landscape portfolio

Page 1

Landscape

PORTFOLIO

A N C H I S A TIRACHUSAK


A N C H I S A TIRACHUSAK

Bachelor of Landscape Architecture (B.L.A) Faculty of Architecture Chulalongkorn university Bangkok, Thailand

CALL (+66) 0942936355 EMAIL anchivam@gmail.com

/QUALIFICATION/ COMPUTER SKILL

AUTOCAD RHINO 3D MAXS SKETCHUP LUMION ARCGIS ADOBE PHOTOSHOP ADOBE ILLUSTRATOR ADOBE INDESIGN MICROSOFT OFFICE LANGUAGE SKILL

THAI ENGLISH

/EDUCATION/ 1999 - 2011 | SAINT JOSEPH CONVENT SCHOOL 2012 - 2017 | BACHELOR OF LANDSCAPE ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY

PRESENTATION SKILL

Model making (hand cut and laser cut) Watercolor


/ACADEMIC PROJECTS/ ARCHITECTURAL STUDIO

2012 | 1-Storey house design 2013 | 2-Storey house design 3-Storey house design

LANDSCAPE ARCHITECTURAL STUDIO

2013 | Landscape of private resident Restaurant in residential area 2014 | PTT Housing Planning The Ritz Carlton Resort, Mun Klang Island Phantai Norasing Memorial Park Sri-rat Underexpressway 2015 | The Chaopraya River Project 14 km. Rayong Landfill Park Yannawesakawan Temple The Asian Institute of Technology (AIT) Bangbal district, Ecology study and design 2016 | Khao Hin Sorn Royal Development Project Mivana Organic Coffee Farm

/EXPERIENCE/ 2012 - 2017 2012 - 2017 2014 2016ฺ JULY 2017

| Participated in faculty of architec ture annual volunteer camp | Participated in lakorn thapad (Stage play) as an actress | Participated in work and travel program at Alabama state, USA | Internship at IXORA DESIGN Co.,Ltd | freelance graphic in community project at Shma Soen Co., Ltd.


00

/CONTENT/

01 02 03 04 05 06

RAYONG LANDFIELD PARK YANNAEWESAKAWAN TEMPLE BANGBAL DISTRICT KHAO HIN SORN ROYALDEVELOPMENT PROJECT MIVANA ORGANIC COFFEE FARM THE PRESENTATIONS AND ARTWORKS

01


02

03

04

05

06


01


/RAYONG LANDFILL PARK/ 103.5 RAI BROWNDFIELD PROJECT 2015


01

Rayong Landfill Park

30

28

29

27

26 25

9

24

8

23 21 22

20 16

18

10

15 14 13 17 11

19

MASTERPLAN

12


ด้วยลักษณะของพื้นที่เดิมซึ่งเป็น บ่อฝังกลบขยะ ท�ำให้พื้นที่มีเนินดินขนาด ใหญเป็นจุดเด่นในพื้นที่ ความท้าทายของ โครงการจึงเป็นการบ�ำบัด ฟืน้ ฟูและพัฒนา พืน้ ทีภ่ ายในโครงการเพือ่ ลดปัญหาเรือ่ งการ ใช้ประโยชน์พนื้ ที่ และมีความสวยงาม กลาย มาเป็นสวนสาธารณะเพื่อการพักผ่อนและ นันทนาการ มีกจิ กรรมทัว่ ไปซึง่ เป็นทัง้ ศูนย์ รวมของชุมชน เป็นสถานที่เล่นกีฬา ออก ก�ำลังกาย ส่วนพักผ่อนหย่อนใจ และเป็น ปอดอีกแห่งหนึง่ ในจังหวัดระยอง โดยสวน แห่งนี้มีกิจกรรมพิเศษทถือป็นจุดเด่นของ สวน คือ เนินขนาดใหญ่ซึ่งมีความสูง

16 ม. เป็นบริเวณทีม่ กี จิ กรรมทีสอดคล้อง ไปกับลักษณะของเนินดิน ประกอบไป ด้วย สนามเด็กเล่น กิจกรรมผาดโผนทั้ง โรยตัว ปีนเขา สไลเดอร์ กีฬาลูจ(ขับรถ ลงจากเนิน) สามารถเป็นจุดพักผ่อนและ ท่องเที่ยวแห่งใหม่ในอนาคตของระยอง นอกจากนีพนื้ ทีภ่ ายในโครงการยังมีสว่ น ที่ต่อเนื่องกับป่าชายเลน (สามารถจัด กิจกรรมปลูกป่าชายเลนได้) และบริเวณ พื้นี่ชุ่มน�้ำ ใช้บ�ำบัดน�้ำเสียในโครงการซึ่ง แสดงให้เห็นถึงการไม่ละทิง้ และให้ความ ส�ำคัญกับสภาพแวดล้อมในพืน้ ที่ เพือ่ เป็น ประโยชน์แก่คนรุ่นหลังต่อๆไป

แนวความคิด REFILL RAYONG เติมเต็มสวนที่ขาดหายไปแก่ชาวชุมชนระยอง จาก แนวคิดนีท้ ำ� ให้กจิ กรรมทีเ่ กิดขึน้ ในโครงการแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ ร่างกาย จิตใน ธรรมชาติ โดยผูใ้ ช้งานจะได้รบั สิง่ เหล่านีแ้ ตกต่างออกไปตามพืน้ ทีแ่ ต่ละส่วน ของโครงการ นอกจากนีร้ ปู แบบของทางเดินหรือเส้นสายทีเ่ กิดขึน้ น�ำมาจากเกลียว คลื่นและลักษณะคดโค้งของทะเลและแม่น�้ำระยองในบริเวณใกล้เคียง 7 6

5

2

3

1

4

1. ที่จอดรถในโครงการ 2. ร้านขายของที่ระลึก 3. จุดบริการจักรยาน 4. ส่วนจอดรถเพิ่มเติม 5. อาคารบ�ำบัดน�้ำ 6. ทางเดินศึกษาธรรมชาติ พื้นที่ชุ่มน�้ำ และการบ�ำบัดน�้ำเสีย 7. บ่อบ�ำบัดน�้ำ 8. ลานบาสเกตบอล 9. สนามเทนนิส 10. สนามฟุตบอล

11. ลานพักผ่อนด้านหน้าโครงการ 12. ส�ำนักงาน อาคารกิจกรรม / ร้านอาหาร 13. จุดพักคอย 14. หอคอย 1 15. เนินดินสูง 3.50 ม. 16. เนินระดับที่1 สูง 5.5 ม. 17. เนินระดับที่2 สูง 6.0 ม. 18. เนินระดับที่3 สูง 16.0 ม. 19.พื้นที่ชมวิว สูง 8 ม. 20. ซุ้มปีนเขา

