หนังสือรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ กรมคุ้มครองเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

Page 1


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงาน ตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

โดย

รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด และคณะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

เสนอต่อ

กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2557


ที่ปรึกษา

1. พันต�ำรวจเอก ดร.ณรัชต์ เศวตนันทน์ 2. นายไพฑูรย์ สว่างกมล 3. นางสาวปิติกาญจน์ สิทธิเดช 4. นายสมชาย คมคริส

อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ รองอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ รองอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ผู้อ�ำนวยการกองส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพ

คณะผู้ท�ำการศึกษา

1. รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิตยา ส�ำเร็จผล 3. ดร.ทองใหญ่ อัยยะวรากูล

1. นางสาวจิฬาภรณ์ ตามชู 2. นางสาวปัทมา ช่างต่อ 3. นางสาวปุนรดา สมจิตรติ์ 4. นายอานนท์ ยังคุณ 5. นางสาวมาณวี กล�่ำเครืองาม 6. นางสาวศุภวรรณ เรืองวิลัย

หัวหน้าโครงการ รองหัวหน้าโครงการ รองหัวหน้าโครงการ

คณะท�ำงาน

นักวิชาการยุติธรรมช�ำนาญการพิเศษ นักวิชาการยุติธรรมช�ำนาญการ นักวิชาการยุติธรรมปฏิบัติการ นักวิชาการยุติธรรมปฏิบัติการ พนักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ผู้ช่วยปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ

ผู้ช่วยสรุปหน่วยงานรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนฯ

1. นายสมเดช พูนน�ำเภา 2. นายกรกฤษณ์ ปราบเขต 3. นางสาวจีรภรณ์ ศิริพลัง 4. นายพีรพัฒน์ นิลทมร 5. นายวราสิทธิ์ ชิณวงศ์พรหม 6. นางสาวพศวีร์ รอดปัญญา

จ�ำนวนที่พิมพ์ 1,000 เล่ม ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2557

นักวิชาการยุติธรรมปฏิบัติการ นักวิชาการยุติธรรมปฏิบัติการ นักวิชาการยุติธรรมปฏิบัติการ พนักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ผู้ช่วยปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชน ผู้ช่วยปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชน


กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยต้องขอขอบคุณ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรมที่สนับสนุนงบประมาณการวิจัย ครั้งนี้ ซึ่งเปิดโอกาสให้ คณะผู้วิจัยได้ด�ำเนินการวิจัยอย่างลุล่วงมาได้ และที่ส�ำคัญ ต้องขอขอบคุณ ผู้บริหารของกรม คุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพทุกท่านทีใ่ ห้ความสะดวกในทุกด้าน ทัง้ การท�ำหนังสือประสานงานติดต่อขอข้อมูลกับหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้ทมี ผูว้ จิ ยั สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างราบรืน่ รวมทัง้ การให้ความส�ำคัญและมีเจตจ�ำนงแน่วแน่ในการ ส่งเสริมผลักดันให้การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนของหน่วยงานเครือข่ายทุกภาคส่วนมีการขับเคลือ่ นและพัฒนา ไปในทิศทางที่ส่งเสริมและสร้างความเข้าใจกับทุกภาคส่วนตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ผู้วิจัยได้รับความร่วมมือจาก หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี คณะผู้วิจัยประทับใจในการอ�ำนวยความสะดวกทุกด้านที่ได้รับมาโดยตลอด นอกจากนี้ ต้องขอขอบคุณหน่วยงานต่าง ๆ ที่จัดเก็บรวบรวมข้อมูล การกรอกรายละเอียดตามแบบฟอร์ม การรายงานผลงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสิทธิมนุษยชนนับว่าเป็นประโยชน์ในการน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์และ ช่วยให้เห็นภาพรวมของการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของหน่วยงานต่าง ๆ ที่พยายามผลักดันและด�ำเนินงานอย่าง เต็มที่ อีกทัง้ หลายหน่วยงานให้ความร่วมมือและประสานงานโดยตรงเพือ่ ให้ขอ้ มูลทีช่ ดั เจนมากขึน้ แก่ทมี ผูว้ จิ ยั ทีส่ ำ� คัญ ทีส่ ดุ งานวิจยั ครัง้ นีจ้ ะสมบูรณ์มไิ ด้หากขาดผูใ้ ห้ขอ้ มูล ทุกท่านทีใ่ ห้ขอ้ มูลทีม่ คี ณ ุ ค่าอย่างมากกับงานวิจยั ครัง้ นี้ ซึง่ รวมทัง้ ภาคประชาชน ภาคเอกชน นักศึกษา นักวิชาการ และข้าราชการทุกท่านที่เสียสละเวลาอันมีค่ามาให้ข้อมูลแก่ผู้วิจัย จากการส�ำรวจผ่านเว็บไชต์ และการเก็บข้อมูลจากผู้ที่มาขอรับบริการจากหน่วยงาน รวมทั้งกลุ่มผู้ต้องขัง กลุ่มเด็ก และเยาวชน กลุม่ ชาติพนั ธุท์ ไี่ ด้กรอกข้อมูลแบบสอบถาม ซึง่ รายนามของทุกท่านไม่สามารถกล่าวนามของท่านเหล่านัน้ ให้ปรากฏในรายงานวิจัยด้วยหลักจริยธรรมของการวิจัย แต่ทุกท่านที่ให้ข้อมูลย่อมตระหนักว่าท่านเป็นผู้มีส่วนอย่าง มากที่สุดที่ท�ำให้งานวิจัยครั้งนี้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้และข้อมูลของท่านเป็นคุณประโยชน์อย่างมากในการให้ศึกษาเพื่อให้ เกิดประโยชน์ต่องานวิจัยครั้งนี้ คณะผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณเป็นอย่างยิง่ ส�ำหรับเจ้าหน้าทีข่ องกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพทุกคน ทีใ่ ห้ความร่วมมือ เป็นอย่างดีในการจัดเก็บเอกสาร การจัดส่งข้อมูล การลงบันทึกข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ นับหลายพันหน่วยงานซึง่ นับว่า เป็นงานทีต่ อ้ งใช้ความอดทน และความตัง้ ใจในการท�ำงานอย่างแท้จริง ซึง่ เป็นประโยชน์อย่างมาก และช่วยท�ำให้งานวิจยั ครั้งนี้มีคุณภาพยิ่งขึ้น รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด และคณะ ธันวาคม 2557



สารบัญ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทน�ำ บทที่ 2 ทิศทางแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย บทที่ 4 การประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2556 บทที่ 5 การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 บทที่ 6 ความส�ำเร็จเส้นทางข้างหน้าและอนาคตที่ท้าทาย “สิทธิมนุษยชน” บรรณานุกรม ภาคผนวก 1. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดทั้ง 27 รายการ ของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) 2. พันธกรณีระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี 3. (ร่าง) แบบรายงานติดตามการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 – 2561)

หน้า 1 9 31 41 85 109 119 125 139 141



บทที่ 1

บทน�ำ



รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

บทที่ 1 บทน�ำ

1. หลักการและเหตุผล ประเทศไทยมีการประกาศใช้แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มาแล้ว 2 ฉบับ โดย แผนฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม  ⌫  2552 โดยให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องแปลงแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสแู่ ผนบริหารราชการ   -  แผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการกระทรวง ทบวง กรม จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนพัฒนาองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติ ที่ผ่านมา กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล ได้จดั ท�ำโครงการประเมินผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงาน ตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 (ช่วงครึง่ แผน) ประจ�ำปี พ.ศ. 2552 – 2554 ขึน้ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะทราบผลการด�ำเนินงานช่วงครึ่งแผนส�ำหรับเป็นกรอบแนวทาง ให้รฐั บาลก�ำหนดนโยบายในการส่งเสริม คุม้ ครองสิทธิมนุษยชนให้แก่ประชาชนในประเทศ โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 รับทราบและเห็นชอบให้เพิ่มขีดความสามารถขับเคลื่อนแผนสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ ผลปรากฏว่า (1) การประเมินเป้าหมายหลัก1 ตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ใน 2 ประเด็นส�ำคัญ ประเด็น แรก “สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเคารพศักดิศ์ รีของความเป็นมนุษย์” มีแนวโน้มดีขนึ้ เมือ่ เปรียบเทียบกับ 5 ปี ทีผ่ า่ นมา ส�ำหรับประเด็นที่ 2 เครือข่ายสิทธิมนุษยชนเข้มแข็งในทุกภูมิภาคและมีความตื่นตัวในเรื่องสิทธิมนุษยชน เพื่อพัฒนา สู่มาตรฐานสากล ซึ่งยังไม่บรรลุเป้าหมายในช่วงครึ่งแผนแรก โดยยังประสบปัญหาในหลายประการ ได้แก่ 1) ปัญหา การขาดความรูค้ วามเข้าใจเรือ่ งสิทธิมนุษยชน 2) การจัดการความรู้ การถอดบทเรียนการปฏิบตั ทิ ดี่ ดี า้ นสิทธิมนุษยชนและ การใช้ประโยชน์ในการปรับแผนงานของหน่วยงานตนเองและการถ่ายทอดให้กับผู้อื่น 3) การวิจัยในเรื่องสิทธิมนุษยชน ที่มีค่อนข้างน้อยมาก (2) การประเมิ น ความก้ า วหน้ า ของการน� ำ แผนสิ ท ธิ มนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ปี พ.ศ. 2552 – 2554) ซึ่งในแต่ละปี มีการติดตามผลการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 กับหน่วยงานน�ำร่องทุกภาคส่วน จ�ำนวน 9,625 แห่งต่อปี หน่วยงาน น�ำร่องดังกล่าว ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับส่วนกลาง (กระทรวง/กรม) ส่วนภูมิภาค (ทั้ง 75 จังหวัด) ส่วนท้องถิ่น (อบจ. เทศบาล อบต. กรุงเทพฯ และพัทยา) องค์กรภาคเอกชน ภาคประชาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน องค์กรของรัฐรูปแบบใหม่ สถาบันการศึกษา ของรัฐ/เอกชน อาชีวศึกษา องค์กรศาล องค์อื่น ๆ และองค์กรอิสระ โดยการติดตามผลการปฏิบัติตามแผนฯ ในระดับ กรมฯ จะผ่านทางกระทรวงเป็นแกนกลางประสานและรวบรวมผลการด�ำเนินงาน ส�ำหรับส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น จะประสานผ่านทางกระทรวงมหาดไทยสั่งการลงถึงจังหวัดเพื่อให้จังหวัดเป็นแกนกลางประสานงานหน่วยงานภายใน จังหวัด รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย ผลปรากฏว่า              

                   

1

ธันวาคม 2551

⌫             

บทสรุปผู้บริหาร : ประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งแผน) ประจ�ำปี พ.ศ. 2552 – 2554 (น. 4 – 5)

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 3


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

1) โดยเฉลีย่ ภาพรวมปีงบประมาณ 2552 – 2554 หน่วยงานน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสู่การปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 56.43 หรือประมาณเกือบสองในสามของหน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด 2) ภาพรวมปีงบประมาณ 2552 – 2554 เมื่อแยกแยะการด�ำเนินโครงการตามยุทธศาสตร์แล้ว พบว่า ยุทธศาสตร์ที่มีการด�ำเนินการมากที่สุดคือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 (ป้องกัน) ร้อยละ 46 รองลงมาคือ ยุทธศาสตร์ที่ 2 (คุ้มครอง) ร้อยละ 31 ยุทธศาสตร์ที่ 4 (พัฒนาเครือข่าย) ร้อยละ 20 และยุทธศาสตร์ที่ 3 (มาตรการ/กลไก/กฎหมาย) ร้อยละ 3 ตามล�ำดับ 3) งบประมาณที่หน่วยงานมีด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนทั้ง 10 ประเด็น โดยใช้จ่ายงบประมาณของ แต่ละหน่วยงานมาด�ำเนินการ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 – 2554 รวมทั้งสิ้น 67,426,783,116.11 บาท (3) การประเมินผลการบรรลุตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2552-2554 ใน 4 ยุทธศาสตร์ ซึ่งก�ำหนดตัวชี้วัดไว้ 27 รายการ ผลการประเมินพบว่า บรรลุตามเป้าหมาย จ�ำนวน 5 ตัวชี้วัดและยังไม่บรรลุเป้าหมายจ�ำนวน 22 ตัวชี้วัด (4) เสนอแนะการเพิ่มขีดความสามารถขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  ฉบับที่  2  (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 และเชื่อมโยงกับนโยบายรัฐบาลโดยน�ำมิติด้านสิทธิมนุษยชนมาเพิ่มประสิทธิภาพในการ ท�ำงาน ดังนั้น เพื่อให้เกิดการประเมินผลเกิดความต่อเนื่องและน�ำมาปรับปรุงพัฒนางานด้านสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ จึงได้จัดท�ำโครงการความท้าทายเพื่อก้าวสู่มิติใหม่ของการขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 3 กิจกรรมที่ 3 : ประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วง ครึง่ หลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ขึน้ ว่าบรรลุตามเป้าหมายหลักและการประเมินผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์  รวมไปถึงการบรรลุผลตามตัวชีว้ ดั ทัง้ ในระดับยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ (จ�ำนวน 27 ตัวชีว้ ดั ) ใน ปี 2555 – 2556 (ช่วงครึง่ หลัง) ของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 รวมถึงความก้าวหน้าและ สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในภาพรวมทั้งหมด เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พิจารณา ส�ำหรับวางนโยบายการส่งเสริม คุม้ ครองสิทธิมนุษยชน และการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาพรวม ของประเทศ ต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพือ่ ประเมินผลสัมฤทธิจ์ ากการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึง่ หลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ของหน่วยงานจากทุกภาคส่วน 2.2 เพือ่ ให้เกิดกระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกันเกีย่ วกับการประเมินผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ในการส่งเสริมความรูส้ กึ เป็นเจ้าของแผนร่วมกันและให้เกิดการน�ำผลไปใช้ประโยชน์ตอ่ การปรับปรุงและ พัฒนางานด้านสิทธิมนุษยชน 2.3 เพื่อให้ทราบถึงแนวทางในการผลักดันและวางทิศทางการส่งเสริม ปกป้อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชนของ ประเทศไทย 3. ขอบเขตและแนวทางการด�ำเนินงาน (1) ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับความส�ำคัญ ความเป็นมาและทิศทางของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 – 2556 ไม่ว่าจะเป็น วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลวิธี ตัวชี้วัดทั้งในระดับ หน้า 4

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ รวมถึงกรอบแนวทางการประเมินผลของหน่วยงานกลางในระดับชาติ อาทิ ส�ำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับผิดชอบเกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบเกี่ยวกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ รับผิดชอบเกี่ยวกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการรับผิดชอบเกี่ยวกับการประเมินผลและวัด คุณภาพการศึกษา หรือหน่วยงานอื่น ๆ เป็นต้น เพื่อน�ำมาปรับใช้และจัดท�ำเป็นกรอบแนวทางการประเมินผลแผนสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2) ศึกษารายละเอียด (Template) ค�ำอธิบายตัวชี้วัด ทั้ง 27 ตัวชี้วัด ที่ปรากฏอยู่ในแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) จากผลการศึกษาประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 2 (ช่วงครึง่ แผน) ประจ�ำปี พ.ศ. 2552 – 2554 รายละเอียด (Template) ค�ำอธิบายตัวชีว้ ดั ทัง้ 27 ตัวชีว้ ดั ทีผ่ า่ นมา เพื่อศึกษาและน�ำไปใช้ประกอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ฯ (ช่วงครึ่งหลัง) พ.ศ. 2555 – 2556 (3) วิเคราะห์ขอ้ มูล (Document) เพือ่ ท�ำการประเมินผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ทัง้ การประเมินผลการบรรลุเป้าหมายหลักและการประเมินผลกระทบต่อการพัฒนา ประเทศ ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์ รวมไปถึงการบรรลุผลตามตัวชีว้ ดั ทัง้ ในระดับยุทธศาสตร์และ ระดับกลยุทธ์ (จ�ำนวน 27 ตัวชีว้ ดั ) ของหน่วยงานต่าง ๆ จากทุกภาคส่วน โดยพิจารณาข้อมูลเพือ่ ท�ำการประเมินผลจาก แหล่งต่าง ๆ ดังนี้ (3.1) วิเคราะห์จากรายงานติดตามการปฏิบัติงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ซึ่ง เป็นการติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ตามแบบฟอร์มที่กรม คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพก�ำหนด ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งปรากฏตามกลุ่มเป้าหมาย ที่ก�ำหนด กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพได้มีการประสานงานไปยังหน่วยงานต่าง ๆ โดยตรงเพื่อให้มีการรายงานผล การด�ำเนินงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว (3.2) วิเคราะห์จากข้อมูลแหล่งอื่นหรือค่าสถิติต่าง ๆ เพื่อประกอบการประเมินผล ทั้งข้อมูลของ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาชน ทั้งที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ อาทิ สถิติการเกิด อาชญากรรม สถิติการรับเรื่องราวร้องทุกข์และร้องเรียนของหน่วยงานต่าง ๆ สถิติการให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง สิทธิมนุษยชนหรือสิทธิเสรีภาพ ระดับภาพลักษณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ทั้งข้อมูลภายในประเทศหรือต่างประเทศ และข้อมูลอื่น ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงาน เป็นต้น เพื่อน�ำมาท�ำ การประเมินผล ตามหลักการทางวิชาการที่สามารถมีหลักฐานอ้างอิงได้อย่างเป็นรูปธรรม (4) ประเมินผลแบบมีสว่ นร่วม (Participatory Evaluation) เพือ่ ท�ำการประเมินผลในเชิงลึกนอกเหนือจาก การประเมินผลจาก Document เกีย่ วกับการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 โดยการสุม่ ตัวอย่างตัวแทนจากหน่วยงานทุกภาคส่วนเพือ่ ท�ำการประเมินผล โดยเฉพาะองค์กรทีท่ ำ� งานด้านสิทธิ มนุษยชนโดยตรงทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ส�ำหรับกิจกรรมการประเมินผลแบบมีสว่ นร่วม อาทิ สนทนา กลุ่ม การทอดแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม เป็นต้น สามารถพิจารณากิจกรรมที่จะด�ำเนินการได้ตามความเหมาะสม และเป็นไปหลักการทางวิชาการที่สามารถใช้อ้างอิงได้อย่างเป็นรูปธรรม (5) จัดประชุมวิพากษ์ผลการศึกษาประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งแผน) พ.ศ. 2555 – 2556 ผู้แทนจากทุกภาคส่วน ไม่น้อยกว่า 200 คน จ�ำนวน 1 วัน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 5


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(6) สรุปเพือ่ จัดท�ำเป็นรายงานประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วง ครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555-2556 โดยเนื้อหาในรายงานอย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย (6.1) บทสรุปส�ำหรับผู้บริหาร (6.2) บทน�ำ ได้แก่ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ขอบเขตและแนวทางการด�ำเนินงาน กลุม่ เป้าหมาย ของการศึกษา วิธีการศึกษา ผลที่คาดว่าจะได้รับ เป็นต้น (6.3) วิเคราะห์ทิศทางของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 เพื่อประกอบการประเมินผล (6.4) บทวิเคราะห์การประเมินผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วง ครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 (6.5) วิเคราะห์สถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทาง เพื่อให้ รัฐบาลแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิในภาพรวมของประเทศ ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 รวมถึงก�ำหนดหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องที่จะต้องรับไปด�ำเนินการทั้งในระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น (6.6) วิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลว่าหน่วยงานทีน่ ำ� แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ในช่วงปี พ.ศ. 2555-2556 คิดเป็นร้อยละเท่าใดของหน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด โดยพิจารณาจากข้อมูลการรายงานผล การด�ำเนินงานมาประกอบ ซึง่ ต้องแสดงให้เห็นว่าหน่วยงานทีไ่ ด้รายงานผลและไม่ได้รายงานมีจำ� นวนเท่าใดด้วย รวมถึง จ�ำนวนโครงการ/กิจกรรมที่ด�ำเนินการ วงเงินงบประมาณทั้งสิ้นที่มีการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน และการวิเคราะห์ ประมวลผลในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (6.7) วิเคราะห์สรุปผลในภาพรวมการปฏิบตั ติ ามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) ทีไ่ ด้ดำ� เนินงานในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องในประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ทัง้ ใน (ช่วงครึง่ แผน) ประจ�ำ พ.ศ. 2552 – 2554 และ (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 (6.8) น�ำเสนอร่างแบบรายงานการติดตามผลการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 – 2561) เพื่อน�ำมาพัฒนาและปรับปรุงในการติดตามผลแผนฯ ฉบับที่ 3 รวมทั้งต้องพัฒนาเพื่อรองรับ การประเมินความคุ้มค่าหรือการแสดงผลกระทบในเรื่องต่าง ๆ หากไม่ด�ำเนินการเรื่องสิทธิมนุษยชนในภาพรวมของ ทั้งประเทศที่จะต้องแสดงผลลัพธ์ที่เห็นผลเป็นรูปธรรม (6.9) บทสรุปและข้อเสนอแนะทัง้ ในเชิงนโยบายและปฏิบตั กิ ารในระดับประเทศเพือ่ ทีจ่ ะน�ำไปปรับปรุง และพัฒนาที่จะเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานในเรื่องสิทธิมนุษยชนและแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมถึงก�ำหนด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะต้องรับไปด�ำเนินการทั้งในระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น (7) น�ำเสนอรายงานประเมินผล การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 แก่กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ เพือ่ กรมฯ จะได้นำ� เรียนคณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พิจารณาในโอกาส ต่อไป 4. กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ด�ำเนินการ 4.1 กลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานน�ำร่องภาครัฐและองค์กรอิสระ รวมทั้งสิ้น 8,187 แห่ง ประกอบด้วย 1) หน่วยงานภาครัฐทั้งหมด มีจ�ำนวน 8,102 แห่ง ได้แก่ (1) ส่วนราชการ จ�ำนวน 8,109 แห่ง ประกอบด้วย (1.1) ส่วนกลาง (20 กระทรวง/153 กรม) (1.2) ส่วนภูมิภาค 76 จังหวัด (รวม จ.บึงกาฬ ตั้งใหม่) (1.3) ส่วนท้องถิน่ 7,853 แห่ง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อบจ. 76 แห่ง (รวม จ.บึงกาฬ) เทศบาล 2,266 แห่ง อบต. 5,509 แห่ง กรุงเทพฯ 1 แห่ง และพัทยา 1 แห่ง) หน้า 6

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

2) องค์กรของรัฐรูปแบบใหม่ (องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ) 7 แห่ง 3) องค์กรศาล องค์กรอื่นและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ จ�ำนวน 11 แห่ง 4) สถาบันการศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร (ระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา) 67 แห่ง ส�ำหรับ สถาบันการศึกษาในเขตจังหวัดจะติดตามผลการปฏิบัติตามแผนฯ ผ่านทางจังหวัด 76 จังหวัด *หมายเหตุ* เดิมกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ก�ำหนดหน่วยงานน�ำร่องที่รวมองค์กรภาคเอกชน และภาคประชาชน (เดิมตัง้ หน่วยงานน�ำร่องไว้ทงั้ สิน้ 9,625 แห่ง) ซึง่ ใน 3 ปีทผี่ า่ นมา (ปี พ.ศ. 2552 – 2554) กรมฯ ได้เคย ประสานงานให้หน่วยงานดังกล่าวรายงานผลการปฏิบตั ติ ามแผนฯ ฉบับที่ 2 ผลปรากฏว่า ส่วนใหญ่หน่วยงานภาคเอกชน และภาคประชาชน2 จะรายงานผลค่อนข้างน้อยมากคิดเป็นเพียงร้อยละ 2 อาจด้วยเพราะไม่ใช่หน่วยงานที่อยู่ในก�ำกับ ของรัฐบาลจึงมิได้รายงานผลให้ทราบแต่อย่างใด ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2554 จึงมิได้มีการประสานงานให้หน่วยงานเหล่านี้ รายงานผลแต่อย่างใด ***ตามบัญชีที่กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพก�ำหนด โดยอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามข้อเท็จจริง ที่เกิดขึ้น 4.2 พื้นที่ด�ำเนินการ ครอบคลุมหน่วยงานทุกจังหวัดทั้ง 4 ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร 5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 5.1 รายงานการประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึง่ หลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 5.2 รัฐบาลมีกรอบแนวทางเพื่อก�ำหนดนโยบายในการส่งเสริม คุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการแก้ไขปัญหา การละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาพรวมของประเทศ 5.3 ได้ขอ้ มูลการประเมินผลเพือ่ น�ำไปปรับปรุงและพัฒนาแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 – 2561) 5.4 ได้ทราบถึงสถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2556 6. ระยะเวลาการด�ำเนินงาน จ�ำนวน 8 เดือน (ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน – 21 ธันวาคม 2557)

2

จากผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ประจ�ำปี 2552 – 2554 ที่ผ่านมาหน่วยงานองค์กรภาคเอกชนและ

ภาคประชาชนมีการรายงานที่มีสัดส่วนน้อยมากคิดเป็นคิดเป็นร้อยละ 2.74 จากกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ 804 หน่วยงาน ซึ่งมีสัดส่วนความร่วมมือน้อยมาก อาจเป็นเพราะองค์กรดังกล่าวไม่ได้ขึ้นตรงต่อหน่วยงานภาครัฐ จึงไม่ได้รายงานผลการด�ำเนินงานให้หน่วยงานภาครัฐทราบ จึงเห็นควรส่งเสริมและผลักดัน ส่งเสริมในรูปแบบอื่นเพื่อเน้นการเข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานด้านแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับองค์กรเหล่านั้นในโอกาสต่อไป

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 7


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

7. แผนการด�ำเนินงาน กิจกรรม 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลหลักวิชาการ วิเคราะห์ข้อมูล (Document) 2.1 วิเคราะห์จากรายงานติดตาม การปฏิบัติงานตามแผนฯ ฉบับที่ 2 2.2 วิเคราะห์จากข้อมูลแหล่งอื่นหรือ ค่าสถิตต่าง ๆ เพื่อประกอบ การประเมินผล ประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (Participatory Evaluation) จัดประชุมน�ำเสนอผลการศึกษา สรุปเพื่อจัดท�ำเป็นรายงานผลการศึกษา ประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนฯ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) พ.ศ. 2555 – 2556 น�ำเสนอผลการศึกษา ต่อกรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ

1

2

ระยะเวลา/เดือน 3 4 5 6

7

*** หมายเหตุ แผนงานที่วางไว้อาจมีการปรับปรุงแผนการด�ำเนินงานได้ตามความเหมาะสมขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น

หน้า 8

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

8


บทที่ 2

ทิศทางแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 - 2556)


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

หน้า 10

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

บทที่ 2

ทิศทางแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) คณะทีป่ รึกษา ร่วมกับกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ ได้ทำ� การวิเคราะห์ทศิ ทางของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ในเชิงลึก พบว่า แผนฯ ฉบับดังกล่าวมีวาระตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 – 2556 โดยมีการก�ำหนดเป้าหมายหลัก ที่ชัดเจน พร้อมทั้งก�ำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ รวมไปถึงกลยุทธ์และกลวิธีในการด�ำเนินงาน แต่ละยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ โดยเป็น “แผนยุทธศาสตร์ชาติ” ที่มี 3 ระดับ คือ ระดับยุทธศาสตร์ ระดับกลยุทธ์ และ ระดับปฏิบตั กิ าร เพือ่ กระตุน้ ให้รฐั บาลผลักดันด้านสิทธิมนุษยชน นอกเหนือจากด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านความมัน่ คง และด้านสิง่ แวดล้อม ในแผนบริหารราชการแผ่นดินทีร่ ฐั บาลต้องด�ำเนินการให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธกี ารบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2546 เพือ่ ให้เกิดการถ่ายทอดไปยังกระทรวงให้นำ� ไปบรรจุในแผนยุทธศาสตร์ กระทรวง และกรม รวมถึงจังหวัด ตามล�ำดับ ส�ำหรับให้หน่วยงานขอรับการจัดสรรงบประมาณมาด�ำเนินกิจกรรมตอบสนอง ต่อกลุม่ เป้าหมายทีร่ บั ผิดชอบ ซึง่ จะต้องบูรณาการแผนในระดับกรมร่วมกันให้เป็นแผนปฏิบตั กิ ารสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ทัง้ “งาน” และ “เงิน” เพือ่ ให้สามารถด�ำเนินการได้จริง ซึง่ จะเป็นแผนทีม่ รี ปู แบบเหมือนกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการกระทรวง กรม ที่ใช้อยู่ ณ ปัจจุบัน ซึง่ คณะรัฐมนตรีมมี ติเมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม 2552 เห็นชอบและประกาศใช้แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน�ำแผนไปสู่การปฏิบัติด้วยการแปลงแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปสู่ แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการกระทรวง กรม แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ องค์กรชุมชน แผนพัฒนาขององค์กรระดับภูมภิ าค แผนพัฒนาองค์การสาธารณะ ตลอดจนแผนอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง แล้วจัดท�ำเป็นโครงการ/กิจกรรม เพื่อรองรับการด�ำเนินภารกิจแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 1. สรุปบทวิเคราะห์สาระของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการประเมิน ผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 2 (ช่วงครึง่ หลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ปรากฏ ดังนี้ เป้าหมายหลัก “สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเคารพศักดิศ์ รีของความเป็นมนุษย์ตามหลักสิทธิมนุษยชน เครือข่ายสิทธิมนุษยชน เข้มแข็งในทุกภูมิภาคที่มีความตื่นตัวในเรื่องสิทธิมนุษยชนและพัฒนาสู่มาตรฐานสากล” บทวิเคราะห์ เป้าหมายหลักจะเป็นการพิจารณาถึงการบรรลุเป้าหมายหลักและผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ทีก่ ำ� หนดไว้อย่างไร ซึง่ จะมีการพิจารณาในนัยส�ำคัญ อยู่ 2 ประการ คือ การท�ำให้ (1) สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเคารพ ศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ (2) เครือข่ายสิทธิมนุษยชนมีความเข้มแข็งในทุกภูมภิ าคและมีความตืน่ ตัวในเรือ่ งสิทธิมนุษยชน เพื่อพัฒนาไปสู่มาตรฐานสากล วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรเครือข่ายในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนบนพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันอย่างเคารพ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ตามหลักสิทธิมนุษยชน” คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 11


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

บทวิเคราะห์ เป็นการขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในนามขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนเพื่อ ให้บรรลุตามเป้าหมายหลักที่ตั้งไว้ ซึ่งการขับเคลื่อนในนามองค์กรจะมีการเข้มแข็ง และก�ำลังพอที่ด�ำเนินการแผนสิทธิ มนุษยชนในลักษณะกลุ่มองค์กรที่จะมีพลังพอทั้งก�ำลังคน ก�ำลังเงิน การขับเคลื่อนทั้งระบบ พันธกิจ ● ●

ส่งเสริม ป้องกัน และปกป้องสิทธิของประชาชนไม่ให้ถูกละเมิด คุ้มครองและเยียวยาผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นธรรม บทวิเคราะห์ มี 2 นัยส�ำคัญ ได้แก่ (1) มิติด้านการส่งเสริม ป้องกัน และปกป้องสิทธิมนุษยชนของประชาชน จะมีความหมายที่แตกต่างกัน กล่าวคือ (1.1) ส่งเสริม Promote เป็นการสนับสนุน เกื้อหนุน ช่วยเหลือ (1.2) ป้องกัน avert เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ละเมิด (1.3) ปกป้อง defense เป็นการปกป้องสิทธิของตนเองมิให้ใครมา ท�ำร้ายหรือปกป้องภัยทีจ่ ะมาถึงตัว (2) มิตดิ า้ นการคุม้ ครองและเยียวยาผูถ้ กู ละเมิดสิทธิ คือ (2.1) คุม้ ครองสิทธิ protect เป็นหน้าทีข่ องรัฐหรือพันธกรณี กฎหมายสิทธิมนุษยชนทีม่ ใิ ห้กลุม่ บุคคลถูกละเมิด/รักษา/คุม้ กัน/ดูแล และ (2.2) เยียวยา curable/treat เป็นการแก้ไข/บ�ำบัดรักษา/ฟื้นฟู/รักษา (ความหมายตามพจนานุกรมทั้งฉบับภาษาไทยและภาษา อังกฤษ) เป้าประสงค์ ● ●

สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ตามหลักสิทธิมนุษยชน เครือข่ายสิทธิมนุษยชนเข้มแข็งในทุกภูมิภาคและมีความตื่นตัวในเรื่องสิทธิมนุษยชนและพัฒนาไปสู่ มาตรฐานสากล บทวิเคราะห์ เป็นการก�ำหนดเป้าประสงค์ทสี่ อดคล้องกับเป้าหมายหลักของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 สาระสำ�คัญของแผนฯ ฉบับที่ 2 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 มีช่วงระยะเวลาประกาศใช้ ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2556 โดยแผนประกอบด้วย 3 ระดับ ได้แก่ ระดับยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และระดับปฏิบัติการ โดยมีเป้าหมายหลัก วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ทั้ง 4 ยุทธศาสตร์ 14 กลยุทธ์ และ 43 กลวิธี และมีการก�ำหนดตัวชี้วัดความส�ำเร็จ ทั้งในระดับยุทธศาสตร์และระดับกลยุทธ์จ�ำนวน 27 ตัวชี้วัด ซึ่งข้อสังเกตที่ส�ำคัญ ปรากฏ ดังนี้ 1. การเรียงล�ำดับความส�ำคัญในแต่ละยุทธศาสตร์ จะเรียงล�ำดับจากยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และกลวิธี ยกตัวอย่าง ยุทธศาสตร์ที่ 1 จะเป็นหัวข้อ (1) กลยุทธ์ในยุทธศาสตร์ที่ 1 จะเป็นหัวข้อ (1.1) และกลวิธใี นกลยุทธ์ที่ (1.1) จะเรียงล�ำดับ ตั้งแต่ (1.1.1) – (1.1.4) และกลยุทธ์ที่ (1.2) ก็จะมีกลวิธีตั้งแต่ (1.2.1) และ (1.2.2) เป็นต้น ตามเอกสารบทสรุปส�ำหรับ ผู้บริหาร แผนฯ ฉบับที่ 2 (เล่มสีขาวคาดน�้ำเงิน) 2. รายละเอียดใน 14 กลยุทธ์และ 43 กลวิธี จะเป็นรายละเอียดตามแต่ละยุทธศาสตร์ โดยกลวิธี จะเป็นการ ยกตัวอย่างผลผลิต/โครงการส�ำคัญทีค่ วรด�ำเนินการ ให้กบั หน่วยงานต่าง ๆ ซึง่ หน่วยงานสามารถด�ำเนินการทีน่ อกเหนือ จากที่ระบุไว้ในกลวิธีก็ได้ หน้า 12

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

3. ในแต่ละยุทธศาสตร์จะครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทั้ง 10 ด้าน ได้แก่ กลุ่มเป้าหมาย (1) ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา และการเรียนรู้ (2) ด้านอาชีพและแรงงาน (3) ด้านสาธารณสุข (4) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (5) ด้านที่อยู่อาศัย (6) ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การคุ้มครองผู้บริโภค (7) ด้านเสรีภาพการสื่อสารและ สื่อมวลชน (8) ด้านการเมืองการปกครอง (9) ด้านกระบวนการยุติธรรม (10) ด้านสิทธิชุมชน ยุทธศาสตร์หลัก ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพือ่ ให้เกิดความเสมอภาคตามความเป็นจริงนอกเหนือ จากความเสมอภาคทางกฎหมาย ค�ำอธิบาย เป็นการส่งเสริม ป้องกัน หรือเฝ้าระวังกลุ่มเป้าหมายที่เป็นประชาชนทั่วไปหรือผู้ที่มีโอกาสถูก ละเมิดสิทธิ ไม่ให้ถกู กระท�ำการละเมิดสิทธิ ตามความเป็นจริง โดยค�ำนึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนอาทิ ศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ ความเสมอภาค การไม่เลือกปฏิบัติ ความเท่าเทียม เป็นต้น ของการด�ำเนินงานจึงไม่แต่เฉพาะค�ำนึงถึงสิ่งที่ก�ำหนดไว้ใน กฎหมายเพียงอย่างเดียว จึงจะปฏิบัติแต่เรื่องสิทธิมนุษยชนจะมีความเป็นสากลโดยมุ่งผดุงไว้ซึ่งความเป็นธรรม ความยุตธิ รรม และสันติภาพในโลก ดังนัน้ หากกฎหมายทีอ่ อกมาไม่เสมอภาคก็ยอ่ มทีจ่ ะปรับปรุงแก้ไขได้ ซึง่ ยุทธศาสตร์ ที่ 1 จะประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ส�ำคัญ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ (1.1) ส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและ จิตส�ำนึกในการปกป้องสิทธิมนุษยชน และ (1.2) สนับสนุนการเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชน ยุทธศาสตร์ที่ 2 : คุ้มครองสิทธิมนุษยชนในทุกกลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน ค�ำอธิบาย เป็นการคุม้ ครอง ฟืน้ ฟู ช่วยเหลือ เยียวยาประชาชนทีต่ กเป็นผูถ้ กู ละเมิดสิทธิอย่างเป็นธรรมตามหลัก สิทธิมนุษยชน ซึ่งยุทธศาสตร์ที่ 2 จะประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ส�ำคัญ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ (2.1) เสริมสร้างโอกาสการเข้าถึง การร้องเรียนและได้รับบริการอย่างมีประสิทธิภาพ (2.2) คุ้มครองผู้ถูกละเมิดสิทธิและผู้ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรม และ (2.3) สนับสนุนให้ผู้ถูกละเมิดสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยาที่เหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากฎหมายและกลไกทางกฎหมาย รวมทัง้ การบังคับใช้กฎหมาย เพือ่ ส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ค�ำอธิบาย เป็นการพัฒนากฎหมาย กลไกทางกฎหมายใดทีย่ งั คงมีบทบัญญัตทิ มี่ กี ารละเมิดสิทธิ หรือไม่สอดคล้อง กับหลักสิทธิมนุษยชน อาทิ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความเสมอภาค การไม่เลือกปฏิบัติ ความเท่าเทียม เป็นต้น หรือไม่ เป็นไปตามหลักสิทธิและเสรีภาพทีก่ ำ� หนดไว้ในรัฐธรรมนูญ สมควรทีจ่ ะต้องตราขึน้ มาใหม่หรือมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ หรือกฎ ข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ตลอดจนอื่น ๆ ที่เป็นกลไกทางกฎหมาย และรวมไปถึงการบังคับใช้กฎหมาย ในทางปฏิบัติให้ทั่วถึงและเป็นธรรมด้วย ซึ่งยุทธศาสตร์ที่ 3 จะประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ส�ำคัญ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ (3.1) ปรับปรุงกฎหมายและกลไกทางกฎหมาย รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้สอดคล้องกับหลัก สิทธิมนุษยชน (3.2) เสริมสร้างการบังคับใช้กฎหมายในทางปฏิบัติให้ทั่วถึงและเป็นธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มศี กั ยภาพในการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน ให้มีความเข้มแข็งในการคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนและพัฒนาไปสู่มาตรฐานสากล ค�ำอธิบาย การพัฒนาศักยภาพองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ให้มี ความเข้มแข็งในทุกภูมภิ าคและตืน่ ตัวในเรือ่ งสิทธิมนุษยชน เพือ่ พัฒนาไปสูม่ าตรฐานสากล ซึง่ ยุทธศาสตร์ที่ 4 จะประกอบด้วย 7 กลยุทธ์ส�ำคัญ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ (4.1) พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนทุกภาคส่วน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 13


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(4.2) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการท�ำงานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ (4.3) พัฒนาองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน ในบริบทของสังคมไทย (4.4) พัฒนาบุคลากรทุกระดับขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน (4.5) ส่งเสริมการใช้อ�ำนาจ ที่ถูกต้องเหมาะสมของเจ้าหน้าที่รัฐ (4.6) สร้างวัฒนธรรมองค์กรในภาครัฐเรื่องการเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (4.7) ส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ มีส่วนร่วมเกี่ยวกับประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับชาติและระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และกลวิธี แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) ก�ำหนดให้มี 4 ยุทธศาสตร์ 14 กลยุทธ์ และ 43 กลวิธี โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (1) ยุทธศาสตร์ : ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพือ่ ให้เกิดความเสมอภาคตามความเป็นจริงนอกเหนือ จากความเสมอภาคทางกฎหมาย (1.1) กลยุทธ์ : ส่งเสริมให้ประชาชนกลุม่ เป้าหมายเกิดความตระหนักและจิตส�ำนึกในการปกป้อง สิทธิมนุษยชน (1.1.1) ให้ความรูเ้ กีย่ วกับสิทธิมนุษยชนแก่ประชาชนทัว่ ไปทราบอย่างทัว่ ถึง และให้ความเข้าใจ ขอบเขตการใช้สิทธิและเสรีภาพ รวมทั้งหน้าที่ของการเป็นประชาชนที่มีต่อประเทศชาติ โดยผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อย่างเหมาะสมในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย (1.1.2) ให้ความรู้แก่ผู้ที่มีโอกาสละเมิดสิทธิ เกี่ยวกับการมีทัศนคติในเชิงสร้างสรรค์ต่อกลุ่ม ผู้ด้อยโอกาสอย่างต่อเนื่อง (1.1.3) จัดการเรียนการสอนเรื่องสิทธิมนุษยชนในทุกระดับในสถานศึกษาทุกประเภท (1.1.4) อบรมด้านจิตใจให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีมนุษยธรรม จริยธรรมและเมตตาธรรม ผ่านทางสถาบันครอบครัว การศึกษา ศาสนา สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ โดยสม�่ำเสมอ (1.2) กลยุทธ์ : สนับสนุนการเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชน (1.2.1) ประสานความร่วมมือกับองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนโดยเฉพาะสื่อมวลชนในการ ประชาสัมพันธ์สถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชน การรณรงค์และกระตุน้ การมีสว่ นร่วมในการป้องกันมิให้มกี ารละเมิด สิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่อง (1.2.2) เปิดช่องทางการสือ่ สารของหน่วยงานภาครัฐในการเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างต่อเนื่อง (2) ยุทธศาสตร์ : คุ้มครองสิทธิมนุษยชนในทุกกลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน (2.1) กลยุทธ์ : เสริมสร้างโอกาสการเข้าถึงการร้องเรียนและได้รับบริการอย่างมีประสิทธิภาพ (2.1.1) เปิดช่องทางในการร้องเรียนเมื่อมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนในทุกด้าน (2.1.2) จัดท�ำและแจกจ่ายคู่มือการพิทักษ์สิทธิ์ (ช่องทางการเข้าถึงสิทธิมนุษยชน) (2.1.3) ก�ำหนดวิธีให้บริการในกระบวนการท�ำงานของหน่วยงานภาครัฐให้ตั้งอยู่บนหลักสิทธิ มนุษยชน หน้า 14

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(2.2) กลยุทธ์ : คุ้มครองผู้ถูกละเมิดสิทธิและผู้ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรม (2.2.1) จัดระบบประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการปกป้องผูถ้ กู ละเมิดสิทธิมนุษยชน (2.2.2) ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละประเด็นโดยการมีสว่ นร่วมของ ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน (2.2.3) จัดหาวิธีการ และช่องทางให้ประชาชนได้รับการเยียวยาแก้ไขเมื่อมีการละเมิดสิทธิ มนุษยชน (2.2.4) ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้จัดสภาพแวดล้อมให้ทุกคนรวมถึง ผู้สูงอายุและคนพิการด้านต่าง ๆ เข้าถึงและใช้ประโยชน์ (2.3) กลยุทธ์ : สนับสนุนให้ ผู้ ถู ก ละเมิ ดสิ ท ธิ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ จ ากการฟื ้ น ฟู แ ละเยี ยวยา ที่เหมาะสม (2.3.1) จัดระบบการส่งต่อผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อการฟื้นฟูและเยียวยาอย่างทั่วถึง (2.3.2) ด�ำเนินการฟื้นฟูและเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนตาม มาตรฐาน (3) ยุทธศาสตร์ : พัฒนากฎหมายและกลไกทางกฎหมาย รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อส่งเสริม และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (3.1) กลยุทธ์ : ปรับปรุงกฎหมายและและกลไกทางกฎหมาย รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายเพื่อ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน (3.1.1) ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้สอดคล้องกับสิทธิและเสรีภาพที่ก�ำหนดในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยโดยเฉพาะกฎหมายการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม (3.1.2) พัฒนากฎหมายที่อิงกับอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่ผ่านการรับฟัง ความเห็นของประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (3.1.3) ปรับปรุงแก้ไขระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินการเยียวยาผู้เสียหาย (3.1.4) ออกกฎหมายจัดตั้งกองทุนในด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและก�ำหนดให้มีคณะ กรรมการกลางแห่งชาติในการก�ำหนดนโยบายและดูแลการจัดสรรและการใช้เงินจากกองทุน (3.2) กลยุทธ์ : เสริมสร้างการบังคับใช้กฎหมายในทางปฏิบัติให้ทั่วถึงและเป็นธรรม (3.2.1) จัดกลไกการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ (3.2.2) ด�ำเนินการการบังคับใช้กฎหมายเยียวยาที่ทั่วถึงและเป็นธรรม (4) ยุทธศาสตร์ : พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มีศักยภาพในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ มนุษยชนให้มีความเข้มแข็งในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและพัฒนาไปสู่มาตรฐานสากล (4.1) กลยุทธ์ : พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนทุกภาคส่วน (4.1.1) บูรณาการแผนขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน (4.1.2) จัดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนให้มปี ระสิทธิภาพ ในรูปแบบที่ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ (4.1.3) จัดระบบการติดตาม รวมทั้งเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อการประเมินผลองค์กรเครือข่าย ในการบริการส่งเสริม คุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้ได้ตามเกณฑ์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 15


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(4.2) กลยุทธ์ : ส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการท�ำงานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ (4.2.1) ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายในองค์กรเครือข่าย และระหว่างองค์กรชุมชน ที่มี ความแตกต่างทางชาติพนั ธุ์ ภาษา และศาสนา เพือ่ การเสริมสร้างค่านิยม/ระบบคุณค่าทีเ่ อือ้ ต่อการเคารพและคุม้ ครอง สิทธิมนุษยชน ในสังคมที่มีความหลากหลาย (4.2.2) พัฒนาความร่วมมือขององค์กรเครือข่ายที่ปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน (4.3) กลยุทธ์ : พัฒนาองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนในบริบทของสังคมไทย (4.3.1) วิจัยองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนโดยค�ำนึงถึงบริบทของสังคมไทย (4.3.2) ให้ทรัพยากรสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการจัดการความรูด้ า้ นสิทธิมนุษยชน ทั้งภายในและระหว่างองค์กรเครือข่ายอย่างเพียงพอ (4.3.3) ประมวลและสังเคราะห์บทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน และกรณีที่เกิดขึ้นทั้งบวกและลบเพื่อเผยแพร่แก่ประชาชน (4.4) กลยุทธ์ : พัฒนาบุคลากรทุกระดับขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน (4.4.1) ฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนทุกระดับให้มที กั ษะในการป้องกัน และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (4.4.2) ให้ความรูใ้ นการสร้างเจตคติเชิงสร้างสรรค์ เพือ่ ปรับเปลีย่ นทัศนคติในเชิงลบของเจ้าหน้าที่ ภาครัฐในการให้บริการกับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส (4.4.3) จัดให้มอี าสาสมัคร ครอบคลุมพืน้ ทีท่ กุ ระดับ รวมทัง้ จัดสวัสดิการทีเ่ หมาะสมให้แก่อาสา สมัครที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม คุ้มครอง และป้องกันสิทธิมนุษยชน (4.5) กลยุทธ์ : ส่งเสริมการใช้อ�ำนาจที่ถูกต้องเหมาะสมของเจ้าหน้าที่รัฐ (4.5.1) ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณี เพื่อสร้างเจตคติในเชิง สร้างสรรค์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐก่อนและระหว่างการปฏิบัติงานในพื้นที่พิเศษ1 (4.5.2) ประสานหน่วยงานกลาง2 ทีเ่ ป็นอิสระและประชาชนมีสว่ นร่วมเพือ่ ตรวจสอบและติดตาม การใช้อ�ำนาจของหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่พิเศษ (4.5.3) จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐที่มีโอกาสละเมิดสิทธิ มนุษยชนในพื้นที่พิเศษอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ (4.5.4) จัดให้มรี ะบบประสานระหว่างหน่วยงานภาครัฐทีม่ โี อกาสละเมิดสิทธิมนุษยชนในการ ปฏิบัติงานในพื้นที่พิเศษ 1

พื้นที่พิเศษ หมายถึง พื้นที่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ยะลา นราธิวาส ปัตตานีและอีก 5 อำ�เภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ อำ�เภอจะนะ อำ�เภอเทพา อำ�เภอ นาทวี อำ�เภอสะเดา และอำ�เภอสะบ้าย้อย ประกาศเลิกใช้กฎอัยการศึกในบางเขตพื้นที่และให้ใช้กฎอัยการศึกในบางเขตพื้นที่ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125/ ตอนที่ 5 ก/หน้า 38/9 มกราคม 2551 รวมทั้งพื้นที่ชายแดน และพื้นที่ที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านสิทธิชุมชน และด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2

หน่วยงานกลาง หมายถึง องค์กรอิสระทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ โดยกฎหมายหรือคำ�สัง่ ของฝ่ายบริหาร ให้มอี ำ�นาจหน้าทีแ่ ละภารกิจกฎหมาย โดยสามารถบูรณาการปัญหา ความไม่สงบในภาคใต้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

หน้า 16

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(4.5.5) เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐที่กระทบต่อสิทธิ มนุษยชนของพลเมือง (4.5.6) ก�ำหนดมาตรการลงโทษที่เหมาะสมส�ำหรับเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐที่ละเมิด สิทธิของประชาชน (4.6) กลยุทธ์ : สร้างวัฒนธรรมองค์กรในภาครัฐเรื่องการเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (4.6.1) จัดกิจกรรมสร้างค่านิยมให้บุคลากรในองค์กรภาครัฐมีวัฒนธรรมการท�ำงานที่เคารพ และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเด็นที่ครอบคลุมหลักสิทธิมนุษยชน (เช่น การเลือกปฏิบัติ) (4.6.2) จัดกิจกรรมปรับเปลีย่ นทัศนคติของผูบ้ ริหารในองค์กรภาครัฐให้มขี นบธรรมเนียมใหม่ ที่ถูกต้องในการให้คุณและโทษแก่บุคลากรของหน่วยงานอย่างมีจริยธรรม (4.6.3) ปรับกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเลื่อนขั้นและต�ำแหน่งของบุคลากรที่ค�ำนึงถึง ความเสมอภาคหญิงชาย (4.7) กลยุทธ์ : ส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ มีสว่ นร่วมเกีย่ วกับประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนทัง้ ในระดับ ชาติและระหว่างประเทศ (4.7.1) ประสานงานระหว่างเครือข่ายทั้งในประเทศและระดับนานาชาติ (4.7.2) จัดกิจกรรมการมีสว่ นร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ทัง้ ในประเทศและระดับนานาชาติเกีย่ วกับ ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดความสำ�เร็จ ก�ำหนดให้มีตัวชี้วัดความส�ำเร็จตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) ทั้งในระดับ ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของแผนฯ ดังนี3้ ตัวชี้วัดความสำ�เร็จของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2552 – 2556)

ยุทธศาสตร์ 1 ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อให้เกิดความเสมอภาคตามความเป็นจริง นอกเหนือจากความเสมอภาคทาง กฎหมาย ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ 1. สัดส่วนของคนที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง ภายในปี 2556 (จำ�แนกตามกลุ่มเป้าหมาย) 2. ข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้านในเรื่องเดิมลดลง ภายในปี 2556 (จำ�แนกตามกลุ่มเป้าหมายและข้อร้องเรียน) *เจตนารมณ์ เมื่อป้องกัน ส่งเสริม ให้ความรู้ เผยแพร่ รณรงค์ เฝ้าระวัง สร้างความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชน แล้ว ตัวชี้วัดที่จะแสดง ถึงความสำ�เร็จในยุทธศาสตร์ที่ 1 จึงมุ่งไปที่ทำ�ให้คนที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิและข้อร้องเรียนการละเมิดจะต้องลดลงภายในปี 2556 ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 1.1 ส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและจิตสำ�นึกในการปกป้องสิทธิมนุษยชน - ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของประชาชนกลุม่ เป้าหมายทีผ่ า่ นการเรียนรูส้ ทิ ธิมนุษยชนมีความตระหนักและจิตสำ�นึกในการปกป้อง สิทธิมนุษยชนตามเกณฑ์ที่กำ�หนด *เจตนารมณ์ วัดผลสำ�เร็จที่เพิ่มขึ้นทุกปีในการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชน โดยจะต้องกำ�หนด เกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจนทั้งการวัดความรู้ และความตระหนัก 3

เจตนารมณ์ในแต่ละตัวชี้วัดจากเอกสารการบรรยายของหัวหน้าโครงการจัดทำ�แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (นางสุริยา วีรวงศ์) จากการเป็นวิทยากร อบรมพัฒนาศักยภาพในระดับนโยบายและจังหวัดเพื่อขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสู่การปฏิบัติ ปี พ.ศ. 2555

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 17


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดความสำ�เร็จของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2552 – 2556)

ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 1.2 สนับสนุนการเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชน ร้อยละทีเ่ พิ่มขึ้นในแต่ละปีของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังสามารถนำ�ข่าวสารจากช่องทางการเฝ้าระวังต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน *เจตนารมณ์ วัดผลสำ�เร็จทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุกปีของเครือข่าย สือ่ มวลชน เกีย่ วกับการเฝ้าติดตามสถานการณ์ การรณรงค์ และมีสว่ นร่วมป้องกัน มิให้เกิดการละเมิดอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ 2 คุ้มครองสิทธิมนุษยชนในทุกกลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ 1. ร้อยละของประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง ภายในปี 2556 2. สัดส่วนของผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยาเพิ่มขึ้นภายในปี 2556 *เจตนารมณ์ สัมพันธ์กับตัวชี้วัดที่กำ�หนดในยุทธศาสตร์ที่ 1 จะทำ�อย่างไรให้ผู้ถูกละเมิดสิทธิมีแนวโน้มลดลง และในทางกลับกัน เมื่อประชาชนถูกละเมิดสิทธิแล้ว รัฐหรือหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้มีการให้สิทธิประโยชน์ในการคุ้มครอง ฟื้นฟู ช่วยเหลือ เยียวยา เพิ่มขึ้นในแต่ละปีหรือไม่ เพื่อชดเชยให้คนเหล่านั้น ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 2.1 เสริมสร้างโอกาสการเข้าถึงการร้องเรียนและได้รับบริการอย่างมีประสิทธิภาพ - ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของผู้ร้องเรียนในแต่ละด้าน *เจตนารมณ์ เป็นการวัดค่าความสำ�เร็จทีไ่ ม่ได้คน้ หาจำ�นวนผูร้ อ้ งเรียน เพราะเมือ่ ไหร่ทม่ี กี ารเปิดช่องทางการร้องเรียนก็จะมีผรู้ อ้ งเรียน เพิม่ สูงขึน้ คนก็จะร้องเรียนเยอะขึน้ แต่เป็นการพิจารณาไปถึงการป้องกันทีด่ ี ย่อมจะส่งผลต่อการร้องเรียนทีจ่ ะมีคา่ ลดลง เพือ่ ผลสุดท้าย ที่จะทำ�ให้สถานการณ์การละเมิดสิทธิในประเทศลดลงตามมาเช่นกัน ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 2.2 คุ้มครองผู้ถูกละเมิดสิทธิและผู้ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรม - ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของผูถ้ กู ละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์จากการปกป้องและแก้ไขปัญหาการละเมิด สิทธิ - ร้อยละทีเ่ พิ่มขึ้นในแต่ละปีของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีจ่ ัดสภาพแวดล้อมให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงและใช้ประโยชน์ *เจตนารมณ์ เพือ่ วัดความสำ�เร็จทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของการได้รบั สิทธิประโยชน์ของผูถ้ กู ละเมิดสิทธิมนุษยชนในการปกป้องและแก้ไข ปัญหา รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 2.3 สนับสนุนให้ผู้ถูกละเมิดสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยาที่เหมาะสม - ร้อยละทีเ่ พิ่มขึ้นในแต่ละปีของผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา (จำ�แนกตามสิทธิประโยชน์ที่พึงได้ตามมาตรฐานที่กำ�หนด) *เจตนารมณ์ เพื่อวัดความสำ�เร็จที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของการให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนจากการฟื้นฟูและเยียวยา โดยกำ�หนดเป็นสิทธิประโยชน์ที่ได้ตามมาตรฐานที่หน่วยงานวางไว้ ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนากฎหมายและกลไกทางกฎหมาย รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ 1. สัดส่วนของกรณีการละเมิดที่ลดลงอันเนื่องมาจากการออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมาย ภายในปี 2556 หน้า 18

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดความสำ�เร็จของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2552 – 2556) *เจตนารมณ์ การวัดความสำ�เร็จของการออกกฎหมาย การแก้ไขกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายในแต่ละฉบับทีจ่ ะต้องไม่ไปกระทบ สิทธิของประชาชน โดยจะต้องมีสัดส่วนที่ลดลงในแต่ละปี ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 3.1 ปรับปรุงกฎหมายและและกลไกทางกฎหมาย รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้สอดคล้องกับหลักสิทธิ มนุษยชน - จำ�นวนกฎหมายเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา § จำ�นวนกฎหมายเกี่ยวกับการต่อต้านการทรมานในประเทศที่จัดทำ�ร่างได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา § กฎหมายเกีย่ วกับค่าตอบแทนผูเ้ สียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จา่ ยแก่จำ�เลยในคดีอาญาทีไ่ ด้ทบทวนแก้ไขในเรือ่ งหลักเกณฑ์ การใช้ดุลยพินิจของคณะกรรมการและลดขั้นตอนการพิจารณาให้รวดเร็วได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา § กฎหมายที่มีอัตราโทษประหารชีวิตได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาให้มีการยกเลิกให้เป็นโทษจำ�คุกตลอดชีวิต § กฎหมายเกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่จัดทำ�ร่างได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา *เจตนารมณ์ เพื่อวัดความสำ�เร็จของการออกกฎหมาย การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่จะไม่เป็นการละเมิดสิทธิของประชาชน หากมี การละเมิดก็นำ�เสนอรัฐบาลหรือรัฐสภาแก้ไข ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 3.2 เสริมสร้างการบังคับใช้กฎหมายในทางปฏิบัติให้ทั่วถึงและเป็นธรรม - ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของหน่วยงานที่ได้รับการร้องเรียนเกี่ยวกับการละเว้นการบังคับใช้กฎหมายให้ทั่วถึงและเป็นธรรม *เจตนารมณ์ เพื่อวัดความสำ�เร็จของการถูกร้องเรียนที่ลดลงของหน่วยงานต่าง ๆ เกี่ยวกับการละเว้นการบังคับใช้กฎหมาย ยุทธศาสตร์ 4 พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มีศักยภาพในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ให้มีความเข้มแข็ง ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและพัฒนาไปสู่มาตรฐานสากล ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ 1. ระดับของภาพลักษณ์ขององค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนเพิ่มขึ้น ภายในปี 2556 *เจตนารมณ์ เพือ่ วัดระดับภาพลักษณ์ขององค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ทีท่ ำ�งานเรือ่ ง สิทธิมนุษยชน ว่ามีภาพลักษณ์อย่างไร ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนทุกภาคส่วน - ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีขององค์กรเครือข่ายที่สามารถให้บริการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ที่กำ�หนด *เจตนารมณ์ เป็นการส่งเสริมให้องค์กรเครือข่ายสามารถให้บริการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนเพิม่ ขึน้ ในทุก ๆ ปี และมีการกำ�หนด เกณฑ์มาตรฐานที่เป็นรูปธรรมในการให้บริการ ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 4.2 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการทำ�งานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ - ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของพื้นที่ที่องค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนมีส่วนร่วมในการดำ�เนินงานสิทธิมนุษยชในแต่ละด้าน ร่วมกัน (พื้นที่ – จังหวัด / อำ�เภอ มีการดำ�เนินงานเรื่องสิทธิมนุษยชนร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน) *เจตนารมณ์ เป็นการส่งเสริมให้องค์กรเครือข่ายมีส่วนร่วมด้านสิทธิมนุษยชนเพื่อทำ�งานร่วมกัน เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี เพื่อเป็นการขยาย ฐานเครือข่ายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 19


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดความสำ�เร็จของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2552 – 2556)

ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 4.3 พัฒนาองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนในบริบทของสังคมไทย - ร้อยละทีเ่ พิ่มขึ้นในแต่ละปีของผลงานวิจัยองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนได้นำ�ไปใช้ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน - ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของบทเรียนของการดำ�เนินการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนได้นำ�ไปใช้ในการปรับแผนยุทธศาสตร์ สิทธิมนุษยชน - ร้อยละทีเ่ พิ่มขึ้นในแต่ละปีของเครือข่ายที่นำ�บทเรียนของการดำ�เนินการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนไปถ่ายทอด *เจตนารมณ์ เป็นการส่งเสริมให้องค์กรเครือข่าย มีการวิจัยความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนใหม่ ๆ การนำ�บทเรียนการดำ�เนินงานส่งเสริม คุม้ ครองสิทธิมนุษยชนไปปรับแผนยุทธศาสตร์เพือ่ ให้เกิดการทำ�งานทีเ่ ป็นรูปธรรม รวมถึงการถ่ายทอดบทเรียนให้กบั หน่วยงานอืน่ ด้วย ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 4.4 พัฒนาบุคลากรทุกระดับขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน - ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของบุคลากรขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภาครัฐมีสมรรถนะในการปฏิบตั ภิ ารกิจตามหน้าทีแ่ ละ ความรับผิดชอบในการให้บริการการป้องกันและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน *เจตนารมณ์ เป็นการจัดฝึกอบรม การให้ความรู้ กับองค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะภาครัฐทุกระดับ เพื่อมีทักษะในการ ป้องกันและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน หรือการสร้างเจตคติเชิงสร้างสรรค์ ปรับเปลีย่ นทัศนคติเชิงลบ การจัดหาอาสาสมัครทำ�งานในเรือ่ ง ดังกล่าว ซึ่งจะมีการดำ�เนินงานที่เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 4.5 ส่งเสริมการใช้อำ�นาจที่ถูกต้องเหมาะสมของเจ้าหน้าที่รัฐ - ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน - ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของหน่วยงานที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน *เจตนารมณ์ เป็นการส่งเสริมการใช้อำ�นาจที่ถูกต้องเหมาะสมของเจ้าหน้าที่รัฐ และวัดความสำ�เร็จว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงาน ของรัฐจะถูกฟ้องร้องน้อยลง หากนำ�เรือ่ งสิทธิมนุษยชนมาดำ�เนินการ และนำ�ข้อมูลทีถ่ กู ฟ้องร้องมาปรับปรุงการทำ�งานในโอกาสต่อไป ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 4.6 กลยุทธ์หลัก : สร้างวัฒนธรรมองค์กรในภาครัฐ เรื่องการเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน - ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อร้องเรียนที่เกิดจากการเลือกปฏิบัตขิ องบุคลากรในองค์กรภาครัฐ - ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อร้องทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับการขาดจริยธรรมของผู้บริหารในองค์กรภาครัฐ - สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี *เจตนารมณ์ เป็นการกระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรมในองค์กรภาครัฐในการเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เพื่อลดข้อร้องเรียนเกี่ยวกับ การเลือกปฏิบตั ิ ข้อร้องทุกข์เกีย่ วกับการขาดจริยธรรมของผูบ้ ริหาร รวมถึงการส่งเสริมให้ผหู้ ญิงทีเ่ ป็นข้าราชการได้เติบโตในสายบริหาร ให้มากขึ้น เพราะในอดีตที่ผ่านมามักถูกละเลย ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ 4.7 ส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ มีส่วนร่วมเกี่ยวกับประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับชาติ และระหว่างประเทศ - ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน ระหว่างประเทศ - ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทมี่ ตี อ่ หน่วยงานในประเทศเกีย่ วกับการไม่ปฏิบตั ิ ตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในรายงานต่อรัฐสภา *เจตนารมณ์ เป็นการส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ มีส่วนร่วมกันทำ�งานด้านสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับชาติและระหว่างประเทศ เพื่อลด ข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศ และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติการตามกติกาและอนุสัญญา สิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก หน้า 20

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

คำ�อธิบายประกอบตัวชี้วัดเพิ่มเติม (1) ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ถูกกระท�ำหรือการละเลยการกระท�ำ ซึง่ เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพทีก่ ำ� หนดไว้ในบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญและสนธิสญ ั ญาระหว่างประเทศ ด้านสิทธิมนุษยชนทีป่ ระเทศไทยเป็นภาคี ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2556 โดยพิจารณาจากข้อมูลสถิติ ต่าง ๆ ขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ (2) องค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน หมายถึง องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน สถาบันการศึกษา องค์กรอื่นและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ครอบคลุมทุกภาคส่วนทั่วประเทศ ที่กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มีการ ส่งเสริม และสนับสนุนให้มกี ารน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปสูก่ ารปฏิบตั นิ ำ� ร่อง จ�ำนวนไม่นอ้ ยกว่า 9,625 หน่วยงาน (3) กลุม่ เป้าหมายของการละเมิดสิทธิมนุษยชน คือ กลุม่ บุคคลทีม่ คี วามด้อย/อ่อนแอ ท�ำให้มโี อกาสทีจ่ ะ ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเด็นต่างๆ ดังนี้ (ตามกรอบแนวทางของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 1 และ ฉบับที่ 2) ประเด็นสิทธิมนุษยชน 1. ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา และการเรียนรู้ 2. ด้านอาชีพและแรงงาน 3. ด้านสาธารณสุข 4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ด้านที่อยู่อาศัย 6. ด้านการได้รบั ข้อมูลข่าวสารของทางราชการและการคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภค 7. ด้านเสรีภาพการสื่อสารและสื่อมวลชน 8. ด้านการเมืองการปกครอง (รวมถึงเสรีภาพ ในการรวมกลุม่ และการกระจายอำ�นาจสูท่ อ้ งถิน่ ) 9. ด้านกระบวนการยุติธรรม 10. ด้านสิทธิชุมชน

(1) (2) (3) (4) (5) (6)

กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็ก สตรี และ ผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุม่ ผูป้ ว่ ยโรคติดต่อร้ายแรงและ กลุม่ ผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ กลุม่ ผูไ้ ม่มสี ญั ชาติไทย ได้แก่ ชนกลุม่ น้อย คนต่างด้าว ผูห้ นีภยั คนไร้สัญชาติ กลุ่มคนจน ผู้ใช้แรงงาน เกษตรกร กลุ่มผู้ต้องขัง ผู้พ้นโทษ ผู้เสียหายและจ�ำเลยในคดีอาญา ผู้ผ่านการบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด4

(4) การติดตามประเมินผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึง่ หลัง) หมายถึง การด�ำเนินงานติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของทุกภาคส่วน ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 เท่านั้น

4

กลุ่มเป้าหมายผู้ที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ข้อมูลที่นำ�มาวิเคราะห์ปรากฏตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 1 และ ฉบับที่ 2

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 21


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ประเด็นสิทธิมนุษยชนทั้ง 10 ประเด็นเพื่อขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนไปสู่การปฏิบัติ ประเด็นสิทธิมนุษยชนทีก่ ำ� หนดไว้ในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 เป็นประเด็นทีค่ รอบคลุมกับประเด็น สิทธิทกี่ ำ� หนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 โดยจ�ำแนกเป็น 10 ด้าน เพือ่ ประโยชน์ในการขับเคลือ่ น แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติในแต่ละด้าน ปรากฏ ดังนี้ ล�ำดับ ประเด็น รายละเอียดค�ำจ�ำกัดความในแต่ละประเด็น (โดยย่อ) ที่ สิทธิมนุษยชน 1. ด้านการศึกษา วัฒนธรรม การที่บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพที่จะได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันโดยปราศจาก ศาสนา และการเรียนรู้ การแบ่งชั้น วรรณะ ชาติพันธุ์ ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม ความพิการ รวมทั้งความแตกต่าง ทางวัฒนธรรมและศาสนา ตลอดจนมีสิทธิและเสรีภาพในการเป็นตัวของตัวเอง ในการศึกษา เรียนรู้ ตามความสมัครใจ และความชอบใจของตน ตลอดจนมีสิทธิที่จะด�ำรงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรมที่ตนเองยึดถือและมีสิทธิเสรีภาพในการเลือกนับถือศาสนาโดยเสรี 2. ด้านอาชีพและแรงงาน การที่บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพในการเลือกประกอบอาชีพของตนอย่างเสรีและมีสิทธิได้รับ หลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิการการท�ำงานโดยไม่เลือกปฏิบัติ 3. ด้านสาธารณสุข การที่บุคคลมีสิทธิเท่าเทียมกันในการได้รับบริการทางสาธารณสุขอย่างมีมาตรฐาน ทั่วถึงและ มีประสิทธิภาพ โดยไม่ค�ำนึงว่าบุคคลเหล่านั้นมีความสามารถที่จะรับภาระค่าบริการเหล่านั้น ได้หรือไม่ก็พร้อมได้รับสิทธิในการรักษาพยาบาลฟรี 4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติ การทีบ่ คุ คลมีสทิ ธิทจี่ ะมีชวี ติ อยูใ่ นคุณภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ ี มีสทิ ธิในการปกป้องรักษาสิง่ แวดล้อม และสิ่งแวดล้อม มีสว่ นร่วมในการจัดการ พิทกั ษ์ อนุรกั ษ์บำ� รุงรักษา จัดการประโยชน์ การใช้ประโยชน์ และมีสทิ ธิ ในการได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เมื่อได้รับความเสียหาย 5. ด้านที่อยู่อาศัย การทีบ่ คุ คลมีสทิ ธิทจี่ ะได้รบั การดูแลจากรัฐอย่างเท่าเทียมกัน ในการมีทอี่ ยูท่ อี่ าศัยทีเ่ หมาะสม ซึ่งผู้ที่ไร้ที่อยู่อาศัยและมีรายได้ไม่เพียงพอจะได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ 6. ด้านการได้รับข้อมูล การที่บุคคลมีสิทธิที่จะได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร และเพียงพอต่อการใช้สิทธิต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ข่าวสารของทางราชการ และได้รบั ความคุม้ ครองในการรับข้อมูลทีเ่ ป็นจริง และมีสทิ ธิทจี่ ะแสดงความคิดเห็น ร้องเรียน และการคุ้มครองผู้บริโภค หรือรวมตัวหรือการมีส่วนร่วมเพื่อพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภคได้ 7. ด้านเสรีภาพการสื่อสาร การที่บุคคลมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณาและ และสื่อมวลชน การสื่อความหมายโดยวิธีอื่น ภายใต้ข้อก�ำหนดตามรัฐธรรมนูญ โดยรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ จะท�ำการปิดกั้นหรือแทรกแซงการแสดงความคิดเห็นของสื่อมวลชนมิได้ 8. ด้านการเมือง การที่บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการปกครองในฐานะที่เป็น การปกครอง (รวมถึง เจ้าของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทั้งในด้านการชุมนุม การรวมกลุ่ม การตัดสินใจ เสรีภาพ ในการรวมกลุ่ม ทางการเมือง การมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น เป็นต้น และการกระจายอ�ำนาจ สู่ท้องถิ่น) 9. ด้านกระบวนการยุติธรรม การทีบ่ คุ คลมีสทิ ธิทจี่ ะเข้าถึงและมีสว่ นร่วมในกระบวนการยุตธิ รรม ตลอดจนได้รบั การช่วยเหลือ จากรัฐทางกฎหมาย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพโดยไม่ถูกล่วงละเมิด และได้รับการอ�ำนวย ความยุติธรรมอย่างรวดเร็ว ทั่วถึง และเป็นธรรม หน้า 22

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ล�ำดับ ประเด็น ที่ สิทธิมนุษยชน 10. ด้านสิทธิชุมชน

รายละเอียดค�ำจ�ำกัดความในแต่ละประเด็น (โดยย่อ) การทีบ่ คุ คลมีสทิ ธิทจี่ ะอนุรกั ษ์หรือฟืน้ ฟูจารีตประเพณี ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ศิลปะหรือวัฒนธรรม อันดี และมีสิทธิในการจัดการ บ�ำรุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

2. แนวคิดด้านการประเมินผล ในการประเมินผลนัน้ ได้ศกึ ษาจากรูปแบบการประเมินผลที่ Vedung (1997) ได้รวบรวมน�ำเสนอตัวแบบหลัก ของการประเมินผลโครงการแยกออกเป็น 3 กลุ่ม ตามแนวคิดของ Vedung คือ ตัวแบบประสิทธิผล (Effectiveness models) ตัวแบบเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economic models) และตัวแบบเชิงวิชาชีพ (Professional models) โดย ในแต่ละกลุ่มยังสามาร4แยกออกเป็นตัวแบบย่อย ๆ ได้อีก ดังแผนภาพที่ 1 แผนภาพ 1 : ตัวแบบการประเมินผล

ที่มา : Vedung, 1997: 36.

ส�ำหรับตัวแบบเชิงเศรษฐศาสตร์เป็นรูปแบบการประเมิน ตัวแบบผลิตผล (Productivity model) และตัวแบบ ประสิทธิภาพ (Efficiency model) ซึ่งเป็นการเน้นตัวเลข การวิเคราะห์ด้านต้นทุน ผลประโยชน์ที่ได้รับ ขณะที่ตัวแบบ เชิงวิชาชีพ (Professional models) อย่างเช่น Peer review ใช้เมือ่ เป้าประสงค์มคี วามซับซ้อนมาก และมีเทคนิคยุง่ ยาก ซับซ้อนมาก จนต้องให้มอื อาชีพทีม่ คี วามรูค้ วามช�ำนาญเฉพาะด้านเป็นผูป้ ระเมิน เช่น สถาปนิก ผูพ้ พิ ากษา ศาสตราจารย์ แพทย์ สัตวแพทย์ วิศวกร เป็นต้น ส�ำหรับตัวแบบประสิทธิผล (Effectiveness models) แบ่งการประเมินผลตาม เป้าประสงค์ (Goals) ผลลัพธ์ (Results) แนววิเคราะห์เชิงระบบ (System components) ความสนใจของลูกค้า (Client concerns) และความสนใจของผู้มีผลประโยชน์ร่วม (Stakeholder concerns) คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 23


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ด้วยการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลลัพธ์ (Outcome Evaluation) ซึ่งสามารถใช้ตัวแบบประสิทธิผล (Effectiveness Model) ในการประเมินได้ ดังนั้น ในการประเมินผลในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยจึงเห็นว่าการน�ำตัวแบบ ประสิทธิผล (Effectiveness Model) มาใช้ในการวิเคราะห์ประเมิน โดยใช้ตวั แบบการประเมินตามเป้าประสงค์ (Goals Attainment Model) น่าจะมีความเหมาะสม โดยตัวแบบ Goal-attainment model นี้ สิ่งที่ต้องการทราบ คือผล ทีไ่ ด้รบั จริงจากโครงการตรงกันกับเป้าประสงค์ทตี่ งั้ ไว้หรือไม่ ซึง่ การประเมินผลตามตัวแบบนีเ้ ป็นทีไ่ ด้รบั ความนิยมมาก เนื่องจากการเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์ที่ก�ำหนดไว้แล้วก่อนท�ำโครงการเป็นเรื่องที่สามารถท�ำความเข้าใจได้ง่าย แต่อย่างไรก็ตาม ตัวแบบนี้ก็มีข้อจ�ำกัดที่ไม่ได้ค�ำนึงถึงสิ่งต่าง ๆ อีกหลายเรื่อง เช่น ผลเกิดขึ้นจริงแต่ไม่ได้ก�ำหนดไว้เป็น เป้าประสงค์ ผลกระทบของโครงการหรือความพึงพอใจของผู้รับบริการหรือผู้ที่ได้รับผลจากโครงการ เป็นต้น สืบเนือ่ งจากไม่มตี วั แบบใดเลยทีจ่ ะดีทสี่ ดุ ในทุกเรือ่ งทุกกรณี แต่ขนึ้ อยูก่ บั ค�ำถามการประเมินทีต่ งั้ ขึน้ ว่า ผูป้ ระเมินผล ต้องการทราบอะไร ทีส่ ำ� คัญการเลือกตัวแบบการประเมินผลทีส่ ามารตอบค�ำถามทีต่ งั้ ไว้ได้ หากค�ำถามส�ำหรับการประเมิน ต่างกัน ก็ต้องใช้ตัวแบบที่ต่างกันไปเพื่อหาค�ำตอบ เนื่องจากไม่มีตัวแบบใดเลยที่จะตอบได้ทุกเรื่องทุกค�ำถาม ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงเสนอน�ำ ตัวแบบการประเมินตามเป้าประสงค์ (Goal Attainment Model) (Tyler, 1942) ซึ่ง Tyler ได้พฒ ั นาแบบจ�ำลองนีข้ นึ้ ใน ค.ศ. 1942 โดยมีจดุ มัง่ หมายเพือ่ การประเมินผลทางการศึกษา ประเด็นทีใ่ ช้ในการประเมิน คือ วัตถุประสงค์ อันเป็นการตรวจสอบว่าผลการด�ำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ทั้งนี้ Tyler มุ่งเน้นที่การวัดผล สัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่เป็นผลมาจากการเรียนการสอนในโรงเรียน เนือ่ งจากการประเมินผลสัมฤทธิข์ องการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 นี้ เป็นการประเมิน ครึ่งหลังของการน�ำแผนไปปฏิบัติ มุ่งเน้นการประเมินผลการด�ำเนินงานและผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ จึงน่าจะเป็น ตัวแบบที่เหมาะสมส�ำหรับการประเมินผล ในระยะแรกของช่วงครึ่งแผนหลัง 3. ผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งแผน) พ.ศ. 2552 - 2554 ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด นิตยา ส�ำเร็จผล และสัญญา เนียมประดิษฐ์ (2555) ได้ท�ำการประเมินผลการ ด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งแผน) พ.ศ. 2552 – 2554 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมิน ความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานขับเคลือ่ นแผนฯ ในด้าน 1) การบรรลุเป้าหมายหลักและผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ 2) ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 และ 3) การบรรลุตามตัวชี้วัดของแผน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 จ�ำนวน 27 ตัวชี้วัด วิธีการประเมิน ประกอบด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลเอกสาร และการส�ำรวจข้อมูลภาคสนาม แหล่งข้อมูลที่ใช้ใน การประเมินประกอบด้วย แบบรายงานผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) ขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนน�ำร่อง จ�ำนวน 9,625 หน่วยงาน ประจ�ำปีงบประมาณ 2552 – 2554 กลุ่มบุคคล จ�ำนวนทั้งสิ้น 691 คน ประกอบด้วย ประชาชนที่เข้าร่วมในการจัดท�ำร่างแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 3 ระดับ พื้นที่ใน 4 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกรุงเทพมหานคร จ�ำนวนทั้งสิ้น 345 คน กลุม่ ชาติพนั ธ์ในภาคเหนือจ�ำนวน 50 คน กลุม่ เด็กด้อยโอกาสในสถานพินจิ จ�ำนวน 196 คน และกลุม่ ผูต้ อ้ งขัง จ�ำนวน 100 คน ผลการประเมิน สรุปได้ดังนี้ ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัดและคณะ (2555) 1. การประเมินเป้าหมายหลักตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ใน 2 ประเด็นส�ำคัญ ประเด็นแรก “สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์” มีแนวโน้มดีขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับ 5 ปี ที่ผ่านมา หน้า 24

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ส�ำหรับประเด็นที่ 2 เครือข่ายสิทธิมนุษยชนเข้มแข็งในทุกภูมิภาคและมีความตื่นตัวในเรื่องสิทธิมนุษยชน เพื่อพัฒนา สู่มาตรฐานสากล ซึ่งยังไม่บรรลุในช่วงครึ่งแผนแรก แต่มีแนวโน้มการพัฒนาขึ้นในช่วงครึ่งหลัง โดยยังประสบปัญหา ในหลายประการ ทั้ง (1) ปัญหาการขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องสิทธิมนุษยชน (2) การจัดการความรู้ การถอดบทเรียน การปฏิบัติที่ดีด้านสิทธิมนุษยชน และการใช้ประโยชน์ในการปรับแผนงานของหน่วยงานตนเองและการถ่ายทอดให้กับ ผู้อื่น (3) การวิจัยในเรื่องสิทธิมนุษยชนที่มีค่อนข้างน้อยมาก 2. การประเมินความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ปี พ.ศ. 2552 – 2554) ซึง่ ในภาพรวมทัง้ 3 ปี มีการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ติ ามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 กับหน่วยงาน น�ำร่องทุกภาคส่วน จ�ำนวน 9,777 แห่งต่อปี (ซึ่งมีจ�ำนวนมากกว่าเป้าหมายเดิมทั้งหมดตั้งไว้ จ�ำนวน 9,625 แห่ง) หน่วยงานน�ำร่องดังกล่าว ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับส่วนกลาง (กระทรวง กรม) ส่วนภูมิภาค (ทั้ง 75 จังหวัด) ส่วนท้องถิ่น (อบจ. เทศบาล อบต. กรุงเทพฯ และพัทยา) องค์กรภาคเอกชน ภาคประชาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน องค์กรของรัฐรูปแบบใหม่สถาบันการศึกษาของรัฐ/เอกชน อาชีวศึกษา องค์กรศาล องค์อื่น ๆ และ องค์กรอิสระ สรุปสาระส�ำคัญ ดังนี้ (1) ภาพรวมปีงบประมาณ 2552 - 2554 มีจำ� นวนหน่วยงานน�ำร่องทีต่ อ้ งรายงานทัง้ หมด จ�ำนวน 29,331 แห่ง (9,777 แห่งต่อปี) หน่วยงานที่น�ำแผนฯ ไปปฏิบัติ จ�ำนวน 18,436 หน่วยงาน ไม่รายงาน จ�ำนวน 10,895 แห่ง ภาพรวมปีงบประมาณ 2552 – 2554 หน่วยงานน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ คิดเป็นร้อยละ 62.85 หรือประมาณเกือบสองในสามของหน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด (2) ภาพรวมปีงบประมาณ 2552 – 2554 หากพิจารณาตามรายยุทธศาสตร์ พบว่า หน่วยงานมีการ ด�ำเนินงานยุทธศาสตร์ที่ 1 (ป้องกัน) ร้อยละ 45 รองลงมาคือ ยุทธศาสตร์ที่ 2 (คุ้มครอง) ร้อยละ 31 ยุทธศาสตร์ที่ 4 (พัฒนาเครือข่าย) ร้อยละ 21 และยุทธศาสตร์ที่ 3 (มาตรการ/กลไก/กฎหมาย) ร้อยละ 3 ตามล�ำดับ (3) งบประมาณทีใ่ ช้ดำ� เนินงานด้านสิทธิมนุษยชนทัง้ 10 ประเด็น ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2552 – 2554 ปรากฏ ดังนี้ (3.1) ปีงบประมาณ 2552 เป็นเงิน 6,593,660,414 บาท (3.2) ปีงบประมาณ 2553 เป็นเงิน 7,107,692,066.43 บาท (3.3) ปีงบประมาณ 2554 เป็นเงิน 60,142,438,457.10 บาท รวมทั้งสิ้น 73,843,790,937.23 บาท 3. การประเมินผลการบรรลุตัวชี้วัด ทั้ง 27 รายการ ซึ่งตัวชี้วัดที่ก�ำหนดไว้ในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 นั้น เป็นการประเมินผลในภาพรวมของประเทศ โดยพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ช่วงระหว่าง ปีงบประมาณ 2552 – 2554 ใน 4 ยุทธศาสตร์ ผลการประเมิน พบว่า ยุทธศาสตร์ที่ 1 ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพือ่ ให้เกิดความเสมอภาคตามความเป็นจริง นอกเหนือ จากความเสมอภาคทาง กฎหมาย ยังไม่บรรลุเป้าหมายทั้ง 4 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 คุม้ ครองสิทธิมนุษยชนในทุกกลุม่ เป้าหมายให้เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน ยังไม่บรรลุ เป้าหมายทั้ง 6 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากฎหมายและกลไกทางกฎหมาย รวมทัง้ การบังคับใช้กฎหมาย เพือ่ ส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ยังไม่บรรลุเป้าหมายทั้ง 3 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มีศักยภาพในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ มนุษยชน ให้มีความเข้มแข็งในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและพัฒนาไปสู่มาตรฐานสากล บรรลุเป้าหมาย 5 ตัวชี้วัด ยังไม่บรรลุเป้าหมาย 9 ตัวชี้วัด คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 25


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

สรุปได้ว่าจากการประเมินผลมีตัวชี้วัดที่บรรลุเป้าหมายแล้ว จ�ำนวน 5 ตัวชี้วัด ไม่บรรลุเป้าหมายจ�ำนวน 22 ตัวชี้วัด ที่จะต้องเร่งพัฒนาขีดความสามารถในการขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ในช่วงครึ่งหลัง (ปี พ.ศ. 2555 – 2556) ส�ำหรับตัวชีว้ ดั ทีบ่ รรลุเป้าหมายปรากฏในยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มศี กั ยภาพ ในการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนให้มคี วามเข้มแข็งในการคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนและพัฒนาไปสูม่ าตรฐานสากล ผลปรากฏ ดังนี้ (1) จ�ำนวนหน่วยงานองค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมให้บริการส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิมนุษยชน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี แต่เมื่อมองในเชิงปริมาณจะพบว่ายังมีไม่มากนัก (ไม่ถึงร้อยละ 10) (ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีขององค์กรเครือข่ายที่สามารถให้บริการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด) (2) หน่วยงานองค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน มีการด�ำเนินโครงการและกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชนร่วมกัน ตั้งแต่ 2 หน่วยงาน มีจ�ำนวนร้อยละเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปี 2554 มีจ�ำนวนหน่วยงานเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 30 ซึ่งเป็นสิ่งที่บ่งชี้ในทิศทางที่ดีขึ้น (ตัวชี้วัดที่ 16 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของพื้นที่ที่องค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน มีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านร่วมกัน) (3) สัดส่วนผูห้ ญิงทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารในหน่วยงานภาครัฐเพิม่ ขึน้ แต่ยงั คงค่าค่อนข้างต�ำ่ มาก (ไม่ถงึ ร้อยละ 50) ทีจ่ ะแสดงถึงความเท่าเทียมกันระหว่างเพศชายและหญิง แต่พบว่าแนวโน้มของสัดส่วนผูห้ ญิงทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูบ้ ริหาร เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ตัวชี้วัดที่ 25 สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี) (4) แนวโน้มการถูกท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญา สิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ เมื่อพิจารณาจากข้อท้วงติงมีร้อยละที่ลดลง (ตัวชี้วัดที่ 26 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของ ข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ) (5) แนวโน้มการถูกท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีร้อยละที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2552 – 2554 (ตัวชีว้ ดั ที่ 27 ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที่มีต่อหน่วยงานในประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในรายงานต่อรัฐสภา) 4. ข้อมูลทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การปรับปรุงและพัฒนางานด้านสิทธิมนุษยชน จากการประเมินผลสัมฤทธิ์ การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ปีงบประมาณ 2552 – 2554 พบข้อมูลทีส่ ำ� คัญในหลายรายการ สรุปสาระส�ำคัญ ดังนี้ 4.1 มิติด้านป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน ได้แก่ (1) กลุ่มที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและมีสัดส่วนที่จะเพิ่มขึ้นทุกปี คือ กลุ่มเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ คนต่างด้าว เกษตรกร ผู้ต้องหา/ผู้ต้องขังและกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ต้องให้ความส�ำคัญในการป้องกัน การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างจริงจัง (2) ประเด็นสิทธิมนุษยชน พบว่า ด้านที่มีการละเมิดลดลงอย่างต่อเนื่อง คือ สิทธิในชีวิตและ ร่างกาย ส�ำหรับด้านที่มีแนวโน้มการละเมิดสิทธิลดลง คือ กระบวนการยุติธรรม สิทธิในการสื่อสาร สิทธิและเสรีภาพ ส่วนบุคคล สิทธิชุมชน สิทธิทางสาธารณสุข และด้านที่มีแนวโน้มการละเมิดสิทธิเพิ่มขึ้น คือ สิทธิในที่อยู่อาศัย สิทธิ ในการจัดการที่ดิน สิทธิในการศึกษา เสรีภาพในการถือศาสนา สิทธิในกระบวนการปกครอง/สิทธิทางการเมือง สิทธิ แรงงาน เสรีภาพในการประกอบอาชีพ หน้า 26

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(3) จ�ำนวนประชากรทีผ่ า่ นการอบรมเกีย่ วกับสิทธิมนุษยชนในด้านต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาตัง้ แต่ ปี 2552 – 2554 รวมทั้งสิ้น 5,150,817 คน ผ่านทางองค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน ซึ่งประเด็นสิทธิมนุษยชนที่มี การให้ความรูเ้ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทุกปี ได้แก่ ด้านเสรีภาพการสือ่ สารและสือ่ มวลชน ด้านการเมืองการปกครอง (รวมถึง เสรีภาพในการรวมกลุม่ และการกระจายอ�ำนาจสูท่ อ้ งถิน่ ) และด้านทีม่ กี ารให้ความรูแ้ ก่ประชาชนลดลงอย่างต่อเนือ่ งหรือ ลดลงในปี 2554 ได้แก่ ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา และการเรียนรู้ ด้านอาชีพและแรงงาน ด้านสาธารณสุข ด้านสิทธิชุมชน ด้านการได้รับข้อมูลข่าวสารของทาง ราชการและการคุ้มครองผู้บริโภค แต่อย่างไรก็ตามตัวชี้วัดก็ยังไม่สะท้อนความตระหนักและจิตส�ำนึกของประชาชน ได้อย่างชัดเจน 4.2 มิติด้านการคุ้มครองละเมิดสิทธิมนุษยชน ได้แก่ (1) ข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านจากการรายงานขององค์กรเครือข่าย สิทธิมนุษยชน ซึง่ ข้อร้องเรียนในปี 2553 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9 เทียบกับปี 2552 แต่ลดลงในปี 2554 ถึงร้อยละ 46 ชีใ้ ห้เห็นว่า น่าจะมีพฒ ั นาการทีด่ ขี นึ้ ทัง้ นี้ สามารถพิจารณาพัฒนาการของจ�ำนวนข้อร้องเรียนรายด้าน ได้แก่ 1) ด้านทีม่ ขี อ้ ร้องเรียน ลดลงอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนาและการเรียนรู้ ด้านอาชีพและแรงงาน ด้านสาธารณสุข 2) ด้านที่มีข้อร้องเรียนลดลงในปี 2554 แสดงว่าน่าจะมีแนวโน้มดีขึ้น คือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้าน ที่อยู่อาศัย ด้านเสรีภาพการสื่อสารและสื่อมวลชน กระบวนการยุติธรรม และสิทธิชุมชน 3) ด้านที่มีข้อร้องเรียนเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ด้านการเมืองการปกครอง (รวมถึงเสรีภาพในการรวมกลุ่มและการกระจายอ�ำนาจสู่ท้องถิ่น) (2) ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา จากการรายงานขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน ในช่วงปี 2552 – 2554 รวมทัง้ สิน้ 11,791,091.39 ราย ซึง่ ด้านทีม่ ี การด�ำเนินการให้ผู้ถูกละเมิดสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านที่มี แนวโน้มดีขนึ้ ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านการได้รบั ข้อมูลข่าวสารของทางราชการและการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ด้านทีม่ แี นวโน้ม ลดลง ได้แก่ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4.3 มิติด้านพัฒนากฎหมายและกลไกทางกฎหมาย (1) ช่วงปี 2552 – 2554 พบว่ามีการออกกฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเพียง 1 ฉบับ ในด้าน ที่อยู่อาศัย คือกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ส�ำหรับโครงการที่รัฐจัดให้มีหรือพัฒนาเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยส�ำหรับ ผู้มีรายได้น้อย ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2554 ในขณะที่องค์การระหว่างประเทศและ ประเทศต่าง ๆ ในคณะมนตรีความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติได้ให้ขอ้ เสนอแนะประเด็นเกีย่ วกับกฎหมายต่าง ๆ ทีจ่ ะช่วย ในการปกป้องและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนด้านที่มีความอ่อนไหวต่อการละเมิด เช่น กระบวนการยุติธรรม (การห้าม ทรมาน โทษประหารชีวิต เป็นต้น) รวมทั้งประเด็นการเมืองการปกครอง โดยเฉพาะสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออก และแสดงความคิดเห็น (2) หน่วยงานทีไ่ ด้รบั การร้องเรียนเกีย่ วกับการละเว้นการบังคับใช้กฎหมายให้ทวั่ ถึงและเป็นธรรม มีจ�ำนวนที่เพิ่มขึ้น 4.4 มิติด้านองค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน (1) ภาพลักษณ์ขององค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน จากการส�ำรวจความคิดเห็นจากกลุ่ม ตัวอย่างในการด�ำเนินงานขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน พบว่า ภาพลักษณ์ยงั ไม่ดขี นึ้ สรุปได้ ดังนี้ 1) องค์กรเครือข่าย ที่มีระดับภาพลักษณ์ดีที่สุด ในทุกด้านสิทธิมนุษยชน คือ องค์กรภาคประชาชน (ประมาณ ร้อยละ 40) รองลงมาคือ องค์กรภาคเอกชน และภาครัฐ (ประมาณร้อยละ 30) ในขณะที่สถาบันการศึกษา มีระดับภาพลักษณ์น้อยที่สุดในทุก ประเด็น คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 27


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(2) เจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีถ่ กู ฟ้องร้องเกีย่ วกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในด้านต่าง ๆ ตัง้ แต่ ปี 2552 – 2554 มีจ�ำนวนน้อยมากประมาณร้อยละ 1 ของจ�ำนวนเจ้าหน้าที่ของรัฐทั้งหมด โดยประเด็นสิทธิมนุษยชนที่เจ้าหน้าที่ ของรัฐถูกฟ้องร้องส่วนใหญ่เป็นด้านกระบวนการยุติธรรม รองลงมาเป็นด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ ด้านการเมืองการปกครอง (รวมถึงเสรีภาพในการรวมกลุ่มและการกระจายอ�ำนาจสู่ท้องถิ่น) ตามล�ำดับ (3) หน่วยงานภาครัฐที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน ในภาพรวม มีจำ� นวนไม่มากนักประมาณร้อยละ 5 และมีแนวโน้มลดลง แต่เมือ่ พิจารณาประเด็นทีถ่ กู ฟ้องร้องการละเมิดสิทธิมนุษยชน ได้แก่ ด้านการเมืองการปกครอง ด้านกระบวนการยุติธรรม และด้านสิทธิชุมชน ตามล�ำดับ (4) เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ถูกร้องเรียนเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ มีจ�ำนวนลดลงปี 2553 และเพิ่มขึ้น ในปี 2554 ซึ่งประเด็นที่ไม่พบการร้องเรียน คือ ด้านการได้รับข้อมูลข่าวสารของทางราชการและการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านเสรีภาพการสื่อสารและสื่อมวลชน และด้านสิทธิชุมชน ส�ำหรับประเด็นสิทธิฯ ที่เจ้าหน้าที่ถูกร้องเรียนเพิ่มมากขึ้น คือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองลงมา คือ ด้านสาธารณสุข ด้านอาชีพและแรงงาน ด้านกระบวนการ ยุติธรรม และด้านการเมืองการปกครอง ด้านที่อยู่อาศัย และด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและการเรียนรู้ 4.5 ผูบ้ ริหารในองค์กรภาครัฐทีถ่ กู ร้องเรียนเกีย่ วกับการขาดจริยธรรม มีการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดย หน่วยงานทีผ่ บู้ ริหารถูกร้องเรียนอย่างต่อเนือ่ งทุกปี ได้แก่ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคม กระทรวงการคลัง 4. ปัญหาในการด�ำเนินงานขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 - 2556) ช่วงครึ่งแผน (พ.ศ. 2552 - 2554) องค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วย 1) ภาครัฐ ส่วนราชการ 18 กระทรวง องค์กรอิสระจัดตั้งตาม รัฐธรรมนูญ 11 หน่วยงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ�ำนวน 29 หน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ จ�ำนวน 24 หน่วยงาน 2) องค์กรภาคประชาชน จ�ำนวน 12 หน่วยงาน 3) สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน จ�ำนวน 39 แห่ง อาชีวศึกษา จ�ำนวน 121 แห่ง ได้เสนอปัญหาในการด�ำเนินงานขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ระหว่าง ปีงบประมาณ 2552 – 2554 สรุปปัญหาที่พบ ดังนี้ 1) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ครอบคลุมประเด็นปลีกย่อยหลากหลายท�ำให้แผนขาด Focus ไม่มีล�ำดับความส�ำคัญ มองเห็นประเด็นไม่ชัดเจน วิธีการจัดท�ำแผนฯ ยากต่อการอ่านและการน�ำไปปฏิบัติ ดังนั้น ควรจัดท�ำแผนฯ ให้อ่านเข้าใจง่าย มี focus มีเป้าหมายและล�ำดับส�ำคัญของประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศ ต้องการจะบรรจุในช่วงแผนฯ ให้ชัดเจน 2) ด้านสิทธิมนุษยชนศึกษา ได้แก่ การขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพ ของ 2.1) หน่วยงาน เช่นหน่วยงานในระดับท้องถิ่นยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน และ สิทธิที่จะพึงได้รับตามกฎหมายที่ควร ท�ำให้ไม่สามารถน�ำแผนสิทธิมนุษยชนไปปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม 2.2) บุคลากรผูด้ ำ� เนินงาน ขาดความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับสิทธิมนุษยชน รวมทัง้ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง 2.3) ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่ยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชน และสิทธิ ที่จะพึงได้รับตามกฎหมายเท่าที่ควร 2.4) เยาวชน นักศึกษาไม่ให้ความสนใจในการศึกษาด้านสิทธิมนุษยชน 3) ด้านทรัพยากรในการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน การขาดอัตราก�ำลัง ทรัพยากรและปัจจัย ในการด�ำเนินการในเรื่องของสิทธิมนุษยชน หน้า 28

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

4) ด้านนโยบาย ขาดความชัดเจนของนโยบายในการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนเฉพาะเรื่อง เช่น ความรุนแรงต่อเด็กและสตรี เป็นต้น 5) ด้านองค์กรเครือข่าย หน่วยงานภาคีเครือข่าย ขาดการบูรณาการงานร่วมกัน ในการจัดกิจกรรมให้แก่ ประชาชนได้อย่างทัว่ ถึงและต่อเนือ่ ง ส่งผลให้หน่วยงานในกระบวนการยุตธิ รรมและหน่วยงานภาคสังคม ต้องด�ำเนินงาน ตามภารกิจด้านการบ�ำบัดแก้ไข และฟื้นฟูมากกว่าการป้องกัน 6) ประเด็นสิทธิมนุษยชนที่มีปัญหา ได้แก่ สิทธิคนพิการ พบปัญหา สิทธิและสวัสดิการที่ยังไม่ทั่วถึง เพียงพอ และติดขัดในเรื่องเงื่อนไข กฎระเบียบของแต่ละหน่วยงานแต่ละด้าน เช่น สิทธิด้านการศึกษา สิทธิในด้าน การรับอุปกรณ์เครือ่ งช่วยส�ำหรับเด็กพิการ สิทธิการมีงานท�ำของคนพิการหรือเด็กพิการสิทธิในการเข้าถึงเทคโนโลยี และสาธารณูปโภคต่างๆ สิทธิในด้านการเดินทาง เป็นต้น 7) สิทธิขนั้ พืน้ ฐานด้านสาธารณสุขแก่บคุ คลทีม่ ปี ญ ั หาสถานะ และการแก้ปญ ั หางานสาธารณสุขชายแดน

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 29


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

หน้า 30

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


บทที่ 3

ระเบียบวิธีการวิจัย



รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

บทที่ 3

ระเบียบวิธีการวิจัย การวิจัยประเมินผล “โครงการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งแผน) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556” นี้ก�ำหนดแนวทางการประเมินผลโดยใช้การประเมินแบบประสิทธิผล (Effectiveness Model) ที่เป็นตัวแบบการประเมินตามเป้าประสงค์ (Goals Attainment Model) ซึ่งเป็นการผสม ผสานการเก็บรวบรวมข้อมูลทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพและการมีสว่ นร่วม โดยมีการด�ำเนินการวิจยั ก�ำหนดกลุม่ เป้าหมาย ขั้นตอนการด�ำเนินงาน ดังนี้ 1. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลในการการด�ำเนินการประเมินผล มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 3 วิธี 1.1 การเก็บข้อมูลจากเอกสาร โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสาร แบบฟอร์มการรายงานตามแผนสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ข้อมูลสถิตกิ ารด�ำเนินงานตามแผนฯ สถิตขิ องหน่วยงานต่าง ๆ ทีม่ กี ารเก็บวิเคราะห์เกีย่ วข้อง กับแผนฯ อย่างไรก็ตามข้อมูลจากกลุม่ เป้าหมายอาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ตามข้อเท็จจริงทีเ่ กิดขึน้ แต่รวมแล้วต้องไม่นอ้ ย กว่า 8,187 หน่วยงาน โดยมีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เป็นหน่วยงานประสานงาน โดยที่การประสานงานในการ เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นการด�ำเนินการร่วมกันกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ โดยให้กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ประสานหนังสือเพื่อติดตามผลการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ของ หน่วยงานจากทุกภาคส่วน แล้ว หากปรากฏว่า หน่วยงานที่จัดส่งรายงานไม่ครบตามจ�ำนวนที่ประสานไป ถือว่า อยู่นอกเหนืออ�ำนาจการควบคุมของคณะที่ปรึกษาในการที่จะท�ำการวิเคราะห์ประเมินผลเฉพาะแต่ข้อมูลหน่วยงาน ที่ได้จัดส่งแบบรายงาน พร้อมด้วยข้อมูลวิเคราะห์จากแหล่งอื่นประกอบท�ำการประเมินผล เพื่อให้สามารถรายงานผล ต่อคณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้ โดยคณะที่ปรึกษา จะสรุปข้อมูลว่ามีหน่วยงานที่รายงาน และไม่ได้รายงานจ�ำนวนเท่าใด ประกอบด้วยในการจัดท�ำรายงานผลการศึกษา การส�ำรวจ จากประชาชนในกลุ่มเป้าหมาย 6 กลุ่มหลัก ได้แก่ (1) กลุ่มเด็ก สตรี และ ผู้สูงอายุ (2) กลุ่ม คนพิการ (3) กลุม่ ผูป้ ว่ ยโรคติดต่อร้ายแรงและ กลุม่ ผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ (4) กลุม่ ผูไ้ ม่มสี ญ ั ชาติไทย ได้แก่ ชนกลุม่ น้อย คนต่างด้าว ผู้หนีภัย คนไร้สัญชาติ (5) กลุ่มคนจน ผู้ใช้แรงงาน เกษตรกร (6) กลุ่มผู้ต้องขัง ผู้พ้นโทษ ผู้เสียหายและ จ�ำเลยในคดีอาญา และผู้ผ่านการบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด 2. การสุ่มตัวอย่างการส�ำรวจ ส�ำหรับการสุม่ ตัวอย่างเพือ่ เป็นตัวแทน เนือ่ งจากการก�ำหนดกลุม่ เป้าหมายตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 มุ่งไปที่กลุ่มเป้าหมาย 6 กลุ่มตามข้อ 3.1.3 ซึ่งค่อนข้างเป็นข้อจ�ำกัดในการก�ำหนดกรอบตัวอย่างของประชากร ได้อย่างชัดเจน เพราะบางกลุม่ เป็นกลุม่ ประชากรแบบ infinite ดังนัน้ การออกแบบการสุม่ ตัวอย่าง จึงก�ำหนดให้ประชากร ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย คือประชาชนทั้งประเทศ และแบ่งพื้นที่การเก็บข้อมูลตามภูมิภาค 4 ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร โดยก�ำหนดขนาดตัวอย่างประมาณ 1,000 คน ใน 4 ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร วิธีการสุ่มโดยก�ำหนดประสานกับ เครือข่ายในพื้นที่ เพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในทุกภูมิภาค ตามหน่วยงานเครือข่าย ได้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 346 คน การส�ำรวจข้อมูลผ่านเว็บไซต์ (website) เพือ่ รับฟังความคิดเห็นจากเจ้าหน้าทีข่ องหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับ การน�ำแผนสิทธิมนุษยชนไปปฏิบัติ ก�ำหนดผู้เข้าร่วมการส�ำรวจเข้าให้ข้อมูลในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 33


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

2557 โดยส่งหนังสือเชิญแจ้งให้หน่วยงานในกรุงเทพมหานครมอบให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับ การน�ำแผนสิทธิมนุษยชนไปปฏิบัติ ได้กลุ่มตัวอย่าง 691 คน 3. กลุ่มประชากรเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายของการวิจัยประเมินผลแบ่งได้เป็น แบบหน่วยงานและแบบบุคคล ดังนี้ 3.1 หน่วยงานเป้าหมายในการประเมินผลสัมฤทธิต์ ามแผนฯ ฉบับที่ 2 มีจำ� นวนทัง้ หมด ประมาณ 8,187 หน่วยงาน แบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ๆ ดังนี้ 1. ภาครัฐ จ�ำนวน 8,102 หน่วยงาน ที่เป็นส่วนราชการทั้งส่วนกลาง กระทรวง (20) กรม (153) ส่วนภูมิภาค (จังหวัด 75 จังหวัด) ส่วนท้องถิ่น (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7,853) 2. สถาบันการศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 67 หน่วยงานทั้งสถาบันอุดมศึกษา และ อาชีวศึกษา 3. องค์กรของรัฐรูปแบบใหม่ (องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ) 7 แห่ง 4. องค์กรศาล องค์กรอื่นและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ จ�ำนวน 11 หน่วยงาน 3.2 กลุ่มเป้าหมายบุคคล ครอบคลุม 17 กลุ่มที่ระบุไว้ในแผนฯ ได้แก่ 1) กลุ่มเด็ก สตรี และ ผู้สูงอายุ 2) กลุ่มคนพิการ 3) กลุ่มผู้ป่วยโรคติดต่อร้ายแรงและ กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ 4) กลุ่มผู้ไม่มีสัญชาติไทย ได้แก่ ชนกลุ่มน้อย คนต่างด้าว ผู้หนีภัย คนไร้สัญชาติ 5) กลุ่มคนจน ผู้ใช้แรงงาน เกษตรกร 6) กลุม่ ผูต้ อ้ งขัง ผูพ้ น้ โทษ ผูเ้ สียหายและจ�ำเลยในคดีอาญา และผูผ้ า่ นการบ�ำบัดฟืน้ ฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด 4. ขั้นตอนการด�ำเนินงาน การวิจัยประเมินผลได้ก�ำหนดขั้นตอนการด�ำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) ศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกับความส�ำคัญ ความเป็นมาและทิศทางของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555 – 2556) ไม่วา่ จะเป็น วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลวิธี ตัวชีว้ ดั ทัง้ ในระดับ ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ รวมถึงกรอบแนวทางการประเมินผลของหน่วยงานกลางในระดับชาติ อาทิ ส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับผิดชอบเกี่ยวกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี รับผิดชอบเกีย่ วกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ รับผิดชอบ เกี่ยวกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการรับผิดชอบเกี่ยวกับการประเมินผลและวัดคุณภาพการศึกษา หรือ หน่วยงานอื่น ๆ เป็นต้น เพื่อน�ำมาปรับใช้และจัดท�ำเป็นกรอบแนวทางการประเมินผลแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 2) ศึกษาและปรับปรุงรายละเอียดของตัวชี้วัดที่ได้จัดท�ำแบบรายละเอียด (Template) ค�ำอธิบาย ตัวชีว้ ดั ทัง้ 27 ตัวชีว้ ดั ทีป่ รากฏอยูใ่ นแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ในช่วงครึง่ แรกของแผนฯ เพือ่ ให้เหมาะสม สามารถวัดได้ถูกต้องชัดเจน หน้า 34

