ผมไม่ ไ ด้ โ ง่ ! ! แต่เป็นผลจากความเลื่อมล�้ำ
ทางการศึกษาที่ไม่ได้มาตรฐาน!
1
The whole purpose of education is to turn mirrors into windows. เป้ าหมายทัง้ หมดของการศึกษาคือการเปลี่ยนกระจกเงาให้เป็ นหน้ าต่าง Sydney J. Harris
2
สารบัญคอร์สเรียน 02
เรียนพิเศษ ‘จ�ำเป็น หรือ จ�ำยอม’ 08
ก�ำเนิดโรงเรียนกวดวิชา 20
เด็กไทยยุค 4.0 30
ใครคือผู้ล่า 40
ติวเตอร์ผู้ ‘เติมเต็ม’ 51
สร้างห้องเรียนเพื่อ ‘เรา’ ทุกคน
เรียนพิเศษ
‘จ�ำเป็น
หรือ
จ�ำยอม’
‘เรียนพิเศษ: จ�ำเป็น หรือจ�ำยอม’ เป็ น ที่เ ห็น ได้ท วั ่ ไปแล้ว ว่ า โรงเรีย นแบบที่เ รามีก ัน อยู่ทุ ก วัน นี้ ไม่สามารถสร้างโอกาสให้น้อง ๆ ของเราได้เรียนรูส้ งิ่ จ�ำเป็ นส�ำหรับอนาคต ของพวกเขาได้ นัน่ คือเหตุผลที่ว่าท�ำไมเด็กตัวน้ อยที่สะพายกระเป๋ าอัน หนักอึง้ นัน้ มุง่ หน้าไปยังทิศทางเดียวกันในยามโรงเรียนเลิก
พวกเขาไม่ได้จะกลับบ้าน
พวกเขาไม่ได้ไปเทีย่ วเตร่
เพราะเมือ่ ‘เด็ก’ จะโตเป็ นหัวใจส�ำคัญของการพัฒนาประเทศ แต่ ไม่ใช่ทกุ คนทีจ่ ะโอกาสเข้าถึง การศึกษาทีเ่ ท่าเทียมอย่างมีคณ ุ ภาพ จึงเกิด ทางเลือกใหม่ ๆ ‘กวดวิชา’ คือหนึ่งในนัน้
5
เราต้องหยุดเรื่องนี้! และท�ำให้การเรียนนั่นมี คุณภาพทันที! ฟิ นแลนด์ทำ� ได้ เขาเข้าใจปั ญหานี้ และแทนทีจ่ ะเพิม่ เวลาการเรียน การสอน ทดสอบบ่อยขึน้ รวมทัง้ ยืนกรานว่าทุกคนต้องขยันท�ำการบ้านให้ มากกว่าเดิม (เอ้า ก็เด็ก ๆ จะได้ไม่ตอ้ งไปเรียนพิเศษ) ฟิ นแลนด์กลับเลือก ท�ำตรงกันข้าม ช่วงปี 2533 กระทรวงเริม่ การเปลีย่ นครัง้ ใหญ่อย่างเป็ นระบบ สร้างความร่วมมือระหว่างครูและผูเ้ รียน สร้างโอกาสทีเ่ ท่าเทียม และส�ำคัญทีส่ ดุ คือ ‘การเปลีย่ นเป้ าหมายทางการศึกษา’ กลับมาทีป่ ั จจุบนั นี้ ดูเหมือนว่าทีป่ ระเทศไทยก็ก�ำลังพบเจอปั ญหา แบบเดีย วกัน แต่ ใ ช่ว่า เหล่า ผู้ใ หญ่ ใ นกระทรวงจะมึน ตึง ไม่เ ห็น ปั ญ หานี้ ต้นปี 2560 พวกเขาผลักดันทีจ่ ะให้เก็บภาษีนิตบิ ุคคลกับโรงเรียนกวดวิชา หวังจะคุมก�ำเนิดและลดจ�ำนวนดอกเห็ดเหล่านี้
เหมือนจะไม่ได้ผล ถ้าอย่างนัน้ ปั ญหาอยูท่ อ่ี ะไรกัน
ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์อ รรถพล อนั น ตวรกุล คณะครุ ศ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชีว้ า่ โรงเรียนกวดวิชา เกิดขึน้ เพราะ เป้ าหมายทีผ่ ดิ ๆ ของระบบการศึกษา และค่านิยมสังคมไทย ทีท่ ำ� ให้ การศึกษา เป็ น การสอบ แข่งขัน เอาคะแนนเพือ่ เลือ่ นขัน้ ไปสูก่ ารศึกษาในระดับทีส่ งู กว่า จากอนุบาล สูช่ นั ้ ประถม จากประถมขึน้ มัธยม จากมัธยมเข้าสูม่ หาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัย และระบบวัดผล ในระดับมัธยมศึกษา เปลี่ยนแปลงเป็ นระบบใหม่ ที่เอาผลคะแนนการสอบใน ระดับมัธยมกันทุก ๆ ปี ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยนี้ ท�ำให้ พ่อแม่ ทีม่ กี ำ� ลัง พอ จ�ำเป็ นต้อง “ขุน” ลูกของตัวเองตัง้ แต่เนิ่น ๆ ด้วยการส่งไปเรียนพิเศษ ทุกปี เพือ่ ให้มคี ะแนนสอบดี ๆ ทุกปี
6
ผู้มองเห็นไฟที่ก�ำลังไหม้ฟางก้อนนี้ ระหว่างปี 2428 จอห์น เอลดอน กอร์สต์ รองประธานคณะกรรมการ การศึกษาลอนดอน มองเห็นความจ�ำเป็ นทีต่ อ้ งเปลีย่ นแปลงระบบการศึกษา นี้และย�ำ้ เตือนว่า ถึงแม้การกวดวิชาจะไม่ใช่วธิ เี รียนทีไ่ ด้รบั ค�ำแนะน�ำแต่เราก็ พบเห็นได้มากขึน้ เรือ่ ย ๆ
“ถ้าเด็ก ๆ กวดวิชาไปพร้อมกับการเรียนอย่างสม�่ำเสมอก็จะส่งผลที่ ไม่ดไี ม่แย่” แต่เพราะเมือ่ เด็กได้รบั แรงกดดันให้เรียนดีในระดับมัธยมศึกษา รวม ถึงแรงกดดันด้านต่าง ๆ เช่น จากเพือ่ น หรือพ่อแม่ ด้วยนัน้ ส่งผลให้การกวดวิชา เป็ นทีแ่ พร่หลายมากขึน้ พ่อแม่สนับสนุนให้เด็ก ๆ ในการปกครองเข้าเรียนพิเศษ และบางครัง้ ก็รบั รูไ้ ด้ว่าพวกเขาบังคับให้มาเรียน รองประธานคณะกรรมการการศึกษา ลอนดอน ต�ำหนิวา่ การกวดวิชานี้ทำ� ให้เด็ก ๆ ท้อถอยต่อการศึกษาอิสระ และไม่สามารถตอบสนองความต้องการของนักเรียนทุกคนได้จริง นี้เป็ น จุดเริม่ ต้นของแนวคิดเพือ่ การศึกษาแบบใหม่ทเ่ี น้นผูเ้ รียน และลดการประเมิน ผลลง สุนทรพจน์น้ีเป็ นทีพ่ ดู ถึงในวงการศึกษายุโรปตลอดยุคนัน้
7
ปลายทางนัน้ คือ ‘สถาบันกวดวิชา’ สถานทีฝ่ ึกเตรียมก�ำลังพลแบบ หน่วยรบ (เรียน) พิเศษ ก่อนเข้าสูส่ มรภูมทิ เ่ี รียกว่า ‘แอดมิชชัน’่ ระบบคัดเลือก เข้ามหาวิทยาลัยครัง้ ส�ำคัญทีจ่ ะชีช้ ะตาของเด็กเหล่านี้ ในแวดวงศึกษาศาสตร์ บอกว่า การกวดวิชา หรือเรียนพิเศษ เป็ น การพยายามจดจ�ำข้อมูลปริมาณมากในเวลาน้อยอย่างอุกอาจ นักเรียนมักใช้ วิธนี ้ีเพือ่ ให้ได้ผลสอบทีด่ ขี น้ึ ในเวลาสัน้ ๆ แต่ในระยะยาวแล้ว นักศึกษาศาสตร์ไม่แนะน�ำวิธดี งั กล่าวเพราะว่า พยายามจ�ำจดเนื้อหาในเวลาสัน้ ๆ จะท�ำให้ลมื เนื้อหาเร็วขึน้ และไม่กอ่ ให้เกิด ความเข้าใจในระยะยาว ช้าไปเสียแล้ว! ดูเหมือนว่าการกวดวิชาได้หลอมรวมเป็ นส่วนส�ำคัญ ของสังคมไทยไปจนเป็ นเรือ่ งปกติ บนถนนในเมืองใหญ่ มีโรงเรียนกวดวิชาเป็ นจ�ำนวนมาก ข้อมูลจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ บอกเราว่า มีนกั เรียนกว่า 5 แสนคน เลือกเรียนพิเศษในสถาบัน กวดวิชาทีม่ กี ว่า 3,000 แห่ง และเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ อย่างก้าวกระโดด ค้นประวัตศิ าสตร์เสียหน่ อยจะพบว่าเรียนพิเศษอยู่กบั เรามาตัง้ แต่ พ่ อ แม่ เ รายัง ไม่ เ กิด ด้ว ยซ�้ ำ ในยุ โ รปมัน อยู่คู่ก ับ ระบบการศึก ษาที่แ น่ น การแข่งขันเพื่อจัดอันดับกันเข้ามหาวิทยาลัยดี ๆ อย่างอ๊อกซ์ฟอร์ด หรือ เคมบริดจ์
