14km

Page 1

วิถีความเป็นอยู่ของชุมชนริมน้ำ�

โครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา (แลนด์มาร์คเจ้าพระยา)

SPECIAL

14 KM


14 KM

3

หากย้อนมองการพัฒนาที่กำ�ลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน จะพบว่าหนึ่งในการพัฒนาที่เรียกว่า โครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา (แลนด์มาร์คเจ้าพระยา) นั้นมีความขัดแย้งและ ย้อนแย้งกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนอยู่อย่างมาก เพราะริมสองฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยามีความสำ�คัญตลอดประวัติศาสตร์การก่อร่างสร้างชุมชนของคนไทยมาโดยตลอด

Time Cycle กระแสความนิยมคล้ายดังกระแสน้ำ� ไหลเข้ามาแล้วก็ไหลผ่านไป... เหมือนกับกงล้อของจักรยานที่เริ่มต้นหมุน และจะหยุดลงเมื่อสุดปลายทาง...

ในตอนนี้จะเห็นว่า ความสนใจในจักรยาน กำ�ลังเป็นกระแสในสังคม เราจะพบเห็น กิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ จักรยานกันอยู่เป็นระยะ รวมทั้งมีกลุ่มคนรัก จักรยานเพิ่มมากขึ้น ธุรกิจจักรยานเฟื่อง ฟู มีการสร้างเลนจักรยานในสถานที่ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนและตอบรับกระแสจักรยานใน สังคมไทย แต่ความนิยมไม่ว่าจะกับอะไรก็ตาม ไม่เคยมีสิ่งไหน คงอยู่อย่างถาวร เมื่อจักรยานเข้ามาอยู่ในชีวิตของผู้คนจนถึง ณ จุดหนึ่ง ความแปลกใหม่และความน่าสนใจก็จะ หายไป ความนิยมใหม่ก็จะเข้ามาหันเหให้เลิกสนใจ จักรยาน แล้วจักรยานพวกนั้นล่ะ จะเป็นอย่างไร? สนิมกัดกร่อน โซ่หย่อนห้อยค้าง ถูกวางทิ้งขว้าง รกร้างไม่เหลียวแล กระแสที่ปลุกปั่นจบลงอย่างเงียบๆ โดยการเหลือ ไว้เพียงเส้นทางที่เงียบเหงาและจักรยานที่รกร้าง วงล้อที่เคยหมุนวน จะหยุดนิ่งสนิท...

โครงดังกล่าวจึงถือเป็นความเปลี่ยนแปลง และคำ�ถามถึงความเหมาะสมกับการพัฒนาอันนำ�ไปสู่จุดจบของชุมชนริมฝั่งแม่น้ำ� ซึ่งกลุ่มภาคีพัฒนาพื้นที่ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา (พพพ.) โดยเป็นการรวมตัวกันของสถาบันภาคการศึกษาด้านการผังเมือง ประกอบด้วย ผังเมืองจุฬาฯ ผังเมืองธรรมศาสตร์ ผังเมืองเกษตรศาสตร์ ผังเมืองศิลปากร และ เครือข่ายสถาปนิก นักสิ่งแวดล้อมและชุมชน ได้แก่ มูลนิธิโลกสีเขียว สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคม อิโคโมสไทย เครือข่ายศิลปวัฒนธรรมริมน้ำ�เจ้าพระยา ศูนย์ข้อมูลประวัติศาสตร์ธนบุรี รวมทั้งเครือข่ายภาคประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ แสดงความกังวลต่อโครงการนี้ไว้หลายๆ ประเด็นจากหลายๆ เวทีที่มีการพูดคุยถึงโครงการ พัฒนานี้

ประชาชนยังรับรู้ได้ไม่ทั่วถึง

เมื่อต้นปี 2558 ที่ผ่านมา รัฐบาลประกาศจะมีการดำ�เนินการจัดสร้างโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา โดยมีกำ�หนดการคร่าวๆ ให้ประชาชนได้ทราบว่า จะเริ่มดำ�เนินการ เดือนมิถุนายน 2559 ใช้เวลาสร้างทั้งหมด 18 เดือน คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2560 นาย เกษมสันต์ จิณณวาโส เลขาธิการสำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เปิดเผยว่า โครงการนี้ไม่ต้องทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมเพราะไม่ใช่ถนนทางหลวง ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 แต่กลุ่มภาคีพัฒนาพื้นที่ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาเห็นว่าจำ�เป็น ต้องทำ�ประชาพิจารณ์หรือการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนว่าพวกเขาเห็นด้วยหรือไม่ อีกทั้งรัฐบาลยังไม่เคยเปิดเผยรูปแบบโครงการที่ชัดเจน ทำ�ให้ประชาชนเกิดความเคลือบแคลงใจต่อโครงการนี้ และยังมีประชาชนบางส่วนยังไม่ทราบว่าจะมีการก่อสร้าง

...แล้วมีอะไรบ้างที่ต้องแลก เมื่อเดินหน้าโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา...

คลื่นกระทบฝั่ง... โครงการ พัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา พัฒนา หรือ ทำ�ลาย


4

ลูกศิลป์ SPECIAL

14 KM

5

ผ่าทางตันริมน้ำ�

อย่างไรก็ตาม ทางภาคีพัฒนาพื้นที่ริมน้ำ�เจ้าพระยาได้มีมติโดยให้ข้อเสนอต่อรัฐบาลให้ ทบทวนโครงการพัฒนาริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา (ระยะที่หนึ่ง 14 กิโลเมตร) ตาม รายละเอียดดังนี้

ความปลอดภัยในพื้นที่

ปัญหาขยะในน้ำ�

สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือเรื่องของขยะในแม่น้ำ�เจ้าพระยา การก่อสร้างเส้นทาง จักรยานยื่นลงมาในแม่น้ำ�แล้วขยะจะเข้าไปอยู่ใต้เส้นทางนั้น เป็นเหตุให้มีการเน่าเสีย ของขยะส่งผลต่อคุณภาพของน้ำ� โดยในแผนการปฏิบัติงานของรัฐบาลไม่ได้แจ้งข้อแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นเอาไว้ ซึ่งการ เน่าเสียของขยะนอกจากจะทำ�ให้น้ำ�เสียแล้วยังส่งกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์อีก ซึ่งกลิ่นนี้ อาจทำ�ให้ผู้ที่มาใช้เส้นทางจักรยานไม่พอใจและไม่ยินยอมมาใช้เส้นทางอีก เป็นผลให้ เสียงบประมาณการสร้างโดยเปล่าประโยชน์

ระบบนิเวศที่เปลี่ยนไป

น้ำ�ที่เน่าเสียย่อมส่งผลต่อระบบนิเวศ ทางจักรยานที่ยื่นลงมาในแม่น้ำ�ทำ�ให้แสงอาทิตย์ ส่องลงมาไม่ถึงทำ�ให้พืชที่ขึ้นอยู่ตามตลิ่งริมน้ำ�ตาย ย่อมส่งผลถึงสัตว์น้ำ�ที่อาศัยอยู่ตาม ตลิ่งด้วย

แลนด์มาร์กใหม่ของประเทศ

เมื่อระบบนิเวศในน้ำ�มีความเสียหายย่อมส่งผลต่างๆ ตามมามากมาย เช่น เมื่อสัตว์น้ำ� ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กล่าวว่า หากดำ�เนินโครงการ ตามตลิ่งตาย สัตว์น้ำ�อื่นๆ ที่เคยกินปลาหรือกุ้งที่อยู่ตามตลิ่งย่อมไม่มีอาหารทำ�ให้ไม่ เราจะได้แลนด์มาร์คที่สวยงามตามแบบหลายๆ ประเทศ ออกมาเป็นผังเมือง อาจดำ�รงชีวิตอยู่ได้เช่นกัน และเมื่อสัตว์น้ำ�ขนาดเล็กอยู่ไม่ได้สัตว์น้ำ�ขนาดใหญ่ต่างๆ มีทัศนียภาพที่สวยงาม เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจให้กับประชาชน ชมทัศนียภาพ ย่อมไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้เพราะขาดอาหาร ดังนั้นระบบนิเวศที่เสียหายเพียงแค่ ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา เป็นลานกิจกรรมออกกำ�ลังกายและสันทนาการ และส่งเสริมการ บริเวณริมตลิ่งเมื่อเริ่มแรกย่อมส่งผลกระทบไปถึงระบบนิเวศขนาดใหญ่ในแม่น้ำ�ด้วย ปั่นจักรยาน นอกจากจะมีกระทบต่อระบบนิเวศของแม่น้ำ�แล้ว น้ำ�ที่เน่าเสียยังส่งผลถึงวิถีการ และยังมีข้อดีในเรื่องของการเชื่อมต่อสถานที่ต่างๆ เข้าด้วยกัน ทำ�ให้เราสามารถไป ดำ�เนินชีวิตของผู้คนด้วย เพราะเมื่อสัตว์อาศัยอยู่ในแม่น้ำ�ไม่ได้ คนที่เคยจับกุ้งจับปลา วัด โบสถ์ สถานที่ต่างๆ ได้รวดเร็วขึ้น จากเดิมที่ต้องใช้เรือข้ามฟากหรือเดินทางโดย ตามแม่น้ำ�เจ้าพระยาเพื่อเลี้ยงชีพก็จะไม่มีกุ้งและปลาให้จับ เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ผลที่เกิด พาหนะทางบกที่ใช้เวลาเดินทางนาน โดยโครงการนี้ปรับให้มีเส้นทางเพิ่มขึ้น คือ เส้น ขึ้นไม่เพียงแต่จะกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ� แต่ยังส่งผลต่อคนที่พึ่งพาอาศัยแม่น้ำ�ในการ ทางจักรยาน สามารถปั่นจักรยานลัดเลาะสถานที่ต่างๆ ไปได้สะดวกรวดเร็วกว่าเดิม เลี้ยงชีพด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ยังเป็นพื้นที่ใช้สอยหลากหลายประโยชน์ มีพื้นที่ไว้ทำ�กิจกรรมริมน้ำ� สามารถเข้าถึงพื้นที่ริมน้ำ�ได้โดยง่าย และมีการจัดระเบียบพื้นที่ริมน้ำ� ซึ่งจะทำ�ให้ ทัศนียภาพที่ถูกบดบัง ชุมชนแออัดริมน้ำ�หายไป นับได้ว่าเป็นสถานที่ที่เป็นแลนมาร์คที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของ การปรับปรุงพื้นที่นั้นจะบดบังทัศนียภาพโดยรวม ไม่มีสิ่งปลูกสร้างสวยงามให้น่าชื่นชม ประเทศ ช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวให้แก่ประเทศไทย น่ามอง อีกต่อไป การบดบังทัศนียภาพสิ่งปลูกสร้างหรือสถาปัตยกรรมที่สำ�คัญ วัด วัง

ทางน้ำ�ที่แคบลง

โบสถ์ที่เก่าแก่ มีอายุมายาวนาน เช่น ศาลา วัดคฤหบดี เรือนเจ้าอนุวงศ์ วัดคอนเซ็ปชัญ ชุมชนมิตรคาม โบสถ์เซนต์ฟรังซิสเซเวียร์ และวัดราชาธิวาส เป็นต้น

พ.ต.ท. ปริญญา เจริญบัณฑิต นักศึกษาปริญญาเอก สาขาการวางผังภาคและเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโบสถ์เซนต์ฟรังซิสเซเวียร์ เป็นโบราณสถานทางศาสนาที่สำ�คัญตั้ง มหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล ประเทศเกาหลี กล่าวว่า แม่น้ำ�เจ้าพระยาในจุดที่จะเริ่ม โครงการบริเวณเชิงสะพานพระรามเจ็ดกว้างประมาณ 300 เมตร ส่วนจุดสิ้นสุด อยู่ใกล้ริมน้ำ�ใจกลางเมือง มีความงดงามวิจิตรตระการตา ใช้ประกอบศาสนกิจมีความ สำ�คัญกับชาวคริสต์ในการประกอบพิธีการสำ�คัญทางศาสนา เช่น พิธีมงคลสมรส หรือ โครงการบริเวณเชิงสะพานปิ่นเกล้ามีความกว้างประมาณ 220 เมตร พิธีศีลจุ่ม เป็นอย่างมาก ซึ่งอาจเป็นผลทำ�ให้ประชาชนเข้าไม่ถึงศาสนา คำ�สอน เพราะ สิ่งก่อสร้างเพื่อปรับทัศนียภาพจะยื่นลงมาในแม่น้ำ�นั้นมีความกว้างฝั่งละ 20 เมตร ศาสนสถานมีสำ�คัญ ทำ�ให้คนมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ สิ่งก่อสร้างดังกล่าวจะขวางทางการไหลของแม่น้ำ�โดยเฉพาะเมื่อก่อสร้างขนานริมน้ำ� ทั้ง 14 กิโลเมตร การก่อสร้างนี้ทำ�ให้แม่น้ำ�แคบลงราว 10-20% เป็นผลให้น้ำ�ในแม่น้ำ� พื้นที่สีเขียวที่หายไป นั้นไหลแรงขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการกัดเซาะบริเวณตลิ่งและในตัวสิ่งก่อสร้างนั้นด้วย ในส่วนของพื้นที่สีเขียวบริเวณนั้น เดิมมีขนาดใหญ่เป็น 1.7 เท่า ของสวนลุมพินี หาก นอกจากนีใ้ นฤดูน้ำ�หลากที่แม่น้ำ�จะมีปริมาณน้ำ�สูงขึ้นรวมถึงไหลแรงขึ้นอยู่แล้ว ดำ�เนินการปรับภูมิทัศน์ในส่วนนี้แล้ว พื้นที่สีเขียวนี้อาจหายไปครึ่งหนึ่งของพื้นที่ที่มีอยู่ การก่อสร้างทำ�ให้การระบายน้ำ�ยากลำ�บากขึ้นและทำ�ให้พื้นที่โดยรอบริมแม่น้ำ�เสี่ยง เป็นการทำ�ลายธรรมชาติสิ่งแวดล้อมโดยรอบไปโดยปริยาย ต่ออุทกภัยมากขึ้นด้วย หากเกิดอุทกภัยจริงทัศนียภาพที่มีการก่อสร้างปลูกต้นไม้ก็จะเสียหาย แน่นอนว่าต้อง เสียงบประมาณในการนำ�ต้นไม้มาปลูกใหม่ด้วยยิ่งสร้างเส้นทางที่ยาวและกว้างมาก เท่าไหร่งบประมาณที่ใช้ซ่อมแซมก็จะมากตามเท่านั้น