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

3) วิเคราะห์ขอ้ มูล (Document) เพือ่ ท�ำการประเมินผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ทั้งการประเมินผลการบรรลุเป้าหมายหลักและการประเมินผลกระทบ ต่อการพัฒนาประเทศ ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์ รวมไปถึงการบรรลุผลตามตัวชีว้ ดั ทัง้ ในระดับ ยุทธศาสตร์และระดับกลยุทธ์ (จ�ำนวน 27 ตัวชี้วัด) ของหน่วยงานต่าง ๆ จากทุกภาคส่วน โดยพิจารณาข้อมูลเพื่อท�ำ การประเมินผลจากแหล่งต่าง ๆ ดังนี้ 3.1) วิเคราะห์จากรายงานติดตามการปฏิบัติงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ซึ่งเป็นการติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ตามแบบฟอร์ม ทีก่ รมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพก�ำหนดของหน่วยงานเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ ในการนีก้ รมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพเป็นผูจ้ ดั เก็บ รายงานผลการด�ำเนินงานดังกล่าว 3.2) วิเคราะห์จากข้อมูลแหล่งอื่นหรือค่าสถิติต่าง ๆ เพื่อประกอบการประเมินผล ทั้งข้อมูล ของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาชน ทั้งที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ อาทิ สถิติการเกิด อาชญากรรม สถิติการรับเรื่องราวร้องทุกข์และร้องเรียนของหน่วยงานต่าง ๆ สถิติการให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง สิทธิมนุษยชนหรือสิทธิเสรีภาพ ระดับภาพลักษณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ทั้งข้อมูลภายในประเทศหรือต่างประเทศ และข้อมูลอื่น ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงาน เป็นต้น 3.3) ส�ำรวจความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวกับการเคารพ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในสังคมไทย ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของแผนฯ ผ่านเว็บไซต์ 4) สรุปเพือ่ จัดท�ำเป็นรายงานประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ช่วงครึ่งหลัง (ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556) โดยเนื้อหาในรายงานประกอบด้วย 4.1) บทสรุปส�ำหรับผู้บริหาร 4.2) บทน�ำ ได้แก่ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ขอบเขตและแนวทางการด�ำเนินงาน กลุ่ม เป้าหมายของการศึกษา วิธีการศึกษา ผลที่คาดว่าจะได้รับ เป็นต้น 4.3) วิเคราะห์ทศิ ทางของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2556) ทัง้ สองช่วง เพื่อประกอบการประเมินผล 4.4) บทวิเคราะห์การประเมินผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ช่วงครึ่งแผน ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 4.5) วิเคราะห์สถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน พร้อมทั้งและส่วนท้องถิ่น 4.6) วิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลว่าหน่วยงานที่น�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสู่ การปฏิบัติ ในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2556 คิดเป็นร้อยละเท่าใดของหน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด โดยพิจารณาจากข้อมูล การรายงานผลการด�ำเนินงานมาประกอบ โดยแสดงให้เห็นว่าหน่วยงานทีไ่ ด้รายงานผลและไม่ได้รายงานมีจำ� นวนเท่าใด รวมถึงจ�ำนวนโครงการ/กิจกรรมที่ด�ำเนินการ วงเงินงบประมาณทั้งสิ้นที่มีการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน และ การวิเคราะห์ประมวลผลในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 5) บทสรุปและข้อเสนอแนะทัง้ ในเชิงนโยบายและปฏิบตั กิ าร ในระดับประเทศเพือ่ ทีจ่ ะน�ำไปปรับปรุง และพัฒนาที่จะเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานในเรื่องสิทธิมนุษยชนและแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมถึงก�ำหนด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะต้องรับไปด�ำเนินการทั้งในระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 35


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

6) น�ำเสนอรายงานประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ช่วงครึง่ แผน ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 แก่กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ เพื่อกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ จะได้น�ำเรียน คณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พิจารณาในโอกาส ต่อไป 5. เครื่องมือการวิจัยประเมินผล การวิจัยประเมินผลใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูล 2 แบบ 5.1 แบบส�ำรวจ เป็นข้อมูลส�ำรวจเพื่อตอบวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดเป้าหมายตามแผนสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 2 รวมทัง้ ตัวชีว้ ดั ด้านภาพลักษ์ของหน่วยงานเครือข่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับแผนสิทธิมนุษยชนฉบับที่ 2 ซึง่ ต้องเก็บข้อมูล ด้วยการส�ำรวจ 5.2 แบบเก็บข้อมูล เพื่อเก็บข้อมูลที่หน่วยงานเครือข่ายกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์มรายงานผลการ ด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องด้านสิทธิมนุษยชน 6. จริยธรรมในการวิจัย เนื่องจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ค�ำนึงถึงประเด็นจริยธรรมในการวิจัยเป็นส�ำคัญในมิติต่าง ๆ คือ การด�ำเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ ต้องผ่านการพิจารณาอนุมตั จิ ากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจยั ในคนของมหาวิทยาลัย มหิดล โดยทีก่ ระบวนการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุม่ ย่อยจะต้องด�ำเนินไปโดยได้รบั การยินยอมจากผูใ้ ห้ขอ้ มูล ผลการวิจัยจะต้องไม่ท�ำให้เกิดผลกระทบในทางลบโดยตรงแก่ผู้ให้ข้อมูล ดังนั้นการเริ่มด�ำเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิจะ ด�ำเนินการเมื่อโครงการได้รับการรับรองจากคณะกรรมการวิจัยในคนคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ตามเอกสารรับรองโครงการเลขที่ COA.NO 2013/174.1705 เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2013 7. กรอบการวิจัยประมินผล ผู้วิจัยก�ำหนดกรอบการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ดังตาราง

หน้า 36

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

กรอบการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555-2556

สิ่งที่ประเมิน

วิธีการ

แหล่งข้อมูล

1. การบรรลุเป้าหมายหลัก และ ผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ - สังคมไทยเป็นสังคมแห่ง การเคารพศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์ตามหลักสิทธิ มนุษยชน - เครือข่ายสิทธิมนุษยชน เข้มแข็งในทุกภูมิภาคและ มีความตื่นตัวในเรื่องสิทธิ มนุษยชนและพัฒนาไปสู่ มาตรฐานสากล - สถานการณ์การด้านสิทธิ มนุษยชนในแต่ละด้านในช่วง ปี 2555 – 2556 2. ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงาน ตามแผนสิทธิมนุษยชนฯ - ร้อยละหน่วยงานที่น�ำแผนสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสู่การปฏิบัติ ในช่วง ปี พ.ศ. 2555 – 2556 ของ หน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด - สัดส่วนหน่วยงานที่รายงานผล - จ�ำนวนโครงการ/กิจกรรม ที่ด�ำเนินการ - งบประมาณที่ใช้ในการด�ำเนิน งานด้านสิทธิมนุษยชน - สัดส่วน/ร้อยละของ ยุทธศาสตร์/กลยุท์ที่ได้ด�ำเนิน การ - ปัญหาในการด�ำเนินงาน/ ข้อเสนอแนะ

- วิเคราะห์เอกสาร - ส�ำรวจการรับรู้เรื่อง การเคารพศักดิ์ศรี ของความเป็นมนุษย์ฯ ของประชาชนและ กลุ่มเป้าหมายที่จะ ถูกละเมิดสิทธิฯ

เอกสาร - แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 - กรอบการประเมินผลและรายงานผลของหน่วยงานกลาง ระดับชาติที่เกี่ยวข้องตามเป้าหมายฯ ได้แก่ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี กระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมัน่ คงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ หรือหน่วยงานอืน่  ๆ - ข้อมูลการด�ำเนินงานของเครือข่ายสิทธิมนุษยชนทุกภูมิภาค หน่วยงาน/บุคคล - ตัวแทน เครือข่ายสิทธิมนุษยชนในทุกภูมิภาค - ผู้บริหารหน่วยงานกลางระดับชาติที่เกี่ยวข้องใน แผนสิทธิมนุษยชนฯ - ประชาชนทั่วไป/กลุ่มเป้าหมายที่จะถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

- วิเคราะห์ข้อมูลจาก - รายงานติดตามการปฏิบัติงานตามแผนสิทธิมนุษยชนฯ แบบเก็บข้อมูล ของหน่วยงานต่างๆจ�ำนวนทั้งสิ้น 8,187 หน่วยงาน ได้แก่ 1. ภาครัฐ จ�ำนวน 8102 แห่ง ที่เป็นส่วนราชการทั้งส่วนกลาง กระทรวง (20) กรม (153) ส่วนภูมิภาค ( 76 จังหวัด รวม บึงกาฬ ) ส่วนท้องถิ่น7,853 (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบจ. 76 เทศบาล 2266 อบต. 5509 กทม. 1 พัทยา 1) 2. องค์กรของรัฐรูปแบบใหม่ (องค์กรรัฐที่เป็นอิสระ) 7 แห่ง 3. องค์กรของรัฐรูปแบบใหม่ (องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ) 7 แห่ง 4. องค์กรศาล องค์กรอื่นและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 11 แห่ง 5. สถาบันการศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร (ระดับอุดมศึกษา และอาชีวศึกษา) 67 แห่ง - ข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาชน ทั้งที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ อาทิ สถิติการ ให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสิทธิมนุษยชนหรือสิทธิเสรีภาพ และข้อมูลอื่น ๆ

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 37


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 สิ่งที่ประเมิน

วิธีการ

3. การบรรลุตามตัวชี้วัดของแผนฯ 27 ตัวชี้วัด (ตัวชี้วัดระดับ ยุทธศาตร์ ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์) - ร้อยละของตัวชี้วัดที่บรรลุ เป้าหมาย (ทั้งในภาพรวม และ เปรียบเทียบรายปี 2555, 2556) - ผลการด�ำเนินงานในแต่ละ ตัวชี้วัด (ทั้งในภาพรวม และ เปรียบเทียบรายปี 2555, 2556) - แนวโน้มของการบรรลุ ผลสัมฤทธิ์ตามแผนสิทธิ มนุษยชน

- วิเคราะห์ข้อมูล การด�ำเนินงานของ หน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง จากเอกสารและ แบบเก็บข้อมูล

หน้า 38

แหล่งข้อมูล - -

รายงานติดตามการปฏิบัติงานตามแผนสิทธิมนุษยชนฯ ของ หน่วยงานต่างจ�ำนวนประมาณ 8,187 หน่วยงาน ได้แก่ 1. ภาครัฐ 8102 หน่วยงาน ที่เป็นส่วนราชการทั้งส่วนกลาง กระทรวง (20) กรม (153) ส่วนภูมภิ าค (จังหวัด 75 จังหวัด) ส่วนท้องถิ่น (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7,853) 2. สถาบันการศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 67 หน่วยงานทั้งสถาบันอุดมศึกษา และอาชีวศึกษา 3. องค์กรของรัฐรูปแบบใหม่ (องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ) 7 แห่ง 4. องค์กรศาล องค์กรอื่นและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ จ�ำนวน 11 หน่วยงาน ข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาชน ทั้งที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ อาทิ สถิติการเกิด อาชญากรรม สถิติการรับเรื่องราวร้องทุกข์และร้องเรียนของ หน่วยงานต่าง ๆ สถิติการให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง สิทธิมนุษยชนหรือสิทธิเสรีภาพ ระดับภาพลักษณ์ในด้าน สิทธิมนุษยชน

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


ผลการด�ำเนินงาน ตามแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2

3. การบรรลุตามตัวชี้วัด ของแผนฯ 27 ตัวชี้วัด

2. ความก้าวหน้าของ การด�ำเนินงานตามแผน สิทธิมนุษยชนฯ

1. การบรรลเุป้าหมายหลัก และผลกระทบต่อ การพัฒนาประเทศ

สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเคารพ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ตามหลัก สิทธิมนุษยชน เครือข่ายสิทธิมนุษยชนเข้มแข็ง ในทุกภูมิภาคและมีความตื่นตัว ในเรื่องสิทธิมนุษยชนและพัฒนาไปสู่ มาตรฐานสากล ร้อยละหน่วยงานทีน่ ำ� แผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสู่การปฏิบัติ ในช่วงปี พ.ศ. 2555 - 2556 ของ หน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด สัดส่วนหน่วยงานที่รายงานผล จ�ำนวนโครงการ/กิจกรรมทีด่ ำ� เนินการ งบประมาณที่ใช้ในการด�ำเนินงาน ด้านสิทธิมนุษยชน สัดส่วน/ร้อยละของยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ที่ได้ด�ำเนินการ ร้อยละของตัวชี้วัดที่บรรลุเป้าหมาย (ทั้งในภาพรวมของครึ่งแผน และ เปรียบเทียบรายปี 2555, 2556) ผลการด�ำเนินงานในแต่ละตัวชี้วัด (ทั้งในภาพรวมของครึ่งแผน และ เปรียบเทียบรายปี 2555, 2556) แนวโน้มของการบรรลุผลสัมฤทธิ์ ตามแผนสิทธิมนุษยชน

- - - - - - - - - -

วิเคราะห์เอกสาร สนทนากลุ่มย่อย (Focus group) ส�ำรวจการรับรู้เรื่องการเคารพ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ฯ ของประชาชนและกลุม่ เป้าหมาย ที่จะถูกละเมิดสิทธิฯ

- วิเคราะห์ข้อมูลการด�ำเนินงาน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจาก เอกสาร

- วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร - สัมภาษณ์/สนทนากลุ่มย่อย ตัวแทนจากหน่วยงานเป้าหมาย

- - -

-

รายงานติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนสิทธิมนุษยชนฯ ของ หน่วยงานต่างจ�ำนวนประมาณ 9,625 หน่วยงาน ได้แก่ 1. ภาครัฐ 2. สถาบันการศึกษา 3. องค์กรอื่นและองค์กรอิสระตาม รัฐธรรมนูญ 4. องค์กรภาคเอกชน

เอกสาร - แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 - กรอบการประเมินผลและรายงานผล ของหน่วยงานกลางระดับชาติ ที่เกี่ยวข้องตามเป้าหมายฯ - ข้อมูลการด�ำเนินงานของเครือข่าย สิทธิมนุษยชนทุกภูมิภาค หน่วยงาน/บุคคล - ตัวแทน เครือข่ายสิทธิมนุษยชน ในทุกภูมิภาค - ผู้บริหารหน่วยงานกลางระดับชาติ ที่เกี่ยวข้องในแผนสิทธิมนุษยชนฯ - ประชาชนทั่วไป/กลุ่มเป้าหมาย ที่จะถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

กรอบการประเมินผลสัมฤทธิ์การดำ�เนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจำ�ปี พ.ศ. 2555 – 2556 รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 39


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

หน้า 40

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


บทที่ 4

การประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงาน ตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2556



รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

บทที่ 4

การประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2556 กรอบการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 การศึกษามีกรอบการประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนที่ 1 การบรรลุเป้าหมายหลักและผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ส่วนที่ 2 ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ส่วนที่ 3 การบรรลุตามตัวชี้วัดของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 จ�ำนวน 27 ตัวชี้วัด ส่วนที่ 1 การประเมินเป้าหมายหลักของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ช่วงครึ่งหลัง (พ.ศ. 2555 – 2556) เป้าประสงค์ที่ 1 สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 1) วิธีการประเมิน ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชนกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 1,037 คน โดยเก็บ รวบรวมข้อมูลทางเว็บไซต์ของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ จ�ำนวน 691 คน (ข้าราชการ 641 และประชาชนทั่วไป 50 คน) และ การทอดแบบสอบถาม จ�ำนวน 346 คน (ประกอบด้วย กลุม่ ชาติพนั ธุ์ ภาคเหนือ 44 คน กลุม่ เด็กด้อยโอกาส จากสถานพินจิ ในกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 36 คน กลุม่ ผูต้ อ้ งขังและกลุม่ ผูผ้ า่ นการบ�ำบัดยาเสพติด จ�ำนวน 48 และ 4 คน กลุ่มผู้ใช้แรงงาน จ�ำนวน 26 คน กลุ่มเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ 46 คน ผู้พิการ 4 คน ผู้ต้องขัง 48 คน และประชาชนทั่วไป 167 คน ซึ่งมีความหลากหลายครอบคลุมทั้งในด้านพื้นที่อาชีพ รายได้และประสบการณ์เกี่ยวกับแผนฯ นี้ 2) ผลการประเมินความคิดเห็น เกีย่ วกับสถานการณ์ในสังคมไทยด้านการเคารพศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ พบว่า ผูใ้ ห้ขอ้ มูลน้อยกว่าร้อยละ 50 ทีม่ คี วามคิดเห็นว่าสถานการณ์ดา้ นการเคารพศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ในสังคมไทยปัจจุบนั ดีขนึ้ (อยูใ่ นช่วงการด�ำเนินงานขับเคลือ่ นแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ครึง่ แผน) เมือ่ เปรียบเทียบกับเมือ่ 5 ปีทผี่ า่ นมา (ก่อนที่จะมีการประกาศใช้แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ดังนี้ 2.1 การให้คุณค่าของความเป็นคน กว่าร้อยละ 40 มีความคิดเห็นว่า ดีขึ้น โดยประเด็นที่มีจ�ำนวนคน มากทีส่ ดุ ทีร่ บั รูว้ า่ ดีขนึ้ กว่าเดิม คือ การให้การยอมรับความสามารถโดยไม่แบ่งแยกเพศ และประเด็นทีม่ จี ำ� นวนคนน้อยทีส่ ดุ ที่รับรู้ว่าดีขึ้นกว่าเดิม คือ การยอมรับคุณค่าโดยไม่แบ่งแยกตามสถานภาพทางเศรษฐกิจ 2.2 การได้รับความคุ้มครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ กว่าร้อยละ 45 มีความคิดเห็นว่า ดีขึ้น โดย ประเด็นที่มีจ�ำนวนคนมากที่สุดที่รับรู้ว่าดีขึ้นกว่าเดิม คือ เสรีภาพในการเลือกถือศาสนา และประเด็นที่มีจ�ำนวนคน น้อยที่สุดที่รับรู้ว่าดีขึ้นกว่าเดิม คือ ความเสมอภาคทางกฎหมายโดยไม่เลือกปฏิบัติ 2.3 การคุม้ ครองในชีวติ ร้อยละ 40 มีความคิดเห็นว่า ดีขนึ้ โดยประเด็นทีม่ จี ำ� นวนคนมากทีส่ ดุ ทีร่ บั รูว้ า่ ดีขึ้นกว่าเดิม คือ การปกป้องจากการทรมานในการลงโทษทางอาญา และประเด็นที่มีจ�ำนวนคนน้อยที่สุดที่รับรู้ว่าดีขึ้น กว่าเดิม คือ การได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ไว้ก่อนเมื่อถูกจับกุมและการปกป้องทรัพย์สิน 2.4 การอยู่ร่วมกันในสังคม ร้อยละ 40 มีความคิดเห็นว่า ดีขึ้น โดยประเด็นที่มีจ�ำนวนคนมากที่สุด ที่รับรู้ว่าดีขึ้นกว่าเดิม คือ การเคารพความเป็นส่วนตัว และประเด็นที่มีจ�ำนวนคนน้อยที่สุดที่รับรู้ว่าดีขึ้นกว่าเดิม คือ การหลีกเลี่ยงการท�ำลายชื่อเสียงของคนอื่น คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 43


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

สรุปได้ว่า เมื่อพิจารณาตามเป้าประสงค์ของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ที่ได้มีการด�ำเนินงาน ขับเคลือ่ นมาเป็นระยะเวลา 5 ปี ในช่วงครึง่ หลังของแผนฯ พ.ศ. 2555 – 2556 มากกว่าร้อยละ 40 ของประชาชนทีร่ บั รูว้ า่ สังคมไทยมีการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ดีขึ้นกว่าก่อนการขับเคลื่อนแผนฯ และเพิ่มขึ้นจากช่วงครึ่งแรกของแผน พ.ศ. 2552 – 2554 ซึ่งมีจ�ำนวนร้อยละ 30 ดังรายละเอียดในตาราง 4.1 ตาราง 4.1 แสดงจ�ำนวนและร้อยละของประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์การเคารพศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ของสังคมไทยในปัจจุบันดีขึ้นเมื่อเทียบกับ 5 ปีที่ผ่านมา

ผู้ผ่านการบ�ำบัดผู้ต้องขัง n=52 n=4

ประชาชน n=802

เด็กด้อยโอกาส n=36

2

19

10

2

374

25

453 43.7

2. การให้คุณค่าของคนตามสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น คนรวย ผู้มีต�ำแหน่งการงานที่ดีกว่าจะได้รับการยอมรับ และ ปฏิบัติอย่างดีมากกว่า

17 37%

2

11

6

5

284

14

325 31.3

3. การให้การยอมรับในความสามารถและการปฏิบัติที่เท่าเทียมกัน โดยไม่แบ่งแยกเพศ หรือการกดขี่ทางเพศ

21 46%

2

19

8

12

397

27

486 46.9

4. การปฏิบัติที่ท�ำให้รู้สึกด้อยคุณค่า ถูกเหยียดหยาม/เป็นเสมือน วัตถุ สิง่ ของมากกว่าเป็นคน เช่น การแบ่งแยกชนชัน้ การกระท�ำ เสมือนเป็นทาส การค้ามนุษย์

16 35%

2

20

7

7

346

15

413 39.8

19. ได้รับการยอมรับและการปฏิบัติอย่างเหมือนกันไม่ว่าจะเป็น คนชาติพันธุ์ใด

18 39%

2

15

9

8

367

24

443 42.7

รวม N=1,037

ผู้ใช้แรงงาน n=26

21 46%

ผู้พิการ n=3

1. การให้คุณค่าของความเป็นคนในฐานะความเป็นมนุษย์ ทุกคนมีความเป็นคนเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นคนจน คนรวย หรือผูม้ ตี ำ� แหน่งระดับใด ๆ ได้รบั การยอมรับและปฏิบตั เิ หมือนกัน

ประเด็นการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ n=46

ชาติพันธ์ุ n=46

จ�ำนวน % ของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบว่าดีขึ้น n=1,037

การให้คุณค่าของความเป็นคน ประมาณกว่าร้อยละ 40 มีความคิดเห็นว่าดีขึ้น

การได้รับความคุ้มครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ประมาณกว่าร้อยละ 45 มีความคิดเห็นว่าดีขึ้น 7. ทุกคนมีความเสมอภาคทางกฎหมาย และไม่ถูกเลือกปฏิบัติ โดยเฉพาะจากเจ้าหน้าที่รัฐ

20 44%

3

12

10

5

330

20

400 38.6

10. มีโอกาสในการเข้าถึงศาล และได้รับการพิจารณาคดีในศาล อย่างยุติธรรม โดยผู้พิพากษาที่มีอิสระ

32 46%

3

18

8

3

355

28

436 42.0

14. สามารถสื่อสารถึงกันได้อย่างสะดวกโดยปราศจากการแทรกแซง และมีโอกาสได้รับข่าวสารที่เป็นประโยชน์ อย่างทั่วถึง

22 48%

3

14

10

11

419

27

506 48.8

9. การกระท�ำบั่นทอน หลีกเลี่ยงมิให้มีการได้สิทธิและเสรีภาพ ที่ก�ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ

19 41%

2

12

8

5

346

23

415 40.0

11. ทุกคนมีเสรีภาพในการเลือก ถือศาสนา ตามความเชื่อและ ความคิดของตนได้โดยไม่ถูกกีดกัน

29 63%

3

19

12

16

465

32

576 55.5

หน้า 44

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ผู้ใช้แรงงาน n=26

ผู้ผ่านการบ�ำบัดผู้ต้องขัง n=52 n=4

ประชาชน n=802

เด็กด้อยโอกาส n=36

26 57%

3

19

14

11

435

27

535 51.6

13. ได้รับการจัดสรรให้ได้รับปัจจัย 4 ที่เหมาะสมตามความจ�ำเป็น ในการด�ำรงชีวิตในฐานะของประชาชนคนไทย

19 41%

3

14

7

7

381

20

451 43.5

17. ได้รับการปกป้องไม่ให้ถูกละเมิดทรัพย์สิน (เช่น การลักขโมย จี้ ปล้น)

14 30%

2

13

5

1

319

20

374 36.1

5. การได้รับความคุ้มครองในชีวิตและร่างกาย เช่นการปกป้อง ไม่ให้ถกู ท�ำร้ายร่างกาย ท�ำลายชีวิต การล่วงละเมิดทางเพศ

21 46%

2

14

8

8

330

25

408 39.3

8. ได้รับการปกป้องการลงโทษอาญาที่มีลักษณะการทรมาน หรือ การทารุณที่โหดร้ายจนเกินไป

22 48%

1

16

6

11

357

29

442 42.6

15. ปลอดจากการจับกุม กักขัง หรือเนรเทศโดยพลการ

19 41%

2

15

10

6

349

25

426 41.1

18. เมือ่ ถูกจับกุม ได้รบั การแจ้งข้อหาและสันนิษฐานว่ามีความบริสทุ ธิ์ ไว้ก่อน จนกว่าจะมีผลการตัดสิน

17 37%

2

12

7

2

321

19

380 36.6

ประเด็นการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

รวม N=1,037

ชาติพันธ์ุ n=46

12. มีเสรีภาพในการเดินทางไปได้ในทุกพื้นที่ในประเทศ รวมทั้ง สามารถการเลือกถิ่นที่อยู่ของตนได้

เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ n=46

ผู้พิการ n=3

จ�ำนวน % ของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบว่าดีขึ้น n=1,037

การคุ้มครองในชีวิต ประมาณ ร้อยละ 40 มีความคิดเห็นว่าดีขึ้น

การอยู่ร่วมกันในสังคม ประมาณร้อยละ 40 มีความคิดเห็นว่าดีขึ้น 6. การหลีกเลี่ยง ระมัดระวังไม่ให้มีการกระท�ำที่เป็นการท�ำลาย ชื่อเสียงของผู้อื่น

15 33%

2

14

6

3

339

19

398 38.4

16. การเคารพในความเป็นส่วนตัว ไม่สร้างความเดือดร้อนหรือ ความร�ำคาญให้กับผู้อื่น เช่น การท�ำให้เกิดเสียงดังรบกวน บ้านเรือนของผู้อื่น

21 46%

2

14

10

7

357

17

428 41.3

เป้าประสงค์ที่ 2 เครือข่ายสิทธิมนุษยชนเข้มแข็งในทุกภูมภิ าคและมีความตืน่ ตัวในเรือ่ งสิทธิมนุษยชนและพัฒนา ไปสู่มาตรฐานสากล วิธีการประเมิน การวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบรายงานการด�ำเนินงานขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ระหว่าง ปีงบประมาณ 2555 – 2556 ของหน่วยงานน�ำร่อง ทั้งสิ้น 8,187 หน่วยงาน ในส่วนปัญหา อุปสรรคในการด�ำเนินงาน ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข ผลการประเมิน พบว่า มีจำ� นวนหน่วยงานทีร่ ายงานผลการด�ำเนินงานประมาณร้อยละ 92.55 และ ร้อยละ 92.82 ในปี 2555 และ 2556 ตามล�ำดับ และมีการด�ำเนินงานกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ในปีงบประมาณ 2555 และ 2556 มีแนวโน้มดีขึ้นกว่า ช่วงครึ่งแรกของแผน ในการประเมินตัวชีว้ ดั ในยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความเข้มแข็งให้กบั เครือข่ายสิทธิมนุษยชน ได้แก่ การจัดการความรู้เพื่อถอดบทเรียนการปฏิบัติที่ดีด้านสิทธิมนุษยชนและการใช้ประโยชน์ทั้งในการปรับแผนงานของ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 45


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

หน่วยงานตนเองและการถ่ายทอดให้กับผู้อื่น การท�ำวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนและน�ำไปใช้ประโยชน์ ในการด�ำเนินงาน พบว่า มีจำ� นวนหน่วยงานทีไ่ ด้ดำ� เนินงานตามตัวชีว้ ดั ดังกล่าวนีเ้ พิม่ ขึน้ จากช่วงครึง่ แรกของแผน แม้วา่ การถอดบทเรียนจะยังไม่ใช่บทเรียนทีด่ ขี องการปฏิบตั งิ านด้านสิทธิมนุษยชนทีช่ ดั เจน แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานเครือข่าย สิทธิมนุษยชนมีการพัฒนาหรือสร้างความรูเ้ พือ่ พัฒนาให้มมี าตรฐานไปสูส่ ากล ท�ำให้สรุปได้วา ่ เป้าประสงค์ที่ 2 บรรลุผล ในช่วงครึ่งหลังของแผน นอกจากนั้นจากรายงานการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ในช่วงครึ่งหลังของแผนฯ ปี พ.ศ. 2555 – 2556 แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานได้ให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินงานโครงการกิจกรรมต่าง ๆ ด้านสิทธิมนุษยชน มากขึ้นกว่าช่วงครึ่งแรกของแผน โดยในแต่ละหน่วยงานจะมีโครงการเด่น ๆ ดังนี้ ระดับกระทรวง ได้แก่ การเผยแพร่ความรูแ้ ละสร้างความตระหนักเกีย่ วกับสิทธิมนุษยชน ให้แก่เจ้าหน้าทีแ่ ละ ประชาชน การเปิดช่องทางการร้องเรียนเมือ่ มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน การเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายทุกภาคส่วน ในการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อม การจัดสรรที่ดินท�ำกินและที่อยู่อาศัยให้แก่ประชาชนที่ยากจนและการบริหารจัดการ การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ของรัฐเพือ่ แก้ไขปัญหาความยากจน การให้ความช่วยเหลือคนไทยตกทุกข์ฯ จากการค้าแรงงานไทย/ สตรีไทยทีถ่ กู หลอกหลวงให้คา้ ประเวณีและลักลอบขนยาเสพติดผ่านช่องทางต่าง ๆ การสนับสนุนเงินอุดหนุนทางการศึกษา ส�ำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา การเยียวยา ฟืน้ ฟู และป้องกันความเสียหายจากอุทกภัย การช่วยเหลือทางการเงิน แก่ผู้เสียหายและจ�ำเลยในคดีอาญาตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลย ในคดีอาญา พ.ศ. 2544 การเฝ้าระวังสถานประกอบกิจการเพื่อลดการประสบอันตรายเนื่องจากการท�ำงาน การอบรม เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการให้บริการช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระท�ำรุนแรงส�ำหรับบุคลากร ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน เป็นต้น ระดับจังหวัด ได้แก่ การส่งเสริมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนผ่านเวทีประชาคมหมู่บ้าน/ต�ำบล การบ�ำบัดรักษาและฟืน้ ฟูผตู้ ดิ ยาเสพติดในสถานบริการ การส่งเสริมและคุม้ ครองการเข้าถึงสิทธิคนพิการ การรณรงค์สง่ เสริม สิทธิสตรี การสร้างค่านิยมให้บุคลากรในองค์กรมีวัฒนธรรมการท�ำงานที่เคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเด็น ที่ครอบคลุมหลักสิทธิมนุษยชน การก�ำหนดวิธีให้บริการในกระบวนการท�ำงานของหน่วยงานภาครัฐโดยค�ำนึงถึงหลัก สิทธิมนุษยชน การป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็กสตรีและบุคคลในครอบครัว การเสริมสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง การละเมิดสิทธิมนุษยชนประชาชน/ชุมชนในเขตพื้นที่เสี่ยงภัย เป็นต้น ส่วนที่ 2 ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 การวิเคราะห์ผลความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ส่วนที่ 2) นัน้ ความก้าวหน้าของการด�ำเนินการตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 สามารถวัดได้จาก : 2.1 ร้อยละหน่วยงานทีน่ ำ� แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2556 ของ หน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด และสัดส่วนหน่วยงานที่รายงานผล 2.2 จ�ำนวนโครงการ/กิจกรรมที่ด�ำเนินการ 2.3 งบประมาณที่ใช้ในการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน 2.4 สัดส่วน/ร้อยละของยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ที่ได้ด�ำเนินการ 2.5 ปัญหาในการด�ำเนินงาน/ข้อเสนอแนะ หน้า 46

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

2.1 ร้อยละหน่วยงาน1 ทีน่ ำ� แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2556 ของหน่วยงานน�ำร่องทั้งหมดและสัดส่วนหน่วยงานที่รายงานผล ในการวิเคราะห์ผลความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ในช่วง ปี พ.ศ. 2555 – 2556 ซึง่ เป็นช่วงครึง่ หลังของแผนจะได้วเิ คราะห์ขอ้ มูลในลักษณะเดียวกันกับความก้าวหน้าของการด�ำเนินงาน ตามแผนฯ ในช่วงครึ่งแรก โดยจะวัดความก้าวหน้าจากประเด็นดังนี้ 1. ร้อยละของหน่วยงานทีน่ ำ� แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสูก่ ารปฏิบตั แิ ละร้อยละของหน่วยงาน ที่น�ำแผนฯ ไปปฏิบัติอย่างสอดคล้อง 2. จ�ำนวนโครงการ และ/หรือ กิจกรรมที่ด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน 3. งบประมาณที่ใช้ในการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน 1. ร้อยละหน่วยงานทีน่ ำ� แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสูก่ ารปฏิบตั แิ ละร้อยละของหน่วยงาน ที่น�ำแผนฯ ไปปฏิบัติอย่างสอดคล้อง กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม ได้ตดิ ตามการปฏิบตั ติ ามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2552 – 2556 จากหน่วยงานน�ำร่อง 9,625 แห่ง ประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับ ส่วนกลาง (กระทรวง กรม) ส่วนภูมิภาค (75 จังหวัด) ส่วนท้องถิ่น (อบจ. เทศบาล อบต. กรุงเทพฯ และพัทยา) องค์กร ภาคเอกชน ภาคประชาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน องค์กรรัฐในรูปแบบใหม่สถาบันการศึกษาของรัฐ/เอกชน อาชีว ศึกษา องค์กรศาล องค์กรอื่น ๆ และองค์กรอิสระ

จ�ำนวนหน่วยงาน

7610 7600 7590

7599

7580 7570 7560

7557

7550 7540 7530

พ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

แผนภูมิ 1 การน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงาน

จากข้อมูลที่ได้รับจากการติดตามการปฏิบัติงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ในช่วงครึ่งหลัง ของแผน พบว่า ในปี พ.ศ. 2555 และในปี พ.ศ. 2556 จากหน่วยงานน�ำร่องจ�ำนวน 8,187 หน่วยงานของภาครัฐได้มี การน�ำแผนไปปฏิบตั คิ ดิ เป็นจ�ำนวน 7,557 หรือคิดเป็นร้อยละ 92.55 และ 7,599 หน่วยงานคิดเป็นร้อยละ 92.82 ตามล�ำดับ 1

จ�ำนวนหน่วยงานค�ำนวณจากผลรวมของจ�ำนวนหน่วยงานที่มีอยู่ในแต่ละจังหวัดที่รายงานมา

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 47


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

โดยแม้เป็นที่น่าสังเกตว่าหน่วยงานมีการน�ำแผนไปปฏิบัติที่กระจุกตัวอยู่ในช่วงปีสุดท้ายของแผน ส่วนต่างดังกล่าว ก็ไม่ได้แตกต่างกันมากอย่างมีนยั ส�ำคัญ และจ�ำนวนหน่วยงานทีไ่ ด้นำ� แผนไปปฏิบตั กิ เ็ พิม่ ขึน้ มากจากในช่วงแรกของแผน ซึ่งมีจ�ำนวนหน่วยงานน�ำร่องจ�ำนวน 9,625 หน่วยงาน ได้น�ำแผนไปปฏิบัติคิดเป็นจ�ำนวนเพียง 6,388 (ร้อยละ 66.4) 6,482 (ร้อยละ 67.3) และ 3,426 (ร้อยละ 35.6) หน่วยงานในปี พ.ศ. 2552 2553 และ 2554 ตามล�ำดับ

จ�ำนวนหน่วยงาน

7500 7450 7400 7350

7436

7300 7250

7193

7200 7150 7100 7050

พ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

แผนภูมิ 2 การน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ไปสู่การปฏิบัติอย่างสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงาน

ทัง้ นี้ จากการพิจารณาจ�ำนวนหน่วยงานทีส่ ามารถน�ำแผนฯ ไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงาน พบว่า มีจ�ำนวน 7,436 และ 7,193 หน่วยงานในปี พ.ศ. 2555 และ 2556 ตามล�ำดับ ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่าแม้ส่วนต่าง ของจ�ำนวนหน่วยงานทีส่ ามารถน�ำแผนไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างสอดคล้องจะไม่ได้มคี วามแตกต่างอย่างมีนยั ส�ำคัญ แต่ปี พ.ศ. 2555 ซึ่งมีจ�ำนวนหน่วยงานที่น�ำแผนไปปฏิบัติน้อยกว่า กลับมีจ�ำนวนหน่วยงานที่สามารถน�ำแผนไปปฏิบัติได้อย่างสอดคล้อง มากกว่า เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2556 โดยเมื่อเทียบไปร้อยละของหน่วยงานที่สามารถน�ำแผนไปปฏิบัติได้อย่างสอดคล้อง ต่อจ�ำนวนหน่วยงานทีไ่ ด้นำ� แผนไปปฏิบตั ใิ นแต่ละปี จะพบว่า มีสดั ส่วนทีส่ งู ถึงร้อยละ 92.55 ในปี พ.ศ. 2555 และลดลง เหลือร้อยละ 92.82 ในปี พ.ศ. 2556 และเมื่อได้เทียบกับสัดส่วนของหน่วยงานที่ได้น�ำแผนไปปฏิบัติอย่างสอดคล้อง ในช่วงครึ่งแรกของแผน ซึ่งเท่ากับร้อยละ 99.19 99.18 และ 99.04 ในปี พ.ศ. 2552 2553 และ 2554 ตามล�ำดับแล้ว จะเห็นได้ว่า สัดส่วนลดต�่ำลงอย่างเป็นที่น่าสังเกตในช่วงท้ายของแผน

หน้า 48

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

จ�ำนวนหน่วยงาน

99 98

98.4

97 96 95

94.66

94 93 92

พ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

แผนภูมิ 3 ร้อยละของการน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ไปปฏิบัติอย่างสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงาน

ทั้งนี้ รูปแบบข้างต้นอาจสะท้อนให้เห็นว่า หน่วยงานที่ได้น�ำแผนฯ ไปปฏิบัติในช่วงท้ายแผนฯ อาจไม่ได้มี การน�ำแผนฯ ไปปฏิบัติอย่างเข้าใจเท่าที่ควร หรืออาจขาดทรัพยากร และความมุ่งมั่นในการผลักดันแผนฯ ตลอดจน ภารกิจของหน่วยงานทีอ่ าจไม่ได้เป็นหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับแผนฯ โดยตรง แตกต่างจากหน่วยงานทีไ่ ด้นำ� แผนไปปฏิบตั ิ ตั้งแต่ช่วงแรกของแผนฯ ที่มักเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจที่เกี่ยวข้องกับแผนฯ โดยตรงซึ่งแม้จะมีจ�ำนวนหน่วยงานที่ได้น�ำ แผนฯ ไปปฏิบัติน้อย แต่ก็สามารถน�ำแผนฯ ไปปฏิบัติได้อย่างสอดคล้องกับภารกิจในสัดส่วนร้อยละที่สูงมากเกินกว่า ร้อยละ 99 ในทุกปีในช่วงครึ่งแรกของแผนฯ 2.2 จ�ำนวนโครงการ/กิจกรรมที่ด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน ในการประเมินในช่วงหลังของแผนฯ พบว่าสัดส่วนโครงการและกิจกรรมที่ด�ำเนินงานตามแผนฯ ในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2556 มีความแตกต่างกันเล็กน้อย โดยในช่วงปี พ.ศ. 2555 มีโครงการและกิจกรรมคิดเป็นร้อยละ 55 ของจ�ำนวนโครงการและกิจกรรมทั้งหมดในช่วงครึ่งหลังแผนฯ เทียบกับในช่วงปี พ.ศ. 2556 ซึ่งมีโครงการและกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 45

55%

45%

พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556

แผนภูมิ 4 สัดส่วนโครงการที่มีการด�ำเนินงาน จ�ำแนกตามปี พ.ศ. 2555 – 2556 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 49


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

35%

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4

39%

5% 21% แผนภูมิ 5 สัดส่วนโครงการที่มีการด�ำเนินงาน รวมทั้งปี พ.ศ. 2554 – 2555 จ�ำแนกตามยุทธศาสตร์

จากการจ�ำแนกประเภทของโครงการและกิจกรรมทัง้ สองปีรวมกัน จ�ำแนกตามแต่ละยุทธศาสตร์ พบว่า ในช่วง ครึ่งหลังแผน ยุทธศาสตร์ที่ 1 (ป้องกัน) คิดเป็นร้อยละสูงสุด คือร้อยละ 39 ตามด้วยยุทธศาสตร์ที่ 4 (พัฒนาเครือข่าย) ร้อยละ 35 ยุทธศาสตร์ที่ 2 (คุ้มครอง) ร้อยละ 21 และยุทธศาสตร์ที่ 3 (มาตรการ/กลไก/กฎหมาย) ในอันดับท้ายสุด ที่ร้อยละ 5 ซึ่งจากการเปรียบเทียบกับรูปแบบในช่วงครึ่งแรกของแผนฯ แล้ว พบว่า มีรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน คือ มีสดั ส่วนโครงการและกิจกรรมทีไ่ ด้ดำ� เนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 1 เป็นสัดส่วนสูงสุด และตามยุทธศาสตร์ที่ 4 เป็นสัดส่วน ต�่ำสุดเช่นกัน ทั้งนี้ จากการเปรียบเทียบรูปแบบของโครงการและกิจกรรมจ�ำแนกตามยุทธศาสตร์เทียบในปี พ.ศ. 2555 และ 2556 ต่างก็มีลักษณะคล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่า แม้โครงการและกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ที่ 3 จะมีนอ้ ยทีส่ ดุ ก็อาจเป็นเพราะธรรมชาติของกิจกรรมเกีย่ วข้องกับการออกมาตรการและกฎหมายทีแ่ ม้จะไม่มจี ำ� นวนมาก แต่ก็สามารถส่งผลกระทบที่ชัดเจนได้ไม่น้อยกว่ากิจกรรมที่ด�ำเนินตามยุทธศาสตร์อื่น ๆ

40%

5%

35%

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4

29% 5%

20%

43%

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4

24%

แผนภูมิ 6 สัดส่วนโครงการที่มีการด�ำเนินงานใน พ.ศ. 2555 และ 2556 จ�ำแนกตามยุทธศาสตร์

เมื่อพิจารณาจ�ำนวนโครงการจ�ำแนกตามยุทธศาสตร์ เปรียบเทียบกันในแต่ละปี พบว่า จ�ำนวนโครงการตาม ยุทธศาสตร์ที่ 1 อยู่ในระดับที่ไม่แตกต่างกันมาก คือ มีจ�ำนวนโครงการและกิจกรรม 1,509 และ 1,488 โครงการ ในปี พ.ศ. 2555 และ 2556 ตามล�ำดับ เทียบกับจ�ำนวนโครงการตามยุทธศาสตร์ที่ 2 ที่ระดับ 826 และ 835 โครงการ หน้า 50

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ในปี พ.ศ. 2555 และ 2556 ตามล�ำดับ จ�ำนวนโครงการตามยุทธศาสตร์ที่ 3 ทีร่ ะดับ 161 และ 214 โครงการในปี พ.ศ. 2555 และ 2556 ตามล�ำดับ และจ�ำนวนโครงการตามยุทธศาสตร์ท่ี 4 ทีร่ ะดับ 1,005 และ 1,695 โครงการในปี พ.ศ. 2555 และ 2556 ตามล�ำดับ ซึง่ เป็นทีน่ า่ สังเกตว่า มีเพียงจ�ำนวนโครงการตามยุทธศาสตร์ที่ 4 เพียงยุทธศาสตร์เดียวทีม่ คี วามแตกต่างกัน ในแต่ละปีค่อนข้างมาก โดยมีความแตกต่างกันเกือบ 700 โครงการ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการเร่งท�ำโครงการในช่วง ท้ายแผนฯ ซึง่ กระจุกตัวอยูใ่ นเรือ่ งการพัฒนาเครือข่ายทีค่ วรต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ่ งการประสิทธิภาพ ของการใช้งบประมาณที่อาจเป็นไปอย่างเร่งรัดและไม่เกิดผลตามเป้าหมายที่ได้ระบุไว้ในแผนฯ อย่างแท้จริง 1800 1600

1695 1509 1488

1400 1200

1005

1000

826 835

800 600 400

161 214

200 0

ยุทธศาสตร์ที่ 1

ยุทธศาสตร์ที่ 2

ยุทธศาสตร์ที่ 3

พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 ยุทธศาสตร์ที่ 4

แผนภูมิ 7 เปรียบเทียบจ�ำนวนโครงการตามยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2555 – 2556

จากการวิเคราะห์สดั ส่วนของโครงการจ�ำแนกตามประเด็นสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน รวมทัง้ ในปี พ.ศ. 2555 และ 2556 ซึ่งเป็นช่วงครึ่งหลังของแผน พบว่า งบประมาณเกินกว่าหนึ่งในสี่หรือประมาณร้อยละ 28 ใช้ไปกับด้าน กระบวนการยุติธรรม ตามด้วยด้านอาชีพและแรงงานซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17 ส่วนในด้านสาธารณสุข ทรัพยากร ธรรมชาติ ด้านทีอ่ ยูอ่ าศัย และด้านข้อมูลข่าวสารไม่แตกต่างกันมากนักและคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 10 โดยมีดา้ น สาธารณสุขและสิทธิชมุ ชนอยูใ่ นกลุม่ ต่อมาทีร่ ะดับประมาณร้อยละ 5 และ ในด้านสุดท้ายคือการเมืองการปกครอง และ เสรีภาพการสื่อสารที่ระดับน้อยมากคือเท่ากับหรือต�่ำกว่าร้อยละ 1 นอกจากนี้ เมื่อได้เปรียบเทียบลักษณะดังกล่าวจ�ำแนกตามปีก็จะเห็นได้ว่ามีลักษณะที่ไม่ต่างกันมาก โดยจะ มีเพียงจ�ำนวนโครงการที่เกี่ยวข้องกับด้านกระบวนการยุติธรรมที่มีความแตกต่างกันมากในปี พ.ศ. 2555 และ 2556 โดยมีสัดส่วนของโครงการในปี 2556 ที่เพิ่มขึ้นเกือบเป็นสองเท่าของจ�ำนวนโครงการในปี 2555

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 51


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 5%

6%

ด้านการศึกษา (6%) ด้านอาชีพและแรงงาน (17%) ด้านสาธารณสุข (12%) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ (11%) ด้านที่อยู่อาศัย (11%) ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร (11%) ด้านเสรีภาพการสื่อสาร (0%) ด้านการเมืองการปกครอง (1%) ด้านกระบวนการยุติธรรม (28%) ด้านสิทธิชุมชน (5%)

17% 28%

12% 1% 0% 11%

11% 11%

แผนภูมิ 8 สัดส่วนโครงการตามประเด็นสิทธิ รวมปี พ.ศ. 2555 – 2556

อย่างไรก็ตาม มีข้อควรสังเกตว่า สัดส่วนของโครงการจ�ำแนกตามประเด็นไม่อาจเป็นเครื่องบ่งชี้ที่สะท้อน การให้ความส�ำคัญกับสิทธิมนุษยชนในแต่ละมิตใิ นเชิงเปรียบเทียบได้เท่าทีค่ วร เนือ่ งจากบางโครงการแม้วา่ จะเป็นเพียง โครงการเดียวก็อาจเป็นโครงการใหญ่ที่ใช้งบประมาณสูงและส่งผลกระทบในวงกว้าง เช่น โครงการหลักประกันสุขภาพ ถ้วนหน้าทีแ่ ม้จะเป็นโครงการในประเด็นด้านสาธารณสุขเพียงโครงการเดียวก็นบั เป็นโครงการทีม่ ผี ลกระทบสูงในการช่วย ให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิในเรื่องหลักประกันสุขภาพ หรือในด้านเสรีภาพการสื่อสารและการเมืองการปกครอง หากเป็น มาตรการทางกฎหมายทีไ่ ด้บญ ั ญัตไิ ว้ชดั เจน ก็นบั ได้วา่ เป็นมาตรการทีม่ ผี ลกระทบสูงทีช่ ว่ ยรับรองสิทธิในประเด็นดังกล่าว เป็นต้น 170

96

27

35 11

พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

ด ด้าน ้านก อาช ารศึก ีพแ ษา ละ แร ด ด้าน ้านส งงาน ทร าธา ัพย ร ากร ณสุข ธรร มช ด้าน า ด การ ้านท ติฯ รับ ี่อยู่อ ร ด้าน ู้ข้อม าศัย เสร ูลข่าว ด้าน ีภาพก สารฯ การ ารส ื่อส เ ด้าน มืองก ารฯ กระ ารป บว กคร นก อง ารย ุต ด้าน ิธรรม สิท ธิช ุมช น

180 160 140 120 105 100 70 64 63 80 58 5556 60 32 37 42 40 3024 20 12 0

แผนภูมิ 9 เปรียบเทียบสัดส่วนโครงการจ�ำแนกตามประเด็นสิทธิ ระหว่างปี พ.ศ. 2555 – 2556 หน้า 52

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

จำ�นวนงบประมาณ (พันล้านบาท)

2.3 งบประมาณที่ใช้ในการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน จากการเปรียบเทียบงบประมาณที่ได้ใช้จ่ายในการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน แยกตามปีในช่วง ครึ่งหลังแผนฯ พบว่า มีความแตกต่างกันมากอย่างเห็นได้ชัด โดยในช่วงปี พ.ศ. 2555 มีการใช้งบประมาณถึงประมาณ สองแสนห้าพันล้านบาท เทียบกับงบประมาณในช่วงปี พ.ศ. 2556 ทีม่ กี ารใช้ไปเพียงประมาณหนึง่ หมืน่ สองพันล้านบาท

แผนภูมิ 10 เปรียบเทียบงบประมาณรวม ระหว่างปี พ.ศ. 2555 - 2556

จากลักษณะข้างต้น แสดงให้เห็นรูปแบบการใช้งบประมาณทีม่ กี ารกระจุกตัวค่อนข้างสูง ซึง่ เมือ่ พิจารณา จ�ำนวนโครงการและกิจกรรมในแต่ละปีซงึ่ ในปี พ.ศ. 2555 ซึง่ ไม่ตา่ งจากจ�ำนวนโครงการในปี พ.ศ. 2556 มากนัก แม้วา่ จะใช้งบประมาณสูงกว่าประกอบกันแล้ว จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า สัดส่วนงบประมาณต่อโครงการทีเ่ กิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2555 สูงกว่างบประมาณของโครงการในปี พ.ศ. 2556 มาก โดยในปี พ.ศ. 2555 งบประมาณต่อโครงการสูงถึงกว่า 71 ล้านบาท ต่อโครงการ เทียบกับในปี พ.ศ. 2556 ซึ่งมีงบประมาณต่อโครงการเพียง 2.88 ล้านบาท รูปแบบดังกล่าวจึงสนับสนุน ข้อวิเคราะห์ข้างต้นที่ว่า โครงการที่เกิดขึ้นในท้ายปีของแผนส่วนใหญ่เป็นเพียงโครงการขนาดเล็กที่เสมือนเป็นการเร่ง ใช้งบประมาณให้สอดคล้องกับแผนฯ และสุ่มเสี่ยงกับการใช้งบประมาณอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งส่วนใหญ่หมดไปกับ ยุทธศาสตร์ที่ 4 (การพัฒนาเครือข่าย) ซึ่งควรได้มีการเฝ้าระวังประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโครงการเป็นพิเศษ

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 53


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2

จำ�นวนงบประมาณ (พันล้านบาท)

(ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

แผนภูมิ 11 เปรียบเทียบงบประมาณเฉลี่ยต่อโครงการ พ.ศ. 2555 - 2556

2.4 สัดส่วนของกลยุทธ์ที่ได้ด�ำเนินการ จากการวิเคราะห์ลกั ษณะของสัดส่วนของโครงการและกิจกรรมทีไ่ ด้ดำ� เนินการในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2556 จ�ำแนกตามกลยุทธ์ พบว่า กลยุทธ์ที่ 1.1 คือ ส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและจิตส�ำนึกในการ ปกป้องสิทธิมนุษยชน มีการด�ำเนินการมากที่สุดในทั้งปี พ.ศ. 2555 และ 2556 และยังเป็นกลยุทธ์ที่ได้มีการด�ำเนินการ มากที่สุดในช่วงครึ่งแรกของแผนฯ ส่วนกลยุทธ์ที่ 4.2 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการท�ำงานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เป็นกลยุทธ์ที่มีการด�ำเนินการน้อยที่สุดในทั้งสองปี ในช่วงครึ่งแผนหลัง จากการเปรียบเทียบโครงการและกิจกรรมในแต่ละปี พบว่า แทบทุกกลยุทธ์มกี ารเพิม่ ขึน้ ของจ�ำนวน โครงการและกิจกรรม ยกเว้น กลยุทธ์ที่ 1.2 และ 2.3 คือ สนับสนุนการเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชน และสนับสนุน ให้ผถู้ กู ละเมิดสิทธิได้รบั สิทธิประโยชน์จากการฟืน้ ฟูและเยียวยาอย่างเหมาะสม ตามล�ำดับ ทัง้ นี้ กลยุทธ์ทมี่ กี ารเพิม่ ขึน้ ของ จ�ำนวนโครงการและกิจกรรมมากที่สุดระหว่างปี พ.ศ. 2555 – 2556 ในช่วงครึ่งแผนหลัง ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 4.1 พัฒนา ระบบบริหารจัดการองค์การเครือข่ายสิทธิมนุษยชนทุกภาคส่วน มีการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนโครงการและกิจกรรมเท่ากับ 181 โครงการ/กิจกรรม ส่วนกลยุทธ์ที่มีการเพิ่มขึ้นน้อยลงที่สุดได้แก่ กลยุทธ์ที่ 4.2 ซึ่งมีการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนโครงการ และกิจกรรมเท่ากับ 15 โครงการ/กิจกรรม เมื่อพิจารณาร้อยละของการเปลี่ยนแปลง พบว่า กลยุทธ์ที่ 4.5 ส่งเสริม การใช้อ�ำนาจที่ถูกต้องเหมาะสมของเจ้าหน้าที่รัฐ มีการเพิ่มขึ้นในอัตราสูงสุดที่ร้อยละ 213.73 และกลยุทธ์ที่ 1.1 มีการ เพิ่มขึ้นในอัตราต�่ำสุดที่ร้อยละ 5.19 หน้า 54

