l a n d s c a p e
p o r t f o l i o anchisa tirachusak chulalongkorn
university
2 0 1 4
. . . 2 0 1 6
P R O F I L E /
ANCHISA TIRACHUSAK 01 APRIL,1993 59 NUSASIRI SOI RATCHAPRUEK18 RATCHAPRUEK RD. BANGRAMARD TALINGCHAN BKK 10170 TEL +668 5843 4148 EMAIL anchivam@gmail.com
P R O F I L E SKILLS.
EDUCATION. 1999 - 2011 SAINT JOSEPH CONVENT SCHOOL 2012 - PRESENT CHULALONGKORN UNIVERSITY BACHELOR OF LANDSCAPE ARCHITECTURE
PHOTOSHOP ILLUSTRATOR INDESIGN AUTOCAD RHINO 3D MAXS GIS
EXPERIENCES.
OTHERS. DIGITAL PHOTOGRAPHY FILM PHOTOGRAPHY FILM DEVELOPING
DOODLE ILLUSTRATION WATERCOLOR
2012 - 2015 2012 - 2015 2014 2016
FACULTY OF ARCHITECTURE ANNUAL VOLUNTEER CAMP PARTICIPATE IN LAKORN THAPAD AS AN ACTRESS PARTICIPATE IN WORK AND TRAVEL PROGRAM IN AL, USA TO INTERN AT IXORA DESIGN ltd.
c o n t e n t
2 0 1 4
/
02 srirat
2 0 1 5
underexpress way
2 0 1 6
04 watyanaves TEMPLE PROJECT
COMMUNITY PARK PROJECT
01 pantainorasingh SAMUTSAKORN MEMORIAL PARK PROJECT
03 landfill rayong BROWNFIELD PROJECT
05 asian insitute
of technology CAMPUS PROJECT
ETC 06 bangbal
08
community
ECOLOGICAL PROJECT
07 additional skills COMPUTER CLASS
art works DOODLE WATERCOLOR ART MARKETS
C O N T E N T S
01
pantainorasingh
SITE AREA TYPE
SAMUTPRAKARN 110 RAI MEMORIAL PARK PROJECT 2014
0 1 /
โครงการพัฒนาพื้นที่อนุสรณ์สถานพันท้ายนรสิงห์ โดยแสดง ให้เห็นถึงความสำ�คัญของความมีวินัยและเสียสละของพันท้ายนรสิงห์ รวมถึงทำ�หน้าที่เป็นสวนสาธารณะ แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ ระบบนิเวศพื้นที่ลุ่มปากน้ำ� และตอบสนองต่อความต้องการในการเป็น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ กิจกรรมต่างๆของนักท่องเที่ยว และคนในพื้นที่
แนวความคิด ภาพจำ�
แบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วนสะท้อนเรื่องราวในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ต้องการสะท้อนเรื่องราวต่างๆ ผ่านออกมาทางบรรยากาศ และกิจกรรม ให้เกิดเป็นภาพที่น่าจดจำ�ของคนที่มาเยือน อดีต แสดงบรรยากาศเมืองสมุทรสาครในอดีต ปัจจุบัน เป็นจุดศูนย์กลาง แสดงเรื่องราวของพันท้ายผ่าน อนุสรณ์ สถานและนิทรรศการ อนาคต อุทยานการเรียนรู้ สร้างความรู้ให้แก่อนาคตของชาติ
master plan
ส่วนนิทรรศการ
สวนไก่ sunken เป็นสวนสำ�หรับพักผ่อน อยู่บริเวณตลาดน้ำ� โดยสวนมีส่วนช่วย ในการแก้ปัญหาปูนปั้นไก่ที่ชาวบ้านนำ�มาสักการะ และมีปริมาณตกค้างอยู่มาก โดยได้นำ�ปูนปั้นและม้ไผ่ มาเป็นส่วนหนึ่งบริเวณกำ�แพงของสวน
