อิสรภาพบนกรอบอิสลาม
รู้ชีวิต...เข้าใจโลก... มุสลิมะห์ ภัยร้ายจาก ไวรัสเอชพีวี กับคนน่านเมืองน่าอยู่ กับภาวะสมัยใหม่
vol 01 september 2013
คิตาล ศาสนาหรือประเพณี
45 บาท
www.salambangkok.com
1 SALAM
ทุกค�ำตอบ ของงานสิง่ พิมพ์และ Event บริ ษั ท สลาม มี เ ดี ย พลั ส จ� ำ กั ด 31/6 หมู ่ ที่ 15 ต.บางพึ่ ง อ.พระประแดง จ.สมุ ท รปราการ 10130 โทรศั พ ท์ / โทรสาร 02-462-5267 มื อ ถื อ 085-058-8992,084-146-1105 e-mail:salammediaplus@gmail.com
SALAM
2
vol 01 september 2013
3:Inbox Salam 4:Infographics
34:Fashion & beauty
8:Salam Society
ภัยร้ายจากไวรัส เอชพีวใี กล้ตวั
Mix & Match สีเสือ้ อย่างไรดี
การบริจาคจิตอาษา ของคนไทย
36: Helath
ข่าวสังคมมุสลิม
38 :travre
12:Salam world ข่าวต่างประเทศ
16:what are you doing ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวกิจกรรม
18:salam Report
มุสลิมะห์ กับภาวะสมัย ใหม่
24:Social Enterprise ร้านปันกัน สังคมแห่งการแบ่งปัน
26:talk to
มูฮมั หมัด ยูนสุ
28:cover story คิตาลศาสนาหรือ ประเพณี
ผ
Editor Talk
มรู้จักการวิ่งสามขาพร้อมๆกับเกมเหยียบลูกโปง วิ่งวิบาก ปิดตาตีหม้อ และอีกหลายอย่างที่เป็นกึ่งเกมกึ่งกีฬา เล่นกันเพื่อความสนุกสนานเมื่อ สมัยยังเด็ก ความจริงผมลืมไปแล้วว่าแคยวิ่งสามขาครั้งสุดท้ายเมื่อไร และวิ่งกับใคร หลายปีมานี้ ผมเห็นทางทีวีที่มีกีฬาแข่งวิ่ง 30 คน31ขา ในระดับ ประถม ถึงแม้ระยะทาง 50 เมตร ถือว่าไม่ไกลมากนัก แต่ก็ต้องอาศัยทั้งความความ พยายาม ความสามัคคี และก�ำลังใจที่ดี ถึงจะกอดคอกันพาเพื่อนๆ30คนข้ามผ่าน เส้นชัยเข้าไปได้ มีหลายทีมที่ต้องล้มกลิ้งอยู่กลางสนาม หลายทีมต้องร้องไห้และ หลายทีมท�ำสถิติขึ้มมาใหม่ ผมมองกลับมาทีต่ วั เองพลางคิดว่า คนเราต่างคนก็กำ� ลังวิง่ ผูกขาอยูก่ บั คนรอบ ข้างเช่นกัน สารพัดบทบาททีเ่ ราได้รบั เพียงเพือ่ ทีจ่ ะไปสูจ่ ดุ หมายเดียวกับผูร้ ว่ มทีม salam เล่มนี้ที่คุณถืออยู่ในมือก็เช่นกัน เราทีมงานก�ำลังกอดคอกันวิ่ง เพื่อไปให้ถึง เป้าหมาย ผู้อ่านจะเป็นคนคอยบอกว่าเราว่าเราไปถึงเส้นชัยหรือว่าล้มกลิ้งอยู่กลาง สนาม เราก�ำลังผลิตนิตยสาร ทีเ่ ป็นคูม่ อื ให้ความคิด ให้ความรูส้ คู่ วามเข้าใจ บอก ความเป็นจริงเท่าที่เกิดขึ้นในสังคม ให้ความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ที่เป็นประโยชน์ต่อ คนทีอ่ ยากจะเข้าใจ และเป็นเวทีให้แสดงความคิดเห็น สือ่ มุสลิมใครก็อา่ นได้ คือค�ำ จ�ำกัดความของเรา เพราะศาสนาอิสลามมีหลายแง่มุมที่เราจ�ำเป็นต้องรับรู้และท�ำความเข้าใจ เรา salam ของเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่เป็นกระบอกเสียงให้กับสังคมมุสลิม เสียง ของsalamเล่มนีจ้ ะดังหรือจะแหบแห้งไปก็อยูท่ กี่ ารสนับสนุนของผูอ้ า่ นsalamทุกคน....
เกรียงศักดิ์ ปรีชาศิลป์ บรรณาธิการบริหาร
รูช้ วี ติ ...เข้าใจโลก... กับคนน่านเมืองน่าอยู่
40:halal Restaurant pring Cup Cafe
42:SME
มิสเตอร์ชาชักแอนด์โรตี
44 :Literature
ขุมพลังของหนอนหนังสือ
48 :Article บทความ
62 :I Believe
ความเชือ่ และแรงบันดาลใจ
ภาพปกโดย อดัมชินจัง
เจ้าของ บริษัท สลาม มีเดีย พลัส จ�ำกัด บรรณาธิการอ�ำนวยการ มุสตอฟา แสงมาน คณะที่ปรึกษา อาจารย์ อลี เสือสมิง บรรณธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา มุสตอฟา แสงมาน บรรณาธิการอาวุโส สมเดช มัสแหละ บรรณาธิการบริหาร เกรียงศักดิ์ ปรีชาศิลป์ กองบรรณาธิการ อ.มูฮ�ำมัด ปรีชาศิลป์, วันชัย พงษ์ชยั พรสกุล ศิลปกรรม ก็อบฟัด สมาเอ็ม พิสจู น์อกั ษร ไฉไล สังข์ชม ฝ่ายโฆษณา รัตนา ไชยผล ส�ำนักงานบริษทั สลาม มีเดีย พลัส จ�ำกัด 31/6 หมูท่ ี่ 15 ต.บางพึง่ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 10130 โทรศัพท์/โทรสาร 02-462-5267 มือถือ 085-058-8992,084-146-1105 e-mail: salamthailand@gmail.com
3 SALAM
SALAM
4
Inbox Salam 1 ซัยยิด กุฏบ อิสลามคือระบอบชีวิตที่สมบูรณ์ และ การสถาปนา กฎหมายของอัลลอฮฺขึ้นบนโลกนี้เป็นภาระหน้าที่ที่สำ�คัญยิ่งของบรรดมุสลิม 2 มูฮำ�มัด ซาเล็ม มนุษย์กำ�ลังยึดติดกับสิ่งจอมปลอมที่เสมือนใยแมงมุม 3 อาลีเสือสมิง ทฤษฎีเหมารวมของคนที่เกลียดชังอิสลามและมุสลิมเป็น ทฤษฎีที่ไม่เป็นธรรม 4 ยูซุฟอิสลาม ในฐานะที่เป็นมนุษย์เรามีจิตสำ�นึกและหน้าที่ที่เหนือกว่าสิ่งมีชีวิตอื่นๆ พระเจ้าสร้างมนุษย์มาให้เป็นผู้ช่วยของพระองค์ มนุษย์จึงต้องละทิ้งสิ่งลวงตาทั้งมวล ใช้ชีวิตอย่างเตรียมพร้อมสำ�หรับโลกหน้า ผู้ที่มิได้กระทำ�ความดีบนโลกนี้ เขาจะไม่มี โอกาสอื่นอีกที่จะแก้ตัว
3
2 4
8.6 ล้านคน
คือ จ�ำนวนผูส้ งู อายุ ของจ�ำนวนประชากร ในประเทศไทย
400,000 คน
คือ จำ�นวนคนทีเ่ สียชีวติ ต่อปี ซึ่งมีสาเหตุมาจากพฤติกรรม การกินและการใช้ชีวิตที่ไม่ เหมาะสมของคนไทย อันดับ 1 โรคระบบหายใจ เเละหลอดเลือด อันดับ2 โรคไม่ติดต่อ โรคเรื่อรังอื่น ๆ อันดับ 3 โรคติดต่อ อนามัยแม่เเละเด็กภาวะ โภชนาการ อันดับ 4 โรคมะเร็ง
150,390 คน
คือ กองกำ�ลังติดอาวุธของ รัฐบาลไทย ในชายแดนภาคใต้
9,616 คน
คือ กองกำ�ลังฝ่ายขบวนการ ต่อต้านรัฐหรือขบวนการ บีอาร์เอ็นพูโล และฝ่ายต่างๆ ที่เรียกว่า “ญูแว”
345 คนบาดเจ็บ เสียชีวติ 56 คนคือ 1
จำ�นวนเด็กและเยาวชน จากเหตุการณ์ความไม่ สงบในชายแดนใต้ ตั้งแต่ปี 2547 ถึงปี 2555
5 SALAM
SALAM
6
By
ASIA BOOKS
â¤Ã§¡ÒÃà¾×่ÍʹѺʹع LIBRARY FOR KIDS ¡ÒÃ͋ҹ˹ѧÊ×ÍÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ ºÃÔÉÑ· àÍà«Õ弯 ¤Ê ¨Ó¡Ñ´ ¼ÙŒ¹ÓࢌÒ˹ѧÊ×ÍÀÒÉÒÍѧ¡ÄɪÑ้¹¹Ó¢Í§»ÃÐà·Èä·Â ÁÕÊÒ¢Ò¡Ç‹Ò 70 áË‹§·Ñ่Ç»ÃÐà·È ÁÕ¹âºÒ·Õ่¨ÐãˌÌҹ˹ѧÊ×ÍàÍà«Õ弯 ¤Ê ໚¹ Sanctuary of Imagination áÅÐ໚¹ Knowledge Base ¢Í§ÅÙ¡¤ŒÒã¹·Ø¡¡ÅØ‹Á áÅзءÇÑ ÁØ‹§à¹Œ¹Ê¹ÑºÊ¹Ø¹áÅÐÊÌҧÊÃä ¡Ô¨¡ÃÃÁ´Õæ à¾×่ÍÊѧ¤Á â´Â੾ÒÐÍ‹ҧÂÔ่§¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁàÂÒǪ¹ã¹´ŒÒ¹¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ ÍÕ¡·Ñ§้ ໚¹¡ÒÃʹѺʹعãËŒ¾Ç¡à¢ÒÃÑ¡¡ÒÃÍ‹Ò¹ 䴌㪌¤ÇÒÁ¤Ô´ã¹àªÔ§ÊÌҧÊÃä ¡ÅŒÒáÊ´§ÍÍ¡ÃÇÁ·Ñ§้ ä´ŒÃÙŒ¨Ñ¡ãªŒàÇÅÒNjҧ͋ҧÁÕ»ÃÐ⪹ ¨Ò¡¹âºÒ´ѧ¡Å‹ÒÇ ·Ò§ºÃÔÉ· Ñ Ï ¨Ö§ä´Œ¨´ Ñ ãËŒÁâÕ ¤Ã§¡Òà Asia Books Library for Kids â´ÂËÇÁ¡ÑºÃŒÒ¹Ë¹Ñ§Ê×Í ºØ¤ ¡Ò«Õ¹ áÅкؤ àÍÒ· àÅ็· ¨Ñ´á¤Áà»Þ U give & U get à¾×่ÍãËŒâ¤Ã§¡Òà Asia Books Library for Kids à¡Ô´¢Ö้¹Í‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ áÅÐ໚¹¡ÒÃóç¤ ãËŒÅÙ¡¤ŒÒ䴌ËÇÁ·ÓÊÔ่§´Õæ ËÇÁ¡Ñ¹ à¾Õ§¹Ó˹ѧÊ×ÍÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉÁÒ ºÃÔ¨Ò¤·Õà่ Íà«Õºؤ Ê ºØ¤ ¡Ò«Õ¹ áÅÐ ºØ¤ àÍÒ· àÅ็· ·ÕÊ่ Ò¢Òã´¡็ä´Œ ÅÙ¡¤ŒÒ ¨Ðä´ŒºÑµÃ¤Ù»Í§Ê‹Ç¹Å´ 15% ໚¹¤Ó¢Íº¤Ø³¨Ò¡ºÃÔÉÑ·Ï ºÃÔÉ· Ñ ¢Í¢Íº¤Ø³ÅÙ¡¤ŒÒ áÅмÙÁŒ ÊÕ Ç‹ ¹à¡ÕÂ่ Ç¢ŒÍ§·Ø¡·‹Ò¹ ·ÕÁ่ ÊÕ Ç‹ ¹Ã‹ÇÁ 㹡Ò÷ÓÊÔ่§´Õ æ ËÇÁ¡Ñ¹ Ìҹ˹ѧÊ×Í àÍà«Õ弯 ¤Ê ºØ ¤¡Ò«Õ¹ áÅÐºØ ¤àÍÒ· àÅ็µ ÁÕ¤ÇÒÁÂÔ¹´Õ໚¹Í‹ҧÂÔ่§·Õ่¨Ð໚¹Ê×่Í¡Åҧ㹡Òà ÃÑ º ºÃÔ ¨ Ò¤Ë¹Ñ §Ê× Í ¢Í§·‹ Ò ¹ à¾× ่ Í ¹Óä»ÁͺãËŒ ¡ Ñ º àÂÒǪ¹ä·Â à¾×่ÍãËŒ¾Ç¡à¢Òä´ŒÁÕâÍ¡ÒÊ áÅÐàÃÕ¹ÃÙŒ¨Ò¡¡ÒÃ͋ҹ˹ѧÊ×ͧ͢·‹Ò¹ áÅÐËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ่§Ç‹Ò à´็¡ æ ¨Ðä´ŒÃѺÊÔ่§´Õ æ ઋ¹¹Õ้àÃ×่ÍÂä» Êͺ¶ÒÁ¢ŒÍÁÙÅà¾Ô่ÁàµÔÁ µÔ´µ‹Í½†ÒºÃÔ¡ÒÃÅÙ¡¤ŒÒ â·Ã. 0-2651-0429-30 www.asiabooks.com
â¤Ã§¡Òà Asia Books Library for Kids ¨Ñ´¢Ö้¹â´ÂºÃÔÉÑ· àÍà«Õ弯 ¤Ê ¨Ó¡Ñ´ â´ÂÁÕÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤ à¾×่ÍÁͺ˹ѧÊ×ÍÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉãËŒ ¡ÑºËŒÍ§ÊÁØ´âçÃÕ¹ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ áÅÐͧ¤ ¡Ã·Ñ้§ã¹¡Ãا෾ áÅе‹Ò§¨Ñ§ËÇÑ´ à¾×่Í»ÅÙ¡½˜§áÅÐÊ‹§àÊÃÔÁãËŒà´็¡áÅÐàÂÒǪ¹ä·Âä´ŒàË็¹ ¤ÇÒÁÊÓ¤Ñޢͧ¡ÒÃ͋ҹ˹ѧÊ×Í â´Â੾ÒÐÍ‹ҧÂÔ่§Ë¹Ñ§Ê×ÍÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ 7 SALAM
SALAM
8
9 SALAM
Salam Society
“จุฬาราชมนตรี” ร่วมยินดี การเปิดห้อง “วันมูหะมัดนอร์ มะทา” พร้อมรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง พาณิชย์
ส�ำหรับห้องปฏิบตั อิ ณูชวี ทิ ยาฮาลาล วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประกอบไปด้วย เครือ่ งมือทางวิทยาศาสตร์ทนั สมัยจ�ำนวนมาก เช่น Real-Time PCR และ Next Generation Sequencer เพือ่ ใช้ในงานด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ฮาลาลทัง้ ด้านงานบริการและ งานวิจัยทางด้านชีววิทยาในระดับโมเลกุลซึ่งมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ โดยมี ฯพณฯ อาศิส พิทกั ษ์คมุ พล จุฬาราชมนตรี ร่วมแสดงความยินดีกบั นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา และได้รบั เกียรติจาก นายนิวฒ ั น์ธ�ำรง บุญทรงไพศาล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์เป็นประธานเปิดห้องปฏิบตั กิ าร ห้องปฏิบัติการอณูชีววิทยาฮาลาล วันมูหะมัดนอร์ มะทา เกิดขึ้นจากการ ก้าวทันเทคโนโลยีดา้ นห้องปฏิบตั กิ ารวิเคราะห์ทพี่ ฒ ั นาก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ตัง้ แต่ ปี2555 ซึ่งศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลได้พัฒนาห้องปฎิบัติการอณูชีววิทยาให้ทันสมัย ยิ่งขึ้น ก�ำหนดให้ใช้ชื่อห้องปฏิบัติการใหม่นี้ว่า “ห้องปฏิบัติการอณูชีววิทยา วันมูหะ มัดนอร์ มะทา”เพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลผู้ให้การสนับสนุนงานวิทยาศาสตร์ฮาลาลใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิง่ ขณะด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย ท่านผลักดันโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลและบริการทาง วิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาหารฮาลาลพร้อมโครงข่าย ของคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตามการเสนอของคณะกรรมการ พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ซึ่งท่านเป็นประธาน ขณะนั้น นายสันติ บางอ้อ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติด� ำรงต�ำแหน่ง เลขานุการ ได้น�ำโครงการนีส้ านต่อไปสูก่ ารจัดตัง้ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา SALAM
10
Salam Society
นายพงศ์ เ ทพ เทพกาญจนา รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารและรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงกิ จ การศาสนา อินโดนีเซีย ร่วมเป็นประธานเปิดงานพบปะมุสลีมะห์ ครัง้ ที8่ เพือ่ เชือ่ มสัมพันธภาพระหว่างไทยกับอินโดนีเซีย เปิดงานโดย นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวง
ศึกษาธิการของประเทศไทย และการ กล่าวปาฐกถา ในหัวข้อ ประชาคมอาเซียน โอกาสและความท้าทายของมุสลีมะห์ในการสร้างประชาชาติ โดย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกิจการศาสนาอินโดนีเซีย กล่าวว่า ตนเองและคณะยินดีทไี่ ด้มโี อกาสเดิน ทางมาในครั้งนี้ ในนามของรัฐบาลอินโดนีเซีย ขอขอบคุณทุกภาคส่วนโดยเฉพาะ อย่างยิง่ ทางรัฐบาลไทยและ ศอ.บต.ทีจ่ ดั การพบปะในครัง้ นี้ ซึง่ การพบปะในวันนี้ ไม่ใช่เพียงการมาพบปะกันเท่านั้นแต่ยังเป็นเวทีในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในกลุม่ สตรี ทัง้ ระดับประเทศและระดับภูมภิ าค ในตลอดประวัตศิ าสตร์ของศาสนา อิสลามได้บนั ทึกไว้ถงึ เรือ่ งของบทบาทของสตรีในเรือ่ งการเมือง ทีเ่ ป็นทีย่ อมรับโดย ทั่วไปถึงศักยภาพและความสามารถ ในอัลกุรอ่าน เน้นถึงความเสมอภาคของสตรี และบุรุษ สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญที่ศาสนาอิสลามมีต่อสตรีว่ามีความ เท่าเทียมกัน ผู้ชายและผู้หญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน และสิ่งที่สตรีต้องพัฒนาหนึ่งใน นั้นก็คือเรื่องของการศึกษา และการอบรมดูแลลูกหลาน กระทรวงศาสนาของ อินโดนีเซีย ในนามรัฐบาลประเทศอินโดนีเซีย ในขณะนี้ได้ร่วมกับศูนย์อ�ำนวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้หรือ ด้านนายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ ของประเทศไทย กล่าวด้วยว่า รัฐบาลของ ฯพณฯท่านนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่ง ลักษณ์ ชินวัตร เห็นความส�ำคัญของพลังสตรี ในปัจจุบันเรามีสตรีมากกว่าบุรุษ เพราะฉะนัน้ สตรีคอื ก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลือ่ นการด�ำเนินงานต่าง ๆ ทีจ่ ะเดินคู่ กันไปกับบุรษุ ซึง่ เราได้เห็นบทบาทสตรีในโลกทัง้ หลายมีศกั ยภาพไม่ตา่ งจากบุรษุ เลย ทั้งทางด้านการเมือง ธุรกิจ สังคม และการศึกษา นอกจากสตรีจะมีบทบาท ในเรือ่ งต่าง ๆ แล้ว สตรียงั มีบทบาทในการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ สร้าง สันติสขุ เพราะครอบครัวทัง้ หมด สมาชิกส่วนใหญ่เป็นสตรี และจะเป็นกลไกหนึง่ ที่ จะหล่อหลอมให้คนในครอบครัวมีเกราะป้องกันตนทีแ่ ข็งแรง จากสิง่ เร้าต่าง ๆ
11 SALAM
Salam Society
การสัมมนานานาชาติ มุสลิมในประเทศไทย พลังในการพัฒนาประเทศ พลังในการขับเคลือ่ นอุมมะฮ์ ส�ำนักจุฬาราชมนตรี ร่วมกับ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาค ใต้ (ศอ.บต.)ได้จดั ให้มกี ารสัมมนานานาชาติ ว่าด้วย “มุสลิมในประเทศไทย พลังในการ พัฒนาประเทศ พลังในการขับเคลื่อนอุมมะฮ์” “Muslim in Thailand : Development and Ummah Movement” ” เพือ่ เชือ่ มความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับ องค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC ณ โรงแรม เลอ เมอริเดียน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โดย ฯพณฯ จุฬาราชมนตรี (นายอาศิส พิทกั ษ์คมุ พล) ให้เกียรติเป็นประธานพิธเี ปิด พร้อม ด้วย พันต�ำรวจเอกทวี สอดส่อง เลขาธิการศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต้ และสือ่ มวลชน เข้าร่วมสัมมนาฯในครัง้ นี้ กว่า 100 คน โดยการสัมมนาครั้งนี้เป็นการเชิญคณะทูตานุทูต ขององค์การความร่วมมือ อิสลาม หรือ OIC ที่มีสถานทูตประจ�ำประเทศไทยกว่า 8 ประเทศ เข้าร่วมฟังและ เรียนรู้เกี่ยวกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ และสิทธิเสรีภาพภายใต้กฎหมายไทยที่ท�ำให้ มุสลิมในประเทศไทยสามารถด�ำรงความเป็นมุสลิมได้โดยไม่มีอะไรขัดขวาง ตลอดจน การได้รบั โอกาสและอิสรภาพในการด�ำรงอัตลักษณ์ความเป็นมุสลิมภายใต้หลักค�ำสอน ของศาสนาอิสลาม และเพื่อแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีมุสลิมอยู่ทั่วทุกภูมิภาคทั่ว ประเทศ โดยได้รับสิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา และปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างครบ ถ้วนสมบูรณ์ตามหลักการศาสนาอิสลาม
SALAM
12
13 SALAM
Salam world.
