การออกแบบภาพยนตร์ สัน้ สะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ SHORT FILM DESIGN FOR SOCIAL REFLECTION CONCERNING “STANG”
โดย นายอลงกรณ์ สุขวิพัฒน์ รหัส 5111311956 ศศ.บ.511(4)/13A
โครงการพิเศษนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์) คณะมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปี การศึกษา 2554
วิจัยเรื่อง : การออกแบบภาพยนตร์ สัน้ สะท้ อนสังคม เรื่อง สตางค์ ชื่อนักศึกษา : นายอลงกรณ์ สุขวิพัฒน์ สาขาวิชา : ศิลปกรรม (แขนงออกแบบนิเทศศิลป์) ปี การศึกษา : 2554 คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม อนุมตั ิให้ โครงการ พิเศษออกแบบนิเทศศิลป์นี ้ เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาระดับปริญญาตรี ศลิ ปศาสตรบัณฑิต ………………………………………….. (รองศาสตราจารย์สมุ าลี ไชยศุภรากุล) คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ คณะกรรมการสอบโครงการพิเศษออกแบบนิเทศศิลป์ ประจาปี การศึกษา 2554 ………………………………………….. (อาจารย์ธีระชัย สุขสวัสดิ)์ ประธานกรรมการ ………………………………………….. (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร) กรรมการ
………………………………………….. (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์กรรัตน์ พ่วงพงษ์ ) กรรมการ
………………………………………….. (อาจารย์ไชยพันธุ์ ธนากรวัจน์) กรรมการ
………………………………………….. (อาจารย์วารดา พุม่ ผกา) กรรมการ
………………………………………….. (อาจารย์จารุณี เนตรบุตร) กรรมการ
………………………………………….. (อาจารย์เกวรินทร์ พันทวี) กรรมการ
………………………………………….. (อาจารย์ฐปนนท์ อ่อนศรี ) กรรมการ
………………………………………….. (อาจารย์อดิสรณ์ สมนึกแท่น) กรรมการ
บทคัดย่ อ หัวข้ อ : การออกแบบภาพยนตร์ สัน้ สะท้ อนสังคม เรื่อง สตางค์ Short film design for social reflection concerning “Satang” อาจารย์ ท่ ปี รึกษา : อาจารย์ ธีระชัย สุขสวัสดิ์ ผู้วิจัย : นายอลงกรณ์ สุขวิพัฒน์ การออกแบบภาพยนตร์ สัน้ สะท้ อนสัง คม เรื่ อ ง สตางค์ มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษา กระบวนการออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ สะท้ อนสัง คม เรื่ อง สตางค์ โดยต้ องการสะท้ อนให้ เห็นถึง คุณค่าของเหรี ยญสตางค์ เพื่อให้ คนไทยหันมาเห็นคุณค่าของเหรี ยญสตาง และหันกลับมาใช้ เหรี ยญสตางค์ในชีวิตประจาวันมากขึ ้น วิธีการดาเนินการวิจยั เริ่ มต้ นจาก การศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับการออกแบบภาพยนตร์ ข้ อมูล เกี่ยวกับเหรี ยญสตางค์ ปั ญหาการหลงลืมคุณค่าของเหรี ยญที่เกิดขึ ้นในสังคมไทย ทังจากเอกสาร ้ และสภาวะที่เกิดขึ ้นจริ ง รวมถึงการวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อนาข้ อมูลที่ได้ มาใช้ ในการออกแบบ หรื อพัฒนาต่อไป ภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ มีการออกแบบให้ เป็ นภาพยนตร์ สนที ั้ ่ นาเสนอเรื่ องราวเกี่ ยวกับการดารงชี วิตของคนไทยในปั จ จุบันที่ไ ม่เห็นคุณค่า ของเหรี ยญ และ นาเสนอเรื่ องราวในอีกมุมมองหนึง่ นอกจากคนที่ไม่เห็นค่าแล้ วยังมีคนอีกกลุ่มหนึ่งที่ยงั เฝ้ารอ และ เห็นค่าของเหรี ยญสตางค์เหล่านัน้ โดยนาเสนอในรู ปแบบที่มีความเป็ นธรรมชาติ ผู้ชมสามารถ เข้ าใจในจุดประสงค์ที่ผ้ วู ิจยั ต้ องการนาเสนอในขันตอนของการผลิ ้ ตภาพยนตร์ และขันตอนของการ ้ ตัดต่อเพื่อให้ ได้ ผลงานที่สาเร็ จสมบูรณ์ เมื่อทาการผลิตจนได้ ผลงานภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคมที่ สาเร็ จสมบูรณ์ แล้ วจึงทาการเผยแพร่ ให้ แก่กลุ่มเป้าหมายผ่านทางอินเตอร์ เน็ตซึ่งเป็ นช่องทางที่ สามารถเข้ าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ มากที่สุด รวมถึงการเผยแพร่ในนิทรรศการแสดงงานศิลปนิพนธ์ ของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ จากผลการสารวจความคิดเห็นที่มีตอ่ ผลงานการออกแบบพบว่า การออกแบบภาพยนตร์ สันสะท้ ้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ มีภาพรวมของการออกแบบอยู่ในระดับเกณฑ์ดี ซึ่งภาพยนตร์ สงั ้ สะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ ทาให้ ผ้ ูชมได้ เล็งเห็นถึง คุณค่าของเหรี ยญสตางค์ และยังสามารถ นาเอาข้ อคิดที่ได้ จากภาพยนตร์ เรื่ องนี ้ไปปรับใช้ กบั การดาเนินชีวิตประจาวันได้ อีกด้ วย
สาขาวิชาศิลปกรรม (แขนงออกแบบนิเทศศิลป์) ปี การศึกษา 2554 ลายมือชื่อนักศึกษา …………………………………………… (นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการพิเศษออกแบบนิเทศศิลป์ …………………………………………… (อาจารย์ธีระชัย สุขสวัสดิ)์
ABSTRACT Title : Short film design for social reflection concerning “Satang” Advisor : Mr. Teerachai Suksawas Researcher : Mr. Alongkom Sukwiphat The objective of the study entitled “Short film design for social reflection concerning Satang” was to investigate the process of social reflecting short film concerning satang in order to understanding the value of satang coin and reuse this coin increasingly. The research methodology started from the studying of the film design, sating coin information, problems of forgotten the value of the coin the Thai society. The data collection from the documents, the facts, and the case study was conducted for the design. The social reflecting short film concerning satang provided the design of short film of Thai people lifestyle without the value of coin and presentation. Moreover, the opposite opinion waited the value of coin. The presentation express the natural and the audience able to understand of the objective need to present the step of film production. The step of cutting for the completion of the production and promotion to the target group via internet as the most entering to the target group. The extension of exhibition shown the thesis of arts especially art information design. The result of opinion survey towards the result of the design found that social reflecting short film concerning sating shown the design in good level. Social reflecting short film concerning sating assisted the audience in value of sating coin and able to bring the idea from this film for the adaptation as everyday life.
Division of Art : Applied Art Design program, Academic year : 2011 Student’s signature …………………………………………… (Mr. Alongkorn Sukwiphat) Thesis Advisor’s signature …………………………………………… (Mr. Teerachai Suksawas)
กิตติกรรมประกาศ การวิจัยเรื่ องการออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ สะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ จะสาเร็ จ ลุล่วงไป ด้ วยดีไม่ได้ หากไม่ได้ รับความกรุ ณาจากบุคคลหลาย ๆ ท่าน ผู้วิจยั ขอขอบคุณ บิดามารดา ที่ให้ การสนับสนุน และช่วยในการออกค่าใช้ จ่ายมาโดยตลอด อาจารย์ ธีระชัย สุขสวัสดิ์ อาจารย์ ที่ ปรึ กษาที่ให้ คาแนะนาในการทาศิลปนิพนธ์ ครัง้ นี ้ ตลอดจนคณาจารย์ในสาขาวิชาศิลปกรรมที่ อบรมสัง่ สอน และให้ คาปรึกษาตลอดมา สุดท้ ายนีข้ อขอบพระคุณท่านที่มิได้ เอ่ยนามทุกท่านที่ให้ ความอนุเคราะห์และกรุ ณาใน เรื่ องต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อศิลปนิพนธ์ ฉบับนีแ้ ละตัวผู้วิจัยเสมอมา จึงขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี ้
อลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์ ผู้วิจยั
สารบัญ หน้ าอนุมัติ บทคัดย่ อภาษาไทย บทคัดย่ อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญภาพ สารบัญตาราง
หน้ า ก ข ค ง จ ช
บทที่ 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมติฐาน ขอบเขตของงาน นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ
1 2 2 2 2 2
บทที่ 2 การศึกษาข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง สุนทรี ยภาพในงานภาพยนตร์ กระบวนการสร้ างภาพยนตร์ ความรู้เรื่ องเหรี ยญสตางค์ งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง
3 5 29 31
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ขันตอนการวางแผนก่ ้ อนการผลิตงาน การกาหนดแบบร่างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน ขันตอนการพั ้ ฒนาและการผลิตผลงาน ขันตอนหลั ้ งการผลิตผลงาน ประชากรในการวิจยั เครื่ องมือในการวิจยั ระยะเวลาในการเก็บข้ อมูล
34 34 35 36 36 37 37
สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล ขันตอนการวางแผนก่ ้ อนการผลิตงาน การสร้ างแบบร่างทางความคิด ขันตอนการพั ้ ฒนาและการผลิตผลงาน ขันตอนหลั ้ งการผลิตผลงาน
39 44 47 59
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการวิจยั วิธีการดาเนินการวิจยั ผลการวิจยั โดยสรุป อภิปรายผล ข้ อเสนอแนะ
62 62 63 63 64
บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค ประวัตผิ ้ วู ิจยั
66 68 71 75 79
สารบัญภาพ ภาพที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26
ภาพตัวอย่างการเขียนสตอรี่ บอร์ ด ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง ส่วนที่หายไป ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง เสียงที่...ไม่ได้ ยิน ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง suspend error dream ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง พิธีเปิ ดฯ ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง เมื่อคืนนี ้ฝนตกหนัก ภาพสตอรี่ บอร์ ด เรื่ อง สตางค์ ส่วนที่ 1 ภาพสตอรี่ บอร์ ด เรื่ อง สตางค์ ส่วนที่ 2 ภาพสตอรี่ บอร์ ด เรื่ อง สตางค์ ภาพกล้ อง Nikon D90 ที่ใช้ ในการถ่ายทา ภาพการถ่ายทาบริเวณหน้ าห้ างเซนทรัลลาดพร้ าว ภาพการถ่ายทาบริเวณตลาดนัดสวนจตุจกั ร ภาพการถ่ายทาบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนการตั ้ งค่ ้ า ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนการน ้ าเข้ าของไฟล์วีดีโอ ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนของการตั ้ ดวีดีโอ ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนของการปรั ้ บค่าสี ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนการปรั ้ บความคมชัด ภาพขันตอนการน ้ าไฟล์วีดีโอที่เสร็จสมบูรณ์ออก ภาพตัวอย่างผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ ภาพตัวอย่างการออกแบบร่างซีดี ภาพซีดีที่ออกแบบ ภาพตัวอย่างการออกแบบปกซีดี ภาพตัวอย่างการออกใบปลิว ภาพตัวอย่างปกซีดีที่เสร็จสมบูรณ์ ภาพตัวอย่างผลงานอื่น ๆ ที่สมบูรณ์
หน้ า 9 31 32 41 42 43 45 46 47 49 49 50 50 51 51 52 52 53 53 54 55 55 56 57 58 58
สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่ 27 ภาพตัวอย่างผลงานที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ YouTube 28 ภาพตัวอย่างผลงานที่เผยแพร่ในโซเชียลเน็ตเวิร์ค 29 ภาพตัวอย่างการเผยแพร่ในนิทรรศการแสดงงานศิลปนิพนธ์
หน้ า 59 59 60
สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ตารางตัวอย่างการเขียนบทถ่ายทา 2 ตารางแสดงลักษณะของ Frame หรื อกรอบภาพ 3 ตารางแสดงเหรี ยญกษาปณ์หมุนเวียน (พ.ศ. 2552) 4 แผนการดาเนินงานตลอดโครงการ 5 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศกึ ษาที่ 1 6 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศกึ ษาที่ 2 7 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศกึ ษาที่ 3
หน้ า 12 23 30 37 41 42 43
บทที่ 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา ในปั จจุบนั เมื่อพูดถึงเหรี ยญ 25 สตางค์ หรื อเหรี ยญ 50 สตางค์น้อยคนนักที่จะให้ ความ สนใจ และมองเห็นถึง คุณ ค่าของเหรี ยญสตางค์เหล่านี ้ จากเศรษฐกิ จของประเทศไทยที่กาลัง เจริญเติบโต การกาหนดราคาสินค้ าที่เปลี่ยนแปลงไป ค่านิยมในการจับจ่ายใช้ สอย รวมถึงค่านิยม ในการอดออมที่ได้ เปลี่ยนแปลงไปจากยุคสมัยก่อน ส่งผลให้ คนไทยในปั จจุบนั นันลื ้ มความสาคัญ ของเหรี ยญสตางค์เหล่านี ้ ในยุคสมัยก่อนเหรี ยญสตางค์นนั ้ มี บทบาทในการซื อ้ ขาย สามารถจับจ่ายใช้ สอย และ เลือกซื ้อสินค้ าได้ ซึ่งมีความแตกต่างกับปั จจุบนั เหรี ยญสตางค์เหล่านี แ้ ทบจะไม่มีความสาคัญใน การค้ า ขายเลย และยัง ไม่ส ามารถซื อ้ สิ น ค้ า ใด ๆ ในท้ อ งตลาดได้ เ ลยสัก ชิ น้ แต่เ มื่ อ ลองให้ ความสาคัญ และใส่ใจกับคุณค่าของเหรี ยญสตางค์มากขึน้ จะพบว่าเหรี ยญเหล่านี ้เมื่อทาการ รวบรวมได้ เป็ นจานวนมากแล้ วค่าของเหรี ยญก็จะเพิ่มมากขึ ้น เหรี ยญสตางค์เล็ก ๆ เหล่านี ้ที่ได้ ทา การรวบรวมอาจจะมีมลู ค่ามากกว่าเงินที่เป็ นธนบัตรเลยก็เป็ นได้ ถึงแม้ วิถีการดาเนินชีวิตของคน ไทยในปั จจุบนั จะเปลี่ยนแปลงไปมีความฟุ้งเฟ้อ มีการใช้ จ่ายฟุ่ มเฟื อย และยังไม่สนใจกับเหรี ยญ เหล่านี ้ โดยไม่ได้ ใส่ใจว่าในสังคมไทยนันยั ้ งมีคนด้ อยโอกาสที่รอคอยเหรี ยญสตางค์เหล่านี ้ แต่ก็ยงั มีคนบางกลุ่มที่ยงั มองเห็นถึงความสาคัญ และคุณค่าของเหรี ยญสตางค์ ซึ่งเหรี ยญเล็ก ๆ เพียง เหรี ยญเดียวนันอาจะเปลี ้ ่ยนแปลง หรื อต่อชีวิตให้ คนอีกหลายคนได้ หากคนไทยนันหั ้ นมาใส่ใจกับ สิ่งรอบตัว หันมาให้ ความสาคัญกับเหรี ยญสตางค์ รู้ จกั การแบ่ งปั น เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ และช่วยเหลือ ผู้อื่นแม้ จ ะช่วยด้ วยเศษเงิ นที่ มี มูล ค่าเพี ยงเล็กน้ อยนัน้ จะส่ง ผลให้ สัง คมไทยมี คุณ ภาพที่ ดีขึน้ คุณค่าทางจิตใจของคนไทยก็จะสูงขึ ้นด้ วย นอกจากจะช่วยในเรื่ องสังคมแล้ ว การเห็นคุณค่าและ หันกลับมาใช้ เหรี ยญสตางค์ในการซือ้ ขายนัน้ จะช่ วยให้ เศรษฐกิจของประเทศไทยดีขึน้ อีกด้ วย ผู้วิจัยได้ เล็ ง เห็นถึงปั ญ หาเหล่านี ้ และต้ องการนาเสนอเรื่ องราวที่ เกิ ดขึน้ ในสัง คมไทยปั จ จุบัน เกี่ยวกับการใช้ เหรี ยญสตางค์ เพื่อให้ คนไทยหันกลับมาเห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์อีกครัง้ ผู้วิจยั จึงได้ คดิ ที่จะสร้ างภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ เพื่อให้ ผ้ ทู ี่ได้ รับชมได้ รับรู้ เรื่ องราวที่เกิดขึ ้นในสังคมไทยปั จจุบนั ได้ เล็งเห็นถึงคุณค่าของเหรี ยญสตางค์ สามารถนาเอาข้ อคิด ที่ได้ จากภาพยนตร์ เรื่ องนี ้ไปปรับใช้ กบั การดาเนินชีวิตประจาวัน เมื่อเราเห็นคุณค่าของสิ่งที่อาจจะ ดูไร้ คา่ ในสายตาของคนอื่นเราจะพบว่าความสุขนันอยู ้ ใ่ กล้ ตวั มากกว่าที่คดิ
วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. ศึกษากระบวนการออกแบบภาพยนตร์ สนเพื ั ้ ่อสะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ 2. เพื่อผลิตภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ สมมติฐาน การออกแบบภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ เป็ นการผลิตภาพยนตร์ ที่มีเนื ้อหา เกี่ยวกับค่านิยมการจับจ่ายใช้ สอยในการดาเนินชีวิตของคนไทยในปั จจุบนั คุณค่าของเหรี ยญ 25 สตางค์ และเหรี ยญ 50 สตางค์ ซึ่งภาพยนตร์ เรื่ องสตางค์นี ้จะสะท้ อนสังคมให้ คนไทยหันมาเห็น คุณค่าของเหรี ยญสตางค์ รู้จกั การช่วยเหลื่อผู้อื่น มากขึ ้น โดยการถ่ายทอดภาพยนตร์ ในเรื่ องนี ้จะ ใช้ มุมกล้ องมุม กว้ างเป็ นหลัก เพื่อให้ เห็นรายละเอียดของสถานกรณ์ ที่เกิดขึน้ ในการออกแบบ ภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ จัดทาจานวน 1 เรื่ อง มีความยาวไม่เกิน 5 นาที ตัดต่อ ด้ วยโปรแกรม Sony Vegas Pro 10 ขอบเขตของงาน 1. โครงเรื่ องและบทภาพยนตร์ 2. STORYBOARD 3. ถ่ายทาและตัดต่อ 4. ผลิตงานจริง จัดทาภาพยนตร์ สนความยาวไม่ ั้ เกิน 10 นาที นิยามศัพท์ เฉพาะ 1. ภาพยนตร์ สนั ้ หมายถึง หนังที่มีความยาวไม่เกิน 30 นาที ที่มีรูปเเบบหรื อสไตล์ หลากหลาย จะมีโครงเรื่ องที่ซบั ซ้ อนมากกว่าภาพยนตร์ ทวั่ ไป และมีการเล่าเรื่ องด้ วยภาพและเสียง ที่มีประเด็นเดียวสัน้ ๆ แต่ได้ ใจความ 2. เหรี ยญสตางค์ หมายถึง เหรี ยญที่ทาด้ วยโลหะหรื อวัตถุอื่น ๆ ที่ใช้ ในมาตราเงินตรามี ราคาต่าง ๆ กัน ผลิตเพื่อออกใช้ หมุนเวียนทัว่ ไป ในปั จจุบนั มีการผลิตเหรี ยญกษาปณ์อยู่ทงหมด ั้ 9 ชนิดด้ วยกัน ในงานวิจยั นี ้หมายถึงเหรี ยญ 25 สตางค์ และ 50สตางค์ ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับ 1. ได้ ความรู้เรื่ องกระบวนการสร้ างภาพยนตร์ สนั ้ 2. ได้ ภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์
บทที่ 2 การศึกษาข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง การออกแบบภาพยนตร์ สัน้ เพื่ อสะท้ อ นสัง คมปั จ จุบัน เรื่ อ ง สตางค์ มี จุด มุ่ง หมายคื อ ต้ องการสะท้ อนให้ คนไทยในยุคสังคมปั จจุบนั ได้ เห็นถึง คุณค่าความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ และส่ง เสริ ม ให้ คนในสัง คมรู้ จักการเอื อ้ เฟื ้อแบ่ง ปั น ช่วยเหลื อ ผู้อื่นที่ ด้อยกว่า ตามกาลัง และ ความสามารถที่เ รามี และเพื่อให้ ภ าพยนตร์ สัน้ ออกมาตรงตามแนวความคิดการออกแบบ จึง กาหนดตามหลักการการออกแบบภาพยนตร์ สนดั ั ้ งนี ้ 1. สุนทรี ยภาพในงานภาพยนตร์ 2. กระบวนการสร้ างภาพยนตร์ 3. ความรู้เรื่ องเหรี ยญสตางค์ 4. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง 1. สุนทรียภาพในงานภาพยนตร์ สุทรี ยภาพ หรื อ สุนทรี ย์ เป็ นความรู้ สึกที่ บริ สุทธิ์ ที่เกิดขึน้ ในห้ วงเวลาหนึ่งลักษณะของ อารมณ์ หรื อความรู้ สึกนัน้ ใช้ ภาษาแทนความรู้ สึกจริ ง ซึ่งได้ ความหมายไม่เท่าที่ ร้ ู สึกเช่น คาว่า พอใจ ไม่พอใจ เพลิดเพลินใจ ทุกข์ใจ กินใจ อารมณ์ หรื อ ความรู้สึกดังกล่าวจะพาให้ เกิดอาการ ลืมตัว (Attention span) และ เผลอใจ (psychical distance) ลักษณะทังหมดนี ้ ้เรี ยกว่า สุนทรี ย์ หรื อสุนทรี ยภาพ ภาพยนตร์ ที่ ค้ ุน เคยนอกเหนื อ ไปจากด้ า นความบัน เทิ ง ภาพยนตร์ ยัง มี บ ทบาทและ ความสาคัญอื่นอีกมากมาย ซึ่งสอดคล้ องกันกับข้ อมูลความสาคัญของการศึกษาภาพยนตร์ ว่า ตามความเข้ าใจของคนทัว่ ไปภาพยนตร์ เป็ นเพียงแค่โลกมายาที่ฉาบฉวย หรื อเป็ นเพียงแค่ความ บันเทิง แต่สาหรับด้ านสื่อและวัฒนธรรมศึกษา (Media and Cultural Studies) กลับให้ ความสาคัญต่อการศึกษาภาพยนตร์ ซงึ่ สรุปเนื ้อหาได้ ดงั ต่อไปนี ้ 1.1 การวิเคราะห์ เอกสาร การวิเคราะห์เอกสารหรื อการลงพื ้นที่อาจเป็ นสิ่งไกลตัวคนทัว่ ไปในทางกลับกัน โลกมายา ของภาพยนตร์ กลับใกล้ ชิดและอยู่ในชี วิตประจ าวัน (Everyday life) อี กทัง้ ในเชิง ปริ ม าณ ภาพยนตร์ มีมากกว่าบรรดาเอกสารต่าง ๆ กล่าวอีกนัยหนึ่ง คนส่วนใหญ่จะชมภาพยนตร์ มากว่า หยิบหนังสืออ่าน