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ร้อยละ 5.19 -13.69 18.21 -39.75 32.92 125.69 60.00 120.00 39.30 213.73 58.64 36.19 51.92

เพิ่มขึ้น/ลดลง ปี 2556 51 1034 -72 454 106 688 -97 147 53 214 181 325 15 40 24 44 123 436 109 160 173 468 38 143 27 79

ปี 2555 983 526 582 244 161 144 25 20 313 51 295 105 52

กลยุทธ์ที่ 1.1 กลยุทธ์ที่ 1.2 กลยุทธ์ที่ 2.1 ,2. 2 กลยุทธ์ที่ 2.3 กลยุทธ์ที่ 3.1 กลยุทธ์ที่ 4.1 กลยุทธ์ที่ 4.2 กลยุทธ์ที่ 4.3 กลยุทธ์ที่ 4.4 กลยุทธ์ที่ 4.5 กลยุทธ์ที่ 4.6 กลยุทธ์ที่ 4.7 กลยุทธ์ที่ 4.8

ตารางที่ 1 จ�ำนวนและการเปลี่ยนแปลงของโครงการและกิจกรรมจ�ำแนกตามกลยุทธ์ พ.ศ. 2555 – 2556

2.5 ปัญหาในการด�ำเนินงาน/ข้อเสนอแนะ โดยทัว่ ไปแล้ว จ�ำนวนหน่วยงานทีไ่ ด้นำ� แผนไปปฏิบตั ใิ นช่วงครึง่ หลังของแผนมีจำ� นวนสูงขึน้ มากกว่า จ�ำนวนหน่วยงานทีไ่ ด้นำ� แผนไปปฏิบตั ใิ นช่วงแรกของแผน กล่าวคือ มีการเพิม่ ขึน้ จาก 6,388 6,482 3,426 ในช่วงปี พ.ศ. 2552 2553 และ 2554 ตามล�ำดับซึ่งเป็นช่วงครึ่งแรกของแผนเป็น 7,557 และ 7,599 ในปีพ.ศ. 2555 และ 2556 ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม ปัญหาในการด�ำเนินงานของหน่วยงานโดยทั่วไปในครึ่งหลังยังคงมีลักษณะคล้ายคลึงกับปัญหาที่พบจาก การประเมินในช่วงครึง่ แรกของแผน คือ จ�ำนวนของหน่วยงานทีน่ ำ� แผนไปปฏิบตั ไิ ม่สม�ำ่ เสมอในแต่ละปี โดยจะเพิม่ ขึน้ มาก ในช่วงปีสดุ ท้ายก่อนการสิน้ สุดแผน ซึง่ อาจชีใ้ ห้เห็นว่า หน่วยงานบางแห่งไม่มคี วามรู้ ความเข้าใจ หรือแม้กระทัง่ ความต้องการ ที่จะน�ำแผนไปปฏิบัติอย่างจริงจัง นอกจากนี้ การเร่งรัดด�ำเนินโครงการในช่วงท้ายปีของแผนยังอาจเป็นสาเหตุส�ำคัญ ทีท่ ำ� ให้การใช้งบประมาณเป็นไปอย่างไม่มปี ระสิทธิภาพ หรือผลสัมฤทธิท์ เี่ กิดขึน้ จากการด�ำเนินโครงการเกิดขึน้ ภายหลัง จากทีแ่ ผนได้สน้ิ สุดลงนานแล้ว จึงไม่สามารถสรุปได้อย่างชัดเจนว่าความส�ำเร็จหรือปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เป็นผลมาจากปัจจัยใด อย่างไรก็ดจี ากลักษณะของการด�ำเนินโครงการและกิจกรรมซึง่ มีความโน้มเอียงไปยุทธศาสตร์ ประเด็น สิทธิมนุษยชน และกลยุทธ์ อันใดอันหนึ่งค่อนข้างมากนั้น อาจไม่จัดว่าเป็นปัญหาในการด�ำเนินงานเสมอไป เนื่องจาก เป็นไปได้วา ่ ประเด็นสิทธิมนุษยชนในบางเรือ่ ง เช่น การสาธารณสุข มีความเข้มแข็งอยูแ่ ล้ว จึงไม่ใช่ประเด็นส�ำคัญเร่งด่วน ที่จะต้องจัดท�ำโครงการ/กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา แนวทางการก�ำกับและประเมินการน�ำแผนไปปฏิบัติของหน่วยงาน ที่เหมาะสมจึงไม่ควรจ�ำกัดอยู่แต่เพียงการพิจารณาดัชนีในเชิงปริมาณ เช่น จ�ำนวนหน่วยงานที่น�ำแผนไปปฏิบัติ หรือ จ�ำนวนโครงการและกิจกรรม เท่านั้น หากยังควรต้องพิจารณาแนวทางการประเมินในเชิงคุณภาพ (Qualitative assessment) ที่น่าจะสะท้อนสภาพปัญหาได้ชัดเจนและถูกต้องยิ่งขึ้น คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 55


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ส่วนที่ 3 การบรรลุตามตัวชี้วัดของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 จ�ำนวน 27 ตัวชี้วัด ผลการประเมินการบรรลุตามตัวชีว้ ดั แผนยุทธศาสตร์สทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ช่วงครึง่ แผน พ.ศ. 2552 – 2554 ดังนี้ 3.1 สรุปภาพรวมการบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัดในแต่ละยุทธศาสตร์ 3.2 ผลการประเมินรายตัวชี้วัด และรายงานผลการพัฒนา 3.1 สรุปภาพรวมผลการประมินการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ตาราง 4.2 แสดงภาพรวมผลการบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดในแต่ละยุทธศาสตร์ การบรรลุ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 1 ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อให้เกิดความเสมอภาคตามความเป็นจริงนอกเหนือจาก ความเสมอภาคทางกฎหมาย บรรลุเป้าหมาย 2 ตัวชี้วัด ยังไม่บรรลุเป้าหมาย 2 ตัวชี้วัด 1. สัดส่วนของคนที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 ไม่บรรลุ (จ�ำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย) เป้าหมาย 2. ข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้านในเรื่องเดิมลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 ไม่บรรลุ (จ�ำแนกตามกลุ่มเป้าหมายและข้อร้องเรียน) เป้าหมาย 3. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการเรียนรู้สิทธิมนุษยชน บรรลุ มีความตระหนักและจิตส�ำนึกในการปกป้องสิทธิมนุษยชนตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด เป้าหมาย 4. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังสามารถน�ำข่าวสาร บรรลุ จากช่องทางการ เฝ้าระวังต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ 2 คุ้มครองสิทธิมนุษยชนในทุกกลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน บรรลุเป้าหมาย 1 ตัวชี้วัด ยังไม่บรรลุเป้าหมาย 5 ตัวชี้วัด 5. ร้อยละของประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 ไม่บรรลุ เป้าหมาย 6. สัดส่วนของผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและ ไม่บรรลุ เยียวยาเพิ่มขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2556 เป้าหมาย 7. ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของผู้ร้องเรียนในแต่ละด้าน ไม่บรรลุ เป้าหมาย 8. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านที่ได้รับสิทธิประโยชน์ ไม่บรรลุ จากการปกป้องและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ เป้าหมาย 9. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่จัดสภาพแวดล้อมให้กลุ่มเป้าหมาย บรรลุ เข้าถึงและใช้ประโยชน์ (จ�ำแนกตามสิทธิประโยชน์ที่พึงได้ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด) เป้าหมาย ตัวชี้วัด

หน้า 56

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

การบรรลุ เป้าหมาย 10. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา ไม่บรรลุ (จ�ำแนกตามสิทธิประโยชน์ที่พึงได้ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด) เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนากฎหมายและกลไกทางกฎหมาย รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน บรรลุเป้าหมาย 2 ตัวชี้วัด 11. สัดส่วนของกรณีการละเมิดที่ลดลงอันเนื่องมาจากการออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมายและ ไม่มีข้อมูล การบังคับใช้กฎหมายภายในปี พ.ศ. 2556 12. จ�ำนวนกฎหมายเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา บรรลุ เป้าหมาย 13. ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของหน่วยงานที่ได้รับการร้องเรียนเกี่ยวกับการละเว้นการบังคับใช้ บรรลุ กฎหมายให้ทั่วถึงและเป็นธรรม เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ 4 พัฒนาองค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มีศักยภาพในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ให้มีความเข้มแข็งในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและพัฒนาไปสู่มาตรฐานสากล บรรลุเป้าหมาย 9 ตัวชี้วัด ยังไม่บรรลุเป้าหมาย 5 ตัวชี้วัด 14. ระดับของภาพลักษณ์ขององค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนเพิ่มขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2556 บรรลุ เป้าหมาย 15. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีขององค์กรเครือข่ายที่สามารถให้บริการส่งเสริมและ บรรลุ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด เป้าหมาย 16. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของพื้นที่ที่องค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนมีส่วนร่วม บรรลุ ในการด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านร่วมกัน เป้าหมาย 17. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของผลงานวิจัยองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนได้น�ำไปใช้ในการส่งเสริม ไม่บรรลุ และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เป้าหมาย 18. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของบทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน บรรลุ ได้น�ำไปใช้ในการปรับแผนยุทธศาสตร์สิทธิมนุษยชน เป้าหมาย 19. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของเครือข่ายที่น�ำบทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและ บรรลุ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนไปถ่ายทอด เป้าหมาย 20. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของบุคลากรขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภาครัฐมีสมรรถนะ ไม่บรรลุ ในการปฏิบัติภารกิจตามหน้าที่และความรับผิดชอบในการให้บริการการป้องกัน เป้าหมาย และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 21. ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน บรรลุ ในแต่ละด้าน เป้าหมาย ตัวชี้วัด

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 57


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัด 22. ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของหน่วยงานที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในแต่ละด้าน 23. ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อร้องเรียนที่เกิดจากการเลือกปฏิบัติของบุคลากรในองค์กรภาครัฐ 24. ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อร้องทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับการขาดจริยธรรมของผู้บริหาร ในองค์กรภาครัฐ 25. สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี 26. ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติ ตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ 27. ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มีต่อ หน่วยงานในประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน ที่ปรากฏในรายงานต่อรัฐสภา

การบรรลุ เป้าหมาย บรรลุ เป้าหมาย ไม่บรรลุ เป้าหมาย บรรลุ เป้าหมาย บรรลุ เป้าหมาย ไม่บรรลุ เป้าหมาย ไม่บรรลุ เป้าหมาย

สรุปได้ว่า ในการด�ำเนินงานขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ช่วงครึ่งหลังของแผนยังไม่บรรลุ เป้าหมายในทุกยุทธศาสตร์ เมือ่ พิจารณารายยุทธศาสตร์ พบว่า ยุทธศาสตร์ทมี่ ผี ลการด�ำเนินงานบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั น้อยที่สุดคือ ยุทธศาสตร์ 2 คุ้มครองสิทธิมนุษยชนในทุกกลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน 3.2. ผลการประเมินรายตัวชี้วัด ตัวชีว้ ดั ที่ 1 สัดส่วนของคนทีม่ โี อกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 (จ�ำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย) หน่วยวัดคือสัดส่วนข้อร้องเรียน ค�ำอธิบาย : สัดส่วนของคนที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง จ�ำนวนข้อร้องเรียนของ ผู้ที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละกลุ่มเป้าหมายและแต่ละด้าน เปรียบเทียบกับจ�ำนวน ทั้งหมดของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย สัดส่วนของผู้ที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน =

จ�ำนวนข้อร้องเรียน จ�ำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย

เกณฑ์การประเมิน : เปรียบเทียบสัดส่วนผูท้ มี่ โี อกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านต่าง ๆ ของทุกกลุม่ เป้าหมาย ในแต่ละปี หากสัดส่วน ลดลงในทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกด้าน แสดงว่า บรรลุผลตามตัวชี้วัด

หน้า 58

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตาราง 4.3 แสดงผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 1: สัดส่วนของคนที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน กลุ่มเป้าหมาย 1. เด็ก/เยาวชน 2. สตรี 3. คนชรา/ผู้สูงอายุ 4. คนพิการ 5. ผู้ป่วย 6. ผู้ติดเชื้อ เอดส์ HIV 7. กลุ่มชาติพันธ์ุ 8. แรงงานต่างด้าว 9. คนจน 10. เกษตรกร 11. ผู้ต้องหา/ผู้ต้องขัง 12. ผู้พ้นโทษ 13. ผู้เสียหายในคดีอาญา 14. ผู้ใช้แรงงาน 15. ผู้บริโภค 16. ผู้ใช้ที่ดิน/ชุมชน 17. คนไร้ที่อยู่ 18. กลุ่มอื่น ๆ/ไม่ระบุ 19. ผู้รับบริการจากรัฐ/ปชช. รวม จ�ำนวนเรื่องร้องเรียนของกลุ่มเป้าหมาย

จ�ำนวนเรื่องร้องเรียน ปีงบประมาณ จ�ำนวน ปี 2555 จ�ำนวน ปี 2556 เทียบกับปี 55 รวม รวม สัดส่วนที่แตกต่าง 60 76 +0.27 65 72 +0.11 38 52 +0.37 30 52 +0.73 35 24 -0.31 14 18 +0.29 29 19 -0.34 41 21 -0.49 29 42 +0.45 41 54 +0.32 122 141 +0.16 6 5 -0.17 112 106 -0.05 43 49 +0.14 53 95 +0.79 111 154 +0.39 14 24 +0.71 108 228 +1.11 139 52 -0.63 1,081 1,284 เพิ่มขึ้นร้อยละ 19 หรือเพิ่มขึ้น 0.19

ที่มาข้อมูล: รายงานการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ของหน่วยงาน ปี 2555 – 2556 ส�ำนักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 20 มิถุนายน 2557, ศอ.บต. 18 มิถุนายน 2557 หมายเหตุ เครื่องหมาย + แสดงสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น ***ข้อสังเกต ไม่มีการเก็บข้อมูลการละเมิดของแต่ละด้านและของแต่ละกลุ่มเป้าหมายเป็นเรื่องได้ ต้องใช้ข้อมูลในภาพรวม***

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 59


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้ว่า ในภาพรวมสัดส่วนของผู้มีโอกาสถูกละเมิดซึ่งพิจารณาจากจ�ำนวนข้อร้องเรียน ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 19 เมื่อเทียบกับปี 2555 และเมื่อพิจารณารายกลุ่มผู้มีโอกาสถูกละเมิด พบว่า กลุ่มที่มีสัดส่วนการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนลดลง ได้แก่ กลุ่มผู้ผู้ป่วย กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มแรงงานต่างด้าว กลุ่มผู้พ้นโทษ และผู้เสียหายในคดีอาญา กลุ่มที่สัดส่วนของข้อร้องเรียนเพิ่มขึ้น ได้แก่ กลุ่มเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วย HIV/AIDS ผู้ใช้แรงงาน คนจน เกษตรกร ผู้ต้องหา ผู้ต้องขัง และผู้บริโภค ซึ่งต้องมีการด�ำเนินการให้ความส�ำคัญในการป้องกันการถูกละเมิด อย่างจริงจังต่อไป สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 1 ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 2 ข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้านในเรื่องเดิมลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 (จ�ำแนกตาม กลุ่มเป้าหมายและ ข้อร้องเรียน) หน่วยวัด คือ สัดส่วนข้อร้องเรียน อัตราส่วนของการร้องเรียนเรื่องเดิม = จ�ำนวนข้อร้องเรียนในปีปัจจุบัน – จ�ำนวนข้อร้องเรียนเรื่องนั้นในปีที่ผ่านมา จ�ำนวนข้อร้องเรียนเรื่องนั้นในปีที่ผ่านมา เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด อัตราส่วนข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้านในเรื่องเดิมลดลงทุกปี ตาราง 4.4 แสดงผลการประเมินตัวชี้วัดที่ 2 ข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้านในเรื่องเดิม ด้าน 1. สิทธิในการศึกษา เสรีภาพในการถือศาสนา 2. สิทธิแรงงานเสรีภาพในการประกอบอาชีพ 3. สิทธิทางสาธารณสุข 4. สิทธิด้านทรัพยากร สิทธิในการจัดการที่ดิน 5. สิทธิในที่อยู่อาศัย 6. การได้รับข้อมูลข่าวสาร 7. สิทธิในการสื่อสาร สิทธิของผู้บริโภค 8. สิทธิในกระบวนการปกครอง/สิทธิทางการเมือง/การปฏิบัติไม่เป็นธรรม 9. สิทธิในกระบวนการยุติธรรม 10. สิทธิชุมชน 11. สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล/สิทธิในชีวิต/สิทธิในทรัพย์สิน 12. ไม่ระบุ รวมข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชน ผลจ�ำนวนข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชน ลดลงร้อยละ 11

จ�ำนวนเรื่องร้องเรียน ปีงบประมาณ 2555 2556 สัดส่วนที่แตกต่าง 52 34 -0.35 85 134 +0.58 77 70 -0.09 75 137 +0.83 22 84 +2.82 661 575 -0.13 9220 7884 -0.14 117 128 +0.09 288 348 +0.21 80 107 +0.34 143 134 -0.07 102 115 +0.13 10922 9750 -0.11

ที่มาข้อมูล: รายงานการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ของหน่วยงาน ปี 2555 – 2556 ส�ำนักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 20 มิถุนายน 2557 ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ศอ.บต.

หมายเหตุ เครื่องหมาย + แสดงสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น หน้า 60

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ผลการด�ำเนินงาน เนื่องจากข้อมูลการร้องเรียนที่รวบรวมได้จากหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ได้มีการระบุเรื่องร้องเรียนไว้จึงไม่สามารถ เปรียบเทียบการร้องเรียนในเรื่องเดิมได้ ต้องใช้จ�ำนวนข้อร้องเรียนในแต่ละด้าน อย่างไรก็ตามจากตารางจะเห็นได้ว่า ในภาพรวม สัดส่วนของข้อร้องเรียนในปี 2556 ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2556 และเมื่อพิจารณาพัฒนาการของจ�ำนวน ข้อร้องเรียนรายด้านได้ดังนี้ ด้านที่มีข้อร้องเรียนลดลง ได้แก่ ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนาและการเรียนรู้ ด้านสาธารณสุข และด้าน เสรีภาพการสื่อสาร ด้านทีม่ ขี อ้ ร้องเรียนเพิม่ ขึน้ ได้แก่ ด้านอาชีพและแรงงาน ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ด้านทีอ่ ยูอ่ าศัย ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านสิทธิชุมชน และด้านการเมืองการปกครอง สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 2 ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนมีความตระหนัก และจิตส�ำนึกในการปกป้องสิทธิมนุษยชนตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด หน่วยวัดคือร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ร้อยละที่เพิ่มขึ้นฯ = (จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล/ผ่านการอบรม ในปีนั้น – จ�ำนวนในปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์/ผ่านการอบรมในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการเรียนรู้มีร้อยละเพิ่มขึ้นทุกปี ตาราง 4.5 แสดงร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการเรียนรู้สิทธิมนุษยชน

จำ�นวนคนผ่านการอบรมสัมมนา ประเด็นสิทธิมนุษยชน

2555 3,347,174

ปีงบประมาณ 2556 7,226,318

ผลต่าง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 115.9

ที่มาข้อมูล: รายงานการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ของหน่วยงาน ปี 2555 – 2556

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้ว่า ในภาพรวมจ�ำนวนประชาชนที่ได้ผ่านการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนด้าน ต่าง ๆ ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 116 เมื่อเทียบกับ ปี 2555 และมีขอ้ สังเกตว่า ข้อมูลทีไ่ ด้ยงั ไม่สะท้อนตัวชีว้ ดั ทีม่ งุ่ เน้นความตระหนักและจิตส�ำนึกของประชาชนได้ชดั เจน เนื่องจากไม่มีการประเมินความส�ำเร็จของการจัดอบรมให้ความรู้ เป็นเพียงการนับจ�ำนวนผู้เข้าร่วมโครงการให้ความรู้ เท่านั้น สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 3 บรรลุเป้าหมาย

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 61


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังสามารถน�ำข่าวสารจาก ช่องทางการ เฝ้าระวังต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน หน่วยวัดคือร้อยละ ร้อยละที่เพิ่มขึ้น =

(จ�ำนวนเครือข่ายที่มีการท�ำกิจกรรมเฝ้าระวังในปีนั้น – จ�ำนวนในปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนเครือข่ายที่มีการท�ำกิจกรรมในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั มีรอ้ ยละของเครือข่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับการเฝ้าระวังสามารถน�ำข่าวสารจากช่องทาง การเฝ้าระวังต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เพิ่มขึ้นทุกปี ตาราง 4.6 แสดงจ�ำนวนของเครือข่ายฯที่ด�ำเนินการฯ หน่วยงาน รวมจ�ำนวนเครือข่ายที่มีการท�ำกิจกรรมเฝ้าระวัง

2555 198

ปีงบประมาณ 2556 ผลต่าง 311 เพิ่มขึ้นร้อยละ 57.1

ที่มาข้อมูล: รายงานการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 ของหน่วยงาน ปี 2555 - 2556 ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา ่ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2556 เครือข่ายสิทธิมนุษยชนทีไ่ ด้ดำ� เนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 57 เมื่อเทียบกับปี 2555 สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 4 บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 หน่วยวัด : ร้อยละ เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละของประชาชนที่ถูกละเมิดฯ ลดลงทุกด้าน ทุกปี หรือมีจ�ำนวน เป็น 0 ตาราง 4.7 แสดงจ�ำนวนข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้าน ประเด็น 1. สิทธิในการศึกษา เสรีภาพในการถือศาสนา 2. สิทธิแรงงาน เสรีภาพในการประกอบอาชีพ หน้า 62

จ�ำนวนเรื่องร้องเรียน ปีงบประมาณ 2555 2556 เทียบกับปี 2555 จ�ำนวน จ�ำนวน ผล 58 44 -0.24 1,379 1,106 -0.20

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ประเด็น 3. สิทธิทางสาธารณสุข 4. สิทธิด้านทรัพยากร 5. สิทธิในที่อยู่อาศัย/สิทธิในการจัดการที่ดิน 6. การได้รับข้อมูล 7. สิทธิในการสื่อสาร สิทธิของผู้บริโภค 8. สิทธิในกระบวนการปกครอง/สิทธิทางการเมือง 9. สิทธิในกระบวนการยุติธรรม 10. สิทธิชุมชน 11. สังคม 11. ไม่ระบุ รวมจ�ำนวนเรื่องร้องเรียน

จ�ำนวนเรื่องร้องเรียน ปีงบประมาณ 2555 2556 เทียบกับปี 2555 จ�ำนวน จ�ำนวน ผล 1,175 983 -0.16 181 206 +0.14 1,609 1,434 -0.11 42 63 +0.50 1 2 +1.00 2 7 +2.50 96 170 +0.77 11 35 +2.18 10,900 9,639 -0.12 81 99 +0.22 15,535 13,788 ลดลงร้อยละ 11

ที่มาข้อมูล: รายงานของหน่วยงาน ส�ำนักปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา ่ ในภาพรวม ข้อร้องเรียนของประชาชนในปี 2556 ลดลงร้อยละ 11 เมือ่ เทียบกับปี 2555 เมื่อพิจารณาพัฒนาการของจ�ำนวนข้อร้องเรียนรายด้านได้ดังนี้ ด้านที่มีข้อร้องเรียนลดลง ได้แก่ ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนาและการเรียนรู้ ด้านอาชีพและแรงงาน ด้านสาธารณสุข และด้านที่อยู่อาศัย ด้านที่มีข้อร้องเรียนเพิ่มขึ้น ได้แก่ ด้านการเมืองการปกครอง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านเสรีภาพการสื่อสารและสื่อมวลชน ด้านกระบวนการยุติธรรม และ ด้านสิทธิชุมชน สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 5 ไม่บรรลุเป้าหมาย

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 63


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชีว้ ดั ที่ 6 สัดส่วนของผูถ้ กู ละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์จากการฟืน้ ฟูและเยียวยา เพิ่มขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2556 ตาราง 4.8 แสดงจ�ำนวนผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา จำ�นวน (สัดส่วน) ปีงบประมาณ หน่วยงาน

2555 ร้องขอ/ได้รับ

2556 สัดส่วน ได้รับ

ผลต่าง สัดส่วน ร้องขอ/ได้รับ เทียบกับ ได้รับ 55 187,820/148,583 0.79 -0.20

62,005,925/ 0.99 61,990,899 ภูมิภาค (จังหวัด อบจ. เทศบาล) ภาคเหนือ 1548/1,437 0.93 17,871/17,583 ภาคกลาง 39,406/34,612 0.88 20,150/6,689 ภาคอีสาน 4,527/4,459 0.98 3,075/2,909 ภาคใต้ 1,672/1,594 0.95 1696/1313 กรุงเทพมหานคร 523,677/523,677 1 196/161 ศาล องค์กรอืน่ องค์กรอิสระ 82/82 1 10,617/843 สถาบันการศึกษา ใน กทม. 1,694/33 0.02 66/64 รวม 62,578,531/62,556,793 0.999 241,491/178,145 สัดส่วนผู้ถูกละเมิดได้รับสิทธิประโยชน์การฟื้นฟูเยียวยา ลดลง 0.26 กระทรวง/กรม

0.98 +0.05 0.33 -0.55 0.95 -0.03 0.77 -0.18 0.82 -0.18 0.08 -0.92 0.97 +0.95 0.738 ลดลง 0.26

ผลการด�ำเนินงาน พบว่าในปีงบประมาณ 2556 ผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูเยียวยา มีสัดส่วนลดลง 0.26 หรือลดลงร้อยละ 26 สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 6 ไม่บรรลุเป้าหมาย

หน้า 64

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของผู้ร้องเรียนในแต่ละด้าน ตาราง 4.9 แสดงจ�ำนวนข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้าน ประเด็น 1. สิทธิในการศึกษา เสรีภาพในการถือศาสนา 2. สิทธิแรงงาน เสรีภาพในการประกอบอาชีพ 3. สิทธิทางสาธารณสุข 4. สิทธิด้านทรัพยากร 5. สิทธิในที่อยู่อาศัย สิทธิในการจัดการที่ดิน 6. การได้รับข้อมูล 7. สิทธิในการสื่อสาร สิทธิของผู้บริโภค 8. สิทธิในกระบวนการปกครอง/สิทธิทางการเมือง 9. สิทธิในกระบวนการยุติธรรม 10. สิทธิชุมชน 11. สังคม 11. ไม่ระบุ รวมจำ�นวนเรื่องร้องเรียน

จำ�นวนเรื่องร้องเรียน ปีงบประมาณ 2555 2556 เทียบกับปี 2555 จำ�นวน จำ�นวน ผลต่าง 58 44 -0.24 1,379 1,106 -0.20 1,175 983 -0.16 181 206 +0.14 1,609 1,434 -0.11 42 63 +0.50 1 2 +1.00 2 7 +2.50 96 170 +0.77 11 35 +2.18 10,900 9,639 -0.12 81 99 +0.22 15,535 13,788 ลดลงร้อยละ 11

ที่มาข้อมูล: รายงานของหน่วยงาน ส�ำนักปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา ่ ในภาพรวม ข้อร้องเรียนของประชาชนในปี 2556 ลดลงร้อยละ 11 เมือ่ เทียบกับปี 2555 เมื่อพิจารณาพัฒนาการของจ�ำนวนข้อร้องเรียนรายด้านได้ดังนี้ ด้านที่มีข้อร้องเรียนลดลง ได้แก่ ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนาและการเรียนรู้ ด้านอาชีพและแรงงาน ด้านสาธารณสุข และด้านที่อยู่อาศัย ด้านที่มีข้อร้องเรียนเพิ่มขึ้น ได้แก่ ด้านการเมืองการปกครอง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านเสรีภาพการสื่อสารและสื่อมวลชน ด้านกระบวนการยุติธรรม และด้านสิทธิชุมชน สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 7 ไม่บรรลุเป้าหมาย

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 65


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชีว้ ดั ที่ 8 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของผูถ้ กู ละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์จาก การปกป้องและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ ตาราง 4.10 แสดงจ�ำนวนกิจกรรม/โครงการทีจ่ ดั ให้ผถู้ กู ละเมิดทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์จากการปกป้อง และแก้ไขปัญหา

2555 จำ�นวนกิจกรรม/โครงการ/การดำ�เนินการแก้ไข ป้องกันปัญหาสิทธิมนุษยชน 7,092 รวมผู้ถูกละเมิดได้รับการปกป้องแก้ไขปัญหา ลดลง ร้อยละ 3

ปีงบประมาณ 2556

สัดส่วนผลต่าง

6,903

-0.03

ที่มาข้อมูล: รายงานของหน่วยงาน

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา ่ ในปีงบประมาณ 2556 มีจำ� นวนหน่วยงานองค์กรเครือข่ายทีไ่ ด้ดำ� เนินการจัดกิจกรรม หรือโครงการที่เป็นการเอื้อให้ผู้ถูกละเมิดได้รับสิทธิประโยชน์ในการปกป้องแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ ลดลงร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปี 2555 แต่หากพิจารณาเทียบกับช่วงครึ่งแรกของแผน พบว่า มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นมาก สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 8 ไม่บรรลุเป้าหมายแต่มีพัฒนาขึ้นจากช่วงแรกปี 2552 – 2554 ตัวชีว้ ดั ที่ 9 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีจ่ ดั สภาพแวดล้อมให้กลุม่ เป้าหมาย เข้าถึงและใช้ประโยชน์ ตาราง 4.11 แสดงจ�ำนวนหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่จัดสภาพแวดล้อมให้กลุ่มเป้าหมายฯ การจัดสภาพแวดล้อม รวมหน่วยงานที่มีการจัดสภาพแวดล้อม

2555 จำ�นวน 12

ปีงบประมาณ 2556 เทียบกับ 2555 จำ�นวน ผลต่าง 21 เพิ่มขึ้นร้อยละ75

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา่ ในภาพรวมปีงบประมาณ 2556 หน่วยงานองค์การเครือข่ายมีการด�ำเนินการจัดสภาพ แวดล้อมให้กลุม่ เป้าหมายทีม่ โี อกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนได้เข้าถึงและใช้ประโยชน์ จ�ำนวนเพิม่ ขึน้ อย่างมากถึงร้อยละ 75 เมื่อเทียบกับปี 2555 รูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ได้แก่ การจัดทางลาด การจราจร ให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุ เป็นต้น สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 9 บรรลุเป้าหมาย หน้า 66

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา (จ�ำแนกตามสิทธิประโยชน์ที่พึงได้ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด) หน่วยวัด เป็น ร้อยละ สูตรการค�ำนวณ : ร้อยละของผู้ถูกละเมิดฯที่ได้รับสิทธิประโยชน์ฯ = จำ�นวนผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์/ฟื้นฟูและเยียวยา X 100 จำ�นวนผู้ถูกละเมิดสิทธิทั้งหมดที่ยื่นคำ�ร้องขอ เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ถูกละเมิดฯที่ได้รับสิทธิประโยชน์ฯเพิ่มขึ้นทุกปี เงื่อนไข : (ถ้ามี) จ�ำนวนผู้ถูกละเมิดคิดเฉพาะผู้ที่ยื่นค�ำร้องขอรับสิทธิประโยชน์เพื่อการฟื้นฟูและเยียวยา ตาราง 4.12 แสดงจ�ำนวนผูถ้ ูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา จำ�นวนของผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์ ปีงบประมาณ หน่วยงาน 2555 2556 ผลต่าง ขอ/ได้รับ ร้อยละ ขอ/ได้รับ ร้อยละ กระทรวง/กรม 62,005,925 /61,990,899 98 148,583/134149 90.3 -7.7 ภูมิภาค (จังหวัด อบจ เทศบาล) ภาคกลาง 39,406 / 34,612 87.8 20150/7689 38.2 -49.6 ภาคอีสาน 4,527 / 4,459 98.5 3075/2909 94.6 -3.9 ภาคใต้ 1,672/1594 95.3 1696/1313 77.4 -17.9 ภาคเหนือ 1548/1437 92.8 17871/17588 98.4 +5.6 กรุงเทพมหานคร 523,677/523,677 100 196/161 82.1 -17.9 ศาล องค์กรอื่น องค์กรอิสระ 82/82 100 10617/843 7.9 -92.1 สถาบันการศึกษาใน กทม. 1694/33 1.95 66/64 97.0 +95 ลดลง รวม 62,578,531/62,556,713 99.97 186,224/164,716 88.4 ร้อยละ 12 จำ�นวนผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา ลดลง ร้อยละ 12 ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา ่ ในภาพรวมปีงบประมาณ 2555 – 2556 จ�ำนวนผูถ้ กู ละเมิดทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์จาก การฟืน้ ฟูและเยียวยาในสัดส่วน (ร้อยละ) ค่อนข้างสูง แต่ในปี 2556 ลดลงร้อยละ 12 เมือ่ เทียบกับปี 2555 เมือ่ พิจารณา หน่วยงานที่ด�ำเนินงานได้เพิ่มขึ้นคือสถาบันการศึกษา ในขณะที่องค์กรศาลด�ำเนินงานลดลงอย่างมาก สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 10 ไม่บรรลุเป้าหมาย คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 67


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 11 สัดส่วนของกรณีการละเมิดที่ลดลงอันเนื่องมาจากการออกกฎหมายการแก้ไขกฎหมายและ การบังคับใช้กฎหมายภายในปี พ.ศ. 2556 ผลการด�ำเนินงาน : ไม่มีข้อมูล ตัวชี้วัดที่ 12 จ�ำนวนกฎหมายเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา ตาราง 4.13 จ�ำนวนกฎหมายเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา

จำ�นวนกฎหมายที่เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา จำ�นวนกฎหมายที่มีการยกร่าง มีการบังคับใช้กฎหมาย

2555 1 11 43

ปีงบประมาณ หมายเหตุ 2556 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ 1 เท่าเดิม ข้อมูล สำ�นักนายกรัฐมนตรี 8 ข้อมูลหน่วยงาน 43

หมายเหตุ 1. กฎหมายที่ประกาศใช้แล้ว คือ พระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในทางแพ่งเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก พ.ศ. 2555 2. กฎหมายทีเ่ ข้าสูก่ ารพิจารณาของรัฐสภา คือ ร่างพระราชบัญตั คิ ณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. .... (คณะรัฐมนตรี เป็นผูเ้ สนอ) และร่างพระราชบัญญัตคิ ณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. .... (นายวัชระ เพชรทอง กับคณะเป็นผูเ้ สนอ) ซึง่ เป็นร่างทีไ่ ด้บรรจุ ระเบียบวาระการประชุม เพื่อรอการพิจารณาในวาระที่หนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ไม่สามารถด�ำเนินกระบวนการพิจารณาต่อ ไปได้ เนื่องจากได้มีพระราชกฤษฎียุบสภาเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2556 และมีการกระท�ำรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557

ผลการด�ำเนินงาน ในระหว่างปีงบประมาณ 2555 – 2556 พบว่ามีการออกกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับสิทธิมนุษยชน 2 ฉบับ และหน่วยงาน รายงานว่ามีการยกร่างกฎหมายจ�ำนวนทัง้ สิน้ 18 ฉบับ แม้วา่ ในปี 2556 จะมีจำ� นวนน้อยกว่า ปีงบประมาณ 2555 แต่เมือ่ เทียบกับช่วงครึง่ แรกของแผน (ปีงบประมาณ 2552 – 2554) ซึง่ มีการออกกฎหมายเพียง 1 ฉบับ ดังนัน้ แสดงว่ามีการพัฒนา ขึ้นเป็นอย่างมาก สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 12 บรรลุเป้าหมาย ตัวชีว้ ดั ที่ 13 ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของหน่วยงานทีไ่ ด้รบั การร้องเรียนเกีย่ วกับการละเว้นการบังคับใช้ กฎหมายให้ทั่วถึงและเป็นธรรม หน่วยวัด : ร้อยละ ร้อยละของหน่วยงานที่ได้รับการร้องเรียนฯ = จ�ำนวนหน่วยงานที่ได้รับการร้องเรียน X 100 จ�ำนวนหน่วยงานภาครัฐทั้งหมด หน้า 68

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยงานที่ได้รับการร้องเรียนฯ ลดลง ทุกปี ตาราง 4.14 แสดงจ�ำนวนหน่วยงานที่ถูกร้องเรียนเกี่ยวกับการละเว้นการบังคับใช้กฎหมาย แหล่งข้อมูล คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

ประเด็นร้องเรียน กระบวนการยุติธรรม การเลือกปฏิบัติ/เสมอภาค การศึกษา

2555 จำ�นวน 4 1 1

ปีงบประมาณ 2556 เทียบกับปี 2555 จำ�นวน ร้อยละผลต่าง 5 +25 3 +200 1 0

สิทธิในที่ดิน 1 รวม 6 10 สำ�นักปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี พระราชบัญญัติ 619 511 ข้อมูลข่าวสาร รวมจำ�นวนหน่วยงาน (เรื่อง) ที่ถูกร้องเรียน 625 521 จำ�นวนหน่วยงานที่ถูกร้องเรียนเกี่ยวกับการละเว้นการบังคับใช้กฎหมาย ลดลงร้อยละ 16.6

+100 +66.7 -17.4 -16.6

หมายเหตุ เครื่องหมาย + หมายถึงเพิ่มขึ้น ผลการด�ำเนินงาน พบว่าในปีงบประมาณ 2556 จ�ำนวนหน่วยงานที่ถูกร้องเรียนเกี่ยวกับการละเว้นการบังคับใช้กฎหมายลดลง ร้อยละ 16.6 สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 13 บรรลุเป้าหมาย

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 69


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับของภาพลักษณ์ขององค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนเพิ่มขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2556 ตาราง 4.15 แสดงจ�ำนวนและร้อยละของประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีความเชื่อมั่นในองค์กรเครือข่ายดีขึ้น

การศึกษาศาสนาฯ

การประกอบอาชีพ

สาธารณสุข

สิ่งแวดล้อม

ที่อยู่อาศัย

การได้รับข้อมูลคุ้มครองผู้บริโภค

เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น

เสรีภาพในการมีส่วนร่วมทางการเมือง

การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม

การอนุรักษ์ฟื้นฟูจารีตประเพณี

จำ�นวน (ร้อยละ) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความเชื่อมั่นในการดำ�เนินงานดีขึ้น เทียบกับ 5 ปีที่ผ่านมา (ก่อนใช้แผนฯ 2) ด้าน n = 711

367 36% 357 35% 309 30% 265 26 % 268 26% 293 28% 220 21% 280 27%

358 35% 350 34% 303 29% 295 28 % 281 27% 302 29% 339 33% 292 28%

367 36% 389 38% 338 33% 272 26% 292 28% 290 28% 309 30% 267 26%

355 34% 349 34% 321 31% 256 25% 277 27% 304 29% 317 31% 277 27%

318 31% 321 31% 304 29% 256 25% 252 24% 255 25% 270 26% 235 23%

416 40% 403 39% 339 33% 275 27% 315 31% 327 32% 333 32% 290 28%

365 35% 354 34% 332 32% 285 27% 306 30% 316 31% 333 32% 289 28%

368 36% 354 34% 401 39% 283 27% 310 30% 327 32% 337 33% 289 28%

387 37% 377 36% 321 31% 269 26% 296 29% 320 31% 333 32% 278 27%

394 38% 422 41% 405 39% 259 25% 276 27% 302 29% 307 30% 304 29%

องค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน

ก. ภาครัฐ 1. ส่วนราชการ 1.1 ส่วนกลาง (กระทรวง) เพิ่มจากร้อยละ 29 เป็น 36 1.2 ส่วนภูมิภาค (จังหวัด) เพิ่มจากร้อยละ 32 เป็น 36 1.3 ส่วนท้องถิ่น (อบต./อบจ.) เพิ่มจากร้อยละ 31 เป็น 33 2. รัฐวิสาหกิจ เพิ่มจากร้อยละ 22 เป็น 26 3. องค์กรมหาชน เพิ่มจากร้อยละ 27 เป็น 28 4. องค์กรรัฐรูปแบบใหม่ เพิ่มจากร้อยละ 28 เป็น 30 5. องค์กรจัดตั้งตามรัฐธรรมนูญ เพิ่มจากร้อยละ 28 เป็น 30 ข. สถาบัน การศึกษา (รัฐ/เอกชน อาชีวศึกษา เพิ่มจากร้อยละ 25 เป็น 27 ค. องค์กรภาคเอกชน เพิ่มจากร้อยละ30เป็น 32 หน้า 70

318 316 337 316 286 332 337 340 341 331 31% 31% 33% 31% 28% 32% 33% 33% 33% 32%

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

การอนุรักษ์ฟื้นฟูจารีตประเพณี

การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม

เสรีภาพในการมีส่วนร่วมทางการเมือง

เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น

ที่อยู่อาศัย

สิ่งแวดล้อม

สาธารณสุข

การประกอบอาชีพ

การศึกษาศาสนาฯ

องค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน

การได้รับข้อมูลคุ้มครองผู้บริโภค

จำ�นวน (ร้อยละ) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความเชื่อมั่นในการดำ�เนินงานดีขึ้น เทียบกับ 5 ปีที่ผ่านมา (ก่อนใช้แผนฯ 2) ด้าน n = 711

ง. องค์กรภาคประชาชน/องค์กรสาธารณะ 367 356 340 354 300 355 376 367 371 378 เพิ่มจากร้อยละ 35 เป็น 36 35% 34% 33% 34% 29% 34% 36% 35% 36% 37%

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา ่ ในระหว่างปีงบประมาณ 2555 – 2556 เมือ่ มีการด�ำเนินการขับเคลือ่ นแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 2 โดยมีหน่วยงานน�ำร่องทุกภาคส่วน พบว่า ยังมีประชาชนน้อยกว่าร้อยละ 50 มีความเชือ่ มัน่ ในหน่วยงาน องค์การเครือข่ายต่าง ๆ ดีขึ้นกว่าก่อนที่มีการขับเคลื่อนแผนฯ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาพลักษณ์ขององค์การเครือข่ายสิทธิ มนุษยชนยังไม่ดีขึ้น และเมื่อพิจารณาตามประเภทของเครือข่าย สรุปได้ ดังนี้ องค์การเครือข่ายที่มีระดับภาพลักษณ์ดีที่สุด ในทุกด้านสิทธิมนุษยชน คือ กระทรวง/กรม ส่วนภูมิภาค และ องค์กรภาคประชาชน (ประมาณ ร้อยละ 36) รองลงมาคือ ส่วนท้องถิ่น (ประมาณ ร้อยละ 33) ในขณะที่รัฐวิสาหกิจ และสถาบันการศึกษา มีระดับภาพลักษณ์ ค่อนข้างน้อยในทุกประเด็น เมือ่ พิจารณาหน่วยงานภาครัฐ พบว่า หน่วยงานทีม่ รี ะดับภาพลักษณ์ดที สี่ ดุ คือกระทรวง/กรม องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และ ส่วนภูมิภาค/จังหวัด ในขณะที่มีระดับภาพลักษณ์น้อยที่สุด (ประมาณ ร้อยละ 26) แต่เมื่อพิจารณา เทียบกับช่วงครึ่งแรกของแผนฯ พบว่าทุกหน่วยงานมีภาพลักษณ์ดีขึ้น เป็นทีน่ า่ สังเกตว่าแม้ในประเด็นสิทธิทางการศึกษาศาสนา วัฒนธรรมและการเรียนรู้ สถาบันการศึกษาซึง่ เป็น หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ยังมีระดับภาพลักษณ์หรือประชาชนมีความเชื่อมั่นในการด�ำเนินงานค่อนข้างน้อยกว่า หน่วยงานอืน่ ดังนัน้ กระทรวงศึกษาจึงควรก�ำกับดูแลและให้การสนับสนุน สร้างความเข้าใจในบทบาทด้านสิทธิมนุษยชน ของสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้ปรับภาพลักษณ์ให้เพิ่มขึ้นในช่วงต่อไป สรุปผลการด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 14 บรรลุเป้าหมาย พัฒนาขึ้นจากช่วงครึ่งแรกของแผนฯ ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีขององค์กรเครือข่ายที่สามารถให้บริการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด หน่วยวัดเป็นร้อยละ หน่วยงานน�ำร่องที่ได้ด�ำเนินงานอย่างน้อยหนึ่งรูปแบบของการให้บริการฯ ร้อยละขององค์กรเครือข่ายที่สามารถให้บริการฯ = จ�ำนวนหน่วยงานน�ำร่องที่ด�ำเนินงานได้ตามเกณฑ์ฯ x 100 จ�ำนวนหน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 71


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั มีรอ้ ยละขององค์กรเครือข่ายทีส่ ามารถให้บริการส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนด เพิ่มขึ้นทุกปี ตาราง 4.16 แสดงจ�ำนวนองค์กรเครือข่ายที่ให้บริการส่งเสริมคุ้มครองสิทธิมนุษยชนผ่านเกณฑ์ฯ ประเด็นสิทธิมนุษยชน รวมจำ�นวนหน่วยงานที่สามารถให้บริการส่งเสริมคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนตามเกณฑ์

2555 175 2.1%

ปีงบประมาณ 2556 ผลต่าง 249 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.7 3.0%

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา ่ ในภาพรวมระหว่างปี 2555 – 2556 มีจำ� นวนหน่วยงานองค์การเครือข่ายสิทธิมนุษยชน ได้ดำ� เนินการจัดกิจกรรมให้บริการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทุกปี กล่าวคือองค์กรเครือข่าย ที่สามารถให้บริการฯ ในปี 2555 ร้อยละ 2.1 และในปี 2556 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 3 แต่เมื่อมองในเชิงปริมาณจะพบว่า ยังมีไม่มากนัก (ไม่ถึงร้อยละ 10) ส�ำหรับหน่วยงานที่ได้ด�ำเนินการ ประกอบด้วยกระทรวงต่าง ๆ สถาบันการศึกษา รัฐวิสาหกิจ องค์กรภาคประชาชน เช่นมูลนิธิและสมาคมต่าง ๆ ดังนัน้ จึงควรมีการส่งเสริมสร้างความเข้าใจให้องค์การเครือข่ายต่าง ๆ เกีย่ วกับเกณฑ์มาตรฐานของการให้บริการ ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเพื่อจะได้มีการด�ำเนินการให้ทั่วถึงครอบคลุมประเภทและกลุ่มเป้าหมาย ต่อไป สรุปผลการด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 15 บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 16 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของพื้นที่ที่องค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนมีส่วนร่วมในการ ด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านร่วมกัน หน่วยวัด เป็นร้อยละ สิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านร่วมกัน หมายถึงอัตราส่วนร้อยของผลต่างของจ�ำนวนพืน้ ทีท่ ดี่ ำ� เนินงานฯ ในปีนนั้  ๆ กับปีที่ผ่านมา เทียบกับจ�ำนวนของปีนั้น ๆ โดยมีสูตรการค�ำนวณดังนี้ ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ฯ = (จำ�นวนพื้นที่ที่มีการดำ�เนินงานฯในปีนั้น – จำ�นวนพื้นที่ที่มีการดำ�เนินงานฯปีที่ผ่านมา) X 100 จำ�นวนพื้นที่ที่การดำ�เนินงานฯ ในปีที่ผ่านมา เกณฑ์การประเมิน การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละของพื้นที่ที่องค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนมีส่วนร่วมในการ ด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านร่วมกัน เพิ่มขึ้นในแต่ละปี

หน้า 72

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตาราง 4.17 แสดงจ�ำนวนพื้นที่องค์กรเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานร่วมกัน หน่วยงาน

2555

รวมจำ�นวนพื้นที่เครือข่ายที่จัดโครงการที่เกี่ยวข้องกับ การดำ�เนินงานด้านสิทธิมนุษยชน

40

ปีงบประมาณ 2556 63

ผลต่าง เพิ่มขึ้นร้อยละ57.5

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา่ ในภาพรวมในระหว่างปีงบประมาณ 2555 – 2556 มีหน่วยงานรายงานการด�ำเนินงาน โครงการและกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชนร่วมกันตั้งแต่ 2 หน่วยงาน มีจ�ำนวนร้อยละเพิ่มขึ้น โดย ปี 2556 มีจ�ำนวน หน่วยงานเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 58 ซึ่งเป็นสิ่งบ่งชี้ในทิศทางที่ดีขึ้น ส�ำหรับโครงการที่ด�ำเนินงานร่วมกัน ได้แก่ ด้านสิทธิเด็ก และเยาวชน สตรี ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ชาติพันธุ์ ด้านการศึกษาวัฒนธรรม ศาสนาและการเรียนรู้ ด้านอาชีพและแรงงาน ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านกระบวนการยุติธรรม สิทธิพลเมืองและการค้ามนุษย์ สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 16 บรรลุเป้าหมาย ตัวชีว้ ดั ที่ 17 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของผลงานวิจยั องค์ความรูด้ า้ นสิทธิมนุษยชนได้นำ� ไปใช้ในการส่งเสริม และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตาราง 4.18 แสดงจ�ำนวนผลงานวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนที่ได้น�ำไปใช้ประโยชน์ ผลงานวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน ปี 2555 แหล่งข้อมูล/หน่วยงาน จำ�นวน นำ�ไปใช้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 6 6 หน่วยงาน 20 20 จำ�นวนงานวิจัยที่นำ�ไปใช้ 26 จำ�นวนงานวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนไปใช้ประโยชน์ ลดลง ร้อยละ 11.5

ผลงานวิจัย ปี 2556 จำ�นวน นำ�ไปใช้ 3 3 20 20 23

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้ว่า ในภาพรวม ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2555 – 2556 จ�ำนวนผลงานวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน ที่ได้น�ำไปใช้ประโยชน์ รวมจ�ำนวน 49 เรื่อง ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงครึ่งแรกของแผน (ปี 2552 – 2554) แต่เมื่อ พิจารณารายปี พบว่า ปี 2556 จ�ำนวนงานวิจัยที่น�ำไปใช้ประโยชน์ลดลงร้อยละ 11.5 เทียบกับปี 2555 ดังนั้นจึงควร เร่งส่งเสริมให้หน่วยงานได้ท�ำวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนเช่นการพัฒนาเกณฑ์ มาตรฐานต่าง ๆ รวมทัง้ การท�ำวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร (Action Research) เพือ่ แก้ไขปัญหาในการปฏิบตั งิ านด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งจะน�ำไปสู่การสร้างความเข้มแข็งขององค์การเครือข่ายสิทธิมนุษยชนและพัฒนาสู่มาตรฐานสากลต่อไป สรุปได้วา่ การด�ำเนินงานในตัวชีว้ ดั ที่ 17 ไม่บรรลุเป้าหมาย แต่มกี ารพัฒนาขึน้ จากช่วงครึง่ แรกของแผนฯ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 73


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชีว้ ดั ที่ 18 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของบทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน ได้น�ำไปใช้ในการปรับแผนยุทธศาสตร์สิทธิมนุษยชน ตาราง 4.19 แสดงจ�ำนวนบทเรียนการด�ำเนินการด้านสิทธิมนุษยชนที่ได้น�ำไปใช้ปรับแผนฯ หน่วยงาน รวมจำ�นวนบทเรียนที่ได้นำ�ไปใช้ประโยชน์

จำ�นวนบทเรียนที่ได้นำ�ไปใช้ปีงบประมาณ 2555 2556 ผลต่าง 16 23 เพิ่มขึ้น ร้อยละ44

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้ว่า ในภาพรวม ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2555 – 2556 หน่วยงานรายงานการถอดบทเรียน ด้านสิทธิมนุษยชนที่น�ำไปใช้ จ�ำนวน 39 เรื่อง ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงครึ่งแรกของแผน แสดงว่าหน่วยงานองค์การ เครือข่ายสิทธิมนุษยชนส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญกับการจัดการความรูใ้ นประเด็นการปฏิบตั งิ านด้านสิทธิมนุษยชนเพิม่ ขึน้ แม้จะยังไม่ใช่บทเรียนทีด่ ขี องการปฏิบตั งิ านด้านสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจนก็ตาม และเมือ่ พิจารณาในปีงบประมาณ 2556 จ�ำนวนบทเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 44 เทียบกับปี 2555 สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 18 บรรลุเป้าหมาย ตัวอย่างบทเรียนของหน่วยงาน Ø กระทรวง/กรม 1. การไฟฟ้าภูมิภาค เรื่องสวัสดิการและสิทธิของพนักงาน พนักงานน�ำไปใช้รักษาสิทธิของตนเอง 2. กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เรือ่ ง การสมรสกับชาวต่างชาติเพือ่ ป้องกันการค้ามนุษย์ ถ่ายทอดเสียง ออกอากาศผ่านทางสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย 6 จังหวัด Ø ส่วนภูมิภาค 1. ส�ำนักงานจังหวัดกระบี่ เรื่องสิทธิผู้บริโภค ประชาชนน�ำไปปรับใช้ในชีวิต และถ่ายทอดสู่ชุมชน 2. ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดระนอง เรือ่ ง สิทธิมนุษยชนขัน้ พืน้ ฐานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ น�ำไปเป็นเครื่องมือในการให้บริการผู้มาติดต่อ ถ่ายทอดให้กับประชาชนผู้มาติดต่อ 3. ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครสวรรค์ เรื่อง การแก้ปัญหาข้อพิพาท (สามัคคี สมานฉันท์) ผู้น�ำชุมชน น�ำไปใช้ในการแก้ปัญหาข้อพิพาทและ ถ่ายทอดให้กับคนในชุมชน 4. ส�ำนักงานจังหวัดอุตรดิตถ์ เรื่อง สิทธิเด็กและเยาวชน นักเรียนน�ำความรู้ไปใช้ในการด�ำรงชีวิตไม่ให้ ถูกละเมิดและไม่ละเมิดผู้อื่น ถ่ายทอดให้นักเรียน 5. ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดพิจติ ร เรือ่ ง ปัญหาด้านเด็ก น�ำไปใช้ในการจัดท�ำ แผนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก สู่การปฏิบัติจริงในการคุ้มครองเด็ก และเครือข่ายชุมชนน�ำไปถ่ายทอดให้กับคน ในชุมชน 6. ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดอุทัยธานี เรื่อง บทเรียนการด�ำเนินกิจกรรมของศูนย์ไกล่เกลี่ยระงับ ข้อพิพาทจังหวัดน�ำไปใช้ในการด�ำเนินงานขับเคลื่อนศูนย์ ถ่ายทอดให้บุคลากร 7. ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดขอนแก่น เรือ่ ง ชีวติ เด็กปฐมวัย น�ำไปใช้ปฏิบตั ิ งานที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนได้ ถ่ายทอดโดยฝึกอบรมพี่เลี้ยงสถานรับเลี้ยงเด็กและสถานสงเคราะห์เด็กเอกชน หน้า 74