หน่ ว ยงานด้ า นความมั่ น คงของ ทางการรั ส เซี ย น� ำ เครื่ อ งพิ ม พ์ ดีดกลับมาใช้งานอีกครั้ง หวังใช้ เทคโนโลยีซึ่งล้าหลังไปแล้วชนิดนี้ เป็นเครื่องมือในการป้องกันข้อมูล ลับรัว่ ไหล ทางการรั ส เซี ย เตรี ย มใช้ ง บ ประมาณราว 486,000 รูเบิล(คิด เป็นเงินไทยราว 463,684บาท) เพือ่ จัดหาเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้าจ� ำนวน หนึง่ มาใช้งาน และเตรียมหันมารือฟืน้ ระบบการจัดเก็บเอกสารในรูปแบบ ของกระดาษให้มากขึ้น เพื่อลดทอนความส�ำคัญของเอกสารที่อยู่ในรูป ของไฟล์คอมพิวเตอร์
นายกรัฐมนตรี เบนจามิน เนทันยาฮู แห่งอิสราเอล ชี้ โครงการ พัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของอิหร่านใกล้ประสบความส�ำเร็จเต็มที และ หากสหรัฐฯยังคงนิง่ เฉย รัฐบาลยิวอาจ ตัดสินใจโจมตีอหิ ร่านด้วยตัวเอง ผู้น�ำอิสราเอลให้สัมภาษณ์กับ รายการ Face the Nation ทางสถานีโทร ทัศน์ซบี เี อส ว่า “พวกเขา (อิหร่าน) ขยับ เข้าใกล้เส้นแดงมากยิง่ ขึน้ ทุกที แต่ยงั ไม่ถงึ กับข้ามเส้น... พวกเขาจวนจะผลิตระเบิด นิวเคลียร์ได้อยูแ่ ล้ว และจะต้องมีใครบอก ให้พวกเขาทราบอย่างไม่อ้อมค้อมว่า จะ ท�ำเช่นนั้นไม่ได้เป็นอันขาด”พวกเขาอาจตัดสินใจใช้มาตรการตอบโต้ฝ่าย เดียวเพือ่ หยุดยัง้ กิจกรรนิวเคลียร์ของอิหร่าน ยูเอ็นชีว้ า่ ยาเสพติดประเภทใหม่กำ� ลังระบาดในตลาดยาเสพติดทัว่ โลก รายงานยาเสพติดประจ�ำปีของสหประชาชาติ ว่าประเทศ ต่างที่เป็นภาคีสมาชิกของส�ำนักงานป้องกันยาเสพติด และปราบปราม อาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ UNODC บันทึกการเพิ่มจ�ำนวน ของสารเสพติดจาก 166 ชนิด เป็น 251 ชนิดในปีทผี่ า่ นมา โดยเพิม่ ขึน้ ถึง 50 เปอร์เซ็นต์นายจอห์น โคลินส์ กล่าวว่ายังไม่มมี าตรการท�ำนองเดียวกัน นีอ้ อกมาใช้กบั สารเสพติดชนิดใหม่ และทุกคนก�ำลังจับตามองว่า รัฐบาล ประเทศต่างๆตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับ นานาชาติจะหาทาง จัดการกับการผลิตสารเสพติดเหล่านีอ้ ย่างไร
เชค ฮาหมัด บิน คอลิฟะห์ อัลซอนีอมีรแห่งประเทศกาตาร์ ประกาศ อย่างเป็นทาง เพือสละต�ำแหน่งผู้ประเทศให้กับลูกชายคือ เชค ตามิม บิน ฮาหมัด อัลซอนีย นับเป็นการเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่หลังจากทีอ่ ยู่ ในต�ำแหน่งมานาน 18 ปี การสละต�ำแหน่งครัง้ นี้ นับเป็นครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์กาตาร์ และถือเป็นเรื่องแปลกในภูมิภาคตะวันออกกลาง ขณะที่ นักการทูตเชื่อ ว่า เจ้าผู้ครองกาตาร์ต้องการมอบต�ำแหน่งโดยเร็ว เพื่อหลีกเลี่ยงความไม่ แน่นอนในอนาคต ท่ามกลางกระแสการประท้วงทัว่ โลกอาหรับ ท้ ง น้ ภ ายหลั ง การประกาศออกจากต� ำ แหน่ ง โลกอาหรั บ ต่ า งแสดง ความยิ น ดี กั บ การเปลี่ ย นแปลงในครั้ ง นี้ โดยกษั ต ริ ย ์ อั บ ดุ ล ลอฮแห่ ง ซาอุดีอาระเบียมั่นใจว่าอมีรคนใหม่จะสานต่องานของบิดาได้เป็นอย่างดี ขณะที่เชคคอลิฟะห์แห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ออกแถลงการณ์ว่าจะสาน ต่อความสัมพันธ์ของสองประเทศต่อไป ส่วนรัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ แสดงความเห็นผ่านทวิตเตอร์วา่ เป็นวันประวัตศิ าสตร์ของกาตาร์ ทีใ่ ห้คน รุน่ ใหม่มาด�ำรงต�ำแหน่ง SALAM 14 SALAM
14
15 SALAM
what are you doing ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย เดินหน้าปรับแผนเร่งรัดฟืน้ ฟู ธุรกิจใน 4 ประเด็นหลัก มัน่ ใจสามารถพลิกผลประกอบการ ให้กลับมาเป็นก�ำไรได้ภายในสิน้ ปี 2556 เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และลูกค้าของธนาคาร
นายเปรมกมลย์ ทินกร ณ อยุธยา กล่าวว่าจาก แผนเร่งรัดฟื้นฟูดังกล่าวจะท�ำให้ธนาคารกลับมามีความ เข้มแข็งทั้งด้านเงินกองทุนธนาคาร สภาพคล่อง และการ อ�ำนวยสินเชื่อ รวมทั้งขอให้ความมั่นใจกับผู้ฝากเงินทุก ท่านว่าธนาคารอิสลามฯ โดยกระทรวงการคลังคุม้ ครองเงิน ฝากของพีน่ อ้ งประชาชนทีฝ ่ ากเงินกับธนาคารอิสลามฯ ทุก บาท ทุกสตางค์ นอกจากนี้ธนาคารยังยึดมั่นในวิสัยทัศน์ และพันธกิจตามเจตนารมย์การจัดตั้งธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทย ที่มุ่งเน้นการให้บริการทางการเงินแก่พี่น้อง มุสลิม ให้สามารถเข้าถึงระบบการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ และถูกต้องตามหลักอิสลาม ธนาคารจึงขอยืนยันความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า และพีน่ อ้ งประชาชนทุกท่านในการ ด�ำเนินงานของธนาคารต่อไป
Event
หอการค้าอิสตันบูล ประเทศตุรกี เตรียมจัด งานใหญ่ครัง้ แรกในประเทศไทยปลายปี งานแสดงสินค้าและบริการจากประเทศตุรกี หรือ 1st Turkish Products Exhibition in Thailand (28 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม พ.ศ. 2556) ณ ศูนย์การประชุม แห่งชาติสริ กิ ติ ์ กรุงเทพฯ พร้อมน�ำนวัตกรรม เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์และบริการทุกกลุม่ ธุรกิจบินตรงมาจากตุรกี รวมทัง้ เปิดการ แสดงประจ�ำชาติสดุ แสนอลังการ ติดตาม ข้อมูลและลงทะเบียนเข้างานล่วงหน้า ฟรี ได้ที่ www.facebook.com/TurkishExpoinThailand SALAM
16
มุสลิมพลาซ่า ตลาดสินค้ามุสลิม และสินค้าฮาลาล เตรียมเปิดโซน “มุสลิมพลาซ่า” ณ ตลาดน�ำ้ มหานคร เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ล็อคกว่า 100 ล็อค เตรียมเปิดให้เป็นพืน้ ที่ ส�ำหรับมุสลิมโดยเฉพาะ เพือ่ เป็นแหล่งการ ค้า อาหารการกินในแบบมุสลิม ของอร่อยๆ จากมุสลิมทัว่ ประเทศ แหล่งช๊อปปิง้ ของดี และ สินค้าจากทัว่ ประเทศ เสือ้ ผ้าเครือ่ งแต่งกาย ของประดับ และสินค้านานาชนิด โดยมุสลิม สนใจล็อคสินค้า สอบถามได้ที่ 084 - 412 - 2234 เปิดขายพร้อมกัน 10 สิงหาคม 2556
งานไทยเทีย่ วไทย ครัง้ ที่ 28 วันที่ 5-8 ก.ย.56 ณ ศูนย์สริ กิ ติ ิ์ งานมหกรรมส่งเสริมการขายสินค้าและ บริการด้านการท่องเทีย่ วทีม่ ผ ี ปู้ ระกอบการ ทัง้ ในและต่างประเทศเข้าร่วมแสดงจ�ำนวน มากทีส่ ดุ ในประเทศไทย งานนีค้ ณ ุ จะได้ พบกับส่วนลด และโปรโมชัน่ ต่างๆมากมาย ภายในงาน สมาชิกใหม่ แฟนเพจไทยเทีย่ วไทยลง ทะเบียนชมงานไทยเทีย่ วไทย ครัง้ ที่ 28 วันที่ 5-8 ก.ย.นี้ ศูนย์สริ กิ ติ ิ์ คลิก๊ ที่ www.pkexhibition.com (ท่านทีเ่ คย กรอกข้อมูลมาแล้วไม่ตอ้ งลงซ�ำ้ )
what are you doing การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) ประกาศผลรางวัล แคมเปญออนไลน์ “The Little Big Project” นายสุรพล เศวตเศรนี ผู้ว่าการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เป็นประธานในงานประกาศผลรางวัลแคมเปญออนไลน์ “The Little Big Project” การแข่งขันท่องเทีย่ วจิตอาสา ครั้ง แรกของประเทศไทย โดยคู่นักท่องเที่ยวจิตอาสาจากประเทศไทย นางสาววิ ม าลิ น เฉลิ ม พร และนั ก ท่ อ งเที่ ย วจิ ต อาสาจากประ อั ง กฤษ มร.ริ ช าร์ ด บราวน์ ด อน ซึ่ ง ไปท� ำ กจิ ก รรมจิ ต อาสา อนุรกั ษ์ทอ้ งทะเล จ.ภูเก็ต ร่วมกับ กลุม่ Open mind Project ที่ได้รับการโหวตในบล็อกผ่านเว็บไซต์ www.TheLittleBigProjectThailand.com สูงสุดกว่า 1 ล้านโหวต รับเงินรางวัล 5,000 ดอลล่าร์สหรัฐไปครอง ทัง้ นี้ ททท. เตรียมดันแคมเปญ นี้อย่างต่อเนื่อง หวังดึงนักท่องเที่ยวจิตอาสาเข้ามาท�ำกิจกรรม เพือ่ สังคมในประเทศไทยเพิม่ ขึน้
จตุจกั รจัดประกวดเครือ่ งแต่งกายมุสลิม เน้นสร้างตัว ตนให้ชดั ขึน้ กรุยช่องทางตลาด นัดพบผูป้ ระกอบการ พบผูซ้ อื้
ก้าวสูป่ ที ี่ 31 กระจกหกด้าน ส่องทัศน์ สะท้อนไทย โลกแห่งความรูใ้ นทศวรรษหน้า
นางสาวปรารถนา คงส�ำราญ เปิดเผยว่า ตอนนีท้ างโครงการ ได้เปิดพืน้ ทีใ่ ห้กบั ผูป้ ระกอบการเสือ้ ผ้าอิสลาม ได้มโี อกาส พบปะลูกค้าได้กว้างขึน้ กว่าเดิม ถือเป็นการเปิดตลาดเสือ้ ผ้า อิสลามให้เป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ ตอนนีท้ างศูนย์บริการวิชาการได้ งบประมาณจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หาพืน้ ทีบ่ ริเวณ สวนจตุจกั ร เพือ่ น�ำเสือ้ ผ้าของผูป้ ระกอบการแต่ละรายให้เขา ได้มโี อกาสพบปะผูซ้ อื้ โดยตรง นอกจากนีเ้ รายังจัดกิจกรรม Muslim Fashion Contest 2013 ขึน้ เพราะต้องการยก ระดับการออกแบบเครือ่ งแต่งกายมุสลิม
กระจกหกด้าน รายการสารคดีคณ ุ ภาพคับจอ ฉลองก้าวเข้าสูป่ ที ี่ 31 จัดงานแสดงนิทรรศการ “ส่องทัศน์ สะท้อนไทย” คืนก�ำไรสู่ สังคม ถ่ายทอดเรื่องราวความเป็นมาผู้ผลิตรายการสารคดีน�้ำดี ในสังคมไทยสูผ ่ ชู้ ม โดยเฉพาะเยาวชนคนรุน่ ใหม่ พร้อมเดินหน้า สานต่อการผลิตเรื่องราวดีๆ ต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง โดยได้รับ เกียรติจาก ดร.อักขราทร จุฬารัตน อดีตประธานศาลปกครอง สูงสุด ร่วมพิธีเปิดงานนิทรรศการอย่างเป็นทางการ โดยมี สุชา ดี มณีวงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การ และผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั ทริลเลีย่ นส์ แอนด์ ทรีไลอ้อนส์ จ�ำกัด และเจ้าของเสียงเอกลักษณ์ทอี่ ยูเ่ คียงคู่ กันมาตลอดของรายการกระจกหกด้าน ให้การต้อนรับ
17 SALAM
salam Report วิภาวี พงษ์ปน่ิ
SALAM
18
มุกับสภาวะสมั ลิมยะห์ ใหม่ อิสลาม” แปลว่า สันติ หมายถึงการนอบน้อม ถ่อมตนยังพระประสงค์ของอัลลอฮฺ ในขณะที่“มุสลิม” เป็นค�ำทีม่ าจากภาษาอาหรับ หมายถึง ผูท้ นี่ อบน้อมยอม จ�ำนนต่อบทบัญญัติของอัลลอฮฺโดยสิ้นเชิงส�ำหรับวิธีคิด เรื่อง “เพศ” (sex) ระหว่างหญิงชายในศาสนาอิสลาม นั้น อิสลามมองว่าชีวิตเป็นของขวัญที่ศักดิ์สิทธิ์ (จา กอัลลอฮฺ ) ทั้งเพศหญิงและเพศชายต่างมีธรรมชาติของ จิตวิญญาณมนุษย์ทไี่ ม่ตา่ งกัน ผู้หญิงไม่ได้ถูกกล่าวหาไว้ว่าเป็นต้นเหตุแห่งความ ตกต�่ำของมนุษย์ ดังเรื่องราวที่ผ่านการตีความของยิวและ คริสเตียน การอุ้มท้องและให้ก�ำเนิดลูกไม่ได้เป็นบทลงโทษ จากการกินผลไม้ตอ้ งห้าม ตรงกันข้าม คัมภีรก์ รุ อานบันทึก เกี่ยวกับผู้หญิงไว้ด้วยความรักและการยกย่อง เพราะทั้งผู้ หญิงผูช้ ายต่างมีหน้าทีเ่ กีย่ วกับศีลธรรมทางศาสนาทีต่ อ้ งรับ ผิดชอบ เมื่อสุดท้ายทั้งสองเพศต่างต้องเผชิญหน้ากับสิ่งที่ พวกเขาได้กระท�ำไว้ ดังนัน้ “ความเสมอภาคทางเพศ” ของ ทั้งหญิงและชายในอิสลามจึงวางอยู่บนฐานของความแตก ต่างทางภาระหน้าที่ ซึ่งเชื่อว่าเป็น “การจัดระเบียบตาม ธรรมชาติ” ที่ถูกรังสรรค์ไว้ดีแล้วตามที่ศาสนบัญญัติ โดย เฉพาะอย่างยิ่ง ส�ำหรับหญิงและชายที่สมรสและใช้ชีวิตคู่ อยู่ร่วมกัน อัลลอฮฺมอบหน้าที่ให้สามีปฏิบัติต่อภรรยาของ เขาด้วยความใจดี ให้เกียรติ อดทน ไม่ท�ำร้าย ให้ที่พ�ำนัก ให้เสือ้ ผ้า การดูแลเอาใจใส่ และให้ชวี ติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ี ซึง่ ผู้หญิงก็มีสิทธิ ที่จะมีความสุขจากสิ่งที่ควรได้รับเหล่านี้จา สามีของเธอ ส่วนหน้าทีข่ องเพศหญิงนัน้ คือการเชือ่ ฟังสามี เป็นแม่ทดี่ ขี องลูก และดูแลกิจการในครัวเรือนให้สะอาดเรียบร้อย จากการอ้างอิงหน้าที่ระหว่างเพศ (sex) ตามตัว บทแบบดังกล่าว กลายเป็นแรงจุดประกายส�ำคัญที่นับวัน เรือ่ งราวเกีย่ วกับสถานะสตรีของมุสลิม จะได้รบั ความสนใจ อย่างต่อเนื่องในบริบทโลกสมัยใหม่อิสลามกับโลกยุคโม เดิรน์ จึงเป็นประเด็นทีไ่ ด้
19 SALAM
รั บ ความสนใจศึ ก ษาอย่ า งกว้ า งขวาง เช่ น เดี ย วกั น กั บ มานุษยวิทยากับโลกอิสลาม ที่มีการพยายามท�ำความเข้าใจ เปรียบเทียบข้ามวัฒนธรรม ตั้ ง แต่ ป ระเด็ น จากเศรษฐศาสตร์ ก ารเมื อ งไป สู่ความสัมพันธ์ทางเพศ ดังที่ “มุสลิม”และ“มูอัลลัฟ”(ผู้สนใจ ในอิสลาม) ที่ต้องการจะเข้ารับอิสลามทุกคน ต้องปฏิญาณ กล่าวค�ำเป็นภาษาอาหรับว่า “อัชฮะดุอัลลาอิลาหะอินลัลลอหฺ วะอั ช ฮะดุ อั น นะมุ ฮั ม มะดั ร รอซู ลุ ล ลอหฺ ” ซึ่ ง มี ค วามหมาย ในภาษาไทยว่า “ข้าขอปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอก จ า ก อั ล ล อ ห แ ล ะ ข ้ า ข อ ป ฏิ ญ า ณ ว ่ า น บี มุ ฮั ม มั ด เป็ น ศาสนทู ต แห่ ง พระองค์ ” ดั ง ข้ อ ความที่ บั น ทึ ก ไว้ ว ่ า ท่านอิบนิอุมัร ได้เล่าว่า ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ ก ล่ า วไว้ ว ่ า “ทุ ก ๆ คน จะต้ อ งถู ก ส อ บ ส ว น จ า ก สิ่ ง ที่ ต น รั บ ผิ ด ช อ บ ผู ้ น� ำ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ผู ้ ช ายมี หน้าที่รับผิดชอบต่อครอบครัว ของเขา ผู้หญิงมีหน้าที่รับผิด ชอบในบ้านสามีของเธอและ ลู ก ๆ ของเธอ ดั ง นั้ น ทุ ก คน มีหน้าที่รับผิดชอบและทุกคน จะถูกสอบสวนตามหน้ า ที่ ข อง ตน” (บั น ทึ ก โดยบุ ค อรี ย ์ ) ผูเ้ ขียนมองว่าอิสลามเป็น คู่คนละขั้วกับตะวันตก เพราะ ในโลกยุ ค ที่ ป ระชาธิ ป ไตย และทุนนิยมเบ่งบานก็เปรียบ เสมือนการปะทะกันระหว่างขั้วอารยธรรมสองฟาก กล่าวคือ กระแสวัฒนธรรมสมัยใหม่ ระบอบสังคมประชาธิปไตย และ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม อยู ่ ใ นฐานะตั ว แทนแห่ ง อารยธรรมจากฝั่งตะวันตก ซึ่งก�ำลังขัดแย้งกับสังคม (ที่มักถูก ให้ภาพว่ายึดติดอยู่กับ) จารีตนิยมอย่างอิสลามในบริบทที่พลัง แห่งทุนนิยมก�ำลังขับเคลื่อนโลก นักสตรีนิยมในแนวเสรีนิยม ตะวันตก มองถึงความไม่เสมอภาคของสังคมนิยมชาย (patriarchy) (อันเป็นฐานโครงสร้างวัฒนธรรมเดิมของมุสลิม) ว่า ยิ่งทวีความเหลื่อมล�้ำขึ้นในโลกเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ซึ่งให้ อ�ำนาจการควบคุมแก่เพศชายมากกว่า ในขณะที่ผู้หญิงเข้าไม่ ถึงสถานะทางเศรษฐกิจหรือเข้าถึงได้น้อยกว่าดังงาน Afshar ที่วิพากษ์มโนทัศน์แบบ traditional Marxist ว่าควรเพิ่มมิติ เพศสภาพ (gender)เพื่อมองให้เห็นถึงเพศหญิงที่ถูกกดขี่ขูดรีด แรงงานจากเพศชายในระบอบทุนนิยม ดั ง ที่ ผู ้ ห ญิ ง มุ ส ลิ ม อิ ห ร่ า นในครอบครั ว มี อ าชี พ “ถักพรม” ขึ้นมาเพื่อส่งให้ผู้ชายมีหน้าที่เอาพรมไปขาย ท� ำ หน้าที่ควบคุมเงินและเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากการผลิตนั้นไว้
แสดงสถานะความสูญเสียและอิสรภาพของเพศหญิงในสังคม แอฟริ กั น จากผลนโยบายของจั ก รวรรดิ นิ ย มยุ โรปในช่ ว ง อาณานิคม เมื่อธุรกิจในหมู่บ้านและเมืองต้องขยับจากเกษตร แบบพอยังชีพ ไปสู่ระดับแลกเปลี่ยนเพื่อการค้า ซึ่งผู้หญิงก็ยัง คงเป็นฝ่ายถูกกดให้อยู่ในระดับล่างอยู่วันยังค�่ำ นอกจากนี้ ในโลกสมัยใหม่กับบางสังคมมุสลิม เมื่อ ผู้ชายเข้าถึงพื้นที่เศรษฐกิจส่วนผู้หญิงเป็นรองเมื่ออยู่ในพื้นที่ บ้านเพื่อเลี้ยงดูแลลูก รวมถึงสามารถเข้าถึงระดับการศึกษา น้อยกว่าผู้ชาย หรือแม้แต่งานผู้หญิงมุสลิมบางส่วนที่ผู้หญิงมี ส่วนเข้าถึงพื้นที่และสถานะทางเศรษฐกิจของระบอบทุนนิยม แต่ก็ไม่พ้นต้องอยู่ใต้โครงสร้างอ�ำนาจการกดขีท่ เี่ อือ้ ประโยชน์ ให้เพศชาย รวมไปถึงงาน Ong ที่สะท้อนความทันสมัยของผู้ หญิ ง มาเลย์ มุ ส ลิ ม ยุ ค หลั ง อาณานิ ค ม ผ่ า นการเป็ น สาวโรงงานที่ มี ก ารเข้ า ถึ ง สถานะทางเศรษฐกิ จ ไว้ ต่อรองกับโครงสร้างสังคม วัฒนธรรมเดิม และความ ทั น สมั ย ยั ง สะท้ อ นผ่ า น พฤติ ก รรมบริ โ ภค ด้ ว ย การซื้อเครื่องส�ำอาง การ ชอปปิ้ง ดูหนัง และวิธีคิด แบบromantic love (ที่ พยายามเข้าไปชดเชยการ ถู ก จั บ คู ่ โ ดยพ่ อ แม่ เ ลื อ ก ให้) Ong พยายามชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึงกระบวนการสร้าง การผลิต และการผลิตซ�้ำในชีวิตประจ�ำ วันของความสัมพันธ์ทางกฎระเบียบ ที่มีส่วนสนับสนุนให้เพศ ชายเป็นใหญ่ ซึ่งเป็นลักษณะที่มีอยู่แล้วในสังคมเดิม หากแต่ถูก กระท�ำซ�้ำหนักขึ้น เมื่อผู้หญิงเหล่านั้นได้มาอยู่ในระบบโรงงาน อุตสาหกรรมตามระบบทุนนิยมที่ให้อ�ำนาจแก่เพศชาย ผ่าน โครงสร้างทั้งการปกครองการเมือง และเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม จุดน่าสนใจยังอยู่ตรงที่ผู้หญิ ง เหล่ า นั้น ลุกขึ้นต่อต้านกระบวนการท�ำให้ไม่เป็นมนุษย์จากโรงงาน อุตสาหกรรมที่ถูกควบคุมระบบทั้งหมดโดยเพศชาย ด้วยการก รีดร้อง และอธิบายอาการดังกล่าวว่าเป็น “huntu” หรือ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ไม่เพียงแต่ผู้หญิงเหล่านี้จะหยิบเอาความ เป็นสมัยใหม่บางรูปแบบมาใช้สร้างตัวตนและสร้างพื้นที่ยืน ให้กับพวกเธอในการต่อรองกับโครงสร้างสังคมเดิมเท่านั้น ในทางกลับกัน พวกเธอยังใช้ชุดความเชื่อ ที่มีในสังคมเดิม เป็นเครื่องมือเพื่อมาสร้างอ�ำนาจต่อรองให้ตนเองซึ่งด�ำรงอยู่ ระบบทุนนิยมสมัยใหม่ด้วยจากงานลักษณะที่กล่าวไปข้างต้น สะท้อนให้เห็นว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้นไม่เพียงมีแต่วัฒนธรรม
แม้กระทัง่ กระแสฟืน้ ฟูอสิ ลาม หรือขบวนการฟืน้ ฟูอสิ ลามที่ เกิดขึน้ ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ก็ถกู มอง ว่าถือก�ำเนิดอยูบ่ นเงือ่ นไขของ ภาวะความเป็นสมัยใหม
SALAM
20