8
อ่านงานเขียนชิ้นนี้
‘เรียนพิเศษ: จ�ำเป็ น หรือจ�ำยอม’
เพือ่ ตอบโจทย์ งานเขียนนี้จะรวบรวมทัศนะ มุมมอง และข้อเท็จจริง อันหลายหลายจาก นักวิชาการ นักเรียน ผูป้ กครอง ติวเตอร์ และตามหาผูท้ ่ี อาจแก้ปมปั ญหานี้ได้ นี่อาจเป็ นปั ญหาของหลาย ๆ ส่วน เมือ่ ระบบการศึกษาสร้างขึน้ ให้ ความรูก้ ลายเป็ นกรอบจ�ำกัดความคิดและจินตนาการ ร่วมมอง ส่องไฟฉาย น�ำทางไปด้วยกัน กับ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อรรถพล อนันตวรกุล เพือ่ ท�ำความ เข้าใจระบบการศึกษาแบบไทย ๆ ทีท่ ำ� ให้เราให้ความส�ำคัญกับผลการเรียนที่ ออกมาเป็ นตัวเลข ซึง่ น้องมิล หรือ ณัฐธยาน์ จูฑามาตย์ ต้องลงทุนมหาศาล เพือ่ ให้ไปถึงเป้ าหมายทีว่ างไว้ ก่ อ นแวะดู ใ บเบิ ก ทางสู่ อ นาคตในค่ า นิ ย มปั จ จุ บ ัน กับ ครู อ้ อ ณัฐรี รัศมีจนั ทร์ และความสามารถในการดึงดูดและมัดใจเด็ก ๆ พีต่ น้ สุวจั ชัย ลีจอ้ ย เจ้าของสถาบันกวดวิชาอัสเซนเต้ ทีม่ คี วามเชือ่ ว่ากวดวิชาเป็ นเสมือน ส่วนเติมเต็มให้กบั นักเรียน ก่อนจบการเดินทางด้วยการวาดฝั นถึงห้องเรียน ส�ำหรับทุกคน ที่ Saturday School ของ สรวิศ ไพบูลย์รตั นากร หรือ ครูยรี าฟ เมือ่ อ่านจบแล้ว ลองตัง้ ค�ำถามถึงระบบการศึกษาไทยในขณะนี้ ว่า เราเดินทางถูกทางแล้วหรือยัง
9
คอร์สเรียนที่ 1
ก�ำเนิดโรงเรียนกวดวิชา
โดย พี่ต้อง กัลยกร ทองเต็ม
11
12
13
14
ก�ำเนิดโรงเรียนกวดวิชา เป็ นเรือ่ งทีเ่ ห็นกันจนชินตาหากได้ไปเยือนย่านสยาม พญาไทหรือ อนุสาวรีย์ แล้วพบกับกลุม่ เด็กวัยรุน่ ทีน่ งสุ ั ่ มหัวอย่างขะมักเขม้นตามร้านกาแฟ บนโต๊ะเต็มไปด้วยกองหนังสือทีเปิ ดกางไว้พร้อมกับอาวุธคูใ่ จวางเกลือ่ นโต๊ะ นันคื ่ อปากกา และไฮไลท์หลากสี แม้วา่ ในเวลานัน้ จะเป็ นเวลาพักผ่อนของ ใครหลาย ๆ คนก็ตาม เราเห็นเด็ก ๆ มาเรียนกวดวิชาเป็ นเรือ่ งปกติจนเราไม่เคยตัง้ ค�ำถาม เลยว่า ‘เหตุใดวัยรุน่ จึงต้องเรียนกวดวิชา’ พวกเขารักในการเรียนขนาดนัน้ เลยหรือ? ความสงสัยนี้จะน�ำเราไปสูก่ ารค้นหาค�ำตอบของการเรียนกวดวิชา
15
นี่คือความล้มเหลวทางการศึกษา ในมุมมองของนักวิชาการอย่าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถพล อนันตวรกุล คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า “การเรียน กวดวิชาล้วนเป็ นภาพสะท้อนของความล้มเหลวทางการศึกษา” สาเหตุของความล้มเหลวนี้มาจากภาครัฐรวมอ�ำนาจการตัดสินไว้ อยูท่ ศ่ี นู ย์กลางหมด ซึง่ เป็ นเรือ่ งทีต่ อ้ งแก้ไข เพราะโรงเรียนแต่ละโรงเรียนมี ปั ญหาทีแ่ ตกต่างกัน “ทุกอย่างกระจุกอยูท่ ศ่ี นู ย์กลางหมด มันไม่ตอบโจทย์ความต้องการ จริงของคนทีใ่ ช้โรงเรียน ถ้าทุกอย่างยังถูกคิดจากส่วนกลาง มันเหมือนกับตัด เสือ้ ไซส์เดียวกัน แต่ใส่ทงั ้ ประเทศ” ว่าด้วยเรือ่ งการแก้ปัญหาการศึกษาในภาครัฐแล้ว ตลอดหลายปี ท่ี ผ่านมานี้ หากเราได้ตดิ ตามข่าวสารด้านการศึกษากันบ้าง จะพบว่ารัฐมนตรี กระทรวงศึกษาเข้า ๆ ออก ๆ กันเป็ นว่าเล่น ส่งผลต่อนโยบายทีว่ างไว้ใช้แก้ ปั ญหามีความไม่ตอ่ เนื่องกัน ปั ญหาทางการศึกษาจึงยังคงยืดเยือ้ ไม่ถกู แก้ไข แบบจริงจังนันเอง ่ “บุคลากรทางการศึกษามีน้อยมาก หลายปีมานี้เปลียนรั ่ ฐมนตรีมา 20 ครัง้ แล้วหลายคนก็ไม่ได้จบครุศาสตร์มา แต่เขาต้องมาบริหารเชิงโครงสร้าง พอไม่มคี วามเข้าใจปั ญหาการศึกษาเลย มันก็ต้องใช้เวลาในการท�ำความ เข้าใจก่อน”
16
เมือ่ ผูใ้ หญ่ทางการศึกษาต้องการเวลาอีกมากในการท�ำความเข้าใจ ถึงปั ญหาเชิงระบบ แต่การตัดสินใจแก้ปัญหาดันมาจากศูนย์กลาง บาง โรงเรียนจึงสามารถแก้ปัญหาด้านการศึกษาได้ ในขณะทีย่ งั มีโรงเรียนอีก จ�ำนวนมากทีย่ งั แก้ปัญหาไม่ได้ ท�ำให้มาตรฐานของแต่ละโรงเรียนไม่เท่า กัน รัฐไม่สามารถท�ำให้พอ่ แม่เด็กไว้ใจได้วา่ ทุกโรงเรียนมีคณ ุ ภาพเหมือนกัน และแต่ละโรงเรียนเองก็ไม่สามารถการันตีได้ว่า โรงเรียนของตัวเองจะจัด การศึกษาทีด่ ที ส่ี ดุ ทีเ่ หมาะสมกับผูเ้ รียนได้ คุณภาพโรงเรียนทีไ่ ม่เท่ากันแบบนี้ โรงเรียนกวดวิชาจึงได้ถอื ก�ำเนิด ขึน้ มา เพือ่ ช่วยเด็กทัง้ หลายทีม่ คี วามสามารถในการเรียนรูใ้ นห้องเรียนได้น้อย รวมถึงช่วยต่อยอดความรูใ้ ห้กบั เด็กทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถอยูแ่ ล้วมีมากขึน้ การเรียนกวดวิชาจึงเป็ นเหมือน การศึกษาเงา (Shadow Education) ทีห่ มายถึงการศึกษาเสริมทีข่ นานไปกับการศึกษาในโรงเรียน
17
วัฏจักรแห่งการเรียนกวดวิชา คุณภาพโรงเรียนที่ไม่เท่ากัน เป็ นผลให้การศึกษาเป็ นเรื่องของ การแข่งขัน แบบทีว่ า่ ใครดีใครได้ เมือ่ การศึกษาในโรงเรียนยังไม่ตอบโจทย์ มากเพียงพอ พ่อแม่จงึ ต้องหาวิธที ท่ี ำ� ให้ลกู ตัวเองได้เข้าเรียนต่อในโรงเรียน ทีด่ ี มีคณ ุ ภาพ ด้วยการส่งลูกไปเรียนโรงเรียนกวดวิชา สถานทีท่ ช่ี ว่ ยเติมเต็ม ความรูท้ ข่ี าดหายไปจากห้องเรียน “ตอนนี้การเรียนกวดวิชามันกลายเป็น 3 ท่อน คือเรียนก่อนเปิดเรียน เรียนระหว่างเรียนปกติในห้องเรียน และเรียนเพือเตรี ่ ยมตัวไปสอบ ยังไม่นบั ที ่ เป็ นเฉพาะทางเช่น สอบวัดความสามารถทางภาษา หรือสอบบรรจุอกี นะ ซึง่ ทุกอย่างมันเป็ นค่าใช้จา่ ยทัง้ นัน้ ” อาจารย์อรรถพลบอกด้วยน�้ำเสียงทีบ่ ง่ บอก ถึงความกังวลต่ออนาคตการศึกษาของเด็กไทย ผลจากการทีค่ ณ ุ ภาพการศึกษาในแต่ละโรงเรียนไม่เท่ากัน ท�ำให้เด็ก ส่วนมากมุง่ หน้าเรียนกวดวิชาเพือ่ เข้าโรงเรียนดี โรงเรียนดัง ผลคือโรงเรียน ทีไ่ ม่ดี ไม่ดงั มากพอ จึงไม่มเี งินเพือ่ พัฒนาคุณภาพเพราะมีเด็กจ�ำนวนน้อย ส่วนโรงเรียนดังก็มเี ด็กจ�ำนวนมากเกินพอดี เมือ่ เด็กมีมากครูกส็ อน ได้ไม่ทวถึ ั ่ ง เป็ นเหตุให้เด็กต้องไปเรียนโรงเรียนกวดวิชาในระหว่างเรียนใน ห้องเพือ่ เก็บเกีย่ วความรูท้ ไ่ี ม่ได้จากในห้องเรียน มาถึงตรงนี้กท็ �ำให้หวนคิดถึงชีวติ ในช่วงวัยมัธยม ช่วงเวลาทีใ่ คร หลายคนก็ต้องเรียนพิเศษในช่วงก่อนเปิ ดเทอมและระหว่างเปิ ดเทอมเช่น
