงอาการเหมือนข่มขู่เรียกไปสอบและบอกว่าถ้าไม่ให้การ ปรักปร�ำพวกเราสองคน ก็จะด�ำเนินคดีกับเจ้าหน้าที่ทุกคน ผมขอขอบคุณด้วยความ จริงใจ และขอร้องว่าอย่าได้สร้างความทุกข์ยากให้แก่เจ้าหน้าที่เหล่านั้นเลย เชื่อว่าเรื่องนี้ ตั้งใจจะท�ำให้เป็นเรื่องการเมือง โดยพุ่งมาที่ผมและนายอภิสิทธิ์ เราทั้งสองจะไปมอบตัว รับทราบข้อกล่าวหาและจะต่อสู้คดีตามกระบวนการยุติธรรม เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงตาม ขั้นตอนต่อไป ที่ผ่านมาดีเอสไอเคยเชิญผมและนายอภิสิทธิ์ไ ปสอบมาแล้ว 8 – 10 ชั่วโมง และ 118 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


เจ้าหน้าที่ต�ำรวจก็สอบมาแล้วหลายรอบในคดีนี้ ได้ให้ปากค�ำด้วยปากเปล่า และท�ำ บันทึกค�ำให้การเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมส่งส�ำเนาค�ำสั่งที่ ศอฉ.สั่งการกับเจ้าหน้าที่ ระหว่างการแก้ปัญหาการก่อการร้ายช่วงปี 2552 – 2553 ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษมา แล้ว ยืนยันไปแล้วว่า ทุกค�ำสั่งผมเป็นผู้ลงนามแต่เพียงผู้เดียว นายอภิสิทธิ์ไม่ได้เข้ามา เกี่ยวข้องกับการลงนามค�ำสั่ง เพราะท่านเป็นนายกฯ และตั้งให้เป็น ศอฉ.มีหน้าที่ปฏิบัติ ตามกฎหมาย ไม่ควรจะเป็นนายอภิสิทธิ์ ที่ต้องกลายเป็นผู้ต้องหาร่วมกับผม แต่มีหลาย คนพูดว่า ล�ำพังนายสุเทพมาเป็นผู้ต้องหาคนเดียว ไม่เพียงพอที่จะต่อรองกับประชาชน ที่ไม่เห็นด้วยกับกฎหมายล้างผิดให้กับคนโกง คนเผาบ้านเมือง จึงต้องลากนาย อภิสิทธิ์เข้ามาเป็นจ�ำเลยร่วมด้วย ต้องขอเรียนว่า นายอภิสิทธิ์ได้พูดกับผมตั้งแต่ต้น ว่า ถ้าจะน�ำเรื่องนี้มาเป็นข้อต่อรองบีบบังคับเราสองคนให้เห็นดีเห็นงามกับกฎหมาย ล้างผิด เราไม่เห็นด้วย ผมติดคุกดีกว่าที่จะเห็นคนเหล่านี้อาศัยเสียงข้างมากมากดขี่น�้ำใจ คนไทย และท�ำลายระบบนิติรัฐ ขอยืนยันอีกครั้งว่า แม้ข้อกล่าวหานี้จะมีโทษสูงสุด คือ ประหารชีวิต ถ้าพวก ผมแพ้คดี ยินดีที่จะรับโทษ ไม่ยอมให้บ้านเมืองเสียหายเป็นอันขาด อย่ามาเสียเวลา ต่อรองกับพวกผม เพราะผมไม่ยอมเป็นอันขาด และจะต่อสู้เคียงข้างกับประชาชนทั้ง ประเทศ”

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 119


120 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


นายอภิสิทธิ์ ให้สัมภาษณ์โทรทัศน์ “บีบีซี” อังกฤษ กรณีถูก “ดีเอสไอ” แจ้งข้อหา “ร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล” วันที่ 10 ธันวาคม 2555 นายอภิสิทธิ์ ได้ให้สัมภาษณ์โทรทัศน์ บีบีซี อังกฤษ กรณีถูก “ดีเอสไอ” แจ้งข้อหา “ร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล” (ผูต้ ายจ�ำนวน 99 ศพ) โดยพิธกี รสาว...มิชาล ฮูเซน เป็นผูส้ มั ภาษณ์ มีขอ้ ความบางตอน ดังนี้... ผู้ด�ำเนินรายการ : คุณก�ำลังบอกว่าคดีนี้ เป็นคดีแรกที่มีการสรุป และไม่ได้ แปลว่าคดีอื่นๆ จะเป็นลักษณะนี้ด้วย ซึ่งนั่นก็รวมถึงตัวคุณด้วย เพราะคุณคือผู้ที่อยู่ใน ต�ำแหน่ง ขณะที่ประชาชน 90 กว่าคนเสียชีวิตจากการประท้วง อภิสิทธิ์ : ถูกต้องครับ เราได้ตั้งคณะกรรมการอิสระ เพื่อสอบสวนข้อเท็จจริง รวมถึงคณะต�ำรวจ และกลไกในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งต้องด�ำเนินการ แต่ว่าข้อกล่าว หาผมนั้นเกินเลยไป ผู้ด�ำเนินรายการ : ท�ำไมข้อกล่าวหาจึงเกินเลย อภิสิทธิ์ : (พูดแทรก) เพราะว่า... ผู้ด�ำเนินรายการ : (พูดต่อ) ในเมื่อคุณคือคนที่อยู่ในอ�ำนาจ ขณะที่มีการใช้ก�ำลัง สลายพื้นที่การชุมนุม อภิสิทธิ์ : แต่ถ้าคุณจ�ำได้ สถานการณ์ขณะนั้น คือ มีประชาชนยึดพื้นที่ใจกลาง เมือง และมีประชาชนที่ติดอาวุธ พวกเขายิงลูกระเบิดเข้าใส่ประชาชน เราไม่ได้แม้แต่ เข้าไปสลายการชุมนุมเลย แต่เราเพียงแค่ตั้งด่านตรวจเช็ก ซึ่งต่อมาด่านตรวจเหล่านี้ ก็ถูกโจมตีด้วย แล้วก็มีการต่อสู้กันบนถนน โชคร้ายที่มีประชาชนเสียชีวิต ผู้ด�ำเนินรายการ : แต่ว่าผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่ ก็เสียชีวิตจากการยิงของเจ้า หน้าที่รัฐ อภิสิทธิ์ : (พูดแทรก) ไม่ใช่แบบนั้น ไม่ใช่แบบนั้นเลย ผู้ด�ำเนินรายการ : แต่องค์การฮิวแมนไรต์วอตช์ ได้ท�ำรายงานสืบสวนสอบสวนอย่าง ละเอียดถึงเหตุการณ์ ปี 2553 คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 121


อภิสิทธิ์ : (พูดแทรก) ไม่จริง รายงานที่ละเอียดที่สุด คือ... ผู้ด�ำเนินรายการ : (พูดต่อ) และรายงานของฮิวแมนไรต์วอตช์ ก็ระบุว่าเกือบทุกคนที่ ตายนั้น ถูกเจ้าหน้าที่รัฐยิง อภิสิทธิ์ : รายงานที่ละเอียดที่สุดนั้น ท�ำโดยคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและ ค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) และมีราว 20 กรณี ที่ผู้เสียชีวิตเกิด จากการกระท�ำของฝ่ายผู้ประท้วงซึ่งมีอาวุธ ผู้ด�ำเนินรายการ : แต่นั่นคือจ�ำนวนน้อย เราก�ำลังพูดถึงความตาย 90 กว่ากรณี อภิสิทธิ์ : (พูดแทรก) แต่... ผู้ด�ำเนินรายการ : (พูดต่อ) คุณควรจะยอมรับว่า การตายส่วนใหญ่นั้น เกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐ ไม่ใช่หรือ อภิสิทธิ์ : ไม่ครับ ไม่ ไม่ ไม่ เพราะว่าเรามีการสอบสวนอยู่ราว 20 กรณี และ เพียงแค่ 2 กรณีเท่านั้น ที่สรุปว่าเป็นการตายจากการถูกกระสุนปืน ซึ่งใช้ในกองทัพ แต่คุณก็ควรจะต้องจ�ำได้ด้วยว่า ผู้ชุมนุมได้ขโมยอาวุธจากกองทัพไป ผู้ด�ำเนินรายการ : (พูดแทรก) ถ้าเช่นนั้น คุณก็ปฏิเสธ ข้อกล่าวหาว่า... อภิสิทธิ์ : (พูดต่อ) และในการจะกล่าวหาที่เจาะจงเช่นนี้ คุณต้องรู้เกี่ยวกับข้อหา ที่ถูกแจ้งไว้เสียก่อน ผู้ด�ำเนินรายการ : แต่คุณก็ยอมรับใช่ไหมว่า ต้องรับผิดชอบต่อการตายใน บางกรณี คุณยอมรับไหม อภิสิทธิ์ : ไม่ครับ การแจ้งข้อหาต่อผมในขณะนี้ คือ การเสียชีวิตของคนที่ไม่ ได้เข้าร่วมชุมนุมเลยด้วยซ�้ำ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ มีรถตู้คันหนึ่ง พยายามฝ่าแนวกั้น ของทหาร จากนั้นจึงมีการยิง ผู้ตายนั้นเพียงแต่ออกมาดูว่าเกิดอะไรขึ้น แล้วก็โชค ร้ายที่เขาถูกยิง ผู้ด�ำเนินรายการ : คุณก�ำลังบอกว่า อันนี้เป็นคดีแรกที่มีการสรุป และไม่ได้แปล ว่าคดีอื่นๆ จะเป็นลักษณะนี้ด้วย อภิสิทธิ์ : ใช่ ถ้าจะพูดว่ารัฐบาลเป็นผู้สั่งทหารให้ฆ่าประชาชน ก็ไม่ได้ตรงตามสิ่ง ที่เกิดขึ้นทีเดียว ผู้ด�ำเนินรายการ : แต่คุณอนุญาตให้ใช้กระสุนจริง 122 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


อภิสิทธิ์ : เราอนุญาตให้ใช้กระสุนจริง ผู้ด�ำเนินรายการ : คุณเสียใจต่อการตัดสินใจดังกล่าวหรือไม่ อภิสิทธิ์ : แต่ถ้ายังงั้น คุณจะสู้กับกลุ่มคนที่ติดอาวุธได้ยังไงล่ะ ผู้ด�ำเนินรายการ : ฉะนั้น คุณก็ไม่เสียใจ ต่อการใช้กระสุนจริง อภิสิทธิ์ : ผมเสียใจที่มีผู้เสียชีวิต แต่ก็มีค�ำสั่งชัดเจนว่า พวกเขาควรใช้กระสุน จริงอย่างไร ภายใต้สถานการณ์แบบไหน ค�ำสั่งซึ่งออกโดยรองนายกฯ (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) นั้น เพื่อป้องกันตัวเอง เพื่อป้องกันการเสียชีวิตของประชาชนคนอื่น และพวกเขาต้องใช้อย่างระมัดระวังสูงสุด หากจะต้องใช้อาวุธต่อคนเหล่านี้ ที่บางครั้ง ก็ปะปนอยู่กับฝูงชน พวกเขาก็ควรหลีกเลี่ยง และถ้าการใช้ค�ำสั่งนี้แปลว่า พวกเราสั่งให้มี การฆ่าคน ผมคิดว่าไม่แฟร์ ผู้ด�ำเนินรายการ : โอเค คุณ... อภิสิทธิ์ : ขอให้ผมพูดนะครับ ผมได้เข้าร่วมการประชุมหลายครั้งทั่วโลก กรณี การประชุมกลุ่มประเทศ จี 20 ที่อังกฤษนี่ ก็มีบางคนเสียชีวิต เพราะเจ้าหน้าที่พยายาม ปฏิบัติหน้าที่ของตน และก็ต้องมีการสอบสวน การมีผู้เสียชีวิตนั้นชอบธรรมหรือไม่ ก็ขนึ้ อยูก่ บั กฎหมาย แต่ไม่มที ไี่ หนทีน่ ายกฯจะต้องมารับผิดชอบกับปฏิบตั กิ ารใดๆ ก็ตาม ผู้ด�ำเนินรายการ : แต่คุณอภิสิทธิ์คะ นี่คือเหตุการณ์รุนแรงทางการเมืองที่เลว ร้ายที่สุด ที่ประเทศของคุณได้พบในช่วงหลายสิบปีมานี้ เรื่องที่เราก�ำลังพูดกัน มันค่อน ข้างใหญ่ และนี่เป็นปัญหาในยุคที่คุณอยู่ในอ�ำนาจ อภิสิทธิ์ : เพราะนี่เป็นครั้งแรกที่เรามีการประท้วงโดยมีประชาชนที่มีอาวุธเข้า ร่วม หากนี่เป็นการประท้วงโดยสันติ ภายใต้รัฐธรรมนูญและถูกกฎหมาย สิ่งเหล่านี้ก็จะ ไม่เกิดขึ้น ผู้ด�ำเนินรายการ : (พูดแทรก) นี่คุณรู้สึกอย่างไร ที่... อภิสิทธิ์ : (พูดต่อ) ถ้าพวกเขาไม่มีชายชุดด�ำซึ่งมีอาวุธ ยิงต�ำรวจ ยิงประชาชน ยิงทหาร ก็จะไม่มีการสูญเสียเกิดขึ้น ผู้ด�ำเนินรายการ : คุณรู้สึกอย่างไร ที่กรณีเหล่านี้ก�ำลังจะก�ำหนดความทรงจ�ำ เกี่ยวกับช่วงที่คุณด�ำรงต�ำแหน่งและคิดว่าผู้คนจะจดจ�ำคุณในช่วงเวลาที่อยู่ในอ�ำนาจ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 123


อย่างไร

อภิสิทธิ์ : ไม่คิดว่าเป็นปัญหาอะไร ผมคิดว่าประชาชนรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นในปี 2552 และ 2553 และสิ่งที่แตกต่างก็คือ ในฐานะรัฐบาล เราเป็นรัฐบาลแรกที่อนุญาตให้ ต�ำรวจ กรมสอบสวนคดีพิเศษ และอัยการ และศาล ท�ำงานในเรื่องนี้ และผมยอมรับ ไม่ว่าค�ำตัดสินจะออกมาอย่างไร แม้แต่จะเป็นค�ำตัดสินประหาร ผมก็จะยอมรับ และผมก็ขอให้อดีตนายกฯ และสมาชิกในรัฐบาลชุดนี้ปฏิบัติตามเช่นกัน เพราะพวกเขาก็มักจะหาทางออกกฎหมายนิรโทษกรรมพวกเขาเองเสมอ ทั้งหมดเป็นสิ่งที่ผมถามหาอยู่เสมอ ผมยินดีจะถูกฟ้องร้อง ผมจะต่อสู้ จะพิสูจน์ ความบริสุทธิ์ในศาล และไม่ว่าเหตุผลใดก็ตาม ที่มีค�ำพิพากษาว่าผมผิด ผมก็จะยอมรับ โดยดี (ข้อมูล – ข่าวสด – 13, 20 ธ.ค.55)

124 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฟ้องธาริต อธิบดี “ดีเอสไอ” กับพวก ฐานปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยมิชอบฯ

หลังจาก “ดีเอสไอ” ได้แจ้งข้อหาแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อ ให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, 288 เมื่อเดือนธันวาคม 2555 แล้ว ต่อมาเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2556 นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ได้ร่วมกันยื่นฟ้อง นายธาริต กับพวก เป็นจ�ำเลย รวม 4 คน คือ 1.นายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ 2.พ.ต.ท.วรรณพงษ์ คชรักษ์ หัวหน้าชุดการเสียชีวิตของประชาชน 99 ศพ 3.พ.ต.ต.ยุทธนา แพรด�ำ พนักงานสอบสวนคดีฆ่าประชาชน 99 ศพ 4.ร.ต.อ.ปิยะ รักสกุล พนักงานสอบสวน คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ ในความผิดฐานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าที่ในการ ยุติธรรม ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157, 200 สรุปค�ำฟ้องโดยย่อ ดังนี้... โจทก์ฟ้องว่า สืบเนื่องจากกรณีแกนน�ำกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้าน เผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ได้เริ่มชุมนุมตั้งแต่ต้นปี 2552 เนื่องจากไม่พอใจมติสภาผู้แทน ราษฎรที่เห็นชอบให้โจทก์ที่ 1 เป็นนายกรัฐมนตรี มีการรวมตัวต่อต้านรัฐบาล ให้นาย อภิสิทธิ์ยุบสภา หรือลาออกจากต�ำแหน่ง โดยการยุยงสนับสนุนของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิน วัตร ทีใ่ ช้วธิ โี ฟนอินและวีดโี อลิง้ ก์ปลุกระดมมวลชนคนเสือ้ แดง จนในทีส่ ดุ เดือน เม.ย.2552 นายอริสมันต์น�ำคนเสื้อแดงบุกเข้าไปยังโรงแรมรอยัลคลิฟบีช อ.เมืองพัทยา จ.ชลบุรี ซึ่ง เป็นสถานที่จัดประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน ระหว่างวันที่ 10 – 12 เม.ย.2552 เพื่อล้ม การประชุมได้ส�ำเร็จ และยังสร้างความวุ่นวายในกรุงเทพฯอีกหลายแห่ง มีการปลุกระดม คนเสื้อแดงที่บริเวณหน้าท�ำเนียบรัฐบาล ไปท�ำร้ายนายอภิสิทธิ์ ขัดขวางไม่ให้ประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ตาม พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ที่กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 12 เม.ย.2552 จนน�ำไปสูก่ ารปิดล้อม และทุบรถยนต์ ของโจทก์ที่ 1 และ 2 เพือ่ มุง่ ร้ายเอาชีวติ ต่อมารัฐบาลได้ควบคุมสถานการณ์ได้ จึงเป็นผลให้วันที่ 14 เม.ย.2552 แกน คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 125


น�ำคนเสื้อแดง ตัดสินใจยุติการชุมนุมและมอบตัวกับเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ในข้อหามั่วสุม กันเกิน 10 คนขึน้ ไป ก่อให้เกิดความวุน่ วายขึน้ ในบ้านเมือง แต่กย็ งั มีการเคลือ่ นไหวปลุก ระดมมวลชนต่อเนือ่ งถึงปี 2553 มีการใช้กองก�ำลังทีม่ อี าวุธสงคราม หรือทีเ่ รียกว่า กอง ก�ำลังชายชุดด�ำ สร้างสถานการณ์รนุ แรงขึน้ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด เช่น ใช้อาวุธ สงคราม และเครือ่ งยิงระเบิดใส่สถานทีร่ าชการหลายแห่ง ขว้างระเบิดเอ็ม 67 เข้าไปยัง ส�ำนักงานอัยการสูงสุด รวมทัง้ ธนาคารกรุงเทพหลายสาขา ใช้เครือ่ งยิงระเบิดใส่ทที่ ำ� การ พรรคประชาธิปตั ย์ ในฐานะทีโ่ จทก์ที่ 1 และ 2 รับผิดชอบดูแลฝ่ายความมั่นคง ได้ขอ อ�ำนาจศาลแพ่งคุม้ ครอง แต่ปรากฏว่ากลุม่ ผูช้ มุ นุมยังสร้างสถานการณ์รนุ แรงยิง่ ขึน้ จนถึง วันที่ 7 เม.ย.2553 กลุม่ เสือ้ แดงได้ทำ� การปิดล้อมและพังรัว้ ของรัฐสภา ในขณะทีม่ กี าร ประชุมรัฐสภา ท�ำให้ ส.ส.ต้องหลบหนีออกจากทีท่ ำ� การรัฐสภาด้วย จากเหตุการณ์ร้ายแรงดังกล่าว โจทก์ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ในวันที่ 7 เม.ย.2553 เพื่อควบคุมสถานการณ์ให้กลับสู่ปกติ โดยจัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการแก้ไข สถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ขึ้น และมอบหมายให้โจทก์ที่ 1 เป็น ผอ.ศอฉ. โดยมีการ มอบหมายนโยบายต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติอย่างชัดเจน ปฏิบัติการหลีกเลี่ยงการสูญ เสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งจ�ำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการของศอฉ.อยู่ด้วย นั้นก็ทราบอย่างดี และค�ำสั่งดังกล่าวไม่มีข้อความใดระบุให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องใช้ อาวุธปืนท�ำร้ายประชาชน เว้นแต่ป้องกันตัวเอง ชีวิต ทรัพย์สินของประชาชน และ การออกค�ำสั่งของศอฉ.เป็นไปตาม พ.ร.ก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ท�ำหน้าที่ระงับป้องกันการกระท�ำผิดกฎหมาย เนื่ อ งจากการชุ ม นุ ม ของกลุ ่ ม คนเสื้ อ แดงเป็นการชุมนุมที่ผิดกฎหมาย มีกองก�ำลังไม่ทราบฝ่าย ซึง่ มีอาวุธสงครามร้ายแรงแฝงตัวอยูใ่ นกลุม่ ผูช้ มุ นุม ให้การ สนับสนุนและช่วยเหลือกลุม่ ผูช้ มุ นุมด้วย มีการใช้อาวุธสงครามท�ำร้ายเจ้าหน้าทีท่ หาร และประชาชนเสียชีวติ และได้รบั บาดเจ็บ จึงเป็นความจ�ำเป็นทีเ่ จ้าหน้าทีต่ อ้ งปิดล้อมผู้ ชุมนุมไม่ให้เพิม่ ขึน้ จากมาตรการดังกล่าว ท�ำให้นายจตุพรได้ยื่นค�ำร้องขอให้ศาลแพ่งไต่สวน ฉุกเฉิน ห้ามโจทก์ทงั้ สองใช้กำ� ลังทหารสลายการชุมนุม ต่อมาศาลแพ่งมีคำ� วินจิ ฉัยว่า 126 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


การกระท�ำของโจทก์เป็นอ�ำนาจของฝ่ายบริหาร การที่เจ้าหน้าที่สลายการชุมนุมเพื่อให้ เกิดความสงบสุขในบ้านเมือง โดยมีอาวุธติดตัว หากมีความจ�ำเป็นก็สามารถน�ำมาระ งับยับยั้งไปตามสถานการณ์ หรือเหตุการณ์เฉพาะหน้า หรือป้องกันตนเองได้ อันเป็นไป ตามหลักสากล ด้วยเหตุผลดังกล่าว ค�ำสั่งของ ศอฉ.จึงเป็นค�ำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย โจทก์และพนักงานที่เกี่ยวข้อง จึงไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและอาญา หรือทางวินัย เพราะเป็นการกระท�ำที่สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติและไม่ให้เกินสมควรแก่เหตุ ไม่เกินกว่า กรณีจ�ำเป็น ดังที่บัญญัติในมาตรา 17 ตาม พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และตามค�ำสั่งของศาลแพ่ง เมื่อระหว่างเดือน ก.ค.2554 – 13 ธ.ค.2555 จ�ำเลยทั้งสี่ในฐานะพนักงาน สอบสวนดีเอสไอ ได้ร่วมกันปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้เกิดความเสีย หายแก่โจทก์ทั้งสอง และกระท�ำความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม เพื่อกลั่น แกล้งให้โจทก์ทั้งสองได้รับโทษทางอาญา โดยตั้งข้อกล่าวหาว่า โจทก์ทั้งสองสั่งฆ่า ประชาชนโดยเจตนาเล็งเห็นผล จากกรณีที่ ศอฉ.เข้ากระชับขอคืนพื้นที่จากกลุ่มผู้ชุมนุม นปช. หรือคนเสื้อแดง ที่ชุมนุมโดยผิดกฎหมาย เมื่อช่วงระหว่างเดือน มี.ค. – พ.ค.2553 ที่บริเวณถนนราชด�ำเนินและแยกราชประสงค์ รวมทั้งอีกหลายพื้นที่ในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล และสถานที่ต่างๆ ทั่วประเทศ เป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ทหารและประชาชนได้รับ บาดเจ็บ และเสียชีวิต โดยจ�ำเลยทั้งสี่ต่างทราบดีว่า การชุมนุมของกลุ่ม นปช.เป็นการ ชุมนุมโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ใช้สิทธิเสรีภาพในการชุมนุมเกินกว่าขอบเขตรัฐธรรมนูญ ก่อการร้าย ก่อการจลาจล สร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน การกระท�ำของพวกจ�ำเลย เป็นการใช้ดุลพินิจที่ขัดต่อข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย มีอคติ ยอมตนเป็นเครื่องมือของ รัฐบาลชุดปัจจุบัน กลั่นแกล้งเจตนามุ่งหมายท�ำลายชื่อเสียงของโจทก์ทั้งสอง และพรรค ประชาธิปัตย์ในทางการเมือง และเพื่อให้รับโทษทางอาญา มีโทษสูงสุดถึงประหารชีวิต ถือเป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ขอให้ศาลพิพากษาลงโทษจ�ำเลยทั้งสี่ ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 157, 200

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 127


“...ค� ำ สั่ ง “ศอฉ.” เป็นค�ำสั่ง ที่ช อบด้ วยกฎหมาย โจทก์ ทั้ ง สอง (นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ) และพนักงานที่เกี่ยวข้องไม่ต้องรับผิดชอบทั้งทาง แพ่งและทางอาญา... เพราะเป็นการกระท�ำที่สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่เกิน สมควรแก่เหตุไม่เกินกว่ากรณีจ�ำเป็น ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 17 ตาม พ.ร.ก. การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548...” “ดีเอสไอ” ...กลั่นแกล้งให้โจทก์ทั้งสอง (นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ) โดยตัง้ ข้อกล่าวหาว่าโจทก์ทงั้ สองสัง่ ฆ่าประชาชนโดยเจตนาเล็งเห็นผล... ขอศาลพิพากษาลงโทษจ�ำเลยทั้งสี่ (นายธาริตกับพวก) ตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 157, 200” (ค�ำฟ้องบางตอนที่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฟ้องนายธาริต กับพวก เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2556 -ข้อมูล-ผู้จัดการ-23-1-56)

