รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปการศึกษา 2549
งานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา (กรกฎาคม 2550)
คํานํา การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาถื อ เป น ภารกิ จ ที่ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ของวิ ท ยาลั ย ฯ เพื่อที่จะกําหนดระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานในรอบป การศึกษา เพื่อสรางความมั่นใจวาวิทยาลัยฯ สามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ รายงานการประเมินตนเอง(SAR) ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อเปนขอมูลในการตรวจสอบ และประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เปนการรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ในชวงปการศึกษา 2549 (1 มิถุนายน 2549 ถึง 31 พฤษภาคม 2550) ซึ่งไดวิเคราะหและจัดทํา รายงานการประเมินตนเองประจําปการศึกษา 2549 ตามมาตรฐานและตัวบงชีข้ องมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ปจจุบันวิทยาลัยฯ มีความพรอมในการรับการประเมินคุณภาพการศึกษา ตลอดจน รับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ อันจะเปนประโยชนจากคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ ใหมีมาตรฐานสูงขึ้นอยางตอเนื่องตอไป
(รองศาสตราจารย มรว.พงษสวัสดิ์ สวัสดิวัตน ) ผูอํานวยการวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา กรกฎาคม 2550
สารบัญ หนา บทที่ 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร 1. สรุปผลการประเมินคุณภาพของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ................................1 ประจําปการศึกษา 2549 2. ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา……………………………………………………………..2 2.1 ขอเสนอแนะที่ควรพัฒนากอนในลําดับแรก........................................................2 2.2 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาในรายมาตรฐาน......................................................3 3. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้คุณภาพ ประจําปการศึกษา 2549 กับ ปการศึกษา 2548 และ 2547………………………….4 บทที่ 2 สวนนํา สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเกีย่ วกับวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา……………………………8 1. ความเปนมาของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...........................................8 2. วิสัยทัศน พันธกิจ แผนกลยุทธ..................................................................9 3. โครงสรางการบริหารวิทยาลัย..................................................................14 4. การจัดการเรียนการสอน..........................................................................15 5. นักศึกษา.................................................................................................17 6. บุคลากรของวิทยาลัย……………………………………………………….. .18 สวนที่ 2 ผลการดําเนินการที่สําคัญในรอบปการศึกษา 2549…………………………….19 สวนที่ 3 การประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย............…………………………….26 บทที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบงชี้คณ ุ ภาพ ของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา แบบฟอรมขอมูลพื้นฐานคาเปาหมาย ประจําป 2549....................................................29 แบบฟอรม SAR 1 รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ ประจําป 2549................39 มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต...............................................................................44 มาตรฐานที่ 2 ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค...............................................................47 มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ...........................................................................51 มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม....................................................53 มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร.........................................................54 มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน..........................................................60 มาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคุณภาพ..................................................................65 รายงานผลการดําเนินการตามขอสังเกตและขอเสนอแนะ………………………………....67 จากการตรวจสอบครั้งที่ผานมา บทที่ 4 แนวทางการพัฒนา....................................................................................................73
สารบัญภาคผนวก หนา ภาคผนวก ก แบบฟอรม ก.5 คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษา...................................................................78 ภาคผนวก ข แบบฟอรม ข.3 จํานวนนักศึกษา ที่ไดรบั การประกาศเกียรติคุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ หรือดานอื่นที่เกี่ยวของ กับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ในรอบ 3 ปที่ผานมา ปการศึกษา 2547- 2549............................................................................. 79 แบบฟอรม ข.8 จํานวนผูสมัครเขาศึกษา และจํานวนรับตามเปาหมาย ................................. 80 แบบฟอรม ข.9 คะแนน TU-GET ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา .......................................81 แบบฟอรม ข.10 จํานวนนักศึกษาทีส่ ําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด................82 แบบฟอรม ข.11 จํานวนงานวิจัยและ/หรืองานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร………………………83 หรือนําไปใชประโยชน แบบฟอรม ข.12 จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัย…………85 แบบฟอรม ข.13 จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสรางสรรคจากภายนอกมหาวิทยาลัย…….. 86 แบบฟอรม ข.17 จํานวนงานวิจัย…………………………………………………………………. 88 แบบฟอรม ข.18 บทความทางวิชาการทีต่ ีพิมพ………………………………………………… 90 แบบฟอรม ข.19 จํานวนกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาการแกชมุ ชนและสังคม…………… 91 แบบฟอรม ข.20 จํานวนการเปนที่ปรึกษาภายนอกมหาวิทยาลัย……………………………… 95 แบบฟอรม ข.21 จํานวนการเปนกรรมการวิชาการ/วิชาชีพภายนอกมหาวิทยาลัย.................... 96 แบบฟอรม ข.23 การนําความรูและประสบการณมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอน………... 97 แบบฟอรม ข.27 กิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม. 98 แบบฟอรม ข.28 สภาสถาบัน และผูบริหารมีวิสัยทัศนที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และสามารถ……….. 99 สะทอนถึงนโยบาย วัตถุประสงค แบบฟอรม ข.29 การพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู โดยอาศัยผลการประเมินจากภายใน……..100 และภายนอก แบบฟอรม ข.30 การกําหนดกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ………………………………101 แบบฟอรม ข.31 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน ………………………..…102 แบบฟอรม ข.32 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย...103 แบบฟอรม ข.33 สินทรัพยถาวรสุทธิ........................................................................................104 แบบฟอรม ข.34 คาใชจายทั้งหมด...........................................................................................105
หนา แบบฟอรม ข.35 เงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ.................................................................106 แบบฟอรม ข.36 จํานวนอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานวิชาการ….107 ทั้งในประเทศและตางประเทศ แบบฟอรม ข.37 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศ……… 110 ตออาจารยประจํา แบบฟอรม ข.38 จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุน ที่ไดรับการพัฒนาความรู.........................113 และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ แบบฟอรม ข.40 คาเสื่อมราคา……………………………………………………………………....118 แบบฟอรม ข.41 เงินเดือนบุคลากรทุกประเภท…………………………………………………......119 แบบฟอรม ข.42 จํานวนบุคลากรทุกประเภทจําแนกตามสายงาน……………………..………......120 แบบฟอรม ข.43 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด……………………..…....121 แบบฟอรม ข.44 จํานวนอาจารยประจํา จําแนกตามตําแหนงวิชาการ และระดับการศึกษา.…......122 แบบฟอรม ข.45 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES)…………………………………......123 แบบฟอรม ข.46 การปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics) .……......133 แบบฟอรม ข.47 กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการเรียนรู… …...............134 จากการปฏิบัติและประสบการณจริง แบบฟอรม ข.48 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารย……............136 และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู แบบฟอรม ข.50 จํานวนนักศึกษาทั้งหมด จําแนกระดับการศึกษา……………………………......142 แบบฟอรม ข.51 คาใชจายจริงในระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศ ……………...143 แบบฟอรม ข.56 จํานวนวิชา จํานวนกลุมที่เปดสอน ……………………………………………….144 แบบฟอรม ข.57 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนา………….145 คุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง แบบฟอรม ข.58 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน …………………………..…………146 ภาคผนวก ค รายนามผูอํานวยการวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษาตั้งแตอดีต -ปจจุบัน คําสั่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการ วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา คําสั่งวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาของวิทยาลัย
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................1
บทที่ 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ไดดําเนินการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา โดยไดแตงตั้งคณะกรรมการเปนผูรับผิดชอบและพัฒนาตัวชี้วัดแตละดัชนีใหมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง รายงานการประเมินตนเองของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 นี้ เปน การสรุปผลการประเมินคุณภาพของวิทยาลัยตามตัวบงชี้คุณภาพของมหาวิทยาลัยและสํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) กําหนดไว โดยใชขอมูลจากรายงานการประเมินตนเอง ของวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2549 ประกอบกับการวิเคราะหขอมูลตามตัวบงชี้โดยคณะกรรมการ คุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ 1) สรุปผลการประเมินคุณภาพของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 จุดเดน 1. ดานคุณภาพบัณฑิต คุณภาพบัณฑิตของวิทยาลัย ในรอบ 3 ป ที่ผานมา ศิษยเกาของวิทยาลัยฯ หลักสูตรการบริหารเทคโนโลยี จํานวน 1 คน ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ Best Paper Awards ในงาน Thailand and Logistics Hub in GMS ซึ่งจัดโดยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ระหวางวันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2549 2. ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค วิทยาลัยฯ มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรค ในปการศึกษา 2549 จํานวน 5 โครงการ โดยไดรับเงินสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกจํานวนทั้งสิ้น 3,647,300 บาท คิดเปนคาเฉลี่ย 546,280 บาท ตออาจารยประจํา ทั้งนี้วิทยาลัยฯ มีการตั้งงบประมาณสนับสนุนงานวิจัย ภายในวิทยาลัยฯ แตเนื่องจากวิทยาลัยฯ สงเสริมใหอาจารยประจําสรางเครือขายกับองคกรภายนอก ซึ่ง ทําใหผลงานวิจัยเปนที่รูจัก ไดรับการเผยแพรและนําไปใชประโยชนในวงกวางมากขึ้น 3. ดานการบริการวิชาการ วิทยาลัยมีศักยภาพในการใหบริการวิชาการในหลากหลายรูปแบบ โดยในปการศึกษา 2549 ไดจัดกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการวิชาการแกชุมชนและสังคม ทั้งเรียกเก็บ คาใชจายและไมเรียกเก็บคาใชจาย รวมทั้งสิ้น 24 โครงการ เนื่องจากวิทยาลัยมีฝายกิจกรรมสัมพันธและ ฝกอบรมซึ่งมีหนาที่ในการใหบริการวิชาการโดยตรง นอกจากนี้อาจารยประจําวิทยาลัยฯ ยังไดรับเชิญจาก หนวยงานภายนอกใหอาจารยเปนกรรมการวิชาการและวิชาชีพ คิดเปนรอยละ 33.33 ของอาจารยทั้งหมด 4. ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยฯ มีพันธกิจที่มุงสงเสริมการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม จะไดเห็นไดจากการเปดหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังไดสนับสนุนให นักศึกษามีบทบาทและเขารวมกิจกรรมดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมควบคูไปกับการเรียน ซึ่งในป การศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีจํานวนกิจกรรมดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมทั้งสิ้น 6 โครงการ เชน การเสวนาวิชาการดานมรดกและวัฒนธรรมรวมสมัย หัวขอ “การตลาดในงานมรดกและวัฒนธรรมรวมสมัย: กาวไกลอยางสมดุล” เปนตน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................2
5. ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร วิทยาลัยฯ มีนโยบายสงเสริมใหบุคลากรมีสวนรวมใน การวางแผนและการตัดสินใจ เชน การจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวม โดยในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดสนับสนุนใหบุคลากรทั้งสาย ก และสายสนับสนุนพัฒนาทักษะและความรู โดยมีรอยละของอาจารย ประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ และ/หรือนําเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในระดับประเทศและตางประเทศ รอยละ 33.33 โดยมีงบประมาณจากการพัฒนาอาจารยทั้งในระดับประเทศและตางประเทศ คิดเปน 18,902.52 บาท/อาจารย 1 ทาน และมีบุคลากรสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรูและทักษะในการ พัฒนา คิดเปนรอยละ 100.00 โดยสงเสริมใหบุคลากรทุกระดับมีสวนรวมในกิจกรรมทุกครั้งที่วิทยาลัยฯ จัด เชน การอบรมสัมมนาทั้งในและตางประเทศ นอกจากนี้ยังสนับสนุนใหบุคลากรไดพัฒนาศักยภาพตาม สายงานของตนเองอยางตอเนื่องเพื่อนํามาพัฒนาวิทยาลัยฯ 6. ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน วิทยาลัยฯ สงเสริมกระบวนการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหนักศึกษาไดเรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง เห็นไดจากรายวิชา ที่เปดสอนในวิชาสัมมนา และวิชาเลือกแบบ Module ของหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม ซึ่งเชิญ ผูเชี่ยวชาญจากภายนอกมาเปนวิทยากรบรรยายใหความรูกับนักศึกษา นอกจากนี้ ในป 2549 จากผลการ ประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารย จํานวน 84 รายวิชา มีผลการประเมินการสอนของอาจารยอยูใน เกณฑดี (4.16 จากเกณฑคะแนนประเมินเต็ม 5 คะแนน) 7. ดานการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีระบบและกลไกในการ ประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ ก อ ให เ กิ ด การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาอย า งต อ เนื่ อ ง โดยมี ก ารแต ง ตั้ ง คณะกรรมการประกันคุณภาพของวิทยาลัยฯ เพื่อรวมกันวางแผนพัฒนาตัวชี้วัด และจัดเก็บขอมูลตัวชี้วัด แตละฝายอยางเปนระบบ ซึ่งมีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ของวิทยาลัยฯ ผลจากการสัมมนาดังกลาวสามารถนํามาปรับปรุงกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา นอกจากนี้ วิท ยาลัย ฯ ยัง ได ดําเนิ นการปรั บปรุง ระบบฐานขอ มูลเพื่ อสนับสนุ นงานประกั นคุ ณภาพของ วิทยาลัยฯ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2) ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 2.1 ขอเสนอแนะที่ควรพัฒนากอนในลําดับแรก เมื่อพิจารณาผลการดําเนินงานปการศึกษา 2549 เมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานที่ สมศ. กําหนด พบวา ผลการดําเนินงานในภาพรวมต่ํากวาเกณฑมาตรฐานของ สมศ. คอนขางมาก ไดแก 1. รอยละบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพร 2. อัตราการแขงขันสอบเขามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (บัณฑิตศึกษา) 3. คาระดับเฉลี่ยสะสมนักศึกษาที่สอบเขา มธ. ได (บัณฑิตศึกษา) 4. เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัยตออาจารยประจํา 5. ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน วิทยาลัยฯ จึงขอเสนอแนวทางการพัฒนาผลการดําเนินงานในตัวบงชี้ดังนี้ 1. เพิ่มกลไกและมาตรการในการสงเสริมใหนักศึกษาเลือกทําวิทยานิพนธ เขียนบทความจาก วิทยานิพนธ และนําไปตีพิมพเผยแพรในวารสารทางวิชาการ ดังนี้
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................3
1.1 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2550 วิทยาลัยมีการใหรางวัลสําหรับวิทยานิพนธดีเดน จํานวน 1 รางวัล 1.2 จัดประชุมวิชาการสาขาการบริหารเทคโนโลยี และสาขาการบริหารงานวัฒนธรรม เพื่อกระตุนใหนักศึกษามีความกระตือรือรนในการเผยแพรผลงานวิชาการในวงกวาง 2. ควรสรางความเขมแข็งและความโดดเดนทางวิชาการใหกับหลักสูตร เชน ปรับปรุงเนื้อหา หลักสูตรใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน เชิญวิทยากรผูเชี่ยวชาญในสาขาตางๆ มาบรรยายเสริม ความรู เปนตน ประชาสัมพันธในเชิงรุกเขาถึงกลุมเปาหมาย เพื่อใหกลุมผูสนใจสมัครเขาศึกษาในหลักสูตร เพิ่มขึ้น และมีอัตราการแขงขันสอบเขา มธ. ไดเพิ่มขึ้น 3. ควรกําหนดคาระดับเฉลี่ยสะสม (GPA) ขั้นต่ําในการสอบเขาในระดับบัณฑิตศึกษา 4. ควรปรับระเบียบที่เกี่ยวของกับการทําวิจัยและงานสรางสรรคใหมีความชัดเจนและคลองตัวมาก ขึ้น เชน เกณฑและผูรับผิดชอบในการใหทุนสนับสนุนการทําวิจัยภายในวิทยาลัยฯ ระเบียบการเบิก-จาย เงินทุนสนับสนุนการทําวิจัย เปนตน 5. ปรับปรุงวิธีการดําเนินการประกันคุณภาพภายในวิทยาลัย เชน ปรับปรุงระบบฐานขอมูลใน การประกันคุณภาพ และระบบการตรวจสอบภายใน 2.2 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาในรายมาตรฐาน จากการพิจารณาผลการดําเนินงานในมาตรฐานตางๆ พบวายังมีบางตัวบงชี้ที่ยังไมได มาตรฐานตามเกณฑที่ สมศ. กําหนด จึงขอเสนอแนวทางในการพัฒนาในรายมาตรฐาน ดังนี้ 2.2.1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 1) ควรมีการกําหนดกําหนดคาระดับเฉลี่ยสะสม (GPA) ขั้นต่ําในการสอบเขาในระดับ บัณฑิตศึกษา 2) ควรมีการพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษของนักศึกษา เชน เปดการบรรยายหรืออบรม พิเศษในดานภาษาอังกฤษใหกับนักศึกษาที่สอบเขาได 3) ควรมีการจัดตั้งชมรมศิษยเกา เพื่อติดตามความกาวหนาของศิษยเกา รวมทั้งมี กิจกรรมสรางเสริมความสัมพันธระหวางศิษยเกากับวิทยาลัยฯ และศิษยเกากับนักศึกษาปจจุบัน 2.2.2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 1) สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารยและนักวิจัยทําวิจัยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เชน จัดทํา ระเบียบที่เกี่ยวของกับการทําวิจัยและงานสรางสรรคใหมีความชัดเจนและคลองตัว สนับสนุน โครงการวิจัยสําหรับนักวิจัยรุนใหม โครงการวิจัยที่มีความจําเปน/เรงดวน โครงการวิจัยเพื่อ พัฒนาการเรียนการสอน 2) จัดอบรมเพิ่มพูนทักษะเรื่องงานวิจัยที่อยูในทิศทางของยุทธศาสตรชาติ พรอมทั้งสราง แรงจูงใจใหอาจารยผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับชาติและนานาชาติใหมากขึ้น 2.2.3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 1) ควรมีการบูรณาการระหวางการบริการวิชาการ การเรียนการสอน และการวิจัย นอกจากนี้ ยั ง ควรมองถึ ง การนํ า ทรั พ ยากรบุ ค คลจากภายในวิ ท ยาลั ย ฯ มาเป น วิ ท ยากรหรื อ ผูบรรยายกอนในเบื้องตน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................4
2) กําหนดสัดสวนที่ชัดเจนระหวางกิจกรรมการบริการวิชาการแบบใหเปลา และแบบเก็บ คาลงทะเบียน 2.2.4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ควรสรางพันธมิตรกับองคกรดานศิลปวัฒนธรรม เพื่อใหการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของ วิทยาลัยฯ ขยายไปสูสังคมในวงกวางมากขึ้น 2.2.5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ควรมีกลไกที่จะผลักดันใหอาจารยประจําวิทยาลัยฯ เขารวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอ ผลงานทางวิชาการทั้งในและตางประเทศใหมากขึ้น 2.2.6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ควรศึกษาความเปนไปไดในการสรางความรวมมือกับองคกรวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวของ เพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหมีความรูสอดคลองกับโครงสรางสากล 2.2.7 มาตรฐานดานการประกันคุณภาพ 1) ควรสงเสริมใหบุคลากรทุกคนมีสวนรวมและตระหนักในความรับผิดชอบในกิจกรรมดาน ประกันคุณภาพ 2) ควรมีโครงสรางของผูรับผิดชอบการประกันคุณภาพและการตรวจสอบภายในของ วิทยาลัยฯ ที่ชัดเจน 3) เปรียบเทียบผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้คุณภาพ ประจําปการศึกษา 2547 -2549 มาตรฐาน/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 1.1 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา และประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ป 1.2 ร อยละของบั ณฑิ ตระดับปริ ญญาตรี ที่ ได ทํ างานตรงสาขาที่ สําเร็จการศึกษา
2547
2548
2549
คาระดับ คะแนน ที่ไดรับ
วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
1.3 รอยละของบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ
วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
1.4 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต
วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี N/A 0 1 4
1.5 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกา ที่ไดรับการประกาศเกียรติ คุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือ รางวัลทางวิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตใน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ในรอบ 3 ป ที่ผานมา 1.6 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับ รางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปที่ผานมา
0
0
0
0
1.7 ร อยละของบทความจากวิ ทยานิ พนธ ปริ ญญาโทที่ ตี พิ มพ เผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด
0
0
0
0
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................5
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1.8 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด
2547
2548
2549
คาระดับ คะแนน ที่ไดรับ
วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
1.9 อัตราการแขงขันสอบเขามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา)
2.1
2.06
1.98
3
1.10 คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบเขามธ.ได(ปริญญา ตรี /บัณฑิตศึกษา)
2.73
2.65
2.74
5
1.11 รอยละของนักศึกษาที่ไดรับการจัดระดับวิชาภาษาอังกฤษ พื้นฐาน (PT) ตั้งแต สษ.172 ขึ้นไป
วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
1.12 รอยละของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สอบผาน TUGET (ไมต่ํากวา 550 คะแนน)
0.91
3.81
3.40
0
1.13 ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด (ปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา) 2. มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 2.1 รอยละของงานวิจัย และงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตอจํานวนอาจารยประจํา
92.00
80.87
69.27
2
0.00
20.00
50.00
5
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคของสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา
0
10,400
1,100
2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอก สถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา
0
51,849
546,280
2.4 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองาน สรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา
0.00
40.00
30.00
1
2.5 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองาน สรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา 2.6 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติ หรือระดับ นานาชาติ ตออาจารยประจํา
0.00
60.00
30.00
3
0.00
0.00
0.00
0
2.7 จํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียน ทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร ในรอบ 5 ปที่ผานมา 2.8 ผลงานทางวิชาการตออาจารยประจําทุกระดับ
2 5
ผลงานมีแตในลักษณะของลิขสิทธิ์ไมใชสิทธิบัตร 0
0.40
0.70
2
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................6
2547
2548
2549
คาระดับ คะแนน ที่ไดรับ
6.00
833.00
266.67
5
0
33.33
33.33
5
3.3 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย
N/A
3
3
4
3.4 คาใชจาย และมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและ วิชาชีพเพื่อสังคมตออาจารยประจํา 4. มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 4.1 รอยละของโครงการ/กิจ กรรมในการอนุรักษ พัฒนา และ สรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวนนักศึกษา
N/A
31,733.33
602,300
5
4.2 รอยละของคาใชจาย และมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ
0
0.93%
1.80%
5
-
4
7
5
5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู โดยอาศัยผลการ ประเมินจากภายในและภายนอก
-
4
4
4
5.3 มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ
-
2
5
5
5.4 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน
-
4
4
5
5.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการ สอน และการวิจัย
-
3
5
5
5.6 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา
0
378,839.50
5
69,627
139,923.59
180,125. 63 77,174.5 4
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 3. มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 3.1 รอยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ ตออาจารยประจํา 3.2 รอยละของอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการ วิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ และ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติและนานาชาติ ตออาจารยประจํา
5. มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 5.1 สถาสถาบัน และผูบริหารมีวิสัยทัศนที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และสามารถสะทอนถึงนโยบาย วัตถุประสงค และนําไปสู เปาหมายของการบริหารจัดการที่ดี มีการบริหารแบบมีสวนรวม เนนการกระจายอํานาจ โปรงใส และตรวจสอบได รวมทั้งมี ความสามารถในการผลักดันสถาบันใหสามารถแขงขันไดใน ระดับสากล
5.7 คาใชจายทัง้ หมดตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา
วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
1
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................7
2547
2548
2549
5.8 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ
18.91
41.52
38.67
คาระดับ คะแนน ที่ไดรับ 2
5.9 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือ นําเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ
N/A
100.00
33.33
1
5.10 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและ ตางประเทศตออาจารยประจํา
N/A
24,733.33
18,902. 52
5
5.11 รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการ พัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและ ตางประเทศ
N/A
100.00
100.00
5
5.12 สัดสวนเงินเดือนบุคลากรสาย ก ตอเงินเดือนบุคลากรสาย สนับสนุน
N/A
0.03
0.39
2
5.13 สัดสวนของจํานวนบุคลากรสาย ก ตอจํานวนบุคลากรสายสนับสนุน 6. มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 6.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด
0.04
0.13
0.24
2
100.00
0.00
100.00
5
6.2 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา
313.0
117.20
78.03
2
6.3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา ตออาจารยประจํา
50.00
33.33
44.44
4
6.4 รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ
50.00
33.33
22.22
3
6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics)
-
5
5
5
6.6 กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการ เรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง
-
6
6
5
6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของ อาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู
N/A
4.09
4.16
5
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
6.8 รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนา นักศึกษาตอจํานวนนักศึกษา
วิทยาลัยฯ ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
6.9 คาใชจายทัง้ หมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และ ศูนยสารสนเทศตอจํานวนนักศึกษา
N/A
20,794.79
22,199. 01
5
6.10 จํานวน (Section) ตออาจารยประจํา 7. มาตรฐานดานระบบการประกันคุณภาพ 7.1 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิด การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง
20.67
20.66
9.33
2
-
4
5
5
-
4
4
5
7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................8
บทที่ 2 สวนนํา สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 1. ความเปนมาของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา เปนหนวยงานในกํากับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่จัดตั้งขึ้นตามมติสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2538 โดยมีสถานภาพเทียบเทา คณะ สํานัก หรือสถาบัน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2531 โดยแรกเริ่มใชชอื่ วา ศูนยนวัตกรรมอุดมศึกษา ซึ่งตอมา สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุมัติเปลี่ยนชื่อเปน วิทยาลัย นวัตกรรมอุดมศึกษา ในวันที่ 10 กุมภาพันธ 2540 และในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2540 สมเด็จพระ บรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ไดเสด็จทรงวางศิลาฤกษอาคารหลังแรกของวิทยาลัยที่อําเภอ บางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยรับมอบที่ดินจาก ดร. ถาวร พรประภา วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ถือกําเนิดขึ้นจากวิสัยทัศน อั น ยาวไกลของผู บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ที่ ต อ งการจะริ เ ริ่ ม “สิ่ ง ใหม ” ให กั บ วงการ การศึกษาไทย และนับเปนรูปแบบใหมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรที่ไดปรับเปลี่ยนไปจากเดิม ที่ เคยจัดตั้งเปนคณะและภาควิชา มาสูรูปแบบของวิทยาลัย (College) ที่มุงเนนการใหการศึกษาใน ลั ก ษณะที่ เ ป น สหสาขาวิ ช าเพื่ อ ให ไ ด ม าซึ่ ง การพั ฒ นาที่ ส มบู ร ณ ยั่ ง ยื น และได ส มดุ ล โดยได จั ด การศึ ก ษา ฝ ก อบรม และส ง เสริ ม วิ ช าการชั้ น สู ง ทางวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี สั ง คมศาสตร มนุษยศาสตร และศาสตรประยุกต ตางๆ โดยมุงเนนพัฒนารูปแบบการบริหาร การจัดการ ตาม แนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ ซึ่งผสมผสานศาสตรทางดานตางๆ เขาดวยกัน และเปนการศึกษาที่ สรางความเชื่อมโยงระหวางการเรียนการสอน กับการวิจัย และการบริการสังคม สงเสริมใหมีการ สรางสรรคนวัตกรรม ตลอดจนสามารถนําทรัพยสินทางปญญามาบริหารจัดการและใชประโยชนได อยางเหมาะสม และสามารถรวมมือกับภาคเอกชนไดเปนอยางดี ทั้งนี้เพื่อใหเกิดบูรณาการทาง วิทยาการ รูปแบบการบริหารจัดการของวิทยาลัยนวัตกรรมจึงเปนไปในรูปแบบองคกรนอกระบบ ราชการ กล า วคื อ มุ ง เน น ให มี ค วามคล อ งตั ว ในการบริ ห ารงาน ลดความซ้ํ า ซ อ น และสามารถ ดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมขัดตอกฎเกณฑของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................9
2. วิสัยทัศน ปณิธาน พันธกิจและแผนกลยุทธเพือ่ การพัฒนาวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2.1 วิสัยทัศน วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษาตองการเปนผูนําดานการปฏิรูปการเรียนรู และเปน หนวยงานตนแบบดานการบริหารการศึกษาที่สามารถสรางเมล็ดพันธุ (SEED) ทางปญญาออกสู สังคม 2.2 ปณิธานของวิทยาลัยฯ วิทยาลัยฯ มีความมุงมั่นที่จะดําเนินการภายใตปณิธาน 4 ขอ (S-E-E-D) สรางพลังจากความหลากหลาย Synergy from diversity กาวไกลอยางมีคุณธรรม Excellence with ethics มุงมั่นนวัตกรรมการศึกษา Educational innovation พัฒนาโดยคํานึงถึงองครวม Develop holistically 2.3 พันธกิจ พันธกิจที่ 1: ปฏิรูปการเรียนรู ดวยการสรางรูปแบบการเรียนรูที่นา สนใจ สนุก และไม ถูกจํากัดอยูแตในหองเรียน สามารถเรียนรูไดทุกโอกาส เรียนไดในทุกที่ เปนการเรียนรูที่ตอเนื่องตลอดชีวิต ไมใชการเรียนเพื่อการสอบหรือเพียง เพื่อใหไดรับปริญญาบัตร พันธกิจที่ 2: สรางตนแบบการบริหารการศึกษา เปนการสรางแบบจําลองดานการ บริหารการศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล จน สามารถเปนแบบอยางที่ดีใหกับหนวยงานหรือองคกรอื่นๆได พันธกิจที่ 3 : ผลิตบัณฑิตที่พึงประสงคเปนผลผลิตจากการศึกษาที่สามารถเรียกได อยางภาคภูมิวาเปน “เมล็ดพันธุทางปญญา” เปนทั้งผูที่รอบรู (Generalist) และเปนผูที่รวมรับผิดชอบตอสังคม
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................10
2.4 แผนกลยุทธ (Strategy) 2.4.1 ดานการจัดการเรียนการสอน • เพิ่มจํานวนหลักสูตรใหมีความหลากหลาย • พัฒนาหลักสูตรโดยระดมความคิดจากผูเชี่ยวชาญทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และศิษยเกา • เพิ่มสัดสวนอาจารยประจํา • การคัดเลือกอาจารยพิเศษมาสอนในแตละปการศึกษา เชิญเฉพาะอาจารยที่มีผลการ ประเมินเปนทีน่ าพอใจ (กรณีอาจารยพิเศษ) และมีพื้นฐานการศึกษาตรงกับสาขาที่สอน • จัดอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของอาจารยประจํา • ใหอาจารยใหม เขาฟงการบรรยาย สังเกตการณ เพื่อนํามาพัฒนาการสอนและจัด เตรียมการสอนในมีประสิทธิภาพขึ้น • ใหมี Case Study / Field Research ในการเรียนการสอนของแตละวิชา • สงเสริมการสรางเครือขายความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัย และภาคเอกชน ที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศ • สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารยใชเทคโนโลยีในการเรียนการสอน และการทํา รายงานของนักศึกษา • สงเสริมและสนับสนุนใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรมทางวิชาการในระดับชาติและ นานาชาติ • สงเสริมการสรางเครือขายระหวางหนวยงานและบุคลากรรวมทั้งหนวยงานทางการ ศึกษาทีเ่ กี่ยวของทั้งในระดับประเทศและตางประเทศ • สนับสนุนและผลักดันใหอาจารยและนักศึกษาไดรับ Professional certification เชน PMP (Project Management professional), CAPM (Certified association in Project Management) • จัดการสัมมนาทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติอยางตอเนื่อง 2.4.2 ดานการวิจัยและผลงานทางวิชาการ • ใหความสําคัญของการทําวิจัยของนักศึกษา และสงเสริมใหนักศึกษาทําวิทยานิพนธ ที่มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น • จัดหาทุนสนับสนุนการพัฒนาและเผยแพร ตําราและผลงานทางวิชาการ โดยเนน งานวิจัยที่มีผลทั้งทางดานการแกปญหาและสงเสริมองคความรูใหมในสายวิชานั้นๆ และจัดสัมมนาผลงานวิทยานิพนธเพื่อนําเสนอผลงานวิจัยตอสาธารณชน • จัดหาทุนเพื่อเปนรางวัลสําหรับ ผูที่ไดรับการตีพิมพผลงานทางวิชาการ
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................11
• รวบรวมขอมูลขาวสารเกี่ยวกับทุนและการสนับสนุนการวิจัย จากหนวยงานภายใน และภายนอก • มอบรางวัล/เกียรติบตั ร แกผูไดรับรางวัลจากการพัฒนา ตําราและผลงานทางวิชาการ 2.4.3 ดานการประชาสัมพันธ • ประชาสัมพันธทั้งทางตรงและทางออมไปยังกลุมเปาหมาย เพื่อใหไดนักศึกษาที่มีศักยภาพ • จัดแถลงขาว เพื่อเปดตัวหลักสูตรใหม หลักสูตรระยะสั้น และโครงการฝกอบรม โครงการความรวมมือใหมๆ แกนักธุรกิจ นักการตลาด นักลงทุน ผูประกอบการ และนักบริหาร • จัดกิจกรรม Open House และ Road show 2.4.4 ดานการใหบริการสังคม • สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารย รับทํางานวิจัยและใหคําปรึกษาแกหนวยงานภายนอก • จัดอบรม/สัมมนา/และกิจกรรมแกประชาชนทั่วไป (Public Training) • จัดอบรม/สัมมนา/และกิจกรรมแกองคกรตางๆ (In-house Training) • จัดหาทุนการศึกษาใหกบั นักศึกษาดอยโอกาส และบุคลากรทางวัฒนธรรมทั้งภาครัฐ และเอกชน 2.4.5 ดานบุคลากรและการบริหารจัดการ • สรางแรงจูงใจใหแกพนักงาน รวมถึงสวัสดิการ และความกาวหนาในตําแหนงงาน รวมถึงการเปดโอกาสใหบุคลากรไดรับการพิจารณาเลื่อนตําแหนง • สงเสริมใหบุคลากรศึกษาดูงานและฝกอบรมทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมให บุคลากรนําความรูความสามารถ ศักยภาพของตนเองมาใชใหเกิดประโยชนกับ องคกรอยางเต็มที่ • จัดใหมีการประชุมเพื่อรับฟงปญหาและความคิดเห็นของบุคลากรในระดับตางๆ • พัฒนาระบบการควบคุมงบประมาณโดยใช Software on PC • ใชระบบการบันทึกเวลาทํางานดวยเครื่องบันทึกลายนิว้ มือที่ศูนยพัทยา 2.4.6 ดานการพัฒนานักศึกษาและกิจกรรมนักศึกษา • จัดกิจกรรมสงเสริมความสัมพันธ อยางเชน annual seminar, กีฬาสี • กําหนดใหมีการสัมมนาจริยธรรมใหแกนกั ศึกษาอยูในทุกหลักสูตร • สราง Alumni เพื่อเปนสื่อกลางระหวางวิทยาลัยฯ กับศิษยเกา และนักศึกษาปจจุบันกับศิษยเกา
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................12
2.4.7 ดานการประกันคุณภาพการศึกษา • ปรับปรุงตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาใหมีความเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของวิทยาลัยฯ • การตรวจสอบคุณภาพภายใน โดยจะตรวจสอบผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ คุณภาพและผลการดําเนินงานตามขอสังเกตและขอเสนอแนะจากการตรวจสอบในป ที่ผานมา • กระตุนสงเสริมใหบุคลากรของวิทยาลัยอยางเปนระบบและตอเนื่อง โดยการจัดอบรม เชิงปฏิบตั ิการใหแกบุคลากร • การจัดทําขาวประชาสัมพันธเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา และ ฐานขอมูล สงสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ และเผยแพรขาวสารขอมูล ดานประกันคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน 3. โครงสรางการบริหารงานวิทยาลัยฯ วิทยาลัยฯ มีการกําหนดโครงสรางและระบบการบริหารงานที่สอดคลองกับวิสัยทัศนและพันธกิจ ของวิทยาลัยฯ โดยมีการแบงกลุมงานและกลุมภารกิจที่ชัดเจน และไดเลือกรูปแบบการจัดการองคกร ในรูปแบบที่มีความยืดหยุนสูง เปนโครงสรางที่สามารถปรับเปลี่ยนไดตามยุทธศาสตรอีกทั้งยึดหลัก ความเปนอิสระในการบริหารงาน เนนการกระจายอํานาจ และสรางกลไกที่จะสงเสริมใหบุคลากรมี สวนรวมในการบริหารงานมากที่สุด เพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางคลองตัวและเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ทั้งนี้ มีการกําหนดคุณสมบัติบคุ ลากรที่รบั ใหมทั้งอาจารยและเจาหนาที่ โดยมีระบบการสรร หาและคัดเลือกบุคลากรที่เปนธรรมและโปรงใส กําหนดอํานาจหนาที่และลักษณะงาน (Job Description) ของบุคลากรแตละตําแหนงอยางชัดเจน และมีแผนงานในการพัฒนาบุคลากรที่เปน ระบบ นอกจากนี้ยังมีการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรอยางชัดเจน โปรงใสและตรวจสอบได โดยไดนําผลการประเมินเปนขอมูลในการพัฒนาความสามารถของบุคลากรตอไป นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังเปดโอกาสใหบุคลากรมีสว นรวมในการวางแผนและการตัดสินใจใน ภารกิจที่สาํ คัญ โดยมีการประชุมระดับผูจัดการ การประชุมระดับเจาหนาที่ และมีการแตงตั้ง คณะกรรมการจัดการดานตาง ๆ พรอมทั้งกําหนดอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการเหลานั้น ซึง่ วิทยาลัย ไดแบงหนวยงานตางๆ จําแนกตามภารกิจหลักของหนวยงานออกเปน 7 กลุมภารกิจหลัก ดังนี้ 1. กลุมภารกิจบริหารการศึกษา หรือที่รูจักในนามของ Learning Base (LB) มีหนาที่ บริหารและใหบริการหลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการบริหารเทคโนโลยี และสาขาการ บริหารงานวัฒนธรรม ปจจุบันเปดดําเนินการอยูที่ชั้น 1 และ ชั้น 4 อาคารหอสมุดเดิม (LB) ทา พระจันทร
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................13
2. กลุมภารกิจเครือขายการเรียนรู หรือ Learning Network (LN) มีหนาที่สราง เครือขายการเรียนรูผานสื่อตางๆ ทั้งที่เปนสื่อประสม (Multi-media) สื่อการเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) และสื่อผานเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม (Information Communication Technology) 3. กลุมภารกิจบริหารงานสวนกลาง หรือ Central Administration (CA) ประกอบดวย งานธุรการ งานบัญชีและการเงิน มีหนาที่ในการบริหารและใหการสนับสนุนการดําเนินงานของกลุม ภารกิจขางตนใหบรรลุผลตามพันธกิจทีก่ ําหนดไว 4. กลุมภารกิจบริหารธุรการ ประกอบดวยงานบุคคล อาคารสถานที่ งานยานยนต และ งานแมบา น มีหนาที่ในการพัฒนาองคกรและบริหารใหการสนับสนุนการดําเนินงานใหบรรลุตามพันธกิจ 5. กลุมภารกิจดานกิจกรรมสัมพันธและฝกอบรม ประกอบดวยงานฝกอบรม ประชาสัมพันธ และกิจกรรมการตลาด มีหนาที่ในการจัดฝกอบรมและประชาสัมพันธองคกรผานสื่อตางๆ 6. กลุมภารกิจเพื่อสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา ประกอบดวยงานวิจยั และพัฒนา และ งานวิเทศสัมพันธ มีหนาที่สนับสนุนงานดานวิชาการ พัฒนาหลักสูตร ประกันคุณภาพการศึกษา จัดทําแผนกลยุทธ ควบคุมภายใน วิจัยสถาบัน วิจัยเพือ่ พัฒนาองคกรใหบรรลุพันธกิจที่ตั้งไว 7. กลุมภารกิจศูนยการศึกษา ฝกอบรม และสัมมนา มีหนาที่บริหารศูนยการศึกษาและ อาคารที่พักของวิทยาลัยฯ ที่ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี ภายใตชื่อ “อุทยานการเรียนรู” (Learning Resort – LR) รายละเอียดโครงสรางการจัดองคกรของวิทยาลัยฯ สามารถแสดงในแผนภูมิที่ 1 ดังตอไปนี้
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................8
แผนภูมิที่ 1
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................15
4. การจัดการเรียนการสอน วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปดการเรียนการสอนในระดับ ปริญญาโท จํานวน 3 หลักสูต ร คื อ หลักสูต รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หาร เทคโนโลยี (ท า พระจั น ทร และศู น ย พั ท ยา) และหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาการ บริหารงานวัฒนธรรม ซึ่งไดรับการปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ปการศึกษา 2548 ของสํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) ในป ก ารศึ ก ษา พ.ศ. 2549 โดยมี รายละเอียดการเรียนการสอนดังนี้ 4.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (Master of Science Program in Technology Management) ทาพระจันทร และศูนยพัทยา วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพื่อพัฒนานักศึกษาใหมีความรูความสามารถ และความชํานาญในการบริหาร และ จัดการดานเทคโนโลยีภายในองคกรใหกาวทันอารยประเทศ 2. เพื่อใหนักศึกษามีความรอบรู และมีวิสยั ทัศนที่จะสามารถนําพาองคกรใหประสบ ความสําเร็จภายใตสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองที่เปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว 3. มุงเนนใหนักศึกษาไดตระหนักถึงหนาที่และความรับผิดชอบที่มีตอสังคม ระบบการศึกษา • หลักสูตรภาคค่ําในระบบทวิภาค • ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 7 ภาคการศึกษา (นับรวมการศึกษาภาคฤดูรอน) • แบงเปน 5 หมวดวิชา ดังนี้ - หมวดการจัดการงานโทรคมนาคม - หมวดการจัดการงานคอมพิวเตอร - หมวดการจัดการเทคโนโลยี - หมวดการจัดการงานวิศวกรรม - หมวดเทคโนโลยีคาปลีก • หลักสูตรการศึกษาแบงเปน 2 แผน โดยนักศึกษาสามารถเลือกศึกษาแผนใดแผนหนึ่ง ดังตอไปนี้ แผน ก. เปนหลักสูตรที่มีการศึกษารายวิชา เนนการทําวิทยานิพนธ แผน ข. เปนหลักสูตรที่เนนการศึกษารายวิชา และการคนควาอิสระ • จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 45 หนวยกิต
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................16
4.2 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารงานวัฒนธรรม (Master of Arts Program in cultural Management) วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตบัณฑิตใหเปนผูเขาใจถึงคุณคาของวัฒนธรรมในความหมายที่เปนปจจุบัน และสามารถนําความรูความสามารถในการบริหารจัดการมาใชกับองคกรดานศิลปะและ วัฒนธรรม 2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะทั้งในดานวิชาการและในเชิงปฏิบัติการทีส่ ามารถนําไป ประยุกตใชในการประกอบวิชาชีพไดจริง 3. เพื่อผลิตบัณฑิตทีต่ ระหนักถึงหนาที่และมีความรับผิดชอบตอสังคมได ระบบการศึกษา หลักสูตรภาคค่ําในระบบทวิภาค • ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร 2 ปครึ่ง (7 ภาคการศึกษานับรวมภาคฤดูรอน) • ลักษณะหลักสูตร เปนแบบ “สหวิทยาการ” • แบงเปน 3 หมวดวิชา ดังนี้ - หมวดมรดกและวัฒนธรรมรวมสมัย : นโยบายและปฏิบัติ - หมวดการแสดงและการผลิตทางวัฒนธรรม - หมวดอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม • หลักสูตรการศึกษาแบงเปน 2 แผน โดยนักศึกษาสามารถเลือกศึกษาแผนใดแผนหนึ่ง ดังตอไปนี้ แผน ก. เปนหลักสูตรที่มีการศึกษารายวิชา เนนการทําวิทยานิพนธ แผน ข. เปนหลักสูตรที่เนนการศึกษารายวิชา และจัดทําโครงการทางวัฒนธรรม • จํานวนหนวยกิต ตลอดหลักสูตร 42 หนวยกิต หลักสูตรทั้ง 3 หลักสูตรขางตน เปนหลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อสรางใหนักศึกษาเปนผูที่รัก การเรียนรู มุงเนนใหเกิดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยจะกระตุนใหนักศึกษาไดคิด และได เรียนรูจากการลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งแนวความคิดดังกลาวถูกถายทอดลงในวิชาแตละวิชาที่เปดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของวิชาเลือก ซึ่งไดคํานึงถึงความสมดุลระหวางความตองการเรียนของ นักศึกษาและความหลากหลายของรายวิชา กับความเหมาะสมของตนทุนที่มี เนื่องจากวิทยาลัยเชื่อ วาหากสามารถเปดรายวิชาใหตรงกับความตองการของนักศึกษาจะทําใหนักศึกษาไดเรียนในวิชาที่ ตองการเรียนและจะมีแรงจูงใจในการเรียนเพื่อผลสัมฤทธิ์สูงสุด ในขณะเดียวกันการเปดรายวิชา เลือกมากนั้นเปนการสนับสนุนใหเกิดความหลากหลายในการเรียน โดยเฉพาะการที่วิทยาลัยฯ เนน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................17