1.2 การสื่อสารสาหรั บผู้ชม ภาพยนตร์ มีทงั ้ ภาพและเสี ยงอันเป็ นสิ่งมหัศจรรย์ในศตวรรษที่ 20 ที่ทรงพลานุภาพ สาคัญทังในแง่ ้ การดึงดูดใจผู้ชมและสื่อสารสาหรับคนทุกเพศทุกวัยเหนือกว่าสิ่งอื่นใด ยิ่งกว่านัน้ ในบางยุคสมัย ภาพยนตร์ กลายเป็ นเครื่ องมืออุดมการณ์ทางการเมืองอีกด้ วย 1.3 บทบาท และความสาคัญของสุนทรียภาพในงานภาพยนตร์ ภาพยนตร์ ยัง มี บ ทบาทในการบอกสภาพสัง คมของแต่ล ะพื น้ ถิ่ น ในเวลาที่ ต่ า งกั น สอดคล้ องกับความหมายภาพยนตร์ ที่สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้ บญ ั ญัติไว้ ว่า ภาพยนตร์ หมายถึง สื่อเคลื่อนไหวที่สะท้ อนเหตุการณ์ทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมคล้ าย ข้ อมูลที่ว่า ภาพยนตร์ เกี่ ยวข้ องกับสังคมและเป็ นภาพสะท้ อนสังคม ปรากฏการณ์หลายอย่างใน อุตสาหกรรมการสร้ างภาพยนตร์ บง่ ชี ้ว่าสังคมในขณะนันมี ้ สภาพและทิศทางเป็ นเช่นไร นอกจากสะท้ อนสังคมและวัฒนธรรม ภาพยนตร์ ยงั มีบทบาทที่น่าสนใจอื่นๆอีกดัง่ ข้ อมูล ที่ ว่า ภาพยนตร์ เ ป็ นเครื่ อ งมื อ ส าคัญ ในฐานะที่ ส ามารถเปลี่ ย นแปลงสัง คมด้ านต่าง ๆ ซึ่ง มี รายละเอียดดังนี ้ 1.3.1 ทาให้ เกิดความเปลี่ยนแปลงด้ านศิลปวัฒนธรรม เนื่องจากสามารถนาภาพ และเสียงของศิลปวัฒนธรรมจากแหล่งหนึง่ ไปสูป่ ระชาชนในแหล่งอื่นๆ 1.3.2 ด้ านการศึกษา ถ่ายทอดความรู้ ภาพยนตร์ นาความรู้ที่อยู่ไกลหรื อไม่เห็นด้ วย ตาเปล่าให้ เกิดความรู้ความเข้ าใจ เช่น อวกาศ หรื อสิ่งเปลี่ยนแปลงเร็วหรื อช้ า ให้ ช้าเร็วพอศึกษาได้ 1.3.3 กิจการทหารและความมัน่ คงของประเทศ บันทึกวิธีรบ ภูมิประเทศ และที่ตงั ้ ข้ าศึกเมื่อสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ใช้ บนั ทึกเหตุการณ์ประเมินกาลังข้ าศึกและผลการรบของฝ่ ายตน 1.3.4 มีความสาคัญต่อกิจการแพทย์ นอกจากเผยแพร่ความรู้ทางการแพทย์ ยังใช้ ใน การบันทึกอาการเพื่อวินิจฉัยโรค และถ่ายทอดการปฏิบตั ทิ างการแพทย์จากที่หนึง่ ไปสูอ่ ีกที่หนึง่ 1.3.5 กิจการสารสนเทศ เปลี่ยนแปลงสังคมในการค้ นคว้ าข้ อมูลและการตัดสินใจ ของประชาชน เช่น หาข้ อมูลได้ จากศูนย์ภาพยนตร์ แห่งชาติของประเทศไทย ในอนาคตอันใกล้ 1.3.6 การประชาสัม พัน ธ์ เพื่ อ เผยแพร่ เ หตุก ารณ์ ห รื อ องค์ ก รขนาดเล็ ก จนถึ ง ประชาสัมพันธ์ระดับชาติ ซึง่ ให้ ความรู้ ทัศนคติ ทักษะ ใกล้ เคียงสถานการณ์จริงมากกว่า 1.3.7 มีความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสังคม ภาพยนตร์ ที่มีผ้ ูชมมาก สามารถโน้ มน้ าวพฤติกรรมของสังคม ตังแต่ ้ การแต่งกาย บุคลิกตัวแสดงทาให้ ผ้ ชู มกระทาตาม โดยเฉพาะภาษาในภาพยนตร์ มกั มีอิทธิพลต่อการใช้ ภาษาของประชากรในสังคม
ด้ ว ยบทบาทและความส าคัญ นานับ ประการ อี ก ทัง้ ความโดดเด่น ทางสุ น ทรี ย ภาพ ตลอดจนการดาเนินเรื่ องและรายละเอียดต่างๆ ที่สะกดผู้รับสารให้ คล้ อยตามได้ อย่างไม่ยากนัก จากความเคลิบเคลิ ้ม และประทับใจในสุนทรี ยะที่ปรากฏในงานภาพยนตร์ ข้ อมูล ข้ างต้ นบ่งบอกว่า การเข้ าถึง ศิลปะลึกซึง้ เป็ นเรื่ องของจิ นตนาการและอารมณ์ ความรู้สกึ มากกว่าวุฒิปัญญาและความรอบรู้ อาจกล่าวได้ ว่าสุนทรี ยภาพ คือ ความรู้ สึกบริ สทุ ธิ์ที่ แสดงความซาบซึ ้งต่อคุณค่าของธรรมชาติหรื อศิลปะ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งคล้ ายกับว่าเหตุผลก็เป็ น ปั จจัยสาคัญที่จาเป็ นต่อการดารงอยู่ของมนุษย์ แต่ในบางครัง้ เรื่ องราวของอารมณ์ความรู้สึกนันก็ ้ ช่วยให้ ชีวิตมนุษย์ไม่ดาเนินอยูอ่ ย่างแห้ งแล้ งจนเกินไป 2. กระบวนการสร้ างภาพยนตร์ 2.1 ความรู้ เรื่ องการถ่ ายภาพยนตร์ เพื่องานภาพยนตร์ ภาพยนตร์ เริ่ มต้ นจากประดิษฐกรรมประเภทเครื่ องเล่น มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงให้ เห็น รูปภาพมีอาการเคลื่อนไหว ได้ ดจุ อาการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ เมื่อมีการพัฒนาทางด้ านเทคนิค จนทาให้ สามารถบันทึกภาพแสดงการเคลื่อนไหวได้ อย่างละเอียดและเหมือนจริ งยิ่งขึ ้น ภาพยนตร์ ก็ เ ริ่ ม พัฒ นาการทางด้ า นเนื อ้ หาของภาพ จากการแสดงเพี ย งอากัป กริ ย าอาการของท่า ทาง เคลื่อนไหว กลายมาเป็ นการแสดงพฤติกรรมอย่างเป็ นเรื่ องเป็ นราวและเมื่อเทคนิคทางกลไกเริ่ ม เข้ าสู่ความสมบูรณ์ ภาพยนตร์ ซึ่งกาเนิดจากเครื่ องเล่นก็กลายมาเป็ นการสื่อสารมวลชนอย่างเต็ม ตัว ผู้ถ่ายทาภาพยนตร์ ไม่ใช่เพียงผู้ควบคุมกลไกของกล้ องถ่ายภาพยนตร์ ที่ตงติ ั ้ ดตายอยู่กับที่นิ่ง ๆ ในระดับสายตาเท่านันหากแต่ ้ ผ้ ถู ่ายภาพยนตร์ จะต้ องเป็ นผู้ปรั บปรุงและสร้ างสรรค์สิ่งใหม่ของ กลวิธี การทางศิล ปะสื่ อความหมายด้ วย ผู้ถ่ายภาพยนตร์ คือผู้เลื อ กสรรจัดแจง ความบัง เอิ ญ ส่วนเกินอันล้ นเหลือตามธรรมชาติแวดล้ อม ให้ เข้ าสู่ความพอดี ด้ วยกรอบภาพของกล้ องถ่าย ภาพยนตร์ ใช้ กล้ องถ่ายภาพยนตร์ ประดุจปากกา เพื่อประพันธ์ และสื่อความหมาย ด้ วยวิธีการ เฉพาะตัวสามคุณลักษณะพิเศษ ซึง่ ผู้ถ่ายภาพยนตร์ ใช้ ในการสื่อความหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 หลักการเขียนบทภาพยนตร์ การเขียนบทภาพยนตร์ สาหรับการสร้ างภาพยนตร์ บทกับภาพยนตร์ มีความสัมพันธ์ ซึ่ง กันและกันเป็ นอย่างมากเพราะบทเป็ นสื่อเบื ้องต้ นของผู้กากับเรื่ องซึ่งได้ รับการเขียนและถ่ายทอด ถ้ อยค าให้ เป็ นภาพบนแผ่ น ฟิ ล์ ม จึ ง มี ค ากล่ า วที่ มัก ได้ ยิ น ได้ ฟั งกั น เสมอว่ า บทภาพยนตร์ เปรี ยบเสมือนงานออกแบบพิมพ์เขียวหรื อแบบบ้ าน แบบบ้ านมีความสาคัญต่องานสร้ างบ้ านฉันใด บทภาพยนตร์ ก็มีความส าคัญต่องานสร้ างภาพยนตร์ ฉันนัน้ ผู้เขี ยนบทจะกาหนดรายละเอียด เกี่ยวกับฉากแต่ละฉาก มุมกล้ อง ภาพ ผู้แสดง แสง ดนตรี เสียงประกอบ เทคนิคพิเศษ เป็ นต้ น
2.2.1 แนวทางการเขี ยนบทภาพยนตร์ การเขียนบทภาพยนตร์ ก็ไม่มีกฎเกณฑ์ ตายตัวมีเพียงหลักปฏิบตั ิเชิงทฤษฎี 5 ประการ ที่ผ้ ูเขียนบทภาพยนตร์ ควรพิจารณาเป็ นแนวทาง ประกอบกับทักษะการเขียนที่ตนเองมีอยู่ หลักที่วา่ นี ้เป็ นเสมือนองค์ประกอบของบทภาพยนตร์ คือ - บทสนทนาในบทภาพยนตร์ ต้องสามารถกระตุ้นให้ ผ้ ชู มเกิดจินตนาการภาพ - ในบทภาพยนตร์ ต้องระบุคาสัง่ ที่เฉพาะเจาะจงให้ ทีมงานสร้ างปฏิบตั งิ านได้ - เป็ นบทภาพยนตร์ ที่กระชับไม่เยิ่นเย้ อแม้ จะบอกรายละเอียดทุกอย่างเกือบ ทังหมดหรื ้ อทังหมด ้ ซึง่ ผู้เขียนบทภาพยนตร์ เห็นภาพทุกภาพเป็ นภาพเคลื่อนไหว - เป็ นบทภาพยนตร์ ที่ระบุองค์ประกอบอื่น ๆ ของภาพยนตร์ นอกจากภาพและ บทสนทนา เช่น เสียงดนตรี เสียงประกอบ ฯลฯ ให้ มีความสัมพันธ์ หรื อสอดคล้ องไม่ขัดแย้ งกัน โดยเฉพาะภาพต่อภาพ เสียงต่อเสียง ภาพและเสียง - เป็ นภาพยนตร์ ที่ เ ขี ย นค าสั่ง ตัด ต่อ ล าดับ ภาพเหตุก ารณ์ แ ต่ล ะตอน ต่อเนื่องกันตังแต่ ้ ต้นจนจบ 2.2.2 ขันตอนในการเขี ้ ยนบทภาพยนตร์ ผู้เขียนบทควรมีขนตอนในการเขี ั้ ยนบท ตามลาดับดังนี ้ - กาหนดโครงเรื่ อง เมื่อผู้เขียนบทได้ แนวคิดที่ สามารถนาไปถ่ายทาเป็ น ภาพยนตร์ ได้ ผู้เขียนบทจะนาแนวคิดนันมาผู ้ กเป็ นเรื่ องให้ ภาพยนตร์ เรื่ องที่จะถ่ายทานัน้ มีโครง เรื่ องที่แน่นอน - ลาดับเนื ้อเรื่ องย่อแต่ละตอน หมายถึง การนาเอาโครงเรื่ องมาขยายในรู ป เนื ้อเรื่ องย่อ แล้ วเรี ยงลาดับเนื ้อเรื่ องย่อแต่ละตอนตามลาดับก่อน-หลังตามโครงเรื่ องที่กาหนดไว้ อาจต้ องขยายหรื อตัดทอนเพื่อให้ เนื ้อเรื่ องย่อแต่ละตอนลาดับต่อกันอย่างสมเหตุสมผลที่จะเป็ น ภาพยนตร์ ได้ - ขยายเนื ้อเรื่ องย่อให้ เป็ นบทภาพยนตร์ คือ การขยายบทขันตอนที ้ ่ 2 นัน่ เอง การขยายเนื ้อเรื่ องย่อให้ เป็ นบทภาพยนตร์ ตามที่ผ้ เู ขียนบทจินตนาการภาพเป็ นเรื่ องราวต่อเนื่องกับ เป็ นช็อต เป็ นฉาก เป็ นตอน แล้ วเป็ นเรื่ องดังที่ต้องการให้ ผ้ ชู มดูเมื่อสาเร็ จเป็ นภาพยนตร์ แล้ ว ยิ่ง ผู้เ ขี ย นบทขยายเนื อ้ เรื่ อ งย่ อ ให้ เ ป็ นภาพได้ ล ะเอี ย ดเท่ า ใด ก็ จ ะช่ ว ยย่น ระยะเวลาการสร้ าง ภาพยนตร์ นนให้ ั ้ เสร็จเร็วขึ ้น - ทาบทภาพ หมายถึง บทภาพยนตร์ ที่มีภาพนิ่ง เช่น ภาพเขียนด้ วยลากเส้ น ซึ่งมักเรี ยกกันว่า ภาพสเกตซ์ หรื อภาพถ่าย ประกอบกับบทสนทนาหรื อคาพูดเฉพาะภาพ เรี ยง ตามล าดับ ก่ อนหลัง เพื่ อ ช่วยให้ ก ารถ่ า ยท าภาพยนตร์ ง่ า ยขึน้ และสามารถแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ ง
เกี่ ยวกับฉากหรื อผู้แสดงได้ ขนั ้ ตอนนี ผ้ ้ ูสร้ างภาพยนตร์ บางคนอาจไม่ถนัดการร่ างภาพ สเกตซ์ อาจจะเว้ นได้ เหลือเพียงบทสาหรับกล้ องถ่ายทาเท่านัน้ 2.2.3 รู ปแบบการพิมพ์บทภาพยนตร์ บทภาพยนตร์ ที่ใช้ กันอยู่ในขณะนี ้ มักแบ่ง หน้ ากระดาษพิมพ์ออกเป็ น 3 ช่อง ช่องแรกใส่หมายเลขลาดับภาพ (cut) ช่องที่ 2 บอกลักษณะ ภาพ และช่องที่ 3 บอกลักษณะเสียงเท่ากับว่าทุกเรื่ องที่เกี่ยวกับภาพอยู่ครึ่ งซีกซ้ าย และทุกเรื่ อง เกี่ยวกับเสียงอยู่ครึ่งซีกขวามือบางครัง้ บทภาพยนตร์ นี ้อาจพิมพ์ในรูปแบบสากล คือ คาบรรยายที่ บอกลักษณะภาพและอากัปกิริยาการแสดงจะเขียนหรื อพิมพ์ยาวเต็มบรรทัด คาพูดจะขึ ้นบรรทัด ใหม่ แยกพิมพ์ไว้ กลางโดยย่อหน้ า ย่อหลัง เว้ นระยะห่างจากขอบหรื อริ มกระดาษพิมพ์ประมาณ ด้ านละ 2-3 นิ ้วฟุต 2.2.4 การเขียนบทภาพยนตร์ บนั เทิงคดี การเขียนบทภาพยนตร์ บนั เทิงคดีซึ่งเป็ นบท ภาพยนตร์ ชีวิตหลากรส คล้ ายนวนิยาย ที่ผ้ ูสร้ างภาพตร์ นิยมสร้ างในปั จจุบนั มักนามาจากนว นิยายหรื อเรื่ องสันที ้ ่มีผ้ ปู ระพันธ์ ไว้ แล้ วมากกว่าผู้สร้ างจะเขียนขึ ้นเอง แม้ จะมีผ้ สู ร้ างภาพยนตร์ หลายคนสามารถประพันธ์เรื่ องและเขียนบทได้ ด้วยตนเองแต่บทประพันธ์จากนวนิยายหรื อเรื่ องสัน้ นันอาจมี ้ คณ ุ ค่าเป็ นอมตะหรื อได้ รับความนิยมจากผู้อา่ นจานวนมาก การนาบทประพันธ์เหล่านี ้มา สร้ างภาพยนตร์ ย่อมจะมีมากกว่าทัง้ ๆ ที่ผ้ สู ร้ างต้ องหมดเงินอีกจานวนหนึ่งในการเช่าซื ้อลิขสิทธิ์ แล้ วนามาจ้ างผู้เขียนบทอีกครัง้ หนึง่ การเขียนบทภาพยนตร์ บนั เทิงคดีก็เขียนกันตามความถนัดที่มี อยู่นบั เป็ นความสามารถเฉพาะตัว ซึ่งการเขียนบทภาพยนตร์ มีขนตอนในการเขี ั้ ยนบทเรี ยงลาดับ ได้ 7 ขันตอน ้ คือ - อ่านเรื่ องเดิมและค้ นหาแก่นของเรื่ อง หลัง จากอ่านเรื่ องจนแน่ใจแล้ วว่า บท ประพันธ์ เรื่ องนัน้ ๆ ดีเด่นพอที่จะนามาสร้ างเป็ นภาพยนตร์ ได้ และไม่ขาดทุน ผู้สร้ างจะติดต่อเช่า ซื ้อลิขสิทธิ์จากผู้ประพันธ์ถือเป็ นการอนุญาตจากเจ้ าของเรื่ องให้ สร้ างเป็ นภาพยนตร์ ได้ ก่อนลงมือ เขียนบท ควรศึกษาเรื่ องที่จะนามาเขียนอย่างน้ อย 4-5 ครัง้ ควรอ่านจนเห็นภาพและพบแก่นของ เรื่ องว่าเป้าหมายที่ผ้ ปู ระพันธ์ต้องการแสดงให้ ผ้ อู ่านทราบได้ แก่อะไร การอ่านเพื่อค้ นหาแก่นของ เรื่ องโดยเคารพเรื่ องเดิม และทาความรู้ จกั กับชีวิตและงานของผู้ประพันธ์เรื่ องเป็ นสิ่งที่สาคัญกับ บทภาพยนตร์ เพราะการสร้ างภาพยนตร์ โดยคงเรื่ องเดิมทังแก่ ้ นและรายละเอียดที่สาคัญย่อมต้ อง ศึกษาชีวิตและงานเขียนชิ ้นอื่น ๆ ของผู้ประพันธ์ นอกจากนี ้บทประพันธ์ บางเรื่ องอาจสัน-ยาวไม่ ้ พอดีกบั เวลาการฉาย โดยเฉลี่ยแล้ วภาพยนตร์ ไทยจะกินเวลาการฉายประมาณ 2 ชัว่ โมง หากบท ประพันธ์บางเรื่ องยาวเกินไปต้ องตัดให้ สนลง ั ้ หากสันเกิ ้ นไปก็ต้องต่อเติมให้ ยาวขึ ้น การศึกษางาน เขียนของผู้ประพันธ์และคงเรื่ องเดิมไว้ จงึ เป็ นสิ่งสาคัญ
- กาหนดยุคสมัยของเรื่ อง บ่อยครัง้ ที่ผ้ สู ร้ างภาพยนตร์ นาเรื่ องเก่ามาเปลี่ยน ยุคสมัยของเรื่ องให้ เป็ นสมัยใหม่ ซึ่งอาจทาให้ เกิดการขัดกับบรรยากาศของเรื่ องได้ การกาหนดยุค สมัยของเรื่ องจึงควรกาหนดให้ ตรงกับเรื่ องเดิมหรื อสมัยที่ผ้ ปู ระพันธ์เขียนไว้ ว่า เช่น เรื่ อง “ข้ างหลัง ภาพ” ของศรี บูรพา ผู้ประพันธ์ เขียนเหตุการณ์ ไว้ ในพ.ศ. 2479 หรื อปลายรัชกาลที่ 7 ของกรุ ง รัตนโกสินทร์ - ย่อเรื่ อง ก่อนจะลงมือเขียนบทอย่างละเอียด ผู้เขียนมักย่อเรื่ องไว้ เพื่อตีกรอบ ความเข้ าใจของผู้เขียนให้ แน่วแน่และใช้ สาหรับผู้แสดงตลอดจนผู้ทาโฆษณาในการทาความเข้ าใจ กับเรื่ องก่อนปฏิบตั ิ - เขียนบุคลิกลักษณะตัวละครสาคัญ เนื่องจากตัวละครสาคัญเปรี ยบเสมือน ตัวเอกในการดาเนินเนื ้อหาของเรื่ องให้ เข้ มข้ นและจบลงภายในเวลาที่กาหนด ก่อนเขียนเป็ นบท ภาพยนตร์ โดยสมบูรณ์ ผู้เขียนบทต้ องเขียนบุคลิกลักษณะของตัวละครไว้ เป็ นการนาทางหรื อชี ้ทาง ให้ ทราบว่า ตัวละครตัวนัน้ ๆ ควรใช้ คาพูดอย่างไร เป็ นการรักษาเหตุผลควบคุมการแสดงให้ อยู่ใน ขอบเขตที่บคุ ลิกลักษณะกาหนด - ตัดฉาก ผู้เขียนบทจะแบ่งภาพยนตร์ ออกเป็ น 3 ส่วน และนิยมเรี ยกส่วนของ บทภาพยนตร์ นี ้ว่าองค์ - เขียนบทครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 แล้ วคานวณความยาว เมื่อลงมือเขียนบทครัง้ ที่ 1 บางครัง้ ผู้เขียนบทอาจข้ ามไปเขียนบางตอนบางฉากตามอารมณ์ ไม่จาเป็ นต้ องเรี ยงลาดับเสมอไป หลังจากเขียนบทครัง้ ที่ 1 แล้ ว ต้ องนามาอ่าน ตรวจสานวนพูด เหตุผล ความต่อเนื่องและรูปแบบ มีที่ไหนต้ องแก้ ไ ขแล้ วทาเครื่ องหมายไว้ หลั งจากนัน้ ลงมือเขียนบทครัง้ ที่ 2 เมื่ อเขียนเสร็ จแล้ ว คานวณความยาวของบทภาพยนตร์ ทงหมด ั้ วิธีคานวณอาจใช้ วิธีง่ายๆ คือใช้ นาฬิกาจับเวลาการ อ่านบทเหมือนกาลังแสดงจริ ง เผื่อเวลาของฉาก และช่วงคิดคานึงของตัวละคร แล้ วจึงรวมเวลา การคานวณความยาวของบทภาพยนตร์ หากยาวไปก็สามารถตัดออก ตรงกันข้ ามหากสันไปก็ ้ ควร เติมบทก่อนการถ่ายทา เพราะจะช่วยประหยัดค่าฟิ ล์ม ค่าถ่ายทา และเวลาได้ มาก - เขียนบทภาพยนตร์ ครัง้ ที่ 3 , 4 , 5 จนเสร็ จสมบูรณ์พร้ อมแก่การถ่ายทา เมื่อ เขียนบทครัง้ ที่ 2 เสร็จ ผู้เขียนอาจนาไปพิมพ์สาเนาเอกสารหลายสิบชุดแล้ วส่งให้ บคุ คลที่เกี่ยวข้ อง และผู้ร้ ู วิ จ ารณ์ จะช่วยให้ ก ารแก้ ไ ขบทนัน้ สมบูรณ์ แ ละมี ข้ อ บมพร่ อ งน้ อ ยที่ สุด งานเขี ยนบท ภาพยนตร์ บนั เทิงคดีแม้ บางครัง้ จะเป็ นงานเขียนจากบทประพันธ์ ที่มีผ้ ูประพันธ์ ไว้ แล้ ว แต่ก็เป็ น งานเขียนที่เปลืองเวลาพอสมควร บทภาพยนตร์ เรื่ องหนึ่งอาจใช้ เวลาเขียนขันตอนที ้ ่ 1-5 ประมาณ
4-5 เดือน ขันที ้ ่ 6 ประมาณ 2 สัปดาห์ และขันสุ ้ ดท้ ายประมาณ 1 เดือน รวมใช้ เวลาประมาณ 7-8 เดือน สาหรับการเขียนบทภาพยนตร์ บนั เทิงคดีหนึง่ เรื่ อง
ภาพที่ 1 ภาพตัวอย่างการเขียนสตอรี่ บอร์ ด (ที่มา : http://storyboards.greghigh.com/3DAnimation.jpg) 2.2.5 การเขียนบทภาพยนตร์ สารัตถคดี การเขียนบทภาพยนตร์ สารัตถคดี ต้องเขียน จากข้ อมูล เรื่ องราวที่เป็ นจริ ง จะทาให้ ภาพยนตร์ เหมือนจริ งมากกว่าเรื่ องที่แต่งขึ ้น และยังทาให้ ภาพที่ผ้ ชู มเห็นสมบูรณ์มีคณ ุ ค่าและมีความหมายต่อเหตุการณ์ เรื่ องราวที่เป็ นจริงมากกว่า แก่นของเรื่ อง ของบทภาพยนตร์ สารัตถคดีส่วนใหญ่มกั มีแนวคิดมาจากปั ญหาสังคม หรื อสารประโยชน์แก่สงั คมโดยส่วนรวมอย่างมีเหตุผล เมื่อแนวคิดของภาพยนตร์ ส ารัตถคดีมกั เป็ น เหตุผ ลแสดงประโยชน์ต่อคนส่วนรวม การเขียนบทจึง ควรให้ ความสาคัญกับเนื อ้ หาควบคู่กับ ความคิดในการสื่อความหมายด้ วยภาพ การเขียนบทภาพยนตร์ สารัตถคดีจึงเขียนยากกว่าบท ภาพยนตร์ ประเภทบันเทิงคดี เพราะคาบรรยายจะผิดไม่ได้ ทังยั ้ งต้ องเขียนบทโดยจินตนาการภาพ ให้ สื่อความหมายได้ ดีเท่าที่จะสามารถทาได้ ภาพยนตร์ ส ารั ต ถคดี ใ นระยะหลัง นิ ย มเขี ย นบทไปในแนวภาพยนตร์ เ ผยแพร่ หน่วยงาน ชื่อเสียงของประเทศ โดยเน้ นด้ านประวัติศาสตร์ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดยทัว่ ไป บทภาพยนตร์ สารัตถคดีมกั มีความยาวตังแต่ ้ 1-2 ชัว่ โมง ขึน้ อยู่กับหัวเรื่ อง คือไม่มีกฎเกณฑ์ตาม
ตัวแน่นอน ให้ อิสระแก่ผ้ เู ขียนตามความถนัด ส่วนใหญ่มกั ใช้ สานวนแบบสนทนา หรื อเล่าสู่กนั ฟั ง สาหรับการดาเนินเรื่ อง เพื่อมิให้ ผ้ ชู มเบื่อก่อนที่ภาพยนตร์ จะจบ ผู้เขียนอาจใช้ การดาเนินเรื่ องที่มี รูปแบบต่าง ๆ กัน เช่น ใช้ เสียงผู้บรรยายเล่าไปตามลาดับภาพและเหตุการณ์ ใช้ ตวั ละครเล่าหรื อ ดาเนินเหตุการณ์ ยกประโยชน์ขึ ้นมากล่าวนาเข้ าสูเ่ รื่ อง 2.2.6 การเขียนบทภาพยนตร์ เพื่อชักจูงใจ ภาพยนตร์ เพื่อชักจูงใจเรี ยกเป็ นศัพท์สนั ้ ๆ ว่า Filler ภาพยนตร์ เพื่อชักจูงใจ หมายถึง ภาพยนตร์ สัน้ ๆ ที่ใช้ เวลาฉายประมาณไม่เกิน 1 นาที หรื อ 60 วินาที มุ่ง ชักจูง ใจให้ ผ้ ูช มเห็นคล้ อยตามหรื อกระตุ้นความรู้ สึกของผู้ช ม การเขี ยนบท ภาพยนตร์ เพื่อชักจูงใจ มีความยากง่ายไม่ยิ่งหย่อนกับการเขียนบทภาพยนตร์ บนั เทิงคดีและสา รัตถคดีเลย การเขียนบทภาพยนตร์ เพื่อชักจูงใจง่ายกว่ าการเขียนบทภาพยนตร์ สองประเภทแรก ตรงที่สนั ้ คือ เขียนเพียง 16-22 ช็อต ก็ได้ แล้ ว แต่จะมีความยากในการเขียนคือ การระบุภาพให้ สื่อ ความหมายได้ ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ผ้ เู ขียนต้ องการครบถ้ วนหรื อไม่ การลาดับตัดต่อภาพต้ องใช้ เทคนิคพิเศษเข้ าช่วย เช่น ทาภาพจากซ้ อน ภาพช้ า ภาพเร็ ว และการใช้ เสียงบรรยาย ตลอดจน ดนตรี เสียงประกอบ และความเงียบต้ องกลมกลืนไปด้ วยกันทัง้ หมด ที่สาคัญคือ เมื่อเสนอเป็ น ภาพยนตร์ แล้ วผู้ชมควรจะเห็นคล้ อยตาม ในการเขียนบทภาพยนตร์ เพื่อชักจูงใจ ผู้เขียนบทอาจ อาศัยวิธีการเขียนได้ หลายวิธี เช่น - ใช้ เหตุผล - เร้ าอารมณ์ให้ เหมาะกับกลุม่ ผู้ชม - ใช้ บคุ คลเป็ นสื่อ โดยเฉพาะบุคคลสาคัญ มีชื่อเสียง - เสนอแนะด้ วยการใช้ สรรพนาม “เรา” เพื่อแสดงว่าเป็ นบุคคลกลุ่มเดียวกัน กับผู้ชมเสนอข้ อมูลปฐมภูมิที่ทกุ คนเห็นด้ วย ใช้ วิธีเปรี ยบเทียบ ท้ าทายผู้ชม ทึกทักเอาเอง เป็ นต้ น 2.2.7 การเขียนบทหนังสัน้ หนังสัน้ คือ หนังยาวที่สนั ้ ก็คือการเล่าเรื่ องด้ วยภาพและ เสียงที่มีประเด็นเดียวสัน้ ๆ แต่ได้ ใจความ ศิลปะการเล่าเรื่ อง ไม่ว่าจะเป็ นนิทาน นิยาย ละคร หรื อ ภาพยนตร์ ล้ วนแล้ วแต่มีรากฐานแบบเดียวกัน นัน่ คือ การเล่าเรื่ องราวที่เกิดขึ ้นของมนุษย์หรื อสัตว์ หรื อแม้ แต่อะไรก็ตามที่เกิดขึ ้นช่วงเวลาหนึ่งเวลาใด ณ สถานที่ใดที่หนึ่งเสมอ ฉะนัน้ องค์ประกอบ ที่สาคัญที่ขาดไม่ได้ คือ ตัวละคร สถานที่ และเวลา สิ่งที่สาคัญในการเขียนบทหนังสันก็ ้ คือ การเริ่ ม ค้ นหาวัตถุดบิ หรื อแรงบันดาลใจให้ ได้ ว่าเราอยากจะพูด จะนาเสนอเรื่ องเกี่ยวกับอะไร ตัวเราเองมี แนวความคิดเกี่ยวกับเรื่ องนัน้ ๆ อย่างไร ซึ่งแรงบันดาลใจในการเขียนบทที่เราสามารถนามาใช้ ได้ ก็คือ ตัวละคร แนวความคิด และเหตุการณ์ และควรจะมองหาวัตถุดิบในการสร้ างเรื่ องให้ แคบอยู่
