brr: Annual Report 2014 thai

Page 1

หน้าปก



วิสัยทัศน์

สร้างความมั่นคงด้านผลผลิตและสร้างชีวิตที่ดีแก่ชาวไร่อ้อย พัฒนาธุรกิจนํ้าตาลทรายและพลังงานทดแทนให้เติบโตอย่างยั่งยืนควบคู่กับชุมชนและสังคม

พันธกิจ

1. ส่งเสริมชาวไร่อ้อยในพื้นที่บริเวณรอบโรงงานให้มีผลผลิตต่อไร่สูง และมีคุณภาพดีด้วยหลักวิชาการและความรับผิดชอบต่อเกษตรกรชาวไร่อ้อย 2. พัฒนาระบบบริหารงานการจัดการเพื่อความมั่นคงของผลผลิต และผลก�ำไรของเกษตรกรชาวไร่อ้อย 3. พัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน ให้กับองค์กรและเกษตรกรชาวไร่อ้อย 4. ส่งเสริมการเรียนรู้ของบุคลากรและเกษตรกรชาวไร่อ้อยให้เติบโตมั่นคงไปพร้อมกัน 5. ด�ำเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล เที่ยงตรง โปร่งใส มีจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชุมชน และสังคม


_________________________________________________________________________ นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 02-229-2800 โทรสาร : 02-359-1259 _________________________________________________________________________ ผู้สอบบัญชี บริษัท

: บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด : ชั้น 15 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ 179/74-80 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 02-344-1000 โทรสาร : 02-286-5050 _________________________________________________________________________ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

“ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษทั (ถ้ามี)” ทัง้ นี้ ในการแสดงข้อมูลข้างต้น บริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์สามารถพิจารณารูปแบบการอธิบายได้ตามความเหมาะสม โดยอาจใช้ วิธกี ารทีช่ ว่ ยในการสือ่ สารเพือ่ ให้ผลู้ งทุนเข้าใจได้งา่ ยขึน้ ด้วยก็ได้ เช่น กราฟ ภาพประกอบ เป็นต้น อย่างไรก็ดี ข้อมูลทีเ่ ปิดเผยไม่วา่ จะอยูใ่ นรูปแบบใดจะต้อง ไม่มลี กั ษณะเป็นการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ ปกปิดข้อความจริง หรือทำ�ให้บคุ คลอืน่ สาคัญผิดในข้อมูล


สารบัญ สารจากคณะกรรมการ

6

คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร

7

จุดเด่นทางการเงิน

11

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

12

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

13

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

20

ปัจจัยความเสี่ยง

38

โครงสร้างผู้ถือหุ้น

43

ความรับผิดชอบต่อสังคม

44

โครงสร้างการจัดการ

55

ข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหาร

65

การก�ำกับดูแลกิจการ

71

นโยบายจ่ายเงินปันผล

75

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

76

รายการระหว่างกัน

77

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

81

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

82

ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญ

84

การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

136


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

สารจากคณะกรรมการ ความสำ�เร็จที่สำ�คัญที่สุดประการหนึ่งของบริษัทฯ ในปี 2557 คือ การได้ เข้าเป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมือ่ วันพฤหัสบดี ที่ 6 พฤศจิกายน 2557 การเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนฯ ส่งผลให้บริษัทฯ มีความคล่องตัวทางการเงินมากยิ่งขึ้น ทุนจาก IPO ถูกนำ�มาใช้ในการ ชำ�ระคืนหนีเ้ งินกูท้ ใ่ี ช้ในการขยายกำ�ลังการหีบอ้อยจากเดิม 14,000 ตันต่อวัน เป็น 17,000 ตันต่อวัน และนำ�มาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ขณะที่การขยาย กำ�ลังการผลิตนํ้าตาลทรายก็สอดคล้องกับการทำ�งานในส่วนของการเพิ่ม ผลผลิตอ้อยตามปรัชญา “นํ้าตาลสร้างในไร่” ที่บริษัทฯ เน้นดำ�เนินการ มากว่าทศวรรษ ส่งผลให้ปริมาณขยายตัวขึ้นมากในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาจาก ปริมาณ 1.17 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2552/53 เป็น 1.77 ล้านตันในปี 2556/57 และจะเพิ่มเป็นกว่า 2 ล้านตันในฤดูการผลิตปี 2557/58 นี้

สำ�หรับธุรกิจนํา้ ตาลทราย บริษทั ฯ มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในส่วนของ การพั ฒ นาด้ า นวั ต ถุ ดิ บ ทั้ ง ปริ ม าณและคุ ณ ภาพของอ้ อ ยให้ ไ ด้ ผ ลผลิ ต นา้ํ ตาลทรายต่อตันอ้อยทีส่ งู ทีส่ ดุ ดังเช่นในฤดูการผลิตปี 2556/57 ทีผ่ ลผลิต นํ้าตาลต่อตันอ้อยเพิ่มจากฤดูการก่อนหน้าที่ 105 กิโลกรัม/ตัน เป็นเกือบ 118 กิโลกรัม/ตัน ขณะทีใ่ นส่วนของงานด้านตลาดนา้ํ ตาลทรายทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศก็มีการติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เนื่องจากประเทศ ไทยมีพันธกรณีตามข้อตกลงเขตการค้าเสรีสำ�คัญหลายกรอบที่กำ�ลังมีผล บังคับใช้ โดยเฉพาะกรอบความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement – ATIGA) การเปิดตลาดภายใต้ชุมชม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) กรอบเขต การค้าเสรี อาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN – Korea Free Trade Agreement) และการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทราย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้เพิ่มบทบาทสำ�คัญในฐานะผู้ผลิตไฟฟ้าชีวมวล ภายในประเทศในอนาคต เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงทั้งหลายนี้ทำ�ให้บริษัทฯ ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพและอยู่ภายใต้การสนับสนุนของภาครัฐ ต้องเตรียมความพร้อมในการปรับตัวเพื่อรองรับทั้งโอกาสและสิ่งท้าทาย เป็นการต่อยอดทางธุรกิจด้วยการนำ�ผลพลอยได้จากการผลิตนํ้าตาลทราย ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นต่อไป มาใช้ประโยชน์อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยในปี 2558 เราจะมีโรงไฟฟ้า ชีวมวลแห่งที่ 2 หรือ บุรีรัมย์เพาเวอร์ ซึ่งมีกำ�ลังการผลิตเท่ากับโรงไฟฟ้า ท้ายทีส่ ดุ นี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ใคร่ขอถือโอกาสขอบคุณผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้อง ชีวมวลแห่งแรก คือ บุรีรัมย์พลังงาน ที่ 9.9 MW และมีสัญญาขายไฟฟ้า ทุกๆ ฝ่าย ตัง้ แต่เกษตรกรชาวไร่ออ้ ยทีท่ มุ่ เททำ�งานร่วมกันเพือ่ พัฒนาคุณภาพ กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคโรงละ 8 MW เท่าๆ กัน พร้อมทั้งมีการจัดตั้ง ผลผลิตอ้อย ท่านผู้ถือหุ้นที่ให้ความไว้วางใจและเชื่อมั่นกับบริษัทฯ และ บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์พลัส จำ�กัด เพื่อเตรียมสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวลแห่งที่ พนักงานบริษัทในเครือทั้งหมดที่มุ่งมั่นพัฒนาตนเองจนเราก้าวขึ้นมาถึง 3 สำ�หรับรองรับบปริมาณอ้อยที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีกด้วย ซึ่งจะส่งผลให้ จุดนี้ และหวังว่าจะช่วยกันพัฒนาเพื่อความก้าวหน้าต่อไป สัดส่วนกำ�ไรของพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นจากเดิม 10% ในปี 2557 เป็น 30% ขอขอบคุณ ในปี 2558 กิจกรรมที่สำ�คัญอีกประการที่บริษัทฯ ยึดถือเป็นแนวทางและดำ�เนินการ มาโดยตลอดคือ การดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางธุรกิจ ผู้ถือหุ้น และชุมชน รอบๆ โรงงานผ่าน กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (Corporate Social Responsibility – CSR) ทัง้ นี้ กล่าวได้วา่ จากลักษณะของการดำ�เนิน ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรชาวไร่อ้อยและชุมชนรอบๆ โรงงาน ทำ�ให้ บริษัทฯ ดำ�เนินกิจกรรม CSR ที่เข้มข้นมากกว่าธุรกิจอื่นๆ หรือ CSR in Process ซึ่งเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมที่แทรกอยู่ในกระบวนการทำ�งาน หลักของธุรกิจทัง้ หมด ตัง้ แต่ขน้ั ตอนการจัดหาวัตถุดบิ การจ้างงาน การผลิต การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม จนถึงขัน้ สินค้าออกสูท่ อ้ งตลาด ผลของการทำ�งาน ร่วมกับเกษตรกรและชุมชนอย่างใกล้ชิด ทำ�ให้บริษัทฯ มีความสัมพันธ์ที่ แน่นแฟ้นกับเกษตรกรชาวไร่อ้อย และชุมชนโดยรอบ ซึ่งจะเป็นพลังสำ�คัญ ในการผลักดันให้เกิดความก้าวหน้าในการดำ�เนินธุรกิจ เกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืน ตลอดจนการอยู่ร่วมกันอย่างผสมกลมกลืนของธุรกิจ สิ่งแวดล้อม และชุมชน

6

(นายประจวบ ไชยสาส์น) ประธานกรรมการ

(นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ) ประธานกรรมการบริหาร


คณะกรรมการบริษัท

นายประจวบ ไชยสาส์น

นางสีนวล ทัศน์พันธุ์

นายศิริชัย สมบัติศิริ

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ

กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำ�ปี 2557

7


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

8

อนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ

นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล

นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ

กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร

กรรมการ และกรรมการบริหาร

กรรมการ และกรรมการบริหาร


นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์

นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ

นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ

กรรมการ และกรรมการบริหาร

กรรมการ และกรรมการบริหาร

กรรมการ และกรรมการบริหาร

รายงานประจำ�ปี 2557

9


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร

10

นายวรเทพ เลิศชัยอุดมโชค

นายภัทรพงศ์ พงศ์สวัสดิ์

นายพิทักษ์ ชาวสวน

รองกรรมการผู้จัดการ กลุ่มการเงินและปฏิบัติการ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการอาวุโส ด้านต่างประเทศและนักลงทุนสัมพันธ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการอาวุโส กลุ่มการเงินและปฏิบัติการ


จุดเด่นทางการเงิน 4008.8

5385.7 3920.3 3897.9

2557

2556

รายได้รวม

สินทรัพย์รวม

241.5

3263.2

196.3

2557

2556

2557

2556

2557

2556

กำ�ไรสุทธิ

3397.3

หนี้สินรวม

5.14

1988.4 1.70 634.7

2556

2557

2556

D/E Ratio

2557

ส่วนของผู้ถือหุ้น

ในประเทศ

ต่างประเทศ อัตราส่วนการขายนํ้าตาล รายงานประจำ�ปี 2557

11


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจ : ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) ในธุรกิจที่เกี่ยวกับ การผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาล ธุรกิจผลพลอยได้จากการผลิตนํ้าตาล เช่น ธุรกิจไฟฟ้า ธุรกิจปุ๋ย และธุรกิจสนับสนุน คือ การวิจัยและพัฒนา เลขทะเบียนบริษัท : 0107556000523 สำ�นักงานใหญ่/โรงงาน : 237 หมู่ที่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 สำ�นักงานกรุงเทพฯ : 128/77-78 ชั้น 7 อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 04-465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสาร : 04-465-9020, 0-2216-5823 เว็บไซด์ : www.buriramsugar.com ___________________________________________________________________

บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด ประเภทธุรกิจ : โรงไฟฟ้าชีวมวล สำ�นักงานใหญ่/โรงงาน : 289 หมู่ที่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 สำ�นักงานกรุงเทพฯ : 128/77-78 ชั้น 7 อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 04-465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสาร : 04-465-9020, 0-2216-5823 ___________________________________________________________________ บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด ประเภทธุรกิจ : โรงไฟฟ้าชีวมวล สำ�นักงานใหญ่/โรงงาน : 284 หมู่ที่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 สำ�นักงานกรุงเทพฯ : 128/77-78 ชั้น 7 อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 04-465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสาร : 04-465-9020, 0-2216-5823 ___________________________________________________________________

บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาลทราย สำ�นักงานใหญ่/โรงงาน : 237 หมู่ที่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด สำ�นักงานกรุงเทพฯ : 128/77-78 ชั้น 7 อาคารพญาไทพลาซ่า ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายปุ๋ยอินทรีย์เคมี ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท สำ�นักงานใหญ่/โรงงาน : 237 หมู่ที่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 โทรศัพท์ : 04-465-9020, 0-2216-5820-2 สำ�นักงานกรุงเทพฯ : 128/77-78 ชั้น 7 อาคารพญาไทพลาซ่า โทรสาร : 04-465-9020, 0-2216-5823 ___________________________________________________________________ ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 04-465-9020, 0-2216-5820-2 บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด ประเภทธุรกิจ : วิจัย พัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปลูก โทรสาร : 04-465-9020, 0-2216-5823 และบำ�รุงรักษาอ้อย ___________________________________________________________________ สำ�นักงานใหญ่/โรงงาน : 237 หมู่ที่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 สำ�นักงานกรุงเทพฯ : 128/77-78 ชั้น 7 อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 04-465-9020, 0-2216-5820-2 โทรสาร : 04-465-9020, 0-2216-5823 ___________________________________________________________________

12


นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) (“BRR”) และบริษัทย่อย เป็นหนึ่ง ในบรรดาผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมนํ้าตาลของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย มีนายวิเชียร ตั้งตรงเวชกิจ ผู้ริเริ่มปลูกอ้อยและส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก อ้อยในจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นกลุ่มบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจผลิตและจำ�หน่าย นํ้าตาลทรายดิบ นํ้าตาลทรายขาวสีรำ� ทั้งในและต่างประเทศ นานกว่า 50 ปี รวมถึงการนำ�ผลพลอยได้ที่ได้จากกระบวนการผลิตนํ้าตาล เช่น กากอ้อย กากหม้อกรอง และกากนํ้าตาล ต่อยอดธุรกิจอย่างครบวงจร

ธุรกิจนํ้าตาล

บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (“BSF”)

จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2546 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท ต่อมาใน ปี 2553 ได้มีเพิ่มทุนจดทะเบียน และชำ�ระแล้วเป็น 990,637,000 บาท และ เป็น 1,050,000,000 บาท ในปี 2554 โดยในปี 2553 ถึง 2554 BSF ได้รับโอน พนักงานในฝ่ายผลิต จัดซื้อ การตลาด และสินเชื่อ และรับโอนทรัพย์สิน รวมถึงใบอนุญาตผลิตและจำ�หน่ายนํา้ ตาลทราย ใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงาน เครือ่ งหมายการค้าและใบอนุญาตผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจาก บริษทั นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) BSF ดำ�เนินธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาลทราย มีโรงงานตั้งอยู่ที่ 237 หมู่ที่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีกำ�ลังการผลิต ที่ได้รับอนุญาต 17,000 ตันอ้อยต่อวัน สามารถรองรับปริมาณอ้อยเข้าหีบ กว่าปีละ 2 ล้านตัน ผลิตภัณฑ์ที่จำ�หน่ายแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ นํ้าตาลทรายดิบและนํ้าตาลทรายขาวสีรำ� โดยจำ�หน่ายให้แก่ลูกค้าทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ นอกเหนือจากการผลิตนํ้าตาลแล้ว BSF ยัง สามารถผลิตไฟฟ้าจากไอนํ้าที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตนํ้าตาลได้ ประมาณ 10 เมกะวัตต์ จากกำ�ลังการผลิต 12 เมกะวัตต์ เพื่อใช้ภายใน พื้นที่บริเวณโรงงานนํ้าตาลได้

รายงานประจำ�ปี 2557

ธุรกิจผลพลอยได้

1. บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด (“BEC”)

เดิมชือ่ บริษทั บุรรี มั ย์เอทานอล จำ�กัด จดทะเบียนจัดตัง้ ในปี 2548 ด้วย ทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท และเพิ่มทุนเป็น 15,600,000 บาท ในเดือน สิงหาคม 2549 เพื่อเตรียมการก่อสร้างโรงงานเอทานอล แต่บริษัทได้ชะลอ การก่อสร้างโรงงานเอทานอล ต่อมาในปี 2553 บริษัทได้มีการเปลี่ยนชื่อ เป็นบริษทั บุรรี มั ย์พลังงาน จำ�กัด และเพิม่ ทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วเป็น 135,600,000 บาท ในปี 2554 BEC ดำ�เนินธุรกิจผลิตไฟฟ้าชีวมวล กำ�ลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ โดยใช้กากอ้อยเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิต และจำ�หน่ายกระแสไฟฟ้า ให้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) จำ�นวน 8 เมกะวัตต์ และใช้ภายใน โรงงาน 1.9 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าตั้งอยู่บนพื้นที่ใกล้เคียงโรงงานนํ้าตาล บุรรี มั ย์ เพือ่ ความสะดวกในการนำ�เอากากอ้อยทีไ่ ด้จากขบวนการผลิตนา้ํ ตาล มาใช้เป็นเชือ้ เพลิง และสะดวกในการจ่ายไฟฟ้า เมือ่ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 BEC ได้เข้าทำ�สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับ กฟภ. โดย กฟภ. ตกลงซือ้ ขายพลังไฟฟ้า ในปริมาณพลังไฟฟ้าสูงสุด 8 เมกะวัตต์ ที่ระบบแรงดัน 22,000 โวลท์ และ เริม่ มีการขายไฟฟ้าให้ กฟภ. ภายในเดือนพฤษภาคม 2555 ทัง้ นี้ การดำ�เนิน การผลิตไฟฟ้าของ BEC ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากสำ�นักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนในการผลิตพลังงานไฟฟ้าเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2554

2. บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด (“BPC”)

จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2554 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 170,000,000 บาท เป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการดำ�เนินธุรกิจผลิตไฟฟ้าชีวมวลโดยใช้กากอ้อย เป็นเชือ้ เพลิงหลัก นอกจากนี้ สามารถใช้ไม้สบั และแกลบเป็นวัตถุดบิ ในการ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ปัจจุบนั บริษทั BPC ได้ด�ำ เนินการก่อสร้างโรงงานเสร็จ แล้วและอยู่ระหว่างการทดสอบการจ่ายไฟฟ้า โดยโรงไฟฟ้าจะอยู่บริเวณ ใกล้เคียงกับโรงไฟฟ้าของ BEC และบริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด เพื่อสะดวกในการขนส่งกากอ้อยที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดย ไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้จะจำ�หน่ายให้แก่การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เมือ่ วันที่ 14 เมษายน 2556 BPC เดิมได้เข้าทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟภ. โดย กฟภ. ตกลง ซื้อขายพลังไฟฟ้าในปริมาณพลังไฟฟ้าสูงสุด 8 เมกะวัตต์ ที่ระบบแรงดัน 22,000 โวลท์ และจะเริม่ มีการขายไฟฟ้าให้ กฟภ. ภายในเดือนมิถนุ ายน 2558 ทั้งนี้ อย่างไรก็ตาม บริษัทอยู่ระหว่างการยื่นขออนุญาตเปลี่ยนแปลงวิธีการ ขายไฟฟ้าจากระบบ Adder เป็น Feed in tariff (FIT) นอกจากนี้ การดำ�เนิน การผลิตไฟฟ้าของ BPC ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากสำ�นักงาน คณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในการผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า เมื่ อ วั น ที่ 5 มกราคม 2558

13


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

3. บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด (“KBF”)

เป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจ

เป้าหมายด้านการดำ�เนินธุรกิจนํ้าตาลทราย จดทะเบียนจัดตั้งในปี 2554 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 15,000,000 บาท รวมถึงธุรกิจผลพลอยได้ ดำ�เนินธุรกิจผลิตปุ๋ยอินทรีย์ โดยปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้มาจากกากหม้อกรอง (ตะกอน) ของกระบวนการผลิตนํ้าตาล และนำ�มาผสมกับส่วนของปุ๋ยเคมี ทั้งนี้ เมื่อธันวาคม 2555 KBF เริ่มดำ�เนินการผลิตและจำ�หน่ายแล้ว และมี กำ�ลังการผลิตประมาณ 30,000 ตันต่อปี ซึง่ จะจำ�หน่ายให้แก่ BRD เพือ่ นำ�ไป ส่งเสริมให้ชาวไร่ที่อยู่ในพื้นที่ส่งเสริมต่อไป ทั้งนี้ เพื่อให้ชาวไร่นำ�ไปใช้ ปรับปรุงดินให้ดนิ มีความอุดมสมบูรณ์ ทำ�ให้ผลผลิตต่อไร่ออ้ ยสูงขึน้ สามารถ ไว้ตอได้นาน

กลุม่ บริษทั มุง่ เน้นเพือ่ รักษาความเป็นหนึง่ ในด้านการผลิตนํา้ ตาลทราย และ ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตนํ้าตาลทราย ตลอดระยะเวลา ที่ BSF ดำ�เนินการด้านโรงงานนํ้าตาล BSF ให้ความสำ�คัญในเรื่องคุณภาพ ในการผลิตนํ้าตาลทราย โดย BSF และ BRD มีนโยบายในการควบคุมการ ผลิตตัง้ แต่การจัดหาวัตถุดบิ โดยการทดลองพันธุอ์ อ้ ยหลากหลายพันธุ์ เพือ่ ให้ ได้ออ้ ยทีม่ คี วามเหมาะสมในแต่ละพืน้ ทีไ่ ร่ออ้ ยมากทีส่ ดุ และเพือ่ ให้ได้ผลผลิต นํ้าตาลออกมาอย่างมีคุณภาพสูงที่สุด (Yield) นอกจากนี้ บริษัทมีเป้าหมาย ในการพัฒนาธุรกิจ ด้านพลังงานไฟฟ้าชีวมวลอย่างต่อเนื่องควบคู่กับการ ธุรกิจสนับสนุน ขยายตัวของธุรกิจนํ้าตาล โดยวางแผนการเพิ่มกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าชีวมวล บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด (BRD) เพื่อรองรับกำ�ลังการผลิตของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของกลุ่มบริษัทในอนาคต เดิมชือ่ บริษทั บุรรี มั ย์จกั รกลพัฒนา จำ�กัด จดทะเบียนจัดตัง้ ในปี 2539 ด้วย และจัดจำ�หน่ายไฟฟ้าเพื่อสร้างผลตอบแทนสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท และเมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 บริษทั ภายใต้ปณิธานที่ว่า พลังงานไฟฟ้าเพื่อชุมชนและสังคม ได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 70,880,000 บาท และในปีเดียวกันบริษทั ได้มกี าร สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อชาวไร่อ้อย เปลีย่ นชือ่ เป็นบริษทั บุรรี มั ย์วจิ ยั และพัฒนาอ้อย จำ�กัด ชาวไร่อ้อยเปรียบเสมือนครอบครัวของกลุ่มบริษัท เนื่องจาก BSF/BRD BRD เป็นบริษัทย่อย ดำ�เนินการจัดหาวัตถุดิบให้กับ BSF ดำ�เนินธุรกิจโดย ไม่สามารถปลูกอ้อยได้เพื่อนำ�มาผลิตนํ้าตาลได้ทั้งหมด ชาวไร่อ้อยจึงเป็น การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกอ้อยในลักษณะ Contract farming พันธมิตรทีส่ �ำ คัญของ BSF/BRD คุณภาพของอ้อยส่งผลเป็นอย่างยิง่ ในการผลิต เพือ่ ให้มวี ตั ถุดบิ ทีเ่ พียงพอกับกำ�ลังการผลิตของ BSF พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ หากอ้อยที่ส่งเข้าหีบอ้อย มีคุณภาพไม่ดี มีเศษดินกาบใบมาก จะทำ�ให้การ เกีย่ วกับ พันธุอ์ อ้ ย เครือ่ งจักรกลต่างๆ ทีใ่ ช้ในธุรกิจการผลิตนา้ํ ตาล รวมถึง ผลิตมีปัญหาและอาจจะส่งผลถึงขั้นต้องหยุดการผลิต ดังนั้น BSF/BRD จัดการระบบชาวไร่ การส่งเสริมการปลูกอ้อยและการหีบอ้อยเพือ่ เพิม่ ศักยภาพ จึงให้ความสำ�คัญกับชาวไร่อ้อยเป็นอย่างมาก เพื่อให้ชาวไร่อ้อย ปลูกอ้อย และเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้แก่เกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้หลักในการ ที่มีคุณภาพ เพื่อให้ส่งผลดีต่อทั้งชาวไร่อ้อยเองและโรงงานนํ้าตาล BRD เลี้ยงครอบครัวและช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดียิ่งขึ้น มีการส่งเสริมชาวไร่ออ้ ยอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ โดยมีการพัฒนา ระบบไร่ออนไลน์และระบบดาวเทียมในการสำ�รวจพิกัดพื้นที่ปลูกอ้อย และการจัดนักส่งเสริมเกษตรกรเพื่อให้เป็นผู้ประสานงานกับชาวไร่อ้อยใน ทุกขั้นตอนการปลูกอ้อย เพื่อให้มั่นใจได้ว่าอ้อยที่นำ�มาเข้าหีบจะทำ�ให้ได้ ผลผลิตนํ้าตาลที่มีคุณภาพสูงสุด

14


เพิ่มมูลค่าสูงสุดจากผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ จากกระบวนการผลิตนํ้าตาลทราย

เป้าหมายการบริหารด้วยหลักคุณธรรมและธรรมาภิบาล

1. การดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส บริษัทมีการวางแผนดำ�เนินงานโดยมีการเปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์ที่ เหมาะสม เพือ่ สร้างความเป็นธรรมและเสริมสร้างความเท่าเทียมกันระหว่าง ผู้ถือหุ้น โดยบริษัทมีการจัดวางระบบการตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบอิสระ ภายในและภายนอกเพื่อความถูกต้องและโปร่งใส

กลุม่ บริษทั มีแผนทีจ่ ะสร้างมูลค่าจากผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากกระบวนการ ผลิตนา้ํ ตาลทรายให้ได้สงู สุด ทัง้ นี้ กลุม่ บริษทั ได้มกี ารผลิตไฟฟ้าจากกากอ้อย ผลิตปุ๋ยจากกากหม้อกรอง โดยปุ๋ยดังกล่าวก็ได้นำ�ไปใช้สำ�หรับไร่อ้อยใน อนาคตกลุ่มบริษัทมีแผนที่จะเพิ่มกำ�ลังการหีบอ้อย และจะเพิ่มกำ�ลังการ ผลิตไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ และจะใช้ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากกระบวนนํา้ ตาลทราย 2. ส่งเสริมและพัฒนาสังคม ตามกำ�ลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด บริษัทเชื่อว่าการพัฒนาธุรกิจของบริษัท จำ�เป็นต้องทำ�ควบคู่กับการพัฒนา สังคม โดยบริษัทมีการจัดทำ�โครงการเพื่อพัฒนาสังคม โดยการบริจาค เป้าหมายด้านบุคลากร บุคลากรของบริษทั เป็นทรัพยากรทีม่ คี วามสำ�คัญอย่างยิง่ ในการพัฒนาบริษทั และส่งเสริมชุมชนเพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของสังคม ซึ่งถือเป็นพันธกิจที่ บริษัทให้ความสำ�คัญในทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรบุคคล ทั้งเรื่อง สำ�คัญของบริษัท ตัวอย่างการสนับสนุนชุมชน เช่น การจัดหาบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน การพัฒนาบุคลากรให้มปี ระสิทธิภาพ - สนับสนุนด้านการศึกษา แก่โรงเรียนในเขตใกล้เคียง และโรงเรียนบ้าน สาวเอ้ เป็นโรงเรียนต้นแบบสาธิตรามคำ�แหงปี 2554-2557 มากขึ้น การรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีความสำ�คัญ - จัดกิจกรรมเพื่อหาทุนสร้างอาคารห้องสมุด ของโรงเรียนบ้านสาวเอ้ เป็น นอกจากนี้ บริษัทยังมีนโยบายให้พนักงานทุกระดับขั้นได้รับการอบรมอย่าง โรงเรียนต้นแบบสาธิตรามคำ�แหง โดยการสนับสนุนหลักจากมูลนิธวิ เิ ชียร เหมาะสมต่อหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน ให้บคุ ลากรของบริษทั ตั้งตรงเวชกิจ ได้รบั การสนองตอบต่อการขยายตัวของธุรกิจ และการแข่งขันในอุตสาหกรรม - เข้าเป็นส่วนร่วมกิจกรรมชุมชนในเทศกาลต่างๆ เพื่อส่งเสริมประเพณี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้องถิ่นอันดีงาม 3. ส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัย สุขภาพและความปลอดภัยของผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทมีความสำ�คัญ บริษทั จึงดำ�เนินงานโดยปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับสุขภาพและความ ปลอดภัยอย่างเคร่งครัด และมุ่งพัฒนายกระดับคุณภาพของบริษัท ตั้งแต่ การผลิตจนถึงการจัดจำ�หน่ายเพื่อประโยชน์ โดยมีการจัดตรวจสอบระบบ การผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อความมั่นใจในคุณภาพของสินค้าแก่ลูกค้า และ การดูแลระบบปฏิบตั โิ รงงานของบริษทั เพือ่ ความปลอดภัยแก่พนักงานบริษทั

รายงานประจำ�ปี 2557

15


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการที่สำ�คัญ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) เดิมชื่อ บริษัท โรงงานนํ้าตาล สหไทยรุ่งเรือง (2506) จำ�กัด (ได้รับโอนกิจการมาจากห้างหุ้นส่วนจำ�กัด โรงงานนํ้าตาลสหไทยรุ่งเรือง) จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2506 ด้วยทุนจดทะเบียน 2 ล้านบาท เพื่อประกอบธุรกิจโรงงานนํ้าตาลทรายแดง ที่จังหวัดบุรีรัมย์ โดยบริษัทมีพัฒนาการ และเหตุการณ์ที่สำ�คัญในอดีต ดังต่อไปนี้ ปี เหตุการณ์ที่สำ�คัญ 2506 • ก่อตั้ง บริษัท โรงงานนํ้าตาลสหไทยรุ่งเรือง (2506) จำ�กัด ด้วยทุนจดทะเบียน 2 ล้านบาท มีกำ�ลังการผลิตที่ได้รับ อนุญาตเริ่มแรกเท่ากับ 3,003 ตันอ้อยต่อวัน กลุ่มผู้ถือหุ้น หลักในช่วงแรก ได้แก่ กลุม่ นายวิเชียร ตัง้ ตรงเวชกิจ กลุม่ นายสมชัย ศิรภิ าณุมาศ และกลุม่ นายพิชยั เหลียงกอบกิจ 2523 • บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วเป็น 15 ล้านบาท 2529 • กลุม่ นายสมชัย ศิรภิ าณุมาศ และกลุม่ นายพิชยั เหลียงกอบกิจ ได้ขายหุน้ ทัง้ หมดให้กลุม่ ครอบครัวตัง้ ตรงเวชกิจ และเปลีย่ น ชื่อเป็นบริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด เพื่อประกอบธุรกิจ ผลิตนํา้ ตาลทรายดิบและนํา้ ตาลทรายขาวภายใต้เครือ่ งหมาย การค้า “กุญแจคู”่ 2533 • ได้รบั อนุญาตให้ขยายโรงงาน ครัง้ ที่ 2 ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2533 • เพิ่มกำ�ลังการผลิตเป็น 7,700 ตันอ้อยต่อวัน 2534-2537 • เพิม่ ทุนจดทะเบียนและชำ�ระอย่างต่อเนือ่ ง จนมีทนุ จดทะเบียน 200 ล้านบาท • ได้รบั อนุญาตให้เพิม่ กำ�ลังการผลิตเป็น 8,991 ตันอ้อยต่อวัน โดยไม่ได้เพิม่ กำ�ลังแรงม้าเครือ่ งจักรในเดือนตุลาคม ปี 2537 2539 • ก่อตั้ง บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด (“BRD”) ซึง่ เป็นบริษทั ในกลุม่ เพือ่ สนับสนุนด้านวิชาการและการจัดการ อ้อย เพื่อสร้างความมั่นคงด้านผลผลิต และสร้างชีวิตที่ดี แก่ชาวไร่อ้อย • ได้รับอนุญาตให้เพิ่มกำ�ลังการผลิตเป็น 12,000 ตันอ้อย ต่อวัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2539 โดยไม่ได้เพิม่ กำ�ลังแรงม้า เครื่องจักร

16

ปี เหตุการณ์ที่สำ�คัญ 2540 • บริษัทเริ่มประสบปัญหาทางการเงิน จากวิกฤตเศรษฐกิจ ของประเทศ 2544 • BRD เริ่มนำ�ระบบจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบ MIS (Management Information System) และ GIS (Geographic Information System) มาใช้เพือ่ บริหารจัดการการดำ�เนินงาน ครั้งแรก เดือนกรกฎาคม 2544 2546 • ก่อตั้ง บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (“BSF”) เพื่อ ดำ�เนินกิจการซื้อขายนํ้าตาล 2548 • ก่อตั้ง บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด (“BEC”) เพื่อรองรับ การดำ�เนินกิจการด้านพลังงานในอนาคต • บริษทั เริม่ ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ และเข้าสูก่ ระบวนการฟืน้ ฟู กิจการ 2552 • ได้รบั อนุญาตให้เพิม่ กำ�ลังการผลิตจากเดิม 12,000 ตันอ้อย ต่อวัน เป็น 17,000 ตันอ้อยต่อวัน ในเดือนกันยายน 2552 • BRD เริม่ ใช้ระบบนา้ํ หยดเป็นครัง้ แรก เพือ่ ให้แปลงอ้อยของ สมาชิกชาวไร่ได้รบั นา้ํ ในปริมาณทีเ่ หมาะสมต่อการให้ผลผลิต สูงสุดของอ้อย • BRD เริ่มใช้ระบบไร่ออนไลน์ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 เพื่อตรวจและติดตามแปลงอ้อยของสมาชิกชาวไร่ 2553 • บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด ทำ�สัญญาจะขายสินทรัพย์ และใบอนุญาตการประกอบธุรกิจ ให้แก่ บริษัท โรงงาน นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด ตามแผนฟื้นฟูกิจการ ซึ่งส่งผลให้ มีการเปลี่ยนแปลง ดังต่อไปนี้ - BRR โอนพนักงานในฝ่ายผลิต จัดซือ้ การตลาด และสินเชือ่ ให้แก่ BSF และพนักงานในฝ่าย จัดหาวัตถุดิบ และสินเชื่อ ปุ๋ยยาและอุปกรณ์ ให้แก่ BRD เพื่อความคล่องตัวในการ บริหารบุคลากร และผู้เชี่ยวชาญ ทั้งนี้ ในส่วนงานสาย ปฏิบัติการและสนับสนุน (ยกเว้นฝ่ายสินเชื่อ) ยังคงอยู่ ภายใต้การบริหารจัดการของบริษัท โดยสาเหตุหลักที่โอน บุคลากรไปยังบริษัทในเครือก่อน เนื่องจากยังไม่ได้รับการ อนุมัติในเรื่องการโอนใบอนุญาตจากคณะกรรมการอ้อย และนํ้าตาลทรายแต่ใกล้ระยะเวลาเปิดหีบอ้อย จึงต้อง โอนย้ายบุคลากรเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานต่อเนื่องได้ - BRR ออกจากแผนฟื้นฟูกิจการ


ปี เหตุการณ์ที่สำ�คัญ 2554 • BRR จำ�หน่ายทรัพย์สนิ รวมถึงใบอนุญาตผลิตและจำ�หน่าย นา้ํ ตาลทราย ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ให้แก่ BSF • BRR เปลี่ยนเป็นดำ�เนินกิจการ Holding company ใน ขณะที่ BSF ดำ�เนินกิจการผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาล • BEC มีกำ�ลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ ได้เข้าทำ� สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับ กฟภ. จำ�นวน 8 เมกะวัตต์ ส่วนที่ เหลือ 1.9 เมกะวัตต์ใช้ภายในโรงงาน และได้รบั บัตรส่งเสริม การลงทุน เลขที่ 2003(1)/2554 • ก่อตัง้ บริษทั ปุย๋ ตรากุญแจ จำ�กัด (“KBF”) เพือ่ ดำ�เนินธุรกิจ ผลิตและจำ�หน่ายปุ๋ยอินทรีย์ • ก่อตั้งบริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด (“BPC”) เพื่อรองรับ การขยายการดำ�เนินกิจการด้านการผลิตพลังงานไฟฟ้า ชีวมวล อันเนือ่ งมาจากการเติบโตของปริมาณอ้อยทีเ่ ข้าหีบ ซึ่งส่งผลให้มีกากอ้อยนำ�มาเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า มากขึ้น ทั้งนี้ BPC มีกำ�ลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ และได้ท�ำ สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับ กฟภ. จำ�นวน 8 เมกะวัตต์ 2555 • BRR เพิ่มทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วเป็น 320 ล้านบาท • BEC เริม่ มีการขายไฟฟ้าให้ กฟภ. ในเดือน พฤษภาคม 2555 • KBF เริ่มดำ�เนินการผลิต และจำ�หน่ายปุ๋ยอินทรีย์ โดยมี กำ�ลังการผลิตประมาณ 30,000 ตันต่อปี • BRR เข้าร่วมโครงการ “หุ้นใหม่ ความภูมิใจของจังหวัด” ซึง่ เป็นโครงการของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ทำ�ให้บริษัทได้รับสิทธิพิเศษ ต่างๆ เช่น การอบรมความรู้เกี่ยวกับตลาดทุน การให้ คำ�แนะนำ�จากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และโล่เชิดชูเกียรติ เป็นต้น

รายงานประจำ�ปี 2557

ปี เหตุการณ์ที่สำ�คัญ 2556 • บริษทั นา้ํ ตาลบุรรี มั ย์ จำ�กัด แปลงสภาพเป็น บริษทั นา้ํ ตาล บุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) • BRR เพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 676,750,000 บาท เพือ่ รองรับ การเสนอขายหุน้ แก่ประชาชนทัว่ ไป โดยแบ่งเป็นหุน้ สามัญ เพิ่มทุน จำ�นวน 180,800,000 หุ้น เสนอขายแก่ผู้ถือหุ้น เดิมในราคามูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ สามัญเพิม่ ทุน จำ�นวนไม่เกิน 6,767,500 หุน้ เสนอขายแก่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ในราคา 2.70 บาทต่อหุน้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุน จำ�นวนไม่เกิน 169,182,500 หุ้น เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป • BEC ออกรายการ “พลังไทยรักพลังงาน” ออกอากาศช่อง TNN วันที่ 22 กรกฎาคม 2556 • BRD มีจ�ำ นวนชาวไร่ออ้ ยเพิม่ ขึน้ 872 ราย และมีพน้ื ทีป่ ลูก อ้อยมากขึ้น 8,153.92 ไร่ ในปีการผลิต 2555/2556 รวม ทั้งสิ้น มีชาวไร่อ้อย 7,133 ราย และพื้นที่การปลูกอ้อย 129,516.73 ไร่ • BRD สร้างอากาศยานไร้คนบังคับ (UAV) สำ�หรับสำ�รวจ ไร่อ้อยเสร็จสมบูรณ์ และเริ่มใช้บินจริง เมื่อเดือนมกราคม 2556 สามารถบินสำ�รวจได้นาน 20 นาที ที่ความสูง 300 เมตร 2557 • BSF ขยายกำ�ลังการผลิตเป็น 17,000 ตันอ้อยต่อวัน • BEC ออกรายการ “อิเล็กตะลอน ชีวิตมีไฟ” ออกอากาศ ช่อง ททบ. 5 วันที่ 4 สิงหาคม 2557 • BRD มีจำ�นวนชาวไร่อ้อยเพิ่มขึ้น 2,754 ราย และมีพื้นที่ ปลูกอ้อยมากขึ้น 38,857.92 ไร่ ในปีการผลิต 2556/2557 รวมทั้งสิ้น มีชาวไร่อ้อย 9,887 ราย และพื้นที่การปลูกอ้อย 168,374.65 ไร • BRR ได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2557

17


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท

บริษัทเป็นบริษัท Holding Company ปัจจุบันมีบริษัทในเครือทั้งหมด 5 บริษัท โดยมีบริษัทย่อย 4 บริษัทที่มีการดำ�เนินธุรกิจ และยังมีอีก 1 บริษัท อยู่ระหว่างการก่อสร้างโรงงาน ดังนี้ ชื่อบริษัท/จำ�กัด ทุนจดทะเบียน สัดส่วน การประกอบธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ขนาดของบริษัทย่อย (ล้านบาท) การลงทุน ตามคำ�นิยามของ ต่อขนาดของ (ร้อยละ) ก.ล.ต. Holding Company* ธุรกิจนํ้าตาล บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด 1,050.00 99.90 ผลิตและจำ�หน่าย บริษัทที่ประกอบ 85 นํ้าตาลทราย (ธุรกิจหลัก) (70)** ธุรกิจผลพลอยได้ บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด 135.60 99.99 โรงไฟฟ้าชีวมวล บริษัทย่อย 5 (13)** บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด 170.00 99.99 โรงไฟฟ้าชีวมวล บริษัทย่อย N.A. (ถือหุ้นโดย บริษัท (อยู่ระหว่างก่อสร้าง บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด) โรงงาน) บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด 15.00 99.99 ผลิตและจำ�หน่าย บริษัทย่อย 7 ปุ๋ยอินทรีย์เคมี (7)** ธุรกิจสนับสนุน บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด 70.88 99.99 วิจัย พัฒนาเพื่อเพิ่ม บริษัทย่อย 3 ประสิทธิภาพการปลูก (10)** และบำ�รุงรักษาอ้อย

หมายเหตุ : * **

18

ขนาดของบริษัทย่อยต่อขนาดของ Holding Company คำ�นวณโดย นำ�รายได้ของธุรกิจหลักของบริษัทย่อย หารด้วยรายได้รวมปี 2557 แทนการใช้วิธีการแบ่งตามขนาดของสินทรัพย์ เนื่องจากบริษัทเชื่อว่าการใช้รายได้ในการระบุขนาดจะทำ�ให้สามารถแสดงผล การดำ�เนินงานและผลตอบแทนการลงทุนจากบริษัทย่อยต่างๆ ได้ใกล้เคียงกว่าขนาดของสินทรัพย์ ขนาดของบริษัทย่อยต่อขนาดของ Holding Company คำ�นวณโดยใช้เกณฑ์สินทรัพย์ โดยนำ�สินทรัพย์รวมของบริษัทย่อยหลังหัก รายการระหว่างกันมาหารด้วยสินทรัพย์รวมของ Holding Company ณ สิ้นปี 2557


โครงสร้างบริษัทย่อยของกลุ่มบริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย จำกัด (มหาชน)

99.99%

99.99%

บจ. โรงงาน นํ้าตาลบุรีรัมย

บจ. บุรีรัมยวิจัย และพัฒนาออย

กิจการโรงงานนํ้าตาล

สงเสริมการปลูกออย

99.99%

บจ. ปุยตรา กุญแจ ผลิตปุยอินทรียเคมี

99.99%

บจ. บุรีรัมย พลังงาน โรงงานไฟฟา 9.9 MW

99.99% 99.99%

บจ. บุรีรัมย เพาเวอร โโรงงานไฟฟ ไ า 9.9 MW

ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ -ไม่มี -

รายงานประจำ�ปี 2557

19


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ของบริษัท โครงสร้างรายได้ของบริษัทและบริษัทย่อย มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ 1. รายได้จากการจำ�หน่ายนํ้าตาล และกากนํ้าตาล 1.1 รายได้จากการขาย 899.05 22.87 886.64 22.12 908.37 23.17 นํ้าตาลทรายขาวสีรำ�ในประเทศ 1.2 รายได้จากการขาย 179.58 4.57 - - - นํ้าตาลทรายขาวสีรำ�ต่างประเทศ 1.3 รายได้จากการขาย 2,090.25 53.17 2,188.11 54.58 2,129.35 54.31 นํ้าตาลทรายดิบต่างประเทศ 1.4 รายได้จากการขาย กากนํ้าตาลในประเทศ รวมรายได้จากการขายนํ้าตาลทราย 3,308.12 80.60 3,368.34 84.02 3,328.04 84.88 และกากนํ้าตาล 2. รายได้จากธุรกิจเกี่ยวเนื่อง 2.1 รายได้จากการขายไฟฟ้า 94.03 2.39 132.62 3.31 182.53 4.66 2.2 รายได้จากการขายปุ๋ย 228.01 5.80 275.13 6.86 285.04 7.27 2.3 รายได้จากการขายและบริการอื่นๆ 259.85 6.61 202.78 5.06 100.79 2.57 รวมรายได้จากธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ 581.89 14.80 610.53 15.23 568.36 14.50 3. รายได้อื่นๆ * 43.49 1.11 29.93 0.75 23.92 0.62 รายได้รวม 3,931.52 100.00 4,008.80 100.00 3,920.32 100.00 หมายเหตุ * รายได้อื่นๆ ได้แก่ กำ�ไรจากการขายสินทรัพย์ หนี้สูญได้รับคืน และดอกเบี้ยรับ เป็นต้น

20


ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บริษทั โรงงานนา้ํ ตาลบุรรี มั ย์ จำ�กัด (“BSF”) ได้ผา่ นการตรวจรับรองระบบบริหารจัดการคุณภาพตาม ISO 9001:2008 มาตรฐานสำ�หรับระบบบริหารคุณภาพ “QMS” (“Quality Management System”) ซึง่ มุง่ เน้นให้มโี ครงสร้างการบริหารเพือ่ ให้ลกู ค้ามีความพึงพอใจสูงสุด มาตรฐาน “GMP” (“Good Manufacturing Practice”) มาตรฐานระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม “HACCP” ศาสนาอิสลาม ซึ่งอนุญาตให้มุสลิมบริโภคได้ เป็นต้น นํ้าตาลทรายที่ BSF ผลิตได้สามารถจำ�แนกได้ตามประเภทและเกรดของความบริสุทธิ์ของนํ้าตาลออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ นํ้าตาลทรายดิบและนํ้าตาลทรายขาวสีรำ� ตารางแสดงปริมาณการผลิตนํ้าตาลทรายของบริษัทจำ�แนกตามประเภทดังนี้

นํ้าตาลทรายดิบ นํ้าตาลทรายขาวสีรำ� รวม

ปี 2555 ตัน ร้อยละ 113,167.26 72.27 43,423.60 27.73 156,590.86 100.00

ปี 2556 ตัน ร้อยละ 142,825.69 75.43 46,511.23 24.57 189,336.92 100.00

ปี 2557 ตัน 152,947 48,265 201,212

ร้อยละ 76.00 24.00 100.00

หมายเหต ุ: ในปี 2553 โรงงานนํ้าตาลทราย ดำ�เนินการภายใต้ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด แต่เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554 ได้มีการดำ�เนินธุรกิจผลิต และจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายภายใต้ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด ที่มา : บริษัท

1. นํ้าตาลทรายดิบ

นํ้าตาลทรายดิบผลิตจากอ้อยโดยตรง เป็นนํ้าตาลที่ได้จากกระบวนการผลิตขั้นต้น โดยกระบวนการเคี่ยวและตกผลึกนํ้าตาล โดยมีค่าสีสูงกว่า 1,500 ICUMSA สีจะมีลักษณะเป็นสีนํ้าตาลเข้ม มีสิ่งสกปรกเจือปนสูง ความบริสุทธิ์ตํ่า เป็นเกล็ดใส สีนํ้าตาลเข้มอ่อนถึงเข้มมีความชื้นปานกลาง เกล็ดนํ้าตาลจะ จับติดกันไม่ร่วน นํ้าตาลชนิดนี้ไม่สามารถนำ�ไปบริโภคโดยตรงได้ ต้องนำ�นํ้าตาลไปผ่านกระบวนการรีไฟน์หรือทำ�ให้บริสุทธิ์ก่อน เพื่อผลิตเป็นนํ้าตาลทราย ขาวหรือนํ้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ การขนถ่ายนํ้าตาลทรายดิบจะขนถ่ายในลักษณะ Bulk เพื่อจำ�หน่ายให้แก่ลูกค้าต่างประเทศ นํ้าตาลทรายดิบคุณภาพสูง (High Polarization Sugar) เป็นนํ้าตาลทรายดิบซึ่งผ่านกระบวนการทำ�ให้บริสุทธิ์บางส่วนทำ�ให้สีของนํ้าตาลเป็นสีเหลืองแกม นํ้าตาล โดยทั่วไปจะมีค่าสีอยู่ระหว่าง 1,000 - 1,500 ICUMSA สามารถนำ�มาบริโภคได้โดยตรง ในการจำ�หน่าย BSF จะนำ�ผลิตภัณฑ์นํ้าตาลทรายดิบ คุณภาพสูงบรรจุในกระสอบและส่งออกไปขายต่างประเทศ

2. นํ้าตาลทรายขาวสีรำ�

นํ้าตาลทรายขาวสีรำ� เป็นนํ้าตาลทรายที่ผ่านกระบวนการทำ�ให้บริสุทธิ์แล้ว แต่ไม่ได้ผ่านกระบวนการลดค่าสี ทำ�ให้สีของนํ้าตาลเป็นสีทอง มีค่าสีไม่เกิน 1,000 ICUMSA บริษัทผลิตนํ้าตาลทรายขาวเกรด 3 (นํ้าตาลทรายขาวสีรำ�) ค่าสี 401-1,000 ICUMSA ความชื้นร้อยละ 0.1 เพื่อจำ�หน่ายแก่ยี่ปั๊ว ในบริเวณ ชุมชน พืน้ ทีใ่ กล้เคียงในจังหวัดบุรรี มั ย์ และต่างจังหวัด โดยมีขนาดบรรจุภณั ฑ์หลายขนาดเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ลูกค้า ดังนี้ - ขนาดบรรจุ 1 ก.ก. - ขนาดบรรจุ 50 ก.ก. - ขนาดบรรจุ 1 ก.ก. ในกระสอบ 50 ก.ก. - ขนาดบรรจุ 500 กรัม - ขนาดบรรจุ 500 กรัม ในกระสอบ 25 ก.ก. - ขนาดบรรจุ 1 ก.ก. ในกระสอบ 25 ก.ก.

