KTIS: Annual Report 2018 TH

Page 1

Creating value Spurring future growth

ANNUAL REPORT 2018 รายงานประจำป 2561


สารบัญ 3ปรัชญาองค์กร วิสัยทัศน์

62 ปัจจัยความเสี่ยง

155 การวิเคราะห์

4ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป

67 ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น

163 รายงานความรับผิดชอบ

และพันธกิจ

6ข้อมูลทั่วไป

และข้อมูลส�ำคัญอื่นๆ ของบริษัท

10 สารจากประธานกรรมการ 12 สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่ม KTIS

14 คณะกรรมการบริษัท 16 รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัท

37 ภาพรวมการประกอบธุรกิจ 44 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

72 โครงสร้างการจัดการ 106 การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และบรรษัทภิบาล

127 ความรับผิดชอบต่อสังคม 139 การควบคุมภายใน

และการบริหารความเสี่ยง

142 รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ

144 รายการระหว่างกัน

และอธิบายของฝ่ายจัดการ

ของคณะกรรมการ ต่อรายการทางการเงิน

164 งบการเงิน

และหมายเหตุประกอบ งบการเงิน


ปรัชญาองค์กร

ชาวไร่อ้อยมั่งคั่ง กลุ่มเคทิสมั่นคง วิสัยทัศน์ พันธกิจ

กลุม่ เคทิส เป็นองค์กรชัน้ น�ำทีม่ เี อกลักษณ์โดดเด่นระดับโลก บริหารงาน ด้วยหลักบรรษัทภิบาล บูรณาการงานด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม แบบครบวงจร ใส่ใจดูแลสังคม เสริมสร้างมูลค่าและคุณค่าของน�้ำตาล ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลอยได้ และพลังงานทีส่ ะอาดเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้ธรุ กิจเติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน

ด�ำเนินธุรกิจด้วยประสบการณ์ความรอบรู้ มีความคิดทีส่ ร้างสรรค์ และมีความเป็นมืออาชีพ ให้เกิดนวัตกรรมและคุณค่า ต่อผลิตภัณฑ์ และบริการทีห่ ลากหลายตัง้ แต่ระดับต้นน�ำ้ ถึงปลายน�ำ้ สร้างฐานแหล่งวัตถุดบิ ทีย่ งั่ ยืนและมีศกั ยภาพ เพือ่ สนับสนุนโครงข่าย ธุรกิจทีท่ นั สมัยและครบวงจร เพือ่ การผลิตผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพสูง และการผลิตพลังงาน ชีวมวลทีส่ ะอาด และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม บริหารด้วยหลักคุณธรรมและธรรมาภิบาล ทั้งธุรกิจปัจจุบันและ การลงทุนในธุรกิจใหม่ อย่างคุม้ ค่าและคืนผลตอบแทนทัง้ ในรูปการเงิน และไม่ใช่การเงินสู่สังคม ผู้ลงทุน ลูกค้า พนักงาน เกษตรกรและ ผูเ้ กีย่ วข้อง


ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ( 12 เดือน )

2559

( 12 เดือน )

2560

2561

15,006 10,888 448 17 700 1,634 896 422 91 15,096 (513)

17,525 13,062 443 584 1,654 1,261 521 668 18,193 645

17,306 12,219 838 1,131 1,313 1,217 588 472 289 18,067 629

รวมสินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ นิ หนีส้ นิ หมุนเวียน

16,052 4,218 11,835 8,231 3,643

17,816 6,201 11,615 9,704 5,584

18,358 6,968 11,390 10,164 6,314

หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน

4,588

4,120

3,850

รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้

7,822

8,112

8,194

1.16 1.05

1.11 1.20

1.10 1.24

( 9 เดือน )

งบกำ�ไรขาดทุน (ล้านบาท) รายได้จากการขายและการให้บริการ นา้ํ ตาล กากนา้ํ ตาล ผลตอบแทนการผลิตและจำ�หน่ายนา้ํ ตาล ไฟฟ้า เอทานอล เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย อืน่ ๆ รายได้คา่ ผลตอบแทนการผลิตและจำ�หน่ายน้�ำ ตาลทราย รายได้อน่ื รายได้รวม กำ�ไรสุทธิ

งบแสดงฐานะการเงิน (ล้านบาท)

อัตราส่วน (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนหนี/้ ทุน

4


จุดเด่นทางการเงินเปรียบเทียบ 3 ปี รายได้รวม

ก�ำไรสุทธิ

629

645

ปี 61 รวม 18,067 ปี 60 รวม 18,193 ปี 59 รวม 15,096

17,306

15,006

17,525

รายได้ค่าผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย รายได้จากการขายและการให้บริการ รายได้อื่น

2559

2560

( 12 เดือน )

( 12 เดือน )

-513

91

289 472

668

หน่วย : ล้านบาท

2561

2559

หน่วย : ล้านบาท

( 9 เดือน )

( 12 เดือน )

2560

( 12 เดือน )

2561

( 9 เดือน )

รายได้จากการขายและการให้บริการ 4.7% 2.8%

9.4%

10.9%

3.3% 3.0%

2559

2560

75.7%

77.1%

76.1%

ไฟฟ้าชีวมวล อื่นๆ

อัตราส่วนสภาพคล่อง

หนี้สินไม่หมุนเวียน

8,112

8,194

4,120

3,850

ส่วนของผู้ถือหุ้น

ปี 61 รวม 18,358 ปี 60 รวม 17,816 ปี 59 รวม 16,052

7,822

1.16

1.11

1.10

2559

2560

2561

หน่วย : เท่า

อัตราส่วนหนี/้ ทุน

6,314

1.05

3,643

2560

เอทานอล

2561

( 9 เดือน )

5,584

น�้ำตาลและโมลาส เยื่อกระดาษจากชานอ้อย

( 12 เดือน )

หนี้สินหมุนเวียน

2559

6.8%

( 12 เดือน )

งบแสดงฐานะการเงิน

4,588

3.3%

7.4%

7.2%

6.0%

6.4%

2561

หน่วย : ล้านบาท

2559

1.20

1.24

2560

2561

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

หน่วย : เท่า

5


ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่นๆ ของบริษัท ข้อมูลบริษทั ข้อมูลบริษทั

: ประเภทธุรกิจ : ทีต่ ง้ั สำ�นักงานกรุงเทพฯ : ทีต่ ง้ั สำ�นักงานใหญ่และโรงงาน : ทีต่ ง้ั โรงงาน สาขา 3 : เลขทะเบียนบริษทั : โทรศัพท ์ : โทรสาร : Website : เลขานุการบริษทั : Email : นักลงทุนสัมพันธ์ : และการสือ่ สารองค์กร E-mail : ทุนจดทะเบียน : ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว :

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย และธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ได้แก่ ธุรกิจผลิต และจำ�หน่าย เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ธุรกิจผลิตและจำ�หน่าย เอทานอล และธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า เลขที่ 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร เลขที่ 1/1 หมูท่ ่ี 14 ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ เลขที่ 1 หมูท่ ่ี 7 ตำ�บลบ้านมะเกลือ อำ�เภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ 0107556000116 0-2692-0869 ถึง 73 0-2246-9125, 0-2692-0876 หรือ 0-2246-9140 http://www.ktisgroup.com นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ต่อ 176 cs@ktisgroup.com นางสาวมนธีร์ พลอยสุข โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ต่อ 193 ต่อ 26 ir@ktisgroup.com 3,888,000,010 บาท 3,860,000,010 บาท

ข้อมูลบริษัทย่อย ธุรกิจน้ำ�ตาล : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน: ธุรกิจน้ำ�ตาล : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ:

6

บริษัท น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย 1,215,000,000 บาท 1,215,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 42/1 หมู่ที่ 8 บ้านหาดเสือเต้น ตำ�บลคุ้งตะเภา อำ�เภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โทรศัพท์ 0-5544-9010 ถึง1, 0-5540-7241 ถึง 5 บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย 2,000,000 บาท 2,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73


ธุรกิจพลังงาน : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน : ธุรกิจพลังงาน : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน : ธุรกิจพลังงาน : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน : ธุรกิจพลังงาน : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ธุรกิจพลังงาน : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ธุรกิจเยื่อกระดาษ : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ :

ที่ตั้งโรงงาน : ธุรกิจปุ๋ย : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ที่ตั้งโรงงาน :

บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายไฟฟ้า 1,260,000,000 บาท 1,260,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 555 หมู่ที่ 14 ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 056-338-123 ถึง 5 บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายไฟฟ้า 395,000,000 บาท 395,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 128 หมู่ที่ 7 ตำ�บลบ้านมะเกลือ อำ�เภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 056-338-123 ถึง 5 บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายไฟฟ้า 350,000,000 บาท 350,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 42/2 หมู่ที่ 8 ตำ�บลคุ้งตะเภา อำ�เภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 บริษัท ลพบุรี ไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายไฟฟ้า 2,000,000 บาท 2,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 บริษัท เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายไฟฟ้า 1,000,000 บาท 1,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายเยื่อกระดาษ 2,400,000,000 บาท 2,400,000,000 บาท (1) 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 (2) 133 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 9/9 หมู่ที่ 1 ถนนอรรถวิภัชน์ ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-2247-0920 บริษัท เคทิส ปุ๋ยชีวภาพ จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายปุ๋ย และสารปรับปรุงดิน 35,000,000 บาท 35,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 888 หมู่ที่ 14 ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 056-338-123 ถึง 5 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

7


ธุรกิจพลังงาน : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ :

ที่ตั้งโรงงาน : ธุรกิจพลังงาน : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ธุรกิจพลังงาน : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ธุรกิจ Holding : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ : ธุรกิจส่งเสริมและพัฒนา : ประเภทธุรกิจ : ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว ที่ตั้งสำ�นักงานกรุงเทพฯ :

8

บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายเอทานอล 256,000,000 บาท 256,000,000 บาท (1) 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 (2) 133 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 9 หมู่ที่ 14 ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 056-338-333, 0-2644-8388, 0-2644-8130 ถึง 2 บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายเอทานอล 20,000,000 บาท 20,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 บริษัท ลพบุรี ไบโอเอทานอล จำ�กัด ผลิตและจัดจำ�หน่ายเอทานอล 50,000,000 บาท 12,500,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จำ�กัด ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้น 317,000,000 บาท 317,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จำ�กัด จัดหาที่ดินเพื่อรองรับการขยายธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ 311,000,000 บาท 311,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 บริษัท เกษตรไทยวิวัฒน์ จำ�กัด บริหารและจัดการสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัทฯ 61,000,000 บาท 61,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 บริษัท เคทิส วิจัยและพัฒนา จำ�กัด รองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ 20,000,000 บาท 20,000,000 บาท 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73


ข้อมูลบุคคลอ้างอิงอื่นๆ หน่วยงานก�ำกับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ : ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เลขที่ 333/3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : 0-2695-9999 โทรสาร : 0-2695-9660 อีเมล์ : info@sec.or.th เว็บไซต์ : www.sec.or.th

หน่วยงานบริษัทก�ำกับจดทะเบียน : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2009-9000 โทรสาร : 0-2009-9991 ศูนย์บริการข้อมูล : 0-2009-9999 อีเมล์ : SETCallCenter@set.or.th เว็บไซต์ : www.set.or.th

นายทะเบียนหลักทรัพย์ : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2009-9000 โทรสาร : 0-2009-9991 ศูนย์บริการข้อมูล : 0-2009-9999 อีเมล์ : SETContactCenter@set.or.th เว็บไซต์ : www.set.or.th/tsd

ผู้สอบบัญชี : บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เลขที่ 193/136-137 เลครัชดา ออฟฟิช คอมเพล็กซ์ ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร : 0-2264-0777, 0-2661-9190 Fax : 0-2264-0789 ถึง 90 อีเมล์ : ernstyoung.thailand@th.ey.com เว็บไซต์ : www.ey.com

ที่ปรึกษากฎหมาย : บริษัท กุดั่น แอนด์ พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด เลขที่ 127 อาคารเกษร ทาวเวอร์ ชั้นที่ 23 ยูนิต ซีและเอฟ ถนนราชด�ำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : 0-2838-1793 โทรสาร : 0-2838-1795

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

9


สารจากประธานกรรมการ

ในช่วงนี้จะเห็นว่านโยบายการค้าของประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีต่อประเทศต่างๆ เริ่มส่งผลกระทบ ไปทั่วโลก ก่อให้เกิดกระแสการกีดกันการค้าสูงขึ้น โดยเฉพาะการก่อเกิดสงครามการค้าระหว่างประเทศจีน และสหรัฐอเมริกาเริ่มแข็งกร้าวมากจากการขึ้นก�ำแพงภาษีสินค้าหลายประเภทระหว่างกัน สร้างผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อบริษัทซึ่งมีธุรกิจเกี่ยวข้องหลายประเทศที่ลงทุนในประเทศทั้งสอง ขณะเดียวกันหลายประเทศ เริม่ ประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ ง และเข้าสูส่ ถานการณ์ทยี่ ากล�ำบากเช่น ประเทศตุรกี อาเจนตินา่ เกิดภาวะเงินเฟ้อที่สูงมาก และประเทศเวเนซุเอลามีปัญหาเงินเฟ้อจนถึงขั้นวิกฤต สภาวการณ์ดังกล่าว ชีใ้ ห้เห็นว่าการเปลีย่ นแปลงด้านการเมืองระหว่างประเทศและเศรษฐกิจทัว่ โลกมีโอกาสเกิดขึน้ ได้อยูต่ ลอดเวลา แม้วา่ สถานการณ์ดังกล่าวยังไม่มผี ลกระทบต่ออุตสาหกรรมน�ำ้ ตาลทั่วโลก แต่ในช่วง 2 ปีที่ผา่ นมา จากสภาพดินฟ้าอากาศที่ดีท�ำให้ผลผลิตน�้ำตาลทั่วโลกสูงขึ้น มากกว่าการบริโภค 15 ล้านตัน ส่งผลให้ ราคาน�้ำตาลในตลาดโลกลดต�่ำกระทบต่อรายได้ของผู้ส่งออกน�้ำตาล รวมถึงประเทศไทยที่มีผลผลิตอ้อย สูงถึง 134.45 ล้านตัน และได้ผลผลิตน�้ำตาลถึง 14.64 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าทุกๆปี 20 - 30% ประกอบกับ ปีนปี้ ระเทศไทยเริม่ ประกาศยกเลิกการจัดสรรน�ำ้ ตาลเพือ่ ขายภายในประเทศตามโควต้า ก ท�ำให้เกิดการแข่งขัน การขายน�ำ้ ตาลภายในประเทศสูงมากขึน้ ส่งผลให้ราคาน�ำ้ ตาลภายในประเทศลดต�ำ่ ลง และกระทบต่อรายได้ ธุรกิจน�ำ้ ตาลของกลุม่ บริษทั ฯ กลุม่ KTIS ได้ตระหนักและเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้ลงทุนและหาทางเพิม่ รายได้จากธุรกิจต่อเนือ่ ง มาหลายปี โดยรายได้จากการขายไฟฟ้าธุรกิจเยื่อกระดาษ ธุรกิจเอทานอล ธุรกิจปุ๋ยและสารปรับปรุงดิน สามารถสร้างผลประกอบการทีด่ ใี ห้กลุม่ บริษทั ฯ และบริษทั ก�ำลังศึกษาโครงการลงทุนด้านธุรกิจภาชนะบรรจุ จากชานอ้อย Pulp mold ซึ่งจะมีความต้องการสูงมากขึ้นในตลาดโลก รวมถึงการต่อยอดธุรกิจโดยศึกษา เพื่อร่วมลงทุนกับบริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ “GGC” ในการท�ำ Bio Complex ซึ่งจะสร้างมูลค่าจากอ้อยไปสู่อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพต่อไป ทั้งนี้การลงทุนต้องใช้ทุนจ�ำนวนมาก ดังนั้น จึ ง ต้ อ งใช้ เ วลาเพื่ อ ศึ ก ษาภาพรวมในทุ ก ๆ ด้ า นที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมถึ ง การบริ ห ารความเสี่ ย งของธุ ร กิ จ เพือ่ สร้างผลตอบแทนทีด่ ใี นอนาคต ผมมี ค วามเชื่ อ มั่ น ว่ า กลุ ่ ม KTIS จะสามารถด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมั่ น คงและเติ บ โตในอนาคต และใคร่ขอขอบพระคุณท่านผู้ถือหุ้น กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ที่ ได้สนับสนุน ช่วยเหลือกิจการของกลุ่ม KTIS อย่างดีมาตลอด และด้วยประสบการณ์อย่างยาวนาน ในธุรกิจของพวกเราจะน�ำพาให้องค์กรมีความเจริญรุง่ เรืองอย่างมัน่ คงสืบต่อไป

10


นายปรีชา อรรถวิภัชน์ ประธานกรรมการ


นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS


สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS

ปี 2561 มีการคาดการณ์วา่ เศรษฐกิจทัว่ โลกจะเติบโตประมาณ 3.9% โดยประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วจะเติบโตเฉลีย่ ประมาณ 2.4% และประเทศทีก่ ำ� ลังพัฒนา จะเติบโตเฉลีย่ ประมาณ 4.9% โดยประเทศทีม่ กี ารเติบโตสูงได้แก่ จีน อินเดีย พม่า กัมพูชา ลาว ฟิลปิ ปินส์ จะเติบโตสูงถึง 6 - 7 % ในขณะทีป่ ระเทศไทยจะเติบโต ประมาณ 4 % จากแนวโน้มดังกล่าวจะเห็นว่าเศรษฐกิจโดยรวมก�ำลังฟืน้ ตัวอย่างช้าๆ ท�ำให้หลายประเทศกลับมาให้ความส�ำคัญกับสภาพสิง่ แวดล้อมมากขึน้ มีการส่งเสริมการผลิตรถยนต์ทใี่ ช้พลังงานไฟฟ้าและพลังงานหมุนเวียน แทนการใช้นำ�้ มัน ส่งเสริมลดการใช้บรรจุภณ ั ฑ์ทเ่ี ป็นพลาสติก และการน�ำวัสดุทใี่ ช้แล้ว กลับมาแปรสภาพเพือ่ หมุนเวียนใช้งาน ท�ำให้สนิ ค้าของธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการรักษาสิง่ แวดล้อมมีความต้องการเพิม่ มาก รวมถึงผลิตภัณฑ์เยือ่ กระดาษ จากชานอ้อย และ Pulp Mold ของกลุม่ KTIS ด้วย ในขณะที่ราคาน�้ำมันเริ่มปรับตัวขึ้นมากกว่า 70 USD ต่อบาร์เรล มีผลท�ำให้ราคาน�้ำมันในประเทศไทยก็ปรับสูงขึ้นเช่นกัน กลุ่ม KTIS ได้นำ� กากน�้ำตาลซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการผลิตน�้ำตาลไปเป็นวัตถุดิบผลิตเอทานอลและขายให้แก่บริษัทน�้ำมันเพื่อน�ำไปผสมเป็นแก๊สโซฮอล์ อี 10 อี 20 และอี 85 ถึงปีละประมาณ 70 ล้านลิตร ช่วยลดการน�ำเข้าน�ำ้ มันและลดมลภาระด้านสิง่ แวดล้อมจากการเผาไหม้ของเครือ่ งยนต์ทสี่ ะอาดขึน้ ขณะเดียวกัน ก็ ได้ผลิตไฟฟ้าจากชานอ้อยและขายให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยและการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค และน�ำพลังงานความร้อนจากการผลิตไฟฟ้าหมุนเวียน กลับมาใช้ ในโรงงานน�ำ้ ตาล ท�ำให้ลดการใช้เชือ้ เพลิงและใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธุรกิจดังกล่าวสร้างผลตอบแทนทีม่ นั่ คงและสม�ำ่ เสมอให้แก่กลุม่ KTIS ปี 2560/2561 นี้ เป็นปีที่ราคาน�้ำตาลในตลาดโลกตกต�่ำลง เนื่องจากผลผลิตทั่วโลกมีมากกว่าการบริโภค ท�ำให้เกิดมี surplus stock ในปริมาณมาก แม้ว่า กลุ่ม KTIS จะผลิตน�้ำตาลได้มากกว่าทุกปี แต่ความต้องการน�้ำตาลภายในประเทศมีเพียง 26% ดังนั้นจึงต้องส่งออกถึง 74% และได้รับผลกระทบจากราคาน�้ำตาลที่ลดลงดังกล่าว ประกอบกับราคาน�้ำตาลภายในประเทศก็ลดต�่ำลง เพราะการแข่งขันการขายของผู้ผลิตน�้ำตาล เนือ่ งจากภาครัฐได้ประกาศยกเลิกโควต้าขายน�ำ้ ตาลภายในประเทศ ท�ำให้เกิดกระทบต่อผลประกอบการธุรกิจน�ำ้ ตาลทีล่ ดลงของ กลุม่ KTIS อย่างไรก็ตาม ผลจากราคาน�ำ้ ตาลทีล่ ดลงดังกล่าวท�ำให้ราคาอ้อยเบือ้ งต้นทีผ่ ผู้ ลิตน�ำ้ ตาลได้จา่ ยไป จะสูงกว่าราคาอ้อยเบือ้ งสุดท้าย ซึง่ กองทุนอ้อย และน�้ำตาลทรายจะต้องชดเชยเงินค่าอ้อยส่วนต่างดังกล่าวคืนให้แก่ผู้ผลิตน�้ำตาล รวมถึงจะต้องช�ำระส่วนต่างระหว่างผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่าย น�้ำตาลทรายขั้นสุดท้ายกับผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายขั้นต้นให้แก่ผู้ผลิตน�้ำตาลด้วย กลุ่ม KTIS คาดว่าจะได้รับเงินดังกล่าว จากกองทุนในช่วงปลายปี 2561 หลังจากที่คณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทรายได้ประกาศค่าอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่าย น�ำ้ ตาลทรายขัน้ สุดท้ายแล้ว นอกเหนือไปจากธุรกิจน�ำ้ ตาล ธุรกิจขายไฟฟ้า ธุรกิจเยือ่ กระดาษจากชานอ้อย ธุรกิจเอทานอลและธุรกิจปุย๋ ชีวภาพแล้วกลุม่ KTIS ได้วางแนวทาง การเติบโตโดยได้ศึกษาการร่วมทุนกับ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด(มหาชน) หรือ “GGC” เพื่อเข้าร่วมท�ำโครงการ Bio Complex ขึ้น ที่จังหวัดนครสวรรค์ ณ บริเวณพื้นที่ใกล้กับจุดที่ตั้งของโรงงานน�้ำตาลเกษตรไทยของบริษัทฯ โดยจะน�ำอ้อยไปผลิตเอทานอลและกระแสไฟฟ้าในเบื้องต้น และต่อยอดธุรกิจในการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพมูลค่าสูงต่อไป ทั้งนี้โครงการดังกล่าวต้องใช้เงินลงทุนมาก และเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพัฒนา และยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ซึง่ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อเกษตรกรชาวไร่ออ้ ย ชุมชน ตลอดจนประเทศชาติโดยรวมต่อไป ส�ำหรับธุรกิจขายไฟฟ้าของกลุม่ KTIS คาดการณ์วา่ ในช่วงปลายปี 2562 บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด จะสามารถผลิตและขายไฟฟ้าเพิม่ เติม อีก 13 MWH จากเดิม 37 MWH ซึ่งจะเสริมรายได้ของ KTIS ในส่วนของธุรกิจขายไฟฟ้าได้มากขึ้น ส่งผลดีต่อผลประกอบการโดยรวม จะท�ำให้ธุรกิจ ขายไฟฟ้าเป็นธุรกิจทีจ่ ะเป็นรายได้หลักทีม่ คี วามมัน่ คงอย่างหนึง่ ของกลุม่ KTIS ต่อไป บริษัทฯ ยังมีนโยบายที่จะเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน และผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ตลอดจนสร้างความยั่งยืนด้านปริมาณ ราคา และคุณภาพของวัตถุดิบ ทั้งนี้ บริษัทฯ จะท�ำการตลาดขยายช่องทางการจ�ำหน่ายน�้ำตาลทั้งภายในและต่างประเทศ รวมถึงการสร้างศักยภาพ การท�ำงานของพนักงานให้สงู ขึน้ จะบริหารการเงินอย่างมีวนิ ยั และก่อให้เกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ ผมใคร่ขอขอบพระคุณท่านผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร พนักงานทุกระดับ เกษตรกรชาวไร่ออ้ ย เพือ่ นคูค่ า้ ทางธุรกิจ หน่วยงานราชการ ตลอดจนสังคมชุมชน ที่ได้ชว่ ยเหลือสนับสนุน กลุม่ KTIS ให้มคี วามมัน่ คงจนถึงวันนี้ และผมมีความเชือ่ มัน่ ว่าด้วยประสบการณ์และการท�ำงานอย่างมุง่ มัน่ ของพวกเราจะสร้างความเติบโตอย่างยัง่ ยืนขององค์กรต่อไป บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

13


คณะกรรมการบริษัท

1

1. นายปรีชา อรรถวิภชั น์

ประธานกรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

2. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

3. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล

กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ และกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

7

6

5

2

3

4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล

กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

6. นายประเสริฐ ศิริวิริยะกุล

กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

7. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา

14

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

4


12

13

8

14

9

15

11

10

8. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์

12. นายคุนฮิ โิ กะ ทะฮะระ

9. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

13. นายอภิชาต นุชประยูร

10. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์

14. นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋

11. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี

15. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

กรรมการ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

กรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายธุรกิจชีวภาพ กรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

กรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

15


1

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และผูม้ อี �ำ นาจควบคุมและเลขานุการบริษทั ชือ่ -สกุล นายปรีชา อรรถวิภชั น์ ต�ำแหน่ง

อายุ 80 ปี

ประธานกรรมการ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (Industrial Engineering & Management), Oklahoma State University Director Certification Program (DCP 39/2004) Audit Committee Program (ACP 11/2006) Finance for Non-Finance Director (FND 8/2004) Director Accreditation Program (DAP) 107/2014

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.155

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2551 - ปัจจุบนั 2551 - ปัจจุบนั 2547 - ปัจจุบนั 2542 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ, กรรมการตรวจสอบ, กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ประธานกรรมการ

บริษทั ที เอส ฟลาวมิลล์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไทยชูการ์ เทอร์มเิ นิล้ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไทยรุง่ ยูเนีย่ นคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ปูนซิเมนต์ ไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2551 - ปัจจุบนั 2551 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2547 - ปัจจุบนั 2536 - ปัจจุบนั

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

บริษทั ที เอส จี แอสเซ็ท จ�ำกัด บริษทั ที เอส อุตสาหกรรมน�ำ้ มัน จ�ำกัด บริษทั แพน-เปเปอร์ (1992) จ�ำกัด บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เอส.ไอ. พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั เอช.ซี.สตาร์ค จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2543 - 2557 2551 - 2556 2554 - 2556

16

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตเลียม จ�ำกัด (มหาชน)


ช่วงเวลา

2

2539 - 2542 2540 - 2541 2540 - 2542 2542 - 2543

ต�ำแหน่ง ปลัด ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ

กระทรวงอุตสาหกรรม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย บริษทั ปิโตรเคมีแห่งชาติ จ�ำกัด (มหาชน)

ชือ่ -สกุล นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

อายุ 75 ปี

กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี สาขาการเงินและธนาคาร คณะพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Director Accreditation Program (DAP 54/2006)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการ, ประธานกรรมการบริหาร, ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ, กรรมการบริหารความเสีย่ ง

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ ไคอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2526 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการ กรรมการ นายกกิตติมศักดิ์ ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด สมาคมการค้าผูผ้ ลิตเอทานอลไทย “TEMA” นิตบิ คุ คลอาคารชุดทิวริเวอร์เพลส บริษทั ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เดอะแกรนด์ ยูบี จ�ำกัด บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

17


ช่วงเวลา 2554 - ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ประธานกรรมการ กรรมการ

บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา

3

2559 - 2560 2557 - 2559 2553 - 2557 2553 - 2556 2550 - 2555

รักษาการผูจ้ ดั การ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ ประธานคณะกรรมการ กรรมการม, ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูจ้ ดั การ

ชือ่ -สกุล นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ต�ำแหน่ง

นิตบิ คุ คลอาคารชุดทิวริเวอร์เพลส นิตบิ คุ คลอาคารชุดลิเบอร์ตพ ี้ ลาซ่า นิตบิ คุ คลอาคารชุดลิเบอร์ตพ ี้ ลาซ่า บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด

อายุ 66 ปี

กรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี กิตติมศักดิศ์ ลิ ปศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ Director Accreditation Program (DAP 96/2012)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.000

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร

บิดาของนายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล พีช่ ายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ พีช่ ายของนายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล พีช่ ายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการ, ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ, กรรมการบริหารความเสีย่ ง

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ ไคอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั

18

กรรมการ กรรมการ ประธานทีป่ รึกษา ทีป่ รึกษา กรรมการ กรรมการ

บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด บริษทั หทัยจรูญ เอกโฮลดิง้ จ�ำกัด มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จ�ำกัด


ช่วงเวลา 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั 2547 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2541 - ปัจจุบนั 2535 - ปัจจุบนั 2532 - ปัจจุบนั 2525 - ปัจจุบนั 2516 - ปัจจุบนั 2506 - ปัจจุบนั

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานผูก้ อ่ ตัง้ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั 3เอสโฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด บริษทั จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เอส.ไอ. พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด บริษทั สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จ�ำกัด บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา

4

2552 - 2558 2552 - 2558 2551 - 2558 2541 - 2558 2538 - 2558 2551 - 2556 2555 2555 2555

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชือ่ -สกุล นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ต�ำแหน่ง

บริษทั นิวไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด บริษทั นิวรวมผล จ�ำกัด บริษทั เอกวิษณุ จ�ำกัด บริษทั ที.ไอ.ธุรกิจ จ�ำกัด บริษทั นครสวรรค์การเกษตร จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด บริษทั ร่วมกิจอ่างทอง คลังสินค้า จ�ำกัด บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จ�ำกัด

อายุ 54 ปี

กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

19


คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิตคอมพิวเตอร์ (เกียรตินยิ มอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท สาขาวิชา MBA, Washington State University, USA หลักสูตรการบริหารจัดการ ด้านความมัน่ คงขัน้ สูง รุน่ ที่ 2 (2554) หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ รุน่ ที่ 3 (2553) หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง วิทยาลัยการค้าและตลาดทุน รุน่ ที่ 16 (2556) Director Accreditation Program (DAP 96/2012)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.705

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร

น้องชายของนายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล น้องชายของนายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล น้องชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั กรรมการและกรรมการบริหารความเสีย่ ง

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2537 - ปัจจุบนั 2540 - ปัจจุบนั 2557 -ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2532 - ปัจจุบนั 2544 - ปัจจุบนั 2532 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั 2526 - ปัจจุบนั 2526 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2541 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2551 - ปัจจุบนั

20

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ

บริษทั จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั หทัยจรูญ เอกโฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จ�ำกัด บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด บริษทั เคทิสวิจยั และพัฒนา จ�ำกัด บริษทั 3เอสโฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จ�ำกัด บริษทั ไทยชูการ์มลิ เลอร์ จ�ำกัด บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด บริษทั เอ็นเอสซี (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษทั เอส.ไอ. พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด บริษทั ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด King Wan Corporation Limited (Singapore)


ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2556 - 2559 2555 - 2556

5

2558 2552 - 2558 2552 - 2558

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจชีวพลังงาน และผลิตภัณฑ์ กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร สายธุรกิจชีวพลังงานและผลิตภัณฑ์ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชือ่ -สกุล นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ ต�ำแหน่ง

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั นครสวรรค์การเกษตร จ�ำกัด บริษทั นิวไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด บริษทั นิวรวมผล จ�ำกัด

อายุ 65 ปี

กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ มอันดับหนึง่ ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา ปริญญาบัตร วปอ. 2549 (ปรอ.19) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร Director Accreditation Program (DAP 96/2012)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.320

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร

น้องสาวของนายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล พีส่ าวของนายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล พีส่ าวของนายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการ, รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั , กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ภาคธุรกิจ 2558 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนาจ�ำกัด บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั 3 เอส โฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จ�ำกัด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

21


ช่วงเวลา 2526 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2539 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั 2526 - ปัจจุบนั ภาคการศึกษา 2560 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2523 - ปัจจุบนั ภาควิชาการ 2561 – ปัจจุบนั 2558 – ปัจจุบนั ภาคเศรษฐกิจ 2561 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั ภาคบริหาร 2558 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั ภาคสังคม 2551 - ปัจจุบนั

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร เจ้าของผูพ ้ มิ พ์ผ้โู ฆษณา กรรมการรองผูจ้ ดั การ กรรมการบริหาร

บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จ�ำกัด บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จ�ำกัด หนังสือพิมพ์สวรรค์นวิ ส์ บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด

อธิการบดี กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ประธานคณะกรรมการบริหาร

มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครสวรรค์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาวิรยิ าลัยนครสวรรค์

รองประธาน อนุกรรมการ

สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการกองทุนยุตธิ รรมประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์

กรรมการบริหาร ประธานอาวุโส ประธานกิตติมศักดิ์ กรรมการ

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพือ่ พัฒนาและแก้ ไขปัญหาเศรษฐกิจ จังหวัดนครสวรรค์

ประธาน อนุกรรมการ กรรมการ

ศูนย์ประสานงานองค์การเอกชนประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ อ�ำนวยการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ระดับจังหวัด จังหวัดนครสวรรค์ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ จังหวัดนครสวรรค์

ทีป่ รึกษา

สมาคมนิสติ เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดนครสวรรค์

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2559 - 2560 2556 - 2558

กรรมการ กรรมการบริหาร

2555 - 2557 2554 - 2558 2554 - 2558 2553 - 2557 2553 - 2555 2553 - 2557 2552 - 2559 2550 - 2554 2550 2549 - 2555 2549 - 2553 2548 - 2550 2546 - 2559 2543 - 2560 2541 - 2559 2535 - 2549 2534 - 2536 2532 - 2534

รองประธาน รองประธาน ทีป่ รึกษา กรรมการ รองเลขาธิการ นายกสมาคม กรรมการ ทีป่ รึกษา สมาชิก กรรมการ ประธาน นายกสมาคม กรรมการ กรรมการ รองอธิการบดีฝา่ ยบริหาร กรรมการ นายกเหล่ากาชาด นายกเหล่ากาชาด

22

คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยนเรศวร สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ศูนย์ประสานงานองค์การเอกชนประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์ ผูต้ รวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรีภาคประชาชน ด้านวิชาการ เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 42 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนสตรีนครสวรรค์ คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดนครสวรรค์ ผูต้ รวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี ภาคประชาชน ด้านเศรษฐกิจ สมัชชาแห่งชาติ เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษานครสวรรค์ เขต 1 สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ สมาคมนิสติ เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดนครสวรรค์ คณะกรรมการบริหารงานกลุม่ จังหวัดแบบบูรณาการกลุม่ ภาคเหนือตอนล่าง2 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา คณะกรรมการฝ่ายโรงงานน�ำ้ ตาลในระบบอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย เหล่ากาชาดจังหวัดแพร่ เหล่ากาชาดจังหวัดมหาสารคาม


6

ชือ่ -สกุล นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ต�ำแหน่ง

อายุ 60 ปี

กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี ทันตแพทยศาสตร์ บัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Director Accreditation Program (DAP 96/2012)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.152

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร

น้องชายของนายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล น้องชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ พีช่ ายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั กรรมการและกรรมการบริหารความเสีย่ ง

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2532 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2535 - ปัจจุบนั 2527 - ปัจจุบนั 2526 - ปัจจุบนั 2525 - ปัจจุบนั 2533 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั 2541 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จ�ำกัด บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั 3เอส โฮลดิง้ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เคทิสวิจยั และพัฒนา จ�ำกัด บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั นครสวรรค์รว่ มทุนพัฒนา จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด บริษทั ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

23


ช่วงเวลา 2554 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา

7

2556 - 2559 2555 - 2556 2553 - 2555

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจอ้อยและน�ำ้ ตาล กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ ธุรกิจ กรรมการ และรองกรรมการผูจ้ ดั การ

ชือ่ -สกุล นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา ต�ำแหน่ง

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด

อายุ 67 ปี

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 11 เดือน (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 26 กุมภาพันธ์ 2557)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาโท M.Sc. (Petroleum Engineering), New Mexico Institute of Mining and Technology, USA ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุน่ ที่ 48 หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุน่ ที่ 8 (วตท.8) Director Accreditation Program (DAP 53/2006) Audit Committee Program (ACP 24/2008) Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS 6/2006)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั

ประธานกรรมการ

มูลนิธเิ พือ่ สถาบันฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรด้านปิโตรเลียม

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2556 - 2557 2553 - 2558 2553 - 2556 2552 - 2555 2551 - 2552

24

กรรมการ กรรมการ กรรมการ อธิบดี รองปลัด

บรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน


8

ชือ่ -สกุล นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์ ต�ำแหน่ง

อายุ 62 ปี

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกาศนียบัตรชัน้ สูงการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต (CPA) ทะเบียนเลขที่ 3349 ผูต้ รวจสอบภายในรับอนุญาต (CPIA) ปริญญาบัตร วปอ.2548 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วุฒบิ ตั รพระราชทาน วทบ.44 สถาบันวิชาการทหารบกชัน้ สูง กองทัพบก ประกาศนียบัตรชัน้ สูง ปศส.1, ปรม.1, ปปร.11 สถาบันพระปกเกล้า ประกาศนียบัตร สจว.81 สถาบันจิตวิทยาความมัน่ คง ประกาศนียบัตร บรอ.1 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ประกาศนียบัตรชัน้ สูง บมช.3, ส�ำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน รุน่ ที่ 6 คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา Study Meet on Strategic Merger and Acquisition for SMEs C43 ปี 2010 ประเทศเกาหลี Study Mission to Nonmember Countries on Knowledge Creating Enterprises ปี 2009 ประเทศเยอรมัน China-ASEAN Young Entrepreneurs Forum ปี 2008 ประเทศจีน ASEAN-China Young Entrepreneurs Workshop ปี 2008 ประเทศบรูไน Top Management Forum : Corporate Governance ปี 2003 ประเทศญีป่ นุ่ The Training Program on Industrial Property Rights (Fundamental Course for IP Practitioners (EIPF)) ปี 2002 ประเทศญีป่ นุ่ Financing and Management Development in Market Oriented Economies ปี 1998 ประเทศออสเตรเลีย International Forum on SMEs : Acceleration Growth and Enhancing Competitiveness n the Knowledge Economy, ปี 2001 ประเทศอินเดีย Director Accreditation Program (DAP 35/2009) Audit Committee Program (ACP 13/2013) Board Matters and Trends (BMT 6/2018)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั

กรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั สุรพลฟูด้ ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

25


ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2557 - ปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั 2536 - ปัจจุบนั 2536 - ปัจจุบนั 2534 - ปัจจุบนั

ประธานกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ ผูพ ้ พ ิ ากษาสมทบ คณะอนุกรรมการพิจารณาผูส้ มัครเข้ารับการคัดเลือก เพือ่ รับรางวัลองค์กรโปร่งใส อนุกรรมการส่งเสริมและบ่มเพาะวิสาหกิจและการจัดการ ทรัพย์สนิ ทางปัญญาใน สถาบันอุดมศึกษา (UBI) กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ

บริษทั เอ เอ อีเลคทริ ไล จ�ำกัด ศาลทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) บริษทั สหพร แอนด์ โก จ�ำกัด บริษทั ซันโกร่า จ�ำกัด บริษทั ดีบเี อ็มที จ�ำกัด บริษทั เอส.วี.เอฟเวอร์กรีน จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2555 - 2558 2554 - 2557 2554 - 2557 2555 - 2556 2552 – 2556 2552 - 2554 2551 - 2555 2549 - 2552 2548 - 2558 2548 - 2549 2548 - 2554 2548 - 2554 2548 - 2554 2545 - 2549 2543 - 2545

9

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ กรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะอนุกรรมการป้องกันการทุจริตด้านสังคม ประธานคณะท�ำงานคัดกรองผูส้ มัครเข้ารับการคัดเลือก เพือ่ รับรางวัลองค์กรโปร่งใส กรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ, กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ผูพ ้ พ ิ ากษาสมทบ กรรมการเหรัญญิก ประธานคณะท�ำงานบัญชีและการเงิน ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ ตรวจสอบ รองประธานคณะกรรมการกฎหมายภาษีธรุ กิจ และการลงทุน

ชือ่ -สกุล ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร ต�ำแหน่ง

อายุ 76 ปี

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการตรวจสอบ

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี สาขานิตศิ าสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Director Accreditation Program (DAP 97/2012) Audit Committee Program (ACP 41/2012) Monitoring Fraud Risk Management (MFM 8/2012)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

26

บริษทั กันกุลเอ็นจิเนียริง่ จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด ประจ�ำคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั กันกุลเอ็นจิเนียริง่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เอเซียไฟเบอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั สตาร์ ซานิทารีแวร์จำ� กัด (มหาชน) สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย ศาลทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง หอการค้าไทย และ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย และ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย


ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง, กรรมการตรวจสอบ

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ไม่มี

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา

10

2555 - 2556

กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ

ชือ่ -สกุล นายอิสกันต์ ไกรวิทย์ ต�ำแหน่ง

บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด

อายุ 75 ปี

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสีย่ ง

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต (บช.บ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ North Dagota State University U.S.A Certificate, American Institute of Banking (New York) U.S.A. Director Accreditation Program (DAP 97/2012) Audit Committee Program (ACP 41/2012) Monitoring Fraud Risk Management (MFM 8/2012)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน, กรรมการบริหาร

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ไม่มี

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2555 - 2556

กรรมการอิสระ

บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

27


11

ชือ่ -สกุล นายพูนศักดิ์ บุญสาลี ต�ำแหน่ง

อายุ 70 ปี

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาเอก ศิลปศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิต (ศศ.ด.) การบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา ศศ.ม. (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บธ.ม. (การจัดการ) มหาวิทยาลัยอีสเทิรน์ เอเชีย บธ.ด.(กิตติมศักดิ)์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ Director Accreditation Program (DAP 97/2012)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการ, ประธานกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ, กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

บริษทั ศักดิส์ ยามลิสซิง่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ไม่มี

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา

12

2538 - 2559 2555 - 2556

กรรมการ และประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการอิสระ

ชือ่ -สกุล นายคุนฮิ โิ กะ ทะฮะระ ต�ำแหน่ง

อายุ 42 ปี

กรรมการ ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 1 ปี 8 เดือน (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 12 พฤษภาคม 2560)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

28

Bachelor of Economics, Hitotsubashi University Director Accreditation Program (DAP 135/2017)

บริษทั ศักดิส์ ยามลิสซิง่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)


สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2560 - ปัจจุบนั

กรรมการ, ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ, ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงิน

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ไม่มี

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2559 - ปัจจุบนั 2554 - 2559 2553 - 2554 2552 - 2553 2548 - 2552 2547 2545 - 2547

13

2543 - 2545

Assistant to General Manager , Grain Oils & Sweeteners Dept. Assistant to General Manager, Sweeteners & Beverages Dept. Assistant to General Manager, Grain & Sweeteners Dept. Senior Staff of Grain & Sweeteners Dept. (London) Sales Manager Staff Member of Sweeteners & Beverages Dept. Staff Member of Coffee & Alcoholic Beverages Dept. Staff Member of Food Dept.,No.2 (Tokyo)

ชือ่ -สกุล นายอภิชาต นุชประยูร ต�ำแหน่ง

Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Europe Ltd. (London) Sumitomo Corporation Ltd. Sumitomo Corporation Ltd.

อายุ 46 ปี

กรรมการ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจชีวภาพ

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท Master of Management สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Director Accreditation Program (DAP 96/2012)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.000

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

29


ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจชีวภาพ ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ กรรมการ

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2544 - ปัจจุบนั 2544 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ, และประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารKTIS R&D กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร

บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จ�ำกัด บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จ�ำกัด บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จ�ำกัด บริษทั ซันไชน์เอ็กซ์ปอร์ต จ�ำกัด บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด บริษทั ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา

14

2548 - 2558 2548 - 2558 2548 - 2558 2556 - 2557 2555 - 2556 2551 - 2556 2548 - 2555 2558

รองกรรมการผูจ้ ดั การ รองกรรมการผูจ้ ดั การ รองกรรมการผูจ้ ดั การ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโสสายงานวิศวกรรม ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโสสายงานวิศวกรรม กรรมการและกรรมการบริหาร รองกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ

ชือ่ -สกุล นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋ ต�ำแหน่ง

บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์ พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต จ�ำกัด

อายุ 48 ปี

กรรมการ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 6 ปี (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ศิลปศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสงิ คโปร์ (National University of Singapore)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 0.558

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

30


ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

กรรมการ

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2547 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2544 - ปัจจุบนั 2539 - ปัจจุบนั 2537 - ปัจจุบนั

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ

บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จ�ำกัด Grand Helio Pte.Ltd. Soon Zhou Investments Pte. Ltd. Gold Topaz Pte. Ltd. Gold Hyacinth Development Pte. Ltd. Bukit Timah Green Development Pte. Ltd. Nanyang International Education (Holdings) Ltd. Chang Li Investments Pte. Ltd. Li Ta Investments Pte. Ltd. Soon Li Investments Pte. Ltd. บริษทั เอส.ไอ. พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด King Wan Industries Pte. Ltd. Xylem Investments Pte. Ltd. King Wan Development Pte. Ltd. King Wan Construction Pte. Ltd. K&W Mobile Loo Services Pte. Ltd.

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2547 - 2557 2546 - 2557

15

กรรมการ กรรมการ

บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด

ชือ่ -สกุล นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ต�ำแหน่ง

อายุ 35 ปี

กรรมการ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 3 ปี 8 เดือน (วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 14 พฤษภาคม 2558)

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) 4.940

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร

บุตรชายของนายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล หลานชายของ นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ หลานชายของนายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล หลานชายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

31


ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2558 – ปัจจุบนั

กรรมการและผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั 2561 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2559 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั 2553 - ปัจจุบนั 2551 - ปัจจุบนั

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษทั น�ำ้ ตาลเกษตรไทย จ�ำกัด บริษทั ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด บริษทั ซันไชน์เอ็กซ์ปอร์ต จ�ำกัด บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จ�ำกัด บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส จ�ำกัด บริษทั ภูมพ ิ ฒ ั นาธุรกิจ จ�ำกัด บริษทั สิบสิรสิ วัสดิ์ จ�ำกัด บริษทั อะโกร เอทานอล จ�ำกัด บริษทั อี.พี.ซี.เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั รวมผลอุตสากรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั สินแพทย์ นครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด บริษทั ภูเก็ตเพิรล์ รีสอร์ท จ�ำกัด บริษทั เอส.ไอ.พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จ�ำกัด บริษทั เอส.ไอ.ศิรเิ จริญ จ�ำกัด บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา

16

2558 - 2560

กรรมการ

ชือ่ -สกุล นางน้อมจิต อัครเมฆินทร์ ต�ำแหน่ง

บริษทั ภูมเิ ลิศ บิซซิเนส จ�ำกัด

อายุ 59 ปี

ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

32


ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2555 - ปัจจุบนั

ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ไม่มี

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2551 - 2555

17

ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การทัว่ ไป

บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด

ชือ่ -สกุล นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ ต�ำแหน่ง เลขานุการบริษทั จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 14 พฤษภาคม 2556 คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

อายุ 56 ปี

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปริญญาตรี บริหารทัว่ ไป มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Company Secretary Program (CSP 53/2013) Board Reporting Program (BRP 12/2013) Effective Minute Taking (EMT 30/2014) Company Reporting Program (CRP 8/2014)

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร ไม่มี

ช่วงเวลา

ต�ำแหน่ง

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั 2556 - ปัจจุบนั

เลขานุการบริษทั

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด (มหาชน)

ต�ำแหน่งในบริษทั อืน่ ที่ ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั

กรรมการ กรรมการ

บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงานทีผ่ า่ นมา 2539 - 2556 2548 - 2556 2537 - 2539 2532 - 2537

ผูจ้ ดั การโรงงาน ผูจ้ ดั การโรงงาน ผูจ้ ดั การโรงงาน รองผูจ้ ดั การโรงงาน

บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั น�ำ้ ตาลเกษตรไทย จ�ำกัด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

33


คุณสมบัตขิ องเลขานุการบริษทั 1. มีความรูพ ้ นื้ ฐานด้านธุรกิจ บัญชี และมีความรอบรูแ้ ละเข้าใจในธุรกิจของบริษทั 2. เข้าใจบทบาทหน้าทีข่ องเลขานุการบริษทั 3. มีความรู้และความเข้าใจด้านกฎหมาย กฎระเบียบของส�ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งหลักการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี 4. มีความเป็นอิสระและตรงไปตรงมาในการปฏิบตั หิ น้าที่ ไม่มงุ่ หวังผลประโยชน์สว่ นตัวจากโอกาสทางธุรกิจของบริษทั รวมทัง้ เก็บรักษาความ ลับของบริษทั ได้เป็นอย่างดี 5. มีประสบการณ์ในงานเลขานุการคณะกรรมการ หรือคุณสมบัตอิ นื่ ทีช่ ว่ ยให้งานเลขานุการบริษทั เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลยิง่ ขึน้

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของเลขานุการบริษทั 1. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจ�ำปีของบริษท ั ฯ หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน ้ และรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้

2. เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้เสียทีร่ ายงานโดยกรรมการหรือผูบ้ ริหาร 3. ด�ำเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด

34


บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

35

X, V

บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด

บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด

บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จ�ำกัด

บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด

บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด

บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จ�ำกัด

บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด

บริษทั นครสวรรค์รว่ มทุนพัฒนา จ�ำกัด

I, V

บริษทั ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จ�ำกัด

บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด

บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด

บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด

X, V

บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด

บริษทั เอส.ไอ.พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด

X, V

บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด

บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด

บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง

X, V

บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด

บริษทั ย่อย

บริษทั เคทิสวิจยั และพัฒนา จ�ำกัด

X,V

1

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั

รายละเอียดกรรมการบริษทั ย่อย และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง 3

4

5

6

7

X, V

I, V

I, V

X, V

X, V

X, V

I, V

X, V

X, V

X, V

X, V

X, V

I, V

X, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

X, V

X, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, II, V, IV I, II, V, VI I, II, V, IV I, II, V, IV I, II, V, IV I, III, IV

2

I, III

8

I, VI, IV

9

I,VI

10

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I,V

11

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I,V

12

I,V

13

I, V

I,V

14

I, III

15

V

16


36

X, V

บริษทั ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ จ�ำกัด

บริษทั ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต จ�ำกัด

บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จ�ำกัด

บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

ไกรวิทย์ บุญสาลี ศิรวิ ริ ยิ ะกุล นุชประยูร ทะฮะระ อิง๋ อิง๋ นิลคูหา อัครเมฆินทร์

9

10

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

I, V

11

หมายเหตุ (1) x = ประธานกรรมการบริษทั ฯ I = กรรมการบริษทั II = กรรมการบริหาร III = กรรมการตรวจสอบ IV = กรรมการบริหารความเสีย่ ง V = ผูบ้ ริหาร VI = กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน VII = ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม

I, V

9. นายอิสกันต์ 10. นายพูนศักดิ ์ 11. นายศิรภาคย์ 12. นายอภิชาต 13. นายคุนฮิ โิ กะ 14. นางสาวฉัว่ 15. นายไกรฤทธิ ์ 16. นางน้อมจิต

8

บริษทั อี.พี.ซี. เพาเวอร์ จ�ำกัด

7

I, V

อรรถวิภชั น์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล วิภาตะกลัศ เสียมภักดี ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ช่างเพชร โคธีรานุรกั ษ์

I, V

I, V

I, V

I, V

6

บริษทั อะโกร เอทานอล จ�ำกัด

หมายเหตุ (2) 1. นายปรีชา 2. นายประพันธ์ 3. นางดารัตน์ 4. นายสิรวิ ทุ ธิ ์ 5. นายณัฎฐปัญญ์ 6. นายประเสริฐ 7. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ 8. นายสถาพร

บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จ�ำกัด

I, V

I, V

5

I, V

บริษทั ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จ�ำกัด

4

บริษทั สิบสิรสิ วัสดิ์ จ�ำกัด

บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จ�ำกัด

3

I, V

บริษทั สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด

2

บริษทั ภูมพ ิ ฒ ั นาธุรกิจ จ�ำกัด

1

บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จ�ำกัด

บริษทั

I, V

I, V

12

13

I, V

14

15

16


ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษัทฯและบริษัทย่อยภายใต้ กลุ่ม เคทิส เป็นกลุ่มบริษัทฯ ที่ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายอย่างครบวงจรรายใหญ่อันดับ 3 ของประเทศ โดยกลุ่มบริษัทฯ มีโรงงานผลิต น�้ำตาลทรายทั้งสิ้น 2 โรงงาน และด�ำเนินการเช่าโรงงานน�้ำตาลอีกหนึ่งแห่ง นอกจากนี้ยังมีโรงงานผลิต เอทานอล โรงงานผลิตเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โรงไฟฟ้าชีวมวล และโรงงานผลิตวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ณ ปัจจุบนั กลุม่ บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจ ทัง้ สิน้ 2 ประเภทคือ

1. ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย บริษัทฯ ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายให้กับลูกค้าทั้งในและต่างประเทศผ่าน KTIS, TIS และ KTIS สาขา 3 โดยผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ สามารถจ�ำแนกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ น�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิ์ (Refined Sugar) น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) และน�ำ้ ตาลทรายดิบ (Raw Sugar)

2. ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทรายของบริษทั ฯ ท�ำให้เกิดธุรกิจต่อเนือ่ งจากการน�ำวัสดุเหลือใช้และของเสียจากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล อาทิ กากน�ำ้ ตาล และชานอ้อยไปเข้าสูก่ ระบวนการผลิตในบริษทั ย่อย โดยธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งดังกล่าว ได้แก่

(1) ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยและบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อย บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ผ่าน EPPCO โดยน�ำชานอ้อย ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้มาท�ำ กระบวนการต่อ โดยโรงงานเยือ่ กระดาษของบริษทั ฯ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีใ่ กล้กบั โรงงานน�ำ้ ตาลทรายของกลุม่ บริษทั ฯ ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ของ EPPCO สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิดได้แก่ เยือ่ กระดาษชนิดแห้ง เยือ่ กระดาษชนิดเปียก และบรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย

(2) ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอลผ่าน KTBE โดยใช้วตั ถุดบิ หลักคือกากน�ำ้ ตาล จากโรงงานน�ำ้ ตาลทรายของกลุม่ บริษทั ฯ เพือ่ ผลิตผลิตภัณฑ์เอทานอล ปัจจุบัน KTBE ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล 2 เกรดได้แก่ เอทานอลที่ใช้ ในอุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิง (Fuel Alcohol)

(3) ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า บริษทั ฯ มีหน่วยผลิตไฟฟ้าและไอน�ำ้ ในโรงงานน�ำ้ ตาลทรายและโรงงานเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โดยใช้ชานอ้อยซึง่ เป็นกากของเสีย จากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลมาเป็นวัตถุดบิ หลัก น�ำไอน�ำ้ และไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ ไปใช้ ในกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทรายของกลุม่ บริษทั ฯ ทัง้ 3 โรงงาน และในกระบวนการผลิตของโรงงานอื่นในกลุ่มบริษัทฯ และจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือการไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าคตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั KTBP TEP และ RPBP ขนาดก�ำลังการผลิตทัง้ สิน้ 60 เมกะวัตต์ 50 เมกะวัตต์ และ 50 เมกะวัตต์ ตามล�ำดับ ซึง่ ปัจจุบนั ได้ดำ� เนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า ในระบบโรงไฟฟ้าชีวมวลแล้ว

(4) ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ผ่าน KTBF โดยใช้กากตะกอนหม้อกรอง (Filter cake) ซึ่งเป็นของเสีย จากกระบวนการผลิตน�้ำตาล และน�้ำเสียที่มาจากกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ำมาผลิตเป็น วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทัง้ ชนิดเป็นผง ชนิดเม็ด

เป้าหมายการประกอบธุรกิจ บริษัทฯ มีเป้าหมายในการพัฒนาธุรกิจ ที่มุ่งเน้นให้เกิดการเติบโตและมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นองค์กรชั้นน�ำในด้านการผสมผสาน ระหว่างการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมแบบครบวงจร ผ่านการพัฒนาโครงข่ายและเชือ่ มโยงธุรกิจทัง้ ภายในและภายนอกองค์กรเข้าด้วยกัน อันจะท�ำให้ เกิ ด การเพิ่ ม ขึ้ น ของคุ ณ ค่ า และมู ล ค่ า ทางธุ ร กิ จ ในด้ า นการผลิ ต น�้ำ ตาลและสารให้ ค วามหวาน การผลิ ต ไฟฟ้ า จากชี ว มวล การผลิ ต เอทานอล การผลิตเยื่อกระดาษจากชานอ้อย การผลิตวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ซึ่งผลิตภัณฑ์และผลิตพลอยได้ของกลุ่มบริษัทฯ จะมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีความปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

37


เป้าหมายในการประกอบธุรกิจ : (1) การเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจอ้อย บริษทั ฯ มีการพัฒนาธุรกิจงานด้านต้นน�ำ้ ในการคัดสรรพันธุอ์ อ้ ยและเทคโนโลยีการจัดการไร่ออ้ ย การให้ความรูด้ า้ นวิชาการต่อชาวไร่ออ้ ย การพัฒนาเครื่องมือและจักรกลการเกษตร การใช้สารปรับปรุงดินซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ ท�ำให้ชาวไร่อ้อยและวัตถุดิบอ้อยของบริษัทฯ มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและเกิดความมัน่ คงในการสนับสนุนการผลิต

(2) การเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจน�้ำตาล บริษัทฯ มีการพัฒนาและลงทุนงานในด้านการผลิตน�้ำตาลอย่างต่อเนื่อง มีก�ำลังการผลิตต่อวันขนาดใหญ่มากท�ำให้เกิดการได้เปรียบ ในเชิงเศรษฐศาสตร์ มีการพัฒนาเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของการผลิต เพือ่ ลดต้นทุนการใช้พลังงาน เพือ่ เพิม่ มูลค่าของผลิตภัณฑ์ โดยในปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้มกี ารแปรรูปน�ำ้ ตาลทรายดิบ ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิแ์ ละผลิตภัณฑ์นำ�้ เชือ่ มคุณภาพสูงส�ำหรับอุตสาหกรรม อาหาร ซึง่ เป็นการเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์หลักและแสดงถึงความเป็นผูน้ ำ� ในธุรกิจน�ำ้ ตาลของบริษทั ฯ ได้เป็นอย่างดี

(3) การเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจพลังงานไฟฟ้าจากชีวมวล บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนและขยายก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล ท�ำให้บริษทั ฯ มีกำ� ลังผลิตโรงไฟฟ้าทีใ่ หญ่และมีรายได้ธรุ กิจพลังงานไฟฟ้า ทีเ่ พิม่ ขึน้ ส�ำหรับการจัดหาเชือ้ เพลิงมาป้อนให้กบั โรงไฟฟ้า บริษทั ฯ ได้มกี ารน�ำชานอ้อยซึง่ เกิดจากการผลิตของโรงงานน�ำ้ ตาลมาเป็นเชือ้ เพลิงเสริม ส่งผลให้เกิดการบูรณาการงานด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมระดับชัน้ น�ำทีเ่ กือ้ หนุนให้เกิดการเพิม่ คุณค่าห่วงโซ่ทางธุรกิจได้มากขึน้

(4) การเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจผลิตภัณฑ์จากชีวมวล บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนในการต่อยอดผลิตภัณฑ์จากการผลิตเยือ่ กระดาษจากชานอ้อยทีม่ อี ยูเ่ ดิมให้มมี ลู ค่าและคุณค่าทางธุรกิจและคุณค่า เพือ่ สังคมเพิม่ ขึน้ ผ่านการน�ำมาผลิตเป็นบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงและมีความปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภคในการทีจ่ ะน�ำมาใช้เป็นภาชนะ เพือ่ ใส่อาหาร

(5) การเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจเอทานอล บริษัทฯ ได้มีการน�ำกากน�้ำตาลหรือที่เรียกกันว่า โมลาส มาท�ำการเพิ่มมูลค่าด้วยการผลิตเป็นเอทานอลคุณภาพสูงเกรดส�ำหรับใช้เป็น เชือ้ เพลิงและเกรดส�ำหรับใช้ ในงานอุตสาหกรรม และบริษทั ฯ ยังได้มกี ารต่อยอดการผลิต BIO Gas ซึง่ เป็นผลผลิตพลอยได้จากการผลิตเอทานอล ส่งผลให้สายการผลิตและโครงข่ายธุรกิจของบริษทั ฯ มีความเป็นผูน้ ำ� ของธุรกิจและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมในทุกกระบวนการท�ำงาน

(6) การเป็นผู้น�ำด้านผลิตภัณฑ์วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ บริษทั ฯ ได้มกี ารน�ำเอาผลผลิตพลอยได้จากการผลิตน�ำ้ ตาลและการผลิตเอทานอล มาสร้างมูลค่าและคุณค่าเพิม่ ด้วยการน�ำมาผลิตเป็นวัสดุ ปรับปรุงดินชีวภาพ เพือ่ ท�ำให้พนื้ ทีป่ ลูกอ้อยและพืน้ ทีก่ ารเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์ ช่วยลดต้นทุนและเพิม่ ผลผลิตให้กบั เกษตรกรเป็นอย่างดียงิ่

เป้าหมายการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน : (1) งานวิจัยและพัฒนา บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนในงานวิจยั และพัฒนา เกีย่ วกับเรือ่ ง การพัฒนาปรับปรุงพันธุอ์ อ้ ย การพัฒนาพืชพลังงาน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนาเครื่องมือและเครื่องจักร เพื่อความยั่งยืนและคงความเป็นผู้น�ำแบบครบวงจรและมีความหลากหลาย ของผลิตภัณฑ์ที่มากกว่าน�้ำตาล หรือ More Than Sugar ในธุรกิจด้านอ้อยและการเกษตร ธุรกิจด้านการผลิตน�้ำตาลและสารให้ความหวาน ธุรกิจด้านการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากชีวมวล ธุรกิจด้านการผลิตผลิตภัณฑ์จากชีวมวล

(2) งานพัฒนาชาวไร่อ้อย กลุ่มชาวไร่อ้อยและแหล่งวัตถุดิบ บริษทั ฯ มีโครงการลงทุนในด้านงานวิจยั และงานด้านวิชาการเพือ่ พัฒนาความรู้ให้กบั ชาวไร่ออ้ ย กลุม่ ชาวไร่ออ้ ยในลักษณะโครงข่ายเกษตรกร มีการสนับสนุนด้านการเงินเพื่อปลูกอ้อยให้ ได้ผลผลิตอ้อยทั้งในแนวดิ่งที่จะยกระดับปริมาณตันอ้อยต่อไร่และการขยายแหล่งพื้นที่ปลูกอ้อย ในแนวนอนเพือ่ เพิม่ ปริมาณตันอ้อย เป็นการน�ำเทคโนโลยีและพัฒนางานด้านเกษตรกรรมสูก่ ารเกษตรยุคใหม่ทดี่ ำ� เนินการแบบโครงข่ายเกษตรกร ทีม่ คี วามเป็นพันธมิตรเกือ้ หนุนกันและกัน รวมทัง้ การได้มสี ว่ นร่วมสนับสนุนให้เกิดการจ้างงานในภาคเกษตรทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง

38


(3) การพัฒนาส่งเสริมความรู้ให้กับบุคลากร บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับบุคลากรในทุกระดับ โดยถือว่าคนเป็นทรัพยากรทีม่ คี า่ สูงสุดขององค์กรจึงมีการลงทุนสนับสนุนและพัฒนาความรู้ ให้กบั บุคลากรอย่างต่อเนือ่ งผ่านการจัดอบรมหลักสูตรทีจ่ ำ� เป็นและหลักสูตรเสริมต่างๆ รวมทัง้ การให้บคุ ลากรได้ประดิษฐ์คดิ ค้นและได้มสี ว่ นร่วม ท�ำโครงการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังมีการพัฒนาส่งเสริมความรูเ้ พือ่ เตรียมบุคลากรก่อนเข้าเป็นพนักงานผ่านการท�ำงาน ร่วมกับสถาบันการศึกษาทีต่ งั้ อยูใ่ นท้องถิน่ และส่วนกลาง ท�ำให้บริษทั ฯ สามารถจัดหาบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพมาสนับสนุนภารกิจของธุรกิจทีท่ ำ� อยู่ ในปัจจุบนั และทีจ่ ะเกิดเพิม่ ขึน้ ในอนาคต

เป้าหมายการบริหารงานด้วยหลักคุณธรรมและบรรษัทภิบาล : (1) การด�ำเนินงานด้วยความโปร่งใส บริษทั ฯ มีคมู่ อื การด�ำเนินงานด้านบรรษัทภิบาลและมีการวางแผนด�ำเนินงานทีเ่ ปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์อย่างเหมาะสม เพือ่ ให้การบริหาร มีความโปร่งใสและมีความเป็นธรรม สามารถที่จะยืนยันและตรวจสอบผลการปฏิบัติงานได้อย่างชัดเจน บริษัทฯ จะให้ความส�ำคัญกับทุกฝ่าย ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ อาทิเช่น ผูถ้ อื หุน้ ผูบ้ ริหาร นักลงทุน พนักงาน เกษตรการชาวไร่ ลูกค้า ผูข้ าย ผูร้ บั จ้างช่วง ชุมชน สังคม หน่วยงานราชการ เป็นต้น โดยบริษทั ฯ ได้จดั ให้มรี ะบบการตรวจสอบจากผูต้ รวจสอบทีม่ คี วามเป็นอิสระทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร

(2) การส่งเสริมพัฒนาสังคม การศึกษาและสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญและให้ผเู้ กีย่ วข้องได้มสี ว่ นร่วมในการพัฒนาสังคม การศึกษาและสิง่ แวดล้อมแบบมีสว่ นร่วม ผ่านการท�ำโครงการต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง เช่น โครงการบ้านวัดโรงเรียนและโรงงาน(บวร+โรงงาน)ที่ส่งเสริมให้วัด ชุมชน โรงเรียน ได้มสี ว่ นร่วมพัฒนาความรูด้ า้ นการปลูกอ้อยอย่างถูกต้อง น�ำผลผลิตอ้อยทีป่ ลูกในพืน้ ทีว่ ดั หรือโรงเรียนมาเป็นพันธุอ์ อ้ ยหรือน�ำมาเป็นทุนสนับสนุน การพัฒนาโรงเรียน โครงการหมู่บ้านสีเขียว ที่ส่งเสริมให้เกิดโครงข่ายเกษตรกรและชุมชนได้ช่วยกันดูแลแปลงอ้อยไม่ให้เกิดไฟไหม้ ท�ำให้ชาวไร่ มีรายได้สว่ นต่างจากการตัดอ้อยสด ท�ำให้ออ้ ยได้คณ ุ ภาพทีด่ เี ข้าโรงงานและช่วยลดเขม่าหรือควันทีเ่ กิดในชุมชน เป็นต้น

(3) การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในการท�ำงาน บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อสวัสดิภาพ ต่อคุณภาพชีวติ และความปลอดภัยในการท�ำงานของพนักงานและชุมชนทีต่ งั้ อยูร่ อบโรงงาน เรือ่ งนี้ ถือเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจที่ได้มีการปฏิบัติตามกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด นอกจากการ ได้ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของกฎหมายแล้ว บริษทั ฯ ยังจัดให้มพ ี นักงานเข้าเยีย่ มเยียนผูน้ ำ� ชุมชน ผูน้ ำ� ทางศาสนา โรงเรียนทีต่ งั้ อยูใ่ นพืน้ ทีใ่ กล้โรงงาน มีการจัดแพทย์เพือ่ ตรวจสุขภาพของชาวบ้านในชุมชนทีอ่ ยูร่ อบโรงงานเป็นระยะๆ ซึง่ เป็นค่านิยมและความเอือ้ อาทรทีบ่ ริษทั ฯ ปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง

ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่ส�ำคัญ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เดิมชื่อ บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�้ำตาล จ�ำกัด และบริษัทย่อยภายใต้กลุ่ม เคทิส ก่อตั้งโดยคุณจรูญ และคุณหทัย ศิริวิริยะกุล เป็นกลุ่มผู้ผลิตน�้ำตาลทรายที่มีประสบการณ์ ในการประกอบธุรกิจ มากว่า 53 ปี ณ ปัจจุบนั กลุม่ บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งอย่างครบวงจร บริษทั ฯ ได้แปรสภาพจากบริษทั จ�ำกัดเป็นบริษทั มหาชน เมือ่ ปี 2556 ต่อมาได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 3,274,573,000 บาท เป็น 3,888,000,000 บาท และน�ำหุน้ เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2557 และมีชอื่ ย่อหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่า "KTIS" และในปี 2558 บริษทั ฯ ได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 3,888,000,010 บาท โดยมีทนุ จดทะเบียนช�ำระแล้วจ�ำนวนทัง้ สิน้ 3,860,000,010 บาท กิจการน�้ำตาลทรายของบริษัทฯ เริ่มจากการเป็นผู้กระจายสินค้าน�้ำตาลทรายหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “ยี่ปั๊ว” ในจังหวัดนครสวรรค์ ต่อมา ประมาณปี 2510 คุณจรูญ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล และกลุม่ ยีป่ ว๊ั ในจังหวัดนครสวรรค์ ได้รว่ มกันซือ้ บริษทั อุตสาหกรรมมหาคุณ จ�ำกัด ก�ำลังการผลิต 500 ตันต่อวัน ซึง่ มีสนิ ทรัพย์หลักคือ โรงงานน�ำ้ ตาลทราย และเปลีย่ นชือ่ บริษทั เป็นบริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด (“RPE”) ต่อมาได้ขยายก�ำลังการผลิต อย่างต่อเนือ่ งโดยเพิม่ จาก 500 ตันอ้อยต่อวันเป็น 15,000 ตันอ้อยต่อวัน ในช่วงปี 2524 บริษัทฯ ได้ตัดสินใจลงทุน ซื้อ บริษัท น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด (“TIS”) และ ได้เพิ่มก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่องจน โรงงาน น�ำ้ ตาลทรายของ TIS มีกำ� ลังการผลิตทัง้ สิน้ 18,000 ตันอ้อยต่อวัน

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

39


ปี 2531 บริษัทฯ ได้ลงทุนเข้าซื้อ บริษัท น�้ำตาลเกษตรไทย จ�ำกัด ซึ่งขณะนั้น มีก�ำลังการผลิต 6,000 ตันอ้อยต่อวัน ผู้บริหารได้หาพันธมิตร ทางธุรกิจเพื่อปรับปรุงโครงสร้างทางการเงิน และเสริมสร้างสภาพคล่องให้กับ บริษัท น�้ำตาลเกษตรไทย จ�ำกัด จนต่อมาในปี 2551 ผู้บริหารตัดสินใจ ร่วมทุกบั บริษทั ยูที กรุป๊ จ�ำกัด (UT Group Pte. Ltd.) ซึง่ เป็นนักลงทุนจากประเทศสิงคโปร์ โดยจัดตัง้ บริษทั ใหม่ กล่าวคือ บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรม น�ำ้ ตาล จ�ำกัด และได้ดำ� เนินการโอนกิจการโรงงานน�ำ้ ตาลทรายจาก บริษทั น�ำ้ ตาลเกษตรไทย จ�ำกัด มาด�ำเนินการภายใต้ บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรม น�ำ้ ตาล จ�ำกัด สามารถขยายก�ำลังการผลิตได้ถงึ 55,000 ตันอ้อยต่อวัน ซึง่ ถือเป็นโรงงานน�ำ้ ตาลทรายทีม่ กี ำ� ลังการผลิตทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของโลก นอกจากการผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายในปี 2546 กลุม่ ครอบครัวศิรวิ ริ ยิ ะกุล ได้เล็งเห็นถึงโอกาสในการด�ำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง อย่างครบวงจร จึงได้ร่วมทุนกับ บริษัท เพิ่มสินพัฒนา จ�ำกัด (“PSP”) และกลุ่มนักลงทุนชาวสิงคโปร์ 2 ราย ได้แก่ บริษัท คิงวัน คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด (King Wan Corporation Limited) และ บริษทั ไซเล็ม อินเวสเมนท์ จ�ำกัด (Xylem Investment Pte. Ltd.) จัดตัง้ บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด (“EPPCO”) เพื่อผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โดยเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของ EPPCO นั้นใช้วัตถุดิบหลักคือชานอ้อยที่เหลือใช้ จากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย มีกำ� ลังการผลิตเยือ่ กระดาษฟอกขาวประมาณ 100,000 ตันต่อปี ในปี 2547 กลุ ่ ม ครอบครั ว ศิ ริวิริ ย ะกุ ล ได้ ตัด สิ น ใจร่ ว มทุ นกั บกลุ ่ มนั กลงทุ นชาวสิ งคโปร์ 3 ราย ได้ แ ก่ บริ ษัท คิ งวั น อิ นดั ส ตรี้ จ� ำ กั ด (King Wan Industries Pte Ltd.) บริษทั ฟาร์ อีสต์ ดิสทิลเลอร์ส จ�ำกัด (Far East Distillers Pte Ltd.) และ บริษทั ซิโนแทค กรุป๊ จ�ำกัด (Sinotac Group Pte Ltd.) จัดตัง้ บริษทั เอกรัฐพัฒนา จ�ำกัด (“EPC”) เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล ซึง่ ใช้กากน�ำ้ ตาลทีเ่ หลือใช้จากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย เป็นวัตถุดบิ มีขนาดก�ำลังการผลิต 230,000 ลิตรต่อวัน ซึง่ ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด (“KTBE”) ในปี 2560 ในปี 2553 กลุ่มครอบครัวศิริวิริยะกุล ได้ริเริ่มโครงการน�ำชานอ้อยซึ่งเป็นของเสียจากกระบวนการผลิตน�้ำตาล (กากอ้อย) มาใช้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตเยือ่ กระดาษและเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตไฟฟ้า โดยได้จดั ตัง้ บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (“KTBP”) เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดก�ำลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ และได้เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 7 ตุลาคม 2556 ในปี 2554 กลุม่ ครอบครัวศิรวิ ริ ยิ ะกุล ได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ในการใช้กากตะกอนหม้อกรอง (filter cake) ซึง่ เป็นของเสียการกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล และน�ำ้ เสียทีม่ าจากกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ำมาผลิตเป็น วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทัง้ ชนิดเป็น ผง และเป็นเม็ด โดยได้จดั ตัง้ บริษัท เกษตรไทยปุ๋ยชีวภาพ จ�ำกัด (“KTBF”) ภายใต้ KTBE เพื่อขยายธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง มีขนาดก�ำลังการผลิตชนิดผง 15,000 ตันต่อปี ชนิดเม็ด 6,150 ตันต่อปี และชนิดน�ำ้ 200,000 ลบ.ม. ต่อปี ซึง่ ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด (“KTBF”) ในปี 2560 ในปี 2555 บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการพัฒนาระบบเก็บเกี่ยวอ้อย เพื่อเพิ่มคุณภาพและศักยภาพงานด้านไร่ควบคู่กับการเติบโตของบริษัทฯ โดยการเข้าท�ำสัญญาซื้อรถตัดอ้อย จอห์นเดียร์ (John Deere) จ�ำนวน 40 คัน กับ บริษัท ที เค อีควิปเมนท์ จ�ำกัด ตัวแทนผู้จัดจ�ำหน่ายสินค้า จอห์นเดียร์ ในประเทศไทยโดยมีเงือ่ นไขว่า จอห์นเดียร์ จะเข้ามาช่วยอบรม และแนะน�ำเจ้าหน้าทีพ ่ นักงานบริษทั ฯ ในการดูแล ซ่อมแซม และพัฒนาเครือ่ งมือ และอุปกรณ์ฝา่ ยไร่ของบริษทั ฯ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการปลูกอ้อยของชาวไร่ และขยายปริมาณวัตถุดบิ แก่โรงงานของกลุม่ บริษทั ฯ ในปี 2556 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2556 ของบริษทั ฯ มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ ด�ำเนินการลงทุนซือ้ บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด (“TEP”) เพื่อด�ำเนินธุรกิจโรงงานไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�ำลังการผลิตทั้งสิ้น 50 เมกะวัตต์ จากผู้ถือหุ้นเดิม โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะรับวัตถุดิบชานอ้อย โดยตรงจาก TIS ในขณะเดียวกัน บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด ("RPBP") เพือ่ ด�ำเนินกิจการโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�ำลังการผลิตทัง้ สิน้ 50 เมกะวัตต์ โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะรับวัตถุดบิ ชานอ้อยโดยตรงจาก โรงงานรวมผล นอกจากนี้ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 ของบริษัทฯ ยังมีมติอนุมัติให้ บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จ�ำกัด (“SSK”) ขึ้นเพื่อด�ำเนินการจัดหาที่ดินเพื่อรองรับการขยายธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ โดยในปี 2556 SSK ได้ซื้อที่ดินจากบุคคลที่ไม่มีความเกี่ยวโยงกันกับบริษัทฯ จนมีเนือ้ ทีจ่ ำ� นวน 2,629 ไร่ 1 งาน 16 ตารางวา ในปี 2556 บริษทั ซูมโิ ตโม คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด และบริษทั นิสชิน ชูการ์ จ�ำกัด ได้เข้าเซ็นสัญญาลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ผ่านบริษทั 3 เอส โฮลดิง้ จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ ไม่เกิน 2,650.0 ล้านบาท ทัง้ นี้ ด้วยประสบการณ์ในการเป็นบริษทั เทรดดิง้ ชัน้ น�ำของโลก บริษทั ฯ คาดว่าการเข้าลงทุนของทัง้ 2 บริษทั จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติของบริษทั ฯ อีกทัง้ ช่วยขยายฐานธุรกิจในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในปี 2556 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั จิ ดั ตัง้ (1) บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด ("LIS") เพือ่ รองรับแผนการขยายการผลิต และจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายของกลุม่ บริษทั ฯ (2) บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จ�ำกัด ("LBE") เพือ่ รองรับแผนการขยายการผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล และ (3) บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด ("LBP") เพือ่ รองรับแผนการขยายการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า ในปี 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีอนุมัติจัดตั้ง (1) บริษัท เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จ�ำกัด ("KBGP") เพื่อรองรับแผนการขยายการผลิต และจ�ำหน่ายไฟฟ้า (2) บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด ("KBE") เพือ่ รองรับแผนการขยายการผลิตและจ�ำหน่ายเอทานอล และไฟฟ้าชีวมวล ในปี 2558 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มอี นุมตั จิ ดั ตัง้ (1) บริษทั เกษตรไทยวิวฒ ั น์ จ�ำกัด ("KTW") เพือ่ บริหารและจัดการสินทรัพย์ของกลุม่ บริษทั ฯ (2) บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด ("KTIS R&D") เพือ่ รองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ

40


เหตุการณ์และกิจกรรมส�ำคัญในรอบปี 2561 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561 บริษัทฯ ลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือขับเคลื่อนการลงทุน Biocomplex เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) พื้นที่น�ำร่อง จังหวัดนครสวรรค์ ร่วมกับ บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน)

วันที่ 11 มิถนุ ายน 2561 บริษทั ฯ ให้การต้อนรับ ดร.สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะ ซึง่ ได้เข้าเยีย่ มชม โครงการผลิตปุย๋ อินทรีย์ จากของเหลือทิ้งอุตสาหกรรมน�้ำตาลและอุตสาหกรรมต่อเนื่องรวม รวมทั้งโครงการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เคมีส�ำหรับใช้ ในการปรับปรุงดินและทดแทนการใช้ ปุย๋ เคมีเพือ่ ลดต้นทุนการปลูกอ้อย ซึง่ โครงการวิจยั และพัฒนาดังกล่าวเป็นความร่วมมือกันระหว่างบริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด (KTBF) และสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)

วันที่ 11 มิถนุ ายน 2561 บริษทั ฯ ให้การต้อนรับ ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน และคณะได้เยีย่ มชมการผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพเอทานอลจากกากน�ำ้ ตาล ทีเ่ ป็นผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทรายของ บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด ทีต่ ำ� บลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

วันที่ 12 มิถนุ ายน 2561 บริษัทฯ ให้การต้อนรับ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และคุณกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระหว่างเยี่ยมชมบูธโครงการไบโอคอมเพล็กซ์ของกลุ่ม KTIS-GGC ภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานที่ (ครม.สัญจร) ครัง้ ที่ 4/2561 จังหวัดนครสวรรค์

วันที่ 22 สิงหาคม 2561 บริษทั ฯ ลงนามบันทึกความเข้าใจ ศึกษาความเป็นไปได้ ในการท�ำเทคโนโลยีเซลลูโลสมาใช้ ในการผลิตผลิตภัณฑ์ตอ่ ยอดจากชานอ้อย เพือ่ ต่อยอด โครงการนครสวรรค์ ไบโอคอมเพล็กซ์ ระยะที่ 2 ระหว่าง บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั เค็มโพลีส จากประเทศฟินแลนด์

ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีการลงทุนใน บริษทั ย่อยรวม 16 บริษทั และเช่าสินทรัพย์ถาวรจาก บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด (RPE) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (ณ วันที่ 30 กันยายน 2561)

บริษทั ย่อย

ประเภทธุรกิจ

ถือหุน้ ร้อยละ

บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด (TIS)

ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายทัง้ ในและต่างประเทศ

100.0

บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด (KTBE)

ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอลจากกากน�ำ้ ตาลทัง้ ในและต่างประเทศ

100.0

ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย และบรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อยทัง้ ในและต่างประเทศ

100.01

ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า

100.0

ลงทุนโดยการถือหุน้ ซึง่ ณ ปัจจุบนั ถือหุน้ ร้อยละ 26.0 ใน EPPCO

100.0

ผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ

100.0 ผ่าน KTBE

ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า

100.0

บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด (EPPCO) บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (KTBP) บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด (PSP) บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด (KTBF) บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด (TEP)

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

41


บริษทั ย่อย

ประเภทธุรกิจ

ถือหุน้ ร้อยละ

จัดหาทีด่ นิ เพือ่ รองรับการขยายธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ

100.0

ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า

100.0

ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย อยูร่ ะหว่างพิจารณาโครงการ

100.0 ผ่าน PSP

บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จ�ำกัด (LBE)

ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล อยูร่ ะหว่างพิจารณาโครงการ

100.02

บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (LBP)

ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า อยูร่ ะหว่างพิจารณาโครงการ

100.00 ผ่าน PSP

บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จ�ำกัด (KBGP)

ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า อยูร่ ะหว่างพิจารณาโครงการ

100.0

บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด (KBE)

ผลิตและจ�ำหน่ายเอทานอล อยูร่ ะหว่างพิจารณาโครงการ

100.0

บริษทั เกษตรไทยวิวฒ ั น์ จ�ำกัด (KTW)

บริหารและจัดการสินทรัพย์ของกลุม่ บริษทั ฯ

100.0

รองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ

100.0

บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด (SSK) บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (RPBP) บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด (LIS)

บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด (KTIS R&D)

1

ถือหุน้ ร้อยละ 74.0 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมดและถือหุน้ ผ่านบริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัดร้อยละ 26.0 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมด

2

ถือหุน้ ร้อยละ 98.0 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมดและถือหุน้ ผ่านบริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัดร้อยละ 2.0 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมด

42


บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

43

100%

ท�ำสัญญเช่า

RPE

LIS

TIS

กลุม่ ธุรกิจ น�ำ้ ตาล

100%

100%

98%

100%

100%

100%

100%

KBE

KBGP

LBP

LBE

KTBE

RPBP

TEP

KTBP

กลุม่ ธุรกิจ พลังงาน

100%

2%

100%

26%

EPPCO

74%

100%

PSP

กลุม่ ธุรกิจ เยือ่ กระดาษ

กลุม่ ธุรกิจ Holding

100%

KTIS

KTBF

กลุม่ ธุรกิจ ปุย๋

SSK

100%

กลุม่ ธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์

KTW

100%

กลุม่ ธุรกิจ บริหารทรัพย์สนิ

KTIS R&D

100%

กลุม่ ธุรกิจ วิจยั และพัฒนา


ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัท ในปี 2561 (9 เดือน) บริษทั ฯ มีรายได้จากการผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายเป็นหลักคิดเป็นสัดส่วนรวมร้อยละ 75.4 ของรายได้จากการขาย และบริการของบริษทั ฯ อีกทัง้ ยังมีรายได้จากธุรกิจต่อเนือ่ งจากการน�ำผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ เช่น เยือ่ กระดาษ ไฟฟ้า เอทานอล และปุย๋ ซึง่ สามารถคิดเป็น สัดส่วนรวมร้อยละ 24.6 ของรายได้จากการขายและบริการของบริษทั ฯ โดยมีรายละเอียดย้อนหลัง 3 ปีตามตารางแสดงรายได้ดงั ต่อไปนี้

2559 (12 เดือน) รายได้ (ล้านบาท)

2560 (12 เดือน)

ร้อยละ1

รายได้ (ล้านบาท)

2561 (9 เดือน)

ร้อยละ1

รายได้ (ล้านบาท)

ร้อยละ1

1.รายได้จากการขายน�ำ้ ตาลทรายและกากน�ำ้ ตาล ในประเทศ

5,261.9

35.1

5,326.6

30.4

3,878.5

22.4

ต่างประเทศ

6,074.1

40.5

8,178.0

46.7

9,178.4

53.0

17.0

0.1

-

0.0

-

0.0

11,353.0

75.7

13,504.6

77.1

13,056.9

75.4

ในประเทศ

220.8

1.5

259.6

1.5

213.2

1.2

ต่างประเทศ

675.4

4.5

1,001.2

5.7

1,003.4

5.8

รวมรายได้จากการขายเยือ่ กระดาษ

896.1

6.0

1,260.8

7.2

1,216.6

7.0

1,634.4

10.9

1,654.2

9.4

1,313.4

7.6

-

0.0

-

0.0

-

0.0

1,634.4

10.9

1,654.2

9.4

1,313.4

7.6

รายได้จากการจ�ำหน่ายไฟฟ้า

699.6

4.7

583.7

3.3

1,131.2

6.5

รายได้จากการขายและให้บริการอืน่ ๆ

422.5

2.8

521.4

3.0

587.5

3.4

1,122.1

7.5

1,105.1

6.3

1,718.7

9.9

15,005.6

100.0

17,524.6

100.0

17,305.7

100.0

ผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาล รวมรายได้จากการขายน�ำ้ ตาลทรายและกากน�ำ้ ตาล 2.รายได้จากการขายเยือ่ กระดาษ

3.รายได้จากการขายเอทานอล ในประเทศ ต่างประเทศ รวมรายได้จากการขายเอทานอล 4.รายได้จากการขายอืน่ ๆ

รวมรายได้อนื่ ๆ รวมรายได้ทงั้ หมด ทีม่ า : งบการเงินของบริษทั ฯ

44


ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตน�้ำตาลทรายรวมทั้งสิ้นประมาณ 88,000 ตันอ้อยต่อวัน สามารถจ�ำแนกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ น�้ำตาลทรายดิบ (Raw Sugar) น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) และน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิ์ (Refined Sugar)

1. น�ำ้ ตาลทรายดิบ (Raw Sugar) น�ำ้ ตาลทรายดิบ คือ น�ำ้ ตาลทรายที่ ลักษณะผลึกสีนำ�้ ตาลเข้มโดยมีคา่ สี 1001 ถึง 3800 ICUMSA1 และสิง่ เจือปนสูงไม่เหมาะแก่การบริโภค น�ำ้ ตาลทราย ชนิดนีจ้ ะต้องถูกน�ำเข้ากระบวนการท�ำให้บริสทุ ธิจ์ นเป็นน�ำ้ ตาลทรายขาว หรือน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิก์ อ่ นทีจ่ ะสามารถน�ำไปบริโภคได้ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ผลิตน�ำ้ ตาลทรายดิบ J-Spec ตามมาตรฐานของประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ เป็นน�ำ้ ตาลทรายดิบ เพือ่ การส่งออกไปประเทศญีป่ นุ่ โดยบริษทั ฯ มีความช�ำนาญในการผลิตน�ำ้ ตาลทรายดิบดังกล่าว และสามารถครองส่วนแบ่งทางการตลาด J-Spec ในระดับทีส่ งู

2. น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) น�ำ้ ตาลทรายขาว คือ น�ำ้ ตาลทรายดิบทีถ่ กู น�ำเข้ากระบวนการท�ำให้บริสทุ ธิเ์ พือ่ ท�ำการสกัดสิง่ เจือปนออกจากผลึกน�ำ้ ตาล ลักษณะผลึกมีสอี อ่ น กว่าน�ำ้ ตาลทรายดิบโดยมีคา่ สีตงั้ แต่ 46 ถึง 1000 ICUMSA โดยผลึกน�ำ้ ตาลจะมีสนี ำ�้ ตาลอ่อนหรือสีขาว เหมาะแก่การ น�ำไปใช้ ในอุตสาหกรรมการผลิตน�ำ้ อัดลม อาหารส�ำเร็จรูป และเพือ่ การบริโภคในครัวเรือน

3. น�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิ์ (Refined Sugar) น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ คือ น�้ำตาลทรายดิบที่ถูกน�ำเข้ากระบวนการท�ำให้บริสุทธิ์เพื่อท�ำการสกัดสิ่งเจือปนออกเช่นเดียวกับน�้ำตาลทรายขาว แต่มคี วามบริสทุ ธิส์ งู กว่าและมีผลึกเป็นสีขาวใส มีคา่ สีตงั้ แต่ 0 ถึง 45 ICUMSA โดยน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิเ์ หมาะแก่การใช้ ในอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการวัตถุดบิ ทีม่ คี วามบริสทุ ธิส์ งู เช่น อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมเครือ่ งดืม่ และเครือ่ งดืม่ บ�ำรุงก�ำลัง เป็นต้น ตารางต่อไปนีแ้ สดงลักษณะผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทรายของบริษทั ฯ

ผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทราย

ค่าสี (ICUMSA)

ค่าโพลาไรเซชัน่ 2 (ร้อยละ)

ค่าความชืน้ (ร้อยละ)

น�ำ้ ตาลทรายดิบ J-Spec (J-Spec Raw Sugar)

1001 - 3800

96.00 - 97.99

ไม่เกิน 0.6

น�ำ้ ตาลทรายดิบ (Raw Sugar)

1001 - 3800

ไม่นอ้ ยกว่า 98.00

ไม่เกิน 0.6

46 - 1000

ไม่นอ้ ยกว่า 99.50

ไม่เกิน 0.04

0 - 45

ไม่นอ้ ยกว่า 99.80

ไม่เกิน 0.04

น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) น�ำ้ ตาลทรายบริสทุ ธิ์ (Refined Sugar) ทีม่ า : บริษทั ฯ

น�ำ้ ตาล : สภาวะตลาดและการแข่งขัน ภาวะตลาดโลก น�้ำตาลเป็นหนึ่งในสินค้าที่ส�ำคัญที่สุดในโลก ผู้ผลิตน�้ำตาลรายใหญ่ ได้แก่ ประเทศบราซิล ประเทศอินเดีย ประเทศในสหภาพยุโรป ประเทศไทย และประเทศจีน โดยทวีปเอเชียมีผลผลิตน�ำ้ ตาลมากทีส่ ดุ คิดเป็น 38.2% ของปริมาณการผลิตทัว่ โลกในปีการผลิต 2560/2561 ประเทศไทยเป็นประเทศ ทีม่ กี ารผลิตน�ำ้ ตาลรายใหญ่อนั ดับ 3 ของโลก แต่อตั ราการบริโภคน�ำ้ ตาลในประเทศของประเทศไทยค่อนข้างน้อยเทียบกับการผลิต ส่งผลให้ประเทศไทย สามารถส่งออกน�ำ้ ตาลในปริมาณมากและเป็นประเทศผูส้ ง่ ออกน�ำ้ ตาลทีใ่ หญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก

1

ICUMSA เป็นหน่วยมาตรฐานทีใ่ ช้วดั ค่าสีของผลิตภัณฑ์นำ้� ตาลทราย น�ำ้ ตาลทรายทีม่ คี วามบริสทุ ธิม์ ากจะมีคา่ สีตำ�่ ค่าโพลาไรเซชัน่ แสดงถึงปริมาณน�ำ้ ตาลซูโครส เช่น 99.5% คือ ในน�ำ้ ตาลทราย 100 ส่วน มีปริมาณน�ำ้ ตาลซูโครสอยู่ 99.5 ส่วน ค่าโพลาไรเซชัน่ ยิง่ สูงแสดงว่ามีปริมาณน�ำ้ ตาลซูโครส อยูม่ าก หรือหมายถึงน�ำ้ ตาลทรายคุณภาพสูง

2

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

45


การเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญในตลาดน�ำ้ ตาลโลกในทศวรรษทีผ่ า่ นมา การเปิดเสรีทางการค้าน�ำ้ ตาลในบราซิล เมือ่ ประเทศบราซิลมีการเปิดเสรีทางการค้าน�ำ้ ตาลเป็นครัง้ แรกและการควบคุมถูกละเลย ท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล ของประเทศและมีปริมาณการส่งออกน�้ำตาลที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ เนื่องจากประเทศบราซิลเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุดในตลาดโลก ปัจจัยใดก็ตาม ทีส่ ง่ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จะส่งผลกระทบต่อตลาดน�ำ้ ตาลทัว่ โลก เช่น การเคลือ่ นไหวของค่าเงินเรียลบราซิล นโยบายด้านน�ำ้ ตาลและเอทานอล โดย Petrobras เป็นต้น ในปี 2561 ผู้ผลิตของประเทศบราซิลพยายามเพิ่มการผลิตเอทานอลให้มากที่สุด เนื่องจากราคาน�้ำตาลในตลาดโลกลดลง ในขณะทีค่ า่ เงินเรียลบราซิลอ่อนค่าท�ำให้ ได้รบั เงินดอลล่าร์สหรัฐน้อยลงในการผลิตเป็นน�ำ้ ตาลเมือ่ เทียบกับการผลิตเป็นเอทานอล

ผลผลิตน�ำ้ ตาลทีล่ ดต�ำ่ ลงของประเทศในสหภาพยุโรป แต่จะเริม่ ต้นการส่งออกน�ำ้ ตาลตัง้ แต่ปี 2560 ในปี 2547 องค์การการค้าโลก (WTO) ได้ตัดสินว่าเงินอุดหนุนน�้ำตาลของประเทศในสหภาพยุโรปละเมิดข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและ การค้า (GATT) จึงได้ตัดการสนับสนุนการผลิตน�้ำตาลของประเทศในสหภาพยุโรป ดังนั้น ประเทศในสหภาพยุโรปต้องทบทวนระบบและจ�ำกัดการผลิต และการส่งออกน�ำ้ ตาล อย่างไรก็ตามตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2560 ระบบนีถ้ กู ยกเลิกการควบคุมและการส่งออกจะเพิม่ ขึน้ เป็น 3.5 ล้านตันจาก 1.4 ล้านตัน ในปี 2560/2561 ในขณะที่ ปี 2561/2562 คาดว่าผลผลิตน�ำ้ ตาลจะลดลงเนือ่ งจากสภาพอากาศทีแ่ ห้งในพืน้ ทีป่ ลูกอ้อยทีส่ ำ� คัญ

การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในกลุม่ อาเซียน การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ งของประเทศในแถบเอเชียโดยเฉพาะประเทศจีน ประเทศอินเดียและประเทศในกลุม่ อาเซียน ท�ำให้การบริโภคและ การผลิตน�ำ้ ตาลในภูมภิ าคเพิม่ สูงขึน้ ปัจจุบนั การผลิตน�ำ้ ตาลของประเทศในกลุม่ เอเชียอยูท่ ปี่ ระมาณ 70-80 ล้านตันต่อปี ในขณะทีป่ ริมาณการบริโภคสูงกว่า การผลิต ดังนัน้ มีความต้องการการน�ำเข้าน�ำ้ ตาลมากกว่า 20.0 ล้านตันต่อปี

ภาษีนำ�้ ตาล ภาษีนำ�้ ตาลในประเทศไทยถูกประกาศใช้ ในเดือนตุลาคม 2560 และฟิลปิ ปินส์ ได้มกี ารประกาศใช้ภาษีนำ�้ ตาลในเดือนมกราคม 2561 โดยตัง้ แต่ปี 2559 WTO แนะน�ำให้มรี ะบบภาษีนำ�้ ตาลเพือ่ ลดการบริโภคน�ำ้ อัดลมซึง่ มีผลท�ำให้เกิดโรคอ้วน หลังจากนัน้ ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศเม็กซิโกเริม่ ประกาศใช้ ในบางส่วนของประเทศ และจนถึงขณะนีป้ ระเทศอินเดียและประเทศอังกฤษได้มกี ารใช้ภาษีนำ�้ ตาลเช่นกัน นอกจากนีโ้ ดยเฉพาะอย่างยิง่ ในอาเซียน มีบางประเทศ ก�ำลังพิจารณาเกีย่ วกับระบบภาษีนำ�้ ตาลดังกล่าว การเคลือ่ นไหวดังกล่าวอาจท�ำให้ปริมาณการบริโภคน�ำ้ ตาลลดลง

การลงทุนในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ทสี่ งู ขึน้ จากกองทุนและนักเก็งก�ำไร ในช่วง 10 ปีทผี่ า่ นมา กองทุนและนักเก็งก�ำไรได้เพิม่ การลงทุนในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและน�ำ้ ตาล ส่งผลกระทบต่อ ความผันผวนของราคาน�้ำตาลและได้รับอิทธิพลจากสิ่งที่ไม่ใช่ปัจจัยพื้นฐานเช่นตลาดมาโคร(Macro Market) ตัวชี้วัดทางเทคนิค สกุลเงินและการผลิต เอทานอลเทียบกับน�ำ้ ตาล (Ethanol Parity)

อุปสงค์และอุปทานของน�ำ้ ตาล ในปี 2560 - 2561 ผลผลิตน�ำ้ ตาลทัว่ โลกคาดว่าจะอยูท่ ปี่ ระมาณ 194.2 ล้านตันซึง่ เป็นตัวเลขทีส่ งู มากเป็นประวัตกิ ารณ์จากผลผลิตทีส่ งู ขึน้ มาก ในประเทศอินเดียและประเทศไทย ในขณะทีก่ ารบริโภคน�ำ้ ตาลทัว่ โลกคาดว่าจะอยูท่ ปี่ ระมาณ 182.0 ล้านตันสูงเป็นประวัตกิ ารณ์เช่นเดียวกัน แต่ตวั เลขยังคง ต�ำ่ กว่าผลผลิตน�ำ้ ตาล ดังนัน้ อุปทาน/อุปสงค์นำ�้ ตาลทัว่ โลก จะมีนำ�้ ตาลส่วนเกินปริมาณมาก แม้วา่ Central South ของประเทศบราซิลคาดว่าจะมีผลผลิต น�้ำตาลลดลงจากการไปเพิ่มการผลิตเอทานอลแทนให้มากที่สุด แต่ก็ ไม่เพียงพอที่จะชดเชยส่วนเกินที่มีมาก เป็นผลให้ราคาน�้ำตาลทั่วโลกร่วงลงและ แตะระดับต�ำ่ สุดในรอบ 10 ปีในเดือนสิงหาคม 2561 ในปี 2561/2562 คาดว่าอุปสงค์และอุปทานทั่วโลกจะเกินดุลต่อเนื่องเป็นเวลา 2 ปี ประเทศอินเดียคาดว่ามีผลผลิตมากกว่า 33 ล้านตันและ กลายเป็นผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลรายใหญ่แซงประเทศบราซิล อย่างไรก็ตามประเทศบราซิล, ประเทศในสหภาพยุโรปและประเทศไทยคาดว่าจะมีผลผลิตน�ำ้ ตาลลดลง ดังนัน้ จะท�ำให้ปริมาณน�ำ้ ตาลทีเ่ หลือมากจะหดเหลือ 2.0 - 5.0ล้านตัน Source : LMC, Monthly Sugar Supply/Demand Update, A supplement to the Sugar Quarterly July 2018

46


เมือ่ วันที่ 15 มกราคม 2561 รัฐบาลประกาศยกเลิกการก�ำหนดราคาน�ำ้ ตาลหน้าโรงงานและยกเลิกการก�ำหนดโควตาน�ำ้ ตาลทรายภายในประเทศ เพือ่ ใช้บริโภคในราชอาณาจักรเป็นหนึง่ ในแผนการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายทัง้ ระบบ โดยรัฐบาลได้ ให้ความเห็นชอบแผนการปรับ โครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายทัง้ ระบบ พ.ศ. 2559 - 2564 ซึง่ ต้องมีการปรับปรุงแก้ ไขกฎและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องให้เป็นสากลและสอดคล้องกับ พันธกรณีระหว่างประเทศ เพื่อให้การด�ำเนินการตามแผนการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลทรายทั้งระบบสามารถบรรลุผลส�ำเร็จ สร้างความเป็นธรรมต่อผู้บริโภค ชาวไร่อ้อย และ โรงงานน�้ำตาลทราย อันจะเป็นประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจทั้งภาคการเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ของประเทศ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วันที่ 15 มกราคม 2561 โดยมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ในปีการผลิต 2560/2561 ประเทศไทยสามารถผลิตน�ำ้ ตาลทรายได้ทงั้ หมด 14.71 ล้านตัน ในขณะทีก่ ารบริโภคในประเทศประมาณ 2.60 ล้านตัน ซึง่ ถือว่าสามารถผลิตน�ำ้ ตาลทรายได้เกินอุปสงค์การบริโภคในประเทศ น�ำ้ ตาลทรายจึงเหลือส่งไปจ�ำหน่ายต่างประเทศในปีการผลิต 2560/2561 ประเทศไทย มีการส่งออกน�้ำตาลทรายประมาณ 12.11 ล้านตัน ส่วนราคาจ�ำหน่ายปลีกน�้ำตาลภายในประเทศ มีการควบคุมโดยกระทรวงพาณิชย์ โดยประกาศ คณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ฉบับที่ 21 พ.ศ. 2561 เรือ่ ง การก�ำหนดราคาและหลักเกณฑ์เงือ่ นไขในการจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย ในปีการผลิต 2560/2561 ประเทศไทยมีโรงงานน�ำ้ ตาลทัง้ หมด 54 โรงงาน ผลิตน�ำ้ ตาลทรายได้ทงั้ สิน้ 14.71 ล้านตัน ดังต่อไปนี้

กลุม่

จ�ำนวนบริษทั ฯ ในกลุม่ (โรงงาน)

ผลผลิตน�ำ้ ตาล (ตัน)

ส่วนแบ่งตลาด (ร้อยละ)

กลุม่ โรงงานน�ำ้ ตาลมิตรผล

6

2,725,988.0027

19.71

กลุม่ โรงงานน�ำ้ ตาลไทยรุง่ เรือง

9

2,500,638.6131

15.74

กลุม่ โรงงานเคทิส

3

1,185,177.2200

9.35

กลุม่ โรงงานน�ำ้ ตาลขอนแก่น

5

1,200,519.0700

7.23

กลุม่ น�ำ้ ตาลคริสตอลลา

3

674,088.5580

5.42

กลุม่ อุตสาหกรรมน�ำ้ ตาลโคราช

2

913,949.1250

4.88

กลุม่ น�ำ้ ตาลบ้านโป่ง

2

524,635.9740

4.40

กลุม่ โรงงานน�ำ้ ตาลวังขนาย

4

786,880.1970

3.85

กลุม่ น�ำ้ ตาลกุมภวาปี

2

413,307.5182

2.79

กลุม่ น�ำ้ ตาลไทยกาญจนบุรี

2

350,489.0570

2.71

น�ำ้ ตาลครบุรี

1

437,325.8350

2.67

กลุม่ น�ำ้ ตาลมิตรเกษตร

2

320,014.5339

2.25

อืน่ ๆ

13

2,678,822.2830

19.00

รวม

54

14,711,435.9869

100.00

ทีม่ า : รายงานการผลิตอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายฉบับปิดหีบอ้อย (ปรับปรุง) ปีการผลิต 2560/2561 (ฉบับปิดหีบ), ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�ำ้ ตาล

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

47


กลยุทธ์การแข่งขันของบริษทั ฯ - น�ำ้ ตาล 1. ความมัน่ คงทางด้านวัตถุดบิ บริษทั ฯ มุง่ เน้นการลงทุน และพัฒนาคุณภาพและแหล่งเพาะปลูกอ้อยอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในด้านวิชาการ การบริการ การพัฒนาชาวไร่ และการพัฒนา ระบบเก็บเกีย่ วอ้อย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากอ้อยเป็นวัตถุดบิ หลักของกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย ดังนัน้ การจัดหาวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพอย่างต่อเนือ่ งและเพียงพอ จะท�ำให้ภาพรวมของธุรกิจน�ำ้ ตาลทราย และธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งของบริษทั ฯ มัน่ คงและยัง่ ยืน

2. ยกระดับประสิทธิภาพการผลิต และลดต้นทุนผลิตต่อหน่วย บริษทั ฯ มีการลงทุนด้านการผลิตอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในด้านบุคลากรและเครือ่ งจักรเพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการผลิต นอกจากนีย้ งั มีแผนการปรับปรุง กระบวนการผลิตอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถลดต้นทุนคงทีต่ อ่ หน่วย โดยบริษทั ฯ มีทมี วิศวกรทีม่ คี วามสามารถในการพัฒนาเครือ่ งจักรขึน้ เอง จึงสามารถดูแลและซ่อมแซมเครือ่ งจักรส่วนใหญ่ได้เองโดยพึง่ พาบุคคลภายนอกน้อยมาก

3. มาตรการลดผลกระทบทางธรรมชาติ บริษัทฯ เล็งเห็นถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากผลกระทบทางธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง และภัยจากศัตรูพืช ดังนั้นบริษัทฯ ได้จัดท�ำมาตรการแก้ ไข และป้องกันผลกระทบทางธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นต่อวัตถุดิบ โดยบริษัทฯจัดท�ำโครงการ การแนะน�ำชาวไร่ในการดูแลของกลุ่มบริษัทฯ ให้ ใช้ผลงานวิจัย ด้านไร่ของบริษทั ฯ เช่น การใช้ระบบน�ำ้ หยดบนดินเพือ่ ประหยัดการให้นำ�้ ในฤดูแล้ง การพัฒนาการป้องกันศัตรูพชื อ้อยโดยใช้วธิ ชี วี ภาพ การปล่อยแมลง ทีส่ ามารถท�ำลายศัตรูพชื ในไร่ เช่น แตนเบียนไข่ แตนเบียนหนอน และแมลงหางหนีบ เป็นต้น

4. เพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ทงั้ ผลิตภัณฑ์หลัก ผลิตภัณฑ์พลอยได้ วัสดุเหลือใช้และของเสียจากกระบวนการผลิต บริษทั ฯ มีวสิ ยั ทัศน์ในการน�ำผลิตภัณฑ์พลอยได้จากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทรายมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพือ่ เพิม่ มูลค่าและผลก�ำไรของบริษทั ฯ อีกทั้งเพื่อเป็นการลดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากกระบวนการผลิต โดยบริษัทฯ ได้มีการร่วมศึกษากับพันธมิตรผู้ร่วมลงทุน คือ บริษัท ซูมิโตโม คอร์ปอเรชั่น ไทยแลนด์ จ�ำกัด เพือ่ หาแนวทางเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ ง

ช่องทางการจ�ำหน่าย - น�ำ้ ตาล 1. กลุม่ ลูกค้าอุตสาหกรรม กลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรมเป็นลูกค้าที่มีความต้องการน�ำผลิตภัณฑ์น�้ำตาลทรายไปใช้ ในกระบวนการผลิตสินค้า โดยลูกค้าประเภทอุตสาหกรรม จะมีการท�ำสัญญาซื้อน�้ำตาลทรายกับบริษัทฯ เป็นรายปีและสั่งซื้อในปริมาณสูง กลุ่มลูกค้าประเภทอุตสาหกรรมจึงถือเป็นลูกค้ากลุ่มใหญ่ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ สามารถจัดจ�ำหน่ายสินค้าน�ำ้ ตาลทรายให้กับลูกค้าประเภทนี้จ�ำนวนมากเนื่องจากมีความมั่นคงของปริมาณสินค้าที่กลุ่มบริษัทฯ สามารถ ผลิตและจัดส่งให้ลกู ค้าได้ตรงเวลาและคุณภาพของสินค้าได้รบั ความไว้วางใจ สัดส่วนของการจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายทัง้ หมดของบริษทั ฯ แบ่งตามประเภท อุตสาหกรรมดังนี้

ส�ำหรับปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ ประเภทลูกค้า

31 ธ.ค. 59 (ข้อมูลทางการขาย) ปริมาณ1 (ตัน)

ร้อยละ

31 ธ.ค. 60 (ข้อมูลทางการขาย) ปริมาณ1 (ตัน)

ร้อยละ

30 ก.ย. 61 (9 เดือน) (ข้อมูลทางการขาย) ปริมาณ1 (ตัน)

ร้อยละ

หมวดเครือ่ งดืม่

85,775.61

41.98

80,532.95

51.42

53,162.52

51.84

หมวดอาหาร

41,643.82

20.38

23,123.70

14.76

11,453.80

11.16

1

รวมยอดของโรงงานน�ำ้ ตาลทรายทัง้ สิน้ 3 โรงงานกล่าวคือ 1. โรงงานน�ำ้ ตาลทราย ซึง่ ด�ำเนินการภายใต้ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) (บริษทั ฯ) 2. โรงงานน�ำ้ ตาลทราย ซึง่ ด�ำเนินการภายใต้ บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด (TIS) 3. โรงงานน�ำ้ ตาลทราย ซึง่ ณ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้ทำ� การเช่าระยะยาวจาก บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด (RPE)

48


ส�ำหรับปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ ประเภทลูกค้า

31 ธ.ค. 59 (ข้อมูลทางการขาย) ปริมาณ1 (ตัน)

หมวดผลิตภัณฑ์นม หมวดลูกกวาด รวมจ�ำนวนผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทราย ทัง้ หมดของลูกค้าในประเทศ

31 ธ.ค. 60 (ข้อมูลทางการขาย)

ร้อยละ

ปริมาณ1 (ตัน)

30 ก.ย. 61 (9 เดือน) (ข้อมูลทางการขาย)

ร้อยละ

ปริมาณ1 (ตัน)

ร้อยละ

76,384.19

37.38

52,929.30

33.80

37,764.22

36.82

527.00

0.26

30.00

0.02

180.00

0.18

204,330.62

100.00

156,615.95

100.00

102,560.54

100.00

ทีม่ า : บริษทั ฯ

2. กลุม่ ผูก้ ระจายสินค้า (ยีป่ ว๊ั ) บริษัทฯ มีการจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์น�้ำตาลทรายผ่านผู้กระจายสินค้าโดยท�ำการจัดจ�ำหน่ายหน้าโรงงาน บริษัทฯ มีรายได้จากการขาย ให้ผู้กระจายสินค้า คิดเป็นสัดส่วนที่น้อยเมื่อเทียบกับกลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรม การจัดจ�ำหน่ายให้ผู้กระจายสินค้าอาจต้องท�ำการขายโดยให้ส่วนลด จากการส�ำรวจราคาเฉลีย่ ของน�ำ้ ตาลทรายภายในราชอาณาจักรทีข่ ายได้จริงในหนึง่ เดือน ทัง้ นีส้ ว่ นลดขึน้ อยูก่ บั สภาวะตลาดของผูซ้ อื้ ว่ามีความต้องการ น�ำ้ ตาลทรายมากน้อยเพียงใด

3. ลูกค้าต่างประเทศ บริษัทฯ ส่งออกสินค้าน�้ำตาลทรายส่วนใหญ่ให้กับลูกค้าจากประเทศญี่ปุ่นซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 60.0 ของรายได้การขาย น�้ำตาลทรายต่างประเทศทั้งหมด ทั้งนี้ลูกค้าต่างประเทศของบริษัทฯ เป็นประเภทเทรดเดอร์ที่รู้จักกันในวงการอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย เช่น Alvean Sugar, S.L., Bunge Agribusiness Singapore Pte. Ltd., Sumitomo Corporation, Marubeni Europe Plc. และ Mitsubishi Corporation เป็นต้น ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อเทรดเดอร์ในประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ เป็นกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายของบริษทั ฯ ในการส่งออกน�ำ้ ตาลทรายดิบ J - Spec

ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย และบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อย บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ผ่าน EPPCO ซึง่ มีกำ� ลังการผลิตทัง้ สิน้ ประมาณ 100,000 ตันต่อปี โรงงาน EPPCO เป็นโรงงานผลิตเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยแห่งเดียวในประเทศไทยที่ ใช้วตั ถุดบิ หลักคือชานอ้อย ซึง่ เป็นวัสดุเหลือใช้จากกระบวนการผลิต น�ำ้ ตาลทรายของบริษทั ฯ ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ของ EPPCO สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิดได้แก่ เยือ่ กระดาษแห้ง และเยือ่ กระดาษเปียกและบรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจาก เยือ่ ชานอ้อย

1. เยือ่ กระดาษแห้ง (Dry Pulp) เยือ่ กระดาษแห้ง คือ เยือ่ กระดาษทีผ่ ลิตได้จากวัตถุดบิ ชานอ้อย มีความชืน้ ประมาณร้อยละ 10.0 - 12.0 มีนำ�้ หนักต่อก้อนประมาณ 250 กิโลกรัม ความสว่างของเยือ่ กระดาษมีคา่ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80.0 ISO1 มีคา่ ความสกปรกของเยือ่ (TAPPI Dirt Count) ไม่สงู กว่า 10 ppm2 เยือ่ กระดาษแห้งสามารถ เก็บได้นาน EPPCO จัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษแห้งทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ โดยผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวถือเป็นผลิตภัณฑ์หลักของธุรกิจเยือ่ กระดาษฟอกขาว จากชานอ้อย

2. เยือ่ กระดาษเปียก (Wet Pulp) เยือ่ กระดาษเปียก คือ เยือ่ กระดาษทีผ่ ลิตได้จากวัตถุดบิ ชานอ้อย มีความชืน้ ประมาณร้อยละ 50.0 - 52.0 มีนำ�้ หนักต่อก้อนประมาณ 225 กิโลกรัม แต่มคี า่ ความสว่างและค่าความสกปรกของเยือ่ (TAPPI Dirt Count) เทียบเท่ากับเยือ่ กระดาษแห้ง เยือ่ กระดาษเปียกสามารถน�ำไปใช้ ในกระบวนการผลิต กระดาษได้ง่ายกว่าเยื่อกระดาษแห้ง เนื่องจากมีความชื้นที่สูงกว่า ส่งผลให้ประหยัดเวลาในกระบวนการน�ำเยื่อกระดาษกลับไปต้มน�้ำอีกครั้ง อย่างไรก็ดี เยื่อกระดาษเปียกมีอายุการเก็บรักษาสั้นกว่า และมีค่าใช้จ่ายในการขนส่งที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับเยื่อกระดาษแห้ง ดังนั้น EPPCO จึงจัดจ�ำหน่าย เยือ่ กระดาษเปียกภายในประเทศเท่านัน้ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

49


3. บรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย (Pulp Mould) บรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย คือการน�ำเยือ่ ชานอ้อยมาผลิตเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ชนิดต่างๆโดยใช้เยือ่ ชานอ้อยทีท่ างโรงงาน EPPCO ผลิตได้มาเป็น วัตถุดิบ 100% บรรจุภัณฑ์ดังกล่าวนี้เป็นบรรจุภัณฑ์ที่สามารถย่อสลายได้ตามธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับ แนวโน้มความต้องการผลิตภัณฑ์ที่ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งตลาดภายในประเทศและทั่วโลกที่มีเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ เยือ่ ชานอ้อยทีท่ าง EPPCO ผลิตได้อกี ด้วย

สภาวะตลาดและการแข่งขัน - เยือ่ กระดาษ 1. ภาวะอุตสาหกรรมตลาดโลก ในปี 2561 สถานการณ์อตุ สาหกรรมเยือ่ และกระดาษเริม่ ปรับตัวดีขนึ้ จากปัจจัยด้านเศรษฐกิจโลกและนโยบายการห้ามน�ำเข้าเศษกระดาษคุณภาพต�ำ่ ของประเทศจีน มีผลท�ำให้ ราคาเยือ่ กระดาษปรับตัวสูงขึน้ ได้มาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ เยือ่ ใยสัน้ Bleached Eucalyptus Wood Pulp คาดการณ์ ราคาเฉลีย่ ของเยือ่ ใยสัน้ ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2561 อยูท่ ี่ 770 - 790 usd/ton มีการปรับตัวสูงขึน้ จากปี 2560 ถึงประมาณ 100 - 120 usd/ton และคาดว่าราคาขาย จะยังทรงตัวอยูใ่ นระดับสูงนีต้ อ่ ไปจนถึงสิน้ ปี 2561 ส่วนราคาในปี 2562 นัน้ คาดว่าราคาเยือ่ อาจจะมีการอ่อนตัวลงเล็กน้อยเพือ่ เป็นการปรับเพือ่ รักษา ระดับราคาขายให้อยูใ่ นระดับทีผ่ ซู้ อื้ สามารถรับได้และสามารถซือ้ ในปริมาณทีม่ ากขึน้ ได้ 1.1 ภาวะราคาขายเยือ่ กระดาษในเดือน สิงหาคม 2561 ราคาเยือ่ ทีข่ ายในประเทศจีน เยือ่ ใยยาวมีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากราคา 650 - 660 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ใน เดือนสิงหาคม 2560 มาอยูท่ ี่ 870 - 900 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน ในเดือนสิงหาคม 2561 ส่วนราคาเยื่อใยสั้น มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากราคา 630 - 650 ดอลลาร์สหรัฐฯ ในเดือนสิงหาคม 2560 มาอยูท่ ี่ 770 - 780 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในเดือนสิงหาคม 2561 ราคาเยือ่ ทีข่ ายในกลุม่ ประเทศเอเชียตะวันออกอืน่ ๆ เยือ่ ใยยาว มีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากราคา 610 - 650 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตันใน เดือนสิงหาคม 2560 มาอยูท่ ี่ 885 - 925 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในเดือนสิงหาคม 2561 ส่วนราคาเยือ่ ใยสัน้ มีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากราคา 600 - 640 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตันในเดือน สิงหาคม 2560 มาอยูท่ ี่ 770 - 805 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในเดือนสิงหาคม 2561 ทีม่ า : PPI ASIA วันที่ 3 กันยายน 2561

1.2 คาดการณ์ภาวะตลาดโลกใน ปี 2562 ในปี 2562 มีแนวโน้มสถานการณ์อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษเริ่มมีการขยายตัวจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจโลกที่มีการฟื้นตัวอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป โดยเฉพาะอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีท่ ำ� จากเยือ่ และกระดาษ สภาวะ over supply ของเยือ่ กระดาษ และกระดาษ อยูใ่ นระดับทรงตัว ส่งผลท�ำให้ราคาเยือ่ กระดาษ ทีอ่ ยูใ่ นระดับสูงยังคงด�ำรงอยูต่ ลอดปี แต่จะไม่สามารถปรับตัวสูงขึน้ ได้มากนักเนือ่ งจากได้มกี ารปรับ สูงขึน้ ตลอดในปี 2561 แล้ว แต่คาดการณ์วา่ ด้วยการขยายตัวด้านการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์อาหารทีผ่ ลิตจากเยือ่ บริสทุ ธิ์ และนโยบายด้านสิง่ แวดล้อม ของประเทศจีน ที่ยังคงมีการควบคุมการน�ำเข้าเศษกระดาษคุณภาพต�่ำที่มีปริมาณสิ่งเจือปนมาในปริมาณสูง ก่อให้เกิดขยะในปริมาณมากและ เป็นภาระในการก�ำจัด จะส่งผลให้มกี ารใช้เยือ่ กระดาษมากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เยือ่ ใยสัน้ Bleached Eucalyptus Wood Pulp ซึง่ จะเป็นปัจจัยที่ ส่งเสริมให้ราคาเยือ่ กระดาษจะไม่ปรับตัวลดลงมากนัก ในด้านของแผนการลงทุนขยายก�ำลังการผลิตเยือ่ กระดาษ ในปี 2562 ส่วนของเยือ่ ใยสัน้ Eucalyptus ในทวีปอเมริกาใต้ ยังไม่มกี ารเพิม่ เติม ในขณะทีอ่ ปุ สงค์ของการใช้เยือ่ กระดาษจะค่อยๆเพิม่ ขึน้ ในปี 2562 จึงคาดการณ์ความต้องการใช้เยือ่ ในภูมภิ าคนีจ้ ะเพิม่ ขึน้ และท�ำให้ราคาขายเยือ่ ในตลาดโลกจะยังคงทรงตัวอยูใ่ นระดับสูง

2. ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ ดัชนีผลผลิตฯ การส่งออกเยื่อกระดาษ กระดาษและสิ่งพิมพ์ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2561 ปรับตัวเพิ่มขึ้นในกลุ่มเยื่อกระดาษ กระดาษและผลิตภัณฑ์ หนังสือและสิง่ พิมพ์ เมือ่ เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีกอ่ น เนือ่ งจากความต้องการบริโภคของบรรจุภณ ั ฑ์ โดยเฉพาะตลาดอาเซียนทีเ่ ป็นตลาดส่งออกหลัก เติบโตต่อเนือ่ ง รวมถึงความต้องการบริโภคในประเทศทีข่ ยายตัว ส่งผลให้บรรจุภณ ั ฑ์จากกระดาษมีอตั ราการเติบโตเพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ ง

50


2.1 การผลิตเยือ่ และกระดาษ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2561 ดัชนีฯ เพิม่ ขึน้ จากกลุม่ เยือ่ กระดาษ และกระดาษพิมพ์เขียนขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 14.92 และ 4.35 ตามล�ำดับเมือ่ เทียบกับ ไตรมาสก่อนและเมือ่ เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีกอ่ น ดัชนีฯเพิม่ ขึน้ จากกลุม่ เยือ่ กระดาษ กระดาษแข็ง และกระดาษคร๊าฟร้อยละ 6.57 และ 5.78 ตามล�ำดับจากปริมาณความต้องการบรรจุภัณฑ์ ในประเทศและตลาดอาเซียนที่เป็นตลาดส่งออกหลักเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้บรรจุภัณฑ์ จากกระดาษมีอตั ราการเติบโตเพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ ง 2.2 การส่งออกเยือ่ กระดาษ และกระดาษสิง่ พิมพ์ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2561 มีมลู ค่า 554.53 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ชะลอตัวเล็กน้อย ร้อยละ 0.42 เมือ่ เทียบกับไตรมาสก่อนแต่เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 23.95 เมือ่ เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีกอ่ น จากการส่งออกเยือ่ กระดาษชนิดไม้เคมีละลายน�ำ้ ได้เพิม่ ขึน้ กว่าร้อยละ 70 ไปยังประเทศคูค่ า้ หลักอย่างจีน ในส่วนกระดาษและผลิตภัณฑ์สง่ ออกเพิม่ ขึน้ ไปเวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ส�ำหรับหนังสือพิมพ์และสิง่ พิมพ์ เพิม่ ขึน้ จากฟิลปิ ปินส์ ในประเภท สิง่ พิมพ์กระดาษทีม่ ตี ราแสตมป์ ธนบัตร สมุดเช็ค เป็นต้น 2.3 การน�ำเข้าเยือ่ กระดาษ กระดาษและสิงพิมพ์ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2561 มีมลู ค่า 627.60 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยร้อยละ 0.39 เมือ่ เทียบกับไตรมาสก่อน และเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 11.26 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จากการน�ำเข้าเยื่อกระดาษ กระดาษและผลิตภัณฑ์ กระดาษชนิดที่ไม่สามารถผลิตได้ ในประเทศเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตามกลุม่ หนังสือและสิง่ พิมพ์ น�ำเข้าลดลง ร้อยละ 19.11 จากความนิยมสือ่ สิง่ พิมพ์ประเภทต่างๆถูกแทนทีด่ ว้ ยสือ่ ดิจติ อล

นโยบายภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง ตามมติคณะกรรมการค่าจ้าง เห็นชอบให้มกี ารปรับขึน้ อัตราค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ 7 อัตราตามกลุม่ จังหวัด ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่ 1 เมษายน 2561 เป็นต้นไปนัน้ ผูป้ ระกอบการอาจต้องปรับปรุงกระบวนการผลิตเพือ่ ลดต้นทุนหรือปรับเปลีย่ นให้มกี ารน�ำเข้าเครือ่ งจักรมาใช้ ในการปรับปรุงกระบวนการผลิตให้มคี ณ ุ ภาพ และประสิทธิภาพมากขึน้ ตามความต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ทหี่ ลากหลาย คาดว่าตลาดอาเซียนจะเป็นตลาดส่งออกหลักทีข่ ยายตัวและเติบโตต่อเนือ่ ง

การส่งออก - น�ำเข้าเยือ่ กระดาษ และสิง่ พิมพ์ หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ

ส่งออก

น�ำเข้า

ทีม่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงพานิชย์

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

51


ดัชนีผลผลิตอุตสหกรรมเยือ่ กระดาษและกระดาษ

ทีม่ า : ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสหกรรม

สถานการณ์การผลิตภาคอุตสหกรรม Indicators

2559

2560

2561

%YoY

Year

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค

พ.ย.

ธ.ค.

Year

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มี.ย.

Year(f)

MPI*

1.4

1.0

4.0

5.6

5.3

1.0

6.3

5.8

2.5

4.7

4.6

3.2

3.1

2.9

4.7

3.0

* MPI ได้มกี ารปรับปรุงดัชนีอตุ สหกรรมประจ�ำปี 2561 โดยได้มกี ารแบ่งการจัดหมวดสินค้าอุตสหกรรมตาม ISIC Rev.4 คลอบคลุมจ�ำนวน 21 สาขา 57 กลุม่ อุตสกรรม 235 ผลิตภัณฑ์ และจัดท�ำดรรชนีอตุ สหกรรมโดยใช้สตู รลาสแปร์ (Laspeyres) ปีฐาน 2554 ถ่วงน�ำ้ หนัก (Fexied Weight) ด้วยภาษีมลู ค่าเพิม่ และมูลค่าผลผลิต ทีอ่ า้ งอิงจากการส�ำรวจส�ำมะโนธุรกิจ และอุตสหกกรรม พ.ศ.2555 : อุตสหกรรมการผลิต ของส�ำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ ทัง้ นี้ ได้มกี ารปรับปรุงค่าถ่วงน�ำ้ หนักด้วยมูลค่เพ่มิ ทีส่ ะท้อนกับโครงสร้างอุตสหกรรมในปัจจุบนั

ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเดือนมิถนุ ายน 2561 ยังคงขยายตัวเป็นบวกต่อเนือ่ งเป็นเดือนที่ 14 นับจากเดือนพฤษภาคม 2560 โดยดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรม (MPI) ขยายตัวร้อยละ 4.7 จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น เป็นผลจากการส่งออกทีฟ ่ น้ื ตัวตามภาวะเศรษฐกิจโลกอย่างต่อเนือ่ ง โดยการส่งออก ภาคอุตสาหกรรมเดือนมิถนุ ายน 2561 ขยายตัวร้อยละ 3 เมื่อพิจารณาข้อมูล MPI ย้อนหลัง 3 เดือน เทียบกับปีก่อน (%YOY) จะเห็นได้ว่าแนวโน้มการผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวอย่างต่อเนื่อง มาโดยตลอด กล่าวคือ ในเดือนมีนาคมมีอัตราการเปลี่ยนแปลงร้อยละ 3.2 เดือนเมษายนร้อยละ 3.1 และเดือนพฤษภาคมร้อยละ 2.9 ส่งผลให้ MPI ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2561 ขยายตัวเฉลีย่ ร้อยละ 3.9 ซึง่ เป็นการปรับตัวดีขนึ้ ค่อนข้างมากเมือ่ เทียบกับช่วง 6 เดือนแรกของปี 2560 ที่ MPI ขยายตัว เฉลีย่ เพียงร้อยละ 0.5 สะท้อนทิศทางการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมทีแ่ ข็งแกร่งและมีเสถียรภาพมากยิง่ ขึน้ ทัง้ นี้ คาดการณ์วา่ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมในปี 2561 จะขยายตัวเป็นบวกเฉลีย่ ประมาณร้อยละ 3.0 โดยการส่งออกเป็นแรงขับเคลือ่ นส�ำคัญ ซึง่ สอดคล้องกับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจคูค่ า้ ทีข่ ยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง ประกอบกับการใช้จา่ ยภาครัฐยังคงเป็นแรงหนุนทีส่ ำ� คัญ นอกจากนีค้ วามคืบหน้า ของโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ของภาครัฐที่ส�ำคัญ และการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน คาดว่าจะมีส่วนช่วยเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ภาคธุรกิจและส่งเสริมบรรยากาศการลงทุนภาคเอกชนในประเทศได้มากขึ้น ส�ำหรับการบริโภค ภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงสนับสนุนจากรายได้ครัวเรือนนอกภาคเกษตรที่มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นตามการจ้างที่เพิ่มขึ้น ในธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการส่งออก ขณะทีร่ ายได้เกษตรกรทยอยปรับตัวดีขนึ้ ด้านการผลิตทีข่ ยายตัวดี ทีม่ า : ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

52


สถานการณ์ตลาดเยือ่ ชานอ้อย ปี 2561 และแนวโน้มในปี 2562 ความต้องการใช้เยื่อชานอ้อยทั้งในประเทศและต่างประเทศยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่จะเริ่มมีผลบังคับใช้ อย่างจริงจัง รวมถึงนโยบายของ fast food chain ขนาดใหญ่ในประเทศอเมริกา รวมถึงสาขาทัว่ โลก ทีป่ ระกาศนโยบายห้ามการใช้บรรจุภณ ั ฑ์ทที่ ำ� จากพลาสติก และโฟม ท�ำให้ความต้องใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีสูงขึ้น ความต้องการใช้เยื่อชานอ้อยจึงมีมากขึ้น ผู้ผลิตเยื่อชานอ้อยในประเทศจีน อิหร่าน อินเดีย และประเทศไทย จะไดรับประโยชน์จากความต้องการดังกล่าว แต่ก็จะมีการแข่งขันด้านราคามากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีการเพิ่มก�ำลังการผลิต เยื่อชานอ้อยในประเทศจีน และอิหร่าน เพื่อรองรับการขยายตัวดังกล่าวข้างต้น และมีการปรับลดราคาเพื่อแย่งยิงสาวนแบ่งการตลาดมากขึ้น โดยเฉพาะ ตลาดเยื่อชานอ้อยฅในประเทศจีน อย่างไรก็ตาม ผู้ผลิตสินค้าบางส่วน โดยเฉพาะในประเทศจีนได้ พยายามปรับตัวเพื่อลดต้นทุน หันไปเพิ่มสัดส่วน ในการใช้เยือ่ ชานอ้อย ทีร่ าคาต�ำ่ กว่าไปเป็นส่วนผสมในการผลิตสินค้ามากขึน้ สงครามการค้าระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกากับประเทศจีน มีผลกระทบการสินค้าบรรจุภัณฑ์อาหารที่ท�ำจากเยื่อชานอ้อย โดยมีการเพิ่ม อัตราภาษีขึ้นเป็น 25% ท�ำให้การค้าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีการชะลอตัวลงมาก เนื่องจากคู่ค้าทั้งสองฝ่ายต้องใช้เวลาในการปรับตัวเพื่อรับกับมาตรการ ดังกล่าวส�ำหรับตลาดอเมริกาซึง่ จะท�ำให้ราคาขายส�ำหรับผูบ้ ริโภคสูงขึน้ ในตลาดอเมริกา ในส่วนของลูกค้าของบริษทั เองทีย่ งั คงมีความต้องการใช้เยือ่ ชานอ้อยอย่างต่อเนือ่ ง เป็นกลุม่ ลูกค้าทีผ่ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีจ่ ำ� เป็นต้องใช้ เยื่อชานอ้อยเป็นวัตถุดิบหลัก และการใช้เป็นส่วนผสมเพื่อสร้างภาพลักษณ์ทางด้านสิ่งแวดล้อมให้กับผลิตภัณฑ์ทั้งในส่วนของกระดาษพิมพ์เขียนและ กระดาษอนามัย ในปี 2561 นี้ ทางบริษัทฯ ได้ปรับราคาขายเยื่อชานอ้อยเพิ่มขึ้นตามสภาวะราคาเยื่อในตลาดโลก โดยมีการปรับเพิ่มขึ้นจากราคาเฉลี่ย FOB 620 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในเดือนสิงหาคม 2560 มาอยูท่ รี่ าคาเฉลีย่ FOB 710 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ในเดือนสิงหาคม 2561 ซึง่ ก็ยงั คงมีการสัง่ ซือ้ เยือ่ ชานอ้อยอย่างต่อเนือ่ งโดยตลอดทัง้ ตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ ในปี 2562 คาดว่าภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในประเทศจะฟื้นตัวดีขึ้น และความต้องใช้เยื่อชานอ้อยจะยังคงมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการส่งออกต่างประเทศซึ่งจะได้รับผลดีจากนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศจีนและในกลุ่มระเทศ EU ที่เน้นการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อมเพิม่ ขึน้ และการขยายก�ำลังการผลิตของผูผ้ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ แม้วา่ ทางบริษทั ฯจะมีผลผลิตเยือ่ ชานอ้อยใกล้เคียงกับปี 2561 ซึง่ ยังคงมีผลท�ำให้ตน้ ทุนการผลิตเยือ่ ชานอ้อยของบริษทั ยังคงอยูใ่ นระดับเดียวกับ ปี 2561 แต่ในส่วนของราคาขายนัน้ คาดการณ์วา่ จะสามารถขายได้ ในราคาเฉลีย่ ใกล้เคียงกับราคาในปี 2561 ได้ ทัง้ นีก้ ารปรับราคาขายต้องด�ำเนินการ ให้สอดคล้องกับสภาวะราคาขายของเยือ่ ในตลาดโลกด้วย

ในปี 2561 ประเทศไทยมีโรงงานผูผ้ ลิตเยือ่ กระดาษรายใหญ่ดงั ต่อไปนี้ ผูผ้ ลิต

ก�ำลังการผลิต (พันตัน)

ชนิดของวัตถุดบิ

Double A

560

ยูคาลิปตัส

Phoenix Pulp & Paper

240

ยูคาลิปตัส

Panjapol Pulp Industry

110

ยูคาลิปตัส

SCG Paper

107

ยูคาลิปตัส CTMP

EPPCO

100

ชานอ้อย

Siam Cellulose

86

ยูคาลิปตัส

Fiber Pattana

20

กล่อง UHT

Thai Gorilla Pulp

9

ใบต้นปาล์ม

รวม

1,232

ทีม่ า : 2016 - 2018 Directory of the Thai Pulp and Paper Industries Association (TPPIA)

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

53


สถานการณ์ตลาดของบรรจุภณ ั ฑ์จากชานอ้อย (Pulp Mould) ปี 2561 - 2562 ความต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะบรรจุภณ ั ฑ์จากเยือ่ ชานอ้อยในตลาดโลกยังคงมีความเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ผูผ้ ลิต รายใหญ่ในประเทศจีนมีการขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนือ่ งตามความเติบโตของตลาด ส�ำหรับในประเทศไทย ปัจจุบนั มีผผู้ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์ทใี่ ช้วตั ถุดบิ จากเยือ่ ชานอ้อยในประเทศไทยเพียงสองรายเท่านัน้ ในขณะทีค่ วามต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ ดังกล่าวมีความเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับผลดีจากการส่งเสริมและรณรงค์ของภาครัฐบาลและเอกชนหลายแห่งที่ช่วยผลักดันให้ตลาดบรรจุภัณฑ์ เพือ่ สิง่ แวดล้อมในประเทศมีเติบโตในช่วงปี 2561 และมีแนวโน้มทีจ่ ะเติบโตอย่างต่อเนือ่ งในปี 2562

กลยุทธ์การแข่งขันของบริษทั ฯ 1. ความแน่นอนในการจัดหาวัตถุดบิ EPPCO มีความมัน่ คงทางด้านวัตถุดบิ สูง เนือ่ งจากรับวัตถุดบิ ชานอ้อยโดยตรงจากบริษทั ฯ และโรงงานของกลุม่ บริษทั ฯ ซึง่ โรงงานของกลุม่ บริษทั ฯ สามารถหีบอ้อยได้มากกว่า 10,000,000 ตันอ้อยต่อปี จึงมีชานอ้อยเป็นจ�ำนวนมาก ดังนัน้ EPPCO สามารถวางแผนปริมาณการผลิต และการขายล่วงหน้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การที่ EPPCO สามารถจัดหาวัตถุดบิ ได้ ในปริมาณทีส่ งู และมัน่ คงนัน้ ท�ำให้ลกู ค้าไว้วางใจได้วา่ จะมีผลิตภัณฑ์เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย พร้อมจัดจ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้าของ EPPCO เมือ่ ลูกค้าต้องการ

2. ต้นทุนวัตถุดบิ ต�ำ่ EPPCO มีคา่ ใช้จา่ ยวัตถุดบิ ต�ำ่ เมือ่ เปรียบเทียบกับโรงงานเยือ่ กระดาษรายอืน่ เนือ่ งจาก EPPCO มีพนื้ ทีอ่ ยูใ่ นบริเวณใกล้กบั โรงงานของบริษทั ฯ ซึง่ เป็นผูจ้ ำ� หน่ายวัตถุดบิ ตรงให้กบั EPPCO โดยใช้ระบบสายพานล�ำเลียงแทนการขนส่งด้วยรถบรรทุก ส่งผลให้มคี า่ ขนส่งทีต่ ำ�่

3. การเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์เยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของ EPPCO ผลิตจากชานอ้อย ซึ่งถือเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และเป็นเยื่อใหม่ซึ่งยังไม่เคย ผ่านการใช้งาน (Virgin pulp) โดยกระแสการอนุรกั ษ์ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมท�ำให้มคี วามต้องการผลิตภัณฑ์ของ EPPCO นอกจากนีโ้ รงงานเยือ่ กระดาษ ฟอกขาวจากชานอ้อยของ EPPCO ยังเป็นโรงงานเยือ่ กระดาษรายแรกของประเทศที่ได้รบั ใบรับรองมาตรฐานความปลอดภัยทางด้านอาหาร ISO 22000 และ GMP&HACCP จากบริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งปลอดภัยแก่การบริโภค และสามารถน�ำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตท�ำภาชนะอาหาร และบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทอืน่ ๆ ได้

ช่องทางการจ�ำหน่าย - เยือ่ กระดาษ 1. ลูกค้าในประเทศ EPPCO จัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมโดยตรง เป็นรายเดือนหรือตามความต้องการของลูกค้า โดยจัดส่ง ผลิตภัณฑ์ตามระยะเวลาที่ได้ตกลงกับลูกค้า EPPCO มุ่งเน้นการจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยให้แก่กลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรมกระดาษ รายใหญ่ในประเทศทีม่ คี วามต้องการใช้เยือ่ กระดาษประเภททีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และจัดเจ้าหน้าทีค่ อยให้คำ� แนะน�ำการใช้เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย อย่างถูกวิธแี ละมีประสิทธิภาพเพือ่ ความพอใจของลูกค้าในลักษณะ Technical Sales โดยขายให้บริษทั ชัน้ น�ำในประเทศ ได้แก่ บริษทั เอสซี จี เปเปอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั คิมเบอร์ลยี ์ - คล๊าค (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ บริษทั บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อม จ�ำกัด เป็นต้น

2. ลูกค้าต่างประเทศ การจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยให้กับลูกค้าต่างประเทศส่วนใหญ่ผ่านนายหน้า (Broker) ซึ่งการซื้อขายเยื่อกระดาษฟอกขาว จากชานอ้อยไปต่างประเทศจะท�ำสัญญาการซื้อขายแบบ Spot Lot ซึ่งเป็นการท�ำสัญญาซื้อขายเป็นครั้งๆ โดยพิจารณาจากสภาวะตลาด และราคา ณ ช่วงเวลานัน้ ๆ การท�ำสัญญาประเภทนีม้ สี ดั ส่วนประมาณร้อยละ 80.0 ของยอดขายต่างประเทศทัง้ หมด ในขณะทีป่ ระมาณร้อยละ 10.0 เป็นการขาย ภายใต้สัญญาระยะยาว ทั้งนี้ EPPCO พิจารณาเลือกนายหน้าโดยพิจารณาจากก�ำลังการซื้อของประเทศต่างๆ และความน่าเชื่อถือของนายหน้า เพือ่ ลดความเสีย่ งในการขาย ส่วนอีกร้อยละ 10 เป็นการขายตรงให้กบั ลูกค้าผูผ้ ลิตกระดาษโดยตรง นอกจากนี้ ผูบ้ ริหารของ EPPCO ยังท�ำการตลาด อย่างต่อเนือ่ ง เช่น การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าเพือ่ หากลุม่ ลูกค้าใหม่อกี ด้วย การขายผ่านผูค้ า้ คนกลางท�ำให้ EPPCO สามารถก�ำหนดราคา และปริมาณ

54


ทีต่ อ้ งการขายตามที่ EPPCO เห็นว่าเหมาะสมได้โดยไม่ตอ้ งท�ำการเจรจากับลูกค้าโดยตรง โดยรายได้หลักของ EPPCO มาจากการขายต่างประเทศซึง่ คิด เป็นประมาณร้อยละ 70 - 78 ของรายได้ของ EPPCO โดย EPPCO ขายผลิตภัณฑ์ให้นายหน้าชัน้ น�ำของต่างประเทศ ได้แก่ Zhejiang Welbon Pulp and Paper Group, Ecoplus Paper and Packaging (HK) Co.,Ltd, OG Corporation, เป็นต้น

ช่องทางการจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ Pulp Mould สัดส่วนการท�ำตลาดส�ำหรับผลิตภัณฑ์ Pulp Mould ได้ ก�ำหนดเป้าหมายให้มสี ดั ส่วน 90 - 95% ส�ำหรับตลาดต่างประเทศ และ 5 - 10% ส�ำหรับ ตลาดในประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากความตื่นตัวและความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ Pulp Mould ของผู้บริโภคในต่างประเทศและความต้องการใช้บรรจุภัณฑ์ เพือ่ สิง่ แวดล้อมยังคงมีความต้องการสูงและมีอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ทางบริษทั ฯยังคงต้องมีการพัฒนาเพิม่ ชนิดและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์เพือ่ รองรับ ความต้องของผูบ้ ริโภคทัง้ ในประเทศและต่างประเทศในอนาคต

1. การขายส่งออกต่างประเทศ เนื่องจากตลาดบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่ในต่างประเทศจะอยู่ในประเทศทางยุโรปและอเมริกา ดังนั้นในการท�ำตลาดต่างประเทศ ในระยะแรกนั้นจ�ำเป็นต้องอาศัย sale agent and distributor ที่มีความช�ำนาญและมี volume ในการช่วยกระจายสินค้าสินค้าให้กับบริษัท เนื่องจาก สามารถเข้าถึงตัวแทนจ�ำหน่ายและผูบ้ ริโภคผลิตภัณฑ์ในต่างประเทศได้มากกว่าทัง้ ในรูปแบบของการรับจ้างผลิต ( OEM ) และในการจ�ำหน่ายภายใต้ Brand ของทางบริษทั เอง ในปี 2561 ทางบริษทั ฯสามารถจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ Pulp Mold ไปต่างประเทศได้ตามเป้าหมายในราคา 2,250 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ซึง่ คาดว่าราคาขายในปี 2562 จะยังคงขายได้ ไม่ตำ�่ กว่าราคาขายในปี 2561

2. การขายภายในประเทศ ลูกค้าในประเทศจะเป็นกลุม่ ลูกค้าทีต่ ระหนักถึงการรักษาสิง่ แวดล้อมเป็นส่วยใหญ่ ทัง้ นีท้ างบริษทั ฯมีชอ่ งทางการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ Pulp Mould ในประเทศทีห่ ลายช่องทาง ดังนี้ 2.1 การขายเข้าสู่ ผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ (BigC, Makro, Lotus, TOP, The Mall ,Central Department Store, Seven Eleven) ทัง้ ภายใต้ Brand ของตัวเอง และ/หรือ การผลิต House Brand ให้กบั ผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ 2.2 การขายผ่านผูค้ า้ ส่งบรรจุภณ ั ฑ์ ในแต่ละจังหวัด และระบบตัวแทนขายสินค้าทัว่ ประเทศ 2.3 การขายตรงให้องค์กรและหน่วยงานภาครัฐ โรงพยาบาล โรงเรียน มหาวิทยาลัยและ สถาบันและองค์กรต่างๆ 2.4 การขาย ปลีกในระบบ Online Marketing (อยูใ่ นระหว่างการพัฒนา)

ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอลผ่าน บริษัท เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด หรือ “KTBE” โดยใช้วัตถุดิบหลักคือกากน�้ำตาล จากโรงงานน�ำ้ ตาลทรายของกลุม่ บริษทั ฯ มีกำ� ลังการผลิตสูงสุด 230,000 ลิตรต่อวัน หรือ 75,900,000 ลิตรต่อปี ปัจจุบนั KTBE ผลิตและจัดจ�ำหน่าย เอทานอลเพียง 2 เกรดได้แก่ เอทานอลทีใ่ ช้ ในอุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิง (Fuel Alcohol)

เอทานอล : สภาวะตลาดและการแข่งขัน 1. ภาวะอุตสาหกรรมตลาดโลก ราคาเอทานอล ราคาเอทานอลสหรัฐฯ เฉลี่ย 13.90 บาทต่อลิตร ลดลงช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 2.8 ตามอุปทานเอทานอลของสหรัฐที่อยู่ในระดับสูง ส่วนราคาเอทานอลของบราซิลปรับเพิ่มขึ้นตามการลดลงของผลผลิตเอทานอล โดยราคาเอทานอลเกรดเชื้อเพลิง Anhydrous และ Hydrous เฉลี่ย 18.9 บาทต่อลิตร และ 18.0 บาทต่อลิตรตามล�ำดับ ส่วนเกรดอุตสาหกรรมเฉลีย่ 18.3 บาทต่อลิตร ลดลงจากปีกอ่ นตามปริมาณวัตถุดบิ กากน�ำ้ ตาล ทีเ่ พิม่ ขึน้ ราคาเอทานอลต่างประเทศมีแนวโน้มลดลง ตามอุปทานเอทานอลโลกทีอ่ ยูใ่ นระดับสูง โดยเฉพาะการคาดการณ์การเพิม่ ขึน้ ของผลผลิตเอทานอล ของบราซิลส�ำหรับปีการผลิต 2561/2562 ซึง่ เริม่ เปิดหีบอ้อยในช่วงต้นเดือนเมษายน 2561 ตลอดจนสต็อกและปริมาณส่งออกของสหรัฐทีย่ งั อยูใ่ นระดับสูง การผลิต ปริมาณการผลิตเอทานอลของสหรัฐฯ ไตรมาสที่ 1/2561 เฉลีย่ 165.7 ล้านลิตรต่อวัน ส่วนการผลิตเอทานอลบราซิลในช่วงปลายฤดูหบี อ้อย อยูท่ ี่ 9.6 ล้านลิตรต่อวัน อย่างไรก็ตาม ผลผลิตอ้อยและสัดส่วนการผลิตเอทานอลจากอ้อยทีเ่ พิม่ ขึน้ ท�ำให้ผลผลิตเอทานอลเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นร้อยละ 15

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

55


ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตเอทานอลของสหรัฐฯ 12.3 บาทต่อลิตร เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นตามการเพิม่ ขึน้ ของราคาข้าวโพดเป็นส�ำคัญ ความต้องการใช้ ความต้องการใช้เอทานอลของสหรัฐฯประมาณ 155.6 ล้านลิตรต่อวัน เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นร้อยละ 12 ตามความต้องการใช้นำ�้ มันแก๊สโซฮอล์ในประเทศ เพิ่มขึ้น ขณะที่ปริมาณการบริโภคเอทานอลของบราซิลอยู่ที่ 74.3 ล้านลิตรต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 18.6 จากราคาน�้ำมันมันดิบที่เพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้แนวโน้มการบริโภคแก๊สโซฮอล์เพิม่ สูงขึน้ การส่งออก การส่งออกเอทานอลของสหรัฐฯ ไตรมาสที่ 1/2561 อยูท่ ี่ 1,176.8 ล้านลิตร เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น ร้อยละ 18.4 ตลาดส่งออกหลักคือ บราซิล จีน และแคนาดา ขณะที่บราซิลซึ่งอยู่ในช่วงปลายฤดูหีบอ้อยส่งออกเอทานอลอยู่ที่ 359.2 ล้านลิตร เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 12.5 ตามการเพิ่มขึ้นของ อุปทานอ้อยและการเพิม่ สัดส่วนการน�ำอ้อยมาผลิตเอทานอลเมือ่ เทียบกับปีกอ่ น ทีม่ า : รายงานสถานการณ์ราคาเอทานอลของไทย ไตรมาส 1/2561 ธนาคารแห่งประเทศไทย

2. ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ ราคาเอทานอล ราคาเอทานอลอ้างอิงภายในประเทศไตรมาส 3/2561 เฉลีย่ 23.40 บาทต่อลิตร ลดลงจากปีกอ่ น จากราคาวัตถุดบิ กากน�ำ้ ตาลทีล่ ดลง การผลิต ปริมาณการผลิตเอทานอลของไทย 4.1 ล้านลิตรต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 65 ของก�ำลังการผลิต ตามผลผลิตอ้อยหีบหนาแน่ในช่วงไตรมาส 1 เป็นส�ำคัญ ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตเอทานอลจากกากน�ำ้ ตาลของไทยไตรมาส 3/2561 อยูท่ ี่ 20.54 บาทต่อลิตร (ค�ำนวณทีร่ าคากากน�ำ้ ตาลเฉลีย่ 3.5 บาทต่อกิโลกรัม) จากอุปทานอ้อยและกากน�ำ้ ตาลทีเ่ พิม่ ขึน้ ในฤดูการผลิต 2560/2561 โดยต้นทุนการผลิตลดลงจากไตรมาสก่อนร้อยละ 25 ขณะทีต่ น้ ทุนมันส�ำปะหลังเพิม่ ขึน้ จากอุปทานมันส�ำปะหลังทีล่ ดลง โดยต้นทุนการผลิตเอทานอลจากหัวมันสดอยูท่ ี่ 21.52 บาทต่อลิตร (ค�ำนวณทีร่ าคาหัวมันฯ เฉลีย่ 2.2 บาทต่อกิโลกรัม) มันเส้นอยูท่ ี่ 24.89 บาทต่อลิตร (ค�ำนวณทีร่ าคามันเส้นเฉลีย่ 6.7 บาทต่อกิโลกรัม) เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันปีกอ่ น ร้อยละ 34.2 และ ร้อยละ 27.4 ตามล�ำดับ ความต้องการใช้ ความต้องการใช้เอทานอลของไทยอยู่ที่ 4.3 ล้านลิตรต่อวัน ปรับเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 13.8 จากการเพิ่มการบริโภคแก๊สโซฮอล์ ภายหลัง ราคาน�ำ้ มันเบนซินปรับเพิม่ ขึน้ โดยปริมาณการจ�ำหน่ายแก๊สโซฮอล์ทงั้ หมด 2,996.5 ล้านลิตร เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นร้อยละ 18.2 จากการจ�ำหน่ายแก๊สโซฮอล์ E10 E20 และ E85 ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นร้อยละ 11.0 ร้อยละ 11.0 และร้อยละ 15.9 ตามล�ำดับ ในปี 2561 ประเทศไทยมีโรงงานเอทานอลทีเ่ ปิดและด�ำเนินการผลิตทัง้ สิน้ 26 โรง ซึง่ มีกำ� ลังการผลิตทีจ่ ดทะเบียนกับกรมสรรพสามิตรวมกันทัง้ สิน้ 6.250 ล้านลิตรต่อวัน ในขณะทีป่ ริมาณความต้องการเอทานอลเฉลีย่ มีประมาณวันละ 4.1 ล้านลิตรต่อ โดยมีโรงงานผลิตเอทานอลรายใหญ่ดงั นี้

สถานการณ์กำ� ลังการติดตัง้ โรงงานเอทานอลของประเทศไทย (ณ เมษายน 2561) ผูป้ ระกอบการ

56

ก�ำลังการผลิต ทีจ่ ดทะเบียนกับ กรมสรรพสามิต (ลิตร/วัน)

วัตถุดบิ การผลิต

1

บริษทั มิตรผล ไบโอฟูเอล จ�ำกัด (ชัยภูม)ิ

500,000

กากน�ำ้ ตาล

2

บริษทั อี85 จ�ำกัด

500,000

มันสด/น�ำ้ แป้ง

3

บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด

400,000

มันสด/มันเส้น

4

บริษทั ที พี เค เอทานอล จ�ำกัด เฟส 1

340,000

มันเส้น


ผูป้ ระกอบการ

ก�ำลังการผลิต ทีจ่ ดทะเบียนกับ กรมสรรพสามิต (ลิตร/วัน)

วัตถุดบิ การผลิต

5

บริษทั มิตรผล ไบโอฟูเอล จ�ำกัด (กุฉนิ ารายณ์/กาฬสินธุ)์

320,000

กากน�ำ้ ตาล

6

บริษทั ไทยรุง่ เรืองพลังงาน จ�ำกัด

300,000

กากน�ำ้ ตาล

7

บริษทั เคเอสแอล กรีน อินโนเวชัน้ จ�ำกัด (มหาชน) (บ่อพลอย)

300,000

กากน�ำ้ ตาล

8

บริษทั เคไอเอทานอล จ�ำกัด

250,000

กากน�ำ้ ตาล

9

บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด

230,000

กากน�ำ้ ตาล

10

บริษทั แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด

230,000

น�ำ้ อ้อย

อืน่ ๆ

2,880,000

รวมก�ำลังผลิตทัง้ หมดในปัจจุบนั

6,250,000

ทีม่ า : รายงานการผลิตอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายฉบับปิดหีบอ้อย (ปรับปรุง) ปีการผลิต 2560/2561 (ฉบับปิดหีบ) ,ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�ำ้ ตาล

เอทานอล : กลยุทธ์การแข่งขันของบริษทั ฯ 1. ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ KTBE มีผลิตภัณฑ์ทหี่ ลากหลายตามความต้องการของลูกค้าในแต่ละอุตสาหกรรม ซึง่ โรงกลัน่ ของ KTBE ได้รบั ใบอนุญาตในการผลิตเอทานอล ได้ถงึ 3 เกรด ได้แก่ เอทานอลทีส่ ามารถรับประทานได้ (Potable Alcohol) เอทานอลทีใ่ ช้ ในอุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิง (Fuel Alcohol) การมีผลิตภัณฑ์ทหี่ ลากหลายเช่นนี้ ช่วยเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศให้กบั KTBE แตกต่างจากโรงงานผลิตเอทานอล ส่วนมากในประเทศไทยทีส่ ามารถผลิตเพียงเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิงเพือ่ ขายในประเทศเท่านัน้

2. ความแน่นอนในการส่งมอบผลิตภัณฑ์ KTBE มีความสามารถในการส่งมอบผลิตภัณฑ์ ให้กับลูกค้าได้อย่างสม�่ำเสมอและตรงเวลา เนื่องจาก KTBE ใช้กากน�้ำตาลจากโรงงานของ กลุม่ บริษทั ฯ เป็นวัตถุดบิ หลักในการผลิตเอทานอล ซึง่ มีปริมาณมากเกินกว่าความต้องการของก�ำลังการผลิต ทาง KTBE จึงไม่เคยประสบปัญหาวัตถุดบิ ขาดแคลน จากปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ KTBE สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ ได้ตรงเวลาและได้รบั ความไว้วางใจจากลูกค้ามาโดยตลอด

3. คุณภาพของผลิตภัณฑ์ KTBE มีนโยบายมุ่งรักษาและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ ท�ำให้คุณภาพเอทานอลที่ได้จากโรงงานมีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด อีกทัง้ ยังสามารถพัฒนาหอกลัน่ เพือ่ ผลิตเอทานอลระดับ Korean B grade ซึง่ เป็นเอทานอลทีม่ คี ณ ุ ภาพ เป็นทีย่ อมรับของตลาด ต่างประเทศ

4. นโยบายส่งเสริมการตลาด KTBE ตระหนักถึงการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมพลังงานในปัจจุบัน KTBE จึงได้มีการจัดท�ำนโยบายส่งเสริมการตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มฐานลูกค้าโดยเฉพาะฐานลูกค้าในต่างประเทศ อาทิ นโยบายเข้าร่วมประชุมและอบรมผู้ผลิตเอทานอลทั้งในและนอกประเทศอยู่อย่างสม�่ำเสมอ เพือ่ เพิม่ โอกาสในการพบปะลูกค้าและพ่อค้าคนกลางเป็นการสร้างฐานลูกค้าให้เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

57


เอทานอล : ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย 1. ลูกค้าในประเทศ KTBE จัดจ�ำหน่ายเอทานอลทีม่ คี วามบริสทุ ธิร์ อ้ ยละ 99.5 เพือ่ น�ำไปใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผสมเป็นน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงให้กบั บริษทั ผูค้ า้ น�ำ้ มันในประเทศ สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐที่สนับสนุนพลังงานทดแทนเพื่อลดการน�ำเข้าน�้ำมันเชื้อเพลิงและน�้ำมันดิบจากต่างประเทศ โดยมีผู้ค้าตามมาตรา 72 ซึง่ เป็นลูกค้ารายใหญ่เป็นลูกค้า ของ KTBE เช่น บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด โดยรายได้จากการขายเอทานอลทีเ่ ป็นเชือ้ เพลิงในประเทศคิดเป็นร้อยละ 100 ของรายได้จากการขายเอทานอลทัง้ หมดในปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

2. ลูกค้าต่างประเทศ KTBE ท�ำการจัดจ�ำหน่ายเอทานอลไปยังต่างประเทศ โดยจะจัดจ�ำหน่ายผ่านผู้กระจายสินค้าเพื่อส่งต่อไปยังลูกค้าขั้นสุดท้าย ที่ผ่านมา KTBE จัดจ�ำหน่ายเอทานอลที่ใช้ ในโรงงานอุตสาหกรรม ความบริสุทธิ์ร้อยละ 95.5 และเอทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง ความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 ในต่างประเทศ ภายหลังการมีนโยบายจากกระทรวงพลังงาน เรื่องยกเลิกการจ�ำหน่ายน�้ำมันเบนซิน 91 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ท�ำให้การใช้เอทานอลในประเทศ มีการปรับตัวสูงขึน้ ทางบริษทั ฯ จึงมิได้สง่ ออกเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิงและใช้ ในอุตสาหกรรมไปต่างประเทศ

ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า บริษัทฯ มีหน่วยผลิตไฟฟ้าและไอน�้ำในโรงงานน�้ำตาลทรายและโรงงานเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โดยใช้ชานอ้อยซึ่งเป็นกากของเสีย จากกระบวนการผลิตน�้ำตาลมาเป็นวัตถุดิบหลัก น�ำไอน�้ำและไฟฟ้าที่ผลิตได้ ไปใช้ ในกระบวนการผลิตน�้ำตาลทรายของบริษัทฯ ทั้ง 3 โรงงาน และ ในกระบวนการผลิตของโรงงานอื่นในกลุ่มบริษัทฯ และจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า และในปัจจุบนั ส่วนของโรงงานน�ำ้ ตาลทีข่ ายไฟในรูปแบบของ Adder บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นมาเป็นการขายไฟในรูปแบบ Feed-in tariff ซึง่ ท�ำให้ ได้ราคาจากการขายไฟทีส่ งู ขึน้ บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “KTBP” ซึง่ ปัจจุบนั ได้ดำ� เนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า ในระบบโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดก�ำลังผลิตทัง้ สิน้ 60 เมกะวัตต์แล้ว นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังได้จดั ตัง้ บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “TEP” และ บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “RPBP” ซึง่ จะด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าในระบบโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดก�ำลังการผลิตโรงละ 50 เมกะวัตต์ โดยทัง้ สองบริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแล้ว

ไฟฟ้า : สภาวะตลาดและการแข่งขัน 1. ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ จากแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (Thailand Power Development Plan : PDP) กระทรวงพลังงานได้จดั ท�ำร่างในการปรับเปลีย่ น แผน PDP ฉบับใหม่ เนือ่ งจากสถานการณ์การใช้ ไฟฟ้าภายในประเทศเปลีย่ นแปลงไปจากค่าพยากรณ์ความต้องการใช้ ไฟฟ้าทีใ่ ช้จดั ท�ำแผน PDP 2015 ท�ำให้ตอ้ งมีการปรับปรุงข้อมูลให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั โครงการขนาดใหญ่(โรงไฟฟ้า,สายส่ง)การจ�ำหน่ายไฟฟ้าไม่เป็นไปตามแผนทีว่ างไว้และประกอบพฤติกรรมการใช้ ไฟฟ้าเปลีย่ นไป มีความต้องการ ใช้ ไฟฟ้ามากขึ้นทั้งในช่วงกลางวันและกลางคืน (ค่า Peak ในประทศ 34,101 MW. สูงขึ้น 1.9% ค่า Peak ในระบบ 30,303 MW. ลดลง 2.2%) ท�ำให้ สถานการณ์การผลิตไฟฟ้าเพิม่ สูงขึน้ จากปีกอ่ นโดยใช้เชือ้ เพลิงทีผ่ ลิตไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ เกือบทุกประเภท ยกเว้นการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติทลี่ ดลง หลักการส�ำคัญในการจัดท�ำร่างแผน PDP ฉบับใหม่ 1. ความมัน่ คง (Security) ความมัน ่ คงระบบไฟฟ้าของประเทศให้ครอบคลุมทัง้ ระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้า และระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้ารายพืน้ ที่ เพือ่ รองรับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การกระจายสัดส่วนเชื้อเพลิง (Fuel Diversification) ที่ใช้ ในการผลิตไฟฟ้าให้มีความเหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงการพึ่งพิงเชื้อเพลิง ชนิดใดชนิดหนึง่

2

พระราชบัญญัติการค้าน�้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 หมวด 1 การค้าและการขนส่งน�้ำมันเชื้อเพลิง มาตรา 7 บังคับให้ผู้ค้าน�้ำมันที่มีปริมาณการค้าแต่ละชนิด หรือรวมกันทุกชนิด ปีละตัง้ แต่หนึง่ แสนเมตริกตันขึน้ ไป หรือเป็นผูค้ า้ น�ำ้ มันชนิดก๊าซปิโตรเลียมเหลวแต่เพียงชนิดเดียวทีม่ ปี ริมาณการค้าปีละตัง้ แต่หา้ หมืน่ เมตริกตันขึน้ ไป ต้องได้รบั ใบอนุญาตจากรัฐมนตรี

58


มีโรงไฟฟ้าเพือ่ ความมัน ่ คงในระดับทีเ่ หมาะสม เพือ่ รองรับกรณีเกิดเหตุวกิ ฤตด้านพลังงาน พัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้า Smart grid เพือ่ รองรับการพัฒนาระบบไฟฟ้าขนาดเล็กแบบกระจายศูนย์ (Decentralized Generation:DG)

2. เศรษฐกิจ (Economy) ค�ำนึงถึงต้นทุนการผลิตไฟฟ้าทีเ่ หมาะสม ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าทีม ่ ตี น้ ทุนต�ำ่ เพือ่ ลดภาระผู้ ใช้ ไฟฟ้า และไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะยาว ปรับปรุงการบริหารจัดการต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตาม Merit Order 3. สิง่ แวดล้อม (Ecology) เป้าหมายในการลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นไปตามพันธสัญญา ส่งเสริมระบบไฟฟ้าแบบ Merit Order ในพืน ้ ทีห่ า่ งไกล พืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมหรือเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพือ่ เป็นการใช้ทรัพยากรในพืน้ ที่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดและลดภาระการลงทุนระบบไฟฟ้า ส่งเสริมประสิทธิภาพในระบบไฟฟ้า (Efficiency) ทั้งด้านการผลิตไฟฟ้าและด้านการใช้ ไฟฟ้า รวมถึงส่งเสริมให้เกิดการตอบสนอง ด้านการใช้ ไฟฟ้า(Demand Response)

2. สถานการณ์ความต้องการไฟฟ้าในประเทศ ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิในระบบ 3 การไฟฟ้า (Net Peak Generation Requirement) ปี 2561 เกิดขึน้ เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2561 เวลา 13.51 น. มีคา่ เท่ากับ 29,968 เมกะวัตต์ ซึง่ น้อยกว่าค่าพลังไฟฟ้าสูงสุดของปี 2560 ซึง่ เกิดขึน้ เมือ่ วันที่ 4 พฤษภาคม 2560 มีคา่ เท่ากับ 30,303 เมกะวัตต์

3. ก�ำลังผลิตไฟฟ้าในประเทศ ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2561 ก�ำลังผลิตในระบบไฟฟ้าอยู่ในระดับ 42,715.15 เมกะวัตต์ ยังไม่รวมผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก โดยแบ่งเป็น ผูผ้ ลิตต่างๆ ดังนี้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

15,763.83 เมกะวัตต์

ร้อยละ 36.90

เอกชนรายใหญ่ (IPP)

14,948.50 เมกะวัตต์

ร้อยละ 35.00

เอกชนรายเล็ก (SPP)

8,125.22 เมกะวัตต์

ร้อยละ 19.02

ซือ้ ไฟฟ้าจากต่างประเทศ

3,877.60 เมกะวัตต์

ร้อยละ 9.08

รวม

42,715.15 เมกะวัตต์

สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงชนิดต่าง ๆ ก๊าซธรรมชาติ

17,305 GWH

ร้อยละ 56

ถ่านหินน�ำเข้าและลิกไนต์

5,911 GWH

ร้อยละ 19

น�ำเข้า

3,598 GWH

ร้อยละ 12

พลังงานหมุนเวียน

2,970 GWH

ร้อยละ 9

พลังน�ำ้

1,263 GWH

ร้อยละ 4

38 GWH

ร้อยละ 0.1

น�ำ้ มัน

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

59


สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเพือ่ การผลิตไฟฟ้าของไทย พลังงานทดแทน

หน่วย

เป้าหมายปี 2579

2557

2558

2559

2560

เป้าหมายปี 2561

พลังงานลม

MW

3,002.00

224.47

233.90

507.04

627.82

327.85

แสงอาทิตย์

MW

6,000.00

1,298.51

1,419.58

2,446.12

2,697.26

2,223.0385

ขยะ

MW

550.00

65.72

131.68

145.28

191.47

410.00

ก๊าซชีวภาพ

MW

1,280.00

311.50

372.51

434.86

475.42

494.79

พลังงานน�ำ้ ขนาดเล็ก

MW

376.00

142.01

172.12

182.12

182.28

205.72

ชีวมวล

MW

5,570.00

2,451.82

2,726.60

2814.70

3,157.28

3,372.83

พลังงานน�ำ้ ขนาดใหญ่

MW

2,906.00

-

2,906.40

2,906.40

2906.40

2,906.40

รวม

MW

19,684.00

4,494.03

7,962.79

9,436.52

10,237.93

9,940.62

ไฟฟ้า : กลยุทธ์การแข่งขันของบริษทั ฯ นอกจากการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตไฟฟ้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของบริษัทฯ แล้ว ปัจจัยของเชื้อเพลิงที่ใช้ ในการผลิต มีส่วนส�ำคัญมากในการแข่งขัน เนื่องจากโรงไฟฟ้าประเภทชีวมวล วัตถุดิบที่ใช้ของบริษัทฯ ยังคงเป็นชานอ้อยที่ได้จากการผลิตน�้ำตาลเป็นเชื้อเพลิงหลัก บริษทั ฯ ได้ทำ� การปรับปรุงกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลเพือ่ ลดการใช้พลังงานท�ำให้เหลือชานอ้อยเพิม่ ขึน้ กว่าเดิม นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการส่งเสริม การปลูกอ้อยเพื่อให้มีปริมาณอ้อยเข้าหีบมากขึ้น ซึ่งจะเป็นส่วนช่วยท�ำให้มีชานอ้อยเหลือได้มากขึ้นด้วยเพื่อน�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า ตลอดจนได้ทำ� การทดลองใช้ ใบอ้อยเข้ามาเป็นเชือ้ เพลิงร่วม และได้ทำ� การวิจยั ในการปลูกพืชพลังงานทดแทนชนิดอืน่ เพือ่ เตรียมน�ำมาใช้เป็นเชือ้ เพลิงต่อ ไปในภายหน้า ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกร และต่อบริษัทฯ ในการสร้างรายได้และลดต้นทุนการผลิตในการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้แก่บริษัทฯ ได้เป็นอย่างมาก

ไฟฟ้า : ช่องทางการจ�ำหน่าย บริษัทฯ ผลิตไฟฟ้าและไอน�้ำส่งไปจ�ำหน่ายให้แก่โรงงานน�้ำตาลของกลุ่มบริษัทฯ และจ�ำหน่ายให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) หรือการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าของแต่ละบริษทั ฯ

ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ บริษัทฯ มีโรงงานผลิตวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ โดยใช้กากตะกอนหม้อกรอง (Filter cake) ซึ่งเป็นของเสียจากกระบวนการผลิตน�้ำตาล และน�้ำเสียที่มาจากกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ำมาผลิตเป็น วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทั้งชนิดผง และ ชนิดเม็ด โดยได้จัดตั้ง บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด หรือ “KTBF” เพือ่ ขยายธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ซึง่ ปัจจุบนั ได้ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อยของ กลุ่มบริษัทฯ โดยมีก�ำลังการผลิตชนิดผง 150,000 ตันต่อปี และ ชนิดเม็ด 10,000 ตันต่อปี

วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : สภาวะตลาดและการแข่งขัน จากสภาพอากาศทีด่ ี ท�ำให้ผลผลิตพืชเศรษฐกิจหลักเพิม่ มากขึน้ เช่น อ้อย ข้าว เป็นต้น โดยเฉพาะอ้อย มีผลผลิตเพิม่ ขึน้ มากอย่างมีนยั ส�ำคัญ แต่ปัจจัยด้านราคาน�้ำตาลตลาดโลกที่ลดต�่ำลง ส่งผลให้ราคาอ้อยลดต�่ำลงด้วย ท�ำให้ชาวไร่อ้อยจึงจ�ำเป็นต้องควบคุมต้นทุนในการผลิต และพิจารณา การตัดสินใจในการใช้ปุ๋ยเคมีและสารปรับปรุงดิน ซึ่งค่านิยมในการใช้ปุ๋ยเคมีบ�ำรุงดินเห็นผลเร็วกว่าวัสดุปรับปรุงดินหรือปุ๋ยอินทรีย์ อย่างไรก็ตาม บริษัทได้จัดท�ำกลยุทธ์ ในการส่งเสริมการใช้สารปรับปรุงดินร่วมกับปุ๋ยเคมี เพื่อลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีของชาวไร่อ้อย สามารถเพิ่มผลผลิตและรักษา คุณภาพดินให้เหมาะแก่การปลูกอ้อยได้อย่างยัง่ ยืนต่อไป

60


วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : กลยุทธ์การแข่งขัน KTBF มีเป้าหมายและนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจ โดยจะมุง่ เน้นให้ชาวไร่ทเี่ ป็นคูส่ ญ ั ญาของกลุม่ บริษทั ฯ ในเครือได้ ใช้วสั ดุปรับปรุงดินทีม่ คี ณ ุ ภาพ มาตรฐาน ราคาถูก เพือ่ ช่วยเหลือชาวไร่ในการลดต้นทุน อีกทัง้ ยังช่วยเพิม่ ผลผลิตต่อไร่ ท�ำให้ชาวไร่มรี ายได้มากขึน้ โดย KTBF มีนโยบายหลัก ดังต่อไปนี้ 1. บริษทั ฯ จะร่วมกับชาวไร่วเิ คราะห์สภาพดินของพืน้ ทีใ่ นการใช้วสั ดุปรับปรุงดินของ KTBF เพือ่ ประเมินผลการใช้ 2. บริษัทฯ จ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินในราคาถูก เพราะเนื่องจากบริษัทมีวัตถุดิบในการผลิตวัสดุปรับปรุงดินเองซึ่งท�ำให้สามารถช่วยเกษตรกร ในการลดต้นทุนและเพิม่ ผลผลิต 3. บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญเรือ่ งของบรรจุภณ ั ฑ์ โดยใช้กระสอบบรรจุทมี่ ถี งุ ด้านนอกและด้านใน พร้อมทัง้ ออกแบบสีสนั และมีความแข็งแรงทนทาน 4. บริษทั ฯ มีการบริการทีด่ ใี นการจัดส่งวัสดุปรับปรุงดินถึงมือลูกค้า 5. มีการจัดกิจกรรมโดยเปิดให้ชาวไร่ได้เข้ามาดูวธิ กี ารผลิตและวิธกี ารน�ำไปใช้อย่างถูกต้อง 6. บริษทั ฯ ได้มกี ารจัดท�ำแปลงสาธิตในพืน้ ทีเ่ ขตส่งเสริมเพือ่ ให้ชาวไร่ได้เห็นผลผลิตอย่างทัว่ ถึง 7. มีการจัดท�ำสือ่ โฆษณาและการประชาสัมพันธ์ทงั้ ทางด้านคลืน่ วิทยุชมุ ชน 8. บริษัทฯ มีการส�ำรวจชาวไร่ที่เป็นคู่สัญญาของกลุ่มโรงงานเกี่ยวกับช่วงความต้องการใช้วัสดุปรับปรุงดินของ KTBF เพื่อก�ำหนดการผลิต ให้เพียงพอกับช่วงความต้องการ 9. บริษัทฯ ได้ร่วมจัดโครงการวิจัยร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เพื่อให้การผลิตของบริษัทได้มาตรฐาน สร้างความเชือ่ มัน่ ต่อลูกค้า

วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย 1. จ�ำหน่ายให้กบั ชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญาของกลุม่ บริษทั ฯ 2. จ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้าทัว่ ไป 3. จ�ำหน่ายให้กบั ร้านค้า สหกรณ์การเกษตร และสกต.

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

61


ปัจจัยความเสีย่ ง ความเสี่ยงภายนอก( External Risk) 1. ความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ในปีที่ผ่านมา อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศยังมีความผันผวนอย่างต่อเนื่องเมื่อเปรียบเทียบกับสกุลเงินสหรัฐ จึงส่งผลโดยตรงต่อธุรกิจ ของบริษทั ฯ เนือ่ งจากมากกว่าร้อยละ 60 ของรายได้กลุม่ บริษทั ฯ มาจากการส่งออกของธุรกิจน�ำ้ ตาลและธุรกิจต่อเนือ่ งทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม รวมถึง การลงทุนในเครือ่ งจักรทีน่ ำ� เข้าจากต่างประเทศ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นสกุล USD และมี JPY, EUR บ้าง

ทีม่ า : www.xe.com

XE Currency Converter : USD to THB บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดตั้งคณะท�ำงานบริหารความเสี่ยงทางการเงิน เพื่อก�ำกับดูแลและก�ำหนดกรอบนโยบาย การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน การวางแผนทางการเงินส�ำหรับการป้องกันผลกระทบอันอาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกล่าว โดยการใช้เครื่องมือ ทางการเงินต่างๆ ทัง้ การท�ำสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) การท�ำสัญญาซือ้ ขายสิทธิในการซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศ (Option Contract) และการบริหารอัตราแลกเปลี่ยนแบบ Natural Hedge ซึ่งเป็นการน�ำเงินรายได้ที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศมาจ่ายช�ำระค่าใช้จ่าย ทีเ่ ป็นเงินสกุลเดียวกัน รวมถึงมีการติดตามและวิเคราะห์ความเคลือ่ นไหวของภาวะเศรษฐกิจและปัจจัยต่างๆ ทีจ่ ะส่งผลต่ออัตราแลกเปลีย่ น เพือ่ ให้สามารถ บริหารจัดการได้อย่างเหมาะสมภายใต้สถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลง เนือ่ งจากการก�ำหนดราคาอ้อยในอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลของประเทศไทยนัน้ ในภาคธุรกิจน�ำ้ ตาลจะใช้ระบบลอยตัวจะมีการแยกโควต้าออกเป็น 2 ส่วน คือ โควต้าในส่วนของบริษทั อ้อยและน�ำ้ ตาลไทย จ�ำกัด (อนท.) และโควตาส�ำหรับการขายของโรงงาน ซึง่ ในส่วนหลัง โรงงานจะสามารถขายในประเทศ

62


หรือส่งออกก็ ได้ ทัง้ นี้ ในส่วนของการขายในประเทศ จากเดิมทีม่ กี ารก�ำหนดราคาเป็นบาทต่อกิโลกรัม ได้มกี ารเปลีย่ นแปลงไปตามประกาศคณะกรรมการ อ้อยและน�ำ้ ตาลทราย เล่ม 135 ตอนพิเศษ ลงวันที่ 15 มกราคม 2561 ประมาณการรายได้ทงั้ ขัน้ ต้นและขัน้ สุดท้ายของน�ำ้ ตาลทรายทีข่ ายในราชอาณาจักร จะค�ำนวณจาก (ราคาน�ำ้ ตาลทรายขาวตลาดลอนดอน หมายเลข 5 + พรีเมีย่ มน�ำ้ ตาลทรายไทย) *จ�ำนวนทีจ่ ำ� หน่ายได้จริง ขณะทีใ่ นส่วนโควตาของบริษทั อ้อยและน�ำ้ ตาลไทย จ�ำกัด (อนท.) ยังคงรูปแบบเดิม รายได้ทั้งหมดจากการขายน�้ำตาลทรายทั้ง 2 ส่วน ของโรงงานน�้ำตาล หักด้วยค่าใช้จ่าย จะถือเป็นรายได้สุทธิ ซึ่งจะน�ำมาแบ่งปันรายได้กัน ระหว่างเกษตรกรชาวไร่และโรงงานน�้ำตาล ในอัตราส่วน 70/30 จากโครงสร้างดังกล่าว การก�ำหนดราคากลางน�้ำตาลโดย อนท. จึงมีความส�ำคัญยิ่ง โดยโรงงานน�้ำตาลผู้ส่งออกต้องท�ำราคาขายน�้ำตาลให้ ได้อย่างน้อยเท่ากับราคากลางของ อนท. เพื่อหารายได้รวมที่แท้จริงไม่น้อยไปกว่ารายได้ ทีน่ ำ� มาค�ำนวณส่วนแบ่งให้ชาวไร่ออ้ ย การป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นดังกล่าว อาจส่งผลกระทบในทางบวกหรือทางลบต่อการด�ำเนินงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ต้องบันทึกบัญชีกำ� ไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น ซึง่ เป็นผลต่างระหว่าง การรับเงินจากการขายทีใ่ ช้สญ ั ญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า โดยอ้างอิงจาก บริษทั อ้อยและน�ำ้ ตาลไทย จ�ำกัด น�ำมาเปรียบเทียบกับอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันส่งมอบสินค้าทีบ่ ริษทั ฯ ใช้บนั ทึกบัญชี ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ ใช้หลักความระมัดระวัง เพือ่ การป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นเป็นหลัก และไม่ทำ� การในลักษณะเพือ่ การเก็งก�ำไร

2. ความเสีย่ งจากการผันผวนของราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลก น�ำ้ ตาลทรายเป็นสินค้าทีม่ คี วามผันผวนทางด้านราคาสูง โดยราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลกจะขึน้ อยูก่ บั หลายปัจจัย ทัง้ ปัจจัยด้าน fundamental เช่น สภาพอากาศ การผลิต การบริโภค และอุปสงค์ - อุปทานของประเทศผู้ผลิตและประเทศผู้บริโภคท�ำให้ราคาน�้ำตาลโลกขึ้นลงตามความต้องการ และการคาดการณ์ของประเทศผู้ผลิตและประเทศผู้บริโภค ปัจจัยด้าน Technical และปริมาณการเก็งก�ำไรของกองทุนฯ ต่างๆ ในตลาดซื้อขายล่วงหน้า และปัจจัยด้านเศรษฐกิจพืน้ ฐานและราคาน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเนือ่ งจากน�ำ้ อ้อยรวมถึงกากน�ำ้ ตาลสามารถน�ำไปผลิตเป็นเอทานอลเพือ่ ใช้ผสมกับน�ำ้ มันเพือ่ ใช้เป็น เชือ้ เพลิงส�ำหรับรถยนต์ ปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ราคาซือ้ ขายน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลกมีความผันผวนสูง ความผันผวนของราคาน�้ำตาลทรายในตลาดโลกอาจส่งผลกระทบต่อยอดขายของบริษัทฯได้ โดยเฉพาะในส่วนของน�้ำตาลทรายที่บริษัทฯ ส่งออกให้กบั ลูกค้าต่างประเทศ ส�ำหรับในส่วนของน�ำ้ ตาลทรายทีบ่ ริษทั ฯ ขายในประเทศนัน้ ความผันผวนของราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลกมิได้สง่ ผลกระทบ โดยตรง นอกจากนีร้ าคาขายน�ำ้ ตาลเป็นปัจจัยในการก�ำหนดราคาอ้อยทีเ่ ป็นต้นทุนหลักของบริษทั ฯ หากราคาอ้อยลดลง ย่อมกระทบต่อแรงจูงใจในการ ปลูกอ้อยของชาวไร่ออ้ ยเป็นห่วงโซ่ ดังนัน้ จะมีผลท�ำให้ชาวไร่ออ้ ยลดการปลูกอ้อย หรือลดการบ�ำรุงรักษาแปลงอ้อย ท�ำให้ปริมาณอ้อยเข้าสูก่ ารผลิตลดน้อยลง เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน�้ำตาลในตลาดโลกดังกล่าว บริษัทฯจึงก�ำหนดนโยบายในการก�ำหนดราคาโดยมีกรอบปริมาณ การก�ำหนดราคาอยูภ่ ายในอัตรามากหรือน้อยกว่าไม่เกิน 10% ของปริมาณการท�ำราคาน�ำ้ ตาลของโควต้า ข. ซึง่ เป็นราคาทีจ่ ะน�ำมาใช้ในการค�ำนวณราคาอ้อย ซึง่ เป็นต้นทุนหลักของการผลิตน�ำ้ ตาล อีกทัง้ ในฤดูการผลิตปีหน้า บริษทั ฯได้กำ� หนดมาตรการเพิม่ เติมในการจ�ำกัดผลกระทบด้านลบไม่ให้เกินวงเงินทีบ่ ริษทั จะก�ำหนดต่อไปอีกด้วย นอกจากนี้ บริษทั ฯได้จดั ให้มกี ารด�ำเนินงานก�ำกับการท�ำราคาน�ำ้ ตาลต่างประเทศในรูปแบบคณะท�ำงานทีป่ ระกอบด้วยทีมงานทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ และมีเจ้าหน้าทีซ่ งึ่ มีความช�ำนาญจากบริษทั เทรดดิง้ ระดับโลกร่วมด�ำเนินการอยูด่ ว้ ย นักวิเคราะห์ในคณะท�ำงานดังกล่าวท�ำหน้าทีต่ ดิ ตามราคาน�ำ้ ตาลโลก ในตลาดซือ้ ขายล่วงหน้า New York No 11 ตลาดซือ้ ขายน�ำ้ ตาลรีไฟน์ลว่ งหน้าLondon สถานการณ์เศรษฐกิจโลก ราคาน�ำ้ มันทีม่ ผี ลกระทบต่อราคาน�ำ้ ตาล และติดตามProduction consumption demand supply and stockเป็นประจ�ำทุกวัน

3. ความเสีย่ งจากมาตรการทางการค้าของประเทศคูค่ า้ ปัจจุบนั บริษทั ฯส่งออกน�ำ้ ตาลทรายมากกว่าร้อยละ 60.0 ของยอดขายทัง้ หมด ซึง่ ประเทศทีบ่ ริษทั ฯส่งออกหลัก คือ ประเทศญีป่ นุ่ เช่น การเปลีย่ นแปลง นโยบายภาษี โควตาหรือกฎระเบียบของประเทศ หรือการเข้าร่วมเป็นกลุม่ สมาชิกทางการค้า อาจจะส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของบริษทั ฯ กระบวนการผลิต และรายได้ของบริษทั ฯในตลาดส่งออกได้ บริษทั ฯจึงได้ตดิ ตาม ประเมิน และก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินงานเพือ่ ป้องกันผลกระทบดังกล่าว โดยการติดตามข่าวสารของประเทศคูค่ า้ ต่างๆ จากแหล่งต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง การท�ำสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าเพือ่ จะได้วางแผนการผลิต จัดเก็บและส่งมอบ ได้อย่างถูกต้อง และได้รว่ มมือกับบริษทั ซูมโิ ตโม คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ซึง่ เป็น Strategic Partner เพือ่ หาแนวทางลดผลกระทบ ตลอดจนแนวทางด�ำเนินการ ทีจ่ ะเป็นประโยชน์ทสี่ ดุ ต่อบริษทั ฯ ส�ำหรับลูกค้าต่างประเทศในส่วนของน�ำ้ ตาลทรายดิบนัน้ จากเดิมประเทศญีป่ นุ่ มีความต้องการน�ำเข้าน�ำ้ ตาลทรายดิบเกรด J - Spec เป็นจ�ำนวนมาก ในแต่ละปี ซึง่ ทางบริษทั ฯ เป็นผูส้ ง่ ออกน�ำ้ ตาลทรายดิบเกรดดังกล่าวรายใหญ่รายหนึง่ ภายหลังจากประเทศญีป่ นุ่ ได้มขี อ้ ตกลงร่วมกันกับประเทศออสเตรเลีย ในด้านภาษีทางการค้า ประเทศญี่ปุ่นจึงได้ลดการน�ำเข้าน�้ำตาลทรายดิบเกรด J-Spec และเปลี่ยนเป็นการน�ำเข้าน�้ำตาลทรายดิบเกรด Hi-Pol แทน ในปีการผลิต 2561/2562 บริษทั ฯ ได้ทำ� การปรับปรุงเครือ่ งจักรเพือ่ ให้สามารถผลิตน�ำ้ ตาลทรายดิบเกรด Hi-Pol ได้เพิม่ มากขึน้ และลดการผลิตน�ำ้ ตาล บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

63


J-Spec ลงมาให้อยูใ่ นปริมาณทีเ่ หมาะสมกับความต้องการของตลาดต่อไป นอกจากนัน้ ได้ปรับเปลีย่ นการจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาล Refined มาเป็น Super Refined ให้มากขึน้ ซึง่ สามารถท�ำให้บริษทั ฯ จ�ำหน่ายได้ ในราคาทีส่ งู ขึน้ ตามมาด้วย

4. ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายภาครัฐ (ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย) การปรับปรุงเปลีย่ นแปลงพระราชบัญญัตอิ อ้ ยและน�ำ้ ตาลทรายพ.ศ.2527ภายหลังจากผ่านการท�ำประชาพิจารณ์และผ่านคณะกรรมการชุดต่างๆ กลั่นกรองแล้วก็ตาม แต่ในขณะนี้เรื่องดังกล่าวยังมิได้ท�ำการเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบแต่อย่างใด และไม่มั่นใจว่าจะทันต่อรัฐบาลนี้ หรือต้องรอไปถึงรัฐบาลหน้า ส�ำหรับการรณรงค์ออ้ ยไฟไหม้ ให้ลดน้อยลงโดยการเพิม่ บทลงโทษในการหักราคาอ้อยไฟไหม้ตนั ละ 30 บาท เพือ่ น�ำมาให้รางวัลในส่วนของอ้อยสด ตันละ 120 บาทนั้น ในฤดูการผลิต 2560/2561 ที่ผ่านมาปริมาณอ้อยไฟไหม้ยังมีคงมีมากขึ้น ประกอบกับในฤดูการผลิต 2560/2561 ประเทศไทย มีปริมาณอ้อยถึงเกือบ 135 ล้านตัน ซึ่งมากที่สุดเท่าที่เคยมีมา ในขณะที่ราคาน�้ำตาลตลาดโลกตกต�่ำลงอย่างมากส่งผลท�ำให้ราคาอ้อยตกต�่ำตามลง สมาคมชาวไร่อ้อยได้เรียกร้องให้กลับมาใช้มาตรการการลงโทษอ้อยไฟไหม้และการให้รางวัลอ้อยสดในอัตราเดิมคือตัดราคาอ้อยไฟไหม้ตันละ 20 บาท และให้รางวัลอ้อยสดตันละ 70 บาท ขณะเดียวกันจากปริมาณอ้อยทีม่ จี ำ� นวนมากในฤดูการผลิต 2560/2561 ท�ำให้โรงงานต้องหีบอ้อยเป็นระยะเวลาทีย่ าวนาน ส่งผลให้คุณภาพอ้อยต�่ำลงและส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการผลิตลดลงตามล�ำดับ จึงมีข้อเรียกร้องจากในส่วนของกลุ่มโรงงานน�้ำตาลให้ส�ำนักงาน คณะกรรมการ อ้อยและน�ำ้ ตาลทรายยกเลิกการก�ำหนดมาตรฐานการผลิตของโรงงานในฤดูการผลิต 2560/2561 (ค่ามาตรฐานทีก่ ำ� หนด อ้อย 1 ตัน ที่ความหวาน 10 ccs. จะต้องผลิตน�้ำตาลที่ 94NT ให้ ได้ ไม่น้อยกว่า 90 กิโลกรัม) โดยทั้งสองเรื่องยังคงอยู่ระหว่างการพิจารณาของส�ำนักงาน คณะกรรมการอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายเพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายต่อไป การบริหารความเสี่ยงดังกล่าว บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายในการหีบอ้อยที่มีความเหมาะสมทั้งในส่วนของปริมาณและระยะเวลาในการหีบ เพือ่ ให้ ได้ประสิทธิภาพทีด่ ที สี่ ดุ นอกจากนัน้ ในปีนที้ างบริษทั ฯ ได้ทำ� การปรับปรุงเครือ่ งจักรเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต, เพือ่ การลดต้นทุนการผลิต, และการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการจัดส่งและการจัดเก็บเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในส่วนของวัตถุดิบ (อ้อย) ได้ก�ำหนดนโยบายให้ความส�ำคัญกับคุณภาพอ้อยเป็นอย่างยิ่ง โดยก่อนตัดอ้อยจะส�ำรวจและวิเคราะห์คุณภาพอ้อยก่อนตัดเข้าหีบทุกๆ แปลง เพื่อให้ ได้อ้อยที่มีคุณภาพความหวานและความสดที่เหมาะสมต่อการผลิตน�้ำตาล ส�ำหรับการป้องกันและลดปริมาณอ้อยไฟไหม้นอกจากการรณรงค์ ให้ ชาวไร่ตดั อ้อยสดส่งโรงงานแล้วยังได้แจ้งข่าวสารข้อมูลให้ชาวไร่ได้รบั ทราบถึงผลเสียของอ้อยไฟไหม้ซงึ่ จะส่งผลกระทบต่อราคาอ้อย, ต่อชุมชน, ต่อประเทศชาติ และในปีนี้ทางบริษัทฯ และกลุ่มบริษัทฯ ยังได้ท�ำการซื้อรถตัดอ้อยเพิ่มอีกเป็นจ�ำนวน 23 คัน ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานและยังช่วยให้ ได้ ปริมาณอ้อยสดทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกด้วย

5. ความเสีย่ งจากการแข่งขันทางการค้าน�ำ้ ตาล นับจากภาครัฐได้มีนโยบายยกเลิกระบบโควตาการจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายภายในประเทศและยกเลิกราคาควบคุมการจ�ำหน่ายตั้งแต่วันที่ 15 มกราคม 2561 เป็นต้นมา การจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายภายในประเทศแบบอิสระท�ำให้เกิดการแข่งขันกันอย่างรุนแรงโดยเฉพาะด้านราคา สืบเนือ่ งมาจาก ราคาน�้ำตาลในตลาดลอนดอนถดถอยลงอย่างมาก ถึงแม้จะมีราคาส�ำรวจที่ใช้อ้างอิงในการจ�ำหน่ายก็ตาม อย่างไรก็ตามทางบริษัทฯ ได้ปรับนโยบาย และกลยุทธ์ในการจ�ำหน่ายโดยมุง่ เน้นทางด้านคุณภาพและบริการ, การลดต้นทุนการผลิต, การปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าทีม่ หี ลากหลายมากขึน้ ในปัจจุบนั ส�ำหรับในส่วนการจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลไปยังต่างประเทศ บริษทั ฯ ยังคงให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพให้ดี และมีความเหมาะสมกับตลาดมากยิง่ ขึน้ โดยการลดการผลิตน�ำ้ ตาลทรายดิบ J-Spec และผลิตน�ำ้ ตาลทรายดิบ Hi-Pol มากขึน้ , ลดการผลิตน�ำ้ ตาลทรายขาว และเพิม่ การผลิตน�ำ้ ตาล Super Refined, น�ำ้ ตาล Refined มากขึน้ นอกจากนัน้ ยังปรับการให้บริการในการส่งมอบ -รับมอบ ให้เกิดความรวดเร็วยิง่ ขึน้

6. ความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนของนโยบายภาครัฐ(ธุรกิจเอทานอล) และการเปลีย่ นแปลงนโยบายด้านพลังงาน เอทานอลเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) ที่ ได้รับการส่งเสริมอย่างชัดเจน โดยได้ถูกระบุถึงเป้าหมายการใช้เอทานอลเป็นส่วนผสมของ น�้ำมันแก๊สโซฮอล์ ในแผนพัฒนาพลังงานทดแทน (AEDP) ทุกฉบับ ปัจจุบันการใช้เอทานอลภายในประเทศเฉลี่ยวันละ 4.1 ล้านลิตร และจะเพิ่มเป็นวันละ 11.3 ล้านลิตร ตามแผน AEDP ในปี 2579 ช่วงที่ผ่านมาการเติบโตของการใช้เอทานอลไม่สอดคล้องกับก�ำลังการผลิต คือเกิดสภาวะล้นตลาด เนื่องจากมีโรงงานเอทานอลเกิดขึ้นใหม่ ในปี 2561 ท�ำให้กำ� ลังการผลิตติดตัง้ รวมทัง้ ประเทศเพิม่ ขึน้ เป็นวันละ 6.25 ล้านลิตร ผลิตจริงเฉลีย่ วันละ 5.0 ล้านลิตร นอกจากนีป้ ริมาณอ้อยปี 2560/2561 มีมากถึง 135 ล้านตัน ปริมาณกากน�้ำตาลในระบบเพิ่มขึ้น ราคาต้นทุนการผลิตเอทานอลจากกากน�้ำตาลปรับตัวลดลงจากราคากากน�้ำตาลที่ลดลง ส่งผลให้เกิดการแข่งขันทางด้านราคาขายเอทานอลเพิม่ ขึน้

64


การเจรจากับภาครัฐเป็นสิง่ จ�ำเป็น กลุม่ บริษทั ฯ เป็นสมาคมการค้าผูผ้ ลิตเอทานอลไทย ซึง่ เป็นหน่วยงานทีเ่ ข้าหารือกับหน่วยงานรัฐทีร่ บั ผิดชอบ เช่น ส�ำนักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ให้เร่งเพิ่มปริมาณการใช้เอทานอลให้สอดคล้องกับ ก�ำลังผลิต โดยผ่านกลไกราคาขายปลีกน�้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละชนิด ปริมาณเงินเรียกเก็บเข้าและจ่ายออกจากกองทุนน�้ำมัน เพื่อเพิ่มยอดจ�ำหน่าย น�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ชนิดทีม่ สี ว่ นผสมเอทานอลสูง ได้แก่ น�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ E20 และ E85รวมถึงการยกเลิกน�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์91 อย่างไรก็ดี หากสถานการณ์เอทานอลเชื้อเพลิงในประเทศตกต�่ำลง กลุ่มบริษัทฯ ยังมีความสามารถผลิตแอลกอฮอล์คุณภาพสูงส�ำหรับตลาด ต่างประเทศ มีความสัมพันธ์ตอ่ เนือ่ งกับผูค้ า้ เอทานอลระหว่างประเทศ มีทา่ เรือส่งออกพร้อมถังพักสินค้าระหว่างรอการส่งออก และความช�ำนาญในขัน้ ตอน การส่งออกที่ได้เคยปฏิบตั มิ าแล้วหลายครัง้ ทั้งหมดนี้จะเป็นมาตรการลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากนโยบายรัฐที่เปลี่ยนแปลงจนเกิดผลกระทบที่ไม่พึงปรารถนาขึ้นให้บรรเทาเบาบางลง จนเสียหายต่อธุรกิจน้อยทีส่ ดุ หรือไม่เสียหายเลย

ความเสี่ยงภายใน (Internal Risk) 1. ความเสีย่ งจากการจัดหาวัตถุดบิ อ้อยให้ตรงกับปริมาณและคุณภาพทีต่ อ้ งการ ในปีการผลิต 2560/2561 ที่ผ่านมาปริมาณอ้อยเข้าหีบของทั้ง 3 โรงงานน�้ำตาลในกลุ่ม KTIS ต่างก็บรรลุเป้าหมาย แต่จากการที่มีฝนตก ในระหว่างฤดูหบี ทุกเดือนโดยเฉพาะช่วงท้ายของการหีบหลังสงกรานต์ทโี่ รงงานช่วยหีบอ้อยของชาวไร่เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนของชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญา จึงท�ำให้ดินโคลนติดมากับอ้อยที่ต้องเร่งน�ำเข้าหีบจนส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตน�้ำตาลทรายของโรงงานน�้ำตาล ปริมาณอ้อยไฟไหม้จ�ำนวนมาก ทีน่ ำ� เข้าหีบได้ลา่ ช้าจนท�ำให้คา่ ความบริสทุ ธิข์ องน�ำ้ อ้อยต�ำ่ มาตรการภาครัฐทีม่ ผี ลต่อการบรรทุกอ้อยและระยะเวลาในการหีบอ้อยทีต่ อ้ งหยุดช่วงเทศกาล ปีใหม่และสงกรานต์ เหล่านีส้ ง่ ผลต่อคุณภาพอ้อยทีโ่ รงงานได้รบั แม้วา่ จะได้กำ� หนดมาตรการรองรับเพือ่ ลดความเสีย่ งลงแล้วก็ตาม ในปีการผลิต 2561/2562 นี้ ด้านปริมาณอ้อยเข้าหีบของโรงงานน�ำ้ ตาลทัง้ 3 แห่งไม่นา่ เป็นห่วงเมือ่ ดูจากจ�ำนวนพืน้ ที่ไร่ออ้ ย ปริมาณการรับสัญญา ตัวเลขน�้ำฝน และสภาพอ้อยจากการวิ่งส�ำรวจไร่ ซึ่งก็สอดคล้องกับข้อมูลการปลูกและบ�ำรุงรักษาอ้อยของชาวไร่ ประกอบกับการใช้วัสดุปรับปรุงดิน จากโรงงานในเครือ การใช้ผลพลอยได้จากโรงงานน�้ำตาล และการใช้ปุ๋ยสูตรสูง ท�ำให้มั่นใจในด้านปริมาณอ้อยว่าเป็นไปตามที่ต้องการ ส่วนในด้าน คุณภาพอ้อยโรงงานได้วิเคราะห์สาเหตุที่เกิดขึ้นในฤดูหีบที่แล้วที่ท�ำให้คุณภาพอ้อยไม่เป็นไปตามที่ต้องการแล้วก�ำหนดมาตรการรองรับในปีนี้ ได้แก่ การควบคุมคุณภาพอ้อยที่แปลงและการตรวจคุณภาพอ้อยที่โรงงาน การก�ำหนดให้หยุดตัดและย้ายแปลงเมื่อฝนตกในพื้นที่ ไร่อ้อย การกันแปลง และแบ่งแปลงผืนใหญ่เพื่อป้องกันอ้อยไฟไหม้คราวละจ�ำ นวนมาก การลดเวลาจากตัดถึงหีบเพื่อรักษาความบริสุทธิ์ของน�้ำ อ้อย การเพิ่มรถตัดอ้อย ทั้งของชาวไร่อ้อยและของโรงงานเพื่อเพิ่มปริมาณอ้อยสด หลักสูตรฝึกอบรมพนักงานขับรถตัดอ้อยและใช้เครื่องจ�ำลองเสมือนจริงเพื่อลดสิ่งเจือปน ที่มาจากการใช้รถตัดอ้อย มาตรการเหล่านี้รวมทั้งมาตรการที่ท�ำได้ผลในปีก่อนตลอดจนการควบคุมระยะเวลาการหีบอ้อยให้เหมาะสมต่อการผลิต น�ำ้ ตาลทรายท�ำให้มนั่ ใจได้วา่ จะสามารถลดความเสีย่ งด้านคุณภาพอ้อย

2. ความเสีย่ งจากการเกิดหนีเ้ สียจากกระบวนการให้เงินส่งเสริมชาวไร่ออ้ ย เป็นที่คาดการณ์ว่าราคาอ้อยในปี 2561/2562 จะไม่ดีเนื่องจากราคาน�้ำตาลในตลาดโลกตกต�่ำ ประกอบกับการเปลี่ยนระบบการจ�ำหน่าย น�้ำตาลทรายในประเทศ เมื่อราคาอ้อยไม่ดีย่อมท�ำให้รายได้ของชาวไร่อ้อยที่จะน�ำมาช�ำระหนี้จากการส่งเสริมได้รับผลกระทบไปด้วย อย่างไรก็ตาม จากการทีป่ ี 2561 นี้ ไม่มฝี นตกมากในเดือนพฤษภาคมอย่างปี 2560 ประกอบกับความระมัดระวังในการคัดเลือกพืน้ ทีป่ ลูก ท�ำให้ปกี ารผลิตนี้ไม่พบปัญหา อ้อยถูกน�ำ้ ท่วมเสียหาย ไม่เจอภัยแล้งอย่างปี 2558/2559 และมาตรการส�ำรวจและเฝ้าระวังโรคแมลงศัตรูออ้ ยตลอดจนการผลิตและปล่อยศัตรูธรรมชาติ ของศัตรูอ้อยในแปลงอ้อยตลอดเวลา ท�ำให้มั่นใจได้ว่าไม่มีอ้อยที่ได้รับความเสียหายจนเกิดปัญหาหนี้เสีย นอกจากนี้การเพิ่มรายได้ของชาวไร่อ้อย ไม่วา่ จะเป็นการเพิม่ ค่าคุณภาพความหวาน (ซี.ซี.เอส.) อ้อยจากมาตรการคัดเลือกแปลงตัดตามข้อมูลสารสนเทศแปลงอ้อย การผลักดันให้ชาวไร่ตดั อ้อยสด เพื่อให้ ได้รับเงินเพิ่มอ้อยสดอีกทั้งไม่ต้องเสียค่าตัดราคาอ้อยไฟไหม้ และการเก็บใบอ้อยเพื่อเป็นเชื้อเพลิงชีวมวลซึ่งเพิ่มรายได้ ให้แก่ทั้งเจ้าของแปลงอ้อย และผู้จัดเก็บใบอ้อยดังค�ำกล่าวที่ว่า “ใบอ้อยมีราคาเมื่อเป็นคู่สัญญา KTIS” มาตรการเพิ่มเติมเหล่านี้รวมกับมาตรการต่างๆ ในการลดความเสี่ยง จากการสนับสนุนทุนในการท�ำอ้อยให้แก่ชาวไร่อ้อยคู่สัญญาดังที่ระบุในคู่มือการส่งเสริมชาวไร่อ้อย มาตรการประเมินผลผลิตอ้อยของชาวไร่แต่ละราย ก่อนที่จะเปิดหีบเพื่อก�ำหนดแนวทางปฏิบัติต่อชาวไร่อ้อยที่คาดว่าจะค้างหนี้เพื่อบรรเทาภาระหนี้สินคงค้าง หลักประกันที่จัดท�ำก่อนการส่งเสริม และมีการประเมินมูลค่าหลักประกันทุกปีเพื่อประกันความเสี่ยงหากชาวไร่ไม่สามารถช�ำระหนี้จากการท�ำอ้อยโดยปกติได้ เหล่านี้จะลดความเสี่ยงจากการ เกิดหนีเ้ สียอันเกิดจากกระบวนการให้สนิ เชือ่ ชาวไร่ออ้ ยลงได้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

65


3. ความเสีย่ งจากการขาดแคลนวัตถุดบิ ในการผลิตเยือ่ กระดาษ ธุรกิจผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย บริษัทฯ คาดว่าจะมีปริมาณชานอ้อยที่ได้รับจากโรงงานน�้ำตาลเพิ่มขึ้นจากปริมาณอ้อยที่เพิ่มขึ้น และจากการประหยัดการใช้พลังงานของโรงงานน�้ำตาล นอกจากนี้บริษัทฯ ได้ปรับปรุงเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้สามารถเพิม่ Yield ในการผลิตได้สงู ขึน้ และยังคงศึกษาและวิจยั ในการน�ำวัตถุดบิ ชนิดอืน่ มาผลิตทดแทนอย่างต่อเนือ่ ง ปัจจุบันสังคมโลกได้ ให้ความส�ำคัญต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นจึงเป็นอนาคตใหม่ที่ทางบริษัทฯ จะมุ่งเน้นไปยังผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง โดยการน�ำ เยือ่ จากชานอ้อยไปผลิตเป็นบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมซึง่ มีหลากหลายชนิด และขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ จึงเป็นอีกแนวทางหนึง่ ในการสร้างรายได้จากการสร้างมูลค่าเพิม่ หรือต่อยอกจากผลิตภัณฑ์เดิมทีม่ อี ยูท่ ำ� ให้มโี อกาสทีจ่ ะขยายตัวทางธุรกิจได้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต

4. ความเสีย่ งจากการขาดแคลนวัตถุดบิ ในการผลิตกระแสไฟฟ้า บริษทั ฯ ยังคงนโยบายและให้ความส�ำคัญต่อธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงทีม่ คี วามผันผวนทางด้านราคาน�ำ้ ตาล อย่างรุนแรง การจ�ำหน่ายไฟฟ้าของบริษทั ฯ ได้ทำ� การจ�ำหน่ายให้กบั การไฟฟ้าฝ่ายผลิต และการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ซึง่ จุดเด่นของบริษทั ฯ และกลุม่ บริษทั ฯ คือการมีสญ ั ญาขายไฟจ�ำนวนมาก แต่ประเด็นทีย่ งั คงเป็นความเสีย่ งส�ำหรับการผลิตไฟฟ้าประเภทชีวมวลคือเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ ในการผลิต บริษทั ฯ จึงมุง่ เน้นทีจ่ ะ ท�ำการขยายอ้อยทัง้ ทางแนวดิง่ และแนวราบเพือ่ ให้มปี ริมาณอ้อยเข้าหีบมากขึน้ และมีชานอ้อยคงเหลือมากขึน้ ด้วยเช่นกัน นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้ลงทุนปรับปรุง พัฒนาเครือ่ งจักรตลอดจนกระบวนการผลิตให้ประหยัดพลังงานมากขึน้ ทัง้ ในส่วนของโรงงานน�ำ้ ตาลและโรงไฟฟ้าเพือ่ ให้เหลือชานอ้อยมากขึน้ ด้วยเช่นกัน ขณะเดียวกันบริษทั ฯ ในกลุม่ คือ KTIS R&D ยังคงมุง่ ศึกษาและวิจยั ในการปลูกพืชพลังงานทดแทนชนิดต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งในเรือ่ ง ดังกล่าว และเพือ่ ก่อให้เกิดความมัน่ คงต่อธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าของบริษทั ฯ ต่อไปในอนาคตอย่างยัง่ ยืน

66


ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ อื หุน้ หลักทรัพย์ของบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 บริษทั ฯ มีทนุ จดทะเบียน 3,888,000,010 บาท และทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 3,860,000,010 บาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 3,888,000,010 หุน้ มูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท

ผู้ถือหุ้น รายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 มีดงั นี้

ล�ำดับที่

ชือ่ – สกุล

1

บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด2

2

จ�ำนวนหุน้

สัดส่วนการถือหุน้ (%)

1,360,800,000

35.254

บริษทั 3 เอส โฮลดิง้ จ�ำกัด1

972,000,010

25.181

3

BANK OF SINGAPORE LIMITED

243,138,600

6.299

4

นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

190,698,000

4.940

5

DBS BANK LTD

128,000,000

3.316

6

นายศิรพัทธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

120,892,900

3.132

7

นายภูมฤิ กษ์ หวังปรีดาเลิศกุล

114,646,200

2.970

8

นางเนาวรัตน์ หวังปรีดาเลิศกุล

96,652,226

2.504

112,341,000

2.910

87,267,000 25,074,000

2.261 0.649

62,492,000

1.619

3,401,660,936

88.125

9

กลุม่ บริษทั KING WAN CORPORATION LIMITED KING WAN CORPORATION KING WAN INDUSTRIES PTE. LTD.