ในสิ่งที่เรารู้สกึ รู้จริง เพราะคนทาหนังสันส่ ้ วนใหญ่ มักจะทาเรื่ องที่ไกลตัวหรื อไม่ก็ไกลเกินไปจนทา ให้ เราไม่สามารถจากัดขอบเขตได้ เมื่อเราได้ เรื่ องที่จะเขียนแล้ วเราก็ต้องนาเรื่ องราวที่ได้ มาเขียน Plot (โครงเรื่ อง) ว่า ใคร ทาอะไร กับใคร อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร เพราะอะไร และได้ ผลลัพธ์อย่างไร ซึ่งสิ่งที่สาคัญที่สดุ ก็ คือ ข้ อมูล หรื อวัตถุดิบที่เรามีอยู่ ซึ่งก็ขึ ้นอยู่กบั ประสบการณ์ชีวิตของแต่ละคนว่ามีแนวคิดมุมมอง ต่อชีวิตคนอย่างไร เพราะความเข้ าใจในมนุษย์ ยิ่งเราเข้ าใจมากเท่าไร เราก็ยิ่งทาหนังได้ ลึกมากขึ ้น เท่านัน้ และเมื่อเราได้ เรื่ อง ได้ โครงเรื่ องมาเรี ยบร้ อยแล้ ว เราก็นามาเป็ นรายละเอียดของฉาก ว่ามีกี่ ฉากในแต่ละฉากมีรายละเอียดอะไรบ้ าง เช่นมีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร ไปเรื่ อย ๆ จนจบเรื่ อง ซึ่ง ความจริงแล้ วขันตอนการเขี ้ ยนบทไม่ได้ มีอะไรยุง่ ยากมากมาย เพราะมีการกาหนดเป็ นแบบแผนไว้ อยูแ่ ล้ ว แต่สิ่งที่ยาก ก็ คือ กระบวนการคิด ว่าคิดอย่างไรให้ ลกึ ซึ ้ง คิดอย่างไรให้ สมเหตุสมผล ซึ่งวิธี คิดเหล่านี ้ไม่มีใครสอนกันได้ ทกุ คน ต้ องค้ นหาวิธีลองผิดลองถูก จนกระทัง่ ค้ นพบวิธีคดิ ของตัวเอง 2.3 การเตรียมงานสร้ างภาพยนตร์ (Pre-production) การเตรี ยมงานสร้ างภาพยนตร์ ( Pre-production) หรื อที่ เรี ยกกันสัน้ ๆว่า "พรี "อันเป็ น ขันตอนที ้ ่ผ้ อู านวยการสร้ างหรื อนายทุนหนังส่วนใหญ่ให้ ความสาคัญมากเนื่องจากเป็ นขันตอนที ้ ่มี ส่วนอย่างมากที่จะชี ้เป็ นชี ต้ ายได้ ว่าหนังจะออกมาดีหรื อไม่ ช่วง พรี -โพร จะเป็ นช่วงที่หนังเริ่ มเป็ น รู ปเป็ นร่ าง จากเรื่ องที่ได้ รับการอนุมัติสร้ างจากนายทุนหรื อผู้อานวยการสร้ างโดยผู้อานวยการ สร้ างจะมองหานัก เขี ย นบทมื อ อาชี พ หรื อ ผู้ก ากับ ที่ คิด ว่า เหมาะสมกับ แนวทางของหนัง มา รับผิดชอบ ในการพัฒนาบทจนกระทัง่ พร้ อมที่จะถ่ายทา ขันตอนอาจจะไม่ ้ เป็ นไปตามนี ้ก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น หนังบางเรื่ องก็มีคนหรื อกลุ่มคนเข้ าไป เสนอนายทุนเอง หากนายทุนเห็นชอบ ก็จะให้ เงินมาและอานวยการสร้ างให้ จากเรื่ องย่อที่มีในมือ ก็จะถูกขัดเกลาเป็ นบทโดยหัวเรื อหลัก คือ ผู้อานวยการสร้ าง ผู้กากับ และคนเขียนบท ตามลาดับ ดังต่อไปนี ้ 2.3.1 บทภาพยนตร์ (Screenplay) บทภาพยนตร์ แบบ Screenplay นี ้จะเป็ นบทที่มี บทพูด รวมทังรายละเอี ้ ยดของฉากต่างๆเอาไว้ ด้วยกัน แต่ Screenplay นี ้ยังไม่ได้ ให้ รายละเอียด ของการกาหนดมุมและทิศทางกล้ องในการที่จะถ่ายทอดบทออกมาเป็ นภาพ จากบท Screenplay ที่ได้ รับการเห็นชอบจากทุกฝ่ ายแล้ ว จึงถูกพัฒนาเป็ นบทชนิดถ่ายทา (Shooting Scrip) ต่อไป
ตารางที่ 1 ตารางตัวอย่างการเขียนบทถ่ายทา (ที่มา : http://www.jrmartinmedia.com/wp-content/uploads/2009/10/editscrpt.jpg) 2.3.2 บทถ่ายทา (Shooting Script) บทภาพยนตร์ แบบถ่ายทานีจ้ ะเป็ นบทที่ กาหนดรายละเอียดของมุมกล้ อง, ขนาดภาพ รายละเอียดของฉาก และทิศทางการเคลื่อนกล้ อง เอาไว้ ในแต่ละ Shot รวมทังลั ้ กษณะการเชื่อมต่อ Shot ต่างๆเข้ าด้ วยกัน รายละเอียดที่ใช้ กาหนด ในแต่ละ Shot มีดงั นี ้ - ECU (Extreme Close Up) BCU (Big Close Up) CU (Close Up) - MCU (Medium Close Up) MS (Medium Shot) - LS (Long Shot) ELS (Extra Long Shot) - Tilt Up/ Tilt Down, Pan Left/ Pan Right, Zoom In/ Zoom Out - Dolly, Crane, POV (Point Of View), Hand Held 2.3.3 ภาพบรรยายบท (Storyboard) หนังส่วนใหญ่เลือกที่จะต้ องใช้ ศิลปิ นภาพ บรรยายบท (storyboard artist) มาร่างภาพตามที่บทเขียนไว้ โดยการสรุปรวบยอดจากความคิดผู้ กากับและผู้กากับภาพภาพหนึ่งสามารถถูกบรรจุด้วยองค์ประกอบสาหรับการวางมุมกล้ อง การ เลือกขนาดภาพ มุมของแสง แนวการเลื่อนกล้ อง หรื อตัวละคร เพื่อให้ ผ้ กู ากับคุมโทนหนังได้ มาก ที่สดุ และให้ ทีมงานนึกภาพออกว่าผู้กากับต้ องการอะไร และพวกเขากาลังทาอะไรกันอยู่
2.3.4 การแยกย่อยบท (Script Breakdown) การแยกบทออกมาเป็ นรายละเอียด ปลีกย่อย เป็ นหน้ าที่ ของผู้กากับและผู้ที่เป็ นหัวหน้ าดูแลส่วนต่างๆจะต้ องมานั่ง ทางานด้ วยกัน สาหรับรายละเอียดในทุกๆฉาก โดยจดบันทึกเป็ นรายการนักแสดงและสิ่งของเครื่ องใช้ ที่จาเป็ นใน แต่ละซีเควนซ์ อุปกรณ์เครื่ องมือ ของประกอบฉาก สถานที่ถ่ายทาที่ตรงตามบท และมีผ้ จู ัดการ งานสร้ างคอยนั่งคิดคานวณตัวเลขค่าใช้ จ่ายที่จะเกิดขึ ้นสาหรับแต่ละซีเควนซ์ และคิดเรื่ องการ ประหยัดงบประมาณให้ มากที่สุด ซึ่งแน่นอนว่าอาจจะต้ องมีการแก้ ไขบทบ้ างถ้ าต้ นทุนของฉาก หรื อซีเควนซ์นนๆแพงเกิ ั้ นไปเมื่อเทียบกับทุนสร้ างทังหมด ้ หรื อบ่อยครัง้ ที่ผ้ จู ดั การงานสร้ างพบวิธีที่ ถูกกว่าในการถ่ายทาฉากหรื อซีเควนซ์นนั ้ ๆ และมักจะถามถึงความจาเป็ นที่จะต้ องมีฉากหรื อซี เควนซ์ด้วยเพื่อให้ แน่ใจว่าเงินที่ใช้ ไปมีประโยชน์ต่อหนังจริ งๆ การตัดสินใจอีกอย่างที่สาคัญมาก กับต้ นทุนก็คือ จะถ่ายกันที่ไ หน กลางแจ้ ง หรื อใน สตูดิโอ สองอันนี ้ให้ ความแตกต่างกันอย่างมาก เพราะการถ่ายกลางแจ้ งจะมีการควบคุมสภาพแวดล้ อมในการถ่ายทาน้ อยกว่า โดยการใช้ สิ่งของ สภาพแวดล้ อมและสิ่งก่อสร้ างที่มีอยู่แล้ วมาใช้ ประโยชน์ จะทาให้ ใช้ ทีมงานและอุปกรณ์ ต่างๆ น้ อยลงประหยัดมากขึ ้น การถ่ายทาในสตูดิโอที่ทกุ อย่างต้ องจัดหาและควบคุมทังหมด ้ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องแสง เสียง ฉาก ของประกอบฉาก ทาให้ หลายครัง้ ที่การถ่ายทาในสตูดิโอมีคา่ ใช้ จ่ายที่แพงกว่า แต่ก็มี บ้ างเหมือนกันที่การถ่ายทาในสตูดิโอมีค่าใช้ จ่ายที่ถกู กว่า ถ้ าการถ่ายทานันเป็ ้ นการถ่ายทาแบบ เจาะส่วน โดยที่ไม่ได้ เซตฉากทังหมด ้ อีกทังการถ่ ้ ายทาในสตูดิโอนันสามารถลดระยะเวลาที ้ ่ใช้ ไป ในการเดินทาง และแก้ ปัญหาที่อาจเกิดมีขึ ้นได้ ถ้ ายกกองไปถ่ายทาในสถานที่จริ ง เช่นเสียงรบกวน หรื อไทยมุง ซึง่ ปั ญหาเหล่านี ้จะไม่เจอะเจอในสตูดโิ อ การเซตฉากในปั จ จุบัน ท าได้ ง่ า ยและประหยัด มากขึน้ อัน เกิ ด จากอุป กรณ์ ที่ ใ ช้ สามารถเคลื่อนย้ ายและนากลับมาใช้ ใหม่ได้ เช่นผนังกันแบบเคลื ้ ่อนย้ ายได้ (Flying Walls) การใช้ เพดานแบบปิ ดโล่งและ ระบบแผงโลหะที่ใช้ ยึดโคมไฟที่ออกแบบมาดี จะทาให้ การจัดไฟและการ ควบคุมปริ มาณและทิศทางของแสงเป็ นไปได้ โดยง่ายยิ่งขึ ้นนอกจากนี ้การถ่ายทาในสตูดิโอยังทา ให้ เราเข้ าถึงสิ่งอานวยความสะดวก หรื ออุปกรณ์ตา่ งๆต้ องใช้ อย่างฉุกเฉิน หรื อถ้ ามีอะไรเสียหายก็ สามารถหาของใหม่ ม าทดแทนได้ ใ นเวลาอัน สัน้ มี อี ก วิ ธี ห นึ่ ง ในการลดต้ น ทุน ก็ คื อ การท า ตารางเวลางานสร้ าง (Production Schedule) โดยตารางนี ้จะช่วยให้ เราสามารถบริ หารคิวตัว แสดง อุปกรณ์เครื่ องไม้ เครื่ องมือราคาแพง ตามคิวการถ่ายทาได้ ดียิ่งขึ ้น และช่วยให้ เราบริ หารการ เช่าใช้ งานอุปกรณ์ราคาแพงในเวลาที่สนที ั ้ ่สดุ ถูกที่สดุ นัน่ เอง
2.3.5 บุคคลที่เกี่ยวของกับงาน Pre-production - ผู้จดั การงานสร้ าง (Production manager) ผู้จดั การงานสร้ างเป็ นตาแหน่งที่ ไม่เกี่ยวกับการสร้ างสรรค์หนังเลยแต่จะ ทาหน้ าที่บริ หารทุกๆอย่างสาหรับงานสร้ าง ตังแต่ ้ การใช้ จ่ายเงินทุน หาทีมงาน ติดต่อโลเกชัน ตารางทางาน การขนส่ง เช่าเครื่ องมือ หรื ออุปกรณ์ที่จาเป็ น สอดส่องดูแลกองถ่ายทังหมด ้ รวมถึงการแก้ ปัญหาเชิงบริ หารจัดการทุกๆอย่างเพี่อให้ การถ่ายทา ราบรื่ น เพื่อที่ ผ้ ูกากับ ผู้อานวยการสร้ าง รวมถึง ฝ่ ายสร้ างสรรค์ง านต่างๆ ทางานได้ อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ - ทีมสารวจโลเกชัน (location scout) ทีมงานสารวจหาโลเกชันที่ถกู กาหนดไว้ ตามท้ องเรื่ องนัน้ ส่วนใหญ่จะได้ รับการว่าจ้ างเพียงช่วงก่อนถ่ายทาเท่านันโดยที ้ มงานจะได้ โจทย์ กาหนดจากผู้กากับ หรื อผู้กากับศิลป์ หนังเรื่ องหนึ่งๆอาจจะใช้ หลายๆทีมในการหาโลเกชัน่ ก็ได้ เพื่อให้ ได้ โลเกชันที่ตรงกับบทมากที่สดุ หลังจากที่ได้ โลเกชันแล้ ว ผู้กากับและผู้กากับศิลป์จะเลือก สถานที่ๆเหมาะที่สดุ จากนันก็ ้ มาเกลาบทและสตอรี่ บอร์ ดให้ สามารถใช้ ประโยชน์จากโลเกชันนันๆ ้ ให้ มากที่สดุ - ผู้จดั การขนส่ง (Transportation manager) จะดูแลเรื่ องการขนส่งเครื่ องมือ อุปกรณ์ รวมถึงคนงาน ตัวแสดงทังหมด ้ แต่ในกองถ่ายเล็กๆ นันทุ ้ กๆอย่างจะได้ รับการจัดการโดย ผู้จดั การงานสร้ าง - ฝ่ ายบัญชีงานสร้ าง (Production Account) ฝ่ ายบัญชีมีขึ ้นนันก็ ้ เพื่อควบคุม และตรวจสอบค่าใช้ จ่ายต่างๆ ไม่ให้ ง านสร้ างใช้ เงิ นจนเกิ นงบที่ กาหนดไว้ โดยจะรายงานต่อ ผู้อานวยการสร้ างโดยตรง และถ้ าค่าใช้ จ่ายเริ่ มเกินงบ ผู้อานวยการสร้ างจะปรับแผนการทางาน ใหม่ เพื่อหยุดยังหรื ้ อจากัดความเสียหายที่เกิดขึ ้นไม่ให้ บานปลายจนใหญ่โต - ผู้จดั การฝ่ ายสถานที่ถ่ายทา (Unit or Location manager) จะทาหน้ าที่ หลายๆเรื่ องแทนผู้จดั การงานสร้ าง เมื่อถึงเวลายกกองไปยังโลเกชันที่กาหนด ผู้จดั การฝ่ ายสถานที่ ถ่ายทาจะดูแลเรื่ องการขออนุญาตในการใช้ สถานที่ถ่ายทา กับเจ้ าของสถานที่ ตารวจ ฯลฯ - ผู้ประสานงานสร้ าง, เลขานุการ และ ผู้ช่วยงานสร้ าง ( Production coordinator, secretary and Production assistant) ผู้ประสานงานสร้ าง และผู้ช่วยงานสร้ างนันจะ ้ ทางานขึ ้นตรงต่อผู้จดั การงานสร้ าง โดยมีหน้ าที่ในการจัดการงานเอกสาร รวมถึงการแก้ ไข และ พิมพ์บทใหม่ในช่วงถ่ายทา การจัดเก็บเอกสารและมีเลขาฯเป็ นลูกมือ งานจัดเก็บเอกสารที่ดี และ สามารถตรวจสอบได้ ตลอดถึงการเข้ า-ออก ของเอกสาร จะทาให้ งานสร้ างเป็ นไปอย่างราบรื่ น และ มีประสิทธิภาพ เช่น เมื่องาน Post-production มาถึง ทีมทางานโพสต์ จะต้ องรู้ว่ามีกี่ช็อตที่จ ะถ่าย
ทา และช็อตที่ถ่ายทาจริงนันตรงกั ้ นหรื อไม่ มีแก้ ไขที่ไหนบ้ าง ซึง่ ไม่มีทางทีทีมโพสต์จะทางานได้ เร็ ว หากไม่มีการจดบันทึกที่ละเอียดเพียงพอ 2.3.6 สิ่งที่มีผลต่อการจัดตารางงาน - เสียง การถ่ายในสถานที่จริ งด้ วยการ Sync เสียงทาได้ ยากเนื่องจากสถานที่ จริ งส่วนมากมักจะไม่สามารถควบคุมเสียงรบกวนได้ หรื อถ้ าได้ ก็ต้องใช้ ความพยายามและเวลา มากมาย การพากย์เสียงทับในขันตอนโพสต์ ้ ก็เป็ นทางเลือกหนึ่ง แต่ก็ส่งผลให้ มีคา่ ใช้ จ่ายเพิ่มขึ ้น อีกส่วนหนึง่ ซึง่ ผู้จดั การงานสร้ างก็ต้องไปชัง่ ดูอีกทีหนึง่ ว่าคุ้มไหมกับการประหยัดเวลา - เวลาเริ่มงานและเลิกงานของแต่ละวัน การเริ่ มถ่ายทาแต่เช้ ามีข้อดีตรงที่ไทย มุงน้ อย ไม่พลุกพล่าน จอแจ ควบคุมสิ่งแวดล้ อมได้ ง่ายกว่า เสียงรบกวนก็น้อยกว่า แต่ก็อาจจะมี ปั ญหาบ้ างถ้ าช่วงเวลานันไม่ ้ ได้ ถกู กาหนดไว้ โดยบทหนัง - ขนาดของกองถ่าย ข้ อผิดพลาดอีกประการณ์หนึ่งของผู้จดั การงานสร้ างหรื อ ผู้อานวยการสร้ างมือใหม่ก็คือ การใช้ ทีม งานจานวนน้ อยเกินไปไม่เหมาะสมกับปริ มาณงานที่ เกิ ด ขึ น้ จริ ง เป็ นไปได้ ย ากมากที่ ที ม งานหนึ่ ง คนจะท างานหลายๆงาน ได้ ดี ใ นเวลาเดี ย วกั น ข้ อผิดพลาดที่เกิดในลักษณะนี ้อาจจะส่งผลเสียต่อตัวงาน และทาให้ เสียเงิน - การจัดสร้ างฉาก และ การรื อ้ ฉาก อันนี ้มักจะถูกมองข้ ามเสมอๆทังที ้ ่เป็ น กิจกรรมที่ใช้ เวลามาก นอกเหนือ จากงานถ่ายทา ดังนันจึ ้ งไม่ควรละเลยจุดนี ้หากมาพิจารณากัน จริ งๆการทาพรี ฯ นันใช้ ้ เวลามาก โดยปกติก็เพื่อความละเอียดรอบคอบเมื่องานสร้ างเริ่ มต้ นจริ งๆ เพราะแต่ละวินาทีที่ผ่านไปหมายถึงงบที่ลดลงตลอดเวลา ผู้อานวยการสร้ างจานวนมากใช้ เวลา อย่างน้ อย 5 วันสาหรับการทาพรี ฯ เพื่อที่จะวางตารางการถ่ายทาสาหรับ งานสร้ างหนึ่งวันอย่าง ละเอียดรอบคอบ ฉะนันการถ่ ้ ายทา 3 สัปดาห์จะต้ องใช้ เวลาทาพรี ฯจริ งๆถึง 15 สัปดาห์ มีหนัง น้ อยเรื่ องมากที่ ทาพรี ฯ กันสัน้ แต่ง านออกมาดี และสิ่ง ที่ ควรจะจ าไว้ อ ย่างยิ่ง ก็ คือ ยิ่ ง วางแผน ละเอี ย ดรอบคอบ (แต่ยื ด หยุ่น และสมจริ ง ) มากเท่า ไร ปั ญ หาทัง้ เรื่ อ งเวลา, เทคนิ ค และ งบประมาณที่อาจจะเกิดขึ ้นในช่วงขันตอนการถ่ ้ ายทาจะลดลงมาก และรับมือกับปั ญหาที่เกิดขึ ้น ได้ ดีกว่า 2.4 การสร้ างภาพยนตร์ (Production) 2.4.1 ต้ นทุน (The Budget) เราแบ่งลักษณะพื ้นฐานในการใช้ ทนุ สร้ างเป็ น 2 แบบ คือ ค่าใช้ จา่ ยแปรผัน (above-the-line-costs) และค่าใช้ จา่ ยคงที่ (below-the-line-costs) - Below-the-line costs คือ ค่าใช้ จ่ายในส่วนที่คงที่ตายตัว เช่นเงินเดือนของ ทีมงาน, ค่าเช่ากล้ อง ฯลฯ
- Above-the-line-costs คือ ค่าใช้ จ่ายส่วนที่ถูกกาหนดให้ เป็ นเปอร์ เซ็นต์ แทนที่จะเป็ นจานวนตายตัว ซึ่งอาจจะเป็ นการกาหนดอัตราค่าจ้ างสาหรับทีมงานในหน้ าที่หลัก เช่น ผู้อานวยการสร้ าง, ผู้กากับ ฯลฯ ด้ วยโครงสร้ างที่ซบั ซ้ อนขึ ้นมาอีกระดับหนึ่ง เพื่อที่จะจูงใจให้ ทีมงานในหน้ าที่หลัก ทุม่ เทให้ กบั งานอย่างเต็มที่ ถ้ างานออกมาดีทกุ ฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องก็จะได้ เงินเพิ่ม ขึ ้นมาในอัตราส่วน การกาหนดอัตราค่าจ้ างแบบนี ้นันเนื ้ ่องมาจากเหตุผลที่ว่า การวัดความทุ่มเท ในเนื ้องานของแต่ละคนทาได้ ยากและไม่สามารถวัดเป็ นหน่วยชัว่ โมงหรื อวันได้ ดังนัน้ เราจะวัด จากการประสบความสาเร็จของหนังเป็ นหลัก 2.4.2 รายละเอียดค่าใช้ จา่ ยในการสร้ างภาพยนตร์ - ค่าใช้ จา่ ยช่วงพรี โพร - ต้ นทุนส่วนที่เหนือเส้ น (Above-the-line-costs or production executives) - ทีมงาน (รายสัปดาห์) - ตัวแสดง - ฝ่ ายศิลป์ (art department) - อุปกรณ์ถ่ายทา (equipment) - สถานที่ถ่ายทา / ค่าขนส่ง / อาหารการกิน - ค่าฟิ ล์ม / ห้ องแล็ป / ค่าเทเลซีน - ขันตอนหลั ้ งการถ่ายทา (post production) 2.4.3 การวิเ คราะห์ ต้นทุน ปั จ จัยทางเทคนิคที่ผ้ ูอานวยการสร้ างจะต้ องนามา พิจารณาได้ แก่ ฟอร์ แมตของฟิ ล์ม (Film format), ความยาว (Length), อัตราการถ่ายทา (Shooting ratio) และตารางงานสร้ าง (Production schedule) โดยปกติแล้ ว นักแสดง, เงินจูงใจ เหล่าหัวเรื อใหญ่, ค่าแรง, สเปเชียลเอฟเฟคท์, ทาเลสถานที่, อุปกรณ์, ระดับทักษะของทีมงาน เหล่านี ้ล้ วนส่งผลให้ ต้นทุนของหนังเพิ่มสูงขึ ้นอย่างชัดเจน แต่ในทางกลับกันสิ่งต่างๆเหล่านี ้ก็ถูก ควบคุมด้ วยปั จจัยหลักๆสี่หวั ข้ อซึง่ ถูกระบุไว้ ที่หวั กระดาษของเอกสารสรุปต้ นทุนได้ แก่ - ฟอร์ แมทของการถ่ายทา ผู้อานวยการสร้ างมักจะใช้ ฟิล์มขนาด 35 มม.ในการถ่ายทา เพราะมัน สามารถจัดจาหน่ายในวงกว้ างได้ ง่ายกว่า อย่างแรกคือฉายโรง ต่อมาก็ลงวิดีโอแล้ วก็ตอ่ ด้ วยการ ขายให้ ทีวี อีกทังยั ้ งให้ คณ ุ ภาพของภาพและเสียงในระดับที่ดีกว่าฟอร์ แมทอื่นๆด้ วย ขบวนการกอป ปี ฟ้ ิ ล์มก็ไม่ยงุ่ ยาก แต่ 35 มม.เป็ นหนึง่ ในฟอร์ แมทที่แพงที่สดุ ด้ วยเช่นกัน ผู้อานวยการสร้ างบางรายอาจจะไม่สนใจเรื่ องเชิงเทคนิค จึงหันไปใช้ ฟอร์ แมทที่เล็กกว่าอย่าง 16 มม.ในการถ่ายทา แล้ วขยายเป็ น 35 มม.เมื่อตอนจัดจาหน่าย ซึ่งโดยปกติคณ ุ ภาพของภาพที่ได้ จะ
เข้ าขันห่ ้ วยแต่ก็ไม่ได้ ไม่ดี แต่ฟิล์ม16มม.ในปั จจุบนั ถูกพัฒนาด้ านคุณภาพไปมากทังฟิ ้ ล์ม , เลนส์, อุปกรณ์ถ่ายทา - ความยาวของภาพยนตร์ (ฉบับสุดท้ าย) ความยาวของภาพยนตร์ นนั ้ โดย ทางทฤษฎี จะหมายถึงบทหนังหนึ่งหน้ า แต่มีความกดดันทางการเงินหลายๆอย่างที่สาคัญกว่า จุดประสงค์ของคนเขียนบทและผู้กากับ หนังที่มีความยาวเกินสองชัว่ โมงนันถื ้ อว่าขายยาก เพราะ ไม่สามารถจัดเวลาฉายให้ ลงตัวได้ , ทาให้ รอบฉายน้ อยลง และ รายได้ ก็ลดลงด้ วยซึ่งตามธรรม เนียมปฏิบตั ขิ องอุตสาหกรรมหนังนัน้ สิทธิ์ในการตัดต่อหนังขันสุ ้ ดท้ ายนันเป็ ้ นของสตูดิโอมีผ้ กู ากับ เพียงส่วนน้ อยเท่านันที ้ ่สามารถรักษาสิทธิ์ ในการตัดหนังขันสุ ้ ดท้ ายไว้ ได้ ซึ่งก็ต้องเป็ นผู้กากับที่มี ประวัติเคยสร้ างหนังทาเงินมาแล้ ว และไม่เฉพาะหนังที่ยาวเกินไปเท่านัน้ หนังที่สนกว่ ั ้ า 90 นาทีก็ ทาให้ เกิดปั ญหากับการจัดจาหน่ายได้ เหมือนกัน เพราะคนดูจะรู้สกึ ว่าไม่ค้ มุ ค่าตัว๋ หนัง - อัตราส่วนการใช้ ฟิล์มในการถ่ายทา (Shooting ratio) อัตราส่วนการใช้ ฟิล์ม ในการถ่ายทานันหมายถึ ้ งอัตราส่วนของจานวนฟิ ล์มที่ต้องการใช้ ในฉบับสุดท้ าย กับจานวนฟิ ล์มที่ จะใช้ ในการถ่ายทาจริ ง เช่นการถ่าย 10 เทค เอาเพี ยง 1 เทคเท่านัน้ นี่ คืออี กหนึ่ง ปั จ จัยที่ เป็ น ปั ญหาสาหรับผู้อานวยการสร้ างในการที่จะควบคุมต้ นทุน เพราะการถ่ายเผื่อไว้ เยอะๆดีกว่าที่ จะต้ องออกกองเพิ่มกันอีกหนึง่ วัน การเตรี ยมบทที่ดีและการทาพรี โพรฯที่รอบคอบจะช่วยลดการใช้ ฟิ ล์มลงอย่างมาก การที่มีจอวิดีโอมอนิเตอร์ ตอ่ พ่ วงจากกล้ องถ่ายหนังก็สามารถทาให้ การควบคุม คุณภาพหนังได้ ง่ายขึ ้น โดยให้ นกั แสดงซ้ อมต่อหน้ ากล้ องก่อน นอกจากนี ้ทีมงานที่มีประสบการณ์ ก็จาเป็ นเช่นกัน - ตารางกาหนดการของงานสร้ าง (Production Schedule) อันนี ้จะเป็ นส่วนที่ เกี่ยวโยงทังการเตรี ้ ยมงานสร้ าง, กาหนดการถ่ายทา, การตัดต่อและขันตอนงานหลั ้ งการถ่ายทา ทังหมด ้ หน้ าที่ในการกาหนดตารางการทางานนี ้มักจะตกเป็ นหน้ าที่ของ Line producer หรื อ Production manager ผู้อานวยการสร้ างจะต้ องเป็ นคนที่ร้ ู ว่าเมื่อไรที่หนังใช้ เวลาเกิน ซึ่งนั่นก็ หมายถึงใช้ เงินเกินด้ วย ดังนันตารางก ้ าหนดการนี ้จะถูกร่ างขึ ้นเพื่อใช้ ควบคุมการทางานทังหมด ้ ผู้อานวยการสร้ างและผู้จดั จาหน่ายจะมีสว่ นร่วมในการกาหนดวันฉายที่แน่นอนและวันที่จะเปิ ดตัว ต่อสื่อมวลชน เช่น ถ้ าจะปล่อยหนังลงโรงวันปี ใหม่ ผู้อานวยการสร้ างจะต้ องแน่ใจว่าตัวหนังจะ เสร็ จก่อนหน้ านันเป็ ้ นระยะเวลาที่นานพอเพื่อที่จะเผื่อเวลาให้ ขนตอนการโฆษณาประชาสั ั้ มพันธ์ พิมพ์ฟิล์ม และจัดส่งให้ แต่ละโรงทันเวลาก่อนกาหนดการฉาย ซึ่งถ้ าพลาดไปก็อาจจะหมายถึงการ สูญเงินก้ อนใหญ่ที่จะได้ มาจากช่วงเทศกาลสาคัญๆนันไป ้ ผู้อานวยการสร้ างบางคนยังสนับสนุน ให้ ผ้ ูกากับทาการซ้ อมบทนักแสดงก่อนที่ จ ะเริ่ ม งานถ่ายทา รวมไปถึง การให้ ทีม งานได้ ทาการ