02
s r i r a t underexpress way
SITE AREA TYPE
PETCHBURI RD. TO RAMA IV RD. 2 KILOMETERS COMMUNITY PARK PROJECT 2014
0 2 /
express way
columns
pave / steps circulation
Arts zone
am diagr
to
er
lay w o h s
one
rts z A f o s
CONCEPT วิจักษ์ | Apprecication
วิจักษ์ หมายถึง ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของศิลปกรรมและ วรรณกรรม, ความนิยม, ความซาบซี้ง โดยกลุ่มผู้ใช้งานหลักคือ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่าง ชาติ ภายในโครงการจึงเน้นการออกแบบให้แสดงความเป็นไทย ผ่านการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์ บริเวณที่มีนักท่องเที่ยวค่อนข้างหนาแน่นคือ โรงแรมในพื้นที่ / สถานีรถไฟ หัวลำ�โพง / รถไฟฟ้าใต้ดิน/ airport link (ถนนพญาไท) โดยจะมีการเข้าถึโครงการจาก แยกมหานครเชื่อมกับถนนพระราม4 ถนนพระราม1(เชื่อมต่อกับสยาม) และถนนเพชรบุรี เชื่อมกับแยกราชเทวี ทั้งนี้จุดประสงค์หลักของโครงกร เพื่อส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรคในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียง
*Creative Tourism คือ การท่องเที่ยวที่เน้นการเรียนรู้ในเรื่องศิลปะวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของ สถานที่ผ่านประสบการณ์ตรง รวมถึงการมีส่วนร่วมกับผู้เป็นเจ้าของวัฒนธรรม (UNESCO Santa Fe International Conference on Creative Tourism, 2008)
ZONING AREA
แบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 โซน โดยยึดตามประเภทของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ โดยจัดให้ มีกิจกรรมที่สอดคล้องกับการท่องเที่ยวในแต่ละประเภท ซึ่งการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ แบ่งออกเป็น การท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต/ เชิงนันทนาการ/ เชิงมรดกวัฒนธรรม/ เชิงศิลปะ
ลายดอกประจำ�ยาม มีความ ละเอี ย ดต่ า งกั น ตามบริ บ ทใน พื้นที่โดยรอบ โดยดอกประจำ� ยามที่บริเวณฐานเสา จะเป็นตัว กำ�หนดพื้นที่ในแต่ละโซน และ สามารถใช้เป็นที่นั่งพักผ่อนได้
master plan
03
l a n d f i l l r a y o n g
SITE AREA TYPE
RAYONG 103.5 RAI BROWNDFIELD PROJECT 2015
0 3 /
ด้วยลักษณะของพื้นที่เดิมซึ่งเป็นบ่อฝังกลบขยะ ทำ�ให้พื้นที่มีเนินดิน ขนาดใหญเป็นจุดเด่นในพื้นที่ ความท้าทายของโครงการจึงเป็นการบำ�บัด ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่ภายในโครงการเพื่อลดปัญหาเรื่องการใช้ประโยชน์ พื้นที่ และมีความสวยงาม กลายมาเป็นสวนสาธารณะเพื่อการพักผ่อนและ นันทนาการ มีกิจกรรมทั่วไปซึ่งเป็นทั้งศูนย์รวมของชุมชน เป็นสถานที่เล่น กีฬา