21. สนามเด็กเล่น 22. ทุ่งดอกไม้ (ปอเทือง/ทานตะวัน) 23. ลานพักผ่อน พบปะริมทุ่ง 24. ลานสุขภาพ 25. ลานพักผ่อนริมป่าชายเลน 26. ลานกิจกรรมเอนกประสงค์ 27. ระเบียงริมป่าชายเลน 28. อาคารศูนย์การเรียนรู้ 29. จุดชมวิวสูง 23 ม. (จากบริเวณถังหมักเดิม) 30. เส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน


01

Rayong Landfill Park

โซนนิ่ง

เติมเต็มธรรมชาติ เติมเต็มร่างกาย เติมเต็มจิตใจ เติมเต็มร่างกายและจิตใจ ส่วนบริการ

กิจกรรมบนเนิน

สนามเด็กเล่น ความสูงระดับ1 5.5 ม. (slider/ปีนเขา) ความสูงระดับ2 6 ม. (slider/luge/ปีนเขา) ความสูงระดับ3 16 ม. (slider/luge/ปีนเขา)


อาคาร

อาคารเดิม อาคารใหม่

เส้นทาง

เส้นทางหลัก เส้นทางรอง ลาน

พืชพรรณ

ป่าชายเลน สวนพักผ่อน (สะเดาอินเดีย/ไม้พื้นถิ่น) เนินทุ่งหญ้า (หญ้าเพ็กอินโดฯ/หญ้าแม็กซิกัน/หญ้าขจรจบ) ทุ่งดอกไม้ (ปอเทือง/ทานตะวัน) ลานสนามหญ้า (สนามฟุตบอล) ทางเข้า (ต้นประดู่) อุโมงต้นไม้บริเวณทางเดินหลัก (จามจุรี) พื้นที่ชุ่มน�้ำ (บัว/ธูปฤาษี/ผักตบชวา/กกน�้ำ/บัว/แพงพวย) ที่จอดรถ (นนทรี)


01

Rayong Landfill Park

เนินดินระดับที่3 (+16.00)

เนินดินระดับที่2 (+6.00)

ป่าชายเลน

ลานริมน�้ำ/ร้านอาหาร

เนิรดินระดับที่1 (3.50)

เนินดินระดับที่1 (+3.50)

สวนพักผ่อน


SECTION

จุ​ุดพักคอย (1.00)

ทุ่งดอกไม้ (+1.50)

ทุ่งดอกไม้ (+1.50)

สนามฟุตบอล/ลานโล่ง (+0.00)

เนินดินระดับที่3 (+16.00)

สนามเด็กเล่น (-0.45)

บ่อบ�ำบัด


01

Rayong Landfill Park


PERSPECTIVE


02


/YANNAWESAKAWAN TEMPLE/ 90 RAI REDESIGN TEMPLE PROJECT 2015


02

Yannawesakawan Temple

โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในวัดญาณเว ศกวัน จังหวัดนครปฐม มีวัตถุประสงค์ของวัด คือ การลดทอน ให้เกิดความเรียบ ให้เหลือแต่เพียงแก่นแท้ของศาสนา โดยมอง ข้ามจารีตประเพณีที่ถูกสังคมและวัฒนธรรมครอบเอาไว้ โดยแนวความคิดในการออกแบบโครงการครั้งนี้ จึงมี ความเกี่ยวข้องกับเป้าหมายของศาสนา คือ “นิพพาน” หมาย ถึง ความอิสระและความหลุดพ้น ไม่ยึดติดกับความงามและรูป ลักษณ์ภายนอก ภาวะนี้สืบเนื่องมาจากปัญญา คือการรู้เท่าทัน และหลุดพ้นจากอ�ำนาจของกิเลส ซึ่งน ำไปสู่การออกแบบภาพ รวมของภูมิทัศน์ี่เรียบง่าย ลดทอนองค์ประกอบที่ฟุ่มเฟือยตาม รูปแบบของวัดไทยทั่วไป


MASTERPLAN


02

Yannawesakawan Temple

การออกแบบแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน - ภาวะทางปัญญา (บริเวณโรงเรียนพระปริยัติธรรม) มุ่งสอนให้มอง สิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ไม่ถูกหลอกไปตามรูปลักษณ์ภายนอก รู้สามัญลักษณะ - ภาวะทางจิต (บริเวณสถานที่วิปัสสนา) เน้นสิ่งที่ปฏิบัติได้จริง รู้เห็น ได้ด้วยการลงมือปฏิบัติ ความเป็นอิสระและความหลุดพ้น - ภาวะทางความประพฤติ (บริเวณลานฟังเทศน์) การท�ำด้วยจิตทีเ่ ป็น อิสระ มีปญ ั ญารูแ้ จ้งชัดตามเหตุผล ท�ำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจนัน้ ๆ



02

Yannawesakawan Temple



03


/BANGBAL DISTRICT/ ECOLOGY PROJECT 2015


03

Bangbal District

แนวความคิด โครงการพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่และ จัดการการเกษตร เพื่อเป็นพื้นที่รองรับน�้ำตาม แนวพระราชด�ำริแก้มลิง อ�ำเภอบางบาล จังหวัด พระนครศรีอยุธยา อ�ำเภอบางบาลเป็นพื้นที่ลุ่มต�่ำซึ่งเกิด ปัญหาน�ำ้ ท่วมขังอยูบ่ อ่ ยครัง้ ท�ำให้เกิดปัญหาแก่ ชาวบ้านและเกษตรกรในพืน้ ทีอ่ ย่างมาก แต่เดิม นั้นพื้นที่บางบาลเป็นที่ราบน�้ำท่วมถึงได้รับ อิทธิพลจากแม่น�้ำเจ้าพระยาพัดพาตะกอมา ท�ำให้ดินเกิดความสมบูรณ์ จากนั้นชาวบ้านจึง เริม่ เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานและเริม่ เกิดการท�ำการเกษตร เกิดการสร้างถนน คันดิน ระบบชลประทานและ สาธารณูปโภคต่างๆ มีวถิ ชี วี ติ ทีเ่ ริม่ เปลีย่ นแปลง ไป ในพื้นที่ประกอบได้วยชุมชน 14 ชุมชน โดย ชุมชนบางชะนีเป็นชุมชนที่มีความหนาแน่นสูง ที่สุด

“สามัญ”