ทดสอบสตอกฟิ ล์มที่จะใช้ อีกทังเครื ้ ่ องมือต่างๆที่จาเป็ นต้ องใช้ ในการถ่ายทาก่อนที่จะเปิ ดกล้ อง จริง วิธีนี ้สามารถกาจัดปั ญหาบางอย่างและช่วยลดค่าใช้ จ่ายบางส่วนลงได้ อย่างเห็นได้ ชดั ที่แน่ๆ คือทาให้ การถ่ายหนังราบรื่ นมากขึ ้นซึง่ จะส่งผลต่อคุณภาพของหนังโดยรวมด้ วย ช่วงของการถ่ายทานันเป็ ้ นช่วงที่ใช้ เงินเยอะที่สุด ดังนันจะต้ ้ องมีการวางแผนอย่าง รอบคอบสาหรับการใช้ งานอุปกรณ์ หรื อสถานที่ที่มีราคาค่าเช่าแพงในเวลาที่สนที ั ้ ่สดุ เพื่อประหยัด ค่าใช้ จา่ ย นอกจากนี ้ยังต้ องวางแผนให้ ดีสาหรับการถ่ายทากับพวกเครื่ องมือพิเศษซึ่งจะทาให้ งาน ถ่ายทาช้ าลงไปอีก นี่ยงั ไม่นบั การหลีกเลี่ยงสภาพอากาศที่เลวร้ าย การเจ็บป่ วยของทีมงาน การ ช ารุ ด เสี ย หายของอุ ป กรณ์ ใ นการถ่ า ยท า นี่ เ ป็ นเหตุ ผ ลหนึ่ ง ส าหรั บ ผู้ อ านวยการสร้ างที่ มี ประสบการณ์ไม่ยอมเสี่ยงกับสิ่งเหล่านี ้กับตารางการทางานที่แน่นเกินไป แต่ปรับแผนการทางาน ให้ เหมาะสมและเผื่อวันถ่ายเก็บไว้ ด้วยสาหรับการถ่ายซ่อม และยังหมายรวมไปถึงการเผื่อเงิน ฉุกเฉินในปริมาณที่พอเหมาะไว้ ด้วย 2.4.4 กองถ่ายที่สอง (The Second Unit) มีไว้ เพื่อถ่ายทาซีเควนซ์ย่อยๆ ในขณะที่ กองถ่ายที่หนึ่งทาการถ่ายทาซีเควนซ์หลักๆ หรื อถ่ายทาประสานกับกองถ่ายที่หนึ่งเพื่อถ่ายทาซี เควนซ์ที่ซับซ้ อน กองถ่ายที่สองสามารถที่ จะช่วยให้ การใช้ งานนักแสดงค่าตัวแพงเป็ นไปอย่าง คุ้มค่าตัวในขณะที่นกั แสดงเหล่านันยั ้ งอยู่ในกองถ่าย นอกจากนี ้กองถ่ายที่สองยังช่วยถ่ายเก็บสต อกช็อตและช็อตเล็กช็อตน้ อยโดยที่กองถ่ายที่หนึง่ จะได้ ทางานหลักๆอย่างเต็มที่ 2.5 ขัน้ ตอนหลังการถ่ ายทา (Post-production) ความยุ่งยากซับซ้ อนของการตัดต่อ (Editing) และขันตอนหลั ้ งการถ่ายทานันขึ ้ ้นอยู่กับ ขันตอนการถ่ ้ ายทาอย่างมาก กล่าวคือถ้ าตอนถ่ายทานันมี ้ การจดข้ อมูลของช็อตต่างๆอย่างถูกต้ อง การตัดต่อก็ง่ายขึ ้น และเพื่อที่จะร่นระยะเวลาในขันตอนนี ้ ้ คนตัดต่อจะเริ่มงานตังแต่ ้ ก่อนที่การถ่าย ทาจะจบลง โดยงานที่ทาจะเป็ นงานตัดต่อ เบื ้องต้ น เช่น การSyncภาพกับเสียง หรื อการตัดซีนที่ ถ่ายเสร็จอย่างหยาบๆ ปั ญหาใหญ่ที่สุดสาหรับขันตอนนี ้ ้คือ การประสานงานกับส่วนที่เกี่ยวข้ องทังหมดในการ ้ ทางานร่ วมกัน เพราะเป็ นขันตอนที ้ ่จะต้ องจ้ างหรื อการเช่าอุปกรณ์และสถานที่จากที่อื่น ไม่ว่าจะ เป็ นห้ องแล็ป, คนมิกซ์เสียง, ห้ องอัดเสียง, ห้ องทาออปติคอล และคนตัดเนกาทีฟ ซึ่งทังหมดนี ้ ้อยู่ นอกเหนือการควบคุมโดยตรงจากผู้อานวยการสร้ าง และถ้ าจะเกิดความล่าช้ ากับงานหลังการถ่าย ทา ความผิดพลาดที่เกิดขึ ้นมักหนีไม่พ้นปั ญหาเรื่ องการประสานงานนัน่ เอง วิธีที่ดีที่สดุ สาหรั บการ กระชับช่วงเวลาหลังการถ่ายทาก็คือการกาหนดให้ แน่ชดั ว่ามีกระบวนการไหนบ้ างที่สามารถทาได้
ก่อนที่การถ่ายทาจะเสร็ จสิ ้น เช่น ไตเติ ้ลซึ่งสามารถที่จะทาควบคู่ไปกับการถ่ายทาได้ เลย การทา เพลงประกอบก็สามารถทาให้ เสร็จได้ ก่อนที่การตัดต่อจะเสร็จสิ ้นทังหมด ้ 2.6 การตัดต่ อภาพยนตร์ 2.6.1 การตัด (The Cut) การตัดเป็ นวิธีการเชื่อมต่อภาพที่ธรรมดาที่สดุ ที่ใช้ กนั เป็ น การเปลี่ยนในพริ บตาเดียวจากช็ อตหนึ่งไปอี กช็อตหนึ่ง ถ้ าหากทาอย่างถูกต้ องมันจะไม่เป็ นที่ สังเกตเห็น ในบรรดาวิธีการเชื่อมภาพ 3 แบบ การตัดเป็ นสิ่งที่ผ้ ชู มยอมรับว่าเป็ นรูปแบบของภาพที่ เป็ นจริง การตัดที่ดีมาจากความรู้เบื ้องต้ น 6 ประการ ดังนี ้ - แรงจูงใจ Motivation ในการตัดต่อ ไม่ว่าจะการ cut, mix หรื อ fade ควรมี เหตุผลที่ดีหรื อมีแรงจูงใจเสมอ ซึ่งแรงจูงใจนี ้อาจเป็ นภาพ เสียง หรื อทังสองอย่ ้ างผสมกันก็ได้ ใน ส่วนของภาพอาจเป็ นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้ นกั แสดงจะแสดงเพียงเล็กน้ อย เช่น การ ขยับร่างกายหรื อขยับส่วนของหน้ าตา สาหรับเสียงอาจเป็ นเสียงใดเสียงหนึ่ง เช่น เสียงเคาะประตู หรื อเสียงโทรศัพท์ดงั หรื ออาจเป็ นเสียงที่ไม่ปรากฏภาพในฉาก (off scene) - ข้ อมูล Information ข้ อมูลในที่นีค้ ือข้ อมูลที่เป็ นภาพ ช็อตใหม่ หมายถึง ข้ อมูลใหม่ คือถ้ าไม่มีข้อมูลอะไรใหม่ในช็อตนัน้ ๆ ก็ไม่จาเป็ นต้ องนามาตัดต่อ ไม่ว่าภาพจะมีความ งดงามเพียงไร ก็ควรที่จะเป็ นข้ อมูลภาพที่แตกต่างจากช็อตที่แล้ ว ยิ่งมีข้อมูลภาพที่คนดูเห็นและ เข้ าใจมากขึ ้น ผู้ชมก็ยิ่งได้ รับข้ อมูลและมีอารมณ์ร่วมมากขึ ้น - องค์ประกอบภาพในช็อต Shot Composition ผู้ตดั ไม่สามารถกาหนด องค์ประกอบภาพในช็อตได้ แต่งานของผู้ตดั คือควรให้ มีองค์ ประกอบภาพในช็อตที่สมเหตุสมผล และเป็ นที่ยอมรับปรากฏอยู่ องค์ประกอบภาพในช็อตที่ไม่ดีมาจากการถ่ายทาที่แย่ ซึ่งทาให้ การ ตัดต่อทาได้ ลาบากมากขึ ้น - เสียง Sound เสียงคือส่วนสาคัญในการตัดต่ออีกประการหนึ่ง เสียงรวดเร็ ว และลึกล ้ากว่าภาพ เสียงสามารถใส่มาก่อนภาพหรื อมาทีหลังภาพเพื่อสร้ างบรรยากาศ สร้ างความ กดดันอันรุนแรง และอีกหลากหลายอารมณ์ เสียงเป็ นการเตรี ยมให้ ผ้ ชู มเตรี ยมพร้ อมสาหรับการ เปลี่ยนฉาก สถานที่ หรื อแม้ แต่ประวัติศาสตร์ ความคลาดเคลื่อนของเสียงที่เหมาะสมเป็ นการลด คุณค่าของการตัดต่อ เช่น LS ของสานักงาน ได้ ยินเสียงจากพวกเครื่ องพิมพ์ดีด ตัดไปที่ช็อตภาพ ใกล้ ของพนักงานพิมพ์ดีด เสียงไม่เหมือนกับที่เพิ่งได้ ยินในช็อตปูพืน้ คือ เครื่ องอื่น ๆ หยุดพิมพ์ ทันทีเมื่อตัดมาเป็ นช็อตใกล้ ความสนใจของผู้ชมสามารถทาให้ เกิดขึ ้นได้ ด้วยเสียงที่มาล่วงหน้ า (lapping) ตัวอย่างเช่น การตัดเสียง 4 เฟรมล่วงหน้ าก่อนภาพ เมื่อตัดจากภาพในอาคารมายัง ภาพฉากนอกอาคาร
- มุมกล้ อง Camera Angle เมื่ อผู้กากับถ่ายทาฉาก จะทาโดยเริ่ ม จาก ตาแหน่งต่างๆ (มุมกล้ อง) และจากตาแหน่งต่างๆเหล่านี ้ ผู้กากับจะให้ ถ่ายช็อตหลายๆช็อต คาว่า “มุม” ถูกใช้ เพื่ออธิบายตาแหน่งของกล้ องเหล่านี ้ซึ่งสัมพันธ์กบั วัตถุหรื อบุคคลจากภาพล้ อครึ่งซีก บุคคลอยู่ที่ดมุ ล้ อ แต่ละซี่ล้อแทนแกนกลางของกล้ อง และตาแหน่งของกล้ องก็อยู่ตรงปลายของซี่ ล้ อ ตาแหน่งจะแตกต่างกันไป จากแกนถึงแกน โดยเรี ยกว่า “มุมกล้ อง” ซึ่งเป็ นส่วนสาคัญของการ ตัดต่อ หัวใจสาคัญคือแต่ละครัง้ ที่ cut หรื อ mix จาก shot หนึ่งไปอีกช็อตหนึ่ง กล้ องควรมีมมุ ที่ แตกต่างไปจากช็อตก่อนหน้ านี ้ สาหรับคนตัด ความแตกต่างระหว่างแกน ไม่ควรมากกว่า 180 องศา และมัก จะน้ อยกว่า 45 องศา เมื่ อถ่า ยบุคคลเดี ยวกัน ด้ วยประสบการณ์ รูป แบบนี อ้ าจ ดัดแปลงได้ อีกมาก - ความต่อเนื่อง Continuityทุกครัง้ ที่ถ่ายทาในมุม กล้ องใหม่ (ในซี เควนส์ เดียวกัน) นักแสดงหรื อคนนาเสนอจะต้ องแสดงการเคลื่อนไหวหรื อทาท่าเหมือนเดิมทุกประการ กับช็อตที่แล้ ววิธีการนี ้ ยังปรับใช้ กบั take ที่แปลกออกไปด้ วย - ความต่อเนื่องของเนื ้อหา Continuity of content ควรมีความต่อเนื่องของ เนื ้อหา เช่น นักแสดงยกหูโทรศัพท์ด้วยมือขวาในช็อตแรก ดังนันก็ ้ คาดเดาได้ ว่าหูโทรศัพท์ยงั คงอยู่ ในมือขวาในช็อตต่อมา งานของคนตัดคือ ทาให้ แน่ใจว่ าความต่อเนื่องยังคงมีอยู่ทุกครัง้ ที่ทาการ ตัดต่อในซีเควนส์ของช็อต - ความต่อเนื่องของการเคลื่อนไหว Continuity of movement ความต่อเนื่อง ยังเกี่ยวข้ องกับทิศทางการเคลื่อนไหว หากนักแสดงหรื อบุคคลเคลื่อนที่จากขวาไปซ้ ายในช็อตแรก ช็อตต่อมาก็คาดเดาว่านักแสดงหรื อบุคคลจะเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน เว้ นแต่ในช็อตจะให้ เห็นการเปลี่ยนทิศทางจริงๆ - ความต่อเนื่องของตาแหน่ง Continuity of position ความต่อเนื่องยังคง ความสาคัญในเรื่ องของตาแหน่งนักแสดงหรื อบุคคลในฉาก หากนักแสดงอยู่ทางขวามือของฉาก ในช็อตแรก ดังนันเขาจะต้ ้ องอยู่ขวามือในช็อตต่อมาด้ วย เว้ นแต่มีการเคลื่อนไหวไปมาให้ เห็นใน ฉากถึงจะมีการเปลี่ยนไป - ความต่อเนื่องของเสียง Continuity of sound ความต่อเนื่องของเสียงและ สัดส่วนของเสียงเป็ นส่วนที่สาคัญมาก ถ้ าการกระทากาลังเกิดขึ ้นในที่เดียวกันและเวลาเดียวกัน เสียงจะต้ องต่อเนื่องจากช็อตหนึ่งไปยังช็อตต่อไป เช่น ในช็อตแรกถ้ ามีเครื่ องบินในท้ องฟ้ าแล้ วได้ ยินเสียง ดังนันในช็ ้ อตต่อมาก็ต้องได้ ยินจนกว่าเครื่ องบินนันจะเคลื ้ ่อนห่างออกไป แม้ ว่าบางครัง้ อาจไม่มีภาพเครื่ องบินให้ เห็นในช็อตที่สอง แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าไม่จาเป็ นต้ องมีเสียงต่อเนื่อง
ในช็อตต่อไป นอกจากนี ้ช็อตที่อยู่ในฉากเดียวกันและเวลาเดียวกัน จะมีเสียงปูพื ้น (background sound) ที่เหมือนกัน เรี ยกว่า background ambience, atmosphere หรื อเรี ยกย่อ ๆ ว่า atmos ซึ่ง ต้ องมีความต่อเนื่อง 2.6.2 การผสมภาพ (The Mix) การผสมรู้ จักกันในชื่อของการเลือนภาพ(The Dissolve) การเลือนทับ (The Lap Dissolve) หรื อการเกยทับ (The Lap) นี่เป็ นวิธีการเชื่อม จากช็อตหนึง่ ไปยังอีกช็อตหนึง่ ที่ใช้ กนั ทัว่ ไปมากเป็ นลาดับที่ 2 ทาได้ โดยการนาช็อตมาเลือนทับกัน ดังนันตอนใกล้ ้ จบของช็อตหนึง่ จะเริ่มมีชีวิตต่อไปค่อยๆเห็นเด่นขึ ้นมา เมื่อช็อตเก่าจางหายไป ช็อต ใหม่ก็จะเข้ มขึ ้น ในการผสมภาพที่ดีนนต้ ั ้ องมีความรู้เบื ้องต้ น 6 ประการในการผสมภาพ ดังนี ้ - แรงจูงใจ Motivation ควรต้ องมีเหตุผลในการผสมภาพเสมอ - ข้ อมูล Information ภาพใหม่ควรมีข้อมูลใหม่เสมอ - องค์ ประกอบภาพ Composition ช็ อ ต 2 ช็ อ ตที่ ผสมเข้ าด้ วยกัน ควรมี องค์ประกอบภาพที่เกยทับกันได้ ง่ายและหลีกเลี่ยงภาพที่จะขัดกัน - เสียง Sound เสียงของทัง้ 2 ช็อต ควรจะผสานเข้ าด้ วยกัน - มุมกล้ อง Camera angle ช็อตที่ผสมกันควรมีมมุ กล้ องที่ตา่ งกัน - เวลา Time การผสมภาพ ใช้ เวลาอย่างน้ อย 1 วินาทีและมากสุด 3 วินาที - ด้ วยเครื่ องมือที่ทนั สมัย ทาให้ การผสมภาพแบบเร็ วมากและแบบช้ ามาก หรื อการผสมภาพ 4 เฟรม สามารถทาได้ โดยง่ ายหรื อสามารถผสมภาพได้ นานเท่าความยาว ของช็อตเลยทีเดียว หาก mix หรื อ dissolve นานไปหรื อสันไป ้ (20 เฟรมหรื อน้ อยกว่า) ก็ไม่ดี เพื่อให้ การผสมภาพได้ ผลควรใช้ เวลาอย่างน้ อย 1 วินาที หากการผสมภาพยืดออกไป จะยิ่งทาให้ คนดูสบั สนมากขึ ้น 2.6.3 ประเภทของการตัดต่อ - การตัดต่อตาแหน่งภาพ The screen position edit การตัดต่อชนิดนี ้ บางครัง้ เรี ยกว่า การตัดต่อทิศทาง a directional edit หรื อการตัดต่อสถานที่ a placement edit อาจเป็ น การตัดชนภาพ (Cut) หรื อการผสม (Mix) แต่มกั จะเป็ นการตัดชน หากว่าไม่มีการเปลี่ยน ของเวลาการตัดแบบนี ้ มักจะมีการวางแผนไว้ ตงแต่ ั ้ ช่วงก่อนถ่ายทา หรื อช่วงระหว่างการถ่ายทา ขึ ้นอยูก่ บั การกระทาของช็อตแรกที่บงั คับหรื อกากับให้ สายตาของคนดูไปยังตาแหน่งใหม่บนจอ - การตัดต่อรูปแบบ The Form Editเป็ นการอธิบายที่ดีที่สุดของการเชื่อม จากช็อตหนึง่ ซึง่ มีการแสดงรูป, สี, มิติหรื อเสียงไปยังอีกช็อตหนึ่ง ซึ่งมีการแสดงรูปทรง สี มิติ หรื อ
เสียงนีส้ มั พันธ์ กันหากมีเสียงเป็ นแรงจูงใจ การตัดต่อรู ปแบบ สามารถเป็ นการตัดชนได้ แต่ส่วน ใหญ่แล้ วจะเป็ นการผสม หลักการนี ้เป็ นจริงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสถานที่ - การตัดต่อที่มีเรื่ องราว The Concept Edit บางครัง้ เรี ยกการตัดต่อที่ เคลื่อนไหว หรื อการตัดต่อความคิด เป็ นการเสนอความคิดที่บริ สทุ ธิ์ ล้วน ๆ เพราะว่า 2 ช็อตที่ถูก เลือกและจุดที่ทาการตัดต่อ การตัดต่อเรื่ องราวนีเ้ ป็ นการปูเรื่ องในหัวเราการตัดต่อที่มีเรื่ องราว สามารถครอบคลุมถึงการเปลี่ยนสถานที่ เวลา ผู้คน และบางครัง้ ก็เป็ นตัวเรื่ อง มันสามารถทาได้ โดยไม่มีการสะดุดของภาพถ้ าเป็ นการตัดต่อที่มีเรื่ องราวที่ดี สามารถบอกอารมณ์ดราม่าและสร้ าง ความลึกซึ ้งได้ แต่ถ้าไม่ได้ วางแผนเป็ นอย่างดีแล้ ว ความไหลลื่นของข้ อมูลภาพ อาจชะงักไปเลย - การตัดต่อแบบผนวก The combined edit เป็ นการตัดต่อที่ยากที่สดุ แต่มี พลังมากที่สดุ การตัดแบบผนวกนี ้เป็ นการรวมการตัดต่อ 2 แบบหรื อมากกว่านันจากการตั ้ ดต่อทัง้ 4 แบบที่กล่าวมา เพื่อให้ การตัดแบบผนวกได้ ผลดี ผู้ตดั จาเป็ นต้ องจาทังเสี ้ ยงและภาพที่ใช้ ได้ ในแต่ ละช็อต ดังนันการตั ้ ดแบบนี ้ควรได้ รับการวางแผนเป็ นอย่างดีทงก่ ั ้ อนการถ่ายทาและขณะถ่ายทา 2.7 การสื่อความหมาย และมุมกล้ อง 2.7.1 สื่อความหมายด้ วยมุมกล้ อง (Angle) หมายถึง Camera Angle หรื อมุมกล้ อง หรื อมุมภาพ เป็ นการออกแบบเลือกสรรโดยผู้ถ่ายภาพยนตร์ ต้ องการให้ เห็นในด้ าน มุมหรื อแง่มมุ ใด ปิ ดบังหรื อซ่อนเร้ นไม่ให้ เห็นในบางแง่มุม ทาหน้ าที่บอกเรื่ องราวในแง่มุมที่เลือกสรรแล้ ว ทัง้ เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจ และเพื่อสร้ างอารมณ์ เพื่อความงานและเพื่อดึงดูดความสนใจ มุมกล้ อง สามารถแบ่งได้ ดังนี ้ - Objective Camera Angle เป็ นมุมภาพที่มองจากบุคคลที่ไม่มีความ เกี่ยวข้ องกับเหตุการณ์ในภาพยนตร์ เป็ นมุมภาพบอกเล่าทัว่ ๆไป - Subjective Camera Angle เป็ นมุมภาพที่มองจากบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง กับเหตุการณ์ในภาพยนตร์ โดยตรง ให้ ผ้ ชู มรู้สึกเข้ ามาเกี่ ยวข้ องโดยตรงกล้ องถ่ายภาพยนตร์ จะถูก สมมติให้ เป็ นหนึ่งในบุคคลในเหตุการณ์ เป็ นการสร้ างความสัมพันธ์ ทางสายตากับผู้ชม บางครัง้ เราจะเรี ยกว่า ภาพแทนสายตา - Point-of-View Camera Angle เป็ นมุม ภาพที่ อยู่กึ่ ง กลายระหว่า ง Objective Camera AngleและSubjective Camera Angle ให้ ความรู้สึกสนิทสนมกับเหตุการณ์ แต่ไม่ได้ มีสว่ นในเหตุการณ์บางครัง้ เราเรี ยกว่าหรื อถ่ายข้ ามไหล่ Over the Shoulder Shot - Level Angle คือ มุมระดับสายตา - High Angle คือ มุมสูง ถ่ายกดลงต่า
- Low Angle คือ มุมต่า ถ่ายแหงนขึ ้น - Double Angle คือ หรื อ Angle-Plus-Angle เห็นทังสองด้ ้ าน - Dutch Tilt คือ มุมเอียง โดยการเอียงกล้ อง - Bird-Eye-View คือ มุมสูงมากจากอากาศ - Top Shot คือ มุมสูง ดิง่ ตรงลงพื ้น - Low Shot คือ มุมระดับติดพื ้น 2.7.2 สื่อความหมายด้ วยกรอบภาพ (Frame) คือ ลักษณะจากัดของภาพยนตร์ ทาให้ ภาพที่ต้องการนาเสนอถูกจากัดอยู่ในขอบเขตใดขอบเขตหนึ่ง แต่ด้วยลักษณะจากัดนีเ้ องทาให้ ภาพยนตร์ มีลกั ษณะพิเศษในการสื่อความหมายเฉพาะตัวขึ ้นมา ผู้ถ่ายภาพยนตร์ จะเป็ นผู้กาหนด ว่า ต้ องการให้ เห็นส่วนใดบ้ าง หรื อไม่ต้องการให้ เห็นส่วนใด เป็ นผู้ คัดสรรเฉพาะสิ่ง ที่ต้องการ นาเสนอ กาหนดขนาดภาพกาหนดระยะใกล้ ไกล ตัดทอนสิ่งที่ไม่จาเป็ นออกไป เน้ นในสิ่งที่ต้องการ เฉพาะเจาะจง เปิ ดเผยสิ่งที่ต้องการเสนอ ปิ ดปั งส่วนไม่ดีไม่งาม เพื่อไม้ ให้ เสียสมดุลย์ ตัวย่อ ชื่อเต็ม ความหมาย E.C.U. Extreme Close Up ใกล้ มาก C.U. Close Up ใกล้ M.C.U. Medium Close Up ใกล้ ปานกลาง C.S. Close Shot ภาพใกล้ M.S. Medium Shot ปานกลาง M.L.S. Medium Long Shot ปานกลางไกล L.S. Long Shot ไกล E.L.S. Extreme Long Shot ไกลมาก F.S. Full Shot เต็มภาพ Two Shot ภาพสองคน Close Two Shot ภาพใกล้ สองคน Three Shot ภาพสามคน Group Shot ภาพทังกลุ ้ ม่ ตารางที่ 2 ตารางแสดงลักษณะของ Frame หรื อกรอบภาพ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
2.7.3 สื่ อความหมายด้ วยการเคลื่ อนไหวของกล้ อง (Movement) หมายถึง การ เคลื่อนไหวหรื อเคลื่อนที่ของกล้ อง เพื่อเปิ ดเผยหรื อนาความรู้สึกให้ ติดตาม คล้ ายการหันมอง เงย ขึ ้น หรื อเดินใกล้ เข้ าไป หรื อถอยหางออกมา รวมถึงการติดตาม สามารถแบ่งได้ ดงั นี ้ - Pan คือ หันกล้ องซ้ ายหรื อขวา - Tilt คือ เงยขึ ้นหรื อก้ มลง - Dolly in-out คือ กล้ องเคลื่อนที่เข้ าหรื อออกหรื อเคลื่อนไปด้ านข้ าง - Track คือ กล้ องติดตาม ไปทุกทิศทาง - Crane up-down คือ ยกกล้ องขึ ้นหรื อต่าลง - Copter & Arial Shot คือ กล้ องเคลื่อนที่ในอากาศ 2.7.4 การเคลื่อนไหว (Movement) ภาพทุกภาพไม่ว่าจะเป็ นภาพชนิดใด จะเกิดจาก การแปลความคิดและถ้ อยคา ให้ เกิดเป็ นภาพโดยการประกอบภาพแล้ วจึงลาดับภาพแต่ละภาพให้ ต่อเนื่องและมีความหมาย แม้ วา่ ภาพเหล่านันจะเป็ ้ นภาพนิ่ง แต่ภาพทุกภาพก็ดเู หมือนภาพวิ่งหรื อ เคลื่ อ นไหวต่อเนื่ องกัน เพราะประสาทตาของคนเรามี คุณสมบัติอาการค้ าง กล่า วคือ ขณะดู ภาพนิ่งอยู่แล้ วนาภาพนันออกไปทั ้ นที ประสาทตาจะรู้ สึกว่าภาพนันยั ้ งคงอยู่เดิมเป็ นเวลา 1/16 วินาที เมื่อภาพเก่ายังติดตาอยู่แล้ วภาพใหม่เข้ ามาแทนที่ ภาพนิ่งจึงดูราวกับภาพเคลื่อนไหว ใน ที่นี ้จะเน้ นการเคลื่อนไหวที่เป็ นองค์ประกอบสาคัญในการสื่อความหมาย การเคลื่อนไหวของกล้ อง ซึง่ ติดตังบนฐานกล้ ้ อง ได้ แก่ - แพน (pan) (ซ้ าย/ขวา) คือ เคลื่อนกล้ องในลักษณะแนวนอนจากขวามาซ้ าย หรื อซ้ ายมาขวา เพื่อให้ ผ้ ชู มเห็นภาพทางกว้ างได้ มากขึ ้น - ทิลท์ (Tilt) (ขึ ้น/ลง) คือ เงยหรื อก้ มกล้ องในลักษณะแนวตัง้ เพื่อให้ ผ้ ชู มเห็น ภาพทางสูงได้ มากขึ ้น - พีเดสตอล (Pedestal) คือ เลื่อนกล้ องขึ ้น-ลง บนฐานกล้ อง - ทองค์ (Tongue) (ซ้ าย/ขวา) คือ เคลื่อนฐานของปั น้ จั่นซึ่งมีกล้ องและผู้ ควบคุมอยู่บนปั น้ จัน่ ไปทางซ้ ายหรื อทางขวา โดยระดับสูงต่าของกล้ องยังอยู่ในระดับเดิม เพื่อให้ ผู้ชมเห็นภาพในทางกว้ างมากขึ ้น - บูม (Boom) (ขึ ้น/ลง) คือ การเคลื่อนกล้ องบนฐานกล้ องแบบปั น้ จัน่ ขึ ้น-ลง ใช้ เมื่อต้ องการเปลี่ยนมุมกล้ องให้ สงู หรื อต่า