10

นายภูมริ ฐั หวังปรีดาเลิศกุล รวม

หมายเหตุ (1.) บริษทั 3 เอส โฮลดิง้ จ�ำกัด มีทนุ จดทะเบียน 972,467,000 บาท แบ่งออกเป็น 9,724,670 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท มีทนุ ทีเ่ รียกช�ำระแล้ว 9,724,670 หุน้ คิดเป็น 972,467,000 บาท ประกอบธุรกิจการลงทุนถือหุน้ ในกิจการอืน่ (Holding Company) ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ทีป่ รากฏในสมุดทะเบียนหุน้ มีดงั นี้

ล�ำดับที่

ชือ่ – สกุล

จ�ำนวนหุน้

สัดส่วนการถือหุน้ (%)

1

บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด2

6,807,261

69.8

2

ซูมโิ ตโม คอร์ปอเรชัน่

2,431,173

25.2

3

บริษทั นิสชิน ชูการ์ จ�ำกัด

486,234

5.0

2

0.0

9,724,670

100.0

ผูถ้ อื หุน้ อืน่ ๆ รวม

(2.) บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด มีทนุ จดทะเบียน 22,725,000,000 บาท แบ่งออกเป็น 909 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 25,000,000บาท มีทนุ ทีเ่ รียกช�ำระแล้ว 909 หุน้ คิดเป็น 22,725,000,000 บาท ณ วันที่ 30 กันยายน 2561ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ทีป่ รากฏในสมุดทะเบียนหุน้ มีดงั นี้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

67


ล�ำดับที่

ชือ่ – สกุล

จ�ำนวนหุน้

สัดส่วนการถือหุน้ (%)

1

นางสาวณฐญา ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

133

14.6

2

นางสาวศิรอาภา ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

93

10.2

3

นายปริญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

77

8.5

4

นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

69

7.6

5

นายศิรพัทธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

69

7.6

6

นายภูมฤิ กษ์ หวังปรีดาเลิศกุล

65

7.2

7

นายภูมริ ฐั หวังปรีดาเลิศกุล

63

6.9

8

นายประสงค์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

54

5.9

9

นางสาวสายศิริ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

53

5.8

10

นายปรัชญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

50

5.5

11

นายปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

50

5.5

133

14.7

909

100.0

ผูถ้ อื หุน้ อืน่ ๆ รวม

ข้อตกลงระหว่างกลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ในเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรือการ บริหารงานของ บริษทั ฯ โดยทีข่ อ้ ตกลงดังกล่าวมีบริษทั ฯ ร่วมลงนามอยูด่ ว้ ย -ไม่ม-ี

การออกหลักทรัพย์อนื่ ชือ่ หลักทรัพย์ :

KTIS-WA ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ทีอ่ อกและเสนอขายให้กบั ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ

ประเภท/ชนิด :

ระบุชอื่ ผูถ้ อื และโอนเปลีย่ นมือไม่ได้ เว้นแต่ ถึงแก่กรรม สาบสูญ เจ็บป่วยอย่างร้ายแรง หรือทุพพลภาพ หรือ เหตุอนื่ ๆทีฝ่ า่ ยจัดการ (ผูบ้ ริหารและคณะกรรมการ) ของบริษทั ฯ อนุมตั ใิ ห้ทายาทหรือบุคคลอืน่ ใช้สทิ ธิแทนได้

อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ :

5 ปี นับแต่วนั ออกและเสนอขาย

จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ :

ไม่เกิน 28,000,000 หน่วย

ราคาเสนอขายต่อหน่วย :

เท่ากับ 0 บาท (ศูนย์บาท)

จ�ำนวนหุน้ สามัญทีจ่ ดั สรรไว้ :

เท่ากับจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯทีอ่ อก และเสนอขายเพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิ (ไม่เกิน 28,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ รา 1 บาทต่อหุน้ )

อัตราการใช้สทิ ธิ :

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ 1 หน่วย มีสทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ (เว้นแต่มกี าร ปรับอัตราการใช้สทิ ธิในภายหลัง ซึง่ พนักงานฯ จะไม่ดอ้ ยสิทธิกว่าเดิม)

ราคาการใช้สทิ ธิ :

เท่ากับราคาเสนอขายหุน้ สามัญต่อประชาชนครัง้ แรก (10.00 บาทต่อหุน้ )

ตลาดรองของหุน้ สามัญ :

บริษทั ฯ จะน�ำหุน้ สามัญทีเ่ กิดจากการใช้สทิ ธิจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

68


วันทีม่ ปี ระกาศใช้ :

1 ธันวาคม 2557

วันทีค่ รบก�ำหนด :

30 พฤศจิกายน 2562

วิธกี ารจัดสรร :

จัดสรรโดยตรงให้กบั ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ำ� หนดในสรุปสาระส�ำคัญของ การออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิให้แก่ผบู้ ริหารและพนักงาน บริษทั ฯ และ/หรือบริษทั ย่อย

เหตุในการต้องออกหุน้ ใหม่เพือ่ รองรับ : การเปลีย่ นแปลงการใช้สทิ ธิ

เมือ่ มีการด�ำเนินการปรับราคาการใช้สทิ ธิตามเงือ่ นไขการปรับสิทธิตามทีก่ ำ� หนดในข้อก�ำหนดสิทธิและเงือ่ นไข ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ซึง่ เป็นเหตุการณ์ทกี่ ำ� หนดไว้ตามประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต.

สิทธิและประโยชน์อย่างอืน่ นอกจากสิทธิ : และประโยชน์ตามปกติของหุน้ สามัญ

-ไม่ม-ี

วันก�ำหนดการใช้สทิ ธิ :

ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ได้ ในทุกวันท�ำการสุดท้ายของเดือน เมือ่ ครบระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน นับแต่วนั ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ วันก�ำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย จะตรงกับระยะเวลา 5 วันท�ำการก่อนวันทีใ่ บส�ำคัญแสดงสิทธิมอี ายุครบ 5 ปี นับแต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและ เสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

การใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญ :

เว้นแต่ ในกรณีทผี่ บู้ ริหารและพนักงานไม่สามารถใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิได้ดงั ทีก่ ำ� หนดไว้ ในเงือ่ นไข ในการใช้สทิ ธิ ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิสามารถทีจ่ ะใช้สทิ ธิในการซือ้ หุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่ของบริษทั ฯ เมือ่ ครบ ระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน นับแต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ตามวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิ

ระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิ : ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิซึ่งประสงค์ที่จะใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ จะต้องแจ้งความจ�ำนง ในการใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ในระหว่างเวลา 9.00 ถึง 15.00 น. ภายใน 5 วันท�ำการ ก่อนวันก�ำหนดการใช้สิทธิในแต่ละครั้ง ในกรณีที่วันก�ำหนดการใช้สิทธิตรงกับวันหยุดท�ำการของบริษัทฯ ให้เลื่อนวันก�ำหนดการใช้สิทธิดังกล่าวเป็นวันท�ำการสุดท้ายก่อนหน้าวันก�ำหนดการใช้สิทธิครั้งดังกล่าว (ต่อไปนีเ้ รียกว่า “ระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิ”) ยกเว้นการแสดงความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิ ครัง้ สุดท้าย ให้แสดงความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิในระหว่าง 15 วันท�ำการก่อนวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย (ต่อไปนีเ้ รียกว่า “ระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย”) บริษทั ฯ จะแจ้งข่าวเตือน และรายละเอียดเพิม่ เติม (หากมี) เกีย่ วกับระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิ ระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย อัตราการใช้สทิ ธิ ราคาการใช้สทิ ธิ ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ รายละเอียดบัญชีธนาคารเพื่อการจองซื้อใบส�ำคัญแสดงสิทธิ และสถานที่ที่ติดต่อในการใช้สิทธิ โดยวิธี ติดประกาศ ณ ส�ำนักงานใหญ่ของบริษทั ฯ หรือท�ำเป็นหนังสือจัดส่งตามหน่วยงานทีผ่ ถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ สังกัดอยู่ หรือส่งเป็นจดหมายอิเล็กทรอนิคส์ ให้ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิทราบอย่างน้อย 7 วันท�ำการ ก่อนระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิในแต่ละครัง้ ส�ำหรับวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย บริษทั ฯ จะส่งรายละเอียดดังกล่าวให้กบั ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ โดยท�ำเป็นหนังสือจัดส่งตามหน่วยงานทีผ่ ถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิสงั กัดอยูห่ รือส่งเป็นจดหมายอิเล็กทรอนิคส์ ล่วงหน้า 15 วันท�ำการก่อนระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายด้วย เงือ่ นไขในการใช้สทิ ธิ :

ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิจะต้องมีสถานะเป็นผูบ้ ริหารและพนักงานในวันก�ำหนดการใช้สทิ ธินนั้ ยกเว้น ในกรณีทรี่ ะบุในข้อต่อไป

กรณีที่ได้รบั ยกเว้นมีดงั นี้ (ก) ในกรณีทผี่ ถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิพน้ สภาพการเป็นผูบ้ ริหารและพนักงาน เนือ่ งจากถึงแก่กรรม สาบสูญ เจ็บป่วยอย่างร้ายแรง หรือทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบตั งิ านได้อกี ต่อไป หรือเหตุอนื่ ใดทีฝ่ า่ ยจัดการพิจารณาเห็นสมควรให้บคุ คลดังกล่าว หรือทายาท หรือผูพ ้ ทิ กั ษ์ หรือ ผูอ้ นุบาล ของบุคคลดังกล่าว สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิแทนผู้บริหารและพนักงาน ดังกล่าวได้จนครบอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ได้รบั จัดสรรนัน้ (ข) กรณีทพ ี่ น้ สภาพจากการเป็นผูบ้ ริหารและพนักงานเนือ่ งจากการเกษียณอายุ สามารถใช้สทิ ธิ ซือ้ หุน้ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวได้จนครบอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ได้รบั การจัดสรร

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

69


(ค) กรณีที่พ้นสภาพจากการเป็นผู้บริหารและพนักงาน เนื่องจากการถูกเลิกจ้างหรือปลดออก โดยไม่มีความผิดหรือการพ้นสภาพการเป็นผู้บริหารและพนักงานซึ่งเป็นผลเนื่องมาจาก การเปลีย่ นแปลงอ�ำนาจการควบคุมในบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของฝ่ายจัดการ ในการก�ำหนดให้มีการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ผู้บริหารหรือพนักงานได้รับตามที่ เห็นสมควรและเหมาะสมเป็นรายกรณีไป

นายทะเบียนของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ :

เว้นแต่ฝ่ายจัดการจะก�ำหนดเป็นอย่างอื่น ในกรณีที่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิพ้นสภาพจากการ เป็นผู้บริหารและพนักงานเนื่องจากการลาออก หรือถูกไล่ออก หรือถูกเลิกจ้าง หรือปลดออก โดยมีความผิด ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิจะไม่สามารถใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ได้รบั จัดสรรอีก และผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิต้องคืนใบส�ำคัญแสดงสิทธิในส่วนที่ยังไม่ได้ ใช้สิทธิทั้งหมดที่ถืออยู่ ให้แก่บริษัทฯ โดยทันที เพื่อให้ฝ่ายจัดการน�ำไปจัดสรรให้แก่ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ/ หรือบริษทั ย่อยรายอืน่ ตามความเหมาะสมต่อไป

หากผู้บริหารและพนักงานไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิหรือใช้สิทธิไม่ครบถ้วน และใบส�ำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวครบอายุตามทีก่ ำ� หนดแล้ว ให้ถอื ว่าผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ และ/หรือบริษัทย่อยสละสิทธิการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่เหลือดังกล่าว โดยผู้บริหาร และพนักงานดังกล่าวไม่มสี ทิ ธิเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ จากบริษทั ฯ

ฝ่ายจัดการมีอำ� นาจโดยสมบูรณ์ ในการพิจารณาก�ำหนดหรือแก้ ไขเงือ่ นไขในการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญ แสดงสิทธิซงึ่ อาจแตกต่างไปจากที่ได้ระบุมาข้างต้นได้

บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั บริษทั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ไม่ตำ่� กว่าร้อยละ 50.0 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการ ทีเ่ หลือหลังจากหักเงินส�ำรองต่างๆ ทุกประเภทตามที่ได้กำ� หนดไว้ ในข้อบังคับของบริษทั ฯ และตามกฎหมาย หากไม่มเี หตุจำ� เป็นอืน่ ใด หรือไม่ถกู จ�ำกัดโดยสัญญาเงินกู้ และการจ่ายเงินปันผลนัน้ ไม่มผี ลกระทบต่อการด�ำเนินงานปกติของบริษทั ฯ อย่างมีนยั ส�ำคัญ ตามทีค่ ณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควรหรือเหมาะสม และการด�ำเนินการดังกล่าวจะ ต้องก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุน้ มติคณะกรรมการบริษทั ฯ ทีพ ่ จิ ารณาเรือ่ งดังกล่าวนัน้ ให้นำ� เสนอเพือ่ ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่เป็นการ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลซึง่ คณะกรรมการบริษทั มีอำ� นาจอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาลได้ แล้วให้รายงานให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบในการประชุมคราว ต่อไป ทัง้ นี้ หากบริษทั ฯ เล็งเห็นถึงโอกาสในการลงทุน บริษทั ฯ จะขออนุญาตผูถ้ อื หุน้ ในการพิจารณาขอยกเว้นการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ เพือ่ น�ำเงินไป สนับสนุนการลงทุนเป็นครัง้ ๆ ไป บริษัทย่อยของบริษัทฯ มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50.0 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินของบริษัทย่อยหลังหักภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คล เงินส�ำรองตามกฎหมาย และเงินส�ำรองต่างๆ ทัง้ หมด โดยจะพิจารณาประกอบกับกระแสเงินสด ฐานะการเงินสภาพคล่อง และแผนการลงทุนใน แต่ละช่วงเวลาด้วย โดยมีเพียง บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด ทีส่ ถาบันการเงิน ก�ำหนดให้สามารถจ่ายเงินปันผลได้ตอ่ เมือ่ ไม่มกี ารผิดนัดช�ำระ และ จะต้องคงอัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ (DSCR) ไม่นอ้ ยกว่า 1.25 เท่า ณ วันปิดงบการเงินประจ�ำปี และหากต้องการจ่ายปันผลต้องได้รบั ความ เห็นชอบจากสถาบันการเงินผู้ ให้กกู้ อ่ น

70


รายละเอียดการจ่ายเงินปันผล 1. ก�ำไรสุทธิ (บาท) 2. จ�ำนวนหุน้ 2.1 จ�ำนวนหุน้ ทีจ่ า่ ยเงินปันผลระหว่างกาล

2.2 จ�ำนวนหุน้ ทีจ่ า่ ยเงินปันผลประจ�ำปี

2561 (ปีทเี่ สนอ)

2559

2560

224,993,863

666,124,903

315,548,967

3,860,000,010

3,860,000,010

3,860,000,010

0.10

0.15

0.15

386,000,001

579,000,001.50

579,000,001.50

171.56%

86.92%

183.48%

3. รวมเงินปันผลจ่ายต่อหุน้ (บาท : หุน้ )

3.1 เงินปันผลระหว่างกาล (บาท : หุน้ ) 3.2 เงินปันผลประจ�ำปี (บาท : หุน้ )

4. รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ (บาท)* 5. สัดส่วนการจ่ายเงินปันผล

หมายเหตุ 1. ปี 2559 บริษทั ฯ จ่ายเงินปันผลจาก (ก) ผลการด�ำเนินการประจ�ำปี 2559 จ�ำนวน 193,000,000.50 บาท คิดเป็น 0.05 บาทต่อหุน้ (ร้อยละ 85.78 ของก�ำไรสุทธิ จากงบเฉพาะกิจการประจ�ำปี 2559) และ (ข) ก�ำไรสะสม จ�ำนวน 193,000,000.50 บาท คิดเป็น 0.05 บาทต่อหุน้ 2. ปี 2561 บริษทั ฯ จ่ายเงินปันผลจาก (ก) ผลการด�ำเนินการประจ�ำปี 2561 จ�ำนวน 231,600,000.60 บาท ในอัตราหุน้ ละ 0.06 บาท (คิด เป็นประมาณร้อยละ 73.40 ของก�ำไรสุทธิจากงบเฉพาะกิจการประจ�ำปี 2561) และ (ข) ก�ำไรสะสม จ�ำนวน 347,400,000.90 บาท ในอัตราหุน้ ละ 0.09 บาท

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

71


โครงสร้างการจัดการ ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหาร

ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักตรวจสอบภายใน

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่ม KTIS

รองประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KITS

ผู้ช่วยประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่ม KTIS

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส สายงาน สนับสนุนธุรกิจ 1

ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงินกลุ่ม KITS

รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงินกลุ่ม KITS

ผู้ช่วย ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ประธานเจ้าหน้าที่ สายงาน บริหารการเงินอาวุโส สนับสนุนธุรกิจ 2 กลุ่ม KTIS

ผู้ช่วย ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงิน กลุ่ม KTIS

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTIS (COO-KTIS)

72

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่ม KTIS

ผู้ช่วย ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงิน กลุ่ม KTIS

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ TIS (COO-TIS)

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTIS 3 (COO-KTIS 3)

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ EPPCO (COO-EPPCO)


เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริหารความเสี่ยง

รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่ม KITS

รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่ม KITS

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายธุรกิจอ้อยและน�้ำตาล

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายธุรกิจชีวภาพ

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส สายงานวัตถุดิบ

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTBP (COO-KTBP)

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ TEP (COO-TEP)

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ RPBP (COO-RPBP)

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTBE (COO-KTBE)

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTBF (COO-KTBF)

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ KTIS R&D (COO-KTIS R&D)

รายงานประจ�ำปี 2561

73


โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการจ�ำนวน 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริษัท โครงสร้างของคณะกรรมการบริษทั ฯ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 15 ท่าน โดยเป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้

ต�ำแหน่ง

กรรมการ ผูม้ อี ำ� นาจ ลงนาม ผูกพันบริษทั

วันทีเ่ ข้า รับต�ำแหน่ง

การเข้าประชุม คณะกรรมการ บริษทั ปี 2561

1. นายปรีชา อรรถวิภชั น์

ประธานกรรมการ

กลุม่ ที่ 2

29 มกราคม 2556

4/4

2. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

รองประธานกรรมการ

กลุม่ ที่ 2

29 มกราคม 2556

4/4

3. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการ

กลุม่ ที่ 1

29 มกราคม 2556

4/4

4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการ

กลุม่ ที่ 1

29 มกราคม 2556

4/4

5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

กรรมการ

กลุม่ ที่ 1

29 มกราคม 2556

4/4

6. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการ

กลุม่ ที่ 1

29 มกราคม 2556

4/4

7. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี

กรรมการอิสระ

-

29 มกราคม 2556

4/4

8. นายอภิชา นุชประยูร

กรรมการ

กลุม่ ที่ 2

29 มกราคม 2556

4/4

9. นายคูนฮิ โิ กะ ทะฮะระ

กรรมการ

-

12 พฤษภาคม 2560

4/4

10. นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋

กรรมการ

กลุม่ ที่ 2

29 มกราคม 2556

4/4

กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ

-

26 กุมภาพันธ์ 2557

4/4

12. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

-

29 มกราคม 2556

4/4

13. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

-

29 มกราคม 2556

4/4

กรรมการอิสระ

-

29 มกราคม 2556

4/4

กรรมการ

กลุม่ ที่ 1

14 พฤษภาคม 2558

4/4

ชือ่

11. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา

14. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์ 15. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

โดยมี นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษทั ฯ

74


กรรมการอิสระ : คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระคิดเป็น 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ หมด โดยคณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนิยามและคุณสมบัติ ของกรรมการอิสระ ซึง่ สอดคล้องและเท่ากับข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ต.ล.ท.) โดยยึดตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ดี งั นี้ ถือหุน ้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ

บริษทั ฯ ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน

ลูกจ้าง พนักงานที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วมบริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีแ่ ต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ

ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต

หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน่ ผูบ้ ริหารผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ผมู้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ของบริษทั ฯบริษทั ย่อย หรือบริษทั ร่วม

ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ

บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่ อาจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีแ่ ต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึง่ รวมถึงการท�ำรายการทางการค้าทีก่ ระท�ำเป็นปกติ เพือ่ ประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการหรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค�้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อ่ืนท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้ผู้ขออนุญาต หรือคูส่ ญ ั ญามีภาระหนีท้ ตี่ อ้ งช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 3 ของสินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิของผูข้ ออนุญาตหรือตัง้ แต่ 20 ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จำ� นวนใดจะต�ำ่ กว่า ทัง้ นี้ การค�ำนวณภาระหนีด้ งั กล่าวให้เป็นไปตามวิธกี ารค�ำนวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะ กรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนีด้ งั กล่าว ให้นบั รวมภาระหนี้ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่าง 1 ปีกอ่ นวันทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน

ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ

บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้น ที่มีนัยผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการ มีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีแ่ ต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ

ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ ให้บริการทางวิชาชีพใด

ๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการ เกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของผู้ ให้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันที่ แต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ

ไม่เป็นกรรมการที่ได้รบ ั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้

รายใหญ่ ไม่ประกอบกิจการทีม ่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย หรือไม่เป็นหุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน

หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือบริษทั ร่วม ไม่มลี กั ษณะอืน ่ ใดทีท่ ำ� ให้ ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ

ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป็นไปตามข้อ 1 ถึง 9 แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

75


กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทนบริษัทฯ : กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม แบ่งออกเป็น 2 กลุม่ ดังนี้

กลุม่ ที่ 1

กลุม่ ที่ 2

1. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

1. นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋

2. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

2. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

3. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

3. นายอภิชาต นุชประยูร

4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

4. นายปรีชา อรรถวิภชั น์

5. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล โดยกรรมการที่มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ คือ กรรมการสองในห้าคนของกลุ่มที่ 1 ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ หรือ กรรมการคนใดคนหนึง่ ของกลุม่ ที่ 1 ลงลายมือชือ่ ร่วมกับกรรมการคนใดคนหนึง่ ของกลุม่ ที่ 2 รวมเป็นสองคนลงลายมือชือ่ ร่วมกันพร้อมประทับตรา ส�ำคัญของบริษทั ฯ

วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการบริษัทฯ ออกจากต�ำแหน่งเป็นจ�ำนวน 1 ใน 3ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดในขณะนั้น ถ้าจ�ำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรก และปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนบริษทั ฯ นัน้ ให้จบั สลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง ทัง้ นี้ กรรมการ ซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระนัน้ อาจได้รบั เลือกให้กลับเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งอีกได้

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ : ปฏิบต ั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั ฯ มติคณะกรรมการบริษทั ฯ และมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความรับผิดชอบ

ความระมัดระวัง และความซือ่ สัตย์สจุ ริต พิจารณาก�ำหนดรายละเอียดและให้ความเห็นชอบ

วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารและฝ่ายจัดการจัดท�ำ

ก�ำกับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบต ั งิ านของคณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ฝ่ายจัดการ หรือบุคคลใดๆ

ซึง่ ได้รบั มอบหมายให้ทำ� หน้าทีด่ งั กล่าว เพือ่ ให้เป็นไปตามนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษท ั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนินงานและงบประมาณของบริษทั ฯ ด�ำเนินการให้บริษัทฯ

และบริษัทย่อยน�ำระบบงานบัญชีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทั้งจัดให้มีระบบควบคุมภายใน และระบบ

การตรวจสอบภายใน จัดให้มีการท�ำงบการเงินของบริษัทฯ

ณ วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัทฯ และลงลายมือชื่อเพื่อรับรองงบการเงินดังกล่าว เพื่อน�ำเสนอต่อ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

พิจารณาให้ความเห็นชอบการคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี

และพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสม ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบ น�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

จัดให้มนี โยบายเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการตามหลักธรรมาภิบาลทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร และการปรับใช้นโยบายดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ

เพือ่ ให้เชือ่ มัน่ ได้วา่ บริษทั ฯ มีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกกลุม่ ด้วยความเป็นธรรม

76


พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติและไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด

พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ ไขเพิ่มเติม) รวมถึงประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากออกตามวาระ และพิจารณาให้ ความเห็นชอบแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ และการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการตามทีค่ ณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนน�ำเสนอเพือ่ น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย

เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เป็นต้น หรือคณะกรรมการชุดย่อยอื่นใดและก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าว เพือ่ ช่วยเหลือและสนับสนุนการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ

พิจารณาก�ำหนดและแก้ ไขเปลีย่ นแปลงชือ่ กรรมการซึง่ มีอำ� นาจลงนามผูกพันบริษท ั ฯ ได้ พิจารณาแต่งตัง้ ผูบ ้ ริหารตามค�ำนิยามทีก่ ำ� หนดโดยคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน

และเลขานุการบริษทั ฯ รวมทัง้ พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนของผูบ้ ริหารดังกล่าว ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�ำเป็นเพือ่ ประกอบการตัดสินใจทีเ่ หมาะสม ส่งเสริมให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ

เข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในหลักสูตร ทีเ่ กีย่ วข้องกับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการและผูบ้ ริหารนัน้

ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ นั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือมอบอ�ำนาจ ช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษัทฯ สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามทีน่ ยิ ามไว้ ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน) หรืออาจได้รบั ประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยของบริษัทฯ ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือ คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ไิ ว้

ประเภทของกรรมการบริษัท : รายละเอียดประเภทของกรรมการบริษทั ในปี 2561 สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2561 มีดงั นี้

ชือ่

กรรมการที่ ไม่เป็นผูบ้ ริหาร

กรรมการอิสระ

     

นายปรีชา อรรถวิภชั น์ นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล นายพูนศักดิ์ บุญสาลี

   

นายอภิชาต นุชประยูร นายคูนฮิ โิ กะ ทะฮะระ นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋ นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา

กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

77


ชือ่

กรรมการที่ ไม่เป็นผูบ้ ริหาร

กรรมการอิสระ

  

  

นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์ ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร นายอิสกันต์ ไกรวิทย์

กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร

นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท : เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษัทแบบรายคณะ และรายบุคคล อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึ่งผลการประเมิน ประจ�ำปี 2561 มีคะแนนเฉลีย่ ของภาพรวมในแต่ละหัวข้อดังนี้

หัวข้อการประเมิน

คณะกรรมการบริษทั รายบุคคล คณะกรรมการบริษทั รายคณะ

1.โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ

4.80

4.75

2.การประชุมของคณะกรรมการ

4.80

4.78

3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

4.83

4.73

4. การท�ำหน้าทีข่ องกรรมการ

-

4.78

5. ความสัมพันธ์กบั ฝ่ายจัดการ

-

4.81

6. การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร

-

4.73

4.81

4.76

คะแนนเฉลีย่ รวม หมายเหตุ 1. คะแนนเต็ม = 5 2. การประเมินคณะกรรมการบริษทั แบบรายบุคคลมีหวั ข้อการประเมินเพียง 3 หัวข้อ

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ : บริษทั ฯได้กำ� หนดให้มกี ารปฐมนิเทศส�ำหรับกรรมการใหม่ โดยได้จดั ให้มกี ารบรรยายน�ำเสนอภาพรวมกิจการบริษทั ฯ ให้กรรมการใหม่ได้รบั ทราบ ในหัวข้อดังต่อไปนี้ กรอบในการด�ำเนินกิจการ(กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ ระเบียบ) ข้อมูลการด�ำเนินงานและกิจกรรม โครงการส�ำคัญ การพัฒนาองค์กร การพัฒนาธุรกิจ การก�ำกับดูแลกิจการทีด ่ ี ความรับผิดชอบต่อสังคม

78


นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้จดั ให้กรรมการใหม่เข้าเยีย่ มชมกิจการของบริษทั ฯ และโรงงานต่างๆ พร้อมทัง้ ได้จดั ท�ำข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับคณะกรรมการ บริษทั และผูบ้ ริหาร เพือ่ เป็นคูม่ อื /ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับตัวบริษทั ให้แก่กรรมการใหม่เพือ่ ใช้เป็นหลักในการก�ำกับดูแลกิจการในหัวข้อต่างๆได้แก่ วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และเป้าหมายของบริษท ั ฯ การพัฒนาองค์กร การพัฒนาธุรกิจ ประวัตโิ ดยสังเขปของกรรมการและผูบ ้ ริหาร คุณสมบัตแิ ละค่าตอบแทนของกรรมการ บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการ โครงสร้างการบริหารงาน ข้อมูลทีเ่ กีย่ วกับการจัดตัง้ บริษท ั นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด ่ ี

การฝึกอบรมของคณะกรรมการบริษัท : บริษทั ฯ ได้สนับสนุนให้คณะกรรมการบริษทั ได้ศกึ ษาและอบรมเพือ่ ให้เข้าใจถึงหลักการของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี กฏเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจน บทบาทหน้าทีข่ องกรรมการบริษทั ในการบริหารงานให้มปี ระสิทธิภาพ ปัจจุบนั มีกรรมการบริษทั ทีเ่ ข้ารับการอบรมในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับบทบาทหน้าที่ ของกรรมการ โดยสามารถสรุปการเข้ารับการอบรมหลักสูตรต่างๆ ได้ดงั นี้ Director Certification Program (DCP) นายปรีชา อรรถวิภชั น์

Director Accreditation Program (DAP)

DCP39/2004

Audit Committee Program (ACP) ACP11/2006

Monitoring Finance for Fraud Risk Non - Finance Management Director (FND) (MFM)

Understanding the Board Matters Fundamental and Trends of Financial (BMT) Statements (UFS)

FND8/2004

นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

DAP 54/2006

นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา

DAP 53/2006

นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

DAP 96/2012

นายณัฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

DAP 96/2012

นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

DAP 96/2012

นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

DAP 96/2012

นายอภิชาต นุชประยูร

DAP 96/2012

นายสถาพร โคธีรารักษ์

DAP 35/2009

ACP13/2013

ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

DAP 97/2012

ACP41/2012

MFM 8/2012

นายอิสกันต์ ไกรวิทย์

DAP 97/2012

ACP41/2012

MFM 8/2012

นายพูนศักดิ์ บญสาลี

DAP 97/2012

นายคูนฮิ โิ กะ ทะฮะระ

DAP135/2017

ACP24/2008

UFS 6/2006

BMT6/2018

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

79


ตารางสรุปการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561: การถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ แสดงจ�ำนวนหุ้น โดยรวมจ�ำนวนหุ้นของคู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และผู้ถือหุ้นที่อยู่ภายใต้ มาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ดังนี้

รายชือ่ กรรมการ

ต�ำแหน่ง

หุน้ สามัญ จ�ำนวน (หุน้ )

รายการ เปลีย่ นแปลง ระหว่างปี 2561 จ�ำนวน (หุน้ )

หุน้ สามัญ จ�ำนวน (หุน้ )

31 ธ.ค.60

เพิม่ /ลด

30 ก.ย. 61

ร้อยละ จ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิ ออกเสียง

1. นายปรีชา อรรถวิภชั น์

ประธานกรรมการ

5,874,100

150,000

6,024,100

0.155

2. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

รองประธานกรรมการ

-

-

-

-

3. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการ

3,100

-

3,100

0.000

4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการ

-

27,216,000 10,000 12,349,900

0.705 0.000 0.320

5,922,000 5,832,000 -

0.152 0.150 -

5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

กรรมการ

27,216,000 10,000 12,349,900

6. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการ

5,902,000

*คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ

หมายเหตุ

ไม่มหี นุ้ KTIS

7. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี

กรรมการอิสระ

-

20,000 -

8. นายอภิชาต นุชประยูร

กรรมการ

500

-

500

0.000

9. นายคูนฮิ โิ กะ ทะฮะระ

กรรมการ

-

-

-

-

10. นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋

กรรมการ

21,544,000

-

21,544,000

0.558

กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจ สอบ

-

-

-

-

100,000 -

80,000 -

20,000 -

0.001 -

ไม่มหี นุ้ KTIS

*คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ

11. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา

5,832,000

*คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ

ไม่มหี นุ้ KTIS

ไม่มหี นุ้ KTIS

12. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

13. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

-

-

-

-

ไม่มหี นุ้ KTIS

กรรมการอิสระ

-

-

-

-

ไม่มหี นุ้ KTIS

กรรมการ

190,698,000

-

190,698,000

4.940

14. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์ 15. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

80


คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดต่างๆ เพือ่ ช่วยในการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ โดยมีทงั้ หมด 4 คณะดังนี้

1. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้

ชือ่ 1. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา

ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ

2. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์

กรรมการตรวจสอบ

3. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

กรรมการตรวจสอบ

โดยมี นางณัฏฐิรา ภัยสยม เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ กรรมการตรวจสอบล�ำดับที่ 1 - 2 มีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถท�ำหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน โดยมีประสบการณ์ในด้านการสอบทาน งบการเงินตามรายละเอียดกรรมการ (เอกสารแนบ1)

วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมา ด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคล ทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้กรรมการตรวจสอบมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการตรวจ สอบแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการตรวจสอบซึง่ ตนทดแทน

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ : สอบทานให้บริษท ั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ สอบทานให้บริษท ั ฯ มีการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน(Internal Audit)

ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอืน่ ใดทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน สอบทานให้บริษท ั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง

กับธุรกิจของบริษทั ฯ พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษท ั ฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว

รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ

ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

โดยเปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้

ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ

ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

81


ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนด

ของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี

ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์

จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน

ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้รบั จากการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ (Charter)

รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษทั ฯ

ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากคณะกรรมการตรวจสอบพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำดังต่อไปนี้

ซึ่งมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการ บริษทั ฯ เพือ่ ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร

รายการทีเ่ กิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์

การทุจริต หรือมีสงิ่ ผิดปกติ หรือมีความบกพร่องทีส่ ำ� คัญในระบบควบคุมภายใน

การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษทั ฯ

หากคณะกรรมการของบริษทั ฯ หรือผูบ้ ริหารไม่ดำ� เนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ ไขภายในระยะเวลาตามวรรคหนึง่ กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึง่ อาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำตามวรรคหนึ่งต่อส�ำนักงานก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ : รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2561 สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2561 มีดงั นี้

ชือ่

จ�ำนวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2561

1. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา

5/5

2. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์

5/5

3. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

5/5

2. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้

ชือ่ 1. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์

ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

2. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

3. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี

กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

โดยมี นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

82


วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ซึง่ พ้นจาก ต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีทต่ี ำ� แหน่งกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใด นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็นกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน เพือ่ ให้ ฅกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการสรรหาและการพิจารณา ค่าตอบแทนแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนซึง่ ตนทดแทน

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน : พิจารณาโครงสร้างองค์กร คุณสมบัตขิ องกรรมการบริษท ั ฯ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ของบริษทั ฯ ให้เหมาะสมกับธุรกิจ คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอรายชื่อเป็นกรรมการรายใหม่

หรือสรรหาประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ โดยให้มีการก�ำหนด หลักเกณฑ์ หรือวิธกี ารสรรหาและคัดเลือกอย่างมีหลักเกณฑ์และความโปร่งใส เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

พิจารณาแนวทางและพิจารณาค่าตอบแทนและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ

ทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินให้แก่กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่มบริษัทฯ โดยให้มีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธีการพิจารณาค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผลเพื่อเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษทั และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน

ให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบ และจัดท�ำรายงาน ของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนเพือ่ เปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ และลงนามโดยประธานกรรมการสรรหา และการพิจารณาค่าตอบแทน

จัดท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน

และรายงานผลการประเมินประจ�ำปีต่อ

คณะกรรมการบริษทั ปฏิบต ั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั

มอบหมายอันเกีย่ วเนือ่ งกับการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการ และประธาน

เจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั

การประชุมคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน : รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนในปี 2561 สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2561 มีดงั นี้

ชือ่

จ�ำนวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2561

1. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์

1/1

2. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

1/1

3. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี

1/1

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

83


3. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 6 ท่าน ดังนี้

ชือ่

ต�ำแหน่ง

1. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง

2. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

3. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

4. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

6. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

โดยมี นางจริยา ศรีศกั ดา เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง

วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหารความเสีย่ งซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการบริหารความเสีย่ งว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้กรรมการบริหารความเสี่ยงมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการบริหารความเสีย่ งแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการบริหารความเสีย่ งซึง่ ตนทดแทน

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : ก�ำหนดนโยบายความเสีย่ ง รวมถึงการทบทวนเป็นระยะเพือ่ ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ และธุรกรรมของบริษท ั ฯ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป

ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการเพือ่ อนุมตั ิ วางแผนยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับนโยบายบริหารความเสี่ยง

โดยสามารถประเมิน ติดตาม ดูแลปริมาณความเสี่ยงของบริษัทฯ ให้อยู่ใน

ระดับทีเ่ หมาะสม อนุมต ั เิ ครือ่ งมือในการวัด ติดตาม และควบคุมความเสีย่ ง ติดตามให้มกี ารปฏิบต ั ติ ามนโยบายการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงดูแลให้ระบบการบริหารความเสีย่ งมีประสิทธิภาพ ดูแลความเพียงพอของทรัพยากรทีใ่ ช้ ในการบริหารความเสีย่ ง

เช่น บุคลากรของสายงานบริหารความเสีย่ ง และระบบงานรองรับการบริหาร

ความเสีย่ ง เป็นต้น พิจารณาระเบียบ/หลักเกณฑ์ ในธุรกรรมทีส่ ำ� คัญหรือการริเริม ่ โครงการใหม่ทมี่ ผี ลกระทบต่อความเสีย่ งก่อนทีจ่ ะน�ำเสนอเพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

การท�ำธุรกรรมหรือโครงการนัน้ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ หรือคณะกรรมการทีบ่ ริษทั ฯ มอบหมายต่อไป ติดตามและรายงานสถานะความเสีย่ งของบริษท ั ฯ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ บูรณาการกระบวนการท�ำงานเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการ (Governance) การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) และการปฏิบต ั ติ าม

ข้อก�ำหนดของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์ (Compliance) เพือ่ ให้บรรลุการด�ำเนินงานทีเ่ กิดจากการมีสว่ นร่วมของ ทุกหน่วยงาน (Integrity-Driven Performance) แต่งตัง้ คณะท�ำงานได้ตามทีเ่ ห็นสมควร ปฏิบต ั งิ านอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย

84


การประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งในปี 2561 สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2561 มีดงั นี้

ชือ่

จ�ำนวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2561

1. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

3/3

2. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

3/3

3. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

3/3

4. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

3/3

5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

3/3

6. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์

3/3

4. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้

ชือ่

จ�ำนวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2561

1. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

ประธานกรรมการบริหาร

2. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการบริหาร

3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

กรรมการบริหาร

4. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการบริหาร

5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการบริหาร

โดยมี นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหาร ซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้กลับมาด�ำรงต�ำแหน่ง ใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการบริหารว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมเป็นกรรมการบริหาร เพื่อให้กรรมการบริหารมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการบริหารแทนจะ อยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการบริหารซึง่ ตนทดแทน

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร : คณะกรรมการบริหาร มีหน้าทีใ่ นการบริหารกิจการของบริษท ั ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบกิจการของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ในการบริหาร

กิจการของบริษทั ฯ ดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามนโยบาย ข้อบังคับ หรือค�ำสัง่ ใดๆ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด นอกจากนี้ ให้คณะกรรมการ บริหารมีหน้าทีใ่ นการพิจารณากลัน่ กรองเรือ่ งต่างๆ ทีจ่ ะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั หิ รือให้ความเห็นชอบ

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

85


จัดท�ำวิสยั ทัศน์

กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

ก�ำหนดแผนธุรกิจ

อ�ำนาจการบริหารงาน อนุมัติงบประมาณส�ำหรับประกอบธุรกิจประจ�ำปี และงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี และด�ำเนินการ ตามแผนทางธุรกิจและกลยุทธ์ทางธุรกิจโดยสอดคล้องกับนโยบาย และแนวทางธุรกิจที่ได้แถลงต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ

ตรวจสอบ ติดตามการด�ำเนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษท ั ฯ ให้เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย

อย่างมีประสิทธิภาพ มีอำ� นาจพิจารณาอนุมต ั เิ ฉพาะกรณีหรือการด�ำเนินการใดๆ อันเป็นปกติธรุ กิจของบริษทั ฯ ภายใต้วงเงินหรืองบประมาณประจ�ำปีตามที่ได้รบั

อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ และมีอำ� นาจด�ำเนินการตามทีก่ ำ� หนดไว้ โดยในการด�ำเนินการใดๆ ตามทีก่ ล่าวข้างต้น คณะกรรมการบริหาร จะต้องไม่ก่อให้เกิดหนี้สินหรือภาระผูกพันใดๆ ที่มีมูลค่าเกินกว่า 1,000 ล้านบาท และระยะเวลาผูกพันเกินกว่า 5 ปี ทั้งนี้ ในส่วนของหนี้สิน หรือภาระผูกพันใดๆ ให้รวมถึง สินเชือ่ โครงการทีบ่ ริษทั ฯ ท�ำกับสถาบันการเงินใดๆ (Project Finance) ด้วย มีอำ� นาจพิจารณาอนุมต ั กิ ารกูห้ รือให้กยู้ มื เงิน หรือการขอสินเชือ่ ใดๆ จากสถาบันการเงิน และบริษทั ในกลุม่ รวมตลอดถึงการเข้าเป็นผูค้ ำ�้ ประกัน

ให้แก่บริษทั ย่อย หรือการช�ำระหรือใช้จา่ ยเงินเพือ่ ธุรกรรมตามปกติธรุ กิจของบริษทั ฯ มีอำ� นาจแต่งตัง้ ถอดถอนเจ้าหน้าทีข่ องบริษท ั ฯในต�ำแหน่งทีต่ ำ�่ กว่าต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ให้คณะกรรมการบริหาร รายงานผลการด�ำเนินงานดังต่อไปนี้ ให้คณะกรรมการบริษท ั ฯ ทราบ

รายงานผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ รายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

รายงานของผูต้ รวจสอบบัญชีเกีย่ วกับงบการเงินของบริษทั ฯ ซึง่ รวมถึงงบการเงินประจ�ำปีและงบการเงินรายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลา ทีก่ ำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

รายงานอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควร

ปฏิบต ั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย

ทั้งนี้ การมอบอ�ำนาจให้คณะกรรมการบริหารดังกล่าวข้างต้น จะไม่รวมถึงการมอบอ�ำนาจที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการ ที่กรรมการบริหารท่านใดท่านหนึ่งหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ตามประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต. มีส่วนได้ส่วนเสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย โดยคณะกรรมการบริหารจะต้องน�ำเสนอเรือ่ งดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้พจิ ารณา และอนุมตั ริ ายการดังกล่าวภายใต้ขอ้ บังคับ ประกาศ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง

การประชุมคณะกรรมการบริหาร : รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริหาร ในปี 2561 สิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน 2561 มีดงั นี้

ชือ่

จ�ำนวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี 2561

1. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

9/9

2. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

9/9

3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

7/9

4. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

8/9

5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

7/9

86


การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดย่อย : เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึง่ ผลการประเมินประจ�ำปี 2561 มีคะแนนเฉลีย่ ของภาพรวมในแต่ละหัวข้อดังนี้

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ สรรหาและ พิจารณาค่า ตอบแทน

คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง

คณะกรรมการ บริหาร

1. โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ

4.71

4.81

4.76

4.51

2. การประชุมของคณะกรรมการ

4.89

4.83

4.72

4.63

3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

4.90

4.61

4.60

4.50

คะแนนเฉลีย่ รวม

4.83

4.75

4.70

4.55

หมายเหตุ คะแนนเต็ม = 5

ผู้บริหาร ผูบ้ ริหาร ตามค�ำนิยาม ผูบ้ ริหาร* ของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 17/2551 เรือ่ ง การก�ำหนดบทนิยามในประกาศเกีย่ วกับการออกและ เสนอขายหลักทรัพย์ (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ ไขเพิม่ เติม) ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ประกอบด้วยบุคคล 6 ท่าน ดังนี้ หมายเหตุ ผู้บริหาร หมายความว่า ผู้จัดการ หรือผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา ผู้ซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งเทียบเท่ากับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ ทุกราย และให้หมายความรวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไป หรือเทียบเท่า

ชือ่ 1. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

ต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ

2. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ

3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ

4. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ

5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ

6. นางน้อมจิต อัครเมฆินทร์

ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

87


ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ : การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษท ั ฯ โดยรวมเพือ่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และตามที่ได้รบั มอบหมายจาก

คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนดกลยุทธ์ และแผนการทางธุรกิจ เสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั ฯ และด�ำเนินการเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายตามกลยุทธ์และแผนการทางธุรกิจ

ที่ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ ด�ำเนินการและปฏิบต ั ภิ ารกิจทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย และตามนโยบายของคณะกรรมการบริษทั ฯ สัง่ การ ออกระเบียบ ประกาศ บันทึก เพือ่ ให้การปฏิบต ั งิ านเป็นไปตามนโยบาย อนุมต ั แิ ละ/หรือมอบอ�ำนาจการท�ำนิตกิ รรมเพือ่ ผูกพันบริษทั ฯ

ส�ำหรับธุรกรรมปกติของบริษทั ฯ รวมถึงธุรกรรมทีป่ ระธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุ่มบริษัทฯ ได้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ด�ำเนินการแทน ทั้งนี้ให้รวมถึงธุรกรรมใดๆ ที่ไม่เป็นการผูกพันทรัพย์สิน ของบริษทั ฯ โดยตรง

ก�ำกับดูแลให้ผบ ู้ ริหารและพนักงานปฏิบตั ติ ามนโยบายและทิศทางทางธุรกิจที่ได้รบั จากคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาการน�ำสิทธิและทรัพย์สน ิ ของบริษทั ฯ ไปก่อภาระผูกพันใดกับบุคคล บริษทั ห้างร้าน หรือสถาบันการเงิน หรือน�ำเสนอคณะกรรมการ

บริหารหรือคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ แล้วแต่กรณี เพือ่ ให้เป็นไปตามตารางอ�ำนาจอนุมตั ิ พิจารณาอนุมต ั กิ ารจ่ายค่าใช้จา่ ยการด�ำเนินงานปกติในวงเงินไม่เกิน 5,000,000 ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ อนุมตั มิ อบหมายไว้ พิจารณาอนุมต ั กิ ารลงทุนในตราสารและหลักทรัพย์ เพือ่ บัญชีบริษทั ฯ ในวงเงินตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ อนุมตั มิ อบหมายไว้ อนุมต ั ใิ นหลักการการลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจนการร่วมทุนกับผูป้ ระกอบกิจการอืน่ ๆ และให้นำ� เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ อนุมตั ิ

ในทีป่ ระชุมคราวถัดไป อนุมัติการใช้จ่ายเงินลงทุนที่ส�ำคัญๆ

ที่ ได้ก�ำหนดไว้ ในงบประมาณรายจ่ายส�ำหรับปี หรือที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้เคยมีมติอนุมัติ

ในหลักการไว้แล้ว ดูแลการท�ำงานของพนักงานให้เป็นไปตามนโยบาย กฎระเบียบต่างๆ รวมถึงการปฏิบต ั งิ านด้วยหลักธรรมาภิบาลในการท�ำธุรกิจ ส่งเสริมพัฒนาความรูค ้ วามสามารถ และศักยภาพของพนักงานเพือ่ เพิม่ ศักยภาพขององค์กร พิจารณาแต่งตัง้ ทีป ่ รึกษาต่างๆ ทีจ่ ำ� เป็นต่อการด�ำเนินการของบริษทั ฯ พิจารณาอนุมัติการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เป็นเงื่อนไขปกติทางการค้า

เช่น ซื้อขายสินค้าด้วยราคาตลาด การคิดค่าธรรมเนียมบริการ ในอัตราค่าธรรมเนียมปกติ และการให้เครดิตเทอมเหมือนลูกค้าทัว่ ไป เป็นต้น ทัง้ นีภ้ ายใต้นโยบายที่ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ

อนุมต ั กิ ารแต่งตัง้ โยกย้าย และเลิกจ้างพนักงาน ทัง้ นี้ ให้มอี ำ� นาจในการมอบหมายให้บคุ คลอืน่ กระท�ำการแทนตามทีก่ ำ� หนดในตารางอ�ำนาจอนุมตั ิ ด�ำเนินกิจการงานอืน ่ ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นกรณีๆ ไป

ทั้งนี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ไม่มีอ�ำนาจในการอนุมัติเรื่องหรือรายการที่เกี่ยวโยงกันที่ไม่ใช่เป็นเงื่อนไขปกติทางการค้า รายการ ได้มาจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ส�ำคัญของบริษัทฯ และ/หรือรายการที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วน ได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอืน่ ใดทีจ่ ะท�ำขึน้ กับบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ยกเว้นเป็นรายการทีเ่ ป็นเงือ่ นไขปกติทางการค้าที่ได้มกี ารก�ำหนด นโยบายและหลักเกณฑ์ โดยได้อนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณาอนุมัติไว้และได้ขอความเห็นชอบ จากผูถ้ อื หุน้ ในการท�ำรายการเกีย่ วโยงกันและการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ทสี่ ำ� คัญของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยแล้วเพือ่ ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรือ่ งดังกล่าว

88


การประเมินผลการปฏิบัติงานของ CEO Group : เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ารจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ CEO Group อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึ่งผลการประเมินประจ�ำปี 2561 มีคะแนนเฉลีย่ ของภาพรวมในแต่ละหัวข้อดังนี้

หัวข้อการประเมิน

CEO Group

1. ความเป็นผูน้ ำ�

4.83

2. การก�ำหนดกลยุทธ์

4.89

3. การปฏิบตั ติ ามกลยุทธ์

4.80

4. การวางแผนและผลปฏิบตั ทิ างการเงิน

4.67

5. ความสัมพันธ์กบั คณะกรรมการ

4.88

6. ความสัมพันธ์กบั ภายนอก

4.93

7. การบริหารงานและความสัมพันธ์กบั บุคลากร

4.00

8. ความรูด้ า้ นผลิตภัณฑ์และบริการ

4.88

คะแนนเฉลีย่ รวม

4.83

หมายเหตุ คะแนนเต็ม = 5

เลขานุการบริษัท ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2556 เมือ่ วันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ได้มมี ติอนุมตั แิ ต่งตัง้ นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เป็นเลขานุการบริษทั เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ที่ได้มกี ารแก้ ไขเพิม่ เติม) โดยมีประวัตพ ิ อสังเขปดังนี้

ชือ่ -สกุล นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ ต�ำแหน่ง

อายุ 55 ปี

เลขานุการบริษทั

คุณวุฒทิ างการศึกษา/ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

ปริญญาตรี บริหารทัว่ ไป มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

CSP 53/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

BRP 12/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

EMT 30/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

CRP 8/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

89


ช่วงเวลา 2556 – ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั 2539-2556 2548-2556 2537-2539 2532-2537

ต�ำแหน่ง เลขานุการบริษทั กรรมการ กรรมการ ผูจ้ ดั การโรงงาน ผูจ้ ดั การโรงงาน ผูจ้ ดั การโรงงาน รองผูจ้ ดั การโรงงาน

ชือ่ หน่วยงาน/บริษทั /ประเภทธุรกิจ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน้ แนล ชูการ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด

คุณสมบัติของเลขานุการบริษัท : มีความรูพ ้ นื้ ฐานด้านธุรกิจ บัญชี และมีความรอบรูแ้ ละเข้าใจในธุรกิจของบริษทั เข้าใจบทบาทหน้าทีข่ องเลขานุการบริษท ั มีความรูแ้ ละความเข้าใจด้านกฎหมาย กฎระเบียบของส�ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทัง้ หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด ่ ี มีความเป็นอิสระและตรงไปตรงมาในการปฏิบต ั หิ น้าที่ ไม่มงุ่ หวังผลประโยชน์สว่ นตัวจากโอกาสทางธุรกิจของบริษทั รวมทัง้ เก็บรักษาความลับ

ของบริษทั ได้เป็นอย่างดี มีประสบการณ์ ในงานเลขานุการคณะกรรมการ หรือคุณสมบัตอิ น ื่ ทีช่ ว่ ยให้งานเลขานุการบริษทั เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลยิง่ ขึน้

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท : 1. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจ�ำปีของบริษท ั ฯ หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน ้ และรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้

2. เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้เสียทีร่ ายงานโดยกรรมการหรือผูบ้ ริหาร 3. ด�ำเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด

การสรรหากรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อยและผู้บริหาร ในการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทฯ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจะท�ำหน้าที่ ในการสรรหาและคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งและเสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมต่อคณะกรรมการ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) ทั้งนี้ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารจะต้องมีคุณสมบัติครบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ที่ได้มกี ารแก้ ไขเพิม่ เติม) และจะต้องไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนที่ ทจ. 24/2551 เรือ่ ง ข้อก�ำหนดเกีย่ วกับ กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์ (รวมทัง้ ที่ได้มกี ารแก้ ไขเพิม่ เติม) นอกจากนี้ ยังพิจารณาถึงความรูค้ วามสามารถ รวมถึงประสบการณ์ การท�ำงานด้วยองค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง จะมีการด�ำเนินการ ดังนี้

90


องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัทฯ : คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดจะต้องมีถิ่นที่อยู่ใน ประเทศไทย และกรรมการบริษทั ฯ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ หรือไม่ก็ ได้ ในการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะท�ำหน้าทีใ่ นการสรรหาและคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง คณะกรรมการบริษัท โดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ หรือพิจารณาจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ทีม่ ปี ระสบการณ์ในธุรกิจทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม การแต่งตัง้ กรรมการใหม่จะต้องผ่านการพิจารณาอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) ทัง้ นี้ ข้อบังคับของบริษทั ฯ ก�ำหนดให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารดังต่อไปนี้ ผูถ้ อื หุน ้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุน้ ต่อ 1 เสียง ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม

(1) เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ ได้แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ ใด

มากน้อยเพียงใดไม่ได้ บุคคลที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผู้ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการ

ที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี ให้ประธานทีป่ ระชุมเป็นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด

กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่งให้ยนื่ ใบลาออกต่อบริษทั ฯ โดยการลาออกนัน้ จะมีผลนับแต่วนั ทีใ่ บลาออกไปถึงบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสามในสีข่ องจ�ำนวน ผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง

องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ : คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน โดยกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน จะต้องเป็นผูท้ มี่ คี วามรู้ และประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถท�ำหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงินได้ โดยคณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน ตามทีก่ ำ� หนดในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนทีเ่ กีย่ วข้องดังนี้ ถือหุน ้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ

ควบคุมของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน

ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือของผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการ มีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่ กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือทีป่ รึกษา ของส่วนราชการซึง่ เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ

ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต

หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน่ ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็นกรรมการ ผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย

ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษท ั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูข้ ออนุญาต

ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ ผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่ จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีย่ นื่ ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึง่ รวมถึงการท�ำรายการทางการค้าทีก่ ระท�ำเป็นปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค�้ำประกัน การให้สินทรัพย์ เป็นหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึงพฤติการณ์อนื่ ท�ำนองเดียวกัน ซึง่ เป็นผลให้บริษทั ฯ หรือคูส่ ญ ั ญามีภาระหนีท้ ตี่ อ้ งช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 3 ของสินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั ฯ หรือตัง้ แต่ 20 ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จำ� นวนใดจะต�ำ่ กว่า ทัง้ นี้ การค�ำนวณภาระหนีด้ งั กล่าวให้เป็นไปตาม วิธกี ารค�ำนวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนีด้ งั กล่าว ให้นบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหว่าง 1 ปีกอ่ นวันทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

91


ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษท ั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ และไม่เป็น

ผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีย่ นื่ ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ

ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการ เกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของผู้ ให้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนวันทีย่ นื่ ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต.

ไม่เป็นกรรมการที่ได้รบ ั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้

รายใหญ่ ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ

หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัย ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุน้ เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย

ไม่มลี กั ษณะอืน ่ ใดทีท่ ำ� ให้ ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ไม่เป็นกรรมการที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ

ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ

ไม่เป็นกรรมการของบริษท ั ใหญ่ บริษทั ย่อย หรือบริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกันเฉพาะทีเ่ ป็นบริษทั จดทะเบียน

องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร : คณะกรรมการบริษทั เป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารของบริษทั ฯ โดยแต่งตัง้ กรรมการบริษทั และ/หรือ ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ จ�ำนวนหนึง่ เป็นคณะ กรรมการบริหาร ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการบริหารขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และให้กรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วนั ที่ได้ รับการแต่งตัง้ ทัง้ นี้ จะเลือกกรรมการบริหารผูพ ้ น้ จากต�ำแหน่งเข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ ได้

องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน : คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู ้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทนของบริ ษั ท ฯ โดยแต่ ง ตั้ ง กรรมการบริ ษั ท จ� ำ นวนหนึ่ ง เป็นคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนอย่างน้อยจ�ำนวน 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทนต้องเป็นกรรมการอิสระ ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษทั และให้กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนมีวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วนั ที่ได้รบั การแต่งตัง้ ทัง้ นี้ จะเลือกกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทนผูพ ้ น้ จากต�ำแหน่งเข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ ได้

องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : คณะกรรมการบริษทั เป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ โดยแต่งตัง้ กรรมการบริษทั จ�ำนวนหนึง่ เป็นคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง และกรรมการบริหารความเสีย่ งอย่างน้อยจ�ำนวน 2 ท่าน ต้องเป็นกรรมการอิสระ โดยประธานคณะกรรมการดังกล่าวควรเป็นกรรมการอิสระ ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษทั และให้กรรมการบริหารความเสีย่ งมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วนั ที่ได้รบั การแต่งตัง้ ทัง้ นี้ จะเลือกกรรมการบริหารความเสีย่ งผูพ ้ น้ จากต�ำแหน่งเข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ ได้

92


ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท และผู้บริหาร 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั แบ่งเป็นค่าตอบแทนรายเดือนและเบีย้ ประชุมรายครัง้ โดยทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ประจ�ำปี 2561 เมือ่ วันที่ 23 เมษายน 2561 มีมติอนุมตั คิ า่ ตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั ดังมีรายละเอียดดังนี้

ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท/เดือน)

เบีย้ ประชุม (บาท/ครัง้ )

ประธาน

50,000

50,000

กรรมการ

25,000

25,000

ประธาน

-

60,000

กรรมการ

-

30,000

ประธาน

-

40,000

กรรมการ

-

20,000

ประธาน

-

40,000

กรรมการ

-

20,000

คณะกรรมการการ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หมายเหตุ โดยไม่ได้รบั สิทธิประโยชน์อนื่ ๆ

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

93


94

กรรมการ

16. นายคูนฮิ โิ กะ ทะฮะระ

4,800,000

175,000

300,000

300,000

300,000

300,000

300,000

300,000

125,000

300,000

300,000

300,000

300,000

300,000

300,000

300,000

600,000

ค่าตอบแทน กรรมการ รายเดือน

1,925,000

75,000

125,000

100,000

125,000

125,000

125,000

100,000

50,000

125,000

125,000

125,000

125,000

100,000

125,000

125,000

250,000

ค่าเบีย้ ประชุม

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

600,000

-

300,000

-

-

150,000

150,000

กรรมการ ตรวจสอบ

160,000

-

-

40,000

80,000

-

-

-

-

-

-

-

40,000

-

-

-

-

กรรมการ สรรหา และ พิจารณา ค่าตอบแทน

2560

-

560,000

-

-

-

80,000

160,000

-

-

-

-

-

80,000

-

80,000

80,000

80,000

กรรมการ บริหาร ความเสีย่ ง

หมายเหตุ เนือ่ งจาก นายชุนซึเกะ ซึจยิ ามะ ลาออกจากต�ำแหน่ง เมือ่ วันที่ 12 พฤษภาคม 2560 และนายคูนฮิ โิ กะ ทะฮะระ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทน

รวม

กรรมการอิสระ

กรรมการ

10. นางสาวฉัว๋ อิง๋ อิง๋

15. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา

กรรมการ

9. นายชุนซึเกะ ซึจยิ ามะ

กรรมการอิสระ

กรรมการ

8. นายอภิชาต นุชประยูร

14. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี

กรรมการ

7. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการอิสระ

กรรมการ

6. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

13. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์

กรรมการ

5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

กรรมการอิสระ

กรรมการ

4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

12. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร

กรรมการ

3. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

กรรมการอิสระ

รองประธานกรรมการ

2.นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

11. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์

ประธานกรรมการ

1.นายปรีชา อรรถวิภชั น์

ชือ่ กรรมการ

ต�ำแหน่ง ปี 2561

ตารางแสดงค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั ปี2560 และ 2561

8,045,000

250,000

725,000

440,000

585,000

735,000

575,000

400,000

175,000

425,000

425,000

505,000

465,000

480,000

505,000

505,000

850,000

รวม (บาท)

3,825,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

225,000

450,000

1,700,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

100,000

200,000

ค่าตอบแทน กรรมการ ค่าเบีย้ ประชุม รายเดือน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

480,000

-

240,000

-

-

120,000

120,000

กรรมการ ตรวจสอบ

80,000

-

20,000

-

40,000

-

-

-

-

-

-

-

20,000

-

-

-

-

กรรมการ สรรหา และ พิจารณา ค่าตอบแทน -

420,000

-

-

-

60,000

120,000

-

-

-

-

-

60,000

-

60,000

60,000

60,000

กรรมการ บริหาร ความเสีย่ ง

2561 (ณ 30 กันยายน 2561)

6,505,000

325,000

585,000

325,000

425,000

565,000

445,000

325,000

325,000

325,000

325,000

385,000

345,000

385,000

385,000

385,000

650,000

รวม (บาท)


2. ค่าตอบแทนผู้บริหาร ตารางต่อไปนีแ้ สดงรายละเอียดค่าตอบแทนผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ปี 2559-2560 และปี 2561

ประเภท

จ�ำนวน (คน)

2559 (บาท)

2560 (บาท)

2561 (บาท)

เงินเดือน

6

28,714,575.00

29,420,208.00

22,521,141.00

โบนัส

6

222,573.00

4,920,143.00

2,498,298.00

28,937,148.00

34,340,351.00

25,019,439.00

รวม

หมายเหตุ ผูบ้ ริหาร 6 รายได้แก่ (1)ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ (Group CEO) (2) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ (3-5) รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ 3 ท่าน (6)ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี

3. ค่าตอบแทนอื่นๆ เงินกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ

ตารางต่อไปนีแ้ สดงรายละเอียดเงินกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพปี 2559 - 2561

ประเภท กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ รวม

จ�ำนวน (คน) 6

2559 (บาท)

2560 (บาท)

2561 (บาท)

639,807.48

639,807.48

501,809.67

639,807.48

639,807.48

501,809.67

หมายเหตุ ผูบ้ ริหาร 6 รายได้แก่ (1)ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ (Group CEO) (2) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ (3-5) รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ 3 ท่าน (6)ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี โครงการเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน ้ สามัญต่อผูบ้ ริหารและพนักงาน (Employee Stock Options Project)

จากการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 วันที่ 13 มีนาคม 2557 ทีป่ ระชุมมีมติให้จดั สรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั จ�ำนวนไม่เกิน 28,000,000 หุน้ เพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (warrant) และเสนอขายให้แก่ผบู้ ริหารและพนักงานของบริษทั และบริษทั ย่อย โดยมีหลักเกณฑ์และวิธกี ารจัดสรร (รายละเอียดตามหัวข้อ 7.4 การออกหลักทรัพย์อนื่ ) ทัง้ นี้ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญดังกล่าวมีอตั ราการใช้สทิ ธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญได้ 1 หุ้น (เว้นแต่มีการปรับอัตราการใช้สิทธิในภายหลัง ซึ่งพนักงานฯ จะไม่ด้อยสิทธิกว่าเดิม) และมีราคาการใช้สิทธิซื้อหุ้นเท่ากับราคาเสนอขายหุ้นสามัญ ต่อประชาชนครัง้ แรก (10.00 บาทต่อหุน้ ) โดยกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ได้รบั สัดส่วนการจัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ดังนี้ รายชือ่ กรรมการและผูบ้ ริหารที่ ได้รบั จัดสรร

คิดเป็น (%)

นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

0.40%

นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

0.30%

นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล

0.30%

นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี

0.19%

นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ

0.36%

นายอภิชาต นุชประยูร

0.26%

นางน้อมจิต อัครเมฆินทร์

0.23%

หมายเหตุ เป็นการค�ำนวณสัดส่วน % จากจ�ำนวนที่ได้รับการจัดสรร ราคาการใช้สิทธิและจ�ำนวนหุ้นสามัญที่จัดสรรไว้ทั้งหมดของใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ทีอ่ อกและเสนอขายให้กบั ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ (KTIS-WA) จ�ำนวนไม่เกิน 28,000,000 หุน้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

95


จ�ำนวนพนักงานและผลตอบแทน บริษทั ฯมีพนักงานทัง้ หมด 3,506 คน โดยในปี 2561 บริษทั ฯ ได้จา่ ยผลตอบแทนให้แก่พนักงาน จ�ำนวนทัง้ สิน้ 887,306,883.87 บาท ซึง่ ผลตอบแทน ได้แก่ เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ เงินโบนัสเงินช่วยเหลือพิเศษ เงินประกันสังคม และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ เป็นต้น ปี 2561 บริษทั

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ปฏิบตั กิ าร จ�ำนวน (คน)

บริหาร จ�ำนวน (คน)

ส�ำนักงานใหญ่ จ�ำนวน (คน)

รวมทัง้ หมด จ�ำนวน (คน)

ค่าตอบแทน รวมทัง้ ปี 2561 (บาท)

1,852

70

83

2,005

535,400,027.95

บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด

117

7

18

142

32,391,523.32

บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด

468

11

15

494

101,552,932.44

บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด

8

2

7

17

4,085,883.07

บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด

-

-

4

4

1,021,128.17

บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด

-

-

-

-

-

บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด

-

-

1

1

175,218.00

บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด

-

-

-

-

-

บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด

-

-

2

2

507,770.68

777

22

26

825

207,511,957.08

บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด

-

-

-

-

-

บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด

-

2

14

16

4,660,443.16

บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด

-

-

-

-

-

บริษทั ลพบบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด

-

-

-

-

-

บริษทั ลพบุรี ไบโอเอทานอล จ�ำกัด

-

-

-

-

-

บริษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จ�ำกัด

-

-

-

-

-

บริษทั เกษตรไทยวิวฒ ั น์ จ�ำกัด

-

-

-

-

-

3,222

114

170

3,506

887,306,883.87

บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด

รวม

หมายเหตุ เป็นข้อมูลพนักงานประจ�ำของ KTIS GROUP และจ�ำนวนพนักงานและ ไม่นบั รวมพนักงานสัญญาจ้างตามฤดูกาล และทีป่ รึกษา

ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่มีพนักงานหรือกลุ่มพนักงานของบริษัทฯ เป็นสมาชิกสหภาพใดๆ และบริษัทฯ เชื่อว่าความสัมพันธ์ของบริษัทฯ กับพนักงาน เป็นไปด้วยดี และมีความมัน่ คง แข็งแรง นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายแรงงานของทางราชการอย่างครบถ้วนแล้วและไม่เคยมีขอ้ พิพาทด้านแรงงานทีม่ นี ยั ส�ำคัญ หรือมีการนัด หยุดงานทีเ่ กีย่ วข้องในช่วงระยะเวลาสามปีงบประมาณทีผ่ า่ นมา และบริษทั ฯ ไม่ทราบว่ามีขอ้ พิพาทด้านแรงงานทีค่ า้ งอยูห่ รือจะเกิดขึน้ ณ ขณะนีแ้ ต่อย่างใด

96


นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริษทั ฯมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างต่อเนือ่ ง ให้เป็นคนคุณภาพ มีคณ ุ ค่ามูลค่าเพิม่ และยึดมัน่ วัฒนธรรมองค์กร สร้างองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ มุง่ หวังให้เป็นองค์กรทีม่ คี วามเป็นเลิศและรับผิดชอบต่อสังคม

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริษทั ฯมีการด�ำเนินการ ดังนี้ 1. การเตรียมแรงงานใหม่ 1.1 ให้ทนุ การศึกษาเยาวชน รวมทัง้ ครอบครัวของพนักงานและชาวไร่ออ้ ย และรับเข้าร่วมงานกับบริษทั ฯเมือ่ ส�ำเร็จการศึกษา 1.2 รับนักศึกษาฝึกงาน (โครงการสหกิจศึกษา) และรับเข้าท�ำงานเมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาและประสงค์จะท�ำงานกับบริษทั ฯ 1.3 ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาภาครัฐ เพือ่ การรับนักศึกษาฝึกอาชีพระบบทวิภาคีฝกึ งานในสาขาวิชาต่างๆ เพือ่ รองรับการขาดแคลนแรงงาน ด้านช่างเทคนิคและได้บคุ ลากรทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละความสามารถสอดคล้องกับความต้องการของโรงงาน จึงมีการเตรียมการศึกษาหลักสูตร การเรียนการสอนเพือ่ การปรับเนือ้ หาหลักสูตร ให้นกั ศึกษาสามารถปฏิบตั งิ านได้จริง 2. ฝึกอบรมยกระดับฝีมือและศักยภาพ ให้กับพนักงานทุกระดับและทุกกลุ่ม ตั้งแต่พนักงานทั่วไปจนถึงระดับผู้บริหาร หลักสูตรฝึกอบรม หลากหลายทัง้ ด้านเทคนิค บริหารจัดการและทัว่ ไป มีการให้ทนุ พนักงานไปศึกษาและฝึกอบรมด้านเทคนิคการผลิตเฉพาะด้าน มีการถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ จากหัวหน้า ผูอ้ าวุโส สูร่ นุ่ น้อง ทัง้ ด้านการปฏิบตั งิ านจริงและอืน่ ๆทีเ่ ป็นส่วนส่งเสริม สร้างมูลค่าเพิม่ ในตัวทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กรทีม่ งุ่ ให้เกิดความขยันอดทน มีนวัตกรรม ความเป็นครอบครัว บรรษัทภิบาล เสริมสร้างความรูแ้ ละพัฒนาตน ดูแลชาวไร่ออ้ ย ใส่ใจสิง่ แวดล้อมและ สังคม นอกจากนีแ้ ล้ว การถ่ายทอดองค์ความรูอ้ นื่ ๆเป็นการกระตุน้ และจูงใจให้พนักงานตืน่ ตัวและสนใจทีจ่ ะเรียนรูเ้ พิม่ มากขึน้ 3. ส่งเสริมนวัตกรรมและการปรับปรุงการท�ำงาน เพือ่ ให้ ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ สามารถปฏิบตั งิ านได้สะดวกรวดเร็วและปลอดภัย จึงให้มกี ารเสนอโครงการหรือแผนงานปรับปรุงงาน ซึง่ ได้รบั การตอบสนองเป็นอย่างดีจากพนักงาน มีโครงการ แผนงานต่างๆทีเ่ สนอผูบ้ ริหาร และมีการด�ำเนินการ การมุ่งมั่นพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างต่อเนื่อง สม�่ำเสมอ จึงท�ำให้ ได้รับโล่สถานประกอบการดีเด่นด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานจากกรม พัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน ติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่า 6 ปี ในปี 2561 ได้รบั เงินอุดหนุนจากกองทุนพัฒนาฝีมอื แรงงาน เนือ่ งจากผลการพัฒนาและฝึกอบรมมากกว่าทีก่ ฎหมายก�ำหนด ซึง่ บริษทั ฯก็ ได้นำ� เงิน อุดหนุนที่ได้รบั นี้ไปใช้ตอ่ ยอดพัฒนาฝึกอบรมทรัพยากรบุคคลเพิม่ ขึน้ สรุปการพัฒนาและฝึกอบรมบุลากรประจ�ำปี 2561 ดังนี้ หมายเหตุ ผลการฝึกอบรม ระหว่างเดือนมกราคม ถึง กันยายน 2561

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

97


ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จ�ำนวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ล�ำดับ วันทีจ่ ดั อบรม

98

ชือ่ หลักสูตร

สถานทีจ่ ดั อบรม

รวม ผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ หมด (คน)

ระดับ พนักงาน

ระดับ หัวหน้างาน

เทียบเท่า ขึน้ ไป

โรงงาน KTIS(RP)

44

5

-

49

โรงแรมคราวน์ พลาซ่า กรุงเทพ ฯ

-

1

-

1

โรงแรมมิราเคิล แกรนด์คอนเวนชัน กรุงเทพฯ

-

1

-

1

โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ

-

1

-

1

1

12 ม.ค. 61

อบรม ISO RPBP รุน่ ที่ 1-3

2

19 ม.ค. 61

สัมมนารับฟังความคิดเห็นการเเก้ ไขปรับปรุง กฏหมายการประกอบกิจการพลังงาน

3

26 ม.ค. 61

การเปิดรับข้อเสนอโครงการ กองทุนพัฒนาไฟฟ้าเพือ่ กิจการฯ

4

30 ม.ค. 61

พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมเเละพัฒนาระบบ เกษตรพันธสัญญา พ.ศ.2560

5

31 ม.ค. 61

การเพิม่ ขีดความสามารถอุตสาหกรรมเกษตร แปรรูปและอุตสาหกรรมฐานชีวภาพด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรม

โรงแรมโบนีโต้ ซิโนส์ จังหวัดนครสวรรค์

-

4

-

4

6

1 ก.พ. 61

สัมมนานายจ้างมีหน้าทีน่ ำ� ส่งเงินตาม พ.ร.บ. กยศ. พ.ศ.2560 ต้องท�ำอย่างไร

โรงแรมแกรนด์ฮลิ ล์ รีสอร์ท แอนด์ สปา

2

1

-

3

7

6 ก.พ. 61

สิทธิประโยชน์ตาม พรบ. ส่งเสริม การพัฒนาฝีมอื แรงงาน

กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน

1

1

-

2

8

12-13 ก.พ. 61

เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย ในการท�ำงานระดับหัวหน้างาน

โรงแรมสีหราช จังหวัดอุตรดิตถ์

-

5

-

5

9

13 ก.พ. 61

สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารการพัฒนาศักยภาพ ด้านทรัพย์สนิ ทางปัญญา

ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั

1

-

-

1

10

14 ก.พ. 61

เชิงปฏิบตั กิ ารกลุม่ แยกตาม HAPPY 8

ห้องประชุมคริสตัลฮอลล์ โรงเเรมเเกรนด์ฮลิ ล์ รีสอร์ท

-

2

-

2

11

15-16 ก.พ. 61

การฝึกอบรมหลักสูตรผูค้ วบคุม การขายวัตถุอนั ตรายทางการเกษตร รุน่ ที่ 2

ห้องประชุมวังจันทร์คอนเวนชัน่ โรงเเรมวังจันทร์ ริเวอร์

-

1

-

1

12

17 ก.พ. 61

ความรูเ้ กีย่ วกับการขับรถแทรกเตอร์

โรงงาน KTIS

40

5

-

45

13

19-21 ก.พ. 61

เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงานระดับ เทคนิค

โรงแรมสีหราช จังหวัดอุตรดิตถ์

2

-

-

2

14

19-23 ก.พ. 61

ผูค้ วบคุมระบบบ�ำบัดมลพิษน�ำ้

มูลนิธสิ ถาบันสิง่ แวดล้อมไทย

-

2

-

2

15

20 ก.พ. 61

PRPS, OPRPS, CCP และ GMP

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

28

2

-

30

16

22 ก.พ. 61

การวิเคราะห์ผลการไตเตรท และแนวทางการลดขัน้ ตอน และค่าใช้จา่ ยที่ไม่จำ� เป็น

บริษทั เมทเล่อร์ - โทเลโด (ประเทศไทย) จ�ำกัด

-

2

-

2

17

26-27 ก.พ. 61

ข้อก�ำหนดของ GMP, การประยุกต์ใช้ GMP และการจัดท�ำเอกสาร

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

7

18

3

28

18

1 มี.ค. 61

การท�ำความเข้าใจคูม่ อื ระเบียบและ แนวปฏิบตั กิ ารบริหารงานบุคคล

โรงงาน KTIS

1

5

14

20

19

2 มี.ค. 61

CIP PLANT Reverse Osmosis

โรงงาน KTIS(RP)

4

1

-

5


ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จ�ำนวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ล�ำดับ วันทีจ่ ดั อบรม

ชือ่ หลักสูตร

สถานทีจ่ ดั อบรม

รวม ผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ หมด (คน)

ระดับ พนักงาน

ระดับ หัวหน้างาน

เทียบเท่า ขึน้ ไป

กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ

-

1

-

1

บจก.ฝึกอบรมและสัมมนาธรรมนิติ

1

2

-

3

มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

-

2

-

2

โรงเเรมเฟลิกซ์ ริเวอร์เเคว รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี

1

1

-

2

ความปลอดภัยเกีย่ วกับสารเคมี และการจัดการกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิน

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

11

4

-

15

ช่างสอบเทียบเครือ่ งมือวัดอุตสาหกรรม PART II

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญีป่ นุ่ )

1

-

-

1

พลังงานและเทคโนโลยีทยี่ งั่ ยืนเเห่งเอเชีย 2561

ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค กทม.

-

1

-

1

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

8

17

3

28

20

7 มี.ค. 61

ความรูเ้ กีย่ วกับพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 ทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องรู้

21

8 มี.ค. 61

Update ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล

22

12-13 มี.ค. 61

โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพหม้อน�ำ้ ในภาคอุตสาหกรรม

23

12-13 มี.ค. 61

พัฒนาบุคลากรด้านการปรับปรุง พันธุอ์ อ้ ยและด้านการคัดเลือกพันธุอ์ อ้ ย

24

13 มี.ค. 61

25

19-25 มี.ค. 61

26

21 มี.ค. 61

27

22-23 มี.ค. 61

การวิเคราะห์อนั ตรายและจุดวิกฤต ทีต่ อ้ งควบคุม (HACCP)

28

22-27 มี.ค. 61

โปรเเกรมบริหารงานบุคคล Tiger Soft

โรงงาน KTIS(RP)

5

1

-

6

29

23 มี.ค. 61

มาตรฐานอาชีพอและคุณวุฒวิ ชิ าชีพ อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ

สภาวิชาเทคโนโลยีการบรรจุ และวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

1

-

-

1

30

23 มี.ค. 61

สัมมนาการเผยเเพร่แนวทางการสะสมคะเเนน Energy Points

Grand ballroom โรงแรม 42c The Chic Hotel

-

4

1

5

31

27 มี.ค. 61

โครงการความร่วมมือระหว่าง พพ. กับ กรอ. ในการขับเคลือ่ นและเพิม่ ประสิทธิภาพพลังงาน ในภาคอุตสาหกรรม

โรงแรมโกลเด้นทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพฯ

2

1

-

3

32

28 มี.ค. 61

ความปลอดภัยในการท�ำงานในทีอ่ บั อากาศ “ผูอ้ นุญาต ผูค้ วบคุม ผูช้ ว่ ยเหลือ และผูป้ ฏิบตั ”ิ

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

23

5

-

28

33

29 มี.ค. 61

ประชุมชีเ้ เจงให้ความรูง้ านประกันสังคม แก่นายจ้าง ลูกจ้าง และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง

โรงเเรมไม้หอมรีสอร์ท จังหวัดนครสวรรค์

1

1

1

3

34

30 มี.ค. 61

โครงการอบรมผู้ ให้คำ� ปรึกษา ด้านการบริหารความเสีย่ ง กลุม่ KTIS : ประจ�ำปี 2561

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

24

35

-

59

35

1-5 เม.ย. 61

เทคนิคการสอนงาน (รุน่ ที่ 2) TIS

ส�ำนักงานพัฒนาฝีมอื แรงงานจังหวัด อุตรดิตถ์

1

4

-

5

36

3-6 เม.ย. 61

โรคอ้อยทีส่ ำ� คัญและแนวทางการป้องกัน ก�ำจัด รุน่ ที่ 1

โรงงาน KTIS

128

-

-

128

37

4 เม.ย. 61

โครงการ มหกรรมการเงินเพือ่ การอนุรกั ษ์ พลังงาน 2561

โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพฯ

-

2

-

2

38

5 เม.ย. 61

วิธกี ารตัด TUBE โดยใช้เครือ่ งตัด TUBE

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

10

1

-

11

39

13 เม.ย.61

ระเบียบปฏิบตั ขิ นั้ ตอนของผูเ้ ข้ามาติดต่อ บริษทั ฯ

โรงงาน KTIS

5

-

-

5

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

99


ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จ�ำนวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ล�ำดับ วันทีจ่ ดั อบรม

ชือ่ หลักสูตร

ระดับ พนักงาน

ระดับ หัวหน้างาน

เทียบเท่า ขึน้ ไป

โรงแรมบ้านสวนรีสอร์ท จังหวัดนครสวรรค์

-

-

1

1

ห้องประชุมส�ำนักงานสหกรณ์จงั หวัด นครสวรรค์

-

2

-

2

40

21 เม.ย.61

41

25-26 เม.ย. 61

42

27 เม.ย.61

เเนวทางเปรียบเทียบค่าดัชนีชวี้ ดั ประสิทธิภาพ โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพฯ การใช้พลังงาน (SEC Benchmarking)

-

2

-

2

43

27 เม.ย.61

นวัตกรรมการยืดอายุการใช้งานและ เพิม่ ประสิทธิภาพในเครือ่ งจักรอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้า

โรงแรมพูลแมน จี พัทยา จังหวัดชลบุรี

-

2

-

2

44

3, 8 พ.ค. 61

อุตสาหกรรม CSR ประชารัฐ

ส�ำนักงานอุตสาหกรรม จังหวัดนครสวรรค์

1

1

1

3

45

10-11 พ.ค. 61

การตรวจติดตามภายใน Internal Audit for GMP/HACCP

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

8

16

3

27

46

11 พ.ค. 61

โครงการจัดท�ำโปรแกรมเพือ่ ประเมิน ประสิทธิภาพเครือ่ งจักรอุปกรณ์ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญในโรงงาน

กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรุงเทพ

1

1

-

2

47

12 พ.ค. 61

การเพิม่ พูนความรู้ เพือ่ เตรียมความพร้อม ส�ำหรับการเลือ่ นระดับเป็นสามัญวิศวกร

โรงเเรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพมหานคร

-

1

-

1

48

15 พ.ค. 61

หักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยให้ถกู วิธกี บั สรรพกร

กรมสรรพกร

-

2

-

2

49

15-16 พ.ค. 61

เทคนิคการเพาะเลีย้ งเเตนเบียนไข่ และเเตนเบียนหนอนกออ้อย

ห้องปฏิบตั กิ ารศูนย์วจิ ยั ควบคุม ศัตรูพชื โดยชีวนิ ทร

4

1

-

5

50

15-16 พ.ค. 61

เทคนิคและวิธกี ารเพาะเลีย้ งผีเสือ้ ข้าวสาร Corcyra Cephalonia และแตนเบียนไข่ Trichogramma spp

ศูนย์วจิ ยั และควบคุมศัตรูพชื แห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น

5

-

-

5

51

15-16 พ.ค. 61

ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาเครือข่าย สถานประกอบการเพือ่ ป้องกันและเเก้ ไขปัญหา ยาเสพติด ฯ

โรงงมีพรสวรรค์ แกรนด์ โฮเทล แอนด์รสี อร์ท จังหวัดพิจติ ร

2

-

-

2

52

15-16 พ.ค. 61

ผูต้ รวจประเมินการจัดการพลังงาน ภายในองค์กร

โรงแรมเอบีนา่ เฮ้าส์ กรุงเทพฯ

1

1

-

2

53

15-16 พ.ค. 61

การพัฒนาเครือข่ายสถานประกอบการ เพือ่ การป้องกันและแก้ ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง

โรงแรมมีพรสวรรค์ แกรนด์ โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จังหวัดพิจติ ร

2

-

-

2

54

16 พ.ค. 61

การประหยัดพลังงานในงานระบบสุขาภิบาล ส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม

Grand ballroom โรงแรม 42c The Chic Hotel

2

4

-

6

55

16 พ.ค. 61

การอบรมพนักงานรายวันฤดูซอ่ มบ�ำรุง ปี 2561/2562

โรงงาน KTIS(RP)

148

-

-

148

56

17 พ.ค. 61

ระดมความคิดเเนวทางการด�ำเนินโครงการ วิจยั ฯ เพือ่ การพัฒนากลุม่ KTIS

บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด

1

2

1

4

57

22 พ.ค. 61

การอนุญาตกากอุตสาหกรรมยุค 4.0

ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ กรุงเทพฯ

-

1

1

2

58

22-30 พ.ค. 61

โรงงาน KTIS(RP)

370

56

-

426

100

รวมประเด็นการบันทึกบัญชีลกู หนี้ สินค้าคงเหลือ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ การค�ำนวณผลประโยชน์พนักงาน

สถานทีจ่ ดั อบรม

รวม ผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ หมด (คน)

โครงการเสริมสร้างความเข้มเเข็ง และเป็นอิสระให้กบั ระบบสหกรณ์

การพัฒนาศักยภาพในการท�ำงาน รุน่ ที่ 1 - 9


ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จ�ำนวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ล�ำดับ วันทีจ่ ดั อบรม

ชือ่ หลักสูตร

สถานทีจ่ ดั อบรม

รวม ผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ หมด (คน)

ระดับ พนักงาน

ระดับ หัวหน้างาน

เทียบเท่า ขึน้ ไป

โรงแรมบ้านสวนรีสอร์ท จังหวัดนครสวรรค์

2

2

-

4

กรมสรรพกร

-

1

-

1

โรงแรม Princeton Bangkok

-

1

1

2

บจ.ฝึกอบรมและสัมมนาธรรมนิติ

-

1

-

1

โรงแรม เอบีนา่ เฮ้าส์ กรุงเทพฯ

-

2

-

2

59

23 พ.ค. 61

แนวทางการพัฒนาศักยภาพแรงงาน ภายใต้แผนพัฒนาก�ำลังคนจังหวัดนครสวรรค์ ปี 2560-2564

60

24 พ.ค. 61

E-Tax Invoice & E-Receipt

61

25 พ.ค. 61

Pest Control For Food Industry

62

25 พ.ค. 61

การท�ำบัญชีรายได้และค่าใช้จา่ ย

63

30 พ.ค. – 1 มิ.ย. 61

การอนุรกั ษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

64

30 พ.ค. 61

Polarization and Refractive Index Measurement-Traceability and Dada Integrity

สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ จังหวัดปทุมธานี

1

3

-

4

65

6 มิ.ย. 61

ขับเคลือ่ นธุรกิจด้วยนวัตกรรม (DRIVE BUSINESS WITH INNOVATION)

โรงแรม เดอะพาราดิโช เจ เค ดีไซด์

2

3

-

5

66

7 มิ.ย. 61

ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัย

ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบ เทค กทม.