การฟืน้ ฟูพนื้ ทีด่ ว้ ยระบบในธรรมชาติ การ มองถึงพลวัตรเดิมในพื้นที่ คือเรื่องของน�้ำหลาก และพิจารณาถึงวิถฃี วี ติ ความเป็นอยูข่ องชาวบางบาล เช่น อาชีพ รายได้ การท�ำเกษตรกรรม โดยมีแนว ความคิดให้พัฒนาทั้งสองสิ่งไปพร้อมๆกัน โดยจุด ประสงค์คือให้อยู่ร่วมกับธรรมฃาติเดิมได้ 1. การค�ำนึงถึงแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาที่ค�ำนึงถึงประชากรในอนาคตของ พืน้ ที่ โดยไม่ทำ� ลายสิง่ ทีป่ ระชากรในอนาคตควรจะ ได้รับท�ำให้ต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต การท�ำเกษตร ในปัจจุบันให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้ 2. การพัฒนาคุณภาพชีวติ (Human Well-being) ให้ประชากรในพื้นที​ี่มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้ที่ เพียงพอต่อการด�ำรงชีวติ มีสขุ ภาพทีด่ ี คือ สุขภาพ กายที่ดีจากการพึ่งพาปัจจัย 4 และสุขภาพจิตที่ดี ปราศจากความเครียด เช่น ประเด็นเรื่องการท�ำ เกษตร รายได้ เป็นต้น


MASTERPLAN


03

Bangbal District

แนวทางการพัฒนาพืน้ ที่

เริ่มต้นทำ�เกษตรอินทรีย์ โดยเริ่มต้นจากพื้นที่ เล็กๆ ซึ่งในบริเวณนี้จะไมมีการ่ใช้สารเคมีเลย เพื่อลดการ สะสมสารเคมีในดิน ในขณะที่พื้นที่ส่วนอื่นยังคงทำ�การเกษตร แบบเดิม แต่ลดการใช้สารเคมี เพื่อรักษารายได้ เพราะในระยะ แรกจะยังไม่ได้ผลผลิตจากพื้นที่เกษตรอินทรีย์มากนัก มีการปลูกพืชแบบผสมผสาน ควบคู่ไปในพื้นที่ ด้วย โดยใช้ระยะเวลาทั้งหมดประมาณ 3-5 ปี ที่สารพิษตกค้าง ในดินจะหมดไป จึงสามารถทำ�เป็นเกษตรอินทรีย์ได้ 100%


RIPARIAN ZONE

เริ่มต้นการฟื้นฟูบ่อทราย โดย ควรค�ำนึงถึงปัญหา ได้แก่ การ ขาดแคลนธาตุอาหารในดินและหน้า ดิ น ที่ อ าจพั ง ทลายอั น เนื่ อ งมาจาก ภาวะน�้ำลดในบ่อและดินทรายที่ไม่อุ้ม น�้ำ ขั้นแรกควรปลูกพืชที่สามารถยึด ตลิ่งได้ควบคู่ไปกับการใช้หญ้ารอบๆ ตลิ่ง โดยพืชที่สามารถยึดตลิ่งอาจจะ ใช้วิธีการท�ำ Live stake ไปด้วย คือ การใช้กิ่งไม้ที่ตัดมาจากต้นสด แล้วน�ำ มาปักริมตลิ่ง รากจะงอกออกจากกิ่ง เพื่อยึดกับดิน ท�ำให้ดินคงตัวได้ และ ใบที่ ติ ด มากั บ กิ่ ง จะช่ ว ยดั ก ตะกอน ท�ำให้เกิดสารอาหารในดินได้ต่อไป

SAND POND RESTORATION

CO-OPERATIVE SYSTEM


03

Bangbal District

ตำ � บ ล บ า ง ช ะ นี และระบบสหกรณ์

ต�ำบลบางชะนีมีความหนาแน่น ประชากร 482 คนต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งนับว่าสูงที่สุดของพื้นที่ อีกทั้งมีสภาพ ทางภูมิศาสตร์ที่มีความสูง น�้ำท่วมไม่ มากนัก จึงเหมาะสมกับการตั้งถิ่นฐาน ของชาวบ้าน ผู้ศึกษาจึงเลือกใช้พื้นที่นี้ เป็นพื้นที่ตั้งสหกรณ์ชุมชนบางชะนี

ซึ่งมีระบบการท�ำงานคือ ผลผลิตจาก ชุมชนสู่สหกรณ์ และจากสหกรณ์สู่ผู้รับ ซื้อ/ชุมชน/โรงเรียนหรือวัด/โรงอิฐ โดย ไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ผลผลิตและการ ท�ำเกษตรของชาวบ้านเน้นเป็นเกษตร อินทรีย์ ปลอดสารพิษ และเป็นเกษตร หมุนเวียนตามข้อมูลในตาราง ต�ำบลบางชะนี

พื้นที่ออกแบบ

รั้วต้นไผ่ แปลงนาปี/นาปรัง แปลงพืชตระกูลถั่ว แปลงพืชไร่หมุนเวียน รั้วต้นมะขามเทศ


75 RAI

ช่วงเวลาน้ำ�หลาก เดือน กย.-พย.

ช่วงเวลาปกติ เดือน ธค.- สค.

ครอบครัว 4 คน จ้างแรงงาน 6 คน

เนื่ อ งจากพื้ น ที่ มี ข นาดค่ อ นข้ า ง ใหญ่ ลักษณะการ ทำ� เ ก ษ ต ร จึ ง เป็นรูปแบบอุตสาหกรรม เน้นการปลูก ข้าว และพืชเศรษฐกิจเพื่อการค้าขาย มี การจ้​้างแรงงานในการทำ�งาน ผลผลิตที่ได้ ส่วนใหญ่มาจากข้าว ซึ่งถือเป็นรายได้หลัก ของครอบครัว ในช่วงเวลาที่เกิดน้ำ�หลาก ยังสามารถสร้างรายได้จากพืชที่ปลูกอยู่บ พื้นที่สูงได้

- ปลูกพืชสวน ไม้ยืนต้น 5 ไร่ (6.5%) - แปลงผักบริเวณใกล้ บ้าน 2.5 ไร่ (3%) นาข้าว 60 ไร่ (80%) บ่อน้ำ� 2.4 ไร่ (3.2%) บริเวณอาคาร 1.5 ไร่ (2%) - โรงเรือน - ยุ้งฉาง - ที่อยู่อาศัย


03

Bangbal District

25 RAI ช่วงเวลาน้ำ�หลาก เดือน กย.-พย.

ช่วงเวลาปกติ เดือน ธค.- สค.

