ANNUAL REPORT 2017 รายงานประจำป 2560
THAILAND 4.0
Sustainability through value creation
สารบัญ ปรัชญาองค์กร วิสัยทัศน์และพันธกิจ ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่นๆ ของบริษัท สารจากประธานกรรมการ สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS คณะกรรมการบริษัท รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัท ภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและบรรษัทภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายการระหว่างกัน การวิเคราะห์และอธิบายของฝ่ายจัดการ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายการทางการเงิน งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน
3 4 6 10 12 14 16 37 43 58 63 68 98 119 127 130 132 147 154 155
ปรัชญาองค์กร
ชาวไร่อ้อยมั่งคั่ง กลุ่มเคทิสมั่นคง วิสัยทัศน์ กลุม่ เคทิส เป็นองค์กรชัน้ น�ำทีม่ เี อกลักษณ์โดดเด่นระดับโลก บริหารงาน ด้วยหลักบรรษัทภิบาล บูรณาการงานด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม แบบครบวงจร ใส่ใจดูแลสังคม เสริมสร้างมูลค่าและคุณค่าของน�้ำตาล ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลอยได้ และพลังงานทีส่ ะอาดเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้ธรุ กิจเติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน
พันธกิจ ด�ำเนินธุรกิจด้วยประสบการณ์ความรอบรู้ มีความคิดทีส่ ร้างสรรค์ และมีความเป็นมืออาชีพ ให้เกิดนวัตกรรมและคุณค่า ต่อผลิตภัณฑ์ และบริการทีห่ ลากหลายตัง้ แต่ระดับต้นน�ำ้ ถึงปลายน�ำ้ สร้างฐานแหล่งวัตถุดบิ ทีย่ งั่ ยืนและมีศกั ยภาพ เพือ่ สนับสนุนโครงข่าย ธุรกิจทีท่ นั สมัยและครบวงจร เพือ่ การผลิตผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพสูง และการผลิตพลังงาน ชีวมวลทีส่ ะอาด และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม บริหารด้วยหลักคุณธรรมและธรรมาภิบาล ทัง้ ธุรกิจปัจจุบนั และการ ลงทุนในธุรกิจใหม่ อย่างคุม้ ค่าและคืนผลตอบแทนทัง้ ในรูปการเงินและ ไม่ใช่การเงินสูส่ งั คม ผูล้ งทุน ลูกค้า พนักงาน เกษตรกรและผูเ้ กีย่ วข้อง
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป 2558
2559
2560
19,328
15,006
17,525
14,352
10,888
13,062
กากนา้ํ ตาล
766
448
443
ผลตอบแทนการผลิตและจำ�หน่ายนา้ํ ตาล
222
17
-
ไฟฟ้า
538
700
584
เอทานอล
1,639
1,634
1,654
เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย
1,305
896
1,261
อืน่ ๆ
505
422
521
รายได้อน่ื
116
91
668
19,444
15,096
18,193
730
(513)
645
18,793
16,052
17,816
5,578
4,218
6,201
13,215
11,835
11,615
10,101
8,231
9,704
หนีส้ นิ หมุนเวียน
4,949
3,643
5,584
หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน
5,152
4,588
4,120
รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้
8,692
7,822
8,112
อัตราส่วนสภาพคล่อง
1.13
1.16
1.11
อัตราส่วนหนี/้ ทุน
1.16
1.05
1.20
งบกำ�ไรขาดทุน (ล้านบาท) รายได้จากการขายและการให้บริการ นา้ํ ตาล
รายได้รวม กำ�ไรสุทธิ
งบแสดงฐานะการเงิน (ล้านบาท) รวมสินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ นิ
อัตราส่วน (เท่า)
4
จุดเด่นทางการเงินเปรียบเทียบ 3 ปี รายได้รวม หน่วย : ล้านบาท
ก�ำไรสุทธิ หน่วย : ล้านบาท
19,328
17,525
15,006
116
668
91
รวม
รวม
รวม
19,444
15,096
18,193
2558
2559
2560
รายได้จากการขายและการให้บริการ
730
-513
645
2558
2559
2560
รายได้อื่น
ก�ำไรสุทธิ
รายได้จากการขายและการให้บริการ 8.5% 6.8%
2.8% 2.6%
10.9% 6.0%
2558
79.4%
4.7% 2.8%
9.4%
น�้ำตาลและโมลาส (รวมผลตอบแทนการผลิต และจ�ำหน่ายน�้ำตาล) เยื่อกระดาษฟอกขาว จากชานอ้อย เอทานอล
3.3% 3.0%
7.2%
2559
75.7%
77.1%
2560
ไฟฟ้าชีวมวล อื่นๆ
อัตราส่วนสภาพคล่อง หน่วย : เท่า
งบแสดงฐานะการเงิน หน่วย : ล้านบาท 8,692
8,112 7,822
5,152
1.13
1.16
1.11
2558
2559
2560
1.16
1.05
1.20
2558
2559
2560
4,120 4,588
อัตราส่วนหนี/้ ทุน หน่วย : เท่า
5,584
4,949 3,643
18,793
16,052
17,816
2558
2559
2560
ส่วนของผู้ถือหุ้น
หนี้สินไม่หมุนเวียน
หนี้สินหมุนเวียน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
5
ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมูลส�ำคัญอืน่ ๆ ของบริษทั ข้อมูลบริษทั ข้อมูลบริษทั
: บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”)
ประเภทธุรกิจ : ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้�ำ ตาลทราย และธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ได้แก่ ธุรกิจผลิต และจำ�หน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายเอทานอล และธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ทีต่ ง้ั สำ�นักงานกรุงเทพฯ : เลขที่ 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ทีต่ ง้ั สำ�นักงานใหญ่และโรงงาน : เลขที่ 1/1 หมูท่ ่ี 14 ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ทีต่ ง้ั โรงงาน สาขา 3
: เลขที่ 1 หมูท่ ่ี 7 ตำ�บลบ้านมะเกลือ อำ�เภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
เลขทะเบียนบริษทั
: 0107556000116
โทรศัพท ์
: 0-2692-0869 ถึง 73
โทรสาร
: 0-2246-9125, 0-2692-0876 หรือ 0-2246-9140
Website
: http://www.ktisgroup.com
เลขานุการบริษทั ั นชัยพงศ์ : นายสุชาติ พิพฒ โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ต่อ 176 Email
: cs@ktisgroup.com
นักลงทุนสัมพันธ์ : นางสาวมนธีร์ พลอยสุข และการสือ่ สารองค์กร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ต่อ 193 ต่อ 26
6
: ir@ktisgroup.com
ทุนจดทะเบียน
: 3,888,000,010 บาท
ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว
: 3,860,000,010 บาท
ข้อมูลบริษัทย่อย ธุรกิจน�ำ้ ตาล : บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : : ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย 1,215,000,000 บาท 1,215,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 42/1 หมู่ที่ 8 บ้านหาดเสือเต้น ต�ำบลคุ้งตะเภา อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โทรศัพท์ 0-5544-9010 ถึง 1, 0-5540-7241 ถึง 5
ธุรกิจน�้ำตาล : บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย จ�ำกัดประเภทธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ :
2,000,000 บาท 2,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจพลังงาน : บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด
ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า 1,260,000,000 บาท 1,260,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 555 หมู่ที่ 14 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-5633-8123 ถึง 5
ธุรกิจพลังงาน : บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด
ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า 395,000,000 บาท 395,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 77/77 หมู่ที่ 7 ต�ำบลบ้านมะเกลือ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 056-338-123 ถึง 5
ธุรกิจพลังงาน : บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด
ประเภทธุรกิจ : : ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า 350,000,000 บาท 350,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 42/2 หมู่ที่ 8 ต�ำบลคุ้งตะเภา อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจพลังงาน : บริษัท ลพบุรี ไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด
ประเภทธุรกิจ : : ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า 2,000,000 บาท 2,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจพลังงาน : บริษัท เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จ�ำกัด
ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า 1,000,000 บาท 1,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจเยือ่ กระดาษ : บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด
ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ (1) : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ (2) : ที่ตั้งโรงงาน :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษ 2,400,000,000 บาท 2,400,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 133 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 9/9 หมู่ที่ 1 ถนนอรรถวิภัชน์ ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-2247-0920
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
7
ธุรกิจปุ๋ย : บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จ�ำกัด
ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : : ทุนช�ำระแล้ว ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายปุ๋ย และสารปรับปรุงดิน 35,000,000 บาท 35,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 888 หมู่ที่ 14 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-5633-8123 ถึง 5
ธุรกิจพลังงาน : บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด
ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ (1) : ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพฯ (2) : ที่ตั้งโรงงาน :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล 256,000,000 บาท 256,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 133 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 9 หมู่ที่ 14 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-5633-8333, 0-2644-8388, 0-2644-8130-2
ธุรกิจพลังงาน : บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ :
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล 20,000,000 บาท 20,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจพลังงาน : บริษัท ลพบุรี ไบโอเอทานอล จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ :
8
ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล 50,000,000 บาท 12,500,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจ Holding : บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : : ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว : : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่
ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้น 317,000,000 บาท 317,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ : บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ :
จัดหาที่ดินเพื่อรองรับ การขยายธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ 311,000,000 บาท 311,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ : บริษัท เกษตรไทยวิวัฒน์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่
บริหารและจัดการสินทรัพย์ ของกลุ่มบริษัทฯ 61,000,000 บาท 61,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ธุรกิจส่งเสริมและพัฒนา : บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน : ทุนช�ำระแล้ว : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ :
รองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจ ของกลุ่มบริษัทฯ 10,000,000 บาท 10,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
ข้อมูลบุคคลอ้างอิงอื่นๆ หน่วยงานก�ำกับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เลขที่ 333/3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : 0-2695-9999 โทรสาร : 0-2695-9660 อีเมล์ : info@sec.or.th เว็บไซด์ : www.sec.or.th
หน่วยงานบริษัทก�ำกับจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2009-9000 โทรสาร : 0-2009-9991 ศูนย์บริการข้อมูล : 0-2009-9999 อีเมล์ : SETCallCenter@set.or.th เว็บไซด์ : www.set.or.th
นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2009-9000 โทรสาร : 0-2009-9991 ศูนย์บริการข้อมูล : 0-2009-9999 อีเมล์ : SETContactCenter@set.or.th เว็บไซด์ : www.set.or.th/tsd
ผู้สอบบัญชี บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เลขที่ 193/136-137 เลครัชดา ออฟฟิช คอมเพล็กซ์ ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 0-2264-0777, 0-2661-9190 โทรสาร : 0-2264-0789 ถึง 90 อีเมล์ : ernstyoung.thailand@th.ey.com เว็บไซด์ : www.ey.com
ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท กุดั่น แอนด์ พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด เลขที่ 127 อาคารเกษร ทาวเวอร์ ชั้นที่ 23 ยูนิต ซีและเอฟ ถนนราชด�ำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : 0-2838-1793 โทรสาร : 0-2838-1795
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
9
สารจากประธานกรรมการ แม้วา่ จะมีความตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลี ความขัดแย้งของประเทศในตะวันออกกลาง การคุกคามจาก ภัยก่อการร้ายของประเทศในเขตยุโรป แต่การเติบโตด้านเศรษฐกิจโลกกลับมีแนวโน้มฟืน้ ตัว สังเกตุได้จาก GDP อัตราเงินเฟ้อ การส่งออก อัตราความเชือ่ มัน่ ผูบ้ ริโภค ของประเทศ สหรัฐอเมริกา ประเทศในเขตยุโรป ประเทศจีน และประเทศญีป่ นุ่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง เศรษฐกิจของประเทศไทยมีแนวโน้มเติบโตอย่างช้าๆ เห็นได้จากภาคการส่งออกและการน�ำเข้าที่เพิ่มขึ้น รายได้จากการท่องเที่ยวที่สูงขึ้น และการลงทุนภาครัฐบาลและเอกชนที่ขยายตัว โดยคาดว่าปีนี้ GDP จะเพิ่มเป็น 3.6 - 3.7% แม้ว่าการบริโภคภาคเอกชนจะชะลอตัวจากรายได้ภาคการเกษตรที่หดตัว เนื่องจากราคา สินค้าเกษตรที่ยังอยู่ในระดับต�่ำ แต่ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้นตามผลประกอบการที่ดี เกื อบทุ ก ภาคธุ ร กิ จ ในขณะที่ ดุ ล การค้ า และดุ ล การช�ำ ระก็ อ ยู ่ ใ นระดั บที่ แ ข็ งแกร่ ง ท� ำให้ ส กุ ล เงิ นบาทเป็ น ที่ น่าเชื่อถือของนักลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น และอัตราแลกเปลี่ยนแข็งค่ามากขึ้นเมื่อเทียบกับ USD ในขณะที่ รัฐบาลประกาศให้มีการเลือกตั้งในเดือน พฤศจิกายน 2561 เป็นแรงขับเคลื่อนให้เกิดความเชื่อมั่นต่อการเมือง ของประเทศเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังได้ผลักดันโครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก(EEC: Eastern Economic Corridor) เป็นแผนยุทธศาสตร์ต่างประเทศภายใต้ ไทยแลนด์ 4.0 โดยมีเป้าหมายยกระดับพื้น ที่ให้เป็น World Class Economic Zone โครงการดังกล่าวเชื่อว่าจะก่อให้เกิดการลงทุน การจ้างงาน และ การท่องเที่ยว อย่างมากสู่ประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระบบอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อธุรกิจ อ้อยและน�ำ้ ตาลในประเทศไทย โดยเฉพาะการยกเลิกโควต้า ก. จะมีผลท�ำให้เกิดการแข่งขัน อย่างเสรี บริษัทต้องมี การปรับตัวในด้านคุณภาพสินค้า บริการ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ ให้ดียิ่งขึ้น เนื่องจาก ในขณะที่มีผลผลิต ถึง 10 ล้านตัน แต่ความต้องการในประเทศมีเพียงประมาณ 2.6 ล้านตัน คาดกันว่าทุกโรงงานน�ำ้ ตาลจะต้องรักษา ตลาดภายในประเทศอย่างเต็มที่ ในขณะที่ราคาน�ำ้ ตาลตลาดโลกมีแนวโน้มลดลง จากต้นปี ดังนั้นธุรกิจน�้ำตาล ต้องพัฒนาตัวเองให้แข็งแกร่งขึ้นเพื่อความรองรับกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต แนวโน้มธุรกิจเอทานอลยังมีอนาคตที่ดี แม้ว่ามีผู้ผลิตเพิ่มขึ้น แต่ความต้องการเอทานอลในประเทศ ก็เพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกัน ด้านธุรกิจเยื่อกระดาษยังคงมีผลประกอบการที่น่าพอใจ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ pulp mold มีความต้องการเพิ่มขึ้นมาก ด้านธุรกิจโรงไฟฟ้าคาดว่าจะสามารถท�ำผลงานได้ดีอย่างต่อเนื่อง จากการที่แต่ละโรงงานสามารถจัดหาเชื้อเพลิงได้อย่างเพียงพอ และธุรกิจสารปรับปรุงดินเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้น ในกลุ่มเกษตรกรชาวไร่อ้อย กลุ่ม KTIS มีประสบการณ์ ในอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลทรายมากว่าหลายสิบปี ในการส่งเสริม ปลูกต้นอ้อยและพัฒนาไปสู่น�้ำตาลทราย พลังงาน กระดาษและอื่นๆ จากการส่งเสริมและสร้างการเติบโต และความยั่งยืนของธุรกิจทั้งด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า มีการทดลองวิจัยมากมายในองค์กร เพื่อรองรับกิจการในอนาคต ตลอดจนมีบุคคลากรที่มีคุณภาพ ซื่อสัตย์ ที่เติบโตควบคู่กับองค์กรตลอดมา รวมถึงมีพื้นที่มากเพียงพอที่จะขยายธุรกิจ ด้วยจิตส�ำนึกแห่งความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ผมใคร่ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน หน่วยงานราชการ คู่ค้า ธนาคาร และ องค์กรต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ที่ได้สนับสนุนกิจการตลอดมา และเชื่อว่ากลุ่ม KTIS จะเป็นองค์กรหนึ่ง ที่ร่วมสร้างคุณค่า และ พัฒนาความเจริญรุ่งเรืองของประเทศชาติสืบต่อไป
นายปรีชา อรรถวิภัชน์ ประธานกรรมการ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
11
สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ พนักงาน ชาวไร่อ้อย หน่วยงานภาครัฐต่างๆ และคู่ค้าของกลุ่ม KTIS ทุกๆ ภาคส่วน ที่มีส่วนร่วมในธุรกิจในกลุ่ม KTIS เติบโตได้อย่างมั่นคงจนถึงทุกวัน ผลการด�ำเนินงานปี 2560 เทียบกับปีที่แล้ว กลุ่ม KTIS มีผลผลิตอ้อยจ�ำนวน 8.7 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 1.2 ล้านตัน และได้ผลผลิตน�ำ้ ตาล 940,000 ตัน เพิม่ ขึน้ 220,000 ตัน ส่งผลให้ผลประกอบการในปีนฟ ี้ น้ื ตัวอย่างเห็นได้ชดั ในขณะที่ ราคาน�้ำตาลในตลาดต่างประเทศก็ปรับตัวดีขึ้นในระดับหนึ่ง ขณะเดียวกัน ธุรกิจเอทานอลมีผลประกอบการทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ ง ธุรกิจไฟฟ้าเริม่ มีผลประกอบการทีด่ ขี นึ้ และธุรกิจ เยื่อกระดาษ ผลิตภัณฑ์ pulp mold ก็มีความต้องการและราคาสูงขึ้น ท�ำให้ผลประกอบการโดยรวมของกลุ่ม KTIS ได้เพิม่ ขึน้ อย่างมัน่ คง ส่วนธุรกิจด้านสารปรับปรุงดินได้มกี ารปรับปรุงธาตุอาหารและเครือ่ งมืออุปกรณ์ทปี่ รับใช้ ในไร่ออ้ ย ได้อย่างคล่องตัว ท�ำให้มคี วามต้องการผลิตภัณฑ์เพิม่ ขึน้ มากพอสมควร คาดว่าจะมีผลงานทีช่ ดั เจนในปีตอ่ ไป ปี 2561 สถานการณ์ ในตลาดโลกที่อาจมีผลกระทบต่อธุรกิจอ้อยและน�้ำตาลทรายคือ ด้านผลผลิตน�้ำตาล ทัว่ โลกจะเพิม่ ขึน้ ท�ำให้คาดการณ์กนั ว่าจะเกิด surplus ระหว่าง การผลิตและการบริโภคประมาณ 3 - 5 ล้านตัน ประเทศ ในกลุ่ม EU ก็เริ่มจะสามารถส่งออกน�้ำตาลได้ แต่ก็มีปัจจัยด้านบวกคือ ประเทศบราซิลได้ลดสัดส่วนการท�ำน�้ำตาล เนื่องจากปริมาณอ้อยที่ลดลง และเพิ่มสัดส่วนการผลิตเอทานอลมากขึ้น เนื่องจากราคาเอทานอลเพิ่มสูง ในขณะที่ ความต้องการน�ำเข้าของจีน อินโดนีเซีย ญีป่ นุ่ และประเทศในแถบเอเชียยังมีความต้องการค่อนข้างสูง ซึง่ ท�ำให้ประเทศไทย ยังคงได้ประโยชน์ดา้ นภูมศิ าสตร์การแข่งขันเพือ่ การส่งออก ในด้านสถานการณ์ในประเทศนัน้ คาดว่าจะมีเปลีย่ นแปลงกฎหมายเกีย่ วกับอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย เพือ่ ทีจ่ ะลดประเด็นทีป่ ระเทศบราซิลได้กล่าวหาประเทศไทยต่อ WTO ซึง่ คาดกันว่าการปรับแก้ ไขดังกล่าว จะมีการยกเลิก โควต้าน�ำ้ ตาลทราย เกิดการลอยตัวราคาน�ำ้ ตาลภายในประเทศ ระบบอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาลจะมีสต๊อกน�ำ้ ตาลส่วนหนึง่ เพื่อป้องกันขาดแคลนน�้ำตาลบริโภคในประเทศ กลุ่ม KTIS เองก็ ได้เตรียมแผนและกลยุทธ์เพื่อรับมือกับสถานการณ์ ที่จะเกิดนี้เพื่อลดผลกระทบต่อลูกค้าของกลุ่ม KTIS ทั้งนี้กลุ่ม KTIS ยังเชื่อมั่นว่าอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลทราย มีการพัฒนาระบบอย่างต่อเนือ่ งมีความก้าวหน้าต่อไป ในด้านนวัตกรรมและการพัฒนาด้านธุรกิจ กลุม่ KTIS ได้จดั ท�ำโครงการศึกษาและวิจยั ต่างๆ เช่น โครงการปรับปรุง และพัฒนาพันธุ์อ้อยให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น โครงการพันธุ์อ้อยที่ให้ผลผลิตและความหวานที่เหมาะ ต่อการเก็บเกี่ยวในต้นฤดูหีบ โครงการประหยัดการใช้พลังงานในโรงงาน โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการ ศึกษาและวิจัยผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องจากน�้ำตาล และผลพลอยได้อื่นๆ และน�ำของเสีย ในโรงงานมาพัฒนาให้เกิดมูลค่า สร้างคุณประโยชน์ตอ่ ไป เป็นต้น ตลอดจนถ่ายทอดเทคโนโลยีในด้านการปลูกอ้อย เพิม่ ผลผลิต และอุปกรณ์เครือ่ งมือ ให้ชาวไร่ออ้ ยได้มตี น้ ทุนต�ำ่ ทีส่ ดุ โดยค�ำนึงถึงสิง่ แวดล้อมของชุมชน ในด้านความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและชุมชน กลุม่ KTIS ได้ลงทุนปรับปรุง เครือ่ งจักรเพิม่ เติมในระบบเพือ่ ลด และป้องกันปัญหามลภาวะในทุกโรงงาน รวมถึงการปรับทัศนีย์ภาพของบริเวณโรงงานและชุมชนโดยรอบ การร่วมมือ กับสถานศึกษาในการท�ำโครงการผลิตศัตรูทางธรรมชาติแทนการใช้สารเคมี การรณรงค์ส่งเสริมการตัดอ้อยสด แทนการเผาอ้อย โดยการส่งเสริมเพิม่ จ�ำนวนรถตัดอ้อยสดและลดปัญหาแรงงานตัดอ้อยทีข่ าดแคลนในบางพืน้ ที่ เป็นต้น ท้ายนี้ ผมมีความเชื่อมั่นว่ากลุ่ม KTIS จะเป็นองค์กรที่เติบโตอย่างมั่นคง เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาธุรกิจ สร้างสังคม อาชีพและความเจริญก้าวหน้าให้แก่ประเทศไทยและตลาดโลกต่อไป
นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS
12
คณะกรรมการบริษัท
1
8
2
9
10
1. นายปรีชา อรรถวิภชั น์
4. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
2. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี
5. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
ประธานกรรมการ
กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงินกลุ่ม KTIS กรรมการบริหารความเสี่ยง
3. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS กรรมการบริหารความเสี่ยง
กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS กรรมการบริหารความเสี่ยง
6. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS กรรมการบริหารความเสี่ยง
7. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
14
3
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ
11
4
5
12
6
7
13
14
15
8. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
12. นายคุนฮิ โิ กะ ทะฮะระ
9. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
13. นายอภิชาต นุชประยูร
10. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์
14. นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋
11. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
15. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการตรวจสอบ
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
15
รายละเอียดเกีย่ วกับผูบ้ ริหารและผูม้ อี �ำ นาจควบคุมบริษทั ชือ่ -สกุล นายปรีชา อรรถวิภชั น์ อายุ 79 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› ประธานกรรมการ ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (Industrial Engineering & Management), Oklahoma State University ›› Director Certification Program (DCP 39/2004) ›› Audit Committee Program (ACP 11/2006) ›› Finance for Non-Finance Director (FND 8/2004) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.15 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556) ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ
บริษัท ที เอส ฟลาวมิลล์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยชูการ์ เทอร์มิเนิ้ล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปูนซิเมนต์ ไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2555 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2547 – ปัจจุบัน 2536 – ปัจจุบัน
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ
บริษัท ที เอส จี แอสเซ็ท จำ�กัด บริษัท ที เอส อุตสาหกรรมน้�ำ มัน จำ�กัด บริษัท แพน-เปเปอร์ (1992) จำ�กัด บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ศิริเจริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เอส.ไอ. พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท เอช.ซี.สตาร์ค จำ�กัด ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2543 – 2557 2551 – 2556
16
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
บริษัท ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี อายุ 74 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› ประธานกรรมการบริหาร ›› ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี สาขาการเงินและธนาคาร คณะพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ›› Director Accreditation Program (DAP 54/2006) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556) ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 – ปัจจุบัน
›› กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› ประธานกรรมการบริหาร ›› ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2550 – ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการ นายกกิตติมศักดิ์ ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ
บริษัท น้�ำ ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด สมาคมการค้าผู้ผลิตเอทานอลไทย “TEMA” นิติบุคคล อาคารชุด ทิวริเวอร์เพลส บริษัท ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เดอะแกรนด์ ยูบี จำ�กัด บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2557 – 2559 2553 – 2557 2553 – 2556 2550 – 2555
ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ประธานคณะกรรมการกรรมการ และประธาน กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ
นิติบุคคลอาคารชุดลิเบอร์ตี้พลาซ่า นิติบุคคลอาคารชุดลิเบอร์ตี้พลาซ่า บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
17
ชือ่ -สกุล นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล อายุ 65 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี กิตติมศักดิ์ศิลปศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ›› Director Accreditation Program (DAP 96/2012) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.00 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ›› บิดาของนาย ศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล ›› พี่ชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ ›› พี่ชายของนายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล ›› พี่ชายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556) ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 – ปัจจุบัน
›› กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
กลุ่มบริษัทฯ ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน
18
กรรมการ กรรมการ ประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษา กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จำ�กัด บริษัท หทัยจรูญ เอกโฮลดิ้ง จำ�กัด มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จำ�กัด บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท 3เอสโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด บริษัท จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เอส.ไอ. พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด บริษัท เอ็พโก้ อินเตอร์เทรด จำ�กัด
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2547 – ปัจจุบัน 2546 – ปัจจุบัน 2546 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน 2541 – ปัจจุบัน 2535 – ปัจจุบัน 2533 – ปัจจุบัน 2532 – ปัจจุบัน 2525 – ปัจจุบัน 2516 – ปัจจุบัน 2506 – ปัจจุบัน
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด บริษัท สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท ที.วาย.ที.เทรดดิ้ง จำ�กัด บริษัท ไทยนอร์ทเทอร์น โมลาส จำ�กัด บริษัท ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
ประธานผู้ก่อตั้ง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ
ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา 2552 – 2558 2552 – 2558 2551 – 2558 2541 – 2558 2538 – 2558 2551 – 2556 2555 2555 2555
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่บริษัทฯ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท นิวไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท นิวรวมผล จำ�กัด บริษัท เอกวิษณุ จำ�กัด บริษัท ที.ไอ.ธุรกิจ จำ�กัด บริษัท นครสวรรค์การเกษตร จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลเอกผล จำ�กัด บริษัท ร่วมกิจอ่างทอง คลังสินค้า จำ�กัด บริษัท ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล อายุ 53 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิตคอมพิวเตอร์ (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› ปริญญาโท สาขาวิชา MBA, Washington State University, USA ›› หลักสูตรการบริหารจัดการ ด้านความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ 2 (2554) ›› หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ รุ่นที่ 3 (2553) ›› หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง วิทยาลัยการค้าและตลาดทุน รุ่นที่16 (2556) ›› Director Accreditation Program (DAP 96/2012) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.705 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ›› น้องชายของนายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล ›› น้องชายของนายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล ›› น้องชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
19
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2559 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัท ›› กรรมการ ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน
20
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ
บริษัท จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท หทัยจรูญ เอกโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด บริษัท ที.วาย.ที.เทรดดิ้ง จำ�กัด บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด บริษัท เคทิสวิจัยและพัฒนา จำ�กัด บริษัท 3เอสโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด บริษัท ไทยชูการ์มิลเลอร์ จำ�กัด บริษัท ไทยนอร์ทเทอร์น โมลาส จำ�กัด บริษัท ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลเอกผล จำ�กัด บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด บริษัท เอ็นเอสซี (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท เอ็พโก้ อินเตอร์เทรด จำ�กัด บริษัท เอส.ไอ. พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด บริษัท ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จำ�กัด บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด King Wan Corporation Limited (Singapore)
ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา 2556 – 2559 2555 – 2556
2558 2552 – 2558 2552 – 2558
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายธุรกิจ ชีวพลังงานและผลิตภัณฑ์ ›› กรรมการ ›› ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายธุรกิจ ชีวพลังงานและผลิตภัณฑ์ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด
บริษัท นครสวรรค์การเกษตร จำ�กัด บริษัท นิวไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท นิวรวมผล จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ 64 (ปี) อายุ ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท ›› กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา ›› ปริญญาบัตร วปอ. 2549 (ปรอ.19) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ›› Director Accreditation Program (DAP 96/2012) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.320 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ›› น้องสาวของนายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล ›› พี่สาวของนายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล ›› พี่สาวของนายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม) ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 – ปัจจุบัน
›› กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
กลุ่มบริษัท ›› กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
21
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ภาคการธุรกิจ ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน 2539 – ปัจจุบัน 2538 – ปัจจุบัน 2526 – ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร เจ้าของผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กรรมการรองผู้จัดการ กรรมการบริหาร
บริษัท เคทิสวิจัยและพัฒนาจำ�กัด บริษัท หทัยจรูญเอกโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท 3 เอส โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท ที.วาย.ที.เทรดดิ้ง จำ�กัด บริษัท ไทยนอร์ทเทอร์น โมลาส จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลเอกผล จำ�กัด บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด บริษัท ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด หนังสือพิมพ์สวรรค์นิวส์ บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
ภาคการศึกษา 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2541 – ปัจจุบัน 2523 – ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร ประธานคณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา วิทยาลัยอาชีวศึกษาวิริยาลัยนครสวรรค์
ภาควิชาการ 2558 – ปัจจุบัน
ผู้ทรงคุณวุฒิ
คณะอนุกรรมการกองทุนยุติธรรมประจำ�จังหวัดนครสวรรค์
ภาคเศรษฐกิจ 2556 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน
ประธาน ประธานกิตติมศักดิ์ กรรมการ
2543 – ปัจจุบัน
กรรมการ
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาและแก้ ไขปัญหาเศรษฐกิจ จังหวัดนครสวรรค์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ภาคบริหาร 2558 – ปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน
ประธาน อนุกรรมการ
2552 – ปัจจุบัน
กรรมการ
ศูนย์ประสานงานองค์การเอกชนประจำ�จังหวัดนครสวรรค์ อำ�นวยการกระจายอำ�นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับจังหวัด จังหวัดนครสวรรค์ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ จังหวัดนครสวรรค์
ภาคสังคม 2551 – ปัจจุบัน
ที่ปรึกษา
สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดนครสวรรค์
22
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภทธุรกิจ ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2556 – 2558
กรรมการบริหาร
2555 – 2557 2554 – 2558 2554 – 2558 2553 – 2557 2553 – 2555 2553 – 2557 2552 – 2559 2550 – 2554 2550 2549 – 2555 2549 – 2553 2548 – 2550 2546 – 2559
รองประธาน รองประธาน ที่ปรึกษา กรรมการ รองเลขาธิการ นายกสมาคม กรรมการ ที่ปรึกษา สมาชิก กรรมการ ประธาน นายกสมาคม กรรมการ
2535 – 2549 2532 – 2534 2534 – 2536
กรรมการ นายกเหล่ากาชาด นายกเหล่ากาชาด
สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ศูนย์ประสานงานองค์การเอกชนประจำ�จังหวัดนครสวรรค์ ผู้ตรวจราชการสำ�นักนายกรัฐมนตรีภาคประชาชน ด้านวิชาการ เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 42 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนสตรีนครสวรรค์ คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดนครสวรรค์ ผู้ตรวจราชการสำ�นักนายกรัฐมนตรี ภาคประชาชน ด้านเศรษฐกิจ สมัชชาแห่งชาติ เขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 1 สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดนครสวรรค์ คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการกลุ่มภาคเหนือ ตอนล่าง 2 คณะกรรมการอ้อยและน้�ำ ตาลทราย เหล่ากาชาดจังหวัดแพร่ เหล่ากาชาดจังหวัดมหาสารคาม
ชือ่ -สกุล นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล อายุ 59 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี ทันตแพทยศาสตร์ บัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ›› Director Accreditation Program (DAP 96/2012) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.153 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ›› น้องชายของนายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล ›› น้องชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ ›› พี่ชายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556)
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
23
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2559 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัท ›› กรรมการ ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมกา กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด บริษัท หทัยจรูญเอกโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท 3เอส โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิสวิจัยและพัฒนา จำ�กัด บริษัท ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท นครสวรรค์แพ่ซ่งง้วน จำ�กัด บริษัท นครสวรรค์ร่วมทุนพัฒนา จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท ร่วมทุนเทรดดิ้งนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จำ�กัด บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง จำ�กัด ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2556 – 2559 2555 – 2556
2553 – 2555
24
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายธุรกิจ อ้อยและน้ำ�ตาล ›› กรรมการ ›› ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ธุรกิจอ้อยและน้ำ�ตาล ›› กรรมการ ›› รองกรรมการผู้จัดการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด
บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อายุ 66 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการอิสระ ›› ประธานกรรมการตรวจสอบ คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาโท M.Sc. (Petroleum Engineering), New Mexico Institute of Mining and Technology, USA ›› ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ›› ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 48 ›› หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการ ตลาดทุน รุ่นที่ 8 (วตท.8) ›› Director Accreditation Program (DAP 53/2006) ›› Audit Committee Program (ACP 24/2008) ›› Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS 6/2006) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 3 ปี 10 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 26 กุมภาพันธ์ 2557) ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2557 – ปัจจุบัน
›› กรรมการอิสระ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› ประธานกรรมการตรวจสอบ
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2543 – ปัจจุบัน
ประธานกรรมการ
มูลนิธิเพื่อสถาบันฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรด้านปิโตรเลียม ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2556 – 2557 2553 – 2558 2553 – 2556 2552 – 2555 2551 – 2552
กรรมการ กรรมการ กรรมการ อธิบดี รองปลัด
บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
ชือ่ -สกุล นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์ อายุ 61 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการอิสระ ›› กรรมการตรวจสอบ คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› ประกาศนียบัตรชั้นสูงการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ›› ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ›› ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) ทะเบียนเลขที่ 3349 ›› ผู้ตรวจสอบภายในรับอนุญาต (CPIA) ›› ปริญญาบัตร วปอ.2548 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
25
วุฒิบัตรพระราชทาน วทบ.44 สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง กองทัพบก ›› ประกาศนียบัตรชั้นสูง ปศส.1, ปรม.1, ปปร.11 สถาบันพระปกเกล้า ›› ประกาศนียบัตร สจว.81 สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง ›› ประกาศนียบัตร บรอ.1 สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ ›› ประกาศนียบัตรชั้นสูง บมช.3, สำ�นักงานข่าวกรองแห่งชาติ ›› ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 6 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ›› Study Meet on Strategic Merger and Acquisition for SMEs C43 ปี 2010 ประเทศเกาหลี ›› Study Mission to Nonmember Countries on Knowledge Creating Enterprises ปี 2009 ประเทศเยอรมัน ›› China-ASEAN Young Entrepreneurs Forum ปี 2008 ประเทศจีน ›› ASEAN-China Young Entrepreneurs Workshop ปี 2008 ประเทศบรูไน ›› Top Management Forum : Corporate Governance ปี 2003 ประเทศญี่ปุ่น ›› The Training Program on Industrial Property Rights (Fundamental Course for IP Practitioners (EIPF)) ปี 2002 ประเทศญี่ปุ่น ›› Financing and Management Development in Market Oriented Economies ปี 1998 ประเทศออสเตรเลียInternational Forum on SMEs : Acceleration Growth and Enhancing Competitiveness n the Knowledge Economy, ปี 2001 ประเทศอินเดีย ›› Director Accreditation Program (DAP 35/2009) ›› Audit Committee Program (ACP 13/2013) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556) ››
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2555 – ปัจจุบัน
›› กรรมการตรวจสอบ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› กรรมการอิสระ
2552 – ปัจจุบัน
›› ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัท สุรพลฟู้ดส์ จำ�กัด (มหาชน)
›› กรรมการอิสระ
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2558 – ปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน 2555 – ปัจจุบัน
2553 – ปัจจุบัน
2538 – ปัจจุบัน 2536 – ปัจจุบัน 2536 – ปัจจุบัน 2534 – ปัจจุบัน
26
ประธานกรรมการตรวจสอบและ กรรมการอิสระ ผู้พิพากษาสมทบ คณะอนุ กรรมการพิจารณาผู้สมัคร เข้ารับการคัดเลือกเพื่อรับรางวัล องค์กรโปร่งใส อนุกรรมการส่งเสริมและบ่มเพาะ วิสาหกิจและการจัดการทรัพย์สินทาง ปัญญาในสถาบันอุดมศึกษา (UBI) กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ
บริษัท เอ เอ อีเลคทริ ไล จำ�กัด ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
สำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
บริษัท สหพร แอนด์ โก จำ�กัด บริษัท ซันโกร่า จำ�กัด บริษัท ดีบีเอ็มที จำ�กัด บริษัท เอส.วี.เอฟเวอร์กรีน จำ�กัด
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2555 – 2558
›› ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัท กันกุลเอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด (มหาชน)
›› กรรมการอิสระ ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง
2554 – 2557 2554 – 2557
2555 – 2556 2552 – 2556 2552 – 2554 2551 – 2555 2549 – 2552 2548 – 2558 2548 – 2549 2548 – 2554 2548 – 2554 2548 – 2554 2545 – 2549 2543 – 2545
คณะอนุกรรมการป้องกันการทุจริต ด้านสังคม ประธานคณะทำ�งานคัดกรองผู้สมัคร เข้ารับการคัดเลือกเพื่อรับรางวัล องค์กรโปร่งใส ›› กรรมการตรวจสอบ ›› กรรมการอิสระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ›› ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ›› กรรมการอิสระ ›› กรรมการตรวจสอบ ›› กรรมการอิสระ ›› ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ›› กรรมการอิสระ ›› กรรมการตรวจสอบ ›› กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้พิพากษาสมทบ กรรมการเหรัญญิก ประธานคณะทำ�งานบัญชีและการเงิน ที่ปรึกษาคณะกรรมการตรวจสอบ รองประธานคณะกรรมการกฎหมาย ภาษีธุรกิจและการลงทุน
สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด ประจำ�คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท กันกุลเอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เอเซียไฟเบอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สตาร์ ซานิทารีแวร์จ�ำ กัด (มหาชน) สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง หอการค้าไทย และ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย และ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ชือ่ -สกุล ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร 75 (ปี) อายุ ตำ�แหน่ง ›› กรรมการอิสระ ›› ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ›› กรรมการตรวจสอบ คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ›› Director Accreditation Program (DAP 97/2012) ›› Audit Committee Program (ACP 41/2012) ›› Monitoring Fraud Risk Management (MFM 8/2012) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
27
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 – ปัจจุบัน
›› กรรมการอิสระ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› ประธานกรรมการบริหาร
ความเสี่ยง ›› กรรมการตรวจสอบ ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา 2555 – 2556
›› กรรมการอิสระ
บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด
›› กรรมการตรวจสอบ
ชือ่ -สกุล นายอิสกันต์ ไกรวิทย์ อายุ 74 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการอิสระ ›› ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (บช.บ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ›› ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ North Dagota State University U.S.A ›› Certificate, American Institute of Banking (New York) U.S.A. ›› Director Accreditation Program (DAP 97/2012) ›› Audit Committee Program (ACP 41/2012) ›› Monitoring Fraud Risk Management (MFM 8/2012) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556)
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 – ปัจจุบัน
›› กรรมการอิสระ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› ประธานกรรมการสรรหาและ
พิจารณาค่าตอบแทน ›› กรรมการบริหารความเสี่ยง ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา 2555 – 2556
28
กรรมการอิสระ
บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นายพูนศักดิ์ บุญสาลี อายุ 69 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการอิสระ ›› กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาเอก ศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ( ศศ.ด. ) การบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา ›› ศศ.ม. (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ›› บธ.ม. (การจัดการ) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ›› บธ.ด.(กิตติมศักดิ์) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ›› Director Accreditation Program (DAP 97/2012) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556) ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2559 – ปัจจุบัน
›› กรรมการ
บริษัท ศักดิ์สยามลิสซิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
›› ประธานกรรมการบริหาร
2556 – ปัจจุบัน
›› กรรมการอิสระ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› กรรมการสรรหาและพิจารณา
ค่าตอบแทน ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา 2538 – 2559
›› กรรมการ
บริษัท ศักดิ์สยามลิสซิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
›› ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
2555 – 2556
กรรมการอิสระ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ชือ่ -สกุล นายคุนฮิ โิ กะ ทะฮะระ อายุ 41 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ›› ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› Faculty of Economics , Hitotsubashi University ›› Director Accreditation Program (DAP 135/2017) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 7 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 12 พฤษภาคม 2560)
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
29
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2560 – ปัจจุบัน
›› กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
กลุ่มบริษัทฯ ›› ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การเงิน ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา 2559 – ปัจจุบัน 2554 – 2559 2553 – 2554 2552 – 2553 2548 – 2552 2547 2545 – 2547 2543 – 2545
Assistant to General Manager, Grain Oils & Sweeteners Dept. Assistant to General Manager, Sweeteners & Beverages Dept. Assistant to General Manager, Grain & Sweeteners Dept. Senior Staff of Grain & Sweeteners Dept. (London) Sales Manager Staff Member of Sweeteners & Beverages Dept. Staff Member of Coffee & Alcoholic Beverages Dept Staff Member of Food Dept.,No.2 (Tokyo)
Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Europe Ltd. (London) Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd.
ชือ่ -สกุล นายอภิชาต นุชประยูร 45 (ปี) อายุ ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม ›› ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ›› ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายธุรกิจชีวภาพ คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› ปริญญาโท Master of Management สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› Director Accreditation Program (DAP 96/2012) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.000 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556)
30
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2559 – ปัจจุบัน 2558 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายธุรกิจ ชีวภาพ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัทฯ กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2558 – ปัจจุบัน
2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2543 – ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ›› กรรมการ ›› ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ KTIS R&D กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร
บริษัท ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด บริษัท ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด บริษัท ที.วาย.ที.เทรดดิ้ง จำ�กัด บริษัท ซันไชน์เอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จำ�กัด
บริษัท ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลเอกผล จำ�กัด
ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา 2548 – 2558 2548 – 2558 2548 – 2558 2556 – 2557 2555 – 2556 2551 – 2556 2548 – 2555 2558
รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ ผู้อำ�นวยการอาวุโสสายงานวิศวกรรม ผู้อ�ำ นวยการอาวุโสสายงานวิศวกรรม กรรมการและกรรมการบริหาร รองกรรมการผู้จัดการ กรรมการ
บริษัท น้�ำ ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์ พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด บริษัท ศิริเจริญเอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋ อายุ 47 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (National University of Singapore) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.558 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 29 มกราคม 2556) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
31
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 – ปัจจุบัน
กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั
ปัจจุบัน ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2556 – ปัจจุบัน 2555 – ปัจจุบัน 2555 – ปัจจุบัน 2555 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2547 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน 2544 – ปัจจุบัน 2539 – ปัจจุบัน 2537 – ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ
บริษัท เอ็พโก้ อินเตอร์เทรด จำ�กัด บริษัท ศิริเจริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จำ�กัด Grand Helio Pte.Ltd. Soon Zhou Investments Pte. Ltd. Gold Topaz Pte. Ltd. Gold Hyacinth Development Pte. Ltd. Bukit Timah Green Development Pte. Ltd. Nanyang International Education (Holdings) Ltd. Chang Li Investments Pte. Ltd. Li Ta Investments Pte. Ltd. Soon Li Investments Pte. Ltd. บริษัท เอส.ไอ. พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด King Wan Industries Pte. Ltd. Xylem Investments Pte. Ltd. King Wan Development Pte. Ltd. King Wan Construction Pte. Ltd. K&W Mobile Loo Services Pte. Ltd. ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2547 – 2557 2546 – 2557
กรรมการ กรรมการ
บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล อายุ 33 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› กรรมการ ›› กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม ›› ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการสำ�นักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ›› ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 4.940 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ›› บุตรชายของนายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล ›› หลานชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ ›› หลานชายของนายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล ›› หลานชายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล จำ�นวนปีทเ่ี ป็นกรรมการ 2 ปี 7 เดือน (วันที่ได้รับแต่งตั้ง 14 พฤษภาคม 2558)
32
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2558 – ปัจจุบัน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
›› กรรมการ ›› ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการสำ�นักประธาน
เจ้าหน้าที่บริหาร ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน 2558 – ปัจจุบัน 2558 – ปัจจุบัน 2558 – ปัจจุบัน 2558 – ปัจจุบัน 2555 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท ศิริเจริญเอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด บริษัท ซันไชน์เอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด บริษัท ที.วาย.ที.เทรดดิ้ง จำ�กัด บริษัท ที.ไอ.เอส.เอส จำ�กัด บริษัท ภูมิพัฒนาธุรกิจ จำ�กัด บริษัท สิบสิริสวัสดิ์ จำ�กัด บริษัท อะโกร เอทานอล จำ�กัด บริษัท อี.พี.ซี.เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท รวมผลอุตสากรรมนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท วิภาราม นครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลเอกผล จำ�กัด บริษัท ภูเก็ตเพิร์ลรีสอร์ท จำ�กัด บริษัท เอส.ไอ.พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด บริษัท ศิริเจริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จำ�กัด บริษัท เอส.ไอ.ศิริเจริญ จำ�กัด บริษัท ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2558 – 2560
กรรมการ
บริษัท ภูมิเลิศ บิซซิเนส จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นางน้อมจิต อัครเมฆินทร์ อายุ 58 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› ผู้อ� ำ นวยการฝ่ายบัญชี คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
33
ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2555 – ปัจจุบัน
ผู้อำ�นวยการฝ่ายบัญชี
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : ไม่มี ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา 2551 – 2555
ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป
บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด
ชือ่ -สกุล นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ อายุ 55 (ปี) ตำ�แหน่ง ›› เลขานุการบริษัท วันที่ ได้รบั แต่งตัง้ ›› 14 พฤษภาคม 2556 คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม ›› ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ›› ปริญญาตรี บริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ›› Company Secretary Program (CSP 53/2013) ›› Board Reporting Program (BRP 12/2013) ›› Effective Minute Taking (EMT 30/2014) ›› Company Reporting Program (CRP 8/2014) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.00 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ
ตำ�แหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 – ปัจจุบัน
เลขานุการบริษัท
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ปัจจุบัน ปัจจุบัน
กรรมการ กรรมการ
บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด ประสบการณ์ท�ำ งานทีผ่ า่ นมา
2539 – 2556 2548 – 2556 2537 – 2539 2532 – 2537
34
ผู้จัดการโรงงาน ผู้จัดการโรงงาน ผู้จัดการโรงงาน รองผู้จัดการโรงงาน
บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้�ำ ตาล จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด บริษัท น้�ำ ตาลเกษตรไทย จำ�กัด
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
35
บริษัท ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด
บริษัท สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด
บริษัท นครสวรรค์ร่วมทุนพัฒนา จำ�กัด
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
บริษัท เคทิสวิจัยและพัฒนา จำ�กัด
บริษัท น้ำ�ตาลเอกผล จำ�กัด
บริษัท เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด
X, V
บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด
บริษัท เอส.ไอ.พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด
บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จำ�กัด
บริษัท ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
I, V
บริษัท ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จำ�กัด
บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด
บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จำ�กัด
บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด
บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด
X, V
บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด
X, V
บริษัท น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
X, V
1 X,V
บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
บริษัทย่อย
บริษทั บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
X, V
I, V
I, V
X, V
X, V
X, V
I, V
X, V
X, V
X, V
X, V
X, V
I, V
X, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, II, V, VI
I, II, V, IV I, V
3
2
รายละเอียดกรรมการบริษทั ย่อย และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง
I, V
X, V
X, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, II, V, IV
4
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, II, V, IV
5
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, II, V, IV
6
I, III, IV
7
I, III
8
I, VI, IV
9
I,VI
10
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I,V
11
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I,V
12
I,V
13
I, V
I,V
14
I, III
15
V
16
36
X, V
บริษัท ศิริเจริญเอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด
บริษัท ศิริเจริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จำ�กัด
บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
6
หมายเหตุ (2) 1. นายปรีชา อรรถวิภัชน์ 2. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล 3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ 4. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี 5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล 6. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล 7. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร 8. นายสถาพร โคธีรานุรักษ์
10
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
11
I, V
12
9. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์ 10. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี 11. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล 12. นายอภิชาต นุชประยูร 13. นายคุนิฮิโกะ ทะฮะระ 14. นางสาวฉั่ว อิ๋ง อิ๋ง 15. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา 16. นางน้อมจิต อัครเมฆินทร์
I, V
9
บริษัท อี.พี.ซี. เพาเวอร์ จำ�กัด
8
I, V
7
บริษัท อะโกร เอทานอล จำ�กัด
หมายเหตุ (1) x = ประธานกรรมการบริษัทฯ I = กรรมการบริษัท II = กรรมการบริหาร III = กรรมการตรวจสอบ IV = กรรมการบริหารความเสี่ยง V = ผู้บริหาร VI = กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน VII = ผู้มีอำ�นาจควบคุม
บริษัท ร่วมทุนเทรดดิ้งนครสวรรค์ จำ�กัด
I, V
5
I, V
บริษัท ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด
I, V
4
บริษัท สิบสิริสวัสดิ์ จำ�กัด
บริษัท ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จำ�กัด
3
I, V
บริษัท ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด
2
บริษัท ภูมิพัฒนาธุรกิจ จำ�กัด
1
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
บริษทั
13
I, V
14
15
16
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษัทฯและบริษัทย่อยภายใต้ กลุ่ม เคทิส เป็นกลุ่มบริษัทฯ ที่ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายอย่างครบวงจรรายใหญ่อันดับ 3 ของประเทศ โดยกลุ่มบริษัทฯ มีโรงงานผลิต น�้ำตาลทรายทั้งสิ้น 2 โรงงาน และด�ำเนินการเช่าโรงงานน�้ำตาลอีกหนึ่งแห่ง นอกจากนี้ยังมีโรงงานผลิต เอทานอล โรงงานผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โรงไฟฟ้าชีวมวล และโรงงานผลิตวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ณ ปัจจุบัน กลุ่มบริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจ ทั้งสิ้น 2 ประเภทคือ
1. ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย บริษัทฯ ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายให้กับลูกค้าทั้งในและต่างประเทศผ่าน KTIS, TIS และ KTIS สาขา 3 โดยผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ สามารถ จ�ำแนกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ (Refined Sugar) น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) และน�ำ้ ตาลทรายดิบ (Raw Sugar)
2. ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทรายของบริษทั ฯ ท�ำให้เกิดธุรกิจต่อเนือ่ งจากการน�ำวัสดุเหลือใช้และของเสียจากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล อาทิ กากน�ำ้ ตาล และชานอ้อยไปเข้าสู่กระบวนการผลิตในบริษัทย่อย โดยธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องดังกล่าว ได้แก่
(1) ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยและบรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย บริ ษั ท ฯ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ยเยื่ อ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้ อ ย ผ่ า น EPPCOโดยน� ำ ชานอ้ อ ย ซึ่ ง เป็ น วั ส ดุ เ หลื อ ใช้ ม าท� ำ กระบวนการต่อ โดยโรงงานเยื่อกระดาษของบริษัทฯ ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้กับโรงงานน�ำ้ ตาลทรายของกลุ่มบริษัทฯ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของ EPPCO สามารถ แบ่งได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่ เยื่อกระดาษแห้ง เยื่อกระดาษเปียก และบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อย
(2) ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอลผ่าน KTBE โดยใช้วัตถุดิบหลักคือกากน�ำ้ ตาล จากโรงงานน�้ำตาลทรายของกลุ่มบริษัทฯ เพื่อ ผลิตผลิตภัณฑ์เอทานอล ปัจจุบัน KTBE ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล 2 เกรดได้แก่ เอทานอลที่ใช้ ในอุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอล ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง (Fuel Alcohol)
(3) ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า บริษัทฯ มีหน่วยผลิตไฟฟ้าและไอน�้ำในโรงงานน�้ำตาลทรายและโรงงานเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โดยใช้ชานอ้อย ซึ่งเป็นกากของเสียจาก กระบวนการผลิตน�้ำตาลมาเป็นวัตถุดิบหลัก น�ำไอน�้ำและไฟฟ้าที่ผลิตได้ ไปใช้ ในกระบวนการผลิตน�้ำตาลทรายของกลุ่มบริษัทฯ ทั้ง 3 โรงงาน และใน กระบวนการผลิตของโรงงานอื่นในกลุ่มบริษัทฯ และจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคตาม สัญญาซื้อขายไฟฟ้า บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัท KTBP TEP และ RPBP ขนาดก�ำลังการผลิตทั้งสิ้น 60 เมกะวัตต์ 50 เมกะวัตต์ และ 50 เมกะวัตต์ ตามล�ำดับ ซึ่งปัจจุบันได้ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า ในระบบโรงไฟฟ้าชีวมวลแล้ว
(4) ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ผ่าน KTBF โดยใช้กากตะกอนหม้อกรอง (Filter cake) ซึ่งเป็นของเสียจาก กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล และน�้ำเสียที่มาจากกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ำมาผลิตเป็น วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทั้งชนิดเป็นผง ชนิดเม็ด
เป้าหมายการประกอบธุรกิจ บริษัทฯ มีเป้าหมายในการพัฒนาธุรกิจ ที่มุ่งเน้นให้เกิดการเติบโตและมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นองค์กรชั้นน�ำในด้านการผสมผสานระหว่าง การเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมแบบครบวงจร ผ่านการพัฒนาโครงข่ายและเชื่อมโยงธุรกิจทั้งภายในและภายนอกองค์กรเข้าด้วยกัน อันจะท�ำให้เกิดการ เพิม่ ขึน้ ของคุณค่าและมูลค่าทางธุรกิจ ในด้านการผลิตน�ำ้ ตาลและสารให้ความหวาน การผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล การผลิตเอทานอล การผลิตเยือ่ กระดาษ จากชานอ้อย การผลิตวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ซึง่ ผลิตภัณฑ์และผลิตพลอยได้ของกลุม่ บริษทั ฯ จะมีความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและมีความปลอดภัยต่อ ผู้บริโภค บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
37
เป้าหมายในการประกอบธุรกิจ : (1) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจอ้อย บริษัทฯ มีการพัฒนาธุรกิจงานด้านต้นน�้ำในการคัดสรรพันธุ์อ้อยและเทคโนโลยีการจัดการไร่อ้อย การให้ความรู้ด้านวิชาการต่อชาวไร่อ้อย การพัฒนาเครื่องมือและจักรกลการเกษตร การใช้สารปรับปรุงดินซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ ท�ำให้ชาวไร่อ้อยและวัตถุดิบอ้อยของบริษัทฯ มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องและเกิดความมั่นคงในการสนับสนุนการผลิต
(2) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจน�ำ้ ตาล บริษัทฯ มีการพัฒนาและลงทุนงานในด้านการผลิตน�้ำตาลอย่างต่อเนื่อง มีก�ำลังการผลิตต่อวันขนาดใหญ่มากท�ำให้เกิดการได้เปรียบใน เชิงเศรษฐศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต เพื่อลดต้นทุนการใช้พลังงาน เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ โดยในปัจจุบันบริษัทฯ ได้มีการแปรรูป น�้ำตาลทรายดิบ ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์และผลิตภัณฑ์น�้ำเชื่อมคุณภาพสูงส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์หลักและแสดงถึงความเป็นผู้น�ำในธุรกิจน�้ำตาลของบริษัทฯ ได้เป็นอย่างดี
(3) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจพลังงานไฟฟ้าจากชีวมวล บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนและขยายก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล ท�ำให้บริษทั ฯ มีกำ� ลังผลิตโรงไฟฟ้าทีใ่ หญ่และมีรายได้ธรุ กิจพลังงานไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ส�ำหรับการจัดหาเชื้อเพลิงมาป้อนให้กับโรงไฟฟ้า บริษัทฯ ได้มีการน�ำชานอ้อยซึ่งเกิดจากการผลิตของโรงงานน�้ำตาลมาเป็นเชื้อเพลิงเสริม ส่งผลให้เกิด การบูรณาการงานด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมระดับชั้นน�ำที่เกื้อหนุนให้เกิดการเพิ่มคุณค่าห่วงโซ่ทางธุรกิจได้มากขึ้น
(4) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจผลิตภัณฑ์จากชีวมวล บริษัทฯ ได้มีการลงทุนในการต่อยอดผลิตภัณฑ์จากการผลิตเยื่อกระดาษจากชานอ้อยที่มีอยู่เดิมให้มีมูลค่าและคุณค่าทางธุรกิจและคุณค่าเพื่อ สังคมเพิม่ ขึน้ ผ่านการน�ำมาผลิตเป็นบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงและมีความปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภคในการทีจ่ ะน�ำมาใช้เป็นภาชนะเพือ่ ใส่อาหาร
(5) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจเอทานอล บริษทั ฯ ได้มกี ารน�ำกากน�ำ้ ตาลหรือทีเ่ รียกกันว่า โมลาส มาท�ำการเพิม่ มูลค่าด้วยการผลิตเป็นเอทานอลคุณภาพสูงเกรดส�ำหรับใช้เป็นเชือ้ เพลิงและ เกรดส�ำหรับใช้ ในงานอุตสาหกรรม และบริษทั ฯ ยังได้มกี ารต่อยอดการผลิต BIO Gas ซึง่ เป็นผลผลิตพลอยได้จากการผลิตเอทานอล ส่งผลให้สายการผลิต และโครงข่ายธุรกิจของบริษัทฯ มีความเป็นผู้น�ำของธุรกิจและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกกระบวนการท�ำงาน
(6) การเป็นผูน้ ำ� ด้านผลิตภัณฑ์วสั ดุปรับปรุงดินชีวภาพ บริษัทฯ ได้มีการน�ำเอาผลผลิตพลอยได้จากการผลิตน�ำ้ ตาลและการผลิตเอทานอล มาสร้างมูลค่าและคุณค่าเพิ่มด้วยการน�ำมาผลิตเป็นวัสดุ ปรับปรุงดินชีวภาพ เพื่อท�ำให้พื้นที่ปลูกอ้อยและพื้นที่การเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์ ช่วยลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตให้กับเกษตรกรเป็นอย่างดียิ่ง
เป้าหมายการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน : (1) งานวิจยั และพัฒนา บริษัทฯ ได้มีการลงทุนในงานวิจัยและพัฒนา เกี่ยวกับเรื่อง การพัฒนาปรับปรุงพันธุ์อ้อย การพัฒนาพืชพลังงาน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนาเครือ่ งมือและเครือ่ งจักร เพือ่ ความยัง่ ยืนและคงความเป็นผูน้ ำ� แบบครบวงจรและมีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ทีม่ ากกว่าน�ำ้ ตาล หรือ More Than Sugar ในธุรกิจด้านอ้อยและการเกษตร ธุรกิจด้านการผลิตน�ำ้ ตาลและสารให้ความหวาน ธุรกิจด้านการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าจากชีวมวล ธุรกิจด้านการผลิตผลิตภัณฑ์จากชีวมวล
(2) งานพัฒนาชาวไร่ออ้ ย กลุม่ ชาวไร่ออ้ ยและแหล่งวัตถุดบิ บริษัทฯ มีโครงการลงทุนในด้านงานวิจัยและงานด้านวิชาการเพื่อพัฒนาความรู้ ให้กับชาวไร่อ้อย กลุ่มชาวไร่อ้อยในลักษณะโครงข่ายเกษตรกร มีการสนับสนุนด้านการเงินเพือ่ ปลูกอ้อยให้ ได้ผลผลิตอ้อยทัง้ ในแนวดิง่ ทีจ่ ะยกระดับปริมาณตันอ้อยต่อไร่และการขยายแหล่งพืน้ ทีป่ ลูกอ้อยในแนวนอนเพือ่ เพิม่ ปริมาณตันอ้อย เป็นการน�ำเทคโนโลยีและพัฒนางานด้านเกษตรกรรมสูก่ ารเกษตรยุคใหม่ทดี่ ำ� เนินการแบบโครงข่ายเกษตรกรทีม่ คี วามเป็นพันธมิตร เกื้อหนุนกันและกัน รวมทั้งการได้มีส่วนร่วมสนับสนุนให้เกิดการจ้างงานในภาคเกษตรที่มีประสิทธิภาพสูง
(3) การพัฒนาส่งเสริมความรู้ให้กบั บุคลากร บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับบุคลากรในทุกระดับ โดยถือว่าคนเป็นทรัพยากรทีม่ คี า่ สูงสุดขององค์กรจึงมีการลงทุนสนับสนุนและพัฒนาความรู้ ให้กบั บุคลากรอย่างต่อเนื่องผ่านการจัดอบรมหลักสูตรที่จ�ำเป็นและหลักสูตรเสริมต่างๆ รวมทั้งการให้บุคลากรได้ประดิษฐ์คิดค้นและได้มีส่วนร่วมท�ำโครงการ
38
คิดสร้างสรรค์นวัตกรรม นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีการพัฒนาส่งเสริมความรู้เพื่อเตรียมบุคลากรก่อนเข้าเป็นพนักงานผ่านการท�ำงานร่วมกับสถาบัน การศึกษาที่ตั้งอยู่ในท้องถิ่นและส่วนกลาง ท�ำให้บริษัทฯ สามารถจัดหาบุคลากรที่มีคุณภาพมาสนับสนุนภารกิจของธุรกิจที่ท�ำอยู่ในปัจจุบันและที่จะเกิด เพิ่มขึ้นในอนาคต
เป้าหมายการบริหารงานด้วยหลักคุณธรรมและบรรษัทภิบาล : (1) การด�ำเนินงานด้วยความโปร่งใส บริษัทฯ มีคู่มือการด�ำเนินงานด้านบรรษัทภิบาลและมีการวางแผนด�ำเนินงานที่เปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์อย่างเหมาะสม เพื่อให้การบริหาร มีความโปร่งใสและมีความเป็นธรรม สามารถที่จะยืนยันและตรวจสอบผลการปฏิบัติงานได้อย่างชัดเจน บริษัทฯ จะให้ความส�ำคัญกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจ อาทิเช่น ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร นักลงทุน พนักงาน เกษตรการชาวไร่ ลูกค้า ผู้ขาย ผู้รับจ้างช่วง ชุมชน สังคม หน่วยงานราชการ เป็นต้น โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบที่มีความเป็นอิสระทั้งภายในและภายนอกองค์กร
(2) การส่งเสริมพัฒนาสังคม การศึกษาและสิง่ แวดล้อม บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญและให้ผู้เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม การศึกษาและสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม ผ่านการท�ำโครงการต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง เช่น โครงการบ้านวัดโรงเรียนและโรงงาน(บวร+โรงงาน)ที่ส่งเสริมให้วัด ชุมชน โรงเรียน ได้มี ส่วนร่วมพัฒนาความรู้ด้านการปลูกอ้อยอย่างถูกต้อง น�ำผลผลิตอ้อยที่ปลูกในพื้นที่วัดหรือโรงเรียนมาเป็นพันธุ์อ้อยหรือน�ำมาเป็นทุนสนับสนุนการ พัฒนาโรงเรียน โครงการหมูบ่ า้ นสีเขียว ทีส่ ง่ เสริมให้เกิดโครงข่ายเกษตรกรและชุมชนได้ชว่ ยกันดูแลแปลงอ้อยไม่ให้เกิดไฟไหม้ ท�ำให้ชาวไร่มรี ายได้สว่ นต่าง จากการตัดอ้อยสด ท�ำให้อ้อยได้คุณภาพที่ดีเข้าโรงงานและช่วยลดเขม่าหรือควันที่เกิดในชุมชน เป็นต้น
(3) การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในการท�ำงาน บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อสวัสดิภาพ ต่อคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยในการท�ำงานของพนักงานและชุมชนที่ตั้งอยู่รอบโรงงาน เรื่องนี้ถือเป็น พื้นฐานส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจที่ได้มีการปฏิบัติตามกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด นอกจากการได้ปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดของกฎหมายแล้ว บริษัทฯ ยังจัดให้มีพนักงานเข้าเยี่ยมเยียนผู้นำ� ชุมชน ผู้น�ำทางศาสนา โรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้โรงงาน มีการจัดแพทย์เพื่อ ตรวจสุขภาพของชาวบ้านในชุมชนที่อยู่รอบโรงงานเป็นระยะๆ ซึ่งเป็นค่านิยมและความเอื้ออาทรที่บริษัทฯ ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่ส�ำคัญ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เดิมชื่อ บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด และ บริษทั ย่อยภายใต้กลุม่ เคทิส ก่อตัง้ โดยคุณจรูญ และคุณหทัย ศิรวิ ริ ยิ ะกุล เป็นกลุม่ ผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลทรายทีม่ ปี ระสบการณ์ ในการประกอบธุรกิจมากว่า 52 ปี ณ ปัจจุบัน กลุ่มบริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนื่องอย่างครบวงจร บริษัทฯ ได้แปรสภาพจากบริษัทจ�ำกัดเป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี 2556 ต่อมาได้เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 3,274,573,000 บาท เป็น 3,888,000,000 บาท และน�ำหุ้นเข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2557 และมีชื่อย่อหลักทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยว่า “KTIS” และในปี 2558 บริษัทฯ ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 3,888,000,010 บาท โดยมีทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วจ�ำนวนทั้งสิ้น 3,860,000,010 บาท กิจการน�ำ้ ตาลทรายของบริษทั ฯ เริม่ จากการเป็นผูก้ ระจายสินค้าน�ำ้ ตาลทรายหรือทีเ่ รียกกันทัว่ ไปว่า “ยีป่ ว๊ั ” ในจังหวัดนครสวรรค์ ต่อมาประมาณ ปี 2510 คุณจรูญ ศิริวิริยะกุล และกลุ่มยี่ปั๊วในจังหวัดนครสวรรค์ ได้ร่วมกันซื้อบริษัท อุตสาหกรรมมหาคุณ จ�ำกัด ก�ำลังการผลิต 500 ตันต่อวัน ซึ่งมี สินทรัพย์หลักคือ โรงงานน�้ำตาลทราย และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็นบริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด (“RPE”) ต่อมาได้ขยายก�ำลังการผลิต อย่างต่อเนื่องโดยเพิ่มจาก 500 ตันอ้อยต่อวันเป็น 15,000 ตันอ้อยต่อวัน ในช่วงปี 2524 บริษัทฯ ได้ตัดสินใจลงทุน ซื้อ บริษัทน�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด (“TIS”) และ ได้เพิ่มก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่องจน โรงงานน�ำ้ ตาล ทรายของ TIS มีก�ำลังการผลิตทั้งสิ้น 18,000 ตันอ้อยต่อวัน ปี 2531 บริษัทฯ ได้ลงทุนเข้าซื้อ บริษัท น�้ำตาลเกษตรไทย จ�ำกัด ซึ่งขณะนั้น มีก�ำลังการผลิต 6,000 ตันอ้อยต่อวัน ผู้บริหารได้หาพันธมิตร ทางธุรกิจเพื่อปรับปรุงโครงสร้างทางการเงิน และเสริมสร้างสภาพคล่องให้กับ บริษัท น�้ำตาลเกษตรไทย จ�ำกัด จนต่อมาในปี 2551 ผู้บริหารตัดสินใจ ร่วมทุนกับ บริษทั ยูที กรุป๊ จ�ำกัด (UT Group Pte. Ltd.) ซึง่ เป็นนักลงทุนจากประเทศสิงคโปร์ โดยจัดตัง้ บริษทั ใหม่ กล่าวคือ บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรม
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
39
น�้ำตาล จ�ำกัด และได้ด�ำเนินการโอนกิจการโรงงานน�้ำตาลทรายจาก บริษัท น�ำ้ ตาลเกษตรไทย จ�ำกัด มาด�ำเนินการภายใต้ บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรม น�้ำตาล จ�ำกัด สามารถขยายก�ำลังการผลิตได้ถึง 55,000 ตันอ้อยต่อวัน ซึ่งถือเป็นโรงงานน�ำ้ ตาลทรายที่มีกำ� ลังการผลิตที่ใหญ่ที่สุดของโลก นอกจากการผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายในปี 2546 กลุ่มครอบครัวศิริวิริยะกุล ได้เล็งเห็นถึงโอกาสในการด�ำเนินธุรกิจอุตสาหกรรม ต่อเนือ่ งอย่างครบวงจร จึงได้รว่ มทุนกับ บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด (“PSP”) และกลุม่ นักลงทุนชาวสิงคโปร์ 2 ราย ได้แก่ บริษทั คิงวัน คอร์ปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด (King Wan Corporation Limited) และ บริษัท ไซเล็ม อินเวสเมนท์ จ�ำกัด (Xylem Investment Pte. Ltd.) จัดตั้ง บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด (“EPPCO”) เพื่อผลิตเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โดยเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของ EPPCO นั้นใช้วัตถุดิบหลักคือชานอ้อยที่เหลือ ใช้จากกระบวนการผลิตน�้ำตาลทราย มีก�ำลังการผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวประมาณ 100,000 ตันต่อปี ในปี 2547 กลุ่มครอบครัวศิริวิริยะกุล ได้ตัดสินใจร่วมทุนกับกลุ่มนักลงทุนชาวสิงคโปร์ 3 ราย ได้แก่ บริษัท คิงวัน อินดัสตรี้ จ�ำกัด (King Wan Industries Pte Ltd.) บริษัท ฟาร์ อีสต์ ดิสทิลเลอร์ส จ�ำกัด (Far East Distillers Pte Ltd.) และ บริษัท ซิโนแทค กรุ๊ป จ�ำกัด (Sinotac Group Pte Ltd.) จัดตั้ง บริษัท เอกรัฐพัฒนา จ�ำกัด (“EPC”) เพื่อด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล ซึ่งใช้กากน�ำ้ ตาลที่เหลือใช้จากกระบวนการผลิตน�้ำตาลทราย เป็นวัตถุดิบ มีขนาดก�ำลังการผลิต 230,000 ลิตรต่อวัน ในปี 2553 กลุ่มครอบครัวศิริวิริยะกุล ได้ริเริ่มโครงการน�ำชานอ้อยซึ่งเป็นของเสียจากกระบวนการผลิตน�้ำตาล (กากอ้อย) มาใช้เป็นวัตถุดิบใน การผลิตเยื่อกระดาษและเป็นวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้า โดยได้จัดตั้ง บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (“KTBP”) เพื่อด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดก�ำลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ และได้เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2556 ในปี 2554 กลุ่มครอบครัวศิริวิริยะกุล ได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ ในการใช้กากตะกอนหม้อกรอง (filter cake) ซึ่งเป็นของเสียการกระบวนการผลิต น�้ำตาล และน�้ำเสียที่มาจากกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ำมาผลิตเป็น วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทั้งชนิดเป็น ผง และเป็นเม็ด โดยได้จัดตั้งบริษัท เกษตรไทยปุ๋ยชีวภาพ จ�ำกัด (“KTBF”) ภายใต้ EPC เพื่อขยายธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง มีขนาดก�ำลังการผลิตชนิดผง 15,000 ตันต่อปี ชนิดเม็ด 6,150 ตันต่อปี และชนิดน�้ำ 200,000 ลบ.ม.ต่อปี ในปี 2555 บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการพัฒนาระบบเก็บเกี่ยวอ้อย เพื่อเพิ่มคุณภาพและศักยภาพงานด้านไร่ควบคู่กับการเติบโตของบริษัทฯ โดย การเข้าท�ำสัญญาซื้อรถตัดอ้อย จอห์นเดียร์ (John Deere) จ�ำนวน 40 คัน กับ บริษัท ที เค อีควิปเมนท์ จ�ำกัด ตัวแทนผู้จัดจ�ำหน่ายสินค้า จอห์นเดียร์ ในประเทศไทยโดยมีเงื่อนไขว่า จอห์นเดียร์ จะเข้ามาช่วยอบรม และแนะน�ำเจ้าหน้าที่พนักงานบริษัทฯ ในการดูแล ซ่อมแซม และพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ ฝ่ายไร่ของบริษัทฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกอ้อยของชาวไร่ และขยายปริมาณวัตถุดิบแก่โรงงานของกลุ่มบริษัทฯ ในปี 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 ของบริษัทฯ มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ ด�ำเนินการลงทุนซื้อ บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด (“TEP”) เพื่อด�ำเนินธุรกิจโรงงานไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�ำลังการผลิตทั้งสิ้น 50 เมกะวัตต์ จากผู้ถือหุ้นเดิม โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะรับวัตถุดิบ ชานอ้อยโดยตรงจาก TIS ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (“RPBP”) เพื่อด�ำเนินกิจการโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�ำลัง การผลิตทั้งสิ้น 50 เมกะวัตต์ โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะรับวัตถุดิบชานอ้อยโดยตรงจาก โรงงานรวมผล นอกจากนี้ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 ของบริษัทฯ ยังมีมติอนุมัติให้ บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จ�ำกัด (“SSK”) ขึ้นเพื่อด�ำเนินการจัดหาที่ดินเพื่อรองรับการขยายธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ โดยในปี 2556 SSK ได้ซื้อที่ดินจากบุคคลที่ไม่มีความเกี่ยวโยงกันกับบริษัทฯ จนมีเนื้อที่จ�ำนวน 2,629 ไร่ 1 งาน 16 ตารางวา ในเดือนกันยายน ปี 2556 บริษัท ซูมิโตโม คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด และบริษัท นิสชิน ชูการ์ จ�ำกัด ได้เข้าเซ็นสัญญาลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทฯ ผ่านบริษัท 3 เอส โฮลดิ้ง จ�ำกัดเป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้นไม่เกิน 2,650.0 ล้านบาท ทั้งนี้ ด้วยประสบการณ์ ในการเป็นบริษัทเทรดดิ้งชั้นน�ำของโลก บริษัทฯ คาดว่าการเข้าลงทุนของทั้ง 2 บริษัท จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติของบริษัทฯ อีกทั้งช่วยขยายฐานธุรกิจในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเดือนพฤศจิกายน ปี 2556 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติจัดตั้ง (1) บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จ�ำกัด (“LIS”) เพื่อรองรับ แผนการขยายการผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายของกลุ่มบริษัทฯ (2) บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จ�ำกัด (“LBE”) เพื่อรองรับแผนการขยายการผลิต และจัดจ�ำหน่ายเอทานอล และ (3) บริษัท ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (“LBP”) เพื่อรองรับแผนการขยายการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า ในเดือนกันยายน ปี 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีอนุมัติจัดตั้ง (1) บริษัท เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จ�ำกัด (“KBGP”) เพื่อรองรับแผนการขยาย การผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า (2) บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด (“KBE”) เพื่อรองรับแผนการขยายการผลิตและจ�ำหน่ายเอทานอล และไฟฟ้าชีวมวล ในเดือนสิงหาคม ปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีอนุมัติจัดตั้ง (1) บริษัท เกษตรไทยวิวัฒน์ จ�ำกัด (“KTW”) เพื่อบริหารและจัดการสินทรัพย์ ของกลุ่มบริษัทฯ (2) บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จ�ำกัด (“KTIS R&D”) เพื่อรองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ
40
เหตุการณ์และกิจกรรมส�ำคัญในรอบปี 2560 วันที่ 23 มกราคม 2560 บริษัทฯ ลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือสร้างเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ภายใต้โครงการสานพลัง ประชารัฐด้านการพัฒนาคลัสเตอร์ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคต (New S-Curve) ร่วมกับ ภาครัฐ น�ำโดยกระทรวงอุตสาหกรรม ภาคเอกชน และสถาบัน การศึกษาและวิจัย รวม 23 หน่วยงาน วันที่ 5 เมษายน 2560 บริษทั ฯ ลงนาม ความร่วมมือสนับสนุนการพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi : Eastern Economic Corridor of Innovation) ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) หน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้อง ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาและวิจัย รวม 50 หน่วยงาน วันที่ 26 เมษายน 2560 บริษัทฯ ลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือพัฒนาโครงการวิจัยและพัฒนางานด้านวิชาการด้านอุตสาหกรรมอ้อยและ น�ำ้ ตาลทราย และผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 บริษัท เกษตรไทย ปุ๋ยชีวภาพ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จ�ำกัด วันที่ 27 มิถุนายน 2560 บริษัท เอกรัฐพัฒนา จ�ำกัด (บริษัทย่อย) ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด วันที่ 1 สิงหาคม 2560 บริษทั ฯ ลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือทางวิชาการ “แนวทางความร่วมมือว่าด้วยการวิจยั และพัฒนา” ร่วมกับ บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด(มหาชน) วันที่ 25 สิงหาคม 2560 บริษัทฯ ลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือพัฒนาโครงการวิจัยและพัฒนางานด้านวิชาการด้านอุตสาหกรรมอ้อยและ น�้ำตาลทราย และผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง ร่วมกับ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปัจจุบัน บริษัทฯ มีการลงทุนใน บริษัทย่อยรวม 16 บริษัท และเช่าสินทรัพย์ถาวรจาก บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด (RPE) โดยมีรายละเอียดดังนี้ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) บริษัทย่อย
1 2
ประเภทธุรกิจ
ถือหุ้นร้อยละ
บริษัท น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด (TIS)
ผลิต และจัดจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทรายทั้งในและต่างประเทศ
100.0
บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด (KTBE)
ผลิตและจัดจำ�หน่ายเอทานอลจากกากน้ำ�ตาลทั้งในและต่างประเทศ
100.0
บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด (EPPCO)
ผลิตและจัดจำ�หน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยและบรรจุภัณฑ์ ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อยทั้งในและต่างประเทศ
100.01
บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (KTBP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า
100.0
บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด (PSP)
ลงทุนโดยการถือหุ้นซึ่ง ณ ปัจจุบันถือหุ้นร้อยละ 26.0 ใน EPPCO
100.0
บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด (KTBF)
ผลิตและจำ�หน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ
บริษัท ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จำ�กัด (TEP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า
100.0
บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จำ�กัด (SSK)
จัดหาที่ดินเพื่อรองรับการขยายธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ
100.0
บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (RPBP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า
100.0
บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด (LIS)
ผลิตและจัดจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย อยู่ระหว่างพิจารณาโครงการ
บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จำ�กัด (LBE)
ผลิตและจัดจำ�หน่ายเอทานอล อยู่ระหว่างพิจารณาโครงการ
บริษัท ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (LBP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า อยู่ระหว่างพิจารณาโครงการ
100.00 ผ่าน PSP
บริษัท เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จำ�กัด (KBGP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า อยู่ระหว่างพิจารณาโครงการ
100.0
บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด (KBE)
ผลิตและจำ�หน่ายเอทานอล อยู่ระหว่างพิจารณาโครงการ
100.0
บริษัท เกษตรไทยวิวัฒน์ จำ�กัด (KTW)
บริหารและจัดการสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัทฯ
100.0
บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จำ�กัด (KTIS R&D)
รองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ
100.0
100.0 ผ่าน KTBE
100.0 ผ่าน PSP 100.02
ถือหุ้นร้อยละ 74.0 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมดและถือหุ้นผ่านบริษัท เพิ่มสินพัฒนา จ�ำกัดร้อยละ 26.0 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด ถือหุ้นร้อยละ 98.0 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมดและถือหุ้นผ่านบริษัท เพิ่มสินพัฒนา จ�ำกัดร้อยละ 2.0 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
41
42
RPE
LIS
TIS
ท�ำสัญญเเช่า
100%
กลุ่มธุรกิจ น�้ำตาล
100%
100%
98%
100%
100%
100%
100%
KBE
KBGP
LBC
LBE
KTBE
RPBP
TEP
KTBP
กลุ่มธุรกิจ พลังงาน
100%
2%
100%
PSP
100% 26%
กลุ่มธุรกิจ Holding
EPPCO
74%
กลุ่มธุรกิจ เยื่อกระดาษ
KTBF
กลุ่มธุรกิจ ปุ๋ย
100%
KTIS
SSK
100%
กลุ่มธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์
โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560)
KTW
100%
กลุ่มธุรกิจ บริหารทรัพย์สิน
KTIS R&D
100%
กลุ่มธุรกิจ วิจัยและพัฒนา
ลักษณะการประกอบธุรกิจ 1. โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัท ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้จากการผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายเป็นหลักคิดเป็นสัดส่วนรวมร้อยละ 77.1 ของรายได้รวมของบริษัทฯ อีกทั้ง ยังมีรายได้จากธุรกิจต่อเนื่องจากการน�ำผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ เช่น เยื่อกระดาษ ไฟฟ้า เอทานอล และปุ๋ย ซึ่งสามารถคิดเป็นสัดส่วนรวมร้อยละ 22.9 ของรายได้รวมของบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดย้อนหลัง 3 ปีตามตารางแสดงรายได้ดังต่อไปนี้ 2558 1. รายได้จากการขายน้ำ�ตาลทรายและกากน้ำ�ตาล
รายได้ (ล้านบาท)
2559 รายได้
ร้อยละ1
2560 รายได้
ร้อยละ1
(ล้านบาท)
ร้อยละ1
(ล้านบาท)
ในประเทศ
6,404.8
33.1
5,261.9
35.1
5,326.6
30.4
ต่างประเทศ
8,713.5
45.1
6,074.1
40.5
8,178.0
46.7
222.4
1.2
17.0
0.1
-
0.0
15,340.6
79.4
11,353.0
75.7
13,504.6
77.1
ในประเทศ
323.8
1.7
220.8
1.5
259.6
1.5
ต่างประเทศ
981.7
5.1
675.4
4.5
1,001.2
5.7
1,305.5
6.8
896.1
6.0
1,260.8
7.2
1,638.6
8.5
1,634.4
10.9
1,654.2
9.4
0.0
0.0
-
0.0
-
0.0
1,638.6
8.5
1,634.4
10.9
1,654.2
9.4
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า
538.3
2.8
699.6
4.7
583.7
3.3
รายได้จากการขายและให้บริการอื่นๆ
505.2
2.6
422.5
2.8
521.4
3.0
1,043.6
5.4
1,122.1
7.5
1,105.1
6.3
19,328.2
100.0
15,005.6
100.0
17,524.6
100.0
ผลตอบแทนการผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาล รวมรายได้จากการขายน้ำ�ตาลทรายและกากน้ำ�ตาล 2. รายได้จากการขายเยื่อกระดาษ
รวมรายได้จากการขายเยื่อกระดาษ 3. รายได้จากการขายเอทานอล ในประเทศ ต่างประเทศ รวมรายได้จากการขายเอทานอล 4. รายได้จากการขายอื่นๆ
รวมรายได้อื่นๆ รวมรายได้ทั้งหมด ที่มา: งบการเงินของบริษัทฯ
2. ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตน�้ำตาลทรายรวมทั้งสิ้นประมาณ 88,000 ตันอ้อยต่อวัน สามารถจ�ำแนกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ น�้ำตาลทรายดิบ (Raw Sugar) น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) และน�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ (Refined Sugar) 1 2
ICUMSA เป็นหน่วยมาตรฐานที่ใช้วัดค่าสีของผลิตภัณฑ์น้าตาลทราย น้าตาลทรายที่มีความบริสุทธิ์มากจะมีค่าสีต่า ค่าโพลาไรเซชั่น แสดงถึงปริมาณน้าตาลซูโครส เช่น 99.5% คือ ในน้าตาลทราย 100 ส่วน มีปริมาณน้าตาลซูโครสอยู่ 99.5 ส่วน ค่าโพลาไรเซชั่นยิ่งสูงแสดงว่ามีปริมาณน้าตาลซูโครส อยู่มาก หรือหมายถึงน้าตาลทรายคุณภาพสูง
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
43
