Pursuing Innovation Excellence, Extending New Opportunity
Annual Report 2016 รายงานประจำป 2559
ขอน้อมเกล้าฯ ส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย น้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณและร่วมถวายความอาลัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
สารบัญ 58
ปัจจัยความเสี่ยง
62
ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น
3
ปรัชญาองค์กร วิสัยทัศน์และพันธกิจ
66
โครงสร้างการจัดการ
4
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป
93
การก�ำกับดูแลกิจการ
6
สารจากประธานกรรมการ
108
ความรับผิดชอบต่อสังคม
8
สารจากประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่ม KTIS
113
การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง
10
คณะกรรมการบริษัท
116
รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ
12
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัท
118
รายการระหว่างกัน
35
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่นๆ ของบริษัท
136
ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ ผลการด�ำเนินงานและฐานะทางการเงิน
39
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ
142
รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน
45
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
143
งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน
2
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
วิสัยทัศน์ กลุ่มเคทิส เป็นองค์กรชั้นน�ำที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นระดับโลก บริหารงาน ด้วยหลักบรรษัทภิบาล บูรณาการงานด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม แบบครบวงจร ใส่ใจดูแลสังคม เสริมสร้างมูลค่าและคุณค่าของน�้ำตาล ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลอยได้ และพลั ง งานที่ ส ะอาดเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ธุรกิจเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน
พันธกิจ ด�ำเนินธุรกิจด้วยประสบการณ์ความรอบรู้ มีความคิดทีส่ ร้างสรรค์ และมีความเป็น มืออาชีพ ให้เกิดนวัตกรรมและคุณค่า ต่อผลิตภัณฑ์และบริการที่หลากหลาย ตั้งแต่ระดับต้นน�้ำ ถึงปลายน�้ำ สร้างฐานแหล่งวัตถุดิบที่ยั่งยืนและมีศักยภาพ เพื่อสนับสนุนโครงข่ายธุรกิจ ที่ทันสมัยและครบวงจร เพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงและการผลิต พลังงาน ชีวมวลที่สะอาด และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริหารด้วยหลักคุณธรรมและธรรมาภิบาล ทั้งธุรกิจปัจจุบันและการลงทุน ในธุรกิจใหม่ อย่างคุ้มค่าและคืนผลตอบแทนทั้งในรูปการเงินและไม่ใช่การเงิน สู่สังคม ผู้ลงทุน ลูกค้า พนักงาน เกษตรกรและผู้เกี่ยวข้อง
ชาวไร่อ้อยมั่งคั่ง กลุ่มเคทิสมั่นคง รายงานประจ�ำปี 2559
3
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป 2557
2558
2559
20,120
19,328
15,006
14,849
14,352
10,888
796
766
448
-
222
-
616
538
700
เอทานอล
1,740
1,639
1,634
เยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย
1,598
1,305
896
อื่นๆ
521
505
439
รายได้อื่น
229
116
81
รายได้รวม
20,349
19,444
15,087
กำ�ไรสุทธิ
1,366
730
(513)
18,690
18,793
16,053
7,767
5,578
4,218
10,923
13,215
11,835
10,117
10,101
8,231
หนี้สินหมุนเวียน
7,182
4,949
3,643
หนี้สินไม่หมุนเวียน
2,936
5,152
4,588
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
8,572
8,692
7,822
อัตราส่วนสภาพคล่อง
1.08
1.13
1.16
อัตราส่วนหนี้/ทุน
1.18
1.16
1.05
งบกำ�ไรขาดทุน (ล้านบาท) รายได้จากการขายและการให้บริการ นํ้าตาล กากนํ้าตาล ผลตอบแทนการผลิตและจำ�หน่ายนํ้าตาล ไฟฟ้า
งบแสดงฐานะการเงิน (ล้านบาท) รวมสินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
อัตราส่วน (เท่า)
4
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
จุดเด่นทางการเงินเปรียบเทียบ 3 ปี ก�ำไรสุทธิ
รายได้รวม
หน่วย : ล้านบาท 20,120
หน่วย : ล้านบาท
19,328
229 รวม
15,006
116
81
รวม
รวม
20,349
19,444
15,087
2557
2558
2559
รายได้จากการขายและการให้บริการ
1,366
730
(513)
2557
2558
2559
ก�ำไรสุทธิ
รายได้อื่น
รายได้จากการขายและการให้บริการ 3.1% 2.6% 8.6% 7.9%
2557
77.8%
2.8% 2.6% 8.5% 6.8%
6.0%
2558
75.5%
79.4%
10.9%
น�้ำตาลและโมลาส (รวมผลตอบแทนการผลิต และจ�ำหน่ายน�้ำตาล) เยื่อกระดาษฟอกขาว จากชานอ้อย เอทานอล
4.7% 2.9%
2559
ไฟฟ้าชีวมวล อื่นๆ
อัตราส่วนหนี้/ทุน
อัตราส่วนสภาพคล่อง
หน่วย : เท่า
หน่วย : เท่า
1.08
1.13
1.16
1.18
1.16
1.05
2557
2558
2559
2557
2558
2559
รายงานประจ�ำปี 2559
5
6
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
สารจากประธานกรรมการ เรียนท่านผู้ถือหุ้น จากสถานการณ์เศรษฐกิจทั่วโลกที่ยังชะลอตัว ภาวะ เงินฝืดที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ ท�ำให้ภาคเอกชน ต้องบริหาร กิจการและลงทุนด้วยความระมัดระวัง โดยมีปจั จัยบวกด้านแนว โน้มการผ่อนคลายนโยบายการเงินของธนาคารกลางทั่วโลก นโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจระลอกใหม่ของทุกประเทศ ราคา น�ำ้ มันทีค่ งอยูใ่ นระดับต�ำ่ ในขณะทีป่ จั จัยด้านลบมาจากความเสีย่ ง ทางการเมืองของยุโรปที่ ไม่เป็นเอกภาพ ผลจาก Brexit ของ ประเทศอังกฤษที่มีต่อภาคธนาคาร ความกังวลต่อหนี้เสียของ ประเทศในกลุ่มอียู การชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศจีน และ ประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ในขณะที่ สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประทศ มหาอ�ำนาจของโลก ได้ประธานาธิบดีคนใหม่ที่จะก�ำหนดทิศทาง ของเศรษฐกิจโลกในอนาคต ดังนัน้ จึงต้องติดตามผลกระทบและ เตรียมแผนธุรกิจเพื่อสร้างโอกาสการเติบโตขององค์กรต่อไป ขณะเดียวกัน รัฐบาลของประเทศไทยได้ออกนโยบาย กระตุ้นการใช้จ่ายของประชาชนในด้านต่างๆ กระตุ้นการลงทุน ด้านขนส่งสาธารณะ พร้อมทั้งได้ก�ำ หนดทิศทางการพัฒนา อุตสาหกรรมอย่างก้าวกระโดด โดยส่งเสริมการลงทุนในเขต เศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์ เพื่อสร้างควาเข้มแข็งของ Value Chain ดึงดูดการลงทุนที่มีคุณค่าจากนักลงทุน และ กระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น ซึ่งกลุ่มบริษัทจะจัด อยู่ในกลุ่มคลัสเตอร์เกษตรแปรรูปตั้งแต่พื้นฐานไปยังปลายน�้ำ นับเป็นโอกาสที่จะศึกษาเพื่อต่อยอดธุรกิจต่อไปได้ ปี 2558/59 เป็นปีแห่งความแห้งแล้ง ทัว่ ประเทศมีปริมาณ อ้อยเข้าหีบ 94.05 ล้านตัน ได้น�้ำตาลเฉลี่ย 10.4 กก.ต่อตันอ้อย คิดเป็น 9.78 ล้านตัน เทียบกับปีก่อนมีปริมาณอ้อย 105.96 ล้านตัน ได้น�้ำตาลเฉลี่ย 10.67 กก.ต่อตันอ้อย คิดเป็น 1.13 ล้านตัน ผลผลิตคุณภาพอ้อยทัว่ ประเทศลดลงมาก ซึง่ นอกจาก ประเทศไทยแล้ว ประเทศอินเดีย จีน และประเทศในแถบเอเซีย ก็ประสบปัญหาดังกล่าว และจากการคาดการณ์การของสถาบัน และนักวิเคราะห์ประมาณว่าปี 2559/60 ผลผลิตและการบริโภค จะมีน�้ำตาลส่วนขาดถึง 8-9 ล้านตัน ท�ำให้ราคาน�้ำตาลล่วงหน้า ในตลาดโลกปี 2559/60 พุ่งสูงขึ้นประมาณ 30-40% คาดว่า จะส่งผลดีต่อธุรกิจน�้ำตาลอย่างมาก
ในด้านธุรกิจเยื่อกระดาษฯ ได้รับผลกระทบจากราคา ตลาดโลกที่ลดต�่ำลง ท�ำให้รายได้ลดน้อย แต่ก็สามารถมีก�ำไร ในระดับหนึ่ง ส่วนธุรกิจเอทานอล แม้ว่าช่วงต้นปีราคาลดลง เล็กน้อย ต้นทุนวัตถุดบิ สูงขึน้ แต่ปลายปีความต้องการมากราคา เพิม่ ขึน้ ท�ำให้ผลประกอบการเป็นไปตามแผนงาน และช่วยสนับสนุน ผลประกอบการธุรกิจน�้ำตาลอีกปีหนึ่ง ในขณะที่ธุรกิจไฟฟ้า ยังท�ำก�ำไรได้อย่างต่อเนือ่ ง กลุม่ บริษทั คาดว่าธุรกิจชีวพลังงาน ยังคงมีอนาคตที่ดี ในขณะที่ธุรกิจปุ๋ยและส่วนปรับปรุงดินเริ่มมี ผลก�ำไรจากการประกอบกิจการ จากผลประกอบการปีนี้ ธุรกิจอ้อยและน�ำ้ ตาลทีเ่ ป็นราย ได้หลักของกิจการได้ผ่านพ้นช่วงวิกฤตที่สุดของอุตสาหกรรม ซึ่งราคาน�้ำตาลตลาดโลกตกต�่ำ และภัยแล้งที่รุนแรงกระทบต่อ ปริมาณอ้อยอย่างมาก แต่กลุ่มบริษัทสามารถบริหารจัดการ อย่างระมัดระวังและรอบคอบ และยืนหยัดได้อย่างมัน่ คง ในขณะที่ ช่วงกลางปีนี้เป็นต้นมา ฝนตกมากในจังหวะที่อ้อยต้องการน�ำ้ พอดี ท� ำ ให้ ป ริ ม าณอ้ อ ยเพิ่ ม ขึ้ น และเติ บ โตได้ ส มบู ร ณ์ ก ว่ า ปี ที่ผ่านมา ประกอบกับราคาน�้ำตาลตลาดโลกพุ่งสูงขึ้นตามที่ได้ กล่าวไว้ ผมมีความเชื่อมั่นว่า กลุ่มบริษัทจะน�ำแนวทางต่างๆ ในช่วงวิกฤตมาบริหารจัดการเพื่อสร้างความเข้มแข็ง เติบโตขึ้น สอดรับกับโอกาสดีต่างๆ ที่ส่งสัญญาณชัดเจน ท้ายนี้ ผมใคร่ขอขอบพระคุณท่านผู้ถือหุ้น กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ ได้ช่วย เหลือ สนับสนุนกิจการด้วยดีเสมอมา ผมเชื่อในวิสัยทัศน์และ ประสบการณ์อันยาวนานของกลุ่มบริษัทและทุกท่านในการน�ำ พากิจการให้มีความเจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป
นายปรีชา อรรถวิภัชน์ ประธานกรรมการ
รายงานประจ�ำปี 2559
7
สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท เรียนท่านผู้ถือหุ้น ระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมา กลุ่ม KTIS ได้ผ่านพ้นช่วงเวลา ของมรสุมที่รุนแรงอย่างมากในอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาล ของประเทศไทย ที่มีสาเหตุจากความแห้งแล้งท�ำให้ปริมาณและ คุณภาพอ้อยลดลง อีกทัง้ ราคาน�ำ้ ตาลตลาดโลกทีต่ กต�ำ่ ในเวลา เดียวกัน ซึ่งวงจรการขึ้นลงของอุตสาหกรรมเป็นเรื่องที่เคย เกิดขึ้นในอดีต และกลุ่ม KTIS ก็มีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา เพือ่ ให้ธรุ กิจมีความเข้มแข็ง มีภมู ติ า้ นทานทีจ่ ะเติบโตอย่างมัน่ คง ต่ อ ไป และจากสั ญ ญาณราคาน�้ำ ตาลตลาดโลกที่ สู ง ขึ้ น มาก ประกอบกับฝนทีต่ กอย่างต่อเนือ่ งในช่วงท้ายของปี เชือ่ ว่าปัญหา ภัยแล้งได้สิ้นสุดลง เป็นก�ำ ลังใจทั้งแต่โรงงานน�้ำตาลและชาว ไร่ออ้ ยให้เกิดความเชือ่ มัน่ ในการด�ำเนินงานว่าจะประสบผลส�ำเร็จ ได้อย่างที่ต้องการ เนือ่ งจากผลผลิตน�ำ้ ตาลของประเทศไทยจะขายในประเทศ ประมาณ 25-30% และส่งออกประมาณ 70-75% ท�ำให้การ รับรู้รายได้จากการขายน�้ำตาลของ กลุ่ม KTIS มีความยืดหยุ่น สามารถรองรับสภาพเศรษฐกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้ อย่างดี นอกจากนีน้ ำ�้ ตาลยังเป็นสินค้าทีป่ ระเทศในแถบเอเชีย เช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม ลาว พม่า จีน อินเดีย ฟิลปิ ปินส์ มาเลเซีย ตะวันออกกลาง ฯลฯ มีความต้องการสูง และประเทศไทยก็มี จุดเด่นทางยุทธศาสตร์ในด้านเส้นทางการขนส่งทีส่ นั้ และประหยัด ท�ำให้มีความได้เปรียบ อีกทั้งการพัฒนาการผลิตและคุณภาพ น�ำ้ ตาลทีเ่ ป็นไปอย่างต่อเนือ่ งก็ทำ� ให้อตุ สาหกรรมน�ำ้ ตาลของไทย มีเสถียรภาพที่ดีและเข้มแข็งขึ้น ปัจจุบนั การเปลีย่ นแปลงราคาน�ำ้ ตาลตลาดโลกทีเ่ กิดขึน้ จากนักเก็งก�ำไร กองทุนฯ ต่างๆ ท�ำให้ทศิ ทางของราคาเกิดความ ผันผวนไปจากปัจจัยพื้นฐานอย่างมาก อุตสาหกรรมน�้ำตาล จึงมีการปรับตัวโดยมีการหารายได้เพิ่มขึ้นจากอุตสาหกรรม ต่อเนื่องเช่น การผลิตไฟฟ้า การผลิตเอทานอล การท�ำเยื่อ กระดาษฯ การผลิตปุ๋ย ซึ่งเป็นทิศทางที่สอดคล้องกับนโยบาย ภาครัฐในยุคประเทศไทย 4.0 ซึ่งภาครัฐได้ตระหนักถึงปัญหา ของเศรษฐกิจไทยที่อยู่ในภาวะทรงตัว อีกทั้งประเทศเพื่อนบ้าน ก็พฒ ั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ภาครัฐจึงได้กำ� หนด 10 อุตสาหกรรม เป้าหมายของประเทศเพือ่ ดึงเม็ดเงินลงทุนจากภาคเอกชนเข้ามา ลงทุน และกระตุน้ ให้เกิดการจ้างงาน และปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ใหม่ให้มขี ดี ความสามารถทางการแข่งขันมากขึน้ โดยออกมาตรการ สนับสนุนด้านสิทธิประโยชน์การลงทุนในระดับสูงจากส�ำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ยกระดับ 5 อุตสาหกรรม เดิมทีม่ ศี กั ยภาพ (First S-Curve) โดยมี เกษตรเทคโนโลยีชวี ภาพ และแปรรูปอาหาร เป็นหนึ่งในนั้น และ 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) ซึ่งรวมถึง เชื้อเพลิงชีวภาพ-เคมีชีวภาพ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมดังกล่าว ซึ่งกลุ่ม KTIS เองก็ได้มีการ เตรียมการด�ำเนินงาน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐ ดังกล่าว
ในการสร้างโอกาสทางธุรกิจ จากการที่ภาครัฐได้เห็นชอบปรับ โครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทัง้ ระบบ โดยให้กระทรวง อุตสาหกรรมจัดท�ำแผนทั้งระบบตั้งแต่ปี 2559-2564 เพื่อให้ สอดคล้องกับพันธกรณีและความตกลงภายใต้องค์การการค้า โลก หรือ WTO โดยจะมีการก�ำหนดแผนงาน เป้าหมาย กิจกรรม ด�ำเนินการ และระยะเวลาด�ำเนินกานในด้านการปรับปรุงพระราช บัญญัตอิ อ้ ยและน�ำ้ ตาลทราย รวมทัง้ กฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้ครอบคลุมการน�ำอ้อยไปผลิตเป็นเอทานอลและ ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องอื่นๆได้ การเพิ่มผลิตภาพอ้อยและน�้ำตาล ทราย โดยมีเป้าหมายลดปริมาณอ้อยไฟไหม้ ให้หมดภายใน 5 ปี, การน�ำของเสียจากโรงงานมาเป็นผลผลิตหรือเป็นสารบ�ำรุงดิน ในไร่ออ้ ย, การเพิม่ ผลิตภาพการผลิตไฟฟ้าจากเยือ่ อ้อย, การใช้ เครื่องจักรกลการเกษตรในแปลงปลูกอ้อยเพื่อลดต้นทุนและ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต รวมถึงการบริหารจัดการน�ำ้ ทัง้ ระบบ ให้มีประสิทธิภาพ การให้สินเชื่อดอกเบี้ยต�่ำแก่เกษตรกรและ โรงงานเพือ่ จัดซือ้ อุปกรณ์เครือ่ งมือการผลิต การจัดตัง้ สถาบัน วิจัยและพัฒนาอ้อยและน�้ำตาลทรายเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีด ความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว เช่น ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการ ปรับปรุงพันธุ์อ้อย, ศูนย์วิจัยและพัฒนาดิน, น�้ำและปุ๋ยเพื่อเพิ่ม ผลิตภาพอ้อย เป็นต้น กลุ่ม KTIS สร้างธุรกิจจากอ้อย มีการส่งเสริมชาว ไร่อ้อยหลายหมื่นครอบครัว โดยการสนับสนุนด้านการเงิน ความรู้ การอบรมเครือ่ งมืออุปกรณ์ มีการติดตามการท�ำไร่ออ้ ย ของชาวไร่ อ ้ อ ยอย่ า งใกล้ ชิ ด จนมั่ น ใจว่ า ชาวไร่ อ ้ อ ยประสบ ความส�ำเร็จในการท�ำอาชีพชาวไรอ้อยและมีความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ การด�ำเนินงานดังกล่าวท�ำให้ กลุ่ม KTIS มีพื้นฐานทรัพยากร ด้านวัตถุดบิ อย่างมัน่ คงและมีคณ ุ ภาพ และยังสามารถน�ำของเสีย ในระบบมาสร้างผลผลิตให้เกิดมูลค่า อีกทั้งยังมีแนวทางที่จะน�ำ ผลผลิตไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชวี ภาพได้มากมาย อย่างไรก็ตาม การประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรก็ยอ่ ม ต้องเผชิญ ปัญหาด้านสภาพอากาศทีม่ ผี ลต่อวัตถุดบิ นับเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งหา ทางพัฒนาควบคุมให้เกิดผลกระทบน้อยทีส่ ดุ ซึง่ อาจต้องลงทุน ด้านระบบชลประทาน การเจาะบ่อบาดาล การพัฒนาการให้น�้ำ แก่ไรอ้อยแบบน�้ำหยด การท�ำ Zoning อ้อย ฯลฯ แต่ด้วยชัยภูมิ ของประเทศ ประกอบกับนโยบายทางเศรษฐกิจของภาครัฐและ ประสบการณ์การบริหารของกลุ่ม KTIS เราเชื่อมั่นว่าเราจะ ก้าวเดินไปข้างหน้าได้อย่างน่าภาคภูมิ ผมใคร่ขอขอบพระคุณผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท ผูบ้ ริหาร พนักงาน เพือ่ นๆคูค่ า้ ทางธุรกิจ หน่วยงานภาคราชการ ตลอดจนสังคมชุมชน ที่ ได้สนับสนุนและเชื่อมั่นในกลุ่ม KTIS เสมอมา และผมมัน่ ใจว่ากลุม่ KTIS จะเติบโตอย่างมัน่ คงสืบต่อไป
นอกจากนีก้ ารเปลีย่ นแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อย และน�ำ้ ตาลก็เป็นไปในทิศทางทีก่ ลุม่ KTIS คาดการณ์ และได้เตรียม การไว้แล้ว ในขณะทีก่ จ็ ะเป็นผลดีตอ่ อุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาล 8
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS
รายงานประจ�ำปี 2559
9
คณะกรรมการบริษัท
1
2
9
3
10
4
11
1. นายปรีชา อรรถวิภัชน์
4. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
ประธานกรรมการ
กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2. นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี
5. นายประเสริฐ ศิริวิระยะกุล กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS
กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงินกลุ่ม KTIS กรรมการบริหารความเสี่ยง
3. นายประพันธ์ ศิริวิริยะกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS กรรมการบริหารความเสี่ยง
กรรมการบริหารความเสี่ยง
6. นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล กรรมการ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม KTIS กรรมการบริหารความเสี่ยง
7. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ
10
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
5
6
7
8
12
13
14
15
8. ว่าที่ร้อยตรีธีรยุทธ ช่างเพชร
12. นายชุนซึเกะ ซึจิยามะ
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการตรวจสอบ
9. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
13. นายอภิชาต นุชประยูร
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยง
10. นายสถาพร โคธีรานุรักษ์
14. นายศิรภาคย์ ศิริวิริยะกุล
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
11. ผศ.ดร. พูนศักดิ์ บุญสาลี
15. นางสาวฉั่ว อิ๋ง อิ๋ง
กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ รายงานประจ�ำปี 2559
11
รายละเอียดเกีย่ วกับผูบ้ ริหาร และผูม้ อี ำ� นาจควบคุมบริษทั ชือ่ -สกุล
นายปรีชา อรรถวิภชั น์
อายุ 78 ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ และกรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (Industrial Engineering & Management), Oklahoma State University การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DCP 39/2004 »» ACP 11/2006 »» FND 8/2004 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) 0.147 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่ม ี จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ที เอส ฟลาวมิลล์ จำ�กัด (มหาชน)
ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ไทยชูการ์ เทอร์มเิ นิล้ จำ�กัด (มหาชน)
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยรุง่ ยูเนีย่ นคาร์ จำ�กัด (มหาชน)
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน)
2556 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ที เอส จี แอสเซ็ท จำ�กัด
ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ที เอส อุตสาหกรรมน้ำ�มัน จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั แพน-เปเปอร์ (1992) จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด
2555 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ไพรวัลย์ จำ�กัด
2553 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2552 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เอส.ไอ. พรอพเพอร์ต้ี จำ�กัด
2547 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
2536 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอช.ซี.สตาร์ค จำ�กัด
12
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2543 – 2557
ประธานกรรมการ
บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด
2551 – 2556
ประธานกรรมการ
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
ชือ่ -สกุล
นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี
อายุ 73 ต�ำแหน่ง กรรมการ, ประธานกรรมการบริหาร, ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงิน, กรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี สาขาการเงินและธนาคาร คณะพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 54/2006 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่ม ี จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2556 – ปัจจุบนั
»» กรรมการ »» ประธานกรรมการบริหาร »» ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร การเงิน »» กรรมการบริหารความเสีย่ ง
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
นายกกิตติมศักดิ์
สมาคมการค้าผูผ้ ลิตเอทานอลไทย “TEMA”
ปัจจุบนั
ประธานคณะกรรมการ
นิตบิ คุ คล อาคารชุด ทิวริเวอร์เพลส
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จำ�กัด
ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เดอะแกรนด์ ยูบี จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด รายงานประจ�ำปี 2559
13
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) 2554 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จำ�กัด
2550 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2557 – 2559
ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ
นิตบิ คุ คลอาคารชุดลิเบอร์ตพ ้ี ลาซ่า
2553 - 2557
ประธานคณะกรรมการ
นิตบิ คุ คลอาคารชุดลิเบอร์ตพ ้ี ลาซ่า
2553 – 2556
กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
2550 – 2555
กรรมการผูจ้ ดั การ
ชือ่ -สกุล
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
อายุ 64 ต�ำแหน่ง กรรมการ, ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ, กรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี กิตติมศักดิศ์ ลิ ปศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 96/2012 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร »» บิดาของนายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» พีช่ ายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ »» พีช่ ายของนายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» พีช่ ายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2556 – ปัจจุบนั
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด »» กรรมการ »» ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ (มหาชน) »» กรรมการบริหารความเสีย่ ง
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั หทัยจรูญ เอกโฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
ประธานทีป่ รึกษา
มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
2557 – ปัจจุบนั
ทีป่ รึกษา
สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ
2557 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด
2557 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด
14
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) 2556 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั 3เอสโฮลดิง้ จำ�กัด
2553 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ จำ�กัด
2553 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2552 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด
2552 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอส.ไอ. พรอพเพอร์ต้ี จำ�กัด
2548 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอ็พโก้ อินเตอร์เทรด จำ�กัด
2547 – ปัจจุบนั
ประธานผูก้ อ่ ตัง้
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์
2546 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จำ�กัด
2546 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
2545 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด
2541 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
2535 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จำ�กัด
2533 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยนอร์ทเทอร์น โมลาส จำ�กัด
2532 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด
2525 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จำ�กัด
2516 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
2506 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2552 – 2558
กรรมการ
บริษทั นิวไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
2552 – 2558
กรรมการ
บริษทั นิวรวมผล จำ�กัด
2551 – 2558
กรรมการ
บริษทั เอกวิษณุ จำ�กัด
2541 – 2558
กรรมการ
บริษทั ที.ไอ.ธุรกิจ จำ�กัด
2538 – 2558
กรรมการ
บริษทั นครสวรรค์การเกษตร จำ�กัด
2551 – 2556
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
2555
กรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลเอกผล จำ�กัด
2555
กรรมการ
บริษทั ร่วมกิจอ่างทอง คลังสินค้า จำ�กัด
2555
กรรมการ
บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด
รายงานประจ�ำปี 2559
15
ชือ่ -สกุล
นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
อายุ 52 ต�ำแหน่ง กรรมการ, รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ, กรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิตคอมพิวเตอร์ (เกียรตินยิ มอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» ปริญญาโท สาขาวิชา MBA, Washington State University, USA »» หลักสูตรการบริหารจัดการ ด้านความมัน่ คงขัน้ สูง รุน่ ที่ 2 (2554) »» หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ รุน่ ที่ 3 (2553) »» หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง วิทยาลัยการค้าและตลาดทุน รุน่ ที1่ 6 (2556) การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 96/2012 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) 0.705 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร »» น้องชายของนายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» น้องชายของนายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» น้องชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2559 – ปัจจุบนั
รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2556 – ปัจจุบนั
»» กรรมการ »» กรรมการบริหารความเสีย่ ง
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั หทัยจรูญ เอกโฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิสวิจยั และพัฒนา จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั 3เอสโฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยชูการ์มลิ เลอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยนอร์ทเทอร์น โมลาส จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลเอกผล จำ�กัด
16
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอ็นเอสซี (ประเทศไทย) จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอ็พโก้ อินเตอร์เทรด จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอส.ไอ. พรอพเพอร์ต้ี จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2553 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2551 – ปัจจุบนั
กรรมการอิสระ
King Wan Corporation Limited (Singapore)
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2556 – 2559
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจ ชีวพลังงานและผลิตภัณฑ์
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2555 – 2556
»» กรรมการ »» ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจ ชีวพลังงานและผลิตภัณฑ์
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
2558
กรรมการ
บริษทั นครสวรรค์การเกษตร จำ�กัด
2552 – 2558
กรรมการ
บริษทั นิวไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
2552 – 2558
กรรมการ
บริษทั นิวรวมผล จำ�กัด
รายงานประจ�ำปี 2559
17
ชือ่ -สกุล
นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
อายุ 63 ต�ำแหน่ง กรรมการ, รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ มอันดับหนึง่ ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา »» ปริญญาบัตร วปอ. 2549 (ปรอ.19) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 96/2012 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) 0.320 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร »» น้องสาวของนายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» พีส่ าวของนายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» พีส่ าวของนายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2556 – ปัจจุบนั
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) »» กรรมการ »» รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุม่ บริษทั »» กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ภาคการธุรกิจ ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิสวิจยั และพัฒนาจำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั หทัยจรูณเอกโฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั 3 เอส โฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยนอร์ทเทอร์น โมลาส จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลเอกผล จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด
2553 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2545 – ปัจจุบนั
กรรมการบริหาร
บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด
2545 – ปัจจุบนั
กรรมการบริหาร
บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด
18
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) 2539 – ปัจจุบนั
เจ้าของผูพ ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา
หนังสือพิมพ์สวรรค์นวิ ส์
2538 – ปัจจุบนั
กรรมการรองผูจ้ ดั การ
บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
2526 – ปัจจุบนั
กรรมการบริหาร
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
2559- ปัจจุบนั
กรรมการ
คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครสวรรค์
2541 – ปัจจุบนั
รองอธิการบดีฝา่ ยบริหาร
มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
2533 – ปัจจุบนั
ประธานคณะกรรมการบริหาร
วิทยาลัยอาชีวศึกษาวิรยิ าลัยนครสวรรค์
ผูท้ รงคุณวุฒิ
คณะอนุกรรมการกองทุนยุตธิ รรมประจำ�จังหวัดนครสวรรค์
2556 – ปัจจุบนั
ประธาน
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์
2553 – ปัจจุบนั
ประธานกิตติมศักดิ์
สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ
2545 – ปัจจุบนั
กรรมการ
คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพือ่ พัฒนาและแก้ไขปัญหา เศรษฐกิจ จังหวัดนครสวรรค์
2543 – ปัจจุบนั
กรรมการ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
2558 – ปัจจุบนั
ประธาน
ศูนย์ประสานงานองค์การเอกชนประจำ�จังหวัดนครสวรรค์
2557 – ปัจจุบนั
อนุกรรมการ
อำ�นวยการกระจายอำ�นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ระดับ จังหวัด จังหวัดนครสวรรค์
2552 – ปัจจุบนั
กรรมการ
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ จังหวัดนครสวรรค์
ทีป่ รึกษา
สมาคมนิสติ เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดนครสวรรค์
ภาคการศึกษา
ภาควิชาการ 2558 – ปัจจุบนั ภาคเศรษฐกิจ
ภาคบริหาร
ภาคสังคม 2551 – ปัจจุบนั
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2556 - 2558
กรรมการบริหาร
สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
2555 - 2557
รองประธาน
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
2554 – 2558
รองประธาน
ศูนย์ประสานงานองค์การเอกชนประจำ�จังหวัดนครสวรรค์
2554 – 2558
ทีป่ รึกษา
ผูต้ รวจราชการสำ�นักนายกรัฐมนตรีภาคประชาชน ด้านวิชาการ
2553 – 2557
กรรมการ
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 42
2553 – 2555
รองเลขาธิการ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
2553 – 2557
นายกสมาคม
สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนสตรีนครสวรรค์
2552 – 2559
กรรมการ
คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดนครสวรรค์
2550 - 2554
ทีป่ รึกษา
ผูต้ รวจราชการสำ�นักนายกรัฐมนตรี ภาคประชาชน ด้านเศรษฐกิจ
2550
สมาชิก
สมัชชาแห่งชาติ
2549 – 2555
กรรมการ
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษานครสวรรค์ เขต 1 รายงานประจ�ำปี 2559
19
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) 2549 - 2553
ประธาน
สภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ
2548 – 2550
นายกสมาคม
สมาคมนิสติ เก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดนครสวรรค์
2546 – 2559
กรรมการ
คณะกรรมการบริหารงานกลุม่ จังหวัดแบบบูรณาการ กลุม่ ภาคเหนือตอนล่าง2
2534 – 2535
นายกเหล่ากาชาด
เหล่ากาชาดจังหวัดมหาสารคาม
2534 – 2536
นายกเหล่ากาชาด
เหล่ากาชาดจังหวัดแพร่
ชือ่ -สกุล
นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
อายุ 58 ต�ำแหน่ง กรรมการ, รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ, กรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี ทันตแพทยศาสตร์ บัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 96/2012 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) 0.152 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร »» น้องชายของนายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» น้องชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ »» พีช่ ายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2559 – ปัจจุบนั
รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2556 – ปัจจุบนั
»» กรรมการ »» กรรมการบริหารความเสีย่ ง
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั 3เอส โฮลดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิสวิจยั และพัฒนา จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั นครสวรรค์แพ่ซง่ ง้วน จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั นครสวรรค์รว่ มทุนพัฒนา จำ�กัด
20
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2554 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จำ�กัด
2553 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2553 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ จำ�กัด
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2556 – 2559
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจอ้อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด และน้ำ�ตาล (มหาชน)
2555 – 2556
»» กรรมการและ »» ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ ธุรกิจ อ้อยและน้ำ�ตาล
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
2553 – 2555
»» กรรมการ »» รองกรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
ชือ่ -สกุล
นายไกรฤทธิ ์ นิลคูหา
อายุ 65 ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาโท M.Sc. (Petroleum Engineering), New Mexico Institute of Mining and Technology, USA »» ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ »» ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุน่ ที่ 48 »» หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุน่ ที่ 8 (วตท.8) การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 53/2006 »» ACP 24/2008 »» UFS 6/2006 รายงานประจ�ำปี 2559
21
สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ
ไม่มี ไม่มี 3 ปี 1 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 26 กุมภาพันธ์ 2557)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2557 – ปัจจุบนั
»» กรรมการอิสระ »» ประธานกรรมการตรวจสอบ
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) 2543 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการ
มูลนิธเิ พือ่ สถาบันฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรด้านปิโตรเลียม
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2556 – 2557
กรรมการ
บรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.)
2553 – 2558
กรรมการ
บริษทั บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)
2553 – 2556
กรรมการ
บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน)
2552 – 2555
อธิบดี
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน
2551 – 2552
รองปลัด
กระทรวงพลังงาน
ชือ่ -สกุล
นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์
อายุ 60 ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» ประกาศนียบัตรชัน้ สูงการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ »» ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี »» ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต (CPA) ทะเบียนเลขที่ 3349 »» ผูต้ รวจสอบภายในรับอนุญาต (CPIA) »» ปริญญาบัตร วปอ.2548 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร »» วุฒบิ ตั รพระราชทาน วทบ.44 สถาบันวิชาการทหารบกชัน้ สูง กองทัพบก »» ประกาศนียบัตรชัน้ สูง ปศส.1, ปรม.1, ปปร.11 สถาบันพระปกเกล้า »» ประกาศนียบัตร สจว.81 สถาบันจิตวิทยาความมัน่ คง »» ประกาศนียบัตร บรอ.1 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ »» ประกาศนียบัตรชัน้ สูง บมช.3, ส�ำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ »» ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน รุน่ ที่ 6 คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา »» Study Meet on Strategic Merger and Acquisition for SMEs C43 ปี 2010 ประเทศเกาหลี »» Study Mission to Nonmember Countries on Knowledge Creating Enterprises ปี 2009 ประเทศเยอรมัน »» China-ASEAN Young Entrepreneurs Forum ปี 2008 ประเทศจีน »» ASEAN-China Young Entrepreneurs Workshop ปี 2008 ประเทศบรูไน »» Top Management Forum : Corporate Governance ปี 2003 ประเทศญีป่ นุ่ »» The Training Program on Industrial Property Rights (Fundamental Course for IP Practitioners (EIPF)) ปี 2002 ประเทศญีป่ นุ่ 22
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
»» Financing and Management Development in Market Oriented Economies ปี 1998 ประเทศออสเตรเลีย »» International Forum on SMEs : Acceleration Growth and Enhancing Competitiveness n the Knowledge Economy,
ปี 2001 ประเทศอินเดีย การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 35/2009 »» ACP 13/2013 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่มี จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2555 – ปัจจุบนั
»» กรรมการตรวจสอบ »» กรรมการอิสระ
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2552 – ปัจจุบนั
»» ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ »» กรรมการอิสระ
บริษทั สุรพลฟูด้ ส์ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) 2558 – ปัจจุบนั
ประธานกรรมการตรวจสอบและ กรรมการอิสระ
บริษทั เอ เอ อีเลคทริ ไล จำ�กัด
2557 – ปัจจุบนั
ผูพ ้ พ ิ ากษาสมทบ
ศาลทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
2555 – ปัจจุบนั
คณะอนุกรรมการพิจารณาผูส้ มัคร เข้ารับการคัดเลือกเพือ่ รับรางวัล องค์กรโปร่งใส
สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
2553 – ปัจจุบนั
อนุกรรมการส่งเสริมและบ่มเพาะ วิสาหกิจและการจัดการทรัพย์สนิ ทางปัญญาในสถาบันอุดมศึกษา (UBI)
สำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
2538 – ปัจจุบนั
กรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั สหพร แอนด์ โก จำ�กัด
2536 – ปัจจุบนั
กรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั ซันโกร่า จำ�กัด
2536 – ปัจจุบนั
กรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั ดีบเี อ็มที จำ�กัด
2534 – ปัจจุบนั
กรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั เอส.วี.เอฟเวอร์กรีน จำ�กัด
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2555 – 2558
»» ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ »» กรรมการอิสระ »» กรรมการบริหารความเสีย่ ง
บริษทั กันกุลเอ็นจิเนียริง่ จำ�กัด (มหาชน)
2554 – 2557
คณะอนุกรรมการป้องกันการทุจริต ด้านสังคม
สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
2554 – 2557
ประธานคณะทำ�งานคัดกรองผูส้ มัคร เข้ารับการคัดเลือกเพือ่ รับรางวัล องค์กรโปร่งใส
สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
2555 – 2556
»» กรรมการตรวจสอบ »» กรรมการอิสระ
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด รายงานประจ�ำปี 2559
23
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) 2552 – 2556
กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ
ประจำ�คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2552 – 2554
»» ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ »» กรรมการอิสระ
บริษทั อินเตอร์ลง้ิ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2551 – 2555
»» กรรมการตรวจสอบ »» กรรมการอิสระ
บริษทั กันกุลเอ็นจิเนียริง่ จำ�กัด (มหาชน)
2549 – 2552
»» ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ »» กรรมการอิสระ
บริษทั เอเซียไฟเบอร์ จำ�กัด (มหาชน)
2548 – 2558
»» กรรมการตรวจสอบ »» กรรมการอิสระ
บริษทั สตาร์ ซานิทารีแวร์จำ�กัด (มหาชน)
2548 – 2549
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย
2548 – 2554
ผูพ ้ พ ิ ากษาสมทบ
ศาลทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง"
2548 – 2554
กรรมการเหรัญญิก
หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
2548 – 2554
ประธานคณะทำ�งานบัญชีและการเงิน
หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
2545 – 2549
ทีป่ รึกษาคณะกรรมการตรวจสอบ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
2543 – 2545
รองประธานคณะกรรมการกฎหมาย ภาษีธรุ กิจและการลงทุน
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ชือ่ -สกุล
ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
อายุ 74 ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการตรวจสอบ คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี สาขานิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 97/2012 »» ACP 41/2012 »» MFM 8/2012 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่มี จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2556 – ปัจจุบนั
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด »» กรรมการอิสระ »» ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง (มหาชน) »» กรรมการตรวจสอบ
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) -ไม่ม-ี กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี
24
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) ประสบการณ์ »» กรรมการอิสระ »» กรรมการตรวจสอบ
2555 – 2556
ชือ่ -สกุล
นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
อายุ 73 ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และกรรมการบริหารความเสีย่ ง คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต (บช.บ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ »» ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ North Dagota State University U.S.A »» Certificate, American Institute of Banking (New York) U.S.A. การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 97/2012 »» ACP 41/2012 »» MFM 8/2012 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่ม ี จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2556 – ปัจจุบนั
»» กรรมการอิสระ »» ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน »» กรรมการบริหารความเสีย่ ง
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) -ไม่ม-ี กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2555 – 2556
ชือ่ -สกุล
กรรมการอิสระ
นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
อายุ 68 ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาเอก ศิลปศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิต ( ศศ.ด. ) การบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา »» ศศ.ม. (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ »» บธ.ม. (การจัดการ) มหาวิทยาลัยอีสเทิรน์ เอเชีย การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 97/2012 รายงานประจ�ำปี 2559
25
สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ
ไม่มี ไม่มี 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2559 – ปัจจุบนั
»» กรรมการ »» ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร
บริษทั ศักดิส์ ยามลิสซิง่ จำ�กัด (มหาชน)
2556 – ปัจจุบนั
»» กรรมการอิสระ »» กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) -ไม่ม-ี กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2538 – 2559
»» กรรมการ »» ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร
บริษทั ศักดิส์ ยามพาณิชย์ ลิสซิง่ จำ�กัด
2555 – 2556
กรรมการอิสระ
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
ชือ่ -สกุล
นายชุนซึเกะ ซึจยิ ามะ
อายุ 47 ต�ำแหน่ง กรรมการ, ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ และผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงิน คุณวุฒทิ างการศึกษา »» College of Economics, Yokohama National University การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 108/2014 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่มี จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 2 ปี 11 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 12 พฤษภาคม 2557)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2556 – ปัจจุบนั
»» กรรมการ »» ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุม่ บริษทั ฯ »» ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร การเงิน
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) -ไม่ม-ี กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี
26
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) ประสบการณ์ 2551 – 2556
Division Head, Consumer Goods and Service Division
Sumitomo Corporation Thailand Ltd., Sumi-Thai Internal Limited (Bangkok)
2547 – 2551
Assistant to General Manager, Sweeteners & Beverages Dept.
Sumitomo Corporation Ltd.
2536
Staff Member, Sugar Dept. (Tokyo) Sumitomo Corporation Ltd.