รายงานประจำ�ปี 2557

21


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

นอกเหนือจากผลผลิตนา้ํ ตาลทีไ่ ด้จากการผลิตของโรงงานนา้ํ ตาลแล้ว โดยทัว่ ไป ปริมาณอ้อย 14,000 ตัน BSF จะสามารถผลิตนา้ํ ตาลได้ประมาณ 1,500 ตัน และได้ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากการผลิตนา้ํ ตาล ได้แก่ กากนา้ํ ตาลประมาณ 600 ตัน กากอ้อยประมาณ 3,500 ตัน และกากหม้อกรอง ประมาณ 600 ตัน ทั้งนี้ ลักษณะและการนำ�ไปใช้ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์พลอยได้ มีรายละเอียดดังนี้

- กากนํ้าตาล (Molasses)

เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการเคี่ยวนํ้าตาล ซึ่งเป็นส่วนของเหลวที่เหลือหลังจากการแยกเอาผลึกของนํ้าตาลออกแล้วมีลักษณะเหนียวข้น สีนํ้าตาลเข้ม องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นนํ้าตาลซูโครสที่ไม่ตกผลึก ในการผลิตนํ้าตาลทรายนั้นจะมีกากนํ้าตาลซึ่งเป็นผลพลอยได้เกิดขึ้นประมาณ 40 ถึง 45 กิโลกรัม จากปริมาณอ้อยที่เข้าหีบ 1 ตัน กากนํ้าตาลสามารถนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตของอาหารและเครื่องดื่ม อาทิ การผลิตแอลกอฮอล์ ยีสต์ ผงชูรส อาหารสัตว์ นํ้าส้มสายชู ซีอิ๊ว ซอสปรุงรส เป็นต้น

- กากอ้อย (Bagasses)

เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการหีบอ้อย ประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน ซึง่ มีคณุ สมบัตเิ หมาะสมทีส่ ามารถใช้เป็นเชือ้ เพลิง ได้อย่างดี เมื่อนำ�กากอ้อยไปตากจนแห้ง จะสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ นอกจากกากอ้อยจะใช้เป็นเชื้อเพลิงแล้วยังสามารถนำ�ไป ใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษ ไม้อัด (Fiber Board) แผ่น Particle board และการผลิตเซลลูโลสได้ ปัจจุบัน บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด (BEC) บริษัทย่อยของบริษัทดำ�เนินธุรกิจผลิตกระแสไฟฟ้าจากชีวมวล ขนาด 9.9 เมกะวัตต์ โดยใช้กากอ้อย เป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตและจำ�หน่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (“กฟภ.”) จำ�นวน 8 เมกะวัตต์ และใช้ภายในโรงงาน 1.9 เมกะวัตต์ สำ�หรับกากอ้อยส่วนที่เหลือจากการใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าจะจำ�หน่ายไปให้กับโรงงานไฟฟ้าชีวมวลแห่งอื่นๆ

- กากหม้อกรอง (Filter cake)

เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการกรองนํ้าอ้อยหลังจากพักใสแล้ว กากตะกอนจะมีนํ้าตาลติดออกมาพอสมควร มีสารอาหาร เช่น โปรตีน และแร่ธาตุต่างๆ สามารถใช้ในการปรับปรุงดินได้ เพราะมีความพรุนในตัวจึงช่วยการกระจายนํ้าในดินได้ นอกจากนี้ยังพบว่าสามารถปรับสภาพดินให้ร่วนซุย มีความเป็น กรดลดลง หรือใช้แก้นํ้าที่มีสภาพเป็นกรดได้ นอกจากกากหม้อกรองจะใช้เป็นปุ๋ยแล้ว ยังสามารถนำ�ไปใช้ทำ�อาหารสัตว์ หรือผลิตก๊าซชีวภาพได้ ปัจจุบัน BSF มีการจำ�หน่ายกากหม้อกรองให้แก่บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด หรือ KBF ซึ่งเป็นบริษัทในเครือนํ้าตาลบุรีรัมย์ ซึ่งดำ�เนินธุรกิจผลิตปุ๋ยตัดต่อ ระหว่างปุ๋ยอินทรีย์เคมีและปุ๋ยเคมี โดยใช้กากหม้อกรองเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และจำ�หน่ายปุ๋ยให้แก่BRD เพื่อนำ�ไปส่งเสริมแก่ชาวไร่ในพื้นที่ ส่งเสริม เพื่อให้ชาวไร่ได้ปุ๋ยที่มีคุณภาพ ทำ�ให้ผลผลิตต่อไร่อ้อยสูงขึ้น ทั้งนี้ในกระบวนการผลิตนํ้าตาลนั้น จะเกิดไอนํ้าซึ่งใช้ประโยชน์ในการขับเคลื่อน เครือ่ งจักร รวมถึงผลิตไฟฟ้าจากไอนา้ํ ทีเ่ กิดขึน้ BSF มีก�ำ ลังการผลิตไฟฟ้าจากไอนา้ํ 12 เมกะวัตต์ โดยปัจจุบนั สามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 10 เมกะวัตต์ เพื่อใช้ภายในพื้นที่บริเวณโรงงานนํ้าตาลได้ ซึ่งเป็นการช่วยลดต้นทุนค่าไฟฟ้า รวมถึงเป็นการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท

22


การตลาดและภาวะการแข่งขัน

กลยุทธ์ในการแข่งขัน

กลุ่มบริษัทมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการผลิตและจัดจำ�หน่ายนํ้าตาลมาเป็นเวลากว่า 50 ปี บริษัทได้พัฒนาธุรกิจนํ้าตาลทรายอย่างต่อเนื่อง อาทิ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เกี่ยวกับ พันธุ์อ้อย อุปกรณ์ เครื่องจักรกลต่างๆ ที่ใช้ในธุรกิจการผลิตนํ้าตาล การส่งเสริมการปลูกอ้อย และงานสนับสนุนต่างๆ เช่น ระบบบริการจัดการไร่อ้อย เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ในการดำ�เนินธุรกิจ คือ “เป็นเลิศด้านวิชาการและการจัดการ เพื่อสร้างความมั่นคงด้านผลผลิตและสร้างชีวิตที่ดีแก่ชาวไร่อ้อย” ซึ่งกลยุทธ์ในการแข่งขันที่บริษัทนำ�มาใช้ มีดังนี้

• ความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกอ้อย

จากข้อมูลสถิติพื้นที่เพาะปลูกอ้อยในปีการผลิต 2554/2555 พบว่า พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปริมาณอ้อยเข้าโรงงานสูงสุด เนื่องจากมีปริมาณนํ้าฝน และสภาพภูมิอากาศเอื้ออำ�นวยต่อการเพิ่มผลผลิตอ้อย โดยเมื่อพิจารณาจากรายงานพื้นที่เพาะปลูกอ้อยและผลผลิตปีการผลิต 2556/2557 พบว่า จังหวัด บุรรี มั ย์ มีพน้ื ทีป่ ลูกอ้อย 200,112 ไร่ (คิดเป็นลำ�ดับ 3 เมือ่ เปรียบเทียบกับจังหวัดอืน่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) สร้างผลผลิตอ้อย เท่ากับ 11.29 ตันต่อไร่

• ความแข็งแกร่งของการวิจัยและพัฒนา (ดำ�เนินการโดยบริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด)

เนื่องด้วยแนวคิดที่ว่า “นํ้าตาลสร้างจากไร่ โรงงานเป็นเพียงผู้สกัดนํ้าตาลออกจากอ้อยเท่านั้น” ดังนั้น บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด หรือ BRD ซึ่งมีหน้าที่สนับสนุนการส่งเสริมการปลูกอ้อยจึงถือเป็นหัวใจสำ�คัญต่อการประกอบธุรกิจของโรงงานนํ้าตาลและผลพลอยได้ของกลุ่มบริษัท โดย BRD มีจุดเด่น ดังนี้ - มีความรู้ความเข้าใจถึงประเภทอ้อย พันธุ์อ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่ และระยะเวลาการตัดอ้อยที่เหมาะสม อาทิ อ้อยปลายฝนเป็นอ้อยที่ให้ผลผลิตและ คุณภาพดีที่สุด จะปลูกในช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม อายุที่เหมาะสมในการปลูกอ้อย คือ 12 ถึง 13 เดือน ในขณะที่อ้อยต้นฝน มีข้อเสีย คือ ผลผลิตและคุณภาพไม่ดี ต้นทุนสูง มีวัชพืชมาก และเสี่ยงต่อนํ้าท่วมและอ้อยตอ ซึ่งเป็นอ้อยที่เกิดจากการตัดต้นเดิมออก มีการลงทุนตํ่า ผลผลิต อาจมากกว่าหรือตํ่ากว่าอ้อยปลูกใหม่ก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับการบำ�รุงรักษา เป็นต้น - มีการพัฒนาปรับปรุงดินและปุ๋ยอย่างต่อเนื่องร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา เพื่อคิดค้นสูตรปุ๋ยที่เหมาะสมกับพื้นที่ปลูกอ้อย แบบรายแปลงเกษตรกรได้ทุกแปลง ซึ่งจะช่วยเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนของเกษตรกรได้ - มีการควบคุมการระบาดของโรคและแมลง โดยใช้วิธีธรรมชาติและมีการเพาะเลี้ยงศัตรูธรรมชาติ อาทิ แตนเบียน เพื่อควบคุมการระบาดของหนอนกอ เชื้อราเขียวเพื่อกำ�จัดด้วงหนวดยาว ทำ�ให้วัตถุดิบมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค เป็นต้น - มีฝ่ายส่งเสริมการปลูกอ้อยของชาวไร่ให้ได้ตามปริมาณและคุณภาพตามเป้าหมายที่กำ�หนด ซึ่งดูแลอย่างใกล้ชิดโดยนักส่งเสริมกระจายทุกพื้นที่รวม 10 สำ�นักงานย่อย ซึ่งนักส่งเสริม 1 ท่าน จะรับผิดชอบปริมาณอ้อย 30,000 ถึง 50,000 ตันต่อคน หรือชาวไร่จำ�นวน 200 ถึง 250 ราย และดูแลด้วยระบบ สารสนเทศแบบออนไลน์และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยการใช้ GPS ในการสำ�รวจพิกัดพื้นที่ปลูกอ้อยและมีการจัดการอย่างมีระบบ - มีการส่งเสริมการใช้ระบบนา้ํ ในการเพิม่ ผลผลิตอ้อย ซึง่ จะช่วยเพิม่ ช่วงเวลาการปลูกอ้อยนอกฤดูกาลปกติรวมถึงการใส่ปยุ๋ ผ่านระบบนํา้ ได้ ทำ�ให้จากปกติ ที่สามารถให้ผลผลิต 10 ถึง 20 ตันอ้อยต่อไร่ สามารถเพิ่มผลผลิตเป็น 30 ถึง 40 ตันอ้อยต่อไร่ได้ - มีการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม และมีการจัดแบ่งเกรดชาวไร่จากความรู้ความสำ�เร็จในการปลูกอ้อยเพื่อง่ายต่อ การพัฒนา เป็นต้น - การศึกษาดูงานทัง้ ในและนอกประเทศ เพือ่ เสริมสร้างประสบการณ์ พัฒนาและประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับฟาร์มของตัวเอง - การดำ�เนินการโดยใช้ระบบกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็งเพื่อให้เกิดการวางแผนและควบคุม ติดตามการจัดการอ้อยให้เป็นระบบทันต่อเวลา ทั้งเครื่องมือ เครื่องจักรให้เหมาะสมและบริการอย่างเพียงพอ

รายงานประจำ�ปี 2557

23


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

• ความสามารถในการจัดหาวัตถุดิบ และวัตถุดิบที่มีคุณภาพ

สืบเนื่องจากบริษัทเล็งเห็นความสำ�คัญของชาวไร่อ้อย กลุ่มบริษัทจึงมุ่งเน้นพัฒนาความรู้ทางด้านวิชาการและสนับสนุนด้านสินเชื่อแก่ชาวไร่อ้อย ทำ�ให้ กลุ่มบริษัทได้รับการสนับสนุนจากชาวไร่อ้อยอย่างมาก จะเห็นได้ว่ามีปริมาณชาวไร่อ้อยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จากเดิมที่มีชาวไร่อ้อย 5,665 ราย ในปี 2553 เพิ่มเป็น 9,000 รายในปี 2556 และคาดว่าจะมีชาวไร่อ้อยเพิ่มขึ้นเป็น 10,000 รายในปี 2557 ซึ่งทำ�ให้พื้นที่ปลูกอ้อยเพิ่มขึ้นจาก 129,000 ไร่ ในปี 2556 เป็น 170,000 ไร่ในปี 2557 นอกจากนี้ ชาวไร่อ้อยส่วนใหญ่มีความชำ�นาญในการปลูกอ้อยเป็นระยะเวลานาน มีความเชีย่ วชาญในอาชีพ ยอมรับและ พัฒนาตนเองพร้อมกับโรงงานนํ้าตาลอยู่ตลอดเวลา ทำ�ให้มีปริมาณอ้อยเข้าหีบเพิม่ ขึน้ โดยในการจัดหาอ้อยเข้าหีบ บริษทั ทำ�สัญญา Contract Farming เพื่อเป็นการให้การส่งเสริมปัจจัยการผลิตและการส่งมอบผลผลิตให้กับบริษัทกับชาวไร่ส่วนใหญ่ในพื้นที่ภายในระยะ 50 กิโลเมตรของโรงงาน และมีการ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชาวไร่อ้อย โดยมีการจัดส่งนักส่งเสริมชาวไร่ลงพื้นที่เพื่อให้การปลูกอ้อยของชาวไร่แต่ละคนเป็นไปอย่างเรียบร้อย มีการจัดการ บริหารทัง้ ทางด้านการตรวจสอบสภาพดินและนํา้ การเลือกปลูกอ้อยแต่ละพันธุเ์ พือ่ ให้เข้ากับพืน้ ที่ และการช่วยดูแลในแต่ละช่วงของการปลูกอ้อย เพือ่ ให้ชาวไร่ สามารถปลูกอ้อยมีผลผลิตต่อไร่ทด่ี ี มีรายได้ทม่ี น่ั คงและเป็นพันธมิตรที่ดีของบริษัท จากการบริหารจัดการดังกล่าวทำ�ให้ทผ่ี า่ นมา BSF ไม่เคยมีปญั หาในการจัดหาอ้อยให้ได้เพียงพอในฤดูการหีบอ้อย นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งแนวเขตการแบ่ง พื้นที่หรือการโซนนิ่ง ระหว่างโรงงานนํ้าตาลด้วยกัน ซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ และนครราชสีมา เพื่อป้องกันปัญหาการแย่งอ้อยระหว่างโรงงาน นํ้าตาล ตารางแสดงพืน้ ทีป่ ลูกอ้อย ปริมาณอ้อยทีน่ �ำ เข้าหีบ และจำ�นวนคูส่ ญั ญาทีร่ บั การส่งเสริม

2551/52 2552/53 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (ประมาณการ) พื้นที่ปลูกอ้อย (ไร่) ปริมาณอ้อยที่นำ�เข้าหีบ (ล้านตัน) จำ�นวนคู่สัญญา (ราย) ที่มา : บริษัท

24

90,000 0.96 4,540

98,000 1.17 4,460

118,0000 1.58 5,665

107,900 1.48 6,000

129,000 1.75 9,000

168,000 1.77 15,000

178,000 2.25 15,500


• ประสิทธิภาพในการผลิต คุณภาพความหวาน

จากการที่บริษัทให้ความสนใจตั้งแต่เริ่มการคัดเลือกพื้นที่ เตรียมพันธุ์อ้อย การวิเคราะห์ดิน การปลูกและดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวให้ได้คุณภาพ (อ้อยต้อง ได้อายุ อ้อยต้องถูกพันธุ์ อ้อยต้องสดสะอาด) การดูแลรักษาอ้อยตั้งแต่ได้รับการส่งเสริมจนกระทั่งอ้อยเติบโต ทำ�ให้ชาวไร่อ้อยได้ผลผลิตอ้อยที่มีคุณภาพสูง โดยเมื่อพิจารณาจากสถิติประสิทธิภาพในการผลิตนํ้าตาลพบว่า BSF สามารถผลิตนํ้าตาลได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม รายละเอียดดังตารางต่อไปนี้อัตราผลผลิตนํ้าตาลทรายต่อตันอ้อย บุรีรัมย์ สุรินทร์ และนครราชสีมา เพื่อป้องกันปัญหาการแย่งอ้อยระหว่างโรงงานนํ้าตาล ตารางแสดงพื้นที่ปลูกอ้อย ปริมาณอ้อยที่นำ�เข้าหีบ และจำ�นวนคู่สัญญาที่รับการส่งเสริม

(กิโลกรัมต่อ 1 ตันอ้อย)

2551/52 2552/53 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (ประมาณการ) BSF ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม

111.46 106.63

112.05 108.13

101.91 101.17

109.55 101.33

105.00 100.28

117.66 100.93

117.00 N.A.

ที่มา : บริษัท นอกจากอ้อยที่มีคุณภาพแล้ว บริษัทยังมุ่งเน้นพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องจักร มีการควบคุมกระบวนการผลิตด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การนำ�อ้อย เข้าหีบ จนกระทั่งบรรจุนํ้าตาล โดยมีการตรวจสอบคุณภาพการผลิตในแต่ละขั้นตอน และตรวจสอบคุณภาพนํ้าตาลทรายขั้นสุดท้ายก่อน จำ�หน่ายโดย บริษัทตรวจสอบคุณภาพอาหารระดับนานาชาติ นอกจากนี้จากประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการผลิตนํ้าตาลทรายมากกว่า 50 ปี ทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์ นํ้าตาลมีคุณภาพสูง

รายงานประจำ�ปี 2557

25


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

• ระบบการบริหารจัดการไร่อ้อยที่มีประสิทธิภาพ

บริษัท BRD มีการนำ�ระบบสารสนเทศแบบออนไลน์และระบบดาวเทียมในการสำ�รวจพิกัดพื้นที่ปลูกอ้อย ในการบริหารจัดการ โดยสามารถติดตามข้อมูล ผ่านโทรศัพท์มือถือ หรือ Website ในทุกกิจกรรมการปลูกอ้อยและการบริหารจัดการแบบรายแปลง ตั้งแต่ในการวัดพื้นที่การปลูก แปลงตัด และแปลง บำ�รุงตอ รวมถึงการจัดคิวตัดอ้อย ซึ่งจะช่วยให้การทำ�งานส่งเสริมมีความถูกต้อง รวดเร็ว และได้อ้อยที่มีนํ้าหนักและค่าความหวานสูง โดยในแต่ละ กระบวนการ จะมีนักส่งเสริม ช่วยติดตามและแก้ไขปัญหาให้ชาวไร่ เพื่อให้ชาวไร่มีผลผลิตต่อไร่ที่ดี และมีคุณภาพตามที่ต้องการ

• สร้างความพึงพอใจและรักษาความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า

บริษัทให้ความสำ�คัญในการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า โดยบริษัทออกสำ�รวจตลาดนํ้าตาลทรายในแต่ละพื้นที่ สำ�รวจความนิยมของนํ้าตาลทรายใน ยี่ห้อต่างๆ พฤติกรรมผู้บริโภคและความต้องการของลูกค้าในแต่ละพื้นที่รับฟังข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียนต่างๆ รวมทั้งจัดทำ�แบบสอบถามความพึงพอใจ ของลูกค้าทุกๆ 3 เดือนเพื่อนำ�มาปรับปรุง เพิ่มเติม พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลูกค้าสามารถเชื่อมั่นและไว้ใจในกระบวนการผลิต และการบริการที่มีประสิทธิภาพของบริษัท

• ลักษณะลูกค้า และช่องทางการจำ�หน่าย

BSF ขายผลิตภัณฑ์นํ้าตาลให้แก่ลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยในการขายนํ้าตาลในประเทศส่วนใหญ่จะเป็นผลิตภัณฑ์นํ้าตาลทรายขาวสีรำ� และในส่วนการขายต่างประเทศ จะเป็นผลิตภัณฑ์นํ้าตาลทรายดิบ โดยในรอบระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา สัดส่วนรายได้จากการขายนํ้าตาลทรายในประเทศ ต่อการขายนํ้าตาลทรายในต่างประเทศมีดังนี้ ตารางแสดงรายได้การขายนํ้าตาลโดยแบ่งเป็นยอดขายในประเทศและต่างประเทศ

ปี 2554 * ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ขายในประเทศ นํ้าตาลทรายขาวสีรำ� 606.81 21.06 899.05 28.37 886.64 28.84 908.37 29.90 ขายต่างประเทศ นํ้าตาลทรายขาวสีรำ� 146.09 5.07 179.58 5.67 - - - นํ้าตาลทรายดิบ 2,127.71 73.87 2,090.25 65.96 2,188.11 71.16 2,129.35 70.10 รวม 2,880.61 100.00 3,168.88 100.00 3,074.75 100.00 3,037.72 100.00 หมายเหตุ * ในปี 2553 โรงงานนํ้าตาลทราย ดำ�เนินการภายใต้ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด แต่เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554 ได้มีการดำ�เนินธุรกิจผลิต และจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายภายใต้ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด

26


กลุ่มลูกค้าเป้าหมายและช่องทางการจำ�หน่าย

1. การขายภายในประเทศ (โควต้า ก.)

BSF จำ�หน่ายนํ้าตาลทรายขาวสีรำ�ให้กับลูกค้าภายในประเทศผ่านผู้กระจายสินค้ารายย่อย (ยี่ปั๊ว) และขายให้ผู้บริโภคโดยตรงซึ่งอยู่ภายในชุมชน พื้นที่ ใกล้เคียงในจังหวัดบุรีรัมย์และต่างจังหวัด ภายใต้ยี่ห้อ “กุญแจคู่” โดยผู้ซื้อจะมารับที่หน้าโรงงาน ผู้กระจายสินค้า (ยี่ปั๊ว) จะนิยมซื้อสินค้านํ้าตาลจาก BSF ขนาด 50 กิโลกรัม เพื่อนำ�ไปจำ�หน่ายต่อให้แก่ผู้บริโภค เนื่องจากการขายนํ้าตาลผ่านช่องทางนี้ มีการแข่งขันสูง ในการซือ้ ขาย ทีมการขายของ BSF จะมีการติดตามสอบถามความต้องการซือ้ นํา้ ตาลอย่างสมํา่ เสมอ มีการจัดทำ�แบบสอบถามความพึงพอใจ ของลูกค้าทุก 3 เดือน และมีการเสนอโปรโมชั่นต่างๆ เพื่อเป็นการรักษาฐานลูกค้ากลุ่มนี้ ในส่วนผู้กระจายสินค้าจะแจ้งความจำ�นงมาที่ BSF ล่วงหน้า 3-4 วัน หรือรับคำ�สั่งซื้อจากลูกค้าวันต่อวัน ด้วยความสัมพันธ์อันดีระหว่าง BSF กับลูกค้า ลูกค้ากลุ่มปัจจุบันเป็นลูกค้าที่ซื้อนํ้าตาลกับบริษัทเป็นระยะ เวลานาน เนื่องจากมีความเชื่อมั่นในคุณภาพและการส่งมอบสินค้าเป็นไปตามกำ�หนดเวลา และเพื่อเป็นการเพิ่มการเติบโตของยอดขายและฐานลูกค้า BSF พยายามเข้าถึงกลุม่ ลูกค้าใหม่ทม่ี ศี กั ยภาพในการรับและกระจายสินค้าได้ดใี นแต่ละพืน้ ที่ โดยการออกพืน้ ทีส่ �ำ รวจตลาดแต่ละจังหวัดเพือ่ หาผูก้ ระจายสินค้า รายใหญ่อย่างต่อเนื่อง ตารางต่อไปนี้ แสดงสัดส่วนการขายภายในประเทศผ่านช่องทางการจัดจำ�หน่ายในแต่ละช่องทางของ BSF

ผู้กระจายสินค้า (ยี่ปั๊ว) ยอดขายรวม

ปี 2554 * ล้านบาท ร้อยละ 606.81 100.00 606.81 100.00

ปี 2555 ล้านบาท ร้อยละ 899.05 100.00 899.05 100.00

ปี 2556 ล้านบาท ร้อยละ 886.64 100.00 886.64 100.00

ปี 2557 ล้านบาท ร้อยละ 908.37 100.00 908.37 100.00

หมายเหต * ในปี 2553 โรงงานนํ้าตาลทราย ดำ�เนินการภายใต้ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด แต่เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554 ได้มีการดำ�เนินธุรกิจผลิต และจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายภายใต้ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด ที่มา : บริษัท

2. การขายต่างประเทศ (โควต้า ข. และ ค.)

ในการขายนํ้าตาลไปต่างประเทศ ในส่วนของ โควต้า ข. จะเป็นการจัดสรรปริมาณที่ คณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย (“กอน.”) กำ�หนด โดยส่งให้ บริษัท อ้อยและนํ้าตาลไทย จำ�กัด (“อนท.”) เป็นผู้ขาย และในส่วนโควต้า ค. นั้น ทาง BSF จะสามารถส่งออกนํ้าตาลผ่านตัวแทนการส่งออกที่ได้รับ อนุญาตจาก กอน. จำ�นวน 7 บริษัท โดยบริษัท ร่วมกับโรงงานนํ้าตาล 19 แห่ง จัดตั้งบริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด เพื่อเป็นตัวแทนการส่งออกนํ้าตาล ของ BSF โดยบริษัทเป็นผู้ดำ�เนินการติดต่อขายนํ้าตาลกับลูกค้าในประเทศเอง และบริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด มีหน้าที่ดังนี้ - บริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด เป็นผู้ดำ�เนินการส่งสินค้า จัดเตรียมเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการส่งออกและดำ�เนินพิธีการทางศุลกากรรวมถึง การเรียกเก็บเงินจากลูกค้าของ BSF - บริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด เข้าทำ�สัญญาสินเชื่อเพื่อการส่งออกจากธนาคารพาณิชย์ให้แก่ BSF ในนามบริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด เพื่อ รับการสนับสนุนทางการเงิน - บริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด จะโอนเงินที่ได้รับตามวงเงินสินเชื่อเพื่อการส่งออกกับธนาคารพาณิชย์ให้ BSF โดย BSF ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้แก่ บริษทั ค้าผลผลิตนํา้ ตาล จำ�กัด เพือ่ เป็นหลักฐานการรับเงิน โดยอัตราดอกเบีย้ ที่ BSF จ่ายให้กบั บริษทั ค้าผลผลิตนํา้ ตาล จำ�กัด ตามตัว๋ สัญญาใช้เงิน เป็นอัตราเดียวกับอัตราดอกเบี้ยที่บริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด จ่ายให้กับธนาคารพาณิชย์ ในการตกลงซื้อขายนํ้าตาลกับลูกค้าในต่างประเทศ โควต้า ค. BSF จะทำ�สัญญาในลักษณะเป็นครั้งๆ ไป ในสัญญาจะมีอายุประมาณ 3 เดือน โดยจะระบุ ปริมาณทีจ่ ะต้องจัดส่งให้กบั ผูซ้ อ้ื แต่จะไม่ก�ำ หนดราคา ซึง่ ราคาทีต่ กลงกันในภายหลังจะอ้างอิงราคาตลาดโลก ณ วันส่งมอบสินค้า ลูกค้าของ BSF ส่วนใหญ่ เป็นบริษทั ผูค้ า้ ส่งระหว่างประเทศขนาดใหญ่ เช่น Bunge Louis Dreyfus Sucden, Olam Wilmar ซึง่ มีฐานะการเงินทีด่ ี ทัง้ นีจ้ ะมีการตรวจสอบฐานะการเงิน ผู้ซื้อผ่านทาง บริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด รายงานประจำ�ปี 2557

27


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

นโยบายราคา

1. การขายภายในประเทศ (โควต้า ก.)

ราคานํ้าตาลภายในประเทศมีกระทรวงรับผิดชอบทั้งหมด 2 กระทรวง คือ กระทรวงอุตสาหกรรม โดยคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย เป็นผู้กำ�หนด ราคานํ้าตาลทราย ณ หน้าโรงงาน ส่วนกระทรวงพาณิชย์ โดยคณะกรรมการกลางกำ�หนดราคาสินค้าและบริการ เป็นผู้กำ�หนดราคาจำ�หน่ายนํ้าตาลทราย ขายปลีก ซึ่งประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ เรื่อง การกำ�หนดราคาและหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการจำ�หน่ายนํ้าตาลทราย ปี 2557 ลงวันที่ 27 มกราคม 2557 กำ�หนดราคานํ้าตาลทรายในแต่ละสถานที่ส่งมอบ และพื้นที่จำ�หน่าย ดังนี้

1.1 ราคาจำ�หน่ายส่ง (ราคารวมกระสอบ) ส่งมอบ ณ โรงงาน ทุกท้องที่ทั่วราชอาณาจักร นํ้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ กระสอบละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 50 กิโลกรัม) นํา้ ตาลทรายขาวเกรด 1 และเกรด 2 กระสอบละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 50 กิโลกรัม) นํา้ ตาลทรายขาวเกรด 3 กระสอบละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 50 กิโลกรัม)

1,070.00 บาท 1,016.50 บาท 1,016.50 บาท

1.2 ราคาจำ�หน่ายส่ง (ราคารวมกระสอบ) ส่งมอบ ณ สถานที่จำ�หน่ายของผู้จำ�หน่ายส่งทุกท้องที่ ทั่วราชอาณา นํ้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ กระสอบละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 50 กิโลกรัม) นํา้ ตาลทรายขาวเกรด 1 และเกรด 2 กระสอบละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 50 กิโลกรัม) นํา้ ตาลทรายขาวเกรด 3 กระสอบละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 50 กิโลกรัม)

1,104.75 บาท 1,051.25 บาท 1,038.00 บาท

1.3 ราคาจำ�หน่ายปลีกในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร นํ้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ กิโลกรัมละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 1 กิโลกรัม) นํา้ ตาลทรายขาวเกรด 1 และเกรด 2 กิโลกรัมละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 1 กิโลกรัม) นํา้ ตาลทรายขาวเกรด 3 (นํ้าตาลทรายสีรำ�) กิโลกรัมละ (ปริมาณนํ้าตาลทรายสุทธิ 1กิโลกรัม)

22.85 บาท 21.85 บาท 21.35 บาท

ทัง้ นี้ หากมีการแบ่งบรรจุภาชนะเป็นถุงย่อยปริมาณนํา้ ตาลทรายสุทธิ 1 กิโลกรัมจะมีการคิดค่าภาชนะบรรจุได้ไม่เกินกิโลกรัมละ 0.70 บาท และ 0.75 บาท สำ�หรับกรณีจ�ำ หน่ายส่งและจำ�หน่ายปลีกตามลำ�ดับ เช่น ราคาจำ�หน่ายนา้ํ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิบ์ รรจุถงุ สำ�เร็จรูปปริมาณนา้ํ ตาลทรายสุทธิ 1 กิโลกรัมในเขต กรุงเทพมหานครจะเท่ากับ 22.85+0.75 = 23.60 บาท ซึ่งทั่วไปจะจำ�หน่ายที่ราคา 23.50 บาท ที่มา : สำ�นักงานคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาล

28


2. การขายต่างประเทศ (โควต้า ข. และ ค.) ราคาขายนํ้าตาลของโควต้า ข.

เนื่องจากการขายนํ้าตาลไปต่างประเทศในส่วนของ โควต้า ข. จะเป็นการขายในปริมาณที่ บริษัท อ้อยและนํ้าตาลไทย จำ�กัด กำ�หนด ดังนั้น บริษัท อ้อยและนา้ํ ตาลไทย จำ�กัด จะเป็นหน่วยงานทีก่ �ำ หนดราคานา้ํ ตาลส่งออก โดยบริษทั ยังใช้นโยบายในการกำ�หนดสัดส่วนการขาย ราคาขาย และอัตราแลกเปลีย่ น ให้ใกล้เคียงกับสัดส่วนการขาย ราคาขาย และอัตราแลกเปลี่ยนของ กอน. เพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องความผันผวนของราคานํ้าตาลและอัตราแลกเปลี่ยน

ราคาขายนํ้าตาลของโควต้า ค.

บริษัทมีนโยบายกำ�หนดราคาขายนํ้าตาลต่างประเทศ โดยอ้างอิงจากราคานํ้าตาลในตลาดโลก อาทิ ราคาสัญญาซื้อขายล่วงหน้านํ้าตาลทรายหมายเลข 11 ในตลาดล่วงหน้านิวยอร์ก และราคาสัญญาซื้อขายล่วงหน้านํ้าตาลทรายหมายเลข 5 ในตลาดล่วงหน้าลอนดอน กำ�ลังการผลิตนํ้าตาล แบ่งตามโควต้า (พันตัน) 7,187 4,467

9,663

10,251

6,363

7,151

6,923

กำ�ลังการผลิตนํ้าตาล แบ่งตามโควต้า (พันตัน) 11,444

213

10,024

6,614

8,144

144 96

3,923 800

118

68

67

184

114

125

152

800

800

800 2,500

12 36 1,900

14 1,900 28

14 2,500 37

14 45 2,300

11 2,610 48

14 2,500 47

2556/2557

2551/2552

2552/2553

2553/2554

2554/2555

2555/2556

2556/2557

800 1,900

800 1,900

2,500

2,300

2,610

2551/2552

2552/2553

2553/2554

2554/2555

2555/2556

โควตา ก

110

173

โควตา ข

โควตา ค

โควตา ก

โควตา ข

โควตา ค

ที่มา : จากประกาศคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย * ข้อมูลมาจากประกาศคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย เรื่อง กำ�หนดชนิดและปริมาณนํ้าตาลทรายที่ให้โรงงานนํ้าตาลผลิตในฤดูกาลผลิตปี 2556/2557 (บัญชีจัดสรรนํ้าตาลทราย ครั้งที่ 2) ซึ่งไม่ใช่ฉบับปิดหีบ (ยังไม่ประกาศ) ส่งผลให้ตัวเลขเกิดความคาดเคลื่อนกับปริมาณนํ้าตาล

รายงานประจำ�ปี 2557

29


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

1) ภาพรวมอุตสาหกรรมนํ้าตาลทรายของไทย 1.1) อุปสงค์และอุปทานนํ้าตาลทรายของโลก การผลิต การบริโภค ปริมาณคงเหลือ

2549/50 166.437 153.709 62.136

หน่วย: ล้านตัน

ปริมาณการผลิต การบริโภค และปริมาณนํ้าตาลคงเหลือของโลก 2550/51 2551/52 2552/53 2553/54 2554/55 166.561 151.656 159.132 165.473 174.785 160.873 161.734 162.027 162.438 167.892 70.677 71.706 60.212 57.004 58.348

(ตุลาคม – กันยายน) 2555/56 2556/57 2557/58 184.443 181.404 178.743 172.153 175.176 176.834 64.764 72.594 77.270

ที่มา: World Sugar Balances 2005-06 – 2014/15 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 30.10.2014 ในฤดูการผลิต 2557/58 ปริมาณการผลิตนํ้าตาลและการบริโภคเริ่มปรับมาสู่ระดับที่ใกล้เคียงกันมากขึ้น ทำ�ให้คาดว่าราคานํ้าตาลทรายในตลาดโลกน่าจะ ปรับตัวขึ้น แม้ว่าจะยังมีข้อกังวลต่อปริมาณอ้อยของบราซิลและการประกาศอุดหนุนการส่งออกนํ้าตาลทรายของอินเดีย

1.2) อุตสาหกรรมนํ้าตาลทรายของโลก ประเทศผู้ผลิตนํ้าตาลรายใหญ่ บราซิล อินเดีย จีน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ไทย ออสเตรเลีย

หน่วย: ล้านตัน1

2553/54 38.72 26.50 11.36 15.89 7.09 9.91 3.74

ผลผลิตนํ้าตาล (ตุลาคม – กันยายน) 2554/55 2555/56 2556/57 35.29 41.16 39.67 28.63 27.33 26.53 12.51 14.19 14.47 19.06 17.44 17.00 7.70 8.14 7.63 10.56 10.34 11.63 3.62 5.03 4.40

ที่มา : World Sugar Balances 2005-06 – 2014/15 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 30.10.2014 หมายเหตุ 1. ตันนํ้าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์

30

2557/582 36.06 27.00 13.35 18.60 7.74 10.50 4.51


1.3) การบริโภคนํ้าตาลทรายของประเทศผู้บริโภคสำ�คัญของโลก ประเทศผู้บริโภคสำ�คัญของโลก อินเดีย สหภาพยุโรป จีน บราซิล สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย

2553/54 22.64 19.07 14.73 12.65 10.37 5.58

ปริมาณการบริโภค (ตุลาคม – กันยายน) 2554/55 2555/56 2556/57 24.45 25.54 26.10 18.95 18.94 18.85 15.30 15.76 16.20 12.63 12.67 12.70 10.20 10.91 11.30 5.68 5.94 6.21

หน่วย: ล้านตัน1

2557/582 26.50 19.17 16.70 12.76 11.00 6.30

ที่มา: World Sugar Balances 2005-06 – 2014/15 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 30.10.2014 หมายเหตุ 1. ตันนํ้าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์ ด้วยอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจและจำ�นวนประชากร ทำ�ให้อินเดียและจีนเป็นประเทศที่มีอัตราการบริโภคนํ้าตาลทรายสูงมาก

1.4) การส่งออกนํ้าตาลทรายของประเทศผู้ส่งออกสำ�คัญของโลก ประเทศผู้ส่งออกสำ�คัญ บราซิล ไทย ออสเตรเลีย กัวเตมาลา อินเดีย ประเทศอื่นๆ

2553/54 27.06 6.12 2.11 1.38 2.82 21.84

ปริมาณการส่งออก (ตุลาคม – กันยายน) 2554/55 2555/56 2556/57 22.05 29.66 24.72 7.26 7.09 8.36 2.57 3.09 3.38 1.66 2 1.80 3.79 1 2.78 23.34 24.41 23.56

หน่วย: ล้านตัน1

2557/582 24.83 8.00 3.33 1.96 1.50 23.17

ที่มา: World Sugar Balances 2005-06 – 2014/15 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 30.10.2014 สำ�นักงานคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม หมายเหตุ 1. ตันนํ้าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์ แม้ว่าปริมาณการส่งออกนํ้าตาลทรายของไทยจะตามหลังบราซิลถึง 3 เท่า แต่บทบาทของไทยในตลาดนํ้าตาลทรายของโลกก็มีความสำ�คัญมากขึ้นตาม ปริมาณนํ้าตาลทรายส่งออกที่ขยายตัวขึ้น รายงานประจำ�ปี 2557

31


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

1.5) ตารางแสดงการนำ�เข้านํ้าตาลทรายของประเทศผู้นำ�เข้าสำ�คัญของโลก ประเทศผู้นำ�เข้าสำ�คัญ อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา จีน สหรัฐอาหรับอิมิเรต มาเลเซีย ประเทศอื่นๆ

2553/54 3.13 3.31 2.09 1.77 1.71 47.63

ปริมาณการนำ�เข้า (ตุลาคม – กันยายน) 2554/55 2555/56 2556/57 2.80 3.81 3.24 3.35 2.97 3.36 4.29 3.68 4.05 2.08 2.27 2.30 1.93 1.92 1.96 45.74 48.14 47.22

หน่วย: ล้านตัน1

2557/582 3.65 3.60 2.50 2.30 1.91 47.33

ที่มา: World Sugar Balances 2005-06 – 2014/15 F.O. Licth’s International Sugar and Sweetener Report, 30.10.2014 สำ�นักงานคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม หมายเหตุ 1. ตันนํ้าตาลทรายดิบ (metric ton raw value) 2. คาดการณ์ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และการปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้ ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ATIGA) ส่งผลให้ประเทศไทยมี โอกาสมากขึ้นในการขยายตลาดนํ้าตาลทราย

32


2) ไทยกับตลาดนํ้าตาลทรายโลก

ไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกนํ้าตาลทรายอันดับ 1 ของทวีปเอเชีย และอาเซียน ขณะที่ในระดับโลกจัดอยู่ในอันดับที่ 2 รองจากประเทศบราซิล ไทยมีความ ได้เปรียบประเทศคู่แข่งสำ�คัญคือ บราซิล และออสเตรเลีย เนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียซึ่งเป็นภูมิภาคที่มีความต้องการบริโภคนํ้าตาลทรายมากกว่า ปริมาณที่ผลิตได้ปีละประมาณ 10 ล้านตัน และคาดว่าในปี 2563 ช่องว่างของอุปสงค์และอุปทานนี้จะมากถึง 15 ล้านตัน ทำ�ให้ไทยมีโอกาสสูงในฐานะ ผู้ส่งออกสำ�คัญของเอเชีย

2.1) ตารางแสดงการส่งออกนํ้าตาลทรายของไทย ประเทศ อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น กัมพูชา จีน มาเลเซีย ประเทศอื่นๆ รวมทั้งหมด

2553 1,309,498 520,545 388,134 24,124 151,161 2,031,306 4,424,768

หน่วย: ล้านตัน

ปริมาณการส่งออก 2554 2555 1,366,094 1,898,087 1,080,190 847,580 391,648 599,571 307,119 965,491 343,702 448,081 3,224,271 2,723,936 6,713,024 7,482,746

2556 1,781,115 754,252 651,578 262,678 326,163 2,785,941 6,561,727

ที่มา: บริษัท ไทยชูการ์ มิลเลอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด

รายงานประจำ�ปี 2557

33


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

2.2) สถิติราคานํ้าตาลทราย หน่วย: เซนต์/ปอนด์

ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2011 ราคานํ้าตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์ค No. 11 ทำ�สถิติพุ่งขึ้นสูงสุดที่ 36 เซนต์/ปอนด์ และค่อยๆ ปรับตัวลดลงเรื่อยๆ มาแตะ ที่ระดับตํ่ากว่า 14 เซนต์/ปอนด์เป็นระยะเวลาสั้นๆ ช่วงปลายปี 2014 การปรับตัวลดลงของราคานํ้าตาลทรายดิบเป็นผลมาจากการขยายพื้นที่เพาะปลูก อ้อยและกำ�ลังการผลิตนํ้าตาลทรายของประเทศผู้ผลิตสำ�คัญ ทำ�ให้เกิดอุปทานส่วนเกินขึ้นในตลาด ขณะที่อุปสงค์ของการบริโภคนํ้าตาลทรายเติบโตเพียง ปีละประมาณ 2% อย่างไรก็ตาม ในช่วงปี 2016 สำ�นักวิจัยหลายแห่งคาดการณ์ว่า ตลาดจะเข้าสู่ภาวะที่อุปสงค์สูงกว่าอุปทานและราคานํ้าตาลทรายมี แนวโน้มที่จะปรับตัวสูงขึ้น

34


2.3) อุตสาหกรรมนํ้าตาลทรายไทยกับพันธกรณีภายใต้เขตการค้าเสรีกรอบต่างๆ

ในฐานะผู้ส่งออกนํ้าตาลทรายอันดับที่ 2 ของโลก และมีที่ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียที่มีอุปสงค์การบริโภคนํ้าตาลทรายสูงกว่าอุปทานปีละประมาณ 10 ล้านตัน ทำ�ให้ไทยมีความได้เปรียบประเทศคู่แข่งสำ�คัญคือ บราซิล และออสเตรเลีย ประกอบกับพันธกรณีภายใต้เขตการค้าเสรีกรอบการเจรจาต่างๆ ทั้งในระดับ ทวิภาคี ระดับภูมิภาค และระดับพหุภาคี ซึ่งรัฐบาลไทยได้ร่วมลงนามโดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย เริ่มเข้าสู่กระบวนการของการบังคับใช้มากขึ้นเป็นลำ�ดับและคาดว่าจะเป็นกลไกสำ�คัญในการเพิ่มโอกาสให้กับนํ้าตาลทรายของไทย เขตการค้าเสรีกรอบ สำ�คัญๆ ประกอบด้วย

2.3.1) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)