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

8. ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดขอนแก่น ด�ำเนินกิจกรรมในการเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ในชุมชนต�ำบลสาวะถีร่วมกับ 9. ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดขอนแก่น กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพชุมชนน�ำไปใช้ในการด�ำเนินงาน ถ่ายทอดทางสื่อต่าง ๆ 10. ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดบุรีรัมย์ เรื่อง การด�ำเนินงานตาม พ.ร.บ. การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์น�ำไปใช้ในการปฏิบัติงาน และถ่ายทอดให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง Ø ส่วนท้องถิ่น 1. เทศบาลต�ำบลนาเฉลียง เรื่องสิทธิเด็ก น�ำไปใช้ในการเฝ้าระวังการละเมิดถ่ายทอดในเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ 2. องค์การบริหารส่วนต�ำบลคอกกระบือ บทเรียนเรือ่ ง ความรูเ้ รือ่ งสิทธิพนื้ ฐานของผูพ้ กิ ารน�ำไปเป็นหลัก การปฏิบัติงานของหน่วยงาน Ø สถาบันการศึกษา 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือเรื่องธรรมาภิบาลและจรรยาบรรณบุคลากร น�ำไปใช้ประพฤติตนไม่ให้กระทบสิทธิผู้อื่นและถ่ายทอดให้บุคคลอื่นในหน่วยงาน 2. มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง จัดบทเรียนสิทธิมนุษยชนในวิชานักศึกษาน�ำไปปรับใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ถ่ายทอด บทเรียนโดยการสอน 3. วิทยาลัยดุสิตธานี บทเรียนเรื่องสิทธิมนุษยชน บทบาทหน้าที่สิทธิพลเมือง น�ำไปปรับใช้สอดแทรก ในรายวิชาศึกษาทั่วไป ถ่ายทอดในการสอน Ø รัฐวิสาหกิจ บริษทั ธนารักษ์พฒ ั นาสินทรัพย์ จ�ำกัด เรือ่ งมาตรฐานขัน้ ต�ำ่ ของสภาพการจ้างในรัฐวิสาหกิจและกฎหมาย อื่นๆ พนักงานน�ำไปใช้ในการรักษาสิทธิของตนเอง และถ่ายทอดให้พนักงานอื่น ๆ ข้อสังเกต ยังไม่เป็นการถอดบทเรียนที่ชัดเจน ส่วนใหญ่เป็นการจัดให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน มีเพียง ไม่กี่หน่วยงานที่น�ำไปปรับแผนการด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชน ตัวชีว้ ดั ที่ 19 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของเครือข่ายทีน่ ำ� บทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุม้ ครอง สิทธิมนุษยชนไปถ่ายทอด ตาราง 4.20 แสดงจ�ำนวนหน่วยงานที่ได้น�ำบทเรียนการด�ำเนินการด้านสิทธิมนุษยชนไปถ่ายทอด หน่วยงาน จ�ำนวนหน่วยงานที่มีการน�ำบทเรียนไปถ่ายทอด จ�ำนวนหน่วยงานน�ำร่อง ร้อยละหน่วยงานที่น�ำบทเรียนไปถ่ายทอด

2555 13 8,180 0.16

ปีงบประมาณ 2556 ผลต่าง 14 เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 8,180 0.17

ข้อสังเกต การถ่ายทอดยังไม่เป็นรูปธรรม คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 75


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้ว่า ในภาพรวม ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2555 – 2556 จ�ำนวนหน่วยงานที่ได้น�ำบทเรียน (Lesson Learned) เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชนไปการถ่ายทอดจ�ำนวน 27 หน่วยงานโดยในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 8 เทียบกับปี 2555 ซึ่งหากพิจารณาในเชิงปริมาณ พบว่า ยังมีหน่วยงานองค์การเครือข่ายสิทธิมนุษยชน จ�ำนวนน้อยมากทีไ่ ด้นำ� บทเรียนไปถ่ายทอด ดังนัน้ จึงควรเร่งส่งเสริมให้หน่วยงานได้นำ� กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ไปใช้เพือ่ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทีจ่ ำ� เป็นในการปฏิบตั หิ น้าทีด่ า้ นสิทธิมนุษยชน การถอดบทเรียน จากการปฏิบัติงานเพื่อสร้างแนวปฏิบัติที่ดี การจัดท�ำเกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ รวมทั้งการน�ำไปปรับแผนการด�ำเนินงาน ครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 19 บรรลุเป้าหมาย ตัวชีว้ ดั ที่ 20 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของบุคลากรขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภาครัฐมีสมรรถนะ ในการปฏิบัติภารกิจตามหน้าที่และความรับผิดชอบในการให้บริการการป้องกันและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตาราง 4.21 แสดงจ�ำนวนบุคลากรขององค์กรเครือข่ายฯ ที่ได้รับการพัฒนา หน่วยงานองค์กรเครือข่าย จำ�นวนบุคลากรของหน่วยงานที่รายงานการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร จำ�นวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานสิทธิมนุษยชน ร้อยละบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะฯ ผลต่าง

ปีงบประมาณ 2555 2556 242,661 128,835 10,600 5,253 4.4 4.1 ลดลง ร้อยละ 0.3

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้ว่าในภาพรวมตั้งแต่ ปี 2555 – 2556 บุคลากรขององค์กรเครือข่ายที่ได้รับการพัฒนา ให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชนยังมีจ�ำนวนน้อยมากเพียงประมาณร้อยละ 4 ของบุคลากรทั้งหมด ของหน่วยงานทีไ่ ด้ดำ� เนินการ และในปีงบประมาณ 2556 มีจำ� นวนลดลงเมือ่ เทียบกับปีงบประมาณ 2555 อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจ�ำนวนโครงการ/กิจกรรมในกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน พบมีการจัดโครงการจ�ำนวน ค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับกลยุทธ์อื่น ๆ แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาบุคลากร สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 20 ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในแต่ละด้าน หน่วยวัดเป็นร้อยละ ร้อยละเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้องฯ = จ�ำนวนเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้อง X 100 จ�ำนวนบุคลากรของรัฐทั้งหมด หน้า 76

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้องฯ ลดลงทุกปี ตาราง 4.22 แสดงจ�ำนวนเจ้าหน้าที่รัฐถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน ประเด็นสิทธิมนุษยชน 1. ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา และการเรียนรู้ 2. ด้านอาชีพและแรงงาน 3. ด้านสาธารณสุข 4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ด้านที่อยู่อาศัย/ที่ดิน 8. ด้านการเมืองการปกครอง (รวมถึงเสรีภาพ ในการรวมกลุ่มและการกระจายอ�ำนาจสู่ท้องถิ่น) 9. ด้านกระบวนการยุติธรรม รวมจ�ำนวนเจ้าหน้าที่ถูกร้องเรียน จ�ำนวนข้าราชการพลเรือนสามัญ (ก.พ.) ร้อยละเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกร้องรียน

จ�ำนวนเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกร้องเรียน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 2556 ผลต่าง 673 588 -12.6 1321 1001 -24.2 1120 927 -17.2 149 136 -8.7 1582 1370 -13.4 20,681 7,564 -63.4 5,446 30,972 362,534 8.5

2,025 13,611 362,534 3.8

-62.8 -56.0 ลดลงร้อยละ4.7

หมายเหตุ ไม่มีข้อมูลจ�ำนวนบุคลากรภาครัฐในปี 2556 จึงใช้ข้อมูลปี 2555 แหล่งข้อมูล ส�ำนักปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้วา ่ ในภาพรวมเจ้าหน้าทีร่ ฐั ทีถ่ กู ฟ้องร้องเกีย่ วกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านต่าง ๆ ตัง้ แต่ ปี 2555 – 2556 มีจ�ำนวนน้อยไม่ถึงร้อยละ 10 ของจ�ำนวนเจ้าหน้าที่รัฐที่เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญทั้งหมด โดย ประเด็นสิทธิมนุษยชนทีเ่ จ้าหน้าทีร่ ฐั ถูกฟ้องร้องส่วนใหญ่เป็นด้านการเมืองการปกครอง รองลงมาเป็น ด้านกระบวนการ ยุตธิ รรม ด้านทีอ่ ยูอ่ าศัย/ทีด่ นิ และด้านสาธารณสุขซึง่ เพิม่ ขึน้ จากช่วงครึง่ แรกของแผน ตามล�ำดับ ในขณะด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีจ�ำนวนลดลงเมื่อเทียบกับช่วงครึ่งแรกของแผน อย่างไรก็ตามพบว่า ในปี 2556 จ�ำนวน เจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกร้องเรียนลดลงทุกด้านเทียบกับปี 2555 ดังนั้นประเด็นที่ควรให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินการแก้ไข คือ ด้านการเมืองการปกครอง ด้านกระบวนการ ยุติธรรม ด้านสาธารณสุข และด้านที่อยู่อาศัย/การจัดการที่ดิน สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 21 บรรลุเป้าหมาย

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 77


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 22 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของหน่วยงานที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในแต่ละด้าน หน่วยวัดเป็นร้อยละ ร้อยละหน่วยงานภาครัฐที่ถูกฟ้องร้องฯ = จ�ำนวนหน่วยงานที่ถูกฟ้องร้อง X 100 จ�ำนวนหน่วยงานของรัฐทั้งหมด เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยงานภาครัฐที่ถูกฟ้องร้องฯ ลดลงทุกปี ตาราง 4.23 แสดงจ�ำนวนหน่วยงานที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน

ด้านการได้รับข้อมูลข่าวสารของทางราชการและการคุ้มครองผู้บริโภค

จ�ำนวนหน่วยงานรัฐที่ถูกร้องเรียน 2555 2556 %ผลต่าง 619 511 -17.4 %

การใช้อ�ำนาจของหน่วยงานรัฐ

2,437

1,354

-55.6

รวมจ�ำนวนหน่วยงานรัฐที่ถูกร้องเรียน (ฟ้องร้อง)

3,056

1,865

--39

จ�ำนวนหน่วยงานภาครัฐทั้งหมด ร้อยละหน่วยงานที่ถูกร้องเรียน แหล่งข้อมูล ส�ำนักนายกรัฐมนตรี

8,249 37

8,249 22.6

ลดลง ร้อยละ14

ประเด็นสิทธิมนุษชน

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางสรุปได้วา ่ ในภาพรวมระหว่างปีงบประมาณ 2555 – 2556 หน่วยงานภาครัฐทีถ่ กู ฟ้องร้องเกีย่ วกับ การละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน มีจ�ำนวนลดลง โดยในปี 2556 มีจ�ำนวนลดลงร้อยละ 14 เมื่อเทียบกับปี 2555 โดยประเด็นทีห่ น่วยงานถูกร้องเรียน คือการได้รบั ข้อมูลข่าวสารของทางราชการและการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค และการใช้อำ� นาจ ของหน่วยงานรัฐ สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 22 บรรลุเป้าหมาย

หน้า 78

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ภาครัฐ

ตัวชี้วัดที่ 23 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อร้องเรียนที่เกิดจากการเลือกปฏิบัติของบุคลากรในองค์กร

ตาราง 4.24 แสดงจ�ำนวนข้อร้องเรียนที่เกิดจากการเลือกปฏิบัติของบุคลากรในองค์กรภาครัฐในแต่ละปี จ�ำนวนข้อร้องเรียนการเลือกปฏิบัติจากเจ้าหน้าที่รัฐ 2555 2556 % ผลต่าง 90 207 +130

ประเด็นข้อร้องเรียน เจ้าหน้าที่รัฐในท้องถิ่น เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดกระทรวง

340

1,287

+278

เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดกรุงเทพมหานคร

59

85

+44

เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดราชการฝ่ายตุลาการ

4

5

+25

เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดราชการฝ่ายรัฐสภา เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดราชการฝ่ายอัยการ

0 1

1 6

+100 +500

เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดราชการพลเรือนในพระองค์

4

2

-50

เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดราชการพลเรือน

17

36

+111.7

เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดราชการส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ

269

903

+235.7

เจ้าหน้าที่รัฐในหน่วยงานอิสระ พนักงานองค์การ

10

30

+200

บุคลากรทางการแพทย์

210

600

+185.7

ด้านกระบวนการยุติธรรม

13

21

+61.5

ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค

1

-

-100

1,119

3,384

+202.4

362,534

362,534

0.3

0.9

เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.6

รวม จ�ำนวนบุคลากรภาครัฐ ร้อยละเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกร้องเรียนการเลือกปฏิบัติ

ผลการด�ำเนินงาน จากตาราง สรุปได้วา ่ ในภาพรวมเจ้าหน้าทีร่ ฐั ทีถ่ กู ร้องเรียนเกีย่ วกับการเลือกปฏิบตั ิ มีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ ในปี 2556 หากพิจารณาตามประเด็นสิทธิมนุษยชนทีเ่ จ้าหน้าทีถ่ กู ร้องเรียนการเลือกปฏิบตั ิ พบว่า ประเด็นทีท่ เี่ จ้าหน้าทีถ่ กู ร้องเรียน เพิม่ มากขึน้ คือด้านกระบวนการยุตธิ รรม (ต�ำรวจ อัยการ ) ด้านสาธารณสุข (บุคลากรทางการแพทย์ รวมทัง้ การเลือกปฏิบตั ิ จากเจ้าหน้าที่รัฐสังกัดกระทรวง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งไม่ได้ระบุประเด็นสิทธิมนุษยชน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 79


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ดังนัน้ หน่วยงานทีต่ อ้ งให้ความส�ำคัญกับการสร้างความรูค้ วามเข้าใจ และมาตรฐานการปฏิบตั งิ านปกป้องและ คุม้ ครองสิทธิมนุษยชนของเจ้าหน้าทีใ่ ห้มากขึน้ ได้แก่ หน่วยงานทีด่ แู ลรับผิดชอบเกีย่ วข้องกับด้านกระบวนการยุตธิ รรม ด้านสาธารณสุข และหน่วยงานระดับกระทรวง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 23 ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อร้องทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับการขาดจริยธรรมของผู้บริหารใน องค์กรภาครัฐ ตาราง 4.25 แสดงจ�ำนวนข้อร้องทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับการขาดจริยธรรมของผู้บริหารในองค์กรภาครัฐ

หน่วยงาน

จ�ำนวนข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนเกี่ยวกับ การขาดจริยธรรมของผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐ 2555 16 1,145 1.4

จ�ำนวนผู้บริหารที่ถูกร้องเรียนเรื่องการขาดจริยธรรม จ�ำนวนผู้บริหารทั้งหมด ร้อยละผู้บริหารถูกร้องเรียน แหล่งข้อมูล คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

2556 8 1,145 0.7

% ผลต่าง -50 ลดลงร้อยละ 0.7

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้ว่า ในภาพรวมระหว่างปีงบประมาณ 2555 – 2556 จ�ำนวนผู้บริหารในองค์กรภาครัฐ ทีถ่ กู ร้องเรียนเกีย่ วกับการขาดจริยธรรมมีจำ� นวนน้อยมากประมาณร้อยละ 1 ของจ�ำนวนผูบ้ ริหารทัง้ หมด และมีจำ� นวน ลดลง โดยในปี 2556 ลดลงร้อยละ 50 ของจ�ำนวนที่ถูกร้องเรียนในปี 2555 สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 24 บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 25 สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี หน่วยวัดคือสัดส่วน สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐ หมายถึงอัตราส่วนของจ�ำนวนผู้หญิงที่ได้รับการแต่ง ตั้งเป็นผู้บริหารต่อจ�ำนวนผู้บริหารทั้งหมดในหน่วยงานภาครัฐ สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐ =

จ�ำนวนหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐ X 100 จ�ำนวนผู้บริหารทั้งหมดในหน่วยงาน

สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี หมายถึงผลต่างระหว่างสัดส่วน ของหญิงที่เป็นผู้บริหารในปีนั้นกับสัดส่วนฯ ปีที่ผ่านมา เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด สัดส่วนหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐเพิ่มขึ้นทุกปี หน้า 80

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตาราง 4.26 แสดงจ�ำนวนผู้บริหารเพศหญิงในหน่วยงานภาครัฐในแต่ละปี

จ�ำนวนผู้หญิงที่เป็นผู้บริหาร

2554 196

ปีงบประมาณ 2555 209

จ�ำนวนผู้บริหารทั้งหมด สัดส่วนผู้หญิงที่เป็นผู้บริหาร

1089 0.1800

1145 0.1825

หน่วยงาน

% ผลต่าง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.25

แหล่งข้อมูล คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ปี 2556 แต่งตั้งเพิ่ม 72 คน ผลการด�ำเนินงาน จากตาราง จะเห็นได้วา่ แม้สดั ส่วนผูห้ ญิงทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร (ผูบ้ ริหารเพศหญิง) มีคา่ ค่อนข้างต�ำ่ มาก (ไม่ถงึ ร้อยละ 50 ทีแ่ สดงถึงความเท่ากันระหว่างเพศชายและหญิง แต่พบว่าแนวโน้มของสัดส่วนผูห้ ญิงทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูบ้ ริหารเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ในปี พ.ศ. 2554 – 2555 มีผหู้ ญิงเป็นผูบ้ ริหารจ�ำนวนร้อยละ 18 ซึง่ เพิม่ ขึน้ จาก ปี 2553 ทีม่ ผี หู้ ญิงเป็นผูบ้ ริหาร ร้อยละ 17 และในปี 2556 ได้มกี ารแต่งตัง้ ผูห้ ญิงให้เป็นผูบ้ ริหารเพิม่ ขึน้ อีกจ�ำนวน 78 คน แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มทีผ่ หู้ ญิง ได้เป็นผู้บริหารเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 25 บรรลุเป้าหมาย ตัวชีว้ ดั ที่ 26 ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกีย่ วกับการไม่ปฏิบตั ติ าม กติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ หน่วยวัดเป็นร้อยละ อนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ หมายถึงอัตราส่วนร้อยของผลต่างระหว่างข้อท้วงติงจากองค์การ ระหว่างประเทศเกีย่ วกับการไม่ปฏิบตั ติ ามกติกาและอนุสญ ั ญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ในปีนนั้ หักลบข้อท้วงติงฯ ในปีที่ผ่านมาแล้วมาเทียบกับข้อท้วงติงในปีที่ผ่านมา ร้อยละที่ลดลงฯ =

(จ�ำนวนข้อท้วงติงฯ ในปีนั้น – จ�ำนวนของปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนข้อท้วงติงฯ ของปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั ข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกีย่ วกับการไม่ปฏิบตั ิ ตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ มีร้อยละที่ลดลงทุกปี ผลการด�ำเนินงาน ไม่มีข้อมูลของข้อท้วงติงที่องค์กรระหว่างประเทศส่งให้อย่างเป็นทางการ แต่พบประเด็นที่มีการกล่าวท้วงติง การด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในรายงานสิทธิมนุษยชน ของ Human Right Watch ใน ปี 2557 (m.hrw.org/world–report/2014/country) ทีก่ ล่าวถึงการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลไทยทีม่ คี วามคืบหน้า เพียงเล็กน้อยในปี 2556 ดังนี้ 1. ความรับผิดต่อความรุนแรงทางการเมือง 2. เสรีภาพในการแสดงออก คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 81


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

3. ความรุนแรงและการละเมิดสิทธิมนุษยชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. การบังคับให้สูญหาย 5. ผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน 6. ผู้ลี้ภัย ผู้แสวงหาการลี้ภัย และแรงงานต่างด้าว 7. นโยบายต่อต้านยาเสพติด แสดงให้เห็นว่า การด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในระหว่างปี 2555 – 2556 ยังมีปัญหา หลายประการทีอ่ งค์กรระหว่างประเทศให้ขอ้ ท้วงติงและเสนอแนะให้เร่งด�ำเนินการแก้ไข ซึง่ ประกอบด้วยเรือ่ ง การเมือง การปกครอง กระบวนการยุติธรรม และแรงงานต่างด้าว ดังนั้นประเด็นที่ท้าทายที่ควรเร่งด�ำเนินการ ได้แก่ การด�ำเนินการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนด้านสิทธิ ทางการเมือง เสรีภาพในการแสดงออก กระบวนการยุติธรรม (โทษประหารชีวิต การทรมาน การจับกุมโดยพลการ) สิทธิผู้ลี้ภัยทางการเมือง สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 26 ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 27 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มีต่อ หน่วยงานในประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในรายงานต่อรัฐสภา หน่วยวัดเป็นร้อยละ ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทมี่ ตี อ่ หน่วยงานเกีย่ วกับ การไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน หมายถึง อัตราส่วนร้อยของผลต่างระหว่างข้อท้วงติงของ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มีต่อหน่วยงานเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน ระหว่างประเทศ ในปีนั้น –ข้อท้วงติงฯ ในปีที่ผ่านมา เทียบกับข้อท้วงติงในปีที่ผ่านมา ร้อยละที่ลดลงฯ =

(จ�ำนวนข้อท้วงติงฯ ในปีนั้น – จ�ำนวนของปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนข้อท้วงติงฯ ของปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั ข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตอ่ หน่วยงาน ในประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญา ที่ปรากฏในรายงานรัฐสภา มีร้อยละลดลงทุกปี ตาราง 4.27 แสดงจ�ำนวนข้อท้วงติงของของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มีต่อหน่วยงานในประเทศฯ ประเด็นข้อท้วงติงเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกา และอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา และการเรียนรู้ ด้านอาชีพและแรงงาน ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หน้า 82

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

จำ�นวนข้อท้วงติง ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ปี 2555 ปี 2556 % ผลต่าง 1 2 +100 3 3 0 1 2 +100


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ประเด็นข้อท้วงติงเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกา และอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรม

จำ�นวนข้อท้วงติง ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ปี 2555 ปี 2556 % ผลต่าง 4 6 +50

ด้านการสาธารณสุข ด้านเสรีภาพการสื่อสารและสื่อมวลชน ด้านการเมืองการปกครอง รวม 9 จำ�นวนข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 100

2 2 1 18

+200 +200 +100 +100

ผลการด�ำเนินงาน จากตารางจะเห็นได้ว่า ในปี 2556 ข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 100 เมื่อเทียบกับจ�ำนวนข้อท้วงติงในปี 2555 และเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ประเด็นทีม่ กี ารท้วงติงทุกปี ซึง่ ควรให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินการแก้ไขเป็นพิเศษ ได้แก่ ด้านกระบวนการ ยุติธรรม ด้านการศึกษาวัฒนธรรม ศาสนาและการเรียนรู้ ด้านอาชีพและแรงงาน และด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ตัวอย่างเช่น 1. ด้านสาธารณสุข การจัดบริการสาธารณะของประเทศไทย ตามระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบ ประกันสังคม และระบบสวัสดิการข้าราชการ มีความเหลื่อมล�้ำกันในแง่คุณภาพและมาตรฐานการบริการ ไม่สอดคล้อง กับสิทธิด้านสาธารณสุขตามกติการะหว่างประเทศ ICESCR ข้อ 12 ข้อย่อย 2 (ง) 2. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เรือ่ ง ก�ำหนด ประเภท ขนาดและวิธีปฏิบัติ ส�ำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้าน คุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนต้องจัดท�ำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2553 ไม่สอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศ ICESCR ข้อ 12 ข้อย่อย 2 (ข) 3. ด้านกระบวนการยุติธรรม กฎหมายภายในของประเทศไทยยังไม่ฐานความผิดว่าด้วยกระท�ำทรมาน ไม่สอดคล้องกับอนุสัญญา CAT สรุปได้ว่า การด�ำเนินงานในตัวชี้วัดที่ 27 ไม่บรรลุเป้าหมาย

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 83


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

หน้า 84

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


บทที่ 5

การวิเคราะห์สถานการณ์ ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ประจ�ำปี พ.ศ. 2555-2556



รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

บทที่ 5

การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556 ในส่วนนีเ้ ป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ดา้ นสิทธิมนุษยชน ซึง่ ก�ำหนดกรอบการประเมินตามแผนสิทธิมนุษยชน ทัง้ 10 ด้าน รวมทัง้ การค�ำนึงถึงพันธกรณีทปี่ ระเทศไทยได้มตี อ่ นานาประเทศในสนธิสญ ั ญาระหว่างประเทศทีป่ ระเทศไทย เป็นภาคีเกี่ยวข้องกับด้านสิทธิมนุษยชน ณ ปัจจุบันมีจ�ำนวน 7 ฉบับ (ปรากฏรายละเอียดในภาคผนวก) ได้แก่ อนุสัญญา ว่าด้วยการเลือกปฎิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมือง กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อนุสัญญาว่าด้วยการขจัด การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือที่ย�่ำยีศักดิ์ศรี และอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (ปรากฏรายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวก) โดยเป็นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพซึง่ ใช้ขอ้ มูลทัง้ ด้านปริมาณและด้านเอกสารมาวิเคราะห์สถานการณ์ในช่วงปี 2555 และ 2556 ดังนี้ การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน 5.1 ด้านการเมืองการปกครอง จากข้อมูลสถานทูตสหรัฐอเมริกา (2555) และฮิวแมนไรท์วอทช์ (2556) มองว่าประเทศไทยปกครองด้วย ระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์พระประมุขภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ทางสหรัฐอเมริกา มองว่าประเทศไทยมีรัฐบาลผสมที่มาจากการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วประเทศเมื่อเดือนกรกฎาคม 2554 โดย รัฐบาลเข้ามามีอำ� นาจเมือ่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ซึง่ โดยทัว่ ไปมองว่าเป็นไปอย่างเสรีและยุตธิ รรมเพราะยังมีผบู้ ริหาร ที่เป็นพลเรือนก�ำกับดูแลฝ่ายรักษาความมั่นคง (สถานทูตสหรัฐฯ กรุงเทพฯ, 2555) ขณะที่ ฮิวแมนไรท์วอทช์ (2556) มองว่ารัฐบาลยังคงไม่ได้แก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชนทีร่ า้ ยแรงของประเทศไทย รวมถึงการยังไม่ได้เอาผิดกับผูท้ รี่ บั ผิดชอบ ต่อความรุนแรงทางการเมืองเมื่อปี 2553 การละเมิดสิทธิมนุษยชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การจ�ำกัดเสรีภาพในการ แสดงออก และการละเมิดสิทธิของผู้ลี้ภัย และแรงงานต่างด้าว โดยมีรายงานสถานการณ์ส�ำคัญ ๆ ดังนี้ การเอาผิดกับผูท้ รี่ บั ผิดชอบต่อความรุนแรงทางการเมือง ในช่วงปี 2555 พบว่าทัง้ สถานทูตสหรัฐอเมริกา (2556) ฮิวแมนไรท์วอทช์ (2556) และแอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล (2556) ติดตามการรายงานผลการเอาผิดกับผู้ที่ รับผิดชอบต่อความรุนแรงทางการเมืองของคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพือ่ การปรองดองแห่งชาติ ได้ออกรายงานฉบับสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2555 ที่ชี้ว่ากองก�ำลังฝ่ายความมั่นคงของรัฐบาลเป็นผู้รับผิดชอบต่อ การเสียชีวติ และการบาดเจ็บส่วนใหญ่ คอป. เรียกร้องรัฐบาลของนายกรัฐมนตรียงิ่ ลักษณ์ให้ “ด�ำเนินการต่อการละเมิดกฎหมาย ของทุกฝ่าย โดยอาศัยกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะต้องเป็นธรรม เสมอภาคและไม่เลือกปฏิบัติ” ความรุนแรงทางการเมือง สหประชาชาติ สหภาพยุโรป ตลอดจนประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศ ออสเตรเลีย ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และประเทศนอร์เวย์ ให้การสนับสนุนอย่างแข็งขันต่อกระบวนการสร้างความปรองดอง ทางการเมือง และการปกป้องสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ในปี 2555 ได้เรียกร้องให้รฐั บาลและฝ่ายต่าง ๆ ทีข่ ดั แย้งกัน ในทางการเมืองหันหน้ามาพูดคุยกัน และยับยั้งการที่จะใช้ก�ำลังต่อกัน ในเดือนพฤษภาคม 2555 มีการเสนอร่าง พระราชบัญญัติปรองดองแห่งชาติ ซึ่งส่วนหนึ่งก�ำหนดให้มีการนิรโทษกรรมผู้ที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในปี 2553 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 87


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

สู่รัฐสภาโดยสมาชิกพรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมรัฐบาล โดยมีข้อเสนอที่จะให้มีการนิรโทษกรรมอย่างกว้างขวาง แก่กลุม่ การเมืองทุกฝ่าย นักการเมือง เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ และสมาชิกของกองก�ำลังฝ่ายความมัน่ คงทีเ่ กีย่ วข้องกับเหตุรนุ แรง เมื่อปี 2553 ฮิวแมนไรท์วอทช์ (2556) ประชาคมโลกรวมถึงส�ำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งองค์การ สหประชาชาติเรียกร้องให้รา่ งกฎหมายฉบับนีย้ กเว้นบุคคลทีก่ ระท�ำผิดด้านละเมิดสิทธิมนุษยชนและให้เริม่ ด�ำเนินคดีกบั ผู้กระท�ำความผิดดังกล่าว รัฐบาลถอนร่างกฎหมายฉบับนี้เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 หลังเกิดการประท้วงจาก ประชาชนจ�ำนวนมาก (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) อย่างไรก็ตามยังมีเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองทีม่ กี ารออกมา ประท้วงรัฐบาลที่มีการเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรมดังกล่าว แม้ว่ารัฐบาลถอนร่างดังกล่าวแล้วก็ตาม จากการรายงานการประเมินสถานการณ์สทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทยของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (2556) พบว่า มีการชุมนุมที่สวนลุมพินี หน้าท�ำเนียบรัฐบาล แยกอุรุพงษ์ สถานีรถไฟสามเสน ถนนราชด�ำเนิน กระทรวง การคลังและศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (อาคารศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ) การปิดล้อมสถานที่ราชการส�ำคัญ หลายแห่ง การเคลื่อนไหวไปตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน ย่านธุรกิจส�ำคัญ ในกรุงเทพมหานครนับตัง้ แต่เดือนกรกฎาคม 2556 ซึง่ ก่อให้เกิดการปะทะระหว่างผูช้ มุ นุมกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐหลายครัง้ โดยเฉพาะเหตุการณ์ความรุนแรงทีม่ หาวิทยาลัยรามค�ำแหงช่วงวันที่ 30 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 1 ธันวามคม 2556 ท�ำให้มี ผู้เสียชีวิต 5 คนบาดเจ็บ 64 คน รวมทั้งเมื่อวันที่ 1-3 ธันวาคม 2556 การปิดล้อมท�ำเนียบรัฐบาลและกองบัญชาการ ต�ำรวจนครบาล มีผู้บาดเจ็บ 221 คน และการปะทะระหว่างผู้ชุมนุมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่บริเวณสนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง มีผู้บาดเจ็บ 60 คน เสียชีวิต 2 คน (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2556) ความรุนแรงและการละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคใต้ กลุม่ แบ่งแยกดินแดนในเครือข่ายของขบวนการบีอาร์เอ็นโคออร์ดเิ นตยังคงโจมตีพลเรือนในปี 2555 ด้วยการวางระเบิด ซุม่ โจมตีจากข้างทาง กราดยิงจากบนรถยนต์ และลอบสังหาร (ฮิวแมนไรท์วอทช์, 2556) พลเรือนยังคงตกเป็นเป้าโจมตี ส่งผลให้มกี ารบาดเจ็บล้มตายจ�ำนวนมากในจังหวัดชายแดนใต้ ทั้งจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา และบางส่วนของสงขลา ครูและโรงเรียนรัฐได้ตกเป็นเป้าหมายการโจมตีเนื่องจาก เป็นสัญลักษณ์ของรัฐ ส่งผลให้มีการปิดโรงเรียนหลายครั้งในช่วงครึ่งปีหลัง (แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล, 2556) ซึง่ จากรายงานรายงานการปฏิบตั ดิ า้ นสิทธิมนุษยชนประจ�ำปี พ.ศ. 2556 จัดท�ำโดยส�ำนักงานประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และแรงงาน สถานทูตสหรัฐอเมริกา ระบุข้อมูลสถิติของศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ซึ่งเป็นองค์การนอกภาครัฐ ทีร่ ะบุวา่ สถิตติ งั้ แต่เดือนมกราคม 2548 ถึงเดือนสิงหาคม 2556 ความรุนแรงเป็นผลให้มผี เู้ สียชีวติ 5,816 คนและบาดเจ็บ 10,391 คนในเหตุรุนแรง 13,589 ครั้งในพื้นที่ภาคใต้ แต่องค์กรดังกล่าวไม่ได้แยกสถิติว่าเป็นความรุนแรงที่ก่อโดย ผู้ก่อการแบ่งแยกดินแดน เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงหรือกลุ่มอาชญากร นอกจากนี้ พบว่าชาวไทยพุทธจ�ำนวนมาก หนีออกจากพืน้ ทีใ่ นภาคใต้ทไี่ ด้รบั ผลกระทบจากความรุนแรง สถิตทิ างการจากกรมการปกครองระบุวา ่ ณ เดือนธันวาคม 2555 จังหวัดยะลามีประชากรลดลงเล็กน้อย แต่จังหวัดปัตตานีและนราธิวาสมีประชากรเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (สถานทูต สหรัฐอเมริกา, 2556) เสรีภาพการแสดงออก แอมเนสตี้ อินเตอรเนชัน่ แนล ระบุ การถูกจ�ำกัดเสรีภาพในการแสดงออก พยายาม ให้มกี ารทบทวนพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ และกฎหมายหมิน่ พระบรมเดชานุภาพ (มาตรา 112 ประมวลกฎหมายอาญา) โดยการเรียกร้องในปี 2555 ให้แก้ไขกฎหมายอาญามาตรา 112 (แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล, 2556) อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2555 ศาลรัฐธรรมนูญพิพากษาว่า การจ�ำกัดเสรีภาพ ในการแสดงออก และการลงโทษในกรณีการกระท�ำความผิดฐานหมิ่นสถาบันกษัตริย์นั้นไม่ขัดกับรัฐธรรมนูญ (ฮิวแมน ไรท์วอทช์, 2556) และรัฐสภาได้ปฏิเสธทีจ่ ะน�ำการแก้ไขเพิม่ เติมเข้าสูว่ าระพิจารณา (แอมเนสตี้ อินเตอรเ นชัน่ แนล, 2556) หน้า 88

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

นโยบายของรัฐบาลต่อผูล้ ภ้ี ยั และผูอ้ พยพเข้าเมือง ประเทศไทย ไม่ได้เป็นภาคีอนุสญ ั ญาผูล้ ภี้ ยั ปี 2494 และไม่มกี ฎหมายภายในประเทศทีย่ อมรับสถานะผูล้ ภี้ ยั ผูแ้ สวงหาทีพ่ กั พิงและผูล้ ภี้ ยั ทีถ่ กู จับกุมมักโดนคุมขังเป็นเวลานาน จนกว่าจะได้รบั อนุมตั ใิ ห้ ไปตัง้ ถิน่ ฐานในประเทศทีส่ าม หรือยินยอมถูกเนรเทศโดยออกค่าใช้จา่ ยเอง (ฮิวแมนไรท์วอทช์, 2556) เมือ่ รัฐมีนโยบายช่วยเหลือผูล้ ภี้ ยั และผูอ้ พยพเข้าเมือง โดยการให้เสบียงและน�ำ้ มันเรือโดยเฉพาะกลุม่ ชาวโรฮิงญา เพื่อไม่ให้แวะฝั่งไทย ให้ไปต่อที่อื่น แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล มองว่าไม่ใช่การช่วยเหลือที่แท้จริงมีความเสี่ยงที่จะ ถูกควบคุมตัวและมีความเสีย่ งทีจ่ ะถูกส่งกลับมาก พร้อมระบุวา่ มีการใช้อาวุธกับผูแ้ สวงหาทีพ่ กั พิงด้วย (แอมเนสตี้ อินเตอร เนชัน่ แนล, 2556) ซึง่ จากการรายงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (2556) พบว่าคณะกรรมการสิทธิมนุยชน มีการตรวจสอบการร้องเรียนของชาวโรฮิงญา โดยการเข้าเยี่ยมผู้อพยพชาวโรฮิงญาที่หนีออกจากประเทศเมียนมา ถูกควบคุมตัวไว้ทจี่ งั หวัดนราธิวาส จ�ำนวน 39 คน ณ บ้านพักเด็กและครอบครัว และทางคณะอนุกรรมการด้านสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้จดั เวทีสาธารณะเรือ่ ง “ข้อเสนอต่อรัฐฐาลไทยในการแก้ไข ปัญหาผู้อพยพชาวโรฮิงญาอย่างสร้างสรรค์” รวมทั้งตั้งคณะท�ำงานช่วยเหลือชาวโรฮิงญา รวมทั้งจัดท�ำข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายแก่รัฐบาลให้ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2556) อย่างไรก็ตามในรายงานดังกล่าวไม่ได้ระบุว่ามีการเสนอแก้ไขกฎหมายในประเด็นใดบ้าง การค้ามนุษย์ กระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยนายจอห์น แครี่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ เผยแพร่รายงานประจ�ำปี เรื่อง สถานการณ์การค้ามนุษย์ ประจ�ำปี 2557 (Trafficking in Persons Report 2014 หรือ TIP Report) เป็นการส�ำรวจทุกประเทศในโลก ระบุให้ประเทศไทยถูกลดอันดับจากบัญชีกลุ่มที่ 2 ซึ่งต้องจับตามอง (Tier 2 Watch List) ลงมาอยู่ในบัญชีกลุ่มที่ 3 (Tier 3) ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีสถานการณ์ค้ามนุษย์ ระดับเลวร้ายทีส่ ดุ รายงานฉบับนีร้ ะบุวา ่ รัฐบาลไทยไม่สามารถด�ำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรฐานขัน้ ต�ำ่ ของสหรัฐอเมริกา เพื่อการขจัดการค้ามนุษย์ (U.S. Department of State, 2014) ทั้งนี้ จากรายงานการค้ามนุษย์ปี 2555 และ 2556 ประเทศไทยได้รับการยกเว้นจากการถูกลดระดับไปอยู่ในบัญชีกลุ่มที่ 3 (Tier 3) เนื่องจากรัฐบาลได้เสนอแผนที่จะ ด�ำเนินการให้ประเทศไทยสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานขั้นต�่ำในการขจัดปัญหาการค้ามนุษย์ ตามกฎหมายว่าด้วย การปกป้องเหยือ่ การค้ามนุษย์ (TVPA) ให้ยกเว้นประเทศจากการถูกลดอันดับได้ 2 ปี อย่างไรก็ตามรัฐบาลไทยไม่สามารถ ด�ำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต�่ำของสหรัฐอเมริกาเพื่อการขจัดการค้ามนุษย์ และถือว่าประเทศไทยไม่ได้มี ความพยายามอย่างเพียงพอที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานขั้นต�่ำในการขจัดการค้ามนุษย์ จึงให้ลดระดับลงไปอยู่ในบัญชี กลุ่มที่ 3 (Tier 3) ทั้งนี้กระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริกาจะท�ำรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ (TIP Report) เป็นประจ�ำทุกปี ตามกฎหมายว่าด้วยการปกป้องเหยื่อการค้ามนุษย์ (Trafficking Victims Protection Act of 2000 หรือ TVPA) เพือ่ รายงานต่อรัฐสภาสหรัฐอเมริกา โดยเปรียบเทียบสถานการณ์การค้ามนุษย์ของทัว่ โลกกับมาตรฐานของ สหรัฐฯ และจัดล�ำดับประเทศต่างๆ ออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ Tier 1 ระดับดีที่สุด หมายถึง ประเทศที่ด�ำเนินการสอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต�่ำตามกฎหมายของ สหรัฐอเมริกา ในการป้องกันละบังคับใช้กฎหมายการต่อต้านการค้ามนุษย์ Tier 2 หมายถึง ประเทศที่มีการด�ำเนินการยังไม่สอดคล้องกับกฎหมายของสหรัฐอเมริกา แต่ได้แสดง ให้เห็นถึงความพยายามที่จะแก้ไขปัญหา Tier 2 Watch List หมายถึง ประเทศที่มีรายงานเหยื่อการค้ามนุษย์เพิ่มขึ้น หรือไม่มีหลักฐานชัดเจน ว่ารัฐบาลได้พยายามต่อต้านการค้ามนุษย์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 89


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

Tier 3 ระดับต�่ำสุดหมายถึงประเทศที่ด�ำเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต�่ำของกฎหมายสหรัฐ อเมริกา และไม่มีความพยายามแก้ไขปัญหา 5.2 ด้านกระบวนการยุติธรรม การกระท�ำมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ องค์การแอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล แถลงถึงประเด็นการละเมิด สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยในประเด็น พระราชก�ำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. 2548 ยังคงมีผล บังคับใช้ตลอดทัง้ ปีรฐั บาลได้ตอ่ อายุทกุ สามเดือน เป็นกฎหมายทีป่ อ้ งกันไม่ให้มกี ารฟ้องร้องด�ำเนินคดีตอ่ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ที่อาจท�ำการละเมิดสิทธิมนุษยชนรวมทั้งการทรมาน เมื่อเกิดเหตุการณ์รุนแรงขึ้น แต่กลับไม่สามารถน�ำผู้กระท�ำผิด ที่เป็นฝ่ายความมั่นคงมาเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมได้ (แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล, 2556) นับแต่ปี 2548 ถึงเดือน กันยายน 2555 คณะรัฐมนตรีได้ขยายเวลาการประกาศใช้พระราชก�ำหนดฉุกเฉิน 33 ครัง้ ครัง้ ละสามเดือนอย่างต่อเนือ่ ง ในหลายจังหวัดในภาคใต้ ซึง่ ทางสถานทูตสหรัฐอเมริการะบุวา ่ การทีเ่ จ้าหน้าทีไ่ ม่ตอ้ งถูกลงโทษยังคงเป็นปัญหาร้ายแรง โดยเฉพาะในจังหวัดทีย่ งั มีการประกาศใช้พระราชก�ำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัติ การรักษาความมัน่ คงภายใน พ.ศ. 2551 และกฎอัยการศึก ซึง่ จากรายงานการปฏิบตั ดิ า้ นสิทธิมนุษยชนประจ�ำปี พ.ศ. 2556 จัดท�ำโดยส�ำนักงานประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและแรงงาน สถานทูตสหรัฐอเมริกา ระบุสำ� นักการสอบสวนและนิตกิ าร กระทรวงมหาดไทยรายงานว่า เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยความมัน่ คง ซึง่ ได้แก่ ต�ำรวจ ทหาร และเจ้าหน้าทีห่ น่วยงานอืน่  ๆ ได้สงั หาร ผูต้ อ้ งสงสัย 74 คน ขณะด�ำเนินการจับกุมระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ซึง่ หน่วยงาน ต�ำรวจทีร่ บั ผิดชอบพืน้ ทีท่ มี่ กี ารสังหารได้ทำ� การสืบสวนทุกกรณี แต่ไม่เปิดเผยรายละเอียดให้สาธารณชนทราบ ทัง้ นีภ้ ายใต้ กฎอัยการศึก เจ้าหน้าทีท่ างการสามารถกักกันบุคคลเป็นเวลาสูงสุดไม่เกินเจ็ดวันโดยไม่ตอ้ งแจ้งข้อหาและไม่ตอ้ งได้รบั อนุมตั ิ จากศาลหรือหน่วยงานของรัฐ ส�ำหรับในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส และยะลา พระราชก�ำหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉกุ เฉินซึง่ มีการบังคับใช้ในพืน้ ทีเ่ ดียวกันนีใ้ ห้อำ� นาจแก่เจ้าหน้าทีท่ างการในการจับกุมและคุมขังผูต้ อ้ งสงสัย ได้นานสูงสุด 30 วันโดยไม่ต้องมีข้อกล่าวหา หลังจากช่วงเวลา 30 วันนี้แล้ว ทางการสามารถเริ่มคุมขังผู้ต้องสงสัยได้ ภายใต้กฎหมายอาญาปกติ (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) นอกจากนีจ้ ากรายงานของคณะกรรมการสิทธิและมนุษยชนแห่งชาติ (2556) ระบุถงึ การบังคับใช้กฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 ที่รัฐบาลประกาศบังคับใช้ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2556 นับว่า เป็นกฎหมายพิเศษที่มีมาตรการและการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎหมาย ในการจ�ำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนตามทีร่ ฐั ธรรมนูญให้การรับรองและคุม้ ครอง ด้านสิทธิ และเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย เสรีภาพในเคหสถาน เสรีภาพในการเดินทาง เสรีภาพในการสื่อสาร สิทธิของบุคคล ในทรัพย์สนิ และเสรีภาพในการประกอบอาชีพ นอกจากนีพ้ บว่าจากการบังคับใช้ของเจ้าหน้าทีร่ ฐั ในกระบวนการยุตธิ รรม ปราฏการร้องเรียนจากผูต้ อ้ งหา จ�ำเลยและผูต้ อ้ งขัง พบว่ามีเรือ่ งร้องเรียนในด้านสิทธิกระบวนการยุตธิ รรมในรอบปี 2556 จ�ำนวน 132 ค�ำร้อง โดยพิจารณาจากค�ำร้องทีย่ นื่ เข้ามาให้ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนทัง้ หมดจ�ำนวน 628 ค�ำร้อง กล่าวคือคิดเป็นร้อยละ 21.01 ในขณะทีใ่ นรอบปี 2555 มีเรือ่ งร้องเรียนด้านสิทธิในกระบวนการยุตธิ รรมจ�ำนวน 127 ค�ำร้อง จากจ�ำนวนเรือ่ งร้องเรียนด้านละเมิดสิทธิมนุษยชนทัง้ หมดจ�ำนวน 704 ค�ำร้อง หรือคิดเป็นร้อยละ 18.04 (คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนห่งชาติ, 2556) โทษประหารชีวิต จากข้อมูลกรมราชทัณฑ์ ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤศจิกายน 2557 พบว่า สถิตินักโทษ ประหารชีวิต รวมทุกสถานะ 630 ราย แยกเป็นชาย 580 ราย และหญิง 50 ราย ในจ�ำนวน นักโทษประหารชีวิต ทั้ง 630 ราย คิดเป็นนักโทษที่คดีถึงที่สุดแล้ว 244 รายส่วนที่เหลือ 386 ราย อยู่ระหว่างอุทธณ์ฎีกา นอกจากนี้เมื่อแยก ประเภทคดีพบว่า เป็นนักโทษคดียาเสพติด 269 รายและคดีทวั่ ไป 361 ราย ปรากฏตามตาราง (กรมราชทัณฑ์, 2557 ก) หน้า 90

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตาราง 5.1 สถิตินักโทษประหารชีวิต ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน 2557

คดีทั่วไป

ประเภทคดี/สถานะคดี ชาย 221 169 52 130 124 6 351

หญิง 8 8 0 2 2 0 10

คดียาเสพติด รวม 229 177 52 132 126 6 361

ระหว่างอุทธรณ์ฎีกา - ชั้นอุทธรณ์ - ชั้นฎีกา คดีถึงที่สุด ยื่นฎีกาทูลเกล้าฯ แล้ว อยู่ระหว่างด�ำเนินการ รวมทุกสถานะ หมายเหตุ 1. ยกมา 609 คน 2. เพิ่มใหม่เดือนนี้ 21 คน 3. ตาย – คน 4. ได้รับอภัยโทษ – คน 5. พิพากษาลดโทษ/ยกฟ้อง – คน 6. บังคับโทษประหารชีวิต - คน ที่มา กรมราชทัณฑ์, 2557 ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2557

ชาย 132 114 18 97 92 5 229

หญิง 25 25 0 15 15 0 40

รวมทุกประเภท รวม 157 139 18 112 107 5 269

386 316 70 244 233 11 630

อย่างไรก็ตาม องค์การแอมเนสตี้ อินเตอรเ นชัน่ แนลแถลงถึงประเด็นการมีโทษประหารชีวติ ทีย่ งั คงมีอยู่ ส�ำหรับ การประหารชีวิตในประเทศไทยในช่วงระหว่างปี 2478 – 2556 มีจ�ำนวน 726 ราย ส�ำหรับการประหารชีวิต ครั้งล่าสุด เมื่อเดือนสิงหาคม 2552 โดยใช้การประหารชีวิตด้วยวิธีฉีดยาพิษในผู้ต้องโทษคดียาเสพติด 2 ราย แม้ไมปรากฏวา มีรายงานการประหารชีวติ ในปี 2555 แต่ศาลของประเทศไทยยังคงก�ำหนดโทษประหารตลอดทัง้ ป และในเดือนสิงหาคม 2556 รัฐไดลดโทษใหกับนักโทษประหาร 58 คน ใหเหลือเพียงโทษจ�ำคุกตลอดชีวิต แต่ก็มีผู้ได้รับโทษประหารใหม่อีก กว่าร้อยคน มากขึน้ กว่าปีกอ่ นหน้านีร้ าวสองเท่า แอมเนสตีก้ ำ� ลังเรียกร้องให้รฐั บาลไทยพิจารณาเลิกโทษประหารชีวติ และ ให้ผนวกเอานโยบายดังกล่าวไปใว้ในร่างแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 – 2561) ได้มขี อ้ เสนอเรียกร้อง รัฐบาลไทยเกี่ยวกับการก�ำหนดโทษประหารชีวิตเพื่อเสนอทางเลือกดังนี้ (1) มีค�ำสั่งชะลอการประหารชีวิต และจัดท�ำ ความตกลงชั่วคราวเพื่อยุติการใช้โทษประหาร ซึ่งสอดคล้องกับมติขององค์การสหประชาชาติ เมื่อปี 2553 (2) เปลี่ยน โทษประหารชีวิตให้เป็นโทษจ�ำคุก และเสนอให้แก้ไขกฎหมายเพื่อลดจ�ำนวนความผิดทางอาญาที่มีบทลงโทษประหาร ชีวติ ลง โดยขณะนีอ้ าชญากรรมร้ายแรงทีม่ โี ทษประหารชีวติ อยู่ 55 ความผิดอาญา (3) ให้สตั ยาบันรับรองพิธสี ารเลือกรับ ฉบับที่สองของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) ที่มุ่งยกเลิกโทษประหารชีวิต (แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล, 2556) คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 91