-

1

-

1

67

7-8 มิ.ย. 61

SMART Factory สูก่ ารพัฒนาอุตสาหกรรม อย่างยัง่ ยืน

ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบ เทค กทม.

-

4

1

5

68

8 มิ.ย. 61

การจัดการกากอุตสาหกรรมในยุคไทย แลนด์ 4.0

ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค กทม.

-

1

-

1

69

9 มิ.ย. 61

ผูบ้ งั คับ ผูค้ วบคุม ผู้ ให้สญ ั ญาณ และผูผ้ กู ยึดวัสดุ

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

13

3

-

16

70

14 มิ.ย. 61

การพัฒนาศักยภาพในการท�ำงาน รุน่ ที่ 10 - 11

โรงงาน KTIS(RP)

65

28

4

97

71

20 มิ.ย. 61

ติวเข้มตลาดต่างประเทศ

โรงแรม 42C The Chic Hotel จังหวัดนครสวรรค์

-

3

-

3

72

22 มิ.ย. 61

การเพิม่ ประสิทธิภาพของเครือ่ งจักรด้วย ระบบทันสมัย

โรงเเรมริเวอร์เเคว จังหวัดกาญจนบุรี

-

5

-

5

73

25 มิ.ย. 61

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้เครือ่ ง NIRs เพือ่ การวิเคราะห์คณ ุ ภาพอ้อยและน�ำ้ ตาล ทราย

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมอ้อย จังหวัดก�ำแพงเพชร

-

4

-

4

74

27 มิ.ย. 61

การชัง่ น�ำ้ หนักเพือ่ การเตรียมสารให้ถกู ต้อง ตามมาตรฐานสากล

โรงแรมรัตนาแกรนด์ พิษณุโลก

1

7

-

8

75

27 มิ.ย. 61

ความรูพ ้ นื้ ฐาน Bonsucro รุน่ 1

โรงงาน KTIS

41

5

-

46

76

28 มิ.ย. 61

ระบบนิวเมติกเบือ้ งต้น

โรงแรมพาราดิโซ เจเค จังหวัดนครสวรรค์

7

2

-

9

77

28-29 มิ.ย. 61

SUGAR IN THE DIGITAL ERA

ห้องประชุมทอสคาน่า วัลเล่ย์ ปากช่อง เขาใหญ่

2

2

-

4

78

2,7 ก.ค. 61

การประมาณตันอ้อย ของฝ่ายไร่ รุน่ ที่ 1 - 2

โรงงาน KTIS

101

7

-

108

79

7 ก.ค. 61

การซ่อมรถบรรทุกให้มปี ระสิทธิภาพ

โรงงาน KTIS(RP)

9

2

-

11

80

9-10 และ 23-24 ก.ค. 61

โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ

9

8

-

17

ครูฝกึ ในสถานประกอบการ ของโครงการ ระบบทวิภาคี

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

101


ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จ�ำนวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ล�ำดับ วันทีจ่ ดั อบรม

ชือ่ หลักสูตร

สถานทีจ่ ดั อบรม

รวม ผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ หมด (คน)

ระดับ พนักงาน

ระดับ หัวหน้างาน

เทียบเท่า ขึน้ ไป

โรงงาน KTIS(RP)

10

11

-

21

การเขียนแผนธุรกิจ

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

-

13

5

18

ผูป้ ฏิบตั งิ านประจ�ำระบบบ�ำบัดมลพิษอากาศ

มูลนิธสิ ถาบันสิง่ แวดล้อมไทย

2

-

-

2

โรงงาน KTIS

2

9

-

11

โรงงานน�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์

38

-

-

38

โรงเเรมสุโกศล กรุงเทพฯ

-

2

-

2

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

24

2

-

26

โรงงาน KTIS

64

8

1

73

81

9-13 ก.ค. 61

82

10 ก.ค. 61

83

11-12 ก.ค. 61

84

12 ก.ค. 61

85

12-16 ก.ค. 61

86

16 ก.ค. 61

การประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อร่าง เเผนปฎิบตั กิ ารลดก๊าซเรือนกระจก

87

17 ก.ค. , 24 ส.ค. 61

ความปลอดภัยในการขับรถ โฟล์คลิฟท์

88

17-18 ก.ค. 61

การบ�ำรุงรักษาหม้อแปลง และบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า

89

17-18 ก.ค. 61

ผูป้ ฏิบตั งิ านสถานีบริการน�ำ้ มัน

โรงแรม 42 C The Chic Hotel จังหวัดนครสวรรค์

1

1

1

3

90

18 ก.ค. 61

การเตรียมการก่อนติดตัง้ ระบบ ERP

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์ พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์

5

3

3

11

91

19 ก.ค. 61

การใช้งาน MECHANICAL SEAL

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

23

10

1

34

92

19 ก.ค. 61

ประชุมหารือกลุม่ นักวิชาการด้านอ้อย

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ

1

-

-

1

93

21 ก.ค. 61

SCALE INHIBITOR PROGRAM DESIGN FOR ENERGY SAVING

โรงเเรม บาลีฮาย เบย์ พัทยา

-

-

1

1

94

23-27 ก.ค. 61

เทคนิคการสอนงาน (รุน่ ที่ 3) KTIS(RP)

โรงงาน KTIS(RP)

5

20

-

25

95

25-26 ก.ค. 61

การฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การวิเคราะห์ ข้อมูลขนาดใหญ่เชิงธุรกิจ

มหาวิทยาลัยนเรศวร

-

2

-

2

96

25-26 ก.ค. 61

คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (คปอ.)

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

6

7

-

13

โรงงาน KTIS

11

14

1

26

97

การเพิม่ ทักษะภาษาอังกฤษในการท�ำงาน

การจัดการความเสีย่ งของโรงงานไฟฟ้า การขับรถยก(FORK LIFT TRUCK)ด้วยความ ปลอดภัย

30 ก.ค.- 3 ส.ค. 61 เทคนิคการสอนงาน (รุน่ ที่ 1) KTIS

98

31 ก.ค.1 ส.ค. 61

CSL”S 24TH INTERNATIONAL TECHNICAL SUGAR CONFERENCE 2018

โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพมหานคร

-

4

1

5

99

6 ส.ค. 61

ความรูเ้ กีย่ วกับสิทธิประโยชน์ กองทุนประกันสังคม - กองทุนเงินทดแทน

โรงเรียนปรียาโชติ

1

-

-

1

100

6,14 ส.ค. 61

การวิเคราะห์คา่ สีและค่าโพลาไรเซชัน่ ในน�ำ้ ตาลทรายขาว

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมอ้อย และน�ำ้ ตาลทราย ภาคที่ 2 ก�ำแพงเพชร

1

7

-

8

101

6-10 ส.ค. 61

การบ�ำรุงรักษารถตัดอ้อย รุน่ ที่ 1

โรงงาน KTIS

20

-

-

20

102

7 ส.ค. 61

CASTROL HIGH PERFORMANCE & BEARING LUBRICANT

โรงเเรม THE GREENERY RESORT เขาใหญ่ นครราชสีมา

-

1

-

1

102


ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จ�ำนวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ล�ำดับ วันทีจ่ ดั อบรม 103

7 ส.ค. 61

104

9-10 ส.ค. 61

105

10 ส.ค. 61

106

ชือ่ หลักสูตร

สถานทีจ่ ดั อบรม

รวม ผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ หมด (คน)

ระดับ พนักงาน

ระดับ หัวหน้างาน

เทียบเท่า ขึน้ ไป

โรงงาน KTIS

48

2

-

50

การป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรม ในพนักงานส�ำนักงาน

โรงแรม เดอะพาราดิโช เจ เค ดีไซด์

5

1

-

6

ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับระบบ LOGOUT TAGOUT

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

20

4

-

24

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

45

-

-

45

ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมอ้อย จังหวัด ก�ำแพงเพชร

1

3

-

4

การใช้สารหล่อลืน่ รุน่ ที่ 1

10-30 ส.ค., 3-15 พนักงานขับรถตัดอ้อยกลุม่ KTIS รุน่ ที่ 1-2 ก.ย. 61

107

14 ส.ค. 61

กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย

108

15 ส.ค. , 26 ก.ย. 61

ประชุมคณะท�ำงานลุม่ แม่นำ�้ สาขาแม่นำ�้ ปิง ส่วนที่ 5 ครัง้ ที่ 1-2

ห้องประชุมทีว่ า่ การอ�ำเภอคลองขลุง

-

1

-

1

109

15 ส.ค. 61

การควบคุม แก้ว กระจก พลาสติกแข็งใส และ การใช้มดี ของมีคมในอาคารผลิต

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

89

6

-

95

110

17 ส.ค. 61

การใช้สารเคมีกำ� จัดศัตรูพชื อย่างปลอดภัย

โรงงาน KTIS

26

8

-

34

111

17 ส.ค. 61

เชิงปฎิบตั กิ ารเพือ่ การจัดการท�ำแผนการ บริหารจัดการและพัฒนาลุม่ น�ำ้ แบบบูรณาการ ครัง้ ที่ 2/2561

โรงเเรมเพชร จังหวัดก�ำเเพงเพชร

-

1

-

1

112

18 ส.ค. 61

การเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน

โรงงาน KTIS(RP)

45

2

-

47

113

2,6 ส.ค., 6 ก.ย. 61

เพิม่ ทักษะความรูด้ า้ นสารหล่อลืน่ และด้านตลับลูกปืน รุน่ 1-3

โรงงาน KTIS(RP)

154

1

-

155

114

20 ส.ค. 61

ระบบ GMP : GOOD MANUFACTURING PRACTICE

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

76

5

-

81

115

20-28 ส.ค. 61

ข้อก�ำหนด GMP/HACCP และการประยุกต์ใช้

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

83

3

-

86

116

21-23 ส.ค. 61

ประชุมเเละน�ำเสนอผลงานวิจยั ในการประชุม วิชาการอ้อยและน�ำ้ ตาลเเห่งชาติ ปี 2561

โรงเเรมสุนยี ์ เเกรนด์ โฮเทล แอนด์ คอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์

-

2

-

2

117

22 ส.ค. 61

แนวทางการอนุรกั ษ์พลังงานและเยีย่ มชม โรงงานอนุรกั ษ์พลังงานดีเด่น

โรงแรมแกรด์วษิ ณุฯ จังหวัดนครสวรรค์

-

2

-

2

118

24 ส.ค. 61

การอบรมเพิม่ ความรู้ ทักษะ ด้านเทคนิควิธี การและประสบการณ์ในงานเชือ่ มโลหะ

โรงงาน TIS

80

-

-

80

119

24-25 ส.ค. 61

เพิม่ ทักษะกระบวนการทางความคิดความเชือ่ ทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรม Mindset

โรงงาน KTIS(RP)

29

13

3

45

120

27 ส.ค. 61

การประยุกต์ใช้เครือ่ งชัง่ ส�ำหรับโรงงาน อุตสาหกรรมและเครือ่ งชัง่ รถบรรทุก

โรงเเรมเดอะพาร์ค จังหวัดพิษณุโลก

1

1

-

2

121

27-31 ส.ค. 61

การบ�ำรุงรักษาระบบปรับอากาศรถยนต์

สถาบันพัฒนาฝีมอื แรงงาน ภาค 8 นครสวรรค์

7

-

-

7

122

28 ส.ค. 61

โรงแรมท็อปแลนด์ จังหวัดพิษณุโลก

2

3

-

5

123

29-30 ส.ค. 61

โรงงาน KTIS

24

67

9

100

อุปกรณ์ทใี่ ช้ ในระบบต้นก�ำลัง การสตาร์ท มอเตอร์สำ� หรับโรงงานน�ำ้ ตาลและหม้อปัน่ น�ำ้ ตาลประสิทธิภาพสูงจาก Western States Internal Audit ISO9001:2015 : Quality Management System

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

103


ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จ�ำนวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ล�ำดับ วันทีจ่ ดั อบรม

ชือ่ หลักสูตร

สถานทีจ่ ดั อบรม

ระดับ พนักงาน

ระดับ หัวหน้างาน

เทียบเท่า ขึน้ ไป

รวม ผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ หมด (คน)

124

29-31 ส.ค. 61

การซ่อมบ�ำรุงรักษารถบรรทุกพ่วง

โรงงาน KTIS

24

-

-

24

125

30 ส.ค. 61

ระบบการท�ำงานหม้อเคีย่ วอัตโนมัติ

โรงงาน KTIS(RP)

11

9

1

21

126

1-2 ก.ย. 61

วิศวกรก้าวไกลเกษตรไทยก้าวหน้า ด้วยเทคโนโลยีประหยัดพลังงานยุคใหม่

โรงแรมทรัพย์ ไพรวัลย์ แกรนด์ โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท จังหวัดพิษณุโลก

8

27

3

38

127

3-4 ก.ย. 61

อบรมการสารหล่อลืน่ ประจ�ำปี 2561 โดย บริษทั เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด

โรงแรมทรัพย์ ไพรวัลย์ แกรนด์ โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท จังหวัดพิษณุโลก

61

11

2

74

128

3-4 ก.ย. 61

อบรมเจ้าหน้าทีส่ อบ (Examiner)

โรงเเรมอมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ

-

3

-

3

129

4 ก.ย. 61

ประชุมสถานประกอบการในส่วนภูมภิ าค ให้เข้าร่วมเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว

ร้านชุดาคอฟฟี่ ศรีนคร จังหวัดนครสวรรค์

-

2

-

2

130

4 ก.ย. 61

ระบบควบคุมแบบอัตโนมัตภิ ายในโรงงาน

โรงแรม เดอะพาราดิโช เจ เค ดีไซด์

13

11

1

25

131

4-5 ก.ย. 61

ทบทวนข้อก�ำหนด และ Internal Audit ระบบบริหารคุณภาพ FSSC 22000

โรงงาน KTIS

31

56

13

100

132

6-7 ก.ย. 61

การจัดท�ำระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐาน สากล ISO/IEC 17025:2017

โรงแรมปรินส์ตนั้ พาร์ค กรุงเทพฯ

-

2

-

2

133

8 ก.ย. 61

รูห้ ลักต้องห้าม ตามประเด็นรายจ่ายทางบัญชี และภาษี

โรงแรมแกรนด์ฮลิ ล์ จังหวัดนครสวรรค์

1

1

-

2

134

10 ก.ย. 61

อบรมทีมทีป่ รึกษาการบริหารความเสีย่ ง ORM - EPPCO ประจ�ำปี 2561

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

3

5

2

10

135

11 ก.ย. 61

การบริหารความเสีย่ ง ประจ�ำปี 2561 - EPPCO

โรงงานเอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์

17

32

2

51

136

11 ก.ย. 61

โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ งานประกันสังคมสูผ่ ปู้ ระกันตน

โรงงาน KTIS(RP)

30

10

-

40

137

11-12 ก.ย. 61

PLC และ HMI

JW Tech Co.,Ltd กรุงเทพฯ

-

2

-

2

138

11-12, 18-19 ก.ย. 61

ส�ำนักงานพัฒนาฝีมอื แรงงาน จังหวัดอุตรดิตถ์

94

-

-

94

139

11 ก.ย. – 28 พ.ย. 61

โครงการกฏหมายการเงินและองค์กรธุรกิจ

มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

-

1

-

1

140

13-14 ก.ย. 61

Thailand Sugar Expo 2018

โรงเเรมอมารี หัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์

-

1

-

1

141

13-14 ก.ย. 61

ทบทวนความรู้ และทักษะในการปฏิบตั งิ าน ในห้อง Lab

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

7

-

-

7

142

14 ก.ย. 61

การพัฒนาบุคลากรเพือ่ ยกระดับ ความสามารถและสร้างเครือข่ายผูร้ บั ผิดชอบ ด้านพลังงาน

โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์ แขวงดอนเมือง เขตปทุมวัน

-

3

-

3

143

18 ก.ย. 61

การส่งเสริมให้ความรูด้ า้ นความปลอดภัย ในการท�ำงานของลูกจ้าง

โรงงาน KTIS(RP)

38

7

-

45

144

19 ก.ย. 61

ระบบการจัดการคุณภาพส�ำหรับวิธกี าร วิเคราะห์โดยเทคนิค Karl Fisher and Loss on dry

โรงแรมท็อปแลนด์ จังหวัดพิษณุโลก

2

-

-

2

104

9 พฤติกรรม 9 ความส�ำเร็จ รุน่ 1 - 2


ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จ�ำนวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ล�ำดับ วันทีจ่ ดั อบรม

ชือ่ หลักสูตร

สถานทีจ่ ดั อบรม

รวม ผูเ้ ข้าอบรม ทัง้ หมด (คน)

ระดับ พนักงาน

ระดับ หัวหน้างาน

เทียบเท่า ขึน้ ไป

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

99

23

7

129

โรงงาน KTIS(RP)

8

100

13

121

145

18-19 ก.ย. 61

การเพิม่ ประสิทธิภาพในการท�ำงาน และ การท�ำงานเป็นทีมภายใต้การมีระเบียบวินยั ต่อตนเอง และองค์กร

146

20-21 ก.ย. 61

การบริหารความเสีย่ งประจ�ำปี 2561 รุน่ 1 - 2

147

22-23 ก.ย. 61

เทคนิคออกแบบงานระบบไฟฟ้า แบบฉบับแอดมินห้องไฟฟ้า รุน่ ที่ 6

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

-

1

-

1

148

24 ก.ย. 61

การดับเพลิงและอพยพหนีไฟ ประจ�ำปี 2561

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

49

11

-

60

149

24 ก.ย. 61

เสริมทักษะกระบวนการหมัก และการเติมสารเคมีในระบบ

โรงงานเคทิส ไบโอเอทานอล

14

6

-

20

150

26 ก.ย. 61

ประชุมซักซ้อมการเตรียมความพร้อม ปีงบประมาณ 2562

ส�ำนักงานตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ นครสวรรค์

-

1

-

1

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

105


การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละบรรษัทภิบาล บริษัทฯ มีเจตนารมณ์ท่ีจะก�ำกับดูแลการด�ำเนินธุรกิจ โดยยึดมั่นในหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัทภิบาลที่ดี ด้วยตระหนักถึงประโยชน์ และความส�ำคัญของการก�ำกับกิจการและบรรษัทภิบาลทีด่ ี ซึง่ มีสว่ นช่วยให้การบริหารงานและการด�ำเนินกิจการมีประสิทธิภาพ ด้วยความโปร่งใส และค�ำนึงถึง ผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกด้าน รวมทัง้ สามารถตรวจสอบได้ เพือ่ สนับสนุนให้บริษทั ฯ สามารถเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน และเพิม่ คุณค่า ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในระยะยาว บริษทั ฯ จึงได้กำ� หนดหลักการก�ำกับกิจการทีด่ เี ป็นนโยบายเป็นลายลักษณ์อกั ษรขึน้ และสือ่ สารให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน ทุกระดับในองค์กรได้ลงนามรับทราบและน�ำไปปฏิบตั ิ ดังมีรายละเอียดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ดังนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น 1.1 นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี กีย่ วกับการดูแลสิทธิของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี กีย่ วกับการดูแลสิทธิของผูถ้ อื หุน้ เป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยมุง่ เน้นให้ ผูถ้ อื หุน้ ได้มโี อกาสรับรู้ ผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ อย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียมกัน และมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจต่างๆ ทีส่ ำ� คัญ ตลอดจนปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุน และไม่ลดิ รอน สิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยก�ำหนดนโยบายไว้ ดังนี้ บริษท ั ฯ มีหน้าทีป่ กป้องและเคารพสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน ได้แก่ สิทธิการซือ้ ขายหรือโอนหุน้ สิทธิในการมีสว่ นแบ่งในก�ำไรของกิจการ สิทธิ

ในการได้รบั ข่าวสารข้อมูลกิจการอย่างเพียงพอ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ แต่งตัง้ หรือถอดถอนกรรมการ การแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี การจัดสรรเงินปันผล การก�ำหนดหรือแก้ ไขข้อบังคับหรือหนังสือบริคณห์สนธิ การลดทุนหรือเพิม่ ทุน การอนุมตั ริ ายการพิเศษ เป็นต้น บริษท ั ฯ มีหน้าทีส่ ง่ เสริมและสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ใช้สทิ ธิในเรือ่ งต่างๆ ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี ได้แก่ สิทธิในการเสนอวาระการประชุม

ผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้า สิทธิในการเสนอบุคคลเพือ่ คัดเลือกเป็นกรรมการล่วงหน้า สิทธิในการส่งค�ำถามต่อทีป่ ระชุมล่วงหน้าก่อนการประชุม สิทธิใน การแสดงความคิดเห็นและตัง้ ค�ำถามต่อทีป่ ระชุม เป็นต้น บริษท ั ฯ มีหน้าทีใ่ นการงดเว้นการกระท�ำใดๆ อันเป็นการละเมิด หรือจ�ำกัดสิทธิ หรือการลิดรอนสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ในการศึกษาข้อมูลสารสนเทศ

ของบริษัทฯ ที่ต้องเปิดเผยตามข้อก�ำหนดต่างๆ และการเข้าประชุมผู้ถือหุ้น เช่น ไม่น�ำเสนอเอกสารที่มีข้อมูลส�ำคัญเพิ่มเติมอย่างกะทันหัน ไม่เพิม่ วาระการประชุมหรือเปลีย่ นแปลงข้อมูลส�ำคัญโดยไม่ได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า เป็นต้น บริษท ั ฯ มีหน้าทีอ่ ำ� นวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ในการใช้สทิ ธิตา่ งๆ เช่น การให้ขอ้ มูลส�ำคัญทีเ่ ป็นปัจจุบนั ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ รวมถึง

การอ�ำนวยความสะดวกในการประชุมผู้ถือหุ้น ให้สถานที่จัดประชุมมีความเหมาะสมทั้งขนาดรองรับจ�ำนวนผู้มาร่วมประชุม และต�ำแหน่ง สถานทีต่ งั้ ซึง่ ต้องเดินทางสะดวกไม่เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางและมีความปลอดภัย อีกทัง้ บริษทั เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ จัดส่งเอกสารลงทะเบียน เข้าร่วมการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุม เพือ่ ลดระยะเวลาในการตรวจสอบเอกสารในวันประชุม และบริษทั จัดช่องทางการลงทะเบียน ณ สถานที่ จัดการประชุม โดยบริษทั ได้นำ� ระบบบาร์โค้ด (Barcode) มาใช้ ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพือ่ ช่วยให้ขนั้ ตอนการลงทะเบียนให้เป็นไป ด้วยความรวดเร็วยิง่ ขึน้ และได้จดั เตรียมอากรแสตมป์ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในการมอบฉันทะ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ผเู้ ข้าประชุม เป็นต้น

1.2 การเปิดเผยสารสนเทศเกีย่ วกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษท ั ฯ

มีนโยบายให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับ วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนข้อมูลทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งทีต่ อ้ งตัดสินใจ ในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ แก่ผถู้ อื หุน้ เป็นการล่วงหน้าอย่างน้อยตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ส�ำหรับการประชุมผูถ้ อื หุน้ ในแต่ละครัง้ บริษทั ฯ มีนโยบาย ในการเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้าก่อนการประชุมผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ เพือ่ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอก่อนได้รับข้อมูลในรูปแบบเอกสารจากบริษัทฯ และมีช่องทางการติดต่อ ทีห่ ลากหลายเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สอบถามเกีย่ วกับรายละเอียดเกีย่ วกับการประชุมผูถ้ อื หุน้

หลังการประชุมผูถ้ อื หุน ้ บริษทั ฯ จะน�ำเนือ้ หาการประชุมซึง่ ประกอบด้วย รายละเอียดวาระการประชุม มติทปี่ ระชุม การลงคะแนนเสียง ตลอดจน

ค�ำถามและความเห็นของผูถ้ อื หุน้ รวบรวมจัดท�ำเป็น “รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ” เผยแพร่ขนึ้ เว็บไซต์ของบริษทั ฯ ภายใน 14 วัน นับจาก วันประชุม ซึง่ เป็นไปตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

106


1.3 การด�ำเนินการประชุม บริษทั ฯ มีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ได้ ใช้สทิ ธิในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเต็มทีใ่ นการประชุมผูถ้ อื หุน้ และจะไม่กระท�ำใดๆ

ที่เป็นการจ�ำกัดโอกาสการเข้าประชุมของผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องที่กระทบหรือเกี่ยวข้องกับสิทธิและ ผลประโยชน์ของตน บริษท ั ฯ จะแจ้งกฎเกณฑ์และวิธกี ารในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบในหนังสือเชิญประชุม รวมทัง้ ในวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ผูด้ ำ� เนินการ

ประชุมจะแจ้งกฎเกณฑ์ทใี่ ช้ ในการประชุม และขัน้ ตอนการออกเสียงลงมติให้ผถู้ อื หุน้ ทราบทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อีกทัง้ บริษทั เลือกใช้วธิ กี ารลงมติและ อุปกรณ์ออกเสียงทีโ่ ปร่งใส สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงผลการลงมติได้รวดเร็ว และผูถ้ อื หุน้ สามารถทราบผลการลงมติ โดยทันที และได้มีการบันทึกการแจ้งกฎเกณฑ์และขั้นตอนการออกเสียงลงมติดังกล่าว ลงในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง นอกจากนี้ บริษทั ฯ อาจเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่งค�ำถามล่วงหน้าทีเ่ กีย่ วข้องกับวาระในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ก่อนวันประชุมตามทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร บริษัทฯ

จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวาระการประชุมหรือเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ และแสดงความคิดเห็น โดยประธาน กรรมการได้สอบถามที่ประชุมในแต่ละวาระทุกวาระ รวมทั้งได้มีการบันทึกข้อซักถามในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวาระการประชุมหรือเกี่ยวข้องกับ บริษทั ฯ และแสดงความคิดเห็นของผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ ค�ำชีแ้ จงของคณะกรรมการบริษทั และ/หรือผูบ้ ริหารลงในรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้

บริษท ั ฯ

ได้ ให้ความส�ำคัญและเคารพสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ในการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปีและสนับสนุนให้กรรมการทุกคนเข้าร่วมประชุม

ผูถ้ อื หุน้

หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ค�ำนึงถึงการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน โดยก�ำหนดนโยบายทีส่ ำ� คัญ ดังต่อไปนี้

2.1 การเสนอวาระเพิม่ เติมในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษัทมีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในการเสนอเพิ่มวาระการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้การเสนอเพิ่ม วาระการประชุมล่วงหน้าและการพิจารณาข้อเสนอดังกล่าวของผูถ้ อื หุน้ จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทบี่ ริษทั ก�ำหนด ทัง้ นี้ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ทเี่ ป็นผูบ้ ริหาร จะไม่เพิม่ วาระการประชุมที่ไม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จำ� เป็นโดยเฉพาะวาระส�ำคัญทีผ่ ถู้ อื หุน้ ต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนตัดสินใจ

2.2 การเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ บริษัทมีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ทั้งนี้ การเสนอชื่อบุคคล เพือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและการพิจารณาข้อเสนอดังกล่าวของผูถ้ อื หุน้ จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทบี่ ริษทั ก�ำหนด

2.3 การสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ใช้หนังสือมอบฉันทะในกรณีที่ไม่สามารถมาประชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ดว้ ยตนเอง บริษทั มีนโยบายสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ใช้หนังสือมอบฉันทะในรูปแบบทีผ่ ถู้ อื หุน้ สามารถก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ และควรเสนอชือ่ กรรมการ อิสระอย่างน้อย 1 คนเป็นทางเลือกในการมอบฉันทะของผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั จะด�ำเนินการจัดส่งหนังสือมอบฉันทะรูปแบบดังกล่าวไปยังผูถ้ อื หุน้ และค�ำแนะน�ำ ในการมอบฉันทะ รวมทัง้ ประวัตแิ ละข้อมูลการท�ำงานของกรรมการอิสระแต่ละท่านอย่างครบถ้วน พร้อมกับหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ ผูถ้ อื หุน้ สามารถ ดาวน์โหลดหนังสือมอบฉันทะได้ทางเว็บไซต์ของบริษทั ที่ www.ktisgroup.com ผูร้ บั มอบฉันทะทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายและยืน่ หนังสือมอบฉันทะให้กรรมการ ในทีป่ ระชุมแล้วย่อมมีสทิ ธิเข้าร่วมประชุมและลงมติเช่นเดียวกับผูถ้ อื หุน้ ทุกประการ

2.4 การสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ใช้บตั รลงคะแนนเสียง บริษัทมีนโยบายสนับสนุนให้มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงในวาระที่ส�ำคัญ เช่น การท�ำรายการเกี่ยวโยงกันการท�ำรายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไป ซึง่ สินทรัพย์ทมี่ นี ยั ส�ำคัญ เป็นต้น เพือ่ ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ในกรณีมขี อ้ โต้แย้งในภายหลัง

2.5 การเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ใช้สทิ ธิแต่งตัง้ กรรมการเป็นรายบุคคล บริษทั มีนโยบายสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ได้ ใช้สทิ ธิในการแต่งตัง้ กรรมการเป็นรายคน บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

107


2.6 มาตรการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ หาผลประโยชน์ ในทางมิชอบ บริษัทได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบไว้ ในหลัก จรรยาบรรณธุรกิจ (Code of Conduct) ซึง่ ครอบคลุมถึงเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการรักษาความลับ โดยมีการแจ้งมาตรการดังกล่าวผ่านทางคูม่ อื หลักจรรยาบรรณธุรกิจ ทางการจัดอบรม และทางเว็บไซต์ของบริษทั นอกจากนีย้ งั ได้มอบหมายให้เลขานุการบริษทั เป็นผู้รับผิดชอบในการแจ้งหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูล และติดตามให้คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารรายงานการถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับส่วนได้สว่ นเสียหรือการท�ำรายการระหว่างกันของกรรมการและผูบ้ ริหารและก�ำหนดให้กรรมการทุกคนและผูบ้ ริหารทีม่ หี น้าที่ รายงานการมีสว่ นได้เสียตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดให้บริษทั ทราบ

2.7 การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายย่อมมีสทิ ธิได้รบั ข้อมูลหรือเอกสารเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษส�ำหรับผูถ้ อื หุน้ ชาวต่างชาติ เอกสารทีส่ ง่ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ชาวต่างชาติ บริษทั มีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ

หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี กีย่ วกับการดูแลผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย บริษัทตระหนักและให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ซึ่งไม่เพียงแต่เฉพาะตามที่กฎหมายก�ำหนดเท่านั้น ในปีที่ผ่านมาบริษัท ได้พจิ ารณาชีบ้ ง่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียขึน้ ใหม่ พร้อมกับก�ำหนดเป็นนโยบายและมาตรการในการดูแลผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียเพิม่ เติม เพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมของบริษัทที่ได้ยึดถือปฏิบัติควบคู่กันไป โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของบริษทั แบ่งออกเป็น 10 กลุม่ ดังนี้

1. พนักงานและครอบครัว 2. เกษตรกรชาวไร่ 3. ลูกค้า และเจ้าหนี ้ 4. ผูถ้ อื หุน้ หรือผูล้ งทุน 5. ชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละสาขา

6. หน่วยงานราชการ 7. Supplier และ Contractor 8. นักวิชาการ 9. สถาบันการศึกษา 10. คแู่ ข่ง

ทัง้ นี้ บริษทั ได้กำ� หนดนโยบายและมาตรการในการดูแลผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียดังต่อไปนี้

1. พนักงานและครอบครัว บริษัทให้ผลตอบแทนแก่พนักงานอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับการจ่ายผลตอบแทนของอุตสาหกรรมเดียวกันตลอดจนจัดให้มี

สวัสดิการต่างๆ ตามกฏหมาย และมีกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพส�ำหรับพนักงาน โดยยึดหลักพิจารณา ผลงานด้วยความเป็นธรรม สอดคล้องกับ ผลการด�ำเนินงาน ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว และสามารถวัดผลได้ภายใต้หลักเกณฑ์ทบี่ ริษทั ก�ำหนด บริษัทมุ่งส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ

ความรู้ และความสามารถอย่างต่อเนื่อง อาทิ จัดให้มีการอบรมและสัมมนาผู้บริหาร และพนักงาน เป็นต้น ทัง้ นี้ เพือ่ สร้างศักยภาพและความพร้อมภายในองค์กรเพือ่ พัฒนาให้เป็นองค์กรทีม่ คี ณ ุ ภาพดียงิ่ ขึน้

บริษัทปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนด้วยความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกัน

อาทิ การประเมินผลงานพนักงาน การรักษาความลับ ประวัตกิ ารท�ำงาน และการให้สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ขนั้ พืน้ ฐานทีก่ ฎหมายก�ำหนด รวมทัง้ การใช้สทิ ธิตา่ งๆ ของพนักงานนอกเหนือจาก ทีก่ ฎหมายก�ำหนด โดยมีการประชาสัมพันธ์สทิ ธิประโยชน์ตา่ งๆให้กบั พนักงานอย่างต่อเนือ่ ง เป็นต้น

บริษท ั ค�ำนึงถึงสิทธิของพนักงานเป็นส�ำคัญ และเปิดโอกาสให้พนักงานร้องเรียนกรณีพนักงานไม่ได้รบั ความเป็นธรรมผ่านช่องทางต่างๆ

เช่น ตูร้ บั ความคิดเห็น หน่วยงานฝ่ายทรัพยากรบุคคลทีร่ บั เรือ่ ง เป็นต้น บริษัทมีหน้าที่ดูแลจัดสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มีความปลอดภัย

108

ถูกสุขลักษณะ และเอื้อต่อการท�ำงานอย่างมีประสิทธิผล เพื่อก�ำหนดนโยบายและหลักในการปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ สวัสดิภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม โดยก�ำหนดและส่งเสริมให้ มีการดูแลและรักษาสุขอนามัยทีด่ ี และจัดให้มสี ภาพแวดล้อมการท�ำงานทีป่ ลอดภัย ซึง่ รวมถึงควบคุมภยันตราย และด�ำเนินการทีจ่ ำ� เป็น เพือ่ ป้องกันมิให้เกิดอุบตั เิ หตุ และโรคภัยจากการท�ำงาน ให้กบั พนักงานทุกคน


บริษัทจัดให้มีการคุ้มครองปกป้องสิ่งแวดล้อม

โดยจะด�ำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาและ ใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับกับสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทส่งเสริมให้มีการให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงาน ในเรื่องสิ่งแวดล้อม โดยเนื้อหาประกอบไปด้วยนโยบายเพื่อการรักษาสิ่งแวดล้อม ปริมาณการใช้พลังงาน และการปลดปล่อยมลพิษ ทางอากาศ การบริหารจัดการของเสียมาใช้ ใหม่ (recycle) รวมถึงสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

2. เกษตรกรชาวไร่ บริษัทมีหน้าที่ในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและความร่วมมือในระยะยาวกับเกษตรกรชาวไร่คู่สัญญา

โดยยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต

ความเชือ่ ถือและไว้วางใจซึง่ กันและกัน บริษัทสนับสนุนการสร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพของเกษตรกร

โดยการให้การดูแล เอาใจใส่และให้ความส�ำคัญต่อเกษตรกร

ชาวไร่คสู่ ญ ั ญา บริษท ั มุง่ ส่งเสริมเกษตรกรชาวไร่คสู่ ญ ั ญาให้พฒ ั นาความรู้ ในการท�ำการเกษตรอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ จัดอบรมโครงการโรงเรียนเกษตรกร

เป็นต้น เพือ่ ให้เกษตรกรน�ำความรูท้ ี่ได้มาใช้ ในการประกอบอาชีพ เพิม่ ประสิทธิภาพของผลผลิตเพือ่ สร้างผลตอบแทนทีด่ ใี นการประกอบ อาชีพเกษตรกร และส่งเสริมให้มกี ารคุม้ ครองและปกป้องสิง่ แวดล้อม โดยสนับสนุนให้มกี ารพัฒนาและใช้เทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ แจ้งให้ตระหนักถึงผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และส่งเสริมให้มกี ารจัดการกับกากของเสียอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การน�ำ เศษจากผลผลิตทางการเกษตรไปใช้ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด

3. ลูกค้า และเจ้าหนี้ นโยบายเกีย่ วกับการดูแลลูกค้า บริษท ั มีหน้าทีใ่ นการสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือในระยะยาวกับลูกค้า โดยยึดหลักความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความเชือ่ ถือและไว้วางใจ

ซึง่ กันและกัน บริษัทมีหน้าที่ในการสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าของบริษัทฯ

ด้วยการรับผิดชอบ เอาใจใส่และให้ความส�ำคัญต่อปัญหาและ ความต้องการของลูกค้าเป็นอันดับแรก โดยให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกคนปฏิบตั ติ ามมาตรการตามนโยบายนี้

บริษท ั จะปฏิบตั งิ านโดยยึดหลักจริยธรรมโดยไม่เรียก รับหรือจ่ายผลประโยชน์ที่ไม่สจุ ริตต่อลูกค้าและเจ้าหนี้

ยึดมัน่ ในการน�ำเสนอและส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการที่ได้มาตรฐานคุณภาพตรงกับความต้องการของลูกค้า ยึดถือปฏิบต ั ติ ามเงือ่ นไขต่างๆ ที่ได้ทำ� ข้อตกลงไว้กบั ลูกค้าอย่างดีทสี่ ดุ

นโยบายเกีย่ วกับการดูแลเจ้าหนี้ บริษท ั มีหน้าทีส่ ร้างความสัมพันธ์และปฏิบตั ติ อ่ เจ้าหนี้ โดยยึดหลักความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความเชือ่ ถือและไว้วางใจซึง่ กันและกัน โดยให้ขอ้ มูล

ทีถ่ กู ต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้ แก่เจ้าหนี้ บริษทั มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ เอาใจใส่ และให้ความส�ำคัญต่อค�ำสัญญาและเงือ่ นไขต่างๆ ที่ได้ทำ� ข้อตกลงไว้กบั เจ้าหนีอ้ ย่างเคร่งครัด ในการช�ำระ

คืนหนี้ เงินกูย้ มื ดอกเบีย้ และมีความรับผิดชอบต่อหลักประกันต่างๆ หากเกิดกรณีที่ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขแห่งสัญญาทีต่ กลงไว้ ได้ บริษทั จะแจ้งให้เจ้าหนีท้ ราบล่วงหน้าเพือ่ ร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ ไขปัญหา

4. ผู้ถือหุ้น หรือผู้ลงทุน โปรดอ้างอิงหมวด 1. สิทธิของผูถ้ อื หุน้

5. ชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง บริษท ั และพนักงานต้องยึดมัน่ ประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองทีด่ ี และเป็นประโยชน์แก่สงั คมและชุมชน บริษัทมีหน้าที่ประพฤติปฏิบัติต่อชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับบริเวณที่ตั้งสถานประกอบการแต่ละสาขาด้วยความเป็นมิตร

และ ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนชุมชนให้มคี วามเป็นอยูท่ ดี่ ี ตลอดจนรับผิดชอบด�ำเนินการแก้ ไขในกรณีทเี่ กิดปัญหาต่างๆ ที่ได้รบั ผลมาจาก การด�ำเนินการของบริษทั อย่างเป็นธรรม และมีความเท่าเทียมกัน

บริษท ั มีหน้าทีด่ แู ลและสนับสนุนกิจกรรมทีม่ คี ณ ุ ประโยชน์ตอ่ สังคม

และให้ความร่วมมือกับภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ ด้วยความเต็มใจ

และเสียสละเพือ่ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

109


6. หน่วยงานราชการ บริษท ั มีหน้าทีป่ ฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องที่ได้กำ� หนดไว้ บริษท ั จะสนับสนุนกิจกรรมในโอกาสต่างๆ ของหน่วยงานราชการตามความเหมาะสม

7. Supplier และ Contractor บริษท ั มีหน้าทีส่ ร้างความสัมพันธ์ทดี่ กี บั Supplier และ Contractor ทุกราย บริษท ั มีหน้าทีเ่ ปิดโอกาสให้

Supplier และ Contractor ทุกรายน�ำเสนอสินค้า/บริการได้โดยเท่าเทียมกัน โดยให้ผบู้ ริหารและพนักงาน ทีเ่ กีย่ วข้องกับ Supplier และ Contractor ต้องปฏิบตั ติ ามมาตรการดังต่อไปนี้ ต้องปฏิบต ั งิ านต่อ Supplier และ Contractor ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และมีความเท่าเทียมกัน การพิจารณาและตัดสินใจต้องอยู่บนพื้นฐานของการเปรียบเทียบคุณภาพ และเงื่อนไขต่างๆ โดย ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษัท ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาวโดยจะต้องปฏิบตั ติ ามคูม่ อื การจัดซือ้ จัดจ้างอย่างเคร่งครัดดังนี้ ด้านคุณภาพและการบริการ ด้านต้นทุนราคา ด้านก�ำหนดเวลาการส่งมอบ ด้านความเชือ่ ถือไว้วางใจ ด้านชือ่ เสียงและผลงานทีอ่ า้ งอิง ด้านประวัตใิ นการท�ำธุรกิจกับบริษท ั ด้านเงือ่ นไขของธุรกรรม และด้านอืน ่ ๆตามความเหมาะสม

8. นักวิชาการ บริษท ั เปิดโอกาสให้นกั วิชาการได้รบั ทราบข้อมูลวิธกี าร กระบวนการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ รวมทัง้ แลกเปลีย่ นความรู้ เพือ่ เป็นประโยชน์

ในงานด้านวิชาการ และการท�ำวิจยั ต่างๆ อันเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั บริษัทสนับสนุนการเข้ามามีส่วนร่วมในการศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงกระบวนการท�ำงานต่างๆ

ตลอดจนร่วมศึกษา

เพือ่ พัฒนานวัตกรรมต่างๆ ในการเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาบริษทั

9. สถาบันการศึกษา บริษัทจะท�ำการส่งเสริมให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตแก่สถาบันการศึกษา

โดยจะให้ความส�ำคัญกับโรงเรียนและ

สถาบันการศึกษาทีใ่ กล้บริเวณชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละสาขาของบริษทั เป็นอันดับแรก บริษท ั จะท�ำการสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของสถาบันการศึกษาตามความเหมาะสม

10. คู่แข่ง บริษทั จะไม่กระท�ำการใดๆทีเ่ ป็นการฝ่าฝืนหรือขัดต่อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการแข่งขันทางการค้า หรืออาจท�ำให้เสือ่ มเสียชือ่ เสียงของคูแ่ ข่ง

3.2 มาตรการชดเชยผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกรณีได้รบั ความเสียหายจากการละเมิด มาตรการป้องกันการใช้ขอ ้ มูลภายในของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน

บริษทั มีมาตรการทีก่ รรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั จะต้องพึงปฏิบตั ใิ นการใช้ขอ้ มูลภายในดังนี้ 1) เลขานุการบริษทั มีหน้าทีแ่ จ้งให้กรรมการ และผูบ้ ริหาร รายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริษทั ของตนเอง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุ นิตภิ าวะ ตลอดจนรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติ บริษทั หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 (รวมทีม่ แี ก้ ไขเพิม่ เติม)

110

2) บริษทั จะแนะน�ำให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทีท่ ราบข้อมูลภายในเพือ่ ห้ามการซือ้ ขายหุน้ ของบริษทั ก่อนการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นสาระ ส�ำคัญ รวมถึงข้อมูลงบการเงินของบริษทั ซึง่ มีผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ตอ่ สาธารณชน กล่าวคือ เป็นเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยข้อมูลอันอาจเป็นการกระท�ำผิดพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์


มาตรการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของผูบ ้ ริหารและพนักงาน

บริษทั ได้กำ� หนดมาตรการป้องกันกรรมการและผูบ้ ริหารใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ หาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผูอ้ นื่ ในทางมิชอบไว้ในหลักจรรยาบรรณ ส�ำหรับผูบ้ ริหารและพนักงานดังต่อไปนี้ 1) ผูบ้ ริหารและพนักงานจะต้องไม่กระท�ำการใดๆ เพือ่ แสวงหาผลประโยชน์หรือเบียดบังทรัพย์สนิ ซึง่ ควรเป็นของบริษทั หรือควรเป็นของลูกค้า ของบริษทั ฯ มาเป็นของส่วนตัวหรือของบุคคลใดๆ โดยขัดแย้งกับการรักษาผลประโยชน์ของบริษทั 2) ผู้บริหารและพนักงานควรหลีกเลี่ยงสถานการณ์ หรือการมีกิจกรรมส่วนตัว และการมีผลประโยชน์ทางการเงินซึ่งอาจขัดแย้งกับหน้าที่ การงานทีผ่ บู้ ริหารและพนักงานผูกพันอยู่ และส่งผลกระทบต่อแนวทางการรักษาผลประโยชน์ของบริษทั 3) บริษัทจะหลีกเลี่ยงที่จะมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับผู้บริหารและพนักงานในกรณีที่อาจจะน�ำไปสู่สถานการณ์ที่จะก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบริษทั หรือขัดต่อผลประโยชน์ของลูกค้าของบริษทั 4) การทีผ่ บู้ ริหารและพนักงานมีสว่ นร่วมในการด�ำเนินกิจกรรมภายนอกองค์กร หรือด�ำรงต�ำแหน่งภายนอกองค์กร อาทิ การเป็นกรรมการ ทีป่ รึกษา ตัวแทน หรือเป็นพนักงานในองค์กรอืน่ ๆ กิจกรรมนัน้ ๆ จะต้องไม่กอ่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ไม่วา่ ทางตรง หรือทางอ้อม และจะต้องไม่ทำ� ให้เกิดผลเสียหายต่อบริษทั รวมทัง้ จะต้องไม่กระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องบุคคลนัน้ ๆ 5) ห้ามมิให้ผบู้ ริหารและพนักงานเข้าร่วมหรือรับต�ำแหน่งใดในองค์กรอืน่ ทีป่ ระกอบธุรกิจในลักษณะเดียวกันกับบริษทั หรือกิจการทีแ่ ข่งขันกับ บริษทั หรือกิจการทีอ่ าจมีผลประโยชน์ขดั แย้งกับบริษทั ทัง้ นี้ บริษทั จะได้รบั การรายงานข้อมูลส่วนได้สว่ นเสียในการท�ำธุรกรรมกับบริษทั ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน เป็นประจ�ำอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยตลอด โดยส�ำนักตรวจสอบภายในของบริษัทมีหน้าที่รายงานข้อมูลส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบทราบเพื่อพิจารณา และหลังจากนัน้ ให้คณะกรรมการตรวจสอบน�ำข้อมูลสรุปส่วนได้สว่ นเสียต่างๆ รายงานต่อคณะกรรรมการบริษทั เพือ่ รับทราบและพิจารณาต่อไป โดยส�ำนักตรวจสอบภายในจะเป็นผูต้ ดิ ตามผลอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนี้ บริษทั ได้กำ� หนดมาตรการชดเชยผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียไว้ ในกรณีได้รบั ความเสียหายจากการละเมิดดังต่อไปนี้ 1) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อพนักงานและครอบครัว บริษทั จัดให้มสี ถานทีร่ บั ข้อร้องเรียน และ/หรือข้อเสนอแนะจากพนักงานไว้สำ� หรับเป็นช่องทางในการแจ้งเรือ่ งร้องเรียนของพนักงานที่ได้รบั ผลกระทบจากการท�ำงาน 2) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อลูกค้า และเจ้าหนี้ บริษัทได้มีการดูแลลูกค้าตามนโยบายการดูแลลูกค้า และจัดให้มีฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Service) ขึ้นเพื่อเป็นศูนย์ร้องเรียน ส�ำหรับลูกค้า ในกรณีทลี่ กู ค้ามีปญ ั หาและต้องการความช่วยเหลือเพือ่ ป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อลูกหนี้ และเจ้าหนี้ ผูบ้ ริหาร จะพิจารณาคุณสมบัติของลูกหนี้ และเจ้าหนี้ทุกรายก่อนการท�ำธุรกรรม เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาขึ้นในภายหลัง โดยพิจารณาตามหลัก ความซือ่ สัตย์สจุ ริตและความน่าเชือ่ ถือ 3) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อผูถ้ อื หุน้ บริษัทด�ำเนินการปกป้องและดูแลสิทธิของผู้ถือหุ้นขั้นพื้นฐาน ทั้งสิทธิในการได้รับข้อมูลสารสนเทศ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น ตลอดจนสนับสนุนการใช้สทิ ธินอกเหนือไปจากกฎหมาย 4) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง บริษัทมีการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อชุมชนและสังคมรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง ด้วยการปฏิบัติตามนโยบาย การดูแลสังคมและชุมชน ในการสร้างสัมพันธ์อนั ดีกบั สังคมและชุมชนรอบข้าง ตลอดจนให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนชุมชนให้มคี วามเป็นอยูท่ ดี่ ี 5) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อหน่วยงานราชการ บริษทั มีการป้องกันกรณีความเสียหายจากการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ โดย บริษทั มีหน่วยงานฝ่ายกฎหมายทีจ่ ะท�ำหน้าที่ ในการติดตามดูแลการปฏิบตั ขิ องหน่วยงานในบริษทั ให้มกี ารปฏิบตั เิ ป็นไปตามกฎหมายอยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ 6) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ Supplier และContractor บริษัทมีการป้องกันกรณีความเสียหายในการละเมิดต่อ Supplier และ Contractor โดยบริษัทมีนโยบายในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี กับ Supplier และ Contractor ทุกราย รวมถึงมีการปฏิบตั ติ อ่ Supplier และ Contractor ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

111


7) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อนักวิชาการ บริษทั ได้เปิดโอกาสให้นกั วิชาการเข้าเยีย่ มชมกระบวนการให้บริการ และให้ขอ้ มูลวิธกี าร กระบวนการด�ำเนินงานในการให้บริการของบริษทั เพือ่ เป็นประโยชน์ในด้านวิชาการ ตลอดจนร่วมมือกับนักวิชาการในการศึกษาปรับปรุงเทคโนโลยีในการให้บริการต่างๆ ร่วมกันอย่างสม�ำ่ เสมอ 8) มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อสถาบันการศึกษา บริษัทได้ ให้ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในการเปิดโอกาสให้เยี่ยมชมสถานประกอบการของ บริษัท และจัดบรรยายให้ความรู้ ด้านเทคโนโลยีและกระบวนการให้บริการของบริษทั แก่สถาบันการศึกษา ตลอดจนให้การสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ อยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ

3.3 กลไกการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย บริษทั ได้กำ� หนดกลไกการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียดังต่อไปนี้ บริษท ั ได้จดั ให้มชี อ่ งทางรับข้อร้องเรียนและ/หรือแสดงความคิดเห็น และเพิม่ ช่องทางในการอีเมล์ถงึ ผูบ้ ริหารระดับสูง

โดย ฝ่ายตรวจสอบติดต่อ

โทร. : 02-692-0869-73 ต่อ 183 ต่อ154 E-mail : internalaudit@ktisgroup.com

บริษท ั ได้เปิดโอกาสให้มชี อ่ งทางการส่งข้อเสนอแนะถึงกรรมการบริษทั ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั

โดย ฝ่ายเลขานุการบริษทั ติดต่อ โทร : 02-692-0869-73 ต่อ 175 E-mail : cs@ktisgroup.com บริษท ั ได้จดั ให้มกี ารส่งตัวแทนของบริษทั เพือ่ เข้าเยีย่ มเยียนชุมชนในพืน้ ทีร่ อบๆ โรงงานเป็นประจ�ำทุกปี

3.4 กลไกคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแส บริษัทได้ก�ำหนดให้มีช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการกระท�ำผิดกฎหมายหรือจรรยาบรรณ

รายงานทางการเงิน หรือระบบ

ควบคุมภายในบกพร่อง ตามช่องทางในข้อ 3.3 บริษท ั ได้กำ� หนดให้มกี ารคุม้ ครองพนักงาน/ผูแ้ จ้งเบาะแส โดย

1) ผูร้ อ้ งเรียนสามารถเลือกทีจ่ ะไม่เปิดเผยตนเองได้ หากเห็นว่าการเปิดเผยนัน้ จะท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัยหรือความเสียหาย 2) บริษัทจะเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้เป็นความลับ ค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ร้องเรียน โดยก�ำหนดมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน ที่เป็นพนักงาน รวมถึงผู้ ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง จากสาเหตุแห่งการแจ้งข้อร้องเรียน เช่น การรบกวนในการท�ำงาน การโยกย้าย การเลิกจ้าง การข่มขู่ เป็นต้น บริษท ั ได้กำ� หนดให้มกี ระบวนการด�ำเนินการหลังจากมีผแู้ จ้งเบาะแส โดยในเบือ้ งต้นส�ำนักตรวจสอบภายในจะท�ำการรวบรวมสรุปเรือ่ งดังกล่าว

แล้วน�ำเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาพิสูจน์หาข้อเท็จจริง หากพบว่าเป็นข้อมูลที่กระทบต่อบริษัทจะต้องน�ำเสนอให้ คณะกรรมการบริษทั พิจารณาต่อไป

หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทมีนโยบายเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางทีเ่ ข้าถึงข้อมูลได้งา่ ย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชือ่ ถือ

4.1 การควบคุมภายในและการท�ำรายการ/ธุรกรรมทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษท ั มีนโยบายในการป้องกันและขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ทอี่ าจเกิดขึน้ โดยก�ำหนดให้การท�ำรายการและ/หรือธุรกรรมทีอ่ าจมี

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทีบ่ ริษทั ก�ำหนด และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง

112


บริษัทจะด�ำเนินการให้กรรมการ

ผู้บริหาร และ/หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท แล้วแต่กรณีไม่ประกอบธุรกิจที่คล้ายคลึงหรือแข่งขัน ซึง่ ส่งผลให้ความสามารถในการแข่งขันของบริษทั ลดลง หรือมีรายการระหว่างกันในลักษณะทีม่ ผี ลประโยชน์อนื่ ทีอ่ าจขัดแย้งกับผลประโยชน์ทดี่ ี ทีส่ ดุ กับบริษทั หรือบริษทั ย่อย โดยกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั แล้วแต่กรณีจะต้องรายงานต่อบริษทั หากกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ/หรือหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่เข้าไปถือหุน้ บริษทั ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ในการด�ำเนินงานคล้ายคลึงกับบริษทั หรือบริษทั ย่อย เพือ่ ให้บริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาว่าการถือหุน้ ดังกล่าวขัดต่อผลประโยชน์ทดี่ ที สี่ ดุ ของบริษทั หรือบริษทั ย่อยหรือไม่

บริษท ั ยังให้ความส�ำคัญกับระบบการควบคุมภายในทีด่ ี

และได้จดั ให้มสี ำ� นักตรวจสอบภายในเพือ่ ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของแต่ละสายงาน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดและปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใส โดยมีการตรวจสอบเป็นระยะและจัดท�ำรายงานส่งให้คณะกรรมการ ตรวจสอบพิจารณา

4.2 การเปิดเผยข้อมูล บริษทั เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องก�ำหนดผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และบริษทั ภายใต้หวั ข้อ นักลงทุน สัมพันธ์ โดยบริษัทจัดให้มีผู้รับผิดชอบคือ ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร พร้อมทั้งปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อเป็นตัวแทน ในการสือ่ สาร บริการข้อมูล ข่าวสารกิจกรรมต่างๆ กับบริษทั ผูล้ งทุน ผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์ หลักทรัพย์และประชาชน หากมีขอ้ สงสัยสามารถติดต่อได้ที่ ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และการสือ่ สารองค์กร โทร.02-692-0869-73 ต่อ 193 ต่อ 26 E-mail : ir@ktisgroup.com

กิจกรรม

จ�ำนวนครัง้ /ปี

Opportunity Day

3

Company Visit

3

การติดต่อสอบถามข้อมูลทาง Email (ฉบับ)

9

Factory Visit

27

4.3 การเปิดเผยนโยบายก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ได้เปิดเผยนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ได้ ให้ความเห็นชอบและผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าวผ่านช่องทางต่างๆ เช่น รายงานประจ�ำปี และเว็บไซต์ของบริษทั เป็นต้น

4.4 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ต่อรายงานทางการเงิน บริษัทจัดให้มีรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินแสดงควบคู่ไปกับรายงานของผู้สอบบัญชีในรายงานประจ�ำปี ซึง่ มีเนือ้ หารับรองการปฏิบตั ติ ามหลักการบัญชี และมีการรายงานทางการเงินทีม่ ขี อ้ มูลถูกต้องครบถ้วนเป็นจริงตามมาตรฐานการบัญชี โดยรายงานดังกล่าว ลงนามโดยประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั

4.5 การเปิดเผยบทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย ได้เปิดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวนครั้งของการประชุมและจ�ำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่าน เข้าร่วมประชุมในปีทผี่ า่ นมาและความเห็นจากการท�ำหน้าทีใ่ นรายงานประจ�ำปี

4.6 การเปิดเผยข้อมูลการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั บริษทั ก�ำหนดให้กรรมการต้องรายงานการซือ้ -ขายหุน้ ของ/ถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ให้ทปี่ ระชุมคณะกรรมการทราบทุกครัง้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

113


หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท บริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญในการพิจารณาสรรหากรรมการทีม่ ภี าวะผูน้ ำ� วิสยั ทัศน์ มีประสบการณ์ความรู้ ความสามารถ และมีความเป็นอิสระ ในการตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ โดยรวม และความส�ำคัญในการแบ่งแยกบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษทั และฝ่ายจัดการทีช่ ดั เจน และดูแลให้บริษทั มีระบบงานทีใ่ ห้ความเชือ่ มัน่ ได้วา่ กิจกรรมต่างๆของบริษทั ได้ดำ� เนินไปในลักษณะทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายและมีจริยธรรม บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทโดยค�ำนึงปัจจัยต่างๆ ซึ่งรวมถึงความรับผิดชอบของกรรมการ โดยมีแนวนโยบาย ส�ำคัญทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนี้

5.1 โครงสร้างคณะกรรมการบริษทั บริษท ั ค�ำนึงถึงการบริหารงานทีโ่ ปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้เป็นส�ำคัญ ดังนัน้ ประธานกรรมการของบริษทั จึงไม่เป็นบุคคลเดียวกับประธาน

เจ้าหน้าที่บริหารหรือกรรมการผู้อ�ำนวยการ อีกทั้งคณะกรรมการบริษัทได้ ให้ความเห็นชอบในการก�ำหนดนิยามกรรมการอิสระของบริษัท ตามหลักเกณฑ์และค�ำนิยามทีก่ ำ� หนดไว้โดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ส�ำหรับกระบวนการสรรหากรรมการบริษัทได้ก�ำหนดวิธีการที่เป็นทางการโดยยึดหลักความโปร่งใส

ปราศจากอิทธิพลของฝ่ายบริหาร หรือผูถ้ อื หุน้ ทีม่ อี ำ� นาจควบคุม คือ คณะกรรมการสรรหาจะเป็นผูส้ รรหาบุคคลด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการโดยท�ำการพิจารณาคัดเลือกบุคคล ทีเ่ หมาะสม โดยพิจารณาจากคุณวุฒิ ความสามารถ ประสบการณ์ทำ� งาน ฯลฯ และจะต้องมีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนด ตลอดจนสอดคล้องกับกลยุทธ์ ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท เพื่อให้ตรงกับภาระหน้าที่ของกรรมการบริษัทและ/หรือกรรมการ ในคณะอนุกรรมการต่างๆ ซึ่งจะสรรหาจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาชีพต่างๆ หรือ Professional Search Firm หรือ Director Pool หรือองค์กรลักษณะดังกล่าว และเมื่อคัดเลือกกรรมการที่เหมาะสมได้แล้ว จึงน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติแต่งตั้ง เป็นกรรมการต่อไป

บริษัทได้จัดให้มีการเปิดเผยรายชื่อของคณะกรรมการบริษัท

และคณะอนุกรรมการ โดยเปิดเผยชื่อกรรมการรายบุคคล ต�ำแหน่ง อายุ ประวัติการศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ประสบการณ์ท�ำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหาร โดยได้เปิดเผยไว้ผ่านช่องทางต่างๆ ทัง้ ในรายงานประจ�ำปี และเว็บไซต์ของบริษทั

กรรมการของบริษท ั โดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ทัง้ นี้ กรรมการซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ อาจได้รบั เลือกตัง้ ใหม่จากทีป่ ระชุม

ผูถ้ อื หุน้ ได้ คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ หมด และไม่นอ้ ยกว่า 3 คน กรรมการอิสระของบริษทั จะต้องมี

คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดซึ่งมีความเข้มงวดไม่น้อยกว่าคุณสมบัติที่คณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด บริษัท มีน โยบายที่ จ ะแต่ ง ตั้ ง เลขานุ ก ารบริ ษัท เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ต ่ า งๆ

ตามที่กฎหมายก�ำหนด และท�ำหน้าที่อื่นตามที่ ได้รับมอบหมายจาก

คณะกรรมการบริษทั

5.2 ภาวะผูน้ �ำและวิสยั ทัศน์ คณะกรรมการบริษทั มีภาวะผูน้ ำ� วิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ ทิศทางและนโยบายในการด�ำเนินงาน แผนการประกอบธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปี

ของบริษัทและมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม บริษัทจึงจัดให้มีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ ของคณะกรรรมการบริษัทกับฝ่ายบริหารอย่างชัดเจน โดยฝ่ายบริหารจะเป็นผู้หาข้อมูลต่างๆ เพื่อประกอบการพิจารณาและคณะกรรมการ บริษทั มีหน้าทีต่ ดั สินใจ คณะกรรมการบริษัทมุ่งหวังที่จะให้กิจการของบริษัทมีความมั่นคง

และมีความส�ำเร็จทางธุรกิจที่ย่ังยืนในระยะยาว จึงได้ร่วมกับฝ่ายบริหาร พิ จ ารณาทบทวนก� ำ หนดวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละภารกิ จ ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพแวดล้ อ มที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป รวมถึ ง ก� ำ หนดเป้ า หมาย แผนธุ ร กิ จ และแผนงบประมาณในรอบปีที่ผ่านมา โดยค�ำนึงถึงการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด และความมั่นคงในระยะยาวของบริษัทและของผู้ถือหุ้น ตลอดจนท�ำหน้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลและติดตามการด�ำเนินการของฝ่ายบริหารให้เป็นไปตามแผนธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

คณะกรรมการบริษัทมีการติดตามดูแลเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่า

ฝ่ายบริหารได้น�ำกลยุทธ์ของบริษัทไปประชุมฝ่ายจัดการและปฏิบัติตาม กลยุทธ์ที่ได้กำ� หนดไว้ โดยฝ่ายบริหารจะมีการรายงานผลให้คณะกรรมการบริษทั ทราบปีละ 4 ครัง้

114


คณะกรรมการบริษท ั ได้สนับสนุนให้เกิดระบบบรรษัทภิบาลในการบริหารงานภายในองค์กร คณะกรรมการบริษทั จึงได้เป็นผูน้ ำ� ในการก�ำหนด

แนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี หลักจรรยาบรรณ มาตรการและขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รวมถึงการแบ่งแยกขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่อย่างชัดเจนระหว่างผู้ถือหุ้นกับคณะกรรมการบริษัทระหว่าง คณะกรรมการบริษทั กับผูบ้ ริหารและคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ เพือ่ ให้เกิดการถ่วงดุลอ�ำนาจและสามารถตรวจสอบซึง่ กันและกันได้อย่างอิสระ

5.3 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทจะพิจารณาการท�ำรายการระหว่างกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้ถือหุ้น

กรรมการ และฝ่ายบริหาร ด้วยความรอบคอบ ซื่อสัตย์สุจริต อย่างมีเหตุ มีผล และเป็นอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี ตลอดจนมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน โดยยึดผลประโยชน์ของบริษัท โดยรวมเป็นส�ำคัญ รวมทั้งยึดถือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นและความเหมาะสม ของของการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันนัน้

บริษัทได้ก�ำหนดให้มีมาตรการและขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้อง

หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยห้ามมิให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทัง้ ทางตรงและทางอ้อมมีสว่ นร่วมในการพิจารณารายการ และก�ำหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบร่วมพิจารณา และให้ความเห็นเกีย่ วกับความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการทีน่ ำ� เสนอนัน้ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ตลอดจนให้มกี ารเปิดเผย ข้อมูลการท�ำรายการระหว่างกัน ไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป ในรายงานประจ�ำปี

5.4 จริยธรรมทางธุรกิจ บริษัทได้จัดท�ำหลักจรรยาบรรณส�ำหรับผู้บริหารและพนักงาน

(Code of Conduct) เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนได้ ใช้เป็นแนวทาง การปฏิบัติงานในหน้าที่ และยึดถือประพฤติปฏิบัติอย่างสม�ำ่ เสมอและเคร่งครัด โดยครอบคลุมทั้งด้านการประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ และสุจริต การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วยความเท่าเทียมและเป็นธรรม การป้องกันการละเมิดต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ การรักษาความลับ และการใช้ขอ้ มูลในทางทีผ่ ดิ ตลอดจนเรือ่ งการรับสินบน ของขวัญ และของรางวัล ทัง้ นี้ได้มอบหมายให้ ส�ำนักตรวจสอบภายในติดตามและตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามหลักจรรยาบรรณนี้

บริษัทจะติดตามและดูแลให้การประกอบธุรกิจของบริษัท

การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ การด�ำเนินการของฝ่ายบริหาร และการปฏิบัติงาน ของพนักงาน ยึดมัน่ อยูใ่ นกรอบของคุณธรรม และจริยธรรมอันดี นอกเหนือจากระเบียบข้อบังคับของบริษทั และกรอบกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง

บริษัทก�ำหนดนโยบายให้กรรมการ

ผู้บริหาร และพนักงานหลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญแก่สาธารณชนทีอ่ าจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั เช่น ข้อมูลทางการเงิน เป็นต้น

5.5 การรวมหรือแยกต�ำแหน่งเพือ่ การถ่วงดุลอ�ำนาจการบริหารงาน บริษทั ก�ำหนดแบ่งแยกขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รวมถึงประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ไว้อย่างชัดเจน รวมถึงการก�ำหนดให้ บุคคลผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งประธานกรรมการ ไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหาร หรือประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และไม่มคี วามสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ายบริหาร เพือ่ ป้องกันไม่ให้ผบู้ ริหารคนใดคนหนึง่ มีอำ� นาจโดยไม่จำ� กัด และสามารถทีจ่ ะสอบทานถ่วงดุลการบริหารงานได้

5.6 คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อช่วยงานคณะกรรมการบริษัทในการศึกษารายละเอียดติดตามและควบคุม การปฏิบตั งิ าน และกลัน่ กรองกิจการที่ได้รบั มอบหมาย โดยมีการก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน

5.7 บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานกรรมการบริษทั จัดให้มีการประชุมกรรมการบริษัทในแต่ละปี

ดูแลการจัดส่งหนังสือเชิญประชุม รวมทั้งเอกสารต่างๆ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้รับข้อมูล

อย่างเพียงพอและทันเวลา ท�ำหน้าทีป่ ระธานทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และสนับสนุนการปฏิบต ั หิ น้าทีข่ องกรรมการบริษทั อย่างถูกต้องตามกฎหมายและข้อก�ำหนดต่างๆ เปิดโอกาสให้กรรมการบริษท ั ได้แสดงความคิดเห็น พิจารณา และตัดสินใจอย่างรอบคอบ และสุจริต

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

115


จัดให้มีการรายงานจากฝ่ ายบริ ห าร

และคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยๆ เพื่อติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัท และความคืบหน้า ของกิจการต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั

ส่งเสริมและสร้างมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการทีด ่ ขี องคณะกรรมการบริษทั เป็นประธานทีป ่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และควบคุมการประชุมให้เป็นไปตามข้อบังคับของบริษทั และระเบียบวาระทีก่ ำ� หนดไว้ ดูแลส่งเสริมให้กรรมการบริษท ั และผูถ้ อื หุน้ ติดต่อสือ่ สารกันอย่างมีประสิทธิภาพ จัดให้มีการรายงานจากฝ่ ายบริ ห าร

และคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยๆ เพื่อติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัท และความคืบหน้า ของกิจการต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั

5.8 บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษท ั ดูแลให้วตั ถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการเป็นไปเพือ่ ความยัง่ ยืน

โดยมีวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทีส่ อดคล้องกับ

การสร้างคุณค่าให้ทงั้ กิจการ ลูกค้า ผูม้ สี ว่ นได้เสียและสังคมโดยรวม คณะกรรมการบริษท ั ก�ำกับดูแลให้การจัดท�ำกลยุทธ์และแผนงานประจ�ำปีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการ โดยค�ำนึงถึง

ปัจจัยแวดล้อมของกิจการ ณ ขณะนัน้ ตลอดจนโอกาสและความเสีย่ งทีย่ อมรับได้และสนับสนุนให้มกี ารจัดท�ำหรือทบทวนวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธ์สำ� หรับระยะปานกลาง 3-5 ปี เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า กลยุทธ์และแผนงานประจ�ำปีได้คำ� นึงถึงผลกระทบในระยะเวลาทีย่ าวขึน้ และยังพอจะ คาดการณ์ ได้ตามสมควร ในการก�ำหนดกลยุทธ์

คณะกรรมการบริษัทก�ำกับดูแลให้มีการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ ในการสร้าง ความสามารถในการแข่งขันและตอบสนองความต้องการของผูม้ สี ว่ นได้เสีย โดยยังคงอยูบ่ นพืน้ ฐานของความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม

คณะกรรมการบริษทั ได้ทำ� หน้าทีพ ่ จิ ารณาและให้ความเห็นชอบในเรือ่ งทีส่ ำ� คัญเกีย่ วกับการด�ำเนินงาน รวมทัง้ ก�ำกับดูแลให้ฝา่ ยจัดการด�ำเนินงาน

ตามนโยบายและแผน รวมถึงตามงบประมาณทีก่ ำ� หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามทีค ่ ณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั เป็นลายลักษณ์อกั ษร และให้ความเห็นชอบในนโยบายดังกล่าว

ไว้แล้วนัน้ คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารทบทวนเป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ คณะกรรมการบริษท ั ได้จดั ท�ำหลักจรรยาบรรณธุรกิจทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษรขึน้ ไว้ และได้เผยแพร่แจกจ่ายให้แก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน

ทีเ่ ข้าใหม่ รวมทัง้ ด�ำเนินการทบทวนจรรยาบรรณต่างๆ ส�ำหรับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานเดิม เพือ่ ให้เข้าใจถึงมาตรฐานด้านจริยธรรม ทีบ่ ริษทั ใช้ ในการด�ำเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมายให้สำ� นักตรวจสอบภายในติดตามการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณดังกล่าว อย่างใกล้ชดิ คณะกรรมการบริษท ั ได้พจิ ารณาเรือ่ งความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ รวมถึงการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ซึง่ อาจมีความขัดแย้ง

กับผลประโยชน์ของบริษัท โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ รายการระหว่างกันที่ส�ำคัญต้องได้รับการพิจารณาอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษท ั ได้จดั ให้มรี ะบบการควบคุมด้านการรายงานทางการเงิน และการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบต่างๆ ซึง่ จะมีหน่วยงานตรวจสอบ

ภายในท�ำหน้าทีด่ งั กล่าว ซึง่ มีความอิสระต่อการปฏิบตั หิ น้าที่ และได้มกี ารทบทวนระบบดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ คณะกรรมการบริษท ั มีหน้าทีร่ ว่ มกับคณะกรรมการตรวจสอบในการพิจารณางบการเงินประจ�ำปีและประจ�ำไตรมาส และสารสนเทศทางการเงิน

ทีป่ รากฏในรายงานประจ�ำปี และร่วมประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษทั เพือ่ เปิดเผยต่อผูล้ งทุน คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ร่วมกับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในการพิจารณาก�ำหนดนโยบายด้านการบริหารความเสี่ยง

(Risk Management Policy) อย่างครอบคลุมทัง้ องค์กร โดยมอบหมายให้ฝา่ ยจัดการเป็นผูป้ ฏิบตั ติ ามนโยบายและรายงานให้คณะกรรมการบริษทั และ/หรือคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทราบเป็นประจ�ำ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะจัดให้มีการทบทวนระบบหรือประเมินประสิทธิผล ของการจัดการความเสีย่ งอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ และในทุกๆ ระยะเวลาทีพ ่ บว่าระดับความเสีย่ งมีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ รวมถึงการให้ความส�ำคัญกับ สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าและรายการผิดปกติทงั้ หลาย

คณะกรรมการบริษท ั มีนโยบายส่งเสริมพัฒนาความรูแ้ ก่กรรมการบริษทั ทุกท่าน โดยก�ำหนดให้แต่ละปี จัดให้กรรมการบริษทั อย่างน้อย 1 ท่าน

เข้าร่วมอบรมหลักสูตรหรือกิจกรรมสัมมนาทีเ่ ป็นการเพิม่ พูนความรู้ ในการปฏิบตั งิ านของบริษทั

116


คณะกรรมการบริษัทมีนโยบาย

ก�ำหนดให้จ�ำนวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการบริษัทแต่ละคนจะไปด�ำรงต�ำแหน่งรวมแล้วไม่เกิน 5 บริษัท จดทะเบียน เพือ่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ

คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายเกี่ยวกับการเข้าร่วมลงทุนในกิจการอื่นอย่างมีนัยส�ำคัญ

เช่น มีสัดส่วนการถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงตั้งแต่ ร้อยละ 20 แต่ไม่เกินร้อยละ 50 และจ�ำนวนเงินลงทุนหรืออาจต้องลงทุนเพิม่ เติมมีนยั ส�ำคัญต่อบริษทั ต้องจัดท�ำ shareholders’ agreement หรือข้อตกลงอืน่ เพือ่ ให้เกิดความชัดเจนเกีย่ วกับอ�ำนาจในการบริหารจัดการและการมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจในเรือ่ งส�ำคัญ การติดตามผล การด�ำเนินงาน เพือ่ สามารถใช้เป็นข้อมูลในการจัดท�ำงบการเงินของบริษทั ได้ตามมาตร ฐานและก�ำหนดเวลา

คณะกรรมการบริษท ั มีนโยบายส่งเสริม ให้ความส�ำคัญ และสนับสนุนการสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดนวัตกรรมและดูแลให้ฝา่ ยจัดการน�ำไป

เป็นส่วนหนึง่ ในการทบทวนกลยุทธ์ การวางแผนพัฒนาปรับปรุงการด�ำเนินงาน และติดตามผลการด�ำเนินงาน คณะกรรมการบริษทั ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและเพิม่ คุณค่าให้กจิ การตามสภาพปัจจัยสิง่ แวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ โดยครอบคลุมถึง

การก�ำหนดรูปแบบธุรกิจ วิธคี ดิ มุมมองในการออกแบบ และพัฒนาสินค้าและบริการ การวิจยั ปรับปรุงกระบวนการผลิตและกระบวนการท�ำงาน รวมทัง้ การร่วมมือกับคูค่ า้ คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศระดับองค์กร

ที่สอดคล้องกับความต้องการของกิจการ รวมทั้งดูแล ให้มีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจและพัฒนาการด�ำเนินงาน การบริหารความเสี่ยง เพื่อให้กิจการสามารถ บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการ โดยให้มกี ารจัดสรรและบริหารทรัพยากรให้อย่างเพียงพอต่อการด�ำเนินธุรกิจ และมีแนวทาง เพื่อรองรับในกรณีที่ไม่สามารถจัดสรรทรัพยากรได้เพียงพอตามที่ก�ำหนดไว้ ตลอดจนมีนโยบายให้มีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ของระบบสารสนเทศ

คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายให้นำ� ผลประเมินระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งมาเป็นส่วนหนึง่ ในการพิจารณาในการด�ำเนินงาน

ของบริษทั ย่อยหรือกิจการอืน่ ทีบ่ ริษทั ไปลงทุนอย่างมีนยั ส�ำคัญ (เช่น มีสดั ส่วนการถือหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงตัง้ แต่รอ้ ยละ 20แต่ไม่เกินร้อยละ 50)

5.9 อ�ำนาจอนุมตั ขิ องคณะกรรมการบริษทั แต่งตัง้ ถอดถอน มอบอ�ำนาจหน้าทีใ่ ห้แก่ทป ี่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดต่างๆ ไปปฏิบตั ิ จัดให้มกี ารปรึกษาผูเ้ ชีย่ วชาญ หรือทีป ่ รึกษาของบริษทั (ถ้ามี) หรือทีจ่ า้ งทีป่ รึกษา หรือผูเ้ ชีย่ วชาญภายนอกในกรณีทจี่ ำ� เป็นด้วยค่าใช้จา่ ยของ

บริษทั อนุมต ั นิ โยบาย หลักการ และมอบหมายให้ฝา่ ยบริหารด�ำเนินการปฏิบตั ติ ามระเบียบวาระอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อนุมัติธุรกรรมด้านการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร

ตราสารทุนและตราสารหนี้ การลงทุนหรือร่วมทุนในกิจการใหม่ ในวงเงินที่เกินอ�ำนาจ

คณะกรรมการบริหาร และตามกฎหมาย อนุมต ั กิ ารตัดหนีส้ ญ ู ออกจากบัญชีตามเงือ่ นไขทีบ่ ริษทั ก�ำหนด อนุมต ั แิ ผนธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปีของบริษทั อนุมต ั ใิ ห้ซอื้ หุน้ บริษทั ฯ กลับคืน ไม่เกินกว่าร้อยละ 10 ของทุนช�ำระแล้ว หรือตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด อนุมต ั ธิ รุ กรรมการเงินนอกเหนือจากที่ได้กำ� หนดให้ฝา่ ยบริหารด�ำเนินการได้ อนุมต ั กิ ารจ�ำหน่ายทรัพย์สนิ ถาวรของบริษทั ในวงเงินทีเ่ กินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร และตามกฎหมาย อนุมต ั ธิ รุ กรรมทางการเงินต่างทีเ่ กินอ�ำนาจอนุมตั ขิ องคณะกรรมการบริหาร อนุมัติการแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการและการใช้สิทธิออกเสียงในบริษัทย่อย

โดยบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการในบริษัทย่อย มีหน้าที่ ด�ำเนินการเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของบริษัทย่อย (ไม่ใช่ต่อบริษัท) และบริษัทได้ก�ำหนดให้บุคคลที่ ได้รับแต่งตั้งนั้น ต้องได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทก่อนที่จะไปลงมติ หรือสิทธิออกเสียงในเรื่องส�ำคัญในระดับเดียวกับที่ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท หากเป็นการด�ำเนินการโดยบริษัทเอง ทั้งนี้ การส่งกรรมการเพื่อเป็นตัวแทนในบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นไปตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท โดยบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งนั้น ต้องดูแลให้บริษัทย่อยมีข้อบังคับในเรื่องการท�ำรายการเกี่ยวโยง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์หรือ การท�ำรายการส�ำคัญอืน่ ใดของบริษทั ดังกล่าวให้ครบถ้วนถูกต้อง และใช้หลักเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องกับการเปิดเผยข้อมูลและการท�ำรายการข้างต้น ในลักษณะเดียวกับหลักเกณฑ์ของบริษัท รวมถึงต้องก�ำกับดูแลให้มีการจัดเก็บข้อมูล และการบันทึกบัญชีของบริษัทย่อยให้บริษัทสามารถ ตรวจสอบ และรวบรวมมาจัดท�ำงบการเงินได้ทนั ก�ำหนดด้วย บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

117


5.10 การประชุมคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษัทจะจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการไม่น้อยกว่าปีละ

5 ครั้ง และด�ำเนินการประชุมให้เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ.2535 และกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยประธานกรรมการในฐานะประธาน ในที่ประชุมจะส่งเสริมให้มีการใช้ดุลยพินิจที่รอบคอบ และจัดสรรเวลาอย่างเพียงพอที่ฝ่ายบริหารจะเสนอเรื่อง และมากพอที่กรรมการ จะอภิปรายปัญหาส�ำคัญกันอย่างรอบคอบ รวมทั้งจัดให้มีการจดบันทึกรายงานการประชุมทุกครั้งเพื่อให้กรรมการและผู้เกี่ยวข้องสามารถ ตรวจสอบได้ กรรมการมีหน้าทีต่ อ้ งเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการทุกครัง้ ยกเว้นกรณีทมี่ เี หตุผลพิเศษ กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียไม่วา่ ทางตรง หรือทางอ้อมไม่มสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนและต้องออกจากการประชุมในระหว่างการพิจารณาวาระนัน้ ๆ

ก�ำหนดให้จ�ำนวนองค์ประชุมขั้นต�่ำ

ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3

ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ หมด บริษท ั ได้จดั ให้ฝา่ ยจัดการท�ำรายงานผลการด�ำเนินงานเสนอให้คณะกรรมการบริษทั ทราบโดยสม�ำ่ เสมอเพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั สามารถ

ก�ำกับ ควบคุม และดูแลการปฏิบตั งิ านของฝ่ายจัดการได้อย่างต่อเนือ่ งและทันการ บริษทั จัดท�ำบันทึกรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยจัดเก็บต้นฉบับร่วมกับหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุม และจัดเก็บส�ำเนาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อความสะดวก ส�ำหรับกรรมการและผูท้ เี่ กีย่ วข้องในการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริษท ั เป็นผูเ้ รียกประชุมคณะกรรมการ และพิจารณาก�ำหนดวาระในการประชุม โดยอาจปรึกษาหารือกับกรรมการผูจ้ ดั การ

เลขานุการบริษทั หรือทีป่ รึกษาบริษทั โดยกรรมการแต่ละคนมีสทิ ธิทจี่ ะเสนอเรือ่ งเข้าสูว่ าระการประชุมคณะกรรมการบริษทั ได้ คณะกรรมการบริษท ั อาจเชิญผูบ้ ริหาร พนักงาน ทีป่ รึกษาบริษทั เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเพือ่ ให้สารสนเทศเพิม่ เติม ในเรือ่ งทีป่ ระชุม ก่อนการประชุมคณะกรรมการบริษท ั ในปีถดั ไปนัน้

เลขานุการคณะกรรมการบริษทั จะจัดท�ำก�ำหนดการประชุมประจ�ำปีเพือ่ ให้คณะกรรมการ บริษทั รับทราบก�ำหนดการประชุมล่วงหน้าตลอดทัง้ ปี ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้กรรมการสามารถวางแผนล่วงหน้าและจัดเวลาในการเข้าร่วมประชุมได้

ในการก�ำหนดจ�ำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาถึงความเหมาะสมกับภาระหน้าที่และ

ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษัท โดยเลขานุการคณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำก�ำหนดการประชุมประจ�ำปีพร้อมระบุเรื่องที่ต้องพิจารณาในการประชุม แต่ละครัง้ เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ได้รบั ทราบถึงรายละเอียดต่างๆ ทีต่ อ้ งพิจารณาในการประชุมแต่ละครัง้ ล่วงหน้า

ในการจัดประชุมคณะกรรมการแต่ละครั้ง

เลขานุการคณะกรรมการบริษัทจะจัดส่งเอกสารการประชุมให้แก่กรรมการพิจารณาล่วงหน้า ก่อนการประชุม และได้มกี ารจัดท�ำเอกสารและสารสนเทศประกอบการประชุม

การจัดประชุมคณะกรรมการเป็นไปตามข้อบังคับของบริษทั และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 อย่างเคร่งครัด โดยเปิดโอกาสให้ กรรมการอภิปรายปัญหาส�ำคัญกันอย่างรอบคอบโดยทัว่ กัน และมีเลขานุการคณะกรรมการบริษทั เข้าร่วมการประชุมและจดบันทึกรายงาน การประชุม ข้อซักถาม และข้อเสนอแนะต่างๆ ของกรรมการด้วย เพือ่ ให้กรรมการและผูเ้ กีย่ วข้องสามารถติดตามและตรวจสอบได้

ประธานคณะกรรมการเป็นผูด ้ ำ� เนินจัดสรรเวลาให้เหมาะสมในการน�ำเสนอข้อมูลของฝ่ายจัดการ และกรรมการสามารถอภิปรายปัญหาส�ำคัญ

กันได้อย่างรอบคอบโดยทัว่ กัน ทัง้ นีป้ ระธานกรรมการได้สง่ เสริมให้กรรมการในทีป่ ระชุมใช้ดลุ ยพินจิ ทีร่ อบคอบ และสอบถามทีป่ ระชุมว่าจะมีผู้ใด สอบถามเพิม่ เติมหรือมีความเห็นเป็นอย่างอืน่ หรือไม่ในการประชุมแต่ละวาระทุกครัง้ คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายให้กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารที่จะประชุมระหว่างกันเองตามความจ�ำเป็น

เพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับ การจัดการทีอ่ ยูใ่ นความสนใจโดยไม่มฝี า่ ยจัดการร่วมกันด้วยและควรแจ้งให้กรรมการผูจ้ ดั การทราบถึงผลการประชุมด้วย

คณะกรรมการบริ ษั ท มี น โยบายให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท จั ด ท� ำ ก� ำ หนดการตารางการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ล่ ว งหน้ า ทุ ก ปี

เพื่ อ ให้

กรรมการบริษทั ทุกท่านปฏิบตั หิ น้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5.11 การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองรายคณะของกรรมการบริษัทแบบรายคณะในแต่ละปี

ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านร่วมกัน และพัฒนาปรับปรุงแก้ ไขต่อไปตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1) โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ 2) บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3) การประชุมคณะกรรมการ

118

เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้รับทราบถึง


4) การท�ำหน้าทีข่ องกรรมการ 5) ความสัมพันธ์กบั ฝ่ายจัดการ 6) การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร กระบวนการในการประเมินตนเองรายคณะของกรรมการบริษท ั แบบรายคณะ มีดงั นี้

1) คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบรายคณะให้มีความถูกต้องครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด 2) เลขานุการบริษทั สรุปผลการประเมินตนเองของกรรมการบริษทั แบบรายคณะ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาต่อไป มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบรายบุคคลในแต่ละปีเพื่อให้กรรมการบริษัทแต่ละท่านได้พิจารณา

ผลการปฏิบตั งิ านและการท�ำหน้าทีก่ รรมการบริษทั ของตนเองเพือ่ ใช้ ในการปรับปรุงพัฒนาตนเองต่อไป ตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1) โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ 2) การประชุมของคณะกรรมการ 3) บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กระบวนการในการประเมินตนเองของกรรมการบริษท ั แบบรายบุคคลมีดงั นี้

1) คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทแบบรายบุคคลให้มีความถูกต้องครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด 2) เลขานุการบริษทั สรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั แบบรายบุคคล และและรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา ต่อไป มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยแบบรายคณะในแต่ละปี

เพื่อให้กรรมการบริษัทชุดย่อยแต่ละชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รับทราบถึงประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านร่วมกัน และพัฒนาปรับปรุงแก้ ไขต่อไป ตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1) โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ 2) การประชุมของคณะกรรมการ 3) บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

กระบวนการในการประเมินตนเองของกรรมการบริษท ั ชุดย่อยแบบรายคณะ มีดงั นี้

1) คณะกรรมการบริษทั ชุดย่อยพิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของกรรมการบริษทั ชุดย่อยแบบรายคณะ ให้มคี วามถูกต้อง ครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด 2) เลขานุการของคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยในแต่ละชุดสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทชุดย่อยแบบรายคณะ และ รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ชุดย่อย เพือ่ พิจารณาต่อไป 3) เลขานุการบริษทั รายงานผลการประเมินตนเองของคณะการบริษทั ชุดย่อยแบบรายคณะให้คณะกรรมการบริษทั ทราบต่อไป

5.12 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร คณะกรรมการบริษท ั จะเป็นผูพ ้ จิ ารณาก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ เพือ่ เสนอให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นผูพ ้ จิ ารณา อนุมตั ิ ทัง้ นี้ ในการพิจารณา

ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการบริษัทควรเปรียบเทียบกับมาตรฐานการจ่ายค่าตอบแทนของบริษัท ในธุรกิจเดียวกัน และ พิจารณาบนพืน้ ฐานของความเป็นธรรม โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ขอบเขตของบทบาทและ ความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากกรรมการแต่ละคน ทั้งนี้ กรรมการที่ได้รับมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ เพิม่ ขึน้ ควรได้รบั ค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมเพิม่ ขึน้ เช่น กรรมการทีเ่ ป็นสมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ อาจได้รบั ค่าตอบแทนเพิม่ ขึน้ ส�ำหรับ การท�ำหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นต้น

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

119


ค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทและผู้บริหารระดับสูงเป็นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด

โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัท ทั้งนี้ การก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน โบนัส และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ควรสอดคล้องกับ ผลงานของบริษทั และผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารแต่ละคน กรรมการที่ ไม่เป็นผู้บริหารทั้งหมด

เป็นผู้ประเมินผลกรรมการผู้จัดการเป็นประจ�ำทุกปีเพื่อน�ำไปใช้ ในการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน ของกรรมการผู้จัดการ โดยใช้บรรทัดฐานที่ได้ตกลงกันล่วงหน้ากับประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทตามเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรม ซึ่งรวมถึง ผลปฏิบตั งิ านทางการเงิน ผลงานเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ในระยะยาว การพัฒนาผูบ้ ริหาร ทัง้ นี้ กรรมการ ทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร ดังกล่าวควรเสนอผลการประเมินกรรมการผูจ้ ดั การให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาให้ความเห็นชอบ

5.13 คณะกรรมการชุดย่อย และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งกรรมการจ�ำนวนหนึ่งจากคณะกรรมการบริษัท เป็นกรรมการในคณะกรรมการย่อยเพื่อท�ำหน้าที่พิเศษ โดยคณะกรรมการย่อยแต่ละคณะจะมีหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทปัจจุบัน คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการย่อย จ�ำนวน 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหาร ซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมา ด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการบริหารว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้ง บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการบริหาร เพื่อให้กรรมการบริหารมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคล ที่เป็นกรรมการบริหารแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการบริหารซึ่งตนทดแทนคณะกรรมการบริหาร มีอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) คณะกรรมการบริหาร มีหน้าทีใ่ นการบริหารกิจการของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบกิจการของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ในการบริหาร กิจการของบริษทั ฯ ดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามนโยบาย ข้อบังคับ หรือค�ำสัง่ ใดๆ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด นอกจากนี้ ให้คณะกรรมการ บริหารมีหน้าทีใ่ นการพิจารณากลัน่ กรองเรือ่ งต่างๆ ทีจ่ ะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั หิ รือให้ความเห็นชอบ 2) จัดท�ำวิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 3) ก�ำหนดแผนธุรกิจ อ�ำนาจการบริหารงาน อนุมตั งิ บประมาณส�ำหรับประกอบธุรกิจประจ�ำปี และงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี และด�ำเนินการ ตามแผนทางธุรกิจและกลยุทธ์ทางธุรกิจโดยสอดคล้องกับนโยบาย และแนวทางธุรกิจที่ได้แถลงต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 4) ตรวจสอบ ติดตามการด�ำเนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ 5) มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติเฉพาะกรณีหรือการด�ำเนินการใดๆ อันเป็นปกติธุรกิจของบริษัทฯ ภายใต้วงเงินหรืองบประมาณประจ�ำปี ตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และมีอ�ำนาจด�ำเนินการตามที่ก�ำหนดไว้ โดยในการด�ำเนินการใดๆ ตามที่กล่าวข้างต้น คณะกรรมการบริหารจะต้องไม่กอ่ ให้เกิดหนีส้ นิ หรือภาระผูกพันใดๆ ทีม่ มี ลู ค่าเกินกว่า 1,000 ล้านบาท และระยะเวลาผูกพันเกินกว่า 5 ปี ทัง้ นี้ ในส่วนของหนีส้ นิ หรือภาระผูกพันใดๆ ให้รวมถึง สินเชือ่ โครงการทีบ่ ริษทั ฯ ท�ำกับสถาบันการเงินใดๆ (Project Finance) ด้วย 6) มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติการกู้หรือให้กู้ยืมเงิน หรือการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน และบริษัทในกลุ่ม รวมตลอดถึงการเข้าเป็น ผูค้ ำ�้ ประกันให้แก่บริษทั ย่อย หรือการช�ำระหรือใช้จา่ ยเงินเพือ่ ธุรกรรมตามปกติธรุ กิจของบริษทั ฯ 7) มีอำ� นาจแต่งตัง้ ถอดถอนเจ้าหน้าทีข่ องบริษทั ฯในต�ำแหน่งทีต่ ำ�่ กว่าต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ 8) ให้คณะกรรมการบริหาร รายงานผลการด�ำเนินงานดังต่อไปนี้ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบ รายงานผลการด�ำเนินงานของบริษท ั ฯ รายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีเกี่ยวกับงบการเงินของบริษัทฯ ซึ่งรวมถึงงบการเงินประจ�ำปีและงบการเงินรายไตรมาส ภายใน กรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานอืน ่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควร

120


9) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย ทั้งนี้ การมอบอ�ำนาจให้คณะกรรมการบริหารดังกล่าวข้างต้น จะไม่รวมถึงการมอบอ�ำนาจที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติ รายการที่กรรมการบริหารท่านใดท่านหนึ่งหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ตามประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต. มีส่วนได้ส่วนเสียหรือมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ กับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย โดยคณะกรรมการบริหารจะต้องน�ำเสนอเรือ่ งดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้พจิ ารณาและอนุมตั ริ ายการดังกล่าวภายใต้ขอ้ บังคับ ประกาศ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้กลับมา ด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้ง บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้กรรมการตรวจสอบมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่ เป็นกรรมการตรวจสอบแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการตรวจสอบซึง่ ตนทดแทนคณะกรรมการตรวจสอบ มีอำ� นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2) สอบทานให้บริษทั ฯ มีการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้า หน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอืน่ ใดทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน 3) สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4) พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ 5) พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและข้ อ ก� ำ หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ 6) จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นทีเ่ ชือ่ ถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษท ั ฯ ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษท ั ฯ ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบต ั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค ่ ณะกรรมการตรวจสอบได้รบั จากการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ (Charter) รายการอืน ่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษทั ฯ 7) ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบหากคณะกรรมการตรวจสอบพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึง่ มีผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการ บริษทั ฯ เพือ่ ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ ไขภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร รายการทีเ่ กิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทุจริต หรือมีสงิ่ ผิดปกติ หรือมีความบกพร่องทีส่ ำ� คัญในระบบควบคุมภายใน การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษทั ฯ