18
กัน ห้องสีเ่ หลีย่ มเล็กกับเก้าอีเ้ ลกเชอร์พร้อมกับกลิน่ เหงือ่ ของเพือ่ นร่วมห้อง ลอยขึน้ มาในจินตนาการทันที ทุกคนในห้องมีสหี น้าทีด่ เู หนื่อยล้าก็จริง แต่ เราไม่มเี วลาแม้แต่มานังท้ ่ อถอย เพราะต้องเก็บเกีย่ วความรูท้ ข่ี าดหายจาก ในห้องเรียนกลับไปให้ได้มากทีส่ ดุ ช่วงเวลานัน้ การเรียนกวดวิชาได้กลายเป็ นเหมือนกิจวัตรประจ�ำวัน ของพวกเราเด็กมัธยม เช่นเดียวกับการอาบน�้ำแปรงฟั นไปแล้ว แม้จะเรียนจบมัธยม แต่การเรียนกวดวิชาก็ไม่ได้จบลงไปด้วย เพราะ วัฏจักรการแข่งขันเพือ่ ให้ได้สงิ่ ทีด่ ที ส่ี ดุ ยังคงอยู่ ต้องตัง้ หน้าตัง้ ตาเรียนกวด วิชาต่อไปจนกว่าจะได้เข้ามหาวิทยาลัยที่เชื่อว่าดีท่สี ุด เนื่องจากการเข้า มหาวิทยาลัยต้องใช้คะแนนสอบทีด่ ี และยิง่ คะแนนสอบอย่างเช่น คะแนน O-Net ทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับผลชีว้ ดั คุณภาพโรงเรียน ท�ำให้ทางโรงเรียนเอง ก็สนับสนุนการเรียนกวดวิชาด้วยการจ้างครูกวดวิชาบางทีม่ าสอนนักเรียนใน โรงเรียน “พอการสอบมันถูกผูกไปกับการประเมินโรงเรียน ทุกคนเลยหา ทางลัด มีคนมาสรุปให้ฟัง เอาข้อสอบเก่ามาเฉลยให้ คุณเป็ นครูมา 30 ปี พอ ถึงเวลาโค้งสุดท้ายคุณก็ไปจ้างติวเตอร์ขา้ งนอกมาติวให้เด็ก”
“ไม่รสู้ กึ เหมือนถูกตบหน้าหรอ”
รอยยิม้ เล็กทีม่ ุมปากกับน�้ ำเสียงติดตลกขัดกับสายตาเย้ยหยันของ อาจารย์อรรถพล ท�ำให้รสู้ กึ เหมือนมีใครบางคนมาสะกิดชิน้ ส่วนหนึ่งในสมอง ให้ได้ฉุกคิดว่า นี่เป็ นตลกร้ายอย่างหนึ่งของวงการเรียนในเมืองไทยเช่นกัน
19
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลากวด (วิชา) ความตลกร้ายของการศึกษาบ้านเราอีกเรือ่ ง คือการท�ำโครงการ “ลด เวลาเรียน เพิม่ เวลารู”้ ทีห่ ยิบยืมมาใช้จากประเทศสิงคโปร์ โดยโครงการนี้ เป็ นโครงการทีจ่ ดั ท�ำเพือ่ ให้เด็กได้มเี วลาว่างไปท�ำกิจกรรมทีต่ วั เองถนัด เพือ่ พัฒนาทักษะนอกห้องเรียน หรือใช้เวลาเพือ่ ค้นหาตัวเอง “พอประเทศไทยเอามาท�ำ ก็ไม่ได้เอาหลักการเค้ามาด้วย กลายเป็ น ว่าเอาวิชาหลัก ๆ มาอัดไว้คาบเช้า คาบบ่ายปล่อยให้ทำ� กิจกรรม บางโรงเรียน ก็ให้มคี ลาสเรียนเสริมภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ เพราะพ่อแม่กต็ อ้ งกลัวว่าลูก ตัวเองจะเรียนน้อยลง” ไม่แปลกเลยที่เป็ นเช่นนัน้ เพราะการเรียนกวดวิชาเป็ นวัฎจักร หนึ่งของชีวติ เด็กมัธยมทุกคน รวมถึงพ่อแม่เองก็มองว่านี่เป็ นเรือ่ งปกติของ ชีวติ วัยรุน่ ทีจ่ ะต้องเก็บสะสมความรูใ้ นการแข่งขันเพือ่ เข้าสูส่ ถาบันทีด่ ี และ การเรียนกวดวิชาก็เป็ นกิจกรรมทีม่ ปี ระโยชน์ทส่ี ดุ ในเวลาว่างของเด็กมัธยม เท่าทีจ่ ะคิดได้ ยิง่ เรียนกวดวิชามาก พ่อแม่ก็จะรู้สกึ ว่าเด็ก ๆ ของตนได้ผ่าน การเอาความรูใ้ ส่สมองเข้าไปแล้ว แม้ความรูน้ นั ้ อาจจะทะลุออกจากสมองไป บ้างก็ตาม แต่แค่เพียงลูกได้เรียนกวดวิชาเท่านี้กร็ สู้ กึ อุ่นใจแล้ว เช่นเดียวกับเด็กมัธยมทัง้ หลายก็มองว่า การเรียนกวดวิชาเป็ นสิง่ ที่ พวกเขา “ต้อง” ท�ำ เพือ่ ให้รสู้ กึ อุน่ ใจว่าตนมีอาวุธในการแข่งขันกับคนอืน่ ๆ มากพอ ท้ายทีส่ ุด การเรียนกวดวิชาจึงกลายเป็ นเหมือนค่านิยมบางอย่าง
20
เหมือนกับถูกใส่โปรแกรมในสมองว่า เมือ่ เข้าสูว่ ยั เรียนก็ตอ้ งเรียนพิเศษ หากย้อนเวลากลับไปช่วงในช่วงวัยมัธยม แล้วมีคนถามว่า จะท�ำ อะไรในเวลาว่างให้เกิดประโยชน์กบั ตัวเองทีส่ ดุ ฉันเองก็คงนึกค�ำตอบอื่น ๆ ไม่ออก นอกเสียจาก “ไปเรียนพิเศษ” เช่นกัน
21
คอร์สเรียนที่ 2
เด็กไทยยุค 4.0
โดย พี่เฟิร์น อริสรา นนศิริ
23
เด็กไทยยุค 4.0 เปิ ดเทอมมาไม่กว่ี นั กับการเป็ นพีโ่ ตสุดในโรงเรียน พร้อมกับค�ำถาม จากเพือ่ น พ่อแม่ คุณครู แม้กระทังญาติ ่ หา่ งๆ ถ้าได้เห็นหน้ากันก็เป็ นต้อง ถามว่า เข้าคณะอะไร มหาวิทยาลัยไหน... ทีจ่ ริงค�ำถามนี้น้องมิ ล ณัฐธยาน์ จูฑามาตย์ วัย 18 ปี ไม่ได้เพิง่ โดนถามเป็ นครัง้ แรก แต่เป็ นเมือ่ 3 ปี ทแ่ี ล้วต่างหาก... เทอมสุดท้ายของเด็กผมสัน้ เสือ้ คอซองในวัย 15 ปี กับชีวติ ทีม่ แี ต่ การเรียน เรียน และก็เรียน เพือ่ ให้มเี ก้าอีน้ งในห้ ั ่ องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ หรือทีเ่ รียกกันติดปากว่าห้องกิฟ๊ ของโรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
สุดท้ายเธอก็ทำ� ได้
แต่นนเป็ ั ่ นเพียงจุดเริม่ ต้นเล็กๆ เท่านัน้ เมือ่ เป้ าหมายทีย่ งิ่ ใหญ่กว่า รอเธออยู่
คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ไม่ใ ช่ แ ค่ก ารสอบภายในโรงเรีย นหลัก ร้อ ยหลัก พัน คน แต่ เ ป็ น การสอบแข่งขันทัวประเทศ ่ เด็กมัธยมหลายหมืน่ คนต่างมีจดุ มุง่ หมายเดียวกัน เส้นชัยของเธอจึงเริม่ ต้นจาก...ความพยายาม
24
เพราะเป็นเด็กกิ๊ฟ...จึงเจ็บปวด
ท�ำไมถึงเข้าห้องกิฟ๊ ล่ะ?
อ๋อ เราอยากเข้าแพทย์หน่ะ
.
.
.