- ซูม (Zoom) (เข้ า/ออก) คือ เปลี่ยนความยาวโฟกัสของเลนส์ซูมให้ ยาวขึ ้น เพื่อถ่ายภาพให้ ได้ ภาพโตขึ ้นตามลาดับ (Zoom in) หรื อเปลี่ยนความยาวโฟกัสของเลนส์ซูมให้ สนั ้ เข้ า เพื่อให้ ได้ ภาพเล็กลงตามลาดับ (Zoom out) - ดอลลี่ (Dolly) (เข้ า/ออก) คือ เดินหน้ าเข้ าใกล้ สิ่งที่ถ่ายซึ่งอยู่กบั ที่เพื่อให้ ได้ ภาพโตขึ ้นหรื อถอยหลังให้ หา่ งจากสิ่งที่ถ่ายเพื่อให้ ได้ ภาพเล็กลง - ทรัค (Truck) คือ เคลื่อนกล้ องอย่างช้ าลักษณะเดียวกับ Dolly - อาร์ ค(Arc) คือ เคลื่อนกล้ องอย่างช้ าลักษณะเดียวกับ Dolly แต่ไปในแนว โค้ ง การเคลื่อนไหวอันเกิดจากการตัดต่อลาดับภาพ สาหรับภาพยนตร์ จะใช้ เครื่ องตัดต่อแล้ วใช้ เทคนิคพิเศษ พิมพ์ภาพให้ พลิกแพลงไปจากภาพธรรมดา ต่อเนื่องเป็ นเรื่ องราวเดียวกันเทคนิคซึ่ง ภาพยนตร์ ใช้ ตดิ ต่อลาดับภาพให้ ตอ่ เนื่องกันมีมากมายหลายแบบที่สาคัญ คือ - คัท (Cut) คือ การตัดภาพจากกล้ องหนึ่งไปยังอีกกล้ องหนึ่ง เพื่อต้ องการให้ ผู้ชมเห็นในสิ่งที่ต้องการจะเห็น เป็ นวิธีการลาดับภาพที่รวดเร็ วที่สดุ ง่ายที่สดุ และใช้ กันบ่อยที่สุด มักใช้ เ พื่ อ สร้ างความตื่นเต้ น สร้ างความรวดเร็ วของภาพโดยการตัดภาพเร็ ว ๆ หลาย ๆ ครั ง้ ต่อเนื่องกัน สร้ างความสอดคล้ องกับดนตรี เปิ ดเรื่ องโดยการตัดภาพจากจอว่างสู่เรื่ องเป็ นการ เรี ยกร้ องความสนใจจากผู้ชม - เฟด (เข้ าหรื อออก) (Fade in or out) หมายถึง การทาภาพจางซึ่งทาได้ 2 วิธี คือ เฟดอิน (Fade in) เพิ่มระดับความชัดเจนของภาพทีละน้ อยจากเลือนจนชัด มักใช้ เมื่อเริ่ มเรื่ อง หรื อเปิ ดฉากการแสดง และเฟดเอ้ าต์ (Fade out) ตรงกันข้ ามกับ Fade in คือ ทาให้ ภาพค่อย ๆ จางหายไป จากชัดจนเลือนหายไปจากจอ มักใช้ เสมอในการเปลี่ยนฉาก แสดงถึงสถานการณ์ เวลาที่แตกต่างกันไปจากภาพแรก - ดิสโซฟหรื อมิกซ์ (Dissolve or Mix) หมายถึง การทาภาพผสมให้ เป็ นภาพ จางซ้ อนโดย Fade out ภาพจากกล้ องหนึ่งแล้ ว Fade in ภาพจากอีกกล้ องหนึ่งพร้ อม ๆ กัน เช่น การแสดงโขนเรื่ องรามเกียรติต์ อนนางเบญกายแปลงเป็ นนางสีดา สามารถทาภาพจากซ้ อนได้ โดย Fade out – ภาพผู้แสดงเป็ นนางเบญกายจากกล้ อง 1 แล้ ว Fade in ผู้แสดงเป็ นนางสีดา จาก กล้ อง 2 ขณะที่ภาพนางเบญกายยังไม่เลือนหายไปจากกล้ อง 1 จึงเห็นเป็ นภาพผู้แสดง 2 คนซ้ อน กันในภาพเดียวกัน - แมทช์ดีสโซฟ (Matched Dissolve) เป็ นการทาภาพจากซ้ อนกันอย่างสมดุล เช่นเดียวกับ Dissolve หรื อ Mix แต่ผิดกันตรงที่ Matched Dissolve สิ่งที่ถ่ายจะมีความคล้ ายคลึง
กัน เช่น Fade out ภาพเครื่ องบิน จาลอง แล้ ว Fade in ภาพเครื่ องบินจริ ง การลาดับภาพแบบจาง ซ้ อนอย่างสมดุลนี ้เป็ นวิธีการลาดับภาพที่ดีที่สดุ วิธีหนึง่ สาหรับการแสดง - ดีโฟกัส ทู รี โฟกัส (Defocus to refocus) เป็ นการลาดับภาพจางซ้ องที่ใช้ กนั หลายกรณี เช่น แสดงความฝั น บุคคลที่กาลังจะหมดความรู้ สึก สร้ างบรรยากาศขมุกขมัว ทาได้ โดยวิธีการตังระยะชั ้ ดที่เลนส์กล้ องที่ 1 ให้ ผิด เมื่อเกิดภาพพร่าหรื อไม่ชดั (Defocus) และจะซ้ อน ภาพจากกล้ องที่ 2 ซึ่งค่อย ๆ คมชัดขึ ้น แล้ วคงภาพคมชัดนี ้ไว้ เพื่อต่อกับภาพอื่นที่จะตามมาต่าง กับภาพจากซ้ อนที่เรี ยกว่า Refocus หรื อ Mix ตรงที่ Dissolve หรื อ Mix บุคคลที่ถ่ายหรื อสิ่งที่ถ่าย จะไม่เป็ นบุคคลเดียวกันหรื อสิ่งเดียวกัน แต่ Defocus to Refocus บุคคลที่ถ่ายหรื อสิ่งที่ถ่ายจะ เป็ นบุคคลเดียวกันหรื อสิ่งเดียวกัน - ซูเปอร์ อิมโพสิชนั (Superimposition) หรื อ Superimpose คือ การใช้ ภาพ หนึง่ ซ้ อนกับอีกภาพหนึง่ เพื่อแสดงอาการคิดคานึง เช่น ภาพผู้แสดงคนหนึ่งนอนหลับฝั นเห็ นภาพผู้ แสดงอีกคนหนึ่งลอยอยู่ในห้ วงภวัง ค์หรื อความฝั นนัน้ ภาพคู่สนทนาทางโทรศัพท์ หรื อ การใช้ ตัวอักษรรวมกันเป็ นข้ อความซ้ อนทับบนภาพอีกภาพหนึง่ - ไวพ์ (Wipe) คือ การกวาดภาพเพื่อเปลี่ยนจากฉากหนึ่งไปยังอีกฉากหนึ่ง แทนการตัดภาพ อย่างธรรมดา ซึง่ การกวาดภาพนี ้จะใช้ ภาพใหม่กวาดภาพเก่าออกไป จากซ้ ายไป ขวา หรื อจากขวามาซ้ าย จากมุมล่างไปมุมบน หรื อมุมบนลงมามุมล่าง หรื อจากกึ่งกลางภาพแล้ ว ขยายภาพใหม่ลบภาพเก่า ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั จินตนาการของผู้สร้ างหรื อผู้กากับรายการ - รี เวอร์ สแอคชัน (Reverse Action) เป็ นเทคนิคฉายภาพย้ อนหลังซึ่งนิยมใช้ กันเพื่อแสดงภาพอภินิหาร การทาภาพย้ อนหลังนี ้ ทาได้ โดยให้ ผ้ แู สดง แสดงกลับกันกับที่ปรากฏ ในภาพยนตร์ เช่น ผู้แสดงกระโดดจากหลังคามาที่พื ้นดิน เมื่อพิมพ์ภาพย้ อนหลังก็จะเป็ นผู้แสดง ยืนบนพื ้นดินแล้ วกระโดดขึ ้นบนหลังคา - ฟาสท์โมชัน (Fast Motion) เป็ นเทคนิคภาพเร็ ว ทาให้ ภาพที่ปรากฏบนจอมี การเคลื่อนไหวที่เร็ วกว่าที่เป็ นจริ งตามธรรมชาติ ทาได้ โดยตังอั ้ ตราความเร็ วของเครื่ องฉายให้ เร็ ว กว่าอัตราความเร็วของการบันทึกภาพ เร็วกว่าสายตาของมนุษย์ที่เห็นได้ ปกติธรรมดา เทคนิคภาพ เร็ วนี ้จึงมีชื่อ เฉพาะได้ อีกชื่อหนึ่งว่า “Time Lapse” ตัวอย่างภาพเร็ ว คือ ดอกไม้ ตมู แล้ วคลี่กลีบ บานออก ซึง่ เห็นบ่อยในโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์ - สโลว์โมชัน (Slow Motion) เป็ นเทคนิคภาพช้ าที่ตรงกันข้ ามกับเทคนิคภาพ เร็ วที่ ไ ด้ อธิ บายมาแล้ ว ทาได้ โดยตัง้ อัตราความเร็ วของกล้ องขณะบันทึกภาพให้ เร็ วกว่าอัตรา ความเร็วของเครื่ องฉาย
- ฟรี ซเฟรม (Freeze Frame) เป็ นเทคนิคหยุดภาพหรื อแช่ภาพไว้ ให้ ผ้ ชู มจาติด ตาไว้ นานกว่าภาพอื่น ๆ และเพื่อให้ ผู้ชมสามารถพินิจรายละเอียดที่สาคัญของภาพนัน้ ได้ เช่น ภาพเหตุการณ์การแข่งขันฟุตบอล ผู้เล่นยิงบอลเข้ าประตู ก็จะหยุดภาพเพื่อให้ ผ้ ชู มได้ เห็นถนัดถึง ลักษณะที่ลกู บอลเข้ าประตูไป - สปลิตสกรี น (Split Screen) คือ การแบ่งกรอบภาพ ออกเป็ นส่วน ๆ เพื่อ บันทึกภาพหลาย ๆ ภาพลงบนกรอบภาพเดียวกัน ไม่ว่าภาพนันจะเหมื ้ อนหรื อต่างกัน การแบ่ง กรอบภาพนี ้จะแบ่งเป็ นกี่สว่ นขึ ้นอยูก่ บั ผู้กากับรายการต้ องการ แต่มกั นิยมแบ่งเป็ นเลขคู่ - โครมาคีย์ (Chroma Key) เป็ นเทคนิคการซ้ อนภาพที่แตกต่างจากภาพจาก ซ้ อน (Dissolve) ทาได้ โดยใช้ กล้ อง 2 กล้ องหนึ่งจับภาพบุคคลหรื อวัตถุที่ถ่ายซึ่งอยู่หน้ าฉากมีฉาก หลังเป็ นสีฟ้า อีกกล้ องหนึ่งจับภาพฉากหลังอีกฉากหนึ่งแล้ วใช้ แผงตัดต่อลาดับภาพลบภาพฉาก หลังสีฟ้าให้ หมดและผสมภาพนัน้ ซ้ อนกับฉากหลังอีกฉากนึ่ง ภาพที่ได้ จะมีค วามคมชัดของสิ่งที่ ถ่าย 2 อย่างอวัจนภาษาที่ใช้ ในภาพยนตร์ 2.8 รู ปแบบการใช้ ภาษาของภาพยนตร์ รู ปแบบการใช้ ภาษาของภาพยนตร์ สามารถแบ่งรู ปแบบการใช้ ภาษาได้ เป็ น 2 รู ปแบบ ใหญ่ ๆ คือ 2.8.1 ภาพยนตร์ บนั เทิงคดี (Fiction or Non-Feature Film) หมายถึง ภาพยนตร์ ที่ สร้ างขึน้ เพื่อให้ ความบันเทิงแก่ผ้ ูชมมุ่งให้ ความสนุก สามารถจินตนาการร่ วมกับภาพที่เห็นและ เสียงที่ได้ ยิน ทังยั ้ งเกิดอารมณ์ตา่ ง ๆ สุดแล้ วแต่ผ้ แู สดงหรื อตัวละครไม่วา่ จะเป็ นคนหรื อสัญลักษณ์ ที่ร้ ูจกั กันในนาม “ตัวการ์ ตนู ” จะพาไปภาพยนตร์ บนั เทิงคดีจึงมีเนื ้อกาที่สร้ างขึ ้นจากนวนิยายเป็ น ส่วนใหญ่ แม้ ว่านวนิยายเรื่ องนันอาจมี ้ เค้ าโครงหรื อเกร็ ดชีวิตจริ งอยู่ก็ตาม ดังนัน้ อาจกล่าวได้ ว่า ภาพยนตร์ บนั เทิงคดีเป็ นภาษาสมมติ ซึ่งผู้สร้ าง สร้ างขึ ้นโดยเลียนแบบชีวิตจริ งโดยอาศัยศิลปะ การถ่ายทาและวิท ยาการทางอิเ ล็กทรอนิกส์ ในรู ปละคร ภาพยนตร์ บันเทิ ง คดีเป็ นภาพยนตร์ ประเภทแรกที่คนไทยรู้จกั คือ ภาพยนตร์ ไทยเรื่ องแรกสร้ างขึ ้นในปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ราว พ.ศ. 2465 เรื่ อง “นางสุวรรณ” สร้ างโดยบุคคลตระกูลวสุวตั แห่ง บริ ษัทภาพยนตร์ ศรี กรุ ง ร่ วมกับบริ ษัทยูนิเวอร์ แซลของชาวอเมริ กัน หลังจากนัน้ อีก 5 ปี บริ ษัท ภาพยนตร์ ศรี กุมก็สร้ างภาพยนตร์ ไทยเรื่ องแรกด้ วยฝี มือคนไทยล้ วนเรื่ อง “โชคสองชัน” ้ จากนัน้ ภาพยนตร์ ไทยประเภทบันเทิงคดีก็ทยอยกันออกมานับร้ อย ๆ เรื่ อง ต่างก็มีรูปแบบและเนื ้อหาต่าง ๆ กัน ขึ ้นอยูก่ บั สภาพเหตุการณ์ และความนิยมของไทยแต่ละสมัย เป็ นต้ นว่า หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เนื ้อหาหนักไปในเรื่ องของชีวิตบุคคลสาคัญในอดีต จนกระทัง่ พ.ศ.2500 จึงเริ่ มเปลี่ยนเนื ้อหา
มาอยู่ในแนวสืบสวนสอบสวน อาชญากรรม พ.ศ. 2506 เป็ นยุคที่นิยมสร้ างภาพยนตร์ จากละคร วิทยุ พ.ศ. 2513 เป็ นยุคที่ หันมานิยมเพลงลูกทุ่ง บรรดานักร้ องลูกทุ่งจึง ถื อกาเนิดเป็ นดาราใน ภาพยนตร์ เพลงลูกทุ่ง ในปี พ.ศ.2513 นี ้เองภาพยนตร์ ประเภทน ้าเน่า ก็เริ่ มหายไปด้ วยฝี มือของ คลื่นลูกใหม่ของผู้สร้ างภาพยนตร์ เรื่ อง “โทน” ภาพยนตร์ ไทยประเภทบันเทิงคดีได้ มีวิวฒ ั นาการ ด้ านการถ่ายทาจากภาพยนตร์ 35 มม.สีขาวดาเป็ น 16 มม. สีธรรมชาติ และ 35 มม. สี-เสียงใน ฟิ ล์มตามลาดับ ถ้ าจะพิจารณาในแง่ของเนื ้อหาสาระในภาพยนตร์ ไทยประเภทบันเทิงคดีจะสังเกต ได้ ว่า เนือ้ หาของเรื่ องมักไม่ค่อยแตกต่างกันมากนักและผู้ชมก็จะวนเวียนชมกันอยู่ในแนวเช่นนี ้ อย่างมิร้ ูเบื่อหน่าย 2.8.2 ภาพยนตร์ สารัตถคดี (Documentary or Feature Film) ภาพยนตร์ สารัตถคดี หมายถึง ภาพยนตร์ ที่มีสาระหรื อเรื่ องราวซึ่งมีพื ้นฐานของความเป็ นจริ งทังหมดหรื ้ อเกือบทังหมด ้ มักเกี่ยวข้ องกับชีวิตความเป็ นอยู่ในธรรมชาติ ความคิดเห็น ความรู้สึก ทัศนคติ ของคน ภาพยนตร์ สารัตถคดีจึงมีเนือ้ หาที่สร้ างขึน้ จากเรื่ องจริ ง อันอาจได้ ข้อมูลจากข่าวในหน้ าหนังสือพิมพ์ โดย อาศัยกล้ อง การเคลื่อนไหวของภาพ คาบรรยาย ดนตรี และเสียงประกอบจากสถานที่จริ ง แม้ รสชาติจะไม่ส นุก และไม่ค่อยได้ รับความนิยมเท่าภาพยนตร์ ประเภทบันเทิงคดี แต่ก็ ไ ม่น่าเบื่อ เหมือนภาพยนตร์ ที่ใช้ ประกอบการสอนบางเรื่ อง แม้ ว่าภาพยนตร์ ส ารัตถคดีแต่ละเรื่ องจะไม่แตกต่างกันมากนักในเรื่ องขอบเขตของ เนื ้อหา และผู้ชมจะเป็ นผู้ชมเฉพาะกลุ่มที่เลือกสรรแล้ วซึ่งมักตังใจดู ้ อยากรู้เนื ้อหา แสวงหาความ จริง ไม่สนใจวิพากษ์วิจารณ์ในแง่การสร้ างเท่าใดนักก็ตาม แต่เนื ้อหาก็เป็ นเรื่ องสาคัญที่ผ้ สู ร้ างต้ อง คานึง ถึง เพราะเหตุที่ภ าพยนตร์ ประเภทสารั ตถคดีนีม้ ี ทิศทางของเนื อ้ หาค่อนข้ างแน่นอนกว่า ภาพยนตร์ ประเภทบันเทิงคดี ทังยั ้ งสามารถเสนอเรื่ องราวที่ภาพยนตร์ บนั เทิงคดีไม่สามารถทาได้ อีกด้ วย การจาแนกประเภทภาพยนตร์ ประเภทสารัตถคดีนนสามารถจ ั้ าแนกได้ หลายอย่างขึ ้นอยู่ กับการพิจารณาของผู้จาแนก เพราะสามารถพิจารณาได้ โดยถื อเกณฑ์วิธีการถ่ายทา ประโยชน์ ของการนาไปฉาย และเนื ้อหาสาระที่นาเสนอ ภาพยนตร์ สารัตถคดีนนั ้ ยากแก่การให้ คาจากัดความและแบ่ง ประเภทที่ แน่นอนได้ เพราะภาพยนตร์ ประเภทนี ม้ ี เ นือ้ หาเกี่ ยวข้ องกับทุกอย่างของโลกการใช้ ภ าษาของภาพยนตร์ ประเภทสารั ตถคดี นีม้ าจากประเทศตะวันตก ประเทศสหภาพสาธารณรั ฐ โซเวี ยตสัง คมนิย ม ผู้สร้ างภาพยนตร์ ชื่อ เดนิส คอฟแมน หรื อ ซิกา เวอร์ ตอฟ ได้ ถ่ายทาภาพยนตร์ นอกสถานการณ์ สมมติ ทว่าผู้ชมไม่ค่อยให้ ความนิยม ต่อมาโรเบิร์ต แฟลเชอร์ ตี ได้ นาแนวคิดริ เริ่ มนีม้ าผนวกับ
ศิลปะการสร้ างภาพยนตร์ สร้ างชีวิตการล่าแมวน ้าของชาวเอสกิโมในชื่อ “Nanook of the north” ในปี ค.ศ. 1922 และเวลาไล่เลี่ยกัน ประเทศต่างๆ ก็ให้ ความสาคัญกับภาพยนตร์ ประเภทนี ้มากขึ ้น ในประเทศไทย การสร้ างภาพยนตร์ ป ระเภทสารั ต ถคดี เ พิ่ ง เกิ ดขึน้ เมื่ อ ไม่กี่ ปี มานี ้ ปั จจุบนั ผู้ชมจะมีโอกาสชมภาพยนตร์ สารัตถคดีได้ จากสื่อวิทยุโทรทัศน์เป็ นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็ น ภาพยนตร์ ซงึ่ สร้ างขึ ้นเพื่อนามาฉายในวันนักขัตฤกษ์ สาคัญ หรื อภาพยนตร์ ที่ม่งุ โน้ มน้ าวใจให้ ผ้ ชู ม รั ก ชาติ มั่ น ใจในอนาคตของชาติ นิ ย มไทย ตลอดจนภาพยนตร์ ใ นโครงการรณรงค์ ข อง คณะกรรมการส่งเสริ มเอกลักษณ์ไทยเรื่ องอื่น ๆ นอกจากนี ้เราจะได้ ชมภาพยนตร์ สารัตถคดีของ หน่วยงานหรื อองค์กรต่าง ๆ ในลักษณะภาพยนตร์ เพื่อการประชาสัมพันธ์ 3. ความรู้ เรื่ องเหรี ยญสตางค์ เงินบาท (ตัวละติน: Baht ; สัญลักษณ์: ฿ ; รหัสสากลตาม ISO 4217: THB) เป็ นสกุล เงินตราประจาชาติของประเทศไทย เดิมคาว่า "บาท" เป็ นหนึ่งในคาใช้ เรี ยกหน่วยการชัง่ น ้าหนัก ของไทย ปั จจุบนั ยังมีใช้ ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื ้อขายทองคา เช่น "ทองคา วันนี ้ราคาขายบาทละ 8,400 บาท" หมายถึงทองคาหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 8,400 บาท ใน สมัยที่เริ่ มใช้ เหรี ยญครัง้ แรก เงินเหรี ยญหนึ่งบาทนันเป็ ้ นเงินที่มีนา้ หนักหนึ่งบาทจริ ง ๆ ไม่ได้ ทา ด้ วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปั จจุบนั เหรี ยญไทยนัน้ ผลิ ต ออกมาโดยส านัก กษาปณ์ กรมธนารั กษ์ กระทรวงการคลัง โดย สามารถผลิ ตออกใช้ ไ ด้ ไ ม่จ ากัดจ านวนโดยไม่ต้อ งมี สิ่ง ใดมาคา้ ประกัน เพราะโลหะที่ ใ ช้ ผลิ ต เหรี ย ญกปาษณ์ นัน้ มี ค่า ในตัว เองอยู่แ ล้ ว ส่ว นธนบัต รนัน้ ผลิ ตและควบคุม การหมุน เวี ย นโดย ธนาคารแห่งประเทศไทย การผลิตธนบัตรนาออกใช้ จะมีหลักเกณฑ์วิธีที่เหมาะสมเพื่อให้ เศรษฐกิจ ของชาติมีเสถียรภาพในปั จจุบนั มีการผลิตเหรี ยญกษาปณ์อยู่ทงหมด ั้ 9 ชนิดคือ เหรี ยญ 1, 5, 10, 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท โดยเหรี ยญ 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท เป็ นเหรี ยญที่ออกใช้ หมุนเวียนทัว่ ไป ส่วนเหรี ยญ 1, 5 และ 10 สตางค์ ไม่ได้ ออกใช้ หมุนเวียนทัว่ ไป แต่ใช้ ภายในธนาคารเท่านัน้ แต่ในปั จจุบนั ได้ เกิดปั ญหาราคาวัตถุดิบในการผลิตเหรี ยญสูงกว่า ราคาเหรี ยญ ทาให้ เกิดการลักลอบหลอมเหรี ยญไปขาย หรื อบางครัง้ ก็เกิดปั ญหาการใช้ เหรี ยญผิด เพราะรูปร่างและสีของเหรี ยญบางชนิดนันคล้ ้ ายกัน (เช่น เหรี ยญ 1 บาท กับ เหรี ยญ 2 บาท แบบ เก่า) ดังนัน้ ใน พ.ศ. 2552 กระทรวงการคลัง ได้ เปลี่ยนแปลงวัตถุดิบในการผลิตเหรี ยญบางชนิด เพื่อป้องกันการหลอมเหรี ยญและสร้ างความแตกต่างของเหรี ยญ ลดความยุ่งยากในการใช้ เหรี ยญ เป็ นดังนี ้
เหรี ยญสตางค์ ที่ใช้ หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจในประเทศมีทงหมด ั้ 6 ชนิด คือ เหรี ยญ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ และ 25 สตางค์ ซึ่งในปั จจุบนั พบว่าคนไทยมีการ ใช้ เหรี ยญสตางค์น้อยลง โดยเฉพาะเหรี ยญ 50 สตางค์ และ 25 สตางค์ เนื่องจากคนส่วนใหญ่ ไม่ เห็นคุณค่าของการนาเหรี ยญสตางค์มาใช้ ในการซื ้อขายสินค้ าและบริ การ ทาให้ ผ้ ปู ระกอบการขาย ปลี ก ส่ว นใหญ่ มัก จะปั ด เศษสตางค์ขึน้ โดยอ้ างว่าในตลาดมี เศษสตางค์ไ ม่เ พี ย งพอต่อความ ต้ องการ ทาให้ ราคาสินค้ าสูงขึน้ กว่าที่ควรจะเป็ น ประชาชนต้ องจ่ายเงินเพิ่มขึน้ และทาให้ เกิ ด ภาวะเงินเฟ้อสูงกว่าความเป็ นจริ ง ดังนันเพื ้ ่อให้ เห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์และมิให้ มีการค้ า กาไรเกินควร ราคาขึ ้นอย่างเป็ นธรรมสอดคล้ องกับต้ นทุน ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของ ประเทศ กรมการค้ าภายใน จึงจัดทาโครงการพาณิชย์สง่ เสริ มคุณค่าเหรี ยญสตางค์ขึ ้นเพื่อรณรงค์ สร้ างนิสยั คนไทยให้ เห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์ และมีการใช้ เหรี ยญสตางค์ในท้ องตลาดมากขึ ้น
ตารางที่ 3 ตารางแสดงเหรี ยญกษาปณ์หมุนเวียน (พ.ศ. 2552) ( ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/บาท_(สกุลเงิน) ) ทังนี ้ ้กรมการค้ าภายใน ร่ วมกับ กรมธนารักษ์ สมาคมธนาคารไทย สมาคมการค้ าส่ง – ปลี กไทย และสมาคมตลาดสดไทย จัดทาบันทึกความร่ วมมื อรณรงค์สร้ างนิสัยคนไทยให้ เห็น คุณค่าของเหรี ยญสตางค์ กรมธนารักษ์ จะผลิตเหรี ยญกษาปณ์ ชนิดต่าง ๆให้ เพียงพอกับความ
ต้ องการโดยเฉพาะเหรี ยญ 50 สตางค์ และเหรี ยญ 25 สตางค์ สมาคมธนาคารไทยจะให้ ธนาคารที่ เป็ นสมาชิกกระจายเหรี ยญสตางค์ให้ กับผู้ประกอบการ และประชาชน สมาคมการค้ าส่ง - ปลีก ไทย และสมาคมตลาดสดไทยจะประชาสัมพันธ์ ให้ ผ้ ูประกอบการที่เป็ นสมาชิกและผู้บริ โภคใช้ เหรี ยญสตางค์ในการ ซือ้ ขายสินค้ าอุปโภคบริ โภคประจาวันและจ่ายค่าบริ การ และส่งเสริ มให้ ผู้ประกอบการใช้ เหรี ยญสตางค์ในการทอนเงินโดยไม่มี การใช้ ลกู อม สิ่งของอื่นแทนการทอนเงิน ให้ กบั ผู้บริโภคที่ซื ้อสินค้ าหรื อบริการ 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
ภาพที่ 2 ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง ส่วนที่หายไป (ที่มา : http://designinnovathai.com/th/designdata/detail/1130) นางสาวเนตรนภา มะคงสุข : โครงการออกแบบภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง ส่วนที่หายไป (Thai shot film “The missing piece”) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2549 แรง บันดาลใจของภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ องนีไ้ ด้ มาจากหนังสือเรื่ อง The missing piece แต่งโดย Shel Silverstein ซึ่ง เนื อ้ หาของหนัง สื อเล่ม นี ไ้ ด้ เล่าถึง ทรงกลมลูกหนึ่ง ที่ มี ส่วนที่ หายไปและมันก็ พยายามที่จะตามหาส่วนนัน้ แนวความคิดของภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ องนี ้ คือ การมีความภาคภูมิใจใน สิ่งที่ตวั เองเป็ นและสามารถเรี ยนรู้ ที่จะอยู่ได้ ด้วยตนเอง ในสังคมปั จจุบนั กลุ่มคนพิการตาบอด อาจจะยังไม่เป็ นที่ยอมรับของคนทัว่ ไปมากนัก บางคนอาจจะเห็นว่าคนกลุ่มนี่มีความสามารถไม่ เท่ากับคนปกติทวั่ ไป จึงทาให้ เกิดความไม่เท่ากันภายในสังคม