ในการนําหลักวิชาการไปประยุกตใชวิชาเลือกจํานวนมากชวยเปดโดกาสใหนักศึกษาไดรูจักศาสตร ตางๆ มากขึ้น พรอมทั้งสามารถนําหลักเหลานั้นไปใชไดอยางลึกซึ่งมากขึ้นดวย การจัดการเรียนการสอนโครงการบัณฑิตศึกษาหลักสูตรบริหารเทคโนโลยี (ทาพระจันทร) และหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม ปจจุบัน ไดมีการเรียนการสอนที่ ชั้น 5 อาคารหอสมุดเดิม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร โดยเรียนตั้งแตวันจันทรถึงวันอาทิตย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความ สะดวกของอาจารยและนักศึกษาเปนสําคัญ ชวงเวลาในการเรียนการสอน สําหรับวันธรรมดา (จันทร – ศุกร) คือ 18.00 – 21.00 น. และในวันเสาร ถึงวันอาทิตย คือเวลา 09.00 – 17.00 น. สวน หลักสูตรการบริหารเทคโนโลยี (ศูนยพัทยา) จัดการเรียนการสอนที่ อุทยานการเรียนรู (Learning Resort) อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 5. นักศึกษา ตารางแสดงจํานวนนักศึกษาทั้งหมดของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ปการศึกษา 2547-2549 หลักสูตรปริญญาโท
จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษา ปการศึกษา 2547 ปการศึกษา 2548 ปการศึกษา 2549
สาขาการบริหารเทคโนโลยี
420
407
387
สาขาการบริหารเทคโนโลยี (ศูนยพัทยา)
-
-
74
สาขาการบริหารงานวัฒนธรรม
77
119
117
รวม
497
526
578
ขอมูล : งานทะเบียนนักศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 30/05/50
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................18
จํานวนนักศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 จําแนกตามหลักสูตร MCT 117 คน (20.24%)
MTT (ศูนยพัทยา) MTT (ทา
74 คน (12.80%)
พระจันทร) 387 คน
6. บุคลากรของวิทยาลัยฯ บุคลากรของวิทยาลัยฯ แบงเปน 2 ประเภทไดแก บุคลากรสายวิชาการ (สาย ก) ที่ทําหนาที่สอน วิจัยและใหบริการทางวิชาการแกนักศึกษาโดยตรง และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (สาย ข, ค) ที่ทําหนาที่บริหารจัดการและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนใหแกนักศึกษา ซึ่งในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีบุคลากรทั้งสองสายรวมทั้งหมด 47 คน โดยจําแนกตามสายงาน วุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวิชาการ รายละเอียดดังตอไปนี้ บุคลากร สายวิชาการ อาจารยประจํา
สายสนับสนุน วิชาการ
วุฒิการศึกษา
จํานวน
สถานะ/ตําแหนง ทางวิชาการ
จํานวน
ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
6 3
อาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย ศาสตราจารย
7 2 -
รวม ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท รวม
9 3 31 4 38
รวม ปฏิบัติการวิชาชีพ หัวหนางาน ผูจัดการ รวม
9 29 5 4 38
ขอมูล : งานบุคคล วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 30/05/50
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................19
สวนที่ 2 ผลการดําเนินการที่สําคัญในรอบปการศึกษา 2549 ในรอบปการศึกษา 2549 เริม่ ตั้งแตวนั ที่ 1 มิถุนายน 2549 – 31 พฤษภาคม 2550 วิทยาลัยฯ ดําเนินกิจกรรมสําคัญสามารถสรุปไดดังนี้ ศักยภาพดานวิชาการ วิทยาลัยฯ ไดใหความสําคัญกับคุณภาพและมาตรฐานทางดานวิชาการเปนอยางยิ่ง ซึ่งแสดง ใหเห็นอยางชัดเจนจากการดําเนินการใหทุกหลักสูตรของวิทยาลัยฯ มีอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร และอาจารยประจําหลักสูตร เพื่อใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา พ.ศ.2548 และการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนดังจะเห็นไดจาก การดําเนินงานตอไปนี้ 1) การพัฒนาหลักสูตรใหม วิทยาลัยมีนโยบายที่จะเปดการเรียนการสอนหลักสูตรใหมในป การศึกษา 2551 จํานวน 2 หลักสูตร ไดแก 1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับ ผูบริหารระดับสูง (CIO) ซึ่งเปนความรวมมือระหวางวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา และคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรรมศาสตร โดยไดรบั การสนับสนุนจากศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร แหงชาติ (NECTEC) และ สวทช. อีกทั้งยังมีความรวมมือทางวิชาการกับ Waseda University ประเทศญี่ปุนอีกดวย โดยมีเปาหมายนอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาโทใน สาขาวิชาดังกลาวแลวยังมีวตั ถุประสงคทจี่ ะจัดตั้ง CIO University ขึ้นเปนแหงแรกในประเทศไทย ภายใตการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรอีกดวย ขณะนี้ไดมกี ารดําเนินการรางหลักสูตรและจัดทํา ประชาพิจารณจากผูบ ริหารเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งภาครัฐและเอกชนเปนที่เรียบรอยแลว เมื่อวันที่ 5-6 เมษายน 2550 ณ อุทยานการเรียนรู มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยพัทยา 1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตหกรรมบริการ ซึ่งขณะนี้อยู ระหวาง ขั้นตอนการดําเนินการเชิญคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒริ วมพิจารณารางหลักสูตรและเตรียม เอกสารเพื่อเสนอสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในการขอเปดหลักสูตรตอไป ทั้งนี้การ กําหนดหลักสูตรตองเปนไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 2) การพัฒนาหลักสูตรที่มีอยูเดิม 2.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (MTT) วิทยาลัยฯ ดําเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนี้ 2 แหง ไดแก ที่ มธ. ทาพระจันทร และที่ มธ.ศูนยพัทยา ซึ่งไดเริ่มเปดดําเนินการเมื่อป 2549 และมีนโยบายที่จะปรับปรุงหลักสูตรดังกลาวใหสอดคลองกับ ความตองการของสังคม และมีมาตรฐานทางวิชาการมากยิ่งขึ้น ในปการศึกษา 2551 2.2 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม วิทยาลัยฯ ได ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรดังกลาว เมื่อปการศึกษา 2549 โดยเปนการปรับปรุงหลักสูตรในประเด็น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................20
เล็กนอยที่ไม กระทบโครงสรางหลักสูต ร ขณะนี้อยูระหวางการประเมินผลการปรับปรุ งหลั กสูต ร ดังกลาวเพื่อดําเนินการพัฒนาหลักสูตรตอไป 3) การบริหารหลักสูตร 3.1 วิทยาลัยฯมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารเทคโนโลยี และหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม เพื่อ ทําหนาที่ดูแลมาตรฐานทางวิชาการของหลักสูตรใหเปนไปตามหลักเกณฑมาตรฐานของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาและชาติ และมาตรฐานทางวิชาการของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 3.2 วิทยาลัยฯ มีการแตงตัง้ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาและดําเนินการคูมือการปฏิบตั ิงานสําหรับ การบริหารงานและดําเนินการหลักสูตรที่วิทยาลัยดําเนินงาน เมื่อปการศึกษา 2549 โดยมีหนาที่ พัฒนากระบวนการดําเนินงาน/บริหารหลักสูตร เพื่อเปนเครื่องมือหนึ่งในการดําเนินงานหลักสูตรให ไดมาตรฐานตามที่ตองการ โดยไดปรับปรุงกระบวนการ/วิธีการตอจากคูมือการบริหารคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2545 ที่วิทยาลัยไดดําเนินการไวแลว 4) การพัฒนาคุณภาพอาจารย 4.1 การสรรหาอาจารย 4.1.1 ผูอํานวยการวิทยาลัยฯ กําหนดใหมีกระบวนการสรรหาอาจารยใหมอยาง ชัดเจนและโปรงใส โดยมีคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอกทีม่ ีความเชี่ยวชาญใน สาขาวิชาเกี่ยวของเปนกรรมการคัดเลือก เพื่อใหไดคณาจารยที่มีคุณวุฒคิ วามรูค วามสามารถ ประสบการณ คุณธรรมและจริยธรรม ทั้งนี้ การคัดเลือกอาจารยใหมจะตองมีความสอดคลองกับความตองการ หลักสูตรใหมๆ ของวิทยาลัยฯ 4.1.2 กระบวนการสรรหาอาจารยผูสอน (พิเศษ) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยมีขั้นตอนดังนี้ - ภายหลังจากสิ้นสุดปการศึ กษา งานบริหารการศึกษา จะจัดทํารายงานผลการ ดําเนินงานหลักสูตรฯ โดยมีรายละเอียดภาระงานสอนของอาจารยผูสอนรายวิชาพรอมทั้งผลการ ประเมินของนักศึกษา รวมถึงภาระงานในฐานะอาจารยที่ปรึกษา/ที่ปรึกษารวม และกรรมการสําหรับ งานวิทยานิพนธ/คนควาอิสระ/โครงการทางวัฒนธรรมของนักศึกษา - งานบริหารการศึกษา จัดทําเอกสารสรุปรายวิชาที่จะเปดการเรียนการสอนในแตละ ภาคการศึกษา ตามแบบฟอรมการสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบประจําวิชา รวมทั้ง Course Syllabus ของอาจารยผูสอนทานเดิม แยกตามหมวดวิชาเพื่อเสนอรองผูอํานวยการหลักสูตรตามหมวดวิชา พิจารณา - จั ด การประชุ ม ผู บ ริ ห ารหลั ก สู ต ร ซึ่ ง ประกอบด ว ยผู อํ า นวยการหลั ก สู ต ร รอง ผูอํานวยการหลักสูตร และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ซึ่งการสรรหาอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาจะถูก นําเสนอและไดขอสรุปจากที่ประชุมนี้อีกครั้งหนึ่ง
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................21
4.2 วิทยาลัยฯ จัดใหมีการสนับสนุนและพัฒนาอาจารยดานการเรียนการสอน ดานการวิจัย โดยมีโครงการตางๆ ดังตอไปนี้ 4.2.1 การจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนใหอาจารยไปเสนอผลงานวิจัยและเขา รวมประชุมวิชาการ สงบทความตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ จัดพิมพตํารา เอกสารประกอบการ เรียนการสอน อางอิงตามระเบียบการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานภายในประเทศ 4.2.2 การจั ดสรรงบประมาณเพื่อสนับ นุ นการทําวิจัยทั้งงานวิจัยขนาดเล็ก งานวิจัยวิชาการ และงานวิจัยสถาบัน 5) งานพัฒนาความรวมมือทางวิชาการกับตางประเทศ ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีกิจกรรมความรวมมือกับมหาวิทยาลัย/หนวยงานในตางประเทศ ดังตอไปนี้ 1. อาจารยประจําวิทยาลัยจํานวน 1 คนไดรบั ทุนทําวิจัย AMAFEK จากรัฐบาลประเทศ เกาหลีไปทําวิจัยที่ Korean National University of Arts ประเทศเกาหลีเปนเวลา 6 เดือน (ก.ย 49 – ม.ค. 50) 2. วิทยาลัยฯ สงคณะผูแทนไปเจรจาความรวมมือทางวิชาการรวมกับ Group T Leuven Engineering School ประเทศเบลเยีย่ มเพื่อหารือในการเปดหลักสูตรสองภาษา (bilingual program) ในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารเทคโนโลยี โดยคาดหมายวาจะสามารถเปด หลักสูตรสองภาษานี้ไดในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2551 3. วิทยาลัยฯ นําคณะนักศึกษาปริญญาโทสาขาการบริหารงานวัฒนธรรมไปศึกษาดูงานที่ Université de Paris X – Nanterre ประเทศฝรั่งเศสและในขณะเดียวกันไดเจรจาความรวมมือในการ จัดการประชุมนานาชาติโดยมีวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเปนเจาภาพ โดยจะจัดใหมีขึ้นประมาณเดือนตุลาคม 2551 ในปการศึกษา 2550 วิทยาลัยฯ มีนโยบายที่จะสานตอความรวมมือทางวิชาการกับ ตางประเทศใหมากยิ่งขึ้น กิจกรรมที่วิทยาลัยฯ ไดดําเนินไปแลวภายในป 2550 มีดังตอไปนี้ 1. Amiens School of Engineering สงนักศึกษามาฝกงานดานการบริหารเทคโนโลยี ตั้งแตวันที่ 1 ม.ค. – 26 มิ.ย. 50 2. ผูแทนของวิทยาลัยฯ ไดเดินทางไปเขารวมประชุมความรวมมือทางวิชาการกับ École Supérieure d’Ingénieurs en Électrotechnique et Électronique และ Université de Paris X – Nanterre ประเทศฝรั่งเศส เพื่อเตรียมความพรอมในการจัดการประชุมนานาชาติ เดือนพฤษภาคม 2551 3. วิทยาลัยฯ ไดลงนามในขอตกลงความรวมมือทางวิชาการ CIO University รวมกับศูนย เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติและมหาวิทยาลัยวาเซดะ ประเทศญี่ปุน ในการ พัฒนาหลักสูตรปริญญาโทการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับผูบริหารสารสนเทศระดับสูง (CIO) วิทยาลัยฯ คาดวาจะสามารถเปดหลักสูตรนี้ไดภายในภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2550
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................22
ศักยภาพทางดานวิจัย งานวิจัยเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนาองคความรู วิทยาลัยฯไดเห็นความสําคัญและได ดําเนินการสนับสนุนงานวิจยั โดยสนับสนุนและสงเสริมใหคณาจารยไดทําการศึกษาวิจัยและถือเปน สวนหนึ่งของการประเมินผลงานของอาจารย สําหรับในสวนของการวิจัยในปการศึกษาของวิทยาลัยฯ นั้น วิทยาลัยฯ ไดจัดตั้งหนวยงานวิจัยและพัฒนาโดยมีหนาที่รับผิดชอบงานวิจัยสถาบันและการวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร อีกทั้งยังเปนหนวยงานที่ชวยสนับสนุนงานวิจยั ของคณาจารย เพื่อสนับสนุนให คณาจารยไดสรางสรรคผลงานทางวิชาการ เพื่อเปนการสงเสริมและสนับสนุนใหบคุ ลากรในวิทยาลัยฯ ไดศึกษาคนควาวิจัย เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาองคความรู เสริมสรางความเขาใจในปญหาหรือประเด็นที่ เปนประโยชนในการเรียนการสอนหรือการพัฒนาประสิทธิภาพของหนวยงาน และเพือ่ เผยแพร ชื่อเสียงของ วิทยาลัยฯ และมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและตางประเทศ วิทยาลัยฯ จึงไดกําหนด หลักเกณฑการสนับสนุนทรัพยากรสําหรับการวิจัยไวตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยฯ วาดวยการขอเบิก ทุนอุดหนุนการเขียนบทความทางวิชาการ ตํารา งานวิจัย วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดรับอาจารยประจํามากขึ้น จึงสงผลใหวิทยาลัยฯ มี ผลงานวิจัยโดยไดรับงบประมาณจากทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ซึ่งในปนี้ผลงานวิจยั ของ วิทยาลัยฯ มีจํานวนเพิ่มขึ้นจากปกอนทั้งสิ้นจํานวน 6 โครงการ ซึ่งในปการศึกษา 2549 อาจารย เวฬุรีย เมธาวีวินิจ ซึ่งเปนอาจารยประจําวิทยาลัยฯ ไดรับทุนไปทําวิจัยที่ประเทศเกาหลีใต ระหวาง วันที่ 1 กันยายน 2549 – 30 มกราคม 2550 เรื่อง Key factors in Korean TV industry structure that affect the success of Korean TV dramas in global market เปนการสนับสนุนทุนวิจัยจาก Korean National University of Arts, Ministry of Culture and Tourism, Republic of Korea นอกจากนี้ อาจารย ดร.กวีพงษ เลิศวัชรา ไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักมาตรฐาน อุตสาหกรรม สําหรับโครงการวิจัย เรื่อง “โครงการศึกษาการนํามาตรฐานไปใชในกลุมผูประกอบการ และ ผูบริโภค” และ เรื่อง “โครงการการประเมินผลสัมฤทธิข์ องมาตรการกําหนดผลิตภัณฑบงั คับ” อีกทั้งยังไดรับทุนสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดลอม สําหรับโครงการวิจัย เรื่อง “โครงการสํารวจความ พึงพอใจของผูมีสวนไดเสียจากการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดลอม ตามระบบการประเมินผลทุน หมุนเวียน ป 2550” นอกจากนี้อาจารยสุรีรัตน บุบผา ไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สําหรับโครงการวิจัยเรื่อง "ศักยภาพและการพัฒนาแหลงทองเที่ยวทาง ประวัติศาตรและวัฒนธรรมบริเวณเกาะรัตนโกสินทร" และไดรับทุนสนับสนุนจากกระทรวงวัฒนธรรม เรื่อง “โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาสินคาและบริการทางวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ” รวมทั้ง ไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ เรื่อง “โครงการวิจัยเพื่อสํารวจความ เปนไปไดเชิงการตลาดและผูชมกลุมเปาหมายของสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ”
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................23
ศักยภาพดานการบริการทางวิชาการ วิทยาลัยฯ มีวัตถุประสงคเมื่อแรกกอตั้งวิทยาลัย คือจัดการศึกษา ฝกอบรม และสงเสริม วิชาการขั้นสูงทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตร มนุษยศาสตรและศาสตรประยุกตตาง ๆ ตลอดจนการวิจัย การใหบริการสังคม วิทยาลัยไดเล็งเห็นวากระแสสังคมในทุกวันนี้ตางมุงสูการ เปน “สังคมแหงการเรียนรู (Knowledge Base Society)” ดังนั้น เพื่อรองรับการพัฒนาทรัพยากร บุคคลและศาสตรความรูใหม ๆ ทางวิทยาลัยจึงมอบหมายภารกิจใหแกฝายกิจกรรมสัมพันธและ ฝกอบรมของวิทยาลัยฯ ดําเนินการจัดเสวนา สัมมนา รวมถึงการจัดฝกอบรมระยะสั้นและระยะยาว เพื่อเอื้อประโยชนดานการสรางสรรคองคความรู และเพื่อเปนการขยายฐานสังคมแหงการเรียนรูให กระจายอยางทั่วถึงไปสูทุกภาคสวนของสังคม สงเสริมภาะวะความเปนผูน ํา และการเรียนรูสภาพของชุมชนและสังคม สรางสํานึกรับผิดชอบตอสังคม โดยมีความมุงหวังที่จะใหสังคมดีขึ้น การใหบริการวิชาการซึ่งสะทอนถึงจิตสํานึกและความรับผิดชอบของวิทยาลัยที่มตี อสังคม ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดดําเนินการจัดหลักสูตร In-house Program Public Program Consult Program และ Social Program ใหแกหนวยงานภาครัฐและเอกชน โดย หลักสูตรเนื้อหาการฝกอบรม และวิทยากรประกอบไปดวยคณาจารยที่ทรงคุณวุฒิ ทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย อาทิ การอบรมเรื่อง "การบริหารจัดการระบบความมัน่ คงปลอดภัยขอมูล สารสนเทศสมัยใหม" ในวันที่ 15 สิงหาคม – 31 สิงหาคม 2549 นอกจากนี้ หลักสูตรฝกอบรมที่จัด ใหหนวยงานภายนอก ซึ่งเปนกิจกรรมหรือโครงการที่วิทยาลัยฯ สามารถจัดไดตรงกับความตองการ ของผูที่สนใจที่จะศึกษาหรือเรียนรูอยางแทจริง ถือไดวาเปนการใหบริการวิชาการแกสังคม และ สะทอนถึงความรับผิดชอบของวิทยาลัยฯ ที่มีตอสังคม และมุงพัฒนาศักยภาพของคนในประเทศให สามารถอยูรอดไดภายใตสภาวะการแขงขันในโลกปจจุบัน ภาพรวมของการบริการวิชาการสวนใหญจะเปนไปในรูปแบบของการจัดประชุมสัมมนาที่มี ประเด็นเกี่ยวกับการศึกษาในมุมของนักบริหารจัดการ ซึ่งจะสอดคลองกับวิสยั ทัศนและปณิธานของ วิทยาลัยฯ ที่วา วิทยาลัยฯ ตองการที่จะสรางเมล็ดพันธุ (SEED) ทางปญญาใหมีความรูความสามารถ และความชํานาญในการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ภาพรวมของการบริการวิชาการแกสังคม วิทยาลัยฯ มีนโยบายที่เดนชัดที่จะ มุงเนนกิจกรรม/โครงการไปในดานใดหรือกลุมคนระดับใดในสังคม ทําใหความเชื่อมโยงของ กิจกรรม/โครงการเปนไปดวยดี และสวนหนึ่งเพื่อใหสอดคลองกับวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยกับ สังคมที่วา “เปนเลิศ เปนธรรม รวมนําสังคม” ไดดียิ่งขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................24
ศักยภาพดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยฯ มุงภารกิจการศึกษาวิจัย ถายทอดความรู ประยุกตศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญา เพื่อพัฒนาและสรางความเขมแข็งตอคนและสังคม โดยผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรทางดาน ศิลปวัฒนธรรม เพื่อสรางความเขมแข็งและการพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝงใหบัณฑิตหลักสูตรการ บริหารงานวัฒนธรรมมีองคความรูในดานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย สงเสริมการวิจัยเกี่ยวกับ ศิลปวัฒนธรรม โดยเนนความรวมมือกับองคกรและทองถิ่น และพัฒนาองคความรูทางศิลปวัฒนธรรม ทํานุบํารุงและสืบสานศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่นและของชาติเพื่อดํารงไวซึ่งเอกลักษณและความ ภาคภูมิใจของคนในชาติและเพื่อเปนรากฐานในการดําเนินชีวิตในสังคมยุกตใหม โดยแบงตาม ลักษณะไดดังนี้ 1. การพัฒนาบัณฑิตทางศิลปวัฒนธรรม เพื่อสรางความเขมแข็งและพัฒนาชุมชนและ ประเทศชาติ รวมทั้งปลูกฝงใหบัณฑิตมีองคความรูทางการบริหารงานวัฒนธรรม โดยเนนวิชา เกี่ยวกับการจัดการวัฒนธรรมใหมากขึ้น โดยใหผูเรียนเปนศูนยกลาง และมีกิจกรรมเสริมเพื่อกระตุน ใหนักศึกษาไดประยุกตกับสังคม จัดกิจกรรมหรือโครงการตางๆ เพื่อสงเสริมและสนับสนุน ความสามารถของนักศึกษา 2. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการดานศิลปวัฒนธรรม ปรับปรุงโครงสรางหลักสูตร การบริหารงานวัฒนธรรมใหสอดคลองกับสภาพสังคม สงเสริมใหนักศึกษาตระหนักและเห็นคุณคาใน ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เปดโอกาสใหนักศึกษาทํากิจกรรมเชิงรุกและสรางความเขมแข็งให สังคม โดยเพิ่มการมีสวนรวมระหวงองคกรภายนอกมหาวิทยาลัยและองคกรทองถิ่น 3. การแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม การสรางความรวมมือกับองคกรในประเทศและ ตางประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม และใหมีเครือขายดานวัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในป การศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดจัดงานเสวนาวิชาการเรื่อง "การตลาดในงานมรดกและวัฒนธรรมรวม สมัย:กาวไกลอยางสมดุล" ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2549 ศักยภาพทางดานการเงินและงบประเมาณ วิทยาลัยฯ มีเงินรายไดหลักจากการใหบริการการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการ บริหารเทคโนโลยี สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม และการจัดฝกอบรม ซึ่งมีขั้นตอนการจัดทํา งบประมาณอยางเปนระบบโดยแยกตามฝายและสรุปภาพรวมของวิทยาลัยฯ อยางชัดเจน โดยมี คณะกรรมการพิจารณางบประมาณของวิทยาลัยฯ รวมกันพิจารณาเบื้องตน กอนนําเสนอตอ คณะอนุกรรมการอํานวยการดานบริหารและคณะกรรมการอํานวยการตามลําดับ วิทยาลัยฯ ใชจาย งบประมาณตามจํานวนที่ไดรับอนุมัติในแตละป โดยการเบิกจายแตละครั้งตองมีการจัดทําโครงการ หรือบันทึกเพือ่ ขออนุมัติการเบิกจาย ยกเวนรายจายประจํา เชน คาวิทยากร เงินเดือน คาจาง ฯลฯ
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................25