ใช่ เธอรูต้ วั เองว่าอยากเข้าแพทย์ตงั ้ แต่ม.3 แต่เธอไม่ได้อยากเป็ น แพทย์มาตัง้ แต่แรก จุดเริม่ ต้นมาจากการเปิ ดบ้านโอเพ้นเฮ้าส์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ท�ำให้มลิ สนใจเกี่ยวกับพยาบาลทหารอากาศ เลยเริม่ ศึกษาเกี่ยวกับคณะ นี้ แต่เมือ่ ปรึกษากับพ่อแม่แล้ว กลับได้คำ� ตอบมาว่า “ท�ำไมไม่เข้าแพทย์ละ่ เหนือ่ ยพอ ๆ กันแต่งานมันคงกว่ ่ า” เป้ าหมายทีค่ ดิ ไว้สวนทางกับความต้องการของคนในครอบครัว อีก ทัง้ ด้วยความทีเ่ ป็ นพีค่ นโตของบ้าน ต้องแบกความหวังของพ่อแม่ไว้ เลยเริม่ เบนเข็มจากพยาบาลทหารอากาศมาทางแพทยศาสตร์ คณะแพทย์อนั ดับ 1 ในใจของใครหลายคน ไม่พน้ ทีก่ ารเป็ นแพทย์ ทีศ่ ริ ริ าช แต่ยงิ่ มีคนสนใจมากเท่าไหร่ จุดหมายยิง่ ล�ำบากมากขึน้ เท่านัน้ เธอเริม่ จากการสอบเข้าห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ในชัน้ มัธยมปลาย เรียนในโรงเรียนตัง้ แต่แปดโมงครึง่ ถึงห้าโมงเย็น ทุกวัน
25
จันทร์ถงึ ศุกร์ ซึง่ ห้องเรียนปกติมเี รียนถึงแค่คาบแปดเลิกเรียนบ่ายสามโมง เย็น แต่สำ� หรับเด็กกิฟ๊ แล้วย่อมมีคาบแปดคาบเก้า เรียนทัง้ คณิตเสริม อังกฤษ เสริม วิทย์เสริม ตลอดช่วงเวลา 1 ปี ครึง่ ของมัธยม เธอไม่ได้เรียนพิเศษข้างนอก เลย เพราะได้รบั หน้าทีเ่ ป็ นหนึ่งในกรรมการนักเรียน และช่วงม.5 เป็ นชัน้ ที่ มีกจิ กรรมเยอะทีส่ ดุ จึงไม่มเี วลาส�ำหรับการเรียนพิเศษมากนัก แต่กใ็ ช่วา่ เธอ จะทิง้ การเรียน เพราะเป็ นหนึ่งในเด็กห้องกิฟ๊ จึงได้รบั การจับตามอง โดนตัง้ ความ คาดหวัง และโอกาสจากทัง้ ครูและผูใ้ หญ่ในโรงเรียนว่าเด็กห้องนี้เก่ง อยาก ให้สอบติดแพทย์เพือ่ สร้างชือ่ เสียงให้กบั โรงเรียน แม้เธอจะไม่ได้เรียนพิเศษ แต่กต็ อ้ งวางแผนอ่านหนังสือ ทบทวนบทเรียนเองโดยตลอด แต่เมือ่ ช่วงม.5 เทอม 2 โรงเรียนได้จดั หลักสูตรเร่งรัด ต้องการให้ ความรูแ้ ก่เด็กในชัน้ นี้มากทีส่ ุด เพือ่ ทีต่ อนม. 6 จะได้มเี วลาเตรียมตัวสอบ เนื้อหาในเทอมนี่จงึ มากขึน้ เธอเริม่ เรียนไม่ไหว และเห็นว่าในบางวิชาหลัก ๆ อย่างฟิ สกิ ส์ เคมี และคณิตศาสตร์ ท�ำได้ไม่ดนี กั จึงเป็ นจุดเริม่ ต้นในการหาที่ เรียนพิเศษ หาความรูน้ อกเหนือจากในโรงเรียน
26
ชีวิตเด็กม.6 = อ่านหนังสือ ติว สอบ ช่วงเวลาปิ ดเทอมชัน้ ม.5 ขึน้ ม.6 ตลอดทัง้ เทอมเธออยู่ทส่ี ถาบัน กวดวิชามากกว่าอยูท่ บ่ี า้ น เริม่ เรียนวิชาเคมีตงั ้ แต่เจ็ดโมงเช้าจนถึงเทีย่ ง จากนัน้ ก็ต่อด้วยวิชา คณิตศาสตร์จนถึงห้าโมงเย็น กลับบ้านมาทบทวนวิชาทีไ่ ม่ได้ลงเรียนพิเศษ วนลูปแบบนี้จนกระทังเปิ ่ ดเทอม ม.6 เป็ นชัน้ ทีม่ คี าบเรียนน้อยทีส่ ดุ บางวันมีเรียนไม่ถงึ 5 วิชา มี คาบว่างเยอะกว่าคาบเรียน บ้างก็นงเล่ ั ่ นกัน บ้างก็นอนพักผ่อน แต่สำ� หรับ เด็กห้องกิฟ๊ คาบว่างนี่แหละเป็ นช่วงเวลาทีด่ ที ส่ี ดุ ในการจับกลุม่ ติวหนังสือ ช่วงเวลาเลิกเรียนไม่มคี าบเก้าคาบสิบให้ปวดหัว แต่ใช่ว่าจะได้ กลับบ้านไปพักผ่อน สถานที่ท่เี ด็กม.6 มักจะไปรวมตัวหลังเลิกเรียนคือ สถาบันกวดวิชา เรียนเสริมตอนเย็นจนกระทังฟ้ ่ ามืด บางวันเรียนถึงสองทุม่ สามทุม่ ก็ม ี แม้แต่เสาร์ อาทิตย์ ก็ไม่ได้พกั เรียนตัง้ แต่ตะวันขึน้ จนถึงตะวันตกดิน ยิง่ วันหยุดนักขัตฤกษ์ เป็ นวันทีเ่ รียนชดเชยกันให้วนุ่ วาย ถ้าช่วงใกล้สอบทัง้ 9 วิชาสามัญ ความถนัดแพทย์ โอเน็ต ต้องอ่าน หนังสือไป ทานข้าวไปก็สามารถท�ำได้ แต่ไม่ได้เรียนหนัก จนไม่มเี วลาพักผ่อน วิชาทีค่ ดิ ว่าอ่านเองจะไม่ได้ ลงเรียน เช่น ชีวะ สังคม ภาษาไทย
27
เรียนพิเศษคือการเรียนเสริม เพิม่ เติมความรูใ้ นเรือ่ งทีโ่ รงเรียนขาด หรือข้อมูลไม่แน่นพอทีจ่ ะเอาไปสอบ ถึงต้องเรียนพิเศษเรือ่ งนัน้ วิชานัน้ การอ่านหนังสือเอง แน่นอนว่าย่อมเข้าใจมากกว่า แต่มขี อ้ เสียต้อง ค้นข้อมูลมาแล้ว ว่ามีกรอบเนื้อหาอย่างไรบ้างต้องอ่านเรือ่ งไหนบ้าง เน้นเรือ่ ง ไหนบ้าง ซึง่ ต้องใช้ความพยายามสูง “ส่วนตัวมิลคิดว่าอ่านหนังสือเองดีกว่าเรียนพิเศษ เพราะมิลเข้าใจ มากกว่า อ่านแล้วตีความในแบบของมิล แต่บางวิชาทีไ่ ม่รเู้ รือ่ งก็ตอ้ งไปเรียน พิเศษจริงๆ มันก็เป็ นความจ�ำเป็ นอีกแบบหนึง่ ”
28
ใครว่าม. 6 สบาย...
ไม่จริง
มองมุมกลับ ปรับมุมมอง “...หนูมลิ ม.6แล้ว จะเรียนต่อทีไ่ หนเหรอลูก เนีย่ ลูกป้ าก็จะเข้าทีน่ ี ่ เหมือนกัน...”
“...คะแนนแพทย์ปีทแี ่ ล้วโคตรสูงเลย...”
“...แต่มลิ แกเก่งอยูแ่ ล้วนี.่ ..”
“...นันเด็ ่ กห้องกิฟ๊ นีน่ า เคยเป็ นกรรมการนักเรียนด้วย...”
“...ทีห่ นึง่ ของห้องด้วยมัง้ เห็นได้เกรดตัง้ 3.92...”
.
เหนือ่ ย...
เครียด...
กดดัน...
หลายครัง้ ต้องกลับมาตัง้ ค�ำถามกับตัวเองว่าทีท่ �ำอยู่มนั ดีทส่ี ุดต่อ ตัวเองแล้วใช่ไหม ถ้าไม่ตดิ หมอ พ่อแม่จะผิดหวังไหม แล้วเราจะสูห้ น้ า คนอื่นได้ไหม ซึง่ แรงกดดันจากทีโ่ รงเรียนนัน้ พอรับได้ แต่จะไม่ยอมรับความกดดัน จากทีบ่ า้ นโดยเด็ดขาด เพราะเธอไม่ได้เป็ นความหวังของพ่อแม่เพียงอย่างเดียว พ่อแม่ก็ เป็ นก�ำลังใจของเธอเช่นเดียวกัน
29
เธอจะไม่ ย อมให้พ่ อ แม่ ต้อ งมาบ่ น หรือ ต� ำ หนิ ว่ า ไม่ อ่ า นหนั ง สือ ถ้ามีเวลาว่างเธอก็จะอ่านหนังสือ บางครัง้ ก็จะอ่านให้พอ่ แม่เห็น ให้เขารูว้ า่ นีล่ กู อ่านอยูน่ ะ ลูกพยายามอยู่ แต่กต็ ลกดี... เพราะเธอคลายความเครียดด้วยการไปอ่านหนังสือ อ่านให้หนักขึน้ พยายามให้มากกว่าทีเ่ ป็ นอยู่ เพือ่ ไม่ให้ใครมาดูถกู เธอมองความกดดันจากคนรอบข้างมาเปลีย่ นเป็ นแรงผลักดันให้พยายาม เธอบอกว่า อาจมีอะไรหลายๆ อย่างทีก่ ดดันเรา แต่ถา้ เราเชื่อว่า สุดท้าย ไม่วา่ ผลจะเป็ นอย่างไร ทุกคนได้รบั รูค้ วามตัง้ ใจเต็มที่ ความมุง่ มันที ่ ด่ ที ส่ี ดุ ของเราแล้ว มันมีทางออกส�ำหรับเรือ่ งนี้เสมอ “มิลเป็นคนซีเรียสและเครียดกับทุกอย่าง แต่มลิ รูต้ วั เอง ความเครียด ของมิล มิลต้องจัดการให้ได้ ข้อดีของมิลคือ มิลไม่เคยท้อ”
30
31
คอร์สเรียนที่ 3
ใครคือผู้ล่า
โดย พี่ฟอม ปุญญิศา ค�ำนนสิงห์
33
34
35
36
ใครคือผู้ล่า กูรใู นเว็บไซต์สนุ ก (guru.sanook.com) ให้ความหมายของระบบ ห่วงโซ่อาหาร หรือ Food Chain ว่า เป็ นกระบวนการถ่ายทอดพลังงาน ในรูปของอาหารเป็ นล�ำดับขัน้ จากสิง่ มีชวี ติ หนึ่งไปยังสิง่ มีชวี ติ อีกหนึ่งโดย การกินกันเป็ นทอด ๆ เรียกง่าย ๆ ก็คอื ในระบบจะมีผลู้ า่ เป็ นผูค้ วบคุม และ มีผทู้ ต่ี กเป็ นเหยือ่ ห่วงโซ่ครอบครัวก็ไม่ต่างกัน มีหนึ่งคน (หรืออาจมากกว่านัน้ ) เป็ น ผูล้ ่า ผูค้ วบคุม ผูเ้ ป็ นคนน� ำทิศทางการตัดสินใจของครอบครัว และมีผูท้ ่ี ตกเป็ นผูถ้ กู ล่าทีต่ อ้ งยอมรับวิถขี องระบบอย่างยากทีจ่ ะโต้แย้ง
37
10.30 น.