อิสลามอันเป็นจารีตดั้งเดิมกับกระแสทุนนิยมสมัยใหม่เท่านั้น หากแต่ยังชี้ชัดลงไปอีกว่า ในความขัดแย้งนั้นเพศหญิง คือกลุ่ม ชายขอบ อันได้รับผลเสียจากความขัดแย้งและความเหลื่อมล�ำ้ ของระบบวัฒนธรรมที่ทับซ้อนกันอยู่นั้นทั้งหมด อย่างไรก็ตาม มีขอ้ เท็จจริงหนึง่ ทีไ่ ม่อาจปฏิเสธได้ ก็คอื แม้ความขัดแย้งเหล่า นั้นจะเกิดขึ้น แต่โลกของวัฒนธรรมมุสลิม ก็ยังต้องหมุนและ ปรับตัวไปกับวิถกี ารเปลีย่ นแปลงแห่งเศรษฐกิจโลก สิง่ ทีผ่ เู้ ขียนให้ความสนใจ คือ การมองวัฒนธรรมมุสลิม ปรับตัวและเปลี่ยนแปลงอย่างคู่ขนานไปกับบริบทโลกใหม่ ดั ง ที่ Bernal เสนอว่ า แม้ ก ระทั่ ง กระแสฟื ้ น ฟู อิ ส ลามหรื อ ขบวนการฟื้นฟูอิสลามที่เกิดขึ้นในพื้นที่ต่างๆ ก็ถูกมองว่าถือ ก�ำเนิดอยู่บนเงื่อนไขของภาวะความเป็นสมัยใหม่ กล่าวคือ เกิดขึ้นบนเงื่อนไขของภาวะสมัยใหม่ และเป็นกระบวนการที่ พยายามมีทศิ ทางการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมไปในแบบของ ตนเอง ไม่ได้ทาบอิงได้สนิทอยู่กับทั้งวัฒนธรรมอิสลามเก่าแบบ ดั้งเดิมหรือวัฒนธรรมตามกระแสตะวันตกแต่อย่างใด เราจึง ไม่สามารถเข้าใจกระบวนการดังกล่าวในลักษณะที่หันไปใช้ค�ำ อธิบายวัฒนธรรมอิสลามแบบดัง้ เดิมดังอดีตได้ การศึ ก ษาสังคมวัฒนธรรมอิสลามนั้น ควรถูกมอง ในมุมที่เป็นพลวัตรและสัมพันธ์กับการเปลี่ยนผ่านของกระแส เศรษฐกิจสังคม เช่นเดียวกับชุมชนทีเ่ ขาศึกษาในซูดาน ซึง่ มีการ บูรณาการตนเองเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐชาติ แสดงท่าทีตอบ สนองเพิ่มขึ้นต่อระบบเศรษฐกิจโลก แลเงื่อนไขเหล่านี้เอง ที่มี ส่วนเข้ามาเปลีย่ นแปลงโครงสร้างความสัมพันธ์ของการแบ่งงาน กันท�ำระหว่างเพศท�ำให้ผู้หญิงไม่ได้มีบทบาทแค่สิ่งที่ถูกระบุไว้ ในหลักการอีกต่อไปมากกว่านั้น ผู้หญิงมุสลิมจ�ำนวนมากที่วิ่ง เข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูอิสลาม ก็ไม่อาจอธิบายได้ว่าเป็นเพราะ ความความล้าหลัง ไม่ยอมเปลีย่ นแปลง ตรงกันข้าม ผูห้ ญิงส่วน ใหญ่กลับกลายเป็นชนชัน้ กลางทีม่ กี ารศึกษา
Kaya ส�ำรวจความสัมพันธ์ระหว่างผู้หญิงที่คลุมผ้า และความทันสมัยผ่านประสบการณ์ในตุรกี เสนอว่า traditional islam ไม่ใช่ปัจจัยส�ำคัญในการท�ำความเข้าใจอัตลักษณ์การ คลุมผ้าของผู้หญิง มากไปกว่านั้นพวกเธอยังผลิตซ�ำ้ อัตลักษณ์ นั้นบนเงื่อนไขของความทันสมัยอีกด้วย ในขณะที่ Brenner มองประสบการณ์ของผู้หญิงชนชั้นกลางที่เปลี่ยนศาสนาที่น� ำ มาสู่การคลุมผ้าภายใต้บริบทของขบวนการเคลื่อนไหวอิสลาม ในอินโดนีเซีย ว่าอ�ำนาจในการตรวจสอบจิตส�ำนึกด้วยตนเอง และตรวจสอบวินัยของตนเองผ่านการคลุมผ้าว่า สิ่งเหล่านี้คือ อ�ำนาจสมัยใหม่ทกี่ ระท�ำอยูเ่ หนือร่างกายผูห้ ญิง นอกจากนั้น ด้วยเงื่อนไขการคลุมผ้า อันหมายถึงการ เป็นคนที่เข้าถึงศาสนา ยังสามารถเป็นกลไกให้เธอสามารถต่อ รองกับโครงสร้างครอบครัวอย่างพ่อแม่และสามีได้ในวัฒนธรรม เดิม การคลุมผ้าที่ผู้หญิงมุสลิมกลุ่มนี้เลือก จึงเป็นการเข้าสู่ ความทันสมัยในรูปแบบที่ต่างออกไปจากแม่แบบทางตะวัน ตก ซึ่งขณะเดียวกัน ก็ไม่อาจปฏิเสธการท�ำความเข้าใจใน บริบทของความเป็นท้องถิ่นชวาได้ นอกจากนั้น Frisk กับ Mahmoo สามารถอธิบาย การเมืองของความเคร่งศาสนา ในลักษณะที่อยู่เหนือวิถีการมองแบบสงครามความเหลื่อมล�้ ำ ทางเพศสภาพ (ในลักษณะที่นักสตรีนิยมแนวเสรีนิยมตะวันตก หรือนักสตรีนิยมอิสลามบางกลุ่ม) ของผู้หญิงไว้ได้อีกว่าภายใต้ กรอบ agency และการสร้างตัวตนทางศาสนาของผู้หญิงผ่าน ปฏิบตั กิ ารเข้าถึงศาสนาในสิง่ ทีผ่ หู้ ญิงกระท�ำ ไม่ได้เป็นไปเพราะ ต้องการท้าทายโครงสร้างสังคมนิยมชาย และไม่ใช่เหยื่อของ กระบวนการฟืน้ ฟูอสิ ลาม หากแต่ความละอาย ทีม่ าจากศรัทธา บริสุทธิ์นั้น เป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผู้หญิงใช้ยกระดับตนเองเข้าไปสู่ การมีบทบาททางศาสนาเพิม่ ขึน้ (จากเดิมทีส่ ว่ นนีเ้ ป็นพื้นที่ของ ผู้ชาย) และเข้าถึงชีวิตทางการเมือง โดยเลือกสร้างตัวตนทาง ศาสนาในแบบทีส่ ยบยอม ต่ออัลลอฮฺ ตามทีพ่ วกเธอเลือกกระท�ำ 21 SALAM
ผู ค ้ นใช้ เ วลาครี ง ่ หนึ ง ่ ของการตืน่ นอนไปกับการฝันกลางวัน ตามข้อมูลการศึกษาของสหรัฐที่ท�ำการศึกษาผ่านไอโฟน พบว่าผู้คน ทั้งหลายต่างก็ใช้เวลาเกือบครึ่งหนึ่งของโมงยามที่พวกเขาตื่นนอนไปกับสิ่งที่ไม่ เกีย่ วกับเรือ่ งทีพ่ วกเขาก�ำลังท�ำอยูจ่ ริง ๆ ณ ขณะนัน้ เลย มีอาสาสมัครมากกว่า 2,200 คนท�ำการส�ำรวจ เกีย่ วกับความคิดและอารมณ์ของพวกเขาในช่วงเวลา สุม่ ถามหลายช่วงของกลางวันและกลางคืน ผลการศึกษาชี้ว่า ความคิดจิตใจเลื่อนลอยแม้ตอนที่ท�ำงานที่ต้อง ท�ำให้เสร็จอย่างน้อยร้อยละ 30 ของเวลาหลังจากรวบรวมผลศึกษาจากการ ส�ำรวจ 250, 000 ครัง้ ทีมวิจยั จากฮาร์วาร์ด สรุปว่า คนกลุ่มนี้ใช้เวลาร้อยละ 46.9 ของเวลาทีพ่ วกเขาตืน่ นอนไปกับความคิดจิตใจทีพ่ เนจรไปเรือ่ ย ๆ ดร. แมธธิว คิลลิ่งส์เวอร์ธ หนึ่งในนักวิจัยของทีมกล่าวว่า “การเดิน ทางอย่างไร้จุดหมายของจิต ปรากฎให้เห็นอยู่ทุกหนแห่งทั่วทุกกิจกรรม การ ศึกษาครัง้ นีแ้ สดงให้เห็นว่า ชีวติ ของจิตมีการกระจายอยูท่ วั่ ไป หากจะพูดถึงใน ขัน้ ทีส่ งั เกตให้เห็นได้ชดั เจนก็คอื ภาวะจิตมันไม่ได้อยูก่ บั ปัจจุบนั ขณะ” ข้อมูลการส�ำรวจว่าด้วยความสุข ปรากฎให้เห็นว่ามีการเชือ่ มโยงทีพ่ อ ประมาณระหว่าง ระดับของการเดินทางอย่างไร้จดุ หมายของจิตและระดับของ ความสุข รายงานของความสุขมาจากกลุม่ ที่ ก�ำลังออกก�ำลังกาย ก�ำลังสนทนา หรือก�ำลังร่วมรัก ขณะทีก่ ารไม่มคี วามสุขนัน้ มาจากผูค้ นทีก่ ำ� ลังพักผ่อน ท�ำงาน หรือก�ำลังใช้คอมพิวเตอร์อยู่ ศาสตราจารย์ นิลลี กล่าวต่อว่า “การเดินทางอย่างไร้จุด หมายของจิต อาจมีอยูท่ วั่ ไป ทุกหนทุกแห่งในประเภทของคนผูซ้ งึ่ ก�ำลังง่วนอยู่ กับชนิดของโปรแกรมประยุกต์ของไอโฟน และก็เป็นผูท้ เี่ ตรียมตัวทีจ่ ะเสียสมาธิ จากอะไรก็ตามทีพ่ วกเขาก�ำลังท�ำงาน ทีม่ า: http://www.bbc.co.uk/news/health-11741350
SALAM
22
ตืน่ ละหมาดยามค�ำ่ คืน(สวดมนต์) มีส่วนท�ำให้ร่างกายกระฉับกระเฉง ไม่เกียจคร้าน
ช่วงต้นคริสต์ศักราช 1990 ดร.โทมัส เวอร์ (Thomas Wehr) จิตแพทย์แห่งสถาบันสุขภาพจิตแห่งสหรัฐฯ (US Institute of Mental Health) ได้ทดลองน�ำคนกลุม่ หนึง่ ให้อยูใ่ นความมืดวัน ละ 14 ชัว่ โมง ทุกๆ วัน เป็นเวลา 1 เดือน ซึง่ พวกเขาได้นอนหลับยาว ตามปกติ แต่ในสัปดาห์ที่ 4 กลุม่ ตัวอย่างได้ปรับวิธกี ารนอน โดยพวก เขาหลับไปใน 4 ชัว่ โมงแรก และตืน่ ขึน้ ประมาณ 1-2 ชัว่ โมง จากนัน้ ก็หลับครัง้ ที่ 2 อีก 4 ชัว่ โมง ผลการทดลองดังกล่าวดูเป็นข้อค้นพบ ทีน่ า่ ทึง่ แต่กย็ งั ไม่แข็งแรงพอทีจ่ ะแย้งกับความรูท้ แี่ พร่หลายว่า การ นอนยาว 8 ชัว่ โมงเป็นการพักผ่อนทีด่ ตี อ่ สุขภาพ จากนั้นในปี 2001 โรเจอร์ เอคริช (Roger Ekirch) นัก ประวัตศิ าสตร์ แห่งเวอร์จเิ นียเทค (Virginia Tech) ได้ตพี มิ พ์รายงาน ที่ค้นคว้ามากว่า 16 ปีด้วยการรวบรวมหลักฐานมากมาย ทั้งบันทึก ประจ�ำวัน บันทึกศาล รายงานทางการแพทย์ รวมถึงวรรณกรรมกว่า 500 แหล่งทีช่ วี้ า่ พฤติกรรมการนอนของมนุษย์เราแบ่งเป็น 2 ช่วง ทั้งนี้ การค้นคว้าดังกล่าวสอดคล้องกับผลการศึกษาของเวอร์ และ เอคริชได้เพิ่มเติมว่า การหลับครั้งแรกของคนเรานั้น เริ่มหลังดวง อาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้วประมาณ 2 ชั่วโมง (20.00 น.) และจะ ตืน่ (ประมาณเทีย่ งคืน) อยู่ 2 ชัว่ โมง จากนัน้ ก็หลับอีกเป็นครัง้ ที่ 2 (ประมาณ 2.00 น.) ในช่วงระหว่างการตื่นนอนนั้น มนุษย์จะกระฉับกระเฉง มาก ส่วนใหญ่ก็จะลุกไปเข้าห้องน�ำ้ สูบบุหรี่ แม้กระทั่งเดินไปเยี่ยม เพื่อนบ้าน แต่ก็มีอีกส่วนที่ยังคงอยู่บนเตียง เขียนอ่านหนังสือ หรือ ละหมาด(สวดมนต์)ซึ่งในช่วงศตวรรษที่ 15 มีหลายหลักฐานระบุถึง การละหมาดเป็นกรณีพเิ ศษระหว่างการตืน่ กลางดึก รัสเซลล์ ฟอสเตอร์ (Russell Foster) ศาสตราจารย์ด้าน ประสาทวิทยา กิจวัตรร่างกาย (circadian) แห่งมหาวิทยาลัยออก ซฟอร์ด ได้แสดงความเห็นว่า มีคนมากมายรู้สึกกังวลที่ตื่นขึ้นมาก ลางดึก ซึง่ นัน่ คือการกลับไปสูพ่ ฤติกรรมการนอน 2 ครัง้ แบบดัง้ เดิม ทว่าแพทย์สว่ นใหญ่กย็ งั คงไม่เชือ่ ว่าการนอนต่อเนือ่ ง 8 ชัว่ โมงเป็นรูป แบบทีผ่ ดิ ธรรมชาติ ทีม่ า http://www.manager.co.th/
23 SALAM
Social Enterprise
“ปนั¡นั” “เรม่ิตน้จำ¡¡ำรให้
เรยีนรเู้ พอ่ืแบง่ปนั” “สังคมจะดีได้ ถ้าเราทุกคนช่วยกัน...” ค�ำพูดเท่ๆ ทีใ่ ครก็เอ่ยชักชวนคนอืน่ ได้ มีสกั กีค่ นทีล่ งมือช่วยเหลือสังคมให้ดไี ด้จริง ไม่ใช่แค่ลมปาก ซึง่ คนเหล่านัน้ สามารถพบเจอได้ในร้านปันกัน และสังคมแห่งการแบ่งปันมีอยูจ่ ริง ร้านปันกัน สังคมแห่งการแบ่งปัน เป็นจุดรวมความ ร่วมมือจากบุคคลทั่วไป หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่มีจิต สาธารณะให้การแบ่งปันสิ่งของสภาพดีที่เก็บอยู่เฉยๆ ให้กลับ มาใช้ประโยชน์ได้ใหม่ เพือ่ ให้รา้ นน�ำไปจัดจ�ำหน่าย แปรเปลีย่ น น�ำ้ ใจเป็นทุนสนับสนุนการศึกษาของเด็กผูย้ ากไร้หา่ งไกลโอกาส เมื่อเกือบ 20 ปีที่แล้ว กลุ่มบริษัทพรีเมียร์ได้ก่อตั้ง มูลนิธิยุวพัฒน์ที่มีภารกิจหลักคือ มอบทุนสนับสนุนการศึกษา แก่เยาวชนที่ขาดแคลนในถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศไทย ซึ่งเล็ง เห็นว่าการศึกษาเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญส�ำหรับสังคม และความเท่า เทียมทางการศึกษาจะท�ำให้สงั คมแข็งแรงอย่างยัง่ ยืน แต่แล้ววิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดเมื่อปี 2540 กระเทือน ต่อการขับเคลือ่ นกิจกรรมของมูลนิธยิ วุ พัฒน์ โครงการปันกันจึง ผุดขึน้ เริม่ จากผูบ้ ริหารและพนักงาน น�ำของส่วนตัวมาจ�ำหน่าย กันเองในองค์กร และจ�ำหน่ายทีศ่ นู ย์การค้าเสรีเซ็นเตอร์ ระดม SALAM
24
รายได้เข้ามูลนิธิฯ ต่อมาจนเกิดเป็น “ร้านปันกัน” พัฒนารูป แบบเชิงธุรกิจเต็มตัว ไม่ใช่เพียงแค่ของเล่นที่เบื่อเมื่อไหร่ก็เลิก พร้อมเปิดรับความร่วมมือจากบุคคลทั่วไป หน่วยงานต่างๆ ใน การมอบสิง่ ของเพือ่ น�ำมาขายต่อ ลองหลับตาจินตนาการ นาย ก. มีสงิ่ ของสภาพดี แต่ ไม่ได้ใช้งาน ทัง้ หนังสือ เสือ้ ผ้า เครือ่ งใช้ อุปกรณ์กฬี า ฯลฯ อยู่ เต็มบ้าน จึงคัดแยกเพือ่ น�ำไปบริจาค โดยยืนอยูบ่ นบรรทัดฐานที่ ร้านปันกันเน้นย�้ำ ในเรื่องของคุณภาพ เพื่อท�ำให้เกิดประโยชน์ สูงสุด โดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ให้ผู้ซื้อเดินทางเข้ามาเพื่อจับจ่าย สิง่ ของอย่างไม่ขาดสาย ทัง้ คนบริจาค และคนซือ้ สินค้าพึงพอใจ กับราคาเบาเบา ทีค่ วักจ่ายง่ายๆ เงินทุกบาททีอ่ อกจากกระเป๋า สตางค์ ทางร้านไม่หักค่าใช้จ่าย ทั้งยังแสดงรายได้ให้ลูกค้ารับ ทราบอย่างเปิดเผยผ่านกระดานหลังเคาน์เตอร์ภายในร้านอีก ด้วย ส่งผลดีตอ่ ผูใ้ ห้และผูซ้ อื้ ทีแ่ วะเวียนมาตลอดเวลา
5,523 คือ ตัวเลขบอกให้ทราบถึงจ�ำนวนทุนสนับสนุนการ ศึกษาแก่เยาวชน ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ปันกันถือเป็นฟันเฟืองส�ำคัญทีร่ ะดมทุนเข้ามูลนิธยิ วุ พัฒน์ สิ่งหนึ่งที่ปันกันเชื่อมั่นตลอดเวลากว่า 12 ปีคือ การ ได้สร้างจิตส�ำนึกให้คนในสังคมรูจ้ กั วิธใี ช้ประโยชน์จากการแบ่ง ปัน และผลจากการแบ่งปันน�ำไปสูร่ ากฐานของการพัฒนา การ ศึกษาของเด็กไทย เป็นเครือ่ งมือช่วยน�ำพานักเรียนด้อยโอกาส มีชีวิตที่ดีขึ้น เรียกได้ว่า ปันกันคือ โมเดลตัวอย่างของมูลนิธิที่ สามารถสร้างรายได้อย่างต่อเนือ่ ง ในการพัฒนา และแก้ปญ ั หา สังคมอย่างยัง่ ยืน
ร้านปันกัน ผูก้ อ่ ตัง้ :มูลนิธยิ วุ พัฒน์ ทีอ่ ยู่ : บ้านเลขที่ 1 ซอยพรีเมียร์ 2 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กทม. 10250 โทรศัพท์ : 2301 1096, 08 1903 6639 โทรสาร : 0 2301 14390 E-mail : admin@pankansociety.com, suthasinee.s@ybf.premier.co.th www.facebook.com/pankansociety Website : www.pankansociety.com,
25 SALAM
ผมจะน�ำส่วนแบ่งรางวัลไป สร้างบริษทั เพือ่ ผลิตอาหารซึง่ มี ต้นทุนต�ำ่ แต่มคี ณ ุ ค่าทาง โภชนาการสูงส�ำหรับคนยากจน ส่วนทีเ่ หลือจะถูกใช้เพือ่ การก่อ ตัง้ โรงพยาบาลตาส�ำหรับคน ยากจนในบังคลาเทศ
SALAM
26
talk to Muhammad
Yunus มูฮมั หมัด ยูนสุ ยูนสู ถือก�ำเนิดเมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน พ.ศ. 2483 ในหมูบ่ า้ น บาธัว เขตจิตตะกอง บิดามีชอื่ ว่า ฮาซี ดูลา มีอา ชูดาการ์ และมารดาชือ่ ว่า ซูเฟีย คาทูน ยูนสู ใช้ชวี ติ วัยเด็กเล็กในหมูบ่ ้าน จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2490 เขาและครอบครัวจึงย้ายไปยังเมืองจิตตะกองทีซ่ งึ่ บิดาของเขาเริม่ ท�ำธุรกิจอัญมณี ยูนสู สมรสกับนางอโฟรจี ยูนสู ซึง่ เป็นศาสตราจารย์วชิ าฟิสกิ ส์ประจ�ำ มหาวิทยาลัยจาฮานกีรนาการ์ ทัง้ สองมี บุตรสาว 2 คน คือ ดีนา่ ยูนสู และ โมนิกา้ ยูนสู นายยูนสู มีนอ้ งชายชือ่ มูฮมั หมัด อิบราฮิมซึง่ เป็นศาสตราจารย์สาขาฟิสกิ ส์ ประจ�ำมหาวิทยาลัยธากา ขณะทีน่ อ้ ง ชายอีกคนชือ่ มูฮมั หมัด จาฮานเกียร์ เป็น พิธกี รทางโทรทัศน์ชอื่ ดัง ยูนสู ศึกษาทีโ่ รงเรียนประจ�ำ หมูบ่ า้ นในวัยเด็กเด็ก เมือ่ ครอบครัวของ เขาย้ายไปทีจ่ ติ ตะกอง จึงได้เข้าศึกษา ทีโ่ รงเรียนประถมลามาบาซาร์ และชัน้ มัธยม ณ โรงเรียนมัธยมจิตตะกอง เขา ผ่านการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย ได้เป็นล�ำดับที่ 16 จากนักเรียนใน ปากีสถานตะวันออกทีเ่ ข้าสอบทัง้ หมด ทั้งหมด 39,000 คนในปีพ.ศ. 2498 ต่อมา เขาเข้าศึกษาทีว่ ทิ ยาลัยจิตตะกอง ซึง่ เขาได้เข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม เป็นประจ�ำ และได้รบั รางวัลจากการร่วม แสดงละครอีกด้วย
การศึกษาและอาชีพการงานช่วงต้น ปีพ.ศ. 2501 ยูนสู เข้า ศึกษาในคณะเศรษฐศาสตร์ แห่ง มหาวิทยาลัยธากา จนส�ำเร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรีในปี พ.ศ. 2503และระดับปริญญาโทในปีพ.ศ. 2504 หลังจากนัน้ จึงเข้าท�ำงานทีส่ ำ� นักการ เศรษฐศาสตร์ ซึง่ ท�ำให้เขาได้รว่ มท�ำงาน วิจยั ทางเศรษฐศาสตร์กบั ศาสตราจารย์นู รุล อิสลาม และราห์มนั โสภาณในฐานะ ทีป่ รึกษางานวิจยั [2] ต่อมาในปีพ.ศ. 2504 เขาก็เข้าเป็นอาจารย์บรรยาย วิชาเศรษฐศาสตร์ในมหาวิทยาลัยจิต ตะกง[3]. ยูนสู ส�ำเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาเอกสาขาเศรษฐศาสตร์จากมหา วิทยาลัยแวนเดอร์บลิ ท์ในสหรัฐอเมริกา เมือ่ ปีพ.ศ. 2512 หลังจากได้รบั ทุน การศึกษาฟุลไบรท์ ยูนสู เป็นผูช้ ว่ ย ศาสตราจารย์สาขาเศรษฐศาสตร์อยู่ ทีม่ หาวิทยาลัยรัฐเทนเนสซีตอนกลาง ตัง้ แต่ปพี .ศ.2512 ถึง 2515 แล้วจึง ย้ายกลับมายังบังคลาเทศ และเข้า
ร่วมมหาวิทยาลัยจิตตะกองในฐานะ ศาสตราจารย์วชิ าเศรษฐศาสตร์ มูฮมั หมัด ยูนสู ได้รบั รางวัลโน เบลสาขาสันติภาพร่วมกับธนาคารกรามี นในปีพ.ศ. 2549ส�ำหรับ “ความพยายาม ในการสร้างพัฒนาการทางสังคมและ เศรษฐกิจจากเบือ้ งล่าง” ดังค�ำประกาศดังนี้ รางวัลโนเบล “คณะกรรมการรางวัลโนเบลแห่งนอร์เวย์ ได้ตดั สินใจมอบรางวัลโนเบลสาขา สันติภาพโดยแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆ กัน แก่มฮู มั หมัดยูนสู และธนาคารกรามีน ส�ำหรับความพยายาม ในการสร้างพัฒนาการทางสังคมและ เศรษฐกิจจากเบือ้ งล่าง สันติภาพอัน ยัง่ ยืนจะมิอาจบรรลุได้ เว้นแต่เพียง ว่า ประชากรกลุม่ ใหญ่จะสามารถหา หนทางทีจ่ ะเอาชนะความยากไร้ได้ไมโคร เครดิตเป็นหนึง่ ในวิธกี ารนัน้ นอกจาก นัน้ การพัฒนาจากเบือ้ งล่างยังท�ำให้ ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนก้าวหน้า ขึน้ อีกด้วย” 27 SALAM
cover story เรือ่ งและภาพ อดัม
คิตาล
ศาสนาหรือประเพณี
SALAM
28
ห้องรับรองสีเ่ หลียมในมัสยิดหลังนัน้ ดูไม่ใหญ่มากนักมันสร้างความอึดอัดและ ความกังวลเข้ามาครอบง�ำจิตใจอย่างมาก ผู้ใหญ่หลายคนรุมเข้ามาจับตัวเรา ห้องนั้น เป็นห้องแอร์ทเี่ ย็น แต่ในใจกลับร้อนรุม่ ด้วยความกลัว ในห้องไม่มพี ธิ อี ะไร ไม่มคี วันธูป หรื อ บทสวดขอพรต่ า งๆ มี แ ต่ เ สี ย งพู ด คุ ย ถึ ง เรื่ อ งที่ เราไม่ รู ้ จั ก ผู ้ ใ หญ่ ห ลายคน คอยปลอบใจกับสิง่ ทีเ่ ราก�ำลังจะเจอ ด้านขวามือของชายคนนัน้ มีกระเป๋าเครือ่ งมือสีดำ� ใบใหญ่ มี ถาด กระโถน ส�ำลี เข็มฉีดยา ผ้าพันแผล ขนาดต่างๆ แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวด ที่ หนีบหนังท�ำ มาจากทองเหลือง กรรไกร และมีด วางอยูข่ า้ งกาย ในต�ำแหน่งทีห่ ยิบจับได้งา่ ย ชายคนที่นั่งใกล้เครืองมือมีรอยยิ้มที่มุมปาก เสียงอันแผ่วเบาหลุดออกจาก ปากชายคนนั้น บอกให้นอนลง ผู้ใหญ่หลายคนจับเราล้มลงนอน เราฝืนไม่อยากนอน แต่กส็ แู่ รงไม่ไหว ขาทัง้ สองข้างถูกกดทับด้วยขาของชายคนทีน่ งั่ ใกล้กบั เครือ่ งมือ หรือที่ ผูใ้ หญ่ในห้องเรียกว่าหมอ สองขาทีถ่ กู กดทับท�ำให้ดนิ้ หรือขยับไม่ได้ มือสองข้างยังมีแรง ที่จะเคลื่อนไหว แต่มีมืออีกหลายมือเข้ามาจับ จนท�ำให้ขยับเขยื้อนอย่างยากล�ำบาก สถานการณ์ตอนนีไ้ ม่ตา่ งอะไรจากการล้มวัว เพือ่ เชือด เอาเนือ้ มาท�ำอาหาร เด็กอย่าง เราไม่มคี วามรูห้ รือเข้าใจอะไรในสิง่ ทีผ่ ใู้ หญ่กำ� ลังท�ำอยู.่ ..