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

121


หากคณะกรรมการของบริษทั ฯ หรือผูบ้ ริหารไม่ดำ� เนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ ไขภายในระยะเวลาตามวรรคหนึง่ กรรมการตรวจสอบราย ใดรายหนึง่ อาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำตามวรรคหนึง่ ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ 8) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั ฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนว่างลง เพราะเหตุอนื่ ใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็นกรรมการสรรหาและการพิจารณา ค่าตอบแทน เพือ่ ให้กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการ สรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนซึ่งตนทดแทน คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน มีอำ� นาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) พิจารณาโครงสร้างองค์กร คุณสมบัตขิ องกรรมการบริษทั ฯ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ของบริษทั ฯ ให้เหมาะสมกับธุรกิจ 2) คัดเลือกบุคคลทีส่ มควรได้รบั การเสนอรายชือ่ เป็นกรรมการรายใหม่ หรือสรรหาประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ โดยให้มกี ารก�ำหนด หลักเกณฑ์ หรือวิธกี ารสรรหาและคัดเลือกอย่างมีหลักเกณฑ์และความโปร่งใส เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 3) พิจารณาแนวทางและพิจารณาค่าตอบแทนและผลประโยชน์ตอบแทนอืน่ ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินให้แก่กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุม่ บริษทั ฯ โดยให้มกี ารก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธกี ารพิจารณาค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรมและสมเหตุสมผลเพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 4) รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบ และจัดท�ำรายงาน ของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนเพื่อเปิดเผยไว้ ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ และลงนามโดยประธานกรรมการ สรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน 5) จัดท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน และรายงานผลการประเมินประจ�ำปี ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายอันเกี่ยวเนื่องกับการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับ การแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้กรรมการบริหารความเสี่ยงมีจ�ำนวนครบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ บริหารความเสีย่ งซึง่ ตนทดแทนคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีอำ� นาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) ก�ำหนดนโยบายความเสี่ยง รวมถึงการทบทวนเป็นระยะเพื่อให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ และธุรกรรมของบริษัทฯ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการเพือ่ อนุมตั ิ 2) วางแผนยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับนโยบายบริหารความเสี่ยง โดยสามารถประเมิน ติดตาม ดูแลปริมาณความเสี่ยงของบริษัทฯ ให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม 3) อนุมตั เิ ครือ่ งมือในการวัด ติดตาม และควบคุมความเสีย่ ง 4) ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงดูแลให้ระบบการบริหารความเสีย่ งมีประสิทธิภาพ 5) ดูแลความเพียงพอของทรัพยากรที่ใช้ ในการบริหารความเสี่ยง เช่น บุคลากรของสายงานบริหารความเสี่ยง และระบบงานรองรับ การบริหารความเสีย่ ง เป็นต้น 6) พิจารณาระเบียบ/หลักเกณฑ์ ในธุรกรรมที่ส�ำคัญหรือการริเริ่มโครงการใหม่ที่มีผลกระทบต่อความเสี่ยงก่อนที่จะน�ำเสนอเพื่อพิจารณา อนุมตั กิ ารท�ำธุรกรรมหรือโครงการนัน้ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ หรือคณะกรรมการทีบ่ ริษทั ฯ มอบหมายต่อไป

122


7) ติดตามและรายงานสถานะความเสีย่ งของบริษทั ฯ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ 8) บูรณาการกระบวนการท�ำงานเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการ (Governance) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) และ การปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์ (Compliance) เพือ่ ให้บรรลุการด�ำเนินงานทีเ่ กิดจาก การมีสว่ นร่วมของทุกหน่วยงาน (Integrity-Driven Performance) 9) แต่งตัง้ คณะท�ำงานได้ตามทีเ่ ห็นสมควร 10) ปฏิบตั งิ านอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย

5.14 การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริหาร บริษทั ได้สง่ เสริมและอ�ำนวยความสะดวกให้มกี ารฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาและให้ความรูแ้ ก่กรรมการทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงกรรมการในคณะอนุกรรมการ

ต่างๆ เพือ่ ให้มกี ารปรับปรุงการปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนือ่ ง เลขานุการบริษัทได้จัดให้มีเอกสารคู่มือกรรมการ

และหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูล ประวัติ การถือครองหลักทรัพย์ การเปลี่ยนแปลง การถือครองหลักทรัพย์ เป็นต้น โดยจะจัดส่งให้ทกุ ครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงกรรมการใหม่ รวมถึงเลขานุการบริษทั จะด�ำเนินการเชิญกรรมการใหม่ ไปเยีย่ มชมโรงงานของบริษทั เพือ่ แนะน�ำลักษณะธุรกิจ และแนวทางการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ให้แก่กรรมการใหม่ทราบ

บริษท ั ได้กำ� หนดให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารจัดท�ำรายงานเพือ่ ทราบเป็นประจ�ำถึงแผนการพัฒนาและสืบทอดงานซึง่ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

และกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ได้เตรียมความพร้อมในเรือ่ งผูส้ บื ทอดงานในกรณีทตี่ นไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้ ไว้แล้ว บริษทั ได้กำ� หนดโครงสร้าง ส�ำหรับการพัฒนาผูบ้ ริหาร โดยมอบหมายให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารรายงานเป็นประจ�ำทุกปีถงึ สิง่ ที่ได้ดำ� เนินการไปในระหว่างปี และพิจารณา ควบคูก่ บั แผนการสืบทอดงาน

5.15 นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม

บริษทั ให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจตามกรอบการแข่งขันทางการค้าทีเ่ ป็นธรรม และสุจริตภายใต้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบตั ติ ามกฎหมายการแข่งขัน และการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม 2) สนับสนุนนโยบายสาธารณะต่างๆ ทีส่ ง่ เสริมการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม 3) ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะทีส่ อดคล้องกับกฎหมายและข้อบังคับของการแข่งขัน ตลอดจนให้ ความร่วมมือกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ การต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน่

บริษทั มีเจตนารมณ์ทจี่ ะด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส ยึดมัน่ ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัทภิบาลทีด่ ี ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ ี ส่วนได้เสียทุกด้าน และจัดให้มีแนวทางต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมที่ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผู้บริหารและพนักงาน ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) สร้างจิตส�ำนึก ค่านิยม ทัศนคติให้แก่พนักงานในการปฏิบตั งิ านตามกฎระเบียบ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต 2) จัดให้มรี ะบบควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการตรวจสอบและถ่วงดุลอ�ำนาจทีเ่ หมาะสม 3) ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั กระท�ำการใดๆ อันเป็นการเรียกร้องหรือยอมรับซึง่ ทรัพย์สนิ หรือผลประโยชน์อนื่ ใด ทีส่ อ่ ไปในทางจูงใจให้ปฏิบตั หิ รือละเว้นการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นทางมิชอบ 4) ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั กระท�ำการใดๆ อันเป็นการเสนอซึง่ ทรัพย์สนิ หรือผลประโยชน์อนื่ ใด ทีส่ อ่ ไปในทาง จูงใจให้ปฏิบตั ิ หรือละเว้นการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นทางมิชอบ กระบวนการในการประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตคอร์รป ั ชัน่

1) ก�ำหนดให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารความเสี่ยง ให้ข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง โดยด�ำเนินการก�ำกับดูแล และตรวจสอบตามแบบ การตรวจสอบประจ�ำปีที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลที่มีนัยส�ำคัญและข้อเสนอแนะต่อกรรมการ ตรวจสอบ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

123


2) ก�ำหนดให้ฝา่ ยบริหารความเสีย่ ง รับผิดชอบในการทดสอบและประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตคอร์รปั ชัน่ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้มกี ารน�ำ มาตรการต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชั่นไปปฏิบัติให้มีประสิทธิผล มีการทบทวนมาตรการอย่างสม�่ำเสมอ และน�ำเสนอผลการประเมินต่อ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ตามล�ำดับอย่างสม�ำ่ เสมอ 3) หากการตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่า มีการด�ำเนินงานที่ไม่ถกู ต้องตามนโยบาย ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ ไขภายในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร การเคารพสิทธิมนุษยชน และการปฏิบต ั ติ อ่ แรงงานอย่างเป็นธรรม

บริษทั มีนโยบายในการดูแลและปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคนด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบตั ติ อ่ บุคคลใดบุคคลหนึง่ อันเนือ่ งมาจากความเหมือน หรือแตกต่างทางเชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ อายุ หรือเรือ่ งอืน่ ใด นอกจากนีบ้ ริษทั มีนนโยบายปฏิบตั ติ ามกฎหมายคุม้ ครองแรงงานอย่างเคร่งครัด การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม

บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญในการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคม จึงจะจัดให้มีโครงการช่วยเหลือและพัฒนาสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยมุง่ เน้นการบริจาค และการสนับสนุนการศึกษา ท�ำนุบำ� รุงศาสนา การส่งเสริมและเข้าร่วมกิจกรรมกับชุนชนในโอกาสต่างๆ การดูแลสิง่ แวดล้อม

1) บริษทั ให้ความส�ำคัญต่อผลกระทบจากกระบวนการผลิตทีอ่ าจเกิดขึน้ กับสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั มีนโยบายการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์มาตรฐาน ด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ บริษทั มีแผนการส่งเสริมแนวคิดการน�ำสิง่ ปฏิกลู ต่างๆ จากกระบวนการผลิตเหลือใช้ มาเพิม่ มูลค่า 2) บริษทั มีนโยบายให้ความรูแ้ ละฝึกอบรมพนักงานในด้านสิง่ แวดล้อมทุกปี เพือ่ ให้พนักงานทุกระดับได้ตระหนักและเข้าใจถึงปัญหาผลกระทบ ที่เกิดจากมลภาวะที่เกิดในทุกด้าน พร้อมทั้งให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการที่ดี เพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่าย และปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เพือ่ การเติบโตขององค์กรอย่างยัง่ ยืน การมีนวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมซึง่ ได้จากการด�ำเนินงานทีม ่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อม และผูม้ สี ว่ นได้เสีย

บริษทั มุง่ เน้นทีจ่ ะส่งเสริมชาวไร่ออ้ ยให้มคี วามก้าวหน้าและมัน่ คงไปพร้อมกับบริษทั บริษทั จึงจัดให้มโี ครงการวิจยั ต่างๆ เพือ่ พัฒนาศักยภาพ ของชาวไร่ออ้ ยอย่างต่อเนือ่ ง การไม่ละเมิดทรัพย์สน ิ ทางปัญญาหรือลิขสิทธิข์ องผูอ้ นื่

บริษัทมีนโยบายในการปฏิบัติเกี่ยวกับการไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ อาทิ การไม่กระท�ำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ในการท�ำงานหรือไม่เกี่ยวข้องกับการท�ำงาน และปฏิบัติตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายลิขสิทธิ์ และข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง

หมวดที่ 6 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ มีนโยบายและวิธีการดูแลกรรมการและผู้บริหารในการน�ำข้อมูลภายในของบริษัทฯ ซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหา ประโยชน์สว่ นตน รวมทัง้ การซือ้ ขายหลักทรัพย์ ดังนี้ บริษท ั ฯ ก�ำหนดและแจ้งให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร รวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไป

หรือเทียบเท่า เกีย่ วกับหน้าทีท่ ตี่ อ้ งจัดท�ำและส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ ไขเพิม่ เติม) บริษัทฯ

ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป หรือเทียบเท่า จัดท�ำและน�ำส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน ของคู่สมรส และของบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ส่งผ่านมายังเลขานุการ ของบริษทั ฯ ก่อนน�ำส่งส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทุกครัง้ โดยให้จดั ท�ำและน�ำส่งภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ภายใน 3 สามวันท�ำการนับแต่วนั ทีม่ กี ารซือ้ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย์นนั้

124


บริษัทฯ

ก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป หรือเทียบเท่า และผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้อง ที่ได้รบั ทราบข้อมูลภายในทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ซึง่ มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้องระงับ การซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วงเวลาก่อนที่จะเผยแพร่งบการเงินหรือเผยแพร่เกี่ยวกับฐานะการเงินและสถานะของบริษัทฯ จนกว่า บริษทั ฯ จะได้เปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนแล้ว โดยบริษทั ฯ จะแจ้งให้กรรมการและผูบ้ ริหาร รวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชี หรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไปหรือเทียบเท่า งดการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ อย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษรเป็นเวลาอย่างน้อย 30 วันล่วงหน้าก่อนการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน รวมทัง้ ห้ามไม่ให้เปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญนัน้ ต่อบุคคลอืน่

บริษัทฯ

ก�ำหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝ่าฝืนน�ำข้อมูลภายในไปใช้หาประโยชน์ส่วนตนซึ่งเริ่มตั้งแต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชัว่ คราวโดยไม่ได้รบั ค่าจ้าง หรือให้ออกจากงาน ซึง่ การลงโทษจะพิจารณาจากเจตนาของการกระท�ำและความร้ายแรงของความผิดนัน้ ๆ

หมวดที่ 7 ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี 7.1 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Free) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ได้แก่ ผูส้ อบบัญชีของบริษท ั ฯ (นางสาววิไลลักษณ์ เลาหศรีสกุล) ในรอบปีทผี่ า่ นมามีจำ� นวนเงินรวม 0 บาท ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด (บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด)บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและส�ำนักงาน สอบบัญชีทผี่ สู้ อบบัญชีสงั กัด ในรอบปีบญ ั ชีทผี่ า่ นมา

ที่

ชือ่ บริษทั ผูจ้ า่ ย

2559

2560

2561

1

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) (KTIS)

1,240,000

1,240,000

1,240,000

2

บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด (TIS)

430,000

430,000

430,000

3

บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด (EPPCO)

250,000

250,000

250,000

4

บริษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จ�ำกัด (KTBE)

340,000

340,000

340,000

5

บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (KTBP)

250,000

250,000

250,000

6

บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด (TEP)

150,000

150,000

150,000

7

บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (RPBP)

150,000

150,000

150,000

8

บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด (PSP)

35,000

35,000

35,000

9

บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด (SSK)

47,000

47,000

47,000

10

บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด (LIS)

35,000

35,000

35,000

11

บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จ�ำกัด (LBE)

35,000

35,000

35,000

12

บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (LBP)

35,000

35,000

35,000

13

บริษทั เคทิสชีวพลังงาน จ�ำกัด (KBE)

35,000

35,000

35,000

14

บริษทั เคทิสไบโอแก๊สเพาเวอร์ จ�ำกัด (KBG)

35,000

35,000

35,000

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

125


ที่

ชือ่ บริษทั ผูจ้ า่ ย

15

บริษทั เกษตรไทยวิวฒ ั น์ จ�ำกัด (KTW)

16 17

2559

2560

2561

100,000

100,000

100,000

บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด (KTIS R&D)

38,000

38,000

38,000

บริษทั เคทิส ปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด (KTBF)

45,000

45,000

45,000

3,250,000

3,250,000

3,250,000

รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี

7.2 ค่าบริการอืน่ (non-audit fee) 2560 ที่

ชือ่ บริษทั ผูจ้ า่ ย

2561

ประเภทของงาน ค่าตอบแทนของงานบริการอืน่ ประเภทของงาน ค่าตอบแทนของงานบริการอืน่ บริการอืน่ บริการอืน่ (non-audit ส่วนทีจ่ า่ ยไปใน ส่วนทีจ่ ะต้องจ่าย (non-audit ส่วนทีจ่ า่ ยไปใน ส่วนทีจ่ ะต้องจ่าย service) service) ระหว่างปีบญ ั ชี ในอนาคต ระหว่างปีบญ ั ชี ในอนาคต

1 บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (KTBP)

Review BOI (in Baht)

50,000

-

Review BOI (in Baht)

50,000

-

2 บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด (TEP)

50,000

-

50,000

-

3 บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (RPBP)

50,000

-

50,000

-

รวมค่าตอบแทนจากค่าบริการอืน่

150,000

-

150,000

-

การน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560 Corporate Governance Code : CG Code ไปปรับใช้ คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาทบทวนและรับทราบหลักปฏิบัติตาม CG Code ในการการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2561 วันที่ 14 สิงหาคม 2561 และตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้น�ำ(governing body) ในการสร้างคุณค่าให้แก่กิจการอย่างยั่งยืน และได้ประเมินการ ปฏิบัติตาม CG Code ในภาพรวมแล้ว โดยแนวปฏิบัติบางส่วนได้เพิ่มเติมใน CG policy ของบริษัทและเลขานุการบริษัทได้ประเมินและอธิบาย พร้อมทั้ง สรุปส่วนทีย่ งั ไม่ได้ปรับใช้จนเป็นทีเ่ ข้าใจอย่างละเอียด

126


รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม กลุม่ KTIS มีเจตนารมณ์ในการด�ำเนินธุรกิจน�ำ้ ตาลทรายและอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งตามหลักบรรษัทภิบาล จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) มากว่า 5 ทศวรรษของการด�ำเนินธุรกิจ โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของผูเ้ กีย่ วข้อง อาทิ ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน คูค่ า้ ลูกค้า ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ให้ความส�ำคัญต่อการดูแลรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม รวมถึงชุมชนรอบๆ ด้วยจิตส�ำนึกของการเป็นส่วนหนึง่ ของชุมชน ใส่ใจ ให้ความรู้ มีสว่ นร่วมพัฒนา สร้างความเจริญ และสร้างคุณค่าร่วมกันระหว่างธุรกิจ ชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ จะได้เติบโตไปด้วยกันอย่างมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน อย่างสม�ำ่ เสมอต่อเนือ่ ง กลุ่ม KTIS ได้สอดแทรกจิตส�ำนึกแห่งความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) ภายใต้แนวคิดในการจัดการของเสีย ให้เป็นศูนย์ในทุกกระบวนการผลิต (Zero Waste Management) ด้วยตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร และการน�ำทรัพยากรมาใช้อย่างคุม้ ค่า ให้ความส�ำคัญ กับกระบวนการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ของเสียที่ได้จากกระบวนการผลิตก็น�ำมาเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ต่างๆ เป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด และช่วยยกระดับราคาพืชผลทางการเกษตรอีกด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) เริม่ ตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ คือ การพัฒนาคุณภาพอ้อยซึง่ เป็นวัตถุดบิ ในกระบวนการผลิต ให้มีคุณภาพดีป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิต โดยกลุ่ม KTIS จะให้ความรู้เกี่ยวกับการท�ำไร่อ้อยให้ประสบความส�ำเร็จแก่ชาวไร่อ้อยคู่สัญญา ผ่านแผนการ พัฒนาชาวไร่อ้อย และโครงการต่างๆ อาทิ โรงเรียนเกษตรกร โครงการหมู่บ้านอ้อยสด (หรือหมู่บ้านพื้นที่สีเขียวปลอดไฟไหม้) โครงการหมู่บ้านดินดี มากมีอนิ ทรียวัตถุ โครงการ บ ว ร + โรงงานน�ำ้ ตาล โครงการอุทยานการเรียนรูก้ ารท�ำอ้อยสมัยใหม่ครบวงจรสูค่ วามยัง่ ยืน โดยโครงการต่างๆ จะให้ความรู้ เรื่องการปลูกอ้อยโดยใช้วิธีการเกษตรอินทรีย์ที่หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี การใช้แตนเบียนควบคุมจ�ำนวนหนอนศัตรูอ้อยซึ่งเป็นวิธีการท�ำการเกษตร ที่ไม่ทำ� ลายระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติ การให้ความรูด้ า้ นการเก็บเกีย่ ว การรณรงค์ตดั อ้อยสดแทนการเผาอ้อย การดูแลบ�ำรุงรักษาตอเพือ่ สามารถเก็บเกีย่ ว ได้หลายฤดูการผลิต การไถคลุกใบเพือ่ เป็นอินทรียวัตถุให้กบั ดินซึง่ ช่วยลดปริมาณการใช้ปยุ๋ เป็นต้น

การสาธิตเครือ่ งปลูกอ้อยแบบ Shute Planter

การสาธิตเครือ่ งจักรกลการเกษตรในไร่ออ้ ย

การสาธิตเครือ่ งจักรกลการเกษตรในไร่ออ้ ย

การสาธิตเครือ่ งจักรกลการเกษตร และพันธุอ์ อ้ ยในอุทยาน การเรียนรูก้ ารท�ำอ้อยสมัยใหม่ครบวงจรสูค่ วามยัง่ ยืน

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

127


นอกจากนี้ กลุ่ม KTIS ยังได้น�ำความรู้ ประสบการณ์ และเทคนิคที่ทันสมัยจากประเทศออสเตรเลียมาพัฒนาขึ้นเป็นหลักการการท�ำอ้อยของ กลุม่ KTIS ทีเ่ รียกว่า “5 Step Plan + 1” รวมถึงน�ำความรู้ ความเชีย่ วชาญด้านเครือ่ งมือเครือ่ งจักรมาต่อยอด พัฒนาเครือ่ งจักรกลในไร่ออ้ ยให้เหมาะสมกับ สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพภูมอิ ากาศในประเทศไทย อาทิ เครือ่ งปลูกอ้อยแบบ Sonic เครือ่ งปลูกอ้อยแบบ Shute Planter เครือ่ งจักรพรวนดินใส่ปยุ๋ CRB MPI เครื่องตัดอ้อย เป็นต้น และสนับสนุนให้ชาวไร่อ้อยคู่สัญญาน�ำมาใช้ ในการท�ำไร่อ้อยให้ประสบความส�ำเร็จ ให้มีต้นทุนที่ต�่ำลง เพิ่มผลผลิตตันต่อไร่ อีกทัง้ ยังช่วยแก้ปญ ั หาการขาดแคลนแรงงานในไร่ออ้ ยด้วย ด้านการพัฒนาแหล่งน�้ำ ระบบชลประทาน และระบบการให้น�้ำแก่อ้อยนั้น กลุ่ม KTIS ได้พัฒนาระบบน�้ำหยดบนดินแบบเคลื่อนที่ได้ ในการให้น�้ำ แก่ออ้ ยในแต่ละแปลง ซึง่ อุปกรณ์นสี้ ามารถม้วนสายยางเก็บและย้ายไปให้นำ�้ แก่ออ้ ยในแปลงถัดไปได้ ส�ำหรับแหล่งน�ำ้ ชลประทานนัน้ นับตัง้ แต่ปี 2560 ทีผ่ า่ นมา กลุม่ KTIS ได้ดำ� เนินการขุดเจาะบ่อบาดาลภายใต้โครงการ “ราษฎร์ รัฐ ร่วมใจช่วยภัยแล้ง” ร่วมกับพีน่ อ้ งชาวไร่ออ้ ยและภาครัฐ เป็นการแก้ปญ ั หาภัยแล้ง อย่างยั่งยืน เป็นรูปธรรม ท�ำให้ชาวไร่อ้อยมีแหล่งน�้ำในการอุปโภคบริโภค และเกษตรกรรมท�ำไร่อ้อยอย่างเพียงพอและทั่วถึงตลอดปี ซึ่งระบบชลประทาน ดังกล่าวเป็นการใช้ทรัพยากรน�ำ้ อย่างมีคณ ุ ค่า เกิดประโยชน์สงู สุด จากอ้อยที่เป็นวัตถุดิบคุณภาพดี ปลอดสารเคมีสังเคราะห์ตกค้าง และไม่มีการดัดแปลงพันธุกรรมข้างต้น น�ำมาเข้ากระบวนการผลิตที่ทันสมัย และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้ ได้นำ�้ ตาล KTIS ทีม่ คี ณ ุ ภาพดี ได้มาตรฐานสากล ปราศจากสารฟอกขาว และปลอดภัยแก่ผบู้ ริโภค นอกจากนี้ กลุม่ KTIS ยังมุง่ มัน่ พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในกระบวนการท�ำงานทีส่ ร้างคุณค่าเพิม่ ต่อสังคม และตอบสนองความต้องการของลูกค้า ในทุกกลุม่ อย่างสม�ำ่ เสมอ อาทิ น�ำ้ เชือ่ ม และน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิพ ์ เิ ศษมาตรฐานญีป่ นุ่ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าอุตสาหกรรมอาหาร และเครือ่ งดืม่ รวมทัง้ ลูกค้าทีต่ อ้ งการน�ำ้ ตาลคุณภาพพรีเมีย่ มด้วย ผลพลอยได้ (By-Product) ที่ได้จากการผลิตน�ำ้ ตาล ได้แก่ กากน�ำ้ ตาล หรือโมลาส (Molasses) สามารถน�ำมาผลิตเป็นเอทานอลซึง่ ให้ประโยชน์ ที่หลากหลาย เช่น เอทานอลที่ใช้เป็นพลังงาน กล่าวคือ น�ำไปผสมกับน�้ำมันเบนซินเป็นแก๊สโซฮอลล์ซึ่งถือเป็นพลังงานสะอาด ลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุส�ำคัญในการเกิดภาวะโลกร้อน นอกจากนี้ ยังมีเอทานอลเกรดอุตสาหกรรมที่เป็นส่วนผสมของ เครือ่ งส�ำอาง และยาบางประเภท และกากน�ำ้ ตาลดังกล่าวยังน�ำมาใช้ ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น น�ำไปผลิตเป็นซีอวิ๊ ด�ำ ผงชูรส อาหารสัตว์ เป็นต้น ชานอ้อย (Bagasse) ที่เป็นผลพลอยได้อีกอย่างหนึ่งจากกระบวนการผลิตน�้ำตาลทราย ส่วนหนึ่งน�ำมาผลิตเยื่อกระดาษจากชานอ้อย 100% ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ช่วยลดการตัดต้นไม้ ได้มากถึงปีละ 32 ล้านต้น ทัง้ นีใ้ นกระบวนการฟอกเยือ่ กระดาษนัน้ ไม่ได้ ใช้สารคลอรีนทีเ่ ป็นสารก่อมะเร็ง ท�ำให้เยือ่ กระดาษจากชานอ้อยของกลุม่ KTIS ได้รบั มาตรฐานปลอดภัยด้านอาหาร ISO 22000, GMP & HACCP นับได้วา่ เป็นผลิตภัณฑ์เยือ่ กระดาษ รายแรกในประเทศไทยที่ได้รบั มาตรฐานอาหารสากลนี้ เยือ่ กระดาษจากชานอ้อยนีจ้ งึ สามารถน�ำมาผลิตเป็นบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมจากเยือ่ ชานอ้อย 100% (Pulp Mold) ทีส่ ะอาด ปลอดภัย ไร้สารก่อมะเร็ง ส�ำหรับใส่อาหาร ทดแทนการใช้ภาชนะทีท่ ำ� จากโฟม และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมมากกว่า สามารถ ย่อยสลายคืนสูธ่ รรมชาติได้รวดเร็ว นอกจากนีช้ านอ้อยยังน�ำมาสกัดเป็นผงเซลลูโลส (Cellulose Powder) ซึง่ ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพต่างๆ เช่น คุก้ กี้ไฟเบอร์ ไส้กรอกเพือ่ สุขภาพ ไอศกรีมเพือ่ สุขภาพ เป็นต้น ชานอ้อย (Bagasse) อีกส่วนหนึ่งน�ำมาเป็นเชื้อเพลิง ในโรงไฟฟ้าชีวมวลในการผลิตไอน�้ำและกระแสไฟฟ้า ส�ำหรับใช้ ในกระบวนการผลิตน�้ำตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ ของกลุ ่ ม KTIS และขายไฟฟ้ า ส่ ว นที่ เ หลื อ ให้ แ ก่ ก ารไฟฟ้ า ส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) และการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) เพือ่ ส่งต่อไป ยังคนไทยในภูมภิ าคได้มไี ฟฟ้าใช้ มีความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ และไฟฟ้า จากชานอ้อยนี้เป็นพลังงานสะอาดจากวัตถุดิบชีวมวล ช่วยลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สชู่ นั้ บรรยากาศด้วย น�ำ้ วีนาส (Vinasse) ซึง่ เป็นของเสียจากกระบวนการผลิต เอทานอล สามารถน�ำมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ (Biogas) ส�ำหรับ ใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิงในโรงงานเอทานอล ซึ่งถือเป็นการใช้ ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่าอีกทางหนึง่

กลุ่ม KTIS ไม่สนับสนุนการใช้แรงงานเด็ก ในทุกกระบวนการผลิตในโรงงานและในไร่อ้อย

กากตะกอนหม้อกรอง (Filter Cake) ซึง่ เป็นผลพลอยได้ จากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย และตะกอนสลัจ (Sludge) จากการล้างชานอ้อยในโรงงานผลิตเยือ่ กระดาษจากชานอ้อย และน�ำ้ กากส่าจากการผลิต เอทานอลที่เป็นของเสียจากกระบวนการผลิตแต่ยังมีคุณค่า น�ำมาเติมเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช สามารถน�ำมาผลิตเป็นวัสดุปรับปรุงดิน (Soil Conditioner) เพือ่ น�ำไปใช้ปรับปรุงดินให้คณ ุ ภาพดินดีขนึ้ โดยไม่มสี ารเคมีตกค้าง ช่วยให้พชื สามารถดูดธาตุอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยเร่ง การเจริญเติบโตของพืช ท�ำให้ผลผลิตตันต่อไร่สงู ขึน้ หมุนเวียนสูไ่ ร่ออ้ ยให้แก่เกษตรกรอีกครัง้ เป็นวัฏจักร Zero Waste อีกครัง้ หนึง่

128


ภายใต้กระแสของโลกยุคโลกาภิวตั น์ทหี่ มุนไปอย่างไม่หยุดยัง้ กลุม่ KTIS ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญ และมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมอย่างต่อเนือ่ ง น�ำมาประยุกต์ ใช้ ตลอดจนเผยแพร่ความรูข้ า่ วสารตามช่องทางต่างๆ เพือ่ เสริมศักยภาพให้กบั กลุม่ KTIS เกษตรกรชาวไร่ อ้อย ชุมชน สอดคล้องกับนโยบายรัฐ Thailand Industry 4.0 ในการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีตา่ งๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ทกุ ฝ่าย ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของกระบวนการผลิต ลดค่าใช้จา่ ยรวมถึงลดการท�ำงานทีส่ ญ ู เปล่า ช่วยเพิม่ ผลผลิตในไร่ออ้ ยของชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญาของกลุม่ KTIS ทัง้ นี้ ธุรกิจ ชุมชน และสังคม จะสามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างมีความสุข มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน มีศกั ยภาพ นอกจากความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) แล้ว กลุม่ KTIS ยังจัดโครงการเพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมทีน่ อกเหนือจาก การด�ำเนินธุรกิจปกติ (CSR After-process) อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ความรูแ้ ละสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างองค์กรกับชุมชนต่อยอดสูก่ ารสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่ชมุ ชนและสังคมบนแนวคิด ‘การเติบโตร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรม สิง่ แวดล้อมและชุมชน’ ซึง่ จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่สว่ นรวมในท้ายทีส่ ดุ โดยในปี 2561 กลุม่ KTIS ยังคงมุง่ เน้นไปที่ เด็กและเยาวชน สุขภาพ และสิง่ แวดล้อม ภายใต้แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคม “KTIS 3C+1” กล่าวคือ

KTIS CAMP

KTIS CONSERVES

COMMUNITY RELATIONS

KTIS CAMP KTIS CARES

KTIS CAMP = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านเด็กและเยาวชน KTIS CARE = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านสุขภาพ KTIS CONSERVE = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านสิง่ แวดล้อม +1 = COMMUNITY RELATIONS มวลชนสัมพันธ์

ในด้านของการอยูร่ ว่ มกับชุมชน (Community Relations) กลุม่ KTIS ยังคงมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ชุมชนบริเวณใกล้เคียง มีการพบปะผูน้ ำ� ชุมชน อย่างสม�ำ่ เสมอ นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพือ่ กระชับความสัมพันธ์ ให้ดยี งิ่ ขึน้ เช่น การจัดแข่งกีฬาท้องถิน่ การสนับสนุนการจัดแข่งขันกีฬา ของโรงเรียนรอบโรงงาน การปรับภูมทิ ศั น์บริเวณชุมชน การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ กับทางชุมชน เป็นต้น

ตัวอย่างกิจกรรมและโครงการ CSR ของบริษัท โรงเรียนเกษตรกรอ้อย ด้วยนโยบายของกลุ่ม KTIS ที่มุ่งเน้นการพัฒนาอย่างมั่นคง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืนผ่านการให้ความรู้ เสริมสร้างองค์ความรูแ้ ก่ชาวไร่ออ้ ย จึงก่อเกิดโรงเรียนเกษตรกรขึน้ ซึง่ เป็นโครงการทีก่ ลุม่ KTIS ด�ำเนินการ มาอย่างต่อเนื่อง เพราะเทคนิคหรือวิธีการดูแลอ้อยนั้นมีการพัฒนา ตลอดเวลา โดยโรงเรี ย นเกษตรกรนั้ น จะมี ก ารแลกเปลี่ ย นความรู ้ ในด้านของการเลือกพันธุ์อ้อย การเตรียมดิน การสาธิตใช้เครื่องมือ เครื่องจักร การบ�ำรุงใส่ปุ๋ย ตามช่วงระยะต่างๆ ของอ้อย ผ่านทีมงาน ฝ่ายไร่ของกลุม่ KTIS ซึง่ สถานทีจ่ ดั นัน้ จะเป็นไร่ออ้ ยสาธิต เพือ่ ให้ชาวไร่ออ้ ย ทดลองและลงมือปฏิบตั จิ ริง พร้อมเปิดโอกาสให้ถามและแลกเปลีย่ นความรู้ ระหว่างชาวไร่ออ้ ย

โรงเรียนเกษตรกรอ้อย

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

129


โรงเรียนเกษตรกรอ้อย

โครงการหมู่บ้านอ้อยสด (หรือ หมู่บ้านพื้นที่สีเขียวปลอดไฟไหม้) กลุม่ KTIS เชือ่ ว่าความยัง่ ยืนอย่างแท้จริงจะเกิดขึน้ ได้ตอ้ งขับเคลือ่ นจากทุกๆ ฝ่าย ทัง้ เกษตรกรชาวไร่ โรงงาน และภาครัฐ เราจึงได้รเิ ริม่ โครงการ หมู่บ้านอ้อยสด หรือหมู่บ้านพื้นที่สีเขียวปลอดไฟไหม้ เพื่อร่วมกันผลักดันให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยในหมู่บ้านตัดอ้อยสดให้ ได้ ไม่ต�่ำกว่า 80% ของอ้อย ที่เข้าร่วมโครงการ การตัดอ้อยสดนั้นนอกจากจะเป็นการอนุรักษ์ธรรมชาติ ลดมลพิษที่ออกสู่บรรยากาศ รักษาสิ่งแวดล้อม รักษาหน้าดินส�ำหรับ ปีการผลิตถัดไปแล้ว ยังช่วยเพิม่ ผลผลิตต่อตันอ้อยให้สงู ขึน้ ด้วย โครงการหมูบ่ า้ นอ้อยสด หรือหมูบ่ า้ นพืน้ ทีส่ เี ขียวปลอดไฟไหม้นยี้ งั สนับสนุนให้เกษตรกร ชาวไร่ออ้ ยร่วมกับชุมชน และหน่วยงานในท้องถิน่ ร่วมป้องกันอ้อยไฟไหม้ ในไร่ออ้ ยด้วย ซึง่ โครงการนี้ได้บรรลุผลส�ำเร็จได้เป็นอย่างดีและต่อเนือ่ ง ปัจจุบนั มีหมูบ่ า้ นทีเ่ ข้าร่วมโครงการหมูบ่ า้ นอ้อยสดทัง้ สิน้ 25 หมูบ่ า้ น

โครงการหมูบ่ า้ นอ้อยสดของกลุม่ KTIS

130


โครงการหมู่บ้านดินดีมากมีอินทรียวัตถุ จากโครงการหมูบ่ า้ นพืน้ ทีส่ เี ขียวปลอดไฟไหม้ อ้อยทีด่ ำ� เนินการมาได้ผลเป็นทีน่ า่ พอใจของชุมชนและ ชาวไร่ออ้ ย กลุม่ KTIS จึงต่อยอดด้วยโครงการหมูบ่ า้ น ดินดีมากมีอินทรียวัตถุ โดยก่อนการบ�ำรุงรักษาตอ หรือไถรื้อตอปลูก จะไถคลุกเศษซากใบอ้อยแทนการ เผาใบอ้อยเพือ่ เป็นอินทรียวัตถุเพิม่ ธาตุอาหารให้ดนิ ได้ อย่างยัง่ ยืน ช่วยเพิม่ ผลผลิตตันต่อไร่ อีกทัง้ ยังเป็นการ รักษาสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ และช่วยลด ปริมาณการใช้ปยุ๋ ลดต้นทุนการผลิตด้วย

โรงงานน�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ ในกลุม่ KTIS รับรางวัล โรงงานน�้ำตาลระดับดี และรางวัล “อ้อยรักษ์โลก”

โครงการ บ ว ร + โรงงานน�้ำตาล กลุ่ม KTIS มีการจัดตั้งโครงการ บ ว ร + โรงงานน�้ำตาล ซึ่งเป็นโครงการปลูกอ้อยในบริเวณหมู่บ้าน วัด และโรงเรียน โดยด�ำเนินการอย่างต่อ เนื่องมาตั้งแต่ 2556 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้กับนักเรียน ชุมชน และประชาชนทั่วไป ได้ศึกษา และเรียนรู้การปลูกอ้อย โดยได้รับ การไว้วางใจจากวัดและโรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้โดยผู้น�ำชุมชนและชาวบ้าน รวมถึงชาวไร่อ้อยคู่สัญญาได้ร่วมกับโรงงานน�้ำตาลสนับสนุนพันธุ์อ้อย ปุ๋ยยา และเครื่องจักรกลการเกษตร โดยคณาจารย์และนักเรียนเป็นผู้ดูแลแปลงอ้อย ซึ่งรายได้จากการปลูกอ้อยจะน�ำมาสนับสนุนเป็นค่าใช้จ่ายให้กับวัด ในการบูรณะพระพุทธศาสนา รวมถึงเป็นทุนการศึกษาให้กับนักเรียน โดยระหว่างการด�ำเนินการนั้นจะมีบุคลากรฝ่ายไร่ของกลุ่ม KTIS ให้ค�ำแนะน�ำ และดูแลอย่างใกล้ชดิ

โครงการ “อุทยานการเรียนรู้การท�ำอ้อยอย่างยั่งยืน” กลุ่ม KTIS มุ่งมั่นที่จะพัฒนาการท�ำไร่อ้อย ของเกษตรกรชาวไร่ อ ้ อ ยให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งมั่ น คง และยั่ ง ยื น จึ ง จั ด ตั้ ง โครงการอุ ท ยาน การเรียนรูก้ ารท�ำอ้อยอย่างยัง่ ยืนขึน้ เพือ่ ให้เกษตรกร ชาวไร่อ้อยมีความรู้ ในการท�ำอ้อยที่ถูกต้องตามหลัก การการท�ำอ้อยของกลุ่ม KTIS ที่เรียกว่า “5 Step Plan + 1” ช่วยเพิม่ ผลผลิตตันต่อไร่ ลดต้นทุน มีการ น�ำเครื่องมือ เครื่องจักรกลการเกษตรสมัยใหม่มาใช้ ในการท�ำไร่อ้อยได้อย่างเหมาะสม ท�ำให้เกษตรกร ชาวไร่ออ้ ยสามารถยึดอาชีพการท�ำอ้อยได้อย่างยัง่ ยืน และสร้างทายาทผู้สืบทอดในการท�ำไร่อ้อยของชาวไร่ Sumitomo เยีย่ มชมอุทยานการเรียนรู้ ต่อไป โดยกลุม่ KTIS จะแนะน�ำ ให้ความรูต้ งั้ แต่ขบวนการ วางแผน การท� ำ ความเข้ า ใจ การจั ด สั ด ส่ ว นอ้ อ ย การเตรียมดิน การปลูก การบ�ำรุง การน�ำอ้อยเข้าหีบตลอดจนการเก็บใบอ้อยให้สอดคล้องกัน รวมทั้งการจัดการในแต่ละขั้นตอนของการท�ำอ้อย จะต้องอาศัยปัจจัย กรรมวิธี และอุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครือ่ งจักรกลการเกษตรต่างๆ เข้ามาเกีย่ วข้องมากขึน้ จึงต้องควบคุมจังหวะเวลา คุณภาพ มาตรฐาน ให้มคี วามละเอียดขึน้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

131


โครงการจิตดี มีสุข เพิ่มคุณภาพงาน ด้ า น CSR กั บ การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนั้น กลุ่ม KTIS ได้ตระหนักถึง ความส�ำคัญของบุคลากรขององค์กร จึงมีการจัดตั้งโครงการ “โครงการจิตดี มีสขุ เพิม่ คุณภาพงาน” ผ่านกิจกรรมต่างๆ เพือ่ สร้าง ทัศนคติเชิงบวก สนับสนุนให้พนักงานได้ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในการจัดและร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรม การปรับปรุงภูมิทัศน์ สวนหย่อมภายในโรงงานและบริเวณรอบ โรงงาน เพือ่ ให้มสี งิ่ แวดล้อมในการท�ำงานทีด่ ี ร่มรืน่ และปลอดภัย, การอบรมภาวะผู้น�ำองค์กรในระดับต่างๆ, กิจกรรมกีฬาระหว่าง โรงงานต่างๆ ของกลุม่ KTIS, กิจกรรมปลูกต้นไม้เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว ให้กบั ชุมชนเพือ่ เป็นการตอบแทนสังคมตามโครงการ KTIS ร่วมใจ ปลูกต้นไม้ประจ�ำไตรมาส, กิจกรรมเปิดหีบปลอดภัย ไร้แอลกอฮอล์

โรงงานน�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ ในกลุม่ KTIS รับโล่ “องค์กรต้นแบบสุขภาวะ Happy Workplace” จากคุณเสถียรพงศ์ มากศิริ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ มีสขุ ลดอุบตั เิ หตุ, โครงการกลุม่ KTIS จิตอาสา ตลอดจน กิจกรรมตามกาลและโอกาสต่างๆ เช่น กิจกรรมร่วมใจ ปลูกต้นไม้ ให้แผ่นดิน เป็นต้น ซึ่งจะเห็นว่ากิจกรรมต่างๆ เหล่านี้สามารถส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ ได้เป็นอย่างดี บุคลากรท�ำงานอย่างมีความสุข สามารถท� ำ งานได้ เ ต็ ม ศั ก ยภาพ และส่ ง มอบผลงาน ทีม่ คี ณ ุ ภาพด้วย

กลุม่ KTIS รับรางวัลสถานประกอบการดีเด่น ด้านการส่งเสริมการพัฒนาฝีมอื แรงงาน ประจ�ำปี 2561

โครงการธรรมาภิบาลเพื่อสิ่งแวดล้อม กลุ่ม KTIS มีความมุ่งมั่นที่จะจัดการมลภาวะอย่างจริงจัง ถูกต้องตามกฎหมาย โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้จึงได้จัดโครงการธรรมาภิบาลขึ้น โดยโครงการนี้จะเปิดโอกาสให้ตัวแทนประชาชนจากหลายภาคส่วนทั้งภาคอุตสาหกรรม ผู้น�ำชุมชน รวมถึงผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบริเวณใกล้เคียง เข้าร่วม ภายในกิจกรรมได้มีการให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิต เยี่ยมชมโรงงานโดยมีทีมวิศวกรโรงงานดูแลอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ ยังมีการ มอบอุปกรณ์กีฬาให้กับโรงเรียนรอบโรงงานและรับประทานอาหารร่วมกัน พร้อมมอบของที่ระลึกแก่ตัวแทนผู้เข้าร่วมเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ทุกฝ่าย โดยในปีนจี้ ดั ต่อเนือ่ งกันเป็นปีที่ 5

ชมรม TO BE NUMBER ONE “EPPCO” โครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ ไขปัญหายาเสพติดในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา พรรณวดี องค์ประธานชมรม ซึง่ มีหวั ใจหลัก คือ ให้โอกาสผูท้ เี่ คยติดยาเสพติดทีอ่ ยูใ่ นโลกมืด สังคมรอบข้างไม่ให้โอกาส ให้ ได้รบั โอกาส สามารถกลับเข้ามา อยูร่ ว่ มกับสังคมปกติได้ บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด (EPPCO) ซึ่งเป็นโรงงานผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของกลุ่ม KTIS ได้จัดตั้ง ชมรม TO BE NUMBER ONE ”EPPCO” ในปี 2547 โดยได้เชิญชวนพนักงานในกลุ่ม KTIS ร่วมเป็นสมาชิก และเปิดโอกาสให้คนที่เคยติดยาเสพติด ที่ ได้รับการบ�ำบัดแล้วกลับเข้ามาท�ำงาน กลับมาเป็นคนดี คนเก่ง และมีอุดมการณ์ที่จะสร้างกิจกรรมดีๆ เพื่อสร้างกระแสและภูมิคุ้มกัน “เป็นหนึ่ง โดยไม่พึ่งยาเสพติด” อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน โดยปัจจุบันสมาชิกชมรมมีสุขภาพกายที่แข็งแรง สุขภาพจิตเยี่ยม สามารถท�ำงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ อย่างมีความสุข และทีส่ ำ� คัญ คือ ไม่ยงุ่ เกีย่ วกับยาเสพติด

132


ชมรม TO BE NUMBER ONE “EPPCO” ได้รบั การประเมินผลงานในปี 2561 เป็นการประกวด รักษามาตรฐานในการเป็นต้นแบบระดับทองปีที่ 1

สัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ประจ�ำปี 2561 กลุม่ KTIS ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของพนักงานเป็นส�ำคัญ จึงได้จดั กิจกรรมความปลอดภัยในการท�ำงานประจ�ำปี 2561 ขึน้ เพือ่ รณรงค์ และสร้างจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ตลอดจนทบทวนปัญหาความไม่ปลอดภัยในการท�ำงาน และร่วม มือร่วมใจกันในการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย ลดความเสีย่ งลดอัตราการประสบอันตรายจากการท�ำงานให้นอ้ ยลงมากทีส่ ดุ เพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมายของ กลุม่ KTIS ทีต่ อ้ งการให้มคี วามปลอดภัยในการท�ำงานให้เกิดขึน้ อย่างยัง่ ยืน

สัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงาน ประจ�ำปี 2561

นอกเหนือจากโครงการต่างๆ ข้างต้นแล้ว กลุม่ KTIS ยังมีการสนับสนุนกิจกรรม เพือ่ การพัฒนาและรักษาความสัมพันธ์อนั ดีรวมถึงคุณภาพชีวติ แก่ชมุ ชนบริเวณใกล้เคียง เช่น • ดร.ดารัตน์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล วิภาตะกลัส รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ KTIS ร่วมเป็นประธานเปิดงานประจ�ำปี ปิดทองไหว้พระวัดท่าพระเจริญพรต ประจ�ำปี 2561

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

133


• ดร.ดารัตน์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล วิภาตะกลัส รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ KTIS เป็นประธานร่วมฯ และคณะผูบ้ ริหาร พนักงาน ในพิธที อดผ้าป่าสามัคคีสมทบทุนสร้างศาลาการเปรียญ พร้อมทัง้ วางศิลาฤกษ์ศาลาการเปรียญวัดห้วยดุก หมู่ 3 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

• คณะผูบ้ ริหารและพนักงานโรงงานน�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ ในกลุม่ KTIS จัดกิจกรรม CSR ผ่านโครงการโรงเรียนต้นแบบ เครือข่ายไทยเอกลักษณ์ รักษ์สงั คม รักษ์ชมุ ชน รักษ์สงิ่ แวดล้อม ภายใต้กจิ กรรม “KTIS หนึง่ อิม่ ยิม้ สุขใจ กับไทยเอกลักษณ์” เพือ่ สนับสนุนส่งเสริมโภชนาการสุขอนามัย พัฒนาจิตใจ อารมณ์ สังคม สติปญ ั ญา เพิม่ คุณภาพการเรียน การท�ำงานเป็นทีม ตลอดจนปลูกจิตส�ำนึกด้านคุณธรรมและจริยธรรมทีด่ ี อีกทัง้ ยังให้ความรูด้ า้ นการเกษตรยุค 4.0 อีกด้วย กิจกรรมโครงการนีจ้ ดั ทีโ่ รงเรียนวัดพระฝาง ต�ำบลผาจุก อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์

134


• กลุม่ KTIS ร่วมกับชมรม To Be Number 1 EPPCO ร่วมกันปลูกต้นไม้ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการปลูกป่าประจ�ำไตรมาส ทัง้ นี้ กลุม่ KTIS ได้เล็งเห็นและตระหนักถึงความส�ำคัญของภาวะโลกร้อน และภาวะมลพิษทางอากาศในปัจจุบนั จึงได้รว่ มกันปลูกต้นไม้ เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวภายในโรงงาน ปรับภูมทิ ศั น์ และสร้างทัศนียภาพ ความร่มรืน่ เป็นธรรมชาติ อีกทัง้ ยังเป็นการส่งเสริมให้พนักงาน มีสว่ นร่วมในการรักธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอีกด้วย

• กลุม่ KTIS ร่วมมือกับส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ จัดกิจกรรมโครงการ “อุตสาหกรรม CSR ประชารัฐ” เพือ่ ยกระดับเศรษฐกิจฐานชุมชน สร้างงาน สร้างโอกาส และสร้างรายได้ ตามนโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรม โดยกลุม่ KTIS ได้เปิดพืน้ ทีใ่ ห้จำ� หน่าย สินค้าเอสเอ็มอีและโอท็อป ณ โรงงานเกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ (สาขา 3) อ.เมือง จ.นครสวรรค์ และโรงงานเกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

135


• จัดกิจกรรมโครงการ “ปลุกคน ปลูกต้นไม้ เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว ลดมลพิษทางสิง่ แวดล้อม ประจ�ำปี 2561” ปลูกต้นสนจ�ำนวน 1,286 ต้น บริเวณแนวรอบแผนกสิง่ แวดล้อม และแผนกผลิตก๊าซชีวภาพ โรงงานเทนอล KTBE ต.หนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ เพือ่ สร้างความตระหนักถึงผลกระทบ จากมลพิษทางอากาศ ลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อน และสร้างจิตส�ำนึกของการมีสว่ นร่วมในการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว เสริมสร้างสภาพแวดล้อมทีร่ ม่ รืน่ เป็นธรรมชาติ อีกทัง้ ยังเป็นการส่งเสริมให้พนักงานได้ทำ� กิจกรรมดีๆ ร่วมกัน

• ร่วมกิจกรรม และมอบเงินสดและสิง่ ของจ�ำเป็นแก่ชมุ ชน เพือ่ น�ำมาพัฒนาชุมชน และจัดกิจกรรมในโอกาสต่างๆ เช่น วันเด็กแห่งชาติประจ�ำปี 2561

• กลุม่ KTIS มอบเครือ่ งดืม่ และอาหารส�ำเร็จรูป ให้กบั มณฑลทหารบกที่ 35 ค่ายพิชยั ดาบหัก จังหวัดอุตรดิตถ์และคณะ เป็นผูร้ บั มอบเพือ่ ใช้ ในการดูแลผู้ ใช้รถใช้ถนนให้เดินทางปลอดภัย และมีความสุขกับครอบครัวในช่วงเทศกาล สงกรานต์

136


• กลุม่ KTIS ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านหนองโพเหนือ และอาสาสมัคร (อสม.) ร่วมจัดกิจกรรมรณรงค์ใช้มาตรการ “3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค” ด้วยการเก็บบ้านให้ปลอดโปร่งไม่ให้ยงุ ลายเกาะพัก เก็บขยะไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุข์ องยุงลาย และเก็บน�ำ้ ปิดให้มดิ ชิดหรือเปลีย่ นถ่ายน�ำ้ ทุกสัปดาห์ ไม่ให้ยงุ ลาย วางไข่ ซึง่ สามารถป้องกันได้ 3 โรค คือ ไข้เลือดออก โรคติดเชือ้ ไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย โดยกิจกรรมนีเ้ ป็นหนึง่ ในกิจกรรมโครงการ CSR ของ กลุม่ KTIS ทีห่ ว่ งใยและใส่ใจด้านสุขภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องพนักงานและชุมชนรอบโรงงาน

• กลุม่ KTIS ร่วมกิจกรรมโครงการ “วัด ประชา รัฐ สร้างสุข” พัฒนาวัดด้วยแนวทาง 5 ส. ตามนโยบายของส�ำนักพุทธศาสนาแห่งชาติรว่ มกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยส่งเสริมให้วดั ให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ศูนย์กลางชุมชน และศูนย์กลางพัฒนาสุขภาวะ ในการสร้างสัมพันธภาพอันดีให้เกิดขึน้ ระหว่างพระ ชุมชน ตัวแทนชุมชน องค์กร ภาครัฐ และภาคเอกชน โดยกิจกรรมการท�ำความสะอาดวัดครัง้ ใหญ่ภายในบริเวณวัดหนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

• กลุม่ KTIS ร่วมกับสมาคมชาวไร่เขต 11 นครสวรรค์ ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�ำ้ ตาล สถานีตำ� รวจภูธรตาคลี อ�ำเภอตาคลี เทศบาลเมืองตาคลี และประชาชนจิตอาสาร่วมกัน ท�ำความสะอาดถนนในเขตเทศบาลต�ำบลตาคลี (Big Cleaning Day)

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

137


• กลุม่ KTIS ร่วมกับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยภาค 8 จ.นครสวรรค์ จัดกิจกรรมบริจาคโลหิต “ให้เลือด ให้ชวี ติ ” ซึง่ เป็นกิจกรรม ประจ�ำ 3 เดือนของกลุม่ KTIS หนองโพ ณ KTIS Complex ต.หนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ ทัง้ นีเ้ ป็นการแสดงพลังน�ำ้ ใจร่วมกันบริจาคโลหิต เพือ่ ช่วยเหลือชีวติ เพือ่ นมนุษย์ และเป็นคลังโลหิตส�ำรองในภาวะฉุกเฉินต่อไป

• กลุม่ KTIS ร่วมงานทอดผ้าป่าเพือ่ การศึกษา สมทบทุนสร้าง Metal sheets ให้แก่โรงยิม ของโรงเรียนชุมชนวัดบ้านแก่ง จ.นครสวรรค์

ส�ำหรับกิจกรรม CSR รวมถึงรายงานการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของบริษทั ผูท้ สี่ นใจสามารถดูเพิม่ เติมได้ที่ : www.ktisgroup.com

138


การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน กลุ่มบริษัทฯ ได้ ให้ความส�ำคัญต่อการมีระบบการควบคุมภายในที่ดีและเป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กล่าวคือ ดูแลการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ต่างๆ ให้มีความโปร่งใส ยุติธรรม เชื่อถือได้ และมีการถ่วงดุลอ�ำนาจซึ่งสามารถตรวจสอบได้ อันน�ำไปสู่ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น พนักงาน และผูม้ สี ว่ นร่วมต่างๆ กับธุรกิจของบริษทั ฯ เนือ่ งจากระบบควบคุมภายในเริม่ ต้นจากการใช้หลักก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยระมัดระวังต่อความเสีย่ งทางธุรกิจ เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ก�ำหนด ตลอดจนได้มีการก�ำหนดนโยบายการตรวจสอบและการควบคุมภายในลงสู่ผู้ปฏิบัติเพื่อใช้เป็น หลักการและแนวทางในการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานต่างๆ คณะกรรมการตรวจสอบได้มอบหมายให้สำ� นักตรวจสอบภายในมีหน้าทีป่ ระเมินการควบคุมภายใน โดยการจัดท�ำแบบประเมินการควบคุมภายใน ประจ�ำปี 2561 ตามแบบประเมินของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทัง้ นี้ได้นำ� เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา อนุมตั ใิ นการประชุมครัง้ ที่ 1/2562 เมือ่ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561 คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทพิจารณาและมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับ การด�ำเนินงานในปัจจุบัน ประกอบกับฝ่ายจัดการได้สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง โดยใช้หลักการและแนวทาง การควบคุมภายในตามมาตรฐานของ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) เพื่อยืนยันว่า การด�ำเนินงานจะบรรลุวตั ถุประสงค์ของการควบคุมภายใน โดยสรุปผลการประเมิน ได้ดงั นี้

1. องค์กรและสภาพแวดล้อม (Organizational Control and Environment) กลุม่ บริษทั ตระหนักว่าโครงสร้างองค์กรและสภาพแวดล้อมทีด่ ี ซึง่ เป็นรากฐานส�ำคัญของการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ จึงได้ดำ� เนินการ ดังนี้ • ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย ทิศทางการด�ำเนินธุรกิจทีช่ ดั เจน วัดผลได้เป็นรูปธรรม เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน ตลอดจนก�ำกับดูแลกิจการ ให้เป็นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้ มีการติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างสม�ำ่ เสมอ • ก�ำหนดโครงสร้างองค์กรที่เอื้อต่อการด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น จัดให้มีการแบ่งแยกต�ำแหน่งประธานกรรมการและประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ ถ่วงดุลอ�ำนาจระหว่างกัน (Check and Balance) และก�ำหนดให้คณะกรรมการบริษทั ต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด ทั้งนี้ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน พร้อมทั้งแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านต่างๆ เพือ่ ช่วยพิจารณากลัน่ กรองและด�ำเนินการตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย • สื่อสารนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและประมวลจรรยาบรรณทางธุรกิจ และจัดให้มีการติดตามผลการปฏิบัติ โดยมุ่งหมายให้เกิดจิตส�ำนึก และความตระหนักทีด่ ใี นการปฏิบตั หิ น้าที่ • ก�ำหนดนโยบายและระเบียบวิธปี ฏิบตั งิ านเป็นลายลักษณ์อกั ษร รวมทัง้ ก�ำหนดค�ำบรรยายลักษณะงาน คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน กฎระเบียบ ค�ำสัง่ และข้อบังคับเป็นลายลักษณ์อกั ษร ตลอดจนอ�ำนาจอนุมตั ติ ามหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของผูบ้ ริหารแต่ละต�ำแหน่งอย่าง เหมาะสม

2. การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) เพื่อสร้างความมั่นใจว่าการด�ำเนินธุรกิจและการด�ำเนินงานด้านต่างๆในองค์กรเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่องค์กรได้ก�ำหนดไว้ และบริหารจัดการ กับความเสี่ยงที่ส�ำคัญขององค์กรให้อยู่ในระดับที่จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อองค์กรหรือมีผลกระทบน้อยที่สุด คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้มอบหมาย ให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) เป็นผู้ก�ำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของบริษัทฯ รับผิดชอบ ในการทบทวนนโยบาย และกรอบการบริหารความเสีย่ งพร้อมปรับปรุงให้สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานบริหารความเสีย่ ง โดยมีฝา่ ยบริหารความเสีย่ ง รับนโยบายมาก�ำหนดและออกแบบระบบบริหารความเสี่ยงเพื่อให้มีระบบงานที่เป็นมาตรฐานและ ใช้ด�ำเนินงานได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งกรอบแนวคิด ทีใ่ ช้ ในการออกแบบระบบการบริหารความเสีย่ ง และมีคณะท�ำงานบริหารความเสีย่ ง สายงานต่างๆ (Operation Risk Management Team) ด�ำเนินงาน บริหารความเสี่ยงตามนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงที่ก�ำหนดไว้ พร้อมก�ำหนดมาตรการควบคุมเพื่อให้มั่นใจว่าความเสี่ยงที่ส�ำคัญจะได้รับ การจัดการให้สามารถบริหารความเสีย่ งอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ (Risk Appetite) อนึ่ง ในปี 2561 บริษัทฯ ได้เริ่มน�ำกรอบแนวคิดการบริหารความเสี่ยง COSO-ERM 2017 : Enterprise Risk Management Integrating with Strategy and Performance มาประยุกต์ ใช้เป็นกรอบแนวคิดในการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงสนับสนุนการด�ำเนินงาน และสร้างมูลค่าเพิม่ แก่องค์กร บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

139


3. การควบคุมการปฏิบตั งิ าน (Management Control Activities) บริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญของการควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ่ายจัดการ จึงได้ดำ� เนินการดังนี้ • ก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และวงเงินอ�ำนาจอนุมตั ริ ายการของฝ่ายจัดการแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน และเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยมีฝา่ ยบัญชี และฝ่ายควบคุมและตรวจสอบท�ำหน้าทีต่ รวจสอบและก�ำกับการปฏิบตั งิ านด้านเอกสารให้ถกู ต้องตามเงือ่ นไขการอนุมตั ทิ กี่ ำ� หนดไว้ • แบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามหลักการควบคุมภายในทีด่ ี ได้แก่ (1) ผูท้ ำ� หน้าทีอ่ นุมตั ิ (2) ผูท้ ำ� หน้าทีบ่ นั ทึกรายการบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และ (3) ผูท้ ำ� หน้าทีใ่ นการดูแลจัดเก็บทรัพย์สนิ เพือ่ สอบยันความถูกต้อง • ในการพิจารณาอนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน บริษทั ด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์และข้อบังคับ และหากเป็นรายการทีม่ นี ยั ส�ำคัญ คณะกรรมการ ตรวจสอบจะพิจารณาให้ความเห็นก่อนเสนอให้คณะกรรมการบริษทั อนุมตั แิ ละจะเปิดเผยในรายงานประจ�ำปีตอ่ ไป อนึง่ การพิจารณาท�ำรายการ เกีย่ วโยงนัน้ จะค�ำนึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั เป็นส�ำคัญ • ส่งเสริมให้ทกุ หน่วยงานจัดท�ำคูม่ อื การปฏิบตั งิ านไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร

4. สารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication) กลุม่ บริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความระมัดระวัง บนพืน้ ฐานข้อมูลทีม่ คี ณ ุ ภาพและเพียงพอต่อการตัดสินใจ รวมทัง้ การสือ่ สารข้อมูลไปยังผูเ้ กีย่ วข้อง โดยด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้ • ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำและจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญอย่างเพียงพอ ครบถ้วน เพื่อให้ผู้บริหารและคณะกรรมการบริษัท มีข้อมูล และสารสนเทศที่เพียงพอต่อการตัดสินใจ รวมทั้งได้เชิญผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุม เพื่อน�ำเสนอและชี้แจงประเด็นส�ำคัญ ต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ด้วย • ใช้นโยบายบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีทปี่ ระกาศโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ และเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั • จัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีตา่ งๆ ไว้ครบถ้วน เป็นหมวดหมู่ รวมทัง้ ได้กำ� หนดระยะเวลาการจัดเก็บเอกสารให้เป็นตามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนด • ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดยได้สื่อสารให้พนักงานได้รับทราบและตระหนักถึง สาระส�ำคัญและบทลงโทษ นอกจากนี้บริษัทยังได้จัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ตามประกาศของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร • มีระบบการส�ำรองข้อมูลสารสนเทศ และจัดท�ำแผนการกูค้ นื ระบบจากภัยพิบตั ิ (Disaster Recovery Plan : DRP) โดยจัดเตรียมสถานทีท่ ำ� งาน และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทจี่ ำ� เป็นต้องใช้ ในกรณีเกิดเหตุภยั พิบตั ิ • เผยแพร่ขอ้ มูลส�ำคัญ ผ่านเว็บไซต์ของบริษทั (www.ktisgroup.com) อย่างครบถ้วน และทันเหตุการณ์

5. การติดตาม (Monitoring) กลุ่มบริษัทให้ความส�ำคัญในระบบการติดตาม เพื่อให้มั่นใจว่าการด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุผลตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ รวมทัง้ มีระบบการควบคุมภายในส�ำหรับการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ จึงด�ำเนินการ ดังนี้ • คณะกรรมการบริษทั มีการประชุมเพือ่ ติดตามผลการด�ำเนินงานของฝ่ายจัดการ พร้อมทัง้ ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อฝ่ายจัดการ • คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชี ฝ่ายบัญชี และฝ่ายตรวจสอบภายใน เพือ่ สอบทานงบการเงิน ระบบการควบคุมภายใน และติดตามการแก้ ไขปรับปรุงอย่างสม�ำ่ เสมอ รวมทัง้ รายงานประเด็นส�ำคัญต่อคณะกรรมการบริษทั เป็นประจ�ำทุกไตรมาส • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรมีการประชุมทุกไตรมาส เพื่อก�ำกับ ดูแล และติดตามให้มีการด�ำเนินการ ตามนโยบายการบริหาร ความเสี่ยง และพิจารณาทะเบียนความเสี่ยงของบริษัทฯ (Corporate Risk Profile) เครื่องชี้วัดผลลัพธ์การบริหารความเสี่ยง (Key Risk Indicator) และแผนบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Plan) ให้มคี วามสอดคล้องกับทิศทางการด�ำเนินธุรกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายองค์กร และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและติดตามประเมินผลการบริหารความเสี่ยง พร้อมรายงานผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบได้รบั ทราบอย่างสม�ำ่ เสมอ • คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทนมีการประชุมเพือ่ พิจารณาสรรหาผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตสิ มควรได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั รวมทัง้ พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการและทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

140


• ก�ำหนดให้ฝา่ ยตรวจสอบภายใน สามารถตรวจสอบและให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ โดยให้รายงานผลการด�ำเนินงานโดยตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส หรือรายงานทันทีเมือ่ มีประเด็นส�ำคัญ • คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบภายใน โดยใช้หลักการประเมินตามระดับความเสีย่ ง และเมือ่ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ตรวจพบข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ จะรายงานให้ผู้บริหารที่รับผิดชอบกิจกรรมนั้นๆ ทราบทันที และน�ำเสนอรายงานต่อฝ่ายจัดการ เพือ่ รับทราบหรือขอค�ำแนะน�ำเพิม่ เติม เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั จะบรรลุวตั ถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ

การบริหารจัดการความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรกลุ่ม KTIS เป็นผู้ก�ำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงในภาพรวม ของบริษัทฯ รับผิดชอบในการทบทวนนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยง พร้อมปรับปรุงให้สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานบริหารความเสี่ยง โดยมีคณะท�ำงานบริหารความเสี่ยงสายงานต่างๆ (ORM : Operation Risk Management Team) ด�ำเนินงานบริหารความเสี่ยงตามนโยบายและ กรอบการบริหารความเสีย่ งทีก่ ำ� หนดไว้ พร้อมก�ำหนดมาตรการควบคุมเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญจะได้รบั การจัดการให้สามารถบริหารความเสีย่ ง อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้(Risk Appetite) ซึง่ ก�ำหนดขึน้ โดยสอดคล้องกับเป้าหมายผลการด�ำเนินงานขององค์กร ในปี 2561 นี้บริษัทฯ ได้เริ่มน�ำกรอบแนวคิดการบริหารความเสี่ยง COSO-ERM 2017 : Enterprise Risk Management Integrating with Strategy and Performance มาประยุกต์ ใช้เป็นกรอบแนวคิดในการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงสนับสนุนการด�ำเนินงานและ สร้างมูลค่าเพิม่ แก่องค์กร ในส่วนของการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานบริหารความเสี่ยงนั้น คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรพิจารณาทะเบียนความเสี่ยงของบริษัทฯ (Corporate Risk Profile) เครื่องชี้วัดผลลัพธ์การบริหารความเสี่ยง(Key Risk Indicator) และแผนบริหารความเสี่ยง(Risk Management Plan) ให้มี ความสอดคล้องกับทิศทางการด�ำเนินธุรกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายองค์กร และสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และติดตามประเมินผลการบริหารความเสีย่ ง พร้อมรายงานผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบได้รบั ทราบอย่างสม�ำ่ เสมอ

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

141


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ซึง่ เป็นผูท้ รงคุณวุฒิ และมีประสบการณ์ดา้ นบัญชี ด้านการเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านเทคโนโลยี และด้านธุรกิจเป็นอย่างดี ในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบ มีองค์ประกอบ 3 คน ประกอบด้วย นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา ประธานกรรมการตรวจสอบ ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร และนายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์ กรรมการ ตรวจสอบ โดยกรรมการตรวจสอบทัง้ 3 คนไม่ได้เป็นกรรมการในบริษทั ย่อย และมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ไม่ได้ถอื หุน้ ของบริษทั หรือถือหุน้ ไม่เกินศูนย์จดุ หนึง่ เปอร์เซ็นต์ ตลอดจนไม่มสี ว่ นร่วมในการบริหารงาน หรือเป็นผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ทีป่ รึกษา คูค่ า้ กับบริษทั ฯ และบริษทั ในกลุม่ ซึง่ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกฎหมาย และกฎระเบียบทีก่ ำ� หนดไว้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามที่ได้รบั มอบหมาย โดยมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการสอบทานรายงานทางการเงิน รายการระหว่างกัน และงานตรวจสอบภายใน รวมทัง้ ส่งเสริมและผลักดันให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องบริษทั จดทะเบียน เพือ่ ให้บริษทั ฯ มีการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี มีการบริหารความเสีย่ ง และมีระบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ในรอบปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารประชุมทัง้ สิน้ 5 ครัง้ เพือ่ พิจารณาในเรือ่ งต่างๆ ที่ได้รบั มอบหมายดังต่อไปนี้ • พิจารณางบการเงิ น และรายงานทางการเงิ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ให้ บริ ษัทมี การรายงานทางการเงิ นอย่ า งถู กต้ อ งและเปิ ดเผยอย่ า งเพี ย งพอ ตามหลักการบัญชีและวิธปี ฏิบตั ทิ างบัญชี การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป การเปลีย่ นแปลงนโยบายบัญชีทสี่ ำ� คัญ รวมถึงเหตุผล ของฝ่ายจัดการเกีย่ วกับการก�ำหนดนโยบายบัญชีกอ่ นน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ เผยแพร่แก่ผถู้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไป • พิจารณาระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสม และมีประสิทธิผล • พิจารณาทบทวนแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี และประเมินผลการตรวจสอบร่วมกับผูต้ รวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต • พิจารณาร่วมกับผูต้ รวจสอบภายในถึงปัญหาหรือข้อจ�ำกัดทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างการตรวจสอบ และทบทวนการปฏิบตั งิ านของผูต้ รวจสอบภายใน • พิจารณาทบทวนรายการทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เช่น รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั • ก�ำกับดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ • พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต • พิจารณาประเมินผลตนเองเกีย่ วกับการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบตามที่ได้รบั มอบหมาย ตลอดจนประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาตโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม เพื่อปรึกษาหารือกันอย่างเป็นอิสระถึงประเด็นส�ำคัญๆ ในการจัดท�ำงบการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ ใช้งบการเงิน รวมถึงรับทราบผลการปฏิบตั งิ านสอบบัญชี ข้อสังเกตทีต่ รวจพบ ตลอดจน ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการปฏิบตั งิ านสอบบัญชี นอกจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมอย่างเป็นทางการร่วมกับฝ่ายบริหารด้วย ในรอบปีคณะกรรมการตรวจสอบได้เข้าเยีย่ มชมธุรกิจในกลุม่ KTIS ประกอบด้วย โรงงานผลิตไฟฟ้า ของ บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด ที่จังหวัดอุตรดิตถ์ โรงงานผลิตเยื่อกระดาษจากชานอ้อย บริษัท เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด และติดตามความคืบหน้าของโครงการ ไบโอคอมเพล็กซ์ทรี่ ว่ มทุนกับ บริษทั โกลบอลกรีนเคมีคอล จ�ำกัด (มหาชน) : GGC ทีจ่ งั หวัดนครสวรรค์ ส�ำหรับในปี 2561 งบแสดงฐานะการเงินและงบทางการเงินของบริษทั ฯ จะแสดงข้อมูล 9 เดือน เนือ่ งจากบริษทั ฯ เปลีย่ นแปลงรอบระยะเวลาบัญชี ใหม่ จากเดิม วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายน ของทุกปี ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากธุรกิจน�ำ้ ตาล ซึง่ เป็นธุรกิจหลัก ของกลุม่ บริษทั มีลกั ษณะทีข่ นึ้ อยูก่ บั ฤดูการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย ซึง่ โดยปกติจะมีการเตรียมความพร้อมตัง้ แต่เดือนตุลาคม และจะเริม่ การผลิต ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนเมษายน โดยมีการจ�ำหน่ายสินค้าส่วนใหญ่ตงั้ แต่เดือนพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนกันยายน เพือ่ ให้งบแสดงฐานะการเงิน และงบทางการเงินของบริษัทฯ สามารถสะท้อนผลการด�ำเนินงานที่เกิดขึ้นในแต่ละฤดูการผลิตในแต่ละปี และสามารถสื่อถึงผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้ชดั เจนและเข้าใจง่ายขึน้ ตลอดจนช่วยให้นกั ลงทุน บุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ ทีต่ อ้ งการน�ำงบแสดงฐานะการเงิน งบก�ำไรขาดทุน และงบทางการเงินต่างๆ ของบริษทั ไปใช้ สามารถท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ สรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบตั หิ น้าที่ ได้ดงั นี้

1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ของรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นต่องบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2561 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561 ทีผ่ สู้ อบบัญชีรบั อนุญาต ได้สอบทานและตรวจสอบ ตามรายงานของผูส้ อบบัญชีฯ ซึง่ มิได้พบข้อสังเกตเป็นสาระส�ำคัญ และไม่มเี งือ่ นไข เพือ่ เสนอขออนุมตั ิ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ต่อไป คณะกรรมการตรวจสอบมุง่ สอบทานรายการบัญชี รายการทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง และรายการปรับปรุงทีม่ นี ยั ส�ำคัญ ตลอดจนความเหมาะสม เพียงพอของการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้มั่นใจได้ว่างบการเงินได้แสดงรายการอย่างเหมาะสม ชัดเจน เพียงพอ ทันเวลา และจากผลการสอบทานคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายงานทางการเงินในปี 2561 ทีบ่ ริษทั ฯ จัดท�ำขึน้ นัน้ มีความถูกต้อง เหมาะสม เพียงพอ เชือ่ ถือได้ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป

142


2. การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารให้ความส�ำคัญในการบริหารงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัท ภิบาลที่ดี เพื่อให้ความเชื่อมั่น แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกด้าน และจัดให้มีแนวทางการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึง การสนับสนุนกิจกรรมที่ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และก�ำหนดให้มีกระบวนการ ในการประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตคอร์รปั ชัน่ เพือ่ ใช้ปฏิบตั ใิ นองค์กร

3. การบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานกระบวนการบริหารความเสี่ยงของบริษัท เพื่อให้มั่นใจได้ว่ามีการบริหารความเสี่ยงถึงระดับปฏิบัติการ อย่างเหมาะสม และการระบุปจั จัยเสีย่ งมีความครบถ้วน ถูกต้องเพียงพอ และสอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบนั

4. ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานความเพียงพอของระบบควบคุมภายในร่วมกับส�ำนักตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เป็นประจ�ำ ทุกไตรมาส โดยบริษัทฯ ได้ติดตามให้มีการแก้ ไข ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะในรายงานผลการตรวจสอบ และข้อคิดเห็นของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของกลุม่ บริษทั อยูใ่ นเกณฑ์ทเี่ หมาะสมกับการด�ำเนินงานในปัจจุบนั ประกอบกับฝ่ายจัดการ ได้สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง โดยใช้หลักการและแนวทางการควบคุมภายในตามมาตรฐานของ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) เพื่อให้มั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การด�ำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน รวมทั้งได้สรุปผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายในประจ�ำปี ไว้ ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (56 - 1) และ รายงานประจ�ำปี (56 - 2) ของบริษทั ในหัวข้อที่ 15 เรือ่ งการควบคุมภายใน ด้วย

5. ความเหมาะสมของรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจิ ารณารายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยสอบทานรายการเกีย่ วโยง ซึง่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ และมีความเห็นว่า รายการที่เกิดขึ้นในปี 2561 เป็นรายการเพื่อประโยชน์ของบริษัท มีเงื่อนไขทางการค้า และมีราคาตามปกติทั่วไป มีการเปิดเผยในงบการเงินอย่างเพียงพอ และเป็นไปตามข้อก�ำหนดและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

6. การปฏิบตั ติ าม กฎ และระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายต่าง ๆ ร่วมกับส�ำนักตรวจสอบภายใน ซึ่งไม่พบประเด็นที่เป็นสาระส�ำคัญ ทีแ่ สดงให้เห็นว่าบริษทั ฯ ได้มกี ารปฏิบตั ทิ ขี่ ดั ต่อกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ

7. การพิจารณาแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตประจ�ำปี 2562 คณะกรรมการตรวจสอบได้เลือกผู้สอบบัญชี โดยพิจารณาจากความเป็นอิสระ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ การมีบุคลากร ที่เพียงพอในการให้บริการงานสอบบัญชีแก่บริษัท และค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีเมื่อเทียบกับความเหมาะสมในด้านปริมาณงาน โดยมีคุณสมบัติ ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์และไม่มีความสัมพันธ์และ/หรือส่วนได้เสียกับบริษัท/บริษัทย่อย/ผู้บริหาร/ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับ บุคคลดังกล่าวในลักษณะทีจ่ ะมีผลกระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเป็นอิสระแต่อย่างใด ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความเหมาะสมตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ การสอบบัญชี เป็นผูส้ อบบัญชีประจ�ำปี 2562 นอกจากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินการปฏิบัติงานของตนเองในปี 2561 ทั้งคณะโดยเปรียบเทียบกับกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และแนวปฏิบัติที่ดี ซึ่งผลการประเมินพบว่า คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยใช้ความรูค้ วามสามารถ และความระมัดระวัง มีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ เพือ่ ประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน และมี ค วามเห็ น ในภาพรวมว่ า บริ ษั ท ฯ มี ก ารรายงานข้ อ มู ล ทางการเงิ น อย่ า งถู ก ต้ อ ง มี ก ารด� ำ เนิ น งานภายใต้ ร ะบบควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสม มีการบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อก�ำหนดและข้อผูกพันต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เปิดเผยรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางประโยชน์อย่างครบถ้วน และมีการปฏิบตั งิ านทีส่ อดคล้องตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี

นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

143


รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งในรอบปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ งวด 9 เดือน สิน้ สุด วันที่ 30 กันยายน 2561 สามารถสรุปได้ดงั นี้

บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

1. บริษทั เอส.ไอ.พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (“S.I. Property”) (ประกอบธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์)

• มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ (1) นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (2) นายปรีชา อรรถวิภชั น์ (3) นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋ (4) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน S.I. Property คือ 1. บจ. สืบสิรสิ วัสดิ์ 2. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล

ค่าเช่าส�ำนักงานและค่าบริการทีเ่ กีย่ วข้อง S.I. Property ให้เช่าพืน้ ทีส่ ำ� นักงาน เป็นรายได้คา่ เช่าส�ำนักงาน ค่าบริการ ส่วนกลาง และค่าไฟฟ้า และค่าบริการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจาก TIS ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าบริการส่วนกลางอาคารค้างจ่าย ลูกหนีเ้ งินประกันค่าเช่าส�ำนักงาน เป็นเงินประกันการเช่าส�ำนักงาน ลูกหนีอ้ นื่ ค่าสัมมนา

2. บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด (“APS”) (ณ ปัจจุบนั ประกอบธุรกิจให้เช่า อสังหาริมทรัพย์)

• มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ (1) นายอภิชาต นุชประยูร (2) นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (3) นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ (4) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน APS คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

ค่าเช่าส�ำนักงาน และค่าบริการทีเ่ กีย่ วข้อง APS ให้เช่าพืน้ ทีส่ ำ� นักงาน เป็นรายได้คา่ เช่าส�ำนักงาน ค่าบริการส่วนกลาง และค่าไฟฟ้า และค่าบริการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง จากกลุม่ บริษทั ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าเช่าและค่าบริการทีเ่ กีย่ วข้องค้างจ่าย ยานพาหนะ และเครือ่ งใช้สำ� นักงาน EPPCO ซือ้ รถกะบะบรรทุก, เก้าอี้ ลูกหนีเ้ งินประกันค่าเช่าส�ำนักงาน เป็นเงินประกันการเช่าส�ำนักงาน

3. บริษทั ทัศน์ ไทยธุรกิจ จ�ำกัด (“TT”) (ประกอบธุรกิจปัม๊ น�ำ้ มัน)

• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน TT คือ 1. บจ. ภูมพ ิ ฒ ั นาธุรกิจ

ซือ้ นำน้ มัน TT ขายน�ำ้ มันให้แก่ บริษทั ฯ TIS KTBE EPPCO และ KTBF เจ้าหนีก้ ารค้า เป็นเจ้าหนีก้ ารค้าจากการทีบ่ ริษทั ฯ TIS KTBE EPPCO KTBP และ TEP ซือ้ น�ำ้ มันจาก TT ซือ้ ยางรถยนต์ TT ขายยางรถยนต์ให้แก่ บริษทั ฯ และ TIS เจ้าหนีก้ ารค้า เป็นเจ้าหนีก้ ารค้าจากการทีบ่ ริษทั ฯ TIS ซือ้ ยางรถยนต์จาก TT รายได้คา่ เช่าทีด่ นิ บริษทั ฯ และ TIS ให้เช่าทีด่ นิ เพือ่ ให้ TT ด�ำเนินกิจการปัม๊ น�ำ้ มัน ได้รบั ค่าเช่าทีด่ นิ เจ้าหนีอ้ นื่ บริษทั ฯ และ TIS รับค่าเช่าทีด่ นิ ล่วงหน้า รายได้จากการขายวัสดุ บริษทั ฯ และ TIS ขายวัสดุสำ� นักงานให้ TT

144


มูลค่ารายการ (บาท) ปีบญ ั ชี สิน้ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 60

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

งวด 9 เดือน สิน้ สุดวันที่ 30 ก.ย. 61

1,723,433.11

1,224,430.18

2,220.42

-

398,758.00

288,508.00

19,642.00

-

14,722,891.17

11,022,357.61

112,799.60

131,958.92

3,364.48

-

3,033,099.00

3,033,099.00

188,173,490.06

190,129,893.02

15,320,233.88

5,500,522.32

2,223,062.61

1,144,023.38

352,501.00

-

133,512.30

103,358.23

34,405.50

69,047.27

3,918.39

1,826.07

• S.I. Property เป็นเจ้าของพืน้ ทีอ่ าคารส�ำนักงานขนาด 444.18 ตารางเมตร ทีอ่ าคาร ลิเบอร์ตี้ พลาซ่า ชั้น 11 ซอยทองหล่อ ถนนสุขุมวิท 55 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ ให้เช่าพื้นที่เพื่อเป็น ส�ำนักงาน โดยคิดค่าเช่า และบริการส่วนกลาง 285 บาทต่อตารางเมตร ทัง้ นีร้ าคา และเงือ่ นไขการให้เช่า เป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการเช่าในอัตราตลาด

• APS เป็นเจ้าของพืน้ ทีอ่ าคารส�ำนักงาน อาคารเลขที่ 24 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ และพืน้ ทีส่ ำ� นักงาน ชัน้ 9, 10, และ 11 ของอาคารเลขที่ 133 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ ให้เช่าแก่ บริษัทฯ TIS KTBE และ EPPCO เพื่อเป็นส�ำนักงาน โดยคิดค่าเช่า 180 - 230 บาทต่อตารางเมตร ทั้งนี้ ค่าเช่า และเงื่อนไขการเช่าเป็นไปตามค่าเช่า และเงื่อนไขการเช่า ในอัตราตลาด • EPPCO ได้ซอื้ รถกะบะบรรทุก และเก้าอีใ้ ช้งานแล้ว เพือ่ ความสะดวก, ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขทางการค้าเป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด

• TT เช่าทีเ่ พือ่ เป็นสถานีขายน�ำ้ มัน เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กบั กลุม่ บริษทั ฯ ในการซือ้ น�ำ้ มันเพือ่ ใช้ ในธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามเกณฑ์เดียวกันกับตลาด • TT ขายยางรถยนต์เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กบั กลุม่ บริษทั ฯ โดยราคา และเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามเกณฑ์เดียวกันกับตลาด • TT ได้เช่าทีด่ นิ เนือ้ ที่ 5 ไร่ ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ใกล้กบั โรงงานบริษทั ฯ และเนือ้ ที่ 4 ไร่ 9 ตารางวา ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลคุง้ ตะเพา อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กบั โรงงานของ TIS เพือ่ ด�ำเนินกิจการปัม๊ น�ำ้ มัน เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กบั กลุม่ บริษทั ฯ โดยราคา และเงือ่ นไขการเช่าเป็นไปตามอัตราตลาด • อย่างไรก็ดี ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 บริษัทฯ และTIS ได้ท�ำสัญญาเช่าระยะยาวกับ TT โดยค่าเช่าที่ดินทั้ง 2 ผืนจะเท่ากับ 60,000 บาทต่อปี ต่อผืน และจะเพิ่มขึ้นตามอัตราการเปลี่ยนแปลง ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี นับแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2554 โดยสัญญาดังกล่าวมีอายุ ทัง้ สิน้ 30 ปี • บริษัทฯ และ TIS ขายวัสดุส�ำนักงานเพื่ออ�ำนวยความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กับ TT โดยราคา และเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการค้าในอัตราตลาด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

145


บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ ลูกหนีอ้ นื่ บริษทั ฯ ค้างรับค่าวัสดุ

• มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่านได้แก่ (1) นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (2) นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (3) นายอภิชาต นุชประยูร (4) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน TISS คือ 1. บมจ. เกษตรไทย อินเตอร์ฯ 2. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล

ค่าบริการเพือ่ ส่งออก TISS เป็นบริษัทที่ด�ำเนินการส่งออกนน้ำตาลทรายให้แก่ บริษัทฯ และTIS โดยรายการดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นค่าธรรมเนียมในการเป็นตัวแทนส่งออก ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง และค่าด�ำเนินการเอกสารต่างๆ ในการส่งออก และพิธกี ารทางศุลกากร ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าใช้จา่ ยบริการเพือ่ ส่งออกน�ำ้ ตาลค้างจ่ายที่ KTIS และ TIS จ่ายให้ TISS ลูกหนีอ้ นื่ • ค่าธรรมเนียมในการส่งออกโควตา ข. ที่ TISS ต้องจ่ายให้ อนท. • ค่าสัมมนา ลูกหนีอ้ นื่ ค่าน�ำ้ ตาลทรายขายต่างประเทศ

5. บริษทั สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (“Siam PP”) (ประกอบธุรกิจผลิต และจ�ำหน่ายปูนขาว)

• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ (1) นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน Siam PP คือ 1. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล

การขายปูนขาว Siam PP ขายปูนขาว ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของวัตถุดบิ ในกระบวนการผลิต น�ำ้ ตาลทราย และเยือ่ กระดาษ ให้แก่บริษทั ฯและ EPPCO เจ้าหนีก้ ารค้า เป็นเจ้าหนีก้ ารค้าจากการทีบ่ ริษทั ฯ และ EPPCO ซือ้ ปูนขาวจาก Siam PP ลูกหนีอ้ นื่ ค่าสัมมนา

6. บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จ�ำกัด (“ร่วมกิจ”) (ประกอบธุรกิจคลังสินค้า)

• มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน ได้แก่ (1) นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (2) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ถือหุน้ ใน ร่วมกิจ คือ 1. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล 2. บจ. ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรค์ 3. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

ค่าบริการฝากสินค้า ร่วมกิจรับฝากน�ำ้ ตาลจากบริษทั ฯ และ TIS ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่ารับฝากน�ำ้ ตาลค้างจ่ายทีบ่ ริษทั ฯ และ TIS ต้องจ่ายให้รว่ มกิจ ค่าบริการในการส่งสินค้า ให้บริการจัดส่งสินค้าจากคลังสินค้าแก่บริษทั ฯ และ TIS ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าใช้จา่ ยจัดส่งสินค้าค้างจ่าย รายได้อนื่ ค่าภาชนะบรรจุ ลูกหนีอ้ นื่ บริษทั ค้างรับค่าวัสดุและอืน่ ๆ

7. บริษทั ร่วมทุนคลังสินค้า นครสวรรค์ จ�ำกัด (“ร่วมทุน”) (ประกอบธุรกิจคลังสินค้า)

• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ (1) นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ถือหุน้ ในร่วมทุน คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ 2. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล

ค่าบริการฝากสินค้า บริษทั ฯ และ TIS จ่ายค่าบริการฝากสินค้าให้รว่ มทุน ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าบริการฝากสินค้าค้างจ่าย ค่าบริการในการส่งสินค้า บริษทั ฯ และ TIS จ่ายค่าจัดส่งสินค้าให้รว่ มทุน ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าใช้จา่ ยจัดส่งสินค้าค้างจ่าย

4. บริษทั ที.ไอ.เอส. เอส. จ�ำกัด (“TISS” (ประกอบธุรกิจส่งออกน�ำ้ ตาลทราย)

146


มูลค่ารายการ (บาท) ปีบญ ั ชี สิน้ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 60

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

งวด 9 เดือน สิน้ สุดวันที่ 30 ก.ย. 61

18,409.45

-

15,059,616.60

34,919,406.06

111,415.98

1,806,050.90

60,132.19 30,743.00

301,174.53 -

-

8,437,316.08

• เนื่องจาก พรบ. อ้อยและน�้ำตาล ก�ำหนดว่าโรงงานน�้ำตาลทรายไม่สามารถส่งออกน�้ำตาลทราย ด้วยตนเองได้ กลุม่ บริษทั ฯ จึงต้องด�ำเนินการส่งออกผ่านบริษทั ส่งออก ซึง่ ณ ปัจจุบนั หนึง่ ในบริษทั ส่งออก ทีบ่ ริษทั ฯ ใช้บริการคือ TISS • ส�ำหรับการส่งออกน�ำ้ ตาลทรายนัน้ กลุม่ บริษทั ฯ จะเป็นผูต้ ดิ ต่อลูกค้าโดยตรง โดย TISS จะเป็นเพียง ผูด้ ำ� เนินการจัดการสินค้า และด�ำเนินเรือ่ งเอกสารส�ำหรับการส่งออกเท่านัน้ • ราคา ค่าธรรมเนียมและเงือ่ นไขการค้าทีก่ ลุม่ บริษทั ฯด�ำเนินการผ่าน TISS เป็นไปตามราคา ค่าธรรมเนียม และเงือ่ นไขการค้าในอัตราตลาด • เนือ่ งจาก พรบ. อ้อยและน�ำ้ ตาล ก�ำหนดว่าโรงงานน�ำ้ ตาลทรายจะต้องจัดสรรน�ำ้ ตาลทรายดิบจ�ำนวน 400,000 ตัน ให้แก่ อนท. โดย อนท. จะเป็นผู้ก�ำหนดราคาขาย และน�ำน�้ำตาลทรายดังกล่าวส่งออก ให้แก่ลกู ค้าต่างประเทศ • ทัง้ นี้ ค่าธรรมเนียมทีก่ ลุม่ บริษทั ฯ ต้องจ่ายให้กบั อนท. เป็นไปตามราคา ค่าธรรมเนียม และเงือ่ นไขการค้า ในอัตราตลาด • ค่าน�ำ้ ตาลทรายที่ TISS ได้รบั จากผูซ้ อื้ ต่างประเทศแล้ว และอยูใ่ นระหว่างการจ่ายคืนให้กบั บริษทั ฯ และ TIS • บริษทั ฯ และ TIS ได้รบั เงินค่าน�ำ้ ตาลทรายเกินกว่าโควตาที่ได้รบั จัดสรร อยูร่ ะหว่างการจ่ายคืนให้กบั TISS

76,689,935.25

85,811,584.53

• Siam PP ขายปูนขาวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัตถุดิบในกระบวนการผลิตน�้ำตาลทราย และเยื่อกระดาษ ให้แก่ บริษทั ฯ และ EPPCO เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไข การค้าในอัตราตลาด และคูม่ อื จัดซือ้ จัดจ้างของบริษทั ฯ

7,384,204.39

6,551,175.47

13,126.00

-

66,421,555.18

91,446,962.20

6,965,130.85

13,093,988.98

106,360,176.61

142,126,789.15

5,871,118.35

8,391,406.52

27,000.00

8,500.00

-

13,490.00

40,123,867.43

46,546,209.29

4,053,760.07

5,266,476.80

17,012,910.72

20,870,448.72

3,580,253.54

7,843,637.03

• ร่วมกิจมีคลังสินค้าจ�ำนวน 4 แห่ง ตั้งอยู่ที่ (1) 1 แห่งที่ ต�ำบลป่าโมก อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง (2) 3 แห่งที่ ต�ำบลปลากด อ�ำเภอป่าโมก จังหวัด อ่างทอง เพื่อใช้รับฝากน�้ำตาลของกลุ่มบริษัทฯ เพื่อความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไขการรับฝากฯ เป็นไป ตามราคา และเงือ่ นไขการรับฝากฯ ในอัตราตลาด • นอกจากการให้เช่าคลังสินค้าแล้ว ร่วมกิจยังให้บริการจัดส่งสินค้าจากคลังสินค้าแก่กลุ่มบริษัทฯ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกและเพิม่ ประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขทางการค้าเป็นไป ตามราคา และเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด • บริษัทฯ ขายภาชนะบรรจุน�้ำตาลเพื่ออ�ำนวยความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กับร่วมกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขการค้าในอัตราตลาด

• กลุม่ บริษทั ฯ ฝากเก็บน�ำ้ ตาลทรายทีค่ ลังสินค้าของร่วมทุน เพือ่ ความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการรับฝากฯ เป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการรับฝากฯ ในอัตราตลาด • นอกจากการรับฝากน�ำ้ ตาลฯ ร่วมทุนยังให้บริการจัดส่งสินค้าแก่กลุม่ บริษทั ฯ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตามราคา และเงื่อนไข ทางการค้าในอัตราตลาด • ร่วมทุน เป็นเจ้าของพืน้ ทีอ่ าคารเลขที่ 17, 19 ถนนสุขโี มกข์ ต�ำบลปากน�ำ้ โพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ให้ KTW เช่าพืน้ ทีเ่ พือ่ เป็นส�ำนักงาน ในอัตรา 2,000 บาทต่อเดือน โดยราคาค่าเช่า และเงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขการเช่าในอัตราตลาด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

147


บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ ลูกหนีอ้ นื่ บริษทั ฯ ค้างรับค่าวัสดุ และ อืน่ ๆ ค่าใช้จา่ ยส�ำนักงาน KTW จ่ายค่าเช่าส�ำนักงาน ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย - ค่าเช่า KTW ค้างจ่ายค่าเช่าส�ำนักงาน

8. บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จ�ำกัด (“ไทยวิษณุ”) (ประกอบธุรกิจโรงแรม)

• มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่านได้แก่ (1) นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (2) นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ (3) นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (4) นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน ไทยวิษณุ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

ค่าเช่าโรงแรม บริษทั ฯ และ TIS จ่ายเช่าโรงแรมให้ ไทยวิษณุ ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าเช่าโรงแรมทีบ่ ริษทั ฯ และ TIS ค้างจ่ายกับไทยวิษณุ

9. บริษทั เวศม์วษิ ณุ จ�ำกัด (“เวศม์วษิ ณุ”) (ประกอบธุรกิจหอพัก)

• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องถือหุน้ ใน เวศม์วษิ ณุ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

ค่าเช่าหอพักพนักงาน เป็นค่าเช่าหอพักส�ำหรับพนักงานทีจ่ า่ ยให้เวศม์วษิ ณุ ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าเช่าหอพักที่ KTBE และ EPPCO เช่าหอพักค้างจ่ายให้เวศม์วษิ ณุ

10. บริษทั สืบสิรสิ วัสดิ์ จ�ำกัด (“สืบสิรสิ วัสดิ”์ ) (ประกอบธุรกิจซือ้ ขาย และให้เช่าทรัพย์สนิ )

• มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน ได้แก่ (1) นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (2) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน สืบสิรสิ วัสดิ์ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

รายจ่ายค่าเช่าทีด่ นิ KTBE จ่ายค่าเช่าทีด่ นิ ให้สบื สิรสิ วัสดิ์ ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค้างจ่ายค่าเช่าทีด่ นิ

11. บริษทั ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ จ�ำกัด (“ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์”) (ประกอบธุรกิจขนส่งสินค้า)

• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ (1) นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ในร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

ค่าบรรทุกน�ำ้ ตาลทราย TIS จ่ายค่าบรรทุกขนส่งน�ำ้ ตาลทรายไปเก็บทีค่ ลังสินค้าให้รว่ มทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค้างค่าบรรทุก ค่าขนส่งน�ำ้ ตาลค้างจ่าย รายได้อนื่ ค่าวัสดุ และเงินชดเชยค่าน�ำ้ ตาลเสียหาย เงินค�ำ้ ประกัน - ค่าขนส่ง เงินค�ำ้ ประกันค่าขนส่ง ลูกหนีอ้ นื่ ค่าน�ำ้ ตาลและค่าเปลีย่ นถ่ายน�ำ้ ตาล

12. บริษทั ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต จ�ำกัด (“ศิรเิ จริญ”) (ประกอบธุรกิจการค้า และอืน่ ๆ)

• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ (1) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องถือหุน้ ในศิรเิ จริญ คือ 1. บจ.จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ 2. บจ.น�ำ้ ตาลเอกผล

เจ้าหนีเ้ งินกูย้ มื ในการปรับโครงสร้างหนี้ • TIS มีภาระเงินกูก้ บั ศิรเิ จริญ • ดอกเบีย้ จ่าย • ดอกเบีย้ ค้างจ่าย

148


มูลค่ารายการ (บาท) ปีบญ ั ชี สิน้ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 60

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

งวด 9 เดือน สิน้ สุดวันที่ 30 ก.ย. 61 -

7,324.00

24,000.00

18,000.00

-

18,000.00

1,269,454.61

391,149.53

139,400.00

100,450.00

3,684,070.00

3,031,875.14

340,390.00

348,090.00

215,682.07

172,394.00

-

172,657.53

114,684.93

-

7,188,345.71

9,197,224.35

622,957.31

1,305,831.21

10,310.75

8,841.12

794,881.31

495,559.31

1,692.50

3,277.50

77,600,000.00 322,040.00 568,641,531.06

72,750,000.00 225,814.01 538,867,345.07

• กลุ่มบริษัทฯ เช่าโรงแรมจากไทยวิษณุ ซึ่งเป็นเจ้าของโรงแรมแกรนด์วิษณุ พลาซ่า ตั้งอยู่ที่ 26 - 28 ถนนอรรถกวี อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ใช้เป็นทีพ ่ กั และทีป่ ระชุม สัมนาของพนักงานในกลุม่ KTIS หรือใช้เป็นสถานทีจ่ ดั กิจกรรมเพือ่ ประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการเช่าห้อง และบริการโรงแรม เป็นไปตาม ราคา และเงือ่ นไขในอัตราตลาด