ฉันเดินทางมาพบครูออ้ ทีบ่ า้ นของเธอใน จ.เพชรบูรณ์ ตามเวลานัด และเป็ นไปตามคาด ครูออ้ แต่งตัวจัดเต็มด้วยเสือ้ พลิว้ สีแดงและกางเกงขายาว สีแดงก�ำลังนังคุ ่ ยกับเพือ่ นบ้านอย่างออกรสออกชาติ ณัฐรี รัศมีจนั ทร์ หรือ ครูอ้อ วัย 45 ปี ก็เป็ นอีกหนึ่งผูล้ า่ ในห่วงโซ่ ครอบครัว ด้วยภาพลักษณ์ภายนอกทีด่ เู ป็ นคนมีระเบียบ แต่งตัวสีสนั ฉาดฉาด พูดจาเสียงดังโผงผาง และยิง่ คราวทีอ่ ยูก่ บั เด็กนักเรียนแล้ว จะกลายเป็ นครู จอมเฮีย้ บ ทีไ่ ม่มเี ด็กนักเรียนคนไหนกล้าต่อล้อต่อเถียงกับ ‘ครูอ้อ’ คนนี้สกั คน ถึงขันที ้ ว่ า่ เด็กประถมจะยอมโดนตีดว้ ยไม้เรียวสักสิบที ดีกว่าโดนครู อ้อเอ็ดหนึ่งประโยค ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมด ฉันไม่ได้มเี จตนาตัดสินใครจากภายนอก แต่นนั ่ เป็ นสิง่ ทีน่ �ำพาค�ำถามที่ ‘หวัง’ ว่าจะพบค�ำตอบในวันนี้ คือ คุณครูแสนดุของ เด็ก ๆ จะเป็ นแม่ทใ่ี จร้ายด้วยหรือไม่
38
ไม่มพี ธิ รี ตี องอะไร เธอเปิ ดบ้านต้อนรับ พร้อมเปิ ดประโยคทักทาย อย่างเป็ นกันเอง
“ว่าไง มีอะไร”
อธิบายเรือ่ งราวทีจ่ ะพูดคุยวันนี้พอสังเขป ก็เริม่ ต้นการสนทนา
ครูออ้ เล่าถึงครอบครัวว่า เธอมีลกู สาว 1 คน ลูกชาย 1 คน ซึง่ ตอนนี้ ลูกสาวคนโตหรือ ณภัทร อยู่มหาวิทยาลัยปี ท่ี 3 แล้ว ในขณะทีน่ ้องชาย คนเล็กอย่าง น้ องภูมิ อยูช่ นั ้ ประถมศึกษาปี ท่ี 5 ทัง้ สองคนนี้มคี วามแตกต่าง กันในเรื่องความถนัดอย่างสิน้ เชิง ท�ำให้วธิ กี ารเลีย้ งลูกในแง่การส่งเสริมให้ เรียนพิเศษก็ต่างกันไปด้วย เธอเล่าอีกว่า การเรียนพิเศษจะช่วยให้เด็กเจอสิง่ ทีต่ นเองถนัดเร็ว ขึน้ อย่างกรณีของณภัทรทีเ่ ริม่ เรียนพิเศษตัง้ แต่อนุ บาล ครูออ้ เรียกวิธกี าร ตามหาความถนัดของลูกด้วยการเรียนพิเศษว่า ‘หว่านเมล็ดเพื่อหวังต้น’ หมายความว่า เธอส่งเสริมให้ลูกสาวเรียนพิเศษในหลายด้านเฉกเช่นการ หว่านเมล็ดพืชในจ�ำนวนมาก เพือ่ หวังผลทีเ่ ป็ นความถนัดเพียงแค่ตน้ เดียว “เด็กยังไม่รหู้ รอกว่าตัวเองชอบอะไร หรือมีความสามารถอะไร แต่ เรามีเงินทีจ่ ะสนับสนุนลูก ให้เขารู้ ให้เห็น ให้ลองว่าชอบอะไร ถนัดอะไร เลย ให้เขาเรียนเท่าทีเ่ ขาเรียนได้และมีเวลา บางทีกใ็ ห้ไปทดลองเรียนถ้าไม่ชอบก็ หยุด เลิกเรียน ซึง่ ตรงนี้คนเป็ นพ่อเป็ นแม่จะมาเสียดายเงินว่า ฉันส่งไปแล้ว เรียนแค่คอร์ส สองคอร์สก็หยุดแล้วไม่ได้ ถ้าลูกไม่ชอบก็ตอ้ งท�ำใจ ให้หยุด จะ ได้เอาเวลาไปท�ำอย่างอืน่ ค้นหาสิง่ ทีช่ อบอย่างอืน่ ”
39
จริงอยูท่ ว่ี า่ เด็กบางคนยังไม่รวู้ า่ ตนชอบหรือถนัดอะไร แต่วธิ นี ้ีจะ ช่วยยืนยันได้มากน้อยเพียงใด ว่าต้นกล้าทีเ่ กิดขึน้ จะเป็ นต้นทีเ่ กิดตัวเด็ก ไม่ใช่การปลูกตามแนวที่ ‘ผูห้ ว่านเมล็ด’ คาดหวังเอาไว้ เพือ่ ให้คลายความสงสัยของตัวผูเ้ ขียน จึงพยายามกลันค� ่ ำถามออก มาให้สภุ าพทีส่ ดุ “ถ้าอย่างนัน้ ก็หมายความว่าครูอ้อก็เป็ นคนวางแผนวิธกี ารเรียน พิเศษให้ลกู ”
นี่สภุ าพทีส่ ดุ แล้ว..
“ไม่ใช่แบบนัน้ ไม่ได้วางแผน บางอย่างเขาก็อยากเรียนเอง บางอย่าง เราเห็นว่าดี เราก็จะถามเขาว่า อยากเรียนไหม ลองดูไหม อันนี้แม่เห็นว่าดีนะ อยากให้เขาลอง ถ้าเขาไม่ชอบก็หยุด” และสิง่ ที่ ณภัทร ได้ ‘ลอง’ ตามค�ำแนะน� ำของคุณแม่ มาตัง้ แต่ อนุบาล 2 ก็คอื ร�ำไทย ว่ายน�้ำ ยูโด เทควันโด กีฬาอืน่ ๆ ศิลปะ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์ จนถึงช่วงมัธยมศึกษาปี ท่ี 2 ดูเหมือนว่าการเรียนพิเศษใน ตัวจังหวัดจะไม่เพียงพอ เธอเริม่ เพิม่ เติมเสริมวันเวลา จากการเรียนเฉพาะ วันเสาร์และอาทิตย์ เพิม่ เป็ นเมื่อปิ ดเทอมจะข้ามจังหวัดไปเรียนที่ จังหวัด พิษณุโลก เนื่องจากเป็ นสถานทีร่ วมแหล่งกวดวิชาชัน้ น�ำเอาไว้ โดยอาศัยอยู่ ทีห่ อพักกับเพือ่ นบ้าง คนเดียวบ้าง หลังจากที่ได้ลองมาเป็ นระยะเวลากว่าสิบปี ก็ถึงช่วงที่ ณภัทร สามารถเลือกวิชาลงเรียนได้ตามถนัดจริง ๆ เพราะครูออ้ เชือ่ ว่า ลูกของเธอ
40
เจอสายวิชาทีถ่ นัดแล้ว นันก็ ่ คอื วิชาเคมี “พอเรียนพิเศษเขาได้เรียนล่วงหน้า เลยท�ำให้เข้าใจเวลาเรียนใน ห้องเรียนเร็วขึน้ บางทีกส็ อนเพือ่ นได้ ทุกอย่างทีไ่ ด้จากเรียนพิเศษมันเห็นผล ชัดเลย ตอนขึน้ มหาวิทยาลัย เขาจะเรียนรูไ้ ด้เร็ว มีตำ� รานอกห้องเรียน ถ้า ไม่ได้เรียนพิเศษ เขาก็ไม่รวู้ า่ ตัวเองชอบอะไร พอได้เรียนวิทยาศาสตร์ แล้ว ได้เจอเคมี เขาก็ชอบ เจอสิง่ ทีช่ อบโดยเราไม่ได้แนะน�ำ”
11.00 น.