ครอบครัว 4 คน

ลักษณะการทำ�เกษตรในรูปแบบครัวเรือน ผลผลิตที่ได้มักนำ�มาใช้ในครัวเรือน ส่วนที่เหลือจง นำ�ไปขายที่สหกรณ์ หรือ ตลาด ในช่วงเวลาน้ำ�หลาก สามารถปลูกผักลอยน้ำ�ในพื้นที่เพื่อสร้างรายได้ แทน การปลูกข้าว เพราะพื้นที่อยู่ในบริเวณที่น้ำ�ท่วมสูง

ปลูกพืชสวน ไม้ยืนต้น และปลูกผักสวนครัวใน บริเวณใกล้บ้าน 3.3 ไร่ (13.2%) นาข้าว 18 ไร่ (72%) บ่อน้ำ� 0.9 ไร่ (3.6%) บริเวณอาคาร - โรงเรือนสำ�หรับเลี้ยงสัตว์ ขนาดเล็ก เช่น เป็ด ไก่ - ที่อยู่อาศัย



04


/KHAO HIN SORN ROYAL DEVELOPMENT PROJECT/ 642 RAI AGRICULTURAL PROJECT 2016


04

Khao Hin Sorn Royal Development Project

ZONING GREEN PRODUCER GREEN KNOWLEDGE GREEN SHOP SUPPORTING

MASTERPLAN

1. THAMMACHAD OUTLET 2. THAMMACHAD OFFICE 3. โรงวิจัยดิน 4. แปลงสาธิตการฟื้นฟูดิน 5. NUSERY 6. อาหารจากธรรมชาติ 7. แปลงส้มโอ 8. แปลงมะม่วงมหาชนก

9. THAMMACHAD PROCESS 10. THAMMACHAD CAFE 11. THAMMACHAD OUTDOOR 12. บ่อพักตะกอนดิน 13. พระตำ�หนักสามจั่ว 14. ล่องเรือชมสวน 15. แปลงผักเกษตรอินทรีย์ 16. สวนป่าสมบูรณ์


แนวคิด

โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขา หินซ้อน ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอ พนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นโครงการ ตามพระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9 ที่ทรงใช้พระราช ทรัพย์สว่ นพระองค์ตงั้ แต่ปี 2524 เพือ่ แก้ไข ปัญหาความยากจนและปัญหาสังคมใน ชุมชนโดยรอบ โดยสร้างรูปแบบตัวอย่าง ชุมชนสนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับร้านธรรมชาติซงึ่ เป็นแบรนด์ ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อรองรับผลิตภัณฑ์ทางการ เกษตรจากโครงการส่วนพระองค์ และถือ เป็นแหล่งกระจายสินค้าและผลิตภัณฑ์แร รูปทางการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์ปลอด สารพิษ หรือ ผลิตภัณฑ์เพือ่ สัตว์เลีย้ ง เป็นต้น ในปัจจุบันนี้คนรุ่นใหม่ได้หันมา ตระหนักถึงปัญหาสิง่ แวดล้อม และใส่ใจรัก สุขภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งจุดเด่นของผลิต ผลัณฑ์ทางการเกษตรในพืน้ ทีโ่ ครงการเขา หินซ้อนนี้ คือ มะม่วงมหาชนก ซึ่งมีตลาด ส่งเสริมและยอมรับ

“ปรัชญาในสวน”

จากปรัชญาในหน้าหนังสือ สู่ปรัชญา ในชีวติ จริง ผ่านการถ่ายทอดและสือ่ ความ ด้วย ผืนดิน ผืนน�้ำ ต้นไม้และสิ่งมีชีวิต เพื่อท�ำเรื่อง ยากให้กลายเป็นเรือ่ งง่าย และเข้าใจอย่างถ่องแท้ ด้วยปรัชญาในสวน โดยพื้นที่โครงการจะแบ่ง ออกเป็น 3 ส่วนหลักๆด้วยกัน คือ - GREEN PRODUCER นับเป็นแหล่งผลิตสินค้า เกษตรอิ น ทรี ย ์ แ ละมะม่ ว งมหาชนกของ จ.ฉะเชิงเทรา - GREEN KNOWLEDGE แหล่งความรูเ้ กีย่ วกับ เกษตรอินทรียแ์ ละการตลาด แบบพึง่ พาตนเอง - GREEN SHOP ร้านค้าธรรมชาติ จ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์จากกเกษตรอินทรียแ์ ละมะม่วงมหา ชนก รวมถึงส่วนร้าน THAMMACHAD OUTDOOR และ THAMMACHAD CAFE เป็นอีกส่วนพัก ผ่อนหย่อนใจและร้านอาหารในพื้นที่โครงการ โดยกลุม่ ผูใ้ ช้งานหลักของโครงการ คือ กลุม่ เกษตรกรและกลุม่ คนรักสุขภาพ ส่วนกลุม่ ผู้ใช้งานรอง คือ นักเรียนนักศึกษาและบุคคล ทั่วไปที่มีความสนใจ


04

Khao Hin Sorn Royal Development Project

ปุ๋ยพืชสด อายุไถกลบ(วัน) ปอเทือง

ข้าวโพด/นาข้าว

ถั่วพุ่ม ถั่วนา

พืชตระกูลถั่ว

ถั่วพร้า ถั่วเหลือง

ปอเทือง

หญ้าแฝก

สวนป่า

ถั่วเขียว

เมล็ด (กก./ไร่)

N2(กก./ไร่)

75-90

15-20

40-50

20

60-75

20

55-65

20

40-50

7-8

50-60

5-6

ช่วงเวลาที่เหมาะ ในการปลูก

ฤดูฝน

หลังเก็บเกี่ยว

ก่อนปลูกพืช หลัก 3 เดือน

ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง


SOIL

เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ แตกหน่อรวมเป็นกอ เพิ่มปริมาณความชื้น ระบบรากยาว สานกัน แน่น และช่วยอุ้มน�้ำ เพิ่มอัตราการระบาย น�้ำและอากาศ รากเป็นที่อาศัย ของจุลินทรีย์

ลักษณะของหญ้าแฝก ปุ๋ยหมัก

เพิ่มกิจกรรมแก่จุลินทรีย์ดิน

ดินร่วน ปุ๋ยคอก : มูลสัตว์ เช่น ไก่ หมู วัว ซากพืช : ใบไม้ ผักตบชวา หญ้าแห้ง ล�ำต้นถั่ว ล�ำต้นข้าวโพด ใบ และต้น มันส�ำปะหลัง กระดูกปอ ตามที่มี สับ เป็นท่อนๆสั้นๆ ให้เปื่อยเร็ว


04

Khao Hin Sorn Royal Development Project

ปลูกไม้เลื้อย ด้านที่มีแดดน้อย

ล่องเรือชมสวน โครงระแนงไม้ 1-2 ม.

0.5-1.5 ม.