ภาพที่ 3 ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง เสียงที่...ไม่ได้ ยิน (ที่มา : http://designinnovathai.com/th/designdata/detail/931) นายเศวตพงศ์ แสงภักดี : โครงการออกแบบภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง “เสียงที่...ไม่ได้ ยิน” (Short film “The other voice”) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2550 ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง “เสียงที่...ไม่ได้ ยิน (The Other Voice)” มีที่มาจากการที่ปัจจุบนั คนในสังคม ไม่ยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น จึงก่อให้ เกิดปั ญหาต่าง ๆ ตามมา ซึ่งแม้ จะเป็ นส่วนย่อยของ สัง คม หากไม่รับฟั ง ความคิดเห็นของอี กฝ่ ายก็ อาจก่อให้ เกิ ด ปั ญหารุ นแรงขึน้ มาได้ ดัง นัน้ เอง ภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง “เสียงที่...ไม่ได้ ยิน (The Other Voice)” จึงได้ สะท้ อนกระทบจากการไม่ยอมรับ ฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น เช่นเดียวกับตัวละครในเรื่ องที่ต้องจมอยู่กับความทรมานเพียงเพราะไม่ ยอมรับฟั งคนใกล้ ชิด โดยในส่วนของเนื ้อหาของเรื่ องตัวละครหลักจะสะท้ อนอาการหลงผิดและจม อยู่กับความทุกข์ จากการโทษตัวเอง ซึ่งเป็ นผลกระทบจากการกระทาผิดเพราะไม่รับฟั งความ คิดเห็นของคนอื่น นางสาวอุ ทัยทิพย์ สั งข์ วิศิษฐ์ : การออกแบบภาพยนตร์ สัน้ เรื่ อง “คน/กรรม/บาป” (Short film design “Man/Did/Sin”) คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2551 โครงการศิลปนิพนธ์ฉบับนี ้ คน กรรม บาป เป็ นภาพยนตร์ สนที ั ้ ่ม่งุ เน้ นเกี่ยวกับสังคมของวัยรุ่นใน ปั จจุบนั ที่ไม่คอ่ ยสนใจเรื่ องกฏแห่งกรรม ภาพยนตร์ เรื่ องนี ้จึงเอาศีล เรื่ องกฎแห่งกรรมของ ธรรม ปฎิบตั ิ มาเป็ นตัวนาเรื่ องและกฎแห่งกรรมเข้ ามาผสมผสานเพื่อถ่ายทอดเรื่ องราวในรู ปแบบของ ภาพยนตร์ สนั ้ เพื่ อกระตุ้นให้ ผ้ ูชมได้ ตระหนัก และระลึกถึง บุญ บาป และกฎแห่งกรรม ในการ ดารงชีวิตของสังคมวัยรุ่น
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ในการออกแบบภาพยนตร์ สัน้ ควรเริ่ ม ต้ นจากการศึกษาข้ อ มูล เกี ยวกับ การออกแบบ ภาพยนตร์ สัน้ ให้ ค รบทุก ๆด้ า น เพราะการออกแบบภาพยนตร์ สัน้ นัน้ มี ก ารแบ่ง การท างาน หลากหลายฝ่ าย เช่น ฝ่ ายเขียนโครงเรื่ องบทภาพยนตร์ ฝ่ ายเขียนสตอรี บอร์ ด(storyboard) และ ฝ่ ายดาเนินการถ่ายทา เพื่อให้ การทางานเป็ นไปตามระบบแบบแผน จึง แบ่งวิธีการดาเนินงานเป็ น ลาดับขันตอนตามประเภทงาน ้ เช่น การวางแผนก่อนการผลิต การตัดต่อ การร่างแบบ รวมถึงการ ผลิตผลงาน ดังนี ้ 1. ขันตอนการวางแผนก่ ้ อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) 1.1 ตังสมมติ ้ ฐาน 1.2 การศึกษารวบรวมข้ อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) 1.3 การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศกึ ษา (Case Study) 2. การกาหนดแบบร่างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน 2.1 การออกแบบโครงสร้ างโดยออกแบบแนวคิด (Concept) 2.2 ภาพแบบร่างทางความคิดโดยออกแบบตามแนวคิดที่วางไว้ 2.3 การปรับปรุงแก้ ไขแบบจนได้ รูปแบบที่ถกู ต้ องและเหมาะสม 3. ขันตอนการพั ้ ฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 3.1 การร่างแบบจริง (Working Drawing) 3.2 ผลิตผลงานจริงตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานที่ได้ กาหนดไว้ 4. ขันตอนหลั ้ งการผลิตผลงาน (Post Production Stage) 4.1 การเผยแพร่งานวิจยั 4.2 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน 4.3 การวิเคราะห์สรุปผลงาน อภิปรายและข้ อเสนอแนะ
1. ขัน้ ตอนการวางแผนก่ อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) การกาหนดประเด็นและการศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูลต่างๆที่กี่ยวข้ อง (Related Literature) 1.1 ตัง้ สมมติฐาน เมื่ อ รวบรวมข้ อ มูล เนื อ้ หาที่ เ กี่ ยวกับ การออกแบบภาพยนตร์ สัน้ ได้ ครบถ้ ว นแล้ ว ข้ อ ที่ ควรปั ฏิ บัติ ต่ อ ไปคื อ การวางแผนการท างาน เขี ย นโครงเรื่ อ งบทภาพยนตร์ สตอรี บ อร์ ด (storyboard) ดาเนินการถ่ายทาตัดต่อแล้ วรวบรวมงาน ทาการประเมินงานและส่งผลงาน การ ออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เพื่อสะท้ อนให้ คนไทยในยุคสังคมปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญ ของเหรี ยญสตางค์ เรื่ อง : สตางค์ มีความยาวไม่เกิน 5 นาที 1.2 การศึกษารวบรวมข้ อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) ได้ ศึกษาจากการดูงานภาพยนตร์ สนที ั ้ ่มีเนื ้อหาเกียวข้ อง รวมถึงข้ อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ เช่น ประวัตขิ องเหรี ยญสตางค์ และหลักการแบบภาพยนตร์ สนั ้ เมื่อได้ ข้อมูลทฤษฎีตา่ งๆ จึงทาการ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ ได้ แนวทางในการทางาน 1.3 การศึกษาตัวอย่ างจากกรณีศึกษา (Case Study) เมื่อได้ ศกึ ษางานด้ าน ประวัตคิ วามเป็ นมาของเหรี ยญสตางค์ และการออกแบบภาพยนตร์ สัน้ จึงได้ เข้ าใจถึงขัน้ ตอนและขบวนการทาภาพยนตร์ สนั ้ เพื่อที่จะได้ นาเอาประโยชน์ที่ได้ จาก การศึกษาตัวอย่างมาใช้ ในงานออกแบบภาพยนตร์ สนต่ ั ้ อไป เช่น การเล่าเรื่ องด้ วยภาพ การเขียน บทหนังสัน้ การเขียนเรื่ องย่อ บทภาพยนตร์ บทถ่ายทา บทภาพ(storyboard) 2. การกาหนดแบบร่ างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์ และสมมติฐาน การก าหนดโครงเรื่ อ งภาพยนตร์ สัน้ และตี ค วามหมายของเนื อ้ เรื่ อ งและทิ ศ ทางของ ภาพยนตร์ ให้ ออกมาเป็ นรูปภาพ โดยจะต้ องคานึงถึงการเล่าเรื่ อง การสื่อความหมายด้ วยภาพที่มี การจากัดเวลาที่สนั ้ โดยจะเน้ นภาพที่สะท้ อนความคิดอย่างจัดเจนและเข้ าใจได้ ง่าย เพื่อต้ องการที่ จะสะท้ อนให้ คนในยุคสังคมปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ที่ยงั คงมี คุณค่า และความสาคัญอยู่ 2.1 การออกแบบโครงสร้ างโดยออกแบบแนวคิด (Concept) การออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ นี ้ต้ องการที่จะสะท้ อนให้ คนไทยในยุคสังคม ปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ และส่งเสริ มให้ คนในสังคมรู้ จกั การ เอื ้อเฟื อ้ แบ่งปั น ช่วยเหลือ ผู้อื่นที่ด้อยกว่า ตามกาลังและความสามารถที่เรามี และยังส่งเสริ มให้ คนในสังคมเห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์ที่หลายคนอาจมองว่าไร้ คณ ุ ค่าไร้ ประโยชน์ โดยนาเสนอ ในรูปแบบของภาพยนตร์ สนั ้
2.2 ภาพแบบร่ างทางความคิดโดยออกแบบตามแนวคิดที่วางไว้ แบบที่ได้ ทาการออกแบบนัน้ จะสะท้ อนให้ เห็นถึงคุณค่าของเหรี ยญสตางค์อย่างชัดเจน และแฝงข้ อคิดลงในภาพพยนตร์ ที่ผ้ วู ิจยั ต้ องการถ่ายทอดนาเสนอออกมาให้ คนในสังคมยุคปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ จึงทาการออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์นีข้ ึ ้น ขันตอนนี ้ ้ผู้วิจยั ได้ ทาการเขียนโครงเรื่ อง บทภาพพยนตร์ และบทภาพ(storyboard) ดังนี ้ 2.2.1 การออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ นี ้ต้ องการที่จะสะท้ อนให้ คนไทยใน ยุคสังคมปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ และส่งเสริ มให้ คนในสังคม รู้ จักการเอือ้ เฟื ้อแบ่งปั น ช่วยเหลือ ผู้อื่นที่ด้อยกว่า ตามกาลังและความสามารถที่เรามี และยัง ส่งเสริ มให้ คนในสังคมเห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์ที่หลายคนอาจมองว่าไร้ คณ ุ ค่าไร้ ประโยชน์ ขันตอนการท ้ านันเริ ้ ่ มจากการวางโครงเรื่ อง การเขียนบทภาพพยนตร์ และนามาเสนอในรู ปแบบ ของ สตอรี บ อร์ ด (storyboard) การเขี ย นสตอรี่ บ อร์ ด เป็ นขัน้ ตอนของการเตรี ย มการน าเสนอ ข้ อความ ภาพ รวมทัง้ สื่อในรูปของมัลติมีเดียต่างๆ ลงในกระดาษ ส่วนประกอบต่างๆของ สตอรี บอร์ ด(storyboard) มีดงั นี ้ Title คือชื่อเรื่ อง มุมกล้ องภาพแสดงการเคลื่อนไหวในฉากๆนัน(อยู ้ ่ ภายในกรอบสี่เหลี่ยม) Description คาอธิบายเกี่ยวกันฉากนัน้ Scene ชื่อฉาก Timing เวลาใน การแสดงฉากนันSound ้ FX เสียงประกอบ Music BG ดนตรี ประกอบ เพื่อที่จะนาไปใช้ เป็ น ต้ นแบบในการดาเนินการถ่ายทาต่อไป 2.3 การปรั บปรุ งแก้ ไขแบบจนได้ รูปแบบที่ถูกต้ องและเหมาะสม จากการทาโครงเรื่ องบทภาพยนตร์ และสตอรี บอร์ ด (storyboard) ทาให้ สามารถเพิ่มเติม ปรั ง ปรุ ง บทภาพพยนตร์ และสตอรี บอร์ ด (storyboard) ให้ ออกมาเป็ นต้ นแบบในการออกแบบ ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ ได้ ตามที่ได้ กาหนดไว้ ตามสมมติฐาน 3. ขัน้ ตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 3.1 การร่ างแบบจริง (Working Drawing) งานออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ นี ้ต้ องการที่จะสะท้ อนให้ คนไทยในยุคสังคม ปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ และส่งเสริ มให้ คนในสังคมรู้ จกั การ เอื ้อเฟื อ้ แบ่งปั น ช่วยเหลือ ผู้อื่นที่ด้อยกว่า ตามกาลังและความสามารถที่เรามี พร้ อมยังส่งเสริ มให้ คนในสังคมเห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์ที่หลายคนอาจมองว่าไร้ คณ ุ ค่าไร้ ประโยชน์ งานออกแบบ ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ นี ้เป็ นต้ นแบบที่สามารถนาไปผลิตงานได้ จริ ง โดยการการวาง
แผนการทางาน เขียนโครงเรื่ องบทภาพยนตร์ สตอรี บอร์ ด (storyboard) ดาเนินการถ่ายทาตัดต่อ แล้ วรวบรวมงาน ทาการประเมินงานและส่งผลงาน 3.2 ผลิตผลงานจริงตามวัตถุประสงค์ และสมมติฐานที่ได้ กาหนดไว้ การออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ นี ้ต้ องการที่จะสะท้ อนให้ คนไทยในยุคสังคม ปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ และส่งเสริ มให้ คนในสังคมรู้ จกั การ เอื ้อเฟื อ้ แบ่งปั น ช่วยเหลือ ผู้อื่นที่ด้อยกว่า ตามกาลังและความสามารถที่เรามีนี ้ ได้ กาหนดขอบเขต ของการทางานไว้ คือ การออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ นี ้จะมีความยาวไม่เกิน 10 นาที จานวน 1 เรื่ อง 4. ขัน้ ตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage) 4.1 ทาการเผยแพร่ งานวิจัย นาผลงานภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ ที่สาเร็จแล้ ว ไปเผยแพร่ให้ กบั กลุ่มเป้าหมายที่ตงไว้ ั้ และผู้ที่สนใจว่าเป็ นไปตามเป้าหมายที่ตงไว้ ั ้ หรื อไม่ 4.2 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน ใช้ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ ยวกับความพึงพอใจในผลงานการออกแบบ จาแนกตาม ประเด็นของสมมติฐาน จานวน 20 ชุด เพื่อใช้ เป็ นแบบสอบถาม 4.3 การวิเคราะห์ สรุปผลงาน อภิปรายและข้ อเสนอแนะ คือขันตอนสุ ้ ดท้ ายเพื่อสรุปผลงานทังหมดที ้ ่ผ้ วู ิจยั ได้ สร้ างสรรค์ออกมา และวิเคราะห์ว่ามี ความสอดคล้ องกับสมมติฐานและวัตถุประสงค์หรื อไม่ พร้ อมข้ อเสนอแนะอื่นๆ ที่ผ้ วู ิจยั ได้ จากการ ทาการวิจยั ครัง้ นี ้ 5. ประชากรในการวิจัย 5.1 ผลงานการออกแบบ ผลงานการออกแบบ– เขียนแบบ การวางโครงเรื่ องการเขียนบทภาพพยนตร์ และการเขียน สตอรี บอร์ ด(storyboard) นันท ้ าให้ สามารถทราบถึงปั ญหาของงานว่าเป็ นเช่นไร และสามารถทา การแก้ ไขให้ งานนันสมบู ้ รณ์ขึ ้นได้ จึงทาให้ ผลงานนันเกิ ้ ดความสมบูรณ์มากยิ่งขึ ้น และยังสามารถ ใช้ เป็ นต้ นแบบจริ งเพื่อใช้ ในการแสดงงานนิทรรศการ การออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ ที่ ส่งเสริ ม ให้ คนไทยในยุคสังคมปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ พร้ อม ยัง ส่ง เสริ ม ให้ ค นในสัง คมรู้ จัก การเอื อ้ เฟื ้อ แบ่ง ปั น ช่ว ยเหลื อ ผู้อื่ น ที่ ด้ อ ยกว่า ตามก าลัง และ ความสามารถที่เรามีนี ้ สามารถใช้ เป็ นต้ นแบบจริงตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน
5.2 จัดทาเอกสารรู ปเล่ มรวมงานสรุ ปผลการวิจัย หลังจากทาการวิจยั และสรุ ปผลการศึกษา และออกแบบภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง สตางค์ แล้ ว นันจั ้ ดให้ มีการนาเสนอผ่านอินเตอร์ เน็ตที่ http://issuu.com/alongkorn 6. เครื่องมือในการวิจัย 6.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 6.1.1 โปรแกรม Adobe Photoshop CS5 ใช้ ในการออกแบบและตกแต่งภาพ 6.1.2 โปรแกรม Microsoft Word 2007 ใช้ ในการพิมพ์เนื ้อหาของงานวิจยั 6.2 แบบสอบถาม 6.2.1 แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจจากบุค คลที่ชมภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง : สตางค์ จานวน 20 ชุด 7. ระยะเวลาในการเก็บข้ อมูล ระยะเวลาทังหมด ้ 12 เดือน ระยะเวลาในการดาเนินงาน กิจกรรม / ขันตอนการด ้ าเนินงาน
มิ.ย. 54
ก.ค. 54
ส.ค. 54
ก.ย. 54
ต.ค. 54
พ.ย . 54
ธ.ค. 54
1.ขัน้ ตอนการวาง แผนก่อนการผลิตงาน (Pre - Production Stage) 2. การกาหนดแบบร่ างทางความคิดการ พั ฒ นา แ บบต า ม วั ต ถุ ป ระ สง ค์ แ ล ะ สมมติฐาน (Concept Render) 3. ขันตอนการพั ้ ฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 4. ขัน้ ตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage)
ตารางที่ 4 แผนการดาเนินงานตลอดโครงการ (ที่มา : อลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ม.ค .55
ก.พ .55
มี . ค .55
เม. ย . 55
พ.ค. 55
เมื่อมีการวางแผนการดาเนินงานวิจยั แล้ ว ในเรื่ องต่อไปเป็ นขัน้ ตอนการวิเคราะห์ข้อมูล จากการสัมภาษณ์ผ้ เู ชี่ยวชาญ จากกรณีศกึ ษาและวิธีการดาเนินงานวิจยั ที่มีรายละเอียดแยกย่อย ลงไปอีก ดังที่ผ้ วู ิจยั จะกล่าวต่อไปในบทที่ 4 คือ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 การวิเคราะห์ ข้อมูล ในการออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง สตางค์นี ้ มีการดาเนินงานเริ่ มต้ นที่การศึกษาข้ อมูล การวางแผนการทางานให้ เ ป็ นระบบ เพื่อให้ การทางานเป็ นไปอย่างเรี ยบร้ อย โดยแบ่ง วิธี การ ดาเนินงานเป็ นดังนี ้ 1. ขัน้ ตอนการวางแผนก่ อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) 1.1 ตัง้ สมมติฐาน การออกแบบภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ เป็ นการผลิตภาพยนตร์ ที่มีเนื ้อหา เกี่ยวกับค่านิยมการจับจ่ายใช้ สอยในการดาเนินชีวิตของคนไทยในปั จจุบนั คุณค่าของเหรี ยญ 25 สตางค์ และเหรี ยญ 50 สตางค์ ซึ่งภาพยนตร์ เรื่ องสตางค์นี ้จะสะท้ อนสังคมให้ คนไทยหันมาเห็น คุณค่าของเหรี ยญสตางค์ รู้จกั การช่วยเหลื่อผู้อื่นมากขึ ้น โดยการถ่ายทอดภาพยนตร์ ในเรื่ องนี ้จะ ใช้ มุมกล้ องมุม กว้ างเป็ นหลัก เพื่อให้ เห็นรายละเอียดของสถานกรณ์ ที่เกิดขึน้ ในการออกแบบ ภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ จัดทาจานวน 1 เรื่ อง มีความยาวไม่เกิน 5 นาที ตัดต่อ ด้ วยโปรแกรม Sony Vegas Pro 10 1.2 การศึกษารวบรวมข้ อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) จากการศึกษารวบรวมข้ อมูลจากแหล่งข้ อมูลทังทฤษฎี ้ แนวความคิด และผลงานวิจยั ซึ่ง สามารถสรุปข้ อมูลที่รวบรวมได้ ดงั นี ้ 1.2.1. สุนทรี ยภาพในงานภาพยนตร์ ภาพยนตร์ ที่ค้ นุ เคยนอกเหนือไปจากด้ าน ความบันเทิง ภาพยนตร์ ยงั มีบทบาทและความสาคัญอื่น อีกมากมาย ซึ่งสอดคล้ องกันกับข้ อมูล ความสาคัญของการศึกษาภาพยนตร์ ว่าตามความเข้ าใจของคนทัว่ ไปภาพยนตร์ เป็ นเพียงแค่โลก มายาที่ฉาบฉวย หรื อเป็ นเพียงแค่ความบันเทิง แต่สาหรับด้ านสื่อและวัฒนธรรมศึกษานันพบว่ ้ า ภาพยนตร์ นนมี ั ้ สทุ รี ยภาพที่หลากหลาย ทังสามารถสื ้ ่อถึงผู้ชม มี ความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมสังคม ภาพยนตร์ ที่มีผ้ ชู มมากสามารถโน้ มน้ าวพฤติกรรมของสังคม ตังแต่ ้ การแต่งกาย บุคลิกตัวแสดงทาให้ ผ้ ชู มกระทาตามโดยเฉพาะภาษาในภาพยนตร์ มกั มีอิทธิพลต่อการใช้ ภาษา ของประชากรในสังคม 1.2.2. กระบวนการสร้ างภาพยนตร์ การสร้ างภาพยนตร์ ที่ดีนนควรเริ ั้ ่ มต้ นด้ วยการศึกษา ค้ น คว้ า หาข้ อ มูล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ เนื อ้ หาของภาพยนตร์ นัน้ โดยละเอี ย ด หลัง จากนัน้ จึ ง เข้ า สู่
กระบวนการส้ รางภาพยนตร์ โดยสามารถแบ่งส่วนการทางานได้ ดงั นี ้ การเขียนบทภาพยนตร์ การ ทาบทภาพ การเตรี ยมงานสร้ างภาพยนตร์ การถ่ายทาภาพยนตร์ และการตัดต่อภาพยนตร์ เพื่อ นาไปเผยแพร่ ตามความต้ องการ ภาพยนตร์ ก็เริ่ มพัฒนาการทางด้ านเนือ้ หาของภาพ จากการ แสดงเพียงอากัปกริ ยาอาการของท่าทางเคลื่อนไหว กลายมาเป็ นการแสดงพฤติกรรมอย่างเป็ น เรื่ องเป็ นราวและเมื่อเทคนิคทางกลไกเริ่ มเข้ าสู่ความสมบูรณ์ ภาพยนตร์ ซึ่ งกาเนิดจากเครื่ องเล่นก็ กลายมาเป็ นการสื่อสารมวลชนอย่างเต็มตัว ผู้ถ่ายทาภาพยนตร์ ไม่ใช่เพียงผู้ควบคุมกลไกของ กล้ องถ่ายภาพยนตร์ ที่ตงติ ั ้ ดตายอยู่กับที่นิ่ง ๆ ในระดับสายตาเท่านัน้ หากแต่ผ้ ูถ่ายภาพยนตร์ จะต้ องเป็ นผู้ปรับปรุงและสร้ างสรรค์สิ่งใหม่ของกลวิธีการทางศิลปะสื่อความหมายด้ วย ผู้ถ่ายภาพ ยนตร์ คือผู้เลือกสรรจัดแจง ความบังเอิญส่วนเกินอันล้ นเหลือตามธรรมชาติแวดล้ อม ให้ เข้ าสู่ความ พอดี ด้ วยกรอบภาพของกล้ องถ่ายภาพยนตร์ ใช้ กล้ องถ่ายภาพยนตร์ ประดุจปากกา เพื่อประพันธ์ และสื่อความหมาย ด้ วยวิธีการเฉพาะตัวสามคุณลักษณะพิเศษ ซึ่ งผู้ถ่ายภาพยนตร์ ใช้ ในการสื่อ ความหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2.3. ความรู้เรื่ องเหรี ยญสตางค์ เหรี ยญไทยนันผลิ ้ ตออกมาโดยสานักกษาปณ์ กรมธนา รักษ์ กระทรวงการคลัง โดยสามารถผลิตออกใช้ ได้ ไม่จากัดจานวนโดยไม่ต้องมีสิ่งใดมาค ้าประกัน เพราะโลหะที่ใช้ ผลิตเหรี ยญกปาษณ์นนมี ั ้ คา่ ในตัวเองอยู่แล้ ว ส่วนธนบัตรนันผลิ ้ ตและควบคุมการ หมุนเวียนโดยธนาคารแห่งประเทศไทย การผลิตธนบัตรนาออกใช้ จะมีหลักเกณฑ์วิธีที่เหมาะสม เพื่อให้ เศรษฐกิจของชาติมีเสถียรภาพในปั จจุบนั มีการผลิตเหรี ยญกษาปณ์อยู่ทงหมด ั้ 9 ชนิดคือ เหรี ยญ 1, 5, 10, 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท โดยเหรี ยญ 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท เป็ นเหรี ยญที่ออกใช้ หมุนเวียนทัว่ ไป ส่วนเหรี ยญ 1, 5 และ 10 สตางค์ ไม่ได้ ออกใช้ หมุนเวียนทัว่ ไป แต่ใช้ ภายในธนาคารเท่านัน้ เหรี ยญสตางค์ ที่ใช้ หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจในประเทศมี ทงหมด ั้ 6 ชนิด คือ เหรี ยญ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ และ 25 สตางค์ ซึ่งในปั จจุบนั พบว่าคนไทยมีการใช้ เหรี ยญสตางค์น้อยลง โดยเฉพาะเหรี ยญ 50 สตางค์ และ 25 สตางค์ เนื่องจากคนส่วนใหญ่ ไม่ เห็นคุณค่าของการนาเหรี ยญสตางค์มาใช้ ในการซื ้อขายสินค้ าและบริ การ ทาให้ ผ้ ปู ระกอบการขาย ปลี ก ส่ว นใหญ่ มัก จะปั ด เศษสตางค์ขึน้ โดยอ้ างว่าในตลาดมี เศษสตางค์ไ ม่เ พี ย งพอต่อความ ต้ องการ ทาให้ ราคาสินค้ าสูงขึน้ กว่าที่ควรจะเป็ น ประชาชนต้ องจ่ายเงิ นเพิ่มขึน้ และทาให้ เกิ ด ภาวะเงินเฟ้อสูงกว่าความเป็ นจริ ง ดังนันเพื ้ ่อให้ เห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์และมิให้ มีการค้ า กาไรเกินควร ราคาขึ ้นอย่างเป็ นธรรมสอดคล้ องกับต้ นทุน ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของ
ประเทศ กรมการค้ าภายใน จึงจัดทาโครงการพาณิชย์สง่ เสริ มคุณค่าเหรี ยญสตางค์ขึ ้นเพื่อรณรงค์ สร้ างนิสยั คนไทยให้ เห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์ และมีการใช้ เหรี ยญสตางค์ในท้ องตลาดมากขึ ้น 1.3 ลักษณะทั่วไปของตัวอย่ าง (Case Study) จากการเก็บข้ อมูลรวบรวมตัวอย่างที่เป็ นกรณี ศึกษา เพื่อนามาสรุ ปเป็ นแนวทางในการ วิเคราะห์ข้อมูลทางการออกแบบ โดยมีรายละเอียด ดังนี ้ 1.3.1 กรณีศกึ ษาที่ 1 ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง suspend error dream กากับโดย จาซมี เจ๊ ะแต
ภาพที่ 4 ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง suspend error dream (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) วิเคราะห์การออกแบบ ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง suspend error dream เป็ นภาพยนตร์ สนั ้ ที่มีเนื ้อหาเกี่ยวกับ คนเราที่มีความสับสนวกไปวนมา สุดท้ ายก็ไม่ร้ ู ว่าทางออกคืออะไร เป็ นภาพยนตร์ สนั ้ ที่มีความ แตกต่า งจากภาพยนตร์ สัน้ ทั่ว ไปอย่ า งเห็ น ได้ ชัด ภาพ และสี ดูส วยงามเข้ า กับ อารมณ์ ข อง ภาพยนตร์ ได้ ดี ข้ อดี
ข้ อด้ อย
สิ่งที่นามาใช้
1. ภาพ และสี ดู ส วยงาม 1.มี เนื อ้ หาที่ สับสน วกวนไป 1.เทคนิ ค ในการตัด ต่อ ภาพ สามารถสื่ อ ถึ ง อารมณ์ ข อง มาท าให้ ไม่ เ ข้ าใจตามสิ่ ง ที่ การปรับสีของภาพยนตร์ ให้ ดู ภาพยนตร์ ได้ ดี ต้ องการนาเสนอ สวยงาม ตารางที่ 5 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศกึ ษาที่ 1 (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
1.3.2 กรณีศกึ ษาที่ 2 ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง พิธีเปิ ดฯ กากับโดย พลากร กลึงฟั ก
ภาพที่ 5 ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง พิธีเปิ ดฯ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) วิเคราะห์การออกแบบ ภาพยนตร์ สัน้ เรื่ อง พิธี เปิ ดฯ เป็ นภาพยนตร์ สัน้ ที่ มี เ นื อ้ หาเกี่ ยวกับ ช่วงเวลาที่ ร อ ประธานมาเปิ ดพิธี ในการประชุม สัม มนา หรื ออบรมต่างๆ ทาให้ เห็นว่านักศึกษามีความรู้ สึก อย่างไรกับการรอคอย เป็ นการนาเสนอเรื่ องราวต่างๆผ่านภาพ ซึ่งมีแนวความคิดแปลกใหม่ มี ความมัน่ ใจในการนาเสนอ สามารถถ่ายทอดออกมาได้ นา่ สนใจอีกด้ วย ข้ อดี
ข้ อด้ อย
1.เป็ นการนาเสนอเรื่ องจริ งที่ 1.ภ าพ ที่ น า เสนอยั ง ดู ไ ม่ ตรงกั บ สั ง คมไทยได้ อย่ า ง ชัด เจน และยัง ไม่ ส วยงาม ชัดเจน เท่าที่ควร 2.สามารถน าเสนอได้ อ ย่า ง ตรงไปตรงมา และมีความคิด สร้ างสรรค์
สิ่งที่นามาใช้ 1.การถ่ า ยทอดเรื่ องราวที่ สะท้ อนสังคมไทย 2.การมี ค วามคิดสร้ างสรรค์ และความคิดริเริ่ม
ตารางที่ 6 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศกึ ษาที่ 2 (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
1.3.3 กรณีศกึ ษาที่ 3 ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง เมื่อคืนนี ้ฝนตกหนัก กากับโดย วัชรพล สายสงเคราะห์
ภาพที่ 6 ภาพตัวอย่างภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง เมื่อคืนนี ้ฝนตกหนัก (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) วิเคราะห์การออกแบบ ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง เมื่อคืนนี ้ฝนตกหนัก เป็ นภาพยนตร์ สนที ั ้ ่นาเสนอภาพด้ วยการสื่อ อารมณ์ ใ ห้ ถึ ง ถึ ง ช่ว งเวลานัน้ โดยปกติแ ล้ ว เมื่ อ ฝนตกทุก คนจะนึ ก ถึ ง ความรู้ สึ ก ที่ เ หงา เศร้ า เช่นเดียวกับภาพยนตร์ เ รื่ องนีท้ ี่ ถ่ายทาหลังจากฝนตก ถึง แม้ ว่าเรื่ องราว และการนาเสนอจะดู ซับซ้ อน เข้ าใจยากแต่นนคื ั ้ อความต้ องการของผู้กากับที่ต้องการถ่ายทอดออกมา ข้ อดี
ข้ อด้ อย
สิ่งที่นามาใช้
1.มีความคิดแปลกใหม่ และ 1.ยังไม่สามารถนาสื่อให้ เห็น 1.การเลื อ กใช้ มุ ม กล้ องที่ ดู มีความคิดสร้ างสรรค์ในการ ถึ ง อ า ร ม ณ์ ร่ ว ม ไ ด้ อ ย่ า ง แล้ วเข้ าใจง่าย ผลิตผลงาน ชัดเจน ตารางที่ 7 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศกึ ษาที่ 3 (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
2. การสร้ างแบบร่ างทางความคิด (Concept Sketch) ในการออกแบบภาพยนตร์ สัน้ ควรเริ่ ม ต้ นจากการศึกษาข้ อ มูล เกี ยวกับ การออกแบบ ภาพยนตร์ สัน้ ให้ ค รบทุก ๆด้ า น เพราะการออกแบบภาพยนตร์ สัน้ นัน้ มี ก ารแบ่ง การท างาน หลากหลายฝ่ ายในขันตอนของการก ้ าหนดโครงเรื่ องภาพยนตร์ สนั ้ และตีความหมายของเนื ้อเรื่ อง และทิ ศ ทางของภาพยนตร์ ใ ห้ อ อกมาเป็ นรู ป ภาพ โดยจะต้ อ งค านึ ง ถึ ง การเล่ า เรื่ อ ง การสื่ อ ความหมายด้ วยภาพที่มีการจากัดเวลาที่สนั ้ โดยจะเน้ นภาพที่สะท้ อนความคิดอย่างจัดเจนและ เข้ าใจได้ ง่าย เพื่อต้ องการที่จะสะท้ อนให้ คนในยุคสังคมปั จจุบนั ได้ เห็นถึงคุณค่าและความสาคัญ ของเหรี ยญสตางค์ที่ยงั คงมีคณ ุ ค่า และความสาคัญอยู่ ดังนันจึ ้ งเริ่ มต้ นด้ วยการเขียนเค้ าโครงเรื่ อง เรื่ องย่อ แล้ วจึงนาเสนอเป็ นสตอรี่ บอร์ ดออกมา 2.1 การเขียนบทภาพยนตร์ ในการเขียนบทภาพยนตร์ นนั ้ ผู้เขียนต้ องศึกษาข้ อมูลให้ ครบในทุกๆด้ าน รวมถึงการใช้ ภาษาที่สามารถสื่อสารให้ เข้ าใจได้ ง่าย ในการเขียนบทภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง สตางค์ นี ้ได้ ทาการ เขียนโดยเริ่ มจากการสังเกตุสิ่งรอบตัวแล้ วนาประเด็นที่คนทัว่ ไปมองไม่เป็ น หรื อมองข้ ามไปนามา ถ่ายทอดให้ เห็นเพื่อเป็ นข้ อคิด และเพื่อสนับสนุนให้ คนไทยหันมารู้ จกั ค่าของสิ่งของต่างๆมากขึ ้น โดยการเขียนบทภาพยนตร์ นนต้ ั ้ องมีการเขียนและปรับปรุงอย่างน้ อย 2 – 3 ครัง้ เพื่อปรับปรุ งและ คัดกรองให้ ไ ด้ ข้อมูล และเนื อ้ เรื่ องที่ ดีที่สุด ดัง นัน้ ภาพยนตร์ เรื่ อง สตางค์ สามารถสรุ ปเป็ นบท ภาพยนตร์ ได้ ดงั นี ้ ภาพวิถีชีวิตของคนไทยในปั จ จุบันที่ เปลี่ ยนไปตามยุคตามสมัย จึง ทาให้ คนไทยในยุค สังคมปั จจุบนั นัน้ ลืมคุณค่าและความสาคัญของวิถีชีวิต วัฒนธรรม หรื อลืมสิงที่เคยมีคา่ แต่กลับ มองไม่เห็นถึงความสาคัญนันๆ ้ จากในสังคมยุคปั จจุบนั มีการกาหนดราคาสินค้ าที่เปลี่ยนไปจาก ยุคสมัยก่อน ทาให้ วิถีการใช้ จ่ายเงินนันเปลี ้ ่ยนไปตามยุคตามสมัย จึงทาให้ คนไทยในปั จจุบนั นัน้ ลืมคุณค่าและความสาคัญของเศษเหรี ยญสตางค์ หลายคนอาจมองว่าไร้ คณ ุ ค่าไร้ ประโยชน์ อันที่ จริ งแล้ วเหรี ยญสตางค์เหล่านันมี ้ คณ ุ ค่ามหาศาล คือชีวิตของคนอีกกลุ่มที่พวกเขายังต้ องการมัน และในประเทศนีย้ งั มีสังคมของคนอดอยาก คนหิวโหย คนที่ด้อยโอกาสอยู่ ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง: สตางค์ นี ้จะสะท้ อนให้ คนไทยในยุคสังคมปั จจุบนั ได้ เห็นถึง คุณค่าความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ และส่ง เสริ ม ให้ คนในสัง คมรู้ จักการเอื อ้ เฟื ้อแบ่ง ปั น ช่วยเหลื อ ผู้อื่นที่ ด้อยกว่า ตามกาลัง และ ความสามารถที่มี เมื่อทาการเขียนบทภาพยนตร์ เสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ วก็นาเอาบทภาพยนตร์ ที่ได้ ไปถ่ายทอด เป็ นบทภาพ ผ่านทางการเขี ยนสตอรี่ บอร์ ด เพื่ อให้ เห็นภาพได้ ชัดเจนมากขึ น้ และยัง เป็ นการ กาหนดมุมกล้ องที่ใช้ ในการถ่ายทาจริงได้ อีกด้ วย
2.2 การเขียนสตอรี่บอร์ ด (Storyboard) เมื่อได้ โครงเรื่ อง บทเรื่ องที่สมบูรณ์แล้ วจึงทาการเขียนบทภาพ หรื อ สตอรี่ บอร์ ด เพื่อแสดง มุมกล้ องและสามารถสื่อความหมายได้ มากขึ ้น โดยการเขียนสตอรี่ บอร์ ดนี ้จะทาการนาเสนอใน รูปแบบของมุมกว้ าง แต่มีบางตอนที่ต้องเจาะจงเพื่อให้ เห็นภาพที่ชดั เจนขึ ้น
ภาพที่ 7 ภาพสตอรี่ บอร์ ด เรื่ อง สตางค์ ส่วนที่ 1 (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 8 ภาพสตอรี่ บอร์ ด เรื่ อง สตางค์ ส่วนที่ 2 (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 9 ภาพสตอรี่ บอร์ ด เรื่ อง สตางค์ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) 3. ขัน้ ตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 3.1 การเตรียมงานก่ อนถ่ ายทาภาพยนตร์ (Pre Production) หลังจากได้ บทที่สมบูรณ์มาแล้ วก็เข้ าสู่การเตรี ยมงานก่อนถ่ายทา ซึ่งจะมีการวางแผนงาน เรื่ องงบประมาณในการทาหนัง และการจัดเตรี ยมทีมงาน เตรี ยมอุปกรณ์ตา่ ง ๆ จัดหาสถานที่ถ่าย ทา ฉาก และที่สาคัญ จัดหาดารานัก แสดง เพื่อนาเสนอให้ ออกมาดีที่สุด โดยแบ่ง ขัน้ ตอนการ ทางานเป็ นดังนี ้ 3.3.1 การเขียนบทภาพยนตร์ ได้ แนวคิดมาจากการเห็น ภาพวิถีชีวิตของคนไทยใน ปั จ จุบัน ที่ เ ปลี่ ย นไปตามยุค ตามสมัย ที่ ท าให้ ค นไทยในยุค สัง คมปั จ จุบัน นัน้ ลื ม คุณ ค่า และ ความสาคัญของวิถีชีวิต วัฒนธรรม หรื อลืมสิงที่เคยมีค่า แต่กลับมองไม่เห็นถึงความสาคัญนันๆ ้ จากในสัง คมยุคปั จจุบนั มีการกาหนดราคาสินค้ าที่เปลี่ยนไปจากยุคสมัยก่อน ทาให้ วิถีการใช้ จ่ายเงินนันเปลี ้ ่ยนไปตามยุคตามสมัย จึงทาให้ คนไทยในปั จจุบนั นัน้ ลืมคุณค่าและความสาคัญ ของเศษเหรี ยญสตางค์ หลายคนอาจมองว่าไร้ คุณค่าไร้ ประโยชน์ อันที่จ ริ งแล้ วเหรี ยญสตางค์
เหล่านันมี ้ คณ ุ ค่ามหาศาล คือชีวิตของคนอีกกลุ่มที่พวกเขายังต้ องการมัน และในประเทศนี ้ยังมี สังคมของคนอดอยาก คนหิวโหย คนที่ด้อยโอกาสอยู่ ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง: สตางค์ นี ้จะสะท้ อนให้ คนไทยในยุคสังคมปั จจุบนั ได้ เห็นถึง คุณค่าความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ และส่งเสริ มให้ คนใน สังคมรู้จกั การเอื ้อเฟื อ้ แบ่งปั น ช่วยเหลือ ผู้อื่นที่ด้อยกว่า ตามกาลังและความสามารถที่มี 3.3.2 การเขียนบทภาพ (storyboard) ในการออกแบบภาพยนตร์ สัน้ เรื่ อง สตางค์นี ้ เขียนบทภาพด้ วยการภาพเขียนด้ วยภาพสเกตซ์ และภาพถ่าย ประกอบกับบทสนทนาหรื อคาพูด เฉพาะภาพ เรี ยงตามลาดับก่อนหลังเพื่อช่วยให้ การถ่ายทาภาพยนตร์ ง่ายขึ ้น และสามารถแก้ ไข ข้ อบกพร่องเกี่ยวกับฉากหรื อผู้แสดงได้ โดยในการออกแบบภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง สตางค์ครั ง้ นี ้ได้ ทา การสร้ างบทภาพด้ วยลายเส้ นก่อน จากนันจึ ้ งทาการกาหนดบทภาพโดยละเอียดด้ วยภาพถ่าย เพื่อเป็ นการสรุปบทของภาพยนตร์ ที่จะใช้ ในการถ่ายทาภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ 3.3.3 การกาหนดนักแสดงและสถานที่ถ่ายทา ในการจัดทาภาพยนตร์ เรื่ องง สตาง นี ้ได้ ใช้ นักแสดงที่เป็ นนักศึกษาหญิ ง ที่จากต่างจังหวัด ที่เข้ ามาดิ ้นรน ต่อสู้ในกรุ งเทพมหานคร ส่วนในเรื่ องของสถานที่ที่ใช้ ในการถ่ายทานัน้ จะเน้ นในย่านที่มี คนพลุกพล่าน โดยสถานที่ที่ไ ด้ ก าหนดไว้ ได้ แ ก่ ตลาดนัด สวนจตุจัก ร บริ เ วณหน้ า ห้ างเซ็ น ทรั ล ลาดพร้ าว บริ เ วณ ภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และยังรวมถึงฉากที่เป็ นห้ องพักที่เลือกใช้ ห้องพักภายในหอพัก หลังมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 3.2 การถ่ ายทาภาพยนตร์ เมื่ อมาถึง ขัน้ ตอนการถ่ายทาจริ ง ทุกฝ่ ายที่มี หน้ าที่ รับผิดชอบในการทางานครั ง้ นี ต้ ้ อง เตรี ยมพร้ อม เพื่อที่จะได้ ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีผ้ กู ากับคอยสัง่ การนาทิศทางให้ แต่ละ ฉากเป็ นไปอย่างที่ตงใจไว้ ั้ ซึ่งในการถ่ายทานี ้จะถ่ายทาในสถานที่ที่ได้ มีการจั ดหา และได้ กาหนด ไว้ ในช่วงของการเตรี ยมงานที่บทสตอรี่ บอร์ ดกาหนดไว้ แล้ ว จึงทาให้ การถ่ายทาเป็ นเป็ นไปอย่าง ถูกต้ องตามแบบแผนงานที่วางไว้ ตงแต่ ั ้ ต้น ซึ่งในการถ่ายทานัน้ ถ่ายทาด้ วยกล้ อง Nikon D90 ซึ่ง เป็ นกล้ องที่ให้ ความคมชัดสูงในระดับหนึง่ ในการถ่ายทาภาพยนตร์ นนเริ ั ้ ่ มต้ นถ่ายทาด้ วยฉากที่มีรถพลุกพล่าน แสดงให้ เห็นถึงความ วุ่นวาย โดยถ่ายทาที่บริ เวณหน้ าห้ างเซ็นทรัลลาดพร้ าว โดยมุมภาพที่มีลกั ษณะเป็ นภาพถ่ายจาก มุมสูง เพื่อเน้ นให้ เห็นถึงภาพรถที่เคลื่อนไหวไปมาอย่างวุน่ วาย และยังเป็ นการถ่ายภาพยนตร์ แบบ Close Up ที่มีลกั ษณะใกล้ กบั วัตถุ หรื อสิ่งที่ให้ ความสาคัญ โดยค่อนข้ างใช้ เวลากับการถ่ายทาใน ส่วนนี ้เป็ นเวลานาน จนกว่าจะได้ ภาพที่ออกมาตรงตามความต้ องการ
ภาพที่ 10 ภาพกล้ อง Nikon D90 ที่ใช้ ในการถ่ายทา (ที่มา : http://www.zoomcamera.net/images/column_1220079867/Nikon-D90-fr-bk.jpg) การถ่ายทาในส่วนต่อมา คือ การถ่ายทาในตลาดนัดส่วนจตุจกั ร ซึ่งมีประชาชน ผู้คนมา จับจ่ายใช้ สอย และเที่ยวในสถานที่นี ้เป็ นจานวนมาก ยังรวมถึงการมีขอทาน และเด็กนักเรี ยนมา ทาการแสดงเพื่อแลกกับค่าขนม ทุนการศึกษาในนการเล่าเรี ยน ในการถ่ายทานีจ้ ึง เน้ นไปที่เด็ก นักเรี ยนที่แสดงความสามารถด้ วยการเป่ าแคน และเด็กที่ราเพื่อหาเงินมาจุนเจือครอบครัว การ ถ่ายทาและเลือกใช้ ฉากบริเวณตลาดนัดนี ้ยังเป็ นส่วนที่ใช้ มากที่สดุ ในภาพยนตร์ เรื่ องสตางค์นี ้
ภาพที่ 11 ภาพการถ่ายทาบริเวณหน้ าห้ างเซ็นทรัลลาดพร้ าว (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 12 ภาพการถ่ายทาบริเวณตลาดนัดสวนจตุจกั ร (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) การถ่ายทาภาพยนตร์ ในส่วนต่อมา คือ การถ่ายทาฉากที่เป็ นฉากสาคัญอีกฉากหนึ่ง ฉาก ที่ผ้ คู นเดินผ่านเหรี ยญที่ตกอยูบ่ นพื ้นไปมาโดยไม่สนใจ จนมี ผ้ หู ญิงคนหนึ่งที่เห็นค่าของเหรี ยญนัน้ แล้ วก้ มลงไปเก็บขึ ้นมา ในการถ่ายทาฉากนี ้เลือกใช้ บริ เวณสนามกีฬาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม มุมกล้ องที่ใช้ เป็ นมุมกว้ างระดับสายตา มีลกั ษณะเป็ นกรอบภาพแบบ Long Shot และกล้ องเคลื่ อนที่ เข้ าหรื อออกหรื อเคลื่ อนไปด้ านข้ าง เพื่อให้ เห็นสภาพโดยรอบว่ามี ลักษณะ อย่างไร ใครทาอะไรตรงไหนบ้ าง หลังจากถ่ายทาฉากนี ้แล้ วฉากต่อไปคือ ฉากที่อ่ภู ายในหอพัก ซึ่ง เป็ นฉากของการอดออม เก็บเหรี ยญต่าง ๆ ไว้ จนมีมลู ค่ามากขึ ้น
ภาพที่ 13 ภาพการถ่ายทาบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
3.3 การตัดต่ อ ในการตัดต่อภาพยนตร์ เรื่ อง สตางค์ ครัง้ นี ้เลือกใช้ โปรแกรม Sony Vegas Pro 10 ซึ่งเป็ น โปรแกรมตัดต่อที่ใช้ ง านง่ าย มี ความสามารถหลากหลาย เทคนิคที่ใช้ ในการตัดต่อนีไ้ ด้ นาเอา ความรู้มากจากผลงานภาพยนตร์ ที่ได้ ทาการศึกษาตัวอย่าง เพื่อให้ ผลงานออกมาสมบูรณ์ที่สดุ
ภาพที่ 14 ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนการตั ้ งค่ ้ า (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) ขัน้ ตอนการตัดต่อ เริ่ ม จากการตังค่ ้ าโปรเจคเลือกความละเอียดของ VDO ที่ต้องการ เพื่อให้ ได้ ความคมชัดตามที่ต้องการ และเริ่มทาการตัดต่อภาพยนตร์ ได้ เลย
ภาพที่ 15 ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนการน ้ าเข้ าของไฟล์วีดีโอ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
เลื อ กไฟล์ VDO ตัด ต่อ ลงในโปรแกรม และน าไฟล์ VDO ที่ ต้ อ งการตัด ต่อ ลงในช่ อ ง timeline เพื่อทาการตัดต่อ แก้ ไข และปรับปรุ ง ให้ ได้ วีดีโอที่สมบูรณ์ที่สดุ ขันตอนต่ ้ อไป คือ ทาการ ปรับตังค่ ้ าของเสียงและใส่ตวั หนังสือลงในไฟล์ VDO ที่ตดั ต่อ เพื่อเพิ่มความน่าสนใจ และเป็ นการ อธิบายถึงความต้ องการที่จะนาเสนอ การสื่อสารให้ ผ้ ชู มเข้ าใจ และมีอารมณ์ร่วม
ภาพที่ 16 ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนของการตั ้ ดวีดีโอ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) ทาการปรับตังค่ ้ าสีลงในไฟล์ VDOที่ต้องการ โทนสีที่สามารถเลือกจากโปรแกรมตัดต่อนัน้ มีให้ เลือกหลากหลาย ทังโทนสี ้ เหลือง เขียว ฟ้า ม่วง เป็ นต้ น
ภาพที่ 17 ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนของการปรั ้ บค่าสี (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
เลื อ กใช้ เ อฟเฟคเพื่ อ เพิ่ ม ความน่ า สนใจของภาพยนตร์ ทัง้ การเลื อ กใช้ สี ปรั บ โทนสี บรรยากาศของภาพ การปรับ-ลดค่าความคมชัด รวมถึงการปรับค่าเสียง
ภาพที่ 18 ภาพขันตอนการตั ้ ดต่อในขันตอนการปรั ้ บความคมชัด (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) ในการตัดต่อภาพยนตร์ นนสามารถน ั้ าเอาภาพมาใช้ เพื่อเพิ่มความน่าสนใจ หรื อใช้ อธิบาย บรรยายให้ เข้ าใจได้ มากขึ ้นได้ อีกด้ วย เมื่อทาการตัดต่อเสร็จเรี ยบร้ อยแล้ วขันตอนต่ ้ อไปคือการ นาเอาไฟล์วีดีโอออกมา โดยการRender ซึง่ ไฟล์ที่ใช้ ครัง้ นี ้ คือ Mp4 เพราะเป็ นไฟล์ที่สามารถเปิ ด ได้ กบั โปรแกรมที่หลากหลาย และมีขนาดเล็ก
ภาพที่ 19 ภาพขันตอนการน ้ าไฟล์วีดีโอที่เสร็จสมบูรณ์ออก (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