ชือ่ -สกุล
นายอภิชาต นุชประยูร
อายุ 44 ต�ำแหน่ง กรรมการ, กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม, ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจชีวภาพ คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» ปริญญาโท Master of Management สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» DAP 96/2012 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่มี จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2559 – ปัจจุบนั
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายธุรกิจ ชีวภาพ
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2558 – ปัจจุบนั
ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุม่ บริษทั ฯ
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ซันไชน์เอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด
2558 – ปัจจุบนั
»» กรรมการ »» ประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารKTIS R&D
บริษทั เคทิสวิจยั และพัฒนา จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด รายงานประจ�ำปี 2559
27
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) 2554 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2543 – ปัจจุบนั
กรรมการบริหาร
บริษทั น้ำ�ตาลเอกผล จำ�กัด
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2548 – 2558
รองกรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
2548 – 2558
รองกรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
2548 – 2558
รองกรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์ พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
2556 – 2557
ผูอ้ ำ�นวยการอาวุโสสายงานวิศวกรรม
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2555 – 2556
ผูอ้ ำ�นวยการอาวุโสสายงานวิศวกรรม
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
2551 – 2556
กรรมการและกรรมการบริหาร
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
2548 – 2555
รองกรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
2558
กรรมการ
บริษทั ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด
ชือ่ -สกุล
นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋
อายุ 46 ต�ำแหน่ง กรรมการ และกรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ศิลปศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสงิ คโปร์ (National University of Singapore) สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) 0.558 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่มี จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 4 ปี 2 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 29 มกราคม 2556)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
2543 – ปัจจุบนั
กรรมการผูจ้ ดั การ
King Wan Corporation Pte. Ltd.
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอ็พโก้ อินเตอร์เทรด จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ไพรวัลย์ จำ�กัด
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Grand Helio Pte.Ltd.
2556 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Soon Zhou Investments Pte. Ltd.
2555 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Gold Topaz Pte. Ltd.
2555 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Gold Hyacinth Development Pte. Ltd.
28
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) 2555 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Bukit Timah Green Development Pte. Ltd.
2554 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Nanyang International Education (Holdings) Ltd.
2554 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Chang Li Investments Pte. Ltd.
2554 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Li Ta Investments Pte. Ltd.
2554 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Soon Li Investments Pte. Ltd.
2553 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอส.ไอ. พรอพเพอร์ต้ี จำ�กัด
2547 – ปัจจุบนั
กรรมการ
King Wan Industries Pte. Ltd.
2545 – ปัจจุบนั
กรรมการ
Xylem Investments Pte. Ltd.
2544 – ปัจจุบนั
กรรมการ
King Wan Development Pte. Ltd.
2539 – ปัจจุบนั
กรรมการ
King Wan Construction Pte. Ltd.
2537 – ปัจจุบนั
กรรมการผูจ้ ดั การ
K&W Mobile Loo Services Pte. Ltd.
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2547 – 2557
กรรมการ
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
2546 – 2557
กรรมการ
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
ชือ่ -สกุล
นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
อายุ 32 ต�ำแหน่ง กรรมการ, กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม และผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย »» ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) 4.940 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร »» บุตรชายของนายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» หลานชายของนางดารัตน์ วิภาตะกลัศ »» หลานชายของนายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล »» หลานชายของนายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล จ�ำนวนปีทเี่ ป็นกรรมการ 1 ปี 11 เดือน (วันทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ 14 พฤษภาคม 2558)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2558 – ปัจจุบนั
»» กรรมการ »» ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ�นวยการสำ�นักประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจ�ำปี 2559
29
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) 2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ซันไชน์เอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.วาย.ที.เทรดดิง้ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ภูมพ ิ ฒ ั นาธุรกิจ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั สิบสิรสิ วัสดิ์ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั อะโกร เอทานอล จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั อี.พี.ซี.เพาเวอร์ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั รวมผลอุตสากรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
2559 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั วิภาราม นครสวรรค์ จำ�กัด
2558 - ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จำ�กัด
2558 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั น้ำ�ตาลเอกผล จำ�กัด
2558 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ภูมเิ ลิศ บิซซิเนส จำ�กัด
2558 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั แม่ฮอ่ งสอนนิเซโกะ จำ�กัด
2558 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอส.ไอ.พรอพเพอร์ต้ี จำ�กัด
2555 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ไพรวัลย์ จำ�กัด
2553 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เอส.ไอ.ศิรเิ จริญ จำ�กัด
2551 – ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จำ�กัด
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ -ไม่ม-ี ชือ่ -สกุล
นางน้อมจิต อัครเมฆินทร์
อายุ 57 ต�ำแหน่ง ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่มี 30
ไม่มี
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2555 – ปัจจุบนั
ผูอ้ ำ�นวยการฝ่ายบัญชี
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) -ไม่ม-ี กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2551 – 2555
ชือ่ -สกุล
ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การทัว่ ไป
นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
อายุ 54 ต�ำแหน่ง เลขานุการบริษทั คุณวุฒทิ างการศึกษา »» ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง »» ปริญญาตรี บริหารทัว่ ไป มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ การผ่านหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» CSP 53/2013 »» BRP 12/2013 »» EMT 30/2014 »» CRP 8/2014 สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ฯ (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริหาร ไม่มี วันที่ได้รบั แต่งตัง้ 14 พฤษภาคม 2556
การดำ�รงตำ�แหน่งในกิจการอืน่ ๆ บริษทั จดทะเบียน 2556 – ปัจจุบนั
เลขานุการบริษทั
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอืน่ (ที่ไม่ใช่บริษทั จดทะเบียน) ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
ปัจจุบนั
กรรมการ
บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จำ�กัด
กิจการอืน่ ทีแ่ ข่งขัน/เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ -ไม่ม-ี ประสบการณ์ 2539 – 2556
ผูจ้ ดั การโรงงาน
บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล จำ�กัด
2548 – 2556
ผูจ้ ดั การโรงงาน
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
2537 – 2539
ผูจ้ ดั การโรงงาน
บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด
2532 – 2537
รองผูจ้ ดั การโรงงาน
บริษทั น้ำ�ตาลเกษตรไทย จำ�กัด รายงานประจ�ำปี 2559
31
32
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
X,V X, V X, V I, V X, V X, V
บริษทั ย่อย
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด
บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จ�ำกัด
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด
บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด
บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด
บริษทั ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จ�ำกัด
บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด
บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด
บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จ�ำกัด
บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด
บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด
บริษทั เคทิส ไบโอแก๊สเพาเวอร์ จ�ำกัด
บริษทั เคทิสวิจยั และพัฒนา จ�ำกัด
บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง
บริษทั เอส.ไอ.พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด
บริษทั น�ำ้ ตาลเอกผล จ�ำกัด
บริษทั นครสวรรค์รว่ มทุนพัฒนา จ�ำกัด
บริษทั ที.ไอ.เอส.เอส. จ�ำกัด
บริษทั สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด
1
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษทั
รายละเอียดกรรมการบริษทั ย่อย และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง 3
4
5
6
7
X, V
I, V
I, V
X, V
X, V
X, V
I, V
X, V
X, V
X, V
X, V
X, V
I, V
X, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
X, V
X, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, II, I, II, I, II, I, II, I, II, I, III, V, IV V, VI V, IV V, IV V, IV IV
2 I, III
8 I, VI, IV
9 I,VI
10
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I,V
I, V
I,V
I, V
I,V
11
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I,V
12 I,V
13 I,V
14 I, III
15 I,V
16
รายงานประจ�ำปี 2559
33
I, V
หมายเหตุ (1) x = ประธานกรรมการบริษทั ฯ I = กรรมการบริษทั II = กรรมการบริหาร III = กรรมการตรวจสอบ IV = กรรมการบริหารความเสีย่ ง V = ผูบ้ ริหาร VI = กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน VII = ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม
หมายเหตุ (2) 1. นายปรีชา อรรถวิภชั น์ 2. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ 4. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี 5. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 6. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 7. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร 8. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์
10
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
I, V
11 I, V
12
13
9. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์ 10. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี 11. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 12. นายอภิชาต นุชประยูร 13. นายชุนซึเกะ ซึจยิ ามะ 14. นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋ 15. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา 16. นางน้อมจิต อัครเมฆินทร์
I, V
I, V
9
บริษทั อี.พี.ซี. เพาเวอร์ จ�ำกัด
I, V
I, V
8
I, V
I, V
I, V
7
บริษทั อะโกร เอทานอล จ�ำกัด
I, V
I, V
I, V
บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด
X, V
บริษทั ศิรเิ จริญทรัพย์ไพรวัลย์ จ�ำกัด
6
บริษทั ภูมเิ ลิศ บิซซิเนส จ�ำกัด
บริษทั ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต จ�ำกัด
I, V
I, V
5
I, V
บริษทั ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ จ�ำกัด
I, V
4
บริษทั สิบสิรสิ วัสดิ ์ จ�ำกัด
บริษทั ไทยวิษณุนครสวรรค์ จ�ำกัด
I, V
3
I, V
บริษทั ร่วมทุนคลังสินค้านครสวรรค์ จ�ำกัด
2
บริษทั ภูมพ ิ ฒ ั นาธุรกิจ จ�ำกัด
1
บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า จ�ำกัด
บริษทั
I, V
14
15
16
34
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ
2. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี
3. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการ
6. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการ กรรมการ กรรมการ
กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ
8. นายอภิชาต นุชประยูร
9. นายชุนซึเกะ ซึจยิ ามะ
10. นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋
11. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
15. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ
13. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
14. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ
12. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์
*คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ
กรรมการอิสระ
7. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
*คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ
กรรมการ
5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
*คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ
ประธานกรรมการ
ต�ำแหน่ง
1. นายปรีชา อรรถวิภชั น์
รายชือ่ กรรมการ
190,698,000
-
-
-
100,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
500
-
-
-
-
-
-
-
20,000
400,000
เพิม่ /ลด
21,544,000
-
-
5,832,000
5,832,000
12,349,900
-
27,216,000
-
-
5,270,700
หุน้ สามัญ จ�ำนวน (หุน้ ) 31 ธ.ค.58
รายการ เปลีย่ นแปลง ระหว่างปี 2559 จ�ำนวน (หุน้ )
500
190,698,000
-
-
-
100,000
-
21,544,000
-
-
5,832,000
5,852,000
12,349,900
-
27,216,000
-
-
5,670,700
หุน้ สามัญ จ�ำนวน (หุน้ ) 31 ธ.ค. 59
-
-
-
-
-
-
-
-
-
4.940
0.003
0.558
0.000
0.151
0.152
0.320
0.705
0.147
ร้อยละ จ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิ ออกเสียง
ไม่มหี นุ้ KTIS
ไม่มหี นุ้ KTIS
ไม่มหี นุ้ KTIS
ไม่มหี นุ้ KTIS
ไม่มหี นุ้ KTIS
มีรายการซือ้ หุน้ เพิม่ จ�ำนวน 20,000 หุน้ ระหว่างปี 2559
ไม่มหี นุ้ KTIS
ไม่มหี นุ้ KTIS
มีรายการซือ้ หุน้ เพิม่ จ�ำนวน 400,000 หุน้ ระหว่างปี 2559
หมายเหตุ
ข้อมูลทัว่ ไป และข้อมูลส�ำคัญอืน่ ๆ ของบริษทั ข้อมูลบริษทั
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”)
ประเภทธุรกิจ
ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย และธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ได้แก่ ธุรกิจผลิต และจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่าย เอทานอล และธุรกิจผลิต และจ�ำหน่ายไฟฟ้า
ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ
เลขที่ 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร
ทีต่ งั้ โรงงาน
เลขที่ 1/1 หมูท่ ี่ 14 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์
ทีต่ งั้ โรงงาน สาขา 3
เลขที่ 1 หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลบ้านมะเกลือ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
เลขทะเบียนบริษทั
0107556000116
โทรศัพท์
0-2692-0869 ถึง 73
โทรสาร
0-2246-9125, 0-2692-0876 หรือ 0-2246-9140
Website
http://www.ktisgroup.com
เลขานุการบริษทั
นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ต่อ 176
cs@ktisgroup.com
นักลงทุนสัมพันธ์ และการสือ่ สารองค์กร
นางสาวมนธีร์ พลอยสุข โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ต่อ 193 ต่อ 26
ir@ktisgroup.com
ทุนจดทะเบียน
3,888,000,010 บาท
ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว
3,860,000,010 บาท
ข้อมูลบริษทั ย่อย ธุรกิจน�ำ้ ตาล : บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย ทุนจดทะเบียน : 1,215,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 1,215,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : 42/1 หมูท่ ี่ 8 บ้านหาดเสือเต้น ต�ำบลคุง้ ตะเภา อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โทรศัพท์ 0-5544-9010-1, 0-5540-7241-5 ธุรกิจน�ำ้ ตาล : บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย ทุนจดทะเบียน : 2,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 2,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : จังหวัดลพบุรี ธุรกิจพลังงาน : บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า ทุนจดทะเบียน : 1,260,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 1,260,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : 555 หมูท่ ี่ 14 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-5633-8123 ถึง 5 ธุรกิจพลังงาน : บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า ทุนจดทะเบียน : 395,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 395,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : 77/77 หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลบ้านมะเกลือ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-5633-8123 ถึง 5 36
ธุรกิจพลังงาน : บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า ทุนจดทะเบียน : 350,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 350,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : 42/2 หมูท่ ี่ 8 ต�ำบลคุง้ ตะเภา อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ธุรกิจพลังงาน : บริษทั ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า ทุนจดทะเบียน : 2,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 2,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : จังหวัดลพบุรี ธุรกิจพลังงาน : บริษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายไฟฟ้า ทุนจดทะเบียน : 1,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 1,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : จังหวัดนครสวรรค์ ธุรกิจเยือ่ กระดาษ : บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษ ทุนจดทะเบียน : 2,400,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 2,400,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : (1) 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 (2) 133 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : 9/9 หมูท่ ี่ 1 ถนนอรรถวิภชั น์ ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-2247-0920
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจปุย๋ : บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายปุย๋ และสารปรับปรุงดิน ทุนจดทะเบียน : 35,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 35,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : 888 หมูท่ ี่ 14 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-5633-8123 ถึง 5 ธุรกิจพลังงาน : บริษทั เอกรัฐพัฒนา จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล ทุนจดทะเบียน : 256,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 256,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ : (1) 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 (2) 133 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : 9 หมูท่ ี่ 14 ต�ำบลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โทรศัพท์ 0-5633-8333, 0-2644-8388, 0-2644-8130-2 ธุรกิจพลังงาน : บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล ทุนจดทะเบียน : 20,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 20,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานใหญ่ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : จังหวัดนครสวรรค์
ธุรกิจพลังงาน : บริษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล ทุนจดทะเบียน : 1,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 250,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานใหญ่ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ทีต่ งั้ โรงงาน : จังหวัดลพบุรี ธุรกิจ Holding : บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : ประกอบธุรกิจโดยการถือหุน้ ทุนจดทะเบียน : 317,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 317,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานใหญ่ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ : บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : จัดหาทีด่ นิ เพือ่ รองรับ การขยายธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ ทุนจดทะเบียน : 311,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 311,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานใหญ่ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ : บริษทั เกษตรไทยวิวฒ ั น์ จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : บริหารและจัดการสินทรัพย์ ของกลุม่ บริษทั ฯ ทุนจดทะเบียน : 61,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 61,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานใหญ่ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73 ธุรกิจส่งเสริมและพัฒนา : บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด ประเภทธุรกิจ : รองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจ ของกลุม่ บริษทั ฯ ทุนจดทะเบียน : 10,000,000 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 10,000,000 บาท ทีต่ งั้ ส�ำนักงานใหญ่ : 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2692-0869 ถึง 73
รายงานประจ�ำปี 2559
37
ข้อมูลบุคคลอ้างอิงอืน่ ๆ หน่วยงานก�ำกับบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์
นายทะเบียนหลักทรัพย์
ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เลขที่ 333/3 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : 0-2695-9999 โทรสาร : 0-2695-9660 อีเมล์ : info@sec.or.th เว็บไซด์ : www.sec.or.th
บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2009-9000 โทรสาร : 0-2009-9991 ศูนย์บริการข้อมูล : 0-2009-9999 อีเมล์ : SETCallCenter@set.or.th เว็บไซด์ : www.set.or.th/tsd
หน่วยงานบริษทั ก�ำกับจดทะเบียน
ผูส้ อบบัญชี
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2009-9000 โทรสาร : 0-2009-9991 ศูนย์บริการข้อมูล : 0-2009-9999 อีเมล์ : SETCallCenter@set.or.th เว็บไซด์ : www.set.or.th
บริษทั ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เลขที่ 193/136-137 เลครัชดา ออฟฟิช คอมเพล็กซ์ ชัน้ 33 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 0-2264-0777, 0-2661-9190 โทรสาร : 0-2264-0789-90 อีเมล์ : ernstyoung.thailand@th.ey.com เว็บไซด์ : www.ey.com ทีป่ รึกษากฎหมาย บริษทั กุดนั่ แอนด์ พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด เลขที่ 973 อาคารเพรสสิเด้นท์ ทาวเวอร์ ชัน้ ที่ 14 ยูนติ 14 ซี ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : 0-2656-0818 โทรสาร : 0-2656-0819
38
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยภายใต้ กลุม่ เคทิส เป็นกลุม่ บริษทั ฯ ทีด่ ำ� เนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายอย่างครบวงจร รายใหญ่อนั ดับ 3 ของประเทศ โดยกลุม่ บริษทั ฯ มีโรงงานผลิต น�ำ้ ตาลทรายทัง้ สิน้ 2 โรงงาน และด�ำเนินการเช่าโรงงานน�ำ้ ตาล อีกหนึง่ แห่ง นอกจากนีย้ งั มีโรงงานผลิตเอทานอล โรงงานผลิต เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โรงไฟฟ้าชีวมวล และโรงงาน ผลิตวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ณ ปัจจุบนั กลุม่ บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจ ทัง้ สิน้ 2 ประเภทคือ
ทรายของกลุม่ บริษทั ฯ ทัง้ 3 โรงงาน และในกระบวนการผลิตของ โรงงานอืน่ ในกลุม่ บริษทั ฯ และจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนทีเ่ หลือให้แก่การ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคตาม สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั KTBP ซึง่ ปัจจุบนั ได้ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าในระบบโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดก�ำลังการผลิตทั้งสิ้น 60 เมกะวัตต์แล้ว และมีโรงไฟฟ้า ชีวมวล TEP และ RPBP ซึง่ มีขนาดก�ำลังผลิต 50 เมกะวัตต์ตอ่ โรง ทีจ่ งั หวัดอุตรดิตถ์ และจังหวัดนครสวรรค์
1. ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย
(4) ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ
บริษทั ฯ ผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายให้กบั ลูกค้า ทัง้ ในและต่างประเทศผ่าน KTIS, TIS และKTIS สาขา 3 โดยผลิตภัณฑ์ ของบริษทั ฯ สามารถจ�ำแนกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ น�ำ้ ตาลทราย ขาวบริสทุ ธิ์ (Refined Sugar) น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) และน�ำ้ ตาลทรายดิบ (Raw Sugar)
บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุง ดินชีวภาพ ผ่าน KTBF โดยใช้กากตะกอนหม้อกรอง (Filter cake) ซึง่ เป็นของเสียจากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล และน�ำ้ เสียทีม่ าจาก กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ำมาผลิต เป็นวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทัง้ ชนิดเป็นผง ชนิดเม็ด และชนิดน�ำ ้
2. ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทรายของบริษทั ฯ ท�ำให้เกิด ธุรกิจต่อเนือ่ งจากการน�ำวัสดุเหลือใช้และของเสียจากกระบวนการ ผลิตน�ำ้ ตาล อาทิ กากน�ำ้ ตาล และชานอ้อยไปเข้าสูก่ ระบวนการผลิต ในบริษทั ย่อย โดยธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งดังกล่าว ได้แก่ (1) ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจาก ชานอ้อยและบรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษ ฟอกขาวจากชานอ้อย ผ่าน EPPCOโดยน�ำชานอ้อย ซึง่ เป็นวัสดุ เหลือใช้มาท�ำกระบวนการต่อ โดยโรงงานเยือ่ กระดาษของบริษทั ฯ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีใ่ กล้กบั โรงงานน�ำ้ ตาลทรายของกลุม่ บริษทั ฯ ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ของ EPPCO สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิดได้แก่ เยือ่ กระดาษ แห้ง เยือ่ กระดาษเปียก และบรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย
1. เป้าหมายการประกอบธุรกิจ บริษทั ฯ มีเป้าหมายในการพัฒนาธุรกิจ ทีม่ งุ่ เน้นให้เกิด การเติบโตและมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นองค์กรชั้นน�ำ ในด้านการผสมผสานระหว่างการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม แบบครบวงจร ผ่านการพัฒนาโครงข่ายและเชื่อมโยงธุรกิจทั้ง ภายในและภายนอกองค์กรเข้าด้วยกัน อันจะท�ำให้เกิดการเพิม่ ขึน้ ของคุณค่าและมูลค่าทางธุรกิจ ในด้านการผลิตน�้ำตาลและสาร ให้ความหวาน การผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล การผลิตเอทานอล การผลิตเยื่อกระดาษจากชานอ้อย การผลิตวัสดุปรับปรุงดิน ชีวภาพ ซึ่งผลิตภัณฑ์และผลิตพลอยได้ของกลุ่มบริษัทฯ จะมี ความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและมีความปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค เป้าหมายในการประกอบธุรกิจ :
(2) ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล
(1) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจอ้อย
บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอลผ่าน EPC โดยใช้วตั ถุดบิ หลักคือกากน�ำ้ ตาล จากโรงงานน�ำ้ ตาลทราย ของกลุ่มบริษัทฯ เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์เอทานอล ปัจจุบัน EPC ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล 2 เกรดได้แก่ เอทานอลที่ใช้ใน อุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิง (Fuel Alcohol)
บริ ษั ท ฯ มี ก ารพั ฒ นาธุ ร กิ จ งานด้ า นต้ น น�้ ำ ในการ คัดสรรพันธุอ์ อ้ ยและเทคโนโลยีการจัดการไร่ออ้ ย การให้ความรู้ ด้านวิชาการต่อชาวไร่อ้อย การพัฒนาเครื่องมือและจักรกล การเกษตร การใช้สารปรับปรุงดินซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ ท�ำให้ ชาวไร่ออ้ ยและวัตถุดบิ อ้อยของบริษทั ฯ มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง และเกิดความมัน่ คงในการสนับสนุนการผลิต
(3) ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า
(2) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจน�ำ้ ตาล
บริษทั ฯ มีหน่วยผลิตไฟฟ้าและไอน�ำ้ ในโรงงานน�ำ้ ตาล ทรายและโรงงานเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โดยใช้ชานอ้อย ซึ่งเป็นกากของเสียจากกระบวนการผลิตน�้ำตาลมาเป็นวัตถุดิบ หลัก น�ำไอน�ำ้ และไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ไปใช้ในกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล
บริษัทฯ มีการพัฒนาและลงทุนงานในด้านการผลิต น�ำ้ ตาลอย่างต่อเนือ่ ง มีกำ� ลังการผลิตต่อวันขนาดใหญ่มากท�ำให้ เกิดการได้เปรียบในเชิงเศรษฐศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของการผลิต เพือ่ ลดต้นทุนการใช้พลังงาน เพือ่ เพิม่ มูลค่าของ รายงานประจ�ำปี 2559
39
ผลิตภัณฑ์ โดยในปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้มกี ารแปรรูปน�ำ้ ตาลทรายดิบ ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์และผลิตภัณฑ์ น�ำ้ เชือ่ มคุณภาพสูงส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหาร ซึง่ เป็นการเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์หลักและแสดงถึงความเป็นผูน้ ำ� ในธุรกิจน�ำ้ ตาล ของบริษทั ฯ ได้เป็นอย่างดี (3) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจพลังงานไฟฟ้าจากชีวมวล บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนและขยายก�ำลังการผลิตไฟฟ้า จากชีวมวล ท�ำให้บริษทั ฯ มีกำ� ลังผลิตโรงไฟฟ้าทีใ่ หญ่และมีรายได้ ธุรกิจพลังงานไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ส�ำหรับการจัดหาเชือ้ เพลิงมาป้อน ให้กบั โรงไฟฟ้า บริษทั ฯ ได้มกี ารน�ำชานอ้อยซึง่ เกิดจากการผลิต ของโรงงานน�ำ้ ตาลมาเป็นเชือ้ เพลิงเสริม ส่งผลให้เกิดการบูรณา การงานด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมระดับชัน้ น�ำทีเ่ กือ้ หนุน ให้เกิดการเพิม่ คุณค่าห่วงโซ่ทางธุรกิจได้มากขึน้ (4) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจผลิตภัณฑ์จากชีวมวล บริษัทฯ ได้มีการลงทุนในการต่อยอดผลิตภัณฑ์จาก การผลิตเยือ่ กระดาษจากชานอ้อยทีม่ อี ยูเ่ ดิมให้มมี ลู ค่าและคุณค่า ทางธุรกิจและคุณค่าเพื่อสังคมเพิ่มขึ้น ผ่านการน�ำมาผลิตเป็น บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงและมีความปลอดภัย ต่อผูบ้ ริโภคในการทีจ่ ะน�ำมาใช้เป็นภาชนะเพือ่ ใส่อาหาร (5) การเป็นผูน้ ำ� ด้านธุรกิจเอทานอล บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารน� ำ กากน�้ ำ ตาลหรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า โมลาส มาท�ำการเพิม่ มูลค่าด้วยการผลิตเป็นเอทานอลคุณภาพสูง เกรดส�ำหรับใช้เป็นเชือ้ เพลิงและเกรดส�ำหรับใช้ในงานอุตสาหกรรม และบริษทั ฯ ยังได้มกี ารต่อยอดการผลิต BIO Gas ซึง่ เป็นผลผลิต พลอยได้จากการผลิตเอทานอล ส่งผลให้สายการผลิตและ โครงข่ายธุรกิจของบริษทั ฯ มีความเป็นผูน้ ำ� ของธุรกิจและเป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อมในทุกกระบวนการท�ำงาน (6) การเป็นผูน้ ำ� ด้านผลิตภัณฑ์วสั ดุปรับปรุงดินชีวภาพ บริษทั ฯ ได้มกี ารน�ำเอาผลผลิตพลอยได้จากการผลิต น�้ำตาลและการผลิตเอทานอล มาสร้างมูลค่าและคุณค่าเพิ่ม ด้วยการน�ำมาผลิตเป็นวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ เพือ่ ท�ำให้พนื้ ที่ ปลูกอ้อยและพืน้ ทีก่ ารเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์ ช่วยลดต้นทุน และเพิม่ ผลผลิตให้กบั เกษตรกรเป็นอย่างดียงิ่ เป้าหมายการเติบโตของธุรกิจอย่างยัง่ ยืน : (1) งานวิจยั และพัฒนา บริษทั ฯ ได้มกี ารลงทุนในงานวิจยั และพัฒนา เกีย่ วกับ เรื่อง การพัฒนาปรับปรุงพันธุ์อ้อย การพัฒนาพืชพลังงาน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนา เครื่องมือและเครื่องจักร เพื่อความยั่งยืนและคงความเป็นผู้น�ำ แบบครบวงจรและมีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ที่มากกว่า น�ำ้ ตาล หรือ More Than Sugar ในธุรกิจด้านอ้อยและการเกษตร ธุรกิจด้านการผลิตน�ำ้ ตาลและสารให้ความหวาน ธุรกิจด้านการ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากชีวมวล ธุรกิจด้านการผลิตผลิตภัณฑ์ จากชีวมวล
40
(2) งานพัฒนาชาวไร่ออ้ ย กลุม่ ชาวไร่ออ้ ยและแหล่งวัตถุดบิ บริ ษั ท ฯ มี โ ครงการลงทุ น ในด้ า นงานวิ จั ย และงาน ด้านวิชาการเพือ่ พัฒนาความรูใ้ ห้กบั ชาวไร่ออ้ ย กลุม่ ชาวไร่ออ้ ย ในลักษณะโครงข่ายเกษตรกร มีการสนับสนุนด้านการเงินเพือ่ ปลูก อ้อยให้ได้ผลผลิตอ้อยทัง้ ในแนวดิง่ ทีจ่ ะยกระดับปริมาณตันอ้อย ต่อไร่และการขยายแหล่งพืน้ ทีป่ ลูกอ้อยในแนวนอนเพือ่ เพิม่ ปริมาณ ตันอ้อย เป็นการน�ำเทคโนโลยีและพัฒนางานด้านเกษตรกรรม สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ด�ำเนินการแบบโครงข่ายเกษตรกรที่มี ความเป็นพันธมิตรเกือ้ หนุนกันและกัน รวมทัง้ การได้มสี ว่ นร่วม สนับสนุนให้เกิดการจ้างงานในภาคเกษตรทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง (3) การพัฒนาส่งเสริมความรู้ให้กบั บุคลากร บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับบุคลากรในทุกระดับ โดย ถือว่าคนเป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุดขององค์กรจึงมีการลงทุน สนับสนุนและพัฒนาความรู้ให้กับบุคลากรอย่างต่อเนื่องผ่าน การจัดอบรมหลักสูตรทีจ่ ำ� เป็นและหลักสูตรเสริมต่างๆ รวมทัง้ การให้บคุ ลากรได้ประดิษฐ์คดิ ค้นและได้มสี ว่ นร่วมท�ำโครงการคิด สร้างสรรค์นวัตกรรม นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังมีการพัฒนาส่งเสริม ความรูเ้ พือ่ เตรียมบุคลากรก่อนเข้าเป็นพนักงานผ่านการท�ำงาน ร่วมกับสถาบันการศึกษาทีต่ งั้ อยูใ่ นท้องถิน่ และส่วนกลาง ท�ำให้ บริษทั ฯ สามารถจัดหาบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพมาสนับสนุนภารกิจ ของธุรกิจทีท่ ำ� อยูใ่ นปัจจุบนั และทีจ่ ะเกิดเพิม่ ขึน้ ในอนาคต เป้าหมายการบริหารงานด้วยหลักคุณธรรมและบรรษัทภิบาล : (1) การด�ำเนินงานด้วยความโปร่งใส บริษัทฯ มีคู่มือการด�ำเนินงานด้านบรรษัทภิบาลและ มีการวางแผนด�ำเนินงานที่เปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์อย่าง เหมาะสม เพือ่ ให้การบริหารมีความโปร่งใสและมีความเป็นธรรม สามารถทีจ่ ะยืนยันและตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ านได้อย่างชัดเจน บริษทั ฯ จะให้ความส�ำคัญกับทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ อาทิเช่น ผูถ้ อื หุน้ ผูบ้ ริหาร นักลงทุน พนักงาน เกษตรการชาวไร่ ลูกค้า ผู้ขาย ผู้รับจ้างช่วง ชุมชน สังคม หน่วยงานราชการ เป็นต้น โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบที่มี ความเป็นอิสระทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร (2) การส่งเสริมพัฒนาสังคม การศึกษาและสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญและให้ผเู้ กีย่ วข้องได้มสี ว่ นร่วม ในการพัฒนาสังคม การศึกษาและสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม ผ่านการท�ำโครงการต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและ เสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง เช่น โครงการบ้านวัดโรงเรียนและโรงงาน (บวร+โรงงาน) ที่ส่งเสริมให้วัด ชุมชน โรงเรียน ได้มีส่วนร่วม พัฒนาความรูด้ า้ นการปลูกอ้อยอย่างถูกต้อง น�ำผลผลิตอ้อย ที่ปลูกในพื้นที่วัดหรือโรงเรียนมาเป็นพันธุ์อ้อยหรือน�ำมาเป็น ทุนสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน โครงการหมูบ่ า้ นสีเขียว ทีส่ ง่ เสริม ให้เกิดโครงข่ายเกษตรกรและชุมชนได้ช่วยกันดูแลแปลงอ้อยไม่ ให้เกิดไฟไหม้ ท�ำให้ชาวไร่มีรายได้ส่วนต่างจากการตัดอ้อยสด ท�ำให้ออ้ ยได้คณ ุ ภาพทีด่ เี ข้าโรงงานและช่วยลดเขม่าหรือควันทีเ่ กิด ในชุมชน เป็นต้น
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(3) การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในการท�ำงาน บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อสวัสดิภาพ ต่อคุณภาพชีวติ และความปลอดภัยในการท�ำงานของพนักงานและชุมชนทีต่ งั้ อยู่ รอบโรงงาน เรือ่ งนีถ้ อื เป็นพืน้ ฐานส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจทีไ่ ด้มี การปฏิบตั ติ ามกฏหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับสุขภาพและความปลอดภัย อย่างเคร่งครัด นอกจากการได้ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของกฎหมาย แล้ว บริษทั ฯ ยังจัดให้มพ ี นักงานเข้าเยีย่ มเยียนผูน้ ำ� ชุมชน ผูน้ ำ� ทาง ศาสนา โรงเรียนทีต่ งั้ อยูใ่ นพืน้ ทีใ่ กล้โรงงาน มีการจัดแพทย์เพือ่ ตรวจสุขภาพของชาวบ้านในชุมชนที่อยู่รอบโรงงานเป็นระยะๆ ซึง่ เป็นค่านิยมและความเอือ้ อาทรทีบ่ ริษทั ฯ ปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง
2. ประวัตคิ วามเป็นมาและพัฒนาการทีส่ ำ� คัญ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เดิมชือ่ บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรม น�้ำตาล จ�ำกัด และบริษัทย่อยภายใต้กลุ่ม เคทิส ก่อตั้งโดย คุณจรูญ และคุณหทัย ศิรวิ ริ ยิ ะกุล เป็นกลุม่ ผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลทราย ทีม่ ปี ระสบการณ์ในการประกอบธุรกิจมากว่า 51 ปี ณ ปัจจุบนั กลุม่ บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย และ อุตสาหกรรมต่อเนือ่ งอย่างครบวงจร บริ ษั ท ฯ ได้ แ ปรสภาพจากบริ ษั ท จ� ำ กั ด เป็ น บริ ษั ท มหาชน เมื่อปี พ.ศ.2556 ต่อมาได้เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 3,274,573,000 บาท เป็น 3,888,000,000 บาท และน�ำหุน้ เข้าจด ทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2557 และมีชื่อย่อหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยว่า “KTIS” และในปี พ.ศ. 2558 บริษทั ฯ ได้เพิม่ ทุน จดทะเบียนเป็น 3,888,000,010 บาท โดยมีทนุ จดทะเบียนช�ำระแล้ว จ�ำนวนทัง้ สิน้ 3,860,000,010 บาท กิจการน�้ำตาลทรายของบริษัทฯ เริ่มจากการเป็น ผู้กระจายสินค้าน�้ำตาลทรายหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “ยี่ปั๊ว” ในจังหวัดนครสวรรค์ ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2510 คุณจรูญ ศิริวิริยะกุล และกลุ่มยี่ปั๊วในจังหวัดนครสวรรค์ได้ร่วมกันซื้อ บริษทั อุตสาหกรรมมหาคุณ จ�ำกัด ก�ำลังการผลิต 500 ตันต่อวัน ซึง่ มีสนิ ทรัพย์หลักคือ โรงงานน�ำ้ ตาลทราย และเปลีย่ นชือ่ บริษทั เป็นบริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด (“RPE”) ต่อ มาได้ขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนือ่ งโดยเพิม่ จาก 500 ตันอ้อย ต่อวันเป็น 15,000 ตันอ้อยต่อวัน ในช่วงปี พ.ศ. 2524 บริษทั ฯ ได้ตดั สินใจลงทุน ซือ้ บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอกลักษณ์ จ�ำกัด (“TIS”) และ ได้เพิม่ ก�ำลังการผลิต อย่างต่อเนือ่ งจน ณ ปัจจุบนั โรงงานน�ำ้ ตาลทรายของ TIS มีกำ� ลัง การผลิตทัง้ สิน้ 18,000 ตันอ้อยต่อวัน ปี พ.ศ. 2531 บริษทั ฯ ได้ลงทุนเข้าซือ้ บริษทั น�ำ้ ตาล เกษตรไทย จ�ำกัด ซึง่ ขณะนัน้ มีกำ� ลังการผลิต 6,000 ตันอ้อย ต่อวัน ผูบ้ ริหารได้หาพันธมิตรทางธุรกิจเพือ่ ปรับปรุงโครงสร้าง ทางการเงิน และเสริมสร้างสภาพคล่องให้กบั บริษทั น�ำ้ ตาลเกษตร ไทย จ�ำกัด จนต่อมาในปี พ.ศ. 2551 ผูบ้ ริหารตัดสินใจร่วมทุนกับ บริษทั ยูที กรุป๊ จ�ำกัด (UT Group Pte. Ltd.) ซึง่ เป็นนักลงทุนจาก ประเทศสิงคโปร์ โดยจัดตัง้ บริษทั ใหม่ กล่าวคือ บริษทั เกษตรไทย อุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด และได้ดำ� เนินการโอนกิจการโรงงาน
น�ำ้ ตาลทรายจาก บริษทั น�ำ้ ตาลเกษตรไทย จ�ำกัด มาด�ำเนินการ ภายใต้ บริษัท เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�้ำตาล จ�ำกัด ปัจจุบัน สามารถขยายก�ำลังการผลิตได้ถงึ 55,000 ตันอ้อยต่อวัน ซึง่ ถือ เป็นโรงงานน�ำ้ ตาลทรายทีม่ กี ำ� ลังการผลิตทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของโลก นอกจากการผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายในปี พ.ศ. 2546 กลุม่ ครอบครัวศิรวิ ริ ยิ ะกุล ได้เล็งเห็นถึงโอกาสใน การด�ำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องอย่างครบวงจร จึงได้ ร่วมทุนกับ บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัด (“PSP”) และกลุม่ นักลงทุน ชาวสิงคโปร์ 2 ราย ได้แก่ บริษทั คิงวัน คอร์ปอเรชัน่ ลิมเิ ต็ด (King Wan Corporation Limited) และ บริษัท ไซเล็ม อินเวสเมนท์ จ�ำกัด (Xylem Investment Pte. Ltd.) จัดตัง้ บริษทั เอ็นไวรอน เม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด (“EPPCO”) เพือ่ ผลิตเยือ่ กระดาษ ฟอกขาวจากชานอ้อย โดยเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ของ EPPCO นั้ น ใช้ วั ต ถุ ดิบ หลั ก คื อ ชานอ้ อ ยที่ เ หลื อ ใช้ จ าก กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย ณ ปัจจุบนั โรงงานของ EPPCO มีกำ� ลังการผลิตเยือ่ กระดาษฟอกขาวประมาณ 100,000 ตันต่อปี ในปี พ.ศ. 2547 กลุม่ ครอบครัวศิรวิ ริ ยิ ะกุล ได้ตดั สินใจ ร่วมทุนกับกลุม่ นักลงทุนชาวสิงคโปร์ 3 ราย ได้แก่ บริษทั คิงวัน อิน ดัสตรี้ จ�ำกัด (King Wan Industries Pte Ltd.) บริษทั ฟาร์ อีสต์ ดิสทิลเลอร์ส จ�ำกัด (Far East Distillers Pte Ltd.) และ บริษทั ซิโน แทค กรุป๊ จ�ำกัด (Sinotac Group Pte Ltd.) จัดตัง้ บริษทั เอกรัฐ พัฒนา จ�ำกัด (“EPC”) เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทา นอล ซึง่ ใช้กากน�ำ้ ตาลทีเ่ หลือใช้จากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย เป็นวัตถุดบิ ณ ปัจจุบนั EPC มีขนาดก�ำลังการผลิต 230,000 ลิตร ต่อวัน ในปี พ.ศ. 2553 กลุม่ ครอบครัวศิรวิ ริ ยิ ะกุล ได้รเิ ริม่ โครงการน�ำชานอ้อยซึง่ เป็นของเสียจากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล (กากอ้อย) มาใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตเยือ่ กระดาษและเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตไฟฟ้า โดยได้จดั ตัง้ บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (“KTBP”) เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�ำลัง การผลิต 60 เมกะวัตต์ และได้เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว เมือ่ วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ในปี พ.ศ. 2554 กลุม่ ครอบครัวศิรวิ ริ ยิ ะกุล ได้เล็งเห็น ถึงประโยชน์ในการใช้กากตะกอนหม้อกรอง (filter cake) ซึ่ง เป็นของเสียการกระบวนการผลิตน�้ำตาล และน�้ำเสียที่มาจาก กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ำมาผลิต เป็น วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทัง้ ชนิดเป็น ผง และเป็นเม็ด โดยได้ จัดตัง้ บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด (“KTBF”) ภายใต้ EPC เพือ่ ขยายธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ซึง่ ปัจจุบนั KTBF เปิด ด�ำเนินการแล้ว ขนาดก�ำลังการผลิตชนิดผง 15,000 ตันต่อปี ชนิดเม็ด 6,150 ตันต่อปี และชนิดน�ำ ้ 200,000 ลบ.มต่ปี ในปี พ.ศ. 2555 บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการพัฒนาระบบ เก็บเกี่ยวอ้อย เพื่อเพิ่มคุณภาพและศักยภาพงานด้านไร่ควบคู่ กับการเติบโตของบริษัทฯ โดยการเข้าท�ำสัญญาซื้อรถตัดอ้อย จอห์นเดียร์ (John Deere) จ�ำนวน 40 คัน กับ บริษทั ที เค อีควิปเมนท์ จ�ำกัด ตัวแทนผูจ้ ดั จ�ำหน่ายสินค้า จอห์นเดียร์ ในประเทศไทยโดยมี เงื่อนไขว่า จอห์นเดียร์ จะเข้ามาช่วยอบรม และแนะน�ำเจ้าหน้าที่ พนักงานบริษทั ฯ ในการดูแล ซ่อมแซม และพัฒนาเครือ่ งมือและ อุปกรณ์ฝา่ ยไร่ของบริษทั ฯ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการปลูกอ้อย ของชาวไร่ และขยายปริมาณวัตถุดบิ แก่โรงงานของกลุม่ บริษทั ฯ รายงานประจ�ำปี 2559
41
ในปี พ.ศ. 2556 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2556 ของบริษัทฯ มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ ด�ำเนินการลงทุนซื้อ บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ำกัด (“TEP”) เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจโรงงาน ไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�ำลังการผลิตทัง้ สิน้ 50 เมกะวัตต์ จากผูถ้ อื หุน้ เดิม โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะรับวัตถุดบิ ชานอ้อยโดยตรงจาก TIS ในขณะเดียวกัน บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (“RPBP”) เพือ่ ด�ำเนินกิจการโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�ำลังการผลิต ทัง้ สิน้ 50 เมกะวัตต์ โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะรับวัตถุดบิ ชานอ้อย โดยตรงจาก โรงงานรวมผล นอกจากนี้ ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2556 ของ บริษทั ฯ ยังมีมติอนุมตั ใิ ห้ บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จ�ำกัด (“SSK”) ขึน้ เพือ่ ด�ำเนินการจัดหาทีด่ นิ เพือ่ รองรับการขยาย ธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ โดยในปี พ.ศ. 2556 SSK ได้ซื้อที่ดิน จากบุคคลทีไ่ ม่มคี วามเกีย่ วโยงกันกับบริษทั ฯ จนมีเนือ้ ทีจ่ ำ� นวน 2,629 ไร่ 1 งาน 16 ตารางวา ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 บริษทั ซูมโิ ตโม คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด และบริษทั นิสชิน ชูการ์ จ�ำกัด ได้เข้าเซ็นสัญญาลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ผ่านบริษทั 3 เอส โฮลดิง้ จ�ำกัดเป็นจ�ำนวนเงิน ทัง้ สิน้ ไม่เกิน 2,650.0 ล้านบาท ทัง้ นี้ ด้วยประสบการณ์ในการ เป็นบริษทั เทรดดิง้ ชัน้ น�ำของโลก บริษทั ฯ คาดว่าการเข้าลงทุนของ ทัง้ 2 บริษทั จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันในระดับ นานาชาติของบริษทั ฯ อีกทัง้ ช่วยขยายฐานธุรกิจในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั จิ ดั ตัง้ (1) บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จ�ำกัด (“LIS”) เพือ่ รองรับแผนการขยายการผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาล ทรายของกลุ่มบริษัทฯ (2) บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จ�ำกัด (“LBE”) เพือ่ รองรับแผนการขยายการผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทา นอล และ (3) บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จ�ำกัด (“LBP”) เพือ่ รองรับ แผนการขยายการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า โดย ปัจจุบนั บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการด�ำเนินการขอใบอนุญาตจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และยืน่ ขอรับสิทธิการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (BOI)
ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มอี นุมตั จิ ดั ตัง้ (1) บริษทั เกษตรไทยวิวฒ ั น์ จ�ำกัด (“KTW”) เพือ่ บริหารและจัดการสินทรัพย์ของกลุม่ บริษทั ฯ (2) บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จ�ำกัด (“KTIS R&D”) เพือ่ รองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ
เหตุการณ์และกิจกรรมส�ำคัญในรอบปี 2559 วันที่ 10 มกราคม 2559 บริษัทฯ ลงนาม MOU ความร่ ว มมื อ วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยาภาพกระบวนการผลิ ต ควบคูก่ บั การส่งเสริมการศึกษา ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) วันที่ 21 กรกฎาคม 2559 บริษัทฯ ลงนาม MOU ความร่วมมือในการวิจยั และพัฒนางานวิชาการด้านอุตสาหกรรม อ้อยและน�ำ้ ตาลทราย ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร วั น ที่ 11 เมษายน 2559 บริ ษั ท ฯ ลงนาม MOU ความร่วมมือวิจัยเพื่อพัฒนาวิชาการด้านอุตสาหกรรมอ้อย และน�้ำตาล ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาวิชาการ ด้านอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย วั น ที่ 20 กั น ยายน 2559 บริ ษั ท ฯ ลงนาม MOU ความร่วมมือวิจยั การใช้เทคโนโลยีชวี ภาพเพือ่ พัฒนานวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตให้เครือข่ายเกษตรกร ผู้ปลูกอ้อย ร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) เพือ่ พัฒนาวิชาการด้านอุตสาหกรรมอ้อย และน�ำ้ ตาลทราย วันที่ 22 กันยายน 2559 บริษัทฯ ร่วมกับ ธนาคาร กรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) พัฒนาระบบงานเพือ่ รองรับการขาย ลดเช็คในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (KTB e- LBD) ฯ ซึง่ ช่วยอ�ำนวย ความสะดวกในการโอนเงินเข้าบัญชีชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญาโดยตรง ท�ำให้กลุ่มบริษัทและชาวไร่อ้อยคู่สัญญาลดต้นทุนอย่างมาก ด้านเอกสาร ขัน้ ตอนเอกสารต่างๆ และการเดินทาง
ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มีอนุมัติจัดตั้ง (1) บริษัท เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จ�ำกัด (“KBGP”) เพือ่ รองรับแผนการขยายการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า (2) บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จ�ำกัด (“KBE”) เพือ่ รองรับแผนการ ขยายการผลิตและจ�ำหน่ายเอทานอล และไฟฟ้าชีวมวล ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างศึกษาโครงการเพือ่ การด�ำเนินการต่อไป
42
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีการลงทุนใน บริษทั ย่อยรวม 16 บริษทั และเช่าสินทรัพย์ถาวรจาก บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด (RPE) โดยมีรายละเอียดดังนี้ บริษทั ย่อย
1
ประเภทธุรกิจ
ถือหุน้ ร้อยละ
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด (TIS)
ผลิต และจัดจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทรายทัง้ ในและต่างประเทศ
100.0
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด (EPC)
ผลิตและจัดจำ�หน่ายเอทานอลจากกากน้ำ�ตาลทัง้ ในและ ต่างประเทศ
100.0
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด (EPPCO)
ผลิตและจัดจำ�หน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย และบรรจุภณ ั ฑ์ทผ่ ี ลิตจากเยือ่ ชานอ้อยทัง้ ในและต่างประเทศ
100.01
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (KTBP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า
100.0
บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จำ�กัด (PSP)
ลงทุนโดยการถือหุน้ ซึง่ ณ ปัจจุบนั ถือหุน้ ร้อยละ 26.0 ใน EPPCO
100.0
บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จำ�กัด (KTBF)
ผลิตและจำ�หน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ
บริษทั ไทยเอกลักษณ์ เพาเวอร์ จำ�กัด (TEP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า
100.0
บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จำ�กัด (SSK)
จัดหาทีด่ นิ เพือ่ รองรับการขยายธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ
100.0
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด (RPBP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า
100.0
บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จำ�กัด (LIS)
ผลิตและจัดจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย อยูร่ ะหว่างพิจารณา โครงการ
100.0 ผ่าน PSP
บริษทั ลพบุรไี บโอเอทานอล จำ�กัด (LBE)
ผลิตและจัดจำ�หน่ายเอทานอล อยูร่ ะหว่างพิจารณา โครงการ
100.0 ผ่าน PSP
บริษทั ลพบุรไี บโอเพาเวอร์ จำ�กัด (LBP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า อยูร่ ะหว่างพิจารณาโครงการ
100.00 ผ่าน PSP
บริษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จำ�กัด (KBGP)
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า อยูร่ ะหว่างพิจารณาโครงการ
100.0
บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด (KBE)
ผลิตและจำ�หน่ายเอทานอล อยูร่ ะหว่างพิจารณาโครงการ
100.0
บริษทั เกษตรไทยวิวฒ ั น์ จำ�กัด (KTW)
บริหารและจัดการสินทรัพย์ของกลุม่ บริษทั ฯ
100.0
บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จำ�กัด (KTIS R&D)
รองรับแผนการขยาย และสนับสนุนธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ
100.0
100.0 ผ่าน EPC
ถือหุน้ ร้อยละ 74.0 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมดและถือหุน้ ผ่านบริษทั เพิม่ สินพัฒนา จ�ำกัดร้อยละ 26.0 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมด
รายงานประจ�ำปี 2559
43
44
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
LIS
TIS
ท�ำสัญญาเช่า RPE
100%
กลุม่ ธุรกิจ น�ำ้ ตาล
100%
100%
100%
100%
100%
100%
KBE
KBGP
LBP
LBE
EPC
RPBP
TEP
KTBP
กลุม่ ธุรกิจ พลังงาน
100%
100%
100%
100% PSP 26%
กลุม่ ธุรกิจ Holding
74% EPPCO
กลุม่ ธุรกิจ เยือ่ กระดาษ
3. โครงสร้างการถือหุน้ ของกล่มบริษทั (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)
100%
KTIS
KTBF
กลุม่ ธุรกิจ ปุย๋
โครงสร้างกลุม่ บริษทั
100% SSK
กลุม่ ธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์
100% KTW
กลุม่ ธุรกิจ บริหารทรัพย์สนิ
100% KTIS R&D
กลุม่ ธุรกิจ วิจยั และพัฒนา
ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ของกลุม่ บริษทั ในปี พ.ศ. 2559 บริษทั ฯ มีรายได้จากการผลิตและจัด จ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทรายเป็นหลักคิดเป็นสัดส่วนรวมร้อยละ 75.55 ของรายได้รวมของบริษทั ฯ อีกทัง้ ยังมีรายได้จากธุรกิจต่อเนือ่ ง จากการน�ำผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ เช่น เยื่อกระดาษ ไฟฟ้า
เอทานอล และปุย๋ ซึง่ สามารถคิดเป็นสัดส่วนรวมร้อยละ 24.45 ของรายได้รวมของบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดย้อนหลัง 3 ปี ตามตารางแสดงรายได้ดงั ต่อไปนี้ 2557
2558
รายได้ (ล้านบาท)
ร้อยละ1
รายได้ (ล้านบาท)
1. รายได้จากการขายนาํ้ ตาลทรายและกากนาํ้ ตาล • ในประเทศ • ต่างประเทศ ผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายนาํ้ ตาล
5,902.5 9,741.9 -
29.4 48.4 -
รวมรายได้จากการขายนาํ้ ตาลทรายและกากนาํ้ ตาล
15,644.3
2559 รายได้ (ล้านบาท)
ร้อยละ1
6,404.8 8,713.5 222.4
33.1 5,261.9 45.1 6,074.0 1.2
35.1 40.5 0.0
77.8 15,340.6
79.4 11,336.0
75.5
ร้อยละ1
2. รายได้จากการขายเยือ่ กระดาษ • ในประเทศ • ต่างประเทศ
424.2 1,174.0
2.1 5.8
323.8 981.7
220.8 1.7 5.1 675.4
1.5 4.5
รวมรายได้จากการขายเยือ่ กระดาษ
1,598.2
7.9
1,305.5
6.8 896.1
6.0
3. รายได้จากการขายเอทานอล • ในประเทศ • ต่างประเทศ
1,740.3 0.0
8.6 0.0
1,638.6 0.0
8.5 1,634.4 0.0 -
10.9 0.0
รวมรายได้จากการขายเอทานอล
1,740.3
8.6
1,638.6
8.5
1,634.4
10.9
616.0 521.3
3.1 2.6
538.3 505.2
2.8 699.6 2.6 439.5
4.7 2.9
1,137.2
5.7
1,043.6
5.4 1,139.1
7.6
100.0 19,328.2
100.0 15,005.6
100.0
4. รายได้จากการขายอืน่ ๆ • รายได้จากการจ�ำหน่ายไฟฟ้า • รายได้จากการขายและให้บริการอืน่ ๆ รวมรายได้อนื่ ๆ รวมรายได้ทงั้ หมด
20,120.1
ทีม่ า : งบการเงินของบริษทั ฯ
ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บริษทั ฯ มีกำ� ลังการผลิตน�ำ้ ตาลทรายรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 88,000 ตันอ้อยต่อวัน สามารถจ�ำแนกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ น�ำ้ ตาล ทรายดิบ (Raw Sugar) น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) และน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิ์ (Refined Sugar) (1) น�ำ้ ตาลทรายดิบ (Raw Sugar) น�ำ้ ตาลทรายดิบ คือ น�ำ้ ตาลทรายที่ ลักษณะผลึกสีนำ�้ ตาลเข้มโดยมีคา่ สี 1001 ถึง 3800 ICUMSA1 และสิง่ เจือปนสูงไม่เหมาะแก่ การบริโภค น�ำ้ ตาลทรายชนิดนีจ้ ะต้องถูกน�ำเข้ากระบวนการท�ำให้บริสทุ ธิจ์ นเป็นน�ำ้ ตาลทรายขาว หรือน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิก์ อ่ นทีจ่ ะ สามารถน�ำไปบริโภคได้ รายงานประจ�ำปี 2559
45
ปัจจุบันบริษัทฯ ผลิตน�้ำตาลทรายดิบ J-Spec ตาม มาตรฐานของประเทศญี่ปุ่นซึ่งเป็นน�้ำตาลทรายดิบ เพื่อการ ส่งออกไปประเทศญีป่ นุ่ โดยบริษทั ฯ มีความช�ำนาญในการผลิต น�ำ้ ตาลทรายดิบดังกล่าว และสามารถครองส่วนแบ่งทางการตลาด J-Spec ในระดับทีส่ งู (2) น�ำ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) น�้ำตาลทรายขาว คือ น�้ำตาลทรายดิบที่ถูกน�ำเข้า กระบวนการท�ำให้บริสทุ ธิเ์ พือ่ ท�ำการสกัดสิง่ เจือปนออกจากผลึก น�ำ้ ตาล ลักษณะผลึกมีสอี อ่ นกว่าน�ำ้ ตาลทรายดิบโดยมีคา่ สีตงั้ แต่ 46 ถึง 1000 ICUMSA โดยผลึกน�ำ้ ตาลจะมีสนี ำ�้ ตาลอ่อนหรือสีขาว
เหมาะแก่การ น�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตน�ำ้ อัดลม อาหาร ส�ำเร็จรูป และเพือ่ การบริโภคในครัวเรือน (3) น�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิ์ (Refined Sugar) น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ คือ น�้ำตาลทรายดิบที่ถูก น�ำเข้ากระบวนการท�ำให้บริสุทธิ์เพื่อท�ำการสกัดสิ่งเจือปนออก เช่นเดียวกับน�ำ้ ตาลทรายขาว แต่มคี วามบริสทุ ธิส์ งู กว่าและมีผลึก เป็นสีขาวใส มีคา่ สีตงั้ แต่ 0 ถึง 45 ICUMSA โดยน�ำ้ ตาลทรายขาว บริสุทธิ์เหมาะแก่การใช้ในอุตสาหกรรมที่ต้องการวัตถุดิบที่มี ความบริสทุ ธิส์ งู เช่น อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมเครือ่ งดืม่ และ เครือ่ งดืม่ บ�ำรุงก�ำลัง เป็นต้น
ตารางต่อไปนีแ้ สดงลักษณะผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทรายของบริษทั ฯ ค่าสี (ICUMSA)
ค่าโพลาไรเซชัน่ 2 (ร้อยละ)
ค่าความชืน้ (ร้อยละ)
นาํ้ ตาลทรายดิบ J-Spec (J-Spec Raw Sugar)
1001 - 3800
96.00 – 97.99
ไม่เกิน 0.6
นาํ้ ตาลทรายดิบ (Raw Sugar)
1001 - 3800
ไม่นอ้ ยกว่า 98.00
ไม่เกิน 0.6
46 - 1000
ไม่ น้อยกว่า 99.50
ไม่เกิน 0.04
0 - 45
ไม่นอ้ ยกว่า 99.80
ไม่เกิน 0.04
ผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทราย
นาํ้ ตาลทรายขาว (White Sugar) นาํ้ ตาลทรายบริสทุ ธิ์ (Refined Sugar) ทีม่ า: บริษทั ฯ
น�ำ้ ตาล: สภาวะตลาดและการแข่งขัน
(2) ผลผลิตน�ำ้ ตาลทีต่ กต�ำ่ ในกลุม่ ประเทศ EU
ตลาดโลก
ในปี 2547 องค์กรการค้าโลก (WTO) ตัดสินว่า การอุดหนุนน�้ำตาลของประเทศในกลุ่ม EU ละเมิดต่อข้อตกลง ทัว่ ไปว่าด้วยภาษีศลุ กากรและการค้า (GATT) และตัดการสนับสนุน การผลิตน�้ำตาลของสหภาพยุโรป ดังนั้น น�้ำตาลส่งออกของ สหภาพยุ โ รปภายใต้ โ ควต้ า ขององค์ ก ารการค้ า โลกลดลง จากประมาณ 6.0 ล้านตันต่อปีเป็นประมาณ 1.7 ล้านตันต่อปี ในปี 2560 ประเทศในกลุม่ EU จะไม่ปฏิบตั ติ ามกฏระเบียบดังกล่าว ซึง่ จ�ำกัดการผลิตน�ำ้ ตาล และคาดว่าจะกลับมาส่งออกเช่นเดิม
น�ำ้ ตาลเป็นหนึง่ ในสินค้าโภคภัณฑ์ทสี่ ำ� คัญของโลก ผูผ้ ลิต น�้ำตาลรายใหญ่คือ บราซิล อินเดีย สหภาพยุโรป ไทย และจีน โดยทวีปเอเชียมีผลผลิตน�ำ้ ตาลสูงสุด คิดเป็น 35.4% ของผลผลิต ทัว่ โลก ในปี 2558 - 2559 ประเทศไทยเป็นผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลอันดับ 3 ของโลก แต่อตั ราการบริโภคน�ำ้ ตาลในประเทศไทยมีขนาดค่อนข้าง เล็กเทียบกับผลผลิต จึงสามารถส่งออกน�ำ้ ตาลในปริมาณมาก นับเป็นผูส้ ง่ ออกน�ำ้ ตาลารายใหญ่อนั ดับ 2 ของโลก การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญของน�้ำตาลในตลาดโลกในทศวรรษ ทีผ่ า่ นมา (1) การเปิดเสรีการค้าน�ำ้ ตาลของประเทศบราซิล เมือ่ การเปิดเสรีการค้าน�ำ้ ตาลเริม่ เป็นทีร่ จู้ กั และประเทศ บราซิลผ่อนปรนมาตรการควบคุมน�้ำตาล ท�ำให้โครงสร้าง อุตสาหกรรมน�้ำตาลของประเทศบราซิลเกิดการเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้สามารถเพิ่มการส่งออกน�้ำตาลทรายได้มากอย่างมี นัยส�ำคัญ โดยที่ประเทศบราซิลเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุดใน ตลาดโลก หากมีปจั จัยทีผ่ ลกระทบต่ออุตสาหกรรมน�ำ้ ตาลของ ประเทศบราซิล จะมีผลกระทบต่อราคาน�้ำตาลในตลาดโลกเช่น การเคลือ่ นไหวของค่าเงินเรียล ปริมาณน�ำ้ ตาลของประเทศบราซิล และนโยบายเอทานอลฯลฯ
(3) เศรษฐกิจเอเชีย การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ งของประเทศ ในแถบเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีน ประเทศอินเดีย และประเทศในกลุม่ อาเซียน จะเพิม่ การบริโภคน�ำ้ ตาลและการผลิต ของภูมภิ าคให้สงู ขึน้ ปัจจุบันผลผลิตน�้ำตาลในเอเชียมีประมาณ 60-70 ล้านตันต่อปี ในขณะทีป่ ริมาณการบริโภคมากกว่าผลผลิต ดังนัน้ มีการน�ำเข้ามากกว่า 20.0 ล้านตันในแต่ละปี (4) การลงทุนในตลาดโภคภัณฑ์โดยกองทุนและนักเก็งก�ำไร ทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในช่วง 5-10 ปี กองทุนและนักเก็งก�ำไรเพิม่ การลงทุน ในตลาดโภคภัณฑ์ โดยเฉพาะน�ำ้ ตาลและสินค้าเกษตรอืน่ ๆ ท�ำให้ ราคาน�ำ้ ตาลมีความผันผวนรุนแรง รวมถึงอิทธิพลจากปัจจัยอืน่
1
ICUMSA เป็นหน่วยมาตรฐานทีใ่ ช้วดั ค่าสีของผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทราย น้ำ�ตาลทรายทีม่ คี วามบริสทุ ธิม์ ากจะมีคา่ สีตำ�่ ค่าโพลาไรเซชัน่ แสดงถึงปริมาณน้ำ�ตาลซูโครส เช่น 99.5% คือ ในน้ำ�ตาลทราย 100 ส่วน มีปริมาณน้ำ�ตาลซูโครสอยู่ 99.5 ส่วน ค่าโพลาไรเซชัน่ ยิง่ สูงแสดงว่ามีปริมาณน้ำ�ตาลซูโครสอยูม่ าก หรือหมายถึงน้ำ�ตาลทรายคุณภาพสูง
2
46
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
เช่น ปัจจัยจากภาวะตลาดด้านmacho ปัจจัยด้านเทคนิค ปัจจัย ด้านอัตราแลกเปลี่ยน และปัจจัยด้านการเปรียบเทียบเพื่อผลิต เอทานอล เป็นต้น
ดังนัน้ แม้วา่ ผลผลิตน�ำ้ ตาลโลกคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ เป็น 180.6 ล้านตัน แต่ปริมาณการบริโภคยังคงเติบโตถึง 181.7 ล้านตัน ท�ำให้ภาวะ อุปสงค์ และอุปทานเกิดการขาดดุลต่อเนือ่ งเป็นปีทสี่ อง
(5) อุปสงค์และอุปทานของน�ำ้ ตาล
*แหล่งทีม่ า: LMC นานา น�ำ้ ตาล และ รายงานการตลาดสารให้ ความหวาน ไตรมาสที่ 4 ปี 2559
ปี 2558 - 2559 คาดการณ์ว่าผลผลิตน�้ำตาลโลก มีประมาณ 177.3 ล้านตัน ลดจาก 183.0 ล้านตัน เนื่องจาก ผลกระทบจาก El Nino ในขณะทีก่ ารบริโภคคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ เป็น ประมาณ 179.6 ล้านตัน 1.0% สูงกว่าปีทแี่ ล้ว ซึง่ มีประมาณ 177.8 ล้านตัน ท�ำให้การบริโภคมากกว่าการผลิตเป็นครัง้ แรกในรอบ 6 ปี ผลคือ ราคาน�ำ้ ตาลโลกเริม่ เป็นขาขึน้ จากจุดต�ำ่ สุด ปี 2559 - 2560 ความสมดุลระหว่างการผลิตและ การบริโภคยังค่อนข้างตึงตัว โดยผลผลิตอ้อยทางภาคเหนือ/ ภาคใต้ของประเทศบราซิลคาดว่าจะลดลง ส่วนประเทศจีนมีขา่ ว ลือว่ารัฐบาลจะพิจารณาการปรับลดการอนุญาตการน�ำเข้า และ ราคาน�ำ้ ตาลภายในประเทศปรับตัวสูงขึน้ ส่งสัญญาณการน�ำเข้า
ในปีการผลิต 2558/2559 ประเทศไทยสามารถผลิต น�้ำตาลทรายได้ทั้งหมด 9.785 ล้านตัน ในขณะที่มีการบริโภค ในประเทศ 2.6 ล้านตัน ซึง่ ถือว่าสามารถผลิตน�ำ้ ตาลทรายได้เกิน อุปสงค์การบริโภคในประเทศ น�ำ้ ตาลทรายจึงเหลือส่งไปจ�ำหน่าย ต่างประเทศ ในปีการผลิต 2558/2559 ประเทศไทยมีการส่งออก น�ำ้ ตาลทรายประมาณ 7.185 ล้านตัน ส่วนราคาจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาล ภายในประเทศ มีการควบคุมโดยกระทรวงพาณิชย์ โดยประกาศ คณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ เรื่องการ ก�ำหนดราคาและหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการจัดจ�ำหน่ายน�้ำตาล ทรายทุกปี
ในปีการผลิต 2558/2559 ประเทศไทยมีโรงงานน�้ำตาลทั้งหมด 52 โรงงาน ผลิตน�้ำตาลทรายได้ทั้งสิ้น 9.785 ล้านตัน ดังต่อไปนี้ กลุม่
จ�ำนวนบริษทั ฯ ในกลุม่ (โรง)
ผลผลิตน�ำ้ ตาล (ตัน)
ส่วนแบ่งตลาด (ร้อยละ)
กลุม่ โรงงานน�ำ้ ตาลมิตรผล
6
1,964,783.573
20.08
กลุม่ โรงงานน�ำ้ ตาลไทยรุง่ เรือง
8
1,388,626.389
14.19
กลุม่ โรงงานน�ำ้ ตาลขอนแก่น
5
773,602.420
7.91
กลุม่ โรงงานเคทิส
3
723,599.610
7.39
กลุม่ อุตสาหกรรมน�ำ้ ตาลโคราช
2
578,060.000
5.91
กลุม่ โรงงานน�ำ้ ตาลวังขนาย
4
512,920.130
5.24
กลุม่ น�ำ้ ตาลคริสตอลลา
3
476,570.562
4.87
กลุม่ น�ำ้ ตาลบ้านโป่ง
2
436,435.884
4.46
กลุม่ น�ำ้ ตาลกุมภวาปี
2
301,413.935
3.08
กลุม่ น�ำ้ ตาลไทยกาญจนบุรี
2
287,642.833
2.94
น�ำ้ ตาลครบุรี
1
286,197.030
2.92
กลุม่ น�ำ้ ตาลมิตรเกษตร
2
220,436.474
2.25
อืน่ ๆ
12
1,835,360.421
18.76
รวม
52
9,785,649.261
100
ทีม่ า: รายงานการผลิตอ้อยและน้ำ�ตาลทรายฉบับปิดหีบ ปีการผลิต 2558/2559, สำ�นักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำ�ตาล
รายงานประจ�ำปี 2559
47
น�ำ้ ตาล : กลยุทธ์การแข่งขันของบริษทั ฯ (1) ความมัน่ คงทางด้านวัตถุดบิ บริษัทฯ มุ่งเน้นการลงทุน และพัฒนาคุณภาพและ แหล่งเพาะปลูกอ้อยอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในด้านวิชาการ การบริการ การพัฒนาชาวไร่ และการพัฒนาระบบเก็บเกีย่ วอ้อย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากอ้อยเป็นวัตถุดบิ หลักของกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย ดังนัน้ การจัดหาวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพอย่างต่อเนือ่ งและเพียงพอจะท�ำให้ภาพรวมของธุรกิจ น�ำ้ ตาลทราย และธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งของบริษทั ฯ มัน่ คง และยัง่ ยืน (2) ยกระดับประสิทธิภาพการผลิต และลดต้นทุนผลิตต่อหน่วย บริษทั ฯ มีการลงทุนด้านการผลิตอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ใน ด้านบุคลากรและเครื่องจักรเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต นอกจากนีย้ งั มีแผนการปรับปรุงกระบวนการผลิตอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อให้บริษัทฯ สามารถลดต้นทุนคงที่ต่อหน่วย โดยบริษัทฯ มีทีมวิศวกรที่มีความสามารถในการพัฒนาเครื่องจักรขึ้นเอง จึงสามารถดูแลและซ่อมแซมเครือ่ งจักรส่วนใหญ่ได้เองโดยพึง่ พา บุคคลภายนอกน้อยมาก (3) มาตรการลดผลกระทบทางธรรมชาติ บริษัทฯ เล็งเห็นถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากผล กระทบทางธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง และภัยจากศัตรูพืช ดังนั้น บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ท� ำ มาตรการแก้ ไ ขและป้ อ งกั น ผลกระทบทาง ธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นต่อวัตถุดิบ โดยบริษัทฯจัดท�ำโครงการ การแนะน�ำชาวไร่ในการดูแลของกลุ่มบริษัทฯ ให้ใช้ผลงานวิจัย
ด้านไร่ของบริษทั ฯ เช่น การใช้ระบบน�ำ้ หยดบนดินเพือ่ ประหยัด การให้น�้ำในฤดูแล้ง การพัฒนาการป้องกันศัตรูพืชอ้อยโดยใช้ วิธชี วี ภาพ การปล่อยแมลงที่สามารถท�ำลายศัตรูพชื ในไร่ เช่น แตนเบียนไข่ แตนเบียนหนอน และแมลงหางหนีบ เป็นต้น (4) เพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ทงั้ ผลิตภัณฑ์หลัก ผลิตภัณฑ์พลอยได้ วัสดุเหลือใช้และของเสียจากกระบวนการผลิต บริษทั ฯ มีวสิ ยั ทัศน์ในการน�ำผลิตภัณฑ์พลอยได้จาก กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทรายมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพือ่ เพิม่ มูลค่าและผลก�ำไรของบริษทั ฯ อีกทัง้ เพือ่ เป็นการลดสิง่ ปฏิกลู ทีเ่ กิด จากกระบวนการผลิต โดยบริษทั ฯ ได้มกี ารร่วมศึกษากับพันธมิตร ผูร้ ว่ มลงทุน คือ บริษทั ซูมโิ ตโม คอร์ปอเรชัน่ ไทยแลนด์ จ�ำกัด เพือ่ หาแนวทางเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ ง
น�ำ้ ตาล : ช่องทางการจ�ำหน่าย (1) กลุม่ ลูกค้าอุตสาหกรรม
กลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรมเป็นลูกค้าที่มีความต้องการ น� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น�้ ำ ตาลทรายไปใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต สิ น ค้ า โดยลูกค้าประเภทอุตสาหกรรมจะมีการท�ำสัญญาซือ้ น�ำ้ ตาลทราย กับบริษทั ฯ เป็นรายปีและสัง่ ซือ้ ในปริมาณสูง กลุม่ ลูกค้าประเภท อุตสาหกรรมจึงถือเป็นลูกค้ากลุม่ ใหญ่ของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ สามารถจัดจ�ำหน่ายสินค้าน�้ำตาลทรายให้กับลูกค้าประเภทนี้ จ�ำนวนมากเนื่องจากมีความมั่นคงของปริมาณสินค้าที่กลุ่ม บริษทั ฯ สามารถผลิตและจัดส่งให้ลกู ค้าได้ตรงเวลาและคุณภาพ ของสินค้าได้รบั ความไว้วางใจ สัดส่วนของการจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาล ทรายทัง้ หมดของบริษทั ฯ แบ่งตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ ส�ำหรับปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่
ประเภทลูกค้า
31 ธ.ค. 57 (ข้อมูลทางการขาย)
31 ธ.ค. 58 (ข้อมูลทางการขาย)
31 ธ.ค. 59 (ข้อมูลทางการขาย)
ปริมาณ1 (ตัน)
ปริมาณ1 (ตัน)
ปริมาณ1 (ตัน)
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
หมวดเครือ่ งดืม่
93,325.05
45.8
93,879.85
44.8
85,775.61
41.98
หมวดอาหาร
19,597.05
9.6
27,758.15
13.2
41,643.82
20.38
หมวดผลิตภัณฑ์นม
90,835.95
44.6
87,244.15
41.6
76,384.19
37.38
31.00
0.01
744.00
0.4
527.00
0.26
203,789.95
100.0
209,626.15
100.0
204,330.62
100.0
หมวดลูกกวาด รวมจ�ำนวนผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทรายทัง้ หมดของ ลูกค้าในประเทศ
ทีม่ า: บริษทั ฯ 1 รวมยอดของโรงงานน้ำ�ตาลทรายทัง้ สิน้ 3 โรงงานกล่าวคือ 1. โรงงานน้ำ�ตาลทราย ซึง่ ดำ�เนินการภายใต้ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เเนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)(บริษทั ฯ) 2. โรงงานน้ำ�ตาลทราย ซึง่ ดำ�เนินการภายใต้ บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด (TIS) 3. โรงงานน้ำ�ตาลทราย ซึง่ ณ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้ทำ�การเช่าระยะยาวจาก บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จำ�กัด (RPE)
48
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(2) กลุม่ ผูก้ ระจายสินค้า (ยีป่ ว๊ั ) บริษทั ฯ มีการจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลทรายผ่าน ผู้กระจายสินค้าโดยท�ำการจัดจ�ำหน่ายหน้าโรงงาน บริษัทฯ มีรายได้จากการขายให้ผู้กระจายสินค้า คิดเป็นสัดส่วนที่น้อย เมือ่ เทียบกับกลุม่ ลูกค้าอุตสาหกรรม การจัดจ�ำหน่ายให้ผกู้ ระจาย สินค้าอาจต้องท�ำการขายโดยให้ส่วนลดจากราคาที่ประกาศ โดยกระทรวงพาณิชย์ ทัง้ นีส้ ว่ นลดขึน้ อยูก่ บั สภาวะตลาดของผูซ้ อื้ ว่ามีความต้องการน�ำ้ ตาลทรายมากน้อยเพียงใด (3) ลูกค้าต่างประเทศ บริษทั ฯ ส่งออกสินค้าน�ำ้ ตาลทรายส่วนใหญ่ให้กบั ลูกค้า จากประเทศญี่ปุ่นซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 60.0 ของ รายได้การขายน�้ำตาลทรายต่างประเทศทั้งหมด ทั้งนี้ลูกค้า ต่างประเทศของบริษทั ฯ เป็นประเภทเทรดเดอร์ทรี่ จู้ กั กันในวงการ อุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย เช่น Alvean Sugar, S.L., Bunge Agribusiness Singapore Pte. Ltd., Sumitomo Corporation, Marubeni Europe Plc. และ Mitsubishi Corporation เป็นต้น ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯให้ความส�ำคัญต่อเทรดเดอร์ในประเทศญีป่ น่ ุ ซึง่ เป็นกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายของบริษทั ฯ ในการส่งออกน�ำ้ ตาลทรายดิบ J-Spec
ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจาก ชานอ้อยและบรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษ ฟอกขาวจากชานอ้อย ผ่าน บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จ�ำกัด หรือ “EPPCO” ซึง่ มีกำ� ลังการผลิตทัง้ สิน้ ประมาณ 100,000 ตันต่อปี โรงงาน EPPCO เป็นโรงงานผลิตเยือ่ กระดาษ ฟอกขาวจากชานอ้อยแห่งเดียวในประเทศไทยที่ ใช้วตั ถุดบิ หลัก คือชานอ้อย ซึง่ เป็นวัสดุเหลือใช้จากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย ของบริษทั ฯ ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ของ EPPCO สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิดได้แก่ เยือ่ กระดาษแห้ง เยือ่ กระดาษเปียก และบรรจุภณ ั ฑ์ ทีผ่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย (1) เยือ่ กระดาษแห้ง (Dry Pulp) เยือ่ กระดาษแห้ง คือ เยือ่ กระดาษทีผ่ ลิตได้จากวัตถุดบิ ชานอ้อย มีความชื้นประมาณร้อยละ 10.0 – 12.0 มีน�้ำหนัก ต่อก้อนประมาณ 250 กิโลกรัม ความสว่างของเยือ่ กระดาษมีคา่ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80.0 ISO1 มีคา่ ความสกปรกของเยือ่ (TAPPI Dirt Count) ไม่สงู กว่า 10 ppm2 เยือ่ กระดาษแห้งสามารถเก็บ ได้นาน EPPCO จัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษแห้งทั้งในประเทศ และ ต่างประเทศ โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวถือเป็นผลิตภัณฑ์หลักของ ธุรกิจเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย (2) เยือ่ กระดาษเปียก (Wet Pulp) เยือ่ กระดาษเปียก คือ เยือ่ กระดาษทีผ่ ลิตได้จากวัตถุดบิ ชานอ้อย มีความชืน้ ประมาณร้อยละ 50.0 - 52.0 มีนำ�้ หนักต่อก้อน ประมาณ 225 กิโลกรัม แต่มคี า่ ความสว่างและค่าความสกปรก ของเยือ่ (TAPPI Dirt Count) เทียบเท่ากับเยือ่ กระดาษแห้ง เยือ่ กระดาษเปียกสามารถน�ำไปใช้ในกระบวนการผลิตกระดาษได้งา่ ย กว่าเยือ่ กระดาษแห้ง เนือ่ งจากมีความชืน้ ทีส่ งู กว่า ส่งผลให้ประหยัด เวลาในกระบวนการน�ำเยือ่ กระดาษกลับไปต้มน�ำ้ อีกครัง้ อย่างไร ก็ดเี ยือ่ กระดาษเปียกมีอายุการเก็บรักษาสัน้ กว่า และมีคา่ ใช้จา่ ย
ในการขนส่งทีส่ งู กว่าเมือ่ เทียบกับเยือ่ กระดาษแห้ง ดังนัน้ EPPCO จึงจัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษเปียกภายในประเทศเท่านัน้ (3) บรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิตจากเยือ่ ชานอ้อย ( Pulp Mold ) บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากเยื่อชานอ้อย คือการน�ำเยื่อ ชานอ้อยมาผลิตเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ชนิดต่างๆ โดยใช้เยือ่ ชานอ้อยที่ ทางโรงงาน EPPCO ผลิตได้มาเป็นวัตถุดบิ 100% บรรจุภณ ั ฑ์ ดังกล่าวนี้เป็นบรรจุภัณฑ์ที่สามารถย่อสลายได้ตามธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ทสี่ อดคล้องกับแนวโน้ม ความต้องการผลิตภัณฑ์ทชี่ ว่ ยรักษาสิง่ แวดล้อมทัง้ ตลาดภายใน ประเทศและทัว่ โลกทีม่ เี พิม่ มากขึน้ อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั เยือ่ ชานอ้อยทีท่ าง EPPCO ผลิตได้อกี ด้วย
เยือ่ กระดาษ : สภาวะตลาดและการแข่งขัน (1) ภาวะอุตสาหกรรมตลาดโลก จากสภาพเศรษฐกิจโลกทีย่ งั คงอ่อนตัวในปี พ.ศ. 2559 ได้ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างต่ออุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วนของกระดาษพิมพ์เขียน ยังคงเกิดสภาวะ over supply ท�ำให้การสัง่ ซือ้ เยือ่ กระดาษชะลอตัว ในส่วนของ การผลิตเยือ่ ใยสัน้ ในประเทศอเมริกาใต้ ก็ยงั คงอยูใ่ นภาวะ supply คงเหลืออยูเ่ ช่นกัน ส่งผลให้ราคาขายเยือ่ กระดาษใยยาวอ่อนตัวลง ประมาณ 10 - 15 USD/ton ส่วนเยือ่ ใยสัน้ ปรับตัวลดลง ประมาณ 35 - 45 USD/ton 1.1) ภาวะราคาขายเยือ่ กระดาษในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาเยือ่ ทีข่ ายในประเทศจีน เยือ่ ใยยาวมีการปรับตัว ลดลงจากราคา 580-600 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน ใน เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2558 มาอยูท่ ี่ 570-590 ดอลลาร์ สหรัฐฯ ต่อตัน ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 ส่วนราคาเยือ่ ใยสัน้ มีการปรับตัวลง จากราคา 580-620 ดอลลาร์สหรัฐฯ ใน เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2558 มาอยูท่ ี่ 500-510 ดอลลาร์สหรัฐฯ ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาเยื่อที่ขายในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกอื่นๆ เยื่อใยยาว มีการปรับตัวลดลงจากราคา 590-620 ดอลลาร์สหรัฐฯ ใน เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2558 มาอยูท่ ี่ 590-610 ดอลลาร์สหรัฐฯ ใน เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 ส่วนราคาเยือ่ ใยสัน้ มีการปรับตัวลง จากราคา 595-620 ดอลลาร์สหรัฐฯ ใน เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2558 มาอยูท่ ี่ 500-520 ดอลลาร์สหรัฐฯ ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 ทีม่ า: PPI ASIA วันที่ 9 ธันวาคม 2559
1.2) คาดการณ์ภาวะตลาดโลกใน ปี พ.ศ. 2560 ในปี พ.ศ. 2560 แนวโน้มสถานการณ์อุตสาหกรรม เยือ่ และกระดาษยังคงชะลอตัวจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจโลกทีย่ งั ความผันผวนและยังไม่มสี ญ ั ญาณการฟืน้ ตัวทีช่ ดั เจน ประกอบกับ สภาวะ over supply ของเยือ่ กระดาษ และกระดาษ ส่งผลท�ำให้ราคา เยือ่ กระดาษไม่สามารถปรับตัวสูงขึน้ ได้มากนักโดยเฉพาะอย่างยิง่ เยือ่ ใยสัน้ Bleached Eucalyptus Wood Pulp ในด้านของแผนการลงทุนขยายก�ำลังการผลิตทั้งใน ส่วนของเยือ่ ใยยาวในทวีปอเมริกาเหนือ ประมาณ 1.5 ล้านตัน และ เยือ่ ใยสัน้ Eucalyptus ในทวีปอเมริกาใต้ ประมาณ 3.0 ล้านตัน และเยือ่ ใยสัน้ Acacia ในประเทศอินโดนีเซีย ประมาณ 1.5 ล้านตัน ในขณะทีอ่ ปุ สงค์ของการใช้กระดาษยังคงไม่เปลีย่ นแปลงมากนัก รายงานประจ�ำปี 2559
49