29 SALAM
ยาชาเข็มแรกฉีดเข้าไปที่องค์ชาติเล็กๆ ความเจ็บคล้าย มดกัด ท�ำให้เราสะดุง้ บิดตัวไปมา แต่แพ้แรงต้านของผูใ้ หญ่หลายคน น�ำ้ ตาเริม่ ไหล เสียงร้องเริม่ เพิม่ ความดัง เสียงปลอบโยนของผูใ้ หญ่ หลายคนเข้ามาผ่อนคลาความกลัวทีเ่ กิดขึน้ ไม่นานความเจ็บ ก็หาย เมื่อยาชาออกฤทธิ์ท�ำให้องค์ชาติ เล็กๆของเราไม่ได้รับความรู้สึก อันใดแม้แต่เอานิว้ ดีดไปแรงๆ คนประกาศยังเรียกชื่อเด็กอย่างต่อเนื่อง ให้เขาสู่ห้อง รับรองนั้น ด้านนอกมีวงดนตรีพื้นถิ่น หรือที่ชาวมุสลิมเรียกว่า วงดนตรีนาเสป มีกลองร�ำมานา ไวโอลิน และเครื่องเขย่า ส่วน ใหญ่จะเล่นเพลงท�ำนองมาเลย์ สนุกสนานกลบเสียงร้องของเด็ก ในห้องรับรองเพือ่ ไม่ให้เด็กทีอ่ ยูข่ า้ งนอกได้ยนิ และเกิดความกลัว เด็กหลายคนเดินเข้าออกในห้องรับรองอย่างต่อเนื่อง เด็กบางคนมีนำ�้ ตาซึม เด็กบางคนแสดงออกถึงความกล้าหาญเดิน ยิ้มออกมาจากห้องรับร้อง ส่วนเราตอนนี้อวัยวะเพศไม่มีความ รูส้ กึ อะไร เวลาผ่านไปหลายนาที วงดนตรีนาเสป ยังคงเล่นเพลง เสียงคนประกาศเรียกยังท�ำหน้าที่ต่อ เสียงพูดคุย เสียงหยอกล้อ กับเด็ก เสียงปลอบโยน ทุกๆเสียงที่แสดงออกมา ท�ำให้พื้นที่ บริเวณด้านนอกห้องรับรอง ดูวุ่นวาย และสับสน เรายังคงท�ำได้ แค่รอฟังเสียงเรียกชือ่ เพือ่ ทีจ่ ะเริม่ ในขัน้ ต่อไป การท�ำคิตาล ตามชื่อเรียกในภาษาอาหรับที่แปลเป็น ภาษาไทยว่าการเข้าพิธีตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย หรือ เรียกอีกกย่างว่า สุนนะห์ (การท�ำตามแบบอย่างของนบีหรือ ผู้ประกาศศาสนาอิสลาม) ปัจจุบัน เรียกเพี้ยนมาเป็นพิธีเข้า สุนตั ส่วนทางภาคใต้เรียกว่า มาโซ๊ยาวี ความหมายเหมือนกันคือ การตัดหนังหุมปลายอวัยวะเพศชาย มุสลิมทั่วโลกมีมาตรฐาน เดียวกัน คือจ�ำเป็นต้องตัดหนังหุ้มปลาย อวัยวะ เพศชาย เพื่อ รั ก ษาความสะอาดจากสิ่งที่หมักหมมในคอคอดขององค์ชาติ ผูช้ าย ครูมฮู ำ� มัด ปรีชาศิลป์ อธิบาย จริงๆแล้วสิง่ ทีศ่ าสนาก�ำหนด เพียงแค่ตดั หนังหุม้ ปลายเท่านัน้ ไม่มพี ธี อี ะไร ตัดเสร็จก็เป็นอันเสร็จ จบขัน้ ตอนในการท�ำคิตาล ประวัตใิ นการขลิปหนังหุม้ ปลายอวัยะเพศนัน้ มาจากนบี (ผู้ประกาศศาสนาอิสลาม)คนแรกคือ นบีอดัม(ตามความเชื่อและ หลักการศัทธาของมุสลิม)ได้กระท�ำเรื่อยมาจนถึงยุคปัจจุบัน นั้น คือมุมมองของอิสลาม การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย มันไม่ใช่ประเพณี แต่ทั้งหมดคือ หลักการที่ศาสนาก�ำหนดเอาไว้ ในหนังสือการ อบรมเด็กในแนวทางอิสลาม ของดร.อับดุลเลาะนาเซียอุรวาน กล่าวเอาไว้ว่า การขลิปหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศนั้นจะท�ำให้ห่าง ไกลจากโรค การพรมของหอมจะท�ำให้รา่ งกายแข็งแรง การแปรง ฟังนัน้ สุขภาพจะดี และการแต่งงานจะขยายเผ่าพันธุ์ ส่วนการตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ในมุมมองของ ศาสนาอิสลาม นั้นเป็นสิ่งจ�ำเป็นถ้าไม่ท�ำนั้นเกิดโทษ มุสลิม คนไหนไม่ ท� ำ จะมี บ าปติ ด ตั ว ตลอดเวลา แต่ ก ารปฎิ บั ติ ศาสนกิ จ ของเขาก็ ใช้ ไ ด้ ถ ้ า ล้ า งอวั ย วะเพศให้ ส ะอาด แต่
SALAM
30
อิ ส ลามนั้ น สอนให้ เ ราป้ อ งกั น ปั ญ หาที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ไม่ ใช้ มาแก้ ไขที่ ห ลั ง ครู มู ฮ� ำ หมั ด ปรี ช าศิ ล ป์ กล่ า วทิ้ ง ท้ า ย ในมุ ม มองของอิ ส ลามส� ำ หรั บ การตั ด หนั ง หุ ้ ม ปลาย หรื อ ที่ ช าวมุ ส ลิ ม ภาคกลางส่ ว นใหญ่ เ รี ย กว่ า การตั ต สุนตั … เสียงตนตรีนาเสปยังคงขับกล่อมบรรเลง เป็นภาษา มาลายูที่คุ้นเคยแต่เราไม่เข้าใจในความหมาย และนัยยะของ การแสดงดนตรีพื้นบ้านเหล่านี้ คงเหมือนกับเมื่อวานการ แสดงต่างๆได้ถูกจัดขึ้นเพื่อเด็กอย่างพวกเราได้มีส่วนร่วมใน พีธเี หล่านัน้ เด็ ก อย่ า งเราได้ เ ป็ น คนส� ำ คั ญ ของงานที่ จั ด ขึ้ น ท่ามกลางพ่อแม่ และคนในหมู่บ้านที่มาร่วมงานกันอย่าง มากมาย ถ้าย้อนนึกถึงเหตุการณ์เมื่อวันวาน มันเป็นวัน ส�ำคัญในชีวติ พวกเราวันหนึง่ เวลานั้นเป็นเวลาบ่ายสามแสงแดดเริ่มที่จะคลาย ความร้อนลงบ้าง เด็กหลายคนได้ถูกจัดรวมในบ้านไม้สักหลัง ใหญ่อายุเกินร้อยปี ในบ้านหลังนั้นมีเด็กมารวมตัวกัน ได้แต่ง ตัวในแบบฉบับคนมาลายู เสือ้ แขนยาวไม่รดั รูปการเกงขายาว มีผ้าโสร่งพันทับกางเกงอีกชั้นหนึ่ง บนศรีษะมีหมวกกอเปีย แล้วพันทับด้วยผ้าสาราบันสีๆต่าง ข้างเอวมีมดี กริดพบเน็บไว้ บนล�ำตัวมีผ้าขาวม้าพันทับชายขวา และมีเครื่องประดับสวม ใส่แล้วแต่ความต้องการ ส่วนโสร่งถูกคาดด้วยเข็มขัดทองหรือ นาก เป็นความงามและบอกถึงวิถกี ารแต่งตัวในแบบคนมาลายู คนหลักร้อยคนที่มารวมกันที่บ้านหลังนั้นท�ำให้บรรยากาศดู คึกคักเป็นพิเศษ บอกเป็นนัยยะถึงการเริม่ ประเพณีการแห่เด็ก ทีจ่ ะท�ำการตัดสุนตั ก�ำลังจะเริม่ ขึน้ ประเพณีการแห่เด็กที่จะท�ำการเข้าสุนัต ในมุมมอง ของศาสนานั้นไม่มีแบบอย่างให้กระท�ำแต่มิติทางสังคมที่ สามารถกระท�ำได้ คุณอานัน ทรงศิริ ประธานศูนย์วฒ ั นธรรม ชุมชนมุสลิม-มลายูบ้านปากลัดอธิบายถึงประเพณีการเข้า พิธีสุนัตว่าเรามองในมิติทางสังคมวัฒนธรรมมากกว่า และ ประเพณีเหล่านี้ได้ตกทอดมาจากเมื่อคราวที่รัฐปัตตานีแตก ถูกสยามในสมัยนั้นเข้าตีและยึดครอง บรรพบุรุษ ของเราได้ ถูกต้อนเข้ามาทีเ่ มืองบางกอก ประเพณีเหล่านีก้ ไ็ ด้สบื ทอดต่อ กันมา มันเป็นกุศโลบายทีค่ นในสมัยก่อนได้กระท�ำกัน จ�ำลอง ภาพเหตุการณ์ในการออกรบ สเหมือนเป็นการสร้างขวัญ ก�ำลังใจให้เด็กที่พรุ่งนี้จะท�ำการตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เมือ่ ก่อนนัน้ ไม่มยี าชาเด็กจะเจ็บมาก กุศโลบายทีค่ นยุคก่อนได้ ท�ำเอาไว้ ให้เด็กไม่เกิดความกลัว การเริม่ พิธกี ารแห่เด็ก นัน้ ให้เด็กแต่งตัวสวยงามแบบเจ้า เมือง เหมือนจะออกไปรบ มีการตัง้ ขบวน ในขบวนประกอบด้วย คนดีเป็นที่นับถือของคนในหมู่บ้านเดินน�ำหน้า และก็มีคนถือ ธงสีตา่ งๆเดินตาม สีของธงนัน้ บอกถึงต้นสายตะกูลต่างๆ และ ตามมาด้วยคนถือไม้หอมที่เผาไฟท�ำให้เกิดกลิ่นหอม และมี 31 SALAM
อาหารคาวหวานต่างๆไว้เป็นสเบียงในการเดินทางไม่ว่าจะเป็น ข้าวเหนียวเหลืองไก่ยา่ งและผลไม้ตา่ งๆ ต่อมาก็เป็นเหล่าทหาร ที่ถือดาบ หรือคณะกระบี่กระบองในปัจจุบัน และตามมาด้วย เด็กที่จะท�ำการตัดสุนัตก็คือเจ้าเมืองนั้นเอง โดยขี่คอของชายที่ แข็งแรง เปรียบเสมือนการขีพาหนะถ้าเป็นแถวภาคใต้กจ็ ะขีช่ า้ ง จริงๆในการแห่ในขบวน ปิดท้ายขบวนโดยกลุ่มคณะนาเสป ที่ สร้างเสียงเพลงท�ำให้ขบวนไม่รู้สึกว่าเงียบนั้นคือรูปแบบขบวน ทีท่ ำ� การแห่เด็ก ระยะทางแล้วแต่ความสะดวกในแต่ละท้องที่ ขบวนทุกอย่างที่กล่าวมามันเป็นแบบจ�ำลองในการ ออกศึกในสมัยก่อน เพื่อให้เด็กเกิดความฮึกเหิม คลายความ กังวล ในการตัดสุนัตในวันพรุ่งนี้ มันเป็นสิ่งที่คนรุ่นก่อนได้ กระท�ำกันไว้ คนละมิติกับศาสนา เราเห็นว่าดีก็ท�ำการสาน ต่อประเพณีการเข้าสุนัต คุณอานัน ทรงศิริ ประธานศูนย์ วัฒนธรรมชุมชนมุสลิม-มลายูบา้ นปากลัด ให้ขอ้ มูล เสียงประกาศเรียกให้ชาวมุสลิมไปท�ำพิธีละหมาดจบ ลงได้ไม่นานขบวนแห่ที่เตรียมพร้อมก็เคลื่อนย้ายออกจากบ้าน ไม้สักเก่าหลังนั้น ไปตามถนน อากาศร้อนไม่มาก เราอยู่บนคอ ของผูใ้ หญ่คนหนึง่ ทีแ่ ข็งแรง ขาทัง้ สองข้างหนีบเข้ากับชายโครง ของชายคนนัน้ กลัวว่าเราจะตกจากคอทีเ่ ขาแบกอยู่ เสียงเพลง ที่ดังไล่หลังมา แข่งกับเสียงของการรั่วชัดเตอร์ถ่ายภาพ ท�ำให้ ขบวนแห่ดูมีชีวิต เป็นขบวนแห่ที่ยิ่งใหญ่ ขบวนแห่เคลื่อนที่ แบบไม่เร็วและไม่ช้าจนดูน่าเบื่อ มันเป็นขบวนที่สนุก ส�ำหรับ เด็กอย่างเรา ผูใ้ หญ่หลายคนเดินอยูข่ า้ งๆขบวน วันนีเ้ ป็นวันที่
SALAM
32
เด็กอย่างเราดูมคี วามหมายขึน้ มาอย่างมาก สายตาหลายๆคูถ่ กู มองมาทีเ่ ด็กอย่างเรา มีรอยยิม้ เกิดขึน้ บนสายตาเหล่านัน้ ท�ำให้ ลืมนึกถึงวันพรุง่ นีว้ า่ จะเกิดอะไรขึน้ ไปได้ชวั่ ขณะ ใช้เวลาไม่นาน ขบวนแห่ทเี่ คลือย้ายคนจากทีห่ นึง่ ไปอีกทีห่ นึง่ ก็ถงึ จุดหมาย เราถูกให้นงั่ ในแถวแรกของลานกว้าง ทีถ่ กู จัดเตรียมมัน เป็นลานกว้างของโรงเรียนสอนศาสนา ลานกว้างแห่งนี้ถูกเติม จนเติมพื้นที่ จากจ�ำนวนคนมากมาย เสียงเพลงเริ่มบรรเลงอีก ครัง้ หลังจากหยุดพักในการเดินแห่ หญิงชายหลายคู่ เดินออกมา อยูท่ ลี่ านกว้าง การแสดงเริม่ หลังจากเสียงพิธกี รจบลง มันเป็นการ ล�ำทีม่ ชี อื่ เรียกว่า รองแง็ง ผู้ใหญ่ในหมู่บ้านเคยเล่าให้ฟังว่าการ แสดงรองแง็ง มีมาในสมัยโบราณ เป็นทีน่ ยิ มในบ้านขุนนางหรือ เจ้าเมืองรัฐปัตตานี ในการต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองที่มาเยือน จบจากการร�ำรองแง็ง ก็เป็นการตีกระบีก่ ระบอง การตี ก ระบี่ ก ระบองนั้ น เป็ น การต่ อ สู ่ ที่ ดู ส นุ ก และ น่าตื่นเต้นส�ำหรับเด็กอย่างเรา ปิดท้ายของการแสดงเป็นการ ร�ำกริด ก่อนเริ่มผู้ที่ร�ำจะเข้ามาจับมือกับเด็กๆที่รวมพิธีทั้งหมด ถือเป็นการให้พรของผูใ้ หญ่ ร�ำกริดเป็นการต่อสู่ด้วยการใช้มีดกริดเป็นอาวุธ เป็น ภาพทีด่ ขู งึ ขังและจริงจังมาก เป็นการต่อสูแ้ ละร่ายร�ำทีส่ วยงาม และแปลกตา นั้นคือภาพความทรงจ�ำของเมื่อวาน แต่วันนี้เรา ไม่ตอ้ งใสเสือ้ ผ้าทีส่ วยงามแบบเมือ่ วาน ไม่มพี ธี อี ะไรมากมาย มี เพียงผ้าขาวม้าผืนเดียวที่ปิดท่อนร่างของร่างกายและองค์ชาติ เล็กๆของเราตอนนี้ก็ไม่ได้รับความรู้สึกอะไรเพราะฤทธิ์ของยา
ชาจากการฉีดเมือ่ หลายนาทีกอ่ น เวลาผ่านไปนานหลายนาทีหลังจากการฉีดยาชากับองค์ชาติ ความทรงจ�ำในเหตุการณ์เมือ่ วานได้หยุดลงเมือ่ เสียงเรียกชือ่ เรา ดังขึน้ เพือ่ จะเข้าสูห่ อ้ งรับรองอีกครัง้ เราเดินตามเสียงเรียกนัน้ อย่างว่าง่าย ให้เข้ามาในห้องสี่เหลียมรับรองของมัสยิดอีกครั้ง ข้าวของเครื่องใช้ยังถูกจัดเอาไว้เหมือนเดิม แล้วเสียงหมอคน เดิมก็เปล่งเสียงที่นิ่มนวลบอกว่าขอดูองค์ชาติอันน้อยๆของเรา ขาทั้งสองข้างถูกกดทับและมือก็ถูกกดจับเอาไว้ เหมือนคราว แรกทีเ่ ข้ามา ตอนนีเ้ รารูส้ กึ ว่าจะขยับขเยือ้ นไม่ได้เลย ความกลัว เริม่ เข้ามาครอบง�ำจิตใจอีกครัง้ หมอจับทีอ่ วัยวะเพศเรา ย่นหนังทีห่ มุ้ ปลายเขามาแล้ว เอาส�ำลีเช็ดสิ่งสกปรกตรงบริเวณหัวขององค์ชาติ หมอใช้ไม้ใส่ เข้าไปตรงหนังแล้วดึงหนังออกมา มีทีหนีบเหล็กแบบทองเหลือ เขามาหนีบไว้ตรงบริเวณหัวขององค์ชาติ เพื่อไม่ให้หนังย่นกลับ เข้าทีเ่ ดิม แล้วหมอก็ใช้มดี ตัดตรงแท่งเหล็ก ทันทีทหี่ นังส่วนปลายหลุดขาด หนังจะย่นเลยมาทีต่ รง คอคอดของอวัยวะเพศ เลือดสีแดงสดไหลออกมามาเล็กน้อย ผ้าพันแผลถูกพันทับสองชั้นบริเวณต�่ำจากคอคอดไปเล็กน้อย เวลาที่ใช้ในการตัดไม่ถึงห้านาทีขั้นตอนนี้เราแทบไม่รู้สึกอะไร เลย เพราะยาชาก�ำลังออกฤทธิ์ หมอเปร่งเสียงอีกครั้งบอกว่าเสร็จ ในการตัดหนังหุ้ม ปลายอวัยวะเพศ หลายคนดูโล่งอก รวมถึงตัวเราที่ผ่านการตัด หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เสร็จเสียที่ เป็นค�ำพูดที่กังวานอยู่ใน
ใจ ความกังวลต่างๆหายไปเมื่อได้เดินออกมาจากห้องรับรอง แห่งนั้น เสมือนเราเป็นหนึ่งในผู้ชนะสงครามแห่งความกลัวภาย ใต้จิตใจ ความดีใจจนท�ำให้รู้สึกเบิกบานโดยมีเครื่องหมายเป็น รอยยิ้มที่มุมปาก และความสุขที่ได้ผ่านเรื่องราวที่ท�ำให้มีความ คิดกังวลหมดไป ความจริงแล้ว ชีวติ ในวันข้างหน้าอาจก�ำลังเปิด ประตูต้อนรับเราอยู่ ทั้งด้านดีและด้านร้าย ชีวิตเป็นบทเรียน เสมอ ความเจ็บปวดคงเป็นเครือ่ งหมายวัดความแข็งแกร่งทีด่ ใี น จิตใจเรา คิตาลสงครามแห่งความหวาดกลัวได้จบลงมันเป็น สงครามแรกที่เราต้องเผชิญ ความเจ็บจากบาดแผลรอเวลา แห่งการเยียวยารักษา มันเป็นสัญญาลักษณ์แห่งความสะอาด ที่ติดตัวเราไปจนหมดลมหายใจ และเป็นเครื่องหมายที่บอก ว่าเราผ่านมาแล้วกับช่วงเวลาเหล่านี้ ผูป้ ระกาศยังคงท�ำหน้าทีเ่ รียกเด็กรายต่อไปมาท�ำการ ตั ด แสงแดดของวั น ยั ง คงท�ำ หน้ า ที่ อ ย่ า งร้ อ นแรง ความ วุ่นวายยังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง หน้าที่และบทบาทของชีวิตยัง คงด�ำเนินต่อไป จากค�ำกล่าวของท่านศาสตร์ดาว่า แท้จริง แล้ ว มนุ ษ ย์ มี ก ้ อ นเนื้ อ อยู ่ ก ้ อ นหนึ่ ง เมื่ อ เนื้ อ ก้ อ นนั้ น ดี ทุ ก ส่ ว นของร่ า งกายก็ ดี ไ ปด้ ว ย เมื่ อ เนื้ อ ก้ อ นนั้ น เสี ย ทุ ก ส่ ว น ของร่ า งกายก็ เ สี ย ไปด้ ว ยพึ ง ทราบเถิ ด ก้ อ นเนื้ อ ก้ อ นนั้ น คือหัวใจ สิ่งนี้กระมั่งที่ท�ำให้คนเราสะอาดอย่างแท้จริง....
33 SALAM
Fashion & beauty
Mix & Match สีเสือ้ อย่างไรดี
เชือ่ ว่าทุกคนเคยเจอปัญหาการผสมสีเสือ้ ผ้า อยากใส่เสือ้ สีจดั แต่กไ็ ม่รวู้ า่ จะใส่กระโปรงสีอะไรดี สุดท้ายต้องถอน หายใจ แล้วก็จบลงทีก่ ระโปรงสีดำ� หรือไม่กข็ าว เพราะคิดว่า 2 สี อมตะเข้ากับอะไรก็ได้ ซึง่ ความคิดเนีย้ ไม่ผดิ แต่ทำ� ให้ การแต่งตัวน่าเบือ่ ไม่มคี วามสร้างสรรในการแต่งตัว แต่กบ็ อ่ ยครัง้ ทีไ่ ด้เห็นคนทีพ ่ ยายามจะผสมสี แต่เป็นการผสมทีด่ นู า่ เวียนหัวมากกว่าดูดี เราเลยขอแนะน�ำคูส่ ที ผ ี่ สมกันแล้วโอ คุณจะได้สนุกกับการแต่งตัว และหยุดความจ�ำเจของสีขาว และด�ำ สีสม้ แต่งกับ สีแดงหรือสีเหลือง สีขาวแต่ง กับสีครามหรือสีเหลือง สีมว่ งแต่ง กับสีครามหรือสีแดง สีเหลืองอ่อนแต่ง กับสีนำ�้ เงินอ่อนหรือสีบานเย็น สีฟา้ เงินปีกนกพิราบแต่ง กับสีจำ� ปาแดง (สีขาวอมชมพูนวล) สีเขียวหม่นหรือสีสนิมเหล็กแต่ง กับสีจำ� ปา (สีขาวอมเหลืองนวล) สีเขียวใบไม้แต่ง กับสีแดงเลือดนก สีแสด หรือสีเขียวอ่อน สีนำ�้ เงินแก่แต่ง กับสีเหลือง สีมว่ งเม็ดมะปรางแต่ง กับสีเขียวโศก สีมว่ งแต่ง กับสีนวลหรือสีเขียวตองอ่อน SALAM
34
35 SALAM
Helath
ภัยร้ายจากไวรัส เอชพีวใี กล้ตวั จากการศึกษาวิจัยในต่างประเทศพบว่า เชื้อไวรัส เอชพีวีสามารถติดต่อโดยการสัมผัส!! เบื้องต้นเราต้องพิสูจน์ ให้ได้ก่อนว่าสามารถตรวจพบเชื้อไวรัสเอชพีวี ที่แพร่จาก ผู้ติดเชื้อมาสู่สิ่งแวดล้อมรอบตัวเราได้หรือไม่ เช่น จากวัตถุ สิ่งของที่เราต้องสัมผัสจับต้องกันบ่อยๆ ราชวิทยาลัยกุมาร แพทย์แห่งประเทศไทยจึงได้รว่ มมือกับหน่วยไวรัสวิทยา ภาค วิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ลงสนามเก็บตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อม เพื่อน�ำมาตรวจหาเชื้อ ไวรัสเอชพีวีในที่สาธารณะ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเกิด มะเร็งปากมดลูก หูดหงอนไก่ มะเร็งองค์ชาติ และมะเร็งทวารหนัก ศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ จันทราทิตย์ หัวหน้าหน่วย ไวรั ส วิ ท ยา ภาควิ ช าพยาธิ วิ ท ยา คณะแพทยศาสตร์ โรง พยาบาลรามาธิบดี เปิดเผยว่า “ได้ทำ� การเก็บ 100 ตัวอย่างจาก สิง่ แวดล้อม โดยใช้สำ� ลีปราศจากเชือ้ ชุบน�ำ้ ยาตรวจหาไวรัสเอชพีวี เช็ดถูบริเวณต่างๆ อาทิ บริเวณราวบันไดเลื่อน ปุ่มกดลิฟท์ ลูกบิดประตูหอ้ งน�ำ้ ก๊อกน�ำ้ ทีอ่ า่ งล้างมือ ก้านกดชักโครก ทีร่ องนั่ง โถส้วม เพื่อตรวจจับเชื้อไวรัสเอชพีวีภายในห้างสรรพสินค้า โรงเรียนกวดวิชา สนามเด็กเล่น โรงพยาบาล สถานีบริการ น�ำ้ มัน สถานบันเทิง (ผับ) รถไฟฟ้า และรถประจ�ำทาง จากการ ส�ำรวจพบเชือ้ ไวรัสเอชพีวไี ด้ถงึ 4 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 4 ที่ด้ามกดชักโครกในห้องน�้ำหญิง ในโรงเรียนกวดวิชาแห่งหนึ่ง จากจ�ำนวน 3 แห่งทีจ่ ดั เก็บตัวอย่าง ก๊อกน�ำ้ ล้างมือทีต่ ดิ กับอ่าง ล้างมือในห้องน�ำ้ ชาย ในห้างสรรพสินค้าแห่งหนึง่ จากจ�ำนวน 4 แห่งที่จัดเก็บ ที่รองนั่งโถส้วมในห้องน�้ำหญิงจากสถานบันเทิง (ผับ) แห่งที่ 1 และที่รองนั่งโถส้วมในห้องน�้ำชายจากสถาน บันเทิง (ผับ) แห่งที่ 2 จากจ�ำนวน 3 แห่งทีจ่ ดั เก็บ” ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมศักดิ์ โล่ห์เลขา ประธานราชวิ ท ยาลั ย กุ ม ารแพทย์ แ ห่ ง ประเทศไทย กล่ า ว SALAM
36
ว่ า “จากการส� ำ รวจพบว่ า สถานที่ ที่ ส ามารถตรวจพบเชื้ อ ไวรั ส เอชพี วี มักเป็นที่เย็น ชื้น และไม่มีแสงแดด (UV) ส่ อ งเข้ า ถึ ง ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ กลุ ่ ม คนที่ เข้ า ไปในสถานบั น เทิ ง ที่ เ ป็ น กลุ ่ ม วั ย รุ ่ น และวั ย ผู ้ ใ หญ่ ต อนต้ น ซึ่ ง อยู ่ ใ นวั ย เจริ ญ พั น ธุ ์ เป็ น กลุ ่ ม ที่ มี ก าร ติ ด ต่ อ และแพร่ เชื้ อ ไวรั ส เอชพี วี สู ง สุ ด โดยตรวจพบกลุ่มของไวรัสเอชพีวีสาย พั น ธุ ์ ที่ ก ่ อ โรค คื อ สายพันธุ์ (type) 6, 11, 16, 18 และอื่นๆ การส�ำรวจครั้ง นี้ไม่ได้ต้องการให้ทุกคนตระหนกตกใจ ว่า เข้าห้องน�้ำสาธารณะแล้วจะติดเชื้อ ไวรัสเอชพีวี แต่เป็นสัญญาณเตือนภัย ใกล้ตัวให้เกิดการป้องกัน เบื้องต้นได้แก่ การล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังเข้า ห้ อ งน�้ ำ ทุ ก ครั้ ง เพื่ อ ลดปริ ม าณเชื้ อ โรคที่อาจจะติดมาโดยไม่รู้ตัว นอกจาก นี้สามารถป้องกันมะเร็งปากมดลูกโดย
ลดพฤติ ก รรมเสี่ ย ง ตรวจคั ด กรองเพื่ อ ตรวจหาความผิดปกติที่ปากมดลูก (เพื่อ ให้การรักษาก่อนที่จะกลายเป็นมะเร็ง ปากมดลูก) หรือฉีดวัคซีนป้องกันร่วม ด้วย ปัจจุบนั มีวคั ซีนเอชพีวี แนะน�ำให้ฉดี ในเด็กผู้หญิงก่อนมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก ช่วงอายุ 11-12 ปี จ�ำนวน 3 เข็ม เมือ่ ฉีด ครบ 3 เข็ม คาดการณ์วา่ สามารถป้องกัน การติดเชือ้ เอชพีวไี ด้อย่างน้อย 30 ปี โดย ไม่ต้องฉีดกระตุ้น และในบางประเทศมี การฉีดวัคซีนให้ในเด็กผูช้ ายด้วย” ในฐานะคุณแม่ลูกสาม ปัทมน (อดิเรกสาร) สุริยะ กล่าวว่า “ครอบครัว ของบัวให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งสุขภาพเป็น อย่างมาก ยิง่ ตอนนีบ้ วั มีลกู สาว 3 คน คน โตเป็นฝาแฝดอายุ 5 ขวบ คนเล็กอายุ 3 ขวบ ยิง่ ต้องให้ความส�ำคัญทัง้ ลูกและตัวเองมากขึน้ เมื่อถึงเวลาที่ลูกต้องฉีดวัคซีนก็ต้องรีบไป ฉีดให้ครบตามก�ำหนด อย่างตัวเองหลัง
คลอดลู ก มาก็ ต ้ อ งไปตรวจภายในตาม หมอนัดเป็นประจ�ำไม่เคยขาด และยิ่ง มารู ้ ว ่ า พบเชื้ อ ไวรั ส เอชพี วี ใ นห้ อ งน�้ ำ สาธารณะแบบนี้ เรายิ่งเป็นห่วงมากขึ้น แต่บัวจะสอนลูกเสมอว่าเข้าห้องน�้ำทุก ครั้งต้องล้างมือให้สะอาด ซึ่งตอนนี้เขาก็ ติดนิสัยล้างมือไปแล้ว และคิดว่าเมื่อลูก อายุถึงเกณฑ์คงต้องพาลูกๆ ไปฉีดวัคซีน เพือ่ เป็นการป้องกันไว้กอ่ น”
37 SALAM
travre
รูช้ วี ติ ...เข้าใจโลก...