3.4 ผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ เมื่ อท าการตัดต่อ ภาพยนตร์ เรื่ อ ง สตางค์ เสร็ จ เรี ย บร้ อยแล้ ว ได้ ท าการเผยแพร่ และ นาเสนอภาพยนตร์ ผ่า นทาง http://www.youtube.com/user/tooteera เมื่ อ ได้ ผลงานที่ เสร็ จ สมบูรณ์แล้ วขันตอนต่ ้ อไปคือการนาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลออกไป
ภาพที่ 20 ภาพตัวอย่างผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) 3.5 การออกแบบสื่ออื่นๆ นอกจากการจัดทาภาพยนตร์ แล้ ว ยังต้ องมีการออกแบบในส่วนงานประชาสัมพันธ์ รวมถึง บรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อส่งเสริมให้ ภาพลักษณ์ของภาพยนตร์ ดดู ียิ่งขึ ้น ดังนันจึ ้ งจัดทาลวดลายลงบนซีดี ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ใบปลิว โปสเตอร์ ซึง่ มีแนวทางในการออกแบบดังนี ้ 3.5.1 แผ่นซีดี ในการออกแบบลวดลายลงบนซีดี ดีวีดี นันมี ้ แนวคิดที่มาจากการนา เหรี ยญสตางค์ทัง้ 50 สตางค์ และ 25 สตางค์มาใช้ ในการออกแบบเพื่อสื่ อให้ เห็นเนือ้ หาอย่าง ชัดเจน และในการนาเอาภาพปูนที่ฉาบไว้ เพื่อแสดงให้ เห็นถึงอารมณ์ที่ดุ ซึง่ หมายถึงความจริ งของ
สังคมไทยที่กาลังเปลี่ยนแปลงไป โดยทาการออกแบบไว้ 3 แบบ แล้ วจากนันจึ ้ งนามาปรับปรุง และ พัฒนาจนได้ แบบที่มีความสมบูณ์ และสวยงามมากที่สดุ
ภาพที่ 21 ภาพตัวอย่างการออกแบบร่างซีดี (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 22 ภาพซีดีที่ออกแบบ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
3.5.2 ซองใส่แผ่นดีวีดี ปกหน้ าและหลังของของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ ใส่ซีดี ดีวีดี สาหรับ ภาพยนตรสัน้ เรื่ อง สตางค์ ได้ แนวคิดมาจากการนาเหรี ยญสตางค์ทงั ้ 50 สตางค์ และ 25 สตางค์ มาใช้ ในการออกแบบเพื่อสื่อให้ เห็นเนือ้ หาอย่างชัดเจน และในการนาเอาภาพปูนที่ฉาบไว้ เพื่อ แสดงให้ เห็นถึงอารมณ์ที่ดุ ซึ่งหมายถึงความจริ งของสังคมไทย โดยเลือกใช้ สีพื ้นหลังในโทน ขาว ดา แล้ วเน้ นสีสนั ในส่วนที่เป็ นชื่อเรื่ อง เพิ่มสร้ างจุดเด่น
ภาพที่ 23 ภาพตัวอย่างการออกแบบปกซีดี (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 24 ภาพตัวอย่างการออกใบปลิว (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 25 ภาพตัวอย่างปกซีดีที่เสร็จสมบูรณ์ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 26 ภาพตัวอย่างผลงานอื่นๆที่สมบูรณ์ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
4. ขัน้ ตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage) 4.1 ทาการเผยแพร่ งานวิจัย เมื่อทาการผลิตผลงานที่สมบูรณ์ออกมาเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว ได้ มีการนาไปทดสอบ และมี การเผยแพร่ ภ ายนตร์ สัน้ เรื่ อ ง สตางค์ http://issuu.com/alongkorn และเผยแพร่ ใ นงาน นิทรรศการแสดงงานศิลปนิพนธ์ สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ ปี 2554
ภาพที่ 27 ภาพตัวอย่างผลงานที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ YouTube (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 28 ภาพตัวอย่างผลงานที่เผยแพร่ในโซเชียลเน็ตเวิร์ค (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพที่ 29 ภาพตัวอย่างการเผยแพร่ในนิทรรศการแสดงงานศิลปนิพนธ์ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์) 4.2 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน ในการส ารวจความคิดเห็นการออกแบบภาพยนตร์ สัน้ สะท้ อนสัง คม เรื่ อง สตางค์ ใช้ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ ยวกับความพึ งพอใจในผลงานการออกแบบจาแนกประเด็นตาม สมมติฐาน จานวน 20 ชุด เพื่อใช้ สอบถามความคิดเห็นผู้ที่ได้ ชมภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ โดยวิเคราะห์ข้อมูลเป็ นร้ อยละได้ ดงั นี ้ ผู้ตอบแบบสอบถามโดยรวมส่วนมากเป็ นเพศชาย คิดเป็ นร้ อยละ 70 มีช่วงอายุระหว่าง 20-30 ปี โดยกลุ่ม ตัวอย่างที่ ไ ด้ ทาแบบสอบถามนัน้ มี อ าชี พ นัก ศึกษา คิดเป็ นร้ อยละ 95 และ ประกอบอาชีพอื่ น ๆ คิดเป็ นร้ อยละ 5 ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นต่อผลงานการออกแบบ ภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ มีความเห็นส่วนใหญ่ดงั นี ้ จากการส ารวจแบบสอบถาม ผู้ ตอบแบบสอบถามส่ว นมากมี ค วามเห็ น ว่า ผลงานมี ความคิดสร้ างสรรค์ คิดเป็ นร้ อยละ 80 สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ได้ ดี คิดเป็ นร้ อยละ 78 แสดง แนวความคิดในมุมมองที่แตกต่าง และน่าสนใจ คิดเป็ นร้ อยละ 72 แสดงแนวความคิดในมุมมองที่ แตกต่าง และน่าสนใจ คิดเป็ นร้ อยละ 74 ผู้ชมมีอารมณ์คล้ อยตาม คิดเป็ นร้ อยละ 95 บรรยากาศ ของภาพยนตร์ มีความเหมาะสม คิดเป็ นร้ อยละ 84 ความสามารถในการลาดับภาพ คิดเป็ นร้ อยละ 86 ความเหมาะสมของดนตรี และเสียงประกอบ คิดเป็ นร้ อยละ 72 ผู้ชมเข้ าใจในสิ่งที่ภาพยนตร์ ต้ องการนาเสนอ คิดเป็ นร้ อยละ 90 และภาพรวมของผลงานทังหมดคิ ้ ดเป็ นร้ อยละ 85
เมื่อดาเนินงานวิจัยมาถึง ขัน้ ตอนที่ ได้ ผลงานสมบูรณ์ แล้ ว ขัน้ ตอนต่อไปซึ่งเป็ นขัน้ ตอน สุดท้ าย คือ การสรุปผลงานทังหมดที ้ ่ผ้ วู ิจยั ได้ สร้ างสรรค์ออกมา และวิเคราะห์ว่ามีความสอดคล้ อง กับสมมติฐานหรื อไม่ พร้ อมข้ อเสนอแนะที่ได้ จากการวิจยั ดังที่จะกล่าวต่อไปในบทที่ 5
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ การเสนอผลงานวิจยั การออกแบบภาพยนต์สนเพื ั ้ ่อสะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ ครัง้ นีม้ ี สาระครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์ของการวิจยั วิธีการดาเนินการวิจยั สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการการออกแบบภาพยนต์สนเพื ั ้ ่อสะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ 2. เพื่อสะท้ อนให้ คนไทยในปั จจุบนั ได้ เห็นถึง คุณค่าความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ 3. เพื่อส่งเสริมให้ คนในสังคมรู้จกั การเอื ้อเฟื อ้ แบ่งปั น ช่วยเหลือ ผู้อื่นที่ด้อยกว่า วิธีการดาเนินการวิจัย 1. ขันตอนการวางแผนก่ ้ อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) 1.1 ตังสมมติ ้ ฐาน 1.2 การศึกษารวบรวมข้ อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) 1.3 การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศกึ ษา (Case Study) 2. การกาหนดแบบร่างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน 2.1 การออกแบบโครงสร้ างโดยออกแบบแนวคิด (Concept) 2.2 ภาพแบบร่างทางความคิดโดยออกแบบตามแนวคิดที่วางไว้ 2.3 การปรับปรุงแก้ ไขแบบจนได้ รูปแบบที่ถกู ต้ องและเหมาะสม 3. ขันตอนการพั ้ ฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 3.1 การร่างแบบจริง (Working Drawing) 3.2 ผลิตผลงานจริงตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานที่ได้ กาหนดไว้ 4. ขันตอนหลั ้ งการผลิตผลงาน (Post Production Stage) 4.1 ทาการเผยแพร่งานวิจยั 4.2 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน 4.3 การวิเคราะห์สรุปผลงาน อภิปรายและข้ อเสนอแนะ
ผลการวิจัยโดยสรุป ในการจัด นิ ท รรศการแสดงงานศิล ปนิ พ นธ์ ข องนัก ศึก ษาสาขาวิ ช าศิ ล ปกรรม แขนง ออกแบบนิเทศศิลป์ครัง้ นี ้ ผู้วิจยั ได้ ทาการแสดงผลงานการออกแบบภาพยนต์สนเพื ั ้ ่อสะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ ซึง่ มีผลการดาเนินงาน และผลการวิจยั โดยสรุปดังนี ้ 1. ได้ ผลงานการออกแบบภาพยนต์สนเพื ั ้ ่อสะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ จานวน 1 เรื่ อง มี ความยาว 2 นาที 47 วินาที ผลงานภาพยนตร์ ที่ได้ ทาการผลิตออกมาจริ งนันเป็ ้ นไปตามสมมติฐาน ที่ได้ ทาการกาหนดไว้ 2. ในการทางานเป็ นไปตามรูปแบบที่ได้ ทาการศึกษาจากทฤษฎี และนาเอาข้ อมูลที่ได้ มา ปรับใช้ งาน ในการออกแบบภาพยนตร์ สนนั ั ้ นต้ ้ องคานึงถึงเนื ้อหาที่ต้องการนาเสนอ หลัการถ่ายทา ภาพยนตร์ และเทคนิคการตัดต่อ จากนันจึ ้ งเสนอออกมาเป็ นภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง สตางค์ เพื่อนามา จัดแสดงงานนิทรรศการ ซึ่งในการจัดแสดงงานนีไ้ ด้ ทาการนาเสนอผลงานภาพยนตร์ พร้ อมกับ รูปแบบการจัดวาง การนาเสนอที่สอดคล้ องกับเนื ้อหาของภาพยนตร์ 3. ผลงานการออกแบบภาพยนต์สนเพื ั ้ ่อสะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ สามารถพัฒนาต่อได้ เพราะมีความสมบูรณ์ทงทางด้ ั้ านเนื ้อหา และด้ านการผลิต อภิปรายผล จากผลวิจยั พบว่าการออกแบบภาพยนต์สนเพื ั ้ ่อสะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ ทาให้ ผ้ วู ิจยั ได้ เห็ น ถึ ง ปั ญ หาในการวางแผนการท างาน การถ่ า ยท าภาพยนตร์ การตัด ต่ อ ภาพยนตร์ ซึ่ ง กระบวนการท างานเหล่ า นี ต้ ้ อ งอาศัย ความรู้ ความสามารถในการผลิ ต ภาพยนตร์ ความคิ ด สร้ างสรรค์ ความขยัน และอดทน ปั ญหาเหล่านีท้ าให้ เกิดการเรี ยนรู้ การทางานการแก้ ปัญหาที่ ถูกต้ อง ซึง่ ส่งผลให้ ผลงานภาพยนตร์ สาเร็จลุลว่ งไปด้ วยดีตามเป้าหมายที่วางไว้ ผู้วิจยั ได้ เห็นคุณค่าความสาคัญของภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง สตางค์ ภาพยนตร์ เรื่ องนี ้จะช่วย ส่ ง เสริ ม ให้ คนในสัง คมรู้ จัก การเอื อ้ เฟื ้อ แบ่ ง ปั น ช่ ว ยเหลื อ ผู้อื่ น ที่ ด้ อ ยกว่ า ตามก าลัง และ ความสามารถที่เรามี และยังส่งเสริ มให้ คนในสังคมเห็นคุณค่าของเหรี ยญสตางค์ที่หลายคนอาจ มองว่าไร้ คณ ุ ค่าไร้ ประโยชน์ ในการออกแบบภาพยนต์สนั ้ เพื่อสะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ ผู้วิจัยได้ นาเอาทฤษฎี ที่ เกี่ยวข้ องมาใช้ ในการออกแบบ ดังนี ้ 1. สุนทรี ยภาพในงานภาพยนตร์ จากการศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับสุนทรี ยภาพในงานภาพยนตร์ ทาให้ ได้ นาความรู้ที่ได้ มาปรับ ใช้ ในการออกแบบภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ คือการสื่อสารสาหรับผู้ชม ถ่ายทอด
ความรู้ ภาพยนตร์ น าความรู้ ที่ อ ยู่ไ กลหรื อ ไม่ เ ห็ น ด้ ว ยตาเปล่ า ให้ เ กิ ด ความรู้ ความเข้ า ใจ ซึ่ ง สุนทรี ยภาพในงานภาพยนตร์ ความสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสังคม ภาพยนตร์ ที่มีผ้ ชู ม มากสามารถโน้ มน้ าวพฤติกรรมของสัง คม ทาให้ ผ้ ูช มคล้ อยตามเนือ้ หาของเรื่ อง สตางค์ ตาม ทฤษฎีสนุ ทรี ยภาพในงานภาพยนตร์ ของเนตรนภา มะคงสุข 2. กระบวนการสร้ างภาพยนตร์ ได้ นาเอาความรู้ที่ได้ จากการศึกษากระบวนการสร้ างภาพยนตร์ มาใช้ ทังขั ้ นตอนการผลิ ้ ต งานภาพยนตร์ การเขียนบทภาพยนตร์ ที่ถูกต้ อง รวมถึงเทคนิค มุมมองในการถ่ายภาพให้ ออกมา สวยงาม และสามารถสื่ อสารให้ ผ้ ูช มเข้ าใจถึ ง จุด มุ่ง หมายที่ ต้ อ งการนาเสนอ ทัง้ นี ท้ ฤษฎี เ รื่ อ กระบวนการสร้ างภาพยนตร์ ยังเป็ นส่วนสาคัญที่ช่วยให้ การออกแบบภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ สาเร็จสมบูรณ์อีกด้ วย 3. ความรู้เรื่ องเหรี ยญสตางค์ จากการศึกษา ค้ นคว้ าหาความรู้เรื่ องเหรี ยญสตางค์ทาให้ ได้ รับความรู้ เกี่ยวกับที่มาของ เหรี ยญสตางค์ คุณค่า และความสาคัญของเหรี ยญสตางค์ ทังนี ้ ้ยังได้ นาเอาข้ อมูลดังกล่าวมาใช้ ใน การออกแบบภาพยนตร์ สนั ้ สะท้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ ในส่วนของการเขียนบท การถ่ายทอด เนื ้อหาที่เป็ นความรู้เกี่ยวกับเหรี ยญสตางค์ ข้ อเสนอแนะ ในการศึกษาค้ นคว้ า และการปฏิบตั ิงานในการออกแบบภาพยนต์สนเพื ั ้ ่อสะท้ อนสั งคม เรื่ อง สตางค์ ทาให้ พบข้ อมูล และประเด็นที่เกี่ยวข้ องกับรูปแบบการจัดทาภาพยนตร์ สนั ้ ขันตอน ้ การดาเนินงาน ซึ่ง ข้ อมูล ทัง้ หมดที่ เป็ นข้ อค้ นพบในการทางานวิจัยบางส่วน สามารถสรุ ปเป็ น ข้ อเสนอแนะได้ เพื่อการนาไปใช้ ในการทางานวิจยั ครัง้ ต่อไป ดังนี ้ 1. ภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์นี ้สามารถพัฒนาให้ มีมาตราฐานที่ดีขึ ้น โดย การเพิ่มระยะเวลาของการดาเนินเรื่ องของภาพยนตร์ ให้ ได้ มาตราฐานของภาพยนตร์ สนั ้ และเพิ่ม เนื ้อหาที่สามารถสื่อให้ ผ้ ชู มเข้ าใจเกียวกับเหรี ยญสตางค์มากขึ ้น 2. ภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ อง สตางค์ควรปรับปรุง และเพิ่มเติมในเรื่ องของมุมมองการถ่ายภาพ ให้ ดหู ลากหลาย และดูมีมิตมิ ากขึ ้น ทังนี ้ ้ยังเป็ นการสร้ างให้ ภาพยนตร์ สามารถถ่ายทอดอารมณ์ได้ ดีมากยิ่งขึ ้น
3. ควรหาช่องทางการนาเสนอ และเผยแพร่ภาพยนตร์ สนั ้ เรื่ อง สตางค์ ให้ หลากหลาย มากขึ ้น เพื่อให้ สามารถเข้ าถึงผู้ชมได้ หลากหลาย และยังเป็ นการเผยแพร่มมุ มองที่เกี่ยวข้ องการใช้ เหรี ยญสตางค์ให้ สสู่ ายตาประชาชนได้ เพิ่มมากขึ ้นอีกด้ วย ทังนี ้ ้ในภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ อนสังคม เรื่ อง สตางค์ จะมีความสาคัญที่สดุ กับผู้ที่เห็นคุณค่า และเข้ าใจถึงเนือ้ ความ และเจตจานงของผู้วิจยั ที่ต้องการนาเสนอ ซึ่งจะส่งผลให้ การออกแบบ ภาพยนตร์ สนเรื ั ้ ่ องสตางค์ประสบความสาเร็จตามคุณค่าที่ผ้ ชู มได้ รับ
บรรณานุกรม หนังสือและบทความ จุฑามาศ จิวะสังข์. Video Edition. พิมพ์ครัง้ ที่1. กรุงเทพมหานคร: Simplify, 2554. ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ. สอนใช้ กล้ อง Nikon D90. กรุงเทพมหานคร: วิสคอมเซ็นเตอร์ , 2552. มาลิน ธราวิจิตรกุล. การวิเคราะห์ การเล่ าเรื่องในภาพยนตร์ แนวรักของเกาหลี. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551. สุรพงษ์ บัวเจริญ. สุทรียภาพ. พิมพ์ครัง้ ที่1. กรุงเทพมหานคร: เอ็มไอเอส, 2545. . เอกสารเนือ้ หาจากเว็บไซต์ มาลิน ธราวิจิตรกุล. สุทรียภาพในงานภาพยนตร์ . (ออนไลน์) เข้ าถึงได้ จาก (http://ss.lib.cmu .ac.th/digital_collection/etheses/fulltext.php?id=18308) วิกิพีเดีย. บุคลากรในงานภาพยนตร์ . (ออนไลน์) เข้ าถึงได้ จาก (http://th.wikipedia.org/wiki/ บุคคลากรในงานภาพยนตร์ ) วิกิพีเดีย. เหรียญ. (ออนไลน์) เข้ าถึงได้ จาก (http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0 %B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%8D) Pongpongu. ขัน้ ตอนการผลิตภาพยนตร์ . (ออนไลน์) เข้ าถึงได้ จาก (http://www.bloggang. com/mainblog.php?id=pongpongu&month=13-09-2009&group=2&gblog=39)
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบสอบถามความคิดเห็น
แบบสอบถามความพึงพอใจ เรื่อง การออกแบบภาพยนตร์ สัน้ สะท้ องสังคม เรื่องสตางค์ คาชีแ้ จง 1. แบบสอบถามนี ม้ ี วัตถุประสงค์เพื่ อส ารวจความพึง พอใจของผู้ช มที่ มี ต่อ การออกแบบ ภาพยนตร์ สนสะท้ ั้ องสังคม เรื่ องสตางค์ และนาผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุ งแก้ ไขงานให้ มี คุณภาพอย่างต่อเนื่อง 2. แบบสอบถามมีทงหมด ั้ 3 ตอน 3. โปรดกรอกข้ อความลงในช่องว่างให้ ครบทุกช่อง ตอนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป 1. เพศ (
) หญิง
(
) ชาย
2. อายุ
(
) 20-30 ปี (
) 31-40 ปี (
) 41-50 ปี (
3. วุฒิการศึกษา
( (
) ต่ากว่าปริญญาตรี ( ) ปริญญาโท (
4. อาชีพ
( ( (
) นักเรี ยน / นักศึกษา ( ) ผู้บริหาร / อาจารย์ ) รัฐวิสาหกิจ ( ) ธุรกิจส่วนตัว ) อื่น ๆ ระบุ ........................................
) 51 ปี ขึ ้นไป
) ปริญญาตรี ) ปริญญาเอก
ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจ (โปรดทาเครื่ องหมาย √ ในช่ องที่ตรงกับระดับความพึง พอใจของท่ าน) ระดับความพึงพอใจ 5 = มากที่สดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้ อย และ1 = น้ อยที่สดุ ประเด็นการสารวจความพึงพอใจ 1. ผลงานมีความคิดสร้ างสรรค์ 2. สามารถถ่ายทอดอารมณ์ได้ ดี 3. แสดงแนวความคิดในมุมมองที่แตกต่าง และน่าสนใจ 4. สะท้ อนปั ญหาของสังคมไทยในปั จจุบนั 5. ผู้ชมมีอารมณ์คล้ อยตาม
5
4
3
2
1
ประเด็นการสารวจความพึงพอใจ
5
4
3
2
1
6. บรรยากาศของภาพยนตร์ มีความเหมาะสม 7. ความสามารถในการลาดับภาพ 8. ความเหมาะสมของดนตรี และเสียงประกอบ 9. ผู้ชมเข้ าใจในสิ่งที่ภาพยนตร์ ต้องการนาเสนอ 10. ภาพรวมของผลงานทังหมด ้ ตอนที่ 3 ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิ่มเติม .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................
นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์ ศศ.บ.511(4)/13A สาขาวิชสศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ภาคผนวก ข ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ์
ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ภาพที่ 1 (ที่มา : อลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ภาพที่ 2 (ที่มา : อลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ภาพที่ 3 (ที่มา : อลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาคผนวก ค ภาพการจัดแสดงงานนิทรรศการ
ภาพบอร์ ดแสดงงาน นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์
(ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพการจัดบูธแสดงงานนิทรรศการ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพการจัดแสดงงานนิทรรศการ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ภาพบรรยากาศการจัดแสดงงานนิทรรศการ (ที่มา : นายอลงกรณ์ สุขวิพฒ ั น์)
ประวัตผิ ้ ูวจิ ัย
ชื่อสกุล รหัสประจาตัวนักศึกษา วัน เดือน ปี เกิด สถานที่เกิด ประวัติการศึกษา อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ปริ ญญาตรี
ที่อยูป่ ั จจุบนั
นายอลงกรณ์ ตูธ้ ี ระ 5111311956 21 กรกฎาคม 2530 สกลนคร โรงเรี ยนอนุบาลสกลนคร โรงเรี ยนอนุบาลสกลนคร โรงเรี ยนสกลราชวิทยานุกลู ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน เขตบางกะปิ สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 88/105 ซอยนาคนิวาส 48 แยก 14-1 ถนนนาคนิวาส แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุ งเทพมหานคร 10230