กลุ่มภาคีพัฒนาพื้นที่ริมน้ำ�เจ้าพระยามีความยินดีที่คณะรัฐมนตรีชุดปัจจุบันให้ความ สำ�คัญกับการพัฒนาพื้นที่ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาเป็นพื้นที่สาธารณะของกรุงเทพฯโดยภาคี ขอแสดงความคัดค้านรูปแบบของโครงการเนื่องด้วย

ทางจักรยานทำ�ให้อาชญากรรมเพิ่มขึ้นได้ อาจมีเสียงดังสร้างความรำ�คาญจากการ 1.มีโครงสร้างขนาดความกว้างถึง19.50 เมตร และเป็นพื้นที่ดาดแข็งขนาดใหญ่ จะ แข่งรถจักรยานยนต์ มีกลุ่มมิจฉาชีพเข้ามาในพื้นที่ สร้างให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อสิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยา อุทกศาสตร์ของแม่น้ำ� นอกจากนี้หากมีการปักหลักพื้นที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหรือแหล่งมั่วสุม ก็อาจเป็น เจ้าพระยา รวมทั้งภูมิทัศน์วัฒนธรรมของพื้นที่ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา ปัญหาตามมาในอนาคต เหมือนกับการสร้างสวนใต้สะพานพุทธ กลุ่มวัยรุ่นเข้ามาก่อ ความไม่สงบและเข้าครองพื้นที่ จนได้รับความเดือดร้อน เป็นการยากที่จะขับออก 2.มีรูปแบบมาตรฐานเป็นรูปแบบเดียวตลอดความยาวสองฝั่งแม่น้ำ�ในบริเวณที่จะ จากพื้นที่ การจัดการปัญหาในอนาคตนำ�ไปสู่การสร้างเงื่อนไขต่อรองจากผู้ที่เข้ามาอยู่ ทำ � การก่ อ สร้ า งทั้ ง หมด14.00กิ โ ลเมตรขาดความเชื่ อ มโยงต่ อ ภู มิ สั ณ ฐานของตลิ่ ง โครงข่ า ยการสั ญ จรของเมื อ งรวมทั้ ง รู ป แบบการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ของพื้ น ที่ ริ ม ฝั่ ง อาศัย แม่น้ำ�เจ้าพระยาที่มีความหลากหลายโดยเฉพาะบางบริเวณเป็นวัดและชุมชนเก่าที่มี การปรับผังเป็นทางด่วนในอนาคต อาจบดบังทัศนียภาพ ทำ�ลายวิวทิวทัศน์ หาก เอกลักษณ์ พิจารณาดูแล้วอาจพังทลายจากการกัดเซาะของคลื่นน้ำ�ในแม่น้ำ� เมื่อสร้างเสร็จแล้ว อาจจะยังไม่เห็น แต่หากเวลาล่วงเลยไปจะเห็นผลกระทบ เสาปูนที่ค้ำ�ยันทางด่วนจะ 3.ขาดการศึกษาผลกระทบด้านต่างๆ และการวิเคราะห์งบประมาณอย่างเหมาะสม พังทลายลง เพราะน้ำ�ในคลื่นน้ำ�กัดเซาะไปเรื่อยๆ จนผุพังลงในที่สุด 4.ขาดกระบวนการสำ�รวจความคิดเห็นการมีส่วนร่วมของประชาชนและการสร้าง โดยภาพรวมอาจเหมารวมได้ว่าเป็นการทำ�ลายวิวทิวทัศน์มากกว่าเป็นการดึงดูดนัก ความเข้ า ใจต่ อ สาธารณะที่ จ ะนำ � ไปสู่ ก ารสร้ า งข้ อ เสนอรู ป แบบของโครงการฯที่ ท่องเที่ยว เสียงจากประชาชนส่วนใหญ่ อาจพูดได้ว่านักท่องเที่ยวชอบมาดูวิถีชีวิต สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ทั้งในระดับพื้นที่โดยรอบและในระดับเมืองที่จะ สามารถสร้างความเป็นเจ้าของพื้นที่ร่วมกันในระยะยาวได้ ผู้คน สิ่งนี้เป็นเอกลักษณ์ในการดึงดูดกลุ่มเป้าหมายนักท่องเที่ยว

ภาคีพัฒนาพื้นที่ริมน้ำ�เจ้าพระยาจึงได้เสนอให้รัฐบาลทบทวนรายละเอียดโครงการฯ ชุมชนที่หายไป โดยเฉพาะเรื่องรูปแบบอย่างละเอียดรอบคอบ รวมทั้งกำ�หนดกระบวนการทำ�งาน ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กล่าวว่า โครงการดังกล่าว เมื่อ ตลอดจนการศึกษาผลกระทบของโครงการฯในด้านต่างๆ อย่างชัดเจนทั้งก่อนและ สร้างแล้วจะได้เส้นทางริมสองฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา ความยาว 14 กิโลเมตร อย่างไร ระหว่างการทำ�แบบ ก็ตาม มีพื้นที่ต้องถูกเวนคืนเพื่อเส้นทางนี้ ได้แก่ สถานที่ราชการ ท่าเทียบเรือ วัด ร้านอาหาร โรงแรม แพ อู่ซ่อมเรือเอกชน โรงเลื่อยเอกชน และยังมีผลกระทบต่อบาง ชุมชนที่มีที่อยู่อาศัยรุกล้ำ�เข้าไปในแม่น้ำ�เจ้าพระยา เป็นจำ�นวน 268 ครัวเรือน พวก เขาจำ�เป็นต้องย้ายออกทันทีเนื่องจากผิดกฎหมาย เช่น ชุมชนมิตรคาม 1 โดยชุมชน แห่งนี้เป็นพื้นที่สำ�คัญ มีการประกอบอาชีพนักดำ�น้ำ�หาของเก่ามากว่า 100 ปี มีชาว บ้านกว่า 1,000 ครอบครัวที่จะโดนย้ายออกไป ทั้งนี้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จะเป็นผู้ดำ�เนินการในเรื่อง ของการชดเชยเยียวยา แต่ก็ยังไม่มีประกาศออกมาชัดเจนว่า ประชาชนในชุมชนนั้นๆ จะต้องย้ายไปอยู่ที่ใด


ลูกศิลป์ SPECIAL

7

บ้านแตก... เมื่อเมืองโต?

ความเปลี่ยนแปลงจากการพัฒนาเป็นอีกมิติหนึ่งที่สามารถ พบเห็นได้ทั่วไปตามกลไกระบบเมือง และความเป็นไปของ กระแสโลกาภิวัตน์ หากแต่หลายครั้ง การเปลี่ยนแปลงดัง กล่าวไม่ได้หมายความเพียงแค่การพัฒนาอย่างเดียว อีกมุม หนึ่งยังกลายเป็นการล้มหายตายจากของผู้คน ชุมชน ย่านเก่า ที่เคยมีชีวิตสร้างวิถีวัฒนธรรมหยั่งรากลงตรงบริเวณนั้นด้วย การพัฒนาในทศวรรษที่ 3 ของกรุงเทพมหานครจึงไม่สามารถ มองเฉพาะความเปลี่ยนแปลงของตึกรามบ้านช่อง หรือระบบ สาธารณูปโภคที่เปลี่ยนไปเท่านั้น วิถีผู้คนในแง่วัฒนธรรม เมืองที่ถูกเบียดบังก็เป็นอีกเรื่องที่ไม่อาจมองข้าม ยิ่งไปกว่านั้น นี่ไม่ใช่เรื่องใหม่...

ป้อมมหากาฬ

ยิ่งนานยิ่งเปลี่ยนแปลง เอกสารจากศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์ระบุว่า ป้อมมหากาฬ ถือเป็นหนึ่งใน 14 ป้อมสำ�คัญที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ได้ทรงโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นตั้งแต่ เมื่อครั้งทรงสร้างพระนครและพระบรมมหาราชวัง

บ้านหลังนี้ เป็นบ้านทรงไทยหลังคาทรงสูงและยกใต้ถุนสูงใน แบบฉบับมาตรฐานของเรือนไทยเดิมในอดีต ก่อสร้างด้วยไม้ทั้ง หลัง หน้าจั่วทำ�เป็นแบบที่เรียกว่า “จั่วใบปรือ” เป็นตัวอย่างของ เรือนไทยที่งดงามหลังหนึ่งที่ยังคงเหลืออยู่

ป้อมมหากาฬเป็นป้อมหนึ่งที่ประจำ�พระนครด้านทิศตะวันออก ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ.2492 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียน เป็นโบราณสถานและมีการบูรณะอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึง ปัจจุบัน

ตลอดเวลาที่ผ่านมา ชุมชนป้อมมหากาฬเป็นหนึ่งในหลายชุมชน เก่าแก่ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับผลกระทบจากการจัด ผังเมืองจากโครงการทำ�เกาะรัตนโกสินทร์ให้เป็นพื้นที่สาธารณะ ทำ�ให้ต้องมีการรื้อถอนชุมชนที่อยู่บริเวณหลังแนวกำ�แพงและ ป้อมมหากาฬออกทั้งหมด

ริมกำ�แพงชั้นในของป้อมมหากาฬ มีการปลูกสร้างอาคารเป็น แนวยาวตลอดตั้งแต่สะพานผ่านฟ้าลีลาศจรดแนวคูคลองวัด เทพธิดาราม เมื่อเวลาผ่านไป บ้านเรือนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำ�ดับ ก่อให้เกิดการร่วมตัวจากกลุ่มเล็กๆ จนได้ขยายตัวกลายเป็น “ชุมชนป้อมมหากาฬ” มีชีวิต และอาชีพอีกหลากหลายแฝงอยู่หลังกำ�แพง เช่น เครื่องปั้นดินเผา งานหัตถกรรมกรงนก การนวดแผนไทย การหลอมทอง ฯลฯ มรดกจากอดีตที่ยังมีลมหายใจสำ�หรับชุมชนอย่างบ้านเลขที่ 97 พวกเขาพยายามดูแลรักษาเอาไว้

โครงการดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องมาจากโครงการปรับปรุงพื้นที่ บริเวณป้อมมหากาฬเพื่อจัดทำ�เป็นสวนสาธารณะและอนุรักษ์ โบราณสถานของชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 แต่ที่ยังไม่สามารถสำ�เร็จเป็นรูปเป็นร่างได้ เพราะชาวบ้าน ภายในชุ ม ชนที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ โครงการนี้ ช่ ว ยกั น เคลื่ อ นไหว คัดค้านมาโดยตลอด พวกเขาเผชิ ญ กั บ สถานการณ์ ก ารเวนคื น ไล่ รื้ อ ที่ ดิ น มาตั้ ง แต่ ปีพ.ศ. 2535 จนถึงวันนี้ เป็นเวลาเกือบ 20 ปีกับความขัดแย้งที่ มีมาอย่างยาวนาน แม้ว่าทางภาครัฐยืนยันว่าจะเตรียมที่อยู่ใหม่ และยินยอมจ่ายค่าเสียหายให้ แต่การจัดหาที่อยู่ใหม่ให้แก่ ชาวบ้านยังไม่มีความชัดเจน อีกทั้งภาครัฐยังคงไม่ยอมให้ ภาคประชาสั ง คมเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจและเสนอ ความคิดเห็น สุดท้ายแล้วคนในชุมชนจึงตัดสินใจที่จะอยู่ต่อไปเพื่อต่อสู้กับ ภาครัฐจนกว่าข้อเสนอของชุมชนจะได้รับการเปิดเวทีและเกิด แนวทางในการแก้ไขร่วมกันอย่างแท้จริง


8

ลูกศิลป์ SPECIAL

14 KM

9

ชุมชนบ้านพัก องค์กรทอผ้า (เกียกกาย)