• กลุ่มบริษัทฯ เช่าหอพักให้พนักงาน จากเวศม์วิษณุ ซึ่งเป็นเจ้าของหอพักตั้งอยู่ที่ ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งใกล้กับโรงงานของ KTBE และ EPPCO เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ให้กบั พนักงานและเจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงของบริษทั ฯ และการด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ • โดยราคาเช่าห้องละ 3,000 บาทต่อเดือน ซึ่งเป็นราคาตลาดในละแวกนั้น ซึ่งหากคิดเป็นผลตอบแทน เทียบกับทรัพย์สนิ ของเวศม์วษิ ณุแล้ว อยูใ่ นเกณฑ์ที่ไม่สงู ไปกว่าบริษทั อืน่ ในตลาดเช่าหอพักทัว่ ไป • KTBE เช่าทีด่ นิ ของสืบสิรสิ วัสดิ์ เนือ้ ที่ 48 ไร่ 44 ตารางวา ทีต่ ำ� บลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อประโยชน์คือเป็นทางเข้าออกโรงงานของ KTBE โดยราคา และเงื่อนไขการเช่าเป็นราคา และเงื่อนไข การเช่าทีด่ กี ว่าราคาตลาด • โดย ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 KTBE ได้ทำ� สัญญาเช่าระยะยาวกับ สืบสิรสิ วัสดิ์ โดยอัตราค่าเช่า ที่ดินคือ 200,000 บาทต่อปี และจะเพิ่มขึ้นตามอัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปเฉลี่ย ย้อนหลัง 5 ปี นับแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2554 โดยสัญญาดังกล่าวมีอายุทงั้ สิน้ 30 ปี และให้สทิ ธิบ์ ริษทั ฯ ในการต่ออายุได้อกี 30 ปี • บริษัทฯ และ TIS จ้างร่วมทุนเทรดดิ้งนครสวรรค์เพื่อขนส่งน�้ำตาลทรายไปเก็บที่คลังสินค้า เพื่อความ สะดวกและประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขทางการค้าเป็นไปตามราคา และเงือ่ นไข ทางการค้าในอัตราตลาด • บริษทั ฯ จะหักเงินค�ำ้ ประกันค่าขนส่งไว้รอ้ ยละ 10 เพือ่ เป็นหลักประกัน กรณีทมี่ คี า่ เสียหายจากการขนส่ง โดยบริษทั ฯ จะคืนเงินดังกล่าวภายหลังการส่งมอบสินค้าเสร็จสิน้

• ในอดีต TIS มีหนี้สินกับสถาบันการเงิน ต่อมา ในช่วงปี พ.ศ.2550 - 2551 ศิริเจริญซึ่งมีผู้ถือหุ้น ส่วนใหญ่ ได้แก่ นางเนาวรัตน์ หวังปรีดาเลิศกุล ร้อยละ 62.5 บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด ร้อยละ 25.0 และนายมนตรี เล็กวิจติ รธาดา ร้อยละ 12.4 ได้ซอื้ หนีส้ นิ ของ TIS ทัง้ หมดจากสถาบันการเงินดังกล่าว ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการปรับโครงสร้างหนีข้ อง TIS • TIS และ ศิรเิ จริญ ท�ำสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ ซึง่ มีผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็นวันที่ศาลล้มละลายกลางมีค�ำสั่งยกเลิกให้ฟื้นฟูกิจการของ TIS โดย TIS จะด�ำเนินการผ่อนช�ำระ ยอดหนีเ้ งินต้น และดอกเบีย้ ค้างจ่ายดังกล่าวภายในระยะเวลา 20 ปี นอกจากนี้ ศิรเิ จริญ จะคิดดอกเบีย้ ทีอ่ ตั ราดอกเบีย้ เงินฝากออมทรัพย์เฉลีย่ ของ 3 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคาร กรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) จากยอดเงินคงค้างรวมกับดอกเบีย้ ค้างจ่าย

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

149


บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

13. บริษทั รวมผลอุตสาหกรรม นครสวรรค์ จ�ำกัด (“RPE”) (ประกอบธุรกิจการค้า และอืน่ ๆ)

• มีกรรมการร่วมกัน 6 ท่านได้แก่ (1) นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (2) นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (3) นายณัฏฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (4) นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี (5) นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ (6) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือ หุน้ ในRPE คือ 1. บจ. ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต 2. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

รายจ่ายค่าเช่าทีด่ นิ KTIS จ่ายค่าเช่าทีด่ นิ ลูกหนีเ้ งินประกันค่าเช่าโรงงาน เงินประกันค่าเช่าทีด่ นิ โรงงานน�ำ้ ตาล และค่าเช่าเครือ่ งจักร ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ โรงงานจ่ายล่วงหน้า หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าทางการเงิน หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าทางการเงินอาคารและเครือ่ งจักร ดอกเบีย้ ค้างจ่าย ดอกเบีย้ ค้างจ่ายตามสัญญาเช่าทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน ดอกเบีย้ จ่ายตามสัญญาเช่าทางการเงินอาคารและเครือ่ งจักร ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าไฟฟ้า ค่าไฟฟ้า ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าไฟฟ้าค้างจ่าย ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า เจ้าหนีอ้ นื่ เงินค่ากองทุนพัฒนาไฟฟ้า

14. บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ไพรวัลย์ จ�ำกัด (“SSPW”) (ประกอบธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ท)

• มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่านได้แก่ (1) นายปรีชา อรรถวิภชั น์ (2) นางสาวฉัว่ อิง อิง (3) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกั นถือหุน้ ใน SSPW คือ 1. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล

ค่าทีพ ่ กั รีสอร์ท ค่าเช่าห้องพักรีสอร์ท ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่าห้องพักฯ ค้างจ่าย

15. บริษทั นครสวรรค์รว่ มทุนพัฒนา จ�ำกัด (“นครสวรรค์รว่ มทุนพัฒนา”) (ประกอบธุรกิจขนส่งสินค้า)

• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านได้แก่ (1) นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือ หุน้ ใน นครสวรรค์รว่ มทุน คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

ค่าบรรทุกน�ำ้ ตาลทราย ค่าขนส่งน�ำ้ ตาลไปเก็บทีค่ ลังสินค้า ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าขนส่งน�ำ้ ตาลค้างจ่าย รายได้อนื่ ค่าวัสดุและเงินชดเชยค่าน�ำ้ ตาลเสียหาย เงินค�ำ้ ประกัน – ค่าขนส่ง เงินค�ำ้ ประกันค่าขนส่ง

150


มูลค่ารายการ (บาท) ปีบญ ั ชี สิน้ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 60

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล

งวด 9 เดือน สิน้ สุดวันที่ 30 ก.ย. 61

• อย่างไรก็ดี เมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ลูกหนี้ และเจ้าหนี้ ได้ตกลงแก้ ไขสัญญาปรับโครงสร้าง หนี้ โดยสัญญาปรับโครงสร้างหนีฉ้ บับแก้ ไข มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ซึง่ ลูกหนี้ ตกลงทีจ่ ะช�ำระหนีค้ งค้างแบ่งเป็นเงินต้น 97,000,000 บาท และดอกเบีย้ ค้างจ่าย 687,156,121.56 บาท ให้กบั เจ้าหนี้ โดยบริษทั ฯ เห็นว่าการแก้ ไขสัญญาปรับโครงสร้างหนีด้ งั กล่าวเป็นผลดีกบั บริษทั ฯ โดยท�ำให้ บริษัท น�้ำตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด ในฐานะลูกหนี้มีภาระในการช�ำระหนี้ลดลง (โปรดดูรายละเอียด การแก้ ไขสัญญาในส่วน 2 หัวข้อ 13.5 สัญญาปรับโครงสร้างหนี)้ 5,300,000.00

3,974,999.99

101,000,000.00

101,000,000.00

3,312,499.99

4,637,500.00

798,916,670.50

791,097,504.26

32,955,312.65

10,877,590.59

88,365,128.98

65,803,111.80

824,800.00

622,199.44

178,811.52

128,779.00

12,411.41

13,118.26

-

213,186.86

127,054.79

-

1,241,766.36

12,249.99

367,630.00

-

6,875,055.69

8,966,330.86

-

1,052,576.14

15,429.91

13,345.79

90,237.63

-

• บริษทั ฯ เช่าทีด่ นิ ของ RPE เนือ้ ที่ 173 ไร่ 95.9 ตารางวา ทีต่ ำ� บลบ้านมะเกลือ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเช่าสินทรัพย์โรงงานน�้ำตาลทรายของ RPE เพื่อประกอบ ธุรกิจของบริษทั ฯ • สัญญาเช่าทีด่ นิ ดังกล่าวได้ถกู ท�ำขึน้ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 โดยมีคา่ เช่าเท่ากับ 5,300,000 บาท ต่อปี และจะมีการปรับขึ้นได้ทุกรอบ 5 ปี ตามอัตรารวมของดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี และจะปรับเพิม่ ไม่เกินกว่าร้อยละ 20 ของค่าเช่าในปีกอ่ นทีจ่ ะมีการปรับขึน้ ค่าเช่า • สัญญาดังกล่าวมีอายุ 30 ปีและให้สทิ ธิบริษทั ฯในการต่ออายุได้อกี 30 ปี • อัตราค่าเช่าดังกล่าวเป็นไปตามราคาประเมินโดยผูป้ ระเมินอิสระ 2 ราย ได้แก่บริษทั ไนท์แฟรงค์ชาร์เตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 8 พฤษภาคมพ.ศ. 2555 และ บริษทั ซาลแมนน์ (ฟาร์อสี ท์) จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 • บริษัทฯ และ EPPCO เช่าที่ดินจาก RPE เพื่อเพื่อประกอบธุรกิจของบริษัทฯ โดยราคาและเงื่อนไข ทางการเช่าเป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด

• กลุ่มบริษัทฯ ได้เช่าห้องพักรีสอร์ทจาก SSPW ซึ่งเป็น เจ้าของรีสอร์ท ตั้งอยู่เลขที่ 1/79 หมู่ที่ 2 ต�ำบลแก่งโสภา อ�ำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก เพื่อ ใช้เป็นที่พัก และที่ประชุม สัมนาของพนักงาน ในกลุ่ม KTIS หรือใช้เป็นที่รับรองแขกของบริษัทฯ และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมเพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขการเช่าห้องพักรีสอร์ทเป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขในอัตราตลาด

• TIS จ้างนครสวรรค์รว่ มทุนพัฒนา ขนส่งน�ำ้ ตาลไปเก็บทีค่ ลังสินค้า เพือ่ ความสะดวก ประสิทธิภาพ และ ประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขทางการค้าเป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

151


บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

16. บริษทั ภูมพิ ฒ ั นาธุรกิจ จ�ำกัด (“ภูมพิ ฒ ั นา ธุรกิจ”) (ประกอบธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์)

• มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน ได้แก่ (1) นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (2) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ถือหุน้ ใน ภูมพ ิ ฒ ั นาธุรกิจ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้

ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่าทีด่ นิ ค้างจ่าย ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า

17. บริษทั อะโกร เอทานอล จ�ำกัด (“อะโกร เอทานอล”) (ประกอบธุรกิจลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านคือ (1) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องถือหุน้ ในอะโกร เอทานอล คือ 1. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล

ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า

18. บริษทั อี.พี.ซี. เพาเวอร์ จ�ำกัด (“อี.พี.ซี. เพาเวอร์”) (ประกอบธุรกิจลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านคือ (1) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน อี.พี.ซี. เพาเวอร์ คือ 1. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล

ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า

19. บริษทั น�ำ้ ตาลเกษตรไทย จ�ำกัด (“KT”) (ประกอบธุรกิจการค้า และ อืน่ ๆ)

• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านคือ (1) นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน KT คือ 1. บจ. น�ำ้ ตาลเอกผล

ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ

152


มูลค่ารายการ (บาท) ปีบญ ั ชี สิน้ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 60

งวด 9 เดือน สิน้ สุดวันที่ 30 ก.ย. 61

6,055,873.19

4,546,870.91

-

2,264.95

27,216.18

1,512,748.84

293,760.00

220,173.99

-

73,586.01

182,400.00

136,703.35

-

45,696.65

1,920.00

1,920.00

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล • KTBF ได้เช่าที่ดินจาก ภูมิพัฒนา ธุรกิจ เพื่อใช้เป็นสถานที่ก่อสร้างโรงงานผลิตปุ๋ยชีวภาพ และเพื่อ ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ • บริษทั ฯ และ TIS เช่าทีด่ นิ จาก ภูมพ ิ ฒ ั นา ธุรกิจ เพือ่ ใช้ ในการปลูกอ้อย และใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ • EPPCO เช่าทีด่ นิ จาก ภูมพ ิ ฒ ั นา ธุรกิจ จ�ำนวน 35 แปลง เนือ้ ที่ 459-0-87.3 ไร่ เพือ่ บริหารจัดการ น�ำ้ เสียและกากสลัด • KTBE เช่า 35 แปลงเนือ้ ที่ 965 ไร่ เพือ่ บริหารจัดการน�ำ้ เสีย • ราคา และเงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขการเช่าในอัตราตลาด • บริษทั ฯ ได้เช่าทีด่ นิ จาก อะโกร เอทานอล เพือ่ ใช้ ในการปลูกอ้อย และใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ • EPPCO ได้เช่าทีด่ นิ จาก อะโกร เอทานอล เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ • อัตรา และเงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขการเช่าในอัตราตลาด • บริษทั ฯ ได้เช่าทีด่ นิ จาก อี.พี.ซี. เพาเวอร์ เพือ่ ใช้ ในการปลูกอ้อย • KTBE ได้เช่าทีด่ นิ จาก อี.พี.ซี. เพาเวอร์ เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการน�ำ้ เสีย และด�ำเนินธุรกิจ • อัตรา และเงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขการเช่าในอัตราตลาด

• บริษทั ฯ ได้เช่าทีด่ นิ จาก KT เพือ่ ใช้ ในการปลูกอ้อย • อัตรา และ เงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขการเช่าในอัตราตลาด

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

153


ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน ทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2562 เมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 ได้พจิ ารณาข้อมูลรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561 ประกอบกับการสอบถามข้อมูลต่างๆ จากฝ่ายบริหารของบริษัทฯ รวมทั้งการสอบทานข้อมูลตามที่ระบุ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมเสมือนสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ แล้วเห็นว่า รายการระหว่างกันของบริษัทฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561 เป็นรายการที่เป็นไปเพื่อการด�ำเนินธุรกิจตามปกติของบริษัทฯ และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป ในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชน จะพึงกระท�ำกับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่คู่สัญญาอีกฝ่ายมีสถานะเป็นบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง (Arm’s Length Basis) และไม่มกี ารถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษทั ฯ และบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน บริษัทฯ มีนโยบายและขั้นตอนการท�ำรายการระหว่างกัน เพื่อให้รายการระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งเป็นไปอย่างโปร่งใส และเพือ่ เป็นการรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ โดยสามารถสรุปได้ดงั นี้ การเข้าท�ำรายการระหว่างกันหรือรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์ฯ และประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ประกอบกับประกาศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกันรวมทั้งกฎเกณฑ์ต่างๆ ของส�ำนักงานกลต. และ/หรือในหมายเหตุตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยรายการระหว่างกัน ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รบั การตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (56 - 1) ด้วย ในกรณีทกี่ ฎหมายก�ำหนดให้บริษทั ฯ ต้องได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ก่อนการเข้าท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ในเรือ่ งใด บริษทั ฯ จะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบ ตรวจสอบและให้ความเห็นเกีย่ วกับรายการดังกล่าว และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบจะถูก น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั หรือผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่กรณี เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการเข้าท�ำรายการตามทีเ่ สนอนัน้ เป็นไปเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ กรณีทมี่ รี ายการระหว่างกันของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผู้ ให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นในการเข้าท�ำรายการและความเหมาะสมด้านราคา ของรายการนัน้ ๆ โดยพิจารณาจากเงือ่ นไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการด�ำเนินธุรกิจปกติในอุตสาหกรรม และมีการเปรียบเทียบกับราคาของบุคคลภายนอก หรือราคาตลาด หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษทั ฯ จะจัดให้ผเู้ ชีย่ วชาญอิสระหรือ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ เป็นผู้ ให้ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพือ่ น�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือผูถ้ อื หุน้ ตามแต่กรณี โดยกรรมการผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียจะไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในรายการดังกล่าว อีกทัง้ จะมีการเปิดเผยรายการระหว่างกัน ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีต่ รวจสอบหรือสอบทานโดยผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ทั้งนี้ ในหลักการให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการท�ำธุรกรรมดังกล่าวหากธุรกรรมเหล่านั้นมีข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชน พึงกระท�ำกับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง โดยบริษัทฯ จะต้องจัดท�ำรายงานสรุปการท�ำธุรกรรมที่มีขนาดเกินกว่า 5,000,000 บาท เพื่อรายงานในการประชุม คณะกรรมการบริษทั ในครัง้ ต่อไป

นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต การเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อย บริษัทฯ จะปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทมี่ ผี ลใช้บงั คับ หากบริษทั ฯ ประสงค์จะเข้าท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย บริษทั ฯ จะปฏิบตั ติ ามนโยบายและขัน้ ตอนที่ได้กล่าวไว้ ข้างต้นอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้แนวทางในการพิจารณาคือ ให้พจิ ารณาความจ�ำเป็นของรายการต่อการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และให้พจิ ารณาเปรียบเทียบราคากับรายการเทียบเคียงทีท่ ำ� กับบุคคลภายนอก (หากมี) รวมถึงพิจารณาสาระส�ำคัญของขนาดรายการด้วย อย่างไรก็ดี หากมีการเข้าท�ำรายการระหว่างกัน บริษทั ฯ จะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของรายการดังกล่าว ในกรณีทคี่ ณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ บริษทั ฯ จะจัดให้มบี คุ คลทีม่ คี วามรู้ ความช�ำนาญพิเศษ เช่น ผูส้ อบบัญชีหรือผูป้ ระเมินราคาทรัพย์สนิ ทีม่ คี วามเป็นอิสระเป็นผู้ ให้ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ หรือบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามช�ำนาญพิเศษ จะถูกน�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่กรณี เพือ่ ให้มคี วามมัน่ ใจว่า การเข้าท�ำรายการดังกล่าวจะไม่เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษทั ฯ หรือผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ แต่เป็นการท�ำรายการทีบ่ ริษทั ฯ ได้คำ� นึงถึง ประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ ทุกราย

154


การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ ภาพรวมของผลการด�ำเนินงานปี 2561 รายได้รวมประกอบด้วยรายได้จากการขายและบริการ รายได้ค่าผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย และรายได้อื่น ส�ำหรับปี 2561 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561 (9 เดือน) บริษัทมีรายได้รวมทั้งสิ้น 18,067.1 ล้านบาท ในขณะที่ปี 2560 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (12 เดือน) จ�ำนวน 18,193.0 ล้านบาท รายได้จากการขายและบริการในปี 2561 (9 เดือน) จ�ำนวน 17,305.7 ล้านบาท ลดลง 219.0 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.2 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 17,524.6 ล้านบาท ทั้งนี้เนื่องจากรายได้จากสายธุรกิจอ้อยและน�้ำตาล รวมทั้งรายได้จากธุรกิจเยื่อกระดาษจากชานอ้อย และรายได้จาก ธุรกิจเอทานอลลดลง แม้วา่ ปริมาณอ้อยทีเ่ ข้าหีบรวมของบริษทั ในปีการผลิต 2560/2561 จะมากกว่าปีการผลิตก่อนหน้า ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ปีการผลิต

ประเทศไทย

บริษทั

2559/2560

2560/2561

ปริมาณอ้อย

93.0

134.9 ล้านตัน

น�ำ้ ตาลทราย

100.3

กากน�ำ้ ตาล

3.9

5.5 ล้านตัน

ปริมาณอ้อย

8.7

11.6 ล้านตัน

น�ำ้ ตาลทราย

9.4

11.9 ล้านกระสอบ (กระสอบละ 100 กิโลกรัม)

กากน�ำ้ ตาล

0.4

147.1 ล้านกระสอบ (กระสอบละ 100 กิโลกรัม)

0.5 ล้านตัน

แหล่งทีม่ า : ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย ฉบับปิดหีบ รายได้สายธุรกิจน�้ำตาลในปี

2561 (9 เดือน) น้อยลงร้อยละ 3.3 โดยมีสาเหตุหลักมาจากปริมาณการขายน�้ำตาลในประเทศที่น้อยลง ประกอบกับราคาขายน�ำ้ ตาลทัง้ ในประเทศและต่างประเทศเฉลีย่ ลดลง

รายได้จากธุรกิจเยือ่ กระดาษจากชานอ้อยในปี 2561 (9 เดือน) น้อยลงร้อยละ 3.5 จากปริมาณการขายเยือ่ กระดาษน้อยลง แม้วา่ ราคาขาย

เยือ่ กระดาษจากชานอ้อยทัง้ ในประเทศและต่างประเทศเฉลีย่ สูงขึน้ รายได้จากธุรกิจเอทานอลในปี 2561 (9 เดือน) น้อยลงร้อยละ 20.6 จากทัง้ ปริมาณขายเอทานอลและราคาขายเอทานอลเฉลีย่ ลดลง รายได้จากการขายไฟฟ้าในปี 2561 (9 เดือน) เพิม ่ ขึน้ ร้อยละ 93.8 จากทัง้ ปริมาณขายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าทัง้ 3 โรง ทีเ่ พิม่ ขึน้ และราคาขายไฟฟ้า

เฉลีย่ ต่อหน่วยสูงขึน้ รายได้จากการขายและบริการอื่นในปี

2561 (9 เดือน) เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.7 จากการให้บริการจักรกลทางการเกษตร การขายปุ๋ย วัสดุ ปรับปรุงดิน และยาปราบศัตรูพชื และอืน่ ๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้

รายได้ค่าผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายในปี 2561 จ�ำนวน 472.2 ล้านบาท เป็นเงินชดเชยที่บริษัทจะได้รับจากกองทุนอ้อยและ น�้ำตาลทราย เนื่องจากในฤดูการผลิต 2560/2561 ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายขั้นสุดท้ายจะต�่ำกว่าขั้นต้น ตามพระราชบัญญัติอ้อยและน�้ำตาลทราย พ.ศ.2527 มาตรา 56 ก�ำหนดให้กองทุนอ้อยและน�้ำตาลทรายจ่ายชดเชยส่วนของค่าอ้อยและเงินชดเชย ค่าผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายให้กบั บริษทั รายได้อนื่ ประกอบด้วยดอกเบีย้ รับ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น และก�ำไรจากสัญญาการซือ้ ขายน�ำ้ ตาลทรายล่วงหน้า ดอกเบีย้ รับในปี 2561 (9 เดือน) อยูท ่ ี่ 30.7 ล้านบาท น้อยลง 4.9 ล้านบาท หรือน้อยลงร้อยละ 13.9 จากปี 2560

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

155


ก�ำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นในปี 2561 (9 เดือน) อยูท ่ ี่ 50.3 ล้านบาท ในขณะทีใ่ นปี 2560 มีกำ� ไรจากอัตราแลกเปลีย่ นอยูท่ ี่ 32.9 ล้านบาท ก�ำไรจากสัญญาการซือ้ ขายน�ำ้ ตาลทรายล่วงหน้าในปี 2561 (9 เดือน) อยูท ่ ี่ 92.5 ล้านบาท น้อยลง 235.5 ล้านบาท หรือน้อยลงร้อยละ 71.8

จากปี 2560 เนือ่ งจากราคาน�ำ้ ตาลในตลาดโลกในปี 2561 ปรับตัวลดลง ต้นทุนขายและบริการในปี 2561 (9 เดือน) จ�ำนวน 14,423.1 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 152.1 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.1 จากปี 2560 เนือ่ งจากปริมาณ การขายเพิม่ ขึน้ ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหารในปี 2561 (9 เดือน) จ�ำนวน 2,538.7 ล้านบาท น้อยลง 403.3 ล้านบาท หรือน้อยลงร้อยละ 13.7 จากปี 2560 โดยมีสาเหตุหลักมาจากเงินน�ำส่งส�ำนักงานกองทุนอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายทีล่ ดลง ค่าใช้จา่ ยทางการเงินในปี 2561 (9 เดือน) จ�ำนวน 262.4 ล้านบาท น้อยลง 70.5 ล้านบาท หรือน้อยลงร้อยละ 21.2 จากการจัดการทางการเงิน ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ผลประโยชน์ (ค่าใช้จา่ ย) ภาษีเงินได้ ในปี 2561 (9 เดือน) อยูท่ ี่ 213.7 ล้านบาท ในขณะทีใ่ นปี 2560 อยูท่ ี่ 1.7 ล้านบาท เนือ่ งจากค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ เพิม่ ขึน้ ในขณะทีผ่ ลประโยชน์จากภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง ตามปัจจัยทีก่ ล่าวข้างต้น ในปี 2561 (9 เดือน) บริษทั มีผลการด�ำเนินงานทีม่ กี าํ ไรสุทธิ 629.3 ล้านบาท น้อยลงร้อยละ 2.5 เมือ่ เทียบกับปี 2560 (12 เดือน) ทีม่ ผี ลก�ำไรสุทธิ 645.5 ล้านบาท

การวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน รายได้

ปี 2560 (12 เดือน) (ล้านบาท)

ปี 2561 (9 เดือน) (ล้านบาท)

เปลีย่ นแปลง

เปลีย่ นแปลง

(ล้านบาท)

(ร้อยละ)

รายได้จากการขายและบริการ

17,524.6

17,305.7

(219.0)

(1.2%)

ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย

13,504.6

13,056.9

(447.8)

(3.3%)

รายได้จากการขายน�ำ้ ตาลทราย

13,062.1

12,219.0

(843.1)

(6.5%)

442.6

837.9

395.3

89.3%

ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง

4,020.0

4,248.8

228.8

5.7%

รายได้จากการขายเยือ่ กระดาษจากชานอ้อย

1,260.8

1,216.6

(44.1)

(3.5%)

รายได้จากการขายเอทานอล

1,654.2

1,313.4

(340.7)

(20.6%)

รายได้จากการขายไฟฟ้า

583.7

1,131.2

547.5

93.8%

อืน่ ๆ

521.4

587.5

66.1

12.7%

-

472.2

472.2

668.4

289.3

(379.1)

(56.7%)

18,193.0

18,067.1

(125.9)

(0.7%)

รายได้จากการขายกากน�ำ้ ตาล

รายได้คา่ ผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย รายได้อนื่ รายได้รวม แหล่งทีม่ า : ข้อมูลบริษทั

156


รายได้รวม บริษทั มีรายได้รวมในปี 2561 (9 เดือน) ทัง้ สิน้ 18,067.1 ล้านบาท น้อยลงร้อยละ 0.7 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 18,193.0 ล้านบาท รายละเอียดมีดงั นี้

ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย รายได้ของธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายของบริษทั ในปี 2561 (9 เดือน) และปี 2560 (12 เดือน) เท่ากับ 13,056.9 ล้านบาท และ 13,504.6 ล้านบาท ตามล�ำดับ น้อยลงร้อยละ 3.3 ซึง่ เป็นผลมาจากปัจจัยส�ำคัญดังต่อไปนี้ ปริมาณการขายน�ำ้ ตาลทรายในประเทศในปี 2561 (9 เดือน) จ�ำนวน 193,952.7 ตัน น้อยลงร้อยละ 26.9 จากปี 2560 (12 เดือน) ในขณะที่

ปริมาณการขายน�ำ้ ตาลทรายต่างประเทศในปี 2561 (9 เดือน) เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 62.5 จากปี 2560 (12 เดือน) ราคาขายน�้ำตาลทรายในประเทศเฉลี่ยในปี

2561 (9 เดือน) อยู่ที่ 17,625.1 บาทต่อตัน ลดลงร้อยละ 10.3 จากปี 2560 (12 เดือน) จากการลอยตัวราคาน�ำ้ ตาลทรายตัง้ แต่ตน้ ปี 2561 ทีผ่ า่ นมา

ราคาขายน�ำ้ ตาลทรายต่างประเทศเฉลีย่ ในปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 10,604.1 บาทต่อตัน ลดลงร้อยละ 30.9 จากปี 2560 จากราคาน�ำ้ ตาลทราย

ในตลาดโลกทีป่ รับตัวลดลงค่อนข้างมากตัง้ แต่กลางปี 2560 เป็นต้นมา ปริมาณการขายกากน�้ำตาลปี

2561 (9 เดือน) จ�ำนวน 240,231.5 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 155.8 จากปี 2560 เนื่องจากบริษัทเอทานอล ของกลุม่ KTIS ใช้นำ�้ ตาลทรายเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตเอทานอล ส่งผลให้ปริมาณการจ�ำหน่ายกากน�ำ้ ตาลของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้

ราคาขายเฉลีย่ ของกากน�ำ้ ตาลปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 3,487.9 บาทต่อตัน ลดลงร้อยละ 26.0 จากปี 2560 เนือ่ งจากปริมาณกากน�ำ้ ตาล

ในตลาดมีจำ� นวนมาก ส่งผลให้มกี ารแข่งขันด้านราคาสูง

ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง รายได้จากธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องของบริษัทฯ ปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 4,248.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 4,020.0 ล้านบาท ซึง่ เป็นผลมาจาก 1. รายได้จากการขายไฟฟ้าในปี 2561 (9 เดือน) และปี 2560 (12 เดือน) เท่ากับ 1,131.2 ล้านบาท และ 583.7 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 93.8 เนือ่ งจากปริมาณการขายไฟฟ้าจากทัง้ 3 โรงไฟฟ้าของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ ในขณะเดียวกัน ราคาขายไฟฟ้าเฉลีย่ ต่อหน่วยในปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 3.05 บาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.3 เมือ่ เทียบกับราคาขายไฟฟ้าเฉลีย่ ต่อหน่วยปี 2560 (12 เดือน) ที่ 2.96 บาท 2. รายได้จากการขายเยือ่ กระดาษจากชานอ้อยปี 2561 (9 เดือน) ที่ 1,216.6 ล้านบาท น้อยลงร้อยละ 3.5 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 1,260.8 ล้านบาท ซึง่ เป็นผลจากปัจจัยดังต่อไปนี้ ปริมาณการขายเยือ่ กระดาษจากชานอ้อยในปี 2561 (9 เดือน) และปี 2560 (12 เดือน) เท่ากับ 53,006.6 ตัน และ 63,497.2 ตัน ตามล�ำดับ

หรือน้อยลงร้อยละ 16.5 จากปริมาณการขายในประเทศและต่างประเทศน้อยลง ราคาขายเฉลี่ยเยื่อกระดาษจากชานอ้อยในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็น 22,623.2 บาทต่อตันในปี 2561 (9 เดือน) จากราคาขายเฉลี่ย 19,720.1 บาทต่อตัน ในปี 2560 (12 เดือน) ในขณะที่ ราคาขายเฉลี่ยเยื่อกระดาษจากชานอ้อยต่างประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็น 23,023.7 บาทต่อตัน ในปี 2561 (9 เดือน) จากราคาขายเฉลีย่ ในปี 2560 (12 เดือน) ที่ 19,890.7 บาทต่อตัน เป็นผลมาจากแนวโน้ม การใส่ใจเรือ่ งการใช้วสั ดุธรรมชาติทยี่ อ่ ยสลายง่ายและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมท�ำให้ความต้องการเยือ่ กระดาษจากชานอ้อยสูงขึน้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

157


กราฟต่อไปนีแ้ สดงการเปลีย่ นแปลงของราคาเยือ่ กระดาษจากชานอ้อยย้อนหลัง 3 ปี

แหล่งทีม่ า : ข้อมูลจาก RISI+บริษทั ฯ

3. รายได้จากการขายเอทานอลในปี 2561 (9 เดือน) และปี 2560 (12 เดือน) เท่ากับ 1,313.4 ล้านบาท และ 1,654.2 ล้านบาท ตามล�ำดับ น้อยลง ร้อยละ 20.6 ซึง่ เป็นผลจากปัจจัยดังต่อไปนี้ ปริมาณการขายเอทานอลในปี 2561 (9 เดือน) และปี 2560 (12 เดือน) เท่ากับ 56.3 ล้านลิตร และ 65.6 ล้านลิตร ตามล�ำดับ น้อยลงร้อยละ

14.2 เป็นผลมาจากการบริโภคเอทานอลภายในประเทศค่อนข้างทรงตัว ในขณะทีม่ ปี ริมาณเอทานอลจากโรงงานเอทานอลทีผ่ ลิตจากทัง้ กากน�ำ้ ตาลและมันส�ำปะหลังในตลาดเพิม่ ขึน้ ราคาขายเอทานอลเฉลีย่ ในประเทศปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 23.34 บาทต่อลิตร ลดลงร้อยละ 7.5 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 25.22 บาท

ต่อลิตร ซึง่ เป็นผลมาจากการแข่งขันด้านราคาเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิงในประเทศ ตลอดจนราคาน�ำ้ มันในตลาดโลกทีล่ ดลง

กราฟต่อไปนีแ้ สดงการปริมาณการบริโภคเอทานอลย้อนหลัง 3 ปี

แหล่งทีม่ า : ข้อมูลจากกระทรวงพลังงาน

158


4. รายได้จากการขายและบริการอื่นๆ ปี 2561 (9 เดือน) และปี 2560 (12 เดือน) เท่ากับ 587.5 ล้านบาท และ 521.4 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.7 ซึง่ เป็นผลมาจากการให้บริการจักรกลทางการเกษตร การขายปุย๋ วัสดุปรับปรุงดิน และยาปราบศัตรูพชื และอืน่ ๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้

รายได้ค่าผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย รายได้ค่าผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายในปี 2561 จ�ำนวน 472.2 ล้านบาท เป็นเงินชดเชยที่บริษัทจะได้รับจากกองทุนอ้อยและ น�้ำตาลทราย เนื่องจากในฤดูการผลิต 2560/2561 ราคาอ้อยขั้นสุดท้ายและผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายขั้นสุดท้ายจะต�่ำกว่าขั้นต้น ตามพระราชบัญญัติอ้อยและน�้ำตาลทราย พ.ศ.2527 มาตรา 56 ก�ำหนดให้กองทุนอ้อยและน�้ำตาลทรายจ่ายชดเชยส่วนของค่าอ้อยและเงินชดเชย ค่าผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายให้กบั บริษทั ฯ

รายได้อื่น บริษทั ฯ มีดอกเบีย้ รับในปี 2561 (9 เดือน) และปี 2560 (12 เดือน) จ�ำนวน 30.7 ล้านบาท และ 35.7 ล้านบาท ตามล�ำดับ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นในปี 2561 (9 เดือน) อยูท่ ี่ 50.3 ล้านบาท ในขณะทีใ่ นปี 2560 (12 เดือน) มีกำ� ไรจากอัตราแลกเปลีย่ นอยูท่ ี่ 32.9 ล้านบาท ก�ำไรจากสัญญาการซือ้ ขายน�ำ้ ตาลล่วงหน้าในปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 92.5 ล้านบาท น้อยลงร้อยละ 71.8 จากปี 2560 (12 เดือน) เนือ่ งจากราคา น�ำ้ ตาลในตลาดโลกในปี 2561 ปรับตัวลดลง รายได้อนื่ ๆ ในปี 2561 (9 เดือน) อยูท่ ี่ 115.8 ล้านบาท น้อยลงร้อยละ 57.4 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 271.8 ล้านบาท เนือ่ งจากปีนี้ไม่มรี ายได้จาก การยกเลิกสัญญาขายน�ำ้ ตาลต่างประเทศ

ต้นทุนขายและบริการ และก�ำไรขั้นต้น ต้นทุนขายและบริการปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 14,423.1 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยร้อยละ 1.1. จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 14,271.0 ล้านบาท เนือ่ งจากปริมาณการขายเพิม่ ขึน้

ต้นทุนขายและบริการ และอัตราก�ำไรขัน้ ต้นในปี 2561 เทียบกับปี 2560 แสดงในตารางข้างล่าง รายได้

ปี 2560 (12 เดือน) (ล้านบาท)

ปี 2561 (9 เดือน) (ล้านบาท)

เปลีย่ นแปลง

เปลีย่ นแปลง

(ล้านบาท)

(ร้อยละ)

รายได้จากการขายและบริการ

17,524.6

17,305.7

219.0

(1.2%)

ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย

13,504.6

13,056.9

(447.8)

(3.3%)

4,020.0

4,248.8

228.8

5.7%

ต้นทุนขายและบริการ

14,271.0

14,423.1

152.1

1.1%

ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย

11,320.3

11,857.2

536.9

4.7%

ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง

2,950.6

2,565.9

(384.7)

(13.0%)

ก�ำไรขัน้ ต้น

3,253.7

3,354.8

101.1

3.1%

ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย

2,184.3

1,671.8

(512.5)

(23.5%)

ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง

1,069.4

1,682.9

613.5

57.4%

อัตราก�ำไรขัน้ ต้น

18.6%

18.9%

ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

0.3%

รายงานประจ�ำปี 2561

159


รายได้

ปี 2560 (12 เดือน) (ล้านบาท)

ปี 2561 (9 เดือน) (ล้านบาท)

เปลีย่ นแปลง

เปลีย่ นแปลง

(ล้านบาท)

(ร้อยละ)

ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย

16.2%

12.4%

(3.8%)

ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง

26.6%

39.6%

13.0%

แหล่งทีม่ า : ข้อมูลบริษทั

ก�ำไรขัน้ ต้นรวมปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 3,354.8 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากก�ำไรขัน้ ต้นรวมปี 2560 (12 เดือน) ที่ 3,253.7 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย ร้อยละ 0.3 เนือ่ งจากก�ำไรขัน้ ต้นจากธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งสูงขึน้ แม้วา่ ก�ำไรขัน้ ต้นจากธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายลดลง ก�ำไรขัน้ ต้นจากธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งปรับตัวสูงขึน้ จากสาเหตุหลัก คือ ปริมาณขายไฟฟ้ารวมในปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 370,290,600 หน่วย เพิม ่ ขึน้ ร้อยละ 87.7 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 197,293,200 หน่วย

และราคาขายไฟเฉลีย่ ก็เพิม่ ขึน้ เป็น 3.05 บาทต่อหน่วย จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 2.96 บาทต่อหน่วย ราคาขายเยื่อกระดาษจากชานอ้อยเฉลี่ยในปี

2561 (9 เดือน) เท่ากับ 22,952.4 บาทต่อตัน เพิ่มร้อยละ 15.6 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 19,855.4 บาทต่อตัน แม้วา่ ปริมาณขายเยือ่ กระดาษจากชานอ้อยรวมในปี 2561 (9 เดือน) น้อยลงร้อยละ 16.5 จาก 63,497.2 ตันในปี 2560 (12 เดือน) เหลือ 53,006.6 ตันในปี 2561

ก�ำไรขัน้ ต้นจากธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายลดลงมีสาเหตุหลักมาจาก ปริมาณการขายน�้ำตาลทรายในประเทศ

(ไม่รวมการขายน�้ำตาลทรายดิบขายในประเทศ) ในปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 122,058.8 ตัน น้อยลงร้อยละ 0.3 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 185,317.6 ตัน

ราคาขายน�้ำตาลทั้งในประเทศและในต่างประเทศเฉลี่ยปี

2561 (9 เดือน) ลดลง โดยราคาขายน�้ำตาลทรายในประเทศ (ไม่รวมการขาย น�ำ้ ตาลทรายดิบขายในประเทศ) เฉลีย่ ในปี 2561 (9 เดือน) อยูท่ ี่ 17,625.1 บาทต่อตัน ลดลงร้อยละ 10.3 จากปี 2560 ที่ 19,640.3 บาทต่อตัน และราคาขายน�ำ้ ตาลทรายในต่างประเทศเฉลีย่ ในปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 10,604.1 บาทต่อตัน ลดลงร้อยละ 30.9 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 15,355.9 บาทต่อตัน

ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหาร ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหารปี 2561 (9 เดือน) จ�ำนวน 2,538.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 13.7 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 2,942.0 ล้านบาท จากสาเหตุหลักมาจากเงินน�ำส่งส�ำนักงานกองทุนอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายทีล่ ดลง

ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ค่าใช้จ่ายทางการเงินในปี 2561 (9 เดือน) เท่ากับ 262.4 ล้านบาท น้อยลง 70.5 ล้านบาท หรือน้อยลงร้อยละ 21.2 จากปี 2560 (12 เดือน) ที่ 332.9 ล้านบาท จากการจัดการทางการเงินทีม่ ปี ระสิทธิภาพ

ผลประโยชน์ (ค่าใช้จา่ ย) ภาษีเงินได้ ผลประโยชน์ (ค่าใช้จา่ ย) ภาษีเงินได้ ในปี 2561 (9 เดือน) อยูท่ ี่ 213.7 ล้านบาท ในขณะทีใ่ นปี 2560 (12 เดือน) อยูท่ ี่ 1.7 ล้านบาท เนือ่ งจากค่าใช้จา่ ย ภาษีเงินได้เพิม่ ขึน้ ในขณะทีผ่ ลประโยชน์จากภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง

กาํ ไรสุทธิ และอัตราก�ำไรสุทธิ ปี 2561 (9 เดือน) บริษทั มีกำ� ไรสุทธิ 629.3 ล้านบาท เทียบกับปี 2560 (12 เดือน) ทีม่ กี ำ� ไรสุทธิ 645.5 ล้านบาท โดยอัตราก�ำไรสุทธิในปี 2561 (9 เดือน) และปี 2560 (12 เดือน) เท่ากับร้อยละ 3.54 และ 3.68 ตามล�ำดับ

160


การวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 สินทรัพย์รวมของบริษทั เท่ากับ 18,358.4 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.0 จากปี 2560 ที่ 17,816.1 ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 จ�ำนวน 6,968.4 ล้านบาท เพิม ่ ขึน้ 767.5 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.4 จากปี 2560

ที่ 6,200.9 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก

ลูกหนีส้ ำ� นักงานกองทุนอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายทีจ่ ะได้รบั ช�ำระภายในหนึง่ ปี จ�ำนวน 1,169.0 ล้านบาท

ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ เพิม่ ขึน้ 417.7 ล้านบาท

สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 จ�ำนวน 11,390.0 ล้านบาท ลดลง 225.2 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.9 จากปี 2560

ที่ 11,615.3 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์สทุ ธิจากค่าเสือ่ มราคาของอาคาร เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ ลดลง 572.3 ล้านบาท (รายละเอียดตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 16)

หนีส้ นิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 หนีส้ นิ รวมของบริษทั เท่ากับ 10,164.4 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.7 จากหนีส้ นิ รวมปี 2560 ที่ 9,704.0 ล้านบาท หนี้สินหมุนเวียน

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 เท่ากับ 6,313.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 729.9 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.1 จากปี 2560 ที่ 5,583.9 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ 1,194.9 ล้านบาท

ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินทีถ่ งึ ครบก�ำหนดช�ำระในหนึง่ ปีเพิม่ ขึน้ 350.2 ล้านบาท

เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากส�ำนักงานกองทุนอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายเพิม่ ขึน้ 268.5 ล้านบาท

เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ ลดลง 1,062.5 ล้านบาท

หนี้สินไม่หมุนเวียน

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 เท่ากับ 3,850.6 ล้านบาท ลดลง 269.5 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 6.5 จากปี 2560 ที่ 4,120.1 ล้านบาท จากการทยอยช�ำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวให้กบั สถาบันการเงิน และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากส�ำนักงานกองทุนอ้อยและน�ำ้ ตาล ทรายทีล่ ดลง

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทเท่ากับ 8,194.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 จากปี 2560 ที่ 8,112.1 ล้านบาท จากผลประกอบการทีม่ กี ำ� ไรในปี 2561 (9 เดือน)

สภาพคล่องและความเพียงพอของเงินทุน บริษัทได้ยกระดับความสัมพันธ์และความร่วมมือกับสถาบันการเงินต่างๆ โดยเน้นความเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ (Strategic Partner) เป็นคู่คิด และเติบโตไปด้วยกัน ซึ่งในช่วงที่ผ่านมา บริษัทได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินร่วมกับสถาบันการเงินต่างๆ เช่น บริการ Cash Management ที่ครบวงจร บริการขายลดเช็คอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ท�ำให้สถาบันการเงินมีความเชือ่ มั่นและให้การสนับสนุนวงเงินทุนหมุนเวียน ทีเ่ พียงพอ รวมถึงความพร้อมทีจ่ ะมีสว่ นร่วมสนับสนุนโครงการลงทุนต่างๆ ในอนาคตของบริษทั

กระแสเงินสด ในปี 2561 (9 เดือน) บริษัทมีก�ำไรสุทธิ 629.3 ล้านบาท และมีค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 964.8 ล้านบาท และปรับปรุงกับรายการอื่น ทีม่ ไิ ด้เป็นเงินสดแล้ว ท�ำให้บริษทั มีกำ� ไรจากกิจกรรมด�ำเนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ด�ำเนินงาน 1,923.6 ล้านบาท และเมือ่ ค�ำนวณจาก ส่วนเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงานแล้ว มีเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมด�ำเนินงานหลังจ่ายดอกเบี้ยและภาษีเงินได้จ�ำนวน 548.6 ล้านบาท บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

161


โดยมีเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน 346.5 ล้านบาท และมีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน 866.4 ล้านบาท ส่งผลให้รายการเงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิเท่ากับ 28.8 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยกมาต้นงวด 329.7 ล้านบาท ท�ำให้เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดปลายปีคงเหลือ 300.9 ล้านบาท

สภาพคล่องทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่องตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 เท่ากับ 1.10 เท่า ใกล้เคียงกับปีก่อนซึ่งอยู่ที่ 1.11 เท่า และอัตราส่วน สภาพคล่องหมุนเร็วเท่ากับ 0.21 เท่า เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นซึง่ อยูท่ ี่ 0.17 เท่า การทีบ่ ริษทั ได้พฒ ั นาระบบบริหารจัดการเงินสดร่วมกับสถาบันการเงิน โดยใช้บริการทัง้ กลุม่ บริษทั ท�ำให้บริษทั สามารถน�ำกระแสเงินสดส่วนเกิน ในแต่ละวันช�ำระคืนหนี้วงเงินทุนหมุนเวียนได้ และกรณีที่บริษัทมีความจ�ำเป็นต้องใช้เงินก็สามารถเบิกใช้จากวงเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละวันได้เช่นกัน การด�ำเนินการดังกล่าวท�ำให้บริษทั สามารถประหยัดต้นทุนทางการเงินลงได้ รวมถึงทีบ่ ริษทั มีตลาดการเงินเป็นทางเลือกในการสนับสนุนวงเงินทุนหมุนเวียน ประเภทตั๋วแลกเงินระยะสั้น ส่งผลให้บริษัทมีสภาพคล่องทางการเงินที่ดี และมีต้นทุนทางการเงินที่เหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจ ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว

แหล่งทีม่ าและใช้ ไปของเงินทุน ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน บริษัทมีนโยบายในการบริหารโครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทและสร้างเสริมมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึงการป้องกันความเสีย่ งทางการเงิน หลังจากบริษทั ด�ำเนินการปรับโครงสร้างทางการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อยตัง้ แต่ปี 2558 ด้วยการกูย้ มื เงินระยะยาวจากสถาบันการเงิน ปัจจุบนั บริษทั คงเหลือเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินสุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี 2,097.5 ล้านบาท อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 เท่ากับ 1.24 เท่า เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น ซึง่ อยูท่ ี่ 1.20 เท่า โดยอัตราส่วนดังกล่าว ไม่กอ่ ให้เกิดความเสีย่ งอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อบริษทั แต่ประการใด ทัง้ นีบ้ ริษทั ยังมีความสามารถในการก่อหนี้ เพือ่ ใช้ ในการด�ำเนินงานของบริษทั และบริษทั ย่อย รวมถึงเพิม่ โอกาสการลงทุนในโครงการอนาคต

รายจ่ายลงทุนและแหล่งเงินทุน ในปี 2561 (9 เดือน) บริษทั มีเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน 346.5 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนในการปรับปรุงเครือ่ งจักรเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ในการผลิต ซึง่ ใช้เงินทุนหมุนเวียนของบริษทั ตามปกติ

ปัจจัยหรือเหตุการณ์ทจี่ ะมีผลต่อฐานะการเงินหรือการด�ำเนินงานในอนาคต ปัจจัยความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกยังคงอยู่ในสภาวะที่เสี่ยงไม่มีเสถียรภาพ โดยเฉพาะสถานการณ์ทางการเมืองของสหรัฐอเมริกา สงครามทางการค้าระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกากับสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งยังไม่มีข้อยุติ ขณะเดียวกันสถานการณ์การออกจากสหภาพยุโรปของ สหราชอาณาจักร (Brexit) นโยบายการปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ ของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา (FOMC) ซึง่ ส่งผลกระทบต่ออัตราดอกเบีย้ ของประเทศไทย และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างดอลลาร์สหรัฐกับเงินบาท รวมถึงความผันผวนของราคาน�้ำมันในตลาดโลกอันจะส่งผลถึงต้นทุนการผลิตและราคา เชือ้ เพลิงในประเทศไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังคงมีทนุ ส�ำรองระหว่างประเทศทีเ่ ข้มแข็ง มีดลุ การค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ ง และมีนโยบายการลงทุนภาครัฐ ขนาดใหญ่ จะเป็นผลให้การด�ำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในปี 2562 น่าจะเป็นอีกปีทดี่ สี ำ� หรับประเทศไทย แต่กต็ อ้ งระมัดระวังปัจจัยภายนอก ประเทศดังกล่าวข้างต้น จากการที่ภาครัฐได้มีนโยบายให้ท�ำการยกเลิกระบบโควตาจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย และยกเลิกราคาควบคุมการจ�ำหน่ายน�้ำตาลภายในประเทศ ประกอบกับความต้องการของลูกค้าน�้ำตาลภายในประเทศโดยเฉพาะอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ใช้น�้ำตาลเป็นวัตถุดิบ และประชาชนผู้บริโภคน�้ำตาลทางตรง การจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายภายในประเทศจึงมีความเสี่ยงเรื่องการแข่งขันที่สูงขึ้น เพราะผู้ผลิตแต่ละรายสามารถที่จะจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายภายในประเทศ ได้อย่างเต็มที่ บริษทั ฯ ได้คำ� นึงถึงความเสีย่ งในด้านดังกล่าว และได้เตรียมแผนงานการตลาดรองรับโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้ลงทุนปรับปรุง ประสิทธิภาพเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ตลอดจนการน�ำเอาเทคโนโลยีทที่ นั สมัยเข้ามาผลิตสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพตามความคาดหวัง และความต้องการของลูกค้าในทุกรูปแบบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ด�ำเนินการทบทวนนโยบาย ติดตามประเมินความเสี่ยงอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า การด�ำเนินการ ตามมาตรการและแผนบริหารความเสีย่ งในแต่ละด้าน สามารถควบคุมความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมและยอมรับได้ตามทีร่ ะบุไว้ ในหัวข้อปัจจัยความเสีย่ ง

162


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด มหาชน ได้จัดให้มีการท�ำงบการเงิน เพื่อแสดงฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงานบริษัทฯ ประจ�ำปี 2561 ภายใต้พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จ�ำกัด พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 และพระราชบัญญัติหลักทรัพท์และตลาดหลักทรัพท์ พ.ศ.2535 รวมถึง ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนเรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะกรรมการบริษัทจดทะเบียนในการเป็น ผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฎในรายงานประจ�ำปี 2561 ซึ่งงบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป โดยใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติ โดยสม�่ำเสมอ ตลอดจนใช้ดุลยพินิจอย่างรอบคอบและสมเหตุสมผลในการจัดท�ำงบการเงินบริษัทฯ รวมทั้งมีการเปิดเผย ข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไปอย่างโปร่งใส นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีและด�ำรงรักษาไว้ซึ่งระบบบริหารความเสี่ยงและระบบควบคุมภายใน ที่มีประสิทธิผลเพื่อให้มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีความถูกต้องครบถ้วนและเพียงพอที่จะ ด�ำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินของบริษัท และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการด�ำเนินที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระท�ำหน้าที่ สอบทานเกี่ยวกับคุณภาพทางการเงินและความเพียงพอของระบบควบคุมภายในโดยความเห็นของกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ ในรายงานประจ�ำปีฉบับนี้แล้ว คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ โดนรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจและสามารถ สร้างความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลได้ว่างบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2561 มีความเชื่อถือได้ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ถูกต้องตามกฏหมาย

นายปรีชา อรรถวิภชั น์ ประธานกรรมการ

นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ KTIS

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

163


รายงานผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต

รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต เสนอต่อผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงิ น รวมของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย (กลุ่ มบริ ษทั ) ซึ่ งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงิ น รวม ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวม สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน

ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ผลการดาเนินงานและ กระแสเงินสดสาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 ของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และเฉพาะของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรค ความรั บผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงิ นในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระ จากกลุ่มบริ ษทั ตามข้อกาหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีที่กาหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่ วน ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณอื่น ๆ ตามที่ระบุ ในข้อกาหนดนั้นด้วย ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

164


ข้ อมูลและเหตุการณ์ ทเี่ น้ น ก. ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1.2 เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลาบัญชีจาก สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม เป็ นสิ้ นสุ ดวันที่ 30 กันยายน ส่ งผลให้งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมและงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ รวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 ครอบคลุมระยะเวลาเก้าเดือนเท่านั้น ขณะที่ขอ้ มูลแสดงเปรี ยบเทียบสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เป็ นข้อมูลสาหรับระยะเวลาสิ บสอง เดือน ซึ่งทาให้ผลการดาเนินงานในรอบระยะเวลาดังกล่าวที่นาเสนอไม่สามารถเปรี ยบเทียบกันได้ ข. ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13 ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั มียอดลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายจานวนเงิน 1,641 ล้านบาท (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 1,294 ล้านบาท) ซึ่งเป็ นประมาณการเงินชดเชยที่กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะได้รับสาหรับฤดูการผลิตปี 2560/2561 อย่างไรก็ตาม ราคาอ้อยและผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทรายขั้นสุ ดท้ายที่จะประกาศออกมาจริ งภายในต้นปี 2562 อาจแตกต่างไปจากจานวนที่ประมาณไว้ ทั้งนี้ ข้าพเจ้ามิได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่อกรณี ขา้ งต้นแต่อย่างใด เรื่องสาคัญในการตรวจสอบ เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบคือเรื่ องต่าง ๆ ที่มีนยั สาคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้า ในการตรวจสอบงบการเงินสาหรับงวดปัจจุบนั ข้าพเจ้าได้นาเรื่ องเหล่านี้มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบ งบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสาหรับ เรื่ องเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้วรรคความรั บผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบ งบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่ องเหล่านี้ดว้ ย การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้าได้ รวมวิธีการตรวจสอบที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองต่อการประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อ ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมวิธีการตรวจสอบ สาหรับเรื่ องเหล่านี้ดว้ ย ได้ใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม

2 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

165


เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธีการตรวจสอบสาหรับแต่ละเรื่ องมีดงั ต่อไปนี้ มูลค่ าสุ ทธิทคี่ าดว่ าจะได้ รับของสิ นค้ าคงเหลือของส่ วนงานธุรกิจผลิตและจาหน่ ายนา้ ตาลทราย กลุ่มบริ ษทั มีสินค้าคงเหลือของส่ วนงานธุรกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทรายเป็ นจานวนที่มีนยั สาคัญ โดยมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 เป็ นจานวนเงินประมาณ 2,972 ล้านบาท เนื่องจากน้ าตาลทราย เป็ นสิ นค้าโภคภัณฑ์ และราคาของสิ นค้าถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดโลก ทาให้ราคาของ น้ าตาลทรายเพื่อการส่ งออกมีการปรับตัวขึ้นลงตามราคาตลาด ดังนั้น การประมาณการมูลค่าสุ ทธิ ที่คาดว่า จะได้รับของสิ นค้าคงเหลือต้องอาศัยดุลยพินิจของฝ่ ายบริ หารค่อนข้างมากในการวิเคราะห์ในรายละเอียดเกี่ยวกับ การแข่งขันทางการตลาด สภาพเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม และการกาหนดเกณฑ์อา้ งอิงเพื่อใช้ประมาณการ ราคาจาหน่ายน้ าตาลเพื่อการส่ งออก ซึ่ งอาจทาให้เกิดความเสี่ ยงเกี่ยวกับมูลค่าของค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า สิ นค้าคงเหลือ ข้าพเจ้าได้ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินค่าเผื่อการลดลง ของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือของส่ วนงานธุรกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ประเมินวิธีการ และข้อสมมติที่ฝ่ายบริ หารใช้ในการพิจารณาค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือดังกล่าวดังนี้   

ทาความเข้าใจและสอบทานความเหมาะสมของเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า สิ นค้าคงเหลือ รวมถึงสอบทานความสม่าเสมอของการใช้เกณฑ์ดงั กล่าว วิเคราะห์เปรี ยบเทียบในรายละเอียดสาหรับสัญญาขายภายหลังวันที่ในงบการเงินกับราคาทุนของ สิ นค้าคงเหลือแต่ละกลุ่มสิ นค้า สอบทานความเหมาะสมของการประมาณการราคาขายในอนาคตของแต่ละกลุ่มสิ นค้าที่จดั ทาโดย ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั กับข้อมูลราคาน้ าตาลในตลาดโลก

การรับรู้รายได้ จากการขายน้าตาลต่ างประเทศ เนื่องจากรายได้จากการขายน้ าตาลเป็ นรายการที่มีสาระสาคัญที่สุดในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ และเป็ นตัวชี้วดั หลักในแง่ผลการดาเนินงานของธุ รกิจซึ่งผูใ้ ช้งบการเงินให้ความสนใจ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากการขายน้ าตาลต่างประเทศเป็ นจานวนเงิน ประมาณ 9,176 ล้านบาท (คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 51 ของรายได้รวม) ประกอบกับบริ ษทั ฯมีสัญญาขายน้ าตาล ต่างประเทศล่วงหน้าเป็ นจานวนมาก ดังนั้น กลุ่มบริ ษทั จึงอาจมีความเสี่ ยงในการรับรู ้รายได้จากการขายน้ าตาล ต่างประเทศด้วยมูลค่าที่ไม่เหมาะสมหรื อรับรู้ก่อนถึงเวลาที่ควรหรื อไม่

3

166


ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบให้มนั่ ใจว่ากลุ่มบริ ษทั รับรู้รายได้จากการขายน้ าตาลต่างประเทศ เมื่อมีการโอนความเสี่ ยง และผลตอบแทนที่มีนยั สาคัญของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ้ื อ โดยการ 

ประเมินความเหมาะสมและทดสอบความมีประสิ ทธิภาพของระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกับวงจรรายได้จากการขายน้ าตาลต่างประเทศ

สุ่ มตัวอย่างสัญญาขายเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสมของการรับรู ้รายได้วา่ เป็ นไปตามเงื่อนไข ที่ระบุไว้ในสัญญาขายของกลุ่มบริ ษทั และสอดคล้องกับนโยบายการรับรู้รายได้ของกลุ่มบริ ษทั

สุ่ มตรวจสอบเอกสารประกอบรายการขายที่เกิดขึ้นในระหว่างปี และช่วงใกล้สิ้นรอบระยะเวลาบัญชี

สอบทานใบลดหนี้ที่กลุ่มบริ ษทั ออกภายหลังวันสิ้ นรอบระยะเวลาบัญชี

วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูลบัญชีรายได้จากการขายแบบแยกย่อย (Disaggregated data) เพื่อตรวจสอบ ความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นของรายการขาย

ข้ อมูลอืน่ ผูบ้ ริ หารเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่รวมอยูใ่ นรายงานประจาปี ของกลุ่มบริ ษทั (แต่ไม่รวมถึง งบการเงินและรายงานของผูส้ อบบัญชีที่แสดงอยูใ่ นรายงานนั้น) ซึ่ งคาดว่าจะถูกจัดเตรี ยมให้กบั ข้าพเจ้าภายหลัง วันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน้ ี ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ขอ้ สรุ ปในลักษณะการให้ ความเชื่อมัน่ ในรู ปแบบใด ๆ ต่อข้อมูลอื่นนั้น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่น นั้นมีความขัดแย้งที่มีสาระสาคัญกับงบการเงินหรื อกับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้าหรื อไม่ หรื อปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจาปี ของกลุ่มบริ ษทั ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุ ปได้วา่ มีการแสดงข้อมูล ที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ ข้าพเจ้าจะสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวให้ผมู้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลทราบเพื่อให้มี การดาเนินการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป

4 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

167


ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้ าทีใ่ นการกากับดูแลต่ องบการเงิน ผูบ้ ริ หารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทาและนาเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผบู้ ริ หารพิจารณาว่าจาเป็ นเพื่อให้สามารถ จัดทางบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อ ข้อผิดพลาด ในการจัดทางบการเงิน ผูบ้ ริ หารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มบริ ษทั ในการดาเนินงานต่อเนื่อง การเปิ ดเผยเรื่ องที่เกี่ยวกับการดาเนินงานต่อเนื่องในกรณี ที่มีเรื่ องดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับ กิจการที่ดาเนินงานต่อเนื่ อง เว้นแต่ผบู้ ริ หารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริ ษทั หรื อหยุดดาเนินงานหรื อไม่สามารถ ดาเนินงานต่อเนื่องอีกต่อไปได้ ผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่ องดูแลกระบวนการในการจัดทารายงานทางการเงินของ กลุ่มบริ ษทั ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวม ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อ ข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผูส้ อบบัญชีซ่ ึงรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยูด่ ว้ ย ความเชื่อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมัน่ ในระดับสู งแต่ไม่ได้เป็ นการรับประกันว่าการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี จะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญที่มีอยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอาจเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสาคัญเมื่อคาดการณ์ อย่างสมเหตุสมผลได้วา่ รายการที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งแต่ละรายการหรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสิ นใจ ทางเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัย เยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานดังต่อไปนี้ดว้ ย 

ระบุและประเมินความเสี่ ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนอง ต่อความเสี่ ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญซึ่ งเป็ นผลมาจาก การทุจริ ตจะสู งกว่าความเสี่ ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่ องจากการทุจริ ตอาจเกี่ยวกับการสมรู ้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริ ง หรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน 5

168


ทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิ ทธิ ผลของ การควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั

ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผบู้ ริ หารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ ทางบัญชีและการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ผบู้ ริ หารจัดทา

สรุ ปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับกิจการที่ดาเนิ นงานต่อเนื่องของผูบ้ ริ หาร และสรุ ปจากหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ที่อาจเป็ นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนยั สาคัญต่อความสามารถของกลุ่มบริ ษทั ในการดาเนินงานต่อเนื่องหรื อไม่ หากข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุ ปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญ ข้าพเจ้าจะต้องให้ขอ้ สังเกตไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี ของข้าพเจ้าถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ในงบการเงิน หรื อหากเห็นว่าการเปิ ดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของข้าพเจ้าขึ้นอยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้กลุ่มบริ ษทั ต้องหยุดการดาเนินงาน ต่อเนื่องได้

ประเมินการนาเสนอ โครงสร้างและเนื้ อหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่างบการเงินแสดงรายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรหรื อไม่

รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรื อ ของกิจกรรมทางธุ รกิจภายในกลุ่มบริ ษทั เพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการ กาหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั ิงานตรวจสอบกลุ่มบริ ษทั ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบแต่เพียง ผูเ้ ดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลในเรื่ องต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบ ตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนยั สาคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่ องที่มีนยั สาคัญในระบบการ ควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า

6 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

169


ข้าพเจ้าได้ให้คารับรองแก่ผมู ้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง กับความเป็ นอิสระและได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ท้ งั หมดตลอดจนเรื่ องอื่น ข้าพเจ้าได้ให้คารับรองแก่ผมู ้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการ กับความเป็ นอิสระและได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ท้งั หมดตลอดจนเรื่ องอื่น ที่ขา้ พเจ้าใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ ซึ่ งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการ ่ องทั ่สื่อสารกั น้าาทีขาดความเป็ ่ในการกากับนดูอิแสลระข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่ องต่าง ๆ ที่มีนยั สาคัญที่สุดใน ้ งหลายที ทีจากเรื ่ขา้ พเจ้ าใช้ เพื่อป้ องกั นไม่ใบห้ผูขม้ า้ ีหพเจ้ การตรวจสอบงบการเงินในงวดปั จจุบนั และกาหนดเป็ นเรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิ บายเรื่ องเหล่านี้ จากเรื ่ องทั้งหลายที่สส้ ื่ อบบั อสารกั น้ากทีฎหมายหรื ่ในการกากัอข้บอดูบัแลงคัข้บาห้พเจ้ าได้ใพห้ิจเารณาเรื ๆ ทีาวต่ ่มีนอยั สาธารณะ สาคัญที่สุดใน ไว้ ในรายงานของผู ญชีบผูเว้ม้ นีหแต่ ามไม่ ปิ ดเผยเรื่ อ่ องต่งดัางงกล่ การตรวจสอบงบการเงิ นในงวดปั าคั่ อญสารเรื ในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบาายเรื หรื อในสถานการณ์ที่ยากที ่จะเกิดขึจ้จุนบข้นั าและก พเจ้าพิาหนดเป็ จารณาว่นาเรืไม่​่ อคงสวรสื ่ องดังกล่าวในรายงานของข้ พเจ้่ อางเหล่านี้ ไว้ ในรายงานของผู อบบั ญชี เว้นแต่กฎหมายหรื อบังคับสห้มผลว่ ามไม่าใจะมี ห้เปิผดเผยเรื ่ องดังกล่าวต่อสาธารณะ เพราะการกระท าดังส้ กล่ าวสามารถคาดการณ์ ได้อย่อาข้งสมเหตุ ลกระทบในทางลบมากกว่ า หรื อ ในสถานการณ์ ท ่ ี ย ากที ่ จ ะเกิ ด ขึ น ข้ า พเจ้ า พิ จ ารณาว่ า ไม่ ค วรสื ่ อ สารเรื ่ อ งดั ง กล่ า วในรายงานของข้ า พเจ้า ้ ผลประโยชน์ที่ผมู้ ีส่วนได้เสี ยสาธารณะจะได้จากการสื่ อสารดังกล่าว เพราะการกระทาดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่า ผลประโยชน์ที่ผมู้ ีส่วนได้เสี ยสาธารณะจะได้จากการสื่ อสารดังกล่าว ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบงานสอบบัญชีและการนาเสนอรายงานฉบับนี้ ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบงานสอบบัญชี และการนาเสนอรายงานฉบับนี้ วิไลลักษณ์ เลาหศรี สกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 6140 วิไลลักษณ์ เลาหศรี สกุล ผูบริส้ ษอบบั อนุอีญวาตาย เลขทะเบี ทั สญานัชีกรับงาน จากัด ยน 6140 กรุ งเทพฯ: 30 พฤศจิกายน 2561 บริ ษทั สานักงาน อีวาย จากัด กรุ งเทพฯ: 30 พฤศจิกายน 2561

7

170

7


บริษษ ทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัอิ่นน แนล ชู การ์ เคอร์ ่น จากัชูดก(มหาชน) และบริ ษทั ย่ อยน บริ ทั เกษตรไทย เตอร์ นชัปน่อเรชัเนล าร์ คอร์ ปอเรชั ่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์น ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐานะทางการเงิ งบแสดงฐานะการเงิน

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ สดและรายการเที สิเงินนทรั พย์ หมุนเวียน ยบเท่าเงินสด ้ การค้าและลูกยหนี เงิลูกนหนี สดและรายการเที บเท่้ อาื่นเงินสด หนี้ ก้ ชารค้ าวไร่าและลูกหนี้อื่น ลูลูกกหนี ให้​้ ชกาวไร่ ยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูเงิกนหนี ค้าคงเหลื อ ้ นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงิสิ นนให้ กยู้ มื ระยะสั สิ นค้ทรัาคงเหลื พย์ชีวอภาพ ทุนพค่ย์าชซ่ีวอภาพ มแซมครั้งใหญ่ต้งั พัก สิต้นทรั ต้ลูนกหนี ทุน้ค่สาานั ซ่อกมแซมครั งานกองทุ นอ้อตยและน ้ งใหญ่ ้งั พัก ้ าตาลทราย ลูกทีหนี นอ้อยและน ้ สานัรับกงานกองทุ ่จะได้ ชาระภายในหนึ ่ งปี ้ าตาลทราย จะได้ สิ นที่ทรั พย์รหับมุชนาระภายในหนึ เวียนอื่น ่ งปี สิรวมสิ นทรันพทรั ย์หมุพนย์เวีหมุยนอื นเวี่นยน รวมสิ สินทรันพทรั ย์ ไพม่ย์หหมุมุนนเวีเวียยนน สิเงินนทรั พย์นไในบริ ม่ หมุนษเวีทั ยย่นอย ลงทุ เงิเงินนลงทุ ษทั ย่อ่นย ลงทุนนในบริ ระยะยาวอื เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ลูกหนี้สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย สุทธิจากส่วนที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี สุทธิจากส่ วนที่จะได้รับชาระภายในหนึ่งปี อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินนทรั ทรัพพย์ย์ไไม่ม่หหมุมุนนเวีเวียยนน รวมสิ รวมสินนทรั ทรัพพย์ย์ รวมสิ

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (หน่วย: บาท) ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 8 8 7, 9 7, 910 10 7 7 11 11 12 12

13

14

13

14

13 13 15 15 16 16 17 17 29 29 7 7

300,866,711 1,014,554,049 300,866,711 574,820,911 1,014,554,049 574,820,911 3,191,031,522 57,854,508 3,191,031,522 558,529,297 57,854,508 558,529,297 1,169,109,721 1,169,109,721 101,620,776 101,620,776 6,968,387,495 6,968,387,495

329,661,083 138,400,647 205,484,585 596,862,533 138,400,647 493,835,397 205,484,585 270,434,692 329,661,083 563,820,462 493,835,397 403,646,395 270,434,692 375,775,067 596,862,533 2,517,519,609 375,775,067 2,521,963,868 563,820,462 - 403,646,395 4,047,464,851 2,100,698,3972,521,963,868 2,551,243,529 2,517,519,609 27,486,939 2,100,698,397 41,434,4832,551,243,529 10,057,169 4,047,464,851 602,888,321 41,434,483 393,071,404 10,057,169 436,189,098 27,486,939 602,888,321 393,071,404 436,189,098 922,084,190 922,084,190 32,685,295 45,945,850 16,146,724 32,685,295 6,200,869,484 45,945,850 7,056,636,372 16,146,724 6,387,294,732 6,200,869,484 7,056,636,372 6,387,294,732

262,450 262,450

9,428,539,547 9,402,623,246 9,428,539,547 9,402,623,246 394,300 50,975 130,085 394,300 50,975 130,085

472,147,801 372,385,940 472,147,801 372,385,940 322,319,260 321,049,658 12,378,479 12,378,480 322,319,260 321,049,658 12,378,479 12,378,480 9,941,639,898 10,513,940,359 3,642,812,972 3,984,458,500 9,941,639,898 10,513,940,359 3,642,812,972 3,984,458,500 271,746,352 284,193,083 400,314 550,369 271,746,352 284,193,083 400,314 550,369 206,912,827 297,789,912 181,995,405 241,396,463 206,912,827 297,789,912 181,995,405 241,396,463 175,000,431 197,888,434 197,888,434 158,147,606 158,147,606 155,709,432 155,709,432 175,000,431 11,390,029,019 11,615,255,746 11,615,255,74613,796,711,238 13,796,711,23813,797,246,575 13,797,246,575 11,390,029,019 18,358,416,514 17,816,125,230 17,816,125,23020,853,347,610 20,853,347,61020,184,541,307 20,184,541,307 18,358,416,514

หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนเป็เป็นนส่ส่วนหนึ วนหนึ ่ งของงบการเงิ หมายเหตุ ่ งของงบการเงิ นนีน้ นี้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

171


บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์น ปอเรชั งบแสดงฐานะทางการเงิ (ต่​่น อจากั)ด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ)

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่ อย หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 งบแสดงฐานะการเงิน หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น (หน่วย: บาท) หนีส้ ินหมุนเวียน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 18 3,560,510,624 2,365,602,093 3,560,397,804 1,764,602,925 ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 7, 19 1,377,884,767 2,440,389,278 868,107,304 1,773,938,810 หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7 1,546,162,831 1,439,925,619 สินทรัพย์ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย 20 268,487,242 208,408,311 สินทรัพย์หมุนเวียน ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินที่ถสดและรายการเที ยบเท่าเงิ่ งนปี สด 300,866,711 329,661,083 8,679,274 138,400,647 7,819,166 205,484,585 ึงกาหนดชาระภายในหนึ 21 8 8,679,274 7,819,166 หนี้การค้นกูาและลู กหนี้อื่น 7, 9 1,014,554,049 596,862,533 493,835,397 270,434,692 ส่ลูกวนของเงิ ย้ มื ระยะยาวจากสถาบั นการเงิน ลูกทีหนี าวไร่ าระภายในหนึ่งปี 574,820,911 498,354,396 563,820,462 548,573,224 403,646,395 498,354,396 375,775,067 ่ถึงก้ ชาหนดช 22 10 848,573,224 7 2,517,519,609 2,521,963,868 ให้กยู้ มื นระยะสั กี่ยวข้่เกีอ่ยงกั ้ นแก่กิจการทีจ่เการที ส่เงิวนนของเงิ กูย้ มื ระยะยาวจากกิ วข้นองกัน สิ นทีค้่ถึงาคงเหลื อ าระภายในหนึ่งปี 3,191,031,522 4,047,464,851 2,100,698,397 2,551,243,529 กาหนดช 7 11 4,850,000 4,850,000 ทรัพย์ชนีวกูภาพ 12 57,854,508 27,486,939 41,434,483 10,057,169 ส่สิวนนของเงิ ย้ มื ระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้อย

ต้นและน ทุนค่้ าาตาลทรายที ซ่อมแซมครั ต้งั พัาระภายในหนึ ก ่ถึง้ งกใหญ่ าหนดช ่ งปี ภาษี เงิน้ สได้ งจ่าย นอ้อยและน้ าตาลทราย ลูกหนี านัคกา้ งานกองทุ นอื่น หนีที้ ส่จิ นะได้ หมุรนับเวีชยาระภายในหนึ ่ งปี รวมหนี น ่น สิ นทรัพส้ ย์ินหหมุ มุนนเวีเวียยนอื หนี ส้ ิ นนไม่ทรัหพ มุนย์ หเวีมุยนนเวียน รวมสิ หนี สินพตามสั สิน้ ทรั ย์ ไม่ญหญาเช่ มุนเวีายการเงิ น นธิ จากส่ วนทีษ่ถทั ึงกย่อาหนดช เงินสุทลงทุ นในบริ ย าระภายในหนึ่งปี เงิเงินนกูลงทุ ย้ มื ระยะยาวจากสถาบั นระยะยาวอื่น นการเงิน ทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ลูกสุหนี ้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุทธิ จากส่วนที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี สุทธิจากส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ประมาณการหนี้ สินค่ารื้ อถอนระยะยาว สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้ สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นส้ ทรัินไม่ พย์หไมุม่นหเวีมุยนนเวียน รวมหนี รวมสิ นส้ ทรัินพย์ รวมหนี หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนเป็เป็นส่นส่วนหนึ วนหนึ ่ งของงบการเงิ หมายเหตุ ่ งของงบการเงิ นนีน้ นี้

172

23 7 13

558,529,297 121,603,333 602,888,321 61,233,650 393,071,404 59,220,454 436,189,098 94,940,113 63,947,313 61,808,250 85,918,749 1,169,109,721 83,432,256 - 37,108,622 922,084,190 37,868,428 6,313,791,306 101,620,776 5,583,858,772 32,685,295 6,838,671,020 45,945,8505,581,729,798 16,146,724 6,968,387,495

21 14 22

13 15 16 23 17 24 29 7 7 7

782,418,230 -

6,200,869,484

7,056,636,372

6,387,294,732

- 782,418,230 9,428,539,547 791,097,504 9,402,623,246 262,450 394,300 50,975 130,085 2,097,468,418 2,246,914,488 1,947,947,065 2,246,914,488 472,147,801 67,900,000 322,319,260 9,941,639,898 20,951,648 271,746,352 342,862,298 206,912,827 30,163,838 175,000,431 508,867,345 11,390,029,019 3,850,631,777 18,358,416,514 10,164,423,083

791,097,504

72,750,000 321,049,658

372,385,940 12,378,479 12,378,480 10,513,940,359 3,642,812,972 3,984,458,500 108,195,897 53,251,133 284,193,083 400,314 550,369 333,162,288 209,727,291 205,184,766 297,789,912 181,995,405 241,396,463 29,357,457 197,888,434 158,147,606 155,709,432 538,641,531 11,615,255,746 13,796,711,238 13,797,246,575 4,120,119,165 2,940,092,586 3,296,447,891 17,816,125,230 20,853,347,610 20,184,541,307 9,703,977,937 9,778,763,606 8,878,177,689


สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8 300,866,711 329,661,083 138,400,647 205,484,585 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น 7, 9 1,014,554,049 596,862,533 493,835,397 270,434,692 ลูกหนี้ชาวไร่ 10 574,820,911 563,820,462 403,646,395 375,775,067 7 2,517,519,609 2,521,963,868 เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิบรินษค้ทั าคงเหลื อ อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) 11 และบริษทั 3,191,031,522 4,047,464,851 2,100,698,397 2,551,243,529 เกษตรไทย ย่ อย สิงบแสดงฐานะการเงิ นทรัพย์ชีวภาพ น (ต่ อ) 12 57,854,508 27,486,939 41,434,483 10,057,169 ต้นทุนค่าซ่อมแซมครั้งใหญ่ต้งั พัก 558,529,297 602,888,321 393,071,404 (หน่วย:436,189,098 บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ณ1,169,109,721 วันที่ ณ วันที่ ที่ ณ วันที่ ที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี 13 - ณ วัน922,084,190 หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม32,685,295 2560 30 กันยายน45,945,850 2561 31 ธันวาคม 2560 สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น 101,620,776 16,146,724 ส่ วนของผู 6,968,387,495 6,200,869,484 7,056,636,372 6,387,294,732 รวมสิ นทรั้ถพือย์หุห้ นมุนเวียน ทุสิ นนทรั เรื อพนหุย์ ไ้นม่ หมุนเวียน นจดทะเบี ยนษทั ย่อย เงินทุลงทุ นในบริ 14 9,428,539,547 9,402,623,246 หุ น ้ สามั ญ 3,888,000,010 หุ น ้ มู ล ค่ า หุ น ้ ละ 1 บาท 3,888,000,010 3,888,000,010 3,888,000,010 3,888,000,010 เงินลงทุนระยะยาวอื่น 262,450 394,300 50,975 130,085 ทุนออกจาหน่ายและชาระเต็มมูลค่าแล้ว ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย หุ ้นสามัญ 3,860,000,010 หุ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท 3,860,000,010 3,860,000,010 3,860,000,010 3,860,000,010 สุทธิจากส่วนที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี 13 472,147,801 372,385,940 ส่ วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296 5,202,881,296 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน 15 322,319,260 321,049,658 12,378,479 12,378,480 ส่วนต่ากว่าทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน (3,577,165,024) (3,577,165,024) (573,217,706) (573,217,706) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 16 9,941,639,898 10,513,940,359 3,642,812,972 3,984,458,500 ส่ วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ 26 170,540,741 137,174,074 170,540,741 137,174,074 สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน 17 271,746,352 284,193,083 400,314 550,369 กาไรสะสม สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 29 206,912,827 297,789,912 181,995,405 241,396,463 จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย 305,526,427 289,748,979 305,526,427 289,748,979 สิ นยังทรั มุนเวียนอื่น 7 175,000,431 2,199,507,958 197,888,434 2,108,853,236 158,147,6062,389,776,965 155,709,432 ไม่พไย์ด้ไจม่ดั หสรร 2,232,209,981 11,390,029,019 8,112,147,293 11,615,255,74611,074,584,004 13,796,711,23811,306,363,618 13,797,246,575 รวมสิ ทรัพย์ไ้ถม่ือหหุมุ้ นนเวียน 8,193,993,431 รวมส่ วนนของผู 18,358,416,514 17,816,125,230 17,816,125,23020,853,347,610 20,853,347,61020,184,541,307 20,184,541,307 รวมสิ ย์ วนของผู้ถือหุ้น 18,358,416,514 รวมหนีนส้ทรัินพ และส่ หมายเหตุ ระกอบงบการเงินนเป็เป็นส่นส่วนหนึ วนหนึ ่ งของงบการเงิ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ่ งของงบการเงิ นนีน้ นี้

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

งบแสดงฐานะทางการเงิน (ต่อ)

กรรมการ

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

173


บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

งบกำ �ไรขาดทุ น่เบ็ จปอเรชั่น จากัด(มหาชน) และบริษทั ย่อย บริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั นแนลดชูเสร็ การ์ คอร์ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลา ระยะเวลา ตั้งแต่วนั ที่ ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม สาหรับปี 1 มกราคม 2561 สาหรับปี บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่ อย2561 ถึงวันที่ สิ้ นสุดวันที่ ถึงวันที่ สิ้ นสุดวันที่ งบแสดงฐานะการเงิน หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) รายได้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ รายได้จากการขายและบริ การ 17,305,672,380 17,524,638,155 11,537,892,822 11,961,278,424 ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วั-นที่ รายได้ค่าผลตอบแทนการผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย 13 472,147,801 372,385,940 หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 รายได้อื่น นปัพนย์ผลรับ 14 955,562,000 399,412,797 สินเงิทรั ดอกเบี้ยรับ 30,706,427 35,654,241 97,569,819 98,892,118 สินทรัพย์ หมุนเวียน 50,326,171 32,918,867 54,524,849 16,811,318 กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เงิกนาไรจากการซื สดและรายการเที ย บเท่ า เงิ น สด 8 300,866,711 329,661,083 138,400,647 205,484,585 36 92,469,769 327,976,761 92,469,769 327,976,761 ้ อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้า ลูกอืหนี 7, 9 1,014,554,049 596,862,533 100,082,494 493,835,397 224,275,385 270,434,692 ่ น ๆ้ การค้าและลูกหนี้ อื่น 115,816,696 271,840,759 18,067,139,244 ลูรวมรายได้ กหนี้ชาวไร่ 10 574,820,911 18,193,028,783 563,820,462 13,210,487,693 403,646,39513,028,646,803 375,775,067 ค่เงิานใช้ให้ จ่ากยยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7 2,517,519,609 2,521,963,868 ต้นทุนขายและบริ การ 14,423,059,444 14,270,951,629 10,791,432,188 10,108,617,530 สิ นค้าคงเหลือ 11 3,191,031,522 4,047,464,851 2,100,698,397 2,551,243,529 ค่าใช้จ่ายในการขาย 1,249,071,750 1,493,760,537 958,854,129 1,042,746,184 ย์ชีวภาพ หาร 12 57,854,508 1,448,208,445 27,486,939 829,545,617 41,434,483 960,508,885 10,057,169 ค่สิานใช้ทรัจ่าพยในการบริ 1,289,581,938 ต้นทุนาใช้ค่าจซ่​่ ายอมแซมครั้งใหญ่ต้งั พัก 558,529,297 17,212,920,611 602,888,321 12,579,831,934 393,071,40412,111,872,599 436,189,098 16,961,713,132 รวมค่ กลูาไรก่ จ่ายทางการเงิ และผลประโยชน์ กหนีอ้ สนค่านัากใช้งานกองทุ นอ้อนยและน ้ าตาลทราย 1,105,426,112 ใช้ จ่ราย) เงินได้ ่ งปี ที(ค่​่จาะได้ ับชภาษี าระภายในหนึ 13 1,169,109,721 980,108,172 - 630,655,759 922,084,190 916,774,204 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (262,448,022) (332,934,232) (255,281,922) (314,571,280) สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น 101,620,776 32,685,295 45,945,850 16,146,724 842,978,090 647,173,940 375,373,837 602,202,924 กาไรก่ อนผลประโยชน์ (ค่ าใช้ จ่าย) ภาษีเงินได้ 6,968,387,495 6,200,869,484 7,056,636,372 63,921,979 6,387,294,732 รวมสิ นทรัพย์(ค่หามุใช้นจเวี่าย)ยนภาษีเงินได้ ผลประโยชน์ 29 (213,710,414) (1,679,808) (59,824,870) สิกาไรส นทรัาหรั พย์ ไบม่งวด หมุนเวียน 629,267,676 645,494,132 315,548,967 666,124,903

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย นเบ็ดเสร็จอื่น่น: เงิกาไรขาดทุ นลงทุนระยะยาวอื รายการที่ จะไม่ ถูกบันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ากส่ วนที ่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี สุสุททธิธิจจากภาษี เงินได้ อสั งหาริ มนทรัเบ็พดย์เสร็ เพืจ่ออืการลงทุ กาไรขาดทุ ่นสาหรับนงวด ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิกาไรขาดทุ นทรัพย์ไนม่เบ็มดีตเสร็ วั ตนจรวมสาหรับงวด สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กาไรต่ อหุ้น สิกาไรต่ นทรัอพหุย์้นไม่ขั้นหพืมุ้ นนฐาน เวียนอื่น รวมสิ นทรั หมุนถ้ เวีือยหุน้นของบริ ษทั ฯ กาไรส่ วนทีพ่เย์ป็ไนม่ของผู กาไรต่นอหุทรั้นพ ปรัย์บลด รวมสิ กาไรส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั ฯ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 174

14

262,450

394,300

13 15 16 17 29 31 7

472,147,801 (1,788,203) 322,319,260 (1,788,203) 9,941,639,898 627,479,473 271,746,352 206,912,827 175,000,431 11,390,029,019 0.16 18,358,416,514

(13,346,723) 321,049,658 (13,346,723)

0.16

9,428,539,547 50,975

9,402,623,246 130,085

372,385,940 (9,526,858) (1,695,246) 12,378,479 (9,526,858) 12,378,480 (1,695,246)

10,513,940,359 3,642,812,972 3,984,458,500 632,147,409 313,853,721 656,598,045 284,193,083 400,314 550,369 297,789,912 181,995,405 241,396,463 197,888,434 158,147,606 155,709,432 11,615,255,746 13,796,711,238 13,797,246,575 0.17 0.08 0.17 17,816,125,230 20,853,347,610 20,184,541,307 0.17

0.08

0.17


บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย

บริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิ น

งบกระแสเงิ นสด บริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่ นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่ น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ วันที่ (หน่วย: ณ บาท) เฉพาะกิจ31 การธันวาคม 2560 หมายเหตุ 30 กันยายนงบการเงิ 2561 นรวม 31 ธันวาคม 2560 30 งบการเงิ กันยายนน2561

งบกระแสเงินสด

สาหรับรอบ สาหรับรอบ สินทรัพย์ ระยะเวลา ระยะเวลา สินทรัพย์หมุนเวียน ตั้งแต่วนั ที่ ตั้งแต่วนั ที่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8 300,866,711 329,661,083 138,400,647 205,484,585 1 มกราคม 2561 สาหรับปี 1 มกราคม 2561 สาหรับปี ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น 7, 9 1,014,554,049 596,862,533 493,835,397 270,434,692 ถึงวันที่ สิ้ นสุ ดวันที่ ถึงวันที่ สิ้ นสุ ดวันที่ ลูกหนี้ชาวไร่ 10 563,820,462 403,646,395 2560 30 กันยายน 2560 30 กัน574,820,911 ยายน 2561 31 ธันวาคม 2561 31 ธันวาคม375,775,067 7 2,517,519,609 2,521,963,868 เงินให้กยู้นมื สดจากกิ ระยะสั้จนกรรมด แก่กิจการที ่เกี่ยวข้องกัน กระแสเงิ าเนินงาน นค้าคงเหลื 11 3,191,031,522 4,047,464,851 375,373,837 2,100,698,397 602,202,924 2,551,243,529 กสิาไรก่ อนภาษีอ 842,978,090 647,173,940 รายการปรั าไรก่อนภาษี สิ นทรัพย์ชบีวกระทบยอดก ภาพ 12 57,854,508 27,486,939 41,434,483 10,057,169 บ (จ่าย) จากกิ จกรรมด ต้นเป็ทุนนเงิค่นาสดรั ซ่อมแซมครั ต้งั พักาเนินงาน 558,529,297 602,888,321 393,071,404 436,189,098 ้ งใหญ่ ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย 964,820,023 1,269,217,316 469,741,965 596,511,025 ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย กาไรที่เกิดจากการรับรู ้ส่วนลดรับจากการโอนสิ ทธิของลูกหนี้ ชาวไร่ (5,896,073) (5,709,355) (1,284,967) (6,520,342) ที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี 13 1,169,109,721 922,084,190 ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ 85,962,685 58,937,686 28,670,399 51,855,061 สิ นการปรั ทรัพบย์หลดราคาทุ มุนเวียนอื ่น 101,620,776 32,685,295 (238,198,818) 45,945,850 281,080,107 16,146,724 นของสิ นค้าคงเหลือให้เป็ นมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ (โอนกลับ) (242,529,348) 461,427,874 6,968,387,495 6,200,869,484 7,056,636,372 3,597,475 6,387,294,732 รวมสิ ย์หมุจากการเปลี นเวียน ่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ชีวภาพ ขาดทุนนทรั(กพาไร) (10,528,109) (3,512,400) (4,534,584) สินขาดทุ ทรัพนย์(กไม่าไร) หมุนจากอั เวียนตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง (181,587) (5,971,910) 165,832 (128,475) 97,365 - 58,413 เงิขาดทุ นลงทุนนจากการช ในบริ ษาระบั ทั ย่อยญชีของบริ ษทั ที่ถือเป็ นเงินลงทุนระยะยาวอื่น 14 9,428,539,547 9,402,623,246 อยค่​่นาเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย 10,000,000130,085 เงิขาดทุ นลงทุนนจากการด้ ระยะยาวอื 262,450 394,300 50,975 จากการด้ อยค่าอสั มทรัพ้ าตาลทราย ย์เพื่อการลงทุ 1,293,140 7,797,761 ลูกขาดทุ หนี้ สนานั กงานกองทุ นอ้งอหาริ ยและน - น ขาดทุนจากการด้อยค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 8,211,765 9,280,160 สุทธิจากส่วนที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี 13 472,147,801 372,385,940 กาไรจากการจาหน่ายอุปกรณ์ (4,521,192) (11,009,428) (549,595) (8,056,112) อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน 15 322,319,260 321,049,658 12,378,479 12,378,480 ขาดทุนจากการตัดจาหน่ายอุปกรณ์ 9,267 5,198 384 ที่ดค่าินใช้อาคารและอุ ป กรณ์ 16 9,941,639,898 10,513,940,359 3,642,812,972 3,984,458,500 จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 18,785,753 29,496,074 10,515,601 16,846,566 สิ นการจ่ ทรัพายโดยใช้ ย์ไม่มีตหวั ุ้นตนเป็ นเกณฑ์ 17 271,746,352 284,193,083 400,314 33,366,667 44,488,889 17,450,366 23,267,155550,369 สิ นรายได้ ทรัพเย์งินภปัาษีนเผล งินได้รอการตัดบัญชี 29 206,912,827 297,789,912 181,995,405 (399,412,797) 241,396,463 (955,562,000) (30,706,427) (35,654,241) สิ นดอกเบี ทรัพ้ ยย์รัไบม่หมุนเวียนอื่น 7 175,000,431 197,888,434 (97,569,819) 158,147,606 (98,892,117) 155,709,432 ่ายดอกเบี ค่าใช้นจทรั 262,448,022 332,934,232 255,281,922 11,390,029,019 11,615,255,746 13,796,711,238 314,571,280 13,797,246,575 รวมสิ พย์ไม่้ ยหมุนเวียน กรวมสิ าไร (ขาดทุ 18,358,416,514 17,816,125,230 20,853,347,610 20,184,541,307 นทรัพนย์) จากกิจกรรมดาเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สิ นทรัพย์และหนี้ สินดาเนิ นงาน

1,923,610,041

2,798,901,796

(140,441,448)

1,386,922,134

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

175


บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

งบกระแสเงิ นสด (ต่ชูกอาร์)คอร์ ปอเรชั่น จากัด(มหาชน) และบริษทั ย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่ นแนล งบกระแสเงินสด (ต่ อ)

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ (หน่วย: บาท) ระยะเวลางบการเงินรวม ระยะเวลางบการเงินเฉพาะกิจการ ตั้งณแต่วัวนนั ทีที่ ่ ตั้งแต่วณนั ทีวัน่ ที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 สาหรับปี 1 มกราคม 2561 สาหรับปี หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 ถึงวันที่ สิ้ นสุ ดวันที่ ถึงวันที่ สิ้ นสุ ดวันที่ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560

สินทรัพย์ ทรัพพย์ย์ดหาเนิมุนนงาน เวียน(เพิ่มขึ้น) ลดลง สิสินนทรั เงิลูนกสดและรายการเที ยบเท่ หนี้ การค้าและลูกหนี ้ อื่นาเงินสด ลูลูกกหนี หนี้ ก้ ชารค้ าวไร่าและลูกหนี้ อื่น ค้า้ ชคงเหลื ลูสิกนหนี าวไร่อ ทรักพยู้ ย์มื ชระยะสั ี วภาพ ้ นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงิสินนให้ ้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย สิลูนกค้หนี าคงเหลื อ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ชีวภาพ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่ น ต้ นทุนค่าซ่อมแซมครังใหญ่ตงั พัก หนี้ สินดาเนิ นงานเพิ่มขึ้น้ (ลดลง)้ ลูเจ้กหนี าหนี้ ส้ กานั ารค้กางานกองทุ และเจ้าหนีน้ ออ้ื่ นอยและน้ าตาลทราย ที่จ้ สะได้ รับนชเวีาระภายในหนึ ่ งปี หนี ิ นหมุ ยนอื่ น ยผลประโยชน์ ะยะยาวของพนั กงาน สิจ่นาทรั พย์หมุนเวียรนอื ่น เงิรวมสิ นสดจาก นทรั(ใช้ พย์ไหปใน) มุนเวีกิยจกรรมด น าเนินงาน ยดอกเบี สิจ่นาทรั พย์ ไม่้ ยหมุนเวียน จ่ายภาษีเงินได้ เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน เงินลงทุนระยะยาวอื่น กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน หนีก้ สูย้ ืมานัระยะสั กงานกองทุ นอ้อยและนาตาลทราย เงิลูนกให้ ้ นแก่กิจการที่เกี่ยวข้อ้ งกันลดลง (เพิ่มขึ้น) ทธิจบากส่ วนที่จาระบั ะได้ญรับชีขชองบริ าระภายในหนึ เงินสุสดรั จากการช ษทั ที่ถือเป็่ งนปีเงินลงทุนระยะยาวอื่น มทรัพย์เพื่อปการลงทุ ซือสั ิน อาคารและอุ กรณ์ น ้ อทีง่ดหาริ ดอกเบี นทุนของอาคารและอุปกรณ์ ้ ยจ่ายที่ถือเป็ นปต้กรณ์ ที่ดิน อาคารและอุ เงิสินนสดรั าหน่ายอุปกรณ์ ทรัพบย์จากการจ ไม่มีตวั ตน จ่สิานยชทรั าระเจ้ ิน อาคารและอุ ้ อทีร่ดอการตั พย์ภาหนี าษี้เคงิ่านซืได้ ดบัญชี ปกรณ์ ซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รับเงินปั นผล รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน ดอกเบี้ยรับ เงิรวมสิ นสดสุนททรั ธิจพากย์ (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิ ส่วนหนึ ่ งของงบการเงิ หมายเหตุ นเป็นนเป็ส่นวนหนึ ่ งของงบการเงิ นนี้ นนี้

176

8 7, 9 10 7 11 12

13

14

300,866,711 329,661,083 (222,989,240) 138,400,647 99,500,346 205,484,585 (418,846,211) 91,972,317 1,014,554,049 596,862,533 (64,207,510) 493,835,397 (85,319,283) 270,434,692 (102,697,961) (88,568,873) 1,098,962,677 574,820,911 (2,647,720,955) 563,820,462 688,743,950 403,646,395(1,769,511,982) 375,775,067 (19,839,460) 5,672,274 - (26,842,730) 2,517,519,609 5,107,466 2,521,963,868 (1,641,257,522) - (1,294,470,130) 3,191,031,522 4,047,464,851 2,100,698,397 2,551,243,529 (24,576,457) 107,890,124 13,318,568 86,027,466 57,854,508 27,486,939 41,434,483 10,057,169 27,317,149 (28,147,835) 317,473 (46,948,342) 558,529,297

602,888,321

393,071,404

436,189,098

(1,067,082,235) 1,169,109,721 2,435,616 (11,320,997) 101,620,776 (233,295,360) 6,968,387,495 (190,657,609) (124,676,361) (548,629,330)

612,511,545 15,951,598 (8,107,377) 32,685,295 860,354,614 6,200,869,484 (262,905,247) (82,877,784) 514,571,583

(888,088,453) 922,084,190 (810,683) (8,092,133) 45,945,850 (1,943,562,336) 7,056,636,372 (160,568,254) (2,755,647) 9,428,539,547 (2,106,886,237)

526,165,292 883,868 (4,095,916) 16,146,724 198,731,049 6,387,294,732 (217,128,434) (2,555,801) 9,402,623,246 (20,953,186)

262,450

13 15 16 17 29 7

-

472,147,801 34,485 322,319,260 (312,624,237) 9,941,639,898 5,746,410 271,746,352 (70,243,131) 206,912,827 (89,674) 175,000,431 11,390,029,019 30,644,175 18,358,416,514 (346,531,972)

394,300

50,975

130,085

4,444,259 (1,312,246,996) 372,385,940 20,697 321,049,658 (102,272,969) 12,378,479 (573,371,686) 12,378,480 (847,348,271) (3,455,725) 10,513,940,359 3,642,812,972 3,984,458,500 45,683,918 1,774,551 284,193,083 400,314 11,595,530550,369 (131,408,210) 297,789,912 (39,148,193) 181,995,405 (15,761,398) 241,396,463 (6,611,400) (240,696) (93,750) 197,888,434 158,147,606 155,709,432 955,562,000 399,412,797 11,615,255,746 13,796,711,238 13,797,246,575 35,657,972 96,716,002 95,605,078 17,816,125,230 20,853,347,610 20,184,541,307 (907,481,716) 916,855,651 (1,394,860,425)


บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย บริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่ นแนล งบกระแสเงิ นสด (ต่ชูกอาร์)คอร์ ปอเรชั่น จากัด(มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน งบกระแสเงินสด (ต่ อ)

(หน่วย:(หน่ บาท)วย: บาท) งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ จการ ณ วับนรอบ ที่ ณ วันที่ วันที่ ณ วันที่ สาหรั สาหรับณรอบ ระยะเวลา หมายเหตุ 30 กัระยะเวลา นยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 ตั้งแต่วนั ที่ ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 สาหรับปี 1 มกราคม 2561 สาหรับปี ถึงวันที่ สิ้ นสุดวันที่ ถึงวันที่ สิ้ นสุดวันที่ 8 300,866,711 329,661,083 138,400,647 205,484,585 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น 7, 9 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน 10 เงิลูกนหนี เบิก้ ชเกิาวไร่ นบัญชี และเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 7 ยู้ มื ระยะสั กิจการที วข้นอเพิงกั่มนขึ้น ้ นแก่ เงิเงินนกูให้ ย้ ืมกระยะสั จการที ่เกี่ ยวข้่เกีอ่ยงกั ้ นจากกิ เงิสิ นกูค้ย้ าืมคงเหลื ระยะสัอ้ นจากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายเพิ่มขึ้น 11 เงิสิ นนสดจ่ หุ้นเพิ่มทุนของบริ ษทั ย่อย ทรัพาย์ยซืชี้วอภาพ 12 เงิต้นนทุกูย้ นืมค่ระยะยาวจากสถาบั นการเงิ าซ่อมแซมครั้งใหญ่ ต้งั พันกเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ ยวข้องกันลดลง ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายเพิ่มขึ้น (ลดลง) ที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี 13 ชาระหนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน จ่สิานยเงิทรันพปัย์นหผลมุนเวียนอื่น ย์หจมุกรรมจั นเวียนดหาเงิน เงิรวมสิ นสดสุนททรัธิจพากกิ ทรัพย์ ไม่ หมุนเวียยบเท่ น าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงิสิ นนสดและรายการเที เงินสดและรายการเที ลงทุนในบริ ษทั ย่ยอบเท่ ย าเงินสดต้นงวด 14 เงิเงินนสดและรายการเที ลงทุนระยะยาวอืย่นบเท่ าเงินสดปลายงวด ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิ่มเติม สุทธิจากส่วนที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี 13 รายการที่ไม่ใช่เงินสดประกอบด้วย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน 15 ซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ยงั ไม่ได้จ่ายชาระ ที่ดโครงการจ่ ิน อาคารและอุ ปกรณ์ 16 ายโดยใช้ หุ้นเป็ นเกณฑ์ที่บนั ทึก สิ นทรั พย์นไลงทุ ม่มีตนวั ในบริ ตน ษทั ย่อย 17 เป็ นเงิ สิ นอสัทรังหาริ พย์ภมาษี อการตันดเพิ บัญ่มขึชี้ นจากการรับชาระหนี้ 29 ทรัเพงิย์นเพืได้่อรการลงทุ จากลู สิ นทรั พย์กไหนี ม่ห้ ชมุาวไร่ นเวียนอื่น 7 ที่ดินนเพิทรั ่มขึพ้ นย์จากการรั รวมสิ ไม่ หมุนบเวีชยาระหนี น ้ จากลูกหนี้ ชาวไร่ ประมาณการหนี ส ิ น ค่ า รื อ ถอนระยะยาว ้ รวมสินทรัพย์ ้ เงินปั นผลค้างจ่าย

1,014,554,049 574,820,911 1,194,908,531 -268,487,242 3,191,031,522 57,854,508 199,521,352 558,529,297

596,862,533 493,835,397 270,434,692 563,820,462 1,795,794,879 403,646,395 1,510,673,018 375,775,067 1,294,557,905 2,517,519,609 810,504,861 2,521,963,868 - - 106,237,212 208,408,311 4,047,464,851 2,100,698,397 2,551,243,529 (10,000,000) 27,486,939 41,434,483 (12,250,000) 10,057,169 (505,516,675) 602,888,321 (250,000,000) 393,071,404 (502,630,000) 436,189,098

472,147,801 322,319,260 67,737,012 9,941,639,898 271,746,352 206,912,827 2,680,150 175,000,431 8,950,750 11,390,029,019 18,358,416,514

321,049,658 70,243,131 10,513,940,359 284,193,083 297,789,912 293,747 197,888,434 27,209,641 11,615,255,746 8,400,000 17,816,125,230

(4,850,000) (117,051,070) 1,169,109,721 (95,700,000) 101,620,776 (578,949,125) 6,968,387,495 866,366,930 (28,794,372) 329,661,083 300,866,711 262,450 -

156,157

(4,850,000) 80,624,882 (52,844,629) 92,370,633 922,084,190 (95,700,000) (95,700,000) (95,700,000) 32,685,295 (578,949,125) 45,945,850 (385,970,013) 16,146,724 (385,970,013) 6,200,869,484 1,122,946,648 7,056,636,372 1,416,998,499 6,387,294,732 383,146,099 (9,764,034) (67,083,938) 1,184,888 339,425,117 - 205,484,585 9,428,539,547 204,299,697 9,402,623,246 329,661,083 394,300 138,400,64750,975 205,484,585130,085 -

105,280

372,385,940 12,378,479 12,378,480 17,706,923 39,148,193 3,642,812,972 3,984,458,500 400,314 21,221,733550,369 15,916,301 181,995,405 241,396,463 158,147,606 155,709,432 8,950,750 27,209,641 13,796,711,238 13,797,246,575 20,853,347,610 20,184,541,307 156,157

105,280

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

177


178 138,400,647 205,484,585 493,835,397 270,434,692 403,646,395 375,775,067 2,517,519,609 2,521,963,868 งบการเงินรวม 2,100,698,397 2,551,243,529 ส่วนทุนจากการ กาไรสะสม 41,434,483 10,057,169 จ่ายโดยใช้หุ้น จัดสรรแล้ว 393,071,404 436,189,098 เป็ นเกณฑ์ - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร

หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินเป็นเป็นส่นวส่นหนึ วนหนึ ่ งของงบการเงิ หมายเหตุ ่ งของงบการเงิ นนี้ นนี้

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

1,986,666,795 645,494,132 (13,346,723) 632,147,409 (386,000,001) (33,306,245) 2,199,507,958

2,199,507,958 629,267,676 (1,788,203) 627,479,473 (579,000,002) (15,777,448) 2,232,209,981

44,488,889 9,428,539,547 - 9,402,623,246 33,306,245 50,975 130,085289,748,979 137,174,074

372,385,940 12,378,479 12,378,480 137,174,074 289,748,979 3,642,812,972 3,984,458,500 400,314 550,369 181,995,405 - 241,396,463 33,366,667 158,147,606 155,709,432 13,796,711,238 13,797,246,575 15,777,448 20,853,347,610 170,540,74120,184,541,307 305,526,427

92,685,185 256,442,734 922,084,190 45,945,850 - 16,146,724 7,056,636,372 - 6,387,294,732 -

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8 300,866,711 329,661,083 ลูกษหนี การค้าและลูอินกเตอร์ หนี้ อเื่นนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) 7, 9และบริษทั ย่1,014,554,049 596,862,533 บริ ทั ้ เกษตรไทย อย ลูกหนี้ ชาวไร่ ย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น 10 574,820,911 563,820,462 งบแสดงการเปลี 7 เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ 11 3,191,031,522 4,047,464,851 ส่วนต่ากว่าทุนจาก สิ นทรัพย์ชีวภาพ 27,486,939 ทุนเรื อนหุ้นที่ออก 12 ส่ วนเกิน57,854,508 มูลค่า การรวมธุ รกิจภายใต้ ต้นทุนค่าซ่อมแซมครั้งใหญ่ต้ งั พัก 558,529,297 602,888,321 และชาระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามั ญ การควบคุ มเดียวกัน สลูำหรั บ ปี สิ ้ น สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วำคม 2560 กหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ยอดคงเหลื วันที่ 1 มกรำคม 3,860,000,01013 5,202,881,296 (3,577,165,024) ที่จะได้รอับชณาระภายในหนึ ่ งปี2560 1,169,109,721 กาไรสาหรับปี นทรัพย์หนมุเบ็นดเวีเสร็ ยนอื 101,620,776 32,685,295 กสิาไรขาดทุ จอื่น่นสาหรับปี 6,968,387,495 6,200,869,484 นทรันพเบ็ย์ หดเสร็ มุนจเวีรวมส ยน าหรับปี กรวมสิ าไรขาดทุ การจ่ สิ นทรัายโดยใช้ พย์ ไม่ หหมุ​ุ้นนเป็เวีนยเกณฑ์ น (หมายเหตุ 26) เงิเงินนปัลงทุ นผลจ่ าย (หมายเหตุ -นในบริ ษทั ย่อย 32) 14 - สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 27) เงิยอดคงเหลื นลงทุนระยะยาวอื ่ น 262,450 394,300 อ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2560 3,860,000,010 5,202,881,296 (3,577,165,024) ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย สุ ทธิบจรอบระยะเวลำตั ากส่ วนที่จะได้​้งรแต่ับชวนั าระภายในหนึ ปี 13 472,147,801 สำหรั ที่ 1 มกรำคม ่ ง2561 วันทีม่ 30ทรักัพนย์ยำยน 2561 น อสัถึงงหาริ เพื่อการลงทุ 15 322,319,260 321,049,658 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2561 3,860,000,010 5,202,881,296 (3,577,165,024) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 16 9,941,639,898 10,513,940,359 กาไรสาหรับงวด นทรัพย์ไนม่เบ็มีตดวเสร็ ั ตนจอื่นสาหรับงวด 17 271,746,352 284,193,083 กสิาไรขาดทุ นทรัพย์ภนาษีเบ็เดงิเสร็ นได้จรวมส รอการตั ญชี 29 206,912,827 297,789,912 กสิาไรขาดทุ าหรัดบบังวด การจ่ า ยโดยใช้ ห ุ น ้ เป็ น เกณฑ์ (หมายเหตุ 26) สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 7 175,000,431 197,888,434 เงิรวมสิ นปั นนผลจ่ 11,390,029,019 11,615,255,746 ทรัาพยย์(หมายเหตุ ไม่ หมุนเวี32) ยน สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 27) 18,358,416,514 17,816,125,230 รวมสิ นทรัอพณย์ วันที่ 30 กันยำยน 2561 ยอดคงเหลื 3,860,000,010 5,202,881,296 (3,577,165,024)

หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560

8,112,147,293 629,267,676 (1,788,203) 627,479,473 33,366,667 (579,000,002) 8,193,993,431 -

7,821,510,996 645,494,132 (13,346,723) 632,147,409 44,488,889 (386,000,001) 8,112,147,293

รวม ส่ วนของผูถ้ ือหุ้น

(หน่วย: บาท)


บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

179

หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินเป็นเป็นส่นส่ วนหนึ ่ งของงบการเงิ หมายเหตุ วนหนึ ่ งของงบการเงิ นนี้ นนี้

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

2,152,485,166 666,124,903 (9,526,858) 656,598,045 (386,000,001) (33,306,245) 2,389,776,965

2,389,776,965 315,548,967 (1,695,246) 313,853,721 (579,000,002) (15,777,448) 2,108,853,236

372,385,940 321,049,658 12,378,479 12,378,480289,748,979 (573,217,706) 137,174,074 10,513,940,359 - 3,642,812,972 -3,984,458,500 284,193,083 400,314 550,369 297,789,912 181,995,405 241,396,463 33,366,667 155,709,432 197,888,434 - 158,147,606 11,615,255,746 13,796,711,238 13,797,246,575 15,777,448 17,816,125,230 (573,217,706) 20,853,347,610 170,540,74120,184,541,307305,526,427

493,835,397 270,434,692 403,646,395 375,775,067 งบการเงิ นเฉพาะกิจการ2,521,963,868 2,517,519,609 ส่ วนทุนจากการ กาไรสะสม 2,100,698,397 2,551,243,529 จ่ายโดยใช้หุน้ จัดสรรแล้ว 41,434,483 10,057,169 เป็ นเกณฑ์ - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร 393,071,404 436,189,098

(573,217,706) 92,685,185 256,442,734 - - 922,084,190 - 16,146,724 32,685,295 45,945,850 6,200,869,484 7,056,636,372 6,387,294,732 44,488,889 - - 9,428,539,547 9,402,623,246 33,306,245 (573,217,706) 137,174,074 289,748,979 394,300 50,975 130,085

596,862,533 563,820,462 ส่ วนต่ากว่าทุนจาก 4,047,464,851 การรวมธุรกิจภายใต้ 27,486,939 การควบคุ มเดียวกัน 602,888,321

บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด329,661,083 (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย 205,484,585 138,400,647

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินษสดและรายการเที ยบเท่เนชั าเงิ่นนแนล สด ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน)8 และบริษทั ย่อ300,866,711 บริ ทั เกษตรไทย อินเตอร์ ย ลูกหนี้ การค้าและลู กหนี้ อวื่นนของผู้ถอื หุ้น (ต่อ) 7, 9 1,014,554,049 งบแสดงการเปลี ย่ นแปลงส่ ลูกหนี้ ชาวไร่ 10 574,820,911 7 เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ 11 3,191,031,522 ทุนเรื อนหุน้ ที่ออก ส่วนเกินมูลค่า สิ นทรัพย์ชีวภาพ 57,854,508 และชาระเต็มมูลค่าแล้12ว หุน้ สามั ญ นทุนบค่ปี าสิซ่้นอสุมแซมครั ต้งั พั2560 ก 558,529,297 สต้ำหรั ดวันที่ 31้ งใหญ่ ธันวำคม ยอดคงเหลื วันที่ 1 มกรำคม 2560้ าตาลทราย 3,860,000,010 5,202,881,296 ลูกหนี้ สานัอกณงานกองทุ นอ้อยและน กาไรส าหรัรบับปีชาระภายในหนึ่ งปี ที่จะได้ 131,169,109,721กสิาไรขาดทุ จอื่น่นสาหรับปี นทรัพย์หนมุเบ็นดเวีเสร็ ยนอื 101,620,776กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี 6,968,387,495 รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ 26) สิเงินนปัทรันพผลจ่ ย์ ไาม่ยห(หมายเหตุ มุนเวียน 32) เงิสารองตามกฏหมาย นลงทุนในบริ ษทั ย่(หมายเหตุ อย 14 27) ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 3,860,000,010 5,202,881,296 เงินลงทุนระยะยาวอื ่น ธันวำคม 2560 262,450 ลูกหนี้ สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย สำหรับรอบระยะเวลำตั้งแต่วนั ที่ 1 มกรำคม 2561 สุ ทธิ จากส่ วนที่จะได้รับชาระภายในหนึ่ งปี 13 472,147,801 ถึงวันที่ 30 กันยำยน 2561 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน 15 322,319,260 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2561 3,860,000,010 5,202,881,296 ่ดิน อาคารและอุ 169,941,639,898กทีาไรส าหรับงวด ปกรณ์ นทรัพย์ไนม่เบ็มีตดวเสร็ ั ตนจอื่นสาหรับงวด 17271,746,352กสิาไรขาดทุ กสิาไรขาดทุ าหรัดบบังวด นทรัพย์ภนาษีเบ็เดงิเสร็ นได้จรวมส รอการตั ญชี 29206,912,827การจ่ สิ นทรัายโดยใช้ พย์ไม่หหมุ​ุน้ นเป็เวีนยเกณฑ์ นอื่น (หมายเหตุ 26) 7175,000,431เงินปั นผลจ่าย (หมายเหตุ 32) 11,390,029,019 รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 27) 18,358,416,514 รวมสิ น ทรั พ ย์ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยำยน 2561 3,860,000,010 5,202,881,296

ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ หมายเหตุ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560

11,306,363,618 315,548,967 (1,695,246) 313,853,721 33,366,667 (579,000,002) 11,074,584,004 -

10,991,276,685 666,124,903 (9,526,858) 656,598,045 44,488,889 (386,000,001) 11,306,363,618

รวม ส่วนของผูถ้ ือหุน้

(หน่วย: บาท)


บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่ น จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวม นรวม สสำาหรั ้งแต่ วง้ ันแต่ ที่ 1วมกราคม 2561 ถึงวัน2561 ที่ 30 กัถึ นยายน �หรับบรอบระยะเวลาตั รอบระยะเวลาตั นั ที่ 1 มกราคม งวันที2561 ่ 30 กันยายน 2561 1.

ข้ อมูลทัว่ ไป

1.1

ข้ อมูลทัว่ ไปของบริษัทฯ บริ ษทั เกษตรไทย อิ นเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษทั มหาชน ซึ่ งจัดตั้ง และมี ภูมิ ล าเนาในประเทศไทย ธุ รกิ จหลัก ของบริ ษ ทั ฯคื อการผลิ ตและจาหน่ า ยน้ า ตาลทั้ง ภายในและ ต่างประเทศ ที่อยูต่ ามที่จดทะเบียนของบริ ษทั ฯอยูท่ ี่ สานักงานใหญ่และโรงงาน: 1/1 หมู่ 14 ตาบลหนองโพ อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ สานักงานสาขากรุ งเทพ: 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุ งเทพมหานคร

1.2

การเปลีย่ นแปลงรอบระยะเวลาบัญชี เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2561 ที่ประชุมสามัญประจาปี ผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯได้มีมติให้เปลี่ยนวันสุ ดท้ายของ รอบระยะเวลาบัญชี จากวันที่ 31 ธันวาคม เป็ นวันที่ 30 กันยายน โดยเริ่ ม ตั้ง แต่ ง วดบัญชี สิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน 2561 เป็ นต้นไป งบการเงินของงวดบัญชีสิ้นสุ ดวันที่ 30 กันยายน 2561 จึงได้จดั ทาสาหรับ รอบระยะเวลาเก้าเดือนเท่านั้น

2.

เกณฑ์ ในการจัดทางบการเงิน

2.1

งบการเงิ น นี้ จดั ท าขึ้ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ ก าหนดในพระราชบัญญัติวิช าชี พ บัญ ชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงิ นตามข้อกาหนดในประกาศกรมพัฒนาธุ รกิ จการค้าลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงิ น ฉบับ ภาษาไทยเป็ นงบการเงิ น ฉบับ ที่ บ ริ ษัท ฯใช้ เ ป็ นทางการตามกฎหมาย งบการเงิ น ฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จดั ทาขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี

2.2

เกณฑ์ในการจัดทางบการเงินรวม ก) งบการเงิ นรวมนี้ ได้จดั ทาขึ้ นโดยรวมงบการเงิ นของบริ ษทั เกษตรไทย อิ นเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) (ซึ่ งต่อไปนี้เรี ยกว่า “บริ ษทั ฯ”) และบริ ษทั ย่อย (ซึ่ งต่อไปนี้รวมเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”) ดังต่อไปนี้

180

1


บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

181

ถือหุ้นโดยบริษัทฯ บริ ษทั น้ าตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด บริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด บริ ษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด บริ ษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จากัด บริ ษทั ทรัพย์ศิริเกษตร จากัด บริ ษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จากัด บริ ษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จากัด บริ ษทั เคทิส ชีวพลังงาน จากัด บริ ษทั เกษตรไทย วิวฒั น์ จากัด บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด ถือหุ้นโดยบริษัทย่ อยของบริษัทฯ บริ ษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) บริ ษทั ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เพิม่ สิ นพัฒนา จากัด) บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) บริ ษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) บริ ษทั เคทิส ปุ๋ ยชีวภาพ จากัด (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จากัด)

ชื่อบริ ษทั

ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย การถือหุน้ ในบริ ษทั อื่น ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ ผลิตและจาหน่ายเอทานอล ธุรกิจซื้อ-ขาย ให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์ ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเอทานอลและพลังงานไฟฟ้ า บริ หารสิ นทรัพย์ วิจยั และพัฒนา ผลิตและจาหน่ายเอทานอลและพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเอทานอลและพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ ผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยชีวภาพ

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ลักษณะธุรกิจ

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

2 ล้านบาท

2 ล้านบาท

1,215 ล้านบาท 317 ล้านบาท 1,260 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท 256 ล้านบาท 311 ล้านบาท 350 ล้านบาท 395 ล้านบาท 1 ล้านบาท 20 ล้านบาท 61 ล้านบาท 10 ล้านบาท 12.50 ล้านบาท

35 ล้านบาท

35 ล้านบาท

2,400 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท

12.50 ล้านบาท 12.50 ล้านบาท

2 ล้านบาท

2 ล้านบาท

1,215 ล้านบาท 317 ล้านบาท 1,260 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท 256 ล้านบาท 311 ล้านบาท 350 ล้านบาท 395 ล้านบาท 1 ล้านบาท 20 ล้านบาท 61 ล้านบาท 20 ล้านบาท 12.50 ล้านบาท

ทุนเรี ยกชาระแล้ว 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560

100

26

2

100

100

100 100 100 74 100 100 100 100 100 100 100 100 98

100

26

2

100

100

100 100 100 74 100 100 100 100 100 100 100 100 98

อัตราร้อยละของ การถือหุน้ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 ร้อยละ ร้อยละ

2


ข) บริ ษทั ฯจะถื อว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรื อบริ ษทั ย่อยได้ หากบริ ษทั ฯมีสิทธิ ได้รับหรื อ มีส่วนได้เสี ยในผลตอบแทนของกิจการที่เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อานาจในการสั่งการกิจกรรม ที่ส่งผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อจานวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ค) บริ ษทั ฯนางบการเงิ นของบริ ษทั ย่อยมารวมในการจัดทางบการเงิ นรวมตั้งแต่วนั ที่บริ ษทั ฯมีอานาจ ในการควบคุมบริ ษทั ย่อยจนถึงวันที่บริ ษทั ฯสิ้ นสุ ดการควบคุมบริ ษทั ย่อยนั้น ง) งบการเงินของบริ ษทั ย่อยได้จดั ทาขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สาคัญเช่นเดียวกันกับของบริ ษทั ฯ จ) ยอดคงค้างระหว่างกลุ่มบริ ษทั รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสาคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวม นี้แล้ว 2.3

บริ ษทั ฯจัดทางบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยตามวิธีราคาทุน

3.

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ ริ่มมีผลบังคับใช้ ในปี ปัจจุบัน ในระหว่างงวด กลุ่ มบริ ษทั ได้นามาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และการตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิ นฉบับปรั บปรุ ง (ปรั บปรุ ง 2560) จ านวนหลายฉบับ ซึ่ งมี ผลบังคับใช้ส าหรั บงบการเงิ นที่ มี รอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2561 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่าวได้รับการปรับปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึนเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระหว่า งประเทศ โดยส่ ว นใหญ่เ ป็ นการปรั บ ปรุ ง และอธิ บ ายให้ ชัด เจนเกี่ ย วกับ การเปิ ดเผยข้อมู ล ใน หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น การน ามาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ดัง กล่ า วมาถื อ ปฏิ บ ัติ น้ ี ไม่ มี ผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงินของกลุ่มบริ ษทั ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีจ่ ะมีผลบังคับใช้ ในอนาคต ในระหว่างงวด สภาวิชาชี พบัญชี ได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 15 เรื่ อง รายได้ จากสัญญาที่ทากับลูกค้า ซึ่ งมีผลบังคับใช้สาหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2562 และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน กลุ่มเครื่ องมือทางการเงิน จานวน 5 ฉบับ ซึ่ งมีผล บังคับใช้สาหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2563 หลักการสาคัญ ของมาตรฐานดังกล่าวสรุ ปได้ดงั นี้

182

3


มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้ จากสั ญญาทีท่ ากับลูกค้ า มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 ใช้แทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ อง สัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที่ 18 เรื่ อง รายได้ และการตี ค วามมาตรฐานบัญชี ที่ เกี่ ย วข้อง กิ จการต้องใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ กบั สัญญาที่ทากับลูกค้าทุกสัญญา ยกเว้นสัญญาที่อยูใ่ นขอบเขต ของมาตรฐานการบัญชีฉบับอื่น มาตรฐานฉบับนี้ได้กาหนดหลักการ 5 ขั้นตอนสาหรับการรับรู้รายได้ที่ เกิดขึ้นจากสัญญาที่ทากับลูกค้า โดยกิจการจะรับรู้รายได้ในจานวนเงินที่สะท้อนถึงสิ่ งตอบแทนที่กิจการ คาดว่าจะมีสิทธิ ได้รับจากการแลกเปลี่ยนสิ นค้าหรื อบริ การที่ได้ส่งมอบให้แก่ลูกค้า และกาหนดให้กิจการ ต้องใช้ดุลยพินิจและพิจารณาข้อเท็จจริ งและเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในการพิจารณาตามหลักการใน แต่ละขั้นตอน ปั จจุบนั ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั อยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต่องบการเงิ นในปี ที่เริ่ มนา มาตรฐานดังกล่าวมาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน กลุ่มเครื่องมือทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น กลุ่ ม เครื่ องมือทางการเงิ น ประกอบด้วยมาตรฐานและการตี ค วาม มาตรฐาน จานวน 5 ฉบับ ได้แก่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เครื่ องมือทางการเงิน ฉบับที่ 7 การเปิ ดเผยข้อมูลเครื่ องมือทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 การแสดงรายการเครื่ องมือทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 การป้ องกันความเสี่ ยงของเงินลงทุนสุ ทธิในหน่วยงานต่างประเทศ ฉบับที่ 19 การชาระหนี้สินทางการเงินด้วยตราสารทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น กลุ่ ม ดัง กล่ า วข้า งต้น ก าหนดหลัก การเกี่ ย วกับ การจัด ประเภทและ การวัดมูลค่าเครื่ องมือทางการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรมหรื อราคาทุนตัดจาหน่ายโดยพิจารณาจากประเภทของ ตราสารทางการเงิ น ลักษณะของกระแสเงินสดตามสัญญาและแผนธุ รกิจของกิจการ (Business Model) หลัก การเกี่ ย วกับ วิ ธี ก ารค านวณการด้อ ยค่ า ของเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น โดยใช้แ นวคิ ด ของผลขาดทุ น ด้านเครดิ ตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น และหลักการเกี่ยวกับการบัญชี ป้องกันความเสี่ ยง รวมถึงการแสดงรายการ และการเปิ ดเผยข้อมูลเครื่ องมือทางการเงิน และเมื่อมาตรฐานการรายงานทางการเงินกลุ่มนี้มีผลบังคับใช้ จะทาให้มาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการบัญชี และแนวปฏิ บตั ิทางการบัญชี บางฉบับที่ มี ผลบังคับใช้อยูใ่ นปั จจุบนั ถูกยกเลิกไป บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

183 4


ปั จจุบนั ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั อยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต่องบการเงิ นในปี ที่เริ่ มนา มาตรฐานกลุ่มดังกล่าวมาถือปฏิบตั ิ 4.

นโยบายการบัญชี ทสี่ าคัญ

4.1

การรับรู้รายได้ ขายสิ นค้ า รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู้เมื่อกลุ่มบริ ษทั ได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่ มีนยั สาคัญของความเป็ น เจ้า ของสิ นค้าให้ก ับผูซ้ ้ื อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกากับสิ นค้าโดยไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม สาหรับสิ นค้าที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่ วนลดแล้ว รายได้ ค่าบริ การ รายได้ค่าบริ การรับรู้เมื่อได้ให้บริ การแล้ว โดยพิจารณาถึงขั้นความสาเร็ จของงาน ดอกเบีย้ รั บ ดอกเบี้ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ ง เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับถือเป็ นรายได้เมื่อกลุ่มบริ ษทั มีสิทธิในการรับเงินปันผล

4.2

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงิ นสดและรายการเที ย บเท่ า เงิ นสด หมายถึ ง เงิ นสดและเงิ นฝากธนาคาร และเงิ นลงทุ นระยะสั้ นที่ มี สภาพคล่องสู ง ซึ่งถึงกาหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มา และไม่มีขอ้ จากัดใน การเบิกใช้

4.3

ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีช้ าวไร่ ลู กหนี้ การค้าและลู ก หนี้ ช าวไร่ แสดงมู ล ค่าตามจานวนมู ลค่ า สุ ทธิ ที่ จะได้รับ กลุ่ มบริ ษ ทั บันทึ กค่ าเผื่ อ หนี้สงสัยจะสู ญสาหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงิ นจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่ งโดยทัว่ ไป พิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ กลุ่มบริ ษทั รับซื้ อลูกหนี้ ชาวไร่ ดอ้ ยคุณภาพจากบริ ษทั อื่นในมูลค่าที่มีส่วนลด โดยซื้ อเพื่อนามาดาเนิ นการ ติดตามเรี ยกเก็บหนี้ ซึ่งตามสัญญาซื้ อลดลูกหนี้ดอ้ ยคุณภาพดังกล่าว กลุ่มบริ ษทั ไม่มีสิทธิไล่เบี้ยจากผูข้ ายหนี้ ในกรณี ที่กลุ่ มบริ ษทั เรี ยกเก็บเงิ นไม่ได้ กลุ่ มบริ ษทั บันทึกลู กหนี้ ชาวไร่ ดงั กล่ าวในราคาทุน และบันทึ ก มูลค่าส่ วนลดที่ได้รับไว้ในบัญชี “ส่ วนลดรับจากการรับโอนสิ ทธิเรี ยกร้องลูกหนี้ชาวไร่ ”

184

5


4.4

สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าสาเร็ จรู ปและงานระหว่างทาแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใด จะต่ากว่า ราคาทุนดังกล่าวประกอบด้วยต้นทุนวัตถุดิบ แรงงานและค่าโสหุ ย้ ในการผลิต สิ นค้าซื้ อมาเพื่อขายแสดงมูลค่าตามราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ ากว่า ราคาทุน คานวณโดยใช้วธิ ีเข้าก่อนออกก่อน วัตถุดิบ อะไหล่ วัสดุโรงงาน และวัสดุสิ้นเปลืองแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ากว่า และจะถือเป็ นส่ วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้

4.5

เกษตรกรรม กลุ่มบริ ษทั มีสินทรัพย์ชีวภาพเป็ นต้นอ้อย และผลิตผลทางการเกษตรเป็ นอ้อยที่เก็บเกี่ยว ซึ่ งจะถูกวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของอ้อ ยค านวณโดยใช้วิธี อ้า งอิ ง จากราคามู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมหัก ประมาณการค่ า ใช้จ่ า ย ณ จุดเก็บ เกี่ ยว ผลกาไรหรื อขาดทุ นที่เกิ ดจากการเปลี่ ยนแปลงในมูล ค่ายุติธรรมของสิ นทรั พย์ชี วภาพ และผลิตผลทางการเกษตรบันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน ในกรณี ที่ไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่ อถือ สิ นทรัพย์ชีวภาพต้องวัดด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อม ราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม และในทันทีที่มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ชีวภาพนั้นสามารถวัด ได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริ ษทั จะวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ผลิตผลทางการเกษตรจะแสดงเป็ นส่ วนหนึ่งของสิ นค้าคงเหลือ

4.6

ต้ นทุนค่ าซ่ อมแซมครั้งใหญ่ ต้งั พัก ต้นทุนค่าซ่ อมแซมครั้งใหญ่ต้ งั พักประกอบด้วยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริ งจากการซ่ อมแซมเครื่ องจักรในช่วง นอกฤดูการผลิต เพื่อเตรี ยมพร้อมสาหรับฤดูการผลิตครั้งถัดไป กลุ่มบริ ษทั จะตัดจาหน่ายต้นทุนค่าซ่อมแซม ครั้งใหญ่ต้งั พักดังกล่าวอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ภายในฤดูกาลผลิตถัดไป โดยค่าตัดจาหน่าย ดังกล่าวรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน

4.7

เงินลงทุน ก)

เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยูใ่ นความต้องการของตลาดถือเป็ นเงินลงทุนทัว่ ไป ซึ่ งแสดงในราคา ทุนสุ ทธิ จากค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี)

ข)

เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิ จการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุ นสุ ทธิ จาก ค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี)

กลุ่มบริ ษทั ใช้วธิ ี ถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนักในการคานวณต้นทุนของเงินลงทุน บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

185 6


4.8

อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน กลุ่มบริ ษทั บันทึกมูลค่าเริ่ มแรกของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่ งรวมต้นทุนการทารายการ หลัง จากนั้ น จะบัน ทึ ก อสั ง หาริ มทรั พ ย์เ พื่ อ การลงทุ น ด้ ว ยราคาทุ น หั ก ค่ า เสื่ อมราคาสะสมและ ค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) ค่ า เสื่ อมราคาของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์เพื่ อการลงทุ นค านวณจากราคาทุ นโดยวิธี เส้ น ตรงตามอายุก ารให้ ประโยชน์โดยประมาณ 10 ปี ค่าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรั พย์เพื่อการลงทุ นรวมอยู่ในการคานวณ ผลการดาเนินงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ผลต่างระหว่างจานวนเงินที่ได้รับสุ ทธิ จากการจาหน่ายกับมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ใน ส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในปี ที่ตดั รายการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี

4.9

ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ และค่ าเสื่ อมราคา ที่ ดิ น แสดงมู ล ค่ า ตามราคาทุ น อาคารและอุ ป กรณ์ แ สดงมู ล ค่ า ตามราคาทุ น หัก ค่ า เสื่ อ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ คานวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์โดยวิธีเส้นตรง ตามอายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อาคารและส่ วนปรับปรุ งอาคาร เครื่ องจักรและอุปกรณ์ เครื่ องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตร เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และเครื่ องใช้สานักงาน ยานพาหนะ

5 - 27 5 - 30 5 - 25 5 5 5 - 10

ปี ปี ปี ปี ปี ปี

ค่าเสื่ อมราคารวมอยูใ่ นการคานวณผลการดาเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้งและงานระหว่างก่อสร้าง กลุ่มบริ ษทั ตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจาหน่ายสิ นทรัพย์หรื อคาดว่าจะไม่ได้ รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตจากการใช้หรื อการจาหน่ ายสิ นทรัพย์ รายการผลกาไรหรื อขาดทุน จากการจาหน่ายสิ นทรัพย์ จะรับรู้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนเมื่อกลุ่มบริ ษทั ตัดรายการสิ นทรัพย์น้ นั ออก จากบัญชี

186

7


4.10 ต้ นทุนการกู้ยมื ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ี่ใช้ในการจัดหาหรื อก่อสร้างสิ นทรัพย์ที่ตอ้ งใช้ระยะเวลานานในการทาให้อยูใ่ น สภาพพร้ อมใช้หรื อขาย ได้ถูกนาไปรวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์จนกว่าสิ นทรัพย์น้ นั จะอยู่ในสภาพ พร้ อมที่จะใช้ได้ตามที่ มุ่งประสงค์ ส่ วนต้นทุนการกู้ยืมอื่ นถื อเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิ ดรายการ ต้นทุ น การกูย้ มื ประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูย้ มื นั้น 4.11 สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน สิ นทรั พย์ไม่มีตวั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่า ตัดจาหน่ ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมของ สิ นทรัพย์น้ นั (ถ้ามี) กลุ่มบริ ษทั ตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จากัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสิ นทรัพย์น้ นั และจะประเมินการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวเมื่อมีขอ้ บ่งชี้วา่ สิ นทรัพย์น้ นั เกิ ดการด้อยค่า กลุ่มบริ ษทั จะทบทวนระยะเวลาการตัดจาหน่ายและวิธีการตัดจาหน่ายของ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนดังกล่าวทุกสิ้ นปี เป็ นอย่างน้อย ค่าตัดจาหน่ายรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในส่ วนของกาไรหรื อ ขาดทุน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จากัดมีดงั นี้ คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ เครื่ องหมายการค้า สิ ทธิในการใช้สายส่ งไฟฟ้ า

อายุการให้ประโยชน์ 3 - 10 ปี 10 ปี 20 ปี

ไม่มีการคิดค่าตัดจาหน่ายสาหรับสิ ทธิในการใช้สายส่ งไฟฟ้ าที่ยงั ไม่ได้เริ่ มใช้สิทธิ ประโยชน์ 4.12 รายการระหว่ างบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริ ษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรื อกิจการที่มีอานาจควบคุมบริ ษทั ฯ หรื อถูก บริ ษทั ฯควบคุม ไม่วา่ จะเป็ นโดยทางตรงหรื อทางอ้อม หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ บุคคลหรื อกิ จการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริ ษทั ร่ วมและบุคคลหรื อกิ จการที่มีสิทธิ ออก เสี ย งโดยทางตรงหรื อ ทางอ้อ มซึ่ งท าให้ มี อิ ท ธิ พ ลอย่า งเป็ นสาระส าคัญ ต่ อ บริ ษ ัท ฯ ผูบ้ ริ ห ารส าคัญ กรรมการหรื อพนักงานของบริ ษทั ฯที่มีอานาจในการวางแผนและควบคุมการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

187 8


4.13 สั ญญาเช่ าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ได้โอนไป ให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของ สิ นทรัพย์ที่เช่าหรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจานวนเงิ นที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่ าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ ากว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าหักค่าใช้จ่ายทางการเงิ นจะบันทึ ก เป็ นหนี้ สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี้ย จ่ายจะ บันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สิ นทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิด ค่าเสื่ อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ที่เช่าหรื ออายุของสัญญาเช่าแล้วแต่ระยะเวลาใดจะสั้นกว่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ไม่ได้โอน ไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่าดาเนิ นงาน จานวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดาเนินงานรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายใน ส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า 4.14 เงินตราต่ างประเทศ บริ ษทั ฯแสดงงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการเป็ นสกุลเงิ นบาท ซึ่ งเป็ นสกุลเงิ นที่ใช้ในการ ดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ รายการต่าง ๆ ของแต่ละกิจการที่รวมอยูใ่ นงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ ใช้ในการดาเนินงานของแต่ละกิจการนั้น รายการที่ เ ป็ นเงิ น ตราต่ า งประเทศแปลงค่ า เป็ นเงิ นบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ ย น ณ วัน ที่ เ กิ ดรายการ สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เป็ นตัวเงิ นซึ่ งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กาไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยูใ่ นการคานวณผลการดาเนินงาน 4.15 การด้ อยค่ าของสิ นทรัพย์ ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั จะทาการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรื อ สิ นทรัพย์อื่นของกลุ่มบริ ษทั หากมีขอ้ บ่งชี้ วา่ สิ นทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า กลุ่มบริ ษทั รับรู้ขาดทุนจากการ ด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์มีมูลค่าต่ากว่ามูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์น้ นั ทั้งนี้ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสิ นทรัพย์หรื อมูลค่าจากการใช้ สิ นทรั พย์แล้วแต่ราคาใดจะสู งกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรั พย์ กลุ่มบริ ษทั ประมาณการ กระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสิ นทรัพย์และคานวณคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ ยงในสภาพตลาดปั จจุบนั ของเงินสดตามระยะเวลา และความเสี่ ยงซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพาะของสิ นทรัพย์ที่กาลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหัก ต้นทุ นในการขาย กลุ่ ม บริ ษ ทั ใช้แบบจาลองการประเมิ นมู ลค่า ที่ ดีที่ สุ ดซึ่ ง เหมาะสมกับ สิ นทรั พ ย์ ซึ่ ง สะท้อนถึงจานวนเงิ นที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจาหน่าย โดยการจาหน่ายนั้นผูซ้ ้ื อกับผูข้ ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้ อย่างเป็ นอิสระในลักษณะของผูท้ ี่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน

188

กลุ่มบริ ษทั จะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน 9


4.16 ผลประโยชน์ ของพนักงาน ผลประโยชน์ ระยะสั้นของพนักงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานและผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นของพนักงาน โครงการสมทบเงิน กลุ่มบริ ษทั และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชีพ ซึ่ งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสม และเงิ นที่ กลุ่ มบริ ษ ทั จ่ ายสมทบให้เป็ นรายเดื อน สิ นทรั พย์ของกองทุ นสารองเลี้ ยงชี พได้แยกออกจาก สิ นทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั เงินที่กลุ่มบริ ษทั จ่ายสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในปี ที่เกิด รายการ โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานและผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นของพนักงาน กลุ่ ม บริ ษ ทั มี ภาระส าหรั บ เงิ น ชดเชยที่ ต้องจ่ า ยให้แก่ พ นัก งานเมื่ อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน และตามแผนสวัส ดิ ก ารพนั ก งานซึ่ งกลุ่ ม บริ ษ ัท ถื อ ว่า เงิ น ชดเชยดัง กล่ า วเป็ นโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานสาหรับพนักงาน นอกจากนี้กลุ่มบริ ษทั จัดให้มีโครงการผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของ พนักงานตามแผนสวัสดิการพนักงานจากการเสี ยชีวติ กลุ่ ม บริ ษ ัท ค านวณหนี้ สิ น ตามโครงการผลประโยชน์ ห ลัง ออกจากงานของพนัก งานและโครงการ ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู ้เ ชี่ ย วชาญอิ ส ระได้ท าการประเมิ น ภาระผูก พัน ดัง กล่ า วตามหลัก คณิ ต ศาสตร์ ประกันภัย ผลกาไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู ้ทนั ทีในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ผลกาไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นของพนักงานจะรับรู้ทนั ทีในกาไรหรื อขาดทุน

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

189

10


4.17 การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ บริ ษทั ฯดาเนินโครงการผลตอบแทนพนักงานโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ที่ชาระด้วยตราสารทุน โดยที่กิจการ ได้ รั บ บริ การจากพนั ก งานเป็ นสิ่ งตอบแทนส าหรั บ ตราสารทุ น (สิ ทธิ ซ้ื อหุ ้ น ) ที่ กิ จ การออกให้ มูลค่ายุติธรรมของบริ การของพนักงานเพื่อแลกเปลี่ยนกับการให้สิทธิ ซ้ื อหุ ้นจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่าย จานวน รวมที่บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายจะอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรมของสิ ทธิ ซ้ื อหุ น้ ที่ออกให้โดย - รวมเงื่อนไขทางการตลาด - ไม่รวมผลกระทบของการบริ การและเงื่อนไขการได้รับสิ ทธิ ที่ไม่ใช่ เงื่อนไขการตลาด (ตัวอย่างเช่น ความสามารถท าก าไรการเติ บ โตของกาไรตามที่ กาหนดไว้ และพนักงานจะยังเป็ นพนักงานของ กิจการในช่วงเวลาที่กาหนด) และ - ไม่ ร วมผลกระทบเงื่ อ นไขการได้รั บ สิ ท ธิ ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ งื่ อ นไขการบริ ก ารหรื อ ผลงาน (ตัว อย่ า งเช่ น ความต้องการความปลอดภัยของพนักงาน) เงื่อนไขผลงานและบริ การที่ไม่ใช่เงื่อนไขทางตลาดจะรวมอยูใ่ นข้อสมมติฐานเกี่ยวกับจานวนของสิ ทธิ ซ้ื อ หุ ้นที่คาดว่าจะได้รับสิ ทธิ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดจะรับรู้ตลอดระยะเวลาได้รับสิ ทธิ ซึ่ งเป็ นไปตามเงื่อนไขการ ได้รับสิ ท ธิ ที่ กาหนดไว้ บริ ษทั ฯจะทบทวนการประเมิ นจานวนของสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้นที่ ค าดว่าจะได้รับ สิ ท ธิ ซึ่ ง ขึ้ น กับ เงื่ อนไขการได้รั บ สิ ท ธิ ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ งื่ อ นไขการตลาด และจะรั บ รู้ ผ ลกระทบของการปรั บ ปรุ ง ประมาณการเริ่ มแรกในกาไรหรื อขาดทุนพร้อมกับการปรับปรุ งรายการไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ณ วันที่ สิ้ นรอบระยะเวลาการรายงาน เมื่อมีการใช้สิทธิ บริ ษทั ฯจะออกหุ ้นใหม่ สิ่ งตอบแทนที่ได้รับสุ ทธิ ดว้ ยต้นทุนในการทารายการทางตรง จะบันทึกไปยังทุนเรื อนหุ น้ (มูลค่าตามบัญชี) และส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ กรณี ที่บริ ษทั ฯให้สิทธิ ซ้ื อตราสารทุ นแก่พนักงานของบริ ษทั ย่อยจะปฏิบตั ิเหมือนการเพิ่มทุนอย่างหนึ่ ง บริ ษทั ฯต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของบริ การของพนักงาน โดยอ้างอิงกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออก ให้ มู ล ค่ า ของตราสารทุ น เหล่ า นั้น ต้อ งวัด ณ วัน ที่ ใ ห้สิ ท ธิ ซึ่ งจะรั บ รู้ ต ลอดระยะเวลาที่ ไ ด้รั บ สิ ท ธิ ในงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการจะบันทึกเสมือนกับเป็ นการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและ เพิ่มส่ วนของผูถ้ ือหุ น้

190

11


4.18 ประมาณการหนีส้ ิ น กลุ่มบริ ษทั จะบันทึกประมาณการหนี้ สินไว้ในบัญชี เมื่อภาระผูกพันซึ่ งเป็ นผลมาจากเหตุ การณ์ในอดี ต ได้เกิ ดขึ้นแล้ว และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ นอนว่ากลุ่มบริ ษทั จะเสี ยทรัพยากรเชิ งเศรษฐกิ จไปเพื่อ ปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และกลุ่มบริ ษทั สามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริ ษทั รับรู้ ประมาณการหนี้ สินค่ารื้ อถอนระยะยาวด้วยจานวนประมาณการต้นทุ นค่ารื้ อถอนของ อาคารและอุปกรณ์ ที่จะต้องจ่าย ณ วันสิ้ นสุ ดสัญญา ภาระผูกพันดังกล่าวบวกค่าใช้จ่ายทางการเงิ นจะ บันทึกเป็ นหนี้สินระยะยาว 4.19 การอุดหนุนจากรัฐบาล การอุ ด หนุ นจากรั ฐบาลรั บ รู ้ ด้ว ยมู ล ค่ า ยุติ ธ รรม หากมี เหตุ ผลชัด เจนว่า จะได้รั บ การอุ ดหนุ น นั้น และ กลุ่มบริ ษทั จะปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดมาพร้อมกับการอุดหนุนนั้น การอุ ด หนุ น จากรั ฐบาลเพื่ อชดเชยต้นทุ น จะรั บรู้ เ ป็ นรายการสิ น ทรั พ ย์ร อตัด บัญชี แ ละจะทยอยรั บ รู้ เป็ นรายได้ในกาไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์และระยะเวลาที่กาหนดโดยเปรี ยบเทียบการอุดหนุ นกับต้นทุน ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งรัฐบาลตั้งใจให้การอุดหนุนชดเชยคืนให้แก่กลุ่มบริ ษทั

4.20 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน กลุ่ ม บริ ษ ัท บัน ทึ ก ภาษี เงิ นได้ปั จ จุ บ ันตามจ านวนที่ ค าดว่า จะจ่ า ยให้ก ับ หน่ วยงานจัด เก็ บ ภาษี ข องรั ฐ โดยคานวณจากกาไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กลุ่มบริ ษทั บันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ของผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ และหนี้ สิน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เกี่ ยวข้องนั้น โดยใช้ อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู ้หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวที่ตอ้ งเสี ยภาษีทุกรายการ แต่รับรู้ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาหรับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ ไ ด้ ใ ช้ ใ นจ านวนเท่ า ที่ มี ค วามเป็ นไปได้ค่ อ นข้า งแน่ ที่ ก ลุ่ ม บริ ษัท จะมี ก าไรทางภาษี ใ นอนาคต เพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้น้ นั

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

191

12


กลุ่ ม บริ ษ ทั จะทบทวนมู ล ค่ า ตามบัญชี ข องสิ น ทรั พ ย์ภาษี เ งิ นได้รอการตัดบัญชี ทุ ก สิ้ นรอบระยะเวลา รายงานและจะทาการปรับลดมูลค่าตามบัญชี ดงั กล่าว หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ กลุ่มบริ ษทั จะ ไม่มี ก าไรทางภาษี เ พี ย งพอต่ อการนาสิ นทรั พ ย์ภ าษี เงิ นได้ร อการตัดบัญชี ท้ งั หมดหรื อบางส่ วนมาใช้ ประโยชน์ กลุ่มบริ ษทั จะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้อง กับรายการที่ได้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุน้ 4.21 ส่ วนต่ากว่าทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การเข้าซื้ อและโอนกิ จการทั้งหมดกับบริ ษทั ย่อยภายใต้การควบคุมเดี ยวกัน บริ ษทั ฯได้มีการบันทึกบัญชี การได้มาซึ่ งสิ นทรั พย์ของบริ ษทั ย่อยโดยวิธีการรวมกิจการแบบเสมือนว่าเป็ นวิธีการรวมส่ วนได้เสี ย ซึ่ ง ได้มี ก ารรั บ รู ้ ส่ วนต่ า กว่า ทุ น จากการรวมธุ รกิ จ ภายใต้ก ารควบคุ ม เดี ย วกัน จากการซื้ อกิ จการดัง กล่ า ว ในส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่เข้าซื้ อและโอนกิ จการทั้งหมด โดยใช้ผลต่างของ ราคาซื้ อเทียบกับราคาตามบัญชี ณ วันที่ซ้ือ

4.22 สั ญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ กลุ่ มบริ ษทั รับรู ้ จานวนสุ ทธิ ของดอกเบี้ยที่ได้จ่ายให้แก่ คู่สัญญาแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ยเป็ นค่าใช้จ่าย ตามเกณฑ์คงค้าง

4.23 การวัดมูลค่ ายุติธรรม มู ล ค่า ยุติธ รรม หมายถึ ง ราคาที่ ค าดว่า จะได้รับ จากการขายสิ น ทรั พ ย์หรื อเป็ นราคาที่ จ ะต้อ งจ่า ยเพื่ อ โอนหนี้สินให้ผอู ้ ื่นโดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผูซ้ ้ื อและผูข้ าย ณ วันที่ วัดมูลค่า กลุ่มบริ ษทั ใช้ราคาเสนอซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ และหนี้ สินซึ่ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่เกี่ ยวข้องกาหนดให้ตอ้ งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณี ที่ไม่มีตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่มีลกั ษณะเดียวกันหรื อไม่สามารถ หาราคาเสนอซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องได้ กลุ่มบริ ษทั จะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการ ประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ขอ้ มูลที่สามารถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับ สิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ใช้วดั มูลค่าและเปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้ สินในงบการเงิน แบ่งออกเป็ นสามระดับตามประเภทของข้อมูลที่นามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้

192

ระดับ 1

ใช้ขอ้ มูลราคาเสนอซื้ อขายของสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง

ระดับ 2

ใช้ขอ้ มูล อื่นที่ ส ามารถสัง เกตได้ของสิ นทรัพ ย์หรื อหนี้ สิ น ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลทางตรงหรื อ ทางอ้อม

ระดับ 3

ใช้ขอ้ มูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น 13


ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั จะประเมินความจาเป็ นในการโอนรายการระหว่างลาดับชั้น ของมูลค่ายุติธรรมสาหรับสิ นทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัดมูลค่า ยุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจา 5.

การใช้ ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีทสี่ าคัญ ในการจัดท างบการเงิ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพิ นิ จและ การประมาณการในเรื่ องที่ มี ค วามไม่แน่ นอนเสมอ การใช้ดุล ยพิ นิจและการประมาณการดัง กล่ า วนี้ ส่ งผลกระทบต่อจานวนเงิ นที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิ น ผลที่เกิดขึ้นจริ งอาจแตกต่างไปจากจานวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่สาคัญ มีดงั นี้ ค่ าเผือ่ หนีส้ งสั ยจะสู ญของลูกหนีช้ าวไร่ ในการประมาณค่ า เผื่ อ หนี้ สงสั ย จะสู ญ ของลู ก หนี้ ชาวไร่ ฝ่ ายบริ หารจ าเป็ นต้อ งใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ใน การประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยคานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงิน ในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เป็ นต้น การปรับลดสิ นค้ าคงเหลือเป็ นมูลค่ าสุ ทธิทจี่ ะได้ รับ ในการประมาณการปรับลดสิ นค้าคงเหลื อเป็ นมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ ฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจในการ ประมาณมูล ค่า สุ ทธิ ที่จะได้รับ ของสิ นค้าคงเหลื อ โดยจานวนเงิ นที่ค าดว่าจะได้รับ จากสิ นค้าคงเหลื อ พิจารณาจากสัญญาขาย การเปลี่ ยนแปลงของราคาขายหรื อต้นทุ นที่เกี่ ย วข้องโดยตรงกับ เหตุ ก ารณ์ ที่ เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงิน และฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่า จะเกิ ดขึ้นจากสิ นค้าเสื่ อมคุณภาพ โดยคานึ งถึ งอายุของสิ นค้าคงเหลื อและสภาวะเศรษฐกิ จที่ เป็ นอยู่ใน ขณะนั้น ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ และค่ าเสื่ อมราคา ในการคานวณค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องทาการประมาณอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและ บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ากว่ามูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์น้ นั ในการนี้ ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่ ง เกี่ยวเนื่องกับสิ นทรัพย์น้ นั

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

193

14


สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กลุ่ ม บริ ษ ทั จะรั บ รู้ สิ น ทรั พ ย์ภ าษี เงิ น ได้ร อการตัดบัญ ชี ส าหรั บ ผลแตกต่ า งชั่ว คราวที่ ใ ช้หัก ภาษี แ ละ ขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ กลุ่มบริ ษทั จะมีกาไรทางภาษีในอนาคตเพียง พอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องประมาณการ ว่า กลุ่ ม บริ ษ ทั ควรรั บ รู้ จานวนสิ นทรั พ ย์ภ าษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี เป็ นจานวนเท่ า ใด โดยพิจารณาถึ ง จานวนกาไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ต้ นทุนค่ าอ้อย ในการบัน ทึ ก ต้น ทุ น ค่า อ้อ ย ฝ่ ายบริ ห ารจาเป็ นต้องประมาณราคาอ้อยโดยอ้างอิ ง วิธี ก ารค านวณจาก คณะกรรมการอ้อ ยและน้ า ตาลทราย ซึ่ งต้องอาศัย ข้อสมมติ ฐานต่ า ง ๆ ในการประมาณการนั้น เช่ น ประมาณการยอดขายและอัตราแลกเปลี่ยน เป็ นต้น ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้ สิ นตามโครงการผลประโยชน์ หลัง ออกจากงานของพนัก งานประมาณขึ้ นตามหลัก คณิ ต ศาสตร์ ประกันภัย ซึ่ งต้องอาศัยข้อสมมติต่าง ๆ ในการประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือน ในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจานวนพนักงาน เป็ นต้น 6.

การดาเนินงานทีเ่ ป็ นไปตามฤดูกาล การด าเนิ น งานของกลุ่ ม บริ ษ ัท ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ผลิ ต และจ าหน่ า ยน้ า ตาลมี ล ัก ษณะขึ้ น อยู่ก ับ ฤดู ก าล ซึ่ งแบ่งเป็ นฤดู กาลผลิ ต ระหว่างช่ วงประมาณเดื อนพฤศจิกายนถึ งเดื อนเมษายน และนอกฤดู กาลผลิ ต ระหว่างช่วงประมาณเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม

194

15


7.

รายการธุรกิจกับกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน ในระหว่า งงวด กลุ่ ม บริ ษ ทั มี รายการธุ รกิ จที่ ส าคัญกับบุ ค คลหรื อกิ จการที่ เกี่ ย วข้องกัน รายการธุ รกิ จ ดังกล่าวเป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างกลุ่มบริ ษทั และบุคคลหรื อกิจการ ที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็ นไปตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ งบการเงินรวม สาหรับรอบ ระยะเวลา ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 สาหรับปี ถึงวันที่ สิ้ นสุ ดวันที่ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 รายการธุรกิจกับบริษทั ย่ อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้จากการขายสิ นค้าและบริ การ เงินปั นผลรับ ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น ซื้ อสิ นค้าและบริ การ ซื้ อสิ นทรัพย์ถาวร ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ดอกเบี้ยจ่าย

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน ซื้ อสิ นค้าและบริ การ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ดอกเบี้ยจ่าย

งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ ระยะเวลา ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 สาหรับปี ถึงวันที่ สิ้ นสุ ดวันที่ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560

(หน่วย: ล้านบาท) นโยบายการกาหนดราคา

-

-

1,259 956 74 20 934 11 12

1,011 399 74 28 292 56 6 12

ราคาตามสัญญา ตามที่ประกาศจ่าย อัตราร้อยละ 3.00 ต่อปี ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาที่ตกลงร่ วมกัน อัตราร้อยละ 1.05 ถึง 2.80 ต่อปี

277 339 40 66

267 247 47 89

170 240 14 66

156 171 19 88

ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาที่ตกลงร่ วมกัน อัตราร้อยละ 0.42 และ 11.00 ต่อปี

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

195

16


ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้สินที่ เกี่ยวข้องกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังนี้ งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อนื่ - กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

15,413 15,413

3,620 3,620

64,622 13,809 78,431

113,306 3,470 116,776

-

-

2,517,520 2,517,520

2,521,964 2,521,964

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอืน่ - กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

104,322 104,322

104,432 104,432

103,027 103,027

103,027 103,027

เจ้ าหนี้การค้ าและเจ้ าหนี้อนื่ - กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

92,378 92,378

108,406 108,406

35,990 32,015 68,005

95,630 62,663 158,293

-

-

1,546,163 1,546,163

1,439,926 1,439,926

496 496

885 885

496 496

628 628

-

-

เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั้ นแก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษทั ย่อย รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

เงินกู้ยืมระยะสั้ นจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย รวมเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินหมุนเวียนอืน่ - กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

196

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560

เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมเงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

72,750

77,600

72,750

77,600

-

หนี้สินไม่ หมุนเวียนอืน่ - กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) รวมหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

508,867 508,867

538,642 538,642

-

17


เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2561 เงิ นให้กูย้ ืมระยะสั้น แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 2,521,964 เพิ่มขึ้นระหว่างงวด 6,220,840 รับชาระคืนระหว่างงวด (6,225,284) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 2,517,520 ยอดคงค้างของเงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 บริ ษทั ย่อย บริ ษทั น้ าตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด 1,905,110 1,363,101 บริ ษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จากัด 553,573 682,940 บริ ษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัด 52,237 467,223 บริ ษทั ทรัพย์ศิริเกษตร จากัด 6,600 6,500 บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด 2,200 รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2,517,520 2,521,964 ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ย ในอัตราร้อยละ 3.00 ต่อปี และมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวงถาม

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

197

18


เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 1,439,926 เพิ่มขึ้นระหว่างงวด 3,117,171 ชาระคืนระหว่างงวด (3,010,934) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 1,546,163 ยอดคงค้างของเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 บริ ษทั ย่อย บริ ษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด บริ ษทั เคทิส ไบโอเอทานอล จากัด บริ ษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด บริ ษทั เคทิส ชีวพลังงาน จากัด บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด บริ ษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จากัด บริ ษทั เกษตรไทย วิวฒั น์ จากัด บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด รวมเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

791,568 95,500 593,295 11,150 11,680 17,450 620 13,000 11,900 1,546,163

815,236 264,000 334,310 4,050 11,680 650 10,000 1,439,926

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยใน อัตราร้อยละ 1.05 ถึงร้อยละ 2.80 ต่อปี และมีกาหนดชาระคืนเมื่อทวงถาม

198

19


เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

เงินกูย้ มื ระยะยาว หัก: ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุ ทธิจากส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 72,750 77,600 (4,850) (4,850) 67,900

72,750

ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 เงิ นกูย้ ืมระยะยาวจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 77,600 (4,850) 72,750

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ชาระคืนระหว่างงวด ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561

ยอดคงค้างของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ศิริเจริ ญเอ็กซ์ปอร์ต จากัด รวมเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

72,750 72,750

77,600 77,600

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันคิดดอกเบี้ยใน อัตราที่อา้ งอิงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

199

20


ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และในระหว่างปี สิ้ นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนัก งานที่ให้แก่ กรรมการและผูบ้ ริ หาร ดังต่อไปนี้

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ที่จ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ รวม 8.

งบการเงินรวม 2561 2560 34,590 46,561 469 612 683 911 35,742 48,084

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 32,520 43,801 469 612 683 911 33,672 45,324

งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 3,270 4,611 10,391 42,894 287,206 282,156 300,867 329,661

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 960 2,626 10,391 42,167 127,050 160,692 138,401 205,485

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสด เช็คในมือ เงินฝากธนาคาร รวม

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 เงินฝากออมทรัพย์มีอตั ราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 0.37 ถึงร้อยละ 0.38 ต่อปี (31 ธันวาคม 2560: ร้อยละ 0.37 ถึงร้อยละ 0.38 ต่อปี )

200

21


9. 9.

ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ นื่ ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ นื่ ยอดคงเหลือของลูกหนี้ การค้า ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้าง ยอดคงเหลือของลูกหนี้ การค้า ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้าง นับจากวันที่ถึงกาหนดชาระได้ดงั นี้ นับจากวันที่ถึงกาหนดชาระได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท)

ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ อายุ างนับจากวั ยังไม่หนีถึ้งคกงค้าหนดช าระ นที่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 3 เดือน ไม่เกิน 3 เดือน รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการทีไ่ ม่ เกีย่ วข้ องกัน ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการทีไ่ ม่ เกีย่ วข้ องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ค้าไม่ งชเาระ กิน 3 เดือน ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 36 -- 612เดืเดือนอน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน มากกว่ รวม า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน, สุทธิ รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน, สุทธิ รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนีอ้ นื่ ลูกหนีอ้ นื่ เงินทดรองจ่าย เงิดอกเบี นทดรองจ่ าย ้ ยค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้่ องกัน ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่ไม่เกียวข้องกัน ดอกเบี ค้าางรัยล่บว-งหน้ กิจการที ม่เกี่ยวข้ งกัอนงกัน ค่าใช้จ้ ย่ายจ่ า - กิจ่ไการที ่เกี่ยอวข้ ค่าใช้จ่า่ ยจ่ายล่วงหน้า - กิจการที่เกี่ยวข้่ องกัน ค่าใช้จายจ่ายล่วงหน้า - กิจการที่ไม่เกียวข้องกัน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - กิจการที ่ไม่เกี่ยวข้องกัน รายได้คา้ งรับ - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ่ยวข้องกัน รายได้ กิจการที ลูกหนีค้ อา้ ื่นงรั-บกิจ- การที ่เกี่ย่ไวข้ม่เอกีงกั น ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้่ องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกียวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 2561 2560

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 2561 2560

8,438 8,438

3 3

45,416 45,416

94,539 94,539

3 3 8,441 8,441

3 3

17,339 17,339 62,755 62,755

94,539 94,539

546,720 546,720

275,234 275,234

136,131 136,131

51,923 51,923

230,907 230,907 63 63 10 10 104 104 777,804 777,804 (104) (104) 777,700 777,700 786,141 786,141

73,134 73,134 -104 104 348,472 348,472 (104) (104) 348,368 348,368 348,371 348,371

147,035 147,035 -283,166 283,166 283,166 283,166 345,921 345,921

38,783 38,783 -90,706 90,706 90,706 90,706 185,245 185,245

32,721 32,72169 69 6,650 6,650 16,901 16,901 170,240 170,240 322 322 1,510 1,510 228,413 228,413 1,014,554 1,014,554

58,793 58,7937 3,4447 3,444 15,016 15,016 83,168 83,168 173 173 87,891 87,891 248,492 248,492 596,863 596,863

29,238 29,238 6,969 6,969 12 12 5,460 5,460 8,390 8,390 94,486 94,486 3,247 3,247 112 112 147,914 147,914 493,835 493,835

38,919 38,919 6,127 6,127 3,312 3,312 6,233 6,233 17,645 17,645 12,798 12,798 156 156 85,190 85,190 270,435 270,435

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

201 22 22


10.

ลูกหนีช้ าวไร่ ลูกหนี้ชาวไร่ ของกลุ่มบริ ษทั สามารถแบ่งตามลักษณะของการให้เงินช่วยเหลือได้ 2 ส่ วนดังนี้

10.1 ลูกหนี้ชาวไร่ เงินส่ งเสริ ม ลูกหนี้ชาวไร่ เงินส่ งเสริ มเป็ นลูกหนี้จากเงินที่กลุ่มบริ ษทั ให้แก่เกษตรกรเพื่อนาไปใช้จ่ายในส่ วนที่เกี่ยวกับ การเพาะปลูกอ้อยโดยตรง และเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นในการปลูกอ้อย เช่น เงินส่ งเสริ มค่าแรง ปุ๋ ย ยา เป็ นต้น 10.2 ลูกหนี้ชาวไร่ เงินสนับสนุน ลูกหนี้ชาวไร่ เงินสนับสนุนเป็ นลูกหนี้จากเงินที่กลุ่มบริ ษทั ให้แก่เกษตรกรเพื่อสนับสนุนการเพาะปลูกอ้อย รวมถึ งการเก็บเกี่ ยวเพื่อให้มีประสิ ทธิ ผลดี เช่น เงิ นสนับสนุ นโครงการบริ หารจัดการน้ า เงินสนับสนุ น เครื่ องมือการเกษตร เป็ นต้น ยอดคงเหลื อของลูกหนี้ ชาวไร่ และลู กหนี้ ชาวไร่ ดอ้ ยคุ ณภาพที่ซ้ื อมาเพื่อดาเนิ นการติดตามเรี ยกเก็บหนี้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระได้ ดังนี้

ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี มากกว่า 5 ปี รวม หัก: ส่ วนลดรับจากการรับโอนสิ ทธิ เรี ยกร้องลูกหนี้ชาวไร่ ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ รวมลูกหนี้ชาวไร่ - สุ ทธิ

202

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 2561 2560 467,144 370,973 302,684 258,497 107,677 75,658 664,278 847,612 1,314,757

57,888 114,928 679,900 852,716 1,223,689

100,962 68,750 385,480 555,192 857,876

53,728 103,254 387,141 544,123 802,620

(286,480) (453,456) 574,821

(292,376) (367,493) 563,820

(220,296) (233,934) 403,646

(221,581) (205,264) 375,775

23


11. 11.สิ นค้สิาคงเหลื อ อ นค้ าคงเหลื (หน่ว(หน่ ย: พัวนย:บาท) พันบาท)

งบการเงิ นรวมนรวม งบการเงิ รายการปรั บลดราคาทุ น น รายการปรั บลดราคาทุ ราคาทุ น น ให้เป็ให้ นมูเป็ลนค่ามูสุลทค่ธิาสุทที่จะได้ ับ รับ สิ นค้สิาคงเหลื อ - สุอท-ธิสุ ทธิ ราคาทุ ธิ ที่จระได้ นค้าคงเหลื 30 กัน30ยายน กันยายน31 ธัน31วาคม ธันวาคม30 กัน30ยายน กันยายน31 ธัน31วาคม ธันวาคม30 กัน30ยายน กันยายน31 ธัน31วาคม ธันวาคม 25612561 25602560 25612561 25602560 25612561 25602560 วัตถุดวัิบตถุดิบ 9,7409,740 39,085 - - - 9,7409,740 39,085 39,085 39,085 สิ นค้สิาสนาเร็ ป จรู ป 3,115,386 ค้าจสรูาเร็ 3,115,386 4,136,639 4,136,639 (223,263) (223,263) (471,910) (471,910) 2,892,123 2,892,123 3,664,729 3,664,729 สิ นค้สิาซืน้ อค้มาเพื ่อขาย่อขาย 29,774 - - - 29,774 าซื้ อมาเพื 29,774 47,903 47,903 29,774 47,903 47,903 อะไหล่ วัสดุโวัรงงาน อะไหล่ สดุโรงงาน และวัและวั สดุสสิ้ นดุเปลื ง อง 280,292 สิ้นอเปลื 280,292 307,405 307,405 (39,626) (39,626) (33,508) (33,508) 240,666 240,666 273,897 273,897 18,729 - - - 18,729 สิ นค้สิาระหว่ างผลิาตงผลิต 18,729 21,851 21,851 18,729 21,851 21,851 นค้าระหว่ 3,453,921 รวม รวม 3,453,921 4,552,883 4,552,883 (262,889) (262,889) (505,418) (505,418) 3,191,032 3,191,032 4,047,465 4,047,465

(หน่ว(หน่ ย: พัวนย:บาท) พันบาท)

งบการเงิ นเฉพาะกิ จการจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ รายการปรั บลดราคาทุ น น รายการปรั บลดราคาทุ ราคาทุ น น ให้เป็ให้ นมูเป็ลนค่ามูสุลทค่ธิาสุทที่จะได้ ับ รับ สิ นค้สิาคงเหลื อ - สุอท-ธิสุ ทธิ ราคาทุ ธิ ที่จระได้ นค้าคงเหลื 30 กัน30ยายน กันยายน31 ธัน31วาคม ธันวาคม30 กัน30ยายน กันยายน31 ธัน31วาคม ธันวาคม30 กัน30ยายน กันยายน31 ธัน31วาคม ธันวาคม 25612561 25602560 25612561 25602560 25612561 25602560 สิ นค้สิาสนาเร็ ป จรู ป 2,039,143 ค้าจสรูาเร็ 2,039,143 2,687,476 2,687,476 (53,476) (53,476) (294,183) (294,183) 1,985,667 1,985,667 2,393,293 2,393,293 สิ นค้สิาซืน้ อค้มาเพื ่อขาย่อขาย 33,849 - - - 33,849 าซื้ อมาเพื 33,849 44,877 44,877 33,849 44,877 44,877 อะไหล่ วัสดุโวัรงงาน อะไหล่ สดุโรงงาน และวัและวั สดุสสิ้ นดุเปลื ง อง 96,210 96,210 125,593 125,593 (15,027) (15,027) (12,519) (12,519) 81,183 81,183 113,074 113,074 สิ้นอเปลื 2,169,202 รวม รวม 2,169,202 2,857,946 2,857,946 (68,503) (68,503) (306,702) (306,702) 2,100,699 2,100,699 2,551,244 2,551,244

ในระหว่ า งรอบระยะเวลาตั นั ทีว่ 1นั ทีมกราคม 25612561ถึ งวันถึ งทีวั่ 30 25612561 กลุ่มกลุ บริ่มษบริ ทั บัษนทั ทึบักนทึ ก ้ งแต่้ งวแต่ ในระหว่ า งรอบระยะเวลาตั ่ 1 มกราคม นที่ 30กันยายน กันยายน กลับกลั รายการปรั บลดราคาทุ นของสิ น ค้านคงเหลื อให้อเป็ให้ นมูเป็ลนมู ค่าสุลทค่าธิสุทที่จธิะได้ ับเป็รนจ น 243น 243 ล้านบาท บรายการปรั บลดราคาทุ นของสิ ค้าคงเหลื ที่จระได้ ับเป็านวนเงิ นจานวนเงิ ล้านบาท (เฉพาะของบริ ษทั ฯ:ษ238 านบาท) โดยนโดยน าไปหัาไปหั กจากมู ลค่าของสิ นค้าคงเหลื อที่รัอบทีรู้เ่รป็ับนค่ ยในระหว่ างงวดางงวด (เฉพาะของบริ ทั ฯ: ล้238 ล้านบาท) กจากมู ลค่าของสิ นค้าคงเหลื รู้เป็าใช้ นค่จา่าใช้ จ่ายในระหว่ ในระหว่ างปี สิางปี นวาคม 25602560 กลุ่มกลุ บริ่มษบริ ทั บัษนทั ทึบักนการปรั บลดราคาทุ นของสิ นค้าคงเหลื อให้อเป็ให้ น เป็ น ้ นสุสิด้ นวัสุนดทีวั่ 31 ในระหว่ นทีธั่ 31 ธันวาคม ทึกการปรั บลดราคาทุ นของสิ นค้าคงเหลื มูลค่มูาสุลทค่าธิสุทที่จธิะได้ ับเป็รนจ น 461น ล้461 านบาท (เฉพาะของบริ ษทั : ษ281 ล้านบาท) โดยแสดงเป็ นส่ วนส่ นหนึ ่ง ่ง ที่จระได้ ับเป็านวนเงิ นจานวนเงิ ล้านบาท (เฉพาะของบริ ทั : 281 ล้านบาท) โดยแสดงเป็ วนหนึ ของต้ของต้ นทุนนขาย ทุนขาย บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

203

24 24


12. ชชีวีวพภาพ ย์ชีวภาพ 12. 12.สิสินนทรั ทรัสิพพนย์ย์ทรั ภาพ รายการเปลี ่ย่ยนแปลงของบั ญญชีชีสสิ ินนญทรั ชชีวีวพภาพส าหรั รอบระยะเวลาตั ทีที่ ่ ว11นั มกราคม 2561 ถึถึงงวัวันนถึทีทีง่ ่ วันที่ ้ ง้ งแต่ รายการเปลี ่ยนแปลงของบั ชีสพพิ นย์ย์ทรั ย์ชีวภาพส บรอบระยะเวลาตั ที่ 1 มกราคม รายการเปลี นแปลงของบั ทรั ภาพส าหรับบาหรั รอบระยะเวลาตั แต่วว้ งนนั ั แต่ มกราคม 2561 2561 30 2561 และส าหรั ปีปี สิสิ้ นนบสุสุปีดดสิวัวั้ นนนสุทีทีด่ ่ 31 2560 สรุ นีนี้ ้ ดงั นี้ กันยายน วั31นทีธัธันน่ 31วาคม ธันวาคม สรุดดปงังั ได้ 30 กักันน30ยายน ยายน 2561 2561 และสและส าหรับบาหรั วาคม 2560 2560 สรุปปได้ ได้ ้

(หน่ พันบาท) (หน่ววย:(หน่ ย: พัพันวนย:บาท) บาท) งบการเงิ นนรวม งบการเงิ นนเฉพาะกิ จจการ งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ รวมนรวม งบการเงิ เฉพาะกิ การ จการ 2561 2561 2561 2560 2560 2560 2561 2561 2561 2560 2560 2560 ยอดคงเหลื ออต้ต้นนงวด 27,487 ยอดคงเหลื อต้ นงวด ยอดคงเหลื งวด 27,48727,487 29,647 29,64729,647 10,057 10,05710,057 18,762 18,76218,762 เพิ กก ก 44,959 นเนื่ องจากการปลู ้ งจากการปลู เพิ่ม่มขึขึ้ ้นนเพิเนื เนื่ม่ อ่ อขึงจากการปลู 44,95944,959 35,439 35,43935,439 34,532 34,53234,532 22,573 22,57322,573 ผลก นน)) จากการเปลี ่ย่ยนแปลงในมู ลลค่ค่าายุยุตตลิธิธค่รรม ผลก(ขาดทุ าไร (ขาดทุ น) จากการเปลี ่ยนแปลงในมู ายุติธรรม 27,060 ผลกาไร าไร (ขาดทุ จากการเปลี นแปลงในมู รรม 27,06027,060 8,177 8,1778,177 19,445 19,44519,445 (669) (669) (669) (41,651) ่ ลดลงเนื ่อ่องจากการเก็ บบเกี (41,651) (45,776) (45,776) (22,600) (22,600) (30,609) (30,609) ลดลงเนื ่องจากการเก็ (41,651) (45,776) (22,600) (30,609) ลดลงเนื งจากการเก็ เกีย่ยววบเกี่ยว 57,855 ยอดคงเหลื ออปลายงวด ยอดคงเหลื อปลายงวด 57,85557,855 27,487 27,48727,487 41,434 41,43441,434 10,057 10,05710,057 ยอดคงเหลื ปลายงวด

13. นนอ้อ้ออยและน า้ า้ ตาลทราย หนีกกส้ งานกองทุ านักงานกองทุ นอ้ อยและน า้ ตาลทราย 13. 13.ลูลูกกหนี หนีลูส้ ส้ กานั านั งานกองทุ ยและน ตาลทราย งบการเงิ นนรวม งบการเงิ งบการเงิ รวมนรวม

(หน่ พันบาท) (หน่ววย:(หน่ ย: พัพันวนย:บาท) บาท) งบการเงิ นนเฉพาะกิ จจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิ การ จการ

30 กัน30 ยายน ธันวาคม กันยายน ธันวาคม กันยายน31 ธันวาคม30 กันยายน31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธัน31 วาคม 30 กัน30 ยายน 31 ธัน31 วาคม 2561 2561 2560 2560 2561 2561 2560 2560 2561 2560 2561 2560

ลูลูกกหนี นนอ้อ้ออยและน า้ า้ ตาลทราย หนีกกสงานกองทุ ้ งานกองทุ านักงานกองทุ นอ้ อยและน า้ ตาลทราย หนีลูส้ส้ กานั านั ยและน ตาลทราย ลูลูกกหนี เ งิ น ชดเชยค่ า อ้ อ ย 1,169,110 1,169,110 ้ เงินชดเชยค่ หนีลู้ ้ เงิกนหนี ชดเชยค่ าอ้อย าอ้อย 1,169,110 ลูลูกกหนี ชดเชยค่ าาผลตอบแทนการผลิ ตต ต าผลตอบแทนการผลิ ้ เงินชดเชยค่ หนีลู้ ้เเงิงิกนนหนี ชดเชยค่ ผลตอบแทนการผลิ 472,148 และจ 472,148 และจาายน าหน่ ายน้ าตาลทราย 472,148 และจาหน่ าหน่ ยน้ ้าาตาลทราย ตาลทราย รวมลู นนอ้อ้ออยและน า้ า้ ตาลทราย หนีกกสงานกองทุ ้ งานกองทุ านักงานกองทุ นอ้ อยและน า้ ตาลทราย 1,641,258 1,641,258 รวมลูกรวมลู กหนี หนีส้ส้ กานั านั ยและน ตาลทราย 1,641,258 หัหักก:: ลูลูหักกหนี นนอ้อ้ออยและน ้ ้าาตาลทราย กหนี : ลู้ ้สสกานั หนีกก้ สงานกองทุ านักงานกองทุ นอ้อยและน ้ าตาลทราย านั งานกองทุ ยและน ตาลทราย (1,169,110) ทีที่จ่จะได้ ชชาระภายในหนึ ่ ่งงปีปี ่ งปี (1,169,110) รับชาระภายในหนึ (1,169,110) ะได้ทีรร่จับับะได้ าระภายในหนึ รวมลู หนี นนอ้อ้ออยและน ้า้าตาลทราย -- สุสุททธิธิ- สุ ทธิ หนีกกงานกองทุ ส้งานกองทุ านักงานกองทุ นอ้ อยและน ้าตาลทราย รวมลูกกรวมลู หนีส้ส้ กานั านั ยและน ตาลทราย 472,148 จากส่ นที ชชาระภายในหนึ ่ง่งปีปี ่งปี 472,148 นทีรร่จับับะได้ รับชาระภายในหนึ 472,148 จากส่ ววจากส่ นที่จ่จวะได้ ะได้ าระภายในหนึ

--

- 922,084 922,084 922,084

--

-

---

- 372,386 372,386 372,386 - 1,294,470 1,294,470 1,294,470

---

-

--

- (922,084) (922,084) (922,084)

--

-

--

- 372,386 372,386 372,386

--

-

ยอดคงเหลื ออเป็เป็ นเงิ ่ก่กลุลุ่ม่มบริ าาจะได้ รรับับชดเชยจากกองทุ นนอ้อ้ออยและน เนื ้ ้าาตาลทราย ยอดคงเหลื อเป็นนชดเชยที นเงิ นชดเชยที ่กลุษษ่มทัทั บริคาดว่ ษทั คาดว่ รับชดเชยจากกองทุ นอ้อยและน เนื่ องจาก ้ าตาลทราย ยอดคงเหลื นเงิ ชดเชยที บริ คาดว่ จะได้าจะได้ ชดเชยจากกองทุ ยและน ตาลทราย เนื่ อ่ องจาก งจาก ในฤดู กการผลิ ตตปีปี 2560/2561 กลุ าาราคาอ้ ออยขั ดดท้ท้​้ นาาสุยและผลตอบแทนการผลิ ตตและจ าหน่ ยย าย ตปี 2560/2561 กลุษษ่มทัทั บริคาดว่ ษทั คาดว่ าราคาอ้ ดท้ายและผลตอบแทนการผลิ ตและจ ในฤดูในฤดู ารผลิการผลิ 2560/2561 กลุ่ม่มบริ บริ คาดว่ ราคาอ้ ยขั้ น้ นอสุสุยขั ยและผลตอบแทนการผลิ และจ าหน่าาาหน่ นน้ าาตาลทรายขั ่า่ากว่ นนต้ต้านนขั้นซึซึ่ต้่ งงตามพระราชบั ญญญั อิออ้อ้ ญัยและน พ.ศ. มาตรา 56 ้ น้ นสุสุดดท้ท้​้ นาาสุยจะต ้ ้าาตาลทราย น้ าตาลทรายขั ดท้ายจะต นตามพระราชบั ซึ่ งตามพระราชบั ติออ้ ยและน พ.ศ. 2527 ้ าตาลทราย ยจะต กว่าาขัขั่า้กว่ ญัตติญ ยและน ตาลทราย พ.ศ. 2527 2527 มาตรามาตรา 56 56 ้ ้ ตาลทรายขั กกาหนดให้ กกองทุ อ้อ้ออยและน าายเงิ ววนของค่ าาอ้อ้ออยและเงิ นนชดเชยค่ าาผลตอบแทน ้ ้ าาตาลทรายจ่ กาหนดให้ นอ้อยและน ยเงิ นชดเชยส่ วนของค่ า อ้อยและเงิ นชดเชยค่ า ผลตอบแทน ้ า ตาลทรายจ่ าหนดให้ องทุกนนองทุ ยและน ตาลทรายจ่ ยเงินนาชดเชยส่ ชดเชยส่ นของค่ ยและเงิ ชดเชยค่ ผลตอบแทน โดยชาวไร่ อออ้อ้ ยไม่ อ้อ้ งส่ นน งคืน การผลิ ตตและจ าหน่ ยน แแก่ก่กกลุลุแ่ม่มก่บริ าว โดยชาวไร่ ออ้ ตตยไม่ ตและจ าตาลทรายให้ ยน้ าตาลทรายให้ กลุษษ่มทัทั บริเท่ บส่าาวงดั นต่งงกล่ างดัาาวงวกล่ โดยชาวไร่ ยไม่ งส่ตงงอ้ คืคืงส่ การผลิการผลิ และจ าหน่าาาหน่ ยน้ ้าาตาลทรายให้ บริ เท่ษาากัทกั​ั บบเท่ส่ส่าววกันต่ นต่ งดั กล่ ค่ค่าาอ้อ้ออค่ยที รรับับ่ไเกิ ยทีาอ้่ไ่ไอด้ด้ยที เกิด้นนรับเกิน ในระหว่ าางรอบระยะเวลาตั ทีที่ ่ 1ว1นั มกราคม 2561 2561 ้ ง้ งแต่ ในระหว่ างรอบระยะเวลาตั ที่ 1 มกราคม วั30นกัทีกันน่ 30ยายน กันยายน 2561 กลุษษ่มทัทั บริได้ ได้นาประมาณการ ในระหว่ งรอบระยะเวลาตั แต่วว้นงนั ั แต่ มกราคม 2561 ถึ2561 ถึงงวัวันนถึทีทีง่ ่ 30 ยายน 2561 กลุ กลุ่ม่มบริ บริ ได้ษนนทั าประมาณการ าประมาณการ เงิเงินนชดเชยค่ าาอ้อ้ออยไปปรั บบปรุ ทุทุนนการผลิ ตต และบั นนทึทึกกประมาณการเงิ นนชดเชยค่ าาผลตอบแทนการผลิ ตต ต เงินชดเชยค่ าอ้อยไปปรั ปรุ งนนลดต้ นทุนการผลิ ต และบั นทึกประมาณการเงิ นชดเชยค่ าผลตอบแทนการผลิ ชดเชยค่ ยไปปรั ปรุงงบลดต้ ลดต้ การผลิ และบั ประมาณการเงิ ชดเชยค่ ผลตอบแทนการผลิ และจ าหน่ ยน ่ค่คาดว่ รรับับเป็เป็ นนรับรายได้ ายน้ าตาลทรายที าดว่าจะได้ เป็ นรายได้ และจและจ าหน่าาาหน่ ยน้ ้าาตาลทรายที ตาลทรายที าดว่า่คาจะได้ จะได้ รายได้

204

25 25 25


กลุ่มบริ ษทั ได้คาดการณ์วา่ ในรอบบัญชีปีถัดไป กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายจะสามารถสรุ ปการคานวณ ่มบริ ษ้ าทั ตาลทรายจะสามารถสรุ และช นชดเชยค่ าอ้วอา่ ยให้ กบั กลุญ่มชีบริ ั ได้กองทุ ดังนัน้ นอ้กลุ จึงได้จดั ประเภทประมาณการเงิ นชดเชย กลุ่มบริาระเงิ ษทั ได้ คาดการณ์ ในรอบบั ปีถัษดทไป อยและน ปการคานวณ ทีและช ่คาดว่าระเงิ าจะได้ รับชาระในรอบบั ปีถัษดทั ไปจ ษทั ฯ: 922 ล้านบาท) ่มบริ ษล้ทั านบาท นชดเชยค่ าอ้อยให้กบั กลุญ่มชีบริ ได้ ดัานวน งนั้น กลุ1,169 จึงได้จดั (เฉพาะของบริ ประเภทประมาณการเงิ นชดเชย าดว่กาหนี จะได้ รับกชงานกองทุ าระในรอบบั ชี ปีถัดไปจ านวน 1,169่จะได้ ล้านบาท (เฉพาะของบริ่ งษปีทั ฯ:นอกจากนี 922 ล้านบาท) เป็ที่คนลู นอ้ญอยและน รับชาระภายในหนึ ้ สานั ้ กลุ่มบริ ษทั ้ าตาลทรายที ่มบริ ษนทั ชดเชย เป็ นลู กหนี้ สานัวก่งานกองทุ ยและน้ า้ าตาลทรายจะสามารถสรุ ตาลทรายที่จะได้รับชาระภายในหนึ ่ งปีานวณและช นอกจากนี้ กลุ ได้ ค าดการณ์ า กองทุ นนอ้อ้ออยและน ปการค าระเงิ ค าดการณ์ ว่ า กองทุ นตอ้และจ อ ยและน าระเงิ น ชดเชย ค่ได้า ผลตอบแทนการผลิ าหน่้ าตาลทรายจะสามารถสรุ า ยน้ า ตาลทรายให้ก ับ กลุ่ ปการค ม บริ ษ ัทานวณและช ได้ภ ายในระยะเวลา 3 ปี ดัง นั้น ับ กลุ่ ม บริ ษ ัทงได้ ค่า ่ผลตอบแทนการผลิ ต และจ าหน่ านยนชดเชยที ายในระยะเวลา นั้น ้ ย ้ า ตาลทรายให้ กลุ มบริ ษทั จึงบันทึกประมาณการเงิ ่จะได้รับกในอนาคตดั กล่ภาวโดยการคิ ดลดด้3วปียอัดัตงราดอกเบี ่มบริ่ยษของเงิ ทั จึงบันนกูทึย้ กืมประมาณการเงิ ะได้รับในอนาคตดั ยอัตราดอกเบี ้ย ถักลุวเฉลี ของกลุ่มบริ ษนทั ชดเชยที และจัด่จประเภทเป็ นลูกหนีง้ สกล่านัาวโดยการคิ กงานกองทุดลดด้ นอ้อวยและน ้ าตาลทรายใน สิถันวเฉลี ทรัพ่ยของเงิ ย์ไม่หนมุกูนย้ เวีืมยของกลุ น ่มบริ ษทั และจัดประเภทเป็ นลูกหนี้สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายใน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน

การประมาณการราคาอ้อ ยและผลตอบแทนการผลิ ต และจ าหน่ า ยน้ า ตาลทรายขั้น สุ ด ท้า ยดัง กล่ า ว การประมาณการราคาอ้อ ยและผลตอบแทนการผลิ ต และจ าหน่ า ยน้ า ตาลทรายขั้น สุ ด ท้า ยดัง กล่ า ว เป็ นการประมาณการที่ดีที่สุดของฝ่ ายบริ หาร แต่การสรุ ปการคานวณขั้นสุ ดท้ายขึ้นอยูก่ บั คณะกรรมการอ้อย เป็ นการประมาณการที่ดีที่สุดของฝ่ ายบริ หาร แต่การสรุ ปการคานวณขั้นสุ ดท้ายขึ้นอยูก่ บั คณะกรรมการอ้อย และน า ตาลทราย ท าให้ราคาอ้อยและผลตอบแทนการผลิ ตและจาหน่ า ยน้ า ตาลทรายขั ้ นสุ ดท้า ยที่ จ ะ และน้​้ า ตาลทราย ทาให้ราคาอ้อยและผลตอบแทนการผลิ ตและจาหน่ า ยน้ า ตาลทรายขั ้ นสุ ดท้ายที่ จ ะ ประกาศออกมาจริ ภายในต้นนปี ปี2562 2562อาจแตกต่ อาจแตกต่ างไปจากจ านวนที ่ประมาณไว้ ประกาศออกมาจริ งงภายในต้ างไปจากจ านวนที ่ประมาณไว้

14. ในบริษษัทัทย่ย่ออยย 14. เงิเงินนลงทุ ลงทุนนในบริ 14.1 ในบริษษทั ทั ย่ย่ออยประกอบด้ ยประกอบด้ วยเงิ นลงทุ นในหุ น้ สามั ญของบริ งต่อ้ ไปนี้ 14.1 เงิเงินนลงทุ ลงทุนนในบริ วยเงิ นลงทุ นในหุ น้ สามั ญของบริ ษทั ดัษงทต่ั อดัไปนี งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ จการ

วย: พันบาท) (หน่วย: พั(หน่ นบาท)

เงินปั นผลรั เงินบปั นผลรับ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาระยะเวลา ตั้งแต่วนั ตัที้ ง่ แต่วนั ที่ 1 มกราคม เงินปั นผลรัเงิบนปั นผลรับ 1 มกราคม ค่าเผืค่​่อาการด้ อยค่าอยค่า มูลค่าตามบั ชี ญชี 2561 2561สาหรับปี สาหรับปี เผื่อการด้ มูลค่าญตามบั บริ ษทั ราคาทุน ของเงินลงทุน ตามวิธีราคาทุน-สุทธิ บริ ษทั ราคาทุน ของเงินลงทุน ตามวิธีราคาทุน-สุทธิถึงวันที่ ถึงวัสิน้นทีสุ่ ดวันสิที้ น่ สุ ดวันที่ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 บริ ษทั น้ าตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด 1,261,726 1,252,584 - 1,261,726 1,252,584 บริบริษษทั ทั นเพิ้ าตาลไทยเอกลั 1,261,726 1,010,905 1,252,584 - 1,261,726 1,252,584110,189 ด จากัด 1,010,905 - - 1,010,905 1,010,905 18,069 ่มสิ นพัฒนา จากักษณ์ บริบริษษทั ทั เพิเกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ 1,010,905 1,010,905 1,010,905 1,010,905 110,189 18,069 ่มสิ นพัฒนา จากัด จากัด 2,460,588 2,460,125 - 2,460,588 2,460,125 140,490 100,800 บริบริษษทั ทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ ากั ด 2,460,588 2,460,125 2,460,588 2,460,125 140,490 เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด 2,664,920 2,660,473 - 2,664,920 2,660,473 333,888 60,384 100,800 บริบริษษทั ทั เอ็เคทิ นไวรอนเม็ นท์พลั พ์ แอนด์ 2,664,920 867,706 2,660,473 2,664,920867,706 2,660,473370,995 333,888 ส ไบโอเอทานอล จากัด เปเปอร์ จากัด 869,422 - - - 869,422 220,160 60,384 บริบริษษทั ทั เคทิ 869,422 311,000 867,706 ทรัพสย์ไบโอเอทานอล ศิริเกษตร จากัด จากัด 311,000 - - - 311,000869,422311,000867,706 - 370,995 - 220,160 ไทยเอกลั ษณ์เพาเวอร์ 350,062 - - - 350,062311,000350,044311,000 บริบริษษทั ทั ทรั พย์ศิริเกกษตร จากัด จากัด 311,000 350,044 311,000 - บริ ษ ท ั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ ากั ด 395,668 395,537 395,668 395,537 บริ ษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จากัด 350,062 350,044 350,062 350,044 เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ 1,000 1,000 - - - 1,000395,668 1,000395,537 บริบริษษทั ทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัจดากัด 395,668 395,537 - บริ ษ ท ั เคทิ ส ชี ว พลั ง งาน จ ากั ด 20,000 20,000 (10,000) (10,000) 10,000 10,000 บริ ษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จากัด 1,000 1,000 1,000 1,000 บริ ษ ท ั เกษตรไทย วิ ว ฒ ั น์ จ ากั ด 61,000 61,000 61,000 61,000 บริ ษทั เคทิส ชีวพลังงาน จากัด 20,000 20,000 (10,000) (10,000) 10,000 10,000 เคทิส วิจยั และพั 19,999 - - - 19,99961,000 9,999 61,000 บริบริษษทั ทั เกษตรไทย วิวฒั ฒน์นาจากัจากั ดด 61,000 9,999 61,000 - บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด 12,250 12,250 12,250 12,250 บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด 19,999 9,999 19,999 9,999 รวม 9,438,540 9,412,623 (10,000) (10,000) 9,428,540 9,402,623 955,562 399,413 บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด 12,250 12,250 12,250 12,250 -

รวม

(10,000) 9,402,623 ำปี 2561 955,562 26 บริ9,438,540 ษัท เกษตรไทย9,412,623 อินเตอร์เนชั่นแนล(10,000) ชูการ์ คอร์ปอเรชั ่น จ�ำกัด 9,428,540 (มหาชน) รายงานประจ�

399,413 205

26


14.2 การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยในระหว่างปี 2560 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2560 บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัด ซึ่ งเดิมเป็ นบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ฯถือหุ ้นผ่าน บริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด (บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ) ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจาก 1 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 10,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 50 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 500,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) โดย เรี ยกชาระค่าหุ น้ เพิ่มทุนร้อยละ 25 ซึ่ งบริ ษทั ฯได้ลงทุนในหุ ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวทั้งหมด และจ่ายชาระ ค่าหุน้ เพิม่ ทุนดังกล่าวรวมเป็ นเงินประมาณ 12 ล้านบาท ส่ งผลให้สัดส่ วนการลงทุนของบริ ษทั ฯในบริ ษทั ดังกล่าวคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 98 และหากรวมสัดส่ วนการลงทุนที่บริ ษทั ย่อยลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวจะ ทาให้บริ ษทั ฯมีสัดส่ วนการลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวทั้งทางตรงและทางอ้อมเป็ นร้อยละ 100 14.3 การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 เมื่ อ วัน ที่ 26 มกราคม 2561 บริ ษ ัท เคทิ ส วิ จ ัย และพัฒ นา จ ากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษ ัท ย่อ ยของบริ ษ ทั ฯได้ จดทะเบียนเพิ่ มทุ นจาก 10 ล้า นบาท (หุ ้นสามัญ 100,000 หุ ้น มูล ค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 20 ล้านบาท (หุน้ สามัญ 200,000 หุ น้ มูลค่าหุ น้ ละ 100 บาท) และบริ ษทั ฯได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มตามสัดส่ วนการถือหุ ้นเดิม รวมเป็ นเงิน 10 ล้านบาท 14.4 ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 บริ ษทั ฯรับรู้โครงการจ่าย โดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์จานวนเงินรวม 16 ล้านบาท (ระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560: 21 ล้านบาท) เป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ซึ่ งรายการดังกล่าวจะรับรู้เมื่อได้รับบริ การจากพนักงานของบริ ษทั ย่อย 14.5 ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงิ นลงทุนใน บริ ษทั เคทิส ชีวพลังงาน จากัด จากมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ดว้ ยวิธีประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ที่ กิ จการคาดว่า จะได้รับ และค านวณคิ ดลดเป็ นมู ล ค่ า ปั จจุ บ นั ซึ่ ง ผลการประเมิ นพบว่า มูล ค่ า ที่ ค าดว่า จะได้รับคืนต่ ากว่ามูลค่าตามบัญชี ดังนั้น บริ ษทั ฯจึงได้บนั ทึกค่าเผื่อการด้อยค่าของเงิ นลงทุ นดังกล่ าว จานวน 10 ล้านบาท ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ

206

27


15. อสั งหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 แสดง ได้ดงั นี้

ที่ดิน รอการขาย

งบการเงินรวม อาคารสานักงาน ให้เช่า

(หน่วย: พันบาท) งบการเงิน เฉพาะกิจการ ที่ดิน รอการขาย

รวม

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ราคาทุน หัก: ค่าเสื่ อมราคาสะสม หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ

346,303 (24,679) 321,624

1,570 (875) 695

347,873 (875) (24,679) 322,319

24,910 (12,532) 12,378

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาทุน หัก: ค่าเสื่ อมราคาสะสม หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ

343,623 (23,386) 320,237

1,570 (757) 813

345,193 (757) (23,386) 321,050

24,910 (12,532) 12,378

การกระทบยอดมู ล ค่ า ตามบัญ ชี ข องอสัง หาริ ม ทรั พ ย์เ พื่ อการลงทุ น ส าหรั บ รอบระยะเวลาตั้ง แต่ ว นั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 แสดงได้ดงั นี้

มูลค่าตามบัญชีตน้ งวด ซื้ อเพิ่ม ค่าเสื่ อมราคา ด้อยค่า มูลค่าตามบัญชีปลายงวด

งบการเงินรวม 2561 2560 321,050 328,711 2,680 294 (118) (157) (1,293) (7,798) 322,319 321,050

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 12,378 12,378 12,378 12,378

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

207

28


มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 แสดง ได้ดงั นี้

ที่ดินรอการขาย อาคารสานักงานให้เช่า

งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 391,107 389,720 3,196 3,196

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 15,953 15,953 -

มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์เ พื่ อ การลงทุ น ถู ก ประเมิ น โดยผู ้ป ระเมิ น ราคาอิ ส ระ โดยใช้วิ ธี ต้นทุนทดแทนสุ ทธิ และวิธีเปรี ยบเทียบกับข้อมูลตลาดในการวัดมูลค่ายุติธรรม โดยนาราคาขายของที่ดิน และอาคารที่เปรี ยบเทียบกันได้ในบริ เวณใกล้เคียงกันมาปรับปรุ งด้วยความแตกต่างของคุณสมบัติที่สาคัญ เช่น ขนาดและสถานที่ต้ งั ของอสังหาริ มทรัพย์

208

29


บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ซื้อเพิ่ม จาหน่าย/ตัดจาหน่าย โอนเข้า (โอนออก) ประมาณการค่ารื้ อถอนระยะยาว ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ซื้อเพิ่ม จาหน่าย/ตัดจาหน่าย โอนเข้า (โอนออก) ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่ จาหน่าย/ตัดจาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับงวด ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่ จาหน่าย/ตัดจาหน่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 (179) 816,097 112,492

90,481 12,047 928,589

675,621 140,655

75,599 14,882

102,528

2,373,617 28,176 (477) 268,494 3,000 2,672,810 22,062 30,943 2,725,815

อาคาร และสิ่ งปลูกสร้าง

376,185 27,210 24,040 427,435 9,400 40,758 477,593

ที่ดิน และส่วนปรับปรุ งที่ดิน

16. ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์

209

(1,650) 7,038,603

(4,813) 6,341,977 698,276

5,414,012 932,778

12,029,587 181,467 (7,847) 788,380 5,400 12,996,987 110,472 (1,708) 247,636 13,353,387

เครื่ องจักร และอุปกรณ์

(219) 413,086

(2,826) 373,911 39,394

323,662 53,075

466,561 41,568 (5,010) 4,073 507,192 26,313 (219) 744 534,030

(97) 148,909

(359) 137,175 11,831

120,009 17,525

159,722 15,565 (477) 174,810 7,975 (107) 2,955 185,633

งบการเงินรวม เครื่ องมือและอุปกรณ์ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง ทางการเกษตร และเครื่ องใช้สานักงาน

(10,631) 649,948

(73,067) 582,454 78,125

564,585 90,936

1,031,118 240,224 (102,113) 1,340 1,170,569 25,341 (11,798) 1,184,112

ยานพาหนะ

-

-

-

1,691,745 410,591 (1,086,327) 3,456 1,019,465 187,749 (323,036) 884,178

สิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้ง และงานระหว่างก่อสร้าง

(12,597) 9,281,663

(81,244) 8,342,095 952,165

7,173,488 1,249,851

18,128,535 944,801 (115,924) 8,400 3,456 18,969,268 389,312 (13,832) 19,344,748

รวม

(หน่วย: พันบาท)

30


210 133,281 120,944

37,635 36,724

588,115 534,164

906,232 763,727

103,953 9,280 113,233 7,218 120,451

สิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้ง และงานระหว่างก่อสร้าง

10,513,940 9,941,640

103,953 9,280 113,233 8,212 121,445

รวม

952,165

6,655,010 6,314,784

-

ยานพาหนะ

สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 (868 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)

1,856,713 1,796,326

336,954 374,971

เครื่ องจักร และอุปกรณ์

1,249,851

900 900

94 94

อาคาร และสิ่ งปลูกสร้าง

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ค่ าเสื่ อมราคา สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (1,128 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่ วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)

ค่ าเผือ่ การด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 เพิ่มขึ้นระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เพิ่มขึ้นระหว่างงวด ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ที่ดิน และส่วนปรับปรุ งที่ดิน

งบการเงินรวม (ต่ อ) เครื่ องมือและอุปกรณ์ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง ทางการเกษตร และเครื่ องใช้สานักงาน

(หน่วย: พันบาท)

31


บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

211

321,259 778,836

19,845

175,395

2,291,414

(1,101) 2,074,368

1,741,983 333,486

75,761

84,175

(125) 219,628

(1,886) 196,514 23,239

166,631 31,769

12,782

15,677

54,263

(24) 48,937 5,326

40,380 8,581

59,547 5,092 (25) 64,614 2,431 67,045

317,633

346,001

(174) 275,316

(709) 231,847 43,643

184,764 47,792

430,546 148,112 (2,150) 1,340 577,848 16,442 (1,341) 592,949

146,581

292,961

-

-

-

109,047 230,310 (46,396) 292,961 58,660 (205,040) 146,581

สิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้ง และงานระหว่างก่อสร้าง

32

3,642,813

3,984,459

(1,400) 2,964,679

(2,619) 2,496,727 469,352

1,903,481 595,865

5,847,615 639,730 (6,159) 6,481,186 128,931 (2,625) 6,607,492

รวม

469,352

262,300 58,959

15,146 4,699

1,314,011 427,972

258,171 24,921 (3,984) 1,581 280,689 14,216 (125) 609 295,389

ยานพาหนะ

สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 (405 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)

187,286 75,014

10,409 4,737

3,831,201 180,467 21,729 4,033,397 22,046 (1,159) 154,214 4,208,498

เครื่ องจักร และอุปกรณ์

595,865

1,012,538 23,618 4,980 1,041,136 5,734 18,478 1,065,348

146,565 27,210 16,766 190,541 9,402 31,739 231,682

อาคาร และสิ่ งปลูกสร้าง

211,837 744,089 2,134,130 ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ค่ าเสื่ อมราคา สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (511 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ซื้อเพิ่ม จาหน่าย/ตัดจาหน่าย โอนเข้า (โอนออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ซื้อเพิ่ม จาหน่าย/ตัดจาหน่าย โอนเข้า (โอนออก) ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย/ ตัดจาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับงวด ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย/ ตัดจาหน่าย ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ที่ดิน และส่วนปรับปรุ งที่ดิน

งบการเงินเฉพาะบริษัท เครื่ องมือและอุปกรณ์ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง ทางการเกษตร และเครื่ องใช้สานักงาน

(หน่วย: พันบาท)


ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั ได้รวมต้นทุนการกูย้ ืมเข้าเป็ นราคาทุนของโครงการ จานวน 3 ล้านบาท โดยคานวณจากอัตราการตั้งขึ้นเป็ นทุนในอัตราร้อยละ 3.00 - 4.75 ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของโรงงานและเครื่ องจักร ซึ่ งได้มาภายใต้สัญญาเช่า ทางการเงิน โดยมีมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชีเป็ นจานวนเงิน 81 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2560: 97 ล้านบาท) ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั มีอาคารและอุปกรณ์จานวนหนึ่ งซึ่ งตัดค่าเสื่ อมราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีจานวนเงิน 2,841 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2560: 2,647 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 494 ล้านบาท 31 ธันวาคม 2560: 347 ล้านบาท) กลุ่ มบริ ษทั ได้นาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซ่ ึ งมีมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 จานวน 4,277 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2560: 4,506 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 434 ล้านบาท 31 ธันวาคม 2560: 482 ล้านบาท) ไปค้ าประกันวงเงินสิ นเชื่อระยะสั้นและระยะยาวที่ได้รับจากสถาบันการเงิน

212

33


17.

