SAR 2550

Page 1

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง (Self Assessment Report) ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 0

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรกฎาคม 2551


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

คํานํา การประกันคุณภาพการศึกษาถือ เป็ นภารกิจ ทีมีความสํ า คัญอย่างยิงของวิทยาลัย ได้ มีการพัฒนารู ป แบบ วิ ธีก าร รวมถึง กระบวนการดําเนิ น งาน ให้ ส ามารถประเมิน คุณภาพ การศึกษาได้ ครบทุกมิติ โดยคํานึงถึงความสมดุลในมุมมองการบริหารจัดการ ความสอดคล้ อ งกับ มาตรฐานและตัวชีวัดคุ ณภาพทีถูกกํา หนดจากหน่ วยงานที มีห น้ าทีเกียวข้ อ ง อาทิ สํา นักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) รวมทังสอดรั บกับนโยบายของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในฐานะทีวิทยาลัยเป็ นหน่วยงานในกํากับ รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ฉบับนี จัดทําขึนเพือแสดงผล การดําเนินงานของวิทยาลัยตลอดปี การศึกษา 2550 ซึงเป็ นไปตามมาตรฐานและแนวทางการ ปฏิบตั ทิ ดี​ี สําหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยยึดถือตามคูม่ อื การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และคู่มือ และ แบบฟอร์มการจัดเก็บข้ อมูลตามตัวบ่งชีคุณภาพของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็ นสํ าคัญ วิทยาลัยมีความพร้ อมในการรองรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ตลอดจนรับ ฟั งข้ อคิดเห็น และข้ อ เสนอแนะ อัน จะเป็ นประโยชน์จ ากคณะกรรมการตรวจสอบและประเมิน คุณภาพ เพือนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ มีมาตรฐานขันสูง ซึงสอดคล้ องกับเป้าหมาย และพันธกิจของวิทยาลัยต่อไป

(รองศาสตราจารย์ ม.ร.ว. พงษ์สวัสดิ สวัสดิวตั น์) คณบดี กรกฎาคม 2551


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

สารบัญ บทสรุ ปสําหรับผู้บริหาร บทที 1 ข้ อมูลเบืองต้ น ประวัติความเป็ นมาของวิทยาลัย วิสยั ทัศน์และเป้าหมายในการบริหารวิทยาลัย โครงสร้ างการบริหารงาน ข้ อมูลเกียวกับหลักสูตรและการศึกษา ข้ อมูลเกียวกับบุคลากร ข้ อมูลเกียวกับทรัพยากรและงบประมาณ ระบบและกลไกประกันคุณภาพ จุดเด่นและผลการดําเนินงานทีสําคัญในรอบปี

1 11 11 12 14 19 23 25 27 28

บทที 2 ผลการดําเนินงานและผลการประเมินคุณภาพ องค์ประกอบที 1 : ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ องค์ประกอบที 2 : การเรียนการสอน องค์ประกอบที 3 : กิจกรรมการพัฒนานิสติ นักศึกษา องค์ประกอบที 4 : การวิจยั องค์ประกอบที 5 : การบริการทางวิชาการแก่สงั คม องค์ประกอบที 6 : การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที 7 : การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที 8 : การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที 9 : ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

47 47 52 78 83 96 104 109 131 143

บทที 3 สรุปผลการประเมิน

151

ภาคผนวก 1 ภาคผนวก 2 ภาคผนวก 3

161 171 281

ข้ อมูลพืนฐาน รายละเอียดการจัดเก็บข้ อมูล ข้ อมูลเปรียบเทียบผลการดําเนินงาน ปี การศึกษา 2549-2550


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

บทสรุ ปสําหรั บผู้บริหาร วิทยาลัยนวัตกรรม เป็ นหน่วยงานในกํากับ ของมหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตังขึน ตามมติสภามหาวิทยาลัย เมือวันที 30 มกราคม 2538 โดยมีสถานภาพเทียบเท่าคณะ สํ านัก หรือ สถาบัน ตามพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2531 มุง่ เน้ นการจัดการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาในลักษณะสหสาขาวิชา ปั จ จุบนั จัดการเรีย นการสอน 3 หลักสูตร ได้ แก่ หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ แ ละศู นย์พัทยา) และ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม

1. สรุ ปผลการประเมินคุณภาพ ประจําปี การศึกษา 2550 ผลการประเมิน คุณภาพของวิท ยาลัยตามแนวทางการประกัน คุณภาพ ประจํา ปี การศึกษา 2550 ตามองค์ประกอบคุณภาพตามทีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึ กษา (สกอ.) กําหนด ได้ ผลเป็ นดังนี 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

องค์ประกอบ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ การเรียนการสอน กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา การวิจยั การบริการทางวิชาการแก่สังคม การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม การบริหารและการจัดการ การเงินและงบประมาณ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ คะแนนเฉลียทัง 9 องค์ประกอบ

ผลการประเมิน (สกอ.) 4.50 4.20 5.00 4.17 4.50 5.00 4.45 5.00 5.00 4.65

โดยมีผลการดํ าเนินงานและจุดเด่น ทีสํ าคัญตามองค์ป ระกอบแต่ล ะด้ า นสํา หรับ ปี การศึกษา 2550 สรุ ปได้ ดงั ต่อไปนี 1


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 1 ปรั ชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ วิทยาลัยได้ มกี ารกําหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายสํ าหรับการดําเนินงานในระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2551-2553) โดยคํานึงถึงความสอดคล้ องกับปณิธาน “วิทยาลัยนวัตกรรมต้ องการจะเป็ น ผู้นําด้ านการปฏิรูปการเรียนรู้ และเป็ นหน่วยงานต้ นแบบด้านการบริหารการศึกษาทีสามารถสร้ าง เมล็ดพันธ์ทางปัญญาออกสู่สงั คม” และสร้ างแนวทางการปฏิบตั ิงานแบบ 4 มิติ เน้ นความสมดุล ในกระบวนการพัฒ นาเพื อให้ บ รรลุ ต ามวิ สัย ทัศ น์ แ ละเป้ าหมายดํ า เนิ น งานของวิ ท ยาลัย ประกอบด้วย § มิติการพัฒนางานวิชาการเพือเป็ นทุนทางปั ญญา (Intellectual Capital) § มิติการพัฒนาบุคลากรเพือการเรียนรู้และเติบโต (Learning and Growth) § มิติการพัฒนากระบวนการภายในเพือเพิมผลิตภาพ (Internal Productivity) § มิติการสร้ างความเข้ าใจและยอมรับจากภายนอก (External Acceptance) องค์ ประกอบที 2 การเรี ยนการสอน พัฒนาการด้ านการเรียนการสอนของวิทยาลัยได้ มกี ารเปลียนแปลงอย่างเด่นชัด จาก จากการขับเคลือนโดยคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถด้ านการวิจยั และวิชาการ ส่งผลให้ มี ผลงานจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาตีพมิ พ์เผยแพร่จํานวน 5 เรือง ทังทีเป็ นการนําเสนอบทความ วิจยั จากการประชุมระดับนานาชาติ (The 7 Asia Pacific Forum for graduate student‘s research in Tourism ณ ประเทศมาเลเซีย) การนําเสนอบทความจากการประชุมระดับชาติ (ม. อบ.วิจยั ครังที 2 และ ทีประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา ครังที 2 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร) และได้ รบั การตอบรับให้ ตีพมิ พ์ในวารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ซึง เป็ นวารสารทีได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) นอกจากนียัง มีผลงานวิชาการของศิษย์เก่าทีได้ รับรางวัลจากสถาบันต่างๆ อาทิ สถาบันวิชาการทหารเรือ ชันสูง และรางวัลจากทีประชุมวิช าการ Thailand and Logistics hub in GMS The 6 th industrial academic Annual conference on supply chain and logistics management เป็ นต้น

2


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา กิจกรรมนักศึกษาเป็ นส่วนหนึงของกระบวนการเรียนรู้ นอกห้องเรียน วิทยาลัยมีนโยบาย ในการสนับสนุนและส่งเสริมให้ กจิ กรรมด้านต่างๆ อาทิ การจัดโครงการด้ านศิลปะและวัฒนธรรม ซึงเป็ นโครงการทีสอดคล้ องกับ การเรี ยนการสอนในหลักสูตรการบริห ารงานวัฒนธรรม กิจ กรรม ปฐมสัมมนาเพือสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างนักศึกษาใหม่และเตรี ยมตัวให้ นักศึกษามีความ พร้ อมในการศึกษาระดับปริญญาโท และกิจกรรมปัจฉิมสัมมนาเพือให้ นกั ศึกษาได้ รบั การถ่ายทอด ความรู้ และประสบการณ์ทีเป็ นประโยชน์จากผู้เชียวชาญและศิษย์เก่าก่อนสํ าเร็ จการศึกษา ให้ มี ความพร้ อมที จะพัฒนาตนเองให้ เ ป็ นผู้ บ ริ ห ารที มีวิส ัยทัศน์ พร้ อ มกับ คุณธรรมและจริ ย ธรรม นอกจากนี วิทยาลัยได้ จดั ทําคู่มอื การประเมินผลกิจกรรมนักศึกษาขึน เพือติดตามความสําเร็จของ แต่ละโครงการ และนําผลไปใช้ในการประกอบการพิจารณาปรับ ปรุ งการจัดกิจกรรมนักศึกษารุ่ น ต่อ ไป สํา หรั บ การจัดบริ การขันพื นฐานแก่น ักศึกษาและศิ ษย์เ ก่ า วิท ยาลั ยมีการสํ ารวจความ ต้ องการและความจําเป็ นของนักศึกษาแต่ละรุ่น เพือพัฒนาการให้บริการแต่ละด้ านให้ ส อดคล้ อง กับความต้ องการของผู้รบั บริการ องค์ ประกอบที 4 การวิจยั การวิจยั เป็ นพันธกิจหลักทีสําคัญทีวิท ยาลัยมีความมุ่งมันดําเนิ นการ ได้ มีการจัดทํา และแก้ ไขระเบียบเพือส่งเสริ มให้ อ าจารย์ทํางานวิจ ัย การให้ ทุนสนับสนุนในการทําวิจ ัยและการ ตีพมิ พ์ ตลอดจนการสนับสนุนให้ อ าจารย์นําเสนอบทความวิจ ยั ในทีประชุมระดับชาติและระดับ นานาชาติ การสนับสนุนรางวัลให้ แก่อาจารย์สําหรับงานวิจยั ทีได้มาตรฐานและคุณภาพทีกําหนด รวมทังการบริหารจัดการความรู้งานวิจยั ด้ วยระบบฐานข้ อมูลโดยการจัดทํา CITU Review เป็ นต้น อย่างไรก็ต าม ในปี การศึก ษา 2550 ยังอยู่ระหว่างการเตรี ยมความพร้ อมของอาจารย์ประจําที รับเข้ ามาใหม่เป็ นจํานวนมาก ซึงคาดว่าในปี การศึกษา 2551 วิทยาลัยจะมีผลงานด้ านการวิจยั เพิมขึนอีกเป็ นจํานวนมาก

3


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 5 การบริการทางวิชาการแก่ สังคม การบริการวิชาการแก่สงั คมของวิทยาลัยมีทงการให้ ั บริ การแบบไม่คิดค่าธรรมเนียม โดยเชิญวิทยากรทีมีชือเสียงในแวดวงวิชาการทังในและต่างประเทศมาให้ ความรู้ ด้านต่างๆ แก่ ผู้สนใจทัวไป อาทิ Lean Six Sigma, Supporting co evolution of web based Information system using Meta-Design Paradigm เป็ นต้ น สํ าหรับการให้ บริ การวิชาการแก่สังคมทีมีการ จัดเก็บ ค่าธรรมเนี ยมจะเน้ น โครงการที เป็ นความร่ วมมื อ กับ หน่ว ยงานภายนอก เช่น การจัด โครงการพัฒนาทักษะเจ้ าของธุ รกิจ รุ่น ใหม่ร่วมกับ ธนาคารไทยพาณิชย์ และโครงการอบรมเชิ ง ปฏิบตั กิ าร Innovative Strategic Manager ร่วมกับโรงพยาบาลมหาชัย เป็ นต้ น องค์ ประกอบที 6 การทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม วิท ยาลัยได้ ดํา เนิน การโครงการส่ งเสริ มและทํ านุบํา รุ งด้ านศิล ปวัฒนธรรมมาโดย ตลอด ทังทีเป็ นเนื อหาในหลักสูตรทีได้ จ ัดการเรี ยนการสอน ผลงานวิจัยและวิชาการด้ านการ บริ ห ารงานวัฒ นธรรม รวมถึง โครงการบริ ก ารสัง คมและกิ จ กรรมนักศึ ก ษาในหลั ก สู ต รการ บริหารงานวัฒนธรรม สํ าหรับกิจกรรมทีได้ มีการดําเนินงานในปี การศึกษานี ได้แก่ การจัดโครงการ นวัตกรรมนิทศั น์ (Innovative Gallery) เผยแพร่ ผลงานของนักศึกษา และได้ มีผ ลงานโครงการ สนามเด็กเล่นเพือวัฒนธรรม ได้ รับความสนใจจากกรุ งเทพมหานครทีจะนําแนวคิดไปพัฒนาใช้ ประโยชน์ต่อไป นอกจากนี ยังมีโครงการทีริเริมโดยศึกษา เช่น โครงการเทศกาลศิลปะสร้ างสรรค์ เพือเยาวชน และโครงการ Unlimited Arts Festival เป็ นต้น องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ วิ ท ยาลัยมุ่ง เน้ น การพัฒ นาประสิ ทธิภ าพการจัดการภายในองค์ก ร จัดระบบการ บริหารงานภายในให้ มีป ระสิทธิ ภาพสูงขึน (Internal Productivity) โดยมีการดําเนินการทีสํ าคัญ ได้ แก่ การปรับโครงสร้ างการบริหารงานภายในองค์กรและจัดทําแผนอัตรากําลัง 4 ปี การปรับปรุ ง ระเบียบ ประกาศ และข้ อบังคับต่างๆ ให้ มีความทันสมัยและสอดคล้ องกับภารกิจของวิทยาลัย การศึก ษาและปรับปรุ งขันตอนการปฏิบ ัติงานภายใน การพัฒนาบุคลากร รวมถึงการปรับปรุ ง ระบบฐานข้ อมูลและพัฒนาระบบเครือข่ายเพือให้ เพิมประสิทธิภาพในการทํางาน

4


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8 การเงินและงบประมาณ วิทยาลัยเป็ นหน่ วยงานที เลี ยงตัวเอง ความมันคงทางการเงิน เป็ นสิ งสํ าคัญในการ บริหารงาน ในขณะเดียวกันคุณภาพในการให้ บริการด้ านต่างๆ ทังด้ านการเรียนการสอน การวิจยั และการสนับสนุน การเรี ยนการสอน ต้ องเป็ นไปตามมาตรฐานขันสูง ทําให้ วิท ยาลัยมีแ นวโน้ ม ค่าใช้ จา่ ยในการจัดการศึกษาเพิมขึน โดยมีเป้าประสงค์ทีจะให้ หลักสูตรได้ รับการรับรองมาตรฐาน จากหน่วยงานต่างประเทศ ได้ แก่ การรับรองมาตรฐานหลักสูตรการบริหารเทคโนโลยีจากสมาคม การบริหารเทคโนโลยีน านาชาติ (International Association for Management of Technology – IAMOT) ซึงต้ องมี การลงทุน และพัฒ นาคุ ณภาพการเรี ยนการสอน มี การเชิ ญวิท ยากรจาก ต่างประเทศมาร่วมบรรยาย สําหรับการจัดสรรงบประมาณการให้ บริ การสังคมและการทํานุบํารุ ง ศิลปวัฒนธรรม วิท ยาลัยได้ กํา หนดกลยุทธ์ โดยเน้ น การจัดกิจ กรรมหรื อ โครงการโดยได้ รับ การ สนับสนุนทางการเงินจากหน่วยงานภายนอก องค์ ประกอบที 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ วิทยาลัยมีนโยบายในการพัฒนาและให้ ความสํ าคัญกับระบบและกลไกการประกัน คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนือง ได้ มกี ารจัดสรรทรัพยากรและบุคลากรเพือพัฒนาระบบและกลไก ดังกล่ าวให้ มีป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ น อาทิ การปรั บ โครงสร้ า งองค์ กรให้ มีศู นย์ วิ จ ัยและประกัน คุณภาพการศึกษา การจัดกิจกรรมหรื อโครงการเพือสนับ สนุนงานประกัน คุณภาพของวิทยาลัย เช่น การจัดสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการเพือให้ บคุ ลากรภายในเห็นความสํ าคัญของการประกันคุณภาพ และร่วมกันทํา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การจัดสัมมนาให้ ความรู้ ด้านการประกันคุณภาพ ของวิท ยาลั ย แก่น ักศึกษา เป็ นต้ น นอกจากนี ยังได้ มีก ารปรับ ปรุ ง และแก้ ไขกฎระเบียบของ วิท ยาลัย เพือให้ เ อื อต่ อ การดํา เนิน งานตามแผนงานการประกัน คุณ ภาพตามองค์ ป ระกอบ มาตรฐานทีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กําหนด

5


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2. พัฒนาการผลการดําเนินงานเปรี ยบเทียบปี การศึกษา 2549-2550 ผลการดําเนิน งานเปรี ยบเทียบระหว่างปี การศึกษา 2549 และ 2550 โดยพิจารณา จากผลการประเมินเฉพาะตัวบ่งชีและองค์ประกอบของสํ านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ปรากฏผลการดําเนินงานแสดงได้ดงั นี

5.00 / 5.00 ระบบประกั นคุณภาพ

ปรั ชญาและปณิ ธาน 4.50 / 4.50 5 การเรี ย นการสอน 4.00 / 4.20

4 3 2

การเงิน/งบประมาณ 5.00 / 5.00

กิ จกรรมนักศึกษา 5.00 / 5.00

1 0

การบริ หารจัดการ 4.33 / 4.45

การวิจยั 3.50 / 4.17

ศิลปวัฒนธรรม 5.00 / 5.00

บริ การวิชาการ 4.50 / 4.50 2549

2550

ปี การศึกษา 2550 วิทยาลัยมุง่ เน้นพัฒนาคุณภาพด้านการเรียนการสอน เพือต้ องการ เพิมคุณภาพของนักศึกษาเป็ นการเร่งด่วน โดยมีการจัดกิจ กรรมและโครงการพัฒนาผลงานวิจยั และวิชาการของนักศึกษานอกเหนือจากการเรียนตามหลักสูตร ทําให้ จํานวนนักศึกษาที มีผลงาน วิชาการตีพมิ พ์เผยแพร่ และได้ รับรางวัลประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่องเพิมขึน นอกจากนี ยังมีการเพิม ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารจัดการ โดยการปรั บ โครงสร้ า งการบริ ห ารงานภายใน ปรั บ ปรุ ง กระบวนการและขันตอนดําเนินงานให้ มีประสิทธิ ภาพสูงขึน รวมถึงการพัฒนาระบบฐานข้ อมูล สนับสนุนการบริหารงานด้ วย 6


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลงานวิจยั และงานวิชาการนัน วิท ยาลัยอยู่ระหว่างการเตรี ยมความพร้ อมเพือให้ มี การพัฒนามากขึน โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ อาจารย์ประจําผลิ ตผลงานวิจ ัยและงานวิช าการ อย่า งไรก็ตาม เนื องจากได้ มี การรั บ อาจารย์ใหม่เ ข้ ามาเป็ นจํา นวนมากในปี การศึกษานี และ ระยะเวลาทีรับเข้ าอยูใ่ นช่วงครึงหลังของปี การศึกษา ทําให้ ผลงานวิช าการของอาจารย์ป ระจํายัง ไม่ได้ มจี ํานวนมากเท่าทีควร นอกจากนี ยังส่งผลถึงการใช้ งบประมาณเพือการพัฒนาอาจารย์ยงั ไม่เป็ นไปตามเป้าหมายอีกด้วย แนวทางการบริหารงานด้านการเงินและงบประมาณในปี การศึกษา 2550 ได้ มุ่งเน้ น งานบริ การวิชาการที สอดคล้ อ งกับ ความเชียวชาญของวิ ทยาลัย และเลื อกประเด็ นที สามารถ นํามาใช้ ประโยชน์ตอ่ การเรียนการสอนของวิทยาลัย ดังจะเห็นได้ จากสัดส่วนโครงการบริการสังคม ต่ออาจารย์ประจําของวิทยาลัยลดลงจากร้ อยละ 267 เหลือร้ อยละ 170 ซึงทําให้ ค่าใช้ จ่ายในการ ให้ บริการสังคมของวิทยาลัยลดลงตามไปด้ วย สํ าหรับการจัดโครงการหรือกิจกรรมด้ านทํานุบํารุ ง ศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยมุ่งเน้ นโครงการทีได้ รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกและการสร้ าง ความร่ วมมือระหว่างสถาบัน ทําให้ การใช้ จ่ายงบประมาณสํ าหรับ การจัดกิจกรรมหรื อโครงการ นันๆ ลดลง โดยโครงการด้านศิลปวัฒนธรรมทีวิท ยาลัยดํ าเนิ นการ 2 จาก 3 โครงการ ไม่ปรากฏ ค่าใช้ จา่ ยในงบประมาณแต่อย่างใด สําหรับผลการดําเนินงานด้ านระบบและกลไกการประกันคุณภาพนัน ได้ มีการสร้ าง ระบบและกลไกให้ นกั ศึกษามีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย โดยคํานึงถึง ความสอดคล้ องกับแนวทางการดําเนินงานตามทีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กําหนด ซึงปี การศึกษา 2549 วิทยาลัยยังไม่มกี ารดําเนินการในส่วนนี

7


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3. แนวทางการพัฒนา นโยบายการพัฒนาวิทยาลัยในระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2551-2553) จะคํานึงถึงความสมดุล ในกระบวนการพัฒนา เพือให้ บรรลุเป้าหมายการดําเนินงานและสอดคล้ องกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กําหนดเป็ นแนวทางการปฏิบ ตั ิง านแบบ 4 มิติ โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี

1) มิติของการพัฒนางานวิชาการเพือเป็ นทุนทางปั ญญา(Intellectual Capital) การพัฒนาหลักสูตรเดิม ปั จ จุบ ัน วิท ยาลัย เปิ ดการเรี ยนการสอนหลักสู ต รระดับ ปริ ญญาโท สาขาวิ ช าการบริ ก าร เทคโนโลยี และสาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม ซึงเป็ นหลักสูตรทีสําคัญและสอดคล้ องกับ ความต้ อ งการของประเทศ อย่ างไรก็ตาม วิท ยาลัย ยังต้ องพัฒนาคุณภาพหลักสู ตรให้ ได้ มาตรฐานทีสูงขึน ดําเนินการสรรหาอาจารย์ประจําหลักสูตรทีมีคณ ุ วุฒิเหมาะสมให้ มจี าํ นวนที มากขึน และจะต้ องผลักดันให้ ผลงานของนักศึกษาสามารถนําไปตีพมิ พ์เผยแพร่ได้ การนําหลักสูตรทีพร้ อมไปปฏิบตั ิ จากความพร้ อมของวิทยาลัยทีศูนย์พทั ยา ทังด้ านวิชาการ คณาจารย์ รวมถึงสถานที และสิง อํานวยความสะดวก ทําให้ วทิ ยาลัยมีแผนทีจะพัฒนาและเปิ ดการเรียนการสอนหลักสูตรด้ าน Hospitality Management ได้ แก่ หลักสูตรระดับ ปริญญาโท สาขาวิชานวัตกรรมบริ การ และ หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารโรงแรม เป็ นต้ น การสร้ างหลักสูตรใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ กําหนดให้ วิทยาลัยเป็ นหน่วยงานทีต้ องสร้ างองค์ความรู้ ใหม่ที เป็ นนวัต กรรมทางวิ ช าการ มุ่ ง เน้ นการศึ ก ษาระดับ บัณ ฑิ ต ศึ ก ษา เพื อตอบสนองต่ อ ภาคอุตสาหกรรม และสอดคล้ องกับการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของภาคตะวัน ออก อาทิ การ ออกแบบอุตสาหกรรมด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Aided Industrial Design) ด้ าน สิงแวดล้ อม และด้ านวิศวกรรมความปลอดภัย เป็ นต้ น ทังนี วิทยาลัยจะพิจารณาความพร้ อ ม และความเหมาะสมในการจัดการศึกษาต่อไป

8


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

การพัฒนางานวิจยั เพื อเป็นทุนทางปัญญา การวิจยั เป็ นการลงทุนทีเป็ นนามธรรม (Soft Investment) ไม่สามารถวัดผลตอบแทนการเงิน ได้โดยตรง แต่จะมี มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Value Added) และสร้ างประโยชน์ ต่อสังคม วิทยาลัยจึงมีแนวปฏิบตั ดิ ้ านการพัฒนางานวิจยั ดังนี § สร้ า งผลงานวิจัยเพิมขึน ซึงผลงานที เพิมขึ นนันจะต้ อ งเป็ นผลงานทีมีคุณค่ า และ สามารถเชือมต่อกับหลักสูตรทีจัดการเรียนการสอนได้อย่างเป็ นรู ปธรรม § สร้ างระบบบริ ห ารจัด การงานวิ จ ัย โดยมีโครงสร้ างอย่า งชัด เจนและสัมพัน ธ์ ก ับ กระบวนการบริหารภายใน § กําหนดลําดับความสําคัญของงานวิจยั เพือตอบสนองต่อการพัฒนาหลักสูตรใหม่ § เผยแพร่ผลงานและส่งผลงานเพือสร้ างงานวิจยั เชือมต่อในระดับทีสูงขึน § สร้ างเครือข่ายการวิจยั ผ่านกระบวนการเป็ นสมาชิกสถาบันทางวิชาการชันนําทังใน และต่างประเทศ และผลักดันให้ เป็ นศูนย์เครือข่ายวิชาการทีสําคัญ การพัฒนาศูนย์พัทยาเป็นแหล่งความรู้ทางวิชาการของภาคตะวันออก ศูนย์พทั ยามีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นแหล่งการเรียนรู้ วิช าการของภาคตะวันออก โดยต้ อ ง ดําเนินการปรับปรุ งและพัฒนาเพือความสมบูรณ์เ พิมขึน เช่น ระบบโสตทัศนูปกรณ์ ระบบ ห้ อ งสมุด ระบบเครื อข่ายคอมพิ วเตอร์ และระบบการให้ บริ การ เป็ นต้ น สํ าหรับ การบริการ วิช าการนัน วิทยาลัย มีนโยบายขยายการบริ การในวันธรรมดา เน้ น หลักสูต รระยะสันและ ประกาศนีย บัตรบัณฑิ ตทีสอดคล้ อ งกับ ความต้ อ งการของพืนที ทังนี วิท ยาลัย พร้ อ มที จะ ทํางานร่วมกับมหาวิทยาลัยในการพัฒนาศูนย์พทั ยาให้เป็ นแหล่งการเรี ยนรู้ ทีสํ าคัญของภาค ตะวันออกในระยะยาวต่อไป

2) การพัฒ นาบุคลากรเพือการเรี ยนรู้ และเติบโต (Learning and Growth) บุ ค ลากรนั บ เป็ นทรั พ ยากรที สํ าคั ญ ที สุ ดขององค์ ก ร โดยเฉ พาะในองค์ ก รที เป็ น สถาบันการศึกษา การพัฒนาบุคลากรจึงเป็ นเรืองสําคัญอย่างยิง รวมถึงการสร้ างระบบรักษา บุคลากรให้ อ ยู่กับองค์กรได้ ในระยะยาวด้ วย วิท ยาลัยจึงต้ องสร้ างระบบพัฒนาทักษะของ บุคลากร โดยเฉพาะทีเป็ นทักษะหลัก (Core Competency) รวมทังเปิ ดโอกาสให้ มีการพัฒนา ทักษะอืนเพิมเติม และองค์กรจะต้ องมีโครงสร้ างทีเอือให้ สามารถเติบ โตได้ทางวิชาการ โดยไม่ ต้องพึงตําแหน่งหน้ าทีทางการบริหารอย่างเดียว 9


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3) การพัฒนากระบวนการภายในเพือเพิมผลิตภาพ (Internal Productivity) วิท ยาลัยจะต้ อ งพัฒนาและปรั บ ปรุ ง โครงสร้ างการทํ างานเพือให้ เกิ ดประสิ ท ธิ ภ าพสู งขึน กระบวนการทํา งานทังท่าพระจันทร์ และศูนย์ พทั ยาจะต้ องมีการดํ าเนินงานเป็ นขัน ตอน ได้ มาตรฐานการดําเนินการ มีความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ซึงการพัฒนากระบวนการ ภายในทีวิทยาลัยให้ ความสนใจเป็ นพิเศษ ได้ แก่ การควบคุม ต้ นทุน ดําเนินงาน การปรับปรุ ง กระบวนการเน้ นระบบสายโซ่แ ห่งคุณค่ า (Process Value Chain) การพัฒนาเทคโนโลยี ปฏิบตั กิ าร การพัฒนาระบบให้ บริการ และระบบบริหารการเงินและบัญชี เป็ นต้ น

4) การสร้ างความเข้ าใจและการยอมรับจากภายนอก (External Acceptance) การพัฒนาวิธีการสร้ างคุณค่าขององค์กรให้ เป็ นทีเข้ าใจแก่ผ้ ูทเกี ี ยวข้ องภายนอก อาทิ ผู้บริหาร ระดับนโยบายของมหาวิทยาลัย ประชาคมธรรมศาสตร์ ผู้บ ริห ารองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และสื อมวลชน เป็ นต้ น จํ าเป็ นต้ องได้ รั บ การดําเนิน การอย่า งเป็ นระบบ และสื อสารให้ ภายนอกได้ เห็นประโยชน์หรือคุณภาพของผลลัพธ์ทีดําเนินการโดยวิท ยาลัย รวมถึง การสร้ าง ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาลัยและผู้ เกียวข้ อง การดํ าเนินงานเพือสร้ างความเข้ าใจและการ ยอมรับจากภายนอกจะต้ องเป็ นการทํางานเชิงรุ ก เช่น การพัฒนาช่องทางการประชาสัมพันธ์ แสดงผลงานวิจ ัยโดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Mediated Communication) การ พัฒนาระบบบริ ห ารศูน ย์การเรี ยนรู้ พ ัท ยา (Learning Resource) การใช้ ป ระโยชน์ จ าก ผลงานวิจยั ไปยังสังคมอย่างคุ้มค่า เป็ นต้ น

10


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

บทที 1 ข้ อมูลเบืองต้ น 1. ประวัติความเป็ นมาของวิทยาลัย วิทยาลัยนวัตกรรมเป็ นหน่วยงานในกํากับของมหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตังขึน ตามมติสภามหาวิทยาลัย เมือวันที 30 มกราคม 2538 โดยมีสถานภาพเทียบเท่าคณะ สํ านัก หรือ สถาบัน ตามพระราชบัญญัติ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2531 แรกเริ มใช้ ชื อว่า “ศูน ย์ นวัตกรรมอุ ดมศึกษา” ต่อ มาเพือต้ อ งการให้ เ ป็ นรู ป แบบใหม่ ข องหน่วยงานในมหาวิท ยาลัยที ปรับ เปลี ยนจากการจัด ตังคณะหรื อ ภาควิ ช ามาเป็ นวิท ยาลัย (College) จึงได้ เ ปลี ยนชื อเป็ น “วิ ท ยาลัย นวัต กรรมอุ ด มศึ ก ษา” เมื อวัน ที 10 กุ ม ภาพัน ธ์ 2540 สํ า หรั บ ในปี ที 12 นี สภา มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ มีมติ ให้ แ ก้ ไขชือ “วิท ยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา” เป็ น “วิท ยาลัย นวัตกรรม” และเปลียนชือตําแหน่งผู้รับผิ ดชอบการบริห ารงานวิทยาลัยจาก “ผู้อํ านวยการ” เป็ น “คณบดี” เมือวันที 7 มีนาคม 2551 วิทยาลัยมุง่ เน้ นจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาในลักษณะสหสาขาวิชาซึงมี การผสานศาสตร์จากหลากหลายองค์ความรู้ เ ข้ าด้ ว ยกัน เพือให้ ได้ มาซึงหลักสูตรทีสมบูรณ์และ สมดุลตอบสนองกับการพัฒนาของสังคมไทยในระดับสากล โดยมุ่งมันทีจะเป็ นผู้นาํ ด้านการเรียนรู้ และเป็ นสถาบัน ทีมีม าตรฐานการเรี ย นการสอนและมีผ ลงานวิจ ัยในระดับ นานาชาติ ภายใต้ ปณิ ธาน สร้ า งพลังจากความหลากหลาย (Synergy from Diversity) ก้ า วไกลด้ ว ยคุณธรรม (Excellence with Ethics) มุ่งสร้ างนวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) และพัฒนา โดยคํานึงถึงองค์รวม (Develop Holistically) ปั จ จุบ ัน วิท ยาลัย จัดการเรี ย นการสอน 3 หลักสู ตร ได้ แ ก่ หลัก สู ตรวิท ยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ และศูนย์พัทยา) และหลักสูตรศิล ป ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม จัดระบบการเรียนการสอนโดยใช้ทงทฤษฎี ั และกรณีศกึ ษาโดยเน้ นแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์ ส่งเสริมให้ มกี ารสร้ างสรรค์นวัตกรรมในการ บริหารและการทํางาน และให้ สอดคล้ องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรม การเปลียนแปลงของระบบ เศรษฐกิจ การพัฒนาเทคโนโลยี ข้ อจํากัดของทรัพยากร การเปลียนแปลงของสิงแวดล้ อม ทีส่งผล

11


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ต่อชุมชนและสังคมไทย บัณฑิตของวิทยาลัยจะต้ องสามารถนําความรู้ ทีได้ รบั ไปประยุกต์ใช้ รองรับ ตอบสนอง และบริหารความเปลียนแปลงนันได้ ทงในมิ ั ติของการเรี ยนรู้ อ ย่า งต่อเนือง การพัฒนา และนําองค์กร รวมทังการพัฒนาและร่วมนําสังคมไทยโดยรวม นอกจากนี วิ ท ยาลัย ยัง ได้ ทํ า หน้ า ทีบริ ห ารจัด การอุ ท ยานการเรี ย นรู้ (Learning Resort) ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พทั ยา ตังอยูท่ ีตํ าบลโป่ ง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ซึงได้กําหนดให้เป็ นศูนย์การศึกษาภายใต้ บรรยากาศความร่ มรื นและสะดวกสบาย ประกอบด้วยห้ องประชุมและห้ องสัมมนาทีทันสมัย รองรับการประชุมและการสัมมนาได้ มากกว่า ครังละ 300 คน ห้ องคอมพิวเตอร์ ห้ องพักมาตรฐานจํ านวน 75 ห้ อ ง พร้ อมด้ วยกลุ่มอาคารเรื อ น รับรองอีกจํานวน 4 หลัง มีวตั ถุประสงค์เพือสนองตอบต่อ นโยบายของมหาวิทยาลัยในการขยาย โอกาสทางการศึก ษาสู่ ภูมิ ภ าค โดยเฉพาะอย่า งยิ งในเขตการพัฒนาเศรษฐกิจ ชายฝั งทะเล ตะวันออกทีเป็ นแหล่ งของการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ซึงเป็ นพืนทีสํ าคัญทีมี ความต้ องการในการพัฒนากําลังคนมากทีสุดของประเทศ

2. วิสัยทัศน์ และเป้าหมายในการบริหารวิทยาลัย วิสัยทัศน์

วิทยาลัยนวัตกรรมเป็ นองค์กรทีมีบทบาทสําคัญในการสร้ างนวัตกรรมทางวิช าการ เป็ นองค์กรของการเรียนรู้ ทีมีพนฐานงานวิ ื จยั การทดลอง และรวบรวมรู ปแบบใน การเรียนรู้ ให้ การสนับสนุนความรู้ เป็ นแหล่ งข้ อมูลทางวิช าการ มีการบริ หารทีมี ประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล และเอื อต่อการทํางานวิชาการให้ สมั ฤทธิผ ลต่อสังคม ตลอดจนร่วมมือ ประสานงานกับ ทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย เครื อข่า ยรัฐ และ ทุกภาคส่วน เพือให้ เกิดการพัฒนา อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาให้ เต็มศักยภาพ เกิดผลสัมฤทธิทางการเรียนรู้ ได้ รวดเร็ว และมีประสิทธิผล

12


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

เป้าหมาย

เป้าหมายสําคัญในการบริหารงาน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2551-2553) มีดงั ต่อไปนี 1. พัฒนางานวิชาการ ด้ วยการสร้ างหลักสูตรองค์ความรู้ ใหม่ทีเป็ นนวัตกรรมทาง วิช าการตามความต้ อ งการของสังคม สร้ างกระบวนการบริ ห ารจัดการองค์ ความรู้ และเพิ มคุณภาพหลักสูตรทีมีอยูใ่ นปั จจุบนั ให้ สามารถผลิ ตบัณฑิตทีมี มาตรฐานสูงขึน 2. ผลิตผลงานวิจยั และผลงานวิชาการทีมีคณ ุ ภาพให้ มีปริมาณสูงขึน 3. ดําเนินการให้ ศนู ย์พทั ยา เป็ นแหล่งความรู้ทางวิชาการของภาคตะวันออก 4. จัดระบบการบริหารงานภายในให้มีประสิทธิภาพสูงขึน 5. เพิมความเข้ าใจให้ กบั ประชาคมธรรมศาสตร์ และสังคมไทย มีความรู้ และ ตระหนักถึงบทบาททีสําคัญของวิทยาลัย ในวงกว้าง จากวิสัยทัศน์ และเป้ าหมายข้ างต้ น ได้ นํามาสู่ แนวปฏิบตั ิสําหรับการบริ ห ารงาน วิทยาลัย แบบ 4 มิติ โดยคํานึงถึงความสมดุลกันในทุกมิติ ประกอบด้ วย § มิติการพัฒนางานวิชาการเพือเป็ นทุนทางปั ญญา(Intellectual Capital) § มิติการพัฒนาบุคลากรเพือการเรียนรู้และเติบโต (Learning and Growth) § มิตกิ ารพัฒนากระบวนการภายในเพือเพิมผลิตภาพ (Internal Productivity) § มิติการสร้ างความเข้ าใจและยอมรับจากภายนอก (External Acceptance)

13


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3. โครงสร้ างการบริหารงาน วิทยาลัยนวัตกรรมมีฐานะเป็ นหน่วยงานในกํากับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดย มีสถานะเทียบเท่า “คณะ” ตามพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กําหนดให้ มีโครงสร้ าง และระบบการบริหารงานภายในทีมีความยืดหยุน่ สูง สามารถปรับเปลียนได้ ตามยุทธศาสตร์ เน้ น ความเป็ นอิ ส ระในการบริห ารงาน และสร้ า งกลไกส่ ง เสริ มให้ บุคลากรมี ส่ ว นร่ว มเพือให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ การกํากับดูแลของคณะกรรมการอํานวยการวิทยาลัย ซึงอธิการบดีเป็ น ประธานทําหน้ าทีกําหนดนโยบายและแผนงานให้ สอดคล้ อ งกับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยมี คณบดีเป็ นผู้รับผิดชอบการบริหารงานให้ เป็ นไปตามแนวทางทีคณะกรรมการอํานวยการกําหนด มี รองคณบดีเป็ นผู้ชว่ ย และผู้อํานวยการหลักสูตรรับผิดชอบการดําเนินงานแต่ละหลักสูตร รายนามคณะกรรมการอํานวยการวิทยาลัย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

อธิการบดี ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธุ์ เวสสะโกศล รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือผู้แทน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ หรือผู้แทน ผู้อํานวยการสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร หรือผู้แทน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กมลทิพย์ แจ่มกระจ่าง ดร.พิชิต อัคราทิตย์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร นายมงคล ลีลาธรรม คณบดีวิทยาลัยนวัตกรรม

14

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

สํา หรั บงานด้ า นมาตรฐานการศึกษา รวมทังผลงานด้ า นการวิจัยและวิช าการ ได้ กําหนดให้มีคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถด้ านการวิจยั และวิชาการ ทําหน้ าทีกํากับดูแล เป็ นการเฉพาะ มีวตั ถุประสงค์เพือพัฒนามาตรฐานการศึกษาและการเรี ยนการสอนในระดับสูง และส่งเสริมให้ มผี ลงานด้านการวิจยั และวิชาการซึงเป็ นทียอมรับทังระดับประเทศและระดับสากล รายนามคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถด้ านการวิจยั และวิชาการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

คณบดี รองศาสตราจารย์ ดร. ผดุงศักดิ รัตนเดโช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขจิต จิตตเสวี รองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิจยั รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิชาการ ผู้อํานวยการหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริห ารเทคโนโลยี ผู้อํานวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารงานวัฒนธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุฬาพร เอือรักสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. การดี เลียวไพโรจน์ ดร. ศากุน บุญอิต อาจารย์สุธิดา กัลยาณรุจ นายดนัย กิติภรณ์ นางสาวณัฐกานต์ จาดเมือง นางสาวสินีรัชต์ พวังคะพินธุ์

15

ทีปรึกษาและกรรมการ ทีปรึกษาและกรรมการ ทีปรึกษาและกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ผู้ชว่ ยเลขานุการ


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

โครงสร้ างการบริหารวิชาการ คณะกรรมการอํานวยการ

รองศาสตราจารย์ ม.ร.ว.พงษ์ สวัสดิ สวัสดิวตั น์ คณบดี คณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถ ด้ านการวิจยั และวิชาการ

รองศาสตราจารย์ ดร.แก้ วตา โรหิตรัตนะ รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิชาการ

รองศาสตราจารย์ ดร.ตรีท ศ เหล่าศิรหิ งษ์ท อง รองคณบดี ฝ่ายวางแผนและวิจัย

ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา ผู้อาํ นวยการหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ดร.ธนพัฒน์ ชัยสัน ติกลุ วัฒน์ ผู้อาํ นวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต 16


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

โครงสร้ างส่ วนงานสนับสนุนวิชาการ

คณบดี

รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิชาการ

รองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิจัย

ฝ่ ายสนับสนุนผู้บริหาร

ฝ่ ายบริหารส่ วนกลาง

ฝ่ ายบริการการศึกษา

ฝ่ ายวิจยั และพัฒนา คุณภาพ

§ งานเลขานุการ

§ งานธุรการ

§ งานบริห ารหลักสูตร

§ ศูนย์วจิ ยั และประกัน

§ งานวิเทศสัมพันธ์

§ งานการเงิน

§ งานทะเบียนและ

§ งานประชาสัมพัน ธ์

§ งานบัญชี

§ งานส่งเสริมและให้

§ งานบุคคล

ความรู้วชิ าการ § งานเทคโนโลยี สารสนเทศ

§ งานจัดซือ

คุณภาพการศึกษา § ศูนย์พฒ ั นาศักยภาพ ด้ านการวิจยั และ วิชาการ

กิจกรรมนักศึกษา

§ งานอาคารและ

สถานที § งานยานยนต์ § งานแม่บ้ าน

17


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

โครงสร้ างส่ วนงานอุทยานการเรี ยนรู้ คณะกรรมการอํานวยการ คณบดี รองคณบดี ผู้จดั การทัวไป

ฝ่ ายบริหารกลาง

ฝ่ ายอาหารและ เครืองดืม

ฝ่ ายบริการทีพัก

แผนกการศึกษา

§ แผนกบุ คคล

§ แผนกจัดเลียง

§ แผนกการตลาดและ

§ งานบริ การการศึกษา

§ แผนกบัญชีและ

§ แผนกครัว/สจ๊ วต

ประชาสัมพัน ธ์ § แผนกต้ อนรับ § แผนก Mini Mart § แผนกแม่บ้ าน

§ งานเทคโนโลยี

การเงิน § แผนกจัดซือและพัสดุ § แผนกอาคารและ สถานที

18

สารสนเทศ


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

4. ข้ อมูลเกียวกับหลักสูตรและการศึกษา ปี การศึกษา 2550 วิ ท ยาลัยมีก ารเปิ ดการเรี ย นการสอนทังสิ น 3 หลั กสู ตร ได้ แ ก่ หลั กสู ตรวิ ท ยาศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิช าการบริ ห ารเทคโนโลยี จํ านวน 2 หลั ก สู ต ร (ท่ า พระจัน ทร์ แ ละศู น ย์ พ ัท ยา) และหลักสู ตรศิ ล ปศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารงาน วัฒนธรรม โดยมีรายละเอียดดังนี หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (Master of Science Program in Technology Management) วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร 1. เพือพัฒนานักศึกษาให้มคี วามรู้ ความสามารถ และความชํานาญในการบริหาร และจัดการด้ านเทคโนโลยีภายในองค์กรให้ ก้าวทันอารยประเทศ 2. เพือให้นกั ศึกษามีความรอบรู้ และมีวสิ ยั ทัศน์ทจะสามารถนํ ี าพาองค์กรให้ประสบ ความสําเร็จภายใต้ สภาวะแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองที เปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว 3. มุง่ เน้นให้นกั ศึกษาได้ ตระหนักถึงหน้ าทีและความรับผิดชอบทีมีตอ่ สังคม ระบบการศึกษา § หลักสูตรภาคคําในระบบทวิภาค § ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 7 ภาคการศึกษา (รวมภาคฤดูร้อน) § แบ่งเป็ น 5 หมวดวิชา ดังนี - หมวดการจัดการงานโทรคมนาคม - หมวดการจัดการงานคอมพิวเตอร์ - หมวดการจัดการเทคโนโลยี - หมวดการจัดการงานวิศวกรรม - หมวดเทคโนโลยีค้าปลีก

19


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

§ หลักสูตรการศึกษาแบ่งเป็ น 2 แผน โดยนักศึกษาสามารถเลือกศึกษาแผนใดแผนหนึง ดังต่อไปนี แผน ก. เป็ นหลักสูตรทีมีการศึกษารายวิชา เน้ นการทําวิทยานิพนธ์ แผน ข. เป็ นหลักสูตรทีเน้ นการศึกษารายวิชา และการค้นคว้ าอิสระ § จํานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 45 หน่วยกิต หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวั ฒนธรรม (Master of Arts Program in Cultural Management) วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร 1. เพือผลิตบัณฑิตให้ เป็ นผู้เข้ าใจถึงคุณค่าของวัฒนธรรมในความหมายทีเป็ น ปั จจุบนั และสามารถนําความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการมาใช้ กบั องค์กร ด้ านศิลปะและวัฒนธรรม 2. เพือผลิตบัณฑิตทีมีทกั ษะทังในด้ านวิชาการและในเชิงปฏิบตั กิ ารทีสามารถนําไป ประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพได้ จริง 3. เพือผลิตบัณฑิตทีตระหนักถึงหน้ าทีและมีความรับผิดชอบต่อสังคมได้ ระบบการศึกษา § หลักสูตรภาคคําในระบบทวิภาค § ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 7 ภาคการศึกษา (รวมภาคฤดูร้อน) § แบ่งเป็ น 3 หมวดวิชา ดังนี - หมวดมรดกและวัฒนธรรมร่วมสมัย - หมวดการแสดงและการผลิตทางวัฒนธรรม - หมวดอุตสาหกรรมบันเทิง § หลักสูตรการศึกษาแบ่งเป็ น 2 แผน โดยนักศึกษาสามารถเลือกศึกษาแผนใดแผนหนึง ดังต่อไปนี

20


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

แผน ก. เป็ นหลักสูตรทีมีการศึกษารายวิชา เน้ นการทําวิทยานิพนธ์ แผน ข. เป็ นหลักสูตรทีเน้ นการศึกษารายวิชา และจัดทําโครงการทาง วัฒนธรรม · จํานวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร 42 หน่วยกิต หลั ก สู ตรของวิท ยาลัยถูกออกแบบภายใต้ ป รั ช ญาและวัตถุป ระสงค์เ พือสร้ างให้ นักศึกษาเป็ นผู้ทีรักการเรียนรู้ มุง่ เน้ นการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยกระตุ้ นให้ นกั ศึกษาได้ คิด และเรียนรู้ จากการลงมือปฏิบตั ิ จริ ง แนวความคิ ดดังกล่าวถูกถ่ายทอดลงในวิชาแต่ล ะวิชาที เปิ ดขึน โดยเฉพาะอย่างยิงในส่วนของวิชาเลือก ซึงได้ คาํ นึงถึงความสมดุ ลระหว่างความต้ องการ เรียนของนักศึก ษาและความหลากหลายของรายวิช า กับความเหมาะสมของต้ นทุนดํ าเนินการ ทังนี เนืองจากวิทยาลัยเชือว่าหากสามารถเปิ ดรายวิชาให้ ตรงกับความต้ องการของนักศึกษาจะทํา ให้ นกั ศึกษาได้ เรียนในวิชาทีมีความสนใจ ซึงจะทําให้ เกิดแรงจูงใจในการเรียนเพือผลสัมฤทธิสูงสุด ข้ อมู ลสถิติด้านการเรี ยนการสอน

800

นักศึก ษาเต็มเวลาเทียบเท่ า (FTES) ปี การศึกษา 2550

724.29

700 600 447.53

500

FTES

400 300 155.03

200

447.53 155.03 121.73 724.28

121.73

100

21

มด งห

CT รว ม

M

ยา ) (ศ

TT M

TT

(ท

่าพ

ูนย

ระ

์พ

จัน

ัท

ร)์

0

M

สาขาวิชา การบริหารเทคโนโลยี (MTT) § ท่าพระจันทร์ § ศูนย์พทั ยา การบริหารงานวัฒนธรรม (MCT) รวมทังหมด


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

91

31

มด ั มท รว

งห

CT

M

TT

(ศ

M

ยา ) ูนย

ระ

์พ

จัน

ัท

ร)์

17

่าพ (ท

สาขาวิชา การบริห ารเทคโนโลยี (MTT) § ท่าพระจันทร์ § ศูน ย์พทั ยา การบริห ารงานวัฒนธรรม (MCT) รวมทังหมด

43

วิชา 43 31 17 91

M

TT

จํานวนรายวิชาทีเปิดสอน ปี การศึกษา 2550

250

จํานวนนักศึกษาทีสําเร็จการศึกษา ในรอบ 5 ปี ที ผ่ านมา ปี การศึกษา 2550 2549 2548 2547 2546

197

200

179 156

จํานวน 197 156 120 179 44

150

120

100 44

50 0 2550

22

2549

2548

2547

2546


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

5. ข้ อมูลเกียวกับบุคลากร บุคลากรของวิทยาลัยแบ่งเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่ บุคลากรสายวิชาการ มีหน้าทีทําการสอน วิจ ัย และให้ บ ริ การทางวิช าการ และบุคลากรสายสนับ สนุน วิช าการ มี ห น้ า ที บริ ห ารจัดการ สนับสนุนด้านการเรียนการสอนและการบริการทางวิชาการ สําหรับปี การศึกษา 2550 วิทยาลัย มี บุคลากรรวมทังหมด 48 คน สามารถจําแนกตามสายงาน วุฒิการศึกษา ตําแหน่งทางวิช าการ ตามรายละเอียดต่อไปนี บุคลากร สายวิชาการ (อาจารย์ประจํา)

สายสนับสนุน วิชาการ

วุฒกิ ารศึกษา

จํานวน

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก

7 9

รวม ตํากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท รวม

16 4 20 8 32

สถานะ/ ตําแหน่ งวิชาการ

จํานวน

อาจารย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ รวม ปฏิบตั กิ ารวิชาชีพ หัวหน้ างาน ผู้จดั การ รวม

15 1 16 24 4 4 32

* ข้ อมูล ณ วันที 30 มิถุนายน 2551 การบริห ารงานวิช าการและการเรี ยนการสอนของวิท ยาลัยทีผ่า นมา เน้ น การเชิ ญ คณาจารย์หรือผู้เชียวชาญร่วมเป็ นผู้ให้ ความรู้ กบั นักศึกษา ทังทีเป็ นคณาจารย์จ ากหน่วยงานอื น ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณาจารย์หรือผู้เชียวชาญจากภายนอก เนืองจากวิทยาลัย ให้ ความสําคัญกับการถ่ายทอดความรู้ จากผู้มีประสบการณ์ตรง โดยให้ อาจารย์ประจําเป็ นผู้กาํ กับ และควบคุมคุณภาพ

23


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

เพือให้ การบริหารงานวิชาการของวิทยาลัยสอดคล้ องกับเกณฑ์มาตรฐานสําหรับ การ จัดการเรียนการสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และเป็ นไปตามเกณฑ์ การประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยจึงเร่งสรรหาอาจารย์ประจําเพิมเติมรองรับการดําเนินงาน ของหลัก สูตรใหม่ที กํา ลังจะเปิ ดการเรี ยนการสอนในอนาคต โดยกํา หนดเป็ นแผนอัตรากําลัง อาจารย์ประจํา 5 ปี โดยมีรายละเอียดดังนี แผนอัตรากําลังอาจารย์ ประจําวิทยาลัย ปี การศึกษา ท่ าพระจันทร์ จํานวนอาจารย์ประจําในปี การศึกษา แผนรับอาจารย์เพิมเติม เป้าหมายอัตรากําลังอาจารย์ประจํา ศูนย์ พทั ยา จํานวนอาจารย์ประจําในปี การศึกษา แผนรับอาจารย์เพิมเติม เป้าหมายอัตรากําลังอาจารย์ประจํา เป้าหมายอัตรากําลังรวมทังวิทยาลัย จํานวนอาจารย์ประจําในปี การศึกษา แผนรับอาจารย์เพิมเติม เป้าหมายอัตรากําลังอาจารย์ประจํา

2551

2552

2553

2554

2555

17 5 22

22 2 24

24 2 26

26 1 27

27 0 27

0 5 5

5 2 7

7 2 9

9 1 10

10 0 10

17 10 27

27 4 31

31 4 35

35 2 37

37 0 37

24


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

6. ข้ อมูลเกียวกับทรั พยากรและงบประมาณ วิ ทยาลัยนวัตกรรมมีที ตังสํ านักงานและห้ อ งเรี ยนบริ เวณชัน 1 และ ชัน 4-5 อาคาร อเนกประสงค์ 3 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และพืนทีอุทยานการเรี ยนรู้ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์พทั ยา ประกอบด้ วยอาคารสัมมนาและฝึ กอบรม อาคารทีพัก และเรื อนรับรองอีก จํานวน 4 หลัง ซึงวิทยาลัยได้ ใช้ พนที ื อาคารสัมมนาและฝึ กอบรมของอุทยานการเรี ยนรู้ ในการจัดการ เรียนการสอนด้ วย สําหรับข้ อมูลงบประมาณและการเงินนัน วิทยาลัยเป็ นหน่วยงานเลียงตัวเอง ไม่ได้ ใช้ งบประมาณจากมหาวิทยาลัยหรืองบประมาณแผ่นดิน มีรายได้ หลักจากการให้บริการการศึกษาระดับ ปริญญาโท ศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา (อุทยานการเรียนรู้ ) และการจัดโครงการบริการสังคม ปี งบประมาณ 2550 (สินสุดวันที 30 กันยายน 2550) วิทยาลัยมีรายได้ ทงสิ ั น 98.9 ล้ าน บาท โดยมีค่าใช้ จา่ ยแบ่งเป็ นต้ นทุนดําเนินงาน 23.2 ล้ านบาท เงินนําส่งมหาวิทยาลัย 15.3 ล้ านบาท และค่าใช้ จา่ ยในการดําเนินงาน (ค่าจ้ างพนักงาน ค่าใช้ จา่ ยในการบริหารงาน และอืนๆ) 46.5 ล้านบาท ส่งผลให้มีกําไรสุทธิการดําเนินงาน 13.9 ล้ านบาท

สัดส่ วนรายได้ 3.44%

รายได้ ด้ านการศึกษา โครงการบริการสังคม ศูนย์อบรมและสัมมนา ดอกผลจากการลงทุน เงิน อุดหนุน รายได้ อืน รวม

เงินอุดหนุน

บาท ร้ อยละ 58,231,199 58.85 5,262,048 5.32 26,937,989 27.23 4,729,491 4.78 3,400,000 3.44 38,540 0.28 98,941,267 100.00

0.28%

รายได้ อืนๆ

4.78%

การลงทุน 27.23%

ศูนย์อบรมฯ

5.32%

โครงการบริ การสังคม

25

58.85%

การศึกษา


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

100

93

90

สินทรัพย์ และหนีสิน

90 80

ร้ อยละ สินทรัพย์ หนีสิน

70 60 50 40 30 20

10

บาท สินทรัพย์ หนีสิน รวม

7

10 0 2550

2549

2549 93.00 7.00

2550 2549 135,306,327 115,636,451 14,709,649 8,993,952 150,015,976 124,630,403

20

กําไรสุทธิ

15

บาท 11,589,048 13,909,847

ล้านบาท

ปี การศึกษา 2549 2550

2550 90.00 10.00

13.90 11.60

10 5 0 2550

26

2549


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

7. ระบบและกลไกประกันคุณภาพ วิทยาลัยมีการจัดโครงสร้ างการทํางานขององค์กร โดยมีฝ่ายวิจ ยั และพัฒนาคุณภาพ ทําหน้ าทีดําเนินงาน จัดกิจกรรม รวมถึงการติดตามผลและจัดเก็บข้ อมูลตัวชีวัดตามมาตรฐานการ ประกันคุณภาพทีกําหนด ภายใต้ การกํากับดูแ ลของรองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิจ ัย ทําให้ การ ประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยมีการดําเนินการอย่างเป็ นระบบ และมีกิจกรรมเพื อพัฒนา มาตรฐานด้ านคุณภาพการศึกษาตลอดทังปี มีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบ ตั ิการเพือประเมินผลการ ดําเนินงานทีผ่านมา และวางแผนงานเพือปรับ ปรุ งคุณภาพตามตัวบ่งชีทีกําหนด นอกจากนี ยังมี การแต่งตังคณะกรรมการพัฒนาศักยภาพด้ านการวิจัยและวิช าการ ทําหน้ าทีกํ ากับดูแ ลและวาง นโยบายด้ า นการบริ ห ารวิช าการ ซึงเป็ นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผลงานวิช าการ และสร้ าง มาตรฐานการเรียนการสอนให้ อยูใ่ นระดับสูง แนวทางการดําเนินงานประกันคุณภาพของวิทยาลัย ข้ อมูลแนวทางการประกัน คุณภาพ ระดับมหาวิท ยาลัย สัมมนาเชิงปฏิบ ัตกิ ารด้ านประกัน คุณภาพการศึกษา ร่ วมกันระหว่าง คณาจารย์ และผู้บริ ห ารวิท ยาลัย พัฒนาระบบ โดยได้ รับ นโยบายและ แนวปฏิบตั ิการประกันคุณภาพของ วิทยาลัยทีได้ จากการจัดสัมมนา

ดําเนิน งานตามระบบและ กลไกประกันคุ ณภาพ

สร้ างกลไก แต่งตังคณะกรรมการ คณะทํางาน หรื อผู้รบั ผิดชอบเพือ ปฏิบตั ิงานให้ ได้ ผลสําเร็ จ

รวบรวมข้ อมูลผลการดําเนินงาน และจัดทํารายงานประเมิ น ตนเองประจําปี 27


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

8. จุดเด่ นและผลการดําเนินงานทีสําคัญในรอบปี วิทยาลัยได้ ทําการกําหนดเป้าหมายสําหรับการดําเนินงานตลอดปี การศึกษา 2550 โดย พิจารณาถึงความสอดคล้ องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถกําหนดเป็ น เป้าหมายสําคัญ 5 ประการ ได้ แก่ เป้าหมายที 1 : พัฒนางานวิชาการ ด้ วยหลักสูตรทีมีอ งค์ความรู้ เป็ นนวัตกรรมทางวิช าการตาม ความต้ องการของสังคม มีกระบวนการบริหารจัดการองค์ความรู้ และเพิมคุณภาพ หลักสูตรทีมีอยู่ในปั จจุบนั ให้ สามารถผลิ ตบัณฑิตทีมีมาตรฐานสูงขึน เป้าหมายที 2 : ผลิตผลงานวิจยั และผลงานวิชาการทีมีคณ ุ ภาพให้ มีปริมาณสูงขึน เป้าหมายที 3 : ดําเนินการให้ ศนู ย์พทั ยาเป็ นแหล่งความรู้ทางวิชาการของภาคตะวันออก เป้าหมายที 4 : จัดระบบการบริหารงานภายในให้ มปี ระสิทธิภาพสูงขึน เป้าหมายที 5 : เพิ มความเข้ าใจให้ ก ับ ประชาคมธรรมศาสตร์ แ ละสัง คมไทย มี ค วามรู้ และ ตระหนักถึงบทบาททีสําคัญของวิทยาลัยในวงกว้ าง โดยมีผลการดําเนินงานทีสําคัญแยกตามเป้าหมายทัง 5 ดังต่ อไปนี ผลการดําเนินงานตามเป้าหมายที 1 : พัฒนางานวิชาการ ด้ วยหลักสู ตรทีมีองค์ความรู้ เป็ น นวัตกรรมทางวิชาการตามความต้ องการของสังคม มีกระบวนการบริ หารจัดการองค์ความรู้ และ เพิมคุณภาพหลักสูตรทีมีอยูใ่ นปั จจุบนั ให้สามารถผลิตบัณฑิตทีมีมาตรฐานสูงขึน 1. การปรั บปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี เพือพัฒ นามาตรฐานและเพิมคุ ณภาพของหลักสู ตรระดับ ปริ ญญาโท สาขาการบริ ห าร เทคโนโลยี โดยมีเป้าหมายให้ หลักสูตรเป็ นสากลและได้ รับการรับรองจากสมาคมการบริ หาร เทคโนโลยีน านาชาติ (International Association for Management of Technology – IAMOT - www.iamot.org) วิทยาลัยจึงได้ ดําเนินการปรับ ปรุ งหลักสูตร โดยกําหนดเริมใช้ หลักสูตรปรับปรุ งกับนักศึกษารุ่นปี 2551 พร้ อมกันนี วิทยาลัยได้ ดาํ เนินการจัดเตรี ยมเอกสาร หลักฐาน สําหรับการประเมินและการตรวจเยียมจาก IAMOT ภายในปี 2552 ซึงเมือผ่านการ พิจารณาและได้ รับการรับรองแล้ ว จะได้ รบั ใบรับรองหลักสูตรอย่างเป็ นทางการ

28


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2. การปรั บปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม หลังจากทีวิ ทยาลัยได้ เปิ ดการเรีย นการสอนหลักสู ตรมหาบัณฑิตทางด้ านการบริ หารงาน วัฒ นธรรม มาตังแต่ปี การศึ ก ษา 2542 ทํ า ให้ มี ค วามเข้ าใจถึง พลวัต ของวิช าการด้ า น บริหารงานวัฒนธรรม และดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรให้ มคี วามเหมาะสมอย่างต่อเนือง โดย ในปี การศึกษานีได้ ทําการปรับปรุ งหลักสูตรอีกครังหนึง มีแผนกําหนดให้ เริมใช้ กบั นักศึกษารุ่น ปี 2551 เป็ นต้ นไป 3. การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบริการ วิทยาลัยต้ องการพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขานวัตกรรมบริ การ เพือตอบสนองต่อ ความต้ อ งการบุคลากรทีมีศักยภาพและมี ความสามารถในการพัฒนาระบบการให้ บริ การ สําหรับภาคธุรกิจ โดยมีวตั ถุประสงค์ทีจะผลิตมหาบัณฑิตทีมีความรู้ ทงด้ ั านธุรกิจบริ การ การ บริ หารจัดการ เทคโนโลยีแ ละระบบการให้ บ ริ การในรู ปแบบต่า งๆ เพือให้ สามารถพัฒนา ออกแบบ และสร้ างระบบบริการใหม่ๆ ทีจะเพิมความสามารถในการแข่งขันและความต้องการ นวัตกรรมการบริการทีหลากหลายเพิมขึนในภาคธุรกิจ มีเป้าหมายเริ มเปิ ดการเรี ยนการสอน ในปี การศึกษา 2551 4. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต Chief Information Officers (CIOs) เพือเป็ นการสนับสนุนนโยบายของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ทีมีความ มุง่ หวังให้ หน่วยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจ มีผ้ ูบริหารสารสนเทศระดับสูง วิทยาลัยนวัตกรรม จึงเห็นควรทีจะทําการพัฒนาหลักสูตรทางด้ านการบริ หารเทคโนโลยีสารสนเทศขึน เพือมุ่ง พัฒนาผู้บริหารสารสนเทศทีมีความรู้ ความเชียวชาญ พร้ อมด้ วยคุณธรรมและจริยธรรม โดย หลักสูตรนีได้ รับความร่วมมือด้านการวิจยั และพัฒนากับคณาจารย์จ าก Waseda University ทังนี คาดจะเปิ ดการเรียนการสอน ประมาณปี การศึกษา 2553 5. การเจรจาความร่ ว มมือกับมหาวิทยาลัยในต่ างประเทศ คณะผู้บริหารของวิทยาลัยซึงประกอบด้ วย คณบดี รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิชาการ และ รองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิ จ ัย ได้ เดิ นทางไปยังประเทศสหรัฐอเมริ กา เพือเจรจาความ ร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยชันนําและสมาคมวิชาชีพ ระหว่างวันที 16-27 พฤษภาคม 2551 โดยมีผลการเจรจาความร่วมมือดังต่อไปนี

29


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด (Harvard University) วันที 17 พฤษภาคม 2551 คณบดีได้ เข้ าพบ Professor David Ellwood คณบดีข อง Kennedy School of Government (KSG) เพือหารือ แนวทางทําความร่ วมมือ วิชาการ โดย KSG ได้ เน้ นทีจะให้ ความร่ วมมือ ด้ าน International Development Research ซึง เป็ นโครงการวิจ ยั ส่วนทีมีข นาดใหญ่ (ทุน วิจัยมากกว่า 1 ล้ านดอลล่าร์ สหรัฐ) และมีท ุน วิจยั จากผู้ให้ ทุนในระดับนานาชาติ อาทิ ASEAN โดย KSG ยินดีทีจะเข้ าร่ วมโครงการ หากมีโอกาสทําวิจยั ร่วมกันต่อไปได้ นอกจากนี คณบดียงั ได้ มีโอกาสได้ พบรองคณบดีฝ่าย การนักศึกษาและฝ่ ายบริห ารของ Wagner School แห่งมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก (Tyra K. Liebman) และได้หารือในเบืองต้นของการแลกเปลียนนักศึกษามาดูงาน ตลอดจนความ ร่วมมือทางวิชาการด้ านอืน ซึงรองคณบดีฝ่ายบริหารของ Wagner School ยินดีทีจะได้ มี การประสานงานกันในเรืองนีต่อไป สมาคมการบริหารเทคโนโลยีสากล (IAMOT) วันที 19 พฤษภาคม 2551 คณะผู้ บริ หารวิทยาลัยได้ เ ข้ าพบกับ Professor Yasser A. Hosni รองประธ านบริ ห ารสมาคมการบริ หารเ ทคโนโลยี ส ากล (International Association of Management of Technology (IAMOT)) เพือทํ า การศึ กษาหารื อ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพือรับรองหลักสูตรการบริหารเทคโนโลยีของ IAMOTซึง วิทยาลัยกําหนดเป้าหมายให้ สามารถดําเนินการแล้ วเสร็จภายในปี 2552 นอกจากนี ยังได้ ถือ โอกาสนีหารื อเรื องการทีวิท ยาลัย ประสงค์จ ะเสนอตัวเป็ นเจ้ าภาพ สําหรับจัดการประชุมนานาชาติ IAMOT ในประเทศไทยในปี 2553 (IAMOT 2010) ซึง Professor Yasser A. Hosni มี มุมมองในแง่บวก และมีความเป็ นไปได้ สูงทีจะเกิดขึน ตามทีวิท ยาลัยเสนอ โดย Professor Yasser A. Hosni ได้ ให้ วิทยาลัยจัดทําข้ อเสนอ โครงการ ส่งไปยัง IAMOT ภายในเดือนสิงหาคม ปี 2551

30


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

Carlson School of Management ณ มหาวิทยาลัยมินเนโซตา (University of Minnesota) วันที 20 พฤษภาคม 2551 การเจรจาครังนีได้ พบกับ Prof. Michael Houston รองคณบดี ฝ่ ายวิเทศสัมพัน ธ์, Prof. Anne M. D’Angelo King ผู้ช่วยคณบดี, Mr. Joe Mosher ผู้ อํ า นวยการโครงการขยายความร่ ว มมื อ นานาชาติ , Assoc. Prof. Johnny Rungtusanatham รองศาสตราจารย์ประจําภาควิช า Operations and Management Science ซึงได้ ข้อสรุ ปสําหรับความร่วมมือกัน ดังต่อไปนี 1. การจัดโครงการศึก ษาดูง านต่า งประเทศร่ วมของนักศึกษาปริ ญญาโทสาขาการ จัดการนวัตกรรมบริ การของวิทยาลัยนวัตกรรม และนักศึกษาปริ ญญาโทสาขาการ บริหารธุรกิจของ Carlson School of Management ซึงอาจจัดทําได้ ในหลายรูปแบบ A. นักศึกษาจาก Carlson School of Management ประมาณ 20 คนมาดูง านที ประเทศไทยเป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ในขณะเดียวกันวิทยาลัยสามารถส่งนักศึกษาไป เรียนที Carlson School of Management ได้ 2 คนคนละ 1ภาคการศึกษาต่อ ปี โดยไม่เสียค่าใช้ จ่ายค่าบริหารจัดการและค่าเทอมทังสองฝ่ าย B. นักศึกษาจาก Carlson School of Management ประมาณ 20 คนมาดูง านที ประเทศไทยเป็ นเวลา 2 สั ป ดาห์ ในขณะเดี ย วกัน วิ ท ยาลัย ส่ ง นัก ศึ ก ษาไป ประมาณ 20 คนไปดูงานที Carlson School of Management เป็ นเวลา 2 สัปดาห์เช่นกัน โดยไม่คิดค่าใช้ จา่ ยในการบริหารจัดการทังสองฝ่ าย 2. การเพิมขีดความสามารถด้ านการวิจยั ของวิทยาลัย โดยได้ เรี ยนเชิญ Assoc. Prof. Johnny Rungtusanatham รองศาสตราจารย์ป ระจํ าภาควิช า Operations and Management Science ให้จดั การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรืองการทําวิจยั เพือนํามาใช้ ใน การเขียนกรณีศกึ ษาสําหรับใช้ สอนในระดับปริญญาโทในช่วงเดือนธันวาคม ปี 2551 3. ในระยะต่ อ ไปอาจเปิ ดหลัก สู ต รระดับ ประกาศนี ย บัตรร่ ว ม ซึงทํ า การสอนโดย คณาจารย์จากทัง 2 สถาบัน

31


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

Heinz School of Public Policy and Management ณ มหาวิทยาลัยคาร์ เนกี เมลอน (Carnegie Mellon University) วันที 22 พฤษภาคม 2551 คณะผู้ บริ หารได้ เดิน ทางเพือเจรจาความร่ วมมือทางวิช าการ กับ Heinz School of Public Policy and Management ณ มหาวิทยาลัยคาร์เนกี เมลอน (Carnegie Mellon University) โดยได้ ผลการเจรจา ดังนี 1. เจรจากับ Prof. Andrew Wasser รองคณบดี ผู้รับผิดชอบโครงการบัณฑิตศึกษา หลักสูตรการบริหารสารสนเทศ โดยได้ ตกลงในหลักการทีจะรับนักศึกษาในหลักสู ตร MTT track CIO หรือนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต CIO ไปเรียนในบาง module ร่ วมกับการศึกษาดูง านและเข้ าร่วมสัมมนากับนักศึกษาในหลักสูตร CIO Institute Certificate ของ Heinz School of Public Policy and Management ประมาณ 10 วัน ซึงมีความเป็ นไปได้ ทีจะเริมรุ่นแรกในเดือนพฤษภาคม - มิถนุ ายน 2552 2. การเจรจากับ Prof. Alan Friedman ผู้อํานวยการสถาบันนวัตกรรมสังคม และ Prof. Jerry A.Coltin ผู้ อํานวยการหลักสูตรการบริ หารจัดการด้ านศิ ลป์ ซึงนําไปสู่ความ ร่วมมือใน 2 ลักษณะ ได้ แก่ A. ส่งนักศึกษาไปดูงานด้ านการจัดการด้ านศิลปะ การบริหารการแสดง การบริ หาร พิพธิ ภัณฑ์ ใน Pittsburgh และเมืองใกล้ เคียง ช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถนุ ายน B. ส่งโครงการทางวัฒ นธรรมของนักศึ กษาไปร่ วมในงานแสดง Cross cultural Exhibition เมือง Pittsburgh ซึงจัดขึนเป็ นประจําทุกปี ในช่วงเดือนตุลาคม 3. การเจรจาความร่วมมือกับ Dean Mark Wessel คณบดีของ Heinz School of Public Policy and Management และ Ms. Ann English ผู้อํานวยการอาวุโสด้ านกลยุทธ์ และการดําเนินงาน โดยได้ ตกลงในหลักการทีจะให้ มกี ิจกรรมความร่วมมือต่างๆ ดังนี A. ส่งอาจารย์ของวิทยาลัยไปทําวิจยั ที CMU เป็ นเวลา 1 ภาคการศึกษา B. ร่ วมกัน พัฒ นากรณีศึกษาด้ านกลยุท ธ์การบริ หารงานศิล ป์ (Strategy in Art Management) ระหว่างอาจารย์จาก CMU กับอาจารย์ของวิทยาลัย C. เพิมขีดความสามารถด้ านการวิจยั ของวิทยาลัย โดยเชิญ Dean Mark Wessel มาบรรยายพิเศษด้ านการบริหารเทคโนโลยี ช่วงปลายเดือนมิถนุ ายน 2551