ออกกำ�ลังกาย ส่วนพักผ่อนหย่อนใจ และเป็นปอดอีกแห่งหนึ่งในจังหวัด ระยอง โดยสวนแห่งนี้มีกิจกรรมพิเศษทถือป็นจุดเด่นของสวน คือ เนินขนาด ใหญ่ซึ่งมีความสูง 16 ม. เป็นบริเวณที่มีกิจกรรมทีสอดคล้องไปกับลักษณะ ของเนินดิน ประกอบไปด้วยสนามเด็กเล่น กิจกรรมผาดโผนทั้งโรยตัว ปีนเขา สไลเดอร์ กีฬาลูจ(ขับรถลงจากเนิน) สามารถเป็นจุดพักผ่อนและท่องเที่ยว แห่งใหม่ในอนาคตของระยอง นอกจากนีพื้นที่ภายในโครงการยังมีส่วนที่ต่อ เนื่องกับป่าชายเลน (สามารถจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลนได้) และบริเวณพื้นี่ ชุ่มน้ำ� ใช้บำ�บัดน้ำ�เสียในโครงการซึ่งแสดงให้เห็นถึงการไม่ละทิ้ง และให้ความ สำ�คัญกับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ เพื่อเป็นประโยชน์แก่คนรุ่นหลังต่อๆไป
แนวความคิด
REFILL RAYONG เติมเต็มสวนที่ขาดหายไปแก่ชาวชุมชนระยอง จาก แนวคิดนี้ทำ�ให้กิจกรรมที่เกิดขึ้นในโครงการแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ ร่างกาย จิตใน ธรรมชาติ โดยผู้ใช้งานจะได้รับสิ่งเหล่านี้แตกต่างออกไปตาม พื้นที่แต่ละส่วนของโครงการ นอกจากนี้รูปแบบของทางเดินหรือเส้นสายที่ เกิดขึ้น นำ�มาจากเกลียวคลื่นและลักษณะคดโค้งของทะเลและแม่น้ำ�ระยองใน บริเวณใกล้เคียง
1. ที่จอดรถในโครงการ 11. ลานพักผ่อนด้านหน้าโครงการ 2. ร้านขายของที่ระลึก 12. สำ�นักงาน อาคารกิจกรรม 3. จุดบริการจักรยาน / ร้านอาหาร 4. ส่วนจอดรถเพิ่มเติม 13. จุดพักคอย 5. อาคารบำ�บัดน้ำ� 14. หอคอย 1 6. ทางเดินศึกษาธรรมชาติ 15. เนินดินสูง 3.50 ม. พื้นที่ชุ่มน้ำ� และการบำ�บัดน้ำ�เสีย 16. เนินระดับที่1 สูง 5.5 ม. 7. บ่อบำ�บัดน้ำ� 17. เนินระดับที่2 สูง 6.0 ม. 8. ลานบาสเกตบอล 18. เนินระดับที่3 สูง 16.0 ม. 19.พื้นที่ชมวิว สูง 8 ม. 9. สนามเทนนิส 20. ซุ้มปีนเขา 10. สนามฟุตบอล
21. สนามเด็กเล่น 22. ทุ่งดอกไม้ (ปอเทือง/ทานตะวัน) 23. ลานพักผ่อน พบปะริมทุ่ง 24. ลานสุขภาพ 25. ลานพักผ่อนริมป่าชายเลน 26. ลานกิจกรรมเอนกประสงค์ 27. ระเบียงริมป่าชายเลน 28. อาคารศูนย์การเรียนรู้ 29. จุดชมวิวสูง 23 ม. (จากบริเวณถังหมักเดิม) 30. เส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน
30
28
29
27
26 25
9
24
8
23
7
21 22
20
6 16
18
10
15
5
14 13 17 11 19
2
3
4
12
1
master plan
อาคาร
เส้นทาง
โซนนิ่ง
อาคารเดิม อาคารใหม่
เส้นทางหลัก (ลู่วิ่ง จักรยาน รถ) เส้นทางรอง (ลู่วิ่ง ทางเดิน) ลาน (จัดกิจกรรม จุดนัดพบ)
เติมเต็มธรรมชาติ (ป่าชายเลน/พื้นที่ชุ่มน้ำ�/บ่อบำ�บัด) เติมเต็มร่างกาย (ลานกีฬา/สนามฟุตบอล/เทนนิส/บาส) เติมเต็มจิตใจ (ลานพักผ่อนริมน้ำ�/ร้านอาหาร/สวน) เติมเต็มร่างกายและจิตใจ (กิจกรรมบนเนิน) ส่วนบริการ (จุดเช่าจักรยาน/จอดรถ/อาคารสำ�นักงาน)