พื้ นที่ แปลงสาธิ ต การทำ�ร่ องสวน แก่กลุ่มนักท่องเที่ยว เพื่อให้ได้สัมผัสกับ บรรยากาศจริ ง ในการทำ�เกษตรแบบยก ร่อง เเพลิดเพลินกับการล่องเรือในร่องสวน บรรยากาศริมน้ำ�และtการเก็บผลไม้สดจาก ต้น ทั้งผลมะม่วงมหาชนกและส้มโอทองดี

ท้ อ งร่ อ งและขอบคั น ดินในระบบยกร่อง สามารถเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพในระบบการผลิ ต ได้ดี โดยพืชบนคันดิน สามารถ ได้ประโยชน์จากน้ำ� และปลาใน ท้องร่องได้ประโยชน์จากพืชบน ส่วนลาดของขอบร่อง

แปลงผักเกษตรอินทรีย์

20 - 50 ม.

ใช้ ร ะบบแปลงปลู ก ในลั ก ษณะ วงกลมเพื่ อ เพิ่ ม ประหยั ด พื้ น ที่ ใ นการเพาะ ปลูก คือในพื้นที่หนึ่งสามารถปลูกพืชผักได้ ในปริมาณมากกว่าและชนิดพืชที่หลากหลาย กว่า การปลูกพืชในระบบแปลงยาว อีกทั้งยัง สามารถทำ�ให้เกิดจุลภูมิอากาศในพื้นที่ได้

2.00 0.60

THAMM

TIPI TRELLIS 1 ด้านในปลูกพืชคลุม ดิน ใช้ถั่วเป็นไม้เลื้อย

TIPI TRELLIS 2 บริเวณเสาตรงกลาง ใช้สำ�หรับปลูกต้นถั่ว

FEDGE (รั้วและไม้พุ่ม) ใช้ หั น แรงลมได้ จั ด ใน ลักษณะฟันปลาเพื่อรับ แรงลม

ต โครงการ เยือนโครง ทางการเก และผลิตภ ตั้งแต่ผลผ แปรรูปต่าง


STATIONS

THAMMACHAD OUTDOOR เ ป็ น จุ ด ห ยุ ด พั ก ใ น ก า ร ทำ� กิจกรรมภายในสวนตั้งแต่กิจกรรมการเก็บ ผลไม้จากร่องสวสน การนำ�ผลไม้หรือผัก มาแปรรูปเป็นอาหาร หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อสร้างประสบการณ์ให้แก่กลุ่มผู้ใช้งาน โดยเฉพาะกลุ่มคนรักสุขภาพ

THAMMACHAD CAFE ร้านอาหารตั้งอยู่บริเวณด้านใน ของโครงการ ตัวอาคารเป็นไม้และกระจก เพื่อให้เกิดความกลมกลืนในธรรมชาติ และ มีความเรียบง่าย ส่วนพื้นที่กระจกสามารถ เปิดมุมมองให้แก่ผู้ใช้งานภายในอาคารได้ดี ทั้งมุมมองบริเวณริมน้ำ� และมุมมองในสวน มะม่วงมหาชนกที่กว้างสุดสายตา

MACHAD OUTLET

อาหารจากธรรมชาติ

ตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณด้ า นหน้ า ของ เปรียบเสมือนหน้าร้านให้ผู้มา งการได้เห็นภาพรวมและผลผลิต กษตร ให้ผู้เข้าชมได้ซื้อสินค้า ภัณฑ์ปลอดสารพิษจากธรรมชาติ​ิ ผลิตทางเกษตรรวมถึงผลิตภัณฑ์ งๆภายในโครงการ

พื้ น ที่ อ าคารตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณริ ม น้ำ� เป็นบริเวณสาธิตการทำ�ปุ๋ยหมักจากวัสดุใน ธรรมชาติแก่เกษตรกรในพื้นที่มีบรรยากาศ ร่มรื่นจากสวนป่าในบริเวณรอบทำ�ให้อาคารนี้ สามารถเป็นจุดพักหลังจากที่เดินศึกษาเกี่ยว กับการฟื้นฟูดินด้านหน้าโครงการ ก่อนจะเดิน ทางเข้าไปศึกษาการทำ�สวนผลไม้ต่อไป


04

Khao Hin Sorn Royal Development Project

มค.

พย.

ระยะเวลาปลูก อายุเก็บเกี่ยว 3-4 ปี

10 ม. 6 -8 ม.


MANGO ROUTES

“บรรยากาศร่องสวนในบริเวณแปลงสาธิต”

สำ�หรับให้นักท่องเที่ยวและกลุ่มคนรักสุขภาพเข้า มาทำ�กิจกรรม ตั้งแต่การเก็บผลผลิตมะม่วงมหาชนกด้วย ตนเอง และสามารถล่องเรือชมสวนได้อย่างใกล้ชิด

farmer's route agrotourism's route service


04

Khao Hin Sorn Royal Development Project

ปริมาณผลผลิตต่อพื้นที่ ปลูก 1 ไร่ (ตัน/ไร่/ปี) 106 ไร่

ผลผลิตต่อปี

อายุเก็บเกี่ยว 7-10 เดือน ขิง ข่า ตะไคร้

3,180 ตัน

25 ไร่

1,000 ตัน

9.3 ไร่

70 ตัน

7.5 ไร่

18.75 ตัน

7.5 ไร่

11.25 ตัน

11 ไร่

5.5 ตัน แทนปริมาณผลผลิต 5 ตัน/ไร่

สวนป่าสมบูรณ์ ไม้ให้ผลผลิต แปลงผักอินทรีย์ ฟื้นฟูดิน แหล่งน�้ำ ส่วนบริการ


ORCHARDS/ VEGGIES

พืชหมุนเวียน

พืชตระกูลถั่ว เพื่อนำ� มาใช้ ไ ถกลบเป็ น ปุ๋ ย พืชสด เช่น ปอเทือง ถั่วพร้า ถั่วเขียว ฯลฯ

อายุเก็บเกี่ยว 1-3 เดือน

อายุเก็บเกี่ยว 4-6 เดือน

ผักโขม ผักบุ้ง ตำ�ลึง กระเจี๊ยบ มะระ มะระขี้นก บวบ มะเขือยาว ผักชีล้อม โหระพา ใบแมงลัก สะะรแหน่ ชะพลู บัวบก บัวกินสาย

เตย พริกไทย พริกขี้หนู ฟักทอง มะเขือเครือ

มะม่วงมหาชนก มะพร้าว

ZONING ACTIVITY

มะขาม

หม่อน

มะนาว

ส้มโอ

ORCHARD


04

Khao Hin Sorn Royal Development Project

“THAMMACHAD CAFE” ร้านอาหารภายในโครงการ ตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณริ ม อ่ า งเก็ บ น้ำ� สามารถมองออกไปชม ทัศนียภาพของสวนมะม่วง ได้ไกลสุดสายตา โดย เฉพาะในช่วงปลายปี เป็น ช่วงมะม่วงติดดอกและผล