128 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


สรุปค�ำฟ้องของโจทก์ทั้งสอง

การชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดง (นปช.) เป็นการชุมนุมที่ผิดกฎหมาย ผู้ชุมนุมมี “ชายชุดด�ำ” ใช้อาวุธสงครามสร้างสถานการณ์รุนแรงในเขต กทม. โจทก์ทั้งสองไม่ได้สั่ง ให้เจ้าหน้าที่ใช้อาวุธท�ำร้ายประชาชน ค�ำสั่งของ “ศอฉ.” ชอบด้วยกฎหมาย โจทก์และ เจ้าหน้าที่ไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย ตามมาตรา 17 แห่ง พ.ร.ก.การบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 จ�ำเลยทั้งสี่กลั่นแกล้งโจทก์ทั้งสอง โดยร่วมกันแจ้งข้อหา โจทก์ทั้งสอง ฐานก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล

การแจ้งข้อหา นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพกับการที่นายอภิสิทธิ์ และนาย สุเทพ ฟ้องพนักงานสอบสวน มีผลอย่างไร

การแจ้ ง ข้ อ หาแก่ ผู ้ ต ้ อ งหากั บ ผู ้ ต ้ อ งหาฟ้ อ งพนั ก งานสอบสวนนั้ น เป็ น คน ละเรื่องกัน ตัวอย่าง ร.ต.อ.หนึ่ง สอบสวนด�ำเนินคดีกับนายสอง ฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา คดียังไม่ทันขึ้นศาล ยังไม่ได้พิสูจน์ว่านายสองมีความผิดหรือไม่ นายสองกลับยื่นฟ้อง ร.ต.อ.หนึ่ง พนักงานสอบสวนต่อศาล ฐานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบที่ด�ำเนินคดีแก่เขา ทั้งสองคดีต้องแยกด�ำเนินคดีต่างหากกัน คดีที่สองเป็นผู้ต้องหาฐานฆ่าคนตาย ต�ำรวจสอบสวนเสร็จต้องส่งส�ำนวนให้อัยการพิจารณาสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้องต่อไป ส่วนคดี ข้อหาปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ก็แยกด�ำเนินคดีต่างหาก ไม่รวมกัน ส�ำหรับคดีที่นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ เป็นผู้ต้องหาฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่า คนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ต�ำรวจสอบสวนเสร็จ ต้องส่งส�ำนวนการสอบสวนให้อัยการ พิจารณาสั่งฟ้อง สั่งไม่ฟ้องต่อไป ส่วนคดีที่นายธาริตกับพวกถูกนายอภิสิทธ์ นายสุเทพ ฟ้อง ก็ต้องด�ำเนินการต่อไปในชั้นศาล แยกจากกัน

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 129


ความแตกต่างระหว่างอัยการฟ้องจ�ำเลย กับนายอภิสทิ ธิ์ กับนายสุเทพ ฟ้องจ�ำเลยต่อศาลนัน้ มีผลต่างกัน คดีที่อัยการฟ้องต่อศาลนั้น (ถ้าอัยการสั่งฟ้องคดี นายอภิสิทธิ์ฯ เป็นผู้ต้องหา) ทันทีที่อัยการฟ้องต่อศาล นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพจะตกเป็นจ�ำเลยต่อศาลทันที ส่วนคดีที่ราษฎรฟ้องเอง (คดีที่นายอภิสิทธิ์ฯ ฟ้อง ทันทีที่นายอภิสิทธิ์กับพวก ยื่นฟ้อง นายธาริตกับพวกนั้น กฎหมายยังไม่ถือว่านายธาริตกับพวกเป็นจ�ำเลย จนกว่าศาลจะ ไต่สวนมูลฟ้องก่อนว่า คดีจะมีมูลฟ้องหรือไม่ ถ้าคดีไม่มีมูลฟ้อง นายธาริตกับพวกก็ยังไม่ ตกเป็นจ�ำเลย ถ้าศาลว่าคดีมีมูล นายธาริตกับพวกจึงจะตกเป็นจ�ำเลยทันที ทั้งนี้ เพราะกฎหมายเขียนว่า ถ้าอัยการเป็นโจทก์ฟ้อง ศาลไม่ต้องไต่สวนมูล ฟ้องก่อน เพราะถือว่าต�ำรวจ อัยการได้สอบสวนมาแล้ว ถือว่าคดีมีมูลแล้ว ศาลไม่ต้อง ไต่สวนอีก แต่ถ้าเป็นราษฎรฟ้องเอง ศาลต้องไต่สวนก่อนทุกรายไป เพื่อศาลจะสั่งว่าคดี นั้นมีมูลฟ้องหรือไม่

ฐานความผิดที่ฟ้อง

คดีที่นายอภิสิทธิ์กับนายสุเทพฟ้องนายธาริตกับพวก คือ ความผิดฐานปฏิบตั ิ หน้าทีโ่ ดยมิชอบ และความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าทีใ่ นการอ�ำนวยความยุตธิ รรม ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 157, 200 ความผิดฐานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 บัญญัติว่า “มาตรา 157 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดย มิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยทุจริต ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึง สองหมื่นบาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ” มาตรา 157 นี้ มีองค์ประกอบ ดังนี้ (1). เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ 130 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


(2). ตามข้อ (1). เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด (3). เจ้าพนักงานปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต (1). เจ้าพนักงานปฏิบตั หิ น้าที่ หรือละเว้นการปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยมิชอบ ตัวอย่าง ร.ต.อ.หนึ่ง จับกุมนายสอง โดยนายสองไม่ได้กระท�ำผิด ดังนี้ ร.ต.อ.หนึ่ง ผิดฐานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ตัวอย่าง ร.ต.อ.หนึ่ง พบนายสองผู้ต้องหาตามหมายจับ แต่ละเว้นหน้าที่ไม่จับกุม สอง ดังนี้ ร.ต.อ.หนึ่ง ผิดฐานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ (2). ตามข้อ (1). เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด คือ เจ้าพนักงานต้องมีเจตนาพิเศษ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล ใดบุคคลหนึ่ง ตามสองตัวอย่าง ข้อ (1). นั้น ร.ต.อ.หนึ่ง กระท�ำไปเพื่อให้เกิดความเสีย หายแก่สองที่ถูกจับ และเพื่อให้เกิดความเสียหายในคดีที่สองเป็นผู้ต้องหา ถ้า ร.ต.อ.หนึ่ง ไม่มีเจตนาพิเศษให้ผู้ใดเสียหาย ร.ต.อ.หนึ่ง ก็ไม่ผิดตามมาตรา 157 (3). ปฏิบัติหน้าที่หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต คือ เจ้าพนักงานที่กระท�ำ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่นั้น ได้กระท�ำ ไปโดยทุจริต แสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เช่น ตามตัวอย่าง ร.ต.อ.หนึ่ง ในข้อ (1). นั้น ร.ต.อ.หนึ่ง ได้รับเงินสินบนเป็นค่าตอบแทน ถือว่าเป็นการ กระท�ำโดยทุจริต

นายธาริตกับพวก มีความผิดมาตรา 157 หรือไม่

ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงว่า นายธาริตกับพวกได้ปฏิบัติหน้าที่ หรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริตหรือไม่ หากข้อเท็จจริงฟังได้ว่านายธาริตกับพวกได้ด�ำเนิน คดีแก่นายอภิสิทธิ์ กับนายสุเทพ ตามหน้าที่โดยสุจริตตามกฎหมาย นายธาริตกับพวก ก็ไม่ผดิ ตามมาตรา 157 ตามทีน่ ายอภิสทิ ธิก์ บั พวกฟ้อง หากข้อเท็จจริงฟังได้วา่ นายธาริต ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบกลั่นแกล้งด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ นายธาริตก็มี ความผิดตามมาตรา 157 คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 131


เป็นเรื่องที่จะต้องพิสูจน์ความจริงกันต่อไปในชั้นศาล ความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานยุตธิ รรมปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยมิชอบตามมาตรา 200 มาตรา 200 บัญญัติ ดังนี้ “มาตรา 200 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงานในต�ำแหน่งพนักงานอัยการ ผู้ว่าคดี พนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงานผู้มีอ�ำนาจสืบสวนคดีอาญา หรือจัดการให้เป็นไป ตามหมายอาญา กระท�ำการหรือไม่กระท�ำการอย่างใด ๆ ในต�ำแหน่งอันการมิชอบ เพื่อจะช่วยบุคคลหนึ่งบุคคลใด มิให้ต้องโทษ หรือให้รับโทษน้อยลง ต้องระวางโทษ จ�ำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่หนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นสี่พันบาท ถ้าการกระท�ำหรือไม่กระท�ำนั้นเป็นการเพื่อจะแกล้งให้บุคคลหนึ่งบุคคล ใดต้องรับโทษ รับโทษหนักขึ้น หรือต้องถูกบังคับตามวิธีการเพื่อความปลอดภัย ผู้กระท�ำต้องระวางโทษจ�ำคุกตลอดชีวิตหรือจ�ำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงยี่สิบปีและปรับ ตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท” องค์ประกอบความผิด มีดังนี้ (1).เป็นเจ้าพนักงานต�ำแหน่งหน้าที่ยุติธรรม คือ อัยการ พนักงานสอบสวนฯ (2).กระท�ำการ หรือไม่กระท�ำการในต�ำแหน่งโดยมิชอบ (3).เพื่อจะช่วยบุคคลใดมิให้รับโทษ หรือรับโทษน้อยลง (4).ถ้ากระท�ำแกล้งให้บุคคลใดต้องรับโทษ หรือรับโทษหนักขึ้น ถูกบังคับตามวิธี การเพื่อความปลอดภัย ต้องรับโทษหนักขึ้น (1).เป็นเจ้าพนักงานยุติธรรม ได้แก่ อัยการ พนักงานสอบสวน เจ้า พนักงานสืบสวนคดีอาญา เจ้าพนักงานจัดการให้เป็นไปตามกฎหมายอาญา (2).กระท�ำการ หรือไม่กระท�ำการในต�ำแหน่งโดยมิชอบ ตัวอย่าง พนักงานสอบสวนกระท�ำการในต�ำแหน่ง สอบสวนผู้เสียหายโดยมิชอบ ให้ผู้เสียหายลงชื่อในค�ำให้การโดยผู้เสียหายไม่ได้ให้การเช่นนั้น เพื่อช่วยเหลือผู้ต้องหาให้ พ้นผิด

132 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ตัวอย่าง พนักงานสอบสวนไม่แจ้งข้อหาในฐานความผิดที่มีโทษสูง ให้ผู้ต้องหา ทราบตามหน้าที่ เพื่อช่วยให้ผู้ต้องหารับโทษน้อยลง (3).เพื่อจะช่วยบุคคลใดมิให้รับโทษ หรือรับโทษน้อยลง คือ ต้องมี เจตนาพิเศษ เพื่อจะช่วยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ถ้าไม่มีเจตนาพิเศษเช่นนั้น ก็ไม่ผิดตาม มาตรานี้ (4).กระท�ำเพื่อจะแกล้งบุคคลให้ต้องรับโทษ หรือรับโทษหนักขึ้นฯ เจตนาพิเศษอีกชั้นหนึ่ง คือ เจ้าพนักงานยุติธรรมเหล่านี้ ประสงค์จะแกล้งบุคคล อื่นให้รับโทษ หรือรับโทษหนักขึ้น ดังนี้ กฎหมายลงโทษหนักขึ้น คือ จ�ำคุกถึง 20 ปี และ จ�ำคุกถึงตลอดชีวิต ความผิดฐานเจ้าพนักงานยุตธิ รรม ปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยมิชอบกับนายธาริตกับพวก นายธาริตกับพวกจะมีความผิดตามฟ้องหรือไม่ ต้อ งพิ จ ารณาข้ อ เท็ จ จริ ง ว่ า นายธาริตกับพวกปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือไม่ ถ้านายธาริตกับพวกด�ำเนินคดีแก่นาย อภิสิทธิ์โดยชอบ เพราะมีพยานบุคคล พยานเอกสาร วัตถุพยาน อาศัยค�ำสั่งของศาล คดีไต่สวนชันสูตรพลิกศพของผู้ตายว่า การตายเกิดจากเจ้าหน้าที่ทหารตาม ค�ำสั่งของ “ศอฉ.” นายธาริตกับพวกจึงด�ำเนินคดีแก่นายอภิสิทธ์กับนายสุเทพโดยสุจริต นายธาริต กับพวกก็ไม่มีความผิด ตามมาตรา 157, 200 ตามที่นายอภิสิทธิ์กับพวกฟ้อง ซึ่งจะต้องพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายในชั้นศาลต่อไป ข้อที่ควรระวัง การฟ้องเป็นเรื่องง่าย จะฟ้องใครก็ได้ แต่ฟ้องต้องกระท�ำโดย สุจริต ต้องมีข้อมูลที่จะฟ้องได้ ไม่ใช่ฟ้องเล่น หรือฟ้องแก้เกี้ยว เพราะถ้าฟ้องเท็จ ผู้ฟ้อง ก็มีสิทธิติดคุกได้ถึง 5 ปี

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 133


ธาริตโต้ค�ำฟ้อง ของอภิสิทธ์และสุเทพ หลังจากนายอภิสิทธ์และนายสุเทพ ได้ยื่นฟ้องนายธาริต อธิบดีกรม “ดีเอสไอ” กับพวกรวม 4 คน เป็นจ�ำเลยต่อศาล ฐานร่วมกันปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 57, 200 เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2556 แล้ว ต่อมาเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2556 นายธาริตได้แถลงต่อสือ่ มวลชน โต้คำ� ฟ้องของนายอภิสทิ ธิ์ และนายสุเทพ โดยกล่าวว่าค�ำฟ้องดังกล่าวไม่เป็นจริง อาจเป็นฟ้องเท็จ นายธาริตแถลงว่า ตนเองกับ พนักงานสอบสวนคดีนี้ ได้ปฏิบัติหน้าที่โดยชอบตามพยานหลักฐานและตามที่ศาลมีค�ำ สั่งไต่สวนชันสูตรพลิกศพในคดีนี้แล้ว ไม่ได้กลั่นแกล้งผู้ใด จะไม่ฟ้องกลับนายอภิสิทธ์กับ พวกฐานฟ้องเท็จ เพราะเป็นเรื่องส่วนตัวไม่ใช่ส่วนรวม ค�ำแถลงมีรายละเอียด ดังนี้ อ่านค�ำฟ้องโดยละเอียดแล้ว ขอใช้โอกาสแถลงต่อสื่อมวลชน 9 ประเด็น ดังต่อ ไปนี้ 1.ค�ำฟ้องไม่เป็นความจริง ผมขอยืนยันว่า รับผิดชอบเป็นหัวหน้าคณะพนักงาน สอบสวนในคดี ท�ำหน้าที่อย่างตรงไปตรงมาตามพยานหลักฐาน ตามข้อเท็จจริงและข้อ กฎหมาย 2.การแจ้งข้อหากับบุคคลทั้งสองว่า “ร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็ง เห็นผล” นั้น เป็นผลสืบเนื่องมาจากผลการไต่สวนของศาลอาญาที่มีค�ำสั่งว่า นายพัน ค�ำ กอง ตายเพราะถูกกระสุนปืนจากฝ่ายทหาร โดยทหารเข้าปฏิบัติการตามค�ำสั่งของ ศอฉ. (ศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน) ดังนั้น คดีดังกล่าวจึงเป็นคดีฆาตกรรม ที่ ต้องหาตัวผู้รับผิดชอบต่อการตาย 3.ผลการสอบสวนปรากฏว่า บุคคลทั้งสองเป็นผู้มีอ�ำนาจสูงสุดในการบังคับ บัญชา ศอฉ.ขณะนั้นได้ตัดสินใจมีค�ำสั่งให้ฝ่ายทหารใช้ก�ำลังประมาณ 50,000 นาย เข้า ปฏิบัติการโดยใช้อาวุธจริงและกระสุนจริง โดยมีค�ำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรถึง 5 ครั้ง ต่อเนื่องกัน และเนื่องจากการสั่งการดังกล่าว ปรากฏการตายตั้งแต่ครั้งแรก จ�ำนวนมาก 134 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ก็ยังคงสั่งให้ปฏิบัติการเช่นเดิมต่อๆ กันอีก โดยไม่หยุดยั้ง หรือเปลี่ยนวิธีการใหม่ อีกทั้ง ระหว่างนั้นยังมีพยานส�ำคัญ คือ ประธานวุฒิสภายืนยันว่า ผลการเจรจากับ นปช. (กลุ่ม แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ) มีข้อยุติแล้วว่า แกนน�ำจะยุติการ ชุมนุม โดยได้แจ้งให้บุคคลทั้งสองทราบแล้ว แต่บุคคลทั้งสองยังสั่งให้ฝ่ายทหารปฏิบัติ การด้วยอาวุธจริง และกระสุนจริงต่อไป จนเกิดการสูญเสียอย่างมากดังที่ปรากฏ 4.คดีการเสียชีวิตของผู้ร่วมการชุมนุม (นปช.) มีมติรับเป็นคดีพิเศษ ตั้งแต่ครั้ง ทั้ง 2 ท่าน เป็นนายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรี มีมติให้เจ้าหน้าที่ถึง 3 ฝ่าย เข้า ร่วมการสอบสวน คือ พนักงานสอบสวนของดีเอสไอ และพนักงานอัยการ จากส�ำนักงาน อัยการสูงสุด การมีความเห็นให้แจ้งข้อหาต่อบุคคลทั้งสอง เป็นความเห็นร่วมกันของ ผู้ร่วมสอบสวนทั้ง 3 ฝ่าย จึงเป็นหลักประกันได้ว่าเป็นไปโดยรอบคอบ ไม่มีการตั้งธง หรือกลั่นแกล้งใดๆ 5.ดีเอสไอไม่ได้แจ้งข้อหาเฉพาะกับทั้ง 2 ท่านเท่านั้น แต่ได้รับผิดชอบด�ำเนิน คดีกับกลุ่มฮาร์ดคอร์ของ นปช.ถึง 64 คดี มีผู้ต้องหาถูกฟ้องเป็นจ�ำเลยต่อศาลแล้ว ถึง 295 คน จึงเป็นการด�ำเนินคดีโดยเสมอภาคเท่าเทียมกัน 6.แม้ค�ำฟ้องของทั้ง 2 ท่าน ที่ฟ้องผมกับพวก อาจจะเข้าข่ายการฟ้องเท็จ แต่ ได้หารือกับผู้ถูกฟ้องอีก 3 คนแล้ว จะไม่ใช้สิทธิฟ้องกลับว่าฟ้องเท็จ โดยจะได้ขอให้ พนักงานอัยการแก้ต่างให้ตามปกติ เพราะการถูกฟ้องเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ การจะฟ้องกลับ มาฟ้องเท็จเป็นเรื่องส่วนตัว จะขอท�ำหน้าที่และบทบาทตามหน้าที่ เท่านั้น ไม่ด�ำเนินการที่เป็นเรื่องส่วนตัว 7.โดยส่วนตัว ไม่กังวลหรือหวาดกลัวใดๆ แต่เป็นห่วงผู้ใต้บังคับบัญชาที่ถูกฟ้อง เพราะพนักงานสอบสวนคดีพิเศษทั้ง 3 คน เป็นคนดีมุ่งมั่นท�ำงานอย่างทุ่มเท เกรงจะเสีย ก�ำลังใจ และครอบครัวเขาก็คงจะทุกข์ร้อนพอสมควรที่หัวหน้าครอบครัวท�ำงานในหน้าที่ แล้วถูกฟ้องคดีจากฝ่ายการเมือง 8.ครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกและครั้งประวัติศาสตร์ที่พนักงานสอบสวนดีเอสไอ ท�ำหน้าที่ตามภารกิจ แล้วถูกฝ่ายการเมืองฟ้องด�ำเนินคดี ผมรู้สึกว่านี่คือการที่ฝ่าย การเมืองกระท�ำการกดดัน และใช้วิธีการจัดการเอากับฝ่ายข้าราชการประจ�ำ ทั้ง 2 ท่าน คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 135


เคยพูดเสมอว่า ยินดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม แต่พอดีเอสไอแจ้งข้อหาเพื่อน�ำบุคคล ทั้งสองเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม กลับถูกโต้แย้งอย่างรุนแรงถึงขนาดฟ้องคดีอาญาเช่น นี้แล้ว จะเรียกว่ายินดีหรือเคารพในกระบวนการยุติธรรมได้อย่างไร พฤติการณ์เช่นนี้ เท่ากับมุ่งผลภายหน้าที่จะไม่ถูกน�ำตัวเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม เหตุการณ์ความรุนแรง และสูญเสียที่เกิดขึ้นในเดือนเมษายน – เดือนพฤษภาคม 2553 นั้นทั้ง 2 ฝ่าย ควรจะถูกพิสูจน์ความจริง โดยกระบวนการยุติธรรมจากพนักงาน สอบสวนสู่อัยการสู่อัยการและสู่ศาล เพื่อพิจารณาพิพากษาเป็นที่ยุติ เพื่อการยอมรับ ของประชาชน ขณะนี้ฝ่าย นปช. ยอมรับเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมแล้วถึง 64 คดี จ�ำเลย ถึง 295 คน แต่ผู้สั่งการ ศอฉ.เพิ่งจะต้องเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมเพียง 1 คดี ก็ปฏิเสธ การเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมเสียแล้ว 9.คดีที่เจ้าพนักงานสอบสวนผู้ปฏิบัติงานตามหน้าที่แล้วถูกฟ้องเป็นจ�ำเลย เพราะเพียงแต่แจ้งข้อหาเช่นนี้ จะกลายเป็นแบบอย่า งให้ ผู ้ ต ้ อ งหาในคดี ต ่ า งๆใช้ ช ่ อ ง ทางนี้กดดันและจัดการเอากับเจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษากฎหมายของบ้านเมือง เป็นเรื่องที่ อันตรายต่อขวัญก�ำลังใจในการมุ่งปฏิบัติงานของต�ำรวจ พนักงานสอบสวน ดีเอสไอ และ เจ้าหน้าที่ฝ่ายบังคับใช้กฎหมายอื่นๆ อย่างยิ่ง โดยเฉพาะการกระท�ำจากฝ่ายการเมือง

136 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


“คดีดังกล่าว “ฆ่าประชาชน 99 ศพ” เป็นคดีฆาตกรรม ต้องหาตัวผู้รับผิด ชอบต่อการตาย...” บุคคลทั้งสองนายเข้าปฏิบัติการโดยใช้อาวุธจริงและกระสุนปืน โดยมีค�ำสั่ง เป็นลายลักษณ์อักษรถึง 5 ครั้ง ต่อเนื่องกัน... ปรากฏการตายเป็นจ�ำนวนมาก... ก็ยัง คงสั่งให้ปฏิบัติการเช่นเดิมต่อๆ กันอีก โดยไม่หยุดยั้ง...” “เจ้าหน้าที่ 3 ฝ่าย เข้าร่วมสอบสวน... พนักงานสอบสวน ส�ำนักงานต�ำรวจ แห่งชาติ พนักงานสอบสวนของ “ดีเอสไอ” และอัยการ ส�ำนักงานอัยการสูงสุด... มีความเห็นร่วมกัน ให้แจ้งข้อหาต่อบุคคลทั้งสอง (นายอภิสิทธิ์, นายสุเทพ) ... ไม่มีการกลั่นแกล้งใดใด...” “....ค�ำฟ้องของทั้งสองท่าน (นายอภิสิทธิ์, นายสุเทพ) อาจเข้าข่ายการฟ้องเท็จ ซึ่งเป็นเรื่องส่วนตัว จะไม่ใช้สิทธิฟ้องกลับ...” ธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ 30 มกราคม 2556

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 137


การสู้คดีชั้นศาล คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ ต้องสู้คดีกันอีกนาน...

คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ คงจะต้องเป็นหนังซีรี่ส์ยาวแน่ กว่าจะฉายจบคงอีก หลายปี คดีนี้มันเกิดต่างกรรมต่างวาระกัน ยิงต่างที่ต่างเวลา ต่างคนต่างศพกัน เวลา ด�ำเนินคดีก็ต้องแยกส�ำนวนแยกฟ้องกันคนละคดี ตัวอย่าง สมมุติว่าอัยการเป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายอภิสิทธิ์กับนายสุเทพ ฐานร่วม กันท�ำให้คนอื่นฆ่าคนตายโดยเจตนา ตามที่ “ดีเอสไอ” แจ้งข้อหาท�ำให้คนตาย 99 ศพ นายอภิสิทธิ์กับนายสุเทพต้องตกเป็นจ�ำเลยถึง 99 คดี กว่าศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาล ฎีกาจะตัดสิน ไม่รู้ว่าจะใช้เวลากี่สิบปี นอกจากคดีตาย 99 ศพแล้ว ยังมีคนบาดเจ็บอีก 2,000 คน ถ้าอัยการจะฟ้อง นายอภิสิทธิ์ นายสุเทพ ฐานก่อให้ผู้อื่นพยายามฆ่าคนตาย โดยเจตนาเล็งเห็นผล ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 80, 83, 84, 288 แยกคดีอีก 2,000 คดี ไม่ต้อง ค�ำนวณหรอกว่า กว่าจะสู้กันถึงศาลฎีกาแล้วจะใช้เวลาอีกกี่ปี กว่าศาลฎีกาจะตัดสินโจทก์ จ�ำเลย พยาน ศาล อาจะลงโลงไปหมดแล้วก็ได้

ฝ่ายอัยการโจทก์ จะต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่าจ�ำเลยกระท�ำผิดจริง

คดีอาญานั้นมีหลักว่า ทุกคนบริสุทธิ์ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าเขาได้กระท�ำผิดจริง และการพิจารณาคดีในศาลนั้น โจทก์ก็จะต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นอย่างชัดแจ้งว่า จ�ำเลย ได้กระท�ำผิดจริงตามที่ฟ้อง ศาลจึงจะลงโทษจ�ำเลยได้ ถ้าศาลสงสัยว่าจ�ำเลยจะกระท�ำ ผิดหรือไม่ ศาลจะพิพากษายกฟ้องโจทก์ ปล่อยจ�ำเลยพ้นข้อหาไป ตามที่บัญญัติไว้ใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 227 ดังนี้ “มาตรา 227 ให้ศาลใช้ดุลพินิจวินิจฉัยชั่งน�้ำหนักพยานหลักฐานทั้งปวง อย่าพิพากษาลงโทษจนกว่าจะแน่ใจว่ามีการกระท�ำผิดจริง และจ�ำเลยเป็นผู้กระท�ำ ความผิดนั้น 138 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


เมื่อมีความสงสัยตามสมควรว่าจ�ำเลยได้กระท�ำผิดหรือไม่ ให้ยกประโยชน์ แห่งความสงสัยนั้นให้จ�ำเลย”

ฉะนั้นคดีฆ่าประชาชน 99 ศพนี้ อัยการโจทก์ต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นอย่างชัดแจ้ง ว่า นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ (เป็นจ�ำเลย กรณีที่อัยการเป็นโจทก์ฟ้อง) ได้กระท�ำผิดจริง ศาลจึงจะพิพากษาลงโทษนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพได้ ถ้าศาลสงสัยพยานโจทก์ ศาลจะ พิพากษายกฟ้องโจทก์ ปล่อยจ�ำเลยทั้งสองทันที

อัยการโจทก์ จะพิสูจน์ความผิดของจ�ำเลยอย่างไร

(1).ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า นายอภิสิทธิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี รู้เห็นการสั่งการของ นายสุเทพ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ “ศอฉ.” ตลอดเวลา เพื่อให้ศาลเห็นว่า นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ร่วมกระท�ำผิดตามที่ฟ้องฐานเป็น ตัวการร่วมกระท�ำผิดด้วยกัน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 ตัวอย่าง ต้องมีพยานบุคคล พยานเอกสารที่แสดงว่านายอภิสิทธิ์พักอาศัยและร่วมประชุม กับ “ศอฉ.” ตลอดเวลา (2).ต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า จ�ำเลยทั้งสองรู้เห็นและอนุญาตให้ใช้อาวุธปืน และกระสุนปืนยิงในเหตุการณ์ครั้งนี้ได้ ตัวอย่างการพิสูจน์ นายอภิสิทธิ์เคยให้สัมภาษณ์โทรทัศน์ บีบีซีที่อังกฤษ ยอมรับว่าได้อนุญาตให้เจ้า หน้าที่ต�ำรวจใช้กระสุนปืนจริงได้ ต้องมีพยานบุคคลและพยานเอกสารจาก “ศอฉ.” โดย นายสุเทพ ผอ. “ศอฉ.” อนุญาตให้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ทหารใช้กระสุนปืนจริง ในการปราบ ปรามผู้ชุมนุมได้ (3).ต้องพิสูจน์เจตนาเล็งเห็นผลของจ�ำเลยว่า การใช้อาวุธปืนยิงไปยังที่คน ชุมนุมอยู่ ท�ำให้คนตายได้ มีพยานบุคคล ภาพถ่าย เอกสารที่เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ทหาร ใช้อาวุธปืนยิงไปยัง ผู้ชุมนุม จนผู้ชุมนุมถึงแก่ความตายเป็นจ�ำนวนมาก เพื่อพิสูจน์เจตนาเล็งเห็นผลของ จ�ำเลยทั้งสองว่า การสั่งการให้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ทหารใช้อาวุธปืนยิงไปยังผู้ชุมนุมได้นั้น คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 139


จ�ำเลยทั้งสองเล็งเห็นผลได้ว่าผู้ชุมนุมอาจถึงแก่ความตายได้ (4).ต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า แม้เกิดเหตุท�ำให้ผู้ชุมนุมถึงแก่ความตาย เพราะ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ทหารแล้ว จ�ำเลยทั้งสองก็ยังไม่สั่งให้หยุดด�ำเนินการดังกล่าว จน เป็นเหตุให้ผู้ชุมนุมถูกยิงตายอีกเป็นจ�ำนวนมาก ข้อนี้เป็นเรื่องส�ำคัญ ที่จะชี้ให้ศาลเห็นว่า จ�ำเลยทั้งสองมีเจตนาก่อให้ผู้อื่นฆ่าคน ตายตามฟ้องหรือไม่ ตัวอย่างพิสูจน์ประเด็นนี้ ผู้ชุมนุมถูกยิงตาย เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2553 แต่เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ทหารยัง ไม่ยอมหยุด “ศอฉ.” ยังสั่งต่อไปอีก 5 ครั้ง มีผู้ชุมนุมถูกยิงตายทุกครั้ง (ตามที่นายธาริต อธิบดี “ดีเอสไอ” เคยให้สัมภาษณ์ น.ส.พ.ข่าวสด เมื่อวันนี้ 6 พ.ย.2555) เพื่อให้ศาลเห็น ว่า เมื่อผู้ชุมนุมถูกยิงตายหลายศพแล้ว “ศอฉ.” จะต้องสั่งให้ทหาร ต�ำรวจหยุดยิงทันที กลับสั่งด�ำเนินการซ�้ำอีกตั้ง 5 ครั้ง แสดงให้ศาลเห็นว่าจ�ำเลยทั้งสองมีเจตนาเล็งเห็นผล ให้ฆ่าคนตายตามที่โจทก์ฟ้อง (5).โจทก์ ต ้ อ งพิ สู จ น์ ใ ห้ ไ ด้ ว ่ า จ� ำ เลยทั้ ง สองไม่ ไ ด้ รั บ ยกเว้ น ความผิ ด ตาม กฎหมาย (1).ป้องกันตัว การป้องกันตัวนั้น ไม่ผิดกฎหมาย แต่ต้องเป็นการป้องกันตัวโดยชอบ ด้วยกฎหมาย ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 เขียนไว้เรื่องป้องกันตัวว่า มาตรา 68 ผู้ใดจ�ำต้องกระท�ำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตน หรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายและเป็นภยันตรายที่ ใกล้จะถึง ถ้าได้กระท�ำพอสมควรแก่เหตุ การกระท�ำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วย กฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด ต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า การที่จ�ำเลยทั้งสองรู้เห็นหรือสั่งให้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ทหารใช้อาวุธปืนยิงผู้ชุมนุม โดยผู้ชุมนุมไม่มีอาวุธ มีแต่มือเปล่าๆ จึงไม่ใช่การป้องกันตัว ตามกฎหมาย จ�ำเลยทั้งสองจึงต้องมีความผิดตามฟ้อง ไม่ใช่การป้องกันตัวโดยชอบด้วย กฎหมาย 140 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


(6).การยกเว้นความผิดของจ�ำเลย ตาม พ.ร.ก.ฯ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 อัยการโจทก์ต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า จ�ำเลยทั้งสองไม่ได้รับความคุ้มครอง ตาม มาตรา 17 แห่ง พ.ร.ก.ฯ ฉุกเฉินดังกล่าว ซึ่งก�ำหนดไว้ว่า “เจ้าหน้าที่และผู้มีอ�ำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่ ตามพระราชก�ำหนดนี้ ไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง ทางอาญาหรือทางวินยั เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ในการ ระงับหรือป้องกันการกระท�ำผิดกฎหมาย หากเป็นการกระท�ำที่สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุ หรือไม่เกินกว่ากรณีจ�ำเป็น แต่ไม่ตัดสิทธิผู้ได้รับความเสีย หายที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากทางราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทาง ละเมิดของเจ้าหน้าที่” อัยการโจทก์ต้องพิสูจน์ว่า จ�ำเลยทั้งสองได้ก่อให้ผู้อื่นยิงฆ่าคนตาย โดยจ�ำเลยทั้ง สองได้กระท�ำไม่ครบองค์ประกอบของการยกเว้นโทษ คือ กระท�ำโดยไม่สุจริต กระท�ำ โดยเลือกปฏิบตั ิ กระท�ำโดยเกินสมควรแก่เหตุ และกระท�ำโดยเกินกรณีจำ� เป็นตามมาตรานี้ (7).ชายชุดด�ำ ผู้ต้องหาทั้งสองอ้างว่า มีชายชุดด�ำเป็นผู้ก่อการร้าย ซึ่งเป็นฝ่ายคนเสื้อแดง ยิง ฆ่าเจ้าหน้าที่ทหารและต�ำรวจ ทหาร ต�ำรวจจึงต้องยิงป้องกันตัว อัยการโจทก์ต้องพิสูจน์ ให้ศาลเห็นว่า ไม่มีชายชุดด�ำดังที่ฝ่ายผู้ต้องหาอ้าง และศาลอาญาที่มีค�ำสั่งเรื่องการตาย หลายศพของผู้ชุมนุมแล้ว ก็ไม่ปรากฏว่ามีชายชุดด�ำดังที่ผู้ต้องหาอ้าง เหล่านี้คือ ตัวอย่างการพิสูจน์ความผิดของจ�ำเลยทั้งสอง โดยฝ่ายอัยการโจทก์ เป็นฝ่ายน�ำสืบพยานโจทก์

การต่อสู้ของฝ่ายจ�ำเลยทั้งสอง

จ�ำเลยทั้งสองจะต้องน�ำพยานบุคคล พยานเอกสาร วัตถุพยาน มาสืบพิสูจน์ใน ศาลว่าจ�ำเลยทั้งสองเป็นผู้บริสุทธิ์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ (1).จ�ำเลยต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า นายอภิสิทธิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี ไม่ได้รู้ เห็นการสั่งการของนายสุเทพ “ผอ.ศอฉ.” เช่น ไม่มีเอกสารสั่งการในเรื่องนี้จากนาย อภิสิทธิ์ ไม่ได้กินอยู่หลับนอนในส�ำนักงาน “ศอฉ.” นายสุเทพต้องยืนยันว่า การสั่งการ ของ “ศอฉ.” นายอภิสิทธิ์ไม่เกี่ยวข้องด้วย นายสุเทพสั่งการโดยชอบแต่เพียงผู้เดียว คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 141


(2).จ�ำเลยทั้งสองต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า “นปช.” คนเสื้อแดงชุมนุมโดยผิด กฎหมาย มีการใช้อาวุธปืนยิงฆ่าต�ำรวจ ทหาร (3).จ�ำเลยทั้งสองต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า ค�ำสั่งของ “ศอฉ.” เป็นค�ำสั่ง ที่ชอบด้วยกฎหมาย ตามที่ พ.ร.ก.ฯ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ได้ให้อ�ำนาจไว้ เพื่อแก้ไข สถานการณ์ที่จะเป็นภัยอันตรายแก่บ้านเมือง (4).จ�ำเลยทั้งสองต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า จ�ำเลยทั้งสองไม่เคยอนุญาตให้ ทหาร ต�ำรวจใช้อาวุธปืนยิงผู้ชุมนุม ถึงจะอนุญาตให้ใช้กระสุนปืนยิงได้ ก็เพื่อป้องกัน ตัวเอง ซึ่งไม่ผิดกฎหมายเท่านั้น (5).จ�ำเลยทั้งสองต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า ฝ่ายทหาร ต�ำรวจก็ถูกฝ่ายผู้ชุมนุม และชายชุดด�ำยิงถึงแก่ความตาย ทหาร ต�ำรวจจึงต้องใช้อาวุธปืนยิงเพื่อป้องกันตัว เอง (6).ฝ่ายจ�ำเลยทั้งสองต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า จ�ำเลยทั้งสองไม่มีเจตนาสั่งให้ ทหาร ต�ำรวจยิงฆ่าประชาชน เหตุที่เกิดเพราะ ต�ำรวจ ทหารได้กระท�ำไปตามอ�ำนาจ หน้าที่ใน พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และกระท�ำไปเพื่อป้องกันแก้ไขสถานการณ์ที่ฉุกเฉิน และรุนแรง (7).ฝ่ายจ�ำเลยทั้งสองต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า จ�ำเลยทั้งสอง เจ้าหน้าที่ ต�ำรวจ ทหารที่กระท�ำตามค�ำสั่ง “ศอฉ.” ถือว่ากระท�ำตามหน้าที่ที่กฎหมายให้ อ�ำนาจไว้ จ�ำเลยทั้งสองกับพวกไม่ต้องรับผิด ตามมาตรา 17 แห่ง พ.ร.ก.ฯ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 (8).จ�ำเลยทั้งสองต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า จ�ำเลยทั้งสองถูกแจ้งข้อหาด�ำเนิน คดีฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผลนั้น เพราะถูกกลั่นแกล้ง ทางการเมือง และฝ่ายต�ำรวจ “ดีเอสไอ” โดยอ้างว่าจ�ำเลยทั้งสองได้ยื่นฟ้องอธิบดีกรม “ดีเอสไอ” กับพวก ฐานร่วมกันปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ กลั่นแกล้งด�ำเนินคดีแก่จ�ำเลยทั้ง สองแล้ว นี่เป็นตัวอย่างการต่อสู้คดีของฝ่ายจ�ำเลยทั้งสองในศาล 142 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


การต่อสูค้ ดีทงั้ ฝ่ายโจทก์ (อัยการ) และจ�ำเลย (นายอภิสทิ ธิแ์ ละนายสุเทพ) ในชัน้ ศาล ทัง้ ทางข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย คงจะเป็นไปอย่างเข้มข้นดุเดือด เพราะเป็นคดีสำ� คัญ ทีจ่ ำ� เลยเป็นถึงอดีตนายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรีของไทย ถูกด�ำเนินคดีฐานร่วม กันก่อให้ผอู้ นื่ ฆ่าประชาชนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผลหลายศพและฐานร่วมกันก่อให้ผอู้ นื่ พยายามฆ่าประชาชนโดยเจตนาเล็งเห็นผลอีกหลายคน เป็นเรื่องใหญ่ เรื่องดังระดับโลก ทั้งสองฝ่ายต่างก็ระดมมือกฎหมายระดับ พระกาฬมาพิสูจน์ความจริงต่อศาล เราประชาชน ต้องอดใจรอดูต่อไปว่า ประชาชนที่ถูกยิงถึง 99 ศพ จะตายฟรี หรือจะมีคนถูกศาลพิพากษาให้ประหารชีวิต ตายตกไปตามกัน...

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 143


กฎหมายน่ารู้ คดีฆา่ ประชาชน 99 ศพ (1) เจตนากระท�ำผิด “ดีเอสไอ” ได้แจ้งข้อหานายอภิสิทธิ์ อดีตนายกรัฐมนตรีและนายสุเทพ เทือก สุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรีและอดีตผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” (ศูนย์อ�ำนวยการแก้ไข สถานการณ์ฉุกเฉิน) ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84 และ 288 ท�ำให้ประชาชนไม่เข้าใจ ค�ำว่า “ฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล” นั้น หมายความว่าอย่างไร เหตุใด ? จึงไม่ใช่ค�ำว่า “ฆ่าคนตายโดยเจตนา” เท่านั้น เราควรมาท�ำความเข้าใจกันว่า เจตนากระท�ำผิดตามกฎหมายนั้น คืออย่างไร ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 ได้เขียนหลักเรือ่ งกระท�ำผิดโดยเจตนาไว้ ดังนี้ “มาตรา 59 บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระท�ำโดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระท�ำความโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้ กระท�ำโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิด แม้ได้กระท�ำโดยไม่มีเจตนา กระท�ำโดยเจตนา ได้แก่กระท�ำโดยรู้ส�ำนึกในการที่กระท�ำและในขณะเดียวกัน ผู้กระท�ำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระท�ำนั้น ถ้าผู้กระท�ำมิได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิดจะถือว่าผู้กระท�ำ ประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระท�ำนั้นมิได้...” มาตรานี้ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ของการเจตนากระท�ำผิดไว้ ดังนี้ 1.ผู้กระท�ำต้อง “รู้” ข้อเท็จจริง อันเป็นองค์ประกอบของความผิด 2.ผู้กระท�ำต้องประสงค์ต่อผล หรือเล็งเห็นผล ของการกระท�ำนั้น 1.ผูก้ ระท�ำต้อง “รู”้ ข้อเท็จจริง อันเป็นองค์ประกอบของความผิด หมายความว่า ถ้าผู้กระท�ำไม่รู้ข้อเท็จจริงเหล่านั้นแล้ว ผู้กระท�ำก็ขาดเจตนา 144 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


กระท�ำผิด ไม่มีความผิดตามกฎหมาย ตามหลักที่ว่า “ไม่รู้ – ไม่ผิด” ตัวอย่างที่ 1 หนึ่งเข้าไปล่าสัตว์ในป่า เห็นพุ่มไม้เคลื่อนไหว เข้าใจว่าเป็นกวางอยู่ในพุ่มไม้ หนึ่งยิงปืนเข้าไปในพุ่มไม้นั้น กระสุนปืนถูกสองซึ่งนั่งเล่นอยู่ในพุ่มไม้ถึงแก่ความตาย ดังนี้ หนึ่งไม่รู้ข้อเท็จจริงว่าในพุ่มไม้นั้นมีคนอยู่ ถือว่าหนึ่งไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบ ของความผิด หนึ่งไม่มีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ตัวอย่างที่ 2 จ�ำเลยเก็บวัตถุระเบิดได้ แต่ไม่ทราบว่าเป็นวัตถุระเบิด เพิ่งทราบว่าเป็นวัตถุ ระเบิด เมื่อต�ำรวจที่ตรวจค้นบอก ถือว่าจ�ำเลยไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของ ความผิด ขาดเจตนากระท�ำผิด จ�ำเลยจึงไม่มีความผิด ฐานมีวัตถุระเบิดไว้ในความครอบ ครอง ตัวอย่างที่ 3 จ�ำเลยเป็นคนต่างด้าว ไม่รู้ว่าที่ดินที่เกิดเหตุที่อาศัยอยู่นั้น เป็นป่าสงวนแห่ง ชาติ จ�ำเลยไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิด จึงขาดเจตนากระท�ำผิดฐาน บุกรุกที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ 2.ผู้กระท�ำต้อง “ประสงค์ต่อผล” หรือ “เล็งเห็นผล” จึงจะถือว่า

มีเจตนากระท�ำผิด

การมีเจตนากระท�ำผิด ผู้กระท�ำต้อง “ประสงค์ต่อผล” หรือ “เล็งเห็นผล” ของ การกระท�ำนั้น ประสงค์ต่อผล คือ ประสงค์ต่อผลของการกระท�ำผิดนั้น ถือว่าผู้กระท�ำมี เจตนากระท�ำผิด ตัวอย่างที่ 1 หนึ่งใช้อาวุธปืนยิงที่หน้าอกของสอง ความประสงค์ต่อผลของหนึ่ง คือ ต้องการ ให้สองถึงแก่ความตาย และสองก็ถึงแก่ความตายสมดังเจตนาของหนึ่ง หนึ่งจึงมีความผิด ฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ตัวอย่างที่ 2 คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 145


หนึ่งใช้มือต่อยที่ใบหน้าของสอง ความประสงค์ต่อผลของหนึ่งก็คือ หนึ่งต้องการ ให้สองได้รับบาดเจ็บ ไม่ใช่ประสงค์ต่อผลให้สองถึงแก่ความตาย เพราะการต่อยที่ใบหน้า ไม่ถึงกับท�ำให้ผู้ถูกท�ำร้ายถึงแก่ความตาย หนึ่งจึงมีความผิดฐานท�ำร้ายร่างกายสองโดย เจตนา ผู้กระท�ำเล็งเห็นผลของการกระท�ำ คือ ผู้กระท�ำไม่ได้ประสงค์ต่อผล แต่ ผู้กระท�ำเล็งเห็นผลได้ว่า ผลที่เกิดจากการกระท�ำของตนนั้น จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ตัวอย่างที่ 1 จ�ำเลยยิงปืนเข้าไปในหมู่คน กระสุนปืนถูกคนหนึ่งบาดเจ็บ แม้จ�ำเลยจะมิได้ ตั้งใจจะยิงใคร แต่จ�ำเลยก็เล็งเห็นผลได้ว่า จะมีคนในกลุ่มนั้นตายได้ จ�ำเลยมีความผิด ฐานเจตนาพยายามฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา (ฎีกาที่ 298/2472) ตัวอย่างที่ 2 จ�ำเลยยิงปืนเข้าไปในบ้านผู้เสียหาย จ�ำเลยทราบดีว่ามีคนอยู่ในบ้านหลังนั้น กระสุนปืนที่จ�ำเลยใช้ยิงอาจถูกผู้เสียหาย หรือคนที่อยู่ในบ้านหลังนั้นถึงแก่ความตาย ดังนี้ ถือว่าจ�ำเลยมีเจตนาฆ่าผู้อื่นโดยเล็งเห็นผล จ�ำเลยมีความผิดฐานพยายามฆ่า ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80, 288 (ฎีกาที่ 117/2515) ตัวอย่างที่ 3 จ�ำเลยจับเด็กอายุ 3 ปี โยนใส่มารดาของเด็กหลายครั้ง จนศีรษะเด็กกระแทกกับตะกร้า กระดูกต้นคอของเด็กเคลื่อน จ�ำเลยย่อมเล็งเห็นผลได้ว่าเด็กอาจตายได้ จ�ำเลยมีความผิด ฐานพยายามฆ่าคนตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80, 288 (ฎีกาที่ 327/2540) อย่างไรก็ดี ไม่ว่าผู้กระท�ำจะ “ประสงค์ต่อผล” หรือ “เล็งเห็นผล” ของการ กระท�ำนัน้ ก็ถอื ว่า ผูก้ ระท�ำมีเจตนากระท�ำผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 เช่นกัน

การแจ้งข้อหาแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคน ตายโดยเจนาเล็งเห็นผล

การที่ “ดีเอสไอ” แจ้งข้อหาแก่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ดังกล่าวนั้น “ดีเอส ไอ” เห็นว่า นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ คงไม่มีเจตนาให้ผู้อื่นฆ่าประชาชนโดยเจตนา ประสงค์ต่อผล แต่เห็นว่าการที่ “ศอฉ.” อนุญาตให้เจ้าหน้าที่ทหารใช้อาวุธปืนกับกรณี 146 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


การชุมนุมครั้งนี้ได้ “ดีเอสไอ” จึงเห็นว่าผู้มีอ�ำนาจสั่งการของ “ศอฉ.” ย่อมเล็งเห็นผลได้ ว่า การใช้อาวุธปืนย่อมท�ำให้ประชาชนถึงแก่ความตายได้ และปรากฏว่า มีประชาชน ถูกยิงฆ่าตายถึง 99 คน ในการปะทะกับกลุ่ม “นปช.” ครั้งนั้น นีค่ อื เหตุผลว่า... เหตุใด ? “ดีเอสไอ” จึงแจ้งข้อหาแก่นายอภิสทิ ธิ์ และนายสุเทพ เช่นนั้น

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 147


กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (2) ร่วมกันกระท�ำผิด (ตัวการ) “ดีเอสไอ” ได้แจ้งข้อหาแก่นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่า ผู้อื่นโดยเจตนาโดยเล็งเห็นผล ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, 288 มาตรา 59 คือ เจตนากระท�ำผิด มาตรา 83 คือ ร่วมกันกระท�ำผิด (ตัวการ) มาตรา 84 คือ ใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด มาตรา 288 คือ ฆ่าคนตายโดยเจตนา มาพิจารณามาตรา 83 ร่วมกันกระท�ำผิด (ตัวการ) นั้น หมายความว่าอย่างไร ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 เขียนไว้ว่า “ในกรณีความผิดใดเกิดขึ้นโดยการกระท�ำของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ผู้ที่ได้ร่วมกระท�ำผิดด้วยกันนั้นเป็นตัวการ ต้องระวางโทษตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้ ส�ำหรับความผิดนั้น” การร่วมกันกระท�ำผิด ตามมาตรา 83 มีหลักดังนี้ 1.กระท�ำผิดโดยเจตนา 2.กระท�ำโดยบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป 3.กระท�ำผิดร่วมกัน 4.มีเจตนากระท�ำผิดร่วมกัน 1.กระท�ำผิดโดยเจตนา การร่วมกระท�ำผิดตั้งแต่สองคนขึ้นไปต้องเป็นการกระท�ำผิดโดยเจตนา ถ้าการ กระท�ำนั้นไม่ผิดกฎหมายก็ไม่ถือว่าเป็นตัวการ ตัวอย่าง ผู้เสียหายเป็นหญิงยอมให้จ�ำเลยที่ 1 ร่วมประเวณีด้วย จ�ำเลยที่ 2 ช่วยจับขา ผูเ้ สียหายถ่างออกในการร่วมประเวณีโดยสมัครของผูเ้ สียหาย ดังนี้ จ�ำเลยที่ 1 กับผูเ้ สียหาย 148 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