วิ ท ยาลั ย ฯ มี วิ ธี ก ารตรวจสอบการใช ง บประมาณ โดยงานบั ญ ชี จ ะแจ ง รายงานผลการ ดําเนินงานแยกแตละฝายเปรียบเทียบกับงบประมาณปนั้นๆ และเทียบกับรายการที่เกิดขึ้นจริง ในชวงเดียวกันของปที่แลวทุก ๆ 4 เดือน โดย ชวงที่ 1 งบกําไรขาดทุน 4 เดือน (ต.ค. – ม.ค.) จะรายงานประมาณเดือนมีนาคม ชวงที่ 2 งบกําไรขาดทุน 8 เดือน (ต.ค. – พ.ค. ) จะรายงานประมาณเดือนกรกฎาคม ชวงที่ 3 งบกําไรขาดทุน 12 เดือน (ต.ค. – ก.ย. ) จะรายงานประมาณเดือนพฤศจิกายน นอกจากนี้ผูจัดการแตละฝายเปนผูควบคุมดูแลการตัดจายงบประมาณ ขณะเดียวกัน งานบัญชีก็ควบคุมงบประมาณรวมของวิทยาลัยฯดวย ศักยภาพทางดานสารสนเทศ วิ ท ยาลั ย ฯ โดยฝ า ยเครื อ ข า ยการเรี ย นรู มุ ง เน น การบริ ห ารจั ด การระบบเครื อ ข า ย และ สวนประกอบตาง ๆ เพื่อใหสามารถรองรับการเรียนการสอน และพรอมที่จะสนับสนุนการทํางานของ ฝายตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีแนวโนมความตองการใชงานมากขึ้นทุกป โดยวางแผน ออกแบบ วิเคราะหปญหา และประเมินการดําเนินการดานตาง ๆ จากการใชงานจริง ทั้งในสวน Hardware และ Software เพื่อความตอเนื่องในการใหบริการแกอาจารย บุคลากร และนักศึกษา ใหมี ความสอดคลองกับการขยาย การพัฒนาระบบเครือขายที่ไดวางแผนไว เชน การขยายหองเรียน คอมพิวเตอรจากจํานวน 36 ที่นั่ง เปน 52 ที่นั่ง พรอมจัดเชาคอมพิวเตอรเพิ่มขึ้นอีกจํานวน 16 เครื่อง การจัดหา Internet Account ใหกับนักศึกษาเพื่อใชงานผานโมเด็ม การออกแบบ และจัดทํา ระบบเครือขายใหมใหมีเสถียรภาพในการใหบริการมากยิ่งขึ้น การเพิ่มจํานวนหองเรียนพรอมระบบ โสตทัศนูปกรณตาง ๆ ขึ้นอีก 4 หอง ไดแก หองเรียน 27 ที่นั่ง, หองเรียน 70 ที่นั่ง, หองเรียน 28 ที่ นั่ง, หองเรียน 40 ที่นั่ง เปนตน สําหรับในสวนของการซอมแซม บํารุงรักษา จัดหา และพัฒนาดานตาง ๆ เชน ระบบเครือขาย ระบบการจัดเก็บและสํารองขอมูล เครื่องคอมพิวเตอรแมขาย/ลูกขาย/ Software/ อุปกรณที่เกี่ยวของ โสตทัศนูปกรณประกอบการเรียนการสอน การทํางาน และระบบฐานขอมูล การปรับปรุง Website การจัดทําระบบใบสมัครและการลงทะเบียน online การจัดจาง Maintenance คอมพิวเตอรที่ หมดอายุการรับประกัน เปนตน เพื่อใหสามารถใชงานไดดี สะดวก มีความทันสมัย และสามารถ ปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับ Hardware และระบบฐานขอมูลสําคัญตาง ๆ ได
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................26
สวนที่ 3 การประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ วิทยาลัยฯ เล็งเห็นความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา จึงไดดําเนินการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษามาอย า งต อ เนื่ อ ง โดยสามารถสรุ ป นโยบายการดํ า เนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 ดังนี้ 3.1 วิทยาลัยฯ มีการจัดตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยซึ่งประกอบดวย ผูอํานวยการวิทยาลัยฯ ผูอํานวยการหลักสูตร ผูแทนอาจารยประจําวิทยาลัยฯ ผูจัดการฝาย และ เจาหนาที่วิจัยและพัฒนา เพื่อดําเนินการบริหาร พัฒนาและประกันคุณภาพภายในวิทยาลัย 3.2 วิทยาลัยฯ ไดมีการจัดทําแผนดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามขั้นตอน ตอไปนี้ (1) การกําหนดระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน วิทยาลัยฯไดกําหนดกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาใหสอดคลองกับระบบประกัน คุณภาพของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เพื่อใหการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพบรรลุเปาหมาย โดยยึดปรัชญา วิสยั ทัศน พันธกิจ องคประกอบคุณภาพและดัชนีคุณภาพการศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กําหนด เปนแนวทางในการจัดทําระบบและกลไก ดังนี้ 1. กําหนดแผนเชิงกลยุทธในการดําเนินงานใหสอดคลองกับวิสยั ทัศน พันธกิจ และ วัตถุประสงค ของวิทยาลัยฯ รวมทั้งสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน องคประกอบคุณภาพ และดัชนี คุณภาพการศึกษา 2. ตั้งคณะกรรมการ และ/หรือ คณะทํางานเพื่อรับผิดชอบการดําเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษา ตามนโยบาย และกลยุทธของวิทยาลัยฯ 3. ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อหาแนวทางในการ พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาใหมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลสูงสุด 4. กระตุนใหบุคลากรมีความเขาใจ และเห็นความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใหการประกันคุณภาพการศึกษาเปนวัฒนธรรมองคกร 5. จัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เพื่อใหองคกร ภายนอกประเมินผลคุณภาพ และนําผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนา (2) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ 1. วิทยาลัยฯ ดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพของ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 2. มาตรฐานและตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาในการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ ที่มีผลตอ คุณภาพการศึกษา ตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) (3) การดําเนินการ 1. ประกาศนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาใหบุคลากรของวิทยาลัยฯ รับทราบ
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................27
2. แต ง ตั้ ง คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของวิ ท ยาลั ย ฯ เพื่ อ ดํ า เนิ น งาน เกี่ ย วกั บ การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา กํ า หนดมาตรฐาน ประสานงาน ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให คําปรึกษาในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งกําหนดแผนและกิจกรรมการประกันคุณภาพ ใหเหมาะสมกับวิทยาลัยฯ ดําเนินการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการประกันคุณภาพโดยใช งบประมาณที่มีตามความจําเปน 3. แต ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมิ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ วิทยาลัยฯ เพื่อตรวจสอบและประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา 4. ประชาสัมพันธใหบุคลากรมีความรูความเขาใจที่ถูกตอง และเห็นความสําคัญของการ ประกันคุณภาพการศึกษา และเปนวัฒนธรรมองคกร
คณะกรรมการ ประจําวิทยาลัยฯ
คณะกรรมการประกัน คุณภาพการศึกษา
หลักสูตร MTT/MCT/MHT ฝายสนับสนุนการศึกษา/ ฝายเครือขายการเรียนรู ฝายบริหารจัดการ/ฝายบริหาร ธุรการ/ฝายกิจกรรมสัมพันธและ สื่อสารการตลาด
คณะกรรมการตรวจสอบ และประเมินการประกัน คุณภาพภายใน
- วางแผนดําเนินการของคณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาของวิทยาลัยฯ ประจําป - กําหนดนโยบายวิสัยทัศน พันธกิจ และแผนกลยุทธในการ พัฒนาการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ - ตั้งคณะกรรมการ หรือผูรับผิดชอบ - ดูแล กํากับ และติดตามการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ - วางแผนดําเนินการของคณะกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาประจําป - จัดทําองคประกอบคุณภาพและดัชนีบงชี้คุณภาพ - จัดทําแผนดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ตามแผนกลยุทธ ของวิทยาลัยฯ โดยใหสอดคลองกับองคประกอบคุณภาพ - จัดทําคูมือประกันคุณภาพของวิทยาลัยฯ และรายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) - จัดใหมีการเผยแพร สงเสริม สนับสนุน ระบบประกันคุณภาพ การศึกษา - ประสานงานการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา - ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม แผนประกันคุณภาพการศึกษา - กําหนดแผนปฏิบัติการประจําป - ปฏิบัติงานแผนการปฏิบัติการประจําป - ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
- วางแผนดําเนินการประจําป - ตรวจสอบและประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาลัยฯ - ใหขอเสนอแนะแกคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา พรอมรายงานเสนอตอคณะกรรมการวิทยาลัยฯ
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................28
บทที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบงชี้คุณภาพ ของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา การนําเสนอผลการประเมินคุณภาพประจําปการศึกษา 2549 นี้เปนการประเมินคุณภาพ ของวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ตามมาตรฐานและตัวบงชี้คุณภาพของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ที่กําหนดไว 7 มาตรฐาน 52 ตัวบงชี้ ไดแก มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 2 ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน มาตรฐานที่ 7 ดานการประกันคุณภาพ ในการนําเสนอผลการประเมินคุณภาพในปการศึกษา 2549 นี้จะนําเสนอผลการประเมิน คุณภาพ 7 มาตรฐาน 52 ตัวบงชี้ ในรูปแบบตารางพรอมอธิบายประกอบ ซึ่งรายละเอียดผลการ ดําเนินงานตามตัวบงชี้แตละมาตรฐานมีดังนี้
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................29
แบบฟอรมขอมูลพื้นฐานสําหรับการกําหนดคาเปาหมายตัวบงชี้คุณภาพ ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล
2545 ผล
1. จํานวนหลักสูตรที่เปดสอน
2
2547 แผน
ผล 2
2548 แผน
2549
ผล
แผน
ผล
แผน
2
2
3
3
2
3
3
1.1 จํานวนหลักสูตรที่ เปดสอนระดับปริญญาตรี
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
1.2 จํานวนหลักสูตรที่ เปดสอนระดับปริญญาตรีควบโท
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรีควบโท
1.3 จํานวนหลักสูตรที่ เปดสอนระดับปริญญาโท 1.4จํานวนหลักสูตรที่ เปดสอนระดับปริญญาเอก 1.5จํานวนหลักสูตรที่ ไดมาตรฐานตามเกณฑ สกอ. (พ.ศ.2548)
2
2
2 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
2
2
2
2
3
3
4
2
7
6
9
9
2.1 อาจารยขาราชการ
0
0
0
0
0
0
2.2 อาจารยพนักงาน
4
2
7
6
9
9
2.3 อาจารยสัญญาจาง (ตั้งแต 9 เดือนขึ้นไป)
0
0
0
0
0
0
3. จํานวนอาจารยประจําจําแนก วุฒิการศึกษาของอาจารย (ใหนับ รวมอาจารยประจําตามขอ 2)(ณ วันสุดปการศึกษา)
4
2
7
6
9
9
1
1
1
1
4
4
3
1
6
5
5
5
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
2. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด (ณ วันสุดปการศึกษา)
3.1 ปริญญาเอกหรือ เทียบเทา 3.2 ปริญญาโทหรือ เทียบเทา 2.3 ปริญญาตรีหรือ เทียบเทา 3.4 ต่ํากวาปริญญาตรี
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................30
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล
2545 ผล
4. จํานวนอาจารยประจํา จําแนก ตามตําแหนงทางวิชาการของ อาจารย (ณ วันสุดปการศึกษา)
2547 แผน
ผล
2548
แผน
2549
ผล
แผน
ผล
แผน
4
2
7
6
9
9
4.1 ศาสตราจารย
0
0
0
0
0
0
4.2 รองศาสตราจารย
0
0
0
0
0
0
4.3 ผูชวยศาสตราจารย
0
1
2
2
2
2
4.4 อาจารย
4
1
5
4
7
7
4
2
7
6
9
9
357
515
526
–
578
540
5. จํานวนอาจารยที่ปฏิบัติงานจริง (ณ วันสุดปการศึกษา) 6. จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 6.1 ระดับปริญญาตรี 6.1.1 ภาคปกติ
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
6.1.2 ภาคพิเศษ 6.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 6.2.1 ภาคปกติ
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
6.2.2 ภาคพิเศษ 6.3 ระดับปริญญาโท
357
515
526
–
578
540
6.3.1 ภาคปกติ
0
–
–
–
–
–
6.3.2 ภาคพิเศษ
357
515
526
–
578
540
–
702.23
648
6.4 ระดับปริญญาเอก 6.4.1 ภาคปกติ
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
6.4.2 ภาคพิเศษ 7. จํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา 7.1 ระดับปริญญาตรี 7.1.1 ภาคปกติ
572.50
626
632.93
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
7.1.2 ภาคพิเศษ 7.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 7.2.1 ภาคปกติ 7.2.2 ภาคพิเศษ
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................31
ขอมูล
2545 ผล
7.3 ระดับปริญญาโท
572.50
7.3.1 ภาคปกติ
–
7.3.2 ภาคพิเศษ
572.50
7.4 ระดับปริญญาเอก 7.4.1 ภาคปกติ 7.4.2 ภาคพิเศษ 8. จํานวนบุคลากรสายสนับสนุน
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548 แผน
ผล
แผน
626 –
–
–
626
2549
ผล
แผน
ผล
แผน
632.93
–
702.23
648
–
–
–
–
632.93
–
702.23
648
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก 48
35
36
41
39
41
- จํานวนบุคลากรสาย สนับสนุนทั้งหมด
48
35
36
41
39
41
- จํานวนบุคลากรสาย สนับสนุนที่ปฏิบัติงานจริง
48
35
36
37
37
39
0
2
2
2
2
2
0
2
2
2
2
2
0
2
2
1
1
2
44
125
154
150
133
175
9. จํานวนนักวิจัย - จํานวนนักวิจัยทั้งหมด - จํานวนนักวิจัยที่ ปฏิบัติงานจริง 10. จํานวนบัณฑิตที่สําเร็จ การศึกษาทั้งหมด 10.1 ระดับปริญญาตรี
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
10.1.1 ภาคปกติ 10.1.2 ภาคพิเศษ 10.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 10.2.1 ภาคปกติ 10.2.2 ภาคพิเศษ 10.3 ระดับปริญญาโท
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
44
10.3.1 ภาคปกติ
0
10.3.2 ภาคพิเศษ
44
10.4 ระดับปริญญาเอก 10.4.1 ภาคปกติ 10.4.2 ภาคพิเศษ 11. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ ไดงานทําและการประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1ปนับจากวันที่สําเร็จการศึกษา
125 0
0 125
0
154
150
133
175
0
0
0
0
154
150
133
175
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................32
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548
2545
ขอมูล ผล
แผน
ผล
12. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ไดทํางานตรงสาขาที่สําเร็จ การศึกษา 13. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไป ตามเกณฑ ก.พ. 14. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญา ตรีที่ศึกษาตอภายใน 1 ป นับจาก วันที่สําเร็จการศึกษา 14.1 ศึกษาตอในประเทศ
แผน
ผล
2549 แผน
ผล
แผน
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
14.2 ศึกษาตอตางประเทศ 15. คาเฉลีย่ ความพึงพอใจของ นายจาง ผูประกอบการและผูใช บัณฑิต 16. จํานวนนักศึกษาหรือศิษยเกา ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยก ยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัล ทางวิชาการหรือดานอื่นที่ เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตใน ระดับชาติ/นานาชาติในรอบ 3 ป ที่ผานมา 17. จํานวนวิทยานิพนธและงาน วิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัล ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา 18. จํานวนวิทยานิพนธทั้งหมด 18.1 วิทยานิพนธระดับปริญญาโท
N/A
3.18
4.07
4.00
4.16
4.00
N/A
N/A
N/A
N/A
1
1
0
0
0
0
1
1
4
7
1
0
1
2
4
7
1
0
1
2
18.2 วิทยานิพนธระดับปริญญาเอก
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
19. จํานวนบทความจาก วิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพร
0
0
0
0
0
2
19.1 บทความจาก วิทยานิพนธระดับปริญญาโทที่ ตีพิมพเผยแพร
0
0
0
0
0
0
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................33
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล
2545 ผล
19.2 บทความจาก วิทยานิพนธระดับปริญญาเอกที่ ตีพิมพเผยแพร 20. จํานวนผูสมัครเขาศึกษาตอ
2547 แผน
ผล
2548 แผน
ผล
2549 แผน
ผล
แผน
420
514
516
420
514
516
210
287
287
210
287
287
210
265
287
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก N/A
513
435
20.1 ระดับปริญญาตรี - ผานสกอ. (Admission)
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
- ผานการสอบ คัดเลือกของหนวยงาน (สอบ คัดเลือกตรง) 20.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 20.3 ระดับปริญญาโท
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A
513
20.4 ระดับปริญญาเอก 21. จํานวนผูสมัครมีสิทธิเขา ศึกษา 21.1 ระดับปริญญาตรี
435 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
N/A
219
211
- ผานสกอ. (Admission)
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
- ผานการสอบ คัดเลือกของหนวยงาน (สอบ คัดเลือกตรง) 21.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 21.3 ระดับปริญญาโท
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A
219
21.4 ระดับปริญญาเอก 22. จํานวนนักศึกษาที่ขึ้นทะเบียน เปนนักศึกษา
211 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
N/A
219
211
22.1 ระดับปริญญาตรี - ผานสกอ. (Admission) - ผานการสอบ คัดเลือกของหนวยงาน (สอบ คัดเลือกตรง)
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................34
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล
2545 ผล
แผน
ผล
22.2ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 22.3 ระดับปริญญาโท
แผน
ผล
2549 แผน
ผล
แผน
210
265
287
210
265
287
210
265
287
2.50
2.74
2.70
2.50
2.74
2.70
10
9
12
10
9
12
150
133
175
133
175
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A
219
22.4 ระดับปริญญาเอก 23. จํานวนนักศึกษาใหม
2548
2547
211 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
N/A
219
211
23.1 ระดับปริญญาตรี
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
23.2ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 23.3 ระดับปริญญาโท
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A
219
23.4 ระดับปริญญาเอก 24. คาเฉลี่ยสะสม (GPA) ของ นักศึกษา (GPA จากสถานศึกษาเดิม)
211 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
N/A
2.73
2.65
24.1 ระดับปริญญาตรี
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
24.2ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 24.3 ระดับปริญญาโท
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A
2.73
24.4 ระดับปริญญาเอก
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
25. จํานวนนักศึกษที่ไดรับยกเวน (Exempted) ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (สษ.172) 26. จํานวนนักศึกษาที่ไดรับการ จัดระดับ (PT) สษ.172 ขึ้นไป 27. จํานวนนักศึกษาที่สอบผาน TU-GET ไมต่ํากวา 550 คะแนน
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี N/A
18
27.1ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 27.2 ระดับปริญญาโท
28.4 ระดับปริญญาเอก
12
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A
18
27.3 ระดับปริญญาเอก 28. จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จ การศึกษาตามระยะเวลาที่ หลักสูตรกําหนด 28.1 ระดับปริญญาตรี 28.2ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 28.3 ระดับปริญญาโท
2.65
12 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
N/A
125
148
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A
125
148 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
150
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................35
ขอมูล
2545 ผล
29. จํานวนนักศึกษาที่ขึ้นทะเบียน เปนนักศึกษาใหมรุนเดียวกับ นักศึกษาในขอ 28 29.1 ระดับปริญญาตรี
N/A
แผน
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548 ผล แผน ผล แผน
ผล
แผน
219
192
263
210
192
263
1
5
2
ไมมีหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต N/A
219
29.4 ระดับปริญญาเอก 30. จํานวนงานวิจัย และงาน สรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร และ/ หรือนําไปใชประโยชนทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ 31. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคของสถาบัน
210
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
29.2 ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิต 29.3 ระดับปริญญาโท
211
2549
211 ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาเอก
0
0
0
0
52,000.00
0.00
11,000.00
261,600.00
0
0
259,245.00
240,000.00
3,647,800.00
600,000.00
0
0
2
2
3
4
34. จํานวนอาจารยประจําที่ไดรับ ทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค จากภายนอกสถาบัน (ไมนับซ้ํา)
0
0
2
2
3
2
35. จํานวนบทความวิจัยที่ไดรับ การอางอิง (citation) ใน refereed journal) หรือในฐานขอมูล ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ
0
0
0
0
0
2
0
0
0
0
0
0
0
0
2
2
7
2
0
0
0
0
0
0
32. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอก สถาบัน 33. จํานวนอาจารยประจําที่ไดรับ ทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค จากภายในสถาบัน (ไมนับซ้ํา)
36. จํานวนผลงานวิจัยและงาน สรางสรรคที่ไดรับการจด ทะเบียนทรัพยสินทางปญญา สิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรใน รอบ 5 ปที่ผานมา 37.จํานวนผลงานทางวิชาการ 37.1 หนังสือ/ตํารา
1
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................36
ขอมูล
2545 ผล
แผน
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548 ผล แผน ผล แผน
ผล
แผน
2549
37.2 ผลงานวิจัย
0
0
2
2
6
2
37.3 บทความทางวิชาการ 38. จํานวนกิจกรรม/โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพที่ ตอบสนองความตองการของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ และ นานาชาติ 39. จํานวนอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธ ภายนอกสถาบัน เปนกรรมการ วิชาการและกรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ (ไมนับซ้ํา) 40. คาใชจาย และมูลคาของ สถาบันในการบริการวิชาการและ วิชาชีพเพื่อสังคม (นับเฉพาะ โครงการที่ไมเก็บเงินใดๆจาก ผูรับบริการ) 41. จํานวนกิจกรรมในการ อนุรักษ พัฒนา และสรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม
0
0
0
0
1
2
4
13
25
26
24
15
0
0
1
1
3
2
N/A
N/A
2
3
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
43,586,311.80
N/A
–
N/A
43,586,311.80
42. คาใชจาย และมูลคาที่ใชใน การอนุรักษ พัฒนา และสราง เสริมเอกลักษณ ศิลปะและ วัฒนธรรม 43. สินทรัพยถาวรสุทธิ 43.1 สินทรัพยถาวร 43.2 คาเสือ่ มราคาสะสม 44. คาใชจายทั้งหมด 44.1 จากงบประมาณ แผนดิน 44.2 จากงบประมาณ จากรายไดพิเศษ/รายไดหนวยงาน
95,200.00 4,910,000.00
4
616,600.00
7,274,219.29 26,468,726.83 19,194,507.54 27,466,577.03 – 27,466,577.03
5,420,700.00
2
6
570,000.00
1,222,070.00
7,200,000 – –
3,967,778.95 27,522,447.83 23,554,668.88
230,000.00
5
500,000.00
12,500,000.00 37,500,000.00 25,000,000.00
47,200,000 45,986,212.99 67,800,000.00 –
8,208,066.93
–
– 45,986,212.99 67,800,000.00
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................37
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ขอมูล ผล 45. งบดําเนินการทั้งหมด
แผน
35,429,389.30
45.1 จากงบประมาณแผนดิน – 45.2 จากงบประมาณ 35,429,389.30 จากรายไดพิเศษ/รายไดหนวยงาน 46. เงินเหลือจายสุทธิ
2547
2545 ผล
2548 แผน
ผล
2549 แผน
ผล
N/A
66,150,040.00
–
–
–
N/A
66,150,040.00
66,000,000
แผน
66,000,000 41,598,025.07 67,800,000.00 –
–
41,598,025.07 67,800,000.00
23,172,971.10
10,161,645.4
–
–
46.2 จากงบประมาณ 23,172,971.10 จากรายไดพิเศษ/รายไดหนวยงาน
10,161,645.4
28,623,990.61 11,297,000.0 34,897,248.18
47. เงินรายรับทั้งหมด
27,248,647.60
53,747,957.2
60,097,671.55 58,544,000.0 56,330,093.50 54,000,000.00
47.1จากงบประมาณแผนดิน – 47.2 จากงบประมาณ 27,248,647.60 จากรายไดพิเศษ/รายไดหนวยงาน
–
46.1 จากงบประมาณแผนดิน
48. จํานวนอาจารยที่เขารวม ประชุมวิชาการ หรือนําเสนอ ผลงานทางวิชาการทั้งในประเทศ และตางประเทศ 48.1 ในประเทศ 48.2 ตางประเทศ 49. งบประมาณสําหรับการ พัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศ และตางประเทศ 49.1 ในประเทศ 49.2 ตางประเทศ 50. จํานวนบุคลากรประจําสาย สนับสนุนที่ไดรับการพัฒนา ความรู และทักษะในวิชาชีพ ทั้ง ในประเทศและตางประเทศ 50.1 ในประเทศ 50.2 ตางประเทศ 51. เงินเดือนบุคลากรสายวิชาการ (สาย ก) 52. เงินเดือนบุคลากรสาย สนับสนุน (สาย ข. และสาย ค.)