32


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

School of Hotel Administration ณ มหาวิทยาลัยคอร์ แนล (Cornell University) วันที 24 พฤษภาคม 2551 คณะผู้บริ หารของวิท ยาลัยได้ เข้ าพบ Mr. Lex Chutintranond ซึงเป็ นอาจารย์พเิ ศษของ School of Hotel Administration ในการประสานความร่วมมือ ทางวิชาการกับ Cornell ของหลักสูตรปริญญาโทสาขาการจัดการนวัตกรรมบริ การ โดยมี เป้าหมายในระยะสันคือ การจัดโครงการศึกษาดูงานต่างประเทศของนักศึกษาปริญญาโท สาขาการจัดการนวัตกรรมบริ การ ประมาณ 20 คน ไปทัศนศึกษาและรับฟั งคํ าบรรยาย ของอาจารย์ประจํ า School of Hotel Administration เป็ นเวลาประมาณ 2 สัป ดาห์ ซึง คณบดีจ ะได้ ดํ า เนิ น การติด ต่อ ประสานงานในเรื องนี ต่อ ไปเมื อหลั กสู ตร MSI ภาค ภาษาอังกฤษ ได้ รับการอนุมตั ิจากฝ่ ายวิชาการของมหาวิทยาลัยแล้ ว 6. โครงการพัฒนาผลงานวิจยั -วิทยานิพนธ์ เพือการตีพิมพ์ ระดับนานาชาติ เพือส่งเสริมให้ผลงานวิจยั และวิทยานิพ นธ์ ของนักศึกษาสามารถตีพิมพ์ได้ ในระดับชาติและ นานาชาติ วิท ยาลัยจึงได้ จ ัดโครงการ “Research Camp” โดยเนือหาโครงการแบ่ง เป็ น 3 ระยะ ได้ แ ก่ ระยะแรก เนื อหาเกียวข้ อ งกับ เป้าหมายและคุณภาพของงานวิจัย รวมถึงการ เข้ าถึง แหล่งข้ อมูล อ้ างอิงที ต้ อ งการ ระยะทีสอง เป็ นการเรี ยนรู้ วิธีการลงมือ เขี ยนงานวิจัย วิธีการเขียนงานวิจยั ทีดี การอ้ างอิงงานวิจยั และการสื บค้ น ข้ อมูล และระยะทีสาม เป็ นการ พัฒนาต่อ เนื องโดยต้ อ งการให้ ส ามารถเขี ยนบทความวิ ชาการตามรู ป แบบมาตรฐาน ปี การศึกษา 2550 ได้จดั โครงการ “Research Camp” แล้ ว 2 รุ่น ได้ แก่ รุ่นที 1 จัดระหว่างเดือน ตุลาคม ถึง ธันวาคม 2550 และ รุ่นที 2 จัดระหว่างเดือนมีนาคม ถึง เมษายน 2551 7. การจัดตังสมาคมเครื อข่ ายนักวิจยั นักวิชาการ สาขาบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่ งประเทศไทย วิทยาลัยนวัตกรรมได้ เ ป็ นผู้ริเริ มในการดํ าเนิ น สร้ างเครื อข่ายนักวิจ ัยและนัก วิช าการ สาขา บริ หารเทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งประเทศไทย และได้ จ ัดการประชุมร่ วมระหว่างนักวิจ ัย นักวิชาการ ในสาขาการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครังที 1/2551 เมือวัน ที 23 เมษายน 2551 และทีประชุมได้ เห็นชอบในการจัดตังสมาคมเครือข่ายนักวิจยั นักวิชาการ สาขาบริ หาร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งประเทศไทย โดยให้ วิทยาลัยนวัตกรรมจะเป็ นศูน ย์ประสานงาน ทางกายภาพ

33


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

8. ร่ วมเป็ นสมาชิกประเภทสถาบัน (Institutional Member) กับ Asian Academy for Heritage Management (AAHM) AAHM เป็ นเครือข่ายสถาบันฝึ กอบรมสาขาการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิก มีเป้าหมายในการเสริมสร้ างความแข็ งแกร่งและพัฒนาศักยภาพด้ านการจัดการ ทรัพยากรทางวัฒนธรรมอย่างยังยืน โดยจัดหาความร่วมมือระดับสถาบันด้ านการศึกษา การ ฝึ กอบรม และการวิจ ัย ตลอดจนส่งเสริมการจัดการทรัพยากรมรดกแบบบูรณาการ ภายใต้ คําแนะนําของ UNESCO และ International Centre for the Study of the Preservation and Restoration of Cultural Property (ICCROM) ทังนี วัตถุประสงค์ของ AAHM สอดคล้ อง กับเป้าหมายการพัฒนางานวิช าการที เป็ นนวัตกรรม และการส่ งเสริมกระบวนการบริ หาร จัดการองค์ความรู้ วิทยาลัยจึงสมัครเป็ นสมาชิกประเภทสถาบัน (Institutional Member) กับ AAHM ซึงปั จจุบนั มีเครือข่ายสมาชิก 54 สถาบัน ครอบคลุมในออสเตรเลี ย บัง คลาเทศ จีน อินเดีย ญีปุ่ น นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา ทังนี ได้ รับการตอบรับเมือเดือนมกราคม 2550 9. สมัครเป็ นสมาชิกองค์ กร PATA Pacific Asia Travel Association (PATA) เป็ นองค์กรส่งเสริมวิสัยทัศน์ปรัชญาการท่องเทียว อย่างยังยืนในภูมภิ าคเอเชี ย-แปซิฟิก และเป็ นสมาคมการค้ าการท่องเทียวเพียงแห่งเดียวซึง เป็ นตัวแทนของทังภาครัฐและภาคเอกชนในเอเชีย-แปซิฟิก ครอบคลุมสํานักงานการท่องเทียว ระดับชาติและระดับภูมภิ าคสําคัญๆ สายการบิน เรือสําราญ โรงแรมและรี สอร์ ท หน่วยงาน การท่องเที ยว สถานทีท่อ งเที ยว สือ สถาบันการศึกษา เป็ นต้ น ซึงสอดคล้ องและสนับสนุน หลัก สูตรนวัตกรรมการบริ การ อัน เป็ นหลัก สูตรทีอยู่ระหว่างดําเนินการขออนุมตั ิจากสภา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยนวัตกรรมจึงสมัครและได้ รับการตอบรับเป็ นสมาชิกของ PATA ในปี ค.ศ. 2008

34


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงานตามเป้าหมายที 2 : ผลิ ตผลงานวิจยั และผลงานวิช าการทีมีคุณภาพให้ มี ปริมาณสูงขึน 1. การสนับสนุนการนําเสนอผลงานทางวิชาการ เงินรางวั ลผลงานวิชาการดีเด่ นสําหรั บ นักศึกษาของวิทยาลัย เพือเป็ นการสร้ างความเข้ มแข็งด้ านการวิจยั และสนับสนุน ให้ นกั ศึกษาได้ สร้ างสรรค์ผลงาน วิชาการและการวิจยั และเผยแพร่อย่างหลากหลายตามกรอบการพัฒนาผลงานวิชาการ ซึง เป็ นทียอมรับทังระดับประเทศและระดับนานาชาติ วิทยาลัยจึงจัดตังกองทุนการศึกษาขึนเพือ สนับ สนุน และส่ ง เสริ ม ให้ น ัก ศึ ก ษาสามารถผลิ ต งานวิ จ ัย ที มี คุ ณภาพ ด้ ว ยการจัด สรร ทุนการศึกษา และทุนสนับสนุนค่าใช้ จา่ ยในการนําเสนอผลงานวิชาการ รวมทังรางวัลผลงาน วิชาการสําหรับนักศึกษาประเภทต่างๆ 2. การจัดทําระเบียบว่ าด้วยการสนั บสนุนโครงการวิจยั ของคณาจารย์ ตามเป้าหมายในการบริหารวิทยาลัยทีให้ ความสําคัญในมิติการพัฒนาบุคลากรเพือการเรียนรู้ และเติ บโต (Learning and Growth) เป็ นสําคัญ วิท ยาลัยจึงสนับสนุน และสร้ างแรงจูงใจ ให้ กับคณาจารย์ในการสร้ างสรรค์ผลงานวิจ ัยและ/หรื อ ผลงานทางวิช าการ โดยได้ จ ัดสรร งบประมาณสําหรับค่าตอบแทนและค่าสมนาคุณพิเศษให้แก่คณาจารย์ทีมีผลงานตามเกณฑ์ และมาตรฐานทีกําหนด 3. สนับสนุนการเผยแพร่ ผลงานวิจยั ของนักศึกษาเพือการนําไปใช้ประโยชน์ วิท ยาลัยได้ จ ดั โครงการนวัตกรรมนิท ศั น์ (Innovative Gallery) โดยจัด ทําเป็ นแกลลอรี แสดง ผลงานวิชาการของนักศึกษาให้กบั บุคคลทัวไปได้ ชม โดยจัดการแสดงระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เมษายน 2551 ทีบริเวณโถงชัน 1 อาคารอเนกประสงค์ 3 ท่าพระจันทร์ ซึงเป็ นการนํ าเสนอ ผลงานภายในแนวคิด “นวัตกรรมการจัดการพืนทีทางวัฒนธรรม” โครงการทีร่ วมแสดง § § § § §

“สนามเด็กเล่นเพือวัฒนธรรม กรุ งเทพมหานคร” โดย นางสาวนวพร สินสมบูรณ์ทอง “สวนสนุกทางประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม” โดย นางสาวประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข “สถานีศิลปวัฒนธรรมคนเมือง” โดย นางสาวประณิชา กัลยาณมิตร “ศูนย์การเรียนรู้ ดนตรีไทย” โดย นางสาวชวันธร มงคลเลิศลพ “ศูนย์การเรียนรู้ ทางวัฒนธรรม จังหวัดเพชรบุรี” โดย นางสาวกนกวรรณ ทองเถือน 35


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

4. วารสารวิชาการออนไลน์ “CITU Review” เพือเป็ นฐานข้ อมูลและเผยแพร่ผลงานวิชาการในสาขาวิชาทีจัดการเรียนการสอนอยู่ วิทยาลัย จึงได้ จ ัดทํ าวารสารออนไลน์ “CITU Review” ซึงเป็ นการรวบรวมและสรุ ปเนือหางานวิจัยที เกียวข้ องจากต่างประเทศและแปลเป็ นภาษาไทย มีกาํ หนดการเผยแพร่ ผ่านทางเว็บไซต์ของ วิทยาลัย โดยมีการปรับปรุ งข้ อมูลทุก 2 เดือ น กําหนดเผยแพร่ครังแรกในเดือนกันยายน 2550 5. ความร่ วมมือกับศูนย์ ภูมภิ าคโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ในองค์ การรัฐมนตรีศึกษาแห่ ง ภูมภิ าคเอเชียตะวั นออกเฉียงใต้ (SEAMEO-SPAFA) ในการประชุมนานาชาติเรื อง "Challenges in Heritage Tourism" เพือส่ งเสริ ม ทํานุ บํา รุ งศิล ปะ อนุรั กษ์ สื บ ทอดวัฒ นธรรมอัน ดี งามของไทย วิท ยาลัย จึงมี โครงการเป็ นเจ้ าภาพร่วมสํ าหรับการประชุมนานาชาติ "Challenges in Heritage Tourism" กับ ศูน ย์ ภู มิ ภ าคโบราณคดี แ ละวิ จิ ตรศิล ป์ ในองค์ การรั ฐ มนตรี ศึก ษาแห่ ง ภู มิภ าคเอเชีย ตะวันออกเฉี ย งใต้ (SEAMEO-SPAFA) โดยมีวัตถุป ระสงค์เ พื อพัฒ นาอุต สาหกรรมการ ท่องเทียวและการจัดการทรัพยากรมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยังยืน และรักษาไว้ ซงคุ ึ ณภาพ ของสถานทีท่องเทียว ผลการดําเนินงานตามเป้าหมายที 3 : ดําเนิน การให้ ศูน ย์พทั ยาเป็ นแหล่งความรู้ ท างวิช าการ ของภาคตะวันออก 1. ความร่ ว มมื อในการเพิ มความแข็ง แกร่ งทางวิชาการกับคณบดี School of Travel Industry Management, University of Hawaii at Manoa วิทยาลัยได้ ทําการเจรจาความร่ วมมือกับ Prof. Walter Jamieson คณบดี School of Travel Industry Management, University of Hawaii at Manoa เมือวันที 25 มีน าคม 2551 ซึงได้ ตกลงในหลัก การที จะจัด ให้ มี โครงการแลกเปลี ยนบุคลากรสายวิ ช าการระหว่า งกัน เมื อ วิทยาลัยได้ เปิ ดการเรียนการสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิชานวัตกรรมการ บริการ หลักสูตรนานาชาติ ซึงคาดว่าจะเปิ ดการเรียนการสอนในปี การศึกษา 2551

36


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2. ขยายการเรี ย นการสอนโดยเปิด หลั ก สู ต รวิท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิต สาขาวิช า นวัตกรรมการบริการ เพือสร้ างฐานความรู้ และขยายโอกาสทางการศึกษาสูภ่ ูมิภาค โดยเฉพาะเขตพัฒนาเศรษฐกิจ ชายฝั งทะเลตะวัน ออก ซึงเป็ นแหล่ ง การขยายตัว ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริ การ และมี ความต้ องการการพัฒนากําลังคนมากทีสุดของประเทศ วิทยาลัยจึงได้ พฒ ั นาหลักสูตรระดับ ปริญญาโท สาขาวิชานวัตกรรมการบริการ คาดว่าจะเปิ ดการเรียนการสอนภายในปี การศึกษา 2551 โดยหลักสูตรมีเนือหาแบบสหสาขาวิชา ทีผสานรวมองค์ความรู้ ด้านต่างๆ เพือให้ เป็ น หลักสูตรทีสมบูรณ์และสมดุลตอบสนองกับการพัฒนาของสังคมไทยในระดับสากล 3. การปรั บโครงสร้ างการบริหารงานของศูนย์ พัทยา เพือเสริ มสร้ างประสิ ท ธิภาพและประสิ ทธิผ ลในการดําเนินงาน และความเหมาะสมในการ ดําเนินงานตามภารกิจทีหน่วยงานจะต้ องรับผิดชอบ โดยเน้ นให้ ความสําคัญต่อการพัฒนาให้ เป็ นศูนย์การเรียนรู้ สําหรับภาคตะวันออกของมหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยจึงได้ มีการ ปรับโครงสร้ างองค์กรเมือเดือนพฤษภาคมทีผ่านมา ผลการดําเนินงานตามเป้าหมายที 4 : จัดระบบการบริหารงานภายในให้ มปี ระสิทธิภาพสูงขึน 1. การปรั บโครงสร้ างบริหารงานภายในองค์ กร เพือเสริ มสร้ างประสิ ท ธิภาพและประสิ ทธิผ ลในการดําเนิน งาน เน้ น ให้ ความสํ าคัญต่ อการ พัฒนาคุณภาพของการจัดการองค์กร ในบริ บทของการบริ หารจัดการทีเอือต่ อการพัฒนา ทรัพยากรอย่างมีคณ ุ ค่า วิทยาลัยจึงได้ ดาํ เนิน การปรับโครงสร้ างองค์กรในเดือนพฤศจิกายน 2550 โดยได้ จดั กลุ่มงานทีมีลกั ษณะงานหรื อขอบเขตงานใกล้ เคียงกันมาอยู่ในฝ่ ายเดียวกัน ปรับเปลียนหน้ าทีและขอบข่ายงานให้สอดคล้ องกับเป้าหมายและพันธกิจของวิทยาลัย ซึงการ ปรับโครงสร้ างองค์กรครังนีส่งผลให้ การบริหารจัดการภายในมีประสิทธิภาพมากขึน 2. การสรรหาอาจารย์ ประจําวิทยาลัย และการจัดทําแผนอัตรากําลังของวิทยาลัย เพือให้ การบริหารงานวิชาการของวิทยาลัยมีประสิทธิภาพและสอดคล้ องกับหลักเกณฑ์ในการ จัดการหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การ วิทยาลัยจึงเร่ งให้ มีการสรรหา อาจารย์ประจํา เพือรองรับการดําเนินงานหลักสูตรใหม่ๆ ทีจะเปิ ดในอนาคต กําหนดเป็ นแผน อัตรากําลัง 2551-2555 37


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3. การจัดตังฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ วิทยาลัยได้ จดั ตังฝ่ ายวิจยั และพัฒนาคุณภาพ ทําหน้ าทีประสานงานในการสร้ างเครือข่ายการ วิ จ ัย เป็ นศู น ย์ ก ลางในการส่ ง เสริ ม พัฒ นาองค์ ความรู้ จากการวิ จ ัย ไปสู่ ก ารเผยแพร่ ที หลากหลาย และเป็ นที ยอมรับในแวดวงวิช าการ รวมถึง การให้ คําปรึกษาด้ านการวิจ ัยแก่ นักศึกษา ภายใต้ การกํากับดูแลของรองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิจยั เพือเป็ นกลไกสําคัญทีจะ นําไปสู่การพัฒนาศักยภาพด้ านการวิจยั และวิชาการของวิทยาลัยอย่างสัมฤทธิผล 4. การแต่ งตังคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถด้ านการวิจัยและวิชาการ วิ ท ยาลั ย ได้ แ ต่ ง ตั งคณะกรรมการพัฒ นาขี ด ความสามารถด้ า นการวิ จ ัย และวิ ช าการ ประกอบด้ วยผู้เชียวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒใิ นแต่ละสาขาวิชาทีวิทยาลัยมีการจัดการเรี ยนการ สอน เพื อเป็ นกลไกและเพิมประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารงานวิ ช าการ กํ าหนดให้ มีห น้ า ที พิจารณากลันกรองงานด้ านวิชาการ อันจะส่งผลดีต่อการบริ หาร ตัดสิ นใจ และพัฒนางาน ด้านการวิจยั และวิชาการให้มีประสิทธิภ าพ เป็ นไปตามแผนงาน และทิ ศทางของวิทยาลัย 5. การแต่ งตังคณะกรรมการบริหารจัดการทรั พยากรของวิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยเล็งเห็นถึงความสําคัญของวิกฤตด้ านสิ งแวดล้ อมและพลังงาน รวมทังปั ญหาภาวะ โลกร้ อน และในบทบาทของสถาบันการศึกษาทีมีการสอนด้ านการจัดการเทคโนโลยีพลังงาน และสิงแวดล้ อม จึงมีแนวทางสนับสนุนให้ การจัดการทรัพยากรของวิทยาลัยมีประสิทธิ ภาพ สู ง สุ ด โดยแต่ง ตังคณะกรรมการบริ ห ารจัดการทรั พ ยากรของวิท ยาลัย ทํ าหน้ าทีกํ าหนด แนวทาง มาตรการ และรณรงค์การประหยัดทรัพยากรและพลังงาน 6. การสัมมนา “Understanding Attitudes and Knowledge in Teaching” สําหรับคณาจารย์ วิทยาลัยได้ จดั สัมมนาอาจารย์ ประจําปี การศึกษา 2550 ระหว่างวันที 20-21 ธันวาคม 2550 ณ ศูนย์พ ัท ยา เพือให้ อ าจารย์รับทราบนโยบายการบริ ห ารงานด้ านวิช าการ กระบวนการ ดําเนินงานทีเกียวข้ อง วิธีการประเมินผลงาน และทิศทางของวิทยาลัยใน 5 ปี ข้ างหน้ า เพือให้ ร่วมเป็ นกลไกขับเคลือนให้ เกิดผลงานด้ านวิชาการทีสอดคล้ องกับทิศทางการบริ หารงาน ใน การนี วิท ยาลัยได้ จ ัดให้ มีการสัมมนาสร้ างความเข้ าใจเกียวกับทัศนคติ ความรู้ ในการสอน และประเด็นด้ านจริยธรรม โดยเชิญรองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิโชค วรานุสันติกุล เป็ นวิทยากร

38


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

7. การจัดการระเบียบ ประกาศต่ างๆ ของวิทยาลัย เพือให้ การดําเนินงานมีมาตรฐานแบบแผนทีถูกต้ องและมีป ระสิทธิ ภาพมากขึน วิทยาลัยได้ ปรับปรุ ง และจัดทําระเบียบ/ประกาศต่างๆ เพือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั งิ านดังนี 1) ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรือง หลักเกณฑ์การปฏิบ ัติงานเกียวกับอาจารย์ ประจําของวิทยาลัยนวัตกรรม พ.ศ. 2551 2) ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรือง หลักเกณฑ์แ ละอัตราค่าใช้ จ่ายกลางสํ าหรับ โครงการส่งเสริมและให้ ความรู้ทางวิชาการ วิทยาลัยนวัตกรรม พ.ศ.2551 3) ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรือง อัตราค่าตอบแทนสําหรับการคัดเลือกบุคคล เข้ าศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรม พ.ศ. 2551 4) ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรือง กองทุนการศึกษาวิทยาลัยนวัตกรรม พ.ศ.2551 5) ประกาศวิท ยาลัยนวัต กรรม เรื อง หลัก เกณฑ์ ก ารสนับ สนุ น การนํ าเสนอผลงาน วิชาการของนักศึกษาวิทยาลัยนวัตกรรม พ.ศ.2551 6) ประกาศวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา เรือง แนวทางปฏิบตั ิสําหรับการจัดซือ-จัดจ้ าง 7) ประกาศวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา เรือง แนวทางปฏิบตั ิการเบิกเงินยืมทดรอง 8. การจัดสัมมนาบุคลากรดูงานในต่ างประเทศ เพือเปิ ดโลกทัศ น์ใ ห้ บุคลากรด้ า นบริ ห ารจัดการกับ สถาบัน การศึ กษาในต่างประเทศ และ เพือให้ บุคลากรได้ นํ าข้ อมูลทีได้ รับจากการศึกษาดูงานมาปรับใช้ เป็ นกลยุท ธ์ในการปฏิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพ วิทยาลัยได้ จดั การศึกษาดูงาน ณ College of Information Technology, Universiti Tenaga Nasional (UNITEN) ประเทศมาเลเซีย เมือ 22-24 ตุลาคม 2550 9. การปรั บปรุงระบบฐานข้ อมูลเพือการบริการการศึกษา และ Web site ของวิทยาลัย วิท ยาลัยมีก ารใช้ งานระบบฐานข้ อ มูล ด้ วยกันอยู่ 2 ระบบ ซึงมีการพัฒ นาและปรับ ปรุ งให้ ทันสมัย และสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนือง ดังนี 1. ระบบ Intranet เพือการสือสารภายในองค์กร ข้ อมูลนโยบายองค์กร การบริห ารงาน และ การประชาสัมพันธ์ข่าวสาร เพือให้ บคุ ลากรรับทราบและปฏิบตั ิตามอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ระบบ CIE Control Panel สําหรับงานสนับสนุนการศึกษา ฐานข้ อมูลการรับสมัคร ข้ อมูล นักศึกษา การลงทะเบียน ผลการเรียน ข้ อมูลห้ องสมุดและงานวิจยั ของนักศึกษา ข้ อมูลคํา ร้ องต่างๆ รวมถึงการประเมินผลการสอนของอาจารย์ประจําและวิทยากร 39


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

10. การพัฒนาระบบประเมินผลการสอน Online การประเมิน การสอนเป็ นส่ วนหนึงของระบบการบริ หารการศึกษาทีมีบทบาทในการพัฒนา คุ ณ ภาพ การได้ รั บ ข้ อมู ล และข้ อ เสนอแนะที ถู ก ต้ อ งจากนัก ศึ ก ษาจะช่ ว ยให้ สามารถ ปรับเปลียนกลยุทธ์การจัดการให้ มปี ระสิทธิภาพมากขึน วิทยาลัยได้ พ ฒ ั นาระบบประเมินผล การสอน Online เพือให้ นกั ศึกษาประเมินผลการสอนอาจารย์ได้ อ ย่างเป็ นอิสระ ลดขันตอน การปฏิบตั ิงาน และให้ ผลการประเมินอย่างรวดเร็วและถูกต้ อง ข้ อมูลการประเมินการสอนจะ ถูกบันทึกในระบบฐานข้ อมูล ซึงจะเป็ นประโยชน์ในการบริหารและพัฒนาวิทยาลัยต่อไป ผลการดําเนิน งานตามเป้าหมายที 5 : เพิมความเข้ าใจให้ กับ ประชาคมธรรมศาสตร์ แ ละ สังคมไทยให้ มีความรู้ และตระหนักถึงบทบาททีสําคัญของวิทยาลัยในวงกว้ าง 1. โครงการประชุมนักศึกษาทุกชันปี ครั งที 1/2550 (แถลงนโยบายของผู้บริหาร) เพือประกาศนโยบาย แนวทางการพัฒนาคุณภาพวิชาการและการประกันคุณภาพการศึกษา ให้ เกิ ดการรับรู้ และการยอมรับ ซึงจะนํ าไปสู่การร่วมมือ ร่วมใจอย่างแท้ จริ ง วิท ยาลัยจึงจัด ประชุมนักศึกษาทุกชันปี ขึน เมือวันที 24 กันยายน 2550 ณ โรงแรมเลอคองคอร์ด รัชดา 2. การจัดสัมมนาวิชาการภายใต้กิจกรรม Open House หลักสูตร MTT วิท ยาลัยได้ จ ัดให้ มีก ารสัมมนาวิช าการสํ า หรับ บุค คลที สนใจศึกษาต่อ ในระดับ ปริ ญญาโท สาขาวิช าการบริห ารเทคโนโลยี ภายใต้ กิจ กรรมงาน Open House แนะนํ าหลักสูตรระดับ ปริ ญญาโท หลักสู ตรวิท ยาศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิช าการบริ ห ารเทคโนโลยี โดยมีก าร บรรยายพิเศษของวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ในหัวข้ อ “ICT Innovation” ดังนี § วันที 15 มีนาคม 2551 เวลา 13.00 – 17.00 น. ณ ห้ องแกรนด์บอลรู ม 3 โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กทม. § วันที 21 มีนาคม 2551 เวลา 13.00 – 17.00 น. ณ ห้ องสีชงั โรงแรมเคป ราชา โฮเทล แอนด์ เซอร์วสิ อพาร์ตเมนต์ อ.ศรีราชา จ. ชลบุรี § วันที 19 เมษายน 2551 เวลา 13.00 – 17.00 น. ณ โรงแรม แคนทารี เบย์ โฮเทล แอนด์ เซอร์วสิ อพาร์ตเมนต์ จ. ระยอง § วันที 20 เมษายน 2551 เวลา 13.00 – 17.00 น. ณ ห้ องแกรนด์บอลรู ม 3 โรงแรมแกรนด์ไฮแอท เอราวัณ กทม. 40


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3. การจัดงานสถาปนาครบรอบ 11 ปี วิทยาลัยได้ จ ดั งานสถาปนาครบรอบ 11 ปี วันที 11 กุมภาพัน ธ์ 2551 เพือดํารงไว้ ซงคุ ึ ณค่า แห่ ง วั ฒ นธรรม แ ละแสดงถึ ง ความพร้ อมใจเป็ นหนึ งของบุ ค ล ากรในการจรรโลง พระพุทธศาสนาและจริยธรรมอันดีงาม 4. Alumni Networks เพือสร้ า งความสัมพัน ธ์ อนั ดีร ะหว่างศิษย์ เก่า และเป็ นศูนย์ก ลางในการแลกเปลี ยนความ คิดเห็น ประสบการณ์ และความร่วมมือระหว่างศิษย์เก่าและวิทยาลัย วิทยาลัยจึงสนับสนุนให้ มีการจัดตังสมาคมศิษย์เก่า ซึงได้ดําเนินการขอจดทะเบียนจัดตังสมาคมศิษย์เก่าแล้ วเสร็จ ใน เดือนมิถุนายน 2551 5. ร่ วมจัดกิจกรรมการกีฬากับองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดชลบุรี เพือเป็ นการประสานงานความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และวิทยาลัยนวัตกรรม จึงได้ จ ดั กิจกรรมงานกีฬาเชือมความสัมพันธ์ เป็ นประจํา ทุกปี เพือก่อให้เกิดการพัฒนาและความร่วมมือระหว่างกันอย่างยังยืน 6. การจัดกิจกรรมบริการวิชาการแก่ สังคมตลอดทังปี ปี การศึกษา 2550 วิทยาลัย ได้ จ ัดให้ มีโครงการบริ การวิช าการแก่สัง คมตลอดทังปี โดยมี รายละเอียดสรุ ปได้ ดงั นี 6.1 การจัดสัมมนาวิชาการ CITU Forum สัมมนา “Lean Six Sigma” สัมมนากลยุท ธ์ คุณภาพเพือความคุ้มค่า อย่า งดีทีสุ ด เป็ นการเรี ยนรู้ แ ละสร้ างความ เข้ าใจถึงกระบวนการทํางานและเครืองมือทีจําเป็ นในการจัดการธุรกิจ เพือลดต้ นทุน และเพิมผลกําไร ทําให้ กระบวนการผลิตบรรลุประสิทธิภาพสูงสุด วิทยากร Christopher Seow § Certified Lean Six Sigma Master Black Belt § Senior Lecturer in Operations and Sustainability at the University of East London Business School วัน/เวลา/สถานที วันที 9 พฤศจิกายน 2550 เวลา 13.00-17.00 น. ห้ อง C 5 อาคารอเนกประสงค์ 3 ชัน 5 ท่าพระจันทร์ 41


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

สัมมนา “การทําวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาและแนวทางการตีพิมพ์บทความวิจยั ใน วารสารวิชาการทีมีคณ ุ ภาพ” เพือมุง่ สูม่ าตรฐานการศึกษาทังด้านบัณฑิตและด้ านงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์อย่างมี คุณภาพ วิทยาลัยนวัตกรรมจึงได้ มโี ครงการส่งเสริมให้ผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศึกษามี การพัฒนาคุณภาพ เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานการศึกษาของกระทรวงศึกษาและ มาตรฐานการศึกษาระดับสากล วิทยากร ดร. ศากุน บุญอิต § บรรณาธิการวารสารบริหารธุรกิจ มธ. คุณพิชญ์วดี กิตติปัญญางาม § นักวิจยั ปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ วัน/เวลา/สถานที วันที 18 มกราคม 2551 เวลา 14.00-17.00 น. ห้ อง C 5 อาคารอเนกประสงค์ 3 ชัน 5 ท่าพระจันทร์ สัมมนา “Business competitiveness and regional development: Engineering change through innovative digital proximity” วิทยากร

Dr. Dotun Adebanjo § University of Liverpool Management School, UK วัน/เวลา/สถานที วันที 31 มีนาคม 2551 เวลา 14.00-17.00 น. ห้ อง C 5 อาคารอเนกประสงค์ 3 ชัน 5 ท่าพระจันทร์ สัมมนา “Supporting co-evolution of Web based Information Systems using Meta-Design Paradigm” วิทยากร Prof. Athula Ginige § School of Computing and Information Technology, University of Western Sydney, Australia วัน/เวลา/สถานที วันที 29 เมษายน 2551 เวลา 18.30-20.00 น. ห้ อง C 5 อาคารอเนกประสงค์ 3 ชัน 5 ท่าพระจันทร์

42


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

6.2 การจัดสัมมนา/ฝึ กอบรมโครงการบริการสังคม เสวนาวิชาการ “การบริหารจัดการระบบความมั นคงปลอดภัย ข้ อมู ล เทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหม่ ” เพือพัฒนาศักยภาพด้ า นการบริ ห ารระบบความมันคงปลอดภัย ข้ อ มูล สารสนเทศ เสริมสร้ างการเรี ยนรู้ ของเทคโนโลยีใหม่ๆ และประสบการณ์ด้านระบบเครื อข่ ายและ ความมันคงปลอดภัยข้ อมูลสารสนเทศ และเตรี ยมความพร้ อ มขององค์กรจากภัยของ ข้ อมูลสารสนเทศ วิทยากร อาจารย์ ปริญญา หอมเอนก § ประธานกรรมการบริษัท ACIS Professional Center วัน/เวลา/สถานที วันที 29 มีนาคม 2550 เวลา 13.00 – 16.00 น. ห้ องจัดเลียง อาคารอเนกประสงค์ 2 (อาคาร 60 ปี ) ชัน 2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ หลัก สู ต ร การพัฒนาทักษะเจ้ าของธุรกิจรุ่ นใหม่ (SCB Young Entrepreneur Program: SCB-YEP) รุ่นที 1 และ รุ่นที 2 เป็ นหลักสูตรทีเน้ นการพัฒนาทักษะผ่านโครงสร้ างแบบ Module ทีประกอบด้ วยแนวคิด ทีจําเป็ นต่อการบริหารจัดการครบถ้ วนทุกแง่มมุ เพือให้ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ ได้ จริง วิทยากร คุณโชค บูลกุล คุณกรรณิการ์ ชลิตอาภรณ์ คุณอดิศร พวงชมพู คุณทรงพล ชัญมาตรกิจ คุณมุทา จักษ์เมธา คุณศิริชยั สมบัตศิ ิริ ดร. ภากร ปี ตธวัชชัย ดร. วิรไท สันติประภพ ดร. วิวฒ ั น์ กิตติพงษ์โกศล คุณวันฉัตร ผดุงรัตน์ คุณยงยุทธ พีรพงศ์พพิ ฒ ั น์ ดร. สิทธิพร ดาดาษ รศ.ดร. เสรี วงษ์มณฑา วัน/เวลา/สถานที ระยะเวลาการอบรม 7 สัปดาห์ตอ่ รุ่น รุ่นที 1 พฤษภาคม – มิถุนายน 2550 รุ่นที 2 กันยายน – ตุลาคม 2550 ธนาคารไทยพาณิชย์ สํ านักงานใหญ่ และหาดตะวัน รอน

43


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

หลักสูตร “ผู้จัดการกลยุทธ์ เชิงนวัตกรรม” (Innovative Strategic Manager) เป็ นหลักสู ตรเสริมศักยภาพของบุคลากรระดับ บริ หารขององค์กรในการบริห ารแนว นวัตกรรมทีสามารถประยุกต์องค์ความรู้เข้ ากับประสบการณ์และคุณค่าทางวัฒนธรรม อย่างสร้ างสรรค์ อีกทังยังสามารถนําวิทยาการความรู้ ทีทันสมัยสู่องค์กร โดยผสมผสาน กับองค์ความรู้ เดิมทีมีอยู่อย่างกลมกลื น วิทยากร คุณโชค บูลกุล คุณอดิศร พวงชมภู อ. พัทธนนท์ เปรมสมิทธ์ อ. ทรงพล ชัญมาตรกิจ ดร. วรัญ ู สุจิวรพันธ์พงศ์ อ.วิภา ดาวมณี ดร. สิทธิพร ดาดาษ อ. อารักษ์ ราษฎร์บริหาร อ. ภูสิต เพ็ญศิริ วัน/เวลา/สถานที ระยะเวลาการอบรม 72 ชัวโมง ระหว่างวันที 2 มิถนุ ายน – 18 สิงหาคม 2550 ณ ห้ องประชุมใหญ่ ชัน 3 โรงพยาบาลมหาชัย เสวนาวิชาการ “การพัฒนาธุรกิจ และ การดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดําริ” เป็ นการแลกเปลี ยนความรู้ ความเข้ าใจ และประสบการณ์ต่างๆ ในการนํ าแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ในการดําเนินชีวิต รับฟั งแนวความคิดและนโยบายของ ทีมงานเศรษฐกิจในการน้ อมนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ ใช้ ในการบริ หาร ประเทศ และเตรียมตัวพร้ อมรับกับการเปลี ยนแปลงต่างๆ วิธีการป้องกันเพือตังรับกับ การเปลียนแปลงทีจะเกิดขึน วิทยากร ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล วัน/เวลา/สถานที วันที 14 มกราคม 2551 เวลา18.00 -21.00 น. ห้ อง C5 ชัน 5 อาคารอเนกประสงค์ 3 ท่าพระจันทร์

44


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “นวัตกรรมการบริหารโครงการด้ านเทคโนโลยี ” เพือให้ ผ้ ูเข้ าอบรมมีความรู้ เบืองต้ นเกียวกับหลักการการบริ หารจัดการโครงการ เข้ าใจ หลักการ การศึกษาความเป็ นไปได้ การวางแผนโครงการ การจัดการงบประมาณ การ ควบคุมโครงการ การจัดการทีมงาน และการประเมินโครงการ วัน/เวลา/สถานที วันที 28-29 สิงหาคม 2550 ห้ อง C5 ชัน 5 อาคารอเนกประสงค์ 3 ท่าพระจันทร์ โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ “การประมูลออนไลน์ ผ่าน eBay” เป็ นการอบรมเพือเรียนรู้การประมูลบน eBay ทราบวิธีการค้ นหาสินค้ า พฤติกรรมการ ซือสินค้ าของลูกค้ า เทคนิคทําให้สินค้ าขายได้ และการทําให้ เป็ นทีน่าสนใจ รวมทังระบบ ชําระเงิน และการรักษาความปลอดภัยเบืองต้น วิทยากร ดร.อธิศานต์ วายุภาพ วัน/เวลา/สถานที วันพุธที 11 กรกฎาคม 2550 เวลา 09.00 – 16.00 น. ห้ อง C1 อาคารอเนกประสงค์ 3 ชัน 5 ท่าพระจันทร์ 6.3 โครงการบริการสังคมด้ านศิลปะและวัฒนธรรม โครงการ “เทศกาลศิลปะสร้ างสรรค์ เพือเยาวชน” นัก ศึ ก ษาหลัก สู ต รการบริ ห ารงานวัฒ นธรรม ร่ ว มกั บ ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา และ นักศึกษาทุนศิลปิ น มหาวิทยาลัยรังสิ ต จัดงาน “เทศกาลศิลปะสร้ างสรรค์เพือเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” ระหว่างวันที 8-9 มีน าคม 2551 ณ สมาคม ฝรังเศส ถนนสาทร กรุงเทพ โครงการ “Unlimited Arts Festival” นักศึกษาหลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม ร่วมกับ สํ านักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม จัดงาน “Unlimited Arts Festival” ระหว่างวันที 11-13 มีน าคม 2551 ณ ศูนย์การค้ าเอสพลานาด ชัน G ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพ

45


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

46


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

บทที 2 ผลการดําเนินงานและผลการประเมินคุณภาพ องค์ ประกอบที 1 : ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ ปรั ชญาและปณิ ธานสํ าหรับการดํ าเนิ นกิจ การของวิทยาลัย ได้ ถูกกําหนดตังแต่เ ริ มตัง สถาบัน “วิทยาลัยนวัตกรรมต้ องการจะเป็ นผู้นําด้ านการปฏิรู ปการเรี ยนรู้ และเป็ นหน่วยงานต้ นแบบ ด้ านการบริ หารการศึกษาที สามารถสร้ างเมล็ ดพัน ธ์ ท างปั ญญาออกสู่สังคม” และได้ มีการกําหนด วิสยั ทัศน์ เป้าหมายดําเนินงาน 3 ปี (พ.ศ. 2551-2553) พร้ อมทังแนวทางปฏิบตั แิ บบ 4 มิติ เพือให้ บรรลุ ตามวิสยั ทัศน์และเป้ าหมายดําเนินงานของวิทยาลัย โดยมีรายละเอียดตามทีได้ ปรากฏในบทที 1 วิทยาลัยได้ พจิ ารณาและประเมินผลการดําเนินการตามองค์ประกอบที 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนิน การ โดยมีผลการประเมินดังนี ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรื อปณิธาน ตลอดจนมี กระบวนการพัฒนากลยุท ธ์ แผนการดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบ่งชีเพือวัดความสําเร็ จของ การดําเนินงานตามแผนให้ ครบทุกภารกิจ 1.1.1 มีการกําหนดแผนกลยุท ธ์ทีเชือมโยงกับ ยุท ธศาสตร์ ชาติ 1.2 ร้ อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชีของการ ปฏิบ ตั ิงานทีกําหนด คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 1 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 1 ทังหมด

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

1

1

5

2

1

1

4 4.50 4.67

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี

47


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุ ประสงค์ และแผนการดําเนินการ ชือตัวบ่ งชี : 1.1 มีก ารกํ าหนดปรั ชญาหรื อปณิธาน ตลอดจนมี กระบวนการพั ฒนากลยุ ท ธ์ แผนการ ดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบ่ งชีเพือวัดความสําเร็จของการดําเนิน งานตามแผนให้ ครบทุ กภารกิจ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 7

4

7

7

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 5 5-6 ครบทุกข้ อ ข้ อแรก ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน 2. มีกระบวนการพัฒ นากลยุท ธ์ แผนการดํ าเนิ น งานและแผนปฏิบ ัติการประจําปี ให้ สอดคล้ องกัน และกัน และ สอดคล้ องกับ ภารกิจหลักของสถาบัน ยุท ธศาสตร์ และแผนพัฒนาของชาติ 3. มีการกําหนดตัวบ่งชีของการดํา เนิ น งาน และกํ าหนดเป้ าหมายของแต่ละตัวบ่ งชีเพือวัด ความสําเร็ จของการ ดําเนิน งาน 4. มีการดําเนิ นการตามแผนครบทุกภารกิจ 5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมิ น ผลการดําเนิน งานตามตัวบ่งชี อย่างน้ อยปี ละ 2 ครัง และรายงานผลต่อ ผู้บ ริ หารและสภาสถาบัน 6. มีการวิเคราะห์ความสอดคล้ องระหว่างกลยุท ธ์ แผนการดําเนิน งาน เป้ าประสงค์ เป้ าหมายกับ ยุท ธศาสตร์ และ แผนพัฒนาของชาติ ตลอดจนสภาพการณ์ปั จจุบ นั และแนวโน้ มในอนาคตอย่างสมําเสมอ 7. มีการนําผลการประเมิน และผลการวิเคราะห์มาปรับปรุ งกลยุทธ์ และแผนการดําเนิน งานอย่างต่อเนื อง ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน วิทยาลัยได้ กาํ หนดวิสยั ทัศน์และปณิธานตังแต่เริ มต้ นสถาบันแล้ว สําหรับ ปี รายละเอียดปรากฏในบทที 1 การศึกษา 2550 ได้ มีการกําหนดวิสยั ทัศน์ เป้ าหมาย และแนวทางปฏิบ ัติ เพือบรรลุเป้ าหมายของวิทยาลัยระยะ 3 ปี (พ.ศ.2551-2553)

48


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2.

3. 1. 2.

ผลการดําเนินงาน มีกระบวนการพั ฒนากลยุท ธ์ แผนการดําเนิน งานและแผนปฏิบัติ การประจําปี ให้ สอดคล้ องกัน และกัน และสอดคล้ องกับ ภารกิจหลัก ของสถาบัน ยุท ธศาสตร์ และแผนพัฒนาของชาติ มีก ารจัดประชุม คณาจารย์ ผู้บ ริ ห าร และบุ คลากรที เกี ยวข้ อง เพือสร้ าง ความเข้ าใจและร่ วมกัน จัดทํ าแผนปฏิ บัติง านให้ ส อดคล้ องกับเป้ าหมาย และการประกันคุณภาพ เป็ นประจําทุกปี การศึกษา มีการกําหนดตัวบ่ งชีของการดําเนิน งาน และกําหนดเป้าหมายของ แต่ ละตัวบ่ งชีเพือวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน ตัวบ่งชีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของ สกอ. สมศ. กพร. และ มธ. มี ก ารจัด ทํ า แผนปฏิ บ ัติ ราชการและตัวบ่ งชี ความสํา เร็ จ ของหน่ ว ยงาน ประจําปี งบประมาณ 2551 (ผลการดําเนิ นงานคาบเกี ยวในปี การศึกษา)

4. มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ ได้ ดํา เนิ น งานตามแผนทุก ภารกิ จ โดยมี ผลการดํ า เนิ น งานปรากฏใน เอกสารรายงานประเมินตนเอง (SAR) ฉบับนี 5. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนิน งานตามตัวบ่ งชี อย่ างน้ อยปี ละ 2 ครัง และรายงานผลต่ อผู้บริหารและสภาสถาบัน วิท ยาลัย กํ า หนดให้ มี ก ารจั ดทํ า รายงานข้ อ มู ล ผลการดํ าเนิ น งานตาม มาตรฐานการประกัน คุณภาพการศึกษา 2 ช่วง ได้ แก่ มิถนุ ายน – ธัน วาคม และ มกราคม – พฤษภาคม 6. มีการวิเคราะห์ ความสอดคล้ องระหว่ างกลยุ ท ธ์ แผนการดําเนิน งาน เป้ าประสงค์ เป้ าหมายกั บ ยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนพั ฒ นาของชาติ ตลอดจนสภาพการณ์ ปัจจุบัน และแนวโน้ มในอนาคตอย่ างสมําเสมอ 7. มีการนํ าผลการประเมินและผลการวิเคราะห์ มาปรับปรุ งกลยุท ธ์ และ แผนการดําเนิน งานอย่ างต่ อเนื อง

เอกสารอ้ างอิง

เอกสารประกอบและรายงาน สรุ ปผลการประชุมโครงการ ฝึ กอบรมและประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร เพือการประกันคุณภาพ ปี 2550 1. คู่มือการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับ อุดมศึกษาของ สกอ. 2. คู่มือและแบบฟอร์ มการจัดเก็บ ข้ อมูลตามตัวบ่งชีคุณภาพ มธ. 3. แผนปฏิบตั ิราชการ วิทยาลัย นวัตกรรม ปี งบประมาณ 2551 รายงานการประเมิน ตนเอง ประจําปี การศึกษา 2550

เอกสารรายงานผลการดําเนิน งาน ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพ การศึกษา

ในการจัดประชุม คณาจารย์ ประจํา ปี และการประชุมเชิงปฏิ บ ัติการเพือ 1. เอกสารอ้ างอิงเช่นเดียวกับ ผล จัด ทํ าแผนดํ าเนิ น งานตามแนวทางประกัน คุณ ภาพการศึ กษา (ผลการ การดําเนินงานข้ อ 2 ดํ า เนิ น งาน ข้ อ 2) ได้ มี ก ารวิ เ คราะห์ ค วามสอดคล้ องกั บ เป้ าห มาย 2. รายงานประจําปี 2550 ของ ยุท ธศาสตร์ และปรับปรุ งแผนการดําเนิน งานของวิท ยาลัยให้ ส อดคล้ องกับ วิทยาลัยนวัตกรรม แนวทางดังกล่าวอยู่แล้ ว

49


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดําเนิน การ

ชือตัวบ่ งชี : 1.1.1 มีการกําหนดแผนกลยุทธ์ ท ีเชือมโยงกับยุท ธศาสตร์ ชาติ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

2

2

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ มากกว่า 3 1-2 ข้ อแรก 3 ข้ อ ข้ อ

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีคณะกรรมการ/คณะทํ างานกําหนดแผนยุทธศาสตร์ของสถาบัน 2. มีแผนกลยุทธ์ของสถาบัน 3. มีคณะกรรมการวิเคราะห์ความสอดคล้ องของแผนกลยุท ธ์ กบั ยุทธศาสตร์ ชาติหรื อแผนยุทธศาสตร์ อดุ มศึกษา 4. แผนกลยุท ธ์มีความสอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ชาติห รื อแผนยุทธศาสตร์ อดุ มศึกษา น้ อยกว่าร้ อยละ 80 ของแผน 5. แผนกลยุท ธ์ มีความสอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ชาติห รื อแผนยุทธศาสตร์ อดุ มศึกษา ตังแต่ร้อยละ 80 ของแผน ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มีคณะกรรมการ/คณะทํางานกําหนดแผนยุ ทธศาสตร์ ของสถาบัน 2. มีแผนกลยุท ธ์ ของสถาบัน 3. มี ค ณะกรรมการวิเ คราะห์ ค วามสอดคล้ อ งของแผนกลยุ ท ธ์ กั บ ยุทธศาสตร์ ชาติห รือแผนยุ ท ธศาสตร์ อุดมศึกษา 4. แผนกลยุ ท ธ์ มี ค วามสอดคล้ องกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ชาติห รื อ แผน 1. เอกสารรายละเอี ย ดโครงการ ยุทธศาสตร์ อุดมศึกษา น้ อยกว่ าร้ อยละ 80 ของแผน และสรุ ปผลการประชุม โครงการ 5. แผนกลยุ ท ธ์ มี ค วามสอดคล้ องกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ชาติห รื อ แผน ฝึ ก อ บ ร ม แ ล ะ ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง ยุทธศาสตร์ อุดมศึกษา ตังแต่ ร้อยละ 80 ของแผน ป ฏิ บั ติ การ เ พื อ ก าร ป ร ะ กั น วิท ยาลัยกําหนดให้ คณาจารย์ ผู้บ ริ ห าร และบุคลากรทีเกียวข้ องเข้ าร่ วม คุ ณ ภ า พ เ มื อ วั น ที 2 1-2 3 ประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพือวิเคราะห์และจัดทําแผนการดําเนิ น งานประจําปี ให้ สอดคล้ อ งกั บ เกณฑ์ คุณ ภาพมาตรฐานของ สกอ. โดยใช้ แ นวทาง มกราคม 2551 ณ โรงแรมโรสกา ดํ า เ นิ น งา น ตา มแ ผน ยุ ท ธศา สตร์ แ ละ แผ น ป ฏิ บั ติ ร าชการ ขอ ง เด้ น ท์ รีเวอร์ ไซด์ สวนสามพราน มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ รวมถึงแผนงานของวิทยาลัยซึงได้ มีการจัดทําขึน จ. นครปฐม โดยอิงตามนโยบายของมหาวิท ยาลัย ซึงมี ความสอดคล้ องกับ ยุท ธศาสตร์ 2. รายงาน ประจํ า ปี 2550 ของ วิท ยาลัยนวัตกรรม ชาติหรือแผนยุท ธศาสตร์ อดุ มศึกษา มากกว่าร้ อยละ 80

50


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุ ประสงค์ และแผนการดําเนินการ ชือตัวบ่ งชี : 1.2 ร้ อยละของการบรรลุ เป้าหมายตามตัวบ่ งชีของการปฏิบัติงานที กําหนด ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

80

-

-

80

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

บรรลุ บรรลุ บรรลุ เป้าหมาย เป้ าหมาย เป้ าหมาย ร้ อยละ ร้ อยละ ร้ อยละ 60-74 75-89 90-100

เทียบ เกณฑ์

2

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

4

สูตรการคํานวณ : จํานวนตัวบ่งชีของแผนปฏิบัติงานประจําปี งบประมาณทีบรรลุเป้าหมาย จํานวนตัวบ่งชีของแผนปฏิบัตงิ านประจําปี งบประมาณทังหมด

X 100

ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง จํานวนตัวบ่งชีของแผนปฏิบ ัตงิ านประจําปี งบประมาณ 2550 ของวิ ท ยาลัยมี รายละเอียดปรากฏในแบบฟอร์ มตัว ทังสิน 10 ตัวชีวัด โดยวิท ยาลัย สามารถปฏิบ ัติได้ บ รรลุเ ป้ าหมายจํานวน 8 บ่งชีที 1.2 ตัวชีวัด ดังนัน ร้ อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่ งชีของการปฏิบตั ิงานที กําหนด เท่ากับ 80

51


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 : การเรียนการสอน วิทยาลัยได้ มีคณะกรรมการพัฒนาขี ดความสามารถด้ านการวิจัยและวิช าการ ทํ าหน้ าที กํากับดูแล กําหนดนโยบาย รวมถึงการพิจารณาความเหมาะสมของหลักสูตรและงานวิจยั ของนักศึกษา เพือพัฒนามาตรฐานการเรียนการสอน งานวิจยั และวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา อีกทังยังเป็ นการส่งเสริม ให้ ผ ลงานวิจ ัยและวิช าการเป็ นที ยอมรับ ทังระดับ ประเทศและระดับ สากล ด้ ว ยการพิจ ารณาให้ มี โครงการพัฒนาทักษะด้ านการวิจัยและวิ ช าการแก่น ัก ศึกษา เช่ น การจัดทํา วารสารวิช าการรวม บทคัดย่อออนไลน์ CITU Review และการจัดโครงการ Research Camp เป็ นต้ น วิทยาลัยได้ พิจารณาและประเมินผลการดําเนินการตามองค์ประกอบที 2 ด้ านการเรี ยน การสอน โดยมีผลการประเมินดังนี ตัวบ่ งชี 2.1

2.2

2.3

มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริห ารหลักสูตร 2.1.1 ร้ อยละบัณฑิตระดับปริญญาตรี ท ีได้ งานทํา ตรงสาขาทีสําเร็ จการศึกษา 2.1.2 ร้ อยละบทความจากวิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท ทีตีพมิ พ์ เผยแพร่ ต่อจํานวนวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาโททังหมด 2.1.3 ร้ อยละของบทความจากวิท ยานิพนธ์ ปริ ญญาเอกทีตีพมิ พ์เผยแพร่ ต่อจํานวน วิทยานิพนธ์ปริ ญญาเอกทังหมด 2.1.4 ร้ อยละของหลักสูตรทีได้ มาตรฐานต่อ หลักสูตรทังหมด มีกระบวนการเรียนรู้ทีเน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ 2.2.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ คุณภาพการสอนของอาจารย์และสิง สนับสนุนการเรียนรู้ มีโครงการหรื อกิจกรรมทีสนับสนุนการพัฒนา หลักสูตรและการเรี ยนการสอนซึงบุคคล องค์กร และชุมชนภายนอกมีสว่ นร่ วม

52

เกณฑ์ 3

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ 1 1

รวม 5

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี 1

1

1

3

วิท ยาลัยไม่มีห ลักสูตรระดับปริ ญญาเอก 3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี 2.4 2.5

2.6

2.7 2.8 2.9 2.10 2.11 2.12

2.13

เกณฑ์

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจํานวน อาจารย์ประจํา สัดส่วนของอาจารย์ประจําทีมีวฒ ุ ปิ ริ ญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอกหรื อเทียบเท่าต่ออาจารย์ ประจํา สัดส่วนของอาจารย์ประจําทีดํารงตําแหน่งอาจารย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ มีกระบวนการส่งเสริ มการปฏิบ ตั ิตามจรรยาบรรณ วิชาชีพคณาจารย์ มีระบบและกลไกสนับสนุนให้ อาจารย์ประจําทําการ วิจยั เพือพัฒนาการเรี ยนการสอน ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริ ญญาตรี ท ีได้ งานทําและ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริ ญญาตรี ท ีได้ รบั เงิน เดือน เริ มต้นเป็ นไปตามเกณฑ์ ระดับความพึงพอใจของนายจ้ าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้ บัณฑิต ร้ อยละของนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าทีสําเร็จ การศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทีได้ รับ การประกาศ เกียรติคณ ุ ยกย่อง ในด้ านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริ ยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และ ด้ านสิงแวดล้ อมในระดับ ชาติหรื อนานาชาติ 2.12.1 จํานวนวิท ยานิ พนธ์และงานวิชาการของ นักศึกษาที ได้ รบั รางวัลในระดับชาติหรื อ ระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปี ทีผ่านมา ร้ อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึง มีคณ ุ สมบัติเป็ นทีปรึกษาวิทยานิพนธ์ทีทําหน้ าที อาจารย์ทีปรึ กษาวิท ยานิพนธ์

53

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

1

1

1

3

2

1

1

4

1

1

0

2

3

1

1

5

2

1

1

4

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

3

1

1

5

1

1

1

3

2

1

1

4


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี 2.14 อัตราการแข่งขันสอบเข้ า มธ. (ปริ ญญาตรี ) 2.15 ค่าระดับ เฉลียสะสมของนักศึกษาทีสอบเข้ า มธ. ได้ (ปริ ญญาตรี ) 2.16 ร้ อยละของนักศึกษาทีได้ รบั การจัดระดับวิชา ภาษาอังกฤษพืนฐาน (PT) ตังแต่ สษ.172 ขึน ไป 2.17 ร้ อยละของนักศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษาที สอบผ่าน TU-GET (ไม่ตากว่ ํ า 550 คะแนน) 2.18 ผู้สาํ เร็ จการศึกษาตามระยะเวลาทีหลักสูตร กําหนด (ปริ ญญาตรี /บัณฑิต) 2.19 จํานวนชัวโมงสอนของอาจารย์ตอ่ คนต่อปี คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 2 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 2 ทังหมด

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ รวม วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี ยกเลิก - ไม่ประเมินในปี การศึกษานี 2

0

0

2

1

0

1

2

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี

54

4.20 3.88


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.1 มีระบบและกลไกในการพั ฒนาหลักสูตร ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 6

-

-

7

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 5 5-6 ครบทุกข้ อ ข้ อแรก ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีระบบและกลไกการเปิ ดและปิ ดหลักสูตร 2. มีการกําหนดเป้าหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิตบัณฑิต 3. มีการเตรี ยมความพร้ อมก่อนการเปิ ดหลักสูตรใหม่และการปรับปรุงหลักสูตรให้ เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรทุกเรื อง 4. มีการวิเคราะห์ข้อมูลการดําเนินการทุกหลักสูตรประจําปี การศึกษา เช่น ร้ อยละของหลักสูตรทีไม่เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานฯ ร้ อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ทีตีพมิ พ์เผยแพร่ ร้ อยละของบัณฑิตทีทํางานตรงสาขา 5. มีการนําผลการวิเคราะห์ข้อมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําปี การศึกษาไปปรับปรุงหลักสูตรและหรื อปรับปรุ ง ระบบและกลไกการบริห ารหลักสูตร 6. หลักสูตรทีเปิ ดสอนทุกหลักสูตรได้ มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทุกเรื อง และมีการประกัน คุณภาพ หลักสูตรครบทุกประเด็น ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาทีเน้ นการวิจยั (ปริ ญญาโท เฉพาะแผน (ก) และปริ ญญาเอก) ทีเปิ ดสอนมีจาํ นวน มากกว่าร้ อยละ 50 ของจํานวนหลักสูตรทังหมด ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มีระบบและกลไกการเปิดและปิดหลักสูตร เป็ นไปตามเกณฑ์ของมหาวิท ยาลัย 2. มีการกําหนดเป้าหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิต บัณฑิต แผนการรับและประมาณการจํานวนนักศึกษาแต่ละปี การศึกษา ได้ มี การ 1. เอกสารคูม่ ือหลักสูตรการบริ ห าร กํ า หนดไว้ ใ นรายละเอี ย ดหลัก สูต รก่ อ นที จะเสนอขออนุ มั ติ จ ากสภา เทคโนโลยี / การบริห ารงานทาง มหาวิท ยาลัยอยู่แล้ว พร้ อมกันนี ได้ มีการปรับ จํานวนนักศึกษาให้ ตรงกับ วัฒนธรรม ความเป็ นจริ งมากที สุดเป็ นประจําทุกปี งบประมาณ เพือพิจารณาประกอบ 2. เอกสารประมาณการรายรั บ ของ รายได้ ของวิทยาลัย วิท ยาลัยประจําปี งบประมาณ

55


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ผลการดําเนินงาน 3. มีการเตรียมความพร้ อมก่ อนการเปิดหลักสูตรใหม่ และการปรับปรุง หลักสูตรให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรทุ กเรือง มีการศึกษาความเป็ นไปได้ อ ย่างละเอียด และแสดงถึงความพร้ อมของ วิ ท ยาลัย เพื อให้ ฝ่ ายวางแผนฯ ฝ่ ายวิ ช าการ และฝ่ ายการคลัง ของ มหาวิท ยาลัยพิจารณา ก่อนการอนุม ัตเิ ปิ ดหลักสูตร 4. มีการวิเคราะห์ ข้อมูลการดําเนิน การทุ กหลักสูตรประจําปี การศึกษา เช่ น ร้ อยละของหลักสูตรทีไม่ เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานฯ ร้ อยละ ของบทความจากวิทยานิพนธ์ ท ี ตีพิมพ์ เผยแพร่ ร้ อยละของบัณฑิต ทีทํ างานตรงสาขา 5. มีก ารนํ า ผลการวิเคราะห์ ข้ อมู ล การดําเนิน การหลัก สู ต รประจํา ปี การศึ กษาไปปรั บปรุ ง หลั ก สู ตรและหรื อ ปรั บ ปรุ ง ระบบและกลไก การบริหารหลัก สูตร การวิ เ คราะห์ ข้ อมู ลดํ า เนิ น การหลักสูต ร และการนํ า ผลการวิ เ คราะห์ ดังกล่าวมาใช้ ในการปรับปรุ งระบบและกลไกให้ มีประสิท ธิภาพเพิมขึน จะ ดําเนิน การพร้ อมกับการวางแผนงานประจําปี เพือการประกัน คุณภาพ ซึง ได้ จดั เมือวันที 21-23 มกราคม 2551 6. หลักสูตรทีเปิด สอนทุกหลักสูตรได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ มาตรฐาน หลั ก สู ต รทุ ก เรื อง และมี ก ารประกั น คุ ณ ภาพหลั ก สู ต รครบทุ ก ประเด็นตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตร มี ก ารจัดทํ า รายงานประเมิ น ตนเองเป็ นประจํ า ทุ ก ปี การศึก ษา โดยมี รายละเอี ยดตามเกณฑ์ และมาตรฐานของ สกอ. หรื อ สมศ. พร้ อมกับ ตัวชีวัดเพิมเติมทีฝ่ ายวิชาการ มธ. เป็ นผู้กาํ หนด 7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาทีเน้ นการวิจยั (ปริญญาโท เฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอก) ทีเปิดสอนมีจํานวนมากกว่ าร้ อ ยละ 50 ของ จํานวนหลักสูตรทั งหมด วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรทีเปิ ดเฉพาะแผน (ก) เท่านัน

56

เอกสารอ้ างอิง

เอกสารการศึก ษาความเป็ นไปได้ อย่างละเอียดของหลักสูตรเปิ ดใหม่ (นวัตกรรมบริ การ)

เอกสารรายละเอีย ดโครงการและ สรุ ป ผ ลกา ร ป ร ะ ชุ ม โค ร ง การ ฝึ กอบรมและประชุมเชิงปฏิ บ ัติการ เพื อการประกัน คุณภาพ เมื อวัน ที 21-23 มกราคม 2551 ณ โรงแรมโร สกาเด้ นท์ รี เวอร์ ไซด์ สวนสามพราน จ. นครปฐม

เอกสารรายงานการประเมิน ตนเอง ประจําปี

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.1.1 ร้ อยละบัณฑิตระดับปริญญาตรีทีได้ งานทําตรงสาขาทีสําเร็จการศึกษา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ร้ อยละ 1 - 59

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

ร้ อยละ ตังแต่ 60 -79 ร้ อยละ 80

วิทยาลัยไม่ มีนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.1.2 ร้ อยละบทความจากวิท ยานิพ นธ์ ป ริญญาโทที ตีพิม พ์ เผยแพร่ ต่อจํานวนวิท ยานิพ นธ์ ปริญญาโททั งหมด ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 20

0

0

31.25

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 ร้ อยละ 1 - 39

2

ผลการประเมิน 3

ร้ อยละ ตังแต่ 40 - 59 ร้ อยละ 60

เทียบ เกณฑ์

1

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

3

สูตรการคํานวณ : จํานวนบทความจากวิท ยานิพนธ์ปริ ญญาโทของมหาบัณฑิตทีสําเร็จการศึกษาในปี การศึกษานันทีได้ รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่

X 100

จํานวนวิท ยานิพนธ์ระดับปริ ญญาโทของมหาบัณฑิตทีสําเร็ จการศึกษาในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

ผลงานวิท ยานิ พนธ์ ในปี การศึกษา 2550 มีจํานวน 16 เล่ม และมีบ ทความ รายละเอียด ปรากฏในแบบฟอร์ ม จากวิทยานิพนธ์ ทีได้ รับการตีพมิ พ์เผยแพร่ จาํ นวน 5 ผลงาน ร้ อยละบทความ ตัวบ่งชีที 2.1.2 จากวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาโทที ตีพิมพ์ เผยแพร่ ต่อจํานวนวิท ยานิ พ นธ์ป ริ ญ ญา โททังหมด เท่ากับ 31.25

57


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.1.3 ร้ อยละบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอกที ตีพิม พ์ เผยแพร่ ต่อจํานวนวิท ยานิพนธ์ ปริญญาเอกทั งหมด ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ร้ อยละ 1 – 49

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

ร้ อยละ ตังแต่ 50-74 ร้ อยละ 75

วิทยาลัยไม่ มนี ั กศึกษาระดับปริญญาเอก องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.1.4 ร้ อยละของหลักสูตรทีได้ มาตรฐานต่ อหลักสูตรทังหมด ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 100

100

100

100

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

เทียบ เกณฑ์

ร้ อยละ 1 - 79

ร้ อยละ 80 – 99

ร้ อยละ 100

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

สูตรการคํานวณ : จํานวนหลักสูตรทีได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ สกอ. ปี 2548 จํานวนหลักสูตรทังหมด ผลการดําเนินงาน

X 100

เอกสารอ้ างอิง

จํานวนหลักสูตรทีเปิ ดสอนจริ งทังหมด 3 หลักสูตร ซึงได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ รายละเอียด ปรากฏในแบบฟอร์ ม สกอ. ทัง 3 หลังสูตร ดังนัน ร้ อยละของหลักสูตรทีได้ ม าตรฐานต่อหลักสูตร ตัวบ่งชีที 2.1.2 ทังหมด เท่ากับ 100

58


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.2 มีกระบวนการเรียนรู้ทีเน้ น ผู้เรียนเป็ นสําคัญ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 6

6

6

7

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 5 5-6 ครบทุกข้ อ ข้ อแรก ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีกลไกการให้ ความรู้ความเข้ าใจกับ อาจารย์ผ้ สู อนถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร 2. มีการออกแบบการเรี ยนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท ีเน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญทุกหลักสูตร 3. มีการใช้ สอและเทคโนโลยี ื ห รือนวัตกรรมในการสอนเพือส่งเสริ มการเรี ยนรู้ ทกุ หลักสูตร 4. มีการจัดการเรี ยนการสอนทีมีความยืดหยุน่ และหลากหลาย ทีจะสนองตอบต่อความต้ องการของผู้เรี ยน 5. มีการประเมิน ผลการเรียนการสอนทีสอดคล้องกับ สภาพการเรี ยนรู้ ท ีจัดให้ ผ้ เู รี ยนและอิงพัฒนาการของผู้เ รี ยนทุก หลักสูตร 6. มีการประเมิน ผลความพึงพอใจของผู้เรี ยนในเรื องคุณภาพการสอนและสิงสนับสนุนการเรี ยนรู้ ทุกหลักสูตร 7. มีระบบการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอนและพัฒนาผู้เรี ยนอย่างต่อเนืองทุกหลักสูตร ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. มีกลไกการให้ ความรู้ความเข้ าใจกับอาจารย์ ผ้ ูสอนถึงวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร มีการประชุมอาจารย์ป ระจําวิทยาลัยเป็ นประจําทุกเดือน

ตารางการประชุมอาจารย์/รายงาน การประชุม

2. มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรีย นรู้ ที เน้ น ผู้เรียนเป็ นสําคัญทุกหลักสูตร 1. มีก ารดูงาน ทัศนศึ กษา ใช้ ก รณีศึ กษา และมอบหมายให้ น ักศึกษาทํ า Course Syllabus รายวิชา ทีมีการ โครงการทุกหลักสูตร ออกแบบการเรี ยนการสอนและการ 2. มีการกําหนดรูป แบบการเรี ยนการสอนทีครอบคลุมวิธีการสอน เช่น PBL จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ทีเน้ นผู้เรี ยน เป็ น สําคัญ ในทุกหลักสูตร IS SS WBL RBL CBA (อย่างใดอย่างหนึง)

59


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง 3. มีการใช้ สือและเทคโนโลยีห รื อนวัต กรรมในการสอนเพื อส่ งเสริม 1. ระบบการแจ้ งข้ อมูลข่าวสารการ การเรียนรู้ทุกหลักสูตร เรี ยนการสอนทัวไปผ่านเวปไซด์ www.citu.tu.ac.th 1. มีก ารวางระบบเครื อ ข่ ายคอมพิวเตอร์ ที สามารถเข้ า ถึง ฐานข้ อมูลทาง วิชาการซึงส่งเสริ มการเรี ยนรู้ ของนักศึกษา 2. วารสาร CITU Review (www.citu.tu.ac.th/web2/thai/ 2. จัดทําวารสาร Online “CITU Review” ซึงเป็ นเอกสารรวบรวมและแปล cie_intro.asp) บทคัดย่องานวิจัยทีเกียวข้ องกับหลักสูตร 3. ระบบฐานข้ อมูลนักศึกษาและ งานวิจยั ของวิทยาลัย (CIE Online) 4. ระบบสนับ สนุน ข้ อมูล/ฐานข้ อมูล วิชาการของสํานักหอสมุด มธ. 4. มีการจัดการเรี ย นการสอนที มีความยืดหยุ่ น และหลากหลาย ที จะ สนองตอบต่ อความต้ องการของผู้เรียน มีระบบสํารวจความต้ องการของนักศึกษาสําหรับวิชาเลือกซึงจะพิจารณา Work Procedure การสํารวจและ เปิ ดสอนตามความต้ องการของนักศึกษา เปิ ดสอนวิชาเลือกสําหรับนักศึกษา 5. มีการประเมินผลการเรียนการสอนทีสอดคล้ องกับสภาพการเรียนรู้ ทีจัดให้ ผ้ ูเรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียนทุกหลักสูตร 6. มีการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียนในเรืองคุณภาพการสอน และสิงสนั บสนุน การเรียนรู้ทกุ หลักสูตร 7. มีระบบการปรับ ปรุ งวิธีก ารเรีย นการสอนและพั ฒนาผู้เรีย นอย่ าง ต่ อเนืองทุ กหลักสูตร วิทยาลัยจัดให้ มีการประเมิน การสอนวิชาละ 2 ครัง โดยมีเนือหาในแบบ ประเมิน ผลการสอนทังด้ านการสอนของอาจารย์ และระบบสนับ สนุน การ เรี ยนการสอนที วิทยาลัยจัดให้ การประเมิ นครังแรกทําช่วงกลางภาค เพือ เป็ นข้ อมูลสําหรับอาจารย์ ในการปรับ ปรุ งการสอน และครั งทีสองทําการ ประเมิน ช่วงปลายภาค เพือเป็ นข้ อมูลแก่ผ้ บู ริ หารหลักสูตร ในการกําหนด มาตรการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอนและพัฒนาผู้เรียนต่อไป

60

เอกสารสรุปผลการประเมินการ สอนตามประเด็นทีกําหนด และ ข้ อเสนอแนะของนักศึกษาทีมีตอ่ อาจารย์และวิทยาลัย


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.2.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่ อคุ ณภาพการสอนของอาจารย์ และสิงสนับสนุนการ เรียนรู้ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

4

4

4.07

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

1-2.49 2.50-3.49 ตังแต่ 3.50

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

สูตรการคํานวณ : ผลรวมของค่าเฉลียความพึงพอใจของนักศึกษาทุกรายวิชา จํานวนวิชาทีประเมินการสอน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

จํานวนวิชาที ประเมิน ผลการสอนในภาคเรี ยนที 1/2550 , 2/2550 และภาค รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ฤดูร้อน /2550 มีท ังหมด 101 วิชา โดยผลรวมของค่าเฉลียความพึงพอใจของ ตัวบ่งชี ที 2.2.1 นักศึกษาทุกรายวิชา เท่ากับ 410.84 คะแนน ดังนัน ระดับ ความพึง พอใจของ นักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์และสิงสนับสนุน การเรี ยนรู้ เท่ ากับ 4.07

61


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมทีสนับสนุ นการพัฒนาหลั กสูตรและการเรียนการสอนซึงบุค คล องค์ กร และชุมชนภายนอกมีส่วนร่ วม ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

-

-

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 4 4 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีระบบและกลไกทีกําหนดให้ ผู้ท รงคุณวุฒิ หรื อผู้ร้ ูในชุม ชนมาช่ว ยในการพัฒนาและปรั บ ปรุ งหลักสูต รทุก หลักสูตร 2. มีการจัดการเรี ยนการสอนทีส่งเสริมให้ ผ้ เู รี ยนมีความรู้ และทักษะที นําไปใช้ ในการปฏิบตั ิไ ด้ จ ริ ง โดยผู้ท รงคุณวุฒิ หรื อผู้ร้ ูในชุมชนมีสว่ นร่วมทุกหลักสูตร 3. มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทังทีกําหนดและไม่กําหนดในหลักสูตรโดยความร่ วมมื อกับ องค์ การหรื อ หน่ วยงานภายนอก 4. มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมิน กิจกรรมการเรี ยนการสอนทีได้ รับ การสนับ สนุนจากผู้ทรงคุณวุฒิห รื อชุม ชน ภายนอกทุกหลักสูตร 5. มีการนําผลการประเมิน ไปปรั บ ปรุ งการมีสว่ นร่วมของบุคคล องค์การ และชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตร และการเรี ยนการสอนทุกหลักสูตร ผลการดําเนินงาน 1. มีระบบและกลไกทีกําหนดให้ ผ้ ูท รงคุณวุ ฒิ หรือผู้ร้ ูในชุมชนมาช่ ว ย ในการพัฒนาและปรับปรุ งหลักสูตรทุกหลักสูตร ได้ มีก ารกําหนดให้ มี การขอความเห็ น จากผู้ท รงคุณ วุฒิ / ผู้เ ชี ยวชาญ ภายนอก ประกอบการพิจารณาปรับ ปรุ งหลักสูตรทุกครัง

เอกสารอ้ างอิง เอกสารสรุ ป ผลการพิ จ ารณาจาก ผู้ท รงคุณวุฒิ/ผู้เชียวชาญภายนอก สํา หรั บ การปรั บ ปรุ ง หลัก สูต รการ บริ หารเทคโนโลยี

2. มีการจัดการเรียนการสอนทีส่ งเสริมให้ ผ้ ูเรียนมีความรู้และทักษะที นํ าไปใช้ ในการปฏิบัต ิได้ จริง โดยผู้ท รงคุ ณวุ ฒิ หรือ ผู้ ร้ ู ในชุม ชนมี 1. รายชือ/หัวข้ อทีมีการบรรยาย พิเศษในรายวิชาต่างๆ ส่ วนร่ วมทุกหลักสูตร 1. จัด ให้ มี ก ารบรรยายพิเ ศษหรื อผู้ท รงคุณ วุฒิ ร่ว มบรรยายในรายวิชาที 2. รายชือวิชาทีสอนโดย อาจารย์ป ระจําเป็ นผู้สอน ผู้ท รงคุณวุฒภิ ายนอก 2. จัดให้ มีอาจารย์พเิ ศษทีเป็ นผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอกร่ วมสอนในบางวิชา 3. รายชือวิชาทีมีการดูงานนอก 3. ส่งเสริ มให้ มีการนํานักศึกษาไปดูงานนอกสถานทียังหน่ วยงานภายนอก สถานที 62


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 3. มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทังทีกําหนดและไม่ กําหนด ในหลั กสูตรโดยความร่ วมมือกับองค์ การหรือหน่ วยงานภายนอก ได้ มีการจัดกิจกรรม/โครงการนักศึกษาที ได้ รับ ความร่ วมมื อจากหน่วยงาน ภายนอกทังภาครัฐและเอกชน ได้ แก่ 1. โครงการฝึ กอบรม “การพัฒ นาทัก ษะเจ้ า ของธุ ร กิจรุ่ น ใหม่ ” ร่ วมกั บ ธนาคารไทยพาณิชย์ 2. โครงการฝึ กอบรม “ผู้ จัด การกลยุ ท ธ์ เ ชิง นวัต กรรม” ร่ ว มกั บ เครื อ โรงพยาบาลมหาชัย 3. โครงการ “เทศกาลศิลปะสร้ างสรรค์เพือเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” ร่ ว มกับ ภาควิชาศิล ปะการแสดง มหาวิท ยาลัย ศรี น คริ น ทร วิโรฒ สาขาวิชาดนตรีและการแสดง มหาวิท ยาลัยบูรพา และนักศึกษาทุน ศิลปิ น มหาวิท ยาลัยรัง สิต ระหว่ างวัน ที 8-9 มีน าคม 2551 ณ สมาคม ฝรังเศส ถนนสาทร กรุงเทพ 4. โครงการ “Unlimited Arts Festival” ร่ วมกับ สํานักงานศิลปวัฒนธรรม ร่ วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ระหว่างวัน ที 11-13 มีน าคม 2551 ณ ศูน ย์การค้ าเอสพลานาด ชัน G ถนนรัชดาภิเษก 4. มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมิน กิจกรรมการเรี ยนการสอนที ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากผู้ ทรงคุ ณ วุ ฒิห รื อ ชุ ม ชนภายนอกทุ ก หลักสูตร 5. มี ก ารนํ า ผลการประเมิน ไปปรั บ ปรุ ง การมี ส่ วนร่ วมของบุ ค คล องค์ การ และชุมชนภายนอกในการพั ฒนาหลั กสู ตรและการเรี ย น การสอนทุกหลักสูตร 1. จัดให้ มีการประเมิน ผลการสอนในวิชาทีสอนหรื อการบรรยายพิเศษโดย อาจารย์ผ้ ทู รงคุณวุฒิเป็ นประจําทุกครั ง เพือนํ าผลไปใช้ ในการพิจารณา ประกอบการจัดการสอนในครั งต่อไป 2. กิจกรรมที นักศึกษาร่ วมจัดกับ หน่วยงานภายนอก จะกําหนดให้ มีการ จัดทํา การประเมินผลตามแนวทางคุณภาพ (รายละเอียดในดัชนี 9.2 มี ระบบและกลไกการให้ ค วามรู้ และทักษะด้ า นการประกัน คุ ณ ภาพแก่ นักศึกษา)