ภายใต้ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area – AFTA) ที่ถือกำ�เนิดเมื่อปี พ.ศ. 2535 มีเป้าหมายเพื่อสร้างให้ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนเป็นฐานการผลิตร่วมที่สำ�คัญของโลก โดยการเปิดเสรีด้านการค้า การลดภาษี การขจัดอุปสรรคข้อขัดขวางทางการค้าที่มิใช่ภาษี และการปรับ โครงสร้างภาษีศุลกากรเพื่ออำ�นวยความสะดวกทางการค้า โดยอาศัยกลไกที่สำ�คัญคือ ความตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสำ�หรับเขตการค้า เสรีอาเซียน (Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area) และในปี พ.ศ. 2550 ได้มีการทบทวนและปรับปรุงความตกลง CEPT โดยให้เป็นความตกลงที่ครอบคลุมประเด็นทางการค้าทุกเรื่องเพื่อส่งเสริมให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้ายสินค้า อย่างเสรี นำ�ไปสู่การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วม และเพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศสมาชิกในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2559 จึงได้มีการจัดทำ�ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement – ATIGA) ซึ่งวางหลักเกณฑ์ข้อบังคับที่เข้มงวดกว่า CEPT มีกรอบและหลักเกณฑ์การลดภาษีที่แน่นอนและชัดเจน เพื่อป้องกันปัญหาการหลีกปฏิบัติตามพันธกรณีของประเทศสมาชิก แต่ยังมีความยืดหยุ่นสำ�หรับ ประเทศสมาชิกใหม่คือ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (CLMV) สำ�หรับประเทศไทย การเปิดตลาดถ้าทำ�ได้สำ�เร็จ จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรชาวไร่อ้อยและโรงงานนํ้าตาลทรายมากกว่าก่อให้เกิดความเสียหายเพราะ ข้อตกลงการเปิดตลาดมีเป้าหมายที่จะสร้างอาเซียนให้เป็นฐานการผลิตสำ�คัญของทวีปเอเชีย พร้อมไปกับการสร้างความกลมกลืนทางสังคมและวัฒนธรรม กล่าวได้ว่า ถ้าอาเซียนเป็นฐานการผลิตสำ�หรับสินค้าจำ�พวกอาหาร เครื่องดื่ม และสินค้าที่มีนํ้าตาลเป็นส่วนประกอบจะช่วยให้อุตสาหกรรมอ้อยและ นํ้าตาลทรายของภูมิภาคและของไทยเติบโตขึ้น นอกจากนี้ การต่อยอดนำ�อ้อยและนํ้าตาลไปผลิตสินค้าพลังงานชีวมวล เคมีและพลาสติกชีวภาพก็จะมี ส่วนผลักดันให้อ้อยและนํ้าตาลทรายเป็นสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มมากยิ่งขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ จะช่วยผลักดันให้มีการลงทุนในอุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทราย เพิ่มมากขึ้นในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การกระจายรายได้ และการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของสมาชิกเอง ในที่สุด ประโยชน์ทส่ี �ำ คัญอีกประการหนึง่ ของการเปิดตลาดก็คอื เกษตรกรชาวไร่ออ้ ยและโรงงานงานนา้ํ ตาลในห่วงโซ่การผลิตอ้อยและนา้ํ ตาลทรายต้องมีการพัฒนา ศักยภาพของตนเองเพือ่ คงความสามารถในการแข่งขัน เกษตรกรชาวไร่ออ้ ยต้องมีความเข้าใจต่อการเปลีย่ นแปลงของโลกและของภูมภิ าค ต้องพยายามพัฒนา การผลิตอ้อยและการจัดการในไร่ออ้ ยเพือ่ ลดต้นทุนการผลิตและเพิม่ ผลผลิตต่อไร่ให้ได้สงู ทัดเทียมกับคูแ่ ข่งสำ�คัญอย่างบราซิลและออสเตรเลีย ขณะทีโ่ รงงาน นํ้าตาลทรายก็ต้องยกระดับการผลิตให้ได้มาตรฐานของประเทศคู่แข่งควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ยังต้องศึกษา ติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดนํ้าตาลทรายและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่เสมอ

รายงานประจำ�ปี 2557

35


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

อย่างไรก็ตาม การเปิดตลาดก็มีเรื่องท้าทายด้วย กล่าวคือ ไทยต้องมีการปรับโครงสร้างระบบอุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทราย ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้นและเป็นประโยชน์สูงสุดกับประเทศ ทั้งกลุ่มผู้บริโภค เกษตรกรชาวไร่อ้อย และโรงงานนํ้าตาลทรายด้วย ทั้งนี้ การปรับโครงสร้างการจำ�หน่าย นา้ํ ตาลทรายภายในประเทศเพือ่ ให้สอดคล้องการเปิดตลาดตามข้อตกลง ATIGA และการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อาจจะเพิม่ ความเสีย่ งให้กบั เกษตรกรและโรงงานนํ้าตาลเรื่องความผันผวนของราคานํ้าตาลในตลาดโลก แต่เมื่อพิจารณาทิศทางความเคลื่อนไหวของราคานํ้าตาลในตลาดโลกแล้ว โอกาสที่ราคาจะปรับตัวลดตํ่าลงมากๆ เหมือนเช่นในอดีตเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยาก เนื่องจากปัจจัยสำ�คัญคือ เศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียเติบโตขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง อัตราการบริโภคนํ้าตาลทรายของโลกยังปรับตัวเพิ่มขึ้นปีละ 2% ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสร้างทั้งโอกาสและความท้าทายกับอุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทราย ไทยในฐานะผู้ส่งออกนํ้าตาลทรายอันดับที่ 1 ของเอเชีย และอันดับที่ 2 ของโลก ไทยต้องเร่งปรับตัวเพื่อช่วงชิงความได้เปรียบที่มาพร้อมกับกระแสการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ให้ได้

2.3.2) เขตการค้าเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี

การลดภาษีสินค้านํ้าตาลทรายดิบภายใต้พันธกรณีของเขตการค้าเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี เป็นประโยชน์กับประเทศไทยมาก เนื่องจากเกาหลี เป็นตลาดนำ�เข้านํ้าตาลทรายดิบที่สำ�คัญตลาดหนึ่งของเอเชียและของไทย แต่ละปี สาธารณรัฐเกาหลีจะนำ�เข้านํ้าตาลทรายดิบ ประมาณ 1.6 ล้านตัน นํ้าตาลทรายขาว ประมาณ 500 – 20,000 ตัน โดยในปี 2556 สาธารณรัฐเกาหลีนำ�เข้านํ้าตาลทรายจากไทยรวม 527,895 ตัน การลดภาษีสินค้านํ้าตาล ทรายดิบจะทำ�ให้ไทยได้เปรียบประเทศคู่แข่งอื่นๆ

2.4) อุตสาหกรรมนํ้าตาลทรายในประเทศ

อุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทรายของไทยอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติอ้อยและนํ้าตาลทราย พ.ศ. 2557 ซึ่งกำ�หนดให้คณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย เป็นผู้กำ�หนดปริมาณนํ้าตาลทรายสำ�หรับจำ�หน่ายภายในประเทศ ในแต่ละปีคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทรายจะประมาณการบริโภคภายในประเทศ และกำ�หนดเป็นโควตาให้ทุกโรงงานนํ้าตาลทรายผลิตและจำ�หน่าย ขณะที่ราคาจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายภายในประเทศถูกควบคุมภายใต้ พระราชบัญญัติว่า ด้วยสินค้าและบริการปี พ.ศ. 2542 โดยกระทรวงพาณิชย์เป็นผู้ประกาศราคาจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายภายในประเทศ ในฤดูการผลิตปี 2556/57 ไทยมีโรงงานนํา้ ตาลทรายรวม 50 โรงงาน มีก�ำ ลังหีบอ้อยรวม 110 ล้านตัน/ปี ผลิตนํา้ ตาลทรายได้ 10 ล้านตันเศษ มีระยะเวลา การหีบอ้อยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนเมษายน

36


กลุ่มบริษัทนํ้าตาลของไทย

กลุ่ม

จำ�นวนโรงงาน

ผลผลิตนํ้าตาลทราย (ตัน)

ส่วนแบ่งตลาด (%)

มิตรผล ไทยรุ่งเรือง ไทยเอกลักษณ์ เคเอสแอล วังขนาย นํ้าตาลโคราช นํ้าตาลบ้านโป่ง นํ้าตาลเอราวัณ นํ้าตาลกุมภวาปี นํ้าตาลชลบุรี บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) อื่นๆ รวม

6 7 3 5 4 2 2 2 2 4 1 13 51

2,303,719 1,752,163 1,055,148 906,122 700,668 674,169 462,233 540,535 368,661 377,316 207,138 1,985,043 11,332,915

20.33 15.46 9.31 8.00 6.18 5.95 4.08 4.77 3.25 3.33 1.83 17.52 100

รายงานประจำ�ปี 2557

37


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง ความเสี่ยงอันเกี่ยวกับลักษณะการประกอบธุรกิจ ของกลุ่มธุรกิจ 1. ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายดิบและนํ้าตาลทรายขาวสีรำ� ซึ่งดำ�เนินการโดย บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (“BSF”) 2. ธุรกิจผลพลอยได้ของบริษัท ได้แก่ - ธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวล ซึ่งดำ�เนินการโดย บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด (“BEC”) และบริษัท บุรีรัมย์ เพาเวอร์ จำ�กัด (“BPC”) - ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายสารอินทรีย์ปรับปรุงดิน ซึ่งดำ�เนินการโดย บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด (“KBF”) 3. ธุรกิจสนับสนุน ซึ่งดำ�เนินการโดยบริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด (“BRD”) ความเสี่ยงเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของบริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (“BSF”)

1.1 ความเสี่ยงจากการจัดหาวัตถุดิบ

บริษัทเป็นผู้ผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายดิบและนํ้าตาลทรายขาวสีรำ� ซึ่งใช้อ้อยเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต แต่เนื่องจาก บริษัทมิได้มีไร่อ้อย เป็นของตัวเองที่เพียงพอต่อการผลิต การจัดหาอ้อยเข้าหีบให้เพียงพอกับ กำ�ลังการผลิตจึงเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อธุรกิจและผลประกอบการของบริษัท ปริมาณอ้อยจะจัดหาเข้าหีบในแต่ละฤดูกาลหีบอ้อยจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก ดังนี้ ก. ปัจจัยเสี่ยงเรื่องปริมาณพื้นที่ในการเพาะปลูกอ้อยที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจ เกิดจากเกษตรกรชาวไร่อ้อยเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า หรืออาจเกิดจากนโยบายการส่งเสริมของภาครัฐผ่านนโยบายส่งเสริมการ จัดพื้นที่เพาะปลูกให้เหมาะสมหรือโซนนิ่ง โดยที่จังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัด ในการนำ�ร่องการเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวให้เป็นพื้นที่ปลูกอ้อยตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นอกจากนี้บริษัทมีการสำ�รวจและประเมินการ เปลี่ยนแปลงหาสาเหตุและได้แก้ไขในจุดปัญหาที่เกิดขึ้น ที่ผ่านมาในช่วง ระหว่างปี 2553 ถึงปี 2557 ปริมาณการปลูกอ้อยในจังหวัดบุรีรัมย์เพิ่ม ขึ้นโดยตลอด รวมถึงผลผลิตตันต่อไร่ของชาวไร่ที่สูงขึ้นทุกปี

ค. ปัจจัยความเสีย่ งเรือ่ งความอุดมสมบูรณ์ของดิน บริษทั มีนโยบายให้ความ สำ�คัญในการปรับปรุงบำ�รุงดิน ฟื้นฟูสภาพความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่ปลูก อ้อย เช่น การตัดอ้อยสดคืนอินทรียวัตถุกลับลงดิน การปรับค่าความเป็น กรด-ด่าง (pH) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย และบริษัทผลิตปุ๋ยอินทรีย์ จากผลพลอยจากการผลิตนํ้าตาล กากหม้อกรอง โดยให้ผลผลิตเฉลี่ยจาก เดิมก่อนหน้านี้อยู่ที่ 8 ถึง 9 ตันต่อไร่ในช่วงปี 2547 ถึง 2553 แต่ในช่วงปี 2554 ถึง 2557 ผลผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ 12 ถึง 13 ตันต่อไร่พื้นที่ปลูก ง. ปัจจัยความเสี่ยงเรื่องพันธุ์อ้อย บริษัทได้จัดสรรการใช้พันธุ์อ้อยให้เหมาะสม กับพื้นที่ปลูก มีแปลงทดสอบพันธุ์อ้อยและคัดเลือกพันธุ์อ้อยใหม่ๆ เพื่อ ทดแทนพันธุ์อ้อยที่เสื่อมสภาพ มีการใช้การจัดสัดส่วนพันธุ์อ้อยปลูก และ ใช้พันธุ์อ้อยที่ให้ผลตอบแทนชาวไร่สูงและสามารถผลิตนํ้าตาลต่อตันอ้อย ได้มากขึ้น จ. ปัจจัยเสี่ยงด้านการแย่งอ้อยในพื้นที่ หากโรงงานนํ้าตาลบริเวณใกล้เคียง เสนอราคารับซื้ออ้อยจากชาวไร่ที่ราคาสูงกว่าที่ BSF เสนอให้ ชาวไร่อ้อย อาจนำ�อ้อยไปขายให้แก่โรงงานนั้นๆ แทนทำ�ให้ BSF มีจำ�นวนอ้อยเข้า หีบลดลง BRD มีการบริหารการจัดการเรื่องการจัดหาอ้อยโดยการส่งเสริม แบบมีสัญญาระหว่างบริษัทและชาวไร่ ทั้งในรูปเงินและปัจจัยอื่นๆ อาทิ ปุ๋ย สารเคมี พันธุ์อ้อย และเครื่องจักรเครื่องมือทางการเกษตร ในพื้นที่ ส่งเสริมซึ่งมีรัศมีครอบคลุมระยะ 50 กิโลเมตรรอบโรงงาน เพื่อให้ชาวไร่ยก กรรมสิทธิ์อ้อยให้แก่โรงงานล่วงหน้าก่อนถึงฤดูหีบอ้อย มีการสร้างความ สัมพันธ์ที่ดีกับชาวไร่อ้อย โดยส่งนักส่งเสริมเกษตรกร ซึ่งประกอบด้วย 17 ทีมกระจายลงพื้นที่แบบรายแปลง แนะนำ�พันธุ์อ้อยให้มีความเหมาะ สมกับพื้นที่ปลูก บริหารจัดการตรวจสอบสภาพดินและนํ้า และช่วยดูแล ในแต่ละช่วงเวลาตั้งแต่การปลูกจนกระทั่งถึงการเก็บเกี่ยวและขายให้แก่ BSF ณ แปลงอ้อย ด้วยระบบออนไลน์และระบบดาวเทียมสำ�รวจพิกัดพื้นที่ ปลูกอ้อยเพื่อให้แปลงปลูกอ้อยทุกแปลงได้รับการตรวจติดตาม และให้การ สนับสนุนตามความเป็นจริง ทำ�ให้ชาวไร่ได้อ้อยที่มีคุณภาพ มีผลผลิตเฉลี่ย ต่อหน่วยพื้นที่ของชาวไร่สูง มีรายได้ที่มั่นคง และเป็นพันธมิตรที่ดีของ บริษัท จากการบริหารจัดการดังกล่าวทำ�ให้ที่ผ่านมา BSF ไม่เคยมีปัญหาใน การจัดหาอ้อยให้ได้เพียงพอในฤดูกาลหีบอ้อย

ข. ปัจจัยเสี่ยงเรื่องสภาพภูมิอากาศ ปริมาณฝน ระบบชลประทาน ความ นอกจากนี้บริษัทยังมีการจัดตั้งแนวเขตการแบ่งพื้นที่หรือการสร้างโซนนิ่ง สมบูรณ์ของดิน พันธุ์อ้อย และโรคของอ้อยอื่นๆ ต่างส่งผลต่อปริมาณอ้อย ระหว่างพืน้ ทีป่ ลูกอ้อยและโรงงานนํา้ ตาลด้วยกัน ซึง่ อยูใ่ นเขตจังหวัดบุรรี มั ย์ ที่จะปลูกได้ต่อไร่ หากปัจจัยต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงอาจจะทำ�ให้ปริมาณ สุรนิ ทร์ และนครราชสีมา เพือ่ ป้องกันปัญหาการแย่งอ้อยระหว่างโรงงานนํา้ ตาล อ้อยต่อไร่ลดลงได้ จากสภาพภูมิอากาศและปริมาณนํ้าฝน บริษัทได้ให้การ ส่งเสริมการให้นํ้าอ้อยในช่วงที่แห้งแล้งผ่านระบบนํ้าหยดในไร่อ้อย โดยร่วม กับกองทุนอ้อยและนํ้าตาลทราย (กอน.) ให้เงินกู้ดอกเบี้ยตํ่าร้อยละ 2 ต่อปี และผ่อนชำ�ระในระยะยาว

38


1.2 ความเสี่ยงจากการผันผวนของราคานํ้าตาลในตลาดโลก เนือ่ งจากต้นทุนหลักในการผลิตนํา้ ตาลคือ ราคาอ้อยซึง่ จะผันแปรตามรายได้ การซื้อขายนํ้าตาลในตลาดโลกนั้น นํ้าตาลจัดเป็นสินค้าทางการเกษตร ชนิดหนึ่งที่มีความผันผวนด้านราคาค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับสินค้าเกษตร อืน่ ๆ ซึง่ การผันผวนของราคานํา้ ตาลในตลาดโลกนัน้ ขึน้ อยูป่ จั จัยด้านอุปสงค์ และอุปทานของประเทศผู้ผลิต ผู้บริโภค ปริมาณนำ�เข้าและส่งออกในแต่ละ ประเทศ รวมถึงการเก็งกำ�ไรจากนักเก็งกำ�ไรในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity Market) อีกทัง้ ยังเกีย่ วพันกับสภาพภูมอิ ากาศทีเ่ อือ้ อำ�นวยต่อการเพาะปลูก ของแต่ละประเทศที่มีนโยบายในการส่งเสริม การแทรกแซง การส่งออก การนำ�เข้าของกลุ่มอุตสาหกรรมนํ้าตาลของภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศที่พัฒนาแล้ว นอกจากนี้ปัจจุบันราคานํ้าตาลยังมีส่วนหนึ่งที่สัมพันธ์ กับราคานํ้ามันเชื้อเพลิงด้วย เนื่องจากนํ้าอ้อยรวมถึงกากนํ้าตาลยังสามารถ นำ�ไปผลิตเป็นเอทานอลเพื่อใช้ผสมกับนํ้ามันเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับ รถยนต์ได้ ด้วยเหตุปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ราคาซื้อขายนํ้าตาลในตลาดโลก มีความผันผวนค่อนข้างสูง

ของบริษทั (จากระบบการแบ่งปันผลประโยชน์ทร่ี ฐั บาลกำ�หนด โดยผ่านคณะ กรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย 70:30) ดังนั้นหากราคานํ้าตาลในตลาดโลก ลดลง ต้นทุนค่าอ้อยที่จ่ายให้ชาวไร่อ้อยก็จะลดลงด้วยในสัดส่วนร้อยละ 70 ตามการแบ่งปันผลประโยชน์

โรงงานนํ้าตาลในประเทศไทยจะส่งออกนํ้าตาลไปจำ�หน่ายในต่างประเทศ ได้ จะต้องเป็นการส่งออกผ่านบริษัทตัวแทนตามโควตา ค. หลังจากที่มี การจัดสรรตามการบริโภคในประเทศตาม โควตา ก. แล้ว ซึง่ จะต้องจัดสรร ตามสัดส่วนปริมาณนา้ํ ตาลทีผ่ ลิตได้ในฤดูกาลผลิตนัน้ ๆ ส่งผลให้อตั ราส่วน การส่งออก และจำ�หน่ายในประเทศของโรงงานนํา้ ตาลในประเทศมีอตั ราส่วน ที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งในปี 2556 และปี 2557 บริษัทมีรายได้จากการส่งออก นํ้าตาลคิดเป็นร้อยละ 71 และ 77 ของรายได้จากการจำ�หน่ายนํ้าตาลทั้งหมด ตามลำ�ดับ ซึง่ ราคาขายในการส่งออกจะใช้ราคานา้ํ ตาลในตลาดโลกเป็นหลัก ราคานํ้าตาลในตลาดโลกจะเปลี่ยนแปลงไปตาม อุปสงค์ อุปทาน ของ ตลาดโลกโดยรวม รายได้ของบริษัทจึงได้รับผลกระทบหากราคานํ้าตาลใน ตลาดโลกมีการเปลี่ยนแปลง โดยในปี 2557 ราคานํ้าตาลทรายดิบตลาด นิวยอร์กมีความเคลื่อนไหวอยู่ที่เฉลี่ย 16.34 เซ็นต์ต่อปอนด์

BRD/BS ได้ให้การสนับสนุนชาวไร่อ้อย โดยการปล่อยเงินเกี๊ยวอ้อยเป็น รายแปลงและปล่อยเงินเกี๊ยวตามกิจกรรมการเจริญเติบโตแต่ละช่วงอายุ ของอ้อย ณ แปลงอ้อย ด้วยระบบฐานข้อมูลและใช้ระบบพิกัดดาวเทียมใน การสำ�รวจพิกัดพื้นที่ปลูกอ้อย (GPS : Global Positioning System) เพื่อ ให้พืน้ ที่แปลงปลูกอ้อยทุกแปลงได้รับการตรวจและติดตาม เพื่อให้การ สนับสนุนสอดคล้องกับความเป็นจริง

ราคาเฉลี่ยนํ้าตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์กหมายเลข 11 ปีบัญชี 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 ราคาเฉลี่ย 7.4 9.99 14.63 9.9 12.1 17.98 22.28 27.07 21.57 17.47 16.34 (เซ็นต์/ปอนด์)

ราคาเฉลี่ยนํ้าตาลทรายขาวตลาดลอนดอนหมายเลข 5 ปีบัญชี 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 ราคาเฉลี่ย 227 279.63 421.66 309.55 351.59 487.39 616.49 706.07 587.74 496.58 439.30 (เหรียญสหรัฐ/ เมตริกตัน)

ที่มา: Bloomberg

รายงานประจำ�ปี 2557

อย่างไรก็ดี จากเดิมที่ผลประกอบการของบริษัทขึ้นอยู่กับธุรกิจนํ้าตาลและ กากนํ้าตาลอย่างเดียว ดังนั้นความผันผวนของราคานํ้าตาลตลาดโลกนั้น ส่งผลต่อผลประกอบการของบริษัท และจากการที่กลุ่มบริษัทได้มีการลงทุน ในโครงการต่อเนื่องจากนํ้าตาลและกากนํ้าตาล ได้แก่ โรงงานไฟฟ้าจาก กากอ้อย และโรงงานผลิตและจำ�หน่ายสารอินทรีย์ปรับปรุงดิน ทำ�ให้บริษัท คาดว่าผลประกอบการของบริษัทที่จะอ้างอิงกับราคานํ้าตาลในตลาดโลก ลดน้อยลง

1.3 ความเสี่ยงจากการเกิดหนี้เสียจากการให้เงินสนับสนุน ชาวไร่อ้อย (เงินเกี๊ยว)

การปล่อยเงินสนับสนุนให้ชาวไร่อ้อยจะเป็นในรูปแบบเช็คลงวันที่ล่วงหน้า เพื่อให้ชาวไร่อ้อยนำ�ไปลงทุน เรื่องพันธุ์อ้อย ที่ดิน ระบบชลประทาน และ ปุ๋ย เป็นต้น โดยการปล่อยเงินเกี๊ยวจะเป็นเสมือนกับการจองอ้อยของชาวไร่ ที่ได้รับการสนับสนุนเงินเกี๊ยว โดยชาวไร่ที่ได้รับเงินเกี๊ยวจะนำ�อ้อยมา ขายให้โรงงาน ภายหลังจากที่อ้อยโตขึ้นพร้อมตัดจะเป็นช่วงเดียวกับช่วง โรงงานนํ้าตาลเริ่มเปิดหีบอ้อย เกษตรกรชาวไร่อ้อยจะตัดอ้อยและส่งอ้อย ให้กับโรงงาน และโรงงานจะจ่ายค่าอ้อยให้ชาวไร่และหักเงินเกี๊ยว ที่ได้ จ่ายล่วงหน้าไว้แล้ว จากการให้การสนับสนุนเงินเกี๊ยวดังกล่าวจะทำ�ให้ บริษัทมีความเสี่ยงในเรื่องของค่าใช้จ่ายหนี้สงสัยจะสูญจากเงินเกี๊ยว หาก ชาวไร่ไม่สามารถนำ�อ้อยมาเข้าหีบได้ตามที่ตกลงกันไว้ โดยอาจจะเกิดจาก ความแห้งแล้ง หรือโรคระบาด เป็นต้น ซึ่งถ้าหากค่าใช้จ่ายหนี้สงสัยจะสูญ สูงขึ้น จะทำ�ให้มีผลกระทบโดยตรงต่อผลประกอบการของ BSF โดยใน ระหว่างปี 2554 ถึงปี 2557 บริษัทได้มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดังนี้

(หน่วย:ล้านบาท) ปี 2556 ปี 2557

ปี 2554

ปี 2555

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

6.41

-

20.33

1.05

ลูกหนี้ชาวไร่ (เกี๊ยว)

560.61

975.21

1,135.29

880.68

ร้อยละของหนี้สงสัยจะสูญ

1.14

-

1.79

0.11

39


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ซึ่งอัตราการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในระหว่างปี 2554 ถึงปี 2557 คิดเป็น ประมาณร้อยละ 0.76 ของลูกหนี้ชาวไร่ ณ วันสิ้นงวด บริษัทได้ให้ความ สำ�คัญและบริหารความเสี่ยงดังกล่าว โดยในการพิจารณาการให้สินเชื่อ แก่ชาวไร่ จะมีการกำ�หนดคุณสมบัติและแบ่งเกรดของชาวไร่ มีระบบการ พิจารณาการให้เงินสินเชื่อ โดยจ่ายเงินเกี๊ยวตามงวดงานของชาวไร่ที่ปฏิบัติ ได้ในแต่ละงวดงาน รวมถึงกำ�หนดหลักทรัพย์และบุคคลคา้ํ ประกัน นอกจากนี้ บริษัทยังติดตามดูแลชาวไร่อ้อยอย่างทั่วถึงโดยนักส่งเสริมการเกษตรและ ระบบดาวเทียมในการสำ�รวจพิกดั พืน้ ทีป่ ลูกอ้อย ซึง่ จะสามารถติดตามข้อมูล พื้นที่ปลูกอ้อยรายแปลงได้อย่างแม่นยำ� ทราบความคืบหน้าของงวดงาน ทราบถึงข้อมูลว่าอ้อยแปลงใดเกิดปัญหาอย่างไร ทำ�ให้สามารถแก้ไขปัญหา ได้อย่างทันท่วงที

มีความเป็นไปได้เรื่องความเสี่ยงจากการผ่อนคลายการควบคุมเพื่อให้ อุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทรายมีความเป็นเสรีมากยิ่งขึ้น ตามพันธกรณี ที่ไทยมีกับประเทศต่างๆ ทั้งในกรอบ ASEAN Free Trade Area, FTA ระดับทวิภาคี และระดับภูมิภาคที่กำ�ลังเจรจา (RCEP) ตลอดจนในกรอบ พหุภาคี อย่าง องค์การการค้าโลก (WTO) การเปิดเสรีจะเป็นทั้งโอกาสและ ความท้าทายสำ�หรับอุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทรายทั้งระบบ เป็นเรื่องที่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด

อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทรายเป็นอุตสาหกรรมเกษตร และ เป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อีกทั้งยัง เป็นพืชเศรษฐกิจที่ส่งออกไปทั่วโลก ดังนั้นจะเห็นได้ว่ากฎระเบียบต่างๆ ตลอดจนนโยบายของภาครัฐทีผ่ า่ นมาในอดีต มุง่ เน้นเพือ่ การพัฒนาอุตสาหกรรม ในประเทศ และมีความอยู่รอดทั้งชาวไร่และโรงงานนํ้าตาล จึงทำ�ให้เชือ่ มัน่ 1.4 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากบริษัทฯรับรู้รายได้จากการส่งออกนํ้าตาลเป็นเงินสกุลเหรียญ ว่ากฎระเบียบต่างๆ ที่อาจเปลี่ยนแปลงนั้น น่าจะเป็นนโยบายในเชิงบวกที่ สหรัฐอเมริกาเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 71 และร้อยละ 77 ของรายได้จาก ส่งเสริมอุตสาหกรรม รวมถึงชาวไร่อ้อยและโรงงานนํ้าตาลเอง การจำ�หน่ายนํ้าตาลทั้งหมด ดังนั้นรายได้ของบริษัทจะผันผวนตามอัตรา 1.5.2 ความเสีย่ งจากการผันผวนของรายได้จากการขายนํา้ ตาล แลกเปลีย่ นบาทต่อเหรียญสหรัฐอเมริกา เนื่องจากฤดูกาลหีบอ้อยจะอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนเมษายน อย่างไรก็ดี บริษทั มีมาตรการในการป้องกันความเสีย่ งโดยเข้าทำ�สัญญาซือ้ ขาย ดังนัน้ บริษทั จะเริม่ ทยอยขายนํา้ ตาลตัง้ แต่เดือนธันวาคม และมกราคม เป็นต้นไป เงินตราต่างประเทศล่วงหน้าทั้งหมด โดยอัตราแลกเปลี่ยนที่ทำ�สัญญาจะ และจะทยอยขายไปเรื่อยๆ จนสิ้นฤดูการผลิต อย่างไรก็ตาม การจำ�หน่าย พยายามให้เท่ากับอัตราแลกเปลี่ยนที่ บริษัท อ้อยและนํ้าตาลไทย จำ�กัด นํา้ ตาลโควตา ก. ทีข่ ายในประเทศไทยบริษทั จะทยอยขายนํา้ ตาลภายใน 52 (อนท.) ใช้ในการคำ�นวณราคาจำ�หน่ายโควตา ข. แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุจพินิจ สัปดาห์ ส่วนโควตา ค. ที่บริษัทมีการจำ�หน่ายไปต่างประเทศเองนั้น บริษัท ของผู้บริหาร และในการพิจารณาถึงแนวโน้มอัตราแลกเปลี่ยนในช่วงเวลา จะพิจารณาช่วงการจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายตามระดับนํ้าตาลที่มีอยู่ ปริมาณ นัน้ ด้วย อย่างไรก็ตามการป้องกันความเสีย่ งดังกล่าว อาจไม่สามารถป้องกัน ผลผลิต ราคานา้ํ ตาลในโลกรวมถึงราคาขายทีท่ างบริษทั อ้อยและนา้ํ ตาลไทย จำ�กัด (อนท.) ขายนํ้าตาลไปยังตลาดโลกผ่านโควตา ข. เพื่อเป็นมาตรฐาน ความเสี่ยงหากค่าเงินบาทมีการแข็งค่าขึน้ เป็นระยะนาน ในการพิจารณาราคาขายโควตา ค.

1.5 ความเสี่ยงจากการควบคุมจากภาครัฐ 1.5.1 ความเสี่ยงจากนโยบายภาครัฐ

อย่างไรก็ดใี นแต่ละปีชว่ งปริมาณการขายนํา้ ตาลไม่เท่ากัน ดังนัน้ รายได้จาก เนือ่ งจากอุตสาหกรรมอ้อยและนา้ํ ตาลทรายในประเทศไทย เป็นอุตสาหกรรม การขายนํ้าตาลของบริษัทแต่ละไตรมาสอาจจะเพิ่มหรือลดลงขึ้นอยู่กับ ที่ถูกควบคุมและกำ�กับดูแลโดยคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย ภายใต้ ปัจจัยดังกล่าวและปริมาณการขายในแต่ละไตรมาส พระราชบัญญัติอ้อยและนํ้าตาลทราย พ.ศ. 2527 ซึ่งเป็นกฎหมายที่กำ�กับ 1.6 ความเสีย่ งจากราคาต้นทุนวัตถุดบิ ดูแลระบบอุตสาหกรรมอ้อยและนํา้ ตาลทราย ตัง้ แต่การบริหารจัดการในไร่ออ้ ย การผลิตในโรงงานนา้ํ ตาล และการส่งออก การจัดสรรปริมาณการขายนา้ํ ตาล ราคาอ้อยได้มีการกำ�หนดในแบบระบบจัดสรรผลประโยชน์ในการแบ่งปัน ทรายตามโควตา (โควตา ก. ขายในประเทศ โควตา ข. และ โควตา ค. ขาย รายได้จากการค้านํ้าตาล 70:30 โดยชาวไร่อ้อยจะได้ผลประโยชน์จากการ ต่างประเทศ) ราคาจำ�หน่ายนํา้ ตาลทรายขายปลีกภายในประเทศ ตลอดจน ขายนํ้าตาลร้อยละ 70 โดยราคานํ้าตาลที่นำ�มาคำ�นวณราคาอ้อยที่จะต้อง การแบ่งปันผลประโยชน์ระหว่างชาวไร่อ้อยและโรงงานนํ้าตาลในอัตราส่วน จ่ายชาวไร่ออ้ ยนัน้ คำ�นวณมาจาก ราคาขายเฉลีย่ ของบริษทั อ้อยและนา้ํ ตาลไทย 70:30 ทัง้ นี้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง จำ�กัด (อนท.) ดังนั้น ถ้าหาก บริษัทขายนํ้าตาลทรายในตลาดต่างประเทศ เกษตรและสหกรณ์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นผู้รักษาการ ได้ตํ่ากว่า ราคาขายเฉลี่ยของบริษัท อ้อยและนํ้าตาลไทย จำ�กัด (อนท.) จะ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ดังนั้นในกรณีที่นโยบายการปรับราคาขายนํ้าตาล ทำ�ให้อัตรากำ�ไรขั้นต้น และอัตรากำ�ไรสุทธิของบริษัทลดลง ภายในประเทศ หรือหากเกิดการเปลีย่ นแปลงในกฎระเบียบหรือนโยบายของ พระราชบัญญัตดิ งั กล่าว อาจส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของบริษทั และ บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมนํ้าตาลนี้อย่างมีนัยสำ�คัญ

40


ทั้งนี้ หากบริษัทฯ ไม่สามารถจำ�หน่ายนํ้าตาลไปยังต่างประเทศตามโควตา 1.2 ความเสีย่ งจากผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม ค. ได้ในราคาที่สูงกว่าราคาเฉลี่ยที่บริษัท อ้อยและนํ้าตาลไทย จำ�กัด (อนท.) การประกอบธุรกิจผลิตกระแสไฟฟ้า อยูภ่ ายใต้กฎหมายและกฎระเบียบด้าน ขายได้จริงจะทำ�ให้บริษทั ฯ ต้องจ่ายค่าอ้อยในราคาทีส่ งู เมือ่ เทียบกับยอดขาย สิ่งแวดล้อม ซึง่ ครอบคลุมถึงเรื่องการควบคุมมลพิษทั้งทางดิน นํ้า อากาศ ของบริษัทฯ ส่งผลให้อัตรากำ�ไรและผลกำ�ไรของบริษัทฯ ลดลง ตลอดระยะเวลาการดำ�เนินธุรกิจทีผ่ า่ นมา บริษทั ได้ด�ำ เนินมาตรการป้องกัน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงในเรื่องราคาขายนํ้าตาล โดย ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมต่างๆ อาทิ ระบบการระบายสสารออกจากโครงการ ให้มีทีมงานติดตามการขายของบริษัท อ้อยและนํ้าตาลไทย จำ�กัด (อนท.) ระบบควบคุมมลสาร ระบบการจัดการนํ้าทิ้ง ระบบกำ�จัดกากและของเสีย อย่างใกล้ชิด เพื่อให้บริษัทสามารถบริหารจัดการการขายนํ้าตาลให้ได้ราคา ประกอบกับมีพื้นที่สีเขียวในโครงการโรงไฟฟ้าในพื้นที่ 25 ไร่ ตลอดจนมี ที่เหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับราคาเฉลี่ยบริษัท อ้อยและนํ้าตาลไทย จำ�กัด การติดตามและตรวจสอบการดำ�เนินงานด้านผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม อย่างใกล้ชิด เพื่อให้กระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามกฎหมายและ (อนท.) กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องและลดมลภาวะด้านสิ่งแวดล้อม มีการใช้ไอนํ้าดักจับ ฝุ่น กลายเป็นดิน ระบบกำ�จัดฝุ่นแบบม่านนํ้า (Wet Scrubber) ความเสี่ยงเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ ผลพลอยได้ของบริษัท เดือนสิงหาคม 2555 BEC ได้รบั รางวัลโครงการโรงไฟฟ้าสีเขียว (Certificate)

ระดับที่ 3 ที่แสดงว่ามีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ และมี ธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวล ดำ�เนินการโดย การติดตามประเมินผลและทบทวนเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากสำ�นักงาน บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด (BEC) 1.1 ความเสีย่ งจากการขาดแคลนวัตถุดบิ ทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิงในการ อุตสาหกรรมจังหวัดและนิคมอุตสาหกรรมจังหวัด ผลิตกระแสไฟฟ้า ปัจจุบนั บริษทั โรงงานนา้ํ ตาลบุรรี มั ย์ จำ�กัด หรือ BSF เป็นผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ กากอ้อยซึง่ เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตนํา้ ตาล ให้แก่ BEC เพือ่ ใช้เป็น เชือ้ เพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า ดังนัน้ ในกรณีทฤ่ี ดูกาลผลิตมีปริมาณอ้อย ในระดับตา่ํ จะส่งผลต่อปริมาณกากอ้อยทีน่ �ำ ส่งโรงไฟฟ้า ทำ�ให้เกิดความเสีย่ ง ในการขาดเชื้อเพลิงในการผลิตและอาจส่งผลให้กระบวนการผลิตกระแส ไฟฟ้าหยุดชะงักได้ ในปัจจุบนั ปริมาณกากอ้อยจากกระบวนการผลิตนา้ํ ตาลของ บริษทั มีประมาณร้อยละ 26 ของปริมาณอ้อยตามนํา้ หนักของอ้อยทีเ่ ข้าหีบ ซึ่ง ในฤดูการผลิตปี 2557/2558 บริษัทมีกากอ้อยหลังการผลิตนํ้าตาลประมาณ 520,000 ตัน ซึ่งโรงงานนํ้าตาลใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับการผลิตความร้อนใน กระบวนการผลิตนํ้าตาลของบริษัทประมาณ 250,000 ตัน และใช้เป็น เชื้อเพลิงของโรงไฟฟ้า โดยโรงไฟฟ้า BEC มีความต้องการเชื้อเพลิง ประมาณ 430 ตันต่อวัน หรือเท่ากับ 129,000 ตันต่อปี ซึง่ ยงคงเพียงพอต่อการ ผลิต แต่ทั้งนี้หลังจากมีการสร้างโรงไฟฟ้า BPC ขึ้นซึ่งจะมีความต้องการ กากอ้อยเป็นเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 130,000 ตันต่อปี หรือรวมเป็น 510,000 ตันต่อปี ซึง่ หากปริมาณอ้อยทีเ่ ข้าหีบน้อยกว่า 2,000,000 ตัน ก็อาจ ทำ�ให้ปริมาณกากอ้อยไม่เพียงพอต่อการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างเต็มที่ได้ อย่างไรก็ดี เครือ่ งจักรของบริษทั สามารถใช้วตั ถุดบิ เชือ้ เพลิงชนิดอืน่ ทดแทน ได้ เช่น ไม้สบั แกลบ ในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ทำ�ให้สามารถควบคุมความ เสีย่ งในการขาดแคลนวัตถุดบิ ในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ แต่หากบริษทั ต้อง ซือ้ เชือ้ เพลิงชนิดอืน่ มาใช้ทดแทน อาจจะทำ�ให้ตน้ ทุนการผลิตไฟฟ้าของบริษทั สูงขึ้น ส่งผลต่อกำ�ไรสุทธิของบริษัทได้

รายงานประจำ�ปี 2557

41


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายปุ๋ยอินทรีย์ ดำ�เนินการโดย บริษัท ความเสีย่ งอืน่ ๆ ปุย๋ ตรากุญแจ จำ�กัด (KBF) 1.1 ความเสี่ยงจากการมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสูง

1.1 ความเสีย่ งอันเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคทีม่ อี ยูเ่ ดิม

บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด หรือ KBF เริ่มดำ�เนินการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ปรับปรุงดินในเดือนธันวาคม 2555 โดยลูกค้าส่วนใหญ่จะเป็นชาวไร่ ทั้งนี้ เนื่องจากชาวไร่ยังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงดินด้วยอินทรีย วัตถุ ซึ่งเป็นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยเคมีและปรับปรุงคุณสมบัติ ทางกายภาพ และทางเคมีของดินค่อนข้างน้อย ประกอบกับพืชมีการตอบ สนองต่อปุ๋ยอินทรีย์ค่อนข้างช้ากว่าปุ๋ยเคมี และมีการนำ�ไปใช้จะยุ่งยากกว่า ดังนั้น บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด ร่วมกับ บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนา อ้อย จำ�กัด จึงได้มุ่งเน้นให้ความรู้เกี่ยวกับปุ๋ยอินทรีย์ ดำ�เนินการจัดทำ� แปลงตัวอย่างการนำ�ปุ๋ยอินทรีย์ไปใช้ และให้ข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการ ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคของชาวไร่ในการนำ�ไป ใช้มากขึ้น อย่างไรก็ตามทีผ่ า่ นมาบริษทั ปุย๋ ตรากุญแจ จำ�กัด (KBF) และบริษทั บุรรี มั ย์ วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด (BRD) ร่วมกับนักวิชาการได้สร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับชาวไร่โดยให้ชาวไร่ได้เข้ามาศึกษาดูงานการใช้ปุ๋ยของ บริษัทตามสูตรชนิดต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ชาวไร่ได้เข้าใจและปรับใช้ได้ อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ

1.2 ความเสีย่ งเรือ่ งผลกระทบจากสิง่ แวดล้อม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วน ของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 1.71 และ5.14 เท่า ตามลำ�ดับ อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจาก บริษัทเป็น Holding Company สัญญาเงินกู้ที่มีกับธนาคารพาณิชย์ใน ปัจจุบันจะทำ�สัญญากับบริษัทย่อยที่ดำ�เนินธุรกิจ เช่น BSF BEC เป็นต้น ซึ่งจะมีข้อกำ�หนดด้านการรักษาอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นแยก รายบริษัท ไม่ได้คิดรวมทั้งกลุ่มบริษัท ซึ่ง ณ 31 ธันวาคม 2557 อัตราส่วน หนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของ BSF และ BEC ยังคงเป็นไปตามข้อกำ�หนด ของสัญญาเงินกู้ที่มีกับธนาคารพาณิชย์ ทั้งนี้ จากที่บริษัทได้ระดมเงินทุน จากการขายหุ้นให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทำ�ให้อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทลดลงและความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องจากการมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสูงลดลงตามไปด้วย

1.2 ความเสี่ยงจากการที่บริษัทมีผู้ถือหุ้นใหญ่มีอิทธิพลต่อการ กำ�หนดนโยบายการบริหารงาน

กลุ่มครอบครัวตั้งตรงเวชกิจและบริษัท ทุนบุรีรัมย์ จำ�กัด ที่กลุ่มครอบครัว ตั้งตรงเวชกิจ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ถือหุ้นรวมกันในบริษัทคิดเป็นร้อยละ 77.95 ของทุนจดทะเบียนที่ออกและชำ�ระแล้วหลังจากการเสนอขายหุ้นสามัญใน ครั้งนี้ และกลุ่มครอบครัวตั้งตรงเวชกิจ ยังดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผู้บริหารและ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามของบริษัทด้วย บริษัทและ/หรือผู้ถือหุ้นรายย่อย อาจมีความเสี่ยงจากการที่กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่จะมีอิทธิพลต่อการกำ�หนด นโยบายการบริหารงานไปในทิศทางใดทิศทางหนึง่ สามารถควบคุมนโยบาย และการบริหารงานในบริษทั ได้ รวมถึงสามารถควบคุมการอนุมตั มิ ติประชุม ผู้ถือหุ้นที่ต้องการเสียงส่วนใหญ่ได้ ยกเว้นเรื่องที่กฎหมายหรือข้อบังคับของ บริษทั ทีก่ �ำ หนดให้ตอ้ งได้รบั เสียง 3 ใน 4 ของทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ดังนัน้ ผูถ้ อื หุน้ รายอื่นอาจไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสียงเพื่อตรวจสอบและถ่วงดุลเรื่องที่ กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่เสนอได้

การประกอบธุรกิจผลิตและจัดจำ�หน่ายสารอินทรีย์ปรับปรุงดินของ บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด อยู่ภายใต้กฎหมายและ พ.ร.บ. ปุ๋ย พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. ปุ๋ย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 เกี่ยวกับการควบคุม คุณภาพเพื่อรักษาไว้ซึ่งประโยชน์ของการเกษตรกรและภาคการเกษตรซึ่ง กฎหมาย และ พ.ร.บ.ดังกล่าวครอบคลุมถึงเรื่องการควบคุมมลพิษทั้งทาง ดิน นํ้า อากาศและสารพิษ การกำ�จัดขยะและของเสีย สุขภาพและความ ปลอดภัยในการทำ�งานและการจัดการวัตถุที่เป็นอันตราย ซึ่งข้อกำ�หนด ดังกล่าวมีความซับซ้อน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง และการบังคับใช้ กฎหมายและ พ.ร.บ.ดังกล่าวบางกรณีขึ้นอยู่กับการตีความของหน่วยงาน อย่างไรก็ดี เพื่อความโปร่งใสในการบริหารจัดการและการตรวจสอบและ ถ่วงดุลอำ�นาจผู้บริหารและกรรมการ ปัจจุบันทางบริษัทได้ให้มีหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบภายใน (In-House) โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ และ ที่ผ่านมา KBF ได้รับใบอนุญาตตั้งโรงงาน และใบอนุญาตผลิตปุ๋ยอินทรีย์ หน่วยงานตรวจสอบจากภายนอก (Outsource) และสำ�นักงานบริหารความเสี่ยง สูตรปุ๋ยอย่างถูกต้องตามกฎหมายและข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง รวมถึงได้มี ทั้งนี้ เพื่อทำ�หน้าที่ตรวจสอบ ถ่วงดุลการตัดสินใจ และพิจารณาอนุมัติ มาตรการดำ�เนินการป้องกันผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมต่างๆ อาทิ การ รายการต่างๆ ก่อนนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อมิให้เกิดรายการที่ก่อ จัดทำ�ห้องดักฝุ่นและมีระบบสเปรย์นํ้า การจัดรถฉีดนํ้าบริเวณพื้นที่รอบ ให้เกิดความขัดแย้ง และเพื่อก่อให้เกิดความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของ โรงงาน การจัดเตรียมอุปกรณ์ความปลอดภัยให้พนักงานเพื่อลดผลกระทบ บริษัท จากระดับเสียง และการใช้กระสอบเป็นวัตถุดิบซึ่งสามารถนำ�กลับมาใช้ ใหม่ได้ อย่างไรก็ตามสถานที่ตั้งของโรงงานผลิตสารอินทรีย์ปรับปรุงดิน ตั้งห่างไกลจากบริเวณชุมชน ทำ�ให้ KBF มีความเชื่อมั่นว่า ความเสี่ยงเรื่อง ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับตํ่า

42


โครงสร้างผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรกของบริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังนี้

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท ทุนบุรีรัมย์ จำ�กัด นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล น.ส.จิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ นายไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา นายไพโรจน์ ศิวะพรชัย นายยรรยง พันธุ์วงศ์กล่อม รวม

รายงานประจำ�ปี 2557

จำ�นวนหุ้น

ร้อยละ

338,380,000 27,507,500 27,407,500 27,407,500 27,407,500 27,407,500 27,407,500 8,000,000 6,274,450 4,833,100 522,032,550

50.00 4.06 4.05 4.05 4.05 4.05 4.05 1.18 0.93 0.71 77.14

43


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ความรับผิดชอบต่อสังคม นโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ตามนโยบาย CSR ของ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ด้วยความ มุ่งมั่นที่จะสร้างให้ธุรกิจมีการเติบโตอย่างยั่งยืน ควบคู่กับการพัฒนาสภาพ ชีวติ ความเป็นอยูข่ องเกษตรกรชาวไร่ออ้ ยและชุมชนข้างเคียงให้ดขี น้ึ บริษทั นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) จึงได้กำ�หนดแนวนโยบายความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Corporate Social Responsibility – CSR) ที่ยึดหลักแนวคิด ตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ ในปี 2507 ก็คอื “การพัฒนาธุรกิจควบคูก่ บั การรักษาสิง่ แวดล้อม และสร้างความเจริญให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน” ภายใต้กรอบปณิธาน ดังนี้

CECS รับผิดชอบ สิ่งแวดล้อม ชุมชน ยั่งยืน

C - Commitment “มุ่งมั่นรับผิดชอบ” E - Environment “รักษาสิ่งแวดล้อม” C - Community “สู่จุดหมายพร้อมชุมชน” S - Sustainable “อยู่ด้วยกันอย่างยั่งยืน”

พันธกิจ

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) เล็งเห็นถึงความสำ�คัญของธุรกิจให้ เจริญเติบโตควบคูก่ บั ชุมชนและสังคมอย่างยัง่ ยืน โดยมีกระบวนการบริหาร จัดการส่งเสริมวัตถุดิบอย่างเป็นเลิศด้านวิชาการอันจะนำ�มาซึ่งความมั่นคง ด้านผลผลิตอ้อย และสร้างชีวิตที่ดีแก่ชาวไร่ เพื่อนำ�มาผลิตนํ้าตาลที่ได้ มาตรฐานด้านคุณภาพ ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นไป ตามกฎหมาย ข้อกำ�หนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งนำ�ผลพลอยได้มาจัดการ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้บรรลุนโยบายดังกล่าวบริษัทฯ จะ 1. สร้างกระบวนการทำ�ความเข้าใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเท่าทัน 2. ร่วมสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กร 3. สนับสนุนส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามร่วมกับชุมชน 4. ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษา 5. พัฒนาส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ไม่ส่งผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 6. จัดการเผยแพร่ข่าวสารต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างต่อเนื่อง

44

กลยุทธ์การดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม

การดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) เริ่มต้นจากภายในองค์กร และขยายออกสู่ชุมชนใกล้เคียง ตลอดจนสังคมในระดับประเทศ โดยมีกลยุทธ์หลักในการดำ�เนินงาน 4 ประการ ได้แก่ 1. สร้างสำ�นึก จิตสาธารณะในพนักงาน และกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วม ในโครงการจิตอาสาต่างๆ ของบริษัทฯ 2. เน้นการทำ�กิจกรรมหรือโครงการ CSR กับชุมชนในเชิงลึก 3. ทำ�โครงการ CSR ร่วมกับ สถาบันเอกชนหรือหน่วยงานราชการ องค์กร ทีไ่ ม่แสวงหาผลกำ�ไรและชุมชนรอบๆ บริเวณบริษทั ฯ ทีเ่ ป็นผูน้ �ำ ทางด้าน ความคิดทางสังคม 4. นำ�ผลพลอยได้ ทีเ่ หลือจากกระบวนการผลิตนํา้ ตาลทราย ไปทำ�โครงการ ด้าน CSR ให้เป็นประโยชน์ทั้งต่อบริษัทฯ และสังคม ในปี 2557-ปัจจุบัน บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) มีเจตนารมณ์ ในการมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมให้ยั่งยืนเพื่อสร้างความเชื่อมั่น การยอมรับ และความไว้วางใจจากชุมชนและสังคม ต่อยอดสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชน และสังคม บนพื้นฐานแนวคิดนโยบายของบริษัทฯ ยึดหลักแนวปฏิบัติ “การพัฒนาธุรกิจควบคู่กับการรักษาสิ่งแวดล้อม และสร้างความเจริญให้ กับชุมชนอย่างยั่งยืน” มุ่งมั่นที่จะสร้างให้ธุรกิจมีการเติบโตอย่างยั่งยืน ควบคู่กับการพัฒนาสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกรชาวไร่อ้อยและ ชุมชนข้างเคียงให้ดีขึ้น จึงได้ร่วมจัดทำ�โครงการและกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับ หน่วยงานภายนอก ทัง้ เอกชนและหน่วยงานของรัฐทีเ่ ป็นผูน้ �ำ ด้านความคิด ซึ่งเป็นโครงการและกิจกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน หน่วยงาน เอกชน หน่วยงานรัฐ รวมถึงตัวบริษัทฯ เอง ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดย ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ เป็นอย่างดี ดังนัน้ ทีมงานมวลชนสัมพันธ์ จึงขอนำ�เสนอรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ของบริษทั นา้ํ ตาลบรีรมั ย์ จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ ทีผ่ า่ นได้รว่ มโครงการและ กิจกรรมต่างๆร่วมกับชุมชนและสังคมต่างๆ มากมาย ซึง่ ได้รว่ มจัดโครงการ และกิจกรรมตามแผนของทีมมวลชนสัมพันธ์ที่ได้วางไว้ในแต่ละด้าน ดังนี้


ด้านสิ่งแวดล้อม

ในเดือนสิงหาคม ปี 2557 บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ได้จัด โครงการปลูกไม้ยืนต้นเฉลิมพระเกียรติพระบรมราชินีนารถ เนื่องในวโรกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ ระบรมราชินนี ารถ ซึง่ ปลูก ในเขตพื้นที่บริเวณรอบบ่อบำ�บัดนํ้าเสียโรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ เพื่อเพิ่มพื้นที่ สีเขียวให้กบั บริษทั ฯ โดยได้รบั ความร่วมมือจาก ผูบ้ ริหาร พนักงาน เป็นอย่างดี

รายงานประจำ�ปี 2557

45


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ด้านการศึกษา

ในปี2557 ที่ผ่านมา บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ทีมมวลชนสัมพันธ์ และพนักงานจิตอาสาของแต่ละบริษัทในเครือ ได้จัดโครงการ “คืนความรู้ สู่เยาวชน ครั้งที่ 1” ซึ่งจัดตามโรงเรียนในเขตรัศมี 5 กิโลเมตร รอบโรงงาน ซึ่งเป็นโครงการที่ให้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ยาเสพติด ปลูกจิตสำ�นึก การจัดการการคัดแยกขยะ และกิจกรรมละลายพฤติกรรมระหว่างพนักงาน ของบริษัทฯ และน้องๆ นักเรียนแต่ละโรงเรียน เป็นโครงการที่ทางโรงเรียน ให้สนใจและความร่วมมือเป็นอย่างยิ่ง มีการแจกของรางวัลสำ�หรับน้องๆ นักเรียนทีร่ ว่ มกิจกรรมในวันนัน้ ด้วย โครงการจะจัดขึน้ ต่อเนือ่ งทุกปี นอกจาก นั้นยังมีกิจกรรมให้ทุนการศึกษาตามโอกาสต่างๆ เป็นการให้ทุนในระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา เช่น ให้ทนุ การศึกษาแก่นกั เรียนในวันแม่แห่งชาติ วันเด็กแห่งชาติ และงานตามโอกาสต่างๆ และยังมีกิจกรรมโรงทานใน วันนั้นด้วย

46


ด้านส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี

กลุม่ นา้ํ ตาลบุรรี มั ย์ ได้รว่ มจัดกิจกรรมตามวันสำ�คัญทางศาสนาและประเพณี ต่างๆ ของชุมชนรอบๆ โรงงานโดยมุ่งเน้นการทำ�งานอย่างมีส่วนร่วม ตั้งแต่ การวางแผนจนถึงการลงมือทำ�กิจกรรม ระหว่างบริษทั ฯ และชุมชน อาทิเช่น กิจกรรมรดนํ้าดำ�หัวผู้ใหญ่ ซึ่งจัดในช่วงวันสงกรานต์ของทุกปี กิจกรรมวัน เข้าพรรษา เป็นกิจกรรมที่ทางกลุ่มนํ้าตาลบุรีรัมย์ ได้เข้าร่วมโดยการขบวน แห่เทียนพรรษาประจำ�ปีทุกปี กิจกรรมโรงทานในวันเข้าพรรษา กิจกรรมวัน ลอยกระทง โดยสนับสนุนเงินรางวัลในการประกวดขบวนกระทงและการ ประกวดนางนพมาศ ของเทศบาลหินเหล็กไฟ กิจกรรมโรงทานงานวัน ออกพรรษา กิจกรรมกีฬาเทโวเกมส์ กิจกรรมงานบุญทอดกฐินเพื่อสร้าง ศาลาการเปรียญ วัดสาวเอ้เป็นประจำ�ทุกปี ซึ่งทุกกิจกรรมรับความร่วมมือ จากพนักงานในบริษัทฯ และชุมชนเป็นอย่างดี

รายงานประจำ�ปี 2557

47


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ด้านส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ ของทั้งคนในชุมชนและพนักงานของบริษัท

ในปีที่ผ่านมา กลุ่มนํ้าตาลบุรีรัมย์ ซึ่งนำ�โดย บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) จัดการตรวจสุขภาพประจำ�ปีของพนักงานของทุกบริษัทในเครือ พนักงานทุกคนให้ความร่วมมือ ในการเข้ารับการตรวจสุขภาพประจำ�ปี เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังออกตรวจสุขภาพผู้พิการติดเตียง อาทิเช่น บ้าน หนองไผ่ เป็นชุมชนทีใ่ กล้โรงงาน (บ้านของคุณลุงสง่า) อีกทัง้ ทีมงานมวลชน สัมพันธ์ ยังได้ลงพื้นที่สำ�รวจความเป็นอยู่ของชุมชนในเขตรัศมี 5 กิโลเมตร รอบบริษัทฯ และยังมีโครงการแจกนํ้าดื่มเพื่อสุขภาพชุมชน ให้กับชุมชน ในเขตเทศบาลตำ�บลหินเหล็กไฟ จำ�นวน 12 ชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนทุก ครัวเรือนได้มีนํ้าที่สะอาดไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน และเพื่อเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชนให้มีความแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น

48


งานมวลชนสัมพันธ์นอกจากจะมีกิจกรรมที่ได้จัดขึ้นในแต่ละด้านแล้ว ยังมี กิจกรรมอื่นๆ อีก ที่ทางทีมงานได้ทั้งร่วมสนับสนุนให้กับหน่วยงานภายนอก ที่ขอความอนุเคราะห์และที่จัดกิจกรรมขึ้นเองตามโอกาส ซึ่งแต่ละกิจกรรม นัน้ ล้วนเป็นกิจกรรมทีช่ ว่ ยสร้างภาพลักษณ์ทด่ี ี และสร้างสัมพันธ์ทด่ี รี ะหว่าง ชุนชนกับกลุ่มรํ้าตาลบุรีรัมย์ทั้งสิ้น อาทิเช่น

• กิจกรรมส่งทีมวอลย์เล่ย์บอลหญิงเข้าร่วมแข่งขันในงานกีฬาเทโวเกมส์ ซึ่งจัดโดยเทศบาลตำ�บลหินเหล็กไฟ • กิจกรรมงานกีฬาสานสัมพันธ์ชาวไร่ออ้ ย เป็นการจัดการแข่งขันกีฬาของ ชาวไร่อ้อยบุรีรัมย์ เพื่อสร้า งความสัมพันธ์ใ ห้ช าวไร่อ้อ ยในแต่ ละ เขตการส่งเสริมได้พบปะกัน

• กิจกรรมร่วมบริจาคนํ้าตาลให้กับสำ�นักงานเหล่ากาชาดบุรีรัมย์เพื่อใช้ เป็นรางวัลในการออกฉลากกาชาด และร่วมจัดนิทรรศการในงานกาชาด • กิจกรรมกีฬาภายในกลุ่มนํ้าตาลบุรีรัมย์ เพื่อให้พนักงานทุกคนได้ผ่อนคลาย จากการทำ�งานมาตลอดทัง้ ปีและช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน บุรีรัมย์ เพื่อประชาสัมพันธ์องค์กร ของแต่ละบริษัทในกลุ่มนํ้าตาลบุรีรัมย์มากยิ่งขึ้น

รายงานประจำ�ปี 2557

49


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ด้านการสนับสนุนอื่นๆ ด้านการสนับสนุนอื่นๆ

• กิจกรรม Big cleaning day บริเวณโรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ ซึ่งได้รับ ความร่วมมือจากพนักงานเป็นอย่างดี • โครงการสร้างบ้านจิตอาสา บ้านนายสง่า ศาลางาม บ้านหนองไผ่ ต.หินเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์ ได้รับความร่วมมือจากเทศบาล ตำ�บลหินเหล็กไฟ รพ.สต.หินเหล็กไฟ และพนักงานจิตอาสาทุกท่าน ให้การช่วยเหลือแก่พนักงานที่บ้านถูกไฟไหม้

50


• กิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ร่วมกิจกรรมกับทางเทศบาลและโรงเรียน ในเขตเทศบาลหินเหล็กไฟทั้งหมด จำ�นวน 4 โรงเรียน • กิจกรรมมอบตูเ้ ย็น ให้กบั รพ.สต.หินเหล็กไฟ เพือ่ ใช้ส�ำ หรับเก็บเวชภัณฑ์ เฉพาะ ที่ต้องอาศัยอุณภูมิเหมาะสม • กิจกรรมมอบหอกระจายเสียงให้กับ ชุมชนบ้านโศกดู่ ต.หินเหล็กไฟ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์

รายงานประจำ�ปี 2557

51


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

• นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานภายนอกเข้ามาเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน กลุ่มนํ้าตาลบุรีรัมย์และบริษัทในเครือ อาทิเช่น - การเข้าเยี่ยมชมงาน ของสำ�นักงานกำ�กับตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - การเยี่ยมชมของกลุ่มบริษัท นํ้าตาลไทยรุ่งเรือง - การเข้าเยี่ยมชมของสมาคมชาวไร่อ้อยอีสานเหนือ จ.อุดรธานี - การเข้าเยี่ยมชมดูงานของ บริษัท อุตสาหกรรมนํ้า ตาลบ้านไร่ และสมาคมชาวไร่อ้อยลพบุรี - การเยี่ยมชมงานของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ - การเข้าเยี่ยมชมงานของวิทยาลัยสารพัดช่าง จ.บุรีรัมย์ - การเข้าเยี่ยมชมของสมาคมชาวไร่อ้อยอีสานเหนือ จ.อุดรธานี - การเข้าเยี่ยมชมดูงานของ บริษัท อุตสาหกรรมนํ้าตาลบ้านไร่ และสมาคมชาวไร่อ้อยลพบุรี - การเข้าเยี่ยมชมงานของคณะผู้ว่า จากจังหวัดอุดรมีชัย ประเทศกัมพูชา

52

• ทีมงานร่วมจัดนิทรรศการในงาน โครงการอบรมให้ความรู้แนวทางการ ขับเคลือ่ นการพัฒนาจังหวัดด้วยแบบระบบการบริหารการจัดการรายกรณี ซึ่งบริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด เป็นหน่วยงานหลักในการ จัดงาน โดยมี ผูว้ า่ ราชการจังหวัดบุรรี มั ย์ นายเสรี ศรีหะไตร เป็นประธาน ในการเปิดงาน


การทำ� CSR ขององค์กรให้ประสบความสำ�เร็จ และเป็นที่ยอมรับในสังคมอย่างแท้จริง นั่นก็คือ การเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ ในกระบวนการดำ�เนินธุรกิจให้ สอดประสานควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างลงตัว หรือ การเน้นกิจกรรม CSR ที่อยู่ในกระบวนการทางธุรกิจ (CSR in-process)” ซึ่ง บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด 1 ในกลุ่มนํ้าตาลบุรีรัมย์ ที่แสดงถึงความชัดเจนของการทำ�กิจกรรม CSR in process ซึ่งมีกิจกรรมดังนี้

กิจกรรมการประชุมและอบรม ประจำ�เดือน พฤศจิกายน 2557 ลำ�ดับ หัวข้อการประชุม/อบรม กำ�หนด 1 อบรมเรื่องการจัดการเครื่องมือ เครื่องจักรในไร่อ้อย วันที่ 22-23 ต.ค. 57 โดย อาจารย์ตุลย์ อินทรัมพรรย์ 2 ประชุมงานสมาคมชาวไร่สามัญประจำ�ปี 2557/58 วันที่ 4 พ.ย. 57 3 อบรมหลักสูตร”การพัฒนาศักยภาพเพื่อการเป็น วันที่ 8-10 พ.ย. 57 นักส่งเสริมมืออาชีพ” โดย ทีมวิทยากร อาจารย์สุรพล จันทราปัตย์ 4 อบรมหลักสูตร“นักบริหารงานส่งเสริมแนวหน้า วันที่ 21-23 พ.ย. 57 เพื่อการพัฒนาอ้อยและเกษตรกรที่ยั่งยืน” โดย ทีมวิทยากร อาจารย์สุรพล จันทราปัตย์ 5 อบรมเรื่องการจัดการดินและปุ๋ย การสร้างระบบ วันที่ 29 พ.ย. 57 ฐานข้อมูลและสร้างแบบจำ�ลองในพื้นที่ปลูกอ้อย จ.บุรีรัมย์ โดย อาจารย์กุมุท สังขศิลา 6 อบรมสำ�หรับเกษตรกรรายใหม่ เขต 10.1,10.2,9 วันที่ 28 พ.ย. 57 7 อบรมสำ�หรับเกษตรกรรายใหม่ เขต 6.1,6.2,5 วันที่ 29 พ.ย. 57

รายงานประจำ�ปี 2557

จำ�นวน (คน) 80

หมายเหตุ ณ โรงเรียนเกษตรกร

ชาวไร่อ้อย ที่มาร่วมงานทั้งหมด 44

ณ สมาคมชาวไร่ฯ บ้านหนองเครือ เขต 2

24

ณ โรงเรียนเกษตรกร

80

ณ โรงเรียนเกษตรกร

49 53

ณ โรงเรียนเกษตรกร ณ โรงเรียนเกษตรกร

53


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

กิจกรรมการประชุมและอบรม ประจำ�เดือน ธันวาคม 2557 ลำ�ดับ หัวข้อการประชุม/อบรม กำ�หนด 1 อบรมเรื่องการจัดการเครื่องมือ เครื่องจักรในไร่อ้อย วันที่ 22-23 ต.ค. 57 โดย อาจารย์ตุลย์ อินทรัมพรรย์ 2 ประชุมงานสมาคมชาวไร่สามัญประจำ�ปี 2557/58 วันที่ 4 พ.ย. 57 3 อบรมหลักสูตร”การพัฒนาศักยภาพเพื่อการเป็น วันที่ 8-10 พ.ย. 57 นักส่งเสริมมืออาชีพ” โดย ทีมวิทยากร อาจารย์สุรพล จันทราปัตย์ 4 อบรมหลักสูตร“นักบริหารงานส่งเสริมแนวหน้า วันที่ 21-23 พ.ย. 57 เพื่อการพัฒนาอ้อยและเกษตรกรที่ยั่งยืน” โดย ทีมวิทยากร อาจารย์สุรพล จันทราปัตย์ 5 อบรมเรื่องการจัดการดินและปุ๋ย การสร้างระบบ วันที่ 29 พ.ย. 57 ฐานข้อมูลและสร้างแบบจำ�ลองในพื้นที่ปลูกอ้อย จ.บุรีรัมย์ โดย อาจารย์กุมุท สังขศิลา 6 อบรมสำ�หรับเกษตรกรรายใหม่ เขต 10.1,10.2,9 วันที่ 28 พ.ย. 57 7 อบรมสำ�หรับเกษตรกรรายใหม่ เขต 6.1,6.2,5 วันที่ 29 พ.ย. 57

54

จำ�นวน (คน) 80

หมายเหตุ ณ โรงเรียนเกษตรกร

ชาวไร่อ้อย ที่มาร่วมงานทั้งหมด 44

ณ สมาคมชาวไร่ฯ บ้านหนองเครือ เขต 2

24

ณ โรงเรียนเกษตรกร

80

ณ โรงเรียนเกษตรกร

49 53

ณ โรงเรียนเกษตรกร ณ โรงเรียนเกษตรกร


โครงสรางการจัดการ คณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร

เลขานุการคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

เลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการผูจัดการ

ผูจัดการสํานักกรรมการ

กรรมการรองผูจัดการ กลุมการลงทุนในประเทศ

• ดานธุรกิจการเกษตร • ดานพลังงาน

ผูชวยกรรมการผูจัดการ ดานตางประเทศ

นักลงทุนสัมพันธ

กรรมการรองผูจัดการ กลุมการลงทุนตางประเทศ

• ดานธุรกิจการเกษตร • ดานพลังงาน • ดานพัฒนาอสังหาริมทรัพย • ดานพาณิชย • ดานโลจิสติกส และดานอื่นๆ

รองกรรมการผูจัดการ กลุมการเงินและปฏิบัติการ

ผูชวยกรรมการผูจัดการ กลุมการเงินและปฏิบัติการ

• ฝายบัญชีและการเงิน • ฝายบริหารการเงิน • ฝายกฎหมาย • ฝายทรัพยากรบุคคลและธุรการ • สํานักงาน สาขากรุงเทพฯ หมายเหตุ: ปจจุบัน บริษัทวาจางหนวยงานภายนอก คือ บริษัท ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จํากัด เปนผูตรวจสอบระบบควบคุมภายในของบริษัทและบริษัทยอย รายงานประจําป 2557

55


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

โครงสร้างการจัดการของบริษัท ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท และ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่ง คณะกรรมการชุดย่อย 3 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ เป็นจำ�นวน 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจำ�นวนกรรมการ บริหาร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ที่สุดกับ ส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรก และปีที่สอง คณะกรรมการบริษัท ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริษัท มีจำ�นวน 9 ท่าน กรรมการคนที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้น เป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง ทั้งนี้ ประกอบด้วย กรรมการซึ่งพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระนั้นอาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามา ดำ�รงตำ�แหน่งอีกได้ ชื่อ-นามสกุล ตำ�แหน่ง 1. นายประจวบ ไชยสาส์น 2. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 3. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ 4. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 5. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 6. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 7. นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 8. นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ 9. นายศิริชัย สมบัติศิริ

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท

1. บริหารกิจการบริษัทให้เป็นไปเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดแก่ผู้ถือหุ้น โดยใน การดำ�เนินกิจการของบริษัท คณะกรรมการบริษัทต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต และปฏิบัติตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 2. พิจารณาและอนุมัติในเรื่องที่สำ�คัญเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท เช่น วิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุรกิจ เป้าหมายและแผนการ ดำ�เนินงาน เป้าหมายทางการเงิน และงบประมาณของบริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วม

3 กำ�กับดูแลการดำ�เนินธุรกิจตามปกติของบริษัท และกำ�กับดูแลให้ฝ่าย บริหารดำ�เนินการให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุรกิจ โดยมี นางสาวภัททิรา เหลืองวิลาศ เป็นเลขานุการบริษทั ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ เป้าหมายและแผนการดำ�เนินงาน เป้าหมายทางการเงิน และงบประมาณ จากที่ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 9/2557 เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 ของบริษัท 4. จัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี รวมทัง้ ดูแล กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท ให้มรี ะบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบบริหารความเสีย่ ง 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และระบบป้องกันการทุจริต รวมถึงกำ�หนดให้มมี าตรการในการติดตามผลการ 2. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ ดำ�เนินงานของบริษทั บริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทีเ่ หมาะสม ให้มปี ระสิทธิภาพ 3. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล และรัดกุมเพียงพอ 4. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 5. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 5. จัดให้มีรายงานประจำ�ปีของบริษัท และ/หรือ ของคณะกรรมการบริษัท 6. นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง “กรรมการสองในหกคนนีล้ งลายมือชือ่ ร่วมกัน และประทับตราสำ�คัญของบริษทั ” 6. กำ�กับดูแล และจัดให้มกี ลไกในการกำ�กับดูแล ไม่ให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ระหว่างผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกับบริษทั บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม

56


7. พิจารณาและอนุมัติ และ/หรือ พิจารณาและให้ความเห็น เพื่อเสนอต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้พิจารณาและอนุมัติการเข้าทำ�ธุรกรรมที่มีนัยสำ�คัญต่อ บริษัท และการเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และ วิธกี ารตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง และ/หรือ ข้อบังคับของบริษทั บริษัทย่อย และบริษัทร่วม

17. แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย โดยสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ หรือ บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในคณะ กรรมการชุดย่อย รวมทั้งกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ชุดย่อย

8. แต่งตัง้ กรรมการคนใดคนหนึง่ เป็นประธานกรรมการ และแต่งตัง้ กรรมการ 18. แต่งตั้งกรรมการคนใดคนหนึ่งที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารเป็น ตามจำ�นวนที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควรเป็นรองประธานกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ รวมทัง้ กำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องกรรมการผูจ้ ดั การ 9. กำ�หนด และ/หรือ แก้ไขเปลีย่ นแปลงชือ่ กรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงลายมือชือ่ 19. แต่งตัง้ กรรมการ หรือบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และ ผูกพันบริษัท มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควรเป็นเลขานุการ บริษัท 10. สรรหาและแต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมี 20. แต่งตัง้ และ/หรือ มอบอำ�นาจให้กรรมการ หรือบุคคลใดบุคคลหนึง่ หรือ คุณสมบัตคิ รบถ้วนตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง หลายคน มีอำ�นาจดำ�เนินการใดๆ ที่อยู่ภายในขอบอำ�นาจของกรรมการ กรรมการของบริษทั ในกรณีทต่ี �ำ แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอน่ื นอกจาก ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั เห็นสมควร โดยทีค่ ณะกรรมการบริษทั อาจยกเลิก ถึงคราวออกตามวาระ เพิกถอน หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงอำ�นาจดังกล่าวได้ 11. สรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติ 21. กำ�กับดูแลให้มีช่องทางในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้นแต่ละกลุ่ม และผู้มีส่วน ครบถ้วนตามกฎหมาย และกฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ส่วนเสียของบริษัท ให้พิจารณาและแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 22. กำ�กับดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัท และบริษัท 12. การแต่งตั้งหรือเสนอชื่อบุคคลเป็นกรรมการ หรือผู้บริหารในบริษัทย่อย ย่อยอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และ/หรือ บริษทั ร่วมอย่างน้อยตามสัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ในบริษทั ย่อย มีความเท่าเทียมกัน และน่าเชื่อถือ และบริษทั ร่วม ทัง้ นี้ กรรมการหรือผูบ้ ริหารตามวรรคข้างต้นทีไ่ ด้รบั การเสนอ ชื่อหรือแต่งตั้งนั้น ต้องมีคุณสมบัติบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ 23. กำ�หนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงระเบียบ และข้อบังคับภายในของบริษัท ตลอดจนไม่มลี กั ษณะขาดความน่าไว้วางใจ ตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับ ในเรื่องต่างๆ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ว่ า ด้ ว ยการกำ � หนดลั ก ษณะขาดความ 24. มีอ�ำ นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบอืน่ ใดตามทีก่ �ำ หนดไว้ในกฎหมาย น่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ข้อบังคับของบริษัท และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น 13. พิจารณาการจ่ายเงินปันผลประจำ�ปี และเงินปันผลระหว่างกาล ของ ทัง้ นี้ ในการดำ�เนินการเรือ่ งใดทีค่ ณะกรรมการบริษทั หรือผูร้ บั มอบอำ�นาจจาก บริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วม คณะกรรมการบริษัท มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อื่นใดกับบริษัท และ/หรือ บริษัทย่อย และ/หรือ บริษัทที่เกี่ยวข้อง คณะ 14 พิจารณาและกำ�หนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการและ กรรมการบริษัทหรือผู้รับมอบอำ�นาจจากคณะกรรมการบริษัท ไม่มีอำ�นาจ ผู้บริหารระดับสูง อนุมตั กิ ารดำ�เนินการในเรือ่ งดังกล่าว เว้นแต่เป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไป 15. พิจารณาจำ�นวนค่าตอบแทนของกรรมการ ตามหลักเกณฑ์การจ่าย ตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุม ค่าตอบแทนที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด เพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น ผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) พิจารณาและอนุมตั ไิ ว้แล้ว โดยอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ ให้พิจารณาและอนุมัติ ของกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท 16. ประเมินผลงานของกรรมการผู้จัดการและผู้บริหารระดับสูง พิจารณา และกำ � หนดค่ า ตอบแทนของผู้บริหารระดับสูงตามหลัก เกณฑ์การจ่า ย ค่าตอบแทนที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด

รายงานประจำ�ปี 2557

57


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท มีจำ�นวน 3 ท่าน ประกอบด้วย

ชื่อ-นามสกุล

1. นายประจวบ ไชยสาส์น 2. นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ 3. นายศิริชัย สมบัติศิริ

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

3 สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และ ระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบ ภายใน 4. สอบทานให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจของบริษัท

หมายเหตุ : นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ และ นายศิริชัย สมบัติศิริ เป็นกรรมการ ที่มีความรู้และประสบการณ์ที่เพียงพอที่จะสามารถทำ�หน้าที่ 5. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระ เพือ่ ทำ�หน้าที่ ในการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงินได้ โดยมี นางสาว เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ พรทิพย์ วิญญูปกรณ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อย ปีละ 1 ครัง้

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการ ตรวจสอบซึ่งพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาดำ�รง ตำ�แหน่งใหม่ได้ กรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่นใด นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งบุคคลที่มี คุณสมบัติครบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้กรรมการตรวจสอบมี จำ�นวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการ ตรวจสอบแทนจะอยูใ่ นตำ�แหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการตรวจสอบ ซึ่งตนทดแทน

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ

1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ โดยการประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบการ จัดทำ�รายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาสและประจำ�ปี คณะกรรมการ ตรวจสอบอาจเสนอแนะให้ผู้สอบบัญชีสอบทาน หรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นว่าจำ�เป็น และเป็นเรื่องสำ�คัญในระหว่างการตรวจสอบบัญชีของบริษัท ก็ได้ 2. ให้คำ�แนะนำ�แก่คณะกรรมการบริษัท และฝ่ายบริหารในการปรับปรุง กระบวนการทำ�งาน หรือระบบงานเพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องต่างๆ เพื่อให้ ได้รายงานทางการเงินที่ถูกต้อง และใช้ประโยชน์ได้ดี เพื่อให้บริษัทมีระบบ การทำ�งานที่มีประสิทธิภาพ

58

6. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่า รายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท รวมทั้ง พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มคี วามถูกต้องครบถ้วน 7. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงาน ประจำ�ปีของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ และประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงาน ทางการเงินของบริษัท ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ฉ) จำ�นวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุม ของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการ ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท


8. ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัย ว่ามีรายการ หรือการกระทำ�ดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญ ต่อฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงานของบริษทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร ก) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ข) การทุจริต หรือมีสง่ิ ผิดปกติ หรือมีความบกพร่องทีส่ �ำ คัญในระบบควบคุม ภายใน ค) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย ข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริษัท

คณะกรรมการบริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริหารของบริษทั มีจ�ำ นวน 5 ท่าน ประกอบด้วย

ชื่อ-นามสกุล

1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 2. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 3. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 5. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

หากคณะกรรมการบริษัท หรือผู้บริหารไม่ดำ�เนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไข โดยมี นางสาวภัททิรา เหลืองวิลาศ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร ภายในเวลาตามวรรคหนึง่ กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึง่ อาจรายงานว่า มีรายการ หรือการกระทำ�ตามวรรคหนึ่งต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ ขอบเขตและอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. พิจารณา กำ�หนด และให้ความเห็นเกี่ยวกับ วิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลยุทธ์ทางธุรกิจ เป้าหมายและแผนการดำ�เนินงาน เป้าหมายทางการเงิน 9. คณะกรรมการตรวจสอบอาจแสวงหาความเห็นที่เป็นอิสระจากที่ปรึกษา และงบประมาณของบริษัท เพื่อเสนอและขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริษัท ทางวิชาชีพอื่นใด เมื่อเห็นว่าจำ�เป็น ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท 2. กำ�กับดูแล ตรวจสอบ และติดตามการดำ�เนินกิจการของบริษทั ให้เป็นไป 10. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายด้วยความเห็นชอบ ตามวิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุรกิจ เป้าหมายและแผนการ จากคณะกรรมการตรวจสอบ ดำ�เนินงาน เป้าหมายทางการเงิน และงบประมาณของบริษัทที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท 3. กำ�หนดโครงสร้างองค์กร และนโยบายเกี่ยวกับการบริหารจัดการบริษัท รวมถึงนโยบายเกี่ยวกับการคัดเลือก การฝึกอบรม การว่าจ้าง และการเลิก จ้างพนักงานที่มีตำ�แหน่งสูงกว่าผู้จัดการฝ่ายของบริษัท โดยอาจมอบหมาย ให้กรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั และ/หรือ ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล เป็นผู้มีอำ�นาจแทนบริษัทในการลงนามในสัญญาจ้างแรงงาน 4. ศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนในโครงการใหม่ๆ และมีอ�ำ นาจในการ พิจารณาและอนุมัติให้บริษัทลงทุน หรือเข้าร่วมลงทุนกับบุคคล นิติบุคคล หรือองค์กรทางธุรกิจอื่นใด ในรูปแบบที่คณะกรรมการบริหารเห็นสมควร เพื่อดำ�เนินกิจการตามวัตถุประสงค์ของบริษัท ตลอดจนการพิจารณาและ อนุมตั กิ ารใช้จา่ ยเงินเพือ่ การลงทุนดังกล่าว การเข้าทำ�นิตกิ รรมสัญญา และ/หรือ การดำ�เนินการใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวจนเสร็จการ ในจำ�นวนเงิน ในแต่ละรายการตั้งแต่ 10 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 50 ล้านบาท ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน งบประมาณประจำ�ปีที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 5. พิจารณาและอนุมัติการเข้าทำ�ธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินใน การเปิดบัญชี กูย้ มื ขอสินเชือ่ จำ�นำ� จำ�นอง คํา้ ประกัน และการอืน่ รวมถึง การซือ้ ขาย และจดทะเบียนกรรมสิทธิท์ ด่ี นิ ใดๆ ตามวัตถุประสงค์ของบริษทั เพื่อประโยชน์ในการดำ�เนินกิจการของบริษัท ตลอดจนการเข้าทำ�นิติกรรม สัญญา และ/หรือ การดำ�เนินการใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งดังกล่าวจนเสร็จการ รายงานประจำ�ปี 2557

59


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ในจำ�นวนเงินในแต่ละรายการตัง้ แต่ 10 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 1,000 ล้านบาท คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ทัง้ นี้ ต้องไม่เกินงบประมาณประจำ�ปีทไ่ี ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัท มีจำ�นวน 5 ท่าน ประกอบด้วย 6. พิจารณาและอนุมตั กิ ารเข้าทำ�สัญญาหรือตราสารทางการเงิน เช่น สัญญา สิทธิทจ่ี ะซือ้ หรือขายนา้ํ ตาลทรายล่วงหน้า สัญญาซือ้ ขายต่างประเทศล่วงหน้า ชื่อ-นามสกุล ตำ�แหน่ง เป็นต้น เพื่อป้องกันความเสี่ยงทางการเงินของบริษัท 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริหารความเสี่ยง 7. พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะ หรือความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท 2. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล กรรมการบริหารความเสี่ยง เกี่ยวกับโครงการ ข้อเสนอ หรือการเข้าทำ�ธุรกรรมใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ 3. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริหารความเสี่ยง ดำ�เนินกิจการของบริษทั ทีม่ มี ลู ค่าเกินกว่าจำ�นวนเงินทีไ่ ด้ก�ำ หนดไว้ และ/หรือ ตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง หรือข้อบังคับของบริษัทที่ได้กำ�หนด 4. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริหารความเสี่ยง 5. นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการบริหารความเสี่ยง ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น หรือคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณาและอนุมัติ 8. พิจารณาและอนุมตั แิ นวนโยบายการบริหารงาน และการดำ�เนินกิจการของ โดยมี นายวรเทพ เลิศชัยอุดมโชค เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง บริษัท หรือการดำ�เนินการใดๆ อันอาจมีผลผูกพันบริษัท 9. มอบอำ�นาจให้กรรมการผู้จัดการดำ�เนินกิจการของบริษัทตามขอบเขต ขอบเขตและอำ�นาจหน้าที่ของ อำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการบริหาร 1. สอบทานและอนุมัตินโยบายการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ อย่างน้อย 10. แต่งตัง้ และ/หรือ มอบหมายให้กรรมการบริหาร หรือบุคคลใดบุคคลหนึง่ ปีละ 1 ครัง้ หรือทุกครัง้ ทีเ่ กิดเหตุการณ์เปลีย่ นแปลงทีม่ สี าระสำ�คัญต่อบริษทั ฯ หรือหลายคน มีอำ�นาจดำ�เนินการใดๆ ที่อยู่ภายในขอบอำ�นาจของคณะ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท

กรรมการบริหาร ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารเห็นสมควร โดยทีค่ ณะกรรมการ 2. กำ�หนดทิศทางและนโยบายในการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงการให้ขอ้ เสนอ บริหารอาจยกเลิก เพิกถอน หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงอำ�นาจดังกล่าวได้ แนะการกำ�หนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) ของบริษัทฯ 11. พิจารณาและอนุมัติคู่มืออำ�นาจดำ�เนินการ เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้ง เพื่อให้สามารถประเมินและติดตามความเสี่ยงที่บริษัทยอมรับได้ และ/หรือ ผูท้ ไ่ี ด้รบั มอบอำ�นาจทราบถึงขอบเขตความรับผิดชอบ และอำ�นาจ ของตนเอง และเพื่อใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน โดยมีเอกสารอ้างอิง และ 3. กำ�หนดนโยบายในการบริหารความเสีย่ งให้เพียงพอและเหมาะสม รวมถึง ประสิทธิผลของระบบและการปฏิบตั เิ พือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายทีก่ �ำ หนดไว้ เป็นไปตามขั้นตอนอย่างมีระบบ 12. มีอำ�นาจหน้าที่ และความรับผิดชอบใดๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย หรือ 4. การวางกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ สนับสนุน และผลักดันให้เกิดความร่วมมือทุกระดับทัว่ ทัง้ องค์กร ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มกี ารติดตาม ตามนโยบายที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ดูแล ประเมินผลและรักษาระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้อย่าง ทั้งนี้ ในการดำ�เนินการเรื่องใดที่คณะกรรมการบริหาร หรือผู้รับมอบอำ�นาจ เหมาะสม จากคณะกรรมการบริหาร มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อืน่ ใดกับบริษทั และ/หรือ บริษทั ย่อย และ/หรือ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการ 5. ทบทวนและพัฒนาระบบการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ให้มปี ระสิทธิภาพ บริหารหรือผูร้ บั มอบอำ�นาจจากคณะกรรมการบริหาร ไม่มอี �ำ นาจอนุมตั กิ าร และประสิทธิผลอย่างต่อเนือ่ ง โดยการประเมินและติดตามกระบวนการบริหาร ดำ�เนินการในเรือ่ งดังกล่าว เว้นแต่เป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย ความเสี่ยงให้สอดคล้องกับนโยบายที่กำ�หนดไว้สมํ่าเสมอ และหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่ 6. ติดตามผลการบริหารจัดการความเสีย่ งทีไ่ ด้มอบหมายให้เจ้าของความเสีย่ ง กรณี) พิจารณาและอนุมัติไว้แล้ว โดยอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย เป็นผูด้ �ำ เนินการพร้อมทัง้ ให้ขอ้ เสนอแนะเพือ่ ให้แผนบริหารจัดการความเสีย่ ง วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท มีประสิทธิภาพมากที่สุด 7. กำ�หนด สนับสนุน และจัดทำ�รายงานความเสีย่ งและข้อเสนอต่อคณะกรรมการ บริหารบริษัทเพื่อดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไข

60


8. รับทราบผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุม ภายในจากรายงานผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน เพื่อใช้เป็น ข้อมูลในการประเมินร่วมกับระดับความเสี่ยงของบริษัทฯ ที่มีอยู่ พร้อมทั้ง สือ่ สารประเด็นความเสีย่ งทีส่ �ำ คัญกับคณะกรรมการตรวจสอบ (ถ้ามี) เพือ่ ให้ ฝ่ายตรวจสอบภายในได้ดำ�เนินการตรวจสอบการควบคุมภายในที่สำ�คัญ และอาจมีผลต่อระดับความเสี่ยงของบริษัทฯ 9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงตามที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท ทัง้ นี้ ในการดำ�เนินการเรือ่ งใดทีค่ ณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง หรือผูร้ บั มอบ อำ�นาจจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท และ/หรือ บริษัทย่อย และ/หรือ บริษัทที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงหรือผู้รับมอบอำ�นาจจาก คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ไม่มีอำ�นาจอนุมัติการดำ�เนินการในเรื่อง ดังกล่าว เว้นแต่เป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) พิจารณา และอนุมตั ไิ ว้แล้ว โดยอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย วัตถุประสงค์ และ ข้อบังคับของบริษัท อนึง่ หากกรรมการบริหารความเสีย่ งท่านใดดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทด้วย บริษัทก็จะไม่ดำ�เนินการใดๆ ที่ทำ�ให้กรรมการบริหารความ เสี่ยงมีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามคุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบที่ดี เช่น การไม่บริหารงานตามปกติประจำ�วันของบริษทั (Day To Day Operation) รวมถึงการไม่ให้ความเห็นในกรณีที่อาจเป็นการขัดแย้งต่อคุณสมบัติและ หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นต้น

ผู้บริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผู้บริหารของบริษัท มีจำ�นวน 8 ท่าน ประกอบด้วย

ชื่อ-นามสกุล

ตำ�แหน่ง

1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 2. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 3. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 5. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 6. นายวรเทพ เลิศชัยอุดมโชค 7. นายพิทักษ์ ชาวสวน 8. นายภัทรพงศ์ พงศ์สวัสดิ์

กรรมการผู้จัดการ กรรมการรองผู้จัดการอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ กรรมการรองผู้จัดการอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ กรรมการรองผู้จัดการอาวุโส กลุ่มการลงทุนในประเทศ กรรมการรองผู้จัดการอาวุโส กลุ่มการลงทุนต่างประเทศ รองกรรมการผู้จัดการ กลุ่มการเงินและปฏิบัติการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการอาวุโส กลุ่มการเงินและปฏิบัติการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการอาวุโส ด้านต่างประเทศ

ขอบเขตและอำ�นาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ

1. รับผิดชอบดูแลเรื่องการดำ�เนินงาน และ/หรือ การบริหารงานตามปกติ ประจำ�วัน (Day To Day Operation) ของบริษทั รวมถึงการกำ�กับดูแลการ ดำ�เนินงานโดยรวม เพือ่ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนวิสยั ทัศน์ ภารกิจ นโยบาย กลยุทธ์ทางธุรกิจ เป้าหมายและแผนการ ดำ�เนินงาน เป้าหมายทางการเงิน และงบประมาณของบริษัทที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท 2. พิจารณา เจรจาต่อรอง และอนุมัติการเข้าทำ�นิติกรรมสัญญา และ/หรือ การดำ�เนินการใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงาน และ/หรือ การบริหารงาน ตามปกติประจำ�วันของบริษทั ในจำ�นวนเงินในแต่ละรายการไม่เกิน 10 ล้านบาท แต่ไม่เกินงบประมาณประจำ�ปีที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 3. พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะในการเข้าทำ�นิติกรรมสัญญา และ/หรือ การดำ�เนินการใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงาน และ/หรือ การบริหารงาน ตามปกติประจำ�วันของบริษัทที่มีมูลค่าเกินกว่าจำ�นวนเงินที่ได้กำ�หนดไว้ รวมถึงให้ความเห็น และเสนอเรื่องดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัท และ/ หรือ คณะกรรมการบริหาร เพื่อพิจารณากลั่นกรอง และหาข้อสรุปต่อไป

รายงานประจำ�ปี 2557

61


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

4. ศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนในโครงการใหม่ๆ และมีอ�ำ นาจในการ พิจารณาและอนุมัติให้บริษัทลงทุน หรือเข้าร่วมลงทุนกับบุคคล นิติบุคคล หรือองค์กรทางธุรกิจอืน่ ใด ในรูปแบบทีค่ ณะกรรมการบริหารเห็นสมควรเพือ่ ดำ�เนินกิจการตามวัตถุประสงค์ของบริษัท ตลอดจนการพิจารณาและอนุมัติ การใช้จ่ายเงินเพื่อการลงทุนดังกล่าว การเข้าทำ�นิติกรรมสัญญา และ/หรือ การดำ�เนินการใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวจนเสร็จการ ในจำ�นวนเงิน ในแต่ละรายการไม่เกิน 10 ล้านบาท

เลขานุการบริษัท

ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 9/2557 เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 คณะกรรมการบริษัท ได้มีมติแต่งตั้ง นางสาวภัททิรา เหลืองวิลาศ ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 89/15 ของ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมถึงที่ได้ มีการแก้ไขเพิม่ เติม) ทัง้ นี้ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของเลขานุการบริษทั มีดงั นี้

1. ให้คำ�แนะนำ�เบื้องต้นแก่คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารในข้อกฎหมาย 5. พิจารณาและอนุมัติการเข้าทำ�ธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินใน ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ของบริษัทที่บริษัทต้องปฏิบัติตาม ดูแลให้การ การเปิดบัญชี กูย้ มื ขอสินเชือ่ จำ�นำ� จำ�นอง คํ้าประกัน และการอืน่ รวมถึง ดำ�เนินกิจการของคณะกรรมการบริษทั เป็นไปอย่างราบรืน่ และมีประสิทธิภาพ การซือ้ ขาย และจดทะเบียนกรรมสิทธิท์ ด่ี นิ ใดๆ ตามวัตถุประสงค์ของบริษทั สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำ�หนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ในการดำ�เนินกิจการของบริษัท ตลอดจนการเข้าทำ�นิติกรรม 2. รับผิดชอบในการจัดการประชุมผูถ้ อื หุน้ และประชุมคณะกรรมการบริษทั สัญญา และ/หรือ การดำ�เนินการใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งดังกล่าวจนเสร็จการ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อบังคับของบริษัท ในจำ�นวนเงินในแต่ละรายการไม่เกิน 10 ล้านบาท 3. บันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และการประชุมคณะกรรมการบริษัท 6. กำ�หนดเงื่อนไขทางการค้า เช่น วงเงินเครดิต ระยะเวลาการชำ�ระเงิน รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และที่ประชุมคณะ การทำ�สัญญาซือ้ ขาย การเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขการค้า เป็นต้น ในจำ�นวนเงิน กรรมการบริษัท ในแต่ละรายการไม่เกิน 10 ล้านบาท แต่ไม่เกินงบประมาณประจำ�ปีที่ได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 4. จัดทำ�และเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ รายงานประจำ�ปีของบริษทั หนังสือ นัดประชุมผูถ้ อื หุน้ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษทั รายงานการประชุม 7. พิจารณาจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง กำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท และผลประโยชน์ตอบแทนที่เหมาะสมของพนักงานของบริษัท ที่มีตำ�แหน่ง ผูจ้ ดั การฝ่ายหรือตํ่ากว่า ตามแนวนโยบายทีก่ �ำ หนดโดยคณะกรรมการบริหาร 5. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร พร้อมทั้งจัดส่งสำ�เนารายงานการมีส่วนได้เสียให้ประธานกรรมการและ 8. แต่งตั้งที่ปรึกษาด้านต่างๆ ที่จำ�เป็นต่อการดำ�เนินกิจการ และ/หรือ ประธานกรรมการตรวจสอบภายใน 7 วันทำ�การนับแต่วันที่บริษัทได้รับ การบริหารงานตามปกติประจำ�วันของบริษัท รายงานนั้น 9. แต่งตัง้ และ/หรือ มอบหมายให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคน มีอ�ำ นาจ 6. ดำ�เนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด ดำ�เนินการใดๆ ทีอ่ ยูภ่ ายในขอบอำ�นาจของกรรมการผูจ้ ดั การ ตามทีก่ รรมการ ผูจ้ ดั การเห็นสมควร โดยทีก่ รรมการผูจ้ ดั การอาจยกเลิก เพิกถอน หรือแก้ไข เปลี่ยนแปลงอำ�นาจดังกล่าวได้ 10. มีอำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบใดๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย หรือ ตามนโยบายที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะ กรรมการบริหาร ทัง้ นี้ ในการดำ�เนินการเรือ่ งใดทีก่ รรมการผูจ้ ดั การ หรือผูร้ บั มอบอำ�นาจจาก กรรมการผู้จัดการ มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อืน่ ใดกับบริษทั และ/หรือ บริษทั ย่อย และ/หรือ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง กรรมการ ผู้จัดการหรือผู้รับมอบอำ�นาจจากกรรมการผู้จัดการ ไม่มีอำ�นาจอนุมัติการ ดำ�เนินการในเรือ่ งดังกล่าว เว้นแต่เป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่ กรณี) พิจารณาและอนุมัติไว้แล้ว โดยอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท

62


ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนคณะกรรมการ

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2557 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2557 ได้มีมติกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการของบริษัทในปี 2557 ดังนี้

ตำ � เหน่ ง

ค่าเบี้ยประชุม/ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท/ครั้ง)/(บาท/เดือน)

ค่าตอบแทนรายปี (บาท)

ประธานกรรมการบริษัท

15,000

400,000

กรรมการบริษัท

10,000

150,000

ประธานกรรมการตรวจสอบ

15,000

150,000

กรรมการตรวจสอบ

10,000

100,000

ในปี 2555 ถึง ปี 2557 บริษัทมีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการบริษัท ดังนี้ ค่าตอบแทน (บาท) ชื่อกรรมการ ตำ�แหน่ง ปี 2555 นายประจวบ ไชยสาส์น ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ 215,500 และประธานกรรมการตรวจสอบ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ 508,500 นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ กรรมการ 200,000 นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล กรรมการ 413,500 นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการ 413,500 นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการ 413,500 นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ กรรมการ 413,500 นายอำ�นวย ปะติเส กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 179,750 นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ - นายศิริชัย สมบัติศิริ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ - รวม 2,362,500 หมายเหตุ : 1. นายประจวบ ไชยสาส์น 2. นายอำ�นวย ปะติเส 3. นายศิริชัย สมบัติศิริ 4. นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ รายงานประจำ�ปี 2557

ปี 2556 700,000

ปี 2557 880,000

495,000 200,000 420,000 430,000 420,000 410,000 500,000 - 350,000 3,925,000

743,750 260,000 630,000 630,000 630,000 620,000 535,000 122,500 470,000 5,521,250

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2555 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2555 และได้ลาออกเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2556 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2557

63


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนผู้บริหาร

ในปี 2555 ถึง ปี 2557 บริษัทจ่ายค่าตอบแทน ทั้งนี้รวมถึงเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการ ดังต่อไปนี้

จำ�นวนผู้บริหาร (ราย) จำ�นวนเงินค่าตอบแทน (บาท) ค่าตอบแทนอื่น - ไม่มี -

64

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

7 19,963,730

7 20,985,174

8 26,288,709


ข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหาร ชื่อ-สกุล/ตำ�แหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วน การถือหุ้น ในบริษัท(%)

ประวัติ การทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง-ปัจจุบัน

1. นายประจวบ ไชยสาส์น (อายุ 70 ปี) - ประธานกรรมการ - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ

- ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 54/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 83/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

0.05

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยเอทานอล พาวเวอร์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไท่ผิง เอทานอล จำ�กัด - กรรมการ บริษัท ไทยง้วนเมทัล จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - ประธานกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำ�แหง บริษัท ปากซอง แคปปิตอล จำ�กัด - กรรมการบริษัท

2. นางสีนวล ทัศน์พนั ธุ์ (อายุ 69 ปี) - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ

- ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 55/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 79/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 17/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2974

-

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ บริษัท เดอะ สตีล จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไท่ผิง เอทานอล จำ�กัด - กรรมการบริษัท สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยมหิดล จำ�กัด ที่ปรึกษาคณะกรรมการอำ�นวยการ สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยมหิดล จำ�กัด - ผู้จัดการ

รายงานประจำ�ปี 2557

65


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตำ�แหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา 3. นายศิรชิ ยั สมบัตศิ ริ ิ (อายุ 61 ปี) - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ

66

- ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชี (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงิน (M.B.A. Finance) University of Southern California ประเทศสหรัฐอเมริกา - จบการศึกษาหลักสูตรพิเศษ Advanced Management Program Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา - Certificate, The Joint State Private Sector Regular Course National Defense College Class 15 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 25/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - Capital Market Academy Leadership Program รุ่นที่ 5 Capital Market Academy

สัดส่วน การถือหุ้น ในบริษัท(%)

ประวัติ การทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง-ปัจจุบัน

0.05

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) - รองผู้จัดการใหญ่กลุ่มลูกค้าธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) - ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ของกลุ่มลูกค้าขนาดใหญ่ บริษัท โอเอชทีแอล จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการอิสระ ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮาส์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร


ชื่อ-สกุล/ตำ�แหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา 4. นายอนันต์ ตัง้ ตรงเวชกิจ (อายุ 50 ปี) - ประธานกรรมการบริหาร - กรรมการ - กรรมการผูจ้ ดั การ

รายงานประจำ�ปี 2557

- ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - ปริญญาโท ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เทคโนโลยีของนํ้าตาล รุ่นที่ 1 คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 99/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 15 สถาบันวิทยาลัยการตลาดทุน (CMA) - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 26 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

สัดส่วน การถือหุ้น ในบริษัท(%) 4.06

ประวัติ การทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง-ปัจจุบัน บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - ประธานกรรมการบริหาร - กรรมการ - กรรมการผู้จัดการ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด - ประธานกรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการผู้จัดการ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร - กรรมการผู้จัดการ บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตนํ้าตาล - กรรมการบริษัท บริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด - กรรมการบริษัท บริษทั บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์มนิ ลั โลจิสติกส์ จำ�กัด - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทักษิณพัฒนา จำ�กัด - กรรมการบริษัท บริษัท สุรีวรรณ เอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด - กรรมการบริษัท บริษัท เอ ทีม อินเตอร์เทรด จำ�กัด - กรรมการบริษัท บริษัท สีพันดอนบอลิเวนพัฒนา จำ�กัด - กรรมการบริษัท บริษัท ทีพลัส พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด - กรรมการบริษัท บริษัท บี.อาร์.เอส. เซอร์วิส จำ�กัด - กรรมการบริษัท

67


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตำ�แหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วน การถือหุ้น ในบริษัท(%)

ประวัติ การทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง-ปัจจุบัน

5. นางจิรวรรณ พ งษ์พชิ ติ กุล (อายุ 47 ปี) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโสฯ

- ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาลและผดุงครรภ์) มหาวิทยาลัยมหิดล - ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (MPPM) สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 98/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย(IOD)

4.05

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผู้จัดการกลุ่มการลงทุน ในประเทศ/ด้านธุรกิจการเกษตร บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผู้จัดการอาวุโสฯ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด - กรรมการ กรรมการบริหาร - กรรมการผู้จัดการ บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด - กรรมการ บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด - กรรมการบริหาร

6. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรนั ดร์ (อายุ 48 ปี) - กรรมการ

- มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมารีวิทยาปราจีนบุรี - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 98/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย(IOD)

4.05

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด - กรรมการ บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการผู้จัดการ

68


ชื่อ-สกุล/ตำ�แหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วน การถือหุ้น ในบริษัท(%)

ประวัติ การทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง-ปัจจุบัน

7. น.ส.จิตติมา ตัง้ ตรงเวชกิจ (อายุ 45 ปี) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโสฯ

- ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 98/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย(IOD)

4.05

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผู้จัดการกลุ่มการลงทุนในประเทศ/ ด้านธุรกิจการเกษตร บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผู้จัดการอาวุโสฯ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร - รองกรรมการผู้จัดการสายงานจัดซื้อ บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด -กรรมการ บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด - กรรมการบริหาร

8. นายสฤษดิ์ ตัง้ ตรงเวชกิจ (อายุ 44 ปี) - กรรมการ - กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส - กรรมการบริหาร

- ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการ) มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ - ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 98/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

4.05

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผู้จัดการกลุ่มการลงทุนต่างประเทศ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผู้จัดการอาวุโสฯ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด - กรรมการ บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด - กรรมการบริหาร บริษัท วิน ออโต้ ซัพพลาย จำ�กัด - กรรมการ บริษัท สีพันดอนบอลิเวนพัฒนา จำ�กัด - กรรมการบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2557

69


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตำ�แหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา 9. นายอดิศกั ดิ์ ตัง้ ตรงเวชกิจ (อายุ 41 ปี) - กรรมการ - กรรมการรองผูจ้ ดั การอาวุโส - กรรมการบริหาร

70

- ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย - ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเบลล์วิวล์ ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 98/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย(IOD)

สัดส่วน การถือหุ้น ในบริษัท(%) 4.05

ประวัติ การทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง-ปัจจุบัน บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผู้จัดการกลุ่มการลงทุน ในประเทศ/ด้านพลังงาน บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการรองผู้จัดการอาวุโสฯ บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด - กรรมการ บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด - กรรมการบริหาร - กรรมการผู้จัดการ บริษัท บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์มินัล โลจิสติกส์ จำ�กัด - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการผู้จัดการ บริษัท บี.อาร์.เอส.เซอร์วิส จำ�กัด - กรรมการ


การกำ�กับดูแลกิจการ การกำ�กับดูแลกิจการ

หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยคณะ บริษัทได้กำ�หนดให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและ กรรมการบริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามมาตรการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เป็นธรรม คณะกรรมการบริษัทจึงมีนโยบาย ดังนี้ เพื่อประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท และเป็นการเสริมสร้างความ 1. เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอเพิ่มวาระการประชุม หรือเสนอชื่อ โปร่งใสและประสิทธิภาพของฝ่ายจัดการ อันจะสร้างความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้น กรรมการได้ล่วงหน้าก่อนการประชุม แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จึงได้กำ�หนดนโยบายในการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี ตามที่กำ�หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2. ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ จะพิจารณาและลงคะแนนเสียงตามวาระทีก่ �ำ หนด โดยครอบคลุมหลักการสำ�คัญของหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Good โดยไม่เปลี่ยนแปลงข้อมูลสำ�คัญ หรือเพิ่มวาระการประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าโดยไม่จำ�เป็น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูล Corporate Governance) 5 หมวด ดังนี้ ประกอบวาระก่อนการตัดสินใจ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษทั ตระหนักและให้ความสำ�คัญกับสิทธิพน้ื ฐานของผูถ้ อื หุน้ ได้แก่ การซือ้ ขาย 3. สำ�หรับผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ด้วยตนเอง ให้ผู้ถือหุ้น หรือโอนหลักทรัพย์ การได้รับข้อมูลบริษัทอย่างเพียงพอ การเข้าร่วมประชุม สามารถมอบฉันทะให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เพื่อการใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ เข้าร่วมประชุมและลงมติแทนได้ และแจ้งรายชื่อกรรมการอิสระดังกล่าวไว้ สำ�คัญของบริษัท เป็นต้น คณะกรรมการบริษัทจึงได้กำ�หนดแนวทางดำ�เนิน ในหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น การต่างๆ เพือ่ รักษาสิทธิของผูถ้ อื หุน้ รวมถึงส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวก 4. สนับสนุนให้มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงสำ�หรับวาระที่สำ�คัญ เช่น การ ในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ ทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน การทำ�รายการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ 1. จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุม เพือ่ ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ และในวาระการเลือกตัง้ กรรมการ จะเปิด ให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าตามที่กฎหมายกำ�หนด โดยจะระบุวัน เวลา โอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล สถานที่การประชุม และมีรายละเอียดระเบียบวาระการประชุม เอกสาร 5. กำ�หนดแนวทางในการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็น ประกอบระเบียบวาระต่างๆ พร้อมความเห็นของคณะกรรมการบริษัท เพื่อ ลายลักษณ์อักษร และได้แจ้งแนวทางดังกล่าวให้ทุกคนในบริษัทถือปฏิบัติ ให้ผู้ถือหุ้นได้ศึกษาข้อมูลอย่างครบถ้วน และกำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหารทุกคนที่มีหน้าที่รายงานการถือครอง 2. ในกรณีทผ่ี ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองได้ บริษทั เปิดโอกาส หลักทรัพย์ตามกฎหมาย และมีหน้าที่จัดส่งรายงานดังกล่าวให้แก่คณะ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุม กรรมการบริษัท แทนได้ โดยใช้หนังสือมอบฉันทะทีบ่ ริษทั ได้จดั ส่งไปพร้อมกับหนังสือเชิญประชุม 3. ก่อนเริ่มการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทจะชี้แจงวิธีการใช้สิทธิลงคะแนนและ นับคะแนนตามที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในข้อบังคับของบริษัท 4. ประธานกรรมการจะจัดสรรเวลาการประชุมอย่างเพียงพอ และดำ�เนิน การประชุมอย่างโปร่งใส โดยระหว่างการประชุม จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น มีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็น และซักถามอย่างทั่วถึง ซึง่ กรรมการและผูบ้ ริหารทีเ่ กีย่ วข้องจะเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถซักถามในเรื่องที่เกี่ยวข้องได้ 5. จัดทำ�บันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้องและครบถ้วน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบได้ 6. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างสมํ่าเสมอผ่านเว็บไซต์ของ บริษัท ช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ และสำ�นักงาน ก.ล.ต.

รายงานประจำ�ปี 2557

71


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทตระหนักและให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่ เกีย่ วข้องกับบริษทั ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน และผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ได้แก่ ลูกค้า คูค่ า้ เจ้าหนี้ คูแ่ ข่ง และหน่วยงาน อื่นๆ ตลอดจนชุมชนใกล้เคียงที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น บริษัทจะปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิของผู้มีส่วนได้เสียดังกล่าวได้รับการ ดูแลเป็นอย่างดี คณะกรรมการบริษัทจึงมีนโยบาย ดังนี้

2. เปิดเผยข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ เว็บไซต์ของบริษัท ตลาดหลัก ทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงาน ก.ล.ต. เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง อื่นๆ ได้ทราบข้อมูลของบริษัทอย่างทั่วถึง 3. เปิดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ชุดย่อย รวมทั้งข้อมูลจำ�นวนครั้งที่กรรมการแต่ละคนเข้าร่วมประชุม และ นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ และผูบ้ ริหารไว้ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี

ผู้ถือหุ้น : มุ่งเน้นการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ และโปร่งใสในการ เปิดเผยข้อมูลทีส่ �ำ คัญทัง้ ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง ต่อผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา

ในส่วนของงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์นั้น บริษัทได้มีการจัดตั้งหน่วยงาน เฉพาะขึ้นมาเพื่อทำ�หน้าที่ติดต่อและให้ข้อมูลกับผู้ถือหุ้น นักลงทุนสถาบัน นักวิเคราะห์ รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมอบหมายให้ นายภัทรพงศ์ : ให้ความสำ�คัญในการผลิต และจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์และการ พงศ์สวัสดิ์ ทำ�หน้าที่นักลงทุนสัมพันธ์

ลูกค้า บริการทีม่ คี ณุ ภาพภายใต้เงือ่ นไขทีเ่ ป็นธรรม รวมทัง้ รักษาความลับ ของลูกค้า โดยไม่นำ�ไปเปิดเผยหรือใช้ประโยชน์ในทางมิชอบ

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทและ พนักงาน : ปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนอย่างเป็นธรรม โดยมีการให้ค่าตอบแทน คณะกรรมการชุดย่อย และสวัสดิการทีเ่ หมาะสม กำ�หนดนโยบาย การดูแลความปลอดภัย คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจ และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน รวมทัง้ สนับสนุนการพัฒนาความรู้ ของบริษัท การกำ�กับดูแลกิจการให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และความสามารถของพนักงาน ข้อบังคับของบริษัท และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น คู่ค้าและ : ปฏิบัติตามเงื่อนไขทางธุรกิจต่อคู่สัญญาที่ได้ตกลงกันไว้อย่าง คูส่ ญั ญา เป็นธรรม และมีจรรยาบรรณทีด่ ใี นการดำ�เนินธุรกิจ ตลอดจนปฏิบตั ิ ตามข้อกำ�หนดของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง คูแ่ ข่งทางการค้า : ส่งเสริมนโยบายการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรี และเป็นธรรม โดยจะ ปฏิบตั ภิ ายใต้กรอบกติกาการแข่งขันทีด่ ี ชุมชน สังคม : ให้ความสำ�คัญและรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม โดยสนับสนุน และสิง่ แวดล้อม กิจกรรมต่างๆ กับชุมชนทีบ่ ริษทั ดำ�เนินธุรกิจอยูต่ ามโอกาส รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับต่างๆ เกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม อย่างเคร่งครัด และวางแนวทางในการควบคุมผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม อย่างต่อเนื่อง

หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทให้ความสำ�คัญกับข้อมูลข่าวสารที่ต้องแจ้งแก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ สำ�นักงาน ก.ล.ต. ผูถ้ อื หุน้ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และมีนโยบายเปิดเผย ข้อมูลที่สำ�คัญของบริษัทอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส ดังนี้ 1. เปิดเผยข้อมูลสารสนเทศทางการเงินและข้อมูลอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ และผลประกอบการตามความเป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา โดย งบการเงินจะต้องผ่านการสอบทานหรือตรวจทานจากผู้สอบบัญชีว่าถูกต้อง ตามมาตรฐานการบัญชีซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และผ่านความเห็นชอบ จากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท ก่อนการเผยแพร่ ต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ ผู้ถือหุ้น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

72

1. โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท

1.1) คณะกรรมการบริษัท มีจำ�นวนรวม 9 ท่าน มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง คราวละ 3 ปี แบ่งเป็นกรรมการจากฝ่ายบริหาร 6 ท่าน และกรรมการทีไ่ ม่ได้ เป็นผู้บริหาร 3 ท่าน ซึ่งเป็นกรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ ที่สำ�นักงาน ก.ล.ต. กำ�หนดรวม 3 ท่าน ซึ่งสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่ สำ�นักงาน ก.ล.ต. ทีก่ �ำ หนดให้บริษทั จดทะเบียนต้องมีกรรมการอิสระมากกว่า หรือเท่ากับ 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด 1.2) บริษัทได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัท เพื่อทำ�หน้าที่จัดการเรื่องการประชุม คณะกรรมการบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น จัดทำ�รายงานการประชุม คณะกรรมการบริษัท รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ตลอดจนจัดเก็บเอกสาร ตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด รวมทัง้ สนับสนุนการทำ�งานของคณะกรรมการบริษทั ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

2. คณะกรรมการชุดย่อย

2.1) บริษทั มีคณะกรรมการชุดย่อยอีก 3 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในการพิจารณา เรื่องต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2.2) ประธานกรรมการตรวจสอบเป็นกรรมการอิสระ เพื่อความโปร่งใสและ เป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่


3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั 5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท ในการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท นอกเหนือจากการดำ�เนินธุรกิจให้เป็น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั รวมทัง้ มติของทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้น ที่ประชุมผู้ถือหุ้นยังได้กำ�หนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทด้วย

ภายหลังจากบริษทั เป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริษัทจะจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยตนเอง เป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านในปีทผ่ี า่ นมา และหาแนวทาง ในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำ�งานของคณะกรรมการในปีต่อๆ ไป

คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาแบ่งอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบใน การกำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแล และการบริหารงานประจำ�วันออกจากกัน อย่างชัดเจน ประธานกรรมการไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจ้ ดั การ และไม่ได้รว่ มบริหารงานปกติประจำ�วัน แต่ให้การสนับสนุนและคำ�แนะนำ�ใน การดำ�เนินธุรกิจของฝ่ายจัดการผ่านทางผู้บริหารอย่างสมํ่าเสมอ ในขณะที่ กรรมการผู้จัดการรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการบริษัทภายใต้กรอบ อำ�นาจที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

6. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร พิจารณาโดยคณะกรรมการ บริษัท ซึ่งบริษัทมีนโยบายจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารในระดับ ที่เหมาะสม โดยเปรียบเทียบอ้างอิงกับระดับที่ปฏิบัติอยู่ในอุตสาหกรรม และคำ�นึงถึงผลการดำ�เนินงานของบริษัท รวมถึงความเหมาะสมกับหน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการและผู้บริหารแต่ละท่าน ทั้งนี้ การจ่ายค่า ตอบแทนของกรรมการจะต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ของบริษัท ในส่วนของค่าตอบแทนผู้บริหาร จะเป็นไปตามหลักการและ 4. การประชุมคณะกรรมการ นโยบายที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนดไว้ ซึ่งจะพิจารณาจากภาระหน้าที่ 4.1) คณะกรรมการบริษทั ต้องประชุมกันอย่างน้อย 3 เดือนต่อครัง้ และมีการ และความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละท่าน รวมทั้งผล ประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจำ�เป็นและเหมาะสม รวมทั้งมีการกำ�หนด การดำ�เนินงานของบริษัท วาระประจำ�ของแต่ละครัง้ ไว้อย่างชัดเจน เช่น การพิจารณาอนุมตั งิ บการเงิน ที่ผ่านการสอบทานหรือตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี เป็นต้น 7. การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร 4.2) คณะกรรมการบริษทั ได้รบั ข้อมูลทีเ่ พียงพอ ครบถ้วน และทันเวลา โดย คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกให้มีการฝึก เลขานุการบริษัทจะดูแลให้กรรมการได้รับวาระการประชุม และเอกสาร อบรมและการให้ความรู้แก่กรรมการ ผู้เกี่ยวข้องในระบบการกำ�กับดูแล ประกอบการประชุม ล่วงหน้าก่อนการประชุมเป็นเวลาทีเ่ พียงพอสำ�หรับการ กิจการของบริษัท เช่น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร เป็นต้น เพื่อให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกรรมการของบริษัท ศึกษาและพิจารณาเรื่องที่ต้องให้ความเห็นและการออกเสียงลงคะแนน ทุกท่านได้ผ่านการอบรมหลักสูตรกรรมการจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน 4.3) มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และจัดเก็บรายงาน กรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors Association: IOD) การประชุมทีผ่ า่ นการรับรองจากคณะกรรมการบริษทั พร้อมให้คณะกรรมการ บริษัทและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบได้ ในปี 2555-2557 มีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ดังนี้ จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ชื่อกรรมการ ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 7/7 - 7/7 - 8/10 2. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ 7/7 - 7/7 - 9/10 3. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 7/7 - 6/7 - 9/10 4. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 7/7 - 7/7 - 10/10 5. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 7/7 - 6/7 - 10/10 6. นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 7/7 - 6/7 - 9/10 7. นางอุรินทร์ ตั้งตรงเวชกิจ 3/7 - - - - 8. นายประจวบ ไชยสาส์น 3/7 1/1 7/7 5/5 10/10 9/9 9. นายอำ�นวย ปะติเส 3/7 1/1 7/7 5/5 7/7 6/6 10. นายศิริชัย สมบัติศิริ - - 6/7 5/5 8/10 8/9 11. นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ - - - - 2/2 2/2 รายงานประจำ�ปี 2557

73


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร

การเลือกและการแต่งตั้งกรรมการบริษัทเป็นไปตามวิธีการที่ระบุไว้ในข้อ บังคับของบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกบุคคล โดยพิจารณาจากองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ การมีคุณสมบัติสอดคล้องตาม กฎหมายและข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความ สามารถและประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพต่างๆ ที่เป็นประโยชน์กับการ ปฏิบัติหน้าที่กรรมการของบริษัท การมีส่วนได้เสียหรือความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ที่อาจมีกับบริษัท ในกรณีที่เป็นการเสนอแต่งตั้งกรรมการรายเดิม จะพิจารณาผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา และกรณีเสนอแต่งตั้งเป็นกรรมการ อิสระจะพิจารณาเพิ่มเติมในเรื่องคุณสมบัติความเป็นอิสระของกรรมการ

4. กำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารใน สายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า จัดทำ�และนำ�ส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริษัทซึ่งบุคคลดังกล่าว รวมถึงคู่สมรสและของบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะถืออยู่ มายังเลขานุการ บริษัท โดยให้จัดทำ�และนำ�ส่งภายใน 30 วันทำ�การภายหลังเข้ารับตำ�แหน่ง และรายงานทุกครั้งต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ เมื่อมีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ภายใน 3 วันทำ�การ ตามที่ พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กำ�หนด พร้อมทัง้ จัดส่งสำ�เนารายงานนี้ให้แก่เลขานุการบริษทั ในวันเดียวกันกับวันทีส่ ง่ รายงาน ต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ผู้ที่ฝ่าฝืนนโยบายการใช้ข้อมูลภายในจะต้อง บริษทั มีนโยบายและวิธกี ารดูแลผูบ้ ริหารและพนักงานในการนำ�ข้อมูลภายใน ถูกลงโทษทางวินัย และ/หรือ กฎหมายแล้วแต่กรณี โดยการพิจารณาจาก เจตนาของการกระทำ�และความร้ายแรงของความผิดนั้นๆ ของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ 1. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษทั นำ�ความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในของบริษัทไปเปิดเผยหรือแสวงหาผลประโยชน์แก่ ตนเองหรือเพื่อประโยชน์แก่บุคคลอื่นใด ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม และไม่ว่าจะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม

ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี

ในปี 2554 กลุม่ บริษทั ชำ�ระค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี เป็นจำ�นวน 1,005,000 บาท ให้แก่ บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด นอกเหนือ จากค่าตอบแทนดังกล่าว บริษทั ไม่มคี า่ บริการอืน่ ทีต่ อ้ งชำ�ระให้กบั ผูส้ อบบัญชี สำ�นักงานสอบบัญชีทผ่ี สู้ อบบัญชีสงั กัด และบุคคลหรือกิจการทีเ่ กี่ยวข้องกับ 2. ให้ความรู้แก่กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารใน ผู้สอบบัญชีหรือสำ�นักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด สายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า เกี่ยวกับหน้าที่ที่ต้องจัดทำ�และส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส ในปี 2555 กลุม่ บริษทั ชำ�ระค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี เป็นจำ�นวน 2,112,500 และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ บาท ให้แก่ บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด นอกเหนือ และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทกำ�หนดโทษตามมาตรา 275 แห่ง จากค่าตอบแทนดังกล่าว บริษทั ไม่มคี า่ บริการอืน่ ทีต่ อ้ งชำ�ระให้กบั ผูส้ อบบัญชี สำ�นักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด และบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ผู้สอบบัญชีหรือสำ�นักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด 3. กำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารใน สายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า และ ในปี 2556 กลุม่ บริษทั ชำ�ระค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี เป็นจำ�นวน 2,685,000 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง จะต้องระงับการซื้อ และ/หรือ การขายหลักทรัพย์ บาท ให้แก่ บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด นอกเหนือ ของบริษัทในช่วง 1 เดือนก่อนที่บริษัทจะมีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับผลการ จากค่าตอบแทนดังกล่าวบริษทั ไม่มคี า่ บริการอืน่ ทีต่ อ้ งชำ�ระให้กบั ผูส้ อบบัญชี ดำ�เนินงานและฐานะการเงิน หรือข้อมูลข่าวสารที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งมีผล สำ�นักงานสอบบัญชีทผ่ี สู้ อบบัญชีสงั กัด และบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับ ต่อการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ จนกว่าบริษทั จะได้เปิดเผยข้อมูลภายใน ผู้สอบบัญชีหรือสำ�นักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ดังกล่าวต่อสาธารณชนแล้ว สำ�หรับในปี 2557 กลุ่มบริษัทได้ว่าจ้างบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด มาให้คำ�ปรึกษาในการปรับปรุง และปรับเปลี่ยนระบบ บัญชีที่ใช้ โดยมีค่าตอบแทนทั้งสิ้น 1,111,000 บาท

74


นโยบายการ จ่ายเงินปันผล บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลแต่ละปีในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกำ�ไรสุทธิภายหลังการหักภาษีเงินได้นิติบุคคลและการจัดสรรทุนสำ�รอง ตามกฎหมาย อย่างไรก็ตาม บริษัทอาจกำ�หนดให้การจ่ายเงินปันผลมี อัตราน้อยกว่าอัตราที่กำ�หนดข้างต้นได้ โดยขึ้นอยู่กับผลการดำ�เนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่องของบริษัท และความจำ�เป็นในการขยายการ ดำ�เนินงานของบริษัทและใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการบริหารกิจการ บริษัทย่อยของบริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลแต่ละปีในอัตราไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 ของกำ�ไรสุทธิภายหลังการหักภาษีเงินได้นิติบุคคลและ การจัดสรรทุนสำ�รองตามกฎหมาย อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยอาจกำ�หนด ให้การจ่ายเงินปันผลมีอัตราน้อยกว่าอัตราที่กำ�หนดข้างต้นได้ โดยขึ้นอยู่ กับผลการดำ�เนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่องของบริษัท และความ จำ�เป็นในการขยายการดำ�เนินงานของบริษัทและใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนใน การบริหารกิจการ

รายงานประจำ�ปี 2557

75


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการ ความเสี่ยง การควบคุมภายใน บริษทั ฯ ได้ให้ความสำ�คัญและจัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลอย่างเพียงพอ เพือ่ ให้รกั ษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ พนักงาน และผู้มีส่วนร่วมต่างๆ กับกลุ่มธุรกิจของบริษัท การควบคุมภายในจะ ครอบคลุมถึงการควบคุมทางการเงิน การดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลการ ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจได้ ถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์กรกำ�หนด

การบริหารจัดการความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัท เป็นผู้กำ�หนดนโยบายและ กระบวนการบริหารความสี่ยงให้ฝ่ายจัดการนำ�ไปปฏิบัติ ฝ่ายจัดการเป็น ผู้รับผิดชอบในการกำ�หนดและออกแบบระบบงาน รวมทั้งระบุปัจจัยความ เสี่ยง ซึ่งการวางแผนการดำ�เนินธุรกิจหรือปฏิบัติงานโดยคำ�นึงถึงปัจจัยเสี่ยง จะช่วยให้ฝ่ายจัดการสามารถออกแบบระบบที่มีจุดควบคุมเพื่อควบคุม ความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ โดยรายละเอียดปัจจัยความ สำ�หรับการตรวจสอบภายใน ซึ่งเป็นส่วนสำ�คัญของระบบควบคุมภายใน เสี่ยงได้มีการระบุไว้แล้ว คณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตั้งบริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ ปัจจุบันบริษัทได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาที่มีความชำ�นาญในระดับสากลและ ที่ปรึกษา จำ�กัด ซึ่งมีประสบการณ์ในการเป็นผู้ตรวจสอบภายใน โดยมี เสนอให้ตง้ั หน่วยงานเพือ่ รั บผิดชอบ พัฒนาการบริหารความเสีย่ งให้สอดคล้อง คุณสมบัติตามข้อมูลและประวัติในเอกสารแนบ 3 แสดงไว้ในแบบ 56-1 กับการกำ�หนดวัตถุประสงค์ขององค์กรและส่วนงานต่างๆ

76


รายการระหว่างกัน

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ประกอบด้วย ผู้ถือหุ้นและ/หรือ ผู้บริหารของบริษัท บริษัทที่เกี่ยวข้องซึ่งหมายถึงบริษัทที่อาจมีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เป็นกรรมการ และ/หรือ ผู้ถือหุ้นของบริษัทดังกล่าว ซึ่งสามารถสรุปลักษณะความสัมพันธ์ได้ ดังนี้

ลำ�ดับที่

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

1. นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 2. นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ 3. นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 4. นายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ 5. นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล 6. นางวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ 7. นายประสิทธิ์ ปุญญนิรันดร์ 8. พ.ต.อ. ชาญชัย พงษ์พิชิตกุล 9. นายปอนด์ รัตนพันธ์ศักดิ์ 10. นางภาคินี ตั้งตรงเวชกิจ 11. บริษัท บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์มินัล โลจิสติกส์ จำ�กัด 12. บริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด 13. บริษัท ทุนบุรีรัมย์ จำ�กัด

รายงานประจำ�ปี 2557

ลักษณะความสัมพันธ์ เป็นกรรมการของบริษัทและถือหุ้นบริษัทร้อยละ 4.06 เป็นกรรมการของบริษัทและถือหุ้นบริษัทร้อยละ 4.05 เป็นกรรมการของบริษัทและถือหุ้นบริษัทร้อยละ 4.05 เป็นกรรมการของบริษัทและถือหุ้นบริษัทร้อยละ 4.05 เป็นกรรมการของบริษัทและถือหุ้นบริษัทร้อยละ 4.05 เป็นกรรมการของบริษัทและถือหุ้นบริษัทร้อยละ 4.05 เป็นคู่สมรสของคุณวันเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ เป็นคู่สมรสของคุณจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล เป็นคู่สมรสของคุณจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ เป็นคู่สมรสของคุณสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ มีบุคคลลำ�ดับที่ 1-6 เป็นผู้ถือหุ้น และมีกรรมการ ร่วมกับบริษัท 2 ท่านคือ คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และคุณอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ มีกรรมการร่วมกับบริษัท 1 ท่านคือ คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และบริษัทถือหุ้นอยู่ร้อยละ 5.12 มีกรรมการร่วมกับบริษัท 6 ท่านคือ บุคคลลำ�ดับที่ 1-6 และบริษัท ทุนบุรีรัมย์ จำ�กัด ถือหุ้นบริษัทอยู่ร้อยละ 50.00

77


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

รายการระหว่างกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ลักษณะรายการ 1. บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล

2. กรรมการ 6 ท่านคือ คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ คุณอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ คุณสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ คุณจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล คุณจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และคุณวัญเพ็ญ ปุญญนิรันดร์

78

รายการกับบริษัท รายได้จากการขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (ค่าธรรมเนียมในการเป็นตัวแทนส่งออก ค่าธรรมเนียมในการเป็นตัวแทนซื้อขายเครื่องมือ ทางการเงิน ค่าดำ�เนินการส่งสินค้าที่ท่าเรือ ค่าดำ�เนินเอกสารส่งออกและพิธีการทางศุลกากร) ลูกหนี้การค้า

กรรมการ 6 ท่าน เป็นผู้คํ้าประกันสินเชื่อเช่าซื้อ รถยนต์ 15 คันและเครื่องจักรที่ใช้ในการเคลื่อนย้าย วัสดุของกลุ่มบริษัทรวม 5 คัน กับธนาคารพาณิชย์ และบริษัทเช่าซื้อรวม 11 แห่ง ยอดคํ้าประกันรวม 20,541,244.32 บาท

มูลค่า ปี 2557 (บาท) 2,129,347,150.21 4,292,995.85

124,745,984.72

เหตุผลและความจำ�เป็นของรายการ - บริษัทแต่งตั้ง บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาล ซึ่งเป็นบริษัทที่ กอน. อนุญาตให้เป็นบริษัทส่งออกนํ้าตาลได้ตาม พรบ. อ้อยและ นํ้าตาล ให้เป็นตัวแทนดำ�เนินการจัดส่งนํ้าตาลออกไปยัง ต่างประเทศให้แก่บริษัท - บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาล เกิดจากการรวมตัวของบริษัทโรงงาน นํ้าตาล 17 โรง โดยแต่ละบริษัทถือหุ้นใน บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาล ตามสัดส่วนปริมาณการส่งออกของแต่ละบริษัท นอกจากนั้น กรรมการของ บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาล ประกอบด้วยตัวแทน ผู้ถือหุ้นบริษัทละ 1 ท่านเพื่อรักษาผลประโยชน์ของแต่ละบริษัท - การส่งออกนา้ํ ตาล นัน้ บริษทั ฯ เป็นผูด้ �ำ เนินการติดต่อลูกค้าเอง ส่วน บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาลให้บริการเรื่องจัดการสินค้าและ ดำ�เนินการเรื่องเอกสารเกี่ยวกับส่งออกเท่านั้น - ค่าบริการการจัดการสินค้าและการส่งออกที่บริษัทฯ จ่ายให้ บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล เป็นอัตรากลางอัตราเดียว ซึ่ง บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล คิดจากผู้รับบริการทุกรายเท่ากัน - บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล เป็นผู้เข้าทำ�สัญญาสินเชื่อเพื่อการ ส่งออกกับธนาคารพาณิชย์ให้แก่บริษัทในนามของ บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล เพื่อรับการสนับสนุนทางการเงิน บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล จะโอนเงินที่ได้รับตามวงเงินสินเชื่อเพื่อการ ส่งออกจากธนาคารพาณิชย์ให้บริษัท โดยบริษัทฯ ออกตั๋ว สัญญาใช้เงินให้แก่บจ.ค้าผลผลิตนํ้าตาล เพื่อเป็นหลักฐานการ รับเงิน อัตราดอกเบี้ยที่บริษัทฯ จ่ายให้บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาล ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน เป็นอัตราเดียวกับอัตราดอกเบี้ยที่บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาลจ่ายให้กับธนาคารพาณิชย์ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - การแต่งตั้ง บจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาลเป็นตัวแทนการส่งออกและ การรับเงินสนับสนุนสินเชื่อเพื่อการส่งออกจากธนาคารพาณิชย์ ผ่านบจ. ค้าผลผลิตนํ้าตาลนั้น เป็นไปตามความจำ� เป็นทาง ธุรกิจเพื่อปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง - อัตราค่าบริการจากการเป็นตัวแทนการส่งออกและอัตรา ดอกเบี้ยระหว่างกันเป็นอัตราที่มีความสมเหตุสมผล - การเช่าซื้อดังกล่าวเป็นไปเพื่อการบริหารงานและดำ�เนินงาน ของบริษัท ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - การคํ้าประกันสินเชื่อเป็นเงื่อนไขปกติของบริษัทผู้ให้เช่าซื้อ เป็น ความจำ�เป็นในการดำ�เนินธุรกิจปกติของกิจการ และไม่มีการ คิดค่าธรรมเนียมการคํ้าประกัน บริษัทและบริษัทย่อยไม่เสีย ผลประโยชน์จากการดำ�เนินการดังกล่าว


บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ลักษณะรายการ

มูลค่า ปี 2557 (บาท)

เหตุผลและความจำ�เป็นของรายการ

3. กรรมการ 3 ท่านคือ คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ เป็นผู้คํ้าประกันสินเชื่อ กู้ยมื ระยะยาว วงเงิน 7.71 ล้านบาท จากธนาคาร คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ พาณิชย์แห่งหนึ่ง คุณจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และคุณจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล

- สินเชื่อดังกล่าวเป็นการกู้ยืมเพื่อ ซื้อพื้นที่ในนิติบุคคลคารชุด เพื่อใช้สำ�หรับเป็นอาคารสำ�นักงานของบริษัท ซึ่งเงื่อนไขการ กู้ยืมต้องให้กรรมการของบริษัทคํ้าประกันเงินกู้ยืม ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - การคํ้าประกันสินเชื่อเป็นเงื่อนไขปกติของธนาคารพาณิชย์ เป็น ความจำ�เป็นในการดำ�เนินธุรกิจปกติของกิจการ และไม่มีการ คิดค่าธรรมเนียมการคํ้าประกัน บริษัทและบริษัทย่อยไม่เสีย ผลประโยชน์จากการดำ�เนินการดังกล่าว

การคํ้าประกันวงเงินกู้ยืมของบริษัทและบริษัทย่อย 4. กรรมการ 5 ท่าน คือ กับธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง มูลค่าการคํ้าประกัน คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ 3,221.04 ล้าน บาท คุณอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ คุณสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ คุณจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล และคุณจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ

- วงเงินกู้ยืมเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการผลิตและเป็นเงินกู้ เพื่อซื้อทรัพย์สินในการดำ�เนินงานของบริษัทย่อย โดยไม่มีการ คิดค่าธรรมเนียมการคํ้าประกันแต่อย่างใด ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - การคํ้าประกันสินเชื่อเป็นเงื่อนไขปกติของธนาคารพาณิชย์ เป็น ความจำ�เป็นในการดำ�เนินธุรกิจปกติของกิจการ และไม่มีการ คิดค่าธรรมเนียมการคํ้าประกัน บริษัทและบริษัทย่อยไม่เสีย ผลประโยชน์จากการดำ�เนินการดังกล่าว

5. กรรมการ 6 ท่าน คือ คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ คุณอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ คุณสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ คุณจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล คุณจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ และคุณวัญเพ็ญ ปุญญนิรันดร์ และญาติสนิทของกรรมการ 3 ท่าน คือ พตอ. ชาญชัย พงษ์พิชิตกุล นายปอนด์ รัตนพันธ์ศักดิ์ นางภาคินี ตั้งตรงเวชกิจ

ลูกหนี้ชาวไร่ – เงินเกี๊ยว ในปีการผลิต 2558/2557 และปีการผลิต 2556/2557 บจ. โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ ได้ให้เงินเกี๊ยวแก่ กรรมการของบริษัท และญาติสนิทของกรรมการ บริษัท โดยมีกำ�หนดจ่ายชำ�ระคืนเมื่อนำ�อ้อยมาส่ง โรงงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ เงินกู้ยืมต้นงวด 15,759,868.65 กู้ยืมเพิ่มระหว่างงวด 18,286,773.97 รวมเงินกู้ยืมทั้งสิ้น 34,046,642.62 จ่ายชำ�ระระหว่างงวด (14,163,885.29) ลกหนี้เงินเกี๊ยวคงเหลือ 19,882,757.33

6. บจ. บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์ บริษัทว่าจ้างบจ. บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์มินัล มินัล โลจิสติกส์ โลจิสติกส์ ในการขนส่งสินค้าให้กับบริษัท บจ. บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์มินัล โลจิสติกส์ เช่าพื้นที่ของบริษัท เพื่อใช้เป็นสำ�นักงาน ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ค่าเช่า

รายงานประจำ�ปี 2557

85,190,482.90 1,083,191.80

- การให้เงินกู้ยืมชาวไร่อ้อยเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนชาวไร่อ้อยใน การปลูกอ้อยเพื่อมาจำ�หน่ายแก่โรงงานนํ้าตาลหรือที่เรียกกันว่า เงินเกี๊ยว เป็นการดำ�เนินงานตามปกติของโรงงานนํ้าตาลทั่วไป ซึ่งเงื่อนไขการให้เงินเกี๊ยวกับกรรมการและญาติสนิท ก็เป็นไป ตามเงื่อนไขเดียวกับชาวไร่รายอื่นๆ - การรับซื้ออ้อยนั้นเป็นธุรกิจปกติของบริษัท และราคาที่ซื้อจาก กรรมการและญาติสนิทของกรรมการก็เป็นราคาเดียวกันกับที่ รับซื้อจากชาวไร่อ้อยรายอื่นๆ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - การให้เงินเกี๊ยวและการซื้ออ้อยเป็นการดำ�เนินงานตามปกติของ ธุรกิจโรงงานนํ้าตาล ซึ่งราคาและเงื่อนไขที่เป็นไปตามที่ตกลง กับบุคคลทั่วไป - บริษัทมีความจำ�เป็นต้องส่งสินค้าของบริษัทไปให้กับลูกค้า จึงได้ว่าจ้างว่า บจ. บี.อาร์.เอส. เทรนเทอร์มินัล โลจิสติกส์ ส่งสินค้าให้กับบริษัท ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ - การว่าจ้างบุคคลอื่นให้ขนส่งสินค้าเป็นกิจกรรมปกติของบริษัท และมีความจำ�เป็นทางธุรกิจ ราคาว่าจ้างบจ. บี.อาร์.เอส. เทรน เทอร์มินัล โลจิสติกส์ ก็เป็นราคาที่เทียบเคียงได้กับการว่าจ้าง บุคคลอื่น

79


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

มาตราการการทำ�รายการระหว่างกัน

นโยบายการทำ�รายการระหว่างกัน

กรณีรายการธุรกรรมอืน่ ๆ นอกเหนือจากรายการธุรกรรมปกติ บริษทั กำ�หนด ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้พิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับความ จำ�เป็นในการเข้าทำ�รายการและความเหมาะสมด้านราคาของรายการนั้น โดยพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ว่าเป็นไปตามลักษณะการค้าขายปกติในตลาด ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้กับราคาที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอกและเป็นไป ตามราคายุติธรรม มีความสมเหตุสมผล ทั้งนี้ การเข้าทำ�รายการธุรกรรม อื่นๆ ระหว่างบริษัทหรือบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ จะต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการตรวจสอบ และ จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสีย จะไม่เข้าร่วมประชุมในวาระนั้นๆ ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบไม่มีความ ชำ�นาญในการพิจารณารายการดังกล่าว บริษัทจะจัดให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระ เป็นให้ความเห็นเกีย่ วกับรายการดังกล่าว เพือ่ ใช้ในการประกอบการตัดสินใจ ของคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี

การคํ้าประกันตามสัญญากู้ยืมเงินที่เกิดขึ้น ระหว่างบริษัทหรือบริษัทย่อย กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งจะคงมีอยู่ต่อไป เนื่องจากความจำ�เป็นในการ ขอวงเงินสินเชือ่ จากสถาบันการเงิน เพือ่ ใช้ซอ้ื วัตถุดบิ และให้เงินเงินสนันสนุน การปลูกอ้อยกับเกษตกร และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ ซึง่ เป็นเงือ่ นไข ปกติของธนาคารพาณิชย์ในการให้สินเชื่อธุรกิจ โดยที่บริษัทหรือบริษัทย่อย จะไม่มีค่าใช้จ่ายจากการรับการคํ้าประกันดังกล่าว

กรณีทเ่ี ป็นรายการธุรกรรมปกติ เช่น รายการซือ้ ขายสินค้า วัตถุดบิ ให้บริการ หรือให้เงินสนับสนุนการปลูกอ้อย (เงินเกี๊ยว) เป็นต้น บริษัทหรือบริษัทย่อย สามารถทำ�ธุรกรรมกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งได้ หากธุรกรรมดังกล่าวนัน้ มีข้อตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไปในลักษณะที่วิญญูชน พึงกระทำ�กับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำ�นาจต่อรองทาง การค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือ บุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยบริษัทจะจัดสรุปรายการดังกล่าวให้คณะกรรมการ ตรวจสอบรับทราบทุกไตรมาสที่เกิดรายการ

ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะต้องดูแลให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย ตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือของสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ หรือของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน นอกจากนี้บริษัทจะมีการเปิดเผยข้อมูล การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันตามสาระสนเทศต่างๆ ตามข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

80

บริษทั หรือบริษทั ย่อยคาดว่าในอนาคตจะยังคงมีรายการระหว่างกันเกิดขึน้ อีก ซึ่งเป็นไปตามลักษณะการประกอบธุรกิจปกติ ได้แก่ การรับซื้ออ้อย การให้ เงินสนันสนุนการปลูกอ้อย เป็นต้น โดยมีการกำ�หนดนโยบายการคิดราคา ระหว่างกันอย่างชัดเจน ตามราคาและเงือ่ นไขตลาดทีเ่ หมาะสม ในลักษณะ ที่วิญญูชนพึงกระทำ�กับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำ�นาจ ต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยคำ�นึงถึงประโยชน์ของบริษัทเป็นสำ�คัญ รวมทั้งมีคณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นในการทำ�รายการดังกล่าว

การกู้ยืมเงินจากบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง จะเกิดขึ้นตามความจำ�เป็นใน การดำ�เนินธุรกิจ ซึ่งบริษัทจะให้มีการจัดทำ�สัญญากู้ยืมเงิน และกำ�หนด เงื่อนไขที่ชัดเจน โดยคำ�นึงถึงประโยชน์ของบริษัทเป็นสำ�คัญ นอกจากนี้ บริษัทหรือบริษัทย่อยไม่มีนโยบายให้เงินกู้ยืมและหรือการคํ้าประกันหนี้ใดๆ นอกเหนือจากเงินสนันสนุนการปลูกอ้อย ให้กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ รายการระหว่างกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคตนั้น คณะกรรมการบริษัทจะต้องปฏิบัติตามให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ คำ�สั่ง หรือ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนถึงการปฏิบัติตาม ข้อกำ�หนดเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการเกีย่ วโยงกันและการได้มา หรือจำ�หน่ายทรัพย์สินของบริษัทและบริษัทย่อย


รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำ�คัญการบริหาร ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทและกลุ่มธุรกิจให้ บรรลุวัตถุประสงค์และประสบความสำ�เร็จ จึงได้กำ�หนดเป็นนโยบายและ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งประกอบด้วย ประธานคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ นายอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ และกรรมการ บริหารความเสี่ยง 4 ท่าน คือ นางจิรวรรณ พงษ์พิชิตกุล นางสาวจิตติมา ตั้งตรงเวชกิจ นายสฤษดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ และนายอดิศักดิ์ ตั้งตรงเวชกิจ ภายหลังจากทีบ่ ริษทั นา้ํ ตาลบุรรี มั ย์ จำ�กัด (มหาชน) ได้วา่ จ้างทีป่ รึกษาใน เรือ่ งการบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร (Enterprise Risk Management) เพื่อดำ�เนินการวางกรอบตามหลักการและแนวทางบริหารความเสี่ยงซึ่งเป็น ทีย่ อมรับ และข้อพึงปฏิบตั ทิ อ่ี อกโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) สำ�หรับ บริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทย รวมทั้งจัดให้มีการอบรมความรู้เกี่ยวกับ การบริหารความเสี่ยง ให้แก่พนักงานและผู้บริหาร โดยวิทยากรผู้ชำ�นาญ ซึง่ พนักงานและผูบ้ ริหารต่างให้ความร่วมมือในการอบรมดังกล่าวเป็นอย่างดี ภายหลังจากการอบรม การสัมภาษณ์พนักงานและผูบ้ ริหาร ได้มกี ารออกแบบ คู่มือการบริหารความเสี่ยงในระดับองค์กรร่วมกับที่ปรึกษารวมถึงประชุม เชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ สรุปแนวทางบริหารความเสีย่ งดังกล่าวให้เป็นรูปธรรม ทั้งนี้ บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ได้อยู่ระหว่างให้ส่วนงานต่างๆ ซึ่งเป็นเจ้าของความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ต้องได้รับการจัดการ ได้จัดทำ�แผน บริหารความเสี่ยงเพื่อนำ�ไปปฏิบัติ โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เป็นผู้กำ�กับดูแล เพื่อให้แนวทางการพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงมีความ เหมาะสม เกิดประโยชน์ในระยะยาวแก่บริษัทและกลุ่มธุรกิจ และเกิดความ มั่นใจในการดำ�เนินธุรกิจ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคาดว่า กิจกรรม บริหารความเสี่ยงที่บริษัทและกลุ่มธุรกิจ ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องและนำ�พา ให้บริษัทและกลุ่มธุรกิจ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการดำ�เนินตามแผน ธุรกิจที่กำ�หนด ถือเป็นการสร้างและรักษาไว้ซึ่งมูลค่าขององค์กรเพื่อส่งมอบ ให้แก่ทั้งผู้ถือหุ้นและผู้ที่มีส่วนได้เสียของบริษัทและกลุ่มธุรกิจต่อไป

รายงานประจำ�ปี 2557

81


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการ ตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบได้รบั การแต่งตัง้ ตามมติของคณะกรรมการของบริษทั ฯ ให้มีบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ในการสอบทานรายงาน ซึ่งประกอบ ด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่ 1. นายประจวบ ไชยสาส์น ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายศิริชัย สมบัติศิริ กรรมการตรวจสอบ 3. นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ กรรมการตรวจสอบ

• สอบทานงบการเงิน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงิน ประจำ�ปี การเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายการ บัญชีกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ประจำ�ปี 2557 ซึ่งได้ผ่านการสอบทานและ ตรวจสอบข้อมูลโดยผูส้ อบบัญชี ซึง่ ได้จดั ทำ�ขึน้ อย่างถูกต้อง มีความเหมาะสม เพียงพอ เชื่อถือได้และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

• สอบทานและประเมินความเพียงพอ ในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมร่วมกับฝ่ายจัดการ หน่วยงาน ของระบบการควบคุมภายใน

ตรวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชี จำ�นวน 9 ครัง้ ซึง่ รายละเอียดการเข้าร่วม คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในร่วมกับผู้สอบ ประชุมของกรรมการแต่ละท่านมีดังนี้ บัญชีและหน่วยงานตรวจสอบภายใน เห็นว่าบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน ที่เพียงพอ โดยสร้างความเชื่อมั่นได้ว่าบริษัทฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ใน ชื่อ-นามสกุล จำ�นวนครั้ง การดำ�เนินงาน และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ นโยบายบริษัทฯ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบยังได้พิจารณาเห็นชอบให้นำ�แนวปฏิบัติ นายประจวบ ไชยสาส์น 9/9 ด้านการควบคุมภายใน COSO-Internal Control Integrated Framework นายศิริชัย สมบัติศิริ 8/9 2013 มาใช้เป็นแนวทางในการประเมินระบบการควบคุมภายในสำ�หรับปี นายอำ�นวย ปะติเส 6/6 2557 และมุ่งเน้นเสริมสร้างบริษัทฯ ให้มีการควบคุมภายในให้ดียิ่งขึ้น นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ 2/2 • สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย หมายเหตุ: นางสีนวล ทัศน์พันธุ์ ดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการตรวจสอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ไม่พบประเด็น นายอำ�นวย ปะติเส ตัง้ แต่วนั ที่ 3 ตุลาคม 2557 ทัง้ นี้ การประชุมคณะกรรมการ ใดทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญทีแ่ สดงว่าบริษทั ฯ มีการปฏิบตั ทิ ข่ี ดั ต่อกฎหมาย ระเบียบ ตรวจสอบครั้งที่ 7/2557 จึงมีกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมจำ�นวน และข้อกำ�หนดทีเ่ กีย่ วข้องกับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับ 2 ท่าน ธุรกิจของธุรกิจของบริษัท โดยมีการพิจารณาพร้อมให้ความเห็นสรุปเรื่องสำ�คัญดังนี้

• สอบทานความเหมาะสมผู้สอบบัญชี

คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า ผู้สอบบัญชีของ บริษัท ไพร้ซ์วอเตอร์ เฮ้าส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด ได้ปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพการสอบบัญชี มีความเป็นอิสระ รวมทั้งมีคุณสมบัติและ ประสบการณ์ที่เหมาะสม คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาและเห็นควร ที่เสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ ขออนุมัติผู้ถือหุ้นแต่งตั้ง ผู้สอบบัญชี ของบริษัท ไพร้ซ์วอเตอร์เฮ้าส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2558

82


• สอบทานการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และเห็นว่าเป็นรายการจริงทางการค้าอันเป็น ธุรกิจปกติทว่ั ไป มีการเปิดเผยรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันในงบการเงินและหมายเหตุ ประกอบงบการเงินไว้อย่างถูกต้องและครบถ้วน ตามข้อกำ�หนดและแนวทาง ปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

• สอบทานการกำ�กับดูแลกิจการ

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและให้ความสำ�คัญในการบริหารงาน ตามหลักการการกำ�กับดูแลกิจการให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดี ตลอดจน ได้สอบทานให้บริษัทมีการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าว

• สอบทานการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาและสอบทานเกณฑ์ ก ารประเมิ น ความเสี่ยงระดับองค์กรตามแนว COSO-ERM เพื่อใช้ในการประเมินปัจจัย เสี่ยงที่อาจจะส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้เปิดเผยปัจจัยเสี่ยงที่สำ�คัญต่างๆ ไว้ภายใต้ หัวข้อปัจจัยเสี่ยงในรายงานประจำ�ปี 2557

(นายประจวบ ไชยสาส์น) ประธานกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำ�ปี 2557

83


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ

84


รายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั นํา้ ตาลบุรรี มั ย์ จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสม ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทของบริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม และงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะบริษทั และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสด เฉพาะบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการ บัญชีที่สำ�คัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ

ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน

เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

ความเห็น

ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ข้างต้นนีแ้ สดงฐานะ การเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษทั ของ บริษทั นํา้ ตาลบุรรี มั ย์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และของเฉพาะบริษทั นา้ํ ตาลบุรรี มั ย์ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และผลการดำ�เนินงานรวมและผลการ ดำ�เนินงานเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะ บริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินเหล่านี้ โดยถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบ เกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ บู้ ริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพือ่ ให้สามารถจัดทำ� งบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญ ประสิทธิ์ เยื่องศรีกุล ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4174 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี กรุงเทพมหานคร ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผล 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 การตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐาน การสอบบัญชี ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุ สมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระ สำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารตรวจสอบเพือ่ ให้ได้มาซึง่ หลักฐานการสอบ บัญชีเกีย่ วกับจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธกี ารตรวจสอบ ทีเ่ ลือกใช้ขน้ึ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ของผูส้ อบบัญชี ซึง่ รวมถึงการประเมินความเสีย่ ง จากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญของงบการเงิน ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสีย่ งดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�และการ นำ�เสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการ ตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ในการแสดง ความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบ รวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และ ความสมเหตุ ส มผลของประมาณการทางบัญ ชีที่จัดทำ�ขึ้นโดยผู้บ ริห าร รวมทั้งการประเมินการนำ�เสนองบการเงินโดยรวม รายงานประจำ�ปี 2557

85


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

86


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2556

บาท

บาท

บาท

บาท

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

7

348,532,521

34,438,054

223,683,992

4,867,890

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุ ทธิ

8, 26

302,873,569

93,412,794

255,203,318

46,477,460

ลูกหนี้ชาวไร่ - สุ ทธิ

9

770,792,360

1,024,840,798

15,641,446

27,603,618

สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ

10

610,541,403

666,115,232

-

-

สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

11

73,368,417

39,593,191

17,261,650

25,680,748

2,106,108,270

1,858,400,069

511,790,406

104,629,716

เงินลงทุนเผือ่ ขาย

570,520

-

570,520

-

เงินลงทุนทัว่ ไป

1,409,950

1,909,950

2,175

502,175

รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย

12

-

-

1,270,478,100

1,270,478,100

เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

26

-

-

2,183,190,318

451,409,325

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ

13

3,051,997,385

1,800,305,907

22,238,783

31,774,223

12,008,156

-

-

-

211,382,601

234,484,632

12,145,179

13,963,895

2,192,630

2,788,638

-

879,481

รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

3,279,561,242

2,039,489,127

3,488,625,075

1,769,007,199

รวมสิ นทรัพย์

5,385,669,512

3,897,889,196

4,000,415,481

1,873,636,915

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

14

กรรมการ ________________________________ วันที่

________________________________

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินในหน้า 11 ถึง 57 เป็ นส่ วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินนี้

รายงานประจำ�ปี 2557

3

87


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2556

บาท

บาท

บาท

บาท

16

34,435,771

43,645,574

-

-

15, 26

488,659,795

842,601,609

243,334,327

248,118,317

หมายเหตุ หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ิ นหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ค่าหุน้

26

-

999,400

-

999,400

เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

16

2,174,930,649

1,471,361,222

1,270,000,000

400,000,000

16

159,878,070

85,116,470

-

-

16

10,150,845

14,874,495

10,656

1,179,778

4,308,534

29,632,013

366,326

-

31,489,127

34,879,250

6,694,068

4,564,921

2,903,852,791

2,523,110,033

1,520,405,377

654,862,416

เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ส่ วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

17

รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

16

452,901,495

691,907,648

-

-

หนี้สินสัญญาเช่าการเงิน

16

9,673,567

15,486,033

-

10,656

18

30,837,042

32,710,569

11,748,599

13,284,077

493,412,104

740,104,250

11,748,599

13,294,733

3,397,264,895

3,263,214,283

1,532,153,976

668,157,149

ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หลังการเลิกจ้างหรื อเกษียณอายุ รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิ น

88

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินในหน้า 11 ถึง 57 เป็ นส่ วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินนี้ 4


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2556

บาท

บาท

บาท

บาท

676,750,000

676,750,000

676,750,000

676,750,000

676,750,000

507,567,500

676,750,000

507,567,500

(347,456)

(417,976)

(347,456)

(417,976)

954,665,813

11,504,750

954,665,813

11,504,750

18,096,416

1,857,898

9,439,650

1,857,898

338,971,884

114,138,032

827,753,498

684,967,594

1,988,136,657

634,650,204

2,468,261,505

1,205,479,766

267,960

24,709

-

-

รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น

1,988,404,617

634,674,913

2,468,261,505

1,205,479,766

รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น

5,385,669,512

3,897,889,196

4,000,415,481

1,873,636,915

หมายเหตุ หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 676,750,000 หุน้ มูลค่าตราไว้หุน้ ละ 1 บาท ทุนที่ออกและชําระแล้ว หุน้ สามัญ 676,750,000 หุน้ มูลค่าชําระแล้วหุน้ ละ 1 บาท

19

(พ.ศ. 2556 : หุน้ สามัญ 507,567,500 หุน้ มูลค่าชําระแล้วหุน้ ละ 1 บาท) ส่ วนเกิน / ตํ่า-เปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

21

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินในหน้า 11 ถึง 57 เป็ นส่ วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินนี้

รายงานประจำ�ปี 2557

5

89


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หมายเหตุ รายได้จากการขายและการให้บริ การ ต้นทุนขายและการให้บริ การ กําไรขั้นต้ น รายได้อื่น กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ต้นทุนทางการเงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 3,920,315,008 3,978,866,750 (3,089,683,579) (3,213,044,427)

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท -

1,399,191 (1,399,191)

830,631,429 23,920,798

765,822,323 29,933,029

324,396,440

113,038,351

9,792,503 (160,268,155) (300,595,379) (117,018,179)

(24,242,168) (142,849,732) (261,295,290) (96,942,265)

(124,062,311) (48,556,910)

(7,913) (104,731,573) (8,079,429)

286,463,017 (50,153,736)

270,425,897 (64,862,865)

151,777,219 (3,862,318)

219,436 3,354,299

236,309,281

205,563,032

147,914,901

3,573,735

70,520

-

70,520

-

5,106,154

(9,291,490)

2,452,755

(4,305,152)

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสํ าหรับปี

241,485,955

196,271,542

150,438,176

(731,417)

การแบ่ งปันกําไร ส่ วนที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

235,967,740 341,541

205,325,996 237,036

147,914,901 -

3,573,735 -

236,309,281

205,563,032

147,914,901

3,573,735

241,142,890 343,065

196,045,745 225,797

150,438,176 -

(731,417) -

241,485,955

196,271,542

150,438,176

(731,417)

0.44

0.49

0.28

(0.00)

กําไรก่ อนภาษีเงินได้ นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล

22

24

กําไรสุ ทธิสําหรับปี กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอืน่ : กําไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผือ่ ขาย, สุ ทธิจากภาษี กําไร(ขาดทุน)จากการประมาณการผลประโยชน์พนักงาน ตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย, สุ ทธิจากภาษี

การแบ่ งปันกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวม ส่ วนที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน (บาท) กําไร(ขาดทุน)สําหรับปี

90

25

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินในหน้า 11 ถึง 57 เป็ นส่ วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินนี้ 6


รายงานประจำ�ปี 2557

91

20 21

เงินปั นผลจ่าย

สํารองตามกฎหมาย

187,567,500

19 20 21

การเพิ่มหุน้ สามัญ

เงินปั นผลจ่าย

สํารองตามกฎหมาย

บาท

11,504,750

-

-

-

-

11,504,750

-

954,665,813

-

-

-

-

-

943,161,063

11,504,750

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินในหน้า 11 ถึง 57 เป็ นส่ วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินนี้

507,567,500

-

กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

-

ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมลดลง

-

-

320,000,000

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556

-

กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี 676,750,000

-

การปรับมูลค่ายุติธรรม

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

-

ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมเพิ่มขึ้น

-

-

169,182,500

19

การเพิ่มหุน้ สามัญ

บาท

มูลค่ าหุ้นสามัญ

ชําระแล้ ว 507,567,500

หมายเหตุ

ส่ วนเกิน

ทุนทีอ่ อกและ

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จํากัด (มหาชน)

1,857,898

-

-

1,599,319

-

-

258,579

18,096,416

-

-

-

16,238,518

-

-

1,857,898

บาท

กฎหมาย

สํ ารองตาม

จัดสรรแล้ ว

114,138,032

196,045,745

-

(1,599,319)

(200,888,889)

-

120,580,495

338,971,884

241,072,370

-

-

(16,238,518)

-

-

114,138,032

บาท

ยังไม่ ได้ จัดสรร

กําไรสะสม

(417,976)

-

-

-

-

-

(417,976)

(347,456)

-

70,520

-

-

-

-

(417,976)

บาท

มูลค่ ายุติธรรม

634,650,204

196,045,745

-

-

(200,888,889)

199,072,250

440,421,098

1,988,136,657

241,072,370

70,520

-

-

-

1,112,343,563

634,650,204

บาท

ของบริษทั ใหญ่

24,709

225,797

(999,400)

-

-

-

798,312

267,960

343,065

-

450

-

(100,264)

-

24,709

บาท

อํานาจควบคุม

การปรับ รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น ส่ วนได้ เสี ยทีไ่ ม่ มี

ของส่ วนของผู้ถือหุ้น

องค์ ประกอบอืน่

งบการเงินรวม

7

634,674,913

196,271,542

(999,400)

-

(200,888,889)

199,072,250

441,219,410

1,988,404,617

241,415,435

70,520

450

-

(100,264)

1,112,343,563

634,674,913

บาท

รวม


92 21

สํารองตามกฎหมาย

187,567,500

19 20 21

การเพิ่มหุน้ สามัญ

เงินปั นผลจ่าย

สํารองตามกฎหมาย -

507,567,500

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินในหน้า 11 ถึง 57 เป็ นส่ วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

320,000,000

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 -

676,750,000

-

กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

-

การปรับมูลค่ายุติธรรม

-

169,182,500

19

การเพิ่มหุน้ สามัญ

บาท

บาท

11,504,750

-

-

-

11,504,750

-

954,665,813

-

-

-

943,161,063

11,504,750

หุ้นสามัญ

ชําระแล้ ว 507,567,500

หมายเหตุ

ส่ วนเกินมูลค่ า

ทุนทีอ่ อกและ

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จํากัด (มหาชน)

1,857,898

-

1,599,319

-

-

258,579

9,439,650

-

-

7,581,752

-

1,857,898

บาท

กฎหมาย

สํ ารองตาม

จัดสรรแล้ ว

กําไรสะสม

684,967,594

(731,417)

(1,599,319)

(200,888,889)

-

888,187,219

827,753,498

(417,976)

-

-

-

-

(417,976)

(347,456)

-

70,520

150,367,656

-

-

(417,976)

บาท

ยุติธรรม

การปรับมูลค่ า

ของส่ วนของผู้ถือหุ้น

ส่ วนประกอบอืน่

(7,581,752)

-

684,967,594

บาท

ยังไม่ ได้ จัดสรร

งบการเงินเฉพาะบริษทั

8

1,205,479,766

(731,417)

-

(200,888,889)

199,072,250

1,208,027,822

2,468,261,505

150,367,656

70,520

-

1,112,343,563

1,205,479,766

บาท

รวม

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับปี รายการปรับปรุ งกําไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับปี เป็ นเงินสดสุ ทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน - ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย - ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ (การกลับรายการ) - ค่าเผือ่ การลดมูลค่า - ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานหลังเลิกจ้าง - ต้นทุนทางการเงิน - ดอกเบี้ยรับ -เงินปั นผลรับ - กลับรายการค่าเผือ่ เงินลงทุน - ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - (กําไร)ขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

9

22 22

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท

286,463,017

270,425,897

151,777,219

219,436

93,128,031 (721,606) 569,868 3,232,627 117,018,179 (3,850,748) (153,510) 7,586,465 (495,325)

65,459,901

4,471,659 12,384,250 8,079,429 (14,526,175)

477,992

3,540,819 (58,999) 917,277 48,556,910 (70,065,260) (141,049,735) 7,461,231 (495,325)

16,718,512 39,003,387 2,669,847 96,942,265 (4,142,107) -

(81,751) 4,996,467

1,000,142

(81,751) 4,970,320 477,992

กระแสเงินสดก่อนการเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์ และหนี้สินดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้สินดําเนินงาน - ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - ลูกหนี้ชาวไร่ - สิ นค้าคงเหลือ - สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น - สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - หนี้สินหมุนเวียนอื่น

502,776,998

492,470,410

584,137

16,995,302

(209,460,775) 254,770,044 55,003,961 (33,775,226) 596,008 (352,700,133) (3,390,123)

(23,659,937) (160,076,522) (78,656,631) (3,802,756) (1,909,158) 123,158,237 7,505,503

(54,696,930) 12,021,171 8,419,098 879,481 (2,536,259) 2,129,147

(20,144,724) 19,447,335 1,399,191 (4,366,174) (1) (12,610,012) 2,383,563

เงินสดได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน - จ่ายภาษีเงินได้ - จ่ายต้นทุนทางการเงิน

213,820,754 (52,375,184) (118,360,125)

355,029,146 (80,791,481) (96,834,457)

(33,200,155) (1,677,277) (50,804,641)

3,104,480 (12,354,499) (6,666,078)

43,085,445

177,403,208

(85,682,073)

(15,916,097)

กระแสเงินสดสุ ทธิ(ใช้ไปใน)ได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินในหน้า 11 ถึง 57 เป็ นส่ วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินนี้

รายงานประจำ�ปี 2557

9

93


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ดอกเบี้ยรับ เงินปั นผลรับ เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนทัว่ ไป เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

3,850,748 153,510 514,954 (1,359,333,112)

4,142,107 57,094,574 - (1,731,789,499) 2,383,178 514,954 (720,558,337) (1,486,239)

1,689,549 (327,590,000) 1,407,775 2,383,178 (1,873,126)

กระแสเงินสดสุ ทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(1,354,813,900)

(714,033,052) (1,675,666,210)

(323,982,624)

694,359,624 (15,636,762) 1,112,344,013 (999,400) (164,244,553) -

692,038,201 65,820,000 (17,513,631) 199,072,250 (182,788,430) (51,317,615) (200,888,889) -

870,000,000 (1,179,778) 1,112,343,563 (999,400) -

400,000,000 (481,354) 199,072,250 (2,862,548) (12,975,679) (200,888,889) (45,300,000)

1,625,822,922

504,421,886

1,980,164,385

336,563,780

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ คงเหลือต้นปี

314,094,467 34,438,054

(32,207,958) 66,646,012

218,816,102 4,867,890

(3,334,941) 8,202,831

คงเหลือปลายปี

348,532,521

34,438,054

223,683,992

4,867,890

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิม่ ขึ้น เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชําระหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินสดรับจากการออกหุน้ สามัญ เงินสดจ่ายเจ้าหนี้ค่าหุน้ จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินและอื่นๆ เงินกูย้ มื กรรมการลดลง จ่ายเงินปั นผล จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กระแสเงินสดสุ ทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน

94

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท

16 16 16

16 20

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินในหน้า 11 ถึง 57 เป็ นส่ วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินนี้ 10


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

รายงานประจำ�ปี 2557

95


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

1. ข้อมูลทั่วไป

2. นโยบายการบัญชี

บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็นบริษัทจำ�กัด นโยบายการบัญชีซึ่งใช้ในการจัดทำ�งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ ซึ่งจัดตัง้ ขึน้ และดำ�เนินกิจการในประเทศไทยเมือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507 บริษัทมีดังต่อไปนี้ และมีที่อยู่ตามที่ได้จดทะเบียนไว้ ดังนี้ 2.1 เกณฑ์ ในการจัดทำ�งบการเงิน สำ�นักงานใหญ่: ตั้งอยู่เลขที่ 237 หมู่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำ�ขึ้นตามหลักการบัญชี จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 ที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายความ สำ�นักงานสาขาที่ 1: ตั้งอยู่เลขที่ 128/77-78 ชั้น 7 อาคารพญาไทพลาซ่า ถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพ บัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 ตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดทำ�และนำ�เสนอรายงานทางการเงินภายใต้ เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูลจึงรวมเรียกบริษัทและบริษัทย่อยว่า พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กลุ่มบริษัท งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุน การประกอบการธุรกิจของกลุ่มบริษัท สามารถสรุปได้ดังนี้ เดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงินยกเว้นเรื่องที่อธิบายใน 1) ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายและกากนํ้าตาล นโยบายการบัญชีในลำ�ดับต่อไป 2) ธุรกิจจำ�หน่ายวัสดุการเกษตร การจั ด ทำ � งบการเงิ น ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไปใน 3) ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ประเทศไทย กำ�หนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีทส่ี �ำ คัญและการใช้ดลุ ยพินจิ 4) ธุรกิจอื่นๆ ของผู้บริหารซึ่งจัดทำ�ขึ้นตามกระบวนการในการนำ�นโยบายการบัญชีของ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการ กลุ่มบริษัทไปถือปฏิบัติรวมทั้งกำ�หนดให้ต้องเปิดเผยข้อมูลเรื่องการใช้ บริษัท เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ดุลยพินจิ ของผูบ้ ริหาร หรือความซับซ้อน หรือข้อสมมติฐานและประมาณการ ที่มีนัยสำ�คัญต่องบการเงินรวมตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุฯ ข้อ 4 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฉบับภาษาอังกฤษจัดทำ�ขึ้นจาก งบการเงินตามกฎหมายทีเ่ ป็นภาษาไทย ในกรณีทม่ี เี นือ้ ความขัดแย้งกัน หรือ มีการตีความในสองภาษาแตกต่างกันให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับ ภาษาไทยเป็นหลัก 2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง 1) มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีม่ กี ารปรับปรุงทีม่ ผี ลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 และเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัท มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555)

96

เรื่อง การนำ�เสนองบการเงิน เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง ภาษีเงินได้ เรื่อง สัญญาเช่า เรื่อง รายได้ เรื่องผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่องผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า


มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32

เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ เรื่อง การรวมธุรกิจ

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติม เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย ข้อยกเว้นของหลักการที่มีอยู่สำ�หรับการวัดมูลค่าของสินทรัพย์ภาษีเงินได้ และการดำ�เนินงานที่ยกเลิก รอการตั ด บั ญ ชี ห รื อ หนี้ สิ น ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี ที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก เรื่อง ส่วนงานดำ�เนินงาน อสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุนซึง่ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรม มาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 12 ฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบันกำ�หนดให้กิจการวัดค่าภาษีเงินได้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการ รือ้ ถอน การบูรณะ และหนีส้ นิ ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายคลึงกัน รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์โดยขึ้นกับการคาดการณ์ของกิจการ เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่า เกีย่ วกับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนจากมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์จากการ ใช้หรือจากการขาย การปรับปรุงมาตรฐานฉบับนี้ได้มีการเพิ่มเติมเกี่ยวกับ หรือไม่ เรื่อง สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน ข้อสมมติฐานว่า ราคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนซึง่ วัดมูลค่า การบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดล้อม โดยใช้มลู ค่ายุตธิ รรมคาดว่าจะได้รบั คืนโดยการขาย นอกจากนีไ้ ด้มกี ารรวม เรื่อง การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐาน การตีความฉบับที่ 21 เรื่องภาษีเงินได้-การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ การบัญชีฉบับที่ 2 เรื่อง การรายงานทางการเงิน ไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม่ เป็นส่วนของมาตรฐานฉบับที่ 12 (ฉบับ ในสภาพเศรษฐกิจที่มีเงินเฟ้อรุนแรง ปรับปรุง 2555) การปรับปรุงมาตรฐาน ดังกล่าวไม่สง่ ผลกระทบกับงบการเงิน เรื่อง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ของกลุ่มบริษัท เรื่อง ข้อตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า เรื่อง การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ เรื่อง การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า เรื่อง สิ่งจูงใจสัญญาเช่าดำ�เนินงาน เรื่อง การประเมินเนื้อหาของรายการที่เกี่ยวกับ รูปแบบของกฎหมายตามสัญญาเช่า เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้น สำ�หรับลักษณะการแปลงสภาพที่การตัดสินใจเป็นของผู้ถือตราสารไม่มี ผลกระทบกับการจัดประเภทของหนี้สินสำ�หรับเครื่องมือทางการเงินที่แปลง สภาพได้ นอกจากนี้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 ยังได้อธิบายส่วนประกอบ ของส่วนของเจ้าของว่ากิจการอาจแสดงรายละเอียดการวิเคราะห์กำ�ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ แต่ละรายการในงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของเจ้าของ หรือในหมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างใดอย่างหนึ่งได้ การปรับปรุง มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท รายงานประจำ�ปี 2557

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้น เกีย่ วกับกระแสเงินสดในกิจกรรมลงทุน จะต้องส่งผลให้เกิดการรับรูส้ นิ ทรัพย์ ในงบแสดงฐานะการเงินเท่านั้นจึงสามารถจัดประเภทเป็นกิจกรรมลงทุน ผูบ้ ริหารของกลุม่ บริษทั ประเมินแล้วว่าการปรับปรุงมาตรฐานฯ ดังกล่าวไม่สง่ ผลกระทบที่เป็นสาระสำ�คัญกับการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท

มาตรฐานฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการตัดแนวทางปฏิบัติสำ�หรับการ เช่าที่ดินซึ่งมีอายุการใช้งานไม่จำ�กัดให้เป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงานมาตรฐาน ได้มีการแก้ไขโดยมีการทำ�ให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับการเช่าที่ดินและอาคารโดย จะต้องมีการพิจารณาแยกจากกันว่า ควรจัดประเภทเป็นสัญญาเช่าการเงินหรือ สัญญาเช่าดำ�เนินงานโดยใช้หลักการทั่วไปที่กล่าวในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของ กลุ่มบริษัท มาตรฐานฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) ได้ตดั ภาคผนวกของมาตรฐานการบัญชี ของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 ออก การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่สง่ ผล กระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการตัดข้อความในส่วน ของการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ที่ใช้อยู่ ในปัจจุบันออก ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทประเมินแล้วว่าการปรับปรุงมาตรฐานฯ ดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจน เกี่ยวกับการบันทึกบัญชี ผลสะสมของผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนรอการ ตัดบัญชีที่เกี่ยวกับการจำ�หน่ายหรือการจำ�หน่ายบางส่วนของหน่วยงานใน ต่างประเทศ วิธีการทางบัญชีดังกล่าวต้องใช้วิธีการปรับไปข้างหน้าซึ่งมี

97


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ผลบังคับใช้สำ�หรับรอบระยะเวลาที่มีวันเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในความเป็นเจ้าของปัจจุบันและทำ�ให้ผู้ถือมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งในสินทรัพย์ พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทประเมินแล้วว่าการปรับปรุง สุทธิของกิจการตามสัดส่วนที่ลงทุนในกรณีที่มีการชำ�ระบัญชี สำ�หรับ มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท องค์ประกอบอื่นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรม เว้นแต่มาตรฐานการรายงานทางการเงินจะกำ�หนดให้ใช้เกณฑ์อื่น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) ได้มกี ารยกเลิกการเปิดเผยข้อมูล ในการวัดมูลค่า แนวทางของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้จะนำ� สำ�หรับกิจการที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลโดยยกเลิกการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ มาใช้กบั รายการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ทง้ั หมดซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการรวม รายละเอียดสำ�หรับรายการทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับรัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆ ธุรกิจ รวมถึงการจ่ายค่าตอบแทนโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ การปรับปรุงมาตรฐาน ทีเ่ กีย่ วข้องกัน นอกจากนีไ้ ด้มกี ารกำ�หนดคำ�นิยามของกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับ ดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท รัฐบาลให้งา่ ยและชัดเจนขึน้ การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่สง่ ผลกระทบ กับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง2555) ได้มีการกำ�หนด การเปิดเผยข้อมูลสำ�หรับสินทรัพย์ท่ีถือไว้เพื่อขายและการดำ�เนินงานที่ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการเน้นหลักการของ ยกเลิก การเปิดเผยข้อมูลโดยมาตรฐานฉบับอื่นมิต้องนำ�มาปฏิบัติใช้ยกเว้น การเปิดเผยที่มีอยู่ในปัจจุบันสำ�หรับ เหตุการณ์และรายการที่มีสาระสำ�คัญ มาตรฐานการรายงานทางการเงินมีการกำ�หนดให้เปิดเผย การปรับปรุง มีการเพิม่ เติมข้อกำ�หนดเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลให้ครอบคลุมการเปิดเผย มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม (ถ้าหากมีสาระสำ�คัญ) และต้องมี การปรับข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องให้เป็นปัจจุบนั จากข้อมูลล่าสุดของรายงานประจำ�ปี มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง2555) มีการอธิบายให้ การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท ชัดเจนขึ้นว่ากิจการจะเปิดเผยการวัดมูลค่าของสินทรัพย์ของแต่ละส่วนงาน เมื่อมีการรายงานการวัดมูลค่านั้นให้ผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายการปันส่วน ดำ�เนินงาน การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงิน ค่าความนิยมให้หน่วยสินทรัพย์ทก่ี อ่ ให้เกิดเงินสด จะต้องไม่เกินกว่าส่วนงาน ของกลุ่มบริษัท ดำ�เนินงานก่อนการรวมส่วนงาน ตามที่ได้ระบุไว้ในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับที่ 8 เรื่องส่วนงานดำ�เนินงาน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1 กำ�หนดวิธีปฏิบัติทาง บัญชีส�ำ หรับหนีส้ นิ ทีเ่ กิดขึน้ จากการรือ้ ถอน การบูรณะ และหนีส้ นิ ทีม่ ลี กั ษณะ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) ได้มกี ารอธิบายให้ชดั เจนขึน้ คล้ายคลึงกัน ทีเ่ ป็นผลจากการเปลีย่ นแปลงในประมาณการระยะเวลา หรือ เกีย่ วกับสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีไ่ ด้จากการรวมธุรกิจอาจต้องมีการแบ่งแยกได้ จำ�นวนของทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจซึง่ นำ�มาจ่ายชำ�ระภาระผูกพัน แต่จะรวมได้เฉพาะกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่สามารถระบุได้ในสัญญาที่ หรือการเปลีย่ นแปลงอัตราคิดลด การตีความนีไ้ ม่มผี ลกระทบต่อกลุม่ บริษทั เกี่ยวข้องเท่านั้น ในกรณีดังกล่าวสินทรัพย์ไม่มีตัวตนต้องรับรู้แยกต่างหาก จากค่าความนิยมแต่สามารถรวมกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกี่ยวข้องได้ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 กำ�หนดให้มีการ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอาจรับรู้รวมกันเป็นสินทรัพย์ชุดเดียวโดยที่สินทรัพย์ พิจารณาว่าข้อตกลงเป็นหรือประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่โดยอ้างอิงจาก แต่ละรายการมีอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจทีใ่ กล้เคียงกัน ผูบ้ ริหารของ เนื้อหาของข้อตกลง การตีความนี้กำ�หนดให้ประเมินว่าข้อตกลงเข้าเงื่อนไข กลุ่มบริษัทประเมินแล้วว่าการปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบ ต่อไปนีห้ รือไม่ (1) การปฏิบตั ติ ามข้อตกลงขึน้ อยูก่ บั การใช้สนิ ทรัพย์ทเ่ี ฉพาะ กับการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท เจาะจง และ (2) ข้อตกลงดังกล่าวเป็นการให้สิทธิในการใช้สินทรัพย์นั้น ผู้บริหารของกิจการอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 (ปรับปรุง2555) ได้ขยายขอบเขต การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ครอบคลุมการจัดประเภทและวิธีการบันทึกบัญชีของรายการจ่ายโดยใช้หุ้น เป็นเกณฑ์ที่ชำ�ระด้วยเงินสดและการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ชำ�ระด้วย การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 กำ�หนดวิธีปฏิบัติทาง ตราสารทุนในกลุม่ กิจการ การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่สง่ ผลกระทบกับ บัญชีในงบการเงินของผู้ลงทุนสำ�หรับส่วนได้เสียจากกองทุนเพื่อการรื้อถอน งบการเงินของกลุ่มบริษัท ซึ่งสินทรัพย์ของกองทุนมีการจัดการแยกต่างหาก และมีการจำ�กัดสิทธิของ ผูล้ งทุนในการเข้าถึงสินทรัพย์ของกองทุน การตีความมาตรฐานการรายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง2555) ได้แก้ไขการวัด ทางการเงินฉบับที่ 5 ไม่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท มูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ให้ทางเลือกในการวัดมูลค่าของ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมโดยวัดจากมูลค่ายุติธรรม หรือ มูลค่าของ สินทรัพย์สุทธิของผู้ถูกซื้อ จะทำ�ได้ก็ต่อเมื่อตราสารนั้นแสดงถึงส่วนได้เสีย

98


การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 7 กำ�หนดแนวทางใน การปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรือ่ งการรายงาน ทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีเงินเฟ้อรุนแรง สำ�หรับรอบระยะเวลาซึ่ง กิจการได้ระบุแล้วว่า สกุลเงินทีใ่ ช้ในการดำ�เนินงานของตนเป็นสกุลเงินของ ระบบเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง โดยที่ในงวดก่อนสภาวะเศรษฐกิจ ไม่ได้มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 ไม่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท

การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15 กำ�หนดวิธีการปฏิบัติทางบัญชี ในการรั บ รู้ สิ่ ง จู ง ใจที่ ผู้ ใ ห้ เ ช่ า ให้ แ ก่ ผู้ เ ช่ า สำ � หรั บ สั ญ ญาเช่ า ดำ � เนิ น งาน การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 18 กำ�หนดวิธีการบัญชี สำ�หรับการโอนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ซึ่งกิจการได้รับโอนมาจากลูกค้า ข้อตกลงซึ่งอยู่ภายใต้ขอบเขตของการตีความฉบับนี้ หมายถึงข้อตกลงที่ทำ� ให้กิจการได้รับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จากลูกค้าเพื่อทำ�ให้ลูกค้าสามารถ เชื่อมต่อกับเครือข่ายได้หรือเพื่อให้ลูกค้าเข้าถึงสินค้าหรือบริการได้อย่าง ต่อเนือ่ ง การตีความฉบับนีก้ ล่าวถึงการวัดมูลค่าเริม่ แรกของสินทรัพย์ทร่ี บั โอน และการบันทึกบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557)

การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 กำ�หนดแนวทางในการประเมิน เนื้อหาสัญญาเช่าที่ทำ�ขึ้นตามรูปแบบกฏหมายระหว่างกิจการกับผู้ลงทุน ว่ารายการดังกล่าวมีความเชื่อมโยงกัน ควรบันทึกเป็นรายการเดียวกันและ เข้าเงือ่ นไขของสัญญาเช่าภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 เรือ่ งสัญญาเช่า การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 กำ�หนดว่าห้ามกลับ หรือไม่ โดยกำ�หนดให้วิธีปฏิบัติทางบัญชีจะต้องสะท้อนถึงเนื้อหาสาระของ รายการผลขาดทุ น จากการด้ อ ยค่ า ของค่ า ความนิ ย มที่ เ คยรั บ รู้ ใ นงวด สัญญา การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท ระหว่างกาลงวดก่อน การตีความนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 กำ�หนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 เกีย่ วข้องกับข้อตกลง สำ � หรั บ ข้ อ ตกลงสั ม ปทานบริ ก ารระหว่ า งภาครั ฐ กั บ เอกชนการตี ค วาม สัมปทานบริการระหว่างภาครัฐกับเอกชนในการให้บริการสาธารณะโดยที่ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท เอกชนได้เข้าร่วมในการสร้าง การลงทุน การดำ�เนินงาน และการบำ�รุงรักษา การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 กำ�หนดแนวทางในการปฏิบัติ โครงสร้างพืน้ ฐานสำ�หรับบริการสาธารณะ การตีความฉบับนีไ้ ม่เกีย่ วข้องกับ สำ�หรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นภายในกิจการในการพัฒนาและการดำ�เนินงาน การดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท สำ�หรับเว็บไซต์ที่กิจการมีไว้เพื่อการงานภายในหรือภายนอก โดยให้กิจการ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 ให้ค�ำ อธิบายเกีย่ วกับ ต้องปฏิบัติตามข้อกำ�หนดในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 เรื่อง สินทรัพย์ กรณีที่ขายสินค้าหรือให้บริการพร้อมกับให้สิทธิพิเศษแก่ลูกค้า (เช่น คะแนน ไม่มตี วั ตน การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับนีไ้ ม่มผี ลกระทบต่อกลุม่ บริษทั หรือได้รบั สินค้าโดยไม่ตอ้ งจ่ายค่าตอบแทน) ว่าเป็นรายการทีม่ หี ลายองค์ประกอบ 2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทาง และสิง่ ตอบแทนทีไ่ ด้รบั หรือค้างรับจากลูกค้าต้องปันส่วนให้แต่ละองค์ประกอบ การเงินที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ของรายการโดยใช้มูลค่ายุติธรรม การตีความฉบับนี้ไม่เกี่ยวข้องกับการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทและยังไม่ได้นำ�มาใช้ก่อนวันถือปฏิบัติ ดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท ก) กลุม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ทีค่ าดว่าจะส่งผลกระทบอย่างมี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 17 กำ�หนดแนวปฏิบตั ใิ น สาระสำ�คัญต่อกลุ่มบริษัท มีดังต่อไปนี้ การบันทึกการจ่ายสินทรัพย์นอกเหนือจากเงินสดเป็นเงินปันผลให้แก่เจ้าของที่ ปฏิบตั ติ นอยูใ่ นลักษณะทีเ่ ป็นเจ้าของ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง การนำ�เสนองบการเงิน เงินฉบับนีก้ ล่าวถึงการกำ�หนดเวลารับรูเ้ งินปันผลค้างจ่าย การวัดมูลค่าเงินปันผล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค้างจ่ายและการบัญชีสำ�หรับผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ท่ี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน จ่ายให้และมูลค่าตามบัญชีของเงินปันผลค้างจ่าย เมือ่ กิจการชำ�ระเงินปันผล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ ค้างจ่าย การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนีไ้ ม่มผี ลกระทบต่อ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม และการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล กลุ่มบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม

รายงานประจำ�ปี 2557

เรื่อง การร่วมการงาน เรือ่ ง การเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับส่วนได้เสียในกิจการอืน่ เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม เรื่อง ข้อจำ�กัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อกำ�หนดเงินทุนขั้นตํ่าและปฏิสัมพันธ์ของรายการ เหล่านี้ สำ�หรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่อง ต้นทุนการเปิดหน้าดินในช่วงการผลิตสำ�หรับ เหมืองผิวดิน

99


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญ ได้แก่การเพิ่มเติมข้อกำ�หนดให้กิจการจัดกลุ่มรายการที่แสดงอยู่ใน “กำ�ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ” โดยใช้เกณฑ์วา่ รายการนัน้ สามารถจัดประเภทรายการ ใหม่เข้าไปไว้ในกำ�ไรหรือขาดทุนในภายหลังได้หรือไม่ มาตรฐานทีป่ รับปรุงนี้ ไม่ได้ระบุว่ารายการใดจะแสดงอยู่ในกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) กำ�หนดให้รายการชิ้นส่วน อะไหล่ อุปกรณ์สำ�รองไว้ใช้งาน และอุปกรณ์ที่ใช้ในการซ่อมบำ�รุง รับรู้เป็น รายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์หากรายการนัน้ เข้าคำ�นิยามของทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ หากไม่เข้าเงื่อนไขดังกล่าวให้จัดประเภทเป็นสินค้าคงเหลือ ผู้บริหารอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐาน ฉบับนี้

คือ หากมีอำ�นาจควบคุม จะต้องมีการจัดทำ�งบการเงินรวมเฉพาะในกรณีที่ ผู้ลงทุนได้แสดงให้เห็นถึงอำ�นาจการควบคุมที่เหนือกว่าผู้ถูกลงทุน ผู้ลงทุน ได้รับผลตอบแทนที่ผันแปรจากการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในผู้ถูกลงทุน และมี ความสามารถในการใช้อ�ำ นาจในผูถ้ กู ลงทุน ซึง่ ส่งผลกระทบต่อผลตอบแทน ทีก่ จิ การจะได้รบั ผูบ้ ริหารอยูใ่ นระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานฉบับนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 ได้ก�ำ หนดคำ�นิยามของสัญญา ร่วมการงานว่าเป็นสัญญาทีผ่ รู้ ว่ มทุนตัง้ แต่สองรายขึน้ ไปตกลงจะควบคุมร่วม ในกิจกรรมที่จัดตั้งขึ้น การตัดสินใจในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องต้องได้รับความ เห็นชอบโดยผูค้ วบคุมร่วมอย่างเป็นเอกฉันท์จงึ จะถือว่าเป็นไปตามข้อกำ�หนด ของคำ�นิยามว่าการควบคุมร่วม การร่วมการงานสามารถอยู่ในรูปแบบของ การดำ�เนินงานร่วมกันหรือการร่วมค้า การจัดประเภทขึ้นอยู่กับสิ่งที่แสดง ออกมาซึ่งสัมพันธ์กับข้อตกลงที่จัดทำ�ขึ้น หากในข้อกำ�หนดผู้ร่วมทุนได้รับ เพียงสินทรัพย์สทุ ธิ การร่วมงานดังกล่าวถือเป็นการร่วมค้า ส่วนการดำ�เนินงาน ร่วมกันจะมีสิทธิในสินทรัพย์และมีภาระในหนี้สิน การดำ�เนินงานร่วมกันจะ บันทึกบัญชีสิทธิในสินทรัพย์และภาระในหนี้สิน การร่วมค้าจะบันทึกส่วน ได้เสีย โดยใช้วธิ สี ว่ นได้เสีย มาตรฐานดังกล่าวไม่สง่ ผลกระทบกับงบการเงิน ของกลุ่มบริษัท

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญ ได้แก่ (ก) ผลกำ�ไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย เปลีย่ นชือ่ เป็น “การวัดมูลค่าใหม่” และต้องรับรูใ้ น “กำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น” ทันที ผลกำ�ไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยจะไม่สามารถรับรู้ ตามวิธีขอบเขตหรือรับรู้ในกำ�ไร หรือขาดทุนได้ และ (ข) ต้นทุนบริการในอดีตจะรับรูใ้ นงวดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง โครงการ ผลประโยชน์ที่ยังไม่เป็นสิทธิขาดจะไม่สามารถรับรู้ตลอดระยะ เวลาการให้บริการในอนาคตได้ ผูบ้ ริหารอยูใ่ นระหว่างการประเมินผลกระทบ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 กำ�หนดการเปิดเผยข้อมูล จากการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้ เพือ่ ช่วยให้ผใู้ ช้งบการเงินสามารถประเมินความเสีย่ งและผลกระทบทางด้าน การเงินทีเ่ กีย่ วข้องกับส่วนได้เสียทีก่ จิ การมีกบั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม การร่วม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) ให้ข้อกำ�หนดสำ�หรับงบการ การงาน และกิจการซึง่ มีโครงสร้างเฉพาะตัวซึง่ ไม่ได้รวมอยูใ่ นงบการเงินรวม เงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) ให้ข้อกำ�หนดสำ�หรับเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุง ลงทุนในบริษัทร่วม และการร่วมค้า ซึ่งต้องใช้วิธีส่วนได้เสีย และลดความซา้ํ ซ้อนของคำ�นิยามของมูลค่ายุตธิ รรม โดยการกำ�หนดคำ�นิยาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) การเปลีย่ นแปลงทีส่ �ำ คัญ คือ และแหล่งข้อมูลในการวัดมูลค่ายุตธิ รรม และการเปิดเผยข้อมูลสำ�หรับใช้ใน กำ�หนดการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานดำ�เนินงาน โดยให้เปิดเผยข้อมูล มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับ ตัววัดมูลค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ รวมสำ�หรับเฉพาะส่วนงานทีร่ ายงาน หากโดย งบการเงินของกลุ่มบริษัท ปกติมกี ารนำ�เสนอข้อมูลจำ�นวนเงินดังกล่าวต่อผูม้ อี �ำ นาจตัดสินใจสูงสุดด้าน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2557) การปฏิบัติการ และถ้ามีการเปลี่ยนแปลงที่มีสาระสำ�คัญจากจำ�นวนเงินที่ได้ การตีความนีใ้ ห้ใช้กบั ผลประโยชน์ หลังออกจากงานประเภทโครงการผลประโยชน์ เปิดเผยไว้ในงบการเงินประจำ�ปีล่าสุดสำ�หรับส่วนงานที่รายงานนั้น ที่กำ�หนดไว้ และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน ข้อกำ�หนดเงินทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 ได้มีการกำ�หนดคำ�นิยามของ ขั้นตํ่าภายใต้การตีความนี้หมายถึงข้อกำ�หนดใดๆ ที่กำ�หนดให้กิจการต้อง คำ�ว่า “ควบคุม” ซึ่งถูกนำ�มาใช้แทนหลักการของการควบคุมและการจัดทำ� สมทบเงิ น ทุ น สำ � หรั บ ผลประโยชน์ ห ลั ง ออกจากงานประเภทโครงการ งบการเงินรวมภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 งบการเงินรวมและ ผลประโยชน์ทก่ี �ำ หนดไว้ และผลประโยชน์ระยะยาวอืน่ ของพนักงาน การตีความนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานนี้ได้กำ�หนดว่าเมื่อใดกิจการควรจัดทำ� อธิบายถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับสินทรัพย์หรือหนี้สินโครงการจาก งบการเงินรวม ให้นยิ ามหลักการของการควบคุม อธิบายหลักการของการนำ� ข้อกำ�หนดหรือข้อตกลงที่เกี่ยวกับเงินทุนขั้นตํ่า มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผล หลักการของการควบคุมไปใช้ รวมถึงอธิบายถึงข้อกำ�หนดในการจัดทำ� กระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท งบการเงินรวม หลักการสำ�คัญของมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับใหม่นี้

100


การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557) การตีความนี้ให้วิธีปฏิบัติทางการบัญชีสำ�หรับต้นทุนการเปิดหน้าดินในช่วง การผลิตสำ�หรับเหมืองผิวดิน มาตรฐานดังกล่าวไม่สง่ ผลกระทบกับงบการเงิน ของกลุ่มบริษัท ข) กลุม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างไม่มสี าระสำ�คัญ และไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557)

รายงานประจำ�ปี 2557

เรื่อง สินค้าคงเหลือ เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณ การทางบัญชีและข้อผิดพลาด เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญาก่อสร้าง เรื่อง ภาษีเงินได้ เรื่อง สัญญาเช่า เรื่อง รายได้ เรื่อง การบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล เรือ่ ง ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศ เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื่อออกจากงาน เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจ ที่เงินเฟ้อรุนแรง เรื่อง กำ�ไรต่อหุ้น เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ เรื่อง การรวมธุรกิจ

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557)

เรื่อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มีความ เกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดำ�เนินงาน เรื่อง สัญญาเช่าดำ�เนินงาน-สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผู้เช่า เรื่อง ภาษีเงินได้-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษี ของกิจการหรือผู้ถือหุ้น เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทำ�ขึ้นตาม รูปแบบกฎหมาย เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการ โฆษณา เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-ต้นทุนเว็บไซต์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจาก การรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกัน เรื่อง การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่า หรือไม่ เรื่อง สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดล้อม เรื่อง การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) เรื่องการรายงาน ทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง เรื่อง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื่อง ข้อตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า เรื่อง สัญญาสำ�หรับการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ เรื่อง การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ เรื่อง การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า

เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ การดำ�เนินงานที่ยกเลิก เรื่อง การสำ�รวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ เรื่อง ส่วนงานดำ�เนินงาน

101


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

3) มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 นิยม หากมูลค่าของมูลค่าสิง่ ตอบแทนทีโ่ อนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียทีไ่ ม่มี มกราคม พ.ศ. 2559 สามารถสรุปได้ดังนี้ อำ�นาจควบคุมในผูถ้ กู ซือ้ และมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันซือ้ ธุรกิจของส่วนได้เสีย ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของผูถ้ กู ซือ้ ทีผ่ ซู้ อ้ื ถืออยูก่ อ่ นการรวมธุรกิจ น้อยกว่ามูลค่า มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกัน ราคายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยเนือ่ งจากมีการต่อรองราคาซือ้ (ปรับปรุง 2557) จะรับรู้ส่วนต่างโดยตรงไปยังงบกำ�ไรขาดทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ถือปฏิบัติกับสัญญาประกันภัย กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกิจการ ยอดคงเหลือ และรายการกำ�ไร ทัง้ หมด (รวมถึงสัญญาประกันภัยต่อ) ทีก่ จิ การเป็นผูอ้ อกและสัญญาประกันภัย หรือขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัท นโยบายการบัญชีของ ต่อทีก่ จิ การถือไว้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ไม่เกีย่ วข้องกับ บริษทั ย่อยได้ถกู เปลีย่ นเพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุม่ บริษทั การดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท 2.4 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ 2.3 เงินลงทุนในบริษัทย่อย (ก) สกุลเงินที่ใช้ในการดำ�เนินงานและสกุลเงิน บริษทั ย่อยหมายถึงกิจการ (ซึง่ รวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ทีก่ ลุม่ บริษทั มีอ�ำ นาจ ที่ใช้นำ�เสนองบการเงิน ในการควบคุมนโยบายการเงินและการดำ�เนินงาน และโดยทัว่ ไปแล้วกลุม่ บริษทั รายการที่รวมในงบการเงินของแต่ละบริษัทในกลุ่มบริษัทถูกวัดมูลค่าโดยใช้ จะถือหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงมากกว่ากึง่ หนึง่ ในการประเมินว่ากลุม่ บริษทั มีการ สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลักทีบ่ ริษทั ดำ�เนินงานอยู่ (สกุลเงิน ควบคุมบริษทั อืน่ หรือไม่ กิจการต้องพิจารณาถึงการมีอยูแ่ ละผลกระทบจาก ที่ใช้ในการดำ�เนินงาน) งบการเงินรวมแสดงในสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงิน สิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ที่กิจการสามารถใช้สิทธิหรือแปลงสภาพ ที่ใช้ในการดำ�เนินงานและสกุลเงินที่ใช้นำ�เสนองบการเงินของบริษัท ตราสารนั้นในปัจจุบันรวมถึงสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ซึ่งกิจการอื่น (ข) รายการและยอดคงเหลือ ถืออยู่ด้วย รายการที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการ กลุ่มบริษัทรวมงบการเงินของบริษัทย่อยไว้ในงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่กลุ่ม ดำ�เนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการหรือวันที่ตีราคา บริษัทมีอำ�นาจในการควบคุมบริษัทย่อย หากรายการนัน้ ถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการกำ�ไรและรายการขาดทุนทีเ่ กิดจาก กลุ่มบริษัทจะไม่นำ�งบการเงินของบริษัทย่อยมารวมไว้ในงบการเงินรวมนับ การรับหรือจ่ายชำ�ระที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และที่เกิดจากการแปลง ค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นตัวเงินซึง่ เป็นเงินตราต่างประเทศ ได้บนั ทึกไว้ใน จากวันที่กลุ่มบริษัทสูญเสียอำ�นาจควบคุม กำ�ไรหรือขาดทุน กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยใช้วิธีการซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ สำ�หรับการซื้อบริษัทย่อย ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ผู้ซื้อ เมื่อมีการรับรู้รายการกำ�ไรหรือขาดทุนของรายการที่ไม่เป็นตัวเงินไว้ใน โอนให้และหนี้สินที่ก่อขึ้นและส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นที่ออกโดยกลุ่ม กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดของ บริษัท รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หรือหนี้สินที่คาดว่าจะต้องจ่าย กำ�ไรหรือขาดทุนนัน้ จะรับรูไ้ ว้ในกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ด้วย ในทางตรงข้าม ชำ�ระ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น และวัด การรับรู้กำ�ไรหรือขาดทุนของรายการที่ไม่เป็นตัวเงินไว้ในกำ�ไรหรือขาดทุน มูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะ องค์ประกอบของอัตราแลกเปลีย่ นทัง้ หมดของกำ�ไรหรือขาดทุนนัน้ จะรับรูไ้ ว้ เกิดขึ้นในการรวมธุรกิจด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ ในการรวมธุรกิจ ในกำ�ไรขาดทุนด้วย แต่ละครั้ง กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมในผู้ถูก ซื้อด้วยมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิท่รี ะบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ 2.5 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษทั เงินสดและรายการ เงินลงทุนในบริษัทย่อยจะบันทึกบัญชีด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า เทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมือ่ ทวงถาม ต้นทุนจะมีการปรับเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจาก และเงินลงทุนระยะสัน้ อืน่ ทีม่ สี ภาพคล่องสูงซึง่ มีอายุไม่เกินสามเดือนนับจาก สิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ต้นทุนนั้นจะรวมส่วนแบ่งต้นทุนทางตรง วันที่ได้มา ส่วนเงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไว้ในส่วนของของหนี้สินหมุนเวียน กรณีทม่ี ลู ค่าสิง่ ตอบแทนทีโ่ อนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี �ำ นาจควบคุม ในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของส่วนได้เสียในส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ของผูถ้ กู ซือ้ ทีผ่ ซู้ อ้ื ถืออยูก่ อ่ นการวมธุรกิจ มากกว่ามูลค่าสุทธิ ณ วันทีซ่ อ้ื ของสินทรัพย์ทไ่ี ด้มาทีร่ ะบุได้และหนีส้ นิ ทีร่ บั มา ผูซ้ อ้ื ต้องรับรูค้ า่ ความ

102


2.6 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ชาวไร่ ลูกหนี้การค้ารับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้และวัดมูลค่าต่อมาด้วย จำ�นวนเงินที่เหลืออยู่หักด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ซึ่งประมาณจากการ สอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นปี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญคือผลต่างระหว่าง ราคาตามบัญชีของลูกหนี้การค้าเมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ จากลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยถือ เป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการบริหาร

2.8 เงินลงทุน กลุ่มบริษัทจัดประเภทเงินลงทุนที่นอกเหนือจากเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษทั ร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า เป็น 4 ประเภท คือ 1. เงินลงทุน เพื่อค้า 2. เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบกำ�หนด 3. เงินลงทุนเผื่อขาย และ 4. เงินลงทุนทั่วไป การจัดประเภทขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายขณะลงทุน ฝ่ายบริหาร จะเป็นผู้กำ�หนดการจัดประเภทที่เหมาะสมสำ�หรับเงินลงทุน ณ เวลาลงทุน และทบทวนการจัดประเภทเป็นระยะ

ลูกหนี้ชาวไร่แสดงตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ กลุ่มบริษัทมีนโยบายในการ ตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญโดยพิจารณาจากระยะเวลาทีค่ า้ งชำ�ระหนีข้ องลูกหนี้ ประวัติการชำ�ระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการรับชำ�ระหนี้ในอนาคต ของลูกหนี้แต่ละราย โดยกลุ่มบริษัทจะตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจำ�นวน (หลังหักมูลค่าประเมินของหลักประกันของลูกหนี้) ลูกหนี้จะถูกตัดจำ�หน่าย ออกจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ

เงินลงทุนเผื่อขาย คือ เงินลงทุนที่จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขาย เพื่อเสริมสภาพคล่องหรือเมื่ออัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ใน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารแสดงเจตจำ�นงที่จะถือไว้ใน ช่วงเวลาน้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วนั สิน้ รอบระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงรวม ไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน หรือเว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารมีความจำ�เป็นที่ต้อง ขายเพื่อเพิ่มเงินทุนดำ�เนินงาน จึงจะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน เงินลงทุนทัว่ ไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนทีไ่ ม่มตี ลาดซือ้ ขายคล่องรองรับ

2.7 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะ ตํ่ากว่า ราคาทุนของสินค้าซื้อมาเพื่อขายคำ�นวณโดยวิธีเข้าก่อน ออกก่อนและ ราคาทุนของสินค้าสำ�เร็จรูปและวัสดุโรงงานคำ�นวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้าํ หนัก ต้นทุนของการซือ้ ประกอบด้วย ราคาซือ้ และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงกับ การซื้อสินค้านั้น เช่น ค่าอากรขาเข้าและค่าขนส่ง หักด้วยส่วนลดจากการ จ่ายเงินตามเงือ่ นไข ส่วนลดจากการรับประกันสินค้าและเงินทีไ่ ด้รบั คืนจาก การซื้อสินค้า ต้นทุนของสินค้าสำ�เร็จรูปและงานระหว่างทำ�ประกอบด้วย ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื่นทางตรง และค่าโสหุ้ยในการผลิต มูลค่าสุทธิที่จะได้รับประมาณจากราคาปกติที่คาดว่าจะขายได้ของธุรกิจ หักด้วยค่าใช้จา่ ยทีจ่ �ำ เป็นเพือ่ ให้สนิ ค้านัน้ สำ�เร็จรูป รวมถึงค่าใช้จา่ ยในการขาย กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีค่าเผื่อลดมูลค่าสำ�หรับสินค้าเก่า ลํ้าสมัย หรือเสื่อม คุณภาพตามความจำ�เป็น

เงินลงทุนทั้ง 4 ประเภทรับรู้มูลค่าเริ่มแรกด้วยราคาทุน ซึ่งหมายถึงมูลค่า ยุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ได้มา ซึ่งเงินลงทุนนั้นรวมทั้ง ค่าใช้จ่ายในการทำ�รายการ เงินลงทุนเพื่อค้าและเงินลงทุนเผื่อขายวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่า ยุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนวัดตามราคาเสนอซื้อที่อ้างอิงจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันทำ�การสุดท้ายของวันสิ้นรอบระยะ เวลารายงาน โดยอ้างอิงราคาเสนอซื้อล่าสุดจากตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รายการกำ�ไรและขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุน เพื่อค้ารับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุน รายการกำ�ไรและขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ของเงินลงทุนเผื่อขายรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทจะทดสอบค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าเงินลงทุน นั้นอาจมีค่าเผื่อการด้อยค่าเกิดขึ้น หากราคาตามบัญชีของเงินลงทุนสูงกว่า มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน บริษัทจะบันทึกรายการขาดทุนจากค่าเผื่อการ ด้อยค่ารวมไว้ในงบกำ�ไรขาดทุน เงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ในการจำ�หน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุตธิ รรมของผลตอบแทนสุทธิ ที่ได้รับจากการจำ�หน่ายเมื่อเปรียบเทียบกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุนนั้น จะบันทึกรวมอยู่ในกำ�ไรหรือขาดทุน กรณีที่จำ�หน่ายเงินลงทุนที่ถือไว้ใน ตราสารหนีห้ รือตราสารทุนชนิดเดียวกันออกไปบางส่วน ราคาตามบัญชีของ เงินลงทุนที่จำ�หน่ายจะกำ�หนดโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักด้วยราคาตาม บัญชีจากจำ�นวนทั้งหมดที่ถือไว้

รายงานประจำ�ปี 2557

103


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

2.9 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ นโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัทเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และค่าเสื่อม ราคาสรุปได้ ดังนี้ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ บันทึกด้วยราคาทุนซึ่งคำ�นวณจากเงินสดหรือ จำ�นวนเทียบเท่าเงินสด ในการทำ�ให้สินทรัพย์นั้นมาอยู่ในสถานที่หรือใน สภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามที่ประสงค์ไว้ สินทรัพย์ทุกประเภทยกเว้น ที่ดินแสดงในงบแสดงฐานะการเงินด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและ การด้อยค่า (ถ้ามี)

2.10 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน

สิทธิการใช้

สิทธิการใช้ที่ได้มาจากการซื้อจะแสดงด้วยราคาทุน ใบอนุญาตมีอายุการให้ ประโยชน์ที่ทราบได้แน่นอนและแสดงราคาด้วยราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่าย สะสม วิธีตัดจำ�หน่ายจะใช้วิธีเส้นตรง เพื่อปันส่วนต้นทุนของสิทธิการใช้ ตามอายุประมาณการ ให้ประโยชน์ภายใน 10 ปี

2.11 สัญญาเช่า - กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า สัญญาเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้ให้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของ ค่ า เสื่ อ มราคาคำ � นวณด้ ว ยวิ ธี เ ส้ น ตรงตลอดอายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ ที่ ไ ด้ ความเป็นเจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านั้นถือเป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงาน ประมาณการไว้ ดังต่อไปนี้ เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดังกล่าว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับ จากผู้ให้เช่า) จะบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร 20 - 30 ปี สัญญาเช่านั้น เครื่องจักรและอุปกรณ์ 10 - 30 ปี เครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องมือทางการเกษตรและทดลอง 5 ปี สัญญาเช่าทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ ซึง่ ผูเ้ ช่าเป็นผูร้ บั ความเสีย่ งและผลตอบแทน เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และเครื่องใช้สำ�นักงาน 5 ปี ของความเป็นเจ้าของเกือบทัง้ หมดถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน ซึง่ จะบันทึกเป็น ยานพาหนะ 5 - 10 ปี รายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเ่ี ช่า หรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิ ของจำ�นวนเงินขั้นตํ่าที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะตํ่ากว่า ทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ได้มีการทบทวนและปรับปรุงมูลค่าคงเหลือ จำ � นวนเงิ น ที่ ต้ อ งจ่ า ยดั ง กล่ า วจะปั น ส่ ว นระหว่ า งหนี้ สิ น และค่ า ใช้ จ่ า ย และอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ให้เหมาะสม ทางการเงินเพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้สินคงค้างอยู่ โดยพิจารณา ในกรณีที่ราคาตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ราคาตามบัญชี แยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะ จะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทันที บันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในกำ�ไรหรือขาดทุน ผลกำ�ไรหรือขาดทุนทีเ่ กิดจากการจำ�หน่ายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ คำ�นวณ ตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื่อทำ�ให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่ โดยเปรียบเทียบจากสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์กับ สำ�หรับยอดคงเหลือของหนี้สินทรัพย์ที่เหลืออยู่ สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่า มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และจะรับรู้บัญชีผลกำ�ไรหรือขาดทุนอื่นสุทธิ การเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ท่ีเช่าหรืออายุ ของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า ในกำ�ไรหรือขาดทุน ดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงินมาใช้ในการได้มาซึ่ง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ได้บนั ทึกเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนของสินทรัพย์นน้ั ตลอดช่วงเวลาการก่อสร้าง หรือผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วย • ดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืมระยะยาว รวมทั้งภาษีที่เกี่ยวข้องที่ผู้กู้ต้องรับ ภาระจำ�นวนที่ตัดบัญชีรายจ่ายที่เกี่ยวกับการจัดการกู้ยืม • ส่วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน

104


2.12 เงินกู้ยืม เงินกูย้ มื รับรูเ้ ริม่ แรกด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสิง่ ตอบแทนทีไ่ ด้รบั หักด้วยต้นทุน การจัดทำ�รายการทีเ่ กิดขึน้ ในเวลาต่อมา เงินกูย้ มื วัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วย วิธรี าคาทุนตัดจำ�หน่ายตามวิธอี ตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง ผลต่างระหว่างสิง่ ตอบแทน (หักด้วยต้นทุนการจัดทำ�รายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่าที่จ่ายคืนเพื่อ ชำ�ระหนี้นั้น จะรับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตลอดช่วงเวลาการกู้ยืม

2.13 ภาษีเงินได้งวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สำ�หรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรูใ้ นกำ�ไรหรือขาดทุน ยกเว้น ส่วนทีร่ บั รูใ้ นกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ หรือรับรูโ้ ดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในกรณีน้ี ภาษีเงินได้ตอ้ งรับรูใ้ นกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ หรือโดยตรงไปยัง ส่วนของผู้ถือหุ้นตามลำ�ดับ

ค่าธรรมเนียมที่จ่ายไปเพื่อให้ได้เงินกู้มาจะรับรู้เป็นต้นทุนการจัดทำ�รายการ เงินกู้ในกรณีที่มีความเป็นไปได้จะใช้วงเงินกู้บางส่วนหรือทั้งหมด ในกรณีนี้ ค่าธรรมเนียมจะรอการรับรู้จนกระทั่งมีการถอนเงิน หากไม่มีหลักฐานที่มี ความเป็นไปได้ที่จะใช้วงเงินบางส่วนหรือทั้งหมด ค่าธรรมเนียมจะรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าสำ�หรับการให้บริการสภาพคล่องและจะตัดจำ�หน่าย ตามระยะเวลาของวงเงินกู้ที่เกี่ยวข้อง

ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันคำ�นวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีที่มี ผลบังคับใช้อยู่ หรือที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบ ระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่บริษัท และบริษัทย่อยต้องดำ�เนินงานอยู่ และเกิดรายได้เพือ่ เสียภาษี ผูบ้ ริหารจะประเมินสถานะของการยืน่ แบบแสดง รายการภาษีเป็นงวดๆ โดยคำ�นึงถึงสถานการณ์ที่สามารถนำ�กฎหมาย ภาษีอากรไปปฏิบตั ซิ ง่ึ ขึน้ อยูก่ บั การตีความ และจะตัง้ ประมาณการค่าใช้จา่ ย ภาษีอากร หากคาดว่าจะต้องจ่ายชำ�ระภาษีแก่หน่วยงานจัดเก็บ

เงินกู้ยืมจัดประเภทเป็นหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุ่มบริษัทไม่มีสิทธิอันปราศจาก เงือ่ นไขให้เลือ่ นชำ�ระหนีอ้ อกไปอีกเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน นับจากวัน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตั้งเต็มจำ�นวนตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลต่างชั่วคราว ระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สิน และราคาตามบัญชีที่แสดงอยู่ใน สิ้นรอบระยะเวลารายงาน งบการเงิน อย่างไรก็ตามกลุ่มบริษัทจะไม่รับรู้ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ เกิดจากการรับรู้เริ่มแรกของรายการสินทรัพย์หรือรายการหนี้สินที่เกิดจาก รายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรายการ รายการนั้นไม่มี ผลกระทบต่อกำ�ไรทางบัญชีและกำ�ไร(ขาดทุน)ทางภาษี ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชีคำ�นวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดงั กล่าวจะนำ�ไปใช้เมือ่ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ทีเ่ กีย่ วข้องได้รบั ประโยชน์ หรือหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มกี ารจ่ายชำ�ระ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรู้หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่า กลุ่มบริษัทจะมีกำ�ไรทางภาษีเพียงพอที่จะนำ�จำ�นวนผลต่างชั่วคราวนั้นมา ใช้ประโยชน์ กลุม่ บริษทั ได้ตง้ั ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลต่าง ชั่วคราวของเงินลงทุนในบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าที่ต้อง เสียภาษีเว้นแต่กลุ่มบริษัทสามารถควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการ ผลต่างชั่วคราวและการกลับรายการผลต่างชั่วคราวมีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่ว่าจะไม่เกิดขึ้นได้ภายในระยะเวลาที่คาดการณ์ได้ในอนาคต สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะ แสดงหักกลบกันก็ต่อเมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่จะนำ�สินทรัพย์ภาษี เงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และ ทั้งสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเกี่ยวข้องกับ ภาษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันโดยการ เรียกเก็บเป็นหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีต่างกันซึ่งตั้งใจจะจ่ายหนี้สิน และสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิ รายงานประจำ�ปี 2557

105


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

2.14 ผลประโยชน์พนักงาน ผลประโยชน์พนักงานของกลุม่ บริษทั ประกอบด้วยผลประโยชน์หลังออกจาก งานทัง้ ทีเ่ ป็นโครงการผลประโยชน์ และโครงการสมทบเงิน โครงการสมทบ เงินเป็นโครงการทีบ่ ริษทั จ่ายเงินสมทบให้กบั กองทุนทีแ่ ยกต่างหาก โดยบริษทั ไม่มภี าระผูกพันตามกฎหมาย หรือภาระผูกพันจากการอนุมานทีจ่ ะต้องจ่าย ชำ�ระเพิม่ เติมจากทีไ่ ด้สมทบไว้แล้วหากกองทุนไม่มสี นิ ทรัพย์เพียงพอทีจ่ ะจ่าย ชำ�ระภาระผูกพันจากการให้บริการของพนักงานทัง้ ในงวดปัจจุบนั และงวดก่อน ส่วนโครงการผลประโยชน์เป็นโครงการที่ไม่ใช่โครงการสมทบเงิน โดยปกติ โครงการผลประโยชน์จะกำ�หนดจำ�นวนผลประโยชน์ท่พี นักงานจะได้รับเมื่อ เกษียณอายุ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุพนักงาน อายุการทำ�งาน และค่าตอบแทน เป็นต้น

2.15 ประมาณการหนี้สิน กลุ่ ม บริ ษั ท จะบั น ทึ ก ประมาณการหนี้ สิ น อั น ยกเว้ น เรื่ อ งผลประโยชน์ พนักงานเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลงที่จัดทำ� ไว้อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีตซึ่งการชำ�ระภาระผูกพันนั้นมี ความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้กลุ่มบริษัทต้องสูญเสียทรัพยากร ออกไปและตามประมาณการที่น่าเชื่อถือของจำ�นวนที่ต้องจ่าย ในกรณีที่ กลุ่มบริษัทคาดว่าจะได้รับคืนประมาณการหนี้สินที่เป็นรายจ่ายที่จะได้รับคืน กลุม่ บริษทั จะบันทึกเป็นสินทรัพย์แยกต่างหาก เมือ่ คาดว่าจะได้รบั รายจ่ายนัน้ คืนอย่างแน่นอน

ในกรณีที่มีภาระผูกพันที่คล้ายคลึงกันหลายรายการ กลุ่มกิจการกำ�หนด ความน่าจะเป็นทีก่ จิ การจะสูญเสียทรัพยากรเพือ่ จ่ายชำ�ระภาระผูกพันเหล่านัน้ โดยพิจารณาจากความน่าจะเป็นโดยรวมของภาระผูกพันทั้งประเภท แม้ว่า โครงการผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างหรือเกษียณอายุ กลุ่มบริษัทจัดให้มีผลประโยชน์พนักงานหลังการเลิกจ้างหรือเกษียณอายุ ความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่ทก่ี จิ การจะสูญเสียทรัพยากรเพือ่ ชำ�ระภาระผูกพัน เพื่อจ่ายให้แก่พนักงานตามกฎหมายแรงงานของประเทศไทย หนี้สิน บางรายการที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกันจะมีระดับตํ่า ผลประโยชน์พนักงานคำ�นวณโดยผู้เชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร์ประกันภัย กลุม่ กิจการจะวัดมูลค่าของจำ�นวนประมาณการหนีส้ นิ โดยใช้มลู ค่าปัจจุบนั ด้วยเทคนิคการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial ของรายจ่ายที่คาดว่าจะต้องนำ�มาจ่ายชำ�ระภาระผูกพัน โดยใช้อัตราก่อน Technique) อันเป็นประมาณการจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่ ภาษีซึ่งสะท้อนถึงการประเมินสถานการณ์ตลาดในปัจจุบันของมูลค่าของ คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตและคำ�นวณคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยของ เงินตามเวลาและความเสีย่ งเฉพาะของหนีส้ นิ ทีก่ �ำ ลังพิจารณาอยู่ การเพิม่ ขึน้ พันธบัตรรัฐบาลที่มีกำ�หนดเวลาใกล้เคียงกับระยะเวลาของหนี้สินดังกล่าว ของประมาณการหนีส้ นิ เนือ่ งจากมูลค่าของเงินตามเวลา จะรับรูเ้ ป็นดอกเบีย้ จ่าย โดยประมาณการ กระแสเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตนั้นประมาณ การจากเงินเดือนพนักงาน อัตราการลาออก อัตราการตาย อายุงาน และ 2.16 การรับรู้รายได้ ปัจจัยอื่น กำ�ไรหรือขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการจะรับรู้เป็น รายได้ประกอบด้วยมูลค่าตามใบส่งสินค้าที่ขายบริการเป็นจำ�นวนเงินสุทธิ ค่าใช้จ่ายในกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิด จากภาษีขาย เงินคืนและส่วนลด รายได้จากการขายสินค้ารับรูเ้ มือ่ ผูซ้ อ้ื ได้รบั รายการนั้น ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์พนักงานจะบันทึกใน โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญของความเป็นเจ้าของสินค้า งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เพื่อกระจายต้นทุนดังกล่าวตลอดระยะเวลาของ รายได้จากการให้บริการรับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแก่ลูกค้าแล้ว การจ้างงาน รายได้ดอกเบี้ยรับ รับรู้ตามเกณฑ์สัดส่วนของเวลาโดยพิจารณาจากอัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงของช่วงเวลาจนถึงวันครบอายุและพิจารณาจากจำ�นวน เงินต้นที่เป็นยอดคงเหลือในบัญชีสำ�หรับการบันทึกค้างรับของบริษัท

106


3. การจัดการความเสี่ยง ทางการเงิน

2.17 การจ่ายเงินปันผล เงินปันผลที่จ่ายไปยังผู้ถือหุ้นของบริษัทจะรับรู้ในด้านหนี้สินในงบการเงิน 3.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน ของกลุ่มบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชีซ่ึงที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทได้ กิจกรรมของกลุ่มบริษัทย่อมมีความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลาย ซึ่งได้แก่ อนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผล ความเสี่ยงจากตลาด (รวมถึงความเสี่ยงด้านมูลค่ายุติธรรมอันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านกระแสเงินสดอันเกิดจากการ 2.18 ข้อมูลจำ�แนกตามส่วนงาน ส่วนงานธุรกิจที่ทำ�หน้าที่จัดหาผลิตภัณฑ์หรือให้บริการโดยมีความเสี่ยง เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงด้านราคา) และความเสี่ยงด้าน และผลตอบแทนทีแ่ ตกต่างไปจากความเสีย่ งและผลตอบแทนของผลิตภัณฑ์ การให้สินเชื่อ แผนการจัดการความเสี่ยงโดยรวมของกลุ่มบริษัทจึงมุ่งเน้น หรือบริการของส่วนธุรกิจอืน่ ส่วนงานตามประเภทธุรกิจทำ�หน้าทีจ่ ดั หาผลิตภัณฑ์ ความผันผวนของตลาดการเงินและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบที่ทำ�ให้ หรือให้บริการในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจทีเ่ ฉพาะเจาะจงซึง่ มีความเสีย่ ง เสียหายต่อผลการดำ�เนินงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทให้เหลือน้อยที่สุด และผลตอบแทนที่แตกต่างไปจากความเสี่ยงและผลตอบแทนของการ เท่าที่เป็นไปได้ ดำ�เนินงานในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจอื่น 3.1.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ข้ อ มู ล จำ � แนกตามส่ ว นงานแสดงโดยแบ่ ง ตามประเภทธุ ร กิ จ ของการ เนื่องจากกลุ่มบริษัทดำ�เนินงานระหว่างประเทศจึงย่อมมีความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ซึง่ เกิดจากสกุลเงินทีห่ ลากหลาย โดยมี ดำ�เนินงานต่างๆ ของกลุ่มบริษัท สกุลเงินหลักเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐฯ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เกิดขึน้ จากรายการธุรกรรมในอนาคต การรับรูร้ ายการของสินทรัพย์และหนีส้ นิ กิจการในกลุม่ บริษทั ใช้สญั ญาอัตราแลกเปลีย่ นล่วงหน้าเพือ่ ป้องกันความเสีย่ ง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศโดยมีคู่สัญญาเป็นส่วนงานบริหาร เงินของกลุ่มบริษัท และส่วนงานบริหารเงินของกลุ่มบริษัทรับผิดชอบในการ ป้องกันความเสีย่ งของฐานะสุทธิในแต่ละสกุลเงินโดยใช้การกูย้ มื เป็นเงินสกุล นั้นและใช้สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าโดยมีคู่สัญญาเป็นบุคคลายนอก 3.1.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย รายได้และกระแสเงินสดจากการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัทส่วนใหญ่ไม่ขึ้น กับการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในตลาด ธุรกรรมทั้งหมดที่ใช้อนุพันธ์ ด้านอัตราดอกเบี้ยต้องได้รับอนุมัติจากผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงินก่อนเข้า ทำ�รายการ กลุ่มบริษัทไม่มีสินทรัพย์ที่ต้องอ้างอิงอัตราดอกเบี้ยอย่างมี นัยสำ�คัญกลุ่ม บริษัทสามารถระดมทุนโดยการกู้ยืมระยะยาวด้วยอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัว 3.1.3 ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ กลุ่มบริษัทไม่มีการกระจุกตัวอย่างมีนัยสำ�คัญของความเสี่ยงทางด้าน สินเชื่อ กลุ่มบริษัทมีนโยบายที่เหมาะสมเพื่อทำ�ให้เชื่อมั่นได้ว่าได้ขายสินค้า และให้บริการแก่ลูกค้าที่มีประวัติสินเชื่ออยู่ในระดับที่เหมาะสม

รายงานประจำ�ปี 2557

107


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

4. ประมาณการทางบัญชี ที่สำ�คัญ ข้อสมมติฐาน และการใช้ดุลยพินิจ

5. การจัดการความเสี่ยง ในส่วนของทุน

วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องกลุ่ ม บริ ษั ท ในการบริ ห ารทุ น ของกลุ่ ม บริ ษั ท นั้ น เพื่ อ ดำ�รงไว้ซึ่งความสามารถในการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องของกลุ่มบริษัท การประมาณการ ข้อสมมติฐาน และการใช้ดุลยพินิจได้มีการประเมินทบทวน เพื่อสร้างผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นและเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีส่วนได้เสียอื่น อย่างต่อเนื่องและอยู่บนพื้นฐานของประสบการณ์ในอดีตและปัจจัยอื่นๆ และเพื่อดำ�รงไว้ซึ่งโครงสร้างของทุนที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนทางการเงิน ซึง่ รวมถึงการคาดการณ์ถงึ เหตุการณ์ในอนาคตทีเ่ ชือ่ ว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ ของทุน ขณะนั้น 4.1 การด้อยค่าของลูกหนี้การค้า กลุ่มบริษัทได้กำ�หนดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพื่อให้สะท้อนถึงการด้อยค่าลง ของลูกหนี้การค้าซึ่งเกี่ยวพันกับประมาณการผลขาดทุนอันเป็นผลมาจาก การที่ลูกค้าไม่มีความสามารถในการชำ�ระหนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญนั้น เป็นผลมาจากการประสบการณ์ในอดีตของการติดตามทวงถาม ความมี ชื่อเสียง และการผิดนัดชำ�ระหนี้ และการพิจารณาแนวโน้มของตลาด 4.2 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ฝ่ายบริหารเป็นผู้ประมาณการของอายุการใช้งานและมูลค่าซากสำ�หรับ อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนของกลุ่มบริษัท โดยฝ่ายบริหาร จะมีการทบทวนค่าเสื่อมราคาเมื่ออายุการใช้งานและมูลค่าซากมีความ แตกต่างไปจากการประมาณการในงวดก่อน หรือมีการตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ ที่เสื่อมสภาพหรือไม่ได้ใช้งานโดยการขายหรือเลิกใช้

108


6. ข้อมูลจำ�แนกตามส่วนงาน ส่วนงานที่รายงานอ้างอิงจากรายงานภายในของกลุ่มบริษัทซึ่งถูกสอบทานโดยผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดำ�เนินงาน คือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ซึ่งเป็นผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดำ�เนินงานเพื่อการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนงาน ผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดำ�เนินงานได้พิจารณาแล้วว่าส่วนงานที่รายงานมีดังนี้ - ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายและกากนํ้าตาล - ธุรกิจจำ�หน่ายวัสดุการเกษตร - ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า - ธุรกิจอื่นๆ ทั้งนี้ ผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดำ�เนินงานใช้กำ�ไรจากการดำ�เนินงานตามส่วนงานในการพิจารณาผลการดำ�เนินงาน ต้นทุนที่ไม่สามารถปันส่วนได้ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ข้อมูลเกี่ยวกับการดำ�เนินงานตามประเภทส่วนงานทางธุรกิจของกลุ่มบริษัทแสดงดังนี้ งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556

หน่วย : ล้านบาท ธุรกิจผลิตและจำ�หน่าย ธุรกิจจำ�หน่าย ธุรกิจผลิตและ นํ้าตาลทรายและ วัสดุการเกษตร จำ�หน่ายไฟฟ้า ธุรกิจอื่นๆ รวม รายการระหว่างกัน งบการเงินรวม กากนํ้าตาล พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556

รายได้จากการขายและบริการ - ในประเทศ 1,241 1,231 591 421 182 133 157 188 2,171 1,973 (380) (182) 1,791 - ต่างประเทศ 2,129 2,188 - - - - - - 2,129 2,188 - - 2,129 รวม 3,370 3,419 591 421 182 133 157 188 4,300 4,161 (380) (182) 3,920 กำ�ไร(ขาดทุน)จากการดำ�เนินงาน 661 581 52 37 90 61 70 (28) 873 651 (43) 144 830 ตามส่วนงาน ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร (427) ต้นทุนทางการเงิน (117) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (50) กำ�ไรสำ�หรับงวด 236 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 สินค้าคงเหลือ 483 569 136 122 4 - - - 623 692 (13) (25) 610 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 1,942 1,153 116 115 469 479 522 50 3,049 1,797 3 3 3,052 สินทรัพย์อื่น 5,485 3,211 364 594 613 72 51 3 6,513 3,880 (4,790) (2,448) 1,723 สินทรัพย์รวม 7,910 4,933 616 831 1,086 551 573 53 10,185 6,368 (4,800) (2,470) 5,385

รายงานประจำ�ปี 2557

1,791 2,188 3,979 795 (428) (97) (65) 205 666 1,800 1,432 3,898

109


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

7. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 416,494 384,250 348,116,027 34,053,804 348,532,521 34,438,054

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 70,000 69,500 223,613,992 4,798,390 223,683,992 4,867,890

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถามมีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักร้อยละ 0.50 ต่อปี (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 0.75 ต่อปี)

110


8. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท ลูกหนี้การค้า - กิจการอื่น ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ 40,025,449 70,516,512 4,716 ค้างชำ�ระไม่เกิน 3 เดือน 8,289,685 1,308,319 - ค้างชำ�ระมากกว่า 3 เดือนแต่ไม่เกิน 12 เดือน 449,368 - 26,390 ค้างชำ�ระมากกว่า 12 เดือน 8,889,873 8,250,423 8,250,423 8,250,423 57,654,375 80,075,254 8,281,529 8,250,423 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (8,250,423) (8,250,423) (8,250,423) (8,250,423) ลูกหนี้การค้า - กิจการอื่น - สุทธิ 49,403,952 71,824,831 31,106 ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ 10,293,402 7,519,205 28,734,529 ค้างชำ�ระไม่เกิน 3 เดือน 114,800,382 - 18,290,745 25,325,912 ค้างชำ�ระมากกว่า 3 เดือนแต่ไม่เกิน 12 เดือน 419,751 - 1,335,360 5,715,940 ค้างชำ�ระมากกว่า 12 เดือน 232,370 - 28,807,692 2,099,359 ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน- สุทธิ 125,745,905 7,519,205 77,168,326 33,141,211 ลูกหนี้อื่น เงินทดรองจ่าย 2,027,953 7,299,784 6,500 446,930 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 113,674,882 6,712,892 11,131,834 52,693 ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - - 25,807,312 12,836,626 ลูกหนี้อื่น - กิจการอื่น 12,020,877 56,082 - ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - - 8,505 เงินปันผลค้างรับ - - 141,049,735 127,723,712 14,068,758 178,003,886 13,336,249 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ 302,873,569 93,412,794 255,203,318 46,477,460

รายงานประจำ�ปี 2557

111


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

9. ลูกหนี้ชาวไร่ - สุทธิ ลูกหนี้ชาวไร่ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 880,522,063 1,135,292,107 (109,729,703) (110,451,309) 770,792,360 1,024,840,798

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 121,699,493 133,720,664 (106,058,047) (106,117,046) 15,641,446 27,603,618

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 44,460,648 - 703,048,637 241,225,716 6,868,096 739,519,677 3,200,867 16,593,909 1,244,322 4,232,141 121,699,493 133,720,664 880,522,063 1,135,292,107 (109,729,703) (110,451,309) 770,792,360 1,024,840,798

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท - - - - - 121,699,493 133,720,664 121,699,493 133,720,664 (106,058,047) (106,117,046) 15,641,446 27,603,618

ลูกหนี้ชาวไร่ แยกตามอายุหนี้ที่ค้างชำ�ระได้ดังนี้

ฤดูการผลิตปี 2558/2559 ฤดูการผลิตปี 2557/2558 ฤดูการผลิตปี 2556/2557 ฤดูการผลิตปี 2555/2556 ฤดูการผลิตปี 2554/2555 ฤดูการผลิตก่อนปี 2554/2555 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

112


ลูกหนี้ชาวไร่ส่วนที่เป็นของบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ที่รวมอยู่ในงบการเงิน แยกตามอายุหนี้ที่ค้างชำ�ระได้ดังนี้

ฤดูการผลิตปี 2558/2559 ฤดูการผลิตปี 2557/2558 ฤดูการผลิตปี 2556/2557 ฤดูการผลิตปี 2555/2556 ฤดูการผลิตปี 2554/2555 ฤดูการผลิตก่อนปี 2554/2555 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

รายงานประจำ�ปี 2557

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 6,415,582 - 13,032,400 3,546,388 - 12,213,481 - - - 765,573 413,932 2,123,412 19,861,914 18,648,854 - - 19,861,914 18,648,854

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท - - - - - 413,932 2,123,412 413,932 2,123,412 - 413,932 2,123,412

113


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

10. สินค้าคงเหลือ - สุทธิ สินค้าสำ�เร็จรูป สินค้าซื้อมาเพื่อขาย สินค้าระหว่างผลิต วัสดุโรงงาน หัก ค่าเผื่อการลดมูลค่า

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 460,402,429 581,151,339 109,171,971 93,512,097 10,849,811 5,850,996 30,788,619 24,604,187 (671,427) (39,003,387) 610,541,403 666,115,232

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท - - - - - - -

ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายและรวมอยู่ในต้นทุนขายเป็นจำ�นวน 2,881.54 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 3,215.22 ล้านบาท) กลุ่มบริษัทกลับรายการค่าเผื่อสินค้าคงเหลือที่เคยรับรู้จำ�นวน 39.00 ล้านบาท กลุ่มบริษัทได้ตัดจำ�หน่ายสินค้าเหล่านั้นตามหลักเกณฑ์กรมสรรพากร ในราคาทุนเดิม จำ�นวนที่กลับรายการได้รวมอยู่ในต้นทุนขายในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สินค้าคงเหลือมูลค่า 0.67 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 39.00 ล้านบาท) แสดงด้วยมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ซึ่งตํ่ากว่าราคาทุน สินค้าคงเหลือจำ�นวน 57.35 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 16.45 ล้านบาท) ได้นำ�ไปเป็นหลักประกันเงินกู้ยืม

11. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้กรมสรรพากร ภาษีซื้อยังไม่ถึงกำ�หนด อื่นๆ

114

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 44,816,032 3,243,427 22,814,964 23,991,580 5,737,421 12,358,184 73,368,417 39,593,191

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 1,196,267 15,747,947 19,706,570 317,436 5,974,178 17,261,650 25,680,748


12. เงินลงทุนในบริษัทย่อย รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทย่อยสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 มีดังต่อไปนี้

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ลงทุนเพิ่มขึ้น ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

พ.ศ. 2557 บาท 1,270,478,100 - 1,270,478,100

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2556 บาท 1,269,478,700 999,400 1,270,478,100

รายละเอียดเงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงในงบแสดงฐานะทางการเงินของบริษัท มีดังนี้ :

วิธีราคาทุน ชื่อบริษัท พ.ศ. 2557 บาท บริษัทย่อยทางตรง บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด 1,049,000,000 บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด 70,879,400 บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด 135,599,300 บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด 14,999,400 รวม 1,270,478,100 บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด 169,999,400

พ.ศ. 2556 บาท 1,049,000,000 70,879,400 135,599,300 14,999,400 1,270,478,100 2,499,850

รายละเอียดของเงินลงทุนของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 มีดังนี้