น้องภูมวิ ยั 11 ขวบ อยูใ่ นชุดล�ำลองพร้อมแบกกระเป๋ าเป้ กม้ ตัวผูก เชือกรองเท้า เตรียมตัวและหัวใจไปเรียนพิเศษในวันอาทิตย์
“แล้วน้องภูมลิ ะ่ ”
“น้องเป็ นเด็กเรียนปานกลาง แต่ไม่มคี วามรับผิดชอบ”
“อาจจะยังเด็กอยูห่ รือเปล่า”
“ถ้าเทียบกับณภัทรจะเห็นชัดเลย ว่าพีเ่ ขากระตือรือร้นกว่า”
บทสนทนาอันสัน้ นี้ แสดงให้เห็นถึงอีกห่วงโซ่ทไ่ี ด้ดำ� เนินเกิดขึน้ แล้ว มีทที า่ หมุนเวียนต่อไปโดยมีผลู้ า่ เป็ นคนเดียวกัน แน่นอนว่า ยังหาบทสรุปของ ห่วงโซ่อาหารนี้ไม่ได้ ว่าผูถ้ กู ล่าจะถูกต้อนให้จนมุมหรือพลิกสถานการณ์เป็ น ผูล้ า่ ได้
41
คอร์สเรียนที่ 4
ติวเตอร์ผู้ ‘เติมเต็ม’
โดย พี่แนน รติมา เงินกร
43
44
45
46
ติวเตอร์ผู้ ‘เติมเต็ม’ นึกย้อนกลับไปในช่วงมัธยม รถตูห้ นึ่งคันบรรจุ 15 ชีวติ เดินทาง ร่วม 2 ชัวโมง ่ ตัง้ แต่เช้าตรู่ เข้ามากรุงเทพฯ ภาระทีต่ อ้ งแบกรับกับความกังวลของ นักเรียนต่างจังหวัดท�ำให้ตอ้ งดิน้ รน เพือ่ มาเรียนกวดวิชา ในตอนนัน้ คิดเพียง ว่าสิง่ ทีเ่ รียนอยู่ยงั ไม่พอ แม้จะกวดวิชาตอนเย็นในจังหวัดตัวเองแล้ว ก็ยงั ไม่พอทีจ่ ะท�ำให้สามารถสูก้ บั เด็กคนอืน่ ๆ ได้ ยังไม่พอทีจ่ ะมันใจว่ ่ าจะผ่านการสอบมากมายดังมรสุ ่ มทีเ่ ป็ นตัวชีว้ ดั และก�ำหนดเส้นทางในอนาคต การกวดวิช า เป็ น เหมือ นสิง่ ที่ต้อ งท�ำ ในชีว ิต ประจ�ำ วัน ของเด็ก หลายคน แทบจะไม่ต่างอะไรกับการแปรงฟั นหลังตื่นนอน
47
ต่อเติมเพื่อเติมเต็ม เวลาสีโ่ มงเย็นภายในตึก 4 ชัน้ ปากซอยเจริญกรุง 54 คลาคล�่ำไป ด้วยเด็กม.ปลาย หลากหลายโรงเรียนในย่านนัน้ ทีด่ จู ะนัดมารวมตัวกันแบบ นัดหมาย คึกคักไม่ต่างอะไรกับโรงภาพยนตร์ในวันพุธ การเปิ ดติว GAT ฟรี ท�ำให้น้อง ๆ ม.ปลายต้องรีบมาลงทะเบียนเพือ่ จับจองทีน่ งั ่ ทีม่ จี ำ� นวนจ�ำกัด เด็ก ๆ ทยอยเข้ามาไม่ขายสาย ไม่นานก็มผี ชู้ าย ตัวสูง ผิวแทน เดินเข้ามาต้อนรับการมาเยือนของคนแปลกหน้า 3 คน ทีด่ จู ะ เกินวัยจะลงทะเบียนติว GAT ฟรี พี่ต้น สุวจั ชัย ลีจ้อย เจ้าของสถาบันกวดวิชาอัสเซนเต้ มีความเชือ่ ว่ากวดวิชาเป็ นเสมือนส่วนเติมเต็มให้กบั นักเรียน กัน”
“ปั ญหาส่วนใหญ่กห็ ลักสูตรกับข้อสอบวัดผลตอนปลายทางไม่ตรง
เนื้อหาภายในโรงเรียนทีไ่ ม่สมั พันธ์กบั ข้อสอบทีใ่ ช้ในการสอบเข้า มหาวิทยาลัย ทัง้ การบ้านในแต่ละวัน การทบทวนบทเรียนทีผ่ า่ นมา การแบ่ง เวลาทีไ่ ม่ลงตัว เมื่อมีใครคนนึงมาคอยช่วยสรุป ช่วยแนะแนว ช่วยเน้นในส่วนที่ ส�ำคัญส�ำหรับการสอบ จึงเหมือนช่วยแบ่งเบาภาระ ลดการออกแรงทางใด ทางหนึ่ง จึงไม่แปลกทีห่ ลายคนจะพร้อมจ่ายให้กบั สถาบันกวดวิชาต่าง ๆ แม้จะลดเวลาเรียนลงเพือ่ ให้เด็กได้ทำ� กิจกรรมทีอ่ ยากท�ำ อยากเรียน รู้ หากข้อสอบยังมีความยากและไม่สมั พันธ์กบั เนื้อหาทีเ่ รียน ข้อสอบยากขึน้ จนมีความยากเกินไป ท�ำให้บางครัง้ ครูรนุ่ เก่า ไม่สามารถทีจ่ ะสือ่ สารให้กบั นักเรียนได้ เด็กจึงต้องหันมาพึง่ พาการกวดวิชาแทน
48
เรียนด้วยสไตล์ที่เหนือกว่า ทัง้ ๆ ทีก่ ารเรียนไม่ใช่เรือ่ งสนุก ออกจะน่าเบือ่ ด้วยซ�้ำ แต่เด็ก ๆ ที่ นี่มกั เดินเข้ามาในสถาบันกวดวิชาแห่งนี้ดว้ ยสีหน้ายิม้ แย้ม ทักทายกับครูผู้ สอนเสมือนครอบครัว พูดคุยกันอย่างสนุ กสนาน ค�ำทักทายจึงไม่ได้มเี พียง แค่สวัสดีแล้วเดินผ่านไป ต่างกับการพบเจอครูในโรงเรียนอย่างสิน้ เชิง “ระหว่างคนสอนกับเด็ก อยากให้เรารูจ้ กั กันจริง ๆ ทีไ่ ปไหนมาไหน ก็ทกั ทายกันได้ อยากให้เรียนอย่างมีความสุขและกล้าเปิ ดใจคุยกัน” ไม่ได้มเี นื้อหาทีม่ ากกว่า ไม่ได้มขี อ้ สอบทีย่ ากกว่า แต่สงิ่ ทีท่ �ำให้ สถาบันแห่งนี้พเิ ศษคือ ความเป็ นครอบครัว ความเป็ นกันเอง สิง่ เหล่านี้ ท�ำให้ชอ่ งว่างระหว่างนักเรียนและครูผสู้ อนในสถาบันกวดวิชาแคบกว่าครูใน โรงเรียน ความใกล้ทำ� ให้กล้า เมือ่ เด็กกล้าทีจ่ ะถามเรือ่ งทีส่ งสัย กล้าทีจ่ ะตอบ โดยไม่อาย ครูจะเข้าใจว่าเด็กขาดอะไร ท�ำให้แก้ปัญหาได้ถกู จุด เมือ่ มองไปรอบ ๆ มีทงั ้ วงไพ่อโู น่ยอดฮิต กล่อมด้วยเสียงกีตาร์ จาก วงดนตรีอะคูสติกเล็ก ๆ แทรกด้วยเสียงพูดคุยเจีย๊ วจ๊าวของวงเม้า แลดูเหมือน เป็ นภาพความวุน่ วาย แต่กลับให้ความรูส้ กึ ผ่อนคลาย คงเพราะเราเคยผ่านจุด นัน้ มาก่อน เราจึงเข้าใจว่าการท�ำกิจกรรมเล็กๆ เหล่านัน้ แม้จะมีเวลาเพียง น้อยนิด แต่กลับช่วยปลดภาระก้อนใหญ่ทแ่ี บกไว้อยูต่ ลอด พีต่ ้นให้ความเห็นว่า ทีอ่ สั เซนเต้ มีกจิ กรรมบันเทิงมากมาย ทัง้ เกม ดนตรี โต๊ะปิ งปอง หนังสือการ์ตนู นันเพราะเด็ ่ กหลายคนต้องแบกรับ ความเครียดจากทีโ่ รงเรียน บ้าน หรือทีต่ ่าง ๆ แล้วยังต้องเจอกับบทเรียน
49
เนื้อหาทีค่ อ่ นข้างเข้มข้นสูง จึงต้องมีกจิ กรรมผ่อนคลายให้กบั เพือ่ ช่วยให้ เขาได้พกั ผ่อนเพือ่ เพิม่ แรงกายและแรงใจ ก่อนทีจ่ ะกลับสูส่ มรภูมริ บอีกครัง้ เพราะบนเส้นทางของความฝั นไม่ได้มแี ค่ตวั เราคนเดียว ยังมีคนอีก มากมายทีก่ ำ� ลังเดินแข่งกับเรา เจออุปสรรคและบททดสอบเดียวกันกับเรา “กวดวิชาส�ำหรับบางคนเป็ นเหมือนความมันใจ ่ ไม่ประมาท เหมือน สร้างเกราะความปลอดภัยให้ตวั เอง” เหตุผลในการกวดวิชาของเด็กแต่ละคนย่อมต่างกัน มีเป้ าหมายทีต่ า่ ง กัน มีการวางแผนเส้นทางของความฝั นทีไ่ ม่เหมือนกัน เกรดทีจ่ ะต้องรักษา คะแนนทีจ่ ะต้องท�ำให้ได้ ความผิดพลาดจึงต้องเกิดขึน้ น้อยทีส่ ดุ กวดวิชาจึง เหมือนทางลัดสูค่ วามฝั น ข้อส�ำคัญของการได้คะแนน เป็ นการไม่ประมาท เพราะทุกคะแนนมีความส�ำคัญ ท�ำให้จติ ใจตัว เองรูส้ กึ ปลอดภัย ยังไงข้อนี้กต็ อ้ งได้คะแนนแน่นอน เหมือนส่วนทีช่ ว่ ยเพิม่ ความมันใจให้ ่ กบั ตัวเอง ว่าฉันพร้อมทีจ่ ะลงสนามแล้ว