จึงคาดการณ์ความต้องการใช้เยื่อในภูมิภาคนี้จะเพิ่มขึ้น แต่ เนื่องจากยังคงมีภาวะ over supply ของเยื่อใยสั้นยังคงมีอยู่ ตลอดจนถึงปีสนิ้ พ.ศ. 2560 ท�ำให้ราคาเยือ่ ใยสัน้ ได้รบั การกดดัน ให้ไม่สามารถปรับราคาขึน้ ได้สงู มากนัก 2) ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ สถานการณ์อตุ สาหกรรมเยือ่ กระดาษ กระดาษ และสิง่ พิมพ์ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 เมือ่ เปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของ ปีก่อน พบว่าดัชนีผลผลิตเยื่อกระดาษและกระดาษในภาพรวม เพิม่ ขึน้ ตามความต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ของอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง รวมถึงผลิตเพือ่ รองรับการส่งออกไปยังประเทศในภูมภิ าคเอเชีย ทีม่ แี นวโน้มขยายตัว ในการส่งออกเยือ่ กระดาษมีมลู ค่าลดลงซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นผลจากประเทศคูค่ า้ มีความผันผวนทางเศรษฐกิจและ การลงทุนภาคอุตสาหกรรมชะลอตัว ส�ำหรับกระดาษและสิง่ พิมพ์ มีมูลค่าเพิ่มขึ้นจากการส่งออกบรรจุภัณฑ์กระดาษสิ่งพิมพ์ ประเภทโฆษณาทางการค้าและหนังสือทางการศึกษาไปยังตลาด ในภูมภิ าคเอเชีย การน�ำเข้าเยือ่ กระดาษและเศษกระดาษ กระดาษ และผลิตภัณฑ์กระดาษมีมลู ค่าลดลงเนือ่ งจากการผลิตในประเทศ เพิม่ ขึน้ และเพียงพอต่อความต้องการภายใน 2. 1) การผลิต ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 เมือ่ เปรียบเทียบกับไตรมาส เดียวกันของปีกอ่ น พบว่า เยือ่ กระดาษ กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษ แข็ง และกระดาษลูกฟูก มีดชั นีผลผลิตเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.89 15.06 4.82 และ 4.16 ตามล�ำดับ เนือ่ งจากความต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ เครือ่ งส�ำอาง ขยายตัว ตามความต้องการของผูบ้ ริโภคภายใน รวมถึงเป็นการผลิตเพือ่ รองรับการส่งออกกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษไปยังประเทศ ในภูมภิ าคเอเชียทีม่ แี นวโน้มขยายตัว ส�ำหรับกระดาษพิมพ์เขียน มีผลผลิตลดลง ร้อยละ 2.94 จากความต้องการบริโภคทีล่ ดลง ประกอบกับการน�ำเข้ากระดาษราคาถูกจากต่างประเทศเข้ามา ทดแทน เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสก่อน พบว่า เยื่อกระดาษ กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษแข็ง กระดาษคราฟท์ และกระดาษ ลูกฟูก มีดชั นีผลผลิตเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.76 0.63 1.38 0.83 และ 5.10 ตามล�ำดับ เนือ่ งจาก เป็นช่วงส่งมอบสินค้าประเภทกล่อง กระดาษบรรจุภัณฑ์ การ์ดอวยพร เพท่อเตรียมจ�ำหน่ายช่วง เทศกาลคริสต์มาสและปีใหม่ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 มีการขออนุญาตประกอบ กิจการ ประเภทโรงงานผลิตกระดาษ และ บรรจุภัณฑ์กระดาษ จ�ำนวน 9 ราย ขอขยายกิจการ 2 ราย แจ้งยกเลิกประกอบกิจการ 3 ราย และขออนุญาตประกอบกิจการโรงพิมพ์ 10 ราย ขยาย กิจการ 2 แห่ง 2.2) การส่งออก 1.เยือ่ กระดาษ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 มีมลู ค่าการ ส่งออก 27.11 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 42.45 และ 24.90 เมือ่ เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีกอ่ นและไตรมาสทีผ่ า่ นมา จาก การชะลอตัวการส่งออกเยื่อกระดาษของผู้ประกอบการไทย ไปฝรั่งเศส ซึ่งมีความผันผวนทางเศรษฐกิจและการลงทุนภาค อุตสาหกรรมชะลอตัว
50
2. กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 มีมลู ค่าการส่งออก 422.18 ลา้ นเหรียญสหรัฐ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.60 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จากการส่งออกบรรจุ ภัณฑ์กระดาษไปยังตลาดในภูมภิ าคเอเชียปรับตัวขึน้ โดยตลาด ทีส่ ำ� คัญได้กาประเทศ เวียดนาม เกาหลีใต้และอินโดนีเซีย 3. หนังสือและสิง่ พิมพ์ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 มีมลู ค่า การส่งออก 19.77 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 21.74 และ 30.75 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนและไตรมาสที่ ผ่านมาตามล�ำดับ จากการขยายตัวของส่งออกสิง่ พิมพ์ประเภท สื่อโฆษณาทางการค้าและหนังสือทางการศึกษาไปยังประเทศ อินโดนีเซียและฮ่องกง 2.3) การน�ำเข้า 1. เยือ่ กระดาษและเศษกระดาษ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 มีมลู ค่าการน�ำเข้า 171.69 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมือ่ เปรียบเทียบ กับไตรมาสเดียวกันของปีกอ่ นลดลง ร้อยละ 1.77 เนือ่ งจากมีการ ผลิตเพิม่ ขึน้ และเพียงพอ ต่อความต้องการภายใน แต่หากเทียบกับ ไตรมาสทีผ่ า่ นมาพบว่าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 15.39 โดยเป็นการน�ำเข้า เยือ่ เคมีเพือ่ รองรับความต้องการกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ ในช่วงเทศกาลปลายปี 2. กระดาษและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ระดาษ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 มีมลู ค่าการน�ำเข้า 336.38 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง จากไตรมาสเดียวกันของปีกอ่ น ร้อยละ 6.45 และ 3.01 เมือ่ เทียบกับ ไตรมาสเดียวกันของปีกอ่ น และไตรมาสทีผ่ า่ นมา จากการน�ำเข้า กระดาษแข็ง และ บรรจุภณ ั ฑ์กระดาษจากต่างประเทศ โดยเป็นการ ใช้กระดาษที่ผลิตภายในประเทศมากขึ้น ประกอบกับค่าเงินบาท ทีผ่ นั ผวนเป็นปัจจัยทีท่ ำ� ให้การน�ำเข้าลดลง 3. สิง่ พิมพ์ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ.2559 มีมลู ค่าการน�ำเข้า 87.25 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 57.37 และ 6.39 จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และไตรมาสก่อน ตามล�ำดับ โดยเพิม่ ขึน้ จากการน�ำเข้าสิง่ พิมพ์ประเภทภาพถ่าย และสิง่ พิมพ์ ซึง่ มีราคาสูงจากเกาหลีใต้ เนือ่ งจากมีการจัดแสดงคอนเสิรต์ ของ ศิลปินและนักร้องจากเกาหลีใต้ในประเทศไทยจ�ำนวนมาก 2.4) นโยบายภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง มาตรการส่ ง เสริ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของ SMEs และมาตรการทางการเงินการคลังเพื่อส่งเสริมผู้ ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ของ รัฐบาลจะเป็นปัจจัยกระตุน้ ให้อตุ สาหกรรมกระดาษและบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ เป็นอุตสาหกรรมสนับสนุนขยายตัวตามไปด้วย กระทรวงการคลัง อยู่ระหว่างการพิจารณาข้อร้อง เรียนของสมาคมอุตสาหกรรมเยือ่ และกระดาษไทย ทีข่ อให้มกี าร เปลี่ยนแปลงอัตราภาษีขาออกไม้ยูคาลิปตัสจาก ร้อยละ 0 เป็น เสียภาษีในอัตราทีเ่ หมาะสม เพือ่ การแข่งขันทีเ่ ป็นธรรมและป้องกัน การขาดแคลนวัตถุดบิ ภายหลังได้รบั ผลกระทบจากการขาดแคลน ไม้ยคู าลิปตัส ทีใ่ ช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตเยือ่ กระดาษ เนือ่ งจาก มีกลุ่มเอกชนท�ำการ รับซื้อไม้ยูคาลิปตัสจากเกษตรกรในราคา ทีส่ งู กว่าจ�ำหน่ายให้โรงงานผลิตเยือ่ กระดาษในประเทศ เพือ่ ส่งออก ไปยังประเทศญีป่ นุ่
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
สนับสนุนให้อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ส่วนของบรรจุภณ ั ฑ์กระดาษซึง่ จะมีการขยายตัวตามการส่งออก ไปด้วย
2.5) สรุปและแนวโน้ม ภาวะผลิตเยื่อกระดาษ กระดาษแข็ง กระดาษคราฟท์ กระดาษและสิง่ พิมพ์ ในไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2559 มีดชั นีผลผลิต เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนและไตรมาสที่ ผ่านมาเนือ่ งจากความต้องการบรรจุภณ ั ฑ์สำ� หรับอุตสาหกรรม ต่อเนื่องที่ขยายตัว รวมถึงการส่งออกไปยังแระเทศในภูมิภาค เอเชียทีม่ แี นวโน้มขยายตัว ส�ำหรับดาษพิมพ์เขียนมีดชั นีการผลิต ลดลงเมือ่ เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีกอ่ นจากความต้องการ บริ โ ภคที่ ล ดลงประกอบกั บ การน� ำ เข้ า กระดาษราคาถู ก จาก ต่างประเทศเข้ามาทดแทน
ทีม่ า : สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
สถานการณ์ตลาดเยื่อชานอ้อย ปี พ.ศ. 2559 และ แนวโน้มในปี พ.ศ. 2560 สภาวะเศรษฐกิจทัว่ โลกในปี พ.ศ. 2559 ยังคงไม่ฟน้ื ตัวอย่างเต็มที่ และมีการชะลอตัวในบางประเทศ แต่ความต้องการ ใช้เยื่อชานอ้อยทั้งในประเทศและต่างประเทศยังคงมีอยู่อย่าง ต่อเนือ่ ง แต่เนือ่ งจากราคาเยือ่ ใยสัน้ ทัว่ โลก มีการปรับตัวลดลง อย่างมาก เนือ่ งจาก เกิดสภาพ over supply ของเยือ่ ใยสัน้ ทัว่ โลก ผู้ผลิตสินค้าบางส่วนยังคงหันไปเพิ่มสัดส่วนในการใช้เยื่อไม้ ใยสั้น Eucalyptus ที่ราคาต�่ำกว่าไปเป็นส่วนผสมในการผลิต สินค้ามากขึน้
การส่งออกเยือ่ กระดาษไตรมาส 3 พ.ศ. 2559 มีมลู ค่า ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนและไตรมาสที่ ผ่านมาเนือ่ งจากการชะลอตัวการส่งออกเยือ่ กระดาษไปยังตลาด ส�ำคัญเช่น ฝรัง่ เศส ลดลงเนือ่ งจากความผันผวนทางเศรษฐกิจ และการลงทุนภาคอุตสาหกรรมชะลอตัว ในส่วนของกระดาษและ ผลิตภัณฑ์กระดาษมีมูลค่าเพิ่มขึ้นจากการส่งออกบรรจุภัณฑ์ กระดาษไปยังตลาดในภูมภิ าคเอเชียทีม่ กี ารปรับตัวสูงขึน้ นอกจาก นัน้ การส่งออกในส่วนของหนังสือและสิง่ พิมพ์กม็ มี ลู ค่าสูงขึน้ ด้วย เมือ่ เทียบกับไตรมาสก่อนจากการขยายตัวของสิง่ พิมพ์ประเภท สือ่ โฆษณาและหนังสือทางการศึกษา
ในส่วนของลูกค้าทีย่ งั คงมีความต้องการใช้เยือ่ ชานอ้อย อย่างต่อเนือ่ ง เป็นกลุม่ ลูกค้าทีผ่ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อม ที่จ�ำเป็นต้องใช้เยื่อชานอ้อยเป็นวัตถุดิบหลัก และการใช้เป็น ส่ ว นผสมเพื่ อ สร้ า งภาพลั ก ษณ์ ท างด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มให้ กั บ ผลิตภัณฑ์ทง้ั ในส่วนของกระดาษพิมพ์เขียนและกระดาษอนามัย
การน�ำเข้าเยือ่ กระดาษและเศษกระดาษมรมูลค่าลดลง เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้วเนื่องจากการผลิตใน ประเทศเพิม่ ขึน้ และเพียงพอต่อความต้องการภายใน แต่หากเปรียบ เทียบกับไตรมาสก่อนพบว่ามีการเพิม่ ขึน้ จากการน�ำเข้าเยือ่ เคมีเพือ่ รองรับความต้องการใช้กระดาษทีเ่ พิม่ ขึน้ ในช่วงเทศกาลปลายปี ส�ำหรับกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษมีการน�ำเข้าลดลง แต่การ น�ำเข้าสิ่งพิมพ์มีมูลค่าสูงขึ้นจากการน�ำเข้าสิ่งพิมพ์ประเภท ภาพถ่ายภาพพิมพ์ราคาสูงจากเกาหลีใต้เนือ่ งจากมีการจัดแสดง คอนเสิรต์ ของศิลปินนักร้องจากเกาหลีใต้ในประเทศไทยจ�ำนวนมาก
ในปี พ.ศ. 2559 นี้ ทางบริษัทฯ ได้ปรับราคาลดลง ตามสภาวะราคาเยือ่ ในตลาดโลก ก็ยงั มีการสัง่ ซือ้ เยือ่ ชานอ้อย อย่างต่อเนือ่ งโดยตลอดทัง้ ตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2560 คาดว่าภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจ ในประเทศจะฟืน้ ตัวอย่างช้าๆ และความต้องใช้เยือ่ ชานอ้อยจะยัง คงมีการขยายตัวอย่างต่อเนือ่ งโดยเฉพาะการส่งออกต่างประเทศ ซึง่ จะได้รบั ผลดีจากค่าเงินบาททีอ่ อ่ นตัวส่งอย่างช้าๆ คาดว่าทาง บริษทั ฯ จะมีผลผลิตเยือ่ ชานอ้อยใกล้เคียงกับปี พ.ศ. 2559 ซึง่ ยัง คงมีผลท�ำให้ตน้ ทุนการผลิตเยือ่ ชานอ้อยของบริษทั ยังคงอยูใ่ น ระดับสูง แต่ในส่วนของราคาขายนัน้ จะต้องมีการปรับราคาขายให้ เหมาะสมกับสภาวะตลาดราคาขายของเยือ่ ในตลาดโลก
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี พ.ศ. 2560 มีแนวโน้มทีจ่ ะ ปรับตัวดีขนึ้ โดยได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวอย่างช้าๆ ของภาคส่งออกและการอ่อนตัวของค่าเงินบาทซึ่งจะเป็นปัจจัย
ในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยมีโรงงานผูผ้ ลิตเยือ่ กระดาษรายใหญ่ดงั ต่อไปนี้ ผูผ้ ลิต
ก�ำลังการผลิต (พันตัน)
ชนิดของวัตถุดบิ
Double A
560
ยูคาลิปตัส
Phoenix Pulp & Paper
240
ยูคาลิปตัส
Panjapol Pulp Industry
110
ยูคาลิปตัส
SCG Paper
107
ยูคาลิปตัส CTMP
EPPCO
100
ชานอ้อย
Siam Cellulose
86
ยูคาลิปตัส
Fiber Pattana
20
กล่อง UHT
Thai Gorilla Pulp
9
ใบต้นปาล์ม
รวม
1,232
ทีม่ า: 2013 – 2015 Directory of the Thai Pulp and Paper Industries Association (TPPIA)
รายงานประจ�ำปี 2559
51
สถานการณ์ตลาดของบรรจุภณ ั ฑ์จากชานอ้อย ( Pulp Mold ) ปี พ.ศ. 2559 - 2560
เยือ่ กระดาษ : ช่องทางการจ�ำหน่าย
ความต้องการบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์จากเยื่อชานอ้อยในตลาดโลกยังคงมี ความเติบโตอย่างต่อเนื่อง ผู้ผลิตรายใหญ่ในประเทศจีนมีการ วางแผนขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่องตามความเติบโต ของตลาด
EPPCO จัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมโดยตรง เป็นรายเดือนหรือตามความ ต้องการของลูกค้า โดยจัดส่งผลิตภัณฑ์ตามระยะเวลาทีไ่ ด้ตกลง กับลูกค้า EPPCO มุง่ เน้นการจัดจ�ำหน่ายเยือ่ กระดาษฟอกขาว จากชานอ้อยให้แก่กลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรมกระดาษรายใหญ่ใน ประเทศที่มีความต้องการใช้เยื่อกระดาษประเภทที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม และจัดเจ้าหน้าทีค่ อยให้คำ� แนะน�ำการใช้เยือ่ กระดาษ ฟอกขาวจากชานอ้ อ ยอย่ า งถู ก วิ ธี แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ความพอใจของลูกค้าในลักษณะ Technical Sales โดยขายให้ บริษทั ชัน้ น�ำในประเทศ ได้แก่ บริษทั เอสซี จี เปเปอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั คิมเบอร์ลยี -์ คล๊าค (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ บริษทั บรรจุภณ ั ฑ์ เพือ่ สิง่ แวดล้อม จ�ำกัด เป็นต้น
ส�ำหรับในประเทศไทย ปัจจุบันมีผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ที่ ใช้วัตถุดิบจากเยื่อชานอ้อยในประเทศไทยเพียงสองรายเท่านั้น ในขณะทีค่ วามต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ดงั กล่าวมีความเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง โดยได้รับผลดีจากการส่งเสริมและรณรงค์ของภาค รัฐบาลและเอกชนหลายแห่งทีช่ ว่ ยผลักดันให้ตลาดบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมในประเทศมีเติบโตในช่วงปี พ.ศ. 2559 และมีแนวโน้ม ทีจ่ ะเติบโตอย่างต่อเนือ่ งในปี พ.ศ.2560
เยือ่ กระดาษ : กลยุทธ์การแข่งขันของบริษทั ฯ (1) ความแน่นอนในการจัดหาวัตถุดบิ EPPCO มีความมั่นคงทางด้านวัตถุดิบสูง เนื่องจาก รับวัตถุดิบชานอ้อยโดยตรงจากบริษัทฯ และโรงงานของ กลุ่ม บริษทั ฯ ซึง่ โรงงานของกลุม่ บริษทั ฯ สามารถหีบอ้อยได้มากกว่า 10,000,000 ตันอ้อยต่อปี จึงมีชานอ้อย เป็นจ�ำนวนมาก ดังนัน้ EPPCO สามารถวางแผนปริมาณการผลิต และการขายล่วงหน้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพการที่ EPPCO สามารถจัดหาวัตถุดบิ ได้ใน ปริมาณทีส่ งู และมัน่ คงนัน้ ท�ำให้ลกู ค้าไว้วางใจได้วา่ จะมีผลิตภัณฑ์ เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยพร้อมจัดจ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้า ของ EPPCO เมือ่ ลูกค้าต้องการ (2) ต้นทุนวัตถุดบิ ต�ำ่ EPPCO มีค่าใช้จ่ายวัตถุดิบต�่ำเมื่อเปรียบเทียบกับ โรงงานเยื่อกระดาษรายอื่น เนื่องจาก EPPCO มีพื้นที่อยู่ใน บริเวณใกล้กับโรงงานของบริษัทฯ ซึ่งเป็นผู้จ�ำหน่ายวัตถุดิบ ตรงให้กบั EPPCO โดยใช้ระบบสายพานล�ำเลียงแทนการขนส่งด้วย รถบรรทุก ส่งผลให้มคี า่ ขนส่งทีต่ ำ�่ (3) การเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์เยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของ EPPCO ผลิตจากชานอ้อย ซึง่ ถือเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และ เป็นเยือ่ ใหม่ซงึ่ ยังไม่เคยผ่านการใช้งาน (Virgin pulp) โดยกระแส การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท�ำให้มีความต้องการ ผลิตภัณฑ์ของ EPPCO นอกจากนีโ้ รงงานเยือ่ กระดาษฟอกขาว จากชานอ้อยของ EPPCO ยังเป็นโรงงานเยือ่ กระดาษรายแรกของ ประเทศทีไ่ ด้รบั ใบรับรองมาตรฐานความปลอดภัยทางด้านอาหาร ISO 22000 และ GMP&HACCP จากบริษทั เอสจีเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึง่ ปลอดภัยแก่การบริโภค และสามารถน�ำไปใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตท�ำภาชนะอาหารและบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทอืน่ ๆ ได้
52
(1) ลูกค้าในประเทศ
(2) ลูกค้าต่างประเทศ การจัดจ�ำหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ให้กบั ลูกค้าต่างประเทศส่วนใหญ่ผา่ นนายหน้า (Broker) ซึง่ การ ซื้อขายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยไปต่างประเทศจะท�ำ สัญญาการซือ้ ขายแบบ Spot Lot ซึง่ เป็นการท�ำสัญญาซือ้ ขายเป็น ครัง้ ๆ โดยพิจารณาจากสภาวะตลาด และราคา ณ ช่วงเวลานัน้ ๆ การท�ำสัญญาประเภทนี้มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 80.0 ของ ยอดขายต่างประเทศทั้งหมด ในขณะที่ประมาณร้อยละ 10.0 เป็นการขายภายใต้สัญญาระยะยาว ทั้งนี้ EPPCO พิจารณา เลือกนายหน้าโดยพิจารณาจากก�ำลังการซื้อของประเทศต่างๆ และความน่าเชื่อถือของนายหน้าเพื่อลดความเสี่ยงในการขาย ส่วนอีกร้อยละ 10 เป็นการขายตรงให้กบั ลูกค้าผูผ้ ลิตกระดาษ โดยตรง นอกจากนี้ ผู้บริหารของ EPPCO ยังท�ำการตลาด อย่างต่อเนื่อง เช่น การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าเพื่อหากลุ่ม ลูกค้าใหม่อีกด้วย การขายผ่านผู้ค้าคนกลางท�ำให้ EPPCO สามารถก�ำหนดราคา และปริมาณทีต่ อ้ งการขายตามที่ EPPCO เห็นว่าเหมาะสมได้โดยไม่ต้องท�ำการเจรจากับลูกค้าโดยตรง โดยรายได้หลักของ EPPCO มาจากการขายต่างประเทศซึง่ คิด เป็นประมาณร้อยละ 70-78 ของรายได้ของ EPPCO โดย EPPCO ขายผลิตภัณฑ์ให้นายหน้าชัน้ น�ำของต่างประเทศ ได้แก่ Marubeni Corporation, OG Corporation, Beijing China Base Star Paper Co., Ltd. และ Interfiber Asia Pte. Ltd. เป็นต้น
Pulp Mold : ช่องทางการจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ สัดส่วนการท�ำตลาดส�ำหรับผลิตภัณฑ์ Pulp Mold ได้ ก�ำหนดเป้าหมายให้ มีสดั ส่วน 90-95% ส�ำหรับตลาดต่างประเทศ และ 5-10% ส�ำหรับตลาดในประเทศ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากความตืน่ ตัว และความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ Pulp Mold ของผู้บริโภคใน ต่างประเทศและความต้องการใช้บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม ยังคงมีความต้องการสูงและมีอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ทางบริษทั ฯ ยังคง ต้องมีการพัฒนาเพิ่มชนิดและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ เพื่ อ รองรองรั บ ความต้ อ งของผู ้ บ ริ โ ภคทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศในอนาคต
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
1) การขายส่งออกต่างประเทศ
เอทานอล : สภาวะตลาดและการแข่งขัน
เนื่องจากตลาดบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่ ในต่างประเทศจะอยูใ่ นประเทศทางยุโรปและอเมริกา ดังนัน้ ในการ ท�ำตลาดต่างประเทศในระยะแรกนัน้ จ�ำเป็นต้องอาศัย sale agent and distributor ที่มีความช�ำนาญและมี volume ในการช่วย กระจายสินค้าสินค้าให้กบั บริษทั เนือ่ งจากสามารถเข้าถึงตัวแทน จ�ำหน่ายและผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ในต่างประเทศได้มากกว่าทั้งใน รูปแบบของการรับจ้างผลิต (OEM) และในการจ�ำหน่ายภายใต้ Brand ของทางบริษทั เอง
(1) ภาวะอุตสาหกรรมตลาดโลก
2) การขายภายในประเทศ ลูกค้าในประเทศจะเป็นกลุม่ ลูกค้าทีต่ ระหนักถึงการรักษา สิง่ แวดล้อมเป็นส่วยใหญ่ ทัง้ นีท้ างบริษทั ฯมีชอ่ งทางการจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ Pulp Mold ในประเทศทีห่ ลายช่องทาง ดังนี้ 1. การขายเข้าสู่ ผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ (Big C , Makro , Lotus , TOP, The Mall, Central Department Store, Seven Eleven) ทงั้ ภายใต้ Brand ของตัวเอง และ/หรือ การผลิต House Brand ให้กบั ผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ 2. การขายผ่านผูค้ า้ ส่งบรรจุภณ ั ฑ์ ในแต่ละจังหวัด และระบบ ตัวแทนขายสินค้าทัว่ ประเทศ 3. การขายตรงให้องค์กรและหน่วยงานภาครัฐ โรงพยาบาล โรงเรียน มหาวิทยาลัยและ สถานบันและองค์กรต่างๆ 4. การขาย ปลีกในระบบ Online Marketing (อยูใ่ นระหว่าง การพัฒนา)
ธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอลผ่าน บริษทั เอกรัฐพัฒนา จ�ำกัด หรือ “EPC” โดยใช้วตั ถุดบิ หลักคือกาก น�ำ้ ตาล จากโรงงานน�ำ้ ตาลทรายของกลุม่ บริษทั ฯ มีกำ� ลังการผลิต สูงสุด 230,000 ลิตรต่อวัน หรือ 75,900,000 ลิตรต่อปี ปัจจุบนั EPC ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอลเพียง 2 เกรดได้แก่ เอทานอล ทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอลทีใ่ ช้เป็น เชือ้ เพลิง (Fuel Alcohol)
ราคาเอทานอลสหรัฐฯ ลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีกอ่ นร้อยละ 6.1 ตามต้นทุนการผลิตทีล่ ดลง ความต้องการใช้ เอทานอลเพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ นร้อยละ 4.8 เนือ่ งจาก สหรัฐฯ การเพิ่มสัดส่วนการผสมเอทานอลในน�้ำมันเบนซิน เพือ่ ผลิตแก๊สโซฮอล์เฉลีย่ ทีร่ อ้ ยละ 10.5 ราคาเอทานอลบราซิลเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี ก่อนร้อยละ 43.2 ตามต้นทุนขนส่งที่ปรับเพิ่มขึ้น เพราะฝนตก ชุดท�ำให้การขนส่งอ้อยเข้าสูโ่ รงงานไม่สะดวก โดยแนวโน้มราคา เอทานอลอาจจะปรับเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย เนือ่ งจากทิศทางราคาน�ำ้ มันมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นจากกรณีกลุ่ม OPEC มีข้อตกลงเกี่ยวกับการ ก�ำหนดปริมาณการผลิตน�ำ้ มัน ประกอบกับราคาน�ำ้ ตาลมีทศิ ทาง เพิม่ ขึน้ ท�ำให้บราซิลน�ำอ้อยไปผลิตน�ำ้ ตาลแทนการผลิตเอทานอล มากขึ้น ความต้องการใช้เอทานอลลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 3.2 เนื่องจากราคาแก๊สโซฮอล์ในประเทศเพิ่มขึ้น ท�ำให้ประชาชนเลือกใช้นำ�้ มันเบนซินซึง่ ไม่มสี ว่ นผสมเอทานอลเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะน�ำ้ มันเบนซินชนิด A และ C ราคาเอทานอลต่างประเทศคาดว่าราคาจะเคลือ่ นไหว ระหว่างลิตรละ 0.47-0.57 ดอลลาร์สหรัฐฯ ทีม่ า: รายงานสถานการณ์ราคาเอทานอลของไทย ไตรมาส 3/2559 ธนาคาร แห่งประเทศไทย
(2) ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ ราคาเอทานอลอ้างอิงภายในประเทศลดลงจากช่วง เดียวกันของปีก่อนร้อยละ 14.9 ตามราคาน�้ำมันดิบและต้นทุน การผลิตเอทานอลทีผ่ ลิตจากมันส�ำปะหลังทีป่ รับลดลง ปัจจุบนั ปริมาณความต้องการใช้เอทานอลภายในประเทศอยูท่ ปี่ ระมาณ วันละ 3.6 ล้านลิตร เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น เนือ่ งจาก ราคาน�ำ้ มันลดลง ท�ำให้ความต้องการใช้รถในการเดินทางเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้ปริมาณการใช้น�้ำมันแก๊สโซฮอล์เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.3 โดยปริมาณการใช้ประมาณ 2,639.2 ล้านลิตร ปัจจุบันประเทศไทยสามารถผลิตเอทานอลจากกาก น�ำ้ ตาลได้ประมาณ 1,098 ล้านลิตรต่อปี และจากมันส�ำปะหลังได้ ประมาณ 522 ล้านลิตรต่อปี
รายงานประจ�ำปี 2559
53
ในปี 2559 ประเทศไทยมีโรงงานเอทานอลทีเ่ ปิดและด�ำเนินการผลิตทัง้ สิน้ 21 โรง ซึง่ มีกำ� ลังการผลิตเอทานอลรวมกันทัง้ สิน้ 5.04 ล้านลิตรต่อวัน ในขณะทีป่ ริมาณความต้องการเอทานอลเฉลีย่ มีประมาณวันละ 3.6 ล้านลิตรต่อวัน อย่างไรก็ดี เนือ่ งจากผูผ้ ลิต บางรายเท่านัน้ ทีส่ ามารถเดินเครือ่ งจักรผลิตเอทานอลได้ตลอดทัง้ ปี ดังนัน้ ผลผลิตเฉลีย่ ต่อวันจึงมีความผันผวนท�ำให้ผลิตได้นอ้ ยกว่าก�ำลัง การผลิตจริง โดยมีโรงงานผลิตเอทานอลรายใหญ่ดงั นี้ กลุม่
บริษทั
ก�ำลังการผลิต (ลิตร/วัน)
วัตถุดบิ การผลิต
1
บริษทั มิตรผล ไบโอฟูเอล จ�ำกัด (ชัยภูม)ิ
500,000
กากน�ำ้ ตาล
2
บริษทั อี85 จ�ำกัด
500,000
มันสด/น�ำ้ แป้ง
3
บริษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด
400,000
มันสด/มันเส้น
4
บริษทั ไทย อะโกร เอนเนอร์จี จ�ำกัด (มหาชน)
350,000
มันเส้น/กากน�ำ้ ตาล
5
บริษทั ขอนแก่นแอลกอฮอล์ จ�ำกัด (บ่อพลอย)
300,000
กากน�ำ้ ตาล
6
บริษทั ไท่ผงิ เอทานอล จ�ำกัด
300,000
มันสด
7
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จ�ำกัด
230,000
กากน�ำ้ ตาล
8
บริษทั มิตรผล ไบโอฟูเอล จ�ำกัด (กาฬสินธุ)์
230,000
กากน�ำ้ ตาล
9
บริษทั แม่สอดพลังงานสะอาด จ�ำกัด
230,000
น�ำ้ อ้อย
10
บริษทั น�ำ้ ตาลไทยเอทานอล จ�ำกัด
200,000
กากน�ำ้ ตาล
11
อืน่ ๆ รวมก�ำลังผลิตทัง้ หมดในปัจจุบนั
1,800,000 5,040,000
ทีม่ า: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
เอทานอล : กลยุทธ์การแข่งขันของบริษทั ฯ
(3) คุณภาพของผลิตภัณฑ์
(1) ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
EPC มี น โยบายมุ ่ ง รั ก ษาและพั ฒ นาคุ ณ ภาพของ ผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ ท�ำให้คุณภาพเอทานอลที่ได้จากโรงงานมี คุณภาพตรงตามมาตรฐานตามที่กฏหมายก�ำหนด อีกทั้งยัง สามารถพัฒนาหอ กลัน่ เพือ่ ผลิต เอทานอลระดับ Korean B grade ซึง่ เป็นเอทานอลทีม่ คี ณ ุ ภาพ เป็นทีย่ อมรับของตลาดต่างประเทศ
EPC มีผลิตภัณฑ์ทหี่ ลากหลายตามความต้องการของ ลูกค้าในแต่ละอุตสาหกรรม ซึง่ โรงกลัน่ ของ EPC ได้รบั ใบอนุญาต ในการผลิตเอทานอลได้ถงึ 3 เกรด ได้แก่ เอทานอลทีส่ ามารถรับ ประทานได้ (Potable Alcohol) เอทานอลที่ใช้ในอุตสาหกรรม (Industrial Alcohol) และเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิง (Fuel Alcohol) การมีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเช่นนี้ ช่วยเพิ่มความสามารถใน การแข่งขันในตลาดต่างประเทศให้กบั EPC แตกต่างจากโรงงาน ผลิ ต เอทานอลส่ ว นมากในประเทศไทยที่ ส ามารถผลิ ต เพี ย ง เอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิงเพือ่ ขายในประเทศเท่านัน้ (2) ความแน่นอนในการส่งมอบผลิตภัณฑ์ EPC มีความสามารถในการส่ งมอบผลิ ต ภั ณฑ์ ใ ห้ กับลูกค้าได้อย่างสม�ำ่ เสมอและตรงเวลา เนือ่ งจาก EPC ใช้กาก น�ำ้ ตาลจากโรงงานของกลุม่ บริษทั ฯ เป็นวัตถุดบิ หลักในการผลิต เอทานอล ซึง่ มีปริมาณมากเกินกว่าความต้องการของก�ำลังการ ผลิต ทาง EPC จึงไม่เคยประสบปัญหาวัตถุดบิ ขาดแคลน จากปัจจัย ดังกล่าวส่งผลให้ EPC สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ได้ตรงเวลาและ ได้รบั ความไว้วางใจจากลูกค้ามาโดยตลอด 1
พระราชบัญญัตกิ ารค้าน้ำ�มันเชือ้ เพลิง พ.ศ. 2543 หมวด 1 การค้าและ การขนส่งน้ำ�มันเชือ้ เพลิง มาตรา 7 บังคับให้ผคู้ า้ น้ำ�มันทีม่ ปี ริมาณการค้าแต่ละ ชนิด หรือรวมกันทุกชนิดปีละตัง้ แต่หนึง่ แสนเมตริกตันขึน้ ไป หรือเป็นผูค้ า้ น้ำ�มัน ชนิดก๊าซปิโตรเลียมเหลวแต่เพียงชนิดเดียวทีม่ ปี ริมาณการค้าปีละตัง้ แต่หา้ หมืน่ เมตริกตันขึน้ ไป ต้องได้รบั ใบอนุญาตจากรัฐมนตรี
54
(4) นโยบายส่งเสริมการตลาด EPC ตระหนักถึงการแข่งขันทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอุตสาหกรรม พลังงานในปัจจุบนั EPC จึงได้มกี ารจัดท�ำนโยบายส่งเสริมการ ตลาดอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มฐานลูกค้าโดยเฉพาะฐานลูกค้าใน ต่างประเทศ อาทิ นโยบายเข้าร่วมประชุมและอบรมผูผ้ ลิตเอทานอล ทั้ ง ในและนอกประเทศอยู ่ อ ย่ า งสม�่ำ เสมอ เพื่ อ เพิ่ ม โอกาสใน การพบปะลูกค้าและพ่อค้าคนกลางเป็นการสร้างฐานลูกค้าให้เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง
เอทานอล : ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย (1) ลูกค้าในประเทศ EPC จัดจ�ำหน่ายเอทานอลทีม่ คี วามบริสทุ ธิร์ อ้ ยละ 99.5 เพือ่ น�ำไปใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผสมเป็นน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงให้กบั บริษทั ผูค้ า้ น�ำ้ มันในประเทศ สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐทีส่ นับสนุน พลังงานทดแทนเพื่อลดการน�ำเข้าน�้ำมันเชื้อเพลิงและน�้ำมันดิบ จากต่างประเทศ โดยมีผคู้ า้ ตามมาตรา 71 ซึง่ เป็นลูกค้ารายใหญ่ เป็นลูกค้า ของ EPC เช่น บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) โดยรายได้จากการขายเอทานอลทีเ่ ป็นเชือ้ เพลิงในประเทศคิดเป็น
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ร้อยละ 100 ของรายได้จากการขายเอทานอลทัง้ หมดในปีบญ ั ชี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
1. แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (Thailand Power Development Plan : PDP)
(2) ลูกค้าต่างประเทศ
2. แผนอนุรกั ษ์พลังงาน (Energy Efficiency Development Plan : EEDP)
EPC ท�ำการจัดจ�ำหน่ายเอทานอลไปยังต่างประเทศ โดยจะจัดจ�ำหน่ายผ่านผู้กระจายสินค้าเพื่อส่งต่อไปยังลูกค้า ขั้นสุดท้าย ที่ผ่านมา EPC จัดจ�ำหน่ายเอทานอลที่ใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรม ความบริสทุ ธิร์ อ้ ยละ 95.5 และเอทานอลทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิง ความบริสทุ ธิร์ อ้ ยละ 99.5 ในต่างประเทศ ภายหลังการมี นโยบายจากกระทรวงพลังงาน เรือ่ งยกเลิกการจ�ำหน่ายน�ำ้ มัน เบนซิน 91 ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ท�ำให้การใช้เอทานอล ในประเทศมีการปรับตัวสูงขึน้ ทางบริษทั ฯ จึงมิได้สง่ ออกเอทานอล ทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิงและใช้ในอุตสาหกรรมไปต่างประเทศ
ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า บริษทั ฯ มีหน่วยผลิตไฟฟ้าและไอน�ำ้ ในโรงงานน�ำ้ ตาล ทรายและโรงงานเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย โดยใช้ ชานอ้อยซึง่ เป็นกากของเสียจากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลมาเป็น วัตถุดบิ หลัก น�ำไอน�ำ้ และไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ไปใช้ในกระบวนการผลิต น�ำ้ ตาลทรายของบริษทั ฯ ทัง้ 3 โรงงาน และในกระบวนการผลิต ของโรงงานอืน่ ในกลุม่ บริษทั ฯ และจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนทีเ่ หลือให้แก่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า และในปี 2560 ในส่วนของโรงงานน�ำ้ ตาล ทีข่ ายไฟในรูปแบบของ Adder บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นมาเป็นการขายไฟ ในรูปแบบ Feed-in tariff ซึง่ ท�ำให้ได้ราคาจากการขายไฟทีส่ งู ขึน้ บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “KTBP” ซึง่ ปัจจุบนั ได้ดำ� เนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าในระบบโรงไฟฟ้า ชีวมวล ขนาดก�ำลังผลิตทั้งสิ้น 60 เมกะวัตต์แล้ว นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังได้จัดตั้งบริษัท ไทยเอกลักษณ์ไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “TEP” และบริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด หรือ “RPBP” ซึง่ จะด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าในระบบโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดก�ำลังการผลิตโรงละ 50 เมกะวัตต์ โดย TEP ได้ดำ� เนินการ ผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า ให้ กั บ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แล้ ว ตั้ ง แต่ เดือน เมษายน 2559 ส�ำหรับ RPBP คาดว่าจะด�ำเนินการผลิต และจ�ำหน่ายไฟฟ้าในกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้ภายในไตรมาสแรก ของปี 2560 ต่อไป
ไฟฟ้า : สภาวะตลาดและการแข่งขัน (1) ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ จากแผน PDP 2015 กระทรวงพลังงานได้วางกรอบ แผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติโดยจัดท�ำเป็น 5 แผนหลักได้แก่
3. แผนพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและพลั ง งานทางเลื อ ก (Alternative Energy Development Plan : AEDP) 4. แผนการจัดการก๊าซธรรมชาติของไทย และ 5. แผนบริหารจัดการน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกนัน้ มุง่ เน้นการพัฒนาพลังงานทดแทนให้เต็มศักยภาพในแต่ละพืน้ ที่ และที่ผ่านมาภาพรวมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อผลิตไฟฟ้า มีแนวโน้มเติบโตดี ทั้งนี้มีปัจจัยสนับสนุนที่ส�ำคัญจากภาครัฐ เพือ่ ผลักดันการใช้พลังงานทดแทนให้มากขึน้ เพือ่ ทดแทนการใช้ เชือ้ เพลิงฟอสซิลให้ได้รอ้ ยละ 20 ของการใช้พลังงานขัน้ สุดท้าย ทั้งนี้ภายในปี 2579 ในส่วนของภาคการผลิตไฟฟ้ามีเป้าหมาย ที่จะผลักดันการใช้พลังงานทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้าสูงราว 19,684.40 เมกะวัตต์ ซึง่ ในปัจจุบนั มีการด�ำเนินการผลิตได้เพียง ประมาณร้อยละ 42 ของเป้าหมายทีค่ าดการณ์ไว้ กลุ่มพลังงานทดแทนที่มีแนวโน้มการผลิตได้มากขึ้น ได้แก่ พลังงานชีวมวล รองลงมาคือ พลังงานแสงอาทิตย์และขยะ ส่วนพลังงานลมนัน้ ถือว่ายังห่างไกลเป้าหมายมาก พลังงานชีวมวล เป็ น พลั ง งานกลุ ่ ม หนึ่ ง ที่ ภ าครั ฐ ให้ ก ารสนั บ สนุ น เนื่ อ งจาก ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมท�ำให้มวี สั ดุเหลือใช้ทางการ เกษตรในปริมาณมาก ซึง่ สามารถน�ำมาใช้เป็นพลังงานทางเลือก เพือ่ ผลิตไฟฟ้าได้ โดยเฉพาะประเภทอ้อย เนือ่ งจากทางกระทรวง อุตสาหกรรมมีแผนทีจ่ ะพัฒนาผลผลิตอ้อยให้ได้ปริมาณถึง 300 ล้านตันในภายหน้า (2) สถานการณ์ความต้องการไฟฟ้าในประเทศ ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิในระบบของ กฟผ. (Net Peak Generation Requirement) ปี 2559 เกิดขึน้ เมือ่ วัน ที่ 11 พฤษภาคม 2559 เวลา 22.28 น. อยูท่ รี่ ะดับ 29,619 เมกะ วัตต์ ซึง่ สูงกว่าพลังไฟฟ้าสูงสุดของปี 2558 ซึง่ เกิดขึน้ เมือ่ วันที่ 11 มิถนุ ายน 2558 เวลา 14.02 น. อยูท่ รี่ ะดับ 27,346 เมกะวัตต์ หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.30 และในเดือนตุลาคม 2559 ความต้องการ ใช้ไฟฟ้าสูงสุดยังอยูร่ ะดับที่ 26,015 เมกะวัตต์ (3) ก�ำลังผลิตไฟฟ้าในประเทศ ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2559 ก�ำลังผลิตในระบบไฟฟ้าอยู่ในระดับ 41,096 เมกะวัตต์ ยังไม่รวมผูผ้ ลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก โดยแบ่ง เป็นผูผ้ ลิตต่างๆ ดังนี้
การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
16,385 เมกะวัตต์
ร้อยละ 40
เอกชนรายใหญ่ (IPP)
14,994 เมกะวัตต์
ร้อยละ 36
เอกชนรายเล็ก (SPP)
5,885 เมกะวัตต์
ร้อยละ 14
ซือ้ ไฟฟ้าจากต่างประเทศ
3,878 เมกะวัตต์
ร้อยละ 10
รวม
41,096 เมกะวัตต์ รายงานประจ�ำปี 2559
55
สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงชนิดต่าง ๆ ก๊าซธรรมชาติ
167,829 GWH
ร้อยละ 64
ถ่านหินน�ำเข้าและลิกไนต์
31,036 GWH
ร้อยละ 18
น�ำเข้า
16,438 GWH
ร้อยละ 10
พลังงานหมุนเวียน
10,339 GWH
ร้อยละ 6
พลังน�ำ้
2,863 GWH
ร้อยละ 2
น�ำ้ มัน
466 GWH
ร้อยละ 0.3
สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเพือ่ การผลิตไฟฟ้าของไทย เป้าหมายปี 2559 (%)
หน่วย
เป้าหมายปี 2579
2555
2556
2557
2558
พลังงานลม
MW
3,002.00
111.73
222.71
224.47
233.90
233.90
7.8
แสงอาทิตย์
MW
6,000.00
376.72
823.46
1,298.51
1,419.58
1,692.63
28.2
ขยะ
MW
550.00
42.72
47.48
65.72
131.68
146.38
26.6
ก๊าซชีวภิ าพ
MW
1,280.00
193.40
265.23
311.50
372.51
393.21
30.7
พลังงานน�ำ้ ขนาดเล็ก
MW
376.00
101.75
108.80
142.01
172.12
172.12
45.8
ชีวมวล
MW
5,570.00
1,959.95
2,320.78
2,451.82
2,726.60
2,726.60
49.0
พลังงานน�ำ้ ขนาดใหญ่
MW
2,906.00
-
-
-
2,906.40
2,906.40
100.0
รวม
MW
19,684.00
2,786.27
3,788.46
4,494.03
7,962.79
8,271.24
42.0
พลังงานทดแทน
3M2559
ไฟฟ้า : กลยุทธ์การแข่งขันของบริษทั ฯ
ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ
นอกจากการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตไฟฟ้า เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตของบริษทั ฯแล้ว ปัจจัยของเชือ้ เพลิง ทีใ่ ช้ในการผลิตมีสว่ นส�ำคัญมากในการแข่งขัน เนือ่ งจากโรงไฟฟ้า ของบริษทั ฯ เป็นโรงไฟฟ้าชีวมวล ใช้ชานอ้อยทีไ่ ด้จากการผลิต น�้ำตาล เป็นเชื้อเพลิงหลัก ท�ำการปรับปรุงกระบวนการผลิต น�้ำตาลเพื่อลดการใช้ พลังงานท�ำ ให้ มี ชานอ้อยเหลือ มากขึ้น กว่าเดิม และในขณะเดียวกันบริษัทได้ท�ำการศึกษา และวิจัยใน การปลูกพืชพลังงานชนิดต่างๆ เพือ่ เตรียมน�ำมาใช้เป็นเชือ้ เพลิง ต่อไปในภายหน้า ซึ่งจะท�ำให้บริษัทฯ สามารถสร้างรายได้จาก การจ�ำหน่ายไฟฟ้าได้มากขึน้
บริษทั ฯ มีโรงงานผลิตวัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ โดยใช้ กากตะกอนหม้อกรอง (Filter cake) ซึง่ เป็นของเสียจากกระบวนการ ผลิตน�ำ้ ตาล และน�ำ้ เสียทีม่ าจากกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและ การผลิตเอทานอล น�ำมาผลิตเป็น วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ ทัง้ ชนิด ผง ชนิดเม็ด และชนิดน�ำ ้ โดยได้จดั ตัง้ บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด หรือ “KTBF” เพือ่ ขยายธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ตัง้ อยู่ ทีต่ ำ� บลหนองโพ อ�ำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ซึง่ ปัจจุบนั ได้ ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินให้กบั เกษตรกรชาว ไร่ออ้ ยของ กลุม่ บริษทั ฯ โดยมีกำ� ลังการผลิตชนิดผง 150,000 ตัน ต่อปี ชนิดเม็ด 10,000 ตันต่อปี และชนิดน�ำ ้ 200,000 ลบ.ม.ต่อปี
ไฟฟ้า : ช่องทางการจ�ำหน่าย
วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : สภาวะตลาดและการแข่งขัน
บริษทั ฯ ทีผ่ ลิตไฟฟ้าจะส่งไอน�ำ้ และไฟฟ้าให้แก่โรงงาน น�ำ้ ตาลของบริษทั ฯ ทัง้ 3 โรงงานและจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนทีเ่ หลือ ให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) หรือการไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าค(กฟภ.) ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าของแต่ละโรงงาน
ด้วยสภาวะอากาศแห้งแล้ง มีฝนตกปริมาณลดน้อยลง ในทุกๆพืน้ ที่ ในช่วงต้นปี ท�ำให้ผลิตผลทางการเกษตรลดลงในพืน้ ที่ โดยรวม โดยเฉพาะพืน้ ทีท่ เี่ ป็นทีด่ อนไม่สามารถขุดเจาะน�ำ้ บาดาล ได้และไม่มีแหล่งน�้ำธรรมชาติ การแข่งขันในปัจจัยการผลิตของ เกษตรกรกับกลุม่ ปุย๋ และสารเคมีกำ� จัดวัชพืชต่างๆ อยูใ่ นลักษณะ ชะลอตัวไม่รุนแรงเนื่องจากด้วยสภาพของเศรษฐกิจโดยรวม ตกต�ำ่ ลงตัง้ แต่ปที ผี่ า่ นมาและสะสมต่อเนือ่ งมาจนปัจจุบนั กอปร กับปัจจัยเรือ่ งแหล่งน�ำ้ เพือ่ การเกษตรขาดแคลนในทุกๆ พืน้ ทีเ่ ป็น ปัจจัยหลัก และประกาศค�ำสัง่ ของหน่วยงานภาครัฐให้ระงับการใช้
56
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
น�ำ้ ภาคเกษตร (โดยเฉพาะในลุม่ น�ำ้ ประเภทกลุม่ เกษตรกรท�ำนา) อีกทัง้ ราคาสินค้าเกษตรหลายๆชนิดมีราคาตกต�ำ่ ไม่คมุ้ กับต้นทุน การผลิตของเกษตรกร เช่น ข้าว ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง ยิง่ เป็น ตัวตอกย�ำ้ สภาวะการใช้ปจั จัยการผลิตของกลุม่ เกษตรให้นอ้ ยลง ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงเป็นเหตุให้ผผู้ ลิตวัสดุปรับปรุงดินในโรงงาน ขนาดต่างๆ อยู่ในลักษณะประคองตัวมากกว่ารุกตลาดหรือ ขยายตลาดเป็นเพียงการรักษาตลาดเดิมให้คงอยูเ่ ท่านัน้ ส่งผลให้ กลยุทธ์ตา่ งๆเพือ่ กระตุน้ การขาย กระตุน้ ยอดขาย สร้างแรงจูงใจ น�ำมาใช้กบั ภาวะปัจจุบนั ได้ไม่มากนัก
3. บริษทั ฯ มีการบริการทีด่ ใี นการจัดส่งวัสดุปรับปรุงดิน ถึงมือลูกค้า
การมองสภาพตลาดโดยรวมที่ ชั ด เจนจะสามารถ ก�ำหนดทิศทางวัตถุดบิ ในการผลิตขององค์กรทีม่ จี ำ� นวนมากได้ ซึ่งจ�ำเป็นต้องเห็นรายละเอียดต่างๆ ของตลาดอย่างแท้จริง โดยเฉพาะการก�ำหนดราคาขาย การวางแบรนด์สนิ ค้า เพือ่ ไม่ให้ กระทบการตลาดกันเองในตลาดกลุม่ ต่างๆภายหลัง
7. บริษัทฯ มีการส�ำรวจชาวไร่ที่เป็นคู่สัญญาของกลุ่ม โรงงานเกีย่ วกับช่วงความต้องการใช้วสั ดุปรับปรุงดิน ของ KTBF เพื่อก�ำหนดการผลิตให้เพียงพอกับช่วง ความต้องการ
วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : กลยุทธ์การแข่งขัน บริ ษั ท ฯ มี น โยบายให้ ช าวไร่ ที่ เ ป็ น คู ่ สั ญ ญาของ กลุม่ บริษทั ฯ ในเครือใช้วสั ดุปรับปรุงดินของ KTBF 1. บริษทั ฯ ร่วมกับชาวไร่วเิ คราะห์สภาพดินของพืน้ ทีใ่ นการ ใช้วสั ดุปรับปรุงดินของ KTBF 2. บริษัทฯ จ�ำหน่ายวัสดุปรับปรุงดินในราคาถูก เพราะ เนื่องจากบริษัทมีวัตถุดิบในการผลิตวัสดุปรับปรุงดิน เองซึง่ ท�ำให้สามารถช่วยเกษตรกรในการลดต้นทุนและ เพิม่ ผลผลิตบริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญเรือ่ งของบรรจุภณ ั ฑ์ โดยใช้กระสอบบรรจุทมี่ ถี งุ ด้านนอกและด้านใน พร้อมทัง้ ออกแบบสีสนั และความแข็งแรงทนทาน