สมัครใจร่วมประเวณีกัน จ�ำเลยที่ 1 ไม่ได้ท�ำผิดกฎหมาย จ�ำเลยที่ 2 จึงไม่ได้ท�ำผิด กฎหมายด้วย (ฎีกาที่ 313/2528) 2.กระท�ำโดยบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ถ้ากระท�ำผิดคนเดียว ไม่ใช่ตัวการ ไม่ได้ร่วมกระท�ำผิดกับใคร ก็ไม่ถือว่าเป็น ตัวการ แต่ถ้าจะต้องร่วมกระท�ำผิดด้วยกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป จึงจะถือว่าเป็นตัวการร่วม กระท�ำผิด ตามมาตรา 83 3.กระท�ำผิดร่วมกัน คือ ลงมือกระท�ำผิดด้วยกัน แม้ไม่ได้ลงมือท�ำ แต่แบ่งหน้าที่กันท�ำหรืออยู่ด้วย กัน พร้อมที่จะช่วยเหลือกัน แม้มิได้ลงมือท�ำแต่มีเจตนาร่วมกันกระท�ำผิด ก็ถือว่าเป็น ตัวการร่วมกันกระท�ำผิดแล้ว ตัวอย่าง (ลงมือกระท�ำผิดด้วยกัน) จ�ำเลยกับพี่ชายของจ�ำเลย ร่วมกันฆ่าผู้ตาย โดยจ�ำเลยเป็นคนใช้มีดแทง พี่ชาย ของจ�ำเลยเป็นคนใช้อาวุธปืนยิงผู้ตาย ดังนี้ ถือว่าจ�ำเลยมีความผิดฐานเป็นตัวการร่วมกับ พี่ชายของจ�ำเลยฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83, 288 (ฎีกาที่ 559/2514) ตัวอย่าง (แบ่งหน้าที่กันท�ำ) จ�ำเลยที่ 1 ที่ 3 เข้าปล้นร้านขายของ จ�ำเลยที่ 2 เดินวนเวียนอยู่บริเวณหน้า ร้าน ท�ำหน้าที่คอยดูต้นทาง เป็นการแบ่งหน้าที่กันท�ำ แม้จ�ำเลยที่ 2 จะไม่ได้เข้าปล้นด้วย ก็ถือว่าจ�ำเลยที่ 2 เป็นตัวการร่วมกับจ�ำเลยที่ 1 ที่ 3 ฐานปล้นทรัพย์ (ฎีกาที่ 321/2521) ตัวอย่าง (อยู่ร่วมกัน พร้อมจะช่วยเหลือกัน) นายขาวกับนายม่วงอยู่ในที่เกิดเหตุด้ว ยกัน ในลักษณะที่จะช่วยเหลือซึ่งกัน และกันได้ตลอดเวลา นายม่วงฟันนายเหลืองตาย ดังนี้ แม้นายขาวได้ลงมือฆ่าผู้ตาย แต่ มีพฤติการณ์ที่นายม่วงจะช่วยเหลือนายขาวผู้กระท�ำผิดตลอดเวลาถือว่านายขาวเป็น ตัวการร่วมกระท�ำผิดกับนายม่วง ฐานร่วมกันฆ่าคนตายโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 83, 288 (ฎีกาที่ 1865/2549) 4.มีเจตนากระท�ำผิดร่วมกัน คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 149


คือต้องต่างประสงค์ที่ถือเอาการกระท�ำของแต่ละคนเป็นการกระท�ำของตัวเอง ด้วย ถ้าได้กระท�ำนอกเหนือจากเจตนาของบุคคลใด บุคคลนั้นก็ไม่ได้เป็นตัวการร่วม กระท�ำผิดด้วย ถือว่ากระท�ำผิดด้วยตัวเอง ตัวอย่าง (มีเจตนาร่วมกัน) จ�ำเลยเป็นชู้กับภริยาผู้ตาย เพื่อนของจ�ำเลย 2 คน เฝ้าที่หน้าห้องนอนผู้ตาย ถ้า ผู้ตายตื่นขึ้นจะได้เข้าขัดขวางไม่ให้ผู้ตายรู้เห็นการร่วมประเวณีของจ�ำเลยกับภริยาผู้ตาย เพื่อนของจ�ำเลยแทงผู้ตายถึงแก่ความตาย ดังนี้ ถือว่าจ�ำเลยกับเพื่อนของจ�ำเลยทั้ง 2 คน ร่วมกันฆ่าผู้ตายโดยเจตนา (ฎีกาที่ 4230/2530) ตัวอย่าง (ไม่มีเจตนาร่วมกัน) คนร้าย 7 คน ร่วมกันปล้นทรัพย์ แต่คนร้ายคนหนึ่งข่มขืนกระท�ำช�ำเราเจ้าทรัพย์ ด้วย ดังนี้ คนร้ายอีก 6 คน ไม่ได้ร่วมกระท�ำผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเราด้วย จึงไม่มีความ ผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเรา คนร้ายทั้ง 6 มีความผิดฐานร่วมกันปล้นทรัพย์ ส่วนคนร้ายที่ ข่มขืนกระท�ำช�ำเรา มีความผิดฐานร่วมกันปล้นทรัพย์และข่มขืนกระท�ำช�ำเรา การลงโทษผู้ร่วมกันกระท�ำผิด (ตัวการ) กฎหมายเขียนว่า ตัวการหรือผู้กระท�ำผิด ต้องระวางโทษตามที่กฎหมายก�ำหนด ไว้ แต่ไม่ได้บังคับว่าให้ลงโทษตัวการทุกคนเท่ากัน ดังนั้น ศาลอาจใช้ดุลพินิจลงโทษแต่ละ คนแตกต่างกันได้ ขึ้นอยู่กับพฤติการณ์ของคดีเป็นเรื่องๆ ไป ตัวอย่าง หนึ่ง สอง สาม เข้าปล้นด้วยกัน ศาลอาจลงโทษหนึ่ง 20 ปี สอง 15 ปี สาม 10 ปี ขึ้นอยู่กับพฤติการณ์ความหนักเบาการกระท�ำแต่ละคน และดุลพินิจของศาล ข้อหาร่วมกันกระท�ำผิดของนายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ตามข้อหาฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ศาลจะต้อง พิจารณาว่านายอภิสิทธิ์ ในฐานะนายกรัฐมนตรี ผู้มีอ�ำนาจสูงสุด นายสุเทพ รองนายก รัฐมนตรี ในฐานะผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” ซึ่งท�ำงานร่วมกันกับ “ศอฉ.” จะมีเจตนาร่วม กระท�ำผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่ ก็จะต้องพิจารณาว่าการกระท�ำของบุคคลทั้งสองใน เหตุการณ์ฆ่าประชาชน 99 ศพนั้น เป็นการร่วมกระท�ำผิดตามข้อกล่าวหาและตามหลัก 150 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


กฎหมาย ว่าด้วยตัวการร่วมกันกระท�ำผิด ตามประมวลกฎหมายกฎหมายอาญา มาตรา 83 ที่ว่ามาแล้วหรือไม่ ต้องติดตามดูในชั้นการด�ำเนินคดีในชั้นพิจารณาพิพากษาคดีของศาลต่อไป

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 151


กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (3) ใช้หรือก่อให้ผู้อื่นกระท�ำผิด คนบางคนไม่ลงมือท�ำผิดเอง แต่ใช้หรือจ้างให้คนอื่นท�ำผิด เช่น หนึ่งคิดจะฆ่า สาม จึงจ้างสองให้ไปฆ่าสาม สองฆ่าสามตายตามที่หนึ่งจ้าง สองถูกศาลสั่งติดคุกหรือ ประหารชีวิต แล้วจะให้หนึ่งลอยนวลหรืออย่างไร ทั้งๆ ที่การที่สามถูกฆ่าตายครั้งนี้ เพราะเกิดจากการที่หนึ่งเป็นคนก่อให้เกิดขึ้นก่อน เป็นคนจ้างให้สองไปฆ่าสาม ถ้าหนึ่ง ไม่จ้างสอง สองก็ไม่ฆ่าสาม ดังนั้น หนึ่งจึงต้องรับโทษฐานใช้หรือก่อให้สองฆ่าคนตายโดย เจตนา กฎหมายจึงเขียนว่า หนึ่งต้องรับโทษฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาเช่นเดียวกับสอง ซึ่ง เป็นคนฆ่าคนตาย นี่คือความผิดฐานก่อให้ผู้อื่นกระท�ำผิด หรือใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 84 บัญญัติเรื่องผู้ใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด ดังนี้... “มาตรา 84 ผู้ใดก่อให้ผู้อื่นกระท�ำความผิดไม่ว่าด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้างวานหรือยุยงส่งเสริมหรือด้วยวิธีอื่นใด ผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้กระท�ำความผิดถ้าผู้ถูกใช้ กระท�ำความผิดนั้น ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนเป็นตัวการ ถ้าความผิดมิได้ กระท�ำลงไปไม่ว่าจะเป็นเพราะผู้ถูกใช้ไม่ยอมกระท�ำ ยังไม่ได้กระท�ำ หรือเหตุ อื่นใด ผู้ใช้ต้องระวางโทษเพียงหนึ่งในสามของโทษที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับความผิดนั้น” เรามาแยกพิจารณาการกระท�ำผิดฐานใช้ให้กระท�ำผิด ดังนี้ 1.มีเจตนาก่อหรือใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด 2.การกระท�ำที่ก่อหรือใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด 3.โทษของการก่อหรือใช้ให้กระท�ำผิด 1.มีเจตนาก่อหรือใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด ผู้ใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด ต้องมีเจตนากระท�ำผิดนั้น จึงจะมีความผิด ถ้าไม่มีเจตนา เช่นนั้น ผู้ใช้ก็ไม่ผิดกฎหมาย ตัวอย่าง จ�ำเลยจ้างคนขุดคันนาบุกรุกที่ดิน ท�ำให้ทรัพย์สินผู้อื่นเสียหาย จ�ำเลยเป็นผู้ใช้ 152 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ให้กระท�ำผิดฐานบุกรุก ท�ำให้เสียทรัพย์ เพราะจ�ำเลยมีเจตนาใช้ให้คนขุดคันนากระท�ำผิด (ฎีกาที่ 176/2488) ตัวอย่าง น.เป็นเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ตรวจพบไม้แปรรูปผิดกฎหมายบนรถยนต์บรรทุก จ�ำเลย สั่งคนขับรถว่า “ใครขวางชนเลย” คนขับขับรถชน น.บาดเจ็บ ดังนี้ คนขับรถผิดฐาน พยายามฆ่าเจ้าพนักงาน จ�ำเลยผิดฐานใช้ให้คนขับรถพยายามฆ่าเจ้าพนักงาน (ฎีกาที่ 784/2529) เพราะจ�ำเลยมีเจตนาใช้ให้คนขับรถกระท�ำผิด ตัวอย่าง หนึ่งเห็นสาวเดินผ่าน พูดกับสอง (ลูกจ้าง) ว่า ผู้หญิงคนนี้สวยนะ น่าปล�้ำ... สอง จึงปล�้ำสาวคนนั้น ดังนี้ หนึ่งเพียงให้ความเห็นลอยๆ ไม่ได้สั่งให้สองปล�้ำสาว ขาดเจตนา ใช้ให้กระท�ำผิด สองผิดฐานท�ำอนาจาร แต่หนึ่งไม่ผิดฐานใช้ให้สองกระท�ำผิดฐานอนาจาร 2.การกระท�ำที่ก่อ หรือใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด 2.1 ก่อให้ผู้อื่นกระท�ำผิด คือ เป็นผู้เริ่มต้นกระท�ำการให้ผู้อื่นกระท�ำผิด ไม่ใช่ผู้กระท�ำผิด กระท�ำผิดด้วย ตนเอง 2.2 ใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด ตัวอย่าง นายจ้างใช้ให้ลูกจ้างไปยิงฆ่าผู้อื่น 2.3 จ้างให้ผู้อื่นกระท�ำผิด ตัวอย่าง เจ้าพ่อจ้างให้มือปืนไปฆ่าผู้อื่น เป็นเงิน 200,000 บาท 2.4 วานให้ผู้อื่นกระท�ำผิด วานหรือขอร้องให้คนอื่นกระท�ำผิด เช่น วานให้เพื่อนไปท�ำร้ายร่างกายผู้อื่น 2.5 ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นกระท�ำผิด ตัวอย่าง แดงพูดกับด�ำเพื่อนกันว่า เหลืองมันหักหลังมึง มึงควรจะฆ่ามัน ด�ำก็ฆ่าเหลือง ถือว่าแดงก่อให้ด�ำกระท�ำผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา 2.6 ให้ผู้อื่นกระท�ำผิดโดยวิธีอื่น คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 153


คือ วิธอี นื่ นอกจากการใช้ จ้าง วาน ยุยงส่งเสริม แต่เป็นวิธที กี่ อ่ ให้ผอู้ นื่ กระท�ำผิด ตัวอย่าง หนึ่งหลอกสองว่า เมียสองเป็นชู้กับสาม เพื่อให้สองฆ่าสาม สองเข้าใจผิดจึงฆ่า สามตาย ดังนี้ หนึ่งผิดฐานใช้ให้สองฆ่าคนตายโดยเจตนา ตัวอย่าง บิดาร้องบอกบุตรว่า “ไอ้แดง ท�ำไมไม่ฟัน” บุตรเอามีดฟันและแทงเขาตาย ดังนี้ บิดาเป็นผู้ใช้ให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนา (ฎีกาที่ 414-415/2464) 3.โทษของการก่อ หรือใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิด แยกพิจารณาดังนี้ (1).กรณีผู้ถูกใช้ได้กระท�ำผิด (2).กรณีผู้ถูกใช้ไม่ได้กระท�ำผิด (1).กรณีผู้ถูกใช้ได้กระท�ำผิด ผู้ใช้ต้องรับโทษเหมือนตัวการ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 84 วรรค 2 ว่า... “...ถ้าผู้ถูกใช้ได้กระท�ำความผิดนั้น ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือน ตัวการ...” ตัวอย่าง หนึ่งจ้างให้สองฆ่าสาม เป็นเงิน 200,000 บาท สองฆ่าสามตาย ดังนี้ หนึ่งกับสอง ต้องรับโทษฐานร่วมกันฆ่าคนตายโดยเจตนาโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 83, 84, 289 (2).กรณีผู้ถูกใช้ไม่ได้กระท�ำผิด ตามที่ผู้ใช้ได้ใช้ให้กระท�ำผิด ตัวอย่าง หนึ่งจ้างให้สองฆ่าสาม เป็นเงิน 200,000 บาท แต่สองไม่ได้ฆ่าสามตามที่หนึ่งว่า จ้าง ดังนี้ หนึ่งกับสองจะต้องมีความผิดและจะต้องรับโทษหรือไม่ เพราะสองผู้ถูกใช้ยังไม่ ได้กระท�ำผิด ประเด็นนี้ มาตรา 84 วรรค 2 เขียนไว้ว่า... “...ถ้าความผิดมิได้กระท�ำลง ไม่วา่ จะเป็นเพราะผูถ้ กู ใช้ไม่ยอมกระท�ำ 154 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ยังไม่ได้กระท�ำหรือเหตุอื่นใด ผู้ใช้ต้องระวางโทษเพียงหนึ่งในสามของโทษที่ก�ำหนด ไว้ส�ำหรับความผิดนั้น...” หมายความว่า เมื่อผู้ใช้จ้างให้ผู้ถูกใช้ไปกระท�ำผิด ผู้ใช้ก็มีความผิดทันที ที่ใช้ให้ คนอื่นกระท�ำผิด ไม่ว่าผู้ถูกใช้จะไปท�ำผิดหรือไม่ ผู้ใช้ก็มีความผิดส�ำเร็จแล้ว ถ้าผู้ถูกใช้ไป ท�ำผิด ผู้ใช้กับผู้ถูกใช้ก็มีความผิดฐานเป็นตัวการร่วมกระท�ำผิดด้วยกัน แต่ถ้าผูถ้ กู ใช้ยงั ไม่ ได้กระท�ำผิด ผูถ้ กู ใช้กย็ งั ไม่มคี วามผิด เพราะผูถ้ กู ใช้ยงั ไม่ได้ลงมือกระท�ำผิด แต่...กฎหมายลดโทษให้ผใู้ ช้กระท�ำผิด เพราะผูถ้ กู ใช้ยงั ไม่ได้กระท�ำผิด ผลการ กระท�ำผิดยังไม่เกิดขึน้ กฎหมายจึงลดโทษให้ผถู้ กู ใช้หนึง่ ในสามของความผิดนั้น ฉะนั้น ตามตัวอย่างข้างต้นที่หนึ่งจ้างให้สองฆ่าสาม แต่สองยังไม่ได้ฆ่าสาม ดังนี้ สองไม่มีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 ซึ่งมีโทษสูงสุดถึงประหารชีวิต แต่หนึ่งผู้จ้างมีความผิดฐานใช้ให้สองฆ่าคนตายโดย เจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 84, 289 ซึ่งมีโทษถึงประหารชีวิต แต่สอง ผู้ถูกใช้ยังไม่ได้ฆ่าสามตายตามที่หนึ่งจ้าง กฎหมายจึงลดโทษให้หนึ่งอีกหนึ่งในสามของ ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ซึ่งมีโทษสูงสุดถึงประหารชีวิต คือ ลดโทษให้ หนึ่งในสามของโทษประหารชีวิต คือ เหลือโทษจ�ำคุกตลอดชีวิต ตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 52(1)

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 155


156 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (4) ป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย “คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ” นี้ มีการอ้างการป้องกันตัวกันมาก ฝ่ายนายอภิสิทธิ์ กับนายสุเทพ ผู้ต้องหาคดีนี้ อ้างว่า “ศอฉ.” ได้กระท�ำไปเพื่อป้องกันตัวตามพระราช ก�ำหนดแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 จึงไม่มีความผิด ส่วนฝ่ายนายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) อ้างว่าเป็นคดีฆาตกรรม ฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็ง เห็นผล ไม่ใช่เรื่องป้องกันตัว เพราะการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมายนั้น ผู้กระท�ำไม่ผิดกฎหมาย แม้เขา จะฆ่าคนตาย ถ้าฟังได้ว่าเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 68 แล้ว เขาก็ไม่ผิดกฎหมาย ไม่ต้องรับโทษอะไรเลย คนเรามีสิทธิป้องกันตัว เป็นสัญชาติญาณของมนุษย์อย่างหนึ่ง ที่ต้องต่อสู้เพื่อชีวิตรอด ถ้าใครจะท�ำร้าย อะไรเรา เราก็มีสิทธิที่จะท�ำร้ายเขาก่อนเพื่อป้องกันชีวิต ร่างกายของเราเอาไว้ เช่น ถ้า ใครจะเอาปืนมาฆ่าเรา เราก็มีสิทธิยิงฆ่าเขาก่อนที่เราจะถูกฆ่าตายได้ การกระท�ำอย่างนี้ กฎหมายเรียกว่า “การป้องกัน” 1.การป้องกัน ไม่ผิดกฎหมาย การป้องกันตัวโดยชอบกฎหมายนั้น ถือว่าเป็นสิทธิของมนุษย์ทุกคนที่จะป้องกัน ตัวได้ เพราะฉะนั้นถ้าเราไปท�ำร้ายเขา ไปฆ่าเขาตายเพื่อป้องกันตัวเราเองโดยชอบด้วย กฎหมายแล้ว กฎหมายถือว่า การกระท�ำของเราดังกล่าว ไม่ผิดกฎหมาย เช่น เราท�ำร้าย ร่างกายเขาบาดเจ็บ ซึ่งปกติก็เป็นความผิดฐานท�ำร้ายร่างกายบาดเจ็บ ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 295 ซึ่งมีโทษจ�ำคุกถึง 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือเราฆ่า คนอื่นตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 มีโทษถึงประหารชีวิต จ�ำคุกตลอด ชีวิต หรือจ�ำคุกตั้งแต่ 15 ปี ถึง 20 ปี แต่ถ้าเราท�ำร้ายร่างกาย นาย ก.ถึงบาดเจ็บหรือ ฆ่า นาย ก.ตาย เพราะนาย ก.จะท�ำร้ายเรา หรือจะฆ่าเรา เราจึงต้องท�ำร้ายหรือฆ่านาย ก. อย่างนี้ถือว่า เรากระท�ำการป้องกันตัวเอง การกระท�ำของเรา แม้นาย ก.จะถูกท�ำร้าย คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 157


ร่างกายบาดเจ็บหรือตาย เราก็ไม่มีความผิดฐานท�ำร้ายร่างกาย หรือฐานฆ่านาย ก.ตาย เลย เพราะเรากระท�ำไปเพื่อป้องกันตัว จึงไม่ผิดกฎหมายอะไรเลย นาย ก.ก็เลยถูกท�ำร้าย หรือถูกฆ่าตายฟรีไป 2.อย่างไร เรียกว่า “การป้องกัน” กฎหมายเขียนเรื่อง การป้องกัน ไว้ดังนี้ “มาตรา 68 ผู้ใดจ�ำต้องกระท�ำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตน หรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตราย ที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระท�ำพอสมควรแก่เหตุ การกระท�ำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบ ด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด” กฎหมายเขียนไว้แค่นี้ การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย มีองค์ประกอบซึ่งจะ แยกพิจารณาไว้เป็นข้อๆ ได้ ดังนี้ (1).มีภยันตราย ซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย (2).เป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง (3).จ�ำต้องกระท�ำเพื่อป้องกันสิทธิของตนเอง หรือผู้อื่น เพื่อให้พ้นภยันตราย (4).กระท�ำพอสมควรแก่เหตุ (1).มีภยันตราย ซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย หมายความว่า มีอันตรายต่างๆ เกิดขึ้นแล้ว และอันตรายนั้น ต้องเกิดจากการ ประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย คือ เกิดจากการท�ำผิดกฎหมายนั่นเอง ถ้าอันตรายไม่ ได้เกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย ก็ไม่เข้าองค์ประกอบข้อนี้ เช่น เกิดภัย ธรรมชาติ ฝนตก ฟ้าผ่า หรือภัยเกิดจากสัตว์ ซึ่งสัตว์ท�ำผิดกฎหมายไม่ได้ อย่างนี้ไม่ได้เกิด จากการละเมิดกฎหมาย แต่เป็นภัยที่เกิดขึ้นเอง แต่ถ้ามีคนจะมาปล้น มาท�ำร้าย มาฆ่า เรา อย่างนี้ถือว่ามีคนละเมิดกฎหมาย มีคนท�ำผิดกฎหมายแล้ว ภัยอย่างนี้เรามีสิทธิที่จะ ท�ำการเพื่อป้องกันได้ (2).เป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ภัยอันตรายที่เกิดจากการกระท�ำที่ผิดกฎหมายตามข้อ(1).นั้น ถ้ายังอยู่ห่างจาก ผู้ที่จะได้รับภัยนั้น กฎหมายยังไม่อนุญาตให้ท�ำการป้องกันได้ เช่น ก.ขึ้นไปบนบ้านถือปืน 158 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


แต่อยู่ห่าง ข.ตั้งสองกิโลเมตร ไม่มีทางที่จะยิงถูก ข.ได้เลย เพราะอยู่ห่างไกลกันมาก อย่าง นี้ ข.ยังไม่มีสิทธิป้องกันตัวเอง จะป้องกันได้เฉพาะที่เป็นภยันตรายใกล้จะถึงเท่านั้น ที่ กฎหมายเขียนไว้อย่างนี้ เพราะเห็นว่าเมื่อภัยใกล้จะถึงแล้ว หากยังขืนปล่อยให้ภัยเกิดขึ้น ก็จะเกิดอันตรายแก่เขาได้ตลอดเวลาทุกวินาที จึงให้สิทธิผู้ที่จะได้รับภัยอันตราย มีสิทธิ ท�ำการป้องกันได้ทันทีเมื่อภัยใกล้จะถึง เช่น ก.ยกปืนจ้องจะยิง ข. ซึ่งยืนอยู่ใกล้กัน หรือ ก.ยกมีดเงื้อจะฟัน ข. หรือถือมีดวิ่งไล่ฟัน ข. อย่างนี้ถือว่าภัยใกล้จะเกิดกับ ข.แล้ว ข.จึง มีสิทธิป้องกันตัวเอง โดยมีสิทธิที่จะยิงฆ่า หรือท�ำร้าย ก.ได้ ก่อนที่จะถูก ก.ยิงฆ่า ท�ำร้าย เอา หาก ข.กระท�ำการป้องกันดังกล่าว ถือว่าเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย การ กระท�ำของ ข.ไม่ผิดกฎหมาย แม้ว่า ข.จะฆ่า หรือท�ำร้าย ก.ก็ตาม (3).จ�ำต้องกระท�ำเพื่อป้องกันสิทธิของตนเอง หรือผู้อื่น เพื่อให้พ้นภยันตราย สิทธิของบุคคลมีหลายอย่าง เช่น สิทธิเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย เกียรติยศ ชื่อเสียง เสรีภาพ ทรัพย์สิน รวมถึงสิทธิอื่นๆ เช่น ลิขสิทธิ์ เป็นต้น สิทธิเหล่านี้ทุกคนมีสิทธิที่จะ ป้องกันได้ทั้งนั้น ป้องกันสิทธิของตนเอง หรือผู้อื่น การป้องกันสิทธิ กฎหมายให้อ�ำนาจป้องกันได้ สิทธิของตนเองและผู้อื่นด้วย เพราะถือว่าคนเราควรจะมีสิทธิป้องกันสิทธิของคนอื่นได้ ด้วย มิใช่เพียงแต่ป้องกันสิทธิของตนเองเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อให้มนุษย์ได้ช่วยเหลือกัน ตัวอย่างที่ศาลฎีกาเคยตัดสินมาแล้วว่า เป็นการป้องกันชีวิตร่างกาย เช่น จ�ำเลย เป็นคนชรามาก ผู้ตายเป็นคนหนุ่มอันธพาล ผู้ตายฉุดคร่าลูกสาวของจ�ำเลยถึงในบ้าน เรือน และท�ำท่าจะท�ำร้ายจ�ำเลยอีก ผู้ตายมีมีดอยู่ในมือ จ�ำเลยจึงใช้ปืนยิงผู้ตายถึงแก่ ความตาย ดังนี้ เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย (ฎีกาที่ 1069/2503) ผู้ตายร้องท้าจ�ำเลยให้มาสู้กัน จ�ำเลยไม่สู้ ผู้ตายเงื้อดาบจะฟันจ�ำเลย จ�ำเลยยิง ผู้ตาย 1 นัด ผู้ตายถึงแก่ความตาย ศาลฎีกาตัดสินว่า ถ้าจ�ำเลยไม่ยิงผู้ตาย ผู้ตายก็จะฟัน จ�ำเลย การกระท�ำของจ�ำเลยเป็นการป้องกันพอสมควรแก่เหตุ (ฎีกาที่ 64/2504) ตัวอย่าง การป้องกันสิทธิในทรัพย์สิน เวลา 24.00 น. คนร้ายจูงกระบือออกไปจากใต้ถุนเรือนจ�ำเลย จ�ำเลยร้องถาม คนร้ายหันปืนมาทางจ�ำเลย จ�ำเลยยิงปืนไปจากบนเรือน 2 นัด ถูกคนร้ายตาย ดังนี้ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 159