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2556

ประเทศ สัดส่วนความเป็น ประเทศ สัดส่วนความเป็น ที่จดทะเบียน เจ้าของ (ร้อยละ) ที่จดทะเบียน เจ้าของ (ร้อยละ) บริษัทย่อยทางตรง บริษัท โรงงานนํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด ไทย 99.90 ไทย 99.90 บริษัท บุรีรัมย์วิจัยและพัฒนาอ้อย จำ�กัด ไทย 99.99 ไทย 99.99 บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด ไทย 99.99 ไทย 99.99 บริษัท ปุ๋ยตรากุญแจ จำ�กัด ไทย 99.99 ไทย 99.99 บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์ จำ�กัด ไทย 99.99 ไทย 99.99 รายงานประจำ�ปี 2557

115


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

13. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ ที่ดินและ อาคารและ เครื่องจักร ส่วนปรับปรุง ส่วนปรับปรุง และ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ บาท บาท บาท

งบการเงินรวม เครื่องมือ เครื่องตกแต่ง สินทรัพย์ อุปกรณ์และ ติดตั้งและ ระหว่าง เครื่องมือ อุปกรณ์ ติดตั้ง การเกษตร สำ�นักงาน ยานพาหนะ และก่อสร้าง บาท บาท บาท บาท

รวม บาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ราคาทุน 50,064,227 331,624,332 687,504,457 16,231,166 64,469,122 85,873,640 157,407,268 1,393,174,212 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - (18,861,930) (163,758,364) (2,227,018) (25,627,988) (55,635,552) - (266,110,852) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 50,064,227 312,762,402 523,746,093 14,004,148 38,841,134 30,238,088 157,407,268 1,127,063,360 สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 50,064,227 312,762,402 523,746,093 14,004,148 38,841,134 30,238,088 157,407,268 1,127,063,360 ซื้อสินทรัพย์ 27,746,946 10,078,938 21,887,919 14,760,535 9,093,262 32,800,470 636,586,003 752,954,073 โอนสินทรัพย์ 512,139 54,981,167 362,475,131 1,888,753 1,653,643 - (421,510,833) จำ�หน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ (8,516,560) - (1,113,842) - (3,884,145) (1,118,307) - (14,632,854) จัดประเภทรายการใหม่ 6,328,036 (6,328,036) - - - - - ค่าเสื่อมราคา - (14,932,224) (33,111,435) (4,968,949) (6,306,883) (5,759,181) - (65,078,672) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 76,134,788 356,562,247 873,883,866 25,684,487 39,397,011 56,161,070 372,482,438 1,800,305,907 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน 76,134,788 390,356,401 1,070,753,665 32,880,454 58,396,464 109,023,998 372,482,438 2,110,028,208 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - (33,794,154) (196,869,799) (7,195,967) (18,999,453) (52,862,928) - (309,722,301) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 76,134,788 356,562,247 873,883,866 25,684,487 39,397,011 56,161,070 372,482,438 1,800,305,907 สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 76,134,788 356,562,247 873,883,866 25,684,487 39,397,011 56,161,070 372,482,438 1,800,305,907 ซื้อสินทรัพย์ 22,024,714 1,901,493 11,310,467 8,297,216 12,305,044 5,274,515 1,291,330,438 1,352,443,887 โอนสินทรัพย์เข้า(ออก) - 79,686,059 3,388,081 1,619,866 1,306,977 - (86,000,983) จำ�หน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ - (40,831) (3,344,927) (273,979) (4,507,410) (3) - (8,167,150) ค่าเสื่อมราคา - (18,107,902) (50,534,682) (6,854,883) (8,741,588) (8,346,204) - (92,585,259) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 98,159,502 420,001,066 834,702,805 28,472,707 39,760,034 53,089,378 1,577,811,893 3,051,997,385 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน 98,159,502 467,240,061 1,078,990,842 41,589,316 61,202,103 111,498,513 1,577,811,893 3,436,492,230 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - (47,238,995) (244,288,037) (13,116,609) (21,442,069) (58,409,135) - (384,494,845) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 98,159,502 420,001,066 834,702,805 28,472,707 39,760,034 53,089,378 1,577,811,893 3,051,997,385

116


ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สินทรัพย์คิดเป็นราคาตามบัญชีสุทธิจำ�นวน 51.28 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 54.40 ล้านบาท) ถูกรวมอยู่ในหนี้สินสัญญาเช่า ทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทมีอาคารและอุปกรณ์ราคาทุนจำ�นวน 35.80 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 50.58 ล้านบาท) ได้ตัดค่าเสื่อมราคา หมดแล้วทั้งจำ�นวนแต่ยังคงใช้งานอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคมพ.ศ. 2557 สินทรัพย์คิดเป็นราคาตามบัญชีสุทธิจำ�นวน 1,414.00 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 1,527.00 ล้านบาท) ได้นำ�ไปวางเป็น หลักประกันเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง (หมายเหตุ 16) ต้นทุนการกู้ยืมจำ�นวน 35.30 ล้านบาท เกิดจากเงินกู้ยืมที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อสร้างโรงงานและเครื่องจักรใหม่ และได้บันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ รวมอยู่ในรายการซื้อสินทรัพย์ โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.50 - 7.25 (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 4.90 - 6.86)

งบการเงินเฉพาะบริษัท อาคารและ เครื่องตกแต่ง ส่วนปรับปรุง เครื่องจักร ติดตั้งและ อาคาร และอุปกรณ์ อุปกรณ์สำ�นักงาน ยานพาหนะ บาท บาท บาท บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ราคาทุน 14,360,659 26,852,518 34,689,514 48,022,129 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (7,333,309) (14,149,224) (20,564,447) (39,673,594) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 7,027,350 12,703,294 14,125,067 8,348,535 สำ�หรับปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 7,027,350 12,703,294 14,125,067 8,348,535 ซื้อสินทรัพย์ - - 110,578 - จำ�หน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ - (1,113,843) (3,834,788) (1,118,308) ค่าเสื่อมราคา (248,968) (1,849,837) (1,113,096) (1,261,761) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 6,778,382 9,739,614 9,287,761 5,968,466 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน 14,360,659 16,194,029 18,199,878 38,372,015 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (7,582,277) (6,454,415) (8,912,117) (32,403,549) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 6,778,382 9,739,614 9,287,761 5,968,466

รายงานประจำ�ปี 2557

รวม บาท 123,924,820 (81,720,574) 42,204,246

42,204,246 110,578 (6,066,939) (4,473,662) 31,774,223 87,126,581 (55,352,358) 31,774,223

117


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะบริษัท อาคารและ เครื่องตกแต่ง ส่วนปรับปรุง เครื่องจักร ติดตั้งและ อาคาร และอุปกรณ์ อุปกรณ์สำ�นักงาน ยานพาหนะ บาท บาท บาท บาท สำ�หรับปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 6,778,382 9,739,614 9,287,761 5,968,466 ซื้อสินทรัพย์ 343,915 - 764,491 - จำ�หน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ - (3,344,927) (4,235,191) (2) ค่าเสื่อมราคา (250,694) (992,405) (859,470) (961,157) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 6,871,603 5,402,282 4,957,591 5,007,307 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน 14,704,574 9,732,658 8,636,860 35,822,015 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (7,832,971) (4,330,376) (3,679,269) (30,814,708) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 6,871,603 5,402,282 4,957,591 5,007,307

รวม บาท 31,774,223 1,108,406 (7,580,120) (3,063,726) 22,238,783 68,896,107 (46,657,324) 22,238,783

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สินทรัพย์คิดเป็นราคาตามบัญชีสุทธิจำ�นวน 4.08 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 4.73 ล้านบาท) ถูกรวมอยู่ในหนี้สินสัญญาเช่า ทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริษัทมีอาคารและอุปกรณ์ราคาทุนจำ�นวน 23.32 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 37.17 ล้านบาท) ได้ตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้ว ทั้งจำ�นวนแต่ยังคงใช้งานอยู่

118


14. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะใช้ประโยชน์ ภายใน 12 เดือน 134,285 23,500,910 - สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะใช้ประโยชน์ เกินกว่า 12 เดือน 224,737,721 224,473,127 12,145,179 13,963,895 224,872,006 247,974,037 12,145,179 13,963,895 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะจ่ายชำ�ระ ภายใน 12 เดือน - - - หนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทจ่ี ะจ่ายชำ�ระเกินกว่า 12 เดือน (13,489,405) (13,489,405) - (13,489,405) (13,489,405) - ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ 211,382,601 234,484,632 12,145,179 13,963,895 รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่ม/(ลด) ในกำ�ไรหรือขาดทุน เพิ่ม/(ลด) ในกำ�ไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

รายงานประจำ�ปี 2557

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 234,484,632 246,416,304 (21,825,492) (13,789,970) (1,276,539) 1,858,298 211,382,601 234,484,632

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 13,963,895 7,885,644 (1,205,527) 5,587,700 (613,189) 490,551 12,145,179 13,963,895

119


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดังนี้

งบการเงินรวม ประมาณการ ค่าเผื่อ ผลประโยชน์ ค่าเผื่อ การลดมูลค่า ผลขาดทุน ค่าเสื่อมราคา พนักงาน หนี้สงสัยจะสูญ สินค้าคงเหลือ สะสมทางภาษี รวม บาท บาท บาท บาท บาท บาท สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 219,621,069 6,542,114 12,173,932 7,800,677 1,836,245 247,974,037 เพิ่ม/(ลด) ในกำ�ไรหรือขาดทุน (16,481,066) 901,835 (1,644,142) (7,666,392) 3,064,273 (21,825,492) ลดในกำ�ไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - (1,276,539) - - - (1,276,539) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 203,140,003 6,167,410 10,529,790 134,285 4,900,518 224,872,006 ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 233,485,057 4,149,847 5,989,743 486,583 2,305,074 246,416,304 เพิ่ม/(ลด) ในกำ�ไรหรือขาดทุน (13,863,988) 533,969 6,184,189 7,314,094 (468,829) (300,565) เพิ่มในกำ�ไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - 1,858,298 - - - 1,858,298 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 219,621,069 6,542,114 12,173,932 7,800,677 1,836,245 247,974,037 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่มในกำ�ไรหรือขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

120

งบการเงินรวม ค่าเสื่อมราคา บาท 13,489,405 13,489,405


งบการเงินเฉพาะบริษัท ประมาณการ ค่าเผื่อ ค่าเผื่อ ผลประโยชน์ หนี้สงสัย การลดมูลค่า พนักงาน จะสูญ สินค้าคงเหลือ บาท บาท บาท สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 2,656,815 11,307,080 - เพิ่ม/(ลด) ในกำ�ไรหรือขาดทุน 306,093 (1,511,620) - ลดในกำ�ไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (613,189) - - ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 2,349,719 9,795,460 - ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 1,595,757 5,989,743 300,144 เพิ่ม/(ลด) ในกำ�ไรหรือขาดทุน 570,507 5,317,337 (300,144) เพิ่มในกำ�ไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 490,551 - - ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 2,656,815 11,307,080 -

รายงานประจำ�ปี 2557

รวม บาท 13,963,895 (1,205,527) (613,189) 12,145,179 7,885,644 5,587,700 490,551 13,963,895

121


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

15. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า - กิจการอื่น เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้างจ่าย - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - กิจการอื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้า เจ้าหนี้อื่น - กิจการอื่น เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

122

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 277,566,601 602,211,544 4,770,117 14,833,838 - - 27,376,513 20,948,425 9,659,590 - 144,545,281 127,394,836 22,563,216 77,212,966 2,178,477 - 488,659,795 842,601,609

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 1,304,009 2,391,276 240,081,581 242,160,251 - 1,413,351 1,216,911 1,969,821 - - 30,000 - 153,618 731,826 243,334,327 248,118,317


16. เงินกู้ยืม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท ส่วนของหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี 34,435,771 43,645,574 - เงินกู้ยืมระยะสั้น สถาบันการเงิน 2,174,930,649 1,471,361,222 1,270,000,000 400,000,000 ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภายในหนึ่งปี สถาบันการเงิน 159,878,070 85,116,470 - หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน 10,150,845 14,874,495 10,656 1,179,778 เงินกู้ยืมหมุนเวียนรวม 2,379,395,335 1,614,997,761 1,270,010,656 401,179,778 ส่วนของไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 452,901,495 691,907,648 - หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน 9,673,567 15,486,033 - เงินกู้ยืมไม่หมุนเวียนรวม 462,575,062 707,393,681 - รวมเงินกู้ยืม 2,841,970,397 2,322,391,442 1,270,010,656

10,656 10,656 401,190,434

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทได้มีการจดจำ�นองสินค้าคงเหลือสุทธิจำ�นวน 57.35 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 16.45 ล้านบาท) เพื่อเป็นหลัก ประกันเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินหลายแห่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทได้มีการจดจำ�นองที่ดินและอาคาร และเครื่องจักรราคาตามบัญชีสุทธิจำ�นวน 1,215.00 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 1,527.00 ล้านบาท) เพื่อเป็นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินหลายแห่ง (หมายเหตุ 13) อัตราดอกเบี้ยสำ�หรับเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นของบริษัทและกลุ่มบริษัทคิดเป็นอัตราร้อยละ 5.25 และ 4.50 - 7.88 ตามลำ�ดับ (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 5.75 และ 4.65 - 7.88)

รายงานประจำ�ปี 2557

123


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) การเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมระยะยาว (ไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน) สำ�หรับปีประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้

ยอดยกมา กู้ยืมเพิ่ม จ่ายคืนเงินกู้ยืม ยอดคงเหลือ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 777,024,118 893,992,548 - 65,820,000 (164,244,553) (182,788,430) 612,779,565 777,024,118

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท - 2,862,548 - - (2,862,548) - -

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 6.77 6.47

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท - 5.75

ระยะเวลาครบกำ�หนดของเงินกู้ยืมระยะยาว (ไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน) มีดังต่อไปนี้

ครบกำ�หนดใน 1 ปี ครบกำ�หนดภายใน 2 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี

124

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 159,878,070 85,116,470 452,901,495 691,907,648 612,779,565 777,024,118

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท - - - -


ภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นตํ่าตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556 มีดังนี้

ผลรวมของจำ�นวนเงินขั้นตํ่า ที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า หัก ดอกเบีย้ ตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบันของจำ�นวนเงินขั้นตํ่า ที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 ไม่เกิน 1 ปี 2 - 5 ปี บาท บาท

ผลรวมของจำ�นวนเงินขั้นตํ่า ที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า หัก ดอกเบีย้ ตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบันของจำ�นวนเงินขั้นตํ่า ที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2556 ไม่เกิน 1 ปี 2 - 5 ปี บาท บาท

รายงานประจำ�ปี 2557

รวม บาท

11,080,831 (929,986)

10,135,487 (461,920)

21,216,318 (1,391,906)

10,150,845

9,673,567

19,824,412

รวม บาท

16,432,268 (1,557,773)

16,467,390 (981,357)

32,899,658 (2,539,130)

14,874,495

15,486,033

30,360,528

125


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

17. หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำ�หนด เจ้าหนี้กรมสรรพากร ภาษีหัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย อื่นๆ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 22,589,247 23,329,240 668,255 5,614,294 6,023,400 4,292,548 2,208,225 1,643,168 31,489,127 34,879,250

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 5,048,395 2,030,775 - 1,620,009 1,645,673 914,137 - 6,694,068 4,564,921

18. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท ยอดยกมาต้นปี 32,710,569 20,749,232 13,284,077 7,978,783 ต้นทุนบริการปัจจุบัน 3,292,315 2,007,805 981,862 711,135 ต้นทุนดอกเบี้ย 1,380,200 662,042 548,604 289,007 ผลประโยชน์จ่ายระหว่างปี (163,350) - - (กำ�ไร)ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย (6,382,692) 9,291,490 (3,065,944) 4,305,152 ยอดคงเหลือสิ้นปี 30,837,042 32,710,569 11,748,599 13,284,077 รายการที่รับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (แสดงอยู่ในค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน) มีดังนี้

ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย รวม

126

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 3,292,315 2,007,805 1,380,200 662,042 4,672,515 2,669,847

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 981,864 711,135 548,604 289,007 1,530,468 1,000,142


งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท (กำ�ไร)ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย (6,382,692) 9,291,490 (3,065,944) 4,305,152 ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสำ�หรับโครงการผลประโยชน์ของพนักงานที่รับรู้ในกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสะสมจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท มีจ�ำ นวน 8.87 ล้านบาท และ 6.34 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (พ.ศ. 2556 : 15.25 ล้านบาท และ 9.41 ล้านบาท ตามลำ�ดับ) สมมติฐานทางสถิติที่ใช้ มีดังนี้

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการตาย อัตราการลาออก

รายงานประจำ�ปี 2557

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท ร้อยละ 4.28 ร้อยละ 3.82 ร้อยละ 4.28 ร้อยละ 3.82 ร้อยละ 5 ร้อยละ 5 ร้อยละ 5 ร้อยละ 5 ร้อยละ 100 ของ ร้อยละ 100 ของ ร้อยละ 100 ของ ร้อยละ 100 ของ TMO พ.ศ. 2551 TMO พ.ศ. 2551 TMO พ.ศ. 2551 TMO พ.ศ. 2551 ร้อยละ 0 - 14 ร้อยละ 1 ร้อยละ 0 - 14 ร้อยละ 1

127


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

19. ทุนเรือนหุ้น ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 ทุนเรือนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ทุนเรือนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ทุนเรือนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ทุนที่ออกและเรียกชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว จำ�นวน จำ�นวน ส่วนเกิน หุ้นจดทะเบียน หุ้นสามัญ หุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นสามัญ หุ้น หุ้น บาท บาท 200,000,000 200,000,000 200,000,000 120,000,000 120,000,000 120,000,000 320,000,000 320,000,000 320,000,000 356,750,000 187,567,500 187,567,500 11,504,750 676,750,000 507,567,500 507,567,500 11,504,750 - 169,182,500 169,182,500 943,161,063 676,750,000 676,750,000 676,750,000 954,665,813

การเสนอขายหุ้นแก่ประชาชนแรก เริ่มในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 บริษัทได้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ให้แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกจำ�นวน 169,182,500 หุ้น โดยการขายหุ้นใหม่ ให้แก่ผู้จองในราคาหุ้นละ 6.80 บาท (ทุน 1 บาทและส่วนเกินมูลค่าหุ้น 5.80 บาท) เป็นจำ�นวนเงินรวม 1,150.44 ล้านบาท บริษัทได้จดทะเบียน การเพิ่มทุนที่ชำ�ระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 และหุ้นของบริษัทเริ่มการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเสนอขายหุ้นแก่ประชาชนจำ�นวน 38.10 ล้านบาท แสดงหักจากส่วนเกินมูลค่าหุ้นที่ได้ รับจากการเสนอขายหุ้นแก่ผู้ลงทุนใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 จำ�นวนหุ้นสามัญจดทะเบียนมีจำ�นวน 676,750,000 หุ้น (พ.ศ. 2556 : 676,750,000 หุ้น) ราคาตราไว้หุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2556 : 1 บาทต่อหุ้น) หุ้นที่ออกเป็นหุ้นที่ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้วจำ�นวน 676,750,000 หุ้น ในการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ผู้ถือหุ้นได้มีมติอนุมัติเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ จากเดิมหุ้นละ 1,000 บาท เป็นมูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทำ�ให้จำ�นวนหุ้นสามัญเพิ่มจาก 320,000 หุ้น เป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 320,000,000 หุ้น และอนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของ บริษัทจากหุ้นสามัญจำ�นวน 320,000,000 หุ้น เป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 676,750,000 หุ้น โดยมีมูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท บริษัทได้จดทะเบียนรายการ ดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556

20. เงินปันผล เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ที่ประชุมวิสามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2556 ของบริษัท ได้มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ในอัตราหุ้นละ 0.628 บาท จำ�นวน 320,000,000 หุ้น คิดเป็นจำ�นวนเงิน 200,888,889 บาท บริษัทได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวแล้วในวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2556

128


21. สำ�รองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษัทต้องสำ�รองตามกฎหมายอย่างน้อยร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิหลังจากหักส่วนของขาดทุนสะสม ยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสำ�รองตามกฎหมายไม่สามารถจัดสรรได้จนกว่าสำ�รองนี้จะมีมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำ�รองนี้ไม่สามารถนำ�ไป จ่ายเงินปันผลได้

22. รายได้อื่น รายได้รับจ้างบริการอื่น หนี้สูญได้รับคืนคดีฟ้อง กำ�ไรจากการขายสินทรัพย์ ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ อื่นๆ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 1,135,028 5,275,630 727,660 916,375 495,325 250,000 3,850,748 4,142,107 153,510 - 17,558,527 19,348,917 23,920,798 29,933,029

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 109,269,814 93,100,000 727,660 914,640 495,325 200,000 70,065,260 14,526,175 141,049,735 2,788,646 4,297,536 324,396,440 113,038,351

23. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการบางรายการที่รวมอยู่ในกำ�ไรจากการดำ�เนินงาน สามารถนำ�มาแยกตามลักษณะได้ดังนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป 2,205,271,526 2,275,734,786 392,550 56,129 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย 93,128,031 126,968,938 3,540,819 4,471,659 ค่าบำ�รุงและซ่อมแซม 78,760,042 143,974,699 879,476 296,246 ค่าขนส่ง 110,627,636 125,443,943 - ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน 306,710,426 304,616,784 76,010,378 64,316,617 ค่ารักษาเสถียรภาพ ค่าธรรมเนียมวิจัย และ เงินนำ�ส่งกองทุนอ้อยและนํ้าตาลทราย 300,694,300 287,124,831 - 193,500

รายงานประจำ�ปี 2557

129


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

24. ภาษีเงินได้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท ภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน: ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันสำ�หรับกำ�ไรทางภาษี สำ�หรับปี 28,328,244 51,073,695 2,656,791 2,233,401 รวมภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน 28,328,244 51,073,695 2,656,791 2,233,401 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: รายการที่เกิดจากผลแตกต่างชั่วคราว 21,825,492 13,789,170 1,205,527 (5,587,700) รวมภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 21,825,492 13,789,170 1,205,527 (5,587,700) รวมค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 50,153,736 64,862,865 3,862,318 (3,354,299) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สำ�หรับกำ�ไรก่อนหักค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ของกลุ่มบริษัทมียอดจำ�นวนเงินที่แตกต่างจากการคำ�นวณกำ�ไรทางบัญชีคูณกับภาษีของ ประเทศที่บริษัทใหญ่ตั้งอยู่ โดยมีรายละเอียดดังนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 286,463,017 270,425,897 151,777,219 219,436 ภาษีคำ�นวณจากอัตราภาษีร้อยละ 20 (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 20) 57,292,603 54,085,179 30,355,444 43,887 ผลกระทบ: รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี (11,613,397) (5,807,417) (27,293,043) (8,875,594) ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถหักภาษี 4,474,530 16,585,103 799,917 5,477,408 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 50,153,736 64,862,865 3,862,318 (3,354,299) อัตราภาษีเงินได้ถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักเป็นร้อยละ 17.51 (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 23.99)

130


25. กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำ�นวณโดยการหารกำ�ไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญด้วยจำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักที่ถือโดยผู้ถือหุ้นในระหว่างปี

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท กำ�ไร(ขาดทุน)สุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ (บาท) 235,967,740 196,271,542 147,914,901 (713,417) จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยที่ถือโดยผู้ถือหุ้น ระหว่างปี (หุ้น) 534,914,808 398,110,301 534,914,808 398,110,301 กำ�ไร(ขาดทุน)ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) 0.44 0.49 0.28 (0.00) บริษัทไม่มีการออกหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปีที่นำ�เสนอรายงาน

รายงานประจำ�ปี 2557

131


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

26. รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำ�นาจควบคุมบริษัท ถูกควบคุมโดยบริษัท ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือ ทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัท รวมถึงบริษัทที่ทำ�หน้าที่ถือหุ้น บริษัทย่อย และกิจการที่เป็นบริษัทย่อยในเครือเดียวกัน นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึง บริษัทร่วมและบุคคลซึ่งถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม และมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระ สำ�คัญกับบริษัท ผู้บริหารสำ�คัญ กรรมการ หรือพนักงานของบริษัท ตลอดทั้งสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลดังกล่าว และกิจการที่เกี่ยวข้องกับ บุคคลเหล่านั้น ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทแต่ละรายการ บริษัทคำ�นึงถึงเนื้อหาของความสัมพันธ์มากกว่ารูปแบบ ทางกฎหมาย ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทได้แก่ บริษัท ทุนบุรีรัมย์ จำ�กัด ซึ่งถือหุ้นในอัตราร้อยละ 50 รายการต่อไปนี้เป็นรายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ก) รายได้จากการขายและให้บริการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท รายการค้ากับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) เงินปันผลรับ - - 141,049,735 ดอกเบี้ยรับ - - 68,575,030 13,107,372 รายได้อื่น - - 109,100,000 93,100,000 ต้นทุนขายและการให้บริการ - - - 1,212,183 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - - 1,257,050 1,413,351 รายการค้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่นๆ รายได้จากการขายสินค้าและบริการ 2,135,044,696 2,194,717,207 - รายได้อื่น 200,000 120,000 120,000 163,780 ต้นทุนขายและการให้บริการ 16,545,248 23,730,211 - ค่าใช้จ่ายในการขาย 99,059,213 67,745,396 - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 175,480 175,480 - ในระหว่างปี พ.ศ. 2557 บริษัทย่อยได้เข้าซื้อที่ดินจากกรรมการเป็นจำ�นวน 14.03 ล้านบาท ซึ่งได้มีการชำ�ระเงินและโอนสินทรัพย์เรียบร้อยแล้ว

132


ข) ยอดค้างชำ�ระที่เกิดจากการซื้อและขายสินค้าและบริการ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย - - 77,168,326 33,141,211 กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่นๆ 125,745,905 7,519,205 - 125,745,905 7,519,205 77,168,326 33,141,211 ลูกหนี้ชาวไร่ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่นๆ 19,861,914 18,648,854 413,932 2,123,412 ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย - - 166,865,552 12,836,626 - - 166,865,552 12,836,626 เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย - - 240,081,580 242,160,251 กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่นๆ 4,770,117 14,833,838 - 4,770,117 14,833,838 240,081,580 242,160,251 เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย - - 84,700 1,413,351 กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่นๆ 11,838,067 999,400 647,126 999,400 11,838,067 999,400 731,826 2,412,751 ค) เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท บาท บาท เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน - - 2,183,190,318 451,409,325 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 อัตราดอกเบีย้ สำ�หรับเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน คิดเป็นอัตราร้อยละ 6.75 - 6.88 ต่อปี (พ.ศ. 2556 : ร้อยละ 6.75 - 7.00 ต่อปี)

รายงานประจำ�ปี 2557

133


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) ง) ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 47,685,998 43,556,542 723,120 9,610,649 48,409,118 53,197,191

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท 22,231,875 24,164,725 252,783 7,257,468 22,484,658 31,422,193

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารรวมเงินเดือนค่าเบี้ยประชุมและผลตอบแทนอื่น จ) สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า บริษัทย่อยแห่งหนึ่งในกลุ่มบริษัททำ�สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าผ่านบริษัท ค้าผลผลิตนํ้าตาล จำ�กัด ซึ่งเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีมูลค่า ตามสัญญาเป็นจำ�นวน 28.50 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (พ.ศ. 2556 : 28.00 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ)

27. เครื่องมือทางการเงิน บริษัทมีความเสี่ยงอันเกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าที่เกี่ยวเนื่อง และจากการที่คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามสัญญา ซึ่งบริษัทพิจารณาใช้เครื่องมืองทางการเงินที่เหมาะสมเพื่อป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัทไม่มีนโยบายที่จะถือหรือออกเครื่องมือทางการ เงินเพื่อการเก็งกำ�ไรหรือเพื่อการค้า ยกเว้นดังต่อไปนี้ ก) ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคานํ้าตาลทราย อุตสาหกรรมอ้อยและนํ้าตาลทรายในประเทศไทยเป็นระบบแบ่งปันผลประโยชน์ระหว่างเกษตรกรชาวไร่อ้อยและโรงงานนํ้าตาล ราคาขายนํ้าตาล โควตา ข. และอัตราแลกเปลี่ยนที่บริษัท อ้อยและนํ้าตาลไทย จำ�กัด (อนท.) ขายได้จริงมีผลอย่างมากต่อการคำ�นวณราคาอ้อย ซึ่งเป็นต้นทุนหลักของ การผลิตนํ้าตาลทราย ข) ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ชาวไร่ เงินให้กู้ยืมชาวไร่ เงินให้กู้ยืมแก่บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน และ ลูกหนี้อื่น อย่างไรก็ตามเนื่องจากบริษัทมีลูกหนี้หลายรายและมีนโยบายการให้สินเชื่อที่ระมัดระวัง รวมทั้งมีการพิจารณาตั้งสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญ อย่างเหมาะสม จึงเชื่อว่าบริษัทมีความเสี่ยงจากการที่ลูกหนี้จะไม่ชำ�ระหนี้อยู่ในระดับตํ่า ค) มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับ อัตราดอกเบีย้ ในตลาด บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีทแ่ี สดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำ�นวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันหรือจ่ายชำ�ระหนี้สินในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจ ในการเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำ�หนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของ เครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกำ�หนดจากราคาตลาดล่าสุดหรือกำ�หนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม

134


28. สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน บริษัทย่อยได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุน จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน โดยได้รับสิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 โดย สิทธิประโยชน์ที่ได้รับรวมถึงการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้สำ�หรับกำ�ไรสำ�หรับปีที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม โดยมีกำ�หนด 8 ปีนับตั้งแต่ วันที่เริ่มมีรายได้จากกิจการที่ได้รับการส่งเสริม ตามรายละเอียด ดังนี้

บัตรส่งเสริม มาตราที่ได้รับ ลงวันที่ ประเภทกิจการที่ส่งเสริม วันที่เริ่มมีรายได้ วันหมดอายุ เลขที่ สิทธิประโยชน์ 2003(1)/2554 25,26,28,31,34,35 17 ส.ค. 2554 ผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีวมวลประเภท 7.1 11 พ.ค.2555 11 พ.ค.2563 1006(1)/2558 25,26,28,31,34,35 5 ม.ค. 2558 ผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีวมวลประเภท 7.1 - นอกจากนี้ตามบัตรส่งเสริมเลขที่ 2003(1)/2554 และ 1006(1)/2558 บริษัทย่อยได้สิทธิในการลดหย่อนภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ กำ�หนด 5 ปีนับจากวันที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้หมดอายุ

29. ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็นรายจ่ายฝ่ายทุน รายจ่ายฝ่ายทุนเกี่ยวกับภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน แต่ไม่ได้รับรู้ในงบการเงิน มีดังนี้

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

3,897,000 3,897,000

433,740,540 433,740,540

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 บาท บาท - -

-

หนังสือคํ้าประกันจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้าจากการที่บริษัทและบริษัทย่อยได้ออกหนังสือสัญญาคํ้าประกันการไฟฟ้า แก่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเป็นจำ�นวนเงินรวม 3.60 ล้านบาท (พ.ศ. 2556 : 3.60 ล้านบาท) ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาขายสินค้าที่ยังไม่ส่งมอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาขายสินค้าที่ยังไม่ได้ส่งมอบจำ�นวน 96.00 ล้านบาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 : 1,747.00 ล้านบาท) ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายไฟฟ้า บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นระยะเวลา 5 ปี และต่อเนื่องครั้งละ 5 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 โดยภายใต้เงื่อนไขตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าบริษัทย่อยและ กฟผ. ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขการซื้อขายไฟฟ้าตามระบุในสัญญา

30 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ในงบการเงิน การจดทะเบียนของบริษัทย่อย ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2558 บริษัท บุรีรัมย์เพาเวอร์พลัส จำ�กัด ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์ ทุนจดทะเบียน 10,000,000 บาท แบ่งออกเป็น 100,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท โดยมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่คือ บริษัท บุรีรัมย์พลังงาน จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นในอัตราร้อยละ 99.99 รายงานประจำ�ปี 2557

135


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

การวิเคราะห์และ คำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ ภาพรวมของผลการดำ�เนินงาน กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของกลุม่ บริษทั สำ�หรับ ปี2556 และ ปี2557 เท่ากับ 196.27 ล้านบาท และ 241.48 ล้านบาท ในปี 2557 กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเพิม่ ขึน้ 45.21 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.03 อันเป็นผลมาจากปริมาณขายนํ้าตาลและไฟฟ้าเพิ่มขึ้น โดยอัตรากำ�ไรขั้นต้นเพิ่มจากร้อยละ 19.24 เป็น ร้อยละ 21.18 สินทรัพย์รวม ณ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 3,897.89 ล้านบาท และ 5,385.67 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์รวม 1,487.78 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการเพิม่ ขึน้ ของลูกหนีก้ ารค้าทีม่ กี ารส่งออกช่วงสิน้ ปี และการลงทุนในส่วนของทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ เพือ่ การขยายกำ�ลังการผลิต การลงทุนเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง เช่น การผลิตกระแสไฟฟ้าจากกากอ้อย และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากกากหม้อกรอง หนี้สินรวม ณ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 3,263.21 ล้านบาท และ 3,397.26 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยการเพิ่มขึ้นของหนี้สินรวม 134.05 ล้านบาท ส่วนใหญ่เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของ เงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เพื่อจ่ายค่าอ้อยตามฤดูกาลตามปริมาณอ้อยที่เพิ่มขึ้นตามกำ�ลังการผลิต ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม ณ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 634.67 ล้านบาท และ 1,988.40 ล้านบาท ตามลำ�ดับโดยส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น 1,353.73 ล้านบาท เนื่องจากมีผลการดำ�เนินงานที่มีกำ�ไร 241.48 ล้านบาท และมีการเพิ่มทุน โดยในปี 2557 มีการเพิ่มทุน 1,112.25 ล้านบาท และการเพิ่มทุนใน ครั้งนี้ ทำ�ให้อัตราส่วน หนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(D/E ratio) จาก 5.14 เท่า เป็น 1.70 เท่า

วิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน 1. รายได้จากการขายและให้บริการ รายการ รายได้จากการขายและให้บริการ นํ้าตาลทรายขาวสีรำ� นํ้าตาลทรายดิบ รวมรายได้จากการขายนํ้าตาล กากนํ้าตาล รวมรายได้จากการขายนํ้าตาลทรายและกากนํ้าตาล รายได้จากการขายไฟฟ้า รายได้จากการขายปุ๋ย รายได้จากการขายอื่น ๆ รวมรายได้จากธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ รวมรายได้จากการขายและให้บริการ 2. รายได้อื่นๆ รายได้รวม

136

งบตรวจสอบ สำ�หรับปีสิ้นสุด 31-ธ.ค.-56 31-ธ.ค.-57 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท 886.64 22.12 908.37 2,188.11 53.42 2,129.35 3,074.75 75.54 3,037.72 293.59 7.32 290.32 3,368.34 82.66 3,328.04 132.62 3.31 182.53 275.13 6.86 285.04 202.78 6.22 100.79 610.53 16.39 568.36 3,978.87 99.25 3,896.40 29.93 0.75 23.92 4,008.80 100 3,920.32

ร้อยละ 23.17 54.31 77.48 7.40 84.88 4.66 7.27 2.57 14.50 99.38 0.62 100


สำ�หรับปีบญั ชีสน้ิ สุด 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 กลุม่ บริษทั มีรายได้จากการจำ�หน่ายและให้บริการรวมเท่ากับ 4,008.80 ล้านบาท และ 3,920.32 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึ่งรายได้จากการขายและให้บริการในปี 2557 ลดลงขึ้นจากปี 2556 เท่ากับ 88.48 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.20 เนื่องจากนํ้าตาลส่งออก ซึ่งมูลค่าตามสัญญาประมาณ 90 ล้านบาท มีการส่งมอบต้นเดือนมกราคม 2558 อย่างไรก็ตาม บริษัทเริ่มมีรายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าและปุ๋ยอินทรีย์ เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่รายได้ในปี 2557 เพิ่มสูงขึ้นเท่ากับ 59.82 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 14.67 เนื่องจากเริ่มธุรกิจจำ�หน่ายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค (กฟภ.)

1.1 รายได้จากการขายนํ้าตาลและกากนํ้าตาล

รายได้จากการขายนา้ํ ตาลทรายและกากนํา้ ตาลถือเป็นรายได้หลักของบริษทั โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 82 ถึงร้อยละ 85 ของรายได้รวมทัง้ หมด โดยรายละเอียด ของแสดงไว้ในตารางดังต่อไปนี้ ตารางต่อไปนี้แสดงปริมาณของนํ้าตาลทรายและกากนํ้าตาลที่บริษัทขาย

งบตรวจสอบ สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557 ตัน ตัน

นํ้าตาลทรายขาวสีรำ�ในประเทศ นํ้าตาลทรายดิบต่างประเทศ กากนํ้าตาล

46,511 142,826 84,590

48,265 152,947 72,362

เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น/(ลดลง) ตัน 1,753 10,121 (12,228)

ตารางต่อไปนี้แสดงราคาเฉลี่ยของนํ้าตาลทรายและกากนํ้าตาลที่บริษัทขาย

งบตรวจสอบ สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557 ตัน ตัน

นํ้าตาลทรายขาวสีรำ�ในประเทศ นํ้าตาลทรายดิบต่างประเทศ กากนํ้าตาล

รายงานประจำ�ปี 2557

19,063 15,623 3,471

18,820 13,922 4,013

เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น/(ลดลง) ตัน (243) (1,701) 542

137


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

1.2 รายได้จากธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ 1.2.1 รายได้จากการขายไฟฟ้า

สำ�หรับปีบญั ชีสน้ิ สุด 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 รายได้จากจำ�หน่ายไฟฟ้า เท่ากับ 132.62 ล้านบาท และ 182.53 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึง่ รายได้จากการ จำ�หน่ายไฟฟ้า ในปี 57 เพิ่มขึ้นจากปี 56 เท่ากับ 49.91 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 37.63 เนื่องจากปัจจัย เริ่มมีการผลิตไฟฟ้าโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ จำ�หน่าย ทำ�ให้รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าของกลุ่มบริษัทเพิ่มขึ้น

1.2.2 รายได้จากการขายปุ๋ย

สำ�หรับในปี 2556 และปี 2557 กลุ่มบริษัทมีรายได้จากการจำ�หน่ายปุ๋ยเท่ากับ 275.13 ล้านบาท และ 285.04 ตามลำ�ดับ โดยเพิ่มขึ้นเนื่องจาก กลุ่มบริษัท มีชาวไร่อ้อยที่มาเข้าร่วมโครงการส่งเสริมของบริษัทเพิ่มขึ้นทำ�ให้บริษัทมีการจำ�หน่ายปุ๋ยได้มากขึ้น

1.3 รายได้อื่นๆ

รายได้อื่นๆของบริษัทสำ�หรับปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 บริษัทมีรายได้อื่นๆ จำ�นวน 29.93 ล้านบาท และ 23.92 ล้านบาท ตามลำ�ดับ รายได้อื่น ๆโดยหลักประกอบด้วย กำ�ไรจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ หนี้สูญได้รับคืน ดอกเบี้ยรับ เป็นต้น

ต้นทุนขายสินค้าและให้บริการ 1. ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาลทรายและกากนํ้าตาล

31 ธ.ค. 2555 ล้านบาท (%)

วัตถุดิบ (อ้อย)

1,914.32

76.35

2,166.78

75.3

1,714.64

72.39

ค่าภาชนะหีบห่อ

22.69

0.90

24.47

0.85

43.36

1.83

ค่าแรงทางตรง

66.79

2.66

128.11

4.46

106.12

4.48

ค่าใช้จ่ายในการผลิต

236.49

9.43

289.08

10.06

227.37

9.60

เงินนำ�ส่งสำ�นักงานกองทุนอ้อยและนํ้าตาลทราย

267.14

10.65

265.80

9.25

277.12

11.70

2,507.43

100.00

2,874.24

100.00

2,368.61

100.00

รวมต้นทุนการผลิตนํ้าตาลและกากนํ้าตาล

งบตรวจสอบ สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557 ล้านบาท (%) ล้านบาท (%)

โดยต้นทุนวัตถุดิบสำ�หรับปีบัญชีปี 2556 และ ปี 2557 คิดเป็นร้อยละ 75.30 และ ร้อยละ 72.39 ตามลำ�ดับ ต้นทุนวัตถุดิบอ้อยลดลง เนื่องจาก บริษัทมี การซื้ออ้อยจากเกษตรกรที่อยู่ห่างจากโรงงานลดลง ทำ�ให้มีต้นทุนค่าขนส่งลด สำ�หรับปี 2557 ต้นทุนวัตถุดิบคิดเป็นร้อยละ 72.39 ตํ่ากว่าปีก่อนเล็กน้อย เนื่องจากราคานํ้าตาลในตลาดโลกในปี 57 ปรับตัวลดลง ทำ�ให้ราคารับซื้ออ้อยต่อตันลดลง

138


2. ธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ

ต้นทุนขายของธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ ที่สำ�คัญประกอบด้วยต้นทุนจากธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า และต้นทุนธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายปุ๋ย และต้นทุนการ จำ�หน่ายอื่น ๆ ต้นทุนหลักของธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าได้แก่ กากอ้อยและค่าเสื่อมราคาของอาคาร และเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ต้นทุนธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายปุ๋ย จะมี 2 ส่วน คือปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์เคมีที่ซื้อมาจำ�หน่ายต่อและ ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตขึ้นเอง โดยต้นทุนปุ๋ยที่ผลิตขึ้นเองนั้นจะ ประกอบด้วย กากหม้อกรง ค่าเสื่อมราคาของอาคาร และเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต และสารเคมีธาตุอาหารพืชที่ผสมเพื่อเพิ่มคุณภาพปุ๋ยอินทรีย์ ต้นทุน การจำ�หน่ายอื่นๆ ส่วนใหญ่จะประกอบด้วย ต้นทุนวัสดุการเกษตรเช่น ยาฆ่าแมลง พันธุ์อ้อย ที่ซื้อมาใช้ในกิจกรรมสนับสุนเกษตรกรชาวไร่อ้อย รวมถึง นํ้ามันดีเซลที่จำ�หน่ายให้ชาวไร่อ้อยใช้ในเครื่องจักรทางการเกษตร

กำ�ไรขั้นต้น

กำ�ไรขั้นต้นรวมสำ�หรับปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 เท่ากับ 765.82 ล้านบาท และ 830.63 ล้านบาท ตามลำ�ดับ หรือคิดเป็นอัตราร้อยละ 19.24 และร้อยละ 21.19 ตามลำ�ดับ การเพิ่มขึ้นของอัตรากำ�ไรขั้นต้นในปี 2557 เนื่องจากผลผลิตดีขึ้น

ค่าใช้จ่ายในการขาย

31 ธ.ค. 2555 ล้านบาท (%)

งบตรวจสอบ สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557 ล้านบาท (%) ล้านบาท (%)

ค่าขนส่ง

68.80

45.12

69.96

48.97

64.04

39.95

ค่าใช้จ่ายในการส่งออก

39.18

25.70

52.27

36.59

63.49

39.60

ค่าฝากนํ้าตาลทรายและกากนํ้าตาล

6.37

4.18

11.18

7.82

17.43

10.89

ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

38.12

25.00

9.44

6.62

15.33

9.56

รวม

152.47

100.00

142.85

100.00

160.29

100.00

ค่าใช้จา่ ยในการขายส่วนใหญ่ ได้แก่ ค่าขนส่งและค่าใช้จา่ ยในการส่งออก โดยปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อค่าขนส่ง คือ อัตราค่าขนส่งเฉลีย่ ต่อเทีย่ ว และปริมาณ นํ้าตาลที่จำ�หน่ายได้ในแต่ละปี โดยในปี 2557 ค่าใช้จ่ายในการส่งออก เพิ่มขึ้นตามปริมาณส่งออกนํ้าตาลที่เพิ่มขึ้น

รายงานประจำ�ปี 2557

139


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน)

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร งบตรวจสอบ สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ของค่าใช้จ่าย ของค่าใช้จ่าย ของค่าใช้จ่าย ในการบริหาร ในการบริหาร ในการบริหาร เงินเดือนและค่าจ้าง และค่าใช้จ่ายพนักงาน 69.88 35.42 101.61 35.59 131.08 43.60 ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ/ค่าที่ปรึกษา 16.71 8.47 6.41 2.24 14.89 4.95 ค่าใช้จ่ายยานพาหนะ 19.14 9.70 16.28 5.70 18.81 6.25 ค่าซ่อมแซม 9.07 4.60 5.34 1.87 8.51 2.83 วัสดุสำ�นักงานสิ้นเปลือง 3.49 1.77 4.35 1.52 4.41 1.46 ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ 9.78 4.96 13.36 4.68 16.96 5.64 ค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนา 7.04 3.57 7.73 2.71 5.69 1.89 ค่าใช้จ่ายรับรองและบริจาคสาธารณะกุศล 7.97 4.04 5.71 2.00 4.81 1.60 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - - 20.33 7.12 1.04 0.34 สำ�รองเพื่อการเกษียณอายุพนักงงาน 5.95 3.02 19.96 6.99 17.67 5.87 ค่าธรรมเนียมส่งเสริมอ้อยและนํ้าตาล - - 20.88 7.31 10.74 3.57 ค่าใช้จ่ายตัดจ่ายอื่น 7.50 3.80 7.49 2.62 7.98 2.65 ค่าไฟฟ้า 1.13 0.39 10.32 3.43 อื่น ๆ 40.74 20.65 30.72 10.75 47.76 15.89 รวมค่าใช้จ่ายในการบริหาร 197.27 100.00 261.29 100.00 300.59 100.00 ค่าใช้จ่ายในการบริหารหลักๆ ประกอบด้วย เงินเดือนค่าจ้างและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน และค่าธรรมเนียมหรือค่าที่ปรึกษา สำ�หรับปี 2557 ยอดค่าใช้จ่ายการบริหารเพิ่มขึ้นจากปี 2556 เท่ากับ 39.30 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.04 เกิดจากสาเหตุดังต่อไปนี้ 1) เงินเดือนและค่าจ้าง และค่าใช้จา่ ยพนักงาน เพิม่ ขึน้ เป็น 131.08 ล้านบาท หรือคิดเป็นการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 29.99 เนือ่ งจาก บริษทั มีการปรับฐานเงินเดือน ของพนักงาน และเพิ่มจำ�นวนพนักงานให้สอดคล้องกับการขยายธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย 2) ค่าธรรมเนียม และค่าทีป่ รึกษา ด้านต่างๆ เพือ่ การเตรียมพร้อมสำ�หรับการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยรวมเพิม่ ขึน้ 8.48 ล้านบาท 3) บริษัทมีการตั้งสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ชาวไร่ลดลงในปี 2557 มีการบันทึกค่าใช้จ่ายสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้ชาวไร่เพียง 1.04 ล้านบาท ลดลง 19.29 ล้านบาท หรือคิดเป็นการลดลงร้อยละ 94.88 4) ค่าไฟฟ้า และค่าใช้จ่ายอื่น เพิ่มขึ้นรวม 11.52 ล้านบาท

140


บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย์ จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานใหญ่/โรงงาน : 237

หมู่ที่ 2 ตำ�บลหินเหล็กไฟ อำ�เภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31190 โทรศัพท์ : 04-465-9020-3 โทรสาร : 04-465-9020-3 ต่อ 103, 131, 152 สำ�นักงานกรุงเทพฯ : 128/77-78 ชั้น 7 อาคารพญาไทพลาซ่า ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2216-5820-2 โทรสาร : 0-2216-5823 www.buriramsugar.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.