63

เอกสารอ้ างอิง

เ อ ก สา ร สรุ ป ก า ร ดํ าเ นิ น ง า น โครงการที มีก ารร่ ว มมื อกับ องค์ กร หรื อหน่วยงานภายนอก

1. เอกสารผลการประเมินการสอน/ บรรยายพิเศษของผู้ท รงคุณวุฒิ ภายนอก 2. สรุ ป ผลการประเมิ น โครงการ ตามแน วทางคุณ ภาพสํา หรั บ กิจกรรมนักศึกษา


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ าต่ อจํานวนอาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 78

117

78

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

± มากกว่า ± ระหว่าง ± น้ อยกว่า 72.43 10% 6-9.99% 5.99% ของเกณฑ์ ของเกณฑ์ ของเกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

1

3

สูตรการคํานวณ : จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าในปี การศึกษานัน จํานวนอาจารย์ประจําทีปฏิบัตงิ านจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า - สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) เท่ากับ 447.53 - สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ศูนย์พทั ยา) เท่ากับ 155.03 - สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม เท่ากับ 121.73 รวม เท่ากับ 724.28 จํานวนอาจารย์ประจําทีปฏิบัตงิ านจริ ง 10 คน จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจํานวนอาจารย์ประจํา เท่ากับ 72.43 เกณฑ์ค่า FTES ต่ออาจารย์ป ระจําในสาขาบริห ารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ เท่ากับ 1 : 25 ดังนัน ค่า FTES ต่ออาจารย์ป ระจําของวิทยาลัยนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน 189.71 % อย่างไรก็ตาม วิท ยาลัยได้ มีการรับอาจารย์ประจําเพิมขึน ตลอดปี การศึกษา 2550 ทําให้ สดั ส่วนของนักศึกษาเต็มเวลาเที ยบเท่ าต่ออาจารย์ ลดลง และมีผลการดําเนินงานดีกว่าเป้าหมายทีได้ กําหนดไว้

64

เอกสารอ้ างอิง 1. รายละเอียดปรากฏตาม แบบฟอร์ มตัวบ่งชี 2.4 2. รายชืออาจารย์ประจํา วิทยาลัย


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.5 สัดส่ วนของอาจารย์ ประจําทีมีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่ าต่ อ อาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 45

33

44

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

วุฒิปริ ญญา วุฒิปริ ญ ญา วุฒิปริ ญญา 45.45 เอก ร้ อยละ เอกร้ อยละ เอก ≥ 1- 39 40 – 59 ร้ อยละ 60

2

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

4

สูตรการคํานวณ : 1. ร้ อยละของอาจารย์ วุฒิปริญญาตรีต่ออาจารย์ ประจํา จํานวนอาจารย์ท ีมีวฒ ุ ิการศึกษาระดับปริ ญญาตรี หรื อเทียบเท่าในปี การศึกษานัน จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดในปี การศึกษานัน

X 100

2. ร้ อยละของอาจารย์ วุฒิปริญญาโทต่ ออาจารย์ ประจํา จํานวนอาจารย์ท ีมีวฒ ุ ิการศึกษาระดับปริ ญญาโทหรื อเทียบเท่าในปี การศึกษานัน จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดในปี การศึกษานัน

X 100

3. ร้ อยละของอาจารย์ วุฒิปริญญาเอกต่ ออาจารย์ ประจํา จํานวนอาจารย์ทีมีวฒ ุ ิการศึกษาระดับปริ ญญาเอกหรื อเทียบเท่าในปี การศึกษานัน จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดในปี การศึกษานัน * นับ รวมอาจารย์ ทีลาศึกษาต่ อต่ างประเทศ ผลการดําเนินงาน

X 100

เอกสารอ้ างอิง

ร้ อยละของอาจารย์วฒ ุ ิปริ ญญาโทต่ออาจารย์ประจํา เท่ากับ 54.54 ร้ อยละของอาจารย์วฒ ุ ิปริ ญญาเอกต่ออาจารย์ประจํา เท่ากับ 45.45 (วิทยาลัยไม่มีอาจารย์ป ระจําวุฒปิ ริ ญญาตรี )

65

1. รายละเอียดตามแบบฟอร์ มตัว บ่งชีที 2.5 2. รายชืออาจารย์ประจําวิท ยาลัย


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.6 สั ด ส่ วนขอ งอาจารย์ ประจํ า ที ดํ า รงตํ า แหน่ งอาจารย์ ผู้ ช่ วยศาสตราจารย์ รอ ง ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

10

33

22

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผศ. รศ. และ ผศ. รศ. และ ศ. ≥ ร้ อยละ 13.63 ศ. ร้ อยละ 70 และ รศ. 1 – 44 ขึนไป < ร้ อย ละ 30

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

ผศ. รศ. และ ศ. ≥ ร้ อยละ 70 และ รศ. ขึนไป ≥ ร้ อยละ 30

1

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

0

2

สูตรการคํานวณ : 1. ร้ อยละของอาจารย์ ประจําทีดํารงตําแหน่ งทางวิชาการ จํานวนอาจารย์ท ีดํารงตําแหน่งทางวิชาการ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์, รองศาสตราจารย์, ศาสตราจารย์) ในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนอาจารย์ป ระจําทังหมดในปี การศึกษานัน 2. ร้ อยละของอาจารย์ ประจําทีดํารงตําแหน่ งรองศาสตราจารย์ ขึนไป จํานวนอาจารย์ท ีดํารงตําแหน่งทางวิชาการ (รองศาสตราจารย์, ศาสตราจารย์) ในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนอาจารย์ป ระจําทังหมดในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

อาจารย์ทีมีตําแหน่งทางวิชาการ จํานวน 1.5 คน ได้ แก่ ผศ. เต็ม ใจ สุวรรณทัต 1. รายละเอียดตามแบบฟอร์ ม (1 คน) และผศ.ดร.จิรพรรษ์ บุ ณ ยเกียรติ (0.5 คน)เที ยบกับ จํานวนอาจารย์ ตัวบ่งชีที 2.6 ประจําทังหมด 11 คน (รวมอาจารย์ทีลาศึกษาต่อต่างประเทศ) คิดเป็ นร้ อยละ 2. ร า ยชื อ อ า จา ร ย์ ป ร ะ จํ า 13.63 วิทยาลัย

66


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.7 มีกระบวนการส่ งเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

5

5

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 อย่างน้ อย 3 ข้ อแรก ข้ อแรก 4 ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 2. มีกระบวนการส่งเสริ มให้ ผ้ เู กียวข้ องได้ ป ฏิบ ตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 3. มีการกํากับ ดูแลการปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. มีระบบในการดําเนิน การกับผู้ทีไม่ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 5. มีการดําเนิน การวางแผน ป้องกัน หรื อหาแนวทางแก้ ไขการกระทําผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ ไว้ เป็ นลายลักษณ์ อักษร 1. ป ร ะ ก า ศ ม ห า วิ ท ย า ลั ย มหาวิท ยาลัย ธรรมศาสตร์ ได้ ออกประกาศและคู่มือประกอบจรรยาบรรณ ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์ ว่ า ด้ ว ย วิชาชีพอาจารย์ ซึงมีผลบังคับใช้ กบั ทุกหน่วยงาน ดังนี จรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์ 1. ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้ วยจรรยาบรรณวิชาชีพ อาจารย์ เมื อ 2. ป ร ะ ก า ศ ม ห า วิ ท ย า ลั ย วันที 15 สิงหาคม 2549 ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์ ว่ า ด้ ว ย 2. ประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้ วยหลักเกณฑ์ การปฏิ บ ัติในการใช้ หลัก เกณฑ์ การปฏิ บ ัติใ นการ บังคับจรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์ เมือวัน ที 30 กันยายน 2549 ใช้ บงั คับจรรยา บรรณวิ ชาชีพ อาจารย์ 3. คู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพ 3. คู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. มี ก ระบวนการส่ งเสริม ให้ ผู้ เ กี ยวข้ องได้ ปฏิบั ติต ามจรรยาบรรณ ตาร างการ ป ร ะชุ ม อาจ าร ย์ / วิชาชีพ ให้ มีประเด็นด้ านจรรยาบรรณวิชาชีพเป็ น วาระ/ข้ อแลกเปลียนในการประชุม รายงานการประชุม คณาจารย์ประจําเดือน

67


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 3. มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1. ผลการประเมินอาจารย์ใน 1. มีการนําประเด็นสําคัญๆ ทีเกียวข้ องกับจรรยาบรรณมาเข้ า ในแบบประเมิน ประเด็นทีเกียวกับ การเรี ยนการสอน จรรยาบรรณ 2. เผยแพร่จรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์ให้ ทราบโดยทัวกัน 2. คู่มืออาจารย์ 4. มีระบบในการดําเนินการกับผู้ที ไม่ ปฏิบัติต ามจรรยาบรรณวิชาชีพ ปฏิบตั ิตามกลไกทีปรากฎในคูม่ ือจรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์ของ คู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์ มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ ของ มธ. 5. มีการดําเนิน การวางแผน ป้องกัน หรือหาแนวทางแก้ ไขการกระทําผิด จรรยาบรรณวิชาชีพ ให้ มีการประชุมหารือร่ วมกับผู้ทได้ ี รับผลกระทบจากการประเมิน ตาร างการ ป ร ะชุ ม อาจ าร ย์ / จรรยาบรรณในข้ อที 3 เพือกําหนดแนวทางป้องกัน ก่อนจะถูกกล่าวหา รายงานการประชุม

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุ นให้ อาจารย์ ประจําทําการวิจยั เพือพัฒนาการเรียนการสอน ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 2

-

-

3

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 3-4 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

2

1

1

4

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย์ด้านความรู้ ความเข้ าใจเกียวกับ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรี ยน การสอน 2. มีกลไกการบริ หารวิชาการทีจะกระตุ้นให้ อาจารย์คดิ ค้ น พัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ในด้ านการเรี ยนการสอน 3. มีแหล่งทุน สนับสนุน การวิจยั เพือพัฒนาการเรี ยนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา 4. มีผลงานวิจยั ด้ านการเรี ยนการสอนและมี การจัดเวทีแลกเปลียนและเผยแพร่ผลงานวิจยั ด้ านการเรี ยนการสอนและ นวัตกรรมทางการศึกษาอย่างสมําเสมอ 5. มีการสร้ างเครื อข่ายวิจยั ด้ านนวัตกรรมการเรียนการสอนทังภายในและภายนอกสถาบัน

68


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. มีการกํ าหนดแนวทางการพั ฒ นาอาจารย์ ด้ านความรู้ ความเข้ าใจ 1. ประกาศมหาวิทยาลัย เกียวกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน ธรรมศาสตร์ เรื อง หลักเกณฑ์ 2. มี ก ลไกการบริห ารวิช าการที จะกระตุ้ น ให้ อาจารย์ คดิ ค้ น พั ฒน า นวัตกรรมใหม่ ๆ ในด้ านการเรียนการสอน การปฏิบัตงิ านเกียวกับอาจารย์ 3. มีแหล่ งทุ น สนั บสนุ น การวิจัย เพื อพั ฒนาการเรี ย นการสอนและ ประจําของวิท ยาลัยนวัตกรรม นวัตกรรมทางการศึ กษา พ.ศ. 2551 1. วิทยาลัยได้ กาํ หนดให้ มีการสนับ สนุน การทําวิจัย โดยเป็ นรู ป แบบการให้ 2. เอกสารประกอบการสัมมนา ทุน เพือนําเสนอผลงานวิจยั ในทีประชุมวิชาการ การให้ เ งิน รางวัลสําหรับ อาจารย์ประจําปี การศึกษา งานวิจยั ทีได้ รับการตีพมิ พ์ รวมถึงการกําหนดผลงานวิจัย ให้ เป็ นส่วนหนึ ง 2550 ในหลักเกณฑ์ สําหรับ สัญญาและภาระงานขันตํา โดยที ผลงานวิจัยนัน รวมถึงงานวิจยั และพัฒนาด้ านการเรี ยนการสอนด้ วย 2. วิท ยาลัย จัด ให้ มีก ารสัม มนาหั วข้ อ “Understanding Attitudes and Knowledge in Teaching” โดย รศ.สิทธิโชค วรานุสนั ติกุล แก่คณาจารย์ ในการสัมมนาคณาจารย์ ประจําปี การศึกษา 2550 4. มีผลงานวิจัย ด้ านการเรี ย นการสอนและมี การจัดเวที แลกเปลี ยน และเผยแพร่ ผลงานวิจัยด้ านการเรี ยนการสอนและนวัต กรรมทาง การศึกษาอย่ างสมําเสมอ 5. มีการสร้ างเครือข่ ายวิจยั ด้ านนวัตกรรมการเรียนการสอนทังภายใน และภายนอกสถาบัน วิทยาลัยยังไม่มีผลงานวิจยั และพัฒนาเกียวกับการเรี ยนการสอน

69

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.9 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที ได้ งานทําและประกอบอาชีพ อิสระภายใน 1 ปี ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ร้ อยละ 1-59

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

ร้ อยละ ตังแต่ 60-79 ร้ อยละ 80

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรปริญญาตรี

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.10 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที ได้ รับเงิน เดือนเริมต้ นเป็ นไปตามเกณฑ์ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

ร้ อยละ 1-74

ร้ อยละ 75-99

ร้ อยละ 100

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรปริญญาตรี

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจ้ าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้ บัณฑิต ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

1-2.49 2.50-3.49 ≥ 3.50 วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรปริญญาตรี

70

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2

การเรียนการสอน

ชือตัวบ่ งชี : 2.12 ร้ อยละของนั กศึ กษาปั จจุบัน และศิษ ย์ เก่ าที สํ าเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที ผ่ านมาที ได้ รับ การประกาศเกีย รติคุ ณยกย่ อ ง ในด้ านวิช าการ วิชาชี พ คุ ณธรรม จริย ธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และด้ านสิงแวดล้ อมในระดับชาติห รือนานาชาติ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

0.09

0

0

0.47

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

ร้ อยละ 0.0030.015

ผลการประเมิน

2

3

เทียบ เกณฑ์

ร้ อยละ 0.0160.029

≥ ร้ อยละ 0.030 และ ได้ รับรางวัล จากผลงาน วิจัยหรื อ วิทยานิพนธ์ ≥ 0.060

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

สูตรการคํานวณ : ร้ อยละของนั กศึกษาปั จจุบันและศิษย์ เก่ าทีสําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที ผ่ านมาทีได้ รับรางวัลทุ กประเภท จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทังหมด ทุกระดับการศึกษาทีได้ รบั การประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่องในปี การศึกษานัน จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมา ทุกระดับการศึกษาในปี การศึกษานัน

X 100

ร้ อยละของนั กศึกษาบัณฑิตศึกษาปั จจุบันและศิษย์ เก่ าระดับบัณฑิตศึกษาทีสําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที ผ่ านมาทีได้ รับรางวัลจากผลงานวิจัยและ/หรือวิทยานิพนธ์ จํานวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าระดับบัณฑิตศึกษาทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทีได้ รบั รางวัลจากผลงานวิจยั และ/หรื อวิทยานิพนธ์ ในปี การศึกษานัน จํานวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าระดับบัณฑิตศึกษา ทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทังหมดในปี การศึกษานัน

71

X 100


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2

การเรียนการสอน

ชือตัวบ่ งชี : 2.12 ร้ อยละของนั กศึ กษาปั จจุบัน และศิษ ย์ เก่ าที สํ าเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที ผ่ านมาที ได้ รับ การประกาศเกีย รติคุ ณยกย่ อ ง ในด้ านวิช าการ วิชาชี พ คุ ณธรรม จริย ธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และด้ านสิงแวดล้ อมในระดับชาติห รือนานาชาติ สูตรการคํานวณ : ร้ อยละของนั กศึกษาปั จจุบันและศิษย์ เก่ าทีสําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที ผ่ านมาทีได้ รับรางวัลทุ กประเภท จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทังหมด ทุกระดับการศึกษาทีได้ รบั การประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่องในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมา ทุกระดับการศึกษาในปี การศึกษานัน ร้ อยละของนั กศึกษาบัณฑิตศึกษาปั จจุบันและศิษย์ เก่ าระดับบัณฑิตศึกษาทีสําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที ผ่ านมาทีได้ รับรางวัลจากผลงานวิจัยและ/หรือวิทยานิพนธ์ จํานวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าระดับบัณฑิตศึกษาทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทีได้ รบั รางวัลจากผลงานวิจยั และ/หรื อวิทยานิพนธ์ ในปี การศึกษานัน X 100 จํานวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าระดับบัณฑิตศึกษา ทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทังหมดในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

นักศึกษาบัณฑิตศึกษาปั จจุบนั มีจํานวน 410 คน และศิษย์เก่าระดับ บัณฑิตศึกษาที สําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่าน ตังแต่ปี การศึกษา 2545 – 2549 มีจาํ นวน 651 คน รวมเป็ น 1,061 คน

รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ตัวบ่งชีที 2.12

มีน ักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าได้ รับ การประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่องทุก ประเภท จํานวน 5 คน คิดเป็ นร้ อยละ 0.47 มีน ักศึกษาและศิษย์เก่าได้ รับรางวัลจากผลงานวิจยั และ/หรื อวิทยานิพนธ์ จํานวน 3 คน คิดเป็ น ร้ อยละ 0.28

72


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2

การเรียนการสอน

ชือตัวบ่ งชี : 2.12.1 จํานวนวิท ยานิพ นธ์ และงานวิช าการของนั กศึก ษาที ได้ รั บรางวัล ในระดับ ชาติห รื อ ระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปี ที ผ่ านมา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 1

0

0

3

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

จํานวน 1–5 ชินงาน

จํานวน 6–8

ชินงาน

ผลการประเมิน 3

≥9

ชินงาน

เทียบ เกณฑ์

1

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

3

สูตรการคํานวณ : ผลรวมของจํานวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการของนักศึกษา ทีได้ รบั รางวัลในระดับ ชาติหรื อระดับนานาชาติในรอบ 3 ปี การศึกษาทีผ่านมา ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

วิท ยานิพนธ์ และงานวิช าการของนักศึก ษาที ได้ รับ รางวัลในระดับ ชาติ ห รื อ รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ระดับ นานาชาติภายในรอบ 3 ปี ทีผ่านมา จํานวน 3 ชิน ได้ แก่ ตัวบ่งชีที 2.12.1 1. นายสมยศ น้ อ ยสุข ”การบริ ห ารกระบวนการรับ และกระจายสิน ค้ าตาม ระบบต้ นทุนฐานกิจกรรมศึกษากรณีคลังสินค้ าบริ ษัท CP Seven-Eleven“ ได้ รับ รางวัลจากการนํา เสนอผลงานทางวิชาการ 2nd call for paper Thailand and Logistics hub in GMS The 6 th industrial academic Annual conference on supply chain and logistics management 2. นาวาตรี พนิศรัฐ บุษย์นิลเพชร “การบริ ห ารโครงการต่อเรื อของ กองทัพเรื อ ได้ รับ รางวัลชมเชย“ จากสถาบันวิชาการทหารเรื อชันสูง 3. น.ส.กมลวรรณ มัก การุ ณ “แผนธุร กิจ วัสดุปิ ดแผลจากสารไคโตซาน“ ได้ รับ รางวัล semi finalist จากตลาดหลักทรัพย์ใหม่ แห่ งประเทศไทยและ สถาบัน บัณฑิตบริ หารธุรกิจศศิน ทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิท ยาลัย

73


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2

การเรียนการสอน

ชือตัวบ่ งชี : 2.13

ร้ อ ยละของอาจารย์ ป ระจํ า หลั ก สู ต รบั ณ ฑิต ศึ ก ษาซึ งมี คุ ณ สมบั ติเ ป็ น ที ปรึ ก ษา วิท ยานิพนธ์ ที ทําหน้ าทีอาจารย์ ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์

ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 50

-

-

80

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

ร้ อยละ 50 – 69

ร้ อยละ 70- 89

≥ ร้ อยละ

90

เทียบ เกณฑ์

2

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

4

สูตรการคํานวณ : จํานวนอาจารย์ป ระจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาทีมีคณ ุ สมบัติเป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิท ยานิพนธ์ ทีทําหน้ าที อาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิ พนธ์

X 100

จํานวนอาจารย์ประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาทังหมด ทีมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิท ยานิพนธ์ ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

อาจารย์ป ระจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาทังหมดทีมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ น อาจารย์ที ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ มีจํานวน 5 คน มีอาจารย์ทีทําหน้ าทีเป็ นอาจารย์ที ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ จํานวน 4 คน ได้ แก่ ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา ดร. สุพชั รจิต จิตประไพ ดร.ยอดมนี เทพานนท์ ดร.ประวิท ย์ เขมะสุนนั ท์ (นับ 0.5 คน) ดร.สมิท ธ์ ตุงคะสมิต (นับ 0.5 คน) ร้ อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึงมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นที ปรึ กษา วิทยานิพนธ์ ทีทําหน้ าทีอาจารย์ทีปรึ กษาวิท ยานิพ นธ์ เท่ากับ 80

74

รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ตัวบ่งชีที 2.13


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.14 อัตราการแข่ งขัน สอบเข้ ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปริญญาตรี ) ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรปริญญาตรี

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.15 ค่ าระดับเฉลียสะสมของนักศึกษาทีสอบเข้ า มธ. ได้ (ปริญญาตรี ) ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรปริญญาตรี

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.16 ร้ อยละของนั กศึกษาทีได้ รับการจัดระดับวิชาภาษาอังกฤษพืนฐาน (PT) ตังแต่ สษ.172 ขึนไป ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรปริญญาตรี

75

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.17 ร้ อยละของนั กศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทีสอบผ่ าน TU-GET (มากกว่ า 550 คะแนน) ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

ยกเลิก - ไม่ ประเมินในปี การศึกษานี

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.18 ผู้สําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาทีหลักสูตรกําหนด (บัณฑิต) ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 70

80

69

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ร้ อยละ > ร้ อยละ 65.38 64.62 – 0- 64.61 71.42 71.42 > ร้ อยละ

เทียบ เกณฑ์

2

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

0

0

2

สูตรการคํานวณ : จํานวนนักศึกษาทีสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาทีหลักสูตรกําหนด

X 100

จํานวนนักศึกษาทีขึนทะเบียนเป็ นนักศึกษารุ่ นเดียวกันกับนักศึกษาทีสําเร็ จการศึกษา ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

นักศึกษาที ขึนทะเบียนเป็ นนักศึกษารุ่นเดียวกันกับนักศึกษาทีสําเร็ จ การศึกษา จํานวน 208 คน สําเร็ จการศึกษาตามระยะเวลาที หลักสูตรกําหนด จํานวน 136 ร้ อยละของผู้สาํ เร็ จการศึกษาตามระยะเวลาเท่ากับ 65.38

76

รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ตัวบ่งชีที 2.18


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 2 การเรียนการสอน ชือตัวบ่ งชี : 2.19 จํานวนชัวโมงสอนของอาจารย์ ต่อคนต่ อปี ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 120

-

-

94.8

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

< 96 96-144 > 144 ชัวโมงต่อปี ชัวโมงต่อปี ชัวโมงต่อปี

เทียบ เกณฑ์

2

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

0

1

3

สูตรการคํานวณ : จํานวนชัวโมงสอนในปี การศึกษา 2550 จํานวนอาจารย์ทปฏิ ี บตั ิงานจริ ง ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

จํานวนชัวโมงทีสอนโดยอาจารย์ประจํา

948

ชัวโมง

จํานวนอาจารย์ทปฏิ ี บตั ิงานจริ ง

10

คน

จํานวนชัวโมงสอนของอาจารย์ตอ่ คนต่อปี

94.8

ชัวโมง

77

รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ตัวบ่งชีที 2.19


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 3 : กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา วิท ยาลัย ได้ จ ัดโครงการและกิจ กรรมพัฒ นานัก ศึกษาเป็ น 2 ส่ ว น ตามเป้ าหมายและ วัตถุประสงค์ทีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด ได้ แก่ (1) การจัดบริการแก่นกั ศึกษาและ ศิษย์เก่าโดยพิจารณาให้ สอดคล้ องกับความต้ องการและให้ เกิดประโยชน์สูงสุ ด โดย วิทยาลัยเน้ นการ บริการหรือโครงการทีเอือต่อการเรียนรู้ ทังด้ านระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้ แก่ การติดตังระบบสือสาร เครือข่ายกับ ฐานข้ อ มูลของมหาวิทยาลัย การจัดวารสารกึงวิชาการให้ นกั ศึกษาได้ อ่านเพิมเติม ห้ อง คอมพิวเตอร์ เป็ นต้ น และโครงการพัฒนาทักษะและประสบการณ์ให้ แก่นกั ศึกษา เช่น การศึกษาดูงาน การจัดบรรยายหรือสัมมนาพิเศษ นอกเหนือจากทีกําหนดไว้ในหลักสูตร และ (2) การสนับสนุนส่งเสริม ให้มีการจัดกิจกรรมนักศึกษาทีดําเนินการโดยนักศึกษาเอง โดยวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณสนับสนุนให้ นักศึกษาได้ จดั กิจกรรมหรือโครงการทีเป็ นการพัฒนานักศึกษาและสอดคล้ องกับการเรียนการสอนตาม หลัก สู ตร เช่น การจัด โครงการด้ า นศิ ล ปะและวัฒ นธรรมของนัก ศึกษาสาขาวิ ช าการบริ ห ารงาน วัฒนธรรม เป็ นต้ น วิทยาลัยได้ พิจ ารณาและประเมิน ผลการดําเนิน การตามองค์ป ระกอบที 3 กิจ กรรมการ พัฒนานิสิตนักศึกษา โดยมีผลการประเมินดังนี ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

3.1 มีการจัดบริ การแก่น กั ศึกษาและศิษย์เก่า 3.2 มีการส่งเสริ มกิจกรรมนักศึกษาทีครบถ้ วนและ สอดคล้ องกับ คุณลักษณะของบัณฑิตทีพึงประสงค์ 3.2.1 ร้ อยละของนักศึกษาที เข้ าร่ วมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษาต่อจํานวน นักศึกษา (ปริ ญญาตรี ) ทังหมด คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 3 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 3 ทังหมด

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

1

1

5

วิทยาลัยไม่มีห ลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

5.00 5.00

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี

78


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 3 กิจกรรมการพัฒนานั กศึกษา ชือตัวบ่ งชี : 3.1

มีการจัดบริการแก่ นั กศึกษาและศิษย์ เก่ า

ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

-

-

8

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ไม่ครบ 7 ดําเนิน การ ดําเนิน การ ข้ อแรก 7 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการสํารวจความต้ องการจําเป็ นของนักศึกษาปี ที 1 2. มีการจัดบริ การด้ านสิงอํานวยความสะดวกทีเอือต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 3. มีการจัดบริ การด้ านกายภาพทีส่งเสริ มคุณภาพชีวิตของนักศึกษา 4. มีการจัดบริ การให้ คําปรึ กษาแก่นกั ศึกษา 5. มีบ ริการข้ อมูลข่าวสารทีเป็ นประโยชน์ ตอ่ นักศึกษา และศิษย์เก่า 6. มีการจัดโครงการเพือพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่น กั ศึกษา และศิษย์เก่า 7. มีการประเมิน คุณภาพของการให้ บริการทัง 5 เรืองข้ างต้ นเป็ นประจําทุกปี 8. นําผลการประเมิน คุณภาพของการให้ บ ริการมาพัฒนาการจัดบริ การแก่นกั ศึกษา และศิษย์เก่า ผลการดําเนินงาน 1. มีการสํารวจความต้ องการจําเป็ นของนักศึกษาปี ที 1

เอกสารอ้ างอิง

จัดทําแบบสํารวจความต้ องการของนักศึกษาปี ที 1 ในปลายภาคเรี ย นที 2 รายงานผลสํารวจความต้ องการ ของนักศึกษาปี ท ี 1 ของทุกปี 2. มีการจัดบริการด้ านสิงอํานวยความสะดวกทีเอือต่ อการพั ฒนาการ เรียนรู้ของนักศึกษา 1. จัด Wireless Lan บริ เวณห้ อง common และห้ องเรี ยน 2. จัดวารสารชันนําด้ านการบริหารให้ น กั ศึกษาอ่านเพิมเติม เช่น Time, Business week, Forb, Harvard business review, Fortune500 3. จัดห้ องคอมพิวเตอร์ และระบบโควตาพิมพ์เอกสาร 4. จัดระบบฐานข้ อมูลงานวิจยั ของนักศึกษา (E-Library) 3. มีการจัดบริการด้ านกายภาพทีส่ งเสริมคุ ณภาพชีว ิตของนักศึกษา 1. ห้ อง Common/มุมอ่านหนังสือ 2. ติดตังระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด 3. บริ การเครืองดืม ชา กาแฟ / ร้ านขนม

79

1. ภาพถ่าย 2. Print screen เอกสาร และหน้ า Website

ภาพถ่ายบรรยากาศการบริ การ ต่างๆ ทีวิทยาลัยจัดให้ แก่น กั ศึกษา


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 4. มีการจัดบริการให้ คําปรึกษาแก่ นักศึกษา 1. กําหนดชัวโมงและการอยูใ่ ห้ คําปรึกษาของอาจารย์ประจํา 2. จัดเจ้ าหน้ าทีอยูเ่ วรนอกเวลาราชการในเวลาที มีการสอน 3. จัดประชุมชีแจงการทํางานวิจยั ของนักศึกษา 5. 1. 2. 3.

มีบริการข้ อมูลข่ าวสารทีเป็ นประโยชน์ ต่อนั กศึกษา และศิษย์ เก่ า ระบบแจ้ งข่าวสารแก่น กั ศึกษาผ่าน Internet / email / บอร์ ดประกาศ ระบบแจ้ งข่าวสาร/คําร้ อง Online จดหมายข่าว CIE-News

6. มีการจัดโครงการเพือพัฒนาประสบการณ์ ท างวิชาชีพ แก่ นั ก ศึกษา และศิษย์ เก่ า 1. บรรยายพิเศษ “การพั ฒนาธุ รกิจและการดําเนิน ชีวิตแบบเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพระราชดําริ” ดร.สุเมธ ตัน ติเวชกุล วัน ที 14 มกราคม 2551 2. สัม มนา “Supporting co-evolution of Web based Information Systems using Meta-Design Paradigm” Prof. Athula Ginige วันที 29 เมษายน 2551 3. ดูงานการจัดการสิงแวดล้ อม จ.กาญจนบุ รี วันที 26-27 มกราคม 2551 4. ดูงานกรมอุตุนิ ยมวิท ยา และ บริ ษั ท วิ ท ยุก ารบิน สุวรรณภู มิ วัน ที 20 กุมภาพัน ธ์ 2551 5. สัม มนาจริ ยธรรม ณ วัดสุน ัน ทวนาราม จังหวัดกาญจนบุ รี วัน ที 15-16 มีน าคม 2551 6. ดูงานกรมทรัพย์สนิ ทางปั ญญา วัน ที 18 มีนาคม 2551 7. ดูงานทีสํานักงาน NECTEC วันที 24-25 มีน าคม 2551 7. มีการประเมิน คุณ ภาพของการให้ บริการทั ง 5 เรื องข้ างต้ น เป็ น ประจําทุกปี จัดให้ มี การประเมิ น คุณภาพการให้ บ ริ การแก่น ักศึก ษาหลักสูตรบริ ห าร เทคโนโลยี และบริ หารงานวัฒนธรรม ในภาคเรี ยนที 2

เอกสารอ้ างอิง 1. ตารางเวลาให้ คําปรึ กษาของ อาจารย์และตารางอยู่เวรของ เจ้ าหน้ าที 2. ภาพถ่าย/เอกสารประกอบการ ประชุมชีแจงงานวิจยั 1. Website และระบบ CIE Online 2. ภาพถ่ายบอร์ ดประชาสัมพันธ์ 3. จดหมายข่าว

ภาพถ่าย/เอกสารการจัดโครงการ ต่างๆ

รายงานผลการสํารวจความพึง พอใจในการให้ บริ การด้ านต่างๆ ของวิท ยาลัย

8. นําผลการประเมินคุ ณภาพของการให้ บริการมาพัฒนาการ จัดบริการแก่ นกั ศึกษา และศิษย์ เก่ า มีการจัดประชุมคณาจารย์ และประชุม weekly meeting ของฝ่ ายบริ การ รายงานการประชุม การศึกษาเพือพิจารณาและพัฒนาการจัดบริการแก่น ักศึกษาและศิษย์เก่า 80


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 3 กิจกรรมการพัฒนานั กศึกษา ชือตัวบ่ งชี : 3.2 มีการส่ งเสริมกิจกรรมนั กศึกษาที ครบถ้ วนและสอดคล้ องกับคุณลัก ษณะของบั ณฑิตที พึงประสงค์ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

-

-

4

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 3 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการจัดทําแนวทางส่งเสริ ม การจัดกิจกรรมทีสอดคล้ องกับวิ สยั ทัศน์ของสถาบัน และคุณลักษณะบัณฑิตทีพึง ประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษา 2. มีการส่งเสริ มให้ สถาบัน และองค์การนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษาให้ ครบทุกประเภทโดยอย่างน้ อย ต้ องดําเนินการใน 5 ประเภท ดังนี - กิจกรรมวิชาการ - กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริ มสุขภาพ - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ และรักษาสิงแวดล้ อม - กิจกรรมนันทนาการ - กิจกรรมส่งเสริ มศิลปวัฒนธรรม 3. มีกระบวนการติดตามและประเมิน ผลโครงการหรื อกิจกรรม ทังทีจัดโดยสถาบัน และองค์ ก ารนักศึกษาทุกสินปี การศึกษา 4. มีการนําผลการประเมิน ไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพือพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเนื อง ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. มี ก ารจั ด ทํ า แนวทางส่ งเสริม การจั ด กิจ กรรมที สอดค ล้ องกั บ วิสั ย ทั ศ น์ ข องสถาบั น และคุ ณลั ก ษณะบั ณฑิต ที พึ ง ประสงค์ ต าม กรอบมาตรฐานคุณวุ ฒิระดับอุ ดมศึกษา เอกสารแผนกิจกรรมนักศึกษา

แผนกิจกรรมนักศึกษาประจําปี

81


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 2. มีการส่ งเสริมให้ สถาบันและองค์ การนักศึกษาจัดกิจกรรมนั ก ศึกษา ให้ ครบทุ กประเภทโดยอย่ างน้ อยต้ อ งดําเนิน การใน 5 ประเภท มีกิจกรรม/โครงการ โดยนักศึกษามีสว่ นร่ วมครบทัง 5 ประเภท อาทิ

เอกสารอ้ างอิง

เอกสารโครงการ / ภาพถ่าย

- Research camp / สัมมนาวิชาการ / ปฐมสัมมนา - การดูงานด้ านการจัดการสิงแวดล้ อม จ.กาญจนบุรี - โครงการ “เทศกาลศิล ปะสร้ างสรรค์ เพือเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” ระหว่างวัน ที 8-9 มีน าคม 2551 ณ สมาคม ฝรั งเศส ถนนสาทร กรุ ง เทพ และโครงการ “Unlimited Arts Festival” ระหว่ างวัน ที 11-13 มี น าคม 2551 ณ ศูน ย์ ก ารค้ า เอสพลานาด ชัน G ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพ 3. มีกระบวนการติด ตามและประเมิน ผลโครงการหรื อกิจกรรม ทั งที จัดโดยสถาบัน และองค์ การนัก ศึกษาทุกสินปี การศึ กษา วิทยาลัยจัดทําคู่มือการประเมินผลโครงการตามแนวทางประกัน คุณภาพ คู่มือการประเมิน ผลโครงการตาม เพือประเมินผลกิจกรรม แนวทางประกัน คุณภาพการศึกษา 4. มี ก ารนํ าผลการประเมิน ไปปรั บ ปรุ ง การจั ด กิจ กรรมเพื อพั ฒน า นักศึกษาอย่ างต่ อเนือง ผลการประเมิ น ตามข้ อ 3 จะใช้ เป็ นข้ อมูลสําหรั บ การพิจ ารณาอนุม ัติ โครงการในครังต่อไป องค์ ประกอบที 3

กิจกรรมการพัฒนานั กศึกษา

ชือตัวบ่ งชี : 3.2.1 ร้ อยละของนักศึกษาทีเข้ าร่ วมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาต่ อจํานวนนั ก ศึก ษา (ปริญญาตรี ) ทังหมด ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

ร้ อยละ 1-39

ร้ อยละ 40-59

> ร้ อยละ 60

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรปริญญาตรี

82

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4 : การวิจัย การวิจยั ถือเป็ นพันธกิจทีสําคัญ วิทยาลัยได้ ดําเนินการสร้ างระบบและกลไก ตลอดจนการ สนับสนุนด้ านทรัพยากร เพือรองรับการดําเนิน งานพัน ธกิจนีได้ อย่างมีประสิท ธิ ภาพ มีผ ลงานวิจยั ทีมี คุณภาพ สอดคล้ องกับการเรียนการสอน เป็ นประโยชน์และตอบสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยและ ยุทธศาสตร์ของชาติ อีกทังเป็ นไปตามเป้าหมายของวิท ยาลัยทีต้ องการผลิ ตผลงานวิชาการทีมีคณ ุ ภาพ และมีปริมาณเพิมขึน ปี การศึ ก ษา 2550 วิ ท ยาลั ย ได้ เ สนอและได้ รั บ การอนุ มัติ ป ระกาศมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ เกียวกับหลักเกณฑ์การปฏิบตั สิ ําหรับอาจารย์ประจําของวิทยาลัยนวัตกรรม ซึงมีเ นือหา รวมถึงแนวทางการส่งเสริมให้อาจารย์สร้ างผลงานวิจยั และการสนับสนุนรางวัลให้ แก่อาจารย์ในกรณีที ผลงานวิจ ัยนันได้ มาตรฐานและคุณ ภาพที กํ าหนด นอกจากนี ยังได้ มีการจัดสรรงบประมาณเพือ สนับสนุนงานวิจยั และการพัฒนาความรู้ ของอาจารย์ด้วย อย่างไรก็ตาม เนืองจากมีการรับอาจารย์ใหม่ เป็ นจํานวนมากในช่วงเวลาดังกล่าว ซึงส่วนใหญ่ยงั อยู่ระหว่างการดํ าเนิ นงานและเตรี ยมความพร้ อ ม สําหรับงานวิจยั สัดส่ วนของอาจารย์ทีได้ รับทุนสนับสนุนงานวิจยั จึงยังไม่เป็ นไปตามเป้าหมายทีกําหนด สําหรับตัวชีวัดผลงานด้ านการวิจยั อืนๆ ปรากฏผลเป็ นทีน่าพอใจ วิทยาลัยได้ พจิ ารณาและประเมินผลการดําเนินการตามองค์ประกอบที 4 การวิจ ัย โดยมี ผลการประเมินดังนี ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับ สนุนการ ผลิตงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรู้จากงานวิจยั และงาน สร้ างสรรค์ 4.3 เงินสนับ สนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ภายใน และภายนอกสถาบัน ต่อจํานวนอาจารย์ประจํา

83

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เกณ เป้าหมา พัฒนากา รวม ฑ์ ย ร

ตัวบ่ งชี 4.3.1 ร้ อยละของอาจารย์ประจําทีได้ รบั ทุนทําวิจยั หรื องาน สร้ างสรรค์จากภายในสถาบันต่อจํานวนอาจารย์ประจํา 4.3.2 ร้ อยละของอาจารย์ประจําทีได้ รบั ทุนทําวิจยั หรื องาน สร้ างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจํานวนอาจารย์ป ระจํา 4.4 ร้ อยละของงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ทีตีพมิ พ์ เผยแพร่ ได้ รบั การจดทะเบี ยนทรัพย์สนิ ทางปั ญญา หรืออนุสทิ ธิบัตร หรื อ นําไปใช้ ประโยชน์ทังในระดับชาติ และระดับนานาชาติ ต่อจํานวน อาจารย์ประจํา 4.5 ร้ อยละของบทความวิจยั ทีได้ รบั การอ้ างอิง (Citation) ใน Refereed Journal หรื อในฐานข้ อมูลระดับ ชาติหรื อระดับ นานาชาติต่ออาจารย์ป ระจํา 4.6 ผลงานทางวิชาการต่ออาจารย์ป ระจําทุกระดับ

1

0

0

1

1

0

0

1

3

1

1

5

0

0

0

0

3

1

1

5 4.1 7 3.3 8

คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 4 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 4 ทังหมด

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี

84


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4 การวิจยั ชือตัวบ่ งชี : 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนั บสนุ นการผลิตงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

-

-

6

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 อย่างน้ อย 3-4 ข้ อ ข้ อแรก 5 ข้ อ

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ข้ อ 1. มีการจัดทําระบบบริ หารงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ เพือให้ บ รรลุเ ป้าหมายตามแผนของสถาบัน และสอดคล้ อง กับ ยุท ธศาสตร์ การวิจยั ของชาติ 2. มีระบบฐานข้ อมูลและสารสนเทศทีเกียวข้ องกับ การบริห ารงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ทีใช้ ป ระโยชน์ได้ จริง 3. มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหล่งค้ นคว้ าต่าง ๆ เพือสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ 4. มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้ านการวิจัย 5. มีระบบสร้ างขวัญและกําลังใจและยกย่องนักวิจยั ทีมีผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ดเี ด่น 6. มีระบบและกลไกส่งเสริ มความร่ วมมือระหว่างนักวิจัยกับองค์กรภายนอกทังภาครัฐ ภาคเอกชนและ ภาคอุตสาหกรรม ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. มีการจัดทําระบบบริห ารงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ เพื อให้ บ รรลุ เป้าหมายตามแผนของสถาบัน และสอดคล้ อ งกั บยุ ท ธศาสตร์ ก าร วิจยั ของชาติ วิทยาลัยจัดทําประกาศทีเกียวกับการทํางานของอาจารย์เพือสนับ สนุน ให้ 1. ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์ การปฏิบัตงิ านเกียวกับอาจารย์ อาจารย์ ส ร้ างสรรค์ ผ ลงานวิ จั ย ที สามารถนํ า ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นการ ประจํา พัฒนาการเรี ยนการสอนและนํ าไปใช้ ป ระโยชน์ ในหน่วยงานของภาครัฐ และเอกชน สํ า หรั บ งานวิ จั ย ของนั ก ศึ ก ษาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด ตั งกอง 2. ประกาศ มธ. เรื อง กอง ทุนการศึกษาวิทยาลัยนวัตกรรม ทุน การศึกษาของวิท ยาลัย เพือสนับสนุน ให้ น กั ศึกษานํา เสนอผลงานวิจัย ทังในและต่า งประเทศ รวมทังการให้ ร างวัลสํา หรับ งานวิจัยดีเ ด่น ของ นักศึกษา

85


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 2. มีการจัดทํ าระบบฐานข้ อมูลและสารสนเทศทีเกียวข้ องกับการ บริหารงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ทีใช้ ประโยชน์ ได้ จริง 1. ระบบฐานข้ อมูลงานวิจยั ของ มธ. 2. จัดทําระบบฐานข้ อมูลงานวิจยั ของนักศึกษาในระบบ CIE Online

เอกสารอ้ างอิง

Print screen หน้ า website ที เกียวข้ อง

3. การรวบรวมบทคัดย่อในวารสาร Online ของวิทยาลัย - CITU Review 3. มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหล่ งค้ นคว้ า เพือ 1. เอกสารงบประมาณประจําปี ที สนับสนุน งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ เกียวกับ การสนับ สนุนงานวิจยั ในปี การศึกษา 2550 วิทยาลัยได้ ตงงบประมาณสํ ั าหรับ รายจ่ายเพือ 2. รายละเอียดโครงการวิจัยทีได้ รับ งานวิจยั เป็ น จํานวนเงิน 885,000 บาท เพือสนับ สนุนงานวิจยั และการ การสนับสนุน จากวิทยาลัย พัฒนาความรู้ ของอาจารย์ 1. เอกสารงบประมาณประจําปี ที 4. มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้ านการวิจัย เกียวกับ การสนับ สนุนงานวิจยั วิทยาลัยมีระบบและกลไกการพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้ านการวิจยั ผ่าน 2. รายชืออาจารย์ทีนําเสนอผลงาน ระบบงานของฝ่ ายบุคคล มีการตังงบประมาณสนับสนุนการพัฒนา ทางวิชาการ ตามแบบฟอร์ มตัว ผลงานและบุคลากรด้ านการวิจยั เป็ นประจําทุกปี โดยมีนโยบายชัดเจนใน บ่งชีที 7.4.1 การสนับสนุนให้ อาจารย์และนักวิจยั นําเสนอผลงานทางวิชาการและเข้ า 3. รายชือผู้เข้ าอบรมหัวข้ อการ อบรมต่างๆ ทีเกียวข้ องกับการทําวิจัยและพัฒนาคุณภาพผลงานวิจัย กําหนดกรอบแนวคิดวิเคราะห์ ในการวิจยั 5. มีระบบสร้ างขวัญและกําลังใจและยกย่ องนั กวิจยั ทีมีผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ดเี ด่ น 1. จัดทําประกาศเกียวกับ การทํางานของอาจารย์ประจํา ซึงมีครอบคลุม 1. ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์ ประเด็นต่างๆ ดังนี การปฏิบัตงิ านเกียวกับอาจารย์ § การให้ รางวัลผลงานวิจยั ประจํา § เงินประจําตําแหน่งวิชาการ 2. ประกาศ มธ. เรื องการพิจารณา § ภาระงานขันตํา/ภาระงานวิจยั ตําแหน่ งวิชาการ 2. กําหนดภาระงานขัน ตําเพือให้ อาจารย์ได้ มีการจัดสรรเวลาเพือทํางานวิจยั 3. ใช้ ห ลักการพัฒนาอาจารย์ตามแนวทางพิจารณาตําแหน่งทางวิชาการ ตามหลักการของ มธ.

86


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

6. มีระบบและกลไกส่ งเสริมความร่ วมมือระหว่ างนั กวิจัยกับองค์ กร ภายนอกทังภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรม 1. คณะผู้บริ หารได้ ดําเนินการเจรจาและหาพันธมิตรในระดับสากล เพือสร้ าง 1. โครงการ/เอกสารรายละเอียด ความร่ วมมือในการทํางานวิจยั กับสถาบัน การศึกษาชันนําต่างประเทศ การเจรจาความร่ วมมือทาง วิชาการ 2. มีการสร้ างเครื อข่ายนักวิจยั ด้ านการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม 2. ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์ ภายในประเทศ โดยวิทยาลัยเป็ นหนึงในผู้ริเริมโครงการดังกล่าว การปฏิบัตงิ านเกียวกับอาจารย์ 3. สนับสนุนให้ อาจารย์ประจําทํางานวิจยั กับหน่วยงานภายนอก โดยผ่าน ประจํา ระบบของสถาบัน วิจยั และให้ คําปรึ กษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. รายงานประจําปี 2550 ของ (TU-RAC) โดยวิท ยาลัยได้ สร้ างระเบียบปฏิบัตทิ ีเอือต่อการทํางาน วิท ยาลัยนวัตกรรม ดังกล่าว

87


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4 การวิจยั ชือตัวบ่ งชี : 4.2 มีระบบบริห ารจัดการความรู้จากงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

-

-

4

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ อย่างน้ อย 3 ข้ อ 3 ข้ อ 4 ข้ อ

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ข้ อ 1. มีระบบและกลไกสนับ สนุน การเผยแพร่ ผ ลงานวิ จัยและงานสร้ างสรรค์ ท ังในวงการวิช าการและการนําไปใช้ ประโยชน์ 2. มีระบบการรวบรวม คัดสรร วิเ คราะห์ และสังเคราะห์ ค วามรู้ จากงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ท ีเชือถือได้ และ รวดเร็วทัน ต่อการใช้ ประโยชน์ 3. มีการสร้ างเครื อข่ายเผยแพร่ ผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ไปยังผู้เกียวข้ องทังภายในและภายนอกสถาบัน 4. มีระบบและกลไกการสนับสนุน ความร่ วมมือระหว่างนักวิจัยกับ องค์ กรภายนอกสถาบัน เพือการนํ าผลงานไปใช้ ประโยชน์ 5. มีกลไกสนับ สนุนการจดสิท ธิบ ตั รการซือขายทรัพย์ สนิ ทางปั ญญา ตลอดจนการคุ้มครองสิท ธิ ของงานวิจัย หรื อ สิงประดิษฐ์ หรื อนวัตกรรมให้ แก่นกั วิจยั เจ้ าของผลงาน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. มี ระบบและกลไกสนั บ สนุ น การเผยแพร่ ผ ลงานวิจัย และงาน สร้ างสรรค์ ทังในวงการวิชาการและการนํ าไปใช้ ประโยชน์ วิท ยาลัย มอบหมายให้ อ าจารย์ ป ระจําวิ ท ยาลัยและนัก วิ จัย รวบรวม คําสังคณะกรรมการจัดทําวารสาร บทคัดย่อผลงานวิจัยจากฐานข้ อมูลต่างๆทีสํานักหอสมุดเป็ นสมาชิก รวมบทคัดย่อ (CIE Review) ลง เช่น Science direct Emeral เพือเป็ น การแลกเปลียนมุม มองด้ านการ วันที 26 พฤศจิกายน 2550 เผยแพร่งานวิจยั และการนําไปใช้ ประโยชน์ ภายในวิท ยาลัย

88


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

2. มีระบบการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ค วามรู้จาก งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ทีเชือถื อ ได้ และรวดเร็ วทัน ต่ อ การใช้ ประโยชน์ การจัดทําวารสาร Online – CITU Review ผ่าน website ของวิท ยาลัย Print screen webpage CITU ซึงเป็ นการรวบรวม คัดสรร ผลงานวิจยั ที เกียวข้ องกับ สาขาทีวิท ยาลัย Review จัดการสอน กําหนดออกทุ ก 2 เดือน 3. มีการสร้ างเครือข่ ายเผยแพร่ ผลงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ไปยั ง ผู้เกียวข้ องทังภายในและภายนอกสถาบัน วารสาร Online – CITU Review เปิ ดกว้ างให้ บุคลากรทังในและนอก Print screen webpage CIE มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถเข้ าใช้ งานได้ โดยมีการตรวจสอบ Review หน้ าเลือกสถานะ จํานวนผู้มาใช้ งานทุกๆ 2 เดือน โดยแยกประเภทเป็ นอาจารย์ป ระจํา วิ ท ยาลัย อาจารย์ ภ ายนอก นักศึกษาของวิ ท ยาลัย นั กศึ กษาทัวไป เจ้ าหน้ าทีและบุคคลทัวไป 4. มีระบบและกลไกการสนั บสนุ น ความร่ วมมือระหว่ างนั กวิจัย กั บ องค์ กรภายนอกสถาบันเพือการนํ าผลงานไปใช้ ประโยชน์ วิท ยาลัยได้ ริเริ มให้ มีการจัดตังเครื อข่ายวิจัยด้ านการบริ ห ารเทคโนโลยี และนวัตกรรม โดยได้ รวบรวมรายชือนักวิชาการนักวิจยั ทีมี ชือเสียงใน สาขาบริ ห ารเทคโนโลยี แ ละการจัดการนวัตกรรมขึน และจัด ประชุม เครื อข่ายครังแรกในวันที 23 เมษายน 2551 5. มีกลไกสนับสนุ นการจดสิท ธิบัตรการซื อขายทรัพย์ สินทางปั ญญา ตลอดจนการคุ้ม ครองสิท ธิของงานวิจัย หรื อ สิงประดิษ ฐ์ หรื อ นวัตกรรมให้ แก่ นักวิจัยเจ้ าของผลงาน ยังไม่มีการดําเนิน การในด้ านนี

89

รายชือเครือข่ายนักวิจยั นักวิชาการ สาขาบริ หารเทคโนโลยีและการ จัดการนวัตกรรม และรายงานการ ประชุมเครือข่าย

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4 การวิจยั ชือตัวบ่ งชี : 4.3 เงิน สนั บ สนุ น งานวิจัย และงานสร้ างสรรค์ ภายในและภายนอกสถาบั น ต่ อ จํานวน อาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน

1,108,000

547,380

550,000

62,249

ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 < 55,000

2

ผลการประเมิน 3

55,000 > 80,000 79,999

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

สูตรการคํานวณ : จํานวนเงิน สนับสนุน งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบัน ทีอาจารย์ประจําและนักวิจยั ได้รับ จัดสรรจริ งในปี การศึกษานัน จํานวนอาจารย์ป ระจําและนักวิจัยทีปฏิบตั ิงานจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

เงินสนับสนุนสําหรับการทําวิจยั ของอาจารย์ประจําวิทยาลัยในปี การศึกษานี มี รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ทังสิน 11,080,000 บาท แบ่งเป็ น ทุน วิจัยภายใน 50,000 บาท และทุน วิจ ัย ตัวบ่งชีที 4.3.1 และ 4.3.2 ภายนอก 11,030,000 บาท จํานวนอาจารย์ ป ระจําและนักวิจัยทีปฏิ บ ัติงานจริ ง เท่ากับ 11 คน จํานวน อาจารย์ป ระจํา 10 คน นักวิจยั 2 คน (ปฏิบตั ิงานมากกว่า 6 เดือนแต่ไม่ ครบ 1 ปี จึงนับได้ เท่ากับ 1 คน) สัดส่วนเงิน สนับสนุน งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ภายในและภายนอกสถาบัน ต่อจํานวนอาจารย์ประจํา เท่ากับ 1,007,273 บาทต่อคน

90


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4

การวิจยั

ชือตัวบ่ งชี : 4.3.1 ร้ อยละของอาจารย์ ประจําทีได้ รับทุนทําวิจัย หรืองานสร้ างสรรค์ จากภายในสถาบัน ต่ อจํานวนอาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 10

40

30

9.09

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

เทียบ เกณฑ์

ร้ อยละ 1 - 34

ร้ อยละ 35 -49

> ร้ อยละ 50

1

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

0

0

1

สูตรการคํานวณ : จํานวนอาจารย์ป ระจําและนักวิจยั ทีได้ รบั ทุนทําวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายในสถาบัน ในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทีปฏิบตั ิงานจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

ดร. กวี พ งษ์ เลิศวั ชรา ได้ ข อทุ น สนับ สนุ น จากวิท ยาลัย เป็ นจํา นวนเงิ น รายละเอียดปรากฎตามแบบฟอร์ ม 50,000 บาท ในการทํ า วิ จัย เรื อง การตระหนัก ถึ งวิ ท ยาลัย นวัตกรรม ตัวบ่งชีที 4.3.1 อุดมศึกษา ศูนย์พทั ยา ของประชาชนในจังหวัดชลบุรีและระยอง จํานวนอาจารย์ ป ระจําและนักวิจัยทีปฏิ บ ัติงานจริ ง เท่ากับ 11 คน ดังนั น ร้ อยละของอาจารย์ประจําทีได้ รับ ทุน ทําวิจัย หรื องานสร้ างสรรค์จากภายใน สถาบัน ต่อจํานวนอาจารย์ประจํา เท่ากับ 9.09

91


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4

การวิจยั

ชือตัวบ่ งชี : 4.3.2 ร้ อยละของอาจารย์ ประจําทีได้ รับทุนทําวิจัย หรืองานสร้ างสรรค์ จากภายนอกสถาบัน ต่ อจํานวนอาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 30

60

30

22.72

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 ร้ อยละ 1 - 24

2

ผลการประเมิน 3

ร้ อยละ > ร้ อยละ 25 -39 40

เทียบ เกณฑ์

1

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

0

0

1

สูตรการคํานวณ : จํานวนอาจารย์ป ระจําและนักวิจยั ทีได้ รบั ทุนทําวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ จากภายนอกสถาบัน ในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทีปฏิบตั ิงานจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

จํานวนอาจารย์ทีได้ รบั ทุนวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์จากภายนอกสถาบัน เท่ากับ 2.5 คน ได้ แก่ ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา อาจารย์สรุ ี รัตน์ บุบผา และ ดร.สมิท ธ์ ตุงคะสมิต (นับ 0.5 คน) จํานวนอาจารย์ ป ระจําและนักวิจัยทีปฏิ บ ัติงานจริ ง เท่ากับ 11 คน ดังนั น ร้ อยละของอาจารย์ประจําทีได้ รับ ทุน ทําวิจัย หรื องานสร้ างสรรค์จากภายใน สถาบัน ต่อจํานวนอาจารย์ประจํา เท่ากับ 22.72

92

รายละเอียดปรากฎตามแบบฟอร์ ม ตัวบ่งชีที 4.3.2


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4 การวิจยั ชือตัวบ่ งชี : 4.4 ร้ อยละของงานวิจัย และงานสร้ างสรรค์ ท ี ตีพมิ พ์ เผยแพร่ ได้ รั บการจดทะเบีย น ทรั พ ย์ สิน ทางปั ญญา หรื ออนุ สิท ธิบัต ร หรื อนํ าไปใช้ ป ระโยชน์ ทั งในระดับชาติ และ ระดับนานาชาติ ต่อจํานวนอาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 50

20

50

127.27

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

ร้ อยละ 1-29

ร้ อยละ 30-39

> ร้ อยละ

40

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

สูตรการคํานวณ : จํานวนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ทีตีพิมพ์เผยแพร่ ได้ รบั การจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญาหรื อนําไปใช้ประโยชน์ท ังระดับ ชาติและระดับนานาชาติ

X 100

จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทีปฏิบตั ิงานจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

จํานวนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ทีตีพมิ พ์เผยแพร่ หรื อนําไปใช้ ประโยชน์ทัง รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ระดับ ชาติและระดับนานาชาติ จํานวน 14 เรื อง จํานวนอาจารย์ประจําและ ตัวบ่งชีที 4.4 นักวิจยั ทีปฏิบ ัตงิ านจริ ง เท่ากับ 11 คน งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ท ีตีพมิ พ์ เผยแพร่หรื อนําไปใช้ ประโยชน์ทงในระดั ั บ ชาติ และระดับนานาชาติตอ่ จํานวน อาจารย์ป ระจํา เท่ากับ 1.27 เรื องต่อคน หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 127.27

93


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4 การวิจยั ชือตัวบ่ งชี : 4.5 ร้ อยละของบทความวิจยั ทีได้ รับการอ้ างอิง (Citation) ใน Refereed Journal หรือใน ฐานข้ อ มูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

0

0

0

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

เทียบ เกณฑ์

ร้ อยละ 1-14

ร้ อยละ 15-19

> ร้ อยละ 20

0

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

0

0

สูตรการคํานวณ : บทความวิจยั ทีได้ รบั การอ้ างอิง (citation) ใน refereed journal หรื อในฐานข้ อมูล ระดับชาติหรื อนานาชาติในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนอาจารย์ป ระจําและนักวิจยั ทังหมดในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

ไม่มีบทความวิจยั ทีได้ รับการอ้ างอิงในฐานข้ อมูลระดับชาติหรื อนานาชาติ

94

-

0


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 4 การวิจยั ชือตัวบ่ งชี : 4.6 ผลงานทางวิชาการต่ออาจารย์ ประจําทุกระดับ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 0.7

0.4

0.7

1.45

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

>0-0.62 0.63-0.69 >0.69

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

สูตรการคํานวณ : ผลรวมของผลงานทางวิชาการทุกประเภท จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทีปฏิบตั ิงานจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

ปี การศึกษา 2550 อาจารย์ และนัก วิจัย จํานวน 11 คน ปฏิ บั ติห น้ าทีและ รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ผลิตผลงานวิชาการดังต่อไปนี ตัวบ่งชีที 4.6.1 ,4.6.2 ,4.6.3 1. 2. 3. 4.

หนังสือและตํารา ผลงานวิจยั จํานวนบทความวิชาการ การนําเสนอทีประชุมระดับชาติ/นานาชาติ รวมผลงานวิชาการทุกประเภท

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

ผลงานวิชาการต่ออาจารย์ประจําทุกระดับ เท่ากับ 1.45

95

2 6 5 3 16

เล่ม ชิน ชิน ชิน ชิน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 5 : การบริการวิชาการแก่สงั คม ปี การศึกษา 2550 วิทยาลัยได้ กาํ หนดรู ปแบบและการควบคุมคุณภาพการบริ การวิชาการ แก่สัง คมให้ ช ัดเจนมากขึน เน้ น การให้ บ ริ การวิชาการในสาขาวิช าที วิ ท ยาลัยมีความชํ า นาญ โดย กําหนดให้ การจัดทําโครงการบริการวิชาการต้ อ งมีแ ผนงานทีชัดเจน มีการกําหนดวัตถุประสงค์ และ วิธีการประเมินผลการดําเนินงาน และต้ องผ่านการพิจ ารณาจากคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถ ด้ านวิจยั และวิชาการของวิทยาลัยก่อนจึงจะได้ รับการอนุมตั ใิ ห้ดําเนินการได้ วิท ยาลัย ได้ พิจ ารณาและประเมิน ผลการดํา เนิ นการตามองค์ป ระกอบที 5 การบริก าร วิชาการแก่สังคม โดยมีผลการประเมินดังนี ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

5.1 มีระบบและกลไกในการบริ การวิชาการแก่สงั คม ตามเป้ าหมายของสถาบัน 5.1.1 มีการนําความรู้ และประสบการณ์จากการ บริ การวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ในการ พัฒนาการเรี ยนการสอน และการวิจยั 5.2 ร้ อยละของอาจารย์ประจําทีมีสว่ นร่ วมในการ ให้ บ ริ การทางวิชาการแก่สงั คม เป็ นทีปรึ กษา เป็ น กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็ น กรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติ หรื อระดับนานาชาติต่ออาจารย์ป ระจํา 5.3 ร้ อยละของกิจกรรมหรื อโครงการบริ การวิชาการ และวิชาชีพทีตอบสนองความต้ องการพัฒนาและ เสริ มสร้ างความเข้ มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ป ระจํา 5.4 ร้ อยละของระดับ ความพึงพอใจของผู้รับ บริการ

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

0

4

2

1

1

4 4.50 4.60

คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 5 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 5 ทังหมด

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี 96

รวม


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 5 การบริการทางวิชาการแก่ สงั คม ชือตัวบ่ งชี : 5.1 มีระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่ สังคมตามเป้าหมายของสถาบัน ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 3

-

-

7

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ อย่างน้ อย 3-4 ข้ อแรก 3 ข้ อแรก 5 ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ์และแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการแก่สงั คม 2. มีคณะกรรมการ คณะทํ างานหรื อหน่ วยงานดําเนินการให้ บ ริ การวิชาการแก่สงั คมตามแผนทีกําหนด 3. มีการกําหนดหลักเกณฑ์และหรือระเบียบในการให้ บริ การวิชาการแก่สงั คม 4. มีการประเมิน ผลการปฏิบัตงิ านตามแผนทีกําหนด 5. มีการนําผลการประเมิน ไปปรั บ ปรุ งการบริ การวิชาการแก่สงั คม 6. มีการจัดทําแผนการเชือมโยงและบูรณาการการบริ การทางวิชาการแก่สงั คมเข้ ากับ การเรี ยนการสอนหรือการวิจยั หรื อการทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรม 7. มีการประเมิน สัมฤทธิผลและนําผลการประเมิน ไปพิจารณาปรั บ ปรุ งความเชือมโยงและบูรณาการระหว่างการ บริ การวิชาการแก่สงั คมกับ ภารกิจอืน ๆ ของสถาบัน ผลการดําเนินงาน 1. มี ก ารจั ด ทํ านโยบาย แผนกลยุ ท ธ์ แ ละแผนดํา เนิน งานของการ บริการวิชาการแก่ สังคม

เอกสารอ้ างอิง

นโยบาย และเป้ าหมาย ของการดําเนินงานบริ การวิชาการจะกําหนดตาม เอกสารแผน ง าน /งบ ประ มาณ ปี งบประมาณ ประจําปี ด้ านการบริ การสังคม 2. มีค ณะกรรมการ คณะทํ างานหรื อหน่ วยงานดําเนิน การให้ บริการ วิชาการแก่ สังคมตามแผนทีกําหนด มีการจัดตังคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถด้ านวิจัยและวิชาการ ของวิทยาลัย มีหน้ าทีกํากับและดูแลการทํางานโครงการบริ การสังคมด้ ว ย อีกทังยังมีการปรับโครงสร้ างการบริ ห ารงานของวิท ยาลัย ให้ มีศนู ย์พฒ ั นา ศักยภาพด้ านการวิจัยและวิชาการ ภายใต้ การกํากับของรองคณบดีฝ่าย บริ หารและวิชาการ ทําหน้ าทีดูแลงานด้ านบริ การวิชาการให้ เ ป็ นไปตาม แผนทีกําหนด และประเมินผลสัม ฤทธิของแต่ละโครงการ

97

เอกสารโครงสร้ างการทํางานและ รายละเอียดเนืองานของศูน ย์ พัฒนาศักยภาพด้ านการวิจยั และ วิชาการ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 3. มีการกําหนดหลักเกณฑ์ และหรื อระเบียบในการให้ บริการวิช าการ แก่ สงั คม มี ก ารจัดทํ า ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์ แ ละอัต ราค่ า ใช้ จ่ายกลาง สําหรับ โครงการส่งเสริ มและให้ ความรู้ ทางวิชาการ วิท ยาลัยนวัตกรรม เพือใช้ เป็ นแนวทางและหลักเกณฑ์ในการให้ บริ การวิชาการแก่สงั คม 4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนทีกําหนด มีการกําหนดให้ ต้องทําการประเมิน ผลการปฏิบ ัติงานโครงการให้ บ ริ การ สังคมทุกโครงการ 5. มีการนํ าผลการประเมินไปปรับปรุ งการบริการวิชาการแก่ สงั คม มีการนํ าผลประเมิน มาใช้ ป รับ ปรุ ง เช่น การปรับ เปลียนเวลาในการจัด โครงการสัมมนา ให้ สอดคล้องกับ กลุม่ เป้าหมายมากขึน เป็ นต้ น 6. มีการจัดทําแผนการเชือมโยงและบูรณาการการบริก ารทางวิช าการ แก่ สงั คมเข้ ากับการเรียนการสอนหรื อการวิจัย หรื อการทํ านุ บํา รุ ง ศิลปวัฒนธรรม 7. มี ก ารประเมิน สั ม ฤทธิผ ลและนํ าผลการประเมิน ไปพิจ ารณา ปรับปรุงความเชือมโยงและบูรณาการระหว่ างการบริการวิช าการ แก่ สงั คมกับภารกิจอื นๆ ของสถาบัน วิท ยาลัยได้ กํา หนดเป็ นนโยบายว่า โครงการบริ การสังคมต้ องมี เ นือหา สอดคล้ องกับ การเรี ยนการสอนตามหลักสูตรของวิท ยาลัย และการบริ การ สังคมบางโครงการ เป็ นประโยชน์ ทงกั ั บคณาจารย์ นักศึกษาของวิท ยาลัย รวมถึงบุคคลภายนอกที สนใจด้ วย เช่น การบรรยายพิเ ศษ “การพั ฒนา ธุ ร กิจ และการดํ า เ นิน ชี วิต แบบเศรษฐกิจ พอเพี ย งตามแน ว พระราชดําริ ” โดย ดร.สุเ มธ ตัน ติ เ วชกุล การสัม มนาวิ ชาการเรื อง “Supporting co-evolution of Web based Information Systems using Meta-Design Paradigm” โดยProf. Athula Ginige การสัม มนาวิชาการ เรื อง “Lean Six Sigma” โดย Christopher Seow การสัม มนา “การทํา วิจัยระดับ บั ณฑิตศึ ก ษาและแนวทางการตีพิม พ์ บ ทความวิจัย ใน วารสารวิชาการที มีคุ ณภาพ” โดย ดร. ศากุน บุญอิต และคุณพิชญ์ วดี กิตติปั ญญางาม เป็ นต้ น นอกจากนี การบริ การสังคมด้ านการทํานุบํารุ ง ศิลปวัฒนธรรม ได้ แก่ โครงการ “เทศกาลศิ ลปะสร้ างสรรค์ เ พือเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” โครงการ “Unlimited Arts Festival” ยังเป็ นการจัดโดยนักศึกษาซึงเป็ นส่วนหนึงของการเรี ยนการสอนรายวิชา ในหลักสูตรการบริ หารงานวัฒนธรรมด้ วย 98

เอกสารอ้ างอิง ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์ และ อั ต ร าค่ า ใช้ จ่ า ยกลาง สํ า ห รั บ โครงการส่งเสริ มและให้ ความรู้ ท าง วิชาการ วิท ยาลัยนวัตกรรม พ.ศ. 2551 เอกสารสรุ ปผลการดํ า เนิ น งาน โครงการให้ บริ การสังคม เอกสารสรุ ปผลการดํ า เนิ น งาน โครงการให้ บริ การสังคม

1. เอกสารรายละเอียดและสรุ ปผล การดําเนินงานโครงการ ให้ บ ริ การสังคม 2. รายงานการประชุมทีเกียวข้ อง กับการรายงานผลการบริ การ วิชาการ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 5 การบริการทางวิชาการแก่ สังคม ชือตัว บ่ งชี : 5.1.1 มีการนํ าความรู้และประสบการณ์ จากการบริก ารวิชาการและวิชาชี พ มาใช้ ในการ พัฒนาการเรียนการสอน และการวิจัย ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 3

3

5

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ 1 -2 ข้ อ 1 ข้ อแรก > 3 ข้ อแรก แรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีแผนในการนําความรู้และประสบการณ์จากการบริ การวิชาการ/วิชาชีพมาใช้ ในการเรี ยนการสอนและการวิจยั ที เป็ นรู ปธรรม เช่น แผนการสอน แผนงานวิจยั หลักสูตร เป็ นต้ น 2. มีการนําความรู้ และประสบการณ์จากการบริ การวิชาการ/วิชาชีพมาใช้ ในการเรี ยนการสอนอย่างน้ อย 1 โครงการ 3. มีการนําความรู้ และประสบการณ์จากการบริ การวิชาการ/วิชาชีพมาใช้ ในการวิจยั อย่างน้ อย 1 โครงการ 4. มีการนําความรู้ และประสบการณ์ จากการบริ การวิชาการ/วิชาชีพมาใช้ ในการเรี ยนการสอนและการวิจยั อย่าง น้ อย 1 โครงการ 5. มีการบูรณาการการจัดการเรี ยนการสอนกับการวิจยั และการบริการวิชาการ/วิชาชีพ อย่างน้ อย 1 โครงการ ผลการดําเนินงาน 1. แผนในการนํ าความรู้แ ละประสบการณ์ จ ากการบริก ารวิช าการ / วิชาชีพ มาใช้ ในการเรียนการสอนและการวิจัยที เป็ นรู ปธรรม เช่ น แผนการสอน แผนงานวิจัย หลักสูตร เป็ นต้ น

เอกสารอ้ างอิง

มีการกําหนดแผนงานบริ ก ารวิ ชาการและวิชาชีพ โดยมี เป้ าหมาย และ เอกสารแผน ง าน /งบ ประ มาณ ความสอดคล้ อ งกับ การจัดการศึ ก ษา พร้ อมกับ การจัด ทํา งบประมาณ ประจําปี ด้ านการบริ การสังคม ประจําปี

99


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 2. มีการนํ าความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการ/วิชาชีพ มา ใช้ ในการเรียนการสอนอย่ างน้ อย 1 โครงการ 1. โครงการสัม มนา “Supporting co-evolution of Web based Information Systems using Meta-Design Paradigm” โดย Prof. Athula Ginige วันที 29 เมษายน 2551 ใช้ ป ระกอบในการเรี ยนรายวิชา ทท.768 หั ว ข้ อ พิเ ศษการจัด การงานคอมพิว เตอร์ ซึ งรั บ ผิ ดชอบ รายวิชาโดย อ.ดร.ภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช 2. โครงการ “เทศกาลศิล ปะสร้ างสรรค์ เพื อเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” วั น ที 8-9 มีน าคม 2551 และ “Unlimited Arts Festival” วัน ที 11-13 มี น าคม 2551 จัด โดยนัก ศึก ษาหลัก สูต รการ บริ ห ารงานวัฒ นธรรม และเป็ นส่ว นหนึ งของการศึ กษาวิ ชา บฒ.601 ศิลปะวิเคราะห์ : แนวคิดและความหมายทีเปลียนแปลง โดย อ.ดร.จิตติม า อมรพิเชษฐ์ กลู 3. มีการนํ าความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการ/วิชาชีพ มา ใช้ ในการวิจัย อย่ างน้ อย 1 โครงการ 4. มีการนํ าความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการ/วิชาชีพ มา ใช้ ในการเรียนการสอนและการวิจัยอย่ างน้ อย 1 โครงการ 5. มีการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการวิจัยและการบริการ วิชาการ/วิชาชีพ อย่ างน้ อย 1 โครงการ โครงการสัมมนา “การทํ าวิจัย ระดับ บัณฑิตศึก ษาและแนวทางการ ตีพิมพ์ บทความวิจัยในวารสารวิชาการที มีคุ ณภาพ” โดย ดร. ศากุน บุญอิต บรรณาธิการวารสารบริ ห ารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์ และการ บัญ ชี มธ. และคุณ พิช ญ์ ว ดี กิ ต ติปั ญญางาม นัก วิ จัย ปริ ญ ญาเอก มหาวิท ยาลัยเคมบริ ดจ์ ประเทศอังกฤษ เมือวัน ที 18 มกราคม 2551 1. มีเป้ าหมายเพือพัฒนามาตรฐานด้ านการเขียนผลงานวิจัยให้ มีคุณภาพ โดยมีผ้ เู ข้ าร่ วมการสัมมนาทังคณาจารย์ ภ ายในและภายนอกวิ ท ยาลัย รวมถึงบุคคลภายนอกทีสนใจ 2. อาจารย์ป ระจําวิท ยาลัยทีได้ เ ข้ าร่ วมโครงการดังกล่าว ได้ มี โอกาสพัฒนา แนวคิดสําหรับการเขียนงานวิจยั ทีมีคณ ุ ภาพมากขึน และสามารถใช้ สอน ในวิชาทท.614 วิธีวจิ ยั และการวิเคราะห์เชิงปริ มาณ 3. เปิ ดโอกาสให้ นกั ศึกษาทีกําลังทําวิทยานิพนธ์ งานค้ น คว้ าอิสระ โครงการ วัฒนธรรม ได้ พฒ ั นาแนวการเขียนผลงานวิจยั ของตนเองเพือเสนอตีพิมพ์ ในวารสารชันนํ า 100

เอกสารอ้ างอิง

รายละเอียดโครงการ/เอกสาร สรุ ป ผลโครงการ

รายละเอียดโครงการ/เอกสาร สรุ ป ผลโครงการ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 5 การบริการทางวิชาการแก่ สงั คม ชือตัวบ่ งชีที : 5.2 ร้ อยละของอาจารย์ ป ระจําที มีส่ วนร่ ว มในการให้ บ ริก ารทางวิช าการแก่ สังคม เป็ นที ปรึกษา เป็ นกรรมการวิท ยานิพ นธ์ ภ ายนอกสถาบัน เป็ นกรรมการวิชาการ กรรมการ วิชาชีพ ในระดับชาติห รือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 33