เป็นการป้องกันทรัพย์สินพอสมควรแก่เหตุ (ฎีกาที่ 93/2508) เจ้าของบ้ า นทราบว่ า จะมี ค นร้ า ยมาปล้น จึงให้จ�ำเลยแอบเฝ้าที่ใต้ถุนเรือน เวลา 05.00 น. ผู้ตายกับพวกพากระบือมาที่บ้าน มีคนร้องว่าขโมย จ�ำเลยยิงไปที่ผู้ตาย เพราะเข้าใจว่าเป็นคนร้ายจะมาปล้น แม้ว่าจะยิงผู้ตายโดยส�ำคัญผิดว่าผู้ตายเป็นคนร้าย ก็ถือว่าเป็นการป้องกันทรัพย์สินพอสมควรแก่เหตุ (ฎีกาที่ 261/2511) ตัวอย่าง ป้องกันสิทธิเกี่ยวกับเกียรติยศชื่อเสียง จ�ำเลยกลับบ้านเห็นผู้ตายก�ำลังกอดปล�้ำเพื่อกระท�ำช�ำเราภริยาของจ�ำเลย จ�ำเลยฟันผู้ตาย 2 ทีแล้ววิ่งหนี ผู้ตายคว้ามีดไล่ฟันจ�ำเลย จ�ำเลยหนีไม่พ้นหันมาฟัน ผู้ตาย 2-3 ที ผู้ตายถึงแก่ความตาย ถือว่าเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย (ฎีกาที่ 273/2510) เกี่ยวกับการป้องกันเกียรติยศชื่อเสียงของภริยาที่มีชู้นั้น แต่ก่อนศาลฎีกา ตัดสินว่า การฆ่าชายชู้ตายขณะที่ชายชู้ก�ำลังร่วมประเวณีกับภริยานั้น เป็นการป้องกัน เกียรติยศชื่อเสียงของสามี แต่ต่อมาปัจจุบันศาลฎีกาได้ตัดสินไปในทางที่ว่า ไม่ใช่เป็นการ ป้องกันเกียรติยศอะไร เพราะเกียรติยศนั้นได้ถูกท�ำลายไปหมดแล้ว ศาลฎีกาจึงเห็นว่า เป็นการฆ่าคนตายโดยบันดาลโทสะ แปลว่า ฆ่าเพราะโกรธแค้น ที่ถูกข่มเหงน�้ำใจอย่าง ร้ายแรงโดยไม่ชอบธรรม ซึ่งการกระท�ำผิดเพราะบันดาลโทสะนี้ ศาลจะลงโทษผู้กระท�ำ ผิดน้อยกว่าที่กฎหมายบัญญัติไว้ก็ได้ ตัวอย่าง เกี่ยวกับการป้องกันสิทธิของผู้อื่น ผู้เสียหายมักมาขอน�้ำของลูกสาวจ�ำเลยกิน ลูกสาวจ�ำเลยเข้าไปในครัวเพื่อจะ ตักน�้ำให้ ผู้เสียหายตามเข้าไปจับมือและกอดลูกสาวของจ�ำเลย จ�ำเลยได้ยินเสียงลูกสาว เรียกให้ช่วย จึงเข้าไปใช้มีดแทงผู้เสียหาย 2 ครั้ง เพื่อให้ปล่อยลูกสาว ผู้เสียหายหันกลับ มาจะสู้จ�ำเลย จ�ำเลยจึงแทงไปอีก ท�ำให้ผู้เสียหายบาดเจ็บ ดังนี้ เป็นการป้องกันสิทธิของ ผู้อื่น (ลูกสาวจ�ำเลย) เป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย (ฎีกาที่ 1698/2512) จะเห็ น ได้ ว ่ า การที่จ�ำเลยท�ำร้ายร่างกายหรื อ ฆ่ า ผู ้ ที่ ล ะเมิ ดต่ อ กฎหมายเพื่ อ ป้อ งกันสิ ท ธิ ข องตนหรือสิท ธิของผู้อื่น เพื่อให้พันภยั นตรายเหล่ า นั้ น ซึ่ ง จ� ำ เลยจะ ต้อ งกระท� ำ เพื่ อป้ อ งกัน หากไม่ท�ำแล้วก็อาจมีภัยอั นตรายมาถึ ง จ� ำ เลยหรื อ ผู ้ อื่ นได้ 160 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


กฎหมายจึงให้อ�ำนาจเขาที่จะท�ำได้โดยไม่ผิดกฎหมาย (4).กระท�ำพอสมควรแก่เหตุ องค์ประกอบอีกข้อหนึ่งของการกระท�ำที่เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย นั้นก็คือ ต้องกระท�ำพอสมควรแก่เหตุ หมายความว่า ต้องพอสมควรแก่เหตุแก่เรื่องที่เกิด ขึ้น ถ้าท�ำการเกินกว่าเหตุ ก็ไม่ใช่เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย อะไรจะเป็นการสมควรแก่เหตุ อะไรจะเกินกว่าเหตุนั้น ต้องดูเป็นเรื่องๆ ไป เช่น ดูจากอาวุธที่ใช้กระท�ำว่าจะพอสมควรกันหรือไม่ เช่น เขาใช้เท้าเตะ มือต่อยเรา แต่ เรากลับใช้ปืนยิง หรือใช้ระเบิดป้องกัน ก็เห็นได้ว่ามันไม่สมควรแก่เหตุ มันเกินไป แต่ถ้า เขาจะใช้มีดแทงเรา เราใช้มีดแทงเขาหรือใช้ปืนยิงเขา อาวุธที่ใช้กระท�ำทั้งสองฝ่าย อาจ จะท�ำให้แต่ละฝ่ายถึงตายได้ ก็ถือเป็นการใช้อาวุธที่พอสมควรกัน เรียกได้ว่าพอสมควรแก่ เหตุ ต่อไปนี้จะเป็นตัวอย่างที่ศาลฎีกาเคยตัดสินมาแล้วว่าเป็นการกระท�ำที่ “พอ สมควรแก่เหตุ” ผู้ตายบุกรุกขึ้นไปบนเรือนจ�ำเลย เงื้อมีดเข้าไปที่จ�ำเลยนั่งอยู่ จ�ำเลยเข้าแย่งมีด มาได้ ทั้งสองฝ่ายเข้าต่อสู้กัน จ�ำเลยใช้มีดนั้นแทงผู้ตายไปทันที รวม 2 ครั้ง ถูกหน้าอก เหนือราวนมจนผู้ตายถึงแก่ความตาย ถือว่าเป็นการป้องกันพอสมควรแก่เหตุ (ฎีกาที่ 94/2513) เวลากลางคืนจ�ำเลยถูกรุมท�ำร้ายด้วยไม้และมีด จ�ำเลยจึงใช้ปืนยิงไปยังกลุ่มที่ ท�ำร้าย กระสุนปืนถูกผู้ตายถึงแก่ความตาย ถือว่าเป็นการป้องกันพอสมควรแก่เหตุ (ฎีกา ที่ 600/2509) ต่อไปนีเ้ ป็นตัวอย่างทีศ่ าลฎีกาเคยตัดสินมาแล้วว่าเป็นการกระท�ำที่ “เกินกว่าเหตุ” ถือว่าไม่ใช่เป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้ตายบุกรุกเข้ามาในบ้าน โดยไม่มีอาวุธ จ�ำเลยใช้ปืนยิงผู้ตายถึงแก่ความตาย เป็นการป้องกันตัวเกินกว่าเหตุ (ฎีกาที่ 527/2485) จ� ำ เลยกั บ พวกเจ้ า ทรั พ ย์ ติ ด ตามคนร้ า ยที่ ลั ก เรื อ ไป ไปพบผู้ตายกับพวกอยู่ ใกล้ๆ กั บ เรื อ ที่ ถู กลัก ไป ผู้ตายใช้ปืนลูก กรดยิง จ� ำ เลยแต่ ไ ม่ ถู ก แต่ย้ายหนีไปจากเรือ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 161


ห่างประมาณ 12 วา จ�ำเลยยิงผู้ตายถูกข้างหลัง 1 นัด ถือว่าเป็นการป้องกันเกินกว่าเหตุ ที่ศาลตัดสินว่าเป็นการป้องกันเกินกว่าเหตุนั้น เพราะขณะนั้นผู้ตายได้หนีไปจากเรือแล้ว และปืนลูกกรดที่ผู้ตายมีอยู่ก็ยังไม่ได้มีลักษณะที่จะยิงจ�ำเลยอีก ภยันตรายที่ใกล้จะเกิด เพราะผู้ตายจะยิงจ�ำเลยอีกก็ไม่มี การที่จ�ำเลยยิงผู้ตายทางข้างหลังขณะที่ผู้ตายก�ำลังวิ่ง หนี จึงเป็นการป้องกันเกินกว่าเหตุ 3.ผลของการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย เป็นการกระท�ำที่ไม่ผิดกฎหมาย ผู้กระท�ำจึง ไม่ต้องรับโทษทางกฎหมาย เช่น ใครจะมาฆ่าเรา เราก็ฆ่าเขาก่อน ใครถือปืนเข้าปล้นบ้าน เรา เราก็มีสิทธิยิงคนร้ายเพื่อป้องกันทรัพย์ของเราได้ คนร้ายที่ยิงต่อสู้กับต�ำรวจ ต�ำรวจ ก็มีสิทธิป้องกันตัว โดยยิงคนร้ายตายได้โดยไม่ผิดต่อกฎหมาย แต่การที่เราท�ำให้เกิด ผลร้ายขึ้นแก่บุคคลเพราะการกระท�ำของเราแม้จะไม่ผิดกฎหมายแต่ต�ำรวจก็มีสิทธิจะ ด�ำเนินคดีแก่เราได้ ส่วนเราจะผิดหรือไม่ผิด ก็ต้องพิสูจน์กันอีกที เราก็ต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า เราท�ำการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย เราไม่ได้ท�ำผิดกฎหมาย ซึ่งถ้าเราพิสูจน์ได้เราก็ จะหลุดพ้นจากข้อกล่าวหาดังกล่าว ตัวอย่าง เช่น ก. ข. ค. มีปืนเข้าปล้นบ้านเรา เรายิงฆ่าคนร้าย ก. ข. ค.ตาย ซึ่ง ความจริงแล้วเรากระท�ำการป้องกันทรัพย์สินของเราโดยชอบด้วยกฎหมาย การกระท�ำ ของเราไม่ผิดกฎหมาย แต่ เ มื่ อ เราฆ่ า คนตายแล้ ว ต�ำรวจก็มีสิทธิที่จะจับกุมเราเป็น ผู้ต้องหาด�ำเนินคดีฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาได้ ต�ำรวจก็จะท�ำการสอบสวน รวบรวม พยานหลักฐาน ถ้าปรากฏพยานหลักฐานชัดเจนว่า ก. ข. ค.มันเป็นคนร้าย มีปืนบุกเข้า ปล้นเราจริง เราจึงยิงฆ่า ก. ข. ค.ตาย เพื่อป้องกันทรัพย์สินของเราจริง ต�ำรวจเขาก็จะสั่ง ไม่ฟ้องเราในข้อหาฆ่าคนตายโดยเจตนา เพราะเห็นว่าเรากระท�ำการป้องกันโดยชอบด้วย กฎหมาย แต่ถ้าต�ำรวจส่งส�ำนวนการสอบสวนไปให้อัยการ อัยการก็จะสั่งไม่ฟ้อง ปล่อย ตัวเราพ้นข้อหาไป เพราะเห็นว่าเราท�ำการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่ผิดกฎหมาย แต่ถ้าอัยการฟ้องเราต่อศาลหรือญาติ ก. ข. ค.คนตาย ฟ้องเราต่อศาลฐานฆ่าคนตายโดย เจตนา เราก็เอาพยานบุคคลไปสืบที่ศาลแสดงให้ศาลเห็นว่า เราฆ่า ก. ข. ค.เพราะป้องกัน ทรัพย์สินของเรา เราไม่ผิดกฎหมาย ศาลก็จะพิพากษายกฟ้อง ปล่อยตัวเราพ้นข้อหาไป 162 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


เพราะฉะนั้นแม้ว่าจะมีการจับกุมฟ้องเราต่อศาล ถ้าเราพิสูจน์ได้ว่า เราได้ท�ำการ ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ไม่ผิดกฎหมายแล้ว ศาลก็จะปล่อยตัวเราพ้นข้อหาไปใน ที่สุด คดีฆ่าประชาชน 99 ศพนี้ ฝ่ายใดจะอ้างว่าเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วย กฎหมายหรือไม่ การที่ทหาร ต�ำรวจยิงฆ่าประชาชน 99 คน บาดเจ็บอีกประมาณ 2,000 คน จะเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 หรือไม่ ก็ต้องพิจารณาตามองค์ประกอบความผิดของมาตรา 68 ดังกล่าว ถ้าข้อเท็จ จริงฟังได้ว่าฝ่าย “นปช.” จะยิงฆ่าทหาร ต�ำรวจ ทหาร ต�ำรวจจึงยิงฆ่าประชาชน หรือ “นปช.” ก่อน การกระท�ำของต�ำรวจ ทหารก็เป็นการป้องกันตัว แต่ถ้าทหาร ต�ำรวจยิงฆ่า ประชาชน ทั้งๆ ที่ประชาชนมีแต่มือเปล่าๆ มาไหว้ มาขอประชาธิปไตย ดังนี้แล้วก็เป็นคดี ฆาตกรรมทั่วๆ ไป ฝ่ายผู้กระท�ำผิด ผู้ใช้ให้กระท�ำผิด คงต้องรับโทษตายตกไปตามกัน...

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 163


กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (5) พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ยกเว้นความผิดใคร ? นายอภิสิทธิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี และนายสุเทพ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” เมื่อตกเป็นผู้ต้องหา “คดีฆ่าประชาชน” พวกเขาไม่ต้องรับผิดทั้ง ทางแพ่งและทางอาญา เพราะ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ยกเว้นความผิดให้ ตามมาตรา 17 ได้หรือ ไม่ ? เรามาดูกันว่า มาตรา 17 เขียนไว้อย่างไร มาตรา 17 แห่ง พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 เขียนไว้ว่า... “มาตรา 17 พนักงานเจ้าหน้าที่และผู้มีอ�ำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานเจ้า หน้าทีต่ ามพระราชก�ำหนดนี้ ไม่ตอ้ งรับผิดทัง้ ทางแพ่ง ทางอาญาหรือทางวินยั เนือ่ งจาก การปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นการระงับ หรือป้องกันการกระท�ำผิดกฎหมาย หากเป็นการกระท�ำที่ สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุหรือไม่เกินกว่ากรณีจ�ำเป็นแต่ไม่ตัด สิทธิผู้ได้รับความเสียหายที่จะเรียกร้องค่าเสียหายจากทางราชการตามกฎหมายว่า ด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่” องค์ประกอบมาตรานี้ มีดังนี้ (1).พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้มีอ�ำนาจเช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ (2).กระท�ำการเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ในการระงับ หรือป้องกันการกระท�ำ ผิดกฎหมาย (3).เป็นการกระท�ำที่ ก.สุจริต ข.ไม่เลือกปฏิบัติ ค.ไม่เกินสมควรแก่เหตุ ง.ไม่เกินกรณีจ�ำเป็น (1).พนักงานเจ้าหน้าทีผ่ มู้ อี ำ� นาจเช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ 164 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


คือ ผู้ซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ (ตามมาตรา 5) ส�ำหรับในคดีนี้ ก็คือ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ทหาร รวมทั้งนายสุเทพ ผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” ที่นายกรัฐมนตรี แต่งตั้งให้เป็น “ผอ.ศอฉ.” ด้วย (2).กระท�ำเนือ่ งจากการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นการระงับ หรือป้องกัน การกระท�ำผิดกฎหมาย เช่น คนเสื้อแดงก�ำลังจะยิงทหาร ต�ำรวจ หรือก�ำลังจะเผาสถานที่ราชการ เจ้า หน้าที่ก็กระท�ำการเพื่อป้องกันการกระท�ำที่ผิดกฎหมายเหล่านี้ (3).ต้องกระท�ำการโดย (ก).โดยสุจริต คือ กระท�ำไปโดยเจตนาสุจริต เชื่อว่ากระท�ำตามค�ำสั่งโดยชอบด้วยกฎหมาย ถ้า ไม่สุจริต มีเจตนาฆ่าผู้ชุมนุมโดยไม่มีค�ำสั่งของ “ศอฉ.” ย่อมไม่ได้รับการยกเว้นความผิด (ข).ไม่เลือกปฏิบัติ คือ กระท�ำต่อผูช้ มุ นุมทุกคนเหมือนกันหมด ไม่ใช่อยากยิงใครก็เลือกยิงตามใจชอบ (ค).ไม่เกินสมควรแก่เหตุ ข้อส�ำคัญ ถ้าได้ความว่าผู้ชุมนุมมีแต่มือเปล่าๆ เป็นพยาบาลไปรักษาผู้ป่วยเจ็บ ในการชุมนุม เป็นเจ้าหน้าที่ “ปอเต็กตึ๊ง” แต่เอาปืนไปยิงเขาตาย แบบนี้ถือว่าเกินสมควร แก่เหตุแน่นอน (ง).ไม่เกินกรณีจ�ำเป็น คือ ต้องจ�ำเป็นจริงๆ ถ้าไม่ยิงผู้ชุมนุมแล้ว ผู้ชุมนุมจะต้องยิงฆ่าต�ำรวจ ทหาร จึง จ�ำเป็นต้องยิงฆ่าผู้ชุมนุม จึงจะถือว่า “จ�ำเป็น” แต่ถ้าเขาชุมนุมอยู่ดีๆ เขาประกาศเลิก ชุมนุมแล้ว เขาก�ำลังเดินทางกลับบ้าน กลับไปตามฆ่าเขาในวัดปทุมฯ โดยที่พวกเขามีแต่ มือเปล่า ไปอาศัยพระในเขตอภัยทาน แบบนี้ไม่ใช่ความจ�ำเป็นแน่ ผู้ที่ยิงฆ่าคนเหล่านี้ ต้องรับผิดชอบทั้งทางแพ่งและอาญา (4).ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง อาญาและวินัย คือ ต้องครบองค์ประกอบ ข้อ (1), (2), (3) จึงจะไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง อาญาและ วินยั ถ้าขาดข้อใดข้อหนึง่ พนักงานเจ้าหน้าทีเ่ หล่านัน้ ต้องรับผิดทัง้ ทางแพ่ง อาญาและวินัย คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 165


ผู้รับผิดชอบสูงสุด ผู้สั่งการและคนที่ยิงฆ่าประชาชน 99 ศพ จะได้รับยกเว้น โทษ ตามมาตรา 17 หรือไม่ ? เรื่ อ งนี้ ต ้ องวิ เ คราะห์ด้วยความเป็นธรรม หากฟังได้ว่านายอภิสิทธิ์รู้เห็นการ กระท�ำของนายสุเทพ ผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” ตลอด และ “ศอฉ.” อนุญาตให้เจ้าหน้าที่ทหาร ต�ำรวจใช้อาวุธกระสุนปืนจริงยิงใส่ผู้ชุมนุมได้ และต้องดูในค�ำสั่ง “ศอฉ.” ต่อไปว่า “ผอ. ศอฉ.” สั่งให้ยิงได้ในกรณีใด เช่น ให้ยิงได้เพื่อป้องกันตัว ซึ่งการป้องกันตัวไม่ผิดกฎหมาย ค�ำสั่งที่ให้เจ้าหน้าที่ยิงประชาชนย่อมเป็นค�ำสั่งที่ไม่ผิดกฎหมาย เจ้าหน้าที่ที่ยิงประชาชน ก็ไม่ผิดกฎหมาย เพราะเป็นการป้องกันตัวของเจ้าหน้าที่โดยชอบด้วยกฎหมาย ดังนี้ ก็ต้องพิจารณาต่อไปว่าการกระท�ำของเจ้าหน้าที่เป็นการป้องกันตัวหรือไม่ ถ้าผู้ชุมนุมจะ ยิงทหารก่อน ทหารจึงยิงผู้ชุมนุมผู้นั้น ก็เป็นการป้องกันตัว ทหารไม่ผิดกฎหมาย ผู้สั่ง ไม่ผิดกฎหมาย แต่ถ้าผู้ชุมนุมยืนชุมนุมด้วยมือเปล่า ทหาร ต�ำรวจไปยิงเขาตาย ก็ไม่ใช่ การป้องกันตัวอย่างแน่นอน ถือว่าเจ้าหน้าที่กระท�ำไปโดยเกินสมควรแก่เหตุ ตามข้อ (ค). และเกินกรณีความจ�ำเป็นตามข้อ (ง). เจ้าหน้าที่ผู้กระท�ำต้องรับโทษตามกฎหมาย ไม่ได้ รับความคุ้มครอง ตามมาตรา 17 แห่ง พ.ร.ก.ฯ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ส่วนผู้มีอ�ำนาจสูงสุด (นายอภิสิทธิ์) และผู้สั่งการ “ศอฉ.” (นายสุเทพ) จะต้อง รับผิดหรือไม่นั้น ต้องดูข้อเท็จจริงอื่นประกอบหลายอย่าง เช่นว่าถ้า “ศอฉ.” อนุญาต ให้เจ้าหน้าที่ทหาร ต�ำรวจใช้กระสุนปืนยิงผู้ชุมนุมได้เพื่อป้องกันตัวเอง ค�ำสั่งแบบนี้ก็ไม่ ผิดกฎหมาย เพราะการป้องกันตัวไม่ผิดกฎหมาย แต่ถ้าพฤติการณ์ที่เกิดขึ้นเล็งเห็นผล ได้ว่า การยิงปืนเข้าไปในฝูงคน อาจท�ำให้ผู้ชุมนุมตายได้ ดังนี้ ก็อาจเข้าข้อกฎหมาย เรื่อง “เจตนา” ท�ำให้คนตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 เรื่องเจตนาเล็ง เห็นผลได้ นายอภิสิทธิ์ผู้มีอ�ำนาจสูงสุดและนายสุเทพ “ผอ.ศอฉ.”ก็อาจมีความผิดฐาน ก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ตามที่นายธาริต อธิบดี “ดีเอสไอ” ด�ำเนิน คดีแก่นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพไปแล้ว เรื่องอย่างนี้ต้องไปพิสูจน์ความจริงกันในศาลว่า นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพจะได้รับยกเว้นความผิด ตามมาตรา 17 แห่ง พ.ร.ก.ฯ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 หรือจะต้องรับโทษฐานก่อ หรือใช้ให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเล็งเห็นผล ตามที่กรม “ดีเอสไอ” แจ้งข้อหาเราต้องพิสูจน์ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายในศาลกันต่อไป 166 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 167


กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (6) กระท�ำผิดตามค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตอบค�ำถามที่ว่า เหตุใด ? ต�ำรวจจึงไม่ด�ำเนินคดีแก่เจ้าหน้าที่ทหาร ต�ำรวจ ซึ่ง ปฏิบัติการใน “ศอฉ.” จนเป็นเหตุให้คนตายถึง 99 ศพ บาดเจ็บกว่า 2,000 คน ที่จริง แล้วการที่นายหนึ่งสั่งให้ลูกน้องหลายพันคน ใช้อาวุธปืนยิงใส่ประชาชนหลายหมื่นคนจน ล้มตายบาดเจ็บเป็นจ�ำนวนมากนั้น ตามหลักกฎหมายทั่วไป คนสั่งการก็มีความผิดฐาน ใช้ให้ผู้อื่นกระท�ำผิดฐานฆ่าคนตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 84, 288 คนที่ ยิงฆ่าคนก็มีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ทั้งคนที่สั่งการและคนที่ฆ่าคนตาย ต้องร่วมกันรับโทษฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาด้วยกัน แต่...ส�ำหรับคดี 99 ศพนี้ ทาง “ดีเอสไอ” ไม่ได้ด�ำเนินการแก่เจ้าหน้าที่ที่ยิง ฆ่าประชาชน กลับด�ำเนินคดีนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคน ตายโดยเจตนา โดย “ดีเอสไอ” แจ้งว่าเจ้าหน้าที่เหล่านั้น ได้กระท�ำตามค�ำสั่งของเจ้า พนักงาน ไม่ต้องรับโทษตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 70 เรามาดูกันว่า มาตรา 70 คุ้มครองเจ้าหน้าที่เหล่านั้นอย่างไรบ้าง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 70 เรื่องกระท�ำผิดตามค�ำสั่งที่มิชอบด้วย กฎหมายของเจ้าพนักงาน เขียนไว้ว่า... “มาตรา 70 ผู้ใดกระท�ำตามค�ำสั่งของเจ้าพนักงาน แม้ค�ำสั่งนั้นจะมิชอบด้วย กฎหมาย ถ้าผู้กระท�ำมีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม ผู้นั้นไม่ต้อง รับโทษ เว้นแต่จะรู้ว่าค�ำสั่งนั้นเป็นค�ำสั่งซึ่งมิชอบด้วยกฎหมาย” แยกองค์ประกอบความผิดของมาตรา 70 ดังนี้ 1.กระท�ำความผิดตามค�ำสั่งของเจ้าพนักงาน 2.ค�ำสั่งนั้นมิชอบด้วยกฎหมาย 3.ผู้กระท�ำนั้น ไม่รู้ว่าค�ำสั่งนั้นมิชอบด้วยกฎหมาย 4.ผู้กระท�ำมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม หรือไม่มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม แต่เชื่อโดย สุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม 168 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