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

คณะอนุกรรมการปฏิบตั กิ ารยุทธศาสตร์ดา้ นสิทธิในกระบวนการยุตธิ รรม ส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ (2557) และกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม ได้ดำ� เนินการขับเคลือ่ นศึกษาเรือ่ งโทษประหารชีวติ ในแง่วชิ าการ โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้ทำ� การวิจยั เรือ่ ง “โทษประหารชีวติ ในประเทศไทย” และกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ศึกษาเรื่อง “โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการยกเลิกโทษประหารชีวิต ตาม แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2” โดยวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นการยกเลิกโทษประหารชีวิต ของประเทศ ต่าง ๆ ทัง้ ประเทศทีม่ กี ารยกเลิกโทษประหารชีวติ และประเทศทีย่ งั คงใช้โทษประหารชีวติ รวมถึงมาตรการ แนวทางต่าง ๆ รองรับหากมีการยกเลิกโทษประหารชีวติ แล้ว ตามหลักสิทธิมนุษยชนสากลและเพือ่ ศึกษาทบทวนกฎหมายภายในประเทศ ทุกฉบับที่มีการประหารชีวิต รวมถึงลักษณะแห่งคดีหรือความร้ายแรงของคดีที่มีการลงโทษ สถิติคดีที่มีค�ำพิพากษา ถึงที่สุดให้ลงโทษประหารชีวิตและสถิติของการบังคับโทษประหารชีวิตของประเทศไทยย้อนหลัง 10 ปี จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ได้รบั ฟังความคิดเห็นกลุม่ ตัวแทนจากทุกภาคส่วนครอบคลุมทุกจังหวัดทัว่ ประเทศในประเด็นการยกเลิกโทษ ประหารชีวติ ให้เป็นไปตามหลักการสิทธิมนุษยชนสากล (ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชดั , นิตยา ส�ำเร็จผล และน�ำ้ แท้ บุญมีสล้าง, 2557) พบว่า รายงานวิจยั ทัง้ สองชิน้ มีขอ้ สรุปในประเด็นแนวคิดทีส่ ำ� คัญของประชาชนทีม่ ตี อ่ โทษประหารชีวติ ในประเทศไทย คือประชาชนไทยส่วนมากยังคงเห็นด้วยกับการใช้โทษประหารชีวิต เมือ่ เดือนมกราคม 2555 กรมราชทัณฑ์มกี ารปลดโซ่ตรวนของนักโทษประหารชีวติ โดยถอดตรวนขานักโทษ รอการประหารชีวติ และนักโทษต้องขังระยะยาวอืน่  ๆ ในเรือนจ�ำทีก่ รุงเทพมหานครอันเป็นส่วนหนึง่ ของโครงการน�ำร่อง เพื่อยกเลิกการปฏิบัติดังกล่าวเป็นการถาวร (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) กรมราชทัณฑ์ต้องการให้การใช้โซ่ตรวน กับนักโทษเป็นไปตามหลักสากลด้านสิทธิมนุษยชน เรือนจ�ำกลางบางขวางได้เริ่มด�ำเนินการทดลองถอดตรวนให้กับ ผูต้ อ้ งขังทีจ่ ำ� ตรวนทัง้ หมด ตัง้ แต่วนั ที่ 23 มกราคม 2556 โดยผูต้ อ้ งขังทีไ่ ด้รบั การถอดตรวน ได้แก่ ผูต้ อ้ งขังทีม่ กี ำ� หนดโทษ ต�่ำกว่า 50 ปี จ�ำนวน 16 ราย ผู้ต้องขังที่มีก�ำหนดโทษจ�ำคุกตลอดชีวิต จ�ำนวน 34 ราย และผู้ต้องขังที่มีก�ำหนดโทษ ประหารชีวิต จ�ำนวน 513 ราย รวมจ�ำนวน ผู้ได้รับการถอดตรวนทั้งสิ้น จ�ำนวน 563 ราย ต่อมาวันที่ 15 พ.ค. 2556 น.ส. ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้เป็นประธานในพิธี “วันประกาศถอดตรวนผูต้ อ้ งขัง” (ทีมข่าวอาชญากรรม, 2556) สิทธิของผู้ต้องขัง จากสถิติผู้ต้องขังในเรือนจ�ำทั่วประเทศ พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี เมื่อเทียบกับ ผู้ต้องขังที่ส�ำรวจช่วงวันที่ 1 มกราคม 2553 พบว่าผู้ต้องราชทัณฑ์ทั่วประเทศมีจ�ำนวน 119,761 ราย กล่าวคือข้อมูล ส�ำรวจ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 พบว่ามี มีผู้ต้องราชทัณฑ์ทั่วประเทศ 251,819 ราย แยกเป็นผู้ต้องราชทัณฑ์ชาย 214,833 ราย และผูต้ อ้ งราชทัณฑ์หญิง 36,986 ราย โดยมีนกั โทษเด็ดขาดถึงร้อยละ 72.805 กล่าวคือเป็นนักโทษเด็ดขาด ชาย 156,493 ราย และนักโทษเด็ดขาดหญิง 26,832 ราย ที่น่าสนใจพบว่า ในจ�ำนวนผู้ต้องราชทัณฑ์ยังพบว่ามีเยาวชน ทีฝ่ ากขังจ�ำนวน 270 ราย แยกเป็นเยาวชนชาย 249 ราย และเยาวชนหญิง 21 ราย ส�ำหรับการส�ำรวจข้อมูล ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 มีผู้ต้องราชทัณฑ์ทั่วประเทศ 291,734 ราย แยกเป็ผู้ต้องราชทัณฑ์ชาย 249,502 ราย และผู้ต้อง ราชทัณฑ์หญิง 42,232 ราย โดยมีนักโทษเด็ดขาดถึงร้อยละ 75.58 กล่าวคือเป็นนักโทษเด็ดขาดชาย 188,793 ราย และนักโทษเด็ดขาดหญิง 31,692 ราย ที่น่าสนใจพบว่าในจ�ำนวนผู้ต้องราชทัณฑ์ยังพบว่ามีเยาวชนที่ฝากขังจ�ำนวน 184 ราย แยกเป็นเยาวชนชาย 178 ราย และเยาวชนหญิง 6 ราย (กรมราชทัณฑ์, 2557) เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลผู้ต้อง ราชทัณฑ์ในช่วงปี 2555 และปี 2556 พบว่ามีเพิ่มขึ้น 13.6 เปอร์เซ็นต์ และหากเทียบข้อมูลการส�ำรวจเมื่อปี 2257 กับ การส�ำรวจเมื่อปี 2553 พบว่าผู้ต้องราชทัณฑ์เพิ่มมากขึ้นกว่า 1.4 เท่าตัวหรือร้อยละ 143.59 จากความหนาแน่นของเรือนจ�ำ จึงมีข้อสังเกตว่า สภาพเรือนจ�ำและสถานกักกันที่ยังคงแออัดและ ไม่ถูกหลักสุขอนามัย จากสถิติเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2555 มีผู้ต้องขังในเรือนจ�ำและสถานกักกันประมาณ 273,000 คน หน้า 92

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

แต่สถานทีอ่ อกแบบให้รองรับสูงสุดเพียง 209,000 คน ประมาณร้อยละ 15 เป็นผูห้ ญิงและน้อยกว่าร้อยละ 1 เป็นผูเ้ ยาว์ สถิตเิ มือ่ วันที่ 1 กันยายน 2555 ทางการได้ควบคุมตัวบุคคลต่างด้าว 735 คนทีศ่ นู ย์กกั ขังของส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ในกรุงเทพมหานคร (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) นอกจากนีจ้ ากรายงานของส�ำนักการสอบสวนและนิตกิ าร กระทรวง มหาดไทยระบุว่า มีบุคคลเสียชีวิตระหว่างอยู่ภายใต้การควบคุมของทางการ 799 คน ระหว่างเดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนกรกฎาคม 2556 ส่วนใหญ่เสียชีวิตด้วยสาเหตุธรรมชาติ นอกจากนี้เจ้าหน้าที่เรือนจ�ำใช้การขังเดี่ยวนานไม่เกิน หนึ่งเดือน เพื่อลงโทษนักโทษชายที่ฝ่าฝืนกฎระเบียบของเรือนจ�ำเป็นประจ�ำ ซึ่งสามารถท�ำได้ตามกฎหมาย โดย กรมราชทัณฑ์ยืนยันว่าการขังเดี่ยวโดยเฉลี่ยจะไม่เกินเจ็ดวัน (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) ในเดือนมีนาคม 2555 กรมราชทัณฑ์ เริม่ ใช้อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตดิ ตามตัวเพือ่ ควบคุมการเคลือ่ นไหว บุคคลทีบ่ า้ นพักของตนเองแทนทีจ่ ะให้อยูใ่ นเรือนจ�ำ นอกจากนีน้ กั โทษและผูต้ อ้ งขังสามารถมีผเู้ ข้าเยีย่ มได้และสามารถ ปฏิบัติศาสนกิจได้ ทางการอนุญาตให้นักโทษและผู้ต้องขังหรือผู้แทนสามารถยื่นค�ำร้องต่อส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน โดยไม่ต้องผ่านการตรวจพิจารณาก่อนแต่ไม่สามารถยื่นค�ำร้องต่อฝ่ายตุลาการได้โดยตรง ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน สามารถด�ำเนินการพิจารณาและสอบสวนค�ำร้องเรียนหรือค�ำร้องทุกข์ที่ได้รับจากนักโทษและให้ค�ำแนะน�ำแก่กรม ราชทัณฑ์ (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) กระทรวงยุตธิ รรมโดยผ่านกรมราชทัณฑ์มหี น้าทีร่ บั ผิดชอบการสอดส่องดูแลสภาพเรือนจ�ำและสถานกักกัน รัฐบาลอนุญาตให้ผู้สังเกตการณ์อิสระด้านสิทธิมนุษยชนและผู้แทนองค์กรสิทธิมนุษยชนสามารถเข้าเยี่ยมนักโทษ ที่เรือนจ�ำและศูนย์กักกันของส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองได้ โดยไม่ต้องมีบุคคลที่สามอยู่ด้วยและสามารถเข้าเยี่ยมอีกได้ หลายครัง้ ตลอดจนได้รบั อนุญาตให้เข้าชมสถานีตำ� รวจทุกแห่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) การคุ้มครองผู้ให้เบาะแส แม้ว่าประเทศไทย ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้มีมาตรการรองรับผู้แจ้งเบาะแส อย่างไรก็ตามการน�ำไปปฏิบตั ติ ามมาตรการดังกล่าวยังเป็นสิง่ ใหม่ ประเทศไทยยังไม่มกี ฎหมายเฉพาะทีบ่ ญ ั ญัตเิ กีย่ วกับ เรื่องการแจ้งเบาะแสโดยตรง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และกฎหมาย ว่าด้วยการคุม้ ครองพยานในคดีอาญา พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2550 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554) พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติวา่ ด้วยการคุม้ ครองช่วยเหลือพยาน พ.ศ. 2554 เบาะแส ผู้แจ้งเบาะแสหรือบุคคลที่แจ้งเบาะ (1) ผู้ที่เป็นผู้เสียหาย ผู้ยื่นค�ำกล่าวหาร้องเรียนหรือผู้ร้องเรียนโดยไม่ประสงค์จะ ออกนาม (บัตรสนเท่ห)์ (2) ผูร้ เู้ ห็นเหตุการณ์ ทีส่ ามารถให้ขอ้ เท็จจริงเป็นประโยชน์ตอ่ คดีและสามารถมาเป็นพยานให้ได้ (3) ผูร้ ว่ มหรือมีสว่ นร่วมในการกระท�ำความผิดกับผูถ้ กู กล่าวหา ผูต้ อ้ งหาหรือจ�ำเลยทีเ่ ป็นตัวการส�ำคัญทีถ่ กู กันไว้เป็นพยาน โดยไม่ด�ำเนินคดี (ส�ำนักงาน ป.ป.ช., 2556) คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการกันบุคคลไว้เป็นพยาน โดยไม่ด�ำเนินคดี พ.ศ. 2554 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 มิถุนายน 2554 ซึ่งได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการกันบุคคลหรือผู้ถูกกล่าวหาที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ กระท�ำผิดกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐซึง่ เป็นผูถ้ กู กล่าวหารายอืน่ ไว้เป็นพยาน ได้กำ� หนดความหมายของค�ำว่า “พยาน” หมายความ ว่า บุคคลผู้ซึ่งยังมิได้ถูกแจ้งข้อกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวหารายใดที่ได้ให้ถ้อยค�ำ หรือแจ้งเบาะแสหรือข้อมูล อันเป็น สาระส�ำคัญในการที่จะใช้เป็นพยานหลักฐานในการวินิจฉัย ชี้มูลการกระท�ำผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้กนั ไว้เป็นพยานโดยไม่ดำ� เนินคดีตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การด�ำเนินการไต่สวนของคณะกรรมการ ป.ป.ช. บางเรือ่ งได้มกี ารน�ำเอากระบวนการและหลักเกณฑ์ในเรือ่ งการกันบุคคล คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 93


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ไว้เป็นพยานโดยไม่ด�ำเนินคดีมาใช้ในการไต่สวนด้วย ทั้งนี้มาจากหลักการส�ำคัญที่มุ่งเน้นเพื่อให้ได้ตัวผู้กระท�ำความผิด ซึ่งเป็นตัวการส�ำคัญมาลงโทษตามกฎหมาย โดยกันบุคคลหรือผู้ถูกกล่าวหารายใด ซึ่งถือเป็นผู้ให้เบาะแส โดยบุคคล ดังกล่าวนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องในการกระท�ำความผิดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นผู้ถูกกล่าวหารายอื่นซึ่งเป็นตัวการส�ำคัญ ไว้เป็นพยาน (ส�ำนักงาน ป.ป.ช., 2556) ซึ่งทั้งนี้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2550 มาตรา 103/6 และประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดังกล่าว ดังนัน้ จึงถือได้วา่ เป็นกระบวนการด�ำเนินการในภารกิจหลักของคณะกรรมกการ ป.ป.ช. ทีน่ ำ� ไปสูป่ ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ทัง้ ในการ ปราบปราม การกันบุคคลไว้เป็นพยานโดยไม่ด�ำเนินคดีตามกฎหมายและระเบียบของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในปัจจุบัน จึงถือว่าเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นใหม่ที่มีความส�ำคัญโดยมีการบัญญัติรับรองเป็นกฎหมายไว้อย่างชัดเจนเป็นครั้งแรก ในประเทศไทย โดยบัญญัตลิ งในพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญซึง่ มีลำ� ดับศักดิท์ างกฎหมายสูงกว่าพระราชบัญญัติ ซึ่งตราโดยรัฐสภาตามการเสนอของฝ่ายบริหาร การกันบุคคลไว้เป็นพยานโดยไม่ด�ำเนินคดี มีหลักการและองค์ประกอบ ส�ำคัญ ดังต่อไปนี้ (ส�ำนักงาน ป.ป.ช., 2556) (1) ต้องบุคคลผูร้ เู้ ห็นเหตุการณ์และมีสว่ นเกีย่ วข้องหรือร่วมในการกระท�ำความผิดซึง่ ได้ให้ถอ้ ยค�ำ หรือ แจ้งเบาะแสหรือข้อมูลอันเป็นสาระส�ำคัญ ในการทีจ่ ะใช้เป็นพยานหลักฐานในการวินจิ ฉัยชีม้ ลู การกระท�ำผิดของเจ้าหน้าที่ ของรัฐรายอืน่ ทีเ่ ป็นตัวการส�ำคัญได้ และจะต้องเต็มใจทีจ่ ะให้ถอ้ ยค�ำ หรือแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลพร้อมกับรับรองว่าจะไป เบิกความเป็นพยานในชั้นศาลตามที่ได้ให้การหรือให้ถ้อยค�ำไว้ด้วย (2) คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเป็นผูพ้ จิ ารณาเห็นสมควรกันบุคคลไว้เป็นพยาน โดยไม่ดำ� เนินคดีหรือไม่ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับข้อค�ำนึงถึงเหตุผลที่ว่า หากไม่กันบุคคลดังกล่าวไว้เป็นพยานแล้ว พยานหลักฐานที่มีอยู่ อาจไม่เพียงพอ และไม่อาจแสวงหาพยานหลักฐานอื่นแทนเพื่อให้เพียงพอแก่การที่จะด�ำเนินคดีกับตัวการส�ำคัญได้ และบุคคลดังกล่าว จะต้องเบิกความต่อศาลตามที่ให้การไว้ด้วย (3) ด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์วธิ กี ารและเงือ่ นไขทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนดตามประกาศคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรือ่ งหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงือ่ นไขในการกันบุคคล ไว้เป็นพยาน โดยไม่ดำ� เนิน คดี พ.ศ. 2554 (ส�ำนักงาน ป.ป.ช., 2556) สิทธิผู้ต้องหาพบทนายความ กระทรวงยุติธรรมและศาลยุติธรรมได้จัดหาทนายประมาณ 450 คน ให้แก่ผถู้ กู คุมขังทีม่ ฐี านะยากจนโดยใช้งบประมาณของรัฐตัง้ แต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึงเดือนสิงหาคม 2556 (สถานทูต สหรัฐอเมริกา, 2556) ทัง้ นีต้ ามทีก่ ระทรวงยุตธิ รรม ได้ออกกฎกระทรวงก�ำหนดหลักเกณฑ์วธิ กี ารและเงือ่ นไขทีพ่ นักงาน สอบสวนต้องปฏิบตั ใิ นการจัดหาทนายความให้แก่ผตู้ อ้ งหาในคดีอาญา พ.ศ. 2549 และระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วย การจ่ายเงินรางวัลและค่าใช้จา่ ยแก่ทนายความทีร่ ฐั จัดหาให้แก่ผตู้ อ้ งหาในคดีอาญา (2550) โดยส�ำนักงานกิจการยุตธิ รรม รับผิดชอบเริม่ แรก ได้จดั ท�ำโครงการส่งเสริมสิทธิแก่ผตู้ อ้ งหาในการสอบสวนในคดีอาญา จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2552 ได้โอน ภารกิจดังกล่าวให้กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ โดยกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ ด�ำเนินการส่งเสริมสิทธิแก่ผู้ต้องหา ในการสอบสวนคดีอาญา โดยการจัดตั้งงบประมาณค่าตอบแทนเงินรางวัลและค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติหน้าที่ทนายความ และจัดสรรเงินงบประมาณให้หน่วยงานเบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคได้มอบหมายให้ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ทั่วประเทศรับผิดชอบ (ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด, ดล บุนนาค และศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, 2555) ซึ่งผู้ต้องหามีสิทธิได้รับ การจัดหาทนายความได้ในกรณี (1) คดีทผี่ ตู้ อ้ หามีอตั ราโทษประหารชีวติ และไม่มที นายความ (2) คดีทผี่ ตู้ อ้ งหาทีม่ อี ายุไม่เกิน สิบแปดปี ในวันที่พนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาและไม่มีทนายความ (3) คดีที่ผู้ต้องหามีอัตราโทษจ�ำคุก ไม่มีทนายความ หน้า 94

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

และต้องการให้รัฐจัดหาทนายความให้ (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, 2553) ซึ่งมาตรา 134/1 แห่งประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญาได้วางหลักการให้พนักงานสอบสวนจัดหาทนายความให้แก่ผู้ต้องหาในการสอบสวนคดีอาญา ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง โดยให้ทนายความดังกล่าวได้รับเงินรางวัลและค่าใช้จ่าย ในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีก่ ำ� หนดในระเบียบกระทรวงยุตธิ รรม กล่าวคือ ต้องเป็นทนายความทีส่ ภาทนายความได้จดั ส่งรายชือ่ ให้กระทรวงยุตธิ รรม เพือ่ ให้กระทรวงยุตธิ รรมได้จดั ส่งต่อให้พนักงานสอบสวนในเขตท้องทีต่ า่ ง ๆ (ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชดั และคณะ, 2555) สิทธิในการประกันตัว ส�ำหรับประเทศไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 40 (7) บัญญัติว่า “ในคดีอาญาผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยมีสิทธิได้รับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีที่ถูกต้องรวดเร็วและ เป็นธรรม โอกาสในการต่อสู้คดีอย่างเพียงพอ การตรวจสอบหรือได้รับทราบพยานหลักฐานตามสมควร การได้รับความ ช่วยเหลือในทางคดีจากทนายความและได้รบั การปล่อยตัวชัว่ คราว” (ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชดั , ดล บุนนาค และศิรพิ ล กุศลศิลป์วุฒิ, 2555) และในปัจจัจุบันโดยผลของมาตรา 4 รัฐธรรมนูญ 2557 จากข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 ผลการช่วยเหลือกองทุนยุติธรรม มีผู้ยื่นขอความช่วยเหลือเรื่อง ค่าประกันตัวนับตั้งแต่เปิดด�ำเนินการในปี 2550 ถึง ปี 2557 พบว่ามากกว่าร้อยละ 80 เป็นเงินจ�ำนวนเงิน 224,946,133.02 บาท ภาพ 5.1 ผลการด�ำเนินงานกองทุนยุติธรรม ผลการดําเนินงาน กองทุนยุต ิธรรม พ.ศ. 2550 – 2557 (แยกรายกรณี)

่ ยเหลือในภาพรวม จ่ายเงินชว

262,412,041.77 บาท ตรวจพิสูจน์ 0.69% 1,817,178 บาท

ค่า พาหนะ 0.08% 205,846 บาท คุม ้ ครองพยาน 0.17% 434,400 บาท

ค่า ประก ันต ัว 85.72% 224,946,133.02 บาท

ค่า ธรรมเนียมศาล 3.92% 10,307,465.75บาท ค่า ทนายความ 7.16% 18,777,399 บาท

ค่า ใช้จ ่ายอ ันเกิดจากความผิด ทางอาญา 0.09% 230,000 บาท ค่า ใช้จ ่ายตามว ต ั ถุประสงค์ 2.17% 5,693,620 บาท

ที่มา กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, 2557 สิทธิเหยื่อได้รับการชดเชยจากรัฐ ในเดือนมกราคม 2555 รัฐบาลเห็นชอบให้มีการจ่ายเงินเยียวยา ผู้เสียหายจากเหตุการณ์ความรุนแรงเมื่อปี 2553 (ฮิวแมนไรท์วอทช์, 2556, แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล, 2556) นอกจากนีใ้ นการช่วยเหลือเหยือ่ ทัว่ ไป ส�ำนักงานทางการเงินแก่ผเู้ สียหายและจ�ำเลยในคดีอาญา โดยคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนฯ ได้จ่ายเงินชดเชยจ�ำนวน 3,740 รายเป็นเงิน 221 ล้านบาท ในปี 2555 และ จ�ำนวน 4,915 รายเป็นเงิน 274 ล้านบาท ในปี 2556 ตามล�ำดับ (ส�ำนักงานทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจ�ำเลยในคดีอาญา, 2557)

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 95


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

การบ�ำบัดผูต้ ดิ ยาเสพติด ตามพระราชบัญญัตฟิ น้ื ผูผ้ ตู้ ดิ ยาเสพติด 2545 กฎหมายมีขอ้ ก�ำหนดว่าผูต้ ดิ ยา เป็นผู้ป่วยไม่ใช่อาชญากร ส�ำหรับข้อมูลสถิติผู้กระท�ำผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดฯ จากสถิติควบคุมและสอดส่อง คดียาเสพติดของส�ำนักงานคุมประพฤติทั่วประเทศพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น กล่าวคือในปีงบประมาณ 2553 จ�ำนวน 50,876 ราย ปีงบประมาณ 2554 จ�ำนวน 76,262 ราย ปีงบประมาณ 2555 จ�ำนวน 78,211 ราย ปีงบประมาณ 2556 จ�ำนวน 119,386 ราย ตามล�ำดับ (กรมคุมประพฤติ, 2557) นอกจากนี้จากสถิติผู้ที่เข้ารับการฟื้นฟูฯ ที่เสนอต่อคณะ อนุกรรมการฯ ของส�ำนักงานคุมประพฤติทั่วประเทศ จากข้อมูล ปีงบประมาณ 2552 จ�ำนวน 82,457 ราย ปีงบประมาณ 2553 จ�ำนวน 74,865 ราย ปีงบประมาณ 2554 จ�ำนวน 119,282 ราย ปีงบประมาณ 2555 จ�ำนวน 170,075 ราย ปีงบประมาณ 2556 จ�ำนวน 168,957 ราย โดยผลการบ�ำบัดฟืน้ ฟูฯ ในแต่ละปีรายงานผลเป็นทีพ่ อใจในสัดส่วนทีส่ งู กว่า ไม่พอใจทุกปี กล่าวคือในปีงบประมาณ 2552 ได้ผลพอใจ 41,642 ราย ปีงบประมาณ 2553 ได้ผลพอใจ 54,154 ราย ปีงบประมาณ 2554 ได้ผลพอใจ 69,581 ราย ปีงบประมาณ 2555 ได้ผลพอใจ 96,597 ราย อย่างไรก็ตามแม้ผลการบ�ำบัดฟื้นฟูจะเป็นที่น่าพอใจค่อนข้างมาก แต่กระบวนการติดตามหลังปล่อย ยังค่อนข้างมีอุปสรรคในการด�ำเนินงาน จากรายงานการปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนประจ�ำปี พ.ศ. 2556 จัดท�ำโดย ส�ำนักงานประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและแรงงาน สถานทูตสหรัฐอเมริกา ระบุ พบว่า ในทางปฏิบตั แิ ล้ว เจ้าหน้าทีท่ อ้ งถิน่ ไม่ท�ำการประเมินทางการแพทย์ว่า บุคคลติดยารุนแรงในระดับใดและไม่มีการด�ำเนินกระบวนการทางกฎหมายก่อน การกักกัน เมื่อได้รับการปล่อยตัวแล้ว ผู้ป่วยก็ไม่ได้รับการช่วยเหลือให้มีการติดตามผลการบ�ำบัด สื่อมวลชนรายงาน การทารุณผู้ติดยาเสพติดที่ถูกกักกัน เช่น การทารุณทางกาย การขาดการให้ดูแลรักษาพยาบาลบางประการ เช่น การล้างพิษโดยใช้กระบวนการทางการแพทย์ รวมถึงการป้องกัน การรักษา การดูแลและการสนับสนุนการบ�ำบัดเชื้อ เอชไอวี ตลอดจนการบ�ำบัดการติดยาเชิงประจักษ์ (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) กองทุนยุตธิ รรม กระทรวงยุตธิ รรม ได้จดั ตัง้ กองทุนยุตธิ รรม ออกระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วยกองทุน ยุตธิ รรม ขึน้ ในปี พ.ศ. 2553 มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้การสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการให้ความช่วยเหลือประชาชน ในด้านกฎหมาย การฟ้องร้อง การด�ำเนินคดี หรือการบังคับคดี การคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพของผูไ้ ด้รบั ความเดือดร้อน หรือไม่ได้รบั ความเป็นธรรม หรือประชาชนตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในรัฐธรรมนูญ รวมถึงผูท้ กี่ ระท�ำการใด ๆ เพือ่ ปกป้องคุม้ ครอง หรือรักษาทรัพยากรธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อม การสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ รวม 8 กรณี ดังนี้ (1) การวางเงินประกันการปล่อยตัวชั่วคราว (2) การจ้างทนายความว่าความในคดีอาญา คดีแพ่ง คดีปกครอง หรือ การบังคับคดี (3) การช�ำระค่าธรรมเนียมขึ้นศาลและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ในคดีแพ่ง และคดีปกครอง (4) การด�ำเนินคดี เกีย่ วกับการพิสจู น์ทางคดีฯ (5) การสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จา่ ยทีจ่ ำ� เป็น ได้แก่ ค่าพาหนะเดินทาง ค่าทีพ่ กั (6) การคุม้ ครอง ช่วยเหลือให้ได้รับความปลอดภัยจากการก่ออาชญากรรม...(7) ความเสียหายที่เกิดจากการกระท�ำความผิดทางอาญา... หรือกลุม่ บุคคลตัง้ แต่สบิ รายขึน้ ไป (8) สนับสนุนเงินหรือค่าใช้จา่ ยอืน่  ๆ เพือ่ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ผลการช่วยเหลือ กองทุนยุติธรรม ตั้งแต่ที่มีการจัดตั้งกองทุนยุติธรรม ปี พ.ศ. 2550 ถึง ปี พ.ศ. 2557 มีผู้มายื่นค�ำขอรับความช่วยเหลือ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 12,894 ราย พิจารณาไปแล้ว จ�ำนวน 12,281 ราย อยูร่ ะหว่างการพิจารณา จ�ำนวน 613 ราย และจ่ายเงิน ช่วยเหลือในภาพรวม จ�ำนวน 262,412,041.77 บาท หากแยกพิจารณาสถิตรับค�ำขอปีงบประมาณ 2555 มีเรือ่ งยืนเข้ามา 1,840 ราย โดบมี 2,840 กรณี ด�ำเนินการเสร็จสิ้นแล้วทุกเรื่อง ส่วนปีงบประมาณ 2556 มีเรื่องยืนเข้ามา 2,985 ราย โดยมี 5,496 กรณี ด�ำเนินการยังไม่เสร็จ 5 เรื่อง (จันทร์ชม จินตยานนท์, จิฬาภรณ์ ตามชู และศิวพร เทพวงษ์. 2553)

หน้า 96

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

5.3 ด้านการศึกษา ในปัจจุบนั ประชาชนไทยทุกคนได้รบั การรับรองสิทธิในการเข้าถึงการศึกษาเอาไว้ ทัง้ ทีร่ ะบุในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 49 ทีร่ ะบุวา่ บุคคลย่อมมีสทิ ธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่นอ้ ยกว่าสิบสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ตลอดจนสิทธิเกี่ยวกับการศึกษาที่ได้ระบุไว้ในแผน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติทกุ ฉบับ ซึง่ จากการประเมินปีการศึกษาเฉลีย่ ของประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไป พบว่า ปีการศึกษาเฉลีย่ จากข้อมูลตั้งแต่ พ.ศ. 2547 ถึง 2554 มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะเป็นไปในระดับช้า อย่างไรก็ตาม ระดับ ปีการศึกษาเฉลีย่ ยังคงต�ำ่ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน 12 ปี ทีร่ ะบุไว้ในรัฐธรรมนูญ โดยอยูใ่ นระดับสูงสุดทีป่ ระมาณ 8 ปี ส�ำหรับ เพศหญิง และ 8 ปีครึง่ ส�ำหรับเพศชาย ในปี พ.ศ. 2554 นอกจากนัน้ ปีการศึกษาเฉลีย่ ของประชากรเมือ่ จ�ำแนกตามเพศ ยังคงมีความเหลื่อมล�้ำอย่างเห็นได้ชัด โดยเพศชายยังคงมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาได้มากกว่าเพศหญิง อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างดังกล่าวอาจเกิดขึ้นจากการน�ำปีการศึกษาของประชากรตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไปมาเฉลี่ย ความแตกต่าง ของปีการศึกษาเฉลีย่ ดังกล่าวจึงอาจเกิดขึน้ จากปีการศึกษาทีค่ อ่ นข้างน้อยในกลุม่ ประชากรเพศหญิงสูงอายุซงึ่ อาจเป็นผล มาจากค่านิยมในสมัยก่อนที่ไม่นิยมให้บุตรสาวเข้าศึกษาในโรงเรียนเช่นเดียวกับบุตรชาย มากกว่าที่จะเป็นผลมาจาก ความเหลื่อมล�้ำของการเข้าถึงการศึกษาของกลุ่มประชากรเพศหญิงในปัจจุบัน ภาพ 5.2 อันดับคุณภาพการศึกษาของประเทศต่างๆ

ที่มา: ข้อมูลจากส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม มีขอ้ สังเกตทีส่ ำ� คัญคือ ปีการศึกษาเฉลีย่ ทัง้ ของเพศชายและหญิงมีแนวโน้มลดลงในปี พ.ศ. 2555 ซึง่ นับเป็นปีแรกทีล่ ดลงในช่วงเกือบ 10 ปีทผี่ า่ นมา การลดลงของปีการศึกษาเฉลีย่ ข้างต้นเป็นประเด็นทีส่ ำ� คัญทีห่ น่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงศึกษาธิการ ควรได้มีการศึกษาเพิ่มเติมว่า ลักษณะข้างต้นเป็นเพียงรูปแบบที่เคลื่อนเคลื่อน อันเนือ่ งมาจากการสุม่ ตัวอย่างจากประชากรในเชิงสถิติ หรือเป็นเครือ่ งชีว้ ดั ทีส่ ะท้อนให้เห็นปัญหาการลดลงของปีการศึกษา เฉลีย่ อย่างแท้จริง ทัง้ นี้ ปัจจัยเสีย่ งทีส่ ำ� คัญประการหนึง่ ทีอ่ าจอธิบายแนวโน้มการลดลงของปีการศึกษาเฉลีย่ ในปี พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา ได้แก่ การควบรวมสถานศึกษาหลายแห่งของรัฐเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรทางด้านการศึกษา ให้สอดคล้องกับโครงสร้างของประชากรที่ก�ำลังเข้าสู่สังคมผู้สู่อายุซึ่งมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น สวนทางกับสัดส่วนเด็ก คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 97


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ทีล่ ดลง ซึง่ อาจส่งผลให้เด็กในพืน้ ทีห่ า่ งไกลไม่สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนทีต่ งั้ อยูไ่ กลมากจากพืน้ ทีข่ องตนได้ ปัญหาดังกล่าว บ่งชี้ให้เห็นถึงความจ�ำเป็นในการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งที่สามารถอ�ำนวยความสะดวกให้เด็กสามารถไปโรงเรียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญในการจูงใจให้เด็กสามารถเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ครบ 12 ปี นอกเหนือไปจากการระบุวา่ เด็กสามารถได้รบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานได้โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ยเท่านัน้ ดังทีก่ ำ� หนด ไว้ในรัฐธรรมนูญ ตาราง 5.2 ด้านการศึกษา

อันดับคุณภาพการศึกษาของประเทศต่าง ๆ ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2004 – 2010

จากการประเมินในเชิงคุณภาพของการศึกษาทีไ่ ด้รบั พบว่า ปัญหาเรือ่ งการศึกษายังคงเป็นปัญหาส�ำคัญ โดย แม้รฐั จะประสบความส�ำเร็จในระดับหนึง่ ในการเพิม่ จ�ำนวนปีการศึกษาเฉลีย่ แต่คณ ุ ภาพการศึกษาทีไ่ ด้รบั ยังคงไม่เพียงพอ และไม่อยูใ่ นระดับทีส่ ามารถพัฒนาเด็กให้มที กั ษะเพียงพอในการแข่งขันกับประเทศอืน่  ๆ ได้ ซึง่ เป็นประเด็นท้าทายเร่งด่วน ไม่เพียงแต่ในมิติที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสิทธิมนุษยชนเท่านั้น หากยังเชื่อมโยงกับมิติที่เกี่ยวข้องกับเรื่องขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศที่ประเทศไทยต้องเร่งพัฒนาให้พร้อมรับกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจากการส�ำรวจของ ศูนย์ขดี ความสามารถในการแข่งขันโลก (IMD World Competitiveness Center) ประเทศไทยพบว่า คุณภาพการศึกษา ของประเทศไทยอยู่ในอันดับท้ายของกลุ่มประเทศที่เข้าจัดอันดับ โดยอยู่ในอันดับที่ 47 จาก 58 ประเทศที่เข้าจัดอันดับ ด้อยกว่าญี่ปุ่น (29) ไต้หวัน (23) สิงคโปร์ (13) และมาเลเซีย (33) ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนากลุ่ม ประชากรที่มีอายุน้อยให้เป็นแรงงานมีทักษะที่มีรายได้พอเพียงต่อไป ต่อมาจากรายงานชื่อว่า Global Competitiveness Report 2014-2015 มีความยาว 548 หน้า World Economic Forum ออกรายงานประจ�ำปีการเปรียบเทียบขีดความสามารถในการแข่งขันได้ของประเทศต่าง ๆ ที่เลือกมาศึกษารวม 144 ประเทศ ผลโดยสรุปปรากฎว่าขีดความสามารถในการแข่งขันได้ของไทย อยู่เป็นอันดับที่ 31 ของโลก และเป็นอันดับ 3 ของอาเซียน ตามหลัง สิงคโปร์ซงึ่ อยูอ่ นั ดับ 2 ของโลก และมาเลเซีย อันดับ 20 แต่ถา้ พิจารณา เฉพาะดัชนีด้านการศึกษาแล้ว จะเห็นว่ามีความน่าวิตกเป็นอย่างยิ่งเพราะคุณภาพของการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทย อยู่ที่ อันดับ 7 ของอาเซียน และคุณภาพของระบบอุดมศึกษา อยู่ที่อันดับ 8 แม้ว่าขีดความสามารถด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์จะค่อนข้างดี คืออยูท่ อี่ นั ดับ 5 ก็ตาม เมือ่ วิเคราะห์คา่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ว่าไทยเป็นที่ 3 ของอาเซียน โดยคิดจากตัวเลข ในขณะที่ประเทศยากจนกว่าประเทศไทยสามารถจัดการศึกษาได้ดีกว่า หน้า 98

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

และทั้งการศึกษาพื้นฐานและอุดมศึกษาของไทย อยู่อันดับต�่ำกว่าประเทศลาว ขณะที่อุดมศึกษาของประเทศไทย แพ้ทั้งประเทศลาวและประเทศกัมพูชา จากการจัดอันดับคุณภาพการศึกษาของประเทศในกลุ่มอาเซียน และปรากฏว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับรั้งท้าย คือ อันดับที่ 8 มีคะแนนต�่ำที่สุด เป็นรองจากประเทศเวียดนาม ที่ได้อันดับ 7 และ ประเทศกัมพูชา อันดับ 6 (World Economic Forum, 2014) ภาพ 5.3 เปรียบเทียบดัชนีคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน

ที่มา World Economic Forum (2014)

5.4 ด้านแรงงาน เนื้อหาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ไม่ได้รองรับสิทธิในการมีงานท�ำไว้โดยตรง แต่ได้สอดแทรกไว้ใน มาตรา 84 ซึ่งเป็นเรื่องของนโยบายเศรษฐกิจ คือ การที่รัฐจะต้องด�ำเนินการตามแนวนโยบาย ด้านเศรษฐกิจทีส่ ง่ เสริมให้ประชากรวัยทํางานมีงานทํา คุม้ ครองแรงงานเด็กและสตรี จัดระบบแรงงานสัมพันธ์และระบบ ไตรภาคีที่ผู้ทํางานมีสิทธิเลือกผู้แทนของตน จัดระบบประกันสังคม รวมทั้งคุ้มครองให้ผู้ทํางานที่มีคุณค่าอย่างเดียวกัน ได้รบั ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ และสวัสดิการทีเ่ ป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบตั ิ ในส่วนของการมีงานท�ำของประชากรไทย ในวัยท�ำงานพบว่า อัตราการว่างงานของแรงงานไทยยังคงอยูใ่ นระดับต�ำ่ และมีแนวโน้มลดลงเรือ่ ย ๆ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2556 อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่าสังเกตว่า กลุ่มผู้มีการศึกษาน้อย คือ กลุ่มผู้มีการศึกษาระดับประถมศึกษาและ ต�ำ่ กว่ากลับมีอตั ราการว่างงานทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ ส่วนผูม้ กี ารศึกษาสูง คือ กลุม่ ผูม้ กี ารศึกษาระดับอุดมศึกษา กลับมีอตั ราการว่างงาน สูง ซึ่งอาจสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาของการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ไม่สามารถเตรียมคนให้ตอบรับความต้องการของ ตลาดแรงงานได้อย่างแท้จริง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 99


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ภาพ 5.4 ด้านแรงงาน

ที่มา: ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

จากการรายงานของสถานทูตสหรัฐอเมริกาในบางประเด็นทีเ่ กีย่ วกับแรงงานพบว่า กลุม่ ทีย่ งั คงมีความอ่อนไหว ในเรือ่ งแรงงานเป็นพิเศษ ประกอบด้วย กลุม่ แรงงานต่างด้าว และกลุม่ เด็ก โดยในส่วนของแรงงานต่างด้าวยังคงถูกจ�ำกัด สิทธิในในเรื่องการจัดตั้งสหภาพแรงงาน โดยแม้กฎหมายจะก�ำหนดให้พนักงานในรัฐวิสาหกิจและเอกชนสามารถจัดตั้ง สหภาพแรงงานได้ แรงงานต่างด้าวไม่วา่ จะเป็นผูท้ ขี่ นึ้ ทะเบียนแล้วหรืออยูใ่ นประเทศไทยอย่างผิดกฎหมายต่างก็ไม่สามารถ จัดตัง้ สหภาพแรงงานได้ดงั เช่นแรงงานไทย ทัง้ นี้ เป็นทีน่ า่ สังเกตอีกด้วยว่า กฎหมายแรงงานของไทยยังคงมีการบังคับใช้ ค่อนข้างน้อยในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองแรงงานที่เข้าร่วมกิจกรรมของสหภาพแรงงาน โดยในบางคดีแม้ศาล แรงงานจะสัง่ ให้นายจ้างบรรจุลกู จ้างกลับเข้าท�ำงานตามเดิมเมือ่ ลูกจ้างถูกไล่ออกเนือ่ งจากเข้าร่วมกิจกรรมสหภาพแรงงาน แต่เนือ่ งจากกระบวนการกลับเข้าบรรจุใหม่ใช้เวลานานและมักมีตน้ ทุนสูงซึง่ ลูกจ้างต้องเป็นฝ่ายแบกรับ นายจ้างและลูกจ้าง จึงมักตกลงกันนอกศาลโดยลูกจ้างได้รับการชดเชยและนายจ้างไม่ต้องรับผิดชอบแต่อย่างใด ปัญหาคดีแรงงานที่คั่งค้าง ในศาลแรงงานยังคงเป็นสาเหตุปจั จัยหนึง่ ทีท่ ำ� ให้การน�ำข้อพิพาททีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงานขึน้ สูก่ ารพิจารณาของศาลเป็นไป อย่างล่าช้า โดยจากการรายงานของกระทรวงแรงงานพบว่า ในปี พ.ศ. 2554 มีคดีทงั้ สิน้ 20,847 คดีทขี่ นึ้ สูศ่ าลแรงงานกลาง โดยคดีสว่ นใหญ่เป็นเรือ่ งการไล่ออกจากงาน การละเมิดกฎหมาย ตลอดจนการละเมิดข้อตกลงเกีย่ วกับสภาพการท�ำงาน และในชัน้ ศาลฎีกา มีการยืน่ อุทธรณ์ประมาณ 1,100 คดี และมีคดีสะสมทีค่ งั่ ค้างจากปีกอ่ นมากกว่า 2,166 คดี ซึง่ ได้รบั การตัดสินเพียง 257 คดี รวมเป็นคดีที่คั่งค้าง ณ สิ้นปี พ.ศ. 2554 มากกว่า 3,000 คดี กลุ่มแรงงานต่างด้าวยังคงเป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบที่ส�ำคัญจากการปรับค่าแรงขั้นต�่ำขึ้นตามนโยบาย ของรัฐบาล ซึ่งหลายคนลักลอบเข้ามาท�ำงานในประเทศไทยอย่างผิดกฎหมาย จึงยินยอมท�ำงานแลกกับค่าจ้างที่ต�่ำกว่า ค่าแรงขั้นต�่ำ นอกจากนี้ แม้กระทั่งกลุ่มแรงงานไทยเองก็ได้รับผลกระทบอย่างมากจากนโยบายค่าแรงขั้นต�่ำ โดย คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย รายงานว่า แรงงานหลายพันคนซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในสถานประกอบการขนาดย่อม ทีม่ จี ำ� นวนแรงงานน้อยกว่า 50 คนร้องเรียนว่ามีนายจ้างจ�ำนวนมากไม่ยอมขึน้ ค่าแรงให้ตามกฎหมาย หรือถูกตัดสวัสดิการลง หน้า 100

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ทั้งนี้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับแรงงานต่างด้าว รัฐได้มีมาตรการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าวเพื่อส่งเสริมสภาพ แวดล้อมในการท�ำงานที่ปลอดภัยและลดปัญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงงานต่างด้าว โดยก�ำหนดให้แรงงานต่างด้าว ต้องขึน้ ทะเบียนและพิสจู น์สญ ั ชาติ และขยายเวลาโครงการพิสจู น์สญ ั ชาติจนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 แรงงานทีผ่ า่ น การพิสูจน์สัญชาติแล้วจะสามารถอยู่ในประเทศไทยได้เป็นเวลา 2 ปี โดยได้รับสวัสดิการประกันสังคมและสาธารณสุข อีกทัง้ ยังได้จดั ตัง้ ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จเพิม่ ขึน้ อีกห้าแห่งจากเดิมทีม่ อี ยูส่ ามแห่งตามแนวชายแดนไทย-พม่า เพือ่ ช่วยลด ค่าใช้จ่ายและอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับบุคคลต่างด้าวที่ต้องการพิสูจน์สัญชาติให้เสร็จภายในกรอบของโครงการ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับแรงงานเด็ก ตามกฎหมายไทย มีข้อบังคับที่เข้มงวดเกี่ยวกับการใช้แรงงานเด็ก อาทิ การห้ามการจ้างงานเด็กอายุตำ�่ กว่า 15 ปี เว้นแต่เด็กอายุระหว่าง 13 – 15 ปี ทีบ่ ดิ ามารดาอนุญาตให้ทำ� งานในภาคเกษตร ในช่วงปิดภาคเรียนหรือหลังเลิกเรียนตราบเท่าทีน่ ายจ้างจัดให้มสี ภาพการท�ำงานทีเ่ หมาะสมและปลอดภัยให้ นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายทีก่ ำ� หนดให้นายจ้างไม่อาจสัง่ ให้เด็กอายุตำ�่ กว่า 18 ปีทำ� งานล่วงเวลาหรือในวันหยุด หรือระหว่าง 22:00 – 6:00 น. โดยไม่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงแรงงาน และไม่อาจว่างจ้างเด็กอายุต�่ำกว่า 18 ปี ให้ท�ำงานอันตราย ทั้งนี้ จากการรายงานของกระทรวงแรงงานพบว่า มีเด็กอายุ 15 – 18 ปีจ�ำนวน 66,183 คนที่ท�ำงานในภาคที่เป็นทางการ (Formal sector) และมีชื่ออยู่ในระบบประกันสังคมในปี พ.ศ. 2554 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2553 ในอัตราที่สูงถึง ร้อยละ 30 ทัง้ นี้ จากการตรวจสอบอย่างเป็นทางการของกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ซึง่ ตรวจสอบ เด็กอายุระหว่าง 15 – 17 ปี จ�ำนวน 2,106 คน ในปี พ.ศ. 2554 ไม่พบว่ามีการละเมิดกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการจ้างงานเด็ก แต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม จากหลักฐานจากค�ำบอกเล่า (Anecdotal evidence) จากหลายภาคส่วน ยังคงมีความกังวล เกี่ยวกับการใช้แรงงานเด็กในการผลิตเสื้อผ้า สิ่งลามกอนาจาร กุ้ง และอ้อย ซึ่งเป็นการละเมิดมาตรฐานสากล อีกทั้ง ยังมีเด็กจ�ำนวนมากซึ่งหลายคนเป็นเด็กต่างชาติที่ถูกแสวงประโยชน์ (Exploited) จากการกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การใช้ ขอทาน การท�ำงานบ้าน ตลอดจน การขายบริการทางเพศ 5.5 ด้านสาธารณสุข สิทธิในเรื่องสุขภาพของคนไทยนับได้ว่าเป็นมิติในเรื่องสิทธิมนุษยชนที่ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ภายหลังการจัดท�ำโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ช่วยให้คนไทยเกือบทั้งหมดสามารถเข้าถึงประกันสุขภาพ ที่จ�ำเป็น โดยในปัจจุบัน คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงประกันสุขภาพได้ระบบใดระบบหนึ่งใน 3 ระบบหลัก ได้แก่ ระบบ ประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึง่ ครอบคลุมประชากรส่วนใหญ่ของประเทศเกือบ 50 ล้านคน ระบบประกันสังคมซึง่ ครอบคลุม ประชากรประมาณ 10 ล้านคน และระบบสวัสดิการข้าราชการและรัฐวิสาหกิจทีค่ รอบคลุมประชากรประมาณ 5 ล้านคน

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 101


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ภาพ 5.5 ความครอบคลุมของการมีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพของประชาชนชาวไทย ปี พ.ศ. 2545 – 2556 สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า

สิทธิประกันสังคม

สิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/ข้าราชการการเมือง

50,000,000

40,000,000

ประเภท

30,000,000

20,000,000

10,000,000

0

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

ร้อยละความครอบคลุมสิทธิ 100

80

ประเภท

60

40

20

10

0

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

ทัง้ นี้ จากการพิจารณาร้อยละของความครอบคลุมของสิทธิในการเข้ารับการรักษาพยาบาลแล้ว ทัง้ สามระบบ ประกันสุขภาพ ช่วยให้ประชาชนไทยเกือบทัง้ หมดเข้าถึงสิทธิในการประกันสุขภาพ อย่างไรก็ตาม แม้วา่ ในทางกฎหมายแล้ว

หน้า 102

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ประชาชนไทยทุกคนหากไม่ได้มีสิทธิอยู่ในระบบประกันสังคมหรือระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและ รัฐวิสาหกิจ จะได้รับสิทธิในการใช้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยทันทีก็ตาม แต่ก็ยังคงมีประชาชนบางส่วนที่ยังเข้า ไม่ถงึ สิทธิดงั กล่าว อันเนือ่ งมาจากการขาดหลักฐานในการพิสจู น์สญ ั ชาติ ซึง่ มักเป็นประชาชนผูม้ ถี นิ่ อาศัยในพืน้ ทีห่ า่ งไกล ที่ไม่สามารถหรือมีค่าใช้จ่ายสูงในการท�ำบัตรประชาชน อย่างไรก็ตาม ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับสิทธิมนุษยชนด้านการสาธารณสุขในปัจจุบนั กลับไม่ใช่การเข้าถึงสิทธิ หากเป็นความเท่าเทียมกันของสิทธิทไี่ ด้รบั ในแต่ละระบบ โดยในปัจจุบนั ผูท้ อี่ ยูภ่ ายใต้ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของ ข้าราชการและรัฐวิสาหกิจมีสิทธิสูงสุด ซึ่งอาจกล่าวอ้างได้ว่าเป็นความแตกต่างของสิทธิที่อยู่ในรูปของสวัสดิการที่รัฐ จัดให้ข้าราชการซึ่งมีรายได้โดยเฉลี่ยน้อยกว่าลูกจ้างในภาคเอกชน อย่างไรก็ตาม กลุ่มผู้อยู่ในระบบประกันสังคมซึ่งถูก กฎหมายบังคับให้ต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมเป็นประจ�ำทุกเดือนกับมีสิทธิบางอย่างต�่ำกว่ากลุ่มผู้อยู่ใน ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึง่ ไม่ตอ้ งจ่ายสมทบแต่อย่างใด ดังผลงานวิจยั จากวิจยั ของโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) โดยนายแพทย์ ยศ ตีระวัฒนานนท์ ซึง่ เผยแพร่ในปี พ.ศ. 2557 ในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องสิทธิประโยชน์ของผูป้ ระกันตน ซึง่ พบว่า ผูป้ ระกันตน ในกองทุนประกันสังคมมีสิทธิด้อยกว่ากองทุนประกันสุขภาพอื่น ๆ ในประเทศทั้งสิ้น โดยในปัจจุบัน การบริหารจัดการ กองทุนของระบบประกันสังคม จะใช้วธิ คี ำ� นวณรายหัวและให้โรงพยาบาลไปบริหารความเสีย่ งทัง้ หมดโดยไม่มกี ารตรวจสอบ หรือติดตามว่า ได้มกี ารน�ำเงินดังกล่าวไปใช้ให้บริการผูป้ ระกันตนได้อย่างมีคณ ุ ภาพหรือไม่ จึงท�ำให้โรงพยาบาล โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในภาคเอกชน ไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาบริการในกลุ่มที่อยู่ในระบบประกันสังคม จากการตรวจสอบ พบว่า ยาบางประเภทซึ่งจ�ำเป็นในการใช้รักษาโรงมะเร็งเม็ดเลือดขาว ผู้อยู่ในระบบ ประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและรัฐวิสาหกิจจะสามารถเบิกได้ แต่ผทู้ อี่ ยูใ่ น ระบบประกันสังคมกลับไม่สามารถเบิกยาชนิดนี้ได้ เป็นต้น และนอกจากนี้ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ ดูแลผลประโยชน์ พบว่า กองทุนประกันสังคมมีเพียงคณะกรรมการการแพทย์เพียงคณะเดียวทีด่ เู รือ่ งสิทธิประโยชน์ โดย ไม่เปิดให้ภาคส่วนอืน่ มีสว่ นร่วมในการท�ำประชาพิจารณ์ ดังเช่น ผูอ้ ยูใ่ นประบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึง่ ยังมีคณะอนุกรรมการ พัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ทเี่ ปิดรับฟังความเห็นและส�ำรวจความพอใจของประชาชนและหน่วยบริการ ซึง่ ช่วยให้มกี ารพัฒนา ชุดสิทธิประโยชน์ได้อย่างตลอดเวลา ต่างจากกองทุนประกันสังคมที่ปัจจุบันยังคงมุ่งเน้นแต่เพียงการบริหารเงินกองทุน แต่ผู้ประกันตนกลับไม่ได้รับบริการที่มีคุณภาพตามสิทธิ 5.6 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และด้านสิทธิชุมชน สิทธิมนุษยชนในการได้รับการคุ้มครองในด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประชาชนไทย ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วจากการผลักดันในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 1 และ 2 โดยในปัจจุบันกฎหมาย ได้มกี ารก�ำหนดให้มกี ารประเมินผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อม (Environmental Impact Assessment - EIA) ส�ำหรับ โครงการโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนการท�ำประชาพิจารณ์ก่อนที่จะได้มีการอนุมัติโครงการ อีกทั้งรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ยังได้ก�ำหนดสิทธิชุมชนไว้เป็นการเฉพาะในส่วนที่ 12 สิทธิชุมชน ซึ่งประกอบด้วย มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือ ฟืน้ ฟูจารีตประเพณี ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิน่ และของชาติและมีสว่ นร่วมในการจัดการ การบ�ำรุง รักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายของชีวภาพอย่างสมดุลและ ยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 103


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

มาตรา 67 สิทธิของบุคคลทีจ่ ะมีสว่ นร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรกั ษ์บำ� รุงรักษาและการได้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ด�ำรงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือ คุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม การด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระท�ำมิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพ สิง่ แวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มกี ระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทน สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบ ก่อนมีการด�ำเนินการดังกล่าว สิทธิของชุมชนที่จะฟ้องหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือ องค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความคุ้มครอง อย่างไรก็ตาม ในหลายกรณีการประเมินผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อมก็ยงั คงเป็นการจัดท�ำการประเมิน อย่างผิวเผินเพียงเพือ่ ให้โครงการได้รบั ความเห็นชอบ ปราศจากการมีสว่ นร่วมจากประชาชนผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอย่างแท้จริง อีกทั้งการน�ำข้อพิพาทในประเด็นดังกล่าวขึ้นสู่การพิจารณาคดีของศาลก็ยังคงมีค่าใช้จ่ายสูง ใช้เวลานาน และบ่อยครั้ง ประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิก็ไม่ได้มีความรู้หรือทรัพยากรที่เพียงพอในการต่อสู้ฟ้องร้องผู้ละเมิด จึงมักต้องยอมเป็นฝ่าย แบบรับความเสียหายเอาไว้เสียเอง ภาพ 5.6 จ�ำนวนคดีรับเข้าของศาลปกครองชั้นต้น

อย่างไรก็ตาม ในการพิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐและเอกชน จากข้อมูลของศาลปกครองแสดง ให้เห็นว่า ในปี พ.ศ. 2555 ข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องการควบคุมอาคารและสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นมิติของสิทธิมนุษยชนในเรื่อง หน้า 104