4. มีการจัดกิจกรรมโดยเปิดให้ชาวไร่ได้เข้ามาดูวธิ กี ารผลิต และวิธกี ารน�ำไปใช้อย่างถูกต้อง 5. บริษัทฯได้มีการจัดท�ำแปลงสาธิตในพื้นที่เขตส่งเสริม เพือ่ ให้ชาวไร่ได้เห็นผลผลิตอย่างทัว่ ถึง 6. มีการจัดท�ำสือ่ โฆษณาและการประชาสัมพันธ์ทงั้ ทางด้าน คลืน่ วิทยุชมุ ชน
8. บริษัทฯ ได้ร่วมจัดโครงการวิจัยร่วมกับสถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เพือ่ ให้การ ผลิตของ บริษทั ได้มาตรฐานสร้างความเชือ่ มัน่ ต่อลูกค้า
วัสดุปรับปรุงดินชีวภาพ : ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย 1. จ�ำหน่ายให้กบั ชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญาของกลุม่ บริษทั ฯ 2. จ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้าทัว่ ไป 3. จ�ำหน่ายให้กบั ร้านค้า สหกรณ์การเกษตร และสกต. 4. จ� ำ หน่ า ยให้ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น เช่ น ประเทศลาว ประเทศพม่า
รายงานประจ�ำปี 2559
57
ปัจจัยความเสีย่ ง ความเสีย่ งเกีย่ วกับการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ 1. ความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ในปีทผี่ า่ นมา อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศค่อนข้างจะผันผวนมาก ส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจของบริษทั ฯ เนือ่ งจาก กว่าร้อยละ 60 ของรายได้กลุม่ บริษทั ฯ มาจากการส่งออกของธุรกิจน�ำ้ ตาลและธุรกิจต่อเนือ่ งทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม รวมถึงการลงทุน ในเครือ่ งจักรทีน่ ำ� เข้าจากต่างประเทศ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นสกุลเหรียญสหรัฐ
USD to THB Chart
30 Nov 2015 05:00 UTC - 28 Nov 2016 05:48 UTC USD/THB close:35.54377 low:34.54972 high:36.36097 36.5 36.0 35.5 35.0 34.5 Dec
Feb 16
Apr
Jun
Aug
Oct
ทีม่ า : www.xe.com XE Currency Converter : USD to THB
บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความเสีย่ งในเรือ่ งดังกล่าว จึงได้ จัดตัง้ คณะท�ำงานบริหารความเสีย่ งทางการเงิน เพือ่ ก�ำกับดูแล และก�ำหนดกรอบนโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน การวางแผนทางการเงินส�ำหรับการป้องกันผลกระทบอันอาจ เกิดขึน้ จากความเสีย่ งดังกล่าว โดยการใช้เครือ่ งมือทางการเงิน ต่างๆ ทั้งการท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) การท�ำสัญญาซือ้ ขายสิทธิในการซือ้ ขายเงิน ตราต่างประเทศ (Option Contract) การบริหารอัตราแลกเปลีย่ น แบบ Natural Hedge ซึ่งเป็นการน�ำเงินรายได้ที่เป็นสกุลเงิน ต่างประเทศมาจ่ายช�ำระค่าใช้จา่ ยทีเ่ ป็นเงินสกุลเดียวกัน รวมถึงมี การติดตามและวิเคราะห์ความเคลือ่ นไหวของภาวะเศรษฐกิจและ ปัจจัยต่าง ๆ ทีจ่ ะส่งผลกระทบต่ออัตราแลกเปลีย่ น เพือ่ ให้สามารถ บริหารจัดการได้อย่างเหมาะสมภายใต้สถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลง เนือ่ งจากการก�ำหนดราคาอ้อยในอุตสาหกรรมอ้อยและ น�ำ้ ตาลของประเทศไทย จะใช้ราคาจ�ำหน่ายโควตา ข. ทีบ่ ริษทั อ้อย และน�ำ้ ตาลไทย จ�ำกัด ได้ทำ� สัญญาขายน�ำ้ ตาลทรายล่วงหน้าและ อัตราแลกเปลีย่ นทีไ่ ด้ทำ� สัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เป็นปัจจัยหลัก ในการค� ำ นวณราคาอ้ อ ย ดั งนั้ น การบริ ห าร ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน จึงเป็นการบริหารความเสี่ยง ด้านต้นทุนค่าอ้อยด้วย ซึ่งบริษัทฯ จะใช้อัตราแลกเปลี่ยนของ บริษัทฯ อ้อยและน�้ำตาลไทย จ�ำกัด เป็นอัตราอ้างอิงในการ พิจารณาป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น 58
อย่ า งไรก็ ต าม การป้ อ งกั น ความเสี่ ย งจากอั ต รา แลกเปลี่ยนดังกล่าวอาจส่งผลกระทบในทางบวกหรือทางลบ ต่อผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ต้อง บันทึกบัญชีก�ำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งเป็นผลต่าง ระหว่าง การรับเงินจากการขายทีใ่ ช้สญ ั ญาขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้า โดยอ้างอิงจากบริษทั อ้อยและน�ำ้ ตาลไทย จ�ำกัด น�ำมา เปรียบเทียบกับอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันส่งมอบสินค้าที่บริษัทฯ ใช้บนั ทึกบัญชี ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ใช้หลักความระมัดระวังเพือ่ การ ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นหลัก และไม่ท�ำการ ในลักษณะเพือ่ การเก็งก�ำไร
ความเสีย่ งเกีย่ วกับธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายน�ำ้ ตาลทราย 1. ความเสีย่ งจากการผันผวนของราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลก น�้ ำ ตาลทรายเป็ น สิ น ค้ า ที่ มี ค วามผั น ผวนทางด้ า น ราคาสูงโดยราคาน�้ำตาลทรายในตลาดโลกจะขึ้นอยู่กับหลาย ปัจจัยทัง้ ปัจจัยด้าน fundamental เช่น สภาพอากาศ การผลิต การบริโภค และอุปสงค์-อุปทานของประเทศผู้ผลิตและประเทศ ผู้บริโภคท�ำให้ราคาน�้ำตาลโลกขึ้นลงตามความต้องการและ การคาดการณ์ของประเทศผูผ้ ลิตและประเทศผูบ้ ริโภค ปัจจัยด้าน Technical และปริมาณการเก็งก�ำไรของกองทุนฯ ต่างๆ ในตลาด ซือ้ ขายล่วงหน้า และปัจจัยด้านเศรษฐกิจพืน้ ฐานและราคาน�ำ้ มัน
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
เชือ้ เพลิงเนือ่ งจากน�ำ้ อ้อยรวมถึงกากน�ำ้ ตาลสามารถน�ำไปผลิต เป็นเอทานอลเพื่อใช้ผสมกับน�้ำมันเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับ รถยนต์ ปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ราคาซื้อขายน�้ำตาลทรายใน ตลาดโลกมีความผันผวนสูง ความผันผวนของราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดโลกอาจ ส่งผลกระทบต่อยอดขายของบริษัทฯได้ โดยเฉพาะในส่วนของ น�ำ้ ตาลทรายทีบ่ ริษทั ฯส่งออกให้กบั ลูกค้าต่างประเทศ ส�ำหรับใน ส่วนของน�ำ้ ตาลทรายทีบ่ ริษทั ฯขายในประเทศนัน้ ความผันผวน ของราคาน�้ำตาลทรายในตลาดโลกมิได้ส่งผลกระทบโดยตรง นอกจากนี้ราคาขายน�้ำตาลเป็นปัจจัยในการก�ำหนดราคาอ้อย ทีเ่ ป็นต้นทุนหลักของบริษทั ฯ หากราคาอ้อยลดลง ย่อมกระทบต่อ แรงจูงใจในการปลูกอ้อยของชาวไร่อ้อยเป็นห่วงโซ่ ดังนั้นจะมี ผลท�ำให้ชาวไร่อ้อยลดการปลูกอ้อย หรือลดการบ�ำรุงรักษา แปลงอ้อย ท�ำให้ปริมาณอ้อยเข้าสูก่ ารผลิตลดน้อยลง เพือ่ ลดความเสีย่ งจากความผันผวนของราคาน�ำ้ ตาล ในตลาดโลกดังกล่าว บริษทั ฯจึงก�ำหนดนโยบายในการก�ำหนด ราคาโดยมีกรอบปริมาณการก�ำหนดราคาอยูภ่ ายในอัตรามาก หรือน้อยกว่าไม่เกิน 10% ของปริมาณการท�ำราคาน�ำ้ ตาลของ โควต้าข. เพื่อให้มีความแตกต่างกันน้อยที่สุด เนื่องจากราคา น�ำ้ ตาลจะน�ำมาใช้ในการค�ำนวณราคาอ้อยซึง่ เป็นต้นทุนหลักของ การผลิตน�ำ้ ตาล นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารด�ำเนินงานก�ำกับการ ท�ำราคาน�ำ้ ตาลต่างประเทศในรูปแบบคณะท�ำงานทีป่ ระกอบด้วย ทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญและมีเจ้าหน้าที่ซึ่งมีความช�ำนาญ จากบริษทั เทรดดิง้ ระดับโลกร่วมด�ำเนินการอยูด่ ว้ ย นักวิเคราะห์ ในคณะท�ำงานดังกล่ า วท� ำ หน้ า ที่ ติ ดตามราคาน�้ ำ ตาลโลกใน ตลาดซือ้ ขายล่วงหน้า New York No 11 ตลาดซือ้ ขายน�ำ้ ตาล รีไฟน์ลว่ งหน้า London สถานการณ์เศรษฐกิจโลก ราคาน�ำ้ มัน ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ราคาน�้ ำ ตาล และติ ด ตาม Production consumption demand supply and stockเป็นประจ�ำทุกวัน 2. ความเสีย่ งจากมาตรการทางการค้าของประเทศคูค่ า้ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ส่งออกน�ำ้ ตาลทรายมากกว่าร้อยละ 60.0 ของยอดขายทัง้ หมด ซึง่ ประเทศทีบ่ ริษทั ฯส่งออกหลัก คือ ประเทศญีป่ นุ่ ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงมาตรการทางการค้าของ ประเทศคูค่ า้ โดยเฉพาะประเทศญีป่ นุ่ เช่น การเปลีย่ นแปลงนโยบาย ภาษี โควตาหรือกฎระเบียบของประเทศ หรือการเข้าร่วมเป็น กลุ่มสมาชิกทางการค้า อาจจะส่งผลกระทบต่อความสามารถ ในการแข่งขันของบริษัทฯ กระบวนการผลิต และรายได้ของ บริษทั ฯในตลาดส่งออกได้ บริษทั ฯจึงได้ตดิ ตาม ประเมินและก�ำหนด แนวทางในการด�ำเนินงานเพื่อป้องกันผลกระทบดังกล่าว โดย การติดตามข่าวสารของประเทศคูค่ า้ ต่างๆจากแหล่งต่างๆ อย่าง ต่อเนือ่ ง การท�ำสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าเพือ่ จะได้วางแผนการผลิต จั ด เก็ บ และส่ ง มอบได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง และได้ ร ่ ว มมื อ กั บ บริ ษั ท ซูมโิ ตโมคอร์ปอเรชัน่ ซึง่ เป็น Strategic Partner เพือ่ หาแนวทาง ลดผลกระทบ ตลอดจนแนวทางด�ำเนินการทีจ่ ะเป็นประโยชน์ทสี่ ดุ ต่อบริษทั ฯ
3. ความเสี่ยงจากการจัดหาวัตถุดิบอ้อยให้ตรงกับปริมาณ และคุณภาพทีต่ อ้ งการ ปี 2559 ในช่วงต้นปีถงึ เดือนพฤษภาคมปริมาณน�ำ้ ฝน ของประเทศไทยค่อนข้างน้อย แต่จากนั้นเป็นต้นมาตั้งแต่เดือน มิถุนายนมีปริมาณฝนตกในพื้นที่ส่งเสริมของบริษัทฯ มากและ สม�ำ่ เสมอ ประกอบกับการกระจายของฝนในทุกพืน้ ทีค่ อ่ นข้างดี ลักษณะเช่นนี้มีผลท�ำให้อ้อยที่บริษัทรับสัญญาและส่งเสริมไว้มี การเติบโตที่ดี และท�ำให้แหล่งน�้ำที่บริษัทฯสนับสนุนให้เกษตรกร ชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญาสร้างขึน้ มา ไม่วา่ จะโดยเงินเกีย๊ วของบริษทั ฯ เอง เงินสนับสนุนจากภาครัฐในโครงการประชารัฐ เงินกูด้ อกเบีย้ ต�ำ่ จากธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และเงินกู้ จากกองทุนอ้อยและน�้ำตาลทรายซึ่งบริษัทฯเป็นผู้ค�้ำประกัน เกษตรกรเหล่านีต้ อ่ สถาบันการเงิน แหล่งน�ำ้ เหล่านีม้ ปี ริมาณน�ำ้ เต็ม และสร้างประโยชน์ตอ่ อ้อยของเกษตรกรอย่างเต็มที่ ท�ำให้ปริมาณ อ้อยซึง่ เป็นวัตถุดบิ ทีส่ ำ� คัญในการท�ำน�ำ้ ตาล และโมลาสของโรงงาน น�ำ้ ตาลของบริษทั ฯมีมากตามไปด้วย นอกจากนีย้ งั มีมาตรการ ต่างๆ ที่บริษัทฯด�ำเนินการเพื่อลดความเสี่ยงด้านปริมาณอ้อย มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและส่ ง ผลดี ยิ่ ง ในปี ที่ ป ริ ม าณอ้ อ ยเพี ย งพอ ไม่ว่าจะเป็นการขยายจ�ำนวนชาวไร่คู่สัญญามากรายมากพื้นที่ ขยายหน่วยส่งเสริมเพือ่ ให้บริการและดูแลชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญา ในด้านคุณภาพอ้อยนัน้ การทีอ่ อ้ ยเจริญเติบโตสม�ำ่ เสมอ ได้รับน�้ำอย่างเพียงพอในช่วงที่อ้อยต้องการน�้ำย่อมท�ำให้อ้อย สมบูรณ์และมีคุณภาพความหวานในเนื้ออ้อยที่ดีตามไปด้วย บริษัทฯ ได้จัดท�ำโครงการลดสิ่งเจือปนและสิ่งปนเปื้อนที่มากับ อ้อยโครงการให้ความรู้ในการตัดอ้อยด้วยรถตัด โครงการให้ ความรู้ในการขับรถคีบอ้อย โครงการตรวจสภาพรถตัดอ้อย และรถคีบอ้อย เหล่านีเ้ ป็นมาตรการเพิม่ เติมเพือ่ ให้คณ ุ ภาพอ้อย ทีน่ ำ� เข้าหีบยังโรงงานน�ำ้ ตาลของบริษทั ฯ เป็นไปด้วยดี ประกอบกับ มาตรการลดความเสีย่ งในด้านคุณภาพอ้อยทีบ่ ริษทั ฯ ด�ำเนินการ มาอย่างต่อเนือ่ งได้สง่ ผลดีตอ่ คุณภาพอ้อย เช่น การคัดเลือกแปลง ตัดตามข้อมูลสารสนเทศ การตรวจวัดคุณภาพอ้อยก่อนตัด โครงการ CHDP(CANE HARVESTER DEVELOPMENT PLAN) การไม่ตัดอ้อยค้างไร่ และการรณรงค์ตัดอ้อยสด มาตรการ เหล่านีส้ ง่ ผลดีตอ่ คุณภาพอ้อยเป็นอย่างมาก 4. ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายภาครัฐ กระทรวงอุตสาหกรรมได้เสนอแผนปรับโครงสร้าง อุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลทรายทั้งระบบ ซึ่งได้ยื่นเรื่องเข้าที่ ประชุมคณะรัฐมนตรีและผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว เมือ่ วันอังคารที่ 11 ตุลาคม 2559 มีบทสรุปใน 5 ประเด็นหลัก ได้แก่ การปรับปรุงพระราชบัญญัติอ้อยและน�้ำตาลทราย รวมทัง้ กฎหมายและระเบียบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องให้ครอบคลุมการ น�ำอ้อยไปผลิตเอทานอลและผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ได้ ย่อมส่งผลดีตอ่ การด�ำเนินกิจการของบริษทั ฯ เพราะท�ำให้เกิดความคล่องตัวใน การด�ำเนินงาน อีกทัง้ ยังสามารถท�ำให้บริษทั ฯ ต่อยอดทางธุรกิจ เพือ่ เพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ทมี่ าจากอ้อย และท�ำให้มที างเลือกมากขึน้ กว่าเดิมทีผ่ ลิตเป็นน�ำ้ ตาลอย่างเดียว ในขณะเดียวกันอาจส่งผล ท�ำให้เกิดการแย่งชิงอ้อยและมีการแข่งขันที่สูงขึ้น บริษัทฯ ได้มี มาตรการเพือ่ ลดความเสีย่ งตามทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ในหัวข้อ ความเสีย่ ง จากการจัดหาวัตถุดิบอ้อยให้ตรงกับปริมาณและคุณภาพที่ ต้องการไว้แล้ว รายงานประจ�ำปี 59 2559
การเพิม่ ผลิตภาพอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย ซึง่ จะส่งผลดี กับเกษตรกรชาวไร่ออ้ ยและบริษทั ฯ โดยเฉพาะการลดปริมาณอ้อย ไฟไหม้ภายใน 5 ปีต้องไม่มี รวมถึงการส่งเสริมการท�ำเกษตร สมัยใหม่ ซึ่งเรื่องดังกล่าวที่ผ่านมาก็เป็นนโยบายของบริษัทฯ ในการด�ำเนินงานทางด้านนีอ้ ยูแ่ ล้ว แต่ปญ ั หายังมีอยูพ ่ อสมควร ไม่ว่าปัญหาแรงงานตัดอ้อย ซึ่งหากตัดอ้อยสดทั้งหมดจ�ำเป็น ต้องใช้ปริมาณแรงงานตัดอ้อยเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ในเรื่องนี้ บริษทั ฯ จึงให้ความส�ำคัญต่อการลงทุนรถตัดอ้อยทัง้ ในส่วนของ บริษทั ฯ เอง และในส่วนทีส่ ง่ เสริมชาวไร่ออ้ ย ในปัจจุบนั รถตัดอ้อย ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาตามล�ำดับท�ำให้ประสิทธิภาพในตัดดีขึ้น และ ราคาก็ถกู ลง นอกจากนัน้ ยังมีขนาดต่างๆ ให้เลือกใช้ตามความ เหมาะสมอีกด้วย บริษทั ฯ ได้มมี าตรการก�ำหนดนโยบายในการ เพิม่ ปริมาณรถตัดทัง้ สองส่วนคือในส่วนของบริษทั ฯ และในส่วน ของชาวไร่ อีกทัง้ ยังรณรงค์ให้สมาคมและชาวไร่ให้เห็นประโยชน์ ของอ้อยสด สำ� หรับการท�ำการเกษตรสมัยใหม่ เป็นการท�ำเกษตร แปลงใหญ่ทใี่ ช้เครือ่ งจักรกลเกษตรเข้ามาช่วยเพือ่ ลดต้นทุนในการ ท�ำอ้อย บริษทั ฯจะเป็นผูป้ ระสานให้ชาวไร่ได้รวมตัวกันท�ำเกษตร แปลงใหญ่ และจะสนับสนุนช่วยเหลือในการจัดหาเครือ่ งจักรกล เกษตรพร้อมทั้งค�ำแนะน�ำและเป็นที่ปรึกษาให้แก่ชาวไร่คู่สัญญา เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายในเรือ่ งนีต้ อ่ ไป การก�ำหนดต้นทุนมาตรฐานอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย และ มาตรฐานการผลิตน�ำ้ ตาลทราย ในเรือ่ งนีม้ เี ป้าหมายในการก�ำหนด มาตรฐานในการผลิตน�ำ้ ตาลทรายของโรงงาน ซึง่ เรือ่ งนีย้ งั ต้องมี การก�ำหนดรายละเอียดต่างๆ ก่อนทีจ่ ะบังคับใช้ให้เรียบร้อยก่อน ขณะเดียวกันบริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายในการเพิม่ ประสิทธิภาพ การผลิตให้สงู ขึน้ โดยการส�ำรวจเครือ่ งจักรอุปกรณ์ตา่ งๆ ซงึ่ อาจ จะต้องมีการลงทุนเพิม่ เติมบ้าง รวมถึงกระบวนการผลิตทีจ่ ะต้อง พัฒนาให้ดขี นึ้ กว่าเดิม การรักษาเสถียรภาพกองทุนอ้อยและน�้ำตาลทราย จะส่งผลดีตอ่ การพัฒนาระบบอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย เพราะจะเป็นหน่วยงานทีใ่ ห้การสนับสนุนการวิจยั และพัฒนา อีกทัง้ ยังเป็นหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนช่วยเหลือชาวไร่ทางด้าน การเงินในการให้สนิ เชือ่ ในอัตราดอกเบีย้ ต�ำ่ ส�ำหรับการแก้ปญ ั หา ภัยแล้งและการลงทุนซือ้ รถตัดอ้อยเพือ่ แก้ปญ ั หาเรือ่ งอ้อยไฟไหม้ และแก้ปญ ั หาการชาดแคลนแรงงาน การจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อย และน�้ำตาลทราย ส�ำหรับเรื่องนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบ เป็นอย่างยิง่ เพราะจะเป็นการเพิม่ ศักยภาพและขีดความสามารถ ในการแข่งขัน รวมถึงการก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ เพือ่ ก่อให้เกิด มูลค่าเพิม่ ของผลิตภัณฑ์ และยังเป็นการบูรณาการงานวิจยั และ พัฒนาให้เชือ่ มโยงกับหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องได้อกี ด้วย
60
5. ความเสี่ยงจากการเกิดหนี้เสียจากกระบวนการให้สินเชื่อ ชาวไร่ออ้ ย (เงินเกีย๊ ว) ในการรับสัญญาและให้การส่งเสริมในการสร้างอ้อย ของเกษตรกรชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญา บริษทั ฯได้ให้สนิ เชือ่ ในรูปเงิน เกีย๊ ว ปุย๋ ยา และอืน่ ๆ เพือ่ ให้เกษตรกรชาวไร่ออ้ ยได้รบั สินเชือ่ ทีเ่ หมาะสมในการสร้างอ้อย บริษทั ฯ จะมีมาตรการต่างๆ ทีร่ ดั กุม ในการให้สนิ เชือ่ แก่ชาวไร่ออ้ ย การคัดเลือกตัวชาวไร่ทส่ี มควรได้รบั สินเชื่อสนับสนุนการท�ำอ้อยโดยดูจากความตั้งใจ ความจริงใจ ความสามารถ และหลักทรัพย์คำ�้ ประกัน อย่างไรก็ตามยังคงมี ความเสี่ยงที่จะเก็บหนี้สินไม่หมดอันเกิดจากดินฟ้าอากาศหรือ ความไม่ซอื่ สัตย์ของเกษตรกร เพือ่ บรรเทาปัญหาดังกล่าวบริษทั ฯ ได้เสริมมาตรการเพือ่ ควบคุมความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท�ำให้สามารถระบุแปลงอ้อย แต่ละแปลงที่ขอรับเงินส่งเสริมได้อย่างแม่นย�ำ การถ่ายรูปให้ คณะกรรมการสินเชือ่ ได้เห็นสภาพอ้อยในแปลงดังกล่าวประกอบ การพิจารณาจ่ายเงินส่งเสริม การตรวจสอบการด�ำเนินการ เพือ่ ลดความเสีย่ งในการส่งเสริมทัง้ โดยหน่วยตรวจสอบในฝ่าย ไร่โรงงานน�ำ้ ตาลเองและโดยฝ่ายตรวจสอบภายในของส�ำนักงาน ใหญ่ท�ำให้มั่นใจได้ว่าการจ่ายส่งเสริมทุกรายการเป็นไปตาม กระบวนการให้สนิ เชือ่ โดยอาศัยมาตรการควบคุมเหล่านี้ การป้องกัน อ้อยที่ส่งเสริมไปส่งให้โรงงานน�้ำตาลอื่น ในด้านการประมาณ ผลผลิตอ้อยในแต่ละแปลงเพือ่ ค�ำนวณปริมาณอ้อยของชาวไร่ออ้ ย ทีจ่ ะน�ำมาสูก่ ารคืนหนีท้ ใ่ี ห้สนิ เชือ่ ไปนี้ บริษทั ฯได้นำ� ความรูใ้ นการ พยากรณ์ปริมาณอ้อยของนักวิชาการ ข้อมูลน�ำ้ ฝน ข้อมูลปัจจัย การผลิต และข้อมูลต่างๆ ในแปลงอ้อยดังกล่าว มาประกอบกัน ท�ำให้สามารถค�ำนวณปริมาณอ้อยที่จะส่งเข้าหีบและการคืนหนี้ ได้อย่างแม่นย�ำ ชาวไร่รายใดที่คาดค้างหนี้ก็มีมาตรการเพื่อ ด�ำเนินการลดความเสีย่ งทีจ่ ะเป็นหนีเ้ สียก่อนถึงฤดูการเก็บเกีย่ ว จริง มาตรการเหล่านีล้ ดการเกิดหนีเ้ สียในการให้สนิ เชือ่ ชาวไร่ออ้ ย ของบริษทั ฯ ลงได้มาก
ความเสี่ยงเกี่ยวกับธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าและ เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบ (ชานอ้อย) ในการผลิต กระแสไฟฟ้าและเยือ่ กระดาษ การเติบโตทางธุรกิจของบริษทั ฯ ยังคงให้ความส�ำคัญ และมุ่งเน้นไปที่ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้กับการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตและการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ซึง่ ในปี 2560 บริษทั ฯ ด� ำ เนิ น การผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยกระแสไฟฟ้ า ให้ กั บ การไฟฟ้ า ฝ่ายผลิต 3 แห่ง ได้แก่ KTBP มีกำ� ลังการผลิต 60 MW TEP มีกำ� ลัง การผลิต 50 MW และ RPBP มีกำ� ลังการผลิต 50 MW ตามล�ำดับ ทัง้ นีร้ ะบบการผลิตกระแสไฟฟ้าทัง้ 3 แห่ง เป็นระบบทีใ่ ช้ชวี มวล เป็นเชือ้ เพลิง โดยวัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้เป็นเชือ้ เพลิงยังคงได้แก่ชานอ้อย ซึ่ ง เป็ น ผลพลอยได้ จ ากการหี บ อ้ อ ยเพื่ อ ผลิ ต น�้ ำ ตาลทราย ดังนัน้ ปริมาณชานอ้อยทีเ่ หลือในแต่ละปีจะมีปริมาณมากหรือน้อย
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
คงขึ้นอยู่กับปริมาณอ้อยที่เข้าหีบ และประสิทธิในการประหยัด พลังงานเป็นหลัก ในการขยายการเติบโตธุรกิจผลิตและจ�ำหน่าย กระแสไฟฟ้านั้น วัตถุดิบที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงจึงมีความส�ำคัญและ มีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ นอกจากนัน้ บริษทั ฯยังด�ำเนินธุรกิจผลิต เยือ่ กระดาษจากชานอ้อยอีกหนึง่ แห่ง ดังนัน้ การจัดสรรชานอ้อย ส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจผลิตเยื่อกระดาษและธุรกิจผลิตและ จ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าจึงต้องมีการบริหารจัดการที่เหมาะสม ความผันผวนหรือความไม่แน่นอนของปริมาณอ้อยในแต่ละปี จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญทีอ่ าจก่อให้เกิดความเสีย่ งต่อการด�ำเนินงาน ของบริษทั ฯ ได้ บริษัทฯ จึงได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันความเสี่ยงใน เรื่องดังกล่าว โดยเริ่มจากการส่งเสริมขยายผลผลิตอ้อยทั้ง แนวราบและแนวดิ่ง โดยหามาตรการในการเพิ่มผลผลิตตันต่อ ไร่ให้สูงขึ้นและขยายพื้นที่ในการเพาะปลูกให้มากขึ้น บริษัทฯ ได้ ด�ำเนินการศึกษาและวิจัยในการปลูกพืชพลังงานทดแทนต่างๆ เช่น เนเปียร์, ต้นอ้อ, ต้นพง และพืชพลังงานอืน่ ซึง่ จะก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อเกษตรกรชาวไร่อ้อย, ต่อการผลิตน�้ำตาล, ต่อ การผลิตกระแสไฟฟ้า, ต่อชุมชน และต่อส่วนรวมของประเทศ ชาติ ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ มั่ น ใจว่ า จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น คงต่ อ ธุ ร กิ จ ผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยกระแสไฟฟ้ า ของบริ ษั ท ฯ ต่ อ ไปในอนาคต อย่างยัง่ ยืน ส�ำหรับการผลิตเยือ่ กระดาษ บริษทั ฯ ได้ทำ� การศึกษา วัตถุดบิ ชนิดอืน่ ทีจ่ ะน�ำมาใช้ทดแทนชานอ้อย เช่น อ้อยพลังงาน, เนเปียร์, ผักตบชวา เป็นต้น และในปี 2560 บริษทั ฯ จะเริม่ ทดลอง ผลิตเยื่อจากปอกระเจา หลังจากที่ได้ทดสอบแล้วว่าสามารถ ผลิตได้ภายใต้ต้นทุนที่เหมาะสมและมีคุณภาพเป็นไปตามความ ต้องการของตลาด นอกจากนั้นบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการผลิต บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมจากเยื่อกระดาษของบริษัทฯ ซึ่งก่อ ให้เกิดมูลค่าเพิม่ บริษทั ฯ ยังคงมุง่ เน้นและให้ความส�ำคัญในการ ปรับปรุงเครือ่ งจักรและกระบวนการผลิตเพือ่ หาทางเพิม่ Yield ในการผลิต และลด Loss อย่างต่อเนือ่ ง จากการที่ชานอ้อยมีความส�ำคัญเป็นอย่างมากต่อ ธุรกิจผลิตเยือ่ กระดาษ และธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้า บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายอย่างต่อเนือ่ งในการลดการใช้พลังงาน ความร้อนและพลังงานไฟฟ้าในส่วนของโรงงานน�้ำตาล โดย การปรับปรุงเครื่องจักรอุปกรณ์ และกระบวนการท�ำงานเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพก่อให้เกิดประสิทธิผล ซึง่ นโยบายดังกล่าวเป็น การวางแผนระยะกลางได้ถกู ก�ำหนดขึน้ มาตัง้ แต่ปี 2557-2560 ทัง้ นีจ้ งึ ท�ำให้ในแต่ละปีจะมีชานอ้อยเหลือมากขึน้ ตามล�ำดับ
ความเสีย่ งเกีย่ วกับธุรกิจผลิตและจัดจ�ำหน่ายเอทานอล ความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนของนโยบายภาครัฐ เอทานอลเป็นเชือ้ เพลิงชีวภาพ (Biofuel) ทีไ่ ด้รบั การ ส่งเสริมอย่างชัดเจน โดยได้ถกู ระบุถงึ เป้าหมายการใช้เอทานอล เป็นส่วนผสมของน�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ในแผนพัฒนาพลังงานทดแทน (AEDP) ทุกฉบับ ปัจจุบันการใช้เอทานอลภายในประเทศอยู่ที่ วันละ 3.5 ล้านลิตร และจะเพิม่ เป็น 11.3 ล้านลิตรตามแผน AEDP ในปี พ.ศ. 2579 อย่างไรก็ดี ในบางช่วงเวลา การเติบโตของการใช้ เอทานอลอาจไม่สอดคล้องกับก�ำลังผลิต ท�ำให้เกิดภาวะขาดแคลน หรือล้นตลาดขึน้ ได้ ภาวะขาดแคลนอาจเกิดขึน้ จากการใช้เอทานอล สูงขึ้นอย่างฉับพลันโดยไม่ได้คาดคิดมาก่อน จะส่งผลให้ราคา เอทานอลสูงขึน้ และราคาวัตถุดบิ แพงขึน้ การทีม่ วี ตั ถุดบิ กากน�ำ้ ตาล จากโรงงานน�้ำตาลในกลุ่มบริษัทฯ อย่างเพียงพอ จะช่วยลด ความเสีย่ งจากการขาดแคลนวัตถุดบิ ภาวะขาดแคลนอันเนือ่ งมาก จากโรงงานเอทานอลอืน่ ๆ หลายโรงงาน ไม่สามารถผลิตในระดับ ปกติได้ ก็อาจท�ำให้มีค�ำสั่งซื้อพิเศษในราคาแพง ซึ่งกลับจะเป็น โอกาสดีหากสามารถเร่งผลิตเพิม่ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ เร่งด่วนนัน้ แต่ถา้ หากเกิดภาวะล้นตลาดขึน้ การเจรจากับภาครัฐ เป็นสิง่ จ�ำเป็น สมาคมการค้าผูผ้ ลิตเอทานอลไทยทีเ่ ป็นสมาชิกอยู่ จะเป็นหน่วยงานทีเ่ ข้าหารือกับหน่วยงานรัฐทีร่ บั ผิดชอบ เช่น ส�ำนัก นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) ให้เร่งเพิม่ ปริมาณการใช้เอทานอล ให้สอดคล้องกับก�ำลังผลิต โดยใช้กลไกราคาขายปลีกน�้ำมัน เชื้อเพลิงแต่ละชนิด ปริมาณเงินเรียกเก็บเข้าและจ่ายออกจาก กองทุนน�้ำมัน เพื่อเพิ่มยอดจ�ำหน่ายน�้ำมันแก๊สโซฮอล์ชนิดที่มี ส่วนผสมเอทานอลสูง ได้แก่ น�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ E20 และ E85 อย่างไรก็ดี หากสถานการณ์เอทานอลเชื้อเพลิงใน ประเทศตกต�ำ่ ลง กลุม่ บริษทั ฯ ยังมีความสามารถผลิตแอลกอฮอล์ คุณภาพสูงส�ำหรับตลาดต่างประเทศ มีความสัมพันธ์ตอ่ เนือ่ งกับ ผูค้ า้ เอทานอลระหว่างประเทศ มีทา่ เรือส่งออกพร้อมถังพักสินค้า ระหว่างรอการส่งออก และความช�ำนาญในขัน้ ตอนการส่งออก ทีไ่ ด้เคยปฏิบตั มิ าแล้วหลายครัง้ ทัง้ หมดนีจ้ ะเป็นมาตรการลดความเสีย่ งอันเนือ่ งมาจาก นโยบายรัฐทีเ่ ปลีย่ นแปลงจนเกิดผลกระทบทีไ่ ม่พงึ ปรารถนาขึน้ ให้ บรรเทาเบาบางลงจนเสียหายต่อธุรกิจน้อยทีส่ ดุ หรือไม่เสียหายเลย
รายงานประจ�ำปี 2559
61
ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ อื หุน้ หลักทรัพย์ของบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริษทั ฯ มีทนุ จดทะเบียน 3,888,000,010 บาท และทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 3,860,000,010
บาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 3,888,000,010 หุน้ มูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท
ผูถ้ อื หุน้
รายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดงั นี้ ลำ�ดับที่
ชือ่ – สกุล
จำ�นวนหุน้
สัดส่วนการถือหุน้ (%)
1,360,800,000
35.254
1
บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จำ�กัด2
2
บริษทั 3 เอส โฮลดิง้ จำ�กัด1
972,000,010
25.181
3
BANK OF SINGAPORE LIMITED
243,638,600
6.312
4
นายศิรภาคย์
190,698,000
4.940
5
DBS BANK LTD
128,000,000
3.316
6
นายศิรพัทธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
120,892,900
3.132
7
นายภูมฤิ กษ์
หวังปรีดาเลิศกุล
114,646,200
2.970
8
กลุม่ บริษทั KING WAN CORPORATION LIMITED KING WAN CORPORATION KING WAN INDUSTRIES PTE. LTD. นายอาณัติ เรืองกูล
113,168,000 87,267,000 25,901,000 50,470,300
2.932 2.261 0.671 1.308
52,109,826 45,765,826 6,344,000 3,346,423,836
1.350 1.186 0.164 86.695
9 10
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กลุม่ นางเนาวรัตน์ หวังปรีดาเลิศกุล นางเนาวรัตน์ หวังปรีดาเลิศกุล นายสุพจน์ หวังปรีดาเลิศกุล รวม
*หมายเหตุ
(1.) บริษทั 3 เอส โฮลดิง้ จ�ำกัด มีทนุ จดทะเบียน 972,467,000 บาท แบ่งออกเป็น 9,724,670 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท มีทนุ ทีเ่ รียกช�ำระแล้ว 9,724,670 หุน้ คิดเป็น 972,467,000 บาท ประกอบธุรกิจการลงทุนถือหุน้ ในกิจการอืน่ (Holding Company) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ทีป่ รากฏในสมุดทะเบียนหุน้ มีดงั นี้
ลำ�ดับที่
ชือ่ – สกุล
สัดส่วนการถือหุน้ (%)
1
บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จำ�กัด2
6,807,261
69.8
2
ซูมโิ ตโม คอร์ปอเรชัน่
2,431,173
25.2
3
บริษทั นิสชิน ชูการ์ จำ�กัด
486,234
5.0
4
ผูถ้ อื หุน้ อืน่ ๆ
2
0.0
9,724,670
100.0
รวม 62
จำ�นวนหุน้
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(2.) บริษทั หทัยจรูญเอกโฮลดิง้ จ�ำกัด มีทนุ จดทะเบียน 22,725,000,000 บาท แบ่งออกเป็น 909 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 25,000,000บาท มีทนุ ทีเ่ รียกช�ำระแล้ว 909 หุน้ คิดเป็น 22,725,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ทีป่ รากฏในสมุดทะเบียนหุน้ มีดงั นี้
ลำ�ดับที่
ชือ่ – สกุล
จำ�นวนหุน้
สัดส่วนการถือหุน้ (%)
1
นางสาวณฐญา
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
133
14.6
2
นางสาวศิรอาภา
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
93
10.2
3
นายปริญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
77
8.5
4
นายศิรภาคย์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
69
7.6
5
นายศิรพัทธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
69
7.6
6
นายภูมฤิ กษ์
หวังปรีดาเลิศกุล
65
7.2
7
นายภูมริ ฐั
หวังปรีดาเลิศกุล
63
6.9
8
นายประสงค์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
54
5.9
9
นางสาวสายศิริ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
53
5.8
10
นายปรัชญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
50
5.5
11
นายปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
50
5.5
ผูถ้ อื หุน้ อืน่ ๆ
133
14.7
รวม
909
100.0
ข้อตกลงระหว่างกลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ในเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรือการบริหารงาน ของบริษทั ฯ โดยทีข่ อ้ ตกลงดังกล่าวมีบริษทั ฯ ร่วมลงนามอยูด่ ว้ ย
-ไม่ม-ี
การออกหลักทรัพย์อนื่ ชือ่ หลักทรัพย์ :
KTIS-WA ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ทีอ่ อกและเสนอขายให้กบั ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ
ประเภท/ชนิด :
ระบุชื่อผู้ถือและโอนเปลี่ยนมือไม่ได้ เว้นแต่ ถึงแก่กรรม สาบสูญ เจ็บป่วยอย่างร้ายแรง หรือ ทุพพลภาพ หรือเหตุอนื่ ๆ ทีฝ่ า่ ยจัดการ (ผูบ้ ริหารและคณะกรรมการ) ของบริษทั ฯ อนุมตั ใิ ห้ทายาท หรือบุคคลอืน่ ใช้สทิ ธิแทนได้
อายุของใบสำ�คัญแสดงสิทธิฯ :
5 ปี นับแต่วนั ออกและเสนอขาย
จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิฯ :
ไม่เกิน 28,000,000 หน่วย
ราคาเสนอขายต่อหน่วย :
เท่ากับ 0 บาท (ศูนย์บาท)
จำ�นวนหุน้ สามัญทีจ่ ดั สรรไว้ :
เท่ากับจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ ทีอ่ อก และเสนอขายเพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิ (ไม่เกิน 28,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ รา 1 บาทต่อหุน้ )
อัตราการใช้สทิ ธิ :
ใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ 1 หน่วย มีสทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ (เว้นแต่มกี ารปรับอัตราการใช้สทิ ธิ ในภายหลัง ซึง่ พนักงานฯ จะไม่ดอ้ ยสิทธิกว่าเดิม)
ราคาการใช้สทิ ธิ :
เท่ากับราคาเสนอขายหุน้ สามัญต่อประชาชนครัง้ แรก (10.00 บาทต่อหุน้ )
ตลาดรองของหุน้ สามัญ :
บริษัทฯจะน�ำหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
วันทีม่ ปี ระกาศใช้ :
1 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วันทีค่ รบกำ�หนด :
30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
รายงานประจ�ำปี 2559
63
วิธกี ารจัดสรร :
จัดสรรโดยตรงให้กบั ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ำ� หนดในสรุปสาระ ส�ำคัญของการออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิให้แก่ผบู้ ริหารและพนักงาน บริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ย่อย
เหตุในการต้องออกหุน้ ใหม่ เมือ่ มีการด�ำเนินการปรับราคาการใช้สทิ ธิตามเงือ่ นไขการปรับสิทธิตามทีก่ ำ� หนดในข้อก�ำหนด เพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงการใช้สทิ ธิ : สิทธิและเงือ่ นไขของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ซึง่ เป็นเหตุการณ์ทกี่ ำ� หนดไว้ตามประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต. สิทธิและประโยชน์อย่างอืน่ นอกจาก -ไม่ม-ี สิทธิ และประโยชน์ตามปกติของหุน้ สามัญ : วันกำ�หนดการใช้สทิ ธิ :
ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ได้ในทุกวันท�ำการสุดท้ายของ เดือนเมือ่ ครบระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน นับแต่วนั ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ทัง้ นี้ วันก�ำหนดการใช้สทิ ธิ ครัง้ สุดท้าย จะตรงกับระยะเวลา 5 วันท�ำการก่อนวันทีใ่ บส�ำคัญแสดงสิทธิมอี ายุครบ 5 ปี นับแต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ เว้นแต่ ในกรณีทผ่ี บู้ ริหารและพนักงานไม่สามารถใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิได้ดงั ทีก่ ำ� หนด ไว้ในเงื่อนไขในการใช้สิทธิ ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิสามารถที่จะใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ ทีอ่ อกใหม่ของบริษทั ฯ เมือ่ ครบระยะเวลา 4 ปี 6 เดือน นับแต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายใบ ส�ำคัญแสดงสิทธิ ตามวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิ
การใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญ :
ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิซึ่งประสงค์ที่จะใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ จะต้องแจ้ง ความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ในระหว่างเวลา 9.00 ถึง 15.00 น. ภายใน 5 วันท�ำการก่อนวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิในแต่ละครัง้ ในกรณีทวี่ นั ก�ำหนดการใช้สทิ ธิตรง กับวันหยุดท�ำการของบริษัทฯ ให้เลื่อนวันก�ำหนดการใช้สิทธิดังกล่าวเป็นวันท�ำการสุดท้าย ก่อนหน้าวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ ดังกล่าว (ต่อไปนีเ้ รียกว่า “ระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการ ใช้สทิ ธิ”) ยกเว้นการแสดงความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย ให้แสดงความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิ ในระหว่าง 15 วันท�ำการก่อนวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย (ต่อไปนีเ้ รียกว่า “ระยะเวลาการ แจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย”) บริษทั ฯ จะแจ้งข่าวเตือน และรายละเอียดเพิม่ เติม (หากมี) เกีย่ วกับระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนง ในการใช้สทิ ธิ ระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย อัตราการใช้สทิ ธิ ราคาการ ใช้สทิ ธิ ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ รายละเอียดบัญชีธนาคารเพือ่ การจองซือ้ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ และ สถานทีท่ ตี่ ดิ ต่อในการใช้สทิ ธิ โดยวิธตี ดิ ประกาศ ณ ส�ำนักงานใหญ่ของบริษทั ฯ หรือท�ำเป็นหนังสือ จัดส่งตามหน่วยงานทีผ่ ถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิสงั กัดอยู่ หรือส่งเป็นจดหมายอิเล็กทรอนิคส์ให้ ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทราบอย่างน้อย 7 วันท�ำการก่อนระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้ สิทธิในแต่ละครัง้
ระยะเวลาการแจ้งความจำ�นงในการ ใช้สทิ ธิ :
ส�ำหรับวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้าย บริษทั ฯ จะส่งรายละเอียดดังกล่าวให้กบั ผูถ้ อื ใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ โดยท�ำเป็นหนังสือจัดส่งตามหน่วยงานทีผ่ ถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิสงั กัดอยูห่ รือส่งเป็น จดหมายอิเล็กทรอนิคส์ลว่ งหน้า 15 วันท�ำการก่อนระยะเวลาการแจ้งความจ�ำนงในการใช้สทิ ธิ ครัง้ สุดท้ายด้วย
เงือ่ นไขในการใช้สทิ ธิ :
• ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิจะต้องมีสถานะเป็นผูบ้ ริหารและพนักงานในวันก�ำหนดการใช้สทิ ธินนั้ ยกเว้นในกรณีทรี่ ะบุในข้อต่อไป
• กรณีทไี่ ด้รบั ยกเว้นมีดงั นี้ (ก) ในกรณีที่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิพ้นสภาพการเป็นผู้บริหารและพนักงาน เนื่องจาก ถึงแก่กรรม สาบสูญ เจ็บป่วยอย่างร้ายแรง หรือทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติงานได้ อีกต่อไป หรือเหตุอนื่ ใดทีฝ่ า่ ยจัดการพิจารณาเห็นสมควรให้บคุ คลดังกล่าว หรือทายาท หรือผู้ พิทกั ษ์ หรือ ผูอ้ นุบาลของบุคคลดังกล่าว สามารถใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิแทนผูบ้ ริหาร และพนักงานดังกล่าวได้จนครบอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิทไี่ ด้รบั จัดสรรนัน้ (ข) กรณีทพ ี่ น้ สภาพจากการเป็นผูบ้ ริหารและพนักงานเนือ่ งจากการเกษียณอายุ สามารถใช้สทิ ธิ ซือ้ หุน้ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวได้จนครบอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิทไี่ ด้รบั การจัดสรร (ค) กรณีทพ ี่ น้ สภาพจากการเป็นผูบ้ ริหารและพนักงาน เนือ่ งจากการถูกเลิกจ้างหรือปลดออก โดยไม่มีความผิดหรือการพ้นสภาพการเป็นผู้บริหารและพนักงานซึ่งเป็นผลเนื่องมาจาก 64
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การเปลี่ยนแปลงอ�ำนาจการควบคุมในบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ให้อยู่ในดุลยพินิจของฝ่าย จั ด การในการก� ำ หนดให้ มี ก ารใช้ สิ ท ธิ ต ามใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ ผู ้ บ ริ ห ารหรื อ พนั ก งาน ได้รบั ตามทีเ่ ห็นสมควรและเหมาะสมเป็นรายกรณีไป
• เว้นแต่ฝ่ายจัดการจะก�ำหนดเป็นอย่างอื่น ในกรณีที่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิพ้นสภาพ
จากการเป็นผูบ้ ริหารและพนักงานเนือ่ งจากการลาออก หรือถูกไล่ออก หรือถูกเลิกจ้าง หรือ ปลดออกโดยมีความผิด ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิจะไม่สามารถใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ ได้รบั จัดสรรอีก และผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิตอ้ งคืนใบส�ำคัญแสดงสิทธิในส่วนทีย่ งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิ ทัง้ หมดทีถ่ อื อยูใ่ ห้แก่บริษทั ฯ โดยทันที เพือ่ ให้ฝา่ ยจัดการน�ำไปจัดสรรให้แก่ผบู้ ริหารและพนักงาน ของบริษทั ฯ /หรือบริษทั ย่อยรายอืน่ ตามความเหมาะสมต่อไป
• หากผู้บริหารและพนักงานไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิหรือใช้สิทธิ
ไม่ครบถ้วนและใบส�ำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวครบอายุตามที่ก�ำหนดแล้ว ให้ถือว่าผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อยสละสิทธิการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดง สิทธิที่เหลือดังกล่าว โดยผู้บริหารและพนักงานดังกล่าวไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ จากบริษทั ฯ
• ฝ่ายจัดการมีอำ� นาจโดยสมบูรณ์ ในการพิจารณาก�ำหนดหรือแก้ไขเงือ่ นไขในการใช้สทิ ธิตามใบ ส�ำคัญแสดงสิทธิซงึ่ อาจแตกต่างไปจากทีไ่ ด้ระบุมาข้างต้นได้
นายทะเบียนของใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั บริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น ไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 50.0 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการ ทีเ่ หลือหลังจากหักเงินส�ำรองต่างๆ ทุกประเภทตามทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ ในข้อบังคับของบริษทั ฯ และตามกฎหมาย หากไม่มเี หตุจำ� เป็นอืน่ ใด หรือไม่ถูกจ�ำกัดโดยสัญญาเงินกู้ และการจ่ายเงินปันผลนั้นไม่มี ผลกระทบต่อการด�ำเนินงานปกติของบริษทั ฯ อย่างมีนยั ส�ำคัญ ตามที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควรหรือเหมาะสม และ การด�ำเนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุน้ มติคณะกรรมการบริษทั ฯ ทีพ ่ จิ ารณาเรือ่ งดังกล่าวนัน้ ให้นำ� เสนอ เพือ่ ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจอนุมัติให้จ่ายเงิน ปันผลระหว่างกาลได้ แล้วให้รายงานให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบใน การประชุมคราวต่อไป ทัง้ นี้ หากบริษทั ฯ เล็งเห็นถึงโอกาสในการ รายละเอียดการจ่ายเงินปันผล
ลงทุน บริษทั ฯ จะขออนุญาตผูถ้ อื หุน้ ในการพิจารณาขอยกเว้น การจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ เพือ่ น�ำเงินไปสนับสนุนการลงทุน เป็นครัง้ ๆ ไป บริษทั ย่อยของบริษทั ฯ มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผล ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50.0 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินของบริษทั ย่อยหลังหักภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล เงินส�ำรองตามกฎหมาย และเงิน ส�ำรองต่างๆ ทัง้ หมด โดยจะพิจารณาประกอบกับกระแสเงินสด ฐานะการเงินสภาพคล่อง และแผนการลงทุนในแต่ละช่วงเวลาด้วย โดยมีเพียง บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด ทีส่ ถาบันการเงิน ก�ำหนดให้สามารถจ่ายเงินปันผลได้ต่อเมื่อไม่มีการผิดนัดช�ำระ และจะต้องคงอัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ (DSCR) ไม่นอ้ ยกว่า 1.25 เท่า ณ วันปิดงบการเงินประจ�ำปี และหากต้องการ จ่ายปันผลต้องได้รบั ความเห็นชอบจากสถาบันการเงินผูใ้ ห้กกู้ อ่ น ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559 (ปีทเ่ี สนอ)