1.กระท�ำความผิดตามค�ำสั่งของเจ้าพนักงาน ต้องเป็นค�ำสั่งของเจ้าพนักงานไม่ใช่ค�ำแนะน�ำ ถ้าเป็นเพียงค�ำแนะน�ำ ผู้กระท�ำผิดต้องรับโทษ ตัวอย่าง สารวัตรใหญ่สั่งให้พลต�ำรวจไปจับผู้ต้องหา ดังนี้ ถือว่าเป็นค�ำสั่งของเจ้าพนักงาน ตัวอย่าง นายอ�ำเภอขอให้ประชาชนช่วยกันพัฒนาที่เกิดเหตุ จ�ำเลยใช้มีดตัดไม้ของโจทก์ บริเวณนั้น โดยจ�ำเลยรู้ว่าไม้เป็นของโจทก์ ดังนี้ จ�ำเลยมีความผิดฐานท�ำให้เสียทรัพย์ เพราะนายอ�ำเภอเพียงแต่แนะน�ำเท่านั้น ไม่ใช่สั่ง (ฎีกา 6344/2531) 2.ค�ำสั่งไม่ชอบด้วยกฎหมาย คือ ถ้าค�ำสั่งนั้นชอบด้วยกฎหมาย เช่น สารวัตรสั่งให้พลต�ำรวจไปจับคนร้าย ตามหมายจับ ถือว่าเป็นค�ำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่เข้าข้อยกเว้น มาตรา 70 ในเรื่องนี้ แต่ถ้าหมายจับนั้น เป็นหมายจับปลอม ไม่ใช่หมายจับของศาล ดังนี้ ถือว่าเป็นค�ำสั่งของ สารวัตรเป็นค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตามมาตรา 70 3.ผู้กระท�ำไม่รู้ว่าค�ำสั่งนั้น ไม่ชอบด้วยกฎหมาย คือคุ้มครองผู้สุจริตถ้าผู้กระท�ำรู้ว่าเป็นค�ำสั่งที่ผิดกฎหมายก็ยังขืนท�ำผู้กระท�ำผิด ต้องรับผิดตามกฎหมาย ตัวอย่าง สารวัตรใหญ่สั่งให้ลูกน้องต�ำรวจไปจับหญิงคนหนึ่งมาขังที่โรงพักเพื่อรีดเงิน โดย ลูกน้องรู้ว่าผู้หญิงคนนั้นไม่ได้ท�ำผิดกฎหมายอะไร คือ รู้ว่าเป็นค�ำสั่งที่ผิดกฎหมาย ดังนี้ สารวัตรใหญ่และลูกน้องกระท�ำผิดกฎหมายต้องรับโทษ ไม่ได้ยกเว้น ตามมาตรา 70 4.ผู้กระท�ำเชื่อโดยสุจริตว่า ตนต้องปฏิบัติตามค�ำสั่งนั้น ข้อส�ำคัญมาก ผู้กระท�ำต้องสุจริตว่าต้องปฏิบตั ติ ามจึงจะได้รบั การยกเว้น โทษ ตามมาตรา 70 ตัวอย่าง ผู้บังคับกองต�ำรวจสั่งให้จ�ำเลยซึ่งเป็นต�ำรวจใต้บังคับบัญชาไปจับกุมผู้ต้องหา คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 169


โดยไม่มีหมายจับ จ�ำเลยไปจับผู้ต้องหาโดยเข้าใจว่าเป็นค�ำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ การกระท�ำของจ�ำเลยจะไม่ชอบด้วยกฎหมาย จ�ำเลยก็ไม่ต้องรับโทษ ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 70 (ฎีกาที่ 1134/2508) สรุปก็คือ การที่บุคคลกระท�ำตามค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้น ผู้กระท�ำต้อง เชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม จึงจะได้รับการยกเว้นโทษตามกฎหมาย อนึ่ง ต้องเข้าใจว่าการกระท�ำผิดกฎหมาย ตามค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายนี้ เป็นการกระท�ำที่ผิดกฎหมาย แต่กฎหมายไม่เอาโทษเท่านั้นเอง กระท�ำความผิดตามค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เกี่ยวกับคดีฆ่าประชาชน 99 ศพ การที่ “ดีเอสไอ” ไม่ด�ำเนินคดีแก่เจ้าหน้าที่ทหาร ต�ำรวจ ของ “ศอฉ.” ก็เพราะ “ดีเอสไอ” เห็นว่าเจ้าหน้าที่ที่ใช้อาวุธปืนยิงฆ่าประชาชนนั้น แม้จะกระท�ำผิดจริง แต่ พวกเขาเป็นทหาร ต�ำรวจเป็นเจ้าหน้าที่ “ศอฉ.” ได้ปฏิบัติตามค�ำสั่งของ “ศอฉ.” ให้ใช้ กระสุนปืนจริงได้ แม้ว่าจะเป็นค�ำสั่งที่มิชอบด้วยกฎหมาย (ตามที่ “ดีเอสไอ.” อ้าง) แต่ พวกเขาใช้อาวุธปืนยิงเป็นเหตุให้ประชาชนล้มตายไปก็เพราะพวกเขาเชื่อโดยสุจริตว่า พวกเขามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามค�ำสั่งเหล่านั้น นี่คือค�ำตอบโจทก์ที่ว่า... “เหตุใด ? “ดีเอสไอ” จึงไม่ด�ำเนินคดีกับต�ำรวจ ทหาร ที่ใช้อาวุธปืนยิงคนตายใน “คดี...ฆ่าประชาชน 99 ศพ”

170 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 171


กฎหมายน่ารู้ คดีฆ่าประชาชน 99 ศพ (7) พยายามกระท�ำผิด – พยายามฆ่าประชาชน หลังจากที่ “ดีเอสไอ” ได้แจ้งข้อหาแก่นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ฐานร่วมกัน ก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาโดยเล็งเห็นผล ในกรณีประชาชนถูกฆ่าตายหลายศพ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 83, 84, 288 แล้ว แต่กรณีที่ประชาชนที่ถูกยิงบาดเจ็บอีกประมาณ 2,000 คน “ดีเอสไอ” ก�ำลัง ทยอยสอบสวนด�ำเนินคดีแก่ผู้กระท�ำผิดอยู่ และในอนาคตการสอบสวนได้ความว่า นาย อภิสิทธิ์และนายสุเทพ อาจมีความผิดฐานร่วมกันพยายามฆ่าประชาชน 2,000 คนแล้ว “ดีเอสไอ” ก็อาจจะต้องแจ้งข้อหาแก่นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพท�ำนองเดียวกับคนถูกยิง ตายหลายศพ ฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นพยายามฆ่าคนตายโดยเจตนาโดยเล็งเห็นผล ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59, 80 , 83, 84, 288 ก็ได้ เราจึงควรท�ำความเข้าใจว่าความผิดฐาน “พยายามกระท�ำผิด” และฐาน “พยายามฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา” นั้น กฎหมายเขาว่าอย่างไร การกระท�ำความผิดฐานพยายามกระท�ำผิดอาญานั้น ก�ำหนดไว้ในประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 80 ดังนี้ “มาตรา 80 ผู้ใดลงมือกระท�ำความผิดแต่กระท�ำไปไม่ตลอด หรือกระท�ำไป ตลอดแล้ว แต่การกระท�ำนั้นไม่บรรลุผล ผู้นั้นพยายามกระท�ำความผิด ผู้ใดพยายามกระท�ำความผิด ผู้นั้นต้องระวางโทษสองในสามส่วนของโทษที่ กฎหมายก�ำหนดไว้ส�ำหรับความผิดนั้น” องค์ประกอบของการพยายามกระท�ำความผิด คือ (1).ลงมือกระท�ำผิด (2).กระท�ำไปไม่ตลอด หรือ (3).กระท�ำไปตลอดแล้ว แต่ไม่บรรลุผล (1).ลงมือกระท�ำความผิด การกระท�ำของคนเรา มี 4 ระยะ คือ 172 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


(ก).คิดที่จะท�ำ (ข).ตกลงใจที่จะกระท�ำ (ค).เตรียมการกระท�ำ (ง).ลงมือกระท�ำการ ถ้าคนเราคิดที่จะท�ำการใด ตกลงที่จะท�ำการใด เตรียมการที่จะกระท�ำการตาม ข้อ (ก) (ข) (ค) แล้ว ก็ยังไม่ผิดกฎหมาย ตราบใดที่ยังไม่มีการลงมือกระท�ำการตามข้อ (ง) ตัวอย่าง แดงคิดที่จะฆ่าด�ำ ตามข้อ (ก). ยังไม่ผิดกฎหมาย เพราะเพียงคิดเท่านั้น แดง จึงตกลงใจจะฆ่าด�ำตามข้อ (ข). แดงก็ยังไม่ผิดกฎหมาย เพราะเพียงแต่ตกลงใจ ยังไม่ได้ กระท�ำความผิด แดงก็ไปซื้ออาวุธปืนและกระสุนปืนมา เพื่อเตรียมที่จะยิงด�ำ ตามข้อ (ค). ถึงขั้นนี้แดงก็ยังไม่ผิดกฎหมายอะไร เพราะเพียงแต่เตรียมอาวุธไว้ให้พร้อม ยังไม่มีการ ลงมือยิงฆ่าด�ำ ขั้นเตรียมการนี้แดงก็ยังไม่ผิดกฎ หมายฐานพยายามฆ่าด�ำ ต่อไปก็ถึงขั้นที่ 4 คือ ข้อ (ง). ลงมือกระท�ำการ ขั้นนี้ถ้าผู้กระท�ำลงมือกระท�ำ การเมื่อใด ? เมื่อนั้นผู้กระท�ำจะมีความผิดฐานพยายามกระท�ำผิดทันที เมื่อแดงเอา ปืนยิงด�ำไม่ว่ากระสุนปืนจะถูกร่างกายด�ำหรือไม่ แต่ด�ำไม่ถึงแก่ความตาย กฎหมายถือว่า แดงได้ลงมือกระท�ำผิดในคดีนี้แล้ว แดงจึงมีความผิดฐานพยายามฆ่าด�ำทันที อนึ่ง หากด�ำถึงแก่ความตาย เพราะถูกกระสุนปืนที่แดงยิงไป แดงก็มีความผิดฐาน ฆ่าคนตายโดยเจตนาเป็นความผิดส�ำเร็จ ซึ่งเลยขั้นพยายามฆ่าคนตายไปแล้ว แค่ไหน ? เรียกว่า “ลงมือกระท�ำผิดแล้ว” เรื่องนี้ต้องพิจารณาเป็นเรื่องๆ ไป ศาลฎีกาวางหลัก เกณฑ์ไว้ว่า “ถ้าได้กระท�ำลงจนใกล้ชิดกับผลส�ำเร็จแล้ว ถือว่าได้ลงมือกระท�ำผิดแล้ว แต่ ถ้าการกระท�ำนั้นยังห่างไกลต่อผลส�ำเร็จนั้น ก็ยังไม่ถือว่าเป็นการลงมือกระท�ำผิด ยัง ไม่ผิดกฎหมาย” ตัวอย่าง (การกระท�ำทีย่ งั ห่างไกลกว่าผลส�ำเร็จ ยังไม่ผดิ ฐานพยายามกระท�ำผิด) จ�ำเลยชักปืนออกจากเอว ยังไม่ทันจ้องมาทางผู้เสียหาย ก็ถูกแย่งปืนไปเสียก่อน ดังนี้ ถือว่ายังไม่ถึงขั้นลงมือกระท�ำผิด ไม่เป็นความผิดฐานพยายามฆ่า เพราะถือว่ายัง คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 173


ห่างไกลต่อผลส�ำเร็จ (เทียบค�ำพิพากษาฎีกาที่ 1647/2512) จ�ำเลยเงื้อมีดขณะที่ยังอยู่ห่างผู้เสียหาย ในระยะที่จ�ำเลยไม่อาจท�ำร้ายผู้เสียหาย ได้ ลักษณะที่จ�ำเลยเงื้อมีดโดยไม่มีโอกาสฟันท�ำร้ายผู้เสียหายได้ ดังนี้ การกระท�ำของ จ�ำเลย เป็นเพียงขู่ผู้เสียหายเท่านั้น ยังไม่มีความผิดฐานพยายามฆ่า (เทียบค�ำพิพากษา ฎีกาที่ 455/2513) ตัวอย่าง (การกระท�ำที่ใกล้ผลส�ำเร็จ มีความผิดฐานพยายามกระท�ำผิด) จ�ำเลยขับรถยนต์พุ่งเข้าใส่ต�ำรวจจราจร 2-3 คน ที่ด่านตรวจรถ ต�ำรวจ 2-3 คน กระโดดหลบหนีได้ทัน ดังนี้ ถือว่าการกระท�ำของจ�ำเลยใกล้ผลส�ำเร็จ คือ ความ ตายของต�ำรวจจราจรดังกล่าวแล้ว จ�ำเลยมีความผิดฐานพยายามฆ่าเจ้าพนักงาน ซึ่ง ปฏิบัติการตามหน้าที่ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289, 80 (ค�ำพิพากษาฎีกาที่ 1270/2526) (2).กระท�ำไปไม่ตลอด คือ ลงมือกระท�ำผิดแล้ว แต่กระท�ำไปไม่ตลอด ก็มีความผิดฐานพยายามกระท�ำ ความผิดแล้ว ตัวอย่าง หนึ่งจ้องปืนจะยิงสอง แต่สองตะโกนบอกว่า ตนชื่อสาม ไม่ใช่สอง หนึ่งจึงไม่ ยิงสอง ดังนี้ ถือว่าหนึ่งได้ลงมือกระท�ำผิดแล้ว แต่กระท�ำไปไม่ตลอด (คือไม่ได้ยิง) หนึ่ง จึงมีความผิดฐานพยายามฆ่าคนตายโดยเจตนา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80, 288 เพราะได้ลงมือกระท�ำผิดแล้ว แต่กระท�ำไปไม่ตลอด (เทียบค�ำพิพากษาฎีกาที่ 1451/2531) (3).กระท�ำไปตลอดแล้ว แต่การกระท�ำไม่บรรลุผล คือ ลงมือกระท�ำผิดไปตลอดแล้ว แต่การกระท�ำนั้นไม่บรรลุผลตามเจตนาของ ผู้กระท�ำผิด ตัวอย่าง หนึ่งใช้ปืนยิงสอง ถูกที่บริเวณท้อง 2 นัด แต่สองไม่ถึงแก่ความตาย เพราะแพทย์ รักษาบาดแผลไว้ได้ทัน ดังนี้ หนึ่งได้ลงมือกระท�ำผิดฐานพยายามฆ่าสองแล้ว เพราะหนึ่ง 174 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ได้กระท�ำไปตลอดแล้ว คือ ได้ยิงสองแล้ว แต่การกระท�ำไม่บรรลุผล คือ สองไม่ถึงแก่ ความตายสมดังเจตนาของหนึ่ง หนึ่งจึงมีความผิดฐานพยายามฆ่าคนตายโดยเจตนา ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80, 288 โทษของความผิดฐานพยายามกระท�ำผิด กฎหมายให้ลงโทษฐานพยายามกระท�ำผิด 2 ใน 3 ส่วนของโทษในความผิดนั้น คือ ถ้าท�ำผิดส�ำเร็จ ก็ลงโทษเต็มความผิดนั้น เช่น ความผิดฐานลักทรัพย์ ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 334 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี ถ้าจ�ำเลยกระท�ำผิดฐานลัก ทรัพย์ ศาลก็ลงโทษจ�ำคุกจ�ำเลยได้เต็ม 3 ปี แต่ถ้าจ�ำเลยกระท�ำผิดฐานพยายามลักทรัพย์ ศาลก็ลงโทษเพียง 2 ใน 3 ส่วนของโทษจ�ำคุก 3 ปี คือ ลงโทษฐานพยายามลักทรัพย์เพียง 2 ปีเท่านั้น

การตระเตรียมกระท�ำผิดและการพยายามกระท�ำผิด ซึ่งต้องรับโทษ เท่ากับความผิดส�ำเร็จ

หลักการกระท�ำผิดนั้น คิด ตกลงใจ ตระเตรียมการ และลงมือกระท�ำความผิด โดยหลักแล้วแค่คิด ตกลงใจ ตระเตรียมการ ยังไม่เป็นความผิด จะเป็นพยายามกระท�ำผิด ตั้งแต่ลงมือกระท�ำผิดเป็นต้นไป ถ้าลงมือกระท�ำผิดแล้ว แต่กระท�ำไม่ส�ำเร็จ ก็เป็นความ ผิดฐานพยายามกระท�ำผิด ถ้าท�ำผิดส�ำเร็จ ก็เป็นความผิดส�ำเร็จ เมื่อกระท�ำผิดส�ำเร็จก็รับโทษเต็มตามกฎหมายส่วนพยายามกระท�ำผิดก็รับโทษ เพียง 2 ใน 3 ของโทษความผิดนั้นเท่านั้น แต่มีคดีบางประเภทที่มีผลร้ายแรงต่อความ มั่นคงของประเทศชาติ กฎหมายบัญญัติให้ลงโทษผู้ตระเตรียมการ และพยายามกระท�ำ ผิดเท่ากับความผิดส�ำเร็จเลย ดังตัวอย่างฐานความผิดในประมวลกฎหมายอาญา ดังนี้ - พยายามลอบปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ ต้องรับโทษเท่ากับความผิดส�ำเร็จ คือ ประหารชีวิต (มาตรา 107) - พยายามประทุษร้ายต่อพระองค์ หรือเสรีภาพของพระมหากษัตริย์ ต้องรับ โทษเท่ากับความผิดส�ำเร็จ คือ ประหารชีวิต หรือจ�ำคุกตลอดชีวิต (มาตรา 108) - พยายามประทุษร้ายต่อพระองค์ หรือเสรีภาพของพระราชินี หรือรัชทายาท หรือต่อร่างกาย เสรีภาพของผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องรับโทษเท่ากับความผิด คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 175


ส�ำเร็จ คือ จ�ำคุกตลอดชีวิต หรือจ�ำคุกตั้งแต่ 16 ปี ถึง 20 ปี (มาตรา 110) - ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร ตั้งแต่มาตรา 119 ถึงมาตรา 127 เช่น ความผิดฐานท�ำให้ส่วนใดของไทย ตกไปอยู่ในอ�ำนาจอธิปไตยต่าง ประเทศ ท�ำให้เสื่อมเสียเอกราช ฐานรบ หรือเป็นข้าศึกของประเทศ ฐานล้วงความลับ ของประเทศ กระท�ำการเพื่อให้เกิดเหตุร้ายแก่ประเทศจากภายนอกประเทศ ความผิด ต่อความมั่นคงของรัฐจากภายนอกราชอาณาจักร ซึ่งเป็นความผิดร้ายแรงถึงกับท�ำให้เสีย ประเทศชาติได้นี้ กฎหมายจึงบัญญัติว่า ผู้ใดตระเตรียมการ หรือพยายามกระท�ำผิดใด ในประมวลกฎหมายอาญา จากมาตรา 119 ถึงมาตรา 127 ต้องรับโทษเท่ากับความผิดส�ำเร็จ (มาตรา 128) ตัวอย่าง หนึ่ง สอง สาม เตรียมการหาอาวุธและคนร้ายเพื่อเข้ายึดประเทศไทยให้เป็น ของต่างประเทศ ส่วนสี่ ห้า ลงมือกระท�ำผิดเข้ายึดประเทศไทย (ขั้นพยายามกระท�ำผิด) แต่ยึดประเทศไทยไม่ได้ ดังนี้ หนึ่ง สอง สาม สี่และห้า รับโทษเท่ากับกระท�ำผิดส�ำเร็จ ฐานร่วมกันกระท�ำให้เอกราชของไทยเสียไป ตามมาตรา 119 มีโทษถึงจ�ำคุกตลอดชีวิต หรือประหารชีวิต พยายามกระท�ำผิด ซึ่งไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ การพยายามกระท�ำผิดบางอย่าง ถึงจะพยายามอย่างไร ก็ไม่มีทางส�ำเร็จได้ ตัวอย่าง แดงใช้ปืนยิงด�ำ แต่ปืนนั้นใช้การไม่ได้ ถึงจะยิงอย่างไรก็ยิงไม่ได้ ด�ำไม่มีทางถูก กระสุนปืนตายอย่างแน่นอน แบบนี้เรียกว่าแดงมีความผิดฐานพยายามฆ่า แต่เป็นการ พยายามกระท�ำผิด โดยไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ ตัวอย่าง ปกติด�ำนอนอยู่ในมุ้งในบ้าน แต่วันเกิดเหตุด�ำไม่ได้อยู่ที่บ้านหลังนั้น แดงเจตนา ฆ่าด�ำ จึงใช้ปืนยิงเข้าไปในมุ้งด�ำที่ด�ำเคยนอนอยู่ โดยเข้าใจผิดว่าขณะนั้นด�ำนอนอยู่ใน มุ้ง ดังนี้ ถึงแดงจะยิงอย่างไร ด�ำก็ไม่ตายเพราะด�ำไม่ได้อยู่ที่นั่น ดังนี้ กฎหมายถือว่าเป็น ความผิดฐานพยายามฆ่า แต่เป็นความผิดฐานพยายามฆ่า ซึ่งไม่สามารถบรรลุผลได้อย่าง 176 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


แน่แท้ คือ แดงจะยิงอย่างไร ด�ำก็ไม่ตาย ความผิ ด ฐานพยายามกระท� ำ ผิ ด ซึ่ ง ไม่ ส ามารถบรรลุ ผ ลได้ อ ย่ า งแน่ แ ท้ นี้ กฎหมายเอาโทษน้อยกว่าการพยายามกระท�ำผิดโดยทั่วไป คือ เอาโทษเพียงไม่เกินกึ่ง หนึ่งของความผิดนั้น เช่น แดงเข้าไปกระทืบท�ำร้ายด�ำในมุ้งที่ด�ำเคยนอน แต่วันนั้นด�ำ ไปนอนที่อื่น แดงมีความผิดฐานพยามท�ำร้ายร่างกายด�ำ ที่ไม่อาจบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ ตามประ มวลกฎหมายอาญา มาตรา 80, 295 ซึ่งโทษฐานท�ำร้ายร่างกายมีโทษจ�ำคุกไม่ เกิน 2 ปี ศาลลงโทษแดงไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษฐานท�ำร้ายร่างกาย คือ จ�ำคุกแดงได้เพียง ไม่เกิน 1 ปี เพราะกฎหมายเอาโทษเพียงไม่เกินกึ่งหนึ่งของความผิดนั้นเท่านั้น สรุป โทษความผิดฐานพยายามกระท�ำผิดทั่วๆ ไป กฎหมายให้ลงโทษไม่เกิน 2 ใน 3 ของความผิดนั้น ถ้าเป็นความผิดฐานพยายามกระท�ำผิด ที่ไม่อาจบรรลุผลได้ อย่างแน่แท้ กฎหมายให้ลงโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของความผิดนั้น

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 177


นานาทัศนะ วันวิปโยคของคนไทย จากเหตุการณ์รุนแรงระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2553 ประชาชนที่มาชุมนุมทางการเมือง ถูกฆ่าตาย 99 คน บาดเจ็บประมาณ 2,000 คน มีทัศนะความเห็นจากบุคคลที่ส�ำคัญมากมาย... ลองพิเคราะห์ดู... พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

อดีตนายกรัฐมนตรี

“...แม้ ว่ าเราจะเสีย หายมาก เจ็บมาก แต่ . .. จะต้องเริ่มกันใหม่... คดีที่เกิดขึ้น จ�ำเป็นต้องใช้กระบวน การยุติธรรมที่เป็นขั้นตอน...ต้องอดทน ต้องใช้เวลา ตาม หลักกฎหมายปล่อยคนผิด 10 คน ดีกว่าลงโทษคนไม่ผิด 1 คน เราจะลงโทษคนไม่ผิดไม่ได้ คนผิดต้องถูกลงโทษอย่างที่ไลบีเรีย ผู้น�ำประชาชน ต้องขึ้นศาลโลกแล้ว แม้จะใช้เวลาหลายสิบปีก็ตาม...พี่น้องต้องอดทน...ใจเย็นเย็น...” (พ.ต.ท.ทักษิณฯ วีดีโอลิ้งก์ มายังกลุ่ม “นปช.” ชุมนุมร�ำลึกครบ 2 ปี ที่เวทีราชประสงค์ วันที่ 19 พฤษภาคม 2555)

ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บ�ำรุง รองนายกรัฐมนตรี

“...ทหารให้การว่า ออกมาปฏิบตั ภิ ารกิจเดือน เม.ย. – พ.ค.2553 ตามค�ำสั่งของศูนย์อ�ำนวยการแก้ไขสถานการณ์ ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ซึง่ อยูใ่ นความรับผิดชอบของนายอภิสทิ ธิ์ นายกฯ ในขณะนั้นและนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกฯ ในฐานะผู้อ�ำนวยการ “ศอฉ.” 178 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ส่วนที่นายอภิสิทธิ์ เข้าใจผิดว่าแทรกแซง ชี้น�ำพนักงานสอบสวนนั้น ร.ต.อ.เฉลิม ยืนยันว่าไม่ใช่ เพราะคนชี้น�ำ คือ พนักงานอัยการที่ร่วมสอบสวนชันสูตรพลิกศพ ย�้ำด้วยว่าเรื่องที่เกิดขึ้น มันมีเหตุ ไม่ใช่อยู่ดีๆ รัฐบาลหยิบเรื่องนี้ขึ้นมา แต่รัฐบาล ที่ผ่านมาท�ำช้า รัฐบาลชุดนี้ ท�ำเร็วและตรงไปตรงมา ไม่ใช่เรื่องการเมือง มันเป็นเหตุ ฆาตกรรมจะไปยกโทษให้ไม่ได้ พร้อมให้ข่าวส�ำทับอีกว่า ต�ำรวจญี่ปุ่นส่งส�ำนวนการสืบสวนการตายของ นาย ฮิรายูกิ มูราโมโตะ ช่างภาพประจ�ำส�ำนักข่าวรอยเตอร์ จ�ำนวน 60 หน้า ซึ่งรอยเตอร์ได้ว่า จ้างนักสืบสากลสืบสวนคดี “ตอนนี้คงบอกไม่ได้ว่า ส�ำนวนของการทางญี่ปุ่นชี้ชัดว่า ใคร ผิด แต่เอาง่ายๆ สรุปว่าเป็นการตาย โดยการกระท�ำของเจ้าหน้าที่รัฐ มีพยานบุคคล 5-6 ปาก พยานนิติวิทยาศาสตร์ และยืนยันว่า ไม่มีชายชุดด�ำ หากจะมีก็เป็นชายชุด ด�ำที่มาจาก ศอฉ. เป็นชายชุดด�ำทีอ่ ดีต ผอ.ศอฉ. นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ย�ำ้ แล้วย�ำ้ อีกว่า มีอยูจ่ ริง...” (ข้อมูล - ข่าวสด - 11 ธันวาคม 2555)

นายจาตุรนต์ ฉายแสง อดีตรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย

“ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น เรารู้กันโดยทั่วไปว่า นายอภิสิทธิ์ ในฐานะผู้บังคับบัญชาสูงสุด และนายสุเทพ ในฐานะ ผอ.ศอฉ. เป็นผู้ตัดสินใจสั่งการให้เกิดการด�ำเนินการต่างๆ ในเหตุการณ์ สลายการชุมนุม ช่วงเดือน เม.ย. – พ.ค.2553 โดยเหตุสลายการชุมนุมดังกล่าว ไม่เป็นไปตามหลักปฏิบัติสากล ไม่มีการด�ำเนิน การที่เป็นขั้นตอน ด�ำเนินการเกินกว่าเหตุ มีการข้ามขั้นโดยใช้อาวุธสงครามร้ายแรงเพื่อ สลายการชุมนุม จนน�ำไปสู่ความสูญเสียกระทั่งมีผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บจ�ำนวนมาก นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบในฐานะผู้สั่งการ เรื่องนี้จะต้องขึ้นอยู่กับการตรวจสอบของกระบวนการยุติธรรมอีกครั้งหนึ่งด้วย นายอภิสิทธิ์และนายสุเทพจะมีความผิดตามกฎหมายหรือไม่ ต้องมาพิสูจน์กันอีกว่า การ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 179


สั่งการของบุคคลดังกล่าวน�ำไปสู่ความสูญเสียที่เกิดขึ้นหรือไม่ แต่ส่วนตัวมองว่า เหตุการณ์การชุมนุมเฉพาะวันที่ 10 เม.ย.53 ก็ชัดเจนแล้ว ว่า ทั้งนายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพมีความผิด ยากที่จะหลีกเลี่ยงแก้ข้อกล่าวหานี้ไปได้ อย่างไรก็ตาม ต้องให้โอกาสทุกฝ่ายได้ชี้แจงและว่ากันไปตามกระบวนการ ยุติธรรม...” (ข้อมูล – ข่าวสด - 23 พฤศจิกายน 2553)

นายอภิสิทธ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี ผู้ต้องหา คดีฆ่าประชาชน

“...มี ค นวางแผนเป็ น ขั้ น ตอนที่จะยัดเยียดให้ผม เป็น“ฆาตกรสัง่ ฆ่าประชาชน” “สงครามเต็มรูปแบบ เกิดที่สี่แยกคอกวัว... มีชาย ชุดด�ำแฝงตัวอยู่ในที่ชุมนุม ใช้คนเสื้อแดงที่บริสุทธิ์เป็นเกราะก�ำบังโจมตีทหาร จนเกิด การสูญเสียชีวิต ทั้งทหาร และประชาชน...” (Facebook ของนายอภิสิทธิ์ – 12 มิถุนายน 2554) “...ความสูญเสีย ระหว่างวันที่ 14 – 18 พฤษภาคม ไม่ได้เกิดจากการที่มีใครสั่ง ฆ่าประชาชน แต่มีกลุ่มคนติดอาวุธโจมตีด่าน ท�ำให้เกิดการปะทะกัน...” “...ผมไม่สามารถฟันธงได้ว่า 6 ศพ ที่วัดปทุม เป็นฝีมือใคร แต่ผมถามว่ามี เหตุผลอะไร ที่เจ้าหน้าที่จะจงใจยิงประชาชน เมื่อการชุมนุมสิ้นสุดแล้ว ผมเชื่อว่าความสูญเสียที่เกิดขึ้น อาจเป็นผลของการปะทะ หรือการฉวยโอกาส ของกลุ่มติดอาวุธที่แฝงตัวอยู่...” “หลังเหตุการณ์ผา่ นไปหนึง่ ปี มีกระบวนการทีต่ งั้ ธงว่า...“ผมเป็นฆาตกร”...” (Facebook ของนายอภิสิทธ์ – 16 มิถุนายน 2553) “...รัฐบาลผม ได้ด�ำเนินการทั้งหมดในช่วงที่มีการชุมนุมที่ผิดกฎหมาย และมี กองก�ำลังติดอาวุธแฝงอยู่นั้น ไม่ได้มีค�ำสั่งใด เป็นใบอนุญาตให้ฆ่าประชาชน...” “...หากศาลจะตัดสินให้ประหารชีวิตและคุณสุเทพจากคดีนี้ เราก็พร้อมที่จะ 180 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


น้อมรับ เพราะเราเป็นนักการเมืองที่มีความผิดชอบต่อประชาชน...” (Facebook ของนายอภิสิทธ์ – 16 ธันวาคม 2555)

นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ ผอ. “ศอฉ.” ผู้ต้องหาคดีฆ่าประชาชน

“...ผมขอยืนยันว่า เหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ ป็นค�ำสัง่ ของผม ในฐานะ ผอ.ศอฉ.นั้น นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายก รัฐมนตรี ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องแต่อย่างใด” “ส่วนสาเหตุการบาดเจ็บล้มตายของประชาชนและเจ้าหน้าที่มาจากผู้ก่อการ ร้ายชายชุดด�ำ” “อ้างว่าสั่งการในอ�ำนาจหน้าที่ และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามขอบเขตของกฎหมาย เพราะขณะนั้นมีผู้ใช้อาวุธท�ำร้ายเจ้าหน้าที่ จึงต้องป้องกันตัวและควบคุมสถานการณ์ ซึ่งเป็นที่มาของการตั้ง ศอฉ.” “การปฏิ บั ติ ง านของเจ้ า หน้ า ที่ ต ามค� ำ สั่ ง ของตนก็ ท� ำ งานอยู ่ ภ ายใต้ ก รอบ กฎหมาย และ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ที่มีคนไปอ้างว่า การปฏิบัติการดังกล่าว ท�ำให้มีผู้เสียชีวิต ไม่เป็นความจริง...” “ยืนยันว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติตามค�ำสั่งของผม ท�ำงานอย่างถูกกฎหมายทุกอย่าง ไม่มีเหตุรุนแรงที่เกิดจากเจ้าหน้าที่ แต่วันนี้ผมได้ให้ภาพถ่ายกับต�ำรวจ ที่เป็นชายชุดด�ำ ซึง่ เป็นผูก้ อ่ การร้ายเข้ามาก่อการเป็นเหตุให้ประชาชนต้องบาดเจ็บล้มตายจ�ำนวนมาก” (ค� ำ ให้ ก ารของนายสุเ ทพต่อพนัก งานสอบสวน เมื่ อ วั นที่ 8 ธั นวาคม 2555 ข้อมูล – ข่าวสด – 11 ธันวาคม 2555)

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 181


นายถาวร เสนเนียม รองหัวหน้าพรรค ปชป.

นายถาวร เสนเนียม รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า พฤติกรรมของนายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีดเี อสไอ พร้อม พวก ส่อกระท�ำผิดกฎหมายเพราะกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบ ปรามการทุจริต ระบุวา่ อ�ำนาจการสอบสวนการใช้อำ� นาจของข้าราชการหรือนักการเมือง ดีเอสไอ สามารถรับส�ำนวนไว้ 1 เดือน จากนั้นต้องส่งให้คณะกรรมการป้องกันและปราบ ปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) ด�ำเนินการสืบสวนสอบสวนเพื่อส่งเรื่องให้อัยการ แต่ นายธาริตท�ำเป็นไม่รู้กฎหมาย เพื่อดึงเกมการด�ำเนินคดีของทั้งสองคนให้อยู่อ�ำนาจของ ตัวเองให้นานที่สุด และให้คดีนี้อยู่ยาวที่สุด” “ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 ระบุไว้ว่า ผู้ใดจ�ำต้องกระท�ำการใด เพื่อ ป้องกันสิทธิของตนหรือผู้อื่นให้พ้นจากอันตรายที่เกิดจากการประทุษร้าย และละเมิดต่อ กฎหมายและเป็นภัยอันตรายที่ใกล้จะถึง ผู้นั้นไม่มีความผิด ซึ่งปี 2553 เป็นการชุมนุม ที่ผิดกฎหมาย เผาบ้านเผาเมือง ดังนั้น การกระท�ำของ ศอฉ. เป็นการกระท�ำที่ชอบด้วย กฎหมาย ไม่มีความผิด การที่นายธาริต แจ้งข้อหาต่อนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ เป็นการ ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะหัวหน้าพนักงานสอบสวนโดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 200 มีโทษจ�ำคุกตลอดชีวิต” “วันนี้ ความผิดของนายธาริตส�ำเร็จ เพราะแจ้งข้อหากับประชาชนที่ไม่มีความ ผิด และยิ่งส�ำเร็จมากขึ้น เมื่อรับตัวสองคนเป็นผู้ต้องหา หลังจากนี้นายธาริตต้องเตรียม ตัวเข้าคุก ขณะเดียว กัน มาตรา 17 ของ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน พนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอ�ำนาจ ตาม พ.ร.ก.นี้ ไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา หรือทางวินัย เนื่องจากปฏิบัติ หน้าที่ในการระงับ หรือป้องกันการกระท�ำที่ผิดกฎหมาย (ข้อมูล – มติชน – 14 พฤศจิกายน 2555)

182 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


นายชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต โฆษกพรรคประชาธิปัตย์

“คดีนี้มีการตั้งธงเอาไว้แล้วว่าจะเอาคนผิด คนสั่ง การในศอฉ.การไต่สวนของศาลที่ว่า นายพัน ตายจากฝีมือ เจ้าหน้าที่รัฐ ที่ปฏิบัติตามค�ำสั่ง ศอฉ. ก็ยืนยันได้ว่า ไม่มีค�ำ สั่งของศอฉ.ฉบับไหนให้ทหารออกไปฆ่าประชาชน มีแต่ค�ำสั่งให้รักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง จะตีเจตนาว่าเป็นการเล็งเห็นผล ไม่ได้ ทั้งหมดเป็นความพยายามใช้กระบวนการยุติธรรมมาบิดเบือน หวังกดดันให้พรรค ฝ่ายค้านยอมรับกระบวนการปรองดองและการนิรโทษกรรม” นายชวนนท์ กล่าวพร้อม ยืนยันว่า ทั้งนายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ พร้อมต่อสู้ตามกระบวนการเพื่อพิสูจน์ความ บริสุทธิ์ของตัวเอง ไม่คิดหนีไปไหน...” (ข้อมูล – วันที่ 7 ธันวาคม 2555)

นายถวิล เปลี่ยนศรี อดีตเลขานุการ ศอฉ.

“...ยืนยันได้ว่า ศอฉ.ไม่มีค�ำสั่งสลายการชุมนุม แต่ให้ เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารตั้งด่านที่สี่แยกราชประสงค์ เป็นด่านที่อยู่ กับที่ ห้ามเคลื่อนที่เข้าไปพื้นที่ชุมนุม มีการตัดสิ่งอ�ำนวยความ สะดวก น�้ำ ไฟฟ้า โทรศัพท์ เพื่อให้การชุมนุมฝ่อลงและเลิกไปเอง แม้จะรอบคอบก็มีเหตุ ท�ำให้มีผู้เสียชีวิต แต่การตายไม่ได้เกิดจากเจ้าหน้าที่ลุแก่อ�ำนาจบุกลุยเข้าที่ชุมนุม แต่ เป็นผู้ชุมนุมเข้ามาก่อกวนและขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่และโจมตีเจ้าหน้าที่...”

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 183


นายวีระกานต์ มุสิกพงศ์ อดีตประธาน นปช. (คนเสื้อแดง)

“มึงจะท�ำรุนแรง มึงมาท�ำกะไอ้แกนน�ำนี่ ยืนรับมึงอยู่ ทุกเวลานาที อย่าให้พี่น้องเขาเดือดร้อน แล้วนึกว่ายุทธวิธีแบบ นี้ จะท�ำให้พี่น้องแตกฉานซ่านเซ็นกลับบ้าน เป็นไปได้ แต่จะ บอกให้รู้ไว้ว่า ไฟจะลุกท่วมทั่วตารางนิ้วของประเทศไทย” (ปราศรัยเวทีสะพานผ่านฟ้าลีลาศ 23 มีนาคม 2553)

นางธิดา โตจิราการ ประธาน นปช. (คนเสื้อแดง)

“...ไม่สนใจการเคลือ่ นไหว โดยสันติวธิ ี จนในทีส่ ดุ เขาก็ ใช้กำ� ลังทหาร เข้ามาปราบประชาชน ดังนั้น เหตุการณ์วันที่ 10 เม.ย.53 จึงเป็นการตัดสิน ใจของนายอภิสิทธิ์ ในการสั่งทหารมาจัดการกับการเมือง โดย ทีคิดว่าให้ใช้อาวุธจริง โดยไม่บอกว่าจบเมื่อไหร่ กระทั่งเหตุการณ์บานปลายรุนแรงมาถึง วันที่ 19 พ.ค.53 ทั้งที่ไม่ใช่ความผิดของคนเสื้อแดงเลย แต่เป็นเพราะความมุ่งมั่นของ รัฐบาลที่จะปราบปรามเรา และไม่สนใจว่าสิ่งที่ท�ำ ถูกหรือผิด ประชาชนมาอย่างสันติ และอยู่ในที่ที่เปิดเผย แต่เป็นความผิดของรัฐบาล เป็นหลักเต็มๆ คนมีอำ� นาจ ไม่ยอมออกจากอ�ำนาจ เห็นคนมามากก็ทำ� เหมือนไม่มอี ะไรเกิดขึ้น..” “...คดีนี้จะเป็นบรรทัดฐานต่อไปว่า การประกาศใช้ ก� ำ ลั ง และอาวุ ธ จริ ง กับ ประชาชน โดยมุ่งหวังให้เกิดการตาย หรือให้เกิดการเข็ดหลาบเพื่อหวังสลายการชุมนุม ไม่ควรเกิดขึ้นอีก เหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกัน เช่น 14 ตุลา 16, 16 ตุลา 19 เป็นการสั่งการ โดยตรงของทหาร ซึ่งเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับนายกฯ ที่เป็นทหาร แต่ไม่เคยมีใครได้ รับโทษ เพราะเมื่อมีใครท�ำคดีขึ้นมา ก็จะถูกรัฐประหาร 184 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


นายอภิสิทธิ์ จึงถือเป็นอดีตนายกรัฐมนตรีฯ คนแรก ที่ถูกตั้งข้อหาดังกล่าว แต่เนื่องจากเป็นพลเรือน คาดว่าการช่วยเหลือโดยการรัฐประหาร อาจเป็นไปไม่ได้ แต่คง มีกระบวนการอื่นเข้ามาช่วย” (ข้อมูล – ข่าวสด – 8 ธันวาคม 2555)

นายจตุพร พรหมพันธุ์ (แกนน�ำ “นปช.)

“คนที่สั่งฆ่าประชาชน ต้องถูกด�ำเนินคดี) “...ทั้งหมดหลักคิดได้มาจากตัวเองอ�ำมหิต คนที่บอก ว่าเป็นนักประชาธิปไตย ถ้าจิตใจไม่เหี้ยมเกรียม ไม่กล้าจัดตั้ง รัฐบาลในค่ายทหาร นักประชาธิปไตยมันมีเกียรติ ไปตั้งรัฐบาล ในค่ายทหารไม่ได้ และการฆ่าคนเมื่อปี 2552 การสร้างสถานการณ์และข่าวบิดเบือน เห็นผลปี 53 ก็คิดว่าฆ่าครั้งนี้ ฆ่าใหญ่กว่า ฆ่าเพื่อก�ำราบไปตลอดกาล คือ ต่อไปนี้เป็น นิจนิรันดร์ จะไม่มีประชาชนโงหัวออกมาได้อีก แต่เขาก็รู้สัจธรรมว่า ยิ่งฆ่าเท่าไหร่ ประชาชนยิ่งเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น ไม่เคยมีผู้มีอ�ำนาจใด ได้อ�ำนาจมาด้วยการฆ่าหรือรักษาอ�ำนาจด้วยการฆ่า แล้วจะครองอ�ำนาจอยู่ได้ สงครามจบลงด้วยสันติภาพ สุดยอดของนักรบ คือ ไม่รบ สุดยอดของนักฆ่า คือ ไม่ฆ่า คือ ความเมตตา...”

นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนน�ำ “นปช.”

“เราได้ใช้เลือดเนื้อ และชีวิตของตัวเอง เขียนประวัติศาสตร์ของประเทศขึ้นใหม่...” ในเมื่อเราชนะเลือกตั้งมาตลอด ท�ำไมถึงต้องไปชุมนุมกดดันเขา ท�ำไมไม่รอ การเลือกตั้ง “...เกียรติยศ ศักดิ์ศรีของประเทศ มันไม่ควรมีรัฐบาลที่มีที่มานอกระบบแบบนี้ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 185


ถ้าคุณอภิสิทธิ์เป็นนักการเมือง เป็น ส.ส.ที่ได้รับคะแนนโหวตมากที่สุดในสภาให้ได้เป็น นายกฯ ถ้าเหตุการณ์มันมีเท่านี้ เราจะมีความชอบธรรมอะไรไปขับไล่ แต่การเป็นนายกฯ ของคุณอภิสิทธิ์ มันเป็นเรื่ อ งเดี ย วกั น กั บ ความขั ด แย้ ง ใหญ่ของประเทศเป็นเรื่องเดียวกันกับการโค่นล้มพ.ต.ท.ทักษิณ ขบวนการรัฐประหาร ขบวนการโค่นล้มรัฐบาลคุณสมัคร สุนทรเวช คุณสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ขบวนการสอง มาตรฐาน เพื่อช่วยเหลือผู้คน หรือขบวนการที่เป็นเครื่องมือในการโค่นล้มรัฐบาลเลือก ตั้งชุดต่างๆ และน�ำไปสู่การตั้งคุณอภิสิทธิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ดังนั้น สิ่งที่เกิดขึ้นแบบนี้ ประชาชนเขารอคอยไม่ไหว ...น่าจะถามคุณอภิสทิ ธิว์ า่ “คุณรับต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยวิธกี ารแบบนี้ได้ ยังไง” ท�ำไมพรรคประชาธิปัตย์ไม่พยายามท�ำนโยบาย ไม่พยายามท�ำบทบาทการเมือง ให้เป็นที่ยอมรับ แล้วไปเอาชนะในสงครามการเลือกตั้ง ถ้าคุณอภิสิทธิ์ตอบค�ำถามนี้เสียก่อน จะไม่มีการสูญเสีย จะไม่มีความรุนแรง ที่ผ่านมา เพราะนักการเมืองในระบอบประชาธิปไตย จะรับอ�ำนาจวาสนาบารมีด้วย วิธีการที่คุณอภิสิทธิ์ท�ำไม่ได้...”

เกิดอะไรขึ้น ในวันที่ 10 เมษายน 2553

“มีการใช้กำ� ลังทหารพร้อมอาวุธสงครามครบมือ บรรจุกระสุนจริงและยุทโธปกรณ์ ทั้งรถหุ้มเกราะต่างๆออกมาเพื่อสลายการชุมนุมในพื้นที่เวทีผ่านฟ้า เหตุการณ์เริ่มช่วง บ่าย มีการใช้ก�ำลังทหารทุกทิศทางและเพิ่มจ�ำนวน สถานการณ์ตึงเครียดมากขึ้น มีการ ใช้เฮลิคอปเตอร์ โยนแก๊สน�้ำตามาที่หน้าเวทีชุมนุมและโยนลงไปบนเวที ผมลงจากเวทีราชประสงค์ รีบเดินทางไปที่เวทีผ่านฟ้า ไปถึงในช่วงมืดก็ได้ยิน เสียงปืนดังมาหลายทิศทาง เลยวิ่งไปหลังเวทีก่อน เรียกแกนน�ำมาสรุปสถานการณ์ ทราบ ว่ามีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บแล้วหลายราย และยังทราบว่ามีการยิงมาจากระยะไกล ที่ เข้าใจได้ว่าเป็นการยิงปืนติดล�ำกล้องหรือสไนเปอร์ จนมีประชาชนถูกยิงที่ศีรษะ และ อวัยวะส�ำคัญหลายราย”

ท�ำไมหลัง 10 เมษายน นปช. ไม่ยุติการชุมนุม เพื่อรักษาชีวิตประชาชน

“การรักษาชีวิตผู้คน หมายถึง หน้าที่ที่รัฐบาลขณะนั้นต้องให้ความส�ำคัญเป็น

186 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


อันดับหนึ่ง จึงจ�ำเป็นที่รัฐบาลต้องทบทวนว่า ท�ำอะไรลงไป ผมสามารถชุมนุมได้ 3 เดือน 6 เดือน โดยไม่เกิดการสูญเสีย หากรัฐบาลไม่สั่งก�ำลังออกมา แต่สิ่งที่ปรากฏ คือ ผู้มี อ�ำนาจขณะนั้น... วางแผนยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีทางการทหาร 100% จนน�ำมาสู่การ ปิดล้อมอีกครั้ง นั้นหมายความว่า นายกฯ ขณะนั้น เลือกใช้ปฏิบัติการทางทหารเต็มรูปแบบ จึงเท่ากับว่ามองประชาชนเป็นเพียงศัตรูที่ต้องจัดการด้วยก�ำลังให้ได้ หากหลังวันที่ 10 เมษายน นายอภิสิทธ์ แสดงความรับผิดชอบต่อสถานการณ์ แล้วยุติบทบาทการ บริหารของตัวเองไม่ว่าจะลาออก หรือยุบสภา สถานการณ์จะค่อยๆ คลี่คลายลง” “เมือ่ เห็นว่า รัฐบาลไม่ยตุ ปิ ฏิบตั กิ ารแน่ๆ แกนน�ำจึงประกาศยุตกิ ารชุมนุมและ บอกให้พนี่ อ้ งเดินไปสนามศุภชลาศัย เพราะมีการบอกกันว่าฝ่ายรัฐบาลจะน�ำรถมารับกลับ ภูมิล�ำเนา แต่เหตุการณ์ไม่ได้เป็นอย่างนั้น มีการไล่ยิง กดดันต่างๆ จนพี่น้องจ�ำนวน มากต้องวิ่งไปหลบในวัดปทุมวนาราม จนเกิด 6 ศพ ในที่สุด” (ข้อมูล – โลกวันนี้ – 22 ธันวาคม 2555)

นางพะเยาว์ อัคฮาด มารดา น.ส.กมนเกด อัคฮาด (น้องเกด) อาสาพยาบาล ถูกยิงเสียชีวิตในวัดปทุมวนาราม

“...ประชาชนเป็น “เหยื่อ” มาทุกยุคทุกสมัย ไม่ว่านักการเมืองจะขัดแย้งกันเอง ประชาชนก็ต้องเป็น ตัวประกัน ได้รับความเจ็บช�้ำทุกครั้ง...ต้องการให้เป็น ประวัติศาสตร์ของประเทศว่า ผู้สั่งการ ผู้น�ำกองทัพทั้ง หลายที่เข่นฆ่าประชาชนต้องถูกลงโทษ... ดิฉันขอค้านการนิรโทษกรรมหัวชนฝาเลย...” (กล่าวเมื่อครบ 2 ปี เหตุการณ์ฆ่าประชาชน 99 ศพ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2555) “การตายของน้องเกดและหกศพ เป็นการกระท�ำของเจ้าหน้าที่รัฐแต่ไม่ยอมรับ เพราะกลัวคนจะว่าเป็นการกระท�ำของเจ้าหน้าที่ของรัฐ... กลัวคนจะว่าทหารยิง คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 187