อาคารไม้เก่าขนาดใหญ่ตั้งตระหง่านอยู่ซอยตรงข้ามกับสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ เกียกกาย ผู้คนละแวกนั้นรู้จักในชื่อของ “โรงงานองค์การทอผ้า” โรงทอผ้าแห่งนี้ สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2478 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยงบประมาณของกระทรวง กลาโหม ก่อนจะเปลี่ยนรูปแบบเป็นรัฐวิสาหกิจอยู่ในสังกัดกระทรวงกลาโหมในเวลาต่อมา โรงทอผ้ามีด้วยกันทั้งหมด 3 แห่ง โรงทอผ้าแห่งแรกตั้งอยู่บริเวณโค้งเขมาใกล้โรงเรียนโยธินบูรณะ ในปัจจุบัน ส่วนอีกแห่งอยู่ที่ จ.พิษณุโลก ซึ่งเป็นโรงผลิตผ้าประเภทต่างๆ ทั้งชุดเครื่องแบบอาชีพ ไม่ ว่าจะเป็น ทหาร ตำ�รวจ หรือพยาบาล รวมทั้งผ้าสำ�หรับใช้งานทางการแพทย์ อาทิ ผ้าพันแผล สำ�ลี ผ้าปูเตียงโรงพยาบาล เป็นต้น สาเหตุที่ไปตั้งโรงงานที่ จ.พิษณุโลก เพราะง่ายต่อการเก็บวัตถุดิบ คือ ฝ้าย อีกทั้งยังสะดวกต่อการขนส่ง จนกระทั่งปีพ.ศ. 2541 โรงทอผ้าได้ปิดกิจการลง จากนโยบายการยุบ-รวมรัฐวิสาหกิจเพื่อการ พัฒนาประเทศ

ชุมชนวัดกัลยาณมิตร รอยร้าวที่ปริแตก

ความหวัง คำ�ตอบ ทางออก

เจริญไชย

ย่านเยาวราช หรือ ไชน่าทาวน์เมืองไทย ที่เป็นทั้งย่านธุรกิจ การค้า การเงิน การธนาคาร ร้านทอง ภัตตาคาร ร้านอาหาร ฯลฯ แหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะ เมื่อถึงเทศกาลสำ�คัญอย่างตรุษจีน ชุมชนเจริญไชย ชื่อนี้ อาจไม่เป็นที่พูดถึงมากนักในวงกว้าง แต่ ที่นี่มีความสำ�คัญอย่างมากต่อผู้คนในเยาวราชและคนไทยเชื้อ สายจีนจากที่ต่างๆ เนื่องจากย่านนี้เป็นพื้นที่ทางการค้าสินค้า ทางประเพณีความเชื่อ เช่น กระดาษที่ใช้ในงานไหว้เจ้า อุปกรณ์ สำ�หรับงานแต่งงานแบบจีนและเสื้อผ้าตามงานประเพณีต่างๆ ทำ�ให้เจริญไชยเป็นศูนย์รวมสินค้าที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี ของชาวจีนที่เก่าแก่ และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย นอกจากสถาปัตยกรรมของตัวอาคารที่สร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาล ที่ 5 กลิ่นหอมเครื่อง สมุนไพรยาจีน การจัดแต่งวางของในร้าน รถเข็นของวิ่งผ่านไปมาตามตรอกซอยเล็กๆ ร้านค้าแผงลอยที่มี สินค้าหลากหลายชวนมองชวนซื้อ ยังถือเป็นเอกลักษณ์ที่ผู้คนมัก คุ้นตาเป็นอย่างดี อาจกล่าวได้ว่า เจริญไชยเป็นหนึ่งในพื้นที่เล็กๆ ที่คงไว้ซึ่งความ เป็นคนไทยเชื้อสายจีนที่เหนียวแน่นอีกพื้นที่หนึ่งในเยาวราช แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่าพวกเขาจะรอดพ้นกระแสของความ เปลี่ยนแปลง การก่อสร้างในโครงการรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำ�เงิน ส่วนต่อขยาย จากสถานีหัวลำ�โพงไปยังบางแค โดยมีแนวตัดผ่านถนนเจริญกรุง ก่อให้เกิดโครงการพัฒนาพื้นที่ใหม่ในเชิงพาณิชย์รับโครงการ รถไฟฟ้าไปพร้อมๆกัน ทำ�ให้ตึกเก่าย่านนี้บางส่วนจะต้องรื้อและ ทุบทิ้ง นอกจากความพยายามในการเจรจาหาทางออกร่วมกับเจ้าของ พื้นที่อย่างมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ ภายในชุมชนเองก็เริ่มมีการหัน กลับมาทำ�งานเชิงอนุรักษ์เพื่ออยู่ร่วมกับการพัฒนาอีกทางหนึ่ง “บ้านเก่าเล่าเรื่อง” คือพิพิธภัณฑ์ชุมชน ที่ตั้งอยู่ในห้องที่ 32 ตรอกเจริญกรุง 23 ใกล้กับวัดมังกรกมลาวาสหรือ วัดเล่งเน่ยยี่เป็นอีกสถานที่หนึ่งที่กลุ่มอนุรักษ์และฟื้นฟูชุมชน เจริญไชยพยายามสื่อสารถึงผู้คนภายนอก ให้เห็นถึงความเป็นมา และอัตลักษณ์ของย่าน แม้ความเงียบคือคำ�ตอบที่พวกเขาได้รับจากการยื่นเรื่องเจรจา และคัดค้านการย้ายชุมชนมากว่า 5 ปี ระหว่างที่สถานีรถไฟฟ้า ใต้ดินวัดมังกรก็กำ�ลังเดินหน้าก่อสร้าง แต่คนในชุมชนเจริญไชย ก็ยังหวังว่าคำ�ตอบ และทางออกของเรื่องนี้จะจบลงด้วยได้ด้วยดี

ข้อมูลจากเว็บไซต์ของวัดกัลยาณมิตร วรวิหาร ระบุว่า เจ้าพระยา นิกรบดินทร (โต กัลยาณมิตร) ว่าที่สมุหนายกเมื่อครั้งยังเป็น พระยาราชสุภาวดี เจ้ากรมพระสรัสวดีกลางได้อุทิศที่บ้านและซื้อ คลองลาดพร้าว ที่ดินบริเวณใกล้เคียงเพิ่มเติมเข้าด้วยกันและสร้างวัดขึ้นในปี พ.ศ. ประชาพิจารณ์เพื่อการพัฒนา 2368 แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง พระราชทานนามว่า วัด ในสมัยก่อนผู้คนเดินทางโดยใช้เรือเป็นพาหนะ ทำ�ให้ตลอดทั้ง 2 กัลยาณมิตร ฝั่งคลองเมือง เป็นพื้นที่ลงหลักปักฐานของผู้คนอันหลากหลาย ชุมชนวัดกัลยาณมิตรอยู่กันมานาน ที่ผ่านมาเจ้าอาวาสทั้ง 9 รูป มาจนถึงปัจจุบัน ถึงวันนี้ ริมสองฝั่งคลองลาดพร้าว ก็ยังคงเต็มไป และชาวบ้านต่างอยู่กันด้วยดี ที่ดินบางส่วนแบ่งให้ชาวบ้านเช่า ด้วยสีสันของบ้านริมคลอง และความเป็นอยู่ของชุมชนที่ยังโดด เป็นที่อยู่อาศัย และช่วยกันทำ�นุบำ�รุงวัดเรื่อยมา เด่น กระทั่ง ปี 2546 หลังจากพระธรรมเจดีย์ (ประกอบ ธมฺมเสฏฺโฐ) จำ�รัส กลิ่นอุบล ประธานชุมชนผู้เริ่มต้นรวบรวมชาวบ้านให้ช่วย ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน ได้เดินหน้าบูรณะ กันปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและดูแลคลอง เพื่อเตรียมพร้อมรับนักท่อง สังขรณ์โบราณสถานภายในวัด อ้างเหตุผลว่าเก่าแก่ทรุดโทรม เที่ยวทั้งไทยและชาวต่างชาติเข้าที่เข้ามาใช้บริการ โดยไม่สนใจคำ�คัดค้านของชาวบ้าน ปัญหาความขัดแย้งจึงค่อยๆ พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างอัตลักษณ์ชุมชนตลอดแนว ก่อตัวขึ้น ของเขตห้วยขวาง และแนวคลองลาดพร้าวจนถึงคลองบางซื่อ แม้ชาวบ้านจะตัดสินใจฟ้องร้องและดำ�เนินคดีกับทางวัดข้อหา ในการทำ�คมนาคมริมคลองที่จะไปเชื่อมโยงกับการสัญจรทางน้ำ� ทำ�ลายโบราณสถาน แต่ทางวัดยังคงดำ�เนินการทุบทำ�ลายโบราณ และเชื่อมต่อไปถึงรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานอยู่เรื่อยๆ ท่ามกลางการประท้วงอย่างเปิดเผย แต่เมื่อมีโครงการของทางภาครัฐที่มีนโยบายในการจัดระเบียบ แต่แล้วสิ่งที่ไม่เคยมีใครคาดคิดก็ได้เกิดขึ้น เมื่อทางทางวัดได้ และแก้ไขปัญหาสิ่งปลูกสร้างที่รุกล้ำ�แนวเขตคลองเข้ามาก่อสร้าง ประกาศยกเลิกสัญญาเช่าที่ดินบางส่วนของชุมชนวัด และให้ชาว เขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) ตรงนี้ทำ�ให้คนในชุมชนเริ่มไม่ บ้านบางส่วนย้ายออกจากพื้นที่ทันที แน่ใจ เรื่องนี้เป็นที่ครึกโครมกันในพื้นที่สื่อพอสมควร จากเหตุการณ์ไล่ โครงการก่อสร้างเขื่อนคสล.และประตูระบายน้ำ�คลองลาดพร้าว รื้อบ้านหลังแรกเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 ซึ่งเป็นบ้านของแกน คลองบางบัว คลองถนน คลองสองและคลองบางซื่อจากบริเวณ นำ�ต่อต้านการทุบทำ�ลายโบราณสถานของวัดกัลยาณมิตร โดย เขื่อนเดิมอุโมงค์ยักษ์พระรามเก้า-รามคำ�แหงไปทางประตูระบาย ไม่มีการประกาศคนแจ้งมาว่าจะมีการมาไล่รื้อ น้ำ�คลองสองสายใต้ สร้างเพื่อขยายคลองให้กว้าง 38 เมตร เพราะ ต้องการจัดระเบียบคลองลาดพร้าวให้คลองทำ�หน้าที่ระบายน้ำ�ได้ หากแต่เจ้าหน้าที่กรมบังคับคดีนำ�กำ�ลังตำ�รวจ ทหาร พร้อมชาย อย่างเต็มประสิทธิภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำ�ท่วม ซึ่ง ฉกรรจ์ เดินทางเข้าใช้คีมขนาดใหญ่ตัดแม่กุญแจหน้าบ้าน ก่อน เริ่มดำ�เนินการปลายเดือนตุลาคม 2558 ทำ�ให้ชาวบ้านที่อยู่อาศัย เข้าไปยึดทรัพย์สินซึ่งมีเพียงข้าวของเครื่องใช้สำ�หรับประกอบ รุกล้ำ�คลองจำ�นวนกว่า 3,000 หลังคาเรือน ต้องเตรียมตัวย้าย อาชีพ เมื่อชาวบ้านได้เห็นการปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ในวันนั้น ออกจากพื้นที่ ยิ่งทำ�ให้เกิดความกลัวและรู้สึกไม่ปลอดภัย เพราะที่ผ่านมาทาง เจ้าอาวาสไม่เคยลงมาพูดคุยกับชาวบ้าน หลายครอบครัวที่อาศัยอยู่จึงโดนผลกระทบจากโครงการที่จะเข้า มาพัฒนาความเป็นอยู่นี้ไปตามๆ กัน แม้ทางวัดจะบอกว่าการไล่รื้อทำ�อย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดย กรมบังคับคดีได้ปฏิบัติตามคำ�สั่งศาลแพ่งธนบุรี ซึ่งตัดสินให้ทาง คนในชุมชนมีการขอหน่วยงานทางภาครัฐให้เข้าไปมีส่วนร่วมใน วัดชนะคดีในชั้นศาลฎีกาเมื่อปี 2552 โดยทางวัดกล่าวหาว่าบ้าน การออกแบบพื้นที่ที่จะพัฒนา แม้จะมีการเสนอแนวทางรองรับที่ ของชาวบ้านบดบังทัศนียภาพของวัด การไล่รื้อนั้นเพียงเพื่อทำ�ให้ อยู่อาศัยให้กับประชาชน ตามนโยบายของรัฐบาล โดยให้ชุมชน ทัศนียภาพดีขึ้น ออมเงินเข้ากลุ่มออมทรัพย์เพื่อที่อยู่อาศัย เพื่อนำ�เงินมาสร้าง บ้านมั่นคงในชุมชนเดิม แต่ชาวบ้านไม่มั่นใจกับการเข้าร่วมกลุ่ม แต่กลับกลายเป็นเหตุการณ์ที่นอกเหนือความคาดหมาย เพราะ เพราะหากย้ายไปในตอนนี้ แม้แต่ค่าใช้จ่ายการขนย้ายหรือจัดหา เป็นการไล่รื้อที่ทั้งปะทะ ขัดแย้ง สวนทาง กับค่านิยม จารีตและ พื้นที่ให้ ทางภาครัฐยังไม่มีแผนเยียวยาที่ชัดเจน ซึ่งต้องปลูกสร้าง ชุดคุณค่าดั้งเดิมของสังคมไทยโดยสิ้นเชิง จากการไล่รื้อชุมชนโดย บ้านหลังใหม่บนพื้นที่ใหม่ขึ้นมาด้วยตัวเองทั้งสิ้น นำ�มาสู่ความ วัดและพระสงฆ์ ลำ�บากต่อคนในชุมชนทั้งนั้น ถึงวันนี้ ยังไม่มีทางออกสำ�หรับปัญหาดังกล่าว บ้านเรือนใน จำ�รัส กลิ่นอุบล ประธานชุมชนคลองลาดพร้าวมองว่า ประชา ชุมชนต้องถูกรื้อถอนเป็นหลักฐานการล่มสลายของ หลักคิดเรื่อง พิจารณ์จะเป็นเครื่องมือที่นำ�ไปสู่ทางออกที่ดีที่สุด แต่ขณะนี้ก็ “บวร” (บ้าน วัด โรงเรียน) ตามแนวพระราชดำ�ริฯ ที่ชัดเจนที่สุด ยังไม่มีหน่วยงานไหนมาทำ�อย่างเป็นเรื่องเป็นราว แม้ทางชุมชน ครั้งหนึ่ง เสนอไปก็ยังไร้การตอบรับ การเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ แต่ไม่อาจเป็นไปได้อย่าง สุดท้ายแล้ว ก็ได้แต่ภาวนาให้การพัฒนาพื้นที่เกิดมาจากความ สมบูรณ์แบบ ชุมชนต่างๆ เหล่านี้ คือบทเรียนจากการพัฒนาที่มา ร่วมมือของคนในชุมชนอย่างแท้จริง พร้อมกับความเปลี่ยนแปลง และล่มสลายอย่างแท้จริง