(1) น�้ำตาลทรายดิบ (Raw Sugar) น�้ำตาลทรายดิบ คือ น�ำ้ ตาลทรายที่ ลักษณะผลึกสีน�้ำตาลเข้มโดยมีค่าสี 1001 ถึง 3800 ICUMSA1 และสิ่งเจือปนสูงไม่เหมาะแก่การบริโภค น�ำ้ ตาล ทรายชนิดนี้จะต้องถูกน�ำเข้ากระบวนการท�ำให้บริสุทธิ์จนเป็นน�้ำตาลทรายขาว หรือน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสุทธิ์ก่อนที่จะสามารถน�ำไปบริโภคได้ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ผลิตน�ำ้ ตาลทรายดิบ J-Spec ตามมาตรฐานของประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ เป็นน�ำ้ ตาลทรายดิบ เพือ่ การส่งออกไปประเทศญีป่ นุ่ โดยบริษทั ฯ มีความช�ำนาญในการผลิตน�ำ้ ตาลทรายดิบดังกล่าว และสามารถครองส่วนแบ่งทางการตลาด J-Spec ในระดับที่สูง (2) น�้ำตาลทรายขาว (White Sugar) น�ำ้ ตาลทรายขาว คือ น�ำ้ ตาลทรายดิบที่ถูกน�ำเข้ากระบวนการท�ำให้บริสุทธิ์เพื่อท�ำการสกัดสิ่งเจือปนออกจากผลึกน�ำ้ ตาล ลักษณะผลึกมีสีอ่อน กว่าน�้ำตาลทรายดิบโดยมีค่าสีตั้งแต่ 46 ถึง 1000 ICUMSA โดยผลึกน�้ำตาลจะมีสีนำ�้ ตาลอ่อนหรือสีขาว เหมาะแก่การ น�ำไปใช้ ในอุตสาหกรรมการผลิต น�ำ้ อัดลม อาหารส�ำเร็จรูป และเพื่อการบริโภคในครัวเรือน (3) น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ (Refined Sugar) น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ คือ น�้ำตาลทรายดิบที่ถูกน�ำเข้ากระบวนการท�ำให้บริสุทธิ์เพื่อท�ำการสกัดสิ่งเจือปนออกเช่นเดียวกับน�้ำตาลทรายขาว แต่มีความบริสุทธิ์สูงกว่าและมีผลึกเป็นสีขาวใส มีค่าสีตั้งแต่ 0 ถึง 45 ICUMSA โดยน�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์เหมาะแก่การใช้ ในอุตสาหกรรมที่ต้องการ วัตถุดิบที่มีความบริสุทธิ์สูงเช่น อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมเครื่องดื่มและเครื่องดื่มบ�ำรุงก�ำลัง เป็นต้น ตารางต่อไปนี้แสดงลักษณะผลิตภัณฑ์น�้ำตาลทรายของบริษัทฯ ผลิตภัณฑ์น้ำ�ตาลทราย
ค่าสี (ICUMSA)
ค่าโพลาไรเซชั่น2 (ร้อยละ)
ค่าความชื้น (ร้อยละ)
น้ำ�ตาลทรายดิบ J-Spec (J-Spec Raw Sugar)
1001 - 3800
96.00 – 97.99
ไม่เกิน 0.6
น้ำ�ตาลทรายดิบ (Raw Sugar)
1001 - 3800
ไม่น้อยกว่า 98.00
ไม่เกิน 0.6
46 - 1000
ไม่น้อยกว่า 99.50
ไม่เกิน 0.04
0 - 45
ไม่น้อยกว่า 99.80
ไม่เกิน 0.04
น้ำ�ตาลทรายขาว (White Sugar) น้ำ�ตาลทรายบริสุทธิ์ (Refined Sugar) ที่มา: บริษัทฯ
น�้ำตาล: สภาวะตลาดและการแข่งขัน น�ำ้ ตาลเป็นหนึ่งในสินค้าส�ำคัญที่สุดในโลก ผู้ผลิตน�้ำตาลรายใหญ่คือ บราซิล อินเดีย สหภาพยุโรป ไทย และจีน ทวีปเอเชียมีผลผลิต 33.8% ของ ผลผลิตทัว่ โลก ในการผลิตปี 2559/2560 ประเทศไทยเป็นผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลรายใหญ่อนั ดับ 3 ของโลก แต่อตั ราการบริโภคน�ำ้ ตาลในประเทศไทยค่อนข้างน้อย เมื่อเทียบกับผลผลิตที่ได้ ท�ำให้ประเทศไทยสามารถส่งออกน�้ำตาลได้มากเป็นอันดับ 2 ของโลก การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญในรอบทศวรรษของน�้ำตาลในตลาดโลก (1) การเปิดเสรีการค้าน�้ำตาลในบราซิล ประเทศบราซิลเป็นประเทศแรกๆที่ได้น�ำระบบการค้าเสรีน�้ำตาลและยกเลิกการควบคุมต่างๆในประเทศมาใช้ ท�ำให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง น�้ำตาลของประเทศและเกิดการส่งออกที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญมาก ประเทศบราซิลเป็นผู้ส่งออกน�้ำตาลที่ใหญ่ที่สุดในตลาดโลก ดังนั้นปัจจัยใดที่มี ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมน�ำ้ ตาลของประเทศบราซิล จะมีผลกระทบต่อตลาดน�ำ้ ตาลโลกด้วย เช่นการขึน้ ลงของค่าเงินเรียลบราซิล นโยบายด้านน�ำ้ ตาลและ เอทานอลของประเทศเป็นต้น (2) ผลผลิตน�ำ้ ตาลที่ลดต�่ำลงในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป(EU) แต่จะเริ่มส่งออกน�ำ้ ตาลในปี 2560 ในปี 2547 องค์กรการค้าโลก (WTO) ได้ออกกฏเพื่อควบคุมการอุดหนุนน�้ำตาลของสหภาพยุโรป ที่ละเมิดข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและ การค้า (GATT) และเพื่อตัดการสนับสนุนการผลิตน�ำ้ ตาลของสหภาพยุโรป ท�ำให้สหภาพยุโรปได้ทบทวนระบบโควต้าน�ำ้ ตาลและจ�ำกัดการผลิตน�้ำตาล และการส่งออก อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 เป็นต้นไป การควบคุมดังกล่าวจะสิ้นสุดลงและคาดว่าสหภาพยุโรปจะกลับมาเริ่มส่งออกน�ำ้ ตาล
44
(3) การเติบโตด้าน เศรษฐกิจของเอเชีย การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องของประเทศในเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีน อินเดียและประเทศกลุ่มอาเซียน น�ำไปสู่การบริโภค น�ำ้ ตาลและการผลิตที่สูงขึ้นของภูมิภาค ในปัจจุบัน ทวีปเอเชียผลิตน�ำ้ ตาลประมาณ 60-70 ล้านตันต่อปี ในขณะที่การบริโภคมีมากกว่าปริมาณการผลิต ดังนั้นในแต่ละปีมีความความต้องการน�ำเข้าน�้ำตาลมากกว่า 20.0 ล้านตัน (4) กองทุนและนักเก็งก�ำไรลงทุนมากขึ้นในตลาดโภคภัณฑ์ ในช่วง 5-10 ปี กองทุนและนักเก็งก�ำไรเพิ่มการลงทุนในตลาดโภคภัณฑ์ โดยเฉพาะสินค้าทางการเกษตรและน�ำ้ ตาล ท�ำให้ราคาน�้ำตาลมีความ ผันผวนสูงและอิทธิพลที่มาจากปัจจัยอื่นที่ไม่ใช่พื้นฐาน เช่นภาพรวมด้านแมคโครของตลาด ปัจจัยด้านเทคนิค อัตราแลกเปลี่ยนและราคาเปรียบเทียบเพื่อ เปลี่ยนเป็นเอทานอล เป็นต้น (5) อุปสงค์และอุปทานของน�้ำตาล ปี 2559/2560 คาดการณ์ผลผลิตน�้ำตาลโลกจะมีประมาณ 178.4 ล้านตัน แม้ว่าจะเพิ่มขึ้นจากปี 2558/2559 ที่ 174.2 ล้านตัน แต่ยังคงต�ำ่ กว่า ปี 2557/2558 ที่ 180.7 ล้านตัน เนื่องจากความสมดุลด้าน supply มีน้อยกว่า demand อย่างต่อเนื่องสองปี ท�ำให้ระดับสต็อกน�ำ้ ตาลลดต�่ำจนเข้าขั้น วิกฤต โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทีป่ ระเทศอินเดีย ท�ำให้ตน้ ปี 2560 ราคาน�ำ้ ตาลโลกเข้าสูด่ า้ นขาขึน้ อย่างไรก็ตาม จากการคาดการณ์ผลผลิตทีด่ ใี นปี 2560/2561 ท�ำให้ราคาน�้ำตาลเริ่มลดต�่ำลงในช่วงครึ่งปีหลังปี 2560/2561 คาดว่า supply จะมีมากกว่า demand และจะเกิดน�้ำตาลส่วนเกิน แม้ว่าภาคกลาง/ภาคใต้ ของประเทศบราซิลจะมีผลผลิตน�ำ้ ตาลลดลงจากปัญหาของอายุอ้อยที่มากขึ้นโดยเฉลี่ย แต่ซีกโลกเหนือเช่นประเทศอินเดีย ประเทศไทย และสหภาพยุโรป คาดว่าจะมีผลผลิตดี ดังนั้นผลผลิตน�้ำตาลทั่วโลกคาดว่า จะเพิ่มขึ้นเป็น 191.4 ล้านตัน ในขณะที่การบริโภคจะเพิ่มขึ้นเป็น 184.2 ล้านตัน ซึ่งน้อยกว่าการ ผลิต จะมีผลท�ำให้ supply/demand เกิดการเกินดุลเป็นครั้งแรกในรอบสามปี แหล่งที่มา: LMC International, International Sugar and Sweeteners Report, Vol.149 No 27 ในปีการผลิต 2559/2560 ประเทศไทยสามารถผลิตน�ำ้ ตาลทรายได้ทงั้ หมด 10.02 ล้านตัน ในขณะทีม่ กี ารบริโภคในประเทศ 2.65 ล้านตัน ซึง่ ถือว่า สามารถผลิตน�ำ้ ตาลทรายได้เกินอุปสงค์การบริโภคในประเทศ น�ำ้ ตาลทรายจึงเหลือส่งไปจ�ำหน่ายต่างประเทศ ในปีการผลิต 2559/2560 ประเทศไทยมีการ ส่งออกน�ำ้ ตาลทรายประมาณ 7.37 ล้านตัน ส่วนราคาจ�ำหน่ายน�้ำตาลภายในประเทศ มีการควบคุมโดยกระทรวงพาณิชย์ โดยประกาศคณะกรรมการ กลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ เรื่องการก�ำหนดราคาและหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายทุกปี ในปีการผลิต 2559/2560 ประเทศไทยมีโรงงานน�้ำตาลทั้งหมด 54 โรงงาน ผลิตน�ำ้ ตาลทรายได้ทั้งสิ้น 10.02 ล้านตัน ดังต่อไปนี้ จำ�นวนบริษัทฯ ในกลุ่ม (โรง)
ผลผลิตน้ำ�ตาล (ตัน)
กลุ่มโรงงานน้ำ�ตาลมิตรผล
6
1,975,406.506
19.71
กลุ่มโรงงานน้ำ�ตาลไทยรุ่งเรือง
9
1,576,872.714
15.74
กลุ่มโรงงานเคทิส
3
937,364.395
9.35
กลุ่มโรงงานน้ำ�ตาลขอนแก่น
5
724,549.240
7.23
กลุ่มน้ำ�ตาลคริสตอลลา
3
543,305.766
5.42
กลุ่มอุตสาหกรรมน้ำ�ตาลโคราช
2
488,957.440
4.88
กลุ่มน้ำ�ตาลบ้านโป่ง
2
440,446.750
4.40
กลุ่มโรงงานน้ำ�ตาลวังขนาย
4
385,972.230
3.85
กลุ่มน้ำ�ตาลกุมภวาปี
2
279,863.896
2.79
กลุ่มน้ำ�ตาลไทยกาญจนบุรี
2
271,525.903
2.71
น้ำ�ตาลครบุรี
1
267,958.935
2.67
กลุ่มน้ำ�ตาลมิตรเกษตร
2
225,398.463
2.25
อื่นๆ
13
1,903,267.610
19.00
รวม
54
10,020,889.848
100.00
กลุ่ม
ส่วนแบ่งตลาด (ร้อยละ)
ที่มา: รายงานการผลิตอ้อยและน�้ำตาลทรายฉบับปิดหีบอ้อย (ปรับปรุง) ปีการผลิต 2559/2560 (ฉบับปรับปรุง ณ วันที่ 6 มิ.ย.2560) ,ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาล
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
45
กลยุทธ์การแข่งขันของบริษัทฯ - น�้ำตาล: (1) ความมั่นคงทางด้านวัตถุดิบ บริษทั ฯ มุง่ เน้นการลงทุน และพัฒนาคุณภาพและแหล่งเพาะปลูกอ้อยอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในด้านวิชาการ การบริการ การพัฒนาชาวไร่ และการพัฒนา ระบบเก็บเกีย่ วอ้อย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากอ้อยเป็นวัตถุดบิ หลักของกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย ดังนัน้ การจัดหาวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพอย่างต่อเนือ่ งและเพียงพอ จะท�ำให้ภาพรวมของธุรกิจน�้ำตาลทราย และธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องของบริษัทฯ มั่นคงและยั่งยืน (2) ยกระดับประสิทธิภาพการผลิต และลดต้นทุนผลิตต่อหน่วย บริษทั ฯ มีการลงทุนด้านการผลิตอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในด้านบุคลากรและเครือ่ งจักรเพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการผลิต นอกจากนีย้ งั มีแผนการปรับปรุง กระบวนการผลิตอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถลดต้นทุนคงทีต่ อ่ หน่วย โดยบริษทั ฯ มีทมี วิศวกรทีม่ คี วามสามารถในการพัฒนาเครือ่ งจักรขึน้ เอง จึงสามารถดูแลและซ่อมแซมเครื่องจักรส่วนใหญ่ได้เองโดยพึ่งพาบุคคลภายนอกน้อยมาก (3) มาตรการลดผลกระทบทางธรรมชาติ บริษัทฯ เล็งเห็นถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากผลกระทบทางธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง และภัยจากศัตรูพืช ดังนั้นบริษัทฯ ได้จัดท�ำมาตรการแก้ ไขและ ป้องกันผลกระทบทางธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นต่อวัตถุดิบ โดยบริษัทฯจัดท�ำโครงการ การแนะน�ำชาวไร่ในการดูแลของกลุ่มบริษัทฯ ให้ ใช้ผลงานวิจัยด้านไร่ ของบริษทั ฯ เช่น การใช้ระบบน�ำ้ หยดบนดินเพือ่ ประหยัดการให้นำ�้ ในฤดูแล้ง การพัฒนาการป้องกันศัตรูพชื อ้อยโดยใช้วธิ ชี วี ภาพ การปล่อยแมลงทีส่ ามารถ ท�ำลายศัตรูพืชในไร่ เช่น แตนเบียนไข่ แตนเบียนหนอน และแมลงหางหนีบ เป็นต้น (4) เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทั้งผลิตภัณฑ์หลัก ผลิตภัณฑ์พลอยได้ วัสดุเหลือใช้และของเสียจากกระบวนการผลิต บริษัทฯ มีวิสัยทัศน์ ในการน�ำผลิตภัณฑ์พลอยได้จากกระบวนการผลิตน�้ำตาลทรายมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าและผลก�ำไร ของบริ ษั ท ฯ อี ก ทั้ ง เพื่ อ เป็ น การลดสิ่ ง ปฏิ กู ล ที่ เ กิ ด จากกระบวนการผลิ ต โดยบริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารร่ ว มศึ ก ษากั บ พั น ธมิ ต รผู ้ ร ่ ว มลงทุ น คื อ บริษัท ซูมิโตโม คอร์ปอเรชั่น ไทยแลนด์ จ�ำกัด เพื่อหาแนวทางเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง ช่องทางการจ�ำหน่าย - น�้ำตาล : (1) กลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรม กลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรมเป็นลูกค้าที่มีความต้องการน�ำผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทรายไปใช้ ในกระบวนการผลิตสินค้า โดยลูกค้าประเภทอุตสาหกรรมจะ มีการท�ำสัญญาซื้อน�้ำตาลทรายกับบริษัทฯ เป็นรายปีและสั่งซื้อในปริมาณสูง กลุ่มลูกค้าประเภทอุตสาหกรรมจึงถือเป็นลูกค้ากลุ่มใหญ่ของบริษัทฯ โดย บริษัทฯ สามารถจัดจ�ำหน่ายสินค้าน�้ำตาลทรายให้กับลูกค้าประเภทนี้จำ� นวนมากเนื่องจากมีความมั่นคงของปริมาณสินค้าที่กลุ่มบริษัทฯ สามารถผลิต และจัดส่งให้ลูกค้าได้ตรงเวลาและคุณภาพของสินค้าได้รับความไว้วางใจ สัดส่วนของการจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายทั้งหมดของบริษัทฯ แบ่งตามประเภท อุตสาหกรรมดังนี้ สำ�หรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ประเภทลูกค้า
หมวดเครื่องดื่ม
31 ธ.ค. 59
(ข้อมูลทางการขาย) ปริมาณ1 ร้อยละ (ตัน) 93,879.85 44.8
31 ธ.ค. 60
(ข้อมูลทางการขาย) ปริมาณ1 ร้อยละ (ตัน) 85,775.61 41.98
(ข้อมูลทางการขาย) ปริมาณ1 ร้อยละ (ตัน) 80,532.95 51.42
หมวดอาหาร
27,758.15
13.2
41,643.82
20.38
23,123.70
14.76
หมวดผลิตภัณฑ์นม
87,244.15
41.6
76,384.19
37.38
52,929.30
33.80
744.00
0.4
527.00
0.26
30.00
0.02
209,626.15
100.00
204,330.62
100.00
156,615.95
100.00
หมวดลูกกวาด รวมจำ�นวนผลิตภัณฑ์น้ำ�ตาลทราย ทั้งหมดของลูกค้าในประเทศ
ที่มา: บริษัทฯ1 รวมยอดของโรงงานน�้ำตาลทรายทั้งสิ้น 3 โรงงานกล่าวคือ 1. โรงงานน�้ำตาลทราย ซึ่งด�ำเนินการภายใต้ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นเเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)(บริษัทฯ) 2. โรงงานน�้ำตาลทราย ซึ่งด�ำเนินการภายใต้ บริษัท น�้ำตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด (TIS) 3. โรงงานน�้ำตาลทราย ซึ่ง ณ ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ท�ำการเช่าระยะยาวจาก บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด (RPE)
46
(2) กลุ่มผู้กระจายสินค้า (ยี่ปั๊ว) บริษทั ฯ มีการจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทรายผ่านผูก้ ระจายสินค้าโดยท�ำการจัดจ�ำหน่ายหน้าโรงงาน บริษทั ฯ มีรายได้จากการขายให้ผกู้ ระจาย สินค้า คิดเป็นสัดส่วนทีน่ อ้ ยเมือ่ เทียบกับกลุม่ ลูกค้าอุตสาหกรรม การจัดจ�ำหน่ายให้ผกู้ ระจายสินค้าอาจต้องท�ำการขายโดยให้สว่ นลดจากราคาทีป่ ระกาศ โดยกระทรวงพาณิชย์ ทั้งนี้ส่วนลดขึ้นอยู่กับสภาวะตลาดของผู้ซื้อว่ามีความต้องการน�้ำตาลทรายมากน้อยเพียงใด (3) ลูกค้าต่างประเทศ บริษทั ฯ ส่งออกสินค้าน�ำ้ ตาลทรายส่วนใหญ่ให้กบั ลูกค้าจากประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 60.0 ของรายได้การขายน�ำ้ ตาลทราย ต่างประเทศทั้งหมด ทั้งนี้ลูกค้าต่างประเทศของบริษัทฯ เป็นประเภทเทรดเดอร์ที่รู้จักกันในวงการอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย เช่น Alvean Sugar, S.L., Bunge Agribusiness Singapore Pte. Ltd., Sumitomo Corporation, Marubeni Europe Plc. และ Mitsubishi Corporation เป็นต้น ทั้งนี้บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อเทรดเดอร์ ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัทฯ ในการส่งออกน�ำ้ ตาลทรายดิบ J-Spec
ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยและบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อย บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ผ่าน EPPCO ซึ่งมีก�ำลังการผลิตทั้งสิ้นประมาณ 100,000 ตัน ต่อปี โรงงาน EPPCO เป็นโรงงานผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยแห่งเดียวในประเทศไทยที่ ใช้วัตถุดิบหลักคือชานอ้อย ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จาก กระบวนการผลิตน�้ำตาลทรายของบริษัทฯ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของ EPPCO สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิดได้แก่ เยื่อกระดาษแห้ง เยื่อกระดาษเปียก และบรรจุ ภัณฑ์ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อย (1) เยื่อกระดาษแห้ง (Dry Pulp) เยื่อกระดาษแห้ง คือ เยื่อกระดาษที่ผลิตได้จากวัตถุดิบชานอ้อย มีความชื้นประมาณร้อยละ 10.0 – 12.0 มีน�้ำหนักต่อก้อนประมาณ 250 กิโลกรัม ความสว่างของเยือ่ กระดาษมีคา่ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80.0 ISO1 มีคา่ ความสกปรกของเยือ่ (TAPPI Dirt Count) ไม่สงู กว่า 10 ppm2 เยือ่ กระดาษแห้งสามารถ เก็บได้นาน EPPCO จัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษแห้งทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวถือเป็นผลิตภัณฑ์หลักของธุรกิจเยื่อกระดาษฟอก ขาวจากชานอ้อย (2) เยื่อกระดาษเปียก (Wet Pulp) เยื่อกระดาษเปียก คือ เยื่อกระดาษที่ผลิตได้จากวัตถุดิบชานอ้อย มีความชื้นประมาณร้อยละ 50.0 - 52.0 มีน�้ำหนักต่อก้อนประมาณ 225 กิโลกรัม แต่มีค่าความสว่างและค่าความสกปรกของเยื่อ (TAPPI Dirt Count) เทียบเท่ากับเยื่อกระดาษแห้ง เยื่อกระดาษเปียกสามารถน�ำไปใช้ ในกระบวนการผลิต กระดาษได้ง่ายกว่าเยื่อกระดาษแห้ง เนื่องจากมีความชื้นที่สูงกว่า ส่งผลให้ประหยัดเวลาในกระบวนการน�ำเยื่อกระดาษกลับไปต้มน�้ำอีกครั้ง อย่างไรก็ดี เยื่อกระดาษเปียกมีอายุการเก็บรักษาสั้นกว่า และมีค่าใช้จ่ายในการขนส่งที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับเยื่อกระดาษแห้ง ดังนั้น EPPCO จึงจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษ เปียกภายในประเทศเท่านั้น (3) บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อย ( Pulp Mould ) บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อย คือการน�ำเยื่อชานอ้อยมาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ชนิดต่างๆโดยใช้เยื่อชานอ้อยที่ทางโรงงาน EPPCO ผลิตได้มา เป็นวัตถุดิบ 100% บรรจุภัณฑ์ดังกล่าวนี้เป็นบรรจุภัณฑ์ที่สามารถย่อสลายได้ตามธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับ แนวโน้มความต้องการผลิตภัณฑ์ทชี่ ว่ ยรักษาสิง่ แวดล้อมทัง้ ตลาดภายในประเทศและทัว่ โลกทีม่ เี พิม่ มากชึน้ อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั เยือ่ ชาน อ้อยที่ทาง EPPCO ผลิตได้อีกด้วย สภาวะตลาดและการแข่งขัน - เยื่อกระดาษ (1) ภาวะอุตสาหกรรมตลาดโลก จากสภาพเศรษฐกิจโลกที่เริ่มฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปในปี 2560 ได้ส่งผลกระทบในเชิงบวกต่ออุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในส่วนของราคาเยื่อกระดาษที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นแม้ว่า ยังคงเกิดสภาวะ over supply อยู่ ส่งผลให้ราคาขายเยื่อกระดาษใยยาวมีการปรับตัว เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ในช่วงไตรมาสที่ 1 ต่อเนื่องถึงไตรมาสที่ 4 ของปี 2560 โดยราคาเยื่อใยยาวปรับตัวเพิ่มขึ้น ประมาณ 320 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ส่วนเยื่อใยสั้นปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ตั้งแต่ไตรมาส 1 ถึงไตรมาส 4 ของปี 2560 ประมาณ 260 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
47
1.1) ภาวะราคาขายเยื่อกระดาษในเดือน ธันวาคม 2560
ราคาเยื่อที่ขายในประเทศจีน เยื่อใยยาวมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากราคา 570-590 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ใน เดือน ธันวาคม 2559 มาอยู่ ที่ 890-910 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ในเดือน ธันวาคม 2560 ส่วนราคาเยื่อใยสั้น มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากราคา 500-510 ดอลลาร์สหรัฐฯ ใน เดือน ธันวาคม 2559 มาอยู่ที่ 760-770 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในเดือน ธันวาคม 2560 ราคา เยื่อที่ขายในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกอื่นๆ เยื่อใยยาว มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากราคา 565-580 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตันใน เดือน ธันวาคม 2559 มาอยู่ที่ 810-850 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน ในเดือน ธันวาคม 2560 ส่วนราคาเยื่อใยสั้น มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากราคา 510-525 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตันใน เดือน ธันวาคม 2559 มาอยู่ที่ 725-760 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในเดือนธันวาคม 2560 ที่มา: PPI ASIA วันที่ 22 ธันวาคม 2560
1.2) คาดการณ์ภาวะตลาดโลกใน ปี 2561
ในปี 2561 แนวโน้มสถานการณ์อตุ สาหกรรมเยือ่ และกระดาษเริม่ มีการขยายตัวจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจโลกทีม่ กี ารฟืน้ ตัวทีอ่ ย่างค่อยเป็นค่อย ไป โดยเฉพาะอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ที่ท�ำจากกระดาษ แม้ว่าจะยังคงมี สภาวะ over supply ของเยื่อกระดาษ และกระดาษ ส่งผลท�ำให้ราคาเยื่อกระดาษ แม้ว่าจะไม่สามารถปรับตัวสูงขึ้นได้มากนักเนื่องจากได้มีการปรับสูงขึ้นตลอดในปี 2560 แต่คาดการณ์ว่าด้วยการขยายตัวด้านการผลิตและนโยบายด้าน สิง่ แวดล้อมของประเทศจีน ทีห่ า้ มการน�ำเข้าเศษกระดาษคุณภาพต�ำ่ ทีม่ ปี ริมาณสิง่ เจือปนมาในปริมาณสูง ก่อให้เกิดขยะในปริมาณมากและเป็นภาระในการ ก�ำจัด จะส่งผลให้มีการใช้เยื่อกระดาษมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เยื่อใยสั้นBleached Eucalyptus Wood Pulp ซึ่งท�ำให้ราคาเยื่อกระดาษดีขึ้น ในด้านของแผนการลงทุนขยายก�ำลังการผลิต ในปี 2560 ส่วนของเยื่อใยสั้น Eucalyptus ในทวีปอเมริกาใต้ ประมาณ 1.95 ล้าน ตัน ในขณะที่ อุปสงค์ของการใช้เยือ่ กระดาษจะค่อยๆเพิม่ ขึน้ ในช่วงไตรมาสที่ สองถึงสาม ในปี 2561 เนือ่ งจากผูผ้ ลิตกระดาษต้องใช้เวลาในการปรับราคาขายผลิตภัณฑ์ กระดาษให้กับผู้บริโภคอย่างค่อยเป็นค่อยไปจึงคาดการณ์ความต้องการใช้เยื่อในภูมิภาคนี้จะเพิ่มขึ้น แต่เนื่องจากยังคงมีภาวะ over supply ของเยื่อใยสั้น ยังคงมีอยู่ตลอดจนถึงสิ้นปี 2560 ท�ำให้ราคาเยื่อใยสั้นได้รับการกดดันให้ ไม่สามารถปรับราคาขึ้นได้สูงมากนักเนื่องจากได้ปรับตัวขึ้นมามากแล้ว ( 2 ) ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ สถานการณ์อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ กระดาษ และสิ่งพิมพ์ ไตรมาส 3 ปี 2560 ปรับตัวเพิ่มขึ้นในผลิตภัณฑ์กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษแข็ง และ กระดาษคร๊าฟ เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2559 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อส�ำหรับใช้ ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ด้วยปริมาณการบริโภคใน ประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่องรวมถึงในอุตสาหกรรมหลักอื่นๆ เช่น อาหารและเครื่องดื่ม เครื่องส�ำอาง ยาและเวชภัณฑ์
2.1) การผลิต
ไตรมาส 3 ปี 2560 ดัชนีฯ เพิ่มขึ้นจากผลิตภัณฑ์กระดาษแข็ง กระดาษคร๊าฟ และกระดาษลูกฟูก ร้อยละ 14.82 0.70 และ 1.87ตามล�ำดับ เมื่อ เปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี 2560 และเพิ่มขึ้นจากผลิตภัณฑ์กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษแข็ง และกระดาษคร๊าฟ ร้อยละ 3.09 9.90 และ 3.74 ตามล�ำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการผลิตส�ำหรับใช้ ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รวมถึงอุตสาหกรรมหลักอื่นๆ เช่น อาหาร และ เครื่องดื่ม เครื่องส�ำอาง ยาและเวชภัณฑ์ ส่งผลให้ความต้องการบรรจุภัณฑ์กระดาษที่ใช้กับสินค้ากลุ่มนี้เพิ่มขึ้นด้วย
2.2) การส่งออกเยื่อกระดาษ และกระดาษสิ่งพิมพ์
ในไตรมาสที่ 3 ปี 2560 มีมูลค่า 492.36 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ชะลอตัวเล็กน้อยรอยละ 0.47 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี 2560 แต่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.88 เมือ่ เทียบกับไตรมาสเดียวกันกับปีกอ่ น จากการส่งออกเยือ่ กระดาษชนิดเยือ่ ไม้เคมีละลายน�ำ้ ได้เพิม่ ขึน้ ไปยังประเทศคูค่ า้ อย่างจีน และฟิลปิ ปินส์ ในส่วนกระดาษและผลิตภัณฑ์ส่งออกเพิ่มขึ้นไปยังเกาหลีใต้และอินโดนีเซีย ในขณะที่หนังสือและสิ่งพิมพ์ ลดลงจากสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร ใน ประเภทสิ่งพิมพ์อื่นๆรวมถึงภาพพิมพ์และภาพถ่าย
2.3) การน�ำเข้าเยื่อกระดาษและสิงพิมพ์
ในไตรมาสที่ 3 ปี 2560 มีมูลค่า 675.83 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.64 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี 2560 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.47 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน จากการน�ำเข้าเยื่อกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษชนิดที่ไม่สามารถผลิตได้ ในประเทศเพิ่มขึ้น ในขณะที่หนังสือและ สิ่งพิมพ์ น�ำเข้าลดลงร้อยละ 32.56 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี 2560 จากความนิยมสื่อ สิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ ถูกแทนที่ด้วยสื่อดิจิตอล
48
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม การส่งออก-น�ำเข้า เยื่อกระดาษ กระดาษ และสิ่งพิมพ์ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษ 170 150 130 110 90 70 50
Q3-59
Q4-59
เยื่อกระดาษ
Q1-60
พิมพ์เขียน
Q2-60
แข็ง
Q3-60
ดราฟท์
ลูกฟูก
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
การส่งออก-น�ำเข้าเยื่อกระดาษ กระดาษและสิ่งพิมพ์ ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ส่งออก
596 469
Q3-59
545 490
Q4-59
564 447
Q1-60
676
611 495
Q2-60
น�ำเข้า
492
Q3-60
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สรุปและแนวโน้มเยื่อกระดาษ กระดาษสิ่งพิมพ์ ไตรมาสที่ 4 ของปี 2560 ส�ำหรับอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ กระดาษสิ่งพิมพ์ ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2560 การผลิตคาดว่าจะขยายตัวได้จากเยื่อกระดาษและผลิตภัณฑ์จาก กระดาษ ได้แก่ กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษแข็ง และกระดาษคร๊าฟ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการใช้ภายในประเทศ ในส่วนการ ส่งออกคาดว่า จะทรงตัวถึงชะลอตัวเล็กน้อย ยกเว้นเยื่อกระดาษ คาดว่าจะขยายตัวได้ นโยบายภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ กระดาษสิ่งพิมพ์ กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560-2579) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564) ซึง่ มีเป้าหมายในประเทศไทยมีความ มัน่ คงทางเศรษฐกิจโดยมุง่ เน้นการเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของผูป้ ระกอบการไทยด้วยการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมในการสร้างมูลค่าและเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตสินค้านโยบายดังกล่าว จึงเป็นโอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการในการพัฒนาสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูง ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
49
สถานการณ์ตลาดเยื่อชานอ้อย ปี พ.ศ. 2560 และแนวโน้มในปี 2561 แม้สภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกในปี 2560 ที่ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่ความต้องการใช้เยื่อชานอ้อยทั้งในประเทศและต่างประเทศยังคงมีอยู่อย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากราคาเยื่อใยสั้นทั่วโลก มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก ผู้ผลิตสินค้าบางส่วน โดยเฉพาะในประเทศจีนได้หันไปเพิ่มสัดส่วนในการใช้ เยื่อชานอ้อย ที่ราคาต�่ำกว่าไปเป็นส่วนผสมในการผลิตสินค้ามากขึ้น ในส่วนของลูกค้าทีย่ งั คงมีความต้องการใช้เยือ่ ชานอ้อยอย่างต่อเนือ่ ง เป็นกลุม่ ลูกค้าทีผ่ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีจ่ ำ� เป็นต้องใช้เยือ่ ชานอ้อย เป็นวัตถุดิบหลัก และการใช้เป็นส่วนผสมเพื่อสร้างภาพลักษณ์ทางด้านสิ่งแวดล้อมให้กับผลิตภัณฑ์ทั้งในส่วนของกระดาษพิมพ์เขียนและกระดาษอนามัย ในปี 2560 นี้ ทางบริษทั ฯ ได้ปรับราคาขายเยือ่ ชานอ้อยเพิม่ ขึน้ ตามสภาวะราคาเยือ่ ในตลาดโลก โดยมีการปรับเพิม่ ขึน้ จากราคา FOB 555 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ใน เดือน ธันวาคม 2559 มาอยู่ที่ราคา FOB 715 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน ในเดือน ธันวาคม 2560 ซึ่งก็ยังคงมีการสั่งซื้อเยื่อชานอ้อยอย่าง ต่อเนื่องโดยตลอดทั้งตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ ในปี 2561 คาดว่าภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในประเทศจะฟื้นตัวอย่างช้าๆ และความต้องใช้เยื่อชานอ้อยจะยังคงมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการส่งออกต่างประเทศซึ่งจะได้รับผลดีจากนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศจีนและในกลุ่มระเทศ EU ที่เน้นการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นและการขยายก�ำลังการผลิตของผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมทั้งในประเทศในต่างประเทศ แม้ว่าทางบริษัทฯจะมีผลผลิตเยื่อชานอ้อยใกล้เคียงกับปี 2560 ซึ่งยังคงมีผลท�ำให้ต้นทุนการผลิตเยื่อชานอ้อยของบริษัทยังคงอยู่ในระดับเดียวกับ ปี 2560 แต่ในส่วนของราคาขายนัน้ คาดการณ์วา่ จะสามารถปรับให้สงู กว่าราคาขายเฉลีย่ ในปี 2560 ได้ ทัง้ นีก้ ารปรับราคาขายต้องด�ำเนินการให้สอดคล้อง กับสภาวะราคาขายของเยื่อในตลาดโลกด้วย ในปี 2560 ประเทศไทยมีโรงงานผู้ผลิตเยื่อกระดาษรายใหญ่ดังต่อไปนี้ ผู้ผลิต
กำ�ลังการผลิต (พันตัน)
ชนิดของวัตถุดิบ
Double A
560
ยูคาลิปตัส
Phoenix Pulp & Paper
240
ยูคาลิปตัส
Panjapol Pulp Industry
110
ยูคาลิปตัส
SCG Paper
107
ยูคาลิปตัส CTMP
EPPCO
100
ชานอ้อย
Siam Cellulose
86
ยูคาลิปตัส
Fiber Pattana
20
กล่อง UHT
Thai Gorilla Pulp
9
ใบต้นปาล์ม
รวม
1,232
ที่มา: 2016 – 2018 Directory of the Thai Pulp and Paper Industries Association (TPPIA)
สถานการณ์ตลาดของบรรจุภัณฑ์จากชานอ้อย ( Pulp Mould ) ปี 2560-2561 ความต้องการบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์จากเยื่อชานอ้อยในตลาดโลกยังคงมีความเติบโตอย่างต่อเนื่อง ผู้ผลิต รายใหญ่ในประเทศจีนมีการวางแผนขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่องตามความเติบโตของตลาด ส�ำหรับในประเทศไทย ปัจจุบันมีผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบจากเยื่อชานอ้อยในประเทศไทยเพียงสองรายเท่านั้น ในขณะที่ความต้องการบรรจุ ภัณฑ์ดังกล่าวมีความเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับผลดีจากการส่งเสริมและรณรงค์ของภาครัฐบาลและเอกชนหลายแห่งที่ช่วยผลักดันให้ตลาดบรรจุ ภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศมีเติบโตในช่วงปี 2560 และมีแนวโน้มที่จะเติบโตอย่างต่อเนื่องในปี 2561 กลยุทธ์การแข่งขันของบริษัทฯ (1) ความแน่นอนในการจัดหาวัตถุดิบ EPPCO มีความมั่นคงทางด้านวัตถุดิบสูง เนื่องจากรับวัตถุดิบชานอ้อยโดยตรงจากบริษัทฯ และโรงงานของกลุ่ม บริษัทฯ ซึ่งโรงงานของกลุ่ม บริษัทฯ สามารถหีบอ้อยได้มากกว่า 10,000,000 ตันอ้อยต่อปี จึงมีชานอ้อยเป็นจ�ำนวนมาก ดังนั้น EPPCO สามารถวางแผนปริมาณการผลิต และการ ขายล่วงหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
50
การที่ EPPCO สามารถจัดหาวัตถุดิบได้ ในปริมาณที่สูง และมั่นคงนั้น ท�ำให้ลูกค้าไว้วางใจได้ว่าจะมีผลิตภัณฑ์เยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย พร้อมจัดจ�ำหน่ายให้กับลูกค้าของ EPPCO เมื่อลูกค้าต้องการ (2) ต้นทุนวัตถุดิบต�่ำ EPPCO มีคา่ ใช้จา่ ยวัตถุดบิ ต�ำ่ เมือ่ เปรียบเทียบกับโรงงานเยือ่ กระดาษรายอืน่ เนือ่ งจาก EPPCO มีพนื้ ทีอ่ ยูใ่ นบริเวณใกล้กบั โรงงานของบริษทั ฯ ซึง่ เป็นผู้จ�ำหน่ายวัตถุดิบตรงให้กับ EPPCO โดยใช้ระบบสายพานล�ำเลียงแทนการขนส่งด้วยรถบรรทุก ส่งผลให้มีค่าขนส่งที่ตำ�่ (3) การเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์เยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของ EPPCO ผลิตจากชานอ้อย ซึ่งถือเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และเป็นเยื่อใหม่ซึ่งยังไม่เคยผ่านการ ใช้งาน (Virgin pulp) โดยกระแสการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท�ำให้มีความต้องการผลิตภัณฑ์ของ EPPCO นอกจากนี้โรงงานเยื่อกระดาษฟอก ขาวจากชานอ้อยของ EPPCO ยังเป็นโรงงานเยื่อกระดาษรายแรกของประเทศที่ได้รับใบรับรองมาตรฐานความปลอดภัยทางด้านอาหาร ISO 22000 และ GMP&HACCP จากบริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งปลอดภัยแก่การบริโภค และสามารถน�ำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตท�ำภาชนะอาหารและบรรจุ ภัณฑ์ประเภทอื่นๆได้ ช่องทางการจ�ำหน่าย - เยื่อกระดาษ (1) ลูกค้าในประเทศ EPPCO จัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยให้กับลูกค้าอุตสาหกรรมโดยตรง เป็นรายเดือนหรือตามความต้องการของลูกค้า โดยจัด ส่งผลิตภัณฑ์ตามระยะเวลาที่ได้ตกลงกับลูกค้า EPPCO มุ่งเน้นการจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยให้แก่กลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรมกระดาษ รายใหญ่ในประเทศทีม่ คี วามต้องการใช้เยือ่ กระดาษประเภททีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และจัดเจ้าหน้าทีค่ อยให้คำ� แนะน�ำการใช้เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชาน อ้อยอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพเพื่อความพอใจของลูกค้าในลักษณะ Technical Sales โดยขายให้บริษัทชั้นน�ำในประเทศ ได้แก่ บริษัท เอสซี จี เปเปอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คิมเบอร์ลีย์-คล๊าค (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ บริษัท บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม จ�ำกัด เป็นต้น (2) ลูกค้าต่างประเทศ การจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยให้กับลูกค้าต่างประเทศส่วนใหญ่ผ่านนายหน้า (Broker) ซึ่งการซื้อขายเยื่อกระดาษฟอกขาว จากชานอ้อยไปต่างประเทศจะท�ำสัญญาการซื้อขายแบบ Spot Lot ซึ่งเป็นการท�ำสัญญาซื้อขายเป็นครั้งๆ โดยพิจารณาจากสภาวะตลาด และราคา ณ ช่วงเวลานั้นๆ การท�ำสัญญาประเภทนี้มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 80.0 ของยอดขายต่างประเทศทั้งหมด ในขณะที่ประมาณร้อยละ 10.0 เป็นการขายภาย ใต้สัญญาระยะยาว ทั้งนี้ EPPCO พิจารณาเลือกนายหน้าโดยพิจารณาจากก�ำลังการซื้อของประเทศต่างๆ และความน่าเชื่อถือของนายหน้าเพื่อลดความ เสี่ยงในการขาย ส่วนอีกร้อยละ 10 เป็นการขายตรงให้กับลูกค้าผู้ผลิตกระดาษโดยตรง นอกจากนี้ ผู้บริหารของ EPPCO ยังท�ำการตลาดอย่างต่อเนื่อง เช่น การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าเพื่อหากลุ่มลูกค้าใหม่อีกด้วย การขายผ่านผู้ค้าคนกลางท�ำให้ EPPCO สามารถก�ำหนดราคา และปริมาณที่ต้องการขาย ตามที่ EPPCO เห็นว่าเหมาะสมได้โดยไม่ต้องท�ำการเจรจากับลูกค้าโดยตรง โดยรายได้หลักของ EPPCO มาจากการขายต่างประเทศซึ่งคิดเป็นประมาณ ร้อยละ 70-78 ของรายได้ของ EPPCO โดย EPPCO ขายผลิตภัณฑ์ ให้นายหน้าชั้นน�ำของต่างประเทศ ได้แก่ Zhejiang Welbon Pulp and Paper Group ,Ecoplus Paper and Packaging (HK) Co.,Ltd , OG Corporation, เป็นต้น ช่องทางการจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ Pulp Mould สัดส่วนการท�ำตลาดส�ำหรับผลิตภัณฑ์ Pulp Mould ได้ ก�ำหนดเป้าหมายให้ มีสัดส่วน 90-95% ส�ำหรับตลาดต่างประเทศ และ 5-10% ส�ำหรับ ตลาดในประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากความตื่นตัวและความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ Pulp Mould ของผู้บริโภคในต่างประเทศและความต้องการใช้บรรจุภัณฑ์เพื่อ สิง่ แวดล้อมยังคงมีความต้องการสูงและมีอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ทางบริษทั ฯยังคงต้องมีการพัฒนาเพิม่ ชนิดและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์เพือ่ รองรองรับ ความต้องของผู้บริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศในอนาคต 1) การขายส่งออกต่างประเทศ เนื่องจากตลาดบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่ในต่างประเทศจะอยู่ในประเทศทางยุโรปและอเมริกา ดังนั้นในการท�ำตลาดต่างประเทศในระยะ แรกนั้นจ�ำเป็นต้องอาศัย sale agent and distributor ที่มีความช�ำนาญและมี volume ในการช่วยกระจายสินค้าสินค้าให้กับบริษัท เนื่องจากสามารถ เข้าถึงตัวแทนจ�ำหน่ายและผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ ในต่างประเทศได้มากกว่าทั้งในรูปแบบของการรับจ้างผลิต ( OEM ) และในการจ�ำหน่ายภายใต้ Brand ของ ทางบริษัทเอง ในปี 2560 ทางบริษัทฯสามารถจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ Pulp Mold ไปต่างประเทศได้ตามเป้าหมายในราคา 2,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ซึ่งคาดว่าจะสามารถปรับราคาขายเพิ่มขึ้นได้ ในปี 2561 ตามความต้องที่เพิ่มมากขึ้น
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
51
2) การขายภายในประเทศ ลูกค้าในประเทศจะเป็นกลุม่ ลูกค้าทีต่ ระหนักถึงการรักษาสิง่ แวดล้อมเป็นส่วนใหญ่ ทัง้ นีท้ างบริษทั ฯมีชอ่ งทางการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ Pulp Mould ในประเทศที่หลายช่องทาง ดังนี้ การขายเข้าสู่ ผู้ค้าปลีกขนาดใหญ่ ( BigC , Makro , Lotus , TOP , The Mall ,Central Department Store , Seven Eleven ) ทั้งภายใต้ Brand ของตัวเอง และ/หรือ การผลิต House Brand ให้กับผู้ค้าปลีกขนาดใหญ่ l
การขายผ่านผู้ค้าส่งบรรจุภัณฑ์ ในแต่ละจังหวัด และระบบตัวแทนขายสินค้าทั่วประเทศ
l
การขายตรงให้องค์กรและหน่วยงานภาครัฐ โรงพยาบาล โรงเรียน มหาวิทยาลัยและ สถานบันและองค์กร ต่างๆ
l
การขาย ปลีกในระบบ Online Marketing ( อยู่ในระหว่างการพัฒนา )
l
ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอลผ่าน บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด หรือ “KTBE” โดยใช้วัตถุดิบหลักคือกากน�ำ้ ตาล จาก โรงงานน�้ำตาลทรายของกลุ่มบริษัทฯ มีกำ� ลังการผลิตสูงสุด 230,000 ลิตรต่อวัน หรือ 75,900,000 ลิตรต่อปี ปัจจุบัน KTBE ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทา นอลเพียง 2 เกรดได้แก่ เอทานอลที่ใช้ ในอุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง (Fuel Alcohol) เอทานอล :สภาวะตลาดและการแข่งขัน (1) ภาวะอุตสาหกรรมตลาดโลก ราคาเอทานอล ราคาเอทานอลสหรัฐฯ เฉลีย่ 15.02 บาทต่อลิตร ลดลงจากไตรมาสก่อนและช่วงเดียวกันของปีกอ่ นร้อยละ 5.6 และร้อยละ 6.2 ตาม ล�ำดับ ตามการเพิ่มขึ้นของผลผลิตเอทานอลของสหรัฐฯและบราซิล ส่วนราคาเอทานอลเกรดเชื้อเพลิงและอุตสาหกรรมบราซิลเฉลี่ย 16.10 บาทต่อลิตร และ 15.00 บาทต่อลิตร ลดลงจากไตรมาสก่อนและช่วงเดียวกันของปีก่อน เฉลี่ยร้อยละ 12.3 ตามผลผลิตเอทานอลที่เพิ่มขึ้น การผลิต ปริมาณการผลิตเอทานอลของสหรัฐฯ ไตรมาสที่ 3/2560 เฉลีย่ 163.3 ล้านลิตรต่อวัน เพิม่ ขึน้ จากไตรมาสก่อนร้อยละ 3.4 ตามการเปิด ด�ำเนินการผลิตเอทานอลเต็มทั้งไตรมาส หลังปิดซ่อมบ�ำรุงโรงงานในช่วงต้นไตรมาส 2 แต่ยังใกล้เคียงกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนการผลิตเอทานอล ของบราซิลอยู่ที่ 128.7 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อน ร้อยละ 103.8 ตามปริมาณอ้อยเข้าหีบมากที่สุดช่วงไตรมาสที่ 3 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการที่บราซิลเพิ่มการจัดสรรอ้อยเพื่อผลิตเอทานอลมากขึ้นตามราคาน�้ำตาลโลกที่อยู่ในระดับต�ำ่ ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตเอทานอลของสหรัฐฯ 13.1 บาทต่อลิตร ลดลงร้อยละ 19.4 จากไตรมาสก่อน เป็นผลจากการที่โรงงานสามารถ ผลิตเอทานอลได้เต็มทีห่ ลังปิดซ่อมบ�ำรุงช่วงต้นไตรมาสที่ 2 ประกอบกับราคากากข้าวโพดทีใ่ ช้เป็นวัตถุดบิ ปรับลดลงแต่ใกล้เคียงกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ความต้องการใช้ ความต้องการใช้เอทานอลของสหรัฐฯประมาณ 152.6 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อน ร้อยละ 3.7 ตามความต้องการ ใช้น�้ำมันเบนซินในประเทศที่เพิ่มขึ้นแต่ลดลงร้อยละ 4.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนความต้องการใช้เอทานอลของบราซิลอยู่ที่ 68.4 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.5 จากไตรมาสก่อน แต่ลดลงจากปีเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.4 ตามราคาเอทานอลที่ปรับเพิ่มขึ้น การส่งออก การส่งออกเอทานอลของสหรัฐฯ ไตรมาสที่ 3/2560 อยู่ที่ 6.8 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนและช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 8.5 และร้อยละ 33.6 ตามล�ำดับ ตามการเพิ่มขึ้นของผลผลิตและความต้องการเอทานอลจากคู่ค้าหลัก เช่น บราซิลและแคนาดา ส่วนบราซิล ส่งออกเอทานอลอยู่ที่ 5.8 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนและช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 45 และร้อยละ 26.4 ตามล�ำดับ ตามปริมาณ ผลผลิตอ้อยเข้าหีบที่อยู่ในระดับสูงในช่วงไตรมาสที่ 3 โดยสหรัฐฯน�ำเข้าเอทานอลจากบราซิลสูงร้อยละ 66 ของปริมาณการส่งออกเอทานอลของบราซิล รองลงมา คือ เกาหลีเหนือ และญี่ปุ่น ที่มา: รายงานสถานการณ์ราคาเอทานอลของไทย ไตรมาส 3/2560 ธนาคารแห่งประเทศไทย
(2) ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ ราคาเอทานอล ราคาเอทานอลอ้างอิงภายในประเทศไตรมาส 4/2560 เฉลี่ย 24.91 บาทต่อลิตร ลดลงจากไตรมาสก่อน ตามภาวะการแข่งขันที่ รุนแรงขึ้น การผลิต ปริมาณการผลิตเอทานอลของไทย 3.92 ล้านลิตรต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 62.7 ของก�ำลังการผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 จากไตรมาสก่อน อย่างไรก็ตามอุปทานของเอทานอลไทยยังอยู่ในระดับสูงสะท้อนจากปริมาณสต็อกเอทานอล ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนและช่วงเดียวกัน ของปีก่อน ร้อยละ 17.6 และร้อยละ 112.0 ตามล�ำดับ
52
ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตเอทานอลจากกากน�ำ้ ตาลของไทยไตรมาส 4/2560 อยูท่ ี่ 22.12 บาทต่อลิตร (ค�ำนวณทีร่ าคากากน�ำ้ ตาลเฉลีย่ 4.0 บาทต่อกิโลกรัม) ส่วนต้นทุนการผลิตเอทานอลจากหัวมันสดอยู่ที่ 17.4 บาทต่อลิตร (ค�ำนวณที่ราคาหัวมันฯ เฉลี่ย 1.2 บาทต่อกิโลกรัม) ใกล้เคียงกับ ไตรมาสก่อน ขณะที่ตน้ ทุนจากมันเส้นอยูท่ ี่ 21.8 บาทต่อลิตร (ค�ำนวณทีร่ าคามันเส้นเฉลีย่ 4.9 บาทต่อกิโลกรัม) เพิม่ ขึน้ จากไตรมาสก่อนและช่วงเดียวกัน ปีก่อนตามราคามันส�ำปะหลังที่เริ่มปรับเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.9 และ ร้อยละ 8.7 ตามล�ำดับ ความต้องการใช้ ความต้องการใช้เอทานอลของไทยอยู่ที่ 4.2 ล้านลิตรต่อวัน ปรับเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนและช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.9 และร้อยละ 13.1 ตามล�ำดับ ตามปริมาณการจ�ำหน่ายแก๊สโซฮอล์ E20 และ E85 เพิ่มขึ้นร้อยละ 12 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ยังคงสัดส่วนการบริโภค ไม่มากเมื่อเทียบกับปริมาณการจ�ำหน่ายแก๊สโซฮอล์ทั้งหมดที่ 2,678.0 ล้านลิตร ขณะที่ปริมาณการใช้น�้ำมันเบนซินรวมลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 13.1 ในปี 2560 ประเทศไทยมีโรงงานเอทานอลที่เปิดและด�ำเนินการผลิตทั้งสิ้น 26 โรง ซึ่งมีกำ� ลังการผลิตที่จดทะเบียนกับกรมสรรพสามิตรวมกันทั้ง สิ้น 6.250 ล้านลิตรต่อวัน ในขณะที่ปริมาณความต้องการเอทานอลเฉลี่ยมีประมาณวันละ 4.0 ล้านลิตรต่อ โดยมีโรงงานผลิตเอทานอลรายใหญ่ดังนี้ สถานการณ์ก�ำลังการติดตั้งโรงงานเอทานอลของประเทศไทย (พ.ย.60) ผู้ประกอบการ
กำ�ลังการผลิต ที่จดทะเบียนกับกรม สรรพสามิต (ลิตร/วัน)
วัตถุดิบการผลิต
1
บริษัท มิตรผล ไบโอฟูเอล จำ�กัด (ชัยภูมิ)
500,000
กากน้ำ�ตาล
2
บริษัท อี85 จำ�กัด
500,000
มันสด/น้ำ�แป้ง
3
บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จำ�กัด
400,000
มันสด/มันเส้น
4
บริษัท ที พี เค เอทานอล จำ�กัด เฟส 1
340,000
มันเส้น
5
บริษัท มิตรผล ไบโอฟูเอล จำ�กัด (กุฉินารายณ์/กาฬสินธุ์)
320,000
กากน้ำ�ตาล
6
บริษัท ไทยรุ่งเรืองพลังงาน จำ�กัด
300,000
กากน้ำ�ตาล
7
บริษัท เคเอสแอล กรีน อินโนเวชั่น จำ�กัด (มหาชน) (บ่อพลอย)
300,000
กากน้ำ�ตาล
8
บริษัท เคไอเอทานอล จำ�กัด
250,000
กากน้ำ�ตาล
9
บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด
230,000
กากน้ำ�ตาล
10
บริษัท แม่สอดพลังงานสะอาด จำ�กัด
230,000
น้ำ�อ้อย
อื่นๆ
2,880,000
รวมกำ�ลังผลิตทั้งหมดในปัจจุบัน
6,250,000
ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
แนวโน้มอุตสาหกรรม แนวโน้มอุตสาหกรรมเอทานอลภายในประเทศเกิดภาวะการแข่งขันทีร่ นุ แรงขึน้ จากก�ำลังการผลิตใหม่ทเี่ พิม่ อีก 1.22 ล้านลิตร ต่อวัน ส่งผลให้อตั ราการใช้กำ� ลังการผลิตมีแนวโน้มปรับลดลงมาอยูท่ ี่ 68-70% ของก�ำลังการผลิตทัง้ หมด (เทียบจากปี 2559) และการแย่งชิงวัตถุดบิ อาจ รุนแรงขึ้นโดยเฉพาะมันส�ำปะหลังที่คาดว่าต้องใช้มันส�ำปะหลังเพิ่มอีกจ�ำนวนหนึ่ง ขณะที่ผลผลิตมันส�ำปะหลังในแต่ละปีจะมีความไม่แน่นอน ทั้งจากปัญหา ภัยแล้งและการระบาดของเพลี้ยแป้งเป็นระยะ จึงอาจท�ำให้ผลผลิตมันส�ำปะหลังไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ ทั้งนี้ ประเด็นที่ต้องติดตามในอนาคต ได้แก่ 1) นโยบายภาครัฐในการยกเลิกการจ�ำหน่ายแก๊สโซฮอล์ 91 ในปี 2561 ซึ่งจะหนุนให้ความต้องการใช้เอ ทานอลเพิ่มขึ้น และ 2) การพัฒนาเทคโนโลยีรถยนต์ที่เป็นคู่แข่งกับเครื่องยนต์เบนซิน อาทิ รถยนต์ ไฮบริด รวมถึงรถยนต์ ไฟฟ้า (EV) ที่จะเข้ามามีบทบาท ในตลาดรถยนต์ แม้ ในระยะนี้จะยังไม่กระทบต่อความต้องการใช้เอทนอล แต่หากนโยบายภาครัฐสนับสนุนในเรื่องนี้จริงจัง โดยจูงใจให้มีผู้ ใช้รถยนต์กลุ่มนี้ มากขึ้น จะท�ำให้ความต้องการใช้เอทานอลเพื่อให้เป็นเชื้อเพลิงในอนาคตลดลง ที่มา: วิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
53
เอทานอล :กลยุทธ์การแข่งขันของบริษัทฯ (1) ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ KTBE มีผลิตภัณฑ์ทหี่ ลากหลายตามความต้องการของลูกค้าในแต่ละอุตสาหกรรม ซึง่ โรงกลัน่ ของ KTBE ได้รบั ใบอนุญาตในการผลิตเอทานอลได้ ถึง 3 เกรด ได้แก่ เอทานอลที่สามารถรับประทานได้ (Potable Alcohol) เอทานอลที่ใช้ ในอุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง (Fuel Alcohol) การมีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเช่นนี้ ช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศให้กับ KTBE แตกต่างจากโรงงานผลิตเอทา นอลส่วนมากในประเทศไทยที่สามารถผลิตเพียงเอทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อขายในประเทศเท่านั้น (2) ความแน่นอนในการส่งมอบผลิตภัณฑ์ KTBE มีความสามารถในการส่งมอบผลิตภัณฑ์ ให้กับลูกค้าได้อย่างสม�่ำเสมอและตรงเวลา เนื่องจาก KTBE ใช้กากน�้ำตาลจากโรงงานของกลุ่ม บริษัทฯ เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตเอทานอล ซึ่งมีปริมาณมากเกินกว่าความต้องการของก�ำลังการผลิต ทาง KTBE จึงไม่เคยประสบปัญหาวัตถุดิบ ขาดแคลน จากปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ KTBE สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ ได้ตรงเวลาและได้รับความไว้วางใจจากลูกค้ามาโดยตลอด (3) คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ุ ภาพเอทานอลที่ได้จากโรงงานมีคณ ุ ภาพตรงตามมาตรฐานตามที่ KTBE มีนโยบายมุง่ รักษาและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์อยูเ่ สมอ ท�ำให้คณ กฎหมายก�ำหนด อีกทั้งยังสามารถพัฒนาหอกลั่นเพื่อผลิตเอทานอลระดับ Korean B grade ซึ่งเป็นเอทานอลที่มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่างประเทศ (4) นโยบายส่งเสริมการตลาด KTBE ตระหนักถึงการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมพลังงานในปัจจุบัน KTBE จึงได้มีการจัดท�ำนโยบายส่งเสริมการตลาดอย่างต่อเนื่องเพื่อ เพิม่ ฐานลูกค้าโดยเฉพาะฐานลูกค้าในต่างประเทศ อาทิ นโยบายเข้าร่วมประชุมและอบรมผูผ้ ลิตเอทานอลทัง้ ในและนอกประเทศอยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ เพิม่ โอกาสในการพบปะลูกค้าและพ่อค้าคนกลางเป็นการสร้างฐานลูกค้าให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เอทานอล :ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย (1) ลูกค้าในประเทศ KTBE จัดจ�ำหน่ายเอทานอลที่มีความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 เพื่อน�ำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผสมเป็นน�้ำมันเชื้อเพลิงให้กับบริษัทผู้ค้าน�ำ้ มันในประเทศ สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐที่สนับสนุนพลังงานทดแทนเพื่อลดการน�ำเข้าน�้ำมันเชื้อเพลิงและน�้ำมันดิบจากต่างประเทศ โดยมีผู้ค้าตามมาตรา 72 ซึ่งเป็นลูกค้ารายใหญ่เป็นลูกค้า ของ KTBE เช่น บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด โดย รายได้จากการขายเอทานอลทีเ่ ป็นเชือ้ เพลิงในประเทศคิดเป็นร้อยละ 100 ของรายได้จากการขายเอทานอลทัง้ หมดในปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (2) ลูกค้าต่างประเทศ KTBE ท�ำการจัดจ�ำหน่ายเอทานอลไปยังต่างประเทศ โดยจะจัดจ�ำหน่ายผ่านผู้กระจายสินค้าเพื่อส่งต่อไปยังลูกค้าขั้นสุดท้าย ที่ผ่านมา KTBE จัด จ�ำหน่ายเอทานอลที่ใช้ ในโรงงานอุตสาหกรรม ความบริสุทธิ์ร้อยละ 95.5 และเอทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง ความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 ในต่างประเทศ ภาย หลังการมีนโยบายจากกระทรวงพลังงาน เรื่องยกเลิกการจ�ำหน่ายน�้ำมันเบนซิน 91 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ท�ำให้การใช้เอทานอลในประเทศมี การปรับตัวสูงขึ้น ทางบริษัทฯ จึงมิได้ส่งออกเอทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงและใช้ ในอุตสาหกรรมไปต่างประเทศ ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า บริษัทฯ มีหน่วยผลิตไฟฟ้าและไอน�้ำในโรงงานน�้ำตาลทรายและโรงงานเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โดยใช้ชานอ้อยซึ่งเป็นกากของเสียจาก กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลมาเป็นวัตถุดบิ หลัก น�ำไอน�ำ้ และไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ ไปใช้ ในกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทรายของบริษทั ฯ ทัง้ 3 โรงงาน และในกระบวนการ ผลิตของโรงงานอื่นในกลุ่มบริษัทฯ และจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคตามสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้า และในปี 2560 ในส่วนของโรงงานน�้ำตาลที่ขายไฟในรูปแบบของ Adder บริษัทฯ ได้เปลี่ยนมาเป็นการขายไฟในรูปแบบ Feed-in tariff ซึ่งท�ำให้ ได้ ราคาจากการขายไฟที่สูงขึ้น บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “KTBP” ซึ่ง ปัจจุบันได้ดำ� เนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าในระบบ โรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดก�ำลังผลิตทั้งสิ้น 60 เมกะวัตต์แล้ว นอกจากนั้นบริษัทฯ ยังได้จัดตั้งบริษัท ไทยเอกลักษณ์ ไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “TEP” และ บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “RPBP” ซึง่ จะด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าในระบบโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดก�ำลังการผลิตโรงละ 50 เมกะวัตต์ 2
พระราชบัญญัติการค้าน�้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 หมวด 1 การค้าและการขนส่งน�ำ้ มันเชื้อเพลิง มาตรา 7 บังคับให้ผู้ค้าน�ำ้ มันที่มีปริมาณการค้าแต่ละชนิด หรือรวมกันทุกชนิดปีละ ตั้งแต่หนึ่งแสนเมตริกตันขึ้นไป หรือเป็นผู้ค้าน�้ำมันชนิดก๊าซปิโตรเลียมเหลวแต่เพียงชนิดเดียวที่มีปริมาณการค้าปีละตั้งแต่ห้าหมื่นเมตริกตันขึ้นไป ต้องได้รับใบอนุญาตจากรัฐมนตรี
54
โดย TEP ได้ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยแล้วตั้งแต่เดือน เมษายน 2559 ส�ำหรับ RPBP (โครงการ 1) ได้ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยแล้วตั้งแต่เดือนมีนาคม 2560 ส�ำหรับ RPBP (โครงการ 2 )คาดว่าจะ ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าในกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้ภายในปี 2562 ต่อไป ไฟฟ้า :สภาวะตลาดและการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ จากแผน PDP 2015 กระทรวงพลังงานได้วางกรอบแผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติโดยจัดท�ำเป็น 5 แผนหลักได้แก่ 1) แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (Thailand Power Development Plan : PDP) 2) แผนอนุรักษ์พลังงาน (Energy Efficiency Development Plan : EEDP) 3) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan : AEDP) 4) แผนการจัดการก๊าซธรรมชาติของไทย และ 5) แผนบริหารจัดการน�ำ้ มันเชื้อเพลิง แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกนัน้ มุง่ เน้นการพัฒนาพลังงานทดแทนให้เต็มศักยภาพในแต่ละพืน้ ที่ และทีผ่ า่ นมาภาพรวมการใช้ พลังงานทดแทนเพือ่ ผลิตไฟฟ้า มีแนวโน้มเติบโตดี ทัง้ นีม้ ปี จั จัยสนับสนุนทีส่ ำ� คัญจากภาครัฐ เพือ่ ผลักดันการใช้พลังงานทดแทนให้มากขึน้ เพือ่ ทดแทนการ ใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลให้ ได้รอ้ ยละ 20 ของการใช้พลังงานขัน้ สุดท้าย ทัง้ นีภ้ ายในปี 2579 ในส่วนของภาคการผลิตไฟฟ้ามีเป้าหมายทีจ่ ะผลักดันการใช้พลังงาน ทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้าสูงราว 19,684.40 เมกะวัตต์ ซึ่งในปี 2560 ได้มีการด�ำเนินการผลิตได้เพียงประมาณร้อยละ 51 ของเป้าหมายที่คาดการณ์ ไว้ กลุ่มพลังงานทดแทนที่มีแนวโน้มการผลิตได้มากขึ้นได้แก่ พลังงานชีวมวล รองลงมาคือ พลังงานแสงอาทิตย์และขยะ ส่วนพลังงานลมนั้นถือว่ายัง ห่างไกลเป้าหมายมาก พลังงานชีวมวลเป็นพลังงานกลุ่มหนึ่งที่ภาครัฐให้การสนับสนุนเนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมท�ำให้มีวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรในปริมาณมาก ซึ่งสามารถน�ำมาใช้เป็นพลังงานทางเลือกเพื่อผลิตไฟฟ้าได้ โดยเฉพาะประเภทอ้อย เนื่องจากทางกระทรวงอุตสาหกรรมมี แผนที่จะพัฒนาผลผลิตอ้อยให้ ได้ปริมาณถึง 300 ล้านตันในภายหน้า ส�ำหรับการแข่งขันในปี 2560 คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงานได้ออกประกาศรับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กในโครงการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ SPP Hybrid Firm โดยแบ่งการรับซื้อเป็นรายภาคดังนี้
- ภาคเหนือปริมาณที่รับซื้อ
65 MW
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือปริมาณที่รับซื้อ
60 MW
- ภาคกลางปริมาณที่รับซื้อ
20 MW
- กรุงเทพฯ และปริมณฑลปริมาณรับซื้อ
15 MW
- ภาคตะวันตกปริมาณรับซื้อ
20 MW
- ภาคตะวันออกปริมาณรับซื้อ
20 MW
- ภาคใต้ปริมาณรับซื้อ
65 MW
- จังหวัดภูเก็ตปริมาณรับซื้อ
20 MW
- อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานีรับซื้อ
15 MW
รวมการรับซื้อทั้งหมด
300 MW
ในการรับซื้อดังกล่าวได้กำ� หนดราคาสูงสุดไว้ที่ 3.66 บาทต่อกิโลวัตต์ โดยให้ผู้สนใจขายยื่นเสนอราคาในการขายไฟฟ้า ปรากฏว่ามีผู้ ได้รับการ คัดเลือกในโครงการนี้เป็นจ�ำนวน 17 ราย และผู้ยื่นราคาได้เสนอส่วนลดในส่วนของอัตรารับซื้อไฟฟ้า Fit ในส่วนคงที่ โดยรายที่เสนอส่วนลดให้มากสุดถึง ร้อยละ 99.99 ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการแข่งขันในการเสนอขายไฟฟ้าค่อนข้างรุนแรงเป็นอย่างมาก (2) สถานการณ์ความต้องการไฟฟ้าในประเทศ ปี 2560 ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิในระบบของ กฟผ. (Net Peak Generation Requirement) เกิดขึน้ ในเดือนพฤษภาคม เท่ากับ 28,578.40 เมกะวัตต์ น้อยกว่า 29,618.80 เมกะวัตต์ ที่เกิดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2559 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
55
(3) ก�ำลังผลิตไฟฟ้าในประเทศ ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2560 ก�ำลังผลิตในระบบไฟฟ้าอยู่ในระดับ 42,433.25 เมกะวัตต์ ยังไม่รวมผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก โดยแบ่งเป็นผู้ผลิต ต่าง ๆ ดังนี้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
16,071.13 เมกะวัตต์
ร้อยละ 37.87
เอกชนรายใหญ่ (IPP)
14,948.50 เมกะวัตต์
ร้อยละ 35.23
เอกชนรายเล็ก (SPP)
7,536.02 เมกะวัตต์
ร้อยละ 17.76
ซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศ
3,877.60 เมกะวัตต์
ร้อยละ 9.14
รวม
42,433.25 เมกะวัตต์ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ
ก๊าซธรรมชาติ
90,684.72 GWH
ร้อยละ 63.25
ถ่านหินนำ�เข้าและลิกไนต์
34,068.03 GWH
ร้อยละ 23.76
15,52.30 GWH
ร้อยละ 1.08
16,745.20 GWH
ร้อยละ 11.68
น้ำ�มันเตา
184.53 GWH
ร้อยละ 0.13
น้ำ�มันดีเซล
136.48 GWH
ร้อยละ 0.10
นำ�เข้า พลังงานหมุนเวียน(พลังน้ำ�,อื่นๆ)
สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้าของไทย พลังงานทดแทน
หน่วย
เป้าหมาย ปี 2579
2555
2556
2557
2558
2559
2560 (ม.ค.-ก.ย.)
พลังงานลม
MW
3,002.00
111.73
222.71
224.47
233.90
507.40
627.82
แสงอาทิตย์
MW
6,000.00
376.72
823.46
1,298.51
1,419.58
2446.12
2,692.26
ขยะ
MW
550.00
42.72
47.48
65.72
131.68
145.28
179.97
ก๊าซชีวิภาพ
MW
1,280.00
193.40
265.23
311.50
372.51
434.86
466.77
พลังงานน้ำ�ขนาดเล็ก
MW
376.00
101.75
108.80
142.01
172.12
182.12
182.28
ชีวมวล
MW
5,570.00
1,959.95
2,320.78
2,451.82
2,726.60
2,814.70
3074.28
พลังงานน้ำ�ขนาดใหญ่
MW
2,906.40
-
-
-
2,906.40
2,906.40
2906.40
รวม
MW
19,684.40
2,786.27
3,788.46
4,494.03
7,962.79
9,436.52
10,129.78
ไฟฟ้า :กลยุทธ์การแข่งขันของบริษัทฯ นอกจากการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตไฟฟ้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของบริษัทฯแล้ว ปัจจัยของเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิตมี ส่วนส�ำคัญมากในการแข่งขัน เนื่องจากโรงไฟฟ้าของบริษัทฯ เป็นโรงไฟฟ้าชีวมวล ใช้ชานอ้อยที่ได้จากการการผลิตน�้ำตาลเป็นเชื้อเพลิงหลัก บริษัทฯ จึง ได้ท�ำการปรับปรุงกระบวนการผลิตน�้ำตาลเพื่อลดการใช้พลังงานท�ำให้มีชานอ้อยเหลือมากขึ้นกว่าเดิมและบริษัทฯ ได้ ด�ำเนินการส่งเสริมการปลูกอ้อย เพื่อให้มีปริมาณอ้อยเข้าหีบมากขึ้นซึ่งจะท�ำให้ ได้ชานอ้อยเพิ่มมากขึ้นด้วย เพื่อน�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อ ชาวไร่ออ้ ยและต่อบริษทั ฯ ในขณะเดียวกันบริษทั ได้ทำ� การศึกษา และวิจยั ในการปลูกพืชพลังงานชนิดต่างๆ เพือ่ เตรียมน�ำมาใช้เป็นเชือ้ เพลิงต่อไปในภายหน้า ซึ่งจะท�ำให้บริษัทฯ สามารถสร้างรายได้และลดต้นทุนจากการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าได้มากขึ้น
56
ไฟฟ้า :ช่องทางการจ�ำหน่าย บริษัทฯ ที่ผลิตไฟฟ้าจะส่งไอน�้ำและไฟฟ้าให้แก่โรงงานน�้ำตาลของบริษัทฯ ทั้ง 3 โรงงานและจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย(กฟผ.) หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(กฟภ.) ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าของแต่ละโรงงาน ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ บริษัทฯ มีโรงงานผลิตวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ โดยใช้กากตะกอนหม้อกรอง (Filter cake) ซึ่งเป็นของเสียจากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล และน�ำ้ เสีย ที่มาจากกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ำมาผลิตเป็น วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทั้งชนิดผง และ ชนิดเม็ด โดยได้จัดตั้ง บริษัท เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด หรือ “KTBF” เพือ่ ขยายธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ซึง่ ปัจจุบนั ได้ดำ� เนินการผลิต และจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อยของ กลุ่มบริษัทฯ โดยมีกำ� ลังการผลิตชนิดผง 150,000 ตันต่อปี และ ชนิดเม็ด 10,000 ตันต่อปี วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : สภาวะตลาดและการแข่งขัน ถึงแม้ด้วยสภาพในช่วงปีที่ผ่านมา มีปริมาณน�้ำฝนอยู่ในเกณฑ์ดี ท�ำให้ปริมาณน�้ำในเขื่อนหลักอยู่ในปริมาณสูงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ส่งผลให้ เกษตรกรเกิดความเชื่อมั่นและเพิ่มพื้นที่การเพาะปลูกมากขึ้นในพืชเศรษฐกิจหลัก เช่น อ้อย ข้าว เป็นต้นแต่ด้วยปัจจัยด้านราคาของพืชเศรษฐกิจยังอยู่ ในลักษณะทรงตัว ท�ำให้เกษตรกรส่วนใหญ่จ�ำเป็นต้องควบคุมต้นทุนในการผลิต ส่งผลให้การตัดสินใจในการใช้ปุ๋ยและสารปรับปรุงดินชนิดต่างๆ ต้อง พิจารณาอย่างรอบคอบ และโดยส่วนใหญ่ เกษตรกรยังมีค่านิยมที่จะเลือกใช้ปุ๋ยเคมีในการบ�ำรุงพืชก่อนใช้ปุ๋ยหรือวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ เนื่องจากเห็น ผลเร็วกว่า กอบกับมีผู้ผลิตวัสดุปรับปรุงดินรายใหม่ ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้สภาวะการแข่งขันสูงขึ้นเป็นล�ำดับ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงเป็นเหตุให้ ผู้ผลิตวัสดุปรับปรุงดินในโรงงานขนาดต่างๆ อยู่ในลักษณะประคองตัวมากกว่ารุกตลาดหรือขยายตลาดเป็นเพียงการรักษาตลาดเดิมให้คงอยู่เท่านั้น ส่งผลให้กลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นการขาย กระตุ้นยอดขาย สร้างแรงจูงใจน�ำมาใช้กับภาวะปัจจุบันได้ ไม่มากนัก วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : กลยุทธ์การแข่งขัน KTBF มีเป้าหมายและนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจ โดยจะมุ่งเน้นให้ชาวไร่ที่เป็นคู่สัญญาของกลุ่มบริษัทฯ ในเครือได้ ใช้วัสดุปรับปรุงดินที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ราคาถูก เพื่อช่วยเหลือชาวไร่ในการลดต้นทุน อีกทั้งยังช่วยเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ท�ำให้ชาวไร่มีรายได้มากขึ้น โดย KTBF มีนโยบายหลัก ดังต่อไปนี้
(1) บริษัทฯ จะร่วมกับชาวไร่วิเคราะห์สภาพดินของพื้นที่ในการใช้วัสดุปรับปรุงดินของ KTBF เพื่อประเมินผลการใช้
(2) บริษัทฯ จ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินในราคาถูก เพราะเนื่องจากบริษัทมีวัตถุดิบในการผลิตวัสดุปรับปรุงดินเองซึ่งท�ำให้ สามารถช่วยเกษตรกร ในการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต
(3) บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญเรื่องของบรรจุภัณฑ์ โดยใช้กระสอบบรรจุที่มีถุงด้านนอกและด้านใน พร้อมทั้งออกแบบสีสัน และมีความแข็งแรงทนทาน
(4) บริษัทฯ มีการบริการที่ดีในการจัดส่งวัสดุปรับปรุงดินถึงมือลูกค้า
(5) มีการจัดกิจกรรมโดยเปิดให้ชาวไร่ได้เข้ามาดูวิธีการผลิตและวิธีการน�ำไปใช้อย่างถูกต้อง
(6) บริษัทฯได้มีการจัดท�ำแปลงสาธิตในพื้นที่เขตส่งเสริมเพื่อให้ชาวไร่ได้เห็นผลผลิตอย่างทั่วถึง
(7) มีการจัดท�ำสื่อโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ทั้งทางด้านคลื่นวิทยุชุมชน
(8) บริษัทฯ มีการส�ำรวจชาวไร่ที่เป็นคู่สัญญาของกลุ่มโรงงานเกี่ยวกับช่วงความต้องการใช้วัสดุปรับปรุงดินของ KTBF เพื่อก�ำหนดการผลิตให้ เพียงพอกับช่วงความต้องการ
(9) บริษัทฯ ได้ร่วมจัดโครงการวิจัยร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เพื่อให้การผลิตของ บริษัทได้มาตรฐานสร้าง ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย (1) จ�ำหน่ายให้กับชาวไร่อ้อยคู่สัญญาของกลุ่มบริษัทฯ (2) จ�ำหน่ายให้กับลูกค้าทั่วไป (3) จ�ำหน่ายให้กับร้านค้า สหกรณ์การเกษตร และสกต.
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
57
ปัจจัยความเสีย่ ง ความเสี่ยงเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ 1. ความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ในปีที่ผ่านมา อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศแข็งค่าอย่างต่อเนื่องเมื่อเปรียบเทียบกับสกุลเงินสหรัฐ จึงส่งผลโดยตรงต่อธุรกิจของบริษัทฯ เนือ่ งจากร้อยละ 60 ของรายได้กลุม่ บริษทั ฯ มาจากการส่งออกของธุรกิจน�ำ้ ตาล และธุรกิจต่อเนือ่ งทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม รวมถึงการลงทุนในเครือ่ งจักร ที่น�ำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสกุลเหรียญสหรัฐ
USD to THB Chart 22 Nov 2016 00:00 UTC - 22 Nov 2017 04:15 UTC USD/THB close:32.75078 low:32.74613 high:36.04051 36.5 35.5 34.5 33.5 32.5 Dec
Feb 17
Apr
Jun
Aug
Oct
ที่มา : www.xe.com XE Currency Converter : USD to THB
บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดตั้งคณะท�ำงานบริหารความเสี่ยงทางการเงิน เพื่อก�ำกับดูแลและก�ำหนดกรอบนโยบาย การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน การวางแผนทางการเงินส�ำหรับการป้องกันผลกระทบอันอาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกล่าว โดยการใช้เครื่องมือ ทางการเงินต่างๆ ทัง้ การท�ำสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ( Forward Contract) การท�ำสัญญาซือ้ ขายสิทธิในการซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศ (Option Contract) การบริหารอัตราแลกเปลี่ยนแบบ Natural Hedge ซึ่งเป็นการน�ำเงินรายได้ที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศมาจ่ายช�ำระค่าใช้จ่ายที่เป็นเงิน สกุลเดียวกัน รวมถึงมีการติดตามและวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของภาวะเศรษฐกิจและปัจจัยต่างๆ ที่จะส่งผลต่ออัตราแลกเปลี่ยน เพื่อให้สามารถบริหาร จัดการได้อย่างเหมาะสมภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง เนื่องจากการก�ำหนดราคาอ้อยในอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลของประเทศไทย จะใช้ราคาจ�ำหน่ายโควต้า ข. ที่บริษัท อ้อยและน�้ำตาลไทย จ�ำกัด ได้ท�ำสัญญาขายน�้ำตาลทรายล่วงหน้า และอัตราแลกเปลี่ยนที่ได้ท�ำสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เป็นปัจจัยหลักในการค�ำนวณราคาอ้อย ดังนั้น การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนจึงเป็นการบริหารความเสี่ยงด้านต้นทุนค่าอ้อยด้วย ซึ่งบริษัทฯ จะใช้อัตราแลกเปลี่ยนของบริษัท อ้อย และน�้ำตาลไทย จ�ำกัด เป็นอัตราอ้างอิงในการพิจารณาป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน แต่อย่างไรก็ตาม ในขณะนี้อยู่ระหว่างการเปลี่ยนแปลง ระบบของอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาล โดยยังไม่มีการประกาศบังคับใช้กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะต้องน�ำมาพิจารณาเพื่อวางแนวทาง ป้องกันความเสี่ยงที่เหมาะสมต่อไป การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าว อาจส่งผลกระทบในทางบวกหรือทางลบต่อการด�ำเนินงานประจ�ำปีของบริษัทฯ เนื่องจาก บริษัทฯ ต้องบันทึกบัญชีก�ำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งเป็นผลต่างระหว่าง การรับเงินจากการขายที่ใช้สัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า โดยอ้างอิงจากบริษัท อ้อยและน�้ำตาลไทย จ�ำกัด น�ำมาเปรียบเทียบกับอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันส่งมอบสินค้าที่บริษัทฯ ใช้บันทึกบัญชี ทั้งนี้บริษัทฯ ได้ ใช้ หลักความระมัดระวังเพื่อการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นหลัก และไม่ทำ� การในลักษณะเพื่อการเก็งก�ำไร
58
2. ความเสีย่ งด้านความปลอดภัยของข้อมูลและสารสนเทศ ในปัจจุบันเกิดความเสี่ยงขึ้นกับฐานข้อมูลต่างๆของระบบสารสนเทศในหลายองค์กร ทั้งความเสี่ยงจากผู้บุกรุกข้อมูล การโจรกรรมข้อมูลที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การขยายตัวของการโจมตีทางไซเบอร์ทวั่ โลกทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็ว ทัง้ ในแง่ความถีแ่ ละความรุนแรง และรูปแบบตัง้ แต่พนื้ ฐานไปถึงรูปแบบ ซับซ้อนทีม่ กี ารวางแผนไตร่ตรองมาอย่างดี เช่น การลักลอบเข้ามาแก้ ไขเปลีย่ นแปลงข้อมูลหรือท�ำลายข้อมูล เพือ่ ให้เว็บไซต์บริษทั หรือระบบงานคอมพิวเตอร์ ของบริษทั ท�ำงานไม่ได้ทำ� ให้ธรุ กิจต้องหยุดชะงัก กลุม่ KTIS เล็งเห็นถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรือ่ งส�ำคัญและต้องบริหารจัดการข้อมูลและ สารสนเทศให้มคี วามปลอดภัย เนือ่ งจากข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยส�ำคัญทีส่ นับสนุนการตัดสินใจส�ำหรับผูบ้ ริหาร และสนับสนุนการปฏิบตั งิ าน จึงได้ มีการวิเคราะห์และก�ำหนดการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลระบบสารสนเทศ จากภัยต่างๆ ทั้งจากบุคคลภายใน บุคคลภายนอก ภัยจากธรรมชาติ หรือ เหตุการณ์ใดๆทีอ่ าจกระทบต่อความมัน่ คงของระบบข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี โดยมีระบบ Firewall ป้องกันการโจมตีดา้ นเครือข่าย ระบบป้องกัน Virus computer และ Update รูปแบบการป้องกันตลอดเวลา การติดตามภัยคุกคามแต่ละชนิด วิธีโจมตี เป้าหมายภัยคุกคาม และค้นหาวิธีป้องกันเพื่อให้ทันกับ ภัยคุกคาม มีกฎระเบียบ และค�ำแนะน�ำการใช้งานระบบด้านความปลอดภัย ประชาสัมพันธ์ เรื่องภัยคุกคาม กฎหมาย พรบ. คอมพิวเตอร์ ให้บุคลากรทราบ เป็นระยะ ตลอดจนมีการก�ำหนดความถี่ในการส�ำรองข้อมูลตามความเหมาะสม ท�ำให้ที่ผ่านมากลุ่ม KTIS ไม่เกิดอุบัติการณ์ที่กระทบต่อความปลอดภัย ของข้อมูลและสารสนเทศ
ความเสี่ยงเกี่ยวกับธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย 1. ความเสีย่ งจากการผันผวนของราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลก น�ำ้ ตาลทรายเป็นสินค้าทีม่ คี วามผันผวนทางด้านราคาสูง โดยราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลกจะขึน้ อยูก่ บั หลายปัจจัย ทัง้ ปัจจัยด้าน fundamental เช่น สภาพอากาศ การผลิต การบริโภค และอุปสงค์-อุปทานของประเทศผู้ผลิตและประเทศผู้บริโภคท�ำให้ราคาน�้ำตาลโลกขึ้นลงตามความต้องการและ การคาดการณ์ของประเทศผู้ผลิตและประเทศผู้บริโภค ปัจจัยด้าน Technical และปริมาณการเก็งก�ำไรของกองทุนฯ ต่างๆ ในตลาดซื้อขายล่วงหน้า และ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจพื้นฐานและราคาน�ำ้ มันเชื้อเพลิงเนื่องจากน�ำ้ อ้อยรวมถึงกากน�ำ้ ตาลสามารถน�ำไปผลิตเป็นเอทานอลเพื่อใช้ผสมกับน�ำ้ มันเพื่อใช้เป็น เชื้อเพลิงส�ำหรับรถยนต์ ปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ราคาซื้อขายน�้ำตาลทรายในตลาดโลกมีความผันผวนสูง ความผันผวนของราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลกอาจส่งผลกระทบต่อยอดขายของบริษทั ฯได้ โดยเฉพาะในส่วนของน�ำ้ ตาลทรายทีบ่ ริษทั ฯส่งออกให้ กับลูกค้าต่างประเทศ ส�ำหรับในส่วนของน�ำ้ ตาลทรายทีบ่ ริษทั ฯขายในประเทศนัน้ ความผันผวนของราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลกมิได้สง่ ผลกระทบโดยตรง นอกจากนี้ราคาขายน�้ำตาลเป็นปัจจัยในการก�ำหนดราคาอ้อยที่เป็นต้นทุนหลักของบริษัทฯ หากราคาอ้อยลดลง ย่อมกระทบต่อแรงจูงใจในการปลูกอ้อย ของชาวไร่อ้อยเป็นห่วงโซ่ ดังนั้นจะมีผลท�ำให้ชาวไร่อ้อยลดการปลูกอ้อย หรือลดการบ�ำรุงรักษาแปลงอ้อย ท�ำให้ปริมาณอ้อยเข้าสู่การผลิตลดน้อยลง เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน�้ำตาลในตลาดโลกดังกล่าว บริษัทฯจึงก�ำหนดนโยบายในการก�ำหนดราคาโดยมีกรอบปริมาณ การก�ำหนดราคาอยู่ภายในอัตรามากหรือน้อยกว่าไม่เกิน 10% ของปริมาณการท�ำราคาน�้ำตาลของโควต้า ข. ซึ่งเป็นราคาที่จะน�ำมาใช้ ในการค�ำนวณ ราคาอ้อยซึ่งเป็นต้นทุนหลักของการผลิตน�ำ้ ตาล นอกจากนี้ บริษัทฯได้จัดให้มีการด�ำเนินงานก�ำกับการท�ำราคาน�ำ้ ตาลต่างประเทศในรูปแบบคณะท�ำงานที่ประกอบด้วยทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญ และมีเจ้าหน้าทีซ่ งึ่ มีความช�ำนาญจากบริษทั เทรดดิง้ ระดับโลกร่วมด�ำเนินการอยูด่ ว้ ย นักวิเคราะห์ในคณะท�ำงานดังกล่าวท�ำหน้าทีต่ ดิ ตามราคาน�ำ้ ตาลโลก ในตลาดซื้อขายล่วงหน้า New York No 11 ตลาดซื้อขายน�ำ้ ตาลรีไฟน์ล่วงหน้าLondon สถานการณ์เศรษฐกิจโลก ราคาน�ำ้ มันที่มีผลกระทบต่อราคา น�ำ้ ตาล และติดตามProduction consumption demand supply and stockเป็นประจ�ำทุกวัน
2. ความเสีย่ งจากมาตรการทางการค้าของประเทศคูค่ า้ ปัจจุบันบริษัทฯส่งออกน�้ำตาลทรายมากกว่าร้อยละ 60.0 ของยอดขายทั้งหมด ซึ่งประเทศที่บริษัทฯส่งออกหลัก คือ ประเทศญี่ปุ่น เช่น การเปลี่ยนแปลงนโยบายภาษี โควตาหรือกฎระเบียบของประเทศ หรือการเข้าร่วมเป็นกลุ่มสมาชิกทางการค้า อาจจะส่งผลกระทบต่อความสามารถใน การแข่งขันของบริษทั ฯ กระบวนการผลิต และ รายได้ของบริษทั ฯในตลาดส่งออกได้ บริษทั ฯจึงได้ตดิ ตาม ประเมิน และก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินงานเพือ่ ป้องกันผลกระทบดังกล่าว โดยการติดตามข่าวสารของประเทศคู่ค้าต่างๆจากแหล่งต่างๆอย่างต่อเนื่อง การท�ำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพื่อจะได้วางแผน การผลิต จัดเก็บและส่งมอบได้อย่างถูกต้อง และได้ร่วมมือกับบริษัท ซูมิโตโมคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ซึ่งเป็น Strategic Partner เพื่อหาแนวทางลดผลกระทบ ตลอดจนแนวทางด�ำเนินการที่จะเป็นประโยชน์ที่สุดต่อบริษัทฯ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
59
ส�ำหรับลูกค้าต่างประเทศในส่วนของน�้ำตาลทรายดิบนั้น จากเดิมประเทศญี่ปุ่นมีความต้องการน�ำเข้าน�้ำตาลทรายดิบเกรด J-Spec เป็นจ�ำนวน มากในแต่ละปี ซึ่งทางบริษัทฯ เป็นผู้ส่งออกน�้ำตาลทรายดิบเกรดดังกล่าวรายใหญ่รายหนึ่ง ภายหลังจากประเทศญี่ปุ่นได้มีข้อตกลงร่วมกันกับประเทศ ออสเตรเลีย ในด้านภาษีทางการค้า ประเทศญีป่ นุ่ จึงได้ลดการน�ำเข้าน�ำ้ ตาลทรายดิบเกรด J-Spec และเปลีย่ นเป็นการน�ำเข้าน�ำ้ ตาลทรายดิบเกรด Hi-Pol แทน ในปีการผลิต 2560/2561 บริษัทฯ ได้ท�ำการปรับปรุงเครื่องจักรเพื่อให้สามารถผลิตน�้ำตาลทรายดิบเกรด Hi-Pol ได้เพิ่มมากขึ้น และลดการผลิต น�ำ้ ตาล J-Spec ลงมาให้อยูใ่ นปริมาณทีเ่ หมาะสมกับความต้องการของตลาดต่อไป นอกจากนัน้ ได้ปรับเปลีย่ นการจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาล Refined มาเป็น Super Refined ให้มากขึ้น ซึ่งสามารถท�ำให้บริษัทฯ จ�ำหน่ายได้ ในราคาที่สูงขึ้นตามมาด้วย
3. ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายภาครัฐ การปรับปรุงพระราชบัญญัติอ้อยและน�้ำตาลทราย พ.ศ.2527 ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ร่าง การปรับปรุงแก้ ไขเสร็จแล้ว โดยภาครัฐได้แต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นมาเพื่อท�ำการตรวจเช็คในรายละเอียดพร้อมทั้งเสนอความเห็นต่างๆ และเมื่อ ด�ำเนินการเรียบร้อยแล้วจะน�ำเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป ส�ำหรับในฤดูการผลิต 2560/2561 ภาครัฐก�ำหนดวันเปิดหีบตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2560 เป็นต้นไป และได้รณรงค์ ในการตัดอ้อยสดพร้อมทั้งลด ปริมาณอ้อยไฟไหม้ ได้ประกาศให้หกั ราคาอ้อยส�ำหรับอ้อยไฟไหม้ตนั ละ 30.-บาท จากเดิมทีเ่ คยมีประกาศการหักราคาไว้ที่ 20.-บาทต่อตัน พร้อมทัง้ การ ให้รางวัลส�ำหรับอ้อยสดในอัตราตันละไม่เกิน 120.-บาท จากเดิมทีเ่ คยประกาศไว้ ไม่เกินตันละ 70.-บาท นอกจากนัน้ ได้ออกประกาศก�ำหนดมาตรฐานการ ผลิตของโรงงานเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต โดยอ้อย 1 ตันทีค่ วามหวาน 10 ccs. จะต้องผลิตน�ำ้ ตาลที่ 94 NT ให้ ได้ ไม่นอ้ ยกว่า 90 กิโลกรัม (C.O.W) นอกจากนั้นคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทรายได้มีมติเห็นชอบในการยกเลิกโควตาทั้งหมด และให้ ใช้ราคาลอยตัวส�ำหรับการขายน�้ำตาลภายใน ประเทศ และเมือ่ ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีพร้อมทัง้ ได้ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาแล้วจะบังคับใช้ทนั ที พร้อมทัง้ ได้กำ� หนดราคาน�ำ้ ตาลทีจ่ ำ� หน่าย ภายในประเทศ ให้ ใช้ราคาอ้างอิงของตลาด London No.5 บวกไทยพรีเมี่ยม มาเป็นราคาในการค�ำนวณหาราคาอ้อยต่อไป การบริหารความเสี่ยงดังกล่าว บริษัท ฯ ได้ส่งเสริมให้ชาวไร่ท�ำการตัดอ้อยสดส่งเข้าโรงงานเพิ่มมากขึ้น พร้อมทั้งได้จัดหน่วยงานในการป้องกัน ไฟไหม้ขึ้นมาเพื่อเตรียมป้องกันและแก้ปัญหา อีกทั้งได้ท�ำความเข้าใจกับชาวไร่ในการตัดอ้อยสดเข้าสู่การผลิตที่โรงงานจะท�ำให้สามารถผลิตน�้ำตาล ได้เพิ่มขึ้นและส่งผลท�ำให้ราคาอ้อยสูงขึ้นด้วย นอกจากนั้นในปีนี้ทางบริษัทฯ และกลุ่มบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการซื้อรถตัดอ้อยเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวน 28 คัน จะ ส่งผลท�ำให้ตดั อ้อยสดได้เพิม่ มากขึน้ ส�ำหรับการเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตนัน้ บริษทั ฯ ได้ทำ� การปรับปรุงเครือ่ งจักรและลงทุนเครือ่ งจักรอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เพิม่ ขึน้ กว่าปีทผี่ า่ นมา พร้อมทัง้ พัฒนากระบวนการผลิตเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตให้ ได้สงู กว่าค่ามาตรฐานทีภ่ าครัฐก�ำหนด ส่วนการจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาล ทรายภายในประเทศนั้นคงมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรงภายหลังจากการยกเลิกโควตาได้ถูกบังคับใช้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายต่าง ๆ เพิ่มขึ้นโดยมุ่งเน้น ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งการเพิม่ คุณภาพของผลิตภัณฑ์, การลดต้นทุนการผลิต, การจัดส่ง, การบริการและการตอบสนองความต้องการของลูกค้าในทุก ๆ เรื่องอย่างรวดเร็ว ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าอยู่ตลอดเวลา
4. ความเสีย่ งจากการแข่งขันทางการค้าน�ำ้ ตาล จากการที่ภาครัฐได้มีนโยบายให้ท�ำการยกเลิกระบบโควตาจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย และยกเลิกราคาควบคุมการจ�ำหน่ายน�้ำตาลภายในประเทศ ประกอบกับความต้องการของลูกค้าน�้ำตาลภายในประเทศโดยเฉพาะอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ใช้น�้ำตาลเป็นวัตถุดิบ และประชาชนผู้บริโภคน�้ำตาลทางตรง การจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายภายในประเทศจึงมีความเสี่ยงเรื่องการแข่งขันที่สูงขึ้น เพราะผู้ผลิตแต่ละรายสามารถที่จะจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายภายในประเทศ ได้อย่างเต็มที่เนื่องจากประเทศไทยมีปริมาณผลผลิตประมาณ 11 ล้านตัน (ในฤดูการผลิต 2560/2561) ซึ่งจากการส�ำรวจความต้องการบริโภคน�้ำตาล ทรายภายในประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมประมาณ 2.6 ล้านตัน จะเห็นได้ว่ามีปริมาณน�้ำตาลส่วนเกินอีกเป็นจ�ำนวนมากที่จะต้องจ�ำหน่ายส่งออกไป ยังต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อเป็นการรักษาส่วนแบ่งทางการตลาดน�้ำตาลทรายภายในประเทศให้อยู่ในระดับคงเดิมหรือสูงขึ้น บริษัทฯ จึงมีนโยบายในการ ปรับปรุงคุณภาพน�้ำตาลให้ดีขึ้นตามความต้องการของลูกค้า, ก�ำหนดแนวทางในการลดต้นทุนการผลิตเพื่อให้สามารถแข่งขันทางด้านราคาได้, และได้ ท�ำการปรับปรุงเพิ่มผลิตภัณฑ์ ใหม่ซึ่งได้แก่ การผลิตน�้ำเชื่อม (LS) น�ำ้ ตาล Super Refined และผลิตน�้ำตาลถุง 1 ตัน การจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลในรูปแบบของ เทกอง ขณะเดียวกันได้ดำ� เนินการศึกษาโครงสร้างทางการตลาดส�ำหรับน�ำ้ ตาลชนิดหรือรูปแบบอืน่ ๆ เพือ่ น�ำมาพัฒนาสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกสูต่ ลาด ต่อไป นอกจากนัน้ ทางบริษทั ฯ ได้ลงทุนเพิม่ เครือ่ งจักรอุปกรณ์เพือ่ แก้ปญ ั หาการแข็งตัวของน�ำ้ ตาลทีเ่ ร็วเกินไปเพือ่ ให้ ได้สนิ ค้าทีด่ ที สี่ ดุ ตามความคาดหวัง หรือความต้องการของลูกค้าในทุกรูปแบบ
60
5. ความเสีย่ งจากการจัดหาวัตถุดบิ อ้อยให้ตรงกับปริมาณและคุณภาพทีต่ อ้ งการ ในปีการผลิต 2560/2561 นี้ พื้นที่ไร่อ้อยของทั้ง 3 โรงงานน�้ำตาลในกลุ่ม KTIS ได้รับน�ำ้ ฝนเป็นอย่างดี มีฝนตกตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือน พฤศจิกายนโดยมีปริมาณน�้ำฝนรวมมากกว่าหลายปีที่ผ่านมาเพียงพอต่อความต้องการน�้ำของอ้อย ในขณะที่การปลูกอ้อยของทั้ง 3 โรงงานตั้งแต่ ปลายปี 2559 ก็ทำ� ได้มากตามที่ก�ำหนดเป้าหมายไว้ และการบ�ำรุงรักษาอ้อยทั้งอ้อยตอและอ้อยใหม่ต่างก็ ได้รับความสนใจท�ำตามหลักวิชาการ ส่งผลให้ คาดการณ์ว่าปริมาณอ้อยที่จะน�ำเข้าหีบในฤดูการผลิตนี้ของทั้ง 3 โรงงานน�้ำตาลเป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการ ในขณะที่คุณภาพอ้อยก็มีแนวโน้มที่ดี ดังทีก่ รมอุตนุ ยิ มวิทยาพยากรณ์วา่ ปีนอี้ ากาศจะหนาวกว่าทุกปีและหนาวนาน ซึง่ ย่อมส่งผลดีตอ่ การสะสมน�ำ้ ตาลของอ้อย ผลการวัดบริกซ์ ในแปลงอ้อย ที่ดำ� เนินการโดยเจ้าหน้าที่ของโรงงานก็แสดงให้เห็นว่าปีนี้คุณภาพอ้อยน่าจะดีกว่าปีที่แล้ว ดังนั้น โรงงานน�ำ้ ตาลทั้ง 3 ในกลุ่ม KTIS น่าจะมีปริมาณอ้อย เพียงพอกับก�ำลังการผลิตและน่าจะมีคุณภาพอ้อยที่เหมาะสมต่อการผลิตน�้ำตาลทราย อีกทั้งโรงงานทั้งหลายในเครือที่ใช้ผลผลิตและผลพลอยได้จาก โรงงานน�้ำตาลเป็นวัตถุดิบ ก็น่าจะมีวัตถุดิบที่เพียงพอต่อการผลิตของโรงงานเหล่านั้น ซึ่งส่งผลดีต่อรายได้และต้นทุนการผลิตของโรงงานเหล่านี้อันเป็น ที่มาของผลประกอบการของกลุ่ม KTIS อย่างไรก็ตาม ยังมีความเสี่ยงถ้าฝนตกในระหว่างฤดูหีบ ปริมาณอ้อยไฟไหม้จ�ำนวนมากจากการที่มีพื้นที่แปลง อ้อยติดต่อกันเป็นผืนใหญ่ มาตรการของฝ่ายบ้านเมืองที่กระทบต่อการบรรทุกอ้อย ระยะเวลาในการหีบอ้อยที่มีข้อจ�ำกัดตามมาตรการของทางราชการ ให้รถบรรทุกอ้อยต้องหยุดวิ่งช่วงเทศกาลวันหยุด ประกอบกับความต้องการวัตถุดิบที่เพิ่มมากขึ้นของโรงงานน�้ำตาลอื่นที่อยู่ใกล้เคียงตามที่ขยายก�ำลัง การผลิตหรือเป็นโรงงานน�้ำตาลสร้างใหม่ในขณะที่ปริมาณอ้อยไม่เพียงพอ โรงงานน�้ำตาลในกลุ่ม KTIS ได้ค�ำนึงถึงปัญหาเหล่านี้และก�ำหนดมาตรการ รองรับ ได้แก่ การส�ำรวจความชื้นของแปลงอ้อยเพื่อจัดการน�ำอ้อยเข้าหีบในช่วงหลังฝน การป้องกันอ้อยไฟไหม้โดยการกันแปลงและการแบ่งแปลงผืนใหญ่ มาตรการรองรับการบรรทุกอ้อยตามหลักเกณฑ์ของทางราชการ การล้างเครื่องและซ่อมแซมเครื่องจักรในช่วงเทศกาลวันหยุด การท�ำตามระบบงานเพื่อ ปกป้องอ้อยทีร่ บั สัญญาและการส่งเสริมจากโรงงาน และโครงการลดสิง่ เจือปนและสิง่ ปนเปือ้ นในอ้อยทีท่ ำ� ต่อเนือ่ งในปีนหี้ ลังจากทีท่ ำ� ได้ผลในปีกอ่ นมาแล้ว ประกอบกับมาตรการอื่นๆ ที่โรงงานด�ำเนินการเป็นปกติทุกปีเพื่อรองรับและลดความเสี่ยงเหล่านี้
6. ความเสีย่ งจากการเกิดหนีเ้ สียจากกระบวนการให้สนิ เชือ่ ชาวไร่ออ้ ย (เงินเกีย๊ ว) บริษัทฯ ได้รับสัญญาและให้การส่งเสริมเกษตรกรชาวไร่อ้อยคู่สัญญาโดยจ่ายค่าอ้อยล่วงหน้าในรูปเงินเกี๊ยว ปุ๋ย ยา วัสดุการเกษตร และอื่นๆ เพื่อการสร้างอ้อยตามปริมาณที่เหมาะสมต่อก�ำลังการผลิตของโรงงานน�้ำตาลของบริษัทฯ แม้ว่าบริษัทฯ จะได้ด�ำเนินการตามมาตรการต่างๆ ในการ ลดความเสี่ยงจากการสนับสนุนทุนในการท�ำอ้อยให้แก่ชาวไร่อ้อยคู่สัญญาแล้วดังที่ระบุในคู่มือการส่งเสริม เป็นต้นว่า การคัดเลือกตัวชาวไร่ที่รับสัญญา และให้การส่งเสริม การร่วมลงทุนของชาวไร่อ้อยในการท�ำอ้อย การให้ความรู้ทางวิชาการเพื่อให้ชาวไร่อ้อยท�ำอ้อยอย่างถูกต้องให้ ได้รับผลผลิตที่ดี ฯลฯ รวมทัง้ มาตรการในช่วงการเก็บเกีย่ วผลผลิตเพือ่ เพิม่ รายได้และลดรายจ่ายของชาวไร่ออ้ ย อย่างไรก็ตาม จากการทีม่ ฝี นตกทุกพืน้ ที่ไร่ออ้ ยในปริมาณทีม่ า กอย่างที่ไม่เคยพบมาก่อนทัง้ ฝนยังตกมากตัง้ แต่กลางปีเร็วกว่าทุกปี แม้จะส่งผลดีตอ่ ปริมาณอ้อยโดยรวมของบริษทั ฯ ก็ตาม แต่ในพืน้ ทีบ่ างแปลงที่ไม่เคย ถูกน�ำ้ ท่วมเลย ในปีนี้แปลงดังกล่าวก็ ได้รับความเสียหายจากน�ำ้ ท่วมอ้อยจนไม่ได้ผลผลิตบ้าง ผลผลิตต�่ำบ้าง ชาวไร่อ้อยเหล่านี้ย่อมได้รับผลกระทบจาก การที่อ้อยน�้ำท่วม ถ้าเป็นชาวไร่ที่มีอ้อยหลายแปลงก็ยังได้อ้อยจากแปลงอื่นมาบรรเทาผลกระทบด้านหนี้สินต่อโรงงาน แต่หากเป็นชาวไร่ที่มีอ้อยเพียง แปลงเดียวและอ้อยแปลงนี้ได้รบั ความเสียหายจากน�ำ้ ท่วมย่อมส่งผลกระทบหนีส้ นิ ต่อโรงงาน ราคาอ้อยขัน้ ต้นในปี 2560/2561 ทีอ่ อกมาต�ำ่ กว่าราคาอ้อย ขัน้ ต้นในปีทแี่ ล้วย่อมส่งผลต่อการช�ำระคืนหนีส้ นิ ชาวไร่ตอ่ โรงงาน โรงงานได้มมี าตรการรองรับความเสีย่ งด้านหนีส้ นิ โดยการประเมินผลผลิตอ้อยของชาวไร่ แต่ละรายก่อนที่จะเปิดหีบเพื่อทราบว่าชาวไร่รายใดอาจมีปัญหามีหนี้สินคงค้างเมื่อสิ้นสุดฤดูการผลิตเพื่อก�ำหนดแนวทางปฏิบัติต่อชาวไร่อ้อยแต่ละราย ดังกล่าวอันเป็นการลดหนี้สินค้างช�ำระให้มากที่สุด เช่น การจัดให้ ได้ขายพันธุ์อ้อย การให้ก�ำลังใจและน�ำพื้นที่แปลงอื่นที่ไม่เสี่ยงมาท�ำอ้อย การลดต้นทุนใน การท�ำอ้อยของชาวไร่รายนี้ โดยการช่วยเหลือจากหน่วยงานของโรงงาน ด้านราคาอ้อยขัน้ ต้นแม้จะท�ำให้มคี วามเสีย่ งยิง่ ขึน้ ต่อการเก็บหนี้ แต่ดว้ ยผลผลิต ต่อไร่ทเี่ พิม่ สูงขึน้ รวมทัง้ ค่าซี.ซี.เอส.จากการทีอ่ อ้ ยหวานขึน้ และกระบวนการคัดเลือกแปลงตัดทีเ่ หมาะสมของโรงงาน จะท�ำให้ปญ ั หาหนีส้ นิ คงค้างช�ำระไม่มาก หลักประกันที่จัดท�ำก่อนการส่งเสริมและมีการประเมินมูลค่าหลักประกันทุกปีย่อมท�ำให้มั่นใจได้ว่า หากมาตรการเหล่านี้ไม่ได้ผลส�ำหรับชาวไร่บางราย หนี้สินค้างช�ำระเหล่านี้ก็จะไม่เป็นหนี้เสีย ยังคงเก็บหนี้ได้จากหลักประกัน การติดตามการส่งอ้อยและหนี้สินของชาวไร่ในฤดูหีบประกอบกับกระบวนการ ติดตามหนี้สินที่ก�ำหนดไว้ ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติ เหล่านี้จะลดความเสี่ยงจากการเกิดหนี้เสียอันเกิดจากการให้เงินส่งเสริมชาวไร่อ้อยลงได้
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
61
ความเสี่ยงเกี่ยวกับธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าและเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ความเสีย่ งจากการขาดแคลนวัตถุดบิ (ชานอ้อย) บริษัทฯ ยังคงนโยบายและให้ความส�ำคัญต่อธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กับทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิต และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งปัจจัยส�ำคัญ ในการผลิตไฟฟ้าคือเชือ้ เพลิงทีจ่ ะน�ำมาใช้ ใน Boiler เชือ้ เพลิงทีใ่ ช้เป็นประเภทชีวมวล โดยมีชานอ้อยที่ได้จากการผลิตน�ำ้ ตาลเป็นเชือ้ เพลิงหลัก ทางบริษทั ฯ จึงมุ่งเน้นที่จะท�ำการขยายผลผลิตอ้อยทั้งทางแนวดิ่งและแนวราบ ซึ่งในปีการผลิต 2560/2561 บริษัทฯ คาดว่าทั้งกลุ่มจะมีปริมาณอ้อยเพิ่มขึ้นจากปีที่ ผ่านมามากกว่า 1 ล้านตัน โดยในปีการผลิตนี้คาดว่าจะมีอ้อยเข้าหีบประมาณ 9.9-10.1 ล้านตัน ซึ่งในปีที่ผ่านมามีปริมาณอ้อยเข้าหีบ 8.684 ล้านตัน อันจะก่อให้เกิดปริมาณชานอ้อยคงเหลือมากขึ้น นอกจากนั้นทางบริษัทฯ ได้ท�ำการปรับปรุงเครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นใช้พลังงานน้อยลงจะเป็น อีกส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เหลือชานอ้อยได้เพิ่มขึ้น นอกเหนือจากชานอ้อยแล้วจากการที่บริษัทฯ ได้ส่งเสริมการตัดอ้อยสดเพิ่มขึ้นโดยได้ลงทุนซื้อรถตัดอ้อย เพิ่มขึ้นอีกจ�ำนวนมาก ขณะเดียวกันบริษัทฯ ยังคงศึกษาและวิจัยในการปลูกพืชพลังงานทดแทนชนิดต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็น เนเปียร์, กระถิน, ต้นพง, ต้นอ้อย, และพืชพลังงานอื่น ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกร, ต่ออุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย, ต่อชุมชน , ต่อส่วนรวมของประเทศชาติ และก่อให้เกิดความมั่นคงต่อธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าของบริษัทฯ ต่อไปในอนาคตอย่างยั่งยืน ส�ำหรับธุรกิจผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย บริษัทฯ ได้ทำ� การปรับปรุงเครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพการผลิตเพื่อเพิ่ม Yield ให้ ได้มากขึ้น และบริษทั ฯ ยังคงนโยบายในการศึกษาและวิจยั ในการน�ำวัตถุดบิ ชนิดอืน่ มาผลิตทดแทนอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ได้มงุ่ เน้นไปยังผลิตภัณฑ์ตอ่ เนือ่ ง คือการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมจากเยือ่ กระดาษของบริษทั ฯ ซึง่ ภายหลังจากบริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการมาระยะหนึง่ แล้วพบว่าตลาดยังมีความต้องการ และขยายตัวออกไปได้อีกมากทั้งในส่วนของตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ จึงเป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่งของธุรกิจผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจาก ชานอ้อยที่มีโอกาสขยายตัวทางธุรกิจได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนต่อไปในอนาคต
ความเสี่ยงเกี่ยวกับธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล ความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนของนโยบายภาครัฐ เอทานอลเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) ที่ได้รับการส่งเสริมอย่างชัดเจน โดยได้ถูกระบุถึงเป้าหมายการใช้เอทานอลเป็นส่วนผสมของน�้ำมัน แก๊สโซฮอล์ ในแผนพัฒนาพลังงานทดแทน (AEDP) ทุกฉบับ ปัจจุบันการใช้เอทานอลภายในประเทศเฉลี่ยวันละ 4.0 ล้านลิตร และจะเพิ่มเป็นวันละ 11.3 ล้านลิตร ตามแผน AEDP ในปี พ.ศ. 2579 ตั้งแต่น�้ำมันเบนซิน 91 ที่ไม่มีส่วนผสมของเอทานอลอยู่เลยได้ถูกห้ามจ�ำหน่ายในปี 2556 เป็นต้นมาการใช้เอทานอลเป็นส่วนผสมของน�้ำมัน แก๊สโซฮอล์ชนิดต่างๆ ได้เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นล�ำดับ จนกระทั่งราคาน�้ำมันดิบได้พังทะลายลงตั้งแต่กลางปี 2557 ท�ำให้น้�ำมันเบนซินมีราคาหน้า โรงกลั่นถูกลงอย่างมาก การสนับสนุนเอทานอลที่มีราคาแพงกว่าน�้ำมันเบนซินท�ำได้ล�ำบากขึ้น ส่งผลให้การเติบโตของการใช้เอทานอลไม่สอดคล้อง กับก�ำลังการผลิต คือเกิดสภาวะล้นตลาด เนื่องจากมีโรงงานเอทานอลเกิดขึ้นใหม่ในปี 2560 ท�ำให้ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวมทั้งประเทศเพิ่มขึ้นเป็นวันละ 6.25 ล้านลิตร ผลิตจริงเฉลี่ยวันละ 5.0 ล้านลิตร ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการแข่งขันทางด้านราคาที่จะเกิดขึ้นในปี 2561 การเจรจากับภาครั ฐ เป็ น สิ่ ง จ�ำ เป็ น ผู ้ ผลิ ตเอทานอลรวมตั ว กั นเป็ นสมาคมการค้ า ผู ้ ผลิ ต เอทานอลไทย ซึ่ งเป็ นหน่ ว ยงานที่ เข้ า หารื อ กั บ หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบ เช่น ส�ำนักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ส�ำนักพัฒนาเชื้อเพลิง ชีวภาพ ให้เร่งเพิ่มปริมาณการใช้เอทานอลให้สอดคล้องกับก�ำลังผลิต โดยผ่านกลไกราคาขายปลีกน�ำ้ มันเชื้อเพลิงแต่ละชนิด ปริมาณเงินเรียกเก็บเข้าและ จ่ายออกจากกองทุนน�้ำมัน เพือ่ เพิม่ ยอดจ�ำหน่ายน�้ำมันแก๊สโซฮอล์ชนิดที่มีส่วนผสมเอทานอลสูง ได้แก่ น�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ E20 และ E85 รวมถึงการยกเลิก น�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ 91 อย่างไรก็ดี หากสถานการณ์เอทานอลเชื้อเพลิงในประเทศตกต�่ำลง กลุ่มบริษัทฯ ยังมีความสามารถผลิตแอลกอฮอล์คุณภาพสูงส�ำหรับตลาด ต่างประเทศ มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกับผู้ค้าเอทานอลระหว่างประเทศ มีท่าเรือส่งออกพร้อมถังพักสินค้าระหว่างรอการส่งออก และความช�ำนาญ ในขั้นตอนการส่งออกที่ได้เคยปฏิบัติมาแล้วหลายครั้ง ทั้งหมดนี้จะเป็นมาตรการลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากนโยบายรัฐที่เปลี่ยนแปลงจนเกิดผลกระทบที่ ไม่พึงปรารถนาขึ้นให้บรรเทาเบาบางลง จนเสียหายต่อธุรกิจน้อยที่สุดหรือไม่เสียหายเลย
62
ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ อื หุน้ 1. หลักทรัพย์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 3,888,000,010 บาท และทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 3,860,000,010 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญ 3,888,000,010 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
2. ผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้ ลำ�ดับที่
ชื่อ –สกุล
จำ�นวนหุ้น
1
บริษัท หทัยจรูญเอกโฮลดิ้ง จำ�กัด
2
1,360,800,000
35.254
2
บริษัท 3 เอส โฮลดิ้ง จำ�กัด1
972,000,010
25.181
3
BANK OF SINGAPORE LIMITED
243,638,600
6.312
4
นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล
190,698,000
4.940
5
DBS BANK LTD
128,000,000
3.316
6
นายศิรพัทธ์ ศิริวิริยะกุล
120,892,900
3.132
7
นายภูมิฤกษ์ หวังปรีดาเลิศกุล
114,646,200
2.970
8
กลุ่มบริษัท KING WAN CORPORATION LIMITED
112,341,000
2.910
KING WAN CORPORATION
87,267,000
2.261
KING WAN INDUSTRIES PTE. LTD.
25,074,000
0.649
9
นายภูมิรัฐ หวังปรีดาเลิศกุล
62,492,000
1.619
10
นายอาณัติ เรืองกูล
50,674,400
1.312
3,356,183,110
86.946
รวม
*หมายเหตุ
(1) บริษัท 3 เอส โฮลดิ้ง จ�ำกัด มีทุนจดทะเบียน 972,467,000 บาท แบ่งออกเป็น 9,724,670 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท มีทุนที่เรียกช�ำระแล้ว 9,724,670 หุ้น คิดเป็น 972,467,000 บาท ประกอบธุรกิจการลงทุนถือหุ้นในกิจการอื่น (Holding Company) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่ปรากฏในสมุดทะเบียนหุ้น มีดังนี้
ลำ�ดับที่
ชื่อ –สกุล
จำ�นวนหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
1
บริษัท หทัยจรูญเอกโฮลดิ้ง จำ�กัด2
6,807,261
69.8
2
ซูมิโตโม คอร์ปอเรชั่น
2,431,173
25.2
3
บริษัท นิสชิน ชูการ์ จำ�กัด
486,234
5.0
2
0.0
9,724,670
100.0
ผู้ถือหุ้นอื่นๆ รวม
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
(2) บริษัท หทัยจรูญเอกโฮลดิ้ง จ�ำกัด มีทุนจดทะเบียน 22,725,000,000 บาท แบ่งออกเป็น 909 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 25,000,000บาท มีทุนที่เรียกช�ำระแล้ว 909 หุ้น คิดเป็น 22,725,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่ปรากฏในสมุดทะเบียนหุ้น มีดังนี้
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
63
ลำ�ดับที่
ชื่อ –สกุล
จำ�นวนหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
1
นางสาวณฐญา ศิริวิริยะกุล
133
14.6
2
นางสาวศิรอาภา ศิริวิริยะกุล
93
10.2
3
นายปริญญ์
ศิริวิริยะกุล
77
8.5
4
นายศิรภาคย์
ศิริวิริยะกุล
69
7.6
5
นายศิรพัทธ์
ศิริวิริยะกุล
69
7.6
6
นายภูมิฤกษ์
หวังปรีดาเลิศกุล
65
7.2
7
นายภูมิรัฐ
หวังปรีดาเลิศกุล
63
6.9
8
นายประสงค์
ศิริวิริยะกุล
54
5.9
9
นางสาวสายศิริ ศิริวิริยะกุล
53
5.8
10
นายปรัชญ์
ศิริวิริยะกุล
50
5.5
11
นายปัญญ์
ศิริวิริยะกุล
50
5.5
133
14.7
909
100.0
ผู้ถือหุ้นอื่นๆ รวม
3. ข้อตกลงระหว่างกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในเรื่องที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรือ การบริหารงานของ บริษัทฯ โดยที่ข้อตกลงดังกล่ำ�วมีบริษัทฯ ร่วมลงนำ�มอยู่ด้วย -ไม่มี-
4. การออกหลักทรัพย์อื่น ชื่อหลักทรัพย์ :
KTIS-WA ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ที่ออกและเสนอขายให้กับผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ
ประเภท/ชนิด :
ระบุชื่อผู้ถือและโอนเปลี่ยนมือไม่ได้ เว้นแต่ ถึงแก่กรรม สาบสูญ เจ็บป่วยอย่างร้ายแรง หรือทุพพลภาพ หรือเหตุอื่นๆ ที่ฝ่ายจัดการ (ผู้บริหารและคณะกรรมการ) ของบริษัทฯ อนุมัติให้ทายาทหรือบุคคลอื่น ใช้สิทธิแทนได้
อายุของใบสำ�คัญแสดงสิทธิฯ :
5 ปี นับแต่วันออกและเสนอขาย
จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิฯ :
ไม่เกิน 28,000,000 หน่วย
ราคาเสนอขายต่อหน่วย :
เท่ากับ 0 บาท (ศูนย์บาท)
จำ�นวนหุ้นสามัญที่จัดสรรไว้ :
เท่ากับจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิฯที่ออก และเสนอขายเพื่อรองรับการใช้สิทธิ (ไม่เกิน 28,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตรา 1 บาทต่อหุ้น)
อัตราการใช้สิทธิ :
ใบสำ�คัญแสดงสิทธิฯ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้น สามัญได้ 1 หุ้น (เว้นแต่มีการปรับอัตราการใช้สิทธิในภาย หลัง ซึ่งพนักงานฯ จะไม่ด้อยสิทธิกว่าเดิม)
ราคาการใช้สิทธิ :
ตลาดรองของหุ้นสามัญ : วันที่มีประกาศใช้ :
64
เท่ากับราคาเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนครั้งแรก (10.00 บาทต่อหุ้น)
บริษทั ฯจะนำ�หุน้ สามัญทีเ่ กิดจากการใช้สทิ ธิจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 ธันวาคม 2557
วันที่ครบกำ�หนด :
30 พฤศจิกายน 2562
วิธีการจัดสรร :
จัดสรรโดยตรงให้กับผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ ที่มีคุณสมบัติตามที่กำ�หนดในสรุปสาระสำ�คัญ ของการออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิให้แก่ผู้บริหารและพนักงาน บริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย
เหตุในการต้องออกหุ้นใหม่เพื่อรองรับ
เมื่อมีการดำ�เนินการปรับราคาการใช้สิทธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิตามที่กำ�หนดในข้อกำ�หนดสิทธิและ
การเปลี่ยนแปลงการใช้สิทธิ :
เงื่อนไขของใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่กำ�หนดไว้ตามประกาศสำ�นักงาน ก.ล.ต.