50
ย้อนมองครู กลไกส�ำคัญ พีต่ น้ เล่าถึงประสบการณ์ของตัวเอง เมือ่ ครัง้ ได้ไปสอนร่วมกับทีมใน โครงการทรูปลูกปั ญญา ว่าถึงแม้บางโรงเรียนจะใหญ่ แต่คณ ุ ครูทใ่ี ห้กำ� ลังใจ เด็กไม่เป็ น กดจนเด็กหมดความมันใจด้ ่ วยค�ำพูด เช่น โง่ ท�ำไม่ได้หรอก ค�ำ พูดเหล่านัน้ จะกระทบจิตใจของเด็ก ท�ำให้เกิดความรูส้ กึ ในแง่ลบทัง้ กับตัวเอง ครู รวมไปถึงวิชาเรียน ความมันใจของเขาจะค่ ่ อย ๆ ลดลง แต่พต่ี น้ เชือ่ ว่าเด็ก ทุกคนมีโอกาสทีจ่ ะพัฒนาชีวติ ส่วนหนึ่งของหน้าทีค่ รู คือการท�ำให้เด็กค้นพบว่าศักยภาพของตัว เขาอยูต่ รงไหน ถนัดอะไร ชอบอะไร ท�ำให้เด็กทุกคนรูค้ ณ ุ ค่าของตัวเอง ไม่ คิดว่าตัวเองโง่ ท�ำไม่ได้ และสร้างความมันใจให้ ่ กบั ตัวเขาเอง “พอเด็กมีความมันใจกั ่ บการเรียนและความรูท้ มี ่ ี ท�ำให้มคี วามมันใจ ่ ในอาชีพอ่ะ ท�ำอะไรก็มคี วามสุขและไดร์ฟตัวเองไปข้างหน้า” พีต่ น้ ยังได้เห็นปั ญหาและเข้าใจกลไกบางอย่างทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งในการท�ำให้ เด็กหลายคนต้องพึง่ พาการกวดวิชา จากประสบการณ์ทเ่ี คยได้สมั ผัสกับการ เป็ นครูภายในโรงเรียน งานทีเ่ ยอะเกินไป เป็ นเหตุผลทีท่ ำ� ให้พต่ี น้ เลือกทีจ่ ะออกจากการเป็ น ครูในโรงเรียน เพราะภาระหน้าทีข่ องครูภายในโรงเรียนนัน้ ไม่ได้มเี พียงแค่ การสอนหนังสือเด็ก ยังมีโครงงานของโรงเรียน รายงานผลการสอน และงาน อีกมากมายทีจ่ ะต้องรับผิดชอบ ต้องตืน่ เช้ามาก เลิกงานเย็นมาก บางสัปดาห์ ก็ตอ้ งเฝ้ าโรงเรียนช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ แม้จะมีการแบ่งเวลาทีด่ ี แต่เวลา
51
ส�ำหรับการพัฒนาตัวเอง พัฒนาการสอนนัน้ ก็ยงั ไม่เพียงพอ “2 ชัวโมงที ่ ผ่ มต้องสอนจริง ก่อนหน้านัน้ ผมเตรียมการสอนมาแล้ว 20 ชัวโมง ่ ตรงไหนไม่ดกี ย็ า้ ย แผนการสอนมีการปรับแก้ตลอดเวลา” เมือ่ มีเวลามากขึน้ ก็เตรียมการสอนได้มากขึน้ วางแผนการสอนได้ หลากหลาย มีเวลาเตรียมโจทย์ ข้อมูลเนื้อหาต่างๆ ทีจ่ ะสอนมากขึน้ เพราะ เวลาว่างทัง้ หมด ถูกใช้ไปกับการพัฒนาตัวเองของครูผสู้ อน “ไม่มใี ครอยากจ่ายเงินเพิม่ เพือมานั ่ งเรี ่ ยน เพราะการเรียนไม่ได้สนุก ขนาดนัน้ “ เพราะหากสิง่ ทีเ่ รียนภายในโรงเรียนนัน้ เพียงพอแล้ว ครูสามารถ เข้าใจเด็ก และถ่ายทอดความรูไ้ ด้อย่างเต็มที่ ท�ำให้เด็กรูส้ กึ มันใจ ่ พร้อมทีจ่ ะ ลงสนามสอบ เด็กคงไม่จำ� เป็ นต้องพึง่ พาการกวดวิชาอีกต่อไป
52
คอร์สเรียนที่ 5
สร้างห้องเรียน เพื่อ ‘เรา’ ทุกคน โดย พี่แบงค์ วุฒิพงษ์ วงษ์ชัยวัฒนกุล
54
สร้างห้องเรียนเพื่อ ’เรา’ ทุกคน อย่างทีร่ กู้ นั ดีวา่ ปี 2560 นี้ ระบบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยรูปแบบ ใหม่ทก่ี �ำหนดให้สอบเพียงรอบเดียวจะแก้ปัญหาการวิง่ รอกสนามสอบ แต่ ผมเชือ่ ว่ามุมตรงกันข้ามอาจยิง่ เป็ นการส่งเสริมให้นกั เรียนแห่เข้าเรียนพิเศษ เพิม่ ขึน้ เพราะท่ามกลางการแข่งขันทีใ่ คร ๆ ทีก่ ม็ เี ป้ าหมายคือจับจองทีน่ งใน ั่ มหา’ลัยชือ่ ดัง โอกาสสอบทีเ่ หลือเพียงครัง้ เดียวจึงกลายเป็ นสิง่ ทีต่ ดั สินชะตา ชีวติ และยิง่ ท�ำให้เครียดมากยิง่ ขัน้ เมื่อไม่สามารถคาดหวังกับความรูใ้ นห้องเรียนจึงหนีไม่พน้ การมุ่ง เรียนพิเศษ หัวใจส�ำคัญของเตรียมความพร้อมเพื่อไปสอบ และเสริมสร้าง ความมันใจให้ ่ ได้วา่ ทุกคนทีไ่ ด้เข้าเรียนพิเศษนี้จะได้รบั การอุดช่องว่างทีเ่ ชือ่ ว่าเกิดขึน้ จากการสอนโรงเรียน แต่โรงเรียนจะไม่สามารถแก้ไขตัวเองได้เลย หรือ
55
มองดูภาพใหญ่ หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการมักถูกวิจารณ์วา่ ไม่คำ� นึงถึงความแตกต่างของนักเรียน ทัง้ ทีโ่ รงเรียนมีเด็กอ่อนและเด็กเก่ง แต่ครูกลับสอนเสมือนว่าเด็กทุกคนมีความรูร้ ะดับปานกลางเท่าๆ กัน เพราะ ฉะนัน้ ทัง้ เด็กอ่อนและเด็กเก่งจึงมีปัญหาในการเรียนทัง้ คู่ “จ�ำแนกความหลายหลายด้วยข้อสอบแทบเป็ นไปไม่ได้ในชีวติ จริง แม้วา่ จะมีขอ้ ดีในแง่การแข่งขัน แต่มองการประเมินก็ไม่ถูกนัก เด็กบางคน ไม่อยากท�ำอาชีพนี้ แต่ตอ้ งเลือกเรียนเพราะคะแนนถึง” เสียงสะท้อนจาก สรวิ ศ ไพบูลย์รตั นากร หรือ ครูยีราฟ หนึ่งในครู เกือบร้อยคนจากโครงการ Teach For Thailand องค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไร ทีร่ วบรวมคนรุน่ ใหม่เพือ่ สร้างความเปลีย่ นทีด่ ใี ห้กบั การศึกษาประเทศไทยนี้ เรามักโทษครูเพราะถือว่าครูเป็ นหน้ าด่านของระบบการศึกษาที่ ยุง่ เหยิงนี้ แต่อย่างไรเราก็ตอ้ งเชือ่ มันในระบบการศึ ่ กษาว่ามันจะสามารถสอน ให้น้อง ๆ ของเราค�ำนวณเลข สอนล่ามให้รศู้ พั ท์เฉพาะทางภาษาใหม่ สอน โปรแกรมเมอร์ให้แก้ไขปั ญหาทางคอมพิวเตอร์ทซ่ี บั ซ้อนได้
56
พูดถึง ‘ความฝันแบบฟินแลนด์’ เวลามีคนพูดถึงการแก้ไขปั ญหาการศึกษา เรามักพูดถึง ‘ฟิ นแลนด์’ ประเทศทีม่ รี ะบบการศึกษาทีห่ ลายคนใฝ่ ฝัน ทีแ่ ทบไม่ตอ้ งแข่งขันท�ำข้อสอบ มาตรฐาน แต่กลับมีผลการสอบเป็ นเลิศติดอันดับต้น ๆ ของโลก และถ้ามี เวลาผมแนะน�ำให้อา่ นหนังสือ Finnish Lessons ของ Pasi Sahlberg ทีใ่ น ไทยแปลมาให้อา่ นเช่นกัน ในปี 2001 ฟิ นแลนด์ท�ำให้โลกรูจ้ กั เมื่อการประเมินผลนานาชาติ PISA ก้าวจากระดับเท่า ๆ กับเด็กคนอืน่ ๆ ในยุโรปมาเป็ นทีห่ นึ่งในทุกบท ทดสอบ ท�ำให้เรา ๆ ท่าน ๆ ต้องไปเยีย่ มเยือนเพือ่ ตามหา ‘ความฝั นแบบ ฟิ นแลนด์’ สรุปบางส่วนมา คือ ‘ความจริงแบบฟิ นแลนด์’ เป็ นการเรียนทีม่ ี ความสุข ทุกคนเชือ่ มันในตั ่ วครู ให้สามารถจัดการสอนได้ดว้ ยตนเอง คือ เมือ่ ให้เรียนท�ำสิง่ เหล่านี้ เขาจะได้เรียนรูอ้ ะไรบ้าง เช่น ครูหาไปเดินเล่นข้างนอก ให้เด็ก ๆ สังเกตการเติบโตของแปลงผัก แล้วดูมอี ะไรทีช่ ว่ ยผักเหล่านี้งอกงาม ขึน้ บ้าง เด็ก ๆ ก็ได้ฝึกทักษะหลากหลายในการเรียนรูแ้ บบนี้