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

213

ณ วันทีณ ่ 30วักันนทียายน ่ 30 กัน2561 ยายน 2561 ราคาทุนราคาทุน หัก ค่าตัหัดกจาหน่ ค่าตัาดยสะสม จาหน่ายสะสม มูลค่าตามบั ชี - สุ ทญธิชี - สุ ทธิ มูลค่ญาตามบั ณ วันทีณ ่ 31วัธันนทีวาคม ่ 31 ธัน2560 วาคม 2560 ราคาทุนราคาทุน หัก ค่าตัหัดกจาหน่ ค่าตัาดยสะสม จาหน่ายสะสม มูลค่าตามบั ชี - สุ ทญธิชี - สุ ทธิ มูลค่ญาตามบั 2,144 2,144 319,447319,447 335,886 335,886 8,479 8,479 (1,446) (1,446) (50,114)(50,114) (64,140)(64,140) (8,095) (8,095) 698 698 269,333269,333 271,746 271,746 384 384 2,144 2,144 319,447319,447 335,796 335,796 8,239 8,239 (1,286) (1,286) (38,167)(38,167) (51,603)(51,603) (7,712) (7,712) 858 858 281,280281,280 284,193 284,193 527 527

14,295 14,295 (12,580)(12,580) 1,715 1,715

14,205 14,205 (12,150)(12,150) 2,055 2,055

งบการเงิงบการเงิ นรวม นรวม คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่ องหมาย เครื่ องหมายสิ ทธิในการ สิ ทธิในการ ซอฟต์แซอฟต์ วร์ แวร์ การค้า การค้า ใช้สายส่ใช้ งไฟฟ้ า งไฟฟ้ า รวม สายส่

100 (77) 23

100 (84) 16

34

34

100 8,339 8,339 (77) (7,789) (7,789) 550 550 23

100 8,579 8,579 (84) (8,179) (8,179) 400 400 16

(หน่วย: พั(หน่ นบาท) วย: พันบาท) งบการเงินงบการเงิ เฉพาะกินจเฉพาะกิ การ จการ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่ องหมาย เครื่ องหมาย รวม ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ การค้า การค้า รวม รวม

มูลค่ญาตามบั ไม่มณีตววั​ั ตน ่ 30 กั2561 นยายนและ2561 31 ธั2560 นวาคม 2560 แสดงได้ มูลค่าตามบั ชีของสิญนชีขทรัองสิ พย์นไม่ทรัมีตพวั ย์ตน นที่ ณ30วักันนทียายน 31 ธัและ นวาคม แสดงได้ ดงั นี้ ดงั นี้

ไม่ มีตัวตน สิ17.นทรัพสิย์นไม่ทรัมพีตัวย์ตน


การกระทบยอดมู การกระทบยอดมูลลค่ค่าตามบั าตามบัญญชีชีขของสิ องสินนทรัทรัพพย์ไย์ม่ไม่มมีตีตวั ตนส วั ตนสาหรั าหรับบรอบระยะเวลาตั รอบระยะเวลาตั้ งแต่ มกราคม2561 2561 ้ งแต่วนวั นั ทีที่ 1่ 1มกราคม ถึถึงวังนวันทีที่ 30่ 30กักันนยายน ยายน2561 2561และส และสาหรั าหรับบปี ปีสิสิ้ น้ นสุสุดดวันวันทีที่ 31่ 31ธันธันวาคม วาคม2560 2560แสดงได้ แสดงได้ดดงั นีงั นี้ ้

มูมูลลค่ค่าตามบั าตามบัญญชีชีตตน้ น้ งวด งวด ซืซื้ อ้ อเพิเพิ่ม่ม จจาหน่ าหน่ายาย- -ราคาทุ ราคาทุนน จาหน่ จาหน่ายาย- ค่- ค่าตัาตัดดจาหน่ จาหน่ายสะสม ายสะสม ค่ค่าตัาตัดดจาหน่ จาหน่ายาย มูมูลลค่ค่าตามบั าตามบัญญชีชีปปลายงวด ลายงวด

งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม 2561 2560 2561 2560 284,193 284,193 296,791 296,791 9090 6,611 6,611 -(11) (11) -1111 (12,537) (12,537) (19,209) (19,209) 271,746 271,746 284,193 284,193

(หน่ (หน่วย: วย:พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ จการ 2561 2560 2561 2560 550 1,102 550 1,102 240 9494 240 -(11) (11) -1111 (390) (646) (390) (646) 400 550 400 550

18.18. เงิเงินนเบิเบิกเกิ กเกินนบับัญญชีชีและเงิ และเงินนกู้ยกู้มืยมื ระยะสั ระยะสั้ น้ นจากสถาบั จากสถาบันนการเงิ การเงินน อัตอัราดอกเบี ้ย ้ย ตราดอกเบี 3030กันกัยายน นยายน 3131ธันธัวาคม นวาคม 2561 2560 2561 2560 (ร้(ร้อยละต่ อปีอ)ปี ) (ร้(ร้อยละต่ อปีอ)ปี ) อยละต่ อยละต่ เงินเงิเบิ กเกิกเกินบันญบัญ ชี ชี MOR MOR นเบิ MOR MOR ตัว๋ตัสัว๋ ญสัญ ญาใช้ เงินเงิและตั ว๋ แลกเงิ น น 1.92 2.00 ญาใช้ นและตั ว๋ แลกเงิ 1.92- 2.20 - 2.20 2.00- 2.57 - 2.57 ้ เจ้เจ้ าหนี ท รั ส ต์ ร ี ซ ี ท 2.85 าหนี้ทรัสต์รซีท 2.85 รวม รวม

งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม 3030กันกัยายน นยายน 3131ธันธัวาคม นวาคม 2561 2560 2561 2560 87,011 87,011 3,473,500 3,473,500 -3,560,511 3,560,511

162,221 162,221 1,603,860 1,603,860 599,521 599,521 2,365,602 2,365,602

(หน่ (หน่วย:วย:พันพับาท) นบาท) งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ นเฉพาะกิจการ จการ 3030กันกัยายน นยายน 3131ธันธัวาคม นวาคม 2561 2560 2561 2560 86,898 86,898 3,473,500 3,473,500 -3,560,398 3,560,398

160,743 160,743 1,603,860 1,603,860 -1,764,603 1,764,603

เงิเงินนเบิเบิกกเกิเกินนบับัญญชีชีแและเงิ ละเงินนกูกู้ยืม้ยืมระยะสั ระยะสั้ น้ นจากสถาบั จากสถาบันนการเงิ การเงินนของบริ ของบริษษทั ทั ฯคฯค้ าประกั โดยการจดจานองที านองที่ด่ิดนิ น ้ าประกันนโดยการจดจ อาคารและอุ อาคารและอุปปกรณ์ กรณ์ขของบริ องบริษษทั ทัฯฯตามที ตามที่ก่กล่ล่าวไว้ าวไว้ในหมายเหตุ ในหมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนข้ข้ออ1616 เงิเงินนกูกูย้ ืมย้ ืมระยะสั ระยะสั้ น้ นจากสถาบั จากสถาบันนการเงิ การเงินนของบริ ของบริษษทั ทั ย่อย่อยคยค้ าประกั โดยการจดจานองที านองที่ด่ิดนินอาคารและอุ อาคารและอุปปกรณ์ กรณ์ ้ าประกันนโดยการจดจ ของบริ ของบริษษทั ทัย่อย่อย ยตามที ตามที่ก่กล่ล่าวไว้ าวไว้ในหมายเหตุ ในหมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนข้ข้ออ1616และค และค้ าประกั โดยบริษษทั ทัฯฯ ้ าประกันนโดยบริ 19.19. เจ้เจ้าหนี าหนีก้ ารค้ ก้ ารค้าและเจ้ าและเจ้าหนี าหนีอ้ นอื่้ นื่ ในบั ในบัญญชีชีเจ้เาจ้หนี า หนี้ ก้ การค้ ารค้า และเจ้ า และเจ้า หนี า หนี้ อ้ ื่อนื่ นณณวันวันทีที่ 30 ่ 30กักันนยายน ยายน2561 2561 ของกลุ ของกลุ่ ม่ มบริบริษษทั ทั ได้ได้รวมเงิ รวมเงินนจานวน จานวน 162 162ล้ล้านบาท านบาท(เฉพาะของบริ (เฉพาะของบริษษทั ทั ฯ:ฯ: 129 129 ล้ล้านบาท) านบาท)ซึซึ่ ง่ เป็ งเป็นเงิ นเงินนทีที่ไ่ได้ด้รัรบับจากกองทุ จากกองทุนนอ้อ้ออยและน ยและน้ า้ตาลทราย าตาลทราย ตามโครงการช่ ตามโครงการช่วยเหลื วยเหลืออและแก้ และแก้ไขปั ไขปัญญหาความเดื หาความเดืออดร้ดร้ออนของชาวไร่ นของชาวไร่ออ้ อยและโรงงานน ้ ยและโรงงานน้ าตาล ้ าตาล

214

3535


20. เงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากสานักงานกองทุนอ้ อยและนา้ ตาลทราย เงินกูย้ ืมดังกล่าวเป็ นเงิ นกูย้ ืมที่กลุ่มบริ ษทั ยืมจากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย ซึ่ งเป็ นไปตาม โครงการสิ นเชื่ อเพื่อเสริ มสภาพคล่องให้กบั โรงงานน้ าตาล โดยมีอตั ราดอกเบี้ยอยูท่ ี่ร้อยละ 0.1 ต่อปี และ มีกาหนดชาระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยทั้งหมดในเดือนธันวาคม 2561 21. หนีส้ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน บริ ษ ัท ฯได้ท าสั ญ ญาเช่ า การเงิ น กับ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน แห่ ง หนึ่ งเพื่ อ เช่ า โรงงานและเครื่ อ งจัก ร ใช้ในการดาเนิ นงานของกิ จการโดยมีกาหนดการชาระค่าเช่าเป็ นรายปี อายุของสัญญามีระยะเวลา 30 ปี สัญญาดังกล่าวมีอตั ราดอกเบี้ยที่แท้จริ งร้อยละ 11 ต่อปี และมียอดคงเหลือดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 2,201,100 2,296,800 (1,410,003) (1,497,883) หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจาหน่าย รวม 791,097 798,917 (8,679) (7,819) หัก: ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี 782,418 791,098 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุ ทธิ จากส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี

บริ ษทั ฯมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่าตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี เกินกว่า 5 ปี รวม ผลรวมของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 96 383 1,722 2,201 ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี (87) (337) (986) (1,410) มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 9 46 736 791 (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี เกินกว่า 5 ปี รวม ผลรวมของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 96 383 1,818 2,297 ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี (88) (342) (1,068) (1,498) มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 8 41 750 799

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

215

36


22.22. เงิเงินกูน้ ยกูมื ้ ยระยะยาวจากสถาบั มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิ นการเงิน น

อัตอัราดอกเบี ้ย ้ย ตราดอกเบี เงินเงิกูน้ กู้(ร้(ร้ อยละต่ อปีอ)ปี ) เงื่อเงืนไขการช าระคื นน อยละต่ ่อนไขการช าระคื 11 4.20 าระคื นเงินนเงิต้นนต้ทุนกทุ6ก เดื6 เดื อนอนโดยมี 4.20 กาหนดช กาหนดช าระคื โดยมี กาหนดช าระคื น เงิ น ต้ น งวดสุ ด ท้ า ย กาหนดชาระคืนเงินต้นงวดสุดท้าย ในเดื อนมิ ถุนถายน ในเดื อนมิ ุนายน2565 2565 2 2 3.92 3.95 ก าหนดช าระคื น เงิ น ต้ น อนอนโดยมี 3.92 - 3.95 กาหนดชาระคืนเงินต้ทุนกทุ6ก เดื6 เดื โดยมี กาหนดช าระคื น เงิ น ต้ น งวดสุ ด ท้ า ย กาหนดชาระคืนเงินต้นงวดสุดท้าย ในเดื อนธั นวาคม ในเดื อนธั นวาคม2562 2562 รวม รวม หักหั:กส่: วส่นที ่ถึง่ถกึงาหนดช าระภายในหนึ ่ งปี่ งปี วนที กาหนดช าระภายในหนึ เงินเงิกูนย้ กูมื ย้ ระยะยาว วนที ่ถึง่ถกึงาหนดช าระภายในหนึ ่ งปี่ งปี มื ระยะยาว- สุ- ทสุธิทจธิากส่ จากส่ วนที กาหนดช าระภายในหนึ

(หน่ วย:วย:พันพับาท) (หน่ นบาท) งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 3030กันกัยายน 31 ธั น วาคม 30 กั น ยายน 31 ธั น วาคม นยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2,496,520 2,496,520 2,745,269 2,745,269 2,496,520 2,496,520 2,745,269 2,745,269 449,522 449,522 2,946,042 2,946,042 (848,573) (848,573) 2,097,469 2,097,469

--2,745,269 2,745,269 2,496,520 2,496,520 (498,354) (548,573) (498,354) (548,573) 2,246,915 2,246,915 1,947,947 1,947,947

-2,745,269 2,745,269 (498,354) (498,354) 2,246,915 2,246,915

เงิเงินกูนย้ กูืมย้ ของบริ นโดยการจดจ ในใน ้ าประกั ืมของบริษทัษฯค ทั ฯค นโดยการจดจานองที านองที่ดิน่ดินอาคารและอุ อาคารและอุปกรณ์ ปกรณ์ของบริ ของบริษทัษฯตามที ทั ฯตามที่กล่​่กาล่วไว้ าวไว้ ้ าประกั หมายเหตุ นโดยบริ ้ าประกั หมายเหตุประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงินข้นอข้อ1616และเงิ และเงินกูนย้ กูมื ย้ ของบริ มื ของบริษทัษย่ทั อย่ยค อยค นโดยบริษทัษฯทั ฯ ้ าประกั

สัญสัญญาเงิ ระบุ อกอาหนดบางประการ ตราส่ ้ ต่้อต่อ ญาเงินกูน้ยกูืม้ยดัืมงดักล่ งกล่าวได้ าวได้ ระบุขอ้ ขปฏิ อ้ ปฏิบตับิแตั ละข้ ิและข้ กาหนดบางประการเช่เช่น นการด การดารงอั ารงอั ตราส่วนของหนี วนของหนี ส่ วส่นของผู ถ้ ือถ้ หุือน้หุและข้ อจอากั ดเกีดเกี่ยวกั บการจ ่ยวกั วนของผู น้ และข้ จากั บการจานองที านองที่ดิน่ดินอาคารและอุ อาคารและอุปกรณ์ ปกรณ์เป็เป็นต้นนต้น

23.23. เงิเงินกูน้ยกูมื ้ยระยะยาวจากส มื ระยะยาวจากสานัานักงานกองทุ กงานกองทุนอ้นออ้ยและน อยและนา้ ตาลทราย า้ ตาลทราย

(หน่ วย:วย:พันพับาท) (หน่ นบาท) งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 3030กันกัยายน นยายน 3131ธันธัวาคม นวาคม 3030กันกัยายน นยายน 3131ธันธัวาคม นวาคม 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 ้ เงินเงิกูนยกูมื ย้ ระยะยาว 115,892 มื ระยะยาว 115,892 229,799 229,799 61,234 61,234 112,471 112,471 หักหั:กส่: วส่นที ่ ถ ึ ง ก าหนดช าระภายในหนึ ่ ง ปี (94,940) (121,603) (61,234) (59,220) วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี (94,940) (121,603) (61,234) (59,220) เงินเงิกูนย้ กูมื ย้ ระยะยาว สุ ท ธิ จ ากส่ ว นที ่ ถ ึ ง ก าหนดช าระภายในหนึ ่ ง ปี 20,952 108,196 53,251 มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี 20,952 108,196 53,251

เงิเงินกูน้ยกูืม้ยดัืมงดักล่ ้ าตาลทราย ่มบริษทัษยืทั มยืจากส งกล่าวเป็ าวเป็นเงินเงินกูนย้ กูืมย้ ทีืม่กทีลุ่ก่มลุบริ มจากสานัานักงานกองทุ กงานกองทุนอ้นออ้ยและน อยและน นไปตาม ้ าตาลทรายซึ่ งซึเป็่ งเป็นไปตาม โครงการสนั บสนุ ดซืด้ อซืรถตั ดอ้ดออ้ยอยโดยมี ท่ ี่รท่ ้อี่รยละ ้ ยเฉลี โครงการสนั บสนุนสินนสิ เชื นเชื่อส่อาหรั สาหรับการจั บการจั โดยมีอตั อราดอกเบี ตั ราดอกเบี ่ยอยู ้อยละ2.05 2.05- -2.12 2.12 ้ อรถตั ้ ยเฉลี่ยอยู ต่อต่ปีอปีและมี างกลุ ้ ยเป็้ ยเป็นรายปี ่มบริษทัษและ และมีระยะเวลาช ระยะเวลาชาระคื าระคืนเงินเงินต้นนต้และดอกเบี นและดอกเบี นรายปีตามสั ตามสัญญญาขายลดเช็ ญาขายลดเช็คระหว่ คระหว่ างกลุ่มบริ ทั และ ้ ่ สานั ก งานกองทุ น อ้ อ ยและน า ตาลทราย เงิ น กู ย ม ื ดั ง กล่ า วค า ประกั น โดยกรรมการผู ม ้ ี อ านาจของกลุ ม บริ ษ ้ ้ าตาลทราย เงินกูย้ มื ดังกล่าวค ้ ้ าประกันโดยกรรมการผูม้ ีอานาจของกลุ่มบริทัษทั สานักงานกองทุนอ้อยและน

216

3737


24. สารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงาน 24. 24. สสารองผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์ รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงาน งาน สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานของกลุ่มบริ ษทั ประกอบด้วยโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน สสารองผลประโยชน์ รระยะยาวของพนั ารองผลประโยชน์ ะยะยาวของพนั งานของกลุ่​่มมบริ บริ ษษททั​ั ประกอบด้ ประกอบด้ววยโครงการผลประโยชน์ ยโครงการผลประโยชน์หหลัลังงออกจากงาน ออกจากงาน และผลประโยชน์ ระยะยาวอื ่นดังนี้ กกงานของกลุ และผลประโยชน์ และผลประโยชน์รระยะยาวอื ะยะยาวอื่​่นนดัดังงนีนี้​้ 1. เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน 1.1. เงิเงินนชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน 2. ผลประโยชน์ เ พิ่ ม เติ ม ตามแผนสวัส ดิ ก ารพนั ก งานซึ่ งให้ พ นั ก งานประจ าที่ เ ริ่ มงานก่ อ นวัน ที่ 2.2. ผลประโยชน์ พิพิ่​่ มม เติ มม ตามแผนสวั ดิดิ กก ารพนั ่​่ งให้ กก งานประจ าที มงานก่ นวั ผลประโยชน์ เติและมี ตามแผนสวั ารพนั งานซึ งให้ พพกนันังานจะมี งานประจ นน ทีที่ ่ 16 กรกฎาคม เเ2555 อายุงานตัสส้ งแต่ 10 ปี ขึกก้ นงานซึ ไป โดยพนั สิทธิ ไาที ด้ร่​่ ับเเ ริริเงิ่​่ มงานก่ นตามเงืออ่อนวั นไขที 16 กรกฎาคม 2555 กรกฎาคม 2555 และมี และมีออายุ ายุงงานตั านตั้​้ งงแต่ แต่ 10 10 ปีปี ขึขึ้​้ นนไป ไป โดยพนั โดยพนักกงานจะมี งานจะมีสสิ​ิ ททธิธิ ไได้ด้รรั​ับบเงิเงินนตามเงื ตามเงื่​่ออนไขที นไขที่​่ ก16าหนดไว้ เมื่อออกจากงาน กกาหนดไว้ าหนดไว้เเมืมื่​่ออออกจากงาน ออกจากงาน 3. ผลประโยชน์เพิ่มเติมตามแผนสวัสดิการพนักงานจากการเสี ยชี วิต โดยพนักงานจะมีสิทธิ ได้รั บเงินตาม 3.3. ผลประโยชน์ เเพิพิ่​่มมเติ ผลประโยชน์ เติมมตามแผนสวั ตามแผนสวัสสดิดิกการพนั ารพนักกงานจากการเสี งานจากการเสี ยยชีชี ววิติต โดยพนั โดยพนักกงานจะมี งานจะมีสสิ​ิ ททธิธิ ไได้ด้รรั​ั บบเงิเงินนตาม ตาม เงื่อนไขที่กาหนดไว้ เงืเงื่​่ออนไขที นไขที่​่กกาหนดไว้ าหนดไว้ จานวนเงิ นสารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานส าหรั บรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 จจถึานวนเงิ รระยะยาวของพนั งานส าหรั รอบระยะเวลาตั านวนเงิ ารองผลประโยชน์ ะยะยาวของพนั งานส าหรั บบ2560 รอบระยะเวลาตั แต่ววนนั​ั ทีที่​่ 11 มกราคม มกราคม 2561 2561 งวันที่ 30นนกัสสนารองผลประโยชน์ ยายน 2561 และสาหรั บปี สิ้ นสุ ดวันทีกก่ 31 ธันวาคม แสดงได้ดงั นี้​้ งง้ แต่ ถึถึงงวัวันนทีที่​่ 30 30 กักันนยายน ยายน 2561 2561 และส และสาหรั าหรับบปีปี สิสิ้​้ นนสุสุ ดดวัวันนทีที่​่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560 แสดงได้ แสดงได้ดดงงั​ั นีนี้​้ (หน่วย: พันบาท) ววย: (หน่ ย: พั พันนจบาท) บาท) งบการเงินรวม งบการเงิ(หน่ นเฉพาะกิ การ งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิจจการ งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ การ 2561 2560 2561 นเฉพาะกิ2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 สารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงานต้ นงวด 333,162 295,090 205,185 180,526 สสส่ารองผลประโยชน์ รระยะยาวของพนั 295,090 205,185 180,526 ารองผลประโยชน์ ะยะยาวของพนั งานต้ นนงวด งวด 333,162 333,162 295,090 205,185 180,526 วนที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน: กกงานต้ ส่ส่ ววต้นที รูรู ้​้ใใกนก าไรหรื นที นก าไรหรืจจุออบขาดทุ ขาดทุ นทุ่​่รรนั​ับบบริ ารในปั นั นน:: 13,311 22,771 7,467 12,968 ต้ต้นนทุทุนนบริ ก ารในปั จ จุ บ น ั 13,311 22,771 7,467 12,968 บริ การในปั 13,311 22,771 7,467 12,968 ดอกเบี 5,475 6,725 3,048 3,878 ้ ย จจุบนั นนทุทุ่รนนับดอกเบี 5,475 6,725 3,048 3,878 ้​้ ยย ดอกเบี 5,475 6,725 3,048 3,878 ส่ วต้ต้นที รู ้ในกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่น: ส่ส่ ววขาดทุ นที ้​้ใในก นที่​่รรั​ันบบรูรูจากการประมาณการตามหลั นกาไรขาดทุ าไรขาดทุนนเบ็ เบ็ดดเสร็ เสร็ จจอือื่​่นนก::คณิ ตศาสตร์ ขาดทุ นนจากการประมาณการตามหลั กกคณิ ขาดทุ จากการประมาณการตามหลั คณิ ตตศาสตร์ ศาสตร์ ประกั นภัย ประกั ส่ประกั วนที่เนนกิภัภัดยยจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติดา้ น ส่ส่ ววประชากรศาสตร์ นที นที่​่เเกิกิดดจากการเปลี จากการเปลี่​่ยยนแปลงข้ นแปลงข้ออสมมติ สมมติดดาา้​้ นน 5,339 4,424 ประชากรศาสตร์ 5,339 4,424 5,339 4,424 ส่ วประชากรศาสตร์ นที่เกิดจากการปรับปรุ งจากประสบการณ์ 2,23511,344 2,1197,485 ส่ส่ ววนที ่ เ กิ ด จากการปรั บ ปรุ ง จากประสบการณ์ 2,235 11,344 2,119 7,485 2,235 11,344 2,119 7,485 รวม นที่เกิดจากการปรับปรุ งจากประสบการณ์ 2,235 16,683 2,119 11,909 รวม 2,235 16,683 2,119 11,909 รวม 2,235 16,683 2,119 11,909 ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างงวด (11,321) (8,107) (8,092) (4,096) ่ ผลประโยชน์ ท ่ ี จ า ยในระหว่ า งงวด (11,321) (8,107) (8,092) (4,096) ผลประโยชน์ ที่จ่ายในระหว่ างงวด กงานปลายงวด 342,862 (11,321) 333,162 (8,107) 209,727 (8,092) 205,185 (4,096) สารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนั สสารองผลประโยชน์ 333,162 209,727 205,185 ารองผลประโยชน์ รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงานปลายงวด งานปลายงวด 342,862 342,862 333,162 209,727 205,185

สารองผลประโยชน์หลังออกจากงาน สสารองผลประโยชน์ ลัลังงออกจากงาน ารองผลประโยชน์หหระยะยาวอื ออกจากงาน ่น สสารองผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์รระยะยาวอื ะยะยาวอื่​่นน รวม รวม รวม

งบการเงินรวม งบการเงิ งบการเงินน31รวม รวม 30 กันยายน ธันวาคม 30 กั น ยายน 31 นนวาคม 30 กั2561 นยายน 31 ธัธั2560 วาคม 2561 2560 2561 2560 336,604 327,008 336,604 327,008 336,604 327,008 6,258 6,154 6,258 6,154 6,258 6,154 333,162 342,862 342,862 333,162 342,862 333,162

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

(หน่วย: พันบาท) ววย: บาท) (หน่ ย: พั พัจนนการ บาท) งบการเงิน(หน่ เฉพาะกิ งบการเงินนเฉพาะกิ จการ 30งบการเงิ กันยายน เฉพาะกิ 31 ธัจนการ วาคม 30 กั น ยายน 31 ธั น 30 กั2561 นยายน 31 ธั2560 นวาคม วาคม 2561 2560 2561 2560 206,249 201,807 206,249 201,807 206,249 201,807 3,478 3,378 3,478 3,378 3,478 3,378 209,727 205,185 209,727 205,185 209,727 205,18538

รายงานประจ�ำปี 2561

217 38 38


ค่ค่าาใช้ จ่ายเกี่​่ ยยวกั บผลประโยชน์รระยะยาวของพนั กงานรับบรูรู้​้ ใในรายการต่ อไปนี้​้ ใในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนน ค่าใช้ ใช้จจ่า่ายเกี ยเกี่ ยวกั วกับบผลประโยชน์ ผลประโยชน์ระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงานรั งานรับรู ้ ในรายการต่ นรายการต่ออไปนี ไปนี้ ในส่ นส่ววนของก นของกาไรหรื าไรหรืออขาดทุ ขาดทุน สสาหรั บบรอบระยะเวลาตั ววนนั​ั ทีที่​่ 11 มกราคม 2561 ถึถึ งงวัวันนทีที่​่ 30 กักันนยายน 2561 และส าหรั บบปีปี สิสิ้​้ นนสุสุ ดดวัวันนทีที่​่ ้​้ งงแต่ าหรั รอบระยะเวลาตั แต่ มกราคม 2561 30 ยายน 2561 และส าหรั สาหรั บรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึ งวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560 (หน่ วย: พันบาท) (หน่ (หน่ววย:ย: พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงิ งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 ต้ต้นนทุทุนนขาย 8,971 13,396 4,728 6,966 8,971 13,396 4,728 6,966 ต้นทุนขาย ขาย 8,971 13,396 4,728 6,966 ่ ค่ค่าาใช้ จ า ยในการขายและการบริ ห าร 9,815 16,100 5,787 9,880 9,815 16,100 5,787 9,880 ค่าใช้ ใช้จจ่า่ายในการขายและการบริ ยในการขายและการบริหหาร าร 9,815 16,100 5,787 9,880 ่ รวมค่ า ใช้ จ า ยที ่ ร ั บ รู ้ ใ นก าไรหรื อ ขาดทุ น 18,786 29,496 10,515 16,846 รวมค่ 18,786 29,496 10,515 16,846 รวมค่าาใช้ ใช้จจ่า่ายที ยที่ร่รับับรูรู้ใ้ในก นกาไรหรื าไรหรืออขาดทุ ขาดทุนน 18,786 29,496 10,515 16,846 ่มบริ ษษททั​ั คาดว่ กลุ าจะจ่าายช าระผลประโยชน์รระยะยาวของพนั กงานภายใน 11 ปีปี ข้ข้าางหน้ า เป็ นจานวนประมาณ กลุ กลุ่ม่มบริ บริ ษทั คาดว่ คาดว่าาจะจ่ จะจ่ายช ยชาระผลประโยชน์ าระผลประโยชน์ระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงานภายใน งานภายใน 1 ปี ข้างหน้ งหน้าา เป็เป็ นจ นจานวนประมาณ านวนประมาณ 69 ล้ า นบาท (31 ธั น วาคม 2560: จ านวน 68 ล้ า นบาท) (เฉพาะของบริ ษ ท ั ฯ: จ านวน 55 ล้ล้าานบาท 69 69 ล้ล้าานบาท นบาท (31 (31 ธัธันนวาคม วาคม 2560: 2560: จจานวน านวน 68 68 ล้ล้าานบาท) นบาท) (เฉพาะของบริ (เฉพาะของบริษษทั ทั ฯ: ฯ: จจานวน านวน 55 55 ล้านบาท นบาท 31 ธั น วาคม 2560: จ านวน 57 ล้ า นบาท) 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560: 2560: จจานวน านวน 57 57 ล้ล้าานบาท) นบาท) ณ กันยายน 2561 ระยะเวลาเฉลี่​่ยยถ่ถ่ววงน ายชาระผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักกงาน ้ าหนักกในการจ่ ณณ วัวัวันนนทีทีที่​่ ่ 30 30 30 กักันนยายน ยายน 2561 2561 ระยะเวลาเฉลี ระยะเวลาเฉลี่ยถ่วงน งน้ ้าาหนั หนักในการจ่ ในการจ่าายช ยชาระผลประโยชน์ าระผลประโยชน์รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักงาน งาน ่ ของกลุ ม บริ ษ ท ั ประมาณ 7 ปี (31 ธั น วาคม 2560: 7 ปี ) (เฉพาะของบริ ษ ท ั ฯ: 7 ปี 31 ธั น วาคม 2560: 7 ปี ) ของกลุ ของกลุ่ม่มบริ บริษษทัทั ประมาณ ประมาณ 77 ปีปี (31 (31 ธัธันนวาคม วาคม 2560: 2560: 77 ปีปี )) (เฉพาะของบริ (เฉพาะของบริษษทัทั ฯ: ฯ: 77 ปีปี 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560: 2560: 77 ปีปี )) สมมติ ฐานที่ส่สาคั ญในการประมาณการตามหลักกคณิ ตศาสตร์ปประกั นภัย สรุ ปปได้ ดงั นี้ สมมติ สมมติฐฐานที านที่สาคั าคัญญในการประมาณการตามหลั ในการประมาณการตามหลักคณิ คณิตตศาสตร์ ศาสตร์ประกั ระกันนภัภัยย สรุ สรุ ปได้ ได้ดดงังั นีนี้ ้

อัอัตตราคิ ดลด อัตราคิ ราคิดดลด ลด อัอัตตราการขึ ้ นเงินเดือน ราการขึ อัตราการขึ้ น้ นเงิเงินนเดืเดืออนน

(หน่ วย: ร้อยละต่ออปีปี )) (หน่ (หน่ววย:ย: ร้ร้ออยละต่ ยละต่อปี ) งบการเงิ นนรวม งบการเงิ นนเฉพาะกิ จจการ งบการเงิ รวม งบการเงิ เฉพาะกิ การ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กั น ยายน 2561 31 ธั น วาคม 2560 30 กั น ยายน 2561 31 ธันวาคม 2560 30 30 กักันนยายน ยายน 2561 2561 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560 30 30 กักันนยายน ยายน 2561 2561 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0%

ผลกระทบของการเปลี ่ยนแปลงสมมติฐฐานที ่สาคัญ ต่อมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกกพั นผลประโยชน์รระยะยาว ผลกระทบของการเปลี ผลกระทบของการเปลี่ย่ยนแปลงสมมติ นแปลงสมมติฐานที านที่ส่สาคั าคัญญต่ต่ออมูมูลลค่ค่าาปัปัจจจุจุบบนั นั ของภาระผู ของภาระผูกพัพันนผลประโยชน์ ผลประโยชน์ระยะยาว ะยะยาว ของพนั กกงาน ณ วัวันนทีที่​่ 30 กักันนยายน 2561 และ 31 ธัธันนวาคม 2560 สรุ ปปได้ ดดงงั​ั นีนี้​้ ของพนั งาน ณ 30 ยายน 2561 และ 31 วาคม 2560 สรุ ได้ ของพนักงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 สรุ ปได้ดงั นี้ (หน่วย: ล้านบาท)

อัอัตตราคิ ดลด อัตราคิ ราคิดดลด ลด อัอัตตราการขึ ้ นเงินเดือน ราการขึ อัตราการขึ้ น้ นเงิเงินนเดืเดืออนน

218

อัอัตตราคิ ดลด อัตราคิ ราคิดดลด ลด อัอัตตราการขึ ้ นเงินเดือน ราการขึ อัตราการขึ้ น้ นเงิเงินนเดืเดืออนน

(หน่ (หน่ววย:ย: ล้ล้าานบาท) นบาท) ณ วั น ที ่ 30 กั น ยายน 2561 ณณ วัวันนทีที่ ่ 30 กั น ยายน 2561 30 กันยายน 2561 งบการเงิ นนรวม งบการเงิ นเฉพาะกิจจการ งบการเงิ รวม งบการเงิ งบการเงินรวม งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ การ เพิ ลดลง 1% เพิ ลดลง 1% ่ม่มขึขึ้​้ นน 1% ่ม่มขึขึ้​้ นน 1% เพิ 1% ลดลง 1% เพิ 1% ลดลง เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1% เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1% 1% (23) 25 (13) 14 (23) 25 (13) 14 (23) 25 (13) 14 33 (28) 18 (16) 33 (28) 18 (16) 33 (28) 18 (16) (หน่ วย: ล้านบาท) (หน่ (หน่ววย:ย: ล้ล้าานบาท) นบาท) ณ ธัธันนวาคม 2560 ณณ วัวัวันนนทีทีที่​่ ่ 31 31 วาคม 2560 31 ธันวาคม 2560 งบการเงิ นนรวม งบการเงิ นเฉพาะกิจจการ งบการเงิ รวม งบการเงิ งบการเงินรวม งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ การ เพิ ม ขึ น 1% ลดลง 1% เพิ ม ขึ น 1% ลดลง 1% ้ ้ ่ ่ เพิ ลดลง เพิ ลดลง เพิ่ม่มขึขึ้ น้ น 1% 1% ลดลง 1% 1% เพิ่ม่มขึขึ้ น้ น 1% 1% ลดลง 1% 1% (23) 25 (12) 13 (23) 25 (12) 13 (23) 25 (12) 13 33 (28) 18 (15) 33 (28) 18 (15) 33 (28) 18 (15)

39 39 39


25.

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

219

(หน่วย: บาทต่อตันอ้อย)

สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 ราคาอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส. สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส. 1,050.00 63.00

880.00 52.80

ฤดูกาลผลิตปี 2559/2560

880.00 52.80

ฤดูกาลผลิตปี 2560/2561

ราคาอ้อยขั้นต้น

880.00 52.80

776.22 - 793.83 46.57 - 47.63

ฤดูกาลผลิตปี 2560/2561

-

ฤดูกาลผลิตปี 2559/2560 2559 2560

1,063.76 - 1,101.64 63.83 - 66.10

บริ ษทั ฯ

ราคาที่คานวณโดยอ้างอิงวิธีการคานวณ จากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย

880.00 52.80

789.20 47.35

ฤดูกาลผลิตปี 2560/2561 2560 2561

1,097.01 65.82

-

ฤดูกาลผลิตปี 2559/2560 2559 2560

บริ ษทั ย่อย

40

สาหรับฤดูก ารผลิ ตปี 2560/2561 2561 และ 2559/2560 กลุ่ มบริ ษทั รับ ซื้ ออ้อยโดยใช้ประกาศราคาอ้อยขั้นต้นของฤดู กาลผลิ ตของแต่ละปี ซึ่ งประกาศโดยสานัก งาน คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย อย่างไรก็ตาม ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั คาดว่าราคาอ้อยขั้นสุ ดท้ายจะต่างจากราคาอ้อยขั้นต้น กลุ่มบริ ษทั จึงบันทึกค่าอ้อยและ 2561 และ 2559/2560 ด้วยราคาที่คานวณโดยอ้างอิงวิธีการคานวณจากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย เจ้าหนี้ ค่าอ้อยสาหรับฤดูการผลิ ตปี 2560/2561 รายละเอียดของราคาอ้อยขั้นต้นและราคาที่คานวณโดยอ้างอิงวิธีการคานวณจากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายดังกล่าวสามารถสรุ ปได้ดงั นี้

ราคาอ้อย


26. นเกณฑ์--ใบส ใบสาคัาคัญญแสดงสิ แสดงสิทธิทซธิื้อซหุื้อ้ นหุสามั ้ นสามั 26. การจ่ การจ่าายโดยใช้ ยโดยใช้ หหุ้น้ ุนเป็เป็นเกณฑ์ ญญ บริ อกใบสาคั าคัญญแสดงสิ แสดงสิททธิธิซซ้ื อ้ื อหุหุ้น้นสามั สามัญญที่ จทีดั ่ จสรรให้ ดั สรรให้ หารและพนั กงานของกลุ ่ม บริ่ มษบริ บริษษทัทั ฯได้ ฯได้อออกใบส แก่แผกู่บ้ ผริูบ้ หริารและพนั กงานของกลุ ทั ษ ทั (“ESOP”) โดยมีออายุายุ 55ปีปีนันับบตัตั้ ง้ งแต่แต่ววนั นั ทีที่อ่ออกอกและไม่ และไม่ ีราคาเสนอขาย ื อใบส ญแสดงสิ ธิ ฯจะต้ (“ESOP”) โดยมี มีรมาคาเสนอขาย ผูถ้ ผูือถ้ใบส าคัญาคัแสดงสิ ทธิ ฯทจะต้ องมีองมี สถานะเป็ พนักกงานในวั งานในวันนทีที่ก่กาหนดการใช้ าหนดการใช้สิสทิ ทธิ ธิผูถ้ ผูือถ้ ใบส ือใบส ญแสดงสิ ่ลาออก ถูกปลดออก สถานะเป็ นนพนั าคัาคั ญแสดงสิ ทธิทฯธิทีฯ่ลทีาออก ถูกเลิถูกกเลิ จ้ากงจ้ถูากงปลดออก โดยมี จะไม่สสามารถใช้ ามารถใช้สสิ ทิ ทธิธิตตามใบส ามใบสาคัาคัญญแสดงสิ แสดงสิ ดสรร ส่ ว่เนที ต่อไป โดยมีคความผิ วามผิดด จะไม่ ทธิทฯธิทีฯ่ไทีด้่ไรด้ับรจั​ับดจัสรร หรื อหรืส่ วอนที หลื่เอหลื อีกอต่อีอกไป โดยจะต้องคืนใบส ใบสาคั าคัญญแสดงสิ แสดงสิททธิธิฯฯให้ให้แแก่ก่บบริ ษริ ทษั ฯทั ทั ฯทั นสภาพพนั กงาน โดยใบส ญแสดงสิ นทีนเทีมืเ่อมืพ้่อนพ้สภาพพนั กงาน โดยใบส าคัญาคั แสดงสิ ทธิ มที ธิ มี ระยะเวลาการใช้สสิ ทิ ทธิธิเเมืมื่อ่อครบก ครบกาหนดระยะ าหนดระยะ4 4ปี ปี6 6เดืเดือนอนนับนัแต่ บแต่ ตราการใช้ หุ ้นสามั ญและ วนั วทีนั ่อทีอก่ออก อัตอัราการใช้ สิทธิสซิ ท้ื อธิหุซ้นื อสามั ญและ ราคาการใช้สิทธิ ณณ วัวันนทีที่อ่ออกสิ อกสิททธิธิมมีรีรายละเอี ายละเอียดดั ยดดังต่งอต่ไปนี อไปนี ้ ้ จานวนสิ ทธิทธิ อัตอัราการใช้ สิทสธิติ ท่อธิต่อ จานวนสิ ตราการใช้ สิทธิ สิทธิ ราคาใช้ วยใบส าคัญาคัญ กาหนดเวลาการใช้ กาหนดเวลาการใช้ ราคาใช้สิทสิธิทธิ ที่อทีอก ่ออก 1 หน่ 1 หน่ วยใบส วัวันนทีที่อ่ออก เริ่ ม เริ่ ม สิ้นสุสิด้นสุด วย)วย) แสดงสิ ทธิ ทธิ อก วัวันนทีที่ห่หมดอายุ มดอายุ (บาทต่ (บาทต่อหุอหุน้ )น้ ) (หน่ (หน่ แสดงสิ ESOP 11 ธัธันนวาคม 1010 28,000,000 1:11:1 1 มิถ1นุ มิายน กายนกายน ESOP วาคม 11ธัธันนวาคม วาคม 28,000,000 ถนุ ายน30 พฤศจิ 30 พฤศจิ 2557 2562 25622562 25622562 2557 2562

ธี ธBlack-Scholes ขอ้ สมมติ ฐานทาง มูมูลลค่ค่าายุยุตติ​ิธธรรมของใบส รรมของใบสาคั าคัญญแสดงสิ แสดงสิททธิธิวัดวัดมูมูลค่ลาค่โดยวิ าโดยวิ ี Black-ScholesModel Modelภายใต้ ภายใต้ ขอ้ สมมติ ฐานทาง การเงินน ดัดังงนีนี้ ้ การเงิ 7.15 มูมูลลค่ค่าายุยุตติ​ิธธรรมของใบส รรมของใบสาคั าคัญญแสดงสิ แสดงสิททธิธิณณวันวันทีที่ให้่ใสห้ิ ทสธิ​ิ ทธิ(บาท) (บาท) 7.15 ราคาหุน้ ณ วันที่ให้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ (บาท) 11.70 ราคาหุน้ ณ วันที่ให้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ (บาท) 11.70 ราคาใช้สิทธิ (บาท) 10.00 ราคาใช้สิทธิ (บาท) 10.00 ค่าความผันผวนของราคาหุ น้ ที่คาดหวัง ร้อยละ 125.03 ค่าความผันผวนของราคาหุ น้ ที่คาดหวัง ร้อยละ 125.03 ช่วงเวลาที่คาดว่าจะมีผมู้ าใช้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิครบ 4.5 ปี ช่วงเวลาที่คาดว่าจะมีผมู ้ าใช้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิครบ 4.5 ปี อัตราเงินปันผลที่คาดหวัง ร้อยละ 2.56 อัตราเงินปันผลที่คาดหวัง ร้อยละ 2.56 อัตราดอกเบี้ยปลอดความเสี่ ยง ร้อยละ 2.51 อัตราดอกเบี้ยปลอดความเสี่ ยง ร้อยละ 2.51 ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากรายการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสาหรับ ค่รอบระยะเวลาตั าใช้จ่ายที่เกิดจากรายการจ่ ายโดยใช้2561 หุ้นเป็ถึนเกณฑ์ นรวมและงบการเงิ เฉพาะกิ งวันที่ 30ในงบการเงิ กันยายน 2561 มีจานวน 33 ล้นานบาท 17จล้การส านบาทาหรับ ้ งแต่วนั ที่ 1 มกราคม รอบระยะเวลาตั 2561 2560: ถึงวันจทีานวน ่ 30 กั44นยายน 2561 มี23จานวน 33 ล้ในงบการเงิ านบาท 17นล้รวม านบาท ตามลาดับ (สาหรั้ งบแต่ ปี สิว้ นนั สุทีด่ 1วันมกราคม ที่ 31 ธันวาคม ล้านบาทและ ล้านบาท ตามล าดับ (สนาหรั บปี สิจ้ นการ สุ ดตามล วันทีาดั ่ 31บ)ธันวาคม 2560: จานวน 44 ล้านบาทและ 23 ล้านบาท ในงบการเงินรวม และงบการเงิ เฉพาะกิ และงบการเงินเฉพาะกิจการ ตามลาดับ)

220

41

41


รายการเคลื่ อ นไหวของส่ ว นทุ น จากการจ่ า ยโดยใช้หุ้ น เป็ นเกณฑ์ ส าหรั บ รอบระยะเวลาตั้ง แต่ ว นั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ในงบแสดงฐานะ การเงินประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวด 137,174 92,685 รับรู้ระหว่างงวด 33,367 44,489 ยอดคงเหลือ ณ วันปลายงวด 170,541 137,174 รายการเคลื่อนไหวของจานวนใบสาคัญแสดงสิ ทธิ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดงั นี้ (หน่วย: พันหน่วย) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 ยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวด 28,000 28,000 การใช้สิทธิ ในใบสาคัญแสดงสิ ทธิในระหว่างงวด ยอดคงเหลือ ณ วันปลายงวด 28,000 28,000 27. สารองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ฯต้องจัดสรร กาไรสุ ทธิ ประจาปี ส่ วนหนึ่ งไว้เป็ นทุนสารองไม่น้อยกว่าร้ อยละ 5 ของกาไรสุ ทธิ ประจาปี หักด้วยยอด ขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสารองนี้จะมีจานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สารอง ตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนาไปจ่ายเงินปันผลได้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

221

42


28. ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สาคัญสาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ดังต่อไปนี้

ค่าใช้จ่ายพนักงานและสวัสดิการอื่น ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าไฟฟ้ าและพลังงาน ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ค่าซ่อมแซมบารุ งรักษา ค่ารักษาเสถียรภาพ ค่าธรรมเนียมวิจยั และเงินนาส่ง กองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป การเปลี่ยนแปลงในสิ นค้าสาเร็ จรู ปและงานระหว่างทา

งบการเงินรวม 2561 2560 1,297,217 1,526,348 964,820 1,269,217 574,751 656,870 442,969 407,164 733,174 763,483

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 823,754 928,811 469,742 596,511 479,734 274,267 233,102 196,798 401,342 448,432

1,065,476 9,860,017 (1,024,375)

898,152 7,660,884 (648,333)

1,194,954 12,245,486 2,651,123

898,739 9,408,490 1,773,743

29. ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สรุ ปได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560 ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับงวด รายการปรับปรุ งค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลปี ก่อน ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่าง ชัว่ คราวและการกลับรายการผลแตกต่างชัว่ คราว ค่ าใช้ จ่าย (ผลประโยชน์ ) ภาษีเงินได้ ทแี่ สดงอยู่ใน งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

222

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

123,995 (1,609)

108,226 -

-

-

91,324

(106,546)

59,825

(63,922)

213,710

1,680

59,825

(63,922)

43


จานวนภาษี เ งิ นได้ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ ส่ วนประกอบแต่ ล ะส่ วนของก าไรขาดทุ น เบ็ด เสร็ จอื่ นส าหรั บ รอบ ระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สรุ ปได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2561 2560 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับ: ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ประกันภัย

(447) (447)

(3,336) (3,336)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560

(424) (424)

(2,382) (2,382)

รายการกระทบยอดระหว่า งก าไรทางบัญ ชี ก ับ ค่ า ใช้จ่ า ยภาษี เ งิ น ได้ส าหรั บ รอบระยะเวลาตั้ง แต่ ว นั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดงั นี้

กาไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล กาไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลคูณอัตราภาษี รายการปรับปรุ งค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลปี ก่อน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ไม่ได้บนั ทึก ในระหว่างงวด สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ไม่ได้บนั ทึกในงวดก่อน แต่นามาใช้ประโยชน์ในระหว่างงวด - ขาดทุนทางภาษี ผลกระทบทางภาษีสาหรับ: การส่งเสริ มการลงทุน รายได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้าม ค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหกั ได้เพิ่มขึ้น อื่น ๆ รวม ค่าใช้จ่าย (ผลประโยชน์) ภาษีเงินได้ที่แสดงอยูใ่ น งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

งบการเงินรวม 2561 2560 842,978 647,174

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 375,374 602,203

20% 168,596 (1,609)

20% 129,435 -

238,952

17,017

174,860

4,653

(2,412)

(132,397)

-

(124,902)

(189,080) 20,266 (15,917) (5,086) (189,817)

(32,630) 27,325 (16,701) 9,631 (12,375)

(191,112) 7,197 (6,195) (190,110)

(79,883) 19,683 (3,914) (64,114)

213,710

1,680

59,825

(63,922)

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

20% 75,075 -

20% 120,441 -

รายงานประจ�ำปี 2561

44 223


ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 ส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที่ แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผื่อการด้อยค่าของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน สัญญาเช่าทางการเงิน สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณหนี้สินค่ารื้ อถอนระยะยาว อื่น ๆ รวม หนีส้ ินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคาสะสม อื่น ๆ รวม สุ ทธิ

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560

352 4,936 160,854 55,387 6,033 8,565 236,127

94,382 4,677 158,985 66,632 5,872 2,198 332,746

2,506 160,854 30,855 6,094 200,309

58,837 2,506 158,985 41,037 1,232 262,597

(28,518) (696) (29,214) 206,913

(33,308) (1,648) (34,956) 297,790

(17,618) (696) (18,314) 181,995

(20,974) (227) (21,201) 241,396

ณ วัน ที่ 30 กัน ยายน 2561 กลุ่ ม บริ ษ ัท มี ร ายการผลแตกต่ า งชั่ว คราวที่ ใ ช้หัก ภาษี แ ละขาดทุ น ทางภาษี จานวนรวม 1,716 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2560: 787 ล้านบาท) ที่กลุ่มบริ ษทั ไม่ได้บนั ทึกสิ นทรัพย์ ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี เนื่ องจากมี โอกาสที่ กาไรทางภาษี ใ นอนาคตอาจไม่ เพีย งพอที่จะนารายการ ผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีขา้ งต้นมาถือเป็ นรายจ่ายในการคานวณภาษีเงิ นได้ ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในประมวลรัษฎากร ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ผลขาดทุนทางภาษีที่ ยงั ไม่ได้ใ ช้ของกลุ่ม บริ ษทั ที่ไม่ได้บนั ทึ กสิ นทรัพ ย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชีจะสิ้ นสุ ดระยะเวลาการให้ประโยชน์ในปี 2573 (31 ธันวาคม 2560: ภายในปี 2573)

224

45


บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

225

บริ ษทั ฯยังไม่มีรายได้จากกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน

3.3. ได้ สิสิททรธิธิับปปยกเว้ ระโยชน์ สาคั ่ไทีด้น่รไับด้ิตริบับุคคลสาหรับ 3.1 นภาษี งิญนทีญได้ 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี ระโยชน์ สเาคั กาไรสุทธินทภาษี ี่ได้จเงิากการประกอบกิ จการที 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 3.1 ได้ นได้นิติบุคคลสาหรั บ ่ 3.1 ได้รรับับยกเว้ ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลสาหรั บ 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี กได้าไรสุ ทธิที่ไงด้เสริ จากการประกอบกิ จการที รับการส่ มและได้รับยกเว้ นไม่​่ ตอ้ งนา กาไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ ได้ งเสริ มจและได้ นไม่ตงเสริ อ้ งนมาซึ่ง เงินรปั​ับการส่ นผลจากกิ การที่ไรับด้ยกเว้ รับการส่ ได้ ร ั บ การส่ ง เสริ ม และได้ ร บ ั ยกเว้ น ไม่ เงิได้นรปั​ับนยกเว้ ผลจากกิ จการที งเสริ มซึ่ตง อ้ งนา นภาษี เงิน่ไได้ด้รนับิตการส่ ิบุคคล เงินรับปัยกเว้ นผลจากกิ ่ไิบดุ้ครคล ับการส่งเสริ มซึ่ง ได้ นภาษีเงิจนการที ไปรวมค านวณเพื ่อได้ เสีนยิตภาษี ได้รับยกเว้ นภาษี่อเสี เงินยภาษี ได้นิติบุคคล ไปรวมค านวณเพื 3.2 ได้ รับลดหย่อนภาษี่อเสีเงินยภาษี ได้นิติบุคคลสาหรับ ได้รับ ไม่ได้รับ ได้รับ ไม่ได้รับ ได้รับ ไปรวมค 3.2 ได้ รับลดหย่านวณเพื อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับ ได้รับ ไม่ได้รับ ได้รับ ไม่ได้รับ ได้รับ ไม่ได้รับ กกาไรสุ าไรสุททธิธิทที่ไี่ได้ด้รับรับจากการลงทุ จากการลงทุ น ในอั ต ราร้ อ ย ราร้อาหรั ย บ 3.2 ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นนิตในอั ิบุคตคลส ได้รับ ไม่ได้รับ ได้รับ ไม่ได้รับ ได้รับ ละห้ า สิ บ ของอั ต ราปกติ เ ป็ นระยะเวลาห้ า ปี ละห้ าสิ บทของอั เป็ นระยะเวลาห้ กาไรสุ ธิที่ไตด้ราปกติ รับจากการลงทุ นในอัาตปี ราร้อย นันับบจากวั จากวันนทีที่พ่พน้ น้กาหนดระยะเวลาการได้ กาหนดระยะเวลาการได้ รับ ารปีับ ละห้าสิ บของอัตราปกติเป็ นระยะเวลาห้ ยกเว้นนภาษี ภาษีเงินได้นิบิตุคิบคลดั ุคคลดั ยกเว้ งกล่งากล่ วข้าาวข้ งต้นางต้น นับจากวันเงิทีน่พได้น้ นกิตาหนดระยะเวลาการได้ รับ 4. วัยกเว้ นทีที่เ่เรินริ่ ม่ มภาษี ใช้ใช้สสเิ ทงิ​ิ ทน ธิตธิได้ ามบั งคลดั เสริงเสริ มงกล่ 2559 31 ตุลาคม 2559 26 พฤษภาคม ยังไม่ ได้ ตามบั มาวข้างต้น 7 ตุลาคม 7 ตุล2556 าคม 2556 ยังไม่ได้ยังไม่ได้ 7 กรกฏาคม 7 กรกฏาคม 2559 31 ตุลาคม 2559 2560 26 พฤษภาคม 2560 นิตติบรส่ตุครส่ เริ่ มใช้สเริ​ิ ท่ธิมใช้สิทธิ เริ่ มใช้สิทธิ 4. วันที่เริ่ มใช้สิทธิตามบัตรส่งเสริ ม 7 ตุลาคม 2556 ยังไม่ได้ 7 กรกฏาคม 2559 31 ตุลาคม 2559 26 พฤษภาคม 2560 บริ จากกิ จการที ่ได้ร่ไับด้การส่ งเสริ มงเสริ การลงทุ น นเริ่ มใช้สิทธิ บริษษทั ทั ฯยั ฯยังไม่ งไม่มีรมายได้ ีรายได้ จากกิ จการที รับการส่ มการลงทุ

46

ยังไม่ยัไงด้ไม่ได้ เริ่ มใช้เริส่ มิ ทใช้ธิ สิทธิ ยังไม่ได้ เริ่ มใช้สิทธิ

ไม่ได้รับ

ไม่ได้รับ

46

46

ยังไม่ได้ เริ่ มใช้สิทธิ ยังไม่ได้ เริ่ มใช้สิทธิ

ไม่ได้รับ

ไม่ได้รับ

8 ปี

8 ปี 8 ปี

ไม่ได้รับ

8 ปี

8 ปี

การส่ งเสริมการลงทุน บัตกลุ รส่ง่มเสริ 1095(1)/2555 งเสริ2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 61-0899-0-00-2-0 บริมษเลขที ทั ได้่ รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่ มการลงทุนดังต่อไปนี ้ ่ กลุ ม บริ ษ ท ั ได้ ร ั บ สิ ท ธิ พ เ ิ ศษทางภาษี จ ากคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ดั ง ต่ อ ไปนี ้ เพื่อส่งเสริ มการลงทุนในกิจการ ผลิตไฟฟ้ าจาก ผลิตปุ๋ ยชีวภาพ ผลิตไฟฟ้ าและไอน้ า ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ ผลิตไฟฟ้ าและ ผลิตก๊าซชีวภาพ ผลิตก๊าซชีวภาพ บั ต รส่ ง เสริ ม เลขที ่ 1095(1)/2555 2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 61-0899-0-00-2-0 บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1557(1)/2558 59-0268-0-00-2-0 1095(1)/2555 61-0899-0-00-2-0 เชื้อเพลิงชีวมวล2590(5)/2556 ปุ๋ ยอินทรี ย ์ หรื1557(1)/2558 อ จากเชื้อเพลิงชี59-1195-0-00-1-0 วมวล สาหรับ59-0348-0-13-2-0 อาหาร ไอน ้ าจาก เพื อ ่ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในกิ จ การ ผลิ ต ไฟฟ้ าจาก ผลิ ต ปุ๋ ยชี ว ภาพ ผลิ ต ไฟฟ้ าและไอน า ผลิ ต บรรจุ ภ ณ ั ฑ์ ผลิ ต ไฟฟ้ าและ ผลิ ต ก๊ผลิ าซชี ้ เพื่อส่งเสริ มการลงทุนในกิจการ ผลิตไฟฟ้และไอน าจาก า ผลิตปุ๋ ยชี วภาพบปรุผลิ ผลิตไฟฟ้ าและเชื้อเพลิผลิงตชีก๊วามวล ซชีวภาพ ตก๊วาภาพ ซชีวภาพ ผลิตก๊าซชีวภาพ ภณั ฑ์ด Biodegradable) สารปรั งดิตนไฟฟ้ าและไอน้ า ผลิตบรรจุ(ชนิ ้ เชืง้ อชีเพลิ งชีวมวลปุ๋ ยอินทรีปุ๋ ยยอิ์ หรืนอทรี ย ์ จากเชื หรื อ ้ อเพลิจากเชื ้ อเพลิงชีวสมวล เชื้อเพลิ วมวล ไอน้ าจาก ไอน้ าจาก งชีวมวล าหรับอาหารสาหรับอาหาร และปุ๋ ยอินทรี ย ์ และไอน (ชนิด Biodegradable) และไอน ปรุ งดินบปรุ งดิน (ชนิด Biodegradable) เชื้อเพลิงชีวมวลเชื้อเพลิงชีวมวล ้ า ้ า สารปรับสารปรั อั ด เม็ ด และปุ๋ ยอิและปุ๋ นทรี ยยอิ ์ นทรี ย ์ อัดเม็ด อัดเม็ด 3. สิ ทธิประโยชน์สาคัญที่ได้รับ

30. 1. 2. 1.1. 2.2.

30. กลุ การส่ ่มบริงเสริ ษทั มได้การลงทุ รับสิ ทธินพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนดังต่อไปนี้

30. การส่ งเสริมการลงทุน


31. กาไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานคานวณโดยหารกาไรสาหรับงวดที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ (ไม่รวมกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ น้ สามัญที่ออกอยูใ่ นระหว่างงวด กาไรต่อหุ ้นปรับลดคานวณโดยหารกาไรสาหรับงวดที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ (ไม่รวมกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยผลรวมของจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ ้นสามัญที่ออกอยูใ่ นระหว่างงวดกับจานวน ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ น้ สามัญที่บริ ษทั ฯอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้ นให้เป็ น หุน้ สามัญ โดยสมมติวา่ ได้มีการแปลงเป็ นหุ น้ สามัญ ณ วันต้นงวดหรื อ ณ วันออกหุน้ สามัญเทียบเท่า กาไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานและกาไรต่อหุ ้นปรับลดสาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันวันที่ 31 ธันวาคม 2560 แสดงการคานวณได้ดงั นี้ งบการเงินรวม จานวนหุน้ สามัญ กาไรสาหรับงวด ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก 2561 2560 2561 2560 (พันบาท) (พันบาท) (พันหุน้ ) (พันหุน้ ) กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน 629,268 645,494 3,860,000 3,860,000 ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด กาไรต่อหุน้ ปรับลด 629,268 645,494 3,860,000 3,860,000

กาไรต่อหุน้ 2561 2560 (บาท) (บาท) 0.16 0.17

งบการเงินเฉพาะกิจการ จานวนหุน้ สามัญ กาไรสาหรับงวด ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก 2561 2560 2561 2560 (พันบาท) (พันบาท) (พันหุน้ ) (พันหุน้ ) กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน 315,549 666,125 3,860,000 3,860,000 ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด กาไรต่อหุน้ ปรับลด 315,549 666,125 3,860,000 3,860,000

กาไรต่อหุน้ 2561 2560 (บาท) (บาท) 0.08 0.17

0.16

0.08

0.17

0.17

ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สมมติฐานของการแปลงสภาพของใบสาคัญแสดงสิ ทธิซ้ือหุ น้ สามัญไม่เกิดขึ้น เนื่ องจาก ราคาตลาดของหุ ้นของบริ ษทั ฯต่ากว่าราคาใช้สิทธิ ของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญ จึงไม่กระทบต่อ การแสดงกาไรต่อหุ น้ ปรับลด

226

47


32. เงิ32. 32.นปันเงิเงิผลจ่ ผลจ่ าายย นนปัปัานนยผลจ่

เงินปันเงิเงิผลจ่ นนปัปัานนยผลจ่ ผลจ่าายย เงินปันเงิเงิผลนนปัปันนผล อนุมตั ิโอนุ เงินปันเงิเงิผลจ่ นนปัปัานนยผลจ่ ผล อนุดยมมตตั​ั ิ​ิโโดย ดย ผลจ่าายย ต่อหุ ้นต่ต่ออหุหุ ้น้น (ล้านบาท) (ล้ (ล้าานบาท) นบาท) (บาท) (บาท) (บาท) เงินปันเงิเงิผลประจ าปี 2559 ที ่ ป ระชุ ม ใหญ่ ส ามั ญ ผู ถ ้ ื อ หุ น ้ เมื ่ อ วั น ที ่ นนปัปันนผลประจ าปี 2559 ที ่ ป ระชุ ม ใหญ่ ส ามั ญ ผู ถ ้ ื อ หุ น ้ เมื อ วั น ที ่ ผลประจาปี 2559 ที่ประชุมใหญ่สามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2560 2560 386 386 0.10 0.10 24 24 เมษายน เมษายน 2560 386 0.10 รวมเงินรวมเงิ ปันผลนนปัปั2560 นนผล 386 386 0.10 0.10 รวมเงิ ผล 2560 2560 386 0.10 เงินปันเงิเงิผลประจ าปี 2560 ามัญผูสสถ้ามั นนปัปันนผลประจ าปี ระชุ ผลประจ าปี 2560 2560 ที่ประชุทีทีม่​่ปปใหญ่ ระชุมมสใหญ่ ใหญ่ ามัือญ ญหุ น้ผูผูถถ้​้ เมื​ื​ืออหุหุ่อวันน้​้ นเมื เมืที่​่ออวัวันนทีที่​่ 23 เมษายน 2561 2561 23 23 เมษายน เมษายน 2561 รวมเงินรวมเงิ ปั น ผล 2561 น ปั น ผล 2561 รวมเงินปันผล 2561

579 579

579 579 579 579

0.15 0.15

0.15 0.15 0.15 0.15

33. 33. ส่ วนงานด าเนินงาน ส่ส่ ววนงานด าเนิ 33. นงานด าเนินนงาน งาน ข้อมูลส่ข้ข้ออวนงานด าเนิ นงานที าเสนอนี งกับรายงานภายในของบริ ษทั ฯทีษษ่ผททั​ัมู ้ ฯที ีอานาจตั ดสิ นใจสู ด งงสุสุ ดด นงานด าเนิ งานที าเสนอนี งกับบรายงานภายในของบริ ใจสู ้ สอดคล้​้​้ สสออดคล้ มูมูลลส่ส่ ววนงานด าเนิ นน่นงานที ่​่นนาเสนอนี อดคล้ อองกั รายงานภายในของบริ ฯที ่​่ผผมมู​ู้​้ ี​ีออานาจตั านาจตั ดดสิสิงนนสุใจสู ด้านการด าเนินงานได้ รับและสอบทานอย่ างสม่าาาเสมอเพื ่อใช้ในการตั ดสิ นใจในการจั ดสรรทรั พยากรให้ กบั กกบบั​ั นการด าเนินนงานได้ งานได้ และสอบทานอย่ งสม่​่าาเสมอเพื เสมอเพื ่อ่อใช้ ดดสิสิ นนใจในการจั ด้ด้าานการด าเนิ รรั​ับบและสอบทานอย่ งสม ใช้ใในการตั นการตั ใจในการจั ดดสรรทรั สรรทรั พพยากรให้ ยากรให้ ส่ วนงานและประเมิ นผลการด าเนินงานของส่ วนงานววนงาน นงานและประเมิ ผลการด าเนินนงานของส่ งานของส่ นงาน ส่ส่ ววนงานและประเมิ นนผลการด าเนิ

เพื่อวัตเพื ในการบริ หารงาน กลุ่มบริกลุ จัดษษโครงสร้ างองค์าากงองค์ รเป็ นหน่ ยธุ รกิววจยธุ ตามประเภทของการ เพืถุป่​่ออระสงค์ ระสงค์ นการบริ ารงาน กลุษ่​่มมทั บริ บริ งองค์ นหน่ ตามประเภทของการ วัวัตตถุถุปประสงค์ ใในการบริ หหารงาน ททั​ั จัจัดดโครงสร้ โครงสร้ กกรเป็ รเป็วนหน่ ยธุ รรกิกิจจตามประเภทของการ บริ การบริ มีสษษ่ วนงานหลั ก ดังนี้กก ดัดังงนีนี้​้ บริกลุกก่มาร ารบริกลุ กลุษท่​่มมั บริ บริ นงานหลั ททั​ั มีมีสส่​่ ววนงานหลั 1)

2) 3) 4)

1) ธุรกิจผลิ ผลิตตาหน่ และจายน าหน่ ยน้​้ าาตาลทราย ตาลทราย ้ าตาลทราย 1) ธุธุรรตกิกิและจ จจผลิ และจ าหน่ าายน อ่ กระดาษ 2) ธุรกิจผลิ ผลิตตาหน่ และจายเยื าหน่ ยเยืออ่​่ กระดาษ กระดาษ 2) ธุธุรรตกิกิและจ จจผลิ และจ าหน่ าายเยื าหน่ 3) ธุรกิจผลิ ผลิตตาหน่ และจายแอลกอฮอล์ และจ าหน่าายแอลกอฮอล์ ยแอลกอฮอล์ 3) ธุธุรรตกิกิและจ จจผลิ

า าา 4) ธุธุรรตกิกิและจ จจผลิ และจ าหน่ ยพลั 4) ธุรกิจผลิ ผลิตตาหน่ และจายพลั าหน่งาางานไฟฟ้ ยพลังงงานไฟฟ้ งานไฟฟ้ ผูม้ ีอานาจตั ดสิ นใจสู ดสอบทานผลการด าเนินงานของแต่ ละหน่ลลวยธุ รกิววจยธุ แยกจากกั นเพื่อวันนตเพื ถุป่​่ออระสงค์ ใน ใในน ผูผูมม้​้ ี​ีออานาจตั ดดสิสิงนนสุใจสู ใจสู าเนิ ะหน่ รรกิกิจจแยกจากกั วัวัตตถุถุปประสงค์ านาจตั งงสุสุ ดดสอบทานผลการด สอบทานผลการด าเนินนงานของแต่ งานของแต่ ะหน่ ยธุ แยกจากกั เพื ระสงค์ การตัดการตั สิ นใจเกี วกับ่​่การจั สรรทรั พยากรและการประเมิ นผลการปฏิ บ ตั ิ ง านบบตตั​ั บริ​ิ​ิงงาน ษทั บริ ฯประเมิ นผลการ ดดสิสิ นน่ ยใจเกี ยย วกั ดดสรรทรั พพยากรและการประเมิ นนผลการปฏิ ษษททั​ั ฯประเมิ นนผลการ การตั ใจเกี วกับบดการจั การจั สรรทรั ยากรและการประเมิ ผลการปฏิ าน บริ ฯประเมิ ผลการ ปฏิ บตั ปฏิ ิปฏิ งานของส่ ว นงานโดยพิ จ ารณาจากก าไรหรื อ ขาดทุ น จากการด าเนิ น งานซึ ่ ง วั ด มู ล ค่ า โดยใช้ เ กณฑ์ บบตตั​ั ิ​ิงงานของส่ ว นงานโดยพิ จ ารณาจากก าไรหรื อ ขาดทุ น จากการด าเนิ น งานซึ ่ ง วั ด มู ล ค่ า โดยใช้ านของส่ วนงานโดยพิจารณาจากกาไรหรื อขาดทุนจากการดาเนิ นงานซึ่ งวัดมูลค่าโดยใช้เเกณฑ์ กณฑ์ เดียวกับเดี ที ่ ใ ช้ ใ นการวั ด ก าไรหรื อ ขาดทุ น จากการด าเนิ น งานในงบการเงิ น เดียยวกั วกับบทีที่​่ใใช้ช้ใในการวั นการวัดดกกาไรหรื าไรหรื ออขาดทุ ขาดทุนนจากการด จากการดาเนิ าเนินนงานในงบการเงิ งานในงบการเงินน ทึ ก บันนญทึทึชีกก บับัญ การบันการบั ทึ กบันนญทึทึชีกกสบับัาหรั า งส่ วนงานที ่ รายงานเป็ นไปในลั ก ษณะเดี ย วกับ การบั าา งส่ ่​่รรายงานเป็ นไปในลั กก ษณะเดี ยย วกั ญ าหรั รายการระหว่ งส่ ววนงานที นงานที ายงานเป็ นไปในลั ษณะเดี วกับบนการบั การบั ญชีชี การบั ญชีชีบสสรายการระหว่ าหรับบรายการระหว่ สาหรับสสรายการธุ รกิจกับรรบุกิกิคจจกักัคลภายนอก าหรั บบบุบุคคคลภายนอก าหรับบรายการธุ รายการธุ คลภายนอก

ในรอบระยะเวลาตั 2561 2561 ถึงวันทีถึถึ่ งง30วัวันนทีทีกั่​่น30 กลุ่มบริกลุ มีรษษายได้ ากลูกจจค้ากลู า กกค้ค้าา ในรอบระยะเวลาตั ทีที่​่ 11 มกราคม กักันน2561 ยายน ททั​ั มีมีรรจายได้ ้ งแต่วนั ้​้ งงทีแต่ ในรอบระยะเวลาตั แต่​่ 1ววนนั​ั มกราคม มกราคม 2561 30ยายน ยายน 2561 2561 กลุษ่​่มมทั บริ บริ ายได้ ากลู 1,655 1,509 รายใหญ่ จานวนสามรายเป็ นจานวนเงิ นประมาณ 1,655 1,655 ล้านบาท 1,594 ล้1,594 านบาท และ 1,509 ล้านบาท รายใหญ่ จจานวนสามรายเป็ นจ นนประมาณ ล้ล้าานบาท ล้ล้าานบาท และ ล้ล้าานบาท รายใหญ่ านวนสามรายเป็ นจานวนเงิ านวนเงิ ประมาณ 1,655 นบาท 1,594 นบาท และ 1,509 1,509 นบาท (สาหรั(ส บ ปี สิ น สุ ด วั ที ่ 31 ธั น วาคม 2560: มี ร ายได้ จ ากลู ก ค้ า รายใหญ่ จ านวนสองรายเป็ นจ านวนเงิ น าหรั บ ปี สิ น สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2560: มี ร ายได้ จ ากลู ก ค้ า รายใหญ่ จ านวนสองรายเป็ นจ านวนเงิ (สาหรั้ บปี สิ้​้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560: มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จานวนสองรายเป็ นจานวนเงิ นน ประมาณ 2,727 ล้2,727 านบาท และ 2,205 านบาท) ประมาณ ล้ล้าานบาท และ ล้ล้าานบาท) ประมาณ 2,727 นบาท และ ล้2,205 2,205 นบาท) บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2561 227 48 48 48


228

1,613

6,236 9,176 15,412 2,643

6,949 8,178 15,127 427

213 1,022 1,235 266

260 1,026 1,286

ธุรกิจผลิตและ จาหน่ายเยือ่ กระดาษ 2561 2560

306

1,323 1,323 438

1,654 1,654

ธุรกิจผลิตและ จาหน่ายแอลกอฮอล์ 2561 2560

994

1,657 1,657 221

900 900

ธุรกิจผลิตและ จาหน่ ายพลังงานไฟฟ้ า 2561 2560

กลุ่มบริ ษทั ใช้เกณฑ์ในการกาหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7

กาไรจากการดาเนินงานตามส่ วนงาน รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่ วน: รายได้อื่น กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับงวด

รายได้จากการขายและบริ การ - ในประเทศ - ต่างประเทศ รวม

ธุรกิจผลิตและ จาหน่ายน้ าตาลทราย 2561 2560

15

92 92 10

45 45

ธุรกิจอื่น ๆ 2561 2560

92

(2,414) (2,414)

4

(1,487) (1,487)

การตัดรายการบัญชี ระหว่างกัน 2561 2560

307 33 (2,942) (333) (2) 645

147 50 (2,539) (262) (214) 629

49

3,582

8,321 9,204 17,525 3,447

7,107 10,198 17,305

งบการเงินรวม 2561 2560

(หน่วย: ล้านบาท)

ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงานของกลุ่มบริ ษทั สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 และ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดงั ต่อไปนี้


34.

กองทุนสารองเลีย้ งชีพ กลุ่ มบริ ษทั และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้ง กองทุนสารองเลี้ ยงชี พขึ้นตามพระราชบัญญัติก องทุ นสารอง เลี้ ยงชี พ พ.ศ. 2530 โดยกลุ่ ม บริ ษัท และพนัก งานที่ ส มัค รใจเข้า ร่ ว มกองทุ น จ่ า ยสมทบเข้า กองทุ น เป็ นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 - 15 ของเงินเดือน กองทุนสารองเลี้ยงชี พนี้ บริ หารโดยผูจ้ ดั การกองทุน ที่ ไ ด้รั บ อนุ ญาต และจะจ่ า ยให้แ ก่ พ นัก งานเมื่ อ พนัก งานนั้น ออกจากงานตามระเบี ย บว่า ด้ว ยกองทุ น 2561 ถึ งวันที่ 30 กันยายน 2561 ของกลุ่ ม บริ ษ ทั ในระหว่า งรอบระยะเวลาตั้ง แต่วนั ที่ 11 มกราคม 2561 กลุ่มบริ ษทั รับรู ้เงินสมทบดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายจานวน 14 ล้านบาท (สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560: 16 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 9 ล้านบาท สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560: 10 ล้านบาท)

35.

ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้

35.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ ายฝ่ ายทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุนที่เกี่ยวข้อง กับการก่อสร้างอาคารโรงงาน และการซื้อเครื่ องจักรและอุปกรณ์จากบุคคลภายนอกดังนี้ (หน่วย: ล้าน) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม สกุลเงิน 2561 2560 2561 2560 บาท 200 23 91 20 เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1 35.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญาเช่ าดาเนินงาน กลุ่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาเช่าที่เกี่ยวข้องกับการเช่ าที่ดิน พื้นที่ในอาคารสานักงานและอุปกรณ์ และสัญญา บริ การ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 30 ปี ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตทั้งสิ้ น ภายใต้สัญญาเช่าดาเนินงานและสัญญาบริ การดังกล่าวดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 2561 2560 จ่ายชาระ ภายใน 1 ปี 23 29 7 10 มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 3 2 2 มากกว่า 5 ปี 6 6 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

229

50


นอกจากนี้ บริ ษทั ฯได้ทาสัญญาเช่าระยะยาวที่เกี่ยวกับการเช่ าที่ดินกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่ งหนึ่ งเป็ น เวลา 30 ปี โดยมีการทบทวนค่าเช่าเพิ่มขึ้นทุก 5 ปี ตามดัชนีราคาผูบ้ ริ โภค แต่ไม่เกินร้อยละ 20 ของค่าเช่าปี ก่อน โดยบริ ษทั ฯมีสิทธิ ในการเช่าต่อไปอีก 30 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ครบกาหนดสัญญาเช่า โดยต้องมีการแจ้ง ล่วงหน้าอย่างน้อย 2 ปี ก่อนวันครบกาหนดสัญญาเช่ า ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 บริ ษทั ฯได้จ่ายค่าเช่าตามสัญญาระยะยาวดังกล่าวเป็ นจานวนเงินประมาณ 4 ล้านบาท (สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560: 5 ล้านบาท) 35.3 หนังสื อคา้ ประกันธนาคาร ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีหนังสื อค้ าประกันซึ่ งออกโดยธนาคารใน นามกลุ่มบริ ษทั ซึ่ งเกี่ยวเนื่ องกับภาระผูกพันทางปฏิบตั ิบางประการตามปกติธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั ซึ่ งมี รายละเอียดดังนี้

ประกันตามสัญญาขายไฟ ประกันตามสัญญาขายน้ าตาล ประกันการใช้ไฟฟ้ า รวม

งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 3 3 2 34 34 39 37

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 2 7 7 9 7

35.4 เช็คลงวันทีล่ ่วงหน้ า ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีเช็คลงวันที่ล่วงหน้าซึ่ งออกให้แก่ชาวไร่ เพื่อการรับซื้ ออ้อยดังนี้

เช็คลงวันที่ล่วงหน้า

230

งบการเงินรวม 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 2,346 3,110

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 30 กันยายน 31 ธันวาคม 2561 2560 1,811 2,379

51


36. เครื่องมือทางการเงิน 36.1 นโยบายการบริหารความเสี่ ยง เครื่ องมือทางการเงินที่สาคัญของกลุ่มบริ ษทั ตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107 “การแสดง รายการและการเปิ ดเผยข้อมู ลสาหรับเครื่ องมือทางการเงิ น ” ประกอบด้วย เงิ นสดและรายการเที ยบเท่า เงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ เงินให้กยู้ ืม เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สิน ตามสั ญญาเช่ า การเงิ น เงิ น กู้ยืม ระยะสั้ นและเงิ นกู้ยืม ระยะยาว กลุ่ ม บริ ษ ัท มี ค วามเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้องกับ เครื่ องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริ หารความเสี่ ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้ านการให้ สินเชื่อ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่ อที่เกี่ ยวเนื่ องกับลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ ชาวไร่ และ เงินให้กยู้ มื ฝ่ ายบริ หารควบคุมความเสี่ ยงนี้โดยการกาหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสิ นเชื่อที่ เหมาะสม ดัง นั้น กลุ่ ม บริ ษ ัท จึ ง ไม่ ค าดว่า จะได้รั บ ความเสี ย หายที่ เ ป็ นสาระส าคัญ จากการให้ สิ น เชื่ อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่ อของกลุ่มบริ ษทั ไม่มีการกระจุกตัวเนื่ องจากมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่ จานวนมากราย จานวนเงิ นสู งสุ ดที่อาจต้องสู ญเสี ยจากการให้สินเชื่ อคือมูลค่าตามบัญชี ของลูกหนี้ การค้า และลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ และเงินให้กยู้ มื ที่แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุ่ ม บริ ษั ท มี ค วามเสี่ ยงจากอัต ราดอกเบี้ ยที่ ส าคั ญ อั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ เงิ น ฝากธนาคาร เงิ น ให้ กู้ ยื ม เงินเบิกเกินบัญชี หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน และเงินกูย้ ืมที่มีดอกเบี้ย ทั้งนี้สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน ส่ วนใหญ่ มีอตั ราดอกเบี้ ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรื อมีอตั ราดอกเบี้ยคงที่ซ่ ึ งใกล้เคียงกับอัตราตลาด ในปัจจุบนั ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 สิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สาคัญของกลุ่มบริ ษทั สามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสาหรับสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินที่มีอตั ราดอกเบี้ยคงที่ สามารถแยกตามวันที่ ครบกาหนด หรื อ วันที่มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่ มีการกาหนดอัตรา ดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดงั นี้

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

231

52


232

หนีส้ ิ นทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ ืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสานักงานกองทุนอ้อย และน้ าตาลทราย หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้อย และน้ าตาลทราย

สิ นทรัพย์ ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ ลูกหนี้สานักงานกองทุนอ้อย และน้ าตาลทราย

46 2,097 21 2,164

268 9 849 -

95 4,695

736

736 -

-

-

-

-

3,474 -

-

-

-

160

73

87 -

287

287 -

30 กันยายน 2561 อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึ้นลง 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด

1,378

-

1,378

1,641 3,245

14 1,015 575

ไม่มี อัตรา ดอกเบี้ย

116 9,133

268 791 2,946 73

3,561 1,378

1,641 3,532

301 1,015 575

รวม

122 2,832

8 498 -

2,204 -

-

-

108 2,396

41 2,247 -

-

-

-

750

750 -

-

-

-

240

78

162 -

282

282 -

31 ธันวาคม 2560 อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึ้นลง 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด

2,440

-

2,440

1,209

48 597 564

ไม่มี อัตรา ดอกเบี้ย

330 597 564

230 8,658

799 2,745 78

2,366 2,440

1,491

รวม

(หน่วย : ล้านบาท)

53

ตามหมายเหตุขอ้ 23

ตามหมายเหตุขอ้ 20 ตามหมายเหตุขอ้ 21 ตามหมายเหตุขอ้ 22 ตามหมายเหตุขอ้ 7

ตามหมายเหตุขอ้ 18 -

-

ตามหมายเหตุขอ้ 8 -

อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละ)


ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั มีสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) เพื่อแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

มูลค่าคงเหลือตามสัญญา (ล้านบาท) 2,950

มูลค่าคงเหลือตามสัญญา (ล้านบาท) 2,500

มูลค่าคงเหลือตามสัญญา (ล้านบาท) 3,350

มูลค่าคงเหลือตามสัญญา (ล้านบาท) 2,750

งบการเงินรวม ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ระยะเวลา สิ้ นสุ ดสัญญา อัตราดอกเบี้ยที่จ่าย (ร้อยละต่อปี ) ธันวาคม 2561 3.9 - 4.2 มิถุนายน 2563 งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ระยะเวลา สิ้ นสุ ดสัญญา อัตราดอกเบี้ยที่จ่าย (ร้อยละต่อปี ) มิถุนายน 2563 4.2

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ระยะเวลา สิ้ นสุ ดสัญญา อัตราดอกเบี้ยที่จ่าย (ร้อยละต่อปี ) ธันวาคม 2561 3.9 - 4.2 มิถุนายน 2563 งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ระยะเวลา สิ้ นสุ ดสัญญา อัตราดอกเบี้ยที่จ่าย (ร้อยละต่อปี ) มิถุนายน 2563 4.2

อัตราดอกเบี้ยที่รับ (ร้อยละต่อปี ) อัตราที่อา้ งอิง THBFIX 6 เดือน บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี

อัตราดอกเบี้ยที่รับ (ร้อยละต่อปี ) อัตราที่อา้ งอิง THBFIX 6 เดือน บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี

อัตราดอกเบี้ยที่รับ (ร้อยละต่อปี ) อัตราที่อา้ งอิง THBFIX 6 เดือน บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี

อัตราดอกเบี้ยที่รับ (ร้อยละต่อปี ) อัตราที่อา้ งอิง THBFIX 6 เดือน บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

54

233


ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน กลุ่ มบริ ษ ทั มี ค วามเสี่ ย งจากอัตราแลกเปลี่ ย นที่ ส าคัญอัน เกี่ ย วเนื่ องจากการซื้ อหรื อ ขายสิ นค้า และซื้ อ เครื่ องจักร บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยบางแห่งได้ตกลงทาสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพื่อใช้เป็ น เครื่ องมือในการบริ หารความเสี่ ยง และบริ ษทั ฯได้ทาสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าบางส่ วน แทนบริ ษทั ย่อย สัญญาส่ วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปี ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 และ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่ มบริ ษทั มียอดคงเหลื อของสิ นทรัพย์และหนี้ สิน ทางการเงินที่เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ ดังนี้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั เฉพาะของบริ ษทั ฯ สิ นทรัพย์ หนี้สินทาง สิ นทรัพย์ หนี้สินทาง สกุลเงิน ทางการเงิน การเงิน ทางการเงิน การเงิน อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย (ล้าน) (ล้าน) (ล้าน) (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 4.0 2.0 1.0 0.3 32.41 เยน 5.0 3.0 0.29 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั เฉพาะของบริ ษทั ฯ สิ นทรัพย์ หนี้สินทาง สิ นทรัพย์ หนี้สินทาง สกุลเงิน ทางการเงิน การเงิน ทางการเงิน การเงิน อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย (ล้าน) (ล้าน) (ล้าน) (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 1.0 2.0 0.3 32.68

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั มีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนี้ งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561

สกุลเงิน

จานวนที่ซ้ือ (ล้าน) เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ยูโร 1.1

234

ขาดทุน (กาไร) ที่ยงั ไม่รับรู ้จาก อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม จานวนที่ขาย จานวนที่ซ้ือ จานวนที่ขาย จานวนที่ซ้ือ จานวนที่ขาย (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 7.7 32.17 - 33.21 (1.7) 38.68 0.4 -

55


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯมีสัญญาขายสิ ทธิที่จะซื้ อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนี้ งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สกุลเงิน เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา

จานวนเงิน (ล้าน) 3.0

อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 37.00 - 38.00

ขาดทุนที่ยงั ไม่รับรู ้จากการ เปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม (ล้านบาท) -

ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้าตาลทรายและราคาอ้ อย บริ ษทั ฯได้เข้าทาสัญญาขายน้ าตาลที่จะส่ งมอบในปี 2561 ในตลาดล่วงหน้า (Futures market) แต่หลังจาก ที่ บ ริ ษัท ฯได้ เ ข้า ท าสั ญ ญาขายล่ ว งหน้ า ดัง กล่ า วจนถึ ง วัน ที่ บ ริ ษัท ฯท าสั ญ ญาขายจริ งให้ ก ับ ลู ก ค้า ราคาน้ าตาลในตลาดโลกสาหรับการส่ งมอบในปี 2561 ได้ปรับตัวเปลี่ ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่ อง ทาให้ ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 บริ ษทั ฯมีผลกาไรจากการ ปิ ดสถานะสัญญาขายล่วงหน้าที่ส่งมอบในปี 2561 เป็ นจานวนเงินประมาณ 92 ล้านบาท ซึ่งได้ถูกบันทึกไว้ ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จแล้ว ณ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯมีสัญญาซื้อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้าที่ยงั ไม่มีการส่ งมอบจริ งที่เปิ ดสถานะไว้ ดังนี้ (หน่วย: ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่าตามสัญญา มูลค่ายุติธรรม สัญญาซื้อล่วงหน้า 0.2 0.2 สัญญาขายล่วงหน้า 14.4 14.3 มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้ อขายน้ าตาลทรายล่วงหน้ากาหนดขึ้นโดยใช้ราคาตาม Intercontinental Exchange ในตลาดนิวยอร์ค หมายเลข 11

36.2 มูลค่ ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่ องจากสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินส่ วนใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั จัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินให้กยู้ ืม และเงิ นกูย้ ืมมีอตั ราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด กลุ่มบริ ษทั จึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของ สิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

235

56


กลุ่มบริ ษทั มีการประมาณการมูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมือทางการเงินตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ ก)

สิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงิ นที่จะครบกาหนดในระยะเวลาอันสั้น ได้แก่ เงิ นสดและรายการ เทียบเท่าเงิ นสด ลูกหนี้และเงินให้กูย้ ืมระยะสั้น เจ้าหนี้และเงิ นกูย้ ืมระยะสั้น แสดงมูลค่ายุติธรรม โดยประมาณตามมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน

ข)

สิ นทรัพย์ชีวภาพ แสดงมูลค่ายุติธรรมซึ่งคานวณโดยใช้วธิ ี คิดลดกระแสเงินสดในอนาคตอ้างอิงจาก ราคามูลค่ายุติธรรมหักประมาณการต้นทุนขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว การประเมินมูลค่าดังกล่าวต้องอาศัย ข้อสมมติฐานและการประมาณการบางประการ เช่ น ราคาอ้อยขั้นสุ ดท้าย ระดับความหวานและ น้ าหนักของอ้อย เป็ นต้น

ค)

เงิ นกูย้ ืมระยะยาวที่จ่ายดอกเบี้ ยในอัตราใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ ยในตลาด แสดงมูลค่ายุติธรรม โดยประมาณตามมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั มีสินทรัพย์ที่วดั มูลค่ายุติธรรมตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 12 ซึ่งลาดับชั้นการวัดมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวอยูใ่ นระดับที่ 3 ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั มีสินทรัพย์และหนี้สินที่เปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ -

ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 แสดงอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 36.1 ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ระดับ 3 แสดงอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15

มูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุ พนั ธ์ ที่เปิ ดเผยไว้คานวณโดยใช้เทคนิ คการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคต และแบบจาลองตามทฤษฎี ในการประเมินมูลค่า ซึ่ งข้อมูลที่นามาใช้ในการประเมินมูลค่าส่ วนใหญ่เป็ น ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ในตลาดที่เกี่ ยวข้อง เช่น อัตราแลกเปลี่ ยนทันที อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของ เงินตราต่างประเทศ เส้นอัตราผลตอบแทนของอัตราดอกเบี้ย และเส้นราคาล่วงหน้าของสิ นค้าโภคภัณฑ์ เป็ นต้น กลุ่ มบริ ษทั ได้คานึ งถึ งผลกระทบของความเสี่ ยงด้านเครดิ ตของคู่สัญญาในการประมาณมูลค่า ยุติธรรมของตราสารอนุพนั ธ์ ในระหว่างรอบระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีการโอนรายการระหว่างลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม 37.

การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริ หารจัดการทุนที่สาคัญของบริ ษทั ฯ คือการจัดให้มีซ่ ึ งโครงสร้างทุนที่เหมาะสมเพื่อ สนับ สนุ น การด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท ฯและเสริ ม สร้ า งมู ล ค่ า การถื อ หุ ้น ให้ ก ับ ผูถ้ ื อ หุ ้น โดย ณ วัน ที่ 30 กันยายน 2561 กลุ่มบริ ษทั มีอตั ราส่ วนหนี้ สินต่อทุนเท่ากับ 1.24:1 (31 ธันวาคม 2560: 1.20:1) และ เฉพาะบริ ษทั ฯมีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.88:1 (31 ธันวาคม 2560: 0.79:1)

236

57


38.

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561ได้อนุ มตั ิเสนอให้จ่ายเงินปั นผลจานวน 3,860,000,010 หุ ้น เป็ นจานวนเงิ นรวม 579 ล้านบาท 0.15 บาทต่อหุ ้น สาหรับหุ ้นสามัญจานวน 3,860,000,010 ทั้ง นี้ การอนุ ม ตั ิ เสนอให้จ่ายเงิ นปั นผลดังกล่า วจะได้นาเสนอต่ อที่ ประชุ มใหญ่ผูถ้ ื อหุ ้นประจาปี 2562 เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป

39. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกโดยคณะกรรมการบริ ษทั ฯเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2561

บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2561

237

58


บร�ษัท เกษตรไทย อินเตอร เนชั่นแนล ชูการ คอร ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)

Kaset Thai International Sugar Corporation Public Company Limited 24 อาคารเอกผล ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2692-0869-73 โทรสาร 0-2246-9125, 0-2246-9140 24 Aekaphol Bldg., Vibhavadi Rangsit Rd., Ratchadaphisek, Din Daeng, Bangkok 10400, Thailand Tel. [+66] 2692-0869-73 Fax [+66] 2246-9125, 2246-9140


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.