สิทธิและประโยชน์อย่างอื่นนอกจากสิทธิและ
-ไม่มี-
ประโยชน์ตามปกติของหุ้นสามัญ : วันกำ�หนดการใช้สิทธิ :
ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิสามารถใช้สิทธิซ้อื หุ้นสามัญของบริษัทฯ ได้ ในทุกวันทำ�การสุดท้ายของเดือน เมือ่ ครบระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน นับแต่วนั ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ วันกำ�หนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย จะตรงกับระยะเวลา 5 วันทำ�การก่อนวันทีใ่ บสำ�คัญแสดงสิทธิมอี ายุครบ 5 ปี นับแต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและ เสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิ
การใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ : เว้นแต่ ในกรณีที่ผู้บริหารและพนักงานไม่สามารถใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดง สิทธิได้ดังที่กำ�หนดไว้ ในเงื่อนไขในการใช้สิทธิ ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิสามารถที่จะใช้สิทธิในการซื้อ หุ้นสามัญที่ออกใหม่ของบริษัทฯ เมื่อครบระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน นับแต่วันที่บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขาย ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ตามวันกำ�หนดการใช้สิทธิ
ระยะเวลาการแจ้งความจำ�นงในการใช้สิทธิ : ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิซึ่งประสงค์ที่จะใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ จะต้องแจ้งความจำ�นงใน การใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ในระหว่างเวลา 9.00 ถึง 15.00 น. ภายใน 5 วันทำ�การ ก่อนวันกำ�หนดการใช้สทิ ธิในแต่ละครัง้ ในกรณีทวี่ นั กำ�หนดการใช้สทิ ธิตรงกับวันหยุดทำ�การของบริษทั ฯ ให้เลือ่ นวันกำ�หนดการใช้สทิ ธิดงั กล่าวเป็นวันทำ�การสุดท้ายก่อนหน้าวันกำ�หนดการใช้สทิ ธิครัง้ ดังกล่าว (ต่อไปนีเ้ รียกว่า “ระยะเวลาการแจ้งความจำ�นงในการใช้สทิ ธิ”) ยกเว้นการแสดงความจำ�นงในการใช้สิทธิครั้ง สุดท้าย ให้แสดงความจำ�นงในการใช้สทิ ธิในระหว่าง 15 วันทำ�การก่อนวันกำ�หนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย (ต่อไปนีเ้ รียกว่า “ระยะเวลาการแจ้งความจำ�นงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย”)
บริษทั ฯ จะแจ้งข่าวเตือน และรายละเอียดเพิม่ เติม (หากมี) เกีย่ วกับระยะเวลาการแจ้งความจำ�นงในการใช้สทิ ธิ ระยะเวลาการแจ้งความจำ�นงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย อัตราการใช้สทิ ธิ ราคาการใช้สทิ ธิ ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ รายละเอียดบัญชีธนาคารเพือ่ การจองซือ้ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ และสถานทีท่ ต่ี ดิ ต่อในการใช้สทิ ธิ โดยวิธตี ดิ ประกาศ ณ สำ�นักงานใหญ่ของบริษทั ฯ หรือทำ�เป็นหนังสือจัดส่งตามหน่วยงานทีผ่ ถู้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิสงั กัด อยู่ หรือส่งเป็นจดหมายอิเล็กทรอนิคส์ให้ผถู้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิทราบอย่างน้อย 7 วันทำ�การก่อนระยะเวลาการ แจ้งความจำ�นงในการใช้สทิ ธิในแต่ละครัง้
สำ�หรับวันกำ�หนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย บริษทั ฯ จะส่งรายละเอียดดังกล่าวให้กบั ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ โดยทำ�เป็นหนังสือจัดส่งตามหน่วยงานทีผ่ ถู้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิสงั กัดอยูห่ รือส่งเป็นจดหมายอิเล็กทรอนิคส์ ล่วงหน้า 15 วันทำ�การก่อนระยะเวลาการแจ้งความจำ�นงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายด้วย
เงื่อนไขในการใช้สิทธิ :
- ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิจะต้องมีสถานะเป็นผูบ้ ริหารและพนักงานในวันกำ�หนดการใช้สทิ ธินน้ั ยกเว้นในกรณี ทีร่ ะบุในข้อต่อไป
- กรณีทไ่ี ด้รับยกเว้นมีดงั นี้
(ก) ในกรณีทผ่ี ถู้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิพน้ สภาพการเป็นผู้บริหารและพนักงาน เนือ่ งจากถึงแก่กรรม สาบสูญ เจ็บป่วยอย่างร้ายแรง หรือทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบตั งิ านได้อกี ต่อไป หรือเหตุอน่ื ใดทีฝ่ ่ายจัดการ พิจารณาเห็นสมควรให้บคุ คลดังกล่าว หรือทายาท หรือผูพ้ ทิ กั ษ์ หรือ ผูอ้ นุบาลของบุคคลดังกล่าว สามารถ ใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ ตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิแทนผู้บริหารและพนักงานดังกล่าวได้จนครบอายุของใบสำ�คัญแสดง สิทธิทไ่ี ด้รบั จัดสรรนัน้
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
65
(ข) กรณีทพ่ี น้ สภาพจากการเป็นผู้บริหารและพนักงานเนือ่ งจากการเกษียณอายุ สามารถใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ ตาม ใบสำ�คัญแสดงสิทธิดงั กล่าวได้จนครบอายุของใบสำ�คัญแสดงสิทธิทไ่ี ด้รบั การจัดสรร
(ค) กรณีทพ่ี น้ สภาพจากการเป็นผูบ้ ริหารและพนักงาน เนือ่ งจากการถูกเลิกจ้างหรือปลดออกโดยไม่มคี วามผิด หรือการพ้นสภาพการเป็นผูบ้ ริหารและพนักงานซึง่ เป็นผลเนือ่ งมาจากการเปลีย่ นแปลงอำ�นาจการควบคุม ในบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของฝ่ายจัดการในการกำ�หนดให้มกี ารใช้สทิ ธิตามใบสำ�คัญแสดง สิทธิทผ่ี บู้ ริหารหรือพนักงานได้รบั ตามทีเ่ ห็นสมควรและเหมาะสมเป็นรายกรณีไป
- เว้นแต่ฝา่ ยจัดการจะกำ�หนดเป็นอย่างอืน่ ในกรณีทผ่ี ถู้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิพน้ สภาพจากการเป็นผูบ้ ริหาร และพนักงานเนือ่ งจากการลาออก หรือถูกไล่ออก หรือถูกเลิกจ้าง หรือปลดออกโดยมีความผิด ผูถ้ อื ใบสำ�คัญ แสดงสิทธิจะไม่สามารถใช้สทิ ธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิท่ไี ด้รบั จัดสรรอีก และผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิตอ้ ง คืนใบสำ�คัญแสดงสิทธิในส่วนทีย่ งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิทง้ั หมดทีถ่ อื อยูใ่ ห้แก่บริษทั ฯ โดยทันที เพือ่ ให้ฝา่ ยจัดการนำ�ไป จัดสรรให้แก่ผู้บริหารและพนักงานของบริษทั ฯ /หรือบริษทั ย่อยรายอืน่ ตามความเหมาะสมต่อไป
- หากผูบ้ ริหารและพนักงานไม่ใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิหรือใช้สทิ ธิไม่ครบถ้วนและใบสำ�คัญ แสดงสิทธิดงั กล่าวครบอายุตามทีก่ ำ�หนดแล้ว ให้ถอื ว่าผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ และ/หรือบริษทั ย่อยสละสิทธิการใช้สทิ ธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิทเ่ี หลือดังกล่าว โดยผูบ้ ริหารและพนักงานดังกล่าวไม่มสี ทิ ธิ เรียกร้องค่าเสียหายใดๆ จากบริษทั ฯ
- ฝ่ายจัดการมีอำ�นาจโดยสมบูรณ์ ในการพิจารณากำ�หนดหรือแก้ ไขเงือ่ นไขในการใช้สทิ ธิตามใบสำ�คัญ แสดงสิทธิซง่ึ อาจแตกต่างไปจากทีไ่ ด้ระบุมาข้างต้นได้
นายทะเบียนของใบสำ�คัญแสดงสิทธิ :
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
5. นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท บริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50.0 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการ ที่เหลือหลังจากหักเงินส�ำรอง ต่างๆ ทุกประเภทตามที่ได้ก�ำหนดไว้ ในข้อบังคับของบริษัทฯ และตามกฎหมาย หากไม่มีเหตุจ�ำเป็นอื่นใด หรือไม่ถูกจ�ำกัดโดยสัญญาเงินกู้ และการจ่าย เงินปันผลนั้นไม่มีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานปกติของบริษัทฯ อย่างมีนัยส�ำคัญ ตามที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควรหรือเหมาะสม และการด�ำเนิน การดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุ้น มติคณะกรรมการบริษทั ฯ ทีพ ่ จิ ารณาเรือ่ งดังกล่าวนัน้ ให้นำ� เสนอเพือ่ ขออนุมัตจิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลซึง่ คณะกรรมการบริษทั มีอำ� นาจอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาลได้ แล้วให้รายงานให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบ ในการประชุมคราวต่อไป ทั้งนี้ หากบริษัทฯ เล็งเห็นถึงโอกาสในการลงทุน บริษัทฯ จะขออนุญาตผู้ถือหุ้นในการพิจารณาขอยกเว้นการจ่ายเงินปันผลให้แก่ ผู้ถือหุ้นเพื่อน�ำเงินไปสนับสนุนการลงทุนเป็นครั้งๆ ไป บริษัทย่อยของบริษัทฯ มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50.0 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินของบริษัทย่อยหลังหักภาษีเงินได้ นิติบุคคล เงินส�ำรองตามกฎหมาย และเงินส�ำรองต่างๆ ทั้งหมด โดยจะพิจารณาประกอบกับกระแสเงินสด ฐานะการเงินสภาพคล่อง และแผนการลงทุนใน แต่ละช่วงเวลาด้วย โดยมีเพียง บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด ที่สถาบันการเงิน ก�ำหนดให้สามารถจ่ายเงินปันผลได้ต่อเมื่อไม่มีการผิดนัดช�ำระ และ จะต้องคงอัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ (DSCR) ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่า ณ วันปิดงบการเงินประจ�ำปี และหากต้องการจ่ายปันผลต้องได้รับความ เห็นชอบจากสถาบันการเงินผู้ ให้กู้ก่อน
66
รายละเอียดการจ่ายเงินปันผล 1. กำ�ไรสุทธิ (บาท)
2558
2559
2560 (ปีที่เสนอ)
650,528,104
224,993,863
-
-
2.2 จำ�นวนหุ้นที่จ่ายเงินปันผลประจำ�ปี
3,860,000,010
3,860,000,010
3. รวมเงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (บาท : หุ้น) 3.1 เงินปันผลระหว่างกาล (บาท : หุ้น)
-
-
3.2 เงินปันผลประจำ�ปี (บาท : หุ้น)
0.10
0.10
0.15
4. รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทั้งสิ้น (บาท)*
386,000,001
386,000,001
579,000,001.50
59.34%
171.56%
86.92%
2. จำ�นวนหุ้น 2.1 จำ�นวนหุ้นที่จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล
5. สัดส่วนการจ่ายเงินปันผล
666,124,903 3,860,000,010 -
หมายเหตุ ปี 2559 บริษัทฯ จ่ายเงินปันผลจาก(ก) ผลการด�ำเนินการประจ�ำปี 2559 จ�ำนวน 193,000,000.50 บาท คิดเป็น 0.05 บาทต่อหุ้น (ร้อยละ 85.78 ของก�ำไรสุทธิจาก งบเฉพาะกิจการประจ�ำปี 2559) และ (ข) ก�ำไรสะสม จ�ำนวน 193,000,000.50 บาท คิดเป็น 0.05 บาทต่อหุ้น
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
67
โครงสร้างการจัดการ ผูถ้ อื หุน้
คณะกรรมการบริษทั
ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงิน กลุ่ม KTIS
ผู้ช่วยประธาน เจ้าหน้าที่ บริหาร การเงิน กลุ่ม KTIS
คณะกรรมการบริหาร
ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักตรวจสอบภายใน
ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุม่ KTIS
รองประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่ม KTIS
รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงิน กลุ่ม KTIS
ผู้ช่วยประธาน เจ้าหน้าที่ บริหาร การเงิน อาวุโส กลุ่ม KTIS
คณะกรรมการตรวจสอบ
รองประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่ม KTIS
ผู้ช่วยประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่ม KTIS
ผู้ช่วยประธาน เจ้าหน้าที่ บริหาร การเงิน กลุ่ม KTIS
ผู้ช่วยประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่ม KTIS
ผู้อำ� นวยการ อาวุโส สายงาน สนับสนุน ธุรกิจ 1
ผู้อ�ำนวยการ อาวุโส สายงาน สนับสนุน ธุรกิจ 2
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ TIS
68
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTIS
เลขานุการบริษทั
คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง
คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
ผู้อำ� นวยการ ฝ่ายบริหารควมเสี่ยง
รองประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่ม KTIS
ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารสายธุรกิจ อ้อยและน�้ำตาล
ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารสายธุรกิจ ชีวภาพ
ผู้อ�ำนวยการ อาวุโส สายงาน วัตถุดิบ
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTIS(RP)
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ EPPCO
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTBP
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ TEP
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ RPBP
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ EPC
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTBF
ประธาน เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTIS R&D
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
69
โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการจ�ำนวน 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริษัท โครงสร้างของคณะกรรมการบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 15 ท่าน โดยเป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้
ตำ�แหน่ง
กรรมการ ผู้มีอำ�นาจลงนาม ผูกพันบริษัท
วันที่เข้า รับตำ�แหน่ง
การเข้าประชุม คณะกรรมการบริษัท ปี 2560
1. นายปรีชา อรรถวิภัชน์
ประธานกรรมการ
กลุ่มที่ 2
29 มกราคม 2556
5/5
2. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
รองประธานกรรมการ
กลุ่มที่ 2
29 มกราคม 2556
5/5
3. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการ
กลุ่มที่ 1
29 มกราคม 2556
5/5
4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการ
กลุ่มที่ 1
29 มกราคม 2556
4/5
5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
กรรมการ
กลุ่มที่ 1
29 มกราคม 2556
5/5
6. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
กรรมการ
กลุ่มที่ 1
29 มกราคม 2556
5/5
7. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
กรรมการอิสระ
-
29 มกราคม 2556
4/5
8. นายอภิชาต นุชประยูร
กรรมการ
กลุ่มที่ 2
29 มกราคม 2556
5/5
9. นายคูนิฮิโกะ ทะฮะระ
กรรมการ
-
12 พฤษภาคม 2560
3/3
10. นางสาวฉั่ว อิ๋ง อิ๋ง
กรรมการ
กลุ่มที่ 2
29 มกราคม 2556
4/5
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ
-
26 กุมภาพันธ์ 2557
5/5
12. นายสถาพร โคธีรานุรักษ์
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
-
29 มกราคม 2556
5/5
13. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
-
29 มกราคม 2556
5/5
กรรมการอิสระ
-
29 มกราคม 2556
5/5
กรรมการ
กลุ่มที่ 1
14 พฤษภาคม 2558
5/5
ชื่อ
11. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
14. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์ 15. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล
โดยมี นายสุชาติ พิพัฒนชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ
70
กรรมการอิสระ : คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการอิสระคิดเป็น 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด โดยคณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนิยามและ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ ซึ่งสอดคล้องและเท่ากับข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ต.ล.ท.) โดยยึดตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีดังนี้
ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุม ของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย
ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงานที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วมบริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่แต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ
ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน่ ผูบ้ ริหารผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ผมู้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย หรือบริษทั ร่วม
ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่ อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มีความ สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่แต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ
ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการท�ำรายการทางการค้าที่กระท�ำเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่า อสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการหรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค�ำ้ ประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้ผู้ขออนุญาตหรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องช�ำระ ต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของผู้ขออนุญาตหรือตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ การค�ำนวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการค�ำนวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่า ด้วยหลักเกณฑ์ ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน
ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่ มีนัยผู้มีอำ� นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่แต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ
ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ ให้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการ เกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อน วันที่แต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ
ไม่เป็นกรรมการที่ ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย หรือไม่เป็นหุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือ บริษัทร่วม
ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป็นไปตามข้อ 1 ถึง 9 แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ โดยมี การตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
71
กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทนบริษัทฯ : กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
กลุม่ ที่ 1
กลุม่ ที่ 2
1. นายประพันธ์
ศิริวิริยะกุล
1. นางสาวฉั่ว
อิ๋ง อิ๋ง
2. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
2. นายสิริวุทธิ์
เสียมภักดี
3. นายประเสริฐ
ศิริวิริยะกุล
3. นายอภิชาต
นุชประยูร
4. นายณัฎฐปัญญ์
ศิริวิริยะกุล
4. นายปรีชา
อรรถวิภัชน์
5. นายศิรภาคย์
ศิริวิริยะกุล
โดยกรรมการทีม่ อี ำ� นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ คือ กรรมการสองในห้าคนของกลุม่ ที่ 1 ลงลายมือชือ่ ร่วมกัน และประทับตราส�ำคัญของบริษทั ฯ หรือ กรรมการคนใดคนหนึง่ ของกลุม่ ที่ 1 ลงลายมือชือ่ ร่วมกับกรรมการคนใดคนหนึง่ ของกลุม่ ที่ 2 รวมเป็นสองคนลงลายมือชือ่ ร่วมกันพร้อมประทับตราส�ำคัญ ของบริษัทฯ
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการบริษัทฯ ออกจากต�ำแหน่งเป็นจ�ำนวน 1 ใน 3ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดในขณะนั้น ถ้าจ�ำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรก และ ปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนบริษทั ฯ นัน้ ให้จบั สลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง ทัง้ นี้ กรรมการ ซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระนั้น อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งอีกได้
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ :
72
ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั ฯ มติคณะกรรมการบริษทั ฯ และมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต
พิจารณาก�ำหนดรายละเอียดและให้ความเห็นชอบ วิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการ ด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ตามที่คณะกรรมการบริหารและฝ่ายจัดการจัดท�ำ
ก�ำกับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ฝ่ายจัดการ หรือบุคคลใดๆ ซึ่งได้รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่ดังกล่าว เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด
ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนินงานและงบประมาณของบริษัทฯ
ด�ำเนินการให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยน�ำระบบงานบัญชีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทั้งจัดให้มีระบบควบคุมภายใน และระบบการ ตรวจสอบภายใน
จัดให้มีการท�ำงบการเงินของบริษัทฯ ณ วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัทฯ และลงลายมือชื่อเพื่อรับรองงบการเงินดังกล่าว เพื่อน�ำเสนอต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ
พิจารณาให้ความเห็นชอบการคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสม ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบ น�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ
จัดให้มีนโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการตามหลักธรรมาภิบาลที่เป็นลายลักษณ์อักษร และการปรับใช้นโยบายดังกล่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่าบริษัทฯ มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มด้วยความเป็นธรรม
พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติและไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) รวมถึงประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากออกตามวาระ และพิจารณาให้ ความเห็นชอบแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ และการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการตามทีค่ ณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนน�ำเสนอเพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ
แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เป็นต้น หรือคณะกรรมการชุดย่อยอื่นใดและก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวเพื่อ ช่วยเหลือและสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ
พิจารณาก�ำหนดและแก้ ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ได้
พิจารณาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารตามค�ำนิยามทีก่ ำ� หนดโดยคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และเลขานุการบริษัทฯ รวมทั้งพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารดังกล่าว
ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�ำเป็นเพื่อประกอบการตัดสินใจที่เหมาะสม
ส่งเสริมให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ เข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่าง ๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในหลักสูตรที่ เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการและผู้บริหารนั้น
ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ นั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือมอบอ�ำนาจ ช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษัทฯ สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตาม ที่นิยามไว้ ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน) หรืออาจได้รับประโยชน์ ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติไว้
ประเภทของกรรมการบริษัท : รายละเอียดประเภทของกรรมการบริษัท ในปี 2560 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้ ชือ่
กรรมการที่ ไม่เป็นผูบ้ ริหาร
กรรมการอิสระ
กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร
1. นายปรีชา อรรถวิภัชน์
√
2. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
√
3. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
√
4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
√
5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
√
6. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
√
√ √
7. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี 8. นายอภิชาต นุชประยูร
√
√
9. นายคูนิฮิโกะ ทะฮะระ
√
√
10. นางสาวฉั่ว อิ๋ง อิ๋ง
√
√
11. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
√
√
12. นายสถาพร โคธีรานุรักษ์
√
13. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
√
14. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
√
15. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล
√
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
73
การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท : เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษัทแบบรายคณะ และรายบุคคล อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึ่งผลการประเมินประจ�ำ ปี 2560 มีคะแนนเฉลี่ยของภาพรวมในแต่ละหัวข้อดังนี้ คณะกรรมการบริษทั รายบุคคล
คณะกรรมการบริษทั รายคณะ
1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. การประชุมของคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 4. การทำ�หน้าที่ของกรรมการ 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ 6. การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการและการพัฒนาผู้บริหาร
4.87 4.88 4.89 -
4.75 4.53 4.47 4.53 4.55 4.37
คะแนนเฉลีย่ รวม
4.88
4.55
หัวข้อการประเมิน
หมายเหตุ 1. คะแนนเต็ม = 5 2. การประเมินคณะกรรมการบริษัทแบบรายบุคคลมีหัวข้อการประเมินเพียง 3 หัวข้อ
การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ : บริษทั ฯ ได้กำ� หนดให้มกี ารปฐมนิเทศส�ำหรับกรรมการใหม่ โดยได้จดั ให้มกี ารบรรยายน�ำเสนอภาพรวมกิจการบริษทั ฯ ให้กรรมการใหม่ได้รบั ทราบ ในหัวข้อดังต่อไปนี้
กรอบในการด�ำเนินกิจการ (กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ ระเบียบ)
ข้อมูลการด�ำเนินงานและกิจกรรม
โครงการส�ำคัญ
การพัฒนาองค์กร การพัฒนาธุรกิจ
การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
ความรับผิดชอบต่อสังคม
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้จัดให้กรรมการใหม่เข้าเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ และโรงงานต่างๆ พร้อมทั้งได้จัดท�ำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการ บริษัทและผู้บริหาร เพื่อเป็นคู่มือ/ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับตัวบริษัทให้แก่กรรมการใหม่เพื่อใช้เป็นหลักในการก�ำกับดูแลกิจการในหัวข้อต่างๆ ได้แก่
74
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และเป้าหมายของบริษัทฯ
การพัฒนาองค์กร การพัฒนาธุรกิจ
ประวัติโดยสังเขปของกรรมการและผู้บริหาร
คุณสมบัติและค่าตอบแทนของกรรมการ
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ
โครงสร้างการบริหารงาน
ข้อมูลที่เกี่ยวกับการจัดตั้งบริษัท
นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
การฝึกอบรมของคณะกรรมการบริษัท : บริษัทฯ ได้สนับสนุนให้คณะกรรมการบริษัทได้ศึกษาและอบรมเพื่อให้เข้าใจถึงหลักการของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กฏเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจนบทบาทหน้าที่ของกรรมการบริษัทในการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพ ปัจจุบันมีกรรมการบริษัทที่เข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ บทบาทหน้าที่ของกรรมการ โดยสามารถสรุปการเข้ารับการอบรมหลักสูตรต่างๆ ได้ดังนี้
รายชือ่
นายปรีชา อรรถวิภัชน์
Director Certification Program (DCP)
Audit Committee Program (ACP)
Director Accreditation Program (DAP)
DCP 39/2004
Understanding Finance for Monitoring the Fundamental Non-Finance Fraud Risk of Financial Director Management Statements (MFM) (FND) (UFS)
ACP 11/2006 FND 8/2004
นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
DAP 54/2006
นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
DAP 53/2006
นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
DAP 96/2012
นายณัฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
DAP 96/2012
นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
DAP 96/2012
นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
DAP 96/2012
นายอภิชาต นุชประยูร
DAP 96/2012
นายสถาพร โคธีรารักษ์
DAP 35/2009
ACP 13/2013
ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
DAP 97/2012
ACP 41/2012
MFM 8/2012
นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
DAP 97/2012
ACP 41/2012
MFM 8/2012
นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
DAP 97/2012
นายคูนิฮิโกะ ทะฮะระ
DAP 135/2017
ACP 24/2008
UFS 6/2006
ตารางสรุปการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 : การถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ แสดงจ�ำนวนหุ้น โดยรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และผู้ถือหุ้นที่อยู่ภายใต้ มาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ดังนี้
รายชือ่ กรรมการ
ตำ�แหน่ง
รายการ หุน้ สามัญ เปลีย่ นแปลง หุน้ สามัญ จำ�นวน (หุน้ ) ระหว่างปี 2560 จำ�นวน (หุน้ ) จำ�นวน (หุน้ ) 31 ธ.ค. 59
เพิม่ /ลด
31 ธ.ค. 60
ร้อยละจำ�นวน หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิ ออกเสียง
1. นายปรีชา อรรถวิภัชน์
ประธานกรรมการ
5,670,700
203,400
5,874,100
0.15
2. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
รองประธานกรรมการ
-
-
-
-
3. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการ
-
3,100
3,100
0.000
4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการ
27,216,000
-
27,216,000
0.705
-
10,000
10,000
0.000
12,349,900
-
12,349,900
0.320
*คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
กรรมการ
หมายเหตุ
ไม่มีหุ้น KTIS
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
75
รายชือ่ กรรมการ
ตำ�แหน่ง
6. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
กรรมการ
*คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
รายการ หุน้ สามัญ เปลีย่ นแปลง หุน้ สามัญ จำ�นวน (หุน้ ) ระหว่างปี 2560 จำ�นวน (หุน้ ) จำ�นวน (หุน้ )
ร้อยละจำ�นวน หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิ ออกเสียง
31 ธ.ค. 59
เพิม่ /ลด
31 ธ.ค. 60
5,852,000
70,000
5,902,000
0.153
5,832,000
-
5,832,000
0.151
7. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
กรรมการอิสระ
-
-
-
-
8. นายอภิชาต นุชประยูร
กรรมการ
500
-
500
0.000
9. นายคูนิฮิโกะ ทะฮะระ
กรรมการ
-
-
-
-
10. นางสาวฉั่ว อิ๋ง อิ๋ง
กรรมการ
21,544,000
-
21,544,000
0.558
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ
-
-
-
-
100,000
-
100,000
0.003
11. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา *คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลนิติภาวะ
หมายเหตุ
ไม่มีหุ้น KTIS ไม่มีหุ้น KTIS
12. นายสถาพร โคธีรานุรักษ์
กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ
-
-
-
-
ไม่มีหุ้น KTIS
13. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ
-
-
-
-
ไม่มีหุ้น KTIS
14. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
กรรมการอิสระ
-
-
-
-
ไม่มีหุ้น KTIS
กรรมการ
190,698,000
-
190,698,000
4.940
15. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล
คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่อช่วยในการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ โดยมีทั้งหมด 4 คณะดังนี้
(1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ชือ่ 1. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ
2. นายสถาพร โคธีรานุรักษ์
กรรมการตรวจสอบ
3. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
กรรมการตรวจสอบ
โดยมี นางณัฏฐิรา ภัยสยม เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ กรรมการตรวจสอบล�ำดับที่ 1-2 มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน โดยมีประสบการณ์ ในด้าน การสอบทานงบการเงินตามรายละเอียดกรรมการ (เอกสารแนบ1)
76
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมา ต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคลที่ มีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้กรรมการตรวจสอบมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการ ตรวจสอบแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตรวจสอบซึ่งตนทดแทน
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ :
สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ
สอบทานให้บริษัทฯ มีการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน(Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และ พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน
สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบัตติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที่เกีย่ วข้อง กับธุรกิจของบริษัทฯ
พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ
จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้
๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ
๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ
๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ
๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี
๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
๏๏
จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ ละท่าน
๏๏
ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎ บัตรคณะกรรมการตรวจสอบ (Charter)
๏๏
รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความ รับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ
ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบหากคณะกรรมการตรวจสอบพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึง่ มี ผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร ๏๏
รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
๏๏
การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพร่องที่ส�ำคัญในระบบควบคุมภายใน
๏๏
การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริษัทฯ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
77
หากคณะกรรมการของบริษัทฯ หรือผู้บริหารไม่ด�ำเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ ไขภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการตรวจสอบรายใด รายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำตามวรรคหนึ่งต่อส�ำนักงานก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของ บริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ : รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2560 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้ ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2560
1. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
5/5
2. นายสถาพร โคธีรานุรักษ์
5/5
3. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
5/5
(2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ชือ่ 1. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
3. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
โดยมี นายสุชาติ พิพัฒนชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งพ้น จากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ตำ� แหน่งกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนว่างลงเพราะเหตุ อื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน เพือ่ ให้กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการสรรหาและการพิจารณา ค่าตอบแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนซึ่งตนทดแทน
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน :
78
พิจารณาโครงสร้างองค์กร คุณสมบัติของกรรมการบริษัทฯ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ของบริษัทฯ ให้เหมาะสมกับธุรกิจ
คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอรายชื่อเป็นกรรมการรายใหม่ หรือสรรหาประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ โดยให้มีการก�ำหนด หลักเกณฑ์ หรือวิธีการสรรหาและคัดเลือกอย่างมีหลักเกณฑ์และความโปร่งใส เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ
พิจารณาแนวทางและพิจารณาค่าตอบแทนและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ ทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินให้แก่กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่มบริษัทฯ โดยให้มีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธีการพิจารณาค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผลเพื่อเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ
รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการบริษัท รับทราบ และจัดท�ำรายงานของ คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนเพื่อเปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ และลงนามโดยประธานกรรมการสรรหา และการพิจารณาค่าตอบแทน
จัดท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน และรายงานผลการประเมินประจ�ำปีต่อ คณะกรรมการบริษัท
ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมายอันเกี่ยวเนื่องกับการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท
การประชุมคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน: รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนในปี 2560 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้ ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2560
1. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
1/1
2. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
1/1
3. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
1/1
(3) คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 6 ท่าน ดังนี้ ชือ่
ตำ�แหน่ง
1. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
2. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการบริหารความเสี่ยง
3. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
กรรมการบริหารความเสี่ยง
4. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
กรรมการบริหารความเสี่ยง
5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการบริหารความเสี่ยง
6. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
กรรมการบริหารความเสี่ยง
โดยมี นางจริยา ศรีศักดา เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหารความเสีย่ งซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้ กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็นกรรมการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้กรรมการบริหารความเสีย่ งมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งตนทดแทน
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง :
ก�ำหนดนโยบายความเสีย่ ง รวมถึงการทบทวนเป็นระยะเพือ่ ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ และธุรกรรมของบริษทั ฯ ทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไป ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการเพื่ออนุมัติ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
79
วางแผนยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับนโยบายบริหารความเสี่ยง โดยสามารถประเมิน ติดตาม ดูแลปริมาณความเสี่ยงของบริษัทฯ ให้อยู่ใน ระดับที่เหมาะสม
อนุมัติเครื่องมือในการวัด ติดตาม และควบคุมความเสี่ยง
ติดตามให้มีการปฏิบัติตามนโยบายการบริหารความเสี่ยง รวมถึงดูแลให้ระบบการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ
ดูแลความเพียงพอของทรัพยากรที่ใช้ ในการบริหารความเสี่ยง เช่น บุคลากรของสายงานบริหารความเสี่ยง และระบบงานรองรับการบริหาร ความเสี่ยง เป็นต้น
พิจารณาระเบียบ/หลักเกณฑ์ในธุรกรรมทีส่ ำ� คัญหรือการริเริม่ โครงการใหม่ทมี่ ผี ลกระทบต่อความเสีย่ งก่อนทีจ่ ะน�ำเสนอเพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ การท�ำธุรกรรมหรือโครงการนั้นจากคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ หรือคณะกรรมการที่บริษัทฯ มอบหมายต่อไป
ติดตามและรายงานสถานะความเสี่ยงของบริษัทฯ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ
บูรณาการกระบวนการท�ำงานเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการ (Governance) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) และการปฏิบัติ ตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์ (Compliance) เพื่อให้บรรลุการด�ำเนินงานที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ของทุกหน่วยงาน (Integrity-Driven Performance)
แต่งตั้งคณะท�ำงานได้ตามที่เห็นสมควร
ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
การประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง: รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในปี 2560 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้ ชือ่ 1. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2560 4/4
2. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
4/4
3. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
4/4
4. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
4/4
5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
4/4
6. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
4/4
(4) คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ ชือ่ 1. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหาร
2. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการบริหาร
3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
กรรมการบริหาร
4. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
กรรมการบริหาร
5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการบริหาร
โดยมี นายสุชาติ พิพัฒนชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร
80
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหาร ซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรง ต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการบริหารว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ เหมาะสมเป็นกรรมการบริหาร เพื่อให้กรรมการบริหารมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการบริหารแทนจะอยู่ใน ต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการบริหารซึ่งตนทดแทน
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร :
คณะกรรมการบริหาร มีหน้าทีใ่ นการบริหารกิจการของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบกิจการของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ในการบริหาร กิจการของบริษทั ฯ ดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามนโยบาย ข้อบังคับ หรือค�ำสัง่ ใดๆ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด นอกจากนี้ ให้คณะกรรมการ บริหารมีหน้าที่ในการพิจารณากลั่นกรองเรื่องต่างๆ ที่จะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบ
จัดท�ำวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ
ก�ำหนดแผนธุรกิจ อ�ำนาจการบริหารงาน อนุมัติงบประมาณส�ำหรับประกอบธุรกิจประจ�ำปี และงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี และด�ำเนินการ ตามแผนทางธุรกิจและกลยุทธ์ทางธุรกิจโดยสอดคล้องกับนโยบาย และแนวทางธุรกิจที่ได้แถลงต่อคณะกรรมการบริษัทฯ
ตรวจสอบ ติดตามการด�ำเนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ
มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติเฉพาะกรณีหรือการด�ำเนินการใดๆ อันเป็นปกติธุรกิจของบริษัทฯ ภายใต้วงเงินหรืองบประมาณประจ�ำปีตามที่ได้ รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และมีอ�ำนาจด�ำเนินการตามที่กำ� หนดไว้ โดยในการด�ำเนินการใดๆ ตามที่กล่าวข้างต้น คณะกรรมการ บริหารจะต้องไม่ก่อให้เกิดหนี้สินหรือภาระผูกพันใดๆ ที่มีมูลค่าเกินกว่า 1,000 ล้านบาท และระยะเวลาผูกพันเกินกว่า 5 ปี ทั้งนี้ ในส่วนของหนี้ สินหรือภาระผูกพันใดๆ ให้รวมถึง สินเชื่อโครงการที่บริษัทฯ ท�ำกับสถาบันการเงินใดๆ (Project Finance) ด้วย
มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติการกู้หรือให้กู้ยืมเงิน หรือการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน และบริษัทในกลุ่ม รวมตลอดถึงการเข้าเป็น ผู้ค�้ำประกันให้แก่บริษัทย่อย หรือการช�ำระหรือใช้จ่ายเงินเพื่อธุรกรรมตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
มีอ�ำนาจแต่งตั้ง ถอดถอนเจ้าหน้าที่ของบริษัทฯ ในต�ำแหน่งที่ตำ�่ กว่าต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ
ให้คณะกรรมการบริหาร รายงานผลการด�ำเนินงานดังต่อไปนี้ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ
๏๏
รายงานผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลาที่กำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
๏๏
รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีเกี่ยวกับงบการเงินของบริษัทฯ ซึ่งรวมถึงงบการเงินประจ�ำปีและงบการเงินรายไตรมาส ภายในกรอบระยะ เวลาที่กำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
๏๏
รายงานอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควร
ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
ทั้งนี้ การมอบอ�ำนาจให้คณะกรรมการบริหารดังกล่าวข้างต้น จะไม่รวมถึงการมอบอ�ำนาจที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการ ที่กรรมการบริหารท่านใดท่านหนึ่งหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ตามประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต. มีส่วนได้ส่วนเสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย โดยคณะกรรมการบริหารจะต้องน�ำเสนอเรื่องดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้พิจารณา และอนุมัติรายการดังกล่าวภายใต้ข้อบังคับ ประกาศ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
81
การประชุมคณะกรรมการบริหาร : รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริหาร ในปี 2560 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้ ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2560
1. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
12/12
2. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
12/12
3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
9/12
4. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
12/12
5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
10/12
การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดย่อย : เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึ่งผลการประเมินประจ�ำปี 2560 มีคะแนนเฉลี่ย ของภาพรวมในแต่ละหัวข้อดังนี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหาและ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร พิจารณาค่าตอบแทน ความเสีย่ ง
1.โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2.การประชุมของคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ
4.76
4.90
4.55
4.46
4.89 4.86
4.83 4.94
4.42 4.53
4.43 4.47
คะแนนเฉลีย่ รวม
4.83
4.89
4.50
4.45
หมายเหตุ คะแนนเต็ม = 5
ผู้บริหาร ผู้บริหาร ตามค�ำนิยาม ผู้บริหาร* ของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 17/2551 เรื่อง การก�ำหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและ เสนอขายหลักทรัพย์ (รวมทั้งที่มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยบุคคล 6 ท่าน ดังนี้ หมายเหตุ ผู้บริหาร หมายความว่า ผู้จัดการ หรือผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเทียบเท่ากับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหาร รายที่สี่ทุกราย และให้หมายความรวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป หรือเทียบเท่า
ชือ่ 1. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
ตำ�แหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ
2. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงินกลุ่มบริษัทฯ
3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ
4. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ
5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ
6. นางน้อมจิต อัครเมฆินทร์
82
ผู้อำ�นวยการฝ่ายบัญชี
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ :
การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ โดยรวมเพื่อเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และตามที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทฯ
ก�ำหนดกลยุทธ์ และแผนการทางธุรกิจ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามกลยุทธ์และแผนการทาง ธุรกิจที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ
ด�ำเนินการและปฏิบัติภารกิจที่คณะกรรมการมอบหมาย และตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัทฯ
สั่งการ ออกระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบาย
อนุมัติและ/หรือมอบอ�ำนาจการท�ำนิติกรรมเพื่อผูกพันบริษัทฯ ส�ำหรับธุรกรรมปกติของบริษัทฯ รวมถึงธุรกรรมที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัทฯ ได้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ด�ำเนินการแทน ทั้งนี้ให้รวมถึงธุรกรรมใดๆ ที่ไม่เป็นการผูกพันทรัพย์สินของ บริษัทฯ โดยตรง
ก�ำกับดูแลให้ผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติตามนโยบายและทิศทางทางธุรกิจที่ได้รับจากคณะกรรมการบริษัทฯ
พิจารณาการน�ำสิทธิและทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ ไปก่อภาระผูกพันใดกับบุคคล บริษทั ห้างร้าน หรือสถาบันการเงิน หรือน�ำเสนอคณะกรรมการ บริหารหรือคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ แล้วแต่กรณี เพื่อให้เป็นไปตามตารางอ�ำนาจอนุมัติ
พิจารณาอนุมัติการจ่ายค่าใช้จ่ายการด�ำเนินงานปกติในวงเงินไม่เกิน 5,000,000 ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติมอบหมายไว้
พิจารณาอนุมัติการลงทุนในตราสารและหลักทรัพย์ เพื่อบัญชีบริษัทฯ ในวงเงินตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติมอบหมายไว้
อนุมัติในหลักการการลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจนการร่วมทุนกับผู้ประกอบกิจการอื่นๆ และให้น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่ออนุมัติในที่ประชุมคราวถัดไป
อนุมัติการใช้จ่ายเงินลงทุนที่ส�ำคัญๆ ที่ได้ก�ำหนดไว้ ในงบประมาณรายจ่ายส�ำหรับปี หรือที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้เคยมีมติอนุมัติใน หลักการไว้แล้ว
ดูแลการท�ำงานของพนักงานให้เป็นไปตามนโยบาย กฎระเบียบต่างๆ รวมถึงการปฏิบัติงานด้วยหลักธรรมาภิบาลในการท�ำธุรกิจ
ส่งเสริมพัฒนาความรู้ความสามารถ และศักยภาพของพนักงานเพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กร
พิจารณาแต่งตั้งที่ปรึกษาต่างๆ ที่จ�ำเป็นต่อการด�ำเนินการของบริษัทฯ
พิจารณาอนุมัติการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เป็นเงื่อนไขปกติทางการค้า เช่น ซื้อขายสินค้าด้วยราคาตลาด การคิดค่าธรรมเนียมบริการ ในอัตราค่าธรรมเนียมปกติ และการให้เครดิตเทอมเหมือนลูกค้าทั่วไป เป็นต้น ทั้งนี้ภายใต้นโยบายที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ
อนุมัติการแต่งตั้ง โยกย้าย และเลิกจ้างพนักงาน ทั้งนี้ ให้มีอำ� นาจในการมอบหมายให้บุคคลอื่นกระท�ำการแทนตามที่ก�ำหนดในตารางอ�ำนาจ อนุมัติ
ด�ำเนินกิจการงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นกรณีๆ ไป
ทั้งนี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ไม่มีอ�ำนาจในการอนุมัติเรื่องหรือรายการที่เกี่ยวโยงกันที่ไม่ใช่เป็นเงื่อนไขปกติทางการค้า รายการได้ มาจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ส�ำคัญของบริษัทฯ และ/หรือรายการที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วน ได้เสีย หรือ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในลักษณะอื่นใดที่จะท�ำขึ้นกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นรายการที่เป็นเงื่อนไขปกติทางการค้าที่ได้มีการก�ำหนด นโยบายและหลักเกณฑ์ โดยได้อนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้พจิ ารณาอนุมตั ไิ ว้และได้ขอความเห็นชอบจาก ผู้ถือหุ้น ในการท�ำรายการเกี่ยวโยงกันและการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรื่องดังกล่าว
การประเมินผลการปฏิบัติงานของ CEO Group : เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของ CEO Group อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึ่งผลการประเมินประจ�ำปี 2560 มีคะแนนเฉลี่ยของภาพ รวมในแต่ละหัวข้อดังนี้ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
83
หัวข้อการประเมิน
CEO Group
1.ความเป็นผู้นำ� 2. การกำ�หนดกลยุทธ์ 3. การปฏิบัติตามกลยุทธ์ 4. การวางแผนและผลปฏิบัติทางการเงิน 5. ความสัมพันธ์กับคณะกรรมการ 6. ความสัมพันธ์กับภายนอก 7. การบริหารงานและความสัมพันธ์กับบุคลากร 8. ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ
4.77 4.75 4.82 4.75 4.90 4.80 4.00 4.83
คะแนนเฉลีย่ รวม
4.80
หมายเหตุ คะแนนเต็ม = 5
เลขานุการบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2556 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ได้มีมติอนุมัติแต่งตั้ง นายสุชาติ พิพัฒนชัยพงศ์ เป็นเลขานุการบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) โดยมีประวัติพอสังเขปดังนี้ นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เลขานุการบริษัท yy yy
yy
อายุ 55 ปี คุณวุฒิการศึกษา/การอบรม - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - ปริญญาตรี บริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - CSP 53/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - BRP 12/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - EMT 30/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - CRP 8/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การทำ�งาน - 2556-ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั้นแนล ชูการ์ จำ�กัด (มหาชน) - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด - 2539-2556 ผู้จัดการโรงงาน บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด - 2548-2556 ผู้จัดการโรงงาน บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด - 2537-2539 ผู้จัดการโรงงาน บริษัท รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด - 2532-2537 รองผู้จัดการโรงงาน บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
คุณสมบัติของเลขานุการบริษัท :
84
มีความรู้พื้นฐานด้านธุรกิจ บัญชี และมีความรอบรู้และเข้าใจในธุรกิจของบริษัท
เข้าใจบทบาทหน้าที่ของเลขานุการบริษัท
มีความรู้และความเข้าใจด้านกฎหมาย กฎระเบียบของส�ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี
มีความเป็นอิสระและตรงไปตรงมาในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่มุ่งหวังผลประโยชน์ส่วนตัวจากโอกาสทางธุรกิจของบริษัท รวมทั้งเก็บรักษา ความลับของบริษัทได้เป็นอย่างดี
มีประสบการณ์ ในงานเลขานุการคณะกรรมการ หรือคุณสมบัติอื่นที่ช่วยให้งานเลขานุการบริษัท เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท : (1) จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้
ทะเบียนกรรมการ
หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ
หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น
(2) เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้เสียทีร่ ายงานโดยกรรมการหรือผูบ้ ริหาร (3) ด�ำเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด
การสรรหากรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อยและผู้บริหาร ในการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทฯ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจะท�ำหน้าที่ใน การสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่จะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมต่อคณะกรรมการ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) ทั้งนี้ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารจะต้องมีคุณสมบัติครบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) และจะต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนที่ ทจ. 24/2551 เรื่อง ข้อก�ำหนด เกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (รวมทั้งที่ได้มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) นอกจากนี้ ยังพิจารณาถึงความรู้ความสามารถ รวมถึง ประสบการณ์การท�ำงานด้วยองค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะมีการด�ำเนินการ ดังนี้
องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัทฯ : คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดจะต้องมีถิ่นที่อยู่ใน ประเทศไทย และกรรมการบริษัทฯ จะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ หรือไม่ก็ ได้ ในการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะท�ำหน้าทีใ่ นการสรรหาและคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง คณะกรรมการบริษัท โดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ หรือพิจารณาจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ทีม่ ปี ระสบการณ์ ในธุรกิจทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม การแต่งตัง้ กรรมการใหม่จะต้องผ่านการพิจารณาอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) ทัง้ นี้ ข้อบังคับของบริษทั ฯ ก�ำหนดให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารดังต่อไปนี้
ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง
ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ ใด มากน้อยเพียงใดไม่ได้
บุคคลที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผู้ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมี ให้ประธานที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียง ชี้ขาด
กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัทฯ โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัทฯ ทัง้ นี้ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสามในสีข่ องจ�ำนวน ผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
85
องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ : คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการที่เป็นกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน โดยกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน จะต้องเป็นผู้ที่มี ความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ โดยคณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามที่ก�ำหนดในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนที่เกี่ยวข้องดังนี้
ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย
ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณี ที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษา ของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ
ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ� นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหารหรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย
ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูข้ ออนุญาต ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของ ผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต.
ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึง่ รวมถึงการท�ำรายการทางการค้าทีก่ ระท�ำเป็นปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค�ำ้ ประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกัน หนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทฯ หรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มี ตัวตนสุทธิของบริษัทฯ หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ การค�ำนวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการค�ำนวณมูลค่าของ รายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระ หนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน
86
ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็น ผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือ หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีย่ นื่ ค�ำขอ อนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต.
ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกิน กว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้น ที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต.
ไม่เป็นกรรมการที่ ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยใน ห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุน้ เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ที่ มีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย
ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัท ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ
ไม่เป็นกรรมการของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย หรือบริษัทย่อยล�ำดับเดียวกันเฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน
องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร : คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ โดยแต่งตั้งกรรมการบริษัท และ/หรือ ผู้บริหารของบริษัทฯ จ�ำนวนหนึ่งเป็น คณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการบริหารขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และให้กรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้ จะเลือกกรรมการบริหารผู้พ้นจากต�ำแหน่งเข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ ได้
องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน : คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนของบริษัทฯ โดยแต่งตั้งกรรมการบริษัท จ�ำนวนหนึ่งเป็น คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนอย่างน้อยจ�ำนวน 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนต้องเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัท และให้กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนมีวาระ การด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้ จะเลือกกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทนผู้พ้นจากต�ำแหน่งเข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ ได้
องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ โดยแต่งตั้งกรรมการบริษัท จ�ำนวนหนึ่งเป็นคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างน้อยจ�ำนวน 2 ท่าน ต้องเป็นกรรมการอิสระ โดยประธานคณะกรรมการดังกล่าวควรเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัท และให้กรรมการบริหารความเสี่ยงมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้ จะเลือกกรรมการบริหารความเสี่ยงผู้พ้นจากต�ำแหน่งเข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ ได้
ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท และผู้บริหาร (1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษทั ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท แบ่งเป็นค่าตอบแทนรายเดือนและเบี้ยประชุมรายครั้ง โดยที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ประจ�ำปี 2560 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2560 มีมติอนุมัติค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท ดังมีรายละเอียดดังนี้ ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท/เดือน)
เบีย้ ประชุม (บาท/ครัง้ )
ประธาน
50,000
50,000
กรรมการ
25,000
25,000
ประธาน
-
60,000
กรรมการ
-
30,000
ประธาน
-
40,000
กรรมการ
-
20,000
ประธาน
-
40,000
กรรมการ
-
20,000
คณะกรรมการการ คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
หมายเหตุ โดยไม่ได้รับสิทธิประโยชน์อื่นๆ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
87
88
กรรมการ
16. นายคูนิฮิโกะ ทะฮะระ
-
125,000
100,000
125,000
125,000
125,000
100,000
125,000
100,000
125,000
125,000
75,000
100,000
100,000
125,000
250,000
ค่าเบีย้ ประชุม
4,800,000 1,825,000
-
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
600,000
ค่าตอบแทน กรรมการ รายเดือน
600,000
-
300,000
-
-
150,000
150,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
กรรมการ ตรวจสอบ
-
-
-
-
80,000
-
-
20,000
40,000
-
-
-
-
-
-
-
20,000
กรรมการ สรรหาและ พิจารณา ค่าตอบแทน
2559
หมายเหตุ เนื่องจาก นายชุนซึเกะ ซึจิยามะ ลาออกจากตำ�แหน่ง เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 และนายคูนิฮิโกะ ทะฮะระ เข้าดำ�รงตำ�แหน่งแทน
รวม
กรรมการอิสระ
กรรมการ
10. นางสาวฉั๋ว อิ๋ง อิ๋ง
15. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
กรรมการ
9. นายชุนซึเกะ ซึจิยามะ
กรรมการอิสระ
กรรมการ
8. นายอภิชาต นุชประยูร
14. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
กรรมการ
7. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการอิสระ
กรรมการ
6. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล
13. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
กรรมการ
5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
กรรมการอิสระ
กรรมการ
4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล
12. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
กรรมการ
3. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการอิสระ
รองประธานกรรมการ
2.นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
11. นายสถาพร โคธีรานุรักษ์
ประธานกรรมการ
ตำ�แหน่ง ปี 2559
1.นายปรีชา อรรถวิภัชน์
ชือ่ กรรมการ
ตารางแสดงค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท ปี2559 และ 2560
-
725,000
420,000
545,000
735,000
575,000
400,000
425,000
400,000
425,000
505,000
395,000
440,000
460,000
505,000
850,000
รวม (บาท)
175,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
125,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
600,000
ค่าตอบแทน กรรมการ รายเดือน
75,000
125,000
100,000
125,000
125,000
125,000
100,000
50,000
125,000
125,000
125,000
125,000
100,000
125,000
125,000
250,000
ค่าเบีย้ ประชุม
500,000 7,805,000 4,800,000 1,925,000
-
-
-
80,000
160,000
-
-
-
-
-
80,000
-
40,000
60,000
80,000
-
กรรมการ บริหาร ความเสีย่ ง
600,000
-
300,000
-
-
150,000
150,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
กรรมการ ตรวจสอบ
-
-
-
-
160,000
-
-
40,000
80,000
-
-
-
-
-
-
-
40,000
กรรมการ สรรหาและ พิจารณา ค่าตอบแทน
2560
250,000
725,000
440,000
585,000
735,000
575,000
400,000
175,000
425,000
425,000
505,000
465,000
480,000
505,000
505,000
850,000
รวม (บาท)
560,000 8,045,000
-
-
-
80,000
160,000
-
-
-
-
-
80,000
-
80,000
80,000
80,000
-
กรรมการ บริหาร ความเสีย่ ง
(2) ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร ตารางต่อไปนี้แสดงรายละเอียดค่าตอบแทนผู้บริหารบริษัทฯ ปี 2558-2559 และปี 2560 ประเภท
จำ�นวน (คน)
2558 (บาท)
2559 (บาท)
2560 (บาท)
เงินเดือน
6
24,874,815.00
28,714,575.00
29,420,208
โบนัส
6
2,218,334.00
222,573.00
4,920,143
รวม
6
27,093,149.00
28,937,148.00
34,340,351
หมายเหตุ ผูบ้ ริหาร 6 รายได้แก่ (1) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ (Group CEO) (2) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ (3-5) รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ 3 ท่าน (6) ผู้อำ� นวยการฝ่ายบัญชี
(3) ค่าตอบแทนอืน่ ๆ
เงินกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ
ตารางต่อไปนี้แสดงรายละเอียดเงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพปี 2559-2560 ประเภท
จำ�นวน (คน)
2559 (บาท)
2560 (บาท)
กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ
6
639,807.48
653,143.53
รวม
6
639,807.48
653,143.53
หมายเหตุ ผูบ้ ริหาร 6 รายได้แก่ (1) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ (Group CEO) (2) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ (3-5) รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ 3 ท่าน (6) ผู้อำ� นวยการฝ่ายบัญชี
โครงการเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญต่อผูบ้ ริหารและพนักงาน (Employee Stock Options Project)
จากการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 วันที่ 13 มีนาคม 2557 ทีป่ ระชุมมีมติให้จดั สรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั จ�ำนวนไม่เกิน 28,000,000 หุน้ เพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (warrant) และเสนอขายให้แก่ผบู้ ริหารและพนักงานของบริษทั และบริษทั ย่อย โดยมีหลักเกณฑ์และวิธกี าร จัดสรร (รายละเอียดตามหัวข้อ 7.4 การออกหลักทรัพย์อื่น) ทั้งนี้ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญดังกล่าวมีอัตราการใช้สิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้น สามัญได้ 1 หุ้น (เว้นแต่มีการปรับอัตราการใช้สิทธิในภายหลัง ซึ่งพนักงานฯ จะไม่ด้อยสิทธิกว่าเดิม) และมีราคาการใช้สิทธิซื้อหุ้นเท่ากับราคาเสนอขายหุ้น สามัญต่อประชาชนครั้งแรก (10.00 บาทต่อหุ้น) โดยกรรมการและผู้บริหารของบริษัทได้รับสัดส่วนการจัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังนี้ รายชือ่ กรรมการและผูบ้ ริหารที่ ได้รบั จัดสรร
คิดเป็น (%)
นายประพันธ์
ศิริวิริยะกุล
0.40%
นายประเสริฐ
ศิริวิริยะกุล
0.30%
นายณัฎฐปัญญ์
ศิริวิริยะกุล
0.30%
นายสิริวุทธิ์
เสียมภักดี
0.19%
นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
0.36%
นายอภิชาต
นุชประยูร
0.26%
นางน้อมจิต
อัครเมฆินทร์
0.23%
หมายเหตุ เป็นการค�ำนวณสัดส่วน % จากจ�ำนวนที่ได้รับการจัดสรร ราคาการใช้สิทธิและจ�ำนวนหุ้นสามัญที่จัดสรรไว้ทั้งหมดของใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ที่ออกและเสนอขายให้กับผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ (KTIS-WA) จ�ำนวนไม่เกิน 28,000,000 หุ้น
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
89
จ�ำนวนพนักงานและผลตอบแทน บริษทั ฯ มีพนักงานทัง้ หมด 3,523 คน โดยในปี 2560 บริษทั ฯ ได้จา่ ยผลตอบแทนให้แก่พนักงานจ�ำนวนทัง้ สิน้ 1,129,225,792.67 บาท ซึง่ ผลตอบแทน ได้แก่ เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ เงินโบนัสเงินช่วยเหลือพิเศษ เงินประกันสังคม และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น
บริษทั
ปี 2560 สำ�นักงานใหญ่ รวมทัง้ หมด จำ�นวน (คน) จำ�นวน (คน)
ปฏิบตั กิ าร จำ�นวน (คน)
บริหาร จำ�นวน (คน)
1,792
92
100
1,984
659,964,492.32
122 478 7 791 3,190
7 12 2 22 1 2 138
19 17 7 4 1 2 31 14 195
148 507 16 4 1 2 844 1 16 3,523
46,963,375.74 136,722,349.42 4,710,876.59 1,390,263.05 237,682.00 489,839.26 269,928,400.02 2,167,850.64 6,650,663.63 1,129,225,792.67
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จำ�กัด บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จำ�กัด บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด บริษัท ลพบบุรีไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ลพบุรี ไบโอเอทานอล จำ�กัด บริษัท เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท เกษตรไทยวิวัฒน์ จำ�กัด รวม
ค่าตอบแทนรวม ทัง้ ปี 2560 (บาท)
หมายเหตุ จ�ำนวนพนักงานและค่าตอบแทนดังกล่าวข้างต้นนั้น ไม่นับรวมพนักงานสัญญาจ้างตามฤดูกาล และที่ปรึกษา
ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่มีพนักงานหรือกลุ่มพนักงานของบริษัทฯ เป็นสมาชิกสหภาพใดๆ และบริษัทฯ เชื่อว่าความสัมพันธ์ของบริษัทฯ กับพนักงานเป็นไป ด้วยดี และมีความมั่นคง แข็งแรง นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหายแรงงานของทางราชการอย่างครบถ้วนแล้ว และไม่เคยมีข้อพิพาทด้านแรงงานที่มีนัยส�ำคัญ หรือมีการนัด หยุดงานที่เกี่ยวข้องในช่วงระยะเวลาสามปีงบประมาณที่ผ่านมา และบริษัทฯ ไม่ทราบว่ามีข้อพิพาทด้านแรงงานที่ค้างอยู่หรือจะเกิดขึ้น ณ ขณะนี้แต่อย่างใด
นโยบายในการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญและใส่ใจต่อการพัฒนาบุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทฯ ที่มีคุณค่ายิ่ง อย่างต่อเนื่อง สม�่ำเสมอ และครอบคลุม ทุกหน่วยงาน เพือ่ เพิม่ ศักยภาพและเป็นประโยชน์ตอ่ การเพิม่ ผลผลิตให้มคี ณ ุ ภาพตรงตามความต้องการของลูกค้าหรือผูบ้ ริโภค สร้างองค์กรให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ ก้าวสู่การเป็นองค์กรที่มีชีวิต ทั้งยังตระหนักถึงความปลอดภัยในการท�ำงาน ความรับผิดชอบต่อสังคม และห่วงใยสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะสร้างคนในองค์กรให้เป็น “คนคุณภาพ มีคุณค่า และยึดมั่นวัฒนธรรมองค์กร” ดังนี้
90
(1) ขยัน อดทน มุ่นมั่นเพื่อความส�ำเร็จ (Diligence) (2) สรรค์สร้างนวัตกรรม (Innovation) (3) ความเป็นครอบครัว (Families) (4) มุ่งมั่นในหลักบรรษัทภิบาล (Corporate Governance) (5) เสริมสร้างความรู้และพัฒนาตน (Knowledge Empowerment and Self Development) (6) ดูแลชาวไร่อ้อยดุจคนในครอบครัว (Sugarcane Farmer Support and Care) (7) ใส่ใจในสิ่งแวดล้อมและสังคม (Corporate Social Responsibility)
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริษัทมีการด�ำเนินการ 3 ลักษณะคือ 1. การเตรียมแรงงานใหม่ 1.1 ให้ทุนการศึกษาเยาวชน รวมทั้งครอบครัวของพนักงานและชาวไร่อ้อย และรับเข้าร่วมงานกับบริษัทฯ เมื่อส�ำเร็จ การศึกษา 1.2 รับนักศึกษาฝึกงาน (โครงการสหกิจศึกษา) และรับเข้าท�ำงานเมื่อส�ำเร็จการศึกษาและประสงค์จะท�ำงานกับบริษัทฯ 2. ฝึกอบรมยกระดับฝีมือและศักยภาพ โดยมีคณะท�ำงานก�ำหนดหลักสูตรฝึกอบรมพนักงานทุกกลุ่ม ทุกระดับ ตั้งแต่พนักงานทั่วไปจนถึงระดับ ผู้บริหาร หลักสูตรฝึกอบรมมีทั้งด้านเทคนิค บริหารจัดการ และทั่วไป มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี ความรู้ ความช�ำนาญงาน ในการปฏิบัติงาน จากรุ่นพี่ทีมีความเชี่ยวชาญ สู่รุ่นน้อง นอกจากนี้แล้ว ได้ส่งเสริมให้พนักงานได้พัฒนาความรู้ความสามารถเพิ่มขึ้นโดยให้ทุนไปศึกษาฝึกอบรมด้านเทคนิคการผลิตเฉพาะด้าน 3. ส่งเสริมนวัตกรรมและการปรับปรุงการท�ำงานเพือ่ ให้ ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ สามารถปฏิบตั งิ านได้สะดวกรวดเร็วและปลอดภัยเพิม่ ขึน้ โดยจัดให้มี การประกวดนวัตกรรมและไคเซ็น จัดนิทรรศการแสดงผลงานเพื่อให้พนักงานได้มีโอกาสเรียนรู้เป็นประจ�ำทุกปี จากการมุ่งมั่นพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างต่อเนื่อง สม�ำ่ เสมอ จึงได้รับโล่สถานประกอบการดีเด่นด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานดีเด่น ติดต่อกัน ไม่น้อยกว่า 5 ปี จากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน สรุปผลการพัฒนาและฝึกอบรมบุคลากรประจ�ำปี 2560 ดังตารางต่อไปนี้ หลักสูตรอบรมบุคลากรของบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2560
ลำ�ดับ
1
2
3
วันทีจ่ ดั อบรม
ชือ่ หลักสูตร
ปฐมนิเทศพนักงานประจำ�ปี 2560/2561 และประมวลจรรยา บรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ อบรมให้ความรู้พนักงานก่อนเปิด 25, 27-30 ฤดูกาลผลิต 2560/2561 และระบบ มาตรฐานคุณภาพของบริษัทฯ พ.ย. 60 (รุ่น 1- 7) (รุ่นละ 100 คน) จำ�เป็นและบังคับสำ�หรับพนักงาน ใหม่ฤดูกาล การผลิต 20-24 พ.ย. 60 ปี 2560/2561 (รุ่น 1-5) รุ่นละ 100 คน 12 พ.ค. 60
ปี 2560
สถานทีจ่ ดั อบรม
ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ระดับ ผูจ้ ดั การ ระดับ ระดับ พนักงาน หัวหน้างาน ส่วนเทียบ เท่าขึน้ ไป
รวมผูเ้ ข้า อบรม ทัง้ หมด (คน)
โรงงาน KTIS
799
91
10
900
โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษา น้อมเกล้าอุตรดิตถ์
635
60
5
700
โรงงาน EPPCO
500
-
-
500
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
91
หลักสูตรอบรมบุคลากรของบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2560
ลำ�ดับ
วันทีจ่ ดั อบรม
4
28 พ.ย. 60
5
12, 16-18 ต.ค. 60
6
4-9 ก.ย. 60
7
7-10 ส.ค. 60
8
11 พ.ย. 60
9
20-23 มิ.ย. 60
10
21 เม.ย. 60
11
6 ก.พ. 60
12
25-27, 30-31 ต.ค. 60
13
20 ก.ค. 60
14
22-23 ส.ค. 60
15
12-13 ก.ค. 60 พื้นฐานงานของฝ่ายไร่ (รุ่น 1-2)
16 17
92
ชือ่ หลักสูตร
อบรมพนักงานรายวันฤดูผลิต ประจำ�ปี 2560/2561 การน้ำ�อ้อยเข้าหีบอย่างมี ประสิทธิภาพ (รุ่น 1-4) รุ่นละ 80 คน การลดความสูญเสียในกระบวนการ ผลิต (รุ่นที่ 1-6) รุ่นละ 60 คน ปลุกพลังสร้างสรรค์การทำ�งาน และทีมบริการสู่ความเป็นเลิศ (รุ่น 1-4) รุ่นละ 80 คน การดับเพลิงขั้นต้น และฝึกซ้อม อพยพหนีไฟ ประจำ�ปี 2560 การสร้างทีมงานในยุค 4.0 (รุ่นที่ 1-4) รุ่นละ 60 คน การทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปี 2559/2560 การพัฒนาคุณภาพงาน (รุ่นที่ 1-4) รุ่นละไม่เกิน 50 คน พัฒนาศักยภาพของผู้สอนงาน (THE BEST INSTRUCTOR) (รุ่นที่ 1-5) รุ่นละไม่เกิน 40 คน กฎ ระเบียบ ข้อบังคับการทำ�งาน และความปลอดภัยในการทำ�งาน (รุ่น 1-3) การสร้าง SUCCESSOR ในองค์กร (นักบริหารมืออาชีพ) (รุ่น 1-2)
สถานทีจ่ ดั อบรม
ปี 2560 ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ระดับ ผูจ้ ดั การ ระดับ ระดับ พนักงาน หัวหน้างาน ส่วนเทียบ เท่าขึน้ ไป
รวมผูเ้ ข้า อบรม ทัง้ หมด (คน)
โรงงาน KTIS
369
-
-
369
โรงงาน EPPCO
322
34
-
356
โรงงาน KTIS (สาขา 3)
276
67
-
343
มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
298
-
13
311
โรงงาน KTIS
183
48
8
239
โรงแรมทรัพย์ ไพรวัลย์/ พิษณุโลก
99
106
7
212
โรงงาน KTIS (สาขา 3)
7
184
13
204
โรงงาน KTIS (สาขา 3)
19
137
28
184
โรงงาน KTBE
50
127
2
179
โรงงาน KTBE
142
11
-
153
โรงแรมทรัพย์ ไพรวัลย์/ พิษณุโลก
89
22
23
134
โรงงาน EPPCO
127
3
-
130
43
78
3
124
84
20
4
108
ผู้ ให้คำ�ปรึกษาด้านการบริหาร โรงงาน EPPCO ความเสี่ยงของกลุ่ม KTIS ปี 2560 โรงแรมทรัพย์ ไพรวัลย์ การทำ�งานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน แกรนด์ โฮเต็ล แอนด์ 13-15 ก.ย. 60 ลักษณะทีมงานประจำ�ปี 2560 รีสอร์ท 12 ก.ค. 60
18
21-28 มิ.ย. 60 Kaizen ทุกคนทำ�ได้ ทำ�ง่าย ทำ�เลย โรงงาน KTBE
86
17
1
104
19
การทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับคู่มือ ระเบียบและแนวปฏิบัติการบริหาร งานบุคคลของกลุ่ม KTIS
14
43
47
104
20 ก.ย. 60
โรงงาน EPPCO
หลักสูตรอบรมบุคลากรของบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2560
ลำ�ดับ
วันทีจ่ ดั อบรม
20
29 พ.ย. 60
21
ชือ่ หลักสูตร
การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพ การทำ�งานฝ่ายสำ�นักงาน
19-21 ก.ย. 60 การเพิ่มประสิทธิภาพงานฝ่ายไร่
ปี 2560
สถานทีจ่ ดั อบรม
ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ระดับ ผูจ้ ดั การ ระดับ ระดับ พนักงาน หัวหน้างาน ส่วนเทียบ เท่าขึน้ ไป
รวมผูเ้ ข้า อบรม ทัง้ หมด (คน)
โรงงาน KTIS
79
22
2
103
ทรัพย์ ไพรวัลย์ แกรนด์ โฮเต็ลแอนด์รีสอร์ท
68
29
6
103
22
18 พ.ย. 60
ประชุมแถลงผลการปฎิบัติงาน วิชาการ
โรงงาน KTIS (สาขา 3)
66
33
3
102
23
22 ส.ค. 60
โปรแกรมสารสนเทศออนไลน์
โรงงาน KTIS
67
32
3
102
โรงงาน TIS
92
5
3
100
โรงงาน KTIS
6
80
14
100
3
92
5
100
16
70
14
100
67
29
4
100
39
54
-
93
81
5
6
92
โรงงานEPPCO
1
69
19
89
โรงแรมทรัพย์ ไพรวัลย์/ พิษณุโลก
61
8
12
81
มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
56
10
8
74
โรงงาน EPPCO
55
18
-
73
โรงงาน EPPCO
28
30
13
71
65
5
1
71
59
8
-
67
24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37
การส่งเสริมป้องกันโรคจากการ ทำ�งานและสร้างเสริมสุขภาพ ครบวงจรในสถานประกอบการ ข้อกำ�หนดมาตรฐาน ISO 9001: 28-29 ส.ค. 60 2015 ( Quality Management System) 19 ก.ค. 60
โรงแรมทรัพย์ ไพรวัลย์ จิตวิทยาการบริหารงานและบริหาร แกรนด์ โฮเต็ล แอนด์ คนสำ�หรับหัวหน้างาน รีสอร์ท /พิษณุโลก ทบทวนข้อกำ�หนด FSSC 25-26 ก.ย. 60 22000:FSSC 22000 โรงงาน KTIS Requirement Version 4.0 (2017) โรคอ้อยที่สำ�คัญและการป้องกัน โรงงาน KTIS (สาขา 3) 25 ก.ค. 60 กำ�จัด การพัฒนาศักยภาพหัวหน้างาน ทรัพย์ ไพรวัลย์ แกรนด์ 6-7 ต.ค. 60 ยุค Thailand 4.0 โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท เป้าหมายประสิทธิภาพและคุณภาพ 7 ต.ค. 60 การทำ�งานของรถไถ และการบำ�รุง โรงงาน KTIS รักษารถไถ ปี 2561/2562
16-18 พ.ย. 60
6 ก.ย. 60
เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน
การทำ�งานเป็นทีมอย่างมี ประสิทธิภาพ การนำ�ข้อมูลทางวิชาการไปใช้ 22-23 ก.ย. 60 ประโยชน์ ในการจัดการไร่อ้อย 9-10 พ.ย. 60
7 ธ.ค. 60
เรื่องความปลอดภัยในการทำ�งาน
11-12 ก.ย. 60 Steam Turbine
ทบทวนกฏระเบียบการทำ�งาน และทบทวนระบบคุณภาพ ISO โรงงาน KTIS 30 ก.ย. 60 9001: 2015 HACCP, GMP, FSSC 22000 การบำ�รุงรักษาเชิงป้องกันมอเตอร์ โรงงาน KTIS 23-24 ส.ค. 60 ไฟฟ้า เอซี
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
93
หลักสูตรอบรมบุคลากรของบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2560
ลำ�ดับ
วันทีจ่ ดั อบรม
38
9 พ.ย. 60
39
25 ต.ค. 60
40
7-8 ส.ค. 60
41
10 ต.ค. 60
42
13-15 พ.ย. 60
43
13 ก.ค. 60
44
26 ก.ค. 60
45
31 ส.ค. 1-2 ก.ย. 60
46
2 ก.พ. 60
47
7 พ.ย. 60
48
26 ก.ค. 60
50
4-8 ก.ย. 60
51
19 ก.ค. 60
53 54
55
94
การอบรมทฤษฎี การอบรมการ ปฏิบัติเครื่อง SIMULATOR หลักการทำ�งานของเครื่องจักร โรงงานน้ำ�ตาล& เทคนิคการเ พิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร อย่างมืออาชีพ
สถานทีจ่ ดั อบรม
ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ระดับ ผูจ้ ดั การ ระดับ ระดับ พนักงาน หัวหน้างาน ส่วนเทียบ เท่าขึน้ ไป
รวมผูเ้ ข้า อบรม ทัง้ หมด (คน)
มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
58
3
-
61
โรงงาน KTIS
12
42
7
61
มาตรฐาน ISO 9001: 2015
โรงงาน KTIS (สาขา 3)
10
40
10
60
เทคนิคเกี่ยวกับการผลิตน้ำ�ตาล
โรงงาน KTIS
6
37
10
53
26
7
17
50
40
10
-
50
โรงงาน KTIS
40
8
-
48
โรงงาน TIS
47
1
โรงงาน KTIS (สาขา 3)
-
40
1
41
โรงงาน EPPCO
2
18
7
27
โรงงาน KTIS
24
1
-
25
12
13
-
25
21
4
-
25
โรงงาน KTIS (สาขา 3)
23
1
-
24
โรงแรมการ์เด้นคลิฟ/ พัทยา/ชลบุรี
1
17
5
23
โรงงาน EPPCO
3
20
-
23
โรงงาน KTBE
15
6
-
21
โรงงาน EPPCO
11
9
-
20
BONSUCRO Requirement and โรงงาน EPPCO Interpretation การใช้งาน การดูแลรักษา และ โรงงาน KTIS (สาขา 3) การซ่อมบำ�รุงสายพานลำ�เลียง การซ่อมบำ�รุงหม้อแปลงไฟฟ้า ความปลอดภัยในการทำ�งาน ในที่อับอากาศสำ�หรับผู้ปฏิบัติ ผู้ควบคุม ผู้ช่วยเหลือ คณะกรรมการตรวจประเมิน ระบบคุณภาพภายใน Internal Quality Audits การประกันภัย
28-30 ส.ค. 60 การบำ�รุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล
49
52
ชือ่ หลักสูตร
ปี 2560
ชีววิทยา และแนวทางการจัดการ โรงงาน EPPCO เกี่ยวกับสัตว์พาหะเบื้องต้น พูดอังกฤษคำ�ต่อคำ�เพื่อการทำ�งาน โรงงาน KTIS ระดับ 2 มอเตอร์คอนโทรลวาล์ว
การเตรียมความพร้อมสำ�หรับ 19-20 ต.ค. 60 การเปิดหีบอ้อยของฤดูการผลิต ปี 2560/2561 ความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องมือวัด 26 เม.ย. 60 กับนวัตกรรมสมัยใหม่ วิทยาศาสตร์เบื้องต้นของยีสต์, 10 มิ.ย. 60 การเลี้ยงเชื้อและการควบคุมการ ปนเปื้อนของแบคทีเรีย การควบคุมปั้นจั่นเหนือศีรษะอย่าง 28 ก.พ.-4 ปลอดภัยและถูกวิธี ผู้ควบคุม/ มี.ค. 60 ผู้บังคับ/ผู้ ให้สัญญาณ/ผู้ยึด เกาะวัสดุ
48
หลักสูตรอบรมบุคลากรของบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2560
ลำ�ดับ
56 57 58 59 60 61 62 63
64 65
วันทีจ่ ดั อบรม
ชือ่ หลักสูตร
การทำ�น้ำ�บริสุทธิ์ (De-Mineralization) ABB LOW VOLTAGE AC 8 มี.ค. 60 DRIVES AND SOFT STARTER เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับ 19-20 ก.ค. 60 หัวหน้างาน การตรวจสอบประสิทธิภาพ 21 ก.ย. 60 เครื่องชั่งรถบรรทุก (Trail PM) การประยุกต์ ใช้โหลดเซลล์ สำ�หรับ เครื่องชั่งถัง และเครื่องชั่งรถบรรทุก 27 ก.ค.60 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้ ถูกต้องตามกฏหมาย 30 พ.ย.-2 การพัฒนาภาวะผู้นำ�สำ�หรับ ธ.ค. 60 ผู้บริหารระดับต้น 4.0 24 ม.ค. 60
24 ก.ย. 60
การบำ�รุงรักษา DRIVES
เทคนิคเรื่องการใช้และการประกอบ ติดตั้งตลับลูกปืน สำ�หรับเครื่องกล 6-7 มิ.ย. 60 หนักในการผลิตน้ำ�ตาลและ โรงไฟฟ้า มนุษย์สัมพันธ์ “ความสำ�เร็จใน 13-15 ก.ย. 60 การทำ�งานขององค์กรยุคใหม่” Human Relation แอร์คอมเพรสเซอร์และ 2 พ.ย. 60 แอร์ดรายเออร์
ปี 2560
สถานทีจ่ ดั อบรม
ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ระดับ ผูจ้ ดั การ ระดับ ระดับ พนักงาน หัวหน้างาน ส่วนเทียบ เท่าขึน้ ไป
รวมผูเ้ ข้า อบรม ทัง้ หมด (คน)
โรงงาน KTBP
12
6
2
20
โรงแรมแกรนด์ฮิลล์ รีสอร์ท แอนด์สปา
4
14
-
18
โรงงาน EPPCO
-
18
-
18
โรงงาน KTIS
13
3
1
17
โรงแรม เดอะพาราดิโซ่/ นครสวรรค์
8
9
-
17
โรงแรม เดอะเกรช รีสอร์ท อัมพวา
-
-
16
16
โรงงาน KTIS
11
2
-
13
ทรัพย์ ไพรวัลย์ แกรนด์ โฮเต็ลแอนด์รีสอร์ท
6
6
1
13
ทรัพย์ ไพรวัลย์
10
2
1
13
โรงงาน EPPCO
4
8
1
13
66
11 ก.ย. 60
ทฤษฎีการใช้และบำ�รุงรักษารถตัด
โรงงาน KTIS
8
4
-
12
67
10 ต.ค. 60
ความรู้ด้านเทคนิคฯ เกี่ยวกับ การผลิตน้ำ�ตาล SUGAR LOSS CONTROL
โรงงาน KTIS
-
11
-
11
บริษัท ชินนิปอน แมชีนเนอรี่ จำ�กัด
3
6
2
11
7
3
-
10
68
11-12 ก.ย. 60 เทอร์ ไบน์ ไฟฟ้า
69
08-09 พ.ค. 60
70
23-30 พ.ค. 60 ISO 9001: 2015
อาคารชิโนบริต/กทม.
-
9
-
9
การสอบเทียบเครื่องมือวัด อุตสาหกรรม HR 4.0 TRENDS & MOVE 23-24 มิ.ย. 60 ทิศทางการบริหารการจัดการ ทรัพยากรบุคคล @ THAILAND 4.0
สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
-
8
-
8
โรงแรม เดอะ พาราดิโซ เจเค ดีไซน์ /นครสวรรค์
3
3
1
7
โรงงาน KTIS
3
4
-
7
71 72 73
ผู้อนุญาต ผู้ควบคุม ผู้ปฏิบัติ และ โรงงาน KTIS ผู้ช่วยเหลือ ในการทำ�งานที่อากาศ
1-2 มิ.ย. 60
21 ก.ค. 60
MS Excel & SQL Statement
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
95
หลักสูตรอบรมบุคลากรของบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2560
ลำ�ดับ
วันทีจ่ ดั อบรม
74
4-7 ก.ย. 60
75
29-30 ก.ย. 60
76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91
96
ชือ่ หลักสูตร
เทคนิคสำ�หรับรถตัดอ้อย ผู้ตรวจสอบรอกไฟฟ้า และปั้นจั่น เหนือศีรษะ
สถานทีจ่ ดั อบรม
CNH Industrial Co.,Ltd./สมุทรปราการ ศูนย์ฝึกอบรม บ.โททัล เมคคานิค/ ชลบุรี
ระบบ ERP SOFTWARE
20-21 มิ.ย. 60 การเขียนโปรแกรม PLC ภาคปฏิบัติ การซ่อมบำ�รุงรักษาระบบปรับ อากาศในรถยนต์ การพัฒนาวิธีการเร่งการสุขแก่ของ 18 ก.ย. 60 อ้อยเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำ�ตาลต่อไร่ ให้สูงขึ้นประจำ�ปี 2560 การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม 21-22 ก.ค. 60 (Combine Analysis) 21-25 ก.ย. 60
13-15 พ.ย. 60 มาตรฐาน BONSUCRO เสริมสร้างศักยภาพการประกอบ กิจการโรงงาน SMEs ที่ดีและเป็น มิตรกับชุมชน Environmental Monitoring 12 มิ.ย. 60 as a Food Safety Strategy INNOVATION FOR SUGAR 24-25 ส.ค. 60 INDUSTRY 4.0 การขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพ 19 ก.ค. 60 การผลิตไอน้ำ�ด้วยระบบควบคุม อัตโนมัติ การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการใช้ 14-15 ก.ย.60 ประโยชน์จากอ้อยและน้ำ�ตาล การทำ�งานของโปรแกรม Microsoft 24-26 ก.ค. 60 Office 2013 (รุ่น 1-2) 27 ก.พ. 60
ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ระดับ ผูจ้ ดั การ ระดับ ระดับ พนักงาน หัวหน้างาน ส่วนเทียบ เท่าขึน้ ไป
รวมผูเ้ ข้า อบรม ทัง้ หมด (คน)
5
2
-
7
-
6
1
7
1
2
4
7
3
3
-
6
1
5
-
6
1
5
-
6
อาคารชิโนบริต/กทม.
2
2
2
6
Rockwell Automation Co.,Ltd/กทม.
2
3
-
5
โรงงาน KTIS
5
-
-
5
โรงแรมแกรนด์ฮิลล์ รีสอร์ท แอนด์ สปา
-
1
4
5
โรงงาน KTIS (สาขา 3)
2
3
-
5
โรงงาน KTIS
2
2
1
5
ห้องอรพิม โรงแรม สีมาธานี/นครราชสีมา
3
2
-
5
โรงแรมสวิสโซเทล/กทม.
-
4
-
4
ดี วารีย์ ชาญวีร์ เขาใหญ่/นครราชสีมา
-
4
-
4
โรงแรม The Twin Tower
3
1
-
4
โรงแรมดุสิตธานี
-
4
-
4
อาคารชิลลิคเฮ้าส์ สีลม/กทม.
3
1
-
4
สัญญาซื้อขาย,สัญญาเกี๊ยว อ้อย,การบันทึกบัญชีการรับรู้ อาคารชิโนบริต/กทม. 25 เม.ย. 60 รายได้การยื่นเสียภาษีและเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาประสิทธิภาพการให้ โรงแรมทรัพย์ 10-12 ต.ค. 60 บริการด้าน IT ไพรวัลย์/พิษณุโลก โรงแรมปริ้นส์ตั้น 7-8 ก.ย. 60 ความไม่แน่นอนของการวัดทางเคมี พาร์ค สวีท เทคนิควิธีการวิเคราะห์ และการ มหาววิทยาลัยนเรศวร 1 พ.ย. 60 รายงานผลการวิเคราะห์สี ADMI 21 ก.ย. 60
ปี 2560
หลักสูตรอบรมบุคลากรของบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2560
ลำ�ดับ
วันทีจ่ ดั อบรม
92
27 พ.ย. 60
93
26 ก.ค. 60
94
18-20 ก.ค. 60
95
21 เม.ย. 60
96
10 พ.ย. 60
97
19 ก.ค. 60
98
27 เม.ย. 60
99
6-7 ก.ค. 60
100
19 ก.ค. 60
101
6 ก.ย. 60
102
12-13 มิ.ย. 60
103
31 พ.ค. 60
104
18-19 พ.ค. 60
105
28 มิ.ย. 60
106
15-16 มิ.ย. 60
ชือ่ หลักสูตร
ความปลอดภัยในการใช้รถยก (Forklift) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการป้องกัน และกำ�จัดสัตว์พาหะ การผลิตก๊าซชีวภาพจากวัตถุดิบ ต่างๆ การลดต้นทุนการผลิตด้วย Lean Manufacturing และ การลดต้นทุน ด้วยการจัดซื้อและคลังสินค้า การวิเคราะห์ ใบรายงานผลการสอบ เทียบเครื่องมือวัดอัตราการไหล โครงการขยายผลการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตไอน้ำ�ของ หม้อน้ำ�ด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติ แนวทางการจัดการกาก อุตสาหกรรมและความจำ�เป็น ในการเข้าระบบการจัดการกาก อุตสาหกรรมตามกฎหมาย ผู้ตรวจประเมินการจัดการพลังงาน ในองค์กร พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ฮาลาลทั่วราชอาณาจักร ประจำ� ปี 2560 สัมมนาวิชาการ “สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย ก้าวไกลสู่ อุตสาหกรรม 4.0” 2017 International Symposium on Risk Base Maintenance & Risk Base Inspection Achieving Higher Laboratory Quality Standards with proficiency Testing Advance Human Machine Interface การเพิ่มประสิทธิภาพ และลดการใช้ พลังงานในหม้อไอน้ำ� ระบบควบคุมเครื่องมือวัด ตาม ข้อกำ�หนด ISO 9001 : 2015
ปี 2560
สถานทีจ่ ดั อบรม
ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ระดับ ผูจ้ ดั การ ระดับ ระดับ พนักงาน หัวหน้างาน ส่วนเทียบ เท่าขึน้ ไป
รวมผูเ้ ข้า อบรม ทัง้ หมด (คน)
โรงแรมแกรนด์วิษณุ/ นครสวรรค์
4
-
-
4
โรงงาน EPPCO
2
2
-
4
วรบุรี อโยธยา คอนเวนชั่น รีสอร์ท
3
-
-
3
โรงแรมรัตนปาร์ค/ พิษณุโลก
-
3
-
3
โรงแรมวิลล่า สุวรรณภูมิ
-
3
-
3
โรงแรมเดอะอะทวิน ทาวเวอร์/กทม.
-
3
-
3
ห้องคอนเวนชั่น 2 ชั้น 5 โรงแรมท๊อปแลนด์/ พิษณุโลก
-
2
1
3
โรงแรมแอมบาสเดอร์ จอมเทียน/ชลบุรี
1
2
-
3
โรงแรมบ้านสวนรีสอร์ท
2
1
-
3
ศูนย์นิทรรศการและการ ประชุมไบเทค บางนา/ กทม.
-
3
-
3
โรงแรม เซ็นทรัลพลาซ่า/ กทม.
-
2
-
2
โรงแรม JW Mariott/ กทม.
-
1
1
2
JW Tect Co.,Ltd
-
2
-
2
โรงแรมซีนิค/กทม.
-
2
-
2
สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
-
2
-
2
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
97
นโยบายกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละบรรษัทภิบาล บริษัทมีเจตนารมณ์ที่จะก�ำกับดูแลการด�ำเนินธุรกิจโดยยึดมั่นในหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัทภิบาลที่ดีด้วย ตระหนักถึงประโยชน์ และความส�ำคัญของการก�ำกับกิจการและบรรษัทภิบาลที่ดี ซึ่งมีส่วนช่วยให้การบริหารงานและการด�ำเนินกิจการมีประสิทธิภาพ ด้วยความโปร่งใส และค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกด้าน รวมทั้งสามารถตรวจสอบได้ เพื่อสนับสนุนให้บริษัทสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และเพิ่มคุณค่าให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว บริษัทจึงได้ก�ำหนดหลักการก�ำกับกิจการที่ดีเป็นนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรขึ้นและสื่อสารให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานทุกระดับในองค์กรได้ลงนามรับทราบและน�ำไปปฏิบัติ ดังมีรายละเอียดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีดังนี้
หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น 1.1 นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสิทธิของผู้ถือหุ้นเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมุ่งเน้นให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสรับรู้ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่างๆ ที่ส�ำคัญ ตลอดจนปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุน และไม่ลิดรอน สิทธิของผู้ถือหุ้น โดยก�ำหนดนโยบายไว้ดังนี้
บริษัทมีหน้าที่ปกป้องและเคารพสิทธิของผู้ถือหุ้นขั้นพื้นฐาน ได้แก่ สิทธิการซื้อขายหรือโอนหุ้น สิทธิในการมีส่วนแบ่งในก�ำไรของกิจการ สิทธิในการได้รับข่าวสารข้อมูลกิจการอย่างเพียงพอ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการ การแต่งตั้ง ผู้สอบบัญชี การจัดสรรเงินปันผล การก�ำหนดหรือแก้ ไขข้อบังคับหรือหนังสือบริคณห์สนธิ การลดทุนหรือเพิ่มทุน การอนุมัติรายการพิเศษ เป็นต้น
บริษทั มีหน้าทีส่ ง่ เสริมและสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ใช้สทิ ธิในเรือ่ งต่างๆ ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี ได้แก่ สิทธิในการเสนอวาระการประชุม ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า สิทธิในการเสนอบุคคลเพื่อคัดเลือกเป็นกรรมการล่วงหน้า สิทธิในการส่งค�ำถามต่อที่ประชุมล่วงหน้าก่อนการประชุม สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและตั้งค�ำถามต่อที่ประชุม เป็นต้น
บริษทั มีหน้าทีใ่ นการงดเว้นการกระท�ำใดๆ อันเป็นการละเมิด หรือจ�ำกัดสิทธิ หรือการลิดรอนสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ในการศึกษาข้อมูลสารสนเทศ ของบริษัท ที่ต้องเปิดเผยตามข้อก�ำหนดต่างๆ และการเข้าประชุมผู้ถือหุ้น เช่น ไม่น�ำเสนอเอกสารที่มีข้อมูลส�ำคัญเพิ่มเติมอย่างกะทันหัน ไม่เพิ่มวาระการประชุมหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลส�ำคัญโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า เป็นต้น
บริษัทมีหน้าที่อ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นในการใช้สิทธิต่างๆ เช่น การให้ข้อมูลส�ำคัญที่เป็นปัจจุบันผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท รวมถึง การอ�ำนวยความสะดวกในการประชุมผู้ถือหุ้น ให้สถานที่จัดประชุมมีความเหมาะสมทั้งขนาดรองรับจ�ำนวนผู้มาร่วมประชุมและต�ำแหน่ง สถานที่ตั้งซึ่งต้องเดินทางสะดวกไม่เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางและมีความปลอดภัย อีกทั้งบริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นจัดส่งเอกสารลง ทะเบียนเข้าร่วมการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุม เพือ่ ลดระยะเวลาในการตรวจสอบเอกสารในวันประชุม และบริษทั จัดช่องทางการลงทะเบียน ณ สถานที่จัดการประชุม โดยบริษัทได้น�ำระบบบาร์โค้ด (Barcode) มาใช้ ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพื่อช่วยให้ขั้นตอนการลง ทะเบียนให้เป็นไปด้วยความรวดเร็วยิ่งขึ้น และได้จัดเตรียมอากรแสตมป์ให้แก่ผู้ถือหุ้นในการมอบฉันทะ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้ผู้เข้าประชุม เป็นต้น
1.2 การเปิดเผยสารสนเทศเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น
98
บริษัทมีนโยบายให้ข้อมูลเกี่ยวกับ วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุมผู้ถือหุ้น ตลอดจนข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องตัดสินใจ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้น แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อยตามที่กฎหมายก�ำหนด ส�ำหรับการประชุมผู้ถือหุ้นในแต่ละครั้ง บริษัทมีนโยบาย ในการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้าก่อนการประชุม ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทเพื่อเปิดโอกาสให้ ผูถ้ อื หุน้ ได้มเี วลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอก่อนได้รบั ข้อมูลในรูปแบบเอกสารจากบริษทั และมีชอ่ งทางการติดต่อ ที่หลากหลายเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสอบถามเกี่ยวกับรายละเอียดเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น
หลังการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทจะน�ำเนื้อหาการประชุมซึ่งประกอบด้วย รายละเอียดวาระการประชุม มติที่ประชุม การลงคะแนนเสียง ตลอดจนค�ำถามและความเห็นของผู้ถือหุ้น รวบรวมจัดท�ำเป็น “รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น” เผยแพร่ขึ้นเว็บไซต์ของบริษัท ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุม ซึ่งเป็นไปตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
1.3 การดำ�เนินการประชุม
บริษัทมีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นได้ ใช้สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเต็มที่ในการประชุมผู้ถือหุ้นและจะไม่ กระท� ำ ใดๆ ที่ เ ป็ น การจ� ำ กั ด โอกาสการเข้ า ประชุ ม ของผู ้ ถื อ หุ ้ น ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ ้ น มี ส ่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งที่ ก ระทบหรื อ เกี่ยวข้องกับสิทธิและผลประโยชน์ของตน
บริ ษั ท จะแจ้ ง กฎเกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารในการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ให้ ผู้ ถื อ หุ ้ น ทราบในหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม รวมทั้ ง ในวั น ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ผู้ด�ำเนินการประชุมจะแจ้งกฎเกณฑ์ที่ใช้ ในการประชุม และขั้นตอนการออกเสียงลงมติให้ผู้ถือหุ้นทราบที่ประชุมผู้ถือหุ้น อีกทั้ง บริษัท เลือกใช้วิธีการลงมติและอุปกรณ์ออกเสียงที่โปร่งใส สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงผลการลงมติได้รวดเร็ว และ ผู้ถือหุ้นสามารถทราบผลการลงมติโดยทันที และได้มีการบันทึกการแจ้งกฎเกณฑ์และขั้นตอนการออกเสียงลงมติดังกล่าว ลงในรายงาน การประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง นอกจากนี้บริษัทอาจเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามล่วงหน้าที่เกี่ยวข้องกับวาระในการประชุมผู้ถือหุ้น ก่อนวันประชุมตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
บริษทั จะเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ซักถามในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับวาระการประชุมหรือเกีย่ วข้องกับบริษทั และแสดงความคิดเห็น โดยประธานกรรมการ ได้สอบถามที่ประชุมในแต่ละวาระทุกวาระ รวมทั้งได้มีการบันทึกข้อซักถามในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวาระการประชุมหรือเกี่ยวข้องกับบริษัท และ แสดงความคิดเห็นของผู้ถือหุ้น รวมทั้งค�ำชี้แจงของคณะกรรมการบริษัทและ/หรือผู้บริหารลงในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง
บริษัทได้ ให้ความส�ำคัญและเคารพสิทธิของผู้ถือหุ้นในการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีและสนับสนุนให้กรรมการทุกคนเข้าร่วมประชุม ผู้ถือหุ้น
หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทค�ำนึงถึงการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยก�ำหนดนโยบายที่สำ� คัญ ดังต่อไปนี้
2.1 การเสนอวาระเพิ่มเติมในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทมีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในการเสนอเพิ่มวาระการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้การเสนอ เพิ่มวาระการประชุมล่วงหน้าและการพิจารณาข้อเสนอดังกล่าวของผู้ถือหุ้นจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทก�ำหนด ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่เป็นผู้บริหารจะไม่เพิ่มวาระการประชุมที่ ไม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จ�ำเป็นโดยเฉพาะวาระส�ำคัญที่ผู้ถือหุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูล ก่อนตัดสินใจ
2.2 การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ บริษัทมีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ทั้งนี้ การเสนอชื่อบุคคล เพื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและการพิจารณาข้อเสนอดังกล่าวของผู้ถือหุ้นจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทก�ำหนด
2.3 การสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นใช้หนังสือมอบฉันทะในกรณีที่ ไม่สามารถมาประชุมผู้ถือหุ้นได้ด้วยตนเอง บริษัทมีนโยบายสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นใช้หนังสือมอบฉันทะในรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ และควรเสนอชื่อ กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คนเป็นทางเลือกในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น โดยบริษัทจะด�ำเนินการจัดส่งหนังสือมอบฉันทะรูปแบบดังกล่าวไปยัง ผู้ถือหุ้น และค�ำแนะน�ำในการมอบฉันทะ รวมทั้งประวัติและข้อมูลการท�ำงานของกรรมการอิสระแต่ละท่านอย่างครบถ้วน พร้อมกับหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถดาวน์โหลดหนังสือมอบฉันทะได้ทางเว็บไซต์ของบริษัทที่ www.ktisgroup.com ผู้รับมอบฉันทะที่ถูกต้องตามกฎหมาย และยื่นหนังสือมอบฉันทะให้กรรมการในที่ประชุมแล้วย่อมมีสิทธิเข้าร่วมประชุมและลงมติเช่นเดียวกับผู้ถือหุ้นทุกประการ
2.4 การสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียง บริษัทมีนโยบายสนับสนุนให้มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงในวาระที่ส�ำคัญ เช่น การท�ำรายการเกี่ยวโยงกันการท�ำรายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไป ซึ่งสินทรัพย์ที่มีนัยส�ำคัญ เป็นต้น เพื่อความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ในกรณีมีข้อโต้แย้งในภายหลัง
2.5 การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิแต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล บริษัทมีนโยบายสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นได้ ใช้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการเป็นรายคน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
99
2.6 มาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ ในทางมิชอบ บริษัทได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบ ไว้ ในหลักจรรยาบรรณธุรกิจ (Code of Conduct) ซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องการใช้ข้อมูลภายในเพื่อซื้อขายหลักทรัพย์ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการรักษาความลับ โดยมีการแจ้งมาตรการดังกล่าวผ่านทางคู่มือหลักจรรยาบรรณธุรกิจ ทางการจัดอบรม และทางเว็บไซต์ของบริษัท นอกจากนี้ ยังได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในการแจ้งหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูล และติดตามให้คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารรายงาน การถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้ส่วนเสียหรือการท�ำรายการระหว่างกันของกรรมการและผู้บริหาร และก�ำหนดให้กรรมการทุกคนและผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงานการมีส่วนได้เสียตามที่กฎหมายก�ำหนดให้บริษัททราบ
2.7 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นต่างชาติ ผู้ถือหุ้นทุกรายย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูลหรือเอกสารเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษส�ำหรับผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติ เอกสารที่ส่งให้กับผู้ถือหุ้น ชาวต่างชาติบริษัทมีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ
หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเกี่ยวกับการดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บริษัทตระหนักและให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ซึ่งไม่เพียงแต่เฉพาะตามที่กฎหมายก�ำหนดเท่านั้น ในปีที่ผ่านมา บริ ษั ท ได้ พิ จ ารณาชี้ บ ่ ง ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย ขึ้ น ใหม่ พร้ อ มกั บ ก� ำ หนดเป็ น นโยบายและมาตรการในการดู แ ลผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมของบริษัทที่ได้ยึดถือปฏิบัติควบคู่กันไป โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัท แบ่งออกเป็น 10กลุ่ม ดังนี้ 1. พนักงานและครอบครัว
6. หน่วยราชการ
2. เกษตรกรชาวไร่
7. Supplier และ Contractor
3. ลูกค้า และเจ้าหนี้
8. นักวิชาการ
4. ผู้ถือหุ้น หรือผู้ลงทุน
9. สถาบันการศึกษา
5. ชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละสาขา
10. คู่แข่ง
ทั้งนี้ บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายและมาตรการในการดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดังต่อไปนี้
1. พนักงานและครอบครัว
100
บริษัทให้ผลตอบแทนแก่พนักงานอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับการจ่ายผลตอบแทนของอุตสาหกรรมเดียวกันตลอดจนจัดให้มี สวัสดิการต่างๆ ตามกฏหมาย และมีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับพนักงาน โดยยึดหลักพิจารณา ผลงานด้วยความเป็นธรรม สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงาน ทั้งระยะสั้นและระยะยาว และสามารถวัดผลได้ภายใต้หลักเกณฑ์ที่บริษัทก�ำหนด
บริษัทมุ่งส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ และความสามารถอย่างต่อเนื่อง อาทิ จัดให้มีการอบรมและสัมมนาผู้บริหารและ พนักงาน เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อสร้างศักยภาพและความพร้อมภายในองค์กรเพื่อพัฒนาให้เป็นองค์กรที่มีคุณภาพดียิ่งขึ้น
บริษัทปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนด้วยความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกัน อาทิ การประเมินผลงานพนักงาน การรักษาความลับ ประวัติการท�ำงาน และการให้สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานที่กฎหมายก�ำหนด รวมทั้งการใช้สิทธิต่างๆ ของพนักงานนอกเหนือ จากที่กฎหมายก�ำหนด โดยมีการประชาสัมพันธ์สิทธิประโยชน์ต่างๆให้กับพนักงานอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
บริษทั ค�ำนึงถึงสิทธิของพนักงานเป็นส�ำคัญ และเปิดโอกาสให้พนักงานร้องเรียนกรณีพนักงานไม่ได้รบั ความเป็นธรรมผ่านช่องทางต่างๆ เช่น ตู้รับความคิดเห็น หน่วยงานฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่รับเรื่อง เป็นต้น
บริษัทมีหน้าที่ดูแลจัดสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มีความปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และเอื้อต่อการท�ำงานอย่างมีประสิทธิผล เพื่อก�ำหนดนโยบายและหลักในการปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ สวัสดิภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม โดยก�ำหนดและส่งเสริม ให้มีการดูแลและรักษาสุขอนามัยที่ดี และจัดให้มีสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัย ซึ่งรวมถึงควบคุมภยันตราย และด�ำเนินการ ที่จำ� เป็นเพื่อป้องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุ และโรคภัยจากการท�ำงาน ให้กับพนักงานทุกคน
บริษัทจัดให้มีการคุ้มครองปกป้องสิ่งแวดล้อม โดยจะด�ำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาและ ใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับกับสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทส่งเสริมให้มีการให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงาน ในเรื่องสิ่งแวดล้อม โดยเนื้อหาประกอบไปด้วยนโยบายเพื่อการรักษาสิ่งแวดล้อม ปริมาณการใช้พลังงาน และการปลดปล่อยมลพิษ ทางอากาศ การบริหารจัดการของเสียมาใช้ ใหม่ (recycle) รวมถึงสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน
2. เกษตรกรชาวไร่
บริษัทมีหน้าที่ในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและความร่วมมือในระยะยาวกับเกษตรกรชาวไร่คู่สัญญา โดยยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต ความเชื่อถือและไว้วางใจซึ่งกันและกัน
บริษัทสนับสนุนการสร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพของเกษตรกร โดยการให้การดูแล เอาใจใส่และให้ความส�ำคัญต่อเกษตรกร ชาวไร่คู่สัญญา
บริษัทมุ่งส่งเสริมเกษตรกรชาวไร่คู่สัญญาให้พัฒนาความรู้ ในการท�ำ การเกษตรอย่างต่อเนื่อง อาทิ จัดอบรมโครงการโรงเรียน เกษตรกร เป็นต้น เพื่อให้เกษตรกรน�ำความรู้ที่ได้มาใช้ ในการประกอบอาชีพ เพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิตเพื่อสร้างผลตอบแทน ที่ดีในการประกอบอาชีพเกษตรกร และส่งเสริมให้มีการคุ้มครองและปกป้องสิ่งแวดล้อม โดยสนับสนุนให้มีการพัฒนาและใช้เทคโนโลยี ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น รวมทั้งแจ้งให้ตระหนักถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมให้มีการจัดการกับกากของเสีย อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การน�ำเศษจากผลผลิตทางการเกษตรไปใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
3. ลูกค้า และเจ้าหนี้ นโยบายเกี่ยวกับการดูแลลูกค้า
บริษัทมีหน้าที่ในการสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือในระยะยาวกับลูกค้า โดยยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต ความเชื่อถือ และไว้วางใจซึ่งกันและกัน
บริษัทมีหน้าที่ในการสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าของบริษัทฯ ด้วยการรับผิดชอบ เอาใจใส่และให้ความส�ำคัญต่อปัญหา และความต้องการของลูกค้าเป็นอันดับแรก โดยให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนปฏิบัติตามมาตรการตามนโยบายนี้
บริษัทจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักจริยธรรมโดยไม่เรียก รับหรือจ่ายผลประโยชน์ที่ไม่สุจริตต่อลูกค้าและเจ้าหนี้ ๏๏
ยึดมั่นในการน�ำเสนอและส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการที่ได้มาตรฐานคุณภาพตรงกับความต้องการของลูกค้า
๏๏
ยึดถือปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ได้ท�ำข้อตกลงไว้กับลูกค้าอย่างดีที่สุด
นโยบายเกี่ยวกับการดูแลเจ้าหนี้
บริษัทมีหน้าที่สร้างความสัมพันธ์และปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ โดยยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต ความเชื่อถือและไว้วางใจซึ่งกันและกัน โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้ แก่เจ้าหนี้
บริษัทมีหน้าที่รับผิดชอบ เอาใจใส่ และให้ความส�ำคัญต่อค�ำสัญญาและเงื่อนไขต่างๆ ที่ ได้ท�ำข้อตกลงไว้กับเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด ในการช�ำระคืนหนี้ เงินกู้ยืม ดอกเบี้ย และมีความรับผิดชอบต่อหลักประกันต่างๆ หากเกิดกรณีที่ ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไข แห่งสัญญาที่ตกลงไว้ ได้ บริษัทจะแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้าเพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ ไขปัญหา
4. ผู้ถือหุ้น หรือผู้ลงทุน โปรดอ้างอิงหมวด 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น
5. ชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง
บริษัทและพนักงานต้องยึดมั่นประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี และเป็นประโยชน์แก่สังคมและชุมชน
บริ ษั ท มี ห น้ า ที่ ป ระพฤติ ป ฏิ บั ติ ต ่ อ ชุ ม ชนที่ อ าศั ย อยู ่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ บริ เ วณที่ ตั้ ง สถานประกอบการแต่ ล ะสาขาด้ ว ยความเป็ น มิ ต ร และให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนชุมชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดี ตลอดจนรับผิดชอบด�ำเนินการแก้ ไขในกรณีที่เกิดปัญหาต่างๆ ที่ได้รับ ผลมาจากการด�ำเนินการของบริษัทอย่างเป็นธรรม และมีความเท่าเทียมกัน
บริษัทมีหน้าที่ดูแลและสนับสนุนกิจกรรมที่มีคุณประโยชน์ต่อสังคม และให้ความร่วมมือกับภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ด้วยความเต็มใจ และเสียสละเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
101
6. หน่วยงานราชการ
บริษัทมีหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่ได้ก�ำหนดไว้
บริษัทจะสนับสนุนกิจกรรมในโอกาสต่างๆ ของหน่วยงานราชการตามความเหมาะสม
7. Supplier และ Contractor
บริษัทมีหน้าที่สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ Supplier และ Contractor ทุกราย
บริษัทมีหน้าที่เปิดโอกาสให้ Supplier และ Contractor ทุกรายน�ำเสนอสินค้า/บริการได้โดยเท่าเทียมกัน โดยให้ผู้บริหารและพนักงาน ที่เกี่ยวข้องกับ Supplier และ Contractor ต้องปฏิบัติตามมาตรการดังต่อไปนี้ ๏๏
ต้องปฏิบัติงานต่อ Supplier และ Contractor ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และมีความเท่าเทียมกัน
๏๏
การพิจารณาและตัดสินใจต้องอยู่บนพื้นฐานของการเปรียบเทียบคุณภาพ และเงื่อนไขต่างๆ โดยค�ำ นึงถึงผลประโยชน์ของบริษัท ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวโดยจะต้องปฏิบัติตามคู่มือการจัดซื้อ จัดจ้างอย่างเคร่งครัดดังนี้ •
ด้านคุณภาพและการบริการ
•
ด้านต้นทุนราคา
•
ด้านก�ำหนดเวลาการส่งมอบ
•
ด้านความเชื่อถือไว้วางใจ
•
ด้านชื่อเสียงและผลงานที่อ้างอิง
•
ด้านประวัติในการท�ำธุรกิจกับบริษัท
•
ด้านเงื่อนไขของธุรกรรม
•
และด้านอื่นๆตามความเหมาะสม
8. นักวิชาการ
บริษทั เปิดโอกาสให้นกั วิชาการได้รบั ทราบข้อมูลวิธกี าร กระบวนการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ รวมทัง้ แลกเปลีย่ นความรู้ เพือ่ เป็นประโยชน์ ในงานด้านวิชาการ และการท�ำวิจัยต่างๆ อันเป็นประโยชน์ต่อบริษัท
บริษัทสนับสนุนการเข้ามามีส่วนร่วมในการศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงกระบวนการท�ำงานต่างๆ ตลอดจนร่วมศึกษา เพื่อพัฒนานวัตกรรมต่างๆ ในการเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาบริษัท
9. สถาบันการศึกษา
บริษัทจะท�ำการส่งเสริมให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตแก่สถาบันการศึกษา โดยจะให้ความส�ำคัญกับโรงเรียน และสถาบันการศึกษาที่ใกล้บริเวณชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละสาขาของบริษัทเป็นอันดับแรก
บริษัทจะท�ำการสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของสถาบันการศึกษาตามความเหมาะสม
10. คู่แข่ง
บริ ษั ท จะไม่ ก ระท� ำ การใดๆที่ เ ป็ น การฝ่ า ฝื น หรื อ ขั ด ต่ อ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การแข่ ง ขั น ทางการค้ า หรื อ อาจท� ำ ให้ เ สื่ อ มเสี ย ชื่อเสียงของคู่แข่ง
3.2 มาตรการชดเชยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกรณี ได้รับความเสียหายจากการละเมิด
มาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน บริษัทมีมาตรการที่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทจะต้องพึงปฏิบัติในการใช้ข้อมูลภายในดังนี้ 1) เลขานุการบริษัทมีหน้าที่แจ้งให้กรรมการ และผู้บริหาร รายงานการถือครองหลักทรัพย์ ในบริษัทของตนเอง คู่สมรส และบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 (รวมที่มีแก้ ไขเพิ่มเติม)
102
2) บริษัทจะแนะน�ำให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่ทราบข้อมูลภายในเพื่อห้ามการซื้อขายหุ้นของบริษัท ก่อนการเปิดเผย ข้อมูลที่เป็นสาระส�ำคัญ รวมถึงข้อมูลงบการเงินของบริษัทซึ่งมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ต่อสาธารณชน กล่าวคือ เป็นเวลา 1 เดือนก่อนการเปิดเผยข้อมูลอันอาจเป็นการกระท�ำผิดพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
มาตรการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของผู้บริหารและพนักงาน
บริษัทได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันกรรมการและผู้บริหารใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบไว้ ใน หลักจรรยาบรรณส�ำหรับผู้บริหารและพนักงานดังต่อไปนี้ 1) ผู้บริหารและพนักงานจะต้องไม่กระท�ำการใดๆ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์หรือเบียดบังทรัพย์สิน ซึ่งควรเป็นของบริษัทหรือควรเป็นของ ลูกค้าของบริษัทฯ มาเป็นของส่วนตัวหรือของบุคคลใดๆ โดยขัดแย้งกับการรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2) ผู้บริหารและพนักงานควรหลีกเลี่ยงสถานการณ์ หรือการมีกิจกรรมส่วนตัว และการมีผลประโยชน์ทางการเงินซึ่งอาจขัดแย้งกับ หน้าที่การงานที่ผู้บริหารและพนักงานผูกพันอยู่ และส่งผลกระทบต่อแนวทางการรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 3) บริษัทจะหลีกเลี่ยงที่จะมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับผู้บริหารและพนักงานในกรณีที่อาจจะน�ำไปสู่สถานการณ์ที่จะก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบริษัท หรือขัดต่อผลประโยชน์ของลูกค้าของบริษัท 4) การทีผ่ บู้ ริหารและพนักงานมีสว่ นร่วมในการด�ำเนินกิจกรรมภายนอกองค์กร หรือด�ำรงต�ำแหน่งภายนอกองค์กร อาทิ การเป็นกรรมการ ทีป่ รึกษา ตัวแทน หรือเป็นพนักงานในองค์กรอืน่ ๆ กิจกรรมนัน้ ๆ จะต้องไม่กอ่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ไม่วา่ ทางตรง หรือทางอ้อม และจะต้องไม่ท�ำให้เกิดผลเสียหายต่อบริษัท รวมทั้งจะต้องไม่กระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ของบุคคลนั้นๆ 5) ห้ามมิให้ผู้บริหารและพนักงานเข้าร่วมหรือรับต�ำแหน่งใดในองค์กรอื่นที่ประกอบธุรกิจในลักษณะเดียวกันกับบริษัท หรือกิจการ ที่แข่งขันกับบริษัท หรือกิจการที่อาจมีผลประโยชน์ขัดแย้งกับบริษัท ทั้งนี้ บริษัทจะได้รับการรายงานข้อมูลส่วนได้ส่วนเสียในการท�ำธุรกรรมกับบริษัทของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เป็นประจ�ำ อย่างสม�่ำเสมอโดยตลอด โดยส�ำนักตรวจสอบภายในของบริษัทมีหน้าที่รายงานข้อมูลส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการตรวจ สอบทราบเพื่อพิจารณา และหลังจากนั้นให้คณะกรรมการตรวจสอบน�ำข้อมูลสรุปส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ รายงานต่อคณะกรรรมการบริษัท เพื่อรับทราบและพิจารณาต่อไป โดยส�ำนักตรวจสอบภายในจะเป็นผู้ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทได้ก�ำหนดมาตรการชดเชยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไว้ ในกรณีได้รับความเสียหายจากการละเมิดดังต่อไปนี้ 1) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อพนักงานและครอบครัว บริ ษั ท จั ด ให้ มี ส ถานที่ รั บ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น และ/หรื อ ข้ อ เสนอแนะจากพนั ก งานไว้ ส� ำ หรั บ เป็ น ช่ อ งทางในการแจ้ ง เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น ของพนักงานที่ได้รับผลกระทบจากการท�ำงาน 2) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อลูกค้า และเจ้าหนี้ บริ ษั ท ได้ มี ก ารดู แ ลลู ก ค้ า ตามนโยบายการดู แ ลลู ก ค้ า และจั ด ให้ มี ฝ ่ า ยลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ (Customer Service) ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ศูนย์ร้องเรียนส�ำหรับลูกค้า ในกรณีที่ลูกค้ามีปัญหาและต้องการความช่วยเหลือเพื่อป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ ลูกหนี้ และเจ้าหนี้ ผู้บริหารจะพิจารณาคุณสมบัติของลูกหนี้ และเจ้าหนี้ทุกรายก่อนการท�ำธุรกรรม เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาขึ้น ในภายหลัง โดยพิจารณาตามหลักความซื่อสัตย์สุจริตและความน่าเชื่อถือ 3) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อผู้ถือหุ้น บริษัทด�ำเนินการปกป้องและดูแลสิทธิของผู้ถือหุ้นขั้นพื้นฐาน ทั้งสิทธิในการได้รับข้อมูลสารสนเทศ สิทธิในการเข้าร่วมประชุม ผู้ถือหุ้น ตลอดจนสนับสนุนการใช้สิทธินอกเหนือไปจากกฎหมาย 4) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง บริษัทมีการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อชุมชนและสังคมรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง ด้วยการปฏิบัติ ตามนโยบายการดูแลสังคมและชุมชน ในการสร้างสัมพันธ์อันดีกับสังคมและชุมชนรอบข้าง ตลอดจนให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน ชุมชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดี 5) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อหน่วยงานราชการ บริษทั มีการป้องกันกรณีความเสียหายจากการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ โดย บริษทั มีหน่วยงานฝ่ายกฎหมายทีจ่ ะ ท�ำหน้าที่ในการติดตามดูแลการปฏิบัติของหน่วยงานในบริษัท ให้มีการปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมายอยู่อย่างสม�ำ่ เสมอ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
103
6) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ Supplier และContractor บริ ษั ท มี ก ารป้ อ งกั น กรณี ค วามเสี ย หายในการละเมิ ด ต่ อ Supplier และ Contractor โดยบริ ษั ท มี น โยบายในการสร้ า ง ความสัมพันธ์ที่ดีกับ Supplier และ Contractor ทุกราย รวมถึงมีการปฏิบัติต่อ Supplier และ Contractor ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน 7) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อนักวิชาการ บริษัทได้เปิดโอกาสให้นักวิชาการเข้าเยี่ยมชมกระบวนการให้บริการ และให้ข้อมูลวิธีการ กระบวนการด�ำเนินงานในการให้บริการ ของบริษัทเพื่อเป็นประโยชน์ ในด้านวิชาการ ตลอดจนร่วมมือกับนักวิชาการในการศึกษาปรับปรุงเทคโนโลยีในการให้บริการต่างๆ ร่วมกันอย่างสม�่ำเสมอ 8) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อสถาบันการศึกษา บริษัทได้ ให้ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในการเปิดโอกาสให้เยี่ยมชมสถานประกอบการของ บริษัท และจัดบรรยาย ให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีและกระบวนการให้บริการของบริษัท แก่สถาบันการศึกษา ตลอดจนให้การสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ อยู่อย่างสม�่ำเสมอ
3.3 กลไกการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บริษัทได้ก�ำหนดกลไกการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดังต่อไปนี้
บริษทั ได้จดั ให้มชี อ่ งทางรับข้อร้องเรียนและ/หรือแสดงความคิดเห็น และเพิม่ ช่องทางในการอีเมล์ถงึ ผูบ้ ริหารระดับสูง โดย ฝ่ายตรวจสอบติดต่อ โทร .02-692-0869-73 ต่อ 183 ต่อ 154 E - mail : internalaudit@ktisgroup.com
บริษัทได้เปิดโอกาสให้มีช่องทางการส่งข้อเสนอแนะถึงกรรมการบริษัท ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท โดยฝ่ายเลขานุการบริษัทติดต่อ โทร.02-692-0869-73 ต่อ 175 E - mail : cs@ktisgroup.com
บริษัทได้จัดให้มีการส่งตัวแทนของบริษัทเพื่อเข้าเยี่ยมเยียนชุมชนในพื้นที่รอบๆ โรงงานเป็นประจ�ำทุกปี
3.4 กลไกคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส
บริษัทได้ก�ำหนดให้มีช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการกระท�ำผิดกฎหมายหรือจรรยาบรรณ รายงานทางการเงิน หรือระบบ ควบคุมภายในบกพร่อง ตามช่องทางในข้อ 3.3
บริษัทได้ก�ำหนดให้มีการคุ้มครองพนักงาน/ผู้แจ้งเบาะแส โดย 1) ผู้ร้องเรียนสามารถเลือกที่จะไม่เปิดเผยตนเองได้ หากเห็นว่าการเปิดเผยนั้นจะท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัยหรือความเสียหาย 2) บริษัทจะเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้เป็นความลับ ค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ร้องเรียน โดยก�ำหนดมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน ที่เป็นพนักงาน รวมถึงผู้ ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง จากสาเหตุแห่งการแจ้งข้อร้องเรียน เช่น การรบกวนในการท�ำงาน การโยกย้าย การเลิกจ้าง การข่มขู่ เป็นต้น
บริษัทได้ก�ำหนดให้ มี ก ระบวนการด�ำ เนิ น การหลั งจากมี ผู้ แ จ้ งเบาะแส โดยในเบื้ อ งต้ นส�ำนั กตรวจสอบภายในจะท�ำการรวบรวมสรุ ป เรื่องดังกล่าวแล้วน�ำเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาพิสูจน์หาข้อเท็จจริง หากพบว่าเป็นข้อมูลที่กระทบต่อบริษัทจะต้อง น�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาต่อไป
หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทมีนโยบายเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชื่อถือ
4.1 การควบคุมภายในและการทำ�รายการ/ธุรกรรมที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
104
บริษัทมีนโยบายในการป้องกันและขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น โดยก�ำหนดให้การท�ำรายการและ/หรือธุรกรรม ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่บริษัทก�ำหนด และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บริษัทจะด�ำเนินการให้กรรมการ ผู้บริหาร และ/หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท แล้วแต่กรณีไม่ประกอบธุรกิจที่คล้ายคลึงหรือแข่งขัน ซึ่งส่งผลให้ความสามารถในการแข่งขันของบริษัท ลดลง หรือมีรายการระหว่างกันในลักษณะที่มีผลประโยชน์อื่นที่อาจขัดแย้งกับผลประโยชน์ ที่ดีที่สุดกับบริษัท หรือบริษัทย่อย โดยกรรมการ ผู้บริหาร และ/หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท แล้วแต่กรณีจะต้องรายงานต่อบริษัท หากกรรมการ ผู้บริหาร และ/หรือหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่เข้าไปถือหุ้นบริษัทที่มีวัตถุประสงค์ ในการด�ำเนินงานคล้ายคลึงกับบริษัท หรือ บริษัทย่อย เพื่อให้บริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาว่า การถือหุ้นดังกล่าวขัดต่อผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของบริษัท หรือ บริษัทย่อยหรือไม่
บริษัทยังให้ความส�ำคัญกับระบบการควบคุมภายในที่ดี และได้จัดให้มีสำ� นักตรวจสอบภายในเพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของแต่ละสายงาน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดและปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใส โดยมีการตรวจสอบเป็นระยะและจัดท�ำรายงานส่งให้คณะกรรมการ ตรวจสอบพิจารณา
4.2 การเปิดเผยข้อมูล บริษัทเปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องก�ำหนดผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และบริษัท ภายใต้หัวข้อ นักลงทุน สัมพันธ์ โดยบริษัทจัดให้มีผู้รับผิดชอบคือ ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร พร้อมทั้งปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อเป็นตัวแทน ในการสื่อสาร บริการข้อมูล ข่าวสารกิจกรรมต่างๆ กับบริษัท ผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ หลักทรัพย์และประชาชน หากมีข้อสงสัยสามารถติดต่อได้ที่ ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และการสือ่ สารองค์กร โทร.02-692-0869-73 ต่อ 193 ต่อ 26 E-mail : ir@ktisgroup.com กิจกรรม
จำ�นวนครัง้ /ปี 4 3 8 4
Opportunity Day Company Visit การติดต่อสอบถามข้อมูลทาง Email (ฉบับ) Factory Visit
4.3 การเปิดเผยนโยบายกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทได้เปิดเผยนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ได้ ให้ความเห็นชอบและผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวผ่านช่องทางต่างๆ เช่น รายงาน ประจ�ำปี และเว็บไซต์ของบริษัท เป็นต้น
4.4 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน บริษัทจัดให้มีรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินแสดงควบคู่ไปกับรายงานของผู้สอบบัญชีในรายงานประจ�ำปี ซึ่งมีเนื้อหารับรองการปฏิบัติตามหลักการบัญชี และมีการรายงานทางการเงินที่มีข้อมูลถูกต้องครบถ้วนเป็นจริงตามมาตรฐานการบัญชี โดยรายงาน ดังกล่าวลงนามโดยประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท
4.5 การเปิดเผยบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ได้เปิดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวนครั้งของการประชุมและจ�ำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่าน เข้าร่วมประชุมในปีที่ผ่านมาและความเห็นจากการท�ำหน้าที่ในรายงานประจ�ำปี
4.6 การเปิดเผยข้อมูลการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท บริษัทก�ำหนดให้กรรมการต้องรายงานการซื้อ - ขายหุ้นของ/ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทให้ที่ประชุมคณะกรรมการทราบทุกครั้ง
หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญในการพิจารณาสรรหากรรมการที่มีภาวะผู้น�ำ วิสัยทัศน์ มีประสบการณ์ความรู้ ความสามารถ และมีความ เป็นอิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม และความส�ำคัญในการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง คณะกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการที่ชัดเจน และดูแลให้บริษัทมีระบบงานที่ให้ความเชื่อมั่นได้ว่ากิจกรรมต่างๆของบริษัทได้ด�ำเนินไปในลักษณะ ที่ถูกต้องตามกฎหมายและมีจริยธรรม บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
105
บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดนโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท โดยค� ำ นึ ง ปั จ จั ย ต่ า งๆ ซึ่ ง รวมถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบของกรรมการ โดยมี แนวนโยบายส�ำคัญที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
5.1 โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท
บริษัทค�ำนึงถึงการบริหารงานที่โปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้เป็นส�ำคัญ ดังนั้นประธานกรรมการของบริษัทจึงไม่เป็นบุคคลเดียว กั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารหรื อ กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการ อี ก ทั้ ง คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ใ ห้ ค วามเห็ น ชอบในการก� ำ หนดนิ ย าม กรรมการอิสระของบริษัท ตามหลักเกณฑ์และค�ำนิยามที่ก�ำหนดไว้โดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ส�ำหรับกระบวนการสรรหากรรมการบริษัทได้ก�ำหนดวิธีการที่เป็นทางการโดยยึดหลักความโปร่งใส ปราศจากอิทธิพลของฝ่ายบริหาร หรือผู้ถือหุ้นที่มีอ�ำนาจควบคุม คือ คณะกรรมการสรรหาจะเป็นผู้สรรหาบุคคลด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการโดยท�ำการพิจารณาคัดเลือก บุคคลที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากคุณวุฒิ ความสามารถ ประสบการณ์ท�ำงาน ฯลฯ และจะต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามที่กฎหมายก�ำหนด ตลอดจนสอดคล้องกับกลยุทธ์ ในการด�ำ เนินธุรกิจของบริษัท เพื่อให้ตรงกับภาระหน้าที่ของกรรมการบริษัท และ/หรือกรรมการในคณะอนุกรรมการต่างๆ ซึ่งจะสรรหาจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาชีพต่างๆ หรือ Professional Search Firm หรือ Director Pool หรือองค์กรลักษณะดังกล่าว และเมื่อคัดเลือกกรรมการที่เหมาะสมได้แล้ว จึงน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติแต่งตั้งเป็นกรรมการต่อไป
บริษัทได้จัดให้มีการเปิดเผยรายชื่อของคณะกรรมการบริษัท และคณะอนุกรรมการ โดยเปิดเผยชื่อกรรมการรายบุคคล ต�ำแหน่ง อายุ ประวัติการศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ประสบการณ์ท�ำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหาร โดยได้เปิดเผยไว้ผ่านช่องทางต่างๆ ทั้งในรายงานประจ�ำปี และเว็บไซต์ของบริษัท
กรรมการของบริษัทโดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ทั้งนี้ กรรมการซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ อาจได้รับเลือกตั้งใหม่ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้
คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด และไม่น้อยกว่า 3 คน กรรมการอิสระ ของบริษัท จะต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดซึ่งมีความเข้มงวดไม่น้อยกว่าคุณสมบัติ ที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด
บริ ษั ท มี น โยบายที่ จ ะแต่ ง ตั้ ง เลขานุ ก ารบริ ษั ท เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ต ่ า งๆ ตามที่ ก ฎหมายก� ำ หนด และท� ำ หน้ า ที่ อื่ น ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท
5.2 ภาวะผู้นำ�และวิสัยทัศน์
106
คณะกรรมการบริษัทมีภาวะผู้น�ำ วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ ทิศทางและนโยบายในการด�ำเนินงาน แผนการประกอบธุรกิจ และงบประมาณ ประจ�ำปีของบริษัทและมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม บริษัทจึงจัดให้มีการแบ่งแยก บทบาทหน้าที่ของคณะกรรรมการบริษัทกับฝ่ายบริหารอย่างชัดเจน โดยฝ่ายบริหารจะเป็นผู้หาข้อมูลต่างๆ เพื่อประกอบการพิจารณา และคณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ตัดสินใจ
คณะกรรมการบริษัทมุ่งหวังที่จะให้กิจการของบริษัทมีความมั่นคง และมีความส�ำเร็จทางธุรกิจที่ยั่งยืนในระยะยาว จึงได้ร่วมกับฝ่าย บริหารพิจารณาทบทวนก�ำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงก�ำหนดเป้าหมาย แผนธุรกิจ และแผนงบประมาณในรอบปีที่ผ่านมา โดยค�ำนึงถึงการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด และความมั่นคงในระยะยาวของบริษัทและของผู้ถือหุ้น ตลอดจนท�ำหน้าที่ในการก�ำกับดูแลและติดตามการด�ำเนินการของฝ่ายบริหารให้เป็นไปตามแผนธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
คณะกรรมการบริ ษั ท มี ก ารติ ด ตามดู แ ลเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเชื่ อ มั่ น ว่ า ฝ่ า ยบริ ห ารได้ น� ำ กลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ไปประชุ ม ฝ่ า ยจั ด การและ ปฏิบัติตามกลุยุทธ์ที่ได้ก�ำหนดไว้ โดยฝ่ายบริหารจะมีการรายงานผลให้คณะกรรมการบริษัททราบปีละ 4 ครั้ง
คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ส นั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ระบบบรรษั ท ภิ บ าลในการบริ ห ารงานภายในองค์ ก ร คณะกรรมการบริ ษั ท จึ ง ได้ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ในการก�ำหนดแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี หลักจรรยาบรรณ มาตรการและขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัท ที่เกี่ยวข้องหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รวมถึงการแบ่งแยกขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่อย่างชัดเจนระหว่างผู้ถือหุ้นกับคณะกรรมการบริษัท ระหว่างคณะกรรมการบริษัทกับผู้บริหารและคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลอ�ำนาจและสามารถตรวจสอบซึ่งกันและ กันได้อย่างอิสระ
5.3 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์
บริษัทจะพิจารณาการท�ำรายการระหว่างกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้ถือหุ้น กรรมการ และฝ่ายบริหาร ด้วยความรอบคอบ ซื่อสัตย์สุจริต อย่างมีเหตุ มีผล และเป็นอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี ตลอดจนมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน โดยยึดผลประโยชน์ของบริษัท โดยรวมเป็นส�ำคัญ รวมทั้งยึดถือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นและความเหมาะสม ของของการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันนั้น
บริษัทได้ก�ำหนดให้มีมาตรการและขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยห้ามมิให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรงและทางอ้อมมีส่วนร่วมในการพิจารณารายการ และก�ำหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบ ร่วมพิจารณาและให้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ ความจ� ำ เป็ นและความสมเหตุ ส มผลของรายการที่ น� ำ เสนอนั้ นเพื่ อ ประโยชน์ สู งสุ ดของบริ ษั ท ตลอดจนให้มีการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการระหว่างกัน ไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป ในรายงานประจ�ำปี
5.4 จริยธรรมทางธุรกิจ
บริษัทได้จัดท�ำหลักจรรยาบรรณส�ำหรับผู้บริหารและพนักงาน (Code of Conduct) เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนได้ ใช้เป็นแนวทาง การปฏิบัติงานในหน้าที่ และยึดถือประพฤติปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอและเคร่งครัด โดยครอบคลุมทั้งด้านการประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ และสุจริต การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วยความเท่าเทียมและเป็นธรรม การป้องกันการละเมิดต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ การรักษาความลับ และการใช้ข้อมูลในทางที่ผิด ตลอดจนเรื่องการรับสินบน ของขวัญ และของรางวัล ทั้งนี้ได้มอบหมายให้ ส�ำนักตรวจสอบภายในติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณนี้
บริษัทจะติดตามและดูแลให้การประกอบธุรกิจของบริษัท การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ การด�ำเนินการของฝ่ายบริหาร และการปฏิบัติงาน ของพนักงาน ยึดมั่นอยู่ในกรอบของคุณธรรม และจริยธรรมอันดี นอกเหนือจากระเบียบข้อบังคับของบริษัท และกรอบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บริษัทก�ำหนดนโยบายให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานหลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญแก่สาธารณชนที่อาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัท เช่น ข้อมูลทางการเงิน เป็นต้น
5.5 การรวมหรือแยกตำ�แหน่งเพื่อการถ่วงดุลอำ�นาจการบริหารงาน บริษัทก�ำหนดแบ่งแยกขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รวมถึงประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ไว้อย่างชัดเจน รวมถึงการก�ำหนดให้ บุคคลผู้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการ ไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหาร หรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และไม่มี ความสัมพันธ์ ใดๆ กับฝ่ายบริหาร เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้บริหารคนใดคนหนึ่งมีอำ� นาจโดยไม่จ�ำกัด และสามารถที่จะสอบทานถ่วงดุลการบริหารงานได้
5.6 คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อช่วยงานคณะกรรมการบริษัทในการศึกษารายละเอียด ติดตามและควบคุม การปฏิบัติงาน และกลั่นกรองกิจการที่ได้รับมอบหมาย โดยมีการก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน
5.7 บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานกรรมการบริษัท
จัดให้มีการประชุมกรรมการบริษัทในแต่ละปี ดูแลการจัดส่งหนังสือเชิญประชุม รวมทั้งเอกสารต่างๆ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้รับข้อมูล อย่างเพียงพอและทันเวลา
ท�ำ หน้าที่ ป ระธานที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และสนั บสนุ นการปฏิ บั ติหน้ า ที่ ข องกรรมการบริ ษัทอย่ า งถู กต้ อ งตามกฏหมายและ ข้อก�ำหนดต่างๆ
เปิดโอกาสให้กรรมการบริษัทได้แสดงความคิดเห็น พิจารณา และตัดสินใจอย่างรอบคอบ และสุจริต
จัดให้มีการรายงานจากฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยๆ เพื่อติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัท และความคืบหน้า ของกิจการต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท
ส่งเสริมและสร้างมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของคณะกรรมการบริษัท บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
107
เป็นประธานที่ประชุมผู้ถือหุ้น และควบคุมการประชุมให้เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัทและระเบียบวาระที่กำ� หนดไว้
ดูแลส่งเสริมให้กรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้นติดต่อสื่อสารกันอย่างมีประสิทธิภาพ
จัดให้มกี ารรายงานจากฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการบริษทั ชุดย่อยๆ เพือ่ ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษทั และความคืบหน้าของกิจการ ต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท
5.8 บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท
108
คณะกรรมการบริษทั ดูแลให้วตั ถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการเป็นไปเพือ่ ความยัง่ ยืน โดยมีวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทีส่ อดคล้องกับ การสร้างคุณค่าให้ทั้งกิจการ ลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสียและสังคมโดยรวม
คณะกรรมการบริ ษั ท ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ ก ารจั ด ท� ำ กลยุ ท ธ์ แ ละแผนงานประจ�ำ ปี ส อดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมายหลั ก ของกิ จ การ โดยค�ำนึงถึงปัจจัยแวดล้อมของกิจการ ณ ขณะนั้น ตลอดจนโอกาสและความเสี่ยงที่ยอมรับได้และสนับสนุนให้มีการจัดท�ำหรือทบทวน วัตถุประสงค์ เป้าหมายและกลยุทธ์ส�ำหรับระยะปานกลาง 3 - 5 ปี เพื่อให้มั่นใจว่า กลยุทธ์และแผนงานประจ�ำปีได้ค�ำนึงถึงผลกระทบ ในระยะเวลาที่ยาวขึ้น และยังพอจะคาดการณ์ ได้ตามสมควร
ในการก�ำหนดกลยุทธ์ คณะกรรมการบริษัทก�ำกับดูแลให้มีการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ ในการ สร้างความสามารถในการแข่งขันและตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย โดยยังคงอยู่บนพื้นฐานของความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการบริษัทได้ท�ำหน้าที่พิจารณาและให้ความเห็นชอบในเรื่องที่ส�ำคัญเกี่ยวกับการด�ำเนินงาน รวมทั้งก�ำกับดูแลให้ฝ่ายจัดการ ด�ำเนินงานตามนโยบายและแผน รวมถึงตามงบประมาณที่ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั เป็นลายลักษณ์อกั ษร และให้ความเห็นชอบในนโยบายดังกล่าว ไว้แล้วนั้น คณะกรรมการบริษัทได้มีการทบทวนเป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
คณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำหลักจรรยาบรรณธุรกิจที่เป็นลายลักษณ์อักษรขึ้นไว้ และได้เผยแพร่แจกจ่ายให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานที่เข้าใหม่ รวมทั้งด�ำเนินการทบทวนจรรยาบรรณต่างๆ ส�ำหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานเดิม เพื่อให้เข้าใจถึงมาตรฐาน ด้านจริยธรรมที่บริษัทใช้ ในการด�ำเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้ส�ำนักตรวจสอบภายในติดตามการปฏิบัติตาม จรรยาบรรณดังกล่าวอย่างใกล้ชิด
คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาเรือ่ งความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ รวมถึงการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ซึง่ อาจมีความขัดแย้ง กับผลประโยชน์ของบริษัท โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ รายการระหว่างกันที่สำ� คัญต้องได้รับการพิจารณาอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบการควบคุมด้านการรายงานทางการเงิน และการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ ซึ่งจะมีหน่วยงาน ตรวจสอบภายในท�ำหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งมีความอิสระต่อการปฏิบัติหน้าที่ และได้มีการทบทวนระบบดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ร่วมกับคณะกรรมการตรวจสอบในการพิจารณางบการเงินประจ�ำปีและประจ�ำไตรมาส และสารสนเทศ ทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี และร่วมประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทเพื่อเปิดเผยต่อผู้ลงทุน
คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ร่วมกับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในการพิจารณาก�ำหนดนโยบายด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Policy) อย่างครอบคลุมทัง้ องค์กร โดยมอบหมายให้ฝา่ ยจัดการเป็นผูป้ ฏิบตั ติ ามนโยบายและรายงานให้คณะกรรมการ บริษทั และ/หรือคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทราบเป็นประจ�ำ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั จะจัดให้มกี ารทบทวนระบบหรือประเมินประสิทธิผล ของการจัดการความเสีย่ งอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ และในทุกๆ ระยะเวลาทีพ ่ บว่าระดับความเสีย่ งมีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ รวมถึงการให้ความส�ำคัญ กับสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าและรายการผิดปกติทั้งหลาย
คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายส่งเสริมพัฒนาความรู้แก่กรรมการบริษัททุกท่าน โดยก�ำหนดให้แต่ละปี จัดให้กรรมการบริษัทอย่างน้อย 1 ท่าน เข้าร่วมอบรมหลักสูตรหรือกิจกรรมสัมนาที่เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ในการปฏิบัติงานของบริษัท
คณะกรรมการบริษัทมีนโยบาย ก�ำหนดให้จ�ำนวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการบริษัทแต่ละคนจะไปด�ำรงต�ำแหน่งรวมแล้วไม่เกิน 5 บริษัท จดทะเบียน เพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายเกี่ยวกับการเข้าร่วมลงทุนในกิจการอื่นอย่างมีนัยส�ำคัญ เช่น มีสัดส่วนการถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงตั้งแต่ ร้อยละ 20 แต่ไม่เกินร้อยละ 50 และจ�ำนวนเงินลงทุนหรืออาจต้องลงทุนเพิ่มเติมมีนัยส�ำคัญต่อบริษัท ต้องจัดท�ำ shareholders’ agreement หรื อ ข้ อ ตกลงอื่ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความชั ด เจนเกี่ ย วกั บ อ� ำ นาจในการบริ ห ารจั ด การและการมี ส ่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจ ในเรื่องส�ำคัญ การติดตามผลการด�ำเนินงาน เพื่อสามารถใช้เป็นข้อมูลในการจัดท�ำงบการเงินของบริษัทได้ตามมาตร ฐานและก�ำหนดเวลา
คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายส่งเสริม ให้ความส�ำคัญ และสนับสนุนการสร้างวัฒธรรมองค์กรให้เกิดนวัตกรรมและดูแลให้ฝ่ายจัดการ น�ำไปเป็นส่วนหนึ่งในการทบทวนกลยุทธ์ การวางแผนพัฒนาปรับปรุงการด�ำเนินงาน และติดตามผลการด�ำเนินงาน
คณะกรรมการบริษทั ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและเพิม่ คุณค่าให้กจิ การตามสภาพปัจจัยสิง่ แวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ โดยครอบคลุม ถึงการก�ำหนดรูปแบบธุรกิจ วิธีคิด มุมมองในการออกแบบ และพัฒนาสินค้าและบริการ การวิจัย ปรับปรุงกระบวนการผลิตและกระบวนการ ท�ำงาน รวมทั้งการร่วมมือกับคู่ค้า
คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศระดับองค์กร ที่สอดคล้องกับความต้องการของกิจการ รวมทั้ง ดูแลให้มีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจและพัฒนาการด�ำเนินงาน การบริหารความเสี่ยง เพื่อให้กิจการ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการ โดยให้มีการจัดสรรและบริหารทรัพยากรให้อย่างเพียงพอต่อการด�ำเนินธุรกิจ และมีแนวทางเพื่อรองรับในกรณ๊ที่ ไม่สามารถจัดสรรทรัพยากรได้เพียงพอตามที่ก�ำหนดไว้ ตลอดจนมีนโยบายให้มีมาตรการรักษา ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ
คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายให้น�ำผลประเมินระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงมาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาในการ ด�ำเนินงานของบริษัทย่อยหรือกิจการอื่นที่บริษัทไปลงทุนอย่างมีนัยส�ำคัญ (เช่น มีสัดส่วนการถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงตั้งแต่ร้อยละ 20 แต่ไม่เกินร้อยละ 50)
5.9 อำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท
แต่งตั้ง ถอดถอน มอบอ�ำนาจหน้าที่ให้แก่ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดต่างๆ ไปปฏิบัติ
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ หรือที่ปรึกษาของบริษัท(ถ้ามี) หรือที่จ้างที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอกในกรณีที่จำ� เป็นด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท
อนุมัตินโยบาย หลักการ และมอบหมายให้ฝ่ายบริหารด�ำเนินการปฏิบัติตามระเบียบวาระอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
อนุมัติธุรกรรมด้านการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ตราสารทุนและตราสารหนี้ การลงทุนหรือร่วมทุนในกิจการใหม่ ในวงเงินที่เกินอ�ำนาจ คณะกรรมการบริหาร และตามกฏหมาย
อนุมัติการตัดหนี้สูญออกจากบัญชีตามเงื่อนไขที่บริษัทก�ำหนด
อนุมัติแผนธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัท
อนุมัติให้ซื้อหุ้นบริษัทกลับคืนไม่เกินกว่าร้อยละ 10 ของทุนช�ำระแล้ว หรือตามที่กฏหมายก�ำหนด
อนุมัติธุรกรรมการเงินนอกเหนือจากที่ได้ก�ำหนดให้ฝ่ายบริหารด�ำเนินการได้
อนุมัติการจ�ำหน่ายทรัพย์สินถาวรของบริษัท ในวงเงินที่เกินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร และตามกฏหมาย
อนุมัติธุรกรรมทางการเงินต่างที่เกินอ�ำนาจอนุมัติของคณะกรรมการบริหาร
อนุมัติการแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการและการใช้สิทธิออกเสียงในบริษัทย่อย โดยบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการในบริษัทย่อย มีหน้าที่ ด� ำ เนิ น การเพื่ อ ประโยชน์ ที่ ดี ที่ สุ ด ของบริ ษั ท ย่ อ ย(ไม่ ใ ช่ ต ่ อ บริ ษั ท ) และบริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดให้ บุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง นั้ น ต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จากคณะกรรมการบริษัทก่อนที่จะไปลงมติ หรือสิทธิออกเสียงในเรื่องส�ำคัญในระดับเดียวกับที่ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท หากเป็นการด�ำเนินการโดยบริษัทเอง ทั้งนี้ การส่งกรรมการเพื่อเป็นตัวแทนในบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นไปตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท โดยบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งนั้น ต้องดูแลให้บริษัทย่อยมีข้อบังคับในเรื่องการท�ำรายการเกี่ยวโยง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์หรือ การท�ำรายการส�ำคัญอื่นใดของบริษัทดังกล่าวให้ครบถ้วนถูกต้อง และใช้หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลและการท�ำรายการ ข้างต้นในลักษณะเดียวกับหลักเกณฑ์ของบริษัท รวมถึงต้องก�ำกับดูแลให้มีการจัดเก็บข้อมูล และการบันทึกบัญชีของบริษัทย่อยให้บริษัท สามารถตรวจสอบ และรวบรวมมาจัดท�ำงบการเงินได้ทันก�ำหนดด้วย
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
109
5.10 การประชุมคณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัทจะจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการไม่น้อยกว่าปีละ 5 ครั้ง และด�ำเนินการประชุมให้เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยประธานกรรมการในฐานะประธาน ในทีป่ ระชุมจะส่งเสริมให้มกี ารใช้ดลุ ยพินจิ ทีร่ อบคอบ และจัดสรรเวลาอย่างเพียงพอทีฝ่ า่ ยบริหารจะเสนอเรือ่ ง และมากพอทีก่ รรมการจะอภิปราย ปัญหาส�ำคัญกันอย่างรอบคอบ รวมทัง้ จัดให้มกี ารจดบันทึกรายงานการประชุมทุกครัง้ เพือ่ ให้กรรมการและผูเ้ กีย่ วข้องสามารถตรวจสอบได้ กรรมการมีหน้าที่ต้องเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการทุกครั้งยกเว้นกรณีที่มีเหตุผลพิเศษ กรรมการที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนและต้องออกจากการประชุมในระหว่างการพิจารณาวาระนั้นๆ
ก�ำหนดให้จ�ำนวนองค์ประชุมขั้นต�่ำ ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด
บริษัทได้จัดให้ฝ่ายจัดการท�ำรายงานผลการด�ำเนินงานเสนอให้คณะกรรมการบริษัททราบโดยสม�่ำเสมอเพื่อให้คณะกรรมการบริษัท สามารถก� ำ กั บ ควบคุ ม และดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยจั ด การได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและทั น การ บริ ษั ท จั ด ท� ำ บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม เป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยจัดเก็บต้นฉบับร่วมกับหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุม และจัดเก็บส�ำเนาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อความสะดวกส�ำหรับกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบ
ประธานกรรมการบริษทั เป็นผูเ้ รียกประชุมคณะกรรมการ และพิจารณาก�ำหนดวาระในการประชุม โดยอาจปรึกษาหารือกับกรรมการผูจ้ ดั การ เลขานุการบริษัท หรือที่ปรึกษาบริษัท โดยกรรมการแต่ละคนมีสิทธิที่จะเสนอเรื่องเข้าสู่วาระการประชุมคณะกรรมการบริษัทได้
คณะกรรมการบริษัทอาจเชิญผู้บริหาร พนักงาน ที่ปรึกษาบริษัท เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเพื่อให้สารสนเทศเพิ่มเติม ในเรื่องที่ประชุม
ก่อนการประชุมคณะกรรมการบริษัทในปีถัดไปนั้น เลขานุการคณะกรรมการบริษัทจะจัดท�ำก�ำหนดการประชุมประจ�ำปีเพื่อให้คณะกรรมการ บริษัทรับทราบก�ำหนดการประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปี ทั้งนี้เพื่อให้กรรมการสามารถวางแผนล่วงหน้าและจัดเวลาในการเข้าร่วมประชุมได้
ในการก�ำหนดจ�ำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาถึงความเหมาะสมกับภาระหน้าที่และ ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษัท โดยเลขานุการคณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำก�ำหนดการประชุมประจ�ำปีพร้อมระบุเรื่องที่ต้องพิจารณาในการประชุม แต่ละครั้ง เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้รับทราบถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ต้องพิจารณาในการประชุมแต่ละครั้งล่วงหน้า
ในการจัดประชุมคณะกรรมการแต่ละครั้ง เลขานุการคณะกรรมการบริษัทจะจัดส่งเอกสารการประชุมให้แก่กรรมการพิจารณาล่วงหน้า ก่อนการประชุม และได้มีการจัดท�ำเอกสารและสารสนเทศประกอบการประชุม
การจัดประชุมคณะกรรมการเป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 อย่างเคร่งครัด โดย เปิดโอกาสให้กรรมการอภิปรายปัญหาส�ำคัญกันอย่างรอบคอบโดยทั่วกัน และมีเลขานุการคณะกรรมการบริษัท เข้าร่วมการประชุมและ จดบันทึกรายงานการประชุม ข้อซักถาม และข้อเสนอแนะต่างๆ ของกรรมการด้วย เพื่อให้กรรมการและผู้เกี่ยวข้องสามารถติดตามและ ตรวจสอบได้
ประธานคณะกรรมการเป็นผู้ด�ำเนินจัดสรรเวลาให้เหมาะสมในการน�ำเสนอข้อมูลของฝ่ายจัดการ และกรรมการสามารถอภิปราย ปัญหาส�ำคัญกันได้อย่างรอบคอบโดยทั่วกัน ทั้งนี้ประธานกรรมการได้ส่งเสริมให้กรรมการในที่ประชุมใช้ดุลยพินิจที่รอบคอบ และสอบถาม ที่ประชุมว่าจะมีผู้ ใดสอบถามเพิ่มเติมหรือมีความเห็นเป็นอย่างอื่นหรือไม่ในการประชุมแต่ละวาระทุกครั้ง
คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายให้กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารที่จะประชุมระหว่างกันเองตามความจ�ำเป็น เพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับ การจัดการที่อยู่ในความสนใจโดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วมกันด้วยและควรแจ้งให้กรรมการผู้จัดการทราบถึงผลการประชุมด้วย
คณะกรรมการบริ ษัท มี น โยบายให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษัทจั ดท�ำ ก�ำ หนดการตารางการประชุ มคณะกรรมการบริ ษัทล่ ว งหน้ า ทุ กปี เพื่ อ ให้ กรรมการบริษัททุกท่านปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.11 การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท
มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองรายคณะของกรรมการบริษัทแบบรายคณะในแต่ละปี เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้รับทราบ ถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานร่วมกัน และพัฒนาปรับปรุงแก้ ไขต่อไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1) โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2) บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
110
3) การประชุมคณะกรรมการ 4) การท�ำหน้าที่ของกรรมการ 5) ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ 6) การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริหาร
กระบวนการในการประเมินตนเองรายคณะของกรรมการบริษัทแบบรายคณะ มีดังนี้ 1) คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบรายคณะ ให้มีความถูกต้องครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด 2) เลขานุการบริษัทสรุปผลการประเมินตนเองของกรรมการบริษัทแบบรายคณะ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาต่อไป
มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบรายบุคคลในแต่ละปีเพื่อให้กรรมการบริษัทแต่ละท่านได้พิจารณา ผลการปฏิบัติงานและการท�ำหน้าที่กรรมการบริษัทของตนเองเพื่อใช้ ในการปรับปรุงพัฒนาตนเองต่อไป ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1) โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2) การประชุมของคณะกรรมการ 3) บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
กระบวนการในการประเมินตนเองของกรรมการบริษัทแบบรายบุคคลมีดังนี้ 1) คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบรายบุคคล ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ที่กำ� หนด 2) เลขานุการบริษัทสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบรายบุคคล และและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาต่อไป
มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยแบบรายคณะในแต่ละปี เพื่อให้กรรมการบริษัทชุดย่อยแต่ละชุด ได้แก่ คณะกรรมก ารตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รับทราบถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานร่วมกัน และพัฒนาปรับปรุงแก้ ไขต่อไป ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 1) การประชุมของคณะกรรมการ 2) บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
กระบวนการในการประเมินตนเองของกรรมการบริษัทชุดย่อยแบบรายคณะ มีดังนี้ 1) คณะกรรมการบริษทั ชุดย่อยพิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของกรรมการบริษทั ชุดย่อยแบบรายคณะ ให้มคี วามถูกต้อง ครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด 2) เลขานุการของคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยในแต่ละชุดสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยแบบรายคณะ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทชุดย่อย เพื่อพิจารณาต่อไป 3) เลขานุการบริษัทรายงานผลการประเมินตนเองของคณะการบริษัทชุดย่อยแบบรายคณะให้คณะกรรมการบริษัททราบต่อไป
5.12 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
คณะกรรมการบริษทั จะเป็นผูพ ้ จิ ารณาก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ เพือ่ เสนอให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นผูพ ้ จิ ารณา อนุมตั ิ ทัง้ นี้ ในการพิจารณา ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการบริษัทควรเปรียบเทียบกับมาตรฐานการจ่ายค่าตอบแทนของบริษัท ในธุรกิจเดียวกัน และ พิจารณาบนพื้นฐานของความเป็นธรรม โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ขอบเขตของบทบาทและ ความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากกรรมการแต่ละคน ทั้งนี้ กรรมการที่ได้รับมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ เพิม่ ขึน้ ควรได้รบั ค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมเพิม่ ขึน้ เช่น กรรมการทีเ่ ป็นสมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ อาจได้รบั ค่าตอบแทนเพิม่ ขึน้ ส�ำหรับ การท�ำหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นต้น บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
111
ค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทและผู้บริหารระดับสูงเป็นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัท ทั้งนี้ การก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน โบนัส และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ควรสอดคล้องกับ ผลงานของบริษัท และผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละคน
กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารทั้งหมด เป็นผู้ประเมินผลกรรมการผู้จัดการเป็นประจ�ำทุกปีเพื่อน�ำไปใช้ ในการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน ของกรรมการผู้จัดการ โดยใช้บรรทัดฐานที่ได้ตกลงกันล่วงหน้ากับประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทตามเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรม ซึ่งรวมถึง ผลปฏิบัติงานทางการเงิน ผลงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ในระยะยาว การพัฒนาผู้บริหาร ทั้งนี้ กรรมการ ที่ไม่เป็น ผู้บริหารดังกล่าวควรเสนอผลการประเมินกรรมการผู้จัดการให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาให้ความเห็นชอบ
5.13 คณะกรรมการชุดย่อย และหน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งกรรมการจ�ำนวนหนึ่งจากคณะกรรมการบริษัท เป็นกรรมการในคณะกรรมการย่อยเพื่อท�ำหน้าที่พิเศษ โดย คณะกรรมการย่อยแต่ละคณะจะมีหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทปัจจุบัน คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการย่อย จ�ำนวน 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหาร ซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมา ด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการบริหารว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้ง บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการบริหาร เพื่อให้กรรมการบริหารมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็น กรรมการบริหารแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการบริหารซึ่งตนทดแทน คณะกรรมการบริหาร มีอ�ำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่ในการบริหารกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบกิจการของบริษัทฯ ทั้งนี้ ในการบริหารกิจการของบริษัทฯ ดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามนโยบาย ข้อบังคับ หรือค�ำสั่งใดๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด นอกจากนี้ ให้คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่ในการพิจารณากลั่นกรองเรื่องต่างๆ ที่จะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา อนุมัติหรือให้ความเห็นชอบ 2) จัดท�ำวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3) ก�ำหนดแผนธุรกิจ อ�ำนาจการบริหารงาน อนุมัติงบประมาณส�ำหรับประกอบธุรกิจประจ�ำปี และงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี และ ด�ำเนินการตามแผนทางธุรกิจและกลยุทธ์ทางธุรกิจโดยสอดคล้องกับนโยบาย และแนวทางธุรกิจที่ได้แถลงต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 4) ตรวจสอบ ติดตามการด�ำเนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 5) มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติเฉพาะกรณีหรือการด�ำเนินการใดๆ อันเป็นปกติธุรกิจของบริษัทฯ ภายใต้วงเงินหรืองบประมาณประจ�ำปี ตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และมีอ�ำนาจด�ำเนินการตามที่ก�ำหนดไว้ โดยในการด�ำเนินการใดๆ ตามที่กล่าวข้างต้น คณะกรรมการบริหารจะต้องไม่ก่อให้เกิดหนี้สินหรือภาระผูกพันใดๆ ที่มีมูลค่าเกินกว่า 1,000 ล้านบาท และระยะเวลาผูกพันเกินกว่า 5 ปี ทั้งนี้ ในส่วนของหนี้สินหรือภาระผูกพันใดๆ ให้รวมถึง สินเชื่อโครงการที่บริษัทฯ ท�ำกับสถาบันการเงินใดๆ (Project Finance) ด้วย 6) มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติการกู้หรือให้กู้ยืมเงิน หรือการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน และบริษัทในกลุ่ม รวมตลอดถึงการเข้าเป็น ผู้ค�้ำประกันให้แก่บริษัทย่อย หรือการช�ำระหรือใช้จ่ายเงินเพื่อธุรกรรมตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ 7) มีอ�ำนาจแต่งตั้ง ถอดถอนเจ้าหน้าที่ของบริษัทฯในต�ำแหน่งที่ตำ�่ กว่าต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ 8) ให้คณะกรรมการบริหาร รายงานผลการด�ำเนินงานดังต่อไปนี้ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ
112
๏๏
รายงานผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลาที่ก�ำหนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
๏๏
รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีเกี่ยวกับงบการเงินของบริษัทฯ ซึ่งรวมถึงงบการเงินประจ�ำปีและงบการเงินรายไตรมาส ภายในกรอบ ระยะเวลาที่กำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
๏๏
รายงานอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควร
9) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ทั้งนี้ การมอบอ�ำนาจให้คณะกรรมการบริหารดังกล่าวข้างต้น จะไม่รวมถึงการมอบอ�ำนาจที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติ รายการที่กรรมการบริหารท่านใดท่านหนึ่งหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ตามประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต. มีส่วนได้ส่วนเสียหรือมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย โดยคณะกรรมการบริหารจะต้องน�ำเสนอเรื่องดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุม ผู้ถือหุ้น เพื่อให้พิจารณาและอนุมัติรายการดังกล่าวภายใต้ข้อบังคับ ประกาศ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้ กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้กรรมการตรวจสอบมีจำ� นวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการตรวจสอบแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตรวจสอบซึ่งตนทดแทน คณะกรรมการตรวจสอบ มีอ�ำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2) สอบทานให้บริษทั ฯ มีการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3) สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4) พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนของ บุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5) พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก� ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6) จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ
๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ
๏๏
ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั กทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั กทรั พ ย์ ฯ ข้ อ ก�ำ หนด ของตลาดหลั กทรั พ ย์ ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ
๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี
๏๏
ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
๏๏
จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน
๏๏
ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎ บัตรคณะกรรมการตรวจสอบ (Charter)
๏๏
รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรม การบริษัทฯ
7) ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากคณะกรรมการตรวจสอบพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำ ดังต่อไปนี้ ซึ่งมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงาน ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร ๏๏
รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
113
๏๏
การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพร่องที่สำ� คัญในระบบควบคุมภายใน
๏๏
การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษัทฯ
หากคณะกรรมการของบริษัทฯ หรือผู้บริหารไม่ด�ำเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ ไขภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการตรวจสอบ รายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำตามวรรคหนึ่งต่อส�ำนักงานก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ 8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการสรรหา และการพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อให้กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการสรรหาและการพิจารณา ค่าตอบแทนซึ่งตนทดแทน คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน มีอำ� นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) พิจารณาโครงสร้างองค์กร คุณสมบัตขิ องกรรมการบริษทั ฯ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ของบริษทั ฯ ให้เหมาะสมกับธุรกิจ 2) คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอรายชื่อเป็นกรรมการรายใหม่ หรือสรรหาประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ โดยให้มีการ ก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธีการสรรหาและคัดเลือกอย่างมีหลักเกณฑ์และความโปร่งใส เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 3) พิจารณาแนวทางและพิจารณาค่าตอบแทนและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ ทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินให้แก่กรรมการ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ โดยให้มีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธีการพิจารณาค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4) รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบ และจัดท�ำรายงาน ของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนเพื่อเปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ และลงนามโดยประธานกรรมการ สรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน 5) จัดท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน และรายงานผลการประเมินประจ�ำปี ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายอันเกี่ยวเนื่องกับการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับ การแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้กรรมการบริหารความเสี่ยงมีจ�ำนวน ครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ บริหารความเสี่ยงซึ่งตนทดแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีอ�ำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) ก�ำหนดนโยบายความเสี่ยง รวมถึงการทบทวนเป็นระยะเพื่อให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ และธุรกรรมของบริษัทฯ ที่เปลี่ยนแปลงไป ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการเพื่ออนุมัติ 2) วางแผนยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับนโยบายบริหารความเสี่ยง โดยสามารถประเมิน ติดตาม ดูแลปริมาณความเสี่ยงของบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม
114
3) อนุมัติเครื่องมือในการวัด ติดตาม และควบคุมความเสี่ยง 4) ติดตามให้มีการปฏิบัติตามนโยบายการบริหารความเสี่ยง รวมถึงดูแลให้ระบบการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ 5) ดูแลความเพียงพอของทรัพยากรที่ใช้ ในการบริหารความเสี่ยง เช่น บุคลากรของสายงานบริหารความเสี่ยง และระบบงานรองรับ การบริหารความเสี่ยง เป็นต้น 6) พิจารณาระเบียบ/หลักเกณฑ์ ในธุรกรรมทีส่ ำ� คัญหรือการริเริม่ โครงการใหม่ทมี่ ผี ลกระทบต่อความเสีย่ งก่อนทีจ่ ะน�ำเสนอเพือ่ พิจารณา อนุมตั กิ ารท�ำธุรกรรมหรือโครงการนัน้ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ หรือคณะกรรมการทีบ่ ริษทั ฯ มอบหมายต่อไป 7) ติดตามและรายงานสถานะความเสี่ยงของบริษัทฯ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ 8) บูรณาการกระบวนการท�ำงานเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการ (Governance) การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) และการปฏิบตั ิ ตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์ (Compliance) เพื่อให้บรรลุการด�ำเนินงานที่เกิดจากการ มีส่วนร่วมของทุกหน่วยงาน (Integrity-Driven Performance) 9) แต่งตั้งคณะท�ำงานได้ตามที่เห็นสมควร 10) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
5.14 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร
บริ ษั ท ได้ ส ่ ง เสริ ม และอ� ำ นวยความสะดวกให้ มี ก ารฝึ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาและให้ ค วามรู ้ แ ก่ ก รรมการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมถึ ง กรรมการใน คณะอนุกรรมการต่างๆ เพื่อให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
เลขานุการบริษัทได้จัดให้มีเอกสารคู่มือกรรมการ และหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูล ประวัติ การถือครองหลักทรัพย์ การเปลี่ยนแปลง การถือครองหลักทรัพย์ เป็นต้น โดยจะจัดส่งให้ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ รวมถึงเลขานุการบริษัทจะด�ำเนินการเชิญ กรรมการใหม่ไปเยี่ยมชมโรงงานของบริษัทเพื่อแนะน�ำลักษณะธุรกิจ และแนวทางการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทให้แก่กรรมการใหม่ทราบ
บริษทั ได้กำ� หนดให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารจัดท�ำรายงานเพือ่ ทราบเป็นประจ�ำถึงแผนการพัฒนาและสืบทอดงานซึง่ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ได้เตรียมความพร้อมในเรือ่ งผูส้ บื ทอดงานในกรณีทตี่ นไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้ ไว้แล้ว บริษทั ได้กำ� หนดโครงสร้าง ส�ำหรับการพัฒนาผูบ้ ริหาร โดยมอบหมายให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารรายงานเป็นประจ�ำทุกปีถงึ สิง่ ที่ได้ดำ� เนินการไปในระหว่างปี และพิจารณา ควบคู่กับแผนการสืบทอดงาน
5.15 นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม
การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม
บริษทั ให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจตามกรอบการแข่งขันทางการค้าทีเ่ ป็นธรรม และสุจริตภายใต้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1) ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบัติตามกฎหมายการแข่งขัน และการแข่งขันที่เป็นธรรม 2) สนับสนุนนโยบายสาธารณะต่างๆ ที่ส่งเสริมการแข่งขันที่เป็นธรรม 3) ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะที่สอดคล้องกับกฎหมายและข้อบังคับของการแข่งขัน ตลอดจนให้ ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่
บริษัทมีเจตนารมณ์ที่จะด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส ยึดมั่นในหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัทภิบาลที่ดี ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้เสียทุกด้าน และจัดให้มีแนวทางต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมที่ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผู้บริหาร และพนักงานปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1) สร้างจิตส�ำนึก ค่านิยม ทัศนคติให้แก่พนักงานในการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต 2) จัดให้มีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ มีการตรวจสอบและถ่วงดุลอ�ำนาจที่เหมาะสม 3) ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั กระท�ำการใดๆ อันเป็นการเรียกร้องหรือยอมรับซึง่ ทรัพย์สนิ หรือผลประโยชน์อนื่ ใด ที่ส่อไปในทางจูงใจให้ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในทางมิชอบ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
115
4) ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท กระท�ำการใดๆ อันเป็นการเสนอซึ่งทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อื่นใด ที่ส่อไปในทาง จูงใจให้ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในทางมิชอบ
กระบวนการในการประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตคอร์รปั ชัน่ 1) ก�ำหนดให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารความเสี่ยง ให้ข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง โดยด�ำเนินการก�ำกับดูแล และตรวจสอบตามแบบ การตรวจสอบประจ� ำ ปี ที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ และข้ อ เสนอแนะต่ อ กรรมการตรวจสอบ 2) ก�ำหนดให้ฝ่ายบริหารความเสี่ยง รับผิดชอบในการทดสอบและประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่นอย่างต่อเนื่อง เพื่อใหมีการ น�ำมาตรการต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชั่นไปปฏิบัติให้มีประสิทธิผล มีการทบทวนมาตรการอย่างสม�่ำเสมอ และน�ำเสนอผลการประเมิน ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทตามล�ำดับอย่างสม�ำ่ เสมอ 3) หากการตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่า มีการด�ำเนินงานที่ไม่ถูกต้องตามนโยบาย ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ ไขภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร
การเคารพสิทธิมนุษยชน และการปฏิบตั ติ อ่ แรงงานอย่างเป็นธรรม
บริษัทมีนโยบายในการดูแลและปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งอันเนื่องมาจาก ความเหมือนหรือแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เพศ อายุ หรือเรื่องอื่นใด นอกจากนี้บริษัทมีนนโยบายปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน อย่างเคร่งครัด
การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม
บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญในการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคม จึงจะจัดให้มีโครงการช่วยเหลือและพัฒนาสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการบริจาค และการสนับสนุนการศึกษา ท�ำนุบำ� รุงศาสนา การส่งเสริมและเข้าร่วมกิจกรรมกับชุนชนในโอกาสต่างๆ
การดูแลสิง่ แวดล้อม 1) บริษัทให้ความส�ำคัญต่อผลกระทบจากกระบวนการผลิตที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม โดยบริษัทมีนโยบายการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ มาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ บริษทั มีแผนการส่งเสริมแนวคิดการน�ำสิง่ ปฏิกลู ต่างๆ จากกระบวนการ ผลิตเหลือใช้มาเพิ่มมูลค่า 2) บริษัทมีนโยบายให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานในด้านสิ่งแวดล้อมทุกปี เพื่อให้พนักงานทุกระดับได้ตระหนักและเข้าใจถึงปัญหา ผลกระทบที่เกิดจากมลภาวะที่เกิดในทุกด้าน พร้อมทั้งให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการที่ดี เพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่าย และปัญหา ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อการเติบโตขององค์กรอย่างยั่งยืน
การมีนวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมซึ่งได้จากการด�ำเนินงานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย
บริษัทมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมชาวไร่อ้อยให้มีความก้าวหน้าและมั่นคงไปพร้อมกับบริษัท บริษัทจึงจัดให้มีโครงการวิจัยต่างๆ เพื่อพัฒนา ศักยภาพของชาวไร่อ้อยอย่างต่อเนื่อง
การไม่ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญาหรือลิขสิทธิข์ องผูอ้ นื่
บริษัทมีนโยบายในการปฏิบัติเกี่ยวกับการไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ อาทิ การไม่กระท�ำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ในการท�ำงานหรือไม่เกี่ยวข้องกับการท�ำงาน และปฏิบัติตามกฏหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฏหมายลิขสิทธิ์ และ ข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง
หมวดที่ 6 Corporate Governance Code : CG Code คณะกรรมการบริษัทรับทราบหลักปฏิบัติตาม CG Code และตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้น�ำ (governing body) ในการสร้างคุณค่า ให้แก่กิจการอย่างยั่งยืนและได้ประเมินการปฏิบัติตาม CG Code ในภาพรวมแล้ว โดยพิจารณาจากผลประเมินที่ได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัทและฝ่าย ตรวจสอบภายในเป็นผู้ประเมินและอธิบายเบื้องต้น
116
หมวดที่ 7 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษทั ฯ มีนโยบายและวิธกี ารดูแลกรรมการและผูบ้ ริหารในการน�ำข้อมูลภายในของบริษทั ฯ ซึง่ ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้เพือ่ แสวงหาประโยชน์ ส่วนตน รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย์ ดังนี้ 1) บริษัทฯ ก�ำหนดและแจ้งให้กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ดำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่าย ขึน้ ไปหรือเทียบเท่า เกีย่ วกับหน้าทีท่ ตี่ อ้ งจัดท�ำและส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้ง ที่มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) 2) บริษทั ฯ ก�ำหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหาร รวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไป หรือเทียบเท่า จัดท�ำและน�ำส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน ของคู่สมรส และของบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ส่งผ่านมายังเลขานุการ ของบริษัทฯ ก่อนน�ำส่งส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทุกครั้ง โดยให้จัดท�ำและน�ำส่งภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็น กรรมการผู้บริหาร หรือรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ภายใน 3 สามวันท�ำการนับแต่วันที่มีการซื้อ ขาย โอนหรือ รับโอนหลักทรัพย์นั้น 3) บริษัทฯ ก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป หรือเทียบเท่า และผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้อง ที่ได้รบั ทราบข้อมูลภายในทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ซึง่ มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้อง ระงับการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ในช่วงเวลาก่อนทีจ่ ะเผยแพร่งบการเงินหรือเผยแพร่เกีย่ วกับฐานะการเงินและสถานะของบริษทั ฯ จนกว่า บริษทั ฯ จะได้เปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนแล้ว โดยบริษทั ฯ จะแจ้งให้กรรมการและผูบ้ ริหาร รวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารใน สายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไปหรือเทียบเท่า งดการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ อย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษร เป็นเวลาอย่างน้อย 30 วันล่วงหน้าก่อนการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน รวมทัง้ ห้ามไม่ให้เปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญนัน้ ต่อบุคคลอืน่ 4) บริษัทฯ ก�ำหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝ่าฝืนน�ำข้อมูลภายในไปใช้หาประโยชน์ส่วนตนซึ่งเริ่มตั้งแต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตั ด ค่ า จ้ า ง พั ก งานชั่ ว คราวโดยไม่ ไ ด้ รั บ ค่ า จ้ า ง หรื อ ให้ อ อกจากงาน ซึ่ ง การลงโทษจะพิ จ ารณาจากเจตนาของการกระท� ำ และ ความร้ายแรงของความผิดนั้นๆ
หมวดที่ 8 ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี 8.1 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Free) บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ได้แก่ 1) ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ (นางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต หรือนางสาวมณี รัตนบรรณกิจหรือนายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์) ในรอบปีที่ผ่านมา มีจ�ำนวนเงินรวม 0 บาท 2) ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด (บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด)บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและส�ำนักงาน สอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา ลำ�ดับ
ชื่อบริษัทผู้จ่าย
2559
1
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) (KTIS)
2
2560
1,240,000
1,240,000
บริษัท น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด (TIS)
430,000
430,000
3
บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์จำ�กัด (EPPCO)
250,000
250,000
4
บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด (KTBE) (เดิมชื่อบริษัท เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด)
340,000
340,000
5
บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (KTBP)
250,000
250,000
6
บริษัท ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จำ�กัด (TEP)
150,000
150,000
7
บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (RPBP)
150,000
150,000
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
117
ลำ�ดับ
ชื่อบริษัทผู้จ่าย
2559
2560
8
บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด (PSP)
35,000
35,000
9
บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จำ�กัด (SSK)
47,000
47,000
10
บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด (LIS)
35,000
35,000
11
บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จำ�กัด (LBE)
35,000
35,000
12
บริษัท ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (LBP)
35,000
35,000
13
บริษัท เคทิสชีวพลังงาน จำ�กัด (KBE)
35,000
35,000
14
บริษัท เคทิสไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด (KBG)
35,000
35,000
15
บริษัท เกษตรไทยวิวัฒน์ จำ�กัด (KTW)
100,000
100,000
16
บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จำ�กัด (KTIS R&D)
38,000
38,000
17
บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด (KTBF) (เดิมชื่อ บริษัท เกษตรไทยปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด)
45,000
45,000
3,250,000
3,250,000
รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี
8.2 ค่าบริการอื่น (non-audit fee) 2559 ที่
ชื่อบริษัทผู้จ่าย
1 บริษัท เกษตรไทย ไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (KTBP)
2560
ประเภทของงาน ค่าตอบแทนของงานบริการอื่น ประเภทของงาน ค่าตอบแทนของงานบริการอื่น บริการอื่น บริการอื่น ส่วนที่ ส่วนที่ ส่วนที่ ส่วนที่ (non-audit จ่ายไปในระหว่าง จะต้องจ่ายใน (non-audit จ่ายไปในระหว่าง จะต้องจ่ายใน service) service) อนาคต ปีบัญชี อนาคต ปีบัญชี Review BOI 50,000 Review BOI 50,000 (in Baht) (in Baht)
2 บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด (KTBE) (เดิมชื่อบริษัท เอกรัฐ พัฒนา จำ�กัด)
”
50,000
-
”
50,000
-
3 บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์ พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด (EPPCO)
”
50,000
-
”
50,000
-
4 บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด (TEP)
”
50,000
-
”
50,000
-
5 บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (RPBP)
”
-
-
”
50,000
-
6 บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด (KTBF) (เดิมชื่อ บริษัท เกษตรไทยปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด)
”
-
-
”
50,000
-
200,000
-
”
300,000
-
รวมค่าตอบแทนจากค่าบริการอืน่
118
ความรับผิดชอบต่อสังคม กลุ่ม KTIS ได้ด�ำเนินธุรกิจน�้ำตาลทรายและอุตสาหกรรมต่อเนื่องตามหลักบรรษัทภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) มาโดยตลอด 5 ทศวรรษที่ผ่านมา โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้อง อาทิ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน คู่ค้า ลูกค้า ผู้บริหาร และพนักงาน ของบริษัท ให้ความส�ำคัญต่อการดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม รวมถึงชุมชนรอบๆ ด้วยจิตส�ำนึกของการเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ที่ต้องใส่ใจ มีส่วนร่วม และสร้างคุณค่าร่วมกันระหว่างธุรกิจ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อจะได้เติบโตไปด้วยกันอย่างมั่นคง และยั่งยืน อย่างสม�ำ่ เสมอต่อเนื่อง กลุ่ม KTIS ได้สอดแทรกจิตส�ำนึกแห่งความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) ภายใต้แนวคิดในการจัดการของ เสียให้เป็นศูนย์ ในทุกกระบวนการผลิต (Zero Waste Management) ด้วยตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร และการน�ำทรัพยากรมาใช้อย่างคุ้มค่า ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ของเสียที่ได้จากกระบวนการผลิตก็น�ำมาเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ต่างๆ เป็นการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) ของกลุ่ม KTIS เริ่มตั้งแต่ต้นน�้ำ คือ การพัฒนาคุณภาพอ้อยซึ่งเป็นวัตถุดิบ ในกระบวนการผลิตให้มคี ณ ุ ภาพดีปอ้ นเข้าสูก่ ระบวนการผลิต โดยกลุม่ KTIS จะให้ความรูเ้ กีย่ วกับการท�ำไร่ออ้ ยให้ประสบความส�ำเร็จแก่ชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญา ผ่านแผนการพัฒนาชาวไร่อ้อย และโครงการต่างๆ อาทิ โรงเรียนเกษตรกร โครงการหมู่บ้านอ้อยสด (หรือหมู่บ้านพื้นที่สีเขียวปลอดไฟไหม้) โครงการ หมู่บ้านดินดีมากมีอินทรียวัตถุ โครงการอุทยานการเรียนรู้การท�ำอ้อยครบวงจรสู่ความยั่งยืน โดยโครงการต่างๆ จะให้ความรู้เรื่องการปลูกอ้อยโดย ใช้วิธีการเกษตรอินทรีย์ที่หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี การใช้แตนเบียนควบคุมจ�ำนวนหนอนศัตรูอ้อยซึ่งเป็นวิธีการท�ำการเกษตรที่ไม่ท�ำลายระบบนิเวศน์ ตามธรรมชาติ การให้ความรูด้ า้ นการเก็บเกีย่ ว การรณรงค์ตดั อ้อยสดแทนการเผาอ้อย การดูแลบ�ำรุงรักษาตอเพือ่ สามารถเก็บเกีย่ วได้หลายฤดูการผลิต การไถคลุกใบเพื่อเป็นอินทรียวัตถุให้กับดินซึ่งช่วยลดปริมาณการใช้ปุ๋ย เป็นต้น
› การสาธิตเครื่องปลูกอ้อยแบบ Shute Planter
› การสาธิตเครื่องจักรกลการเกษตรในไร่อ้อย
› การสาธิตเครื่องจักรกลการเกษตรในไร่อ้อย
› การสาธิตเครื่องจักรกลการเกษตร และพันธุ์อ้อย ในอุทยาน การเรียนรู้การท�ำอ้อยครบวงจรสู่ความยั่งยืน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
119
นอกจากนี้ กลุม่ KTIS ยังได้นำ� องค์ความรู้ เทคนิคทีท่ นั สมัยจากประเทศออสเตรเลีย และความเชีย่ วชาญด้านเครือ่ งมือเครือ่ งจักรมาต่อยอด พัฒนา เครื่องจักรกลในไร่อ้อยให้เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศในประเทศไทย อาทิ เครื่องปลูกอ้อยแบบ Sonic เครื่องปลูกอ้อยแบบ Shute Planter เครื่องจักรพรวนดินใส่ปุ๋ย CRB MPI เครื่องตัดอ้อย เป็นต้น และสนับสนุนให้ชาวไร่อ้อยคู่สัญญาน�ำมาใช้ ในการท�ำไร่อ้อย เพื่อให้มีต้นทุนที่ตำ�่ ลง เพิ่มผลผลิตตันต่อไร่ อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในไร่อ้อยด้วย ด้านการพัฒนาแหล่งน�้ำ ระบบชลประทาน และระบบการให้นำ�้ แก่อ้อยนั้น กลุ่ม KTIS ได้พัฒนาระบบน�้ำหยดบนดินแบบเคลื่อนที่ได้ ในการให้นำ�้ แก่ อ้อยในแต่ละแปลง ซึ่งอุปกรณ์นี้สามารถม้วนสายยางเก็บและย้ายไปให้น�้ำแก่อ้อยในแปลงถัดไปได้ ส�ำหรับแหล่งน�้ำชลประทานนั้น ในปี 2560 กลุ่ม KTIS ได้ด�ำเนินการขุดเจาะบ่อบาดาลภายใต้โครงการ “ราษฎร์ รัฐ ร่วมใจช่วยภัยแล้ง” ร่วมกับพี่น้องชาวไร่อ้อยและภาครัฐ เป็นการแก้ปัญหาภัยแล้ง อย่างยั่งยืน เป็นรูปธรรม ท�ำให้ชาวไร่อ้อยมีแหล่งน�้ำในการอุปโภคบริโภค และเกษตรกรรมท�ำไร่อ้อยอย่างเพียงพอและทั่วถึงตลอดปี ซึ่งระบบชลประทานดังกล่าว เป็นการใช้ทรัพยากรน�้ำอย่างมีคุณค่า เกิดประโยชน์สูงสุด จากอ้อยที่เป็นวัตถุดิบคุณภาพดี ปลอดสารเคมีสังเคราะห์ตกค้าง และไม่มีการดัดแปลงพันธุกรรมข้างต้น น�ำมาเข้ากระบวนการผลิตที่ทันสมัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ ได้น�้ำตาล KTIS ที่มีคุณภาพดี ได้มาตรฐานสากล ปราศจากสารฟอกขาว และปลอดภัยแก่ผู้บริโภค นอกจากนี้ กลุ่ม KTIS ยังมุ่งมั่นพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในกระบวนการท�ำงานที่สร้างคุณค่าเพิ่มต่อสังคม และตอบสนองความต้องการของลูกค้า ในทุกกลุ่มอย่างสม�่ำเสมอ โดยในปีที่ผ่านมา กลุ่ม KTIS ได้ผลิตน�้ำเชื่อมและน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสุทธิ์พิเศษมาตรฐานญี่ปุ่นเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม รวมทั้งลูกค้าที่ต้องการน�้ำตาลคุณภาพพรีเมี่ยมด้วย กลุ่ม KTIS ยังได้สอดแทรกจิตส�ำนึกแห่งความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) ภายใต้แนวคิดในการจัดการ ของเสียให้เป็นศูนย์ ในทุกกระบวนการผลิต (Zero Waste Management) ด้วยตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร และการน�ำทรัพยากรมาใช้อย่างคุ้มค่า ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ของเสียที่ได้จากกระบวนการผลิตก็น�ำมาเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ต่างๆ เป็นการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และช่วยยกระดับราคาพืชผลทางการเกษตรอีกด้วย ผลพลอยได้ (By-Product) ที่ได้จากการผลิตน�้ำตาล ได้แก่ กากน�้ำตาล หรือโมลาส (Molasses) สามารถน�ำมาผลิตเป็นเอทานอลซึ่งให้ประโยชน์ที่ หลากหลาย เช่น เอทานอลทีใ่ ช้เป็นพลังงาน กล่าวคือ น�ำไปผสมกับน�ำ้ มันเบนซินเป็นแก๊สโซฮอลล์ซงึ่ ถือเป็นพลังงานสะอาด ลดมลพิษต่อสิง่ แวดล้อม ลดการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ เป็นสาเหตุสำ� คัญในการเกิดภาวะโลกร้อน นอกจากนี้ ยังมีเอทานอลเกรดอุตสาหกรรมทีเ่ ป็นส่วนผสมของเครือ่ งส�ำอาง และยาบางประเภท และกากน�้ำตาลดังกล่าวยังน�ำมาใช้ ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น น�ำไปผลิตเป็นซีอิ๊วด�ำ ผงชูรส อาหารสัตว์ เป็นต้น ชานอ้อย (Bagasse) ที่เป็นผลพลอยได้อีกอย่างหนึ่งจากกระบวนการผลิตน�้ำตาลทราย ส่วนหนึ่งน�ำมาผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย 100% ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดการตัดต้นไม้ ได้มากถึงปีละ 32 ล้านต้น ทั้งนี้ในกระบวนการฟอกขาวเยื่อกระดาษนั้น ไม่ได้ ใช้สารคลอรีนที่เป็น สารก่อมะเร็ง ท�ำให้เยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของบริษัทได้รับมาตรฐานปลอดภัยต่อการบริโภค GMP และ HACCP นับได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ เยือ่ กระดาษรายแรกในประเทศไทยที่ได้รบั มาตรฐานนี้ เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยจึงถูกน�ำมาผลิตเป็นบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมจากเยือ่ ชานอ้อย 100% (Pulp Mold) ส�ำหรับใส่อาหาร ทดแทนการใช้ภาชนะที่ท�ำจากโฟม และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า สามารถย่อยสลายได้รวดเร็ว นอกจากนี้ ชานอ้อยยังน�ำมาสกัดเป็นผงเซลลูโลส (Cellulose Powder) ซึ่งใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพต่างๆ เช่น คุ้กกี้ไฟเบอร์ ไส้กรอกเพื่อสุขภาพ ไอศกรีมเพื่อสุขภาพ เป็นต้น ชานอ้อย (Bagasse) เป็นเชือ้ เพลิงในโรงไฟฟ้าชีวมวลในการผลิตไอน�ำ้ และกระแสไฟฟ้า ส�ำหรับใช้ ในกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย และอุตสาหกรรม ต่อเนื่องอื่นๆ ของกลุ่ม KTIS และขายไฟฟ้าส่วนที่เหลือให้แก่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) เพื่อส่งต่อไปยังคนไทย ในภูมิภาคได้มีไฟฟ้าใช้ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และไฟฟ้าจากชานอ้อยนี้เป็นพลังงานสะอาดจากวัตถุดิบชีวมวล ช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สู่ชั้นบรรยากาศด้วย น�ำ้ วีนาส (Vinasses) ซึ่งเป็นของเสียจากกระบวนการผลิตเอทานอล สามารถน�ำมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ (Biogas) ส�ำหรับใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิง ในโรงงานเอทานอล ซึ่งถือเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าอีกทางหนึ่ง กากตะกอนหม้อกรอง (Filter Cake) ตะกอนสลัจ (Sludge) และน�ำ้ วีนาส (Vinasses) ทีเ่ ป็นของเสียจากกระบวนการผลิตแต่ยงั มีคณ ุ ค่าทางอินทรียสาร สามารถน�ำมาผลิตเป็นวัสดุปรับปรุงดิน (Soil Conditioner) เพื่อน�ำไปใช้ปรับปรุงดินให้คุณภาพดินดีขึ้นโดยไม่มีสารเคมีตกค้าง ส่งผลให้ผลผลิตตันต่อไร่ สูงขึ้น หมุนเวียนสู่ไร่อ้อยให้แก่เกษตรกรอีกครั้งเป็นวัฏจักร Zero Waste อีกครั้งหนึ่ง ภายใต้กระแสของโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่หมุนไปอย่างไม่หยุดยั้ง การพัฒนาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรม รวมถึงการเผยแพร่ความรู้ข่าวสาร ตามช่องทางต่างๆ ก็เป็นสิ่งที่กลุ่ม KTIS ตระหนักถึง และมุ่งมั่นที่จะพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ มาประยุกต์ ปรับใช้กับชุมชน สิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิด ประโยชน์แก่ทุกฝ่าย ลดค่าใช้จ่ายรวมถึงลดการท�ำงานที่สูญเปล่า โดยมุ่งหวังให้ธุรกิจ ชุมชน และสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ยั่งยืน
120
มีศักยภาพ โดยในปี 2560 ที่ผ่านมา กลุ่ม KTIS ได้ลงนามในบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสถาบันการศึกษาหลายแห่ง อาทิ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นต้น ทั้งนี้การลงนามใน MOU กับแต่ละสถาบันการศึกษานั้นจะมีหัวข้อที่ร่วมกันศึกษาแตกต่าง กันตามความเชี่ยวชาญ แต่จุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและการต่อยอด ภาคเกษตรเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐ Thailand Industry 4.0 ในการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ มาเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของกระบวนการผลิตของกลุ่ม KTIS รวมทั้งเพิ่มผลผลิต ในไร่อ้อยของชาวไร่อ้อยคู่สัญญาของกลุ่ม KTIS ด้วย
› ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การวิจัยและพัฒนา กับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
› ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับมหาวิทยาลัย › ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ทางวิชาการ กับ ขอนแก่น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นอกจากความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) แล้ว กลุ่ม KTIS ยังจัดโครงการเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่นอกเหนือ จากการด�ำเนินธุรกิจปกติ (CSR After-process) อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ความรู้และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างองค์กรกับชุมชนต่อยอดสู่การสร้าง มูลค่าเพิ่มให้แก่ชุมชนและสังคมบนแนวคิด ‘การเติบโตร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อมและชุมชน’ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมในท้ายที่สุด โดยในปี 2560 กลุ่ม KTIS ยังคงมุ่งเน้นไปที่ เด็กและเยาวชน สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ภายใต้แนวคิด “KTIS 3C+1” กล่าวคือ
KTIS CAMP
KTIS CONSERVE
KTIS CARE
COMMUNITY RELATIONS KTIS CARE
KTIS CAMP = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านเด็กและเยาวชน KTIS CARE = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านสุขภาพ KTIS CONSERVE = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม +1 = COMMUNITY RELATIONS มวลชนสัมพันธ์ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
121
ในด้านของการอยู่ร่วมกับชุมชน (Community Relations) กลุ่ม KTIS ยังคงมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ชุมชนบริเวณใกล้เคียง มีการพบปะผูน้ ำ� ชุมชนอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อกระชับ ความสัมพันธ์ ให้ดียิ่งขึ้น เช่น การจัดแข่งกีฬาท้องถิ่น การสนับสนุนการจัด แข่งขันกีฬาของโรงเรียนรอบโรงงาน การปรับภูมทิ ศั น์บริเวณชุมชน การเข้า ร่วมกิจกรรมต่างๆ กับทางชุมชน เป็นต้น
ตัวอย่างกิจกรรมและโครงการ CSR ของบริษทั
› กลุ่ม KTIS ไม่สนับสนุนการใช้แรงงานเด็กในทุกกระบวนการผลิต ในโรงงานและในไร่อ้อย
โรงเรียนเกษตรกรอ้อย ด้วยนโยบายของกลุ่ม KTIS ที่มุ่งเน้นการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืนผ่านการให้ความรู้แก่ชาวไร่อ้อย จึงก่อเกิดโรงเรียนเกษตรกรขึ้น ซึ่งเป็นโครงการที่กลุ่ม KTIS ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง เพราะเทคนิคหรือวิธีการดูแลอ้อยนั้นมีการพัฒนาตลอดเวลา โดยโรงเรียนเกษตรกร นั้นจะมีการแลกเปลี่ยนความรู้ ในด้านของการเตรียมดิน การสาธิตใช้เครื่องมือเครื่องจักร การใส่ปุ๋ย ตามช่วงระยะต่างๆ ของอ้อย ผ่านทีมงาน ฝ่ายไร่ของกลุ่ม KTIS ซึ่งสถานที่จัดนั้นจะเป็นไร่อ้อยสาธิต เพื่อให้ชาวไร่อ้อยทดลองและลงมือปฏิบัติจริง พร้อมเปิดโอกาสให้ถามและแลกเปลี่ยน ความรู้ระหว่างชาวไร่อ้อย
› โรงเรียนเกษตรกรอ้อย
› นักเรียนเข้าร่วมโครงการโรงเรียนเกษตรกรอ้อย
โครงการ บ ว ร + โรงงานน�ำ้ ตาล กลุ่ม KTIS มีการจัดตั้งโครงการ บ ว ร + โรงงานน�้ำตาล ซึ่งเป็นโครงการปลูกอ้อยในบริเวณหมู่บ้าน วัด และโรงเรียน โดยด�ำเนินการ อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ 2556 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้กับนักเรียน ชุมชน และประชาชนทั่วไป ได้ศึกษา และเรียนรู้การ ปลูกอ้อย โดยได้รับการไว้วางใจจากวัดและโรงเรียน เป็นศูนย์การเรียนรู้โดยผู้น�ำชุมชนและชาวบ้าน รวมถึงชาวไร่อ้อยคู่สัญญาได้ร่วมกับโรงงาน น�้ำตาลสนับสนุนพันธุ์อ้อย ปุ๋ยยา และเครื่องจักรกลการเกษตร โดยคณาจารย์และนักเรียนเป็นผู้ดูแลแปลงอ้อย ซึ่งรายได้จากการปลูกอ้อยจะ น�ำมาสนับสนุนเป็นค่าใช้จ่ายให้กับวัดในการบูรณะพระพุทธศาสนา รวมถึงเป็นทุนการศึกษาให้กับนักเรียน โดยระหว่างการด�ำเนินการนั้นจะมี บุคลากรฝ่ายไร่ของกลุ่ม KTIS ให้ค�ำแนะน�ำและดูแลอย่างใกล้ชิด
› โครงการ บ ว ร + โรงงานน�้ำตาล
122
งานอ้อยสดประจ�ำปี งานอ้อยสดประจ�ำปี จัดขึน้ เพือ่ สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรชาวไร่ออ้ ยคู่ สัญญาของกลุ่ม KTIS ตัดอ้อยสดส่งโรงงานแทนอ้อยไฟไหม้ ซึ่งเป็นการจัด ต่อเนื่องกันเป็นปีที่ 16 วัตถุประสงค์เพื่อมอบรางวัลแก่เกษตรกรที่ส่งอ้อย สดให้แก่โรงงาน รวมถึงชีใ้ ห้เห็นถึงข้อดีของการปลูกอ้อยสดทีน่ อกจากจะลด มลพิษทีอ่ อกสูธ่ รรมชาติและรักษาหน้าดินในปีการผลิตถัดไปแล้ว ยังช่วยเพิม่ ผลผลิตต่อตันอ้อยให้สูงขึ้น โดยปี 2560 ที่ผ่านมามีเกษตรกรชาวไร่อ้อยคู่ สัญญาเข้าร่วมโครงการมากกว่า 20,000 ราย
› งานอ้อยสดประจ�ำปี 2560 โครงการจิตดี มีสขุ เพิม่ คุณภาพงาน ด้าน CSR กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนัน้ กลุม่ KTIS ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของบุคลากร ขององค์กร จึงมีการจัดตัง้ โครงการ “โครงการจิตดี มีสขุ เพิม่ คุณภาพงาน” ผ่านกิจกรรมต่างๆ เพือ่ สร้างทัศนคติเชิงบวก สนับสนุนให้พนักงานได้ ใช้ความคิดสร้างสรรค์และมีสว่ นร่วมในการจัดและร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมการปรับปรุงภูมทิ ศั น์ สวนหย่อมภายในโรงงานและบริเวณรอบ โรงงาน เพื่อให้มีสิ่งแวดล้อมในการท�ำงานที่ดี ร่มรื่น และปลอดภัย, การอบรมภาวะผู้น�ำองค์กรในระดับต่างๆ, กิจกรรมกีฬาระหว่าง โรงงานต่างๆ ของกลุ่ม KTIS, กิจกรรมปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว ให้กับชุมชนเพื่อเป็นการตอบแทนสังคมตามโครงการ KTIS ร่วมใจ ปลูกต้นไม้ประจ�ำไตรมาส, กิจกรรมเปิดหีบปลอดภัย ไร้แอลกอฮอล์ มีสุข ลดอุบัติเหตุ, โครงการกลุ่ม KTIS จิตอาสา ตลอดจนกิจกรรม ตามกาลและโอกาสต่างๆ เช่น การปลูกต้นดาวเรืองถวายเป็น พระราชกุศลและร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร, กิจกรรมร่วมใจ ปลูกต้นไม้ ให้แผ่นดิน เป็นต้น ซึ่งจะเห็นว่ากิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ งเสริมให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ได้เป็นอย่างดี › กิจกรรมโครงการจิตดี มีสุข เพิ่มคุณภาพงาน (การปลูกต้น สามารถส่ บุคลากรท�ำงานอย่างมีความสุข สามารถท�ำงานได้เต็มศักยภาพ ดาวเรืองถวายเป็นพระราชกุศลและร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และส่งมอบผลงานที่มีคุณภาพด้วย ของในหลวงรัชกาลที่ 9)
› โรงงานน�้ำตาลเกษตรไทยฯ ในกลุ่ม KTIS รับรางวัลสถานประกอบ › โรงงานน�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ ในกลุม่ KTIS รับรางวัลสถานประกอบ การดีเด่น ด้านการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
กิจการต้นแบบดีเด่นระดับประเทศ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 (ระดับเพชร)
โครงการธรรมาภิบาลเพือ่ สิง่ แวดล้อม กลุม่ KTIS มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะจัดการมลภาวะอย่างจริงจัง ถูกต้องตามกฎหมาย โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้จงึ ได้จดั โครงการธรรมาภิบาลขึน้ โดย โครงการนีจ้ ะเปิดโอกาสให้ตวั แทนประชาชนจากหลายภาคส่วนทัง้ ภาคอุตสาหกรรม ผูน้ ำ� ชุมชน รวมถึงผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนบริเวณใกล้เคียงเข้าร่วม ภายใน กิจกรรมได้มกี ารให้ความรูเ้ กีย่ วกับกระบวนการผลิต เยีย่ มชมโรงงานโดยมีทมี วิศวกรโรงงานดูแลอย่างใกล้ชดิ นอกจากนี้ ยังมีการมอบอุปกรณ์กฬ ี าให้กบั โรงเรียนรอบโรงงานและรับประทานอาหารร่วมกัน พร้อมมอบของทีร่ ะลึกแก่ตวั แทนผูเ้ ข้าร่วมเพือ่ เป็นสิรมิ งคลแก่ทกุ ฝ่าย โดยในปีนจี้ ดั ต่อเนือ่ งกันเป็นปีที่ 4 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
123
โครงการรักษ์สงั คม รักษ์ชมุ ชน รักษ์สงิ่ แวดล้อม เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเข้าร่วมและ/หรือจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เช่น กิจกรรมโครงการอบรม การพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์ดินและน�้ำ ณ ศูนย์สาธิตการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกด้านป่าไม้ที่ 2 จ.สุโขทัย, กิจกรรมหน่วยบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน, โครงการสานสัมพันธ์ ใยรักของครอบครัวต่อผู้สูงอายุ เป็นต้น
› กิจกรรมโครงการรักษ์สังคม รักษ์ชุมชน รักษ์สิ่งแวดล้อม (โครงการอบรมการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝก เพื่ออนุรักษ์ดินและน�้ำ ณ ศูนย์สาธิตการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกด้านป่าไม้ที่ 2 จ.สุโขทัย)
ชมรม TO BE NUMBER ONE “EPPCO” โครงการ TO BE NUMBER ONE เป็ น โครงการรณรงค์ ป้องกันและแก้ ไขปัญหายาเสพติดในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี องค์ประธานชมรม ซึ่งมีหัวใจหลัก คือ ให้โอกาสผู้ที่ เคยติดยาเสพติดที่อยู่ในโลกมืด สังคมรอบข้างไม่ให้โอกาส ให้ ได้รับโอกาส สามารถกลับเข้ามาอยู่ร่วมกับสังคมปกติได้ บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด (EPPCO) ซึ่งเป็นโรงงานผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของกลุ่ม KTIS ได้จัดตั้ง ชมรม TO BE NUMBER ONE “EPPCO” ในปี 2547 โดยได้ › ชมรม TO BE NUMBER ONE “EPPCO” เชิญชวนพนักงานในกลุ่ม KTIS ร่วมเป็นสมาชิก และเปิดโอกาสให้คนที่เคย ติดยาเสพติดที่ ได้รับการบ�ำบัดแล้วกลับเข้ามาท�ำงาน กลับมาเป็นคนดี คนเก่ง และมีอดุ มการณ์ทจี่ ะสร้างกิจกรรมดีๆ เพือ่ สร้างกระแสและภูมคิ มุ้ กัน “เป็นหนึง่ โดยไม่พงึ่ ยาเสพติด” อย่างเข้มแข็งและยัง่ ยืน โดยปัจจุบนั สมาชิกชมรม มีสุขภาพกายที่แข็งแรง สุขภาพจิตเยี่ยม สามารถท�ำงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบอย่างมีความสุข และที่สำ� คัญ คือ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด นอกเหนือจากโครงการต่างๆ ข้างต้นแล้ว กลุ่ม KTIS ยังมี การสนับสนุนกิจกรรม เพื่อการพัฒนาและรักษาความสัมพันธ์อันดี รวมถึงคุณภาพชีวิตแก่ชุมชนบริเวณใกล้เคียง เช่น ถวายปั จ จั ย ให้ กั บ พระครู นิ เ วศวรวั จ น์ เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นแก่ ง จ.นครสวรรค์ เพื่อใช้ซ่อมแซมกุฎิสงฆ์
124
ร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาเยาวชนและผู้น�ำชุมชนต้านภัยยาเสพติด เพื่ อ ให้ เ กิ ด การมี ส ่ ว นร่ ว มกั บ ชุ ม ชนและสนั บ สนุ น ให้ ห ่ า งไกลจาก ยาเสพติด รวมถึงเป็นแบบอย่างที่ดีแก่พนักงานให้รู้จักการใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์
กิจกรรมตามโครงการจิตอาสาร่วมพัฒนาชุมชน เช่น ปรับปรุงภูมทิ ศั น์ รวมถึงท�ำความสะอาดวัดบริเวณชุมชนใกล้เคียง เพื่อทัศนียภาพที่ดี
› การปรับปรุงภูมิทัศน์รวมถึงท�ำความสะอาดวัด บริเวณชุมชนใกล้เคียง › แข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด (งานประเพณีลอยกระทงบ้านหนองโพ)
มอบเงินสดและสิ่งของจ�ำเป็นแก่ชุมชน เพื่อน�ำมาพัฒนาชุมชน และ จัดกิจกรรมในโอกาสต่างๆ เช่น วันเด็กแห่งชาติ
โครงการสนับสนุนชมรมฟุตบอลไทยเอกลักษณ์ FC ร่วมกับชุมชน ท้องถิ่นต้านยาเสพติด จ.สุโขทัย
› ร่วมกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ จ.สุโขทัย › แข่งขันฟุตบอลไทยเอกลักษณ์ FC สนั บ สนุ น โครงการ 50 ปี ส.อ.ท. มอบจั ก รยาน 7,000 คั น “ปันรัก...โรงเรียนขาดแคลน” จ.นครสวรรค์
บริจาคน�ำ้ ดื่ม อาหารแห้ง และสิ่งของจ�ำเป็นเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย น�้ ำ ท่ ว มภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ร่ ว มกั บ หอการค้ า จั ง หวั ด สภาอุตสาหกรรม จ.อุตรดิตถ์
› บริจาคสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วมในพื้นที่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
125
เข้าร่วมกิจกรรมบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้กับประชาชน ให้ความรู้และสุขภาพจิตที่แข็งแรงให้แก่ชุมชน
› กิจกรรมบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน จ.อุตรดิตถ์
มอบเงินสนับสนุนกิจกรรมกีฬาสี และค่าอาหารกลางวันเด็กเล็ก โดยชมรมไทยเอกลักษณ์จิตอาสา
› มอบเงินสนับสนุนกิจกรรมกีฬาสี และค่าอาหารกลางวันเด็กเล็ก
ร่วมบริจาคโลหิตแก่โรงพยาบาลต่างๆ โดยพนักงานและผู้บริหาร ทั้งในส่วนของส�ำนักงานและโรงงาน ภายใต้กิจกรรม “กลุ่ม KTIS รวมพลัง รวมใจ บริจาคโลหิต” เพือ่ น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได้ ร่วมใจท�ำดีตามรอยพ่อ สานต่อพระราชปณิธาน บริจาคโลหิตถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ส�ำหรับกิจกรรม CSR รวมถึงรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัท ผู้ที่สนใจสามารถดูเพิ่มเติมได้ที่ : www.ktisgroup.com
126
การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน กลุ่มบริษัทฯ ได้ ให้ความส�ำคัญต่อการมีระบบการควบคุมภายในที่ดีและเป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กล่าวคือ ดูแลการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ต่างๆ ให้มีความโปร่งใส ยุติธรรม เชื่อถือได้ และมีการถ่วงดุลอ�ำนาจซึ่งสามารถตรวจสอบได้ อันน�ำไปสู่ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น พนักงาน และ ผู้มีส่วนร่วมต่าง ๆ กับธุรกิจของบริษัทฯ เนื่องจากระบบควบคุมภายในเริ่มต้นจากการใช้หลักก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยระมัดระวังต่อความเสี่ยงทางธุรกิจ เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ก�ำหนด ตลอดจนได้มีการก�ำหนดนโยบายการตรวจสอบและการควบคุมภายในลงสู่ผู้ปฏิบัติ เพื่อใช้เป็น หลักการและแนวทางในการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ คณะกรรมการตรวจสอบได้มอบหมายให้ส�ำนักตรวจสอบภายในมีหน้าที่ประเมินการควบคุมภายใน โดยการจัดท�ำแบบประเมินการควบคุมภายใน ประจ�ำปี 2560 ส�ำนักตรวจสอบภายในพบว่าระบบควบคุมภายในของบริษัทสอดคล้องกับแบบประเมินของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ได้เสนอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2560 เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2560 และการประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทพิจารณาและมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับ การด�ำเนินงานในปัจจุบัน ประกอบกับฝ่ายจัดการได้สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง โดยใช้หลักการและแนวทางการ ควบคุมภายในตามมาตรฐานของ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) ฉบับปี 2013 เพื่อยืนยันว่า การด�ำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน โดยสรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้
1. องค์กรและสภาพแวดล้อม (Organizational Control and Environment) กลุม่ บริษทั ตระหนักว่าโครงสร้างองค์กรและสภาพแวดล้อมทีด่ ี ซึง่ เป็นรากฐานส�ำคัญของการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ จึงได้ดำ� เนินการ ดังนี้
ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย ทิศทางการด�ำเนินธุรกิจที่ชัดเจน วัดผลได้เป็นรูปธรรม เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ตลอดจนก�ำกับดูแล กิจการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ มีการติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างสม�ำ่ เสมอ
ก�ำหนดโครงสร้างองค์กรที่เอื้อต่อการด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น จัดให้มีการแบ่งแยกต�ำแหน่งประธานกรรมการและประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อถ่วงดุลอ�ำนาจระหว่างกัน (Check and Balance) และก�ำหนดให้คณะกรรมการบริษัทต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด ทั้งนี้ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน พร้อมทั้งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านต่างๆ เพื่อช่วย พิจารณากลั่นกรองและด�ำเนินการตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย
สื่อสารนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและประมวลจรรยาบรรณทางธุรกิจ และจัดให้มีการติดตามผลการปฏิบัติ โดยมุ่งหมายให้เกิดจิตส�ำนึก และความตระหนักที่ดีในการปฏิบัติหน้าที่
ก�ำหนดนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร รวมทั้งก�ำหนดค�ำบรรยายลักษณะงาน คู่มือการปฏิบัตงิ าน กฎระเบียบ ค�ำสั่ง และข้อบังคับเป็นลายลักษณ์อักษร ตลอดจนอ�ำนาจอนุมัติตามหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารแต่ละต�ำแหน่งอย่าง เหมาะสม
2. การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) เพือ่ สร้างความมัน่ ใจว่าการด�ำเนินธุรกิจและการด�ำเนินงานด้านต่างๆในองค์กรเป็นไปตามวัตถุประสงค์ทอี่ งค์กรได้กำ� หนดไว้ และบริหารจัดการกับ ความเสี่ยงที่ส�ำคัญขององค์กรให้อยู่ในระดับที่จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อองค์กรหรือ มีผลกระทบน้อยที่สุด คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้มอบหมายให้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ท�ำหน้าที่กำ� หนดนโยบาย ทบทวน และปรับปรุงกรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร มาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีฝา่ ยบริหารความเสีย่ งรับนโยบายมาก�ำหนดและออกแบบระบบบริหารความเสีย่ งเพือ่ ให้มรี ะบบงานทีเ่ ป็นมาตรฐานและ ใช้ดำ� เนินงาน ได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึง่ กรอบแนวคิดทีใ่ ช้ ในการออกแบบระบบการบริหารความเสีย่ งคือ การบริหารความเสีย่ งตามแนวคิดของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) และมีคณะท�ำงานบริหารความเสี่ยงสายงานต่างๆ (Operation Risk Management Team) รับผิดชอบในการน�ำนโยบายลงสู่ การปฏิบัติ รวบรวมและทบทวนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความเสี่ยง และสร้างหลักประกันว่าความเสี่ยงที่สำ� คัญจะ ได้รับ การจัดการที่เหมาะสม ทั้งความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ด้านการเงิน ด้านปฏิบัติการ ด้านกฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
127
ธุรกิจ และด้านความเชือ่ ถือชือ่ เสียงของบริษทั ฯ นอกจากนัน้ บริษทั ได้จดั ให้มกี ารประเมินความเสีย่ งตามเหตุการณ์ (Event Risks) และประเมินความเสีย่ งที่ อาจมีผลกระทบต่อบริษัทล่วงหน้า 3 ปี เพื่อให้มั่นใจว่าเหตุการณ์ดังกล่าวจะไม่ส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจ เช่น ความเสี่ยงจากการ ปรับพระราชบัญญัติอ้อยและน�้ำตาล ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านพลังงาน ตลอดจนปัจจัยความเสี่ยงที่มาจากธรรมชาติในแต่ละปี ได้แก่ คุณภาพอ้อย ปริมาณน�้ำที่ต้องใช้ ในการผลิต และการประเมินความเสี่ยงจากการมีฝนตกซึ่งอาจท�ำให้เกิดภาวะ น�้ำท่วมขังในพื้นที่ปลูกอ้อยซึ่งเป็นที่ลุ่ม พร้อมติดตามประเมินความเสี่ยงของงานที่อยู่ในความรับผิดชอบตามกรอบแนวทางที่ก�ำหนด ตลอดจนรายงานความเสี่ยงอย่างสม�่ำเสมอผ่านรายงาน ความก้าวหน้าการด�ำเนินงานบริหารความเสี่ยง(Operation Risk Management Monthly Report) และเครื่องชี้วัดผลลัพธ์การบริหารความเสี่ยง (Key Risk Indicator) อนึง่ ในปี 2560 ฝ่ายบริหารความเสีย่ งได้จดั อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารเรือ่ งผู้ ให้คำ� ปรึกษาด้านการบริหารความเสีย่ งกลุม่ KTIS เพือ่ สร้างผู้ ให้คำ� ปรึกษา ด้านความเสี่ยงในบริษัท/สายงานของกลุ่ม KTIS และเพิ่มประสบการณ์ ในการบริหารความเสี่ยงของคณะท�ำงานบริหารความเสี่ยง (ORM) ให้สามารถเป็น ที่ปรึกษาแก่หน่วยงานต่างๆ ได้
3. การควบคุมการปฏิบตั งิ าน (Management Control Activities) บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ จึงได้ดำ� เนินการดังนี้
ก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และวงเงินอ�ำนาจอนุมัติรายการของฝ่ายจัดการแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน และ เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีฝ่าย บัญชี และฝ่ายควบคุมและตรวจสอบท�ำหน้าที่ตรวจสอบและก�ำกับการปฏิบัติงานด้านเอกสารให้ถูกต้องตามเงื่อนไขการอนุมัติที่กำ� หนดไว้
แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบตามหลักการควบคุมภายในที่ดี ได้แก่ (1) ผู้ท�ำหน้าที่อนุมัติ (2) ผู้ท�ำหน้าที่บันทึกรายการบัญชีและข้อมูล สารสนเทศ และ (3) ผู้ทำ� หน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน เพื่อสอบยันความถูกต้อง
ในการพิจารณาอนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน บริษทั ด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์และข้อบังคับ และหากเป็นรายการ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญ คณะกรรมการ ตรวจสอบจะพิจารณาให้ความเห็นก่อนเสนอให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ และจะเปิดเผยในรายงานประจ�ำปีต่อไป อนึ่ง การพิจารณาท�ำ รายการเกี่ยวโยงนั้น จะค�ำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นส�ำคัญ
ส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงานไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
มีคณะท�ำงานติดตามข้อก�ำหนดกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจในแต่ละด้าน เพือ่ ท�ำหน้าทีใ่ นการติดตาม ศึกษาผลกระทบ และก�ำหนด มาตรการในการจัดการเพื่อลดความเสี่ยง พร้อมทั้งจัดท�ำรายงานเสนอต่อ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อพิจารณาความเพียงพอ เหมาะสมของมาตรการจัดการความเสี่ยง
ก�ำหนดผู้รับผิดชอบในการก�ำกับดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอย่างชัดเจน
4. สารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication) กลุ่มบริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง บนพื้นฐานข้อมูลที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการตัดสินใจ รวมทั้ง การสื่อสารข้อมูลไปยังผู้เกี่ยวข้อง โดยด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้
128
ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำและจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญอย่างเพียงพอ ครบถ้วน เพื่อให้ผู้บริหารและคณะกรรมการบริษัท มีข้อมูลและ สารสนเทศทีเ่ พียงพอต่อการตัดสินใจ รวมทัง้ ได้เชิญผูบ้ ริหารและผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เข้าร่วมประชุม เพือ่ น�ำเสนอและชีแ้ จงประเด็นส�ำคัญต่อทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัทด้วย
ใช้นโยบายบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีที่ประกาศโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ และเหมาะสม กับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท
จัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีต่างๆ ไว้ครบถ้วน เป็นหมวดหมู่ รวมทั้งได้กำ� หนดระยะเวลาการจัดเก็บเอกสารให้เป็นตามที่กฎหมาย ก�ำหนด
ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดยได้สื่อสารให้พนักงาน ได้รับทราบและตระหนักถึงสาระ ส�ำคัญและบทลงโทษ นอกจากนีบ้ ริษทั ยังได้จดั เก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ตามประกาศของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
มีระบบการส�ำรองข้อมูลสารสนเทศ และจัดท�ำแผนการกูค้ นื ระบบจากภัยพิบตั ิ (Disaster Recovery Plan : DRP) โดยจัดเตรียมสถานทีท่ ำ� งาน และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่จ�ำเป็นต้องใช้ ในกรณีเกิดเหตุภัยพิบัติ
เผยแพร่ข้อมูลส�ำคัญ ผ่านเว็บไซต์ของบริษัท (www.ktisgroup.com) อย่างครบถ้วน และทันเหตุการณ์
5. การติดตาม (Monitoring) กลุ่มบริษัทให้ความส�ำคัญในระบบการติดตาม เพื่อให้มั่นใจว่าการด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุผลตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายในส�ำหรับการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ จึงด�ำเนินการ ดังนี้
คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมเพื่อติดตามผลการด�ำเนินงานของฝ่ายจัดการ พร้อมทั้งให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อฝ่ายจัดการ
คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชี ฝ่ายบัญชี และฝ่ายตรวจสอบภายใน เพือ่ สอบทาน งบการเงิน ระบบการควบคุมภายใน และติดตามการแก้ ไขปรับปรุงอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งรายงานประเด็นส�ำคัญต่อคณะกรรมการบริษัท เป็นประจ�ำทุกไตรมาส
คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุมทุกไตรมาส เพือ่ ก�ำกับ ดูแล และติดตามให้มกี ารด�ำเนินการ ตามนโยบายการบริหารความเสีย่ ง และคู่มือการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งมีการก�ำหนดเครื่องชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) ในระดับองค์กร เพื่อให้การบริหาร จัดการด้านความเสี่ยงในองค์กรเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทนมีการประชุมเพือ่ พิจารณาสรรหาผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตสิ มควรได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั รวมทั้งพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการและที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ
ก�ำหนดให้ฝา่ ยตรวจสอบภายใน สามารถตรวจสอบและให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ โดยให้รายงานผล การด�ำเนินงานโดยตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส หรือรายงานทันทีเมื่อมีประเด็นส�ำคัญ
คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาอนุมัติแผนการตรวจสอบภายใน โดยใช้หลักการประเมินตามระดับความเสี่ยง และเมื่อฝ่ายตรวจสอบ ภายในตรวจพบข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ จะรายงานให้ผบู้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบกิจกรรมนัน้ ๆ ทราบทันที และน�ำเสนอรายงานต่อฝ่ายจัดการ เพื่อรับทราบหรือขอค�ำแนะน�ำเพิ่มเติม เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทจะบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ - ความถูกต้อง น่าเชื่อถือของรายงานทางการเงิน (Financial Audit) - การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของทางการและกลุ่มบริษัท (Compliance Audit) - การมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและเพียงพอ รวมถึงการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ ความปลอดภัยของทรัพย์สิน และการบรรลุ วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงาน (Operation Audit)
งานก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั (Compliance) บริษัทฯ มีการก�ำหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ ของกลุ่มบริษัท ประกอบด้วย
ฝ่ายกฎหมาย รับผิดชอบในการรวบรวมข้อก�ำหนด กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ ตลอดจนแจ้งการแก้ ไขเปลีย่ นแปลงของกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กับการประกอบกิจการของกลุ่มบริษัทให้รับทราบและน�ำไปปฏิบัติตามกฎหมายอย่างต่อเนื่อง
ส�ำนักประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและเลขานุการบริษทั รับผิดชอบในการดูแลติดตามให้กลุม่ บริษทั / คณะกรรมการบริษทั ฯ / คณะกรรมการของ กลุ่มบริษัท / ผู้บริหาร / และฝ่ายปฏิบัติงาน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของบริษัทจดทะเบียน รวมทั้งระเบียบและข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนเป็น ศูนย์กลางในการรวบรวม ติดตามข้อมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบภายนอกที่เกี่ยวข้อง และสื่อสารให้ความรู้ ค�ำปรึกษา เพื่อให้บุคลากร / หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องด�ำ เนินการได้อย่างถูกต้อง
ส�ำนักตรวจสอบภายใน มีหน้าที่รับผิดชอบในการประเมินประสิทธิภาพและความเพียงพอของระบบควบคุมภายในและตรวจสอบการปฏิบัติ งานของทั้งองค์กร รวมทั้งกลุ่มบริษัท
การบริหารจัดการความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ฯมอบหมายให้คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งองค์กรกลุม่ KTIS เป็นผูก้ ำ� กับดูแลการบริหารความเสีย่ งในภาพรวมของบริษทั ฯ ทบทวนนโยบายและกรอบการบริหารความเสีย่ ง และปรับปรุงให้สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานบริหารความเสีย่ งในปีทผี่ า่ นมา เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการ บริหารความเสี่ยงให้สามารถบริหารความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้(Risk Appetite) โดยมีคณะผู้บริหารและคณะท�ำงานบริหารความเสี่ยงด�ำเนินงาน บริหารความเสีย่ งตามนโยบายและกรอบการบริหารความเสีย่ งทีก่ ำ� หนดไว้ ในส่วนของการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานบริหารความเสีย่ งนัน้ คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งองค์กรพิจารณาทะเบียนความเสีย่ งของบริษทั ฯ(Corporate Risk Profile) เครือ่ งชีว้ ดั ผลลัพธ์การบริหารความเสีย่ ง(Key Risk Indicator) และแผนบริหารความเสี่ยง(Risk Management Plan) ให้มีความสอดคล้องกับทิศทางการด�ำเนินธุรกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายองค์กร และสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไป และติดตามประเมินผลการบริหารความเสี่ยง พร้อมรายงานผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับทราบเป็นประจ�ำทุกไตรมาสอย่างสม�่ำเสมอ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
129
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ซึง่ เป็นผูท้ รงคุณวุฒิ และมีประสบการณ์ดา้ นบัญชี ด้านการเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านเทคโนโลยี และด้านธุรกิจเป็นอย่างดี ในปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบ 3 ท่าน ประกอบด้วย นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา ประธานกรรมการตรวจสอบ ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร และนายสถาพร โคธีรานุรักษ์ กรรมการตรวจสอบ โดยกรรมการตรวจสอบทั้ง 3 ท่านมิได้เป็นกรรมการในบริษัทย่อย และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ไม่ได้ถือหุ้นของบริษัท หรือถือหุ้น ไม่เกินศูนย์จุดหนึ่งเปอร์เซ็นต์ ตลอดจนไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน หรือเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ที่ปรึกษา คู่ค้ากับบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม ซึ่งเป็น ไปตามหลักเกณฑ์ของกฎหมาย และกฎระเบียบที่ก�ำหนดไว้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามที่ได้รบั มอบหมาย โดยให้มบี ทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบในการ สอบทานรายงานทางการเงิน รายการ ระหว่างกัน และงานตรวจสอบภายใน รวมทัง้ ส่งเสริมและผลักดันให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องบริษทั จดทะเบียน เพือ่ ให้บริษทั ฯ มีการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี มีการบริหารความเสี่ยง และมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในรอบปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมทั้งสิ้น 5 ครั้ง เพื่อพิจารณาในเรื่องต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายดังต่อไปนี้
พิจารณางบการเงินและรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเปิดเผยอย่างเพียงพอ ตาม หลักการบัญชีและวิธปี ฏิบตั ทิ างบัญชี การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป การเปลีย่ นแปลงนโยบายบัญชีทสี่ ำ� คัญ รวมถึงเหตุผล ของฝ่ายจัดการเกี่ยวกับการก�ำหนดนโยบายบัญชีก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อเผยแพร่แก่ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไป
พิจารณาระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสม และมีประสิทธิผล
พิจารณาทบทวนแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี ขั้นตอนการประสานงานของแผนการตรวจสอบที่เกี่ยวข้องต่างๆ และประเมินผลการ ตรวจสอบร่วมกับผู้ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
พิจารณาร่วมกับผูต้ รวจสอบภายในถึงปัญหาหรือข้อจ�ำกัดทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างการตรวจสอบ และทบทวนการปฏิบตั งิ านของผูต้ รวจสอบภายใน
พิจารณาทบทวนรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เช่น รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท
ก�ำกับดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์
พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของบริษัท รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
พิจารณาประเมินผลตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย
ตลอดจนประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาตโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม เพื่อปรึกษาหารือกันอย่างเป็นอิสระถึงประเด็นส�ำคัญๆ ในการ จัดท�ำงบการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ ใช้งบการเงิน รวมถึงรับทราบผลการปฏิบตั งิ านสอบบัญชี ข้อสังเกตทีต่ รวจพบ ตลอดจนปัญหา และอุปสรรคระหว่างการปฏิบัติงานสอบบัญชี นอกจากนั้นคณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมอย่างเป็นทางการร่วมกับฝ่ายบริหารด้วย สรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ ได้ดังนี้
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ของรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นต่องบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2560 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ที่ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต ได้สอบทานและตรวจสอบ ตามรายงานของผู้สอบบัญชีฯ ซึ่งมิได้พบข้อสังเกตเป็นสาระส�ำคัญ และไม่มีเงื่อนไข เพื่อเสนอขออนุมัติจาก ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทต่อไป คณะกรรมการตรวจสอบมุ่งสอบทานรายการบัญชี รายการที่มีการเปลี่ยนแปลง และรายการปรับปรุงที่มีนัยส�ำคัญ ตลอดจนความเหมาะสม เพียงพอของการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้มั่นใจได้ว่างบการเงินได้แสดงรายการอย่างเหมาะสม ชัดเจน เพียงพอ ทันเวลา และจาก ผลการสอบทานคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายงานทางการเงินในปี 2560 ที่บริษัทฯ จัดท�ำขึ้นนั้น มีความถูกต้อง เหมาะสม เพียงพอ เชื่อถือ ได้ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป
2. การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารให้ความส�ำคัญในการบริหารงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัท ภิบาลที่ดี เพื่อให้ความเชื่อมั่น แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกด้าน และจัดให้มีแนวทางการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึง
130
การสนับสนุนกิจกรรมที่ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และก�ำหนดให้มีกระบวนการใน การประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่นเพื่อใช้ปฏิบัติในองค์กร
3. การบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลการบริหารความเสี่ยงของบริษัท เพื่อให้มั่นใจได้ว่าคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและฝ่ายจัดการได้ ด�ำเนินการบริหารความเสี่ยงถึงระดับปฏิบัติการอย่างเหมาะสม และการระบุปัจจัยเสี่ยงมีความครบถ้วน ถูกต้องเพียงพอ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานส�ำหรับ การตรวจสอบภายใน และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ในปี 2560 ปัจจัยเสี่ยงที่บริษัทได้ระบุมีความเหมาะสม รวมทั้งฝ่ายจัดการด�ำเนินการลด ความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้สอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน
4. ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานความเพียงพอของระบบควบคุมภายในร่วมกับส�ำนักตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เป็น ประจ�ำทุกไตรมาส โดยบริษัทฯ ได้ติดตามให้มีการแก้ ไข ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะในรายงานผลการตรวจสอบ และข้อคิดเห็นของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของกลุม่ บริษทั อยูใ่ นเกณฑ์ทเี่ หมาะสมกับการด�ำเนินงานในปัจจุบนั ประกอบกับฝ่ายจัดการ ได้สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง โดยใช้หลักการและแนวทางการควบคุมภายในตามมาตรฐานของ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) เพื่อให้มั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การด�ำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมภายใน รวมทั้งได้สรุปผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายในประจ�ำปี ไว้ ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (56-1) และรายงานประจ�ำปี (56-2) ของบริษัทในหัวข้อที่ 15 เรื่องการควบคุมภายใน ด้วย
5. ความเหมาะสมของรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจิ ารณารายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยสอบทานรายการเกีย่ วโยง ซึง่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ และมีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน้ ในปี 2560 เป็นรายการเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั มีเงือ่ นไขทางการค้า และราคาตามปกติทวั่ ไป มีการเปิดเผยใน งบการเงินอย่างเพียงพอ และเป็นไปตามข้อก�ำหนดและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
6. การปฏิบตั ติ าม กฎ และระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมายต่าง ๆ ร่วมกับส�ำนักตรวจสอบภายใน โดยไม่พบประเด็นทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญทีแ่ สดงให้ เห็นว่าบริษัทฯ ได้มีการปฏิบัติที่ขัดต่อกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ
7. การพิจารณาแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตประจ�ำปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้เลือกผูส้ อบบัญชี โดยพิจารณาจากความเป็นอิสระ ประสบการณ์ ความเชีย่ วชาญในวิชาชีพ การมีบคุ ลากรทีเ่ พียงพอ ในการให้บริการงานสอบบัญชีแก่บริษัท และค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีเมื่อเทียบกับความเหมาะสมในด้านปริมาณงาน โดยมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ ของตลาดหลักทรัพย์และไม่มีความสัมพันธ์และ/หรือส่วนได้เสียกับบริษัท/บริษัทย่อย/ผู้บริหาร/ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวใน ลักษณะที่จะมีผลกระทบต่อการปฏิบัตหิ น้าที่อย่างเป็นอิสระแต่อย่างใด ปฏิบัตหิ น้าที่ด้วยความเหมาะสมตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพการสอบบัญชี เป็นผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2561 นอกจากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินการปฏิบัติงานของตนเองในปี 2560 ทั้งคณะโดยเปรียบเทียบกับกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ซึง่ ผลการประเมินพบว่า คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบที่ได้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ โดยใช้ความรู้ความสามารถ และความระมัดระวัง มีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ เพื่อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน และมีความเห็นในภาพรวมว่า บริษัทฯ มีการรายงานข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง มีการด�ำเนินงานภายใต้ระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม มีการบริหาร ความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อก�ำหนดและข้อผูกพันต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ เปิดเผยรายการ ที่อาจมีความขัดแย้งทางประโยชน์อย่างครบถ้วน และมีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
(นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
131
132
มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ (1) นายอภิชาต นุชประยูร (2) นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล (3) นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ (4) นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล l มีบริษัทที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นในAPS คือ 1. บจ.จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง
2. บริษัท น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด (“APS”) (ณ ปัจจุบัน ประกอบ ธุรกิจให้เช่า อสังหาริมทรัพย์)
l
มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ (1) นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล (2) นายปรีชา อรรถวิภัชน์ (3) นางสาวฉั่วอิ๋งอิ๋ง (4) นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล l มีบริษัทที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน S.I. Property คือ 1. บจ.สืบสิริสวัสดิ์ 2. บจ.น�้ำตาลเอกผล
l
ลักษณะความสัมพันธ์
1. บริษทั เอส.ไอ.พรอพเพอร์ ตี้ จากัด (“S.I. Property”) (ประกอบธุรกิจให้เช่า อสังหาริมทรัพย์)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่าเช่าและค่าบริการที่เกี่ยวข้องค้างจ่าย
ค่าเช่าส�ำนักงาน และค่าบริการที่เกี่ยวข้อง APS ให้เช่าพื้นที่ส�ำนักงาน เป็นรายได้ค่าเช่า ส�ำนักงาน ค่าบริการส่วนกลาง และค่าไฟฟ้า และค่าบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จากกลุ่มบริษัท
ลูกหนี้อื่น ค่าสัมมนา
ลูกหนี้เงินประกันค่าเช่าสานักงาน เป็นเงินประกันการเช่าสานักงาน
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่าบริการส่วนกลางอาคารค้างจ่าย
ค่าเช่าสานักงานและค่าบริการที่เกี่ยวข้อง S.I. Property ให้เช่าพื้นที่สานักงาน เป็นรายได้ ค่าเช่าส�ำนักงาน ค่าบริการส่วนกลาง และค่า ไฟฟ้า และค่าบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจาก TIS
ลักษณะรายการ
128,177.26
14,931,242.36
-
14,722,891.17 l APS เป็ น เจ้ า ของพื้ น ที่ อ าคารส� ำ นั ก งาน อาคารเลขที่ 24 ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต แขวง ดิ น แดง เขตดิ น แดง กรุ ง เทพฯ และพื้ น ที่ ส�ำนักงาน ชั้น 9, 10, และ 11 ของอาคาร เลขที่ 133 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง 112,799.60 เขตดินแดง กรุงเทพฯ ให้เช่าแก่ บริษัทฯ TIS KTBE และ EPPCO เพื่อเป็นส�ำนักงาน โดย คิดค่าเช่า 180 – 230 บาทต่อตารางเมตร ทั้งนี้ ค่าเช่า และเงื่อนไขการเช่าเป็นไปตามค่า เช่า และเงื่อนไขการเช่าในอัตราตลาด
19,642.00
มูลค่ารายการ (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 2,239,093.16 1,723,433.11 l S.I. Property เป็นเจ้าของพื้นที่อาคารสา นักงานขนาด 444.18 ตารางเมตร ที่อาคาร ลิเบอร์ตี้ พลาซ่า ชั้น 11 ซอยทองหล่อ ถนน สุขุมวิท 55 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ ให้เช่าพื้นที่เพื่อเป็นสานักงาน โดย 2,220.42 คิดค่าเช่า และบริการส่วนกลาง 285 บาท ต่อตารางเมตร ทั้งนี้ราคา และเงื่อนไขการ ให้เช่าเป็นไปตามราคา และเงื่อนไขการเช่าใน 398,758.00 398,758.00 อัตราตลาด
รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สามารถสรุปได้ดังนี้
รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
รายการระหว่างกัน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
133
ลักษณะความสัมพันธ์
l มีบริษัทที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน TT คือ 3. บริษัท ทัศน์ ไทยธุรกิจ 1. บจ.ภูมิพัฒนาธุรกิจ จ�ำกัด (“TT”) (ประกอบธุรกิจปั๊มน�้ำมัน)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
113,645,606.57
10,720,962.40
2,035,167.29
1,891,301.00
120,000.00
29,917.80
ซื้อน�ำ้ มัน TT ขายน�ำ้ มันให้แก่ บริษทั ฯ TIS KTBE EPPCO และ KTBF เจ้าหนี้การค้า เป็นเจ้าหนี้การค้าจากการที่บริษัทฯ TIS KTBE EPPCO KTBP และ TEP ซื้อน�ำ้ มันจาก TT ซื้อยางรถยนต์ TT ขายยางรถยนต์ ให้แก่ บริษัทฯ และ TIS เจ้าหนี้การค้า เป็นเจ้าหนี้การค้าจากการที่บริษัทฯ TIS ซื้อยาง รถยนต์จาก TT รายได้ค่าเช่าที่ดิน บริษัทฯ และ TIS ให้เช่าที่ดิน เพื่อให้ TT ด�ำเนิน กิจการปั๊มน�ำ้ มัน ได้รับค่าเช่าที่ดิน เจ้าหนี้อื่น บริษัทฯ และ TIS รับค่าเช่าที่ดินล่วงหน้า
ลูกหนี้เงินประกันค่าเช่าส�ำนักงาน เป็นเงินประกันการเช่าส�ำนักงาน
ยานพาหนะ และเครื่องใช้สำ� นักงาน EPPCO ซื้อรถกะบะบรรทุก, เก้าอี้
ลักษณะรายการ
133,512.30 l TT ได้เช่าทีด่ นิ เนือ้ ที่ 5 ไร่ ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลหนอง โพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ใกล้กับ โรงงานบริษัทฯ และเนื้อที่ 4 ไร่ 9 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลคุ้งตะเพา อ�ำเภอเมือง จังหวัด 34,405.50 อุตรดิตถ์ ใกล้กับโรงงานของ TIS เพื่อด�ำเนิน กิจการปั๊มน�้ำมัน เพื่ออ�ำนวยความสะดวก และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ธุ ร กิ จ ให้ กั บ กลุ ่ ม บริษัทฯ โดยราคา และเงื่อนไขการเช่าเป็นไป ตามอัตราตลาด
2,223,062.61 l TT ขายยางรถยนต์เพื่ออ�ำนวยความสะดวก และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ธุ ร กิ จ ให้ กั บ กลุ ่ ม บริษัทฯ โดยราคา และเงื่อนไขการค้าเป็นไป 352,501.00 ตามเกณฑ์เดียวกันกับตลาด
188,173,490.06 l TT เช่าทีเ่ พือ่ เป็นสถานีขายน�ำ้ มัน เพือ่ อ�ำนวย ความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพเชิงธุรกิจ ให้กับกลุ่มบริษัทฯ ในการซื้อน�้ำมันเพื่อใช้ ใน ธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตาม 15,320,233.88 เกณฑ์เดียวกันกับตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 100,000.00 3,364.48 l EPPCO ได้ซื้อรถกะบะบรรทุก และเก้าอี้ใช้ งานแล้ว เพื่อความสะดวก, ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงื่อนไข 3,033,099.0 3,033,099.00 ทางการค้ า เป็ น ไปตามราคาและเงื่ อ นไข ทางการค้าในอัตราตลาด
134
4. บริษัท ที.ไอ.เอส. เอส. จ�ำกัด (“TISS”) (ประกอบธุ ร กิ จ ส่ ง ออก น�้ำตาลทราย)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
กรรมการร่วมกัน 4 ท่านได้แก่ (1) นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล (2) นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล (3) นายอภิชาต นุชประยูร (4) นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล l มีบริษท ั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ในTISS คือ 1. บมจ. เกษตรไทย อินเตอร์ฯ 2. บจ. น�้ำตาลเอกผล
l
ลักษณะความสัมพันธ์
20,266,391.41
-
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่าใช้จา่ ยบริการเพือ่ ส่งออกน�ำ้ ตาลค้างจ่าย ที่ TIS จ่ายให้ TISS
-
1,812.59
ค่าบริการเพื่อส่งออก TISS เป็นบริษัทที่ด�ำเนินการส่งออกน�้ำตาล ทรายให้แก่ บริษทั ฯ และTIS โดยรายการดังกล่าว ส่วนใหญ่เป็นค่าธรรมเนียมในการเป็นตัวแทน ส่งออกค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง และค่าด�ำเนิน การเอกสารต่าง ๆ ในการส่งออกและพิธีการ ทางศุลกากร
ลูกหนี้อื่น บริษัทฯ ค้างรับค่าวัสดุ
รายได้จากการขายวัสดุ บริษัทฯ และ TIS ขายวัสดุสำ� นักงานให้ TT
ลักษณะรายการ l
อย่างไรก็ดี ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 บริษัทฯ และTIS ได้ท�ำสัญญาเช่าระยะยาวกับ TT โดยค่าเช่าที่ดินทั้ง 2 ผืนจะเท่ากับ 60,000 บาทต่อปี ต่อผืน และจะเพิ่มขึ้นตามอัตราการ เปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปเฉลี่ย ย้อนหลัง 5 ปี นับแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2554 โดยสัญญาดังกล่าวมีอายุทั้งสิ้น 30 ปี
ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล
15,059,616.60 l เนื่องจาก พรบ. อ้อยและน�้ำตาล ก�ำหนด ว่าโรงงานน�้ำตาลทรายไม่สามารถส่งออก น�้ำตาลทรายด้วยตนเองได้ กลุ่มบริษัทฯ จึง ต้องด�ำเนินการส่งออกผ่านบริษัทส่งออก ซึ่ง ณ ปัจจุบันหนึ่งในบริษัทส่งออกที่บริษัทฯ ใช้ บริการคือ TISS l ส� ำ หรั บ การส่ ง ออกน�้ ำ ตาลทรายนั้ น กลุ ่ ม บริษัทฯ จะเป็นผู้ติดต่อลูกค้าโดยตรง โดย 111,415.98 TISS จะเป็นเพียงผู้ด�ำเนินการจัดการสินค้า และด�ำเนินเรื่องเอกสารส�ำหรับการส่งออก เท่านั้น l ราคา ค่าธรรมเนียมและเงื่อนไขการค้าที่กลุ่ม บริษัทฯด�ำเนินการผ่าน TISS เป็นไปตาม ราคา ค่าธรรมเนียม และเงื่อนไขการค้าใน อัตราตลาด
3,918.39 l บริ ษั ท ฯ และ TIS ขายวั ส ดุ ส� ำ นั ก งานเพื่ อ อ�ำนวยความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพ เชิงธุรกิจให้กับ TT โดยราคา และเงื่อนไขการ 18,409.45 ค้าเป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการค้าในอัตรา ตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
135
ลักษณะความสัมพันธ์
5. บ ริ ษั ท ส ย า ม พี . พี . l มี ก รรมการร่ ว มกั น 1 ท่ า น คื อ นาย ณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด l บริษัทที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน Siam PP (“Siam PP”) คือ (ประกอบธุรกิจผลิต และ 1. บจ. น�้ำตาลเอกผล จ�ำหน่ายปูนขาว
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
-
5,030,396.26
เจ้าหนี้การค้า เป็นเจ้าหนีก้ ารค้าจากการทีบ่ ริษทั ฯ และ EPPCO ซื้อปูนขาวจาก Siam PP ลูกหนี้อื่น ค่าสัมนา
62,394,889.52
-
เจ้าหนี้อื่น ค่าน�ำ้ ตาลทรายขายต่างประเทศ การขายปูนขาว Siam PP ขายปู น ขาว ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ วัตถุดิบในกระบวนการผลิตน�้ำตาลทราย และ เยื่อกระดาษ ให้แก่บริษัทฯและ EPPCO
-
-
11,782.00
ลูกหนี้อื่น ค่าน�ำ้ ตาลทรายขายต่างประเทศ
ลูกหนี้อื่น l ค่ า ธรรมเนี ย มในการส่ ง ออกโควตา ข. ที่ TISS ต้องจ่ายให้ อนท. l ค่าสัมมนา
ลักษณะรายการ l
ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล
13,126.00
76,689,935.25 l Siam PP ขายปูนขาวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ วัตถุดบิ ในกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย และ เยื่อกระดาษ ให้แก่ บริษัทฯ และ EPPCO เพื่อ อ�ำนวยความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพเชิง ธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไขการค้าในอัตรา 7,384,204.39 ตลาด และคู่มือจัดซื้อจัดจ้างของบริษัทฯ
- l ค่ า น�้ ำ ตาลทรายที่ TISS ได้ รั บ จากผู ้ ซื้ อ ต่างประเทศแล้ว และอยู่ในระหว่างการจ่าย คืนให้กับ บริษัทฯ และ TIS - l บริษทั ฯ และ TIS ได้รบั เงินค่าน�ำ้ ตาลทรายเกิน กว่าโควตาที่ได้รบั จัดสรร อยูร่ ะหว่างการจ่าย คืนให้กับ TISS
เนื่องจาก พรบ. อ้อยและน�้ำตาล ก�ำหนด 60,132.19 ว่ า โรงงานน�้ ำ ตาลทรายจะต้ อ งจั ด สรร น�้ำตาลทรายดิบจ�ำนวน 400,000 ตัน ให้แก่ 30,743.00 อนท. โดย อนท. จะเป็นผูก้ ำ� หนดราคาขาย และ น�ำน�้ำตาลทรายดังกล่าวส่งออกให้แก่ลูกค้า ต่างประเทศ l ทัง ้ นี้ ค่าธรรมเนียมทีก่ ลุม่ บริษทั ฯ ต้องจ่ายให้ กับ อนท. เป็นไปตามราคา ค่าธรรมเนียม และ เงื่อนไขการค้าในอัตราตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60
136
ลักษณะความสัมพันธ์
7. บริษัท ร่วมทุนคลังสินค้า l มี ก รรมการร่ ว มกั น 1 ท่ า น คื อ นาย นครสวรรค์ จ�ำกัด (“ร่วม ประเสริฐ ศิริวิริยะกุล ทุน”) l มี ผู้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ที่ (ประกอบธุรกิจคลังสินค้า) เกี่ยวข้องกันถือหุ้นในร่วมทุน คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง 2. บจ. น�้ำตาลเอกผล
6. บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลัง l มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ สินค้า จ�ำกัด (“ร่วมกิจ”) (1) นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ (ประกอบธุรกิจคลังสินค้า) (2) นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล (3) นายอภิชาต นุชประยูร (4) นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล l มี ผู้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ที่ เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน ร่วมกิจ คือ 1. บจ.น�้ำตาลเอกผล 2. บจ.ร่วมทุนเทรดดิ้งนครสวรค์
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่าบริการฝากสินค้าค้างจ่าย
ค่าบริการฝากสินค้า บริษัทฯ และ TIS จ่ายค่าบริการฝากสินค้าให้ ร่วมทุน
รายได้อื่น ค่าภาชนะบรรจุ
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่าใช้จ่ายจัดส่งสินค้าค้างจ่าย
ค่าบริการในการส่งสินค้า ให้บริการจัดส่งสินค้าจากคลังสินค้าแก่บริษัทฯ และ TIS
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่ารับฝากน�ำ้ ตาลค้างจ่ายทีบ่ ริษทั ฯ และ TIS ต้องจ่ายให้ร่วมกิจ
ค่าบริการฝากสินค้า ร่วมกิจรับฝากน�้ำตาลจากบริษัทฯ และ TIS
ลักษณะรายการ
538,412.30
26,443,344.12
40,123,867.43 l กลุ่มบริษัทฯ ฝากเก็บน�้ำตาลทรายที่คลัง สินค้าของร่วมทุน เพื่อความสะดวก และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไขการรับฝากฯ เป็นไปตามราคา 4,053,760.07 และเงื่อนไขการรับฝากฯ ในอัตราตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 33,034,562.20 66,421,555.18 l ร่วมกิจมีคลังสินค้าจ�ำนวน 4 แห่ง ตั้งอยู่ ที่ (1) 1 แห่งที่ ต�ำบลป่าโมก อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง (2) 3 แห่งที่ ต�ำบลปลากด อ�ำเภอป่าโมก จังหวัด อ่างทอง เพือ่ ใช้รบั ฝาก 1,856,988.27 6,965,130.85 น�้ำตาลของกลุ่มบริษัทฯ เพื่อความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ โดย ราคา และเงื่อนไขการรับฝากฯ เป็นไปตาม ราคา และเงือ่ นไขการรับฝากฯ ในอัตราตลาด 113,501,608.25 106,360,176.61 l นอกจากการให้เช่าคลังสินค้าแล้ว ร่วมกิจยัง ให้บริการจัดส่งสินค้าจากคลังสินค้าแก่กลุ่ม บริษัทฯ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกและเพิ่ม 2,843,110.85 5,871,118.35 ประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตามราคา และ เงื่อนไขทางการค้าในอัตราตลาด 2,985.98 27,000.00 l บริษทั ฯ ขายภาชนะบรรจุนำ�้ ตาลเพือ่ อ�ำนวย ความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพเชิงธุรกิจ ให้กบั ร่วมกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขการค้าเป็น ไปตามราคาและเงือ่ นไขการค้าในอัตราตลาด
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
137
8. บริษัท ไทยวิษณุ นครสวรรค์ จ�ำกัด (“ไทยวิษณุ”) (ประกอบธุรกิจโรงแรม)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่านได้แก่ (1) นายประพันธ์ ศิริวิรยะกุล (2) นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ (3) นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล (4) นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล l มี บ ริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ถื อ หุ ้ น ใน ไทย วิษณุ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง
l
ลักษณะความสัมพันธ์
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่าเช่าโรงแรมที่บริษัทฯ และ TIS ค้างจ่าย กับไทยวิษณุ
ค่าเช่าโรงแรม บริษัทฯ และ TIS จ่ายเช่าโรงแรมให้ ไทยวิษณุ
ลูกหนี้อื่น บริษัทฯ ค้างรับค่าวัสดุ
รายได้อื่น ภาชนะบรรจุ
รายได้จากการขาย ค่าน�ำ้ ตาล
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่าใช้จ่ายจัดส่งสินค้าค้างจ่าย
ค่าบริการในการส่งสินค้า บริษัทฯ และ TIS จ่ายค่าจัดส่งสินค้าให้ร่วมทุน
ลักษณะรายการ
3,200.00
1,591,281.64
-
3,745.00
-
1,269,454.61 l กลุม่ บริษทั ฯ เช่าโรงแรมจากไทยวิษณุ ซึง่ เป็น เจ้าของโรงแรมแกรนด์วิษณุ พลาซ่า ตั้งอยู่ที่ 26 - 28 ถนน อรรถกวี อ�ำเภอเมือง จังหวัด 139,400.00 นครสวรรค์ ใช้เป็นที่พัก และที่ประชุม สัมนา ของพนักงานในกลุ่ม KTIS หรือใช้เป็นสถาน ที่จัดกิจกรรมเพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ โดย ราคา และเงื่อนไขการเช่าห้อง และบริการ โรงแรมเป็นไปตาม ราคา และเงื่อนไขในอัตรา ตลาด
- l ร่วมทุน มีการซื้อน�้ำตาลที่เปียกชื้นจากการ รับฝาก จาก TIS ตามเงื่อนไขการรับฝาก น�้ำตาลฯ โดยราคาและเงื่อนไขการค้าเป็นไป ตามราคาและเงื่อนไขการค้าในอัตราตลาด l TIS ได้ขายภาชนะบรรจุน�้ำตาลเพื่ออ�ำนวย ความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพเชิงธุรกิจ ให้กบั ร่วมทุน โดยราคาและเงือ่ นไขการค้าเป็น ไปตามราคาตลาดและเงือ่ นไขการค้าในอัตรา ตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 11,502,758.87 17,012,910.72 l นอกจากการรับฝากน�้ำตาลฯ ร่วมทุนยัง ให้บริการจัดส่งสินค้าแก่กลุ่มบริษัทฯ เพื่อ อ�ำนวยความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพ 806,071.84 3,580,253.54 ในการด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไข ทางการค้ า เป็ น ไปตามราคา และเงื่ อ นไข ทางการค้าในอัตราตลาด
138
ลักษณะความสัมพันธ์
ลักษณะรายการ
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค้างจ่ายค่าเช่าที่ดิน
10. บริษทั สืบสิรสิ วัสดิ์ จ�ำกัด l มีบริษัทที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน สืบสิริ รายจ่ายค่าเช่าที่ดิน สวัสดิ์ คือ KTBE จ่ายค่าเช่าที่ดิน ให้สืบสิริสวัสดิ์ (“สืบสิริสวัสดิ์”) (ประกอบธุ ร กิ จ ซื้ อ ขาย 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า และให้เช่าทรัพย์สิน) ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นค่าเช่าหอพักที่ KTBE และ EPPCO เช่า หอพักค้างจ่ายให้เวศม์วิษณุ
9. บริษัทเวศม์วิษณุ จ�ำกัด l มีบริษัทที่เกี่ยวข้องถือหุ้นใน เวศม์วิษณุ ค่าเช่าหอพักพนักงาน (“เวศม์วิษณุ”) คือ เป็นค่าเช่าหอพักส�ำหรับพนักงานที่จ่ายให้เวศม์ (ประกอบธุรกิจหอพัก) 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง วิษณุ
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
-
100,000.00
200,093.03
114,684.93 l โดย ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 KTBE ได้ท�ำสัญญาเช่าระยะยาวกับ สืบสิริสวัสดิ์ โดยอัตราค่าเช่าที่ดินคือ 200,000 บาทต่อ ปี และจะเพิ่มขึ้นตามอัตราการเปลี่ยนแปลง ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี นับแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2554 โดยสัญญาดัง กล่าวมีอายุทั้งสิ้น 30 ปี และให้สิทธิ์บริษัทฯ ในการต่ออายุได้อีก 30 ปี
215,682.07 l KTBE เช่าที่ดินของสืบสิริสวัสดิ์ เนื้อที่ 48 ไร่ 44 ตารางวา ที่ตำ� บลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ เพือ่ ประโยชน์คอื เป็นทาง เข้าออกโรงงานของ KTBE โดยราคา และ เงื่อนไขการเช่าเป็นราคา และเงื่อนไขการเช่า ที่ดีกว่าราคาตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 4,277,752.00 3,684,070.00 l กลุ่มบริษัทฯ เช่าหอพักให้พนักงาน จาก เวศม์ วิ ษ ณุ ซึ่ ง เป็ น เจ้ า ของหอพั ก ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลหนองโพ อ� ำ เภอตาคลี จั ง หวั ด นครสวรรค์ ซึ่งใกล้กับโรงงานของ KTBE 396,520.00 340,390.00 และ EPPCO เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับ พนักงานและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของบริษัทฯ และการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ l โดยราคาเช่าห้องละ 3,000.- บาทต่อเดือน ซึ่งเป็นราคาตลาดในละแวกนั้น ซึ่งหากคิด เป็นผลตอบแทนเทียบกับทรัพย์สนิ ของเวศม์ วิษณุแล้ว อยูใ่ นเกณฑ์ที่ไม่สงู ไปกว่าบริษทั อืน่ ในตลาดเช่าหอพักทั่วไป
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
139
12. บริษัท ศิริเจริญเอ็กซ์ ปอร์ต จ�ำกัด (“ศิริ เจริญ”) (ประกอบธุ ร กิ จ การค้ า และอื่น ๆ)
11. บริษัท ร่วมทุนเทรด ดิ้งนครสวรรค์ จ�ำกัด (“ร่วมทุนเทรดดิ้ง นครสวรรค์”) (ประกอบธุ ร กิ จ ขนส่ ง สินค้า)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ลูกหนี้อื่น ค่าน�ำ้ ตาลและค่าเปลี่ยนถ่ายน�ำ้ ตาล
เงินค�ำ้ ประกัน – ค่าขนส่ง เงินค�ำ้ ประกันค่าขนส่ง
รายได้อื่น ค่าวัสดุ และเงินชดเชยค่าน�ำ้ ตาลเสียหาย
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค้างค่าบรรทุก ค่าขนส่งน�ำ้ ตาลค้างจ่าย
ค่าบรรทุกน�ำ้ ตาลทราย TIS จ่ายค่าบรรทุกขนส่งน�้ำตาลทรายไปเก็บที่ คลังสินค้าให้ ร่วมทุนเทรดดิ้งนครสวรรค์
ลักษณะรายการ
มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ เจ้าหนี้เงินกู้ยืมในการปรับโครงสร้างหนี้ (1) นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล l TIS มีภาระเงินกู้กับ ศิริเจริญ l มีกรรมการ บุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกันถือหุน้ l ดอกเบีย้ จ่าย ในศิริเจริญ คือ l ดอกเบีย ้ ค้างจ่าย นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล บริษัทที่เกี่ยวข้องถือหุ้นใน ศิริเจริญ คือ 1. บจ.จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง 2. บจ.น�้ำตาลเอกผล
l
มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ (1) นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล l มีบริษัทที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นในร่วมทุน เทรดดิ้งนครสวรรค์ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง
l
ลักษณะความสัมพันธ์
82,450,000.00 342,167.50 598,319,491.06
-
l
ในอดีต TIS มีหนี้สินกับสถาบันการเงิน ต่อ 77,600,000.00 มา ในช่วงปี พ.ศ.2550 – 2551 ศิริเจริญซึ่ง 322,040.00 มีผถู้ อื หุน้ ส่วนใหญ่ ได้แก่ นางเนาวรัตน์ หวัง 568,641,531.06 ปรีดาเลิศกุล ร้อยละ 62.5 บริษทั น�ำ้ ตาลเอก ผล จ�ำกัด ร้อยละ 25.0 และนายมนตรี เล็ก วิจติ รธาดา ร้อยละ 12.4 ได้ซอื้ หนีส้ นิ ของ TIS ทั้งหมดจากสถาบันการเงินดังกล่าว ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของการปรับโครงสร้างหนี้ของ TIS l TIS และ ศิริเจริญ ท�ำสัญญาปรับโครงสร้าง หนี้ ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็นวันที่ศาลล้มละลายกลาง มีค�ำสั่งยกเลิกให้ฟื้นฟูกิจการของ TIS โดย
1,692.50
มูลค่ารายการ (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 4,896,879.88 7,188,345.71 l บริ ษั ท ฯ และ TIS จ้ า งร่ ว มทุ น เทรดดิ้ ง นครสวรรค์เพื่อขนส่งน�้ำตาลทรายไปเก็บที่ คลังสินค้า เพือ่ ความสะดวกและประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไข 48,164.47 622,957.31 ทางการค้ า เป็ น ไปตามราคา และเงื่ อ นไข ทางการค้าในอัตราตลาด l บริษท ั ฯ จะหักเงินค�ำ้ ประกันค่าขนส่งไว้รอ้ ยละ 12,710.28 10,310.75 10 เพื่อเป็นหลักประกัน กรณีที่มีค่าเสียหาย จากการขนส่ง โดยบริษทั ฯ จะคืนเงินดังกล่าว ภายหลังการส่งมอบสินค้าเสร็จสิ้น 197,517.79 794,881.31
140
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ลักษณะความสัมพันธ์
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการ (บาท) ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 TIS จะด� ำ เนิ น การผ่ อ นช� ำ ระยอดหนี้ เ งิ น ต้น และดอกเบี้ยค้างจ่ายดังกล่าวภายใน ระยะเวลา 20 ปี นอกจากนี้ ศิริเจริญ จะ คิดดอกเบี้ยที่อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออม ทรัพย์เฉลี่ยของ 3 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคาร กสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) จากยอดเงินคงค้างรวมกับดอกเบีย้ ค้างจ่าย l ทัง ้ นี้ สัญญาปรับโครงสร้างหนีด้ งั กล่าวได้ถกู เปิดเผยไว้ ในส่วน 2 หัวข้อ 13.5 สัญญาปรับ โครงสร้างหนี้ l อย่างไรก็ดี เมือ ่ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ลูกหนี้ และเจ้าหนี้ ได้ตกลงแก้ ไขสัญญาปรับ โครงสร้างหนี้ โดยสัญญาปรับโครงสร้าง หนี้ฉบับแก้ ไข มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งลูกหนี้ตกลงที่จะ ช�ำระหนี้คงค้างแบ่งเป็นเงินต้น 97,000,000 บาท และดอกเบีย้ ค้างจ่าย 687,156,121.56 บาท ให้กับเจ้าหนี้ โดยบริษัทฯ เห็นว่าการ แก้ ไขสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ดังกล่าวเป็น ผลดีกบั บริษทั ฯ โดยท�ำให้ บริษทั น�ำ้ ตาลไทย เอกลักษณ์ จ�ำกัด ในฐานะลูกหนี้มีภาระใน การช�ำระหนี้ลดลง (โปรดดูรายละเอียดการ แก้ ไขสัญญาในส่วน 2 หัวข้อ 13.5 สัญญา ปรับโครงสร้างหนี้)
ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
141
13. บริษัท รวมผล อุตสาหกรรม นครสวรรค์ จ�ำกัด (“RPE”) (ประกอบธุ ร กิ จ การค้ า และอื่น ๆ)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
มีกรรมการร่วมกัน 6 ท่านได้แก่ (1) นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล (2) นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล (3) นายณัฏฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล (4) นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี (5) นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ (6) นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล l มี ผู้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ที่ เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน RPE คือ 1. บจ. ศิริเจริญเอ็กซ์ปอร์ต 2. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง
l
ลักษณะความสัมพันธ์
ค่าไฟฟ้า ค่าไฟฟ้า
ค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าที่ดิน
ต้นทุนทางการเงิน ดอกเบีย้ จ่ายตามสัญญาเช่าทางการเงินอาคาร และเครื่องจักร
ดอกเบี้ยค้างจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่ายตามสัญญาเช่าทางการเงิน
หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินอาคารและ เครื่องจักร
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าที่ดินโรงงานจ่ายล่วงหน้า
ลูกหนี้เงินประกันค่าเช่าโรงงาน เงินประกันค่าเช่าที่ดินโรงงานน�้ำตาล และค่าเช่า เครื่องจักร
รายจ่ายค่าเช่าที่ดิน KTIS จ่ายค่าเช่าที่ดิน
ลักษณะรายการ
-
824,800.00
824,800.00 • บริษัทฯ เช่าที่ดินจาก RPE เพื่อเพื่อประกอบ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ โดยราคาและเงื่ อ นไข ทางการเช่ า เป็ น ไปตามราคาและเงื่ อ นไข 178,811.52 ทางการค้าในอัตราตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 5,300,000.00 5,300,000.00 l บริษทั ฯ เช่าทีด่ นิ ของ RPE เนือ้ ที่ 173 ไร่ 95.9 ตารางวา ที่ต�ำบลบ้านมะเกลือ อ�ำเภอเมือง นครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ซึ่งเป็นส่วน 101,000,000.00 101,000,000.00 หนึ่งของการเช่าสินทรัพย์ โรงงานน�้ำตาล ทรายของ RPE เพื่อประกอบธุรกิจของบ ริษัทฯ l สัญญาเช่าที่ดินดังกล่าวได้ถูกท�ำขึ้น ณ วัน 3,312,499.99 3,312,499.99 ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 โดยมีค่าเช่า เท่ากับ 5,300,000 บาทต่อปี และจะมีการ ปรับขึ้นได้ทุกรอบ 5 ปี ตามอัตรารวมของ 805,960,964.41 798,916,670.50 ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี และจะปรับเพิ่มไม่เกินกว่าร้อยละ 20 ของค่า เช่าในปีก่อนที่จะมีการปรับขึ้นค่าเช่า l สั ญ ญาดั ง กล่ า วมี อ ายุ 30 ปี แ ละให้ สิ ท ธิ 33,245,889.76 32,955,312.65 บริษัทฯในการต่ออายุได้อีก 30 ปี l อัตราค่าเช่าดังกล่าวเป็นไปตามราคาประเมิน โดยผู้ประเมินอิสระ 2 ราย ได้แก่บริษัท ไนท์ แฟรงค์ชาร์เตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เมื่อ 89,092,008.08 88,365,128.98 วันที่ 8 พฤษภาคมพ.ศ. 2555 และ บริษัท ซาลแมนน์ (ฟาร์อีสท์) จ�ำกัด เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
142
มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านได้แก่ (1) นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล l มี ผู้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ที่ เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน นครสวรรค์ร่วม ทุน คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง
15. บริษัท นครสวรรค์ ร่วมทุนพัฒนา จ�ำกัด (“นครสวรรค์ร่วมทุน พัฒนา”) (ประกอบธุรกิจขนส่ง สินค้า)
l
มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่านได้แก่ (1) นายปรีชา อรรถวิภัชน์ (2) นางสาวฉั่ว อิง อิง (3) นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล l มี ผู้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ที่ เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน SSPW คือ 1. บจ.น�้ำตาลเอกผล
l
ลักษณะความสัมพันธ์
14. บริษัท ศิริเจริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จ�ำกัด (“SSPW”) (ประกอบธุรกิจโรงแรม และรีสอร์ท)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
-
เจ้าหนี้อื่น เงินค่ากองทุนพัฒนาไฟฟ้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าขนส่งน�ำ้ ตาลค้างจ่าย
ค่าบรรทุกน�ำ้ ตาลทราย ค่าขนส่งน�ำ้ ตาลไปเก็บที่คลังสินค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าเช่าห้องพักฯ ค้างจ่าย
48,164.47
4,528,722.91
-
18,450.00
-
ลูกหนี้อื่น ค่าภาษีโรงเรือนค้างรับ
ค่าที่พักรีสอร์ท ค่าเช่าห้องพักรีสอร์ท
-
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าไฟฟ้าค้างจ่าย
ลักษณะรายการ
ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล
6,875,055.69 l TIS จ้างนครสวรรค์ร่วมทุนพัฒนา ขนส่ง น�้ำตาลไปเก็บที่คลังสินค้า เพื่อความสะดวก ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทางธุรกิจ โดย ราคาและเงือ่ นไขทางการค้าเป็นไปตามราคา และเงื่อนไขทางการค้าในอัตราตลาด
1,241,766.36 l กลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ ได้ เ ช่ า ห้ อ งพั ก รี ส อร์ ท จาก SSPW ซึ่งเป็น เจ้าของรีสอร์ท ตั้งอยู่เลขที่ 1/79 หมู่ที่ 2 ต�ำบลแก่งโสภา อ�ำเภอวังทอง 367,630.00 จังหวัดพิษณุโลก เพื่อ ใช้เป็นที่พัก และที่ ประชุม สัมนาของพนักงานในกลุ่ม KTIS หรือใช้เป็นที่รับรองแขกของบริษัทฯ และเป็น สถานที่จัดกิจกรรมเพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงื่อนไขการเช่าห้องพักรีสอร์ท เป็นไปตามราคาและเงื่อนไขในอัตราตลาด
127,054.79
-
-
มูลค่ารายการ (บาท) ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 12,411.41
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
143
17. บริษัท ภูมิพัฒนาธุรกิจ จ�ำกัด (“ภูมิพัฒนา ธุรกิจ”) (ประกอบธุรกิจ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์)
16. บริษัท ภูมิเลิศ บิซซิเนส จ�ำกัด (“PB”) (ประกอบ ธุรกิจให้เช่าเครื่องจักร กลการเกษตร)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
เงินค�ำ้ ประกัน – ค่าขนส่ง เงินค�ำ้ ประกันค่าขนส่ง
รายได้อื่น ค่าวัสดุและเงินชดเชยค่าน�ำ้ ตาลเสียหาย
ลักษณะรายการ
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า
มี ผู้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ที่ ค่าเช่าที่ดิน เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน ภูมิพัฒนาธุรกิจ ค่าเช่าที่ดิน คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิ้ง ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าเช่าที่ดินค้างจ่าย
l
เครื่องจักรกลการเกษตร บริษัทฯ และ TIS ซื้อรถอัดใบอ้อยจาก PB
มี ผู้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ที่ ค่าเช่ารถอัดใบอ้อย เกี่ยวข้อง ถือหุ้นใน PB คือ KTIS และ TIS เช่ารถอัดใบอ้อย 1. บจ.รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าเช่ารถอัดใบอ้อยค้างจ่าย
l
ลักษณะความสัมพันธ์
-
-
6,041,928.04
22,037,383.17
-
3,000,000.00
-
ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล
6,055,873.19 l KTBF ได้เช่าที่ดินจาก ภูมิพัฒนา ธุรกิจ เพื่อใช้เป็นสถานที่ก่อสร้างโรงงานผลิตปุ๋ย ชีวภาพ และเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ - l บริษัทฯ และ TIS เช่าที่ดินจาก ภูมิพัฒนา ธุรกิจ เพือ่ ใช้ ในการปลูกอ้อย และใช้ประโยชน์ ในการด�ำเนินธุรกิจ 27,216.18 l EPPCO เช่าที่ดินจาก ภูมิพัฒนา ธุรกิจ จ�ำนวน 35 แปลง เนื้อที่ 459-0-87.3 ไร่ เพื่อ บริหารจัดการน�ำ้ เสียและกากสลัด
- l KTIS และ TIS เช่ารถอัดใบอ้อย เพื่ออัด ใบอ้ อ ย ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง เสริ ม เพื่ อ ความ สะดวก ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตาม ราคาและเงื่อนไขทางการค้าในอัตราตลาด l อัตราค่าเช่าชุดละ 1,000,000.-บาทต่อ 1 ฤดูการผลิต หรือ 120 วัน ค�ำนวณจากค่า เสื่อมที่เกิดขึ้นใน 1 ปี l KTIS และ TIS ซื้ อ รถอั ด ใบอ้ อ ย เพื่ อ อั ด ใบอ้ อ ย ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง เสริ ม เพื่ อ ความ สะดวก ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตาม ราคาและเงื่อนไขทางการค้าในอัตราตลาด
90,237.63
มูลค่ารายการ (บาท) ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 13,644.86 15,429.91
144
ลักษณะความสัมพันธ์
-
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า
วัสดุทั่วไป TIS ซื้อวัสดุทั่วไป
7,600.00
-
150,000.00
-
293,760.00
KTBE เช่า 35 แปลงเนือ้ ที่ 965 ไร่ เพือ่ บริหาร จัดการน�ำ้ เสีย l ราคา และเงือ ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและ เงื่อนไขการเช่าในอัตราตลาด l
ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล
- l บริษัทฯ ได้ซื้อรถยนต์ และ รถแทรกเตอร์ ใช้ งานแล้ว เพื่อความสะดวก ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงื่อนไข ทางการค้ า เป็ น ไปตามราคาและเงื่ อ นไข ทางการค้าในอัตราตลาด l TIS ซื้ อ วั ส ดุ ทั่ ว ไป ใช้ ง านแล้ ว เพื่ อ ความ สะดวก ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงื่อนไขทางการค้า เป็นไปตาม ราคาตลาด และเงื่อนไขทางการค้าในอัตรา ตลาด
293,760.00 l บริษัทฯ ได้เช่าที่ดินจาก อะโกร เอทานอล เพือ่ ใช้ ในการปลูกอ้อย และใช้ประโยชน์ในการ ด�ำเนินธุรกิจ - l EPPCO ได้เช่าที่ดินจาก อะโกร เอทานอล เพื่อใช้ประโยชน์ ในการด�ำเนินธุรกิจ l อัตรา และเงื่อนไขการเช่า เป็นไปตามราคา และเงื่อนไขการเช่าในอัตราตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าเช่าที่ดินค้างจ่าย
ค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าที่ดิน
ลักษณะรายการ
l มีบค ุ คลทีเ่ กีย่ วโยงกัน เป็นกรรมการ คือ ยานพาหนะ 19. บริษัท อาร์ แอนด์ ดับเบิ้ลยู ชูการ์ จ�ำกัด 1. นางศิรวิ รรณ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล เป็นภรรยา บริษัทฯ ซื้อรถยนต์ และรถแทรกเตอร์ นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล (“R&W”) (ประกอบธุรกิจ เจ้าหนี้อื่น ๆ ซื้อ-ขายสินค้า) เจ้ า หนี้ อื่ น ๆ จากการ ซื้ อ รถยนต์ และรถ แทรกเตอร์ จาก R&W
l มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านคือ 18. บริษัท อะโกร 1. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล เอทานอล จ�ำกัด l มีบริษัทที่เกี่ยวข้องถือหุ้นใน อะโกร (“อะโกร เอทานอล”) (ประกอบธุรกิจลงทุนใน เอทานอล คือ 1. บจ. น�้ำตาลเอกผล อสังหาริมทรัพย์)
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
145
ลักษณะความสัมพันธ์
21. บริษัท น�้ำตาลเกษตร ไทย จ�ำกัด (“KT”) (ประกอบธุรกิจการค้า และ อื่น ๆ)
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าเช่าที่ดินค้างจ่าย
ค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าที่ดิน
ลักษณะรายการ
l
มีบริษัทที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน KT คือ ค่าเช่าที่ดิน 1. บจ.น�้ำตาลเอกผล ค่าเช่าที่ดิน 2. บจ.ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าเช่าที่ดินค้างจ่าย
20. บริษัท อี.พี.ซี. l มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านคือ เพาเวอร์ จ�ำกัด 1. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล (“อี.พี.ซี. เพาเวอร์”) l มีบริษัทที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นใน อี.พี.ซี. (ประกอบธุรกิจลงทุนใน เพาเวอร์ คือ อสังหาริมทรัพย์) 1. บจ.น�้ำตาลเอกผล
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
-
1,920.00
1,920.00 l บริษัทฯ ได้เช่าที่ดินจาก KT เพื่อใช้ ในการ ปลูกอ้อย l อัตรา และ เงื่อนไขการเช่า เป็นไปตามราคา และเงื่อนไขการเช่าในอัตราตลาด
มูลค่ารายการ (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ปีบัญชีสิ้นสุด ปีบัญชี สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 5 วันที่ 31 ธ.ค. 60 182,400.00 182,400.00 l บริษัทฯ ได้เช่าที่ดิน จาก อี.พี.ซี. เพาเวอร์ เพื่อใช้ ในการปลูกอ้อย l KTBE ได้เช่าทีด ่ นิ จาก อี.พี.ซี. เพาเวอร์ เพือ่ ใช้ประโยชน์ ในการบริหารจัดการน�้ำเสีย และ ด�ำเนินธุรกิจ l อัตรา และเงือ ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและ เงื่อนไขการเช่าในอัตราตลาด
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ได้พิจารณาข้อมูลรายการระหว่างกันของบริษัทฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบกับการสอบถามข้อมูลต่างๆ จากฝ่ายบริหารของบริษัทฯ รวมทั้งการสอบทานข้อมูลตามที่ระบ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมเสมือนสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ แล้วเห็นว่า รายการระหว่างกันของบริษัทฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2560 เป็นรายการที่เป็นไปเพื่อการดำ�เนินธุรกิจตามปกติของบริษัทฯ และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป ในลักษณะเดียวกับ ทีว่ ญ ิ ญูชนจะพึงกระทำ�กับคูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำ�นาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีค่ สู่ ญ ั ญาอีกฝ่ายมีสถานะเป็น บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (Arm’s Length Basis) และไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ และบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน บริษัทฯ มีนโยบายและขั้นตอนการทำ�รายการระหว่างกัน เพื่อให้รายการระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งเป็นไปอย่างโปร่งใส และเพื่อเป็นการรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ การเข้าทำ�รายการระหว่างกันหรือรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์ฯ และประกาศของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ ในการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน ประกอบกับประกาศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกันรวมทั้งกฎเกณฑ์ต่างๆ ของ สำ�นักงานกลต. และ/ หรือในหมายเหตุตลาดหลักทรัพย์ฯ ทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนการปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดเกีย่ วกับการเปิดเผยรายการระหว่างกันในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (56-1) ด้วย ในกรณีที่กฎหมายกำ�หนดให้บริษัทฯ ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนการเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยง กันในเรื่องใด บริษัทฯ จะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบ ตรวจสอบและให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการดังกล่าว และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบจะ ถูกนำ�เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั หรือผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่กรณี เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการเข้าทำ�รายการตามทีเ่ สนอนัน้ เป็นไปเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ กรณีที่มีรายการระหว่างกันของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผู้ ให้ความเห็นเกี่ยวกับความจำ�เป็นในการเข้าทำ�รายการและความเหมาะสมด้านราคาของ รายการนัน้ ๆ โดยพิจารณาจากเงือ่ นไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการดำ�เนินธุรกิจปกติในอุตสาหกรรม และมีการเปรียบเทียบกับราคาของบุคคลภายนอก หรือราคาตลาด หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชำ�นาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ เป็นผู้ ให้ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพือ่ นำ�ไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี โดยกรรมการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะไม่มีสิทธิออกเสียงในรายการดังกล่าว อีกทั้งจะมีการเปิดเผยรายการระหว่างกัน ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ทั้งนี้ ในหลักการให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการทำ�ธุรกรรมดังกล่าวหากธุรกรรมเหล่านั้นมีข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชน พึงกระทำ�กับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำ�นาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง โดยบริษัทฯ จะต้องจัดทำ�รายงานสรุปการทำ�ธุรกรรมที่มีขนาดเกินกว่า 5,000,000 บาท เพื่อรายงานในการประชุม คณะกรรมการบริษัทในครั้งต่อไป
นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต การเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อย บริษัทฯ จะปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่มีผลใช้บังคับ หากบริษัทฯ ประสงค์จะเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อย บริษัทฯ จะปฏิบัติตามนโยบายและขั้นตอนที่ได้ กล่าวไว้ข้างต้นอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้แนวทางในการพิจารณาคือ ให้พิจารณาความจำ�เป็นของรายการต่อการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ และให้พิจารณาเปรียบเทียบราคากับรายการเทียบเคียงที่ทำ�กับบุคคลภายนอก (หากมี) รวมถึงพิจารณาสาระสำ�คัญของขนาดรายการด้วย อย่างไรก็ดี หากมีการเข้าทำ�รายการระหว่างกัน บริษัทฯ จะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของรายการ ดังกล่าว ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชำ�นาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดให้มีบุคคลที่มีความรู้ ความ ชำ�นาญพิเศษ เช่น ผู้สอบบัญชีหรือผู้ประเมินราคาทรัพย์สินที่มีความเป็นอิสระเป็นผู้ ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน โดยความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบหรือบุคคลที่มีความรู้ความชำ�นาญพิเศษ จะถูกนำ�ไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้น แล้วแต่ กรณี เพื่อให้มีความมั่นใจว่าการเข้าทำ�รายการดังกล่าวจะไม่เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ แต่เป็น การทำ�รายการที่บริษัทฯ ได้คำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นทุกราย
146
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน และฐานะทางการเงิน ภาพรวมของผลการด�ำเนินงานปี 2560 รายได้รวมประกอบด้วยรายได้จากการขายและการให้บริการ และรายได้อนื่ บริษทั มีรายได้รวมในปี 2560 ทัง้ สิน้ 18,193.0 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 3,096.8 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 20.5 จากปี 2559 ที่ 15,096.2 ล้านบาท เป็นผลมาจากรายได้จากการขายและการให้บริการ รวมทัง้ รายได้อนื่ ๆ ในปี 2560 สูงขึน้ รายได้จากการขายและการให้บริการในปี 2560 จ�ำนวน 17,524.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,519.0 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.8 จากปี 2559 ที่ 15,005.6 ล้านบาท ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณอ้อยที่เข้าหีบรวมของบริษัทในปีการผลิต 2559/2560 มากกว่าปีก่อนหน้า ประกอบกับคุณภาพอ้อยดีกว่า ส่งผลให้ปริมาณน�้ำตาลรวมที่ผลิตได้ ในปี 2560 จึงมากกว่า และปริมาณวัตถุดิบซึ่งเป็นผลพลอยได้การผลิตน�้ำตาลส�ำหรับธุรกิจต่อเนื่องจึงมากกว่า ปีก่อนหน้าด้วย รายละเอียดดังต่อไปนี้ ปีการผลิต
2558/2559
2559/2560
ประเทศไทย
ปริมาณอ้อย น้ำ�ตาลทราย กากน้ำ�ตาล
94.0 97.8 4.3
93.0 100.3 3.9
ล้านตัน ล้านกระสอบ (กระสอบละ 100 กิโลกรัม) ล้านตัน
บริษัท
ปริมาณอ้อย
7.5
8.7
ล้านตัน
น้ำ�ตาลทราย กากน้ำ�ตาล
7.2 0.4
9.4 0.4
ล้านกระสอบ (กระสอบละ 100 กิโลกรัม) ล้านตัน
แหล่งที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย
• รายได้สายธุรกิจน�้ำตาลในปี 2560 เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.0 จากปริมาณการขายน�้ำตาลต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับราคาขายน�้ำตาลเฉลี่ย สูงกว่าปีก่อน
• รายได้จากธุรกิจเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยในปี 2560 เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.7 จากปริมาณการขายเยื่อกระดาษเพิ่มขึ้นแม้ว่าราคาขาย เยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยเฉลี่ยลดลง
• รายได้จากธุรกิจเอทานอลในปี 2560 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยร้อยละ 1.2 จากราคาขายเอทานอลเฉลี่ยสูงขึ้นแม้ว่าปริมาณขายเอทานอลลดลง
• รายได้จากการขายไฟฟ้าในปี 2560 ลดลงร้อยละ 16.6 เนื่องจากโรงไฟฟ้าหยุดซ่อมบ�ำรุงใหญ่ในไตรมาสที่ 3 และช่วงต้นไตรมาสที่ 4
• รายได้จากการขายและการให้บริการอื่นในปี 2560 เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 จากการให้บริการจักรกลทางการเกษตร การขายปุ๋ย วัสดุปรับปรุง ดิน และยาปราบศัตรูพืช และอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้น รายได้อื่น
ก�ำไรจากสัญญาการซื้อขายน�ำ้ ตาลล่วงหน้าในปี 2560 อยู่ที่ 328.0 ล้านบาท ในขณะที่ ปี 2559 ขาดทุนจากสัญญาการซื้อขายน�้ำตาลล่วงหน้า 9.6 ล้านบาท ต้นทุนขายและการให้บริการในปี 2560 จ�ำนวน 14,271.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,102.2 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.3 จากปี 2559 ที่ 12,168.7 ล้านบาท เป็นสัดส่วนกับรายได้จากการขายและการให้บริการที่เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหารจ�ำนวน 2,942.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 70.3 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 จากปี 2559 ที่ 2,871.7 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากค่าใช้จ่ายด้านทรัพยากรบุคคล ค่าฝากน�ำ้ ตาลทราย ค่าขนส่ง ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญเพิ่มขึ้น บริษัทมีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนในปี 2560 จ�ำนวน 32.9 ล้านบาท เทียบกับปี 2559 ซึ่งมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 117.6 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายทางการเงินในปี 2560 เพิ่มขึ้น 16.0 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 ผลประโยชน์ภาษีเงินได้ ในปี 2560 ลดลง 122.6 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 98.6 จากปี 2559 จากสิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรจากส�ำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ลดลง เนื่องจากบัตรส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจเอทานอลและธุรกิจเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยทยอย หมดอายุในปี 2560 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
147
ตามปัจจัยที่กล่าวข้างต้น ในปี 2560 บริษัทมีผลการด�ำเนินงานที่ดีกว่าปี 2559 โดยมีกําไรสุทธิ 645.5 ล้านบาท เทียบกับปี 2559 ที่มีผลขาดทุน สุทธิ 512.5 ล้านบาท การวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน รายได้ รายได้จากการขายและการให้บริการ ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย รายได้จากการขายน้ำ�ตาล
ปี 2559 (ล้านบาท)
ปี 2560 (ล้านบาท)
เปลี่ยนแปลง (ล้านบาท)
เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
15,005.6 11,353.0 10,888.3
17,524.6 13,504.6 13,062.1
2,519.0 2,151.6 2,173.7
16.8% 19.0% 20.0%
447.0
442.6
(5.1)
-1.1%
17.0 3,652.6
4,020.0
(17.0) 367.4
(100%) 10.1%
896.1
1,260.8
364.6
40.7%
1,634.4
1,654.2
19.7
1.2%
รายได้จากการขายไฟฟ้า
699.6
583.7
(115.9)
(16.6)%
อื่น
422.5
521.4
98.9
23.4%
90.6
668.4
577.8
637.9%
15,096.2
18,193.0
3,096.8
20.5%
รายได้จากการขายกากน้ำ�ตาล ผลตอบแทนการผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาล ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รายได้จากการขายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย รายได้จากการขายเอทานอล
รายได้อื่น รายได้รวม แหล่งที่มา : ข้อมูลบริษัท
รายได้รวม บริษัทมีรายได้รวมในปี 2560 ทั้งสิ้น 18,193.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.5 จากปี 2559 ที่ 15,096.2 ล้านบาท รายละเอียดมีดังนี้ ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย รายได้ของธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายของบริษัทในปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 13,504.6 ล้านบาท และ 11,353.0 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.0 ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยส�ำคัญดังต่อไปนี้
• ปริมาณการขายน�ำ้ ตาลทรายในประเทศและต่างประเทศในปี 2560 เพิ่มขึ้น 41,698.9 ตัน หรือเท่ากับร้อยละ 5.5 จากปี 2559 เป็นผลมาจาก ปริมาณอ้อยที่เข้าหีบรวมของบริษัทในปีการผลิต 2559/2560 มากกว่าปี 2558/2559 ประกอบกับคุณภาพอ้อยที่ดีกว่า ส่งผลให้ปริมาณ น�้ำตาลรวมที่ผลิตได้ ในปี 2560 มากกว่าปี 2559
• ราคาขายน�้ำตาลทรายในประเทศเฉลี่ยปี 2560 อยู่ในระดับใกล้เคียงกับปี 2559 ซึ่งเป็นราคาควบคุมของทางราชการ
• ราคาขายน�้ำตาลทรายในต่างประเทศเฉลี่ยปี 2560 เท่ากับ 15,355.9 บาทต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.9 จาก 12,495.8 บาทต่อตัน ในปี 2559
แม้ว่าราคาน�้ำตาลทรายในตลาดล่วงหน้าปรับตัวลดลงค่อนข้างมากตั้งแต่กลางปี 2560 เป็นต้นมา แต่บริษัทฯ ยังสามารถท�ำราคาขายเฉลี่ย ล่วงหน้าได้ ในราคาที่สูงกว่าราคาเฉลี่ยของปี 2559
• ปริมาณการขายกากน�้ำตาลปี 2560 จ�ำนวน 93,909.9 ตัน ลดลงร้อยละ 13.4 จากปี 2559 ที่ขายได้ 108,493.4 ตัน
• ราคาขายเฉลี่ยของกากน�ำ้ ตาลปี 2560 เท่ากับ 4,712.6 บาทต่อตัน สูงขึ้นร้อยละ 14.2 จาก 4,126.2 บาทต่อตัน ปี 2559 ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
รายได้จากธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องของบริษัทฯ ปี 2560 เท่ากับ 4,020.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 จากปี 2559 ที่ 3,562.6 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจาก
148
(1) รายได้จากการขายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยปี 2560 ที่ 1,260.8 ล้านบาท สูงขึ้นร้อยละ 40.7 จากปี 2559 ที่ 896.1 ล้านบาท ซึ่งเป็น ผลจากปัจจัยดังต่อไปนี้
• ปริมาณการขายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยในปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 63,497.2 ตัน และ 40,985.3 ตัน ตามล�ำดับ หรือเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 54.9 เป็นการเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณการขายในประเทศและปริมาณการขายต่างประเทศ เป็นผลมาจากสภาวะเศรษฐกิจโลกที่เริ่มฟื้น ตัว ท�ำให้ผู้ ใช้เยื่อกระดาษกลับมาให้ความสนใจในเรื่องสิ่งแวดล้อมและหน่วยงานราชการมีการรณรงค์เรื่องการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ท�ำจากวัสดุ ธรรมชาติแทนการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากโฟม
• ราคาขายเฉลีย่ เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยในประเทศปรับตัวลดลงเป็น 19,720.1 บาทต่อตันในปี 2560 จากราคาขายเฉลีย่ 20,820.6 บาทต่อตัน ในปี 2559 และราคาขายเฉลีย่ เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยต่างประเทศก็ปรับตัวลดลงเป็น 19,890.7 บาทต่อตันในปี 2560 จากราคาขายเฉลีย่ ในปี 2559 ที่ 22,229.7 บาทต่อตัน เป็นผลมาจากการแข่งขันด้านราคาและค่าเงินบาททีแ่ ข็งค่าเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ กราฟต่อไปนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงของราคาเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยย้อนหลัง 3 ปี 850
ยูคาลิปตัส (CIF) ชานอ้อย (CFR)
750
650
550
พ.ย.60
ก.ย. 60
ก.ค. 60
พ.ค. 60
มี.ค. 60
ม.ค. 60
พ.ย. 59
ก.ย. 59
ก.ค. 59
พ.ค. 59
มี.ค. 59
ม.ค. 59
พ.ย. 58
ก.ย. 58
ก.ค. 58
พ.ค. 58
มี.ค. 58
ม.ค. 58
450
แหล่งที่มา: ข้อมูลจาก RISI+บริษัทฯ
(2) รายได้จากการขายเอทานอลในปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 1,654.2 ล้านบาท และ 1,634.4 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเท่ากับ ร้อยละ 1.2 ซึ่งเป็นผลจากปัจจัยดังต่อไปนี้
• ปริมาณการขายเอทานอลปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 65.6 ล้านลิตรและ 72.3 ล้านลิตร ตามล�ำดับ ลดลงร้อยละ 9.3 เป็นผลมาจากการ บริโภคเอทานอลภายในประเทศที่ทรงตัว ในขณะที่มีปริมาณเอทานอลจากโรงงานเอทานอลที่ผลิตจากมันส�ำปะหลังในตลาดเพิ่มขึ้น
• ราคาขายเอทานอลเฉลี่ยในประเทศปี 2560 เท่ากับ 25.22 บาทต่อลิตร เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 จากปี 2559 ที่ 22.60 บาทต่อลิตร ซึ่งเป็น ผลมาจากราคาน�้ำมันโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นและบริษัทฯ สามารถท�ำราคาขายเฉลี่ยได้ ในระดับดี
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
149
กราฟต่อไปนี้แสดงการปริมาณการบริโภคเอทานอลย้อนหลัง 3 ปี ล้านลิตรต่อวัน
4.03 3.85
3.7 2560 2559 3.2 2558
3.61
3.67
3.73
3.91 3.77
3.44
3.12
3.16
3.15
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
3.35
3.85
3.84
3.83
3.73 3.81
3.73
3.65 3.48
3.83
3.50 3.30
3.57
3.54
3.46
3.17
3.19
พ.ค.
มิ.ย.
3.28
3.23
3.17
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
3.62 3.48 3.27
3.31
ต.ค.
พ.ย.
3.55
2.7 เม.ย.
ธ.ค.
แหล่งที่มา: ข้อมูลจากกระทรวงพลังงาน
(3) รายได้จากการขายไฟฟ้าปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 583.7 ล้านบาท และ 699.6 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลงร้อยละ 16.6 เนื่องจากโรงไฟฟ้า เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ (KTBP) หยุดซ่อมบ�ำรุงใหญ่ในไตรมาสที่ 3 และช่วงต้นไตรมาสที่ 4 ของปี 2560 ในขณะเดียวกัน ราคาขายไฟฟ้าเฉลี่ย ต่อหน่วยปี 2560 เท่ากับ 2.96 บาท ลดลงร้อยละ 3.8 เมื่อเทียบกับราคาขายไฟฟ้าเฉลี่ยต่อหน่วยปี 2559 ที่ 3.08 บาท
(4) รายได้จากการขายและบริการอื่นๆ ปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ 521.4 ล้านบาท และ 422.5 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 ซึ่งเป็น ผลมาจากการให้บริการจักรกลทางการเกษตร การขายปุ๋ย วัสดุปรับปรุงดิน ยาปราบศัตรูพืช และอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้น รายได้อื่น - บริษัทฯ มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนปี 2560 จ�ำนวน 32.9 ล้านบาท - ก�ำไรจากสัญญาการซื้อขายน�ำ้ ตาลล่วงหน้าปี 2560 จ�ำนวน 328.0 ล้านบาท - รายได้อื่นๆ ปี 2560 จ�ำนวน 307.5 ล้านบาท จากเงินชดเชยจากการยกเลิกสัญญาต่างประเทศ ค่าสิทธิโควต้า ข และอื่นๆ ต้นทุนขายและการให้บริการ และก�ำไรขั้นต้น
ต้นทุนขายและการให้บริการปี 2560 เท่ากับ 14,271.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.3 จากปี 2559 ที่ 12,168.7 ล้านบาท เป็นสัดส่วนตามรายได้ จากการขายและการให้บริการที่เพิ่มขึ้น ต้นทุนขายและการให้บริการ และอัตราก�ำไรขั้นต้นในปี 2560 เทียบกับปี 2559 แสดงในตารางข้างล่าง รายได้ รายได้จากการขายและการให้บริการ ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ต้นทุนขายและการให้บริการ ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
150
ปี 2559 (ล้านบาท) 15,005.6 11,353.0 3,652.6 12,168.7 9,406.3 2,762.4
ปี 2560 (ล้านบาท) 17,524.6 13,504.6 4,020.0 14,271.0 11,320.3 2,950.6
เปลี่ยนแปลง (ล้านบาท) 2,519.0 2,151.6 367.4 2,102.2 1,914.0 188.2
เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ) 16.8% 19.0% 10.1% 17.3% 20.3% 6.8%
รายได้ กำ�ไรขั้นต้น ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง อัตรากำ�ไรขั้นต้น ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
ปี 2559 (ล้านบาท) 2,836.9 1,946.7 890.2 18.9% 17.1% 24.4%
ปี 2560 (ล้านบาท)
เปลี่ยนแปลง (ล้านบาท)
3,253.7 2,184.3 1,069.4 18.6% 16.2% 26.6%
เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
416.8 237.6 179.2
14.7% 12.2% 20.1% -0.3% -1.0% 2.2%
แหล่งที่มา : ข้อมูลบริษัท
ก�ำไรขั้นต้นรวมปี 2560 เท่ากับ 3,253.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากก�ำไรขั้นต้นรวมปี 2559 ที่ 2,836.9 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.7 ก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายเพิ่มขึ้นมีสาเหตุหลักมาจาก
• ปริมาณขายน�้ำตาลรวมปี 2560 จ�ำนวน 797,919.7 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5 จากปี 2559 ที่ 756,220.8 ตัน
• ราคาขายน�้ำตาลเฉลี่ยปี 2560 อยู่ที่ 16,370.2 บาทต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.7 เทียบกับปี 2559 ที่ 14,398.4 บาทต่อตัน
ก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องปรับตัวสูงขึ้น จากสาเหตุหลัก คือ
• ปริมาณขายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยรวมในปี 2560 เท่ากับ 63,497.2 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 54.9 จากปี 2559 ที่ 40,985.3 ตัน แม้ว่า ราคาขายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยเฉลีย่ ลดลงร้อยละ 9.2 จาก 21,865.1 บาทต่อตันในปี 2559 เหลือ 19,855.4 บาทต่อตัน ในปี 2560
• ราคาขายเอทานอลเฉลี่ยในปี 2560 เท่ากับ 25.22 บาทต่อลิตร เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 จากจากปี 2559 ที่ 22.60 บาทต่อลิตร แม้ว่าปริมาณขาย เอทานอลจะลดลงร้อยละ 9.3 จาก 72.3 ล้านลิตร ในปี 2559 เหลือ 65.6 ล้านลิตร ในปี 2560 ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร
ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหารปี 2560 จ�ำนวน 2,941.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 จากปี 2559 ที่ 2,871.7 ล้านบาท จากสาเหตุหลัก ได้แก่ ค่าใช้จ่ายด้านทรัพยากรบุคคล ค่าขนส่งน�้ำตาลทราย และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญเพิ่มขึ้น ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินปี 2560 เท่ากับ 332.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 16.0 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 จากปี 2559 ที่ 317.0 ล้านบาท กําไรสุทธิ และอัตราก�ำไรสุทธิ ปี 2560 บริษัทมีกำ� ไรสุทธิ 645.5 ล้านบาท เทียบกับปี 2559 ที่ขาดทุนสุทธิ 512.5 ล้านบาท โดยอัตราก�ำไรสุทธิในปี 2560 และปี 2559 เท่ากับ ร้อยละ 3.68 และ (3.42) ตามล�ำดับ การวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สินทรัพย์รวมของบริษัทเท่ากับ 17,816.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.0 จากปี 2559 ที่ 16,052.3 ล้านบาท
• สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 6,200.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,983.2 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.0 จากปี 2559 ที่ 4,217.7 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก
• สินค้าคงเหลือสุทธิ ณ สิ้นปี 2560 จ�ำนวน 4,047.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2559 จ�ำนวน 2,186.3 ล้านบาท โดยรายการหลัก คือ สินค้า ส�ำเร็จรูปเพิ่มขึ้น 2,188.5 ล้านบาท
• สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 11,615.3 ล้านบาท ลดลง 219.4 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.9 จากปี 2559 11,834.6 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
151
• ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิจากค่าเสื่อมราคาของอาคาร เครื่องจักร และอุปกรณ์ ลดลง 337.2 ล้านบาท (รายละเอียดตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 15) หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 หนี้สินรวมของบริษัทเท่ากับ 9,704.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.9 จากหนี้สินรวมปี 2559 ที่ 8,230.8 ล้านบาท
• หนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 5,583.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,940.9 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.3 จากปี 2559 ที่ 3,642.9 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก
• เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 1,299.1 ล้านบาท • เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้น 545.8 ล้านบาท • ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจากส�ำนักงานกองทุนอ้อยและน�้ำตาลที่ถึงครบก�ำหนดช�ำระในหนึ่งปีเพิ่มขึ้น 58.3 ล้านบาท
• หนี้สินไม่หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 4,120.1 ล้านบาท ลดลง 467.8 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 10.2 จากปี 2559 ที่ 4,587.9 ล้านบาท จากการทยอยช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวให้กับสถาบันการเงิน ส่วนของผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทเท่ากับ 8,112.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 จากปี 2559 ที่ 7,821.5 ล้านบาท จาก ผลประกอบการที่มีกำ� ไรในปี 2560 สภาพคล่องและความเพียงพอของเงินทุน บริษัทได้ยกระดับความสัมพันธ์และความร่วมมือกับสถาบันการเงินต่างๆ โดยเน้นความเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ (Strategic Partner) เป็นคู่คิด และเติบโตไปด้วยกัน ซึ่งในช่วงที่ผ่านมา บริษัทได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินร่วมกับสถาบันการเงินต่างๆ เช่น บริการ Cash Management ทีค่ รบวงจร บริการขายลดเช็คอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ท�ำให้สถาบันการเงินมีความเชือ่ มัน่ และให้การสนับสนุนวงเงินทุนหมุนเวียนทีเ่ พียงพอ รวมถึงความพร้อมที่จะมีส่วนร่วมสนับสนุนโครงการลงทุนต่างๆ ในอนาคตของบริษัท กระแสเงินสด ในปี 2560 บริษัทมีก�ำไรสุทธิ 645.5 ล้านบาท และมีค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 1,269.2 ล้านบาท และปรับปรุงกับรายการอื่นที่มิได้เป็น เงินสดแล้ว ท�ำให้บริษัทมีก�ำไรจากกิจกรรมด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน 2,798.9 ล้านบาท และเมื่อค�ำนวณจาก ส่วนเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงานแล้ว ยังคงมีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงานหลังจ่ายดอกเบี้ยและภาษีเงินได้จำ� นวน 514.6 ล้านบาท โดยมีเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน 907.5 ล้านบาท และมีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน 383.1 ล้านบาท ส่งผลให้รายการเงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิเท่ากับ 9.8 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยกมาต้นงวด 339.4 ล้านบาท ท�ำให้เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดปลายปีคงเหลือ 329.7 ล้านบาท สภาพคล่องทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่องตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 1.11 เท่า ใกล้เคียงกับปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 1.16 เท่า และอัตราส่วน สภาพคล่องหมุนเร็วเท่ากับ 0.17 เท่า ลดลงจากปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 0.28 เท่า การที่บริษัทได้พัฒนาระบบบริหารจัดการเงินสดร่วมกับสถาบันการเงิน โดยใช้บริการทั้งกลุ่มบริษัท ท�ำให้บริษัทสามารถน�ำกระแสเงินสดส่วนเกิน ในแต่ละวันช�ำระคืนหนี้วงเงินทุนหมุนเวียนได้ และกรณีที่บริษัทมีความจ�ำเป็นต้องใช้เงินก็สามารถเบิกใช้จากวงเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละวันได้เช่นกัน การ ด�ำเนินการดังกล่าวท�ำให้บริษัทสามารถประหยัดต้นทุนทางการเงินลงได้ รวมถึงที่บริษัทมีตลาดการเงินเป็นทางเลือกในการสนับสนุนวงเงินทุนหมุนเวียน ประเภทตั๋วแลกเงินระยะสั้น ส่งผลให้บริษัทมีสภาพคล่องทางการเงินที่ดีมาก และมีต้นทุนทางการเงินที่เหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทาง ธุรกิจทั้งระยะสั้นและระยะยาว แหล่งที่มาและใช้ ไปของเงินทุน ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน บริษัทมีนโยบายในการบริหารโครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทและสร้างเสริมมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึงการป้องกันความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทได้ด�ำเนินการปรับโครงสร้างทางการเงินของบริษัทและบริษัทย่อยตั้งแต่ปี 2558 เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทได้ปรับความ สมดุลระหว่างหนี้ระยะสั้นและหนี้ระยะยาว เพื่อลดภาระต้นทุนทางการเงินของกลุ่มบริษัท โดยได้กู้ยืมเงินระยะยาว 4,000 ล้านบาท จากสถาบันการเงินใน
152
ประเทศแห่งหนึ่งเพื่อน�ำไปเพิ่มทุนในบริษัทย่อย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสภาพคล่อง และน�ำไปช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีต้นทุนทางการเงินที่สูงกว่า ส่วนที่เหลือจากการเพิ่มทุนในบริษัทย่อย ทางบริษัทได้น�ำไปลดภาระหนี้ระยะสั้นของกิจการ นอกจากนี้บริษัทได้ท�ำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยจาก อัตราดอกเบี้ยลอยตัวเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ท�ำให้สามารถควบคุมต้นทุนทางการเงินได้ โดยในปี 2560 บริษัท คงเหลือเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 2,246.9 ล้านบาท อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio) เท่ากับ 1.20 เท่า เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ซึ่งอยู่ที่ 1.05 เท่า โดยอัตราส่วนดังกล่าวไม่ ก่อให้เกิดความเสีย่ งอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อบริษทั แต่ประการใด ทัง้ นี้ บริษทั ยังมีความสามารถในการก่อหนี้ เพือ่ ใช้ ในการด�ำเนินงานของบริษทั และบริษทั ย่อย รวมถึงเพิ่มโอกาสการลงทุนในโครงการอนาคต รายจ่ายลงทุนและแหล่งเงินทุน ในปี 2560 บริษัทมีเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน 907.5 ล้านบาท ส่วนมากเป็นเงินลงทุนในการปรับปรุงเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต ซึ่งใช้เงินทุนหมุนเวียนของบริษัทตามปกติ โดยบริษัทได้ ใช้เงินลงทุนจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชนในโครงการโรงไฟฟ้า ชีวมวล จ�ำนวน 2 โครงการ และโครงการผลิตน�้ำเชื่อมและน�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์พิเศษครบถ้วน และทั้ง 3 โครงการได้เริ่มด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ครบแล้ว ปัจจัยหรือเหตุการณ์ที่จะมีผลต่อฐานะการเงินหรือการด�ำเนินงานในอนาคต ปัจจัยความไม่แน่นอนในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงอยู่ในสภาวะไม่มีเสถียรภาพ โดยเฉพาะสถานการณ์ทางการเมืองของสหรัฐอเมริกา นโยบายการปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ ของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาซึง่ ส่งผลกระทบต่ออัตราดอกเบีย้ ของประเทศไทย และอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราระหว่าง ดอลลาร์สหรัฐและเงินบาท ในขณะที่ ประเทศไทยยังคงมีทุนส�ำรองระหว่างประเทศที่เข้มแข็ง มีดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดที่ดีอย่างต่อเนื่อง และมีนโยบายการลงทุน ภาครัฐขนาดใหญ่ ล้วนแล้วแต่ท�ำให้การด�ำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในปี 2561 น่าจะเป็นอีกปีที่ดีสำ� หรับประเทศไทย แต่ก็ต้องระมัดระวัง ปัจจัยภายนอกประเทศดังกล่าวข้างต้น จากการที่ภาครัฐได้มีนโยบายให้ท�ำการยกเลิกระบบโควตาจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย และยกเลิกราคาควบคุมการจ�ำหน่ายน�้ำตาลภายในประเทศ ประกอบกับความต้องการของลูกค้าน�้ำตาลภายในประเทศโดยเฉพาะอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ใช้น�้ำตาลเป็นวัตถุดิบ และประชาชนผู้บริโภคน�้ำตาลทางตรง การจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายภายในประเทศจึงมีความเสี่ยงเรื่องการแข่งขันที่สูงขึ้น เพราะผู้ผลิตแต่ละรายสามารถที่จะจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายภายในประเทศ ได้อย่างเต็มที่ บริษัทฯ ได้คำ� นึงถึงความเสี่ยงในด้านดังกล่าว และได้เตรียมแผนงานการตลาด รวมถึงการลงทุนเพิ่มเครื่องจักรอุปกรณ์เพื่อผลิตสินค้าที่ดี ที่สุดตามความคาดหวังหรือความต้องการของลูกค้าในทุกรูปแบบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ดำ� เนินการทบทวนนโยบาย ติดตามประเมินความเสี่ยงอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า การด�ำเนินการตาม มาตรการและแผนบริหารความเสี่ยงในแต่ละด้าน สามารถควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได้ตามที่ระบุไว้ ในหัวข้อปัจจัยความเสี่ยง
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
153
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ได้จัดให้มีการท�ำ งบการเงิ น เพื่ อ แสดงฐานะทางการเงิ น และผลการด� ำ เนิ น งานบริ ษั ท ฯ ประจ� ำ ปี 2560 ภายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ บริษัทมหาชน จ�ำกัด พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 และพระราชบัญญัติหลักทรัพท์และตลาด หลักทรัพท์ พ.ศ.2535 รวมถึงประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนเรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงาน การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะกรรมการบริษัทจดทะเบียนในการ เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ งบการเงิ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย รวมถึ ง ข้ อ มู ล สารสนเทศทางการเงิ น ที่ ป รากฎใน รายงานประจ�ำปี 2560 ซึง่ งบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป โดยใช้นโยบายบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอ ตลอดจนใช้ดุลยพินิจอย่างรอบคอบและสมเหตุสมผลในการจัดท�ำงบการเงิน บริษัทฯ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ ต่อผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทัว่ ไปอย่างโปร่งใส นอกจากนัน้ คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มแี ละด�ำรงรักษาไว้ซงึ่ ระบบบริหารความเสีย่ งและระบบควบคุมภายใน ที่มีประสิทธิผลเพื่อให้มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีความถูกต้องครบถ้วนและเพียงพอที่จะ ด�ำรงรักษาไว้ซงึ่ ทรัพย์สนิ ของบริษทั และเพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการด�ำเนินทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ ท�ำหน้าทีส่ อบทานเกีย่ วกับคุณภาพทางการเงินและความเพียงพอของระบบควบคุมภายในโดยความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ แสดงไว้ ในรายงานประจ�ำปีฉบับนีแ้ ล้ว คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ โดนรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจและ สามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลได้ว่างบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีความเชือ่ ถือได้ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ถูกต้องตามกฏหมาย
นายปรีชา อรรถวิภชั น์ ประธานกรรมการ
154
นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ KTIS
รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต เสนอต่อผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงิ น รวมของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย (กลุ่ มบริ ษทั ) ซึ่ งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงิ น รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวม สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผลการดาเนินงานและ กระแสเงินสดสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกันของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และเฉพาะของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรค ความรั บผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระ จากกลุ่มบริ ษทั ตามข้อกาหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีที่กาหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่ วน ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณอื่น ๆ ตามที่ระบุ ในข้อกาหนดนั้นด้วย ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
155
เรื่องสาคัญในการตรวจสอบ เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบคือเรื่ องต่าง ๆ ที่มีนยั สาคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้า ในการตรวจสอบงบการเงินสาหรับงวดปั จจุบนั ข้าพเจ้าได้นาเรื่ องเหล่านี้มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบ งบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสาหรับ เรื่ องเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้วรรคความรั บผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบ งบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ซึ่ งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่ องเหล่านี้ดว้ ย การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้าได้ รวมวิธีการตรวจสอบที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองต่อการประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อ ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมวิธีการตรวจสอบ สาหรับเรื่ องเหล่านี้ดว้ ย ได้ใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธีการตรวจสอบสาหรับแต่ละเรื่ องมีดงั ต่อไปนี้ มูลค่ าสุ ทธิทคี่ าดว่ าจะได้ รับของสิ นค้ าคงเหลือของส่ วนงานธุรกิจผลิตและจาหน่ ายนา้ ตาลทราย กลุ่มบริ ษทั มีสินค้าคงเหลือของส่ วนงานธุ รกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทรายเป็ นจานวนที่มีนยั สาคัญ โดยมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เป็ นจานวนเงินประมาณ 4,039 ล้านบาท เนื่องจากน้ าตาลทราย เป็ นสิ นค้าโภคภัณฑ์ และราคาของสิ นค้าถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดโลก ทาให้ราคาของ น้ าตาลทรายเพื่อการส่ งออกมีการปรับตัวขึ้นลงตามราคาตลาด ดังนั้น การประมาณการมูลค่าสุ ทธิที่คาดว่า จะได้รับของสิ นค้าคงเหลือต้องอาศัยดุลยพินิจของฝ่ ายบริ หารค่อนข้างมากในการวิเคราะห์ในรายละเอียดเกี่ยวกับ การแข่งขันทางการตลาด สภาพเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม และการกาหนดเกณฑ์อา้ งอิงเพื่อใช้ประมาณการ ราคาจาหน่ายน้ าตาลเพื่อการส่ งออก ซึ่ งอาจทาให้เกิดความเสี่ ยงเกี่ยวกับมูลค่าของค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า สิ นค้าคงเหลือ ข้าพเจ้าได้ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินค่าเผื่อการลดลง ของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือของส่ วนงานธุ รกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ประเมินวิธีการ และข้อสมมติที่ฝ่ายบริ หารใช้ในการพิจารณาค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือดังกล่าวดังนี้
156
ทาความเข้าใจและสอบทานความเหมาะสมของเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า สิ นค้าคงเหลือ รวมถึงสอบทานความสม่าเสมอของการใช้เกณฑ์ดงั กล่าว วิเคราะห์เปรี ยบเทียบในรายละเอียดสาหรับสัญญาขายภายหลังวันที่ในงบการเงินกับราคาทุนของ สิ นค้าคงเหลือแต่ละกลุ่มสิ นค้า สอบทานความเหมาะสมของการประมาณการราคาขายในอนาคตของแต่ละกลุ่มสิ นค้าที่จดั ทาโดย ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั กับข้อมูลราคาน้ าตาลในตลาดโลก
2
การรับรู้รายได้ จากการขายน้าตาลต่ างประเทศ เนื่องจากรายได้จากการขายน้ าตาลเป็ นรายการที่มีสาระสาคัญที่สุดในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ และเป็ นตัวชี้ วดั หลักในแง่ผลการดาเนิ นงานของธุ รกิจซึ่ งผูใ้ ช้งบการเงินให้ความสนใจ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากการขายน้ าตาลต่างประเทศเป็ นจานวนเงินประมาณ 8,178 ล้านบาท (คิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 47 ของรายได้จากการขายและบริ การ) ประกอบกับบริ ษทั ฯมีสัญญาขายน้ าตาลต่างประเทศล่วงหน้า เป็ นจานวนมาก ดังนั้น กลุ่มบริ ษทั จึงมีความเสี่ ยงในการรับรู้รายได้จากการขายน้ าตาลต่างประเทศด้วยมูลค่า ที่ไม่เหมาะสมหรื อรับรู ้ก่อนถึงเวลาที่ควร ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบให้มนั่ ใจว่ากลุ่มบริ ษทั รับรู้รายได้จากการขายน้ าตาลต่างประเทศ เมื่อมีการโอนความเสี่ ยง และผลตอบแทนที่มีนยั สาคัญของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ้ื อ โดยการ
ประเมินความเหมาะสมและทดสอบความมีประสิ ทธิภาพของระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกับวงจรรายได้จากการขายน้ าตาลต่างประเทศ สุ่ มตัวอย่างสัญญาขายเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสมของการรับรู้รายได้วา่ เป็ นไปตามเงื่อนไข ที่ระบุไว้ในสัญญาขายของกลุ่มบริ ษทั และสอดคล้องกับนโยบายการรับรู้รายได้ของกลุ่มบริ ษทั สุ่ มตรวจสอบเอกสารประกอบรายการขายที่เกิดขึ้นในระหว่างปี และช่วงใกล้สิ้นรอบระยะเวลาบัญชี สอบทานใบลดหนี้ที่กลุ่มบริ ษทั ออกภายหลังวันสิ้ นรอบระยะเวลาบัญชี วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูลบัญชีรายได้จากการขายแบบแยกย่อย (Disaggregated data) เพื่อตรวจสอบ ความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นของรายการขาย
ข้ อมูลอืน่ ผูบ้ ริ หารเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่รวมอยูใ่ นรายงานประจาปี ของกลุ่มบริ ษทั (แต่ไม่รวมถึง งบการเงินและรายงานของผูส้ อบบัญชีที่แสดงอยูใ่ นรายงานนั้น) ซึ่ งคาดว่าจะถูกจัดเตรี ยมให้กบั ข้าพเจ้าภายหลัง วันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน้ ี ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ขอ้ สรุ ปในลักษณะการให้ ความเชื่อมัน่ ในรู ปแบบใด ๆ ต่อข้อมูลอื่นนั้น
3 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
157
ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่น นั้นมีความขัดแย้งที่มีสาระสาคัญกับงบการเงินหรื อกับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้าหรื อไม่ หรื อปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจาปี ของกลุ่มบริ ษทั ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุ ปได้วา่ มีการแสดงข้อมูล ที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ ข้าพเจ้าจะสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวให้ผมู้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลทราบเพื่อให้มี การดาเนิ นการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป ความรับผิดชอบของผู้บริ หารและผู้มีหน้ าทีใ่ นการกากับดูแลต่ องบการเงิน ผูบ้ ริ หารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทาและนาเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผบู้ ริ หารพิจารณาว่าจาเป็ นเพื่อให้สามารถ จัดทางบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อ ข้อผิดพลาด ในการจัดทางบการเงิน ผูบ้ ริ หารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มบริ ษทั ในการดาเนินงานต่อเนื่อง การเปิ ดเผยเรื่ องที่เกี่ยวกับการดาเนินงานต่อเนื่ องในกรณี ที่มีเรื่ องดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับ กิจการที่ดาเนินงานต่อเนื่ อง เว้นแต่ผบู ้ ริ หารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริ ษทั หรื อหยุดดาเนินงานหรื อไม่สามารถ ดาเนินงานต่อเนื่ องอีกต่อไปได้ ผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่ องดูแลกระบวนการในการจัดทารายงานทางการเงินของ กลุ่มบริ ษทั ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวม ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อ ข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผูส้ อบบัญชีซ่ ึ งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยูด่ ว้ ย ความเชื่อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมัน่ ในระดับสู งแต่ไม่ได้เป็ นการรับประกันว่าการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี จะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญที่มีอยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอาจเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสาคัญเมื่อคาดการณ์ อย่างสมเหตุสมผลได้วา่ รายการที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งแต่ละรายการหรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสิ นใจ ทางเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินเหล่านี้
4
158
ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัย เยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานดังต่อไปนี้ดว้ ย
ระบุและประเมินความเสี่ ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนอง ต่อความเสี่ ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญซึ่ งเป็ นผลมาจาก การทุจริ ตจะสู งกว่าความเสี่ ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริ ตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริ ง หรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิ ทธิผลของ การควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผบู้ ริ หารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ ทางบัญชีและการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ผบู้ ริ หารจัดทา สรุ ปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับกิจการที่ดาเนินงานต่อเนื่องของผูบ้ ริ หาร และสรุ ปจากหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ที่อาจเป็ นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนยั สาคัญต่อความสามารถของกลุ่มบริ ษทั ในการดาเนินงานต่อเนื่องหรื อไม่ หากข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุ ปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญ ข้าพเจ้าจะต้องให้ขอ้ สังเกตไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ในงบการเงิน หรื อหากเห็นว่าการเปิ ดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของข้าพเจ้าขึ้นอยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้กลุ่มบริ ษทั ต้องหยุดการดาเนินงาน ต่อเนื่องได้ ประเมินการนาเสนอ โครงสร้างและเนื้ อหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่างบการเงินแสดงรายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรหรื อไม่ รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรื อ ของกิจกรรมทางธุ รกิจภายในกลุ่มบริ ษทั เพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการ กาหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั ิงานตรวจสอบกลุ่มบริ ษทั ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบแต่เพียง ผูเ้ ดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า
5 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
159
ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลในเรื่ องต่าง ๆ ซึ่ งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบ ตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนยั สาคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่ องที่มีนยั สาคัญในระบบ การควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คารับรองแก่ผมู ้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง กับความเป็ นอิสระและได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ท้ งั หมดตลอดจนเรื่ องอื่น ซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการ ที่ขา้ พเจ้าใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ จากเรื่ องทั้งหลายที่สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่ องต่าง ๆ ที่มีนยั สาคัญที่สุดใน การตรวจสอบงบการเงินในงวดปั จจุบนั และกาหนดเป็ นเรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่ องเหล่านี้ ไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรื อข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิ ดเผยเรื่ องดังกล่าวต่อสาธารณะ หรื อในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้า เพราะการกระทาดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่า ผลประโยชน์ที่ผมู้ ีส่วนได้เสี ยสาธารณะจะได้จากการสื่ อสารดังกล่าว ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบงานสอบบัญชี และการนาเสนอรายงานฉบับนี้
สุ มาลี รี วราบัณฑิต ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3970 บริ ษทั สานักงาน อีวาย จากัด กรุ งเทพฯ: 23 กุมภาพันธ์ 2561
6
160
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปน อเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะทางการเงิ งบแสดงฐานะการเงิน
ณ 31 2560 ธันวาคม 2560 ณ วันวั ที่ น 31 ที ธัน่ วาคม หมายเหตุ
หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์ชีวภาพ ต้นทุนค่าซ่อมแซมครั้งใหญ่ต้งั พัก สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
งบการเงิ งบการเงินรวม นรวม
2560 2560
2559 2559
(หน่วย: บาท) งบเารเงินนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ จการ 2560 2559 2560 2559
8 7, 9 10 7 11 12
329,661,083 596,862,533 563,820,462 4,047,464,851 27,486,939 602,888,321 32,685,295 6,200,869,484
339,425,117 688,900,185 555,986,307 1,861,171,770 29,646,813 645,675,665 96,872,199 4,217,678,056
205,484,585 270,434,692 375,775,067 2,521,963,868 2,551,243,529 10,057,169 436,189,098 16,146,724 6,387,294,732
204,299,697 366,647,999 363,000,143 1,209,716,872 1,062,811,653 18,762,110 481,756,137 54,051,350 3,761,045,961
13
394,300 321,049,658 10,513,940,359 284,193,083 297,789,912 197,888,434 11,615,255,746 17,816,125,230
394,300 328,710,645 10,851,094,186 296,791,282 187,907,316 169,740,599 11,834,638,328 16,052,316,384
9,402,623,246 130,085 12,378,480 3,984,458,500 550,369 241,396,463 155,709,432 13,797,246,575 20,184,541,307
9,379,151,512 130,085 12,378,480 3,944,134,715 1,101,713 175,092,770 108,761,090 13,620,750,365 17,381,796,326
14 15 16 27 7
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
161
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงฐานะทางการเงิ อด)(มหาชน) และบริษทั ย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปน อเรชั(ต่ ่น จากั งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) หมายเหตุ
หมายเหตุ หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้อย และน้ าตาลทรายที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน สุทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย สุทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนี้สินค่ารื้ อถอนระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
162
17 7, 18 7
งบการเงินน รวม งบการเงิ รวม 2560 2560
งบเารเงินนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ จการ 2559 2559
2560 2560
2559 2559
2,365,602,093 2,440,389,278 -
1,066,535,825 1,894,594,945 -
1,764,602,925 1,773,938,810 1,439,925,619
249,421,544 1,223,086,031 629,420,758
19
7,819,166
7,044,294
7,819,166
7,044,294
20
498,354,396
503,601,554
498,354,396
500,714,879
7
4,850,000
4,850,000
-
-
21
121,603,333 61,808,250 83,432,256 5,583,858,772
63,293,277 35,544,435 67,450,670 3,642,915,000
59,220,454 37,868,428 5,581,729,798
11,039,082 36,954,572 2,657,681,160
19
791,097,504
798,916,670
791,097,504
798,916,670
20
2,246,914,488
2,745,268,884
2,246,914,488
2,745,268,884
7
72,750,000
77,600,000
-
-
21 22
108,195,897 333,162,288 29,357,457 538,641,531 4,120,119,165 9,703,977,937
82,713,678 295,090,187 19,981,478 568,319,491 4,587,890,388 8,230,805,388
53,251,133 205,184,766 3,296,447,891 8,878,177,689
8,127,384 180,525,543 3,732,838,481 6,390,519,641
7
7
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงฐานะทางการเงิ อด)(มหาชน) และบริษทั ย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปน อเรชั(ต่ ่น จากั งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
(หน่วย: บาท) หมายเหตุ
หมายเหตุ ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 3,888,000,010 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนออกจาหน่ายและชาระเต็มมูลค่าแล้ว หุน้ สามัญ 3,860,000,010 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนต่ากว่าทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ส่วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่ วนของผู้ถอื หุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น
24
งบการเงิ งบการเงินรวม นรวม 2560 2560
งบเารเงินนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ จการ 2559 2559
2560 2560
2559 2559
3,888,000,010
3,888,000,010
3,888,000,010
3,888,000,010
3,860,000,010 5,202,881,296 (3,577,165,024) 137,174,074
3,860,000,010 5,202,881,296 (3,577,165,024) 92,685,185
3,860,000,010 5,202,881,296 (573,217,706) 137,174,074
3,860,000,010 5,202,881,296 (573,217,706) 92,685,185
289,748,979 2,199,507,958 8,112,147,293 17,816,125,230 -
256,442,734 1,986,666,795 7,821,510,996 16,052,316,384 -
289,748,979 2,389,776,965 11,306,363,618 20,184,541,307 -
256,442,734 2,152,485,166 10,991,276,685 17,381,796,326 -
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
กรรมการ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
163
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั การ์ษทั คอร์ เกษตรไทย เนชั่นแนลและบริ ชูการ์ษคอร์ ทั ย่ อปยอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบกำ �ไรขาดทุ น่นเบ็แนลดชูบริเสร็ จปอเรชั่น จอิากันเตอร์ด (มหาชน) งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ณ ธันธันวาคม สาหรัวั บปีนสิ้นทีสุ่ ด31 วันที่ 31 วาคม 2560ส2560 าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 หมายเหตุ
หมายเหตุ
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2560 2559 2560 2559 หมายเหตุ
รายได้ รายได้ รายได้จากการขายและบริ การ 31 17,524,638,155 รายได้จากการขายและบริ การ รายได้อื่น รายได้อื่น เงินปันผลรับ 13 เงินปั นผลรับ กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 32,918,867 กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กาไรจากการซื้อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้กาาไรจากการซื้ อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้า 327,976,761 อื่น ๆ 307,495,000 อื่น ๆ 18,193,028,783 รวมรายได้ รวมรายได้ ค่าใช้ จ่าย ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุนขายและบริ การ ต้นทุนขายและบริ การ 14,270,951,629 ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย 1,493,760,537 ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 1,448,208,445 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน า นจากการซื้ อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้า ขาดทุ ขาดทุนจากการซื้อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้ 17,212,920,611 รวมค่าใช้ จ่าย รวมค่ าใช้ จ่าย กาไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้ จ่ายทางการเงิกนาไร และผลประโยชน์ (ขาดทุน) ก่ อนค่ าใช้ จ่ายทางการเงินและผลประโยชน์ 980,108,172 (ค่าใช้ จ่าย) ภาษีเงินได้ (ค่ าใช้ จ่าย) ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (332,934,232) ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กาไร (ขาดทุน) ก่อนผลประโยชน์ (ค่ าใช้กาไร จ่าย)(ขาดทุ ภาษีเงินน)ได้ก่ อนผลประโยชน์ (ค่ าใช้ จ่าย) ภาษี647,173,940 เงินได้ ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้27 (1,679,808) 645,494,132 กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ : กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ : รายการที ่ จะไม่นถในภายหลั กู บันทึ กในส่ ง วนของกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง รายการที่จะไม่ ถกู บันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุ นจากการประมาณการตามหลั กคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลัผลขาดทุ กคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย สุ ทธิ จากภาษีเงินได้ สุทธิจากภาษีเงินได้ (13,346,723) (13,346,723) กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี
กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี
632,147,409
29 กาไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุ้น กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน าไร (ขาดทุ กาไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ กของบริ ษทั ฯ น) ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด าไร (ขาดทุ กาไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ กของบริ ษทั ฯ น) ส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ
(หน่วย: บาท) งบเารเงิ งบการเงิ นนเฉพาะกิ เฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวมจการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559
งบการเงินเฉพ 2560
15,005,627,283 11,961,278,424 15,005,627,283 10,155,106,572 11,961,278,424 31 17,524,638,155
1
399,412,797 1,016,164,650 399,412,797 16,811,318 32,918,867 -16,811,318 327,976,761 327,976,761 -327,976,761 90,575,483 323,167,503 145,506,894 307,495,000 90,575,483 323,167,503 15,096,202,766 18,193,028,783 13,028,646,803 15,096,202,766 11,316,778,116 13,028,646,803
1
12,168,708,810 14,270,951,629 10,108,617,530 12,168,708,810 8,611,970,886 10,108,617,530 1,583,390,086 1,493,760,537 1,042,746,184 1,583,390,086 1,195,409,496 1,042,746,184 960,508,885 1,288,278,041 1,448,208,445 960,508,885 1,288,278,041 843,871,752 117,552,686 117,552,686 -89,293,121 9,614,011 -9,614,011 9,614,011 15,167,543,634 17,212,920,611 12,111,872,599 15,167,543,634 10,750,159,266 12,111,872,599
1
13
(71,340,868) (316,963,459) (388,304,327) 27 (124,230,213) (512,534,540)
916,774,204 980,108,172 (314,571,280) (332,934,232) 602,202,924 647,173,940 (1,679,808) 63,921,979 645,494,132 666,124,903
566,618,850 (71,340,868) (306,104,277) (316,963,459) 260,514,573 (388,304,327) (124,230,213) (35,520,710) (512,534,540) 224,993,863
916,774,204 (314,571,280) 602,202,924 63,921,979 666,124,903
(16,901,070) (16,901,070)
(13,346,723) (9,526,858) (13,346,723) (9,526,858)
(16,901,070) (14,246,083) (16,901,070) (14,246,083)
(9,526,858) (9,526,858)
(529,435,610)
632,147,409 656,598,045
(529,435,610) 210,747,780
656,598,045
29 0.17
(0.13)
0.17 0.17
(0.13) 0.06
0.17
0.17
(0.13)
0.17 0.17
(0.13) 0.06
0.17
่ งของงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นนี้ นเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 164หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึหมายเหตุ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบกระแสเงิ นสด งบกระแสเงินสด
ณ ธันธันวาคม สาหรัวั บปีนสิ้นทีสุ่ ด31 วันที่ 31 วาคม 2560 2560
(หน่วย: บาท) พาะกิจการ 2559
10,155,106,572
1,016,164,650 145,506,894 11,316,778,116
8,611,970,886 1,195,409,496 843,871,752 89,293,121 9,614,011 10,750,159,266 566,618,850 (306,104,277) 260,514,573 (35,520,710) 224,993,863
(14,246,083) (14,246,083) 210,747,780
0.06
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2560 2560
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกาไร (ขาดทุน) สุ ทธิ ก่อนภาษีเป็ นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดาเนินงาน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย กาไรที่เกิดจากการรับรู ้ส่วนลดรับจากการโอนสิ ทธิ ของลูกหนี้ ชาวไร่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ การปรับลดราคาทุนของสิ นค้าคงเหลือให้เป็ นมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ (โอนกลับ) ขาดทุน (กาไร) จากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ชีวภาพ ขาดทุน (กาไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ขาดทุนจากการด้อยค่าอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน (โอนกลับ) ขาดทุนจากการด้อยค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขาดทุนจากการจาหน่ายอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน กาไรจากการจาหน่ายอาคารและอุปกรณ์ ขาดทุนจากการตัดจาหน่ายอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ รายได้เงินปันผล ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กาไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมดาเนิ นงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สิ นทรัพย์และหนี้ สินดาเนิ นงาน สิ นทรัพย์ดาเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์ชีวภาพ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
2559 2559
(หน่วย: บาท) งบเารเงินนเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ 2560 2559 2560 2559
647,173,940
(388,304,327)
602,202,924
260,514,573
1,269,217,316 (5,709,355) 58,937,686 461,427,874 (3,512,400) (5,971,910) 7,797,761 9,280,160 (11,009,428) 5,198 29,496,074 44,488,889 (35,654,241) 332,934,232
1,142,267,870 (14,147,604) 20,043,114 (176,179,431) (4,227,449) 1,265,904 (1,278,610) 31,565,867 203,687 (15,389,901) 240,603 21,030,601 44,488,889 (21,365,461) 316,963,459
596,511,025 (6,520,342) 51,855,061 281,080,107 3,597,475 (128,475) 10,000,000 (8,056,112) 384 16,846,566 23,267,155 (399,412,797) (98,892,117) 314,571,280
542,942,631 (13,595,253) 30,006,310 (157,093,365) (1,605,689) 382,600 4,120,353 (4,375,602) 11,886,625 23,267,155 (1,016,164,650) (66,520,565) 306,104,277
2,798,901,796
957,177,211
1,386,922,134
(80,130,600)
91,972,317 (88,568,873) (2,647,720,955) 5,672,274 107,890,124 (28,147,835)
486,596,627 (131,764,242) 1,229,639,128 (8,888,804) (48,323,990) 798,054,570 35,009,807
99,500,346 (85,319,283) (1,769,511,982) 5,107,466 86,027,466 (46,948,342)
331,025,054 (128,086,201) 866,606,194 (625,862) (53,242,588) 666,154,679 1,614,152
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
0.06
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
165
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงิ นสด (ต่ชูกอาร์)คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล งบกระแสเงินสด (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560
(หน่วย: บาท) งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2560 2560
หนี้สินดาเนิ นงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น หนี้ สินหมุนเวียนอื่น จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน เงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง (เพิ่มขึ้น) ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุนของอาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจาหน่ายอาคารและอุปกรณ์ จ่ายชาระเจ้าหนี้ คา่ ซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดรับจากการจาหน่ายอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน รับเงินปั นผล ดอกเบี้ยรับ เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้
166
งบเารเงินนเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ 2559 2559
2560 2560
2559 2559
612,511,545 15,951,598 (8,107,377) 860,354,614 (262,905,247) (82,877,784) 514,571,583
(344,896,944) (53,856,666) (8,006,162) 2,910,740,535 (217,429,397) (31,892,975) 2,661,418,163
526,165,292 883,868 (4,095,916) 198,731,049 (217,128,434) (2,555,801) (20,953,186)
(364,673,917) (30,441,649) (3,348,461) 1,204,850,801 (179,308,299) (1,952,250) 1,023,590,252
(847,348,271) (3,455,725) 45,683,918 (131,408,210) (6,611,400) 35,657,972 (907,481,716)
(506,254,131) (24,571,693) 16,991,365 (98,543,385) (5,889,748) (3,261,900) 102,200 21,368,718 (600,058,574)
(1,312,246,996) (573,371,686) 11,595,530 (15,761,398) (93,750) 399,412,797 95,605,078 (1,394,860,425)
222,291,887 (303,551,984) 4,399,196 (66,689,382) (734,558) 1,016,164,650 68,309,629 940,189,438
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงิ นสด (ต่ชูกอาร์)คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล งบกระแสเงินสด (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560
(หน่วย: บาท) งบการเงิน นรวม งบการเงิ รวม 2560 2560
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดจ่ายซื้อหุน้ เพิ่มทุนของบริ ษทั ย่อย เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินลดลง เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายเพิม่ ขึ้น (ลดลง) ชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน จ่ายเงินปันผล เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม รายการที่ไม่ใช่เงินสดประกอบด้วย ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ยงั ไม่ได้จ่ายชาระ โครงการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ที่บนั ทึก เป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้นจากการรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ชาวไร่ ที่ดินเพิ่มขึ้นจากการรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ชาวไร่ ประมาณการหนี้สินค่ารื้ อถอนระยะยาว เงินปันผลค้างจ่าย
งบเารเงิน นเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ 2559 2559
2560 2560
1,294,557,905 (891,567,357) (505,516,675) (634,065,448) (4,850,000) (4,850,000) 80,624,882 (56,556,377) (95,700,000) (95,700,000) (385,970,013) (385,922,209) 383,146,099 (2,068,661,391) (9,764,034) (7,301,802) 339,425,117 346,726,919 329,661,083 339,425,117 -
2559 2559
1,510,673,018 810,504,861 (12,250,000) (502,630,000) 92,370,633 (95,700,000) (385,970,013) 1,416,998,499 1,184,888 204,299,697 205,484,585 -
(693,837,055) (69,759,691) (133,000,000) (502,570,000) (11,137,088) (95,700,000) (385,922,209) (1,891,926,043) 71,853,647 132,446,050 204,299,697 -
70,243,131
131,408,210
39,148,193
15,761,398
-
-
21,221,733
21,221,733
293,747 27,209,641 8,400,000 105,280
1,454,636 8,850,000 75,292
27,209,641 105,280
75,292
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
167
168
งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ทุนเรื อนหุ้นที่ออก เรื่องหุม้นมูที่อลอก และชทุนาระเต็ ค่าแล้ว ทุนเรื�ระเต็ อนหุมมู้นลทีค่่อาแล้อกว และชำ และชาระเต็มมูลค่าแล้ว ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 3,860,000,010 ขาดทุนสาหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 3,860,000,010 กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี ขาดทุนสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ 24) กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 30) การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ 24) สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 25) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 30) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 3,860,000,010 สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 25) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 3,860,000,010 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 3,860,000,010 กาไรสาหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 3,860,000,010 กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ 24) กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 30) การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ 24) สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 25) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 30) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 3,860,000,010 สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 25) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 3,860,000,010 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
สาหรัวั บปีนสิที ้นสุ่ ด31 วันที่ ธั 31 น ธันวาคม วาคม 25602560 ณ ส่วนเกินมูลค่า ส่วหุนเกิ นมูลญ ค่า ้นสามั ส่วหุนเกิ นมูญลค่า ้นสามั หุ้นสามัญ 5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลี นแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม่ย2560 งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น ส่ วนต่ากว่าทุนจาก การรวมธุรกิจภายใต้ ส่ วส่นต ่ากว่ วนต่ ำ�กว่าทุาทุนนจาก การควบคุ มเดีรยกิวกั จากการรวมธุ จน การรวมธุรกิจภายใต้ ภายใต้การควบคุมเดียวกัน การควบคุมเดียวกัน (3,577,165,024) (3,577,165,024) (3,577,165,024) (3,577,165,024) (3,577,165,024) (3,577,165,024) (3,577,165,024) (3,577,165,024)
งบการเงินรวม ส่ วนทุนจากการ งบการเงิ รวม งบการเงินนรวม จ่ายโดยใช้หุ้น ส่ วนทุนจากการ ส่วนทุเป็นนจากการจ่ เกณฑ์ าย จ่ายโดยใช้ หุ้น โดยใช้ หุ้นเป็นเกณฑ์ เป็ นเกณฑ์ 48,196,296 48,196,296 44,488,889 44,488,889 92,685,185 92,685,185 92,685,185 92,685,185 44,488,889 44,488,889 137,174,074 137,174,074
บริษทั ษเกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล การ์ คอร์เปนชั อเรชั่น ่น จเนล ากัด (มหาชน) ษทั ย่ป อยอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริ ัท เกษตรไทย อินชูเตอร์ ชูการ์และบริ คอร์
กาไรสะสม กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร ก าไรสะสม ยังไม่ ได้จัดสรรค์ จัดสรรแล้ว จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร 245,193,041 2,913,349,599 (512,534,540) 245,193,041 2,913,349,599 (16,901,070) (512,534,540) (529,435,610) (16,901,070) (529,435,610) (385,997,501) 11,249,693 (11,249,693) (385,997,501) 256,442,734 1,986,666,795 11,249,693 (11,249,693) 256,442,734 1,986,666,795 256,442,734 1,986,666,795 645,494,132 256,442,734 1,986,666,795 (13,346,723) 645,494,132 632,147,409 (13,346,723) 632,147,409 (386,000,001) 33,306,245 (33,306,245) (386,000,001) 289,748,979 2,199,507,958 33,306,245 (33,306,245) 289,748,979 2,199,507,958
-
รวม รวม ถ้ ือหุ ้น ส่วนของผู รวม้ถือหุ้น ส่วนของผู ส่วนของผูถ้ ือหุ้น 8,692,455,218 (512,534,540) 8,692,455,218 (16,901,070) (512,534,540) (529,435,610) (16,901,070) 44,488,889 (529,435,610) (385,997,501) 44,488,889 (385,997,501) 7,821,510,996 7,821,510,996 7,821,510,996 645,494,132 7,821,510,996 (13,346,723) 645,494,132 632,147,409 (13,346,723) 44,488,889 632,147,409 (386,000,001) 44,488,889 (386,000,001) 8,112,147,293 8,112,147,293
(หน่วย: บาท)
(หน่วย: บาท)
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
169
และชาระเต็มมูลค่าแล้ว 3,860,000,010 3,860,000,010 -----3,860,000,010 -
และชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว
ทุนเรื อนหุน้ ที่ออก ทุนเรื่องหุ้นมทีมู่ออก และช ทุนเรืาระเต็ อนหุ้นทีล่อค่อกาแล้ว
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 3,860,000,010 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 3,860,000,010 กาไรสาหรับอ ปีณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ยอดคงเหลื 3,860,000,010 าไรขาดทุ กกาไรส าหรันบปีเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี -าไรขาดทุนนเบ็ าหรับบปีปี กกาไรขาดทุ เบ็ดดเสร็ เสร็ จจรวมส อื่นสาหรั -การจ่ า ยโดยใช้ ห ุ น ้ เป็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ 24) กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี -เงินปัานยโดยใช้ ผลจ่าย ห(หมายเหตุ 30)(หมายเหตุ 24) การจ่ ุ้นเป็ นเกณฑ์ -(หมายเหตุ เงิสารองตามกฏหมาย นปันผลจ่าย (หมายเหตุ 30) 25) -ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 3,860,000,010 สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 25) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 3,860,000,010 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 กาไรสาหรับอ ปีณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ยอดคงเหลื กาไรขาดทุ นเบ็บดปี เสร็ จอื่นสาหรับปี ขาดทุ นสาหรั าไรขาดทุนนเบ็ าหรับบปีปี กกาไรขาดทุ เบ็ดดเสร็ เสร็ จจรวมส อื่นสาหรั ายโดยใช้ เป็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ กการจ่ าไรขาดทุ นเบ็หดุน้ เสร็ จรวมสาหรั บปี 24) เงิการจ่ นปัานยโดยใช้ ผลจ่าย ห(หมายเหตุ 30) ุ้นเป็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ 24) (หมายเหตุ เงิสารองตามกฏหมาย นปันผลจ่าย (หมายเหตุ 30) 25) อ ณ วันที(หมายเหตุ ่ 31 ธันวาคม25)2559 สยอดคงเหลื ารองตามกฏหมาย
สาหรัวั บปีนสิที ้นสุ่ ด31 วันที่ ธั 31 น ธันวาคม วาคม 25602560 ณ
5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296 -----5,202,881,296 5,202,881,296
หุ้นสามัญ 5,202,881,296 5,202,881,296 -----5,202,881,296-
ส่ วนเกินมูลค่า
ส่วนเกิ มูลค่ญ า หุน้ นนสามั ส่วหุนเกิ ้นสามัมูญลค่า
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลี ่ย้นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น สาหรับปี สิ้นสุ ดวัย่ นนแปลงส่ ที่ 31 ธันววาคม งบแสดงการเปลี นของผู2560 ถือหุ้น
งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น (ต่ อ)
(3,577,165,024) (573,217,706) (3,577,165,024)-----(573,217,706) (3,577,165,024)
การควบคุมเดียวกัน (573,217,706) (3,577,165,024)-----(573,217,706) -
ภายใต้การควบคุมเดียวกัน
ส่ วนต่ากว่าทุนจาก รกิจภายใต้ ส่การรวมธุ วส่นต ่ากว่ วนต่ ำ�กว่าทุาทุนนจาก การควบคุ จากการรวมธุ รยกิวกั จ น การรวมธุ รกิมจเดีภายใต้
92,685,185 92,685,185 92,685,185--44,488,88944,488,889-137,174,074 137,174,074
เป็ นเกณฑ์ 48,196,296 48,196,296--44,488,88944,488,889-92,685,185-
โดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์
งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่ วนทุนจากการ งบการเงิ รวม งบการเงินนรวม ายโดยใช้ หุน้ ส่ วจ่นทุ นจากการ ส่วนทุเป็นจากการจ่ าย นเกณฑ์ จ่ายโดยใช้ หุ้น
บริษทั ษเกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล การ์ คอร์เปนชั อเรชั่น น จเนล ากัด (มหาชน) ษทั ย่ป อยอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริ ัท เกษตรไทย อินชูเตอร์ ชูการ์และบริ คอร์
256,442,734 256,442,734 256,442,734----33,306,245289,748,979 33,306,245 289,748,979
จัดสรรแล้ว
จัดสรรแล้ว 245,193,041 245,193,041----11,249,693256,442,734 11,249,693
1,986,666,795 2,152,485,166 666,124,903 1,986,666,795 (9,526,858) 645,494,132 656,598,045 (13,346,723) 632,147,409(386,000,001)(33,306,245) (386,000,001) 2,389,776,965 (33,306,245) 2,199,507,958
ยังไม่ ได้จัดสรรค์
ยังไม่ได้จดั สรร 2,338,984,580 224,993,863 2,913,349,599 (14,246,083) (512,534,540) 210,747,780 (16,901,070) (529,435,610)(385,997,501)(11,249,693) (385,997,501) 2,152,485,166 (11,249,693)
กาไรสะสม กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว กาไรสะสมยังไม่ได้จดั สรร
-
7,821,510,996 10,991,276,685 666,124,903 7,821,510,996 (9,526,858) 645,494,132 656,598,045 (13,346,723) 44,488,889 632,147,409 (386,000,001) 44,488,889 (386,000,001)11,306,363,618 8,112,147,293
ส่วนของผูถ้ ือหุ้น 11,122,037,517 224,993,863 8,692,455,218 (14,246,083) (512,534,540) 210,747,780 (16,901,070) 44,488,889 (529,435,610) (385,997,501) 44,488,889 (385,997,501)10,991,276,685-
รวม
รวม ถ้ ือหุน ส่วนของผู รวม้ถือหุ้น ้ ส่วนของผู
(หน่วย: บาท)
(หน่วย: บาท)
บริษษัทัทเกษตรไทย เกษตรไทย อินเนชั เตอร์ เนชัชู่นการ์เนลคอร์ชูปกอเรชั าร์ ่นคอร์ ่น จำและบริ �กัด (มหาชน) บริ อินเตอร์ ่ นแนล จากัปดอเรชั (มหาชน) ษัทย่อย และบริษัทย่อย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวม นรวม หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สณาหรัวับนปีทีสิ่ ้น31 สุ ดธัวันนทีวาคม ่ 31 ธันวาคม 25602560 1.
ข้ อมูลทัว่ ไป บริ ษทั เกษตรไทย อิ นเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษทั มหาชน ซึ่ งจัดตั้ง และมี ภูมิ ล าเนาในประเทศไทย ธุ รกิ จหลัก ของบริ ษ ทั ฯคื อการผลิ ตและจาหน่ า ยน้ า ตาลทั้ง ภายในและ ต่างประเทศ ที่อยูต่ ามที่จดทะเบียนของบริ ษทั ฯอยูท่ ี่ สานักงานใหญ่และโรงงาน: 1/1 หมู่ 14 ตาบลหนองโพ อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ สานักงานสาขากรุ งเทพ: 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพมหานคร
2.
เกณฑ์ ในการจัดทางบการเงิน
2.1
งบการเงิ น นี้ จดั ท าขึ้ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ ก าหนดในพระราชบัญญัติวิช าชี พ บัญ ชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงิ นตามข้อกาหนดในประกาศกรมพัฒนาธุ รกิ จการค้าลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงิ น ฉบับ ภาษาไทยเป็ นงบการเงิ น ฉบับ ที่ บ ริ ษัท ฯใช้ เ ป็ นทางการตามกฎหมาย งบการเงิ น ฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จดั ทาขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี
2.2
เกณฑ์ในการจัดทางบการเงินรวม ก) งบการเงิ นรวมนี้ ได้จดั ทาขึ้ นโดยรวมงบการเงิ นของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) (ซึ่ งต่อไปนี้ เรี ยกว่า “บริ ษทั ฯ”) และบริ ษทั ย่อย (ซึ่ งต่อไปนี้รวมเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”) ดังต่อไปนี้
170
1
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
171
ถือหุ้นโดยบริษัทฯ บริ ษทั น้ าตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด บริ ษทั เพิม่ สิ นพัฒนา จากัด บริ ษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด บริ ษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จากัด (เดิมชื่อ”บริ ษทั เอกรัฐพัฒนา จากัด”) บริ ษทั ทรัพย์ศิริเกษตร จากัด บริ ษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จากัด บริ ษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จากัด บริ ษทั เคทิส ชีวพลังงาน จากัด บริ ษทั เกษตรไทย วิวฒั น์ จากัด บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด ถือหุ้นโดยบริษัทย่ อยของบริษัทฯ บริ ษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) บริ ษทั ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) บริ ษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) บริ ษทั เคทิส ปุ๋ ยชีวภาพ จากัด (เดิมชื่อ”บริ ษทั เกษตรไทย ปุ๋ ยชีวภาพ จากัด”) (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จากัด)
ชื่อบริษัท
ชื่อบริ ษทั
ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย การถือหุน้ ในบริ ษทั อื่น ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ ผลิตและจาหน่ายเอทานอล ธุรกิจซื้อ-ขาย ให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์ ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเอทานอลและพลังงานไฟฟ้ า บริ หารสิ นทรัพย์ วิจยั และพัฒนา ผลิตและจาหน่ายเอทานอลและพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเอทานอลและพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ ผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยชีวภาพ
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ลักษณะธุรกิจ
ลักษณะธุรกิจ
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
จัดตั้งขึ้นในประเทศ
จัดตั้งขึ้นในประเทศ
35 ล้านบาท
2,400 ล้านบาท
12.50 ล้านบาท
2 ล้านบาท
2 ล้านบาท
311 ล้านบาท 350 ล้านบาท 395 ล้านบาท 1 ล้านบาท 20 ล้านบาท 61 ล้านบาท 10 ล้านบาท 12.50 ล้านบาท
1,215 ล้านบาท 317 ล้านบาท 1,260 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท 256 ล้านบาท
2560
35 ล้านบาท
2,400 ล้านบาท
0.25 ล้านบาท
2 ล้านบาท
2 ล้านบาท
311 ล้านบาท 350 ล้านบาท 395 ล้านบาท 1 ล้านบาท 20 ล้านบาท 61 ล้านบาท 10 ล้านบาท 0.25 ล้านบาท
1,215 ล้านบาท 317 ล้านบาท 1,260 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท 256 ล้านบาท
2559
ยกชำาระแล้ �ระแล้ว ว ทุนทุเรีนเรียกช 2560 2559
100
26
2
100
100
100 100 100 100 100 100 100 98
100 100 100 74 100
100
26
100
100
100
100 100 100 100 100 100 100 -
100 100 100 74 100
อัตราร้อยละของ อัตราร้อ อยบะ การถื ้ ้น ของการถื อหุหุน 2560 2559 2560 2559 ยละ ร้ร้ออยละ ร้ร้ออยละ ยละ
2
ข) บริ ษทั ฯจะถื อว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรื อบริ ษทั ย่อยได้ หากบริ ษทั ฯมีสิทธิ ได้รับหรื อ มีส่วนได้เสี ยในผลตอบแทนของกิจการที่เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อานาจในการสั่งการกิจกรรม ที่ส่งผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อจานวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ค) บริ ษทั ฯนางบการเงิ นของบริ ษทั ย่อยมารวมในการจัดทางบการเงินรวมตั้งแต่วนั ที่บริ ษทั ฯมีอานาจ ในการควบคุมบริ ษทั ย่อยจนถึงวันที่บริ ษทั ฯสิ้ นสุ ดการควบคุมบริ ษทั ย่อยนั้น ง) งบการเงินของบริ ษทั ย่อยได้จดั ทาขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สาคัญเช่นเดียวกันกับของบริ ษทั ฯ จ) ยอดคงค้างระหว่างกลุ่มบริ ษทั รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสาคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวม นี้แล้ว ฉ) เมื่ อวันที่ 15 พฤษภาคม 2560 ที่ ป ระชุ ม วิส ามัญผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั เกษตรไทยปุ๋ ยชี วภาพ จากัด (บริ ษทั ย่อยที่ถือหุ ้นโดยบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ) ได้มีมติอนุ มตั ิเปลี่ยนชื่ อบริ ษทั เป็ น “บริ ษทั เคทิส ปุ๋ ยชี วภาพ จากัด” โดยจดทะเบียนเปลี่ยนชื่ อบริ ษทั กับกระทรวงพาณิ ชย์แล้วเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2560 ช) เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2560 ที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั เอกรัฐพัฒนา จากัด (บริ ษทั ย่อย ของบริ ษทั ฯ) ได้มีมติอนุมตั ิเปลี่ยนชื่อบริ ษทั เป็ น “บริ ษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จากัด” โดยจดทะเบียน เปลี่ยนชื่อบริ ษทั กับกระทรวงพาณิ ชย์แล้วเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 2.3
บริ ษทั ฯจัดทางบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยตามวิธีราคาทุน
3.
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ ริ่มมีผลบังคับใช้ ในปี ปัจจุบัน ในระหว่า งปี กลุ่ ม บริ ษ ัท ได้นามาตรฐานการรายงานทางการเงิ นและการตี ความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิ นฉบับปรับปรุ ง (ปรั บปรุ ง 2559) รวมถึ งแนวปฏิ บตั ิทางการบัญชี ฉบับใหม่ ซึ่ งมีผลบังคับใช้ สาหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการ รายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึนเพื่อให้มีเนื้ อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการ รายงานทางการเงิ นระหว่างประเทศ โดยส่ วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคาและคาศัพท์ การตีความและ การให้แนวปฏิ บตั ิทางการบัญชี กบั ผูใ้ ช้มาตรฐาน การนามาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือ ปฏิบตั ิน้ ีไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงินของกลุ่มบริ ษทั
172
3
ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีจ่ ะมีผลบังคับใช้ ในอนาคต ในระหว่างปี ปั จจุ บ นั สภาวิชาชี พบัญชี ได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นและการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2560) จานวนหลายฉบับ ซึ่ งมีผลบังคับใช้สาหรับ งบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2561 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่ าวได้รับการปรั บปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึ นเพื่อให้มีเนื้ อหาเท่ าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ระหว่างประเทศ โดยส่ วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งและอธิ บายให้ชดั เจนเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูลในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั เชื่ อว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ งจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็ น สาระสาคัญต่องบการเงินเมื่อนามาถือปฏิบตั ิ 4.
นโยบายการบัญชี ทสี่ าคัญ
4.1
การรับรู้ รายได้ ขายสิ นค้ า รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู้เมื่อกลุ่มบริ ษทั ได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่ มีนยั สาคัญของความเป็ น เจ้า ของสิ นค้าให้ก ับผูซ้ ้ื อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่ าตามราคาในใบกากับสิ นค้าโดยไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิม่ สาหรับสิ นค้าที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่ วนลดแล้ว รายได้ ค่าบริ การ รายได้ค่าบริ การรับรู ้เมื่อได้ให้บริ การแล้ว โดยพิจารณาถึงขั้นความสาเร็ จของงาน ดอกเบีย้ รั บ ดอกเบี้ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ ง เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับถือเป็ นรายได้เมื่อกลุ่มบริ ษทั มีสิทธิในการรับเงินปันผล
4.2
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงิ นสดและรายการเที ย บเท่ า เงิ นสด หมายถึ ง เงิ นสดและเงิ นฝากธนาคาร และเงิ นลงทุ นระยะสั้ นที่ มี สภาพคล่องสู ง ซึ่ งถึงกาหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มา และไม่มีขอ้ จากัดใน การเบิกใช้
4.3
ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีช้ าวไร่ ลูกหนี้ การค้าและลู กหนี้ ชาวไร่ แสดงมูลค่าตามจานวนมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ กลุ่มบริ ษทั บันทึกค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญสาหรั บผลขาดทุ นโดยประมาณที่อาจเกิ ดขึ้นจากการเก็บเงิ นจากลูกหนี้ ไม่ได้ ซึ่ งโดยทัว่ ไป พิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
173 4
กลุ่มบริ ษทั รับซื้ อลูกหนี้ชาวไร่ ดอ้ ยคุณภาพจากบริ ษทั อื่นในมูลค่าที่มีส่วนลด โดยซื้ อเพื่อนามาดาเนิ นการ ติดตามเรี ยกเก็บหนี้ ซึ่ งตามสัญญาซื้อลดลูกหนี้ดอ้ ยคุณภาพดังกล่าว กลุ่มบริ ษทั ไม่มีสิทธิไล่เบี้ยจากผูข้ ายหนี้ ในกรณี ที่กลุ่ มบริ ษทั เรี ยกเก็บเงิ นไม่ได้ กลุ่ มบริ ษทั บันทึกลู กหนี้ ชาวไร่ ดงั กล่ าวในราคาทุน และบันทึ ก มูลค่าส่ วนลดที่ได้รับไว้ในบัญชี “ส่ วนลดรับจากการรับโอนสิ ทธิเรี ยกร้องลูกหนี้ชาวไร่ ” 4.4
สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าสาเร็ จรู ปและงานระหว่างทาแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใด จะต่ากว่า ราคาทุนดังกล่าวประกอบด้วยต้นทุนวัตถุดิบ แรงงานและค่าโสหุย้ ในการผลิต สิ นค้าซื้ อมาเพื่อขายแสดงมูลค่าตามราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ากว่า ราคาทุน คานวณโดยใช้วธิ ี เข้าก่อนออกก่อน กากน้ าตาล ซึ่ งเป็ นผลพลอยได้จากการผลิตน้ าตาลทราย แสดงด้วยมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับ วัตถุดิบ อะไหล่ วัสดุโรงงาน และวัสดุสิ้นเปลืองแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ากว่า และจะถือเป็ นส่ วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้
4.5
เกษตรกรรม กลุ่มบริ ษทั มีสินทรัพย์ชีวภาพเป็ นต้นอ้อย และผลิตผลทางการเกษตรเป็ นอ้อยที่เก็บเกี่ยว ซึ่ งจะถูกวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว มู ล ค่ า ยุติ ธ รรมของอ้อยค านวณโดยใช้วิธี อ้า งอิ ง จากราคามูล ค่ า ยุติธ รรมหัก ประมาณการค่า ใช้จ่า ย ณ จุ ด เก็ บ เกี่ ย ว ผลก าไรหรื อ ขาดทุ น ที่ เ กิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงในมู ล ค่ า ยุติ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย์ชีว ภาพ และผลิตผลทางการเกษตรบันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน ในกรณี ที่ไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ สิ นทรัพย์ชีวภาพต้องวัดด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อม ราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม และในทันทีที่มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ชีวภาพนั้นสามารถวัด ได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริ ษทั จะวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ผลิตผลทางการเกษตรจะแสดงเป็ นส่ วนหนึ่งของสิ นค้าคงเหลือ
4.6
ต้ นทุนค่ าซ่ อมแซมครั้งใหญ่ ต้ งั พัก ต้นทุนค่าซ่ อมแซมครั้งใหญ่ต้ งั พักประกอบด้วยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริ งจากการซ่ อมแซมเครื่ องจักรในช่วง นอกฤดูการผลิต เพื่อเตรี ยมพร้อมสาหรับฤดูการผลิตครั้งถัดไป กลุ่มบริ ษทั จะตัดจาหน่ายต้นทุนค่าซ่ อมแซม ครั้งใหญ่ต้ งั พักดังกล่าวอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ภายในฤดูกาลผลิตถัดไป โดยค่าตัดจาหน่าย ดังกล่าวรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน
174
5
4.7
เงินลงทุน ก)
เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยูใ่ นความต้องการของตลาดถือเป็ นเงินลงทุนทัว่ ไป ซึ่ งแสดงในราคา ทุนสุ ทธิ จากค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี)
ข)
เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิ จการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุนสุ ทธิ จาก ค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี)
กลุ่มบริ ษทั ใช้วธิ ี ถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนักในการคานวณต้นทุนของเงินลงทุน 4.8
อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน กลุ่มบริ ษทั บันทึกมูลค่าเริ่ มแรกของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่ งรวมต้นทุนการทารายการ หลั ง จากนั้ น จะบัน ทึ ก อสั ง หาริ มทรั พ ย์เ พื่ อ การลงทุ น ด้ว ยราคาทุ น หั ก ค่ า เสื่ อมราคาสะสมและ ค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) ค่ า เสื่ อมราคาของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์เพื่อการลงทุ นค านวณจากราคาทุ นโดยวิธี เส้ น ตรงตามอายุก ารให้ ประโยชน์โดยประมาณ 10 ปี ค่าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมอยูใ่ นการคานวณผล การดาเนินงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ผลต่างระหว่างจานวนเงินที่ได้รับสุ ทธิจากการจาหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ใน ส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในปี ที่ตดั รายการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี
4.9
ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ และค่ าเสื่อมราคา ที่ ดิ น แสดงมู ล ค่ า ตามราคาทุ น อาคารและอุ ป กรณ์ แ สดงมู ล ค่ า ตามราคาทุ น หัก ค่ า เสื่ อ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุ ปกรณ์ คานวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์โดยวิธีเส้นตรง ตามอายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อาคารและส่ วนปรับปรุ งอาคาร เครื่ องจักรและอุปกรณ์ เครื่ องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตร เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และเครื่ องใช้สานักงาน ยานพาหนะ
5 - 20 5 - 25 3 - 20 5 5 5 - 10
ปี ปี ปี ปี ปี ปี
ค่าเสื่ อมราคารวมอยูใ่ นการคานวณผลการดาเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้งและงานระหว่างก่อสร้าง บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
175 6
กลุ่มบริ ษทั ตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจาหน่ายสิ นทรัพย์หรื อคาดว่าจะไม่ได้ รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตจากการใช้หรื อการจาหน่ ายสิ นทรัพย์ รายการผลกาไรหรื อขาดทุน จากการจาหน่ายสิ นทรัพย์ จะรับรู ้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนเมื่อกลุ่มบริ ษทั ตัดรายการสิ นทรัพย์น้ นั ออก จากบัญชี 4.10 ต้ นทุนการกู้ยมื ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ี่ใช้ในการจัดหาหรื อก่อสร้างสิ นทรัพย์ที่ตอ้ งใช้ระยะเวลานานในการทาให้อยูใ่ น สภาพพร้ อมใช้หรื อขาย ได้ถูกนาไปรวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์จนกว่าสิ นทรัพย์น้ นั จะอยู่ในสภาพ พร้ อมที่จะใช้ได้ตามที่ มุ่งประสงค์ ส่ วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นถื อเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุน การกูย้ มื ประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูย้ มื นั้น 4.11 สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน สิ นทรั พย์ไม่มีตวั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่า ตัดจาหน่ ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมของ สิ นทรัพย์น้ นั (ถ้ามี) กลุ่มบริ ษทั ตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จากัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสิ นทรัพย์น้ นั และจะประเมินการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวเมื่อมีขอ้ บ่งชี้วา่ สิ นทรัพย์น้ นั เกิ ดการด้อยค่า กลุ่มบริ ษทั จะทบทวนระยะเวลาการตัดจาหน่ ายและวิธีการตัดจาหน่ ายของ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนดังกล่าวทุกสิ้ นปี เป็ นอย่างน้อย ค่าตัดจาหน่ายรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในส่ วนของกาไรหรื อ ขาดทุน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จากัดมีดงั นี้ คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ เครื่ องหมายการค้า สิ ทธิในการใช้สายส่ งไฟฟ้ า
อายุการให้ ระโยชน์ อายุการให้ ปประโยชน์ 3-5 ปี 10 ปี 20 ปี
ไม่มีการคิดค่าตัดจาหน่ายสาหรับสิ ทธิ ในการใช้สายส่ งไฟฟ้ าที่ยงั ไม่ได้เริ่ มใช้สิทธิประโยชน์ 4.12 รายการระหว่ างบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริ ษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรื อกิจการที่มีอานาจควบคุมบริ ษทั ฯ หรื อถูก บริ ษทั ฯควบคุม ไม่วา่ จะเป็ นโดยทางตรงหรื อทางอ้อม หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ บุคคลหรื อกิ จการที่เกี่ ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริ ษทั ร่ วมและบุคคลหรื อกิ จการที่มีสิทธิ ออก เสี ย งโดยทางตรงหรื อ ทางอ้อ มซึ่ งท าให้ มี อิ ท ธิ พ ลอย่า งเป็ นสาระส าคัญ ต่ อ บริ ษ ัท ฯ ผูบ้ ริ ห ารส าคัญ กรรมการหรื อพนักงานของบริ ษทั ฯที่มีอานาจในการวางแผนและควบคุมการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ
176
7
4.13 สั ญญาเช่ าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ได้โอนไป ให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของ สิ นทรั พย์ที่เช่ าหรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจานวนเงิ นที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ ากว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าหักค่าใช้จ่ายทางการเงิ นจะบันทึก เป็ นหนี้ สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี้ย จ่ายจะ บันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สิ นทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิด ค่าเสื่ อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ที่เช่าหรื ออายุของสัญญาเช่าแล้วแต่ระยะเวลาใดจะสั้นกว่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ไม่ได้โอน ไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่าดาเนิ นงาน จานวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดาเนินงานรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายใน ส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า 4.14 เงินตราต่ างประเทศ บริ ษทั ฯแสดงงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการเป็ นสกุลเงิ นบาท ซึ่ งเป็ นสกุลเงิ นที่ใช้ในการ ดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ รายการต่าง ๆ ของแต่ละกิจการที่รวมอยูใ่ นงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ ใช้ในการดาเนินงานของแต่ละกิจการนั้น รายการที่ เ ป็ นเงิ น ตราต่ า งประเทศแปลงค่ า เป็ นเงิ นบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ ย น ณ วัน ที่ เ กิ ดรายการ สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เป็ นตัวเงิ นซึ่ งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กาไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยูใ่ นการคานวณผลการดาเนินงาน 4.15 การด้ อยค่ าของสิ นทรัพย์ ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั จะทาการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรื อ สิ นทรัพย์อื่นของกลุ่มบริ ษทั หากมีขอ้ บ่งชี้ วา่ สิ นทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า กลุ่มบริ ษทั รับรู้ขาดทุนจากการ ด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์มีมูลค่าต่ากว่ามูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์น้ นั ทั้งนี้ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสิ นทรัพย์หรื อมูลค่าจากการใช้ สิ นทรั พย์แล้วแต่ราคาใดจะสู งกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ กลุ่ มบริ ษทั ประมาณการ กระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสิ นทรัพย์และคานวณคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ ยงในสภาพตลาดปั จจุบนั ของเงินสดตามระยะเวลา และความเสี่ ยงซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพาะของสิ นทรัพย์ที่กาลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหัก ต้นทุ นในการขาย กลุ่ ม บริ ษ ทั ใช้แบบจาลองการประเมิ นมูลค่ า ที่ ดีที่ สุ ดซึ่ ง เหมาะสมกับ สิ นทรั พ ย์ ซึ่ ง สะท้อนถึ งจานวนเงิ นที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจาหน่ ายสิ นทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจาหน่าย โดยการจาหน่ายนั้นผูซ้ ้ื อกับผูข้ ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้ อย่างเป็ นอิสระในลักษณะของผูท้ ี่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน กลุ่มบริ ษทั จะรับรู ้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
177 8
4.16 ผลประโยชน์ ของพนักงาน ผลประโยชน์ ระยะสั้นของพนักงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานและผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นของพนักงาน โครงการสมทบเงิน กลุ่มบริ ษทั และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชีพ ซึ่ งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสม และเงิ นที่ กลุ่ มบริ ษ ทั จ่ ายสมทบให้เป็ นรายเดื อน สิ นทรั พย์ของกองทุ นสารองเลี้ ยงชี พได้แยกออกจาก สิ นทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั เงินที่กลุ่มบริ ษทั จ่ายสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในปี ที่เกิด รายการ โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานและผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นของพนักงาน กลุ่ ม บริ ษ ทั มี ภ าระส าหรั บ เงิ น ชดเชยที่ ต้องจ่ า ยให้แก่ พ นัก งานเมื่ อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน และตามแผนสวัส ดิ ก ารพนัก งานซึ่ งกลุ่ ม บริ ษ ัท ถื อ ว่า เงิ น ชดเชยดัง กล่ า วเป็ นโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานสาหรับพนักงาน นอกจากนี้กลุ่มบริ ษทั จัดให้มีโครงการผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของ พนักงานตามแผนสวัสดิการพนักงานจากการเสี ยชีวติ กลุ่ ม บริ ษ ัท ค านวณหนี้ สิ น ตามโครงการผลประโยชน์ ห ลัง ออกจากงานของพนัก งานและโครงการ ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู ้เ ชี่ ย วชาญอิ ส ระได้ท าการประเมิ น ภาระผูก พัน ดัง กล่ า วตามหลัก คณิ ต ศาสตร์ ประกันภัย ผลกาไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู ้ทนั ทีในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ผลกาไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นของพนักงานจะรับรู ้ทนั ทีในกาไรหรื อขาดทุน 4.17 การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ บริ ษทั ฯดาเนินโครงการผลตอบแทนพนักงานโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ที่ชาระด้วยตราสารทุน โดยที่กิจการ ได้ รั บ บริ การจากพนั ก งานเป็ นสิ่ งตอบแทนส าหรั บ ตราสารทุ น (สิ ทธิ ซ้ื อหุ ้ น ) ที่ กิ จ การออกให้ มูลค่ายุติธรรมของบริ การของพนักงานเพื่อแลกเปลี่ยนกับการให้สิทธิ ซ้ื อหุ ้นจะรับรู้เป็ นค่าใช้จ่าย จานวน รวมที่บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายจะอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรมของสิ ทธิ ซ้ื อหุน้ ที่ออกให้โดย - รวมเงื่อนไขทางการตลาด
178
- ไม่รวมผลกระทบของการบริ การและเงื่อนไขการได้รับสิ ทธิ ที่ไม่ใช่เงื่อนไขการตลาด (ตัวอย่างเช่ น ความสามารถท าก าไรการเติบ โตของกาไรตามที่ กาหนดไว้ และพนักงานจะยัง เป็ นพนักงานของ กิจการในช่วงเวลาที่กาหนด) และ 9
- ไม่ ร วมผลกระทบเงื่ อ นไขการได้รั บ สิ ท ธิ ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ งื่ อ นไขการบริ ก ารหรื อ ผลงาน (ตัว อย่า งเช่ น ความต้องการความปลอดภัยของพนักงาน) เงื่อนไขผลงานและบริ การที่ไม่ใช่เงื่อนไขทางตลาดจะรวมอยูใ่ นข้อสมมติฐานเกี่ยวกับจานวนของสิ ทธิ ซ้ื อ หุ ้นที่คาดว่าจะได้รับสิ ทธิ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดจะรับรู้ตลอดระยะเวลาได้รับสิ ทธิ ซึ่ งเป็ นไปตามเงื่อนไขการ ได้รับสิ ท ธิ ที่ กาหนดไว้ บริ ษทั ฯจะทบทวนการประเมิ นจานวนของสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้นที่ค าดว่าจะได้รับสิ ทธิ ซึ่ ง ขึ้ น กับ เงื่ อนไขการได้รั บ สิ ท ธิ ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ งื่ อ นไขการตลาด และจะรั บ รู้ ผ ลกระทบของการปรั บ ปรุ ง ประมาณการเริ่ มแรกในกาไรหรื อขาดทุนพร้อมกับการปรับปรุ งรายการไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ณ วันที่ สิ้ นรอบระยะเวลาการรายงาน เมื่อมีการใช้สิทธิ บริ ษทั ฯจะออกหุ ้นใหม่ สิ่ งตอบแทนที่ได้รับสุ ทธิ ดว้ ยต้นทุนในการทารายการทางตรง จะบันทึกไปยังทุนเรื อนหุ น้ (มูลค่าตามบัญชี) และส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ กรณี ที่บริ ษทั ฯให้สิทธิ ซ้ื อตราสารทุ นแก่พนักงานของบริ ษทั ย่อยจะปฏิบตั ิเหมือนการเพิ่มทุนอย่างหนึ่ ง บริ ษทั ฯต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของบริ การของพนักงาน โดยอ้างอิงกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออก ให้ มู ล ค่ า ของตราสารทุ น เหล่ า นั้น ต้อ งวัด ณ วัน ที่ ใ ห้สิ ท ธิ ซึ่ งจะรั บ รู้ ต ลอดระยะเวลาที่ ไ ด้รั บ สิ ท ธิ ในงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการจะบันทึกเสมือนกับเป็ นการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและ เพิ่มส่ วนของผูถ้ ือหุน้ 4.18 ประมาณการหนีส้ ิ น กลุ่ มบริ ษทั จะบันทึกประมาณการหนี้ สินไว้ในบัญชี เมื่อภาระผูกพันซึ่ งเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ในอดี ต ได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ นอนว่ากลุ่มบริ ษทั จะเสี ยทรัพยากรเชิงเศรษฐกิ จไปเพื่อ ปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และกลุ่มบริ ษทั สามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่ มบริ ษทั รั บรู ้ ประมาณการหนี้ สินค่ารื้ อถอนระยะยาวด้วยจานวนประมาณการต้นทุนค่ารื้ อถอนของ อาคารและอุปกรณ์ ที่จะต้องจ่าย ณ วันสิ้ นสุ ดสัญญา ภาระผูกพันดังกล่าวบวกค่าใช้จ่ายทางการเงิ นจะ บันทึกเป็ นหนี้สินระยะยาว 4.19 การอุดหนุนจากรัฐบาล การอุ ด หนุ นจากรั ฐบาลรั บ รู ้ ด้ว ยมู ล ค่า ยุติ ธ รรม หากมี เหตุ ผลชัด เจนว่า จะได้รั บ การอุ ดหนุ น นั้น และ กลุ่มบริ ษทั จะปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดมาพร้อมกับการอุดหนุนนั้น การอุ ด หนุ น จากรั ฐบาลเพื่ อชดเชยต้นทุ น จะรั บรู้ เ ป็ นรายการสิ น ทรั พ ย์ร อตัด บัญชี แ ละจะทยอยรั บ รู้ เป็ นรายได้ในกาไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์และระยะเวลาที่กาหนดโดยเปรี ยบเทียบการอุดหนุนกับต้นทุน ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งรัฐบาลตั้งใจให้การอุดหนุนชดเชยคืนให้แก่กลุ่มบริ ษทั
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
179
10
4.20 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน กลุ่ ม บริ ษ ัท บัน ทึ ก ภาษี เงิ นได้ปั จ จุ บ ันตามจ านวนที่ ค าดว่า จะจ่า ยให้ก ับ หน่ วยงานจัด เก็ บ ภาษี ข องรั ฐ โดยคานวณจากกาไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กลุ่มบริ ษทั บันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ และหนี้ สิน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เกี่ ยวข้องนั้น โดยใช้ อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู ้หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวที่ตอ้ งเสี ยภาษีทุกรายการ แต่รับรู้ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาหรับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ ไ ด้ ใ ช้ ใ นจ านวนเท่ า ที่ มี ค วามเป็ นไปได้ค่ อ นข้า งแน่ ที่ ก ลุ่ ม บริ ษัท จะมี ก าไรทางภาษี ใ นอนาคต เพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้น้ นั กลุ่ ม บริ ษ ทั จะทบทวนมู ล ค่ า ตามบัญชี ข องสิ น ทรั พ ย์ภาษี เ งิ นได้รอการตัดบัญชี ทุ ก สิ้ นรอบระยะเวลา รายงานและจะทาการปรับลดมูลค่าตามบัญชี ดงั กล่าว หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ วา่ กลุ่มบริ ษทั จะ ไม่ มี ก าไรทางภาษี เ พี ย งพอต่ อการนาสิ นทรั พ ย์ภาษี เงิ นได้ร อการตัดบัญชี ท้ งั หมดหรื อบางส่ วนมาใช้ ประโยชน์ กลุ่มบริ ษทั จะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้อง กับรายการที่ได้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุน้ 4.21 ส่ วนต่ากว่ าทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การเข้าซื้ อและโอนกิ จการทั้งหมดกับบริ ษทั ย่อยภายใต้การควบคุมเดียวกัน บริ ษทั ฯได้มีการบันทึกบัญชี การได้มาซึ่ งสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ย่อยโดยวิธีการรวมกิจการแบบเสมือนว่าเป็ นวิธีการรวมส่ วนได้เสี ย ซึ่ ง ได้มี ก ารรั บ รู ้ ส่ วนต่ า กว่า ทุ น จากการรวมธุ รกิ จ ภายใต้ก ารควบคุ ม เดี ย วกัน จากการซื้ อกิ จการดัง กล่ า ว ในส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่เข้าซื้ อและโอนกิจการทั้งหมด โดยใช้ผลต่างของ ราคาซื้อเทียบกับราคาตามบัญชี ณ วันที่ซ้ื อ 4.22 สั ญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ กลุ่ มบริ ษทั รับรู ้ จานวนสุ ทธิ ของดอกเบี้ ยที่ได้จ่ายให้แก่ คู่สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเป็ นค่าใช้จ่าย ตามเกณฑ์คงค้าง
180
11
4.23 การวัดมูลค่ ายุติธรรม มู ล ค่า ยุติธ รรม หมายถึ ง ราคาที่ ค าดว่า จะได้รับ จากการขายสิ น ทรั พ ย์หรื อเป็ นราคาที่ จ ะต้อ งจ่ า ยเพื่ อ โอนหนี้สินให้ผอู ้ ื่นโดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผูซ้ ้ื อและผูข้ าย ณ วันที่ วัดมูลค่า กลุ่มบริ ษทั ใช้ราคาเสนอซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ และหนี้ สินซึ่ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่เกี่ ยวข้องกาหนดให้ตอ้ งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณี ที่ไม่มีตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่มีลกั ษณะเดียวกันหรื อไม่สามารถ หาราคาเสนอซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องได้ กลุ่มบริ ษทั จะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการ ประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ขอ้ มูลที่สามารถสังเกตได้ที่เกี่ ยวข้องกับ สิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ใช้วดั มูลค่าและเปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินในงบการเงิน แบ่งออกเป็ นสามระดับตามประเภทของข้อมูลที่นามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1
ใช้ขอ้ มูลราคาเสนอซื้อขายของสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง
ระดับ 2
ใช้ขอ้ มูล อื่นที่ส ามารถสัง เกตได้ของสิ นทรัพ ย์หรื อ หนี้ สิ น ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลทางตรงหรื อ ทางอ้อม
ระดับ 3
ใช้ขอ้ มูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น
ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั จะประเมินความจาเป็ นในการโอนรายการระหว่างลาดับชั้น ของมูลค่ายุติธรรมสาหรับสิ นทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัดมูลค่า ยุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจา 5.
การใช้ ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีทสี่ าคัญ ในการจัดท างบการเงิ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพิ นิจและ การประมาณการในเรื่ องที่ มี ค วามไม่แน่ นอนเสมอ การใช้ดุล ยพินิจและการประมาณการดัง กล่ า วนี้ ส่ งผลกระทบต่อจานวนเงิ นที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิ น ผลที่ เกิ ดขึ้ นจริ งอาจแตกต่างไปจากจานวนที่ป ระมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่ สาคัญมีดงั นี้ ค่ าเผือ่ หนีส้ งสั ยจะสู ญของลูกหนีช้ าวไร่ ในการประมาณค่ า เผื่ อ หนี้ สงสั ย จะสู ญ ของลู ก หนี้ ชาวไร่ ฝ่ ายบริ หารจ าเป็ นต้อ งใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ใน การประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยคานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงิน ในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เป็ นต้น
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
181
12
การปรับลดสิ นค้ าคงเหลือเป็ นมูลค่ าสุ ทธิทจี่ ะได้ รับ ในการประมาณการปรับลดสิ นค้าคงเหลื อเป็ นมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ ฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจในการ ประมาณมูล ค่า สุ ทธิ ที่จะได้รับ ของสิ นค้าคงเหลื อ โดยจานวนเงิ น ที่ค าดว่าจะได้รับ จากสิ นค้าคงเหลื อ พิจารณาจากสัญญาขาย การเปลี่ ยนแปลงของราคาขายหรื อต้นทุ นที่เกี่ ย วข้องโดยตรงกับ เหตุก ารณ์ ที่ เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงิน และฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากสิ นค้าเสื่ อมคุ ณภาพ โดยคานึ งถึ งอายุของสิ นค้าคงเหลือและสภาวะเศรษฐกิ จที่เป็ นอยู่ใน ขณะนั้น ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ และค่ าเสื่ อมราคา ในการคานวณค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องทาการประมาณอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุก ารให้ประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและ บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ากว่ามูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์น้ นั ในการนี้ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่ ง เกี่ยวเนื่องกับสิ นทรัพย์น้ นั สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กลุ่ ม บริ ษ ทั จะรั บ รู ้ สิ น ทรั พ ย์ภ าษี เงิ น ได้ร อการตัดบัญ ชี ส าหรั บ ผลแตกต่ า งชั่ว คราวที่ ใ ช้หัก ภาษี แ ละ ขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ กลุ่มบริ ษทั จะมีกาไรทางภาษีในอนาคตเพียง พอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องประมาณการ ว่า กลุ่ ม บริ ษ ทั ควรรั บ รู้ จานวนสิ นทรั พ ย์ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี เป็ นจานวนเท่ า ใด โดยพิจารณาถึ ง จานวนกาไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ต้ นทุนค่ าอ้อย ในการบัน ทึ ก ต้น ทุ น ค่ า อ้อ ย ฝ่ ายบริ ห ารจาเป็ นต้องประมาณราคาอ้อยโดยอ้างอิ ง วิธี ก ารค านวณจาก คณะกรรมการอ้อ ยและน้ า ตาลทราย ซึ่ งต้องอาศัย ข้อสมมติ ฐานต่ า ง ๆ ในการประมาณการนั้น เช่ น ประมาณการยอดขายและอัตราแลกเปลี่ยน เป็ นต้น ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้ สิ นตามโครงการผลประโยชน์ หลัง ออกจากงานของพนัก งานประมาณขึ้ นตามหลัก คณิ ต ศาสตร์ ประกันภัย ซึ่ งต้องอาศัยข้อสมมติต่าง ๆ ในการประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือน ในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจานวนพนักงาน เป็ นต้น
182
13
6. 6. การด การด าเนิาเนิ นงานที นงานที เ่ ป็ นไปตามฤดู เ่ ป็ นไปตามฤดู กาลกาล ่ ม บริ ่ ม บริ ่ก ับ่กฤดู ับ ฤดู การด การด าเนิาเนิ น งานของกลุ น งานของกลุ ษ ัทษทีัท่ ปทีระกอบธุ ่ ป ระกอบธุ ร กิรจกิผลิ จ ผลิ ต และจ ต และจ าหน่ าหน่ า ยนา ยน ล ักลษณะขึ ัก ษณะขึ ก าลก าล ้ น อยู ้ น อยู ้ า ตาลมี ้ า ตาลมี ซึ่ งซึแบ่ งเป็งนฤดู กาลผลิ ต ระหว่ างช่างช่ วงประมาณเดื อนพฤศจิ กายนถึ งเดืงอเดืนเมษายน กาลผลิ ตต ่ งแบ่ เป็ นฤดู กาลผลิ ต ระหว่ วงประมาณเดื อนพฤศจิ กายนถึ อนเมษายนและนอกฤดู และนอกฤดู กาลผลิ ระหว่ างช่างช่ วงประมาณเดื อนพฤษภาคมถึ งเดืงอเดืนตุ ลาคม ระหว่ วงประมาณเดื อนพฤษภาคมถึ อนตุ ลาคม 7. 7. รายการธุ รกิรจกิกัจบกักิบจกิการที เ่ กีย่ เ่ กีวข้ย่ วข้ องกัองกั นน รายการธุ จการที ่มบริ่มบริ ในระหว่ างปีางปีกลุกลุ ษทั ษมีทั รมีายการธุ รกิรจกิทีจ่สทีาคั ญกัญบกับุบคบุคลหรื อกิอจกิการที ่เกี่ย่เกีวข้่ยวข้ องกัองกั น รายการธุ รกิรจกิดัจงดักล่งกล่ าว าว ในระหว่ รายการธุ ่สาคั คคลหรื จการที น รายการธุ ่ ม บริ ่ ม บริ เป็ นไปตามเงื ่ อนไขทางการค้ า และเกณฑ์ ตามที ่ ตกลงกั นระหว่ า งกลุ ทั และบุ ค คลหรื จการที เป็ นไปตามเงื ่ อนไขทางการค้ า และเกณฑ์ ตามที ่ ตกลงกั นระหว่ า งกลุ ษ ทั ษและบุ ค คลหรื อกิอจกิการที ่ ่ นเหล่ นไปตามปกติ เกี่ยเกีวข้่ยวข้ องกัองกั นเหล่ านัา้ นนัซึ้ น่ งซึเป็่ งนเป็ไปตามปกติ ธุรธกิุรจกิโดยสามารถสรุ จ โดยสามารถสรุ ปได้ ดงั ดนีง้ั นี้ ปได้ งบการเงิ งบการเงิ นนรวม รวม นรวม งบการเงิ งบการเงิ นนเฉพาะกิ เฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ งบการเงิ งบการเงิ จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2560 2559 2559 2560 2560 2559 2559 รายการธุ รายการธุ รกิจรกักิบจกับริบษบริัทษย่ัทอยย่ อย (ตัด(ตัออกจากงบการเงิ ดออกจากงบการเงิ นรวมแล้ นรวมแล้ ว) ว) รายได้ รายได้ จากการขายสิ จากการขายสิ นค้นาและบริ ค้าและบริ การการ เงินเงิปันนปัผลรั นผลรั บบ ดอกเบี ดอกเบี ้ ยรับ้ ยรับ รายได้ รายได้ อื่นอื่น ซื้อซืสิ้ อนสิค้นาและบริ ค้าและบริ การการ ซื้อซืสิ้ อนสิทรันทรั พย์พถาวร ย์ถาวร ค่าใช้ ค่าจใช้่ายในการบริ จ่ายในการบริ หารหาร ดอกเบี ดอกเบี ้ ยจ่า้ ยยจ่าย
-
รายการธุ รายการธุ รกิจรกักิบจกักิบจการที กิจการที เ่ กีย่ เ่ วข้ กีย่ อวข้งกัอนงกัน ซื้อซืสิ้ อนสิค้นาและบริ ค้าและบริ การการ ซื้อซืสิ้ อนสิทรันทรั พย์พถาวร ย์ถาวร ค่าใช้ ค่าจใช้่ายในการขาย จ่ายในการขาย ค่าใช้ ค่าจใช้่ายในการบริ จ่ายในการบริ หารหาร ดอกเบี ดอกเบี ้ ยจ่า้ ยยจ่าย
267267 - 247247 47 47 89 89
-
-
-
1,011 1,011 399399 74 74 28 28 292292 56 56 6 6 12 12
1,036 1,036 1,016 1,016 53 53 16 16 721721 - 2 2 7 7
189189 22 22 206206 47 47 89 89
156156 - 171171 19 19 88 88
102102 7 7 133133 19 19 89 89
(หน่(หน่ วย:วล้ย:านบาท) ล้านบาท) นโยบายการก นโยบายการก าหนดราคา าหนดราคา นโยบายการกำ�หนดราคา
ราคาตามสั ราคาตามสั ญญา ญญา ตามที ตามที ่ประกาศจ่ ่ประกาศจ่ าย าย อัตอัราร้ ตราร้ อยละ อยละ 3.003.00 ถึง ถึ4.75 ง 4.75 ต่อต่ปี อปี ราคาที ราคาที ่ตกลงร่ ่ตกลงร่ วมกัวมกั นน ราคาตามสั ราคาตามสั ญญา ญญา ราคาตามสั ราคาตามสั ญญา ญญา ราคาที ราคาที ่ตกลงร่ ่ตกลงร่ วมกัวมกั นน อัตอัราร้ ตราร้ อยละ อยละ 1.151.15 ถึง ถึ1.75 ง 1.75 ต่อต่ปี อปี
ราคาที ราคาที ่ตกลงร่ ่ตกลงร่ วมกัวมกั นน ราคาตามสั ราคาตามสั ญญา ญญา ราคาที ราคาที ่ตกลงร่ ่ตกลงร่ วมกัวมกั นน ราคาที ราคาที ่ตกลงร่ ่ตกลงร่ วมกัวมกั นน อัตอัราร้ ตราร้ อยละ อยละ 0.420.42 และและ 11.00 11.00 ต่อต่ปี อปี
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
183
รายงานประจ�ำปี 256014 14
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับ กิจการที่เกี่ยวข้องกันดังนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม
ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อนื่ - กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
2559 2559
2560 2560
2559 2559
3,620 3,620
34,065 34,065
113,306 3,470 116,776
54,184 33,902 88,086
-
-
2,521,964 2,521,964
1,209,717 1,209,717
สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอืน่ - กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
104,432 104,432
104,432 104,432
103,027 103,027
103,027 103,027
เจ้ าหนี้การค้ าและเจ้ าหนี้อนื่ - กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
108,406 108,406
87,540 87,540
95,630 62,663 158,293
9,471 48,212 57,683
-
-
1,439,926 1,439,926
629,421 629,421
หนี้สินหมุนเวียนอืน่ - กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
885 885
198 198
628 628
198 198
เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมเงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
77,600 77,600
82,450 82,450
-
-
หนี้สินไม่ หมุนเวียนอืน่ - กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
538,642 538,642
568,319 568,319
-
-
เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั้ นแก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษทั ย่อย รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
เงินกู้ยืมระยะสั้ นจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย รวมเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
184
2560 2560
งบการเงินนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ จการ
15
เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหว ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหว ดังต่อไปนี้ ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1,209,717 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 1,209,717 เพิ่มขึ้นระหว่างปี 4,820,875 เพิ่มขึ้นระหว่างปี 4,820,875 รับชาระคืนระหว่างปี (3,508,628) รับชาระคืนระหว่างปี (3,508,628) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 2,521,964 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 2,521,964 ยอดคงค้า งของเงิ นให้กู้ยืม ระยะสั้ นแก่กิ จการที่ เกี่ ย วข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ยอดคงค้า งของเงิ นให้กู้ยืม ระยะสั้ นแก่กิ จการที่ เกี่ ย วข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียดดังนี้ มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย บริ ษทั น้ าตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด 1,363,101 300,040 บริ ษทั น้ าตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด 1,363,101 300,040 บริ ษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จากัด 682,940 604,782 บริ ษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จากัด 682,940 604,782 บริ ษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัด 467,223 298,395 บริ ษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัด 467,223 298,395 บริ ษทั ทรัพย์ศิริเกษตร จากัด 6,500 6,500 บริ ษทั ทรัพย์ศิริเกษตร จากัด 6,500 6,500 บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด 2,200 บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด 2,200 รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2,521,964 1,209,717 รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2,521,964 1,209,717 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงิ นให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยในอัตรา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงิ นให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยในอัตรา ร้อยละ 3.00 ถึงร้อยละ 4.20 ต่อปี และมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวงถาม ร้อยละ 3.00 ถึงร้อยละ 4.20 ต่อปี และมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวงถาม
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 16 รายงานประจ�ำปี 2560 16
185
เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงิ นกู้ยืมระยะสั้นจากกิ จการที่เกี่ ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหว ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงิ นกู้ยืมระยะสั้นจากกิ จการที่เกี่ ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหว ดังต่อไปนี้ ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินน เฉพาะกิ จการ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 629,421 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 629,421 เพิ่มขึ้นระหว่างปี 2,170,069 เพิ่มขึ้นระหว่างปี 2,170,069 ชาระคืนระหว่างปี (1,359,564) ชาระคืนระหว่างปี (1,359,564) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 1,439,926 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 1,439,926 ยอดคงค้า งของเงิ น กู้ ยื ม ระยะสั้ นจากกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2560 และ 2559 ยอดคงค้า งของเงิ น กู้ ยื ม ระยะสั้ นจากกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียดดังนี้ มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินนเฉพาะกิ จการ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย บริ ษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด 815,236 270,176 บริ ษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด 815,236 270,176 บริ ษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จากัด 264,000 115,000 บริ ษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จากัด 264,000 115,000 (เดิมชื่อ “บริ ษทั เอกรัฐพัฒนา จากัด”) (เดิมชื่อ “บริ ษทั เอกรัฐพัฒนา จากัด”) บริ ษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากัด 334,310 218,645 บริ ษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากัด 334,310 218,645 บริ ษทั เพิม่ สิ นพัฒนา จากัด 4,050 บริ ษทั เพิม่ สิ นพัฒนา จากัด 4,050 บริ ษทั เคทิส ชีวพลังงาน จากัด 11,680 13,600 บริ ษทั เคทิส ชีวพลังงาน จากัด 11,680 13,600 บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด 2,000 บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด 2,000 บริ ษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จากัด 650 บริ ษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จากัด 650 บริ ษทั เกษตรไทย วิวฒั น์ จากัด 10,000 10,000 บริ ษทั เกษตรไทย วิวฒั น์ จากัด 10,000 10,000 รวมเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1,439,926 629,421 รวมเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1,439,926 629,421 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงิ นกูย้ ืม ระยะสั้นจากกิ จการที่ เกี่ ย วข้องกันคิ ดดอกเบี้ ยในอัตรา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงิ นกู้ยืม ระยะสั้นจากกิ จการที่ เกี่ ย วข้องกันคิ ดดอกเบี้ ยในอัตรา ร้อยละ 1.15 ถึงร้อยละ 1.38 ต่อปี และมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวงถาม ร้อยละ 1.15 ถึงร้อยละ 1.38 ต่อปี และมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวงถาม
186
17 17
เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กี่ยวข้เงิอนงกักูนย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ณเงิวันนกูทีย้ ่มื 31ระยะยาวจากกิ ธันวาคม 2560จการที และ ่เ2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีรายละเอี ไปนี้ (หน่ยวดดั ย: งพัต่นอบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงิน(หน่ รวมวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินรวม นรวม2559 2560 งบการเงิ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 เงินกูย้ มื ระยะยาว 77,600 82,450 เงินกูย้ มื ระยะยาว 77,600 82,450 หัเงิกน: ส่กูย้วมื นที ่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี (4,850) (4,850) ระยะยาว 77,600 82,450 หัก: ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี (4,850) (4,850) นที่ถึงกาหนดชจการที าระภายในหนึ ่ งปีน (4,850) (4,850) เงิหันกกู:ย้ ส่มื วระยะยาวจากกิ ่เกี่ยวข้องกั เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 72,750 77,600 ากส่ วนที่ถึงกาหนดช เงิ- นสุกูทย้ ธิมื จระยะยาวจากกิ จการทีาระภายในหนึ ่เกี่ยวข้องกัน ่ งปี 72,750 77,600 - สุ ทธิ จากส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี 72,750 77,600 - สุ ทธิ จากส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงิ นกู้ยืมระยะยาวจากกิ จการที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่ อนไหว ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงิ นกู้ยืมระยะยาวจากกิ จการที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่ อนไหว ดัในระหว่ งต่อไปนี้างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงิ นกู้ยืมระยะยาวจากกิ จการที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่ อนไหว ดังต่อไปนี้ ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงิ (หน่วย: พันนรวม บาท) งบการเงินรวม งบการเงิ นรวม งบการเงิ82,450 นรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 82,450 ชยอดคงเหลื าระคืนระหว่ (4,850) อ ณางปีวันที่ 1 มกราคม 2560 82,450 ชาระคืนระหว่างปี (4,850) ยอดคงเหลื อ ณ าวังปี นที่ 31 ธันวาคม 2560 ชาระคืนระหว่ (4,850) 77,600 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 77,600 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 77,600 ยอดคงค้า งของเงิ น กู้ยื ม ระยะยาวจากกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มี ยอดคงค้า งของเงิ น กู้ยื ม ระยะยาวจากกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มี รายละเอี งนี้ น กู้ยื ม ระยะยาวจากกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มี ยอดคงค้ยดดั า งของเงิ รายละเอียดดังนี้ รายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงิ น รวม (หน่ วย: พันบาท) งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ 2560 2560 งบการเงินรวม2559 2559 2560 2559 2560 2559 บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริบริษษทั ทั ศิทีร่เิ เกีจริ่ยวข้ ญเอ็องกั กซ์นปอร์ต จากัด 77,600 82,450 บริ ษทั ศิริเจริ ญเอ็กซ์ปอร์ต จากัด 77,600 82,450 บริ ษทั นกูศิย้ รมืิ เจริระยะยาวจากกิ ญเอ็กซ์ปอร์ตจการที จากัด่เกี่ยวข้องกัน 77,600 82,450 รวมเงิ 77,600 82,450 รวมเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 77,600 82,450 รวมเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 77,600 82,450 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยในอัตราที่อา้ งอิง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยในอัตราที่อา้ งอิง อัณตราดอกเบี ฝากออมทรั พย์ 2559 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยในอัตราที่อา้ งอิง วันที่ 31 ้ ยธัเงินนวาคม 2560 และ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์
18 รายงานประจ�ำปี 2560 18
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 18
187
ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร ค่ในระหว่ าตอบแทนกรรมการและผู างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31บ้ ริธัหนารวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่ ในระหว่ างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่ กรรมการและผู ้ 2560 ในระหว่ างปี สิ้ นสุบ้ ดริ วัหนารที่ดั31งต่ธัอนไปนี วาคม และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่ กรรมการและผูบ้ ริ หาร ดังต่อไปนี้ กรรมการและผูบ้ ริ หาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) (หน่ วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงิน(หน่ เฉพาะกิ วย: พัจนการ บาท) งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินน รวม งบการเงิ นเฉพาะกิจการ 2560 2560 งบการเงิ รวม2559 งบการเงิ นเฉพาะกิ จ2559 การ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 ผลประโยชน์ระยะสั้น 46,561 40,142 43,801 37,382 2560 2559 2560 2559 ผลประโยชน์ 46,561 40,142 43,801 37,382 ้น ผลประโยชน์ระยะสั หระยะสั ลังออกจากงาน 612 576 612 576 ผลประโยชน์ 46,561 40,142 43,801 37,382 ้น ผลประโยชน์ ออกจากงาน 612 576 612 576 ผลประโยชน์หหทลัลัี่จงออกจากงาน า่งยโดยใช้ หุน้ เป็ นเกณฑ์ 911 911 911 911 ผลประโยชน์ 612 576 612 576 ผลประโยชน์ที่จา่ ยโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ 911 911 911 911 รวม 48,084 41,629 45,324 38,869 ผลประโยชน์ ที่จา่ ยโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ 911 911 911 911 รวม 48,084 41,629 45,324 38,869 รวม 48,084 41,629 45,324 38,869 8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่วย: พันบาท) (หน่ วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงิน(หน่ เฉพาะกิ วย: พัจนการ บาท) งบการเงินรวม งบการเงิน นเฉพาะกิ จการ จการ งบการเงิ นรวม งบการเงิ เฉพาะกิ 2560 2560 2559 งบการเงินรวม2559 งบการเงิ การ 2560 2559 2560 นเฉพาะกิจ2559 2560 2559 2560 2559 เงินสด 25604,611 25593,191 25602,626 25591,029 เงินสด 4,611 3,191 2,626 1,029 42,894 22,097 42,167 เงิเช็นคสดในมือ 4,611 3,191 2,626 1,02928 เช็คฝากธนาคาร ในมือ 42,894 22,097 42,167 28 282,156 314,137 160,692 203,243 เช็เงิคนในมื อ 42,894 22,097 42,167 28 เงินฝากธนาคาร 282,156 314,137 160,692 203,243 329,661 339,425 205,485 204,300 เงิรวม นฝากธนาคาร 282,156 314,137 160,692 203,243 รวม 329,661 339,425 205,485 204,300 รวม 329,661 339,425 205,485 204,300 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินฝากออมทรัพย์มีอตั ราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 0.37 ถึงร้ อยละ 0.38 ต่อปี ณ วันทีร้่ 31 ธัน0.37 วาคมถึง2560 เงิน0.38 ฝากออมทรั ราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 0.37 ถึงร้ อยละ 0.38 ต่อปี ร้อยละ ต่อปี ) พพย์ย์มมีอีอตั ตั ราดอกเบี ณ(2559: วันที่ 31อยละ ธันวาคม 2560 เงินฝากออมทรั ้ ยระหว่างร้อยละ 0.37 ถึงร้ อยละ 0.38 ต่อปี (2559: ร้อยละ 0.37 ถึงร้อยละ 0.38 ต่อปี ) (2559: ร้อยละ 0.37 ถึงร้อยละ 0.38 ต่อปี )
188
19 19 19
9.
ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ นื่ ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึง กาหนดชาระได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ นนเฉพาะกิ จการ 2560 2559 2560 2559
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2560 2559 2560 2559
ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 3 เดือน รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการทีไ่ ม่ เกีย่ วข้ องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 3 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน, สุทธิ รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนีอ้ นื่ เงินทดรองจ่าย ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รายได้คา้ งรับ - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ
3
-
94,539
36,616
3
1 1
94,539
12,502 49,118
275,234
332,967
51,923
123,443
73,134 104 348,472 (104) 348,368 348,371
114,587 2,076 449,630 (107) 449,523 449,524
38,783 90,706 90,706 185,245
85,698 1,969 211,110 211,110 260,228
58,793 7 3,444 15,016 83,168 173 87,891 248,492 596,863
53,290 11 3,413 25,055 51,947 30,651 75,009 239,376 688,900
38,919 6,127 3,312 6,233 17,645 12,798 156 85,190 270,435
36,389 2,839 3,313 16,492 14,444 32,816 127 106,420 366,648
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
189
20
10. 10.
ลูกหนีช้ าวไร่ ลูกหนีช้ าวไร่ ลูกหนี้ชาวไร่ ของกลุ่มบริ ษทั สามารถแบ่งตามลักษณะของการให้เงินช่วยเหลือได้ 2 ส่ วนดังนี้ ลูกหนี้ชาวไร่ ของกลุ่มบริ ษทั สามารถแบ่งตามลักษณะของการให้เงินช่วยเหลือได้ 2 ส่ วนดังนี้ 10.1 ลูกหนี้ชาวไร่ เงินส่ งเสริ ม 10.1 ลูกหนี้ชาวไร่ เงินส่ งเสริ ม ลูกหนี้ชาวไร่ เงินส่ งเสริ มเป็ นลูกหนี้จากเงินที่กลุ่มบริ ษทั ให้แก่เกษตรกรเพื่อนาไปใช้จ่ายในส่ วนที่เกี่ยวกับ ลูกหนี้ชาวไร่ เงินส่ งเสริ มเป็ นลูกหนี้จากเงินที่กลุ่มบริ ษทั ให้แก่เกษตรกรเพื่อนาไปใช้จ่ายในส่ วนที่เกี่ยวกับ การเพาะปลูกอ้อยโดยตรง และเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นในการปลูกอ้อย เช่น เงินส่ งเสริ มค่าแรง ปุ๋ ย ยา เป็ นต้น การเพาะปลูกอ้อยโดยตรง และเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นในการปลูกอ้อย เช่น เงินส่ งเสริ มค่าแรง ปุ๋ ย ยา เป็ นต้น 10.2 ลูกหนี้ชาวไร่ เงินสนับสนุน 10.2 ลูกหนี้ชาวไร่ เงินสนับสนุน ลูกหนี้ชาวไร่ เงินสนับสนุนเป็ นลูกหนี้จากเงินที่กลุ่มบริ ษทั ให้แก่เกษตรกรเพื่อสนับสนุนการเพาะปลูกอ้อย ลูกหนี้ชาวไร่ เงินสนับสนุนเป็ นลูกหนี้จากเงินที่กลุ่มบริ ษทั ให้แก่เกษตรกรเพื่อสนับสนุนการเพาะปลูกอ้อย รวมถึ งการเก็บเกี่ ยวเพื่อให้มีประสิ ทธิ ผลดี เช่น เงินสนับสนุ นโครงการบริ หารจัดการน้ า เงินสนับสนุ น รวมถึ งการเก็บเกี่ ยวเพื่อให้มีประสิ ทธิ ผลดี เช่น เงินสนับสนุ นโครงการบริ หารจัดการน้ า เงินสนับสนุ น เครื่ องมือการเกษตร เป็ นต้น เครื่ องมือการเกษตร เป็ นต้น ยอดคงเหลือของลูกหนี้ ชาวไร่ ณ วันที่ และ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แยกตามอายุหนี้ ที่คงค้างนับจาก ยอดคงเหลือของลูกหนี้ ชาวไร่ ณ วันที่ และ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แยกตามอายุหนี้ ที่คงค้างนับจาก วันที่ถึงกาหนดชาระได้ดงั นี้ วันที่ถึงกาหนดชาระได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิน นรวม งบการเงิ เฉพาะกิจการจการ งบการเงิ รวม งบการเงิ นนเฉพาะกิ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 ยังไม่ถึงกาหนดชาระ 370,973 229,574 258,497 132,268 ยังไม่ถึงกาหนดชาระ 370,973 229,574 258,497 132,268 ค้างชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 1 ปี 57,888 199,560 53,728 164,253 ไม่เกิน 1 ปี 57,888 199,560 53,728 164,253 1 - 5 ปี 114,928 48,805 103,254 47,619 1 - 5 ปี 114,928 48,805 103,254 47,619 679,900 684,684 387,141 400,370 มากกว่า 5 ปี 679,900 684,684 387,141 400,370 มากกว่า 5 ปี 852,716 933,049 544,123 612,242 852,716 933,049 544,123 612,242 รวม 1,223,689 1,162,623 802,620 744,510 รวม 1,223,689 1,162,623 802,620 744,510 หัก: ส่ วนลดรับจากการรับโอนสิ ทธิ หัก: ส่ วนลดรับจากการรับโอนสิ ทธิ เรี ยกร้องลูกหนี้ชาวไร่ (292,376) (298,085) (221,581) (228,101) เรี ยกร้องลูกหนี้ชาวไร่ (292,376) (298,085) (221,581) (228,101) (367,493) (308,552) (205,264) (153,409) ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ (367,493) (308,552) (205,264) (153,409) ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ 563,820 555,986 375,775 363,000 รวมลูกหนี้ชาวไร่ - สุ ทธิ 563,820 555,986 375,775 363,000 รวมลูกหนี้ชาวไร่ - สุ ทธิ
190
21 21
11.11. สิ นสิค้นาค้คงเหลื าคงเหลื ออ 11. สิ นค้ าคงเหลือ
(หน่(หน่ วย:วย: พันพับาท) นบาท)
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม (หน่วย: พันบาท) รายการปรั รายการปรั บ ลดราคาทุ บ ลดราคาทุ น น งบการเงินรวม (หน่(หน่ วย:วพัย:นพับาท) นบาท) ราคาทุ ราคาทุ นน ให้ ให้ เ ป็ น เ ป็ มู น ล มู ค่ ล า สุ ค่ า ท สุ ธิ ท ท ธิ ่ ี จ ท ะได้ ่ ี จ ะได้ ร ั บ ร ั บ สิ น สิ ค้ น า คงเหลื ค้ า คงเหลื อ อ สุ ท สุ ธิ ท ธิ รายการปรั บลดราคาทุ น งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม งบการเงิ นรวม 2560 2560 2559 ให้เป็2560 2559 2559 2560 2560 อ - สุ2559 ราคาทุ น 2559 นมู2560 ลค่าสุ ทบลดราคาทุ ธิ ทบี่จลดราคาทุ ะได้ ทธิ2559 รายการปรั น รับ ราคาทุน นค้าคงเหลือ - สุทธิ รายการปรั รายการปรั น น สิ นค้าสิคงเหลื ให้เป็นมูลค่าบ สุทลดราคาทุ ธิที่ ได้รับ วัตวัถุตดถุิบดิบ 39,085 39,085 2559 23,654 23,654 2560 - - 2559 - - 2560 39,085 39,085 2559 23,654 23,654 2560 2560 ราคาทุ ราคาทุ น 2559 น ให้ให้ เ2560 ป็ นเป็มูนลมูค่ลาสุค่ทาสุธิทธิ2559 ี่จทะได้ ี่จะได้ รับรับ 2560 สิ นสิค้นาคงเหลื ค้าคงเหลื อ -2559 อสุ-ทสุธิทธิ สิ นสิค้นาสค้าาเร็ สาเร็ จรู จปรู ป 4,136,639 4,136,639 1,479,595 1,479,595 (471,910) (471,910) (3,367) (3,367) 3,664,729 3,664,729 1,476,228 1,476,228 วัตถุดิบ 39,085 23,654 39,085 23,654 2560 2560 2559 2559 2560 2560 2559 2559 2560 2560 2559 2559 สิ นสิค้นาซืค้้าอซืมาเพื อมาเพื ่อขาย ่อขาย 47,903 47,903 37,297 37,297 - - 47,903 47,903 37,297 37,297 ้ สิ นวัค้ตาวัถุสตดาเร็ จ รู ป 4,136,639 1,479,595 (471,910) (3,367) 3,664,729 1,476,228 ถุิบวัดสิบวัดุสโดุรงงาน 39,085 39,085 23,654 23,654 - - 39,085 39,085 23,654 23,654 อะไหล่ อะไหล่ โรงงาน สิ นสิค้นาสิซืค้น้าอสค้มาเพื ่ อ ขาย 47,903 37,297 47,903 37,297 าสดุสาเร็ จสดุรูิ นปสจเปลื รู ป ององ 4,136,639 4,136,639 1,479,595 (471,910) (471,910) (40,623) (3,367) (3,367) 3,664,729 3,664,729 1,476,228 และวั และวั สาเร็ 307,405 307,405 1,479,595 336,844 336,844 (33,508) (33,508) (40,623) 273,897 273,897 1,476,228 296,221 296,221 ้ ิ้ นเปลื อะไหล่ วั ส ดุ โ รงงาน สิ นสิค้นาซืค้้ อาซืมาเพื ่อขาย ่อขาย 47,903 47,903 27,772 37,297 37,297 47,903 47,903 27,772 37,297 37,297 ้ อมาเพื 21,851 21,851 27,772 - - - - (40,623)- - - - 273,897 21,851 21,851 27,772 สิ นและวั สิค้นาระหว่ ค้สาระหว่ าิ้ นงผลิ างผลิ ตองต ดุ ส เปลื 307,405 336,844 (33,508) 296,221 อะไหล่ อะไหล่ วัสวัดุสโดุรงงาน โรงงาน 4,552,883 4,552,883 1,905,162 1,905,162 (505,418) (505,418) (43,990) (43,990) 4,047,465 4,047,465 1,861,172 1,861,172 รวม รวม 21,851 สิ นค้าและวั ระหว่ และวั สางผลิ ดุสสดุิ้ นตสเปลื ิ้ นเปลื ององ 21,851 307,405 307,405 27,772 336,844 336,844 (33,508) (33,508) (40,623) (40,623) 273,897 273,897 27,772 296,221 296,221 รวมสิ นสิค้นาระหว่ 21,851 21,851 1,905,162 27,772 27,772 (505,418) - - (43,990) - - 4,047,465 21,851 21,851 1,861,172 27,772 27,772 ค้าระหว่ างผลิ างผลิ ต ต 4,552,883 (หน่(หน่ วย:วย: พันพับาท) นบาท) 4,552,883 4,552,883 1,905,162 1,905,162 (505,418) (505,418) (43,990) (43,990) 4,047,465 4,047,465 1,861,172 1,861,172 รวมรวม งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ (หน่วย: พันบาท) รายการปรั รายการปรั บ ลดราคาทุ บ ลดราคาทุ น น งบการเงิ นเฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ (หน่(หน่ วย:วพัย:นพับาท) นบาท) รายการปรั บ ลดราคาทุ นะได้ ราคาทุ ราคาทุ น น ให้ ให้ เ ป็ น เ ป็ มู น ล มู ค่ ล า สุ ค่ า ท สุ ธิ ท ท ธิ ่ ี จ ท ่ ี จ ะได้ ร ั บ ร ั บ สิ น สิ ค้ น า คงเหลื ค้ า คงเหลื อ อ สุ ท สุ ธิ ท ธิ ราคาทุน สิ น ค้ า คงเหลื อ สุ ท ธิ รายการปรั ให้เป็นมูบ ลน ค่ลดราคาทุ าเฉพาะกิ สุน ทธิเฉพาะกิ ที่ ได้รับ จน งบการเงิ งบการเงิ การ จการ 2560 2560 2559 ให้เป็2560 2559 2559 2560 2559 2559 2559 ราคาทุน 2559 น2560 มู2560 ลค่าสุ ทบธิลดราคาทุ ทบี่จลดราคาทุ ะได้ รับน น สิ2560 น2560 ค้2560 าคงเหลือ - สุ2559 ทธิ2559 รายการปรั รายการปรั สิ นสิค้นาสค้าาเร็ สาเร็ จรู จปรู ป 2,687,476 2,687,476 2559 909,430 909,430 2560 (294,183) (294,183) (459) (459) 2,393,293 2,393,293 2559 908,971 908,971 2560 ราคาทุ ราคาทุ นน ให้ให้ เป็ นเป็มูนลมูค่ลาสุค่ทาสุธิ2559 ทธิี่จทะได้ ี่จะได้ รับรับ 2560 สิ นสิค้นาคงเหลื ค้าคงเหลื อ -อสุ-ทสุธิทธิ สิ นสิค้นาซืค้าอซืมาเพื อมาเพื ่อขาย ่อขาย 44,877 44,877 34,904 34,904 - - 44,877 44,877 34,904 34,904 สิ นค้าสาเร็้ จ้ รู ป 2,687,476 909,430 (459) 908,971 2560 2560 2559 2559 (294,183) 2560 2560 2559 2559 2,393,293 2560 2560 2559 2559 อะไหล่ อะไหล่ วัสวัดุสโดุรงงาน โรงงาน สิ นสิค้นาสิซืค้น้าอสค้มาเพื ่ อ ขาย 44,877 34,904 - (459) 2,393,293 44,877 34,904 าสดุสาเร็ จสดุรูิ นปสจเปลื รูิ นปเปลื 2,687,476 2,687,476 909,430 909,430 (12,519) (294,183) (294,183) (459) 2,393,293 908,971 908,971 และวั และวั สาเร็ อ ง อ ง 125,593 125,593 139,797 139,797 (12,519) (25,163) (25,163) 113,074 113,074 114,634 114,634 ้ ้ อะไหล่ วั ส ดุ โ รงงาน สิ นสิค้นาซืค้้ อาซืมาเพื ่อขาย ่อขาย 44,877 44,877 34,904 34,904 44,877 44,877 34,904 34,904 ้ อมาเพื - - 139,797 4,303 4,303 - - - - (25,163)- - - - 113,074 - - 114,634 4,303 4,303 สิ นและวั สิค้นาระหว่ ค้สาระหว่ าิ้ นงผลิ างผลิ ตองต ดุ ส เปลื 125,593 (12,519) อะไหล่ อะไหล่ วัสวัดุสโดุรงงาน โรงงาน 2,857,946 2,857,946 1,088,434 1,088,434 (306,702) (306,702) (25,622) (25,622) 2,551,244 2,551,244 1,062,812 1,062,812 รวม รวม 4,303 4,303 สิ นค้าและวั ระหว่ และวั สางผลิ ดุสสดุิ้ นตสเปลื ิ้ นเปลื ององ 125,593 125,593 139,797 139,797 (12,519) (12,519) (25,163) (25,163) 113,074 113,074 114,634 114,634 รวมสิ นสิค้นาระหว่ 4,303 4,303 (306,702) - - (25,622) - - 2,551,244 - - 1,062,812 4,303 4,303 ค้าระหว่ างผลิ างผลิ ต ต 2,857,946 - - 1,088,434
11.11. สิ นสิค้นาคงเหลื ค้ าคงเหลื ออ
่มบริ ่มบริ ในระหว่ ในระหว่ างปีางปี ปั จปัจุจบจุนั บกลุ นั กลุ ษทั ษบัทั นบัทึนกทึการปรั กการปรั บลดราคาทุ บลดราคาทุ นของสิ นของสิ นค้นาค้คงเหลื าคงเหลื อให้ อให้ เป็ นมู เป็ นมู ลค่ลาค่สุาทสุธิททธิี่จทะได้ ี่จะได้ รับรับ 2,857,946 2,857,946 1,088,434 1,088,434 (306,702) (25,622) (25,622) 2,551,244 2,551,244 1,062,812 รวมนเป็รวม เป็ จนานวนเงิ จาานวนเงิ นบนั461ล้กลุาล้นบาท ทั ฯ:281281ล้า(306,702) ล้นบาท) นบาท)โดยแสดงเป็ ส่นวเส่ป็นหนึ วนมู นหนึ ่ งาของต้ ขาย น1,062,812 ขาย ่มานบาท ในระหว่ งปี ปันจจุ461 บริ ษ(เฉพาะของบริ ทั บั(เฉพาะของบริ นทึกการปรัษทับษฯ: ลดราคาทุ นาของสิ นค้โดยแสดงเป็ าคงเหลือนให้ ล่ งค่ของต้ สุ ทนธิ ทุทนี่นจทุะได้ รับ ่มจบริ ่ปัมจุบริ ในปี 2559 2559 กลุ ก(เฉพาะของบริ กษกลั บบ281 ลดราคาทุ นของสิ นนของสิ นค้นนาค้คงเหลื เป็ให้ านวนเงิ านวนเงิ นทุาทสุ176 าี่จนบาท เป็ในปี นในระหว่ จในระหว่ านวนเงิ นากลุ ทั บฯ:ลดราคาทุ ล้านบาท) นอส่เป็ออวนจ นหนึ นธิทขาย ่มทึนบริ ่มทึกลั างปี งปี ปั461 จล้บษจุานั ทั นบาท บษบักลุ นั ทั นบักลุ บริ ทับษบัรายการปรั ทบั นบัรายการปรั ทึนกทึการปรั กษการปรั ลดราคาทุ บลดราคาทุ ของสิ นโดยแสดงเป็ ของสิ ค้นาาคงเหลื ค้คงเหลื าคงเหลื อนจ ให้ เป็ ่ งนมู เป็ของต้ นมู ลค่นลานค่สุ176 ทล้ธิี่จาทล้นบาท ะได้ ะได้ รับรับ ่ายใน (เฉพาะของบริ ษ461 ททัั ล้บัฯ:าน157 าบล้นบาท) านบาท)โดยน โดยน ก281 จากมู กล้นจากมู ค่ลนาค่ของสิ าาของสิ นค้นาอค้คงเหลื ทีวอนหนึ ่รทีับ่ ง่รรูของต้ ันบ้ เ่ งป็รูของต้ ้ เนค่ ป็ นนค่ าทุล้ใช้ ใช้ จน่าจขาย ยใน เป็(เฉพาะของบริ นเป็2559 จนานวนเงิ จานวนเงิ นทั ษษฯ:461 นบาท ล้ทึา157 นบาท (เฉพาะของบริ ทั าไปหั ษฯ:ทาไปหั ั ฯ:281 าของสิ นบาท) ล้าลนบาท) โดยแสดงเป็ นนจ ส่นวานวนเงิ ส่อนหนึ นนาาทุนบาท ขาย ในปี กลุ่มนบริ กกลัล้(เฉพาะของบริ รายการปรั บษลดราคาทุ ค้โดยแสดงเป็ คงเหลื เป็าคงเหลื 176 ระหว่ ระหว่ างปีางปี ษทั ฯ: 157 ล้านบาท) โดยนาไปหักจากมูลค่าของสิ นค้าคงเหลื อที่รับรู้ เป็ นค่าใช้จ่ายใน (เฉพาะของบริ ่มบริ ่มบริ ในปีในปี2559 2559 กลุกลุ ษทั ษบัทั นบัทึนกทึกลั กกลั บรายการปรั บรายการปรั บลดราคาทุ บลดราคาทุ นของสิ นของสิ นค้นาค้คงเหลื าคงเหลื อเป็อนจ เป็ นจ านวนเงิ านวนเงิ น 176 น 176ล้าล้นบาท านบาท ระหว่ างปี (เฉพาะของบริ (เฉพาะของบริ ษทั ษฯ:ทั ฯ:157157ล้าล้นบาท) านบาท)โดยน โดยน าไปหั าไปหั กจากมู กจากมู ลค่ลาค่ของสิ าของสิ นค้นาค้คงเหลื าคงเหลื อทีอ่รทีับ่รรูับ้ เป็รู้นค่ เป็ นค่ าใช้าใช้ จ่ายใน จ่ายใน ระหว่ ระหว่ างปีางปี 2222 22
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
191
รายงานประจ�ำปี 2560 22 22
12. 12. สิ นทรั สิ นพทรัย์ชพีวย์ภาพ ชีวภาพ 12. สิ น ทรั พ ีวภาพ 12. 12. สิ นทรั สิ นพทรัย์ชพีวย์ภาพ ชย์ีวชภาพ รายการเปลี รายการเปลี ญชี สญิ นชีทรั สินพทรั ทรั ย์ชพี วย์ชภาพส ชีวภาพส ภาพส าหรัาหรั บปี สิบ้ นปี สุสิด้ นวัสุนดทีวั่ น31ที่ธั31นวาคม วาคม ธันวาคม 25602560 และ2559 และ 2559สรุ 2559 สรุได้ ปสรุได้ปได้ 12. สิรายการเปลี นทรั่ยพนแปลงของบั ย์ช่ยีว่ยนแปลงของบั ภาพ นแปลงของบั 2560 และ รายการเปลี รายการเปลี ่ยนแปลงของบั ่ยนแปลงของบั ญชี สญิญนชีชีทรั สสิ นิ นพทรั ย์ชพพี วย์ย์ภาพส ชีวีวภาพส าหรัาหรั าหรั บปีบสิบปี้ นปีสิสุสิ้ นด้ นสุวัสุดนวัดทีนวั่ ทีน31่ ที31่ธั31นธันวาคม ธันวาคม 2560 2560 และ และ 25592559 สรุปปสรุ ได้ปได้ ดังนีดั้ งดัรายการเปลี นีง้ นี้ ่ยนแปลงของบัญชี สินทรัพย์ชีวภาพสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ ดังนีดั้ งนี้ ดังนี้
งบการเงิ งบการเงิ นนรวม นรวม งบการเงิ รวม งบการเงิ นนรวม งบการเงิ งบการเงิ รวม นรวม งบการเงินรวม 2560 2560 25592559 2560 2560 2559 2560 2560 25592559 2560 ยอดคงเหลื 29,647 ยอดคงเหลื ยอดคงเหลื อต้ นอปีต้อต้นนปีปี 29,647 29,647 2559 16,531 16,531 ยอดคงเหลื ยอดคงเหลื อ ต้ น อ ปี ต้ น ปี 29,647 29,647 16,531 16,531 าไร(ขาดทุ (ขาดทุ จากการเปลี ิธตรรม 8,177 4,2264,226 ยอดคงเหลื ต้นนน)ปี)จากการเปลี 29,647 ผลกผลก าไรผลก าไร (ขาดทุ น)อจากการเปลี ่ยนแปลงในมู ่ย่ยนแปลงในมู นแปลงในมู ลค่าลยุลค่ตค่ายุิธาตยุรรม ิธรรม 8,177 8,177 16,531 4,226 ผลกผลก าไรเพิาไร (ขาดทุ (ขาดทุ )่อจากการเปลี น)นจากการเปลี ่ยนแปลงในมู ่ยนแปลงในมู ลค่ายุลตค่ิธายุรรม ติธรรม 8,177 8,177 4,226 4,226 นเนืน่ อ(ขาดทุ งจากการปลู 35,439 31,533 ้เนื ) จากการเปลี 8,177 4,226 เพิ่มขึเพิ้ นผลก งจากการปลู งจากการปลู ก กก ่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม 35,439 35,439 31,533 31,533 ่มเนืขึ่ม้ ่นอขึาไร เพิ่มขึเพิ้ น่มเนืเพิ ขึ้่นอ่มงจากการปลู เนื ก บกเกีก่ยว 35,439 35,439 31,533 31,533 (45,776) (22,643) ขึ้น่ อเนืงจากการปลู ่งจากการเก็ องจากการปลู 35,439 31,533 ลดลงเนื ่ อ (45,776) (45,776) (22,643) (22,643) ลดลงเนื ลดลงเนื ่องจากการเก็ ่องจากการเก็ บเกี่ยบวเกี่ยว (45,776) (45,776) (22,643) (22,643) (45,776) (22,643) 27,487 29,647 ่ ่ ลดลงเนื ลดลงเนื ่ยอดคงเหลื องจากการเก็ ่องจากการเก็ บ เกี ย บ ว เกี ย ว ่ ลดลงเนื ่องจากการเก็ บ เกี ย ว อปลายปี 27,487 27,487 29,647 29,647 ยอดคงเหลื ยอดคงเหลื อปลายปี อปลายปี 27,487 29,647 27,487 27,487 29,647 29,647 ยอดคงเหลื อปลายปี ยอดคงเหลื ยอดคงเหลื อปลายปี อปลายปี 13. เงินลงทุนในบริษัทย่ อย 13. 13. เงินลงทุ เงินลงทุ นในบริ นในบริ ษัทย่ษอัทยย่ อย เงิ น ลงทุ น ในบริ 13. 13. เงิ13. น ลงทุ เงิ น ลงทุ น ในบริ น ในบริ ษ ัทย่ษอัทษยษย่ัททั อย่ย่ยออยยประกอบด้วยเงินลงทุนในหุน้ สามัญของบริ ษทั ดังต่อไปนี้ 13.1 เงินลงทุนในบริ
(หน่วย:(หน่ วย:พันพัวบาท) ย:นบาท) พันบาท) (หน่ (หน่(หน่ วย: พัวย:นบาท) พันบาท) งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ การจการ งบการเงิ น(หน่ เฉพาะกิ จการ วย:นจเฉพาะกิ พัการ นจบาท) งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงิ งบการเงิ นนเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ2559 จ2559 การ 25602560 25592559 2560 2560 2560 2560 25592559 2560 18,762 16,531 18,762 18,762 2559 16,531 16,531 18,762 18,762 16,531 16,531 (669) 1,605 18,762 (669)(669) 16,531 1,6051,605 (669) (669) 1,605 1,6051,605 22,573 (669) 22,573 22,573 18,857 18,857 18,857 22,573 22,573 (18,231) 18,857 18,857 (30,609) 22,573 18,857 (30,609) (30,609) (18,231) (18,231) (30,609) (30,609) (18,231) (18,231) (18,231) (30,609) 10,057 18,762 10,057 10,057 18,762 18,762 10,057 18,762 10,057 10,057 18,762 18,762
13.113.1เงินลงทุ นลงทุ ในบริ ษทั ย่ษษอทั ยประกอบด้ วยเงิวยเงิ นยเงิ ลงทุ นในหุ น้ สามั ญญของบริ ษทั ดัษงทั ต่ดัองไปนี ไปนี เงินลงทุ นนในบริ ย่ออยประกอบด้ นลงทุ ลงทุ ในหุ น้ สามั ญของบริ ต่อไปนี ้ ้ ยประกอบด้ นนนในหุ น้ น้ สามั 13.113.1เงิ13.1 นลงทุ เงินเงิลงทุ นนในบริ นในบริ ษในบริ ทั ย่ษอทั ยประกอบด้ ย่ทั อย่ยประกอบด้ วยเงิวนวยเงิ ลงทุ นนลงทุ นในหุ ในหุ น้ สามั สามั ญของบริ ญของบริ ของบริ ษทั ษดัทั ษงดัทั ต่งดัอต่งอไปนี ต่อไปนี ้้ ้ งบการเงินเฉพาะกิจการ
นจเฉพาะกิ การ จการญชี งบการเงิ การ ค่าเผื่อการด้งบการเงิ อยค่งบการเงิ า นนเฉพาะกิ มูจจลการ ค่าตามบั งบการเงิ นเฉพาะกิ เฉพาะกิ
(หน่วย: พันบาท)
ย:นบาท) พัวนย:บาท) พันบาท) (หน่(หน่ วย:วพั(หน่ (หน่ว(หน่ ย: พัวนย:บาท) พันบาท)
เงินปันผลรับสาหรับปี
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการญชี าาเผื อการด้ มูมูมูลลค่ลธค่าค่ี รตามบั บธับ ปีนสวาคม ค่ค่าค่เผื ่อค่่อการด้ เผืการด้ อยค่ยค่านาอยค่า ตามวิ มูตามบั ตามบั ลนค่-สุานญตามบั ญชีทธิ ญชี สิสิเงิ้น้นเงิสุนเงิสุนดปัปัวัดนนนนวัปัผลสำ ผลรั าหรั ปี บปี ของเงิ น่อลงทุ ตามวิ -สุ นเงิ่น31 ทีนผลรั ่ �31 เผื ่อาการด้ าาาคาทุ บธัปัหรันสนวาคม าหรั บบปี สบาหรั ของเงิ นลงทุนอยค่า ธีราคาทุ ทชีธิ ทีผลรั ค่าเผื่อค่การด้ าเผื่อการด้ อยค่าอยค่า มูลค่ามูตามบั ลค่าตามบั ญชี ญชี เงินปัเงินนผลรั ปันบผลรั สาหรั บสบาหรั ปี บปี 2560 2560 2560ตามวิ บริ ษทั บริบริษทษั ทั ราคาทุ ราคาทุ น น2559 น2559 ของเงิ ของเงิ นนลงทุ น2559 นลงทุ ตามวิ าคาทุ ธีรน2559 าคาทุ น-สุ2559 -สุททธินธิ-สุทธิสิ2560 วัธั31น2559 ทีวาคม ธั่ น31วาคม ธันวาคม ราคาทุ ของเงิ ลงทุ น น 2560 ธธีรี ราคาทุ สุ้ นดสุวัสิดนวั้ นทีน่สุ31ทีด่2559 ้ นสิ2560 2560 2560 2559 บริ ษทั บริ ษทั ราคาทุราคาทุ น น ของเงิของเงิ นลงทุนนลงทุน ตามวิตามวิ ธีราคาทุ ธีราคาทุ น-สุทนธิ-สุทธิ สิ้ นสุสิดวั้ นนสุทีด่ วั31นทีธั่ น31วาคม ธันวาคม บริ ษทั น้ าตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด 1,252,584 1,240,395 - 2559 - 1,252,584 2560 2559 2560 25592559 2559 2560 2560 2559 2559 2560 2560 25602560 1,240,395 25592559 2560 2560-2560 25592559- 2559 25601,010,905 2560 25591,010,905 2559 25602560- 25592559- 2560 2560 1,010,905 25592559 2560 2560 2559-2559 เพิ สิ นพักฒษณ์ นา กจจากั ดดจากั 1,010,905 น้ าม่ ตาลไทยเอกลั กากัษณ์ จากัดด 1,252,584 1,240,395 1,252,584 บริ ษทั บรินษ้ าบริทตาลไทยเอกลั ั ษนทั ้ าตาลไทยเอกลั ษณ์ 1,252,584 1,252,5841,240,395 1,240,395 - - - 1,252,584 1,252,5841,240,395 1,240,395 1,240,39518,069- - 62,005 - บริ ษทั บรินษ้ าทตาลไทยเอกลั ั บรินษ้ าทตาลไทยเอกลั ก ษณ์ ก จ ษณ์ ากั ด จ ากั ด 1,252,584 1,252,584 1,240,395 1,240,395 1,252,584 1,252,584 1,240,395 1,240,395 เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ ากั ด 2,460,125 2,459,506 2,460,125 2,459,506 100,800 201,600 ั เพิ ม สิ น พั ฒ นา จ ากั ด 1,010,905 1,010,905 1,010,905 1,010,905 18,069 62,005 บริ ษทั บริเพิษ่มทั สิเพินพั่มสิฒ่ นนาพัฒจากั นาดจากัด 1,010,905 1,010,9051,010,905 1,010,905 - - - 1,010,905 1,010,9051,010,905 1,010,905 18,06918,069 62,00562,005 นพัไวรอนเม็ จ1,010,905 ากัด 1,010,905 2,660,4731,010,905 2,654,544 2,660,473 2,654,544 60,384 150,960 บริ ษทั บริเพิษ่มทั บริ สิเพินษพั่มทั สิฒเอ็ นนา ฒจากั นาดจากันดท์พลั พ์ แอนด์ 1,010,905 - -- - - 1,010,905 1,010,9051,010,905 1,010,905 100,800 18,06918,069201,600 62,00562,005 เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากัเปเปอร์ ด 2,460,125 2,459,506 2,460,125 2,459,506 บริ ษทั บริเกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ ษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากัดจากัด 2,460,125 2,460,1252,459,506 2,459,506 - - - 2,460,125 2,460,1252,459,506 2,459,506 100,800 100,800 201,600 201,600 ษทั เอ็ เคทินไวรอนเม็ ส ไบโอเอทานอล 867,7062,459,506 865,420 867,706 865,420 นท์พจากั ลั พ์ดจแอนด์ ากัด 2,460,125 2,660,473 2,654,544 2,660,473 2,654,544 60,384 150,960 บริ ษทั บริเกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ ษทั บริเกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากั ากัดด เปเปอร์ จ2,460,125 2,459,506 - -- - - 2,460,125 2,460,1252,459,506 2,459,506 220,160 100,800 100,800601,600 201,600 201,600 บริ ษทั บริเอ็ษนทั ไวรอนเม็ เอ็นไวรอนเม็ นท์พนลั พ์ท์พแอนด์ ลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ เปเปอร์ จากัดจากั2,660,473 ด 2,660,4732,654,544 2,654,544 - - - 2,660,473 2,660,4732,654,544 2,654,544 60,38460,384 150,960 150,960 (เดิษนทัมไวรอนเม็ ชืเคทิ ่อ “บริ ษพทนัลั พ์ ฒเปเปอร์ นา ดจ”)ากัดจากั2,660,473 จากัจากั ดเปเปอร์ 867,7062,654,544 865,420 867,706 865,420 บริ ษทั บริเอ็ษนทั บริ ไวรอนเม็ เอ็ นสท์ไบโอเอทานอล ท์เอกรั พแอนด์ ลั ฐพ์พัแอนด์ ด 2,660,473 2,654,544 - -- - - 2,660,473 2,660,4732,654,544 2,654,544 220,160 60,38460,384601,600 150,960 150,960 บริ ษทั บริเคทิ ษทั สเคทิ ไบโอเอทานอล ส ไบโอเอทานอล จากัดจากัด 867,706 867,706 865,420 865,420 - - - 867,706 867,706 865,420 865,420 220,160 220,160 601,600 601,600 ษทัมชืทรั พ“บริ ย์ศษิริเทั กษตร 311,000 311,000 311,000 311,000 (เดิ เอกรั บริ ษทั บริเคทิ ษทั บริ สเคทิ ไบโอเอทานอล ส ่อไบโอเอทานอล จากัจฐากั ดพัจฒดากันาด จากัด”) 867,706 867,706 865,420 865,420 - -- - - 867,706 867,706 865,420 865,420 220,160 220,160 601,600 601,600 (เดิมชื(เดิ ่อ ม“บริ ชื่อษ“บริ ทั เอกรั ษทั ฐเอกรั พัฒฐนาพัฒจากั นาดจจ”)ากั ากัดด”) ไทยเอกลั กษณ์เพาเวอร์ 350,044 350,020 350,044 350,020 บริ ษทั ทรั ิริเกษตร 311,000 311,000 311,000 311,000 (เดิมชื(เดิ ่อ ม“บริ ชื่อษ“บริ ทั เอกรั ษพทั ย์ศฐเอกรั พัฒฐนาพัฒจจากั ากั นาดดจ”)ากัด”) บริ ษทั บริทรั ษบริทั พษย์ทรั ศทั ิรพไทยเอกลั ิ เกษตร ย์ศิริเกษตร จกากัษณ์ดจเพาเวอร์ ากัด จากั 311,000 311,000 311,000 311,000 -- -- - 311,000 311,000350,020 311,000 311,000 - - - - - รวมผลไบโอเพาเวอร์ 395,537 395,363 395,537 395,363 จากัดด 350,044 350,020 350,044 บริ ษทั บริทรั ษทั พย์ทรั ศิรพิ เกษตร ย์ศิริเกษตร จากัดจากัด 311,000 311,000 311,000 311,000 - - - 311,000 311,000 311,000 311,000 - - บริ ษทั บริไทยเอกลั ษบริทั ษไทยเอกลั กษณ์ กเพาเวอร์ ษณ์เพาเวอร์ ากัดจจากั ากัดจดากัด 350,044 350,044 350,020 -- -- - 350,044 350,044395,363 350,020 ทั เคทิ ส ไบโอแก๊ สจเพาเวอร์ 1,000 350,020 1,000 1,000 1,000350,020 - - - - - รวมผลไบโอเพาเวอร์ 395,537 395,363 395,537 บริ ษทั บริไทยเอกลั ษทั ไทยเอกลั กษณ์กเพาเวอร์ ษณ์เพาเวอร์ จากัดจากัด 350,044 350,044 350,020 350,020 - - - 350,044 350,044 350,020 350,020 - - บริ ษทั บริรวมผลไบโอเพาเวอร์ ษบริทั ษรวมผลไบโอเพาเวอร์ จสากัเพาเวอร์ 395,537 395,537 395,363 -- -- - 395,537 395,537 395,363 วพลังงาน จดากัจากั ด ดจากัด 20,000 20,000 10,000 20,000 ทั เคทิส ชีไบโอแก๊ 1,000 395,363 1,000 (10,000) 1,000 1,000395,363 - - - - - บริ ษทั บริรวมผลไบโอเพาเวอร์ ษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัดจากัด 395,537 395,537 395,363 395,363 - - - 395,537 395,537 395,363 395,363 - - ทไบโอแก๊ ั เกษตรไทย วิงสวงาน ฒั เพาเวอร์ น์ จจจากั ากัากัดดดจากัด 61,000 61,000 บริ ษทั บริเคทิ ษบริทั สษเคทิ ส ไบโอแก๊ เพาเวอร์ 1,000 1,000 1,000 1,000 (10,000) -- -- - 61,000 1,0001,000 61,000 1,0001,000 - - - - - เคทิ ส ชีสวพลั 20,000 20,000 10,000 20,000 บริ ษทั บริเคทิ ษทั สเคทิ ไบโอแก๊ สเคทิ ไบโอแก๊ สวิจเพาเวอร์ ส เพาเวอร์ จนา ากัจดจากัากัด ด 1,0001,000 1,000 - - - 1,000 1,000 1,000 1,000 - - 9,999 1,000 9,999 9,999 9,999 ทชีั วเกษตรไทย วิากั วฒั ดน์ฒ จากั 61,000 61,000 บริ ษทั บริเคทิ ษบริทั สษเคทิ สพลัชีสงวงาน พลัยั งและพั จงาน จากั ดด 20,000 20,000 20,000 20,000(10,000) (10,000) -- - 61,000 10,000 10,000 61,000 20,00020,000 - - - - - บริ ษทั บริเคทิ ษทั บริ สเคทิ ชีวทั สพลั ชีงวงาน พลังจยั งาน ากัดจากั ด 20,00020,000 20,000 (10,000) - - - 10,000 10,000 20,000 20,000 ลพบุ 12,250 -(10,000) -61,000 เคทิ 9,999 20,000 9,999 9,999 -- - - - - - - - บริ ษทั บริเกษตรไทย ษทั ษเกษตรไทย วิสรวี วิไฒั จบโอเอทานอล น์วิและพั วจฒั ากัน์ดฒจนา ากัดจจากัากัดด 61,000 61,000 61,000 61,000 -- - - 12,250 61,000 61,000 9,999 61,000 บริ ษทั บริเกษตรไทย ษทั บริ เกษตรไทย วิวฒั รีไน์วิบโอเอทานอล วจฒั ากัน์ดจากัด จากัด 61,000 61,000 61,00061,000- (10,000) - -- - - 9,402,623 61,00061,0009,379,152 61,00061,000 - 9,412,623 ทวิั จลพบุ 12,250 - 9,999399,413- - - 1,016,165 บริ ษทั บริเคทิ ษรวม ทั สษเคทิ ยสั และพั วิจยั และพั ฒนา ฒจากั นาดจากัด 9,999 9,999 9,379,152 9,9999,999 - - - 12,250 9,9999,999 9,999 - - - บริ ษทั บริเคทิ ษทั รวม สเคทิ วิจยสั และพั วิจยั และพั ฒนา ฒจากั นาดจากัด 9,999 9,999 9,999 9,999 (10,000) - - - - 9,402,623 9,9999,999 9,9999,999 - 1,016,165 - 9,412,623 บริ ษทั บริลพบุ ษทั รลพบุ ี ไบโอเอทานอล รีไบโอเอทานอล จากัดจากัด 12,250 12,250 9,379,152 - - - - 12,25012,2509,379,152 - 399,413 - - 23 บริ ษทั บริลพบุ ษทั รลพบุ ี ไบโอเอทานอล รีไบโอเอทานอล จากัดจากัด 12,25012,250 - - - - 12,25012,250 - - - รวม รวม 9,412,623 9,412,6239,379,152 9,379,152(10,000) (10,000) - - 9,402,623 9,402,6239,379,152 9,379,152 399,413 399,413 1,016,165 23 1,016,165 รวม รวม 9,412,623 9,412,6239,379,152 9,379,152(10,000) (10,000) - - 9,402,623 9,402,6239,379,152 9,379,152 399,413 399,4131,016,165 1,016,165 ั บริบริษัทษท
192
ราคาทุน น ราคาทุ
23 23 23 23
13.2 การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยในระหว่างปี 2559 เมื่ อ วัน ที่ 27 มิ ถุ น ายน 2559 บริ ษั ท เกษตรไทย วิ ว ัฒ น์ จ ากั ด ซึ่ งเป็ นบริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ ได้จดทะเบี ยนเพิ่มทุ นจาก 1 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 10,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 61 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 610,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) และบริ ษทั ฯได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มตามสัดส่ วนการถือหุ ้น เดิม รวมเป็ นเงิน 60 ล้านบาท เมื่ อ วัน ที่ 22 สิ ง หาคม 2559 บริ ษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ ากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษัท ย่ อ ยของบริ ษัท ฯ ได้จดทะเบี ย นเพิ่ ม ทุ น จาก 350 ล้า นบาท (หุ ้นสามัญ 3,500,000 หุ ้น มูล ค่ า หุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 395 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 3,950,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) และบริ ษทั ฯได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มตามสัดส่ วน การถือหุน้ เดิมรวมเป็ นเงิน 45 ล้านบาท เมื่ อ วัน ที่ 27 ธั น วาคม 2559 บริ ษัท เคทิ ส ชี ว พลัง งาน จ ากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษัท ย่ อ ยของบริ ษัท ฯ ได้จดทะเบี ยนเพิ่มทุ นจาก 1 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 10,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 20 ล้านบาท (หุ ้ น สามัญ 200,000 หุ ้ น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 100 บาท) และบริ ษ ัท ฯได้จ่ า ยเงิ น ลงทุ น เพิ่ ม ตามสั ด ส่ ว นการ ถือหุน้ เดิมรวมเป็ นเงิน 19 ล้านบาท เมื่ อ วัน ที่ 27 ธัน วาคม 2559 บริ ษ ัท เคทิ ส วิ จ ัย และพัฒ นา จ ากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษ ัท ย่ อ ยของบริ ษ ัท ฯ ได้จดทะเบี ยนเพิ่มทุ นจาก 1 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 10,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 10 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 100,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) และบริ ษทั ฯได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มตามสัดส่ วนการถือหุ ้น เดิมรวมเป็ นเงิน 9 ล้านบาท 13.3 การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยในระหว่างปี 2560 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2560 บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด ซึ่ งเดิมเป็ นบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ฯถือหุ ้นผ่าน บริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด (บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ) ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจาก 1 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 10,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 50 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 500,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) โดย เรี ยกชาระค่าหุ น้ เพิ่มทุนร้อยละ 25 ซึ่ งบริ ษทั ฯได้ลงทุนในหุ ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวทั้งหมด และจ่ายชาระ ค่าหุ น้ เพิ่มทุนดังกล่าวรวมเป็ นเงินประมาณ 12 ล้านบาท ส่ งผลให้สัดส่ วนการลงทุนของบริ ษทั ฯในบริ ษทั ดังกล่าวคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 98 และหากรวมสัดส่ วนการลงทุนที่บริ ษทั ย่อยลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวจะ ทาให้บริ ษทั ฯมีสัดส่ วนการลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวทั้งทางตรงและทางอ้อมเป็ นร้อยละ 100
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
24
193
13.4 ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริ ษทั ฯรับรู้ โครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ จานวนเงินรวม 21 ล้านบาท เป็ นเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย ซึ่ งรายการดังกล่าวจะรับรู้เมื่อได้รับบริ การจาก 13.4 พนั ในระหว่ างปี สิ้ นษสุทั ดย่วัอนยที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริ ษทั ฯรับรู้ โครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ กงานของบริ จานวนเงินรวม 21 ล้านบาท เป็ นเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย ซึ่ งรายการดังกล่าวจะรับรู้เมื่อได้รับบริ การจาก 13.5 ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงิ นลงทุน พนักงานของบริ ษทั ย่อย ในบริ ษ ทั เคทิ ส ชี วพลัง งาน จากัด จากมูล ค่า จากการใช้สิ นทรั พ ย์ด้วยวิธี ป ระมาณการกระแสเงิ นสด 13.5 ในระหว่ างปี่ กสิิ จ้ นการคาดว่ สุ ดวันที่ า31จะได้ธันรับวาคม บริ ษดทัลดเป็ ฯประเมิ าจะได้รับคืนของเงิ ในอนาคตที และค2560 านวณคิ นมูลนค่มูาปัลจค่จุาทีบ่คนั าดว่ ซึ่ งผลการประเมิ นพบว่นาลงทุ มูลค่นา ในบริ เคทิรสั บชีคืวนพลั ง งาน ด จากมู สิ นงทรั นสดน ที่คาดว่ษาทั จะได้ ต่ ากว่ ามูลจค่ากัาตามบั ญชีล ค่ดัางจากการใช้ นั้น บริ ษทั ฯจึ ได้พบย์นั ดทึ้วกยวิ ค่าธเผืี ป่อระมาณการกระแสเงิ การด้อยค่าของเงิ นลงทุ ในอนาคตที ่ กิจการคาดว่ าจะได้รวั บนของก และคาไรหรื านวณคิอขาดทุ ดลดเป็นในงบการเงิ นมูลค่าปั จจุนบเฉพาะกิ นั ซึ่ งผลการประเมิ จการสาหรับปีนปัพบว่ จจุบานั มูลค่า ดังกล่าวจานวน 10 ล้านบาทในส่ ที่คาดว่าจะได้รับคื นต่ ากว่ามูลค่าตามบัญชี ดังนั้น บริ ษทั ฯจึงได้บนั ทึกค่าเผื่อการด้อยค่าของเงิ นลงทุน 14. อสั หาริาวจมทรั พย์ เ10 พือ่ ล้การลงทุ น วนของกาไรหรื อขาดทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการสาหรับปี ปัจจุบนั านบาทในส่ ดังงกล่ านวน มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้ 14. อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน (หน่วย: พันบาท) งบการเงิน (หน่ วย: พัจนการ บาท) เฉพาะกิ งบการเงิน น งบการเงิ เฉพาะกิ ที่ดจการ ิน เฉพาะกิ ที่ดิน จการ รอการขาย รอการขาย ที่ดิน รอการขาย 24,910
มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาทุน ณ ธันวาคม 2560 หักวั:นค่ทีาเสื่ 31่ อมราคาสะสม ราคาทุ หัก: ค่านเผื่อการด้อยค่า หัมูลกค่: ค่าตามบั าเสื่ อมราคาสะสม ญชี - สุ ทธิ หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ ราคาทุน ณ ธันวาคม 2559 หักวั:นค่ทีาเสื่ 31่ อมราคาสะสม ราคาทุ หัก: ค่านเผื่อการด้อยค่า หัมูลกค่: าค่ตามบั าเสื่ อมราคาสะสม ญชี - สุ ทธิ หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ
ที่ดิน ที่ดิน รอการขาย รอการขาย ที่ดิน รอการขาย 343,623
งบการเงินรวม งบการเงินรวม อาคารส านักงาน งบการเงิ นรวม อาคารสำ�นักงาน ให้ให้ เช่าเช่า อาคารสานักงาน ให้เช่า1,570
343,623 (23,386) 320,237(23,386) 320,237 343,329 343,329 (15,588) 327,741(15,588) 327,741
(757) 1,570(757) 813 813 1,570 (600) 1,570(600) 970 970
รวม
รวม
รวม 345,193 (757) 345,193 (23,386) (757) 321,050 (23,386) 321,050 344,899 (600) 344,899 (15,588) (600) 328,711 (15,588) 328,711
24,910 (12,532) 12,378(12,532) 12,378 24,910 24,910 (12,532) 12,378(12,532) 12,378
25
194
25
การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนสาหรับปี 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้ การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนสาหรับปี 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้ (หน่วแสดงได้ ย: พันบาท) การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนสาหรับปี 2560 และ 2559 ดงั นี้ (หน่ ว ย: พั น บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิ (หน่วย:จจพัการ นบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิ การ 2560งบการเงิ 2560งบการเงินนเฉพาะกิ งบการเงินนรวม เฉพาะกิจการ2559 รวม2559 งบการเงิ จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 มูลค่าตามบัญชีตน้ ปี 328,711 323,178 12,378 16,499 2560 2559 2560 2559 มูซืลอค่เพิามตามบัญชีตน้ ปี 328,711 323,178 12,37816,499294 4,716 มูซื้้ลอค่เพิา่่มตามบัญชีตน้ ปี 328,711 323,178 12,378 16,499294 4,716 จซืาหน่ (306) --294-4,716 ้ อเพิ่มาายย จค่าหน่ (306) -า เสื ่ อ มราคา (157) (156) จค่าหน่ ามราคา ย (306) --า เสื ่ อ (157) (156) โอนกลั บด้อยค่า (เพิ่มขึ้น) (7,798) 1,279 -(4,121)ค่โอนกลั าเสื่ อมราคา (157) (156) บด้อยค่า (เพิ่มขึ้น) (7,798) 1,279 (4,121) มูโอนกลั ลค่าตามบั ญ ชี ป ลายปี 321,050 328,711 12,378 12,378 บด้อยค่า (เพิ่มขึ้น) (7,798) 1,279 (4,121) มูลค่าตามบัญชีปลายปี 321,050 328,711 12,378 12,378 มูมูลลค่ค่าาตามบั ญชีปลายปี งหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุ 321,050 ยุติธรรมของอสั น ณ วันที่ 31 ธั328,711 นวาคม 2560 และ12,378 2559 แสดงได้ดง12,378 ั นี้ มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้ (หน่วย: ดพังั นนีบาท) มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ ้ (หน่ ว ย: พั น บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิ (หน่วจการ ย:จจพัการ นบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิ งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ การ 2560 2559 2560 2560งบการเงินรวม 2559 2560 งบการเงิ นเฉพาะกิ2559 จ2559 การ 2560 2559 2560 2559 ที่ดินรอการขาย 389,720 374,615 15,953 15,953 2560 2559 2560 2559 ทีอาคารส ่ดินรอการขาย 389,720 374,615 15,95315,953านั ก งานให้ เ ช่ า 3,196 3,287 ทีอาคารส ่ดินรอการขาย 389,720 374,615 15,95315,953านักงานให้เช่า 3,196 3,287 อาคารส เช่า ง หาริ ม ทรั พ ย์เ พื่ อ การลงทุ 3,196 น ถู ก ประเมิ 3,287 - ส ระ โดยใช้- วิ ธี มู ล ค่ า ยุานัติ ธกงานให้ รรมของอสั น โดยผู้ป ระเมิ น ราคาอิ ติ ธ รรมของอสั ง หาริ มยทรั พยย์บกั เ พื่ บอ การลงทุ น ถู ก ประเมิดนมูลโดยผู ้ปิธระเมิ น ราคาอิ ส ระ โดยใช้่ดวินิ ธี ต้มูมูนลลทุค่ค่นาา ยุยุทดแทนสุ ท ธิ แ ละวิ ธ ี เ ปรี บเที ข้ อ มู ล ตลาดในการวั ค่ า ยุ ต รรม โดยน าราคาขายของที ติ ธ รรมของอสั ง หาริ มยทรั เ พื่ บอ การลงทุ น ถู ก ประเมิดนมูลโดยผู น ราคาอิ ส ระ โดยใช้่ดวินิ ธี ต้นทุนทดแทนสุ ทบเที ธิ และวิ ธนี เปรี บเทีพยเย์วณใกล้ บกั ข้อเคีมูยลงกั ตลาดในการวั ค่ายุต้ปิธระเมิ รรม โดยน าราคาขายของที และอาคารที ่ เ ปรี ย ย บกั ได้ ใ นบริ น มาปรั บ ปรุ ง ด้ ว ยความแตกต่ า งของคุ ณ สมบัติที่สาคั่ดญิน ต้และอาคารที นทุนทดแทนสุ ท ธิ แ ละวิ ธ ี เ ปรี ย บเที ย บกั บ ข้ อ มู ล ตลาดในการวั ด มู ล ค่ า ยุ ต ิ ธ รรม โดยน าราคาขายของที ่เปรี ยบเทีย่ตบกั นได้ในบริ นมาปรับปรุ งด้วยความแตกต่างของคุณสมบัติที่สาคัญ เช่ น ขนาดและสถานที งหาริเเมวณใกล้ ทรัพย์เเคีคียยงกั ้งั ของอสั และอาคารที ่ เ ปรี ย บเที ย บกั น ได้ ใ นบริ วณใกล้ งกั นมาปรับปรุ งด้วยความแตกต่างของคุณสมบัติที่สาคัญ เช่น ขนาดและสถานที่ต้ งั ของอสังหาริ มทรัพย์ เช่น ขนาดและสถานที่ต้ งั ของอสังหาริ มทรัพย์
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
26 26 26195
ราคาทุนราคาทุน ราคาทุน ณ วันที่ ณ1 มกราคม 2559 2559 วันที่ 1 มกราคม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ซื้อเพิ่ม ซื้อเพิ่ม ซื้อเพิ่ม จาหน่าย/ตั ดจาาหน่ จาหน่ ย/ตัดาายยจาหน่าย จาหน่าย/ตั ดจาหน่ โอนเข้าโอนเข้ (โอนออก) า (โอนออก) โอนเข้า (โอนออก) ประมาณการค่ ารื้ อถอนระยะยาว ประมาณการค่ ารื้ อถอนระยะยาว ประมาณการค่ารื้ อถอนระยะยาว ดอกเบี้ยดอกเบี จ่ายที่ถือเป็ นต้นทุน ดอกเบี้ยจ่ายที่ถ้ ยือจ่เป็ายทีนต้่ถนือเป็ทุนนต้นทุน ณ วันที่ ณ31วัธันนทีวาคม ่ 31 ธัน2559 วาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซื้อเพิม่ ซื้อเพิ่ม ซื้อเพิม่ จาหน่าย/ตั ดจาาหน่ จาหน่ ย/ตัดายจาหน่าย จาหน่าย/ตัดจาหน่าย โอนเข้าโอนเข้ (โอนออก) า (โอนออก) โอนเข้า (โอนออก) ประมาณการค่ ารื้ อถอนระยะยาว ประมาณการค่ ารื้ อถอนระยะยาว ประมาณการค่ารื้ อถอนระยะยาว ดอกเบี้ยดอกเบี จ่ายที่ถ้ ยือจ่เป็ายทีนต้่ถนือเป็ทุน ต้นทุน ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุน ่ 31 ธัน2560 วาคม 2560 ณ วันที่ ณ31วัธันนทีวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ค่ าเสื่ อมราคาสะสม วันที่ 1 มกราคม ณ วันที่ ณ1 มกราคม 2559 2559 ณ วันที่ ค่1ามกราคม 2559 เสื ่ อ มราคาส ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปีาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาส าหรับปีาหรับส่วนที่ ค่าเสื่ อมราคาส ค่าเสื่ อมราคาส าหรับส่วนที่ ค่าเสื่ อมราคาส าหรัย/ตับดส่จวาหน่ นที่ จาหน่ จาหน่าย/ตั ดจาาหน่ าย าย จาหน่ณาย/ตั ด จ าหน่ า ย ่ 31 ธัน2559 วาคม 2559 ณ วันที่ 31วัธันนทีวาคม ณ วันที่ ค่31าเสืธั่ อนมราคาส วาคม 2559 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปีาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาส าหรับปีาหรับส่วนที่ ค่าเสื่ อมราคาส ค่าเสื่ อมราคาส าหรับส่วนที่ ค่าเสื่ อมราคาส าหรัย/ตับดส่จวาหน่ นที่ จ าหน่ จาหน่าย/ตัดจาาหน่ าย าย จาหน่ณาย/ตั าหน่ ย 2560 วันดทีจ่ 31 ธันาวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 1,825,038 1,825,038 1,825,038 9,4839,483 9,483 (85) (85) (85) 536,181 536,181 536,181 3,0003,000 3,000 - 2,373,617 2,373,617 2,373,617 28,17628,176 28,176 (477)(477) (477) 268,494 268,494 268,494 3,0003,000 3,000 - 2,672,810 2,672,810 2,672,810 564,951 564,951 564,951 110,691 110,691 110,691
(21) (21) (21) 675,621 675,621 675,621 140,655 140,655 140,655 (179)(179) (179) 816,097 816,097 816,097
280,445 280,445 280,445 67,30367,303 67,303 - 28,43728,437 28,437 - - 376,185 376,185 376,185 27,21027,210 27,210 - 24,04024,040 24,040 - - 427,435 427,435 427,435
62,51462,514 62,51413,085 13,085 13,085
- 75,59975,599 75,59914,882 14,882 14,882 - -90,481 90,481 90,481
ที่ดิน อาคาร ทีที่ด่ดินิน ที่ดิน อาคาร อาคารอาคาร และส่ วนปรั บบปรุ ปรุงงทีที่ด่ดินิน และสิ สร้าางง ่ ง่งปลู และส่ ว นปรั และสิ ปลูกกสร้ ปลูากงสร้าง และส่วและส่ นปรับวนปรั ปรุ งทีบ่ดปรุินงที่ดินและสิและสิ ่ งปลูก่ งสร้
15. ปปกรณ์ 15. 15.ทีทีดด่่ ินิน ทีอาคารและอุ อาคารและอุ กรณ์ปกรณ์ ด่ ิน อาคารและอุ
196 (4,909) (4,909) (4,909) 5,414,012 5,414,012 5,414,012 932,778 932,778 932,778 (4,813) (4,813) (4,813) 6,341,977 6,341,977 6,341,977
4,568,600 4,568,600 4,568,600 850,321 850,321 850,321
10,029,325 10,029,325 10,029,325 34,901 34,901 34,901 (4,909) (4,909) (4,909) 1,964,420 1,964,420 1,964,420 5,8505,850 5,850 - 12,029,587 12,029,587 12,029,587 181,467 181,467 181,467 (7,847) (7,847) (7,847) 788,380 788,380 788,380 5,4005,400 5,400 - 12,996,987 12,996,987 12,996,987
(3,463) (3,463) (3,463) 323,662 323,662 323,662 53,075 53,075 53,075 (2,826) (2,826) (2,826) 373,911 373,911 373,911
273,332 273,332 273,332 53,793 53,793 53,793
430,842 430,842 430,842 33,804 33,804 33,804 (3,732) (3,732) (3,732) 5,647 5,647 5,647 - - 466,561 466,561 466,561 41,568 41,568 41,568 (5,010) (5,010) (5,010) 4,073 4,073 4,073 - - 507,192 507,192 507,192
(935) (935) (935) 120,009 120,009 120,009 17,525 17,525 17,525 (359) (359) (359) 137,175 137,175 137,175
103,026 103,026 103,026 17,918 17,918 17,918
147,289 147,289 147,289 11,693 11,693 11,693 (1,078) (1,078) (1,078) 1,818 1,818 1,818 - - 159,722 159,722 159,722 15,565 15,565 15,565 (477) (477) (477) - - - 174,810 174,810 174,810
งบการเงินรวม งบการเงิ นรวม งบการเงิ นนรวม รวม งบการเงิ เครื่ องจักร เครื่ องมือและอุปกรณ์ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง ่ องมื อและอุ ปกรณ์ เครืเครื่ เครื ่ องตกแต่ เครืเครื่ อ่อเครื งจั ่ อเครื งมื กรณ์ องตกแต่ งง ติติดงดตัติตั้งด้ งตั้ง งจักก่ อรรงจักร เครืเครื ่องมื อและอุ และอุ ปปกรณ์ ่องตกแต่ และอุ ปปกรณ์ กรณ์ ทางการเกษตร และเครื ่ อ่องใช้ สำ�านั งาน และอุและอุ ทางการเกษตร และเครื งใช้ ส นักกงาน ทางการเกษตร และเครื และเครื ่ องใช้ กงาน และอุปกรณ์ปกรณ์ ทางการเกษตร ่ องใช้ สานัสกานังาน
(36,702) (36,702) (36,702) 564,585 564,585 564,585 90,936 90,936 90,936 (73,067) (73,067) (73,067) 582,454 582,454 582,454
514,849 514,849 514,849 86,438 86,438 86,438
1,027,537 1,027,537 1,027,537 41,649 41,649 41,649 (38,068) (38,068) (38,068) ---1,031,118 1,031,118 1,031,118 240,224 240,224 240,224 (102,113) (102,113) (102,113) 1,340 1,340 1,340 --1,170,569 1,170,569 1,170,569
ยานพาหนะ ยานพาหนะ ยานพาหนะ ยานพาหนะ
------
---
3,764,847 3,764,847 3,764,847 438,829 438,829 438,829 -(2,536,503) (2,536,503) (2,536,503) -24,572 24,572 24,572 1,691,745 1,691,745 1,691,745 410,591 410,591 410,591 -(1,086,327) (1,086,327) (1,086,327) -3,456 3,456 3,456 1,019,465 1,019,465 1,019,465
สิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้ง นนทรั ทรัพพพย์ย์รย์ระหว่ ระหว่ ะหว่าางติ างติ สิ นสิสิทรั งติ ดดตัดตั้งตั้ ง้ ง และงานระหว่ างก่ อสร้ และระหว่ า งก่ อ สร้ างสร้างาง และงานระหว่างก่ างก่ออสร้ และงานระหว่ าง
(46,030) (46,030) (46,030) 7,173,488 7,173,488 7,173,488 1,249,851 1,249,851 1,249,851 (81,244) (81,244) (81,244) 8,342,095 8,342,095 8,342,095
6,087,272 6,087,272 6,087,272 1,132,246 1,132,246 1,132,246
17,505,323 17,505,323 17,505,323 637,662 637,662 637,662 (47,872) (47,872) (47,872) -8,850 8,850 8,850 24,572 24,572 24,572 18,128,535 18,128,535 18,128,535 944,801 944,801 944,801 (115,924) (115,924) (115,924) 8,400 8,400 8,400 3,456 3,456 3,456 18,969,268 18,969,268 18,969,268
รวม รวม รวม รวม
(หน่วย: พันบาท) (หน่ววย:ย:พัพันนบาท) บาท) (หน่
27 27 27
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
197
อาคาร อาคาร อาคาร และสิ และสิ่ ง่งปลู ปลูกกสร้ สร้าางง และสิ่ งปลูกสร้าง
เครื่ องจักร เครืเครื่ อ่องจังจักกรร และอุ และอุปปกรณ์ กรณ์ และอุปกรณ์
ค่ าเผือ่ การด้ อยค่ า ค่ าเผือ่ การด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ้นระหว่างปี เพิม่ ขึ้นระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เพิ่มขึ้นระหว่างปี เพิม่ ขึ้นระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 300,586 1,697,996 6,615,575 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 300,586 1,697,996 6,615,575 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 336,954 1,856,713 6,655,010 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 336,954 1,856,713 6,655,010 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่ าเสื่ อมราคาสาหรับปี 2559 (1,011 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2559 (1,011 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2560 (1,128 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2560 (1,128 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)
ที่ดิน ทีที่ด่ดินิน และส่ วนปรั และส่ วนปรับบปรุ ปรุงงทีที่ด่ดินิน และส่วนปรับปรุ งที่ดิน 39,713 39,713 37,635 37,635
142,899 142,899 133,281 133,281
งบการเงินรวม (ต่ อ) งบการเงินนรวม รวม (ต่ งบการเงิ (ต่ออ) ) เครื่ องมือและอุปกรณ์ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง ่องมืออและอุ และอุปปกรณ์ ่องตกแต่งง ติติดดตัตั้ง้ ง เครืเครื ่ องมื กรณ์ เครืเครื ่ องตกแต่ ทางการเกษตร และเครื ่ อ่องใช้ งาน ทางการเกษตร และเครื งใช้สสำ�านั นักกงาน ทางการเกษตร และเครื่ องใช้สานักงาน 466,533 466,533 588,115 588,115
ยานพาหนะ
ยานพาหนะ ยานพาหนะ
1,587,792 1,587,792 906,232 906,232
72,387 72,387 31,566 31,566 103,953 103,953 9,280 9,280 113,233 113,233
สิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้ง นทรัพพย์ย์รระหว่ ะหว่าางติ สิ นสิทรั งติดดตัตั้ง้ ง และงานระหว่ และระหว่างก่างก่ อสร้อาสร้ ง าง และงานระหว่างก่อสร้าง
1,132,246 1,132,246 1,249,851 1,249,851
10,851,094 10,851,094 10,513,940 10,513,940
72,387 72,387 31,566 31,566 103,953 103,953 9,280 9,280 113,233 113,233
รวม รวม รวม
(หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท)
28 28
198 อาคาร อาคาร อาคาร และสิ สร้าางง ่ งปลู และสิ ปลูกกกสร้ และสิ่ ง่งปลู สร้าง
ราคาทุน ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 76,454 574,162 ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 76,454 574,162 ซื้อเพิ่ม 67,302 8,209 ซื้อเพิ่ม 67,302 8,209 จาหน่าย/ตัดจาหน่าย จาหน่าย/ตัดจาหน่าย 2,809 430,167 โอนเข้า (โอนออก) 2,809 430,167 โอนเข้า (โอนออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 146,565 1,012,538 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 146,565 1,012,538 ซื้อเพิ่ม 27,210 23,618 ซื้อเพิ่ม 27,210 23,618 จาหน่าย/ตัดจาหน่าย จาหน่าย/ตัดจาหน่าย 16,766 4,980 โอนเข้า (โอนออก) 16,766 4,980 โอนเข้า (โอนออก) 190,541 1,041,136 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 190,541 1,041,136 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 6,990 130,382 ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 6,990 130,382 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี 3,419 56,904 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี 3,419 56,904 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย/ ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย/ ตัดจาหน่าย ตัดจาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 10,409 187,286 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 10,409 187,286 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี 4,737 75,014 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี 4,737 75,014 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย/ ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย/ ตัดจาหน่าย ตัดจาหน่าย 15,146 262,300 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 15,146 262,300 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 136,156 825,252 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 136,156 825,252 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 175,395 778,836 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 175,395 778,836 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่ าเสื่ อมราคาสาหรับปี 2559 (450 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2559 (450 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2560 (511 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2560 (511 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)
ที่ดิน ทีที่ด่ดินิน และส่ ว นปรั บปรุงงทีที่ด่ดินิน และส่ ว นปรั และส่วนปรับบปรุ ปรุ งที่ดิน 233,849 233,849 22,864 22,864 (2,125) (2,125) 3,583 3,583 258,171 258,171 24,921 24,921 (3,984) (3,984) 1,581 1,581 280,689 280,689 136,196 136,196 32,536 32,536 (2,101) (2,101) 166,631 166,631 31,769 31,769 (1,886) (1,886) 196,514 196,514 91,540 91,540 84,175 84,175
3,204,143 3,204,143 17,699 17,699 609,359 609,359 3,831,201 3,831,201 180,467 180,467 21,729 21,729 4,033,397 4,033,397 918,339 918,339 395,672 395,672 1,314,011 1,314,011 427,972 427,972 1,741,983 1,741,983 2,517,190 2,517,190 2,291,414 2,291,414
เครื่ องจักร เครื เครื่ อ่องจั งจักกรร และอุ ปกรณ์ กรณ์ และอุ ป และอุปกรณ์
19,167 19,167 15,677 15,677
(24) (24) 48,937 48,937
(11) (11) 40,380 40,380 8,581 8,581
30,909 30,909 9,482 9,482
53,797 53,797 5,118 5,118 (11) (11) 643 643 59,547 59,547 5,092 5,092 (25) (25) 64,614 64,614
งบการเงินเฉพาะบริษัท เครื่ องมือและอุปกรณ์ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง เครืเครื่ อ่องมืงมืออและอุ กรณ์ เครื และอุปปกรณ์ เครื่ อ่องตกแต่ งตกแต่งง ติติดดตัตั้ง้ ง ทางการเกษตร และเครื ่ องใช้ านั งาน ทางการเกษตร และเครื งใช้สส นักกกงาน ทางการเกษตร และเครื่ อ่องใช้ สำ�านั งาน
นเฉพาะบริษัท งบการเงินเฉพาะบริษงบการเงิ ัท
245,782 245,782 346,001 346,001
(709) (709) 231,847 231,847
(340) (340) 184,764 184,764 47,792 47,792
141,106 141,106 43,998 43,998
410,296 410,296 20,590 20,590 (340) (340) 430,546 430,546 148,112 148,112 (2,150) (2,150) 1,340 1,340 577,848 577,848
ยานพาหนะ ยานพาหนะ ยานพาหนะ
109,047 109,047 292,961 292,961
-
-
-
978,077 978,077 177,531 177,531 (1,046,561) (1,046,561) 109,047 109,047 230,310 230,310 (46,396) (46,396) 292,961 292,961
สิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้ง สิสินนทรั งติดดตัตั้ง ้ ง ทรัพพย์ย์รระหว่ ะหว่าางติ และงานระหว่ าองก่สร้อาสร้ และระหว่ า งก่ ง าางง และงานระหว่างก่อสร้
29 29
542,011 542,011 595,865 595,865
3,944,134 3,944,134 3,984,459 3,984,459
(2,619) (2,619) 2,496,727 2,496,727
(2,452) (2,452) 1,903,481 1,903,481 595,865 595,865
1,363,922 1,363,922 542,011 542,011
5,530,778 5,530,778 319,313 319,313 (2,476) (2,476) 5,847,615 5,847,615 639,730 639,730 (6,159) (6,159) 6,481,186 6,481,186
รวม รวม รวม
(หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท)
ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั ได้รวมต้นทุนการกูย้ ืมเข้าเป็ นราคาทุนของโครงการ จานวน 3 ล้านบาท (2559: 25 ล้านบาท) โดยคานวณจากอัตราการตั้งขึ้นเป็ นทุนในอัตราร้อยละ 3.00 - 4.75 (2559: อัตราร้อยละ 3.00 - 4.75) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของโรงงานและเครื่ องจักร ซึ่ งได้มาภายใต้สัญญาเช่า ทางการเงิน โดยมีมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชีเป็ นจานวนเงิน 97 ล้านบาท (2559: 117 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีอาคารและอุปกรณ์จานวนหนึ่ งซึ่ งตัดค่าเสื่ อมราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชี ก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีจานวนเงิน 2,647 ล้านบาท (2559: 2,183 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 347 ล้านบาท 2559: 262 ล้านบาท) กลุ่มบริ ษทั ได้นาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซ่ ึ งมีมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จานวน 4,506 ล้านบาท (2559: 2,968 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษ ทั ฯ: 482 ล้านบาท 2559: 546 ล้านบาท) ไปค้ าประกันวงเงินสิ นเชื่อระยะสั้นและระยะยาวที่ได้รับจากสถาบันการเงิน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำ30 ปี 2560
199
200
16. 16.
ณ วันทีน่ 31 ธันวาคม 2559 ราคาทุ ราคาทุ หัก ค่านตัดจาหน่ายสะสม หัมูลกค่ค่าตามบั าตัดจาหน่ ญชี -าสุยสะสม ทธิ มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ณ วันทีน่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาทุ ราคาทุ หัก ค่านตัดจาหน่ายสะสม หัมูลกค่ค่าตามบั าตัดจาหน่ ญชี -าสุยสะสม ทธิ มูณลวัค่นาตามบั - สุทธิ2559 ที่ 31 ธัญนชีวาคม
14,056 14,056 (11,090) (11,090) 2,966 2,966
14,205 14,205 (12,150) (12,150) 2,055 2,055
คอมพิ วเตอร์ คอมพิวเตอร์ ซอฟต์วแแเตอร์ วร์วร์ คอมพิ ซอฟต์ ซอฟต์แวร์
2,144 2,144 (1,071) (1,071) 1,073 1,073
2,144 2,144 (1,286) (1,286) 858 858
เครื่ องหมาย เครืการค้ ่ องหมาย า การค้า
เครื่องหมายการค้า
253,676 253,676 (20,244) (20,244) 233,432 233,432
319,447 319,447 (38,167) (38,167) 281,280 281,280
งบการเงินรวม งบการเงิ งบการเงิ สิ ทธินในรวม นรวม สิ ทสิทธิสธิใายส่ น ง การใช้ ในการใช้ การใช้ ายส่ สายส่ ไฟฟ้งสไฟฟ้ าา ง ไฟฟ้ า
59,320 59,32059,32059,320
--
สิ ทธิในการใช้ สิ ทสิธิทงธิใไฟฟ้ สายส่ าที่ยงั ในการใช้ นการใช้ สายส่งไฟฟ้า สายส่ สสิทิ ท ธิ่ยธิงั ไม่ที่ยไังด้ไม่งเไริด้ไฟฟ้ ่ มเริ่มใช้ใช้าที ไม่ได้เริ่ มใช้สิทธิ
สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้ มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้
329,196 329,196 (32,405) (32,405) 296,791 296,791
335,796 335,796 (51,603) (51,603) 284,193 284,193
รวม รวม
รวม
8,156 8,156 (7,087) (7,087) 1,069 1,069
8,239 8,239 (7,712) (7,712) 527 527
คอมพิ วเตอร์ คอมพิวเตอร์ ซอฟต์วแแเตอร์ วร์วร์ คอมพิ ซอฟต์ ซอฟต์แวร์
100 100 (67) (67) 33 33
100 100 (77) (77) 23 23
เครื่ องหมาย เครืการค้ ่ องหมาย า การค้า
เครื่องหมายการค้่า
31 31
8,256 8,256 (7,154) (7,154) 1,102 1,102
8,339 8,339 (7,789) (7,789) 550 550
รวม
รวม รวม
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ(หน่วย: พันบาท) งบการเงิ จการ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ
การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนสาหรับปี 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้ การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนสาหรับปี 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) วย: พันจการ บาท) งบการเงินรวม งบการเงิ(หน่ นเฉพาะกิ งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ นเฉพาะกิจการ งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 มูลค่าตามบัญชีตน้ ปี 296,791 300,767 1,102 1,299 มูซื้ลอค่เพิา่มตามบัญชีตน้ ปี 296,791 300,767 1,102 1,299 6,611 5,890 94 735 ซืจาหน่ 6,611 5,89094 735้ อเพิ่มาย - ราคาทุน (11) (11) จจาหน่ (11) -(11) -าหน่าายย -- ราคาทุ ค่าตัดจนาหน่ายสะสม 11 11 จค่าหน่ ย - ค่าายตัดจาหน่ายสะสม 11 11 าตัดจาาหน่ (19,209) (9,866)(646) (932)ค่าตัดจาหน่าย (19,209) (9,866) (646) (932) มูลค่าตามบัญชีปลายปี 284,193 296,791 550 1,102 มูลค่าตามบัญชีปลายปี 284,193 296,791 550 1,102 17. เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน 17. เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน
เงินเบิกเกินบัญชี เงิตัว๋ นสัเบิญกญาใช้ เกินบัเงิญนชีและตัว๋ แลกเงิน ตัเจ้ว๋ าสัหนี ญ้ ญาใช้ ทรัสต์เรงิี ซนีทและตัว๋ แลกเงิน เจ้ าหนี้ทรัสต์รีซีท รวม รวม
อัตราดอกเบี อัตราดอกเบี ้ ย้ย อั ต ราดอกเบี ้ ย 2559 2560 2559 2560 (ร้2560 อยละต่ (ร้2559 อยละต่ (ร้อยละต่ อปีอปี) ) (ร้อยละต่ อปีอปี) ) (ร้อยละต่ (ร้อยละต่ MORอปี ) MORอปี ) 2.00MOR - 2.57 2.00MOR - 2.10 2.002.85 - 2.57 2.003.42 - 2.10 2.85 3.42
งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม งบการเงิ น รวม 2560 2559 2560 2559 2560 2559 162,221 162,221 1,603,860 1,603,860 599,521 599,521 2,365,602 2,365,602
3 249,4193 249,419 817,114 817,114 1,066,536 1,066,536
(หน่วย: พันบาท) (หน่ วย:จจพัการ นบาท) งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ นเฉพาะกิ การ งบการเงิ การ 2560 นเฉพาะกิจ2559 2560 2559 2560 2559
160,743 160,743 1,603,860 1,603,8601,764,6031,764,603
3 249,4193 249,419249,422249,422
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินของบริ ษทั ฯค้ าประกันโดยการจดจานองที่ดิน เงิอาคารและอุ นเบิกเกินบัปญกรณ์ ชีและเงิ นกูยษ้ มื ทั ระยะสั นการเงินของบริ ษทั ฯค้ าประกันนข้โดยการจดจ านองที่ดิน ของบริ ฯ ตามที้ น่กจากสถาบั ล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ อ 15 อาคารและอุปกรณ์ของบริ ษทั ฯ ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินของบริ ษทั ย่อยค้ าประกันโดยการจดจานองที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงิของบริ นกูย้ มื ษระยะสั จากสถาบั นการเงิ นของบริปษระกอบงบการเงิ ทั ย่อยค้ าประกันนโดยการจดจ อาคารและอุ ทั ย่อย้ นตามที ่กล่าวไว้ ในหมายเหตุ ข้อ 15 และคานองที ษทั ฯ ปกรณ์ ้ าประกั่ดนินโดยบริ ของบริ ษทั ย่อย ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 และค้ าประกันโดยบริ ษทั ฯ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
32 32201
18. เจ้ เจ้ าาหนี หนีกก้้ ารค้ ารค้ าาและเจ้ และเจ้ าาหนี หนีออ้้ นนื่ื่ 18.
เจ้ เจ้าาหนี หนี้้ กการค้ ารค้าา -- กิกิจจการที การที่่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน เจ้ เจ้าาหนี หนี้้ กการค้ ารค้าา -- กิกิจจการที การที่่ไไม่ม่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน เจ้ เจ้าาหนี หนี้้ ออื่ื่นน -- กิกิจจการที การที่่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน เจ้ เจ้าาหนี หนี้้ ออื่ื่นน -- กิกิจจการที การที่่ไไม่ม่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน เงิเงินนรัรับบล่ล่ววงหน้ งหน้าาค่ค่าาสิสิ นนค้ค้าา เงิเงินนรัรับบล่ล่ววงหน้ งหน้าาจากลู จากลูกกหนี หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ ค่ค่าาใช้ ใช้จจ่่าายค้ ยค้าางจ่ งจ่าายส ยสานั านักกงานกองทุ งานกองทุนนอ้อ้ออยและน ยและน้้ าาตาลทราย ตาลทราย ดอกเบี ดอกเบี้้ ยยค้ค้าางจ่ งจ่าายย -- กิกิจจการที การที่่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน ดอกเบี ดอกเบี้้ ยยค้ค้าางจ่ งจ่าายย -- กิกิจจการที การที่่ไไม่ม่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน ค่ค่าาใช้ ใช้จจ่่าายค้ ยค้าางจ่ งจ่าายย -- กิกิจจการที การที่่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน ค่ค่าาใช้ ใช้จจ่่าายค้ ยค้าางจ่ งจ่าายย -- กิกิจจการที การที่่ไไม่ม่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน รวมเจ้ รวมเจ้าาหนี หนี้้ กการค้ ารค้าาและเจ้ และเจ้าาหนี หนี้้ ออื่ื่นน
งบการเงิ นนรวม งบการเงินรวม งบการเงิ รวม 2560 2559 2560 2559 2560 2559 18,561 12,737 18,561 12,737 1,071,307 804,403 1,071,307 804,403 4,972 5,128 4,972 5,128 292,634 281,262 292,634 281,262 73,220 131,161 73,220 131,161 421,090 237,962 421,090 237,962 287,401 120,674 287,401 120,674 62,955 63,246 62,955 63,246 1,750 975 1,750 975 21,918 6,429 21,918 6,429 184,581 230,618 184,581 230,618 2,440,389 1,894,595 2,440,389 1,894,595
(หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนบาท) บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินน เฉพาะกิ จการ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 17,558 11,420 17,558 11,420 817,650 592,414 817,650 592,414 92,620 8,636 92,620 8,636 165,052 139,482 165,052 139,482 315 48,074 315 48,074 314,519 143,453 314,519 143,453 200,282 78,351 200,282 78,351 34,384 33,781 34,384 33,781 1,609 783 1,609 783 13,731 3,846 13,731 3,846 116,219 162,846 116,219 162,846 1,773,939 1,223,086 1,773,939 1,223,086
19. 19. หนี หนีสส้้ ิิ นนตามสั ตามสั ญ ญญาเช่ ญาเช่ าาการเงิ การเงินน บริ บริ ษษ ััทท ฯได้ ฯได้ทท าสั าสั ญ ญ ญาเช่ ญาเช่ าา การเงิ การเงิ นน กักับบ กิกิ จจ การที การที่่ เเ กีกี่่ ยย วข้ วข้ออ งกั งกันน แห่ แห่ งง หนึ หนึ่่ งเพื งเพื่่ ออ เช่ เช่ าา โรงงานและเครื โรงงานและเครื่่ ออ งจั งจักก รร ใช้ใในการด นการดาเนิ าเนิ นนงานของกิ งานของกิ จจการโดยมี การโดยมีกกาหนดการช าหนดการชาระค่ าระค่าาเช่ เช่าาเป็ เป็ นรายปี นรายปี อายุ อายุขของสั องสัญ ญญามี ญามีรระยะเวลา ะยะเวลา 30 30 ปีปี ใช้ ญญาดั ญาดังงกล่ กล่าาวมี วมีออตตัั ราดอกเบี ราดอกเบี้้ ยยทีที่่แแท้ท้จจริริ งงร้ร้ออยละ ยละ 11 11 ต่ต่ออปีปี และมี และมียยอดคงเหลื อดคงเหลืออดัดังงนีนี้้ สัสัญ (หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนบาท) บาท) งบการเงิ นนรวม/งบการเงิ นนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวม/งบการเงินเฉพาะกิ จการ จการ งบการเงิ รวม/งบการเงิ เฉพาะกิ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 หนี 2,296,800 2,392,500 หนี้้ สสิิ นนตามสั ตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาการเงิ การเงินน 2,296,800 2,392,500 (1,497,883) (1,586,539) หัหักก:: ดอกเบี (1,497,883) (1,586,539) ดอกเบี้้ ยยรอการตั รอการตัดดจจาหน่ าหน่าายย รวม 798,917 805,961 รวม 798,917 805,961 (7,819) (7,044) หัหักก:: ส่ส่ ววนที (7,819) (7,044) นที่่ถถึึงงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี 791,098 798,917 หนี 791,098 798,917 หนี้้ สสิิ นนตามสั ตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาการเงิ การเงินน -- สุสุ ททธิธิ จจากส่ ากส่ ววนที นที่่ถถึึงงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี
202
33 33
บริบริษษทั ทั ฯมีฯมีภภาระผู าระผูกกกพั พันนนทีทีที่่จจ่ะต้ จะต้ออองจ่ งจ่าายค่ ายค่าาเช่ าเช่าาขัขัาขั้้นน้นตตต่่าาตามสั ่าตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาการเงิ าการเงินนนดัดัดังงนีนีงนี้้ ้ บริบริษษทั ทั ฯมีฯมีภภาระผู พั ะต้ งจ่ ยค่ เช่ ตามสั ญ ญาเช่ การเงิ าระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่าตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้
20.20. 20.20.
ไม่เกิน 1 ปี เกิน11ปีปี ปี ไม่ไม่ ไม่เกิไม่เนกิเกินน196 1 ปี ผลรวมของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า ผลรวมของจ านวนเงิ น ขั น ต ่ า ที ่ ต อ ้ งจ่ า ยทั ง สิ น ตามสั ญ ญาเช่ า ้ ้ ้ ผลรวมของจ ต่อต้ งจ่ 9696 ้นขั้นต่าตนที่าที่รอการตั ผลรวมของจ อ้ งจ่ายทั าดยทั้ บังสิ้ งญสิ้นชี้นตามสั ตามสัญญญาเช่ ญาเช่า า 96 ดอกเบี ยตามสัานวนเงิ ญานวนเงิ ญาเช่นานขัการเงิ (88) ้ ดอกเบี ย ตามสั ญ ญาเช่ า การเงิ น รอการตั ด บั ญ ชี (88) ้ ดอกเบี ญญญาเช่ าการเงิ บัดบัญาญ ชีชี้ งสิ้นตามสัญญาเช่า (88) ญาเช่ าการเงิ (88) ้ ยจุตามสั มูดอกเบี ลค่าปั้ ยจตามสั บนั ของจ านวนเงิ นนขันรอการตั ต่าที่ตอ้ ดงจ่ ยทั ้ นขัรอการตั 8 มู ล ค่ า ปั จ จุ บ น ั ของจ านวนเงิ น น ต ่ า ที ่ ต อ ้ งจ่ า ยทั ง สิ น ตามสั ญ ญาเช่ า ้ ้ ้ มูมูลค่ลาค่ปัาปัจจุจบจุบนั นัของจ านวนเงิ น ขั น ต ่ า ที ่ ต อ ้ งจ่ า ยทั ง สิ น ตามสั ญ ญาเช่ า ้ ้ ้ 8 88 ของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า
(หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย:วย:ล้าล้นบาท) านบาท) (หน่ (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 วันที่ 31ธันธันวาคม วาคม2560 2560 ณณ น่ ที31 ่ 31 ธั ธันนวาคม ณ1วั-นวัณ5นทีวัปีที่ 31 เกิวาคม นกว่2560 า 2560 5 ปี รวม รวม เกิน นกว่ กว่าาา555ปีปี ปี รวม 1 11-1-5 5-- 55ปีปีปีปี เกิเกิ น กว่ กว่า 5 ปี รวม รวม 383 เกิน1,818 2,297 383 1,818 2,297 383 1,818 2,297 383 1,818 2,297 (342) (1,068) (1,498) (342) (1,068) (1,498) (342) (1,068) (1,498) (342) (1,068) (1,498) 41 750 799 41 750 799 4141 750 799 750 799
ไม่เกิไม่นเกิน11 ปีปี ไม่ไม่ เกิเเนกิกินน1 11ปี ปีปี ไม่ ผลรวมของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 96 ผลรวมของจานวนเงิ านวนเงินนขั้นขั้นต่าตที่าที่ต่อต้ งจ่ อ้ งจ่ายทั ายทั้ งสิ้ งสิ้น้นตามสั ตามสัญญญาเช่ ญาเช่า า ผลรวมของจ 9696 ผลรวมของจ ขั้นตน่าทีรอการตั ่ตอ้ งจ่าดยทับั้ งญสิชี้นตามสัญญาเช่า 96 ดอกเบี ยตามสัญานวนเงิ ญาเช่านการเงิ (89) ้ ดอกเบี ย ตามสั ญ ญาเช่ า การเงิ น รอการตั ด บั ญ ชี (89) ้ ดอกเบี ญญญาเช่ าการเงิ บัดบัญาญ ชีชี้ งสิ้นตามสัญญาเช่า (89) ญาเช่ าการเงิ (89) ้ ยจุตามสั มูดอกเบี ลค่าปั้ ยจตามสั บนั ของจ านวนเงิ นนขันรอการตั ต่าที่ตอ้ ดงจ่ ยทั ้ นขัรอการตั 7 มู ล ค่ า ปั จ จุ บ น ั ของจ านวนเงิ น น ต ่ า ที ่ ต อ ้ งจ่ า ยทั ง สิ น ตามสั ญ ญาเช่ า ้ ้ ้ มูมูลค่ลาค่ปัาปัจจุจบจุบนั นัของจ านวนเงิ น ขั น ต ่ า ที ่ ต อ ้ งจ่ า ยทั ง สิ น ตามสั ญ ญาเช่ า ้ ้ ้ 7 77 ของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า
(หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย:วย:ล้าล้นบาท) านบาท) (หน่ (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 วัณนวัทีน่ ที31 วาคม 2559 ่ 31 ธั ธันน วาคม 2559 ณณ วาคม 2559 ณ1วั-นวั5นทีปีที่ 31่ 31ธันธันเกิ วาคม นเกิกว่ า 2559 5 ปี รวม 1-5 ปีปี นกว่ กว่าา55ปี ปี รวม 1 5 เกิ น รวม 1 1- 5- 5ปี ปี เกิเกินนกว่กว่า า5 5ปี ปี รวม รวม 383 1,914 2,393 383 1,914 2,393 383 1,914 2,393 383 1,914 2,393 (346) (1,152) (1,587) (346) (1,152) (1,587) (346) (1,152) (1,587) (346) (1,152) (1,587) 37 762 806 37 762 806 3737 762 806 762 806
เงิเงินนกู้กูย้ ยมื มื ระยะยาวจากสถาบั ระยะยาวจากสถาบันนนการเงิ การเงินนน เงิเงินนกู้กูย้ ยมื มื ระยะยาวจากสถาบั การเงิ ระยะยาวจากสถาบันการเงิน
อัตราดอกเบี้ย ตอัราดอกเบี ตราดอกเบี้ยย้ ย เงื่อนไขการชำ�ระคืน อัตอัราดอกเบี (ร้ราดอกเบี อยละต่อปี้ ) ้ ย เงินกู้ (ร้อัอตยละต่ อปี ) เงื่อนไขการชาระคืน อยละต่อปีอปี) ) อนไขการชาระคื าระคืนน เงิเงิเงินนนกูกูกู้ ้้ (ร้(ร้ อยละต่ เงืเงืเงื่อ่่นไขการช ยละต่อปี ) กาหนดชาระคื อนนไขการช 1 (ร้อ4.20 เงินต้นทุการะคื 6 เดืนอน โดยมี 1 4.20 ก าหนดช าระคื น เงิ น ต้ น ทุ ก 6 เดือน โดยมี 11 4.20 าระคื นนเงินเงินเงินต้นนต้ต้นทุนทุกงวดสุ 4.20 กาหนดช กกาหนดช าระคื ก6 6เดืเดือดนอท้นาโดยมี าหนดช าระคื ยโดยมี กาหนดชาระคื าระคืนนเงิเงินนต้นต้นงวดสุ งวดสุดท้ดท้ายาย กในเดื าหนดช กาหนดช นต้นงวดสุดท้าย อนมิถาระคื ุนายนนเงิ2565 ในเดื อ นมิ ถ น ุ ายน 2565 ในเดื ในเดือนมิ อาระคื นมิถุนถนุนายน 2 2.00 กาหนดช เงิายน นต้2565 น2565 เป็ นรายปี โดยมี 2 2.00 ก าหนดช าระคื น เงิ น ต้นเป็เป็นรายปี นรายปีโดยมี โดยมี 22 2.00 ก าหนดช าระคื น เงิ น ต้ น 2.00 กกาหนดช นรายปี าหนดชาระคื าระคืนนเงิเงินนต้ต้นนเป็งวดสุ ดท้าโดยมี ย ก าหนดช าระคื น เงิ น ต้ น งวดสุ ด ท้ าย กในเดื าหนดช นนเงิเงิ2560 นนต้นต้นงวดสุ กาหนดช งวดสุดท้ดท้ายาย อนมิาระคื ถาระคื ุนายน ในเดือนมิ อนมิถุนถุนายน ายน2560 2560 ในเดื ในเดือาระคื นมิถนุนเงิายน 3 3.94 กาหนดช นต้น2560 ทุก 6 เดือน โดยมี 3.94 กาหนดช กาหนดชาระคื าระคืนนเงิเงินนต้นต้นทุทุกก6 6เดืเดือนอนโดยมี โดยมี 3 33 3.94 3.94 กกาหนดช ก 6 เดืดอท้นายโดยมี าหนดชาระคื าระคืนนเงิเงินนต้ต้นนทุงวดสุ กาหนดชาระคื าระคืนนเงิเงินนต้นต้นงวดสุ งวดสุดท้าย กภายในเดื าหนดช กาหนดชอนธั าระคื นเงินต้2562 นงวดสุดท้ดท้ายาย นวาคม ภายในเดือนธั อนธันวาคม2562 2562 ภายในเดื ภายในเดือนธันนวาคม วาคม 2562 รวม รวม รวม หัรวม ก: ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี วนที่ถึ่งถกึงาหนดช กาหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่ งปี่ งปี หัหัหัก:กกส่:: ส่ส่วนที นที่ถึงกาหนดช งปี าระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื วระยะยาว - สุทธิจาระภายในหนึ ากส่วนที่ถึงก่ าหนดช ้ เงิ น กู ย ม ื ระยะยาว สุ ท ธิ จ ากส่ ว นที ่ ถ ึ ง ก าหนดชาระภายในหนึ่ งปี่ งปี เงิเงินนกูยกู้ มื ย้ มืระยะยาว ระยะยาว- สุ- สุททธิจธิากส่ จากส่วนที วนที่ถึ่งถกึงาหนดช กาหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่งปี เงินกู้
งบการเงิ นนรวม งบการเงิ รวม งบการเงิ นรวม รวม งบการเงิ น งบการเงิน2559 รวม2559 2560 2560 2560 2559 2560 2559 2560 2559
(หน่วย: พันบาท) (หน่วย:วย:พัพันนบาท) บาท) (หน่ (หน่ ว ย: พั น บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ จ การ งบการเงิ นเฉพาะกิจ2559 การ งบการเงิ 2560 นเฉพาะกิ 2560 2559จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559
2,745,269 3,243,354 2,745,269 3,243,354 2,745,269 3,243,354 3,243,354 2,745,269 3,243,354 3,243,354 2,745,269 2,745,269 3,243,354 2,745,269 2,745,269 3,243,354 - --
2,630 2,630 2,630 2,630
- --
2,630 2,630 2,630 2,630
-2,745,269 2,745,269 2,745,269 2,745,269 (498,354) (498,354) (498,354) (498,354) 2,246,915 2,246,915 2,246,915 2,246,915
2,887 2,887 2,887 2,887 3,248,871 3,248,871 3,248,871 3,248,871 (503,602) (503,602) (503,602) (503,602) 2,745,269 2,745,269 2,745,269 2,745,269
-2,745,269 2,745,269 2,745,269 2,745,269 (498,354) (498,354) (498,354) (498,354) 2,246,915 2,246,915 2,246,915 2,246,915
-3,248,871 3,248,871 3,248,871 3,248,871 (503,602) (503,602) (503,602) (503,602) 2,745,269 2,745,269 2,745,269 2,745,269
เงิเงินนกูกูย้ ืยม้ ืมของบริ นโดยการจดจ ของบริษษษททัั ทั ฯค ฯค้้ าาประกั โดยการจดจานองที านองที่่ดด่ดิินนิน อาคารและอุ อาคารและอุปปปกรณ์ กรณ์ขขของบริ องบริษษษททัั ทั ฯฯฯตามที ตามที่่กก่กล่ล่ล่าาวไว้ าวไว้ใในนใน ้ าประกันนโดยการจดจ เงิเงินนกูกูย้ ืยม้ ืมของบริ ฯค ประกั านองที อาคารและอุ กรณ์ องบริ ตามที วไว้ ของบริ ษทั ฯค้ าประกั ่ดินษทั อาคารและอุ ปนกรณ์ ของบริ หมายเหตุ ปประกอบงบการเงิ นนข้ข้อนอโดยการจดจ 1515และเงิ นนกูกูานองที ย้ มืย้ มื ของบริ ย่อย่อยคยค้ าประกั โดยบริ ษษทั ทั ฯษฯทั ฯ ตามที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ และเงิ ของบริ ษ ท ั า ประกั น โดยบริ ้ หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนข้ข้ออ1515และเงิ และเงินนกูกูย้ มืย้ มื ของบริ ของบริษษทั ทั ย่อย่อยคยค้ าประกั โดยบริษษทั ทั ฯฯ ้ าประกันนโดยบริ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
3434 3434203
ญญาเงิ ญาเงินนกูกู้ย้ยืืมมดัดังงกล่ กล่าาวได้ วได้รระบุ ะบุขขออ้้ ปฏิ ปฏิบบตตัั ิิแและข้ ละข้ออกกาหนดบางประการ าหนดบางประการ เช่ เช่ นน การด การดารงอั ารงอัตตราส่ ราส่ ววนของหนี นของหนี้้ ตต่่ออ สัสัญ นของผูถถ้้ ืืออหุหุนน้้ และข้ และข้ออจจากั ากัดดเกี เกี่่ยยวกั วกับบการจ การจานองที านองที่่ดดิินน อาคารและอุ อาคารและอุปปกรณ์ กรณ์ เป็ เป็ นนต้ต้นน ส่ส่ ววนของผู ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560 บริ บริ ษษททัั ย่ย่ออยมี ยมีววงเงิ งเงินนกูกูยย้้ ืมืมระยะยาวตามสั ระยะยาวตามสัญ ญญาเงิ ญาเงินนกูกูทท้้ ี่ี่ยยงงัั มิมิไได้ด้เเบิบิกกใช้ ใช้เเป็ป็ นจ นจานวนเงิ านวนเงินน ณ 600 ล้ล้าานบาท นบาท (2559: (2559: 886 886 ล้ล้าานบาท) นบาท) และวงเงิ และวงเงินนกูกูยย้้ ืมืมดัดังงกล่ กล่าาวค วค้้ าาประกั ประกันนโดยการจดจ โดยการจดจานองที านองที่่ดดิินน อาคารและ อาคารและ 600 กรณ์ขของบริ องบริ ษษททัั ย่ย่ออยย ตามที ตามที่่กกล่ล่าาวไว้ 15 และค และค้้ าาประกั ประกันนโดยบริ โดยบริ ษษททัั ฯฯ อุอุปปกรณ์ วไว้ใในหมายเหตุ นหมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนข้ข้ออ 15
21. เงิเงินนกูกู้้ยยมมืื ระยะยาวจากส ระยะยาวจากสานั 21. านักกงานกองทุ งานกองทุนนอ้อ้ออยและน ยและนาา้้ ตาลทราย ตาลทราย
เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยาว ระยะยาว หัหักก:: ส่ส่ววนที นที่่ถถึึงงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยาว ระยะยาว -- สุสุททธิธิจจากส่ ากส่ววนที นที่่ถถึึงงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี
งบการเงิ รวม งบการเงิน งบการเงิ นนรวม รวม 2560 2559 2560 2559 2560 2559 229,799 146,007 229,799 146,007 (121,603) (63,293) (121,603) (63,293) 108,196 82,714 108,196 82,714
(หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนบาท) บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 112,471 19,166 112,471 19,166 (59,220) (11,039) (59,220) (11,039) 53,251 8,127 53,251 8,127
เงิเงิ นนกูกู้้ยยืืมมดัดังงกล่ กล่ าาวเป็ วเป็ นเงิ นเงิ นนกูกู้ย้ยืืมม ทีที่่ กก ลุลุ่่ มม บริ บริ ษษ ททัั ยืยืมม จากกองทุ จากกองทุ นนอ้อ้ออยและน ยและน้้ าา ตาลทราย ตาลทราย (สอน.) (สอน.) ซึซึ่่ งงเป็ เป็ นไปตาม นไปตาม โครงการสนั โครงการสนับบสนุ สนุ นนสิสิ นนเชื เชื่่ ออสสาหรั าหรับบการจั การจัดดซืซื้้ ออรถตั รถตัดดอ้อ้ออยย โดยมี โดยมีออตตัั ราดอกเบี ราดอกเบี้้ ยยเฉลี เฉลี่่ยยอยู อยูทท่่ ี่ี่รร้้ออยละ ยละ 2.05 2.05 -- 2.12 2.12 ต่ต่ออปีปี โดยมี โดยมีรระยะเวลาช ะยะเวลาชาระคื าระคืนนเงิเงินนต้ต้นนและดอกเบี และดอกเบี้้ ยยเป็ เป็ นรายปี นรายปี ตามสั ตามสัญ ญญาขายลดเช็ ญาขายลดเช็คคระหว่ ระหว่าางกลุ งกลุ่่มมบริ บริ ษษททัั และ และ สอน. สอน. โดยเงิ โดยเงินนกูกูยย้้ มมืื ดัดังงกล่ กล่าาวค วค้้ าาประกั ประกันนโดยกรรมการผู โดยกรรมการผูมม้้ ีีออานาจของกลุ านาจของกลุ่่มมบริ บริ ษษททัั
22. 22. สสารองผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์ รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงาน งาน สสารองผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงานของกลุ งานของกลุ่่มมบริ บริ ษษททัั ประกอบด้ ประกอบด้ววยโครงการผลประโยชน์ ยโครงการผลประโยชน์หหลัลังงออกจากงาน ออกจากงาน และผลประโยชน์ และผลประโยชน์รระยะยาวอื ะยะยาวอื่่นนดัดังงนีนี้้ 1.1. 2.2.
เงิเงินนชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ เเ พิพิ่่ มม เติ เติ มม ตามแผนสวั ตามแผนสวัสส ดิดิ กก ารพนั ารพนั กก งานซึ งานซึ่่ งให้ งให้ พพ นันั กก งานประจ งานประจ าที าที่่ เเ ริริ่่ มงานก่ มงานก่ ออ นวั นวันน ทีที่่ 16 16 กรกฎาคม กรกฎาคม 2555 2555 และมี และมีออายุ ายุงงานตั านตั้้ งงแต่ แต่ 10 10 ปีปี ขึขึ้้ นนไป ไป โดยพนั โดยพนักกงานจะมี งานจะมีสสิิ ททธิธิ ไได้ด้รรัับบเงิเงินนตามเงื ตามเงื่่ออนไขที นไขที่่ กกาหนดไว้ าหนดไว้เเมืมื่่ออออกจากงาน ออกจากงาน 3.3. ผลประโยชน์ ผลประโยชน์เเพิพิ่่มมเติ เติมมตามแผนสวั ตามแผนสวัสสดิดิกการพนั ารพนักกงานจากการเสี งานจากการเสี ยยชีชี ววิติต โดยพนั โดยพนักกงานจะมี งานจะมีสสิิ ททธิธิ ไได้ด้รรัับบเงิเงินนตาม ตาม เงืเงื่่ออนไขที นไขที่่กกาหนดไว้ าหนดไว้
204
35 35
จานวนเงินสารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานแสดงได้ดงั นี้ จานวนเงินสารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานแสดงได้ดงั นี้ จานวนเงินสารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานแสดงได้ดงั นี้
สารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงานต้ นปี สารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงานต้ นปี ส่สวนที ่รับรู ้ในกาไรหรืรอะยะยาวของพนั ขาดทุน: ารองผลประโยชน์ กงานต้ นปี ส่ วนที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน: ทุน่รบริ จจุบอนัขาดทุน: ส่ต้วนนที ับรูก้ใารในปั นกาไรหรื ต้นทุนบริ การในปั จจุบนั ต้ต้นนทุทุนนดอกเบี ้ ย จจุบนั บริ การในปั ต้นทุนดอกเบี้ย ส่ วนที ้ในกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่น: ต้น่รทุับนรูดอกเบี ้ย ส่ วนที่รับรู ้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น: ส่ขาดทุ วนที่รนับจากการประมาณการตามหลั รู ้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืก่นคณิ : ตศาสตร์ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันนจากการประมาณการตามหลั ภัย ขาดทุ กคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ส่ประกั วนที่เกินดภัจากการเปลี ่ยนแปลงข้อสมมติดา้ น ย ส่ วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติดา้ น ส่ประชากรศาสตร์ วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติดา้ น ประชากรศาสตร์ ส่ วนที ่เกิดจากการปรับปรุ งจากประสบการณ์ ประชากรศาสตร์ ส่ วนที่เกิดจากการปรับปรุ งจากประสบการณ์ รวม ส่ วนที่เกิดจากการปรับปรุ งจากประสบการณ์ รวม ผลประโยชน์ ที่จ่ายในระหว่างปี รวม ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี ที่จ่ายในระหว่ างปี กงานปลายปี สผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนั สารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงานปลายปี สารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงานปลายปี
งบการเงินรวม งบการเงิ นนรวม งบการเงิน รวม 2560งบการเงิ 2559 รวม 2560 2559 2560 2559 2560 2559 295,090 260,939 295,090 260,939 295,090 260,939 22,771 15,193 22,771 15,193 6,725 5,838 22,771 15,193 6,725 5,838 6,725 5,838
(หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงิน(หน่ เฉพาะกิ วย: พัจการ นบาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ เฉพาะกิ2559 จการ 2560งบการเงินนเฉพาะกิ งบการเงิ จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 180,526 154,180 180,526 154,180 180,526 154,180 12,968 8,582 12,968 8,582 3,878 3,305 12,968 8,582 3,878 3,305 3,878 3,305
5,339 5,339 11,344 5,339 11,344 16,683 11,344 16,683 (8,107) 16,683 (8,107) 333,162 (8,107) 333,162 333,162
4,424 4,424 7,485 4,424 7,485 11,909 7,485 11,909 (4,096) 11,909 (4,096) 205,185 (4,096) 205,185 205,185
21,126 21,126 21,126 21,126 21,126 (8,006) 21,126 (8,006) 295,090 (8,006) 295,090 295,090
17,807 17,807 17,807 17,807 17,807 (3,348) 17,807 (3,348) 180,526 (3,348) 180,526 180,526
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในส่ วนของก ขาดทุน (หน่าไรหรื วย: พันอบาท)
ต้นทุนขาย ต้นทุนขาย ค่ต้าใช้ หาร นทุจน่ายในการขายและการบริ ขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หาร รวมค่ จ่ายที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุ ค่าใช้าจใช้่ายในการขายและการบริ หาร น รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน
งบการเงินรวม งบการเงิ รวม งบการเงิ นนรวม 2560 2559 งบการเงินรวม 2560 2559 2560 2559 13,396 11,250 2560 2559 13,396 11,250 16,100 9,781 13,396 11,250 16,100 9,781 29,496 21,031 16,100 9,781 29,496 21,031 29,496 21,031
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิน(หน่ เฉพาะกิ วย: พัจการ นบาท) งบการเงิ นเฉพาะกิจจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ การ 2560 2559 งบการเงิ จการ 2560 นเฉพาะกิ 2559 2560 2559 6,966 5,918 2560 2559 6,966 5,918 9,880 5,969 6,966 5,918 9,880 5,969 16,846 11,887 9,880 5,969 16,846 11,887 16,846 11,887
กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะจ่ายชาระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปี ข้างหน้า เป็ นจานวนประมาณ กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะจ่ายชาระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปี ข้างหน้า เป็ นจานวนประมาณ 68กลุล้่มาบริ นบาท (2559: 51 ล้านบาท) ร(เฉพาะของบริ ฯ: จานวน 157ปี ข้ล้างหน้ านบาท จานวน 41 ษทั คาดว่ าจะจ่จานวน ายชาระผลประโยชน์ ะยะยาวของพนัษกทั งานภายใน า เป็2559: นจานวนประมาณ 68 ล้านบาท (2559: จานวน 51 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: จานวน 57 ล้านบาท 2559: จานวน 41 ล้68 านบาท) ล้านบาท (2559: จานวน 51 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: จานวน 57 ล้านบาท 2559: จานวน 41 ล้านบาท) ณล้วัานบาท) นที่ 31 ธันวาคม 2560 ระยะเวลาเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักในการจ่ายชาระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ระยะเวลาเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักในการจ่ายชาระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ของกลุ 7 ปีระยะเวลาเฉลี (2559: 7 ปี ) ่ย(เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 7ายช ปี 2559: 7 ปี ) ณ วันที่ม่บริ 31ษธัทั นประมาณ วาคม 2560 ถ่วงน้ าหนักในการจ่ าระผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงาน ของกลุ่มบริ ษทั ประมาณ 7 ปี (2559: 7 ปี ) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 7 ปี 2559: 7 ปี ) ของกลุ่มบริ ษทั ประมาณ 7 ปี (2559: 7 ปี ) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 7 ปี 2559: 7 ปี )
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
36 36 205 36
สมมติฐานที่สาคัญในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย สรุ ปได้ดงั นี้ สมมติฐานที่สาคัญในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย สรุ ปได้ดงั นี้ (หน่วย: ร้อยละต่อปี ) สมมติฐานที่สาคัญในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย สรุ ปได้ดงั นี้ (หน่วย: ร้อยละต่อปี )
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (หน่วย: ร้อยละต่อปี ) งบการเงิ น รวม งบการเงิ 2560 2559 2560 นเฉพาะกิจการ 2559 งบการเงิ รวม งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงินน รวม งบการเงินนเฉพาะกิ จการจการ 2560 2559 2560 2559 อัตราคิดลด 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 อัตอัราคิ ด ลด 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% ตราการขึ้นเงินเดือน 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% อัอัตตราคิ ด ลด 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% ราการขึ้นเงินเดือน 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% อัตผลกระทบของการเปลี ราการขึ้นเงินเดือน 5.0% 5.0% 5.0% 5.0%ระยะยาว ่ยนแปลงสมมติฐานที่สาคัญต่อมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์
ผลกระทบของการเปลี ่ย่ 31 นแปลงสมมติ ฐานที ่สาคั2559 ญต่อสรุมูลปค่ได้ าปัดจงั จุนีบ้ นั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาว ของพนั ก งาน ณ วั น ที ธั น วาคม 2560 และ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่สาคัญต่อมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาว ของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ดงั นี้ (หน่วย: ล้านบาท) ของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ดงั นี้ (หน่วย: ล้านบาท)
อัตราคิดลด อัตอัราคิ ดลด ้ นเงินเดือน ตราการขึ อัอัตตราคิ ดลด้ นเงินเดือน ราการขึ อัตราการขึ้นเงินเดือน
อัตราคิดลด อัตอัราคิ ดลด ้ นเงินเดือน ตราการขึ อัอัตตราคิ ดลด้ นเงินเดือน ราการขึ อัตราการขึ้นเงินเดือน
206
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม งบการเงิ น เฉพาะกิจการ ที่ 31ธัธันนวาคม ณ วันณทีวัน่ 31 วาคม25602560 รวมลดลง 1% จการ 1% เฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้นงบการเงิ 1%งบการเงินนรวม เพิงบการเงิ 1%นนเฉพาะกิ ลดลง ่มขึ้นงบการเงิ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มเพิขึ่ม(23) ลดลง เพิเพิ่มขึ่ม(12) 1% ลดลง 1% ลดลง 1% ขึ้ น้น 1% ลดลง 1% ้ นขึ้น 1% 251% 131% เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1% เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1% (23)33 25(28) (12)18 13(15) (23) 25 (12) 13 33 (28) 18 (15) 33 (28) 18 (15) (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 (หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย: ล้านบาท) ที่ 31ธัธันนวาคม ณ วันณทีวัน่ 31 วาคม25592559 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ จการ 1% เพิเพิ่ม่มขึขึ้น้ น1% 1% นรวมลดลง 1% เพิเพิงบการเงิ ่ม่มขึขึ้น้ น1%1%นเฉพาะกิลดลง งบการเงินรวมลดลง 1% งบการเงิ นเฉพาะกิลดลง จการ1% เพิ่มขึ(21) ลดลง231% เพิ่มขึ(11) ลดลง121% ้ น 1% ้ น 1% เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1% เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1% (21)30 23(25) (11)16 12(14) (21) 23 (11) 12 30 (25) 16 (14) 30 (25) 16 (14)
37 37 37
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
207
ราคาอ้อย
วย: บาทต่ อตันออ้ตัอนย)อ้อย) จากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย (หน่(หน่ วย: บาทต่ ราคาที ่คำ�ณวนโดยอ้าางอิ นวณ ่คานวณโดยอ้ วิธีกธงารคำ ีกวิารค านวณ ราคาที านวณโดยอ้งอิางงวิงอิ ธำ��ีกตาลทราย ารค านวณบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ฯราคาที จากสำ �นัก่ค งานคณะกรรมการอ้ อยและน้ จากส กงานคณะกรรมการอ้ กงานคณะกรรมการอ้ อกยและน ษจากส ัทฯ ตานั ษัทย่อยตปี ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกบริาลผลิ ปี านั ฤดูกาลผลิตปี อฤดูยและน าลผลิ้ าตาลทราย ตปี้ าตาลทราย ฤดูบริ กาลผลิ ฤดูบริ กบริ าลผลิ ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกษาลผลิ ฤดูกาลผลิตปี ษทั ษฯตทั ปีฯ บริ ทั ย่ษอตทั ปียย่อย 2558/2559 2559/2560 2558/2559 2560/2561 2559/2560 บริ
สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. สอัตาหรั 2560 ราขึ ต่วาคม อ 1 หน่ วย ซี.ซี.เอส. สาหรั บปีบ้ นสิปี/ลงของราคาอ้ ้นสิ้สุนดสุวัดนวันทีที่ 31่ 31อธัธัยนนวาคม 2560 ราคาอ้ ่ 10 ซี.ซี.เอส. สาหรัอบยอปียณสิณ้นระดั สุระดั ดบวับความหวานที นความหวานที ที่ 31 ธันวาคม ราคาอ้ ่ 102559 ซี.ซี.เอส. อัตราขึอ้ นย/ลงของราคาอ้ อย ต่อ 1 ่หน่ วย ซี.ซี.เอส. ราคาอ้ ณ ระดั บ ความหวานที 10 อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย ต่อ 1 หน่วซีย.ซีซี..ซีเอส. .เอส. สตาหรั บ้ นปี/ลงของราคาอ้ สิ้นสุ ดวันที่ 31อธัยนต่วาคม 2559 อั ราขึ อ 1 หน่ ว ย ซี . ซี สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 .เอส. ราคาอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ราคาอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส. อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส.
ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี ราคาอ้ ฤดูกออาลผลิ ยขั 2560/2561 2559/2560 ราคาอ้ ยขั้ น้ นตต้ปีต้นน 2560/2561 2559/2560 ฤดูกกาลผลิ าลผลิตตปีปี ฤดู ฤดู ฤดูกกาลผลิ าลผลิตตปีปี 2560/2561 2559/2560 880.00 1,050.00 2560/2561 2559/2560 52.80 63.00 880.00 1,050.00 880.00 1,050.00 52.80 63.00 1,050.00 52.80 63.00 63.00 1,050.00 1,050.00 63.00 63.00
ราคาอ้อยขั้นต้น
ราคาอ้อยขั้นต้น
808.00 48.48 808.00 808.00 48.48 48.48
ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี 2558/2559 2558/2559 ฤดู ฤดูกกาลผลิ าลผลิตตปีปี 2558/2559 2558/2559
38
38
38
ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี 2560/2561 2560/2561 2559/2560 2558/2559 2560/2561 2559/2560 2558/2559 ฤดูฤดูกกาลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู าลผลิ ตปี ตปี าลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี ฤดูกาลผลิตปี กฤดู กาลผลิ 2560/2561 2559/2560 2560/2561 880.00 1,063.76 - 1,101.64 2558/2559 880.00 1,097.01 2560/2561 2559/2560 2558/2559 2560/2561 2559/2560 2559/2560 2558/2559 2558/2559 52.80 63.83 - 66.10 52.80 65.82 880.00 1,063.76 - 1,101.64 880.00 1,097.01 880.00 1,063.76 - 1,101.64 880.00 1,097.01 52.80 63.83 - 66.10 865.27 -- 868.87 52.80 65.82 -52.80 1,050.00 1,050.00 883.10 63.83 - 66.10 52.80 65.82 63.00 51.92 - 52.13 63.00 52.99 1,050.00 865.27 - 868.87 1,050.00 883.10 1,050.00 865.27 - 868.87 1,050.00 883.10 63.00 51.92 - 52.13 63.00 52.99 63.00 51.92 - 52.13 63.00 52.99
สาหรับฤดูการผลิตปี 2560/2561 2559/2560 และ 2558/2559 กลุ่มบริ ษทั รับซื้ ออ้อยโดยใช้ประกาศราคาอ้อยขั้นต้นของฤดูกาลผลิ ตของแต่ละปี ซึ่ งประกาศโดย 23.23. ราคาอ้ ราคาอ้ออยย สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย อย่างไรก็ตาม ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั คาดว่าราคาอ้อยขั้นสุ ดท้ายจะต่างจากราคาอ้อยขั้นต้น กลุ่มบริ ษทั จึงบันทึกค่า สอ้สาหรั บบฤดูฤดูกาการผลิ 2560/2561 และ 2558/2559 2558/2559 กลุและ บริ2558/2559 ยโดยใช้ป่คประกาศราคาอ้ ระกาศราคาอ้ นานวณจากส ของฤดู กาลผลิ ของแต่ ซึ่ งประกาศโดย ่ม่ มบริ ารผลิ 2560/2561 2559/2560 กลุ ษษทั ทั รัรับบซืซื้ อ้ ออ้อ้ด้อวอยโดยใช้ อยขั นต้ของฤดู กาลผลิ ละปีละปี ซึ่ งประกาศโดย ้ นธีกต้้ นารค อาหรั ยและเจ้ หนี าหรับฤดูก2559/2560 ารผลิ ตปี 2560/2561 2559/2560 ยราคาที านวณโดยอ้ างอิ งอวิยขั านัตของแต่ กตงานคณะกรรมการอ้ อยและ ้ ค่าตอ้ตปีอปียส ่มบริบริานวณจากส ่มษบริทั จึษงทั บัจึนงทึบัปกนได้ สนสานั้ านั กกงานคณะกรรมการอ้ ออยและน อย่างไรก็ต่คาม าม ายบริหหารของกลุ ารของกลุ คาดว่าราคาอ้ าราคาอ้ อยขั ายจะต่ งจากราคาอ้ งานคณะกรรมการอ้ ยและน้ า้ าตาลทราย ฝ่ฝ่ายบริ ษษทั ทั คาดว่ อยขั างจากราคาอ้ อยขัอ้ นยขัต้้ นต้กลุ ค่ทึากค่า ้ นสุ้ นดสุท้ดาท้ยจะต่ าตาลทราย รายละเอียดของราคาอ้ อตาลทราย ยขั้นต้นและราคาที านวณโดยอ้ างอิงวิธีก่มารค านักงานคณะกรรมการอ้ อายและน งนกล่่มกลุบริ าวสามารถสรุ ้ าตาลทรายดั องนียและเจ้ าหนี้ ค้ ค่า่าอ้อ้ออยส ยสาหรั าหรับบฤดู ฤดูกการผลิ ารผลิตปี 2560/2561 2559/2560 างอิางอิ งวิงธวิี กธารค านวณจากส านักานังานคณะกรรมการอ้ อยและ อ้ออ้ดัยและเจ้ 2559/2560และ และ2558/2559 2558/2559ด้ด้ววยราคาที ยราคาที่ค่านวณโดยอ้ คานวณโดยอ้ ี การค านวณจากส กงานคณะกรรมการอ้ อยและ ้ าหนี รายละเอียยดของราคาอ้ ดของราคาอ้ออยขั้นต้นและราคาที่คานวณโดยอ้ อยและน งกล่งา(หน่ วสามารถสรุ น้นาตาลทราย านวณโดยอ้าางอิงอิงงวิวิธธี กี การค ารคานวณจากส านวณจากสานัานักงานคณะกรรมการอ้ กงานคณะกรรมการอ้ อยและน กล่ าววสามารถสรุ ได้ ้ าตาลทรายรายละเอี ้ าตาลทรายดั ้ าตาลทรายดั ย: บาทต่อปตันได้ อ้ปอย) ดังดันีง้นี้ ราคาที่คานวณโดยอ้างอิงวิธีการคานวณ
23.