เป็ นการพลิกเป้ าหมายทางการศึกษาไปเลย
แต่ระหว่างทีค่ น้ หาในอินเทอร์เน็ตนันเอง ่ ผมก็พบ Saturday School ทีน่ ่ าจะใช้หลักการแบบเดียวกันเพือ่ สร้างห้องเรียนในฝั น และถ้าจะพักจาก กวดวิชาอย่างเคร่งเครียดเพื่อไปสอบนัน่ ละก็ วันนี้ผมจึงขอแนะน� ำให้รูจ้ กั โรงเรียนต้นแบบแห่งนี้ทเ่ี กิดจากการร่วมมือกันของอาสาสมัคร เพือ่ จัดการ
57
เรียนเสริมจากหลักสูตรปกติในวันเสาร์
“เราไม่ได้ลอกฟินแลนด์มานะ”
ครูยรี าฟตอบทันที หลังผมยิงค�ำถามว่าโมเดลที่ Saturday School ก�ำลังท�ำนัน้ คับคล้ายกับห้องเรียนในฝั นแบบฟิ นแลนด์ท่เี ราก�ำลังตามหา หลายอย่าง คือ ฝึ กให้คดิ มากกว่าจ�ำ ลดเวลาเรียนลง ลดการบ้านทดแทน ด้วยกิจกรรม ซึง่ นันหมายความว่ ่ า ทีน่ ้ีไม่ได้สอนความรูแ้ ล้ววัดผลแล้วก็จบ แค่นนั ้ ทีน่ ้ีมองไปถึงว่าเด็ก ๆ จะไปท�ำอะไรเมือ่ จบหลักสูตร “ต้องมองว่าเป้ าหมายการศึกษาต้องการอะไรจริง ๆ ถ้าเข้าใจปั ญหา การศึกษา ทางออกของปั ญหาก็จะมาเอง” ครูยรี าฟเสริมว่าปั ญหาที่เขาพบในการเรียนปั จจุบนั คือเด็กไม่รู้ จะเรียนอะไรและเรียนไปท�ำไม เมื่อเห็นปั ญหาว่าเด็กไม่มแี รงบัลดาลใจใน การเรียน นันท� ่ ำให้เด็กต้องเรียนตามเพือ่ น ตามครูช้ี หรือตามใจพ่อแม่ฝัน
58
เรียนอย่างที่ใช่ เลือกอย่างที่ชอบ Saturday School เกิดขึน้ ในพืน้ ทีเ่ ล็ก ๆ ของโรงเรียนสังกัดกทม. เด็กทีม่ าเรียนก็ไม่ใช่ใครทีไ่ หน ก็เหล่าเด็ก ๆ ในโรงเรียนนัน้ ละ ก่อนขยาย โครงการอย่างรวดเร็ว เป็ น 33 ห้องเรียน ใน 9 พืน้ ที่ ในเวลาประมาณ 2 ปี ครึง่ ด้วยการออกแบบวิชาร่วมกันระหว่างครูและนักเรียน ท�ำให้เกิดวิชา ทีม่ คี วามแตกต่างจากหลักสูตรปกติ เช่น การประดิษฐ์ ศิลปะป้ องกันตัว หรือ วิชาเฉพาะ อย่างการถ่ายท�ำและตัดต่อวิดโี อ ภาษาอังกฤษเน้นสือ่ สารตอบโต้ และ STAM ทีย่ อ่ มาจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 วิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics) เพือ่ บูรณาการความรูใ้ ห้ใช้ได้กบั ชีวติ ในชุมชน ของเด็กจริง ๆ “สิง่ ทีเ่ รานอกจากเพือ่ พัฒนาเด็ก คือต้องการพิสจู น์หลักสูตรทีเ่ ราใช้ กันตอนนี้นนั ้ ตอบโจทย์เพียงด้านเดียว” ครูยรี าฟเชือ่ ว่า Saturday School มีหลักสูตรทีต่ อบโจทย์ เห็นได้จาก การเปลีย่ นแปลงของเด็ก ว่าท�ำไมเรียนในโรงเรียนไม่เปลีย่ นแต่ทน่ี ้เี ปลีย่ น เขา ต้องการสือ่ สารให้สงั คมรูว้ า่ เกิดอะไรขึน้ และบอกกระทรวงว่าควรท�ำอย่างไร
59
และแล้วเราก็ล้างค�ำสาปของการศึกษาที่ชื่อ ‘กวดวิชา’ ได้จริง? “กวดวิชา คือตามท�ำตามระบบ แม้วา่ จะไม่ถกู ต้องนัก แต่เขาก็ทำ� เพือ่ ตอบโจทย์ตลาด” คงไม่งา่ ยอย่างนัน้ แม้ Saturday School อาจด้วยการสอนทีม่ เี ทคนิค กว่าดีกว่าโรงเรียนในหลักสูตรปกติ และการสอนในกลุม่ ทีเ่ ล็กกว่า แต่น้ีเป็ น ปั ญหาในเชิงระบบภาพใหญ่ กวดวิชาเป็ นสิง่ ทีต่ อบโจทย์ระบบการศึกษา ทีเ่ น้นการสอบ แต่ Saturday School ระบบการศึกษาทีเ่ น้นการเข้าใจและ พัฒนาตนเอง
“ทีน่ ้ีกไ็ ม่ต่างก็อะไรต่างเรียนพิเศษ เราไม่ได้มาแทนการกวดวิชา”
แต่ช่วยเสริมระบบการศึกษานี้ ด้วยวิชาทีเ่ พิม่ เข้ามา ตอบโจทย์การสร้าง โอกาสในการเรียน เพือ่ หักล้างกับค่านิยมเรียนเพือ่ สอบ ซึง่ ครูยรี าฟหวังว่า ถ้าพ่อแม่เห็นประโยชน์ของการชอบอะไรแล้วได้เรียนอย่างนัน้ จะเป็ นเรือ่ งดี “แต่ถา้ ระบบไม่เปลีย่ น สุดท้ายเด็กจะพบว่ามหา’ลัยไม่ได้มาประเมิน วิชาเหล่านี้” ครูยรี าฟเชื่อว่าการเรียนของทีน่ ่ีจะสามารถปรับเข้าไปใช้ได้ ไม่ถงึ กับต้องเป็ นหลักสูตรใหม่ เพราะ ทักษะการพัฒนาในศตวรรษที่ 21 เป็ นสิง่ ที่ Saturday School และระบบการศึกษาไทยมีอยูพ่ กั ใหญ่แล้ว คือการเรียนเพือ่ สร้างทักษะทีจ่ ำ� เป็ นกับชีวติ (ในอนาคต) และเหมาะสมกับยุคสมัย แต่ทงั ้ นี้จะ
60
ปรับหลักสูตรอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปรับทีค่ รูผสู้ อน และระบบภาพรวมด้วย จะเป็ นอย่างไรถ้าระบบการเรียนทีเ่ ราไปรับมาจากต่างประเทศนี้ ไม่ได้ใช้เพือ่ สอบเข้ามหาวิทยาลัย สุดท้ายมันอาจกลับไปเป็ นแบบเดิม เพราะ พ่อแม่กต็ อ้ งชัวร์วา่ เรียนไปต้องใช้เข้ามหาวิทยาลัยได้ ซึง่ จริง ๆ แล้วถ้าเด็กต้องการเรียนอะไรก็ตอ้ งผลักดันไปให้สดุ เช่น เด็กอยากเรียนดนตรี ก็ควรได้รบั การสนับสนุน แล้วสุดท้ายปลายทางจะมีงาน รองรับอยูแ่ ล้ว เป็ นเรือ่ งจริงทีน่ กั ดนตรี สามารถท�ำรายได้ได้ “กระทรวงรับรูส้ งิ ่ ทีเ่ กิดขึน้ ว่า ทีผ่ า่ นมาโครงการมีอมิ แพ็คมาก นี้คอื สิง่ ทีเ่ ราให้กบั สังคม และหวังว่าจะไปสะกิดผูใ้ หญ่ทเี ่ กีย่ วข้อง รวมถึง ผอ. ครู หรือใครสักคนให้เกิดแรงบัลดาลใจ น�ำมาปรับกับการสอนตัวเอง” และนี่คงจะเป็ นต้นแบบของโรงเรียนทีค่ วรจะมีในทุก ๆ โรงเรียน ส�ำหรับการศึกษาทีค่ วรจะเป็ นในประเทศไทย หากจะมีสถานทีส่ กั แห่งให้เรา สามารถเรียนรูท้ กั ษะทีจ่ ำ� เป็ นในอนาคตก็คงเป็ นที่ Saturday School แห่งนี้ “เราจะสะเทือนไปเรือ่ ย ๆ ” ครูยรี าฟกล่าวเปรียบเปรยในฐานะหนึ่งในคน รุน่ ใหม่ทก่ี ำ� ลังร่วมแก้ปมเชือกขนาดใหญ่ทม่ี ชี อ่ื ว่า “ระบบการศึกษาไทย”
61
62
63
64