ประชาชน... ที่เห็นชัดเจน คือ หกศพถูกฆ่าในวัด คือ เรื่องจริง...” (ข้อมูล – Red Power – สิงหาคม 2555) “ดีใจที่คดีคืบหน้า เหตุการณ์นี้มีคนตายเกือบร้อยคน เป็นเรื่องใหญ่มาก ต้องการ เห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องถูกด�ำเนินคดี ตั้งแต่ผู้สั่งการจนถึงผู้ปฏิบัติ” “สมควรแล้วที่นายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ถูกตั้งข้อหา เพราะเป็นผู้มีอ�ำนาจ สูงสุด และออกค�ำสั่ง อย่างไรก็ตามอยากให้เอาผิดเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติการด้วย จะมาอ้าง ว่าท�ำตามค�ำสั่งและไม่รับผิดชอบต่อเหตุการณ์คงไม่ได้” “หวังว่าทุกคนที่กระท�ำผิดจะถูกด�ำเนินคดี และรับโทษที่เคยก่อเอาไว้ เพื่อความ ยุติธรรมต่อผู้เสียชีวิต” (ข้อมูล – ข่าวสด – 8 ธันวาคม 2555)

นายผัน ค�ำกอง พี่ชายนายพัน ค�ำกอง ผู้ตาย

“...ค�ำตัดสินของศาลที่ระบุว่า น้องผมเสียชีวิตจากการกระ ท�ำของเจ้าหน้าที่ ถือว่าเป็นความยุติธรรมที่มีให้กับน้องชาย และครอบครัวของผม ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา นับจากเขาเสียชีวิต ผมพร้อม กับญาติคนอื่นๆ พยายามติดตามทวงถามหาความยุติธรรม มาโดยตลอด จนมาถึงวันนี้ก็ดีใจที่ผลตัดสินออกมา ที่ผ่านมารัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีนายอภิสิทธิ์ เป็นนายกฯ ตอนนั้น และ มีนายสุเทพ รองนายกฯ ในฐานะผู้อ�ำนวยการ ศอฉ. พยายามโยนความผิดให้กลุ่มชาย ชุดด�ำมาโดยตลอดว่า เป็นคนฆ่าประชาชน ทั้งๆ ที่ตั้งแต่เกิดเหตุ ยังไม่มีหน่วยงานใด จับกุมตัวชายชุดด�ำมาด�ำเนินคดีได้แม้แต่รายเดียว ที่พนักงานสอบสวนออกหมายเรียกนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพมารับทราบข้อ กล่าวหาดังกล่าว ถือว่าถูกต้องแล้ว ผมเชื่อว่าการออกหมายเรียกดังกล่าว ไม่ใช่เรื่อง การเมือง เพราะความจริงก็คือความจริง 188 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


วันที่ 13 ธ.ค.ที่จะถึงนี้ ผมอยากไปดูหน้าทั้งนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ อยากให้ เขาขอโทษญาติผู้เสียชีวิต พวกผมไม่ต้องการอะไรมากไปกว่านี้ เพราะตั้งแต่เกิดเหตุ ทั้งคู่ ไม่เคยขอโทษเลย...” (ข้อมูล – ข่าวสด – 10 ธันวาคม 2555)

พล.ต.อ.จงรัก จุฑานนท์ รอง ปธ.กมธ.ยุติธรรมฯ วุฒิสภา

“...คดีนายพัน ค�ำกอง ที่ศาลไต่สวนว่าผู้ตายเสียชีวิต เพราะการกระท�ำของเจ้าหน้าที่รัฐนั้น เป็นหน้าที่ของดี เอสไอ ที่ต้องสืบสวนสอบสวนว่า เจ้าหน้าที่ผู้นั้นเป็นใคร ? เหตุใด ? จึงใช้อาวุธปืนยิงผู้ตาย ถ้าได้ความว่าเจ้าหน้าที่ที่ยิงผู้ตายเสียชีวิต เป็นการปฏิบัติตามค�ำสั่งของผู้สั่งการ ไม่ใช่ยิงด้วยความโกรธแค้นส่วนตัว ดีเอสไอจะต้องสืบสวนต่อว่า ใครเป็นผู้สั่งการและสั่ง การโดยอาศัยอ�ำนาจอะไร ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉิน และปัญหาก็มีต่อไปว่า เมื่อมีการสั่งสลาย การชุมนุมออกไปแล้ว จะคุ้มครองผู้สั่งการได้เพียงใด ไม่ว่าจะอ้างตัวบทกฎหมายใดก็ตาม ไม่มีบทบัญญัติใด ที่ให้อ�ำนาจเจ้าหน้าที่ ไปฆ่าคน ทุกคนต้องอยู่ภายใต้บังคับประมวลกฎหมายอาญาทั้งสิ้น โดยเฉพาะมาตรา 68 ที่ระบุว่า จะกระท�ำต่อประชาชนได้ต่อเมื่อเป็นการป้องกัน ตัว เช่น จ�ำต้องยิง เพราะกลัวถูกเขายิงก่อน เป็นต้น และตามมาตรา 17 พ.ร.ก.ฉุกเฉิน มีข้อก�ำหนดเช่นกันว่าจะต้องเป็นการกระท�ำที่สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติและไม่เกินสมควร แก่เหตุ หรือเกินแก่จ�ำเป็น ถ้าเป็นเช่นนี้จะไม่ต้องรับผิด กรณีการแจ้งข้อหาฐานร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนโดยเจตนาและเล็งเห็นผล แสดง ว่ามีการกระท�ำเกินเลยจนถึงขั้นเป็นการฆ่าผู้อื่นได้ หลักฐานน่าจะชัดเจน อีกทั้งในช่วงเหตุการณ์ดังกล่าว ก็มีการประกาศใช้เขตกระสุนจริง ผู้สั่งการแบบ นี้ก็อาจยิ่งมีความผิดได้อีก เพราะประกาศไปทั้งๆ ที่รู้ว่าเป็นกระสุนจริง ท�ำให้คนตายได้ ถือว่าเจตนาเล็งเห็นผลทั้งสิ้น คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 189


ซึ่งการตั้งข้อหาเช่นนี้ เป็นเรื่องปกติของกระบวนการยุติธรรม โดยศาลก็เคย วินิจฉัยเป็นบรรทัดฐานไว้หลายคดีแล้ว ไม่มีเว้นประชาชนคนใด แม้แต่คดียิงบนรถเมล์ แม้ไม่มีเจตนาโดนผู้อื่น แต่ศาลก็ยังพิพากษาเจตนาฆ่าคน ตายโดยเจตนาเล็งเห็นผลแล้ว (ข้อมูล – ข่าวสด – 8 ธันวาคม 2555)

พวงทอง ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

“ประเด็นที่บีบีซี พยายามตอกย�้ำ คือ นายอภิสิทธิ์ จะแสดงความรับผิดชอบต่อการบาดเจ็บและเสียชีวิตที่เกิด ขึ้นจากการสลายการชุมนุม ปี 2553 อย่างไร แต่นายอภิสิทธิ์กลับบอกว่า การใช้ก�ำลังของเจ้า หน้าที่เกิดจากผู้ชุมนุมมีอาวุธ และมีกลุ่มชายชุดด�ำ พูดง่ายๆ คือ ความรุนแรงทั้งหมด เริ่มต้นมาจากผู้ชุมนุม แต่ประเด็นที่นายอภิสิทธิ์ต้องตอบ คือ ท�ำไมในตัวผู้เสียชีวิต จึงไม่พบหลักฐาน ว่ามีอาวุธที่จะท�ำร้ายเจ้าหน้าที่ได้ หลายคนไม่เกี่ยวข้องกับการชุมนุมเลยด้วยซ�้ำ สิ่งที่เกิด ขึ้นเป็นเพราะรัฐบาลท�ำเกินกว่าเหตุหรือไม่ กรณีที่มีผู้ไม่เกี่ยวข้องกับการชุมนุมเสียชีวิต ยิ่งท�ำให้เห็นชัดเจนว่าเจ้าหน้าที่ ใช้ก�ำลังเกินกว่าเหตุไม่ใช่การตายที่เกิดจากความโชคร้าย แต่เป็นการตายที่เกิดจากการ อนุญาตให้ใช้กระสุนจริงอย่างกว้างขวาง” “ในค�ำสัมภาษณ์ นายอภิสิทธิ์พยายามจะบอกว่า การตอบโต้ของเจ้าหน้าที่ เป็นการป้องกันตนเอง ระหว่างที่ตอบค�ำถามนี้ บีบีซีตัดฉากไปที่ภาพเจ้าหน้าที่ทหาร ยืนเรียงหน้ากระดาน เล็งอาวุธแนวระนาบ ซึ่งลักษณะเช่นนี้ไม่ใช่การป้องกันตนเอง” “และการเบิกกระสุนจริงกว่า 2 แสนนัด มาควบคุมผู้ชุมนุมก็ไม่มีรัฐบาล ที่ไหนท�ำ นายอภิสิทธิ์ปฏิเสธความรับผิดชอบ ทั้งที่ชัดเจนมากว่าผู้ชุมนุมไม่มีอาวุธ” “กรณีอ้างรายงานของ คอป.ว่า มี 20 กรณีที่ผู้เสียชีวิตเกิดจากการกระท�ำของ 190 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ฝ่ายผู้ประท้วงซึ่งมีอาวุธนั้น หากนายอภิสิทธิ์กลับไปอ่านรายงานของ คอป.โดยละเอียด จะเห็นว่า คอป.ระบุว่า หลายจุดพบกระสุนยิงมาจากแนวทหาร และรายงานของ คอป.ก็ไม่ได้บอกว่า มีใครบ้างที่เสียชีวิตจากชายชุดด�ำ ถ้าเป็น ไปได้ อยากให้นายอภิสิทธิ์กลับไปอ่านรายงานชิ้นนี้ใหม่” “ส่วนที่พูดว่าไม่มีที่ไหนที่นายกฯ จะต้องมารับผิดชอบกับปฏิบัติการใดๆ นั้น ส่วนตัวมองว่า เป็นเพราะที่ผ่านมา สังคมไทยคุ้นเคยกับการปล่อยให้ผู้มีอ�ำนาจท�ำผิด แล้วไม่ต้องรับโทษ ซึ่งเราต้องช่วยกันท�ำลายวิธีคิดแบบนี้” “แล้วที่บอกว่า ถ้าตนต้องรับโทษ พ.ต.ท.ทักษิณต้องกลับมารับโทษด้วยนั้น เป็น คนละเรื่อง ไม่เกี่ยวกัน ไม่สามารถจะมาอ้างทดแทนกันได้” (ข้อมูล – ข่าวสด – 13 ธันวาคม 2555)

นายศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ นักวิชาการอิสระ

“...แต่มาครั้งนี้ นายอภิสิทธิ์พยายามให้สัมภาษณ์หลีก เลี่ยงว่า ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสลายการชุมนุม โดยพยายาม กันตัวเองออกจากเหตุการณ์ อีกทั้งค�ำสัมภาษณ์ช่วงหลังๆสะท้อนว่านายอภิสิทธิ์ก�ำลัง กั ง วลว่ า เหตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า วจะกระทบต่ อ เส้ น ทางการเมื อ งจึ ง พยายามปฏิเสธว่า ไม่เกี่ยวข้องกับ ศอฉ. โดยมีหน้าที่เป็นเพียงประธานที่ประชุม ศอฉ. เท่านั้น...” “กรณีพยายามโยงเรื่องราวที่เกิดขึ้นว่า ชายชุดด�ำเป็นผู้ก่อความรุนแรงนั้น เป็นความพยายามโยนความผิดทุกอย่างออกจากรัฐบาลของตน และพยายามสร้าง แพะรับบาปกับเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้นมา ซึ่งเป็นคนละเรื่องกับการเสียชีวิตของประชาชน 100 ศพ ถึงแม้ว่าชายชุดด�ำ จะมีอยู่จริงในการชุมนุม แต่ก็ยังคลุมเครือว่าเหตุการณ์ดังกล่าวมาจากชายชุดด�ำจริง หรือไม่”และมีหลายองค์กรที่จัดท�ำรายการจากเหตุการณ์สลายการชุมนุมดังกล่าวขึ้น คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 191


รวมทั้ ง ข้ อ มู ล จากฮิ ว แมนไรต์ ว อตช์ ซึ่ง เป็นหน่ วยงานที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จาก นานาชาติ ก็ยืนยันชัดเจนแล้วว่า เจ้าหน้าที่รัฐเป็นคนฆ่าประชาชน” “ส�ำหรับค�ำกล่าวที่ว่า ไม่มีนายกฯ คนไหน ต้องรับผิดจากเหตุการณ์สลายการ ชุมนุม โดยยกกรณีการสลายการชุมนุมจากการประชุมกลุ่มประเทศ จี – 20 ซึ่งมีบางคน เสียชีวิต เพราะการกระท�ำของเจ้าหน้าที่ ข้อเท็จจริง กรณี จี – 20 นั้น เกิดขึ้นเนื่องจากผู้ชุมนุมเกิดหัวใจวายในระหว่าง ถูกเจ้าหน้าที่รัฐใช้กระบองตี ซึ่งแตกต่างจากการสลายการชุมนุม เมื่อปี 2553 อย่าง ชัดเจน” (ข้อมูล – ข่าวสด – 13 ธันวาคม 2555)

พล.อ.เอกชัย ศรีวิลาศ ผอ.ส�ำนักสันติวิธี และธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า

“ดีเอสไอตั้งข้อกล่าวหาอย่างนี้ ก็แสดงว่าต้องมีหลัก ฐานภาพ พยานบุคคล ขณะที่ทั้งนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพ ก็เคยบอกว่าเป็นฝีมือฝ่ายเดียวกันท�ำ เมื่อ 2 ฝ่ายไม่ยอมรับ และยืนยันอย่างนี้ ก็ต้องไปสู้กันในชั้นศาล สู้กันด้วยข้อมูล เอกสารหลักฐาน “ศอฉ. ก็ต้องชี้แจงให้ได้ว่า ไม่ได้สั่ง เป็นผู้ปฏิบัติเองหรือเปล่าที่ท�ำ ฝ่ายผู้ปฏิบัติ ก็ต้องให้เหตุผล เช่น เป็นเรื่องฉุกเฉิน ทหารต้องมีหลักฐานว่า ค�ำสั่งให้กระท�ำอะไร ขนาด ไหน เพราะปกติค�ำสั่งต้องออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งจะเป็นเอกสารพยานว่าได้ รับค�ำสั่งมาอย่างไร” “ผมเคยคุยกับทหาร เขาบอกว่าทุกคนมีคู่มือปฏิบัติไว้ในกระเป๋าว่า การปฏิบัติ ตามขั้นตอนท�ำอย่างไร เช่น ใช้อาวุธ ก็ต่อเมื่อฝ่ายตรงข้ามใช้อาวุธก่อน ถึงใช้อาวุธเพื่อ ป้องกันตัว ซึ่งต้องไปพิสูจน์กันว่าคนที่เสียชีวิตแต่ละราย มีอาวุธใกล้ตัวหรือเปล่า...” (ข้อมูล – ข่าวสด – 10 ธันวาคม 2555) 192 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


เรียน ท่านที่เคารพ ชมรมช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย (“ชชก.”) (Legal Aid Club of Thailand) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2530 โดยคณะนักกฎหมาย ผู้พิพากษา อัยการ ทนายความ มี วัตถุประสงค์ให้ความรู้กฎหมายแก่ประชาชน และช่วยเหลือประชาชนที่ยากจนใน ด้านกฎหมาย โดยไม่คิดมูลค่า อันเป็นการด�าเนินการโดยจิตกุศลโดยแท้

ชมรมช่วยเหลือประชาชนทางก®หมาย (“ชชก.”) เลขที่ 1999/28 หมู่บ้านฟ้ากรีนพาร์ค ลาดพร้าว ซอย 101 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กทม.10240 Fax.02-321-0265 โทร.089-688-8902, 089-897-1334, 088-617-5445, 088-622-5455 E-mail : jo_saranya@ hotmail.com, jo24saranya@gmail.com

นายบุญร่วม เทียมจันทร์ อดีตอธิบดีอัยการฯ ประธานชมรม “ชชก.”

นางสาวศรัญญา วิชชาธรรม ทนายความชัน้ ๑ (น.บ., น.บ.ท., น.ม.) ผูอ้ า� นวยการชมรม“ชชก.” และส�านักกฎหมายสยามยุติธรรม

หมายเหตุ : สอบถามรายละเอียดได้ที่ชมรม “ชชก.” โทร.089-688-8902, 088-6175445, 089-897-1334, 086-622-5455 ยินดีให้ค�าปรึกษาปัญหากฎหมายฟรี คดี¦่าปรÐชาชน 99ศพ 193


บุญร่วม เทียมจันทร์ อัยการแผ่นดิน – จากลูกชาวนาสูอ่ ยั การแผ่นดิน เป็นเวลากว่า 40 กว่าปี ต�ำแหน่งอธิบดีอัยการฯ ผลงานเขียน – อัยการ 500 บาท, - กฎหมายสบายสไตล์ชาวบ้าน, - รวมคดีส�ำคัญ, 108 วิธี มีคดีไม่ติดคุก, - คดีลอบปลงพระชนม์ ร.8, - คดีพยายามลอบปลงพระชนม์ ร.9 และพระราชินีฯ หนังสือขายดีที่สุด เบ้สเซลเล่อร์ (Best Setter) หลายเล่ม เช่น อัยการ 500, 108 วิธีมีคดีไม่ ติดคุก, คดีลอบปลงพระชนม์ ร.8, - รวมหนังสือที่เขียนประมาณ 100 เล่ม คติของเขา “กฎหมายเลี่ยงได้ กฎแห่งกรรมเลี่ยงไม่ได้”

รูป ศรัญญา

ศรัญญา วิชชาธรรม ทนายความชั้น ๑, นิติศาสตร์บัณฑิต, นิติศาสตรมหาบัณฑิต, เนติบัณฑิต ไทย, ผอ.ส�ำนักกฎหมายสยามยุติธรรมและ ผอ.ชมรมช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย (“ชชก.”) ผลงานเขียน – คดียึดทรัพย์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, - ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี หญิงคนแรกของไทย, - คดีฟ้อง ร.7, - คดีจ�ำคุก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรและคุณหญิงพจมาน ชินวัตร, - คดีพยายามลอบปลงพระชนม์ ร.9 และพระราชินี, - คดีหมิ่นพระบิดากฎหมาย, - คดียุบพรรค ประชาธิปัตย์, - ไทยแพ้คดีเสียดินแดนให้เขมร (คดีเขาพระวิหาร), - 108 วิธีมีคดีไม่ติดคุก คติที่ชอบ “ความยุติธรรมไม่ได้อยู่ในกฎหมาย แต่อยู่ในจิตวิญญาณของมนุษย์”

194 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


กฎแห่งกรรม “ไม่มีใบอนุญาตใด อนุญาตให้ฆ่าคนได้

ไม่มีกฎหมายใด อนุญาตให้ฆ่าคนบริสุทธิ์ได้ มนุษย์อาจหนีกฎหมายได้ แต่... มนุษย์ไม่อาจหนีกฎแห่งกรรมไปได้...”

หนี

“จะหนีคนหนีผีพอหนีได้ หนีปืนผาหน้าไม้มีทางหนี หนีคุกหนีตะรางได้บางที สิ่งหนึ่งไม่อาจหนี คือ หนีกรรม บุญร่วม เทียมจันทร์ ศรัญญา วิชชาธรรม คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 195


ประมวลภาพเหตุการณ์

เกี่ยวกับคดีฆ่าประชาชน 99 ศพ บาดเจ็บกว่า 2,000 คน ระหว่างเดือนเมษายน ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2553

สองผู้ยิ่งใหญ่ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรี แห่งพรรค..”ประชาธิปัตย์” ระหว่างเหตุการณ์ เมษายน-พฤษภาคม 2553 196 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


แกนน�ำ”นปช”

แกนน�ำ ”นปช.” เช่น นายวีระ มุสิกพงศ์ ,นายจตุพร พรหมพันธุ์ , นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ กับพวก ต่างผนึกก�ำลังน�ำฝูงชนขอให้รัฐบาลยุบสภา คืน อ�ำนาจให้ประชาชน ภายหลังถูกด�ำเนินคดีฐานร่วมกันกบฏ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 197


เคลื่อนทัพใหญ่

“นปช” คนเสื้อแดงร่วมกันชุมนุมและเคลื่อนทัพใหญ่ไปตามถนน กทม. 198 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


รถถังกับประชาชน

ประชาชนกับรถถังของทหาร คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 199


เผชิญหน้า

กลุ่ม”นปช.” คนเสื้อแดงเผชิญหน้ากับเจ้าหน้าที่ทหาร เหตุการณ์ เมษายน-พฤษภาคม 2553 200 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ปะทะกัน

“นปช.” คนเสื้อแดงใช้ก�ำลังผลักดันเจ้าหน้าที่ทหาร ต�ำรวจ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 201


ทหารใช้อาวุธปืนยิง

ภาพปรากฏชัดเจนว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อาวุธปืนยิงไปที่ฝูงชน 202 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ชายชุดด�ำ

ฝ่ายรัฐบาลอ้างว่ามีกลุ่มก่อการร้าย “ชายชุดด�ำ” ในกลุ่มผู้ชุมนุม แต่ฝ่าย “นปช.” คนเสื้อแดงว่า”นปช.”ไม่มี “ชายชุดด�ำ” คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 203


ปืนส่องกล้อง

กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อาวุธปืนส่องกล้องเล็งไปยังฝูงชน 204 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


จุดยิง 6 ศพ ที่วัดปทุมฯ

ทหาร ต�ำรวจ ถืออาวุธปืนอยูบ่ นอาคารสูงเล็งไปทีเ่ ป้าหมาย 6 ศพ ทีว่ ดั ปทุม วนาราม

คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 205


มาขอให้ยุบสภา สิ่งได้มา..กระสุนปืน

ประชาชนมาขอให้ยุบสภาคืนอ�ำนาจให้ประชาชน สิ่งที่ได้มา คือ โลงศพ 206 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ผู้เสียชีวิต

เหตุการณ์เมษายน-พฤษภาคม 2553 มีคนเสียชีวติ 99 ศพ บาดเจ็บกว่า 2,000 คน คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 207


เผาเซ็นทรัล

หลังจากประชาชนถูกฆ่าตายเป็นจ�ำนวนมาก ได้มีคนร้ายบุกเผาห้าง ร้านค้า อาคารพาณิชย์ จน “นปช.” คนเสือ้ แดงถูกกล่าวหาว่า “เป็นพวกเผาบ้านเผาเมือง” 208 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


ยุติธรรมค�้ำจุนโลก “ยุติธรรม ถึงอับโชค ถ้ากฎหมาย โลกจะพัง

ยุติธรรม โลกวุ่นวาย ถูกท�ำลาย เพราะมนุษย์

ค�้ำจุนโลก ใช่สิ้นหวัง ไร้พลัง อยุติธรรม”

บุญร่วม เทียมจันทร์ คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 209


พระบรมราโชวาท

“ประชาชนในที่บางส่วนนั้นไม่ทราบถึงกฎหมาย ด้วยเหตุที่เจ้าหน้าที่หรือ ฝ่ายปกครองไม่ได้มีโอกาสไปชี้แจง และประชาชนเหล่านั้นก็ไม่มีโอกาสที่จะทราบ ว่าเราจะวางหลักเกณฑ์ไว้อย่างไร อันนีเ้ ป็นปัญหาใหญ่ทจี่ ะให้ปกครอง หรือความ เรียบร้อยเกิดขึ้นได้ ก็ต้องน�ำความรู้ไปถึงประชาชน”

210 บุญร่วม เทียมจันทร์/ศรัญญา วิชชาธรรม


คดีฆ่าประชาชน 99ศพ 211


คดี ด ง ั ระดั บ โลก.. ฆ่าประชาชน 99 ศพ “...มีค�ำสั่งชัดเจนว่าควรใช้กระสุนจริงอย่างไร... เพื่อป้องกันตัวเอง...และการเสียชีวิตของประชาชน...ถ้าใช้ค�ำ สั่งนี้ แปลว่า พวกเราสั่งให้มีการฆ่าคน ผมคิดว่าไม่แฟร์...” อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้ต้องหาคดีฆ่าประชาชน ให้สมั ภาษณ์โทรทัศน์ บีบซี ี อังกฤษ วันที่ 10 ธ.ค.55

“...มีผู้ใช้อาวุธท�ำร้ายเจ้าหน้าที่จึงต้องป้องกันตัว และควบคุม สถานการณ์ สาเหตุ ของการบาดเจ็บล้มตายของประชาชน และเจ้าหน้าที่ มาจากผู้ก่อการร้ายชุดด�ำ...”

นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ผู้ต้องหาคดีฆ่าประชาชน นสพ.ข่าวสด วันที่ 11 พ.ย.55

..การตายจากวันแรก 26 ศพ ต้องหยุด หรือทบทวนการ ปฏิบตั ิ ปรับยุทธวิธี แต่ไม่หยุด ยังสัง่ ต่อไปอีก 5 ครัง้ สัง่ ซ�ำ้ เติม แล้วตายทุกครั้ง... ย่อมเล็งเห็นผลได้ว่า การใช้ก�ำลังแบบนี้ การใช้อาวุธแบบนีม้ กี ารสูญเสีย การตาย เข้าข่ายเจตนาเล็งเห็นผล...

นายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดี “ดีเอสไอ” ”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.