33

33

36.84

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

ร้ อยละ 1-14

ร้ อยละ 15-24

> ร้ อยละ

25

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

สูตรการคํานวณ : จํานวนอาจารย์ทีเป็ นทีปรึกษา เป็ นกรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกมหาวิทยาลัย เป็ น กรรมการ วิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับ ชาติหรื อระดับนานาชาติในปี การศึกษานัน X 100 จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง อาจารย์ป ระจําวิท ยาลัยทีมีสว่ นรวมในการให้ บริ การวิชาการแก่สงั คม มีดังนี รายละเอียดปรากฏในแบบฟอร์ มตัว 1. ทีปรึ กษาภายนอกมหาวิทยาลัย 2.5 คน บ่งชี 5.2.1 , 5.2.2 และ 5.2.3 อาจารย์ วิภา ดาวมณี อาจารย์สรุ ี รัตน์ บุบ ผา อาจารย์สวุ ฒ ั นา จารุ มิลนิ ท (นับ 0.5 คน) 2. กรรมการวิชาการภายนอกมหาวิท ยาลัย 0.5 คน ผศ.ดร.จิระพรรษ์ บุณยเกียรติ (นับ 0.5 คน) 3. กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกมหาวิทยาลัย 0.5 คน ดร.ประวิท ย์ เขมะสุน นั ท์ (นับ 0.5 คน) อาจารย์ทีเป็ นทีปรึ กษา เป็ น กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกมหาวิทยาลัย เป็ น กรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพ ในระดับ ชาติห รื อระดับ นานาชาติ ในปี การศึกษา 2550 มีจํานวนทังสิน 3.5 คนเที ยบกับ จํานวนอาจารย์ป ระจํ า ทังหมด คิดเป็ นร้ อยละ 36.84

101


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 5 การบริการทางวิชาการแก่ สงั คม ชือตัวบ่ งชีที : 5.3 ร้ อยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที ตอบสนองความต้ อ งการ พัฒนาและเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของสังคม ชุม ชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ อ อาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 100

833

267

170

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

ร้ อยละ 1-19

ร้ อยละ 20-29

> ร้ อยละ

30

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

0

4

สูตรการคํานวณ : จํานวนกิจกรรมหรื อโครงการทีสถาบัน ได้ จดั ขึนเพือให้ บริ การทางวิชาการแก่สงั คม และชุมชนหรื อเพือตอบสนองความต้ องการของสังคมชุมชนและประเทศชาติ หรื อนานาชาติในปี การศึกษานัน จํานวนอาจารย์ป ระจําทีปฏิบ ัตงิ านจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

X 100

เอกสารอ้ างอิง

โครงการบริ การวิชาการแก่สงั คมทีวิท ยาลัยดําเนิน การในปี การศึกษา 2550 จํานวนทังสิน 18 โครงการ โดยมีอาจารย์ประจําวิทยาลัยทังสิน 10 คน ร้ อยละของกิจกรรมหรื อโครงการบริ การวิชาการและวิชาชีพทีตอบสนองความ ต้ องการพัฒนาและเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา เท่ากับ 170

102

รายละเอียดปรากฏในแบบฟอร์ มตัว บ่งชี 5.3.1 และ 5.3.2


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 องค์ ประกอบที 5 การบริการทางวิชาการแก่ สงั คม ชือตัวบ่ งชี : 5.4 ร้ อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เกณฑ์ การให้ คะแนน เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 1 2 3 80

-

-

ร้ อยละ 65-74 ผลการดําเนินงาน 80.5

ร้ อยละ > ร้ อยละ 75-84 85

ผลการประเมิน เที ยบ เกณฑ์

2

เที ยบ เที ยบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

4

เอกสารอ้ างอิง

จากโครงการบริ การสังคมทีวิท ยาลัย ดําเนิ น การทังสิน 17 โครงการ ได้ ทํา รายละเอี ยดปรากฏในแบบฟอร์ มตัว การประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริ การทังสิน 11 โครงการ โดยมีค่า บ่งชี 5.4 ระดับ ความพึงพอใจของผู้รับบริ การเฉลีย ร้ อยละ 80.50

103


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 6 : การทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม วิท ยาลัยได้ มี ก ารเรี ย นการสอนหลักสู ต รระดับ ปริ ญญาโท สาขาวิ ช าการบริห ารงาน วัฒนธรรม ตังแต่ปีการศึกษา 2542 การทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรมจึงถือเป็ นพันธกิจทีสําคัญประการหนึง และวิทยาลัยได้ดําเนินการโครงการส่ งเสริมและทํ านุบํารุ งด้ านศิลปวัฒนธรรมมาโดยตลอด ทังทีเป็ น เนือหาในหลักสูตรทีได้ จดั การเรี ยนการสอน ผลงานวิจ ยั และวิ ชาการด้ านการบริ หารงานวัฒนธรรม รวมถึงโครงการบริการสังคมและกิจกรรมนักศึกษาด้ วย กิจกรรมด้ านการทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรมประการหนึงทีได้ ริเริมในปี การศึกษานี ได้ แก่ การ จัดโครงการนวัตกรรมนิทศั น์ (Innovative Gallery) เพือเผยแพร่ผลงานวิจยั และการศึกษาโครงการทาง วัฒนธรรมของนักศึก ษา และเปิ ดให้ บ ุคคลทัวไปได้ เ ข้ าชม ซึงได้ จัด ขึนระหว่างเดื อ นกุมภาพัน ธ์ ถึง เมษายน 2551 ที บริ เ วณโถงชัน 1 อาคารอเนกประสงค์ 3 มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ภายใต้ แนวคิด “นวัตกรรมการจัดการพืนทีทางวัฒนธรรม” ซึงได้ รับความสนใจจากผู้เข้ าชมเป็ นอย่างดี และได้ มผี ลงานของนักศึกษา “โครงการ สนามเด็กเล่นเพือวัฒนธรรม” ซึงกรุ งเทพมหานครได้ ให้ ความ สนใจและจะได้ นําแนวคิดโครงการดังกล่าวไปพัฒนาใช้ ประโยชน์ตอ่ ไป วิทยาลัยได้ พจิ ารณาและประเมิน ผลการดําเนินการตามองค์ประกอบที 6 การทํานุบํารุ ง ศิลปวัฒนธรรม โดยมีผลการประเมินดังนี ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

3

6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 6.1.1 ร้ อยละของโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้ างเสริ มเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่อจํานวนนักศึกษาเต็ม เวลาเทียบเท่าระดับปริ ญญาตรี คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 6 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 6 ทังหมด

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

1

1

รวม

5

วิทยาลัยไม่มีห ลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

5.00 5.00

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี

104


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 6 การทํานุ บํารุ งศิลปวัฒนธรรม ชือตัวบ่ งชี : 6.1 มีระบบและกลไกในการทํ านุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

-

-

4

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 อย่างน้ อย 3 ข้ อแรก ข้ อแรก 4 ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการกําหนดนโยบายทีชัดเจนปฏิบ ตั ิได้ และมีแผนงานรองรับ 2. มีการกําหนดกิจกรรมหรื อโครงการทีเป็ นประโยชน์สอดคล้องกับแผนงานและมีการดําเนิ นกิจกรรมอย่างต่อเนือง 3. มีการบูรณาการงานด้ านทํานุบ ํารุ งศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจด้ านอืน ๆ 4. มีการส่งเสริ มการดําเนินงานด้ านศิลปวัฒนธรรมทังในระดับ ชาติและนานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานข้ อมูลด้ าน ศิลปวัฒ นธรรม การสร้ างบรรยากาศศิลปะและวัฒนธรรม การจัดกิ จกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการ การ จัดสรรงบประมาณสนับสนุน อย่างพอเพียงและต่อเนือง 5. มีการกําหนดหรื อสร้ างมาตรฐานด้ านศิลปวัฒนธรรม โดยผู้เชียวชาญและมี ผลงานเป็ นทียอมรับในระดับ ชาติห รื อ นานาชาติ 6. มีการเผยแพร่ และบริ การด้ านศิลปวัฒนธรรมในระดับ ชาติและนานาชาติ อาทิ มีสถานทีหรื อเวทีแสดงผลงาน จัดทําวารสารศิลปวัฒนธรรมในระดับต่าง ๆ มีความร่ วมมือในการให้ การบริ การวิชาการด้ านศิลปวัฒนธรรมกับ สังคมในระดับต่าง ๆ ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. มีการกําหนดนโยบายทีชัดเจนปฏิบัติได้ และมีแผนงานรองรับ จัดทําแผนงานในการจัดกิจกรรมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

105

แผนปฏิบ ัติราชการประจําปี งบประมาณ พ.ศ.2551


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

2. มีการกํ าหนดกิจกรรมหรื อโครงการที เป็ นประโยชน์ สอดคล้ องกั บ แผนงานและมีการดําเนินกิจกรรมอย่ างต่ อเนื อง มีการดําเนินโครงการทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรม 3 โครงการในปี การศึกษา 2550 ได้ แก่ 1. โครงการนวัตกรรมนิทศั น์ นําเสนอผลงานการจัดการพืนทีทางวัฒนธรรม วันที 11 กุมภาพัน ธ์ – เมษายน 2551 บริ เวณโถงชัน 1 วิท ยาลัยนวัตกรรม 2. โครงการ “เทศกาลศิลปะสร้ างสรรค์ เพื อเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” วันที 8-9 มีน าคม 2551 ณ สมาคมฝรังเศส ถนนสาทร

เอกสารรายละเอียดโครงการ และ ภาพถ่ายการดําเนิน งานโครงการ

3. โครงการ “Unlimited Arts Festival” วัน ที 11-13 มี น าคม 2551 ณ ศูน ย์การค้ าเอสพลานาด ถนนรัชดาภิเษก 3. มีการบูรณาการงานด้ านทํ านุ บํารุ งศิล ปวัฒนธรรมกั บภารกิจด้ า น อืนๆ 1. โครงการ “นวัตกรรมนิทัศน์ (Innovative Gallery)” เป็ นการ บูรณาการ โครงการด้ านศิลปะ วัฒนธรรมร่ วมกับ การเสนอผลงานวิชาการของ นักศึกษา

เอกสารรายละเอียดโครงการ

2. โครงการ “เทศกาลศิล ปะสร้ างสรรค์ เพื อเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” และโครงการ “Unlimited Arts Festival” เป็ นการบูรณา การโครงการด้ านศิลปะ วัฒนธรรมร่วมกับ การเรียนการสอน รายวิชา โดย ให้ น ั ก ศึก ษาได้ จัดโครงการศิ ล ปวัฒนธรรมภายใต้ ก ารกํ า กับ ดูแ ลของ อาจารย์ผ้ สู อน 4. มีการส่ งเสริมการดําเนิน งานด้ านศิลปวัฒนธรรมทั งในระดับชาติ และนานาชาติ อาทิ การจัด ทํ าฐานข้ อ มูล ด้ านศิล ปวัฒนธรรม การ สร้ างบรรยากาศศิล ปะและวัฒ นธรรม การจั ด กิจกรรม ประชุ ม เสวนาทางวิชาการ การจัดสรรงบประมาณสนับสนุ น อย่ างพอเพี ย ง และต่ อเนื อง 1. มีการจัดการแสดงผลงานวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรการบริห ารงาน เอกสารรายละเอียดโครงการ และ วัฒนธรรม ภายใต้ โครงการ “นวัตกรรมนิทัศน์ (Innovative Gallery)” ซึง ภาพถ่ายการดําเนิน งานโครงการ เป็ นการแสดงต่อเนือง 2 เดือน ตังแต่กมุ ภาพัน ธ์ ถึง เมษายน 2551 2. มีการจัดทําฐานข้ อมูลงานวิจยั โครงการทางวัฒ นธรรมและวิท ยานิพนธ์ ด้ านการบริห ารงานวัฒนธรรมเพือการเผยแพร่ และใช้ งานของวิทยาลัย

106


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

5. มี ก ารกํ า ห นดหรื อ สร้ างมาตรฐาน ด้ านศิล ปวั ฒ น ธรรมโดย ผู้เชียวชาญและมีผลงานเป็ นทียอมรับในระดับชาติและนานาชาติ

-

6. มีการเผยแพร่ และบริการด้ านศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและ นานาชาติ อาทิ มีสถานทีหรือเวทีแสดงผลงาน จัดทําวารสาร ศิลปวัฒนธรรมในระดับต่ าง ๆ มีความร่ วมมือในการให้ การบริการ วิชาการด้ านศิลปวัฒนธรรมกับสังคมในระดับต่ าง ๆ 1. รายละเอียดผลงานการนําเสนอ 1. มีการนําเสนอบทความด้ านการบริ หารงานทางวัฒนธรรมในการประชุม บทความของนักศึกษา วิชาการ ทังในระดับประเทศและระดับนานาชาติ ดังนี 2. เอกสารรายละเอียดโครงการ § น.ส. สุประภา สมนักพงษ์ เรือง “Sustainable Tourism และภาพถ่ายการดําเนินงาน Management: A Conceptual Approach To Kamphaengphet th โครงการ Historical Park” ในการประชุม The 7 Asia Pacific Forum for Graduate Student’s Research in Tourism and Hospitality วันที 3-4 มิถนุ ายน 2551 ณ Universiti Teknologi MARA (UiTM) ประเทศมาเลเซีย § น.ส. สุริศรา บัวนิล เรื อง “การจัดตังศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม เฮียนโฮมศิลป์” ในการประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจยั ครังที 2 วันที 28-29 กรกฎาคม 2551 ณ มหาวิท ยาลัยอุบลราชธานี § นายวิทวัส ธีระวิกสิต เรือง “การอุป ถัมภ์ งานศิลปะขององค์กรทาง ธุรกิจ: กรณีธนาคารกรุ งเทพ จํากัด (มหาชน) และ ธนาคารกสิกร ไทย จํากัด (มหาชน) ในการประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจยั ครังที 2 วันที 28-29 กรกฎาคม 2551 ณ มหาวิท ยาลัยอุบ ลราชธานี 2. โครงการนวัตกรรมนิทศั น์ นําเสนอผลงานการจัดการพืนทีทางวัฒนธรรม วันที 11 กุมภาพัน ธ์ – เมษายน 2551 บริ เวณโถงชัน 1 วิท ยาลัยนวัตกรรม 3. โครงการ “เทศกาลศิล ปะสร้ างสรรค์ เพื อเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” วันที 8-9 มีน าคม 2551 ณ สมาคมฝรังเศส ถนนสาทร 4. โครงการ “Unlimited Arts Festival” วัน ที 11-13 มี น าคม 2551 ณ ศูน ย์การค้ าเอสพลานาด ถนนรัชดาภิเษก

107


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 6

การทํานุ บํารุ งศิลปวัฒนธรรม

ชือตัวบ่ งชี : 6.1.1 ร้ อยละของโครงการ/กิจกรรมในการอนุ รักษ์ พัฒนา และสร้ างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่ อจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ าระดับปริญญาตรี ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 ร้ อยละ 1 – 1.4

2

ผลการประเมิน 3

ร้ อยละ > ร้ อยละ 1.5 -1.9 2

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรปริญญาตรี

108

เทียบ เกณฑ์

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 : การบริหารและการจัดการ การพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการภายในองค์กร นับเป็ นประเด็นยุทธศาสตร์ประการหนึง ของมหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ งวิท ยาลั ย นวัต กรรมเห็น ถึง ความสํ าคัญ และมี การกํา หนดเป็ น เป้ าหมายทีจะต้ อ งมีการดํ าเนิ น การภายในระยะ 3 ปี (2551-2553) โดยมุ่ง เน้ น การจัดระบบการ บริหารงานภายในให้ มปี ระสิทธิภาพสูงขึน (Internal Productivity) การดํา เนิน การทีสํ าคัญในช่ ว งเวลาที ผ่ านมา ได้ แ ก่ การปรับ โครงสร้ างการบริ ห ารงาน ภายในองค์กร จัดตังศูนย์วิจยั และประกัน คุณภาพการศึกษา การจัดตังคณะกรรมการบริหารจัดการ ทรั พยากรของวิ ท ยาลัย การปรับ ปรุ งระเบียบ ประกาศ และข้ อ บังคับต่างๆ ให้ มีค วามทัน สมัยและ สอดคล้ องกับภารกิจของวิทยาลัยมากขึน การจัดสัมมนาบุคลากร รวมถึงการปรับปรุงระบบฐานข้ อ มูล การพัฒนา website และการจัดทําระบบการประเมินผลการสอน Online เป็ นต้ น นอกจากนี ยังได้ มี การดําเนิน งานคาบเกียวระหว่างปี การศึก ษาซึงยัง ดํา เนิ นการยัง ไม่แล้ วเสร็ จ ได้ แ ก่ การศึกษาและ ปรับปรุงขันตอนการปฏิบตั ิงานภายในของวิทยาลัย วิท ยาลัย ได้ พิจ ารณาและประเมินผลการดําเนิ นการตามองค์ประกอบที 7 การบริ ห าร จัดการ โดยมีผลการประเมิน ดังนี ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

7.1 สภาสถาบันใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการและสามารถผลักดันสถาบัน ให้ แข่งขันได้ใน ระดับสากล 7.2 ภาวะผู้นําของผู้บริห ารทุกระดับของสถาบัน 7.3 มีการพัฒนาสถาบัน สูอ่ งค์การเรี ยนรู้ 7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคล เพือพัฒนาและธํารงรักษาไว้ ให้ บุคลากรมีคณ ุ ภาพ และประสิท ธิภาพ

109

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3 3

1 1

1 1

5 5

3

1

1

5


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

7.4.1 ร้ อยละของอาจารย์ประจําทีเข้ าร่วมประชุม วิชาการ และ/หรื อนําเสนอผลงานวิชาการ ทังในประเทศและต่างประเทศ 7.4.2 ร้ อยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุน ที ได้ รับ การพัฒนาความรู้ และทักษะใน วิชาชีพทังในประเทศและต่างประเทศ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้ อมูลเพือการบริหาร การ เรี ยนการสอน และการวิจยั 7.6 ระดับความสําเร็จของการเปิ ดโอกาสให้ บุคคลเข้ า มามีสว่ นร่วมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา 7.7 ร้ อยละของอาจารย์ประจําทีได้ รบั รางวัลผลงาน ทางวิชาการหรื อวิชาชีพในระดับ ชาติหรื อ นานาชาติ 7.8 มีการระบบบริหารความเสียงมาใช้ ในกระบวนการ บริหารการศึกษา 7.9 ระดับความสําเร็จของการถ่ายทอดตัวบ่งชีและ เป้าหมายของระดับองค์กรสูร่ ะดับบุคคล คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 7 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 7 ทังหมด

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

1

0

0

1

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5

0

0

0

0

3

1

1

5

3

1

1

5 4.45 4.18

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี

110


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.1 สภาสถาบันใช้ หลักธรรมมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลัก ดัน สถาบั นให้ แข่ งขันได้ ในระดับสากล ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

4

7

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน ดําเนิน ดําเนิน การ การไม่ครบ การครบ 4 ข้ อ 4 ข้ อ ทุกข้ อ

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ข้ อ 1. สภาสถาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ และนโยบายของสถาบัน 2. สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนิน งานตามภารกิจหลักของสถาบันมากกว่าปี ละ 2 ครัง 3. มีการประชุมกรรมการสภาสถาบัน อย่างตําร้ อยละ 80 ของแผน ในการประชุม แต่ละครังมีกรรมการเข้ าร่ วมโดย เฉลียไม่น้ อยกว่าร้ อยละ 80 โดยมีการส่งเอกสารให้ กรรมการสภาสถาบันอย่างน้ อย 7 วันก่อนการประชุม 4. สภาสถาบันจัดให้ มีการประเมินผลงานของอธิการบดีห รื อผู้บริ ห ารสูงสุดตามหลักเกณฑ์ทีตกลงกัน ไว้ ลว่ งหน้ า 5. สภาสถาบันมีการดําเนินงานโดยใช้ หลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมการบริหารงานโดยใช้ หลักธรรมาภิบาลทัวทังองค์กร ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. สภาสถาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ และ นโยบายของสถาบัน วิทยาลัยมีคณะกรรมการอํานวยการ ประกอบด้ วยอธิการบดีเป็ นประธาน มีผ้ ทู รงคุณวุฒทิ ังภายในและภายนอกมหาวิท ยาลัยเป็ นกรรมการ โดยมี คณบดีวิทยาลัยทําหน้ าทีกรรมการและเลขานุการ มีห น้ าทีในการกําหนด นโยบายของวิทยาลัย โดยเฉพาะทีเป็ นด้ านยุท ธศาสตร์ และทิศทางการ ดําเนิน งาน

เอกสารแผนงานประชุม / วาระการ ประชุม / รายงานผลการประชุม / เอกสาร รายน ามผู้ เข้ าร่ วม การ ประชุม คณะกรรมการอํา นวยการ วิทยาลัย

2. สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของ สถาบันมากกว่ าปี ละ 2 ครัง กําหนดจัดการประชุมคณะกรรมการอํานวยการวิท ยาลัย เพือติดตามผล การดําเนิน งานเป็ นประจําทุก 2 เดือน

111


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

3. มีการประชุม กรรมการสภาสถาบันอย่ างตําร้ อยละ 80 ของแผน ใน การประชุมแต่ ละครังมีกรรมการเข้ าร่ วมโดยเฉลียไม่ น้อยกว่ าร้ อย ละ 80 โดยมีการส่ งเอกสารให้ กรรมการสภาสถาบัน อย่ างน้ อย 7 วัน ก่ อนการประชุม

เอกสารแผนงานประชุม / วาระการ ประชุม / รายงานผลการประชุม / เอกสาร รายน ามผู้ เข้ าร่ วม การ ประชุม คณะกรรมการอํา นวยการ วิทยาลัย

สามารถดําเนินงานได้ ตามเกณฑ์มาตรฐาน

4. มีการประเมินผลงานของผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน/กลุ่ มสาขาโดยมี 1. รายงานผลการปฏิบ ตั ิราชการ หลักเกณฑ์ ท ีชัดเจนและตกลงกัน ไว้ ตามแนว กพร. (รอบ 9 เดือน: 1. คณบดีจะต้ องทําหนังสือรับ รองการปฏิบ ัตริ าชการเสนอต่ออธิการบดี และ ต.ค. 50 ถึง มิ.ย. 51) จะต้ องรายงานผลการดําเนิน งานเป็ นประจําทุกปี งบประมาณ โดยต้ อง ปี งบประมาณ 2551 รายงานความก้ าวหน้ าทุก 3 เดือน 2. การรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในตามเกณฑ์ สกอ. / 2. รายงานการประเมิ น ตนเอง ปี การศึกษา 2550 สมศ. ทุกปี การศึกษา 5. สภาสถาบันมีการดําเนิน งานโดยใช้ ห ลั กธรรมาภิบาลและส่ งเสริม การบริหารงานโดยใช้ หลักธรรมาภิบาลทั วทังองค์ กร คณะกรรมการอํานวยการวิทยาลัยให้ ความสําคัญกับ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา และการปฏิบัตริ าชการของวิทยาลัยตามแนวทางของ กพร. โดย มีการติดตามผลการดําเนิน งานด้ านต่างๆ อย่างต่อเนือง และสนับสนุนให้ มี การเปิ ดเผยข้ อ มู ล ด้ า นต่า งๆ ของวิ ท ยาลัย เพื อความโปร่ ง ใสผ่านทาง website ทังของวิทยาลัยและของมหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์

112

เอกสารแผนงานประชุม / วาระการ ประชุม / รายงานผลการประชุม / เอกสารรายนามผู้เข้ าร่ วมการ ประชุมคณะกรรมการอํานวยการ วิทยาลัย


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.2

ภาวะผู้นําของผู้บริห ารทุกระดับของสถาบัน

ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

-

-

4

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ 3 ข้ อแรก

เทียบ เกณฑ์

3

เทียบ เทียบ รวม แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีกระบวนการสรรหาผู้บริห ารทีเป็ นระบบ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 2. ผู้บ ริหารดําเนินการบริห ารด้ วยหลักธรรมาภิบาลและใช้ ศกั ยภาพภาวะผู้นําทีมีอยู่โดยคํานึงถึงประโยชน์ของ สถาบัน และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย 3. มีกระบวนการประเมิน ศักยภาพและผลการปฏิบตั ิงานของผู้บริ หารทีชัดเจนและเป็ นทียอมรับในสถาบัน 4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผู้บริห ารตามผลการประเมิน และดําเนินการตามแผนอย่าง ครบถ้ วน ผลการดําเนินงาน 1. มีกระบวนการสรรหาผู้ บริหารทีเป็ นระบบ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ ได้ มีการกําหนดคุณสมบัติ กระบวนการสรรหา การแต่งตังและวาระดํารง ตํ า แหน่ ง คณบดี อ ย่ า งชั ด เจนในระเบี ย บ มธ. ว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั งและ บริ หารงานวิท ยาลัยนวัตกรรม 2. ผู้บริหารดําเนิน การบริห ารด้ ว ยหลักธรรมาภิบาลและใช้ ศั กยภาพ ภาวะผู้นําทีมีอ ยู่โดยคํานึ งถึงประโยชน์ ข องสถาบัน และผู้ มีส่ วนได้ ส่ วนเสีย คณบดีในฐานะทีเป็ นผู้บริหารวิทยาลัยจะถูกกํากับโดยคณะกรรมการ อํานวยการวิท ยาลัย ซึงมีอธิการบดีเป็ นประธาน ทําหน้ าทีวางนโยบาย รวมถึงพิจารณาและประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณบดี ให้ เป็ น ไปโดย คํานึ งถึงผลประโยชน์ของวิท ยาลัย และสอดคล้ องกับแนวทางและ นโยบายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังต้ องรายงานผลการ ดําเนิน งานของวิทยาลัยด้ านต่างๆ ผ่านการประชุมคณะกรรมการบริหาร มหาวิท ยาลัย (ทีประชุมคณบดี) ซึงประกอบด้ วยคณบดีจากคณะต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยอีกด้ วย

113

เอกสารอ้ างอิง ระเบียบ มธ. ว่าด้ วยการจัดตังและ บริ หารงานวิทยาลัยนวัตกรรม พ.ศ. 2551

เอกสารแผนงานประชุม / วาระการ ประชุม / รายงานผลการประชุม / เอกสาร รายนามผู้ เข้ าร่ วมการ ประชุมคณะกรรมการอํา นวยการ วิท ยาลัย


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 3. มีกระบวนการประเมิน ศักยภาพและผลการปฏิบัต ิงานของผู้บริห าร ทีชัดเจนและเป็ นที ยอมรับในสถาบัน คณบดีใ นฐานะผู้บ ริ ห ารวิท ยาลัย จะถูก ประเมิ น ศัก ยภาพและผลการ ปฏิบตั ิงานผ่านผลการดําเนิน งานประจําปี ของวิทยาลัย ทีจะต้ องมีการทํ า รายงานเสนอต่อผู้บ ริ ห ารมหาวิท ยาลัย ทังทีเป็ นการปฏิ บ ัติราชการตาม แนวทางของ กพร. และ การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาผ่านระบบการ ประกัน คุณภาพการศึกษา นอกจากนี มหาวิท ยาลัยยังมีระบบตรวจสอบ ภายใน ซึงมีห น้ าที ตรวจสอบการดําเนิ นงานของหน่วยงานภายในอีกด้ วย 4. มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผู้บริห ารตามผล การประเมิน และดําเนินการตามแผนอย่ างครบถ้ วน แผนการพัฒ นาศัก ยภาพของผู้บ ริ ห ารวิ ท ยาลัยได้ จ ัดทํ าเป็ น 3 ระดับ พร้ อมกับการจัดทํางบประมาณรองรับ ได้ แก่ 1. คณบดีและรองคณบดี กําหนดให้ มีแผนพัฒนาศักยภาพด้ านการบริ ห าร ในลัก ษณะการศึ ก ษาดู ง านควบคู่กับ การเจรจาความร่ ว มมื อ ระดับ นานาชาติกบั สถาบันการศึกษาชันนําต่างประเทศ ซึงได้ มีการเดินทางไปดู งานและเจรจาความร่ วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริ กา ระหว่างวัน ที 16-27 พฤษภาคม 2551 นอกจากนี ในวัน ที 22-24 ตุลาคม 2550 ยังได้ เดิน ทางไปสัมมนาและดูงานร่ วมกับ บุคลากรของวิท ยาลัยที Universiti Tenaga (UNITEN) ประเทศมาเลเซีย 2. ผู้ อํ า นวยการหลั ก สู ต ร แผนพั ฒ นาศัก ยภาพของผู้ บริ หารระดั บ ผู้อํานวยการหลัก สูตร เน้ น การพัฒ นาศักยภาพด้ านการวิจยั เป็ นสํา คัญ โดยกําหนดให้ มีโครงการ Research Forum เพือพัฒนาและเพิมผลงาน ด้ านวิจยั และวิชาการ ซึ งผู้อํานวยการหลักสูตรได้ มีโอกาสเข้ าร่ วม และ/ หรื อ เป็ นส่วนหนึงของโครงการ 3. ผู้จัดการฝ่ าย แผนพัฒนาศัก ยภาพด้ า นการบริ ห ารระดับ ผู้จัดการฝ่ าย วิทยาลัย ได้ กําหนดงบประมาณเพือให้ เข้ าร่ วมฝึ กอบรมและสัมมนาทีจ◌ัด โดยหน่วยงานภายนอก และนําความรู้ม าใช้ พัฒนางานของวิท ยาลัย

114

เอกสารอ้ างอิง 1. รายงานผลการปฏิบ ตั ิราชการ ตามแนว กพร. (รอบ 9 เดือน: ต.ค. 50 ถึง มิ.ย. 51) ปี งบประมาณ 2551 2. รายงานการประเมิน ตนเอง ปี การศึกษา 2550

1. รายงานประจําปี 2550 2. รายละเอียด (ข้ อ 3) ตาม แบบฟอร์ มตัวบ่งชีที 7.4.2


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.3 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์ การเรียนรู้ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

4

4

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน ดําเนิน ดําเนิน การไม่ครบ การครบ ตังแต่ 4 3 ข้ อแรก 3 ข้ อแรก ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู้ เพือมุ่งสูอ่ งค์การแห่งการเรี ยนรู้ และประชาสัมพัน ธ์ เ ผยแพร่ ให้ ประชาคมของสถาบันรับทราบ 2. มีการดําเนิน การตามแผนจัดการความรู้ และประสบความสําเร็ จตามเป้าหมายไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 50 3. มีการดําเนิน การตามแผนจัดการความรู้ และประสบความสําเร็ จตามเป้าหมาย ร้ อยละ 100 4. มีการติดตามประเมินผลความสําเร็ จของการจัดการความรู้ 5. มีการนําผลการประเมินไปปรับ ใช้ ในการพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ ให้ เป็ นส่วนหนึ งของกระบวนงาน ปกติและปรับปรุ งแผนการจัดการความรู้ ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู้ เพื อมุ่งสู่องค์ การ แห่ ง การเรีย นรู้ และประชาสั มพั น ธ์ เผยแพร่ ให้ ประชาคมของ สถาบัน รับทราบ วิท ยาลัย มี การจัดทํา แผนการจัดการความรู้ พร้ อมกัน กับ การจัดทํ า เอกสารแผนการจัดการความรู้ ของ งบประมาณประจําปี โดยแบ่งประเภทการจัดการความรู้ ในองค์กรเป็ น องค์กร 4 ประเภท ได้ แก่ § การเรี ยนรู้ จากการทํางาน โดยมีก ารถ่ายทอดความรู้ จากผู้มี ประสบการณ์ § การส่งเสริ มให้ บ ุคลากรมีโอกาสในการเข้ าร่ว มการอบรมและ สัมมนาต่างๆ ทังทีจัดโดยวิทยาลัย และหน่วยงานอืน § การสัมมนาบุคลากรประจําปี § การรั บ ทราบข้ อมู ล ข่า วสารและองค์ ค วามรู้ ใหม่ ๆ ผ่า นทาง วารสาร Online ของวิทยาลัย CITU Review

115


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 2. มีการดําเนิน การตามแผนจัดการความรู้ และประสบความสําเร็ จ ตามเป้าหมายไม่ น้ อยกว่ า ร้ อยละ 50 3. มีการดําเนิน การตามแผนจัดการความรู้ และประสบความสําเร็ จ ตามเป้าหมาย ร้ อยละ 100 วิท ยาลัยดําเนินการตามแผนการจัดการความรู้ ได้ อย่างครบถ้ วน ทังการ 1. รายชื อบุ คลากรที เข้ า ร่ ว มการ ฝึ กอบรม/สัมมนาต่างๆ เรี ยนรู้ งานภายใน การส่งบุคลากรเข้ าร่ ว มการฝึ กอบรมกับ หน่วยงาน ต่างๆ และการจัดสัมมนาบุคลากรประจําปี โดยในปี การศึกษา 2550 ได้ 2. รายละเอีย ดโครงการสัม มนา บุคลากรทีประเทศมาเลเซีย จัด ให้ มี ก ารสัม มนาบุ ค ลากรและเพิ มพูน ประสบการณ์ ที ประเทศ มาเลเซีย และการจัดทําวารสาร Online (CITU Review) 4. มีการติดตามประเมิน ผลความสําเร็จของการจัดการความรู้ วิ ท ยาลัย มี ก ารประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานโครงการเป็ นประจํ า ทุ ก 1. รายงานผลการการประเมิ น โครงการอยูแ่ ล้ว สําหรับการประเมิน ผลการจัดการความรู้ ในองค์ กร ได้ โ คร ง การ สั ม ม น า บุ คลา กร ใช้ ข้ อมูลส่วนหนึ งจากการประเมิ น ความพึงพอใจของบุค ลากร (ซึงมี ประจําปี 2. รายงานจํานวนบุคลากรที เข้ า ประเด็น การประเมินด้ านการจัดการความรู้ ในองค์กรด้ วย) ใช้ บ ริการ CITU Review 3. รายงานผลการประเมิ น ความ พึงพอใจของบุคลากร 5. มีการนํ าผลการประเมินไปปรับใช้ ในการพัฒนากระบวนการ จัดการความรู้ให้ เป็ นส่ วนหนึ งของกระบวนงานปกติและปรับปรุ ง แผนการจัดการความรู้ ผลการประเมิน ประสบการณ์ของผู้จัดโครงการ รวมถึงปั ญหาและ อุป สรรคในการดําเนินงาน จะถูกนําไปเป็ นปั จจัยนําเข้ าสําหรับ การ พิจารณาแผนจัดการความรู้ ในปี ต่อไป

116


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.4 มี ร ะบบและกลไกในการบริห ารทรั พ ยากรบุ ค คลเพื อพั ฒ นาและธํา รงรั ก ษาไว้ ใ ห้ บุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

-

-

6

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ อย่างน้ อย 3-4 ข้ อแรก 3 ข้ อแรก 5 ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการจัดทําแผนการบริห ารทรัพยากรบุคคลทีเป็ นรูป ธรรม ภายใต้ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ 2. มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลทีเป็ น การส่งเสริ มสมรรถนะในการปฏิบ ตั ิงาน เช่น การสรรหา การ จัดวางคนลงตําแหน่ง การกําหนดเส้นทางเดินของตําแหน่ง การสนับ สนุนเข้ าร่ วมประชุม ฝึ กอบรมและหรื อเสนอ ผลงานทางวิชาการ การประเมิน ผลการปฏิบ ตั ิงาน มาตรการสร้ างขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทังการ พัฒนา และรักษาบุคลากรทีมีคณ ุ ภาพ 3. มีระบบสวัสดิการและเสริมสร้ างสุขภาพทีดี และสร้ างบรรยากาศทีดีให้ บุคลากรทํางานได้ อย่างมีป ระสิทธิภาพ และอยูอ่ ย่างมีความสุข 4. มีระบบส่งเสริ มสนับสนุนบุคลากรทีมีศกั ยภาพสูงให้ มีโอกาสประสบความสําเร็จและก้ าวหน้ าในอาชีพอย่าง รวดเร็วตามสายงาน 5. มีการประเมิน ความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอย่างเป็ นระบบ 6. มีการนําผลการประเมิน ความพึงพอใจเสนอผู้บริห ารระดับสูง และมีแนวทางในการปรับปรุ งพัฒนาเพือให้ ดขี นึ ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพ ยากรบุคคลที เป็ นรู ปธรรม ภายใต้ การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงประจักษ์ 1. เอกสารโครงสร้ างองค์กร 1. มีการปรับปรุ งโครงสร้ างการบริห ารงานองค์กรให้ มปี ระสิทธิภาพมากขึน 2. แผนอัตรากําลัง 4 ปี ของ 2. มีการจัดทําแผนอัตรากําลัง 4 ปี (2552-2555) วิท ยาลัย

117


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 2. มีระบบและกลไกในการบริห ารทรั พ ยากรบุค คลที เป็ นการส่ งเสริม สมรรถนะในการปฏิบัต ิงาน เช่ น การสรรหา การจัด วางคนลง ตําแหน่ ง การกําหนดเส้ น ทางเดิน ของตําแหน่ ง การสนั บสนุ น เข้ า ร่ ว มประชุ ม ฝึ กอบรมและหรื อ เสนอผลงานทางวิช าการ การ ประเมิน ผลการปฏิบัต ิงาน มาตรการสร้ างขวัญกํ าลั งใจ มาตรการ ลงโทษ รวมทังการพัฒนา และรักษาบุคลากรทีมีคุณภาพ 1. มีการสนับสนุน ให้ บุคลากรได้ มีโอกาสเข้ าร่ วมการฝึ กอบรม/เสนอผลงาน วิชาการเพือพัฒนาศักยภาพ 2. ปรับปรุ งวิธกี ารประเมินผลการปฏิบัตงิ านให้ มีความทันสมัยและสอดคล้ อง กับ ภารกิจของวิท ยาลัย 3. กําหนดนโยบายการคัดเลือกบุคลากรระดับ หัวหน้ างาน/ผู้จดั การ และการ โยกย้ ายตําแหน่ง โดยพิจารณาจากบุคลากรภายในก่อน 3. ระบบสวัสดิการและเสริมสร้ างสุขภาพทีดี และสร้ างบรรยากาศที ดี ให้ บุคลากรทํ างานได้ อย่ างมีประสิท ธิภาพและอยู่อย่ างมีความสุ ข มีการจัดสวัสดิการให้ แก่บ ุคลากร ดังนี - กองทุนสํารองเลียงชีพ ประกัน สังคม ประกัน ชีวิต อุบตั ิเหตุ และ สุขภาพ การตรวจสุขภาพประจําปี - สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล 2,000 บาทต่อคนต่อปี - เงิน ช่วยเหลือค่าเดินทาง 50 บาทต่อวัน และเงินช่วยเหลืออืนๆ ได้ แก่ สมรส คลอดบุตร งานศพ นอกจากนียังได้ มีการปรับปรุ งสํานักงานและห้ องพักอาจารย์ เพือเป็ น การ สร้ างบรรยากาศในการทํางาน โดยพิจารณาตามความเหมาะสมและ ลักษณะงานเป็ นสําคัญ 4. มีระบบส่ งเสริมสนับสนุ น บุคลากรที มีศักยภาพสูงให้ มีโอกาสประสบ ความสําเร็จและก้ าวหน้ าในอาชีพ อย่ างรวดเร็วตามสายงาน ได้ มีการกําหนดเป็ นนโยบายสําหรับการพิจารณาปรับ ตําแหน่งในกรณีทีมี ตําแหน่ ง งานระดับ สูงว่ าง โดยพิ จารณาจากผู้มี ความเหมาะสมภายใน ก่อน 5. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอย่ างเป็ นระบบ 6. มีการนํ าผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผู้บริหารระดับสูง และมี แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพือให้ ดีขึน จัด ทํ าการสํา รวจความพึ ง พอใจของบุ ค ลากร และนํ า ผลการประเมิ น รวมถึงข้ อเสนอแนะทีได้ จากการสํารวจเสนอต่อผู้บริ หารเพือพิจารณา 118

เอกสารอ้ างอิง

1. เอกสารสรุปการเข้ าร่ วม ฝึ กอบรม/เสนอผลงานวิชาการ ของบุคลากรประจําปี 2. แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ของบุคลากร 3. รายชือผู้ได้ รับ การแต่งตัง โยกย้ ายประจําปี

รายชื อผู้ไ ด้ รั บ การแต่ง ตังโยกย้ า ย ประจําปี

รายงานผลการประเมิ น ความพึง พอใจของบุคลากรภายใน พร้ อมทัง ข้ อเสนอแนะเสนอผู้ บ ริ ห ารเพื อ พิจารณา


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7

การบริหารและการจัดการ

ชือตัวบ่ งชี : 7.4.1 ร้ อยละของอาจารย์ ประจําทีเข้ าร่ วมประชุมวิชาการ และ/หรือนํ าเสนอผลงานวิชาการ ทังในประเทศและต่ างประเทศ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 33

100

33

25

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 ร้ อยละ 1 - 39

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

ร้ อยละ > ร้ อยละ 40 -59 60

1

0

0

1

สูตรการคํานวณ : จํานวนอาจารย์ท ีเข้ าร่วมประชุมวิชาการหรื อนําเสนอผลงานทางวิชาการทังในประเทศและ ต่างประเทศในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนอาจารย์ประจําทีปฏิบัตงิ านจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

อาจารย์ ที เข้ า ร่ ว มประชุม วิ ช าการหรื อนํา เสนอผลงานทางวิ ชาการทังใน รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม ประเทศและต่างประเทศ มีจํานวน 2.5 คน จากจํานวนอาจารย์ ป ระจําทังสิน ตัวบ่งชีที 7.4.1 10 คน ได้ แก่ ดร.สุพชั รจิต จิตประไพ ดร.ยอดมนี เทพานนท์ อ. สุวฒ ั นา จารุ มิลนิ ท (นับ 0.5 คน) ร้ อยละของอาจารย์ประจําทีเข้ าร่ วมประชุมวิชาการ และ/หรื อนําเสนอผลงาน วิชาการทังในประเทศและต่างประเทศ เท่ากับ 25

119


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7

การบริหารและการจัดการ

ชือตัวบ่ งชี : 7.4.2 ร้ อ ยละของบุ ค ลากรประจํา สายสนั บสนุ น ที ได้ รั บการพั ฒนาความรู้ และทั ก ษะใน วิชาชีพ ทังในประเทศและต่ างประเทศ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 100

100

100

100

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

ร้ อยละ 1 - 54

ร้ อยละ 55 -79

> ร้ อยละ

80

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

สูตรการคํานวณ : จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุน ทีได้ รบั การพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพทังใน ประเทศและต่างประเทศในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนบุคลากรสายสนับสนุน ทังหมดในปี การศึกษานันทีได้งานทําทังหมด ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

บุคลากรประจําสายสนับสนุนทังหมดทีได้ รับการพัฒนาความรู้ และทักษะใน รายละเอียดปรากฏตามแบบฟอร์ ม วิชาชีพทังในประเทศและต่างประเทศ ในปี การศึกษา 2550 จํานวน 33 คน ตัวบ่งชีที 7.4.2 คิดเป็ นร้ อยละ 100

120


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 การบริห ารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้ อมูลเพือการบริห าร การเรียนการสอน และการวิจัย ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

3

5

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน ดําเนิน ไม่ครบ 2 การ 2 ข้ อ ตังแต่ 3 ข้ อ แรก ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีน โยบายในการจัดทําระบบฐานข้ อมูลเพือการตัดสินใจ 2. มีระบบฐานข้ อมูลเพือการตัดสินใจ 3. มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบฐานข้ อมูล 4. มีการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้ ฐานข้ อมูล 5. มีการนําผลการประเมิน ในข้ อ 3 และ 4 มาปรับปรุ งระบบฐานข้ อมูล 6. มีการเชือมโยงระบบฐานข้ อมูลของสถาบันผ่านระบบเครือข่ายกับสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตาม รู ปแบบมาตรฐานที กําหนด ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานข้ อมู ลเพือการตัดสินใจ การจัดทําระบบฐานข้ อมูลเพือการตัดสินใจ และได้ มีการพัฒนาระบบเพือ เอ กสาร คู่ มื อร ะบ บฐาน ข้ อ มู ล เพิมประสิท ธิภาพในการทํางานของระบบมาโดยตลอด ปี การศึกษา 2550 วิท ยาลัยนวัตกรรม ได้ มีการจัดทําระบบประเมินผลการสอนออนไลน์ ซงได้ ึ ดาํ เนินการแล้ วเสร็จ และมีแผนการปรับปรุ งระบบฐานข้ อมูลของวิท ยาลัย ซึงจะดําเนิน การใน ปี งบประมาณ 2551 2. ระบบฐานข้ อ มูลเพื อการตัดสิน ใจ ระบบฐานข้ อมูลของวิท ยาลัยแบ่งเป็ น 2 ระบบ ได้แก่ 1) ระบบ Intranet มี เอ กสาร คู่ มื อร ะบ บฐาน ข้ อ มู ล วัตถุป ระสงค์เ พือการสือสารภายในองค์ กร จัด เก็บ ข้ อมูล การปฏิ บ ัติงาน วิท ยาลัยนวัตกรรม งบประมาณ ข้ อมู ลเงิน เดือน รวมถึงประกาศ/คําสังต่างๆ และ 2) ระบบ CIE Control Panel ใช้ ในการสนับ สนุน ระบบการศึกษา ประกอบด้ วย ข้ อ มู ล การรับ สมัค ร ข้ อ มู ล อาจารย์ การลงทะเบี ย น ผลการเรี ย น การ ประเมิน ผลการสอน และข้ อมูลงานวิจยั ของนักศึกษา เป็ นต้ น

121


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

3. มี ก ารประเมิน ประสิท ธิภ าพ และความปลอดภั ย ของระบบ ฐานข้ อมูล 4. การประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้ ฐานข้ อมูล ได้ มีการจัดทํารายงานการประเมิ นประสิท ธิภาพ ความปลอดภัยของระบบ เอ กสาร คู่ มื อร ะบ บฐาน ข้ อ มู ล ฐานข้ อมู ล สํารวจความพึง พอใจของผู้ ใช้ งานระบบ รวมถึง Website วิท ยาลัยนวัตกรรม Intranet และคอมพิวเตอร์ ข องวิท ยาลัย เพือเป็ นข้ อมูลในการวิเคราะห์ ปั ญหาและหาแนวทางเพือพัฒนาระบบให้ มีประสิท ธิภาพเพิมขึนต่อไป 5. มีการนํ าผลการประเมินในข้ อ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานข้ อมูล 1. ปี การศึกษา 2550 ได้ มีการจัดทําระบบประเมินผลการสอน Online 2. มีแผนงานพัฒนาระบบฐานข้ อมูลโดยเงินจากงบประมาณปี 2551 6. มีการเชือมโยงระบบฐานข้ อมูลของสถาบัน ผ่ านระบบเครื อข่ ายกับ สํา นั กงานคณะกรรมการการอุ ดมศึก ษาตามรู ปแบบมาตรฐานที กําหนด เป็ นการเชือมโยงฐานข้ อมูลระดับ มหาวิทยาลัย

122

เอ กสาร คู่ มื อร ะบ บฐาน ข้ อ มู ล วิท ยาลัยนวัตกรรม

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.6 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ของการเปิด โอกาสให้ บุ ค คลเข้ ามามี ส่ ว นร่ วมในการพั ฒ นา สถาบันอุ ดมศึ กษา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เกณฑ์ การให้ คะแนน ผลการประเมิน เป้าหมาย เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม (แผน) 2548 2549 2550 1 2 3 เกณฑ์

4

-

-

5

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 3-4 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ ข้ อแรก แรก

3

แผน พัฒนาการ คะแนน

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการเปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างโปร่ งใสผ่านช่องทางต่างๆ อาทิ สิงพิมพ์ เว็บ ไซต์ นิทรรศการ 2. มีระบบการรับ ฟั งความคิดเห็น ของประชาชนผ่านช่องทางทีเปิ ดเผยและเป็ นทีรับรู้ กนั โดยทัวอย่างน้ อย 3 ช่องทาง 3. มีการนําความคิดเห็น ของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจ้ าหน้ าทีรับ ผิดชอบและมีการดําเนินงาน อย่างเป็ นรูปธรรม 4. มีทีปรึ กษาทีมาจากภาคประชาชน ทังทีเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ และมีการดําเนินกิจกรรมร่วมกัน อย่าง ต่อเนืองและชัดเจน เช่น จัดประชุมร่วมกัน อย่างน้ อยปี ละ 2 ครัง 5. มีกระบวนการหรื อกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มีการเปิดเผยข้ อมูลข่ าวสารแก่ ประชาชนอย่ างโปร่ งใส ผ่ านช่ องทาง ต่ าง อาทิ เอกสารสิงพิมพ์ เว็บไซต์ นิท รรศการ มีการเผยแพร่ ข่าวสารข้ อมูลของวิทยาลัยผ่านทางช่องทางต่างๆ ดังนี 1. Website วิทยาลัย 1. Print screen หน้ า Website 2. เอกสารรายงานประจําปี 2. รายงานประจําปี 3. รายงานผลการประเมิ นตนเอง 3. รายงานผลการประเมินตนเอง 2. มีระบบการรับฟั งความคิดเห็น ของประชาชนผ่ านช่ องทางที เปิดเผย และเป็ นที รับรู้กัน โดยทัวอย่ างน้ อย 3 ช่ องทาง Print screen หน้ า Website 1. ผ่านทาง Web board และระบบ CIE Online 2. ผ่านทางโทรศัพท์ 0-2623-5055-8 3. การติดต่อโดยตรงทีเคาน์ เตอร์ บริ การการศึกษา 4. ผ่านข้ อเสนอแนะทีได้ รับ จากการประเมิน ผลโครงการบริ การสังคม/แบบ ประเมิน ผลการสอน

123


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3. 1.

2. 3.

4.

1. 2.

5. 1. 2. 3.

ผลการดําเนินงาน มีการนํ าความคิดเห็น ของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดย มีเจ้ าหน้ าทีรับผิดชอบและมีการดําเนิน งานอย่ างเป็ นรูปธรรม กรณีเป็ นการเสนอความคิดเห็นผ่านระบบ CIE Online / Web board หรื อ ติดต่อโดยตรงทีเคาน์เ ตอร์ บ ริ การการศึกษา เจ้ าหน้ าทีบริ การการศึกษา เป็ นผู้รับ ผิดชอบในการดําเนิ น การนํา ข้ อ เสนอแนะ/ข้ อร้ องเรี ย น/ความ คิดเห็ นต่างๆ เสนอให้ ผ้ บู ริ หารพิจารณาตามลําดับขัน กรณีเป็ นการเสนอความคิดเห็นผ่านโทรศัพท์ เจ้ าหน้ าทีรับ ผิดชอบโดยตรง ตามเรื องทีมีการเสนอแนะ เป็ นผู้รับ เรื องและดําเนิ นการ กรณี เ ป็ นการเสนอแนะความคิ ดเห็ น ผ่านระบบประเมิ น ผลโครงการ/ ประเมิน ผลการสอน ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาจะเป็ นผู้ดาํ เนิน การนําเสนอให้ มี การพิจารณาต่อไป มีที ปรึ ก ษาที มาจากภาคประชาชน ทั งที เป็ นทางการและไม่ เ ป็ น ทางการ และมีการดําเนิน กิจกรรมร่ วมกัน อย่ างต่ อเนื องและชัดเจน เช่ น จัดประชุมร่ วมกัน อย่ างน้ อยปี ละ 2 ครัง ได้ มีการแต่งตังบุคคลภายนอกจากภาคประชาชนร่ วมเป็ นคณะกรรมการ อํานวยการวิท ยาลัย โดยมีการประชุมทุก 2 เดือน การพัฒนาหลักสูตร ทังการปรับปรุ งหลักสูตรและการสร้ างหลักสูตรใหม่ ต้ องนํ าร่ างหลักสูตรปรั บ ปรุ ง หรื อหลักสูต รใหม่ เสนอให้ ผ้ เู ชียวชาญจาก ภายนอกพิจารณาและให้ ความคิดเห็นประกอบด้ วย มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน บุคคลภายนอกสามารถร้ องขอข้ อมูลการดําเนิ น งานวิ ท ยาลัยได้ ตาม พ.ร.บ. ข้ อมูลข่าวสาร กรณีต้องการตรวจสอบการดําเนิ นการทีไม่โปร่ งใส ภาคประชาชนสามารถ ร้ องเรี ยนผ่านช่องทางด้ านกระบวนการยุตธิ รรม (ศาลปกครอง) ได้ มีการตรวจสอบงบการเงิน การประเมิน ความเหมาะสมของหลักการบัญชี และประมาณการเกียวกับ รายงานทางการเงิ น ที เป็ นสาระสํา คัญของ วิทยาลัย โดยผู้สอบบัญชีรับ อนุญาตจากภายนอก

124

เอกสารอ้ างอิง

Work Procedure การดําเนินงาน ของวิทยาลัย

1. รายชือคณะกรรมการ อํานวยการวิทยาลัย 2. เอกสารประกอบการประชุม คณะกรรมการอํานวยการ วิท ยาลัย 3. เอกสารการพิจารณาหลักสูตร ของบุคคลภายนอก

เอกสารรายงานของผู้สอบบัญชี


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.7 ร้ อยละของอาจารย์ ประจําทีได้ รับ รางวัล ผลงานทางวิชาการหรื อวิช าชีพ ในระดับชาติ หรือนานาชาติ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

> ร้ อยละ 2

10

-

-

และเป็ น ร้ อยละ ร้ อยละ รางวัลวิจัย 0.1 - 0.99 1 - 1.99 มากกว่า ร้ อยละ 50

0

0

0

0

สูตรการคํานวณ : จํานวนอาจารย์ป ระจําและนักวิจยั ที ได้ รบั รางวัลผลงานทางวิชาการหรื อวิชาชีพ ในระดับชาติห รือนานาชาติในปี การศึกษานัน

X 100

จํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทังหมดในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

-

-

125

0


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.8 มีการระบบบริห ารความเสียงมาใช้ ในกระบวนการบริหารการศึกษา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

-

-

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 3-4 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการแต่งตังคณะกรรมการหรื อคณะทํางานบริหารความเสียง โดยมีผ้ บู ริหารระดับ สูงและตัวแทนทีรับผิดชอบ พัน ธกิจหลักของสถาบันร่ วมเป็ น คณะกรรมการหรื อคณะทํางาน โดยผู้บ ริ หารระดับ สูงต้ องมีบทบาทสําคัญในการ กําหนดนโยบายหรื อแนวทางในการบริห ารความเสียง 2. มีการวิเคราะห์และระบุปั จจัยเสียงทีส่งผลกระทบหรือสร้ างความเสียหายหรื อความล้ มเหลวหรือลดโอกาสทีจะ บรรลุเป้ าหมายในการบริหารงาน และจัดลําดับความสําคัญของปั จจัยเสียง 3. มีการจัดทําแผนบริห ารความเสียง โดยแผนดังกล่าวต้ องกําหนดมาตรการหรื อแผนปฏิบตั ิการในการสร้ างความรู้ ความเข้ าใจให้ กบั บุคลากรทุกระดับในด้ านการบริ หารความเสียง และการดําเนินการแก้ ไข ลด หรื อป้องกันความ เสียงทีจะเกิดขึนอย่างเป็ นรูปธรรม 4. มีการดําเนินการตามแผนบริห ารความเสียง 5. มีการสรุ ปผลการดําเนิน งานตามแผนบริหารความเสียง ตลอดจนมีการกําหนดแนวทางและข้ อเสนอแนะในการ ปรับปรุ งแผนบริหารความเสียงโดยได้ รับความเห็นชอบจากผู้บริห ารสูงสุดของสถาบัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

1. มีการแต่ งตังคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริห ารความเสี ยง โดย มี ผ้ ู บริห ารระดับ สู ง และตั ว แทนที รั บ ผิด ชอบพั น ธกิจ หลั ก ของ สถาบั น ร่ วมเป็ นคณะกรรมการหรื อ คณะทํ างาน โดยผู้ บ ริห าร ระดับสูงต้ องมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายหรือแนวทางใน การบริหารความเสี ยง คํ า สังแต่ง ตังคณะกรรมการจัดทํ า การแต่งตังคณะกรรมการจัดทําระบบควบคุมภายในของวิท ยาลัย ระบบควบคุมภายในของวิทยาลัย

126


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 2. มีการวิเคราะห์ แ ละระบุปัจจัย เสี ยงทีส่ งผลกระทบหรื อสร้ างความ 1. ตารางการระบุความเสียหายที เสี ย หายหรือ ความล้ ม เหลวหรือ ลดโอกาสทีจะบรรลุ เป้าหมายใน จะเกิดขึนในแต่ละปั จจัย การบริหารงาน และจัดลําดับความสําคัญของปั จจัยเสียง 2. ตารางระบุปั จ จัย เสียงในแต่ ล ะ จัดประชุมคณะกรรมการเพือวิเคราะห์ ความเสียงตามแนวทางของ คตง. กระบวนการและความเสียหาย และของมหาวิท ยาลัย ทีอาจจะเกิดขึน 3. มีการจัด ทํ าแผนบริห ารความเสียง โดยแผนดังกล่ าวต้ อ งกํ าหนด มาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการสร้ างความรู้ ความเข้ าใจให้ กับ บุคลากรทุกระดับในด้ านการบริห ารความเสียง และการดําเนิน การ แก้ ไข ลด หรือป้องกันความเสียงทีจะเกิดขึ นอย่ างเป็ นรูปธรรม ตารางแผนบริ หารความเสียง จั ด ป ระชุ ม คณะกร รม การ เพื อจั ด ทํ าแผนบ ริ หารความเสี ยงตาม ประจําปี งบประมาณ 2551 ปี งบประมาณ และแบบ ปย.3 4. มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสียง แบบติดตาม –ปย.3 ดําเนิน การติดตามผลการบริ ห ารความเสียงตามแผนงานทีกําหนด 5. มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสียง ตลอดจนมี การกําหนดแนวทางและข้ อเสนอแนะในการปรับปรุ งแผนบริหาร ความเสียงโดยได้ รับความเห็นชอบจากผู้บริหารสูงสุ ดของสถาบัน จัดทําผลสรุ ปการดําเนิน งานบริหารความเสียงตามแบบฟอร์มของ คตง. แบบ ปย.1 ,แบบ ปย.2 และแบบฟอร์ มของมหาวิท ยาลัย และแบบ ปย.2-1

127


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 7 การบริหารและการจัดการ ชือตัวบ่ งชี : 7.9 ระดับความสําเร็จของการถ่ ายทอดตัวบ่ งชีและเป้าหมายของระดับองค์ กรสู่ระดับบุคคล ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 8

-

-

8

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 5 5-7 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในสถาบัน 2. มีแผนงานการประเมิน ผลภายในสถาบัน 3. มีการกําหนดตัวบ่งชีและเป้าหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตร์ ของสถาบัน 4. มีการจัดทํา Strategy Map ของหน่วยงานในระดับคณะหรื อเทียบเท่า โดยกําหนดเป้ าประสงค์ของแต่ละ ประเด็นยุทธศาสตร์ ท ีเกียวข้ องกับหน่วยงานให้ เชือมโยงกับเป้าประสงค์แ ละประเด็นยุทธศาสตร์ ของสถาบัน 5. มีการยืน ยัน วิสยั ทัศน์และประเด็น ยุท ธศาสตร์ ของสถาบันอุดมศึกษาในระดับคณะหรื อเทียบเท่า 6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชีและเป้าหมายตามคํารับรองของผู้บริ หารระดับต่าง ๆ 7. มีการประเมิน ผลการดําเนิ นงานตามตัวบ่งชีและเป้าหมายตามคํารับ รอง 8. มีการนําผลการประเมิน ผลการดําเนิน งานของผู้บริห ารไปเชือมโยงกับ ระบบการสร้ างแรงจูงใจ 1.

1. 2. 3. 4.

ผลการดําเนินงาน มีการกําหนดแนวทางการดําเนิน การในการประเมินผลภายใน สถาบัน วิทยาลัยมีแนวทางสําหรับการประเมิน ผลการดําเนิน งานภายใน ดังนี การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการตามตัวชีวัด ก.พ.ร. รายปี งบประมาณ การประเมินตนเองด้ านการประกัน คุณภาพการศึกษา ตามตัวชีวัด สกอ. สมศ. และของ มธ. การประเมินด้ วยวิธีการวิเคราะห์ความเสียงตามระบบควบคุมภายใน ของ สตง. การพิจารณาผลการดําเนิน งานด้ านการเงิน

128

เอกสารอ้ างอิง

5


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2. 1.

2.

3. 4. 3. 1.

2.

4.

5.

ผลการดําเนินงาน มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการตามตัวชีวัดของ กพร. เป็ นการ ประเมินผลตามปี งบประมาณ โดยมีแผนรายงานความก้ าวหน้ าเป็ นรอบ 6 เดือน 9 เดือน การประเมินตนเองตามแนวทางการประกัน คุณภาพของ สกอ./สมศ. และ มธ. เป็ น การรายงานทุกปี การศึกษา โดยวิทยาลัยกําหนดให้ มีการติดตาม ความก้ าวหน้ าทุก 2 เดือน การประเมินความเสียง/การบริ ห ารความเสียงตามแนวทางของ สตง. เป็ น การรายงานตามปี งบประมาณ รายงานทางการเงิน จัดทําเป็ นรายไตรมาสตามรอบปี งบประมาณ มีการกําหนดตัวบ่ งชีและเป้าหมายตามพัน ธกิจและยุท ธศาสตร์ ของ สถาบัน วิทยาลัยมีการกําหนดเป้าหมายและพันธกิจ ซึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของมหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ และสอดรับ กับ แนวทางการประเมินผลการ ดําเนิน งานทีจะต้ องมีการตรวจสอบตามรายการข้ างต้ น มีการกําหนดตัวบ่งชีเป้าหมายการดําเนินงานตามตัวชีวัดของ กพร. / สกอ. / สมศ. และการบันทึกข้ อมูลผลทางการเงินตามระบบบัญชี มาตรฐาน มี ก ารจั ด ทํ า Strategy Map ของหน่ วยงานในระดับ คณะหรื อ เทียบเท่ า โดยกําหนดเป้าประสงค์ ของแต่ ละประเด็น ยุท ธศาสตร์ ที เกี ยวข้ อ งกั บหน่ วยงานให้ เ ชือมโยงกั บเป้าประสงค์ แ ละประเด็น ยุทธศาสตร์ ของสถาบัน มีการยืนยัน วิสยั ทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของ สถาบันอุ ดมศึกษาในระดับคณะหรือเทียบเท่ า จัดประชุมผู้บริห ารและคณาจารย์เพือร่ วมกันพิจารณาแนวทางการ ดําเนิน งานตามพันธกิจของวิท ยาลัยและเป้ าหมายตามตัวชีวัดคุณภาพ การศึกษาของ สกอ. / สมศ. โดยมีวตั ถุประสงค์เ พือกําหนด Strategy Map และแนวทางการดําเนิน งานตามทีปรากฏในรายงานประจําปี

129

เอกสารอ้ างอิง 1. รายงานผลการปฏิบ ตั ิราชการ ตามแนว กพร. 2. รายงานผลการประเมิน ตนเอง ตามแนว สกอ./สมศ. 3. รายงานผลการบริหารความ เสียงตามแนว สตง. 4. รายงานทางการเงินทีได้ รบั การ ตรวจจากผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต

รายงานประจําปี 2550 ของ วิท ยาลัยนวัตกรรม

รายงานประจําปี 2550 ของ วิท ยาลัยนวัตกรรม


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 6. มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบ่ งชีและเป้าหมาย ตามคํารับรองของผู้บริหารระดับต่ าง ๆ วิทยาลัยมีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานและการรายงานผลการ ดําเนินงานดังต่อไปนี 1. จัดให้ มีการประชุมอาจารย์เป็ นประจําทุกเดือนเพือติดตามผลงาน และให้ อาจารย์รายงานผลงานวิชาการตามตัวบ่ งชีทีกําหนดเมือสินปี การศึกษา เป็ นรายบุคคล 2. จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถด้ านการวิจยั และ วิชาการเป็ นประจําทุก 2 เดือน เพือติดตามความก้ าวหน้ าในการ ดําเนิน งานด้ านวิชาการ 3. จัดให้ มีการรายงานผลการดําเนิน งานและการบริหารงานด้ านการเงินทุก ไตรมาส 4. คณบดีรายงานผลการดําเนิน งานต่อทีประชุมคณะกรรมการอํานวยการ วิทยาลัย โดยกําหนดการประชุมทุก 2 เดือน 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบ่ งชีและเป้าหมายตามคํา รับรอง มีการจัดทํารายงานผลการประเมินต่างๆ ทีมีการกําหนดไว้ ได้ แก่ การ ประเมินผลปฏิบ ัตริ าชการ การประเมินตนเองเพือประกันคุณภาพ การศึกษา รายงานการควบคุมภายใน และรายงานทางการเงิน

เอกสารอ้ างอิง

1. รายงานการประชุมทีเกียวข้ อง 2. เอกสารรายงานทางการเงิน 3. เอกสารรายงานผลงานวิชาการ ของอาจารย์ป ระจํา

1. รายงานผลการปฏิบ ตั ิราชการ ตามแนว กพร. 2. รายงานผลการประเมิน ตนเอง ตามแนว สกอ./สมศ. 3. รายงานผลการบริหารความ เสียงตามแนว สตง. 4. รายงานทางการเงินทีได้ รบั การ ตรวจจากผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต

8. มีการนํ าผลการประเมินผลการดําเนินงานของผู้บริห ารไปเชือมโยง กับระบบการสร้ างแรงจูงใจ 1. การให้ รางวัลแก่อาจารย์ท ีสามารถสร้ างผลงานวิชาการได้ ตามเป้าหมายที ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์การ กําหนด ปฏิบ ตั ิงานเกียวกับ อาจารย์ป ระจํา 2. รางวัลพิเศษสําหรับการปฏิบตั ิตามตัวบ่งชี ก.พ.ร. ได้ เป็ นผลสําเร็ จ ซึง ของวิท ยาลัยนวัตกรรม ได้ รับ การจัดสรรจากมหาวิท ยาลัย 3. เงินรางวัล (โบนัส) ประจําปี สําหรับบุคลากรสายสนับสนุน

130


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8 : การเงินและงบประมาณ การจัดทํางบประมาณของวิทยาลัยได้ รับการพิจารณาโดยคํานึงถึงหลักประสิ ทธิภาพและ ความโปร่ งใสในการบริห ารงาน การประมาณการรายได้ จ ะต้ อ งจัดทํ า อย่างรอบคอบพร้ อ มกับระบุ แหล่งที มาของรายได้ อย่างชัดเจน ในขณะที ประมาณการรายจ่ายจะต้ อ งได้ รับ การพิจ ารณาเหตุผ ล ความจําเป็ น รวมถึงประโยชน์ทีจะได้ รับอย่างรอบด้ าน ขันตอนการจัดทํางบประมาณประจํา ปี วิท ยาลัย จะแต่ง ตังคณะกรรมการพิจารณางบประมาณเพือพิจ ารณาในเบืองต้ น และเสนอให้ ค ณะกรรมการ อํา นวยการของวิท ยาลัยกลันกรอง จากนันจึง เสนอให้ คณะกรรมการพิจ ารณางบประมาณของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะกรรมการบริ หารมหาวิทยาลัยกลันกรองและเห็นชอบทัง 2 คณะ ก่อนเสนอให้สภามหาวิทยาลัยอนุมตั ิ วิทยาลัยได้ พิจ ารณาและประเมิ นผลการดําเนิน การตามองค์ประกอบที 8 การเงินและ งบประมาณ โดยมีผลการประเมินดังนี ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่าย การตรวจสอบการเงิน และงบประมาณ อย่างมีประสิท ธิภาพ 8.1.1 ค่าใช้ จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการ บริ การวิชาการและวิชาชีพเพือสังคมต่อ อาจารย์ป ระจํา 8.1.2 ร้ อยละของค่าใช้ จ่ายและมูลค่าทีใช้ ในการ อนุรักษ์ พัฒนาและสร้ างเสริ ม เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่องบดําเนินการ 8.1.3 สินทรัพย์ถาวรต่อนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเท่า 8.1.4 ค่าใช้ จ่ายทังหมดต่อนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเท่า

131

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

0

0

3

1

0

0

1

3

1

1

5

1

0

0

1


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

8.1.5 ร้ อยละของเงินเหลือสุทธิต่องบดําเนินการ 8.1.6 งบประมาณสําหรับ การพัฒนาคณาจารย์ ทังในประเทศและต่างประเทศต่ออาจารย์ ประจํา 8.1.7 ค่าใช้ จ่ายทังหมดทีใช้ ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูน ย์สารสนเทศต่อ นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า 8.2 การใช้ ท รัพยากรภายในและภายนอกสถาบัน ร่ วมกัน คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 8 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 8 ทังหมด

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

2

1

1

4

2

0

0

2

3

0

0

3

3

1

1

5 5.00 3.22

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี

132


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8 การเงินและงบประมาณ ชือตัวบ่ งชี : 8.1 มีระบบและกลไกในการจั ดสรร การวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่า ย การตรวจสอบการเงิน และ งบประมาณอย่ างมีประสิทธิภาพ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 7

-

-

7

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 5 5-6 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินทีสอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ของสถาบันให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้ านการเงิน แผนการจัดสรร และการวางแผนการใช้ เงินอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. มีการจัดทําระบบฐานข้ อมูลทางการเงินทีผู้บริหารสามารถนําไปใช้ในการตัดสิน ใจ และวิเคราะห์ สถานะทาง การเงิน 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ อย่างน้ อยปี ละ 2 ครัง 5. มีการนําข้ อมูลทางการเงิน ไปใช้ ในการวิเคราะห์ค่าใช้ จ่าย และวิเคราะห์ สถานะทางการเงินและความมันคงของ องค์การอย่างต่อเนือง 6. มีหน่วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหน้ าทีตรวจติดตามการใช้ เงินให้ เป็ น ไปตามระเบียบและกฎเกณฑ์ ทีสถาบันกําหนด 7. ผู้บ ริหารระดับ สูงมีการติดตามผลการใช้ เงิน ให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย และนําข้ อมูลจากรายงานทางการเงินไปใช้ ในการวางแผนและการตัดสินใจ ผลการดําเนินงาน 1. มีแผนกลยุทธ์ ทางการเงิน ทีสอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ ของสถาบัน ให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย 1. การจัดทํางบประมาณประจําปี มีการระบุรายการตามโครงสร้ างการ ทํางาน และ/หรื อ เป้าหมายทีต้ องการดําเนินงาน 2. มีการเก็บ ข้ อมูลทางบัญชีท ีสะท้ อนต้ นทุนการผลิตบัณฑิต

133

เอกสารอ้ างอิง

1. เอกสารงบประมาณประจําปี 2. รายงานงบการเงินเปรี ยบเทียบราย ไตรมาส


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ผลการดําเนินงาน 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้ านการเงิน แผนการจัดสรร และ การวางแผนการใช้ เงิน อย่ างมีประสิทธิภาพโปร่ งใส ตรวจสอบได้ 1. มีการกําหนดแหล่งทีมาของรายได้ และการลงทุน ของวิทยาลัยใน ระเบียบจัดตัง 2. มีระบบบริห ารงบประมาณ 3. มี ก ารจั ด ทํ า ระบบฐานข้ อ มู ล ทางการเงิน ที ผู้ บริห ารสามารถ นําไปใช้ ในการตัดสินใจ และวิเคราะห์ สถานะทางการเงิน 4. มีการจัดทํ ารายงานทางการเงินอย่ างเป็ นระบบ อย่ างน้ อยปี ละ 2 ครัง 5. มีการนํ าข้ อมู ลทางการเงิน ไปใช้ ในการวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่าย และ วิเ คราะห์ สถานะทางการเงิน และความมันคงขององค์ การอย่ า ง ต่ อเนือง 1. ใช้ โปรแกรมบัญชีในการจัดเก็บข้ อมูลการเงินและบัญชี 2. จัดทําโปรแกรมสําหรับ การควบคุมงบประมาณ 3. จัดทํารายงานงบการเงินรายไตรมาส โดยมีการเปรี ยบเทียบปี ปั จจุบ ัน กับ ปี ก่อน และเปรี ยบเทียบกับงบประมาณปี ปั จจุบัน 4. มีการรายงานฐานะการลงทุนต่อคณะกรรมการอํานวยการ 6. มีหน่ ว ยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหน้ าที ตรวจติดตาม การใช้ เงินให้ เป็ นไปตามระเบียบและกฎเกณฑ์ ทีสถาบัน กําหนด 1. มีการแต่งตังผู้ตรวจสอบบัญชีได้ รับ อนุญาต (จากภายนอก) 2. มีการตรวจสอบโดยสํานักงานตรวจสอบภายในของ มธ. 7. ผู้ บริห ารระดั บ สู ง มี ก ารติด ตามผลการใช้ เงิน ใ ห้ เป็ นไปตาม เป้ าหมาย และนํ าข้ อ มูล จากรายงานทางการเงิน ไปใช้ ในการ วางแผนและการตัดสินใจ มีการรายงานงบการเงิน และเสนอคณะกรรมการอํานวยการพิจารณา ทุกไตรมาส

134

เอกสารอ้ างอิง 1. ระเบียบจัดตังและดําเนินงาน วิท ยาลัย 2. ระเบียบการเบิกจ่าย/หลักฐานการ จัดเก็บ รายได้ และเบิกจ่าย

1. รายงานบัญชีจากโปรแกรม 2. รายงานงบการเงินรายไตรมาส 3. รายงานฐานะการลงทุน เมือมี การ เปลียนแปลง 4. รายงานการประชุมคณะกรรมการ อํานวยการวิท ยาลัย

1. รายงานของผู้สอบบัญชีรบั อนุญาต 2. รายงานของผู้ตรวจสอบภายใน

รายงานงบการเงิน เช่น งบกําไร ขาดทุน งบดุล งบกระแสเงินสด


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8 การเงินและงบประมาณ ชือตัวบ่ งชี : 8.1.1 ค่ า ใช้ จ่ า ยและมู ล ค่ า ของสถาบั น ในการบริก ารวิช าการและวิช าชี พ เพื อสั งคมต่ อ อาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน

280,045

602,300

31,733

500,000

ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน

ผลการประเมิน

1

2

3

1 – 4,999 บาท

5,000 – 7,499 บาท

> 7,500 บาท

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

0

0

3

สูตรการคํานวณ : ค่าใช้ จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการบริ การวิชาการและวิชาชีพเพือสังคมในปี การศึกษานัน จํานวนอาจารย์ประจําทีปฏิบัตงิ านจริ งในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

ปี การศึกษา 2550 วิท ยาลัยมีค่าใช้ จ่ายในการบริ การวิชาการและวิชาชีพ รายละเอียดปรากฏในแบบฟอร์ มตัว เพือสังคม เป็ นเงิน 2,800,446 บาท เมือเทียบกับ จํานวนอาจารย์ ป ระจํ า บ่งชี 5.3.1 และ 5.3.2 จํานวน 10 คน จะมี ค่าเท่ ากับ 280,045 บาท เหตุผลที ตัวบ่ งชีตํากว่าปี การศึกษา 2549 ค่อนข้ างมากเนื องจากวิทยาลัยได้ เปลียนแปลงโครงสร้ าง การทํางาน ยุบ ฝ่ ายกิจกรรมสัมพัน ธ์ และฝึ กอบรม โดยให้ ความสําคัญกับ การจัดการเรี ย นการสอนระดับ บัณ ฑิตศึกษาและพัฒนาผลงานวิจ ัยของ อาจารย์และนักศึกษามากขึน และกําหนดขอบข่ายการบริ การสังคมให้ อยู่ ในเนือหาที วิท ยาลัยมีความชํานาญอย่างแท้ จริ งเท่านัน

135


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8 การเงินและงบประมาณ ชือตัวบ่ งชี : 8.1.2 ร้ อยละของค่ าใช้ จ่ายและมูลค่ าทีใช้ ในการอนุรัก ษ์ พัฒนาและสร้ างเสริม เอกลัก ษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่ องบดําเนินการ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 1.8

0.93

1.8

0.04

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ร้ อยละ ร้ อยละ > ร้ อยละ 0.01–0.49 0.5–0.9 1

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

1

0

0

1

สูตรการคํานวณ : จํานวนค่าใช้ จ่ายและมูลค่าทีใช้ จ่ายเป็ นตัวเงินทีเกิดขึนจากการทีอาจารย์ประจําใช้ เพือการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้ างเสริ มเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมในปี การศึกษานัน งบดําเนินการในปี งบประมาณนัน ผลการดําเนินงาน

X 100

เอกสารอ้ างอิง

วิทยาลัยตังงบดําเนิ นการทังหมดเป็ นเงิน 92,494,985 บาท ได้ ใช้ จ่ายจริ ง เอกสารการเบิกจ่ายงบประมาณ ด้ านศิลปะและวัฒนธรรมเป็ นเงิน 36,365 บาท คิดเป็ นร้ อยละ 0.04 ของ โครงการ Innovative Gallery งบดําเนิน การ ในปี การศึ ก ษา 2550 ได้ มี กิ จ กรรมด้ านการทํ า นุ บ ํ า รุ งศิ ล ปะและ วัฒนธรรมทีจัดโดยนักศึกษา อีกจํานวน 2 โครงการ แต่ไ ม่มีค่าใช้ จ่ายจริ ง ที เก็บ ได้ เ ป็ นตั วเงิ น เนื องจากเป็ นโครงการที ได้ รับ การสนับ สนุน จาก หน่ วยงานภายนอก

136


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8 การเงินและงบประมาณ ชือตัวบ่ งชี : 8.1.3 สินทรัพ ย์ ถาวรต่ อนั กศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ า ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

180,000 378,840 180,126 310,879 1 – 64,999

2

ผลการประเมิน เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

65,000 – > 100,000 99,999

3

1

1

5

สูตรการคํานวณ : มูลค่าสินทรัพย์ถาวรสุทธิในปี งบประมาณนัน จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

วิทยาลัยมีมูลค่าสิน ทรัพย์ท ังสิน 225,163,219.57 บาท เทียบกับจํานวน นักศึกษาเต็มเวลาเที ยบเท่า 724.28 คน อัตราส่วนสินทรัพย์ถาวรต่อ นักศึกษาเต็มเวลาเที ยบเท่ามีคา่ เท่ากับ 310,879 บาท

137

รายละเอียด ตามแบบฟอร์ มตัวบ่งชี ที 8.1.3


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8 การเงินและงบประมาณ ชือตัวบ่ งชี : 8.1.4 ค่ าใช้ จ่ายทังหมดต่ อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ า ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

± มากกว่า ± ร้ อยละ ± น้ อยกว่า 77,000 139,924 77,175 91,206 ร้ อยละ 10 5 – 9.99% ร้ อยละ 5 จากเกณฑ์ จากเกณฑ์ จากเกณฑ์

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

1

0

0

1

สูตรการคํานวณ : ค่าใช้ จ่ายทังหมดในปี งบประมาณนัน จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

วิทยาลัยมีค่าใช้ จ่ายในปี งบประมาณ 2550 เป็ น เงิน 56,417,455.60 บาท รายละเอียด ตามแบบฟอร์มตัวบ่งชี ที รวมกับค่าใช้ จ่ายทีมหาวิท ยาลัยจัดสรร 9,641,599 บาท เป็ น ค่าใช้ จ่าย 8.1.4 ทังหมด 66,059,054.60 บาท เทียบกับนักศึกษาเต็มเวลาเที ยบเท่า 724.28 คน อัตราส่วนค่าใช้ จ่ายทังหมดต่อจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า เท่ากับ 91,206 เกณฑ์ค่าใช้ จ่ายทังหมดต่อจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ของสาขาวิชาบริ หารธุรกิจเท่ ากับ 62,532 บาท ค่าใช้ จ่า ยทังหมดต่อ จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าจึงสูงกว่าเกณฑ์ 28,674 บาท หรื อร้ อย ละ 46

138


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8

การเงินและงบประมาณ

ชือตัวบ่ งชี : 8.1.5 ร้ อยละของเงินเหลือสุท ธิต่องบดําเนินการ ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 40.00

41.52

38.67

26.08

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1 ร้ อยละ 1–4

2

ผลการประเมิน 3

ร้ อยละ 5- 9 ร้ อยละ หรื อ > 10– 5 ร้ อยละ 15

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

2

1

1

4

สูตรการคํานวณ : งบประมาณในส่วนของงบดําเนินการ - งบดําเนินการทีใช้ จ่ายจริ ง งบประมาณในส่วนของงบดําเนินการ ผลการดําเนินงาน

X 100 เอกสารอ้ างอิง

วิทยาลัยตังงบดําเนิ นการทังหมดเป็ นเงิน 92,494,985 บาท ได้ ใช้ จ่ายจริ ง รายละเอียด ตามแบบฟอร์ มตัวบ่งชี ที เป็ นเงิน 68,368,058.98 บาท มีเงิน เหลือจ่าย 24,126,926.02 บาท คิด 8.1.5 เป็ นร้ อยละ 26.08 ของงบดําเนินการ

139


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8 การเงินและงบประมาณ ชือตัวบ่ งชี : 8.1.6 งบประมาณสําหรับการพั ฒนาคณาจารย์ ทั งในประเทศและต่ างประเทศต่ ออาจารย์ ประจํา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

19,000 247,733 18,903 10,575 1- 9,999

2

ผลการประเมิน 3

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

10,000 – > 15,000 14,999

2

0

0

2

สูตรการคํานวณ : เงินจัดสรรจริงสําหรับ พัฒนาคณาจารย์ท งในและต่ ั างประเทศในปี การศึกษานัน จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

ค่าใช้ จ่ายสําหรับการพัฒนาคณาจารย์ท ังในประเทศและต่างประเทศ ในปี รายละเอียด ตามแบบฟอร์ มตัวบ่งชี ที การศึกษา 2550 เป็ นเงิน 105,749.33 บาท เมื อเทียบกับ จํา นวนอาจารย์ 8.1.6 ประจํา 10 คน คิดเป็ น 10,575 บาทต่อคน

140


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 8

การเงินและงบประมาณ

ชือตัวบ่ งชี : 8.1.7 ค่ า ใช้ จ่ า ยทั งหมดที ใช้ ในระบบห้ องสมุ ด คอมพิว เตอร์ และศู น ย์ ส ารสนเทศต่ อ นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ า ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

22,000 20,795 22,199 16,300 1- 4,499

ผลการประเมิน

2

3

4,500 – 6,999

> 7,000

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

0

0

3

สูตรการคํานวณ : ค่าใช้ จ่ายทังหมดทีใช้ ในระบบห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูน ย์สารสนเทศ ในปี งบประมาณนัน จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าในปี การศึกษานัน ผลการดําเนินงาน

เอกสารอ้ างอิง

ค่าใช้ จ่ายทังหมดทีวิท ยาลัยลงทุน ในระบบห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์

รายละเอียด ตามแบบฟอร์ มตัวบ่งชี ที 8.1.7

สารสนเทศ ในปี งบประมาณ 2550 เป็ นเงิน 2,223,202.19 บาท รวมกับ ค่าใช้ จ่ายทีจัดสรรจากมหาวิทยาลัยอีก 9,582,927.79 บาท รวมเป็ น เงิน ทังสิน 11,806,129.98 บาท เทียบกับนักศึกษาเต็มเวลาเที ยบเท่า 724.28 คน ค่าใช้ จ่ายระบบห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา เต็มเวลาเทียบเท่าเป็ นเงิน 16,300 บาทต่อคน

141


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 องค์ ประกอบที 8 การเงินและงบประมาณ ชือตัวบ่ งชี : 8.2 การใช้ ท รัพยากรภายในและภายนอกสถาบันร่ วมกัน ผลการดําเนิน งาน ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

4

4

4

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 อย่างน้ อย 3 ข้ อแรก ข้ อแรก 4 ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีคณะกรรมการวิเคราะห์ความต้ องการการใช้ ทรัพยากรของสถาบัน 2. มีผลการวิเคราะห์ ความต้ องการในการใช้ ทรัพยากรของสถาบัน 3. มีแผนการใช้ ทรัพยากรร่ วมกันกับหน่วยงานอืนในสถาบัน 4. มีแผนการใช้ ทรัพยากรร่ วมกันกับหน่วยงานอืนนอกสถาบัน 5. มีผลการประหยัดงบประมาณทีเกิดจากการใช้ ท รัพยากรร่ วมกับหน่วยงานอืน ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มีคณะกรรมการวิเคราะห์ ความต้ องการในการใช้ ทรัพยากรของ สถาบัน วิ ท ยาลัยได้ มี คํ า สังแต่ ง ตั งกรรมการบริ ห ารจัดการทรั พ ยากรของ คํา สังแต่งตังกรรมการบริ ห ารจัดการ วิท ยาลัย นวัตกรรม ซึงมีห น้ าที จัด ทํา แผนการใช้ ท รั พยากรและการ ทรัพยากร วิทยาลัยนวัตกรรม ลงวัน ที ประหยัดพลังงาน ซึงรวมถึงการจัดทําแผนการใช้ ท รั พยากรร่ วมกับ 18 มีน าคม 2551 หน่วยงานอืนด้วย 2. มีผลการวิเคราะห์ ความต้ องการในการใช้ ทรัพยากรของสถาบัน 3. มีแผนการใช้ ทรัพยากรร่ วมกับหน่ วยงานอืนในสถาบัน 4. มีแผนการใช้ ทรัพยากรร่ วมกับหน่ วยงานอืนนอกสถาบัน คณะกรรมการได้ จั ด ทํ า การศึก ษาวิ เ คราะห์ ผ ลความต้ อ งการใช้ รายงานผลการศึกษาและแผนการใช้ ทรัพยากรของวิท ยาลัย พร้ อมทังจัดทํ าแผนการใช้ ท รั พยากรร่ วมกับ ทรั พ ยากรร่ ว มกับ หน่ วยงานอื นของ วิทยาลัยนวัตกรรม หน่วยงานอืนเป็ นทีแล้วเสร็จ 5. มีผ ลการประหยั ด งบประมาณที เกิด ขึ นจากการใช้ ทรั พ ยากร ร่ วมกับหน่ วยงานอืนของสถาบัน ยังไม่มีการดําเนิน งาน

142

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 9 : ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ วิทยาลัยเห็นว่าระบบและกลไกในการประกันคุณภาพเป็ นปั จจัยสําคัญทีแสดงให้ เห็นถึง ศักยภาพและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบันซึงต้ อ งได้ รับการพัฒนา จึงมีนโยบายในการ จัดสรรทรัพ ยากรรวมถึงบุคลากรเพือมุ่ง เน้ น การพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพ โดยมี กิจกรรมการประกันคุณภาพทีสํ าคัญ อาทิ การปรับโครงสร้ างองค์กรให้ มีศูนย์วิจยั และประกันคุณภาพ การศึกษาทําหน้ าทีด้ านการประกันคุณภาพการศึกษาและสนับสนุน ให้ เกิดผลงานวิจยั ของวิท ยาลัย การจัดกิจกรรมหรื อโครงการเพือสนับสนุนงานประกันคุณภาพของวิท ยาลัย เช่น การจัดสัมมนาเชิง ปฏิ บ ัติ การเพื อให้ บุค ลากรภายในร่ ว มกัน จัดทํ า แผนพัฒ นาคุณภาพการศึกษา การจัดสัม มนาให้ นักศึกษาตระหนักถึงความสําคัญของงานประกันคุณภาพการศึกษาและผลสัมฤทธิทีต้องเกิดจากความ ร่ วมมือ ของนัก ศึกษา เป็ นต้ น การสนับ สนุนให้ มีก องทุน สํ าหรับนัก ศึกษาในการนํ า เสนอบทความ วิชาการยังต่างประเทศ การปรับปรุ งระเบียบและขันตอนดําเนินงานเพือสร้ างแรงจูงใจแก่อาจารย์ในการ ทํา งานวิจัย การจัด สรรงบประมาณเพือการพัฒ นาบุค ลากรของวิ ทยาลัย ทังสายวิช าการและสาย สนับสนุน ส่งผลให้ ผลงานด้ านคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยมีการพัฒนาขึนอย่างต่อเนือง วิทยาลัยได้ พจิ ารณาและประเมินผลการดําเนินการตามองค์ประกอบที 9 ระบบและกลไก การประกันคุณภาพ โดยมีผลการประเมินดังนี ตัวบ่ งชี

เกณฑ์

9.1 มีระบบและกลไกการประกัน คุณภาพภายในทีเป็ น ส่วนหนึ งของกระบวนการบริห ารการศึกษา 9.2 มีระบบและกลไกการให้ ความรู้ และทักษะด้ านการ ประกัน คุณภาพแก่น ักศึกษา 9.3 ระดับความสําเร็จของการประกัน คุณภาพ การศึกษาภายใน คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 9 สกอ. คะแนนเฉลียองค์ ประกอบที 9 ทังหมด

คะแนนประเมิน ตามเกณฑ์ เป้าหมาย พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5 5.00 5.00

โดยมีรายละเอียดการประเมินแยกตามตัวบ่งชี ดังต่อไปนี

143


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 9 ระบบและและกลไกการประกันคุณภาพ ชือตัวบ่ งชี : 9.1 มีระบบและกลไกการประกั น คุ ณภาพภายในที เป็ นส่ ว นหนึ งของกระบวนการบริห าร การศึกษา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 5

4

5

7

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 4 อย่างน้ อย 4 ข้ อแรก ข้ อแรก 5 ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที เหมาะสมกับ ระดับการพัฒนาของสถาบัน 2. มีการกําหนดนโยบายและให้ ความสําคัญเรื องการประกัน คุณภาพจากคณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริ หาร สูงสุดของสถาบัน ภายใต้ การมีสว่ นร่ วมจากภาคีทงภายใน ั และภายนอกสถาบัน 3. มีการกําหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี และเกณฑ์คณ ุ ภาพทีสอดคล้ องกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอืนๆ ทีเกียวข้ อง และสอดคล้ องกับ การประเมินคุณภาพภายนอก 4. มีการดําเนินงานด้ านการประกัน คุณภาพทีครบถ้ วน ทังการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมิน คุณภาพอย่างต่อเนืองเป็ นประจํา (อย่างน้ อย 3 ปี นบั รวมปี ทีมีการติดตาม) 5. มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน 6. มีระบบฐานข้ อมูลและสารสนเทศทีสนับ สนุนการประกัน คุณภาพการศึกษาและใช้ ร่วมกันทังระดับบุคคล ภาควิชา คณะ และสถาบัน 7. มีระบบส่งเสริ มการสร้ างเครื อข่ายด้ านการประกัน คุณภาพการศึกษาระหว่างหน่วยงานทังภายในและภายนอก สถาบัน ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มี ร ะบบและกลไกการประกั น คุณภาพการศึ กษาภาย ใน ที เหมาะสมกับระดับการพัฒนาของสถาบัน 2. มี ก ารกํ า หนดนโยบายและให้ ความสํ า คั ญ เรื องการประกั น คุณภาพจากคณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริห ารสูงสุดของ สถาบัน ภายใต้ การมี ส่ ว นร่ ว มจากภาคีทั งภายใน และภายนอก 1. โครงสร้ างการบริห ารงานของ สถาบัน วิทยาลัย มีการจัดโครงสร้ างการทํางานขององค์ ก ร โดยกําหนดให้ ฝ่ายวิจัยและ พัฒนาคุณภาพทําหน้ าทีทีเกียวข้ องกับ งานประกัน คุณภาพการศึกษา 2. ภาระงานของฝ่ ายวิจัยและพัฒนา คุณภาพ ภายใน ภายใต้ การกํากับดูแลของรองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิจยั 144


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3.

4.

5.

6.

ผลการดําเนินงาน มีการกําหนดมาตรฐาน ตัว บ่ งชี และเกณฑ์ คุ ณภาพทีสอดคล้ อ ง กับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอืนๆ ทีเกียวข้ อง และ สอดคล้ องกับการประเมินคุณภาพภายนอก กํ า ห น ดใช้ เกณฑ์มาตร ฐานตั ว บ่ งชี ซึ งกํ า ห น ดโดย สํ า นั กงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับ รองมาตรฐานและ ประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) สํา นักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ (กพร.) และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีก ารดํ าเนิน งานด้ านการประกั น คุ ณ ภาพที ครบถ้ ว น ทั งการ ควบคุ มคุ ณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมิน คุ ณภาพ อย่ างต่ อเนื องเป็ นประจํ า (อย่ า งน้ อย 3 ปี นั บรวมปี ที มีก าร ติดตาม) มีการดําเนิ นงานด้ านประกันคุณภาพอย่างต่อเนือง มีการนํ าผลการประกันคุ ณภาพมาพัฒนาปรับปรุ งการดําเนินงาน มี ก ารปรั บ ปรุ ง โครงสร้ างการทํ า งานของวิ ท ยาลัย ให้ มี ห น่ วยงาน รับ ผิดชอบ รวมถึง การจัดให้ มี การรายงานความก้ าวหน้ าของผลการ ดําเนิน งาน รวมถึงการจัดทําคูม่ ือประกอบการประกัน คุณภาพสําหรับ ส่วนงานต่างๆ ทีเกียวข้ อง มีระบบฐานข้ อมูลและสารสนเทศทีสนั บสนุ น การประกันคุ ณภาพ การศึก ษาและใช้ ร่ว มกัน ทั งระดับ บุค คล ภาควิช า คณะ และ สถาบัน มีการจัดทําระบบฐานข้ อมูล CIE Online โดยมีข้อมูลหลักด้ านการจัด การศึกษา ซึงสามารถใช้ ร่วมกันได้ ท ังวิท ยาลัย

เอกสารอ้ างอิง คู่มือและแบบฟอร์ มการจัดเก็บข้ อมูล ตามตัวบ่งชีคุณภาพระดับ คณะ/ หน่วยงานจัดการเรี ยนการสอน ประจําปี การศึกษา 2550 ของงาน ประกันคุณภาพ กองบริ การ มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์

รายงานประเมิน ตนเอง (SAR) ย้ อนหลังตังแต่ปี การศึกษา 2548

เอกสารคู่มือประกอบการดําเนิน งาน ของวิ ท ยาลั ยที จัด ทํ า ขึ น ระหว่ า งปี การศึกษา 2550

เอกสารคู่ มื อ ระบ บฐานข้ อมู ล ของ วิทยาลัยนวัตกรรม

7. มี ร ะบบส่ ง เสริม การสร้ างเครื อ ข่ า ยด้ านการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาระหว่ างหน่ วยงานทังภายในและภายนอกสถาบัน ได้ มีความร่ วมมือในการจัดทําเครื อข่ายนักวิจยั ระหว่างสถาบันซึงจะ ร่ วมกันพัฒนาและนําเสนอผลงานวิจยั ในสาขาวิชาที จัดการเรี ยนการ สอนใกล้ เคียงกัน โดยได้ มีการประชุมแล้ ว เมือวันที 23 เมษายน 2551 ณ ห้ องประชุม ชัน 4 วิทยาลัยนวัตกรรม มธ. ท่าพระจันทร์

145

รายงานการประชุมการสร้ างเครื อข่ าย นักวิจยั ระหว่างสถาบัน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 9 ระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพ ชือตัวบ่ งชี : 9.2 มีระบบและกลไกการให้ ความรู้และทักษะด้ านการประกัน คุณภาพแก่ นักศึกษา ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 6

-

-

7

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 4 อย่างน้ อย 4-5 ข้ อแรก ข้ อแรก 6 ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีระบบการให้ ความรู้ และทักษะการประกัน คุณภาพการศึกษาแก่นกั ศึกษา 2. มีระบบส่งเสริ มให้ นักศึกษานําความรู้ ด้านการประกัน คุณภาพไปใช้ กบั กิจกรรมนักศึกษา 3. มีกลไกให้ นกั ศึกษามีสว่ นร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบัน 4. นักศึกษามี การใช้ กระบวนการคุณภาพในการพัฒนาคุณภาพของกิจกรรมหรื อโครงการนักศึกษา 5. นักศึกษาสร้ างเครื อข่ายการพัฒนาคุณภาพภายในสถาบัน และระหว่างสถาบัน 6. มีระบบติดตามประเมิน ผลการประกัน คุณภาพในกิจกรรมทีนักศึกษาดําเนิน การ และในส่วนทีนักศึกษามี สว่ น ร่ วมกับ การประกันคุณภาพของสถาบัน 7. มีการนําผลการประเมิน ไปพัฒนากระบวนการให้ ความรู้ และกลไกการดําเนินงานประกันคุณภาพทีเกียวข้ องกับ นักศึกษาอย่างต่อเนือง ผลการดําเนินงาน 1. มีระบบการให้ ความรู้และทักษะการประกั น คุ ณภาพการศึก ษาแก่ นักศึกษา

เอกสารอ้ างอิง

จัด ให้ มี ก ารประชุม ระหว่ า งรองคณบดีฝ่ ายวางแผนและวิ จั ย และ รายงานการประชุมการให้ ความรู้ และ นัก ศึ ก ษาปั จ จุบ ั น เพื อให้ ความรู้ และทั ก ษะการประกัน คุณ ภาพแก่ ทักษะการประกันคุณภาพการศึกษา นักศึกษา รวมทังแลกเปลียนความคิดเห็ น เพือการพัฒนาสถาบัน โดย จัดการประชุมเมือวันที 28 กุมภาพัน ธ์ 2551 ณ โรงแรมตรัง 2. มีระบบส่ งเสริมให้ นักศึกษานําความรู้ ด้านการประกั น คุ ณภาพไป ใช้ กับกิจกรรมนั กศึกษา มี ก ารจัด ทํ า เอกสารคู่มื อ การประเมิ น ผลกิจ กรรมนั กศึก ษาภายใต้ คู่มือการประเมินผลกิจกรรมนักศึกษา แนวคิดด้ านการประกันคุณภาพ

146


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3.

4. 5. 6.

7.

ผลการดําเนินงาน มีกลไกให้ นั ก ศึกษามี ส่ วนร่ ว มในการประกัน คุ ณภาพการศึก ษา ของสถาบัน การประชุมตามข้ อ 1 ได้ เปิ ดโอกาสให้ นักศึกษาได้ แสดงความคิดเห็น ซึง วิทยาลัยจะได้ นํามาเป็ นข้ อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาสถาบัน ต่อไป นักศึกษามีการใช้ กระบวนการคุณภาพในการพัฒนาคุณภาพของ กิจกรรมหรือโครงการนั กศึกษา นั กศึก ษาสร้ างเครือ ข่ ายการพั ฒนาคุณภาพภายในสถาบัน และ ระหว่ างสถาบัน มี ร ะบบติด ตามประเมิน ผลการประกั น คุ ณ ภาพในกิจ กรรมที นั กศึก ษาดําเนิน การ และในส่ ว นที นั ก ศึ กษามีส่ วนร่ ว มกั บการ ประกันคุ ณภาพของสถาบัน นักศึกษามี การประเมิน ผลโครงการกิจกรรมนักศึกษา ซึงได้ มีกิจกรรม นักศึกษาที ได้ ร่วมจัดกับ สถาบันการศึกษาอืนด้ วย ตามแนวทางในคู่มือ การประเมิ น ผลที วิ ท ยาลัย จั ด ทํ า ให้ ซึ งมีก ารระบุ ก ระบวนการจั ด โครงการ/กิ จ กรรมตามกระบวนการคุณ ภาพ การประเมิ น ผล และ ข้ อเสนอแนะ มี ก ารนํ า ผลการประเมิน ไปพั ฒ นากระบวนการให้ ค วามรู้ แ ละ กลไกการดําเนินงานประกันคุ ณภาพที เกียวข้ องกับนักศึกษาอย่ าง ต่ อเนือง มี ก ารนํ า ผลการประชุ ม ที ได้ จากข้ อ 1 เพื อปรั บ ปรุ งและ พั ฒ นา กระบวนการประกันคุณภาพทีเกียวข้ องกับ นักศึกษา และคาดว่าจะทํา รู ปแบบการประเมิ นผลกิจกรรมนักศึกษาสํา หรั บ ปี การศึกษา 2551 ใน รู ปแบบโปรแกรมสําเร็จรู ป

147

เอกสารอ้ างอิง

รายงานการประชุมตามข้ อ 1

การรายงานผลของนั ก ศึ ก ษาตาม เอกสารคู่มือการประเมิน ผลกิจ กรรม นักศึกษา

รายงานการประชุมตามข้อ 1


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที 9 ระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพ ชือตัวบ่ งชี : 9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุ ณภาพการศึกษาภายใน ผลการดําเนิน งาน ผลดําเนินงานปี การศึกษา เป้าหมาย (แผน) 2548 2549 2550 4

4

4

5

เกณฑ์ การให้ คะแนน 1

2

ผลการประเมิน 3

ดําเนิน การ ดําเนิน การ ดําเนิน การ ไม่ครบ 3 อย่างน้ อย 3 ข้ อแรก ข้ อแรก 4 ข้ อแรก

เทียบ เที ยบ เที ยบ รวม เกณฑ์ แผน พัฒนาการ คะแนน

3

1

1

5

เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะและสถาบันอย่างต่อเนือง 2. มีการปรับปรุ งระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคล้ องกับพันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน 3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในต่อหน่วยงานทีเกียวข้ องและสาธารณชนภายในเวลาที กําหนด 4. มีการนําผลการประเมิน ไปใช้ ในการปรับ ปรุ งการดําเนินงานของหน่วยงานอย่างต่อเนือง 5. มีน วัตกรรมด้ านการประกันคุณภาพทีหน่วยงานพัฒนาขึน หรื อมีการจัดทําแนวปฏิบตั ทิ ีดี เพือการเป็ นแหล่ง อ้ างอิงให้ กบั หน่วยงานและสถาบัน อืน ๆ ผลการดําเนินงาน เอกสารอ้ างอิง 1. มี ก ารดํ า เ นิน การตามระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาภายในระดับคณะและสถาบัน อย่ างต่ อเนือง 2. มีก ารปรับ ปรุ งระบบประกั น คุ ณ ภาพภายในโดยสอดคล้ อ งกั บ พันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน วิทยาลัยมีการดําเนิน งานตามระบบและกลไกการประกัน คุณภาพอย่าง รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ต่อเนื อง มากกว่า 3 ปี และได้มีการปรั บ ปรุ งระบบการประกัน คุณภาพ ประจําปี การศึกษา 2550 ให้ เป็ นส่วนหนึงของการทํางานประจําของวิท ยาลัย มีการจัดโครงสร้ าง การทํางานทีเอือต่อการประกันคุณภาพ และได้ มีการจัดทํ าแผนกลยุท ธ์ แผนปฏิ บ ัติงานประจําปี ทีสอดคล้ องกับ แนวทางการประกัน คุณภาพ สําหรับ การประกันคุณภาพปี การศึกษา 2550 ก็จดั ทําตามรู ปแบบทีงาน ประกัน คุณภาพการศึกษา กองบริ การการศึกษาของมหาวิทยาลัยเป็ นผู้ กําหนด

148


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

3. 1. 2. 3. 4.

5.

ผลการดําเนินงาน มี ก ารรายงานผลการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในต่ อ หน่ วยงานทีเกียวข้ องและสาธารณชนภายในเวลาทีกําหนด รายงานผลการประกัน คุณภาพต่อคณะกรรมการอํานวยการวิท ยาลัย รายงานต่อ มหาวิ ท ยาลัย และคณะกรรมการที มหาวิ ท ยาลัย ให้ เป็ น ผู้ตรวจสอบผลการประกัน คุณภาพของวิทยาลัย นําเสนอต่อสาธารณชนผ่านทาง Website ของวิท ยาลัย มีการนํ าผลการประเมินไปใช้ ในการปรับปรุ ง การดําเนิน งานของ หน่ วยงานอย่ างต่ อเนือง การประชุ ม เชิง ปฏิ บั ติ ก ารเพือการประกั น คุณ ภาพการศึก ษาของ วิทยาลัย ประจําปี การศึกษา 2550 ได้ มีการนําเสนอข้ อมูลตามตัวบ่งชี คุณภาพในปี การศึกษา 2549 ประกอบการพิจารณาเพือปรับ ปรุ งและ วางแผนงานกิ จกรรมประกัน คุณ ภาพ รวมถึ งวิ ธี การดํา เนิ น งานเพือ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยต่อไปด้ วย มีนวัตกรรมด้ านการประกัน คุณภาพทีหน่ วยงานพัฒนาขึ น หรือมี การจั ด ทํ า แนวปฏิบั ติที ดี เพื อการเป็ นแหล่ ง อ้ างอิง ให้ กั บ หน่ วยงานและสถาบันอืน ๆ การจั ด ทํ า เอกสารคู่มื อ ประกอบการประกัน คุ ณ ภาพที ช่ ว ยให้ ผู้ ที เกียวข้ องมีความตระหนักและรับ ทราบแนวทางการบริห ารการศึกษา ของสถาบั น เช่น คู่มืออาจารย์ คู่มือการประเมิน ผลกิจกรรมนักศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพ เป็ นต้ น

149

เอกสารอ้ างอิง

รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจําปี การศึกษา 2550

เอกสารประกอบการประชุมเชิง ปฏิบตั ิการเพือการประกัน คุณภาพ การศึกษา วันที 21-23 มกราคม 2551

1. คู่มืออาจารย์ 2. คู่มอื การประเมิน ผลกิจกรรม นักศึกษาตามแนวทางการประกัน คุณภาพ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

150


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

บทที่ 3 สรุ ปผลการประเมิน 1. สรุ ปผลการประเมิน ผลการประเมินคุณภาพของวิทยาลัยประจําปี การศึกษา 2550 ตามองค์ประกอบคุณภาพ ทัง้ 9 ด้ าน สรุปได้ ดงั นี ้ องค์ ประกอบ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ การเรี ยนการสอน กิจกรรมการพัฒนานิสติ นักศึกษา การวิจยั การบริ การทางวิชาการแก่สงั คม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การบริ หารและการจัดการ การเงินและงบประมาณ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยทัง้ 9 องค์ ประกอบ

ผลการประเมิน ตัวชีว้ ัด สกอ. ตัวชีว้ ัดทัง้ หมด 4.50 4.67 4.20 3.88 5.00 5.00 4.17 3.38 4.50 4.60 5.00 5.00 4.45 4.18 5.00 3.22 5.00 5.00 4.65 4.33

โดยสามารถแสดงผลการดํ า เนิ น งานและผลการประเมิ น แยกตามรายตั ว บ่ ง ชี ้ ได้ ดงั ต่อไปนี ้

151


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ ตัวบ่ งชี ้ 1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรื อปณิธาน ตลอดจนมี กระบวนการพัฒนากลยุทธ์ แผนการดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบ่งชี ้เพื่อวัดความสําเร็จของ การดําเนินงานตามแผนให้ ครบทุกภารกิจ 1.1.1 มีการกําหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1.2 ร้ อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี ้ของ การปฏิบตั ิงานที่กําหนด คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 1 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 1 ทัง้ หมด

ผลการ ดําเนินงาน

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

ครบทัง้ 7 ขันตอน ้

3

1

1

5

ครบทัง้ 5 ขันตอน ้

3

1

1

5

80

2

1

1

4

4.50 4.67

องค์ ประกอบที่ 2 การเรี ยนการสอน ตัวบ่ งชี ้ 2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหาร หลักสูตร 2.1.1 ร้ อยละบัณฑิตระดับปริญญาตรี ที่ได้ งานทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา 2.1.2 ร้ อยละบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริญญาโทที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ตอ่ จํานวน วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโททังหมด ้ 2.1.3 ร้ อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ตอ่ จํานวน วิทยานิพนธ์ปริ ญญาเอกทังหมด ้ 2.1.4 ร้ อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อ หลักสูตรทังหมด ้ 2.2 มีกระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ

ผลการ ดําเนินงาน

ครบทัง้ 7 ขันตอน ้ 31.25

-

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี 1

1

1

3

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาเอก

100

3

1

1

5

ครบทัง้ 7 ขันตอน ้

3

1

1

5

152


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้

ผลการ ดําเนินงาน

2.2.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ คุณภาพการสอนของอาจารย์และสิง่ 4.07 สนับสนุนการเรี ยนรู้ 2.3 มีโครงการหรื อกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนา ครบทัง้ 5 หลักสูตรและการเรี ยนการสอนซึง่ บุคคล ขันตอน ้ องค์กร และชุมชนภายนอกมีสว่ นร่วม 2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจํานวน 72.43 อาจารย์ประจํา 2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจําที่มีวฒ ุ ิปริญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอกหรื อเทียบเท่าต่อ 45.45 อาจารย์ประจํา 2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจําที่ดํารงตําแหน่ง 13.63 อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ 2.7 มีกระบวนการส่งเสริมการปฏิบตั ิตาม ครบทัง้ 5 จรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ ขันตอน ้ 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนให้ อาจารย์ประจํา ได้ 3 จาก 5 ทําการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน ขันตอน ้ 2.9 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ที่ได้ งานทํา และประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 2.10 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ที่ได้ รับ เงินเดือนเริ่มต้ นเป็ นไปตามเกณฑ์ 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจ้ าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้ บณ ั ฑิต 2.12 ร้ อยละของนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์ เก่าที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผา่ น 0.47 (ได้ มาที่ได้ รับการประกาศเกียรติคณ ุ ยก ประกาศฯ) ย่อง ในด้ านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม 0.28 (ด้ าน จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและ วิจยั ) วัฒนธรรม และด้ านสิง่ แวดล้ อมใน ระดับชาติหรื อนานาชาติ 153

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

1

1

5

1

1

1

3

2

1

1

4

1

1

0

2

3

1

1

5

2

1

1

4

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

3

1

1

5


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้ 2.12.1 จํานวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการ ของนักศึกษาที่ได้ รับรางวัลในระดับชาติ หรื อระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปี ที่ ผ่านมา 2.13 ร้ อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตร บัณฑิตศึกษาซึง่ มีคณ ุ สมบัติเป็ นที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ที่ทําหน้ าที่อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ 2.14 อัตราการแข่งขันสอบเข้ า มธ. (ปริญญาตรี ) 2.15 ค่าระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่สอบ เข้ า มธ. ได้ (ปริ ญญาตรี ) 2.16 ร้ อยละของนักศึกษาที่ได้ รับการจัด ระดับวิชาภาษาอังกฤษพื ้นฐาน (PT) ตังแต่ ้ สษ.172 ขึ ้นไป 2.17 ร้ อยละของนักศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษาที่สอบผ่าน TU-GET (ไม่ตํ่ากว่า 550 คะแนน) 2.18 ผู้สําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่ หลักสูตรกําหนด (ปริ ญญาตรี /บัณฑิต) 2.19 จํานวนชัว่ โมงสอนของอาจารย์ตอ่ คน ต่อปี คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 2 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 2 ทัง้ หมด

คะแนนประเมินตามเกณฑ์

ผลการ ดําเนินงาน

เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

3

1

1

1

3

80

2

1

1

4

-

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

-

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

-

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

-

ยกเลิก - ไม่ประเมินในปี การศึกษานี ้

65.38

2

0

0

2

94.80

1

0

1

2

4.20 3.88

154


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ตัวบ่ งชี ้ 3.1 มีการจัดบริการแก่นกั ศึกษาและศิษย์เก่า 3.2 มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้ วนและ สอดคล้ องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ 3.2.1 ร้ อยละของนักศึกษาที่เข้ าร่วมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษาต่อจํานวน นักศึกษา (ปริญญาตรี ) ทังหมด ้ คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 3 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 3 ทัง้ หมด

ผลการ ดําเนินงาน

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

ครบทัง้ 8 ขันตอน ้

3

1

1

5

ครบทัง้ 4 ขันตอน ้

3

1

1

5

-

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

5.00 5.00

องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่ งชี ้ 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุน การผลิตงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรู้จากงานวิจยั และ งานสร้ างสรรค์ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ภายในและภายนอกสถาบันต่อจํานวนอาจารย์ ประจํา 4.3.1 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับทุนทํา วิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายใน สถาบันต่อจํานวนอาจารย์ประจํา 4.3.2 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับทุนทํา วิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายนอก สถาบันต่อจํานวนอาจารย์ประจํา

ผลการ ดําเนินงาน

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

1

1

5

1,007,272

3

1

1

5

9.09

1

0

0

1

22.72

1

0

0

1

ครบทัง้ 6 ขันตอน ้ ได้ 4 จาก 5 ขันตอน ้

155


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้ 4.4 ร้ อยละของงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ได้ รับการจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญา หรื ออนุสทิ ธิบตั ร หรื อนําไปใช้ ประโยชน์ ทังในระดั ้ บชาติ และระดับนานาชาติ ต่อจํานวน อาจารย์ประจํา 4.5 ร้ อยละของบทความวิจยั ที่ได้ รับการอ้ างอิง (Citation) ใน Refereed Journal หรื อใน ฐานข้ อมูลระดับชาติหรื อระดับนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา 4.6 ผลงานทางวิชาการต่ออาจารย์ประจําทุกระดับ คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 4 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 4 ทัง้ หมด

คะแนนประเมินตามเกณฑ์

ผลการ ดําเนินงาน

เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

127.27

3

1

1

5

0

0

0

0

0

1.45

3

1

1

5

5.00 4.13

องค์ ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่ สังคม ตัวบ่ งชี ้ 5.1 มีระบบและกลไกในการบริ การวิชาการแก่สงั คม ตามเป้าหมายของสถาบัน 5.1.1 มีการนําความรู้และประสบการณ์จาก การบริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ใน การพัฒนาการเรี ยนการสอน และการ วิจยั 5.2 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่มีสว่ นร่วมในการ ให้ บริการทางวิชาการแก่สงั คม เป็ นที่ปรึกษา เป็ นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็ น กรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติหรื อระดับนานาชาติต่ออาจารย์ ประจํา

ผลการ ดําเนินงาน

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

ครบทัง้ 7 ขันตอน ้

3

1

1

5

ครบทัง้ 5 ขันตอน ้

3

1

1

5

36.84

3

1

1

5

156


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้

คะแนนประเมินตามเกณฑ์

ผลการ ดําเนินงาน

เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

170

3

1

0

4

80.5

2

1

1

4

5.3 ร้ อยละของกิจกรรมหรื อโครงการบริการวิชาการ และวิชาชีพที่ตอบสนองความต้ องการพัฒนา และเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา 5.4 ร้ อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 5 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 5 ทัง้ หมด

4.50 4.60

องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่ งชี ้

ผลการ ดําเนินงาน

6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุง ได้ 4 จาก 6 ศิลปวัฒนธรรม ขันตอน ้ 6.1.1 ร้ อยละของโครงการ/กิจกรรมในการ อนุรักษ์ พัฒนา และสร้ างเสริม เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อ จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าระดับ ปริญญาตรี คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 6 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 6 ทัง้ หมด

157

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

5.00 5.00


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่ งชี ้

ผลการ ดําเนินงาน

7.1 สภาสถาบันใช้ หลักธรรมมาภิบาลในการบริ หาร จัดการและสามารถผลักดันสถาบันให้ แข่งขันได้ ในระดับสากล

ครบทัง้ 5 ขันตอน ้

7.2 ภาวะผู้นําของผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน 7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูอ่ งค์การเรี ยนรู้

ครบทัง้ 4 ขันตอน ้ ครบทัง้ 5 ขันตอน ้

7.4 มีระบบและกลไกในการบริ หารทรัพยากรบุคคล ครบทัง้ 6 เพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว้ ให้ บคุ ลากรมี ขันตอน ้ คุณภาพและประสิทธิภาพ 7.4.1 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่เข้ าร่วม 25 ประชุมวิชาการ และ/หรื อนําเสนอผลงาน วิชาการทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ 7.4.2 ร้ อยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุน ที่ได้ รับการพัฒนาความรู้ และทักษะใน 100 วิชาชีพทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้ อมูลเพื่อการบริหาร ได้ 5 จาก 6 การเรี ยนการสอน และการวิจยั ขันตอน ้ 7.6 ระดับความสําเร็ จของการเปิ ดโอกาสให้ บคุ คล ครบทัง้ 5 เข้ ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนา ขันตอน ้ สถาบันอุดมศึกษา 7.7 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับรางวัลผลงาน 0 ทางวิชาการหรื อวิชาชีพในระดับชาติหรื อ นานาชาติ 7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ ใน ครบทัง้ 5 กระบวนการบริ หารการศึกษา ขันตอน ้ 7.9 ระดับความสําเร็ จของการถ่ายทอดตัวบ่งชี ้และ ครบทัง้ 8 เป้าหมายของระดับองค์กรสูร่ ะดับบุคคล ขันตอน ้ คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 7 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 7 ทัง้ หมด 158

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5

1

0

0

1

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5

0

0

0

0

3

1

1

5

3

1

1

5 4.45 4.27


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่ งชี ้

ผลการ ดําเนินงาน

8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ ครบทัง้ 7 ค่าใช้ จ่าย การตรวจสอบการเงิน และ ขันตอน ้ งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ 8.1.1 ค่าใช้ จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการ บริ การวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมต่อ 280,045 อาจารย์ประจํา 8.1.2 ร้ อยละของค่าใช้ จ่ายและมูลค่าที่ใช้ ใน การอนุรักษ์ พัฒนาและสร้ างเสริ ม 0.04 เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อ งบดําเนินการ 8.1.3 สินทรัพย์ถาวรต่อนักศึกษาเต็มเวลา 310,879 เทียบเท่า 8.1.4 ค่าใช้ จ่ายทังหมดต่ ้ อนักศึกษาเต็มเวลา 91,206 เทียบเท่า 8.1.5 ร้ อยละของเงินเหลือสุทธิตอ่ 26.08 งบดําเนินการ 8.1.6 งบประมาณสําหรับการพัฒนา 10,575 คณาจารย์ทงในประเทศและ ั้ ต่างประเทศต่ออาจารย์ประจํา 8.1.7 ค่าใช้ จ่ายทังหมดที ้ ่ใช้ ในระบบห้ องสมุด 16,300 คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อ นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า 8.2 การใช้ ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบัน ได้ 4 จาก 5 ร่วมกัน ขันตอน ้ คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 8 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 8 ทัง้ หมด

159

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

0

0

3

1

0

0

1

3

1

1

5

1

0

0

1

2

1

1

4

2

0

0

2

3

0

0

3

3

1

1

5

5.00 3.22


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่ งชี ้ 9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่ เป็ นส่วนหนึง่ ของกระบวนการบริหารการศึกษา 9.2 มีระบบและกลไกการให้ ความรู้และทักษะด้ าน การประกันคุณภาพแก่นกั ศึกษา 9.3 ระดับความสําเร็ จของการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 9 สกอ. คะแนนเฉลี่ยองค์ ประกอบที่ 9 ทัง้ หมด

ผลการ ดําเนินงาน

ครบทัง้ 7 ขันตอน ้ ครบทัง้ 7 ขันตอน ้ ครบทัง้ 5 ขันตอน ้

คะแนนประเมินตามเกณฑ์ เกณฑ์

เป้าหมาย

พัฒนาการ

รวม

3

1

1

5

3

1

1

5

3

1

1

5

5.00 5.00

160


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ภาคผนวก 1 ข้ อมูลพืน้ ฐาน ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ตัวบ่ งชี ้ ของคณะ

รายการ

หน่ วย

จํานวนตัวบ่งชี ้ของแผนปฏิบตั ิงานประจําปี งบประมาณทังหมด ้

(ตัวบ่งชี ้)

1.2

10

(ตัวบ่งชี ้)

1.2

8

(หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร)

2.1,2.1.4 2.1,2.1.4 2.1,2.1.4 2.1,2.1.5 2.1,2.1.4 2.1,2.1.4 2.1,2.1.4

3 0 0 0 3 3 0

(หลักสูตร)

2.1,2.1.4

3

(หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร)

2.1,2.1.4 2.1,2.1.4 2.1,2.1.4 2.1,2.1.4

0 0 3 0

(หลักสูตร)

2.1

3

(หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร)

2.1 2.1 2.1

3 0 3

(หลักสูตร) (หลักสูตร)

2.1 2.1

3 0

องค์ ประกอบที่ 1 จํานวนตัวบ่งชี ้ของแผนปฏิบตั ิงานประจําปี งบประมาณที่บรรลุ เป้าหมาย องค์ ประกอบที่ 2 จํานวนหลักสูตร ที่เปิ ดสอนทังหมด ้ ระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาโท (แผน ก ) ระดับปริญญาโท (แผน ข ) ระดับปริญญาเอก จํานวนหลักสูตรที่มีจํานวนและคุณวุฒิอาจารย์เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 และแนวปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ อง ระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก จํานวนหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ที่อาจารย์มีภาระงานที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ และการค้ นคว้ าอิสระ เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตร ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก จํานวนหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ที่นกั ศึกษาปฏิบตั ิตามเกณฑ์ สําเร็จการศึกษา ครบถ้ วนตามที่ระบุในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก 161


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายการ

หน่ วย

จํานวนบัณฑิต ปริ ญญาตรี ที่ได้ งานทํา ตรงสาขาที่สําเร็จ การศึกษา จํานวนวิทยานิพนธ์ทงหมด ั้ ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก จํานวนบทความจากวิทยานิพนธ์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้เรี ยนในเรื่ อง คุณภาพการ สอน และสิ่งสนับสนุนการเรี ยนรู้ (เทียบจากค่า 5 ระดับ) เฉลี่ย ทุกหลักสูตร ระดับประกาศนียบัตร (ภาคปกติ) ระดับประกาศนียบัตร (ภาคพิเศษ) ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ) ระดับปริญญาตรี (ภาคพิเศษ) ระดับปริญญาโท (ภาคปกติ) ระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ) ระดับปริญญาเอก (ภาคปกติ) ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ) จํานวนหลักสูตรที่จดั ทําขึ ้นใหม่หรื อที่ปรับปรุง และจํานวน หลักสูตรที่ยงั ไม่มีการปรับปรุง ซึง่ มีโครงการหรื อกิจกรรมที่ บุคคล ชุมชน องค์กร ภายนอกมีสว่ นร่วม ระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั ทังหมดทุ ้ กระดับการศึกษา ระดับประกาศนียบัตร (ภาคปกติ) ระดับประกาศนียบัตร (ภาคพิเศษ) ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ)

162

ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ของคณะ ตัวบ่ งชี ้

(คน)

2.1,2.1.1

0

(จํานวน) (จํานวน) (จํานวน) (จํานวน) (จํานวน) (จํานวน)

2.1.2,2.1.3 2.1.2 2.1.3 2.1.2,2.1.3 2.1.2 2.1.3

16 16 0 5 5 0

(ค่าเฉลี่ย 1-5)

2.2,2.2.1

4.07

(ค่าเฉลี่ย 1-5) (ค่าเฉลี่ย 1-5) (ค่าเฉลี่ย 1-5) (ค่าเฉลี่ย 1-5) (ค่าเฉลี่ย 1-5) (ค่าเฉลี่ย 1-5) (ค่าเฉลี่ย 1-5) (ค่าเฉลี่ย 1-5)

2.2,2.2.1 2.2,2.2.1 2.2,2.2.1 2.2,2.2.1 2.2,2.2.1 2.2,2.2.1 2.2,2.2.1 2.2,2.2.1

0 0 0 0.00 0 4.07 0 0

(หลักสูตร)

2.3

3

(หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร) (หลักสูตร) (คน) (คน) (คน) (คน)

2.3 2.3 2.3 2.3 2.12 2.12 2.12 2.12

0 0 3 0 410 0 0 0


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายการ

หน่ วย

ระดับปริญญาตรี (ภาคพิเศษ) ระดับปริญญาโท (ภาคปกติ) ระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ) ระดับปริญญาเอก (ภาคปกติ) ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ)

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) รวมทุกหลักสูตร

(FTES)

ระดับประกาศนียบัตร (ภาคปกติ)

(FTES)

ระดับประกาศนียบัตร (ภาคพิเศษ)

(FTES)

ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ)

(FTES)

ระดับปริญญาตรี (ภาคพิเศษ)

(FTES)

ระดับปริญญาโท (ภาคปกติ)

(FTES)

ระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ)

(FTES)

ระดับปริญญาเอก (ภาคปกติ)

(FTES)

ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ)

(FTES)

จํานวนอาจารย์ประจําที่ปฏิบตั ิงานจริง

(คน)

จํานวนอาจารย์ประจําทังหมด ้ รวมทังที ้ ่ปฏิบตั ิงานจริงและลา ศึกษาต่อ

(คน)

163

ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ของคณะ ตัวบ่ งชี ้ 2.12 0 2.12 410 2.12 0 2.12 0 2.12 0 2.4,8.1.3, 724.28 8.1.4,8.1.7 2.4,8.1.3, 0.00 8.1.4,8.1.7 2.4,8.1.3, 0.00 8.1.4,8.1.7 2.4,6.1.1, 8.1.3,8.1.4, 0.00 8.1.7 2.4,8.1.3, 0.00 8.1.4,8.1.7 2.4,8.1.3, 0.00 8.1.4,8.1.7 2.4,8.1.3, 724.28 8.1.4,8.1.7 2.4,8.1.3, 0.0 8.1.4,8.1.7 2.4,8.1.3, 0 8.1.4,8.1.7 2.4,2.19,4.3, 4.3.1,4.3.2,4 10 .4,4.6,5.3 2.5,2.6,4.5, 5.2,7.7,7.10, 11 8.1.4


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายการ

หน่ วย

จํานวนอาจารย์ประจําที่ลาศึกษาต่อ จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดวุ ้ ฒิ ปริญญาตรี หรื อเทียบเท่า จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดวุ ้ ฒิ ปริญญาโทหรื อเทียบเท่า จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดวุ ้ ฒิ ปริญญาเอกหรื อเทียบเท่า จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดที ้ ่ไม่มีตําแหน่งวิชาการ จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดที ้ ่มีตําแหน่ง ผศ จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดที ้ ่มีตําแหน่ง รศ จํานวนอาจารย์ประจําทังหมดที ้ ่มีตําแหน่ง ศ จํานวนอาจารย์ประจําระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีคณ ุ สมบัติ ครบถ้ วน ที่จะเป็ นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (เฉพาะที่ ปฏิบตั ิงานจริง) จํานวนอาจารย์ประจําระดับบัณฑิตศึกษา ที่ทําหน้ าที่เป็ นที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ จํานวนผลงานวิจยั และ/หรื อนวัตกรรมการเรี ยนการสอนของ คณาจารย์ จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรี ที่ตอบแบบสํารวจเรื่ องการมี งานทํา (ให้ วงเล็บจํานวนบัณฑิตทังหมดด้ ้ วย) จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรี ที่ไม่มีงานทําประจําก่อนเข้ า ศึกษา จํานวนบัณฑิตปริญญาตรี ที่ศกึ ษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา จํานวนบัณฑิตปริญญาตรี ที่ไม่มีงานทําประจําก่อนเข้ าศึกษา และได้ งานทําและประกอบอาชีพอิสระ หลังสําเร็จการศึกษา จํานวนบัณฑิตปริญญาตรี ที่ไม่มีงานทําประจําก่อนเข้ าศึกษา และได้ รับเงินเดือนเริ่มต้ น เป็ นไปตามเกณฑ์ หลังสําเร็จ การศึกษา จํานวนบัณฑิตปริญญาตรี ที่ไม่มีงานทําประจําก่อนเข้ าศึกษา และได้ รับเงินเดือนเริ่มต้ น สูงกว่าเกณฑ์ หลังสําเร็จการศึกษา จํานวนบัณฑิตปริญญาตรี ที่ไม่มีงานทําประจําก่อนเข้ าศึกษา และได้ รับเงินเดือนเริ่มต้ น ตํ่ากว่าเกณฑ์ หลังสําเร็จการศึกษา

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

164

ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ของคณะ ตัวบ่ งชี ้ 1 2.5 0 2.5 6.0 2.5 5.0 2.6 10.0 2.6 1 2.6 0 2.6 0.0

(คน)

2.13

5

(คน)

2.13

4

(ชื่อเรื่ อง)

2.8

0

(คน)

2.9

0 (0)

(คน)

2.9

0

(คน)

2.9

0

(คน)

0

(คน)

0

(คน) (คน)

2.1

0 0


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายการ

หน่ วย

ระดับความพึงพอใจ ของนายจ้ าง ผู้ประกอบการและผู้ใช้ บัณฑิต (เทียบจากค่า 5 ระดับ) จํานวนนักศึกษา ปั จจุบนั และศิษย์เก่าที่สําเร็จการศึกษาใน รอบ 5 ปี ที่ผา่ นมาทังหมดทุ ้ กระดับการศึกษาที่ได้ รับ รางวัล ประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่องระดับชาติหรื อนานาชาติ ด้ านวิชาการ/วิชาชีพ ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ด้ านกีฬา สุขภาพ ด้ านศิลปะและวัฒนธรรม ด้ านสิง่ แวดล้ อม ด้ านอื่นๆ จํานวนนักศึกษา บัณฑิตศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าระดับ บัณฑิตศึกษาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมาทังหมดที ้ ่ ได้ รับ รางวัลประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่องระดับชาติหรื อ นานาชาติจากผลงานวิจยั และ/หรื อวิทยานิพนธ์ จํานวนศิษย์เก่าที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมาทังหมด ้ ทุกระดับการศึกษา ระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก จํานวนรางวัลประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่อง ที่นกั ศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าทังหมดทุ ้ กระดับการศึกษา ที่ได้ รับในระดับชาติ หรื อนานาชาติ ด้ านวิชาการ/วิชาชีพ ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ด้ านกีฬา สุขภาพ ด้ านศิลปะและวัฒนธรรม ด้ านสิง่ แวดล้ อม

165

ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ของคณะ ตัวบ่ งชี ้

(ค่าเฉลี่ย 1-5)

2.11

0.00

(คน)

2.12

5

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

2.12 2.12 2.12 2.12 2.12 2.12

4 1 0 0 0 0

(คน)

2.12

3

(คน)

2.12

651

(คน) (คน) (คน) (คน)

2.12 2.12 2.12 2.12

0 0 651 0

(รางวัล)

2.12.1

5

(รางวัล) (รางวัล) (รางวัล) (รางวัล) (รางวัล)

2.12.1 2.12.1 2.12.1 2.12.1 2.12.1

4 1 0 0 0


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายการ

หน่ วย

จํานวนผู้สมัครเข้ าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สอบผ่านสกอ.(Admission) สอบคัดเลือกของหน่วยงาน (สอบคัดเลือกตรง) จํานวนผู้มีสิทธิเข้ าศึกษาระดับปริญญาตรี สอบผ่านสกอ.(Admission) สอบคัดเลือกของหน่วยงาน (สอบคัดเลือกตรง) จํานวนนักศึกษาที่ขึ ้นทะเบียนเป็ นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ค่าเฉลี่ยสะสม (GPA) ของนักศึกษาปริญญาตรี (GPA จาก สถานศึกษาเดิม) จํานวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาที่ได้ รับการยกเว้ น (Exempted) ภาษาอังกฤษพื ้นฐาน (PT) สษ.172 จํานวนนักศึกษาที่ได้ รับการจัดระดับ (PT) สษ.172 ขึ ้นไป จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตร กําหนด ระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก จํานวนนักศึกษาที่ขึ ้นทะเบียนเป็ นนักศึกษาใหม่รุ่นเดียวกับ นักศึกษาที่สําเร็ จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก จํานวนชัว่ โมงที่อาจารย์ใช้ สอนในปี การศึกษานัน้

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

166

ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ของคณะ ตัวบ่ งชี ้ 2.14 0 2.14 0 2.14 0 2.14 0 2.14 0 2.14 0 2.15 0

(ค่าเฉลี่ย1-4)

2.15

0.00

(คน)

2.16

0

(คน)

2.16

0

(คน)

2.16

0

(คน)

2.18

0

(คน) (คน) (คน) (คน)

2.18 2.18 2.18 2.18

0 0 136 0

2.18

0

2.18 2.18 2.18 2.18 2.19

0 0 208 0 948

(คน) (คน) (คน) (คน) (จํานวนชม.)


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายการ

หน่ วย

องค์ ประกอบที่ 3 ผลการประเมิน คุณภาพการให้ บริการนักศึกษา (เทียบจากค่า 5 ระดับ) จํานวนโครงการกิจกรรมนักศึกษา แยกตามประเภท กิจกรรม จํานวนกิจกรรมวิชาการ จํานวนนักศึกษาที่เข้ าร่วมทุกกิจกรรมวิชาการ จํานวนกิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ จํานวนนักศึกษาที่เข้ าร่วมทุกกิจกรรมกีฬาและการ ส่งเสริ มสุขภาพ จํานวนกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์และรักษา สิง่ แวดล้ อม จํานวนนักศึกษาที่เข้ าร่วมทุกกิจกรรมบําเพ็ญ ประโยชน์และรักษาสิง่ แวดล้ อม จํานวนกิจกรรมนันทนาการ จํานวนนักศึกษาที่เข้ าร่วมทุกกิจกรรมนันทนาการ จํานวนกิจกรรมส่งเสริ มศิลปวัฒนธรรม จํานวนนักศึกษาที่เข้ าร่วมทุกกิจกรรมส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม จํานวนนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่เข้ าร่วมกิจกรรม องค์ ประกอบที่ 4 จํานวนเงินสนับสนุนการวิจยั และงานสร้ างสรรค์ จํานวนเงินสนับสนุนจากภายในสถาบัน จํานวนเงินสนับสนุนจากภายนอกสถาบัน จํานวนอาจารย์ประจําที่ได้ รับทุนวิจยั จํานวนอาจารย์ที่ได้ รับทุน จากภายในสถาบัน จํานวนอาจารย์ที่ได้ รับทุน จากภายนอกสถาบัน จํานวนการเผยแพร่ ผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ จํานวนผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติ จํานวนผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับนานาชาติ จํานวนผลงานที่จดสิทธิบตั รและอนุสทิ ธิบตั ร 167

ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ของคณะ ตัวบ่ งชี ้

(ค่าเฉลี่ย 1-5)

3.1

2.94

(โครงการ)

3.2

(โครงการ) (คน) (โครงการ)

3.2 3.2 3.2

8 324 1

(คน)

3.2

50

(โครงการ)

3.2

1

(คน)

3.2

50

(โครงการ) (คน) (โครงการ)

3.2 3.2 3.2

1 50 2

(คน)

3.2

160

(คน)

3.2.1

0

(บาท) (บาท) (บาท) (คน) (คน) (คน) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง)

4.3 4.3 4.3 4.3.1,4.3.2 4.3.1 4.3.2 4.4 4.4 4.4 4.4

11,080,000

50,000 11,030,000

3 1 3 14 5 3 0


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายการ

หน่ วย

จํานวนผลงานที่นําไปใช้ ประโยชน์ระดับชาติ/นานาชาติ จํานวนบทความวิจยั ที่ได้ รับอ้ างอิงใน refereed journal หรื อ ในฐานข้ อมูล

(ชื่อเรื่ อง)

จํานวนบุคลากรสายสนับสนุนที่เป็ นนักวิจยั ที่ปฎิบตั ิงานจริง

(คน)

จํานวนบุคลากรสายสนับสนุนที่เป็ นนักวิจยั จํานวนนักวิจยั ที่ลาศึกษาต่อ จํานวนผลงานทางวิชาการ จํานวนหนังสือ/ตํารา จํานวนงานวิจยั จํานวนบทความทางวิชาการ องค์ ประกอบที่ 5 จํานวนอาจารย์ประจําที่มีสว่ นร่วมในการบริการวิชาการ เป็ นที่ ปรึกษา กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน กรรมการ วิชาการ กรรมการวิชาชีพ จํานวนกิจกรรมหรื อโครงการบริ การวิชาการ ร้ อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (จากผล สํารวจของก.พ.ร. กรณีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) องค์ ประกอบที่ 6 จํานวนโครงการ/ กิจกรรมอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม องค์ ประกอบที่ 7 จํานวนบุคลากร ประจําสายสนับสนุน ทังหมด ้ จํานวนอาจารย์ประจําที่เข้ าร่วมประชุม วิชาการหรื อนําเสนอ ผลงานวิชาการ ในประเทศ ต่างประเทศ จํานวนบุคลากร ประจําสายสนับสนุนที่ได้ รับการพัฒนา ความรู้ และทักษะวิชาชีพ ในประเทศ ต่างประเทศ

(คน) (คน) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง)

168

(ชื่อเรื่ อง)

ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ของคณะ ตัวบ่ งชี ้ 4.4 6 4.5 4.3,4.3.1, 4.3.2,4.4,4.6 4.5,7.7

0 1

4.6 4.6 4.6 4.6

1 0 16 2 6 8

(คน)

5.2

3.5

(โครงการ)

5.3

17

(ร้ อยละ)

5.4

80.5

(โครงการ)

6.1,6.1.1

4

(คน)

7.4,7.4.2,7.10

32

(คน)

7.4,7.4.1

2.5

(คน) (คน)

7.4,7.4.1 7.4,7.4.1

1.5 1

(คน)

7.4,7.4.2

33

(คน) (คน)

7.4,7.4.2 7.4,7.4.2

17 31.5


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายการ

หน่ วย

จํานวนอาจารย์ประจํา (รวมนักวิจยั ) ที่ได้ รับรางวัลผลงานทาง วิชาการหรื อวิชาชีพ ในระดับชาติหรื อนานาชาติ ด้ านการวิจยั ด้ านศิลปะและวัฒนธรรม ด้ านอื่นๆ องค์ ประกอบที่ 8 รายรับทังหมดของสถาบั ้ น (ปี งบประมาณ) รายรับจากการบริการวิชาการและวิชาชีพ ค่าใช้ จ่ายทังหมดของสถาบั ้ น โดยไม่รวมครุภณ ั ฑ์ อาคาร สถานที่และที่ดิน ปี งบประมาณ ปี การศึกษา ค่าใช้ จ่ายด้ านครุภณ ั ฑ์ อาคาร สถานที่และที่ดิน ค่าใช้ จ่ายและมูลค่า ในการบริการวิชาการและวิชาชีพ ค่าใช้ จ่ายและมูลค่า ในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ค่าใช้ จ่ายเพื่อพัฒนาอาจารย์ ค่าใช้ จ่ายที่ใช้ ในระบบห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์ สารสนเทศ เงินเหลือจ่ายสุทธิ สินทรัพย์ถาวร งบดําเนินการ องค์ ประกอบที่ 9 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามเกณฑ์ 5 ระดับของ สกอ.

169

ข้ อมูลอ้ างอิง ภาพรวม ของคณะ ตัวบ่ งชี ้

(คน)

7.7

0

(คน) (คน) (คน)

7.7 7.7 7.7

0 0 0

(บาท) (บาท)

8.1 8.1

98,941,268

(บาท)

8.1,8.1.4

50,962,001

(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

8.1,8.1.4 8.1,8.1.4 8.1,8.1.5 8.1,8.1.1 8.1,8.1.2 8.1,8.1.6

0 0

(บาท)

8.1,8.1.7

11,806,130

(บาท) (บาท) (บาท)

8.1,8.1.5 8.1,8.1.3 8.1,8.1.5

24,126,926

(ระดับ ของ สกอ.)

9.3

5

2,097,200

17,406,048

2,800,446 36,365 105,749

225,163,220

92,494,985


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

170


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ภาคผนวก 2 รายละเอียดการจัดเก็บข้ อมูล ตัวบ่ งชีที 1.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีการกําหนดปรัชญาหรื อปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ์ แผนดําเนิน งาน และมีการกําหนด ตัวบ่งชีเพือวัดความสําเร็ จของการดําเนิ นงานตามแผนให้ ครบทุกภารกิจ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายดนัย กิติภรณ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3110

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการกําหนดปรัชญาหรื อปณิธาน

2

3

4

การดําเนินงานตามเกณฑ์ วิทยาลัยได้ กาํ หนดวิสยั ทัศน์ และปณิธาน และได้ มีการปรับ ปรุงเพือรองรับ ภารกิจ 2553 รายละเอียดตามเอกสารแนบ มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ์ แผนการ 1. ไ ด้ มี ก า ร จั ด ป ร ะ ชุ ม ค ณา จ า ร ย์ ดําเนิน งานและแผนปฏิบ ัตกิ ารประจําปี ผู้บ ริ ห าร และบุ ค ลากรที เกี ยวข้ อง ให้ สอดคล้องกัน และกัน และสอดคล้อง เพื อร่ ว มกัน จัด ทํ าแผนงานหลักของ กับ ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย วิท ยาลัย เมือวัน ที 10-11 เมษายน ยุท ธศาสตร์ และแผนพัฒนาของชาติ 2550 ณ มธ. ศูนย์พทั ยา 2. ไ ด้ มี ก า ร จั ด ป ร ะ ชุ ม ค ณา จ า ร ย์ ผู้บ ริ ห าร และบุ ค ลากรที เกี ยวข้ อง เพื อให้ มี ค วามเข้ าใจและร่ วมกั น จัดทํ าแผนปฏิ บ ัติ งานให้ สอดคล้ อ ง กั บ เ ป้ า ห ม าย แ ละ ก าร ป ร ะ กั น คุณภาพการศึกษาประจําปี เมือวัน ที 21-23 มกราคม 2551 ณ โรงแรม โรสกาเด้ นท์ รีเวอร์ ไซด์ สวนสามพราน มีการกําหนดตัวบ่งชีของการดําเนิน งาน 1. ใ ช้ ตั ว บ่ ง ชี คุ ณ ภ า พ ต า ม เ ก ณ ฑ์ และกําหนดเป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี มาตรฐานของ สกอ. และ สมศ. เพือวัดความสําเร็ จของการดําเนินงาน 2. จัดทําแผนปฏิบตั ิราชการและตัวบ่ งชี ความสํา เร็ จ ประจํ า ปี งบประมาณ 2550 มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ ดําเนิน งานตามแผนทุกภารกิจ

171

เอกสารอ้ างอิง เอกสารวิสยั ทัศน์และ ปณิธาน พร้ อมทัง วิสยั ทัศน์และพันธกิจ 1. รายงานผลการประชุม สําหรับ การดําเนิน งาน แผนงานหลักของ วิท ยาลัย 2. เอกสารรายละเอียด โครงการและสรุป ผล การประชุม โครงการ ฝึ กอบรมและประชุม เชิงปฏิบ ตั ิการเพือการ ประกัน คุณภาพ ปี 2550 1. คู่มือการประกัน คุณภาพของ สกอ. 2. แผนปฏิบ ตั ิราชการ วิท ยาลัยนวัตกรรม ปี งบประมาณ 2550 ผลการดําเนิน งานตามตัว บ่งชีทีได้ กําหนดไว้ แล้ว


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน การดําเนินงานตามเกณฑ์ 5 มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล 1. วิ ท ยาลั ย กํ า ห น ดให้ มี การ จั ด ทํ า การดําเนิน งานตามตัวบ่งชี อย่างน้ อยปี รายงาน ผลการดํ า เนิ น ง าน ตาม ละ 2 ครัง และรายงานผลต่อผู้บริ หาร มา ตร ฐ าน กา ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ าพ และสภามหาวิท ยาลัย การศึก ษา 2 ช่ วง ได้ แก่ มิถุน ายน – ธันวาคม และ มกราคม – พฤษภาคม 2. มธ. กําหนดให้ มีการรายงานผลการ ปฏิบตั ิราชการ ประจําปี งบประมาณ ปี ละ 2 ครัง 6 มีการวิเคราะห์ความสอดคล้ องระหว่าง 1. การจัด ประชุม คณาจารย์ ผู้บ ริ ห าร กลยุทธ์ แผนการดําเนิน งาน เป้าประสงค์ และบุ คลากรทีเกียวข้ อง เพือร่ วมกัน เป้าหมายกับ ยุท ธศาสตร์ และแผนพัฒนา จัดทําแผนงานหลักของวิท ยาลัย เมือ ของชาติ ตลอดจนสภาพการณ์ปั จจุบัน วัน ที 10-11 เมษายน 2550 ณ มธ. และแนวโน้ มในอนาคตอย่างสมําเสมอ ศูน ย์พ ทั ยา ได้ ดําเนิน การโดยอ้ า งอิง ตามนโยบายของมหาวิท ยาลัย ซึงมี 7 มีการนําผลการประเมิน และผลการ การกําหนดตามแผนยุท ธศาสตร์ และ วิเคราะห์มาปรับปรุ งกลยุท ธ์ และ แผนพัฒนาของชาติ แผนการดําเนินงานอย่างต่อเนือง 2. การประชุม คณาจารย์ ผู้บ ริ ห าร และ บุ ค ลากรที เกี ยวข้ อ ง เพื อร่ ว มกั น จัดทํ าแผนปฏิ บ ัติ ง านประจํ า ปี เมื อ วั น ที 21-23 มกร าคม 2551 ณ โรงแรมโรสกาเด้ น ท์ รี เวอร์ ไ ซด์ สวน สามพราน ได้มีการปรับ ปรุ งแผนการ ดํ า เนิ น งานให้ สอดคล้ อ งกั บ แน ว ทางการประกัน คุณภาพประจําปี

172

เอกสารอ้ างอิง 1. เอกสารรายงานผล การดําเนินงานตาม มาตรฐานการประกัน คุณภาพการศึกษา 2. เอกสารรายงานผล การปฏิบัตริ าชการ (ช่วง 6 เดือนแรก) เอกสารอ้ างอิง เช่นเดียวกับเกณฑ์ มาตรฐานข้ อที 2 ได้ แก่ 1. รายงานผลการประชุม สําหรับ การดําเนิน งาน แผนงานหลักของ วิท ยาลัย 2. เอกสารรายละเอียด โครงการและสรุป ผล การประชุม โครงการ ฝึ กอบรมและประชุม เชิงปฏิบ ตั ิการเพือการ ประกัน คุณภาพ ปี 2550


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 1.1.1 การกําหนดแผนกลยุทธ์ทีเชือมโยงกับยุทธศาสตร์ ชาติ ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายดนัย กิติภรณ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3110 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีคณะกรรมการ/คณะทํางานกําหนด แผนกลยุท ธ์ของสถาบัน 2 มีแผนกลยุทธ์ของสถาบัน 3 มีคณะกรรมการวิเคราะห์ความ สอดคล้ องของแผนกลยุทธ์ กบั ยุท ธศาสตร์ ชาติหรื อแผนยุท ธศาสตร์ อุดมศึกษา 4 แผนกลยุท ธ์มีความสอดคล้ องกับ ยุท ธศาสตร์ ชาติหรื อแผนยุท ธศาสตร์ อุดมศึกษา น้ อยกว่าร้ อยละ 80 ของแผน 5 แผนกลยุท ธ์มีความสอดคล้ องกับ ยุท ธศาสตร์ ชาติหรื อแผนยุท ธศาสตร์ อุดมศึกษา ตังแต่ร้อยละ 80 ของแผน

การดําเนินงานตามเกณฑ์ วิท ยาลัยกําหนดให้ คณาจารย์ ผู้บ ริ ห าร และบุคลากรทีเกียวข้ องเข้ าร่ วมประชุม เชิ ง ปฏิ บ ัติก ารเพือวิ เ คราะห์ และจัดทํ า แ ผน ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ป ร ะ จํ า ปี ใ ห้ สอดคล้ องกับ เกณฑ์ คณ ุ ภาพมาตรฐาน ของ สกอ. โดยใช้ แ นวทางดํ า เนิ น งาน ตามแผนยุท ธศาสตร์ และแผนปฏิ บ ั ติ ราชการของมหาวิท ยาลัย ธรรมศาสตร์ รวมถึงแผนงานของวิท ยาลัยซึงได้ มีการ จั ด ทํ าขึ น โดยอิ ง ตาม น โยบ ายของ มหาวิ ท ยาลั ย (มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ยุท ธศาสตร์ ช าติ ห รื อ แผนยุ ท ธศาสตร์ อุดมศึกษา มากกว่าร้ อยละ 80)

173

เอกสารอ้ างอิง เอกสารรายละเอียด โครงการและสรุป ผลการ ประชุม โครงการฝึ กอบรม และประชุมเชิงปฏิบตั ิการ เพือการประกันคุณภาพ เมือวันที 21-23 มกราคม 2551 ณ โรงแรมโรสกา เด้ นท์ รี เวอร์ ไซด์ สวนสาม พราน จ. นครปฐม (เช่นเดียวกับ เอกสารตาม ดัชนี 1.1 ข้ อ 2)


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 1.2 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ร้ อยละของการบรรลุเป้ าหมายตามตัวบ่งชีของการปฏิบ ัตงิ านทีกําหนด ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ

ชือตัวบ่ งชีของแผนปฏิบัติราชการ

1 2

ร้ อยละทีเพิมขึนของผู้รับบริ การทางวิชาการ จํานวนนักศึกษาหรือศิษย์เก่าทีได้ รับการประกาศเกียรติคณ ุ ยก ย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรื อรางวัลทาง วิชาการ หรื อด้ านอืนทีเกียวข้ องกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ ร้ อยละของบทความวิท ยานิพนธ์ปริ ญญาโทหรื อเอกทีตีพมิ พ์ เผยแพร่ทงในระดั ั บชาติห รื อระดับนานาชาติต่อจํานวน วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโทหรือเอก ร้ อยละของงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ทีตีพมิ พ์ เผยแพร่ หรือ นําไปใช้ ประโยชน์ในระดับชาติ/นานาชาติตอ่ อาจารย์ป ระจํา จํานวนเงินสนับ สนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์จากภายในและ ภายนอกสถาบัน ต่ออาจารย์ประจํา (หน่วย: ล้ านบาท) ร้ อยละของอาจารย์ป ระจําทีได้ รบั ทุนทําวิจยั และงานสร้ างสรรค์ จากภายในและภายนอกสถาบันต่ออาจารย์ประจํา ร้ อยละของกิจกรรมหรื อโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที ตอบสนองความต้ องการพัฒนาและเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา ร้ อยละของอาจารย์ทีเป็ นทีปรึกษา เป็ นกรรมการวิท ยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน เป็ นกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพใน ระดับ ชาติหรื อระดับนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา ร้ อยละของโครงการหรื อกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และ สร้ างเสริ ม เอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรม ต่อจํานวนโครงการ หรื อกิจกรรมนักศึกษาทังหมด ร้ อยละเฉลียของนักศึกษาทีเข้ าร่วมโครงการหรื อกิจกรรมในการ อนุรักษ์ พัฒนา และสร้ างเสริ มเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรม ต่อจํานวนนั กศึกษาทังหมด ร้ อยละของค่าใช้ จ่ายและมูลค่าทีใช้ ในการอนุรักษ์ พัฒนา และ สร้ างเสริ ม เอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่องบดําเนินการ

3

4 5 6 7

8

9

10

11

174

เป้าหมาย ของตัวบ่ งชี 0 1

ผลงานทีทํา ได้ จริง 0 1

การบรรลุ เป้าหมาย ü ü

5

31.25

ü

40

77.78

ü

0.13

0.86

ü

31

22.22

û

98

212.5

ü

32

37.5

ü

25

33.33

ü

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริญญาตรี 2

1.63

û


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริห ารหลักสูตร ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายดนัย กิติภรณ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3110

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีระบบและกลไกการเปิ ดและปิ ด หลักสูตร 2 มีการกําหนดเป้าหมายการผลิตบัณฑิต ทุกหลักสูตรในแผนการผลิตบั ณฑิต 3

มีการเตรี ยมความพร้ อมก่อนการเปิ ด หลักสูตรใหม่และการปรับปรุ งหลักสูตร ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ทุกเรื อง

4

มีการวิเคราะห์ข้อมูลการดําเนินการทุก หลักสูตรประจําปี การศึกษา เช่น ร้ อยละ ของหลักสูตรทีไม่เป็ น ไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน ร้ อยละของบทความจาก วิทยานิพนธ์ท ีตีพมิ พ์ เผยแพร่ ร้ อยละ ของบัณฑิตทีทํางานตรงสาขา มีการนําผลการวิเคราะห์ข้อมูลการ ดําเนิน การหลักสูตรประจําปี การศึกษา ไปปรับปรุงหลักสูตรและหรื อปรับปรุ ง ระบบและกลไกการบริห ารหลักสูตร หลักสูตรทีเปิ ดสอนทุกหลักสูตรได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ทกุ เรื องและมี การ ประกัน คุณภาพหลักสูตรครบทุกประเด็น ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาทีเน้ นการ วิจยั (ปริ ญญาโท เฉพาะ แผน (ก ) และ ปริ ญญาเอก ) ทีเปิ ดสอนมีจาํ นวน มากกว่าร้ อยละ 50 ของหลักสูตรทังหมด

5

6

7

การดําเนินงานตามเกณฑ์ เป็ นไปตามเกณฑ์ของมหาวิท ยาลัย มีการกํา หนดแผนการรับ และประมาณ การ นั กศึ ก ษาแ ต่ ล ะ ปี การศึ ก ษ าใน รายละเอียดหลักสูตรทีขออนุมัติ มีการศึกษาความเป็ นไปได้ อย่างละเอียด และแสดงถึงความพร้ อมของวิท ยาลัย เพือให้ ฝ่ายวางแผนฯ ฝ่ ายวิชาการ และ ฝ่ ายการคลังของมหาวิท ยาลัยพิจารณา ก่อนการอนุม ัตเิ ปิ ดหลักสูตร การวิเคราะห์ข้อมูลดําเนิน การหลักสูตร จะดําเนินการพร้ อมกับ การวางแผนงาน ประจําปี เพือการประกัน คุณภาพ ซึ งได้ จัดเมือวันที 21-23 มกราคม 2551

เอกสารอ้ างอิง เอกสารคูม่ ือหลักสูตรการ บริห ารเทคโนโลยี / การ บริห ารงานทางวัฒนธรรม เอกสารการศึกษาความ เป็ น ไปได้ อย่างละเอียด ของหลักสูตรเปิ ดใหม่ (นวัตกรรมบริ การ)

เอกสารรายละเอียด โครงการและสรุป ผลการ ประชุม โครงการฝึ กอบรม และประชุมเชิงปฏิบตั ิการ เพือการประกันคุณภาพ เมือวันที 21-23 มกราคม ผลการวิ เ คราะห์ ใ นข้ อ 4 จะถู ก นํ า ไป 2551 ณ โรงแรมโรสกา จัดทําเป็ น แผนกิจกรรม/แผนดําเนิน งาน เด้ นท์ รี เวอร์ ไซด์ สวนสาม พราน จ. นครปฐม ประจําปี มีการจัดทํารายงานประเมิ นตนเองเป็ น เอกสารรายงานการ ประจําทุกปี การศึกษา โดยมีรายละเอียด ประเมินตนเองประจําปี ตามเกณฑ์ และมาตรฐานที สกอ. หรื อ สมศ. เป็ นผู้กาํ หนด วิท ยาลัยไม่มี ห ลักสูตรทีเปิ ดเฉพาะแผน (ก) เท่านัน

175


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชีที 2.1.1 ร้ อยละของบัณฑิตปริ ญญาตรี ทีได้ ทํางานตรงสาขาทีสําเร็ จการศึกษา ตัวบ่ งชีที 2.9 ร้ อยละของบัณฑิตปริ ญญาตรี ทีได้ งานทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ตัวบ่ งชีที 2.10 ร้ อยละของบัณฑิตทีได้ รบั เงินเดือนเป็ นไปตามเกณฑ์

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรระดับปริญญาตรี

176


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.1.2 ร้ อยละของบทความจากวิท ยานิพนธ์ป ริญญาโททีตีพมิ พ์เผยแพร่ต่อจํานวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโททังหมด ผู้ดูแลตัวบ่ งชี คณบดี/รองคณบดี ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางสาวสิน ีรัชต์ พวังคะพินธุ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-6235055 ต่อ 4138 ชือผู้ทํ า วิทยานิพนธ์

ลําดับ

ชือวิทยานิพนธ์

1

การยอมรับ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือสารในชุมชนชนบทไทย อ.นําพอง และ อ.พรผิน จ. ขอนแก่น แบบจําลองทางสถิติเพือการ ประเมินราคาห้ องชุดในเขต ศูนย์กลางธุรกิจ พัฒนาการของพิพธิ ภัณฑ์คติชน วิทยา สถาบันทักษิณคดีศึกษา

นางสาวอัญณิฐา ดิษฐานนท์ MTT 4823034089

การศึกษาแนวทางการบริหาร จัดการคณะละครเพือความยังยืน: กรณีศึกษาเครื อข่ายละครกรุ งเทพ การวิเคราะห์ รูปแบบระบบอุป ถัมภ์ งานศิลปะขององค์กรธุรกิจ

นายไพบู ลย์ โสภณสุวภาพ MCT 4323032310 นายวิทวัส ธีระวิกสิต MCT 4323032427 นางสาวสิริพร ศรีเ พ็ง MCT 4323032500

2

3

4

5

6

7

ปั จจัยสําหรับ การบริหารและ จัดการหลักสูตรการเรี ยนบัลเล่ต์ เพือตอบสนองความต้ องการของ ผู้ปกครองในเขตกรุงเทพมหานคร การศึกษาความเป็ นไปได้ ใ นการ จัดตังศูน ย์การเรี ยนรู้ ศลิ ปะ วัฒนธรรมพืนถินตามอัธยาศัย: กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น

นายทิวา บรรเทากุล MTT4623030535 นายธีระ จันทิป ะ MCT 4323032153

นางสาวสุริศรา บัวนิล MCT 4323032559

177

วัน/เดือน/ปี ทีตีพิมพ์ เผยแพร่

ประเภท แหล่ งตีพิมพ์ เผยแพร่ ของการ เผยแพร่

-

-

-

-

-

-

-

วารสารสงขลานครินทร์ (ฉบับมนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ )

1.2

-

-

-

28-29 ก.ค. 51

นําเสนอในทีประชุม วิชาการ ม.อบ.วิจยั ครัง ที 2 จ.อุบ ลราชธานี

1.5

-

-

-

28-29 ก.ค. 51

นําเสนอในทีประชุม วิชาการ ม.อบ.วิจยั ครัง ที 2 จ.อุบ ลราชธานี

1.5


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ 8

9

10

11

12

13

14

15

ชือวิทยานิพนธ์

ชือผู้ทํ า วิทยานิพนธ์

การศึกษาโอกาสเพือการส่งออก ของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ไทย

นางสาวทิ พย์ลกั ษณ์ โกมลวณิช MCT 4423032160

การจัดการการท่องเทียวอย่าง ยังยืน : กรณีศึกษาอุทยาน ประวัตศิ าสตร์ กาํ แพงเพชร

นางสาวสุประภา สม นักพงษ์ MCT482303242

การเปลียนแปลงของนาฏศิลป์ไทย ทีมีผลมาจากการพัฒนาของ องค์กร (พ.ศ.2495-2549) กระบวนการสร้ างพืนทีทาง วัฒนธรรมของการแสดงพืนบ้ าน อีสาน : กรณีศึกษา ศิลปิ น วง โปงลางสะออน การบริหารงานดนตรีจากท้ องถินสู่ โลก

นางสาว ชิตสุภางค์ อังสวานนท์ MCT 4723032043 นางสาว พิมพ์พร จํารัสพัน ธุ์ MCT4723032241

เชียงใหม่กบั การบริห ารจัดการตรา สินค้ าเชิงวัฒนธรรม (หัตถกรรม)

นาย ประทักษ์ ใฝ่ ศุภการ MCT 4423032244 นาย ณัฐกานต์ ลิม สถาพร MCT 4423032137 นาง เอมชบา ลิม สถาพร MCT 4423032053

การบริหารจัดการเพือการ สร้ างสรรค์และสืบทอดภูมปิ ั ญญา ท้ องถิน กรณีศกึ ษา : โรงเรี ยนสืบ สานภูมปิ ั ญญาล้านนา จ.เชียงใหม่ การบริหารจัดการงาน นางสาว สมพร พาน สถาปั ตยกรรมทางวัฒนธรรม ทอง กรณีศึกษา : พระทีนังอนันต MCT 4423032426 สมาคม

178

วัน/เดือน/ปี ทีตีพิมพ์ เผยแพร่ 19 กย.51

3 มิ.ย.51

ประเภท แหล่ งตีพิมพ์ เผยแพร่ ของการ เผยแพร่ นําเสนอทีประชุม วิชาการระดับ 1.5 บัณฑิตศึกษา ครังที 2 ม.ศิลปากร The 7 Asia Pacific Forum for Graduate Students’ Research in Tourism

2.6

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ 16 *

ชือวิทยานิพนธ์

ชือผู้ทํ า วิทยานิพนธ์

วัน/เดือน/ปี ทีตีพิมพ์ เผยแพร่

ประเภท แหล่ งตีพิมพ์ เผยแพร่ ของการ เผยแพร่

การประยุกต์น าฏกรรมไทยร่ วม นายประยุทธ ศิริกลุ สมัยสําหรับการแสดงคอนเสิร์ต MCT4723032175 ในรายงานข้ อมูลบทความทีได้ รบั การตีพมิ พ์ในวารสาร ให้ ระบุ เล่มที วัน/เดือน/ปี ของวารสารทีตีพมิ พ์และเลขหน้ า

จํานวนวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาโททีตีพมิ พ์เผยแพร่ทงหมด ั จํานวนวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาโททังหมดของมหาบัณฑิตทีสําเร็ จการศึกษาในปี การศึกษา 2550

5 16

เรื อง เรื อง

ประเภทของการตีพมิ พ์ เผยแพร่ 1. การตีพิมพ์ เผยแพร่ ระดับชาติ 2. การตีพิมพ์ เผยแพร่ ระดับนานาชาติ 1.1 วารสารวิชาการระดับชาติ 2.1 วารสารวิชาการระดับนานาชาติทีมีผ้ ปู ระเมิน อิสระ 1.2 วารสารวิชาการระดับชาติทีมีผ้ ปู ระเมินอิสระ 2.2 วารสารระดับนานาชาติท ีอยู่ในฐานข้ อมูลสากล 1.3 การเผยแพร่ ทีเทียบวารสาร เช่น สิทธิบตั ร 2.3 วารสารระดับนานาชาติทไม่ ี อยูใ่ นฐานข้ อมูลสากล อนุสทิ ธิบตั ร 2.4 การเผยแพร่ ท ีเทียบวารสาร เช่น สิทธิบ ตั ร 1.4 การนําเสนอผลงานของนักศึกษาบางสาขา ทีมี 2.5 การนําเสนอผลงานของนักศึกษาบางสาขา ทีมี ลักษณะการนําเสนอเทียบเท่าการตีพมิ พ์ ลักษณะการนําเสนอเทียบเท่าการตีพมิ พ์ 1.5 การนําเสนอบทความในการประชุม/สัมมนาวิชาการ 2.6 การนําเสนอบทความในการประชุม/สัมมนา ระดับ ชาติ วิชาการระดับนานาชาติ

179


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชีที 2.1.3 ร้ อยละของบทความจากวิท ยานิพนธ์ป ริญญาเอกทีตีพมิ พ์เผยแพร่ต่อจํานวนวิทยานิพนธ์ปริ ญญาเอก ทังหมด

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรระดับปริญญาเอก

180


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.1.4 ร้ อยละของหลักสูตรทีได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทังหมด ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายดนัย กิติภรณ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3110 การได้มาตรฐานตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรของ สกอ. ปี พ.ศ. 2548 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา รายชือหลักสูตรทีเปิ ดสอนจริง / ปี ทีประกาศใช้

1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารเทคโนโลยี ) ท่าพระจันทร์ / 2550 2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารเทคโนโลยี ) ศูนย์พทั ยา / 2549 3. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารงานวัฒนธรรม) ท่าพระจันทร์ / 2550

ระดับ การศึกษา

อาจารย์ ประจํา หลักสูตร

อาจารย์ ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร

การตีพิมพ์ เผยแพร่ วิทยานิพนธ์

คุณสมบัติที ปรึกษา วิทยานิพนธ์/ ค้ นคว้ าอิสระ

คุณสมบัติ อาจารย์ ผู้สอน

จํานวน วิทยานิพนธ์/ ค้ นคว้ าอิสระ

ปริญญา โท

5 คน ü

3 คน ü

ü

ü

ü

26/144

ปริญญา โท

5 คน ü

3 คน ü

ü

ü

ü

8/31

ปริญญา โท

5 คน ü

3 คน ü

ü

ü

ü

33/41

โปรดทําสัญลักษณ์ ü ในหัวข้ อทีได้มาตรฐาน และ สัญลักษณ์ û ในหัวข้ อทีไม่ได้ มาตรฐาน จํานวนหลักสูตรทีเปิ ดสอนจริ งทังหมด จํานวนหลักสูตรทีได้ มาตรฐานทังหมด

3 3

หลักสูตร หลักสูตร

จํานวนหลักสูต รบัณฑิตศึกษาทีอาจารย์ มีภาระงานทีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้ นคว้ าอิสระ เป็ นไปตาม เกณฑ์ มาตรฐานหลัก สูตร ระดับปริ ญญาโท 3 หลักสูตร ระดับปริ ญญาเอก หลักสูตร จํานวนหลักสูต รบัณฑิตศึกษาทีนั กศึกษาปฏิบัติตามเกณฑ์ สาํ เร็จการศึกษา ครบถ้ วนตามทีระบุไว้ ใน เกณฑ์ มาตรฐานหลัก สูตร ระดับปริ ญญาโท 3 หลักสูตร ระดับปริ ญญาเอก หลักสูตร

181


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.2 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีกระบวนการเรียนรู้ท ีเน้น ผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ ผู้อาํ นวยการหลักสูตร ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายดนัย กิติภรณ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3110

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีกลไกการให้ ความรู้ความเข้ าใจกับ อาจารย์ผ้ สู อนถึงวัตถุประสงค์และ เป้าหมายของการจัดการศึกษาทุก หลักสูตร 2 มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัด กิจกรรมการเรียนรู้ทีเน้ นผู้เรี ยนเป็ น สําคัญทุกหลักสูตร

3

4

การดําเนินงานตามเกณฑ์ เอกสารอ้ างอิง มี การประชุ มอาจารย์ ป ระจํ า วิ ท ยาลัย ตารางการประชุม เป็ นประจําทุกเดือน อาจารย์/รายงานการ ประชุม

1. มีการดูงาน ทัศนศึกษา ใช้ กรณีศึกษา รอข้ อมูลจากอาจารย์ แล ะ มอ บ ห ม ายใ ห้ นั ก ศึ กษา ทํ า โครงการทุกหลักสูตร 2. มี ก ารกํา หนดรู ป แบบการเรี ยนการ สอนที ครอบคลุม วิ ธี ก ารสอน เช่ น PBL IS SS WBL RBL CBA (อย่าง ใดอย่างหนึง) มีการใช้ สอและเทคโนโลยี ื ห รือนวัตกรรม 1. วิ ท ยาลัย มี ก ารวางระบบเครื อ ข่ า ย 1. ระบบการแจ้ งข้ อมูล ในการสอนเพือส่งเสริ มการเรี ยนรู้ทุก คอ ม พิ ว เ ต อ ร์ ที สา ม า ร ถ เ ข้ าถึ ง ข่าวสารการเรี ยนการ หลักสูตร ฐาน ข้ อ มู ลทางวิ ชาการ ซึ งส่ง เสริ ม สอนทัวไปผ่านเวปไซด์ การเรี ยนรู้ของนักศึกษา www.cie.tu.ac.th 2. จัดทําวารสาร Online “CIE Review” 2. วารสาร CIE Review (www.cie.tu.ac.th/web ซึงเป็ น เอกสารสรุ ปบทคัดย่องานวิจยั 2/thai/cie_intro.asp) ทีเกียวข้องกับหลักสูตร 3. ระบบฐานข้ อมูล นักศึกษาและงานวิจยั ของวิทยาลัย (CIE Online) 4. ระบบสนับ สนุนข้ อมูล/ ฐานข้ อมูลวิชาการของ สํานักหอสมุด มธ. มีการจัดการเรี ยนการสอนทีมีความ มี ร ะ บ บ สํ า ร วจค วาม ต้ อ ง การ ข อ ง Work Procedure การ ยืดหยุน่ และหลากหลาย ทีจะสนองตอบ นักศึกษาสําหรับ วิชาเลือกซึงจะพิจารณา สํารวจและเปิ ดสอนวิชา ต่อความต้ องการของผู้เรี ยน เปิ ดสอนตามความต้ องการของนักศึกษา เลือกสําหรับนักศึกษา 182


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 5 มีการประเมิน ผลการเรี ยนการสอนที สอดคล้ องกับ สภาพการเรี ยนรู้ทีจัดให้ ผู้เรี ยนและอิงพัฒนาการของผู้เรี ยนทุก หลักสูตร 6 มีการประเมิน ผลความพึงพอใจของ ผู้เรี ยนในเรื องคุณภาพการสอนและสิง สนับสนุนการเรียนรู้ทกุ หลักสูตร 7 มีระบบการปรับปรุ งวิธีการเรี ยนการสอน และพัฒนาผู้เรี ยนอย่างต่อเนืองทุก หลักสูตร

การดําเนินงานตามเกณฑ์ วิ ท ยาลัยจัด ให้ มี การประเมิ น การสอน วิชาละ 2 ครัง ครั งแรกทํา การประเมิ น ช่ วงกลางภาค เพื อเป็ นข้ อมู ล สํา หรั บ อาจารย์ ใ นการปรั บ ปรุ ง การสอน และ ครังทีสองทําการประเมิน ช่วงปลายภาค เพื อเป็ นข้ อมูล แก่ ผ้ ูบ ริ ห ารหลักสูตร ใน การกํ าหนดมาตรการปรั บ ปรุ ง วิ ธีก าร เรียนการสอนและพัฒนาผู้เรี ยนต่อไป

183

เอกสารอ้ างอิง เอกสารสรุปผลการ ประเมินการสอนตาม ประเด็นทีกําหนด และ ข้ อเสนอแนะของนักศึกษา ทีมีตอ่ อาจารย์และ วิทยาลัย


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.2.1 ระดับ ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์และสิงสนับ สนุนการเรี ยนรู้ ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 4138

รหัส / รายชือวิชา

ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน

ต้ องแก้ไ ข (2)

พอใช้ (3)

ดี (4)

ดีมาก (5)

n

%

n

%

n

%

n

%

ภาค 1/2550 สาขาวิชาการบริห ารเทคโนโลยี ท่ าพระจัน ทร์ ทท 610 หลักการบริ หาร เทคโนโลยี ทท 611 เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี ทท 612 การบัญชีและ การเงินเพือการบริ หาร เทคโนโลยี(Retail) ทท 613 ทรัพ ยากร มนุษย์และองค์กรเพือ การบริหารเทคโนโลยี ทท 614 วิธีวิจยั และการ วิเคราะห์เ ชิงปริ มาณ ทท 711 การบริหาร โครงการด้านเทคโนโลยี ทท740 การ โทรคมนาคม ทท 741 นวัตกรรมด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือสารสารฯ ทท742 อุตสาหกรรม โทรคมนาคม และการ ประยุกต์ใช้ งาน ทท750 การบริหาร คุณภาพ

67

4.28

0

0.00

1

0.07

58

3.80

980

64.26

486

31.87

64

4.09

9

0.62

30

2.06

259

17.75

681

46.68

480

32.90

69

4.30

1

0.06

7

0.44

185

11.68

716

45.20

675

42.61

52

4.71

0

0.00

0

0.00

20

1.67

311

26.00

865

72.32

50

2.85

149

13.33

281

25.13

379

33.90

209

18.69

100

8.94

50

4.54

1

0.09

1

0.09

64

5.58

393

34.29

687

59.95

13

4.67

0

0.00

0

0.00

24

8.33

46

15.97

218

75.69

9

4.44

2

0.97

4

1.93

11

5.31

74

35.75

116

56.04

14

4.43

0

0.00

0

0.00

15

4.66

152

47.20

155

48.14

42

4.63

0

0.00

1

0.10

37

3.85

282

29.34

641

66.70

184


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รหัส / รายชือวิชา ทท751 การบริหาร งานวิจยั และพัฒนา ทท752 การจัดการ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทท780 การบริหาร องค์กรค้ าปลีก ทท781 การวางแผนและ ควบคุมการบริหารสินค้ า ทท782 การจัดการห่วง โซ่อปุ ทาน ทท790 สัมมนา จริ ยธรรมสําหรับ ผู้บริหาร ทท792 สัมมนากลยุทธ์ การบริหารเทคโนโลยี

ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน

ต้ องแก้ไ ข (2)

พอใช้ (3)

ดี (4)

ดีมาก (5)

n

%

n

%

n

%

n

%

41

3.22

81

8.66

92

9.84

380

40.64

308

32.94

74

7.91

41

4.59

0

0.00

3

0.32

44

4.67

286

30.33

610

64.69

20

4.32

1

0.25

0

0.00

41

10.07

190

46.68

175

43.00

17

4.50

0

0.00

0

0.00

17

4.37

162

41.65

210

53.98

18

4.17

2

0.49

7

1.70

59

14.36

194

47.20

149

36.25

57

4.46

0

0.00

12

0.92

101

7.71

472

36.03

725

55.34

64

3.62

27

1.84

159

10.83

421

28.68

597

40.67

264

17.98

สาขาวิชาบริห ารเทคโนโลยี ศูนย์ พทั ยา ทท501 หลัก เศรษฐศาสตร์ เพือการ บริหารเทคโนโลยี ทท502 หลักการ วิศวกรรมและเทคโนโลยี เพือการบริหาร ทท610 หลักการบริหาร เทคโนโลยี ทท611 เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี ทท612 การบัญชีและ การเงินเพือการบริ หาร เทคโนโลยี

10

4.42

0

0.00

3

1.49

16

7.96

75

37.31

107

53.23

10

4.87

0

0.00

0

0.00

1

0.48

26

12.44

182

87.08

20

4.44

0

0.00

1

0.22

22

4.79

208

45.32

228

49.67

25

4.29

1

0.18

6

1.06

57

10.11

267

47.34

233

41.31

25

3.54

21

3.68

20

3.51

237

41.58

217

38.07

75

13.16

185


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รหัส / รายชือวิชา ทท613 ทรัพยากรมนุษย์ และองค์กรเพือการ บริหารเทคโนโลยี ทท614 วิธีวิจยั และการ วิเคราะห์เ ชิงปริ มาณ ทท711 การบริหาร โครงการด้านเทคโนโลยี ทท750 การบริหาร คุณภาพ ทท760 คอมพิวเตอร์ สําหรับการบริหารและ วิศวกรรม ทท761 การบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ทท762 อินเทอร์ เน็ตและ พาณิชย์อีเล็คทรอนิค ทท 770 การวิจยั การ ดําเนินงานในงาน วิศวกรรมและการบริหาร ทท771 การวิเคราะห์ ผลิตภาพสําหรับงาน วิศวกรรม

ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน

ต้ องแก้ไ ข (2)

พอใช้ (3)

ดี (4)

ดีมาก (5)

n

%

n

%

n

%

n

%

21

4.36

0

0.00

4

0.84

46

9.64

203

42.56

224

46.96

27

3.68

7

1.15

38

6.25

205

33.72

250

41.12

108

17.76

17

4.22

0

0.00

6

1.78

43

12.72

160

47.34

129

38.17

8

4.57

0

0.00

0

0.00

4

2.17

71

38.59

109

59.24

8

4.61

0.00

0.00

3

1.64

66

36.07

114

62.30

9

4.83

0.00

0.00

0.00

36

17.48

170

82.52

7

4.77

0.00

0.00

4

2.52

28

17.61

127

79.87

28

4.79

0.00

0

0.00

137

21.41

503

78.59

19

4.71

0.00

1

0.23

124

28.77

306

71.00

0

0.00

0

0.00

สาขาวิชาบริห ารงานวัฒนธรรม บฒ502 ความรู้พื นฐาน ด้ านศิลปวัฒนธรรม บฒ710 การบริหาร การตลาดเพือโครงการ ทางวัฒนธรรม บฒ 711.1 งานวิจยั และ โครงการทางวัฒนธรรม

31

4.54

2

0.29

3

0.43

51

7.39

196

28.41 438 63.48

14

4.14

3

0.93

27

8.39

48

14.91

87

27.02 157 48.76

20

3.99

8

1.75

30

6.56

80

17.51

178

38.95 161 35.23

186


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รหัส / รายชือวิชา บฒ 711.2 งานวิจยั และ โครงการทางวัฒนธรรม บฒ 711.3 งานวิจยั และ โครงการทางวัฒนธรรม บฒ 711.4 งานวิจยั และ โครงการทางวัฒนธรรม บฒ712 เศรษฐศาสตร์ วัฒนธรรม บฒ760 สัมมนากม. ทรัพย์สินทางปั ญญาฯ

ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน

ต้ องแก้ไ ข (2)

พอใช้ (3)

ดี (4)

n

%

n

%

n

ดีมาก (5) %

n

%

19

3.95

0.00

8

1.83

113

25.86

210

48.05 106 24.26

19

3.74

0.00

30

6.86

135

30.89

192

43.94

19

4.13

0.00

1

0.23

88

20.14

203

46.45 145 33.18

37

4.13

0.59

21

2.48

163

19.22

329

38.80 330 38.92

21

4.56

0.00

0.00

13

2.69

186

38.51 284 58.80

0.00

0.00

36

4.24

312

36.71 502 59.06

5

80

18.31

ภาคเรียนที 2/2550 สาขาวิชาบริห ารเทคโนโลยี ท่ าพระจันทร์ ทท610 หลักการบริหาร เทคโนโลยี ทท611 เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี ทท612 การบัญชีและ การเงินเพือการบริ หาร เทคโนโลยี ทท613 ทรัพยากรมนุษย์ และองค์กรเพือการ บริหารเทคโนโลยี ทท614 วิธีวิจยั และการ วิเคราะห์เ ชิงปริ มาณ ทท711 การบริหาร โครงการด้านเทคโนโลยี ทท736 การบริหาร การเงินและการลงทุน เพือการบริหาร เทคโนโลยี

34

4.53

33

3.68

16

1.94

78

9.45

270

32.73

257

31.15 204 24.73

33

4.32

1

0.12

10

1.21

108

13.09

342

41.45 364 44.12

41

4.25

43

4.20

47

4.59

90

8.78

273

26.63 572 55.80

42

3.3

57

5.43

206 19.62

388

36.95

254

24.19 145 13.81

41

4.35

9

0.88

48

4.68

96

9.37

275

26.83 597 58.24

25

4.03

48

7.68

31

4.96

54

8.64

232

37.12 260 41.60

187


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รหัส / รายชือวิชา ทท750 การบริหาร คุณภาพ ทท759 หัวข้ อพิเศษการ จัดการเทคโนโลยี ทท760 คอมพิวเตอร์ สําหรับการบริหาร วิศวกรรม ทท761 การบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ทท762 อินเทอร์ เน็ตและ พาณิชย์อีเล็คทรอนิค ทท768 หัวข้ อพิเศษการ จัดการงานคอมพิวเตอร์ ทท770 การวิจยั การ ดําเนินงานในงาน วิศวกรรมและการบริหาร ทท771 การวิเคราะห์ ผลิตภาพสําหรับงาน วิศวกรรม ทท790 สัมมนา จริ ยธรรมสําหรับ ผู้บริหาร

ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน

ต้ องแก้ไ ข (2)

พอใช้ (3)

ดี (4)

n

%

n

%

n

ดีมาก (5) %

n

%

9

4.31

24

10.67

1

0.44

1

0.44

54

24.00 145 64.44

15

4.24

22

5.87

28

7.47

13

3.47

93

24.80 219 58.40

40

3.89

43

4.30

58

5.80

217

21.70

372

37.20 310 31.00

42

4.36

63

6.00

12

1.14

59

5.62

255

24.29 661 62.95

40

4.16

70

7.00

29

2.90

75

7.50

346

34.60 480 48.00

27

3.96

6

0.89

48

7.11

152

22.52

259

38.37 210 31.11

7

4.03

21

12.00

4

2.29

2

1.14

78

44.57

70

40.00

7

3.99

22

12.57

2

1.14

23

13.14

36

20.57

92

52.57

14

4.16

1

0.29

3

0.86

33

9.43

196

56.00 117 33.43

2

0.89

13

5.78

69

30.67 141 62.67

0.00

5

2.00

61

24.40 184 73.60

12.00

66

26.40

75

30.00

สาขาวิชาบริห ารเทคโนโลยี ศูนย์ พัทยา ทท610 หลักการบริหาร เทคโนโลยี ทท 611 เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี ทท612 การบัญชีและ การเงินเพือการบริ หาร เทคโนโลยี

9

4.56

0.00

10

4.72

0.00

10

3.86

1

0.40

30

188

78

31.20


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รหัส / รายชือวิชา ทท613 ทรัพยากรมนุษย์ และองค์กรเพือการ บริหาร ทท614 วิธีวิจยั และการ วิเคราะห์เ ชิงปริ มาณ ทท711 การบริหาร โครงการด้านเทคโนโลยี ทท725 การวิเคราะห์ เพือการตัดสินใจและ การแก้ ปัญหา ทท737 การถ่ายทอด เทคโนโลยี ทท750 การบริหาร คุณภาพ ทท751 การบริหาร งานวิจยั และพัฒนา ทท752 การจัดการ นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน 7

4.21

9

3.09

8

ต้ องแก้ไ ข (2) n

0.00 16

พอใช้ (3)

ดี (4)

ดีมาก (5)

%

n

%

n

%

n

%

0.00

15

8.57

107

61.14

53

30.29

7.11

56

24.89

90

40.00

42

18.67

21

9.33

4.25

0.00

1

0.50

23

11.50

110

55.00

66

33.00

6

3.95

0.00

4

2.67

53

35.33

48

32.00

45

30.00

11

4.00

0.00

3

1.09

57

20.73

152

55.27

63

22.91

24

4.04

3

0.50

6

1.00

122

20.33

337

56.17 132 22.00

21

4.05

3

0.57

37

7.05

67

12.76

245

46.67 173 32.95

22

3.22

27

4.91

118 21.45

141

25.64

212

38.55

26

4.23

6

0.92

22

3.38

128

19.69

198

30.46 296 45.54

24

4.24

0.00

12

2.00

112

18.67

209

34.83 267 44.50

26

4.54

0.62

5

0.77

26

4.00

217

33.38 398 61.23

25

4.49

0.00

7

1.12

32

5.12

250

40.00 336 53.76

52

9.45

สาขาวิชาบริห ารงานวัฒนธรรม บฒ601 ศิลปะวิเคราะห์ : แนวคิดและความหมายที เปลียนแปลง

บฒ602.1 แนวคิดเชิง วิจารณ์ประเด็นทาง วัฒนธรรมและสังคม บฒ602.2 แนวคิดเชิง วิจารณ์ประเด็นทาง วัฒนธรรมและสังคม บฒ612.1 การใช้ ข้อมูล ทางการบัญชีเพือการ บริหารงานวัฒนธรรม

4

189


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รหัส / รายชือวิชา บฒ612.2 การใช้ ข้อมูล ทางการบัญชีเพือการ บริหารงานวัฒนธรรม บฒ754 แนวคิดและ ทฤษฎีด้านมรดกและ วัฒนธรรมร่วมสมัย บฒ764 แนวคิดและ ทฤษฎีด้านการแสดง และการผลิตทาง วัฒนธรรม บฒ774 แนวคิดและ ทฤษฎีด้านอุตสาหกรรม บันเทิง บฒ780.1 สัมมนาทาง วัฒนธรรม บฒ780.2 สัมมนาทาง วัฒนธรรม บฒ780.3 สัมมนาทาง วัฒนธรรม

ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน 2

ต้ องแก้ไ ข (2)

พอใช้ (3)

ดี (4)

ดีมาก (5)

n

%

n

%

n

%

n

%

0.31

5

0.77

106

16.31

313

48.15 224 34.46

0.00

4

4.00

43

43.00

23

23.00

30

30.00

0.57

13

7.43

56

32.00

81

46.29

24

13.71

26

4.17

4

3.83

7

3.70

7

4.20

0.00

0.00

25

14.29

87

49.71

63

36.00

6

4.19

0.00

0.00

19

12.67

82

54.67

49

32.67

6

2.62

18.67

30

20.00

38

25.33

8

5.33

6

4.44

0.00

5

3.33

70

46.67

75

50.00

1

46

30.67

28

0.00

ภาคฤดูร้อน/2550 สาขาวิชาบริห ารเทคโนโลยี ท่ าพระจันทร์ ทท710.1 การตลาดเพือ การบริหารเทคโนโลยี ทท710.2 การตลาดเพือ การบริหารเทคโนโลยี ทท.736 การบริหาร การเงินและการลงทุน เพือการบริหาร เทคโนโลยี

71

2.92

207 11.66 368 20.73

655

36.90

425

23.94 120

6.76

37

2.76

131 14.56 213 23.67

333

37.00

168

18.67

6.11

18

3.89

113

26.59

162

38.12 118 27.76

9

2.12

23

190

5.41

55


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รหัส / รายชือวิชา ทท746 การจัดการ สิงแวดล้ อม ทท.758 ธุรกิจค้ าปลี ก ระหว่างประเทศ ทท.759 หัวข้ อพิเศษการ จัดการเทคโนโลยี ทท.768 หัวข้ อพิเศษการ จัดการงานคอมพิวเตอร์ ทท.789 หัวข้ อพิเศษการ บริหารเทคโนโลยีและ นวัตกรรม ทท792 สัมมนากลยุทธ์ การบริหารเทคโนโลยี

ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน

ต้ องแก้ไ ข (2) n

0.00

พอใช้ (3)

ดี (4)

ดีมาก (5)

%

n

%

n

%

n

%

0.00

21

2.80

310

41.33 419 55.87

32

4.52

51

3.73

22

1.73

101

7.92

376

29.49

511

40.08 265 20.78

54

3.74

42

3.05

162 11.78

260

18.91

575

41.82 336 24.44

32

3.82

8

0.97

63

7.64

200

24.24

373

45.21 181 21.94

14

3.80

8

2.29

8

2.29

73

20.86

207

59.14

72

3.42

56

3.11

244 13.56

627

34.83

659

36.61 214 11.89

54

15.43

สาขาวิชาบริห ารเทคโนโลยี ศูนย์ พทั ยา ทท.710 การตลาดเพือ การบริหารเทคโนโลยี ทท.736 การบริหาร การเงินและการลงทุน เพือการบริหาร เทคโนโลยี ทท.747 การบริหาร โรงงานอุตสาหกรรม ทท.755 การบริหาร พลังงาน ทท.768หัวข้ อพิเศษการ จัดการงานคอมพิวเตอร์ ทท.792 สัมมนากลยุทธ์ การบริหารเทคโนโลยี

40

3.35

67

6.70

126 12.60

369

36.90

299

29.90 139 13.90

15

4.16

6

1.60

10

2.67

61

16.27

153

40.80 145 38.67

23

4.29

2

0.35

11

1.91

66

11.48

255

44.35 241 41.91

29

3.69

18

2.48

69

9.52

209

28.83

304

41.93 125 17.24

26

4.48

0

0.00

2

0.31

44

6.77

251

38.62 353 54.31

42

3.83

24

2.29

57

5.43

255

24.29

451

42.95 263 25.05

191


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ไม่น่าพอใจ จํานวน (1) ผู้ตอบ รหัส / รายชือวิชา ค่าเฉลีย แบบ n % ประเมิน สาขาวิชาบริห ารวัฒนธรรม บฒ755.1บริหารงาน มรดกและวัฒนธรรมร่ วม สมัย บฒ755.2บริหารงาน มรดกและวัฒนธรรมร่ วม สมัย บฒ765.1การบริหาร การแสดงและการผลิต ทางวัฒนธรรม บฒ765.2 การบริ หาร การแสดงและการผลิต ทางวัฒนธรรม บฒ765.3 การบริ หาร การแสดงและการผลิต ทางวัฒนธรรม บฒ775.1การบริหาร อุตสาหกรรมบันเทิง บฒ775.2 การบริ หาร อุตสาหกรรมบันเทิง บฒ610 หลักการบริหาร เพือบูรณาการและ นวัตกรรม บฒ611กลยุทธ์การ สือสารเพื อการ บริหารงานวัฒนธรรม

ต้ องแก้ไ ข (2)

พอใช้ (3)

ดี (4)

ดีมาก (5)

n

%

n

%

n

%

n

%

14

3.81

19

5.43

38

10.86

31

8.86

170

48.57

92

26.29

14

3.21

41

11.71

50

14.29

99

28.29

118

33.71

42

12.00

16

3.44

9

2.25

53

13.25

144

36.00

153

38.25

41

10.25

17

3.69

0

0.00

35

8.24

113

26.59

210

49.41

67

15.76

17

3.58

3

0.71

12

2.82

218

51.29

144

33.88

48

11.29

21

3.71

17

3.24

31

5.90

158

30.10

202

38.48 117 22.29

19

3.46

37

7.79

48

10.11

112

23.58

211

44.42

33

4.22

51

6.18

22

2.67

82

9.94

222

26.91 448 54.30

33

4.08

31

3.76

50

6.06

104

12.61

274

33.21 366 44.36

67

ระดับความพึงพอใจของนักศึก ษาต่ อคุ ณภาพการสอนของอาจารย์ และสิงสนับสนุนการเรียนรู้ ประจําปี การศึกษา 2550 เท่ ากับ 4.07

192

14.11


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.3 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีโครงการหรื อกิจกรรมทีสนับ สนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึงบุคคล องค์กร และชุมชน ภายนอกมี สว่ นร่ วม ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายนพดล คุณอนันทวณิช 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 125

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีระบบและกลไกทีกําหนดให้ ผู้ท รงคุณวุฒิ หรือผู้ร้ ู ในชุมชนมาช่วยใน การพัฒนาและปรับปรุ งหลักสูตรทุก หลักสูตร

2

3

การดําเนินงานตามเกณฑ์ ได้ มี ก ารกํ า หนดให้ มี ก ารขอความเห็ น จากผู้ท รงคุณวุฒิ/ ผู้เ ชียวชาญภายนอก ประกอบการพิจารณาปรับ ปรุงหลักสูตร ทุกครัง

มีการจัดการเรี ยนการสอนทีส่งเสริมให้ ผู้เรี ยนมีความรู้และทักษะทีนําไปใช้ ใน การปฏิบัตไิ ด้ จริ ง โดยผู้ท รงคุณวุฒิ หรือ ผู้ร้ ู ในชุมชนมีสว่ นร่วมทุกหลักสูตร

1. จั ด ให้ มี ก าร บร ร ยายพิ เ ศษ ห รื อ ผู้ทรงคุณวุฒิร่วมบรรยายในรายวิชา ทีอาจารย์ประจําเป็ นผู้สอน 2. จั ด ใ ห้ มี อ า จ า ร ย์ พิ เ ศ ษ ที เ ป็ น ผู้ท รงคุณ วุ ฒิ ภ ายนอกร่ ว มสอนใน บางวิชา 3. ส่งเสริมให้ มีการนํานักศึกษาไปดูงาน นอกสถานที ยังหน่วยงานภายนอก มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษา ได้ มีการจัดกิจกรรม/โครงการนักศึกษาที ทังทีกําหนดและไม่กําหนดในหลักสูตร ได้ รั บ ค วาม ร่ ว มมื อ จา กห น่ วยงาน โดยความร่ วมมือกับ องค์กรหรื อ ภายนอกทังภาครัฐและเอกชน ได้ แก่ หน่วยงานภายนอก 1. โครงการฝึ กอบรม “การพัฒนาทักษะ เจ้ าของธุรกิจรุ่ นใหม่” ร่ วมกับธนาคาร ไทยพาณิชย์ 2. โครงการฝึ กอบรม “ผู้จัดการกลยุท ธ์ เชิ ง น วั ต กร รม” ร่ วมกั บ เครื อ โรงพยาบาลมหาชัย

193

เอกสารอ้ างอิง เอกสารสรุปผลการ พิจารณาจาก ผู้ท รงคุณวุฒิ/ผู้เชียวชาญ ภายนอกสําหรับการ ปรับปรุ งหลักสูตรการ บริห ารเทคโนโลยี 1. รายชือ/หัวข้ อทีมีการ บรรยายพิเศษใน รายวิชาต่างๆ 2. รายชือวิชาทีสอนโดย อาจารย์พเิ ศษ ซึงเป็ น ผู้ท รงคุณวุฒิภายนอก 3. รายชือวิชาทีมีการดู งานนอกสถานที เอกสารสรุปการ ดําเนิน งานโครงการทีมี การร่ วมมือกับองค์กรหรือ หน่วยงานภายนอก


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน การดําเนินงานตามเกณฑ์ เอกสารอ้ างอิง 3 มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษา 3. โครงการ “เทศกาลศิล ปะสร้ างสรรค์ ทังทีกําหนดและไม่กําหนดในหลักสูตร เพื อเยาวชน (Creative Arts for โดยความร่ วมมือกับ องค์กรหรื อ Youth Festival)” ร่ ว มกับ ภาควิช า หน่วยงานภายนอก (ต่อ) ศิลปะการแสดง มหาวิท ยาลัยศรี น คริ นทรวิ โรฒ สาขาวิช าดนตรี และการ แสดง มห าวิ ท ยาลั ย บู รพา และ นั ก ศึ ก ษาทุ น ศิ ล ปิ น มหาวิ ท ยาลัย รั ง สิ ต ระห ว่ า งวั น ที 8-9 มี น าคม 2551 ณ สมาคมฝรังเศส ถนนสาทร กรุ งเทพ 4. โครงการ “Unlimited Arts Festival” ร่ ว มกั บ สํา นั ก งานศิ ลปวั ฒนธรรม ร่ วม สมั ย กร ะ ท ร วง วั ฒ น ธ ร ร ม ระหว่างวัน ที 11-13 มีนาคม 2551 ณ ศูนย์การค้ าเอสพลานาด ชัน G ถนน รัชดาภิเษก 4 มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมิน 1. จัดให้ มี การประเมิ น ผลการสอนใน 1. เอกสารผลการ กิจกรรมการเรียนการสอนทีได้ รบั การ วิชาที สอนหรื อการบรรยายพิเศษโดย ประเมิน การสอน/ สนับสนุนจากผู้ท รงคุณวุฒิหรือชุมชน อาจารย์ผ้ ทู รงคุณ วุฒิเ ป็ นประจําทุ ก บรรยายพิเศษของ ภายนอกทุกหลักสูตร ครัง เพือนําผลไปใช้ ในการพิจารณา ผู้ท รงคุณวุฒิภายนอก ประกอบการจัดการสอนในครังต่อไป 5 มีการนําผลการประเมิน ไปปรับปรุงการมี ส่วนร่วมของบุคคล องค์การ และชุมชน 2. กิ จ กร ร ม ที นั ก ศึ ก ษ า ร่ วม จั ด กั บ 2. สรุ ปผลการประเมิน หน่ วยงานภายนอก จะกํา หนดให้ มี โครงการตามแนวทาง ภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการ กา ร จั ด ทํ าก าร ป ร ะ เมิ น ผลต าม คุณภาพสําหรับ เรี ยนการสอนทุกหลักสูตร แนวทางคุณ ภาพ (รายละเอี ย ดใน กิจกรรมนักศึกษา ดัช นี 9.2 มีร ะบบและกลไกการให้ ความรู้ และทั กษะด้ า นการประกัน คุณภาพแก่น ักศึกษา)

194


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.4 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจํานวนอาจารย์ประจํา ฝ่ ายบริ การการศึกษา ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส. บุษราภรณ์ หลวงพรหม 02-623-5055-8 โทรศัพท์ 02-623-5055-8 ต่อ 101

2.4-1

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) สาขาวิชา ระดับปริ ญญาโท – โครงการพิเศษ สาขาวิชาการบริห ารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์) สาขาวิชาการบริห ารเทคโนโลยี (ศูนย์พทั ยา) สาขาวิชาการบริห ารงานวัฒนธรรม รวมทังหมด 2.4-2

นั กศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ า 447.53 155.03 121.73 724.28

การคํานวณค่า FTES

SCH SCH SCH ลําดับ โครงการ ภาค 1 ภาค 2 ทังหมด (1) (2) (1)+(2)=3 1 การบริหารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) 3084 2883 5967 2 การบริหารเทคโนโลยี (ศูนย์พทั ยา) 1002 1065 2067 3 การบริหารงานวัฒนธรรม 660 963 1623 รวม 476 4911 9675 * (4) หมายถึง ค่าของหน่ วยกิตทีใช้จ่าย ระดับ บัณฑิตศึกษา = 24 หน่วยกิต

195

หน่ วยกิต ทังหมด (4)* 24 24 24

FTES (3)/(4)

ปรับค่ า คูณ 1.8

248.63 86.13 67.63 334.75

447.53 155.03 121.73 724.28


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2.4-3

การคํานวณค่า SCH ( บริห ารเทคโนโลยี ท่าพระจันทร์ ภาคเรียนที 1/2550) จํานวนนักศึกษาหลังเพิมถอน จํานวนหน่ วยกิต ลําดับ รหัสวิชา (1) (2) 1 TT.610 71 3 2 TT.611 71 3 3 TT.612 71 3 4 TT.613 53 3 5 TT.614 53 3 6 TT.711 53 3 7 TT.740 10 3 8 TT.741 10 3 9 TT.742 10 3 10 TT.750 43 3 11 TT.751 43 3 12 TT.752 45 3 13 TT.780 20 3 14 TT.781 19 3 15 TT.782 18 3 16 TT.790 88 3 17 TT.792 77 3 18 TT.793 72 3 19 TT.794 85 3 20 TT.800 2 6 21 TT.800 8 3 22 TU.005 56 3 23 TU.006 48 3 รวม จํานวนรวมของ SCH (4) = ผลรวมของผลคูณระหว่างจํานวนนักศึกษาทีลงทะเบียนเรียนกับ จํานวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาที ภาควิชาหรื อคณะนันเปิ ดสอน จํานวนหน่วยกิตทีนักศึกษา 1 คน จะลงทะเบียนในภาคนันๆ กําหนดได้ ดงั นี ปริ ญญาตรี = 18 หน่วยกิต บัณฑิตศึกษา = 12 หน่วยกิต 196

SCH (1) x (2) 213 213 213 159 159 159 30 30 30 129 129 135 60 57 54 264 231 216 255 12 24 168 144 3,084


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2.4-4 ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

การคํานวณค่า SCH ( บริห ารเทคโนโลยี พัทยา ภาคเรี ยนที 1/2550) จํานวนนักศึกษาหลังเพิมถอน จํานวนหน่ วยกิต รหัสวิชา (1) (2) TT.610 27 3 TT.611 27 3 TT.612 28 3 TT.613 27 3 TT.614 28 3 TT.711 28 3 TT.750 28 3 TT.760 9 3 TT.761 9 3 TT.762 9 3 TT.770 30 3 TT.771 30 3 TU.005 26 3 TU.006 28 3

รวม จํานวนรวมของ SCH (4) =

SCH (1) x (2) 81 81 84 81 84 84 84 27 27 27 90 90 78 84

1,002 ผลรวมของผลคูณระหว่างจํานวนนักศึกษาทีลงทะเบียนเรียนกับ จํานวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาที ภาควิชาหรื อคณะนันเปิ ดสอน

จํานวนหน่วยกิตทีนักศึกษา 1 คน จะลงทะเบียนในภาคนันๆ กําหนดได้ ดงั นี ปริ ญญาตรี = 18 หน่วยกิต บัณฑิตศึกษา = 12 หน่วยกิต 197


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2.4-5 ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

การคํานวณค่า SCH ( บริห ารงานวัฒนธรรม ภาคเรียนที 1/2550) จํานวนนักศึกษาหลังเพิมถอน จํานวนหน่ วยกิต รหัสวิชา (1) (2) CT.710 41 3 CT.711 41 3 CT.712 41 3 CT.760 24 3 CT.791 17 3 CT.792 7 3 CT.800 8 6 CT.800 4 3 TU.005 16 3 TU.006 13 3

รวม จํานวนรวมของ SCH (4) =

SCH (1) x (2) 123 123 123 72 51 21 48 12 48 39

660 ผลรวมของผลคูณระหว่างจํานวนนักศึกษาทีลงทะเบียนเรียนกับ จํานวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาที ภาควิชาหรื อคณะนันเปิ ดสอน

จํานวนหน่วยกิตทีนักศึกษา 1 คน จะลงทะเบียนในภาคนันๆ กําหนดได้ ดงั นี ปริ ญญาตรี = 18 หน่วยกิต บัณฑิตศึกษา = 12 หน่วยกิต

198


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2.4-6

การคํานวณค่า SCH ( บริห ารเทคโนโลยี ท่าพระจันทร์ ภาคเรียนที 2/2550) จํานวนนักศึกษาหลังเพิมถอน จํานวนหน่ วยกิต ลําดับ รหัสวิชา (1) (2) 1 TT.610 39 3 2 TT.611 39 3 3 TT.612 39 3 4 TT.613 70 3 5 TT.614 70 3 6 TT.711 70 3 7 TT.736 39 3 8 TT.746 10 3 9 TT.750 13 3 10 TT.759 29 3 11 TT.760 44 3 12 TT.761 49 3 13 TT.762 45 3 14 TT.768 44 3 15 TT.770 9 3 16 TT.771 9 3 17 TT.790 74 3 18 TT.793 68 3 19 TT.794 74 3 20 TT.800 8 6 21 7 3 22 TU.005 49 3 23 TU.006 55 3 รวม จํานวนรวมของ SCH (4) = ผลรวมของผลคูณระหว่างจํานวนนักศึกษาทีลงทะเบียนเรียนกับ จํานวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาที ภาควิชาหรื อคณะนันเปิ ดสอน จํานวนหน่วยกิตทีนักศึกษา 1 คน จะลงทะเบียนในภาคนันๆ กําหนดได้ ดงั นี ปริ ญญาตรี = 18 หน่วยกิต บัณฑิตศึกษา = 12 หน่วยกิต 199

SCH (1) x (2) 117 117 117 210 210 210 117 30 39 87 132 147 135 132 27 27 222 204 222 48 21 147 165 2,883


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2.4-7 ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

การคํานวณค่า SCH ( บริห ารเทคโนโลยี พัทยา ภาคเรี ยนที 2/2550) จํานวนนักศึกษาหลังเพิมถอน จํานวนหน่ วยกิต รหัสวิชา (1) (2) TT.610 14 3 TT.611 14 3 TT.612 14 3 TT.613 27 3 TT.614 29 3 TT.711 27 3 TT.725 13 3 TT.737 20 3 TT.750 30 3 TT.751 28 3 TT.752 28 3 TT.768 28 3 TT.793 32 3 TT.800 5 6 TT.800 3 3 TU.005 13 3 TU.006 25 3

รวม จํานวนรวมของ SCH (4) =

SCH (1) x (2) 42 42 42 81 87 81 39 60 90 84 84 84 96 30 9 39 75

1,065 ผลรวมของผลคูณระหว่างจํานวนนักศึกษาทีลงทะเบียนเรียนกับ จํานวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาที ภาควิชาหรื อคณะนันเปิ ดสอน

จํานวนหน่วยกิตทีนักศึกษา 1 คน จะลงทะเบียนในภาคนันๆ กําหนดได้ ดงั นี ปริ ญญาตรี = 18 หน่วยกิต บัณฑิตศึกษา = 12 หน่วยกิต 200


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

2.4-8 ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

การคํานวณค่า SCH ( บริห ารงานวัฒนธรรม ภาคเรียนที 2/2550) จํานวนนักศึกษาหลังเพิมถอน จํานวนหน่ วยกิต รหัสวิชา (1) (2) CT.601 33 3 CT.602 33 3 CT.612 33 3 CT.754 17 3 CT.764 21 3 CT.774 22 3 CT.760 40 3 CT.780 26 3 CT.792 18 3 CT.800 4 6 CT.800 21 3 TU.005 31 3 TU.006 18 3

รวม จํานวนรวมของ SCH (4) =

SCH (1) x (2) 99 99 99 51 63 66 120 78 54 24 63 93 54

963 ผลรวมของผลคูณระหว่างจํานวนนั กศึกษาทีลงทะเบียนเรียนกับ จํานวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชาที ภาควิชาหรื อคณะนันเปิ ดสอน

จํานวนหน่วยกิตทีนักศึกษา 1 คน จะลงทะเบียนในภาคนันๆ กําหนดได้ ดงั นี ปริ ญญาตรี = 18 หน่วยกิต บัณฑิตศึกษา = 12 หน่วยกิต

201


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.5 ตัวบ่ งชีที 2.6 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

สัดส่วนอาจารย์ป ระจําทีมีวฒ ุ ิปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก หรื อเทียบเท่าต่ออาจารย์ป ระจํา สัดส่วนอาจารย์ป ระจําทีดํารงตําแหน่ งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ งานบุ คคล ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางศิริประภา ดวงศรี 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-5055

ตําแหน่งทาง วิชาการ ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ อาจารย์ รวม

จํานวนอาจารย์ทงหมด ั ณ วัน สินสุดปี การศึกษา (31 พฤษภาคม) จํานวนอาจารย์ จํานวนอาจารย์ วุฒิการศึกษา ปฏิบ ตั ิงานจริง ทีลาศึกษาต่อ ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก รวม

1 5 6

0.5 4.5 5

หมายเหตุ : นับรวมอาจารย์ทีลาศึกษาต่อต่างประเทศ

202

1.5 9.5 11

1.5 8.5 10

1 1


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.7 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีกระบวนการส่งเสริ มการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายดนัย กิติภรณ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3111

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ คณาจารย์ไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร

2

3

4

5

การดําเนินงานตามเกณฑ์ มห าวิ ท ยาลั ย ธร ร มศ าสต ร์ ไ ด้ อ อ ก ประกาศและคู่มือประกอบจรรยาบรรณ วิชาชีพ อาจารย์ ซึงมี ผลบัง คับ ใช้ กับ ทุ ก หน่วยงาน ดังนี 1. ประกาศมหาวิ ท ยาลัย ธรรมศาสตร์ ว่าด้ วยจรรยาบรรณวิ ชาชีพอาจารย์ เมือวัน ที 15 สิงหาคม 2549 2. ประกาศมหาวิ ท ยาลัย ธรรมศาสตร์ ว่าด้ ว ยหลักเกณฑ์ การปฏิ บ ัติใ นการ ใช้ บงั คับจรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์ เมือวัน ที 30 กันยายน 2549 3. คู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพ มีกระบวนการส่งเสริ มให้ ผ้ เู กียวข้ องได้ ให้ มี ป ระเด็ น ด้ านจรรยาบรรณวิ ช าชี พ ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็ นวาระ/ข้ อแลกเปลียนในการประชุม คณาจารย์ป ระจําเดือน มีการกํากับดูแลการปฏิบัตติ าม 1. มีการนําประเด็นสําคัญๆ ทีเกียวข้ อง จรรยาบรรณวิชาชีพ กั บ จร ร ยาบ รร ณม าเ ข้ า ใน แบ บ ประเมิ นการเรี ยนการสอน 2. เผยแพร่จรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์ ให้ ท ราบโดยทัวกัน มีระบบในการดําเนินการกับ ผู้ทีไม่ป ฏิบ ัติ ป ฏิ บั ติ ตาม กลไก ที ป ร าก ฎใน คู่ มื อ ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ จร ร ยาบ ร ร ณวิ ชาชี พ อ าจ าร ย์ ข อง มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ มีการดําเนินการวางแผน ป้องกัน หรื อ ให้ มี การประชุม หารื อ ร่ ว มกับ ผู้ที ได้ รั บ หาแนวทางแก้ ไขการกระทําผิด ผลกระทบจากการประเมิ น จรรยาบรรณ จรรยาบรรณวิชาชีพ ในข้ อที 3 เพือกํ าหนดแนวทางป้ องกัน ก่อนจะถูกกล่าวหา

203

เอกสารอ้ างอิง 1. ประกาศมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ว่ า ด้ ว ย จรรยาบรรณวิ ช าชี พ อาจารย์ 2. ประกาศมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ว่ า ด้ ว ย หลักเกณฑ์ การปฏิ บ ัติ ในการใช้ บ ังคับ จรรยา บรรณวิชาชีพอาจารย์ 3. คู่ มื อ จ ร ร ย า บ ร ร ณ วิชาชีพ ตารางการประชุม อาจารย์/รายงานการ ประชุม 1. ผลการประเมิน อาจารย์ในประเด็นที เกียวกับ จรรยาบรรณ 2. คู่มืออาจารย์ คู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพ อาจารย์ของ มธ. ตารางการประชุม อาจารย์/รายงานการ ประชุม


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.8 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีระบบและกลไกสนับสนุนให้ อาจารย์ประจําทําการวิจยั เพือพัฒนาการเรี ยนการสอน ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายดนัย กิติภรณ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3111

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการกําหนดแนวทางการพัฒนา อาจารย์ด้านความรู้ความเข้ าใจเกียวกับ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรี ยน การสอน 2 มีกลไกการบริ หารวิชาการทีจะกระตุ้นให้ อาจารย์คิดค้ นพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ในด้ านการเรี ยนการสอน 3 มีแหล่งทุน สนับสนุน การวิจยั เพือ พัฒนาการเรี ยนการสอนและนวัตกรรม ทางการศึกษา 4 มีผลงานวิจยั ด้ านการเรี ยนการสอนและ มีการจัดเวทีแลกเปลียนและเผยแพร่ ผลงานวิจัยด้ านการเรียนการสอนและ นวัตกรรมทางการศึกษาอย่างสมําเสมอ 5 มีการสร้ างเครื อข่ายวิจยั ด้ านนวัตกรรม การเรี ยนการสอนทังภายในและ ภายนอกสถาบัน

การดําเนินงานตามเกณฑ์ วิ ท ยาลัย ได้ กํา หนดให้ มี ก ารสนั บ สนุ น การทํ าวิจัย โดยเป็ นรู ป แบบการให้ ท ุน เพื อนํ า เสนอผลงานวิ จั ย ในที ประชุ ม วิ ช า การ การให้ เงิ น ร าง วั ล สํ า ห รั บ งานวิ จัย ที ได้ รับ การตี พิม พ์ รวมถึ งการ กําหนดผลงานวิ จัยให้ เ ป็ นส่วนหนึ งใน หลักเกณฑ์สาํ หรับ สัญญาและภาระงาน ขันตํา

จั ด สัม มนาโดยเชิ ญ ผู้ เชี ยวชาญด้ า น การศึ ก ษามาให้ ความรู้ กับ คณาจารย์ เพื อพัฒนาการเรี ยนการสอนให้ เหมาะ กับผู้เรี ยน

จํานวนผลงานวิจยั และ/หรื อ นวัตกรรมการเรี ยนการสอนของคณาจารย์

204

0

เรื อง

เอกสารอ้ างอิง ประกาศมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เรื อง หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิงาน เกียวกับอาจารย์ป ระจํา ของวิทยาลัยนวัตกรรม พ.ศ. 2551


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.11

ความพึงพอใจของนายจ้าง/ผู้ประกอบการ/ผู้ใช้ บัณฑิตระดับปริ ญญาตรี

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรระดับปริญญาตรี

205


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ร้ อยละของนักศึกษาหรือศิษย์เก่าที สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทีได้ รบั การประกาศเกียรติคณ ุ ยก ย่องในด้ านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และด้ านสิงแวดล้ อมใน ระดับ ชาติหรื อนานาชาติ ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138 2.12-1 จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมาทีได้ รับการประกาศเกียรติคณ ุ ฯ ระดับของ ปี ที สําเร็จ ประเภท ชือประกาศ วันเดือน การศึกษา/ หน่ วยงานที ของการ ประกาศรางวัล ชือนัก ศึกษา/ศิษย์ เก่ า เกียรติคุณ/ ปี ที ชันปี ที มอบ ประกาศ นานาช รางวัลทีได้ รับ ได้ รับ ชาติ ศึกษา /รางวัล าติ Department of 1.นายสมยศ น้ อยสุข 2549 Best Paper 2-3 พ.ย. 1 / Industrial (การบริ หารกระบวนการรับ Award 50 ตัวบ่ งชีที 2.12

Engineering Faculty of Engineering Chiang Mai University

และกระจายสินค้ าตามระบบ ต้ นทุนฐานกิจกรรมศึกษา กรณีคลังสินค้ าบริ ษทั CP Seven-Eleven)

2. นาวาตรี พนิศรัฐ บุษย์ นิลเพชร (การบริ หาร

2549

รางวัลชมเชย

สถาบันวิชาการ ทหารเรื อชันสูง

20 ต.ค. 50

1

/

3. น.ส.กมลวรรณ มักการุณ (แผนธุรกิจ วัสดุปิดแผลจากสารไค โตซาน)

2549

Semi-finalist

ตลาดหลักทรั พย์ ใหม่แห่งประเทศ ไทย และ สถาบันบัณฑิต บริ หารธุรกิจ ศศินทร์ แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

3 มี.ค.50

1

/

4.น.ส.พนิตนาฏ อติศพั ท์

2545

พิธีกรดีเด่น

รายการครบ เครื องเรือง ผู้หญิง

2546

1

/

2

/

โครงการต่อเรื อของ กองทัพเรื อ)

5.น.ส.บัวชมพู ฟอร์ ด

กําลัง ศึกษาอยู่

เยาวชนดีเด่นแห่งชาติ สํานักงานส่งเสริ ม 20 ก.ย. (สาขาสือมวลชนเพือ สวัสดิภาพและ 48 เด็กและเยาวชนที พิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ป้ องกันปั ญหาสังคม)

206


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ชือนัก ศึกษา/ศิษย์ เก่ า

ปี ที สําเร็จ การศึกษา/ ชันปี ที ศึกษา

น.ส.บัวชมพู ฟอร์ ด (ต่อ)

ชือประกาศ เกียรติคุณ/ รางวัลทีได้ รับ

หน่ วยงานที มอบ

ลูกกตัญ ูดีเด่น แห่งชาติ

พระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าโสมส วลี พระวรราชาทิ นัดดามาตุในงาน วันแม่แห่งชาติ กองบัญชาการ ตํารวจปราบปราม ยาเสพติด สํานักงานตํ ารวจ แห่งชาติ

ศิลปิ นอาสาสมัคร ช่วยเหลือโครงการ ต่อต้ านยาเสพติดฯ

*

ประเภท วันเดือน ของการ ปี ที ประกาศ ได้ รับ /รางวัล 12 ส.ค. 2 49

26 มิ.ย. 51

ระดับของ ประกาศรางวัล นานา ชาติ ชาติ /

2

/

ในกรณีทเป็ ี นรางวัลจากผลงานวิจยั และ/หรื อ วิทยานิพนธ์ ขอให้ ระบุชือผลงานทีนักศึกษาได้ รับรางวัลด้ วย

จํานวนนักศึกษา/ศิษย์เก่าที ได้ รบั การประกาศเกียรติคุณยกย่องหรือได้ รับ รางวัล ประเภทของการประกาศเกียรติคุณยกย่ อง/รางวัล 1. ด้ านวิชาการ วิชาชีพ (รวมงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ ) 2. ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม 3. ด้ านกีฬา สุขภาพ

5

คน

4. ด้ านศิลปะและวัฒนธรรม 5. ด้ านสิงแวดล้ อม 6. อืนๆ

จํานวนนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์เก่าทีสําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมา ระดับการศึกษา ประเภทของนักศึกษา ประกาศนี ยบัตร ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 2.12-2

410

รวมทุก ระดับ 410

651 156 152 120 179 44

651 156 152 120 179 44

บัณฑิต

นักศึกษาปั จจุบนั (ภาคพิเศษ) ศิษย์เก่าที สําเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ทีผ่านมา (ภาคพิเศษ) ปี การศึกษา 2549 ปี การศึกษา 2548 ปี การศึกษา 2547 ปี การศึกษา 2546 ปี การศึกษา 2545

207


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.12.1 จํานวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการของนักศึกษาทีได้ รบั รางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปี ทีผ่านมา ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138 ชือวิทยานิพนธ์ / ผลงานวิชาการ 1.การบริหาร กระบวนการรับ และ กระจายสินค้ าตาม ระบบต้ นทุน ฐาน กิจกรรมศึกษากรณี คลังสินค้ าบริ ษทั CP Seven-Eleven 2. การบริห ารโครงการ ต่อเรือของกองทัพเรือ

ชือนักศึกษา นายสมยศ น้ อยสุข

นาวาตรี พนิศรัฐ บุษย์นิลเพชร

ระดับ การศึกษา

รางวัล ที ได้ รับ

ปริ ญญาโท Best Paper Award

ปริ ญญาโท รางวัล ชมเชย

3. แผนธุรกิจวัสดุปิ ด น.ส.กมลวรรณ มัก ปริ ญญาโท Semiแผลจากสารไคโตซาน การุ ณ finalist

หน่ วยงานที มอบ Department of Industrial Engineering Faculty of Engineering Chiang Mai University สถาบัน วิชาการ ทหารเรื อ ชันสูง

วันเดือนปี ทีได้ รับ รางวัล 2-3 พย.50

ระดับรางวัล นานา ชาติ ชาติ /

(Thailand and Logistics hub in GMS The 6 th industrial academic Annual conference on supply chain and logistics management)

20 ต.ค.50

ตลาด 3 มี.ค.50 หลักทรัพย์ใหม่ แห่งประเทศ ไทยและสถาบัน บัณฑิต บริ หารธุรกิจศศิ นทร์ แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

/

/

หมายเหตุ การได้ รับรางวัล ต้ องเป็ น รางวัลของหน่วยงานทีมี พนั ธกิจหลักในการส่งเสริ มและสนับ สนุน งานวิจยั ของประเทศ เช่น สภาวิจยั แห่ งชาติ สกว. หรื อหน่ วยงาน/องค์กรวิชาการ/วิชาชีพทีได้ รับ การยอมรับ ในระดับ นานาชาติ เป็ นต้ น โดยมีลายลักษณ์อกั ษรปรากฏ ซึงแสดงถึงการเชิดชูเกียรติสร้ างชือเสียงให้ กบั บุคลากรและหน่วยงาน จํานวนวิทยานิพนธ์ และงานวิชาการของนักศึกษาที ได้ รับ รางวัลในระดับ ชาติหรื อระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปี ทีผ่านมา 3 เรือง

208


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.13 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ร้ อยละของอาจารย์ป ระจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาทีมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ททํี าหน้ าทีอาจารย์ ทีปรึ กษาวิท ยานิ พนธ์ คณบดี/รองคณบดี/ผู้อาํ นวยการหลักสูตร ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

หลักสูตร

จํานวนอาจารย์ ประจําหลัก สูตรที มีคุณสมบัติเป็ นอาจารย์ ทปรึ ี กษา วิทยานิพนธ์

จํานวนอาจารย์ ประจําหลัก สูตร ทีมีคุณสมบัติเป็ นอาจารย์ ที ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ททํี าหน้ าที อาจารย์ ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์

ร้ อยละ

ระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหาร เทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) สาขาวิชาการบริหาร เทคโนโลยี (ศูน ย์พทั ยา) สาขาวิชาการบริหารงาน วัฒนธรรม รวม

5

4

80

5

4

80

รายชืออาจารย์ ประจําวิท ยาลัยนวัตกรรมทีมีคุณสมบัติเป็ นอาจารย์ ทปรึ ี กษาวิทยานิพนธ์ ชือ – สกุล 1. ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา 2. ดร.สุพชั รจิต จิตประไพ 3. ดร.ยอดมนี เทพานนท์ 4 ดร.ประวิทย์ เขมะสุนนั ท์ (อายุงานมากกว่า 6 เดือนแต่ไม่ถงึ 1 ปี นับได้ ½ คน)

5 ดร.สมิท ธ์ ตุงคะสมิต (อายุงานมากกว่า 6 เดือนแต่ไม่ถงึ 1 ปี นับได้ ½ คน)

6. ดร.เกรี ยงไกร วัฒนาสวัสดิ (อายุงานมากกว่า 6 เดือนแต่ไม่ถงึ 1 ปี นับได้ ½ คน)

7. ผศ.ดร.จิระพรรษ์ บุณยเกียรติ (ลาออก มีค.51 ปี นับได้ ½ คน)

รายละเอียด เป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริ หารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) และ (ศูนย์พัทยา) เป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริ หารงานวัฒนธรรม เป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริ หารงานวัฒนธรรม และ สาขาวิชาบริ หารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) เป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริ หารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) เป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริ หารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) และ (ศูนย์พัทยา) ไม่เป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิทยานิพนธ์ ไม่เป็ นอาจารย์ทปรึ ี กษาวิทยานิพนธ์

209


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.14 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

อัตราการแข่งขัน เข้ าศึกษาต่อมหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ (ยกเลิก) ฝ่ ายบริ การการศึกษา ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส. บุษราภรณ์ หลวงพรหม 02-623-5055-8 โทรศัพท์ 02-623-5055-8 ต่อ 101

หลักสูตร ระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ศูนย์พทั ยา) สาขาวิชาการบริหารงาน วัฒนธรรม รวม

จํานวนทีประกาศรับ (A)

จํานวนผู้สมัคร (B)

จํานวนรับจริง (C)

(B)/(C)

200

199

112

1.77

120

54

45

1.20

60

44

35

1.25

380

297

192

1.54

จํานวนทีประกาศรับ คือ จํานวนทีหน่วยงานได้ ประกาศ/ประชาสัมพัน ธ์ ให้ สงั คมรับทราบ จํานวนผู้สมัคร หมายถึง จํานวนผู้สมัครสอบเข้ าศึกษาในมหาวิท ยาลัยทุกโครงการ (โครงการปกติและโครงการพิเศษ) จํานวนทีรับจริง คือ จํานวนนักศึกษาทีสอบผ่านการสัมภาษณ์ และขึนทะเบียนเป็ นนักศึกษา

210


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.15 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ค่าระดับเฉลียสะสมของนักศึกษาทีสอบเข้ ามหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ (ยกเลิก) ฝ่ ายบริ การการศึกษา ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส. บุษราภรณ์ หลวงพรหม 02-623-5055-8 โทรศัพท์ 02-623-5055-8 ต่อ 101 หลักสูตร

จํานวนนักศึกษา

ค่ าระดับเฉลียสะสม (GPA)

112 45 35 192

2.79 2.81 2.77 2.79

ระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ศูน ย์พทั ยา) สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม รวม

ค่าระดับเฉลียสะสม (GPA) ของนักศึกษาทีสอบเข้ าได้ หมายถึง ค่าระดับ เฉลียสะสม (GPA) จากสถานศึกษาเดิม ในระดับก่อนหน้ าทีจะเข้ าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จํานวนนักศึกษา หมายถึง จํานวนนักศึกษาทีขึนทะเบียนเป็ นนักศึกษาในปี การศึกษาทีจัดเก็บข้ อมูล

211


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชีที 2.16

ร้ อยละของนักศึกษาที ได้ รบั การจัดระดับ วิชาภาษาอังกฤษพืนฐาน (PT) ตังแต่ สษ.172 ขึน ไป

วิทยาลัยไม่ มหี ลักสูตรระดับปริญญาตรี

212


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.17 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ร้ อยละของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทีสอบผ่าน TU-GET (มากกว่า 550 คะแนน) (ยกเลิก) ฝ่ ายบริ การการศึกษา ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส. บุษราภรณ์ หลวงพรหม 02-623-5055-8 โทรศัพท์ 02-623-5055-8 ต่อ 101

หลักสูตร

จํานวนนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา เข้ าใหม่

จํานวนนักศึกษาทีสอบ TU-GET ได้ มากกว่ า 550 คะแนน

ร้ อยละ

112 45 35 192

11 4 1 16

9.82 8.89 2.86 8.33

ระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ศูน ย์พทั ยา) สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม รวม

จํานวนนักศึกษาเข้ าใหม่ระดับบัณฑิตศึกษา หมายถึง นักศึกษาระดับปริ ญญาโท และปริ ญญาเอกทีรับเข้ าใหม่ ในปี การศึกษาทีจัดเก็บข้ อมูล จํานวนนักศึกษาทีสอบ TU-GET ได้ ไม่ตํากว่า 550 คะแนน หมายรวมถึงนักศึกษาทีสอบภาษาต่างประเทศจากระบบอืนๆ ได้ แก่ IELTs ไม่ตากว่ ํ า 5.5 คะแนน TOEFL ไม่ตากว่ ํ า 550 คะแนน (Paper Base) และไม่ตากว่ ํ า 213 คะแนน (Computer Base)

213


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 2.18 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

จํานวนนักศึกษาทีสําเร็ จการศึกษาตามระยะเวลาทีหลักสูตรกําหนด ฝ่ ายบริ การการศึกษา ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส. บุษราภรณ์ หลวงพรหม 02-623-5055-8 โทรศัพท์ 02-623-5055-8 ต่อ 101 หลักสูตร

จํานวนรับเข้ า

จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษา ตามกําหนด

ร้ อยละ

99 81

74 58

74.74 71.60

28 208

4 136

14.29 65.38

ระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี (ท่าพระจันทร์ ) MTT 11 MTT 12 สาขาบริ หารงานวัฒนธรรม MCT 5 รวม

บัณฑิตทีสําเร็ จการศึกษาตามระยะเวลาทีหลักสูตรกําหนด หมายถึง บัณฑิตทุกระดับการศึกษา ทุกโครงการ ทีสําเร็ จการศึกษา ตามระยะเวลาทีหลักสูตรกําหนด (1 ปี – 6 ปี ตามหลักสูตรการศึกษา) จํานวนรับ เข้ า หมายถึง จํานวนนักศึกษาทีขึนทะเบียนเป็ นนักศึกษารุ่ นเดียวกับบัณฑิตทีสําเร็ จในปี การศึกษาทีจัดเก็บข้ อมูล

214


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 จํานวนชัวโมงสอนของอาจารย์ตอ่ คนต่อปี ผู้อาํ นวยการหลักสูตร ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายนพดล คุณอนันทวณิช 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 125 จํานวนชัวโมงทีใช้ สอน (ภาค) จํานวนวิชา คิดเป็ น รายชืออาจารย์ ทีเปิดสอน ทฤษฎี ปฏิบตั ิ สนาม IS/Thesis หน่ วยชัวโมง ภาคการศึกษาที 1 อ.วิภา ดาวมณี 1 48 3 อ.สุวฒ ั นา จารุ มิลนิ ท 1 48 3 ดร.ยอดมนี เทพานนท์ 1 12 0.75 อ.เวฬุรีย์ เมธาวีนิจ 1 12 0.75 อ.สุรีรตั น์ บุบผา 1 12 0.75 ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา 2 96 6 ภาคการศึกษาที 2 อ.เวฬุรีย์ เมธาวีนิจ 1 24 1.5 อ.สุรีรตั น์ บุบผา 1 24 1.5 ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา 3 144 9 ภาคฤดูร้อน อ.วิภา ดาวมณี 2 96 6 อ.สุวฒ ั นา จารุ มิลนิ ท 1 48 3 ดร.ยอดมนี เทพานนท์ 1 48 3 ดร.ประวิทย์ เขมะสุนนั ท์ 2 96 6 ดร.สมิท ธ์ ตุงคะสมิต 1 48 3 ดร.ธีระ ชิน ภัทร รามเดชะ 3 144 9 อ.อรพรรณ คงมาลัย 1 48 3 รวม 948 59.25 กรอบการคิดภาระการสอน รายวิชาภาคทฤษฎี : 1 หน่วยชัวโมง/สัปดาห์/ภาคการศึกษาปกติ = 1หน่วยกิตใช้ เวลาบรรยาย 1ชัวโมง/สัป ดาห์ หรื อไม่น้อยกว่า 15 ชัวโมงตลอดหนึ งภาคการศึกษาปกติ รายวิชาภาคปฏิบัติ : 1 หน่วยชัวโมง/สัปดาห์/ภาคการศึกษาปกติ = 1หน่วยกิตใช้ เวลาทดลอง 2 ถึง 3 ชัวโมง/สัปดาห์ หรื อตังแต่ 30 ถึง 45 ชัวโมงตลอดหนึงภาคการศึกษาปกติ การฝึ กภาคสนาม : 1 หน่วยชัวโมง/สัปดาห์/ภาคการศึกษาปกติ = 1หน่วยกิตใช้ เวลาฝึ ก 3 ถึง 6 ชัวโมง/สัปดาห์ หรื อตังแต่ 45 ถึง 90 ชัวโมงตลอดหนึงภาคการศึกษาปกติ การค้ นคว้ าอิสระหรื อวิท ยานิพนธ์ : 1 หน่วยชัวโมง/สัป ดาห์/ภาคการศึกษาปกติ = 3 หน่วยกิต ตัวบ่ งชีที 2.19 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

215


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 3.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์ ลําดับ

มีการจัดบริ การแก่นกั ศึกษาและศิษย์เก่า ฝ่ ายบริ การการศึกษา 02-623-5055-8 เกณฑ์ มาตรฐาน

1

มีการสํารวจความต้ องการจําเป็ นของ นักศึกษาปี ที 1

2

มีการจัดบริ การด้านสิงอํานวยความ สะดวกทีเอือต่อการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของ นักศึกษา

3

มีการจัดบริ การด้านกายภาพทีส่งเสริ ม คุณภาพชีวิตของนักศึกษา

4

มีการจัดบริ การให้ คําปรึ กษาแก่น กั ศึกษา

ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส. บุษราภรณ์ หลวงพรหม โทรศัพท์ 02-623-5055-8 ต่อ 101

อธิบายผลการดําเนินงานตามเกณฑ์ จัดทําแบบสํารวจความต้ องการของ นักศึกษาปี ที 1 ในปลายภาคเรี ยนที 2 ของทุกปี 1. จัด Wireless Lan บริ เวณห้ อง common และห้ องเรี ยน 2. จัดวารสารชันนํ าด้ านการบริหารให้ นักศึกษาอ่านเพิมเติม เช่น Time, Business week, Forb, Harvard business review, Fortune 500 3. จัดห้ องคอมพิวเตอร์ และระบบโควตา พิมพ์เอกสาร 4. ห้ องสมุดนวัตกรรม (E-Library) 1. ห้ อง Common/มุมอ่านหนังสือ 2. เพิมจํานวนห้ องเรียน 3. ติดตังระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด 4. บริ การเครืองดืม ชา กาแฟ 5. ร้ านขนม 1. กําหนดชัวโมงและการอยูใ่ ห้ คําปรึ กษาของอาจารย์ประจํา 2. จัดเจ้ าหน้ าทีอยูเ่ วรนอกเวลาราชการ ในเวลาทีมีการสอน 3. จัดประชุมชีแจงการทํางานวิจยั ของ นักศึกษา 4. บริ การตอบคําถามผ่านทาง website

216

เอกสารอ้ างอิงการ ดําเนินงาน รายงานผลสํารวจความ ต้ องการของนักศึกษาปี 1 1. ภาพถ่าย 2. เอกสารอนุมตั ิจดั ซือ/ จัดทําระบบต่างๆ 3. Print screen เอกสาร และหน้ า Website

ภาพถ่ายบรรยากาศการ บริ การต่างๆ ทีวิทยาลัย จัดให้ แก่นกั ศึกษา

1. ตารางเวลาให้ คําปรึ กษาของอาจารย์ และตารางอยูเ่ วรของ เจ้ าหน้ าที 2. ภาพถ่าย/เอกสาร ประกอบการประชุม 3. Print screen website


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ

เกณฑ์ มาตรฐาน

5

มีบริ การข้ อมูลข่าวสารทีเป็ นประโยชน์ ตอ่ นักศึกษา และศิษย์เก่า

1. 2. 3.

6

เอกสารอ้ างอิงการ ดําเนินงาน ระบบแจ้ งข่าวสารแก่นกั ศึกษาผ่าน 1. Print screen website Internet / email / บอร์ ดประกาศ และระบบ CIE Online ระบบแจ้ งข่าวสาร/คําร้ อง Online 2. ภาพถ่ายบอร์ ดข่าว จดหมายข่าว CIE-News ประชาสัมพันธ์ 3. จดหมายข่าว บรรยายพิ เ ศษ “การพั ฒ นาธุ ร กิจ ภาพถ่าย/เอกสารการจัด แ ล ะ ก า ร ดํ า เ นิน ชี วิต แ บ บ โครงการต่างๆ เ ศ ร ษฐ กิจ พ อ เ พี ย งต า ม แ น ว พระราชดําริ” ดร.สุเมธ ตัน ติเวชกุล วันที 14 มกราคม 2551 สัมมนา “Supporting co-evolution of Web based Information Systems using Meta-Design Paradigm” Prof. Athula Ginige วันที 29 เมษายน 2551 การดู ง านการจั ด การสิ งแวดล้ อ ม จั ง ห วั ด กา ญจน บุ รี วั น ที 26-2 7 มกราคม 2551 การดู ง านกรมอุ ตุนิ ย มวิ ท ยา และ บริ ษัท วิท ยุก ารบิ น สุวรรณภูมิ วัน ที 20 กุมภาพันธ์ 2551 การสัมมนาจริ ยธรรมสําหรับผู้บริห าร ณ วั ด สุ น ั น ท ว น า ร า ม จั ง ห วั ด กาญจนบุ รี วั น ที 15-16 มี น าคม 2551 การดูงานกรมทรั พ ย์ สิน ทางปั ญ ญา วันที 18 มีน าคม 2551 การดูงานทีสํานักงาน NECTEC วันที 24-25 มีนาคม 2551

อธิบายผลการดําเนินงานตามเกณฑ์

มีการจัดโครงการเพือพัฒนาประสบการณ์ 1. ทางวิชาชีพ แก่นกั ศึกษา และศิษย์เก่า

2.

3.

4.

5.

6. 7.

217


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ

เกณฑ์ มาตรฐาน

7

มีการประเมินคุณภาพของการให้ บริการ ทัง 5 เรื องข้างต้ นเป็ นประจําทุกปี

8

นําผลการประเมินคุณภาพของการ ให้ บ ริ การมาพัฒนาการจัดบริ การแก่ นักศึกษาและศิษย์เก่า

อธิบายผลการดําเนินงานตามเกณฑ์

มีการจัดประชุมคณาจารย์ และประชุม weekly meeting ของฝ่ ายบริ การ การศึกษาเพือพิจารณาและพัฒนาการ จัดบริ การแก่น ักศึกษาและศิษย์เก่า

218

เอกสารอ้ างอิงการ ดําเนินงาน รายงานผลการสํารวจ ความพึงพอใจในการ ให้ บ ริ การด้ านต่างๆ ของ วิทยาลัย รายงานการประชุม


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 3.2 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีการส่งเสริ มกิจกรรมนักศึกษาที ครบถ้ วนและสอดคล้องกับ คุณลักษณะของบัณฑิตทีพึงประสงค์ ฝ่ ายบริ การการศึกษา ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส. บุษราภรณ์ หลวงพรหม 02-623-5055-8 โทรศัพท์ 02-623-5055-8 ต่อ 101

ลําดับ

เกณฑ์ มาตรฐาน

1

มีการจัดทําแนวทางส่งเสริ มการจัด กิจกรรมทีสอดคล้ องกับวิสยั ทัศน์ของ สถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตทีพึง ประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับ อุดมศึกษา มีการส่งเสริ มให้ สถาบัน และองค์การ นักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษาให้ ครบทุก ประเภทโดยอย่างน้ อยใน 5 ประเภท ดังนี § กิจกรรมวิชาการ § กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริ มสุขภาพ § กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ และรักษา สิงแวดล้อม § กิจกรรมนันทนาการ § กิจกรรมส่งเสริ มศิลปวัฒนธรรม

2

3

4

อธิบายผลการดําเนินงานตามเกณฑ์ แผนกิจกรรมนักศึกษาประจําปี

เอกสารอ้ างอิงการ ดําเนินงาน เอกสารแผนกิจกรรม นักศึกษา

มีกิจกรรม/การจัดโครงการ โดยนักศึกษา เอกสารโครงการ / มีสว่ นร่วมครบทัง 5 ประเภท อาทิ ภาพถ่าย

Research Camp/สัมมนาวิชาการ กิจกรรม Walk Rally ในงานปฐมสัมมนา การดูงานด้ านการจัดการสิงแวดล้ อม จ. กาญจนบุรี งานปฐมสัมมนา โครงการ “เทศกาลศิลปะสร้ างสรรค์เพือ เยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” ระหว่างวันที 8-9 มีน าคม 2551 ณ สมาคมฝรังเศส ถนนสาทร กรุ งเทพ และโครงการ “Unlimited Arts Festival” ระหว่างวันที 11-13 มีนาคม 2551 ณ ศูน ย์การค้ าเอสพลานาด ชัน G ถนนรัชดาภิเษก กรุ งเทพ มีกระบวนการติดตามและประเมินผล วิทยาลัยจัดทําคู่มือการประเมิน ผล คู่มือการประเมินผล โครงการหรือกิจกรรม ทังทีจัดโดยสถาบัน โครงการตามแนวทางประกันคุณภาพ โครงการตามแนวทาง และองค์การนักศึกษาทุกสินปี การศึกษา เพือประเมินผลกิจกรรม ประกัน คุณภาพการศึกษา มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุ งการจัด ผลการประเมินตามข้ อ 3 จะใช้ เป็ น กิจกรรมเพือพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเนือง ข้ อมูลสําหรับ การพิจารณาอนุมัติ โครงการในครังต่อไป 219


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 4.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์ ลําดับ 1

2

3

มีการพัฒนาระบบและกลไกการสนับ สนุนการผลิตงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

เอกสารอ้ างอิงการ ดําเนินงาน มีการจัดทําระบบบริห ารงานวิจยั และงาน 1. จัดทําประกาศทีเกียวกับการทํางาน 1. ประกาศ มธ. เรื อง สร้ างสรรค์ เพือให้ บรรลุเป้ าหมายตาม ซึงสนับสนุน งานวิจยั ของอาจารย์ หลักเกณฑ์การ แผนของสถาบันและสอดคล้ องกับ 2. จัดทํากองทุน การศึกษาของวิท ยาลัย ปฏิบ ตั ิงานเกียวกับ ยุทธศาสตร์ การวิจยั ของชาติ เพือสนับ สนุนและให้ รางวัลงานวิจยั อาจารย์ประจํา ของนักศึกษา 2. ประกาศ มธ. เรื อง 3. จัดทําโครงการสนับ สนุนงานวิจยั ตาม กองทุน การศึกษา ความเหมาะสม 3. รายละเอียดโครงการ พัฒนาผลงานวิจยั มีการจัดทําระบบฐานข้ อมูลและ 1. ระบบฐานข้ อมูลงานวิจยั ของ มธ. Print screen หน้ า สารสนเทศทีเกียวข้ องกับการบริหาร 2. จัดทําระบบฐานข้ อมูลงานวิจยั ของ website ทีเกียวข้ อง งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ทีใช้ ประโยชน์ นักศึกษาในระบบ CIE Online ได้ จริง 3. การรวบรวมและแปลบทคัดย่อใน วารสาร Online ของวิทยาลัย - CIE Review มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากร จัดทํางบประมาณสนับ สนุนงานวิจยั และ 1. เอกสารงบประมาณ บุคคล แหล่งค้ น คว้ าต่าง ๆ เพือสนับ สนุน การพัฒนาความรู้ ของอาจารย์ ประจําปี ทีเกียวกับการ งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ สนับสนุนงานวิจยั 2. รายละเอียด โครงการวิจยั ทีได้ รับ การสนับสนุน จาก วิท ยาลัย เกณฑ์ มาตรฐาน

อธิบายผลการดําเนินงานตามเกณฑ์

220


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ

เกณฑ์ มาตรฐาน

อธิบายผลการดําเนินงานตามเกณฑ์

4

มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคล ด้ านการวิจยั มีระบบสร้ างขวัญและกําลังใจและยกย่อง นักวิจยั ทีมีผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ดีเด่น

1. จัดทําประกาศเกียวกับการทํางาน ของอาจารย์ประจํา ซึงมีครอบคลุม ประเด็นต่างๆ ดังนี § การให้ รางวัลผลงานวิจยั § เงินประจําตําแหน่งวิชาการ § ภาระงานขัน ตํา/ภาระงานวิจยั 2. กําหนดภาระงานขันตํา/ขันสูงเพือให้ อาจารย์ได้ มีการจัดสรรเวลาเพือ ทํางานวิจยั 3. ใช้ หลักการพัฒนาอาจารย์ตาม แนวทางพิจารณาตําแหน่ งทาง วิชาการตามหลักการของ มธ. 1. มีการเจรจาเพือจัดทําความร่วมมือ ระหว่างวิทยาลัยกับ มหาวิท ยาลัยชัน นําต่างประเทศ 2. สนับสนุนให้ อาจารย์ประจําทํางาน วิจยั กับหน่วยงานภายนอก ทังทีผ่าน TU-RAC และสร้ างระเบี ยบปฏิบัติที เอือต่อการทํางานดังกล่าว

5

6

มีระบบและกลไกส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างนักวิจยั กับองค์กรภายนอกทัง ภาครัฐ เอกชนและภาคอุตสาหกรรม

221

เอกสารอ้ างอิงการ ดําเนินงาน 1. ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์การ ปฏิบ ตั ิงานเกียวกับ อาจารย์ประจํา 2. ประกาศ มธ. เรื องการ พิจารณาตําแหน่ง วิชาการ

1. โครงการ/เอกสาร รายละเอียดการเจรจา ความร่ วมมือทาง วิชาการ 2. ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์การ ปฏิบ ตั ิงานเกียวกับ อาจารย์ประจํา


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 4.2 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์ ลําดับ 1

2

3

4

5

มีระบบบริห ารจัดการความรู้จากงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138 เกณฑ์ มาตรฐาน

อธิบายผลการดําเนินงานตามเกณฑ์

มีระบบและกลไกสนับ สนุนการเผยแพร่ มีการมอบหมายให้ อาจารย์ประจํา ผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ท ังในวงการ วิทยาลัยและนักวิจยั รวบรวมบทคัดย่อ วิชาการและการนําไปใช้ประโยชน์ ผลงานวิจยั จากฐานข้ อมูลต่างๆที สํานักหอสมุดเป็ น สมาชิก เช่น Science direct Emeral มีระบบการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และ การจัดทําวารสาร Online – CIE Review สังเคราะห์ความรู้ จากงานวิจยั และงาน ผ่านเวปไซด์ของวิทยาลัย ซึงเป็ นการ สร้ างสรรค์ทีเชือถือได้และรวดเร็ วทัน ต่อ รวบรวม คัดสรร ผลงานวิจยั ทีเกียวข้ อง การใช้ ป ระโยชน์ กับสาขาทีวิท ยาลัยจัดการสอน กําหนด ออกทุก 2 เดือน มีการสร้ างเครื อข่ายเผยแพร่ ผลงานวิจยั วารสาร Online – CIE Review เปิ ด และงานสร้ างสรรค์ไปยังผู้เกียวข้ องทัง กว้ างให้ บุคลากรทังในและนอก ภายในและภายนอกสถาบัน มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถเข้าใช้ งานได้ โดยมีการตรวจสอบจํานวนผู้มา ใช้ งานทุกๆ 2 เดือน โดยแยกประเภทเป็ น อาจารย์ประจําวิทยาลัย อาจารย์ ภายนอก นักศึกษาวิยาลัย นักศึกษา ทัวไป เจ้ าหน้ าทีและบุคคลทัวไป มีระบบและกลไกการสนับสนุน ความ มีการรวบรวมรายชือนักวิชาการนักวิจยั ร่ วมมือระหว่างนักวิจยั กับองค์กรภายนอก ทีมีชือเสียงในสาขาบริหารเทคโนโลยี สถาบันเพือการนําผลงานไปใช้ ประโยชน์ และการจัดการนวัตกรรมขึนและจัด ประชุมเครื อข่ายครังแรกในวันที 23 เมษายน 2551 มีกลไกสนับสนุน การจดสิทธิบตั รการซือ ขายทรัพย์สนิ ทางปั ญญา ตลอดจนการ คุ้มครองสิทธิของงานวิจยั สิงประดิษฐ์ หรื อนวัตกรรมให้ แก่นักวิจยั เจ้ าของผลงาน 222

เอกสารอ้ างอิงการ ดําเนิน งาน คําสังคณะกรรมการจัดทํา วารสารรวมบทคัดย่อ (CIE Review) ลงวัน ที 26 พฤศจิกายน 2550 Print screen webpage CIE Review

Print screen webpage CIE Review หน้ าเลือก สถานะ

รายชือเครือข่ายนักวิจยั นักวิชาการสาขาบริ หาร เทคโนโลยีและการจัดการ นวัตกรรม

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 4.3 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

เงิน สนับสนุน งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ภายในและภายนอกสถาบันต่อจํานวนอาจารย์ประจํา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

จํานวนเงินสนับสนุนการวิจัยและงานสร้ างสรรค์ภายในสถาบัน ลําดับ

1

ชือผู้ท ําวิจัย/ชืองานวิจยั

ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา การตระหนักถึงวิทยาลัย นวัตกรรมอุดมศึกษา ศูนย์ พัท ยา ของประชาชนใน จังหวัดชลบุรีและระยอง

ระยะเวลา (เริมต้ น / สินสุด)

เงิน สนับสนุ น ตามประเภทงบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ แผ่นดิน มหาวิท ยาลัย หน่ วยงาน

ต.ค.50

50,000

วัน ที ได้รับ งบประมาณ

ร้ อยละ ความ สําเร็จ

20 ก.ค.50

100

50,000

รวมงบประมาณ รวมงบประมาณทั งหมด

50,000

1. เงิน สนับสนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ หมายถึง จํานวนเงิน รวมถึงวัสดุ อุปกรณ์ เครืองมือต่างๆ ทีได้ รบั การ สนับสนุนจากภายในสถาบัน สําหรับงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ในกรณีทีเป็ นวัสดุ อุปกรณ์ เครื องมือ ให้ คํานวณเป็ น จํานวนเงินตามราคาของสิงนันๆ 2. ร้ อยละความสําเร็ จของโครงการนับ ถึงวัน สินสุดปี การศึกษา

223


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 จํานวนเงินสนับสนุนการวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ภายนอกสถาบัน ลําดับ

1

2

3

4

5

6.

จํานวนเงิน หน่ วยงานทีให้ การ สนั บสนุน สนับสนุน จากภายนอก ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา กองทุนสิงแวดล้ อมผ่าน 1,500,000 โครงการสํารวจความพึงพอใจของ สถาบันวิจยั และให้ ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียจากการ คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัย บริหารงานกองทุนสิงแวดล้ อม ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา 1,000,000 สํานักงานมาตรฐาน โครงการศึกษาแนวทางเพือ อุตสาหกรรมผ่าน ส่งเสริมภาพลักษณ์สํานักงาน สถาบันวิจยั และให้ มาตรฐานอุตสาหกรรม คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัย ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา 2,500,000 สํานักงานมาตรฐาน โครงการประเมินผลสัมฤทธิของ อุตสาหกรรมผ่าน มาตรการกําหนดผลิตภัณฑ์บงั คับ สถาบันวิจยั และให้ คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัย สํานักงานคณะกรรมการวิจัย ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา 400,000 แห่งชาติ (วช.)ผ่าน โครงการสํารวจค่าใช้ จา่ ยและ สถาบันวิจยั และให้ บุคลากรทางการวิจยั และพัฒนา คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัย ของภาคอุดมศึกษา ปี 2550 ชือผู้ทําวิจัย/ชื องานวิจัย

ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา โครงการพัฒนารูปแบบแนว ทางการก่อสร้ างและการบริหาร จัดการอาคารบูรณาการของ หน่วยงานในกระบวนการยุตธิ รรม ส่วนภูมภิ าค อ.สุรีรตั น์ บุบผา โครงการศักยภาพและการพัฒนา แหล่งท่องเทียวทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมบริเวณเกาะ รัตนโกสินทร์

16 ม.ค.50

ระยะเวลา (เริมต้ น / สินสุด) ต.ค.50

ร้ อยละ ความ สําเร็จ 100 %

20 ก.ย.50

มี.ค.51

100%

30 มี.ค.50

มิ.ย.51

100%

5 มิ.ย.50

เม.ษ.51

100%

วันที ได้รับ งบประมาณ

1,100,000

สํานักงานกิจการยุตธิ รรม ผ่านสถาบันวิจยั และให้ คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัย

14 ม.ค.51

14 ส.ค.51

70%

630,000

สถาบันไทยคดีศึกษา

มีค.49

ก.ย.51

100%

224


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ 7

8

ชือผู้ทําวิจัย/ชื องานวิจัย ดร.สมิทธ์ ตุงคะสมิต โครงการสํารวจและศึกษา รายละเอียดสําหรับการก่อสร้ าง และปรับปรุงระบบการจัดการขยะ แบบบูร ณาการของจังหวัด ภูเก็ต ดร.สมิทธ์ ตุงคะสมิต โครงการศึกษาแนวทางแก้ ไข ปั ญหานําท่วมในเขตอ.บ.ต.เทพ กษัตรี จ.ภูเก็ต

รวมทังสิน

จํานวนเงิน หน่ วยงานทีให้ การ สนั บสนุน สนับสนุน จากภายนอก 2,100,000 สถาบันวิจยั และให้ คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัย

1,800,000

สถาบันวิจยั และให้ คําปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัย

มิ.ย.50

ระยะเวลา (เริมต้ น / สินสุด) มิ.ย.51

ร้ อยละ ความ สําเร็จ 90

ส.ค.50

พ.ค.51

100

วันที ได้รับ งบประมาณ

11,030,000

1. เงิน สนับสนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ หมายถึง จํานวนเงิน รวมถึงวัสดุ อุปกรณ์ เครืองมือต่างๆ ทีได้ รบั การ สนับสนุนจากภายนอกสถาบัน สําหรับ งานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ในกรณีทีเป็ นวัสดุ อุป กรณ์ เครื องมือ ให้ คํานวณเป็ น จํานวนเงินตามราคาของสิงนันๆ 2. ร้ อยละความสําเร็ จของโครงการนับ ถึงวัน สินสุดปี การศึกษา

225


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 4.4 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ร้ อยละของงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ท ีตีพมิ พ์ เผยแพร่ ได้ รับ การจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทางปั ญญา หรื อ อนุสทิ ธิบตั ร หรือนําไปใช้ ประโยชน์ทังในระดับ ชาติและระดับนานาชาติต่อจํานวนอาจารย์ประจํา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

งานวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ ทตี​ี พิมพ์ เผยแพร่ หรือนําไปใช้ ประโยชน์ วันเดือนปี ตีพิมพ์ แหล่ งตีพิมพ์ เผยแพร่ / ลําดับ ชือผู้ท ําวิจัย/ชืองานวิจัย เผยแพร่ / หลักฐานอ้ างอิงการ นําไปใช้ นําไปใช้ ประโยชน์ ประโยชน์ สถาบันเพิมผลผลิตแห่งชาติ/ 1. อ. สุวฒ ั นา จารุ มิลนิ ท / Good Practices 14 ธ.ค.2550 หนังสือวิธีปฏิบตั ทิ ีดีของ SMEs วิธีป ฏิบ ัตทิ ีดีของวิสาหกิ จขนาดกลาง วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด และขนาดย่อมภาคธุรกิจค้ าปลีก

ประเภทของ การเผยแพร่ / นํ าไปใช้ ประโยชน์ (ระบุหมายเลข)

3.2

ย่อมภาคธุรกิจค้าปลีก

2

3

4

5

6

ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา โครงการสํารวจความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ ส่วน เสียจากการบริหารงานกองทุนสิงแวดล้ อม ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา โครงการศึกษาแนวทางเพื อส่งเสริมภาพลักษณ์ สํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา โครงการประเมินผลสัมฤทธิของมาตรการกําหนด ผลิตภัณฑ์บงั คับ ดร.กวีพงษ์ เลิศวัชรา โครงการสํารวจค่าใช้ จา่ ยและบุคลากรทางการ วิจยั และพัฒนาของภาคอุดมศึกษา ปี 2550

Kaveepong Lertwatchara and J.J.Cochran “An Event Study of the Economic Impact of Professional Sport Franchises on Local U.S. Economies”

ต.ค.50

3.3

มี.ค.51

3.3

ก.พ.51

3.3

เม.ษ.51

3.3

มิ.ย.50

226

Journal of Sport Economics , Volume 8, No. 3

2.4


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ

7

8

9.

ชือผู้ท ําวิจัย/ชืองานวิจัย

Kaveepong Lertwatchara “Selecting Stocks Using a Genetic Algorithm: A Case of Real Estate Investment Trusts” Meng ,F.,Tepanon,Y.& Uysal,M. “ Measuring tourist Satisfaction by attribute and motivation : the case of a nature-based resort “ Tepanon,Y. Motivation of sex tourists : an exploratory study in Thailand

10

Supatcharajit Jitpraphai “ Hospitality Management Perspective on Casino Tourism in Thailand “

11

อ.สุรีรัตน์ บุบผา

วันเดือนปี ตีพิมพ์ เผยแพร่ / นําไปใช้ ประโยชน์ มิ.ย.50

ม.ค.51

แหล่ งตีพิมพ์ เผยแพร่ / หลักฐานอ้ างอิงการ นําไปใช้ ประโยชน์

ประเภทของ การเผยแพร่ / นํ าไปใช้ ประโยชน์ (ระบุหมายเลข)

Kasetsart Journal of Social Sciences Volume 28 No. 1

1.4

Journal of Vocation Marketing .14(1):41-56

2.4

5-8 พ.ค.51

2 nd International Colloquium in Tourism and Keisure Proceeding ,Changmai, Thailand 23 – 27เม.ษ.51 The 4 th World Conference for Graduate Research in Tourism Hospitality and Leisure at Antalya ,Turkey มี.ค.51

1.2

2.2

3.3

โครงการศักยภาพและการพัฒนาแหล่งท่องเที ยว ทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมบริเวณเกาะ รัตนโกสินทร์

12

ดร.เกรี ยงไกร วัฒนาสวัสดิ “ Socio – Cultural reflection on the address terms in the lyrics of Thai country and city songs”

มิ.ย.50

227

The Jounal of the siam society (2007) 143-156

1.4


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ

13

ชือผู้ท ําวิจัย/ชืองานวิจัย

รศ.ม.ร.ว.พงษ์ สวัสดิ สวัสดิวตั น์ ,.สินีรัชต์ พวัง คะพินธุ์ ,รศ.ดร.ตรีท ศ เหล่าศิริห งษ์ทอง

วันเดือนปี ตีพิมพ์ เผยแพร่ / นําไปใช้ ประโยชน์ ส.ค.50

“ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยอาศัยกลไกความร่วมมื อ ระหว่างมหาวิทยาลัยฯกับภาคอุตสาหกรรม”

แหล่ งตีพิมพ์ เผยแพร่ / หลักฐานอ้ างอิงการ นําไปใช้ ประโยชน์

ประเภทของ การเผยแพร่ / นํ าไปใช้ ประโยชน์ (ระบุหมายเลข)

วารสารทรัพยากรมนุษย์ ปี ที 3 ฉบับที 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 50

1.4

14

ดร.สมิท ธ์ ตุงคะสมิต พ.ค.51 3.3 โครงการศึกษาแนวทางแก้ ไขปั ญหานําท่วม ในเขตอ.บ.ต.เทพกษัตรี จ.ภูเก็ต รวมงานวิจัยทีตีพิมพ์ เผยแพร่ หรือนํ าไปใช้ ประโยชน์ ทังหมด 14 เรือง * การรายงานข้ อมูลบทความทีได้ รบั การตีพมิ พ์ในวารสาร ให้ ระบุชอื เล่มที วันเดือนปี และเลขหน้ าของวารสารทีตีพมิ พ์ ประเภทการตีพิมพ์ เผยแพร่ /นํ าไปใช้ ประโยชน์ 1. การตีพมิ พ์ เ ผยแพร่ ระดับชาติ 1.1 การประชุมระดับชาติ 1.2 การประชุมระดับชาติทมี​ี peer review 1.3 วารสารระดับชาติ (รวมถึงวารสารระดับ มหาวิทยาลัย) 1.4 วารสารระดับชาติทีมี peer review 1.5 Invited Paper ในการประชุมวิชาการ ระดับชาติ 1.6 การแสดงออกทางศิลปะทีเป็ นทียอมรั บ ระดับชาติ 1.7 งานทางศิลปกรรม จิตรกรรมทีได้ รับการ เผยแพร่ ในวงวิชาการระดับชาติ

2. การตีพมิ พ์ เผยแพร่ ระดับนานาชาติ 3. การนําไปใช้ประโยชน์ 2.1 การประชุมระดับนานาชาติ 3.1 งานทีนําไปใช้ ประโยชน์ 2.2 การประชุมระดับนานาชาติทมี​ี peer review ในการเรี ยนการสอน 2.3 วารสารระดับนานาชาติทไม่ ี อยู่ในฐานข้ อ มูลสากล 3.2 งานทีนําไปใช้ ประโยชน์ 2.4 วารสารระดับนานาชาติทีมีอยู่ในฐานข้ อ มูลสากล ในภาคเอกชน 2.5 Invited Paper ในการประชุมวิชาการระดับ 3.3 งานทีนําไปใช้ ประโยชน์ นานาชาติ ในภาครัฐ 2.6 Invited Paper วารสารระดับนานาชาติทอยู ี ่ใน ฐานข้ อมูลสากล 2.7 การแสดงออกทางศิลปะทีเป็ นทียอมรับระดับ นานาชาติ 2.8 งานทางศิลปกรรม จิตรกรรมทีได้ รับการเผยแพร่ ในวงวิชาการระดับนานาชาติ

228


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 งานวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ ทีได้ รบั การจดทะเบียนทรัพย์ สนิ ทางปั ญญา ลําดับ

ชือเจ้ าของผลงาน/ ชือผลงาน

เลขที สิทธิบัตร/ อนุ สิทธิบัตร

วัน ที จด ทะเบี ยนฯ

ประเภทของการจดทะเบียน สิท ธิบัตร อนุสิทธิบัตร ในประเทศ

ต่ างประเทศ

รวมงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทได้ ี รับการจดทะเบียน ทรัพย์ สนิ ทางปั ญญาทังหมด หมายเหตุ

0

ไม่นบั ผลงานทีอยูร่ ะหว่างการยืนจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทางปั ญญา และ ไม่นบั รวมการจดลิขสิท ธิและการจดทะเบียนเครืองหมายการค้ า

229

ในประเทศ

ต่ างประเทศ

ชินงาน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 4.5 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ร้ อยละของบทความวิจยั ทีได้รบั การอ้ างอิง (Citation) ใน refereed journal หรื อในฐานข้ อมูลระดับชาติหรือ ระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจํา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ผู้เขียนบทความวิจยั /ผู้เขียนร่ วม ลําดับ ชือบทความวิจัยทีได้ รับการอ้ างอิง

แหล่ งอ้ างอิง

รวมบทความวิจยั ทีได้ รบั การอ้ างอิง (เรือง) รวมบทความวิจยั ทีได้ รบั การอ้ างอิงทังสิน (เรือง)

230

ประเภทของแหล่ งอ้ างอิง วันทีอ้ างอิง Refereed ฐานข้ อมูล ฐานข้ อ มูล Journal ระดับชาติ นานาชาติ

0


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชีที 4.6 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์ 4.6.1 ลําดับ 1.

2

ผลงานวิชาการต่ออาจารย์ประจําทุกระดับ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138 หนังสือ ตํารา ชือผู้เขียนตําราและผู้เขียนร่ วม – ชือหนังสือ/ตํารา

วัน/เดือน/ปี ทีตีพิมพ์

รศ.ดร.รุ ธิร์ พนมยงค์,สุวฒ ั นา จารุ มิลนิ ท, ธันวาคม ไพฑูรย์ วราเดชสถิตวงศ์ ,ศิริวรรณ ไชยสูรยกานต์ 2550 / Sourcing & Supplier Releationship Managemnet in the Supply Chain การจัดหา และการบริหารความสัม พัน ธ์กบั ผู้สง่ มอบในโซ่ อุปทาน ธนิก เลิศชาญฤทธ์ ,สุรีรัตน์ บุบผา, สุรพล นา 2551 ถะพินธุ, สุกัญญา เบาเนิด, Leedom Lefferts, Louise Allison Cort , กรกฎ บุญลพ , ภุชชงค์ จันทวิช / มนุษย์กบั ภาชนะดิน เผา จากอดีตกาลสู่ โลกสมัยใหม่ รวมหนังสือ ตําราทังหมด

ครังทีตีพิมพ์ และการ สํานักพิมพ์ ปรับปรุง เพิมเติม (ถ้ ามี) พิมพ์ครังที 1 บริษัท ไอทีแอลเทรดมีเดีย จํากัด ในนามสํานักพิมพ์ Logistic Book

พิมพ์ครังที 1

ห้ างหุ้น ส่วนจํากัด สามลดา

2

เล่ ม

หนังสือ/ตํารา หมายถึง หนังสือ/ตําราทีตีพมิ พ์ในปี การศึกษานันๆ โดยนับเฉพาะการตีพมิ พ์ครังแรก และการตีพมิ พ์ในครังต่อไป ทีมีการแก้ ไขปรับปรุ งเพิมเติมเนือหาในตํารา/หนังสือ

231


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 4.6.2 ลําดับ 1

2

3

4

5

6

จํานวนงานวิจยั ชืองานวิจัย/งาน สร้ างสรรค์

จํานวน รายชือคณะผู้ท ําวิจัย ผู้ทําวิจัย (สังกัด)

รอบเวลา เริมต้ น/สินสุด วันทีแล้ วเสร็จ โครงการ มค – ตค.50 ต.ค.50

งบประมาณ ในการ ดําเนินการ 1,500,000

รายงานวิจยั การสํารวจความ พึงพอใจของผู้มสี ว่ นได้สว่ น เสียจากการบริหารงานกองทุน สิงแวดล้ อม รายงานวิจยั การศึกษาแนวทาง เพือส่งเสริมภาพลักษณ์ สํานักงานมาตรฐาน อุตสาหกรรม รายงานวิจยั การประเมินผล สัมฤทธิของมาตรการกํ าหนด ผลิตภัณฑ์บงั คับ

2

กวีพงษ์ เลิศวัชรา ประวิท ย์ เขมะสุนนั ท์ และคณะ

2

กวีพงษ์ เลิศวัชรา วิท วัส รุ่งเรื องผล และคณะ

กย.50 – มี.ค 51

มี.ค.51

1,000,000

2

มี.ค 50 – กพ.51

ก.พ.51

2,500,000

รายงานวิจยั การสํารวจ ค่าใช้ จา่ ยและบุคลากรทางการ วิจยั และพัฒนาของภาค อุดมศึกษา ปี 2550 รายงานวิจยั ศักยภาพและการ พัฒนาแหล่งท่องเทียวทาง ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ รายงานวิจยั การศึกษาแนว ทางแก้ ไขปั ญหานําท่วมในเขต อ.บ.ต.เทพกษัตรี จ.ภูเ ก็ต

2

กวีพงษ์ เลิศวัชรา จิตติมา ทองอุไร และคณะ กวีพงษ์ เลิศวัชรา ยอดมนี เทพานนท์ และคณะ

มิ.ย 50 – เมษ.51

เม.ษ.51

400,000

1

สุรีรัตน์ บุบผา

ต.ต.49-มี.ค.51

มี.ค.51

630,000

1

สมิท ธ์ ตุงคะสมิต

ส.ค.50 – พ.ค.51

พ.ค.51

1,800,000

รวมงานวิจัยทังหมด

6

ผลงานวิจยั หมายถึง ผลงานวิจยั ทุกประเภททีแล้ วเสร็ จในปี การศึกษาทีจัดเก็บข้ อมูล

232

ชิน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 4.6.3

บทความวิชาการทีตีพิมพ์ ผู้เขียนบทความและผู้เขียนร่ วม – ลําดับ ชือบทความทางวิชาการ 1. สุวฒ ั นา จารุมิลนิ ท /Good Practice SMEs วิธีปฏิบัติ ทีดีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภาคธุ รกิจ การค้ า บริ การ และอุตสาหกรรม 2

Supatcharajit Jitpraphai “ Hospitality Management Perspective on Casino Tourism in Thailand “

3

Kaveepong Lertwatchara and J.J.Cochran “An Event Study of the Economic Impact of Professional Sport Franchises on Local U.S. Economies” Kaveepong Lertwatchara “Selecting Stocks Using a Genetic Algorithm: A Case of Real Estate Investment Trusts” Meng ,F.,Tepanon ,Y. & Uysal,M. “Measuring tourist Satisfaction by attribute and motivation : the case of a nature-based resort “ Tepanon,Y. Motivation of sex tourists : an exploratory study in Thailand

4

5

6

7

8

ชือวารสารทีตีพิมพ์ห รือชือ งานสัมมนา งานสัมมนา “แลกเปลียนเรียนรู้ การบริหารจัดการ SME สูค่ วาม เป็ นเลิศ” โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชัน The 4 th World Conference for Graduate Research in Tourism Hospitality and Leisure at Antalya Turkey Journal of Sport Economics , Volume 8, no. 3

Kasetsart Journal of Social Sciences Vol.28 no.1

23- 27 April 2008

June 2007

June 2007

Journal of Vacation Marketing Vol.14 no.1

January 2008

2 nd International Colloquium in Tourism and Keisure Proceeding, Changmai The Journal of the Siam Society 95(2007) 143-156

5-8 May 2008

K Watdhanawat “ Socio – Cultural reflection on the address terms in the lyrics of Thai country and city songs” รศ.ม.ร.ว. พงษ์ สวัสดิ สวัสดิวตั น์, สินีรัชต์ พวังคะพินธุ์, วารสารทรัพยากรมนุษย์ ปี ที 3 รศ.ดร.ตรีท ศ เหล่าศิริหงษ์ทอง “ การพัฒนาทรั พยากร ฉบับที 2 พฤษภาคม – สิงหาคม บุคคลด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยอาศัย 2550 กลไกความร่วมมือระหว่างมหาวิท ยาลัยฯกับ ภาคอุตสาหกรรม” รวมบทความทางวิชาการทั งหมด 8 233

วันทีตีพิมพ์ หรือ นําเสนอที ประชุ ม 14 ธัน วาคม 2550

June 2007

สิงหาคม 2550

บทความ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 5.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีระบบและกลไกในการบริ การทางวิชาการแก่สงั คมตามเป้ าหมายของสถาบัน ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.ณัฐกานต์ จาดเมือง 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 132

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ์ และ แผนดําเนินงานของการบริ การวิชาการ แก่สงั คม 2

3

4

5

การดําเนินงานตามเกณฑ์ มี การกํ า หนดนโยบาย และเป้ าหมาย การดําเนินงานด้ านบริ การสังคมเป็ นราย ปี งบประมาณ เนื องจากบางบริ ก าร จําเป็ น ต้ องใช้ งบประมาณจากวิทยาลัย มีคณะกรรมการ คณะทํ างานหรื อ มี ก ารจั ด ตังคณะกรรมการพั ฒ นาขี ด หน่วยงานดําเนิน การให้ บริ การวิชาการ ความสามารถด้ านวิจัยและวิชาการของ แก่สงั คมตามแผนที กําหนด วิ ท ยาลัย มี ห น้ าที กํ า กับ และดูแ ลการ ทํ างานในประเด็ น ดัง กล่า ว อีก ทั งยัง มี การปรั บ โครงการการบริ ห ารงานของ วิทยาลัย โดยได้ ตังศูน ย์พัฒนาศักยภาพ ด้ านการวิ จัย และวิ ช าการ ภายใต้ ก าร กํ า กั บ ของรองคณบดี ฝ่ ายบริ ห ารและ วิชาการ ทํ าหน้ าที ดูแลงานด้ านบริ ก าร วิชาการให้ เป็ นไปตามแผนที กําหนด และ ประเมินผลสัม ฤทธิของแต่ละโครงการ มีการกําหนดหลักเกณฑ์และหรื อ มีการจัดทําประกาศ มธ. เรื อง ระเบียบในการให้ บริ การวิชาการแก่ หลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้ จ่ายกลาง สังคม สําหรับโครงการส่งเสริมและให้ ความรู้ ทางวิชาการ วิท ยาลัยนวัตกรรม เพือใช้ เป็ นแนวทางและหลักเกณฑ์ในการ ให้ บ ริ การวิชาการแก่สงั คม มีการประเมิน ผลการปฏิบ ัตงิ านตามแผน มีการกําหนดให้ ต้องทํ าการประเมิน ผล ทีกําหนด การปฏิบัติงานโครงการให้ บ ริ การสังคม ทุกโครงการ มีการนําผลการประเมิน ไปปรับปรุงการ มีการนําผลประเมิน มาใช้ ป รับ ปรุ ง เช่ น บริ การวิชาการแก่สงั คม การปรับ เปลียนเวลาในการจัดโครงการ สัมมนา ให้ สอดคล้ องกับ กลุม่ เป้ าหมาย มากขึน เป็ น ต้ น 234

เอกสารอ้ างอิง เอกสารแผนงาน/ งบประมาณประจําปี ด้ าน การบริ การสังคม เอกสารโครงสร้ างการ ทํางานและรายละเอียด เนืองานของศูนย์พฒ ั นา ศักยภาพด้ านการวิจยั และวิชาการ

ประกาศ มธ. เรื อง หลักเกณฑ์และอัตรา ค่าใช้ จ่ายกลาง สําหรับ โครงการส่งเสริ มและให้ ความรู้ ทางวิชาการ วิทยาลัยนวัตกรรม เอกสารสรุปผลการ ดําเนิน งานโครงการ ให้ บ ริ การสังคม


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 6 มีการจัดทําแผนการเชือมโยงและบูรณา การการบริ การทางวิชาการแก่สงั คมเข้ า กับ การเรี ยนการสอน หรื อการวิจยั หรื อ การทํานุบํารุ งศิลปวัฒนธรรม 7 มีการประเมิน สัมฤทธิผลและนํ าผลการ ประเมินไปพิจารณาปรับปรุ งความ เชือมโยงและบูรณาการระหว่างการ บริ การวิชาการแก่สงั คมกับ ภารกิจอืน ๆ ของสถาบัน

การดําเนินงานตามเกณฑ์ เอกสารอ้ างอิง มีการกําหนดนโยบายว่าโครงการบริการ 1. เอกสารรายละเอียด สัง คมต้ อ งมี เ นื อหาสอดคล้ อ งกั บ การ และสรุ ปผลการ เรียนการสอนตามหลักสูตรของวิท ยาลัย ดําเนิน งานโครงการ และการบริ การสังคมบางโครงการ เป็ น ให้ บ ริ การสังคม ประโยชน์ท งกั ั บ คณาจารย์ นักศึกษาของ 2. รายงานการประชุมที วิท ยาลัย รวมถึงบุคคลภายนอกทีสนใจ เกียวข้ องกับการ ด้ วย เช่ น การ บ รรยายพิ เ ศษ “การ รายงานผลการบริ การ พัฒนาธุรกิจและการดําเนิน ชีวิตแบบ วิชาการ เ ศ ร ษ ฐ กิจ พ อ เ พี ย ง ต า ม แ น ว พระราชดําริ” โดย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล การสัมมนาวิช าการเรื อง “Supporting co-evolution of Web based Information Systems using MetaDesign Paradigm” โดยProf. Athula Ginige การสัม มนาวิชาการเรื อง “Lean Six Sigma” โดย Christopher Seow การสัมมนา สัมมนา “การทําวิจยั ระดับ บัณฑิตศึกษาและแนวทางการตีพิมพ์ บทความวิจัย ในวารสารวิช าการที มี คุ ณภาพ” โดย ดร. ศากุน บุ ญอิ ต และ คุณพิชญ์วดี กิตติปัญญางาม เป็ นต้ น นอกจากนี การบริ ก ารสัง คมด้ า นการ ทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ด้ แ ก่ โครงการ “เทศกาลศิลปะสร้ างสรรค์ เ พือ เยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” โครงการ “Unlimited Arts Festival” ยังเป็ นการจัดโดยนักศึกษาซึง เป็ น ส่ ว นหนึ งของการเรี ย น การสอน รายวิช าอีกด้ ว ย โดยผลการจัดโครงการ บ ริ ก า ร สั ง ค ม จ ะ ถู ก ร า ย ง า น ใ น คณะกรรมการพัฒนาศักยภาพด้ านวิจัย และวิชาการของวิทยาลัยด้ วย

235


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 5.1.1 มีการนําความรู้ และประสบการณ์จากการบริ การวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน และการวิจัย ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.ณัฐกานต์ จาดเมือง โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 132 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีแผนในการนําความรู้ และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนการสอนและการ วิจยั 2

มีการนําความรู้ และประสบการณ์จาก การบริ การวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ใน การเรี ยนการสอนอย่ างน้ อย 1 โครงการ

การดําเนินงานตามเกณฑ์ มี การกํ า หนดแผนงานบริ ก ารวิ ช าการ และวิ ชาชีพ โดยมี เป้ าหมาย และความ สอดคล้ อง กั บ การจั ด กา รศึ ก ษาใ น ปี งบประมาณ 2552 (จัดทํ าแผนเดือ น มกราคม 2551) 1. โครงการสัมมนา “Supporting coevolution of Web based Information Systems using MetaDesign Paradigm” โดย Prof. Athula Ginige เมือวัน ที 29 เมษายน 2551 ประกอบกับ การเรี ยนรายวิชา ทท .768 หั ว ข้ อการจัด การงาน คอมพิว เตอร์ โดย อ.ดร.ภู มิ พ ร ธรรมสถิตเดช 2. โ คร งกา ร “เ ท ศ ก า ล ศิล ป ะ สร้ างสรรค์ เพื อเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” วัน ที 8-9 มี น าคม 2551 ณ สมาคมฝรั งเศส ถนนสาทร และ “Unlimited Arts Festival” วัน ที 11-13 มีน าคม 2551 ณ ศูน ย์ การค้ าเอสพลานาด ถนน รัชดาภิเษก จัดโดยนักศึกษาหลักสูตร การบริ ห ารงานวัฒนธรรม และเป็ น ส่วนหนึ งของการศึกษาวิชา บฒ.601 ศิล ปะวิเ คราะห์ : แนวคิด และ ความหมายทีเปลียนแปลง โดย อ. ดร.จิตติมา อมรพิเชษฐ์ กลู

236

เอกสารอ้ างอิง แผนการให้ บริ การวิชาการ ประจําปี งบประมาณ 2552

รายละเอียดโครงการ/ เอกสารสรุปผลโครงการ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 3 มีการนําความรู้ และประสบการณ์จาก การบริ การวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ใน การวิจัยอย่างน้ อย 1 โครงการ 4 มีการนําความรู้ และประสบการณ์จาก การบริ การวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ใน การเรี ยนการสอนและการวิจยั อย่างน้ อย 1 โครงการ 5 มีการบูรณาการจัดการเรี ยนการสอนกับ การวิจัยและการบริ การวิชาการ/วิชาชีพ อย่างน้ อย 1 โครงการ

การดําเนินงานตามเกณฑ์ เอกสารอ้ างอิง โครงการสัม มนา “การทํ า วิจัย ระดั บ รายละเอียดโครงการ/ บัณฑิตศึกษาและแนวทางการตีพิมพ์ เอกสารสรุปผลโครงการ บทความวิจัย ในวารสารวิช าการที มี คุ ณ ภาพ” โดย ดร. ศากุ น บุ ญ อิ ต บรรณาธิการวารสารบริห ารธุรกิจ คณะ พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มธ. และ คุณพิ ชญ์ ว ดี กิ ตติ ปั ญญางาม นักวิ จัย ปริ ญ ญาเอก มหาวิ ท ยาลัย เคมบริ ด จ์ ประเทศอังกฤษ เมือวัน ที 18 มกราคม 2551 เวลา 14.00-17.00 น. 1. มีเป้าหมายเพือพัฒนามาตรฐานด้ าน การเขี ยนผลงานวิ จัย ให้ มี คุณ ภาพ โ ดยมี ผู้ เ ข้ าร่ วม ก าร สั ม ม น าทั ง คณาจาร ย์ ภ า ยใน แ ละภ ายนอ ก วิ ท ยาลัย รวมถึ ง บุ ค คลภายนอกที สนใจ 2. อาจารย์ป ระจําวิท ยาลัยทีได้ เข้ าร่ วม โครงการดังกล่าว ได้ มี โอกาสพัฒนา แนวคิดสําหรับ การเขียนงานวิจยั ทีมี คุณภาพมากขึน และสามารถใช้ สอน ในวิ ช าท ท.614 วิ ธี วิ จั ย แ ละ การ วิเคราะห์ เชิงปริ มาณ 3. เปิ ดโอกาสให้ นั ก ศึ ก ษาที กํ า ลัง ทํ า วิ ท ยานิ พ น ธ์ ง าน ค้ น ค ว้ าอิสร ะ โครงการวัฒนธรรม ได้ พ ัฒ นาแนว การเขียนผลงานวิจยั ของตนเองเพื อ เสนอตีพมิ พ์ในวารสารชันนํ า

237


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 5.2

ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ร้ อยละของอาจารย์ป ระจําทีมีสว่ นร่วมในการให้ บ ริการทางวิชาการแก่สงั คม เป็ นทีปรึ กษา เป็ น กรรมการ วิทยานิพนธ์ภายนอกมหาวิทยาลัย เป็ นกรรมการวิชาการและกรรมการ วิชาชีพในระดับ ชาติ หรือระดับ นานาชาติตอ่ อาจารย์ป ระจํา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

การเป็ นทีปรึกษาภายนอกมหาวิทยาลัย ระดับของการเป็ นที วัน/เดือน/ปี ปรึกษา ระยะเวลาการ หลักฐานอ้ างอิง ชาติ นานาชาติ เป็ นทีปรึกษา / บริษัทโรงพยาบาลมหาชัย 21 พย.49 หนังสือภายนอก จํากัด (มหาชน) ปั จจุบนั บริษทั โรงพยาบาล มหาชัยจํากัด (มหาชน)ลงวันที 21 พ.ย.2549 เรื อง ขอ เชิญเป็ นทีปรึ กษา สือสารการตลาด / สถาบันเพิมผลผลิต พ.ค.50 – 14 สัญ ญาจ้ างทีปรึ กษา แห่งชาติร่วมกับสํานักงาน ธ.ค.50 โครงการเพิม ส่งเสริมวิสาหกิจขนาด Productivity ของ กลางและขนาดย่อม ธุรกิจค้ าปลีก เลขที (สสว)/โครงการเพิม สัญ ญา 71/2550 Productivity ของธุรกิจค้ า ปลีก / ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร มค 50- กย.50 หนังสือที วธ. กระทรวงวัฒนธรรม 0700/00141 ลงวัน ที 16 ก.พ.50

รายนามอาจารย์ ทเป็ ี น สถาบัน/หน่ วยงาน/ ลําดับ ทีปรึกษา โครงการทีเป็ นทีปรึกษา 1.

อ.วิภา ดาวมณี

2.

อ. สุวฒ ั นา จารุ มิลนิ ท

3.

อ.สุรีรัตน์ บุบผา

จํานวนการเป็ นทีปรึกษาภายนอกมหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2550 ...................2.5........... คน (หมายเหตุ อ.สุวฒ ั นา อายุงานมากกว่า 6 เดือนแต่ไม่ถงึ 1 ปี นบั ได้ ½ คน )

238


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 การเป็ นกรรมการวิชาการ/วิชาชีพ ภายนอกมหาวิทยาลัย ลําดับ

1.

ชืออาจารย์ คณะกรรมการทีดํารงตําแหน่ ง สถาบัน ทีเป็ นกรรมการ

ผศ.ดร.จิรพรรษ์ บุณยเกียรติ วารสารมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่

วาระการดํารง ตําแหน่ ง/ วันทีเป็ น กรรมการ

ประเภทของ คณะกรรมการ วิชาการ

เมษ.48 – 30 กย.50

/

วิชาชีพ

ระดับของ คณะกรรมการ ชาติ

/

จํานวนการเป็ นกรรมการวิช าการ/วิชาชีพ ภายนอกมหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2550 (หมายเหตุ ผศ.ดร. จิรพรรษ์ ลาออก 1 มี.ค. 51 นับได้ ½ คน )

239

หลักฐานอ้ างอิง

นานาชาติ

คําสังแต่งตังทีศธ 0515(07)/1800 ลง วันที 21 เม.ษ.48

........0.5........คน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 การเป็ นกรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกมหาวิทยาลัย ลําดับ

1.

รายนามอาจารย์

ดร.ประวิทย์ เขมะ สุนนั ท์

สถาบันทีเชิญเป็ น กรรมการวิทยานิพ นธ์ (คณะ/มหาวิทยาลัย)

รายชือนักศึกษา/ ระดับทีศึกษา/ ชือหัวข้ อวิทยานิพนธ์

มหาวิท ยาลัยมหิดล

น.ส.จุฑาทิพย์ ถาวรรัตน์ นายเอกชัย พุมดวง น.ส.สุภาภรณ์ สงค์ประชัย น.ส.มาริ ษา ต๊ ะวิชยั Mr.Sangvath Chheang

วันทีเป็ น กรรมการ วิทยานิพนธ์

26-30 พ.ค. 51 14-27 พ.ค. 51 1-25 เม.ย.51 19 มี.ค – 4 เม.ย.51

หลักฐานอ้ างอิง

คําสังที ศย0946/2551 คําสังที ศย0903/2551 คําสังที ศย0616/2551 คําสังที SL 0523/2008

การเป็ น กรรมการวิท ยานิพนธ์ภายนอกมหาวิทยาลัย หมายถึง การทีอาจารย์ประจําได้ รับเชิญเป็ นกรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกมหาวิท ยาลัย 240


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 5.3 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์ 5.3.1

ร้ อยละของกิจกรรมหรื อโครงการบริ การวิชาการและวิชาชีพทีตอบสนองความต้ องการพัฒนาและเสริมสร้ าง ความเข้ มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.ณัฐกานต์ จาดเมือง 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 132 กิจกรรม/โครงการทีผู้รับบริการต้ องจ่ ายค่ าธรรมเนียม

วันที จัด/ ลําดับ จํานวน ชัวโมง 1 โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ 2 มิย. - 18 Micro MBA “Innovative สค.50 strategic manager” 2 โครงการอบรม ICT 29 -31 ส.ค. Development Controller 50 ชือกิจกรรม/โครงการ บริการทางวิชาการ

3

4 5 6

โครงการอบรมหลักสูตร นวัตกรรมการบริหาร โครงการด้านเทคโนโลยี รุ่ นที 2 การประมูลออนไลน์ผา่ น eBay โครงการพัฒนาทักษะ เจ้ าของธุรกิจรุ่ นใหม่ รุ่นที 2 โครงการอบรมเพือเพิม ประสิทธิภาพการบริหารและ การปฏิบตั งิ านสําหรับคณะ ผู้บริหารและสมาชิกสภา อบต.และเจ้าหน้ าทีท้ องถิน อบต.เทพกระษัตรี

จํานวน ผู้เข้ าร่ วม

รายรั บ

44

450,000

289,897.26 รพ.มหาชัย

48

200,000

131,971.46

28-29 ส.ค. 50

15

74,700

36,686

12 ก.ย.51

11

33,500

16,390

7 กย – 19 ตค.50 6-8 มิ.ย.50

60 50

ค่ าใช้ จ่าย

สถานที ดําเนิน งาน

ประเภท ระดับ โครงการ (1,2,3,4) (1,2,3) 1 1

โรงแรมสวีสโซ เทล เลอ คองคอร์ ด วิทยาลัย นวัตกรรม

1

1

1

1

วิทยาลัย นวัตกรรม 450,000 200,252.59 ธนาคารไทย พาณิชย์ 249,000 194,262 เขือนรัชชประภา อ. ตาขุน จ. สุราษฏร์ ธานี

1

1

1

1

1

2

241


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 วันที จัด/ ลําดับ จํานวน ชัวโมง 7 โครงการอบรมเพือเพิม 19-21 ก.ย. ประสิทธิภาพการบริหารและ 50 การปฏิบตั งิ านสําหรับคณะ ผู้บริหารและบุคลากร เทศบาลตําบลเทพกระษัตรี ชือกิจกรรม/โครงการ บริการทางวิชาการ

รวม

จํานวน ผู้เข้ าร่ วม

รายรั บ

108

640,000

จํานวนโครงการทีเก็บค่ าธรรมเนี ยม จํานวนชัวโมงทีจัดงาน ผู้เข้ าร่ วมโครงการ รายได้ ค่ าใช้ จ่าย

ค่ าใช้ จ่าย 460,699

สถานที ดําเนิน งาน เขือนรัชชประภา อ. ตาขุน จ. สุราษฏร์ ธานี

7 192 336 2,097,200 1,330,158.31

ประเภท ระดับ โครงการ (1,2,3,4) (1,2,3) 1 2

โครงการ ชัวโมง คน บาท บาท

ประเภทโครงการ ได้ แก่ 1 = อบรม 2 = สัมมนา/ประชุมวิชาการ 3 = การให้ ความช่วยเหลือ/บริ การ ระดับ หมายถึง เป็ น โครงการทีตอบสนองความต้ องการระดับต่างๆ ดังนี 1 = ระดับสังคม 2 = ระดับชุมชน 3 = ระดับชาติ 4 = ระดับนานาชาติ

242


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 5.3.2 ลําดับ 1 2 3

4

5

6 7 8 9

กิจกรรม/โครงการทีผู้รับบริการไม่ ต้องจ่ ายค่ าธรรมเนียม

ชือกิจกรรม/โครงการ บริการทางวิชาการ Research camp รุ่น1

13

608,549.36

61

79,985.40

ประเภท ระดับ โครงการ (1,2,3,4) (1,2,3) วิทยาลัยนวัตกรรม ศูนย์ 1 1 พัทยา วิทยาลัยนวัตกรรม 1 1

50

5,400

วิทยาลัยนวัตกรรม

2

1

54

12,300.00

วิทยาลัยนวัตกรรม

1

1

50

36,365.40

วิทยาลัยนวัตกรรม

3

1

6 19 80

707,996

วิทยาลัยนวัตกรรม ศูนย์ พัทยา สมาคมฝรังเศส

1

1

3

1

80

***

3

1

15

11,550

ศูนย์การค้า Esplanade ชัน G วิทยาลัยนวัตกรรม

1

1

วันที จัด/ จํานวน จํานวนชัวโมง ผู้เข้ าร่ วม

30 ต.ค -10 ธ.ค.50 Lean Six Sigma 9 พ.ย.50 3 ชัวโมง การพัฒนาธุรกิจและการ 14 มค.51 ดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจ 3 ชัวโมง พอเพียงตามแนว พระราชดําริ การทําวิจยั ระดับ 18 มค.51 บัณฑิตศึกษาแนวทางการ 3 ชัวโมง ตีพ ิมพ์บทความวิจยั ใน วารสารวิชาการทีมี คุณภาพ Innovative Gallary ก.พ- เม.ย.51 “นวัตกรรมการจัดการ พืนทีทางวัฒนธรรม” Research camp รุ่น 2 1-3 มี.ค 51 5-7เม.ษ.51 โครงการเทศกาลศิลปะ 8-9 มีนาคม สร้ างสรรค์เพื อเยาวชน 51 โครงการ Unlimited Arts 11—13 Festival มีนาคม 51 Business 31 มี.ค.51 competitiveness 2 ชัวโมง and regional development :Engineering change through innovative digital proximity

ค่ าใช้ จ่าย

***

243

สถานทีดําเนิน งาน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ 10

ชือกิจกรรม/โครงการ บริการทางวิชาการ

วันที จัด/ จํานวน จํานวนชัวโมง ผู้เข้ าร่ วม

Supporting co 29 เม.ษ.51 evolution of web based 2 ชัวโมง Information system using Meta-Design Paradigm

รวม

56

ค่ าใช้ จ่าย

สถานทีดําเนิน งาน

8,142

วิทยาลัยนวัตกรรม

จํานวนโครงการทีไม่ เก็บค่ าธรรมเนียม จํานวนชัวโมงทีจัดงาน ผู้เข้ าร่ วมโครงการ รายได้ ค่ าใช้ จ่าย

10 484 1,470,288

ประเภท ระดับ โครงการ (1,2,3,4) (1,2,3) 1 1

โครงการ ชัวโมง คน บาท บาท

ประเภทโครงการ ได้ แก่ 1 = อบรม 2 = สัมมนา/ประชุมวิชาการ 3 = การให้ ความช่วยเหลือ/บริ การ ระดับ หมายถึง เป็ น โครงการทีตอบสนองความต้ องการระดับต่างๆ ดังนี 1 = ระดับสังคม 2 = ระดับชุมชน 3 = ระดับชาติ 4 = ระดับนานาชาติ **** ขอทุนสนับสนุน จากภายนอก

244


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 5.4 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์ ลําดับ

1 2 3

4

5

6

7 8 9 10 11

ร้ อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138 กิจกรรม/โครงการ

Lean Six Sigma

จํานวนผู้เข้ าร่ วม กิจกรรม 61

จํานวนผู้ตอบ แบบประเมิน 32

54

41

การทําวิจยั ระดับบัณฑิตศึกษาแนวทางการตีพิมพ์ บทความวิจยั ในวารสารวิชาการทีมี คณ ุ ภาพ Business competitiveness and regional development :Engineering change through innovative digital proximity Supporting co evolution of web based Information system using Meta-Design Paradigm โครงการอบรมเพือเพิมประสิทธิภาพการบริ หารและ การปฏิบตั งิ านสําหรับคณะผู้บริหารและสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนตําบล และเจ้ าหน้ าที ท้ องถิน อบต.เทพกระษัตรี โครงการอบรมเพือเพิมประสิทธิภาพการบริ หารและ การปฏิบตั งิ านสําหรับคณะผู้บริหารและบุคลากร เทศบาลตําบลเทพกระษัตรี โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ Micro MBA “Innovative strategic manager” โครงการอบรม ICT Development Controller

ค่ าเฉลีย 3.63

ร้ อยละ 72.6

4.11 82.2

15

8

4.31 86.2

56

40

3.48 69.6

31

23

4.17

83.4 108

79

4.39 87.8

44

44

3.92 78.4

48

48

3.88

โครงการอบรมหลักสูตรนวัตกรรมการบริ หารโครงการ ด้ านเทคโนโลยี รุ่นที 2 โครงการพัฒนาทักษะเจ้าของธุรกิจรุ่นใหม่ รุ่นที 2

15

12

3.98

60

60

4.77

95.4

การประมูลออนไลน์ผา่ น eBay

11

11

3.63

72.6

503

398

4.02

79.6

รวม ร้ อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ

77.6

.....80.5.........

245

80.5


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 6.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการกําหนดนโยบายทีชัดเจนปฏิบตั ิได้ และมีแผนงานรองรับ 2

การดําเนินงานตามเกณฑ์ จัดทําแผนงานในการจัดกิจกรรมทํานุ บํารุ งศิลปวัฒนธรรม

มีการกําหนดกิจกรรมหรื อโครงการทีเป็ น มีการดําเนิน โครงการทํานุบ ํารุง ประโยชน์สอดคล้ องกับแผนงาน และมี ศิลปวัฒนธรรม 3 โครงการในปี การดําเนิน กิจกรรมอย่างต่อเนือง การศึกษา 2551 ได้ แก่ 1. โครงการนวัตกรรมนิทศั น์ นําเสนอ ผลงานการจัดการพืนทีทาง วัฒนธรรม วันที 11 กุมภาพัน ธ์ – เมษายน 2551 บริ เวณโถงชัน 1 วิทยาลัยนวัตกรรม 2. โครงการ “เทศกาลศิลปะ สร้ างสรรค์ เพือเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” วันที 8-9 มีนาคม 2551 ณ สมาคมฝรังเศส ถนนสาทร 3. โครงการ “Unlimited Arts Festival” วันที 11-13 มีน าคม 2551 ณ ศูนย์การค้ าเอสพลานาด ถนน รัชดาภิเษก

246

เอกสารอ้ างอิง แผนปฏิบ ตั ิราชการ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ.2551 เอกสารรายละเอียด โครงการ และภาพถ่าย การดําเนิน งานโครงการ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 3 มีการบูรณาการงานด้ านทํ านุบํารุ ง ศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจด้ านอืน ๆ

4

5

การดําเนินงานตามเกณฑ์ 1. โครงการ “นวัตกรรมนิทศั น์ (Innovative Gallery)” เป็ นการ บูรณาการโครงการด้ านศิลปะ วัฒนธรรมร่ วมกับ การเสนอผลงาน วิชาการของนักศึกษา 2. โครงการ “เทศกาลศิลปะ สร้ างสรรค์ เพือเยาวชน (Creative Arts for Youth Festival)” และ “Unlimited Arts Festival” เป็ น การบูรณาการโครงการด้ านศิลปะ วัฒนธรรมร่ วมกับ การเรี ยนการสอน รายวิชา โดยให้ นกั ศึกษาได้ จดั โครงการศิลปวัฒนธรรมภายใต้ การ กํากับดูแลของอาจารย์ผ้ สู อน มีการส่งเสริ มการดําเนินงานด้ าน มีการจัดการแสดงผลงานวิชาการของ ศิลปวัฒนธรรมทังในระดับชาติและ นักศึกษาหลักสูตรการบริหารงาน นานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานข้ อมูล วัฒนธรรม ภายใต้ โครงการ “นวัตกรรม ด้ านศิลปวัฒนธรรม การสร้ าง นิทัศน์ (Innovative Gallery)” ซึงเป็ น บรรยากาศศิลปะและวัฒนธรรม การจัด การแสดงต่อเนือง 2 เดือน ตังแต่ กิจกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการ การ กุมภาพันธ์ ถึง เมษายน 2551 จัดสรรงบประมาณสนับสนุนอย่าง พอเพียงและต่อเนือง มีการกําหนดหรื อสร้ างมาตรฐานด้ าน ศิลปวัฒนธรรมโดยผู้เชียวชาญและมี ผลงานเป็ นทียอมรับ ในระดับชาติและ นานาชาติ

247

เอกสารอ้ างอิง เอกสารรายละเอียด โครงการ

เอกสารรายละเอียด โครงการ และภาพถ่าย การดําเนิน งานโครงการ

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน การดําเนินงานตามเกณฑ์ 6 มีการเผยแพร่ และบริ การด้ าน 1. โครงการนวัตกรรมนิทศั น์ นําเสนอ ศิลปวัฒนธรรมในระดับ ชาติและ ผลงานการจัดการพืนทีทาง นานาชาติ อาทิ มีสถานทีหรื อเวทีแสดง วัฒนธรรม วันที 11 กุมภาพัน ธ์ – ผลงาน จัดทําวารสารศิลปวัฒนธรรมใน เมษายน 2551 บริ เวณโถงชัน 1 ระดับต่าง ๆ มีความร่ วมมือในการให้ การ วิทยาลัยนวัตกรรม บริ การวิชาการด้ านศิลปวัฒนธรรมกับ 2. โครงการ “เทศกาลศิลปะ สร้ างสรรค์ เพือเยาวชน (Creative สังคมในระดับต่าง ๆ Arts for Youth Festival)” วันที 8-9 มีนาคม 2551 ณ สมาคมฝรังเศส ถนนสาทร 3. โครงการ “Unlimited Arts Festival” วันที 11-13 มีน าคม 2551 ณ ศูนย์การค้ าเอสพลานาด ถนน รัชดาภิเษก

248

เอกสารอ้ างอิง เอกสารรายละเอียด โครงการ และภาพถ่าย การดําเนิน งานโครงการ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

สภาสถาบัน ใช้ห ลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันสถาบันให้ แข่งขันได้ ในระดับสากล ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน การดําเนินงานตามเกณฑ์ 1 สภาสภาบันมีบทบาทสําคัญในการ การดําเนินงานเชิงนโยบายทีสําคัญ กําหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ และนโยบาย โดยเฉพาะด้ านยุทธศาสตร์ และทิศ ของสถาบัน ทางการดําเนินงานของวิทยาลัย คณบดี ได้ นําเสนอให้ ทประชุ ี มคณะกรรมการ อํานวยการวิทยาลัยได้พิจารณา 2 สภาสถาบันมีการติดตามผลการ กําหนดจัดการประชุมคณะกรรมการ ดําเนิน งานตามภารกิจหลักของสถาบัน อํานวยการวิทยาลัยทุก 2 เดือน มากกว่าปี ละ 2 ครัง 3 การประชุมกรรมการสภาสถาบันอย่าง สามารถดําเนิน งานได้ ตามเกณฑ์ ตําร้ อยละ 80 ของแผน ในการประชุมแต่ มาตรฐาน ละครังมีกรรมการเข้ าร่ วมโดยเฉลียไม่ น้ อยกว่าร้ อยละ 80 โดยมีการส่งเอกสาร ให้ กรรมการสภาสถาบันอย่างน้ อย 7 วัน ก่อนการประชุม 4 สภาสถาบันจัดให้ มีการประเมินผลงาน 1. คณบดีจะต้องทําหนังสือรับ รองการ ของอธิการบดีหรื อผู้บริหารสูงสุดตาม ปฏิบตั ิราชการเสนอต่ออธิการบดี หลักเกณฑ์ท ีตกลงกัน ไว้ ลว่ งหน้ า และจะต้ องรายงานผลการ ดําเนิน งานเป็ นประจําทุก ปี งบประมาณ 2. การรายงานผลการตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาภายในตามเกณฑ์ สกอ. / สมศ. ทุกปี การศึกษา 5 สภาสถาบันมีการดําเนิน งานโดยใช้ ห ลัก คณะกรรมการอํานวยการวิท ยาลัยมีการ ธรรมาภิบาลและส่งเสริมการบริห ารงาน ติดตามผลการดําเนิ นงานด้ านต่างๆ โดยใช้ ห ลักธรรมาภิบาลทัวทังองค์กร อย่างต่อเนือง และสนับสนุนให้ มีการ เปิ ดเผยข้ อมูลด้ านต่างๆ ของวิท ยาลัย เพือความโปร่ งใสในการบริ หารจัดการ

249

เอกสารอ้ างอิง เอกสารแผนงานประชุม / วาระการประชุม / รายงานผลการประชุม / เอกสารรายนามผู้เข้ าร่ วม การประชุมคณะกรรมการ อํานวยการวิท ยาลัยแต่ละ ครัง

1. รายงานผลการปฏิบ ตั ิ ราชการตามแนว กพร. (รอบ 9 เดือน: ต.ค. 50 ถึง มิ.ย. 51) ปี งบประมาณ 2551 2. รายงานการตรวจสอบ คุณภาพภายใน ปี การศึกษา 2550 เอกสารรายงานการ ประชุมคณะกรรมการ อํานวยการวิท ยาลัย


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.2 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ภาวะผู้นําของผู้บริหารทุกระดับ ของสถาบัน ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีกระบวนการสรรหาผู้บริห ารทีเป็ น ระบบ โปร่งใส ตรวจสอบได้

2

3

การดําเนินงานตามเกณฑ์ ได้ มีการกําหนดคุณสมบัติ กระบวนการ สรรหา การแต่งตังและวาระดํารง ตําแหน่ งคณบดีอย่างชัดเจนในระเบียบ มธ. ว่าด้ วยการจัดตังและบริห ารงาน วิทยาลัยนวัตกรรม ผู้บ ริหารดําเนินการบริห ารด้ วยหลัก การปฏิบ ัตงิ านของคณบดีจะถูกกํากับ ธรรมาภิบาลและใช้ ศกั ยภาพภาวะผู้น ําที โดยคณะกรรมการอํานวยการให้ เป็ นไป มีอยู่โดยคํานึ งถึงประโยชน์ของสถาบัน โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของวิทยาลัย และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย และสอดคล้ องกับ แนวทางและนโยบาย ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังมี การรายงานผลการดําเนินงานของ วิทยาลัยผ่านการประชุมคณะกรรมการ บริหารมหาวิท ยาลัยเป็ นครังคราว มีกระบวนการประเมิน ศักยภาพและผล คณบดีในฐานะผู้บ ริหารวิทยาลัยจะถูก การปฏิบัตงิ านของผู้บริห ารทีชัดเจนและ ประเมิน ศักยภาพและผลการปฏิบ ตั ิงาน เป็ นทียอมรับ ในสถาบัน ผ่านผลการดําเนินงานประจําปี ของ วิทยาลัย จากรายงานทีเสนอต่อ มหาวิท ยาลัย ทังทีเป็ นการปฏิบตั ิ ราชการตามแนวทางของ กพร. และ การ ประเมิน ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ผ่านระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

250

เอกสารอ้ างอิง ระเบียบ มธ. ว่าด้ วยการ จัดตังและบริห ารงาน วิทยาลัยนวัตกรรม พ.ศ. 2551 รายงานการประชุม คณะกรรมการอํานวยการ วิทยาลัย / รายงานการ ประชุมคณะกรรมการ บริห ารมหาวิทยาลัย

1. รายงานผลการปฏิบ ตั ิ ราชการตามแนว กพร. (รอบ 9 เดือน: ต.ค. 50 ถึง มิ.ย. 51) ปี งบประมาณ 2551 2. รายงานการประเมิน ตนเอง ปี การศึกษา 2550


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 4 มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนา ศักยภาพของผู้บริห ารตามผลการ ประเมิน และดําเนินการตามแผนอย่าง ครบถ้ วน

การดําเนินงานตามเกณฑ์ เอกสารอ้ างอิง แผนการพัฒ นาศักยภาพของผู้บ ริ ห าร 1. รายงานประจําปี วิทยาลัยได้ จดั ทําเป็ น 3 ระดับ พร้ อมกับ 2550 การจัดทํางบประมาณรองรับ ได้ แก่ 2. รายละเอียด (ข้ อ 3) 1. คณบดีและรองคณบดี กําหนดให้ มี ตามแบบฟอร์ มตัวบ่งชี แผนพัฒนาศักยภาพด้ านการบริ ห าร ที 7.4.2 ในลักษณะการศึกษาดูงานควบคู่กับ กา ร เ จ ร จ า ค วา ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ดั บ นานาชาติกบั สถาบันการศึกษาชันนํ า ต่างประเทศ ซึงได้ มีการเดิน ทางไปดู งาน แ ละ เจรจาความร่ วมมื อ กั บ สถ า บั น กา ร ศึ ก ษ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ สหรั ฐ อเมริ ก าระหว่ า งวั น ที 16-27 พฤษภาคม 2551 นอกจากนี ในวัน ที 22-24 ตุลาคม 2550 ยังได้ เดินทาง ไปสัมมนาและดูงานร่ วมกับ บุ คลากร ของวิ ท ยาลัยที Universiti Tenaga (UNITEN) ประเทศมาเลเซีย 2. ผู้อํานวยการหลั กสู ต ร แผนพัฒนา ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ ผู้อาํ นวยการหลักสูตร เน้ น การพัฒนา ศัก ยภาพด้ านการวิ จั ย เป็ นสํ า คั ญ โดยกําหนดให้ มีโ ครงการ Research Forum เพื อพัฒ นาและเพิมผลงาน ด้ านวิจยั และวิชาการ ซึงผู้อํานวยการ หลักสูตรได้มีโอกาสเข้ าร่วม และ/หรื อ เป็ นส่วนหนึ งของโครงการ 3. ผู้จัดการฝ่ าย แผนพัฒนาศักยภาพ ด้ า นการบริ ห ารระดั บ ผู้จัดการฝ่ าย วิ ท ยาลัย ได้ กํ า หนดงบป ระมาณ เพือให้ เข้ าร่วมฝึ กอบรมและสัมมนาที จ◌ัดโดยหน่ วยงานภายนอก และนํ า ความรู้มาใช้ พฒ ั นางานของวิ ท ยาลัย 251


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.3 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีการพัฒนาสถาบันสูอ่ งค์การการเรี ยนรู้ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ 02-613-3115-8

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการ ความรู้ เพือมุ่งสูอ่ งค์การแห่งการเรี ยนรู้ และประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ให้ ประชาคม ของสถาบัน รับทราบ 2 มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู้ และประสบความสําเร็ จตามเป้ าหมายไม่ น้ อยกว่า ร้ อยละ 50 3 มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรู้ และประสบความสําเร็ จตามเป้ าหมาย ร้ อยละ 100

4

5

ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

การดําเนินงานตามเกณฑ์ วิทยาลัยมีการจัดทําแผนการจัดการ ความรู้ พร้ อมกัน กับ การจัดทํา งบประมาณประจําปี

มีการดําเนิน การตามแผนการจัดการ ความรู้ได้อย่างครบถ้ วน ทังการเรี ยนรู้ งานภายใน การส่งบุคลากรเข้ าร่ วมการ ฝึ กอบรมกับหน่วยงานต่างๆ และการจัด สัมมนาบุคลากรประจําปี โดยในปี การศึกษา 2550 ได้ จดั ให้ มีการสัมมนา บุคลากรและเพิมพูนประสบการณ์ที ประเทศมาเลเซีย และการจัดทําวารสาร Online (CITU Review) มีการติดตามประเมินผลความสําเร็ จของ ได้ มีการประเมินผลการดําเนินงาน การจัดการความรู้ โครงการเป็ นประจําทุกโครงการอยู่แล้ว สําหรับการประเมินผลการจัดการความรู้ ในองค์กร ได้ ใช้ ข้อมูลส่วนหนึงจากการ ประเมิน ความพึงพอใจของบุคลากร (ซึง มีประเด็นการประเมิน ด้ านการจัดการ ความรู้ในองค์กรด้วย) มีการนําผลการประเมิน ไปปรับใช้ ในการ ผลการประเมิน ประสบการณ์ของผู้จัด พัฒนากระบวนการจัดการความรู้ ให้ เป็ น โครงการ รวมถึงปั ญหาและอุป สรรคใน ส่วนหนึงของกระบวนงานปกติและ การดําเนินงาน จะถูกนําไปเป็ นปั จจัย ปรับปรุ งแผนการจัดการความรู้ นําเข้าสําหรับการพิจารณาแผนจัดการ ความรู้ในปี ต่อไป

252

เอกสารอ้ างอิง เอกสารแผนการจัดการ ความรู้ ขององค์กร

1. รายชื อบุ คลากรที เข้ า ร่ ว ม การ ฝึ กอ บ ร ม / สัมมนาต่างๆ 2. รายละเอีย ดโครงการ สั ม ม น าบุ ค ลา กร ที ประเทศมาเลเซีย

1. รายงานจํานวนผู้เข้ า ใช้ บ ริ การ CIE Review 2. รายงานการประเมิน โครงการอบรมต่างๆ

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.4 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีระบบและกลไกในการบริห ารทรัพยากรบุคคลเพือพัฒนาและธํารงรักษาไว้ ให้ บุคลากรมีคณ ุ ภาพและ ประสิทธิภาพ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการจัดทําแผนการบริห ารทรัพยากร บุคคลทีเป็ นรูป ธรรม ภายใต้ การ วิเคราะห์ ข้อมูลเชิงประจักษ์

1.

2. 2

3

มีระบบและกลไกในการบริหาร ทรัพยากรบุคคลทีเป็ นการส่งเสริม สมรรถนะในการปฏิบ ัตงิ าน เช่น การสรร หา การจัดวางคนลงตําแหน่ง การ กําหนดเส้นทางเดินของตําแหน่ ง การ สนับสนุนเข้ าร่วมประชุม ฝึ กอบรมและ หรื อเสนอผลงานทางวิชาการ การ ประเมินผลการปฏิบ ตั ิงาน มาตรการ สร้ างขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทังการพัฒนา และรักษาบุ คลากรทีมี คุณภาพ มีระบบสวัสดิการและเสริมสร้ างสุขภาพ ทีดี และสร้ างบรรยากาศทีดีให้ บุคลากร ทํางานได้ อย่างมีป ระสิทธิภาพและอยู่ อย่างมีความสุข

1.

2.

3.

การดําเนินงานตามเกณฑ์ มีการปรับปรุ งโครงสร้ างการ บริห ารงานองค์กรใหม่ให้ มี ประสิทธิภาพมากขึน มีการจัดทําแผนอัตรากําลัง 4 ปี (2552-2555) มีการสนับสนุน ให้บุคคลากรได้ มี โอกาสเข้ าร่วมการฝึ กอบรม/เสนอ ผลงานวิชาการเพือพัฒนาศักยภาพ ปรับปรุ งวิธีการประเมินผลการ ปฏิบตั ิงานให้ มีความทัน สมัยและ สอดคล้ องกับ ภารกิจของวิทยาลัย กําหนดนโยบายการคัดเลือกบุคลากร ระดับหัวหน้ างาน/ผู้จดั การ และการ โยกย้ ายตําแหน่ง โดยพิจารณาจาก บุคลากรภายในก่อน

มีการจัดสวัสดิการให้ แก่บุคลากร ดังนี - กองทุนสํารองเลียงชีพ - ประกันสังคม - ประกันชีวิต อุบตั เิ หตุ และสุขภาพ - การตรวจสุขภาพประจําปี - สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล 2,000 บาทต่อคนต่อปี - เงิน ช่วยค่าเดือนทาง 50 บาท/วัน - เงิน ช่วยเหลืออืนๆ ได้ แก่ สมรส คลอด บุตร งานศพ - การสัมมนาบุคลากรประจําปี 253

เอกสารอ้ างอิง 1. เอกสารโครงสร้ าง องค์กร 2. แผนอัตรากําลัง 4 ปี ของวิทยาลัย 1. เอกสารสรุปการเข้ า ร่วมฝึ กอบรม/เสนอ ผลงานวิชาการของ บุคลากรประจําปี 2. รายงานการประชุม เพือประเมินผลการ ปฏิบ ตั ิงาน 3. รายชือผู้ได้ รับ การ แต่งตังโยกย้ าย ประจําปี


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 4 มีระบบส่งเสริ มสนับสนุนบุคลากรทีมี ศักยภาพสูงให้ มีโอกาสประสบ ความสําเร็ จและก้ าวหน้ าในอาชีพอย่าง รวดเร็วตามสายงาน 5 มีการประเมิน ความพึงพอใจของ บุคลากรทุกระดับอย่างเป็ นระบบ 6 มีการนําผลการประเมิน ความพึงพอใจ เสนอผู้บ ริหารระดับ สูง และมีแนวทางใน การปรับปรุ งพัฒนาเพือให้ ดีขนึ

การดําเนินงานตามเกณฑ์ 1. สนับสนุนบุคลากรให้ มีโอกาสเลือน ตําแหน่ ง/โยกย้ ายสายงานได้ 2. การกําหนดค่าตําแหน่งวิชาการตาม หลักเกณฑ์ของ มธ. จัดทําการสํารวจความพึงพอใจของ บุคลากร และนําผลการประเมิน รวมถึง ข้ อเสนอแนะทีได้ จากการสํารวจเสนอต่อ ผู้บริห ารเพือพิจารณา

254

เอกสารอ้ างอิง รายชือผู้ได้ รับการแต่งตัง โยกย้ ายประจําปี

รายงานผลการประเมิน ความพึงพอใจของ บุคลากรภายใน พร้ อมทัง ข้ อเสนอแนะเสนอ ผู้บ ริหารเพือพิจารณา


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.4.1 ร้ อยละของอาจารย์ป ระจําทีเข้ าร่ วมประชุมวิชาการ และ/หรื อนําเสนอผลงานวิชาการทังในประเทศและ ต่างประเทศ ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ 1

2

3.

รายชืออาจารย์

รายละเอียดการเข้ าร่ วมประชุม/นําเสนอ ผลงาน – วันทีเข้ าร่ วม

ประเภท ผลงาน*

ดร.สุพชั รจิต จิตประไพ Hospitality Management Perspective on Casino Tourism in Thailand at Antalya Turkey at The 4 th World Conference for Graduate Research in Tourism Hospitality and Leisure (23- 27 April 2008) อ.สุวฒ ั นา จารุมิลนิ ท โครงการเพิม Productivity ของธุรกิจค้ าปลีก ภายใต้ ความร่ วมมือของสถาบันเพิมผลผลิตและ สสว. (14 ธันวาคม 2550) ดร.ยอดมนี เทพานนท์ Motivation of sex tourist : an exploratory study in Thailand at 2 nd International Colloquium in Tourism and Keisure Proceeding ,Changmai, Thailand (5-8 พ.ค. 51)

การประชุม/นําเสนอ ผลงาน ในประเทศ

1

4

1

ต่ างประเทศ

/

/

/

จํานวนอาจารย์ทีเข้ าร่วมประชุมวิชาการหรื อนําเสนอผลงานวิชาการ ......2.5.......... คน * 1. 2. 3. 4.

ประเภทของผลงานทีนําเสนอ ผลงานทางวิชาการทีได้ มีการศึกษาค้ น คว้ าตามกระบวนการ ระเบียบวิธวี ิจยั ทีเหมาะสมกับ สาขาวิชา การแสดงออกทางศิลปะอัน เป็ นทียอมรับ ระดับนานาชาติและระดับ ชาติ งานทีได้ รบั สิทธิบัตร/อนุสทิ ธิบ ตั รทังในและต่างประเทศ การแสดงความก้ าวหน้ าทางวิชาการ เสริ มสร้ างองค์ความรู้ หรื อวิธกี ารทีเป็ นประโยชน์ต่อสาขาวิชา หรือแสดงความเป็ น ต้ น แบบต้ นความคิดของผลงาน หรือแสดงความสามารถในการบุกเบิกงานในสาขาวิชานัน 5. สิงประดิษฐ์ หรืองานสร้ างสรรค์ท างด้ านศิลปกรรม และจิตรกรรม

255


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.4.2 ร้ อยละของบุคลากรประจําสายสนับ สนุน ทีได้ รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพทังในประเทศและ ต่างประเทศ ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

รายชือบุคลากร คุณดนัย กิติภรณ์ คุณณัฐกานต์ จาดเมือง คุณสิน ีรชั ต์ พวังคะพิน ธุ์ คุณกุสมุ า กาญจนจูฑะ คุณสมใจ กลับ เพิมพูล คุณนพดล คุณอนันทวณิช คุณจรัสศรี สายสืบ คุณรุ จิรา นาบํารุง คุณธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ คุณพจมาน ขอบุตร คุณบุษราภรณ์ หลวงพรหม คุณธานินทร์ สังข์ท อง คุณอัจฉรา พลอยสดใส คุณกรีฑาพล สังขกรม

รายชือกิจกรรมการพัฒนา ความรู้ความสามารถ – วันทีจัด สัมมนาบุคลากร ณ ประเทศ มาเลเซีย ในระหว่างวันที 22 -24 ตุลาคม 2550

คุณสุทธารัตน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

คุณอนันต์ ตุลาทิพากุล คุณจารุ มน พิบูลย์วงศ์ คุณวรพจน์ สังฆปุญโญ คุณพรวิภา นิลกลาง คุณกุลลัคณ์ อนันทวงษ์ คุณรุ จกิจ เทศฉิม คุณธนา คุปรัตน์ คุณอรุณี มังอุดม คุณสมจิตร โพธิทอง

256

ประเภท การ พัฒนา* 2

งบประมาณ (บาท) 736,485

แหล่ งทีมา ของ งบประมาณ กองทุน พัฒนาความรู้ และทักษะ ของพนักงาน


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ลําดับ 25 26 27 28 29 30 31 32

รายชือบุคลากร คุณสุรีย์ พิพฒ ั น์ชืนสกุล คุณสุม าลี เภตรานุวฒ ั น์ คุณนันทวุฒิ อินทวารี คุณเกศอนงค์ ยืนยงชัยวัฒน์ คุณเพชราภรณ์ เทศศิริ คุณณัฐวุฒิ ศรี สวุ รรณ คุณทัศนีย์ ถาวรกิรติขจร คุณปุณณ์มี ศรอําพล นางสาวสุรีย์ พิพัฒน์ชนสกุ ื ล

นางกุลลัคน์ อนันทวงษ์ นายอนัน ต์ ตุลาทิพากุล นายนันทวุฒิ อินทวารี นางจารุ มน พิบลู ย์วงศ์ นางสาวสุวิมล ยะอิตะ 33

นายฌานิน บํารุ งจิตร

รายชือกิจกรรมการพัฒนา ความรู้ความสามารถ – วันทีจัด

ประเภท การ พัฒนา*

งบประมาณ (บาท)

แหล่ งทีมา ของ งบประมาณ

การนําระบบสมรรถนะไปใช้ ในการ บริหารทรัพยากรบุคคล" รุ่น 3 งาน พัฒนาบุคคล กองการเจ้ าหน้ า มธ. 18-19 มิถนุ ายน 2550 กฎหมายน่ารู้...คู่คน HR 2 พ.ย.50 ก้ าวทัน เรื องกองทุนฯHR อย่างไม่ ควรพลาด 28 พ.ย.50 งบการเงิน และการวิเคราะห์ งบ การเงิน, 25-26 มิ.ย.50 งบการเงิน และการวิเคราะห์ งบ การเงิน, 8-9 พ.ย.50 Core-Project Management 15-17, 22-23 ส.ค.50 การเลือกใช้ ซอฟแวร์ ทางการบัญชี 8 ก.ย.50

2

ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย

-

2

-

2

ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย 8,610 บาท

วิท ยาลัยฯ

2

4,815 บาท

วิท ยาลัยฯ

โครงการอบรมกฎหมายเกี ยวกับการ บริหารงานบุคคล, 13-22 ก.ย.50 การติดตังและบริหารจัดการอุปกรณ์ เครือข่าย Cisco, 24-28 ก.ย.50

2

5,000 บาท

วิท ยาลัยฯ

2

10,593 บาท

วิท ยาลัยฯ

257

2 2 2

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

รายชือกิจกรรมการพัฒนา ความรู้ความสามารถ – วันทีจัด

ลําดับ

รายชือบุคลากร

34

นายอาทิตย์ ผดุงเดช (ไม่ครบ 1 ปี ) คุณณัฐวุฒิ ศรี สวุ รรณ

Computer Art & Graphic Design

นางสาวเกศอนงค์ ยืน ยง ชัยวัฒน์

Microsoft Windows 2003 Server Administrator, 12 ,13, 19, 20, 26, 27 ม.ค. 51 (6 วัน) การจัดการความรู้กบั การพัฒนา คุณภาพงานและองค์กร, 25 ม.ค.51 งบการเงิน และการวิเคราะห์ งบ การเงิน, 20-21 มี.ค.51 ศิลปะการพัฒนาหัวหน้ างาน 24-25 มี.ค.51 เทคนิคการบริหารความคิดสู่ ความสําเร็ จอย่างมืออาชีพ 23 มี.ค.51 เทคนิคการให้ บริการทีประทับ ใจ 7-8 พ.ค.51 เทคนิคการเจรจาต่อรองอย่างมือ อาชีพ 13-14 พ.ค.51 การบริห ารความสัมพันธ์ กบั ลูกค้ า และการสร้ างคุณค่าในการบริ การ 30 พ.ค.51

นางสาวกุสมุ า กาญจนจูฑะ นางสาวทิพาพร ดิสสร นางสาวสุมาลี เภตรานุวัฒน์ นายวรพจน์ สังฆปุญโญ นางกุลลัคณ์ อนันทวงษ์ นายดนัย กิติภรณ์

นางสาวจรัสศรี สายสืบ นางสาวพจมาน ขอบุตร นางศิริประภา แก้ วศรี นางสาวธัญญ์รวี ธีรพัฒนโรจน์ นางอัจฉรา พลอยสดใส

ประเภท การ พัฒนา* 2

11,600 บาท

แหล่ งทีมา ของ งบประมาณ วิท ยาลัยฯ

2

2,500 บาท

วิท ยาลัยฯ

2

ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย

-

2

ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย

-

ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย ไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย

-

งบประมาณ (บาท)

4, 6,11,13,18,20,25 ธ.ค.50 - 8, 10 ม.ค.51 (9 วัน)

2 2

2 2 2

-

-

จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุน ทีได้ รบั การพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพทังในประเทศและต่างประเทศ 33 คน * 1. 2. 3.

ประเภทของการพัฒนา ศึกษาต่อ อบรม สัมมนา หรื อดูงาน การฝึ กอบรมทีหน่วยงานจัดขึนเพือพัฒนาศักยภาพของบุคลากร

258


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.5 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ศักยภาพของระบบฐานข้ อมูลเพือการบริหาร การเรี ยนการสอนและการวิจยั งานระบบสารสนเทศ ผู้จัดเก็บข้ อมูล นายกรีฑาพล สังขกรม 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีน โยบายในการจัดทําระบบฐานข้ อมูล เพือการตัดสิน ใจ

2

มีระบบฐานข้ อมูลเพือการตัดสินใจ

3

มีการประเมินประสิทธิภาพ และความ ปลอดภัยของระบบฐานข้ อมูล มีการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้ ฐานข้ อมูล

4

การดําเนินงานตามเกณฑ์ การจัดทําระบบฐานข้ อมูลเพือการ ตัดสินใจ และได้ มีการพัฒนาระบบเพือ เพิมประสิท ธิภาพในการทํางานของ ระบบมาโดยตลอด ปี การศึกษา 2550 ได้ มีการจัดทําระบบประเมินผลการสอน ออนไลน์ซึงได้ ดําเนิน การแล้วเสร็ จ และมี แผนการปรับปรุงระบบฐานข้ อมูลของ วิทยาลัย ซึงจะดําเนิน การใน ปี งบประมาณ 2551 ระบบฐานข้ อมูล 2 ระบบ ได้ แก่ 1) ระบบ Intranet มีวตั ถุป ระสงค์เพือการสือสาร ภายในองค์กร และเก็บ ข้ อมูลด้ านการ ปฏิบตั ิงาน งบประมาณ ข้ อมูลเงิน เดือน พนักงาน (เรี ยกดูเป็ น รายบุคคล) และ ข้ อมูลประกาศ/คําสังต่างๆ ของวิท ยาลัย และ 2) ระบบ CIE Control Panel เพือ ใช้ สนับสนุนระบบการศึกษาทังหมด ประกอบด้วย ข้ อมูลการรับสมัคร ข้ อมูล อาจารย์ผ้ สู อน การลงทะเบียนของ นักศึกษา ผลการเรียน การประเมิน ผล การสอน และข้ อมูลงานวิจยั ของ นักศึกษา เป็ นต้ น การจัดทํารายงานการประเมิน ประสิทธิภาพ ความปลอดภัยของระบบ ฐานข้ อมูล สํารวจความพึงพอใจของ ผู้ใช้ งาน รวมถึงการวิเคราะห์ปัญหาและ แนวทางแก้ ไขเพือทําการพัฒนาระบบให้ มีประสิท ธิภาพเพิมขึน 259

เอกสารอ้ างอิง เอกสารคูม่ ือระบบ ฐานข้ อมูล

เอกสารคูม่ ือระบบ ฐานข้ อมูล

เอกสารคูม่ ือระบบ ฐานข้ อมูล


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 5 มีการนําผลการประเมิน ในข้ อ 3 และ 4 มาปรับปรุ งระบบฐานข้ อมูล

6

การดําเนินงานตามเกณฑ์ 1. ปี การศึกษา 2550 ได้ มีการจัดทํา ระบบประเมินผลการสอน Online 2. มีแผนงานพัฒนาระบบฐานข้ อมูล โดยเงินจากงบประมาณปี 2551 มีการเชือมโยงระบบฐานข้ อมูลของ เป็ นการเชือมโยงฐานข้ อมูลระดับ สถาบัน ผ่านระบบเครือข่ายกับ สํานักงาน มหาวิท ยาลัย คณะกรรมการการอุดมศึกษาตาม รู ปแบบมาตรฐานที กําหนด

260

เอกสารอ้ างอิง เอกสารคูม่ ือระบบ ฐานข้ อมูล

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.6 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ระดับ ความสําเร็จของการเปิ ดโอกาสให้ บุคคลภายนอกเข้ ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน การดําเนินงานตามเกณฑ์ 1 มีการเปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารแก่ประชาชน มีการเผยแพร่ข่าวสารข้ อมูลของวิท ยาลัย อย่างโปร่งใส ผ่านช่องทางต่าง ๆ อาทิ ผ่านทางช่องทางต่างๆ ดังนี เอกสารสิงพิมพ์ เว็บไซด์ นิทรรศการ 1. Website วิทยาลัย 2. เอกสารรายงานประจําปี 3. รายงานผลการประเมินตนเอง 2 มีระบบการรับ ฟั งความคิดเห็น ของ 1. ผ่านทาง Web board และระบบ CIE ประชาชนผ่านช่องทางที เปิ ดเผยและเป็ น Online ทีรับรู้กนั โดยทัวอย่างน้ อย 3 ช่องทาง 2. ผ่านทางโทรศัพท์ 0-2623-5055-8 3. การติดต่อโดยตรงทีเคาน์เตอร์ บ ริ การ การศึกษา 3 มีการนําความคิดเห็น ของประชาชนไป ผู้รับเรื อง ได้ แก่ เจ้ าหน้ าทีบริการ ประกอบการบริห ารงาน โดยมีเจ้ าหน้ าที การศึกษา นําข้ อเสนอแนะ/ข้ อร้ องเรี ยน/ รับผิดชอบและมีการดําเนิน งานอย่าง ความคิดเห็นต่างๆ เสนอให้ ผ้บู ริหาร เป็ นรูปธรรม พิจารณาตามลําดับ ขัน 4 มีทีปรึ กษาทีมาจากภาคประชาชน ทังที 1. การบริหารงานทัวไป มีการแต่งตัง เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ และมี บุคคลภายนอกร่ วมเป็ น การดําเนิน กิจกรรมร่ วมกันอย่างต่อเนือง คณะกรรมการอํานวยการวิทยาลัย และชัดเจน เช่น จัดประชุมร่ วมกันอย่าง 2. การพัฒนาหลักสูตร มีการนําเสนอ น้ อยปี ละ 2 ครัง ร่ างหลักสูตรให้ บุคคลภายนอก พิจารณาก่อนการปรับปรุง เปิ ดการ 5 มีกระบวนการหรื อกลไกการติดตาม เรี ยนการสอนหลักสูตรใหม่ท กุ ครัง ตรวจสอบโดยภาคประชาชน

261

เอกสารอ้ างอิง 1. Print screen หน้ า Website 2. รายงานประจําปี 3. รายงานผลการ ประเมิน ตนเอง Print screen หน้ า Website

Work Procedure การ ดําเนิน งานของวิทยาลัย

1. คําสังแต่งตัง คณะกรรมการ อํานวยการวิทยาลัย 2. เอกสารการพิจารณา หลักสูตรของ บุคคลภายนอก


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.7 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ลําดับ

ร้ อยละของอาจารย์ป ระจําทีได้ รบั รางวัลผลงานทางวิชาการหรื อวิชาชีพในระดับ ชาติหรื อนานาชาติ ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

รายชืออาจารย์ /นักวิจยั ทีได้ รับรางวัล

ชือรางวัล / หน่ วยงานทีมอบ / วันทีได้ รับรางวัล

ประเภทของรางวัล วิจัย

ศิลป วัฒ นธรรม

อืนๆ

ระดับรางวัล ชาติ

นานา ชาติ

รวม รวมจํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจยั ทีได้ รับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับ ชาติหรื อนานาชาติ .....0...... คน

262


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.8 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีการนําระบบบริห ารความเสียงมาใช้ ในกระบวนการบริห ารการศึกษา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการแต่งตังคณะกรรมการหรื อ คณะทํางานบริหารความเสียง โดยมี ผู้บ ริหารระดับ สูงและตัวแทนที รับผิดชอบพัน ธกิจหลักของสถาบันร่วม เป็ น คณะกรรมการหรือคณะทํางาน โดย ผู้บ ริหารระดับ สูงต้ องมีบทบาทสําคัญใน การกําหนดนโยบายหรือแนวทางในการ บริห ารความเสียง 2 มีการวิเคราะห์และระบุปั จจัยเสียงที ส่งผลกระทบหรื อสร้ างความเสียหาย หรื อความล้มเหลวหรื อลดโอกาสทีจะ บรรลุเป้ าหมายในการบริหารงาน และ จัดลําดับความสําคัญของ ปั จจัยเสียง 3 มีการจัดทําแผนบริห ารความเสียง โดย แผนดังกล่าวต้ องกําหนดมาตรการหรือ แผนปฏิบ ตั ิการในการสร้ างความรู้ ความ เข้ าใจให้ กบั บุคลากรทุกระดับ ในด้ านการ บริห ารความเสียง และการดําเนิน การ แก้ ไข ลด หรือป้องกันความเสียงทีจะ เกิดขึนอย่างเป็ นรูปธรรม 4 มีการดําเนินการตามแผนบริห ารความ เสียง 5 มีการสรุ ปผลการดําเนิน งานตามแผน บริห ารความเสียง ตลอดจน มีการ กําหนดแนวทางและข้ อเสนอแนะในการ ปรับปรุ งแผนบริหารความเสียงโดยได้ รับ ความเห็น ชอบจากผู้บริห ารสูงสุดของ สถาบัน

การดําเนินงานตามเกณฑ์ การแต่งตังคณะกรรมการจัดทําระบบ ควบคุมภายในของวิท ยาลัย

เอกสารอ้ างอิง คําสังแต่งตัง คณะกรรมการจัดทํา ระบบควบคุมภายในของ วิทยาลัย

จัดประชุมคณะกรรมการเพือวิเคราะห์ ความเสียงตามแนวทางของ คตง.และ ของมหาวิทยาลัย

ตารางที 1 การระบุความ เสียหายที จะเกิดขึนในแต่ ละปั จจัย / ตารางที 2 ปั จจัยเสียงและความ เสียหายที เกิดขึน ตารางที 3 แผนบริ หาร ความเสียง ประจําปี งบประมาณ 2551 และแบบปย.3

จัดประชุมคณะกรรมการเพือจัดทําแผน บริหารความเสียงตามปี งบประมาณ

ดําเนิน การติดตามผลการบริหารความ เสียงตามแผนงานที กําหนด จัดทําผลสรุป การดําเนิน งานบริห าร ความเสียงความแบบฟอร์ มของคตง. และแบบฟอร์ มของมหาวิทยาลัย

263

แบบติดตาม –ปย.3 แบบ ปย.1 ,แบบปย.2 และแบบปย.2-1


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.9 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ระดับ ความสําเร็จของการถ่ายทอดตัวบ่งชีและเป้ าหมายของระดับองค์กรสูร่ ะดับ บุคคล ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน การดําเนินงานตามเกณฑ์ 1 มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการใน 1. การประเมิน ผลการปฏิบ ัติราชการ การประเมินผลภายในสถาบัน ของ กพร. ประเมิน ผลตาม ปี งบประมาณ และรายงาน 2 มีแผนงานการประเมิน ผลภายในสถาบัน ความก้ าวหน้ าเป็ นรอบ 6 เดือน 9 เดือน 2. การประเมิน ตนเองตามแนวทางการ ประกันคุณภาพของ สกอ./สมศ. 3. การประเมิน ความเสียง/การบริหาร ความเสียงตามแนวทางของ สตง. 3 มีการกําหนดตัวบ่งชีและเป้าหมายตาม ตามตัวชีวัดของ กพร. / สกอ. / สมศ. พัน ธกิจและยุทธศาสตร์ ของสถาบัน 4 มีการจัดทํา Strategy Map ของ จัดประชุมผู้บ ริหารและคณาจารย์เพือ หน่วยงานในระดับคณะหรื อเทียบเท่า ร่ วมกันพิจารณาแนวทางการดํ าเนินงาน โดยกําหนดเป้ าประสงค์ของแต่ละ ตามพัน ธกิจของวิทยาลัยและเป้ าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ ท ีเกียวข้ องกับ ตามตัวชีวัดคุณภาพการศึกษาของ สกอ. หน่วยงานให้ เชือมโยงกับ เป้าประสงค์ / สมศ. และประเด็นยุทธศาสตร์ ของสถาบัน 5 มีการยืน ยัน วิสยั ทัศน์และประเด็น ยุท ธศาสตร์ ของสถาบันอุดมศึกษาใน ระดับคณะหรื อเทียบเท่า 6 มีระบบในการติดตามผลการดําเนิน งาน 1. มีการรายงานผลการดําเนินงานของ ตามตัวบ่งชีและเป้ าหมายตามคํารับรอง ผู้บริหารต่อทีประชุมคณะกรรมการ ของผู้บริหารระดับต่าง ๆ อํานวยการ 2. จัดทําคู่มืออาจารย์ซงกํ ึ าหนดตัวชีวัด ทีเกียวข้องทีจะต้องดําเนิน การ และมี การประชุม คณาจารย์ทีแจ้ ง/ติดตาม ความคืบหน้ าของการดําเนิน งาน

264

เอกสารอ้ างอิง 1. รายงานผลการปฏิบ ตั ิ ราชการตามแนว กพร. 2. รายงานผลการ ประเมิน ตนเอง ตาม แนว สกอ./สมศ. 3. รายงานผลการบริ หาร ความเสียงตามแนว สตง.

เอกสารสรุปการประชุม เชิงปฏิบ ตั ิการ การประกัน คุณภาพการศึกษา ประจําปี การศึกษา 2550

1. รายงานการประชุมที เกียวข้ อง 2. คู่มืออาจารย์วิท ยาลัย นวัตกรรม


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 7 มีการประเมิน ผลการดําเนิ นงานตามตัว บ่งชีและเป้าหมายตามคํารับรอง

8

มีการนําผลการประเมิน ผลการ ดําเนิน งานของผู้บริหาร ไปเชือมโยงกับ ระบบการสร้ างแรงจูงใจ

การดําเนินงานตามเกณฑ์ เอกสารอ้ างอิง มีการจัดทํารายงานผลการประเมิน ต่างๆ 1. รายงานผลการปฏิบ ตั ิ ทีมีการกําหนดไว้ ได้ แก่ การประเมิน ผล ราชการตามแนว กพร. ปฏิบตั ิราชการ การประเมิน ตนเองเพือ 2. รายงานผลการ ประกันคุณภาพการศึกษา รายงานการ ประเมิน ตนเอง ตาม ควบคุมภายใน แนว สกอ./สมศ. 3. รายงานผลการบริ หาร ความเสียงตามแนว สตง. การให้ รางวัลแก่คณาจารย์กรณีที ประกาศ มธ. เรื อง สามารถสร้ างผลงานวิชาการได้ ตาม หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิงาน เป้ าหมายทีกําหนด เกียวกับอาจารย์ป ระจํา ของวิทยาลัยนวัตกรรม

265


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 7.10 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

จํานวนบุคลากรทุกประเภทจําแนกตามสายงาน (ยกเลิก) ฝ่ ายบริห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สุมาลี เภตรานุวฒ ั น์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 123 ประเภทบุคลากร

ปฏิบัติงานจริง

1. จํานวนอาจารย์ ทังหมด (สาย ก) § ข้ าราชการ § พนักงาน § สัญ ญาจ้ าง รวมสาย ก 2. จํานวนบุคลากร (สาย ข) § ข้ าราชการ § พนักงาน § ลูกจ้ างงบพิเศษ/เงินรายได้ รวมสาย ข (2.1+2.2) 2.1 นักวิจยั § ข้ าราชการ § พนักงาน § ลูกจ้ างงบพิเศษ/เงิน รายได้ รวมนักวิจัย 2.2 ตําแหน่ งอืนๆ § ข้ าราชการ § พนักงาน § ลูกจ้ างงบพิเศษ/เงิน รายได้ รวมสาย ข ตําแหน่ งอืนๆ 3. จํานวนบุคลากร (สาย ค) § ข้ าราชการ § พนักงาน § ลูกจ้ างงบพิเศษ/เงินรายได้ รวมสาย ค 4. จํานวนลูกจ้ างประจํา/ลูกจ้ างงบประมาณอืน ทีมีลกั ษณะงานเทียบเท่ าลูกจ้ างประจํา รวมบุคลากรทังหมด (1-4) 266

จํานวนบุคลากร ลาศึกษาต่ อ

รวมทังหมด


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์คา่ ใช้ จ่าย การตรวจสอบการเงิน และงบประมาณอย่างมี ประสิทธิภาพ ฝ่ ายบริห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน การดําเนินงานตามเกณฑ์ 1 มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินทีสอดคล้ องกับ 1. การจัดทํางบประมาณประจําปี มีการ ยุท ธศาสตร์ ของสถาบันให้ เป็ น ไปตาม ระบุรายการตามโครงสร้ างการ เป้าหมาย ทํางาน และ/หรื อ เป้าหมายทีต้ องการ ดําเนิน งาน 2. มีการเก็บข้ อมูลทางบัญชีทีสะท้ อน ต้ นทุนการผลิตบัณฑิต 2 มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้ าน 1. มีการกําหนดแหล่งทีมาของรายได้ การเงิน แผนการจัดสรร และการวาง และการลงทุน ของวิทยาลัยใน แผนการใช้ เงินอย่างมีประสิทธิภาพ ระเบียบจัดตัง โปร่งใส ตรวจสอบได้ 2. มีระบบบริห ารงบประมาณ 3

4 5

6

7

มีการจัดทําระบบฐานข้ อมูลการเงินที ผู้บ ริหารสามารถนําไปใช้ ในการตัดสิน ใจ และวิเคราะห์ สถานะทางการเงิน มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่าง เป็ นระบบ อย่างน้ อยปี ละ 2 ครัง มีการนําข้ อมูลทางการเงิน ไปใช้ ในการ วิเคราะห์ คา่ ใช้ จา่ ย และวิเคราะห์ สถานะ ทางการเงิน และความมันคงขององค์การ อย่างต่อเนือง มีหน่วยงานตรวจสอบภายในและ ภายนอก ทําหน้ าทีตรวจ ติดตามการใช้ เงินให้ เป็ นไปตามระเบียบและกฎเกณฑ์ ทีสถาบันกําหนด ผู้บ ริหารระดับ สูงมีการติดตามผลการใช้ เงินให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย และนํา ข้ อมูลจากรายงานทางการเงิน ไปใช้ ใน การวางแผนและการตัดสิน ใจ

1. 2. 3.

4.

เอกสารอ้ างอิง 1. เอกสารงบประมาณ ประจําปี 2. รายงานงบการเงิน เปรี ยบเทียบรายไตร มาส

1. ระเบียบจัดตังและ ดําเนิน งานวิท ยาลัย 2. ระเบียบการเบิกจ่าย/ หลักฐานการจัดเก็บ รายได้ และเบิกจ่าย ใช้ โปรแกรมบัญชีในการจัดเก็บข้ อมูล 1. รายงานบัญชีจาก การเงินและบัญชี โปรแกรมทีใช้ งาน จัดทําโปรแกรมสําหรับการควบคุม 2. รายงานงบการเงินราย งบประมาณ ไตรมาส จัดทํารายงานงบการเงินเปรี ยบเทียบ 3. รายงานฐานะการ ปี ปั จจุบ ันกับปี ก่อน และเปรี ยบเทียบ ลงทุนเมือมีการ กับงบประมาณปี ปั จจุบนั เปลียนแปลง มีการรายงานฐานะการลงทุน ต่อ คณะกรรมการอํานวยการ

1. มีการแต่งตังผู้ตรวจสอบบัญชีได้ รับ อนุญาต (จากภายนอก) 2. มีการตรวจสอบโดยสํานักงาน ตรวจสอบภายในของ มธ. จัดทํารายงานงบการเงิน และเสนอ คณะกรรมการอํานวยการพิจารณาทุก ไตรมาส 267

1. รายงานของผู้สอบ บัญชีรบั อนุญาต 2. รายงานของผู้ ตรวจสอบภายใน รายงานงบการเงิน เช่น งบกําไรขาดทุน งบดุล งบ กระแสเงิน สด


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.1.3 สินทรัพย์ถาวรต่อนักศึกษาเต็มเวลาเที ยบเท่า ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113 (1)

(2)

ลํา ดับ

ประเภท สินทรั พย์

1

ครุ ภณ ั ฑ์ ก่อสร้ าง ครุ ภณ ั ฑ์ ก่อสร้ าง (พัทยา) ครุ ภณ ั ฑ์ การศึกษา ครุ ภณ ั ฑ์งาน บ้ านงาน ครัว ครุ ภณ ั ฑ์ ยานพาหนะ ครุ ภณ ั ฑ์ สํานักงาน ครุ ภณ ั ฑ์ คอมพิวเตอร์

2

3 4

5 6 7

(3) มูลค่ าครุ ภณ ั ฑ์ ณ วัน ทีได้ รับ งบ แผ่น ดิน

(4)

(5)

(6 = 4+5)

(7 = 3-6)

ค่าเสือมราคา สะสมในปี ทีผ่ าน มา

ค่ าเสือมราคา ประจําปี

ค่ าเสือมราคา สะสมถึงปั จจุบนั

มูลค่ าสุทธิ

งบรายได้

รวม

24,939,816.68

24,939,816.68

9,751,616.73

752,156.30

10,503,773.03

14,436,043.65

5,116,895.39

5,116,895.39

1,228,940.16

126,353.83

1,355,293.99

3,761,601.40

3,474,556.07

3,474,556.07

2,546,618.60

293,975.82

2,840,594.42

633,961.65

12,981.00

12,981.00

9,327.76

2,230.45

11,558.21

1,422.79

963,000.00

963,000.00

832,495.08

130,503.92

962,999.00

1.00

6,334,132.30

6,334,132.30

5,892,208.66

190,870.42

6,083,079.08

251,053.22

9,142,265.70

9,142,265.70

4,478,613.65

1,450,096.57

5,928,710.22

3,213,555.48

รวมสินทรัพย์ 49,983,647.14 49,983,647.14 24,739,820.64 2,946,187.31 27,686,007.95 22,297,639.19 ถาวรของ หน่ วยงาน สินทรัพย์ ถาวร 299,810,552.87 84,140,634.49 12,804,338.0 96,944,972.49 202,865,580.38 จัดสรรจาก ส่ วนกลาง รวมทังหมด 349,794,200.01 108,880,455.13 15,750,525.31 124,630,980.44 225,163,219.57 ประเภทของสินทรัพย์ 1. ครุภณ ั ฑ์ กอ่ สร้ าง 2. ครุภณ ั ฑ์ การเกษตร 3. ครุภณ ั ฑ์ การแพทย์

4. ครุ ภณ ั ฑ์ การศึกษา 5. ครุ ภณ ั ฑ์ โฆษณาและเผยแพร่ 6. ครุ ภณ ั ฑ์ งานบ้ านงานครัว

7. ครุภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าและวิทยุ 8. ครุ ภณ ั ฑ์ ยานพาหนะและขนส่ง 9. ครุ ภณ ั ฑ์ โรงงาน

268

10. ครุ ภณ ั ฑ์สาํ รวจ 11. ครุ ภณ ั ฑ์สาํ นักงาน 12. ครุ ภณ ั ฑ์อาวุธ 13. ครุ ภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.1.4 ค่าใช้ จ่ายทังหมดต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (สําหรับคํานวณ) ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113

ลําดับ

หมวดค่ าใช้ จ่าย

1 เงิน เดือนบุคลากร,ค่าจ้ าง,ค่าตอบแทน 2 ค่าใช้ สอยวัสดุ 3 ค่าสวัสดิการ 4 ค่าสาธารณูป โภค 5 เงิน อุดหนุน 6 ค่าใช้ จ่ายอืน 7 ค่าเสือมราคาประจําปี 8 อืน ๆ (โปรดระบุ) ค่ าใช้ จ่ายของหน่ วยงาน (ค่ าใช้ จ่ายทางตรง) ค่ าใช้ จ่ายที จัดสรรจากมหาวิทยาลัย (ค่ าใช้ จ่ายทางอ้ อม) รวมค่ าใช้ จ่ายทังหมด

งบประมาณจาก รายได้ หน่ วยงาน (ท่ าพรจันทร์ ) 12,766,634.82 364,755.99 636,472.62 854,809.36 2,553,981.89 2,827,014.03 24,657,331.89 44,661,000.60

งบประมาณจาก รายได้ หน่ วยงาน (พัทยา) 2,060,280 2,265,400 347,450 818,000 2,227,775 4,037,550 11,756,455

9,641,599.00 54,302,599.60

269

รวมค่ าใช้ จ่าย 14,826,914.82 2,630,155.99 983,922.62 1,672,809.36 4,781,756.89 2,827,014.03 28,694,881.89 56,417,455.60 9,641,599.00

11,756,455

66,059,054.60


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.1.4 ค่าใช้ จ่ายทังหมดต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113 ลําดับ

หมวดค่ าใช้ จ่าย

งบประมาณ แผ่ นดิน

1 เงิน เดือนบุคลากร,ค่าจ้ าง,ค่าตอบแทน 2 ค่าใช้ สอยวัสดุ 3 ค่าสวัสดิการ 4 ค่าสาธารณูป โภค 5 เงิน อุดหนุน 6 ค่าใช้ จ่ายอืน 7 ค่าเสือมราคาประจําปี 8 อืน ๆ (โปรดระบุ) ค่ าใช้ จ่ายของหน่ วยงาน (ค่ าใช้ จ่ายทางตรง) ค่ าใช้ จ่ายที จัดสรรจากมหาวิทยาลัย (ค่ าใช้ จ่ายทางอ้ อม) รวมค่ าใช้ จ่ายทังหมด

270

งบประมาณจาก รายได้ หน่ วยงาน 14,826,914.82 2,630,155.99 983,922.62 1,672,809.36 4,781,756.89 2,827,014.03 28,694,881.89 56,417,455.60

14,826,914.82 2,630,155.99 983,922.62 1,672,809.36 4,781,756.89 2,827,014.03 28,694,881.89 56,417,455.60

9,641,599.00

9,641,599.00

66,059,054.60

66,059,054.60

รวมค่ าใช้ จ่าย


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชีที 8.1.5 ร้ อยละของเงินเหลือจ่ายสุท ธิต่องบดําเนินการ (สําหรับคํานวณ) ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113

ลําดับ 1

2 3 4 5 6

หมวด ค่ าใช้ จ่าย เงินเดือน, ค่าจ้าง, ค่าตอบแทน ค่าใช้สอยวัสดุ ค่าสวัสดิการ ค่า สาธารณูปโภค เงินอุดหนุน ค่าใช้ จา่ ยอืน

รวมงบดําเนินการ 7 8

เงินลงทุน เงินนําส่งมธ.

รวมทังหมด

งบประมาณ ค่ าใช้ จ่ายจริง เงินเหลือจ่ าย ท่ า (1)-(2) พัทยา (1)รวม พัท ยา ท่ าพระจันทร์ (2)รวม พระจันทร์ 2,060,280 17,128,920 19,189,200 560,511.00 12,766,634.82 13,327,145.82 5,862,054.18

2,265,400 347,450 818,000

511,680 787,200 912,400

2,777,080 1,349,922.94 1,134,650 150,693.00 1,730,400 1,125,648.89

364,755.99 636,472.62 854,809.36

1,714,678.93 787,165.62 1,980,458.25

1,062,401.07 347,484.38 -250,058.25

0 0 0 0 0 0 2,227,775 44,323,330 46,551,105 1,649,823.86 27,211,313.78 28,861,137.64 17,689,967.36 7,718,905 63,663,530 71,382,435 4,836,599.69 41,833,986.57 46,670,586.26 24,711,848.74 17,075,000 17,075,000 17,406,047.72 17,406,047.72 -331,047.72 4,037,550 4,037,550 4,291,425.00 4,291,425.00 -253,875.00 11,756,455 80,738,530 92,494,985 9,128,024.69 59,240,034.29 68,368,058.98 24,126,926.02

271


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.1.5 ร้ อยละของเงินเหลือจ่ายสุท ธิต่องบดําเนินการ ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113 งบประมาณ (1) ค่ าใช้ จ่ายจริง (2) เงินเหลือจ่ าย ลําดับ หมวดค่ าใช้ จ่าย งบ งบรายได้ งบ งบรายได้ (1)-(2) รวม รวม แผ่น ดิน หน่ วยงาน แผ่น ดิน หน่ วยงาน 1 เงินเดือน,ค่าจ้าง, 19,189,200 19,189,200 13,327,145.82 13,327,145.82 5,862,054.18 ค่าตอบแทน 2,777,080 2,777,080 1,714,678.93 1,714,678.93 1,062,401.07 2 ค่าใช้สอยวัสดุ 1,134,650 1,134,650 787,165.62 787,165.62 347,484.38 3 ค่าสวัสดิการ 4

ค่าสาธารณูปโภค

5

เงินอุดหนุน

6

ค่าใช้ จา่ ยอืน

50,588,655 50,588,655

รวมงบดําเนินการ

75,419,985 75,419,985

33,152,562.64 33,152,562.64 17,436,092.36 50,962,011.26 50,962,011.26 24,457,973.74

7

17,075,000 17,075,000 92,494,985 92,494,985

17,406,047.72 17,406,047.72 -331,047.72 68,368,058.98 68,368,058.98 24,126,926.02

เงินลงทุน

รวมทังหมด

1,730,400

1,730,400

0

0

272

1,980,458.25

1,980,458.25

-250,058.25

0

0

0


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.1.6 งบประมาณสําหรับ การพัฒนาคณาจารย์ทงในประเทศและต่ ั างประเทศต่ออาจารย์ป ระจํา ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113

ลําดับ

1

รายชืออาจารย์

รายละเอียดการพั ฒนา/ วันทีเข้ าร่ วม

ดร.สุพชั รจิต จิตประไพ

The 4 th World Conference for Graduate Research in Tourism,Hospitality and Leisure (23-27 April 2008) ดร.ยอดมนี เทพานนท์ 2 nd International Colloquium in Tourism and Leisure Proceedings ,Chiang Mai (5-8 May 2008) อ.วิภา ดาวมณี Business competitiveness อ.สุวฒ ั นา จารุ มิลนิ ท and regional development อ.เวฬุรีย์ เมธาวีวิน ิจ :Engineering change through อ.ธีระ ชินภัทร รามเดชะ innovative digital proximity อ.เกรี ยงไกร วัฒนาสวัสดิ (31 March 2008) รวมงบประมาณพั ฒนาอาจารย์

2

3.

* 1. 2. 3.

ประเภท การ พัฒนา*

การพัฒนา ใน ประเทศ

2

/

งบประมาณที จัดสรรจริง

72,867.50

2

/

21,331.83

3

/

11,550.00

ประเภทของการพัฒนาอาจารย์ การศึกษาต่อ การอบรมหรื อดูงาน การเข้ าร่วมประชุมวิชาการ หรือนํ าเสนอบทความในทีประชุมวิชาการ การอบรมทีหน่วยงานจัดเพือพัฒนาศักยภาพของอาจารย์

273

ต่ าง ประเทศ

105,749.33


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.1.7 ค่าใช้ จ่ายทังหมดทีใช้ ในระบบห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษาเต็มเวลาเที ยบเท่า ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113 ลําดับ

รายการ

งบแผ่ นดิน

งบดําเนินการ 1 จัดซือหนังสือ วารสาร สือสิงพิมพ์ สือมัลติมีเดีย 2 ค่าบริ การ Internet Service Provider (ISP) 3 ค่าเช่าเครื องคอมพิวเตอร์ 4 ค่าใช้ บ ริ การฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 5 ค่าใช้ จ่ายในการปรับปรุ งห้ องสมุด ห้ องปฏิบ ัติการคอมพิวเตอร์ 6 ค่าจ้ างบุคลากร 7 ค่าตอบแทนใช้สอย วัสดุ สาธารณูปโภค งบลงทุน (นําเสนอในลักษณะของค่ าเสือมราคาจากงบลงทุน) 8 ค่าใช้ จ่ายทีใช้ซือระบบ อุป กรณ์ ชุดคําสัง ประยุกต์ คอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่าย รวม 9 ค่าใช้ จ่ายในระบบห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และ ศูนย์สารสนเทศจัดสรรจากส่วนกลาง รวมทังหมด

274

ค่ าใช้ จ่าย (บาท) งบพิเศษ/งบรายได้ 64,087.70714,940.00215,530.108,741.90877,385.49-

342,520.002,223,202.199,582,927.7911,806,129.98

งบอืนๆ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.1.8 สัดส่วนเงิน เดือนบุคลากรสาย ก ต่อเงิน เดือนบุคลากรสายสนับสนุน (ยกเลิก) ผู้ดูแลตัวบ่ งชี ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล นางจารุ มน พิบูลย์วงศ์ โทรศัพท์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 113 ลําดับ 1 2 3

4

1 2 3 4

รายละเอียดเงินเดือน สาย ก เงิน เดือนบุคลากร/ค่าจ้ าง ค่าตอบแทน เงินประจําตําแหน่ง - วิชาการ - บริหาร ค่าล่วงเวลา รวม สาย ก

งบแผ่ นดิน

งบรายได้หน่ วยงาน 2,020,670.00253,073.00-

725,000.002,998,743.00-

สายสนับสนุน (สาย ข และ ค) เงิน เดือนบุคลากร/ค่าจ้ าง ค่าตอบแทน เงินประจําตําแหน่ง ค่าล่วงเวลา รวม สาย ข

6,935,124.701,618,760.00770,083.00443,924.12 9,767,891.82

275

รวม


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 8.2 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

การใช้ ท รัพยากรภายในและภายนอกสถาบัน ร่วมกัน ฝ่ ายบริ ห ารส่วนกลาง ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีคณะกรรมการวิเคราะห์ความต้ องการ ในการใช้ ทรัพยากรของหน่วยงาน

2 3 4 5

การดําเนินงานตามเกณฑ์ คณบดีแต่งตังกรรมการบริหารจัดการ ทรัพยากรของวิทยาลัยนวัตกรรมและ กําหนดหน้ าทีให้ จดั ทําแผนการใช้ ทรัพยากรร่ วมกับหน่ วยงานอืน รวมทัง แผนการประหยัดพลังงานด้ วย มีผลการวิเคราะห์ ความต้ องการในการ คณะกรรมการได้ จดั ทําการศึกษา ใช้ ท รัพยากรของหน่ วยงาน วิเคราะห์ผลความต้ องการใช้ ทรัพยากร มีแผนการใช้ ทรัพยากรร่ วมกับหน่วยงาน ของวิท ยาลัย พร้ อมทังจัดทําแผนการใช้ ทรัพยากรร่ วมกับหน่ วยงานอืนเป็ นทีแล้ว อืนภายในมหาวิทยาลัย มีแผนการใช้ ทรัพยากรร่ วมกับหน่วยงาน เสร็ จ อืนภายนอกมหาวิท ยาลัย มีผลการประหยัดงบประมาณทีเกิดจาก การใช้ ท รัพยากรร่วมกับหน่ วยงานอืน

276

เอกสารอ้ างอิง คําสังแต่งตัง กรรมการบริห ารจัดการ ทรัพยากร วิทยาลัย นวัตกรรม ลงวันที 18 มีน าคม 2551 รายงานผลการศึกษาและ แผนการใช้ ทรัพยากร ร่ วมกับหน่วยงานอืนของ วิทยาลัยนวัตกรรม

-


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 9.1 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในทีเป็ นส่วนหนึงของกระบวนการบริหารการศึกษา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในทีเหมาะสมกับระดับ การพัฒนาของสถาบัน 2 มีการกําหนดนโยบายและให้ ความสําคัญเรื องการประกันคุณภาพ จากคณะกรรมการระดับนโยบายและ ผู้บ ริหารสูงสุดของสถาบัน ภายใต้การมี ส่วนร่วมจากภาคีทงภายใน ั และ ภายนอกสถาบัน 3 มีการกําหนดมาตรฐานตัวบ่งชี และ เกณฑ์คณ ุ ภาพทีสอดคล้ องกับ มาตรฐาน การอุดมศึกษา และมาตรฐานอืนๆ ที เกียวข้ อง และสอดคล้องกับการประเมิน คุณภาพภายนอก

4

5

มีการดําเนินงานด้ านการประกัน คุณภาพทีครบถ้ วน ทังการควบคุม คุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินคุณภาพอย่างต่อเนืองเป็ น ประจํา (อย่างน้ อย 3 ปี นบั รวมปี ทีมีการ ติดตาม) มีการนําผลการประกันคุณภาพมา พัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน

การดําเนินงานตามเกณฑ์ เอกสารอ้ างอิง มีการจัดโครงสร้ างการทํางานขององค์กร 1. โครงสร้ างการ โดยกําหนดให้ ฝ่ายวิจยั และพัฒนา บริหารงานของ คุณภาพทําหน้ าทีทีเกียวข้ องกับ งาน วิท ยาลัย ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2. ภาระงานของฝ่ ายวิจยั ภายใต้ การกํากับดูแลของรองคณบดี และพัฒนาคุณภาพ ฝ่ ายวางแผนและวิจัย

กําหนดใช้ เกณฑ์ มาตรฐานตัวบ่งชีซึง กําหนดโดย สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีการดําเนิน งานด้ านประกัน คุณภาพ อย่างต่อเนือง

เอกสารสรุปตัวชีวัดที วิทยาลัยจะต้ อง ดําเนิน การ ซึงมาจาก หน่วยงานต่างๆ

มีการปรับปรุ งโครงสร้ างการทํางานของ วิทยาลัย ให้ มหี น่วยงานรับผิดชอบ รวมถึงการจัดให้ มีการรายงาน ความก้าวหน้ าของผลการดําเนินงาน รวมถึงการจัดทําคูม่ ือการประกัน คุณภาพด้ านต่างๆ

เอกสารคูม่ ือประกอบการ ดําเนิน งานของวิทยาลัยที จัดทําขึนระหว่างปี การศึกษา 2550

277

รายงานประเมิน ตนเอง (SAR) ย้ อนหลังตังแต่ปี การศึกษา 2548


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 6 มีระบบฐานข้ อมูลและสารสนเทศที สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา และใช้ ร่วมกันทังระดับบุคคล ภาควิชา คณะ และสถาบัน 7 มีระบบส่งเสริ มการสร้ างเครื อข่ายด้ าน การประกันคุณภาพการศึกษาระหว่าง หน่วยงานทังภายในและภายนอก สถาบัน

การดําเนินงานตามเกณฑ์ เอกสารอ้ างอิง มีการจัดทําระบบฐานข้ อมูล CIE Online Print screen หน้ า web โดยมีข้อมูลหลักด้ านการจัดการศึกษา ระบบ CIE Online ซึงสามารถใช้ ร่วมกัน ได้ ทังวิทยาลัย ได้ มีความร่ วมมือในการจัดทําเครื อข่าย รายงานการประชุมการ นักวิจยั ระหว่างสถาบัน ซึงจะร่ วมกัน สร้ างเครื อข่ายนักวิจยั พัฒนาและนําเสนอผลงานวิจยั ใน ระหว่างสถาบัน สาขาวิชาทีจัดการเรียนการสอน ใกล้เคียงกัน โดยได้ มีการประชุมแล้ว เมือวันที 23 เมษายน 2551 ณ ห้ อง ประชุม ชัน 4 วิท ยาลัยนวัตกรรม มธ. ท่า พระจันทร์

278


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 9.2 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

มีระบบและกลไกการให้ ความรู้ และทักษะด้ านการประกัน คุณภาพแก่น กั ศึกษา ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีระบบการให้ ความรู้ และทักษะการ ประกัน คุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา

2

3

4

5

6

7

มีระบบส่งเสริ มให้ น ักศึกษานําความรู้ ด้ านการประกันคุณภาพไปใช้ กบั กิจกรรมนักศึกษา มีกลไกให้ นกั ศึกษามีสว่ นร่วมในการ ประกัน คุณภาพการศึกษาของสถาบัน

นักศึกษามี การใช้ กระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของกิจกรรมหรื อ โครงการนักศึกษา นักศึกษาสร้ างเครื อข่ายการพัฒนา คุณภาพภายในสถาบันและระหว่าง สถาบัน มีระบบติดตามประเมินผลการประกัน คุณภาพในกิจกรรมทีนักศึกษา ดําเนิน การ และในส่วนทีนักศึกษามีสว่ น ร่ วมกับการประกันคุณภาพของสถาบัน มีการนําผลการประเมิน ไปพัฒนา กระบวนการให้ ความรู้ และกลไกการ ดําเนิน งานประกัน คุณภาพทีเกียวข้ อง กับนักศึกษาอย่างต่อเนือง

การดําเนินงานตามเกณฑ์ จัดให้ มีการประชุมระหว่างรองคณบดี ฝ่ ายวางแผนและวิจัย และนักศึกษา ปั จจุบนั เพือให้ ความรู้และทักษะการ ประกันคุณภาพแก่น ักศึกษา รวมทัง แลกเปลียนความคิดเห็นเพือการพัฒนา สถาบัน โดยจัดการประชุมเมือวันที 28 กุมภาพันธ์ 2551 ณ โรงแรมตรัง มีการจัดทําเอกสารคู่มือการประเมิน ผล กิจกรรมนักศึกษาภายใต้ แนวคิดด้ านการ ประกันคุณภาพ การประชุม ตามข้ อ 1 ได้ เปิ ดโอกาสให้ นักศึกษาได้ แสดงความคิดเห็น ซึง วิทยาลัยจะได้ น ํามาเป็ น ข้ อมูลในการ ปรับปรุ งและพัฒนาสถาบัน ต่อไป นักศึกษามีการประเมิน ผลโครงการ กิจกรรมนักศึกษาตามแนวทางในคูม่ ือ การประเมิน ผลทีวิท ยาลัยจัดทําให้ ซึงมี การระบุกระบวนการจัดโครงการ/ กิจกรรมตามกระบวนการคุณภาพ การ ประเมิน ผล และข้ อเสนอแนะ

เอกสารอ้ างอิง รายงานการประชุมการให้ ความรู้ และทักษะการ ประกัน คุณภาพการศึกษา

มีการนําผลการประชุมทีได้ จากข้ อ 1. เพือปรับปรุ งและพัฒนากระบวนการ ประกันคุณภาพทีเกียวข้ องกับนักศึกษา ด้ วย

รายงานการประชุมตาม ข้ อ 1

279

คู่มือการประเมินผล กิจกรรมนักศึกษา รายงานการประชุมตาม ข้ อ 1

การรายงานผลของ นักศึกษาตามเอกสาร คู่มือ


รายงานการประเมิน ตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550 ตัวบ่ งชีที 9.3 ผู้ดูแลตัวบ่ งชี โทรศัพท์

ระดับ ความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ฝ่ ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ ผู้จัดเก็บข้ อมูล น.ส.สินรี ัชต์ พวังคะพิน ธุ์ 02-613-3115-8 โทรศัพท์ 02-613-3115-8 ต่อ 138

ลําดับ เกณฑ์ มาตรฐาน 1 มีการดําเนินการตามระบบและกลไกการ ประกัน คุณภาพการศึกษาภายในระดับ คณะ และสถาบันอย่างต่อเนือง 2 มีการปรับปรุ งระบบประกันคุณภาพ ภายในโดยสอดคล้ องกับ พัน ธกิจและ พัฒนาการของสถาบัน

การดําเนินงานตามเกณฑ์ วิทยาลัยมีการดําเนินงานตามระบบและ กลไกการประกัน คุณภาพอย่างต่อเนือง มากกว่า 3 ปี และได้ มีการปรับปรุ งระบบ การประกัน คุณภาพให้ เป็ นส่วนหนึงของ การทํางานประจําของวิทยาลัย มีการจัด โครงสร้ างการทํางานทีเอือต่อการประกัน คุณภาพ และได้ มีการจัดทําแผนกลยุท ธ์ แผนปฏิบตั ิงานประจําปี ทีสอดคล้องกับ แนวทางการประกัน คุณภาพ 1. รายงานผลการประกันคุณภาพต่อ กรรมการอํานวยการวิทยาลัย 2. รายงานต่อมหาวิท ยาลัย 3. นําเสนอต่อสาธารณชนผ่านทาง Website ของวิท ยาลัย

3

มีการรายงานผลการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในต่อหน่วยงานที เกียวข้ องและสาธารณชนภายในเวลาที กําหนด

4

มีการนําผลการประเมิน ไปใช้ ในการ ปรับปรุ งการดําเนิน งานของหน่วยงาน อย่างต่อเนือง

การปรับโครงสร้ างองค์กรให้ สอดคล้ อง ต่อการทํากิจกรรมประกันคุณภาพ และ นําแผนต่างๆ ทีเกิดจากกิจกรรมประกัน คุณภาพไปใช้ในการปรับปรุงการ ดําเนิน งานของวิทยาลัย

5

มีน วัตกรรมด้ านการประกันคุณภาพที หน่วยงานพัฒนาขึน หรื อมีการจัดทํา แนวปฏิบตั ทิ ีดี เพือการเป็ น แหล่งอ้ างอิง ให้ กบั หน่วยงานและสถาบัน อืน ๆ

การจัดทําเอกสารคูม่ ือประกอบการ ประกันคุณภาพทีช่วยให้ ผ้ ทู ีเกียวข้ องมี ความตระหนั กและรับทราบแนวทางการ บริหารการศึกษาของสถาบัน

280

เอกสารอ้ างอิง 1. โครงสร้ างองค์กร 2. แผนงานกลยุท ธ์ / แผนปฏิบ ตั ิงาน ประจําปี 3. แผนงาน/กิจกรรมด้ าน การประกันคุณภาพ

1. เอกสารการประเมิน ตนเองด้ านประกัน คุณภาพการศึกษา 2. Print screen Web page ทีเกียวกับการ นําเสนอผลการประกัน คุณภาพการศึกษา § สรุ ปผลการประชุมเชิง ปฏิบ ตั ิการเพือการ ประกัน คุณภาพ การศึกษา วัน ที 21-23 มกราคม 2551 § แผนงานต่างๆ 1. คู่มืออาจารย์ 2. คู่มือการประเมิน ผล กิจกรรมนักศึกษาตาม แนวทางการประกัน คุณภาพ


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ภาคผนวก 3 เปรียบเทียบผลการดําเนินงานตามตัวบ่ งชีค้ ุณภาพ ปี การศึกษา 2549-2550

องค์ ประกอบที่ 1 ปรั ชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ ตัวบ่ งชี ้ 1.1 มีการกําหนดปรัชญาหรื อปณิธาน ตลอดจนมี กระบวนการพัฒนากลยุทธ์ แผนการ ดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบ่งชี ้เพื่อวัด ความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนให้ ครบทุกภารกิจ 1.1.1 มีการกําหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตร์ ชาติ 1.2 ร้ อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี ้ของ การปฏิบตั ิงานที่กําหนด

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

7 จาก 7 ขันตอน ้

5

7 จาก 7 ขันตอน ้

5

5 จาก 5 ขันตอน ้

5

5 จาก 5 ขันตอน ้

5

..

..

80

4

องค์ ประกอบที่ 2 การเรี ยนการสอน ตัวบ่ งชี ้

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหาร หลักสูตร 2.1.1 ร้ อยละบัณฑิตระดับปริ ญญาตรี ที่ได้ งานทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา 2.1.2 ร้ อยละบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริญญาโทที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ตอ่ จํานวน วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโททังหมด ้

..

..

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 7 จาก 7 5 ขันตอน ้

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี 0

281

1

31.25

3


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

2.1.3 ร้ อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ 2.1.4 ร้ อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อ หลักสูตรทังหมด ้ 2.2 มีกระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ 2.2.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ คุณภาพการสอนของอาจารย์และสิง่ สนับสนุนการเรี ยนรู้ 2.3 มีโครงการหรื อกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนา หลักสูตรและการเรี ยนการสอนซึง่ บุคคล องค์กร และชุมชนภายนอกมีสว่ นร่วม 2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจํานวน อาจารย์ประจํา 2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจําที่มีวฒ ุ ิปริญญา เอกหรื อเทียบเท่า 2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจําที่ดํารงตําแหน่ง วิชาการ (ผศ. รศ. หรื อ ศ.) 2.7 มีกระบวนการส่งเสริมการปฏิบตั ิตาม จรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์ 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนให้ อาจารย์ประจํา ทําการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 2.9 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ที่ได้ งาน ทําและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 2.10 ร้ อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ที่ได้ รับ เงินเดือนเริ่มต้ นเป็ นไปตามเกณฑ์ 2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจ้ าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้ บณ ั ฑิต

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาเอก 100

5

100

5

6 จาก 7 ขันตอน ้

5

7 จาก 7 ขันตอน ้

5

4

5

4.07

5

..

..

5 จาก 5 ขันตอน ้

5

78

2

72.43

3

44

4

45.45

4

22

3

13.63

2

5 จาก 5 ขันตอน ้

5

..

..

5 จาก 5 ขันตอน ้ 3 จาก 5 ขันตอน ้

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

282

5 4


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

2.12 ร้ อยละของนักศึกษาปั จจุบนั และศิษย์ เก่าที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ ผ่านมาที่ได้ รับการประกาศเกียรติคณ ุ ยกย่อง ในด้ านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และด้ าน สิง่ แวดล้ อมในระดับชาติหรื อ นานาชาติ 2.12.1 จํานวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการ ของนักศึกษาที่ได้ รับรางวัลใน ระดับชาติหรื อระดับนานาชาติภายใน รอบ 3 ปี ที่ผา่ นมา 2.13 ร้ อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตร บัณฑิตศึกษาซึง่ มีคณ ุ สมบัติเป็ นที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ที่ทําหน้ าที่อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ 2.14 อัตราการแข่งขันสอบเข้ า มธ. (ปริญญาตรี ) 2.15 ค่าระดับเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาที่ สอบเข้ า มธ. ได้ (ปริ ญญาตรี ) 2.16 ร้ อยละของนักศึกษาที่ได้ รับการจัด ระดับวิชาภาษาอังกฤษพื ้นฐาน (PT) ตังแต่ ้ สษ.172 ขึ ้นไป 2.17 ร้ อยละของนักศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษาที่สอบผ่าน TU-GET (ไม่ตํ่ากว่า 550 คะแนน) 2.18 ผู้สําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่ หลักสูตรกําหนด (ปริญญาตรี /บัณฑิต) 2.19 จํานวนชัว่ โมงสอนของอาจารย์ตอ่ คน ต่อปี

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

..

..

0.47 (ประกาศ เกียรติคณ ุ ) 0.28 (ด้ านวิจยั )

0

1

3

3

..

..

80

4

5

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

ยกเลิกตัวบ่งชี ้

283

69

2

65.38

2

..

..

94.80

2


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ตัวบ่ งชี ้

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

3.1 มีการจัดบริการแก่นกั ศึกษาและศิษย์เก่า 3.2 มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้ วนและ สอดคล้ องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ 3.2.1 ร้ อยละของนักศึกษาที่เข้ าร่วมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษาต่อจํานวน นักศึกษา (ปริญญาตรี ) ทังหมด ้

..

..

..

..

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 8 จาก 8 5 ขันตอน ้ 4 จาก 4 ขันตอน ้

5

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่ งชี ้ 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุน การผลิตงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรู้จากงานวิจยั และ งานสร้ างสรรค์ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ภายในและภายนอกสถาบันต่อจํานวนอาจารย์ ประจํา 4.3.1 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับทุนทํา วิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายใน สถาบันต่อจํานวนอาจารย์ประจํา 4.3.2 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับทุนทํา วิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายนอก สถาบันต่อจํานวนอาจารย์ประจํา

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 6 จาก 6 5 ขันตอน ้ 4 จาก 5 5 ขันตอน ้

..

..

..

..

547,380

5

1,007,273

5

30

1

9.09

1

30

3

22.72

2

284


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

4.4 ร้ อยละของงานวิจยั /งานสร้ างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ ได้ รับการจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญาหรื ออนุสทิ ธิบตั รหรื อนําไปใช้ ประโยชน์ ทังในระดั ้ บชาติ และระดับนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา 4.5 ร้ อยละของบทความวิจยั ที่ได้ รับการอ้ างอิงใน Refereed Journal หรื อในฐานข้ อมูลระดับ ชาติหรื อระดับนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา 4.6 ผลงานทางวิชาการต่ออาจารย์ประจําทุกระดับ

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

50

5

127.27

5

0

0

0

0

0.7

5

1.45

5

องค์ ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่ สังคม ตัวบ่ งชี ้ 5.1 มีระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่ สังคมตามเป้าหมายของสถาบัน 5.1.1 มีการนําความรู้/ประสบการณ์จากการ บริ การวิชาการและวิชาชีพมาใช้ ในการ พัฒนาการเรี ยนการสอนและการวิจยั 5.2 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่มีสว่ นร่วม ให้ บริการวิชาการแก่สงั คม เป็ นที่ปรึกษา เป็ น กรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็ น กรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติหรื อระดับนานาชาติ 5.3 ร้ อยละของกิจกรรม/โครงการบริ การวิชาการ และวิชาชีพที่ตอบสนองความต้ องการพัฒนา และเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอ่ อาจารย์ประจํา 5.4 ร้ อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 7 จาก 7 5 ขันตอน ้

..

..

5 จาก 5 ขันตอน ้

5

5 จาก 5 ขันตอน ้

5

33

5

36.84

5

267

4

170

4

..

..

80.5

4

285


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

องค์ ประกอบที่ 6 การทํานุบาํ รุ งศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่ งชี ้

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม 6.1.1 ร้ อยละของโครงการ/กิจกรรมอนุรักษ์ พัฒนา และสร้ างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจํานวน นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี

..

..

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 4 จาก 6 5 ขันตอน ้

วิทยาลัยไม่มีหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี

องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่ งชี ้ 7.1 สภาสถาบันใช้ หลักธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการและสามารถผลักดันสถาบันให้ แข่งขัน ได้ ในระดับสากล

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 7 จาก 7 ขันตอน ้

5

..

..

4 จาก 5 ขันตอน ้

4

..

..

6 จาก 6 ขันตอน ้

5

33

1

25

1

100

5

100

5

7.2 ภาวะผู้นําของผู้บริ หารทุกระดับของสถาบัน 7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูอ่ งค์การเรี ยนรู้

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากร บุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว้ ให้ บคุ ลากร มีคณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ 7.4.1 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่เข้ าร่วม ประชุมวิชาการหรื อนําเสนอผลงาน วิชาการทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ 7.4.2 ร้ อยละของบุคลากรประจําสาย สนับสนุน ที่ได้ รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพทังในประเทศและ ้ ต่างประเทศ 286

5 จาก 5 ขันตอน ้ 4 จาก 4 ขันตอน ้ 5 จาก 5 ขันตอน ้

5 5 5


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้ อมูลเพื่อการบริหาร การเรี ยนการสอน และการวิจยั 7.6 ระดับความสําเร็จของการเปิ ดโอกาสให้ บคุ คล เข้ ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนา สถาบันอุดมศึกษา 7.7 ร้ อยละของอาจารย์ประจําที่ได้ รับรางวัลผลงาน ทางวิชาการหรื อวิชาชีพในระดับชาติหรื อ นานาชาติ 7.8 มีการระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ ใน กระบวนการบริ หารการศึกษา 7.9 ระดับความสําเร็จของการถ่ายทอดตัวบ่งชี ้และ เป้าหมายของระดับองค์กรสูร่ ะดับบุคคล

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 5 จาก 5 5 ขันตอน ้

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 5 จาก 6 5 ขันตอน ้

..

..

5 จาก 5 ขันตอน ้

5

..

..

0

0

..

..

..

..

5 จาก 5 ขันตอน ้ 8 จาก 8 ขันตอน ้

5 5

องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่ งชี ้ 8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่าย การตรวจสอบการเงิน และ งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ 8.1.1 ค่าใช้ จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการ บริ การวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคม ต่ออาจารย์ประจํา 8.1.2 ร้ อยละของค่าใช้ จ่ายและมูลค่าที่ใช้ ใน การอนุรักษ์ พัฒนาและสร้ างเสริ ม เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อ งบดําเนินการ 8.1.3 สินทรัพย์ถาวรต่อนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเท่า

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

..

..

7 จาก 7 ขันตอน ้

5

602,300

5

280,045

3

1.8

5

0.04

1

180,126

5

310,879

5

287


รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปี การศึกษา 2550

ตัวบ่ งชี ้ 8.1.4 ค่าใช้ จ่ายทังหมดต่ ้ อนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเท่า 8.1.5 ร้ อยละของเงินเหลือสุทธิตอ่ งบดําเนินการ 8.1.6 งบประมาณสําหรับการพัฒนา คณาจารย์ทงในประเทศและ ั้ ต่างประเทศต่ออาจารย์ประจํา 8.1.7 ค่าใช้ จ่ายทังหมดที ้ ่ใช้ ในระบบ ห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์ สารสนเทศต่อนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเท่า 8.2 การใช้ ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบัน ร่วมกัน

ปี การศึกษา 2549 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน

77,175

1

91,206

1

38.67

2

26.08

4

18,903

4

10,575

2

22,199

5

16,300

3

4 จาก 5 ขันตอน ้

5

4 จาก 5 ขันตอน ้

5

องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ปี การศึกษา 2549 ตัวบ่ งชี ้ ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่ 5 จาก 5 5 เป็ นส่วนหนึง่ ของกระบวนการบริหารการศึกษา ขันตอน ้ 9.2 มีระบบและกลไกการให้ ความรู้และทักษะด้ าน .. .. การประกันคุณภาพแก่นกั ศึกษา 9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพ 4 จาก 5 5 การศึกษาภายใน ขันตอน ้

288

ปี การศึกษา 2550 ผลการ คะแนน ดําเนินงาน ประเมิน 7 จาก 7 5 ขันตอน ้ 7 จาก 7 5 ขันตอน ้ 5 จาก 5 5 ขันตอน ้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.