1. กำ�ไรสุทธิ (บาท)
1,129,090,738
650,528,104
224,993,863
2. จำ�นวนหุน้ 2.1 จำ�นวนหุน้ ทีจ่ า่ ยเงินปันผลระหว่างกาล 2.2 จำ�นวนหุน้ ทีจ่ า่ ยเงินปันผลประจำ�ปี
3,860,000,000 3,860,000,000
3,860,000,010
3,860,000,010
0.30 0.18
0.10
0.10
1,852,800,000
386,000,001
386,000,001
3. รวมเงินปันผลจ่ายต่อหุน้ (บาท : หุน้ ) 3.1 เงินปันผลระหว่างกาล (บาท : หุน้ ) 3.2 เงินปันผลประจำ�ปี (บาท : หุน้ ) 4. รวมเป็นเงินปันผลจ่ายทัง้ สิน้ (บาท)* 5. สัดส่วนการจ่ายเงินปันผล
164.10%
59.34%
171.56%
*หมายเหตุ 1. ปี 2557บริษทั ฯ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล 1,158,000,000 บาท คิดเป็น 0.30 บาทต่อหุน้ จากก�ำไรสะสมของบริษทั ฯ และจ่ายเงินปันผลจากผล การด�ำเนินงาน 694,800,000 บาท คิดเป็น 0.18 บาทต่อหุน้
2. ปี 2559 บริษทั ฯ จ่ายเงินปันผลจาก (ก) ผลการด�ำเนินการประจ�ำปี 2559 จ�ำนวน 193,000,000.50 บาท คิดเป็น 0.05 บาทต่อหุน้ (ร้อยละ 85.78 ของก�ำไรสุทธิจากงบเฉพาะกิจการประจ�ำปี 2559) และ (ข) ก�ำไรสะสม จ�ำนวน 193,000,000.50 บาท คิดเป็น 0.05 บาทต่อหุน้
รายงานประจ�ำปี 2559
65
โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษทั ฯ
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริหาร
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ส�ำนักงานตรวจสอบภายใน
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร การเงินกลุม่ บริษทั ฯ นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี
รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุม่ บริษัทฯ นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุม่ บริษทั ฯ
ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส สายงานสนับสนุนธุรกิจ 1
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร KTIS (COO-KTIS)
66
รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ
ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส สายงานสนับสนุนธุรกิจ 2
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร TIS (COO-TIS)
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร KTIS 3 (COO-KTIS 3)
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุม่ บริษทั
ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าที่ บริหารการเงิน
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร EPPCO (COO-EPPCO)
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร KTBP (COO-KTBP)
เลขานุการบริษทั ฯ
คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง
คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุม่ บริษทั ฯ นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุม่ บริษทั
รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุม่ บริษัทฯ นายณัฎฐปัญญ์ ศิริวิริยะกุล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร สายธุรกิจอ้อยและน�ำ้ ตาล
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร สายธุรกิจชีวผลิตภัณฑ์
ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส สายงานวัตถุดบิ
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร TEP (COO-TEP)
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร RPBP (COO-RPBP)
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร EPC (COO-EPC)
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร KTBF (COO-KTBF)
ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบตั กิ าร KTIS R&D (COO-KTIS R&D)
รายงานประจ�ำปี 2559
67
โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการจ�ำนวน 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษทั ฯ
คณะกรรมการ
ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริษทั โครงสร้างของคณะกรรมการบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 15 ท่าน โดยเป็น กรรมการอิสระจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ ตำ�แหน่ง
กรรมการ ผูม้ อี ำ�นาจ ลงนามผูกพันบริษทั
วันทีเ่ ข้ารับตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการ
กลุม่ ที่ 2
29 มกราคม 2556
ชือ่ 1. นายปรีชา
อรรถวิภชั น์
2. นายสิรวิ ทุ ธิ์
เสียมภักดี
รองประธานกรรมการ
กลุม่ ที่ 2
29 มกราคม 2556
3. นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการ
กลุม่ ที่ 1
29 มกราคม 2556
4. นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการ
กลุม่ ที่ 1
29 มกราคม 2556
5. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
กรรมการ
กลุม่ ที่ 1
29 มกราคม 2556
6. นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการ
กลุม่ ที่ 1
29 มกราคม 2556
7. นายพูนศักดิ์
บุญสาลี
กรรมการอิสระ
-
29 มกราคม 2556
8. นายอภิชาต
นุชประยูร
กรรมการ
กลุม่ ที่ 2
29 มกราคม 2556
9. นายชุนซึเกะ
ซึจยิ ามะ
กรรมการ
-
12 พฤษภาคม 2557
10. นางสาวฉัว่
อิง๋ อิง๋
กรรมการ
กลุม่ ที่ 2
29 มกราคม 2556
11. นายไกรฤทธิ์
นิลคูหา
กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ
-
26 กุมภาพันธ์ 2557
12. นายสถาพร
โคธีรานุรกั ษ์
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
-
29 มกราคม 2556
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
-
29 มกราคม 2556
กรรมการอิสระ
-
29 มกราคม 2556
กรรมการ
กลุม่ ที่ 1
14 พฤษภาคม 2558
13. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร 14. นายอิสกันต์
ไกรวิทย์
15. นายศิรภาคย์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
โดยมี นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษทั ฯ
กรรมการอิสระ : คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระคิด เป็น 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ หมด โดยคณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนิยามและคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระ ซึง่ สอดคล้อง และเท่ า กั บ ข้ อ ก� ำ หนดของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ต.ล.ท.) โดยยึดตามนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ดี งั นี้ (1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออก เสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย 68
(2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหาร งาน ลูกจ้าง พนักงานทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของ บริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วมบริษัทย่อยล�ำดับ เดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนวันทีแ่ ต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ (3) ไม่เป็นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการ รายอืน่ ผูบ้ ริหารผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ผมู้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย หรือบริษทั ร่วม
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(4) ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษทั ฯ ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณ อย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีแ่ ต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึง่ รวมถึงการท�ำ รายการทางการค้าทีก่ ระท�ำเป็นปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การเช่า หรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือ ให้กยู้ มื ค�ำ้ ประกัน การให้สนิ ทรัพย์เป็นหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึง พฤติการณ์อนื่ ท�ำนองเดียวกัน ซึง่ เป็นผลให้ผขู้ ออนุญาตหรือคู่ สัญญามีภาระหนีท้ ตี่ อ้ งช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 3 ของ สินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิของผูข้ ออนุญาตหรือตัง้ แต่ 20 ล้านบาท ขึน้ ไป แล้วแต่จำ� นวนใดจะต�ำ่ กว่า ทัง้ นี้ การค�ำนวณภาระหนีด้ งั กล่าว ให้เป็นไปตามวิธกี ารค�ำนวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตาม ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ ดังกล่าว ให้นบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหว่าง 1 ปีกอ่ นวันทีม่ ี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ และ ไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของส�ำนักงาน สอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีแ่ ต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ (6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือ หุน้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จาก การมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันทีแ่ ต่งตัง้ เป็น กรรมการอิสระ (7) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็น ตัวแทนของกรรมการของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ เป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย หรือไม่ เป็นหุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจ�ำ หรือ ถือหุน้ เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของ บริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการ แข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย หรือบริษทั ร่วม
(9) ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็น อย่างเป็นอิสระเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มี ลักษณะเป็นไปตามข้อ 1 ถึง 9 แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับ มอบหมาย จากคณะกรรมการ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการ ของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ โดยมีการ ตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective Decision) ได้
กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนามแทนบริษทั ฯ :
กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม แบ่งออกเป็น 2 กลุม่ ดังนี้
กลุม่ ที่ 1 1. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
2. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
3. นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
4. นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
5. นายศิรภาคย์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กลุม่ ที่ 2
1. นางสาวฉัว่
อิง๋ อิง๋
2. นายสิรวิ ทุ ธิ์
เสียมภักดี
3. นายอภิชาต
นุชประยูร
4. นายปรีชา
อรรถวิภชั น์
โดยกรรมการที่มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ คือ กรรมการสองในห้าคนของกลุม่ ที่ 1 ลงลายมือชือ่ ร่วมกัน และ ประทับตราส�ำคัญของบริษทั ฯ หรือ กรรมการคนใดคนหนึง่ ของ กลุม่ ที่ 1 ลงลายมือชือ่ ร่วมกับกรรมการคนใดคนหนึง่ ของกลุม่ ที่ 2 รวมเป็นสองคนลงลายมือชือ่ ร่วมกันพร้อมประทับตราส�ำคัญ ของบริษทั ฯ
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : ในการประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี ทุ ก ครั้ ง ให้ กรรมการบริษทั ฯ ออกจากต�ำแหน่งเป็นจ�ำนวน 1 ใน 3ของจ�ำนวน กรรมการทัง้ หมดในขณะนัน้ ถ้าจ�ำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ทสี่ ดุ กับส่วน 1 ใน 3 กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรก และปีทสี่ องภาย หลังจดทะเบียนบริษทั ฯ นัน้ ให้จบั สลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้ กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง ทัง้ นี้ กรรมการซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระนัน้ อาจได้รบั เลือกให้ กลับเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งอีกได้
รายงานประจ�ำปี 2559
69
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษทั ฯ : (1) ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั ฯ มติคณะกรรมการบริษทั ฯ และมติทปี่ ระชุม ผูถ้ อื หุน้ ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซือ่ สัตย์ สุจริต (2) พิจารณาก�ำหนดรายละเอียดและให้ความเห็นชอบ วิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารและฝ่ายจัดการจัดท�ำ (3) ก�ำกับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ฝ่ายจัดการ หรือบุคคลใดๆ ซึง่ ได้รบั มอบหมายให้ทำ� หน้าทีด่ งั กล่าว เพือ่ ให้เป็นไปตามนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด (4) ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนินงานและงบประมาณของบริษทั ฯ (5) ด�ำเนินการให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยน�ำระบบงาน บัญชีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทั้งจัดให้มีระบบ ควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน (6) จัดให้มกี ารท�ำงบการเงินของบริษทั ฯ ณ วันสิน้ สุด รอบปีบญ ั ชีของบริษทั ฯ และลงลายมือชือ่ เพือ่ รับรองงบการเงิน ดังกล่าว เพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญ ประจ�ำปี เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ (7) พิจารณาให้ความเห็นชอบการคัดเลือกและเสนอ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี และพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสม ตามที่ คณะกรรมการตรวจสอบน�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ ในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ (8) จัดให้มีนโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการ ตามหลักธรรมาภิบาลที่เป็นลายลักษณ์อักษร และการปรับใช้ นโยบายดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้เชือ่ มัน่ ได้วา่ บริษทั ฯ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทุ ก กลุ ่ ม ด้ ว ยความ เป็นธรรม (9) พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติและ ไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามที่ก�ำหนดในพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) พระราช
บัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ที่ มีการแก้ไขเพิม่ เติม) รวมถึงประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบ ทีเ่ กีย่ วข้อง เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอนื่ นอกจากออกตามวาระ และพิจารณาให้ความเห็นชอบ แต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ และการก�ำหนด ค่าตอบแทนกรรมการตามทีค่ ณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนน�ำเสนอเพือ่ น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณา อนุมตั ิ (10) แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เป็นต้น หรือคณะกรรมการชุดย่อยอื่นใดและก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวเพื่อช่วยเหลือและสนับสนุน การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ (11) พิจารณาก�ำหนดและแก้ไขเปลีย่ นแปลงชือ่ กรรมการ ซึง่ มีอำ� นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ ได้ (12) พิจารณาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารตามค�ำนิยามทีก่ ำ� หนด โดยคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และเลขานุการบริษัทฯ รวมทั้ง พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนของผูบ้ ริหารดังกล่าว (13) ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�ำเป็นเพือ่ ประกอบการตัดสินใจทีเ่ หมาะสม (14) ส่งเสริมให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ เข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย ในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของกรรมการและผูบ้ ริหารนัน้ ทัง้ นี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษทั ฯ นัน้ จะไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือมอบอ�ำนาจช่วงทีท่ ำ� ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ หรือผูร้ บั มอบ อ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษัทฯ สามารถอนุมัติรายการที่ ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศ คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรื อ ประกาศคณะกรรมการก�ำ กั บ ตลาดทุน) หรืออาจได้รับประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรืออาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ของบริษทั ฯ ยกเว้นเป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมตั ไิ ว้
การประชุมคณะกรรมการบริษทั :
รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ในปี พ.ศ. 2559 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดงั นี้ ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี พ.ศ.2559
1. นายปรีชา
อรรถวิภชั น์
5/5
2. นายสิรวิ ทุ ธิ์
เสียมภักดี
5/5
3. นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
4/5
4. นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
4/5
5. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
3/5
70
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี พ.ศ.2559
6. นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
5/5
7. นายพูนศักดิ์
บุญสาลี
5/5
8. นายอภิชาต
นุชประยูร
4/5
9. นายชุนซึเกะ
ซึจยิ ามะ
5/5
10. นางสาวฉัว่
อิง๋ อิง๋
4/5
11. นายไกรฤทธิ์
นิลคูหา
5/5
12. นายสถาพร
โคธีรานุรกั ษ์
5/5
13. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
5/5
14. นายอิสกันต์
ไกรวิทย์
5/5
15. นายศิรภาคย์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
5/5
ประเภทของกรรมการบริษทั :
รายละเอียดประเภทของกรรมการบริษทั ในปี พ.ศ. 2559 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดงั นี้ ชือ่
กรรมการ ที่ไม่เป็นผูบ้ ริหาร
กรรมการ อิสระ
กรรมการ ทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร
นายปรีชา
อรรถวิภชั น์
√
นายสิรวิ ทุ ธิ ์
เสียมภักดี
√
นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
√
นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
√
นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
√
นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
√
นายพูนศักดิ์
บุญสาลี
√
√
นุชประยูร
√
นายชุนซึเกะ
ซึจยิ ามะ
√
นางสาวฉัว่
อิง๋ อิง๋
√
นายไกรฤทธิ ์
นิลคูหา
√
√
นายสถาพร
โคธีรานุรกั ษ์
√
√
ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ
ช่างเพชร
√
√
นายอิสกันต์
ไกรวิทย์
√
√
นายศิรภาคย์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
นายอภิชาต
√
รายงานประจ�ำปี 2559
71
การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั : เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ารจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการบริษทั แบบรายคณะ และรายบุคคล อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึง่ ผลการประเมินประจ�ำปี 2559 มีคะแนนเฉลีย่ ของภาพรวมในแต่ละหัวข้อดังนี้ คณะกรรมการบริษทั รายบุคคล
คณะกรรมการบริษทั รายคณะ
1. โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ
4.30
4.64
2. การประชุมของคณะกรรมการ
4.63
4.59
3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
4.67
4.73
4. การทำ�หน้าทีข่ องกรรมการ
-
4.65
5. ความสัมพันธ์กบั ฝ่ายจัดการ
-
4.64
6. การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร
-
4.66
4.59
4.64
หัวข้อการประเมิน
คะแนนเฉลีย่ รวม หมายเหตุ 1. คะแนนเต็ม = 5 2. การประเมินคณะกรรมการบริษทั แบบรายบุคคลมีหวั ข้อการประเมินเพียง 3 หัวข้อ
การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ : บริษทั ฯ ได้กำ� หนดให้มกี ารปฐมนิเทศส�ำหรับกรรมการ ใหม่ โดยได้จดั ให้มกี ารบรรยายน�ำเสนอภาพรวมกิจการบริษทั ฯ ให้กรรมการใหม่ได้รบั ทราบในหัวข้อดังต่อไปนี้
ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับตัวบริษทั ให้แก่กรรมการใหม่เพือ่ ใช้เป็นหลักใน การก�ำกับดูแลกิจการในหัวข้อต่างๆ ได้แก่
(1) วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และเป้าหมายของบริษทั ฯ
(1) กรอบในการด� ำ เนิ น กิ จ การ (กฎหมาย มติ คณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ ระเบียบ)
(2) การพัฒนาองค์กร การพัฒนาธุรกิจ
(2) ข้อมูลการด�ำเนินงานและกิจกรรม
(3) ประวัตโิ ดยสังเขปของกรรมการและผูบ้ ริหาร
(3) โครงการส�ำคัญ
(4) คุณสมบัตแิ ละค่าตอบแทนของกรรมการ
(4) การพัฒนาองค์กร การพัฒนาธุรกิจ
(5) บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการ
(5) การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี
(6) โครงสร้างการบริหารงาน
(6) ความรับผิดชอบต่อสังคม
(7) ข้อมูลทีเ่ กีย่ วกับการจัดตัง้ บริษทั
(8) นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี
นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้จดั ให้กรรมการใหม่เข้าเยีย่ ม ชมกิจการของบริษทั ฯ และโรงงานต่างๆ พร้อมทัง้ ได้จดั ท�ำข้อมูล ที่เกีย่ วข้องกับคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร เพือ่ เป็นคูม่ อื /
72
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การฝึกอบรมของคณะกรรมการบริษทั : บริษทั ฯ ได้สนับสนุนให้คณะกรรมการบริษทั ได้ศกึ ษาและอบรมเพือ่ ให้เข้าใจถึงหลักการของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี กฏเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจนบทบาทหน้าทีข่ องกรรมการบริษทั ในการบริหารงานให้มปี ระสิทธิภาพ ปัจจุบนั มีกรรมการบริษทั ทีเ่ ข้ารับการอบรม ในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับบทบาทหน้าทีข่ องกรรมการ โดยสามารถสรุปการเข้ารับการอบรมหลักสูตรต่างๆได้ดงั นี้ Director Certification Program (DCP)
รายชือ่
นายปรีชา อรรถวิภชั น์
Director Accreditation Program (DAP)
DCP 39/2004
Audit Committee Program (ACP)
Finance for Non-Finance Director (FND)
ACP 11/2006
FND 8/2004
Understanding Monitoring the Fundamental Fraud Risk of Financial Management Statements (MFM) (UFS)
นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี
DAP 54/2006
นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
DAP 53/2006
นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
DAP 96/2012
นายณัฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
DAP 96/2012
นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ
DAP 96/2012
นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
DAP 96/2012
นายอภิชาต นุชประยูร
DAP 96/2012
นายสถาพร โคธีรารักษ์
DAP 35/2009
ACP 13/2013
ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
DAP 97/2012
ACP 41/2012
MFM 8/2012
นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
DAP 97/2012
ACP 41/2012
MFM 8/2012
นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
DAP 97/2012
นายชุนซึเกะ ซึจยิ ามะ
DAP 108/2014
ACP 24/2008
UFS 6/2006
คณะอนุกรรมการ
คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดต่างๆ เพือ่ ช่วยในการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ โดยมีทงั้ หมด 4 คณะ ดังนี้
(1) คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ชือ่
ต�ำแหน่ง
1. นายไกรฤทธิ ์
นิลคูหา
2. นายสถาพร
โคธีรานุรกั ษ์
3. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
โดยมี นางณัฏฐิรา ภัยสยม เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ กรรมการตรวจสอบล�ำดับที่ 1-2 มีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถท�ำหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน โดยมีประสบการณ์ ในด้านการสอบทานงบการเงินตามรายละเอียดกรรมการ (เอกสารแนบ1)
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระให้ คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้กรรมการตรวจสอบมีจ�ำนวนครบตามที่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการตรวจสอบแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ตนทดแทน รายงานประจ�ำปี 2559
73
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ : (1) สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ (2) สอบทานให้บริษทั ฯ มีการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน(Internal Audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วย งานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา แต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือ หน่วยงานอืน่ ใดทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน (3) สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ (4) พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมี ความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบ บัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ (5) พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการ ทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการ ดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ (6) จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดย เปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกล่าวต้อง ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบ ด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ »» ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่ เชือ่ ถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ »» ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบ ควบคุมภายในของบริษทั ฯ
»» ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี »» ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ »» จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน »» ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการ ตรวจสอบได้รบั จากการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ (Charter) »» รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ ือหุน้ และผูล้ งทุนทั่วไป ควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบ หมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ (7) ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากคณะกรรมการตรวจสอบพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือ การกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึง่ มีผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการ เงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข ภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร »» รายการทีเ่ กิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ »» การทุ จ ริ ต หรื อ มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ หรื อ มี ค วาม บกพร่องทีส่ ำ� คัญในระบบควบคุมภายใน »» การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือ กฎหมายที่ เกีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ หากคณะกรรมการของบริ ษั ท ฯ หรื อ ผู ้ บ ริ ห ารไม่ ด�ำเนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาตามวรรคหนึง่ กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการ หรือการกระท�ำตามวรรคหนึ่งต่อส�ำนักงานก.ล.ต. หรือตลาด หลักทรัพย์ฯปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
»» ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ข้ อ ก� ำ หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ
การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ :
รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี พ.ศ. 2559 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดงั นี้ ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี พ.ศ. 2559
1. นายไกรฤทธิ ์
นิลคูหา
5/5
2. นายสถาพร
โคธีรานุรกั ษ์
5/5
3. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ
ช่างเพชร
5/5
74
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(2) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ชือ่
ต�ำแหน่ง
1. นายอิสกันต์
ไกรวิทย์
ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
3. นายพูนศักดิ ์
บุญสาลี
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
โดยมี นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการสรรหาและ การพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้ รับการแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่ง กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนว่างลงเพราะเหตุ อืน่ ใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็นกรรมการสรรหาและการ พิจารณาค่าตอบแทน เพือ่ ให้กรรมการสรรหาและการพิจารณา ค่าตอบแทนมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดย บุคคลทีเ่ ป็นกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนแทน จะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการสรรหาและ การพิจารณาค่าตอบแทนซึง่ ตนทดแทน
คัดเลือกอย่างมีหลักเกณฑ์และความโปร่งใส เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณา อนุมตั ิ (3) พิจารณาแนวทางและพิจารณาค่าตอบแทนและ ผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ ทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินให้แก่ กรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ โดยให้มกี าร ก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธกี ารพิจารณาค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรม และสมเหตุสมผลเพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน :
(4) รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ สรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการบริษัท รับทราบ และจัดท�ำรายงานของคณะกรรมการสรรหาและการ พิจารณาค่าตอบแทนเพื่อเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของ บริษทั ฯ และลงนามโดยประธานกรรมการสรรหาและการพิจารณา ค่าตอบแทน
(1) พิจารณาโครงสร้างองค์กร คุณสมบัตขิ องกรรม การบริษทั ฯ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ของบริษทั ฯ ให้เหมาะสมกับธุรกิจ
(5) จั ด ท� ำ การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน และรายงาน ผลการประเมินประจ�ำปีตอ่ คณะกรรมการบริษทั
(2) คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอรายชื่อ เป็นกรรมการรายใหม่ หรือสรรหาประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ โดยให้มกี ารก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธกี ารสรรหาและ
(6) ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายอั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ การสรรหาและการพิ จ ารณา ค่าตอบแทนของกรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั
การประชุมคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน : รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนในปี พ.ศ. 2559 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดงั นี้ ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี พ.ศ. 2559
1. นายอิสกันต์
ไกรวิทย์
1/1
2. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
1/1
3. นายพูนศักดิ ์
บุญสาลี
1/1
รายงานประจ�ำปี 2559
75
(3) คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 6 ท่าน ดังนี้ ชือ่
ต�ำแหน่ง
1. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง
2. นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
3. นายสิรวิ ทุ ธิ ์
เสียมภักดี
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
4. นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
5. นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
6. นายอิสกันต์
ไกรวิทย์
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
โดยมี นางจริยา ศรีศกั ดา เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งพ้นจาก ต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ ได้ กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการบริหารความเสีย่ งว่างลงเพราะเหตุ อืน่ ใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่ ง ตั้ ง บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเป็ น กรรมการบริ ห าร ความเสี่ยง เพื่อให้กรรมการบริหารความเสี่ยงมีจ�ำนวนครบ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการ บริหารความเสีย่ งแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ อง กรรมการบริหารความเสีย่ งซึง่ ตนทดแทน
(4) ติดตามให้มีการปฏิบัติตามนโยบายการบริหาร ความเสีย่ ง รวมถึงดูแลให้ระบบการบริหารความเสีย่ งมีประสิทธิภาพ
ขอบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ห าร ความเสีย่ ง :
(7) ติดตามและรายงานสถานะความเสีย่ งของบริษทั ฯ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ
(1) ก�ำหนดนโยบายความเสีย่ ง รวมถึงการทบทวนเป็น ระยะเพือ่ ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ และธุรกรรม ของบริษัทฯ ที่เปลี่ยนแปลงไป ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการเพื่อ อนุมตั ิ
(8) บูรณาการกระบวนการท�ำงานเกีย่ วกับการก�ำกับ ดูแลกิจการ (Governance) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) และการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์ (Compliance) เพือ่ ให้ บรรลุการด�ำเนินงานทีเ่ กิดจากการมีสว่ นร่วมของทุกหน่วยงาน (Integrity-Driven Performance)
(2) วางแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับนโยบายบริหาร ความเสีย่ ง โดยสามารถประเมิน ติดตาม ดูแลปริมาณความเสีย่ ง ของบริษทั ฯ ให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม (3) อนุมัติเครื่องมือในการวัด ติดตาม และควบคุม ความเสีย่ ง
(5) ดูแลความเพียงพอของทรัพยากรทีใ่ ช้ในการบริหาร ความเสีย่ ง เช่น บุคลากรของสายงานบริหารความเสีย่ ง และระบบงาน รองรับการบริหารความเสีย่ ง เป็นต้น (6) พิจารณาระเบียบ/หลักเกณฑ์ในธุรกรรมทีส่ ำ� คัญ หรือการริเริม่ โครงการใหม่ทมี่ ผี ลกระทบต่อความเสีย่ งก่อนทีจ่ ะ น�ำเสนอเพือ่ พิจารณาอนุมตั กิ ารท�ำธุรกรรมหรือโครงการนัน้ จาก คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ หรือคณะกรรมการ ทีบ่ ริษทั ฯ มอบหมายต่อไป
(9) แต่งตัง้ คณะท�ำงานได้ตามทีเ่ ห็นสมควร
(10) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
การประชุมคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง :
รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งในปี พ.ศ. 2559 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดงั นี้ ชือ่ 1. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี พ.ศ. 2559 4/4
2. นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
3/4
3. นายสิรวิ ทุ ธิ ์
เสียมภักดี
4/4
4. นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
4/4
76
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี พ.ศ. 2559
5. นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
2/4
6. นายอิสกันต์
ไกรวิทย์
4/4
(4) คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ ชือ่ 1. นายสิรวิ ทุ ธิ์
ต�ำแหน่ง เสียมภักดี
ประธานกรรมการบริหาร
2. นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการบริหาร
3. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
กรรมการบริหาร
4. นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการบริหาร
5. นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
กรรมการบริหาร
โดยมี นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง : คณะกรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหาร ซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การ แต่งตัง้ ให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการ บริหารว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็น กรรมการบริหาร เพื่อให้กรรมการบริหารมีจำ� นวนครบตามที่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการบริหาร แทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการบริหาร ซึง่ ตนทดแทน
(5) มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติเฉพาะกรณีหรือการ ด�ำเนินการใดๆ อันเป็นปกติธรุ กิจของบริษทั ฯ ภายใต้วงเงินหรือ งบประมาณประจ�ำปีตามทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ และมีอำ� นาจด�ำเนินการตามทีก่ ำ� หนดไว้ โดยในการด�ำเนินการใดๆ ตามทีก่ ล่าวข้างต้น คณะกรรมการบริหารจะต้องไม่กอ่ ให้เกิดหนี้ สินหรือภาระผูกพันใดๆ ทีม่ มี ลู ค่าเกินกว่า 1,000 ล้านบาท และ ระยะเวลาผูกพันเกินกว่า 5 ปี ทัง้ นี้ ในส่วนของหนีส้ นิ หรือภาระ ผูกพันใดๆ ให้รวมถึง สินเชือ่ โครงการทีบ่ ริษทั ฯ ท�ำกับสถาบันการ เงินใดๆ (Project Finance) ด้วย
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร :
(6) มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติการกู้หรือให้กู้ยืมเงิน หรือการขอสินเชือ่ ใดๆ จากสถาบันการเงิน และบริษทั ในกลุม่ รวม ตลอดถึงการเข้าเป็นผูค้ ำ�้ ประกันให้แก่บริษทั ย่อย หรือการช�ำระหรือ ใช้จา่ ยเงินเพือ่ ธุรกรรมตามปกติธรุ กิจของบริษทั ฯ
(1) คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่ในการบริหาร กิจการของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบกิจการ ของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ในการบริหารกิจการของบริษทั ฯ ดังกล่าวจะ ต้องเป็นไปตามนโยบาย ข้อบังคับ หรือค�ำสัง่ ใดๆ ทีค่ ณะกรรมการ บริษทั ฯ ก�ำหนด นอกจากนี้ ให้คณะกรรมการบริหารมีหน้าทีใ่ น การพิจารณากลัน่ กรองเรือ่ งต่างๆ ทีจ่ ะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั หิ รือให้ความเห็นชอบ (2) จัดท�ำวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของ ธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เพื่อน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ (3) ก�ำหนดแผนธุรกิจ อ�ำนาจการบริหารงาน อนุมตั ิ งบประมาณส�ำหรับประกอบธุรกิจประจ�ำปี และงบประมาณ รายจ่ายประจ�ำปี และด�ำเนินการตามแผนทางธุรกิจและกลยุทธ์ ทางธุรกิจโดยสอดคล้องกับนโยบาย และแนวทางธุรกิจทีไ่ ด้แถลง ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ (4) ตรวจสอบ ติดตามการด�ำเนินนโยบาย และแนวทาง การบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการ บริษทั ฯ มอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
(7) มีอำ� นาจแต่งตัง้ ถอดถอนเจ้าหน้าทีข่ องบริษทั ฯใน ต�ำแหน่งทีต่ ำ�่ กว่าต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ (8) ให้คณะกรรมการบริหาร รายงานผลการด�ำเนิน งานดังต่อไปนี้ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบ »» รายงานผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ รายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย »» รายงานของผู ้ ต รวจสอบบั ญ ชี เ กี่ ย วกั บ งบการเงินของบริษทั ฯ ซึง่ รวมถึงงบการเงินประจ�ำปีและงบการเงิน รายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย »» รายงานอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหาร พิจารณาเห็นสมควร
รายงานประจ�ำปี 2559
77
บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ตามประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต. มีสว่ น ได้สว่ นเสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษทั ฯ หรือ บริษัทย่อย โดยคณะกรรมการบริหารจะต้องน�ำเสนอเรื่องดัง กล่าวต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้พจิ ารณาและอนุมตั ริ ายการดังกล่าวภายใต้ขอ้ บังคับ ประกาศ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
(9) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ทัง้ นี้ การมอบอ�ำนาจให้คณะกรรมการบริหารดังกล่าวข้าง ต้น จะไม่รวมถึงการมอบอ�ำนาจที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมตั ริ ายการทีก่ รรมการบริหารท่านใดท่านหนึง่ หรือ
การประชุมคณะกรรมการบริหาร : รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2559 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีดงั น้ี
ชือ่
จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม/การประชุมทัง้ หมดในปี พ.ศ. 2559
1. นายสิรวิ ทุ ธิ ์
เสียมภักดี
12/12
2. นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
12/12
3. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
9/12
4. นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
11/12
5. นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
9/12
การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการชุดย่อย : เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ารจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการตรวจสอบ อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึง่ ผลการประเมิน ประจ�ำปี 2559 มีคะแนนเฉลีย่ ของภาพรวมในแต่ละหัวข้อดังนี้
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหาร และพิจารณา ความเสีย่ ง ค่าตอบแทน
คณะกรรมการ บริหาร
1. โครงสร้างและคุณสมบัติของ คณะกรรมการ
4.67
5.00
4.67
4.29
2. การประชุมของคณะกรรมการ
4.94
4.94
4.64
4.17
3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ
4.95
5.00
4.67
4.23
คะแนนเฉลีย่ รวม
4.85
4.98
4.66
4.23
หมายเหตุ คะแนนเต็ม = 5
ผูบ้ ริหาร ผูบ้ ริหาร ตามค�ำนิยาม ผูบ้ ริหาร* ของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 17/2551 เรือ่ ง การก�ำหนดบทนิยามในประกาศ เกีย่ วกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยบุคคล 6 ท่าน ดังนี้ หมายเหตุ ผูบ้ ริหาร หมายความว่า ผูจ้ ดั การ หรือผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารสีร่ ายแรกนับต่อจากผูจ้ ดั การลงมา ผูซ้ งึ่ ด�ำรงต�ำแหน่งเทียบเท่ากับผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับ บริหารรายทีส่ ที่ กุ ราย และให้หมายความรวมถึงผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไป หรือเทียบเท่า
78
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ชือ่
ต�ำแหน่ง
1. นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ
2. นายสิรวิ ทุ ธิ์
เสียมภักดี
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ
3. นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ
4. นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ
5. นายณัฎฐปัญญ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ
6. นางน้อมจิต
อัครเมฆินทร์
ผูอ้ ำ�นวยการฝ่ายบัญชี
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุม่ บริษทั ฯ : (1) การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ โดยรวม เพือ่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ
(11) อนุมตั กิ ารใช้จา่ ยเงินลงทุนทีส่ ำ� คัญๆ ทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ ในงบประมาณรายจ่ายส�ำหรับปี หรือทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ เคยมีมติอนุมตั ใิ นหลักการไว้แล้ว
(2) ก�ำหนดกลยุทธ์และแผนการทางธุรกิจเสนอต่อคณะ กรรมการบริษทั ฯ และด�ำเนินการเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายตามกลยุทธ์ และแผนการทางธุรกิจทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ
(12) ดูแลการท�ำงานของพนักงานให้เป็นไปตามนโยบาย กฎระเบียบต่างๆ รวมถึงการปฏิบตั งิ านด้วยหลักธรรมาภิบาลใน การท�ำธุรกิจ
(3) ด�ำเนินการและปฏิบัติภารกิจที่คณะกรรมการ มอบหมาย และตามนโยบายของคณะกรรมการบริษทั ฯ
(13) ส่งเสริมพัฒนาความรูค้ วามสามารถ และศักยภาพ ของพนักงานเพือ่ เพิม่ ศักยภาพขององค์กร
(4) สัง่ การ ออกระเบียบ ประกาศ บันทึก เพือ่ ให้การ ปฏิบตั งิ านเป็นไปตามนโยบาย
(14) พิจารณาแต่งตั้งที่ปรึกษาต่างๆ ที่จ�ำเป็นต่อการ ด�ำเนินการของบริษทั ฯ
(5) อนุมตั แิ ละ/หรือมอบอ�ำนาจการท�ำนิตกิ รรมเพือ่ ผูกพันบริษทั ฯ ส�ำหรับธุรกรรมปกติของบริษทั ฯ รวมถึงธุรกรรม ที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ได้รับมอบอ�ำนาจจาก คณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ดำ� เนินการแทน ทัง้ นีใ้ ห้รวมถึงธุรกรรม ใดๆ ทีไ่ ม่เป็นการผูกพันทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ โดยตรง
(15) พิจารณาอนุมตั กิ ารท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีเ่ ป็น เงือ่ นไขปกติทางการค้า เช่น ซือ้ ขายสินค้าด้วยราคาตลาด การคิด ค่าธรรมเนียมบริการในอัตราค่าธรรมเนียมปกติ และการให้เครดิต เทอมเหมือนลูกค้าทัว่ ไป เป็นต้น ทัง้ นีภ้ ายใต้นโยบายทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ
(6) ก�ำกับดูแลให้ผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติตาม นโยบายและทิศทางทางธุรกิจทีไ่ ด้รบั จากคณะกรรมการบริษทั ฯ
(16) อนุมตั กิ ารแต่งตัง้ โยกย้าย และเลิกจ้างพนักงาน ทัง้ นี้ ให้มอี ำ� นาจในการมอบหมายให้บคุ คลอืน่ กระท�ำการแทนตาม ทีก่ ำ� หนดในตารางอ�ำนาจอนุมตั ิ
(7) พิจารณาการน�ำสิทธิและทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ ไป ก่อภาระผูกพันใดกับบุคคล บริษทั ห้างร้าน หรือสถาบันการเงิน หรือน�ำเสนอคณะกรรมการบริหารหรือคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ แล้วแต่กรณี เพือ่ ให้เป็นไปตามตารางอ�ำนาจ อนุมตั ิ (8) พิจารณาอนุมตั กิ ารจ่ายค่าใช้จา่ ยการด�ำเนินงาน ปกติในวงเงินไม่เกิน 5,000,000 ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมตั มิ อบหมายไว้ (9) พิจารณาอนุมตั กิ ารลงทุนในตราสารและหลักทรัพย์ เพือ่ บัญชีบริษทั ฯ ในวงเงินตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ อนุมตั ิ มอบหมายไว้ (10) อนุมัติในหลักการการลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจนการร่วมทุนกับผู้ประกอบกิจการอื่นๆ และให้น�ำเสนอ คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ อนุมตั ใิ นทีป่ ระชุมคราวถัดไป
(17) ด�ำเนินกิจการงานอืน่ ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นกรณีๆ ไป
ทัง้ นี้ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ไม่มอี ำ� นาจ ในการอนุมัติเรื่องหรือรายการที่เกี่ยวโยงกันที่ไม่ใช่เป็นเงื่อนไข ปกติทางการค้า รายการได้มาจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ส�ำคัญ ของบริษัทฯ และ/หรือรายการที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม บริษทั ฯ หรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งมีสว่ น ได้เสีย หรือมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอืน่ ใดทีจ่ ะท�ำขึน้ กับบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย ยกเว้นเป็นรายการทีเ่ ป็นเงือ่ นไขปกติทางการค้าทีไ่ ด้มี การก�ำหนดนโยบายและหลักเกณฑ์ โดยได้อนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไป ตามนโยบายและหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้พจิ ารณา อนุมตั ไิ ว้และได้ขอความเห็นชอบจากผูถ้ อื หุน้ ในการท�ำรายการ เกี่ยวโยงกันและการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่ส�ำคัญ ของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยแล้วเพือ่ ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรือ่ งดังกล่าว
รายงานประจ�ำปี 2559
79
การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ CEO Group : เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ารจัดท�ำแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ CEO Group อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยอ้างอิงจากแบบประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ซึง่ ผลการประเมินประจ�ำปี พ.ศ. 2559 มีคะแนนเฉลีย่ ของภาพรวมในแต่ละหัวข้อดังนี้ หัวข้อการประเมิน
CEO Group
1. ความเป็นผูน้ ำ�
4.77
2. การกำ�หนดกลยุทธ์
4.73
3. การปฏิบตั ติ ามกลยุทธ์
4.76
4. การวางแผนและผลปฏิบตั ทิ างการเงิน
4.80
5. ความสัมพันธ์กบั คณะกรรมการ
4.80
6. ความสัมพันธ์กบั ภายนอก
4.76
7. การบริหารงานและความสัมพันธ์กบั บุคลากร
3.97
8. ความรูด้ า้ นผลิตภัณฑ์และบริการ
4.80
คะแนนเฉลีย่ รวม
4.77
หมายเหตุ คะแนนเต็ม = 5
เลขานุการบริษทั »» ประสบการณ์การท�ำงาน
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2556 เมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ได้มมี ติอนุมตั แิ ต่งตัง้ นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เป็นเลขานุการบริษทั เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด ของพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีไ่ ด้มกี ารแก้ไขเพิม่ เติม) โดยมีประวัตพ ิ อสังเขปดังนี้
»» 2556 – ปัจจุบนั เลขานุการบริษทั บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน้ แนล ชูการ์ จ�ำกัด (มหาชน) »» ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ำกัด »» ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จ�ำกัด »» 2539 – 2556 ผูจ้ ดั การโรงงาน บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด »» 2548 – 2556 ผูจ้ ดั การโรงงาน บริษทั เอกรัฐพัฒนา จ�ำกัด »» 2537 – 2539 ผูจ้ ดั การโรงงาน บริษทั รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ จ�ำกัด »» 2532 – 2537 รองผูจ้ ดั การโรงงาน บริษทั เกษตรไทยอุตสาหกรรมน�ำ้ ตาล จ�ำกัด
นายสุชาติ พิพฒ ั นชัยพงศ์ เลขานุการบริษทั อายุ 55 ปี »» คุณวุฒกิ ารศึกษา/การอบรม »» ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง »» ปริญญาตรี บริหารทัว่ ไป มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ »» CSP 53/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» BRP 12/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» EMT 30/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย »» CRP 8/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
คุณสมบัตขิ องเลขานุการบริษทั : (1 ) มีความรูพ ้ นื้ ฐานด้านธุรกิจ บัญชี และมีความรอบรู้ และเข้าใจในธุรกิจของบริษทั
(2) เข้าใจบทบาทหน้าทีข่ องเลขานุการบริษทั
(3 ) มีความรูแ้ ละความเข้าใจด้านกฎหมาย กฎระเบียบ ของส�ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทัง้ หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี 80
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(4) มีความเป็นอิสระและตรงไปตรงมาในการปฏิบัติ หน้าที่ ไม่มุ่งหวังผลประโยชน์ส่วนตัวจากโอกาสทางธุรกิจของ บริษทั รวมทัง้ เก็บรักษาความลับของบริษทั ได้เป็นอย่างดี (5) มีประสบการณ์ในงานเลขานุการคณะกรรมการ หรือคุณสมบัติอื่นที่ช่วยให้งานเลขานุการบริษัท เป็นไปอย่างมี ประสิทธิผลยิง่ ขึน้
คัดเลือกบุคคลที่จะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งคณะกรรมการบริษัท โดย พิจารณาจากความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทเี่ กีย่ วข้อง กับธุรกิจ หรือพิจารณาจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ที่มี ประสบการณ์ในธุรกิจทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม การแต่งตัง้ กรรมการใหม่จะต้องผ่านการพิจารณาอนุมตั จิ ากที่ ประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่ กรณี) ทัง้ นี้ ข้อบังคับของบริษทั ฯ ก�ำหนดให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือก ตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารดังต่อไปนี้
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการ บริษทั :
(1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง
(2) ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั้ หมดตาม (1) เลือกตัง้ บุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่ง คะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้
(1) จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ »» ทะเบียนกรรมการ
»» หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงาน การประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ ประชุมผูถ้ อื หุน้
»» หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการ
(2) เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้เสียทีร่ ายงานโดย กรรมการหรือผูบ้ ริหาร (3) ด�ำเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการก�ำกับตลาด ทุนประกาศก�ำหนด
(3) บุคคลที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา เป็นผู้ได้รบั เลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการ ทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะพึง มี ให้ประธานทีป่ ระชุมเป็นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่งให้ยนื่ ใบลาออก ต่อบริษทั ฯ โดยการลาออกนัน้ จะมีผลนับแต่วนั ทีใ่ บลาออกไปถึง บริษทั ฯ
การสรรหากรรมการบริษทั กรรมการชุดย่อย และผูบ้ ริหาร ในการคั ดเลื อ กบุ ค คลที่ จ ะเข้ า ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น กรรมการหรือผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนจะท�ำหน้าทีใ่ นการสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่ จะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งและเสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมต่อ คณะกรรมการ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) ทั้งนี้ บุคคลทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการและผูบ้ ริหาร จะต้องมีคณ ุ สมบัตคิ รบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน จ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีไ่ ด้มกี ารแก้ไขเพิม่ เติม) และ จะต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุนที่ ทจ. 24/2551 เรื่อง ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับกรรมการ และผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (รวมทั้งที่ได้มีการ แก้ไขเพิม่ เติม) นอกจากนี้ ยังพิจารณาถึงความรูค้ วามสามารถ รวมถึงประสบการณ์การท�ำงานด้วยองค์ประกอบและการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะ กรรมการบริหารความเสีย่ ง จะมีการด�ำเนินการ ดังนี้
องค์ประกอบและการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั ฯ : คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยกรรมการ อย่างน้อย 5 คน โดยกรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวน กรรมการทัง้ หมดจะต้องมีถนิ่ ทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย และกรรมการ บริษทั ฯ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ หรือไม่กไ็ ด้ ในการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัทคณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะท�ำหน้าที่ในการสรรหาและ
ทัง้ นี้ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใดออก จากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่าสามในสีข่ องจ�ำนวนผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออก เสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง
องค์ประกอบและการแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ : คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็น กรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน โดยกรรมการตรวจสอบอย่าง น้อย 1 คน จะต้องเป็นผูท้ มี่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะ สามารถท�ำหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงินได้ โดยคณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ ก�ำหนดในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนทีเ่ กีย่ วข้องดังนี้ (1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหาร งาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อย ล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือของผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ บริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ย กว่า 2 ปีกอ่ นวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทัง้ นี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีทกี่ รรมการอิสระเคยเป็น ข้าราชการ หรือทีป่ รึกษา ของส่วนราชการซึง่ เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ
รายงานประจ�ำปี 2559
81
(3) ไม่เป็นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการ รายอืน่ ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือบุคคลที่ จะได้รบั การเสนอให้เป็นกรรมการ ผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย (4) ไม่ มี ห รื อ เคยมี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ขออนุญาต ในลักษณะที่อาจเป็นการ ขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็น หรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วาม สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันที่ ยืน่ ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการ ท�ำรายการทางการค้าทีก่ ระท�ำเป็นปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การ เช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือ บริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการ รับหรือให้กยู้ มื ค�ำ้ ประกัน การให้สนิ ทรัพย์เป็นหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึงพฤติการณ์อนื่ ท�ำนองเดียวกัน ซึง่ เป็นผลให้บริษทั ฯ หรือ คูส่ ญ ั ญามีภาระหนีท้ ตี่ อ้ งช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 3 ของ สินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั ฯ หรือตัง้ แต่ 20 ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จำ� นวนใดจะต�ำ่ กว่า ทัง้ นี้ การค�ำนวณภาระหนีด้ งั กล่าวให้ เป็นไปตามวิธกี ารค�ำนวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตาม ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการ ท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ ดังกล่าว ให้นบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหว่าง 1 ปีกอ่ นวันทีม่ ี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือ หุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. (6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการ เงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษทั ฯ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่น ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. (7) ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทน ของกรรมการของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็น ผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่
82
(8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ เป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย หรือ ไม่เป็นหุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจ�ำ หรือ ถือหุน้ เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของ บริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการ แข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย (9) ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่าง เป็นอิสระเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ (10) ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะ กรรมการ ให้ตดั สินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ (11) ไม่เป็นกรรมการของบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย หรือ บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกันเฉพาะทีเ่ ป็นบริษทั จดทะเบียน
องค์ประกอบและการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร : คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการ บริ ห ารของบริ ษั ท ฯ โดยแต่ ง ตั้ ง กรรมการบริ ษั ท และ/หรื อ ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ จ�ำนวนหนึง่ เป็นคณะกรรมการบริหาร ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการบริหารขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และให้ กรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วนั ที่ ได้รบั การแต่งตัง้ ทัง้ นี้ จะเลือกกรรมการบริหารผูพ ้ น้ จากต�ำแหน่ง เข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ได้
องค์ประกอบและการแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน : คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนของบริษทั ฯ โดยแต่งตัง้ กรรมการ บริ ษั ท จ� ำ นวนหนึ่ ง เป็ น คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนด ค่าตอบแทน และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนอย่างน้อย จ�ำนวน 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ต้องเป็นกรรมการอิสระ ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษทั และให้กรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทนมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ทัง้ นี้ จะเลือกกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน ผูพ ้ น้ จากต�ำแหน่งเข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ได้
องค์ประกอบและการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง : คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ โดยแต่งตัง้ กรรมการบริษทั จ�ำนวน หนึง่ เป็นคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการบริหาร ความเสี่ยงอย่างน้อยจ�ำนวน 2 ท่าน ต้องเป็นกรรมการอิสระ โดยประธานคณะกรรมการดังกล่าวควรเป็นกรรมการอิสระ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษทั และให้กรรมการบริหารความเสีย่ งมีวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ทัง้ นี้ จะเลือกกรรมการบริหารความเสีย่ งผูพ ้ น้ จากต�ำแหน่งเข้ารับต�ำแหน่งอีกก็ได้
ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร
(1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษทั
ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั แบ่งเป็นค่าตอบแทนรายเดือนและเบีย้ ประชุมรายครัง้ โดยทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2559 เมือ่ วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559 มีมติอนุมตั คิ า่ ตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั ดังมีรายละเอียดดังนี้ ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท/เดือน)
คณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
เบีย้ ประชุม (บาท/ครัง้ )
ประธาน
50,000
50,000
กรรมการ
25,000
25,000
ประธาน
-
60,000
กรรมการ
-
30,000
ประธาน
-
40,000
กรรมการ
-
20,000
ประธาน
-
40,000
กรรมการ
-
20,000
หมายเหตุ โดยไม่ได้รบั สิทธิป์ ระโยชน์อนื่ ๆ
รายงานประจ�ำปี 2559
83
84
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
3. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
วิภาตะกลัศ
5. นางดารัตน์
6. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
7. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
8. นายอภิชาต นุชประยูร
9. นายชุนซึเกะ ซึจยิ ามะ
10. นางสาวฉัว๋ อิง๋ อิง๋
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
12. ว่าทีร่ อ้ ยตรีธรี ยุทธ ช่างเพชร
13. นายอิสกันต์ ไกรวิทย์
14. นายพูนศักดิ์ บุญสาลี
15. นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา
175,000
175,000
175,000
175,000
175,000
125,000
175,000
150,000
75,000
175,000
125,000
175,000
175,000
150,000
350,000
ค่าเบีย้ ประชุม
4,800,000 2,650,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
175,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
600,000
ค่าตอบแทน กรรมการ รายเดือน
720,000
360,000
-
-
180,000
180,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
กรรมการ ตรวจ สอบ
160,000
-
40,000
80,000
-
-
-
-
-
-
-
40,000
-
-
-
-
835,000
515,000
635,000
815,000
655,000
425,000
475,000
450,000
250,000
515,000
465,000
535,000
555,000
530,000
950,000
รวม (บาท)
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
300,000
600,000
ค่าตอบแทน กรรมการ รายเดือน
125,000
100,000
125,000
125,000
125,000
100,000
125,000
100,000
125,000
125,000
75,000
100,000
100,000
125,000
250,000
ค่าเบีย้ ประชุม
500,000 8,555,000 4,800,000 1,825,000
-
-
80,000
160,000
-
-
-
-
-
40,000
-
60,000
80,000
80,000
-
กรรมการ กรรมการ สรรหาและ บริหาร พิจารณา ความเสีย่ ง ค่าตอบแทน
2558
600,000
300,000
-
-
150,000
150,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
กรรมการ ตรวจสอบ
80,000
-
20,000
40,000
-
-
-
-
-
-
-
20,000
-
-
-
-
725,000
420,000
545,000
735,000
575,000
400,000
425,000
400,000
425,000
505,000
395,000
440,000
460,000
505,000
850,000
รวม (บาท)
500,000 7,805,000
-
-
80,000
160,000
-
-
-
-
-
80,000
-
40,000
60,000
80,000
-
กรรมการ กรรมการ สรรหาและ บริหาร พิจารณา ความเสีย่ ง ค่าตอบแทน
2559
หมายเหตุ 1. ปี พ.ศ. 2557 มีการปรับจ�ำนวนกรรมการบริษทั จาก 21 คน เป็น 15 คน เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 โดย นายมนตรี เล็กวิจติ รธาดา, นางวรยา ศิรวิ ริ ยิ ะกุล, นายสุพจน์ หวังปรีดาเลิศกุล, นางเสาวณีย์ ไทยรุง่ โรจน์ และนางศิรริ กั ษ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ลาออกจากต�ำแหน่ง 2. เนือ่ งจาก นายสมพงษ์ วนาภา ลาออกจากต�ำแหน่ง เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 และนายไกรฤทธิ์ นิลคูหา เข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทน 3. เนือ่ งจาก นายบุญชัย นุชประยูร ลาออกจากต�ำแหน่ง เมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2557 และนายชุนซึเกะ ซึจยิ ามะ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทน 4. เนือ่ งจาก นางสาวศิรอาภา ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ลาออกจากต�ำแหน่ง เมือ่ วันที่ 14 พฤษภาคม 2558 และนายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล เข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทน
รวม
กรรมการอิสระ
11. นายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์
2. นายสิรวิ ทุ ธิ ์
รองประธาน กรรมการ
อรรถวิภชั น์ ประธานกรรมการ
ตำ�แหน่ง ปี 2559
เสียมภักดี
1. นายปรีชา
ชือ่ กรรมการ
ตารางแสดงค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั ปี2558 และ 2559
(2) ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร
ตารางต่อไปนีแ้ สดงรายละเอียดค่าตอบแทนผูบ้ ริหารบริษทั ฯ ปี พ.ศ. 2557-2558 และปี พ.ศ. 2559 ประเภท
จำ�นวน (คน)
2557 (บาท)
2558 (บาท)
2559 (บาท)
เงินเดือน
6
23,367,203.00
24,874,815.00
28,714,575.00
โบนัส
6
9,574,974.00
2,218,334.00
222,573.00
6
32,942,177.00
27,093,149.00
28,937,148.00
รวม
หมายเหตุ ผูบ้ ริหาร 6 รายได้แก่ (1) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ (Group CEO) (2) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงินกลุม่ บริษทั ฯ (3-5) รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุม่ บริษทั ฯ 3 ท่าน (6) ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี
โดยกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ได้รบั สัดส่วนการ จัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ดังนี้
(3) ค่าตอบแทนอืน่ ๆ
»» เงินกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ
รายชือ่ กรรมการ และผูบ้ ริหารที่ได้รบั จัดสรร
ตารางต่อไปนีแ้ สดงรายละเอียดเงินกองทุนส�ำรอง เลีย้ งชีพปี พ.ศ. 2559 ประเภท กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ รวม
จำ�นวน (คน)
2559 (บาท)
คิดเป็น (%)
นายประพันธ์
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
0.40%
นายประเสริฐ
ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
0.30%
6
639,807.48
นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
0.30%
6
639,807.48
นายสิรวิ ทุ ธิ ์
เสียมภักดี
0.19%
นางดารัตน์
วิภาตะกลัศ
0.36%
นายอภิชาต
นุชประยูร
0.26%
นายชุนซึเกะ
ซึจยิ ามะ
0.13%
นางน้อมจิต
อัครเมฆินทร์
0.23%
หมายเหตุ ผูบ้ ริหาร 6 รายได้แก่ (1) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ (Group CEO) (2) ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารการเงิ น กลุ ่ ม บริษทั ฯ (3-5) รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ 3 ท่าน (6) ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี
»» โครงการเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิท่ีจะ
ซื้อหุ้นสามัญต่อผู้บริหารและพนักงาน (Employee Stock Options Project) จากการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 ทีป่ ระชุมมีมติให้จดั สรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุน ของบริษทั จ�ำนวนไม่เกิน 28,000,000 หุน้ เพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (warrant) และเสนอขายให้แก่ผบู้ ริหาร และพนักงานของบริษัทและบริษัทย่อย โดยมีหลักเกณฑ์และวิธี การจัดสรร (รายละเอียดตามหัวข้อการออกหลักทรัพย์อนื่ ) ทัง้ นี้ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญดังกล่าวมีอตั ราการใช้สทิ ธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ (เว้นแต่มกี ารปรับอัตราการใช้ สิทธิในภายหลัง ซึง่ พนักงานฯ จะไม่ดอ้ ยสิทธิกว่าเดิม) และมีราคา การใช้สิทธิซื้อหุ้นเท่ากับราคาเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชน ครัง้ แรก (10.00 บาทต่อหุน้ )
หมายเหตุ เป็นการค�ำนวณสัดส่วน % จากจ�ำนวนทีไ่ ด้รบั การจัดสรร ราคา การใช้สทิ ธิและจ�ำนวนหุน้ สามัญทีจ่ ดั สรรไว้ทงั้ หมดของใบส�ำคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ที่ออกและเสนอขายให้ กับผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ (KTIS-WA) จ�ำนวนไม่เกิน 28,000,000 หุน้
จำ�นวนพนักงานและผลตอบแทน
บริษทั ฯมีพนักงานทัง้ หมด 3,400 คน โดยในปี 2559 บริ ษั ท ฯ ได้ จ ่ า ยผลตอบแทนให้ แ ก่ พ นั ก งานจ� ำ นวนทั้ ง สิ้ น 1,128,001,445.26 บาท ซึ่งผลตอบแทน ได้แก่ เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ เงินโบนัสเงินช่วยเหลือพิเศษ เงินประกันสังคม และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ เป็นต้น
รายงานประจ�ำปี 2559
85
ปี 2559 บริษทั
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
ปฏิบตั กิ าร จำ�นวน (คน)
สำ�นักงาน ใหญ่ จำ�นวน (คน)
บริหาร จำ�นวน (คน)
รวม ทัง้ หมด จำ�นวน (คน)
ค่าตอบแทน รวมทัง้ ปี 2559 (บาท)
1,232
46
58
1,910
708,294,034.50
บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำ�กัด
118
3
17
142
38,782,743.30
บริษทั เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จำ�กัด
458
4
14
480
142,350,976.92
บริษทั เกษตรไทยปุย๋ ชีวภาพ จำ�กัด
4
3
6
13
2,584,894.28
บริษทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
-
-
4
4
1,175,921.15
บริษทั เพิม่ สินพัฒนา จำ�กัด
-
-
-
-
-
บริษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด
-
-
1
1
200,007
บริษทั ทรัพย์ศริ เิ กษตร จำ�กัด
-
-
-
-
-
บริษทั ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จำ�กัด
-
-
2
2
392,724.30
781
24
27
832
227,922,626.62
บริษทั เคทิส ชีวพลังงาน จำ�กัด
-
1
-
1
2,846,619.28
บริษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จำ�กัด
-
2
13
15
3,450,897.91
บริษทั ลพบุรี อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ จำ�กัด
-
-
-
-
-
บริษทั ลพบบุรไี บโอเพาเวอร์ จำ�กัด
-
-
-
-
-
บริษทั ลพบุรี ไบโอเอทานอล จำ�กัด
-
-
-
-
-
บริษทั เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จำ�กัด
-
-
-
-
-
บริษทั เกษตรไทยวิวฒ ั น์ จำ�กัด
-
-
-
-
-
3,125
108
167
3,400
1,128,001,445.26
บริษทั น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด
รวม
ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่มีพนักงานหรือกลุ่มพนักงานของ บริษทั ฯ เป็นสมาชิกสหภาพใดๆ และบริษทั ฯ เชือ่ ว่าความสัมพันธ์ ของบริษทั ฯ กับพนักงานเป็นไปด้วยดี และมีความมัน่ คง แข็งแรง นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามกฎหายแรงงานของ ทางราชการอย่างครบถ้วนแล้ว และไม่เคยมีขอ้ พิพาทด้านแรงงาน ทีม่ นี ยั ส�ำคัญ หรือมีการนัดหยุดงานทีเ่ กีย่ วข้องในช่วงระยะเวลา สามปีงบประมาณทีผ่ า่ นมา และบริษทั ฯ ไม่ทราบว่ามีขอ้ พิพาทด้าน แรงงานทีค่ า้ งอยูห่ รือจะเกิดขึน้ ณ ขณะนีแ้ ต่อย่างใด
นโยบายในการพัฒนาบุคลากร เพือ่ ให้องค์กรพัฒนาไปสูก่ ารเป็นองค์กรทีม่ คี วามยัง่ ยืน ทางบริษทั ฯ ยังคงมีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรและปรับปรุง ระบบการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีศักยภาพและ ประสิทธิภาพอย่างต่อเนือ่ งและสม�ำ่ เสมอ โดยก�ำหนดเป้าหมายให้บคุ ลากรทุกคนเข้ารับการอบรม และฝึกอบรมพนักงาน เพือ่ ทีจ่ ะพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้ 86
ได้ใช้ความรู้ความสามารถและทักษะของตนเองรวมถึงให้มีการ ส่งเสริมให้มกี ารเรียนรู้ มีโอกาสก้าวหน้าในหน้าทีก่ ารงาน พร้อมทั้งได้เน้นย�้ำให้พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการ ท�ำงาน โดยให้มกี ารจัดอบรมเกีย่ วกับเรือ่ งความปลอดภัยและการ ปฏิบตั ติ นในโรงงานเมือ่ ปฏิบตั งิ าน บริษทั ฯ ได้มงุ่ เน้นให้ผบู้ ริหารและพนักงานในทุกระดับ ได้มสี ว่ นร่วมในการก�ำหนดแผนงานให้สอดคล้องกับทิศทางและ เป้าหมายขององค์กร โดยมีการร่วมประชุมหารือและก�ำหนด วิสยั ทัศน์และทิศทางขององค์กรร่วมกัน รวมถึงได้มกี ารก�ำหนด วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดที่พนักงานก�ำหนดจะใช้เป็นกรอบการ ปฏิ บั ติ ง านและมาตรฐานการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ พนักงานแต่ละบุคคลได้ บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยถือ “คน” ของบริษทั เป็นทรัพยากรทีส่ ำ� คัญในการทีจ่ ะท�ำให้ บริษทั ฯ มีความเจริญรุง่ เรืองก้าวหน้า มีการพัฒนาอย่างมัน่ คง และยั่งยืน เพื่อให้การพัฒนาบุคลากรของบริษัทฯ เป็นไปอย่าง
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
มีทศิ ทางและน�ำไปสูก่ ารพัฒนาบุคลากรอย่างยัง่ ยืน จึงได้มกี ารจัดตัง้ คณะท�ำงานจัดท�ำหลักสูตรอบรมเพือ่ พัฒนาบุคลากร โดยได้แบ่ง ตามระดับของพนักงานออกเป็น 4 ระดับ ซึง่ จะครอบคลุมทัง้ คนทีส่ ำ� นักงาน โรงงาน และฝ่ายไร่ ตลอดจน หน่วยงานสนับสนุนต่างๆ ได้แก่ 1. พนักงานระดับปฏิบตั กิ าร
2. พนักงานระดับหน่วยหรือกะ
3. พนักงานระดับแผนกหรือเขต
4. พนักงานระดับฝ่ายหรือสูงกว่านัน้
ดังตารางต่อไปนี้ แสดงหลักสูตรการอบรมบุคลากรของบริษทั ฯ ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 ปี 2559 ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ชือ่ หลักสูตร
รวมผูเ้ ข้า อบรมทัง้ หมด (คน)
ระดับพนักงาน
ระดับหัวหน้า และวิศวกร
ระดับผจก. ส่วนเทียบเท่า ขึน้ ไป
จิตดี มีสขุ เพิม่ คุณภาพงาน (พนักงานฝ่ายโรงจักร) (รุน่ ที่ 1-8)
454
124
14
592
การพัฒนาศักยภาพผูส้ อนงาน (รุน่ 1-5)
219
249
3
471
พัฒนาบุคคลากรฝ่ายไร่ 5 ขัน้ ตอนพืน้ ฐาน ( ครัง้ ที่ 1-3)
286
86
19
391
เทคนิคการปรับปรุงวิธกี ารทำ�งาน (รุน่ ที่ 1-9)
229
100
3
332
หลักการและขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านฤดูผลิต ปี 59 - 60 (รุน่ ที่ 1-3)
269
16
14
299
การบริหารความเสีย่ งของกลุม่ KTIS ประจำ�ปี 2559
64
199
33
296
เรียนรูก้ ระบวนการผลิตน้ำ�ตาลทราย (รุน่ 1-5)
274
18
1
293
การรณรงค์ลดปัญหา สิง่ สกปรก และสิง่ ปนเปือ้ นของอ้อย (รุน่ 1-3)
251
-
-
251
จำ�เป็นและบังคับพนักงานใหม่ (รุน่ 1-15)
242
9
-
251
เตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการทดสอบช่างไฟฟ้าภายใน อาคาร ระดับ 1
156
16
-
172
ISO9001:2015, ISO14001:2015 และการตรวจประเมิน
19
112
26
157
หัวหน้างานยุคใหม่
-
121
-
121
เพิม่ ผลผลิตลดต้นทุน
35
71
-
106
Total Productive Maintenance (TPM)”
85
20
-
105
ทบทวนข้อกำ�หนดมาตรฐาน FSSC 22000: FSSC 22000 Requirement Version 3.2
26
65
9
100
ธรรมะเพือ่ พัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพในการทำ�งาน
13
82
5
100
เป้าหมายประสิทธิภาพและคุณภาพการทำ�งาน และการบำ�รุง รักษารถไถ ปี 60-61
100
-
-
100
การทำ�ความเข้าใจ ระบบงบประมาณและระบบข้อมูลเพือ่ การ บริหาร
27
48
24
99
ดับเพลิงและฝึกซ่อมหนีไฟประจำ�ปี 2559
72
24
2
98
ความปลอดภัยในการทำ�งานเกีย่ วกับปัน้ จัน่ และเครน
68
29
-
97
โปรแกรมบริหารจัดการดินและปุย๋ เพือ่ เพิม่ ผลผลิตอ้อย รายแปลง ( รุน่ ที่ 1-2)
56
32
4
92
รายงานประจ�ำปี 2559
87
ปี 2559 ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ชือ่ หลักสูตร
รวมผูเ้ ข้า อบรมทัง้ หมด (คน)
ระดับพนักงาน
ระดับหัวหน้า และวิศวกร
ระดับผจก. ส่วนเทียบเท่า ขึน้ ไป
แรงงานสมานฉันท์ สร้างชาติในอนาคต
68
11
1
80
Spec Seal
69
10
-
79
เทคนิคการจัดเก็บข้อมูลและการสือ่ สารปี 2559 ฝ่ายไร่ (รุน่ ที่ 1-4)
77
2
-
79
ความรูเ้ กีย่ วกับ Bearing
65
6
-
71
Internal Auditor ISO 14001:2015” (รุน่ ที่ 1-2)
26
35
6
67
การตรวจสอบภายใน (Internal Quality Audits IQA)
4
60
1
65
การพัฒนาโปรแกรม และการประยุกต์ใช้เครือ่ งมือในการ สนับสนุนการผลิตอ้อยทัง้ ระบบ
44
21
-
65
การตัด ประกอบ เชือ่ ม ไฟฟ้า
63
1
-
64
การบริหารทีมงานและภาวะผูน้ ำ�
40
20
3
63
การบำ�รุงรักษาเชิงป้องกัน
61
1
-
62
ความรูพ ้ น้ื ฐานด้านการใช้ตลับลูกปืนของ NTN
49
13
-
62
ช่างเชือ่ ม
41
16
-
57
พืน้ ฐานงานท่อ และวาล์ว
57
-
-
57
โรคจากการประกอบอาชีพ การใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันอันตราย ส่วนบุคคล
42
15
-
57
ระบบมาตรฐานของคณะกรรมการ GMP/HACCP
4
42
10
56
การซ่อมบำ�รุงชุดลูกหีบเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการหีบอ้อย
43
7
-
50
การบำ�รุงรักษาอุปกรณ์นวิ เมติกส์
40
10
-
50
การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกลุม่ KTIS ประจำ�ปี 2559
13
35
1
49
อาหารฮาลาลและแนวทางปฏิบตั กิ ารอุตสหกรรม
3
38
6
47
ระบบบริหารจัดการคุณภาพและสิง่ แวดล้อม (QMS(2015)&EMS(2015) Intergrated system
11
31
3
45
การซ่อมบำ�รุงรักษาระบบไฟฟ้าและปรับอากาศในรถยนต์
36
6
-
42
การทำ�งานและการซ่อมบำ�รุงระบบเทอร์ไบน์ และกอฟเวอร์เนอร์