กับคนน่านเมืองน่าอยู่ โลกที่เพื่อนฝูงดีต่อกันนับเป็นเรื่องธรรมดา ทุกยุคทุกสมัยก็เป็นเช่นนั้น โลกที่คนแปลกหน้าดีต่อกันต่างหากเป็น ประเด็นทีส่ ำ� คัญกว่า เพราะมันอาจใช้วดั ความเจริญก้าวหน้าหรือล้าหลังของสังคม ตอนหนึง่ จากหนังสือวันทีถ่ อดหมวก ของ อ.เสกสรรค์ ประเสริฐกุล ผมออกเดินทางจากกรุงเทพ ขึน้ สูภ่ าคเหนือด้วยความตัง้ ใจไปเรียนรูโ้ ลก กับคนแปลกหน้า และสิง่ แวดล้อมทีไ่ ม่คนุ้ เคย มันออกจะตัดสินใจยากสักนิดถ้าไม่ได้สาวน้อยชาวฝรัง่ เศสทีม่ าเทีย่ วเกาะหมากคนนัน้ มานัง่ เล่าเรือ่ งราว ต่างๆทีเ่ ธอสัมผัส ผมเองคงไม่มคี วามคิดทีจ่ ะเดินทางท่องเทีย่ วคนเดียวเหมือนอย่างเธอเป็นแน่..... เธอออกเดินทางไปทีต่ า่ งๆ โดยตัวคนเดียวและเธอเล่าด้วยน�้ำเสียงบอกถึงความตื่นเต้นและประสบการณ์ชีวิตที่หาที่ไหนไม่ได้...ผมรู้สึกว่ามันเป็นความ สวยงามของการใช้ชวี ติ อย่างแท้จริงและอยากลองทีจ่ ะเดินทางคนเดียวบ้าง จากกรุงเทพฯ ไปน่าน จุดหมายปลายทางของทริปที่ผม เลือก และการได้พักโฮมสเตย์มันเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้ผมอย่าง มาก ทีจ่ ะได้เรียนรูค้ วามเป็นวิถอี ย่างแท้จริง ‘ความสุข’ค�ำทีค่ นเมือง ก�ำลังแสวงหา บางคนด�ำเนินชีวิตเหมือนเครื่องจักร ยอมเป็นหนูที่ ติดอยูใ่ นกงล้อทีห่ มุนไป ไม่มวี นั หยุด เมือ่ หมดแรง หนูตวั ใหม่กเ็ ข้ามา แทนที่ มันขาดวิถแี ห่งการใช้ชวี ติ อย่างทีช่ วี ติ ต้องการ การมีชีวิตที่ดีตามความหมายของคนส่วนใหญ่คือ การ มีวัตถุสิ่งของต่างๆมากมายที่สังคมแห่งการบริโภคนิยมได้ยัดเยียด ให้คนทุกระดับชั้นเข้าใจและอยากเดินตาม การมีวัตถุสิ่งของต่างๆ คือภาพแห่งความส�ำเร็จ แต่คุณภาพชีวิตกับกลายเป็นสิ่งสุดท้าย ที่ ค นเมื อ งอย่ า งเราพู ด ถึ ง และคนเมื อ งอย่ า งเราก� ำ ลั ง ขาดแคลน เราขาดอากาศที่บริสุทธิ์ และบางคนก�ำลังลืมวิถีของชุมชนที่ครั้ง หนึ่งเราเคยมี แต่มันก�ำลังจะหายไป บางแห่งได้หายไปแล้วบน ความรู้สึกของคนเมือง วิถีชีวิตชุมชน ในความรู้สึกของผมมันก็ ก�ำลังหายไป ผมเลยออกตามหาหวังว่าจะเจอมันอีกครั้งที่เมืองน่าน แห่งนี้ SALAM
38
ก่อนออกเดินทางมาน่านผมได้ตดิ ต่อกับ คุณ บัวค�ำ สายธา หนึ่งในผู้ประสานงานการท่องเที่ยวชุมชนบ่อสวก การต้อนรับนัก ท่องเที่ยวของคนชุมชนบ่อสวกนี้นับว่าเข็มแข็งมาก และท�ำงานกัน อย่างเป็นระบบ มีการประสานงานไปยังตัวแทนชุมชนต่างๆเช่น กลุ่มรถ กลุ่มบ้านพัก กลุ่มจักรสาน กลุ่มทอผ้า กลุ่มภูมิปัญญา แล้ว สรุปเส้นทางท่องเที่ยว ในต�ำบลบ่อสวกให้นักท่องเที่ยวทราบ ต่อมา ก็พาเข้าพื้นที่ตามเส้นทางต่างๆการมาเที่ยวที่นี้โดยการติดต่อผ่าน ชุมชนโดยตรงจะแตกต่างกับบริษัททัวร์ในเรื่องของเวลาที่ไม่รีบเร่ง และการเข้าถึงชุมชน ศาลปู ่ ฮ ้ อ คื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการเที่ ย วเรี ย นรู ้ วิ ถี ชุ ม ชน คนใน ต�ำบลบ่อสวกนั้นนับถือศาลปู่ฮ้อกันมาก ที่ศาลปู่ฮ้อยังมี พิพิธภัณฑ์ดงปู่ฮ้อเล็กๆไว้ให้นักท่องเที่ยวเข้าชมภายในมีของเก่า ที่ชาวบ้านขุดได้ไม่ว่าจะเป็นถ้วย ไห จาน ชาม ที่แตกหักอายุน่า จะหลายร้อยปีเป็นการเรียกน�้ ำย่อยก่อนที่จะไป ดูบ้านแสนชื่น บ้านเตาเผาโบราณ บ้านนี้จะอนุรักษ์ไว้เตาเผาเครื่องปั้นดินเผา โบราณไว้ให้นักท่องเที่ยวและผู้สนใจได้ชม โดยไม่เสียค่าธรรม
เนียมใดๆนอกจากนี้ ยังมีเรือนไม้โบราณ ซึ่งจัดวางข้าวของเครื่อง ใช้ ทุ ก อย่ า งไว้ ใ นต� ำ แหน่ ง ที่ ค นสมั ย ก่ อ นได้ ห ยิ บ ใช้ โ ดยสะดวก คนเมืองอย่างเราเห็นแล้วยังต้องยอมรับในวิธีคิดของคน สมัยโบราณอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นทางเดินนอกชานที่คนโบราณ ตีไม้พื้นไม่ติดกัน มีช่องห่างระหว่างแผ่นไม้ เดินไปตอนแรกรู้สึก เจ็บเท้า พอได้ค�ำตอบว่ามันเป็นการนวดเท้าของโบราณท�ำให้เลือด เดินสะดวก และยังไม่นับห้องครัว ที่มีวิธีกันมดหรือแมลงไม่ให้เข้า อาหารหรือ รองเท้าก็อปแก็ป ที่เดินต้อนฝนตกแล้วเท้าไม่เปื้อน ดิน ที่บ้านโบราณแสนชื่น มีเตาเผาโบราณที่มีสภาพสมบูรณ์มาก สมเด็จพระพี่นางได้เสด็จมาทอดพระเนตร และทรงรับสั่งว่าไม่ อยากให้ขุดแสดงจนหมด เพราะหากรุ่นลูกหลานอยากศึกษาอาจ จะไม่เห็น เพราะของอยู่ใต้ดินจะมีสภาพเดิมแต่พอขุดมาของพวก นี้จะเสื่อมสภาพไปซึ่งเตาเผาที่ได้ขุดค้นมาแล้วยังมีสภาพสมบูรณ์ มากเกื อ บจะร้ อ ยเปอร์ เซ็ น ต์ บ้ า นโบราณแสนชื่ น จะมี ก ารสอน การปั้น ถ้วย ชาม ให้กับนักท่องเที่ยวและผมก็ได้เป็นหนึ่งในนักท่อง เที่ยวที่ไม่พลาดที่จะรวมท�ำกิจกรรมการปั้นที่บ้านโบราณแสนชื่น ผมออกจากบ้านโบราณแสนชื่น ด้วยความรู้สึกที่ชื่นชมคนสมัยก่อน ที่มีความคิดและเป็นภูมิปัญญาที่น่าทึ่ง ก่อนมาน่าน ผมมีความรู้ในการพักแบบโฮมสเตย์อย่าง หนึ่ง แต่หลังจากที่ได้มาสัมผัสการพักโฮมสเตย์ที่น่านแล้วความคิด ก็เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง การพักโฮมสเตย์ตามความคิดของผมคือ ต้องเป็นบ้านพักที่สร้างขึ้นมาเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว แต่ที่นี้จะดู นักท่องเทีย่ วว่ามากีค่ น แล้วหาบ้านพักให้ เช่นบ้านนีร้ บั ได้1คน2 คน
ก็วา่ กันไป บ้านทีร่ บั นักท่องเทีย่ วก็คอื บ้านทีอ่ ยูใ่ นชุมชน ถ้าเปรียบก็ เสมือนว่าเราเป็นญาติหรือแขกทีม่ าพัก มากกว่าการเป็นนักท่องเทีย่ ว อย่างทีผ่ มเข้าใจ ผมโชคดีอย่างที่เดินทางมาคนเดียวในทริปนี้เพราะได้พัก กับพ่ออรุณศิลป์ ครูดนตรีพนื้ บ้านของชุมชน บ้านซาวหลวง ต�ำบล บ่อสวก พ่ออรุณศิลป์เป็นครูคนตรี ทีเ่ ล่นเครือ่ งดนตรีพนื้ บ้าน สะล้อ ซอ ปิน ซึง่ ต่างจากภาคอีสานทีเ่ ล่น สะล้อ ซอ ซึง่ พ่ออรุณศิลป์กบั ภรรยา ทัง้ สองมี ความเป็นอยูท่ เี่ รียบง่าย และใจดีรวมถึงการวางตัว ที่เป็นกันเองอย่างมากจนผมหลงนึกว่ามาเทียวบ้านญาติมากว่าการ มาเทีย่ ว บ้านที่ติดกับท้องนาสีเขียวสดฉากหลังไกลออกไปเป็น ทิวเขาที่มองเห็นผ่านหน้าต่างบ้านเหมือนภาพวาดของจิตรกรรม เอก พืชผักสวนครัวที่ปลูกกินเอง อากาศสดชื่น ใบหน้ายิ้มแย้ม และเป็นครูทสี่ อนการเล่นดนตรีพนื้ บ้านให้ผมอย่างตัง้ ใจหลังอาหารค�่ำ มันเป็นความสุขที่เรียบง่ายที่ผมได้สัมผัส มันเป็นรอยยิ้มที่ผมรับรู้ ว่ามันออกมาจากใจอย่างแท้จริง ส�ำหรับสองสามีภรรยาคู่นั้น และ ความงามตามวิถคี วามเป็นอยูอ่ ย่างคนไทย สิ่งเหล่านี้เป็นของขวัญยิ่งใหญ่ในการเติมไฟส�ำหรับการ ด�ำเนินชีวติ ถึงแม้เราอาจจะไม่ได้มชี วีิ ติ แบบนีใ้ นชีวติ จริงๆในปัจจุบนั แต่อย่างน้อยการแวะมาเยี่ยมเมืองน่าน มันก็ท�ำให้เราได้รู้ว่าความ สุขในการใช้ชีวิตไม่จ�ำเป็นต้องพร้อมไปด้วยทุกอย่าง เพียงแค่มีบาง อย่างและพอใจกับอะไรทีเ่ รามี ไม่แน่วา่ เช้าใหม่ของคุณอาจเป็นวันที่ คุณไม่ตอ้ งเดินวนอยูบ่ นกงล้ออีกต่อไป
39 SALAM
Halal Restaurant
Spring Cup
Cafe
ทีต่ งั้ :111/433 กัสโต้ สปอร์ตคลับ มบ.งามเจริญ 5 ท่าข้าม บางขุนเทียน กทม 10510 ประเภท: ร้านกาแฟ, เบเกอร์ร,ี่ อาหา รอิตาเลีย่ น เบอร์โทร : 02-405-7088 , 082-340-8710 email: info@gustosport.com
นั่งเพลินไปกับบรรยากาศ ร้านสไตล์วินเทจ จิบชา กาแฟ และ อาหารว่างกาแฟสด อาราบีกา้ 100% ชาหลากรส และหลากหลายเมนูเค้ก สูตรเฉพาะของทางร้าน พร้อมด้วย เมนู อ าหารอิ ต าเลี่ ย นฮาล้ า ล เมนู แนะน�ำ ส ป า เ ก็ ต ตี้ ผั ด ห อ ย ล า ย สปาเก็ ต ตี้ ผั ด หอยแมลงภู ่ สปาเก็ ต ตี่ ขี้ เ มาหอยเซล ข้ า วผั ด ต้ ม ย� ำ กุ ้ ง สเต็ ก ปลาดอลลี่ ย� ำ ทู น าผั ก สลั ด บลู เ บอร์ รี่ ชี ส เค้ ก ต้ ม ย� ำ ทะเล กาแฟสด อาราบิกา 100% ชาดอก ไม้
SALAM
40
41 SALAM
SME
“มิสเตอร์ชาชักแอนด์โรตี” “ชาชัก” เป็นเครือ่ งดืม่ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของภาคใต้ ด้วยลีลาสวยงาม น่าตืน่ เต้น ประกอบกับรสชาติเข้มข้น จน เป็นทีต่ ดิ อกติดใจของนักชิมทัง้ หลาย เดิมจะหากินได้เฉพาะพืน้ ทีภ่ าคใต้อย่างเดียว ทว่า ปัจจุบนั เครือ่ งดืม่ ประเภทนี้ ถูกน�ำมา แต่งตัวใหม่ น�ำเสนอแบบแฟรนไชส์ ให้คนเมืองได้ลองลิม้ ในชือ่ “มิสเตอร์ชาชักแอนด์โรตี” ย้ อ นกลั บ ไปเมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม 2549 ที่ ผ่ า นมาคุ ณ อดุ ล ย์ หมั ด บู กรรมการผู ้ จั ด การบริ ษั ท เอส เค คอมเมอร์ เ ชิ่ ย ล อิ น เตอร์ เ ทรด จ� ำ กั ด เริ่ ม สร้างธุรกิจแฟรนไชส์ เครื่อง ดื่มประเภทชา – กาแฟ ใน ชื่ อ “มิ ส เตอร์ ช าชั ก แอนด์ โรตี” โดยใช้จดุ เด่น น�ำเสนอ วั ฒ นธรรมการกิ น “ชากาแฟ” ของคนใต้ มาให้คน เมืองรูจ้ กั อาทิ การ “ชักชา” ลากยาวเป็นสาย จากบนลง ล่าง รสชาติเข้มข้นจากผงชา ขนานแท้ และการกินคู่กับ เมนูโรตี อดุลย์ เผยว่า เป็น คนพื้นเพ อ.หาดใหญ่ และ ช่วงวัยรุ่นเคยไปท�ำงานร้าน ชาชั ก ในประเทศมาเลเซีย 4 – 5 ปี ท� ำ ให้ ไ ด้ เรี ย นรู ้ สู ต ร และวิ ธี ก ารชงชาจาก ต้นต�ำรับ จึงเกิดแนวคิดน�ำรูปแบบร้านดังกล่าว มาขยายแบบแฟ รนไชส์ในกรุงเทพฯ เพราะเห็นว่า ยังไม่มเี จ้าใดท�ำมาก่อน “ผม ใช้วธิ ชี กั ชามาเรียกความสนใจจากลูกค้า แม้เขาจะไม่กระหายน�ำ้ แต่เพื่อได้ดูการแสดงชงชาแบบนี้ ก็จะลองซื้อสักแก้ว ซึ่งผม มัน่ ใจว่า หลังชิมสักครัง้ จะติดใจ และเป็นลูกค้าประจ�ำ เพราะ วิธกี ารชักชา ท�ำให้เกิดฟองอากาศ ช่วยให้รสชาตินมุ่ กลมกล่อม ยิ่งขึ้น และเมื่อกินพร้อมกับโรตี จะได้รสชาติแท้ๆ เหมือนกิน จากภาคใต้ ซึ่งผมถือว่า เป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมของอาหาร SALAM
42
อิ ส ลามด้ ว ย” เจ้ า ของธุ ร กิ จ กล่าว ด้านรูปแบบแฟรนไชส์ มี ด้วยกัน 3 รูปแบบ ประกอบ ด้ ว ย อย่ า งแรกเป็ น พั น ธมิ ต ร ร่วมทุน โดยตกลงกันระหว่าง ผู้ลงทุนกับบริษัทฯ ว่า จะร่วม หุ้นกันฝ่ายละกี่เปอร์เซ็นต์ ส่วน ใหญ่ ที่ ผ ่ า นมาจะครึ่ ง ต่ อ ครึ่ ง ต่อสาขาจะลงทุนแตกต่างกัน ไปตามปัจจัยของสถานที่ แต่ โดยเฉลี่ยอยู่ประมาณสาขาละ 100,000 บาท ส่วนผลก�ำไรทีไ่ ด้ จะค�ำนวณต้นทุน แล้วจัดสรร ตามสัดส่วนลงทุน รู ป แบบแรกดั ง กล่ า ว เหมาะกั บ ท� ำ เลในห้ า งสรรพ สินค้า ซื้อขายด้วยคูปอง ราย ได้ จั ด เก็ บ ผ่ า นคนกลาง คื อ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ มี ป ั ญ หาการแบ่ ง ผลก� ำ ไร โดยที่ ผ ่ า นมา มี พั น ธมิ ต รร่ ว ม ทุ น ประมาณ 10 กว่ า สาขา กระจายอยูต่ าม “ท๊อปส์” สาขาต่างๆ แฟรนไชส์รูปแบบที่สอง คือ ขายแฟรนไชส์ มูลค่า 45,000 บาท ผูล้ งทุน จะได้คอี อส พร้อมอุปกรณ์ และวัตถุดบิ ครบชุด อาทิ หม้อต้มกาแฟ กระทะไฟฟ้า อุปกรณ์เครื่องดื่ม ฯลฯ พร้อมอบรมพนักงาน สามารถเริ่มต้นธุรกิจได้ทันที ทั้งนี้ ผู้ลงทุนเป็นผู้ด�ำเนินการหาท�ำเลที่ตั้งเอง หรือ กรณีไม่มีท�ำเล บริษัทฯ จะท�ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง และคนกลางประสานงานกับ พืน้ ทีเ่ ช่าต่างๆ ให้อกี ทาง ซึง่ ขณะนี้ ก�ำลังเจรจากับห้าง “บิก๊ ซี”
เพื่อขอเช่าจ�ำหน่ายในทุกสาขา หากบรรลุข้อตกลงจะช่วย เป็นอีกช่องทางให้ผู้ลงทุนหาท�ำเลได้ง่ายขึ้น และแฟรนไชส์ รูปแบบสุดท้าย เป็นแบบแฟรนไชส์รถเข็น ใช้ชอื่ ว่า แฟรนไชส์ “ชาชักกะเย่อแอนด์โรตี” มีจุดเด่นสามารถเคลื่อนย้ายสะดวก และขายได้ ตลอด 24 ชม. ลงทุน 39,000 บาท ได้รถเข็น พร้อมอุปกรณ์ ครบชุดเช่นกัน และอบรมพนักงาน นอกจากนี้ มีระบบสร้าง สมาชิกเครือข่าย ถ้าผู้ลงทุน สามารถชักชวนผู้อื่นมาลงทุน แฟรนไชส์นไี้ ด้ครบ 8 ราย จะได้คา่ คอมมิชชัน่ 40,000 บาท พร้อมสิทธิเ์ ป็นผูด้ แู ลสมาชิกของตนเอง อดุลย์ เผยว่า ปัจจุบนั มีแฟรนไชส์รวมทุกรูปแบบ ประมาณ 20 กว่าสาขา ตัวเขาจะมีก�ำไรจากการขายแฟรนไชส์แห่ง ละประมาณ 20% เช่นเดียวกับก�ำไรค่าวัตถุดิบแต่ละชนิด ประมาณ 20% ซึง่ ในแง่ของเงินทีไ่ ด้มา ไม่มากมายแต่อย่าง ใด แต่จะได้ด้านการกระจายชื่อเสียงแบรนด์ให้รู้จักในวง กว้าง โดยเป้าที่วางไว้แท้จริง คือ การขายปลีกวัตถุดิบผงชา และโรตีบรรจุสำ� เร็จรูป ตามร้านค้า และซูเปอร์มาร์เกตต่างๆ รวมถึงผลักดันเป็นสินค้าส่งออกต่อไป ซึง่ เวลานี้ ในส่วนของ โรตีส�ำเร็จรูป วางขายใน “ท็อปส์” แล้ว ส่วนผงชา จะตาม มาในเร็วๆนี้ ส่วนรายได้ของบริษัทฯ ถึงสิ้นปี คาดว่าอยู่ที่ ประมาณเจ็ดหลัก
ทุกค�ำตอบ ของงานสิง่ พิมพ์และ Event โ ท ร 0 2 - 4 6 2 - 5 2 6 7 มื อ ถื อ 0 8 5 058-8992,084-414-61105 e-mail:salammediaplus@gmail.com
43 SALAM
SALAM
44
Literature
ขุมพลังของหนอน
กระดาษปอนด์ที่ฟอกสีแต่น้อย มีคุณสมบัติดูดซับแสงดี ปริมาณการสะท้อนแสงน้อย เพื่อมิให้เกิดผลร้ายต่อสายตาของผู้อ่านเป็นต้อกระจก กระดาษมีฝุ่นมีผลต่อ ภูมแิ พ้ น�ำ้ หมึกอาจก่อมะเร็ง คนท�ำหนังสือสูดดมกาวจนเป็นมะเร็งปอด เหล่านีล้ ว้ นเป็นภัยทีซ่ อ่ นอยูห่ ลังปก หนังสือในมือของท่าน หนังสืออาจจะเป็นอาหารสมองแต่อาจเป็นภัยต่อสุขภาพ
ส� ำ นั ก พิ ม พ์ ผี เ สื้ อ มองเห็ น สิ่ ง เหล่ า นั้ น เนื่ อ งจากการพิ ม พ์ ห นั ง สื อ สมั ย ก่ อ นจะพิ ม พ์ ด ้ ว ย กระดาษปรูฟ๊ ราคาถูก แต่ดว้ ย คุณผกาวดี อุตตโมทย์ และคุณมกุฏ อรฤดี ผู้ ก่อตัง้ เดิมเริม่ ตัง้ ชือ่ ส�ำนักพิมพ์วา่ ดอกไม้ พิมพ์หนังสือ เรื่อง “ผีเสื้อและดอกไม้” เป็นเล่มแรก มีความตั้งใจ จริงที่อยากท�ำหนังสือคุณภาพดี ราคาถูก จึงตัดสิน ใจพิมพ์หนังสือครั้งแรกด้วยกระดาษปอนด์ ไม่ฟอก สี ที่ถนอมสายตา และเข้าเล่มด้วยวิธีการเข้าเล่มแบบ เย็บกี่ (ร้อยเส้นด้าย) และไสกาว สิง่ ทีไ่ ด้คอื หนังสือที่ แข็งแรงและมั่นคงโดยไม่หลุดเป็นแผ่นๆ ตลอดระยะ เวลายาวนานไม่ต�่ำกว่า 50 ปีทขี่ า้ งในหนังสือมีเนือ้ หา ครบถ้วน ภาษาไม่ผิดเพี้ยนเพราะสิ่งที่ยึดถือคือไม่ได้ ท�ำหนังสือที่เป็นสินค้า หากแต่เป็นขุมทรัพย์แห่งสติ ปัญญา และยังตระหนักถึงภัยที่มากับหนังสือ ก่อให้ เกิดผลร้ายต่อร่างกายและสุขภาพของคนอ่าน ทุกหน้า ในเล่มซ่อนนานาสารพัดโรค รวมทั้งคนผลิตหนังสือที่ ต้องท�ำงานแข่งกับเวลา เสีย่ งต่อปัญหาสุขภาพ เพราะ ในปัจจุบนั ระบบธุรกิจมุง่ เล็งถึงผลก�ำไรสูงสุด ไม่คำ� นึง ถึงผูบ้ ริโภค แต่สิ่งที่ทางส�ำนักพิมพ์ผีเสื้อให้ความส�ำคัญ มาเป็นอันดับต้นๆ ก็คือ เรื่องของการฟื้นฟูภาษาท้อง ถิ่น อาทิ ภาษาเขียนท้องถิ่นต่างๆ พร้อมจัดท�ำข้อมูล ในเรื่องของประวัติศาสตร์ท้องถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่น ที่ก�ำลังจะหายไปให้ออกมาเป็นหนังสือแบบร่วมสมัย
เพือ่ เป็นการปลุกเรือ่ งราวทีท่ รงคุณค่าขึน้ มาอีกครัง้ ซึง่ ทุกคนสามารถหาซือ้ อ่านได้งา่ ย และเพือ่ ให้หนังสือดีๆ ออกสูส่ ายตาผูค้ นและเยาวชนตามชุมชนได้มากขึน้ ทางส� ำ นั ก พิ ม พ์ ยั ง มี โ ครงการระบบห้ อ ง สมุดหมุนเวียน ซึ่งในปัจจุบันมีโครงการต้นแบบ คือ โครงการระบบหนังสือหมุนเวียนในมัสยิด อ.เหนือ คลอง จ.กระบี่ ซึง่ มีทงั้ หมด 8 แห่ง จะแบ่งเป็นสองวง วงละ 4 แห่ง ในทุกๆ 3 เดือนจะมีกจิ กรรมหมุนเวียน หนังสือหนึ่งครั้ง เมื่อครบปี มัสยิดทุกแห่งจะได้อ่าน หนังสือครบหนึง่ กองใหญ่ นอกจากจะมีการหมุนเวียน แลกเปลี่ยนหนังสือ ยังประกอบด้วยกิจกรรมหลาย อย่าง อาทิ การประกวดบันทึกการอ่าน ประกวด ลายมือสวย วาดรูปสวย ผูอ้ า่ นมาก อ่านเก่ง พร้อมทัง้ มีของขวัญของรางวัล เป็นต้น กิจกรรมเหล่านีจ้ ะท�ำให้ ชุมชนรับทราบและกระตือรือร้นทีจ่ ะอ่านหนังสือ รวม ทั้งคนในชุมชนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ จะได้มีความรักและ ความสามัคคีมากยิ่งขึ้น โดยทางส�ำนักพิมพ์มีความ ตั้งใจที่จะน�ำระบบห้องสมุดหมุนเวียนนี้ให้เกิดขึ้นทุก มัสยิดทัว่ ประเทศ “คนไทยทุกคนมีโอกาสได้อ่านหนังสืออย่าง เท่าเทียมกัน” ประโยคที่ปรากฏตรงส่วนล่างในหน้า เว็บไซต์ของส�ำนักพิมพ์ผีเสื้อ คือสิ่งที่ยึดมั่นในการ สร้างสรรค์ และเป็นขุมพลังปัญญาของหนอนหนังสือ ที่จะร่วมสร้างสรรค์และผลักดันให้คนไทยเข้าถึงการ อ่านหนังสือดีๆ ต่อไป
45 SALAM
Literature
สุดทางรอด