แต่ใช่ว่าเรื่องราวจากอาคารไม้หลังเก่าจะสูญหายไป เมื่อพื้นที่ทำ�กินกำ�ลังจะปิดตัวลง สมาชิกชุมชนที่ส่วนใหญ่ล้วนผูกพันกับโรงทอผ้า และไม่มีที่ไปพวก เขาจึงรวมกลุ่ม ขอจดทะเบียนเป็น “ชุมชนบ้านพักองค์การทอผ้า” โดยใช้ชื่อบ้านพักไปขอจัดตั้งที่ สำ�นักงานเขตดุสิต “เมื่อองค์กรทอผ้าจะต้องเป็นไปตามนั้น ก็ขอสมบัติชิ้นสุดท้ายให้กับคนที่เขาอยู่เถอะ” อุมล ม่วงพิม หรือ “ลุงหมึก” กำ�นันชุมชน ผู้เป็นหนึ่งในอดีตพนักงานองค์การทอผ้า อธิบายแทนความรู้สึกในวัน นั้น หลังจากนั้น ชาวบ้านก็เริ่มซ่อมแซมบ้านเรือน มีการตัดถนน จนเริ่มก่อร่างสร้างตัวเป็นชุมชนในที่สุด ถึงแม้จะต้องถอยร่นจากพื้นที่เดิมเข้าไปในซอยด้านหลังก็ตาม แต่ก็ทำ�ให้วิถีชีวิต และอาชีพ การทอผ้าดั้งเดิมสามารถยืนหยัดมาได้ถึงทุกวันนี้ ส่วนจะเป็น “ชุมชนบ้านพักองค์การทอผ้า” หรือ “ชุมชนบ้านพักองค์กรทอผ้า” ก็แล้วแต่จะเรียก โดยมีอาคารไม้หลังใหญ่เป็นอนุสรณ์ความทรงจำ�ของชุมชน ถึงแม้ว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่จะเคยประกอบอาชีพเกี่ยวกับการทอผ้ามาก่อน แต่เนื่องจากวันเวลาและ ยุคสมัยที่เปลี่ยนไปจึงต้องมีการปรับตัว ทำ�ให้ชาวบ้านบางกลุ่มจัดตั้งกลุ่มงานวิชาชีพต่างๆ ภายใน ชุมชน ไม่ว่าจะเป็น กลุ่มอาชีพตัดเย็บ กลุ่มดอกไม้ประดิษฐ์ กลุ่มผลไม้แปรรูป และกลุ่มน้ำ�พริก ตลอดจนการรวมกลุ่มกันเพื่อทำ�การเกษตร โดยการปลูกผักแบบไฮโดรโพนิค รวมทั้งมีการสอนปลูก ข้าว และนำ�ข้าวไปขายจริงเพื่อเพิ่มโอกาสการสร้างรายได้อีกหนึ่งช่องทาง ส่วนการเปลี่ยนแปลงในอนาคตที่กำ�ลังจะเกิดขึ้น อาจทำ�ให้คนในชุมชนต้องย้ายออกไป หรือจำ�ต้อง ย้ายออกจากสถานที่ที่พวกเขาเรียกเต็มปากว่า “บ้าน” นั้น ทุกคนยอมรับ และเข้าใจดี แต่ความกังวลอยู่ที่เรื่องของการจัดเตรียมที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับพวกเขาจากภาครัฐจะเพียงพอ สำ�หรับทุกครอบครัวหรือเปล่า ความเปลี่ยนแปลงนี้จึงถือว่าเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างยิ่ง พอๆ กับความภูมิใจในวิถีชีวิตบนแผ่นผ้า ที่ จะคงอยู่ในความทรงจำ�


10

ลูกศิลป์ SPECIAL

เขียวไข่กา ชุมชนเก่าแก่ริมน้ำ�อีกแห่งที่มีเรื่องราวบอกเล่าต่อกันมากว่า 4 ทศวรรษ เมื่อก่อน ที่นี่เคยเป็นท่าน้ำ�ที่คึกคักไปด้วยเรือสินค้า ผู้คนแวะเวียนกันมาไม่ ขาดสาย จากชุมทางสัญจรจึงกลายมาเป็นชุมชนขนาดย่อมๆ ในที่สุด ปี พ.ศ.2535 ได้เกิดเพลิงไหม้ชุมชนครั้งใหญ่ทำ�ให้ชาวบ้านกว่าครึ่งต้องย้ายออกไป อีก 2 ปีต่อ มา โรงเรียนราชินีบนได้มีการสร้างตึกเรียนเพิ่มเติม ทำ�ให้ขนาดของชุมชน “เล็ก” ลงไปอีก ชาวเขียวไข่กา ส่วนใหญ่มีอาชีพค้าขาย บริเวณโรงเรียนราชินี และพื้นที่ใกล้เคียง ตลอด จนการออกไปทำ�งานรับจ้างทั่วไปตามประสาคนหาเช้ากินค่ำ� ส่วนร่องรอยของการเป็น ท่าเรือในอดีตนั้นยังคงหลงเหลือผ่านการใช้เรือขนส่งภายในชุมชนที่มีให้เห็นอยู่ แนวเขื่อนกั้นน้ำ�ต้องถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำ�คัญของชุมชน ตั้งแต่ปี 2548 ที่มีการปักเสาสร้างเขื่อน ป้องกันน้ำ�ทั่วริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา ก่อนจะมีการเสริมให้สูงขึ้นเมื่อคราวน้ำ�ท่วมใหญ่ 2554 แนวกำ�แพงเขื่อนได้ลดขนาด และเพิ่มความแออัดให้กับตัวชุมชนไปโดยปริยาย ชรินทร์ อนันต์ ชาวชุมชนเขียวไข่กา เล่าว่า ในสมัยก่อนมีความสะดวกสบายสบาย เมื่อก่อนอยู่ ริมน้ำ� มีบันไดลงน้ำ� มีแพและเรือจอดอยู่หน้าบ้าน แต่พอมี เขื่อนมากั้น วิถีชีวิตชุมชนเหล่านั้นก็ได้หายไปด้วย ก่อนที่ โครงการพัฒนาพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา จะกลายมาเป็นฝันร้ายอีกครั้งของชุมชน

ชุมชนเขียวไข่กา ฝันร้ายที่รอวันเป็นจริง

14 KM

มิตรคาม รากนักล่าที่รอวันตาย?

11

มิตรคาม เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่เริ่มจากการก่อตัวของชาวเรือที่ล่องเรือมาทำ�การค้าขาย ส่วนใหญ่ มักทำ�อาชีพที่เกี่ยวข้องกับแม่น้ำ�โดยตรง ไม่ว่าจะ ทำ�การค้าแพ อย่างข้าว หรือถ่าน ขายปลา ไป จนถึง รับจ้างทั่วไป จนเมื่อราวปี พ.ศ. 2490 – 2500 เริ่มมีการจอดเรือ และปลูกเรือนพักอาศัย เมื่อเวลาผ่านไป ภาพ เรือที่เรียงรายริมน้ำ�ก็ก่อร่างสร้างตัวกลายเป็นชุมชนมาจนถึงปัจจุบัน วันนี้ ชุมชนมิตรคาม 1 มี 131 ครอบครัว 58 หลังคาเรือน ส่วนชุมชนมิตรคาม 2 ที่ย้ายจากบริเวณ ที่จอดรถวัดคอนเซ็ปชัญเนื่องจากเหตุไฟไหม้มี 60 ครอบครัว 45 หลังคาเรือน ชื่อเสียงของมิตรคาม เป็นที่รู้จักทั่วไปว่า ที่นี่เป็นแหล่งชุมชนนักล่าสมบัติใต้น้ำ�สืบทอดจากรุ่นสู่ รุ่น มากว่า 50 ปีแล้ว “บางคนเรียกอาชีพนี้ว่านักโบราณคดีในเชิงการค้นหาโบราณวัตถุ” มานะ อ่องสะอาด หรือ ที่คนในชุมชนต่างพากันเรียกว่า พี่โบ้ อายุ 42 ปี ให้คำ�นิยามถึงสายเลือดแห่งการล่าสมบัติใต้ เจ้าพระยา เพราะการดำ�น้ำ�แต่ละครั้ง อาจได้ของเก่าขึ้นมา เช่น เหรียญรัชกาลที่ 5 เหรียญทองแดง เหรียญ เงิน เงินพดด้วงสมัยอยุธยา รูปรัตนะ “โครงกระดูกเก่า ไม่ว่าจะเป็นหัวกะโหลกมนุษย์ หัวกะโหลกสัตว์ก็เจอบางที” เขาบอก

“ตอนอ่านหนังสือพิมพ์ก็เจอเรื่องนี้” ใครบางคนเล่าให้ฟัง

การจ้างให้ช่วยงมศพก็มีเหมือนกัน แต่ข้อแม้ของคนที่ดำ�ลงไปช่วยงมศพนั้นต้องไม่มีการครอบครู เป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่ทุกคนยึดถือสืบต่อกันมา

จนถึงตอนนี้ ก็ยังไม่มีการชลงพื้นที่ทำ�ความเข้าใจโครงการกับชุมชน มีก็แต่ข่าวลือที่แพร่ สะพัดไปทั่ว จับต้นชนปลายไม่ถูก เอาเงินจากที่ไหนมาทำ� รูปแบบโครงสร้างของโครงการ จะเป็นแบบไหน กว้างเท่าไหร่ สูงเท่าไหร่ จะเกิดความเปลี่ยนแปลงกับชุมชนอย่างไร

โดยทั่วไปนักล่าสมบัติของมิตรคามจะใช้เวลาฝึกอยู่ 2-5 ปี ก่อนที่จะลงดำ�ในแม่น้ำ�เจ้าพระยาที่ลึก กว่า 200 เมตรได้

คำ�ถามเหล่านี้ ยังไม่มีคำ�ตอบ “ถามคนที่เขาอยู่ก็ไม่มีใครเห็นด้วยหรอก เอาเวลาไปทำ�เรื่องที่ต้องทำ� ก่อนดีกว่าไหม” เสียงตัดพ้อทำ�นองนี้ก็ดังระงมเหมือนกัน พูดกันตามตรง โครงการก่อสร้างหาสกถ้าชาวบ้านก็คงไม่มีใครคัดค้านถึงจะไม่เห็นด้วย เพราะ ถือเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม แต่รัฐก็ควรหาทางออกให้กับคนในชุมชนด้วยเหมือนกัน “ทางรัฐก็ควรเมตตาต่อชาวบ้านด้วย หรือถ้าจะให้ย้ายออกก็ควรรับ ผิดชอบกับการหาที่อยู่ใหม่หรือให้เงินกับชาวบ้าน ที่พอจะสามารถมา ตั้งตัวใหม่ได้ด้วย” ชรินทร์พูดแทนเสียงของชาวเขียวไข่กา ไม่ว่าโครงการจะเริ่มก็สร้างหรือไม่ อย่างไร พวกเขาก็ยังคงต้องใช้ชีวิตของตนต่อไป ที่ ทำ�ได้ก็เพียงภาวนาให้นี่เป็นเพียงแค่ฝันร้ายหลังตื่นนอนที่จะไม่มีวันเป็นจริงเท่านั้น