53,747,957.2
28,623,990.61 11,297,000.0 34,897,248.18 –
–
–
–
–
–
6,766,000.00 – 6,766,000.00
–
60,097,671.55 58,544,000.0 56,330,093.50 54,000,000.00
N/A
N/A
3
2
3
5
N/A N/A
N/A N/A
1 2
2 0
3 0
4 1
N/A
N/A
74,200
70,000
170,122.67
100,000.00
N/A N/A
N/A N/A
4,200 70,000
– –
25,287 144,836
– –
48
35
36
41
37
40
48 0
35 0
36 0
41 0
37 0
40 40
N/A
N/A
303,035
300,000
2,866,247.00
2,542,600.00
N/A
N/A
8,484,457.50
8,400,000
7,304,784.96
7,286,500.00
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................38
ขอมูล 2545 ผล 53. คาเฉลี่ยความพึงพอใจของ นักศึกษาที่มีตอคุณภาพการสอนของ อาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู 54. จํานวนของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีที่เขารวมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษา 55. คาใชจายทั้งหมดที่ใชใน ระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศ 56. จํานวน Section ที่เปดสอน
N/A
แผน
วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา 2547 2548 ผล แผน ผล แผน
ผล
แผน
4.11
4.16
4.00
4.09
4.00
2549
ไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
N/A
N/A
7,311,968.83
62
62
62
7,300,000 15,588,700.71 62
84
4,188,000.00 62
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................39
แบบฟอรม SAR 1 รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้
น้ําหนัก (รอยละ)
อิง มาตรฐาน
คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย
รวม
คะแนน สุทธิ
มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 1.1 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงาน ทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป
-
1.2 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงาน ทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา 1.3 รอยละของบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตน เปนไปตามเกณฑ 1.4 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต 1.5 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาที่ไดรับการ ประกาศเกียรติคุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทาง วิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพ บัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ใน รอบ 3 ปที่ผานมา 1.6 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของ นักศึกษาที่ไดรับรางวัลในระดับชาติหรือ ระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปที่ผานมา 1.7 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธ ปริญญาโทที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวน วิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด 1.8 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธ ปริญญาเอกที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวน วิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด
-
1.9 อัตราการแขงขันสอบเขา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1.10 คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบ เขามธ.ได 1.11 รอยละของนักศึกษาที่ไดรับการจัดระดับวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ตั้งแตสษ.172 ขึ้นไป 1.12 รอยละของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ สอบผาน TU-GET (ไมต่ํากวา 550 คะแนน) 1.13 ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตร กําหนด รวมมาตรฐานที่ 1 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 1
ไมมีบัณฑิต ป.ตรี ไมมีบัณฑิต ป.ตรี
-
ไมมีบัณฑิต ป.ตรี
-
ไมมีบัณฑิต ป.ตรี
13.13
2
1
1
4
1.50
13.12
0
0
0
0
0.00
8.75
0
0
0
0
0.00
-
ไมมีบัณฑิต ป.เอก
-
-
2
0
1
3
-
-
3
1
1
5
-
-
-
ไมมีบัณฑิต ป.ตรี
-
0
0
0
0
-
-
1
0
1
2
-
35
1.50 2.00
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................40
ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้
น้ําหนัก (รอยละ)
อิง มาตรฐาน
คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย
รวม
คะแนน สุทธิ
มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 2.1 รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ ตีพิมพเผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชน ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตอ จํานวนอาจารยประจํา 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรควิจัย จากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา
4.00
3
1
1
5
0.67
4.00
1
1
0
2
0.27
2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรควิจัย จากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา
4.00
3
1
1
5
0.67
2.4 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา 2.5 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา 2.6 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือใน ฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติตอ อาจารยประจํา 2.7 จํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับ การจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุ สิทธิบัตรในรอบ 5 ปที่ผานมา 2.8 ผลงานทางวิชาการตออาจารยประจํา
4.00
1
0
0
1
0.13
4.00
2
0
1
3
0.40
10.00
0
0
0
0
0.00
รวมมาตรฐานที่ 2 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 2
-
ผลงานมีแตในลักษณะของลิขสิทธิ์ ไมใชสิทธิบัตร 0
1
1
2
30
2.13
2.57
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................41
ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้
น้ําหนัก (รอยละ)
อิง มาตรฐาน
คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย
รวม
คะแนน สุทธิ
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 3.1 รอยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ และวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการ พัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ ตออาจารย ประจํา 3.2 รอยละของอาจารยทเี่ ปนที่ปรึกษา เปนกรรมการ วิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการ วิชาการ และกรรมการวิชาชีพในระดับชาติและ นานาชาติ ตออาจารยประจํา 3.3 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการ วิชาการและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย 3.4 คาใชจายและมูลคาของสถาบันในการบริการ และวิชาชีพเพือ่ สังคมตออาจารยประจํา รวมมาตรฐานที่ 3 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 3
6.25
3
1
1
5
1.25
6.25
3
1
1
5
1.25
6.25
3
1
1
5
1.25
6.25
3
1
1
5
1.25
25.00 5.00
มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 4.1 รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษพัฒนาและสราง เสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวน นักศึกษาปริญญาตรีภาคปกติเต็มเวลาเทียบเทา 4.2 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ 10.00 พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม ตองบดําเนินการ รวมมาตรฐานที่ 4 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 4
5.00
ไมประเมิน
3
1
-
1
5
10.00
5.00
5.00 5.00
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................42
ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้
น้ําหนัก (รอยละ)
อิง มาตรฐาน
คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย
รวม
คะแนน สุทธิ
มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 5.1 ระดับคุณภาพของสภามหาวิทยาลัย/ กรรมการบริหารสถาบัน 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูโดย อาศัยผลการประเมินจากภายในและ ภายนอก 5.3 มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตรชาติ 5.4 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบัน รวมกัน 5.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย 5.6 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา 5.7 คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษาเต็ม เวลาเทียบเทา 5.8 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตอ งบดําเนินการ 5.9 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุม วิชาการ และ/หรือนําเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและตางประเทศ 5.10 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้ง ในและตางประเทศตออาจารยประจํา 5.11 รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ ไดรับการพัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและตางประเทศ 5.12 สัดสวนเงินเดือนบุคลากรสายกตอเงินเดือนบุคลากร สายสนับสนุน 5.13 สัดสวนของบุคลากรสาย ก ตอจํานวน บุคลากรสายสนับสนุน รวมมาตรฐานที่ 5 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 5
1.81
3
1
1
5
0.45
1.81
3
1
0
4
0.36
1.82
3
1
1
5
0.46
1.82
3
1
1
5
0.46
1.82
3
1
0
4
0.36
1.82
3
1
1
5
0.46
1.82
1
0
0
1
0.09
1.82
2
0
0
2
0.18
1.82
1
0
0
1
0.09
1.82
3
1
1
5
0.46
1.82
3
1
1
5
0.46
-
0
1
1
2
-
-
0
1
1
2
-
20.00
3.82 3.54
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................43
ชื่อมาตรฐานและตัวบงชี้
น้ําหนัก (รอยละ)
อิง มาตรฐาน
คะแนนที่ได อิง บรรลุ พัฒนาการ เปาหมาย
รวม
คะแนน สุทธิ
มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 6.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอ หลักสูตรทั้งหมด 6.2 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารย ประจํา 6.3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญา เอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา 6.4 รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนง วิชาการ 6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ คณาจารย (Professional Ethics) 6.6 กระบวนการการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ โดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติ และประสบการณจริง 6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอ คุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู 6.8 รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม / โครงการพัฒนานักศึกษาตอนักศึกษา ปริญญาตรีทั้งหมด 6.9 คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอ นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา 6.10 จํานวน(Section)ตออาจารยประจํา รวมมาตรฐานที่ 6 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 6
2.50
3
1
1
5
0.63
2.50
1
1
0
2
0.25
2.50
2
1
1
4
0.50
2.50
1
1
1
3
0.38
2.50
3
1
0
4
0.50
2.50
3
1
1
5
0.63
2.50
3
1
1
5
0.63
ไมมีบัณฑิต ป.ตรี
2.50
3
1
1
5
0.63
-
1
1
0
2
-
20.00
4.13 3.89
มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานระบบประกันคุณภาพ 7.1 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพ ภายในที่กอใหเกิดการพัฒนา คุณภาพ การศึกษาอยางตอเนื่อง 7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน รวมมาตรฐานที่ 7 สมศ. รวมมาตรฐานที่ 7
คาเฉลี่ยรวมมาตรฐานที่ 1-7 สมศ. คาเฉลี่ยรวมมาตรฐานที่ 1-7
10.00
3
1
1
5
2.50
10.00
3
1
1
5
2.50
20.00
5.00 5.00
160.00
3.44 3.86
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................44
มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 1.5 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตใน ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ภายใน 3 ปที่ผานมา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
2 1 1 4 0 0 1 1 >2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ตั ว บ ง ชี้ ที่ แ สดงถึ ง คุ ณ ภาพของบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย นวั ต กรรม รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข : อุดมศึกษาไดแกการที่นักศึกษาหรือศิษยเกาไดรับการประกาศเกียรติ แบบฟอรม ข 3 คุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทาง วิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือ ระดับนานาชาติ ในระหวางปการศึกษา 2547-2549 มีนักศึกษาหรือศิษย เกาของวิทยาลัยฯ จํานวน 1 คน ที่ไดรับประกาศเกียรติคุณยกยองใน ดานวิชาการ ไดแกรางวัล Best Paper Awards ทั้งนี้วิทยาลัยฯ กําลัง ดําเนินการจัดทําระบบในการติดตามขอมูลของบัณฑิตที่จบการศึกษา เพื่อเปนขอมูลในปการศึกษาหนา 13.13
1
ตัวบงชี้ที่ 1.6 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
0 0 0 1-5 6-8 >9 ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 มีนักศึกษาเลือกทําวิทยานิพนธ (แผน ก) เพียง 1 คน นักศึกษาสวนใหญเลือกทํางานวิจัยคนควาอิสระ (แผน ข) ทั้งนี้ สาเหตุหนึ่งคือการที่นักศึกษาสามารถนํางานวิจัยคนควาอิสระไป ประยุกตจริงในการทํางานประจําได และเนื่องจากอาจารยของวิทยาลัยฯ สวนใหญเปนอาจารยพิเศษ ทําใหนักศึกษาเลือกทํางานวิจัยแผน ก นอย งานวิจัยที่เกิดขึ้นจึงมีนอยตามมาดวย ดังนั้นทําใหโอกาสที่งานวิจัยของ นักศึกษาจะไดรับรางวัลในระดับชาติและระดับนานาชาติจึงมีจํานวนนอย ตามไปดวย 13.12
1
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 0
0
0 เอกสารอางอิง (ไมมี)
รวม คะแนน 0
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................45
ตัวบงชี้ที่ 1.7 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธ ปริญญาโททั้งหมด เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
8.75
100
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
0
ผลการประเมิน
2548
2549
1
2
3
0
0
1-39
4059
>60
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 0
0
0
รวม คะแนน 0
เอกสารอางอิง (ไมมี)
ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ตั้งเปาหมายวาจะตีพิมพบทความ จากวิทยานิพนธปริญญาโทเปนอัตราสวน 100 % เนื่องจากวิทยาลัยฯ พิจารณาวาวิทยานิพนธของนักศึกษาไดมาตรฐาน แตเนื่องจากงาน วิทยานิพนธ 1 รายการดังกลาวนั้นยังอิงเกณฑมาตรฐานเดิมของ สกอ. จึงทําใหผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2549 เปนศูนย
ตัวบงชี้ 1.9 อัตราการแขงขันสอบเขามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (บัณฑิตศึกษา) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก -
เปาหมาย (แผน) 1.79
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
n/a
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
1.80 1.90 2.00 2.06 1.98 – – – 1.89 1.99 2.19
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 2
1
0
รวม คะแนน 3
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน มีผูสนใจเขาสมัครเรียนในปการศึกษา 2549 ของวิทยาลัยฯ ทั้งสิ้น รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข : จํานวน 514 คน และมีจํานวนผูมีสิทธิเขาศึกษาตอทั้งสิ้น 259 คน คิด แบบฟอรม ข 8 เปนสัดสวนอัตราการแขงขันเทากับ 1:1.98 ถือวาเปนอัตราสวนที่สูง กวาคาเปาหมายที่วิทยาลัยตั้งไวที่ 1.79 ทั้งนี้ สาเหตุที่วิทยาลัยฯ ตั้งเปาหมายไวต่ํากวาปการศึกษา 2548 เนื่องจากวิทยาลัยฯ ตระหนัก ถึงขอจํากัดของนักศึกษาที่สมัครเขาเรียนในโครงการพิเศษที่สวนใหญ เปนบุคคลทํางานมาเปนระยะเวลาหนึ่ง ทําใหความเขมแข็งทางดาน วิ ช าการอาจลดลงเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ประสบการณ ก ารทํ า งานที่ มี มากขึ้น ดังนั้น วิทยาลัยฯ เห็นวาเกณฑการรับเขาควรเอื้อประโยชน ใหกับกลุมผูสมัครที่เปนคนทํางานโดยเนนที่ประสบการณการทํางาน และความคาดหวังของนักศึกษาที่จะนําความรูใหมที่ไดไปใชประโยชน ในการทํางานตอไป
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................46
ตัวบงชี้ 1.10 คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบเขามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรได (ปริญญาตรี/ บัณฑิตศึกษา) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
-
2.70
n/a
2.65
2.74
1
ผลการประเมิน 2
3
2.61- 2.66- ≥ 2.65 2.70 2.71
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3
1
1
รวม คะแนน 5
ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง ค า ระดั บ เฉลี่ ย สะสมของนั ก ศึ ก ษาที่ ส อบเข า วิ ท ยาลั ย ฯ ในป รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ก : การศึกษา 2549 พบวา มีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 2.74 ซึ่งสูงกวาคา แบบฟอรม ก 5 เปาหมายที่ตั้งไวคือ 2.70 ทั้งนี้ เนื่องจากวิทยาลัยฯ ไมไดกําหนดเกณฑ ระดับคาเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบเขาไดแตใชเกณฑประสบการณ การทํางานของผูสมัครเรียนเปนหลักในการพิจารณารับเขาศึกษา
ตัวบงชี้ที่ 1.12 รอยละของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สอบผาน TU-GET (ไมต่ํากวา 550 คะแนน) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
-
4.56
n/a
3.81
3.40
5.415.50
ผลการประเมิน 2
3
5.51- ≥ 5.60 5.61
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 0
0
0
รวม คะแนน 0
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน นัก ศึ ก ษาที่สอบเข าของวิท ยาลัยฯ มี ค วามสามารถในการใช รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข : ภาษาอังกฤษที่ต่ํากวาเกณฑ ในปการศึกษา 2549 พบวา จํานวน แบบฟอรม ข 9 นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สอบผาน TU-GET (ไมต่ํากวา 550 คะแนน) มีจํานวน 9 คน ตอจํานวนนักศึกษาเขาใหมระดับ บัณฑิตศึกษาทั้งหมด 265 คน คิดเปนรอยละ 3.39 เนื่องจากอัตราการ แขงขันสอบเขามีจํานวนลดลง แตทั้งนี้วิทยาลัยฯ ไดมีการพัฒนาความรู ภาษาอั ง กฤษให กั บ นั ก ศึ ก ษาในรายวิ ช าปรั บ พื้ น ฐาน เพื่ อ พั ฒ นาให นักศึกษามีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษใหสูงขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................47
ตัวบงชี้ที่ 1.13 ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด (ปริญญาตรี/บัณฑิตศึกษา) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
-
66.53
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
n/a 80.87 69.27 60-69 70-79 ≥ 80 1 1 0 2 ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง ในป ก ารศึ ก ษา 2549 วิ ท ยาลั ย ฯ มี ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาตาม รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข : ระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด จํานวน 133 คน จากจํานวนรับเขา 192 คน แบบฟอรม ข 10 ซึ่งจําแนกออกเปนหลักสูตรการบริหารเทคโนโลยี จํานวน 121 คน และ หลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 69.27 ซึ่งสูงกวาคาเปาหมายที่ตั้งไว
มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค ตัวบงชี้ที่ 2.1 รอยละของงานวิจัย และงานสรางสรรคทตี่ ีพิมพ เผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชน ทั้งใน ระดับชาติและระดับนานาชาติ ตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
4.00
22
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
0 20 50 1-19 20-29 >30 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ตีพิมพเผยแพรและ/หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ แบบฟอรม ข11, ข 44, ข 42 ทั้งสิ้น 5 รายการ คิดเปนรอยละ 50 ตออาจารยประจํา โดยแบงเปนงานวิจัยที่ นําไปใชประโยชนดานการเรียนการสอนได 2 รายการ และเปนงานวิจัยที่นําไปใช ประโยชนในองคกรภาครัฐ 3 รายการ จากผลงานดังกลาว วิทยาลัย สามารถผลิตงานวิจัยไดมากกวา เปาหมายที่ไดตั้งไวจาก 2 รายการเปน 5 รายการ เนื่องจากวิทยาลัยฯ ไดมีการจัด จางอาจารยประจําเพิ่มขึ้นและยังไดสงเสริมใหอาจารยประจําผลิตงานวิจัยหรือ เขารวมในงานวิจัยของหนวยงานตางๆ อีกทั้งยังมีการสรางระเบียบวิทยาลัยฯ วา ดวยการขอทุนอุดหนุนการเขียนบทความทางวิชาการ ตํารา งานวิจัย พ.ศ. 2549 เพื่อเปนการกระตุนใหอาจารยประจําสรางผลงานวิจัยอีกทางหนึ่งดวย อยางไรก็ตามผลการดําเนินงานที่ผานมา พบวา ระดับคุณภาพของการ ตีพิมพยังมีโอกาสที่จะพัฒนาผลงานวิจัยไปยัง กลุมที่ 1 และ 2 ซึ่งคณะผูบริหาร วิทยาลัยฯ ไดกําหนดกรอบนโยบายการสนับสนุนกิจกรรมวิจัยไวทั้งในระยะสั้น และระยะยาว
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................48
ตัวบงชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัยตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
4.00
29,066
0
10,400
1,100
1
ผลการประเมิน 2
3
1- 20,000> 19,999 29,999 30,000
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 1
0
รวม คะแนน
1
2
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ ไดจัดสรรเงินสนับสนุนงานวิจัยตามแผนงานวิจัยที่ไดตั้ง รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ไว 2 รายการแตวิทยาลัยฯ ไดใชเงินเพื่องานวิจัยเพียง 1 รายการเปน แบบฟอรม ข12, ข44, ข42 จํานวนเงิน 11,000 บาท ตออาจารยประจํา สวนงานวิจัยอีก 1 รายการ นั้น ไมมีคาใชจายเนื่องจากวิทยาลัยฯ เล็งเห็นวางานวิจัยรายการดังกลาว สามารถใชทรัพยากรต างๆ ที่มี อยู แ ลวภายในองคก รเองเพื่ อเปน การ ประหยัดเงินสนับสนุนงานวิจัยและในขณะเดียวกันวิทยาลัยฯ เองไดตั้ง งบประมาณเพื่อสนับสนุนงานวิจัยภายในองคกรไวสวนหนึ่งแลว ดั้งนั้น เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคภายในสถาบันจึงยังคงเหลืออยู ทั้งนี้ วิทยาลัยฯ ตั้งเปาหมายวาเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค ภายในสถาบันจะยังคงไวเพื่อการพัฒนาหลักสูตรใหมๆ ของวิทยาลัยฯ ตอไป
ตัวบงชี้ที่ 2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
4.00
66,667
0
2548
2549
51,849
546,280
1
ผลการประเมิน 2
3
1- 35,000> 34,999 49,999 50,000
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3
1
รวม คะแนน
1
ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไดรับเงินสนับสนุนงานวิจัยจาก รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: หนวยงานภายนอกเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 3,647,800 บาท ตออาจารย แบบฟอรม ข13, ข44, ข42 ประจําและนักวิจัย 10 คน เฉลี่ยเทากับ 546,280 บาท ซึ่งสูงกวา คาเปาหมายที่ตั้งไว จะเห็นไดวานโยบายของวิทยาลัยฯ ที่จัดจางอาจารย ประจํามากขึ้นและในขณะเดียวกันวิทยาลัยสนับสนุนใหอาจารยประจําที่มี ศักยภาพสามารถสรางเครือขายงานวิจัยกับหนวยงานภายนอกไดเพื่อ ความคลองตัวในการทํางานวิจัยและการจัดสรรงบประมาณจึงทําใหจํานวน เงินวิจัยที่ไดรับการสนับสนุนจากภายนอกสูงกวาคาเปาหมายที่ตั้งไวเปน จํานวนมาก
5
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................49
ตัวบงชี้ที่ 2.4 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวน อาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
4.00
44
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
40 40 30 1-34 35-49 > 50 1 0 0 1 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 อาจารยประจําและนักวิจัยของวิทยาลัยฯ ที่ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ไดรับทุนทําวิจัยจากภายในสถาบันคิดเปนรอยละ 30 (หรือจํานวน 3 คน) แบบฟอรม ข12, ข44, ข42 ทั้งนี้ เนื่องจากอาจารยประจําวิทยาลัยฯ บางทานไดรับเงินสนับสนุนจาก หน ว ยงานภายนอกและบางท า นเปน กรรมการวิ ช าการหรื อ ที่ ป รึ ก ษา ใหกับหนวยงานภายนอกทําใหจํานวนรอยละของอาจารยที่ไดรับทุนจาก ภายในสถาบันต่ํากวาเกณฑที่ไดตั้งไว
ตัวบงชี้ที่ 2.5 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
4.00
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
22 60 60 30 1-24 25-39 > 40 2 1 0 3 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงานกลุมสาขาบริหารธุรกิจ ในปการศึกษา 2549 อาจารยประจําของวิทยาลัยฯ ที่ไดรับทุนทํา รายละเอี ย ด ปรากฏในภาคผนวก ข: วิจัยจากภายนอกคิดเปนรอยละ 30 (หรือจํานวน 3 คน) ทั้งนี้ อัตรารอย แบบฟอรม ข13, ข44, ข42 ละสูงกวาคาเปาหมายที่ตั้งไวเนื่องจากวิทยาลัยฯ มีจํานวนอาจารยประจํา เพิ่มขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................50
ตัวบงชี้ 2.6 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูล ระดับชาติหรือนานาชาติตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
10.00
22
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
1-14 15-19 > 20 0 0 0 ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิงมี ค า เป น ศู น ย เนื่ อ งจากวิ ท ยาลั ย ฯ รั บ อาจารย ป ระจํ า มากขึ้ น และเป น อาจารย ใ หม ที่ อ ยู ร ะหว า งการสร า งผลงานวิ จั ย ดั ง นั้ น งานวิ จั ย ของ อาจารย จึ ง ยั ง ไม เ ป น ที่ รู จั ก ในวงวิ ช าการ จึ ง ต อ งอาศั ย ระยะเวลาที่ บทความวิจัยของอาจารยประจําจะเปนที่ยอมรับและไดรับการอางอิงใน ระดั บ ชาติแ ละระดับ นานาชาติต อ ไป ทั้ งนี้ วิท ยาลัยฯ ตั้งเปา หมายวา งานวิ จั ย ของอาจารย ป ระจํ า วิ ท ยาลั ย ฯจะได รั บ การอ า งอิ ง ในวงกว า ง ภายในระยะเวลา 3 ป
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 0
0
0 เอกสารอางอิง (ไมมี)
รวม คะแนน 0
ตัวบงชี้ที่ 2.8 ผลงานทางวิชาการตออาจารยประจําทุกระดับ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
-
0.20
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
2 >3 0.00 0.40 0.70 1 0 1 1 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 มีอาจารยประจําและนักวิจัย จํานวน 10 คน มี รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: อาจารยที่ทําผลงานวิชาการทั้งหมด 7 เรื่อง อัตราสวนเฉลี่ยเทากับ 0.70 แบบฟอรม ข17, ข18, ข44, ข42 ซึ่งสูงกวาคาเปาหมายที่ตั้งไว คือ 0.20
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................51
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ ตัวบงชี้ที่ 3.1 รอยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพทีต่ อบสนองความตองการพัฒนา และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
6.25
60
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
100 833 266.67 1-19 20-29 > 30 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีจํ านวนกิจกรรม/โครงการ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: บริ ก ารทางวิ ช าการที่ ต อบสนองความต อ งการของสั ง คม ชุ ม ชน แบบฟอรม ข19 ประเทศชาติ และนานาชาติ จํานวน 24 โครงการ ตอจํานวนอาจารย 9 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 266.67 ทั้ ง นี้ ก ารจั ด โครงการบริ ก ารวิ ช าการและ วิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ สอดคลองกับพันธกิจและปรัชญาของวิทยาลัย และวิ ทยาลัยมีการตั้งฝ ายกิจกรรมสั มพัน ธและฝกอบรมเพื่อทํา หนา ที่ ดังกลาว นอกจากนี้ กิจกรรมบางโครงการยังอยูในรายวิชาสัมมนาของ หลักสูตรการบริหารเทคโนโลยีและหลักสูตรการบริหารวัฒนธรรม ซึ่งมี การจัดในรูปแบบของงานเสวนา/สัมมนาที่เปดใหบุคคลทั่วไปที่สนใจเขา รวมงานแบบใหเปลา
ตัวบงชี้ 3.2 รอยละของอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกมหาวิทยาลัย เปน กรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
6.25
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
22 20 33.33 33.33 1-14 15-24 > 25 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงานกลุมสาขาบริหารธุรกิจ ถึงแมวาจํานวนอาจารยประจําของวิทยาลัยฯ มีเพิ่มมากขึ้นจาก รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: เดิมจํานวน 3 คน ในปการศึกษา 2548 เปน 9 คนในปการศึกษา 2549 แบบฟอรม ข20, ข21 แตอัตราสวนรอยละของอาจารยที่เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกอยู ในปริมาณเทาเดิมคือ 3:9 คิดเปนรอยละ 33.33 ทําใหคารอยละที่ได เทากับคารอยละเทาเดิมซึ่งไมแตกตางจากปที่แลว
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................52
ตัวบงชี้ที่ 3.3 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการ เรียนการสอน และการวิจัย เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
6.25
4
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1 2 >3 0 3 3 3 1 1 5 ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง วิ ท ยาลั ย ฯ มี แ ผนการนํ า ความรู แ ละประสบการณ จ ากการ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: บริการวิชาการและวิชาชีพของอาจารยมาใชในการพัฒนาการเรียนการ แบบฟอรม ข 23 สอนและการวิจัยดังตัวอยาง เชน แผนการจัดสัมมนาใหบริการวิชาการ ของฝ า ยกิ จ กรรมสั ม พั น ธ แ ละฝ ก อบรมและแผนการจั ด สั ม มนาของ หลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม เชน การจัดเสวนาเรื่อง “นวัตกรรม การจัดการกับงานทางลิขสิทธิ”์
ตัวบงชี้ 3.4 คาใชจาย และมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
6.25
25,556
31,733
2548
2549
31,733 602,300
1
ผลการประเมิน 2
3
1- 5,000- > 4,999 7,499 7,500
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3
1
รวม คะแนน
1
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในป ก ารศึ ก ษา 2549 วิ ท ยาลั ย ฯ มี ค า ใช จ า ย/มู ล ค า ของ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: มหาวิทยาลัยในการใหบริการวิชาการตออาจารยประจํา ทั้งสิ้น 602,300 แบบฟอรม ข 19 บาท เมื่ อ เที ย บอั ต ราส ว นต อ อาจารย ป ระจํ า จํ า นวน 9 คน เหตุ ผ ลที่ ตัวบงชี้สูงกวาปการศึกษา 2548 คอนขางมากเนื่องจากวิทยาลัยฯ มี หนวยงานฝา ยกิจกรรมสัม พัน ธและฝกอบรม ซึ่งไดดําเนินการจัดการ อบรม สัมมนา และเสวนา เปนประจําสม่ําเสมอ และกิจกรรมสวนใหญ เป น กิ จ กรรมแบบให เ ปล า จึ ง ส ง ผลให ตั ว เลขค า ใช จ า ยในการบริ ก าร วิชาการและวิชาชีพจึงสูงตามมา
5
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................53
มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ที่ 4.2 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะ และวัฒนธรรมตองบดําเนินการ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
10.00
0.73
0.93
0.93
1.80
1
ผลการประเมิน 2
0.01- 0.500.49 0.99
3 > 1.00
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3
1
รวม คะแนน
1
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ทยาลั ยฯ มี จํ านวนค าใช จ ายและมู ลค า ที่ ใช ในการส งเสริ ม รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ทํ านุ บํ ารุ งศิ ล ปวั ฒ นธรรมจํ า นวน 1,222,070 บาท โดยคิ ด เป น ร อ ยละ แบบฟอรม ข 27 1.80 ตองบดําเนินการทั้งหมด (67,826,998.25 บาท) เมื่อพิจารณาการ จั ด สรรงบประมาณเพื่ อ กิ จ กรรมด า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมแล ว จะเห็ น ว า งบประมาณดานนี้ของวิทยาลัยนวัตกรรมคอนขางสูง ทั้งนี้เนื่องจากทาง วิทยาลัยฯ มีหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรมในระดับปริญญาโทซึ่ง เกี่ยวของกับการบริหารจัดการและทํานุงบํารุงศิลปวัฒนธรรมโดยตรง วิทยาลัยฯ จึงไดใหความสําคัญกับกิจกรรมและโครงการดานการสงเสริม ทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมค อ นข า งมาก รวมทั้ ง วิ ท ยาลั ย ฯ ยั ง มี ฝ า ย ฝก อบรมและกิ จ กรรมสั ม พัน ธ ที่ มี ห น า ที่ โ ดยตรงในการดํ า เนิ น การจั ด กิจกรรมตางๆ
5
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................54
มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ตัวบงชี้ที่ 5.1 ระดับคุณภาพของสภามหาวิทยาลัย/กรรมการบริหารสถาบัน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
1.81
6
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1-3 4 >5 0 4 7 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน จากววิสัยทัศนและพัน ธกิจ ของวิทยาลัยฯ ที่กํา หนดไว ไดนํ า ไป รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: จัดทําแผนเพื่อดําเนินการตามพันธกิจตามแผนที่กําหนดไว โดยมีการ แบบฟอรม ข 28 นําเสนอที่ประชุมคณะกรรมการวิทยาลัยฯ เพื่อขออนุมัติกอนดําเนินการ จากนั้นวิทยาลัยฯ ไดเผยแพรใหบุคลากรภายในวิทยาลัยฯ รับทราบทาง ระบบ Intranet ของวิทยาลัยฯ เมื่อดําเนินการตามแผนแลว มีการติดตาม ผลและรายงานผลการดําเนินการใหที่ประชุมคณะกรรมการวิทยาลัยฯ เพื่อปราบผลการดําเนินงาน
ตัวบงชี้ที่ 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู โดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
1.81
5
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1-2 3 >4 0 4 4 3 0 1 4 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ ได ดํ า เนิ น การจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นา ตลอดจนเผยแพร รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: องค ค วามรู ใ ห แ ก บุ ค ลากรในวิ ท ยาลั ย ฯ ทุ ก ระดั บ อย า งต อ เนื่ อ ง ซึ่ ง แบบฟอรม ข 29 สามารถนําไปประยุกตใชกับการทํางานได เชน สายอาจารย จั ด อบรมความรู ด า นการวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพ ด า นวิ จั ย ให แ ก ค ณาจารย ใ นวิ ท ยาลั ย อี ก ทั้ ง เป น การแลกเปลี่ ย น ประสบการณระหวางอาจารยของวิทยาลัยฯ และอาจารยจากหนวยงาน ภายนอก สายสนับสนุนการศึกษา กิจกรรมที่จัดไดแก แผนการจัดความรูของฝาย สนับสนุนการศึ กษา ทุกเชาวันศุกรของสัปดาห และจัดทําระบบ intranet เพื่อใหบุคลากรสามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................55
ตัวบงชี้ที่ 5.3 มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชือ่ มโยงกับยุทธศาสตรชาติ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
1.82
3
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1-2 3 >4 0 2 5 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีการกําหนดกลยุทธโดยใหสอดคลองกับยุทธศาสตร รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ของชาติ สอดคลองกับเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แบบฟอรม ข 30 (สกอ.) เกณฑ ข องสํ า นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษา (สมศ.) และคํ า รั บ รองการปฏิ บั ติ ร าชการที่ ผู บ ริ ห ารของ วิ ท ยาลั ย ฯลงนามไว กั บ ผู บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย และสํ า นั ก งาน คณะกรรมการพั ฒ นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) โดยมี ค ณะกรรมการ วิเคราะหความสอดคลองของแผนดังกลาว
ตัวบงชี้ที่ 5.4 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
1.82
4
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1-2 3 >4 0 4 4 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ มี ก ารใช ท รั พ ยากรร ว มกั บ หน ว ยงานอื่ น ๆ ภายใน รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรคอนขางมาก ทั้งดานวิชาการ ที่ไดรับความ แบบฟอรม ข 31 รวมมือจากคณาจารยจากคณะตางๆ เชน คณะวิศวกรรมศาสตร คณะ พาณิชยศาสตรและการบัญชี คณะเศรษฐศาสตร คณะศิลปศาสตร และคณะวารสารศาสตร เปนตน ทั้งดานการรวมกันพัฒนาหลักสูตร และ รวมเปนอาจารยพิเศษใหกับวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังมีการใช ทรัพยากรอื่นๆ เชน หองเรียน เนื่องจากวิทยาลัยฯ ทําการเรียนการสอน นอกเวลาราชการ ในเวลาราชการไดมีการอนุญาตใหหนวยงานอื่นๆ ใช หองเรียนของวิทยาลัยเพื่อจัดการเรียนการสอน เชน การจัดการเรียนการ สอนโครงการไทยศึกษา งานวิเทศนสัมพันธ มธ. เปนตน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................56
ตัวบงชี้ที่ 5.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
1.82
4
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1 2 >3 0 3 5 3 0 1 4 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีการพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการเรียนการบริหาร รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: และการสนับสนุนการเรียนการสอน รวมถึงการวิจัยมาโดยตลอด โดยใน แบบฟอรม ข 32 ปการศึกษา 2549 วิ ทยาลัยฯ ไดมีการพัฒนาใหนั ก ศึกษาสามารถยื่น คํารองเพื่อใหวิทยาลัยฯ ดําเนินการในเรื่องตางๆ ตามที่ไดกําหนดไวผาน ระบบ Online และไดมีการสรางฐานขอมูลงานวิจัยของวิทยาลัยฯ ไดแก งานวิ ท ยานิ พ นธ งานค น คว า อิ ส ระ และงานโครงการทางวั ฒ นธรรม เพื่อใหนักศึกษาและบุคคลที่ไดรับอนุญาตไดมีโอกาสเขาถึงขอมูลผาน ระบบ Online ไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังไดมีความพยายามในการดําเนินการพัฒนาระบบฐานขอมูลใหสามารถ รายงานผลอัตโนมัติสําหรับการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาให ไดมากที่สุดดวย (ขณะนี้อยูระหวางการดําเนินงาน)
ตัวบงชี้ที่ 5.6 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1.82
57,870
378,845
378,840
180,126
1
ผลการประเมิน 2
3
1- 65,000> 64,999 99,999 100,000
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3
1
รวม คะแนน
1
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ป ก ารศึ ก ษา 2549 วิ ท ยาลั ย ฯ มี มู ล ค า สิ น ทรั พ ย ถ าวร ทั้ ง สิ้ น รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: 126,489,623.41 บาท เมื่อเทียบอัตราสวนตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา แบบฟอรม ข 33 เทียบเทา 702.23 มีคาเทากับ 180,125.63 บาท สินทรัพยถาวรที่สําคัญ สํ า หรั บ สถาบั น การศึ ก ษา ได แ ก ที่ ดิ น อาคาร และสิ่ ง ปลู ก สร า ง ซึ่ ง วิ ท ยาลั ย ฯ ใช ร ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร อย า งไรก็ ต าม ในป การศึกษา 2550 วิทยาลัยฯ ไดมีการลงทุนปรับปรุงอาคารสถานที่ ไดแก สํานักงาน หองเรียน และอุปกรณ IT อีกกวา 10 ลานบาท เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียนการสอน และการบริหารจัดการ * สาเหตุที่ตัวเลขป 2549 ต่ํากวา 2548 คอนขางมากเนื่องจากมีการปรับ วิธีการคํานวณจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา โดยมีการถวงน้ําหนัก สําหรับระดับปริญญาโทเพิ่มขึ้น
5
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................57
ตัวบงชี้ที่ 5.7 คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
1.82
เปาหมาย (แผน)
104,630
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545 139,926
2548
139,924
2549
77,175
1
ผลการประเมิน 2
3
±5– ± ± 10% 9.99% 4.99% ของ ของ ของ เกณฑ เกณฑ เกณฑ
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 1
0
รวม คะแนน
0
1
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีสัดสวนคาใชจายทั้งหมด เปนจํานวนเงิน รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: 54,194,279.92 บาท เมื่อเทียบอัตราสวนตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลามีคา แบบฟอรม ข 34 เทากับ 77,174.54 บาท พบวาลดลงเมื่อเทียบกับปการศึกษาที่ผานมา ทังนี้ เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีการกําหนดวิธีการตรวจสอบการใชจายดานการเงินอยาง คอนขางเข็มงวดมากยิ่งขึ้น ทําใหสามารถลดคาใชจายที่ไมจําเปนบางประการ ลงได นอกจากนี้ วิ ทยาลั ยฯ ยั งรั บนักศึกษาไดมากขึ้ นในชวงป การศึ กษา 2548-2549 โดยเฉพาะนักศึ กษาหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม ทํ าให จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาของวิทยาลัยฯ ในปการศึกษา 2549 มีคา สูงขึ้นกวาปกอน * สาเหตุที่ตัวเลขป 2549 ต่ํากวา 2548 คอนขางมากเนื่องจากมีการปรับ วิธีการคํานวณจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา โดยมีการถวงน้ําหนัก สําหรับระดับปริญญาโทเพิ่มขึ้น
ตัวบงชี้ที่ 5.8 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
1.82
9.00
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
78.55 41.52 38.67 1-4% 5-9% 10-15% 2 0 0 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีงบดําเนินการทั้งหมด 67,826,998.25 บาท รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: และเงินเหลือจายสุทธิรวมทั้งหมด 26,228,973.28 บาท คิดเปนรอยละ 38.67 แบบฟอรม ข 35 ของงบดําเนินการ เงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการลดลงเปนอยางมากเมื่อ เทียบกับปการศึกษาที่ผานมา ทั้งนี้ เนื่องจากวิทยาลัยไดมีการวางแผนและ พั ฒนากระบวนการจั ดทํ างบประมาณประจํ าป ได มี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังมีการลงทุนดานการพัฒนาอาจารย การสนับสนุน งานวิ จั ยต างๆ และมีการใชจายดานการบริ การสังคม เชน การจัดสั มมนา วิชาการโดยไมคิดมูลคาเพิ่มมากขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................58
ตัวบงชี้ที่ 5.9 รอยละของ อาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานวิชาการทั้งใน ประเทศและตางประเทศ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
1.82
60
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