“อาหารจากธรรมชาติ” คอกสาธิตการทำ�ปุ๋ย หมัก เป็นส่วนหนึ่งใน กระบวนการศึกษาการ ฟื้นฟูดินเสื่อมโทรม ของ กลุ่มเกษตรกร


PERSPECTIVE

“ แ ป ล ง ผั ก เ ก ษ ต ร อินทรีย์” สถานี ป ลู ก ผั ก ในแปลง รูปทรงกลม พื้นที่อยูู่ ระหว่ า งอ่ า งเก็ บ น้ำ� และ สวนไม้ผล โดยผักใน แปลงจะปลู ก หมุ น เวี ย น สั บ เปลี่ ย นไปในช่ ว งปี เพื่อเพิ่มธาตุอาหารในดิน

“THAMMACHAD OUTDOOR” หลั ง จากเก็ บ ผลมะม่ ว ง มหาชนกบริเวณร่องสวน ในแปลงสาธิ ต มาแล้ ว สามารถนำ�ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ มาทำ�กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การแปรรูปมะม่วง หรือ แม้แต่การสร้างสรรค์เมนู อาหารจากมะม่วง


05


/MIVANA ORGANIC COFFEE FARM/ 305 RAI AGRICULTURAL PROJECT 2016


05

Mivana Organic Coffee Farm

21

20

19

21

18

16

15

17 14

13

3

12

21 2 1

4 5

10 11

0

50

100

MASTERPLAN

200

6 7

9 8


ในรอบสิบปีทผี่ า่ นมา พบว่าคน ไทยมีอัตราการบริโภคกาแฟเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า ในขณะทีเ่ กษตรกรสามารถผลิตผล ผลิตได้เพียงร้อยละ 30 ของความต้องการ นั้น ทาให้เห็นว่ายังมีช่องว่างของตลาด อยูอ่ กี มาก โดยลักษณะการทาสวนกาแฟ นั้น ควรทารูปแบบเกษตรผสมผสาน เรียกระบบนีว้ า่ Shade-grown coffee ซึ่งสอดคล้องกับกาแฟมีวนา ภายใต้ บริษัทกรีนเนท เอสอี ซึ่งมีนโยบายการ ปลูกกาแฟในลักษณะการปลูกกาแฟใต้ ร่มเงาป่า โดยในปี พ.ศ.2553 ได้มีการ จัดตัง้ โครงการกาแฟอินทรียร์ กั ษาป่าขึน้ เพื่อสนับสนุนให้ชาวบ้านปลูกกาแฟใน พื้นที่ป่าต้นน้า เพื่อให้ชาวบ้านมีอาชีพ และเป็นการสร้างจิตสานึกให้ชาวบ้าน

1. OFFICE x MUSEUM 2. RESTAURANT 3. COFFEE WORKSHOP 4. STRAW FLOWER FIELD 5. DRYING 6. ROASTING 7. WAREHOUSE 8. NURSERY 9. STORAGE 10. FERTILIZER 11. STAFF HOUSE 12. WATERFRONT AREA 13. LOBBY 14. COFFEHOUSE 15. LAKESIDE 16. NATURAL POOL 17. RESERVOIR 18. CAMPING 19. WEST VIEW POINT 20. CANOPY WALKWAY 21. PARKING LOT

เกิดความรูส้ กึ รักและหวงแหนในพืน้ ทีป่ า่ ต้นน้าและชุมชนของตน ปัจจุบนั โครงการ นีม้ พี นื้ ทีด่ าเนินการอยูใ่ นหมูบ่ า้ น 9 หมูบ่ า้ น ในพื้นที่ป่าต้นน้าของจังหวัดเชียงราย มี พื้นที่ดาเนินการประมาณ 10,000 ไร่ โครงการสวนกาแฟอินทรียม์ วี นา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตั้ง อยูใ่ นอ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซึง่ ถือเป็นจังหวัดทีม่ ผี ลผลิตกาแฟอาราบิกา้ สูงสุดเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ เนื่อง มาจากมีสภาพภูมปิ ระเทศและภูมอิ ากาศ ที่เหมาะสมต่อการปลูกกาแฟอาราบิก้า โดยในพื้นที่ใกล้เคียงกับโครงการมีแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและแหล่งท่อง เที่ยวเชิงเกษตรตั้งอยู่ เช่น เขื่อนแม่สรวย ถ้าแม่สรวย ป่าสงวนแห่งชาติ แม่ลาว

ดอยช้าง ไร่บญุ รอด เป็นต้น ทาให้โครงการ มีความเป็นไปได้ในการพัฒนาเป็นพื้นที่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเรียนรู้ สร้าง ประสบการณ์เกีย่ วกับกาแฟและป่าควบคู่ กันไปอีกด้วย พื้นที่โครงการมีขนาด 305 ไร่ ประกอบไปด้วยส่วนพื้นที่ปลูกกาแฟคู่ กับพืชหลายชนิด ทัง้ ป่าและไม้ผลเศรษฐกิจ พื้นที่ส่วนแปรรูปกาแฟ กลุ่มอาคาร พิพธิ ภัณฑ์ อาคารกิจกรรมและร้านอาหาร กลุม่ บ้านพัก พืน้ ทีก่ างเต็นท์และเส้นทาง ศึกษาธรรมชาติ โดยวางผังออกแบบพืน้ ที่ เก็บพืน้ ทีธ่ รรมชาติให้ได้มากทีส่ ดุ และใช้ ประโยชน์จากผลผลิตของพืชต่างๆเหล่า นั้น ให้คุ้มค่ามากที่สุดเช่นกัน

แนวคิด

sustainable agrotourism

be the source of learning and getting experience about coffee

get the birdfriendly certificate

get the USDA organic certificate

“SYMBIOSIS”

กาแฟเป็นไม้ที่ใช้ระบบการปลูก ร่วมกับไม้ชนิดอืน่ นอกจากกาแฟจะได้รบั ประโยชน์จากร่มเงาของไม้บงั ร่มเหล่านัน้ แล้ว ต้นกาแฟยังให้ประโยชน์กลับไปสูป่ า่ เหล่านั้นด้วย นอกจากนี้การปลูกกาแฟด้วย ระบบไม้บงั ร่มยังให้ประโยชน์แก่สตั ว์ตา่ งๆ และช่วยคืนสมดุลแก่ระบบนิเวศด้วย