สิ่งที่พวกเขาต้องคำ�นึงทุกครั้งคือ การดูทางน้ำ� และสถานที่ที่จะดำ�ลงไปเสมอ “บางวันอากาศไม่ดี หรือฝนตกก็ไม่สามารถออกไปดำ�น้ำ�ได้ ซึ่งก็แล้วแต่โอกาส การดูน้ำ�ส่วนใหญ่ จะดูตามปฏิทินตั้งแต่น้ำ� 3 ค่ำ� ไปจนถึง11 ค่ำ� พอ12-15 ค่ำ�ก็จะหยุด อย่างบางวันก็เริ่มตั้งแต่6โมง เช้า แล้วก็จะนับชั่วโมงไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงน้ำ�เที่ยง น้ำ�บ่าย พอเป็นน้ำ�เย็นเราจะไม่ดำ�แล้ว” พี่ โบ้อธิบาย นอกจากเป็นอาชีพเลี้ยงชีวิต นักล่าสมบัติใต้น้ำ�ยังเป็นทั้งวิถีการดำ�เนินชีวิต และอัตลักษณ์ของ ชุมชนมิตรคามอีกด้วย การมาถึงของโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยาจึงถือเป็นความท้าทายครั้งใหญ่ของชาวมิตร คามอย่างแท้จริง ที่อยู่ใหม่กลายเป็นความกังวลพอๆ กับเหง้ารากของชุมชนที่สั่งสมมาจะหายไป ด้วย “มันเป็นเรื่องยากมากนะ” เขายอมรับ ทั้งความเหมาะสมของการก่อสร้าง และผลกระทบที่เกิดกับตัวชุมชนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อุปกรณ์ดำ�น้ำ� และลำ�เรือถ้ายกขึ้นฝั่ง นั่นหมายถึงการเลิกอาชีพ “เราไปหาไม่ได้แล้วบ้านริมน้ำ� อย่างพวกเรามันไม่มีปัญญาที่จะไปซื้อที่ แล้วเขาจะให้ค่ารื้อถอน บ้านเราเนี่ย แค่เศษสตางค์ ลองถามเนี่ยเศษสตางค์มันพอที่จะไปซื้อบ้าน ซื้อที่ดินมั้ย มันเป็นไป ไม่ได้เลย จะให้อยู่ห้องเช่าแคบๆ ก็อยู่ไม่ได้หรอก อย่างบ้านผมทำ�กับข้าวกินกันเอง ถ้าไปอยู่บ้าน แบบนั้น เราอาจต้องซื้ออาหารสำ�เร็จรูป มันไม่ใช่ แค่คิดก็อึดอัดแล้ว” เมื่ออนาคตยังเป็นความไม่แน่นอน และหลายๆ เรื่องยังคงคาใจ แต่ที่สุดหากต้องย้ายจริงๆ พวก เขาก็ทำ�ได้แค่ก้มหน้ายอมรับชะตากรรมเพราะการใช้กฎหมายจริงๆ คำ�ว่ามิตรคามก็คงไม่มีความ หมาย และอาชีพนักล่าสมบัติใต้น้ำ�จะกลายเป็นเพียงตำ�นานจากคำ�บอกเล่า “ถ้าเขาจะไล่เราสู้มาพัฒนาเราไม่ดีกว่าเหรอ” ใครบางคนตัดพ้อด้วยน้ำ�ตา นั่นก็เพราะ ที่นี่เป็นเหมือนลำ�ต้น และชุมชนก็ได้หยั่งรากลึกเกินกว่าจะถอนแล้ว “เราฝังรากไว้ที่นี่แล้ว” ตัวแทนนักล่าสมบัติคนเดิมย้ำ�ถึงชีวิตของพวกเขาเป็นคำ�ตอบสุดท้าย


12

ราชผาทับทิมร่วมใจ

ลูกศิลป์ SPECIAL

ศาลเจ้าแม่ทับทิม หรือ ศาลเจ้าจุยบ่วยเนี่ยว ตั้งอยู่ใต้สะพานซังฮี้ ติดกับ ชุมชนราชผาทับทิมร่วมใจ เป็นศาลเจ้าที่ยึดรวมจิตใจของผู้คนเข้าไว้ด้วยกัน ตามตำ�นานเล่าขานถึงเทพธิดาแห่งท้องทะเลที่ คอยคุ้มครองและอวยชัยให้แก่นักเดินเรือ เป็นที่เคารพศรัทธาของชาวเรือ ชาวประมง ราว 40 ปีก่อน บริเวณริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาหน้าศาลเจ้าแม่ทับทิมแห่งนี้มีสภาพโล่งเตียน มองเห็น ตลิ่ง และผืนน้ำ�เต็มสาย ที่นี่ยังเป็นท่าเทียบเรือพักหลบลมฝนให้ผู้สัญจรได้แวะเวียนมา นานวันเข้า จากจุดแวะพักก็กลายมาเป็นที่ลงหลักปักฐาน ขยับขยายเกิดเป็นชุมชนออกไปโดยรอบบริเวณศาล ครอบครัวของ ล้อม บังอร ที่ย้ายมาจาก อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา เมื่อหลายสิบปีมาแล้วยังจำ� ภาพเก่าๆ เหล่านั้นได้ดี วันที่เธอและสามีหอบหิ้วลูกๆ รวมกัน 13 ชีวิต มาตั้งรกรากขายก๋วยเตี๋ยว เลี้ยงชีพอยู่แถวๆ นี้ กระทั่งสามีเสียชีวิต จากเรือนลอยน้ำ�จึงกลายมาเป็นบ้านริมฝั่ง จากริมน้ำ�ว่างเปล่ากลับกลายเป็นบ้านเรือนกลางน้ำ�ที่มีทางเดินเชื่อมต่อถึงกันทุกหลัง จนกลายเป็น เป็นชุมชนริมแม่น้ำ�ขนาดใหญ่อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ควบคู่ความศรัทธาต่อเจ้าแม่ทับทิมที่คอย ปกปักรักษาน่านน้ำ�ให้อุดมสมบูรณ์ และสงบสุขตลอดมา ครั้งหนึ่ง ชุมชนนี้ได้ประสบเข้ากับเหตุการณ์ไฟไหม้ร้ายแรง เปลวเพลิงโหมไหม้มาจากท้ายชุมชน ชาวบ้านต่างตั้งจิตภาวนาต่อเจ้าแม่ทับทิมให้อัคคีภัยนี้ยุติลงด้วยความหวาดหวั่น ภายหลังสถานการณ์สงบ ความเสียหายที่เกิดขึ้นกลับมีไม่มากนัก ทั้งที่ควรจะต้องสร้างความเสีย หายให้เป็นอย่างมาก ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นเพราะความศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าแม่จึงทำ�ให้พวกเขารอดพ้น เภทภัยครั้งนั้นมาได้ กิจกรรมต่างๆ ในชุมชนล้วนมีความเกี่ยวพันกับความศรัทธา ชาวเรือ และวัฒนธรรมจีนอย่าง การแสดงงิ้วที่พวกเขาพยายามสืบสานให้คงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมอันสวยงามและทรงคุณค่าของ บรรพบุรุษ ไม่ต่างจากชุมชนริมน้ำ�อื่นๆ ความเป็นย่านเก่าทำ�ให้สามารถพบเห็นวิถีชีวิตของผู้คนที่เชื่อมโยง และ ผูกพันระหว่างบ้านแต่ละหลังเอาไว้ รอยยิ้มของเด็กๆ ที่เล่นกันตรงที่ว่าง ขณะที่เพลงจากรายการ โทรทัศน์ ปนเสียงพูดคุยแว่วมาตามลม ประปรายด้วยร้านรวงเล็กๆ ริมน้ำ�เจ้าพระยา การเข้ามาของโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�จึงเหมือนเป็นสายลมแห่งความเปลี่ยนแปลงที่คล้ายเป็น แรงโหมกระพรือชีวิตที่พวกเขาไม่อาจหลบเลี่ยง “รุกล้ำ�เข้าไปตัง้ ถิ่นฐานบนผืนน้ำ�โดยไม่ได้รับการอนุญาต” เป็นข้อหาที่ไม่มีคำ�โต้แย้ง สมบัติ เฝือกพิศ ประธานชุมชนรุ่นที่สอง หนึ่งชาวบ้านที่ร่วมกันก่อตั้งชุมชนขึ้นมา ยอมรับว่า ทุก คนในชุมชนต่างรู้เรื่องนี้ดี และยินยอมให้ภาครัฐจัดการพัฒนา เพื่อประโยชน์ด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาแห่งนี้ในอนาคต ทั้งถนน ทางเดินเท้าและทางจักรยาน อีกทั้งศาลเจ้าแม่ทับทิมก็จะเฟื่องฟูด้วยการจัดทัวร์จีนและ กิจกรรมต่างๆ ขณะที่อดีตจะถูกทิ้งไว้เป็นความทรงจำ� และตำ�นานเล่าขาน “ก็เสียดายนะ” มันเป็นความรู้สึกใจหายทุกครั้งเมื่อนึกถึง

14 KM

ชุมชนวัดดาวดึงษาราม แต่มักเรียกติดปากกันว่า ชุนชนวัดดาว หนึ่งในชุมชนเก่าแก่ริมแม่น้ำ� เจ้าพระยาตั้งอยู่ระหว่างสะพานพระปิ่นเกล้าและสะพานพระราม 8 วัดดาวดึงษาราม เป็นวัดขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช (รัชกาลที่ 1) ตามตำ�นานระบุว่า เจ้าจอมแว่น หรือ คุณเสือ พระสนมเอกในรัชกาลที่ 1 เป็น ผู้สร้างวัดหลวงแห่งนี้ขึ้น ในสมัยนั้น ตามริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาฝั่งตะวันตก และตามตรอกซอยคลองบางยี่ขันมักมีเรือที่ล่องมา จากอยุธยาเข้ามาเทียบท่าอยู่ เพราะพื้นที่บริเวณนั้นยังไม่ได้มีการตั้งชุมชนเป็นหลักแหล่ง เมื่อวัดดาวถูกสร้างขึ้น ชุมชนก็เกิดตามมา ทำ�ให้ผู้คนระแวกนี้มีความผูกพันและใกล้ชิดกับวัดเป็น อย่างมาก อาชีพหลักของคนที่นี่คือการกค้าขาย ทั้งข้าวสาร ถ่านหิน ตลอดจนข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ติดมา จากการค้าขายทางเรือ นอกจากนั้นยังมีการเข้าไปทำ�งานที่โรงงานสุราบางยี่ขันอีกด้วย เรือหลายร้อยลำ�ที่จอดเทียบอยู่ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาเมื่อวานกลายมาเป็นบ้านเรือน จากหน้าวัดจด ริมตลิ่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา บ้านไม้บ้านปูนนับร้อยหลังคาเรือนนี้คือ ชุมชนวัดดาวดึงษาราม สภาพทั่วไปในชุมชนเป็นบ้านเรือนหลายร้อยหลังคาที่อยู่ติดกันเป็นทอดๆ แซมร้านค้าอยู่ประปราย ทั้งรถเข็นเล็กๆ จะเห็นได้ในช่วงบ่าย และเย็น โดยมีทั้งร้านค้าที่ตั้งกันมาตั้งแต่ยังมีท่าเรือวัดดาวเปิด ให้บริการ และร้านค้าที่เพิ่งเปิดไม่นาน ถนนเล็กๆ ที่ทอดยาวออกไปจนถึงริมแม่น้ำ�เจ้าพระยากั้นอยู่กลางระหว่างบ้านสองฝั่งให้พอเดินและ ขับขี่มอเตอร์ไซค์ผ่านไปมาได้ พระมหาพลกฤษณ์ ฐิตเมธี หรือ หลวงพี่ประกอบ เล่าให้ฟังว่า กิจวัตรประจำ�วันของชาวบ้านที่นี่ คือตักบาตร “ประเพณีวันออกพรรษาถือเป็นเอกลักษณ์ประจำ�วัดกับชุมชนเลยคือการตักบาตรเทโวที่จะมีขึ้น ทุกๆ ปีมาเป็นเวลานานแล้ว” เสียงจากคนเก่าแก่หลายคนยังเผยถึงความรู้สึกสงบสุขจากริมแม่น้ำ� และปลอดภัยที่คนในชุมชนต่าง ไว้ใจกัน แม้ปัจจุบันจะมีความเปลี่ยนแปลงจากการพัฒนาไปมาก แต่กลิ่นอายวัฒนธรรมทำ�นองนี้ก็ ยังถูกรักษาไว้ และมีให้เห็นอยู่ แต่การมาถึงของโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยาอาจจะแตกต่างออกไป หลายชุมชนเก่าแก่ที่อยู่ตามริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาเริ่มถูกเรียกเข้าไปให้รับทราบถึงโครงการที่จะเกิดขึ้น รวมถึงชุมชนที่นี่ด้วย สุรัตน์ ลือสีประสิทธ์ ประธานชุมชนวัดดาวดึงษาราม ยอมรับว่า การพัฒนาครั้งนี้ ผลกระทบมีตาม มาแน่นอน ”ปัญหาที่ตามมาต้องมีแน่นอน ทางที่จะถูกสร้างขึ้นไม่ใช่ทางเดินเล็กๆ อย่างฝั่งท่าพระจันทร์ ความ งดงามริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาก็จะหายไป เราคุ้นเคยชินกับชีวิตที่เรียบสงบสุขมาตลอด ผลกระทบที่จะ ตามมาในชุมชนเราก็หลีกเลี่ยงไม่ได้” เขามองว่า โครงการนี้จะทำ�ให้ทุกอย่างเปลี่ยนไป ทั้งความสับสนวุ่นวาย มลพิษจากท่อไอเสียตาม รถยนต์ที่เพิ่มขึ้น ระบบนิเวศใต้น้ำ� ทัศนียภาพริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รวมถึงชาวบ้านนับพันครัวเรือนตามชุมชนริมแม่น้ำ�ต่างๆ ต้องถูกรื้อออกจาก บ้านเกิดของตนเอง ถือว่าเป็นความเสียหายอย่างยิ่ง “บ้านเป็นอะไรที่มีคุณค่าทางจิตใจกับคนเรามากนะ” เขาบอก แรงลมของการพัฒนากำ�ลังพัดเข้ามาหาชุมชนนั้น ไม่ใช่แค่บ้านเรือนที่จะหายไป แต่ยังหมายถึง ความเปลี่ยนแปลงของชุมชน รอยยิ้มของผู้คนที่เคยมีให้แก่กัน และปฏิสัมพันธ์ชุมชนที่ถักทอมากว่า ร้อยปีอาจต้องขาดสะบั้นลงในไม่ช้า

13

ชุมชนวัด ดาวดึงษาราม


14

“ปลาอยู่ในน้ำ�มันก็ว่ายไปนู่น ไปนี่ เราอยู่ในน้ำ�จะให้เราไปอยู่ บนบกจะทำ�มาหากินอย่างไร” อนงค์ ขวัญอยู่เย็น อายุ 69 ปี ชุมชนมิตรคาม 1

ลูกศิลป์ SPECIAL

“ถ้าต้องย้ายจริง ๆ ยังคิดไม่ ออกเลยว่าจะทำ�อะไร ไปอยู่ ที่อื่นก็คือการเริ่มต้นใหม่” ประพิมพ์ ทั่งถิระ อายุ 48 ปี ชุมชนบ้านปูน

“บ้านมีกัน 6 คน อยู่มา 40 ปี หาปลาขาย ขับเรือข้ามฟาก ได้วันละร้อยสองร้อยบาท พออยู่ได้ ตอนรู้ข่าวใจหาย แวบ! ย้ายออกก็ไม่มีเงินซื้อ บ้าน จะไปทำ�อะไรกิน เราคน หมู่น้อย ทำ�อะไรเขาไม่ได้” สมชาติ นุ่มน้อย อายุ 42 ปี ชุมชนวัดฉัตรแก้ว

14 KM

15

"ถ้าเขามาอนุญาตนะ บ้าน ทุกหลังจะทำ�ให้สวยงาม ให้ มาดูได้เลยนะว่าบ้านริมน้ำ� วิถีชาวบ้านเป็นมายังไง" “บ้านฉันและบางบ้านยังใช้ เรือเดินทางอยู่ ใช้ขนของ ไป นู่นไปนี่ อยู่ริมน้ำ�มันดี” ภาวนา ทิมผ่องใส อายุ 20 ปี ชุมชนเขียวไข่กา

อุไร พวงขำ� อายุ 52 ปี ชุมชนมิตรคาม 2

“อยากอยู่ตรงนี้เพราะที่อื่น มันไม่เงียบสงบเหมือนแม่น้ำ�” วีรยศ สัมฤทธิ์ อายุ 17 ปี ชุมชนเขียวไข่กา


16

ลูกศิลป์ SPECIAL

14 KM

เพราะเจ้าพระยาเป็นของ

ประชาชน

ทางจักรยานคอนกรีตเสริมเหล็กเลียบแม่น้ำ�เจ้าพระยาระยะทาง 14 กิโลเมตร เริ่มต้นตั้งแต่สะพานพระราม 7 ทอดแนวยาวขนานตามริมฝั่งแม่น้ำ� จนสุดที่สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า กับชื่อ ‘โครงการ พัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา’ หรือที่ใครหลายคนรู้จักในนาม ‘แลนด์มาร์คเจ้าพระยา’ อาจเป็นเรื่องฝันหวานสำ�หรับใครหลายคน (โดยเฉพาะรัฐบาล) แต่ผิดกับคนบางกลุ่มที่เห็นต่างอย่างสิ้นเชิง แม้แต่ในโซเชียลเน็ตเวิร์กอย่าง change.org ที่มีผู้รณรงค์ต่อต้านโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยาไม่ต่ำ�กว่า 15,000 คน รวมถึงงานกิจกรรมสาธารณะหรืองานเสวนาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น งาน’เสวนาริม น้ำ�’ ในวันที่ 30 มิถุนายน 2558 งาน’ภาคีมหาวิทยาลัยคิดเพื่อแม่น้ำ� 14 กม.’ ในวันที่ 22 สิงหาคม และงานปาฐกถา’เจ้าพระยา ยศล่ม ลงฤา’ ในวันที่ 12 กันยายน 2558 ฯลฯ โดยงานแทบทั้งหมดนั้น ชวนสังคมตั้งคำ�ถาม พูดคุยแลกเปลี่ยนทรรศนะ ตลอดจนการแสดงความไม่เห็นด้วยต่อโครงการดังกล่าว เช่นเดียวกับ ยศพล บุญสม ผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม Friends of the River (FOR) ที่แสดงจุดยืนคัดค้านแลนด์มาร์คเจ้าพระยา โดยเขาพยายามให้ข้อมูล รายละเอียด และผลกระทบว่าหากโครงการนี้ก่อตัวเป็น รูปร่างขึ้นมาจริงๆ แล้วผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร “สิ่งสำ�คัญที่ผมพยายามให้สังคมเกิดการตั้งโจทย์ร่วมกัน คือ เมื่อเรามาถึงจุดที่ยืนอยู่บนทางแยก คุณอยากจะทำ�อะไรกับพื้นที่ริมน้ำ� มาช่วยกันคิดดีไหม ใช้โอกาสกับเงินหมื่นสี่พันล้านให้ทำ�ได้มากกว่าแค่พูดเรื่องทางเดินริมน้ำ�” ยศพลตั้งคำ�ถามกับสังคม

นอกจากนี้ ยังมีปัญหาที่จะตามมาอีกมากมาย ซึ่งไม่เพียงแค่ กลุ่ม FOR, สถาปนิก หรือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่ได้รับผลกระทบ แต่รวมถึงประชาชนทุกคน ชาวบ้านหรือคนธรรมดาที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับแม่น้าเจ้าพระยา ทำ�ไมถึงต้องทำ�ความเข้าใจโครงการนี้ จริงๆ ผมเองก็ไม่ได้เป็นคนที่สนใจแม่น้ำ�มาก่อน และบ้านก็ไม่ได้อยู่ริมน้ำ� แต่ถ้าย้อนกลับไปว่าทำ�ไม ถึงสนใจ เพราะคิดว่าแม่น้ำ�มันเป็นพื้นที่ของทุกคน เป็นพื้นที่สาธารณะ เป็นพื้นที่เมืองที่เราผูกพัน เป็นวัฒนธรรมรากเหง้า ยิ่งปัจจุบันที่แม่น้ำ�เจ้าพระยากำ�ลังถูกทำ�ลายเรื่อยๆ แต่เราก็นิ่งเฉยกับมัน ผมจึงคิดว่าเป็นหน้าที่ของพลเมืองที่ต้องลุกขึ้นมาปกป้อง เพราะมันเป็นสิทธิพื้นฐานของมนุษย์ที่ ยอมไม่ได้ คือสุดท้ายมันก็เป็นเรื่องสิทธิ เสรีภาพเหมือนกันนะ เลยต้องลุกขึ้นมา และจริงๆ ก็คิดว่ามันไม่ได้จำ�กัดแค่เรื่องแม่น้ำ� ในเมืองมันยังมีประเด็นอีกเยอะ แม่น้ำ�มันอาจจะเป็น ตัวอย่างที่ทำ�ให้คนลุกขึ้นมาสู้ ส่วนแม่น้ำ�ก็เป็นเรื่องๆ หนึ่งที่พลเมืองต้องมีสิทธิมีเสียงเพราะถ้าเราไม่ แสดงความเป็นเจ้าของ สุดท้ายก็หมายความว่ารัฐหรือใครก็ตามจะทำ�อะไรก็ได้กับสิ่งแวดล้อม แล้ว มันอาจนำ�ไปสู่การที่เราต้องทนกับสิ่งที่เราไม่ต้องการ โครงการแลนด์มาร์คเจ้าพระยามีลักษณะการออกแบบอย่างไร ตอนนี้เขาใช้หนึ่งรูปแบบกับทั้งลำ�น้ำ� ซึ่งมันไม่ได้สอดคล้องกับทั้งบริบทของแต่ละพื้นที่ หน้าวัดควร จะเป็นแบบหนึ่งไหม หน้าชุมชนควรจะเป็นอีกแบบหนึ่งไหม เพราะว่าแต่ละที่มันมีข้อจำ�กัด ราย ละเอียดก็แตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้หรือเจ้าของที่ดิน ตอนนี้ในทีโออาร์ (ข้อกำ�หนดรายละเอียดของผู้ว่าจ้าง และการศึกษาผลกระทบของโครงการ) บอก ว่าให้มีการศึกษาภาพใหญ่ว่าตรงไหนควรทำ�หรือไม่ควรทำ� โดยต้องศึกษาภาพย่อยด้วยว่าใน 14 กิโล มันต้องมีแบบทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมอย่างไร แต่ตอนนี้เขาให้ผู้ชนะการประมูลเจ้า เดียวในการออกแบบ เพราะก่อนที่รัฐจะประกาศทีโออาร์ เขาควรต้องศึกษาภาพใหญ่ให้เรียบร้อย และก็ไม่ควรให้บริษัทเดียวในการทำ� เพราะจะไม่เกิดความหลากหลายของงานออกแบบ ควรจะ แตกทีโออาร์แต่ละจุดที่มีความเซนท์ซิทีฟต่างกัน ซึ่งจะทำ�ให้เกิดความหลากหลาย อย่างโครงการ นี้ก็สะท้อนให้เห็นว่าถ้ามีความคล้ายคลึงตลอดทั้ง 14 กิโล มันก็มีแนวโน้มว่าจะไม่ตอบสนองความ หลากหลายตลอดลำ�น้ำ�ได้ ถ้าวันหนึ่งมีแลนด์มาร์คเจ้าพระยาตามการออกแบบของภาครัฐฯจริงๆ มันจะบดบังอะไรบ้าง ด้วยความสูงของมัน มันก็จะบดบังวัด วัง สถานที่สำ�คัญต่างๆ ที่อยู่ริมน้ำ� มันจะสร้างทัศนียภาพ อันใหม่ในลักษณะของถนน ตอม่อ และจะสร้างสิ่งแปลกปลอมในเชิงทัศนียภาพให้กับวิถีชีวิตริมน้ำ� ทำ�ให้ภาพของแม่น้ำ�เปลี่ยนแปลงไป ทัศนียภาพที่เปลี่ยนไปจะกระทบต่อวิถีชีวิตผู้คนริมน้ำ�อย่างไร คือส่วนหนึ่งเราก็ต้องยอมรับว่าวิถีชีวิตมันเปลี่ยนไปแล้ว วิถีชีวิตกับน้ำ�มันลดน้อยลงไปมากๆ แต่ทีนี้ พอมันมีสิ่งก่อสร้างขึ้นมามันจะทำ�ให้เกิดรูปแบบการสัญจรมากขึ้น บ้านที่อยู่ติดริมน้ำ�จะกลายเป็น อยู่ติดถนน มันอาจมีข้อดีที่ทำ�ให้คนเข้าถึงชุมชนได้ง่ายขึ้น แต่ความเป็นส่วนตัวหรือมนต์เสน่ห์ริมน้ำ� ก็จะขาดหายไป เพราะมันเกิดสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ คือทุกอย่างจะมีสเกลขนาดมหึมาที่มีจำ�นวนคน มหาศาลเข้ามา ซึ่งมันต้องหาวิธีที่จะทำ�ให้มันสมดุลจริงๆ ว่าตรงไหนควรทำ�หรือไม่ควรทำ� ตัวอย่างง่ายๆ คือพอมีแลนด์มาร์คเข้ามามันอาจจะเกิดการรวมที่ดินแปลงเล็กๆ ริมน้ำ� จากที่ดินที่มี คนเช่าอยู่กลายเป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ เป็นคอนโดมิเนียมริมน้ำ� เพราะมันเปิดโอกาสให้เกิดการ พัฒนามากขึ้น แต่ก็จำ�เป็นต้องคุยกับหลายฝ่ายว่าการพัฒนามันไม่ได้พูดถึงแค่ทางเดินริมน้ำ� คือ มันต้องมาคุยกันใหม่ว่าการพัฒนาพื้นที่นี้ตรงไหนมันควรจะทำ�อะไรยังไง แล้วมันมีผลกระทบมาก น้อยแค่ไหน สมมติว่าเราก็คงไม่อยากให้มีคอนโดติดกับวัดวังใช่ไหม เราก็อยากจะเก็บรักษาภูมิทัศน์ วัฒนธรรมไว้

แล้วนักท่องเที่ยวอยากเห็นอะไรมากกว่ากัน จริงๆ ก็เคยคุยกับผู้ประกอบการนักท่องเที่ยวบริเวณนั้น เขาก็คิด ว่าแลนด์มาร์คมันน่าจะส่งผล กระทบให้ปริมาณนักท่องเที่ยวลดลง เพราะต่อไปนี้เขาก็จะท่อง เรือแล้วเห็นตอม่อขนาดใหญ่ นึกถึงสภาพเวลามีน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงห่าง กันประมาณสามเมตร แทนที่มันจะเห็นมุมเงย เห็นเรือได้บ้าง มัน ก็จะกลายเป็นเห็นโครงสร้าง เพราะฉะนั้นตัวโครงการจริงๆ มัน ไม่ใช่แลนด์มาร์ค เพราะแลนด์มาร์คจริงๆ คือแม่น้ำ�เจ้าพระยา วิถี ชีวิต และบ้านเรือนที่อยู่ริมน้ำ�

ย้อนกลับไปที่ต้นตอของมันก็ยิ่งหาที่มาที่ไปลำ�บาก แต่ถามว่า สามารถทำ�ได้ดีกว่านี้ได้ไหม ก็ทำ�ได้ เพราะถ้าเราไปถามภาค รัฐ เขาก็บอกว่าอันนี้เป็นแค่แบบเบื้องต้น แต่ถ้าไปเถียงกับรัฐว่า จะทำ�สวยแค่ไหน กว้างยาวเท่าไหร่ดี สุดท้ายรัฐก็สร้างอยู่ดีโดย พยายามออกแบบให้สวย

แล้วพอถึงการพัฒนายุคใหม่ ก็จะเห็นว่าการให้ประชาชนเข้ามา มีเสียง มีการตัดสินใจ ให้ความคิดเห็น มันจะทำ�ให้ดีไซน์ตรงเป้า หมายการใช้ พอมันตรงคนก็เข้ามาใช้ เพราะเขารู้สึกว่าเขามีส่วน ในการสร้าง แล้วมันก็จะเกิดการดูแลระยะยาว ซึ่งส่วนนี้เป็นสิ่ง สำ�คัญที่เปิดให้คนมีส่วนร่วม

เราสามารถออกแบบใหม่โดยสร้าง แต่ไม่บดบังหรือรุกล้ำ�พื้นที่ ริมน้ำ�ได้ไหม สิ่งที่เราพยายามจะเรียกร้องคือเราพยายามจะเปลี่ยนโจทย์มัน ถ้าเราอยากจะปรับปรุงการท่องเที่ยว แล้วมันพอจะมีวิธีอื่นไหมที่ ผู้ประกอบการจักรยานท่องเที่ยว เขาก็มองว่านักท่องเที่ยวมักปั่น สถานที่เหล่านั้น ชุมชนเหล่านั้นพัฒนาได้ดีขึ้น โดยไม่ต้องทำ�แค่ เข้าไปในชุมชนไปดูตึก ดูวิถีชีวิต ทางเดินริมน้ำ� ดังนั้นจะต้องเปลี่ยนมุมมองเหมือนเพราะรัฐบาล ดูวัด เขาก็คิดว่า การมีโครงการนี้มันไม่น่าส่งเสริมการท่องเที่ยว โยนโจทย์มาว่าเราจะทำ�ทางเดินริมน้ำ� แต่ว่าโจทย์นี้มันไม่ได้ตอบ เท่าไหร่นัก ไม่น่าจะมีนักท่องเที่ยวไปปั่นเป็นกิโลในลักษณะนี้ สิ่ง โจทย์ความจำ�เป็นหรือปัญหาของพื้นที่ ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวคือสิ่งที่อยู่ข้างใน โครงการนี้มันกลับเป็นตัว แต่เราจะทำ�ยังไงให้สังคมตั้งโจทย์ขึ้นมาใหม่ ถ้าเราอยากพัฒนา ทำ�ลายการท่องเที่ยวมากกว่าดึงดูดนักท่องเที่ยว พื้นที่ริมน้ำ� เราควรจะทำ�หรือแก้ปัญหาอะไร แล้วมีสิ่งไหนบ้าง แสดงว่ากำ�แพงเจ้าพระยาจะทำ�ให้เศรษฐกิจการท่องเที่ยวลด ที่เราต้องทำ� ซึ่งทางเดินริมน้ำ�มันอาจเป็นหลายๆ ข้อที่เราควร ลง เพราะคนจะหันไปเที่ยวที่อื่นที่ไม่ใช่กำ�แพงเจ้าพระยา ทำ� มันอาจจะเป็นทางเดินแบบนี้ด้วยนะ หรือแค่บางส่วนได้ ใช่ ถ้ามันยังพัฒนาในทิศทางนี้ ผมคิดว่ามันไม่ส่งเสริมการท่อง ไหม เพราะเขาต้องพัฒนาโครงข่ายสัญจรแบบใหม่ แล้วสิ่งสำ�คัญ เที่ยว ยกตัวอย่างเช่น ตัวทางเดิน มันไม่ได้มาสรุปแค่รูปแบบว่ามันควรจะมีรูปแบบไหน แต่คิดว่า ริมน้ำ�กะดีจีนหรือหน้าสวนสันติชัยปราการ เขาก็มีทางเดินขนาด เราต้องย้อนกลับไปมองโจทย์เพื่อชวนสังคมคิดว่าสร้างพื้นที่ริม เล็กอยู่ประมาณสองถึงสามเมตรอยู่เหมือนกัน แต่ถ้าดูจาก น้ำ�ให้เหมาะสมกับเมืองในยุคใหม่และแก้ปัญหากับสังคมสภาพ ปริมาณนักท่องเที่ยวที่ใช้มันก็น้อย ส่วนใหญ่มันก็ถูกทิ้งร้างไม่มี แวดล้อมที่มีอยู่ยังไงได้บ้าง ซึ่งมันน่าจะเริ่มจากตรงนี้ การดูแลรักษา ยิ่งกว่านั้นคือความหลากหลายของกิจการต่างๆ การเปลีย่ นแปลงครั้งนี้ เราควรจะเป็นคนที่เลือกการเปลี่ยนแปลง จากที่เคยมีก็ทำ�ให้มันเท่ากันหมด ซึ่งเป็นการ มากกว่าจะให้รัฐมาบอกว่าอันนี้คือดีที่สุด แล้วสิ่งที่สะท้อนออก ลดทอนตรงส่วนนี้มากกว่า มามันก็ไม่ได้บอกว่านี้คือดีที่สุด คือพลเมืองต้องมีความรู้และมี แต่อาจมีผลกระทบในเชิงบวกอยู่บ้าง เช่นทำ�ให้คนมีทางเลือกใน พลังในการเลือก ชาวบ้านต้องรู้ว่ามันเปลี่ยนแล้วมีผลกระทบยัง การเข้าถึงวัดได้สะดวกขึ้น แต่ก็ต้องมาชั่งน้ำ�หนักว่าสิ่งที่ได้กับสิ่ง ไง แล้วการที่เราไปบอกชาวบ้าน เขาก็เลือกที่จะชั่งน้ำ�หนัก ให้เขา ที่เสีย อะไรคุ้มค่ากว่ากัน เลือกว่าอยากจะเปลี่ยนแปลงอะไร

คิดว่ามีคนจำ�นวนมากน้อยเท่าไหร่ที่รู้ว่าตนมีสิทธิในการร่วม ตัดสินใจ (นิ่งคิด) ใช่ เพราะคนไม่ค่อยรู้กัน ถือว่าเป็นคำ�ถามที่ดี ตอนนี้ ก็อาจจะรู้มากขึ้นว่ามีสิทธิ์ ถ้าได้ดูในเว็บ change ก็จะรู้ว่าเขา มีสิทธิ์ที่จะคัดค้าน แต่เราคิดว่าคนไม่ค่อยรู้ว่าแท้จริงแล้วเป็น อย่างไร

แล้วเรื่องกระแสน้ำ�กัดเซาะสิ่งปลูกสร้างล่ะ เคยมีนักวิชาการมาเล่าให้ฟังว่าพอมีตอม่อขนาดใหญ่ในลำ�น้ำ�สอง ข้าง จะทำ�ให้การไหลของน้ำ� ช่วงใต้ท่อมีความหนืด น้ำ�ที่เหลือจะมีการบีบลำ�ท่อให้แคบลง น้ำ� ก็ไหลเร็วขึ้น เชี่ยวขึ้น ความไหลเชี่ยวจะไปกัดเซาะ เพราะว่าลุ่ม น้ำ�เป็นลุ่มน้ำ�โค้งเว้าเป็นธรรมชาติ ฉะนั้นการกัดเซาะจะมีโอกาส รุนแรงมากขึ้น เราเลยต้องมาสร้างเขื่อนกันเพื่อบำ�รุงรักษาเขื่อนที่ โดนกัดเซาะไป อีกผลกระทบหนึ่งคือความเชี่ยวกราดที่มากขึ้นจะ ส่งผลกระทบต่อความกังวลของคนเดินเรือโลจิสติกส์ ในการกลับ เรือที่ลำ�น้ำ�แคบลง มันส่งจะมีผลต่อความแคบของน้ำ� ที่น่าเป็น ห่วงคือช่วงน้ำ�ท่วม เพราะตอนนี้เหมือนเราพยายามไปลดหน้าตัด ของน้ำ� ถ้าไม่นับปัจจัยอื่นๆ แค่เรื่องทัศนียภาพเป็นอย่างไร ความจริงแล้วที่ออกมาคัดค้านก็ยังไม่ได้ศึกษาละเอียดมากนะ แต่ ครั้งแรกที่เห็นคือรู้สึกว่ามัน น่าเกลียด ในแง่ของทัศนียภาพคือไม่จำ�เป็นต้องเป็นนักวิชาการ หรือใครก็ตามมาบอก ผมมองสิ่งที่รัฐบาลเสนอมาแล้วมันยังไม่ สวย อย่างในต่างประเทศ การสร้างทางเดินริมน้ำ� ถ้าจำ�เป็นต้อง ทำ�ขึ้นมา เขาทำ�ได้สวยและทำ�ได้ดีกว่านี้ อย่างของเราที่ทำ�ออก มาคือทางด่วนดีๆ นี่เอง ถ้านับแค่เรื่อง ภาพลักษณ์ภายนอกอย่างเดียวก็แย่แล้วและยิ่งลองมองลงไปใน รายละเอียด ตัวทางเดินมันยื่นมาเท่าไหร่ ส่งผลกระทบทางน้ำ� ไหม เทียบระดับความสูงกับบ้านเรือนชุมชนยิ่งไปกันใหญ่ มีแต่ เช็คลิสต์ที่บอกว่าไม่ได้มีข้อดีที่จะสร้างขึ้นมา

ดีกว่าไหมถ้าทุกคนมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลง ในกระบวนการมีส่วนรวม ถ้าทุกคนโอเคว่าเราจะมีทางเดินริมน้ำ� นะ แต่อาจจะมีแค่บางจุด อย่างเคสกะดีจีน เขาอาจเลือกทำ�เป็น ทางเดินก็ได้นะ เพราะนักท่องเที่ยวมาเยอะ ก็ทำ�ทางเดินสองถึง สามเมตรไม่ได้ใหญ่อะไร แล้วก็มีการเปลี่ยนการลดระดับหรือ แยกจากบ้านเรือนทางเดินในชุมชน หรือถ้าอยากทำ�จริงๆ ที่ดิน ของราชการก็มีอยู่เยอะ รัฐสภา กรมชล โรงพยาบาล แบงค์ชาติ มันก็อาจจะมีบางส่วนที่เข้าใช้บริเวณนี้โดยที่ไม่ล้ำ�เข้าไปในแม่น้ำ� แล้วบางส่วนก็อาจจะวกเข้าไปในชุมชน เพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ถ้าเราเริ่มที่โจทย์ว่าเราต้องไม่จำ�กัดแค่ทางเดินริมน้ำ� แล้วมันก็จะ ออกมามีความหลากหลายขึ้นอยู่กับข้อจำ�กัดและความต้องการ ของแต่ละพื้นที่ ซึ่งมันก็สะท้อนให้เห็นว่าอย่างกะดีจีน มันก็มี ความหลากหลาย เราต้องปล่อยให้ตัวกระบวนการเป็นตัวกำ�หนด คื อ ตอนนี้ เ หมื อ นเรามี คำ � ตอบแล้ ว ในใจว่ า จะทำ � ทางเดิ น เท่ า นี้ กว้างเท่านี้ แต่ถ้าเราใช้คำ�ถามปลายเปิดมันก็จะมีคำ�ตอบที่หลาก หลาย แต่สุดท้ายแล้ว นักวิชาการหรือนักออกแบบทั้งหลายที่จะ มาดูกันว่าจะเชื่อมโยงยังไงให้มันได้ภาพแผนแม่บทที่พื้นที่นั้นควร จะเป็น แสดงว่าคนทุกคนก็ต้องมีส่วนร่วมกับโครงการนี้ ใช่ ผมคิดว่าสัญญาที่รัฐทำ�ออกมา มันเป็นการสร้างพื้นที่สาธารณะ รัฐอาจจะคุ้นชินกับการสร้างพื้นที่สาธารณะในยุคก่อนๆ แต่การ พัฒนาพื้นที่สาธารณะในลักษณะนั้นมันก็เห็นปัญหาแล้วว่ามัน ถูกทิ้งร้าง ใช้ไม่เต็มสัญญาภาพ ประชาชนไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม

ทางด้านกฎหมาย การทำ�พื้นที่สาธารณะหรือแม้กระทั่งในทีโอ อาร์ มีประกาศในกฎหมายอย่างชัดเจนว่าจะต้องมีการทำ�ประชา พิจารณ์อย่างน้อยสองครั้ง ในพื้นที่จะทราบดีว่ามีการสอบถาม ความคิดเห็นอย่างไร แต่ถ้ารัฐบาลไม่จริงใจมากพอ กระบวนการ เหล่านั้นจะเป็นแค่การทำ�พิธีกรรมเพื่อให้มันผ่านกฎหมายว่าได้ ทำ�ประชาพิจารณ์แล้ว รัฐบาลมีวิธีในการล่ารายชื่ออยู่ โดยการนำ� คนที่เห็นชอบมาอยู่ในที่ประชุม ทำ�ให้ไม่ได้ข้อมูลจริงๆ จังๆ ถ้า เราสามารถเรียกร้องให้เกิดการตั้งโจทย์ใหม่ให้ประชาชนเข้าไป อยู่ในกระบวนการนี้ได้อย่างแท้จริง ก็จะเป็นการเริ่มต้นที่ดี อย่าง น้อยก็แค่อยากบอกว่าสิ่งเหล่านี้มีอยู่ในกฎหมายอยู่แล้ว เพียงแต่ ว่าผู้ที่นำ�ไปปฏิบัติจะต้องหาความจริงใจให้เจอ ขณะเดียวกันเราก็ต้องยอมรับด้วยว่า ในสังคมที่เป็น ประชาธิปไตย ถ้าทุกคนยอมแลกที่จะทำ�ลายแม่น้ำ�เพื่อให้ได้ทาง จักรยาน 14 กิโล ก็อาจต้องยอมให้มันเป็นไป เพราะนั่นคือสิ่งที่ เราเลือก จุดยืนที่มตี ่อโครงการนี้เป็นอย่างไร ก็ต้องไม่สร้างทางเดินริมน้ำ�ตามแบบของรัฐบาล ถ้าถามว่าแล้ว จะปล่อยสภาพในปัจจุบันเป็นอยู่แบบนี้ได้ไหม ในฐานะพลเมือง มันก็คงตอบว่าไม่ได้ เรายอมให้เกิดการทำ�ลายแม่น้ำ�มามากแล้ว สมมติถ้าล่าสุดคือการสร้างเขื่อนกั้นน้ำ� เราต้องยอมเพราะกลัว บ้านตัวเองจะน้ำ�ท่วม แต่ตอนนี้ถ้าไปที่พื้นที่จะพบว่าเขื่อนทำ�ลาย แม่น้ำ�ไปเยอะ ทำ�ลายระบบนิเวศ ทำ�ลายการเชื่อมต่อ ทำ�ให้ ชุมชนเสื่อมโทรม แต่การจะทำ�ทางเดินแบบถนนคร่อมแม่น้ำ�ไปก็ ไม่ได้ เลยเป็นสิ่งสำ�คัญที่ผมพยายามให้สังคมเกิดการตั้งโจทย์ร่วม กัน คือ เมื่อเรามาถึงจุดที่ยืนอยู่บนทางแยก คุณอยากจะทำ�อะไร กับพื้นที่ริมน้ำ� มาช่วยกันคิดดีไหม ใช้โอกาสกับเงินหมื่นสี่พันล้าน ให้ทำ�ได้มากกว่าแค่พูดเรื่องทางเดินริมน้ำ� ซึ่งน่าจะเป็นจุดเปลี่ยน ครั้งสำ�คัญจริงๆ อย่างในเพจ Friends of the River ก็จะมีทั้งคนเห็นด้วยและ ไม่เห็นด้วย คนอยากขี่จักรยานบอกว่าดี แต่เขาไม่ได้อยู่ริม น้ำ� ส่วนคนที่บ้านอยูริมน้ำ�บอกไม่อยากให้คนมาทำ�แบบนี้เลย เกิดกระบวนการชั่งน้ำ�หนักที่ต้องบอกว่าคุณจะยอมแลกอะไร เพื่ออะไร เพราะถ้าได้มีเรื่องการคุยทั้งสองฝ่ายเพื่อให้บ้านเมือง มันตอบโจทย์ประชาชน อย่างนี้ถึงจะเรียกว่าการสร้างสังคม กรุงเทพฯขึ้นมาจริงๆ แต่สุดท้ายแล้วคำ�ตอบจะเป็นอย่างไร ผมว่า มันไม่ได้เป็นสิ่งที่น่ากังวลถ้าเกิดกระบวนการที่ถูกต้อง


18

ลูกศิลป์ SPECIAL

14 KM

19

สิ่งที่รัฐบาลควรทบทวน

ทางในฝันของ

รัฐ

เขามองว่า อันที่จริง รัฐบาลมีตัวอย่างที่ดีอยู่แล้ว แต่ไม่รู้ด้วยเหตุผลประการใดทำ�ให้รัฐบาลไม่คิด ไตร่ตรอง และขาดซึ่งความละเอียดถี่ถ้วน เพราะงานดังกล่าวมีลักษณะที่คล้ายกันมาก และนั่นก็ คือโครงการริมน้ำ�ยานนาวา ที่มีการจัดเตรียมแผนการมาก่อนหน้าโครงการแลนด์มาร์กหลายปี จน สุดท้ายก็มาชนเข้ากับโครงการของรัฐบาลทำ�ให้โครงการริมน้ำ�ยานนาวาต้องชะงักไป

ประชาชน

กล่าวถึงโครงการริมน้ำ�ยานนาวาที่มีจุดประสงค์เหมือนกับโครงการแลนด์มาร์ก คือเป็นพื้นที่พัก ผ่อนหย่อนใจสำ�หรับคนกรุงในละแวกนั้น ทุกคนสามารถเดินเล่นและปั่นจักรยานริมน้ำ�ได้ โดย ตัวโครงการมีระยะทางตั้งแต่เชิงสะพานตากสินไปจนถึงโรงแรมชาเทรียม มีระยะทางร่วม 1.2 กิโลเมตร ด้วยความที่เป็นย่านกลางกรุง มีสถานีรถไฟฟ้าและท่าเรือโดยสาร ทำ�ให้ผู้คนสามารถเข้า ถึงบริการต่างๆ ได้ง่าย แต่จุดแข็งที่ทำ�ให้โครงการริมน้ำ�ยานนาวาดูมีเหตุมีผลไม่เกิดกรณีคัดค้านหรือต่อต้านใดๆ ก็เพราะ การทำ�ประชาพิจารณ์ระหว่างตัวโครงการเองกับเจ้าของที่ดินบริเวณนั้น ไม่ว่าจะเป็นเอกชน โรงเรียน วัด ได้จัดตั้งการประชุมหารือร่วมกันเพื่อปรึกษาหาทางออก ไม่มีการเวนคืนพื้นที่ มีแต่การ ปรับพื้นที่ในแต่ละบริเวณให้เหมาะสม ซึ่งนั่นทำ�ให้ทุกฝ่ายเห็นพ้องต้องกันและต่างก็ได้ในสิ่งที่ตัวเอง พึงพอใจ นอกจากนั้นตัวโครงการเองยังมีการจัดนิทรรศการ ‘Bangkok Dockland’ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบ ถึงรายละเอียดโครงการ ว่าถ้าเกิดมีพื้นที่ตรงนี้ขึ้นมาจริงๆ พื้นที่ที่ทำ�ให้ทุกคนได้ออกมาสังสรรค์หลัง เลิกงาน ได้ออกมาพักผ่อนหย่อนใจและออกกำ�ลังกาย มันจะเป็นอย่างไร ซึ่งพอเอามาเปรียบกับโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยาของรัฐบาล ที่ขาดซึ่งความเห็นของ ประชาชนหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบ ขาดซึ่งการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนแล้ว ยังขาดเรื่องการให้ ข้อมูล การประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชนได้ทราบและเข้าใจในสิ่งที่ตัวเองกำ�ลังเผชิญและสิ่งที่ กำ�ลังจะเกิดขึ้น

เพราะขัดจึงค้าน

หลังจากตัวโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยาได้ออกสู่สายตาประชาชน ก็ก่อให้เกิดกลุ่ม นักวิชาการ และกลุ่มชาวบ้านที่ต่างก็ไม่เห็นด้วยกับโครงการนี้และเริ่มคัดค้านขึ้น โดยกลุ่มหลักๆ ที่ เห็นได้ชัดตามหน้าสื่อเลยก็เห็นจะเป็นกลุ่ม ‘Friend of the River’ ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผล กำ�ไรใดๆ โดยล่าสุดสภาสถาปนิกและสมาคมวิชาชีพ 4 สมาคม ได้ออกมาแถลงข่าวขอให้มีการแก้ไข TOR ของการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา เพราะเล็งเห็นว่า TOR เดิมนั้น มีการมุ่งเน้นไปที่การสร้างถนน เลียบแม่น้ำ�เกินกว่าจะเป็นการสร้างพื้นที่สาธารณะ ทั้งขาดกระบวนการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน อย่างมีนัยยะสำ�คัญ ขอบเขตงานควรครอบคลุมมากกว่าศึกษาเพียงแค่ทางเลียบริมน้ำ� ทั้ง TOR เดิม ยังเน้นบุคลากรด้านวิศวกรรมมากกว่าบุคลากรด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อม ด้าน นายยศพล บุญสม ผู้ร่วมก่อตั้ง ‘Friend of the River’ มีความเห็นว่า โครงการนี้เป็นการ ทำ�ลายแม่น้ำ�มากกว่าการสร้างแลนด์มาร์ก นอกจากจะสูญเสียความกว้างของลำ�น้ำ�เจ้าพระยาแล้ว ยังบดบังทัศนียภาพของสถาปัตยกรรมริมน้ำ�เดิมอีกด้วย ทั้งนักวิชาการอีกหลายคนต่างก็เห็นพ้องตรงกันว่าโครงการนี้ไม่ควรเกิดขึ้น อย่างที่ รศ.ศรีภัทร วัล ลิโภดม นักวิชาการประวัติศาสตร์ เห็นว่า โครงการนี้จะเป็นการทำ�ลายความเป็นแม่น้ำ�เจ้าพระยาให้ หมดไป และยังละเมิดวิถีชีวิตชุมชนที่มีมานาน ทั้งบดบังทัศนียภาพอันสวยงามอีกด้วย ความเห็นที่หลากหลายเละส่วนใหญ่จะเป็นความเห็นที่ต่างคนก็มองเห็นในจุดเดียวกันแล้ว งบประมาณการก่อสร้างโครงการนี้ที่มากถึง 14,000 ล้านบาท ก็ดูจะมากเกินไปสำ�หรับโครงการ สร้างทางเลียบแม่น้ำ�เจ้าพระยา

เป็นดังรัฐคาดหรือไม่

สิ่งหนึ่งที่ประชาชนวิตกกังวลนอกจากการวางแผนงานของรัฐที่ไม่เหมาะสมแล้ว ประชาชนยังเกิด คำ�ถามขึ้นมาต่อว่า แล้วความยาวตลอดสองฝั่งรวม 14 กิโลเมตรนั้น จะถูกใช้งานเต็มประสิทธิภาพ หรือไม่ ไม่มีใครมายืนยันได้ว่าพื้นที่ 2 ฟากริมน้ำ�นั้นจะไม่ถูกเปลี่ยนไปเป็นสิ่งอื่นในอนาคต สิ่งที่หลายคนกังวลนั้น คือเมื่อโครงการนี้เสร็จสมบูรณ์แล้ว สถานที่แห่งใหม่นี้อาจจะกลายเป็นอะไร ไปบ้าง ตลาดนัดกลางคืน แหล่งท่องเที่ยวที่ใหม่ของกรุงเทพฯ ที่จะเต็มไปด้วยร้านค้าแผงลอย ร้าน รวงมากมายที่ตั้งเรียงรายแน่นขนัดไปตลอดทั้งเส้น ถึงตรงนี้ ได้อย่างไรว่าจะไม่มีบริเวณใดบริเวณหนึ่งกลายเป็นแหล่งมั่วสุมขึ้นมา ปลอดภัยจะมีวิธีดูแล จัดการอย่างไร

รวมทั้งความ

ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเพียงสถานการณ์ที่ประชาชนพากันคิดและก็กังวล เพราะถ้ามันเกิดขึ้น มาจริงๆ แน่นอนว่าไม่ใช่เรื่องดีแน่ๆ เพราะตราบใดที่รัฐบาลยังคงยึดมั่นในการพัฒนาพื้นที่ริมฝั่ง แม่น้ำ�เจ้าพระยา โดยไม่สนใจการมีส่วนร่วมของประชาชน เมื่อนั้นปัญหาต่างๆ ย่อมตกทอดตามมา เช่นเดียวกับงบประมาณการสร้างที่เหมือนเป็นการสูญเงินเพื่อแก้ปัญหาหลังเงา

สิ่งที่รัฐบาลควรทำ�ไม่ใช่การตะบี้ตะบันทำ�งาน สร้างผลงานให้เกิดขึ้นโดยไม่ถามผู้คนสักคำ� ไม่ถามถึง สิ่งที่พวกเขาต้องการ ไม่ถามว่าพวกเขาพอใจและเห็นด้วยหรือไม่ บางทีรัฐบาลอาจลืมคิดไปว่าพวก เขามาดำ�รงตำ�แหน่งก็เพราะเพื่อประเทศชาติ เพื่อความสุขของประชาชน ไม่ใช่ความสุขของใครคน ใดคนหนึ่ง



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.