100 100 33.33 1-39 40-59 > 60 1 0 0 1 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: นํ าเสนอผลงานวิ ชาการทั้ งในประเทศและต างประเทศของวิ ทยาลั ยลดลง แบบฟอรม ข 36 เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีการรับอาจารยประจําเพิ่มขึ้น จากเดิม 3 คน ในป 2548 เปน 9 คน ในป 2549 ทําใหตัวหารซึ่งเปนจํานวนอาจารยประจํามีมากขึ้น จึง ส งผลให ตั วบ งชี้ ด านนี้ ลดลงดั งกล าว แต ทั้ งนี้ วิ ทยาลั ยจะรั บตั วบ งชี้ นี้ ไป ปรับปรุงแกไข ดวยการมีกลไกที่จะผลักดันใหอาจารยประจําของวิทยาลัยเขา รวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานวิชาการทั้งในและตางประเทศเพิ่มขึ้น ในปถัดไป
ตัวบงชี้ที่ 5.10 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศตออาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1.82
12,000
14,840
24,733
18,903
1
ผลการประเมิน 2
3
1- 10,000- > 9,999 14,999 15,000
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3
1
1
รวม คะแนน 5
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ มีงบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยลดลงกวา รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ป 2548 เนื่องจากมีจํานวนอาจารยประจําเพิ่มขึ้น ทําใหตัวหารในงบประมาณเพิ่มขึ้น แบบฟอรม ข 37 อยางไรก็ตามวิทยาลัยฯ ก็ยังความพยายามในการพัฒนาคณาจารยอยางตอเนื่อง ดวยการเปดโอกาสใหอาจารยไดเขารับการอบรมในหัวขอที่ตรงกับความเชี่ยวชาญ หรือความสนใจ เชน อาจารย ดร. ยอดมนี เทพานนท และ ดร. สุพัชรจิต จิตประไพ ได เขารวมอบรมเรื่อง “การจัดการทองเที่ยวชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบาน” การเขา รวมอบรมในหัวขอที่เกี่ยวของกับการพัฒนางานวิจัย เชน อาจารยเวฬุรีย เมธาวีวินิจ เขารวมการอบรมวิจัยเชิงคุณภาพในสังคมตางวัฒนธรรม จัดโดยสมาคมนักวิจัย ที่ จังหวัดหนองคายและประเทศลาว และการดูงานในองคกรที่เกี่ยวของกับหลักสูตร เชน อาจารยสุรีรัตน บุบผา อาจารยประจําหลักสูตรบริหารงานวัฒนธรรม ไดเขาดูงานใน พิพิธภัณฑและองคกรที่ดานศิลปวัฒนธรรม ที่ประเทศฝรั่งเศส เปนตน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................59
ตัวบงชี้ที่ 5.11 รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุน ที่ไดรับการพัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพทั้ง ในประเทศและตางประเทศ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
1.82
100
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
100 100 100 1-54 55-79 > 80 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดการพัฒนาความรู รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ รอยละ 100 ทั้ งนี้ แบบฟอรม ข 38 เพราะวิทยาลัยฯ ใหความสําคัญกับบุคลากรในทุกระดับ อาทิเชน งาน สัมมนาบุคลากรประจําปของวิทยาลัยฯ บุคลากรทุกคนในสายวิชาการ และสายสนับสนุนทุกคนมีสิทธิ์จะเขารวม ถือวาเปนการสรางใหเกิดความ สามัคคีในหมูคณะ นอกจากนี้ วิทยาลัยฯยังเปดโอกาสใหบุคลากรแตละ หนวยงานไดรับการฝกอบรม พัฒนาทักษะที่จําเปนตอหนวยงานนั้นๆ ทั้งโดยการเขารวมโครงการอบรมที่วิทยาลัยฯ ดขึ้นเอง หรือโครงการที่ องคกรหรือสถาบันอื่นจัดเปนตน
ตัวบงชี้ที่ 5.12 สัดสวนของเงินเดือนบุคลากรสาย ก ตอเงินเดือนบุคลากรสายสนับสนุน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
-
0.34
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
0 0.03 0.39 0.5 0.75 1.00 0 1 1 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ มี สั ด ส ว นของเงิ น เดื อ นบุ ค ลากรสาย ก ต อ เงิ น เดื อ น รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น ค อ นข า งต่ํ า เนื่ อ งมาจากวิ ท ยาลั ย ฯ เพิ่ ง เริ่ ม มี แบบฟอรม ข 41 นโยบายรับอาจารยประจําในป 2548 อยางไรก็ดี จะเห็นไดวาสัดสวนของ เงินเดือนบุคลากรสาย ก ตอเงินเดือนบุคลากรสายสนับสนุนไดเพิ่มขึ้นถึง รอยละ 36 (จากรอยละ 3 ในป 2548 เปน รอยละ 39 ในป 2549) หลังจากมีการรับอาจารยประจําเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จึงคาดวาตัวบงชี้นี้ จะเพิ่มขึ้นตามลําดับ สงผลใหวิทยาลัยฯ สามารถลดการพึ่งพาอาจารย พิเศษจากภายนอก และเพิ่มความเขมแข็งทางดานวิชาการมากขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................60
ตัวบงชี้ที่ 5.13 สัดสวนของจํานวนบุคลากรสาย ก ตอจํานวนบุคลากรสายสนับสนุน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
-
0.21
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
0 0.13 0.24 0.5 0.75 1.00 0 1 1 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีสัดสวนของจํานวนบุคลากรสาย ก ตอจํานวนบุคลากร รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: สายสนับ สนุนเพิ่ม ขึ้น ตามนโยบายรับ อาจารยป ระจําเพิ่ม ขึ้ น ดังที่ไ ด แบบฟอรม ข 42 กลาวมาแลวขางตน ซึ่งตัวบงชี้นี้ก็สอดคลองกับ ตัวบงชี้ 5.12 สัดสวน ของเงินเดือนบุคลากรสาย ก ตอเงินเดือนบุคลากรสายสนับสนุนที่เพิ่มขึ้น และตัวบงชี้ดานงานวิจัยและงานสรางสรรคที่เพิ่มขึ้นเชนกัน
มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ตัวบงชี้ที่ 6.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
2.50
100
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
0 0 100 1-79 80-99 100 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ดําเนินการเรียนการสอนทั้งสิ้น 3 รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: หลักสูตร ไดแก แบบฟอรม ข 43 1. หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห าร เทคโนโลยี (ทาพระจันทร) 2. หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห าร เทคโนโลยี (ศูนยพัทยา) 3. หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารงาน วัฒนธรรม ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรของ สกอ. พ.ศ. 2548
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................61
ตัวบงชี้ที่ 6.2 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
2.50
เปาหมาย (แผน)
72
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
143
2548
117
2549
78
1
ผลการประเมิน 2
3
±6– ± ± 10% 9.99% 5.99% ของ ของ ของ เกณฑ เกณฑ เกณฑ
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 1
0
รวม คะแนน
1
2
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน จากนโยบายในการบริหารจัดการวิทยาลัยฯ ในอดีต เนนการเรียน รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: การสอนที่เปน Professional approach จัดการเรียนการสอนโดยให แบบฟอรม ข 44, ข 45 สัดสวนของอาจารยพิเศษที่เปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ รวมถึงเชิญ อาจารยประจําที่มีความรูความสามารถจากหนวยงานจัดการศึกษาตางๆ ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนผูถายทอดความรูใหแกนักศึกษา โดยวิ ท ยาลั ย ฯ ทํ า หน า ที่ ค วบคุ ม คุ ณ ภาพการจั ด การเรี ย นการสอน ดังกลาวใหไดตรงตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย อยางไรก็ตาม ชวงเวลา 1-2 ป ที่ ผ า นมา วิ ท ยาลัย ฯ ได มี ก ารปรั บ ให มี อ าจารย ป ระจํ า วิ ท ยาลั ย เพิ่มมากขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการดําเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาของมหาวิทยาลัย ซึ่งจําเปนตองใชเวลาอีกระยะหนึ่ง เพื่อการ ปรับปรุงคาดัชดีดังกลาวใหสอดคลองกับเงื่อนไขที่ตองการ
ตัวบงชี้ที่ 6.3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
2.50
44.44
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
25.00 33.33 44.44 1-39 40-59 > 60 2 1 1 4 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2549 จากจํานวนอาจารยประจํา ทั้งหมด 9 คน มี รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: อาจารยที่สําเร็จวุฒิปริญญาเอกเทากับ 4 คน คิดเปนรอยละ 44.44 ตอ แบบฟอรม ข 44 จํานวนอาจารยประจํา เนื่องจากวิทยาลัยฯ เพิ่งจะเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบาย อาจารยประจํา ในชวง 1-2 ปการศึกษาที่ผานมาวิทยาลัยฯ รับอาจารย วุฒิปริญญาโทเขามาจํานวนหนึ่ง ซึ่งจะตองไดรับการพัฒนาตอไปในอนาคต อันใกล
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................62
ตัวบงชี้ที่ 6.4 รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
2.50
22.22
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
0 33.33 22.22 1-44 45-69 > 70 1 1 1 3 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีจํานวนอาจารยประจําทั้งหมด 9 คน ในปการศึกษา รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: 2549 มีอาจารยประจําไดรับตําแหนงทางวิชาการรวม 22.22% ซึ่งเทากับ แบบฟอรม ข 44 เป า หมายที่ ตั้ ง ไว ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากวิ ท ยาลั ย ฯ เพิ่ ง จะเริ่ ม ปรั บ เปลี่ ย น นโยบายอาจารย ป ระจํ า ในช วง 1-2 ป ก ารศึ ก ษาที่ ผ า นมา อาจารย ที่ วิทยาลัยฯ รับเขายังมีอายุงานนอย และอยูระหวางการสรางผลงานทาง วิชาการ ทําใหมีอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการนอย คงมี เพียงอาจารยอาวุโส ที่วิทยาลัยฯ รับเขามาซึ่งถือเปนสัดสวนที่ไมมากนัก
ตัวบงชี้ที่ 6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics) เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
2.50
5
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1-2 3 >4 0 5 5 3 0 1 4 ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง วิทยาลัยฯ ไดประกาศหนาที่ความรับผิดชอบ คุณธรรม จริยธรรม รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ตลอดจนจรรยาบรรณวิชาชีพไวใหอาจารยถือปฏิบัติ พรอมมีการติดตาม แบบฟอรม ข 46 ผลวาอาจารยไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนดไวหรือไมอยางไร ซึ่งใน ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ ไมไดรับการรองเรียนเรื่องการประพฤติผิด จรรยาบรรณวิชาชีพของอาจารยแตอยางใด
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................63
ตัวบงชี้ที่ 6.6
กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติและ ประสบการณจริง เกณฑการใหคะแนน
คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
2.50
6
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1-2 3-4 >5 0 6 6 3 1 1 5 ผลการดําเนินงาน เอกสารอางอิง เปน นโยบายและแนวทางการดํา เนิน งานการเรี ย นการสอนของ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: วิ ท ยาลั ย ฯ ที่ จ ะสร า งกระบวนการเรี ย นรู โ ดยเน น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ แบบฟอรม ข 47 โดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง ทั้งจากการ เชิ ญ วิ ท ยากรและผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ภ ายนอกที่ เ ป น ผู เ ชี่ ย วชาญ อยู ใ น แวดวงการปฏิ บั ติ ง านและมี ป ระสบการตรง มาถ า ยทอดความรู แ ละ ประสบการณใหแกนักศึกษา การเนนใหนักศึกษาไดมีประสบการณใน การจัดการสัมมนาวิชาการในหัวขอหรือประเด็นที่นักศึกษาตองการทราบ ดวยตนเอง การมีวิชาเลือกที่หลากหลาย และกําหนดกระบวนการบริหาร การศึกษาใหนักศึกษามีสวนรวมในการกําหนดรายวิชาที่จะใหวิทยาลัยฯ เปดการสอน
ตัวบงชี้ที่ 6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู เกณฑการใหคะแนน
ผลการประเมิน
คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
2
3
2.50
4.00
4.05
4.09
4.16
12.49
2.53.49
> 3.5
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3
1
รวม คะแนน
1
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน จากการประเมิ น ผลการเรี ย นการสอนที่ วิ ท ยาลั ย ฯ ดํ า เนิ น การ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ประเมิ น ระดั บ ความพึ ง พอใจของนั ก ศึ ก ษาต อ คุ ณ ภาพการสอนของ แบบฟอรม ข 48 อาจารย ประจําปการศึกษา 2549 ผลสํารวจความพึงพอใจเทากับ 4.16 ซึ่งสูงกวาคาเปาหมายที่กําหนดไว
5
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................64
ตัวบงชี้ที่ 6.9 คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2.50
6,463
0
2548
2549
20,795
22,199
1
ผลการประเมิน 2
3
1- 4,500- > 4,499 6,999 7,000
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ 3
1
รวม คะแนน
1
5
เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน ป ก ารศึ ก ษา 2549 วิ ท ยาลั ย ฯ มี ค า ใช จ า ยด า นห อ งสมุ ด รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศ มูลคา 15,588,700.71 บาท ซึ่งสูงกวา แบบฟอรม ข 51 ป ก ารศึ ก ษา 2548 ค อ นข า งมาก อย า งไรก็ ต าม ในป นี้ ได มี ก ารปรั บ วิธีการคํานวณจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) ใหม โดยปรับ เพิ่มคาสําหรับปริญญาโท ทําใหคาดัชนีเพิ่มขึ้นไมสูงมากนัก อยางไรก็ ตาม วิ ท ยาลั ย ฯ ไมตั้ ง เป า หมายค า ใช จ า ยสว นนี้ สูง มากนั ก เนื่ อ งจาก จําเปนตองใชระบบสนับสนุนสวนนี้จากสวนกลางของมหาวิทยาลัย โดย วิทยาลัยไมสามารถดําเนินการในสวนนี้เองไดทั้งหมด
ตัวบงชี้ที่ 6.10 จํานวนวิชา (Section) ตอจํานวนอาจารยประจํา เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
-
6.88
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
>8 7.5 <7 20.66 9.33 0 1 0 1 2 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน เนื่องจากวิทยาลัยฯ เพิ่งจะเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายอาจารยประจํา รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: ในชวง 1-2 ปการศึกษาที่ผานมาทําใหคาดัชนีจํานวนวิชา (Section) ตอ แบบฟอรม ข 56 จํานวนอาจารยประจําของวิทยาลัยอยูในระดับสูง อยางไรก็ตามคาดัชนี ดังกลาวไดลดลงอยางตอเนื่องจากการปรับเปลี่ยนนโยบายของวิทยาลัยฯ ใหสอดคลองกับการประกั น คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย อนึ่ง แมวาสัดสวนของจํานวนวิชาตออาจารยประจําจะมีคาสูง แตในความเปน จริง รายวิชาที่อาจารยประจํารับผิดชอบจะมีคาไมสูงมากนัก เนื่องจาก วิทยาลัยฯมีการเชิญอาจารยพิเศษ ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน ภายนอก รวมถึงอาจารยประจําภายในมหาวิทยาลัย รวมดําเนินการสอน/ ถายทอดความรูใหแกนักศึกษาของวิทยาลัยฯ
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................65
มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานการประกันคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ 7.1 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยางตอเนื่อง เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
10.00
5
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1-2 3 >4 4 5 0 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ มี ร ะบบและกลไกในการประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง เมื่อพิจารณาผล แบบฟอรม ข 57 การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ ในปการศึกษา 2549 พบวา วิทยาลัยฯ มี การดําเนินการในเกณฑการพิจารณา 5 ลําดับ สรุปไดดังนี้ 1. โดยวิทยาลัยฯ มีการแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพ ภายในวิทยาลัยฯ ที่ประกอบดวย ผูอํานวยการวิทยาลัย เปนประธาน กรรมประกอบดวย ผูอํานวยการหลักสูตร ผูแทนอาจารยประจําวิทยาลัย ผูจัดการฝาย และหัวหนางาน คณะกรรมการดังกลาวมีบทบาทในการ กําหนดนโยบาย และใหขอสังเกต ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดําเนินการ ประกัน คุณภาพการศึ ก ษาของวิท ยาลัยฯ นอกจากกลไกดังกลา วแล ว วิทยาลัยฯ ไดมีการจัดทําคูมือการประกันคุณภาพการศึกาของวิทยาลัยฯ เพื่ อ เป น แนวทางในการดํ า เนิ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ หนวยงาน 2. มีการกําหนดมาตรฐานและตัวบงชี้ที่สอดคลองกับมาตรฐาน และตัวบงชี้ของมหาวิทยาลัยฯ และของสํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 3. มีการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่องทุกป โดยมีการตรวจสอบคุณภาพภายในวิทยาลัยฯ การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการใหความรู อบรม เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาใหแกบุคลากรในหนวยงาน โดยได จัดสรรงบประมาณไวสําหรับดําเนินการในการประกันคุณภาพการศึกษา 4. วิทยาลัยฯ ไดนําผลการตรวจสอบ ขอสังเกตและขอเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบของมหาวิทยาลัย เพื่อนําไปปรับปรุงการ ดําเนินงานของวิทยาลัยฯ ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................66
ตัวบงชี้ที่ 7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน เกณฑการใหคะแนน คา น้ําหนัก
เปาหมาย (แผน)
10.00
4
ปที่ประเมิน ครั้งที่แลว ปการศึกษา 2545
2548
2549
1
ผลการประเมิน 2
3
เทียบ เทียบ เทียบ เกณฑ แผน พัฒนาการ
รวม คะแนน
1 2 >3 4 4 0 3 1 1 5 เอกสารอางอิง ผลการดําเนินงาน วิ ท ยาลั ย ฯ มี ก ารดํ า เนิ น การตามระบบและกลไกการประกั น รายละเอียด ปรากฏในภาคผนวก ข: คุณภาพการศึกษาภายในดังกลาวไวในตัวบงชี้ที่ 7.1 และมีการปรับปรุง แบบฟอรม ข 58 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่สอดคลองกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย และของวิ ท ยาลั ย ฯ เอง โดยทุ ก ป ห ลั ง จากที่ ไ ด มี ก ารดํ า เนิ น การตาม แผนงานการประกันคุณภาพประจําปแลว มีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมินผล/ทบทวนระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยในป การศึ ก ษา 2549 ได มี ก ารสั ม มนาเมื่ อ วั น ที่ 10-11 เมษายน 2550 ณ อุทยานการเรียนรู ศูนยพัทยา ซึ่งผลจากการสัมมนาดังกลาวจะนํามา ปรั บ ปรุ ง ตั ว บ ง ชี้ ป ก ารศึ ก ษา 2549 และปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารดํ า เนิ น การ ประกั นคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยฯ เชน กระบวนการเก็บขอมูล กระบวนการตรวจสอบ นอกจากนี้วิทยาลัยฯ ไดดําเนินการปรับปรุงระบบ ฐานขอ มูลสํา หรับรวบรวมขอมูล และดํ าเนิน การประมวลขอมู ล ในการ ประกั น คุ ฯ ภาพการศึ ก ษา ซึ่ ง ระบบยั ง อยู ใ นระหว า งการทดสอบและ ปรับปรุงแกไขใหใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................67
การรายงานผลการดําเนินการตามขอสังเกตและขอเสนอแนะจาการตรวจสอบใน ปการศึกษา 2548 รวมทั้งผลการดําเนินงานตามการพัฒนาที่หนวยงานจัดทําเอง จากขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพของวิทยาลัยฯ ใน ปการศึกษา 2548 ไดใหขอสังเกตและขอเสนอแนะในดานตางๆ ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. ควรมีการวิเคราะหสาเหตุและแนวทางแกปญหาคุณภาพของนักศึกษารับเขาที่มีแนวโนม ลดลง ดังจะเห็นไดจาก คาระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบเขาวิทยาลัยฯ อัตราการแขงขันสอบ เขาวิทยาลัยฯ คะแนนสอบ TU-GET ที่มีคาลดลง ตลอดจนศึกษาสาเหตุและแนวทางแกปญหา ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กําหนดที่มีแนวโนมลดลงดวย 2. ในการจัดเก็บขอมูลระดับความพึงพอใจของนายจาง/ผูประกอบการ/ผูใชบัณฑิต เปนผล ของผูตอบกลับ 20 ฉบับ จากจํานวนแบบสอบถาม 125 ฉบับ วิทยาลัยฯ ควรหามาตรการที่จะให ไดผลการประเมินที่นาเชื่อถือในการสะทอนคุณภาพของบัณฑิต และในการจัดทําแบบสอบถามนั้น อาจจะตองปรับขอคําถามใหเหมาะสมเพราะบัณฑิตของวิทยาลัยฯ จะเปนผูที่ทํางานแลว โดยขอ คําถามอาจจะถามถึงการเปลี่ยนแปลงของบัณฑิตกอนเขาศึกษาและหลังจบการศึกษา การนําความรู ไปประยุกตใชในการทํางาน เปนตน 3. วิทยาลัยฯ ควรสรางความแตกตางของวิทยาลัยฯ กับสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ที่มีการสอน ในลักษณะเดี ยวกั น โดยวิ ทยาลัย ฯ ควรคงความเปนนวัตกรรม ความเป นเอกลั กษณเฉพาะของ วิทยาลัยฯ ไดแก การสรางหลักสูตรที่มีความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม (Industrial Partnership) การเรียนการสอนแบบ Professional Learning และหลักสูตรที่มีความเปนสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ซึ่งจะเปนเปาหมายในการผลิตบัณฑิตที่ชัดเจน และเปนสิ่งดึงดูดผูตองการความ เปนนวัตกรรมเขามาศึกษา รายงานผลการดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ ไดทําการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอคุณภาพบัณฑิต เชน งานวิจัยเพื่อปรับปรุง หลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม โดยสอบถามไปยังนักศึกษา ปการศึกษา 2549 และโครงการ สํารวจความตองการศึกษาตอในระดับปริญญาโท 2. วิทยาลัยฯ กําลังอยูในระหวางการดําเนินการแกไขรูปแบบของขอคําถามในแบบสอบถาม และกระบวนการในการติ ด ตามผลในการจั ด เก็ บ ข อ มู ล ความพึ ง พอใจของนายจ า ง/ผู ใ ช บั ณ ฑิ ต นอกจากนี้วิทยาลัยฯ ยังไดสนับสนุนการกอตั้งชมรมศิษยเกา เพื่อใหสามารถติดตามขอมูลของศิษย เกาไดดีขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................68