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ของสิ่งแวดล้อมก็ยังคงเป็นข้อพิพาทที่มีสัดส่วนสูงสุดของศาลปกครอง โดยคิดเป็นร้อยละ 32.46 ของจ�ำนวนรับเข้าของ ศาลปกครองชั้นต้น หรือ 2,753 คดี ทั้งนี้ จากการพิจารณาสถิติคดีที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม เมื่อจ�ำแนกคดีคงค้างและ คดีแล้วเสร็จของศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชัน้ ต้นในแผนกคดีสงิ่ แวดล้อมตัง้ แต่เริม่ เปิดท�ำการ คือ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2555 พบว่า คดีที่แล้วเสร็จคิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 28 ของคดีทั้งหมด หรือ 789 คดี ความล่าช้าของ การพิจารณาคดีจงึ อาจเป็นอุปสรรคทีส่ ำ� คัญประการหนึง่ ทีผ่ ถู้ กู ละเมิดสิทธิตดั สินใจไม่ใช้ปกป้องสิทธิของตนตามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนด อย่างไรก็ตาม อาจกล่าวได้วา ่ จ�ำนวนคดีทคี่ งั่ ค้างเป็นจ�ำนวนมากดังสถิตทิ ไี่ ด้กล่าวมานัน้ อาจเกิดขึน้ จากการไม่ได้รบั ความยุติธรรมเนื่องจากการขาดช่องทางเรียกร้องสิทธิตามกระบวนการยุติธรรมซึ่งปัญหาที่ได้สะสมมาเป็นระยะเวลา นานแล้วก็เป็นได้ ในระยะยาวหากผลของคดีซึ่งได้ออกไปสู่สาธารณชนเป็นที่ประจักษ์ว่า ผู้ละเมิดสิทธิจะต้องถูกลงโทษ และผูถ้ กู ละเมิดจะได้รบั การเยียวยาทีเ่ หมาะสม ปัญหาข้อพิพาทเกีย่ วกับทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมก็อาจลดลง ได้ในที่สุด ภาพ 5.7 จ�ำนวนคดีแล้วเสร็จและคดีคงค้างของศาลปกครอง

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 105


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

5.7 ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและเสรีภาพการสื่อสาร สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและเสรีภาพการสื่อสารได้รับการรับรองไว้อย่างชัดเจนตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 โดยในหมวด 3 ส่วนที่ 3 มาตรา 36 บุคคลมีเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบด้วยกฎหมาย การตรวจ การกัก หรือ การเปิดเผยสิ่งสื่อสารที่บุคคลมีติดต่อถึงกัน รวมทั้งการกระท�ำด้วยประการอื่นใดเพื่อให้ล่วงรู้ถึงข้อความในสิ่งสื่อสาร ทัง้ หลายทีบ่ คุ คลมีตดิ ต่อถึงกัน จะกระท�ำมิได้เว้นแต่โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย เฉพาะเพือ่ รักษาความมัน่ คง ของรัฐหรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และในหมวดที่ 3 ส่วนที่ 10 เรื่องสิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน มาตรา 56 บุคคลย่อมมีสิทธิ ได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ ราชการส่วนท้องถิน่ เว้นแต่การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารนัน้ จะกระทบต่อความมัง่ คงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือส่วนได้เสียอันถึงได้รับความคุ้มครองของบุคคลอื่น หรือเป็นข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และมาตรา 57 บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล ค�ำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น ก่อนการอนุญาตหรือการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียส�ำคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนท้องถิ่น และ มีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อน�ำไปประกอบการพิจารณาในเรื่องดังกล่าว จึงเห็นได้ว่า สิทธิในด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและเสรีภาพการสื่อสารตามที่กฎหมายก�ำหนดเป็นการ ของการสร้างความสมดุลระหว่างสิทธิของเอกชน และการจ�ำกัดสิทธิของรัฐเพื่อรักษาความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย และศีลธรรมอันดีของประชาชน การจ�ำแนกเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในประเด็นด้านการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารและเสรีภาพการสือ่ สาร ว่าเรื่องใดเป็นการถูกละเมิดสิทธิและเรื่องใดเป็นการกระท�ำที่ท�ำลายความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย และศีลธรรมอันดี ของประชาชนจึงเป็นประเด็นละเอียดอ่อนซึ่งคณะผู้ประเมินจะไม่ได้ชี้ชัดโดยตรง แต่จะได้รวบรวมไว้ในที่นี้ส�ำหรับกรณี ทีส่ ำ� คัญ โดยจากข้อสังเกตของสถานทูตสหรัฐอเมริกาประจ�ำประเทศไทย พบว่า จ�ำนวนการด�ำเนินคดีผกู้ ระท�ำความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ได้เพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญในช่วงทีผ่ า่ นมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 โดยในช่วง 10 ปี ก่อนปี พ.ศ. 2549 มีการด�ำเนินคดีความผิดที่เกี่ยวข้องกับ มาตรา 112 โดยเฉลี่ยเพียงปีละ 5 คดี เทียบกับ 478 คดี ในปี พ.ศ. 2553 86 คดี ในปี พ.ศ. 2554 และ 84 คดี ในปี พ.ศ. 2555 (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) โดย “เมือ่ วันที่ 10 ตุลาคม 2555 ศาลรัฐธรรมนูญพิพากษาว่า การจ�ำกัดเสรีภาพในการแสดงออก และการลงโทษในกรณีการกระท�ำความผิด ฐานหมิน่ สถาบันกษัตริยน์ นั้ ไม่ขดั กับรัฐธรรมนูญ” (Human Rights Watch, 2013, p.1; สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) เนื่องจากความผิดที่ได้บัญญัติไว้จัดเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ และจากการรายงานของ iLaw ซึ่งเป็นองค์กรนอกภาครัฐ พบว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา ศาลได้มีค�ำสั่งปิดกั้นเกือบ 21,000 Uniform Resource Locator หรือ URL โดยมีสาเหตุร้อยละ 80 เกี่ยวข้องกับการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ซึ่งนับตั้งแต่ได้มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 จนถึง พ.ศ. 2555 ได้มกี ารปิดกัน้ url ไปแล้ว กว่า 102,000 แห่ง โดยมีสาเหตุร้อยละ 76 เกี่ยวข้องกับการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ (สถานทูตสหรัฐอเมริกา, 2556) 5.8 ด้านที่อยู่อาศัย การพัฒนาในด้านสิทธิมนุษยชนในมิตทิ อ่ี ยูอ่ าศัยในช่วงปลายแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ได้ถกู รองรับโดยกฎหมายและนโยบายหลายประการ ซึ่งประกอบด้วย หน้า 106

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งได้รับรองสิทธิเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยไว้ในสองส่วน คือ ส่วนที่ 3 สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล มาตรา 34 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกถิ่น ที่อยู่ภายในราชอาณาจักร และส่วนที่ 9 สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ มาตรา 55 บุคคล ซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ ย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ นอกจากนี้ 2) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทั้งฉบับที่ 2 ซึ่งได้บรรจุมิติด้านที่อยู่อาศัยไว้ในแผนปฏิบัติการด้านที่อยู่ อาศัย 3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2554 – 2559) ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรม ในสังคมโดยส่งเสริมให้ทกุ คนในสังคมไทยมีความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงสวัสดิการทางสังคม โดยเฉพาะด้านการพัฒนา ที่อยู่อาศัยที่ได้มาตรฐานภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น 4) นโยบายของรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นโยบายสังคมและคุณภาพชีวติ (นโยบายความมัน่ คง ของชีวิตและสังคม) โดยสร้างหลักประกันความมั่นคงในสังคม รวมทั้งให้โอกาสประชาชนที่มีฐานะยากจนได้มีอยู่อาศัย ที่ได้มาตรฐานแก่การด�ำรงชีพหรือมีที่อยู่อาศัยพร้อมกับการสร้างอาชีพเพื่อการด�ำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีในความเป็น มนุษย์ จากรายงานสรุปสภาวะของประเทศโดยการรวบรวมของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ร่วมกับสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ส�ำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง สภาความมั่นคงแหงชาติ และธนาคารแห่งประเทศไทย พบว่ามีนโยบายและโครงการที่เป็นรูปธรรมหลายแห่งที่ได้รับ การจัดตั้งขึ้นเพื่อช่วยให้ผู้มีรายได้น้อยสามารถมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองได้มากขึ้น คือ 1. โครงการบ้าน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เพื่อที่อยูอาศัยแห่งแรกโดยมีวัตถุประสงค์ต้องการ ช่วยเหลือแบ่งเบาภาระประชาชนที่ต้องการมีบ้านหลังแรกเป็นกรรมสิทธิ์ของตนเองได้เข้าถึงแหล่งเงินที่จ�ำเป็น 2. มาตรการช่วยเหลือคนเร่ร่อนไร้บ้าน เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ไม่ถูกล่อลวงเข้าสู่กระบวนการค้ามนุษย์ โดย 1) ดําเนินการสํารวจและประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้คนเร่ร่อนสมัครเข้ารับ การช่วยเหลือคุ้มครองฟื้นฟูในบ้านมิตรไมตรี 4 แห่ง ในกรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ นครราชสีมา และนครศรีธรรมราช และใหบริการด้านปัจจัยสี่ การฝึกอบรมวิชาชีพ การประสานจัดหางาน การติดตามหาครอบครัว และการส่งกลับคืนสู่ ครอบครัวและสังคม 3. มาตรการช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาสและผูม้ รี ายได้นอ้ ยภายใต้โครงการบ้านเอือ้ อาทร ซึง่ เป็นโครงการ ที่รัฐบาลมอบหมายใหจัดสร้างที่อยูอาศัยสําหรับผู้ด้อยโอกาส ผู้มีรายได้น้อย ข้าราชการและพนักงานชั้นผู้น้อย โดยมี เป้าหมายการดําเนินงานครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ จํานวน 281,556 หน่วย 4. โครงการบ้านมั่นคงชนบทเพื่อผู้ยากจนและผู้ด้อยโอกาสในชนบท มีเป้าหมายจํานวน 50,000 ครัวเรือน ใน 500 ตําบล โดยการซ่อม/สร้างและจัดหาที่อยูใหม่ให้แก่คนยากจนและผู้ด้อยโอกาสในระดับตําบล โดยสรุปการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในมิติดังกล่าวข้างต้น สถานการณ์สิทธิ มนุษยชนด้านการเมืองการปกครองและด้านกระบวนการยุติธรรมยังมีประเด็นที่น่าห่วงใยต่อการการละเมิดสิทธิ มนุษยชน

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 107


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

หน้า 108

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


บทที่ 6

ความส�ำเร็จเส้นทางข้างหน้า และอนาคตที่ท้าทาย “สิทธิมนุษยชน”



รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

บทที่ 6

เส้นทางข้างหน้าและอนาคตที่ท้าทาย ส�ำหรับการวิเคราะห์ประเด็นท้าทาย จะพิจารณาในมิติของโครงสร้างและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสิทธิ มนุษยชน โดยพิจารณาข้อท้าทาย ในเชิงโครงสร้างคือการที่ประเทศไทยมีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเป็นกลไก ทีส่ ำ� คัญและเป็นภาพสะท้อนการติดตามด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศ ต่อมาพิจารณาข้อท้าทายในการก�ำหนดนโยบาย ทีเ่ กีย่ วข้องด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐบาล ส่วนประเด็นสุดท้ายพิจารณาการใช้กลไกในเชิงการคลังทีเ่ กีย่ วข้องกับแผนสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ 6.1 บทบาทของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประเด็นท้าทายต่อประเทศไทยทีส่ ำ� คัญ เมือ่ คณะอนุกรรมการในการประเมินสถานะฯ หรือ เอสซีเอ [the sub-committee on accreditation (SCA)] ของคณะกรรมการประสานงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน หรือ ไอซีซี [International Coordinating Committee on National Human Rights Institutions (ICC)] เป็นหน่วยงาน ระหว่างประเทศที่มีบทบาทในการตรวจสอบและประเมินการท�ำงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนทั่วโลกว่าได้มี การด�ำเนินการตามหลักการปารีส (Paris Principles) ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนหรือไม่ โดย ไอซีซี มีส�ำนักงานอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่ง SCA ได้เสนอต่อ ไอซีซีให้มีมติลดระดับคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ของไทย จากสถานะเอเป็นบี โดยมีเหตุผลโดยสรุป คือ กสม.มีกระบวนการสรรหาที่ไม่มี ความหลากหลาย ไม่มีส่วนร่วมจากภาคประชาสังคม รวมทั้งการที่ กสม. ไม่สามารถตอบสถานการณ์การละเมิดสิทธิ มนุษยชนได้ทันตามเวลาอันควร กล่าวคือการรายงานเหตุการณ์ความรุนแรงในไทยเมื่อปี 2553 นั้น กสม. ต้องใช้เวลา รวบรวมข้อมูลนานถึง 3 ปี รวมทัง้ ความเป็นอิสระของ กสม. ทีเ่ จ้าหน้าทีข่ อง กสม. แสดงทัศนะทางการเมืองในขณะปฏิบตั ิ หน้าที่ (Online Reporter, 2014) โดย กสม. หลังถูกลดสถานะ จะมีเวลา 1 ปีในการแก้ไขตามความเห็นที่ ไอซีซี เสนอให้ ถ้าไม่ได้ด�ำเนินการตามนั้นจะถูกลดสถานะเป็นบีจริง ๆ ซึ่งผลกระทบจากการอยู่ในสถานะบี คือ จะไม่สามารถแสดง ความคิดเห็นหรือส่งเอกสารในการประชุมคณะมนตรีสทิ ธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้ รวมถึงการประเมินสถานการณ์ สิทธิมนุษยชนของประเทศไทย (Universal Periodic Review) ในคณะมนตรีสทิ ธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติทเี่ กิดขึน้ ในต้นปี ค.ศ. 2016 และสถานะของ กสม. จะเป็นเพียงผูส้ งั เกตการณ์ในการประชุมในระดับภูมภิ าคและนานาชาติทเี่ กีย่ วข้อง กับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (เช่น การประชุมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก – Asia Pacific Forum on National Human Rights Institutions) ประการต่อมา กสม. จะไม่สามารถลงคะแนนเสียงในการประชุม ของ ไอซีซี หรือสมัครเป็นคณะกรรมการหรืออนุกรรมการของ ไอซีซี ได้ (Online Reporter, 2014) 6.2 การก�ำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน จากค�ำแถลงนโยบายของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงต่อสภานิตบิ ญั ญัติ แห่งชาติ เมือ่ วันศุกร์ที่ 12 กันยายน 2557 ในการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐบาลมีนโยบายต่าง ๆ 11 ด้าน นับว่าภารกิจทีท่ า้ ทาย และเกีย่ วข้องกับด้านสิทธิมนุษยชน คือ นโยบายการลดความเหลือ่ มล�ำ้ ของสังคมและการสร้างโอกาสเข้าถึงบริการของรัฐ เพราะเป็นแนวทางที่ครอบคลุมแผนสิทธิมนุษยชนแทบทุกด้านกล่าว คือ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 111


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

รัฐบาลได้กำ� หนดในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งสร้างโอกาส อาชีพ และการมีรายได้ทมี่ นั่ คงแก่ผทู้ เี่ ข้าสูต่ ลาด แรงงาน โดยให้แรงงานทัง้ ระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรูแ้ ละพัฒนาทักษะฝีมอื แรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ รวมถึงปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง การทารุณกรรมต่อแรงงานข้ามชาติ การท่องเที่ยวที่เน้น บริการทางเพศและเด็ก และปัญหาคนขอทาน โดยการปรับปรุงกฏหมายข้อบังคับที่จ�ำเป็นและเพิ่มความเข้มงวด ในการระวังตรวจสอบ ในระยะต่อไป จะพัฒนาระบบการคุม้ ครองทางสังคม ระบบการออมและระบบสวัสดิการชุมชนให้มปี ระสิทธิภาพ และมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการดูแลให้มีระบบการกู้ยืมที่เป็นธรรมและการสงเคราะห์ผู้ยากไร้อัตภาพ พัฒนา ศักยภาพ คุม้ ครองและพิทกั ษ์สทิ ธิจดั สวัสดิการช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูด้ อ้ ยโอกาส ผูพ้ กิ าร ผูส้ งู อายุ สตรี และเด็ก เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการมีเงินหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อ สร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคต โดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้น และโรงพยาบาล ที่เป็น ความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัว รวมทัง้ พัฒนาระบบการเงินการคลังส�ำหรับการดูแลผูส้ งู อายุ เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมที่มีความหลากหลาย เนื่องจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยสร้างความเข้มแข็งและ ความพร้อมแก่แรงงานไทยและร่วมพัฒนาระบบความคุ้มครองทางสังคมของแรงงานอาเซียน จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและ ประชาชนทัว่ ไป โดยใช้คา่ นิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติทไี่ ด้ประกาศไว้แล้ว แก้ปญั หา การไร้ทดี่ นิ ท�ำกินของเกษตรกรและการรุกล�ำ้ เขตป่าสงวน โดยการกระจายสิทธิการถือครองให้แก่ผทู้ อี่ ยูใ่ นพืน้ ทีท่ ไี่ ม่ได้รกุ ล�ำ้ และออกมาตรการป้องกันการเปลีย่ นมือไปอยูใ่ นครอบครองของผูท้ มี่ ใิ ช่เกษตรกร ใช้เทคโนโลยีดาวเทียมส�ำรวจและวิธกี าร แผนที่ที่ทันสมัย แก้ไขปัญหาเขตที่ดินทับซ้อนและแนวเขตพื้นที่ป่าที่ไม่ชัดเจน อันก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่าง ประชาชนกับเจ้าหน้าที่รัฐ จากแนวนโยบายการลดความเหลื่อมล�้ำของรัฐบาลที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ภาครัฐในการปฏิบัติต่อประชาชนซึ่งแนวทางที่น่าจะเป็นข้อท้าทายในการท�ำงานของรัฐบาลตามนโยบายในช่วงต่อไป มีดังนี้ การจัดตั้งกองทุนยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ได้ด�ำเนินการตามนโยบายที่ 11 การปรับปรุงกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม ข้อ 11.5 ได้ก�ำหนดให้ต้องมีการส่งเสริมกองทุนยุติธรรม เพื่อคุ้มครองช่วยเหลือคนยากจน และผู้ด้อยโอกาส คุ้มครองผู้ถูกล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพซึ่งสอดคล้องกับการลดความเหลื่อมล�้ำ โดยการสนับสนุนเงิน หรือค่าใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ รวม 8 กรณี ดังนี้ (1) การวางเงินประกันการปล่อยตัวชั่วคราว (2) การจ้างทนายความว่าความในคดีอาญา คดีแพ่ง คดีปกครอง หรือการบังคับคดี (3) การช�ำระค่าธรรมเนียมขึ้นศาลและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ในคดีแพ่ง และคดีปกครอง (4) การด�ำเนินคดีเกี่ยวกับการพิสูจน์ทางคดีฯ (5) การสนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายที่จ�ำเป็น ได้แก่ ค่าพาหนะเดินทาง ค่าที่พัก (6) การคุ้มครองช่วยเหลือให้ได้รับความปลอดภัยจากการก่ออาชญากรรม (7) ความเสียหายที่เกิดจากการกระท�ำความผิดทางอาญา... หรือกลุ่มบุคคลตั้งแต่สิบรายขึ้นไป (8) สนับสนุนเงินหรือค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ การจัดตั้งกองทุนยุติธรรมเป็นลักษณะกองทุนที่ได้รับงบประมาณจากรัฐโดยตรง อย่างไรก็ตาม หน้า 112

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

การด�ำเนินงานของกองทุนยังมีการหมุนเวียนเงินเข้ามาในระบบกองทุน จึงเป็นสิ่งที่น่าจะยั่งยืน แต่สิ่งที่ต้องเตรียมการ รองรับคือการเข้ามาใช้บริการของประชาชนทีอ่ าจเพิม่ ขึน้ โดยการขยายช่องทางและการเปิดช่องทางและโอกาสให้ประชาชน ได้รับทราบได้เข้าถึงบริการดังกล่าวได้อย่างทั่วถึงเท่าเทียมกัน อย่างไรก็ตามประเด็นท้าทายคือการจัดตัง้ กองทุนยุตธิ รรม (Justice fund) นับว่าเป็นรูปแบบทีไ่ ม่เหมือน การตัง้ กองทุนของนานาประเทศ เพราะเอาภาระกิจ การช่วยเหลือเหยือ่ และภารกิจในการช่วยเหลือบุคคลทัว่ ไปให้เข้าถึง กระบวนการยุตธิ รรม ทัง้ สองภารกิจนีม้ าปนกันดังเช่นภารกิจของกองทุนยุตธิ รรมในปัจจุบนั เพราะรูปแบบของนานาประเทศ มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชยและช่วยเหลือเหยื่อจากอาชญากรรมที่จัดตั้งขึ้นจะเป็นไปเพื่อการช่วยเหลือเหยื่อโดยตรง โดยมีชอื่ เรียกว่า Crime Victim Fund และแยกภารกิจในการสนับสนุนค่าใช้จา่ ยในการจ้างทนายความในการด�ำเนินคดี หรือค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมของผู้ต้องหาให้ไปเป็นของหน่วยงานอื่น เช่น ศาล โดยไม่น�ำภารกิจ ในการชดเชย แม้วา่ การรวมภาระกิจอาจสร้างให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรจากการประหยัดต่อขนาด (Economy of scale) และอาจช่วยให้กองทุนมีความยั่งยืนทางการคลังมากกว่าการแยกออกเป็นสองกองทุน โดยทางเลือกนี้อาจ เป็นทางเลือกที่เหมาะสมหากเงินที่ได้จากผู้กระท�ำความผิดมีน้อยในระยะเริ่มต้น อย่างไรก็ตาม หากกองทุนที่ได้ด�ำเนิน การมาระยะหนึง่ เริม่ มีความเข้มแข็งในทางการเงินแล้วก็อาจพิจารณาจัดแยกออกเป็นสองกองทุนได้ในระยะต่อไป เพือ่ ช่วย ให้แนวทางการผันเงินเป็นไปอย่างถูกต้อง เป็นธรรม และสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติในหลายประเทศ (ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ และทองใหญ่ อัยยะวรากูล, 2558) กล่าวคือหากมีการแยกการให้การชดเชยและช่วยเหลือเหยือ่ เป็นบทบาทของกองทุนเหยือ่ จากอาชญากรรม และการช่วยเหลือการเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมของผูต้ อ้ งหาเป็นบทบาทของกองทุนยุตธิ รรม อาจเป็นข้อท้าทายทัง้ นี้ มีข้อดีที่ส�ำคัญคือ เป็นการสร้างความชัดเจนเกี่ยวกับแนวทางการใช้เงิน กล่าวคือ กองทุนเหยื่อจากอาชญากรรมอาจหา แหล่งทุนโดยเป็นการผันเงินจากกลุ่มผู้กระท�ำความผิด ไปสู่กลุ่มผู้ตกเป็นเหยื่อจากการกระท�ำความผิด ซึ่งชัดเจนและ เป็นธรรม ซึง่ ไม่ใช่เป็นการผันเงินในรูปแบบของกองทุนยุตธิ รรมในปัจจุบนั ทีผ่ นั เงินจากรัฐไปสูก่ ลุม่ ผูก้ ระท�ำความผิด และ ไปสู่กลุ่มผู้ตกเป็นเหยื่อ และผู้ที่เป็นผู้ต้องหา ซึ่งอาจเป็นกลุ่มผู้กระท�ำความผิดเองก็เป็นได้หากศาลตัดสินว่ามีความผิด สิ่งที่ส�ำคัญ คือแหล่งงบประมาณที่น�ำมาใช้ในกองทุน ว่ามีความเหมาะสมแค่ไหนอย่างไรกับการน�ำเอาเงินงบประมาณ ของรัฐ ถึงแม้วา่ รัฐจะมีหน้าทีท่ จี่ ะต้องอ�ำนวยให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมได้ สิง่ ทีเ่ ป็นข้อท้าทาย คือหากมีการโอนบทบาทอ�ำนาจการใช้จ่ายเงินของกองทุนยุติธรรมให้มาเป็นของกองทุนเหยื่อจากอาชญากรรมที่จะได้ จัดตั้งขึ้นใหม่ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความซ�้ำซ้อนของกองทุน และให้แก้แหล่งที่มาของรายได้กองทุนยุติธรรมให้มาจาก เงินงบประมาณเป็นหลัก และให้รายได้ทมี่ าจากค่าปรับผูก้ ระท�ำความผิดเป็นแหล่งทีม่ ารายได้ของกองทุนเหยือ่ จากอาชญากรรม เพือ่ ให้แหล่งรายได้และแนวทางการจ่ายเงินของทัง้ สองกองทุนแยกจากกันโดยชัดเจน (ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชดั ศิรพิ ล กุศลศิลป์วุฒิ และทองใหญ่ อัยยะวรากูล, 2557) การจัดเก็บภาษี คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ประกาศเจตนารมณ์แก้ปัญหาความเหลื่อมล�้ำ และสร้างความเป็นธรรมและสร้างรายได้ให้แก่รฐั ผ่านนโยบายการจัดเก็บภาษี ซึง่ กระทรวงการคลังเปิดเผยอัตราการเก็บ ภาษีทดี่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง คือเก็บภาษีทดี่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างทุกแปลง โดยใช้ฐานราคาประเมินของกรมธนารักษ์ ก�ำหนด โครงสร้างภาษี 3 อัตรา ได้แก่ ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเชิงพาณิชย์ เก็บในอัตราไม่เกินร้อยละ 0.5 ของราคาประเมินที่ดิน, ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อที่อยู่อาศัย เก็บในอัตราร้อยละ 0.1 และที่ดินเพื่อการเกษตร เก็บในอัตราไม่เกินร้อยละ 0.05 ในกรณีทที่ ดี่ นิ ว่างเปล่าหรือไม่ได้ทำ� ประโยชน์ เก็บในอัตราร้อยละ 0.05 ของราคาประเมินทีด่ นิ และหากยังไม่ใช้ประโยชน์ ติดต่อกัน ให้เพิ่มภาษีอีกหนึ่งเท่าในทุก ๆ 3 ปี แต่จ�ำนวนภาษีที่เรียกเก็บต้องไม่เกินร้อยละ 2 ของราคาประเมินที่ดิน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 113


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(TCIJ ออนไลน์, 2557) อย่างไรก็ตามก็มกี ระแสออกมาวิพากษ์ขอ้ ดีขอ้ เสียของมาตรการนีว้ า่ อาจสร้างรายได้ให้รฐั เพิม่ ขึน้ และอาจลดความเหลื่อมล�้ำได้บ้างอย่างไรก็ตามข้อจ�ำกัดของมาตรการนี้ คนมีที่ดินเพียงเล็กน้อยก็ต้องร่วมจ่ายภาษีด้วย ไม่แก้ไขปัญหาด้านการกระจุกตัวการถือครองที่ดิน เนื่องจากไม่ใช่การเก็บแบบอัตราก้าวหน้าท�ำให้มาตรการดังกล่าว ไม่สามารถสร้างความเป็นธรรมทางสังคมและการลดความเหลือ่ มล�ำ้ ได้ ดังนัน้ แนวนโยบายการลดความเหลือ่ มล�ำ้ ในประเด็น การจัดเก็บภาษีของรัฐเป็นประเด็นท้าทายว่าควรจัดเก็บในรูปแบบใด นโยบายด้านการเกษตร สืบเนือ่ งจากรัฐบาลประกาศแนวนโยบายการลดความเหลือ่ มล�ำ้ ทางภาคเอกชน ได้ออกมาเสนอแนวทางได้เสนอแนวทางลดความเหลื่อมล�้ำและสร้างความยั่งยืนให้กับชาวนาไทย โดยหอการค้าไทย (2557) จัดท�ำข้อเสนอเป็นยุทธศาสตร์ ”อนาคตข้าวและชาวนาไทย” ในการลดความเหลือ่ มล�ำ้ และสร้างความยัง่ ยืนให้กบั ชาวนาไทย ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาข้าวและชาวนาไทย โดยยึดแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การจัดสร้าง ศูนย์การเรียนรูช้ มุ ชนเพือ่ พัฒนาข้าวและชาวนา การสร้าง Smart Farmer เพือ่ ยกระดับมาตรฐานชาวนา ให้เป็นเกษตรกร ทีม่ คี ณ ุ ภาพ การปรับเปลีย่ นไปสูก่ ารผลิตข้าวคุณภาพ เพือ่ สร้างความจ�ำเพาะในตัวของสินค้า (Niche Product) การพัฒนา ระบบ Value Chain ให้เข้มแข็ง การจัดแบ่งผลประโยชน์ในแต่ละฝ่ายที่เป็นธรรม (Fair Trade) เพื่อสร้างต้นแบบ ในการพัฒนาข้าวไทย โดยกระจายในทุกภูมิภาค ทั้งนี้รัฐบาลสนับสนุนด้านงบประมาณ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เกษตรสมัยใหม่ (Modern Farming) เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน เช่นการส่งเสริม ระบบวิสาหกิจชุมชน สหกรณ์การเกษตร หรือกลุม่ เกษตรกร โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ความเข้มแข็งของชุมชนในการผลักดัน การเกษตรทีม่ งุ่ ลดต้นทุน เพิม่ ผลผลิต การรวมแปลงการผลิตเป็นพืน้ ทีเ่ พาะปลูกขนาดใหญ่ขนึ้ เพือ่ สามารถใช้เครือ่ งจักร การเกษตร (Mechanization) ในการเพาะปลูก เก็บเกี่ยว และขนส่ง อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตและ ลดต้นทุน ยุทธศาสตร์ที่ 3 เขตเกษตรเศรษฐกิจทางเลือก (Alternative Crops Zoning) เป็นมาตรการทางเลือก ไม่ได้บงั คับ และใช้หลักการตลาดน�ำ โดยภาคเอกชน เข้ามามีสว่ นร่วม มีการปรับเปลีย่ นพืชเศรษฐกิจอืน่ ทีม่ คี วามเหมาะสม กับพื้นที่ ประกอบด้วย อ้อย มันส�ำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพาราและปาล์มน�้ำมัน รัฐบาลลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบชลประทาน ระบบการขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ การพัฒนาแหล่งน�้ำ การปรับปรุงคุณภาพดิน และโครงสร้าง พื้นฐานที่จ�ำเป็นในการเกษตร ยุทธศาสตร์ที่ 4 การวิจยั และพัฒนาพันธุข์ า้ ว เช่น การส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ในการผลิต การต่อยอดการวิจัยและพัฒนา (R&D) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับข้าวไทย การพัฒนาระบบการประกันภัยการผลิตข้าว และพืชผลการเกษตร การจัดตั้งคณะกรรมการ Rice Board โดยมี Stakeholders หรือผู้ที่มีส่วนได้เสียเข้ามาเป็น คณะกรรมการ อาทิ ผู้แทนชาวนา โรงสี ผู้ส่งออกข้าว ภาคราชการ นักวิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นต้น โดยบทบาท ของ Rice Board จะท�ำหน้าในการที่ก�ำหนดทิศทางอนาคตของข้าวไทย การจัดท�ำแผนแม่บทข้าวและชาวนาไทย ยุทธศาสตร์ที่ 5 การตลาดข้าวไทย เช่น รัฐบาลต้องส่งเสริมกลไกการตลาดเสรี โดยเปิดเอกชนได้มี การแข่งขันเสรีอย่างแท้จริง โดยรัฐบาลเป็นผู้รักษากฎ ระเบียบ ผ่านคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการข้าว (นบข.) การปรับปรุงตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ให้สามารถเป็นตลาดทีส่ ะท้อนราคาสินค้าเกษตรได้อย่างแท้จริง โดยการส่งเสริมให้ตลาดเติบโต จากการมีผลู้ งทุนมากขึน้ โดยการน�ำตลาดสินค้าล่วงหน้าออกจากการดูแลของกระทรวง พาณิชย์ ให้ไปอยูใ่ นการดูแลของตลาดหลักทรัพย์แก้ไขกฎระเบียบทีเ่ ป็นอุปสรรคในระบบการตลาดข้าว เพือ่ เป็นการส่งเสริม การตลาดข้าวไทยและสร้างความโปร่งใส ในการเปิดเผยข้อมูล ตัวเลขการค้าการส่งออก ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อสังคม หน้า 114

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ซึง่ จากแนวทางทีท่ างภาคเอกชนเสนอมานัน้ สามารถตัง้ ข้อสังเกตได้วา่ รัฐบาลยังต้องเป็นหลักในการสนับสนุน และช่วยเหลือเกษตรทัง้ การลงทุนด้าน “โครงสร้างพืน้ ฐานระบบชลประทาน ระบบการขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ การพัฒนา แหล่งน�ำ้ การปรับปรุงคุณภาพดิน และโครงสร้างพืน้ ฐานทีจ่ ำ� เป็นในการเกษตร” (หอการค้าไทย, 2557) ทีส่ ำ� คัญการจัดตัง้ คณะกรรมการ Rice Board อาจเป็นข้อทีต่ อ้ งสร้างความชัดเจนว่าเป็นกลุม่ ทีต่ งั้ จากการเป็นตัวแทนทีแ่ ท้จริงของทุกภาคส่วน ที่เป็น stake holder หลัก ๆ หรือไม่ใครเป็นผู้มีอ�ำนาจคัดเลือกเพราะหากมาจากกลุ่มนายทุนที่มีความได้เปรียบกว่า กลุม่ เกษตรกรย่อมเป็นจุดอ่อนต่อการลดความเหลือ่ มล�ำ้ อีกทัง้ การเสนอยุทธศาสตร์ให้รฐั บาลต้องส่งเสริมกลไกการตลาด เสรี โดยเปิดเอกชนได้มีการแข่งขันเสรีอย่างแท้จริง ย่อมเป็นสิ่งที่ท้าทายต่อนโยบายการลดความเหลื่อมล�้ำของรัฐบาล เพราะการแข่งขันในระบบเสรียอ่ มเป็นประโยชน์หากผูแ้ ข่งขันมีศกั ยภาพเท่าเทียมกัน แต่ในระบบสินค้าเกษตรนัน้ เกษตรกร ย่อมเป็นผูเ้ สียเปรียบไม่มศี กั ยภาพพอในการเข้าไปแข่งขันกับนายทุน ดังนัน้ การลดความเหลือ่ มล�ำ้ ได้รฐั บาลยังคงต้องใช้ นโยบายเข้าไปช่วยเหลือภาคเกษตรกร จึงเป็นข้อท้าทายว่ารัฐบาลต้องมีนโยบายทีเ่ หมาะสมในการช่วยเหลือภาคเกษตรกร โดยเฉพาะชาวนาซึ่งเป็นกลุ่มหลักของเกษตรไทย 6.3 ประเด็นท้าทายในเชิงการคลังกับก้าวต่อไปของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ นับจากการจัดท�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 1 การพัฒนาของประเทศไทยในมิตติ า่ ง ๆ ทางด้านสิทธิ มนุษยชนนับได้วา่ มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก และในบางมิติ เช่น สิทธิมนุษยชนในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขพืน้ ฐาน ของประเทศไทยนั้น เรียกได้ว่า ไม่เพียงแต่จะทัดเทียมกับประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศเท่านั้น หากยังเป็นที่ชื่นชม และเป็นแบบอย่างให้กบั ประเทศอืน่  ๆ ได้อกี ด้วย ดังค�ำกล่าวของ Amartya Sen (2015) นักเศรษฐศาสตร์ผไู้ ด้รบั รางวัล โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ที่ได้กล่าวไว้ในบทความชื่อว่า Universal healthcare: the affordable dream ในหนังสือ พิมพ์ The Gaurdian ว่า The result of universal health coverage in Thailand has been a significant fall in mortality (particularly infant and child mortality, with infant mortality as low as 11 per 1,000) and a remarkable rise in life expectancy, which is now more than 74 years at birth – major achievements for a poor country. There has also been an astonishing removal of historic disparities in infant mortality between the poorer and richer regions of Thailand; so much so that Thailand’s low infant mortality rate is now shared by the poorer and richer parts of the country (Sen, 2015). นโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทยได้ส่งผลให้ประเทศสามารถลดอัตราการตายได้ อย่างมีนัยส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราการตายของเด็ก และทารก ซึ่งลดลงเหลือเพียง 11 ใน 1,000 ราย และส่งผล ให้อายุขัยเฉลี่ยของประชาชนชาวไทยสูงขึ้นมากกว่า 74 ปี ซึ่งเป็นเป้าหมายที่ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างสูงส�ำหรับ ประเทศก�ำลังพัฒนา นอกจากนี้ นโยบายยังมีสว่ นส�ำคัญในการลดช่องว่างของอัตราการตายของทารก จนท�ำให้ไม่เหลือ ความแตกต่างระหว่างพื้นที่ยากจนและพื้นที่ร�่ำรวยอีกต่อไป (Sen, 2015) นอกจากประเด็นเรื่องสาธารณสุขแล้ว ประเทศไทยยังได้มีแนวนโยบายเป็นจ�ำนวนมากที่มุ่งช่วยเหลือ ผู้มีรายได้น้อย หรือกลุ่มบุคคลชายขอบในสังคม ให้เข้าถึงสิทธิในด้านต่าง ๆ ที่พึงได้ เช่น เบี้ยยังชีพแก่ผู้ชราและผู้พิการ ที่อยู่อาศัยแก่ผู้มีรายได้น้อย ทุนการศึกษาที่ได้กระจายเข้าสู่ในระดับชุมชน อีกทั้งยังมีการพัฒนาในด้านความเท่าเทียม ระหว่างเพศซึ่งสะท้อนให้เห็นได้จากสัดส่วนผู้ด�ำรงต�ำแหน่งบริหารระดับสูงในภาครัฐและเอกชนที่เป็นสตรีซึ่งเพิ่มสูงขึน้ เรือ่ ย ๆ อย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนการพัฒนากฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับสิทธิในมิตติ า่ งๆ เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมาย สิ่งแวดล้อม เป็นต้น คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 115


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันแม้ประเทศไทยจะได้มีการพัฒนาโครงสร้างสวัสดิการของรัฐที่ช่วยให้ประชาชน สามารถเข้าถึงมิตติ า่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับสิทธิมนุษยชนได้อย่างมาก แต่นโยบาย มาตรการ และโครงการทีเ่ กีย่ วข้องส่วนใหญ่ ก็ลว้ นแต่เป็นสิง่ ทีพ่ งึ่ พิงงบประมาณแผ่นดินในระดับทีส่ งู จากงานวิจยั เรือ่ งโครงการศึกษาวิจยั การลงทุนดานสังคมภายใต เงือ่ นไขการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและการปรับตัวสู สังคม – เศรษฐกิจ ฐานความรู้ จัดท�ำโดยสถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนา ประเทศไทยซึง่ น�ำเสนอต่อส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่าระดับรายจ่ายการลงทุน รวมในด้านสังคมของประเทศไทยได้เพิม่ สูงขึน้ อย่างรวดเร็วในระยะเวลาเกือบสิบปีทผี่ า่ นมา และอยูใ่ นระดับเกือบ 1 ล้าน ล้านบาทในปี 2551 ตาราง 6.1

รายจ่ายงบประมาณของประเทศไทยในโครงการทางสังคม (ล้านบาท) ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 2552

ทัง้ นี้ แม้ตวั เลขข้างต้นจะไม่สามารถบอกได้วา่ ระดับรายจ่ายทัง้ หมดอยูใ่ นระดับทีส่ งู หรือต�ำ่ เกินไปก็ตาม แต่กส็ ะท้อน ให้เห็นว่า นโยบาย มาตรการ และโครงการทางการศึกษา สุขภาพ และสวัสดิการสังคม ซึง่ ล้วนแต่มสี ว่ นช่วยให้ประชาชน สามารถเข้าถึงสิทธิมนุษยชนในมิตติ า่ ง ๆ ได้มากขึน้ นัน้ จ�ำเป็นต้องใช้เงินเป็นจ�ำนวนมาก และสิง่ ทีจ่ ะช่วยรับรองว่านโยบาย มาตรการ และโครงการที่ได้ด�ำเนินการมาจนถึงปัจจุบันนี้จะเกิดความยั่งยืนทางการคลังได้ก็คือ ศักยภาพของประเทศ ในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและรักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้อยูใ่ นระดับสูง ซึง่ จากการศึกษาวิจยั ของสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทยพบว่า ประเทศควรจะรักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้ได้ในระดับเฉลี่ยร้อยละ 4 ใน 20 ปีข้างหน้า และหากระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจต�่ำกว่าร้อยละ 2.5 แล้ว ประเทศจะตกอยู่สภาวะที่ประสบ ปัญหาทางการคลังทันทีจากรายจ่ายทางด้านสังคม ซึ่งมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ (The World Bank, 2014) จาก โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งสร้างแรงกดดันกับรายจ่ายทางสังคมในบางประเภท เช่น ด้าน สุขภาพ

หน้า 116

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ภาพ 6.1 กำรขยำยตัวของ GDP

ระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ณ ระดับราคาคงที่ ปี 1968 – 2012 ที่มา ธนาคารโลก (2556)

อย่างไรก็ตาม จากการพิจารณาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วง 30 ปีทผี่ า่ นมา ตามแผนภูมอิ นุกรมเวลาข้างต้น จะเห็นได้วา ่ เศรษฐกิจไทยในช่วงระยะ 10 ปีทผี่ า่ นมามีความผันผวนมาก และมีอตั ราเฉลีย่ ของการขยายตัวทางเศรษฐกิจระหว่างปี 2551-2556 อยู่ที่เพียงระดับร้อยละ 2.9 เท่านั้น ซึ่งต�่ำกว่าระดับการขยายตัว ทางเศรษฐกิจที่ประเทศไทยจะต้องรักษาให้ได้ไปอีก 20 ปี ข้างหน้า อีกทั้งยังมีผลกระทบจากความไม่สงบทางการเมือง ในประเทศ และความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ซึ่งล้วนแต่เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สามารถส่งผลกระทบต่อนโยบาย มาตรการ และโครงการที่รองรับการเข้าถึงสิทธิมนุษยชนในมิติต่าง ๆ ได้อย่างมีนัยส�ำคัญ จากประเด็นท้าทายข้างต้น รัฐบาลสามารถพัฒนาแนวทางป้องกันความเสีย่ งในเชิงการคลังของนโยบาย ได้มาตรการ และโครงการที่รองรับการเข้าถึงสิทธิมนุษยชนในมิติต่าง ๆ ได้โดย 1) พัฒนาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและรักษาระดับการเติบโตของผลผลิตมวลรวมประชาชาติ ไม่ให้ต�่ำกว่าร้อยละ 4 ทั้งนี้ ควรตระหนักว่านโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมล้วนเป็นนโยบายที่ต้องด�ำเนินไปด้วยกัน อย่างคูข่ นาน โดยควรมองหาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและการกระตุน้ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทีใ่ ห้ความส�ำคัญ กับผูย้ ากไร้ (Pro-poor growth) ซึง่ มักเข้าไม่ถงึ สิทธิมนุษยชนในมิตติ า่ ง ๆ และในขณะเดียวกันก็ตอ้ งค�ำนึงถึงความจ�ำเป็น ในการรักษาเสถียรภาพและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยไม่ให้การลงทุนในเชิงสังคมซึง่ มีสดั ส่วนการลงทุนของเงิน งบประมาณแผ่นดินสูง เป็นอุปสรรคหรือเบียดบังการพัฒนาทางเศรษฐกิจในด้านอื่น ๆ ซึ่งอาจส่งผลเชิงลบในระยะยาว ต่อเสถียรภาพทางการคลังของประเทศได้หากไม่สามารถรักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เป็นไปตามเป้าหมาย 2) เร่งพัฒนาแนวทางการเข้าถึงสิทธิมนุษยชนในรูปแบบต่าง ๆ ทีไ่ ม่พงึ่ พิงภาระงบประมาณจนเกินไป อาทิ การส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ด้อยโอกาสในสังคม เช่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการตลอดจนผู้พ้นโทษ ซึง่ มักเป็นผูถ้ กู ละเมิดสิทธิในด้านต่าง ๆ โดยอาจใช้มาตรการจูงใจรูปของการลดหย่อนภาษีให้แก่ภาคเอกชนทีเ่ ข้าร่วมใน โครงการ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นการร่วมแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (Corporate Social Responsibility – CSR) ในรูปแบบหนึ่ง

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 117


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

3) เร่งพัฒนามาตรการการช่วยเหลือในมิตติ า่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับสิทธิมนุษยชน เช่น ด้านสุขภาพ ด้าน สวัสดิการสังคมแก่ผดู้ อ้ ยโอกาส ให้เป็นหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของทุกภาคส่วนในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคเอกชน ประชาสังคม และครอบครัว เพือ่ กระจายภาระและหน้าทีก่ ารดูแลและช่วยเหลือการเข้าถึงสิทธิให้เป็นหน้าทีข่ องสาธารณะ แทนทีจ่ ะเป็นหน้าทีข่ องภาครัฐแต่เพียงอย่างเดียว เช่น ในส่วนของสิทธิดา้ นสุขภาพภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นัน้ ควรใช้มาตรการทีเ่ น้นการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรค แทนการรักษาโรค และควรเฝ้าระวังไม่ให้การได้รบั สิทธิโดยถ้วนหน้า เกิดผลกระทบทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ตา่ ง ๆ อาทิ พฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพอย่างพร�ำ่ เพรือ่ โดยไม่พงึ่ ตนเองเมือ่ เกิดปัญหา ตลอดจนพฤติกรรมการละเลยการดูแลสุขภาพ ขาดความระมัดระวัง เนือ่ งจากไม่ตอ้ งรับภาระทางการเงินในกรณีทเี่ จ็บป่วย เป็นต้น 4) จัดล�ำดับความส�ำคัญของนโยบาย มาตรการ และโครงการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีจ�ำเป็น ที่เกิดความจ�ำกัดของงบประมาณที่ส่งผลให้รัฐไม่มีงบประมาณเพียงพอที่จะพัฒนาคุณภาพในทุกมิติได้ โดยควรถือเอา หลักการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสหรือผู้ที่มีความจ�ำเป็นก่อนเป็นล�ำดับแรก (Rawsian Principle) 5) บูรณาการแนวทางการใช้ทรัพยากรทัง้ หมดให้เกิดประสิทธิภาพ และป้องกัน หรือปรับปรุงนโยบาย ในด้านสังคมในทุกด้านให้ลดความซ�ำ้ ซ้อนของการใช้ทรัพยากร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกองทุนต่าง ๆ ทางด้านสังคมซึง่ มีอยูม่ าก ซึง่ อาจควรต้องยุบรวมบางกองทุนเข้าด้วยกัน ซึง่ สามารถช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพของการใช้งบประมาณได้จากการลดต้นทุน คงที่ของแต่ละกองทุน และการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) ของแต่ละกองทุน โดยสรุป ประเด็นทีร่ ฐั บาลต้องเผชิญคือ การป้องกันความเสีย่ งในเชิงการคลังของนโยบายและมาตรการ รวมทัง้ โครงการทีร่ องรับการเข้าถึงสิทธิมนุษยชนในมิตติ า่ ง ๆ อีกทัง้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทตี่ อ้ งเป็นอิสระ และต้องปลดให้หลุดจากการตั้งเงื่อนไขของไอซีซี

หน้า 118

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

บรรณานุกรม กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ. (2553). คูม่ อื การปฏิบตั งิ านกระบวนงานการให้บริการเบิกจ่ายเงินรางวัลและค่าใช้จา่ ย ในการปฏิบตั หิ น้าทีท่ นายความให้แก่ผตู้ อ้ งหาตามโครงการส่งเสริมสิทธิแก่ผตู้ อ้ งหาในการสอบสวนคดีอาญา กระทรวงยุติธรรม. กรมคุมประพฤติ. (2557). สถิตคิ ดีควบคุมและสอดส่งจ�ำแนกตามฐานความผิดของส�ำนักงานคุมประพฤติทวั่ ประเทศ ปีงบประมาณ 2553 – ปัจจุบัน. คัดลอกเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.probation.go.th กรมคุมประพฤติ. (2557). รายงานผลการฟืน้ ฟูฯ ทีเ่ สนอต่อคณะอนุกรรมการฯ ของส�ำนักงานคุมประพฤติทวั่ ประเทศ ปีงบประมาณ 2546 – ปัจจุบัน คัดลอกเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.probation.go.th กรมราชทัณฑ์. (2557). สถิตผิ ตู้ อ้ งราชทัณฑ์ทวั่ ประเทศ คัดลอกเมือ่ 30 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.correct. go.th/stat102/display/select type.php กรมราชทัณฑ์. (2557 ก). สถิตนิ กั โทษประหารชีวติ ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน 2557. คัดลอกเมือ่ 1 ธันวาคม 2557 จาก http://www.correct.go.th/correct2009/stat.html คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2556). รายงานการประเมินสถานการณ์สทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทยและรายงาน ผลการปฏิบัติงานประจ�ำปี. กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. คณะอนุกรรมการปฏิบตั กิ ารยุทธศาสตร์ดา้ นสิทธิในกระบวนการยุตธิ รรม ส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2557). โทษประหารชีวิตในประเทศไทย (บทสรุปผู้บริหาร) จันทร์ชม จินตยานนท์, จิฬาภรณ์ ตามชู และ ศิวพร เทพวงษ์. (2557). ความเป็นมากองทุนยุตธิ รรม. กองพิทกั ษ์สทิ ธิและ เสรีภาพ, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ. เอกสารโรเนียว. ทีมข่าวอาชญากรรม. (2556). ผูจ้ ดั การออนไลน์. คัดลอกเมือ่ 2 สิงหาคม 2557 จาก http://www.manager.co.th/crime/ viewnews.aspx?NewsID=9560000058369 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (2550). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอนที่ 47 ก (24 สิงหาคม) ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วยการจ่ายเงินรางวัลและค่าใช้จา่ ยแก่ทนายความทีร่ ฐั ต้องจัดหาให้แก่ผตู้ อ้ งหาในคดีอาญา พ.ศ. 2550. (2550). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 29 ง 14 มีนาคม 2550. ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชดั , นิตยา ส�ำเร็จผล และน�ำ้ แท้ บุญมีสล้าง. (2557). โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการยกเลิก โทษประหารชีวิต ตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม กรุงเทพมหานคร : พุ่มทอง ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชดั , ดล บุนนาค และศิรพิ ล กุศลศิลป์วฒ ุ .ิ (2555). โครงการศึกษาวิจยั การส่งเสริมสิทธิแก่ผตู้ อ้ งหา ในการสอบสวนคดีอาญาอย่างมีประสิทธิภาพ. กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม และคณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 119


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชดั , นิตยา ส�ำเร็จผล, สัญญา เนียมประดิษฐ์. (2555). รายงานการประเมินผลสัมฤทธิก์ ารด�ำเนินงาน ตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับบที่ 2 (ช่วงครึง่ แผน) ประจ�ำปี พ.ศ. 2552 – 2554. กรมคุม้ ครองสิทธิและ เสรีภาพ กระทรวงยุติธรรมและคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชดั , ศิรพิ ล กุศลศิลป์วฒ ุ ิ และทองใหญ่ อัยยะวรากูล. (2557). โครงการ พัฒนากลไกและข้อเสนอ ด้านการช่วยเหลือเหยือ่ อาชญากรรมตามมาตรฐานสากลเพือ่ รองรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน. กรมคุม้ ครอง สิทธิและเสรีภาพ, กระทรวงยุติธรรมและคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล. สถานทูตสหรัฐอเมริกา. (2556). รายงานการปฏิบตั ดิ า้ นสิทธิมนุษยชนประจ�ำปี พ.ศ. 2556 ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับประเทศไทย สถานทูตสหรัฐอเมริกา กรุงเทพฯ ประเทศไทย คัดลอกเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2557 จาก http://thai.bangkok. usembassy.gov/hrrpt/2013/thai.htm สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย. (2552). โครงการศึกษาวิจยั การลงทุนดา นสังคมภายใตเ งือ่ นไขการเปลีย่ นแปลง ทางสังคมและการปรับตัวสูส งั คม – เศรษฐกิจฐานความรู.้ รายงานวิจยั เสนอต่อส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). สรุปภาวะประเทศ คัดลอก เมือ่ 2 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.nesdb.go.th/Portals/0/home/interest/11/data_0344110811 ส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน. (2557). รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเฉพาะกรณีทนี่ า่ สนใจ ปี 2555. คัดลอกเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.nhrc.or.th/2012/wb/th/contentpage. php?id=45&menu_id=1&groupID=4&subID=11 ส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน. (2557). รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเฉพาะกรณีทนี่ า่ สนใจ ปี 2556. คัดลอกเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.nhrc.or.th/2012/wb/th/contentpage. php?id=45&menu_id=1&groupID=4&subID=11 ส�ำนักงานทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจ�ำเลยในคดีอาญา. (2557). เอกสารโรเนียว หอการค้าไทย (2557). หอการค้าไทยชง “ยุทธศาสตร์ข้าว” เสนอ คสช. เน้นปฏิรูปทั้งระบบ ลดความเหลื่อมล�้ำและ สร้างความยั่งยืนให้กับชาวนาไทย http://www.thaichamber.org/scripts/detail.asp? nNEWSID=11989 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล. (2556). รายงานประจ�ำปี 2556 แอมเนสตี้ อินเตอร์แนชัน่ แนล สถานการณ์สทิ ธิมนุษยชน ทัว่ โลก กรุงลอนดอลแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล. คัดลอกเมือ่ 10 พฤศจิกายน 2557 จาก http://files.amnesty. org/air13/AmnestyInternational_AnnualReport2013_complete_th.pdf ฮิวแมนไรท์วอทช์. (2556). รายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจ�ำปี 2555 ของฮิวแมนไรท์วอทช์. คัดลอกเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.hrw.org/worldreport/2013/countrychapters/112966?page=1

หน้า 120

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ภาษาอังกฤษ Human Rights Watch. (2013). World Report. Retrieved December 2, 2014 from http://www.hrw.org/ world-report/2013/country-chapters/112966 Online Reporter. (2014). “Thai human rights commission fails appraisal,” Bangkokpost. Retrieved 31 December, 2014 from http://www.bangkokpost.com/news/general/453435/national-human rights-commission-of-thailand-nhrc-faces-downgrading-for-incompetence Sen, Amartya. (2015). “Universal healthcare: the affordable dream” The Gaurdian. ฉบับวันที่ 6 มกราคม 2014, Retrieved January2, from http://www.pastpages.org/screenshot/2010062/ Tcijtha. (2557). มาตรการภาษีที่ดิน คสช. ยังแก้ความเหลื่อมล�้ำไม่ได้ 3 สิงหาคม 2557. คัดลอกเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2557 จาก http://tcijthai.com/tcijthainews/view.php?ids=4674 http://www3.weforum.org/docs/WEF_GlobalCompetitivenessReport_2014-15.pdf The World Bank. (2014). World Development Indicators. Retrieved November 2, 2014 from http:// www.worldbank.org/data-catalog/world-development-indicator U.S. Department of State. (2014). Trafficking in Persons Report 2014. คัดลอกเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2557 จาก http://www.state.gov/j/tip/rls/tiprpt/2014/index.htm World Economic Forum. (2014). The Global Competitiveness Report 2014–2015. Retrieved November 2, 2014 from http://www3.weforum.org/docs/WEF_GlobalCompetitivenessReport_2014 15.pdf

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 121



ภาคผนวก



รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ภาคผนวก 1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดทั้ง 27 รายการ ของแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 จากการก�ำหนดตัวชีว้ ดั ตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 2 เพือ่ ให้การประเมินผลเป็นไปตามเจตนารมณ์ ทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ คณะปรึกษาจึงได้ประชุมสนทนากลุม่ ย่อยกับผูบ้ ริหารและคณะท�ำงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำและติดตาม ผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชน ของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ดังนั้นคณะที่ปรึกษาได้จัดท�ำค�ำอธิบาย การค�ำนวณตัวชี้วัด และก�ำหนดสิ่งที่จะวัดรวมทั้งเกณฑ์การประเมินดังนี้ ตัวชีว้ ดั ที่ 1 สัดส่วนของคนทีม่ โี อกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 (จ�ำแนก ตามกลุ่มเป้าหมาย) หน่วยวัด : สัดส่วน ค�ำอธิบาย : สัดส่วนของคนที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง จ�ำนวนข้อร้องเรียนของผู้ที่มีโอกาส ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละกลุ่มเป้าหมายและแต่ละด้านเปรียบเทียบกับจ�ำนวนทั้งหมดของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย จ�ำนวนข้อร้องเรียน โดยสัดส่วนของผู้ที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน = จ�ำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน : เปรียบเทียบสัดส่วนผูท้ มี่ โี อกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านต่าง ๆ ของทุกกลุม่ เป้าหมาย ในแต่ละปี หากสัดส่วนลดลงในทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกด้าน แสดงว่าบรรลุผลตามตัวชี้วัด เงื่อนไข : จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ถูกละเมิดฯ คิดจากจ�ำนวนที่ปรากฏการละเมิดเป็นลายลักษณ์อักษร คือ มีการข้อร้องเรียนเท่านั้น ตัวชี้วัดที่ 2 ข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้านในเรื่องเดิมลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 (จ�ำแนกตาม กลุ่มเป้าหมายและข้อร้องเรียน) หน่วยวัด : จ�ำนวนข้อร้องเรียน ค�ำอธิบาย : ข้อร้องเรียนในแต่ละด้านในเรือ่ งเดิมลดลง หมายถึง จ�ำนวนของสถิตเิ รือ่ งราวร้องทุกข์ ร้องเรียน ในแต่ละด้านซึง่ ประเมินเฉพาะเรือ่ งเดิมทีม่ กี ารร้องเรียนเปรียบเทียบกับปีทผี่ า่ นมามีคา่ น้อยลง ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 โดยพิจารณาจากข้อมูลสถิตติ า่ ง ๆ ขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภายในประเทศทีท่ ำ� หน้าทีร่ บั เรือ่ ง ร้องทุกข์ และร้องเรียนจากประชาชน อัตราส่วนของการร้องเรียนเรื่องเดิม =

จ�ำนวนข้อร้องเรียนในปีปัจจุบัน -จ�ำนวนข้อร้องเรียนเรื่องนั้นในปีที่ผ่านมา จ�ำนวนข้อร้องเรียนเรื่องนั้นในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั อัตราส่วนข้อร้องเรียนการละเมิดสิทธิในแต่ละด้านในเรือ่ งเดิม ลดลงทุกปี เงื่อนไข : ภายใต้ข้อสันนิษฐานที่ว่าปัจจัยเอื้อต่อความสามารถในการเข้าถึงการร้องเรียนมีค่าคงที่

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 125


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชีว้ ดั ที่ 3 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของประชาชนกลุม่ เป้าหมายทีผ่ า่ นการเรียนรูส้ ทิ ธิมนุษยชนมีความ ตระหนักและจิตส�ำนึกในการปกป้องสิทธิมนุษยชนตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด หน่วยวัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ค�ำอธิบาย : (1) จ�ำนวนกลุม่ เป้าหมายทีม่ กี ารเรียนรูส้ ทิ ธิมนุษยชนผ่าน ตามเกณฑ์ หมายถึง จ�ำนวนบุคคล ที่เข้าร่วมการเรียนรู้เกี่ยวกับ หลักการและขอบเขตสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพ หรือการส่งเสริมความรู้ ความตระหนัก ในประเด็นสิทธิมนุษยชนทั้ง 10 ด้าน ตามกรอบแนวทางรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และแผนสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 และมีผลการวัดความรู้ ความเข้าใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม/ประชุม/สัมมนา ตามแบบ ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ภายหลังจากการด�ำเนินกิจกรรม ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 หรือคิดจากจ�ำนวนคน ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในกรณีที่ไม่มีการวัดผลความรู้ ความตระหนัก (2) ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของประชาชนกลุม่ เป้าหมายทีผ่ า่ นการเรียนรู้ หมายถึง ร้อยละ ของจ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ร้อยละที่เพิ่มขึ้นฯ =

(จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล/ผ่านการอบรม ในปีนั้น – จ�ำนวนในปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์/ผ่านการอบรมในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการเรียนรู้มีร้อยละเพิ่มขึ้นทุกปี เงื่อนไข : กรณีหน่วยงานที่จัดกิจกรรมให้ความรู้ ไม่ได้ด�ำเนินการทดสอบความรู้ ความตระหนักและจิตส�ำนึก ในการปกป้องสิทธิมนุษยชน ให้อนุมานว่าผูเ้ ข้ารับการอบรมฯ ทุกคนได้มคี วามรู้ ความตระหนักและมีจติ ส�ำนึกในการปกป้อง สิทธิมนุษยชนในประเด็นนั้น ๆ ตัวชีว้ ดั ที่ 4 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของเครือข่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับการเฝ้าระวังสามารถน�ำข่าวสารจากช่องทาง การเฝ้าระวังต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) เครือข่ายเฝ้าระวังการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง องค์กรเครือข่ายสิทธิ มนุษยชน ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนที่กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มีการส่งเสริม และ สนับสนุนให้มีการน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติน�ำร่อง จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 9,625 หน่วยงาน ที่ท�ำหน้าที่ เฝ้าระวัง ไม่ให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ ชุมชน เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน (2) การใช้ประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทีท่ ำ� ให้ประชาชนมีการรับรูแ้ ละเข้าถึงการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน อาทิ การประชาสัมพันธ์สถานการณ์การละเมิด สิทธิมนุษยชน ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ การชี้แนะช่องทางการเข้าถึงการรับบริการหรือช่องทางการป้องกันการละเมิดสิทธิ มนุษยชนในพืน้ ที่ การรณรงค์และกระตุน้ การส่วนร่วมในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ น�ำข่าวสาร ต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในช่วงที่มีการจัดกิจกรรมระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2554 (3) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังสามารถน�ำข่าวสาร จากช่องทางการเฝ้าระวังต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึงอัตราส่วนร้อยของ จ�ำนวนของเครือข่าย/หน่วยงานน�ำร่องที่มีการจัดกิจกรรมเฝ้าระวัง เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ร้อยละที่เพิ่มขึ้น = หน้า 126

(จ�ำนวนเครือข่ายที่มีการท�ำกิจกรรมเฝ้าระวังในปีนั้น – จ�ำนวนในปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนเครือข่ายที่มีการท�ำกิจกรรมในปีที่ผ่านมา

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด มีร้อยละของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังสามารถน�ำข่าวสาร จากช่องทางการ เฝ้าระวังต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เพิ่มขึ้นทุกปี ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง ภายในปี พ.ศ. 2556 หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) ประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ถูกกระท�ำหรือ การละเลยการกระท�ำซึ่งเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพที่ก�ำหนดไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และ สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 โดยพิจารณาจากข้อร้องเรียน/การขอรับความช่วยเหลือ สถิติต่าง ๆ ขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ (2) ร้อยละของประชาชนผูถ้ กู ละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านลดลง หมายถึง อัตราส่วนร้อย ของผลต่างจ�ำนวนประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิฯ ในแต่ละด้านในปีนั้นกับปีที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ร้อยละที่ลดลงฯ =

(จำ�นวนประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนปีนั้น – จำ�นวนประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในปีที่ผ่านมา) X 100 จำ�นวนประชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละของประชาชนที่ถูกละเมิดฯ ลดลงทุกด้าน ทุกปี เงื่อนไข : จ�ำนวนประชาชนผู้ถูกละเมิด นับจากจ�ำนวนข้อร้องเรียน ตัวชีว้ ดั ที่ 6 สัดส่วนของผูถ้ กู ละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์จากการฟืน้ ฟูและเยียวยา เพิ่มขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2556 หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ถูกกระท�ำหรือการละเลย การกระท�ำซึ่งเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพที่ก�ำหนดไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และสนธิสัญญา ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนทีป่ ระเทศไทยเป็นภาคี ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 โดยพิจารณา จากข้อร้องเรียน ข้อมูล สถิติต่าง ๆ ขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ (2) การได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา หมายถึง การที่ผู้ถูกกระท�ำการละเมิด สิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านได้รับสิ่งต่าง ๆ อันเป็นการฟื้นฟูและเยียวยาที่เหมาะสม จากการได้รับผลกระทบในด้านสิทธิ มนุษยชน (3) สัดส่วนของผูถ้ กู ละเมิดสิทธิมนุษยชนได้รบั สิทธิประโยชน์ในการฟืน้ ฟูและเยียวยา หมายถึง จ�ำนวนผู้ที่ได้รับการฟื้นฟูเยีวยาเปรียบเทียบกับจ�ำนวนทั้งหมดของถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านที่ยื่นค�ำขอ สัดส่วน = ทุกด้าน

จ�ำนวนผู้ถูกละเมิดฯ ที่ได้รับการฟื้นฟูเยียวยา จ�ำนวนผู้ถูกละเมิดทั้งหมดในด้านนั้น ๆ ที่ยื่นค�ำขอ

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั สัดส่วนของผูถ้ กู ละเมิดทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์ฯ เพิม่ ขึน้ ทุกปี

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 127


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของผู้ร้องเรียนในแต่ละด้าน หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) ผู้ร้องเรียน หมายถึง ประชาชนที่ถูกกระท�ำหรือการละเลยการกระท�ำซึ่งเป็นการละเมิด สิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพทีก่ ำ� หนดไว้ในบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญ และสนธิสญั ญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ทีป่ ระเทศไทยเป็นภาคี และมีการร้องทุกข์หรือร้องเรียนต่อหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยพิจารณา จากข้อมูล สถิตติ า่ ง ๆ ขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 (2) ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของผู้ร้องเรียนในแต่ละด้าน หมายถึง อัตราส่วนร้อยของผลต่าง ของจ�ำนวนผูร้ อ้ งเรียนในปีนนั้ กับปีทผ่ี า่ นมา เทียบกับจ�ำนวนผูร้ อ้ งเรียนในประเด็นสิทธิมนุษยชนแต่ละด้าน ในปีทผี่ า่ นมา ร้อยละที่ลดลงของผู้ร้องเรียนในแต่ละปี =

(จำ�นวนผู้ร้องเรียนในปีนั้น – จำ�นวนผู้ร้องเรียนในปีที่ผ่านมา) X 100 จำ�นวนผู้ร้องทุกข์หรือร้องเรียนในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด มีร้อยละที่ลดลงของผู้ร้องเรียนในแต่ละด้านทุกปี เงื่อนไข : ใช้ข้อมูลของปีงบประมาณ 2552 เป็นฐาน (Base -Line) เริ่มต้น ในการคิดร้อยละที่ลดลง ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านที่ได้รับสิทธิ ประโยชน์จากการปกป้องและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) การได้รับสิทธิประโยชน์จากการปกป้องและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ หมายถึง การที่ ผู้ถูกกระท�ำการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านได้รับประโยชน์จากการการด�ำเนินการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา การละเมิดฯ นัน้ พิจารณาจากข้อมูลการแก้ไขป้องกันไม่ให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านของแต่ละหน่วยงาน ในแต่ละปี (2) ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของผูถ้ กู ละเมิดสิทธิฯ ทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์จากการปกป้องและ แก้ไขปัญหา หมายถึง อัตราส่วนร้อยของผลต่างระหว่างจ�ำนวนการด�ำเนินการของหน่วยงานต่าง ๆ ทีเ่ ป็นการแก้ไข ป้องกัน ปัญหาให้กับผู้ถูกละเมิดฯ ในแต่ละด้านในปีนั้น กับปีที่ผ่านมา เทียบกับจ�ำนวนในปีที่ผ่านมา ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผู้ถูกละเมิดสิทธิฯ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการปกป้องและแก้ไขปัญหาในแต่ละปี = (จำ�นวนการดำ�เนินการแก้ไขป้องกันปัญหาการละเมิดสิทธิฯในปีนั้น – จำ�นวนการดำ�เนินการฯ ในปีที่ผ่านมา) X 100 จำ�นวนการดำ�เนินการแก้ไขป้องกันปัญหาการละเมิดสิทธิฯ ในปีที่ผ่านมา เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั มีรอ้ ยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ของผูถ้ กู ละเมิดสิทธิฯ ทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์ จากการปกป้องและแก้ไขปัญหาในทุกปี ทุกด้าน

หน้า 128

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชีว้ ดั ที่ 9 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีจ่ ดั สภาพแวดล้อมให้กลุม่ เป้าหมาย เข้าถึงและใช้ประโยชน์ หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) การจัดสภาพแวดล้อมให้กลุม่ เป้าหมายเข้าถึงและใช้ประโยชน์ หมายถึง การจัดสถานทีห่ รือ สภาพแวดล้อมหรือกิจกรรม/โครงการ/รณรงค์ เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทั้งด้านการให้บริการ การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ หรือกระตุน้ ให้ประชาชน ชุมชน สังคมหันมาให้ความส�ำคัญกับกลุม่ ผูท้ มี่ โี อกาส ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน (2) ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีจ่ ดั สภาพแวดล้อมฯ หมายถึง อัตราส่วนร้อยของผลต่างหน่วยงานฯ ทีม่ กี ารจัดสภาพแวดล้อมให้กลุม่ เป้าหมายเข้าถึงและใช้ประโยชน์ปนี นั้ กับปีทผี่ า่ นมา เทียบกับจ�ำนวนในปีที่ผ่านมา ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ฯ =

(จำ�นวนหน่วยงานทีจ่ ดั สภาพแวดล้อมฯ ในปีนน้ั – จำ�นวนหน่วยงานฯ ในปีทผ่ี า่ นมา) X 100 จำ�นวนหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่มีการจัดสภาพแวดล้อมฯ ในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั : ร้อยละของหน่วยงานทีจ่ ดั สภาพแวดล้อมฯ เพิม่ ขึน้ ในแต่ละปี เงื่อนไข : การนับจ�ำนวนหน่วยงานที่จัดสภาพแวดล้อมฯ ในปีปัจจุบันให้นับรวมหน่วยงานที่ได้ด�ำเนินการจัด สภาพแวดล้อมในปีที่ผ่านมาด้วย ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา (จ�ำแนกตามสิทธิประโยชน์ที่พึงได้ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด) หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) การได้รับสิทธิประโยชน์จากการฟื้นฟูและเยียวยา หมายถึง การที่ผู้ถูกกระท�ำการละเมิด สิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านได้รบั สิทธิประโยชน์เพือ่ การฟืน้ ฟูและเยียวยาอย่างเหมาะสม ตามเกณฑ์มาตรฐานหรือกฎหมาย ก�ำหนด ได้แก่ การส่งต่อผู้ถูกละเมิดให้ได้รับการฟื้นฟูและเยียวยา การด�ำเนินการฟื้นฟูและเยียวยา การให้เงินชดเชย การจัดอาชีพ เป็นต้น (2) ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของผูถ้ กู ละเมิดทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์จากการฟืน้ ฟูและเยียวยา หมายถึงการเพิ่มขึ้นของร้อยละผู้ถูกละเมิดฯ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์เพื่อการฟื้นฟูเยียวยาเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา สูตรการค�ำนวณ : ร้อยละของผูถ้ กู ละเมิดฯ ทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์ฯ =

จำ�นวนผู้ถูกละเมิดที่ได้รับสิทธิประโยชน์/ฟื้นฟูและเยียวยา X 100 จำ�นวนผู้ถูกละเมิดสิทธิทั้งหมดที่ยื่นคำ�ร้องขอ

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั : ร้อยละของผูถ้ กู ละเมิดฯ ทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์ฯ เพิม่ ขึน้ ทุกปี เงื่อนไข : จ�ำนวนผู้ถูกละเมิดคิดเฉพาะผู้ที่ยื่นค�ำร้องขอรับสิทธิประโยชน์เพื่อการฟื้นฟูและเยียวยา

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 129


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 11 สัดส่วนของกรณีการละเมิดที่ลดลงอันเนื่องมาจากการออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมายและ การบังคับใช้กฎหมาย ภายในปี พ.ศ. 2556 หน่วยวัด : สัดส่วน ค�ำอธิบาย : กรณีการละเมิดทีล่ ดลงอันเนือ่ งมาจากการออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย หมายถึง การทีจ่ ำ� นวนการกระท�ำหรือการละเลยการกระท�ำซึง่ เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพของประชาชน กลุม่ เป้าหมายลดลง หลังจากทีม่ กี ารออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 โดยอาจพิจารณาได้ดังนี้ 1. จากข้อมูลเชิงประจักษ์ : ข้อมูลการร้องทุกข์ ร้องเรียน ของประชาชนกลุม่ เป้าหมายในปะเด็น ทีเ่ กีย่ วข้องกับกฎหมายนัน้  ๆ จากองค์กรทีท่ ำ� หน้าทีต่ รวจสอบการกระท�ำดังกล่าว ในแต่ละปี เปรียบเทียบกับจ�ำนวนข้อมูล ดังกล่าวในปีก่อนที่มีการออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายนั้น ๆ สัดส่วนกรณีการละเมิดฯ =

จ�ำนวนเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียนประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายนั้น จ�ำนวนเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียนทั้งหมด

2. จากข้อมูลการรับรู้ของผู้เกี่ยวข้องในสังคม : ข้อมูลความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง (ผู้บังคับใช้ กฎหมาย) ในการเปรียบเทียบ ระดับการเกิดกรณีการละเมิด/ปริมาณการละเมิดสิทธิมนุษยชนประเด็นทีเ่ กีย่ วกับกฎหมาย นั้น ๆ ในแต่ละปีกับก่อนการออกกฎหมาย เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั : สัดส่วนของกรณีการละเมิดฯ เปรียบเทียบกับก่อนการออกกฎหมาย ลดลงทุกปี เงือ่ นไข : หากไม่มกี ารออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมาย หรือการบังคับใช้กฎหมาย ไม่สามารถประเมินตัวชีว้ ดั นีไ้ ด้ ตัวชี้วัดที่ 12 จ�ำนวนกฎหมายเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ได้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา หน่วยวัด : จ�ำนวน ค�ำอธิบาย : จ�ำนวนกฎหมายเกีย่ วกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนทีไ่ ด้เข้าสูก่ ารพิจารณาของรัฐสภา หมายถึง จ�ำนวนกฎหมาย อาทิ (1) กฎหมายเกีย่ วกับการต่อต้านการทรมานในประเทศทีจ่ ดั ท�ำร่างได้เข้าสูก่ ารพิจารณาของรัฐสภา (2) กฎหมายเกี่ยวกับค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา ที่ได้ทบทวนแก้ไขในเรื่องหลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจของคณะกรรมการและลดขั้นตอนการพิจารณาให้รวดเร็วได้เข้าสู่ การพิจารณาของรัฐสภา หรือตามแนวทางที่เห็นว่าเหมาะสม (3) กฎหมายทีม่ อี ตั ราโทษประหารชีวติ ได้เข้าสูก่ ารพิจารณาของรัฐสภาให้มกี ารยกเลิกให้เป็นโทษ จ�ำคุกตลอดชีวิต (4) กฎหมายเกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่จัดท�ำร่างได้เข้าสู่การพิจารณา ของรัฐสภา (5) กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั มีจำ� นวนกฎหมายฯ เข้าสูก่ ารพิจารณาของรัฐสภาทุกปีอย่างน้อย ปีละ 1 เรื่อง หน้า 130

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชีว้ ดั ที่ 13 ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของหน่วยงานทีไ่ ด้รบั การร้องเรียนเกีย่ วกับการละเว้นการบังคับใช้ กฎหมายให้ทั่วถึงและเป็นธรรม หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) หน่วยงานทีไ่ ด้รบั การร้องเรียน หมายถึง หน่วยงานภาครัฐทีถ่ กู ร้องเรียนหรือร้องทุกข์เกีย่ วกับ การละเว้นการบังคับใช้กฎหมายให้ทั่วถึงและเป็นธรรม ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 โดยพิจารณา จากการมีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติหรือการละเลยหรือการละเว้นไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ อย่างน้อย 1 เรือ่ ง จากข้อมูล สถิตติ า่ ง ๆ ขององค์กรอิสระและองค์กรอืน่ ตามรัฐธรรมนูญ ทีท่ ำ� หน้าทีต่ รวจสอบการกระท�ำการละเมิด สิทธิมนุษยชน เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยงานที่ได้รับการร้องเรียนฯ ลดลง ทุกปี ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับของภาพลักษณ์ขององค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนเพิ่มขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2556 หน่วยวัด : ระดับ ค�ำอธิบาย : ระดับของภาพลักษณ์ หมายถึง ระดับความเชือ่ มัน่ หรือความไว้วางใจของประชาชนทีม่ ตี อ่ หน่วยงาน หรือองค์กรที่ด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน พิจารณาจาก 1) จ�ำนวน (ร้อยละ) ประชาชนกลุม่ ตัวอย่าง ทีร่ บั รูบ้ ทบาทของหน่วยงานองค์กรเครือข่ายด้าน สิทธิมนุษยชน 2) ระดับความเชือ่ มัน่ ของประชาชนต่อการปฏิบตั งิ านด้านสิทธิมนุษยชนของหน่วยงานองค์กร เครือข่าย โดยใช้มาตรการวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ (5 = มีความเชือ่ มัน่ /พึงพอใจในการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน ในระดับมากที่สุด 1= มีความเชื่อมั่น/พึงพอใจในการเป็นหน่วยงานที่ด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน ในระดับน้อยที่สุด) จ�ำนวนคนที่ตอบว่ายอมรับ/เชื่อมั่น x 100 จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง ระดับภาพลักษณ์ = ค่าเฉลีย่ ของระดับความเชือ่ มัน่ ของประชาชน (ตัวอย่าง) ต่อการปฏิบตั งิ านด้านสิทธิมนุษยชน ของหน่วยงานองค์กรเครือข่าย เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด 1) ร้อยละประชาชนที่รับรู้บทบาทของหน่วยงานองค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 2) ระดับของภาพลักษณ์ขององค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน มีคา่ ตัง้ แต่ 3.50 จาก คะแนน 5 เงื่อนไข : การประเมินภาพลักษณ์ ใช้ข้อมูลเฉพาะในปี 2554 ภาพลักษณ์ =

ตัวชีว้ ดั ที่ 15 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีขององค์กรเครือข่ายทีส่ ามารถให้บริการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิ มนุษยชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) การให้บริการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หมายถึง การด�ำเนินโครงการ/กิจกรรม ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่เป็นการให้บริการ หรือการบูรณาการแผนขององค์กรเครือข่าย หรือการจัดระบบฐานข้อมูล และสารสนเทศขององค์กรเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ หรือ การจัดระบบติดตาม รวมทัง้ เกณฑ์มาตรฐาน เพือ่ ประเมินผลองค์กรเครือข่ายในการบริการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2554 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 131


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(2) องค์กรเครือข่ายทีส่ ามารถให้บริการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ที่ก�ำหนด หมายถึง หน่วยงานน�ำร่องที่ได้ด�ำเนินงานอย่างน้อยหนึ่งรูปแบบของการให้บริการฯ ในข้อ (1) ร้อยละขององค์กรเครือข่ายที่สามารถให้บริการฯ =

จ�ำนวนหน่วยงานน�ำร่องที่ด�ำเนินงานได้ตามเกณฑ์ฯ x 100 จ�ำนวนหน่วยงานน�ำร่องทั้งหมด

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด มีร้อยละขององค์กรเครือข่ายที่สามารถให้บริการส่งเสริม และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนด เพิ่มขึ้นทุกปี ตัวชี้วัดที่ 16 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของพื้นที่ที่องค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนมีส่วนร่วมในการ ด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านร่วมกัน หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) การด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน หมายถึง การด�ำเนินโครงการ/กิจกรรมในรูปแบบใด รูปแบบหนึง่ หรือการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกัน หรือการเสริมสร้างค่านิยม/ระบบคุณค่าทีเ่ อือ้ ต่อการเคารพและคุม้ ครอง สิทธิมนุษยชน หรือการพัฒนาความร่วมมือขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน ในการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน ช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 (2) พื้นที่ที่องค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชน ในแต่ละด้านร่วมกัน หมายถึง พืน้ ทีใ่ นเขตจังหวัด หรือเขตอ�ำเภอหรือเขตต�ำบล หรือเขตหมูบ่ า้ น ทีม่ ตี งั้ แต่ 2 หน่วยงาน ร่วมกันด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน (3) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของพื้นที่ที่องค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนมีส่วนร่วม ในการด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านร่วมกัน หมายถึงอัตราส่วนร้อยของผลต่างของจ�ำนวนพืน้ ทีท่ ดี่ ำ� เนินงานฯ ในปีนั้น ๆ กับปีที่ผ่านมา เทียบกับจ�ำนวนของปีนั้น ๆ โดยมีสูตรการค�ำนวณดังนี้ ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ฯ =

(จำ�นวนพื้นที่ที่มีการดำ�เนินงานฯในปีนั้น – จำ�นวนพื้นที่ที่มีการดำ�เนินงานฯ ปีที่ผ่านมา) X 100 จำ�นวนพื้นที่ที่การดำ�เนินงานฯ ในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั ร้อยละของพืน้ ทีท่ อี่ งค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนมีสว่ นร่วม ในการด�ำเนินงานสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้านร่วมกัน เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ตัวชีว้ ดั ที่ 17 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของผลงานวิจยั องค์ความรูด้ า้ นสิทธิมนุษยชนได้นำ� ไปใช้ในการส่งเสริม และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) ผลงานวิจัยองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน หมายถึง การด�ำเนินการศึกษา/วิจัย/พัฒนา องค์ความรู้ต่าง ๆ ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 (2) การน�ำผลงานวิจัยองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนไปใช้ หมายถึง การน�ำกรอบแนวทาง หรือข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัยน�ำไปใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินงานด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (3) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของผลงานวิจัยองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนได้น�ำไปใช้ใน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หมายถึง ผลต่างระหว่างร้อยละของจ�ำนวนงานวิจัยที่ได้น�ำไปใช้ฯ จากจ�ำนวน งานวิจัยทั้งหมดในปีนั้นกับปีที่ผ่านมา หน้า 132

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ร้อยละของงานวิจัยที่ได้น�ำไปใช้ฯ ในแต่ละปี =

จ�ำนวนผลงานวิจัยที่มีการน�ำไปใช้ X 100 จ�ำนวนผลงานวิจัยทั้งหมด

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละผลงานวิจัยที่น�ำไปใช้ฯ เพิ่มขึ้นทุกปี ตัวชีว้ ดั ที่ 18 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของบทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน ได้น�ำไปใช้ในการปรับแผนยุทธศาสตร์สิทธิมนุษยชน หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) บทเรียนการด�ำเนินการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน หมายถึง การจัดโครงการ/กิจกรรม การเรียนรู้ การจัดการความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน และการประมวล สังเคราะห์ ผลการด�ำเนินการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนทั้งกรณีที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบ เพื่อใช้เป็นบทเรียน ภายในและระหว่างองค์กรเครือข่าย (2) การน�ำบทเรียนไปใช้ในการปรับแผนยุทธศาสตร์สิทธิมนุษยชน หมายถึง การน�ำกรอบ แนวทางหรือข้อเสนอแนะจากการจัดการความรู ้ – การแลกเปลีย่ นเรียนรู/้ การประมวลและสังเคราะห์บทเรียน น�ำไปใช้ปรับ แผนยุทธศาสตร์สิทธิมนุษยชนของหน่วยงานต่าง ๆ (3) ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของบทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน ได้นำ� ไปใช้ในการปรับแผนยุทธศาสตร์สทิ ธิมนุษยชน หมายถึง อัตราส่วนร้อยของผลต่างระหว่างจ�ำนวนบทเรียนทีไ่ ด้จาก การจัดกิจกรรมการจัดการความรูแ้ ละน�ำไปใช้ปรับแผนการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนในปีนนั้ กับจ�ำนวนบทเรียนของ ปีที่ผ่านมา เทียบกับจ�ำนวนบทเรียนฯ ของปีที่ผ่านมา ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของบทเรียนที่ได้น�ำไปใช้ฯ =

(จ�ำนวนบทเรียนที่มีการน�ำไปใช้ปีนั้น – จ�ำนวนบทเรียนฯ ปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนบทเรียนที่มีการน�ำไปใช้ในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละของบทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน เพิ่มขึ้นทุกปี ตัวชีว้ ดั ที่ 19 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของเครือข่ายทีน่ ำ� บทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุม้ ครอง สิทธิมนุษยชนไปถ่ายทอด หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) บทเรียนการด�ำเนินการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน หมายถึง การจัดโครงการ/กิจกรรม การเรียนรู้ การจัดการความรูด้ า้ นสิทธิมนุษยชน การประมวล สังเคราะห์บทเรียนทัง้ ภายในและระหว่างองค์กรเครือข่าย ที่เป็นทั้งกรณีที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบของการด�ำเนินการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (2) การน�ำบทเรียนไปถ่ายทอด หมายถึง การน�ำกรอบแนวทางหรือข้อเสนอแนะจากการประมวล และสังเคราะห์บทเรียนน�ำไปถ่ายทอดให้กับบุคลากรภายในองค์กรหรือชุมชนหรือประชาชน (3) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีของเครือข่ายที่น�ำบทเรียนของการด�ำเนินการส่งเสริมและ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนไปถ่ายทอด หมายถึง ผลต่างของร้อยละหน่วยงานเครือข่ายที่มีการจัดกิจกรรมการถ่ายทอด บทเรียน ในปีนั้นกับร้อยละของหน่วยงานที่ได้ด�ำเนินการในปีที่ผ่านมา ร้อยละหน่วยงานเครือข่ายที่มีการจัดกิจกรรมการถ่ายทอดบทเรียน =

จ�ำนวนเครือข่ายที่น�ำบทเรียนไปถ่ายทอด X 100 จ�ำนวนเครือข่ายทั้งหมด

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 133


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดมีร้อยละของหน่วยงานเครือข่ายมีการจัดกิจกรรมบทเรียน เพิ่มขึ้นทุกปี ตัวชีว้ ดั ที่ 20 ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของบุคลากรขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภาครัฐมีสมรรถนะ ในการปฏิบตั ภิ ารกิจตามหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการให้บริการการป้องกันและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) บุคลากรขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภาครัฐ หมายถึง บุคลากรภายในองค์กรภาครัฐ ทีก่ รมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ มีการส่งเสริม และสนับสนุนให้มกี ารน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปสูก่ ารปฏิบตั นิ ำ� ร่อง (2) การมีสมรรถนะในการปฏิบตั ภิ ารกิจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการให้บริการการป้องกัน และคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน หมายถึง การได้รบั การฝึกอบรม หรือการได้รบั ความรูใ้ นการสร้างเจตคติเชิงสร้างสรรค์ เพือ่ ปรับเปลีย่ นทัศนคติในการปฏิบตั ภิ ารกิจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการให้บริการการป้องกันและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน (3) ร้อยละทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีของบุคลากรขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภาครัฐมีสมรรถนะ ในการปฏิบตั ภิ ารกิจตามหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการให้บริการการป้องกันและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน หมายถึง ผลต่างของร้อยละบุคลากรขององค์เครือข่ายที่มีสมรรถนะฯ ในปีนั้น – กับร้อยละบุคลากรฯ ในปีที่ผ่านมา ร้อยละบุคลากรองค์กรเครือข่ายที่มีสมรรถนะฯ =

จ�ำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา/เข้าร่วมการฝึกอบรม X 100 จ�ำนวนบุคลากรองค์กรเครือข่ายภาครัฐทั้งหมด

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด บุคลากรที่มีสมรรถนะฯ มีร้อยละที่เพิ่มขึ้น ในทุกปี ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน แต่ละด้าน หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) การละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง การกระท�ำหรือการละเลยการกระท�ำซึง่ เป็นการละเมิด สิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพทีก่ ำ� หนดไว้ในบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญ และสนธิสญั ญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ที่ประเทศไทยเป็นภาคี ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2554 (2) การฟ้องร้อง หมายถึง การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐถูกยื่นฟ้องต่อหน่วยงานศาล ทั้งศาลปกครอง ศาลยุตธิ รรม ศาลทหาร หรือศาลรัฐธรรมนูญเกีย่ วกับการกระท�ำการละเมิดสิทธิมนุษยชน และหน่วยงานดังกล่าวมีคำ� สัง่ ประทับรับฟ้องแล้ว (3) ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของเจ้าหน้าทีร่ ฐั ทีถ่ กู ฟ้องร้องเกีย่ วกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในแต่ละด้าน หมายถึง ผลต่างของร้อยละเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้อง ในปีนั้น – กับร้อยละฯ ในปีที่ผ่านมา ร้อยละเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้องฯ =

จ�ำนวนเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้อง X 100 จ�ำนวนบุคลากรของรัฐทั้งหมด

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละเจ้าหน้าที่รัฐที่ถูกฟ้องร้องฯ ลดลงทุกปี

หน้า 134

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชีว้ ดั ที่ 22 ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของหน่วยงานทีถ่ กู ฟ้องร้องเกีย่ วกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแต่ละ ด้าน หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) การละเมิดสิทธิมนุษยชน หมายถึง การกระท�ำหรือการละเลยการกระท�ำซึง่ เป็นการละเมิด สิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพทีก่ ำ� หนดไว้ในบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญ และสนธิสญ ั ญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ที่ประเทศไทยเป็นภาคี ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2554 (2) การฟ้องร้อง หมายถึง การที่หน่วยงานภาครัฐถูกยื่นฟ้องต่อหน่วยงานศาลปกครอง ศาล รัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการกระท�ำการละเมิดสิทธิมนุษยชน และหน่วยงานดังกล่าวมีค�ำสั่งประทับรับฟ้องแล้ว (3) ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของหน่วยงานที่ถูกฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในแต่ละด้าน หมายถึง ผลต่างของร้อยละหน่วยงานที่ถูกฟ้องร้อง ในปีนั้นกับร้อยละฯ ในปีที่ผ่านมา ร้อยละหน่วยงานภาครัฐที่ถูกฟ้องร้องฯ =

จ�ำนวนหน่วยงานที่ถูกฟ้องร้อง X 100 จ�ำนวนหน่วยงานของรัฐทั้งหมด

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยงานภาครัฐที่ถูกฟ้องร้องฯ ลดลงทุกปี ตัวชี้วัดที่ 23 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อร้องเรียนที่เกิดจากการเลือกปฏิบัติของบุคลากรในองค์กร ภาครัฐ หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) ผูร้ อ้ งเรียน หมายถึง ประชาชนกลุม่ เป้าหมายทีถ่ กู กระท�ำหรือการละเลยการกระท�ำซึง่ เป็น การละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพจากการเลือกปฏิบตั ขิ องบุคลากรในองค์กรภาครัฐ ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 (2) ข้อร้องเรียนทีเ่ กิดจากการเลือกปฏิบตั ขิ องบุคลากรในองค์กรภาครัฐ หมายถึง สถิตเิ รือ่ งราว ร้องทุกข์ ร้องเรียน ที่เกิดจากการได้รับการปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียมกัน (เลือกปฏิบัติ) ของบุคลากรในองค์กรของภาครัฐ ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2554 โดยพิจารณาจากข้อมูลสถิติต่าง ๆ ขององค์กรเครือข่ายสิทธิมนุษยชน ภายในประเทศที่ท�ำหน้าที่รับเรื่องร้องทุกข์ และร้องเรียนจากประชาชน (3) ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อร้องเรียนทีเ่ กิดจากการเลือกปฏิบตั ขิ องบุคลากรในองค์กร ภาครัฐ หมายถึง อัตราส่วนร้อยของผลต่างระหว่างจ�ำนวนข้อร้องเรียนเจ้าหน้าที่รัฐจากการเลือกปฏิบัติ ในปีนั้นกับในปี ที่ผ่านมา เทียบกับจ�ำนวนข้อร้องเรียนฯ ปีที่ผ่านมา ร้อยละที่ลดลงฯ =

(จ�ำนวนข้อร้องเรียนจากการเลือกปฏิบัติของบุคลากรภาครัฐปีนั้น – จ�ำนวนของปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนข้อร้องทุกข์หรือข้อร้องเรียนฯ ในปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั ร้อยละของข้อร้องเรียนทีเ่ กิดจากการเลือกปฏิบตั ขิ องบุคลากร ในองค์กรภาครัฐ ลดลงทุกปี

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 135


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชีว้ ดั ที่ 24 ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อร้องทุกข์ทเี่ กีย่ วข้องกับการขาดจริยธรรมของผูบ้ ริหารในองค์กร ภาครัฐ หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) ผูร้ อ้ งเรียน หมายถึง ประชาชนกลุม่ เป้าหมายหรือเจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีถ่ กู กระท�ำหรือการละเลย การกระท�ำซึง่ เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพจากการขาดจริยธรรมของผูบ้ ริหารในองค์กรภาครัฐ ช่วงระหว่าง ปี พ.ศ. 2552 – 2554 (2) ข้อร้องทุกข์ หมายถึง สถิติเรื่องราวร้องทุกข์ หรือร้องเรียน ที่เกิดจากการขาดจริยธรรม ของผูบ้ ริหารในองค์กรภาครัฐ ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2554 โดยพิจารณาจากข้อมูล สถิตติ า่ ง ๆ ขององค์กรเครือข่าย สิทธิมนุษยชนภายในประเทศที่ท�ำหน้าที่รับเรื่องร้องทุกข์ และร้องเรียนจากประชาชน (3) ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อร้องทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับการขาดจริยธรรมของผู้บริหาร ในองค์กรภาครัฐ หมายถึง อัตราส่วนร้อยของผลต่างระหว่างข้อร้องทุกข์การขาดจริยธรรมของผู้บริหารในองค์กรรัฐ ในปีนั้น – ข้อร้องทุกข์ฯ ในปีที่ผ่านมา เทียบกับข้อร้องทุกข์ในปีที่ผ่านมา ร้อยละที่ลดลงฯ =

(จ�ำนวนข้อร้องทุกข์การขาดจริยธรรมของผู้บริหารในปีนั้น – จ�ำนวนฯ ของปีที่ผ่านมา) X 100 จ�ำนวนข้อร้องทุกข์ของปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั ข้อร้องร้องทุกข์การขาดจริยธรรมของผูบ้ ริหารในองค์กรภาครัฐ มีร้อยละลดลงทุกปี ตัวชี้วัดที่ 25 สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี หน่วยวัด : สัดส่วน ค�ำอธิบาย : หญิงทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารในหน่วยงานภาครัฐ หมายถึง ผูห้ ญิงทีไ่ ด้รบั การบรรจุ/แต่งตัง้ ให้เป็นผูบ้ ริหาร ในระดับผูอ้ ำ� นวยการกอง/ส�ำนักงาน/กลุม่ งาน หรือรองอธิบดี หรืออธิบดี หรือรองปลัดกระทรวง หรือผูว้ า่ ราชการจังหวัด หรือปลัดจังหวัดหรือปลัดอ�ำเภอหรือปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลหรือปลัดเทศบาลหรือปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือผู้บริหารที่เรียกชื่ออย่างอื่น ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2554 สัดส่วนของหญิงทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารในหน่วยงานภาครัฐ หมายถึงอัตราส่วนของจ�ำนวนผูห้ ญิงทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ เป็นผู้บริหารต่อจ�ำนวนผู้บริหารทั้งหมดในหน่วยงานภาครัฐ สัดส่วนของหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐ =

จ�ำนวนหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐ X 100 จ�ำนวนผู้บริหารทั้งหมดในหน่วยงาน

สัดส่วนของหญิงทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารในหน่วยงานภาครัฐทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปี หมายถึง ผลต่างระหว่างสัดส่วนของ หญิงที่เป็นผู้บริหารในปีนั้นกับสัดส่วนฯ ปีที่ผ่านมา เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด สัดส่วนหญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐเพิ่มขึ้นทุกปี

หน้า 136

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ตัวชี้วัดที่ 26 ร้อยละที่ลดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกี่ยวกับ การไม่ปฏิบัติ ตามกติกา และอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) ข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศ หมายถึง ข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศ ทีอ่ งค์การสหประชาชาติจดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ คอยตรวจสอบการด�ำเนินงานหรือการไม่ปฏิบตั ติ ามกติกาและอนุสญั ญาสิทธิมนุษยชน ระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคี ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2554 (2) กติกาและอนุสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน หมายถึง กติกาและอนุสัญญา ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี จ�ำนวน 7 ฉบับ ได้แก่ 1) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง 2) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 3) อนุสัญญา ว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ 4) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก 5) อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ 6) อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย�่ำยีศักดิ์ศรี 7) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกีย่ วกับการไม่ปฏิบตั ติ าม กติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ หมายถึงอัตราส่วนร้อยของผลต่างระหว่างข้อท้วงติงจากองค์การ ระหว่างประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ในปีนั้น – ข้อท้วงติงฯ ในปีที่ผ่านมาเทียบกับข้อท้วงติงในปีที่ผ่านมา ร้อยละที่ลดลงฯ =

(จ�ำนวนข้อท้วงติงฯ ในปีนนั้ – จ�ำนวนของปีทผี่ า่ นมา) X 100 จ�ำนวนข้อท้วงติงฯ ของปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั ข้อท้วงติงจากองค์การระหว่างประเทศเกีย่ วกับการไม่ปฏิบตั ิ ตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ มีร้อยละที่ลดลงทุกปี ตัวชีว้ ดั ที่ 27 ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทมี่ ตี อ่ หน่วยงาน ในประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในรายงานต่อรัฐสภา หน่วยวัด : ร้อยละ ค�ำอธิบาย : (1) ข้อท้วงติงจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หมายถึง ข้อท้วงติงจากคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ ที่ท�ำหน้าที่ ตรวจสอบการด�ำเนินงานหรือการไม่ปฏิบัติตาม กติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคี ที่ปรากฏในรายงานต่อรัฐสภา ช่วงระหว่าง ปี พ.ศ. 2552 – 2554 (2) กติกาและอนุสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน หมายถึง กติกาและอนุสัญญา ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี จ�ำนวน 7 ฉบับ ได้แก่ 1) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง 2) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 3) อนุสัญญา ว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ 4) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก 5) อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ 6) อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย�่ำยีศักดิ์ศรี 7) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 137


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

(3) ร้อยละทีล่ ดลงในแต่ละปีของข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทมี่ ตี อ่ หน่วยงานเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน หมายถึง อัตราส่วนร้อยของผลต่างระหว่าง ข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มีต่อหน่วยงานเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญาสิทธิ มนุษยชนระหว่างประเทศในปีนั้น – ข้อท้วงติงฯ ในปีที่ผ่านมา เทียบกับข้อท้วงติงในปีที่ผ่านมา ร้อยละที่ลดลงฯ =

(จ�ำนวนข้อท้วงติงฯ ในปีนนั้  – จ�ำนวนของปีทผี่ า่ นมา) X 100 จ�ำนวนข้อท้วงติงฯ ของปีที่ผ่านมา

เกณฑ์การประเมิน : การบรรลุเป้าหมายตัวชีว้ ดั ข้อท้วงติงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตอ่ หน่วยงาน ในประเทศเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกติกาและอนุสัญญา ที่ปรากฏในรายงานรัฐสภา มีร้อยละลดลงทุกปี โดยสรุป การประเมินผลสัมฤทธิต์ ามวัตถุประสงค์ ได้กำ� หนดเกณฑ์การประเมินผลตามวัตถุประสงค์ การบรรลุ เป้าหมายหลัก และผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากเอกสารและการส�ำรวจความคิดเห็น ส่วนการประเมินผลกระบวนการด�ำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้เก็บข้อมูลเอกสารโดยใช้แบบส�ำรวจ ส�ำหรับ การประเมินผลการบรรลุเป้าหมายตามตัวชีว้ ดั ใช้วธิ กี ารเก็บข้อมูลเอกสารและการส�ำรวจ ซึง่ การก�ำหนดเกณฑ์การประเมินผล ตามตัวชีว้ ดั ได้มกี ารตัง้ เกณฑ์ประเมินผล และสิง่ ทีจ่ ะวัดเพือ่ ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามการจัดท�ำแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับ 2

หน้า 138

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ภาคผนวก 2 พันธกรณีระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี 1. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women – CEDAW) สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วย การขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2522 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2524 ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสญั ญาฉบับนีโ้ ดยการภาคยานุวตั ิ เมือ่ วันที่ 9 สิงหาคม 2528 และมีผลใช้บงั คับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2528 2. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention of the Rights of the Child – CRC) สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ได้ให้การรับรองอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2532 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2533 ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสญั ญาฉบับนีโ้ ดยการภาคยานุวตั ิ เมือ่ วันที่ 27 มีนาคม 2535 และมีผลบังคับใช้กบั ประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535 3. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights – ICCPR) สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้รับรองกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมือง เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2519 ประเทศไทยเข้าเป็นภาคี กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองโดยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 โดยมี ผลบังคับใช้กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2540 4. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights – ICESCR) สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้รับรองกติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมเมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2509 และมีผลบังคับใช้ เมือ่ วันที่ 3 มกราคม 2519 ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมโดยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2542 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 5. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination – ICERD) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้รับรอง อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2532 ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบโดย ภาคยานุวัติ และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2546 6. อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย�่ำยีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment – CAT) Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment – CAT) สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้รับรองอนุสัญญา ต่อต้านการทรมานและการปฏิบตั หิ รือการลงโทษทีโ่ หดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย�ำ่ ยีศกั ดิศ์ รี และมีผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ 26 มิถุนายน 2530 ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย�่ำยีศักดิ์ศรี และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 เป็นต้นไป 7. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities) สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้มีการรับรองอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2549 ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2550 และมีผลบังคับใช้กับ ปะเทศไทยเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2551 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 139



รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ภาคผนวก 3 (ร่าง) แบบรายงานติดตามการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 – 2561) ประจ�ำปี พ.ศ. ....

หน่วยงาน ................................................................ กรมหรือเทียบเท่า...................................................... กระทรวงหรือเทียบเท่า................................................................................................................................. สังกัด £ ส่วนกลาง £ ส่วนภูมิภาค £ ส่วนท้องถิ่น คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 141



รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

แบบรายงานติดตามผลการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 - 2561) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. .......................... ค�ำชี้แจง

แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557 – 2561) ประกอบด้วยแผนปฏิบตั กิ ารในประเด็นสิทธิมนุษยชน 10 ด้าน และแผนปฏิบัติการตามกลุ่มเป้าหมาย 15 กลุ่ม ซึ่งได้ก�ำหนดหน่วยงานรับผิดชอบหลัก และหน่วยงานร่วม ในการน�ำแผนฯ ไปด�ำเนินงาน ดังนัน้ ในการรายงานผลการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 ในแต่ละ ปีงบประมาณ ใคร่ขอให้หน่วยงานรายงานผลการด�ำเนินงานในแต่ละแผนรายด้าน และรายกลุม่ เป้าหมาย ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ทั้งเป็นหน่วยงานหลัก และหน่วยงานร่วม

ส่วนที่ 1 : บทบาทของหน่วยงานกับการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ¥ ชื่อหน่วยงาน................................................................................................................ Ø บทบาทในการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : หน่วยงานรับผิดชอบหลัก

แผนสิทธิมนุษยชนด้าน 1) .........................................................................................................

2) .........................................................................................................

แผนสิทธิมนุษยชนกลุ่ม

1) .........................................................................................................

2) .........................................................................................................

Ø บทบาทในการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : หน่วยงานรับผิดชอบร่วม แผนสิทธิมนุษยชนด้าน 1) .........................................................................................................

2) .........................................................................................................

แผนสิทธิมนุษยชนกลุ่ม

1) .........................................................................................................

2) .........................................................................................................

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 143


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

Ø บทบาทในการด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : หน่วยงานรับผิดชอบเสริม แผนสิทธิมนุษยชนด้าน 1) .........................................................................................................

2) .........................................................................................................

แผนสิทธิมนุษยชนกลุ่ม

1) .........................................................................................................

2) .........................................................................................................

ส่วนที่ 2 : ผลการด�ำเนินงานแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (โปรดรายงานทุกแผนฯ ที่รับผิดชอบด�ำเนินการ โดยรายงานการด�ำเนินงานข้อ 1 – 3 จ�ำแนกตามแผนฯ) ¥ แผนปฏิบัติการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติด้าน........................................................................................../

กลุ่ม.....................................................................

1. การด�ำเนินงานเกี่ยวกับกฎหมาย/นโยบาย/มาตรการที่เกี่ยวข้อง (เลือกตอบตามที่ได้ด�ำเนินการ)

o 1.1 ร่างกฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับ/ข้อก�ำหนด/อื่น

1) ..............................................................................................................................................

2) ..............................................................................................................................................

o 1.2 การก�ำหนดนโยบาย/กิจกรรม

1) ..............................................................................................................................................

2) ..............................................................................................................................................

o 1.3 การจัดท�ำมาตรการ/แนวทาง/วิธีการ

1) ..............................................................................................................................................

2) ..............................................................................................................................................

2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ด�ำเนินการ แผนงาน/โครงการ /กิจกรรม

หน้า 144

กลุ่มเป้าหมาย

ระยะเวลา

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

งบประมาณ

ผลการดำ�เนินงาน


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

3. ข้อร้องเรียนและการแก้ไข เรื่องที่ร้องเรียน

กลุ่มผู้ร้องเรียน

การดำ�เนินการแก้ไข

ส่วนที่ 3 : ความก้าวหน้าหรือสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน หน่วยงานของท่านมีการด�ำเนินงาน/พัฒนาการสนธิสญ ั ญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ1 เรือ่ งใด (กติกา/อนุสญ ั ญา/ ปฏิญญาสากล/มาตรฐานระหว่างประเทศอื่น ๆ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................

1

1. อนุสญ ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ติ อ่ สตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women– CEDAW) 2. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention of the Rights of the Child – CRC) 3. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights – ICCPR) 4. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights – ICESCR) 5. อนุสญั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ทิ างเชือ้ ชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination– ICERD) 6. อนุสญ ั ญาต่อต้านการทรมานและการปฏิบตั หิ รือการลงโทษทีโ่ หดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย�ำ่ ยีศกั ดิศ์ รี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment – CAT) 7. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities) 8. อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย (International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance) : (ประเทศไทยยังไม่เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญา) 9. อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานอพยพและสมาชิกครอบครัว (International Convention on the Protection of the Rights of All Migrant Workers and Members of Their Families : ICRMW) (ประเทศไทยยังไม่เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญา)

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน้า 145


รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ช่วงครึ่งหลัง) ประจ�ำปี พ.ศ. 2555 – 2556

ส่วนที่ 4 : ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการด�ำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน 1.

ปัญหา/อุปสรรค : หมายถึง การทีห่ น่วยงานด�ำเนินการตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 มีปญั หา/อุปสรรค หรือข้อขัดข้องอะไรบ้าง ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................

2.

แนวทางแก้ไข : หมายถึง หน่วยงานมีแนวทางแก้ไขปัญหา/อุปสรรค ดังกล่าวอย่างไร หรือได้ดำ� เนินการแก้ไขปัญหา ไปอย่างไร หรือไม่ ถ้ามีการด�ำเนินงานผลเป็นอย่างไร ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................

3.

ข้อเสนอแนะ : หมายถึง ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนทีค่ วรปรากฏในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทัง้ แนวทางการด�ำเนินงานทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนข้อเสนอแนะอืน่ ทีจ่ ะเป็นประโยชน์ ต่อการปรับปรุงและพัฒนา งานด้านแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับต่อไป หรือการส่งเสริมปกป้อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................

4. แนวทางการขับเคลือ่ นแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภาพรวมของหน่วยงาน (สามารถเลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ โดย

ท�ำเครื่องหมาย ü หรือระบุกิจกรรมอื่น ๆ (ถ้ามี))

( ) การน�ำเรื่องแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ แปลงลงสู่การปฏิบัติ ด้วยการก�ำหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ แผน พัฒนาจังหวัด หรือแผนพัฒนาของหน่วยงาน ( ) การจัดท�ำเป็นนโยบายหรือแผนปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชน ของหน่วยงานขึ้นใหม่ ( ) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะท�ำงานของหน่วยงานเพื่อขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ( ) มีการน�ำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมาแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรื่องใด (โปรดระบุโดยสรุป) - เรื่องที่เกิดปัญหาการละเมิด........................................................................................................................ - วิธีการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน............................................................................................... ( ) หน่วยงานมีการสอดแทรกความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนและแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในหลักสูตรการพัฒนา บุคลากร ( ) กิจกรรมอื่น ๆ (โปรดระบุ)............................................................................................................................... ผู้รับผิดชอบการรายงาน ...........................................................ต�ำแหน่ง.................................................... กรมหรือเทียบเท่า ........................................................... กระทรวงหรือเทียบเท่า........................................ จังหวัด.......................................................................................................................................................... ผู้เรียบเรียงและจัดท�ำข้อมูล...................................................ต�ำแหน่ง..........................................................

หน้า 146

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.