05

Mivana Organic Coffee Farm

SHADE MANAGEMENT CRITERIA FOR BIRD-FRIENDLY CERTIFICATE

CANOPY TREES >15 m

20%

MIDDLE TREES 12 m more than 11 species

60% TALL TREES

20% COFFEE TREES

BIRDS

DIMETER OF BIODIVERSITY

นกสามารถเป็น ตัวบ่งชี้ถึงความ อุดมสมบูรณ์และ ความหลากหลาย ทางชีวภาพของ พืชและสัตว์ทเี่ ป็น อาหารของนก

EXISTING 9 SPECIES

COMING 15 SPECIES

“In the future, there will be 24 species of birds entering to the project area”


SHADING PLANT

COFFEE BOTANICAL


05

Mivana Organic Coffee Farm

กลุ่มผู้ใช้งานหลักของ โครงการแบ่งเป็นร้อยละ 75 ได้แก่ กลุม่ คนรักกาแฟ บาริสต้า และนัก ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ส่วนกลุ่มผู้ใช้ งานรองอื่นๆเช่น นักศึกษา ผู้ เชี่ยวชาญ เกษตรกร กลุ่มบุคคล ที่ให้ความสนใจ เป็นต้น

COFFEE LOVER

AGRO-TOURIST

ECO-TOURIST

HP x564 x538

x526

x526

LANDUSE

ASPECT FLAT NORTH EAST SOUTH WEST

พื้นที่รกร้าง สวนล�ำไย สวนยางพารา ป่าเบญจพรรณ บ่อน�้ำในโครงการ

)ชุดดิน Hc-C (ห้างฉัตร

ดินร่วนปนทราย -- เหมาะกับ พื้นที่เกษตรกรรม

.ลบ.ม 3,840 .ลบ.ม 5,760

x518

เหมาะกับการ ปลูกกาแฟที่สุด x498

SLOPE % 0-5 % 5-15 % 15-20 % 20-35 % 35-50 % 50-100

สามารถสร้างสิ่งก่อสร้างได้ โดยมีความสูงไม่เกิน 12ม. สามารถท�ำการเกษตรได้ ควรมีการจัดการพื้นที่ ก่อนเข้าไปใช้งาน แก้ปัญหา erosion

ห้วยปากขอ

)ชุดดิน Mr-C (แม่ริม

ปริมาณน�้ำฝนตลอดปีเฉลี่ย 1,717.4 มิลลิลิตร/ปี

ชั้นดินตื้น ดินบนเป็นดิน ร่วนปนทราย มีกรวดและ หินปะปน -- เหมาะกับ พื้นที่สร้างสิ่งปลูกสร้าง

SOIL

)บ่อขุด (1 )บ่อขุด (2

LP x484

FLOW DIRECTION ทางน�้ำธรรมชาติ

HYDROLOGY

SECTION

SITE POTENTIAL a มีศักยภาพด้านการเข้าถึง - welcome area b ลักษณะเป็นแอ่ง ทางน�้ำไหลผ่าน - พื้นที่รับน�้ำ สวนกาแฟ c พื้นที่ราบขนาดใหญ่ - อาคารและพื้นที่รองรับการใช้งานหลัก d วิวริมน�้ำห้วยและสวนกาแฟ พื้นที่รับแดดในช่วงเช้า มี ความชันเล็กน้อย - อาคารกิจกรรมหลัก สวนกาแฟ จุดชมวิว e พื้นที่ริมน�้ำ มุมมองดี - พื้นที่พักผ่อนริมน�้ำ f พื้นที่เป็นเนิน ชันเล็กน้อย มุมมองบริเวณห้วย ได้รับ แดดช่วงเช้า ค่อนข้างสงบ - พื้นที่ปลูกกาแฟ พื้นที่ปลูกป่า จุดชมวิว จุดดูนก g พื้นที่เป็นเนิน มีความชันมากเสี่ยงต่อการพังทลายของ หน้าดิน เข้าถึงค่อนข้างยาก - สวนกาแฟ จุดชมวิว พื้นที่ปลูกป่า h พื้นที่เป็นเนิน ชันด้านบนเป็นพื้นที่ราบ - สวนกาแฟ จุดชมวิว i มีศักยภาพด้านความเป็นธรรมชาติสูง - พื้นที่สวนป่าอนุรักษ์

SITE SUMMARY good view getting the shade in the morning risk to erosion area flat - low slope existing access water flow


ANALYSIS/ DIAGRAM

TREE TOP WALK

บ่อเก็บน�้ำ CAMPING

STAY' IN

อ่างเก็บน�้ำ

ห้วยปากขอ WORKSHOP RESTAURANT OFFICE MUSEUM

บ่อตกตะกอน

SERVICE

PROCESSING NUSERY

ฝาย

CIRCULATION

HYDROLOGY

STRUCTURE

P P

FOREST

COFFEE WITH FOREST

COFFEE x FOREST

2

2

123 rai 35.5 rai

STAY’IN

1 2

VEHICAL WAY VEHICAL WAY (SHUTTLE BUS/BIKE) MAIN TOURIST WAY (WALK) SECONDARY TOURIST WAY - coffee route SECONDARY TOURIST WAY - natural route VEHICAL WAY (PUBLIC)

ROUTE

P

COFFEE EXPERIENCE

1

COFFEE PROCESSING

COFFEE x MACADAMIA

COFFEE x UME

WATERFRONT

59 rai COFFEE x MACADAMIA

ZONING

COFFEE FARM


05

Mivana Organic Coffee Farm

กระถินเทพา acacia mangium

แคฝรั่ง Gliricidia sepium

กิจกรรมเข้าศึกษาการปลูกกาแฟร่วมกับป่า

ไผ่เลี้ยง Bambusa multiplex

+499

+487

COFFEE PROCESSING

ขี้เหล็ก Senna siamea

ต้นมะกอกป่า Spondias pinnata

ประดู่ป่า ทองหลางป่า pterocarpus macrocarp Erythrina subumbrans

สนสองใบ Pinus merkusii

สนสามใบ Pinus kesiya Royle ex Gordon

+484

COFFEE EXPERIENCE

STAY'