24.24. การจ่ การจ่ ายโดยใช้ ายโดยใช้ ห้ ุนหเป็้ ุนนเกณฑ์ เป็ นเกณฑ์- ใบส - ใบส าคัาคั ญแสดงสิ ญแสดงสิ ทธิทซธิื้อซหุื้อ้ นหุสามั ้ นสามั ญญ 24.บริบริ ยโดยใช้ ห้ ุนาคั เป็ าคั นเกณฑ์ - ใบส ธิ่ จซทีดั ื้อ่ จสรรให้ หุดั ้ นสรรให้ สามัแญก่แผกู่บ้ ผริูบ้ หริารและพนั ่ม บริ ่ ม บริ ษการจ่ ทั ษฯได้ ทั าฯได้ ออกใบส ออกใบส ญแสดงสิ ญแสดงสิ ท ธิทซาคั ธิ้ื อซหุญ้ื อ้นแสดงสิ หุสามั ้นสามั ญททีญ หารและพนั กงานของกลุ กงานของกลุ ษ ทั ษ ทั (“ESOP”) (“ESOP”) โดยมี โดยมี อายุอายุ5 ปีาคั 5นัปีญบนัตัแสดงสิ บ้ งตัแต่้ งแต่ วนั ทวทีธินั ่อซทีอก และไม่ ใบส าคัาคั ญแสดงสิ ญแสดงสิ ทธิทฯธิจะต้ ฯจะต้ องมี ่ มองมี บริ ษทั ฯได้ ออกใบส ้นสามั ญมทีีรมาคาเสนอขาย ่ จีรดั าคาเสนอขาย สรรให้แก่ ผผููบถ้ ้ ผูือริถ้ ใบส หือารและพนั กงานของกลุ บริ ษ ทั ้ื อ่อหุอกและไม่ สถานะเป็ สถานะเป็ นพนั นพนั กโดยมี งานในวั กงานในวั ิ ทผูธิถ้ และไม่ ผูือถ้ ใบส ือใบส าคั าคัาคาเสนอขาย แสดงสิ ญแสดงสิ ทธิทฯธิทีฯผู่ลทีถ้ าออก าออก ถูาคั กถูเลิญกกเลิ จ้กางจ้าถูงกถูทปลดออก กธิปลดออก (“ESOP”) อายุนที5น่กปีทีาหนดการใช้ นั่กบาหนดการใช้ ตั้งแต่วนั สทีิ ท่อสธิอก มีรญ ือ่ลใบส แสดงสิ ฯจะต้องมี โดยมี โดยมี ความผิ ความผิ ดนพนั จะไม่ ด จะไม่ สามารถใช้ สามารถใช้ ิ ทสธิิ ทตธิามใบส ตามใบส ญธิ แสดงสิ ธิทฯญธิทีฯแสดงสิ ่ไทีด้่ไรด้ับรจัับทดจัธิสรร ดฯสรร หรื อส่อวถูส่นที ่เหลื กอต่ไป อไป สถานะเป็ กงานในวั นที่กสาหนดการใช้ สาคัิ ทาคั ผูญถ้ แสดงสิ ือใบสทาคั ที่ลหรื าออก กวเลินที กจ้่เหลื าองอีถูอกกอีต่ปลดออก นญทีนแสดงสิ เมืที่อเมืพ้่อนพ้ทสภาพพนั นธิสภาพพนั โดยใบส โดยใบส ญ ญ่เหลื แสดงสิ มี โดยจะต้ โดยจะต้ งคื นใบส นดใบส าคั าคั ญแสดงสิ ญสแสดงสิ ทธิทฯธิสให้ ฯิ ทให้ แธิก่ตแบามใบส ก่ริบษริทั ษฯทั ทั าคัฯทั โดยมีอคงคือวามผิ จะไม่ ามารถใช้ ฯที่ได้รกับงาน จักดงาน สรร หรื อส่าคัวาคั นทีแสดงสิ ออีทกธิทต่มอธิี ไป ระยะเวลาการใช้ ระยะเวลาการใช้ สธิิ ทเมืธิาคั ่อเมืครบก ่อครบก าหนดระยะ าหนดระยะ อนันนบนัทีแต่ บเมืแต่ ว่อนั พ้วทีนัน่อทีสภาพพนั อก ่ออก อัตอัราการใช้ ตราการใช้ ิ ทสธิิ ทซธิ้ื อซหุ้าคั ื อ้นหุสามั สามั ญและ ญและ โดยจะต้องคืสนิ ทใบส ญ แสดงสิ ทธิ ฯให้4แปีก่4บ6ปีริเดืษ6 อทั เดืนฯทั กงาน สโดยใบส ญ้นแสดงสิ ทธิ มี ราคาการใช้ ราคาการใช้ สิทสธิิ ทณธิ ณ วัสนิ ทวัทีนธิ่อเทีมือกสิ ่อ่ออกสิ ทธิทมธิาหนดระยะ ีรมายละเอี ีรายละเอี ยดดัย4ดดั งปีต่งอ6ต่ไปนี ระยะเวลาการใช้ ครบก เดือไปนี อน้ นั้ บแต่วนั ที่ออก อัตราการใช้สิทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญและ ราคาการใช้สิทธิ ณ วันที่ออกสิ ทธิ มีรายละเอีจยานวนสิ ดดั งต่อทไปนี จานวนสิ ธิทธิ อั้ ตอัราการใช้ ตราการใช้ สิทสธิิ ทต่อธิต่อ
กาหนดเวลาการใช้ สิทสธิิ ทธิ ราคาใช้ ราคาใช้ สิทสธิิ ทธิ ทีจ่อานวนสิ ทีอก่ออก ทธิ1 หน่ 1 หน่ วราการใช้ ยใบส วยใบส าคัญาคัญ กาหนดเวลาการใช้ กำ�หนดเวลาการใช้สิทธิ จำ�นวนสิทธิ อัอัตต ราการใช้ สิทธิ สิทธิ ต่อ ราคาใช้สิทธิ ที อ ่ อก ต่ อ 1 หน่ ว ยใบสำ � คั ญ (บาทต่ ออหุหุ ้น)อ วันวัทีน่อทีอก่ออก วันวัทีน่หทีมดอายุ ่หมดอายุ(บาทต่ (บาทต่ น้ หุ) น้ ) (หน่(หน่ วย)วย) แสดงสิ แสดงสิ ทธิทธิ เริ มเริ่ ม สิสิ้น้นสิสุสุด้นดสสุิ ทดธิ ราคาใช้สิทธิ (หน่วย)ที่ออก 1แสดงสิ หน่ทวธิยใบสาคัญ เริ่ม่ กาหนดเวลาการใช้ ESOP ESOP 1 ธั1นธัวัวาคม นนวาคม 10 10 อหุน้ 28,000,000 1:1 1:1 ทธิ 1 มิ1ถมิุนถายน ุนเริายน พฤศจิ พฤศจิ ที่ออก 1 ธัวั1นนธัวาคม ทีน่หวาคม มดอายุ (บาทต่ ) 28,000,000 (หน่วย) แสดงสิ สิก้นายน สุกายน ด ่ ม 30 30 2557 2557 2562 2562 2562 2562 2562 2562 ESOP 1 ธันวาคม 1 ธันวาคม 10 28,000,000 1:1 1 มิถุนายน 30 พฤศจิกายน 2557 2562 มูลมูค่ลาค่ยุตายุิธตรรมของใบส ิธรรมของใบส าคัาคั ญ2562 แสดงสิ ญแสดงสิ ทธิทวัธิดวัมูดลมูค่ลาค่โดยวิ าโดยวิ ธี Black-Scholes ธี Black-ScholesModel Modelภายใต้ ภายใต้ ข2562 อ้ ขสมมติ อ้ สมมติ ฐานทาง ฐานทาง วันที่ออก
วันที่หมดอายุ
การเงิ การเงิ ้ มูลนค่ดันางยุดันีตง้ ิธนีรรมของใบส าคัญแสดงสิ ทธิ วัดมูลค่าโดยวิธี Black-Scholes Model ภายใต้ขอ้ สมมติฐานทาง งนี้ มูลมูค่การเงิ ลายุค่ตายุิธตนรรมของใบส ิธดัรรมของใบส าคัญ าคัแสดงสิ ญแสดงสิ ทธิทณธิ ณ วันวัทีน่ใทีห้่ใสห้ิ ทสธิิ ท(บาท) ธิ (บาท) 7.157.15 ราคาหุ ราคาหุ วัิธนรรมของใบส วัทีน่ใทีห้่ให้บส ใบส าคัญ าคั ญญแสดงสิ ทธิทท(บาท) ธิธิ (บาท) 11.70 11.70 มูลน้ ค่าณน้ ยุตณ าคัแสดงสิ แสดงสิ ณ วันที่ให้สิทธิ (บาท) 7.15 ราคาใช้ ราคาใช้ สิทสน้ ธิิ ทณ (บาท) ธิ วั(บาท) 10.00 10.00 ราคาหุ นที่ให้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ (บาท) 11.70 ค่าความผั ค่ราคาใช้ าความผั นผวนของราคาหุ ่คาดหวั งง ร้อร้ยละ อ10.00 ยละ 125.03 125.03 สนิ ทผวนของราคาหุ ธิ (บาท) น้ ทีน้ ่คทีาดหวั ช่วช่งเวลาที ่คาดว่ ่คนาดว่ าจะมี าจะมี ผมู ้ ผาใช้ มู ้ าใช้ ใบส ใน้ บส าคั แสดงสิ ญแสดงสิ 4.54.5 ปีร้อปียละ 125.03 ค่วางเวลาที ความผั ผวนของราคาหุ ทีาคั่คญ าดหวั ง ทธิทคธิรบครบ อัตอัราเงิ นปันนปัผลที น่คผลที ่คาดหวั ่คาจะมี าดหวั งผมู ้ง าใช้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิครบ ร้อร้ยละ อ4.5ยละ 2.56 ช่ตวราเงิ งเวลาที าดว่ ปี 2.56 อัตอัราดอกเบี ร้อร้ยละ อร้อยละ 2.512.51 อัตตราดอกเบี ราเงิน้ ยปัปลอดความเสี น้ ยปลอดความเสี ผลที่คาดหวั่ ยงง่ ยง ยละ 2.56 อัตราดอกเบี้ยปลอดความเสี่ ยง ร้อยละ 2.51
3939
208
39
ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากรายการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจานวน 44 ล้านบาท 23 ล้านบาท ตามลาดับ (2559: จานวน 44 ล้านบาทและ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากรายการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสาหรับปี 23 ล้านบาท ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ตามลาดับ) สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจานวน 44 ล้านบาท 23 ล้านบาท ตามลาดับ (2559: จานวน 44 ล้านบาทและ ค่รายการเคลื าใช้จ่ายที่เกิอดนไหวของส่ จากรายการจ่วานทุ ยโดยใช้ หุน้ เป็ นายโดยใช้ เกณฑ์ในงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสาหรับปี นจากการจ่ หุ้นเป็ นเกณฑ์ 23 ล้านบาท ่ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิจการ ตามล าดับ) ในงบแสดงฐานะการเงิ น ประกอบด้วย สิรายละเอี ที่ 31 ้ นสุ ดวันยดดั งนี้ ธันวาคม 2560 มีจานวน 44 ล้านบาท 23 ล้านบาท ตามลาดับ (2559: จานวน 44 ล้านบาทและ รายการเคลื อนไหวของส่ วนทุ นจากการจ่นาเฉพาะกิ ยโดยใช้จการ หุ้นตามล เป็ นเกณฑ์ น ประกอบด้วย 23 ล้านบาท ่ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ าดับ) ในงบแสดงฐานะการเงิ (หน่วย: พันบาท) รายละเอียดดังนี้ รายการเคลื่ อนไหวของส่ วนทุ นจากการจ่ ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ในงบแสดงฐานะการเงิ น ประกอบด้วย งบการเงินรวม/ (หน่วย: พันบาท) รายละเอียดดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม/ (หน่วย:2559 พันบาท) 2560 งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ นรวม/งบการเงิ นเฉพาะกิจการ งบการเงิ นรวม/ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 92,685 48,196 2560 2559 2560 2559 งบการเงิ รับรู ้ระหว่างปี 44,489นเฉพาะกิจการ44,489 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 92,685 48,196 2560 2559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 137,174 92,685 รับรู ้ระหว่างปี 44,489 44,489 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 92,685 48,196 ยอดคงเหลื อ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 137,174 92,685 รัรายการเคลื บรู ้ระหว่างปี่อนไหวของจานวนใบสาคัญแสดงสิ ทธิ มีดงั นี้ 44,489 44,489 หน่วย) ยอดคงเหลื วันที่ 31 ธัานวนใบส นวาคม าคัญแสดงสิ ทธิ มีดงั นี้ 137,174 (หน่วย: พัน92,685 รายการเคลือ่อณนไหวของจ งบการเงินรวม/ (หน่วย: พันหน่วย) รายการเคลื่อนไหวของจานวนใบสาคัญแสดงสิ ทธิ มีดงั นี้ งบการเงิ น เฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวม/งบการเงิ นเฉพาะกิจการ งบการเงิ นรวม/ (หน่วย: 2559 พั2559 นหน่วย) 2560 2560 งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม/ 28,000 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 28,000 2560 2559 งบการเงิน- เฉพาะกิจการ การใช้สิทธิ ในใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 28,000 28,000 2560 2559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 28,000 28,000 การใช้สิทธิ ในใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 28,000 28,000 อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 28,000 28,000 25. ยอดคงเหลื สารองตามกฎหมาย การใช้ สิทธิ ในใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในระหว่างปี ่ 31 ธันวาคม 28,000 ภายใต้ บทบัอญณญัวัตนิขทีองมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ฯต้28,000 องจัดสรร 25. ยอดคงเหลื สารองตามกฎหมาย กาไรสุ ทธิ ประจาปี ส่ วนหนึ่ งไว้เป็ นทุ นสารองไม่น้อยกว่าร้ อยละ 5 ของกาไรสุ ทธิ ประจาปี หักด้วยยอด ภายใต้ บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ฯต้องจัดสรร 25. ขาดทุ สารองตามกฎหมาย นสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสารองนี้จะมีจานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สารอง กาไรสุ ทธิ ประจาปี ส่ วนหนึ่ งไว้เป็ นทุ นสารองไม่น้อยกว่าร้ อยละ 5 ของกาไรสุ ทธิ ประจาปี หักด้วยยอด ภายใต้ บทบัญญังกล่ ติขาองมาตรา 116 าไปจ่ แห่งพระราชบั ญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ฯต้องจัดสรร ตามกฎหมายดั วไม่สามารถน ายเงินปันผลได้ ขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสารองนี้จะมีจานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สารอง กาไรสุ ทธิ ประจาปี ส่ วนหนึ่ งไว้เป็ นทุ นสารองไม่น้อยกว่าร้ อยละ 5 ของกาไรสุ ทธิ ประจาปี หักด้วยยอด ตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนาไปจ่ายเงินปันผลได้ ขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสารองนี้จะมีจานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สารอง ตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนาไปจ่ายเงินปันผลได้
40 40 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
40209
26. ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สาคัญดังต่อไปนี้
ค่าใช้จ่ายพนักงานและสวัสดิการอื่น ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าไฟฟ้ าและพลังงาน ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ค่าซ่อมแซมบารุ งรักษา ค่ารักษาเสถียรภาพ ค่าธรรมเนียมวิจยั และเงินนาส่งกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป การเปลี่ยนแปลงในสิ นค้าสาเร็ จรู ปและงานระหว่างทา
งบการเงิ นรวม งบการเงินรวม 2560 2559 2560 2559 1,526,348 1,185,990 1,269,217 1,142,268 656,870 558,706 407,164 304,250 763,483 663,727 1,194,954 12,245,486 2,651,123
1,322,448 7,364,828 1,181,798
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงินน เฉพาะกิ จการ จการ 2560 2559 2560 2559 928,811 700,505 596,511 542,943 274,267 156,215 196,798 129,113 448,432 392,987
898,739 9,408,490 1,773,743
1,082,152 5,621,294 873,914
27. ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ดงั นี้ งบการเงิ นรวม งบการเงินรวม 2560 2559 2560 2559 ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับปี ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่าง ชัว่ คราวและการกลับรายการผลแตกต่างชัว่ คราว ค่ าใช้ จ่าย (ผลประโยชน์ ) ภาษีเงินได้ ทแี่ สดงอยู่ในงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ
210
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงินน เฉพาะกิ จการ จการ 2560 2559 2560 2559
108,226
65,518
-
-
(106,546)
58,712
(63,922)
35,521
1,680
124,230
(63,922)
35,521
41
จานวนภาษี จานวนภาษีเงิเนงินได้ได้ทที่เกีี่เกี่ย่วข้ ยวข้อองกังกับบส่ส่วนประกอบแต่ วนประกอบแต่ลละส่ะส่วนของก วนของกาไรขาดทุ าไรขาดทุนนเบ็เบ็ดดเสร็ เสร็จอืจอื่น่นสสาหรั าหรับบปีปีสิสิ้ น้ นสุสุดดวัวันนทีที่ ่ 3131ธัธันนวาคม วาคม2560 2560และ และ2559 2559สรุสรุปปได้ได้ดดงั นีงั นี้ ้ (หน่ (หน่วย: วย:พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ นรวม งบการเงิ นนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ รวม งบการเงิ งบการเงินน รวม งบการเงิ นเฉพาะกิ เฉพาะกิจการจการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 ภาษี ภาษีเงิเนงินได้ได้รอการตั รอการตัดดบับัญญชีชีทที่เกีี่เกี่ย่วข้ ยวข้อองกังกับบ: : ผลขาดทุ ผลขาดทุนนจากการประมาณการตามหลั จากการประมาณการตามหลักก (3,336) (4,225) (2,382) (3,562) คณิ (3,336) (4,225) (2,382) (3,562) คณิตตศาสตร์ ศาสตร์ปประกั ระกันนภัภัยย (3,336) (4,225) (2,382) (3,562) (3,336) (4,225) (2,382) (3,562) รายการกระทบยอดระหว่ ่ายภาษีเงิเนงินได้ได้มมีดีดงั นีงั นี้ ้ รายการกระทบยอดระหว่างก างกาไรทางบั าไรทางบัญญชีชีกกบั บั ค่ค่าใช้ าใช้จ่าจยภาษี
กาไร ่อนภาษีเงิเนงินได้ได้นนิติิบติบุคคล กาไร(ขาดทุ (ขาดทุนน) ทางบั ) ทางบัญญชีกชี่อกนภาษี ุคคล อัตอัราภาษี ตราภาษีเงิเนงินได้ได้นนิติิบติบุคคล ุคคล กาไร ่อนภาษีเงิเนงินได้ได้นนิติิบติบุคคล กาไร(ขาดทุ (ขาดทุนน) ทางบั ) ทางบัญญชีกชี่อกนภาษี ุคคล คูณ อั ต ราภาษี คูณอัตราภาษี สิสินนทรัทรัพพย์ภย์ภาษีาษีเงิเนงินได้ได้รอการตั รอการตัดบัดบัญญชีชีทที่ไม่ี่ไม่ได้ไบด้บนั นัทึทึกใน กใน ระหว่ า งปี ระหว่างปี สิสินนทรัทรัพพย์ภย์าษี ภาษีเงิเนงินได้ได้รอการตั รอการตัดบัดบัญญชีทชีที่ไม่ี่ไม่ได้ไบด้บนั นัทึทึกในปี กในปีก่อก่นอน แต่แต่นนามาใช้ ามาใช้ปประโยชน์ ระโยชน์ในระหว่ ในระหว่างปี างปี- ขาดทุ - ขาดทุนนทางภาษี ทางภาษี สิสินนทรัทรัพพย์ภย์ภาษีาษีเงิเนงินได้ได้รอการตั ด บั ญ ชี ท ่ ี บ น ั ทึ ก ในปี ก่ รอการตัดบัญชีที่บนั ทึกในปี อก่นอน แต่แต่ไม่ไม่ใช้ใปช้ประโยชน์ ระโยชน์ในปี ในปีนี้นี้ ผลกระทบทางภาษี ผลกระทบทางภาษีสสาหรั าหรับบ: : การส่ การส่งเสริ งเสริมมการลงทุ การลงทุนน รายได้ รายได้ทที่ไม่ี่ไม่ตอต้ งเสี อ้ งเสียภาษี ยภาษี ่ ค่าค่ใช้ จ า ยต้ อ งห้ า ม าใช้จ่ายต้องห้าม ค่าค่ใช้ ่ายที่ม่มีสีิสทิ ทธิหธิหกั ได้ าใช้จ่าจยที กั ได้เพิเพิ่ม่มขึ้นขึ้น อื่นอื่นๆๆ รวม รวม ค่าค่ใช้ าใช้จ่าจย่าย(ผลประโยชน์ (ผลประโยชน์) ภาษี ) ภาษีเงิเนงินได้ได้ทที่แสดงอยู ี่แสดงอยูใ่ นงบก ใ่ นงบกาไร าไร ขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ ขาดทุนเบ็ดเสร็ จ
งบการเงิ นนนรวม งบการเงิ รวม งบการเงิ รวม 2560 2559 2560 2559 2560 2559 647,174 (388,304) 647,174 (388,304) 20% 20%
20% 20%
(หน่ (หน่วย:วย:พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ นนเฉพาะกิ งบการเงิ นเฉพาะกิจจการ งบการเงิ เฉพาะกิการ จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 602,203 260,515 602,203 260,515 20% 20%
20% 20%
129,435 129,435
(77,661) (77,661)
120,441 120,441
52,103 52,103
17,017 17,017
203,676 203,676
4,653 4,653
175,097 175,097
(132,397) (132,397)
(2,446) (2,446)
(124,902) (124,902)
--
--
14,477 14,477
--
--
(32,630) (32,630) -27,325 27,325 (16,701) (16,701) 9,631 9,631 (12,375) (12,375)
(31,837) (31,837) -25,656 25,656 (14,583) (14,583) 6,948 6,948 (13,816) (13,816)
-(79,883) (79,883) 19,683 19,683 (3,914) (3,914) -(64,114) (64,114)
-(203,232) (203,232) 14,318 14,318 (2,765) (2,765) -(191,679) (191,679)
1,680 1,680
124,230 124,230
(63,922) (63,922)
35,521 35,521
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
4242211
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที่แสดงอยูใ่ น งบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ งบการเงิ รวม งบการเงินน รวม 2560 2559 2560 2559 สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผื่อการด้อยค่าของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน สัญญาเช่าทางการเงิน สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณหนี้สินค่ารื้ อถอนระยะยาว อื่น ๆ รวม หนีส้ ินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคาสะสม อื่น ๆ รวม สุ ทธิ
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงิน นเฉพาะกิ จการจการ 2560 2559 2560 2559
94,382 4,677 158,985 66,632 5,872 2,198 332,746
673 3,118 156,357 59,018 3,996 1,335 224,497
58,837 2,506 158,985 41,037 1,232 262,597
92 2,506 156,357 36,105 839 195,899
(33,308) (1,648) (34,956) 297,790
(34,415) (2,175) (36,590) 187,907
(20,974) (227) (21,201) 241,396
(19,156) (1,650) (20,806) 175,093
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีขาดทุนทางภาษีจานวน 787 ล้านบาท ที่กลุ่มบริ ษทั ไม่ได้บนั ทึก สิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี เนื่ องจากมีโอกาสที่ กาไรทางภาษีในอนาคตอาจไม่เพียงพอที่จะนา ผลขาดทุ น ทางภาษี ข ้า งต้นมาถื อ เป็ นรายจ่ า ยในการค านวณภาษี เ งิ น ได้ภ ายในระยะเวลาที่ ก าหนดไว้ ในประมวลรัษฎากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ของกลุ่มบริ ษทั ที่ไม่ได้บนั ทึกสิ นทรัพย์ภาษีเงิน ได้รอการตัดบัญชีจะสิ้ นสุ ดระยะเวลาการให้ประโยชน์ในปี 2573
212
43
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2560
213
นิติบุคคลไปรวมคานวณเพื่อเสี ยภาษี
4. วันที่เริ่ มใช้สิทธิตามบัตรส่งเสริ ม
ิบุคสิคลดั งกล่ตาวข้ 4. วันที่เรินิ่ มตใช้ ทธิตามบั รส่างงต้ เสรินม
ได้รับ
8 ปี
ไม่ได้รับ
8 ปี
เริ่ มใช้สิทธิ
ไม่ได้รับ
8 ปี
ได้รับ
8 ปี
ได้รับ
8 ปี
ไม่ได้รับ
8 ปี
ไม่ได้รับ
8 ปี
ได้รับ
8 ปี
8 ปี
ไม่ได้รับ
ได้รับ
8 ปี
44
ยังไม่ได้ 7 กรกฏาคม 2559 31 ตุลาคม 2559 26 พฤษภาคม 2560 ยังไม่ได้ เริ่ ม2560 ใช้สิทธิ 7 ตุลาคม 2556เริ่ มใช้สิทธิ ยังไม่ได้ 7 กรกฏาคม 2559 31 ตุลาคม 2559 26 พฤษภาคม
ได้รับ
8 ปี
7 ตุลาคม 2556
14 ตุลาคม 2547
14 ตุลาคม 2547
3.2 ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้รับ 3.2 บได้กราไรสุ ับลดหย่ เงินได้นิติบนุคในคล ได้รับ สาหรั ทธิทอี่ไนภาษี ด้รับจากการลงทุ บกาสิาไรสุ ทธิตทราปกติ ี่ได้รับจากการลงทุ นใน อัตราร้สอาหรั ยละห้ บของอั เป็ น อัตราร้าปีอยละห้ าสิ บนของอั ราปกติเป็ น ระยะเวลาห้ นับจากวั ที่พน้ กตาหนด ระยะเวลาการได้ ภาษีเนงินทีได้ ระยะเวลาห้รับาปียกเว้ นับนจากวั ่พน้ กาหนด นิติบุคระยะเวลาการได้ คลดังกล่าวข้างต้นรับยกเว้นภาษีเงินได้
8 ปี
44
ยังไม่ได้ เริ่ มใช้สิทธิ
ไม่ได้รับ
8 ปี
1276/อ./2546 1095(1)/2555 2590(5)/2556 1557(1)/25581557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 1276/อ./2546 1095(1)/2555 2590(5)/2556 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 ผลิตเยือ่ กระดาษ ผลิตไฟฟ้ าจาก ผลิตปุ๋ ยชีวภาพ ตไฟฟ้ าและ ตบรรจุภณั ผลิ ฑ์ ตบรรจุผลิภตณ ผลิตาและ ก๊าซชีวภาพผลิตก๊าซชีวภาพ ผลิตเยือ่ กระดาษ ผลิตไฟฟ้ าจาก ผลิตปุ๋ ยชีวผลิ ภาพ ผลิตไฟฟ้ผลิาและ ั ไฟฟ้ ฑ์ าและผลิตไฟฟ้ เชื้อเพลิงชีเชืวมวล ยอินทรี ย ์ปุ๋หรืยอิอนทรี ย ์ หรืไอน สาหรับอาหารสาหรับไอน ง ้ าจากเชื้อเพลิง ้ าจากเชื้อเพลิ อ ้ าจาก ไอน้ าจาก อาหาร ไอน ้ อเพลิงชีวปุ๋มวล และไอน้ าและไอนสารปรั ชีวมวล งดิน บปรุเชืง้ อดิเพลิ Biodegradable) น งชีวมวล เชื้อเพลิ(ชนิ งชีวดมวล (ชนิด Biodegradable) ชีวมวล ้ า บปรุสารปรั และปุ๋ ยอินทรี ย อ ์ ด ั เม็ ด และปุ๋ ยอินทรี ยอ์ ดั เม็ด
3.1 ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับ 8 ปี 3.1 ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับ กาไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ กาไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ ได้รับการส่งเสริ มและได้รับยกเว้นไม่ตอ้ ง ได้รับการส่งเสริ มและได้รับยกเว้นไม่ตอ้ ง นาเงินปั นผลจากกิจการที่ได้รับการ จการที ส่งเสรินมาเงิ ซึ่งนได้ปัรนับผลจากกิ ยกเว้นภาษี เงินได้่ได้รับการ งเสริ มซึ่งได้ รับยกเว้่อเสีนภาษี นิติบุคส่คลไปรวมค านวณเพื ยภาษีเงินได้
3. สิ ทธิประโยชน์สาคัญที่ได้รับ
3. สิ ทธิประโยชน์สาคัญที่ได้รับ
1. บัต1.รส่บังเสริ ตรส่มงเลขที เสริ ม่ เลขที่ 2. เพื2.่อส่งเพืเสริ่อส่มงการลงทุ นในกิจนการ เสริ มการลงทุ ในกิจการ
บริ ษทั บริย่อษยได้ สิ ทรธิับพสิิเศษทางภาษี จากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุ ดังต่อไปนี ทั ย่อรับยได้ ทธิพิเศษทางภาษี จากคณะกรรมการส่ งเสริ มนการลงทุ นดั้ งต่อไปนี้
เสริมการลงทุ 28. 28.การส่การส่ งเสริมงการลงทุ น น
29. กาไรต่ อหุ้น าไร (ขาดทุ 29. กาไรต่ อหุ้น น) ต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานคานวณโดยหารกาไร (ขาดทุน) สาหรับปี ที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ่น) ด้านวณโดยหารก วยจานวนถัวเฉลีาไร ่ยถ่ว(ขาดทุ งน้ าหนันก)ของหุ ่ออกอยูถ้ ใ่ือนระหว่ างปี ษทั ฯ 29. กก(ไม่ าไรต่ อหุาไรขาดทุ ้ น น) ต่อนหุเบ็ าไรรวมก (ขาดทุ ้นขัด้ นเสร็ พื้นจอืฐานค สาหรัน้ บสามั ปี ที่เญป็ ทีนของผู หุ ้นของบริ
กาไร าไรรวมก (ขาดทุ าไร นน)ก)สของหุ หุหุ้น้นของบริ าไรขาดทุ อืฐานค ่น)านวณโดยหารก ด้านวณโดยหารก วยจานวนถัวเฉลี ่ยถ่(ขาดทุ ว(ขาดทุ งน้ าหนั ทีนของผู ่ออกอยูถ้ ถ้ ือใ่ือนระหว่ างปี ษษททัั ฯฯ ก(ไม่ (ขาดทุ นน)) ต่ต่ออนหุหุเบ็ ้น้นขัดปรั พืบ้นจลดค าไร สาหรั าหรับน้ บปีสามั ปีทีที่เป็่เญป็นของผู ของบริ ้ นเสร็ (ไม่ วมก าไรขาดทุ ดเสร็ เสร็ จอือื่น่น)านวณโดยหารก )ด้วด้ยจ วยผลรวมของจ วนเฉลี ่ยาหรั ถ่วงน าหนั ้นถ้ สามั ที่อาอกอยู (ไม่ าไรขาดทุ านวนถัวเฉลี ถ่(ขาดทุ วงน้ าหนั ทีของหุ ่ออกอยู งปี ษทั ใ่ นฯ กาไรรรวมก (ขาดทุ น) ต่อนนหุเบ็เบ็ ้นดปรั บจลดค าไร่ยานวนถั )กสของหุ บน้ ปี้สามั ที่เป็ญกนของผู ือใ่ นระหว่ หุ ้นญของบริ ระหว่ างปี าไรขาดทุ กับจานวนถัวเฉลี ่ยถ่จวอืงน กของหุ ้นสามัญานวนถั ที่บริ ษทั ฯอาจต้ งออกเพืกของหุ ่อแปลงหุ ้นสามั ยบเท่ใ่ นา (ไม่ ดเสร็ ่นานวณโดยหารก )้ าหนั ด้วยผลรวมของจ ถ่วองน ทีญ่อเที อกอยู กาไรรวมก (ขาดทุน) ต่อนหุเบ็ ้นปรั บลดค าไร (ขาดทุวนเฉลี ) ส่ยาหรั บปี้ าหนั ที่เป็ นของผู้นถ้ สามั ือหุ ้นญของบริ ษทั ฯ ่ ปรั บ ลดทั ง สิ น ให้ เ ป็ นหุ น ้ สามั ญ โดยสมมติ ว า ได้ ม ี ก ารแปลงเป็ นหุ น ้ สามั ญ ณ วั น ต้ น ปี หรื อ ณ วั น ออกหุ ้ ้ ระหว่ างปี าไรขาดทุ กับจานวนถั กของหุ ้นสามัญานวนถั ที่บริ ษวทั เฉลี ฯอาจต้ ่อแปลงหุ ้นสามั ยบเท่ใ่ ้นนา (ไม่ รวมก นเบ็วเฉลี ดเสร็่ยถ่จวอืงน ่น)้ าหนั ด้วยผลรวมของจ ่ยถ่วองนงออกเพื ้นสามั ญทีญ่อเที อกอยู ้ าหนักของหุ สามั เทียบเท่าให้เป็ นหุ ้นสามัญ โดยสมมติวา่ ได้มีการแปลงเป็ นหุ ้นสามัญ ณ วันต้น ปี หรื อ ณ วันออกหุ ้น ปรับญลดทั ระหว่ างปี ้ งกัสิบ้ นจานวนถั วเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ ้นสามัญที่บริ ษทั ฯอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ ้นสามัญเทียบเท่า กสามั (ขาดทุ น้ ขัน้ นสามั พื้นฐานและก าไร ว(ขาดทุ ) ต่อหุน้ ปรันหุ บลด้นสามั แสดงการค เทีย้ งบเท่ ปรัาไร บญลดทั สิน้ นา)ให้ต่อเป็หุนหุ ญ โดยสมมติ า่ ได้มนีการแปลงเป็ ญ ณ วันานวณได้ ต้น ปี หรืดองั นีณ้ วันออกหุ ้น เทียบเท่นา) ต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานและกาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด งบการเงิ นรวม านวณได้ดงั นี้ กสามั าไรญ(ขาดทุ แสดงการค
านวนหุน้ สามัญ กาไร (ขาดทุน) ต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานและกาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับจลด แสดงการค งบการเงิ นรวม านวณได้ดงั นี้
กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด ผลกระทบของหุ กาไร (ขาดทุน) ต่น้ อสามั หุน้ ขัญ้ นเทีพืย้นบเท่ ฐานาปรับลด กผลกระทบของหุ าไร (ขาดทุน) ต่น้ อสามั หุน้ ปรั ญเทีบลด ยบเท่าปรับลด กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด
กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี 2560 2559 กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี �ไร (ขาดทุน) (พั สำ�หรั ปี (พันกำบาท) นบบาท) 2560 2559 กาไร (ขาดทุน)(512,535) สาหรั 645,494 2560 2559 บปี บาท) (พั(พั2560 นนบาท) (พั(พั2559 นนบาท) บาท) 645,494 (512,535) (พั645,494 นบาท) (พั นบาท) (512,535) 645,494 (512,535)645,494- (512,535)645,494 (512,535)
ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก จงบการเงิ านวนหุ น้ นสามั ญ รวม งบการเงิน รวม 2560 2559 ถัวเฉลี ่ยถ่วงน้ญาหนัญก (พันจถัานวนหุ หุจำว�เฉลี น้ นวนหุ )่ยถ่ว้นงน้น้ สามัำ�สามั (พั ้ ) หนัน ก หุ น 2560 2559 ถั2560 วเฉลี่ยถ่วงน3,860,000 หนัก ้ า2559 3,860,000 (พั(พั2560 นนหุหุ้นน้ ) ) (พั(พั2559 นนหุหุ้น)น้ ) 3,860,000 3,860,000 (พันหุน้ ) 3,860,000 (พันหุน้ ) 3,860,000 3,860,000 3,860,0003,860,000 3,860,000 งบการเงิน- เฉพาะกิจการ3,860,000 จงบการเงิ านวนหุ น้ 3,860,000 สามัญ เฉพาะกิจการ งบการเงิ นนเฉพาะกิ จการ ถัวเฉลี ่ยถ่ว้นสามั งน้ญาหนัก จำ�นวนหุ จถัานวนหุ น้ ำ�สามั ญ วเฉลี่ยถ่วงน้ หนัก จ งบการเงิ 2560 นเฉพาะกิ 2559การ ถั2560 วเฉลี ่ยถ่วงน(พั้ า2559 หนัก หุหุ้นน (พั(พันจนานวนหุ ้ ) ) น้ สามั (พันนหุญหุ้น)น้ ) ถั2560 วเฉลี่ยถ่วงน3,860,000 หนัก ้ า2559 3,860,000 (พั2560 นหุน้ ) (พั2559 นหุน้ ) 3,860,000 3,860,000 (พันหุน้ ) 3,860,000 (พันหุน้ ) 3,860,000 3,860,000 3,860,0003,860,000- 3,860,000-
กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ 2560 2559 กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ กำ�ไร (ขาดทุน) ต่(บาท) อหุ้น (บาท) 2560 กาไร (ขาดทุน) 2559 ต่2559 อ(0.13) หุน้ 25600.17 (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) 2560 2559 0.17 (0.13) (บาท) 0.17 (บาท) (0.13) 0.17 (0.13) 0.17 (0.13) 0.17
(0.13)
กาไรสาหรับปี กาไรต่อหุน้ กำ�ไรสำ�หรับปี กำ�ไรต่อหุ้น 2560 2559 2560 2559 2560 2560กาไรต่อหุ น 2559 กบาท) าไรสาหรั(พับ2559 ปีบาท) ้ (บาท) (พั น น (บาท) (พันบาท) (พันบาท) (บาท) (บาท) 2560 2560กาไรต่อหุน้ 2559 กาไรสาหรั224,994 บ2559 ปี กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน 666,125 0.17 0.06 (พั2560 นบาท) (พั2559 นบาท) (บาท) (บาท) 2560 2559 ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน 666,125 224,994 0.17 0.06 (พั666,125 นบาท) (พั224,994 นบาท) (บาท) (บาท) กาไรต่อหุน้ ปรับลด 0.17 0.06 ผลกระทบของหุ กาไรต่อหุน้ ขั้นพืน้้นสามั ฐานญเทียบเท่าปรับลด 666,125- 224,9940.17 0.06 กผลกระทบของหุ าไรต่อหุน้ ปรับลด 666,125 224,994 0.17 0.06 าปรับธัลดนวาคม 2560- และ 2559- สมมติ ฐานของการแปลงสภาพของใบส ในระหว่างปีน้ สิสามั ที่ 31 าคัญ ้ นสุญดเทีวัยนบเท่ กแสดงสิ าไรต่อหุน้ ทปรัธิบซลด 224,994 3,860,000 3,860,000 0.17 สิ ท ธิ0.06 ่ องจากราคาตลาดของหุ ้น ของบริ ษ ัท ฯต่ า กว่า ราคาใช้ ข อง ้ื อหุ ้ น สามัญ ไม่ เ กิ ดขึ้ น เนื666,125
ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สมมติฐานของการแปลงสภาพของใบสาคัญ ใบส าคัญทแสดงสิ ทธิ ซ้ือหุญน้ ไม่ สามัญ จึนงไม่เนืก่ อระทบต่ อการแสดงกาไรต่อหุน้ ปรับษลด แสดงสิ งจากราคาตลาดของหุ ัท ฯต่ า กว่า ราคาใช้สิ ท ธิาคั ข อง ในระหว่ าธิงปีซ้ื สิอ้หุน้ นสุ ดสามั วันที่ 31 เ กิธัดนขึ้วาคม 2560 และ 2559 สมมติ้นฐของบริ านของการแปลงสภาพของใบส ญ ใบส าคัญทแสดงสิ ซ้ือหุญน้ ไม่ สามั อการแสดงกาไรต่้นอของบริ หุน้ ปรับษลด แสดงสิ ธิ ซ้ื อหุท้ นธิสามั เ กิญดขึจึ้ นงไม่เนืก่ อระทบต่ งจากราคาตลาดของหุ ัท ฯต่ า กว่า ราคาใช้สิ ท ธิ ข อง ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซ้ือหุ น้ สามัญ จึงไม่กระทบต่อการแสดงกาไรต่อหุน้ ปรับลด
45 45
214
45
30. เงินปันผลจ่ าย 30. เงินปันผลจ่ าย เงินเงินปัปันนผลผล เงินปันผล เงินปันผลประจาปี 2558 เงินปันผลประจาปี 2558 เงินปันผลสาหรับปี 2559 เงินปันผลสาหรับปี 2559
าย าย อนุอนุมมตั ัติโิโดยดย เงินเงิปันปันนผลจ่ ผลจ่ อนุมตั ิโดย เงิ(ล้ นปั(ล้านบาท) ผลจ่าย าน นบาท) ที่ประชุมใหญ่สามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ (ล้านบาท) ที่ป22 ระชุเมษายน มใหญ่ส2559 ามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 386 22 เมษายน 2559 386 386 386
เงินปันผลจ่าย าย เงินเงินปัต่ปัต่อนนอผลจ่ ผลจ่ หุหุ ้น้น าย ต่(บาท) อหุ ้น (บาท) (บาท) 0.10 0.10 0.10 0.10
เงินปันผลประจาปี 2559 ที่ประชุมใหญ่สามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ เงินปันผลประจาปี 2559 ที่ป24 ระชุเมษายน มใหญ่ส2560 ามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 386 0.10 24 เมษายน 2560 386 0.10 เงินปันผลสาหรับปี 2560 386 0.10 เงินปันผลสาหรับปี 2560 386 0.10 31. ส่ วนงานดาเนินงาน 31. ส่ วนงานดาเนินงาน ข้อมูลส่ วนงานดาเนิ นงานที่นาเสนอนี้ สอดคล้องกับรายงานภายในของบริ ษทั ฯที่ผมู้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ด มูลส่ วนงานด าเนิ นรงานที ่นาเสนอนี้ สอดคล้ บรายงานภายในของบริ ษทั ฯที่ผมู้ ดีอสรรทรั านาจตัดพสิยากรให้ นใจสู งกสุบั ด ด้ข้าอนการด าเนินงานได้ ับและสอบทานอย่ างสมอ่างกั เสมอเพื ่อใช้ในการตัดสิ นใจในการจั ด้ส่าวนการด าเนินงานได้ รับและสอบทานอย่ างสม ่าเสมอเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กบั นงานและประเมิ นผลการด าเนินงานของส่ วนงาน ส่ วนงานและประเมินผลการดาเนินงานของส่ วนงาน เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริ หารงาน กลุ่มบริ ษทั จัดโครงสร้างองค์กรเป็ นหน่วยธุ รกิ จตามประเภทของการ เพื ประสงค์ หารงาน ่มบริ ษทั ใมีนการบริ บริ่อกวัารตถุกลุ ส่วนงานหลั ก ดังกลุ นี้ ่มบริ ษทั จัดโครงสร้างองค์กรเป็ นหน่วยธุ รกิ จตามประเภทของการ บริ การ กลุ่มบริ ษทั มีส่วนงานหลัก ดังนี้ 1) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย 1) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย 2) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ 2) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ 3) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายแอลกอฮอล์ 3) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายแอลกอฮอล์ 4) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า 4) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผูม้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ดสอบทานผลการดาเนินงานของแต่ละหน่วยธุ รกิจแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงค์ใน ผูม้ ีอานาจตั ดสิ น่ ยใจสู ดสอบทานผลการด าเนินงานของแต่ลนะหน่ วยธุ รกิจบแยกจากกั วัตถุประสงค์ ใน การตั ดสิ นใจเกี วกังบสุการจั ดสรรทรั พยากรและการประเมิ ผลการปฏิ ตั ิง าน บรินษเพืทั ่อฯประเมิ นผลการ การตั นใจเกี่ ยววกันงานโดยพิ บการจัดสรรทรั พยากรและการประเมิ ผลการปฏิ ิง าน บริ นผลการ ปฏิ บตั ดิ งสิานของส่ จารณาจากก าไรหรื อขาดทุนนจากการด าเนิบนตั งานซึ ่ งวัษดมูทั ลฯประเมิ ค่าโดยใช้ เกณฑ์ ปฏิยวกั บตั บิ งทีานของส่ วนงานโดยพิ ารณาจากก าไรหรื นจากการดนาเนิ นงานซึ่ งวัดมูลค่าโดยใช้เกณฑ์ เดี ่ใช้ในการวั ดกาไรหรื อจขาดทุ นจากการด าเนิอนขาดทุ งานในงบการเงิ เดียวกับที่ใช้ในการวัดกาไรหรื อขาดทุนจากการดาเนินงานในงบการเงิน การบันทึ กบัญชี ส าหรั บ รายการระหว่า งส่ วนงานที่รายงานเป็ นไปในลัก ษณะเดี ย วกับ การบันทึ ก บัญชี การบั ทึ กบัญชีรสกิาหรั สาหรับนรายการธุ จกับบบุรายการระหว่ คคลภายนอก า งส่ วนงานที่รายงานเป็ นไปในลัก ษณะเดี ย วกับ การบันทึ ก บัญชี สาหรับรายการธุ รกิจกับบุคคลภายนอก ในปี 2560 กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จานวนสองรายเป็ นจานวนเงินประมาณ 2,727 ล้านบาท ่มบริ ษทั (ปีมีรายได้ ในปี 2560 กลุ กค้ารายใหญ่ านวนสองรายเป็ นจ่ งานวนเงิ นประมาณ 2,727 ล้านบาท และ 2,205 ล้านบาท 2559จากลู มีรายได้ จากลูกค้จารายใหญ่ จานวนหนึ รายเป็ นจ านวนเงินประมาณ 1,846 และ 2,205 ล้านบาท (ปี 2559 มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จานวนหนึ่งรายเป็ นจานวนเงินประมาณ 1,846 ล้านบาท) ล้านบาท) 46 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 215 รายงานประจ�ำปี 2560 46
216
กลุ่มบริ ษทั ใช้เกณฑ์ในการกาหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7 กลุ่มบริ ษทั ใช้เกณฑ์ในการกาหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7
ธุธุรรกิกิจจผลิ ผลิตตและ และ รผลิ กิจผลิ ธุรกิจจธุาหน่ จาหน่ ตาายตยและ �หน่ตาและ ย ธุเยืรกิอ่ และจำ จ ผลิ เยืกระดาษ ่อกระดาษ เยืจอ่ าหน่ กระดาษ าย จ าหน่ า ย2559 2560 2560 2559 เยือ่ กระดาษ 2560 2559 เยือ่ กระดาษ 2560 2559 2560 2559 260 223 260 223 1,026 675 1,026 675 260 223 260 223 1,286 898 1,026 675 1,286 898 1,026 675 266 192 1,286 898 266 192 1,286 898 266 192 266 192
(หน่ววย:ย:ล้ล้านบาท) านบาท) (หน่ (หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย: ล้านบาท)
4747 47 47
ผลิตตและ และ ผลิตตและ และ การตัดดรายการ รายการ ธุธุรรกิกิจจผลิ ธุธุรรกิกิจจผลิ การตั าหน่ าหน่ งาน ญชีชี ธุจาหน่ รผลิ กิจผลิ ตย กิยพลั จผลิ ตงงงาน จจธุาหน่ ยพลั บัดบัดญรายการ ธุรกิจจและจำ ตาายและ รกิธุจาราผลิ ตและ การตั การตั รายการ ย �หน่ตาและ ย ธุรกิจอื่นๆ งบการเงินรวม ธุแอลกอฮอล์ รกิแอลกอฮอล์ จผลิ�หน่ตาและ ธุรพลักิและจำ จไฟฟ้ ผลิ การตั ด รายการ บั ญ ชี ร ะหว่ างกั งกันน งงานไฟฟ้ า า ธุ ร กิ จ อื ่ น ๆ ระหว่ า งบการเงิ รวม แอลกอฮอล์ ธุรกิจอื่น ๆ ระหว่ งบการเงินนรวม จาหน่าย จาหน่ไฟฟ้ ายพลัา งงาน บัญาชีงกัน จาหน่า2559 ย2559 จ2560 าหน่ายพลัง2559 งาน 2560 บัญชี 2559 2560 2560ไฟฟ้ า 2559 2560 2559 2560 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 นรวม 2559 แอลกอฮอล์ ธุรกิจอื่น2559 ๆ ระหว่างกั2559 น งบการเงิ 2560 2559 2560 2559 2560 2560 2560 2559 แอลกอฮอล์ ไฟฟ้ า ธุรกิจอื่น ๆ ระหว่างกัน งบการเงินรวม รายได้ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 รายได้จจากการขายและบริ ากการขายและบริกการาร 2560 2559 2560 2559 256045 255943 (1,487) 2560 (1,816) 2559 2560 2559 -รายได้ ในประเทศ 1,654 1,645 900 832 8,321 8,226 - ในประเทศ 1,654 1,645 900 832 45 43 (1,487) (1,816) 8,321 8,226 จากการขายและบริ การ รายได้ จากการขายและบริ การ -- ต่ในประเทศ 9,204 8,226 6,780 ต่าางประเทศ งประเทศ 9,204 6,780 1,654-- 1,645-900-832-45-43-- (1,487) (1,816)- - 8,321 - ในประเทศ 1,654 1,645 900 832 45 43 (1,487) (1,816) 8,321 15,006 8,226 รวม 1,654- 1,645 1,64590083245(1,487) (1,816) (1,816) 17,525 รวม - ต่างประเทศ - 17,525 9,204 15,006 6,780 1,654 900 832 45 4343- (1,487) - ต่างประเทศ 9,204 6,780 กรวม 438 1,645 337 221 118 10 3,582 15,006 2,827 1,654 900 832 45 43 กาไรจากการด าไรจากการดาเนิ าเนินนงานตามส่ งานตามส่ววนงาน นงาน 438 337 221 118 10 1919 (1,487) 44 (1,816)99 17,525 3,582 2,827 รวม 1,654 1,645 900 832 45 43 (1,487) (1,816) 17,525 15,006 รายได้ แและค่ จจ่า่ายที ่ไ่ไม่ม่ไได้ด้ปปั นั นวส่ส่นงาน ววน:น: ละค่าาใช้ ใช้าเนิ กรายได้ าไรจากการด นยทีงานตามส่ 438 337 221 118 10 19 4 9 3,582 2,827 กาไรจากการด าเนิ น งานตามส่ ว นงาน 438 337 221 118 10 19 4 9 3,582 2,827 รายได้ 307 รายได้แอละค่ อื่นื่น าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน: 307 9191 รายได้ รายได้ และค่าใช้ จ่ายที่ไตม่ราแลกเปลี ได้ปันส่วน: กกรายได้ าไร (118) าไร(ขาดทุ (ขาดทุ จากอัตราแลกเปลี่ย่ยนน 3333 (118) อื่น นน))จากอั 307 91 รายได้ อ ่ ื น 307 91 ่ ค่กค่าาไร ใช้ จ า ยในการขายและบริ ห าร (2,942) (2,872) ่ายในการขายและบริ าใช้จ(ขาดทุ หาร ่ยน (2,942) น) จากอัตราแลกเปลี 33 (2,872) (118) กค่ค่าไร น) จากอั ่ยน 33 (2,872) (118) าาใช้ใช้จ(ขาดทุ นนตราแลกเปลี (333) (317) ยทางการเงิ (333) (317) จ่า่ายทางการเงิ ยในการขายและบริ หาร (2,942) ค่ค่ค่าาาใช้ หาร (2,942) ใช้ใช้จจจ่่าา่ายในการขายและบริ ยภาษี เงิเงินนได้ (124) ยภาษี ได้น (2)(2) (2,872) (124) ยทางการเงิ (333) (317) ค่าไร จจ่า่ายทางการเงิ (333) (317) กกาไร (ขาดทุ นน))สเงิสาหรั 645 (513) (ขาดทุ ค่าาใช้ ใช้ ยภาษี นาหรั ได้นบบปีปี (2) (124) 645 (513) ่ ค่ า ใช้ จ า ยภาษี เ งิ น ได้ (2) (124) กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี 645 (513) กกลุ าไร ) สเกณฑ์ บปีใในการก 645 (513) บริ กลุ่ม่ม(ขาดทุ บริษษทั ทันใช้ ใช้ เาหรั กณฑ์ นการกาหนดราคาระหว่ าหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 77
ธุธุรรกิกิจจผลิ ผลิตตและ และ รผลิ กิจผลิ ธุรจกิจธุาหน่ จาหน่ ตาายายตและ �หน่ ย ธุนร้ กิาน้และจำ จตาลทราย ผลิ ต และ ำ�ตาลทราย น้ าจตาลทราย าหน่าย จ าหน่ า2559 ย2559 2560 2560 น้ าตาลทราย 2560 2559 น้ าตาลทราย 2560 2559 2560 2559 6,949 6,949 7,299 7,299 8,178 8,178 6,105 6,105 6,949 7,299 6,949 7,299 15,127 8,178 13,404 6,105 15,127 13,404 8,178 6,105 2,643 2,152 15,127 2,643 13,404 2,152 15,127 13,404 2,643 2,152 2,643 2,152
ข้ข้ออมูมูลลทางการเงิ 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560 และ และ 2559 2559 มีมีดดงั งั ต่ต่ออไปนี ไปนี้ ้ ทางการเงินนจจาแนกตามส่ าแนกตามส่ววนงานของกลุ นงานของกลุ่ม่มบริ บริษษทัทั สสาหรั าหรับบปีปี สิสิ้้นนสุสุ ดดวัวันนทีที่่ 31 ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงานของกลุ่มบริ ษทั สาหรับปี สิ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั ต่อไปนี้ ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงานของกลุ่มบริ ษทั สาหรับปี สิ้้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั ต่อไปนี้
32. กองทุนสารองเลีย้ งชี พ 32. กองทุนสารองเลีย้ งชี พ 32. กองทุนสารองเลีย้ งชี พ กลุ่มบริ ษทั และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้ง กองทุนสารองเลี้ ยงชี พขึ้นตามพระราชบัญญัติก องทุนสารอง กลุ่่มบริ ษทั และพนักงานได้ร่่ วมกันจัดตั้ง กองทุนสารองเลี้ ยงชี พขึ้นตามพระราชบัญญัติก องทุนสารอง มบริพษพ.ศ. ทั และพนั งานได้ร่ มวบริ มกัษันทจัและพนั ดตั้ง กองทุ นสารองเลี ยงชี พขึา้ นร่ วตามพระราชบั ญญัติก องทุา นกองทุ สารอง เลีกลุ้ ยงชี 2530กโดยกลุ ก งานที ่ ส มัค้ รใจเข้ มกองทุ น จ่ า ยสมทบเข้ น เลี้ ยงชี พ พ.ศ. 2530 โดยกลุ่่ ม บริ ษัท และพนัก งานที่ ส มัค รใจเข้า ร่ ว มกองทุ น จ่ า ยสมทบเข้า กองทุ น ่ ส มันค รใจเข้ า ร่้ ยวงชี มกองทุ า ยสมทบเข้ า กองทุนน ้ ยงชี พ อพ.ศ. เป็เลีนรายเดื นในอั2530 ตราร้โดยกลุ อยละ ม3 บริ- ษั15ท และพนั ของเงินเดืก งานที อน กองทุ สารองเลี พนี้ บรินหจ่ารโดยผู จ้ ดั การกองทุ เป็ นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 - 15 ของเงินเดือน กองทุนสารองเลี้ยงชีพนี้ บริ หารโดยผูจ้ ดั การกองทุน ตราร้อยละ อน กกองทุ ารองเลี้ยงชีพนี้ บริ หารโดยผู ทีเป็่ ไนรายเดื ด้รั บ อนุอญนในอั าต และจะจ่ า ยให้3 แ-ก่ พ15นักของเงิ งานเมืนเดื ่ อ พนั งานนัน้ นสออกจากงานตามระเบี ย บว่จา้ ด้ดั การกองทุ ว ยกองทุ นน ที่ ไ ด้รั บ อนุ ญาต และจะจ่ า ยให้ แ ก่ พ นัก งานเมื่ อ พนัก งานนั้น ออกจากงานตามระเบี ย บว่า ด้ว ยกองทุ น ที่ ไ ด้รั บ่มอนุ และจะจ่างปีา ยให้ พ นั่มกบริงานเมื งานนั้นงออกจากงานตามระเบี ย บว่า16ด้ว ยกองทุ ของกลุ บริ ษญทั าตในระหว่ 2560แ ก่กลุ ษทั รับ่ อรูพนั ล้านบาทน ้เงินกสมทบดั กล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายจานวน ของกลุ่่มบริ ษทั ในระหว่างปี 2560 กลุ่่มบริ ษทั รับรู้เงินสมทบดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่่ายจานวน 16 ล้านบาท ของกลุ14มบริ ทั ในระหว่ างปี 2560ษกลุ รับรู้เงิน2559: สมทบดั กล่าวเป็ นค่าใช้จายจานวน 16 ล้านบาท (2559: ล้าษนบาท) (เฉพาะของบริ ทั ฯ:มบริ 10 ษล้ทัานบาท 8 ล้างนบาท) (2559: 14 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 10 ล้านบาท 2559: 8 ล้านบาท) (2559: 14 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 10 ล้านบาท 2559: 8 ล้านบาท) 33. ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้ 33. ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้ 33. ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้ 33.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ ายฝ่ ายทุน 33.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ ายฝ่ ายทุน 33.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ ายฝ่ ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันเกี่ ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุนที่เกี่ ยวข้องกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่่มบริ ษทั มีภาระผูกพันเกี่่ ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุนที่เกี่่ ยวข้องกับ ณ วันอทีสร้่ 31 ธันวาคม 2560 และ้ อ2559 มบริ ษปทั กรณ์ มีภาระผู นเกี ยวกับรายจ่ การก่ างอาคารโรงงาน และการซื เครื่ องจักลุ กรและอุ จากบุกคพัคลภายนอกดั งนี้ายฝ่ ายทุนที่เกี ยวข้องกับ การก่อสร้างอาคารโรงงาน และการซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์จากบุคคลภายนอกดังนี้ การก่อสร้างอาคารโรงงาน และการซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์จากบุคคลภายนอกดังนี้ (หน่วย: ล้าน) (หน่จวการ ย: ล้าน) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิ (หน่วย: ล้าน) งบการเงิ นรวมรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงินน เฉพาะกิจการ รวม2559 งบการเงิ จการ สกุสกุลลเงิเงินน 2560งบการเงิ 2560งบการเงินนเฉพาะกิ 2559 สกุลเงิน 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 สกุลเงิน 2560 2559 2560 2559 บาท 23 55 20 10 บาท 23 55 20 10เหรี บาทยญสหรัฐอเมริ กา 231 554 2010 เหรี ย ญสหรั ฐ อเมริ ก า 1 4 เยน -1 14 -1-เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เยน 1 1 เยน 1 1 33.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญาเช่ าดาเนินงาน 33.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญาเช่ าดาเนินงาน 33.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญาเช่ าดาเนินงาน กลุ่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาเช่าที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดิน พื้นที่ในอาคารสานักงานและอุปกรณ์ และสัญญา กลุ่่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาเช่าที่เกี่่ยวข้องกับการเช่าที่ดิน พื้นที่ในอาคารสานักงานและอุปกรณ์ และสัญญา กลุกมารบริอายุ ษทั ขได้องสั ทาสั ญญาเช่ าที่เกียวข้้งอแต่งกั1บถึการเช่ บริ ญญามี ระยะเวลาตั ง 30 ปีาที่ดิน พื้นที่ในอาคารสานักงานและอุปกรณ์ และสัญญา บริ การ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 30 ปี บริ การ อายุของสัญญามีระยะเวลาตังแต่ 1 ถึง 30 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559้ กลุ่มบริ ษทั มีจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตทั้งสิ้ นภายใต้สัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่่มบริ ษทั มีจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตทั้งสิ้ นภายใต้สัญญา ธันวาคมญ2560 เช่ณาวัดนาเนิที่ น31งานและสั ญาบริและ การดั2559 งกล่กลุ าวดัมงบรินี้ ษทั มีจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตทั้งสิ้ นภายใต้สัญญา เช่าดาเนินงานและสัญญาบริ การดังกล่าวดังนี้ เช่าดาเนินงานและสัญญาบริ การดังกล่าวดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย: ล้านบาท) วย: ล้าจนบาท) งบการเงินรวม งบการเงิ(หน่ นเฉพาะกิ การ งบการเงินรวม งบการเงิ เฉพาะกิจการจการ งบการเงิ นรวม งบการเงิ นนเฉพาะกิ งบการเงินรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 จ่ายชาระ จ่ายชาระ จ่าภายใน ยชาระ 1 ปี 29 30 10 3 ภายใน 1 ปี 29 30 10 3 ภายในา11ปีปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 292 30 10มากกว่ 18 23 มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 2 18 2 มากกว่าา51ปีปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 184 มากกว่ 62 --2 มากกว่า 5 ปี 6 4 มากกว่า 5 ปี 6 4 -
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
48 48 48217
33.3 33.3 33.3
33.4 33.4 33.4
218
นอกจากนี้ บริ ษทั ฯได้ทาสัญญาเช่ าระยะยาวที่เกี่ ยวกับการเช่ าที่ดินกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ งเป็ น นอกจากนี้ บริ ษทั ฯได้ทาสัญญาเช่ าระยะยาวที่เกี่ ยวกับการเช่ าที่ดินกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ งเป็ น นอกจากนี บริ ษทั กฯได้ ทาสัญญาเช่ าระยะยาวที วกับการเช่ าที่ดบ้ ินริกัโบภคกิจแต่ การที องกัน20แห่ของค่ งหนึา่ งเช่เป็านปี เวลา 30 ปี ้ โดยมี ารทบทวนค่ าเช่าเพิ ชนีราคาผู ไม่เ่เกิกีน่ยร้วข้ อยละ ่มขึ้นทุก 5่เกีปี ่ ยตามดั เวลา 30 ปี โดยมีการทบทวนค่าเช่าเพิ่มขึ้นทุก 5 ปี ตามดัชนีราคาผูบ้ ริ โภค แต่ไม่เกินร้อยละ 20 ของค่าเช่าปี เวลา ปี โดยมี การทบทวนค่ าเช่าเพิ ขึ้นทุกก305 ปีปี ตามดั นีรวาคาผู ริ โภค แต่ไม่ญเกิญาเช่ นร้อยละ 20 อของค่ าเช่าปีง ก่อน 30 โดยบริ ษทั ฯมี สิทธิ ในการเช่ ต่อ่มไปอี นับตั้งชแต่ นั ที่คบ้ รบก าหนดสั า โดยต้ งมีการแจ้ ก่อน โดยบริ ษทั ฯมีสิทธิ ในการเช่าต่อไปอีก 30 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ครบกาหนดสัญญาเช่า โดยต้องมีการแจ้ง ก่ล่วองหน้ น โดยบริ ษทั อฯมี าต่อาหนดสั ไปอีก 30ญญาเช่ ปี นับาตัในระหว่ าหนดสั ญาเช่จา่ ยค่ โดยต้ งมีการแจ้ ้ งแต่วนั ทีา่คงปีรบก าอย่างน้ ย 2สิปีทธิก่ใอนการเช่ นวันครบก 2560 บริ ษญทั ฯได้ าเช่อาตามสั ญญาง ล่วงหน้าอย่างน้อย 2 ปี ก่อนวันครบกาหนดสัญญาเช่า ในระหว่างปี 2560 บริ ษทั ฯได้จ่ายค่าเช่าตามสัญญา ล่วงหน้าอย่งากล่ งน้าอวเป็ ย 2นปีจานวนเงิ ก่อนวันนครบก าหนดสั ญาเช่า(2559: ในระหว่ 2560 บริ ษทั ฯได้จ่ายค่าเช่าตามสัญญา ระยะยาวดั 5 ล้าญนบาท 5 ล้าางปี นบาท) ประมาณ ระยะยาวดังกล่าวเป็ นจานวนเงินประมาณ 5 ล้านบาท (2559: 5 ล้านบาท) ระยะยาวดังกล่าวเป็ นจานวนเงินประมาณ 5 ล้านบาท (2559: 5 ล้านบาท) หนังสื อคา้ ประกันธนาคาร หนังสื อคา้ ประกันธนาคาร หนั า้ ประกั ธนาคาร ณ วังนสื อทีค่ 31 ธันนวาคม 2560 และ 2559 กลุ่ มบริ ษทั มีหนังสื อค้ าประกันซึ่ งออกโดยธนาคารในนาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่ มบริ ษทั มีหนังสื อค้ าประกันซึ่ งออกโดยธนาคารในนาม ณ วั่ มนบริที่ ษ31ทั ซึธั่ งนเกีวาคม และ 2559 กลุ่มบริบ ัตษิ บทั างประการตามปกติ มีหนังสื อค้ าประกันซึธ่ ุ งรออกโดยธนาคารในนาม ่ ย วเนื2560 กลุ ่ องกับ ภาระผู ก พัน ทางปฏิ กิ จของกลุ่ ม บริ ษ ทั ซึ่ ง มี กลุ่ ม บริ ษ ทั ซึ่ ง เกี่ ย วเนื่ องกับ ภาระผูก พัน ทางปฏิ บ ัติบ างประการตามปกติ ธุ ร กิ จของกลุ่ ม บริ ษ ทั ซึ่ ง มี กลุ่ ม บริ ษยดดั ทั ซึง่ นีง้เกี่ ย วเนื่ องกับ ภาระผูก พัน ทางปฏิ บ ัติบ างประการตามปกติ ธุ ร กิ จของกลุ่ ม บริ ษ ทั ซึ่ ง มี รายละเอี รายละเอียดดังนี้ รายละเอียดดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย: ล้านบาท) วย: ล้จาการ นบาท) งบการเงินรวม งบการเงิน(หน่ เฉพาะกิ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินน รวมรวม เฉพาะกิจการ2559 งบการเงิ จการ 2560งบการเงิ 2559 2560งบการเงินนเฉพาะกิ 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 2560 2559 ประกันตามสัญญาขายไฟ 3 15 ประกันตามสัญญาขายไฟ 3 15 ประกันการใช้ ตามสัญไฟฟ้ ญาขายไฟ 15 า 343 31 76ประกันการใช้ไฟฟ้ า 34 31 7 6 ประกั 34 31 รวม นการใช้ไฟฟ้ า 37 46 7 6 รวม 37 46 7 6 รวม 37 46 7 6 เช็คลงวันทีล่ ่วงหน้ า เช็คลงวันทีล่ ่วงหน้ า เช็ ณ ควัลงวั นที่ น31ทีล่ ธั่วนงหน้ วาคมา 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มีเช็คลงวันที่ล่วงหน้าซึ่ งออกให้แก่ชาวไร่ เพื่อการรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มีเช็คลงวันที่ล่วงหน้าซึ่ งออกให้แก่ชาวไร่ เพื่อการรับ ณ ซื้อวัอ้นอทียดั่ 31งนีธั้ นวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มีเช็คลงวันที่ล่วงหน้าซึ่ งออกให้แก่ชาวไร่ เพื่อการรับ ซื้ออ้อยดังนี้ ซื้ออ้อยดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย: ล้านบาท) วย: ล้จการ านบาท) งบการเงินรวม งบการเงิน(หน่ เฉพาะกิ งบการเงินน รวม งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการจการ งบการเงิ รวม งบการเงิ งบการเงินรวม2559 งบการเงิ นเฉพาะกิ2559 จ2559 การ 2560 2560 2560 2559 2560 2560 2559 2560 2559 25603,110 25592,601 25602,379 25591,949 เช็คลงวันที่ล่วงหน้า เช็คลงวันที่ล่วงหน้า 3,110 2,601 2,379 1,949 เช็คลงวันที่ล่วงหน้า 3,110 2,601 2,379 1,949
49 49 49
34. เครื่องมือทางการเงิน 34.1 นโยบายการบริหารความเสี่ ยง เครื่ องมือทางการเงินที่สาคัญของกลุ่มบริ ษทั ตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107 “การแสดง รายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสาหรับเครื่ องมือทางการเงิ น ” ประกอบด้วย เงิ นสดและรายการเทียบเท่า เงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ เงินให้กยู้ ืม เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้ สิน ตามสั ญญาเช่ า การเงิ น เงิ น กู้ยื ม ระยะสั้ นและเงิ นกู้ยืม ระยะยาว กลุ่ ม บริ ษ ัท มี ค วามเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้องกับ เครื่ องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริ หารความเสี่ ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้ านการให้ สินเชื่อ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่ อที่เกี่ยวเนื่ องกับลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ ชาวไร่ และ เงินให้กยู้ มื ฝ่ ายบริ หารควบคุมความเสี่ ยงนี้โดยการกาหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสิ นเชื่อที่ เหมาะสม ดัง นั้น กลุ่ ม บริ ษ ัท จึ ง ไม่ ค าดว่า จะได้รั บ ความเสี ย หายที่ เ ป็ นสาระส าคัญ จากการให้ สิ น เชื่ อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่ อของกลุ่มบริ ษทั ไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่ จานวนมากราย จานวนเงิ นสู งสุ ดที่อาจต้องสู ญเสี ยจากการให้สินเชื่ อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ การค้า และลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ และเงินให้กยู้ มื ที่แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุ่ ม บริ ษั ท มี ค วามเสี่ ยงจากอั ต ราดอกเบี้ ยที่ ส าคั ญ อัน เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ เงิ น ฝากธนาคาร เงิ น ให้ กู้ ยื ม เงินเบิกเกินบัญชี หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน และเงินกูย้ ืมที่มีดอกเบี้ย ทั้งนี้สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน ส่ วนใหญ่ มีอตั ราดอกเบี้ ยที่ ปรั บขึ้ นลงตามอัตราตลาด หรื อมีอตั ราดอกเบี้ยคงที่ซ่ ึ งใกล้เคียงกับอัตราตลาด ในปัจจุบนั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงิ นที่สาคัญของกลุ่มบริ ษทั สามารถ จัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสาหรับสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินที่มีอตั ราดอกเบี้ยคงที่สามารถ แยกตามวันที่ครบกาหนด หรื อ วันที่มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ ถึงก่อน) ได้ดงั นี้
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
50219
220 มากกว่า 1 ถึง 5 ปี
-
-
มากกว่า 5 ปี
หนีส้ ิ นทางการเงิน หนีส้ ิ นทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินเงิกูนย้ เบิืมระยะสั กเกินบั้ นญจาก ชีและเงินกูย้ ืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน 2,366 - 2,366 สถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนีเจ้้ อาื่นหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิ 41 หนี้สนิ นตามสัญญาเช่าการเงิน 8 8750 เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบั น การเงิ น 498 2,247 เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 498 ่ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจเงิการที ่ เ กี ย วข้ อ งกั น นกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสานั นอ้อย านักงานกองทุนอ้อย เงินกกูงานกองทุ ย้ ืมระยะยาวจากส 122 108 122 และน้ าตาลทราย และน้ าตาลทราย 2,994 2,396 2,994750
สิ นทรัพย์ ทางการเงิน สิ นทรัพย์ ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ เงินสด เงินาสดและรายการเที ยบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนีลู้ อกื่นหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ ลูกหนี้ชาวไร่ -
ภายใน 1 ปี
2,440
78 - 78 750
108 2,396
48 597 564 1,209
2,440 -
-
- - - 750
282 282
- 330 - 597 - 564 - 1,491
-
-
- 230 - 63 230 83 63 83 78 8,658 2,4401,641 8,6582,415 1,6411,212 2,415
1,067 - 2,366 2,366 - 1,067 2,440 2,440 2,440 - 799 7 37 762 799 7 37 2,745 504 2,7452,295 504 450 2,295 78 78 - 78 - -
282 330 48 - 597 597 - 564 564 282 1,491 1,209 -
- 821,212
- - - 762 - 450 82 -
314 314
1,895
1,895 -
25 689 556 1,270
ตามหมายเหตุขอ้ 8 -
อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละ)
51
51
ข146 อ้ 21 ตามหมายเหตุขอ้ 21 - 146 ตามหมายเหตุ 82 7,245 1,895 7,245
ขอ้ 17 ตามหมายเหตุขอ้ 17 - 1,067 ตามหมายเหตุ 1,067 1,895 1,895 1,895 806 ตามหมายเหตุ ข อ ้ 19 806 ตามหมายเหตุขอ้ 19 ขอ้ 20 ตามหมายเหตุขอ้ 20 - 3,249 ตามหมายเหตุ 3,249 ขอ้ 827 ตามหมายเหตุขอ้ 7 82 82 ตามหมายเหตุ -
ข339 อ้ 8 314 339 ตามหมายเหตุ 25 689 689 689 556 556 556 1,584 314 1,270 1,584
(หน่วย : ล้านบาท) (หน่วย : ล้านบาท) 2559 2560 2559 2559 ไม่อัมตราดอกเบี ี อั ต ราดอกเบี ย ไม่ อั ต ราดอกเบี ย คงที ่ ้ ้ ไม่มี อัมตีราดอกเบี้ย ไม่มี อัตราดอกเบี้ยคงที่ ้ย อัตราดอกเบี อัไม่ตปรั รา ภายใน มากกว่ า 1 มากกว่ า ปรั บ ขึ น ลง อั ต รา รา ้ย ้ อั ต ราดอกเบี ย ้ คงที ่ อัตรา ภายใน มากกว่อัาต1ราดอกเบี มากกว่ อัตรา มี บขึ้นลง ้ย า ไม่ปรั มี บขึ้นลง (ร้อัอตยละ) อัตรา้ ย รวม อัตรา้ ย รวม ดอกเบี รวม ง 5 ปี 1 ปี 5 ปี ถึง ตามราคาตลาด รวม ้ย ตามราคาตลาด ดอกเบี้ภายใน ย1 ปี รวมถึมากกว่ ปี ปรับขึ้นลง5 ปี ดอกเบี ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย ดอกเบีรวม า มากกว่า 5ตามราคาตลาด ดอกเบี ้ย ดอกเบี ้ย 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี (ร้อยละ)
41 2,247 -
-
ตามราคาตลาด
2560 2560 อัตราดอกเบี อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี ้ ยคงที่ ้ ย ภายใน อัตราดอกเบี มากกว่า้ย1คงที บ1ขึ้นลงมากกว่ ่ มากกว่า มากกว่ ภายใน อัปรั ตาราดอกเบี ้ย า ปรั 1 ปี ถึง 5 ปี 1 ปี 5 ปี ถึงตามราคาตลาด 5 ปี บขึ้นลง 5 ปี
รวม ระยะเวลา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษงบการเงิ ทั มีสัญนญาแลกเปลี ่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) เพื่อ มูแลกเปลี ลค่าคงเหลื ญญา ้ ย โดยมีสิร้ นายละเอี สุ ดสัญณญา ราดอกเบี อัตราดอกเบี้ยที่รับ วันทีงต่่ 31อไปนี ธัอันตวาคม ่ยนอัอตามสั ตราดอกเบี ยดดั ้ 2560้ ยที่จ่าย านบาท) (ร้รวม อยละต่อปี่ย)นอัตราดอกเบี้ย (Interest (ร้อยละต่อRate ปี ) Swap) เพื่อ ระยะเวลา ณ วันที(ล้่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษงบการเงิ ทั มีสัญนญาแลกเปลี ธัสินร้ นวาคม - 4.2้ ยที่จ่าย อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX มูแลกเปลี ลค่าคงเหลื ญญา ้ ย โดยมี สุ ดสั2561 ญณญา ราดอกเบี ้ ยที่รับ6 เดือน วัน- ทีงต่่ 31อไปนี ธัอันตวาคม ่ย3,350 นอัอตามสั ตราดอกเบี ายละเอี ยดดั ้ 3.9 2560 ถระยะเวลา ุนายน บวกอั้ ยต(Interest วนเพิอRate ่ต่อปี เพื่อ ่มปีคงที ่มบริ ษงบการเงิ ณ วันที(ล้่ 31 ธันวาคม 2560 และมิ2559 กลุ2563 ทั มีสัญนญาแลกเปลี านบาท) (ร้รวม อยละต่อปี่ย)นอัตราดอกเบี (ร้ราส่ อยละต่ ) Swap) ธัสินร้ นวาคม - 4.2้ ยที่จ่าย อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ่ย3,350 นอัอตามสั ตราดอกเบี ายละเอี ยดดั ้ 3.9 2560 มูแลกเปลี ลค่าคงเหลื ญญา ้ ย โดยมี สุ ดสั2561 ญณญา ราดอกเบี ้ ยที่รับ6 เดือน วัน- ทีงต่่ 31อไปนี ธัอันตวาคม (ล้านบาท) 3,350 มูลค่มูาลคงเหลื อตามสัญญา ค่าคงเหลือตามสัญญา (ล้า(ล้นบาท) านบาท) มูมูลลค่ค่าาคงเหลื ออตามสั คงเหลื ตามสัญ ญญา ญา 3,350 (ล้ (ล้าานบาท) นบาท) 2,750 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,350 (ล้านบาท) 2,750 มูลค่มูาลคงเหลื อตามสัญญา ค่าคงเหลือตามสัญญา านบาท) (ล้า(ล้นบาท) 2,750 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้านบาท) มูมูลลค่ค่าาคงเหลื ออตามสั คงเหลื ตามสัญ ญญา ญา 2,750 (ล้ (ล้าานบาท) นบาท) 3,910 มูลค่มูาลคงเหลื ออตามสั ตามสั ญญา 2,750 ค่าคงเหลื ญญา านบาท) (ล้า(ล้นบาท) 3,910 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้านบาท) 3,910 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้านบาท) มูมูลลค่ค่าามูลคงเหลื อออตามสั ตามสั ญ คงเหลื ตามสั ญญา ญา 3,910 ค่าคงเหลื ญญา านบาท) (ล้ (ล้าา(ล้นบาท) นบาท) 3,250 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,910 (ล้านบาท) 3,250 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้านบาท) 3,250 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้านบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,250 (ล้านบาท) 3,250
งบการเงิ นเฉพาะกิ จการอปี ) งบการเงิ นน มิถระยะเวลา ุนายน 2563 งบการเงิ (ร้รวมรวม อยละต่ ณ วันที่ 31ธัธัน นวาคม 25602560 ธัสิน้ นวาคม 3.9 2560 - 4.2้ ยที่จ่าย ณญาวัวันน- ทีที่่ 31 31 ธัอันตวาคม วาคม สุ ดสั2561 ญณ ราดอกเบี อัตราดอกเบี้ยที่จ่าย สังบการเงิ ญญา นเฉพาะกิ จการปี)ปี ) มิระยะเวลาสิ ถระยะเวลา ุนายน้นสุด2563 ระยะเวลา (ร้อ(ร้ยละต่ อยละต่ออ สุสุ ดดสัสั2561 ญ ราดอกเบี ญณญา ญาวัน- ที่ 31 ธัอัอันตตวาคม ราดอกเบี ธัสิสิน้้ นนวาคม 3.9 2560 - 4.2้้ ยยทีที่่จจ่่าายย (ร้ งบการเงินเฉพาะกิ จการออปีปี )) มิถระยะเวลา ุนายน 2563 (ร้ออยละต่ ยละต่ ุนสุายน ดสั2561 ญ2563 ราดอกเบี ณญาวัน- ที่ 31 ธัอันตวาคม 2560 ธัมิสินถ้ นวาคม 3.94.2 - 4.2้ ยที่จ่าย งบการเงินเฉพาะกิจการ (ร้อยละต่ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการอปี ) มิถระยะเวลา ุนายน 2563 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มิสิถ้ นุนสุายน 4.2 ดสัญ2563 ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย ณญาวันที่ 31 ธัอันตวาคม 2560 อัตราดอกเบี ้ยที่จ่าย ระยะเวลาสิ้นสุดสัญญา งบการเงิ นรวม การออปี)ปี ) อจยละต่ (ร้อ(ร้ยละต่ ระยะเวลางบการเงินเฉพาะกิ ณ 2559 มิสิถ้ นุนสุายน 4.2 ณญาวัวันนทีที่่ 31 31 ธัธัอันนตวาคม วาคม 2560้ ยที่จ่าย ดสัญ2563 ราดอกเบี ระยะเวลา ระยะเวลา งบการเงิน(ร้รวม อยละต่อปี ) ดดสัสัญ ราดอกเบี ณญา 2559้้ ยยทีที่่จจ่่าายย ญ2563 ญาวันที่ 31 ธัอัอันตตวาคม ราดอกเบี มิสิสิถ้้ นนุนสุสุายน 4.2 งบการเงินรวม ออยละต่ ระยะเวลา งบการเงิน(ร้ (ร้รวม ยละต่ออปีปี )) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ธัมิสินถ้ นวาคม 3.94.2 - 4.2 ดสั2561 ญ2563 ราดอกเบี ณญาวัน- ที่ 31 ธัอันตวาคม 2559 ุนสุายน อัตราดอกเบี ้ย้ ย ที่จที่าย่จ่าย ระยะเวลาสิ้นสุดสัญญา มิถระยะเวลา ุนายน 2563 งบการเงิน(ร้รวม อยละต่ออ ปี)ปี ) อ(ร้ยละต่ ธัสิน้ นวาคม 3.9 2559 - 4.2้ ยที่จ่าย สุ ดสั2561 ญณญาวัน- ที่ 31 ธัอันตวาคม ราดอกเบี งบการเงิ นเฉพาะกิ จการอปี ) มิถระยะเวลา ุนายน 2563 งบการเงิ น(ร้รวม อยละต่ ธัสิน้ นวาคม ณญาวัวันน- ทีที่่ 31 31 ธัธัอันนตวาคม วาคม 3.9 2559 2559 - 4.2้ ยที่จ่าย สุ ดสั2561 ญณ ราดอกเบี งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิ จการอปี ) มิถระยะเวลา ุนายน 2563 ระยะเวลา (ร้อยละต่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สุสุ ดดสัสั2561 ญ ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย ญณญา ญาวัน- ที่ 31 ธัอัอันตตวาคม ราดอกเบี ธัสิสิน้้ นนวาคม 3.9 2559 - 4.2 อัตราดอกเบี ้ย้ ยที่จที่าย่จ่าย ระยะเวลาสิ้นสุดสัญญา อจยละต่ (ร้ งบการเงินเฉพาะกิ การอออปี)ปีปี )) มิถระยะเวลา ุนายน 2563 (ร้ออ(ร้ยละต่ ยละต่ ุนสุายน ดสั2561 ญ2563 ราดอกเบี ณญาวัน- ที่ 31 ธัอันตวาคม 2559 ธัมิสินถ้ นวาคม 3.94.2 - 4.2้ ยที่จ่าย (ร้อยละต่ งบการเงินเฉพาะกิ จการอปี ) มิถระยะเวลา ุนายน 2563 มิสิถ้ นุนสุายน 4.2 ดสัญ2563 ราดอกเบี ณญาวันที่ 31 ธัอันตวาคม 2559้ ยที่จ่าย จการอปี ) (ร้อยละต่ ระยะเวลางบการเงินเฉพาะกิ มิสิถ้ นุนสุายน 4.2 ณญาวันที่ 31 ธัอันตวาคม 2559้ ยที่จ่าย ดสัญ2563 ราดอกเบี ระยะเวลา (ร้อยละต่อปี ) ดสัญ2563 ญา อัตราดอกเบี มิสิถ้ นุนสุายน 4.2 ้ ยที่จ่าย (ร้อยละต่อปี ) มิถุนายน 2563 4.2
บวกอัต(ร้ราส่ วนเพิอ่มปีคงที อยละต่ ) ่ต่อปี
อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน อัตราดอกเบี้ยที่รับ บวกอัต(ร้ราส่ นเพิอปีอ่ม)ปีคงที อ(ร้ยละต่ ) ่ต่อปี อวยละต่ ้้ ยยทีที่่รรัับบ6 เดือน ราดอกเบี อัตราทีอัอั่อตตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ออยละต่ บวกอัต(ร้ วนเพิออ่มปีปีคงที (ร้ราส่ ยละต่ )) ่ต่อปี อัอัตตราที งอิ ้ ยที่รับ66 เดื ราทีอั่่ออตาา้้ ราดอกเบี งอิงง THBFIX THBFIX เดืออนน บวกอั ววนเพิ อยละต่ ) ่่ตต่่ออปีปี บวกอัตต(ร้ราส่ ราส่ นเพิอ่่มมปีคงที คงที อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน อัตราดอกเบี้ยที่รับ บวกอัต(ร้ราส่ นเพิอปีอ่ม)ปีคงที อวยละต่ อ(ร้ยละต่ ) ่ต่อปี อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน บวกอัต(ร้ราส่ วนเพิอ่มปีคงที อยละต่ ) ่ต่อปี ้้ ยยทีที่่รรัับบ6 เดือน ราดอกเบี อัตราทีอัอั่อตตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ออยละต่ )) ่ต่อปี บวกอัต(ร้ วนเพิออ่มปีปีคงที (ร้ราส่ ยละต่ อัอัตตราที งอิ งง THBFIX 6 เดือน ราทีอั่่ออตาา้้ ราดอกเบี THBFIX อังอิ ตราดอกเบี ้ย้ ทีย่รที ับ ่รับ6 เดือน บวกอั นเพิ อว อ(ร้ยละต่ ) ่่ตต่่ออปีปี บวกอัตต(ร้ราส่ ราส่ วยละต่ นเพิอปีอ่่มม)ปีคงที คงที อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน บวกอัต(ร้ราส่ วนเพิอ่มปีคงที อยละต่ ) ่ต่อปี อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน บวกอัต(ร้ราส่ วนเพิอ่มปีคงที อยละต่ ) ่ต่อปี ้ ยที่รทีทีับ่่รรัับบ6 เดือน ราดอกเบี อัตราทีอัอั่อตตา้ ราดอกเบี ง THBFIX อังอิ ตราดอกเบี ้ย้ ย อวยละต่ ออ(ร้ยละต่ )) ่ต่อปี บวกอัต(ร้ นเพิอออปี่ม)ปีปีคงที (ร้ราส่ ยละต่ อัอัตตราที งอิ ้ ยที่รับ66 เดื ราทีอั่่ออตาา้้ ราดอกเบี งอิงง THBFIX THBFIX เดืออนน บวกอั ววนเพิ อยละต่ ) ่่ตต่่ออปีปี บวกอัตต(ร้ราส่ ราส่ นเพิอ่่มมปีคงที คงที อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน บวกอัต(ร้ราส่ วนเพิอ่มปีคงที อยละต่ ) ่ต่อปี 52 อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน บวกอัต(ร้ราส่ วนเพิอ่มปีคงที อยละต่ ) ่ต่อปี 52 ้ ยที่รับ6 เดือน อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX บวกอัต(ร้ราส่ วนเพิอ่มปีคงที อยละต่ ) ่ต่อปี 52 อัตราที่อา้ งอิง THBFIX 6 เดือน บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี 52
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 52 รายงานประจ�ำปี 2560
221
ตราแลกเปลี ่ มบริ ษ่ยทั งจากอั กลุความเสี มี ค วามเสี ่ ย งจากอั่ยตนราแลกเปลี่ ย นที่ ส าคัญอัน เกี่ ย วเนื่ องจากการซื้ อหรื อ ขายสิ นค้า และซื้ อ ่ มอบริ กลุ มี คษวามเสี ่ ย งจากอั ราแลกเปลี ่ ส าคั น เกี้ อ่ ยขายเงิ วเนื่ อนงจากการซื ค้า่อและซื ้ อหรื อ ขายสิ เครืความเสี งจักษร่ยทั งจากอั บริ ทั ฯและบริ ษทั ย่่ยอตนยบางแห่ งได้่ ยตนที กลงท าสัญญอัญาซื ตราต่างประเทศล่ วงหน้นาเพื ใช้เป็ ้นอ ตราแลกเปลี เครื่ องจั บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อ่ยบางแห่ งได้ษตทั กลงท าเพืาบางส่ ่อใช้เป็วน งมืกอรในการบริ หารความเสี ยง และบริ ฯได้ทาสัาสัญญญาซื ญาซื้ อ้ อขายเงิ ขายเงินนตราต่ ตราต่างประเทศล่ างประเทศล่วงหน้ วงหน้ ่ ม่ อบริ กลุ ่ ย งจากอั น เกี่ ย้ อวเนื ่ องจากการซื นค้าาบางส่ และซืว้นอ ้ อหรื อ ขายสิ เครื งมืษอษในการบริ ารความเสี ษ่ ยทั นที ฯได้ าสัญ่ งญอัปีญาซื ขายเงิ นตราต่างประเทศล่ วงหน้ แทนบริ ทั ทั ่ยย่มีงจากอั อคยวามเสี สัญตหญาส่ วนใหญ่ต่ย่ ยนราแลกเปลี มงีอและบริ ายุสัญญาไม่ เกิ่ สนทาคั หนึ ความเสี ราแลกเปลี เครื ่ องจักษรทั บริ ษยทั สัฯและบริ ษนใหญ่ ทั ย่อยบางแห่ งได้ ตกลงท าสั ญ่ งปีญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพื่อใช้เป็ น แทนบริ ย่ อ ญ ญาส่ ว ม ี อ ายุ ส ญ ั ญาไม่ เ กิ น หนึ ่ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2560 และ 2559 กลุ ม บริ ษ ท ั มี ย อดคงเหลื ทรั พย์แางประเทศล่ ละหนี ที่เป็วนน้ อ ้ สินอทางการเงิ ่ ยขายเงิ กลุ่ อ่ มงมืบริอษในการบริ ทั มี ค วามเสี ่ ย งจากอั่ ตยงราแลกเปลี นที่ สทาคั น เกีอ้ อของสิ วเนื่ อนนงจากการซื ขายสิ านและซื ้ อหรื เครื หารความเสี และบริ ษทั ่ ยฯได้ าสัญญอัญาซื ตราต่ วงหน้นาค้บางส่ ณเครืวัลน่ เงิอทีงจั นวาคม 2560 งและ กลุ่มบริ มียอดคงเหลื พย์าแงประเทศล่ ละหนี้สินทางการเงิ สกุ น่ ษ31 ตราต่ กทั รธัย่บริ ษสัทั ญฯและบริ ษนีทั ้ ย่2559 อมยบางแห่ ได้ษตทักลงท าสั่ งญปีญาซือ้ อของสิ ขายเงินนทรั ตราต่ วงหน้าเพืน่อทีใช้่เป็เป็นน แทนบริ อายงประเทศ ญาส่ วดันใหญ่ ีอายุสัญงญาไม่ เกินหนึ สกุเครืล่เงิองมื นตราต่ างประเทศ ดังนี้ ่ ยง และบริณษวัทั นฯได้ อในการบริ หารความเสี ญญาซื2560 ้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าบางส่ วน ที่ 31ทธัาสั นวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็ น แทนบริ ษทั ย่อย สัญญาส่ วนใหญ่ มีอษายุทั สัญณญาไม่ ่ งปี 2560 ษทั ฯ วันทีเ่ กิ31นหนึ ธัเฉพาะของบริ นวาคม กลุ่มบริ สกุลเงินตราต่างประเทศ ดังนี้ บริ ษหนีทั กลุ สิ นทรัและ พกลุย์ ่ม2559 นเฉพาะของบริ ทรัพย์ อของสิ หนีษ้ สทั ิ นฯทาง ้ สิน่มทาง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั มีสิยอดคงเหลื ทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็ น ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2560 น างประเทศ ทางการเงิ น ทางการเงิ น อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย สิ นทรั สิ นทรัพย์น หนีการเงิ ้ สินทาง ้ สินทาง สกุลสกุ เงินลเงิตราต่ ดังพนีย์้น หนีการเงิ
เฉพาะของบริ ษ(ล้ทั าฯน)น (บาทต่อัอตหน่ สกุลเงิน ทางการเงิ น การเงิ ราแลกเปลี ่ยนเฉลี ่ย (ล้าน)กลุน่มบริ ษทัการเงิ (ล้าน)น ณ วันทีทางการเงิ (ล้ าน) 2560 วยเงินตราต่ างประเทศ) ่ 31 ธั น วาคม ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2560 ย์ หนี ้ สาิ นน)ทาง (บาทต่อหน่วยเงิ32.68 ษัทฯ(ล้0.3 เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สิ น(ล้ทรั 1.0 าน)พย์กลุ่มบริษัทหนี(ล้้ ส2.0 าิ นน)ทาง สิ น(ล้ทรั า-น)พเฉพาะของบริ นตราต่างประเทศ) ่ กลุ ม บริ ษ ท ั เฉพาะของบริ ษ ท ั ฯ อั ต ราแลกเปลี ่ยนเฉลี่ย สกุ การเงิ ทางการเงิ การเงิ อัตราแลกเปลี สินทรัพย์ น หนี้สิน น สินทรัพย์ น หนี้สิน น สกุลลเงิเงิ นฐนอเมริ กา ทางการเงิ เหรี ยญสหรั 1.0 น 2.0 น - น 0.3 น 32.68่ยนเฉลี่ย ทางการเงิ ทางการเงิ ทางการเงิ ทางการเงิ สิ(ล้นาทรั ิ นทาง สิ นทรั พย์ หนี้าสน) ิ นทาง (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) น) พย์ หนี (ล้(ล้้าาสน)น) (ล้าน) น)น) 2559 (ล้ (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) ณ วันที่ 31 ธั(ล้น(ล้าาวาคม สกุ ล เงิ น ทางการเงิ น การเงิ น ทางการเงิ น การเงิ น อัตราแลกเปลี เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1.0กลุ่มบริ ษทั 2.0ณ วันที่ 31 ธัเฉพาะของบริ - 2559 ษทั 0.3 32.68 ่ยนเฉลี่ย นวาคม ฯ (ล้าน) (ล้าน) (ล้าน) (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) สิ นทรัพกลุย์ ่มบริ ษหนีทั ้ สินทาง สิ นเฉพาะของบริ ทรัพย์ หนีษ้ สทั ิ นฯทาง เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1.0 2.0 - 25592559 0.3 32.68 ณทีวั่ น31 ที่ 31ธัธัน นวาคม ณ วั น วาคม สกุลเงิน ทางการเงิ น การเงิ น ทางการเงิ น การเงิ น อั ต ราแลกเปลี ่ยนเฉลี่ย สิ นทรัพย์กลุ่มบริษหนี สินทาง สิ นทรัพเฉพาะของบริ ย์ หนี สินทาง ัท ้ ษัทฯ้ กลุ่มบริ ษทัการเงิ เฉพาะของบริ ษ(ล้หนี ทั าฯ้สน)ินน (บาทต่อัอตหน่ อัตราแลกเปลี่ย่ยนเฉลี สกุสกุลลเงิเงินน ทางการเงิ ทางการเงิ การเงิ ราแลกเปลี ่ย สินาทรัน) พย์ น หนี ้สินน สินทรั พย์ น (ล้ (ล้ า น) (ล้ า น) วยเงินตราต่นเฉลี า่ยงประเทศ) ทางการเงิน ทางการเงิณ น วันที่ 31ทางการเงิ น ทางการเงิน ธั น วาคม 2559 พย์ หนี(ล้้ ส2.4 ิ นทาง สิ น(ล้ทรั พย์ หนี(ล้้ ส0.4 ิ นทาง (บาทต่อหน่วยเงิ35.88 เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สิ น(ล้ทรั 1.4 นนตราต่ างประเทศ) (ล้าาน) น) (ล้าาน) น) (ล้า-าน) น) (ล้าาน) น) (บาทต่อหน่วยเงิ ตราต่างประเทศ) ่ กลุ ม บริ ษ ท ั เฉพาะของบริ ษ ท ั ฯ สกุลเงิฐนอเมริ กา ทางการเงิ การเงิ ทางการเงิ การเงิ อัตราแลกเปลี เยน - น 0.7 - น 0.7 0.31 ่ยนเฉลี่ย เหรี ยญสหรั 1.4 2.4 น 0.4 น 35.88 สิ(ล้นาทรั พย์ หนี ิ นทาง สิ(ล้นาทรั พย์ หนี ิ นทาง (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) ้าสน) ้าสน) (ล้0.7 (ล้0.7 เยน -น) -น) 0.31 สกุ ล เงิ น ทางการเงิ น การเงิ น ทางการเงิ น การเงิ น อั ต ราแลกเปลี ่ ณ วั น ที ่ 31 ธั วาคม 2559 กลุ ม บริ ษ ท ั มี ส ญ ั ญาซื อ ขายเงิ น ตราต่ า งประเทศล่ ว งหน้ า คงเหลื อ ดั ง นี ้ ้ ่ยนเฉลี่ย เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1.4 2.4 0.4 35.88 าน)น้ อรวม/งบการเงิ าน)นเฉพาะกิ (ล้ ่มบริ ษทั มีงบการเงิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559(ล้กลุ ส(ล้ ัญ0.7ญาซื ขายเงิน(ล้-ตราต่ างประเทศล่ าคงเหลือหน่ อดังวนียเงิ ้ นตราต่างประเทศ) เยน -าน) 0.7าน)วงหน้(บาทต่ 0.31 จการ เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1.4 2.4ณ วันที่ 31 ธันวาคม - 2559 0.4 35.88 งบการเงิ นรวม/งบการเงินเฉพาะกิ จการ จการ งบการเงิ นรวม/งบการเงิ นเฉพาะกิ ณเยนวันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ-่มบริ ษทั มีสัญ0.7 ญาซื้ณอขายเงิ นตราต่ งประเทศล่ าคงเหลื อดังนี้ ่ยงั ไม่รับรู้จากการ - 2560า2559 0.7วงหน้ขาดทุ น (กาไร) ที0.31 ณ วันวัทีน่ ที31่ 31 ธัธันนวาคม วาคม ขาดทุน (กำ�ไร) รู้ ตราแลกเปลี ญจญาของ เปลี ่ยนนแปลงมู ยุังาไม่ยุตตรริธับิธับรรมของ อัตราแลกเปลี่ย่ยนนตามสั นตามสั ญญาของ จานวน จานวน งบการเงินอัรวม/งบการเงิ เฉพาะกิ การ ขาดทุ (ก าไร) ทีล่ยค่ทีงลั า่ยค่ไม่ รู ้จากการ จากการเปลี ่ยนแปลงมู รรมของ จำ � นวนที ข ่ าย ณ วันสกุทีล่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มีสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนี้ เงิ น สกุลเงิน ่ซ้ือ ่ขาย ณ วัจอันานวนที จานวนที ่ขาย จเปลี านวนที ่ขาย ่ 31 ่ซธั่ซื้อน้ือวาคม 2559 �นวนที จำ�นวนที ่ขาย จำ�นวนที ่ซื้อ่ซ้ื อ ลค่าจยุานวนที ่ขาย ตจำทีราแลกเปลี ่ยนตามสั ญญาของ ่ยนแปลงมู ตจำ�ิธนวนที รรมของ จทีานวน จทีานวน น) น)งบการเงิ (บาทต่ วยเงิน นน ตราต่ างประเทศ) (ล้าานบาท) นบาท) (ล้ นบาท) รวม/งบการเงิ เฉพาะกิ จการ (ล้ (ล้ (บาทต่ อหน่่ซอหน่้ืวอยเงิ ตราต่ างประเทศ) น (ก่ซาไร) ราับานบาท) รู ้จากการ สกุลเงิน ที(ล้่ซาาน) ที(ล้่ขาาน) าย จนานวนที จานวนที ่ขาย ขาดทุ จ(ล้ านวนที จ(ล้ านวนที ่ขาย ้ื อ ้ือ ที่ยงั ไม่ เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา จ(ล้านวน 2.3 49.0 35.33 -ญาของ 35.85 4.3 ณอัวัตน35.65 ทีอ่ 31 2559 ราแลกเปลี ่ยนนตามสั เปลีา(0.5) ่ยนแปลงมูลค่ายุ(ล้ ติธานบาท) รรมของ จ(ล้านวน าน) าน) (บาทต่ หน่ธัวนยเงิวาคม ตราต่ าญงประเทศ) (ล้ นบาท) น (ก ไม่ร4.3 ับรู ้จ่ขากการ สกุลเงิฐอเมริ น กา ที2.3 ่ซ้ือ ที49.0 ่ขาย จานวนที จานวนที ่ขาย จขาดทุ านวนที ่ซ้ือาไร) ที่ยจงั านวนที าย เหรี ยญสหรั 35.65่ซ้ือ 35.33 - 35.85 (0.5) อัตราแลกเปลี ญญาของ (ล้เปลี ่ยนแปลงมูลค่า(ล้ยุตานบาท) ิธรรมของ (ล้จานวน าน) (ล้จานวน าน) (บาทต่ อหน่วยเงิน่ยนตามสั ตราต่างประเทศ) านบาท) สกุลฐเงิอเมริ น กา ที่ซ้ือ ที่ขาย จานวนที จานวนที ่ขาย จานวนที จานวนที เหรี ยญสหรั 2.3 49.0 35.65 ่ซ้ือ 35.33 - 35.85 (0.5) ่ซ้ือ 4.3 ่ขาย (ล้าน) (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) (ล้านบาท) (ล้านบาท) เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 2.3 49.0 35.65 35.33 - 35.85 (0.5) 4.3 จำ�นวนที่ซื้อ
53 53 53
222
53
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯมีสัญญาขายสิ ทธิที่จะซื้อเงินตราต่างประเทศคงเหลือดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯมีงบการเงิ สัญญาขายสิ ทธิที่จะซือเงินตราต่างประเทศคงเหลือดังนี้ นรวม/งบการเงิน้ เฉพาะกิจการ สกุลเงิน สกุลเงิน สกุลเงิน เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา
ณนวัรวม/งบการเงิ นนทีรวม/งบการเงิ ่ 31 ธันวาคม 2560 งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ จการ ณ วันณ ทีวัน่ ที31่ 31ธัธันนวาคม วาคม25602560 จำ�นวนที่ซื้อน อัตราแลกเปลี่ย่ยนตามสั ญญาญญา จานวนเงิ อัตราแลกเปลี นตามสั จานวนเงิ อัต(บาทต่ ราแลกเปลี นตามสั ญญา น) น วยเงิน น่ยตราต่ างประเทศ) (ล้(ล้าาน) (บาทต่ อหน่อหน่วยเงิ ตราต่ างประเทศ) 38.00างประเทศ) (ล้3.0 าน) (บาทต่อหน่37.00 วยเงิน- ตราต่ 3.0 37.00 - 38.00
ขาดทุนที่ยงั ไม่รับรู ้จากการ ที่ยังลไม่ค่รับารูยุ้ ติธรรม เปลี ่ยนแปลงมู ขาดทุ นขาดทุ ที่ย่ยนแปลงมู งั นไม่ รับลค่รูา้จยุตากการ จากการเปลี ิธรรม เปลี่ยนแปลงมู ลค่ายุติธรรม นบาท) (ล้(ล้าานบาท) (ล้านบาท) -
ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้าตาลทรายและราคาอ้ อย ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้าตาลทรายและราคาอ้ อย เนื่ องจากอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลในประเทศไทยเป็ นอุตสาหกรรมที่ถูกควบคุมและกากับดูแลจาก เนื ่ องจากอุ ตสาหกรรมอ้อยและน ตสาหกรรมที ูกควบคุ้ าตาลทราย มและกากับพ.ศ. ดูแลจาก ้ าตาลในประเทศไทยเป็ ภาครั ฐ ผ่านคณะกรรมการอ้ อยและน ระราชบั ญญัติออ้ ่ถยและน 2527 ้ าตาลทรายภายใต้พนอุ ภาครั ซึ่งได้ฐมีขผ่อ้ ากนคณะกรรมการอ้ าหนดเกี่ยวกับ อยและน้ าตาลทรายภายใต้พระราชบัญญัติออ้ ยและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2527 ซึ่งได้มีขอ้ กาหนดเกี่ยวกับ 1. การจัดสรรช่องทางการจาหน่ายน้ าตาลออกเป็ นระบบโควตา ดังนี้ 1. การจัดสรรช่องทางการจาหน่ายน้ าตาลออกเป็ นระบบโควตา ดังนี้ 1.1 โควตา ก. สาหรับน้ าตาลทรายผลิตเพื่อใช้บริ โภคภายในประเทศ 1.1 โควตา ก. สาหรับน้ าตาลทรายผลิตเพื่อใช้บริ โภคภายในประเทศ 1.2 โควตา ข. สาหรับน้ าตาลทรายดิ บที่คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายกาหนดให้โรงงานผลิต 1.2 โควตา สาหรับบรินษ้ าทัตาลทรายดิ บ้ทีาตาลไทย ่คณะกรรมการอ้ อยและนจ้ าาหน่ ตาลทรายก รงงานผลิต และส่ งข.มอบให้ อ้อยและน จากัด (อนท.) าย เพื่อนาหนดให้ ามาใช้กโาหนดราคา และส่ งมอบให้้ าบตาลทรายดิ ริ ษทั อ้อยและน าตาลไทย จากั ด (อนท.) ขจองระบบ าหน่ าย เพื่อนามาใช้กาหนดราคา มาตรฐานของน บที่ส่ง้ออกในการค านวณรายได้ มาตรฐานของนาตาลทรายดิบที่ส่งออกในการคานวณรายได้ของระบบ 1.3 โควตา ค. สาหรั้ บน้ าตาลที่โรงงานผลิตเพื่อส่ งขายต่างประเทศหรื อเพื่อเป็ นวัตถุดิบในการผลิต 1.3 โควตา สาหรัาบงประเทศ น้ าตาลที่โรงงานผลิตเพื่อส่ งขายต่างประเทศหรื อเพื่อเป็ นวัตถุดิบในการผลิต สิ นค้าส่ค.งออกต่ สิ นค้าส่ งออกต่างประเทศ 2. การจัดสรรส่ วนแบ่งรายได้สุทธิ ของระบบระหว่างเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยและโรงงานน้ าตาลภายใต้ 2. การจั ดสรรส่ งรายได้สุโดยเกษตรกรชาวไร่ ทธิ ของระบบระหว่างเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยและโรงงานน ระบบแบ่ งปั นวนแบ่ ผลประโยชน์ ออ้ ยจะได้รับส่ วนแบ่ งรายได้ร้อยละ้ าตาลภายใต้ 70 ซึ่ งคือ ระบบแบ่ ปั นผลประโยชน์รับโดยเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยจะได้ ส่ วนแบ่งรายได้ร้อตยละ 70 ซึ่ งคือ ราคาอ้อย งและโรงงานจะได้ ส่ วนแบ่งรายได้ร้อยละ 30 ซึ่งคืรอับผลตอบแทนการผลิ ราคาอ้อย และโรงงานจะได้รับส่ วนแบ่งรายได้ร้อยละ 30 ซึ่งคือผลตอบแทนการผลิต รายได้สุทธิ ของระบบอ้อยและน้ าตาลทรายคานวณจากรายได้จากการจาหน่ายน้ าตาลทรายภายในประเทศ รายได้ องระบบอ้อจยและน ตาลทรายค านวณจากรายได้ จากการจ าหน่ข.ายน ้ าตาลทรายภายในประเทศ (โควตาสุทก.)ธิ ขและรายได้ ากการจ้ าาหน่ ายน้ าตาลทรายต่ างประเทศ (โควตา และโควตา ค. ซึ่ งจะใช้ราคา (โควตา ก.)้ าและรายได้ จากการจ าหน่าตยน งประเทศ (โควตา และโควตา านวณรายได้ ค. ซึ่ งจะใช้รจาคา ้ าตาลทรายต่ ตาลทรายโควตา ข. และอั ราแลกเปลี ่ยนทีา่ อนท. ขายได้ จริ งเป็ ข. นฐานในการค าก เฉลี่ยของน เฉลี ่ยของน้ า้ าตาลต่ ตาลทรายโควตา ตราแลกเปลี ่ยนทีต่ อนท. ขายได้จอริยและน งเป็ นฐานในการค การขายน างประเทศ)ข.หัและอั กด้วยค่ า ใช้จ่ายของอุ สาหกรรมอ้ โดยในปั จจุจบากนั ้ าตาลทรายานวณรายได้ การขายน ตาลต่งาออกเที งประเทศ) ด้วยค่า ใช้จ่ายของอุ ตสาหกรรมอ้ อยและน สัดส่ วนน้ าตาลส่ ยบกับหันก้ าตาลขายภายในประเทศอยู ท่ ี่ประมาณ 70:30 ้ าตาลทราย โดยในปั จจุ บ นั สัดส่ วนน้ าตาลส่ งออกเทียบกับน้ าตาลขายภายในประเทศอยูท่ ี่ประมาณ 70:30
54 รายงานประจ�ำปี 54 2560
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
223
จากระบบดังกล่าว ราคาขายน้ าตาลโควตา ข. และอัตราแลกเปลี่ยนที่ อนท. ขายได้จริ ง มีผลอย่างมากต่อ จากระบบดังกล่าว ราคาขายน้ าตาลโควตา ข. และอัตราแลกเปลี่ยนที่ อนท. ขายได้จริ ง มีผลอย่างมากต่อ ราคาอ้อยซึ่ งเป็ นต้นทุนหลักของการผลิ ตน้ าตาลทราย ดังนั้นเพื่อเป็ นการบริ หารความเสี่ ยงจากความผัน ราคาอ้อยซึ่ งเป็ นต้นทุนหลักของการผลิ ตน้ าตาลทราย ดังนั้นเพื่อเป็ นการบริ หารความเสี่ ยงจากความผัน ผวนของกาไรขั้นต้น บริ ษทั ฯจึงมีกระบวนการป้ องกันความเสี่ ยงดังนี้ ผวนของกาไรขั้นต้น บริ ษทั ฯจึงมีกระบวนการป้ องกันความเสี่ ยงดังนี้ 1. บริ ษทั ฯจัดทาสัญญาขายน้ าตาลทรายล่วงหน้าในตลาดล่วงหน้า (Futures market) โดยอ้างอิงราคา 1. บริ ษทั ฯจัดทาสัญญาขายน้ าตาลทรายล่วงหน้าในตลาดล่วงหน้า (Futures market) โดยอ้างอิงราคา ขายน้ าตาลทรายล่วงหน้า ปริ มาณขาย และระยะเวลาสิ้ นสุ ดตามที่ อนท. ขายได้จริ ง ขายน้ าตาลทรายล่วงหน้า ปริ มาณขาย และระยะเวลาสิ้ นสุ ดตามที่ อนท. ขายได้จริ ง 2. เมื่อบริ ษทั ฯสามารถท าสั ญญาขายน้ าตาลจริ งกับลู กค้า บริ ษทั ฯจะทาการปิ ดสถานะสัญญาขาย 2. เมื่อบริ ษทั ฯสามารถท าสั ญญาขายน้ าตาลจริ งกับลู กค้า บริ ษทั ฯจะทาการปิ ดสถานะสัญญาขาย ล่วงหน้าข้างต้น โดยการทาสัญญาซื้ อน้ าตาลล่วงหน้าด้วยราคาและปริ มาณที่เท่ากับสัญญาขายให้ ล่วงหน้าข้างต้น โดยการทาสัญญาซื้ อน้ าตาลล่วงหน้าด้วยราคาและปริ มาณที่เท่ากับสัญญาขายให้ ลู กค้า และระยะเวลาสิ้ นสุ ดของสัญญาซื้ อจะเป็ นช่ วงเวลาเดี ย วกับสัญญาขายล่ วงหน้า ดังกล่า ว ลู กค้า และระยะเวลาสิ้ นสุ ดของสัญญาซื้ อจะเป็ นช่ วงเวลาเดี ย วกับสัญญาขายล่ วงหน้า ดังกล่า ว ข้างต้น ข้างต้น จากการป้ องกันความเสี่ ยงข้างต้นพบว่าบริ ษทั ฯสามารถที่จะป้ องกันความเสี่ ยงได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพใน จากการป้ องกันความเสี่ ยงข้างต้นพบว่าบริ ษทั ฯสามารถที่จะป้ องกันความเสี่ ยงได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพใน ทุกสภาพการณ์ ด้วยการที่ บริ ษทั ฯสามารถกาหนดราคาขายล่วงหน้าให้ใกล้เคียงกับราคาขายของ อนท. ทุกสภาพการณ์ ด้วยการที่ บริ ษทั ฯสามารถกาหนดราคาขายล่วงหน้าให้ใกล้เคียงกับราคาขายของ อนท. และส่ งผลให้บริ ษทั ฯสามารถดารงสัดส่ วนกาไรขั้นต้นอันเกิดจากราคาขายน้ าตาลของบริ ษทั ฯ และต้นทุน และส่ งผลให้บริ ษทั ฯสามารถดารงสัดส่ วนกาไรขั้นต้นอันเกิดจากราคาขายน้ าตาลของบริ ษทั ฯ และต้นทุน อ้อยอันเกิดจากราคาขายของ อนท. มิให้เกิดความผันผวน อ้อยอันเกิดจากราคาขายของ อนท. มิให้เกิดความผันผวน บริ ษทั ฯได้เข้าทาสัญญาขายน้ าตาลที่จะส่ งมอบในปี 2560 และ 2561 ในตลาดล่วงหน้า (Futures market) บริ ษทั ฯได้เข้าทาสัญญาขายน้ าตาลที่จะส่ งมอบในปี 2560 และ 2561 ในตลาดล่วงหน้า (Futures market) แต่หลังจากที่บริ ษทั ฯได้เข้าทาสัญญาขายล่วงหน้าดังกล่าวจนถึงวันที่บริ ษทั ฯทาสัญญาขายจริ งให้กบั ลูกค้า แต่หลังจากที่บริ ษทั ฯได้เข้าทาสัญญาขายล่วงหน้าดังกล่าวจนถึงวันที่บริ ษทั ฯทาสัญญาขายจริ งให้กบั ลูกค้า ราคาน้ าตาลในตลาดโลกสาหรับการส่ งมอบในปี 2560 ได้ปรับตัวเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง ทาให้ใน ราคาน้ าตาลในตลาดโลกสาหรับการส่ งมอบในปี 2560 ได้ปรับตัวเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง ทาให้ใน ระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯมีผลกาไรจากการปิ ดสถานะสัญญาขายล่วงหน้าที่ส่งมอบ ระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯมีผลกาไรจากการปิ ดสถานะสัญญาขายล่วงหน้าที่ส่งมอบ ในปี 2560 เป็ นจานวนเงินประมาณ 328 ล้านบาท ซึ่ งได้ถูกบันทึกไว้ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จแล้ว ในปี 2560 เป็ นจานวนเงินประมาณ 328 ล้านบาท ซึ่ งได้ถูกบันทึกไว้ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จแล้ว บริ ษทั ฯมีสัญญาซื้ อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้าที่ยงั ไม่มีการส่ งมอบจริ งที่เปิ ดสถานะไว้ดงั นี้ บริ ษทั ฯมีสัญญาซื้ อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้าที่ยงั ไม่มีการส่ งมอบจริ งที่เปิ ดสถานะไว้ดงั นี้ (หน่วย: ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา) (หน่วย: ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ นรวม/งบการเงินน เฉพาะกิ จการ จการ งบการเงิงบการเงิ นรวม/งบการเงิ เฉพาะกิ ณ วันณทีวัน่ 31 ธั น วาคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม ที่ 31 ธันวาคม 2560 25592559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ณ วันณทีวั่ น31ที่ 31ธัธันนวาคม วาคม 2559 าตามสัญญ ญาญา าตามสัญญ ญาญา มูลมูค่ลาค่ตามสั มูลมูค่ลค่าายุยุตติธิธรรมรรม มูลมูค่ลาค่ตามสั มูลค่มูลาค่ยุายุตติธิธรรม รรม มูลค่าตามสัญญา มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามสัญญา มูลค่ายุติธรรม สัญญาซื้อล่วงหน้า 0.2 0.2 13.9 12.7 สัญญาซื้อล่วงหน้า 0.2 0.2 13.9 12.7 สัญญาขายล่วงหน้า 14.4 14.3 42.7 37.8 สัญญาขายล่วงหน้า 14.4 14.3 42.7 37.8 มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้ อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้ากาหนดขึ้นโดยใช้ราคาตาม Intercontinental Exchange มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้ อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้ากาหนดขึ้นโดยใช้ราคาตาม Intercontinental Exchange ในตลาดนิวยอร์ค หมายเลข 11 ในตลาดนิวยอร์ค หมายเลข 11
224
55 55
ในระหว่างปี 2561 คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายได้ออกประกาศคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาล ทรายจานวน 1 ฉบับและออกระเบียบคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายจานวน 4 ฉบับ โดยมีการ เปลี่ยนแปลงหลักการสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการยกเลิกการจัดสรรช่องทางการจาหน่ายน้ าตาลออกเป็ นระบบ โควตาการยกเลิกการกาหนดราคาจาหน่ ายน้ าตาลทรายภายในประเทศ การยกเลิกการจัดเก็บเงินจากการ จาหน่ายน้ าตาลทรายภายในประเทศเข้ากองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย และการกาหนดปริ มาณน้ าตาลทราย ให้โรงงานผลิต ซึ่ งได้ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาแล้วเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2561 34.2 มูลค่ ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่ องจากสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินส่ วนใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั จัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินให้กูย้ ืม และเงิ นกูย้ ืมมีอตั ราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด กลุ่มบริ ษทั จึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของ สิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน กลุ่มบริ ษทั มีการประมาณการมูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมือทางการเงินตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ ก)
สิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงิ นที่จะครบกาหนดในระยะเวลาอันสั้น ได้แก่ เงิ นสดและรายการ เทียบเท่าเงิ นสด ลูกหนี้และเงิ นให้กูย้ ืมระยะสั้น เจ้าหนี้และเงินกูย้ ืมระยะสั้น แสดงมูลค่ายุติธรรม โดยประมาณตามมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน
ข)
สิ นทรัพย์ชีวภาพ แสดงมูลค่ายุติธรรมซึ่ งคานวณโดยใช้วธิ ีคิดลดกระแสเงินสดในอนาคตอ้างอิงจาก ราคามูลค่ายุติธรรมหักประมาณการต้นทุนขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว การประเมินมูลค่าดังกล่าวต้องอาศัย ข้อสมมติฐานและการประมาณการบางประการ เช่ น ราคาอ้อยขั้นสุ ดท้าย ระดับความหวานและ น้ าหนักของอ้อย เป็ นต้น
ค)
เงิ นกูย้ ืมระยะยาวที่ จ่ายดอกเบี้ ยในอัตราใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด แสดงมูลค่ายุติธรรม โดยประมาณตามมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีสินทรัพย์ที่วดั มูลค่ายุติธรรมตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 12 ซึ่งลาดับชั้นการวัดมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวอยูใ่ นระดับที่ 3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีสินทรัพย์และหนี้สินที่เปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ - ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 แสดงอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 34.1 - ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ระดับ 3 แสดงอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 14 มูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุ พนั ธ์ ที่เปิ ดเผยไว้คานวณโดยใช้เทคนิ คการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคต และแบบจาลองตามทฤษฎี ในการประเมินมูลค่า ซึ่ งข้อมูลที่นามาใช้ในการประเมินมูลค่าส่ วนใหญ่เป็ น ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ในตลาดที่เกี่ ยวข้อง เช่น อัตราแลกเปลี่ยนทันที อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของ เงินตราต่างประเทศ เส้นอัตราผลตอบแทนของอัตราดอกเบี้ย และเส้นราคาล่วงหน้าของสิ นค้าโภคภัณฑ์ เป็ นต้น กลุ่ มบริ ษทั ได้คานึ งถึ งผลกระทบของความเสี่ ยงด้านเครดิ ตของคู่สัญญาในการประมาณมูลค่า ยุติธรรมของตราสารอนุพนั ธ์ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2560
56225
35.
การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริ หารจัดการทุนที่สาคัญของบริ ษทั ฯ คือการจัดให้มีซ่ ึ งโครงสร้างทุนที่เหมาะสมเพื่อ สนับ สนุ น การด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท ฯและเสริ ม สร้ า งมู ล ค่ า การถื อ หุ ้น ให้ก ับ ผูถ้ ื อ หุ ้น โดย ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.20:1 (2559: 1.05:1) และเฉพาะบริ ษทั ฯมี อัตราส่ วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.79:1 (2559: 0.58:1)
36.
เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน
36.1 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ได้อนุมตั ิเสนอให้จ่ายเงินปั นผลจากกาไร สุ ทธิของปี 2560 จานวน 0.15 บาทต่อหุ น้ สาหรับหุน้ สามัญจานวน 3,860,000,010 หุ ้น เป็ นจานวนเงินรวม 579 ล้านบาท ทั้งนี้ การอนุ มตั ิเสนอให้จ่ายเงิ นปั นผลดังกล่ าวจะได้นาเสนอต่อที่ประชุ มใหญ่ผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2561 เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป 36.2 เมื่ อ วัน ที่ 26 มกราคม 2561 บริ ษ ัท เคทิ ส วิ จ ัย และพัฒ นา จ ากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษ ัท ย่อ ยของบริ ษ ัท ฯ ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจาก 10 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 100,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 20 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 200,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) และบริ ษทั ฯได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มตามสัดส่ วนการถือหุ ้น เดิมรวมเป็ นเงิน 10 ล้านบาท 37.
การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกโดยกรรมการผูม้ ีอานาจของบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561
226
57