สุดทางรอด เรือ่ งราวของ อีไนอะตอลลาห์ อัคบารี เด็ก ชายชาวฮาซาราในอัฟกานิสถาน วัย 10 ขวบที่ถูกแม่น�ำมาทิ้งที่ ชายแดนปากีสถาน เพราะความไม่สงบในบ้านเกิดโดยกลุม่ ตอลิบนั ท�ำให้อนาคตของเด็กและประชาชนต้องแขวนอยู่บนเส้นด้ายแห่ง ความตาย ความเด็ดขาดของแม่ทกี่ ล้าตัดสินใจทิง้ ลูกชายวัย 10 ขวบ ไว้กับคนอื่น ส่วนตัวเองก็หายตัวไป ปล่อยให้ลูกชายต้องเผชิญกับโชค ชะตา “แม่” มีเหตุผลในการเลือกที่จะปล่อยให้ลูกต้องเผชิญโลกตาม ล�ำพัง และในการปล่อยทิง้ “แม่” มีความหวังว่าลูกชายคนนีจ้ ะมีชวี ติ รอด ไปอยู่ในดินแดนแห่งอื่น ก่อนจากลูกและไม่ยอมปริปากบอกว่าจะทิ้งลูก “แม่” ขอร้องให้ลกู ท�ำสามสิง่ ในชีวติ ข้อแรก...ลูกจะต้องไม่แตะต้องยาเสพติด ถึงมันจะหอมหวนยวนใจ ยัว่ ให้ลกู ลิม้ ลอง ล่อให้ลกู หลงใหล หลอกให้ลกู เชือ่ ว่าจะเพลิดเพลินเป็นสุขอย่างทีไ่ ม่ เคยรู้สึกมาก่อน สัญญากับแม่นะ...ว่าลูกจะไม่แตะต้องมันเป็นอันขาดข้อที่สอง... อย่าใช้อาวุธ ไม่ว่าใครจะท�ำให้ลูกโกรธ ท�ำร้ายจิตใจลูกแค่ไหน หรือลบหลู่พระเจ้า หรือล่วงเกินคนที่ลูกรักใคร่นับถือ ลูกสัญญากับแม่ได้ไหมว่า...ลูกจะไม่จับปืน ไม่คว้า มีด ไม่ฉวยก้อนหินหรือหยิบจอบเสียมไปท�ำร้ายเขาข้อทีส่ าม...ลูกจะต้องไม่โกหกหลอก ลวงหรือลักขโมยของของคนอืน่ คิดให้ดวี า่ สิง่ ใดเป็นของลูก และสิง่ ใดไม่ใช่ ลูกจงท�ำงาน หาเงินเอาเอง แม้งานจะหนักแค่ไหนก็ตาม ลูกจะต้องไม่เป็นคนโป้ปดคดโกง อีไนอัต ลูก แม่ เข้าใจไหมว่า...ลูกจะต้องใจกว้าง โอบอ้อมอารีและรูจ้ กั ฟังคนอืน่ สัญญากับแม่นะลูก... หลั ง จากนั้ น ชี วิ ต ของเด็ ก ชายวั ย 10 ขวบต้ อ งเผชิ ญ ชะตากรรมต่ า งๆ และ ได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลรอบข้างซึ่งไม่รู้จักกันมาก่อน จุดหมายในการไปสู่ชีวิต ใหม่ คื อ ประเทศอิ ต าลี การเดิ น ทางในฐานะผู ้ ลั ก ลอบเข้ า เมื อ งอย่ า งผิ ด กฎหมายเริ่ ม ขึ้ น จากอัฟกานิสถาน-บ้านเกิด เขาใช้เวลา ชีวิต และเงินจากการท� ำงานแบบหลบๆ ซ่อนๆ ท�ำให้มีเงินจ่ายค่านายหน้าที่จะพาไปสู่ประเทศต่างๆ อันเป็นเส้นทางการเดินทางไปยังอิตาลี เส้นทางเริม่ จาก อัฟกานิสถาน-ปากีสถาน-อิหร่าน-ตุรกี-กรีซ-อิตาลี แต่ละจุดทีผ่ า่ น ใช้เวลาอยูแ่ ต่ละ ประเทศพอสมควรเพือ่ ท�ำงานเก็บเงินและหาลูท่ างในการเดินทางต่อไป การเดินทางของอีไนอัต (ชื่อที่แม่ของเขาเรียก) ต่างจากการเดินทางข้ามประเทศของ นักเดินทางหรือนักท่องเทีย่ ว ชีวติ ของเขาเรียนรูช้ วี ติ ความเป็นไปของตัวเอง ดูแลตัวเอง หาทางรอดของ ตัวเอง ท�ำมาหากินเพื่อให้มีเงินพอที่จะเป็นค่าใช้จ่ายในการหนีไปยังประเทศอื่น บางครั้ง เขาก็ไม่อยากหนี แต่สถานการณ์บบี บังคับด้วยสถานะภาพคนลักลอบเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย และ เจ้าหน้าทีบ่ า้ นเมืองในแต่ละประเทศก็รดู้ วี า่ พวกเขาจะมีทกี่ บดานทีไ่ หน เส้นทางเดินทางของอีไนอัต ท�ำให้เห็นกระบวนการท�ำงานของพวกนายหน้า ในหนังสือไม่ได้บบี คัน้ อารมณ์จนต้องก่นด่านายหน้า เจ้าของเรือ่ งอย่างอีไนอัตเล่าเรือ่ งราวต่างๆ ไม่ได้โทษใครและเข้าใจการท�ำงานของนายหน้าและเข้าใจการท�ำงานของเจ้าหน้าต�ำรวจในแต่ละ ประเทศที่เข้มงวดกับผู้ลักลอบเข้าเมือง หรือแม้แต่การเล่าให้เห็นถึงการคอรัปชั่นของเจ้าหน้าที่ กระบวนการลักลอบเข้าเมืองที่เป็นระบบ ทั้งที่เจ้าหน้าที่รู้ดีว่าเส้นทางการหลบหนีคือที่ไหนบ้าง แต่จ�ำนวนผู้ลักลอบเข้าเมืองก็ยังไหลทะลักไปยังประเทศต่างๆ ที่เป็นเส้นทางผ่าน ระหว่างการเดินทาง มีผู้ร่วมทางลักลอบเข้าเมืองหลายคนที่เสียชีวิตระหว่างการเดินทาง ทั้งด้วยการเดินเขาที่กินเวลาร่วมเดือน อาหารไม่ เพียงพอ ร่างกายแข็งแรงไม่พอ ทนต่อสภาพอากาศบนภูเขาสูงไม่ไหว การเดินทางต้องด�ำเนินต่อไป ทุกคนมีจดุ หมายของตัวเอง SALAM
46
แบบฟอร์มการสมัครสมาชิก salam ระหว่างการเดินทางข้ามไปในหลายประเทศ สิ่งที่อี ไนอัตเห็นคือชีวิตและความเป็นมนุษย์ หลายครั้งที่เขาได้รับการ ช่วยเหลือจากคนแปลกหน้าที่มองเห็นความเป็นมนุษย์ในตัวเขา มากกว่ามองว่าเป็นพวกลักลอบเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย และ เพือ่ นหลายคนทีพ่ บเจอ นับเป็นกัลยาณมิตรยามยาก แล้ววันหนึง่ เขาก็ต้องบอกลาบุคคลเหล่านั้นโดยให้เหตุผลแก่ฟาบิโอ เกดา ผู้ ถ่ายทอดเรื่องของเขาว่า “ฉันเคยอ่านพบว่า การตัดสินใจอพยพ ย้ายถิ่นของคนเรามาจากความจ�ำเป็นที่จะต้องมีชีวิตอยู่ต่อไป... ครับ มันเป็นอย่างนัน้ ผมคิดว่า ความหวังทีจ่ ะมีชวี ติ ทีด่ กี ว่ามีพลัง ผลักดันที่ยิ่งใหญ่กว่าความรู้สึกใดๆ ตัวอย่างเช่นแม่ผม แม่ตัดสิน ใจว่า ชีวติ ผมถึงแม้จะมีอนั ตรายถ้าต้องอยูไ่ กลแม่ แต่จะมีอนาคต ที่ดีกว่ากับการอยู่ใกล้แม่แต่ยังคงมีอันตรายเหมือนเดิม มันเป็น ความรูส้ กึ กลัวเหมือนๆ กัน แต่แตกต่างกัน” ในความอาทรช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ระหว่างทางที่อีไน อัตได้รบั มันท�ำให้เขาสรุปได้วา่ ใครๆ ก็ทำ� ได้ ช่วยเหลือกัน ได้ ทุกคนท�ำได้ โดยไม่ตอ้ งรูท้ มี่ าทีไ่ ปของอีกคน การตัดสินใจครั้งหนึ่งของอีไนอัตระหว่างการหลบหนี ที่พวกเขาต้องอยู่ในกล่องใต้ท้องรถสิบล้อ นั่งเอาเข่าชัน หัวค้อมลงระหว่างเข่า ขดตัวอยู่ในนั้นหลายวัน แออัด ยั ด เยี ย ดกั น ไป มี ข วดน�้ ำ เล็ ก ๆ สองขวด ขวดหนึ่ ง ส�ำหรับดืม่ อีกขวดไว้ใส่ฉี่ พวกเขาไม่รเู้ ดือนรูว้ นั มีแต่ ความมืดในกล่อง เด็กชายคนหนึ่งร้องหิวน�้ำ เพราะ น�้ำเขาหมด แต่คนที่พอมีน�้ำเหลือไม่ยอมแบ่งน�้ำให้ ดื่ม วันนั้นอีไนอัตตัดสินใจชกหน้าคนที่มีนำ�้ เหลือ เพียงไม่กหี่ ยดในขวด เพือ่ เอาไปให้เด็กคนนัน้ ดืม่ เพือ่ ให้มชี วี ติ รอดไปจนถึงจุดหมายปลายทาง ให้ เหตุผลกับการกระท�ำของตัวเองว่า เพือ่ เห็นแก่ ความเป็นมนุษย์ทเี่ ราทุกคนควรจะมีอยูบ่ า้ ง อีไนอัตจากแม่และบ้านเกิดนานถึง 8 ปี ระยะเวลา 8 ปีทตี่ อ้ งออกเดินทางเพือ่ ไปให้สดุ ทางรอดของตัวเอง จนไปถึงอิตาลี และด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลอิตาลีใน เมืองตูรนิ ทีช่ ว่ ยเหลือผูอ้ พยพ ท�ำให้มชี วี ติ ใหม่ 8 ปีผา่ นไป เขาพยายามติดต่อครอบครัว และเมือ่ ไปจน สุดทางรอด สิง่ ทีท่ �ำให้ชวี ติ มีความหวังและฮึกเหิมอีกครัง้ คือเสียง ของแม่จากปลายสายโทรศัพท์ ณ วินาทีพวกเขามีชวี ติ รอดมาแล้ว
ชือ่ ........................................................................................................................... นามสกุล........................................................................................................... อาชีพ ( ) พนง,เอกชน ( )รัฐวิสาหกิจ ( ) ข้าราชการ ( ) นักเรีนย/นักศึกษา ( ) องค์กร ( ) อืน่ ๆ
สถานทีจ่ ดั ส่ง เลขที.่ ....................................หมูท่ .ี่ ...................................... อาคาร/หมูบ่ า้ น...................................................................................... ซอย.............................................................................................................. แขวง/ต�ำบล............................................................................................ เขต/อ�ำเภอ.............................................................................................. จังหวัด........................................................................................................ โฑรศัพท์(บ้าน)...................................................................................... มือถือ.......................................................................................................... E-mail...................................................................................................... ( ) สมัครสมาชิก 1 ปี 12 ฉบับ 480 บาท ( ) สมัครสมาชิก 6 เดือน 6 ฉบับ 240 บาท (ร่วมค่าจัดส่ง) เริม่ ตัง่ แต่เดือน.. . . . . . . . . . . . . . . . . . . .พ.ศ. . . . . . . . . . . . . . .เป็นฉบับแรก ขัน้ ตอนการช�ำระเงิน 1 โอนเงินเข้าบัญชีเลขที่ 216-1-37424-9 ธ.กรุงไทย สาขาพระประแดง บริษทั สลาม มีเดีย พลัส จ�ำกัด 2 ส่งแบบฟอร์มสมัครสมาชิกพร้อมหลักฐานการโอนเงินมาที่ บริษทั สลาม มีเดีย พลัส จ�ำกัด แฟกซ์ 02-462-5267 E-mail: salamthailand@gmail.com หมายเหตุ:เมือ่ ส่งเอกสารมาแล้ว รบกวนโทรแจ้งที 084-146-1105่
สุดทางรอด เฟบิโอ เกดา : เขียน, ศุภลักษณ์ สนธิชยั : แปล, โฮเวิรด์ เคอร์ตสิ : แปล จากอิตาลีเป็นอังกฤษส�ำนักพิมพ์สนั สกฤต / ราคา 330 บาท
(แบบฟอมร์นสี้ ามารถถ่ายส�ำเนาได้)
47 SALAM
Article อาศิรา พนาราม
SALAM
48
เศรษฐกิจแจกฟรี นักเศรษฐศาสตร์บอกว่า “ของฟรีไม่มีในโลก” และผู้บริโภคอย่างเราก็รู้ดีว่า ของฟรีที่เห็นๆ กันในท้องตลาด นัน้ แท้จริงมันได้ผา่ นการคิดค�ำนวณไว้เสร็จสรรพแล้วว่า “คุม้ ค่าความฟรี”แต่คณ ุ เชือ่ หรือไม่วา่ ในยุคนี้ “เศรษฐกิจแจก ฟรี” มีความหมายว่า “ฟรีจริงๆ” ทัง้ นีเ้ พราะความก้าวหน้าของอินเตอร์เน็ตและสือ่ ดิจติ อลได้ทำ� ให้ความฟรีนนั้ เดินหน้ามา สูค่ วามหมายทีแ่ ท้จริงของมัน แล้วเราจะสร้างธุรกิจจากเศรษฐกิจแจกฟรีในศตวรรษที่ 21 นีไ้ ด้อย่างไร? “การแจกฟรี” นั้นเป็นพื้นฐานของอุตสาหกรรมมา ตั้งแต่ช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 คริส แอนเดอร์สัน (Chris Anderson) ผู้เขียนหนังสือ FREE: The Future of Radical Price (และเจ้าของทฤษฎี Long Tail อันลือลั่น) เคยพูดถึง โมเดลเศรษฐกิจแจกฟรี โดยยกกรณีศึกษาของนายคิง ยิลเลต ต์ ผู้คิดค้นใบมีดโกนแบบใช้แล้วทิ้ง ไม่ต้องคอยลับคมกันบ่อยๆ (แต่ต้องใช้คู่กับมีดโกนที่ออกแบบขึ้นใหม่โดยยิลเลตต์เท่านั้น) ในปีแรกที่ออกวางขาย (ค.ศ.1903) ยิลเลตต์ขายมีดโกนนี้ได้ เพียงแค่ 58 อัน (และใบมีดอีก 168 อัน) ตลอดระยะเวลา 20 ปี เขาพยายามท�ำทุกวิถีทางเพื่อให้มีดโกนนี้ติดตลาด แต่จน แล้วจนเล่าก็ยังไม่ส�ำเร็จ จนกระทั่งในปีหนึ่งที่ยิลเล็ตต์ตัดสินใจ แจกมีดโกนฟรีไปกับห่อหมากฝรัง่ ห่อชากาแฟ ห่อมาร์ชแมลโล ฯลฯ ปรากฏว่ายิ่งแจกไปเท่าไหร่ ความต้องการใบมีดก็ยิ่งเพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดนวัตกรรมมีดโกนของยิลเล็ตต์ก็ได้เข้ามา แทนทีว่ ฒ ั นธรรมการใช้มดี โกนแบบดัง้ เดิมได้สำ� เร็จ ความฟรีแบบให้ไปก่อนเพื่อจะได้กลับมาภายหลังนี้ได้ กลายมาเป็นพื้นฐานของการแจกของฟรีในทุกธุรกิจ ท�ำให้เกิด โมเดลฟรีๆ เช่น แจกซิมฟรี (แต่ขายแพคเกจโทรรายเดือน), ขาย เครือ่ งเล่นเกมแบบถูกๆ (แต่ขายตัวเกมแพงกว่า), ให้ดาวน์โหลด เล่นเกมฟรี (แต่ขายไอเท็มพิเศษในเกม), ร้านอาหารแถมน�้ำ ดื่มฟรี (แต่ขายเครื่องดื่มอื่นราคาแพง), ตั้งตู้ให้กดกาแฟฟรีใน ออฟฟิศ (เพือ่ จะได้ขายกาแฟพรีเมีย่ มให้กบั ผูบ้ ริหาร) ฯลฯ เหล่านีถ้ อื เป็นของฟรีรปู แบบแรก คือ ให้ฟรีอย่างหนึง่ เพือ่ จูงใจไปสูก่ ารซือ้ อีกอย่างหนึง่ อาจพูดง่ายๆ ว่าเป็นการขาย แบบซือ้ หนึง่ แถมหนึง่ (หรือภาษาธุรกิจเรียกว่า Cross Subsidy – การผลักภาระต้นทุนของสินค้าชนิดหนึ่งไปยังอีกชนิดหนึ่ง) โดยหลักการแล้ว ของฟรีรูปแบบนี้ได้ผ่านการค�ำนวณต้นทุน และบวกค่าใช้จ่ายต่างๆ จนผู้ผลิตและผู้จ�ำหน่าย “คุ้ม” ไป เรียบร้อยแล้ว (แม้จะป่าวประกาศว่าฟรีกต็ าม) ผูบ้ ริโภคต่างหาก คือฝ่ายทีต่ อ้ งรับภาระ “ค่าทีท่ ำ� ให้มนั ฟรี” ทัง้ หมด
เศรษฐกิจแจกฟรีในศตวรรษที่ 21 ในศตวรรษที่ 21 นี้ เศรษฐกิจแจกฟรีจะไม่ใช่แค่ลูก เล่นทางการตลาดหรือ Cross Subsidy อีกต่อไป แต่มนั จะยก ระดับเป็น “ตัวเศรษฐกิจ” เองเลย ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ทำ� ให้รูปโฉม ของสินค้าหลายประเภทเปลีย่ นจาก “สิง่ ทีจ่ บั ต้องได้” เป็น “สิง่ ทีจ่ บั ต้องไม่ได้” อาทิเช่น ในรูปของ “บิท” หรือ “ดิจติ อลไฟล์” ต่างๆ ซึ่งปรากฏการณ์นี้ท�ำให้ต้นทุนของการผลิตสินค้าหลาย ประเภทลดลงจนเกือบเป็นศูนย์ ปัจจุบนั บนโลกของ “เว็บ” มีการให้เปล่ามากมาย ไม่ ว่าจะเป็น E-mail Account พร้อมพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูลฟรี, Search Engine ฟรีอย่าง Google, ที่พบปะเพื่อนฝูงฟรีอย่าง Facebook, วิดโี อดูฟรีอย่าง Youtube, หรือแม้กระทัง่ สารานุกรมฟรี อย่าง Wikipedia ตัวอย่างข้างต้นนี้ คงพอท�ำให้เรานึกออกว่า โลกไซเบอร์นนั้ มีสนิ ค้าและบริการมากมายทีส่ ง่ ถึงมือเรากันแบบ ฟรีๆ ฉะนั้น เมื่อธุรกิจบนเว็บต่างตั้งมั่นอยู่บนพื้นฐานของความฟรี ธุรกิจอื่นๆ ก็ต้องทยอยติดตามมาอยู่บนพื้นฐานเดียวกันนี้ด้วย (ไม่เช่นนัน้ ก็คงไม่สามารถแข่งขันได้) อย่างไรก็ดี การท�ำธุรกิจกับ ความฟรีนี้ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย ไม่ใช่สักแต่ว่าแจกฟรีแล้วจะประสบ ความส�ำเร็จ เพราะตัวเลือกที่มากมายมหาศาลทุกวันนี้ท�ำให้ผู้ บริโภคเรียกร้องแต่ “ของฟรีทดี่ ที สี่ ดุ ” ปัจจัยเหล่านี้ท�ำให้เห็นว่า เศรษฐกิจแจกฟรีไม่ได้ยืน อยู่บนพื้นฐานของราคาที่เป็นศูนย์เท่านั้น แต่มันยังเกาะไปกับ กระแสของเศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างเหนียวแน่น เพราะแม้ผู้ บริโภคจะถูกดึงดูดมาได้ด้วยขwองฟรี แต่พวกเขาก็ยังยินดีจ่าย เพิ่มให้กับความพิเศษที่เหนือกว่า เช่น บริการที่ดีกว่า ความ สะดวกสบายที่มากกว่า ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องอาศัยความคิด สร้างสรรค์มา “จับทาง” กลุม่ เป้าหมาย และแปรเปลีย่ นความ ฟรีในตอนต้นให้กลายเป็นตัวเงินในตอนจบทัง้ นัน้ 49 SALAM
Article
เรือ่ ง misteramerican
เรือ่ งเล่า ของ เด็กชาย เสือ และ พระเจ้า
SALAM
50
มีข้อสอบข้อหนึ่งในวิชาหนึ่งได้เขียนโจทย์ไว้ว่า ท่าน เชือ่ ในเรือ่ งเล่าใดมากกว่ากัน ระหว่าง 1. เรือ่ งราวของเด็ก ชายคนหนึ่งที่รอนแรมอยู่กลางทะเลหลังจากเรือที่โดยสาร มากับครอบครัวล่มเพราะ พายุ โดยที่เรือชูชีพของเขานั้นมี ตัวเขา ลิงอุรังอุตัง ไฮยีน่า และ ม้าลายขาเจ็บ และเสือตน หนึ่งที่ต้องล่องเรือไปกว่าสองร้อยวันจนกระทั่งมาถึงฝั่ง 2. เรื่องราวของเด็กชายคนหนึ่งที่รอนแรมอยู่เพียงล�ำพังกลาง ทะเลหลังจากเรือโดยสารมากับครอบครัวล่มเพราะ พายุ โดยทีเ่ รือชูชพี ของเขานัน้ มีตวั เขา แม่ ชายชาวเอเชีย พ่อครัว อยู่บนนั้น แต่ทุกคนตายหมดจนเหลือเพียงเขารอดมาคน เดียว คุณจะเชือ่ เรือ่ งราวใดกัน สิ่งที่ผมเขียนมานั่นคือ เรื่องราวที่เกิดขึ้นในชีวิตของ เด็กชายคนหนึ่งที่มีชื่อว่า พาย พาเทล เด็กชายชาวอินเดีย ที่ ร อดชี วิ ต จากเรื อ ล่ ม ระหว่ า งที่ เขาก� ำ ลั ง เดิ น ทางมายั ง แคนาดาเพื่อเริ่มต้นชีวิตใหม่ เรื่องราวของเขากลายเป็นแรง บันดาลใจให้นักหนังสือพิมพ์หนุ่มเดินทางมาพบเขาเพื่อน�ำ เรือ่ งราวของเขาไปเขียนหนังสือและได้พบว่า นีเ่ ป็นเรือ่ งราว ทีน่ า่ เหลือเชือ่ ยิง่ กว่าเรือ่ งเล่าใด ๆ ทีเ่ ขาเคยฟังมาเสียอีก หนังพูดถึงการตั้งค�ำถามต่อสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ดั่งเช่น ที่ พายได้ท�ำ ในเรื่องนั้นเราได้รู้ว่า พายนั้นสงสัยมาโดย ตลอดว่า คนเราจะสามารถนับถือศาสนาสามศาสนาพร้อม กันได้หรือไม่ เมื่อมีคนถามว่า เขาท�ำแบบนั้นท�ำไม พายก็ บอกว่า เขาแค่อยากนับถือพระเจ้าของเขาเท่านั้น แม้ว่า ครอบครัวจะบอกว่า เขาท�ำแบบนัน้ ไม่ได้ พายก็จะตอบกลับ ไปว่า ท�ำไมหรือค�ำว่า Why ในภาษาอังกฤษนั้นคือ ค�ำที่มี ความส�ำคัญมากทีส่ ดุ ในโลกใบนี้ เพราะถ้าไม่มคี �ำนีก้ ค็ งไม่มี วิทยาศาสตร์ขนึ้ บนโลกเช่นกัน จุดเริม่ ต้นของการค้นพบนัน้ มักจะเกิดขึน้ เมือ่ มนุษย์นนั้ สงสัย อย่างเช่นที่ นิวตันสงสัยว่า ท�ำไมแอ๊ปเปิล้ ถึงตกลงมา บนพืน้ แทนทีจ่ ะลอยไปในอากาศ นัน้ เองทีเ่ ขาได้คน้ พบสิง่ ที่ เรียกว่า แรงโน้มถ่วง หรือ นักวิทยาศาสตร์คนอืน่ ๆ ทีค่ น้ พบ สิ่งใหม่ ๆ อาทิ ท�ำไมเราถึงเดินเรือไปรอบโลกได้โดยไม่ตก ทะเล คนเราสามารถบินบนฟ้าได้หรือไม่ ทัง้ หมดนีไ้ ด้จากค�ำ ว่า why นั้นเองและนี่เองที่พายได้เป็นหนึ่งในการค้นหาว่า ท�ำไมคนเราไม่สามารถนับถือศาสนาสามศาสนาในพร้อมกัน ได้ เช่นเดียวกับการตัง้ ค�ำถามว่า พระเจ้ามีจริงหรือไม่ เรื่องเล่าทั้งสองเรื่องนั้นมีเรื่องราวที่คล้ายคลึงกัน แต่มี จุดประสงค์ที่แตกต่างกันไป ดั่งเช่นที่พายถามคนที่ฟังเรื่อง ของเขาเสมอว่า คุณเชือ่ เรือ่ งทีม่ เี สือหรือไม่มี
ถ้าคุณเชือ่ เรือ่ งมีเสือ มันจะเป็นเรือ่ งราวการผจญภัยของเด็ก ชายคนหนึง่ ทีต่ อ้ งรวมทางไปกับสัตว์รา้ ยทีอ่ ยูบ่ นเรือของเขา และต้องรวมทางกันมันไปตลอดทาง ในขณะทีจ่ ติ ใจของเขา ก็พฒ ั นาขึน้ ๆ พร้อม ๆ กับทีศ่ รัทธาในพระเจ้าของเขาก็เริม่ เพิม่ พูนมากขึน้ จนกระทัง่ มาถึงปลายทาง แต่ถา้ คุณเชือ่ เรือ่ ง ทีไ่ ม่มเี สือ มันจะเป็นเรือ่ งราวของการสูญสิน้ ศรัทธาของเด็ก ชายคนหนึง่ ทีต่ อ้ งพบเรือ่ งราวเลวร้ายสุดจะบรรยาย ทัง้ การ ทีเ่ ขาต้องเห็นครอบครัวตายไปต่อหน้าต่อตา เห็นการฆ่าคน ต่อหน้าโดยที่ทำ� อะไรไม่ได้ และที่สำ� คัญตัวเองได้เห็นแม่ถูก ฆ่าแบบที่ตัวเองไม่อาจจะท�ำอะไรได้ และนั้นเองที่เขาได้ฆ่า พ่อครัวคนทีฆ่ า่ แม่ของเขาและอยูบ่ นทะเลเพียงล�ำพัง ดังนั้นเราจะพูดได้ว่า เรื่องเล่าทั้งสองเรื่องนี้ต่างมีจุด ประสงค์ที่แตกต่างกัน พายเล่าเรื่องของเสือเพื่อปกปิด บาดแผลในใจของตัวเองที่เกิดขึ้นเพราะ สิ่งที่เกิดขึ้นกับ ครอบครัวและเขาเองนีล่ ะ่ คือ ริชาร์ด พาร์คเกอร์ เขาคือเสือตัวนั้น หรือในนัยยะอีกอย่างก็คือ พายเล่า เรื่องหลังก็เพราะถูกคาดคั้นจากคนตรวจสอบของญี่ปุ่นที่ไม่ เชือ่ เรือ่ งเล่าของเขาเลยต้องแต่งเรือ่ งขึน้ มาก็เป็นได้ นัน้ ท�ำให้ เราไม่สามารถเชื่อเรื่องเล่าใดของเขาได้เลย เพราะ เอาจริง แล้ว มันเป็นเรื่องเล่าที่มีจุดบอดหลายอย่างอยู่เหมือนกัน และอีกอย่างไม่มีใครที่รู้ว่า อะไรคือเรื่องจริงนอกจากพายที่ เล่าเรือ่ งพวกนีแ้ ล้วถามย้อนไปว่า คุณเชือ่ ในเรือ่ งไหนกันแน่ ทีน่ มี่ นั จะย้อนกลับไปว่า ถ้า คุณเชื่อในพระเจ้า คุณก็เชื่อในเรื่องแรก แต่ถ้าไม่เชื่อเรื่อง พระเจ้า มันก็ยอ้ นในเรือ่ งสองแทน นีเ่ องคือ อานุภาพของ สิ่งที่เรียกว่า เรื่องเล่าที่เพียงแค่ดัดแปลงเพียงเล็กน้อยก็ สามารถเปลี่ยนจุดประสงค์และความหมายของมันได้หมด สิ้น ที่นี่ผมได้นึกย้อนไปยังสังคมของไทยว่า เรามีเรื่องของ เล่าของพาย พาเทล อยู่มากมาย เราได้รับข้อมูลข่าวสารที่ เกิดขึ้นมากมายเหลือเกินจากทั้งโทรทัศน์หรืออินเตอร์เน็ต ที่ท�ำให้เราสามารถเข้าได้ถึงข้อมูลข่าวสารได้เร็วมากขึ้น แต่ ขณะเดียวกับเราก็ไม่อาจจะแน่ใจได้วา่ สิง่ ทีเ่ ราได้รบั นัน้ เป็น จริงหรือไม่ สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารในตอน นีค้ อื การใช้สติให้มากทีส่ ดุ ก่อนจะเชือ่ อะไรสักอย่าง ดัง่ เรือ่ ง ราวของพาย พาเทล เรือ่ งทีม่ เี สือและไม่มเี สือ เรือ่ งใดโกหก เรือ่ งใดเรือ่ งจริง ไม่มอี ะไรส�ำคัญอีกแล้ว มันอยูท่ คี่ ณ ุ จะเชือ่ เรือ่ งไหนมากกว่า
51 SALAM
Article
อาบีบสุ ตา ดอเลาะ
เสรีภาพในการแสดงออกในภาวะสงคราม ทีม่ อี ดุ มการณ์เพือ่ ปลดปล่อยรัฐปาตานี
ก
ารสูร้ บเป็นเครือ่ ง มือส�ำหรับการเมือง เป้าหมายทางการ เมือง (Political Object) คือต้นเหตุ ทีจ่ งู ใจในการท�ำ สงครามและเป็นก รอบในการก�ำหนดระดับความเข้มข้น ของสงครามสงครามทีป่ าตานีมผี เู้ สีย ชีวติ แล้วกว่า5,000 คนมีผบู้ าดเจ็บกว่า หมืน่ คนและมีทรัพย์สนิ มากมายทีเ่ สีย หายถูกท�ำลายไม่วา่ จะเกิดขึน้ จากการก ระท�ำของฝ่ายใด ความสูญเสียเหล่านี้ สะท้อนถึงความเข้มข้นของสงคราม การ ทีก่ ลุม่ ขบวนการได้ใช้การสูร้ บด้วยอาวุธ เป็นเครือ่ งมือในการต่อสูเ้ นือ่ งจากเป้า หมายทางการเมืองหรือเหตุจงู ใจในการ ท�ำสงครามนัน้ คือ เอกราชหากการต่อสู้ มีเป้าหมายเพือ่ ปกครองตนเองหรือเขต ปกครองพิเศษ ความสูญเสียคงไม่มาก ขนาดนีห้ รืออาจจะไม่มคี วามสูญเสีย เลยฉะนัน้ หากการท�ำสงครามสูร้ บกับรัฐ ไทยของกลุม่ ขบวนการมีเป้าหมายหรือ เปลีย่ นเป้าหมายเพือ่ เขตปกครองพิเศษ หรือเขตปกครองตนเอง ย่อมเป็นการ ลงทุนทีไ่ ม่คมุ้ ค่าและขาดทุนอย่าง มหาศาลเมือ่ เทียบกับความสูญเสียที่ เกิดขึน้ ต่อรัฐไทย กองก�ำลังติดอาวุธของ ขบวนการและประชาชนทัว่ ไปเพราะการ ต่อสูท้ ไี่ ม่ใช่เพือ่ แบ่งแยกดินแดนสามารถ กระท�ำได้อยูแ่ ล้วตามกระบวนการ ประชาธิปไตยและตามกฎหมายโดยมิ ต้องใช้ความรุนแรง การท�ำสงครามทีป่ าตานี SALAM
52
เป็นการสือ่ สารให้สงั คมรับรูท้ ำ� นองว่า ฉันต้องการเอกราช รัฐไทยคือข้าศึกทีม่ า รุกรานรัฐปาตานีเหตุผลทีม่ กี ารเลือกใช้ ความรุนแรงในการต่อสูเ้ นือ่ งจากการ ต่อสูแ้ นวทางอืน่ ไม่ได้รบั การตอบรับ จากรัฐไทยและประชาคมโลก และการ ต่อสูแ้ นวทางอืน่ มีความผิดเช่นเดียวกับ การต่อสูด้ ว้ ยอาวุธ วันนีแ้ ม้รฐั ไทยจะ
เงือ่ นไขทีไ่ ม่อาจลบหรือขจัดให้สนิ้ ซากได้ และเป็นสาเหตุหลักของการท�ำสงครามที่ ปาตานีตงั้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ดังนัน้ จึง ไม่ใช่เรือ่ งแปลกพิสดารที่ อุดมการณ์เรียก ร้องความเป็นธรรมจะมีในความคิดความ รูส้ กึ ของคนปาตานีทกุ คนไม่มากก็นอ้ ย ตราบใดทีร่ ฐั ปาตานียงั ไม่ได้รบั เอกราช จากรัฐไทยอุดมการณ์เช่นนีก้ จ็ ะยังคงมี สืบต่อไปยังรุน่ ลูกรุน่ หลานแต่ วิธกี ารต่อสูข้ องแต่ละคนแต่ละ กลุม่ อาจจะแตกต่างกันออก ไปตามความเชือ่ ความรูค้ วาม สามารถของตน ทีผ่ า่ นมาเราคงเคย ได้ยนิ ข่าวสารหรือการให้ สัมภาษณ์จากฝ่ายต่างๆทีเ่ รียก ร้องให้กลุม่ ขบวนการแบ่งแยก ดินแดนยุตกิ ารใช้ความรุนแรง เมือ่ การต่อสูท้ ปี่ าตานีจะต้อง ด�ำเนินต่อไปไม่ทางใดก็ทาง หนึง่ แต่ความรุนแรงและความ สูญเสียเป็นสิง่ ทีเ่ ราไม่อยากให้ เกิดขึน้ จึงมีคำ� ถามไปยังฝ่าย ทีเ่ รียกร้องให้ยตุ กิ ารใช้ความ รุนแรงว่า หากเราต้องการ ให้ยตุ กิ ารใช้ความรุนแรงใน การต่อสูท้ ปี่ าตานีเราสามารถ ยอมรับการต่อสูเ้ พือ่ การปลด ปล่อยรัฐปาตานี โดยสันติวธิ ี พยายามแก้ไขปัญหาต่างๆเพือ่ ลดเงือ่ นไข ได้มากน้อยเพียงใดหากมีการยุตกิ ารใช้ ในการท�ำสงครามแต่กระนัน้ เงือ่ นไข ความรุนแรงจริงแต่เปลีย่ นมาใช้วธิ กี าร ทางประวัตศิ าสตร์ทรี่ ฐั ปาตานีเคยเสีย พูด ท�ำป้าย จัดเวทีอภิปราย ท�ำหนังสือ เอกราชให้แก่รฐั ไทยจึงมีปญ ั หาว่ารัฐไทย เอกสาร แสดงความเห็นในโลกออนไลน์ จะลบเงือ่ นไขดังกล่าวได้อย่างไร คงเป็น ตัง้ กลุม่ ตัง้ พรรคการเมืองหรืออืน่ ๆใน
การต่อสูว้ า่ เขาต้องการเอกราช หรือเขต ปกครองพิเศษหรือเขตปกครองตนเอง หรืออย่างอืน่ ๆนอกจากนีเ้ ป็นสิง่ ทีส่ งั คม รับได้หรือไม่ เสรีภาพในการแสดงออกใน ภาวะสงครามทีม่ อี ดุ มการณ์เพือ่ ปลด ปล่อยรัฐปาตานีจงึ เป็นสิง่ ส�ำคัญเพือ่ ให้ผทู้ คี่ ดิ ต่างจากรัฐสามารถสือ่ สารสิง่ ทีเ่ ขาต้องการได้โดยทีไ่ ม่ตอ้ งใช้ความ รุนแรง แต่ดว้ ยข้อกฎหมายท�ำให้การ แสดงความคิดเห็นมีขอ้ จ�ำกัดมากจึง ท�ำให้มกี ารเลือกใช้ความรุนแรงในการ ต่อสูเ้ นือ่ งจากสามารถสือ่ สารกับสังคม โดยทีม่ ติ อ้ งเปิดเผยตัวตนและไหวต่อ การรับรูข้ องสังคมเราเรียกร้องให้กลุม่ ขบวนการแบ่งแยกดินแดนยุตกิ ารใช้ ความรุนแรงแต่ขณะเดียวกันหากมีคน แสดงความเห็นหรือชูป้ า้ ยว่าเขาต้องการ เอกราชหรือต้องการลงประชามติ เรา ก็รบั ไม่ได้ แบบนีเ้ ราจะให้เขายุตกิ ารใช้ ความรุนแรงได้อย่างไรวันนีร้ ฐั ไทยต้อง ยอมรับว่ารัฐไม่สามารถขจัดอุดมการณ์ แบ่งแยกดินแดนหรือการต่อสูเ้ พือ่ ความ เป็นธรรมของคนปาตานีได้แต่รฐั สามารถ สร้างทางเลือกในการต่อสูใ้ ห้กบั คนปา ตานีโดยทีไ่ ม่ตอ้ งใช้ความรุนแรง ใน บริบทของสงครามเช่นนีร้ ฐั จะต้องสร้าง กระบวนการทางกฎหมายทีค่ มุ้ ครองผูท้ ี่ เห็นต่างจากรัฐ ให้เขาสามารถต่อสูด้ ว้ ย เหตุและผล หากมีบคุ คลใดไม่เห็นด้วยกับ อุดมการณ์ดงั กล่าว เขาก็สามารถต่อสูถ้ ก เถียงแลกเปลีย่ นอภิปรายแสดงออกใน สิง่ ทีต่ นต้องการได้ ด้วยเหตุและผลเช่น เดียวกัน(การต่อสูโ้ ดยการใช้ความรุนแรง และสันติวธิ )ี การให้โอกาสแก่ผทู้ เี่ ห็น ต่างจากรัฐ ไม่วา่ เขาจะมีมมุ มองใน แก่ปญ ั หาอย่างไร เขาจะต้องการการ ปกครองตน (Autonomy)ต้องการ เอกราช(Independence)ต้องการเขต
ปกครองพิเศษหรือหรือต้องการอะไรก็ แล้วแต่และเปิดโอกาสให้ผทู้ ไี่ ม่เห็นด้วย สามารถต่อสูก้ นั ด้วยเหตุและผลเพือ่ ให้ ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับข้อเสนอ ขอฝ่ายต้น จะเป็นการเปิดโอกาสให้ให้ ประชาชนปาตานีตอ่ สูด้ ว้ ยสันติวธิ ลี ดการ การสูญเสียจากการใช้ความรุนแรง อาจมี ค�ำถามว่าการเปิดโอกาสเช่นนีจ้ ะเป็นการ สนับสนุนการแบ่งแยกดินแดนและ เป็นการกระท�ำทีข่ ดั ต่อกฎหมายหรือไม่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พ.ศ.2550 มาตรา 1 บัญญัตวิ า่ “ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึง่ อันเดียว จะแบ่งแยกมิได้”และมาตรา 45 วรรค 1-2 วางหลักว่า “บุคคลย่อม มีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การ พูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และ การสือ่ ความหมายโดยวิธอี นื่ ”“การจ�ำกัด เสรีภาพตามวรรคหนึง่ จะกระท�ำมิได้ เว้น แต่โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัตแิ ห่ง กฎหมาย เฉพาะเพือ่ รักษาความมัน่ คง ของรัฐ” จากบทกฎหมายดังกล่าวจะเห็น ว่า การแสดงความคิดเห็นเพือ่ แบ่งแยก ดินแดนเป็นสิง่ ทีผ่ ดิ กฎหมายและเป็นภัย อยูบ่ า้ งต่อความมัน่ คงของประเทศ แต่ ในบริบทของสงครามอันมีอดุ มการณ์ เพือ่ ปลดปล่อยรัฐปาตานีนนั้ หากรัฐไทย ไม่สร้างทางเลือกและยอมรับการต่อสู้ ด้วยหนทางสันติวธิ ี การเรียกร้องให้กลุม่ ขบวนการยุตกิ ารใช้ความรุนแรงจึงแทบ จะไม่มคี วามหมาย “รัฐบาลมาถูกทางแล้ว” นีค้ อื วาทะกรรมทีม่ าจากรัฐบาลทุกยุคทุกสมัย แต่จนแล้วจนรอดไม่มรี ฐั บาลใดสามารถ แก้ไขปัญหาได้ เพราะไม่มใี ครทราบว่า แท้ทจี่ ริงแล้วคนปาตานีตอ้ งการอะไร เรา อาจเคยเห็นโพลส์สำ� รวจความคิดเห็น ของประชาชนปาตานี ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ จาก ภาคประชาสังคมหรือองค์กรต่างๆทัง้ จาก เอกชนและรัฐบาล ว่าประชาชนปาตานี
ต้องการอะไร? ไม่วา่ ค�ำตอบจะออกมา อย่างไร การตัง้ ค�ำถามในลักษณะนีแ้ ละ ค�ำตอบทีไ่ ด้จากประชาชนแทบจะไม่มี ความหมาย เนือ่ งจากผูใ้ ห้คำ� ตอบอยูใ่ น ภาวะทีถ่ กู บีบด้วยกฎหมายทีไ่ ม่สามารถ เห็นต่างจากรัฐได้และต้องตอบค�ำถาม แสดงความต้องการเท่าทีไ่ ม่ผดิ กฎหมาย เท่านัน้ หากรัฐไทยไม่ทราบว่าประชาชน ปาตานีตอ้ งการเอกราชหรือเขตปกครอง พิเศษหรือต้องการอะไรก็แล้วแต่ รัฐไทย จะไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้รฐั ไทยจะ มาถูกทางได้กต็ อ่ เมือ่ รัฐไทยแก้ไขปัญหา สอดคล้องกับความต้องการของคนปา ตานี ดังนัน้ หากรัฐไทยต้องการ ปัญหาชายแดนใต้ เบือ้ งต้นรัฐต้อง ทราบให้แน่ชดั ว่า คนปาตานีตอ้ งการ อะไร ต้องการเอกราชก็คอื ต้องการ เอกราช ต้องการเขตปกครองพิเศษก็คอื เขตปกครองพิเศษ ต้องการอยูภ่ ายใต้รฐั ไทยก็คอื อยูภ่ ายใต้รฐั ไทย จึงจะสามารถ จัดการกับปัญหาได้ถกู ทาง รัฐไทยจึง ต้องสร้างกระบวนการทางกฎหมายเพือ่ คุม้ ครองผูท้ เี่ ห็นต่างจากรัฐ และทีส่ ำ� คัญ ในภาวะทีช่ ายแดนใต้เป็นสงครามทีม่ ี อุดมการณ์เพือ่ ปลดปล่อยรัฐปาตานีขอ เสนอดังกล่าวนี้ จะท�ำให้สงครามทีต่ อ่ สู้ ด้วยอาวุธเปลีย่ นเป็นการต่อสูด้ ว้ ยสันติ วิธซี งึ่ จะสร้างทางเลือกให้คนปาตานีตอ่ สู้ โดยไม่ตอ้ งใช้ความรุนแรงลดการสูญเสีย ทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อประชาชนผูบ้ ริสทุ ธิแ์ ละ กองก�ำลังติดอาวุธของทัง้ สองฝ่ายแม้จะ เป็นภัยต่อความมัน่ คงของประเทศอยู่ บ้าง แต่คนปาตานีมคี วามรู้ มีตรรกะ มี เหตุผลและมีความสามารถพอในการ ตัดสินใจ ว่าเขาควรอยูภ่ ายใต้รฐั ไทยต่อ ไปหรือควรแบ่งแยกดินแดนหรือควรจะ แสดงเจตจ�ำนงของตนเองอย่างไร
53 SALAM
Article คัทลียา รัตนวงศ์
ลักษณะพิเศษของ สังคมอิสลาม สังคมอิสลามมีลักษณะพิเศษ คือกิจการทุกอย่างของสังคมจะต้องวางอยู่บนพื้นฐานของ การเคารพภักดีต่ออัลลอฮฺเพียงองค์เดียวเท่านั้น จะไม่มีสังคมใดได้ชื่อว่าเป็นสังคมมุสลิมจนกว่าจะ มีการน�ำเอาระบบแห่งการด�ำเนินชีวิตของอิสลามมาใช้ในสังคมนั้น ในทางกลับกันสังคมที่มิใช่สังคม มุสลิมก็เป็นสังคมญาฮิลยี ะฮฺจากการให้ความหมายข้างต้นสรุปได้วา่ สังคมอิสลามกับสังคมมุสลิม คือ สังคมเดียวกัน แต่ถ้าสังคมใดก็ตามที่มิได้สร้างขึ้นมาบนพื้นฐานที่กล่าวมาข้างต้นสังคมนั้นมิใช่สังคม อิสลาม แม้นว่าจะเป็นสังคมที่ประกอบด้วยหน่วยของสังคมเป็นครอบครัวมุสลิมก็ตาม ดังนั้นทุก ๆ สังคมอิสลามย่อมเป็นสังคมมุสลิม แต่มิใช่ว่าทุก ๆ สังคมจะเป็นสังคมอิสลามเสมอไป ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่ กับว่าสังคมนั้นถูกสร้างขึ้นมาบนพื้นฐานอะไรนั่นเอง ดังนั้นข้อเท็จจริงในปัจจุบันเราอาจต้องแยก พิจารณาระหว่างสังคมมุสลิมกับสังคมอิสลามเพือ่ ง่ายในการท�ำความเข้าใจสังคมมุสลิมในปัจจุบนั คือ สังคมที่ประกอบด้วยหน่วยของสังคมเป็นครอบครัวมุสลิมโดยไม่ค�ำนึงถึงว่าสังคมนั้นสร้างขึ้นมาบน พื้นฐานของอะไรก็ตาม ซึ่งตามความเข้าใจในลักษณะนี้สังคมมุสลิมในปัจจุบันอาจถูกจัดอยู่ในสังคม ญาฮิลยี ะฮฺกไ็ ด้ เพราะสังคมญาฮิลยี ะฮฺนนั้ คือสังคมทีไ่ ม่น�ำเอาระบบการด�ำเนินชีวติ ของอิสลามมาใช้ ในสังคมทีก่ ล่าวมาแล้ว สังคมอิสลามเป็นสังคมทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะเป็นของตนเอง เป็นสังคมทีต่ งั้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความเท่าเทียมกันของมนุษย์ในระบบสังคมอิสลามถือว่าความ แตกต่างของมนุษย์ในด้านภาษา ชาติพันธุ์ สีผิวและเชื้อชาตินั้นเป็นธรรมชาติที่อัลลอฮฺได้ก�ำหนดขึ้นมา เพือ่ ให้มนุษย์สามารถรูจ้ กั ซึง่ กันและกัน ดังทีอ่ ลั ลอฮฺกล่าวในอัล-กุรอานความว่า “โอ้มนุษยชาติทงั้ หลาย แท้จริงเราได้สร้างพวกเจ้าจากเพศชายและเพศหญิง และเราได้ให้พวกเจ้าแยกเป็นเผ่า และตระกูลเพื่อ จะได้รจู้ กั กัน...” (อัลหุญรุ อ๊ ต : ๑๓)ด้วยหลักความเท่าเทียมกันระหว่างมนุษย์นนั้ ระบบสังคมอิสลามจึง ปฏิเสธชนชั้นอันเนื่องมาจากชาติตระกูล สีผิว เชื้อชาติ และอื่น ๆ เพราะอิสลามถือว่ามนุษย์ทุกชาติทุก ภาษา ทุกสีผิวนั้นมีความเท่าเทียมกัน ความดีของมนุษย์ในระบบสังคมนั้นอยู่ที่ความศรัทธาที่แสดงออก มาเป็นพฤติกรรมในการด�ำเนินชีวติ ในฐานะผูย้ ำ� เกรงต่ออัลลอฮฺ ดังทีอ่ ลั ลอฮฺได้กล่าวไว้ความว่า “...แท้จริง ผูท้ มี่ เี กียรติยงิ่ ในหมูพ่ วกเจ้า ณ ทีอ่ ลั ลอฮฺนนั้ คือผูท้ มี่ คี วามย�ำ เกรงยิง่ ในหมูพ่ วกเจ้า...”(อัลหุญรุ อ๊ ต: ๑๓) ระบบสังคมอิสลามพิทกั ษ์รกั ษาจริยธรรมอันดีงามแห่งหลักอัคลากในอิสลาม สังคมอิสลามเป็นสังคมที่ปกป้องความบริสุทธิ์ของสมาชิกในสังคม ทั้งค�ำพูดและการแสดงออก ของสมาชิกทุกคนจะต้องเป็นความดีมจี ริยธรรม ซึง่ การรักษาคุณธรรมของสังคมนัน้ อิสลามได้มอบให้เป็น ภารกิจของหน่วยสังคมทุกหน่วยเป็นสถาบันทีม่ บี ทบาท เริม่ ตัง้ แต่การก�ำหนดบทบาทของสมาชิกในหน่วย SALAM
54
ก�ำหนดลักษณะความสัมพันธ์ ของบุ ค คลในสั ง คม ก� ำ หนด รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง หน่วยสังคมด้วยกัน ในขณะ เดี ย วกั น ระบบสั ง คมอิ ส ลาม ก็ มี เ กราะป้ อ งกั น ที่ เข้ ม แข็ ง คือระบบกฎหมายอิสลามเข้า เป็นกลไกในการควบคุมสังคม (Social Control) อี ก ส่ ว น หนึง่ นอกจากการควบคุมโดย ใช้หลักอัคลาก สั ง คมอิ ส ลามเป็ น สั ง คมที่ ปกป้ อ งความยุ ติ ธ รรมทาง สังคม ร ะ บ บ สั ง ค ม เ ป ็ น ระบบสั ง คมที่ ป ระกอบด้ ว ย หลั ก ทางสั ง คมที่ ส� ำ คั ญ คื อ หลักจริยธรรมหลักกฎหมาย หลั ก การเมื อ ง และหลั ก เศรษฐกิ จ ซึ่ ง หลั ก ทั้ ง หมด นั้นเป็นกฎของผู้อภิบาลแห่ง มนุ ษ ยชาติ ดั ง นั้ น ในสั ง คม อิ ส ลามจึ ง ก� ำ หนดวิ ธี ก าร ด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้ ง จริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ (Moral Issue in Business) โดยค�ำนึงถึงความถูกต้องชอบธรรมของกาแสวงหาปัจจัยยังชีพ การใช้จ่ายเพื่อการยังชีพอื่น ๆในด้านความยุติธรรมทางสังคม ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เศรษฐกิ จ นั้ น สั ง คมอิ ส ลามมี ร ะบบสวั ส ดิ ก าร สังคม (Social Warfare System) โดยการจัดตัง้ ส�ำนักงานคลัง สาธารณะ มีการวางระบบกระจายรายได้ โดยตัง้ สถาบันซะกาต และหลักซอดาเกาะฮฺเพื่อประกันว่าทรัพย์สินของประเทศจะไม่ ตกอยู่ในมือของคนส่วนน้อยของสังคมเท่านั้น ดังที่อัลลอฮฺได้ กล่าวไว้ความว่า “...เพือ่ มัน(ทรัพย์สนิ ) จะมิได้หมุนเวียนระหว่าง ผูม้ งั่ มีของพวกเจ้าเท่านัน้ ...” (อัลฮัชรฺ : ๗) นอกจากนี้ อิ ส ลามก� ำ หนดจริ ย ธรรมในการด� ำ เนิ น กิจการทางเศรษฐกิจ ก�ำหนดหลักอนุมัติ หลักต้องห้าม เพื่อ ป้องกันการกดขี่คดโกงในทางธุรกิจอันน�ำไปสู่ความไม่ยุติธรรม ทางสังคมอีกด้วยนอกจากความยุติธรรมทางสังคมในระบบ
เศรษฐกิ จ และระบบสั ง คม อิ ส ลามยั ง ได้ ป ระกั น ความ ยุติธรรมทางสังคมด้วยระบบ การเมื อ งการปกครองอี ก ด้วย กล่าวคือ ภายใต้ระบบ การเมื อ งการปกครองของ อิ ส ลามทุ ก คนต้ อ งอยู ่ ภ ายใต้ กฎหมาย การอยู่ในอ�ำนาจจะ ต้องไม่เป็นการสืบทอดมรดก แต่ ต ้ อ งได้ ม าด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ที่ เ หมาะสมตามที่ อิ ส ลาม ได้ ก� ำ หนดไว้ ผู ้ ป กครองใน ระบบการเมื อ งอิ ส ลามมิ ใช่ อภิสิทธิ์ชนของสังคม แต่เป็น ผู ้ รั บ ใช้ อั ล ลอฮฺ ท� ำ หน้ า ที่ ใ น ฐานะตัวแทน(คอลิฟะฮฺ) ของ พระองค์ บ นหน้ า แผ่ น ดิ น ซึ่ ง เป็ น คุ ณ สมบั ติ ข องมนุ ษ ย์ ทุ ก คนมิใช่ของคนใดคนหนึ่งโดย เฉพาะ ระบบสั ง คมอิ ส ลามปกป้ อ ง สิทธิเสรีภาพของมนุษย์ เสรี ภ าพเป็ น สิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานของมนุ ษ ย์ เสรี ภ าพ ที่ อิ ส ลามปกป้ อ งแก่ ม นุ ษ ย์ ประกอบด้วยเสรีภาพในการ นับถือศาสนา ดังที่อัลลอฮฺได้กล่าวไว้ว่า “ไม่มีการบังคับใด ๆ (ให้นับถือ) ในศาสนาอิสลาม...” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : ๒๕๖) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการประกอบ อาชีพ แต่ตามหลักระบบสังคมอิสลามนัน้ หน้าทีใ่ นการปกป้อง ความมั่นคงของสังคมต้องมาก่อนสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล ใน ขณะเดียวกันสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลต้องไม่กระทบต่อความ มัน่ คงของสังคม จากที่ได้กล่าวถึงหลักการของอิสลามโดยกว้าง ๆ นัน้ จะเห็นได้วา่ หลักการอิสลามนัน้ เป็นหลักการทีก่ ว้างขวาง ครอบคลุม ศาสนาอิสลามมีความเชื่อว่าบัญญัติทั้งหมดของ อิสลามนัน้ มาจากพระผูเ้ ป็นเจ้า โดยถ่ายทอดผ่านมายังศาสดา มุฮมั มัด และได้ถกู บันทึกไว้ในอัล-กุรอานดังนัน้ มุสลิมจึงยึดถือ อัล-กุรอานและสุนนะฮฺเป็นดังคัมภีรส์ ำ� หรับการด�ำเนินชีวติ ในทุก 55 SALAM
Article คัทลียา รัตนวงศ์
น�และเสีำ้ ตา ยงร้องไห้
อิบนุล ก็อยยิม เราะหิมะฮุลลอฮฺ ได้กล่าวว่า การร้องไห้ของมนุษย์เรา น่าจะมาจากสาเหตุหลัก 10ประการ ได้แก่ 1.ร้องไห้เพราะรูส้ กึ สงสารคนอืน่ 2.ร้องไห้เพราะหวาดกลัวและวิตกกังวล 3.ร้องไห้เพราะเสียใจ 4.ร้องไห้เพราะรักและห่วงใย 5.ร้องไห้เพราะดีใจ 6.ร้องไห้เพราะได้รบั ความเจ็บปวด 7.ร้องไห้เพราะท้อแท้ สิน้ หวัง หรือหมดกาลังใจ 8.ร้องไห้เพราะเสแสร้งหรือแกล้งร้อง หากแกล้งร้องทีม่ าจากหัวใจทีอ่ อ่ นโยนและมีความเกรง กลัวอัลลอฮฺแล้ว ถือเป็นการร้องไห้ทนี่ า่ ยกย่อง แต่หากแสร้งร้องเพือ่ ต้องการโอ้อวดหรือเอาใจมนุษย์ดว้ ยกันก็ถอื เป็นการร้องไห้ทนี่ า่ ต�ำหนิ 9.ร้องไห้เพราะถูกจ้างให้รอ้ ง 10.ร้องไห้เพราะคล้อยตามคนทีร่ อ้ งไห้อยูแ่ ล้ว
SALAM
56
ความแตกต่างระหว่างการร้องไห้เนื่องจากเสียใจ กับการร้องไห้เพราะหวาดกลัวและวิตกกังวลนั้น การร้องไห้ เนื่องจากเสียใจ จะเกิดขึ้นหลังจากเหตุการณ์อันเลวร้ายได้ ผ่านไปแล้ว แต่การร้องไห้เนือ่ งจากความวิตกกังวลจะเกิดขึน้ ด้วยการคาดการณ์วา่ สิง่ นัน้ อาจเกิดขึน้ ในอนาคต ส่วนความแตกต่างระหว่างการร้องไห้เพราะดีใจกับ การร้องไห้เพราะเสียใจนั้น น�้ำตาแห่งความดีใจจะเย็นฉ�่ำและ หัวใจมีความสุขเบิกบาน แต่น�้ำตาแห่งความเสียใจจะอุน่ ร้อนใน ขณะที่หัวใจทุกข์ระทม “และแท้จริงพระองค์ทรงท�ำให้หัวเราะ และทรงท�ำให้รอ้ งไห้” (อัน-นัจญ์มุ 43) อัลลอฮฺเป็นผู้ทรงท�ำให้ผู้คนหัวเราะและร้องไห้ พร้อม ทรงบันดาลเหตุปัจจัยที่ทาให้บุคคลได้หัวเราะและร้องไห้เช่น เดียวกัน หยาดน�้ำตาอันมากมายที่ไหลรินอยู่บนโลกนี้และไหล อาบแก้มผู้คนอย่างต่อเนื่อง ต้องมีสาเหตุและเบื้องหลังอย่าง แน่นอน ถึงแม้นัยน์ตาจะมีขนาดเล็ก แต่ก็สามารถผลิตน้าตาที่ ไม่เคยแห้งเหือด มันจะไหลพรั่งพรูออกมาทุกวันอย่างไม่ขาด สาย เสมือนแม่น�้ำที่ไหลสู่มหาสมุทรอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีวัน หมด หากมีการเก็บกักน�้ำตาแล้วไซร้ คงจะเกิดน�้ำตาท่วมโลก อย่างมิตอ้ งสงสัย การร้องไห้ในบางกรณีกส็ มควรแก่การชืน่ ชมสนับสนุน เช่นร้องไห้เพราะเสียใจต่อความผิดพลาดในอดีตหรือเกรงกลัว การทรมานของอัลลอฮฺ แต่ในบางกรณีก็น่าต�ำหนิและไม่เป็น ที่สนับสนุน เช่น การร้องห่มร้องไห้เนื่องจากสูญเสียคนรักใน ลักษณะราพึงร�ำพัน ถึงขนาดตบตีใบหน้า ท�ำร้ายร่างกายหรือ ฉีกเสื้อผ้า การร้องไห้ในลักษณะนี้ถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของ ชนยุคอวิชชา ดังนัน้ เจ้าอย่าร้องไห้เนื่องจากผิดหวังในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพราะทุกอย่างพระองค์ได้กำ� หนดเป็นทีแ่ น่นอนแล้ว เจ้าอย่าร้องไห้เนื่องจากถูกปฏิเสธความรักจากคน พิเศษ เพราะเขาหรือเธออาจไม่ใช่เนือ้ คูท่ แี่ ท้จริงก็เป็นได้ เจ้าอย่าร้องไห้เนื่องจากคะแนนข้อสอบไม่ได้ดั่งใจหวัง บางทีเจ้ายังใช้ความพยายามอุตสาหะทีไ่ ม่ดพี อ เจ้าอย่าร้องไห้เพราะไม่มใี ครคบค้าสมาคมด้วย เพราะ บางทีเจ้าไม่คอ่ ยมีมนุษยสัมพันธ์ทดี่ พี อกับคนเหล่านัน้ เจ้าอย่าร้องไห้เนื่องจากทรัพย์สินเงินทองสูญหายหรือ ถูกขโมย บางทีเจ้าอาจไม่คอ่ ยชอบบริจาคทานก็ได้ เจ้าอย่าร้องไห้เนือ่ งจากต้องทนทุกข์ทรมานกับโรคร้าย ที่รุมเร้า บางทีมันเป็นสาเหตุให้เรากลับเนื้อกลับตัวหรือเพิ่มพูน ผลบุญก็ได้ เจ้าอย่าร้องไห้อย่างบ้าคลั่งกับชัยชนะที่ได้รับ บางที มั น เป็ น แค่ ก ารทดสอบของอั ล ลอฮฺ ว ่ า เจ้ า จะรู ้ จั ก ขอบคุ ณ พระองค์มากน้อยเพียงใด เจ้าอย่าร้องไห้เพือ่ อืน่ ใดเว้นแต่เกรงกลัวอัลลอฮฺ เสียใจ ต่อความผิดพลาดในอดีต หวาดกลัวการโทษทัณฑ์ของพระองค์
และความวุ่นวายของวันกิยามะฮฺ เพราะน�้ำตาของเจ้ามีคุณค่า เกินกว่าทีจ่ ะมัวหลัง่ รินกับสิง่ ไร้สาระและไม่จรี งั การร้ อ งไห้ ข องนบี มุ ฮั ม มั ด ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ ว ะ สัลลัม ก็มีลักษณะที่คล้ายคลึงกับการหัวเราะของท่าน กล่าว คือท่านจะกลัน้ เสียงร้องไห้เสมือนทีท่ า่ นกลัน้ เสียงหัวเราะ ท่าน ร้องสะอืน้ ด้วยน�้ำตาทีอ่ าบแก้ม จนกระทัง่ ผูท้ อี่ ยูใ่ กล้ชดิ กับท่าน ได้ยินเสียงสั่นเครือที่ดังขึ้นจากทรวงอกของท่านเสมือนเสียงน�้ำ ทีก่ ำ� ลังเดือดบนเตาไฟ ท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ระบุ คนเจ็ดประเภทที่สามารถพึ่งพิงร่มเงาใต้ อะรัช(บัล ลั ง ก์ ข อ งอัลลอฮฺ)ในวันกิยามะฮฺ หนึง่ ในนัน้ คือผูท้ รี่ าลึกอัลลอฮฺ สุบหานะฮูวะ ตะอาลา เพียงคนเดียวและน�้ำตาของเขาไหลอาบแก้มเนือ่ งจาก เกรงกลัวอัลลอฮฺและเสียใจต่อความผิดพลาดของตนในอดีต อัล-กินดีย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ ได้กล่าวว่า น�้ำตาที่หลั่งออกมา เนื่องจากเกรงกลัวอัลลอฮฺ สุบหานะฮูวะตะอาลา สามารถดับ ทะเลไฟนรกได้ ท่านอิบนุอับบาส เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ได้รายงาน จาก นบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมว่า นัยน์ตาสองประเภทที่ จะไม่ถกู ไฟนรกเผาผลาญ คือ 1) นัยน์ตาทีร่ อ้ งไห้ชว่ งหลังเทีย่ ง คืนเนื่องจากเกรงกลัวอัลลอฮฺ และ 2) นัยน์ตาที่อดนอนเพราะ เป็นยามรักษากิจการในหนทางของอัลลอฮฺ อบู ซัลมาน อัด-ดารอนีย์ รอฮิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่ า หั ว ใจที่ ป ราศจากความย� ำ เกรงอั ล ลอฮฺ คื อ หั ว ใจที่ พั ง พิ น าศ เพราะอัลลอฮฺได้กล่าวว่า“แล้วพวกเขารู้สึกปลอดภัยจากอุบาย ของอัลลอฮฺกระนั้นหรือ ไม่มีผู้ใดที่มั่นใจว่าจะปลอดภัยจาก อุบายของอัลลอฮฺ นอกจากกลุม่ ชนทีข่ าดทุนเท่านัน้ ” (อัล-อะอฺ รอฟ 99) ดังนั้น เจ้าจงรักษาและทะนุถนอมน�้ำตาเหล่านี้ไว้ให้ ดี อย่าให้น�้ำตาของเจ้าไหลรินออกมาเพียงเพื่อตอบสนองความ จอมปลอมทั้งหลาย จงหลั่งน�้ำตาให้อาบแก้ม ขณะที่เจ้าก้มสุญู ดยามหลังเที่ยงคืนอันเงียบสงัด มีความสานึกผิดและเสียใจต่อ ความผิดพลาดที่ได้กระท�ำลงไป โศกาอาดูรกับบาปที่สร้างรอย ด่างในชีวิต เศร้าโศกกับความบกพร่องที่เป็นเหตุให้เกิดจุดด�ำ ในหัวใจ ยามนั้น ขอให้เจ้าจงขอลุแก่โทษด้วยหัวใจที่นอบน้อม ส�ำรวม เพือ่ ก้าวสูอ่ าทิตย์อทุ ยั แห่งทางน�ำของอัลลอฮฺ สุบฮานะฮู วะตะอาลา จงเรียกน�้ำตาที่ถูกกักไว้ในคลังนัยน์ตาของเจ้า ให้ไหล รินอาบแก้มตลอดเวลา เพือ่ ท�ำหน้าทีช่ โลมจิตและช�ำระหัวใจให้ สะอาดหมดจด เพื่อทลายบาปที่สุมเป็นกองพะเนิน เผื่อว่าเจ้า จะได้รบั ความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ ผูท้ รงยิง่ ในความเมตตา ข้าแต่พระองค์ ได้โปรดประทานให้หัวใจของฉันมี ความมั่นคงในศาสนาของพระองค์ และได้โปรดให้ฉันหลั่ง น�ำ้ ตาเนือ่ งจากรูส้ กึ ย�ำเกรงพระองค์ดว้ ยเถิด 57 SALAM
โดย อ.อับดุลฆอนี บุญมา
การแต่งกายของมุสลิมะฮ์ สิง่ ทีม่ นุษย์มคี วามโดดเด่น นอกเหนือจากเรือนร่าง และ ด้วยภูมปิ ญ ั ญาความสามารถแล้ว มนุษย์ยงั มีความโดดเด่นอยูเ่ สมอ ในเรือ่ งของการตกแต่ง เกีย่ วกับร่างกาย ด้วยการสวมใส่ตามความ ชอบ ดังทีม่ กี ารพูดกันว่า ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง นัน่ คือ สภาพโดยทัว่ ไป แต่ทว่าส�ำหรับผูศ้ รัทธาทัง้ หญิงและชายทีม่ หี ลักการของ ศาสนาอิสลามแล้ว หัวใจของเขาจะต้องไม่หลุดออกจากวงโคจรของ ศาสนาทีไ่ ด้ยดึ ถืออยู่ และดูเหมือนว่าสภาพโดยรวมทัว่ ไปในเรือ่ งการ สวมใส่ของสุภาพสตรี เป็นการท้าทายศาสนาอย่างมาก ยกเว้นผูท้ มี่ ี ความแข็งแรงในเรือ่ งของการศรัทธาเท่านัน้ ทีจ่ ะมีความสามารถทวน กระแสสังคมได้ แต่ดเู หมือนว่าส่วนใหญ่จะมีความเข้าใจว่าต้องผ่อน ปรน หรือต้องท�ำตัวให้เข้ากับสังคม จะได้ไม่ลา้ หลังหรือด้อยพัฒนา ในแง่ของอิสลามแล้ว คือความเข้าใจผิด ถ้าคิดว่าการ ด�ำเนินตามหลักการอิสลามเป็นความล้าหลัง หรือด้อยพัฒนา และ อยากจะบอกให้ทราบว่าการทีแ่ ฟชัน่ ทีค่ ดิ ว่าเป็นความก้าวหน้า หรือ เป็นการน�ำสมัยนัน้ ผิด เพราะเท่าไหร่แล้วทีอ่ า้ งว่าล�ำ้ ยุค หรือน�ำสมัย ในส่วนของเครือ่ งแต่งตัวนัน้ มันจะวนเวียนไปมาอย่างชนิดทีเ่ รียกว่า ตามไม่คอ่ ยทัน และในทีส่ ดุ ก็จะกลับมาสูท่ เี่ ดิม บางทีของใหม่ยงั ไม่ เท่าไหร่กจ็ ะตกรุน่ เผลอๆไม่นานก็กลับมาดังอีก แต่ถา้ คนทีอ่ ยูแ่ บบ สบายๆ ไม่แสดงตัวน�ำสมัย ก็จะประหยัดและไม่สนิ้ เปลืองดี แต่ถา้ ตามระบบของศาสนาอิสลามแล้ว สะดวกสบายกว่าแน่นอน เพือ่ ให้ เกิดความรูท้ แี่ ท้จริงจะน�ำเสนอเงือ่ นไขต่างๆต่อไปนี้ เงือ่ นไขต่างๆทีจ่ ำ� ต้องมีครบถ้วน ในการแต่งกายของสตรีมสุ ลิมะฮ์ 1. จะต้องปกปิดร่างกายทัง้ หมด 2. เครือ่ งสวมใส่จะต้องไปการท�ำให้ดสู วย หรือตกแต่งให้สวยสะดุดตา 3. จะต้องไม่มกี ลิน่ หอมจรุงใจ 4. จะต้องไม่รดั รูปร่าง ให้ใช้แบบกว้างๆ หลวมๆ 5. จะต้องไม่บาง โปร่งใส 6. จะต้องไม่เหมือนกับเครือ่ งแต่งกายของผูช้ าย 7. จะต้องไม่เป็นเรือ่ งแต่งตัวทีเ่ ป็นแฟชัน่ โด่งดัง 8. จะต้องไม่เป็นเครือ่ งแต่งตัวของพวกผูป้ ฏิเสธ(กาเฟร์)โดยเฉพาะ นีค่ อื เงือ่ นไขทีจ่ ำ� เป็นต้องมีครบ ในการสวมใส่และการนุง่ ห่มของสตรีมสุ ลิมะฮ์ เมือ่ นางออกจากบ้าน หรือกรณีอยูต่ อ่ หน้าชาย ทีส่ ามารถแต่งงานด้วยกันได้ ส่วนสามเงือ่ นไขสุดท้ายจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องระวังอยูต่ ลอดเวลา ไม่วา่ จะอยูใ่ นบ้านหรือนอกบ้าน หรืออยู่ พร้อมกับญาติพนี่ อ้ ง และคนอืน่ ๆ และเงือ่ นไขตัง้ แต่ขอ้ สี่ ถึงข้อแปด นัน้ รวมทัง้ หญิง(มุสลิมะฮ์)และชาย(มุสลิมนี )
SALAM
58
59 SALAM
Article
ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
CSR พลังอ�ำนาจของ “ภาพลักษณ์”
หรือ “มายาคติ” ลวงโลก
ปิ
แอร์ บูริดิเยอร์ ได้กล่าวถึง วิ ธี ก ารแข่ ง ขั น ในเกมส์ ว ่ า ผู ้ เล่ น ทั้ ง หลายต้ อ งแสวงหา กลยุทธ์ต่างๆ มาสร้างความ ได้ เ ปรี ย บในการแข่ ง ขั น โดยความได้ เปรียบเกิดจากการสั่งสมทุน 4 ประเภท คือ ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุน ทางวัฒนธรรม และที่ส�ำคัญมากคือ ทุน สัญลักษณ์”การแข่งขันในเกมส์เศรษฐกิจ โดยเฉพาะธุรกิจที่ทุกวันนี้เต็มไปด้วยการ แข่งขัน และเกมส์ส�ำคัญที่ธุรกิจต่อสู้ช่วง ชิงความได้เปรียบกันอย่างรุนแรง เห็นจะ เป็นเรื่อง การตลาด การตลาดสมั ย ใหม่ มี ค วาม พยายามใช้ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารยึ ด ครอง ลู ก ค้ า หรื อ ผู ้ บ ริ โ ภคโดยใช้ ก ลยุ ท ธ์ ใ น การแข่ ง ขั น ให้ แ นบเนี ย นและซึ ม ลึ ก เข้าครอบง�ำจิตใจคนมากขึ้น เครื่องมือ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ การสื่ อ สารมวลชนอย่ า ง บู ร ณาการ (IMC – Integrate Mass Communication) ซึ่งใช้สื่อหลากหลาย รูปแบบสร้างข้อมูล และเรื่องราวต่างๆ เพื่ อ ท� ำ ให้ ผู ้ ช มผู ้ ฟ ั ง สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ เกี่ยวกับยี่ห้อ และภาพลักษณ์ขององค์กร ธุ ร กิ จ เหล่ า นั้ น ในทิ ศ ทางที่ บ รรษั ท วางแผน การสื่ อ สารผ่ า นการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ถูกควักเอามาใช้หล่อหลอมอารมณ์ความ รู ้ สึ ก ของผู ้ บ ริ โ ภคซ�้ ำ แล้ ว ซ�้ ำ เล่ า จนใน บางครั้งผู้บริโภคจะจ�ำภาพลักษณ์ของ บรรษัทและสินค้าบริการของแต่ละยี่ห้อ SALAM
60
ด้ ว ยภาพลั ก ษณ์ ที่ ป รากฏในโฆษณา มากกว่า ข้อมูลที่แท้จริงของสินค้าหรือ กระบวนการผลิตสินค้าเหล่านั้น เช่น จ�ำ ว่ า สิ น ค้ า ของบรรษั ท นี้ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้อม โดยมองข้ามไปว่าวิธีการผลิต สินค้าชนิดนี้จะต้องใช้ทรัพยากรอย่างสิน้ เปลืองและก่อมลพิษสูง สถานการณ์ ป ั จ จุ บั น พลิ ก ผั น อย่างรวดเร็ว การตลาดจึงต้องพลิกแพลง ไปตามภาวการณ์ การบริหารจัดการและ การตลาดในช่วงวิกฤต จึงต้องพยายาม พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส เมื่อเกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ หรือภัยจากน�้ำมือมนุษย์ จึงเป็นวิกฤตที่ธุรกิจจ�ำต้องช่วงชิงโอกาส เหล่านั้นให้กลับกลายเป็นโอกาส การท�ำกิจกรรมทางสังคม ถือ เป็นกิจกรรมทางการตลาดชนิดหนึ่ง โดย กิ จ กรรมเหล่ า นี้ เ ป็ น การแสดงออกซึ่ ง ความรับผิดชอบทางสังคมของบรรษัท ตามหลัก CSR – Corporate Social Responsibility เป็นแนวทางหนึ่งที่ผลัก ดันให้องค์กรทางธุรกิจจ�ำนวนมากได้ลุก ขึ้ น มาท� ำ กิ จ กรรมทางสั ง คมโดยปั น งบ จากหมวดการประชาสั ม พั น ธ์ แ ละการ ตลาดมาใช้ เพื่อสร้างกิจกรรมที่สามารถ เชื่อมความสัมพันธ์กับประชาชนได้ดี โดย เฉพาะในยามวิกฤตที่คนต้องการความ ช่วยเหลือและแบ่งปัน อนึ่ ง ปิ แ อร์ บู ริ ดิ เ ยอร์ นั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาผู ้ เ ลื่ อ งชื่ อ ได้ ก ล่ า วถึ ง วิ ธี การแข่งขันในเกมส์ว่าผู้เล่นทั้งหลายต้อง แสวงหากลยุทธ์ต่างๆ มาสร้างความได้
เปรียบในการแข่งขัน โดยความได้เปรียบ เกิ ด จากการสั่ ง สมทุ น 4 ประเภท คื อ ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทาง วั ฒ นธรรม และที่ ส� ำ คั ญ มากคื อ ทุ น สัญลักษณ์ ทุ น ทางเศรษฐกิ จ คื อ ต้ น ทุ น ในการต่อสู้แข่งขันที่อยู่ในรูปแบบของ ทรัพยากร โอกาสและความสามารถใน การน�ำทรัพยากรมาเสริมศักยภาพของ การแข่งขัน เช่น ที่ดิน โรงงาน สิทธิใน ทรัพยากร ส่วนทุนทางสังคม คือ ฐาน ของเครือข่ายทางสังคมที่มีอยู่กับผู้อื่นใน สังคม เช่น มีเครือญาติ เพื่อนฝูง คนรู้จัก ที่สามารถพึ่งพาอาศัยและช่วยเหลือกัน ได้ และทุนทางวัฒนธรรมคือการสั่งสม สิ่ ง ที่ สั ง คมนั้ น ให้ ค วามหมายว่ า เป็ น สิ่ ง ทรงคุณค่าควรแก่การนับถือชื่นชม เช่น การจบการศึกษาจากสถาบันมีชื่อเสียง การได้รบั รางวัลจากสถาบันต่างๆ เป็นต้น
ทุนสัญลักษณ์ คือ ภาพลักษณ์ หรือสัญลักษณ์ ที่เกิดจากสร้างความรู้สึก อารมณ์ ต ่ อ สิ่ ง นั้ น ให้ ติ ด “ภาพ” เช่ น การช่ ว ยเหลื อ ผู ้ อื่ น คราวละน้ อ ยๆ แต่ ช่วยบ่อยๆ การบริจาคเพื่อการกุศล ซึ่ง จะเสริมภาพลักษณ์ขององค์กรให้คนใน สังคมมองมาด้วยความรู้สึกชื่นชม จนไม่ ตั้งข้อสงสัยว่าแท้จริงแล้วคนหรือองค์กร เหล่ า นั้ น มี ข ้ อ มู ล หรื อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อื่ น ที่ ปิดบังซ่อนเร้นไว้หรือไม่ สาเหตุ ที่ ทุนประเภทนี้มีความ ส�ำคัญมากก็ด้วยเหตุที่สามารถครอบง�ำ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ของผู้คนได้ อย่างแนบเนียน ซึ่งถือเป็นความรุนแรง อย่ า งที่ สุ ด เพราะเป็ น การเอาชนะด้ ว ย การสร้างความชอบธรรมกดทับข้อเท็จ จริงทั้งหลายที่หลบซ่อนอยู่ภายใต้ภาพ ลั ก ษณ์ ที่ ส วยงาม ทรงคุ ณ ค่ า เลิ ศ หรู เพราะสิ่ ง ที่ ก ารโฆษณาประชาสั ม พั น ธ์
แสดงให้เห็นก็เป็นเพียงการเลือกเสนอ ความจริ ง ด้ า นเดี ย ว และปิ ด บั ง ความ จริงอื่นๆที่ไม่เป็นคุณกับภาพลักษณ์ของ บรรษัท ยุทธวิธีที่ก�ำลังนิยมกันมาก คือ กลยุ ท ธ์ ที่ ห วั ง ผลทางอ้ อ มเพราะแนบ เนียนและครอบง�ำได้อย่างลึกซึ้งมากกว่า เนื่องจากผู้ที่ถูกครอบง�ำกลับไม่รู้สึกถึง การคุกคามและยังเห็นว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง และเป็นธรรมแล้ว การท� ำ ประชาสั ม พั น ธ์ แ บบสร้ า งภาพ ลั ก ษณ์ บ นพื้ น ฐานของ CSR จึ ง อาจ เป็นเพียง ภาพมายา ที่สร้าง มายาคติ ครอบง� ำ คนในสั ง คมให้ ห ลงเข้ า ใจว่ า บรรษัทมีความรับผิดชอบต่อสังคม อย่างไรก็ดี เราควรผลักดันให้ บรรษั ท มี ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ บนพื้ น ฐาน ของความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมอย่ า ง ครบวงจร มิ ใ ช่ เ พี ย งขั้ น ตอนการท� ำ โฆษณาประชาสั ม พั น ธ์ ตามประมวล
ความรับผิดชอบทางสังคมของบรรษัท ข้ า มชาติ ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น โดย กลุ ่ ม ประเทศ อุตสาหกรรม(OECD) ได้กำ� หนดขอบเขต ของความรับผิดชอบทางสังคมไว้ ใ น 3 ประเด็นใหญ่ คือ 1. การรักษาสิ่งแวดล้อม 2. การคุ้มครองสิทธิแรงงาน 3. การประกันสิทธิมนุษยชน ดั ง นั้ น องค์ ก รที่ จ ะสามารถ อวดความเป็นบรรษัทที่รับผิดชอบสังคม ได้ อ ย่ า งภาคภู มิ จึ ง ต้ อ งมี ก ารอนุ รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมสิทธิแรงงาน และ เคารพสิทธิมนุษยชน ในทุกกระบวนการ ท�ำธุรกิจของบรรษัท ตั้งแต่ขั้นตอน การ ผลิต การกระจาย การแลกเปลี่ยน หรือ แม้กระทั่งกระตุ้นการบริโภคสินค้าหรือ บริการของบรรษัท 61 SALAM
I Believe
ทฤษฎีแห่งจินตนาการ
และความหลงใหล พรสวรรค์ ความฝัน จินตนาการ และความหลงใหล ทัง้ หมดนีล้ ว้ นแต่เป็นสิง่ ทีจ่ บั ต้องและสอนกันไม่ได้ บางคนมีสงิ่ เหล่านีม้ าตลอดชีวติ แต่ไม่เคยท�ำให้เป็นจริงแต่บางคนกลับ ใช้สงิ่ นีเ้ หมือนไม่มวี นั หมด และยังใช้เป็นใบเบิกทางสูค่ วามส�ำเร็จได้อย่างไม่ยากเย็นในขณะที่ บางคนสามารถบริหารความชอบและจินตนาการของคนอืน่ ให้ออกมาเป็นผลงานระดับโลก สังคมจึงปรากฏผลลัพธ์ทหี่ ลากหลายจากจินตนาการและความหลงใหลของคนเรา ทั้งในเรื่องที่เราชื่นชมยกย่องและในเรื่องน่าขบขันหรือถูกมองเป็นเรื่องไร้แก่นสารแต่อย่างไร ก็ตามคนเราก็ยังคงมุ่งมั่นที่จะยกระดับความชอบหรือความหลงใหลส่วนตัวให้เป็นที่ยอมรับ ของสังคมมาอย่างต่อเนือ่ ง หรือหากเรามองลึกลงไปในสิง่ ทีเ่ รียกว่าความคิดนอกกรอบ หรือ จินตนาการทีไ่ ร้ขดี จ�ำกัด ทีม่ กั จะหยิบยกขึน้ มากล่าวกันนัน้ แท้ทจี่ ริงแล้วความคิดเหล่านัน้ ไม่ สามารถก้าวไปไกลได้เลยหากไม่มีความอดทนและความเพียรที่จะค้นคว้า ศึกษา วิจัย หรือ ทดลองท�ำซ�ำ้ ๆ จนเกิด เป็นข้อสรุปหรือทฤษฎีทนี่ า่ เชือ่ ถือ ดังนั้นนอกเหนือจากเรื่องของความฝัน ความคิด จินตนาการ ที่ทุกคนมีซุกซ่อน อยูใ่ นตัวเอง และถือเป็นต้นทุนส�ำคัญในชีวติ ไม่แพ้ปจั จัยการผลิตทางเศรษฐศาสตร์ทวี่ า่ ด้วย ทุน แรงงาน ที่ดิน และเทคโนโลยี และส�ำหรับทุกคนที่รู้ว่าทุนของตนเองอยู่ที่ไหนและได้ มาอย่างไร ที่เหลือต่อจากนี้เราเชื่อว่า ความรู้จะเป็นแกนส�ำคัญที่สานต่อความหลงใหลหรือ จินตนาการเหล่านัน้ ให้กลายเป็นเรือ่ งจริงทีน่ า่ ชืน่ ชม
SALAM
62
เรือ่ งโดย อภิสทิ ธิ์ ไล่สตั รูไกล บรรณาธิการนิตยสารคิด
(salam) นิ ต ยสารเพื่ อ สั ง คมมุ ส ลิ ม ยิ น ดี เ ปิ ด พื้ น ที่ รับบทความ ที่เกียวข้องกับ ความเชือ่ และ แรงบันดาลใจ ของคุณ
ทุกค�ำตอบ ของงานสิง่ พิมพ์และ Event บริ ษั ท สลาม มี เ ดี ย พลั ส จ� ำ กั ด 31/6 หมู ่ ที่ 15 ต.บางพึ่ ง อ.พระประแดง จ.สมุ ท รปราการ 10130 โทรศั พ ท์ / โทรสาร 02-462-5267 มื อ ถื อ 085-058-8992,084-146-1105 e-mail:salammediaplus@gmail.com 63 SALAM
SALAM
64