IN THE FOREST

ซ้อ หว้า Gmelina arborea Roxb. Syzygium cumin

.CANOPY WALKWAY 270 M

สะเดา pus azadirachta indica

มะเดื่อ Ficus carica

ดึงดูดดนกและสัตว์ ป่าไม้กินได้ ยางนา dipterocarpus alatus

มะค่าโมง Afzelia xylocarpa2

ป่าไม้เศรษฐกิจ ป่าไม้ใช้สอย

+546 +515

IN

COFFEE X FOREST


05

Mivana Organic Coffee Farm

บริเวณส่วนต้อนรับของ โครงการ เป็นพื้นที่เกิดกิจกรรม หลักเกิดการใช้งานมากทีส่ ดุ ภายใน อาคารพิพธิ ภัณฑ์ประกอบไปด้วย ส่วนร้านค้า ร้านกาแฟ ส่วนจัด แสดงโดยบริเวณชั้นบนสามารถ มองออกไปยังวิวทุ่งดอกกระดาษ และต้นกาแฟในสวนบ๊วยได้

more than 11 species

lighting on the floor

office x museum

workshop building

+507

PARKING

+504

COFFEE EXPERIENCE

STRAW FLOW FIELD


COFFEE EXPERIENCE

WORKSHOP +504

SPACING

PARKING +507

RESTAURANT +500

+504.2

+506.5

OFFICE

MUSEUM x CAFE +507.5

+504

+504.5

+499

STRAW FLOWER FIELD

+499

WER

COFFEE x UME

WATERFRONT


05

Mivana Organic Coffee Farm

พื้นที่ส่วนแปรรูปกาแฟ ส�ำหรับผู้ที่มีเวลาประมาณ 3-4 ชั่ ว โมง สามารถเข้ า มาศี ก ษา กระบวนการแปรรูปกาแฟ ตั้งแต่ ขั้นตอนการเพาะกล้า เก็บเกี่ยว ไปจนถึงการคั่วเมล็ดกาแฟ ซึ่ง กระบวนการแปรรูปทีน่ ยิ มกันมาก

คือ wet process บริเวณลานตรง กลางสามารถเป็นพื้นที่ใช้จัดงาน ออกร้านค้ายามมี event ได้ โดยสวนกาแฟในบริเวณ ใกล้เคียงเป็นลักษณะสวนกาแฟ ใต้ร่มต้นมะคาเดเมีย

+499 +500.5

ROASTING

+499

+500

FERMENTATION +507

DRYING

+499.5

+500

WAREHOUSE

โรงตากกาแฟ ลานตากกาแฟควร อยู่ในพื้นที่มีหลังคา ซึ่งสามารถช่วยกัน ฝนได้ และควรยกพืน้ ลานตากขึ้นมาจาก พื้นดิน

+500

STORAGE

+499

NUSERY +499

+499

+499.5

COFFEE x MACADAMIA

COFFE PROCESS


PIC

CO

KE

SHA FFEE D SYSTING GR FAR EM OWN M

DB

the Y .chered cofdeep HAN rry o fee D nly

)DRY PROCESS (NATURAL PROCESS

days 25-30

)SEMI-WASHED PROCCESS (HONEY PROCESS

days 7-10

)WET PROCCESS (WASHED PROCESS

days 7-15 P q umi ust b ULPIN p o c e .s pp r e v esns i b l kel y gain as G o i l t fr t o s a g uit e

FE

RM

D d r ican beRYIN s e p d s G dryitnh e mr e a d i n b yung tab o n g les RO

the

pa

rch

me

nt

+499

NUSERY

e rc . msotorage n beanhment by cof nths them for 6 millingfee -8 nd ea siz the

tra AST brocwoffeenisforms ING n be nto t gree ans he n

MI LL ST ING OR x to gtrurns pa AGE e

ing rad dg an

to EN thaltayer roemove TATI is sti f m the ON ll att ucil slick ache age d

.to

EE SING

COFFEE PROCESSING


05

Mivana Organic Coffee Farm

ส่วนที่พักของโครงการ แบ่งเป็นส่วนห้องพักและส่วนตั้ง แคมป์ โดยห้องพักแบ่งออกเป็น 2 โซน คือ โซน lakeside 4 หลัง และ โซน coffee house 9 หลัง ในส่วนพื้นที่ตั้งแคมป์ มีพื้นที่ 1.5

ไร่ สามารถรองรับได้สูงสุด 150 หลัง ตั้ง อยู่บริเวณชายป่า โดยจะ เปิดให้เข้าใช้บริการในช่วงเดือน ตุลาคม - มีนาคม ในส่วนที่เหลือ จะปิดพื้นที่ให้ป่าได้รับการฟื้นฟู

y sta s m m r fa 15 roo x

natural dam

ฝายหินช่วยชะลอน�ำ้ สามารถ เดินข้ามจากฝั่งที่พัก ไปยัง ลายป่าด้านตรงข้ามได้

natural pool

ติกกับบริเวณอ่างเก็บน�ำ้

+499

+496

COFFEE HOUSE

+495

+491

RE


STAY’ IN +495

CAMPING

+495

.+493 +492 +491 +490.5

+492

RESERVIOR

+493 +493

+490

LAKESIDE +493 +493 +493 +503

LOBBY

+491

+493 +497

+495

+506

+495

+506.5

+499 +499

+495

COFFEEHOUSE +496 +499

+505

+499

+507

+490

ESERVIOR

+490.5

CAMPING

+494.5

+495

+495


05

Mivana Organic Coffee Farm

01

04

05

07

08


PERSPECTIVE

02

03

06

09

01 COFFEE EXPERIENCE/ COFFEE PROCESSING OVERALL PERSPECTIVE 02 BIRD WATCHING/ COFFEE IN THE FOREST 03 CANOPY WALK WAY 04 THE ENTRANCE 05 THE STRAW FLOWER FIELD FROM THE 2nd FLOOR OF MUSEUM 06 THE STRAW FLOWER FIELD 07 DRYING COFFEE BEAN 08 COFFEE PROCESSING 09 COFFEE FARM STAY/ CAMPING AREA


06


/THE PRESENTATIONS AND ARTWORKS/ WITH OTHER TECHNIQUES - ADOBE ILLUSTRATOR - RHINO


06

The Presentations

/MAPPING GOOGLE EARTH ONTO THE CONTOURS/ 2014 GIS AUTOCAD 3DSMAX ADOBE PHOTOSHOP

/RENDER MODEL/ 2014 3DSMAX ADOBE PHOTOSHOP

/DIAGRAM/ 2016 ADOBE PHOTOSHOP ADOBE ILLUSTRATOR


/PERSPECTIVES WITH ILLUSTRATION / 2015 3DSMAX ADOBE PHOTOSHOP ADOBE ILLUSTRATOR

/LUMION PERSPRCTIVE/ 2014-2015 AUTOCAD ADOBE PHOTOSHOP ADOBE ILLUSTRATOR

/COMMUNITY MAP/ 2017 ADOBE ILLUSTRATOR

/AXON DIAGRAM/ 2014-2015 AUTOCAD RHINO ADOBE ILLUSTRATOR


06

The Presentations

/ARTWORKS AND ART MARKET/ SINCE 2012 FB PAGE : 2an.


/FILM PHOTOGRAPHY FILM DEVELOPING/ SINCE 2013

/film /


/THANK YOU/ ANCHISA TI R A C H U S A K


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.