3. วิทยาลัยฯ ริเริ่มการสรางความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม อาทิ หลักสูตร CIO (Chief Information Officer) ซึ่งมีการรวมมือกับ NECTEC, Waseda University และ Gorge Mason University มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. วิทยาลัยฯ มีผลงานดานการวิจัยและงานสรางสรรคจํานวนนอย อาจเปนเพราะปรัชญา การดําเนินการของวิทยาลัยฯ มิไดมุงเนนทางดานนี้มากนัก ประกอบกับมีอาจารยประจําในจํานวน ไมมากนัก อยางไรก็ตามวิทยาลัยฯ ก็ไดมีการวางแผนการสนับสนุนการทํางานวิจัยที่ไดกลาวมา 2. ควรมีการผลักดันใหนักศึกษาสรางผลงานวิชาการในรูปแบบตางๆ (ที่อาจไมใชบทความ วิชาการ) จากงานสารนิพนธใหมากขึ้น โดยอาจกําหนดหัวขอที่สามารถนําไปใชในการแขงขัน/ การประกวดผลงานตางๆ 3. ควรมี ม าตรการในการกระตุ น /ผลั ก ดั น งานวิ จั ย และงานสร า งสรรค ข องอาจารย แ ละ นักศึกษาอยางตอเนื่อง 4. เนื่ องจากวิทยาลัยฯ อาจมีลักษณะเฉพาะในการผลิตผลงานทางวิชาการของอาจารย วิทยาลัยฯ อาจมีการพัฒนาหรือกําหนดตัวบงชี้เพิ่มเติมที่แสดงถึงศักยภาพของอาจารย หรือลักษณะ งานที่อาจารยดําเนินการ รายงานผลการดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ มีอาจารยประจําและผลงานวิจัยเพิ่มขึ้นในป 2549 เนื่องจากนโยบายรับ อาจารยประจําเพิ่มขึ้น และการสรางเครือขายกับองคกรภายนอกที่สนับสนุนทุนในการทําวิจัย 2. วิทยาลัยฯ มีการผลักดันใหนักศึกษานําบทความจากวิทยานิพนธตีพิมพเผยแพร ใน วารสารที่มีคุณคาทางวิชาการ เนื่องมาจากระเบียบมาตรฐานหลักสูตรของ สกอ. ในปการศึกษา 2548 มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. ลักษณะของโครงการและกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นคอนขางเนนไปทางบริหารเทคโนโลยี เปนสวนมาก ควรมีการแบงสัดสวนใหเหมาะสมในการจัดกิจกรรมของหลักสูตรบริหารเทคโนโลยีและ หลักสูตรบริหารงานวัฒนธรรม 2. ควรมีการประชาสัมพันธในวงกวางเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมตางๆ ของวิทยาลัย เพื่อใหมี ผูสนใจเขารวมกิจกรรมมากขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................69
รายงานผลการดําเนินงาน วิทยาลัยฯ มีการประชาสัมพันธการบริการวิชาการในวงกวางมากขึ้น โดยการสรางเครือขาย กับสื่อมวลชน อาทิ รายการทิศทางเศรษฐกิจทางสถานีโทรทัศนชอง 11 เปนตน นอกจากนี้ วิทยาลัย ยังประสบความสําเร็จในการดึงผูเขารวมเสวนามาเปนผูสนใจสมัครเขาศึกษาตอในหลักสูตร ทั้งนี้ กิจกรรมบริการวิชาการของวิทยาลัยมุงเนนทั้งทางดานบริหารเทคโนโลยีและดานการบริหารงาน วัฒนธรรม มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. แมกิจกรรมจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นแตจํานวนกิจกรรมยังไมเพียงพอ วิทยาลัยฯ จึงควรดึง จุดเดนของหลักสูตรบริหารงานวัฒนธรรมมาเปนประโยชนและเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมมากขึ้น 2. ควรสรางเครือขายความรวมมือกับคณะ/หนวยงานที่จัดการเรียนการสอน ที่มีลักษณะหรือ หลักสูตรที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เชน คณะศิลปกรรมศาสตร โดยอาจใชทรัพยากรในสวนที่สามารถ ใชรวมกันได ในการทํากิจกรรมรวมกัน หรือสรางความรวมมือในดานตางๆ รายงานผลการดําเนินงาน หลั ก สู ต รการบริ ห ารงานวั ฒ นธรรมของวิ ท ยาลั ย ฯ ได ดํ า เนิ น การจั ด เสวนาวิ ช าการที่ เกี่ยวเนื่องกับการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยตั้งเปาหมายในการจัดงาน 3 ครั้ง ตอป และ ประชาสัมพันธใหมีผูเขารวมในงานโดยเฉลี่ย 80-150 คน ตอการจัดงานในแตละครั้ง อีกยังมีกิจกรรม ของนักศึกษาในหลักสูตรการเรียนการสอน อาทิ โครงการพี่นองคลองแขนทองแดนศิลปะ ซึ่งนําเด็ก บานราชวิถีมาเรียนรูทักษะการสรางงานศิลปะที่สวนสัตวดุสิต และโครงการนิทรรศการภาพถาย Bangkok Rhapsody ที่หางสรรพสินคา Playground ทองหลอ เปนตน นอกจากนี้ บุคลากรของวิทยาลัยฯ ยังไดมีการสรางเครือขายกับองคกรที่สนับสนุนงานวิจัย ดานศิลปวัฒนธรรมในระดับประเทศ เชน สถาบันไทยคดี ศูนยมนุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ และกระทรวงวัฒนธรรม เปนตน และระดับนานาชาติ เชน Korean University of Arts, Ministry of Culture and Tourism ประเทศเกาหลีใต, National museum, Ministry of Culture ราชอาณาจักรกัมพูชา และ APSARA Authority ราชอาณาจักร กัมพูชา เปนตน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................70
มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานดานพัฒนาสถาบันและบุคลากร ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. หลังจากที่ไดจัดทําแผนกลยุทธแลว ควรแปลงแผนกลยุทธเปนแผนปฏิบัติการ (Action Plan) โดยใชจุดแข็งของการเปนองคกรนอกกรอบระบบราชการ ซึ่งแผนปฏิบัติการดังกลาวควรมี ความเชื่อมโยงระหวางกิจกรรมที่จะดําเนินการกับงบประมาณของวิทยาลัยฯ 2. ควรใชประโยชนจากการที่ไมไดอยูในกรอบของระบบราชการใหเปนจุดแข็ง ในการพัฒนา วิทยาลัยฯ ใหมีความโดดเดนมากขึ้น (Prestige) เพื่อใหเปนองคกรที่สามารถดึงดูดคณาจารยที่มี ความรูและประสบการณในภาคอุตสาหกรรมมารวมงานกับวิทยาลัย 3. ควรมีการศึกษาวิเคราะหความคุมทุน (Break Even - Cost Analysis) ของจํานวนรับ นักศึกษากับคาใชจายของวิทยาลัยฯ เพื่อกําหนด Cost-price Model ของวิทยาลัยฯ ที่ควรจะมีรายได เพียงพอที่จะรับอาจารยที่มีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอนอยางมีคุณภาพ รายงานผลการดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ ไดมีการจัดทําสัมมนาแผนกลยุทธของวิทยาลัย และอยูในระหวางการจัดทํา แผนปฏิบัติการ (Action Plan) โดยมีการเชื่อมโยงกิจกรรมของฝายตางๆ กับงบประมาณของ วิทยาลัยฯ 2. วิทยาลัยฯ มีการรวมมือกับทั้งภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม เชน NECTEC, Waseda University และ George Mason University ในการจัดทําหลักสูตร CIO (Chief Information Officer) ทั้งนี้สวนหนึ่งที่ทางภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมเลือกที่จะรวมมือในการสรางหลักสูตรกับวิทยาลัยฯ เพราะจุดแข็งในดานความคลองตัวของการเปนหนวยงานนอกระบบราชการ 3. วิทยาลัยฯ มีการศึกษาวิเคราะหความคุมทุน (Break Even Analysis) ทุกครั้งกอนที่จะ เปดหลักสูตรใหม เชน หลักสูตร CIO และหลักสูตรอุตสาหกรรมการบริการ เปนตน แตทั้งนี้ วิทยาลัยฯ ก็ตระหนักถึงความสําคัญในการทบทวนความคุมทุนของหลักสูตรที่เปดอยู ณ ปจจุบัน ดวยเชนกัน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................71
มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. ควรปรับปรุงหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑของมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) ป พ.ศ.2548 ไดแก การกําหนดใหมีการตีพิมพวิทยานิพนธเปนเงื่อนไขในการ สําเร็จการศึกษา จํานวนอาจารยประจําหลักสูตร เปนตน 2. ควรวางแผนการรับอาจารยประจําหลักสูตร เปนตน 3. เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีการเชิญอาจารยพิเศษมาสอนเปนจํานวนมาก จึงควรมีการนําเสนอ ขอมูลเชิงวิเคราะหในสวนของคุณสมบัติของอาจารยพิเศษ กลไกการควบคุมคุณภาพอาจารยพิเศษ เปนตน 4. ระดับคะแนนการประเมินบางวิชาไมไดเกณฑดี-ดีมาก ตามที่วิทยาลัยกําหนด อาจตองมี การพิจารณาปรับปรุงแนวทางการเรียนการสอน 5. ควรทําการประเมินผลการสัมมนา/ดูงานวากิจกรรมที่จัดนักศึกษาไดรับประโยชนสูงสุด หรือไม รายงานผลการดําเนินงาน 1. วิทยาลัยฯ ไดปรับปรุงหลักสูตรทั้ง 3 หลักสูตร ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ป พ.ศ.2548 ไดแก การกําหนดใหมีการตีพิมพ วิท ยานิ พนธเ ปนเงื่ อนไขในการสํ าเร็จการศึกษา และมีไดดําเนินการรับอาจารยประจํ าหลักสูต ร เพิ่มขึ้นตามลําดับ นอกจากนี้ ยังมีกลไกดในการควบคุมคุณภาพของอาจารยพิเศษ อาทิ รวบรวม ขอมูลประวัติยอของอาจารยพิเศษที่เขามาทําการเรียนการสอน มีการนําผลประเมินการสอนของ อาจารยพิเศษเพื่อประกอบการพิจารณาในการเชิญอาจารยพิเศษในแตละปการศึกษา 2. การสัมมนาทุกครั้งจะมีการประเมินผล แตการดูงานยังไมมีการประเมินผลอยางเปน ทางการ เนื่ อ งจากการดู ง านส ว นใหญ อ าจารย ป ระจํ า วิ ช าจะมี ก ารทดสอบและมอบหมายงานที่ เกี่ยวของกับกิจกรรมการดูงาน ดังนั้นจึงสามารถถือไดวานักศึกษาเปนผูที่ไดรับผลประโยชนโดยตรง ที่เกี่ยวของกับเนื้อหาวิชา
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................72
มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานการประกันคุณภาพ ขอสังเกตและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ 1. เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีลักษณะเฉพาะที่มีควมแตกตางจากหนวยงานจัดการเรียนการสอน อื่นบางประการ ในการจัดทํารายงานการประเมินตนเองควรมีการวิเคราะห หรืออธิบายลักษณะพิเศษ หรือลักษณะเฉพาะของวิทยาลัยฯ ประกอบดวย เพื่อทําใหผูอานมีความเขาใจในลักษณะเฉพาะของ วิทยาลัยฯ มากขึ้น 2. ดังที่กลาวแลววาวิทยาลัยฯ มีลักษณะเฉพาะที่แตกตางจากหนวยงานจัดการเรียนการสอน อื่นๆ ตัวบงชี้ของมหาวิทยาลัยฯ บางตัวจึงไมสามารถสะทอนคุณลักษณะเฉพาะของวิทยาลัยฯ ได วิทยาลัยฯ สามารถกําหนดตัวบงชี้เฉพาะที่สะทอนลักษณะหรือธรรมชาติของหนวยงานเพิ่มเติมได รายงานผลการดําเนินงาน ตัวบงชี้ของวิทยาลัยฯ จําเปนตองสอดคลองกับตัวบงชี้มาตรฐานของทางมหาวิทยาลัย และ สมศ. อยางไรก็ตามวิทยาลัยฯ ไดมีการเขียนอธิบายลักษณะเฉพาะของวิทยาลัยฯ เพื่อประกอบใน การใหเหตุผลของการเพิ่มขึ้นและลดลงของตัวบงชี้ที่ชัดเจนมากขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................73
บทที่ 4 แนวทางการพัฒนา จากผลการประเมินตามคุณภาพตัวบงชี้ของ สมศ. ในภาพรวมของแตละมาตรฐาน วิทยาลัย นวัตกรรมอุดมศึกษาไดจัดทําแผนการปรับปรุง ตาม 7 มาตรฐาน โดยใชขอมูลจากการวิเคราะหผลการ ดําเนินการตามตัวบงชี้คุณภาพของวิทยาลัยฯ ประจําปการศึกษา 2549 และรายงานสรุปผลการประเมิน คุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย และแนวทางการพัฒนาปรับปรุงในแตละสวน มาวิเคราะหจุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา เพื่อนําไปสูการปรับปรุงคุณภาพ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ จุดแข็ง มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต
จุดที่ควรพัฒนา
แผนพัฒนาปรับปรุง
1. นักศึกษาของวิทยาลัยฯ มีความ หลากหลายในสาขาอาชีพ และตองการ ที่จะเรียนรูวิชาการดานบริหารขั้นสูงเนน ในดานเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับงาน ที่ทํา ซึ่งทางหลักสูตรมีโปรแกรม การศึกษาที่นักศึกษาสามารถเลือกลงได และมีวิชาเลือกที่นักศึกษาสามารถเลือก เรียนไดตามความสนใจ
1. ผูสมัครเขาศึกษาตอมีจํานวน ลดลง ทําใหอัตราการแขงขันของ ผูสมัครเขาศึกษามีนอย เปนเหตุใหมี ขอจํากัดกับการเปลี่ยนแปลง ในการ คัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณภาพดีเขา ศึกษาตอในหลักสูตร
2. วิทยาลัยฯ ยังไดดําเนินการสราง ระบบสนับสนุนการทํางานวิจัยของ นักศึกษา โดยมีกําหนดใหนักศึกษาสง ผลงานใหอาจารยพิจารณาเปนระยะๆ แทนที่จะสงครั้งเดียวกอนสอบ ซึ่งจะ ทําใหนักศึกษาสามารถปรับแกผลงาน ของตนใหมีคุณภาพและสําเร็จไดภายใน ระยะเวลาที่กําหนด
2. หลักสูตรปริญญาโทใหมๆ ที่ เปดขึ้นมากมายในปจจุบัน มีความ ใกลเคียงกับหลักสูตรของวิทยาลัยฯ ทําใหมีคูแขงเพิ่มขึ้น
1. กําหนดนโยบายที่จะพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรใหมีความทันสมัย โดดเดน สอดคลองกับความตองการ ของสังคม นอกจากนี้อัตราการ แขงขัน คะแนน TU-GET พบวา ลดลงเล็กนอย เนื่องจากการเปด หลักสูตรที่คลายคลึงกันในสถาบัน อื่นๆ จึงควร เนนการประชาสัมพันธ ใหมากขึ้นกวาเดิม 2. กําหนดนโยบายที่จะให ทุนการศึกษาแกนักศึกษาที่มีผลการ เรียนดี และผูแทนจากหนวยงาน ภาครัฐบาลหรือภาคเอกชน เพื่อสราง เครือขายความรวมมือวิทยาลัยฯ กับ หนวยงานภายนอก
3. การผลักดันใหนักศึกษาตีพิมพ บทความจากวิทยานิพนธทั้งใน ระดับชาติและระดับนานาชาติยังมี นอย
3. เรงสรางเครือขายศิษยเกาเพื่อ เปนสื่อในการติดตามขอมูล ความ เคลื่อนไหว และดําเนินกิจกรรมตางๆ ระหวางศิษยเกากับวิทยาลัยฯ และ ศิษยเกากับนักศึกษาปจจุบัน
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................74
จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 2 ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 1. มีงบประมาณที่วิทยาลัยไดจัดสรร ไวเพื่อสนับสนุนการทําวิจัยสําหรับ อาจารยประจําและนักวิจัยของวิทยาลัย
แผนพัฒนาปรับปรุง
1. สงเสริมและสนับสนุนให อาจารยและนักวิจัย สรางผลงานวิจัย เพิ่มขึ้น และจัดหาเงินทุนสนับสนุน การวิจัยภายในใหมากขึ้น เชน นโยบายการสนับสนุนโครงการการ วิจัยสําหรับนักวิจัยรุนใหม โครงการวิจัยที่มีความจําเปน/เรงดวน โครงการวิจัยที่เกี่ยวเนื่องกับการ เรียนการสอน โครงการวิจัยเกี่ยวกับ นวัตกรรม โครงการวิจัยเกี่ยวกับ วัฒนธรรม และโครงการวิจัยที่ เกี่ยวเนื่องกับวิทยานิพนธ เปนตน 2. อาจารยประจําบางสวนเปน 2. วิทยาลัยฯ มีมาตรฐานดาน งานวิจัยและงานสรางสรรคคอนขาง อาจารยที่มีวุฒิปริญญาโท มีภาระ งานสอนคอนขางนอย วิทยาลัยฯ ต่ํา เนื่องจากอาจารยที่ทําการสอน สวนใหญเปนอาจารยพิเศษ ซึ่งมีทั้ง จึงกําหนดสัดสวนภาระงานใหชัดเจน ขอดีและขอเสีย ในดานขอดีคือทําให และกําหนดแนวทางใหอาจารย นักศึกษาไดมีการเรียนรูที่หลากหลาย ผลิตผลงานวิจัยใหชัดเจนโดยอาจ ทั้งในดานวิชาการและการปฏิบัติ กําหนดจํานวนชิ้นงานตอปการศึกษา เนื่องจากอาจารยมีทั้งที่มาจาก เพื่อทดแทนภาระงานสอนของ ภาครัฐบาลและเอกชน สวนขอเสีย อาจารยที่มีภาระงานสอนนอย คืออาจารยที่มาจากภาคเอกชนจะให ความสนใจในดานงานวิจัยที่ตอง ตีพิมพหรือเผยแพรนอย 3. กําหนดทิศทางงานวิจัยและงาน สรางสรรคใหและสอดคลองกับความ ตองการของประเทศและนานาชาติ มากขึ้นและนําไปสูการปฏิบัติที่ เครงครัด รวมทั้งจัดใหมีการวิจัยเปน กลุมคณะ เพื่อเนนการทํางานเปนทีม ที่มีประสิทธิภาพ 4. จัดอบรมเพิ่มพูนทักษะเรื่อง งานวิจัยที่อยูในทิศทางของการ พัฒนาประเทศ พรอมทั้งสราง แรงจูงใจใหอาจารยผลิตผลงานวิจัย ที่มีคุณภาพระดับชาติและนานาชาติ ใหมากขึ้น 1. ผลงานวิจัยและงานสรางสรรค ที่ไดรับการตีพิมพหรือนําไปใช ประโยชนมีนอย
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................75
จุดแข็ง
จุดที่ควรพัฒนา
แผนพัฒนาปรับปรุง 5. กําหนดนโยบายที่จะสงเสริม และสนับสนุนใหทุนการศึกษาแก นักศึกษา รวมถึงองคกรทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยกระตุนใหอาจารย และนักศึกษาสงโครงการวิจัยเพื่อ ขอรับทุนสนับสนุนการทําวิจัยจาก หนวยงานภายนอกที่มีทุนวิจัย เชน ทุนวิจัยของ สกว. / วช.และทุน บริษัทเอกชน
มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ 1. วิทยาลัยฯ มีฝายกิจกรรมสัมพันธ และฝกอบรมซึ่งมีหนาที่ในการจัด กิจกรรม อบรม และสัมมนาวิชาการให ผูที่สนใจเขารวมกิจกรรมอยางตอเนื่อง จึงสงผลใหกิจกรรมดานการบริการ วิชาการของวิทยาลัยฯ มีจํานวนมาก
1. มีขอจํากัดดานงบประมาณใน การจัดกิจกรรมโครงการบริการ วิชาการแกสังคม โดยไมเรียกเก็บ คาธรรมเนียม
1. ประชาสัมพันธขอมูลเกี่ยวกับ โครงการบริการวิชาการของ วิทยาลัยฯ แกประชาชนและบุคคลที่ สนใจ โดยเนนใหตรงกลุมเปาหมาย ใหมากขึ้นและกวางขวางขึ้น 2. สรางความรวมมือการบริการ วิชาการกับหนวยงานภายใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและกับ หนวยงานภายนอก และเครือขาย อุดมศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อ เปนการใชทรัพยากรรวมกัน และให เกิดประโยชนสูงสุด
มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 1. วิทยาลัยฯ ไดใหความสําคัญตอ การดําเนินงานดานการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม โดยเห็นไดชัดเจนจาก รายวิชาที่เปดสอนในปการศึกษา 2549 โดยเฉพาะในหลักสูตรการบริหารงาน วัฒนธรรม และจํานวนกิจกรรมที่ สงเสริมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
1. กิจกรรมดานการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมยังไมชัดเจน เพราะ สวนใหญเปนกิจกรรมที่อยูในรายวิชา การเรียนการสอนของวิทยาลัยอยู แลว
1. จัดสัมมนาวิชาการที่สงเสริม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประจําป และจัดอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ควรมีการนําผลการจัดงานมาสรุป เพื่อเปนแนวทางในปรับปรุงและ พัฒนาการจัดกิจกรรม อีกทั้งยังเปน ฐานในการพัฒนาองคความรูใหมๆ ตอไป 2. การประชาสัมพันธและจัด กิจกรรมรวมกับชุมชนใหกวางขวาง ขึ้น
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................76
จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 1. มีการฝกอบรมและสงเสริมบุคลากร ของวิทยาลัยฯ ใหเขาใจถึงการรักษา มาตรฐานการศึกษา
1. การพัฒนาความรูและทักษะ ใหกับบุคลากรยังไมตรงกับสายการ ปฏิบัติงานอยางแทจริง
แผนพัฒนาปรับปรุง
1. สนับสนุนและกระตุนให บุคลากรมีการพัฒนาความรูและ ทักษะในสายงานของตนเอง และ สนับสนุนใหมีการใชเทคโนโลยีใน การบริหารและจัดการ รวมทั้งการ ปลูกจิตสํานึกในการใหบริการแก อาจารย นักศึกษา และผูมารับการ บริการอยางตอเนื่อง 2. อัตราหมุนเวียนของพนักงานสูง 2. ควรวางแผนการพัฒนาบุคลากรให 2. มีการประชุมทั้งระดับผูบริหาร และ ทําใหสงผลตอระบบการพัฒนาไดไม ชัดเจนและเปนรูปธรรม และควรทํา ระดับปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาวิทยาลัยฯ ตอเนื่อง อยางตอเนื่อง อีกทั้งสรางแรงจูงใจใน อยางตอเนื่อง การทํางาน เพื่อลดอัตราการ หมุนเวียนของพนักงานที่สูง 3. ไมมีแผนพัฒนาบุคลากรที่ 3. พนักงานสวนใหญอยูในชวงอายุ 3. มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ ชัดเจน เฉลี่ย 25 -35 ป ซึ่งยังสามารถ การบริหารจัดการของวิทยาลัฯ เชน มี พัฒนาศักภาพไดอีก ดังนั้นควร ระบบ Intranet มีเครื่องมือดาน ผลักดันและสงเสริมใหพนักงานไดใช เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหสะทอนภาพ ศักยภาพของตนเอง ความเปนนวัตกรรมอยางแทจริง อีกทั้ง กอใหเกิดความรวดเร็ว ถูกตอง ในการ บริหารจัดการองคกร 4. บุคลากรของวิทยาลัยฯ มี 4. มีระเบียบที่เอื้อตอการบริหาร จัดการที่ยืดหยุนและเปนอิสระจากระบบ จํานวนมากเมื่อเทียบกับคณะ ซึ่ง ราชการ ทําใหเกิดความคลองตัวในการ บุคลากรบางสวนไมมีคุณภาพและไม แสดงศักยภาพที่มีอยูอยางเทาที่ควร ทํางาน อีกทั้งยังไมมีระบบการบริหารจัดการ ที่เหมาะสม
รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2549 วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา...................77
จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 1. มีความหลายหลายในวิชาการซึ่ง ทําใหนักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได ตามความตองการ เชน มีวิชาเลือกให นักศึกษาเลือกไดตามความสนใจของแต ละคน 2. มีการปฐมนิเทศอาจารยผูสอนใน แตละภาคการศึกษา เพื่อใหอาจารย ผูสอนมีความเขาใจถึงกฎระเบียบ และ มาตรฐานการสอนของวิทยาลัย 3. มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ใหเขมแข็งและทันสมัยอยางตอเนื่อง
1. วิทยาลัยฯ ยังคงใชอาจารย พิเศษที่มีสัดสวนมากกวาอาจารย ประจํา
2. การสรรหาอาจารยประจําใน ระดับปริญญาเอก ยังไมเปนไปตาม เปาหมาย
มาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคุณภาพ 1. การจัดเก็บขอมูลบางตัวบงชี้ยัง 1. วิทยาลัยฯ มีการแตงตั้งคณะกรรม ประกันคุณภาพของวิทยาลัยฯ อยางเปน ไมครบถวน และขาดระบบการ จัดเก็บขอมูลตัวบงชี้ที่มี ทางการ โดยมีการประชุมเพื่อวางแผน ประสิทธิภาพ จัดระบบการจัดเก็บขอมูลอยางชัดเจน 2. บุคลากรสวนใหญของ วิทยาลัยฯ ยังไมมีความเขาใจใน ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
แผนพัฒนาปรับปรุง 1. รับอาจารยประจําเพิ่มมากขึ้นเพื่อ ลดภาระอาจารยพิเศษ โดยมีการสรรหา อาจารยประจําในระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับการจัดการเรียน การสอนในระดับปริญญาโท 2. พัฒนาอาจารยประจําที่มีอยู เพื่อเพิ่มศักยภาพในการสอนและ สรางผลงานวิชาการ 3. พัฒนาหลักสูตรที่มีอยูเดิมใหตรง กับการเปลี่ยนแปลงในสภาวะปจจุบัน และอนาคต รวมถึงสรางหลักสูตร ใหมที่มีความโดดเดนและสะทอนถึง พันธกิจของวิทยาลัยฯ เพื่อความตาง จากหลักสูตรที่มีอยูในทองตลาด 1. ควรปรับระบบการจัดเก็บขอมูล เปนระบบที่ชัดเจนและมี ประสิทธิภาพ 2. สงเสริมใหบุคลากรทุกคนมีสวน รวมและตระหนักในความรับผิดชอบ ในกิจกรรมดานประกันคุณภาพ การศึกษา โดยจัดสัมมนา เชิงปฏิบัติการเพื่อกระตุนใหบุคลากร เขาใจและเห็นความสําคัญ รวมถึงมี สวนรวมในการวางแผนและพัฒนา ตัวบงชี้ และควรจัดอยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล