บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) คาอธิบายและวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ ผลการดาเนินงานสาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560
สารบัญ
3 5 7 10 1014
บทสรุป ผูบ้ ริหาร
งบกาไร ขาดทุน
เหตุการณ์ สาคัญ
กลุม่ ธุรกิจโรงกลัน่
ผลการ ดาเนินงาน
กลุม่ ธุรกิจการตลาด
0 กลุม่ ธุรกิจผลิตไฟฟ้า 16 17 กลุม่ ธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ 9 กลุม่ ธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติ 20 8
22 25 30 27 29
งบแสดง ฐานะการเงิน
อัตราส่วน ทางการเงิน
งบกระแส เงินสด
บัญชี เพือ่ สิง่ แวดล้อม และสังคม
มุมมองของ ผูบ้ ริหารต่อ แนวโน้มผลการ ดาเนินงานใน ปี 2561
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
2|
บทสรุปผูบ้ ริหาร สรุปผลการดาเนิ นงานสาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย หน่ วย: ล้านบาท รายได้รวม Accounting EBITDA กลุ่มธุรกิจโรงกลัน่ 1/ กลุ่มธุรกิจตลาด 2/ กลุ่มธุรกิจผลิตไฟฟ้ า 3/ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ 4/ กลุ่มธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติ 5/ อืน่ ๆ6/ รายการระหว่างกัน กาไรสุทธิเฉพาะส่วนทีเ่ ป็ นของบริษทั ใหญ่ กาไรต่อหุ้น (บาท)
Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560 40,481 3,061
39,009 3,580
46,306 3,494
2,367 (3) 568 131 71
2,198 474 781 159 44
2,256 302 812 132 16
(0.3) (73) 918 0.67
(35) (41) 1,316 0.96
(30) 6 1,386 1.01
YoY
QoQ
14% 14% -5% N/A 43% 1% -77%
19% -2% 3% -36% 4% -17% -62%
N/A 108% 51%
13% 115% 5%
2559
2560
144,705 172,138 11,363 13,663 5,756 2,527 2,559 326 323
7,596 2,301 3,088 529 286
99 (228) 4,773 3.47
(3) (134) 5,778 4.20
YoY 19% 20% 32% -9% 21% 62% -11% -103% 41% 21%
หมายเหตุ: 1/ หมายถึง ธุรกิจโรงกลั ่นของบริษทั บางจากฯ บริษทั BCP Trading Pte. Ltd. และบริษทั บงกช มารีน เซอร์วสิ จากัด 2/ หมายถึง ธุรกิจการตลาดของบริษทั บางจากฯ บริษทั บางจากกรีนเนท จากัด และบริษทั บางจาก รีเทล จากัด และการรับรูส้ ว่ นแบ่งจากเงินลงทุนในออมสุข 3/ หมายถึง ธุรกิจผลิตไฟฟ้ าของบริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย 4/ หมายถึง ธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพของ กลุม่ บริษทั บีบจี ไี อ จากัด (บริษทั บางจากไบโอฟูเอล จากัด, บริษทั บางจาก ไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด, บริษทั เคเอสแอล กรีนอินโนเวชั ่น จากัด (มหาชน) และการรับรูส้ ว่ นแบ่งจากเงินลงทุนในบริษทั อุบล ไบโอเอทานอล จากัด 5/ หมายถึง ธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติของ กลุม่ NIDO Pretoleum Limited, BCP Energy International Pte. Ltd. และ BCP Innovation Pte. Ltd.
สำหรับผลกำรดำเนิ นงำนของปี 2560 บริษทั บำงจำก คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) (“บริษทั ฯ”) และบริษทั ย่อย มีรำยได้จำกกำรขำยและกำรให้บริ กำร 172,138 ล้ำนบำท เพิ ม่ ขึ้น 19% YoY มี EBITDA รวม 13,663 ล้ำนบำท เพิ ม่ ขึ้น 20% YoY และมีกำไรสุทธิ 6,405 ล้ำนบำท เพิ ม่ ขึ้น 35% YoY โดยเป็ น กาไรสุทธิส่วนของบริษัทใหญ่ 5,778 ล้าน บาท คิดเป็ นกาไรต่อหุน้ 4.20 บาท สำหรับ Q4/2560 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรำยได้จำกกำรขำยและกำรให้บริ กำร 46,306 ล้ำนบำท เพิ ม่ ขึ้น 19% QoQ มี EBITDA รวม 3,494 ล้ำนบำท ลดลง 2% QoQ มีกำไรสุทธิ 1,567 ล้ำนบำท เพิ ม่ ขึ้น 5% QoQ โดยเป็ น กาไร สุทธิสว่ นของบริษทั ใหญ่ 1,386 ล้านบาท คิดเป็ นกาไรต่อหุน้ 1.01 บาท ผลการดาเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ปรับตัวดีขน้ึ โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิ จโรงกลัน่ ทีย่ งั คงมีอตั ราการผลิตเฉลีย่ อยู่ในระดับสูง ซึง่ ในปี 2560 มีการใช้กาลังการผลิตเฉลีย่ 111.37 พันบาร์เรลต่อวัน โดยสามารถใช้กาลังการผลิตเฉลีย่ สูงสุดถึง 121.64 KBD ได้ตลอดทัง้ เดือนมีนาคม ค่าการกลันพื ่ น้ ฐานเพิม่ ขึน้ จากส่วนต่างราคาน้ ามันสาเร็จรูปและน้ ามันดิบอ้างอิงในทุก ผลิตภัณฑ์ปรับตัวสูงขึน้ และจากราคาน้ ามันดิบเฉลี่ยที่ปรับตัวดีขน้ึ ส่งผลให้มี Inventory Gain 834 ล้านบาท สูงกว่าปี 2559 รวมถึงมีกาไรจากสัญญาซือ้ ขายน้ามันดิบและผลิตภัณฑ์น้ามันล่วงหน้า (GRM Hedging) กลุ่มธุรกิ จกำรตลำด มีปริมาณการจาหน่ ายรวมเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะในส่วนของปริมาณการจาหน่ ายผ่านสถานีบริการ มีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ในอันดับที่ 2 และเพิ่มขึ้นอย่างต่ อเนื่อง แต่ เนื่องจากการแข่งขันในตลาดที่สูงขึน้ ส่งผลกระทบต่อค่า การตลาดรวม ประกอบกับการขยายการลงทุนในธุรกิจ Non-Oil ซึง่ อยู่ระหว่างการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และการขยายสาขา ของธุรกิจ จึงมีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการอยู่ในระดับค่อนข้างสูงในระยะเริม่ ต้น ทาให้ผลการดาเนินงานลดลงจากปี ก่อน กลุ่มธุรกิ จผลิ ตไฟฟ้ ำ มีผลการดาเนินงานดีขน้ึ จากการเปิ ดดาเนินการเชิงพาณิชย์ของโครงการ Solar Co-op ใน ประเทศไทย และโครงการ Nikaho และโครงการ Nagi ในประเทศญี่ป่ นุ รวมถึงมีการขยายการลงทุนในธุรกิจโรงไฟฟ้ าพลังงาน คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
3|
ลม ในประเทศฟิ ลลิปปิ นส์ โรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนใต้พภิ พ ในประเทศอินโดนีเซีย ทาให้กาลังการผลิตไฟฟ้ าตามสัญญารวม ในปี 2560 เพิม่ ขึน้ เป็ น 332 MW จากปี 2559 ทีม่ ี 145 MW กลุ่มธุรกิ จผลิ ตภัณฑ์ชีวภำพ มีผลการดาเนินงานทีด่ ขี น้ึ โดยผลการดาเนินงานของธุรกิจเชือ้ เพลิงเอทานอลปรับตัวดี ขึ้น จากการรับรู้ผลการดาเนินงานเต็มปี ของบริษัท บางจาก ไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด อีกทัง้ ราคาขายเฉลี่ยและ ปริมาณการจาหน่ ายเอทานอลปรับเพิม่ ขึน้ จากความต้องการใช้เอทานอลในประเทศทีม่ ากขึน้ ด้วย ในส่วนของธุรกิจไบโอดีเซลมี ผลการดาเนินงานลดลงเล็กน้อย เนื่องจากปั ญหาราคาปาล์มน้ ามันในประเทศทีต่ กต่าตลอดทัง้ ปี ส่งผลกระทบต่อราคาขายเฉลีย่ ผลิตภัณฑ์ B100 และส่งผลให้มี Inventory Loss จานวน 224 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี ก่อน ทัง้ นี้ ปริมาณการจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ B100 เพิม่ ขึน้ จากการทีภ่ าครัฐกาหนดสัดส่วนการผสมผลิตภัณฑ์ B100 ในน้ามันดีเซลเพิม่ มากขึน้ กลุ่มธุรกิ จทรัพยำกรธรรมชำติ มีผลการดาเนินงานลดลง เนื่องจากธุรกิจสารวจและผลิตมีปริมาณการผลิตและการ จาหน่ ายทีล่ ดลงจากปี ก่อน ตาม Natural decline curve แม้ว่าราคาขายจะปรับสูงขึน้ ตามราคาตลาด อีกทัง้ มีรายการค่าเผื่อผล ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ตามมาตรฐานบัญชี จานวน 1,528 ล้านบาท ในงบการเงินรวม ซึง่ เป็ นการด้อยค่าของสินทรัพย์ ในพืน้ ที่ Gulita และพืน้ ที่ Mid-Galoc และจากการประเมินปริมาณสารองของแหล่งทรัพยากรในพืน้ ที่ Galoc ซึง่ ลดลงจากปี ก่อน ในปี 2560 กลุ่มบริษทั ได้มกี ารจัดโครงสร้างของกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ โดยการควบรวมบริษทั (Amalgamation) ระหว่างบริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั กับบริษทั เคเอสแอล จีไอ จากัดซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษัท น้าตาลขอนแก่น จากัด (มหาชน) เป็ นบริษทั บีบจี ไี อ จากัด โดยจากการควบรวมดังกล่าวทาให้มกี ารรับรูผ้ ลการดาเนินงานของ บริษัท เคเอสแอล กรีน อินโนเวชัน่ จากัด (มหาชน) สาหรับงวดสองเดือน (เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2560) รวมเป็ นส่วน หนึ่งของผลการดาเนินงานของกลุ่มบริษทั และจากการควบรวมบริษทั ในครัง้ นี้ ต้องมีการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ และหนี้สนิ ทีไ่ ด้มาจากการซือ้ ธุรกิจตามมาตรฐานบัญชี ทาให้มกี ารรับรูค้ ่าความนิยมจากการซือ้ ธุรกิจจานวน 1,602 ล้านบาท ใน งบการเงินรวม นอกจากนี้ ในปี 2560 บริษทั ฯ มีค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ลดลง เนื่องจากได้รบั คืนเงินภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลประจาปี 2550 ปี 2552 และปี 2553 จานวน 897 ล้านบาท รวมทัง้ รับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ จากการได้รบั คืนภาษี จานวน 401 ล้านบาท
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
4|
งบกาไรขาดทุน งบกาไรขาดทุนของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย รายได้จากการขายและการให้บริการ ต้นทุนขายและการให้บริการ กาไรขันต้ ้ น รายได้ดอกเบีย้ และเงินปั นผล รายได้อ่นื ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร
Q4/2559
Q3/2560
Q4/2560
YoY
QoQ
FY2559
FY2560
YoY
40,481
39,009
46,306
14%
19%
144,705
172,138
19%
(36,704)
(35,450)
(42,711)
16%
20%
(132,809) (158,596)
19%
3,776
3,559
3,594
-5%
1%
11,896
13,543
14%
54
45
12
-78%
-74%
191
156
-18%
130
238
441
240%
86%
343
1,085
216%
(2,065)
(1,773)
(2,327)
13%
31%
(6,135)
(7,164)
17%
(12)
(12)
(11)
-10%
-6%
(60)
(48)
-20%
(66)
86
46
169%
-47%
107
366
240%
ค่าใช้จ่ายในการสารวจและประเมินค่า กาไรจากสัญญาซื้อขายน้ามันดิบและผลิตภัณฑ์ น้ามันล่วงหน้า กาไร (ขาดทุน) จากสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า กาไรจากอัตราแลกเปลีย่ น กลับรายการค่าเผือ่ ผลขาดทุน (ขาดทุน) จาก การด้อยค่าสินทรัพย์ ส่วนแบ่งกาไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กาไรจากการต่อรองราคาซื้อ
(32)
(259)
17
152%
106%
39
(225)
-672%
(253)
299
227
190%
-24%
237
889
276%
31
(1,358)
(78)
-349%
94%
37
(1,518)
N/A
16
420
324
N/A
-23%
21
815
N/A
-
-
-
N/A
N/A
227
-
N/A
กาไรก่อนต้นทุนทางการเงิ นและภาษี เงิ นได้
1,578
1,244
2,244
42%
80%
6,902
7,898
14%
ต้นทุนทางการเงิน
(415)
(379)
(380)
-9%
0.1%
(1,484)
(1,452)
-2%
กาไรก่อนภาษี เงิ นได้
1,163
865
1,865
60%
116%
5,418
6,446
19%
ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
(167)
630
(298)
78%
147%
(689)
(41)
-94%
กาไรสาหรับงวด
996
1,495
1,567
57%
5%
4,729
6,405
35%
ส่วนทีเ่ ป็ นของบริษทั ใหญ่ ส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจ ควบคุม กาไรต่อหุ้นขันพื ้ น้ ฐาน (บาทต่อหุ้น)
918
1,316
1,386
51%
5%
4,773
5,778
21%
77
179
181
134%
1%
(44)
627
N/A%
0.67
0.96
1.01
3.47
4.20
ผลการดาเนินงานสาหรับปี 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกาไรสุทธิ 6,405 ล้านบาท (+35% YoY) โดยเป็ นกาไรสุทธิ ส่วนของบริษทั ใหญ่ 5,778 ล้านบาท (+21% YoY) คิดเป็ นกาไรต่อหุน้ 4.20 บาท โดยมีสาเหตุหลักดังนี้ 1) รายได้จากการขายและการให้บริการรวม 172,138 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 19% YoY ส่วนใหญ่มาจากธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง กับน้ามัน จากราคาขายเฉลีย่ น้ามันสาเร็จรูปทีป่ รับตัวสูงขึน้ ตามราคาน้ามันในตลาดโลก ประกอบกับปริมาณการ จ าหน่ า ยผลิต ภัณ ฑ์ร วมของบริษัท ฯ เพิ่ม ขึ้น 4% YoY รวมทัง้ รายได้จ ากธุ ร กิจ ผลิต ไฟฟ้ า และกลุ่ ม ธุ ร กิจ ผลิตภัณฑ์ชวี ภาพเพิม่ ขึน้ ด้วยเช่นกัน
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
5|
2) กาไรขัน้ ต้น 13,543 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 14% YoY โดยหลักมาจากธุรกิจโรงกลันในปี ่ 2560 ที่มคี ่าการกลันรวม ่ 7.23 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิม่ ขึน้ 0.70 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยธุรกิจโรงกลัน่ มี Inventory Gain 834 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 244 ล้านบาท กาไรขัน้ ต้นของธุรกิจเชือ้ เพลิงเอทานอลดีขน้ึ จากราคา ขายเฉลี่ยผลิตภัณฑ์เอทานอลที่สูงขึน้ ขณะที่ในส่วนของธุรกิจไบโอดีเซลมีกาไรขัน้ ต้นลดลง จากปั ญหาราคา ปาล์มน้ามัน ส่งผลให้ราคาขายเฉลีย่ B100 ลดลงและมี Inventory Loss 224 ล้านบาท 3) รายได้อ่นื 1,085 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 742 ล้านบาท โดยหลักเพิม่ ขึน้ ในส่วนของบริษทั ฯ จากรายได้ดอกเบีย้ จาก การได้รบั คืนภาษี 401 ล้านบาท รายได้ค่าปรับงานก่อสร้างล่าช้า 175 ล้านบาท และเงินชดเชยค่าเสียหายกรณี น้ ามันปนเปื้ อน 63 ล้านบาท รวมทัง้ บริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) มีกาไรจากการปรับปรุงราคาซื้อ 137 ล้าน บาท จากการชาระเงินลงทุนส่วนทีเ่ หลือสาหรับการเข้าซือ้ ธุรกิจกลุ่ม SunEdison ในประเทศญีป่ ่ นุ 4) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 7,164 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 17% YoY ส่วนใหญ่เพิม่ ขึน้ จาก (1) ค่าเสื่อมราคาจาก การลงทุนในสินทรัพย์ทเ่ี พิม่ ขึน้ ของกลุ่มบริษทั ฯ (2) ค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับบุคลากรของกลุ่มบริษัทฯ (3) ค่าขนส่ง ของบริษทั ฯ และบริษทั บางจาก รีเทล จากัด ตามปริมาณการจาหน่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ และ (4) ค่าเช่าทีด่ นิ ในการขยาย สถานีบริการน้ามัน (5) ค่าใช้จ่ายสานักงาน 5) กาไรจากสัญญาซือ้ ขายน้ามันดิบและผลิตภัณฑ์น้ามันล่วงหน้าเพิม่ ขึน้ 258 ล้านบาท 6) ขาดทุนจากสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 225 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็ นผลขาดทุนจากการทาสัญญา ซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศ ของบริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) จานวน 304 ล้านบาท เพื่อป้ องกันความเสีย่ งจาก ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น เพื่อใช้ในการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานลมประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ และการ ลงทุนโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนใต้พภิ พในประเทศอินโดนีเซีย แต่เนื่องจากเงินสกุลบาทแข็งค่าขึน้ ทา ให้เกิดขาดทุนจากการแปลงค่าตามสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ขณะทีบ่ ริษทั ฯ มีกาไรจากสัญญา ซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 79 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากการเข้าทาสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้า เพื่อบริหารความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ นของเงินกูย้ มื สกุลต่างประเทศแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน 7) กาไรจากอัตราแลกเปลีย่ น 889 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 653 ล้านบาท เนื่องจากค่าเงินบาทแข็งค่าขึน้ ทาให้เกิดกาไร ส่วนใหญ่จากเจ้าหนี้การค้าและเงินกูย้ มื ทีเ่ ป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ 8) ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ 1,518 ล้านบาท รายการหลักมาจากการบันทึกด้อยค่าของสินทรัพย์ในพืน้ ที่ Gulita และพืน้ ที่ Mid-Galoc ของบริษทั Nido Petroleum Limited จานวน 1,528 ล้านบาท 9) ส่วนแบ่งกาไรจากบริษัทร่วม 815 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 794 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการที่บริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) ได้เข้าซือ้ หุน้ เพื่อลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานลม ทีป่ ระเทศฟิ ลลิปปิ นส์ และโครงการโรงไฟฟ้ า พลังงานความร้อนใต้พภิ พ ทีป่ ระเทศอินโดนีเซีย 10) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ลดลง เนื่องจาก บริษทั ฯ ได้รบั เงินคืนภาษีเงินได้ ของปี 2550 ปี 2552 และปี 2553 จานวน 897 ล้านบาท
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
6|
เหตุการณ์สาคัญในปี 2560ไตรมาสที่ 1 มีนาคม 2560 o บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แก่ บริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด ซึง่ จัดตัง้ ขึน้ ที่ ประเทศไทย มีทุนจดทะเบียน 700 ล้านบาท โดยบริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 เพื่อดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ และรองรับการปรับโครงสร้างของบริษทั ฯ o โครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ภายใต้บริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ได้เปิ ด ดาเนินการเชิงพาณิชย์ (COD) เพิม่ เติม ได้แก่ โรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์นากิ (Nagi) จังหวัดโอคายาม่า ประเทศ ญี่ป่ ุน กาลังการผลิตไฟฟ้ าตามสัญญา 10.5 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ (โซลาร์สหกรณ์) จานวน 1 โครงการ กาลังการผลิตไฟฟ้ าตามสัญญารวม 5 เมกะวัตต์ เมษายน 2560 o ตามที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ้น ประจาปี 2560 ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2560 มีอนุ มตั ิแก้ไขชื่อบริษัทฯ และ หนังสือบริคณห์สนธิ รวมถึงแก้ไขเพิม่ เติมข้อบังคับของบริษทั ฯ ทัง้ ฉบับ โดยแก้ไขชื่อบริษทั ฯ จากชื่อเดิม “บริษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน)” เป็ นชื่อใหม่ “บริ ษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)” ซึง่ การเปลีย่ น ชื่อใหม่ในครัง้ นี้เป็ นการปรับภาพลักษณ์ขององค์กรและสร้างความชัดเจนในการดาเนินธุรกิจ นอกจากการดาเนิน ธุรกิจปิ โตรเลียมแล้ว บริษทั ฯ ได้มกี ารขยายธุรกิจออกไปยังธุรกิจอื่นๆ ทีเ่ ป็ นธุรกิจต่อเนื่องหรือธุรกิจทีส่ นับสนุนธุรกิจ หลักทีม่ กี ารใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมขัน้ สูง พฤษภาคม 2560 o โรงกลันน ่ ้ ามันบางจาก หยุดซ่อมบารุงหน่ วยไฮโดรเจน (Hydrogen Production Unit) และหน่ วยแตกโมเลกุลด้วย ไฮโดรเจน (Hydrocracking Unit) เพื่อให้หน่ วยกลันมี ่ ความปลอดภัยสูงสุด สอดคล้องกับแผนการกลันและโครงสร้ ่ าง ผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษทั ฯ โดยหยุดเดินหน่ วยผลิตดังกล่าวเป็ น ระยะเวลา 22 วัน ตัง้ แต่วนั ที่ 19 พฤษภาคม ถึง 9 มิถุนายน 2560 โดยทีห่ น่วยอื่นยังเดินเครื่องได้ตามปกติ o บริษัทฯ เปิ ดตัวผลิตภัณฑ์น้ ามัน Hi Premium Diesel S นวัตกรรมดีเซลเกรดพรีเมียมเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าทีต่ อ้ งการน้ามันดีเซลคุณภาพสูง โดยบางจาก Hi Premium Diesel S ผสานทุกองค์ประกอบระดับพรีเมียม ให้พลังแรงทีเ่ หนือกว่า และสมดุลเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ด้วยเทคโนโลยีการกลันขั ่ น้ สูงทีใ่ ห้เนื้อน้ ามันใสบริสทุ ธิ ์ มีค่า ซีเทนสูงสุดถึง 70 แรงทัง้ ทางเรียบและทางชัน พร้อมสาร Hi Active Cleansing ช่วยให้หวั ฉีดสะอาดขึน้ ให้เครื่องยนต์ จุดระเบิดเผาไหม้ได้เต็มประสิทธิภาพ รักษาอายุของเครื่องยนต์ให้ยาวนานยิง่ ขึน้ และด้วยมาตรฐาน EURO 5 ลดการ ปล่อยมลพิษ ค่ากามะถันลดลงกว่า 5 เท่า เมื่อเทียบกับ EURO 4 o บริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ได้เข้าซือ้ เงินลงทุนทัง้ หมดในบริษทั CapAsia ASEAN Wind Holdings Cooperatief U.A. ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึง่ เป็ นบริษทั โฮลดิง้ ทีถ่ อื หุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 40 ในบริษทั PetroWind Energy Inc. เป็ นจานวนเงิน 26.49 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 922 ล้านบาท) ซึง่ เป็ นบริษทั ทีป่ ระกอบ ธุรกิจโรงไฟฟ้ าพลังงานลมตัง้ อยู่ ทเ่ี มือง Nabas ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ โดยมีโครงการทีเ่ ปิ ดดาเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว จานวน 36 เมกะวัตต์ และมีโครงการที่อยู่ระหว่างการพัฒนาจานวน 14 เมกะวัตต์ ซึ่งมีกาลังการผลิตติดตัง้ คิดเป็ น ส่วนของ BCPG 20 เมกะวัตต์
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
7|
มิ ถนุ ายน 2560 บริษัทฯ โอนหุ้นที่ถืออยู่ในกลุ่มบริษัทย่อยและร่วม ที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ 3 บริษทั ให้กบั บริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด (BBH) เพื่อเป็ นการจัดโครงสร้างกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ โดยบริษทั ฯ ยังคงถือ หุน้ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมดังนี้ บริษทั
โครงสร้างการถือหุ้นเดิ ม
โครงสร้างการถือหุ้นใหม่
1. บริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด (BBH)
บริษั ท บางจาก คอร์ ป อเรชัน่ จ ากัด บริษั ท บางจาก คอร์ ป อเรชัน่ จ ากัด (มหาชน) (100%) (มหาชน) (100%) 2. บริษั ท บางจากไบโอฟู เ อล จ ากัด บริษั ท บางจาก คอร์ ป อเรชัน่ จ ากัด บริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด (70%) (BBF) (มหาชน) (70%) 3. บริ ษั ท บางจากไบโอเอทานอล บริษั ท บางจาก คอร์ ป อเรชัน่ จ ากัด บริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด (85%) (ฉะเชิงเทรา) จากัด (BBE) (มหาชน) (85%) 4. บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จากัด บริษั ท บางจาก คอร์ ป อเรชัน่ จ ากัด บริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด (21.3%) (UBE) (มหาชน) (21.3%) กรกฎาคม 2560 o บริษัท BCP Innovation Pte. Ltd. (BCPI) ซึ่งเป็ นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้เข้าซื้อหุ้นเพิ่มทุน กับบริษัท Lithium Americas Corp. (LAC) จานวน 50 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.85 เหรียญแคนาดา คิดเป็ นมูลค่าการลงทุน 42.50 ล้าน เหรียญแคนาดา (ประมาณ 1,089 ล้านบาท) ซึ่งบริษัท LAC เป็ นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์โตรอนโต ประเทศแคนาดา และดาเนินโครงการเหมืองลิเทียมทีป่ ระเทศอาร์เจนตินาและประเทศสหรัฐอเมริกา ทาให้ BCPI มี สัดส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 16.1 (ต่อมาผูถ้ อื หุน้ บางส่วนใช้สทิ ธิแปลงสภาพเป็ นหุน้ สามัญ ทาให้ปัจจุบนั BCPI มีสดั ส่วน การถือหุน้ ร้อยละ 15.9) o บริษัท บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) ซึ่งเป็ นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้เข้าซื้อหุ้นในบริษัท Star Energy Group Holding Pte. Ltd. (SEGHPL) จานวน 280,000 หุน้ คิดเป็ นสัดส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 33.33 ของหุน้ สามัญทีอ่ อกและชาระแล้ว ทัง้ หมด เป็ นจานวนเงิน 355.69 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 11,956 ล้านบาท) เพื่อลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้ า พลังงานความร้อนใต้พภิ พในประเทศอินโดนีเซีย ซึง่ มีกาลังการผลิตติดตัง้ คิดเป็ นส่วนของ BCPG 182 เมกะวัตต์ โดย มีโครงการทีเ่ ปิ ดดาเนินการเชิงพาณิชย์แล้วจานวน 158 เมกะวัตต์ และมีโครงการทีอ่ ยู่ระหว่างการพัฒนาจานวน 24 เมกะวัตต์ สิ งหาคม 2560 o ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติอนุ มตั กิ ารจัดสรรกาไรจากกาไรสะสมทีย่ งั ไม่จดั สรรเพื่อจ่ายเงินปั นผลระหว่าง กาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในอัตราหุน้ ละ 1.05 บาท รวมเป็ นเงินประมาณ 1,446 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 47 ของ กาไรสุทธิงวด 6 เดือนแรกของปี 2560 โดยจ่ายเงินปั นผลในวันที่ 26 กันยายน 2560 o บริษทั ฯ เริม่ ดาเนินการผลิตไฟฟ้ าและไอน้าจากโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนร่วมโรงที่ 3 (GTG-3) กาลังการผลิตไฟฟ้ า 12 เมกะวัตต์ และกาลังการผลิตไอน้ า 42 ตันต่อชัวโมง ่ ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของโครงการ 3E (Efficiency, Energy and Environmental Project) สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้ าและไอน้า เนื่องจากใช้ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชือ้ เพลิง อีก ทัง้ ยังเป็ นการช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของโรงกลัน่ กันยายน 2560 บริษัทฯ เปิ ดตัวสถาบันนวัตกรรมและบ่มเพาะธุรกิจ Bangchak Initiative Innovation Center: BIIC โดยมี วัตถุประสงค์ในการสร้าง Green Ecosystem เพื่อผลักดันนวัตกรรมด้านต่างๆ โดยเน้นด้านธุรกิจพลังงานสีเขียว (Green Energy) และธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ (Bio-Based) นามาต่อยอดในการขยายธุรกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ สนับสนุ น นโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล เพื่อมุ่งสูก่ ารเป็ นบริษทั นวัตกรรมสีเขียวชัน้ นาในเอเชีย คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
8|
ตุลาคม 2560 ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ อนุมตั ใิ ห้ดาเนินการควบบริษทั (Amalgamation) ระหว่างบริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด กับบริษทั เคเอสแอลจีไอ จากัด (บริษทั ย่อยของบริษทั น้าตาลขอนแก่น จากัด (มหาชน), KSL) โดยบริษทั ใหม่ ทีเ่ กิดจากการควบ คือ บริษทั บีบจี ไี อ จากัด (BBGI) ซึง่ ประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ (BioBased) ได้แก่ เอทานอล และไบโอดีเซล โดย BCP จะถือหุน้ ในบริษทั ใหม่ทจ่ี ะเกิดจากการควบบริษทั เท่ากับร้อยละ 60 และ KSL จะถือหุน้ เท่ากับร้อยละ 40
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
9|
สรุปผลการดาเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จาแนกตามธุรกิจ 1.) กลุ่มธุรกิ จโรงกลัน่ ตารางแสดงสถานการณ์ราคาน้ามันดิบ (หน่วย:เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล) ราคาน้ามันดิ บ
Q4/2559 Q3/2560 เฉลี่ย
เฉลี่ย
Q4/2560 สูงสุด
ตา่ สุด
YoY
QoQ
เฉลี่ย
%
%
FY2559 FY2560 เฉลี่ย
เฉลี่ย
YoY %
Dubai (DB)
48.25
50.43
64.36
53.73
59.31
23%
18%
41.43
53.14
28%
Dated Brent (DTD)
49.33
52.08
66.54
55.19
61.26
24%
18%
43.73
54.19
24%
1.08
1.65
4.26
-0.26
1.95
80%
18%
2.30
1.05
-54%
DTD/DB
สถานการณ์ ราคาน้ามันดิ บอ้างอิ ง ราคาน้ ามันดิบดูไบปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559 เฉลีย่ ปรับเพิม่ ขึน้ 11.71 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลโดยได้รบั แรง หนุ นจากการทีก่ ลุ่มประเทศผูส้ ่งออกน้ ามัน (โอเปค) และนอกโอเปคนาโดยรัสเซียทีใ่ ห้ความร่วมมือในการปรับลดกาลังผลิตตาม ข้อตกลงร่วมกัน ราคาน้ามันดิบดูไบใน Q4/2560 เฉลีย่ ปรับเพิม่ ขึน้ 8.88 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลเมื่อเทียบกับ Q3/2560 โดยได้รบั แรง หนุนจาก กลุ่มโอเปคและนอกโอเปคมีมติขยายการปรับลดกาลังการผลิตออกไปอีก 9 เดือน จนสิน้ สุดเดือนธันวาคม 2561 ตลาด ยังได้แรงหนุ นจากเหตุความตึงเครียดในตะวันออกกลางซึง่ เชื่อมโยงกับความขัดแย้งของซาอุดอิ าระเบียกับอิหร่านกรณีความ กังวลต่อสงครามในเยเมน เลบานอน และเหตุการณ์ก่อวินาศกรรมท่อส่งน้ ามันในบาห์เรน อีกทัง้ การคาดการณ์ของสานักงาน พลังงานสากล (IEA) ทีว่ ่าอัตราการปรับลดกาลังการผลิตของกลุ่มโอเปค ตัง้ แต่เดือนมกราคม 2560 ถึงเดือนมีนาคม 2561 จะอยู่ ทีร่ อ้ ยละ 86 ของข้อตกลง ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ อุปสงค์ทเ่ี พิม่ ขึน้ ในช่วงฤดูหนาวทาให้โรงกลันทั ่ วโลกเดิ ่ นกาลังการ กลันในระดั ่ บสูง โดยเฉพาะโรงกลันในสหรั ่ ฐฯ ส่งผลให้ปริมาณสารองน้ามันดิบสหรัฐฯ ปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ราคาน้ามันดิบได้แรงกดดันสาคัญจากการเพิม่ การผลิตน้ามันในสหรัฐฯ ทีเ่ พิม่ สูร่ ะดับ 9.8 ล้านบาร์เรลต่อ วันในเดือนธันวาคม ทาให้ปริมาณการผลิตน้ ามันเฉลีย่ ในสหรัฐฯ จะเพิม่ ขึน้ จาก 8.9 ล้านบาร์เรลต่อวันในปี 2559 เป็ น 9.2 ล้าน บาร์เรลต่อวัน ในปี 2560 และ 10.0 ล้านบาร์เรลต่อวัน ในปี 2561 ถือเป็ นการทาลายสถิตสิ งู สุดที่เคยผลิตเฉลีย่ ทีร่ ะดับ 9.6 ล้าน บาร์เรลต่อวัน ทีท่ าไว้ในปี 2513 เมื่อ เปรียบเทียบส่ว นต่ า งราคาน้ ามัน ดิบ เดทต์เ บรนกับน้ ามัน ดิบ ดูไบ (DTD/DB) เฉลี่ย ในปี 2560 ปรับ ลดลง 1.25 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยได้แรงกดดันจากการจากัดการผลิตและส่งออกน้ ามันดิบชนิดหนัก (Heavy Sour crude) ของกลุ่มโอเปคหลังดาเนินการตามความร่วมมือในการปรับลดกาลังการผลิตน้ามัน ส่วนต่างราคาน้ ามันดิบเดทต์เบรนกับดูไบ(DTD/DB) Q4/2560 โดยเฉลีย่ ปรับเพิม่ ขึน้ 0.30 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับ Q3/2560 โดยได้รบั แรงหนุ นจากปั ญหาอุปทานทีล่ ดลงจากการหยุดซ่อมบารุงฉุ กเฉินของท่อส่งน้ ามันดิบในทะเล เหนือ (North Sea) ของยุโรป
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
10 |
ตารางแสดงส่วนต่างราคาน้ามันสาเร็จรูปและน้ามันดิ บอ้างอิ ง (หน่วย:เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล) ส่วนต่างราคาน้ามัน สาเร็จรูป และน้ามันดิ บอ้างอิ ง
Q4/2559 Q3/2560 เฉลี่ย
เฉลี่ย
Q4/2560 สูงสุด
ตา่ สุด
YoY
QoQ
เฉลี่ย
%
%
FY2559 FY2560 เฉลี่ย
เฉลี่ย
YoY %
UNL95/DB
14.59
16.10
15.52
12.08
14.42
-1%
-10%
14.83
14.85
0.2%
IK/DB
12.27
13.13
15.08
11.97
13.27
8%
1%
11.56
12.13
5%
GO/DB
12.04
13.83
14.36
10.94
13.01
8%
-6%
10.80
12.51
16%
FO/DB
-1.63
-1.35
-1.68
-4.93
-3.03
-86% -125%
-4.97
-2.33
53%
สถานการณ์ ส่วนต่างราคาน้ามันสาเร็จรูปและน้ามันดิ บอ้างอิ ง (Crack Spread)
ส่ว นต่ า งราคาน้ า มัน เบนซิน -ดูไบ (UNL95/DB) ในปี 2560 เฉลี่ย 14.85 เหรีย ญสหรัฐฯ ต่ อ บาร์เ รล ปรับ เพิ่ม ขึ้น 0.02 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับรอบปี 2559 โดยได้รบั หนุนจากอุปสงค์ทย่ี งั คงเติบโตในจีนและอินเดีย จากยอดขาย รถยนต์ใหม่ทเ่ี พิม่ ขึน้ จากการขยายตัวของชนชัน้ กลาง และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ส่วนต่างราคาน้ ามันเบนซิน-ดูไบ (UNL95/DB) ใน Q4/2560 เฉลีย่ 14.42 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเปรียบเทียบกับ Q3/2560 ส่วนต่างปรับลดลง 1.68 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยได้รบั แรงกดดันจากอุปสงค์ในสหรัฐฯ ที่เริม่ ปรับลดลง หลังจากหมดฤดูกาลท่องเทีย่ วและการกลับมาดาเนินการผลิตของโรงกลันในสหรั ่ ฐฯ หลังได้รบั ผลกระทบจากเฮอริเคนฮาร์ วีย์ นอกจากนี้ราคาน้ามันเบนซินยังถูกกดดันจากอุปสงค์ในประเทศซีกโลกเหนือทีป่ รับลดลงในช่วงฤดูหนาว ทาให้ปริมาณ สารองน้ามันเบนซินในสหรัฐฯ ปรับเพิม่ ขึน้ ตลอดเดือนธันวาคม ส่วนต่างราคาน้ ามันเจ็ท(เคโรซีน)-ดูไบ (IK/DB) ในรอบปี 2560 เฉลีย่ 12.13 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับเพิม่ ขึน้ 0.57 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลเมื่อเทียบกับรอบปี 2559 โดยได้รบั แรงหนุ นจากอุปสงค์การโดยสารทางเครื่องบินทีเ่ พิม่ สูงขึน้ รวมไปถึงอุปสงค์ท่อี ยู่ระดับสูงของน้ ามัน ดีเซลที่ช่วยหนุ นราคาน้ ามันเจ็ท (เคโรซีน) ให้สูงขึน้ ตาม อย่างไรก็ตาม มีแรง กดดันจากอุปสงค์การใช้น้ามันเคโรซีนลดลงจากภาคครัวเรือนของอินเดียทีเ่ ริม่ ใช้แก๊สแอลพีจที ดแทนสาหรับการทาอาหาร ส่วนต่างราคาน้ามันเจ็ท (เคโรซีน)-ดูไบ (IK/DB) ใน Q4/2560 เฉลีย่ 13.27 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเปรียบเทียบกับ Q3/2560 ส่วนต่างปรับเพิม่ ขึน้ 0.14 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยได้รบั แรงหนุ นจากอุปสงค์การใช้น้ ามันสาหรับใช้ทา ความอบอุ่นในฤดูหนาวโดยเฉพาะในสหรัฐฯ ทีอ่ ากาศหนาวจัดมากทีส่ ดุ เป็ นประวัตกิ ารณ์ในรอบกว่า 100 ปี ส่วนต่างราคาน้ามันดีเซล-ดูไบ (GO/DB) ในรอบปี 2560 เฉลีย่ 12.51 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับเพิม่ ขึน้ 1.71 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับรอบปี 2559 เป็ นเพราะแรงหนุนจากอุปสงค์ภาคการทาเหมืองทีฟ่ ้ื นตัวในจีนและอินโดนีเซีย และอุปสงค์ภาคการขนส่งปรับเพิม่ ขึน้ รวมถึงอุปสงค์ภาคการก่อสร้างสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานในอินเดีย ส่ว นต่ า งราคาน้ า มัน ดีเ ซล-ดูไบ (GO/DB) ใน Q4/2560 เฉลี่ย 13.01 เหรีย ญสหรัฐฯ ต่ อ บาร์เ รล เมื่อ เปรีย บเทียบกับ Q3/2560 ส่วนต่างปรับลดลง 0.82 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยส่วนต่างได้รบั ปั จจัยกดดันจากการขนส่งน้ ามันดีเซลจาก เอเชียไปยังยุโรปและอเมริกาใต้ทล่ี ดลง เนื่องจากโรงกลันสหรั ่ ฐฯ กลับมาเปิ ดทาการหลังจากผลกระทบของพายุเฮอริเคน ฮาร์วยี ์ นอกจากนี้อุปทานน้ามันดีเซลจากเอเชียไม่สามารถส่งออกไปยังตะวันตกได้ เนื่องจากปริมาณสารองน้ ามันดีเซลใน ยุโรปอยู่ในระดับสูงจากค่าการกลันที ่ ส่ งู ทาให้โรงกลันมี ่ อตั ราการผลิตในระดับสูงขึน้ ส่วนต่างราคาน้ ามันเตา-ดูไบ (FO/DB) ในรอบปี 2560 เฉลี่ย -2.33 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับเพิม่ ขึน้ 2.64 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับรอบปี 2559 ได้แรงหนุ นจากอุปทานน้ ามันเตาทีล่ ดลง จากการปรับลดการผลิตน้ ามันของ โอเปคโดยเฉพาะน้ ามันดิบชนิดหนักซึง่ มีมูลค่าต่ ากว่าน้ ามันดิบชนิดเบาและมีสดั ส่วนผลผลิตน้ ามันเตาสูง อีกทัง้ โรงกลัน่ ต่างๆโดยเฉพาะในรัสเซียและเอเชียเพิม่ กาลังการผลิตหน่ วยปรับปรุงคุณภาพ ทาให้การผลิตน้ ามันเตาลดลง เป็ นปั จจัย ช่วยหนุนค่าการกลันในภู ่ มภิ าคเอเชีย คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
11 |
ส่วนต่างราคาน้ามันเตา-ดูไบ (FO/DB) ใน Q4/2560 เฉลีย่ -3.03 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเปรียบเทียบกับ Q3/2560 ส่วนต่างปรับลดลง 1.68 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยส่วนต่างปรับลดลงเนื่องจากการนาเข้าน้ ามันเตาของปากีสถาน ลดลงจากการทีร่ ฐั บาลห้ามการใช้น้ามันเตาเป็ นเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้ าเป็ นการชัวคราวหลั ่ งเกิดปั ญหามลพิษ นอกจากนี้ ยังได้รบั แรงกดดันจากอุปทานทีป่ รับเพิม่ ขึน้ จากการทีโ่ รงกลันทั ่ วโลกใช้ ่ กาลังการกลันในระดั ่ บสูง
ผลการดาเนิ นงานของกลุ่มธุรกิ จโรงกลัน่ ตารางแสดงผลการดาเนิ นงานธุรกิ จโรงกลัน่
Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560
อัตราการผลิตเฉลีย่ (พันบาร์เรลต่อวัน) อัตรากาลังการผลิต
YoY
QoQ
FY2559
FY2560
YoY
111.37 93%
10%
113.82 95%
110.03 92%
111.64 93%
-2%
1%
101.39 84%
2,416 (74) 907 3,250 2,367
2,261 68 450 2,779 2,198
1,837 46 1,094 2,977 2,256
-24% 162% 21% -8% -5%
-19% -33% 143% 7% 3%
7,887 112 590 8,588 5,756
8,844 12% 348 212% 834 41% 10,026 17% 7,596 32%
35.57
33.55
33.11
-1%
35.47
34.11
(หน่ วย: ล้านบาท) ค่าการกลันพื ่ น้ ฐาน GRM Hedging Inventory Gain/ (Loss)1/ ค่าการกลั ่นรวม EBITDA (หน่ วย: บาท/เหรียญสหรัฐฯ) อัตราแลกเปลีย่ น (THB/USD)
-7%
-4%
หมายเหตุ: 1/ ตัวเลข Inventory Gain / (Loss) ทีแ่ สดงในตารางรวมการกลับรายการค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ LCM
กราฟแสดงค่าการกลันพื ่ น้ ฐาน และกาลังการกลัน่
กราฟแสดงค่าการกลันรวม ่ หน่วย: เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล ค่าการกลันพื ่ น้ ฐาน
ค่าการกลันพื ่ น้ ฐาน ($/BBL) กาลังการกลัน่ (KBD)
9.00
113.82 110.03 111.64
100
2.44
50 6.00 3.00
8.18 1.32 0.20
6.49
-50 5.40
5.99
6.38
0.00
-200 Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560
2559
2560
6.49
-100 -150
3.22 0.13
0 6.66
Inventory Gain(Loss)
8.75
8.72
101.39 111.37
GRM Hedging
6.66
5.40
6.53 0.45 0.08
7.23 0.60 0.25
5.99
6.38
2559
2560
(0.20) Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำนสำหรับปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
12 |
ปริ มาณการจาหน่ ายผลิ ตภัณฑ์น้ามันรวมของบริ ษทั ฯ (ล้านลิ ตร) ธุรกิ จการตลาด Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560 YoY ค้าปลีก 921 934 1,002 9% อุตสาหกรรม 570 483 553 -3% รวม 1,492 1,417 1,555 4% ธุรกิ จค้าส่ง บริษทั น้ามันมาตรา 7 258 170 173 -33% ส่งออก 247 295 336 36% รวม 505 465 509 1% ปริ มาณการจาหน่ ายรวม 1,997 1,883 2,064 3%
QoQ 7% 14% 10%
FY2559 3,609 2,180 5,789
FY2560 3,820 2,196 6,016
YoY 6% 1% 4%
2% 14% 10% 10%
807 934 1,741 7,530
707 1,121 1,828 7,844
-12% 20% 5% 4%
หมายเหตุ: ปริมาณการจาหน่ายไม่รวมการแลกเปลีย่ นน้ ามันกับบริษทั น้ ามันมาตรา 7 และการจาหน่ายผลิตภัณฑ์น้ามันดิบ
ผลการดาเนินงานปี 2560 เทียบกับปี 2559 ของกลุ่มธุรกิจโรงกลันมี ่ EBITDA 7,596 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 1,839 ล้านบาท แบ่งเป็ น ของธุรกิจโรงกลันบริ ่ ษทั บางจากฯ 7,450 บาท ของบริษทั BCP Trading จากัด 37 ล้านบาท ส่วนแบ่งกาไรจากบริษทั บงกช มารีน เซอร์วสิ จากัด 4 ล้านบาท และมีรายการระหว่างกัน 105 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงานดังนี้ 1. โรงกลันบางจากฯ ่ มีอตั รากาลังการผลิตเฉลี่ยในปี 2560 อยู่ท่ี 111.37 พันบาร์เรลต่อวัน หรือคิดเป็ น 93% ของ กาลังการผลิตรวมของโรงกลัน่ ซึง่ สูงกว่าอัตราการผลิตเฉลีย่ ปี 2559 ทีม่ กี าร Turn Around Maintenance (TAM) 2. ค่าการกลันรวม ่ ในปี 2560 เท่ากับ 7.23 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิม่ ขึน้ 0.70 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากปี 2559 เนื่องจากค่าการกลันพื ่ น้ ฐาน (Market GRM) ในปี น้ีเพิม่ ขึน้ 12% จากอัตรากาลังการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ และจาก ส่วนต่างราคาน้ ามันสาเร็จรูปและน้ามันดิบอ้างอิงในทุกผลิตภัณฑ์ปรับตัวดีขน้ึ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์น้ ามันดีเซลที่ เป็ นผลิตภัณฑ์หลักของโรงกลันบางจากฯ ่ โดยส่วนต่างราคาน้ ามันดีเซล-ดูไบ (GO/DB) เพิม่ ขึน้ 16% จากปี ก่อน หน้ า ประกอบกับ การเดินเครื่องโรงไฟฟ้ า พลัง งานร่ว ม (Co-Gen) ขนาด 12 เมกะวัต ต์ ซึ่ง เป็ น ส่ว นหนึ่งของ โครงการ 3E ทาให้โรงกลันบางจากฯ ่ สามารถลดต้นทุนด้านสาธารณูปโภคได้มากขึน้ อีกทัง้ ในปี น้ธี ุรกิจโรงกลันยั ่ ง มีกาไรจากสัญญาซือ้ ขายน้ามันดิบและผลิตภัณฑ์น้ามันล่วงหน้า (GRM Hedging) 348 ล้านบาท 3. ธุรกิจโรงกลันมี ่ Inventory Gain ในปี 2560 จานวน 834 ล้านบาท สูงขึ้นจากปี 2559 จากระดับราคาน้ ามันดิบ เฉลีย่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยราคาเฉลีย่ น้ ามันดิบดูไบและราคาน้ ามันดิบเดทต์เบรนปรับเพิม่ ขึน้ 11.71 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล และ 10.46 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ตามลาดับ เมื่อเทียบกับปี 2559 4. บริษทั BCP Trading จากัด มีรายได้ 12,509 ล้านบาท ในปี 2560 โดยมีธุรกรรมการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์น้ามัน 5.69 ล้านบาร์เรล ซึ่งผลิตภัณฑ์หลักที่มกี ารซื้อขายได้แก่ ผลิตภัณฑ์น้ ามันดีเซล และน้ ามันเบนซินพื้นฐาน 95 ทัง้ นี้ บริษทั BCP Trading จะเป็ นส่วนสาคัญในการจัดหาและการซือ้ ขายน้ามันดิบและผลิตภัณฑ์น้ ามันสาเร็จรูปให้กลุ่ม ธุรกิจโรงกลันบริ ่ ษทั บางจากฯ ต่อไปในอนาคต ผลการดาเนินงาน Q4/2560 เทียบกับ Q3/2560 ของกลุ่มธุรกิจโรงกลันมี ่ EBITDA 2,256 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 58 ล้าน บาท แบ่งเป็ น ของธุรกิจโรงกลันบริ ่ ษทั บางจากฯ 2,196 ล้านบาท ของบริษทั BCP Trading จากัด 7 ล้านบาท ส่วนแบ่งกาไรจาก บริษทั บงกช มารีน เซอร์วสิ จากัด 7 ล้านบาท มีรายการระหว่างกัน 46 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงานดังนี้ 1. โรงกลันบางจากฯ ่ มีอตั รากาลังการผลิตเฉลี่ยใน Q4/2560 อยู่ท่ี 111.64 พันบาร์เรลต่อวัน สูงขึ้นเล็กน้อยจาก Q3/2560 ทีม่ เี หตุขดั ข้องของหน่วยแตกโมเลกุลด้วยไฮโดรเจน (Hydrocracking Unit)
2. ค่าการกลันรวม ่ ใน Q4/2560 เท่ากับ 8.75 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิม่ ขึน้ 0.57 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จาก Q3/2560 ขณะที่ค่าการกลันพื ่ ้นฐาน (Market GRM) ใน Q4/2560 ลดลง สาเหตุ จากส่วนต่ างราคาน้ ามัน สาเร็จรูปและน้ ามันดิบอ้างอิงในผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ทป่ี รับลดลง ประกอบกับต้นทุนราคาน้ามันดิบเพิม่ สูงขึน้ จาก ส่วนต่างราคาน้ามันดิบเดทต์เบรนกับราคาน้ ามันดิบดูไบ (DTD/DB) ในไตรมาสเฉลีย่ อยู่ท่ี 1.95 เหรียญสหรัฐฯต่อ บาร์เรล ขณะที่ Q3/2560 เฉลี่ยอยู่ท่ี 1.65 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตามในไตรมาสนี้ ธุรกิจโรงกลันมี ่ กาไรจากสัญญาซือ้ ขายน้ามันดิบและผลิตภัณฑ์น้ามันล่วงหน้า (GRM Hedging) 46 ล้านบาท 3. ธุรกิจโรงกลันมี ่ Inventory Gain ใน Q4/2560 1,094 ล้านบาท สูงขึ้นอย่างมากจาก Q3/2560 จากระดับราคา น้ ามันดิบเฉลี่ยที่เพิม่ ขึน้ โดยราคาเฉลี่ยน้ ามันดิบดูไบและราคาน้ ามันดิบเดทต์เบรน ปรับเพิม่ ขึน้ 8.88 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และ 9.18 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ตามลาดับ เมื่อเทียบกับ Q3/2560 4. บริษัท BCP Trading มีรายได้ 4,089 ล้านบาท ใน Q4/2560 โดยมีธุรกรรมการซื้อขายผลิตภัณฑ์น้ ามันทัง้ สิน้ 1.82 ล้านบาร์เรล เพิม่ ขึน้ อย่างมากจาก Q3/2560 ทีม่ ธี ุรกรรมการซือ้ ขาย 0.89 ล้านบาร์เรล
2.) กลุ่มธุรกิ จการตลาด ผลการดาเนิ นงานกลุ่มธุรกิ จการตลาด ปริ มาณการจาหน่ าย Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560 YoY (ล้านลิตร) ค้าปลีก 921 934 1,002 9% อุตสาหกรรม 570 483 553 -3% รวม 1,492 1,417 1,555 4% ปริ มาณการจาหน่ ายจาแนกตามผลิ ตภัณฑ์เฉพาะธุรกิ จการตลาด (ล้านลิตร) ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว 14 23 25 80% แก๊สโซลีน 11 7 8 -25% แก๊สโซฮอล์ 416 427 442 6% น้ามันเครือ่ งบิน 225 200 209 -7% น้ามันดีเซล 771 714 825 7% น้ามันเตา และอื่นๆ 55 47 46 -17% รวม 1,492 1,417 1,555 4% ค่าการตลาดรวม (บาท/ลิตร) 0.56 0.73 0.70 26% EBITDA (ล้านบาท) (3) 474 302 N/A
QoQ
FY2559
FY2560
YoY
7% 14% 10%
3,609 2,180 5,789
3,820 2,196 6,016
6% 1% 4%
11% 13% 4% 5% 15% -3% 10% -5% -36 %
73 42 1,650 822 2,992 211 5,789 0.79 2,527
77 43 1,688 841 3,171 196 6,016 0.77 2,301
6% 3% 2% 2% 6% -7% 4% -2% -9%
หมายเหตุ: ค่าการตลาด เฉพาะส่วนของบริษทั บางจากฯ
ผลการด าเนิ น งานปี 2560 เที ย บกั บ ปี 2559 ของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ การตลาดมี EBITDA 2,301 ล้ า นบาท ลดลง 226 ล้านบาท โดยแบ่งเป็ น ของธุรกิจการตลาดบริษทั บางจากฯ 2,497 ล้านบาท ของบริษทั บางจาก กรีนเนท จากัด 94 ล้าน บาท ของบริษทั บางจาก รีเทล จากัด -229 ล้านบาท มีตดั รายการระหว่างกัน 62 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงาน ดังนี้
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
14
1. ในปี 2560 ปริม าณการจ าหน่ ายรวมของธุ ร กิจ การตลาดเพิ่มขึ้น 227 ล้า นลิต ร โดยหลัก มาจากปริมาณการ จาหน่ ายในตลาดค้าปลีกทีโ่ ตขึน้ 6% จากการเน้นการจาหน่ ายผ่านสถานีบริการเป็ นหลัก บริษทั ฯดาเนินกลยุทธ์ ทางการตลาดด้านต่างๆ รวมถึงการขยายสถานีบริการให้ครอบคลุม และการพัฒนาธุรกิจ Non – Oil เพื่อผลักดัน ยอดขาย โดยปริมาณการจาหน่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ ส่วนใหญ่มาจากผลิตภัณฑ์น้ามันดีเซลและแก๊สโซฮอล์ 95 2. ค่าการตลาดรวมในปี 2560 ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า จากการแข่งขันในตลาดทีส่ งู ขึน้ กระทบต่อ ค่า การตลาดรวม ทัง้ นี้ส่วนหนึ่งมาจากต้นทุนผลิตภัณฑ์น้ ามันหล่อลื่นในปี 2560 ทีป่ รับตัวสูงขึน้ ในขณะทีบ่ ริษทั ไม่ สามารถปรับราคาจาหน่ายน้ามันหล่อลื่นได้ตามต้นทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ 3. จานวนสถานีบริการน้ ามัน ณ สิน้ ปี 2560 มีจานวนทัง้ สิน้ 1,114 สาขา โดยมีการเปิ ดสถานีบริการใหม่จานวน 62 สาขา ส่วนใหญ่เป็ นสถานีบริการขนาดใหญ่ เน้นภาพลักษณ์ท่ที นั สมัย บนถนนสายหลักและทาเลที่มศี กั ยภาพ พร้อมทัง้ ปรับปรุงคุณภาพของสถานีบริการน้ ามัน ที่มีอยู่เดิมให้ดีข้นึ เพื่อ ผลักดันยอดขายต่ อสถานีบริการให้ เพิม่ ขึน้ แต่ยงั คงมีการปิ ดสถานีบริการทีม่ ยี อดขายต่ากว่าเป้ าหมาย 4. บริษทั ฯ มีส่วนแบ่งการตลาดด้านปริมาณการจาหน่ ายน้ ามันผ่านสถานีบริการอยู่ในอันดับที่ 2 และเพิม่ ขึน้ อย่าง ต่อเนื่อง โดยส่วนแบ่งการตลาดสะสมปี 2560 อยู่ท่ี 15.4% เพิม่ ขึน้ จาก 15.1 % ในปี 2559 5. ด้านธุรกิจ Non – oil บริษัทฯ ยังคงพัฒนา และขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิม่ ความหลากหลายของธุ รกิจ Non – oil และบริการต่างๆ ในสถานีบริการ รวมถึงธุรกิจร้านสะดวกซือ้ SPAR และร้านกาแฟอินทนิลทีอ่ ยู่ภายใต้ การดูแลของ บริษทั บางจาก รีเทล จากัด เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของผูบ้ ริโภคให้ได้รบั ความสะดวกสบาย มากยิง่ ขึน้ เมื่อเข้ามาใช้บริการในสถานีบริการน้ามันบางจาก โดย ณ สิน้ ปี 2560 มีจานวนสาขาร้านกาแฟอินทนิล ทัง้ สิน้ 446 สาขา และ SPAR 33 สาขา แต่เนื่องจากบริษทั บางจาก รีเทล จากัด อยู่ระหว่างการพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐาน และการขยายสาขาของธุรกิจ SPAR ให้เพียงพอ จึงมีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการอยู่ในระดับค่อนข้าง สูงในระยะเริม่ ต้น ทาให้บริษทั บางจาก รีเทล จากัด มี EBITDA ติดลบ ผลการดาเนินงาน Q4/2560 เทียบกับ Q3/2560 ของกลุ่มธุรกิจการตลาดมี EBITDA 302 ล้านบาท ลดลง 172 ล้านบาท แบ่งเป็ น ของธุรกิจการตลาดบริษทั บางจากฯ 384 ล้านบาท ของบริษทั บางจาก กรีนเนท จากัด 6 ล้านบาทของบริษทั บางจาก รีเทล จากัด -86 ล้านบาท มีตดั รายการระหว่างกัน 3 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงานดังนี้ 1. ใน Q4/2560 ปริมาณการจาหน่ ายรวมของธุรกิจการตลาดเพิม่ ขึน้ ทัง้ จากตลาดอุตสาหกรรมและตลาดค้าปลีก ตามปริมาณความต้องการใช้น้ ามันในประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ จากปั จจัยด้านฤดูกาล เนื่องจากในไตรมาสเป็ น ฤดูกาล แห่งการเดินทางท่องเทีย่ ว อีกทัง้ ยังเป็ นช่วงฤดูกาลเก็บเกีย่ วพืชผลของกลุ่มลูกค้าเกษตกร และธุรกิจเกีย่ วเนื่อง โดยปริมาณการจาหน่ายผลิตภัณฑ์น้ามันดีเซลและผลิตภัณฑ์น้ามันในกลุ่มแก๊สโซฮอล์ปรับเพิม่ ขึน้ 15% และ 4% ตามลาดับ 2. ค่าการตลาดรวมใน Q4/2560 ลดลงเล็กน้ อยเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้ า จากค่าการตลาดค้าปลีกที่ลดลง เนื่องจากระดับต้นทุนผลิตภัณฑ์ทส่ี งู ขึน้ ประกอบกับลดราคาขายปลีกน้ ามัน 1.50 บาท/ลิตร ในวันที่ 26 ตุลาคม 2560 เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายสาหรับประชาชนผูท้ เ่ี ดินทางมาร่วมถวายความอาลัยในพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระ บรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และนโยบายการตรึงราคาน้ ามันช่วง เดือนธันวาคมเพื่อเป็ นของขวัญให้ผบู้ ริโภคสาหรับการเดินทางท่องเทีย่ วช่วงเทศกาลปี ใหม่ 3. จานวนสถานีบริการ ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2560 มีจานวนทัง้ สิน้ 1,114 สถานี เพิม่ ขึน้ 21 แห่งจากไตรมาสก่อน หน้า คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
15
4. บริษัทฯ ยังคงรักษาส่วนแบ่งการตลาดด้านปริมาณการจาหน่ ายน้ ามันผ่านสถานีบริการได้ในอันดับที่ 2 ในไตร มาสสุดท้ายของปี 2560 มีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ในระดับทีส่ งู โดยส่วนแบ่งการตลาดในเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2560 อยู่ท่ี 16.2%, 15.8% และ 15.7% ตามลาดับ 5. โดยปกติในไตรมาสนี้ จะมีค่ าใช้จ่ายในการขายและบริห ารที่เ พิ่ม สูงขึ้น จากค่ า ใช้จ่า ยเกี่ยวกับบุ คลากร และ ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการตลาดรวมถึงค่าซ่อมบารุงสถานีบริการประจาปี ส่งผลให้ EBITDA ในไตรมาสนี้น้อยกว่าไตร มาสอื่นของปี
3.) กลุ่มธุรกิ จผลิ ตไฟฟ้ า ผลการดาเนิ นงานกลุ่มธุรกิ จผลิ ตไฟฟ้ า ธุรกิจผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ - ประเทศไทย โครงกำรระยะที ่ 1-3 (118 MW) โครงกำรโซลำร์สหกรณ์ (12 MW) ธุรกิจผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ - ประเทศ ญีป่ นุ่ (30 MW) รวมปริ มาณการจาหน่ ายไฟฟ้ า (กิโลวัตต์-ชัวโมง) ่ รายได้จากการขายและการให้บริ การ (ล้านบาท) EBITDA
Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560 63.02 65.38 65.72 62.66 60.69 61.02 0.36 4.69 4.70
YoY 4% -3% N/A
QoQ 1% 1% 0.1%
FY2559 254.40 254.03 0.36
4.90
12.85
7.23
47%
-44%
19.48
67.93 757 568
78.24 854 781
72.95 781 812
7% 3% 43%
-7% -9% 4%
273.88 3,084 2,559
FY2560 265.17 247.72 17.45
YoY 4% -2% N/A
41.24 112% 306.40 3,322 3,088
12% 8% 21%
ผลการดาเนินงานปี 2560 เทียบกับ ปี 2559 ธุรกิจผลิตไฟฟ้ ามีรายได้ 3,322 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 238 ล้านบาท และมี EBITDA 3,088 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 528 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงาน ดังนี้ 1. โครงการผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทย มีปริมาณการจาหน่ ายไฟฟ้ าเพิม่ ขึน้ จากการรับรูผ้ ลการ ดาเนินงานของโครงการ Solar Co-op (กาลังการผลิตไฟฟ้ าตามสัญญา 12 เมกะวัตต์) ซึง่ เริม่ ทยอยเปิ ดดาเนินการ เชิงพาณิชย์ ตัง้ แต่เดือน ธันวาคม 2559 ถึง มีนาคม 2560 ทาให้โครงการในประเทศไทยมีกาลังการผลิตไฟฟ้ า ตามสัญญารวมเพิม่ ขึน้ เป็ น 130 เมกะวัตต์ จากเดิม 118 เมกะวัตต์ สาหรับปริมาณการจาหน่ ายไฟฟ้ าเฉพาะของ โครงการระยะที่ 1 – 3 ในประเทศไทย ในปี น้ี ปรับลดลงเล็กน้อย (-2%) จากค่าความเข้มแสงเฉลีย่ ทีป่ รับลดลง ตามปริมาณฝนทีต่ กมากขึน้ กว่าปี 2559 2. โครงการผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ ่ ุนมีปริมาณการจาหน่ ายไฟฟ้ าเพิม่ ขึน้ จากการรับรูผ้ ลการ ดาเนินการเต็มปี ของโครงการ Nikaho (กาลังการผลิตตามสัญญา 8.8 เมกะวัตต์) ทีเ่ ปิ ดดาเนินการในเดือน ก.ค. 2559 และผลการดาเนินงานของโครงการ Nagi (กาลังการผลิตตามสัญญา 10.5 เมกะวัตต์) ทีเ่ ริม่ เปิ ดดาเนินการ ในเดือน มี.ค. 2560 ทาให้โครงการในประเทศญีป่ ่ นุ มีกาลังการผลิตไฟฟ้ าตามสัญญารวมเพิม่ ขึน้ เป็ น 30 เมกะวัตต์ จากเดิม 20 เมกะวัตต์ ณ สิน้ ปี 2559 3. รับ รู้ส่ว นแบ่ งก าไรจากเงิน ลงทุน ในบริษัทร่ วม 749 ล้า นบาท โดยเป็ น ของโรงไฟฟ้ า พลัง งานลม ในประเทศ ฟิ ลปิ ปิ นส์ 341 ล้านบาท (กาลังการผลิตติดตัง้ คิดเป็ นส่วนของ บีซพี จี ี 14.4 เมกะวัตต์) โดยแบ่งเป็ นกาไรจากการ เข้าซือ้ กิจการ 362 ล้านบาท และส่วนแบ่งกาไรจากการดาเนินงาน -21 ล้านบาท และส่วนแบ่งกาไรจากโรงไฟฟ้ า พลังงานความร้อนใต้พภิ พ ในประเทศอินโดนีเซีย 408 ล้านบาท (กาลังการผลิตติดตัง้ คิดเป็ นส่วนของ บีซพี จี ี 158 เมกะวัตต์) โดยแบ่งเป็ นกาไรจากการเข้าซือ้ กิจการ 296 ล้านบาท และส่วนแบ่งกาไรจากการดาเนินงาน 113 ล้าน บาท
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
16
4. มีขาดทุนจากสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 304 ล้านบาท เนื่องจากได้ทาสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศเพื่อป้ องกันความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น เพื่อใช้ในการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้ า พลัง งานลมประเทศฟิ ลิปปิ น ส์ และโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนใต้พิภพในประเทศอินโดนี เ ซีย แต่ เนื่องจากเงินสกุลบาทแข็งค่าขึน้ ทาให้เกิดขาดทุนจากการแปลงค่าตามสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า อย่างไรก็ตาม ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึน้ ยังทาให้มี กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 72 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ มี หนี้สนิ ที่เป็ นสกุลต่างประเทศทัง้ ในสกุลเยนและเหรียญสหรัฐ ส่งผลให้หนี้สนิ ลดลงจากการแปลงค่า ณ สิน้ งวด บัญชี ผลการดาเนินงาน Q4/2560 เทียบกับ Q3/559 ธุรกิจผลิตไฟฟ้ ามีรายได้ 781 ล้านบาท ลดลง 73 ล้านบาท และมี EBITDA 812 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 31 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงาน ดังนี้ 1. โครงการผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ประเทศไทยมีปริมาณการจาหน่ ายไฟฟ้ า ใกล้เคียงกับไตรมาสก่อนหน้า ทัง้ ในโครงการระยะที่ 1 – 3 และโครงการ Solar Co-op ถึงแม้ความเข้มแสงจะลดลงในช่วงฤดูหนาวซึง่ มีปริมาณ แสงน้อยทีส่ ดุ ของปี แต่อุณหภูมทิ เ่ี ย็นลงทาให้ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้ าดีขน้ึ 2. โครงการผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศญี่ป่ ุน มีปริมาณการจาหน่ ายไฟฟ้ าลดลง ซึง่ เป็ นสาเหตุหลัก ของรายได้ท่ลี ดลงในไตรมาสนี้ เนื่องจากค่าความเข้มแสงเฉลี่ยของทุกโครงการที่ต่ าลง โดยเฉพาะโครงการ Nikaho (กาลังการผลิตไฟฟ้ าตามสัญญา 8.8 เมกะวัตต์) จากสภาพอากาศในช่วงฤดูหนาวในประเทศญี่ป่ ุน ซึง่ มี ปริมาณแสงน้อย และมีหมิ ะตก 3. รับรูส้ ว่ นแบ่งกาไรจากการลงทุนในโรงไฟฟ้ าพลังงานลม ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ และโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนใต้ พิภพ ในประเทศอินโดนีเซีย จานวน 301 ล้านบาท
4.) กลุ่มธุรกิ จผลิ ตภัณฑ์ชีวภาพ ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2560 บริษทั ฯ ได้มกี ารปรับโครงสร้างการถือหุน้ ในกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ โดยการควบรวม บริษทั ระหว่างบริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด (บริษทั ย่อยของบริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)) กับบริษทั เคเอสแอลจี ไอ จากัด (บริษทั ย่อยของบริษทั น้าตาลขอนแก่น จากัด (มหาชน) โดยมีบริษทั บีบจี ไี อ จากัด เป็ นบริษทั ใหม่ทเ่ี กิดจากการควบ รวมบริษทั ดังกล่าว และส่งผลให้โครงสร้างการถือหุน้ ในกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพของบริษทั ฯ ในปั จจุบนั เป็ นดังนี้
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
17
สาหรับผลการดาเนินงานกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพในปี 2560 มีรายได้รวม 8,073 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 980 ล้านบาท มี EBITDA รวม 529 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 203 ล้านบาท โดยในปี 2560 รับรูส้ ่วนแบ่งกาไรจากบริษทั อุบลไบโอเอทานอล จากัด 62 ล้านบาท และจากการควบรวมบริษทั ทาให้รบั รูผ้ ลการดาเนินงานของบริษัท เคเอสแอล กรีน อินโนเวชัน่ จากัด (มหาชน) เพียง 2 เดือน (เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2560) ซึง่ มี EBITDA 21 ล้านบาท ส่วนใน Q4/2560 กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ มีรายได้รวม 2,365 ล้านบาท มี EBITDA รวม 132 ล้านบาท และมีสว่ น แบ่งกาไรจากบริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จากัด 16 ล้านบาท ธุรกิ จไบโอดีเซล โดยบริษทั บางจากไบโอฟูเอล จากัด ผลการดาเนิ นงานของธุรกิ จไบโอดีเซล โดยบริ ษทั บางจากไบโอฟูเอล จากัด อัตราการผลิตเฉลีย่ (พันลิตรต่อวัน) อัตรากาลังการผลิต (%) ปริมาณการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ B100 (ล้านลิตร) รายได้จากการขาย (ล้านบาท) EBITDA (ล้านบาท)
Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560 398 689 748 49% 85% 92% 39 63 72 1,189 1,653 1,745 70 68 82
YoY 88%
QoQ 9%
84% 47% 17%
15% 6% 21%
-26% -32%
-6% -9%
FY2559 FY2560 406 670 80% 83% 215 249 6,830 6,699 262 260
YoY 65% 16% -2% -1%
ราคาขายเฉลี่ยผลิ ตภัณฑ์ (ข้อมูลอ้างอิง: กรมธุรกิจพลังงาน) ผลิตภัณฑ์ B100 (บาทต่อลิตร) น้ามันปาล์มดิบ (CPO) (บาทต่อกิโลกรัม)
33.58 30.13
26.39 22.40
24.79 20.49
35.11 31.95
28.80 24.85
-18% -22%
ผลการดาเนินงานปี 2560 เทียบกับปี 2559 ธุรกิจไบโอดีเซลมีรายได้จากการขาย 6,699 ล้านบาท ลดลง 131 ล้านบาท และมี EBITDA 260 ล้านบาท ลดลง 2 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงาน ดังนี้ 1. ในปี 2560 มีอตั รากาลังการผลิตเฉลีย่ 670 พันลิตรต่อวัน (+65%) จากการดาเนินงานเต็มปี ของโรงงานผลิตไบโอ ดีเซลแห่งที่ 2 ซึง่ เปิ ดดาเนินการเชิงพาณิชย์ตงั ้ แต่เดือนกรกฎาคม 2559 ทาให้มกี าลังการผลิตสูงสุดเพิม่ ขึน้ เป็ น 810 พันลิตรต่อวัน จากเดิม 360 พันลิตรต่อวัน 2. ปริมาณการจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ B100 เพิม่ ขึน้ 34 ล้านลิตร เนื่องจากในปี 2560 ภาครัฐกาหนดสัดส่วนการผสม ผลิตภัณฑ์ B100 ในน้ามันดีเซลในปริมาณทีม่ ากขึน้ ดังนี้ สัดส่วนการผสม B100
สัดส่วนการผสม 7%
สัดส่วนการผสม 5%
สัดส่วนการผสม 3%
ปี 2560
238 วัน
127 วัน
0 วัน
ปี 2559
206 วัน
68 วัน
92 วัน
3. ราคาขายเฉลีย่ ผลิตภัณฑ์ B100 ปรับลดลงมากจากปี ก่อนหน้า เป็ นสาเหตุหลักทีท่ าให้รายได้ของธุรกิจไบโอดีเซล ลดลง ซึง่ เป็ นไปตามทิศทางเดียวกับราคาน้ามันปาล์มดิบทีต่ ่าลง โดยในปี 2560 สถานการณ์ราคาปาล์มน้ามันใน ประเทศยังตกต่ า และปรับลดลงต่อเนื่องตัง้ แต่ต้นปี จากผลผลิตปาล์มน้ ามันทีม่ มี ากขึน้ เนื่องจากสภาพอากาศที่ เอือ้ อานวยต่อผลผลิตปาล์ม ประกอบกับสต๊อกน้ ามันปาล์มดิบในประเทศอยู่ในระดับสูงมากในช่วงปลายปี ส่งผล กระทบต่อราคาขายเฉลีย่ ผลิตภัณฑ์ B100 และต้นทุนน้ามันปาล์มดิบ
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
18
4. ก าไรขัน้ ต้ น เฉลี่ย ต่ อ หน่ ว ยของผลิต ภัณฑ์ B100 ปรับ ลดลง เนื่ อ งจากราคาขายเฉลี่ย ที่ล ดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ ราคาน้ ามันปาล์มดิบทีต่ กต่ าตลอดทัง้ ปี ยังส่งผลให้มี Inventory Loss 224 ล้านบาท (รวมรายการค่า เผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ (LCM) 8 ล้านบาท) สาหรับผลการดาเนินงาน Q4/2560 เทียบกับ Q3/2560 ธุรกิจไบโอดีเซลมีรายได้จากการขาย 1,745 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 92 ล้านบาท และมี EBITDA 82 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 14 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงาน ดังนี้ 1. ปริมาณการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ B100 เพิม่ ขึน้ 9 ล้านลิตร และทาให้อตั ราการผลิตเฉลีย่ ปรับเพิม่ ขึน้ ด้วย โดยหลัก เป็ นผลมาจากปริมาณการสังซื ่ อ้ ผลิตภัณฑ์ B100 ทัง้ จากบริษทั บางจากฯ และลูกค้ารายอื่นๆ เพิม่ ขึน้ เมื่อเทียบ กับไตรมาสก่อนหน้า ตามปริมาณการจาหน่ ายน้ ามันดีเซลในประเทศที่มากขึน้ เนื่องมาจากเป็ นช่วงเทศกาล ท่องเทีย่ ว ประกอบกับเริม่ เข้าสูฤ่ ดูหบี อ้อยของโรงงานน้าตาล ทาให้มตี อ้ งการใช้น้ามันดีเซลในประเทศสูงขึน้ 2. กาไรขัน้ ต้นเฉลี่ยต่อหน่ วยของผลิตภัณฑ์ B100 ปรับเพิม่ ขึน้ จากการใช้อตั ราการผลิตมากขึน้ ทาให้ต้นทุนต่อ หน่ วยต่ าลง ทัง้ นี้ ราคาขายเฉลี่ยผลิตภัณฑ์ B100 ปรับลดลงจากไตรมาสก่อน จากปั ญหาราคาน้ ามันปาล์มดิบ เนื่องจากภาวะปาล์มน้ ามันล้นตลาด ทาให้ธุรกิจไบโอดีเซลมี Inventory Loss 84 ล้านบาท (รวมรายการค่าเผื่อ การลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ (LCM) 8 ล้านบาท) ธุรกิ จเชื้อเพลิ งเอทานอล โดยบริษทั บางจากไบโอเอทานอล (ฉะเชิ งเทรา) จากัด ผลการดาเนิ นงานของธุรกิ จเชื้อเพลิ งเอทานอล โดยบริ ษทั บางจากไบโอเอทานอล (ฉะเชิ งเทรา) จากัด อัตราการผลิตเฉลีย่ (พันลิตรต่อวัน) อัตรากาลังการผลิต (%) ปริมาณการจาหน่ายเอทานอล (ล้านลิตร) รายได้จากการขาย (ล้านบาท) EBITDA (ล้านบาท)
Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560 125 129 131 83% 86% 88% 11.1 11.1 12.3 263 279 303 46 74 55
ราคาขายเฉลี่ยผลิ ตภัณฑ์ (ข้อมูลอ้างอิง: กรมธุรกิจพลังงาน) เอทานอล (บาทต่อลิตร) 23.11
25.13
24.91
YoY 5%
QoQ 2%
11% 15% 20%
11% 9% -27%
8%
-1%
FY2559 FY2560 YoY 125 120 -4% 83% 80% 11.1 42.7 286% 263 1,057 302% 42 228 439%
23.12
24.79
7%
ผลการดาเนินงานปี 2560 เทียบกับ ปี 2559 ธุรกิจเชือ้ เพลิงเอทานอล ของบริษทั บางจากไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด มีรายได้ 1,057 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 794 ล้านบาท และมี EBITDA 228 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 186 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผล ต่อการดาเนินงาน ดังนี้ 1. ปริมาณการจาหน่ ายผลิตภัณฑ์เชือ้ เพลิงเอทานอลเพิม่ ขึน้ เนื่องจากในปี 2560 มีการรับรูผ้ ลการดาเนินงานเต็มปี จากโรงงานเอทานอล ของบริษทั บางจากไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด ซึง่ เปิ ดดาเนินการเชิงพาณิชย์ใน เดือนกันยายน 2559 2. อัตราการผลิตเฉลี่ยต่ อวัน ในปี 2560 ปรับลดลงจากปี ก่อ นหน้ า เนื่องจากมีการหยุดซ่ อมบารุงประจ าปี ตาม แผนงาน ขณะทีใ่ นปี 2559 โรงงานเอทานอลมีการดาเนินงานเพียง 4 เดือน จึงไม่มกี ารหยุดซ่อมบารุงประจาปี
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
19
3. ราคาขายเฉลีย่ ผลิตภัณฑ์เอทานอลในปี น้ีท่ปี รับเพิม่ ขึน้ 7% จากความต้องการใช้เอทานอลในประเทศทีม่ ากขึน้ ตามปริมาณการจาหน่ายผลิตภัณฑ์แก๊สโซฮอลล์ E20 และ E85 ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากปี ก่อน ประกอบกับราคากากน้าตาล ซึ่งเป็ นวัตถุดบิ หลักในการผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลในประเทศ ปรับเพิม่ ขึน้ จากผลผลิตอ้อยในปี น้ีท่อี อกสู่ตลาด น้อยลง 4. กาไรขัน้ ต้นต่อหน่ วยของผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเอทานอลปรับเพิม่ ขึน้ จากราคาขายเฉลี่ยผลิตภัณฑ์เอทานอลที่ สูงขึน้ ในขณะที่ราคามันสาปะหลัง ซึง่ เป็ นต้นทุนวัตถุดบิ ของบริษทั บางจากไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด ปรับลดลงในช่วง 9 เดือนแรกของปี น้ี จากเปอร์เซ็นต์แป้ งในหัวมันทีล่ ดลง ประกอบกับประเทศจีนซึง่ เป็ นผูน้ าเข้า รายใหญ่ กดดันราคารับซือ้ มันเส้น และแป้ งมันจากประเทศไทย ผลการดาเนินงาน Q4/2560 เทียบกับ Q3/2560 ธุรกิจเชือ้ เพลิงเอทานอลมีรายได้จากการขาย 303 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 24 ล้านบาท และมี EBITDA 55 ล้านบาท ลดลง 20 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงาน ดังนี้ 1. ปริมาณการจาหน่ ายผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเอทานอลปรับเพิม่ ขึน้ โดยหลักเป็ นผลมาจากปริมาณการสังซื ่ ้อ จาก บริษทั บางจากฯ ซึง่ เป็ นผูซ้ อ้ื รายใหญ่ เพิม่ ขึน้ เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ตามปริมาณการจาหน่ายน้ามันกลุ่ม แก๊สโซฮอลล์ของบริษทั ฯทีม่ ากขึน้ 2. กาไรขัน้ ต้นต่อหน่ วยของผลิตภัณฑ์เชือ้ เพลิงเอทานอลปรับลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อน ส่วนหนึ่งเนื่องมาจาก ราคาขายเฉลี่ยผลิตภัณฑ์เ อทานอลที่ลดลงเล็กน้ อย ในขณะที่ต้นทุนวัตถุ ดิบเฉลี่ย ปรับเพิ่มขึ้น จากราคามัน สาปะหลังที่สูงขึน้ อย่างรวดเร็วในช่วงเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม จากปริมาณผลผลิตมันที่ออกสู่ตลาดไม่ เพียงพอกับความต้องการใช้ เนื่องจากเป็ นช่วงต้นฤดูกาลเก็บเกีย่ ว 3. ทัง้ นี้ ใน Q4/2560 บริษัท บางจากไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารสูงขึน้ จากค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงสิง่ แวดล้อมในโรงงานให้ดขี น้ึ ซึง่ เป็ นค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ ครัง้ เดียว
5.) กลุ่มธุรกิ จทรัพยากรธรรมชาติ สาหรับผลการดาเนินงานธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติในปี 2560 มี EBITDA 286 ล้านบาท โดยหลักเป็ นของธุรกิจสารวจ และผลิต โดยมีผลการดาเนินงานดังนี้ ธุรกิ จสารวจและผลิ ต โดย บริษทั Nido Petroleum Limited ผลการดาเนิ นงานของธุรกิ จสารวจและ Q4/2559 ผลิ ตปิ โตรเลียม กาลังการผลิต1/ (บาร์เรลต่อวัน เฉพาะสัดส่วนของ NIDO) ปริมาณการจาหน่าย (บาร์เรล เฉพาะสัดส่วนของ NIDO) รายได้จากการขาย (ล้านบาท) EBITDA (ล้านบาท)
Q3/2560
Q4/2560
YoY
2,631
2,156
2,045
-22%
203,224
203,807
206,052
327
336
71
44
QoQ
FY2559
FY2560
YoY
-5%
2,860
2,231
-22%
1%
1%
996,657
820,560
-18%
388
19%
16%
1,503
1,510
0.5%
25
-65%
-44%
323
295
-9%
หมายเหตุ: 1/ เฉพาะกาลังการผลิตในแหล่งผลิตน้ามันดิบ Galoc เท่านัน้
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
20
ผลการดาเนินงานปี 2560 เทียบกับ ปี 2559 ธุรกิจสารวจและผลิตมีรายได้ 1,510 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 7 ล้านบาท และมี EBITDA 295 ล้านบาท ลดลง 28 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงานดังนี้ 1. ในปี 2560 แหล่งผลิตน้ ามันดิบ Galoc มี Uptime 99.95% และมีอตั ราการผลิตเฉลี่ย 3,993 บาร์เรลต่อวัน (คิด เป็ นสัดส่วนของ Nido เท่ากับ 2,231 บาร์เรลต่อวัน ลดลงจากปี ก่อน 22% ตาม Natural decline curve 2. ปริมาณการจาหน่ายรวมคิดเป็ นสัดส่วนของ Nido เท่ากับ 820,560 บาร์เรล (Galoc จานวน 787,250 บาร์เรล และ Nido & Matinloc 33,310 บาร์เรล) 3. รายได้จากการขายเพิม่ ขึน้ เนื่องจากราคาน้ ามันดิบดูไบปรับตัวเพิ่มขึน้ โดยเฉลี่ยปี 2560 อยู่ท่ี 53.14 เหรียญ สหรัฐฯต่อบาร์เรล ขณะทีป่ ี 2559 อยู่ท่ี 41.43 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล 4. รายการค่ า เผื่อ ผลขาดทุ น จากการด้อ ยค่ า สิน ทรัพ ย์ ต ามมาตรฐานบัญ ชี จ านวน 45.03 ล้า นเหรีย ญสหรัฐฯ (ประมาณ 1,528 ล้านบาท) จากการบันทึกด้อยค่าของสินทรัพย์ในพืน้ ที่ Gurita และการหยุดแผนการพัฒนาการ ผลิตน้ ามันดิบในพืน้ ที่ Mid-Galoc เนื่องจากการพัฒนาดังกล่าวไม่คุ้มค่าในเชิงพาณิชย์ รวมถึงจากการประเมิน ปริมาณน้ามันสารองของแหล่งทรัพยากรในพืน้ ที่ Galoc ซึง่ ลดลงจากปี ก่อน ผลการดาเนินงาน Q4/2560 เทียบกับ Q3/2560 ธุรกิจสารวจและผลิตมีรายได้ 388 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 53 ล้านบาท และ มี EBITDA 25 ล้านบาท ลดลง 19 ล้านบาท โดยมีปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการดาเนินงานดังนี้ 1. แหล่งผลิตน้ามันดิบ Galoc มี Uptime 100% และมีอตั ราการผลิตเฉลีย่ 3,659 บาร์เรลต่อวัน (คิดเป็ นสัดส่วนของ Nido เท่ากับ 2,045 บาร์เรลต่อวัน) 2. ปริมาณการจาหน่ายรวมคิดเป็ นสัดส่วนของ Nido เท่ากับ 206,052 บาร์เรล (Galoc จานวน 196,961 บาร์เรล และ Nido & Matinloc 9,091 บาร์เรล) 3. รายได้จากการขาย 388 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ เนื่องจากราคาขายเฉลีย่ ปรับตัวเพิม่ ขึน้ ตามราคาน้ามันดิบดูไบโดยเฉลีย่ Q4/2560 อยู่ท่ี 59.32 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล ขณะที่ Q3/2560 อยู่ท่ี 50.49 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล 4. รายการค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ 1.86 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 63.30 ล้านบาท) จากการ ประเมินปริมาณน้ามันสารองของแหล่งทรัพยากรในพืน้ ที่ Galoc ซึง่ ลดลงจากปี ก่อน
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
21
งบแสดงฐานะการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย แสดงฐานะการเงิ นของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย 114,110 101,783 เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อื่น ทีด่ นิ อาคาร และ อุปกรณ์
19,287 14,560 10,303 11,170 46,462
31 ธ.ค. 59
10,106 15,720 10,465 29,770
114,110 101,783 21,651 22,379 36,857 32,143 3,353
48,049
31 ธ.ค. 60
หน่วย: ล้านบาท
3,470
43,909
52,132
31 ธ.ค. 59
31 ธ.ค. 60
หนี้สนิ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กู้ (รวมทีถ่ งึ กาหนดชาระ ใน 1 ปี ) หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น ส่วนของผูถ้ อื หุน้
สิ นทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษทั ย่อย มีสนิ ทรัพย์รวม 114,110 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 12,328 ล้านบาท เมื่อ เทียบกับ ณ 31 ธันวาคม 2559 โดยรายการสินทรัพย์หลักทีเ่ ปลีย่ นแปลง มีดงั นี้ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง 9,181 ล้านบาท โปรดดูรายการวิเคราะห์งบกระแสเงินสด ลูกหนี้การค้า -สุทธิ เพิ่มขึ้น 1,489 ล้านบาท โดยหลักมาจากลูกหนี้การค้า บริษัทฯ เพิ่มขึ้น 194 ล้านบาท จาก ปริมาณการจาหน่ ายและราคาขายของผลิตน้ ามันสาเร็จรูปทีเ่ พิม่ สูงในขึน้ ในปี 2560 และลูกหนี้การค้าของบริษทั บริษทั BCP Trading Pte. Ltd. ทีเ่ พิม่ ขึน้ 1,089 ล้านบาท จากธุรกรรมการซือ้ ขายน้ ามันทีเ่ พิม่ ขึน้ และอีกส่วนหนึ่ง มาจากลูกหนี้การค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ของบริษทั เคเอสแอล กรีนอินโนเวชัน่ จากัด (มหาชน) จากการควบรวมบริษทั สินค้าคงเหลือเพิม่ ขึน้ 1,160 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากสินค้าคงเหลือประเภทน้ ามัน ซึง่ มีต้นทุนเฉลีย่ ทีส่ งู ขึน้ ตาม ราคาน้ ามันในตลาดโลก โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์น้ ามันสาเร็จรูปทีม่ ตี น้ ทุนเฉลีย่ สูงขึน้ มาก โดยบริษทั ฯ มีปริมาณการ เก็บสารองผลิตภัณฑ์น้ ามันสาเร็จรูปอยู่ท่ี 2.0 ล้านบาร์เรล เพิม่ ขึน้ จากปี ก่อน ส่วนปริมาณเก็บสารองผลิตภัณฑ์ น้ามันดิบของบริษทั ฯ อยู่ท่ี 3.5 ล้านบาร์เรล ซึง่ ลดลงจากปี ก่อน ในขณะทีต่ น้ ทุนเฉลีย่ ปรับสูงขึน้ และอีกส่วนหนึ่งมา จากสินค้าคงเหลือทีเ่ พิม่ ขึน้ ของ บริษทั BCP Trading Pte. Ltd. เงินชดเชยกองทุนน้ ามันค้างรับ เพิ่มขึ้น 447 ล้านบาท ส่วนใหญ่ มาจากปริมาณและอัตราเงินชดเชยเฉลี่ยของ ผลิตภัณฑ์ LPG ต่อกิโลกรัมทีเ่ พิม่ ขึน้ และระยะเวลาในการรับเงินชดเชยของผลิตภัณฑ์แก๊สโซฮอล์ E20 และ E85 ทีน่ านขึน้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อยทีแ่ สดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เพิม่ ขึน้ 972 ล้านบาท แต่มกี ารตัดรายการระหว่างกัน ในงบการเงินรวมจึงทาให้ยอดเงินลงทุนในบริษทั ย่อยเป็ นศูนย์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
22
o มีการจัดตัง้ บริษัท บีบีพี โฮลดิ้ง จากัด ด้วยทุนจดทะเบียน 1,700 ล้านบาท เพื่อดาเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ และรองรับการปรับโครงสร้างของกลุ่ม ธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ และจากการปรับโครงสร้าง ดังกล่าว บริษทั ฯ ได้จาหน่ายเงินลงทุนในหุน้ สามัญ ร้อยละ 70 ของบริษทั บางจากไบโอฟูเอล จากัด และร้อย ละ 85 ของบริษทั บางจาก ไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด ให้แก่ บริษทั บีบพี ี โฮลดิง้ จากัด o บริษทั BCP Energy International Pte. Ltd. ได้มกี ารเพิม่ ทุน 37 ล้านบาท เพื่อซือ้ หุน้ ส่วนทีเ่ หลือของบริษทั Nido Petroleum Limited จากผูถ้ อื หุน้ รายย่อยทาให้มสี ดั ส่วนการถือหุน้ เพิม่ เป็ น 100% แต่มกี ารบันทึกค่าเผื่อ การด้อยค่าเงินลงทุนตามมาตรฐานบัญชีของ บริษัท BCP Energy International Pte. Ltd. จานวน 1,293 ล้านบาท o บริษัท BCP Innovation Pte. Ltd ได้เ พิ่ม ทุ น 1,149 ล้า นบาท เพื่อ เข้า ซื้อ หุ้น เพิ่ม ทุ น ของบริษัท Lithium Americas Corp. เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า เพิ่มขึ้น 13,561 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการที่บริษัท บีซีพีจี จากัด (มหาชน) ซึ่ ง เป็ นบริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ ได้ เ ข้ า ซื้ อ เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท CapAsia ASEAN Wind Holdings Cooperatief U.A. ซึ่ง ถือหุ้นร้อยละ 40 ในบริษัท PetroWind Energy Inc. ที่เป็ นบริษัทที่ประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้ า พลังงานลม ในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ และจากการเข้าซือ้ เงินลงทุน ในบริษทั Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. (SEGHPL) ซึ่ง ถือ หุ้น ร้อ ยละ 33.33 ในบริษัท Star Energy Investments Ltd. (SEIL) ที่ป ระกอบธุ ร กิจ โรงไฟฟ้ า พลังงานความร้อนใต้พภิ พในประเทศอินโดนีเซีย และมีการรับรูส้ ว่ นแบ่งกาไรจากโรงไฟฟ้ าดังกล่าว เงินลงทุนระยะยาวอื่นเพิม่ ขึน้ 3,607 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากบริษัท BCP Innovation Pte. Ltd ซึ่งเป็ นบริษัท ย่อยของบริษทั ฯ เข้าซื้อเงินลงทุนใน LAC เพิม่ ขึน้ 42.50 ล้านดอลลาร์แคนาดา หรือประมาณ 1,089 ล้านบาท มี การบันทึกการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมสุทธิของเงินลงทุนเผื่อขาย (LAC) จานวน 2,722 ล้านบาท ขณะที่ บริษทั ฯ ได้รบั คืนเงินลงทุนใน MFC 73 ล้านบาท ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 1,587 ล้านบาท โดยมีการลงทุนหลักๆ ในเครื่องจักรอุปกรณ์โรงกลัน่ อุปกรณ์ จาหน่ าย และอุปกรณ์ สานักงานของบริษทั ฯ 4,183 ล้านบาท และมีต้นทุนทางการเงินทีบ่ นั ทึกเป็ นต้นทุนระหว่าง ก่อสร้าง 126 ล้านบาท บริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) ลงทุนเพิม่ ในงานระหว่างก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงาน แสงอาทิตย์ทงั ้ ในประเทศไทยและญี่ป่ ุน 654 ล้านบาท สินทรัพย์เพิม่ จากการควบรวมบริษัทของบริษัท บีบจี ไี อ จากัด 1,491 ล้านบาท โดยมีค่าเสือ่ มราคาสาหรับงวด 4,780 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน ลดลง 1,281 ล้านบาท รายการหลักทีเ่ พิม่ ขึน้ มาจากการลงทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับค่าใช้จ่ายสารวจ และประเมินค่า 404 ล้านบาท ลิขสิทธิการใช้ และต้นทุนพัฒนาโปรแกรมสาเร็จรูป 215 ล้านบาท แต่ลดลงจากการตัง้ ์ ด้อยค่าของค่าใช้จ่ายในการสารวจและผลิตแหล่งผลิต Gurita และแหล่งผลิตบริเวณ Mid-Galoc จานวน 1,465 ล้าน บาท ขาดทุนจากผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่างบการเงิน 305 ล้านบาท และมีค่าตัดจาหน่ าย สาหรับงวด 134 ล้านบาท ส่วนทีเ่ หลือเป็ นสิทธิในการเชื่อมโยงระบบจาหน่ายไฟฟ้ าและสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ า สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เพิ่มขึ้นจานวน 454 ล้านบาท ส่ว นใหญ่ มาจากรายการภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สาหรับผลขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
23
หนี้ สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีหนี้สนิ รวม 61,979 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 4,104 ล้านบาท โดยรายการ หนี้สนิ หลักทีเ่ ปลีย่ นแปลง มีดงั นี้ เงิน กู้ยืม ระยะสัน้ จากสถาบัน การเงิน ลดลง 3,398 ล้า นบาท รายการหลัก มาจากการจ่ า ยช าระคืน เงิน กู้ ส กุ ล ต่างประเทศของบริษทั ฯ เจ้าหนี้การค้า เพิ่มขึ้น 1,250 ล้านบาท รายการหลักมาจากเจ้าหนี้การค้าของบริษัท BCP Trading Pte. Ltd. ที่ เพิม่ ขึน้ 1,023 ล้านบาท จากธุรกรรมการซือ้ ขายน้ามันทีเ่ พิม่ ขึน้ ภาษี ส รรพสามิต และเงิน น าส่ ง กองทุ น น้ า มัน เชื้อ เพลิง ค้า งจ่ า ย เพิ่ม ขึ้น 1,968 ล้า นบาท เนื่ อ งจากการมีก าร เปลีย่ นแปลงงวดการชาระเงินจากชาระทุกวันเป็ นชาระเดือนละครัง้ ส่งผลให้ปี 2560 มียอดคงค้างของการจาหน่าย น้ามัน 30 วัน ในขณะที่ 2559 มียอดคงค้างเพียง 10 วัน เงินกูจ้ ากสถาบันการเงินและหุน้ กู้ (รวมทีถ่ งึ กาหนดชาระใน 1 ปี ) เพิม่ ขึน้ 4,714 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการกูย้ มื เงินเพิม่ เติมในระหว่างงวด จานวน 8,868 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็ นของบริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) และได้มาจาก การควบรวมบริษทั 400 ล้านบาท และมีการจ่ายคืนเงินกู้ยมื 2,161 ล้านบาท และจ่ายคืนหุน้ กูข้ องบริษัทฯ 2,000 ล้านบาท และปรับผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นและการแปลงค่างบการเงินจานวน 393 ล้านบาท ประมาณการหนี้สนิ ระยะสัน้ ลดลง 502 ล้านบาท เนื่องจากบริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) ได้จ่ายชาระค่าตอบแทน ส่วนทีเ่ หลือตามสัญญาจากการเข้าซือ้ ธุรกิจจากกลุ่ม SunEdison ในประเทศญีป่ ่ นุ เรียบร้อยแล้ว ส่วนของผูถ้ ือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัท ย่อย มีส่วนของผู้ถอื หุน้ รวม 52,132 ล้านบาท โดยเป็ นส่วนของผูถ้ อื หุ้นส่วนของบริษัท ใหญ่ 45,650 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 6,107 ล้านบาท โดยหลักมาจากกาไรสุท ธิสาหรับ งวด 5,778 ล้า นบาท จ่ายเงินปั นผล 2,822 ล้านบาท ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์ พนักงาน 56 ล้านบาท ส่วนเกินทุนอื่นลดลง 272 ล้านบาท จากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในกลุ่ม BBGI ลดลง แต่มี รายการส่ว นเกิน ทุน จากการควบรวมกิจ การ (บริษ ัท BBGI) เพิม่ ขึน้ 1,170 ล้า นบาท ใบสาคัญ แสดงสิท ธิที่จ ะซื้อ หุ ้น ของ บริษัท บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) เพิม่ ขึน้ 19 ล้านบาท และองค์ประกอบอื่นของผู้ถือหุ้น เพิม่ ขึน้ 2,290 ล้านบาท (จากผลต่าง จากการเปลี่ย นแปลงมูล ค่า ยุต ธิ รรมสุท ธิข องเงิน ลงทุน เผื่อ ขาย และขาดทุน จากการแปลงค่า งบการเงิน หน่ ว ยงานใน ต่างประเทศ) โดยมีมูลค่าทางบัญชีต่อหุ้น 33.15 บาท
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
24
งบกระแสเงินสดของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย สาหรับปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน 13,851 ล้านบาท มีเงินสดสุทธิ ใช้ไปในกิจกรรมลงทุน 18,960 ล้านบาท และมีเงินสดใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน 3,761 ล้านบาท ทาให้มเี งินสดและรายการ เทีย บเท่า เงิน สดลดลงสุทธิ 8,870 ล้า นบาท โดยมีเ งินสดยกมา ณ วัน ที่ 1 มกราคม 2560 จานวน 19,287 ล้า นบาท และ ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศคงเหลือ สิน้ งวด -310 ล้านบาท ทาให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มี เงินสดอยู่จานวน 10,106 ล้านบาท โดยรายละเอียดในแต่ละกิจกรรมเป็ นด้งนี้ ตารางแสดงรายละเอียดการได้มา (ใช้ไป) ของเงินสดในแต่ละกิจกรรม งบกระแสเงิ นสด (หน่ วย : ล้านบาท)
FY2559
FY2560
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน
13,288
13,851
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน
(8,155)
(18,960)
6,391
(3,761)
11,524
(8,870)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม
7,872
19,287
ผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นของเงินตราต่างประเทศคงเหลือสิน้ งวด
(109)
(310)
19,287
10,106
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสดเพิ่ มขึน้ (ลดลง) สุทธิ
เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม
โดยรายละเอียดในแต่ละกิจกรรมเป็ นด้งนี้ 1) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน 13,851 ล้านบาท โดย มีกาไรจากการดาเนินงานทีเ่ ป็ นเงินสด จานวน 14,031 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากกาไรสุทธิสาหรับงวด 6,543 ล้านบาท บวกค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด 5,995 ล้านบาท บวกต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 1,493 ล้านบาท เงินสดใช้ไปในสินทรัพย์ดาเนินงาน 3,130 ล้านบาท ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงในเงินสดลดลงจากลูกหนี้ การค้า 1,434 ล้านบาท ลูกหนี้หมุนเวียนอื่น 555 ล้านบาท สินค้าคงเหลือ 753 ล้านบาท และสินทรัพย์ หมุนเวียนอื่น 387 ล้านบาท เงิน สดได้ม าจากหนี้สนิ ดาเนิน งาน 3,249 ล้า นบาท เกิด จากการเปลี่ยนแปลงในเจ้า หนี้ก ารค้า เพิม่ ขึน้ 1,357 ล้านบาท เจ้าหนี้อ่นื ลดลง 11 ล้านบาท มีหนี้สนิ อื่นเพิม่ ขึน้ 1,902 ล้านบาท ในระหว่างงวดมีภาษีเงินได้จ่ายออกสุทธิ 299 ล้านบาท โดยมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ได้รบั คืนภาษีเงินได้ จากกรมสรรพากรเป็ นเงินสด 948 ล้านบาท และจ่ายชาระภาษีเงินได้เป็ นเงินสด 1,247 ล้านบาท 2) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน 18,960 ล้านบาท โดย เงิน สดจากดอกเบีย้ รับ 136 ล้า นบาท เงิน ปั น ผลรับจากบริษัทร่วม ได้แ ก่ บริษ ัท อุบ ล ไบโอเอทานอล จากัด และบริษัท ขนส่งน้ามันทางท่อ จากัด 65 ล้านบาท เงินสดรับจากเงินคืนจากการขายกองทุนเปิ ด MFC 78 ล้านบาท เงิน สดจ่า ยเพื่อ ซื้อ เงิน ลงทุน ใน Lithium Americas Corp. “LAC” และโครงการ Start up 1,140 ล้า น บาท
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
25
เงิน สดจ่า ยจากเงิน ลงทุน ในบริษ ัท ย่อ ย/บริษ ัท ร่ว ม และกิจ การร่ว มค้า 13,388 ล้า นบาท โดยบริษทั ฯ ลงทุนเพิม่ ในบริษัท บงกช มารีน เซอร์วสิ จากัด 29 ล้านบาท ขณะที่บริษัท บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) จ่าย ซื้อ เงิน ลงทุน 922 ล้า นบาท ในบริษ ัท CapAsia ASEAN Wind Holdings Cooperatief U.A. ซึ่ง ถือ หุ ้น ร้อ ยละ 40 ในบริษ ัท PetroWind Energy Inc. ซึ่ง เป็ น บริษ ัท ที่ป ระกอบธุร กิจ โรงไฟฟ้ า พลัง งานลม ใน ประเทศฟิ ล ปิ ปิ น ส์ และการเข้า ซื้อ เงิน ลงทุน มูล ค่า 11,956 ล้า นบาท ในบริษ ัท Star Energy Group Holdings Pte. Ltd. (SEGHPL) ซึ ่ง ถ ือ หุ ้น ร้อ ย ละ 33.33 ใ น บ ร ษิ ัท Star Energy Investments Ltd. (SEIL) ซึ ่ง เป็ น บริษ ัท ทีป่ ระกอบธุร กิจ โรงไฟฟ้ า พลัง งานความร้อ นใต้พ ภิ พในประเทศอิน โดนีเ ซีย นอกจากนี้ยงั มีการจ่ายชาระค่าตอบแทนส่วนที่เหลือ เพื่อปลดภาระผูกพันทัง้ หมดที่กลุ่มบริษทั มีต่อกลุ่ม SunEdison สาหรับการเข้าซื้อธุรกิจ โรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ป่ ุน 481 ล้านบาท เงินสดจ่ายสาหรับการลงทุนในที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ 5,522 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการลงทุนใน เครื่องจักร อุปกรณ์โรงกลั ่น อุปกรณ์จาหน่ าย และอุปกรณ์สานักงานของบริษัทฯ 4,183 ล้านบาท และ งานระหว่างก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ 836 ล้านบาท การลงทุนในอุปกรณ์จาหน่ าย และงานระหว่างก่อสร้างสาขาของบริษัท บางจาก รีเทล จากัด 187 ล้านบาท และซื้อสินทรัพย์อ่นื 316 ล้านบาท เงินสดรับจากการขายที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ 499 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการจาหน่ ายทรัพย์สนิ โครงการโรงไฟฟ้ า Suimei ในประเทศญี่ป่ ุน ของบริษัท บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) เงินสดจ่ายเพื่อสิทธิการเช่าในสถานีบริการน้ามัน 559 ล้านบาท เงิน สดจ่า ยซื้อ สิน ทรัพ ย์ไ ม่ม ตี วั ตนเพิม่ ขึน้ 641 ล้า นบาท ส่ว นใหญ่เ ป็ น ค่า ใช้จ ่า ยในการสารวจและ ประเมินค่าแหล่งทรัพยากรของบริษัท NIDO Petroleum Limited
3) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน 3,761 ล้านบาท โดย เงินสดจ่ายต้นทุนทางการเงิน 1,305 ล้านบาท เงิน สดจ่า ยเงิน ปั น ผล 3,310 ล้า นบาท เป็ น ส่ว นของบริษทั ฯ 2,822 ล้า นบาท และส่ว นที่เ หลือ เป็ นการ จ่ายเงินปั นผลให้แก่ผู้ถอื หุ้นนอกกลุ่มของ บริษัท บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) และบริษัท บางจากไบโอฟูเอล จากัด 489 ล้านบาท เงินกู้ยมื ระยะสัน้ ลดลง 3,937 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็ นการจ่ายชาระคืนเงินกู้สกุลต่างประเทศของบริษัทฯ เงินสดรับจากเงินกู้ยมื ระยะยาวเพิม่ ขึน้ 8,868 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็ นของบริษัท บีซพี จี ี จากัด (มหาชน) เพิม่ ขึน้ 8,848 ล้านบาท (ซึ่งเป็ นเงินกู้ยมื ในสกุลเงินบาท 2,400 ล้านบาท สกุลเยนญี่ป่ ุน 7,896 ล้านเยน และสกุลเหรียญสหรัฐฯ 10 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) เงิน สดจ่า ยคืนเงิน กู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน 2,069 ล้า นบาท (เป็ น ของบริษัทฯ, บริษ ัท บีซ พี จี ี จากัด (มหาชน), บริษ ัท บางจากไบโอฟูเอล จากัด และบริษัท บางจาก ไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด) เงินสดจ่ายคืนหุ้นกู้ในส่วนของบริษัทฯ 2,000 ล้านบาท เงินสดจ่ายซื้อหุ้นส่วนที่เหลือของบริษัท Nido จากผู้ถือหุ้นรายย่อย 35 ล้านบาท เงินสดรับจากหุ้นทุนออกให้ตามสิทธิ 27 ล้านบาท ของบริษัท บีซพี จี ี จากัด (มหาชน)
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
26
อัตราส่วนทางการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย (งบการเงินรวม) อัตราส่วนทางการเงิ นของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย (งบการเงิ นรวม) อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร (%) อัตราส่วนกาไรขันต้ ้ น ต่อรายได้จากการขายและการให้บริการ (Gross Margin) อัตราส่วน EBITDA ต่อรายได้จากการขายและการให้บริการ (EBITDA Margin) อัตราส่วนกาไรสุทธิ ต่อรายได้จากการขายและการให้บริการ (Net Profit Margin) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ 1/ (ROE)
Q4/2559 Q3/2560 Q4/2560
FY2559 FY2560
9.30%
9.12%
7.76%
8.22%
7.87%
7.56%
9.18%
7.84%
7.85%
7.94%
2.44%
3.83%
3.38%
3.27%
3.72%
12.70%
13.09%
13.57%
7.50%
7.09%
7.31%
อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) 1/ กาไรสุทธิและส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะส่วนของบริษทั
31 ธ.ค. 59
30 ก.ย. 60 31 ธ.ค. 60
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (Quick Ratio) อัตราส่วนวิ เคราะห์นโยบายทางการเงิ น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (IBD to Equity)
1.69 1.10
1.61 0.85
1.52 0.80
0.86
0.94
0.78
อัตราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ สุทธิต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (Net IBD to Equity)
0.38
0.70
0.59
Q4/2559
Q3/2560
Q4/2560
1.80
2.43
2.50
อัตราความสามารถในการชาระหนี้ (DSCR) 2/ การคานวน DSCR ไม่รวมรายการจ่ายชาระคืนเงินกูร้ ะยะยาวก่อนกาหนด
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
27
การคานวณอัตราส่วนทางการเงิ น อัตราส่วนกาไรขัน้ ต้น ต่อรายได้จากการขาย
และการให้บริการ(Gross Margin) อัตราส่วน EBITDA ต่อรายได้จากการขาย และการให้บริการ (%) (EBITDA Margin) อัตราส่วนกาไรสุทธิต่อรายได้จากการขาย และการให้บริการ (%) (Net Profit Margin) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ (%)(ROE) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (%) (ROA) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) (Current Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) (Quick Ratio) อัตราความสามารถในการชาระหนี้ (เท่า) (DSCR) อัตราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) (IBD to Equity) อัตราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ สุทธิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) (Net IBD to Equity)
=
กาไรขัน้ ต้น / รายได้จากการขายและการให้บริการ
=
EBITDA / รายได้จากการขายและการให้บริการ
=
กาไร (ขาดทุน) สุทธิ/ รายได้จากการขายและการให้บริการ
=
กาไร (ขาดทุน) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ใหญ่/ รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ใหญ่ (เฉลีย่ ) กาไร(ขาดทุน) ก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้/ รวมสินทรัพย์ (เฉลีย่ ) สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สนิ หมุนเวียน
= = = =
(เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด + เงินลงทุนชัวคราว ่ + ลูกหนี้และตั ๋วเงินรับการค้าสุทธิ) / หนี้สนิ หมุนเวียน EBITDA/ (ชาระคืนเงินกูร้ ะยะยาว + ต้นทุนทางการเงิน)
=
หนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ / ส่วนของผูถ้ อื หุน้
=
(หนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ – เงินสดและรายการเทียบเงินสด - เงินลงทุนชัวคราว) ่ / ส่วนของผูถ้ อื หุน้
หมายเหตุ: 1/ รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ใหญ่ (เฉลีย่ ) คานวณโดยใช้สูตรดังนี้ - รายปี คานวณโดย (ยอดสิน้ สุดงวดปี ก่อนหน้า + ยอดสิน้ สุดงวดปี ปัจจุบนั )/ 2 - รายไตรมาส คานวณโดย (ยอดสิน้ สุดไตรมาสในปี ก่อนหน้า + ยอดสิน้ สุดไตรมาสในปี ปัจจุบนั )/ 2 2/ รวมสินทรัพย์ (เฉลีย่ ) คานวณโดยใช้สตู รดังนี้ - รายปี คานวณโดย (ยอดสิ้นสุดงวดปี ก่อนหน้า + ยอดสิน้ สุดงวดปี ปัจจุบนั )/ 2 - รายไตรมาส คานวณโดย (ยอดสิน้ สุดไตรมาสในปี ก่อนหน้า + ยอดสิน้ สุดไตรมาสในปี ปัจจุบนั )/ 2 3/ การคานวณอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ROE) ข้อมูลตัวเศษคือ กาไร (ขาดทุน) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ใหญ่ จะต้องถูกปรับเป็ น ตัวเลขเต็มปี (Annualized) 4/ การคานวณอัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ข้อมูลตัวเศษคือ กาไร(ขาดทุน) ก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ จะต้องถูกปรับเป็ น ตัวเลขเต็มปี (Annualized) 5/ หนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ คานวณโดย (เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน + เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน (รวมทีถ่ งึ กาหนดชาระภายใน หนึ่งปี ) + หุน้ กู้ + หนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน (รวมทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ))
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
28
การบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม บริษัทฯ ได้จดั ทาบัญชีค่าใช้จ่ายด้านสิง่ แวดล้อม เพื่อเผยแพร่ผ่านรายงานการ พัฒนาทีย่ งั ยืนตัง้ แต่ปี 2548 โดยมุ่งหวังให้เกิดการนาไปปรับใช้ให้เป็ นประโยชน์ภายใน องค์กรต่างๆเช่นเดียวกับบริษทั ฯ การจัดทาบัญชีดา้ นสิง่ แวดล้อมนี้ จะช่วยให้ได้รบั ข้อมูลที่ ถูกต้อง ครบถ้วน และเกิดประโยชน์ใช้ในเชิงการบริหารงานด้านสิง่ แวดล้อม การจัดการ ด้านทรัพยากร ควบคู่กบั การบริหารการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ปั จจุบนั บริษทั ฯ จัดทารายงานบัญชีเพื่อสิง่ แวดล้อมครอบคลุมหน่วยงาน โรงกลัน่ ศูนย์จ่ายน้ามันบางจาก และบางปะอิน หน่วย: ล้านบาท ค่าใช้จ่ายสิ่ งแวดล้อม (Environment Management Accounting : EMA)
FY2559
FY2560
∆
ค่าใช้จ่ายวัตถุดิบที่ติดไปกับผลิ ตภัณฑ์ (Material Costs of Product Outputs) ได้แก่ น้ามันดิบ สารเคมี ส่วนผสมต่างๆในการผลิต และพลังงานทีใ่ ช้ในการผลิต
73,360
94,982
21,622
ค่าใช้จ่ายวัตถุดิบที่ไม่ติดไปกับผลิ ตภัณฑ์ (Material Costs of Non-Product Outputs) ได้แก่ น้ามันทีไ่ ม่ได้คุณภาพ น้าทิง้ สารเคมีทใ่ี ช้เกินจาเป็ น และส่วนผสมอืน่ ทีเ่ กินจาเป็ น
77.26
93.19
15.93
ค่าใช้จ่ายเพื่ออุปกรณ์ควบคุมมลพิ ษ (Waste and Emission Control Costs) ได้แก่ ค่าใช้จ่ายบาบัดหรือ กาจัดของเสีย รวมถึงค่าบารุงรักษา และค่าเสือ่ มของอุปกรณ์ดา้ นสิง่ แวดล้อมต่างๆ
314.54
279.17
(35.37)
ค่าใช้จ่ายในการป้ องกันสิ่ งแวดล้อม (Prevention and Other Environmental Management Costs) ได้แก่ ค่าใช้จ่ายการติดตาม ป้ องกัน ด้านสิง่ แวดล้อมต่างๆ
25.20
17.33
(7.87)
73,777
95,372
21,595
(15.61)
(12.26)
(3.35)
ค่าใช้จ่ายรวม ประโยชน์ ของผลผลิ ตพลอยได้และการนาของเสี ยมาใช้ใหม่ (Benefit from by-product and waste recycling ) ได้แก่ รายได้ของการใช้ประโยชน์จากของเสีย (เครือ่ งหมายลบหมายถึงรายได้)
ค่าใช้จ่ายด้านสิง่ แวดล้อมโดยรวมปี 2560 เพิม่ ขึน้ 21,622 ล้านบาท (+29%) จากปี 2559 สาเหตุหลักมาจากค่าใช้จ่าย วัตถุดบิ ที่ติดไปกับผลิตภัณฑ์เพิม่ ขึน้ 21,622 ล้านบาท เนื่องจากราคาน้ ามัน ในตลาดโลกปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากปี ก่อนร้อยละ 21 อย่ า งไรก็ต ามก าลัง การผลิต เฉลี่ย เพิ่ม ขึ้น จาก 101.39 พัน บาร์เ รล/วัน ในปี 2559 เป็ น 111.37 พัน บาร์เ รล/วัน ในปี 2560 นอกจากนี้ค่าใช้จ่ายวัตถุดบิ ทีไ่ ม่ตดิ ไปกับผลิตภัณฑ์ทเ่ี พิม่ ขึ้น 15.93 ล้านบาท ตามปริมาณน้ ามันทีไ่ ม่ได้คุณภาพทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ มี มูลค่า 16.18 ล้านบาท ขณะทีค่ ่าใช้จ่ายเพื่ออุปกรณ์ควบคุมมลพิษและค่าใช้จ่ายในการป้ องกันสิง่ แวดล้อม ลดลง 35.37 ล้านบาท (-11% YoY) ส่วนใหญ่มาจากค่าบารุงรักษาอุปกรณ์ดา้ นสิง่ แวดล้อม ค่าเสือ่ มราคาอุปกรณ์ควบคุมมลพิษ และค่ากาจัดของเสีย ที่ ลดลง 12.17 ล้านบาท 11.54 ล้านบาท และ 11.00 ล้านบาท ตามลาดับ นอกจากนี้ค่าใช้จ่ายในการป้ องกันสิง่ แวดล้อม ลดลง 7.87 ล้านบาท (-31%) มาจากค่าใช้จ่ายการติดตามและตรวจวัดทีล่ ดลง 10.00 ล้านบาท ประโยชน์ของผลผลิตพลอยได้และการนาของเสียมาใช้ใหม่ลดลง 3.35 ล้านบาท (-21% YoY) เนื่องจากปริมาณเศษเหล็ก และอลูมเิ นียมทีเ่ หลือใช้และสามารถจาหน่ายได้ ลดลงคิดเป็ นมูลค่า 3.64 ล้านบาท ในขณะทีป่ ริมาณกามะถันเหลวทีส่ ามารถ จาหน่ายได้เพิม่ ขึน้ 0.46 ล้านบาท คุณภาพอากาศจากปล่องต่างๆ ของโรงกลัน่ เพื่อเป็ นการเฝ้ าระวังด้านสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ ได้ทาการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องต่างๆ ของโรงกลันเป็ ่ นประจา ซึง่ จะเห็นได้ว่า มีค่ามลสารต่างๆ ได้แก่ ฝุ่ นละออง ออกไซด์ของไนโตรเจน และก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ดกี ว่ามาตรฐานคุณภาพ อากาศทีย่ อมให้ปล่อยจากปล่องของกระทรวงอุตสาหกรรม คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
29
มุมมองของผูบ้ ริหารต่อแนวโน้ มผลการดาเนินงานในปี 2561 สถานการณ์เศรษฐกิ จ เศรษฐกิจโลกในปี 2561 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง จากการที่เศรษฐกิจในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศที่ พัฒนาแล้วเริม่ ฟื้ นตัว โดยเฉพาะสหรัฐฯ ทีค่ าดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวจากนโยบายการปฏิรูปภาษี อย่างไรก็ตาม แม้เศรษฐกิจ โลกโดยรวมจะเติบโตแต่อตั ราเงินเฟ้ อยังคงอยู่ในระดับต่ า เนื่องจากค่าแรงในกลุ่มประเทศที่พฒ ั นาแล้วไม่ได้ปรับตัวเพิ่ม ขึ้น สอดคล้องกับการลดลงของอัตราการว่างงาน จึงคาดว่าการขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบายของกลุ่มประเทศหลักจะดาเนินการอย่าง ค่อยเป็ นค่อยไป ควบคู่ไปกับการลดขนาดงบดุล (Balance Sheet Normalization) ของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) และการลด วงเงินการเข้าซือ้ สินทรัพย์ (QE Tapering) ของธนาคารกลางยุโรป (ECB) สาหรับสถานการณ์ เศรษฐกิจไทยปี 2561 มีแนวโน้ มขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากปี ก่อนหน้ า โดยได้รบั อานิสงส์จาก เศรษฐกิจโลกทีแ่ ข็งแกร่งส่งผลให้การส่งออกและการท่องเทีย่ วไทยขยายตัว การใช้จ่ายภาครัฐ และการลงทุนของบริษทั ต่างชาติ ในโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) สาหรับการบริโภคภาคเอกชน ในภาพรวมมีแนวโน้มเติบโต เนื่องจากกลุ่มผู้ ซือ้ รถคันแรกนัน้ เริม่ ทยอยหมดภาระการผ่อนชาระ อีกทัง้ การบริโภคจากกลุ่มผูม้ รี ายได้สงู ยังคงขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง สถานการณ์ราคาน้ามัน ราคาน้ ามันดิบทีป่ รับเพิม่ ขึน้ มาเคลื่อนไหวทีร่ ะดับ 60 – 70 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรลตัง้ แต่ตน้ ปี 2561 ทาให้ แนวโน้ม การผลิตน้ามันจากชัน้ หินดินดาน (Shale oil) ในสหรัฐอเมริกาปรับเพิม่ ขึน้ ในปี น้ี แต่แนวโน้มอุปสงค์น้ามันดิบทัวโลกยั ่ งขยายตัว ดีตามภาวะเศรษฐกิจทีฟ่ ้ื นตัว และการขยายข้อตกลงปรับลดการผลิตของกลุ่มประเทศผูส้ ง่ ออกน้ามัน (โอเปก) และประเทศผูผ้ ลิต น้ ามันนอกกลุ่มโอเปกไปจนถึงสิน้ ปี 2561 จะช่วยให้ปริมาณสารองน้ ามันทัวโลกปรั ่ บลดลง อีกทัง้ คาดว่าซาอุดอิ าระเบียยังคง รักษาวินัยจากัดการผลิตเพื่อหนุ นราคาน้ ามัน ก่อนจะนาหุน้ บริษทั Saudi Aramco ซึง่ เป็ นบริษทั น้ ามันใหญ่สุดของโลก เข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในช่วงปลายปี น้ี อีกทัง้ คาดว่ากลุ่มโอเปกจะเลือกใช้วธิ ที ยอยปรับเพิม่ การผลิตน้ ามัน มากกว่าการ ยกเลิกข้อตกลงการปรับลดการผลิตน้ามันแบบฉับพลัน เพื่อให้ตลาดน้ามันมีเสถียรภาพ นอกจากนี้แนวโน้มเศรษฐกิจเอเชียทีย่ งั เติบโตดี และธนาคารกลางยุโรปเตรียมปรับลดนโยบายการเงินในปี น้ี เป็ นปั จจัยหนุ นให้สกุลเงินต่างๆ แข็งค่าขึน้ เมื่อเทียบกับ สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และส่งผลเชิงบวกต่อราคาสิน ค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งรวมถึงราคาน้ ามัน บริษัท บางจากฯ คาดว่าในปี 2561 ราคาน้ามันดิบจะปรับเพิม่ ขึน้ โดยเคลื่อนไหวทีร่ ะดับเฉลีย่ 55 – 70 เหรียญสหรัฐฯต่อบาร์เรล ส่วนต่างราคาน้ ามันดิบเดทต์เบรนท์กบั ดูไบ (DTD/DB) คาดว่าจะปรับเพิม่ ขึน้ อยู่ทเ่ี ฉลีย่ 1.5 – 2.5 เหรียญสหรัฐฯต่อ บาร์เรล จากการเปิ ดดาเนินการท่อส่งน้ ามัน ESPO II ทาให้รสั เซียส่งออกน้ ามันดิบมายังจีนและเอเชียเพิม่ ขึน้ และทดแทนการ นาเข้าน้ามันดิบจากตะวันออกกลางของประเทศในเอเชีย นอกจากนี้ยงั ทาให้รสั เซียลดการส่งออกน้ามันดิบไปยังยุโรป มีผลทาให้ ราคาน้ามันดิบเดทต์เบรนท์แพงขึน้ เมื่อเทียบกับราคาน้ามันดิบดูไบ ในส่วนของค่าการกลัน่ คาดว่าค่าการกลันน ่ ้ ามันดิบดูไบของโรงกลันประเภท ่ Hydrocracking ที่สงิ คโปร์มแี นวโน้ม ใกล้เคียงกับปี 2560 โดยคาดว่าในช่วงครึง่ แรกของปี ค่าการกลันจะอยู ่ ่ในระดับดีจากอุปสงค์ระดับสูงเนื่องจากสภาวะอากาศหนาว จัดในหลายประเทศ รวมถึงการหยุดซ่อมบารุงและหยุดฉุ กเฉินของโรงกลัน่ อย่างไรก็ตามคาดว่าค่าการกลันอาจจะปรั ่ บลดลง เล็กน้อย ในช่วงครึง่ หลังของปี จากแนวโน้มอุปสงค์เติบโตช้าลงเนื่องจากราคาน้ ามันดิบทีป่ รับเพิม่ ขึน้ การเปิ ดดาเนินการโรงกลัน่ ใหม่และการขยายกาลังการผลิตในหลายประเทศในเอเชีย
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
30
แนวโน้ มผลการดาเนิ นงานของกลุ่มบริษทั บางจากฯ ในปี 2561
ในปี 2561 ผูบ้ ริหารคาดการณ์แนวโน้มผลการดาเนินงานของกลุ่มบริษทั บางจากฯ จะมี EBITDA อยู่ในระดับใกล้เคียง เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า เนื่องจากในปี น้ีโรงกลันบางจากฯ ่ มีแผนหยุดซ่อมบารุงโรงกลันประจ ่ าปี (TAM) ในช่วงไตรมาส 2 ซึง่ จะ ทาให้ผลการดาเนินงานของธุรกิจโรงกลันลดลงจากปี ่ 2560 และคาดการณ์ว่าในหลายๆ ธุรกิจของกลุ่มบริษทั ฯ จะมีแนวโน้มผล การดาเนินงานทีด่ ขี น้ึ โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจการตลาด ยังคงเดินหน้าตามแผนกลยุทธ์ทางการตลาดในการขยายเครือข่ายสถานี บริการ รวมถึงเพิม่ ความหลากหลายของธุรกิจ non-oil เพื่อผลักดันปริมาณการจาหน่ายให้เพิม่ ขึ้นและรักษาส่วนแบ่งการตลาด อย่างต่อเนื่อง อีกทัง้ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชวี ภาพที่มแี ผนต่อยอดทางธุรกิจเพื่อเตรียมนาเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในช่วงปลายปี 2561 โดยมีปัจจัยสาคัญในแต่ละธุรกิจดังนี้ ธุรกิ จ ธุรกิ จโรงกลัน่
ธุรกิ จการตลาด
ประมาณการสาคัญ มีแผนหยุดซ่อมบารุงโรงกลันประจ ่ าปี ประมาณ 45 วัน ในช่วงไตรมาส 2 ของปี ส่งผล ให้การใช้กาลังการกลันเฉลี ่ ย่ ในปี 2561 อยู่ท่ี 100 - 102 KBD ประมาณการค่าการกลันอยู ่ ่ในระดับ 6 – 7 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โครงการ 3E เริม่ ดาเนินการก่อสร้างในส่วนของ CCR และ Debottlenecking ตามแผน ดาเนินโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการกลันอย่ ่ างต่อเนื่องเพือ่ เพิม่ ค่าการกลัน่ ประมาณการปริมาณการจาหน่ายเพิม่ ขึน้ ประมาณ 5 - 7% ประมาณการค่าการตลาดอยู่ท่ี 75 – 80 สตางค์ต่อลิตร มีแ ผนขยายสถานี บ ริก ารน้ า มัน ประมาณ 80 แห่ ง ในท าเลที่มีศ ัก ยภาพ โดยเน้ น ภาพลัก ษณ์ ท่ีท ัน สมัย ในรู ป แบบของ Greenovative Experience พร้อ มทัง้ ปรับ ปรุ ง คุณภาพของสถานีบริการทีม่ อี ยู่เดิมให้ดขี น้ึ เพื่อเพิม่ ความสะดวกในการรับบริการ ให้ความสาคัญกับธุรกิจเสริม (Non-oil) เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันในธุรกิจค้าปลีกให้มากขึน้ โดยมีแผนเปิ ดร้านสพาร์ (SPAR) เพิม่ ขึน้ อีก 30 สาขา และขยายสาขาร้านกาแฟอินทนินประมาณ 200 สาขา นอกจากนี้ ยังมีแผนขยายร้านกาแฟอินทนิน ในประเทศกัมพูชาและลาว
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
31
ธุรกิ จผลิ ตภัณฑ์ ชีวภาพ
ธุรกิ จทรัพยากร ธรรมชาติ และ พัฒนาธุรกิ จใหม่
ธุรกิจไบโอดีเซลประมาณการปริมาณการจ าหน่ ายเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าภาครัฐ ยังคง สัดส่วนการผสมผลิตภัณฑ์ B100 ในน้ ามันดีเซลทีร่ ะดับ 7% ตลอดทัง้ ปี โดยมีแผนการ ใช้กาลังการผลิตเพิม่ ขึน้ ประมาณการใช้กาลังการผลิตเฉลีย่ ที่ 95% ธุรกิจเอทานอลของบริษทั บางจากไบโอเทนอล (ฉะเชิงเทรา) จากัด และบริษทั เคเอส แอล กรีน อินโนเวชัน่ จากัด (มหาชน) ประมาณการปริมาณการจาหน่ ายเพิม่ ขึน้ และมี แผนการใช้อตั ราการผลิตเต็มกาลัง มีแผนการลงทุนต่อยอดในธุรกิจพลังงานชีวภาพ พัฒนาด้านเทคโนโลยีชวี ภาพเพื่อให้ เกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ชวี ภาพทีม่ มี ลู ค่าสูง เช่น กลีเซอร์รนี บริสทุ ธิ ์ (Refined Glycerin) เพื่อ เตรียมเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ธุรกิจ E&P มีแผนการผลิตจากแหล่ง Galoc ประมาณ 1,700 บาร์เรลต่อวัน (สัดส่วน ของ Nido) พัฒนาธุรกิจนวัตกรรม / การลงทุนในธุรกิจ Start up ผ่าน Bangchak Initiative and Innovation Center (BIIC) โดยมุ่ ง เน้ น นวัต กรรมด้า นงานวิศ วกรรมและเทคโนโลยี พลั ง งานสะอาดที่ เ ป็ นมิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม การบริ ห ารจั ด การพลั ง งานและ เทคโนโลยีชวี ภาพ
แผนดาเนิ นงานด้านรายจ่ายการลงทุน (Capital Expenditure) ในปี 2561 กลุ่มบริษัท บางจากฯ ประมาณการรายจ่ายลงทุน (Capital Expenditure) ตามงบประมาณสาหรับปี 2561 ซึ่งได้รบั อนุ มตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั (ไม่รวมในส่วนของบริษทั บีซพี จี ี จากัด (มหาชน)) รวมทัง้ สิน้ 14,000 ล้านบาท โดยมี รายละเอียดดังนี้
หน่ วย: ล้านบาท
ประมาณการรายจ่ายลงทุน
Refinery
5,500
Marketing
2,500
Bio-Based Products
1,000
Strategic investment & Other
5,000
Total
14,000
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ของฝ่ ำยจัดกำร สำหรับผลกำรดำเนินงำน ปี 2560 บริ ษัท บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)
|
32