กิจกรรมบนเนิน
พืชพรรณ
สนามเด็กเล่น ความสูงระดับ1 5.5 ม. (slider/ปีนเขา) ความสูงระดับ2 6 ม. (slider/luge/ปีนเขา) ความสูงระดับ3 16 ม. (slider/luge/ปีนเขา)
ป่าชายเลน สวนพักผ่อน (สะเดาอินเดีย/ไม้พื้นถิ่น) เนินทุ่งหญ้า (หญ้าเพ็กอินโดฯ/หญ้าแม็กซิกัน/หญ้าขจรจบ) ทุ่งดอกไม้ (ปอเทือง/ทานตะวัน) ลานสนามหญ้า (สนามฟุตบอล) ทางเข้า (ต้นประดู่) อุโมงต้นไม้บริเวณทางเดินหลัก (จามจุรี) พื้นที่ชุ่มน้ำ� (บัว/ธูปฤาษี/ผักตบชวา/กกน้ำ�/บัว/แพงพวย) ที่จอดรถ (นนทรี)
กิจกรรมในโครงการ ร่างกาย
จิตใจ
ธรรมชาติ
เนินดินระดับที่3 (+16.00)
เนินดินระดับที่2 (+6.00)
ป่าชายเลน
ลานริมน้ำ�/ร้านอาหาร
เนิรดินระดับที่1 (3.50)
เนินดินระดับที่1 (+3.50)
สวนพักผ่อน
จุุดพักคอย (1.00)
ทุ่งดอกไม้ (+1.50)
ทุ่งดอกไม้ (+1.50)
สนามฟุตบอล/ลานโล่ง (+0.00)
เนินดินระดับที่3 (+16.00)
สนามเด็กเล่น (-0.45)
บ่อบำ�บัด
04
watnyanaves
SITE AREA TYPE
NAKORNPRADHOM 90 RAI TEMPLE PROJECT 2016
0 4 /
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในวัดญาณเวศกวัน จังหวัดนครปฐม มี วัตถุประสงค์ของวัด คือ การลดทอนให้เกิดความเรียบ ให้เหลือแต่เพียงแก่นแท้ของ ศาสนา โดยมองข้ามจารีตประเพณีที่ถูกสังคมและวัฒนธรรมครอบเอาไว้ โดยแนวความคิดในการออกแบบโครงการครั้งนี้ จึงมีความเกี่ยวข้องกับเป้า หมายของศาสนา คือ “นิพพาน” หมายถึง ความอิสระและความหลุดพ้น ไม่ยึดติดกับ ความงามและรูปลักษณ์ภายนอก ภาวะนี้สืบเนื่องมาจากปัญญา คือการรู้เท่าทันและ หลุดพ้นจากอำ�นาจของกิเลส ซึ่งน ำ�ไปสู่การออกแบบภาพรวมของภูมิทัศน์ี่เรียบง่าย ลดทอนองค์ประกอบที่ฟุ่มเฟือยตามรูปแบบของวัดไทยทั่วไป การออกแบบแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน คือ - ภาวะทางปัญญา (บริเวณโรงเรียนพระปริยัติธรรม) มุ่งสอนให้มองสิ่งทั้งหลายตาม ความเป็นจริง ไม่ถูกหลอกไปตามรูปลักษณ์ภายนอก รู้สามัญลักษณะ - ภาวะทางจิต (บริเวณสถานที่วิปัสสนา) เน้นสิ่งที่ปฏิบัติได้จริง รู้เห็นได้ด้วยการลงมือ ปฏิบัติ ความเป็นอิสระและความหลุดพ้น - ภาวะทางความประพฤติ (บริเวณลานฟังเทศน์) การทำ�ด้วยจิตที่เป็นอิสระ มีปัญญารู้ แจ้งชัดตามเหตุผล ทำ�ไปตามวัตถุประสงค์ของกิจนั้นๆ
05
asianinstitute oftechnology
SITE AREA TYPE
PATHUMTHANI 1,100 RAI CAMPUS PROJECT 2016
0 5 /
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (Asian Institute of Technology) หรือ AIT เป็น สถาบันการศึกษานานาชาติ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2502 โดยความร่วมมือจากกลุ่มประเทศ สนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญา โท และปริญญาเอก) โดยเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการ ใน สาขาที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย มีศูนย์กลางการบริหารงานตั้งอยู่ที่ จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย
แนวความคิด
INTEGRATION nature and technology การเสริมสร้างการเรียนรู้ที่เน้นการ ปฏิบัติ เพื่อให้เห็นผลจริงและมีประสิทธิภาพนั้น จำ�เป็นต้องใช้พื้นที่หนึ่งๆในหลายรูป แบบการใช้งาน การทำ�ให้พื้นที่ยืดหยุ่นสามารถรองรับกิจกรรมได้หลากหลาย ดังนั้นจึง เกิดการบูรณาการทั้งสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางสังคม เพื่อชี้ให้เห็น ถึงความเป็น AIT การบูรณาการในหลากหลายด้าน ทำ�ให้เกิดความชัดเจนของพื้นที่ใน บางแห่งและไม่ชัดเจนในบางแห่ง แสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยีแบบธรรมชาติให้เป็นที่รู้จัก และทำ�ให้เกิดความภาคภูมิใจในสถาบันแห่งนี้ เน้นการเรียนรู้แบบนอกกรอบ (Learning veyond boundary)
master plan
WELCOME AREA บริเวณทางเข้าของสถาบัน มี พื้นที่เปิดโล่งบริเวณลานระหว่าง อาคาร เพื่อเป็นพื้นที่ใช้งาน ทำ�ให้ เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งาน ต่างคณะและต่างเชื้อชาติ
ACADEMIC AREA บริเวณส่วนพื้นที่การวิจัย ซึ่ง แทรกตัวอยู่กับแปลงทดลองและส่วน บ่อน้ำ� นอกจากนี้บริเวณทางสัญจร ยังประกอบไปด้วย พื้นที่รับน้ำ�ซึ่ง สามารถเป็นพื้นที่พักผ่อนได้ในเวลา เดียวกัน
ภาพตัดบริเวณถนน สามารเป็นเส้นทางสัญจและพื้นที่รับน้ำ�
SPORT AREA พื้นที่สนามกีฬา เป็นศูนย์รวม กิจกรรมและการนันทนาการให้ผู้ใช้ได้ ออกมาใช้งาน โดยพื้นที่สนามกีฬา จะอยู่ใกล้กับส่วนที่พักของนักศึกษา นอกจากนี้ยริเวณบ่อน้ำ�ยังทำ�หน้าี่เป็น ส่วนบำ�บัดน้ำ�ในโครงการและเป็นส่วน ที่เชทชื่อมต่อธรรมชาติและมนุษย์เข้า ไว้ด้วยกัน
ลำ�ดับในการบำ�บัดน้ำ�ด้วยการใช้พืชน้ำ�
06
b a n g b a l c o m m u n i t y
SITE AREA TYPE
AYUTTHAYA 27,400 RAI ECOLOGICAL PROJECT 2016
0 6 /
โครงการพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่และจัดการการเกษตร เพื่อเป็น พื้นที่รองรับน้ำ�ตามแนวพระราชดำ�ริแก้มลิง อำ�เภอบางบาล จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นพื้นที่ลุ่มต่ำ�ซึ่งเกิดปัญหาน้ำ�ท่วมขังอยู่บ่อยครั้งทำ�ให้เกิด ปัญหาแก่ชาวบ้านและเกษตรกรในพื้นที่อย่างมาก แต่เดิมนั้นพื้นที่บางบาลเป็น ที่ราบน้ำ�ท่วมถึงได้รับอิทธิพลจากแม่น้ำ�เจ้าพระยาพัดพาตะกอมาทำ�ให้ดินเกิด ความสมบูรณ์ จากนั้นชาวบ้านจึงเริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานและเริ่มเกิดการทำ�การ เกษตร เกิดการสร้างถนน คันดิน ระบบชลประทานและสาธารณูปโภคต่างๆ มี วิถีชีวิตที่เริ่มเปลี่ยนแปลงไป ในพื้นที่ประกอบได้วยชุมชน 14 ชุมชน โดยชุมชน บางชะนีเป็นชุมชนที่มีความหนาแน่นสูงที่สุด แนวความคิด “สามัญ” การฟื้นฟูพื้นที่ด้วยระบบในธรรมชาติ การมองถึงพลวัตรเดิมในพื้นที่ คือ เรื่องของน้ำ�หลาก และพิจารณาถึงวิถีฃีวิตความเป็นอยู่ของชาวบางบาล เช่น อาชีพ รายได้ การทำ�เกษตรกรรม โดยมีแนวความคิดให้พัฒนาทั้งสองสิ่งไป พร้อมๆกัน โดยจุดประสงค์คือให้อยู่ร่วมกับธรรมฃาติเดิมได้ 1. การคำ�นึงถึงแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาที่คำ�นึงถึง ประชากรในอนาคตของพื้นที่ โดยไม่ทำ�ลายสิ่งที่ประชากรในอนาคตควรจะ ได้รับทำ�ให้ต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต การทำ�เกษตรในปัจจุบันให้อยู่ร่วมกับ ธรรมชาติได้ 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิต (Human Well-being) ให้ประชากรในพื้นทีี่มี คุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้ที่เพียงพอต่อการดำ�รงชีวิต มีสุขภาพที่ดี คือ สุขภาพ กายที่ดีจากการพึ่งพาปัจจัย 4 และสุขภาพจิตที่ดีปราศจากความเครียด เช่น ประเด็นเรื่องการทำ�เกษตร รายได้ เป็นต้น
master plan
แนวทางในการพัฒนาพื้นที่
เริ่มต้นทำ�เกษตรอินทรีย์ โดยเริ่มต้นจากพื้น ที่เล็กๆ ซึ่งในบริเวณนี้จะไมมีการ่ใช้สารเคมีเลย เพื่อลดการ สะสมสารเคมีในดิน ในขณะที่พื้นที่ส่วนอื่นยังคงทำ�การเกษตร แบบเดิม แต่ลดการใช้สารเคมี เพื่อรักษารายได้ เพราะใน ระยะแรกจะยังไม่ได้ผลผลิตจากพื้นที่เกษตรอินทรีย์มากนัก มีการปลูกพืชแบบผสมผสาน ควบคู่ไปใน พื้นที่ด้วย โดยใช้ระยะเวลาทั้งหมดประมาณ 3-5 ปี ที่สารพิษ ตกค้างในดินจะหมดไป จึงสามารถทำ�เป็นเกษตรอินทรีย์ได้ 100%
25 RAI ,ZONE 3
ปลูกพืชสวน ไม้ยืนต้น และปลูกผักสวนครัวในบริเวณ ใกล้บ้าน 3.3 ไร่ (13.2%)
นาข้าว 18 ไร่ (72%) บ่อน้ำ� 0.9 ไร่ (3.6%)
บริเวณอาคาร - โรงเรือนสำ�หรับเลี้ยงสัตว์ ขนาดเล็ก เช่น เป็ด ไก่ - ที่อยู่อาศัย
นาข้าว
บ่อน้ำ�
75 RAI ,ZONE 2
ปลูกพืชสวน ไม้ยืนต้น 5 ไร่ (6.5%) แปลงผักบริเวณใกล้บ้าน 2.5 ไร่ (3%) นาข้าว 60 ไร่ (80%) บ่อน้ำ� 2.4 ไร่ (3.2%) บริเวณอาคาร 1.5 ไร่ (2%) - โรงเรือน - ยุ้งฉาง - ที่อยู่อาศัย
พืชไร่
นาข้าว
บ่อน้ำ�
นาข้าว
07
a d d i t i o n s k i l l s
3D RENDERING GRAPHIC DESIGN CONTEST FILM DEVELOPING 2 0 1 4 /2 0 1 5
AXON OF UNDEREXPRESSWAY PROJECT 2014 / 3DSMAX RHINO ILLUSTRATOR
MAPPING GOOGLE EARTH ONTO THE CONTOURS 2014 / GIS AUTOCAD 3DSMAX PHOTOSHOP
FILM DEVELOPING 2015 / IN PROCESS
08
a r t w o r k s
DOODLE SKETCH WATERCOLOR FILM PHOTOGRAPHY ART MARKETS
film /
art market
t h a n k y o u anchisa tirachusak