26
12
4
42
แผนงานรถตัด CHDP (ครัง้ ที่ 1-2)
27
13
1
41
ความรูเ้ กีย่ วกับมอเตอร์ไฟฟ้าทีใ่ ช้ในการบำ�รุงรักษาเชิงป้องกัน
34
6
-
40
ความรูเ้ รือ่ งผลิตภัณฑ์นำ�้ มันหล่อลืน่ ประจำ�ปี 2559
5
34
1
40
ผูต้ รวจประเมินภายในด้านคุณภาพและสิง่ แวดล้อม (QMS(2015)&EMS(2015) Intergrated system
7
29
2
38
Interpretation of ISO 14001:2015 requirements” (ครัง้ ที่ 1-2)
15
19
3
37
ระบบสารหล่อลืน่ ในเครือ่ งจักร
32
2
-
34
88
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ปี 2559 ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ชือ่ หลักสูตร
รวมผูเ้ ข้า อบรมทัง้ หมด (คน)
ระดับพนักงาน
ระดับหัวหน้า และวิศวกร
ระดับผจก. ส่วนเทียบเท่า ขึน้ ไป
หลักการและวิธใี ช้งานเครือ่ ง PH และ Conductivity ทีถ่ กู ต้อง เพือ่ ใช้งานในอุตสาหกรรมน้ำ�ตาล
22
10
-
32
การเลือกใช้วาล์วและอุปกรณ์ควบคุมให้คมุ้ ค่ากับการลงทุน
18
12
1
31
ความปลอดภัยตามกฎกระทรวงแรงงานไฟฟ้า ประจำ�ปี 2559
18
11
-
29
การใช้งานโปรแกรมบริหารงานบุคคลและเงินเดือน (ครัง้ ที่ 1-2)
16
6
3
25
ความรูเ้ กีย่ วกับระบบ PLC Control
20
4
1
25
ความรูเ้ กีย่ วกับ ระบบไฟฟ้า ระบบไฮดรอลิก และระบบ เครือ่ งยนต์ ของรถตัดอ้อย
20
3
-
23
พูดอังกฤษคำ�ต่อคำ�เพือ่ การทำ�งาน ระดับ 1
16
5
-
21
แนวทางการบริหารจัดการโรงงานทีผ่ ลิตสินค้าคุณภาพสูง
6
14
-
20
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทำ�งาน (จป.ระดับบริหาร)
-
8
11
19
เทคนิคการเชือ่ มและการตรวจสอบงานเชือ่ ม
18
1
-
19
การศึกษาดูงานโรงงานไฟฟ้า KTBP (รุน่ ที่ 1-3)
13
5
-
18
ความปลอดภัยในการทำ�งานในทีอ่ บั อากาศ
16
-
-
16
กฎระเบียบข้อบังคับการทำ�งาน (รุน่ ที่ 1)
12
2
-
14
Fermentation section, Distillation section and Analytical
-
10
3
13
การทำ�ความเข้าใจ ระบบงบประมาณและระบบข้อมูลเพือ่ การ บริหาร”
-
9
3
12
สัมมนาความรูด้ า้ นการอนุรกั ษ์พลังงานในภาคขนส่ง
10
2
-
12
หลักการใช้งานแลการดูแลรักษาเครือ่ ง Decanter
9
2
-
11
การประยุกต์ใช้งานเซนเซอร์ในกระบวนการผลิต
5
5
-
10
เผยแพร่ความรูด้ า้ นการอนุรกั ษ์พลังงานในภาคขนส่ง
2
6
2
10
ระบบนิวเมติกส์
6
2
-
8
Basic Turbine Training
5
1
-
6
โครงการส่งเสริมการดำ�เนินมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน
-
3
3
6
ศึกษาดูงานโครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอุตสาหกรรม รักษ์สง่ิ แวดล้อม
-
3
3
6
สัมมนากฎหมายใหม่ “ทวงหนีอ้ ย่างไร ไม่ตดิ คุก”
-
6
-
6
Sugar Color and Sugar Crystallization Online Measuring by Image Processing
-
5
-
5
การเตรียมความพร้อมสำ�หรับการเปิดหีบอ้อย ฤดูการผลิต ปี 2559/2560
-
1
4
5
การปฏิรปู กองทุนพัฒนาไฟฟ้า
-
3
2
5
รายงานประจ�ำปี 2559
89
ปี 2559 ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ชือ่ หลักสูตร
รวมผูเ้ ข้า อบรมทัง้ หมด (คน)
ระดับพนักงาน
ระดับหัวหน้า และวิศวกร
ระดับผจก. ส่วนเทียบเท่า ขึน้ ไป
การลดข้อผิดพลาดจากการวัดค่า pH และการไตรเตรท เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการทำ�งาน
3
2
-
5
การศึกษาดูงานเครือ่ งแยกกากแบบละเอียด (Clarified Juice Rotary Screen)
-
5
-
5
ความปลอดภัยในการทำ�งานเกีย่ วกับก๊าซชีวภาพ (Biogas)
4
1
-
5
ศึกษาวิเคราะห์สาเหตุคณ ุ ภาพโมลาสต่ำ�กว่ามาตรฐาน (ครัง้ ที่ 1-3)
-
4
1
5
อบรมในโครงการ Driving Skill for Life ฉลาดขับ ประหยัด ปลอดภัย
5
-
-
5
Innovation Technology Edge Of Molub-Alloy For Sugar Industry
-
4
-
4
SIEMENS SIMATIC STEP 7 PLC and Win CC HMI Programming Training Course
2
2
-
4
การจัดระบบคุณภาพเครือ่ งชัง่ ในห้องปฎิบตั กิ าร
3
1
-
4
การใช้งานและซ่อมบำ�รุงเครือ่ งอัดใบอ้อย (รุน่ ที่ 1-2)
-
4
-
4
การป้องกันอุบตั เิ หตุจากไฟไหม้หม้อต้มน้ำ�มันร้อนและหม้อไอน้ำ� ระเบิด
-
4
-
4
สถิตสิ ำ�หรับงานวิเคราะห์และทดสอบ ประจำ�ฤดูการผลิต 2558/59
-
3
1
4
AIM-Progress Responsible Sourcing Event
1
1
1
3
Open House พลิกธุรกิจสูย่ คุ อุตสาหกรรม 4.0 และ SME 4.0
-
3
-
3
Real time video monitoring benefit for on line sugar colour analyser and pan microscope
-
3
-
3
กฎหมายแรงงานและกฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
2
1
-
3
การใช้งานระบบวินจิ ฉัยโรคระบาดของอ้อยด้วยระบบ คอมพิวเตอร์อจั ฉริยะ
1
2
-
3
การประยุกต์ใช้งาน PLC (Mitsubishi) ในงานอุตสาหกรรม
-
3
-
3
การวิเคราะห์คา่ สีโดยใช้ ICUMSA METHOD GS 9/1/2/3-8(2011)
-
3
-
3
การสะสม Energy Point และเผยแพร่ความรูด้ า้ นการอนุรกั ษ์ พลังงาน
-
3
-
3
เครือ่ งปรับอากาศระบบอินเวอร์เตอร์
3
-
-
3
จัดทำ�บัญชีอย่างไร ให้เป็นธรรมกับผูเ้ สียภาษี
-
3
-
3
เทคโนโลยีการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์
-
3
-
3
เพิม่ มูลค่าธุรกิจด้วยนวัตกรรมประหยัดพลังงาน
1
2
-
3
90
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ปี 2559 ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ชือ่ หลักสูตร
รวมผูเ้ ข้า อบรมทัง้ หมด (คน)
ระดับพนักงาน
ระดับหัวหน้า และวิศวกร
ระดับผจก. ส่วนเทียบเท่า ขึน้ ไป
Complete concepts of Biosafety,Biosecurity & waste management in chemical laboratories
-
1
1
2
Interpretation of ISO 9001:2015 Requirements
-
2
-
2
ISO/FDID 9001:2015 /ISO/FDIS 14001:2015
-
-
2
2
Refresh and fulfill your holistic view of safety & waste management in chemical laboratories
-
2
-
2
Water management and Global Trend with “e water 5.2 “
-
1
1
2
การจดแจ้งเพือ่ ยกเว้นการตรวจสอบภาษียอ้ นหลังสำ�หรับ SMEs
-
1
1
2
การจัดการความปลอดภัยในห้องปฎิบตั กิ ารทางเคมี
-
2
-
2
การถ่ายโอนภารกิจด้านการตรวจรับรองมาตรฐานและการขึน้ ทะเบียนโรงงานผลิตสินค้าพืช
-
2
-
2
การทำ�งานด้วยการคำ�นวณโดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟท์เอก เซล 2013 ระดับชัน้ กลาง-สูง รุน่ 1
1
1
-
2
การประเมินประสิทธิภาพการทำ�งานของระบบลมในระบบปรับ อากาศและระบายอากาศ
-
2
-
2
การปรับปรุงจำ�นวนเงินใช้เป็นฐานในการคำ�นวณเงินสมทบ กองทุนประกันสังคม
-
1
1
2
การพัฒนาบุคลากร เพือ่ เป็นผูต้ รวจสอบเครน/ปัน้ จัน่
-
2
-
2
การพัฒนายกระดับผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการ ภายใต้พรบ.ส่งเสริมพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ.2545
2
-
-
2
การรายงานข้อมูลและนำ�ส่งเงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้า สำ�หรับ ผูร้ บั ใบอนุญาตจำ�หน่ายไฟฟ้า
-
2
-
2
การเลือกใช้นำ�้ บริสทุ ธิแ์ ละperistaltic punp ให้เหมาะสมตาม มาตรฐานห้องปฎิบตั กิ าร
-
2
-
2
ความรูก้ ารประกันสังคมและกฏหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง
2
-
-
2
โครงการเสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับกฏหมายสิง่ แวดล้อมภาคอุตสาหกรรมเพือ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว
-
2
-
2
โครงการเสริมสร้างศักยภาพผูค้ วบคุมระบบบำ�บัดมลพิษน้ำ� ใน การควบคุมดูแลการเดินระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย
-
1
1
2
จัดทำ�และจัดเก็บเอกสารหลักฐานอย่างถูกต้องสอดคล้องกับ หลักการบันทึกบัญชีและหลักเกณฑ์ทางภาษีอากร
1
3
-
4
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทำ�งาน (จป. ระดับหัวหน้างาน)
2
-
-
2
แนวทางการอนุรกั ษ์พลังงานและระดมความคิดเห็นปัญหา และความต้องการด้านพลังงาน
-
2
-
2
ระบบป้องกันการก่อการร้ายในอุตสาหกรรมอาหาร (Food Defense)
-
2
-
2
รายงานประจ�ำปี 2559
91
ปี 2559 ระดับผูเ้ ข้าอบรม - จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม (คน) ชือ่ หลักสูตร
รวมผูเ้ ข้า อบรมทัง้ หมด (คน)
ระดับพนักงาน
ระดับหัวหน้า และวิศวกร
ระดับผจก. ส่วนเทียบเท่า ขึน้ ไป
ศิลปะการพูด และการเป็นพิธกี ร
1
1
-
2
Seminar on Control & On/Off Valves & Steam Reducing & DeSuperheating Stations
-
1
-
1
กฎหมายสิง่ แวดล้อม
-
1
-
1
การบริหารและจัดการระบบฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรม MICROSOFT ACCESS 2013
1
-
-
1
การป้องกันการทุจริตในองค์กร ( หลักสูตรที่ 1-6 )
-
-
1
1
การพัฒนาศักยภาพผูป้ ระกอบการฮาลาลทัว่ ราชอาณาจักร ประจำ�ปี 2559
-
-
1
1
ความปลอดภัยในการทำ�งานเกีย่ วกับไฟฟ้า และการช่วยชีวติ เบือ้ งต้น
1
-
-
1
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทำ�งาน (จป.ระดับเทคนิค)
-
1
-
1
-
1
-
1
-
-
1 1
1 1
-
-
1
1
ด้านการผลิตเอทานอลจากกากน้ำ�ตาลและก๊าซชีวภาพจาก การผลิตเอทานอล ปฐมนิเทศระบบ มอก.9999 ผูจ้ ดั การสิง่ แวดล้อม ฝึกอบรมภาคปฏิบตั ดิ า้ นพลังงานทดแทน (แก๊สซิฟเิ คชัน่ จาก ชีวมวล)
92
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทมีเจตนารมณ์ที่จะก�ำกับดูแลการด�ำเนินธุรกิจ โดยยึดมั่นในหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัทภิบาลที่ดี ด้วยตระหนักถึงประโยชน์และความส�ำคัญของการก�ำกับกิจการ และบรรษัทภิบาลที่ดี ซึ่งมีส่วนช่วยให้การบริหารงานและการ ด�ำเนินกิจการมีประสิทธิภาพ ด้วยความโปร่งใส และค�ำนึงถึง ผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกด้าน รวมทัง้ สามารถตรวจสอบ ได้ เพื่อสนับสนุนให้บริษัทสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขัน และเพิม่ คุณค่าให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในระยะยาว บริษทั จึงได้กำ� หนด หลักการก�ำกับกิจการที่ดีเป็นนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรขึ้น และสื่อสารให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานทุกระดับในองค์กร ได้ลงนามรับทราบและน�ำไปปฏิบัติ ดังมีรายละเอียดนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ดี งั นี้
หมวดที่ 1 สิทธิของผูถ้ อื หุน้ 1.1 นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี กีย่ วกับการดูแลสิทธิของ ผูถ้ อื หุน้ บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เกีย่ วกับการดูแลสิทธิของผูถ้ อื หุน้ เป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยมุง่ เน้น ให้ผถู้ อื หุน้ ได้มโี อกาสรับรูผ้ ลการด�ำเนินงานของบริษทั อย่างทัว่ ถึง และเท่าเทียมกัน และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่างๆ ที่ส�ำคัญ ตลอดจนปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุน และไม่ลดิ รอนสิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยก�ำหนดนโยบายไว้ดงั นี้ »» บริษทั มีหน้าทีป่ กป้องและเคารพสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน ได้แก่ สิทธิการซือ้ ขายหรือโอนหุน้ สิทธิในการมีสว่ นแบ่งใน ก�ำไรของกิจการ สิทธิในการได้รบั ข่าวสารข้อมูลกิจการอย่าง เพียงพอ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ แต่งตัง้ หรือ ถอดถอนกรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี การจัดสรร เงิ น ปั น ผล การก� ำ หนดหรื อ แก้ ไ ขข้ อ บั ง คั บ หรื อ หนั ง สื อ บริคณห์สนธิ การลดทุนหรือเพิ่มทุน การอนุมัติรายการ พิเศษ เป็นต้น »» บริษัทมีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิใน เรือ่ งต่างๆ ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี ได้แก่ สิทธิ ในการเสนอวาระการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้า สิทธิในการ เสนอบุคคลเพือ่ คัดเลือกเป็นกรรมการล่วงหน้า สิทธิในการ ส่งค�ำถามต่อทีป่ ระชุมล่วงหน้าก่อนการประชุม สิทธิในการ แสดงความคิดเห็นและตัง้ ค�ำถามต่อทีป่ ระชุม เป็นต้น »» บริษทั มีหน้าทีใ่ นการงดเว้นการกระท�ำใดๆ อันเป็นการละเมิด หรือจ�ำกัดสิทธิ หรือการลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น ในการ ศึกษาข้อมูลสารสนเทศของบริษัท ที่ต้องเปิดเผยตามข้อ ก�ำหนดต่างๆ และการเข้าประชุมผู้ถือหุ้น เช่น ไม่น�ำเสนอ เอกสารทีม่ ขี อ้ มูลส�ำคัญเพิม่ เติมอย่างกะทันหัน ไม่เพิม่ วาระ การประชุมหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลส�ำคัญโดยไม่ได้แจ้งให้ ผูถ้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า เป็นต้น
»» บริษทั มีหน้าทีอ่ ำ� นวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ในการใช้สทิ ธิ ต่างๆ เช่น การให้ขอ้ มูลส�ำคัญทีเ่ ป็นปัจจุบนั ผ่านทางเว็บไซต์ ของบริษัท รวมถึงการอ�ำนวยความสะดวกในการประชุม ผูถ้ อื หุน้ ให้สถานทีจ่ ดั ประชุมมีความเหมาะสมทัง้ ขนาดรองรับ จ�ำนวนผูม้ าร่วมประชุมและต�ำแหน่งสถานทีต่ งั้ ซึง่ ต้องเดินทาง สะดวกไม่เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางและมีความปลอดภัย อีกทั้งบริษัทเปิดโอกาสให้ผถู้ ือหุ้นจัดส่งเอกสารลงทะเบียน เข้าร่วมการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุม เพือ่ ลดระยะเวลา ในการตรวจสอบเอกสารในวันประชุม และบริษทั จัดช่องทาง การลงทะเบียน ณ สถานทีจ่ ดั การประชุม โดยบริษทั ได้นำ� ระบบ บาร์โค้ด (Barcode) มาใช้ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพือ่ ช่วยให้ขนั้ ตอนการลงทะเบียนให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว ยิง่ ขึน้ และได้จดั เตรียมอากรแสตมป์ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในการมอบ ฉันทะ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ผเู้ ข้าประชุม เป็นต้น 1.2 การเปิดเผยสารสนเทศเกีย่ วกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ »» บริษทั มีนโยบายให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับ วัน เวลา สถานที่ และวาระ การประชุมผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนข้อมูลทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับ เรื่องที่ต้องตัดสินใจในที่ประชุมผู้ถือหุ้น แก่ผู้ถือหุ้นเป็น การล่วงหน้าอย่างน้อยตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ส�ำหรับการ ประชุมผูถ้ อื หุน้ ในแต่ละครัง้ บริษทั มีนโยบายในการเปิดโอกาส ให้ผถู้ อื หุน้ ศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้าก่อน การประชุม ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทเพื่อเปิดโอกาสให้ ผูถ้ ือหุน้ ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้า อย่างเพียงพอก่อนได้รบั ข้อมูลในรูปแบบเอกสารจากบริษทั และมีชอ่ งทางการติดต่อทีห่ ลากหลายเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สอบถาม เกีย่ วกับรายละเอียดเกีย่ วกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ »» หลังการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทจะน�ำเนื้อหาการประชุมซึ่ง ประกอบด้วย รายละเอียดวาระการประชุม มติที่ประชุม การลงคะแนนเสียง ตลอดจนค�ำถามและความเห็นของผูถ้ อื หุน้ รวบรวมจัดท�ำเป็น “รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ” เผยแพร่ ขึ้นเว็บไซต์ของบริษัท ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุม ซึง่ เป็นไปตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 1.3 การด�ำเนินการประชุม »» บริษัทมีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิ ในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเต็มทีใ่ นการประชุม ผู้ถือหุ้นและจะไม่กระท�ำใดๆ ที่เป็นการจ�ำกัดโอกาสการ เข้าประชุมของผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจในเรื่องที่กระทบหรือเกี่ยวข้องกับสิทธิและ ผลประโยชน์ของตน
รายงานประจ�ำปี 2559
93
»» บริษัทจะแจ้งกฎเกณฑ์และวิธีการในการเข้าร่วมประชุม ผูถ้ อื หุน้ ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบในหนังสือเชิญประชุม รวมทัง้ ในวัน ประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ด�ำเนินการประชุมจะแจ้งกฎเกณฑ์ที่ใช้ใน การประชุม และขัน้ ตอนการออกเสียงลงมติให้ผถู้ อื หุน้ ทราบ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น อีกทั้ง บริษัทเลือกใช้วิธีการลงมติและ อุปกรณ์ออกเสียงทีโ่ ปร่งใส สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงผลการลงมติได้รวดเร็ว และผูถ้ อื หุน้ สามารถ ทราบผลการลงมติโดยทันที และได้มีการบันทึกการแจ้ง กฎเกณฑ์และขั้นตอนการออกเสียงลงมติดังกล่าว ลงใน รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง นอกจากนี้บริษัทอาจ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่งค�ำถามล่วงหน้าทีเ่ กีย่ วข้องกับวาระ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ก่อนวันประชุมตามทีค่ ณะกรรมการ เห็นสมควร »» บริษทั จะเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ซักถามในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับ วาระการประชุมหรือเกีย่ วข้องกับบริษทั และแสดงความคิดเห็น โดยประธานกรรมการได้สอบถามที่ประชุมในแต่ละวาระ ทุกวาระ รวมทัง้ ได้มกี ารบันทึกข้อซักถามในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง กั บ วาระการประชุ ม หรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ษั ท และแสดง ความคิดเห็นของผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ ค�ำชีแ้ จงของคณะกรรมการ บริษัทและ/หรือผู้บริหารลงในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ทุกครัง้ »» บริษัทได้ให้ความส�ำคัญและเคารพสิทธิของผู้ถือหุ้นในการ จัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปีและสนับสนุนให้กรรมการ ทุกคนเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้
หมวดที่ 2 การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ค�ำนึงถึงการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน โดยก�ำหนดนโยบายทีส่ ำ� คัญ ดังต่อไปนี้ 2.1 การเสนอวาระเพิม่ เติมในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษัทมีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยในการเสนอเพิม่ วาระการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุม ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้การเสนอเพิ่มวาระการประชุมล่วงหน้าและการ พิจารณาข้อเสนอดังกล่าวของผูถ้ อื หุน้ จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ทีบ่ ริษทั ก�ำหนด ทงั้ นี้ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ทเี่ ป็นผูบ้ ริหารจะไม่เพิม่ วาระ การประชุมทีไ่ ม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จำ� เป็นโดยเฉพาะวาระ ส�ำคัญทีผ่ ถู้ อื หุน้ ต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนตัดสินใจ
และควรเสนอชื่อกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คนเป็นทางเลือก ในการมอบฉันทะของผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั จะด�ำเนินการจัดส่งหนังสือ มอบฉันทะรูปแบบดังกล่าวไปยังผู้ถือหุ้น และค�ำแนะน�ำในการ มอบฉันทะ รวมทัง้ ประวัตแิ ละข้อมูลการท�ำงานของกรรมการอิสระ แต่ละท่านอย่างครบถ้วน พร้อมกับหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถดาวน์โหลดหนังสือมอบฉันทะได้ทางเว็บไซต์ ของบริษัทที่ www.ktisgroup.com ผู้รับมอบฉันทะที่ถูกต้อง ตามกฎหมายและยืน่ หนังสือมอบฉันทะให้กรรมการในทีป่ ระชุมแล้ว ย่อมมีสทิ ธิเข้าร่วมประชุมและลงมติเช่นเดียวกับผูถ้ อื หุน้ ทุกประการ 2.4 การสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ใช้บตั รลงคะแนนเสียง บริษทั มีนโยบายสนับสนุนให้มกี ารใช้บตั รลงคะแนนเสียง ในวาระทีส่ ำ� คัญ เช่น การท�ำรายการเกีย่ วโยงกันการท�ำรายการ ได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ทมี่ นี ยั ส�ำคัญ เป็นต้น เพือ่ ความ โปร่งใสและตรวจสอบได้ ในกรณีมขี อ้ โต้แย้งในภายหลัง 2.5 การเปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ใช้ สิ ท ธิ แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการเป็ น รายบุคคล บริ ษั ท มี น โยบายสนั บ สนุ น ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ ใ ช้ สิ ท ธิ ใ น การแต่งตัง้ กรรมการเป็นรายคน 2.6 มาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ ในทางมิชอบ บริษทั ได้กำ� หนดมาตรการป้องกันกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ หาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือผูอ้ นื่ ในทางมิชอบไว้ในหลักจรรยาบรรณธุรกิจ (Code of Conduct) ซึง่ ครอบคลุมถึงเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการรักษาความลับ โดยมีการแจ้ง มาตรการดังกล่าวผ่านทางคูม่ อื หลักจรรยาบรรณธุรกิจ ทางการ จัดอบรม และทางเว็บไซต์ของบริษทั นอกจากนีย้ งั ได้มอบหมายให้ เลขานุการบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแจ้งหลักเกณฑ์การเปิดเผย ข้อมูล และติดตามให้คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารรายงาน การถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย รวมถึงการเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้ส่วนเสียหรือการท�ำรายการระหว่างกัน ของกรรมการและผู้บริหารและก�ำหนดให้กรรมการทุกคนและ ผูบ้ ริหารทีม่ หี น้าทีร่ ายงานการมีสว่ นได้เสียตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ให้บริษทั ทราบ
2.2 การเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ บริษัทมีนโยบายอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ทัง้ นี้ การเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและการ พิจารณาข้อเสนอดังกล่าวของผูถ้ อื หุน้ จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ทีบ่ ริษทั ก�ำหนด 2.3 การสนั บ สนุ น ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ใช้ ห นั ง สื อ มอบฉั น ทะในกรณี ท่ี ไม่สามารถมาประชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ดว้ ยตนเอง บริษทั มีนโยบายสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ใช้หนังสือมอบฉันทะ ในรูปแบบทีผ่ ถู้ อื หุน้ สามารถก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ 94
2.7 การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายย่อมมีสทิ ธิได้รบั ข้อมูลหรือเอกสารเป็น ภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษส�ำหรับผูถ้ อื หุน้ ชาวต่างชาติ เอกสาร ทีส่ ง่ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ชาวต่างชาติบริษทั มีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ
หมวดที่ 3 บทบาทของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย 3.1 นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดีเ กี่ ย วกั บ การดู แ ลผู ้ มี ส่วนได้สว่ นเสีย บริ ษั ท ตระหนั ก และให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ สิ ท ธิ ข องผู ้ มี ส่วนได้สว่ นเสียทุกกลุม่ ซึง่ ไม่เพียงแต่เฉพาะตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
»» บริษทั จัดให้มกี ารคุม้ ครองปกป้องสิง่ แวดล้อม โดยจะ ด�ำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม พัฒนาและใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อมมากยิง่ ขึน้ นอกจากนีค้ ณะกรรมการบริษทั ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานใน เรือ่ งสิง่ แวดล้อม โดยเนือ้ หาประกอบไปด้วยนโยบาย เพื่อการรักษาสิ่งแวดล้อม ปริมาณการใช้พลังงาน และการปลดปล่อยมลพิษทางอากาศการบริหารจัดการ ของเสียมาใช้ใหม่ (recycle) รวมถึงสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน
เท่านั้น ในปีที่ผ่านมาบริษัทได้พิจารณาชี้บ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขึ้นใหม่ พร้อมกับก�ำหนดเป็นนโยบายและมาตรการในการดูแล ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียเพิม่ เติม เพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี และนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และ สิง่ แวดล้อมของบริษทั ทีไ่ ด้ยดึ ถือปฏิบตั คิ วบคูก่ นั ไป โดยผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียของบริษทั แบ่งออกเป็น 10 กลุม่ ดังนี้
1. พนักงานและครอบครัว 2. เกษตรกรชาวไร่ 3. ลูกค้า และเจ้าหนี ้ 4. ผูถ้ อื หุน้ หรือผูล้ งทุน 5. ชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละสาขา 6. หน่วยงานราชการ 7. Supplier และ Contractor 8. นักวิชาการ 9. สถาบันการศึกษา 10. คูแ่ ข่ง
»» บริ ษั ท มี ห น้ า ที่ ใ นการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดีแ ละ ความร่วมมือในระยะยาวกับเกษตรกรชาวไร่คสู่ ญ ั ญา โดยยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต ความเชื่อถือและ ไว้วางใจซึง่ กันและกัน
ทัง้ นี้ บริษทั ได้กำ� หนดนโยบายและมาตรการในการดูแล ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียดังต่อไปนี้
1. พนักงานและครอบครัว
»» บริษทั สนับสนุนการสร้างความมัน่ คงในการประกอบ อาชีพของเกษตรกร โดยการให้การดูแล เอาใจใส่และ ให้ความส�ำคัญต่อเกษตรกรชาวไร่คสู่ ญ ั ญา
»» บริษทั ให้ผลตอบแทนแก่พนักงานอย่างเหมาะสมและ สอดคล้องกับการจ่ายผลตอบแทนของอุตสาหกรรม เดี ย วกั น ตลอดจนจั ดให้ มี ส วั ส ดิ ก ารต่ า งๆ ตาม กฏหมาย และมีกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพส�ำหรับพนักงาน โดยยึดหลักพิจารณา ผลงานด้วยความเป็นธรรม สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงาน ทั้งระยะสั้นและ ระยะยาว และสามารถวัดผลได้ภายใต้หลักเกณฑ์ ทีบ่ ริษทั ก�ำหนด
»» บริษทั มุง่ ส่งเสริมเกษตรกรชาวไร่คสู่ ญ ั ญาให้พฒ ั นา ความรู้ในการท�ำการเกษตรอย่างต่อเนื่อง อาทิ จัดอบรมโครงการโรงเรียนเกษตรกร เป็นต้น เพือ่ ให้ เกษตรกรน�ำความรูท้ ไี่ ด้มาใช้ในการประกอบอาชีพ เพิม่ ประสิทธิภาพของผลผลิตเพือ่ สร้างผลตอบแทน ทีด่ ใี นการประกอบอาชีพเกษตรกร และส่งเสริมให้มี การคุม้ ครองและปกป้องสิง่ แวดล้อม โดยสนับสนุนให้ มีการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มากยิ่งขึ้น รวมทั้งแจ้งให้ตระหนักถึงผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม และส่งเสริมให้มีการจัดการกับกาก ของเสียอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การน�ำเศษจาก ผลผลิตทางการเกษตรไปใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด
»» บริษทั มุง่ ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มที กั ษะ ความรู้ และความสามารถอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ จัดให้มกี ารอบรม และสั ม มนาผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ เพื่อสร้างศักยภาพและความพร้อมภายในองค์กร เพือ่ พัฒนาให้เป็นองค์กรทีม่ คี ณ ุ ภาพดียงิ่ ขึน้ »» บริษทั ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคนด้วยความเป็นธรรม และความเท่ า เที ย มกั น อาทิ การประเมิ น ผลงาน พนักงาน การรักษาความลับประวัตกิ ารท�ำงาน และ การให้สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ขนั้ พืน้ ฐานทีก่ ฎหมาย ก� ำ หนด รวมทั้ ง การใช้ สิ ท ธิ ต ่ า งๆ ของพนั ก งาน นอกเหนือจากทีก่ ฎหมายก�ำหนด โดยมีการประชาสัมพันธ์ สิทธิประโยชน์ต่างๆให้กับพนักงานอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น »» บริษัทค�ำนึงถึงสิทธิของพนักงานเป็นส�ำคัญ และ เปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานร้ อ งเรี ย นกรณี พ นั ก งาน ไม่ได้รบั ความเป็นธรรมผ่านช่องทางต่างๆ เช่น ตูร้ บั ความคิดเห็น หน่วยงานฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่ รับเรือ่ ง เป็นต้น »» บริษทั มีหน้าทีด่ แู ลจัดสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มี ความปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และเอือ้ ต่อการท�ำงาน อย่างมีประสิทธิผล เพื่อก�ำหนดนโยบายและหลัก ในการปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งสุ ข ภาพ สวั ส ดิ ภ าพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม โดยก�ำหนดและ ส่งเสริมให้มกี ารดูแลและรักษาสุขอนามัยทีด่ ี และจัดให้ มีสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัย ซึ่งรวมถึง ควบคุมภยันตราย และด�ำเนินการทีจ่ ำ� เป็นเพือ่ ป้องกัน มิให้เกิดอุบัติเหตุ และโรคภัยจากการท�ำงาน ให้กับ พนักงานทุกคน
2. เกษตรกรชาวไร่
3. ลูกค้า และเจ้าหนี ้ นโยบายเกีย่ วกับการดูแลลูกค้า »» บริษทั มีหน้าทีใ่ นการสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือ ในระยะยาวกับลูกค้า โดยยึดหลักความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความเชือ่ ถือและไว้วางใจซึง่ กันและกัน »» บริษทั มีหน้าทีใ่ นการสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กบั ลูกค้าของบริษทั ฯ ด้วยการรับผิดชอบ เอาใจใส่และ ให้ความส�ำคัญต่อปัญหาและความต้องการของลูกค้า เป็นอันดับแรก โดยให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคน ปฏิบตั ติ ามมาตรการตามนโยบายนี้ »» บริษัทจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักจริยธรรมโดยไม่ เรียกรับหรือจ่ายผลประโยชน์ทไี่ ม่สจุ ริตต่อลูกค้าและ เจ้าหนี้ »» ยึดมั่นในการน�ำเสนอและส่งมอบผลิตภัณฑ์และ บริการทีไ่ ด้มาตรฐานคุณภาพตรงกับความต้องการ ของลูกค้า »» ยึดถือปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ได้ท�ำข้อตกลง ไว้กบั ลูกค้าอย่างดีทสี่ ดุ รายงานประจ�ำปี 2559
95
นโยบายเกีย่ วกับการดูแลเจ้าหนี้
และระยะยาวโดยจะต้องปฏิบตั ติ ามคูม่ อื การจัดซือ้ จัดจ้างอย่างเคร่งครัดดังนี้
»» บริษทั มีหน้าทีส่ ร้างความสัมพันธ์และปฏิบตั ติ อ่ เจ้าหนี้ โดยยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต ความเชื่อถือและ ไว้วางใจซึง่ กันและกัน โดยให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้ แก่เจ้าหนี้ »» บริษทั มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ เอาใจใส่ และให้ความส�ำคัญ ต่อค�ำสัญญาและเงือ่ นไขต่างๆ ทีไ่ ด้ทำ� ข้อตกลงไว้กบั เจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด ในการช�ำระคืนหนี้ เงินกู้ยืม ดอกเบีย้ และมีความรับผิดชอบต่อหลักประกันต่างๆ หากเกิดกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขแห่ง สัญญาที่ตกลงไว้ ได้ บริษัทจะแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบ ล่วงหน้าเพือ่ ร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา
4. ผูถ้ อื หุน้ หรือผูล้ งทุน
โปรดอ้างอิงหมวด 1. สิทธิของผูถ้ อื หุน้
5. ชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง
»» »» »» »» »» »» »» »»
»» บริษัทสนับสนุนการเข้ามามีส่วนร่วมในการศึกษา การใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน ต่างๆ ตลอดจนร่วมศึกษาเพือ่ พัฒนานวัตกรรมต่างๆ ในการเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาบริษทั
6. หน่วยงานราชการ »» บริษทั มีหน้าทีป่ ฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทีไ่ ด้กำ� หนดไว้
»» บริษทั จะท�ำการสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของสถาบัน การศึกษาตามความเหมาะสม
7. Supplier และ Contractor »» บริษัทมีหน้าที่สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ Supplier และ Contractor ทุกราย »» บริษทั มีหน้าทีเ่ ปิดโอกาสให้ Supplier และ Contractor ทุกรายน�ำเสนอสินค้า/บริการได้โดยเท่าเทียมกัน โดยให้ผบู้ ริหารและพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องกับ Supplier และ Contractor ต้องปฏิบตั ติ ามมาตรการดังต่อไปนี้ »» ต้องปฏิบัติงานต่อ Supplier และ Contractor ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และมีความเท่าเทียมกัน »» การพิจารณาและตัดสินใจต้องอยู่บนพื้นฐาน ของการเปรียบเทียบคุณภาพ และเงื่อนไขต่างๆ โดย ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษทั ทัง้ ในระยะสัน้ 96
10. คูแ่ ข่ง »» บริษทั จะไม่กระท�ำการใดๆ ทีเ่ ป็นการฝ่าฝืนหรือขัดต่อ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการแข่งขันทางการค้า หรือ อาจท�ำให้เสือ่ มเสียชือ่ เสียงของคูแ่ ข่ง
»» บริ ษั ท จะสนั บ สนุ น กิ จ กรรมในโอกาสต่ า งๆ ของ หน่วยงานราชการตามความเหมาะสม
9. สถาบันการศึกษา »» บริษัทจะท�ำการส่งเสริมให้ความรู้ด้านเทคโนโลยี และกระบวนการผลิตแก่สถาบันการศึกษา โดยจะให้ ความส�ำคัญกับโรงเรียนและสถาบันการศึกษาทีใ่ กล้ บริเวณชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละสาขาของ บริษทั เป็นอันดับแรก
»» บริษทั มีหน้าทีด่ แู ลและสนับสนุนกิจกรรมทีม่ คี ณ ุ ประโยชน์ ต่อสังคม และให้ความร่วมมือกับภาครัฐและหน่วยงาน ต่างๆ ด้วยความเต็มใจ และเสียสละเพือ่ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม
8. นักวิชาการ »» บริษัทเปิดโอกาสให้นักวิชาการได้รับทราบข้อมูล วิธกี าร กระบวนการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ รวมทัง้ แลกเปลีย่ นความรู ้ เพือ่ เป็นประโยชน์ในงานด้านวิชาการ และการท�ำวิจยั ต่างๆ อันเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั
»» บริษัทและพนักงานต้องยึดมั่นประพฤติปฏิบัติตน เป็นพลเมืองทีด่ ี และเป็นประโยชน์แก่สงั คมและชุมชน »» บริษัทมีหน้าที่ประพฤติปฏิบัติต่อชุมชนที่อาศัยอยู่ ใกล้เคียงกับบริเวณทีต่ งั้ สถานประกอบการแต่ละสาขา ด้วยความเป็นมิตร และให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน ชุมชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดี ตลอดจนรับผิดชอบ ด�ำเนินการแก้ไขในกรณีทเี่ กิดปัญหาต่างๆ ทีไ่ ด้รบั ผล มาจากการด�ำเนินการของบริษทั อย่างเป็นธรรม และ มีความเท่าเทียมกัน
ด้านคุณภาพและการบริการ ด้านต้นทุนราคา ด้านก�ำหนดเวลาการส่งมอบ ด้านความเชือ่ ถือไว้วางใจ ด้านชือ่ เสียงและผลงานทีอ่ า้ งอิง ด้านประวัตใิ นการท�ำธุรกิจกับบริษทั ด้านเงือ่ นไขของธุรกรรม และด้านอืน่ ๆตามความเหมาะสม
3.2 มาตรการชดเชยผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกรณีได้รบั ความเสียหาย จากการละเมิด »» มาตรการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน
บริษทั มีมาตรการทีก่ รรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของ บริษทั จะต้องพึงปฏิบตั ใิ นการใช้ขอ้ มูลภายในดังนี้ 1. เลขานุการบริษทั มีหน้าทีแ่ จ้งให้กรรมการ และผูบ้ ริหาร รายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริษัทของตนเอง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ตลอดจนรายงาน การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติ บริ ษั ท หลั กทรั พย์ และตลาดหลั กทรั พย์ พ.ศ.2535 (รวมทีม่ แี ก้ไขเพิม่ เติม)
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
2. บริษัทจะแนะน�ำให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทีท่ ราบข้อมูลภายในเพือ่ ห้ามการซือ้ ขายหุน้ ของบริษทั ก่อนการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ รวมถึงข้อมูล งบการเงินของบริษทั ซึง่ มีผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลง ราคาหลักทรัพย์ต่อสาธารณชน กล่าวคือ เป็นเวลา 1 เดือนก่อนการเปิดเผยข้อมูลอันอาจเป็นการกระท�ำผิด พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ »» มาตรการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของผูบ้ ริหาร และพนักงาน บริษัทได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันกรรมการและผู้บริหาร ใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น ในทางมิชอบไว้ในหลักจรรยาบรรณส�ำหรับผู้บริหารและ พนักงานดังต่อไปนี้ 1. ผู้บริหารและพนักงานจะต้องไม่กระท�ำการใดๆ เพื่อ แสวงหาผลประโยชน์หรือเบียดบังทรัพย์สนิ ซึง่ ควรเป็น ของบริษัทหรือควรเป็นของลูกค้าของบริษัทฯ มาเป็น ของส่วนตัวหรือของบุคคลใดๆ โดยขัดแย้งกับการรักษา ผลประโยชน์ของบริษทั 2. ผูบ้ ริหารและพนักงานควรหลีกเลีย่ งสถานการณ์ หรือ การมีกจิ กรรมส่วนตัว และการมีผลประโยชน์ทางการเงิน ซึง่ อาจขัดแย้งกับหน้าทีก่ ารงานทีผ่ บู้ ริหารและพนักงาน ผู ก พั น อยู ่ และส่ ง ผลกระทบต่ อ แนวทางการรั ก ษา ผลประโยชน์ของบริษทั 3. บริษทั จะหลีกเลีย่ งทีจ่ ะมอบหมายหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ให้ กั บ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานในกรณี ที่ อ าจจะน� ำ ไปสู ่ สถานการณ์ทจี่ ะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ของบริษทั หรือขัดต่อผลประโยชน์ของลูกค้าของบริษทั 4. การที่ผู้บริหารและพนักงานมีส่วนร่วมในการด�ำเนิน กิจกรรมภายนอกองค์กร หรือด�ำรงต�ำแหน่งภายนอก องค์กร อาทิ การเป็นกรรมการ ทีป่ รึกษา ตัวแทน หรือ เป็นพนักงานในองค์กรอืน่ ๆ กิจกรรมนัน้ ๆ จะต้องไม่กอ่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท ไม่ว่า ทางตรงหรือทางอ้อม และจะต้องไม่ทำ� ให้เกิดผลเสียหาย ต่อบริษทั รวมทัง้ จะต้องไม่กระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าที่ ของบุคคลนัน้ ๆ 5. ห้ามมิให้ผบู้ ริหารและพนักงานเข้าร่วมหรือรับต�ำแหน่งใด ในองค์กรอื่นที่ประกอบธุรกิจในลักษณะเดียวกันกับ บริษทั หรือกิจการทีแ่ ข่งขันกับบริษทั หรือกิจการทีอ่ าจ มีผลประโยชน์ขดั แย้งกับบริษทั ทัง้ นี้ บริษทั จะได้รบั การรายงานข้อมูลส่วนได้สว่ นเสีย ในการท�ำธุรกรรมกับบริษทั ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน เป็นประจ�ำอย่างสม�ำ่ เสมอโดยตลอด โดยส�ำนักตรวจสอบภายใน ของบริษัทมีหน้าที่รายงานข้อมูลส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ให้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบทราบเพื่อพิจารณา และหลังจากนั้น ให้คณะกรรมการตรวจสอบน�ำข้อมูลสรุปส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ รายงานต่อคณะกรรรมการบริษัทเพื่อรับทราบและพิจารณา ต่อไป โดยส�ำนักตรวจสอบภายในจะเป็นผูต้ ดิ ตามผลอย่างต่อเนือ่ ง
นอกจากนี้ บริษทั ได้กำ� หนดมาตรการชดเชยผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียไว้ในกรณีได้รบั ความเสียหายจากการละเมิดดังต่อไปนี้ 1. มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ พนักงานและครอบครัว บริษทั จัดให้มสี ถานทีร่ บั ข้อร้องเรียน และ/หรือข้อเสนอแนะจากพนักงานไว้สำ� หรับเป็นช่องทาง ในการแจ้งเรือ่ งร้องเรียนของพนักงานทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ จากการท�ำงาน 2. มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ ลูกค้า และเจ้าหนี้ บริษทั ได้มกี ารดูแลลูกค้าตามนโยบาย การดูแลลูกค้า และจัดให้มฝี า่ ยลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Service) ขึน้ เพือ่ เป็นศูนย์รอ้ งเรียนส�ำหรับลูกค้า ในกรณี ทีล่ กู ค้ามีปญ ั หาและต้องการความช่วยเหลือเพือ่ ป้องกัน กรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อลูกหนี้ และเจ้าหนี้ ผู้บริหารจะพิจารณาคุณสมบัติของลูกหนี้ และเจ้าหนี้ ทุกรายก่อนการท�ำธุรกรรม เพือ่ ป้องกันการเกิดปัญหา ขึ้นในภายหลัง โดยพิจารณาตามหลักความซื่อสัตย์ สุจริตและความน่าเชือ่ ถือ 3. มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ ผู้ถือหุ้น บริษัทด�ำเนินการปกป้องและดูแลสิทธิของ ผูถ้ อื หุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน ทัง้ สิทธิในการได้รบั ข้อมูลสารสนเทศ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น ตลอดจนสนับสนุน การใช้สทิ ธินอกเหนือไปจากกฎหมาย 4. มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ ชุมชนรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง บริษัทมีการ ป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อชุมชนและ สังคมรอบสถานประกอบการแต่ละแห่ง ด้วยการปฏิบตั ิ ตามนโยบายการดูแลสังคมและชุมชน ในการสร้างสัมพันธ์ อันดีกับสังคมและชุมชนรอบข้าง ตลอดจนให้ความ ช่วยเหลือและสนับสนุนชุมชนให้มคี วามเป็นอยูท่ ดี่ ี 5. มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิด ต่อหน่วยงานราชการ บริษทั มีการป้องกันกรณีความ เสียหายจากการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ โดยบริษทั มีหน่วยงานฝ่ายกฎหมายทีจ่ ะท�ำหน้าทีใ่ นการ ติดตามดูแลการปฏิบตั ขิ องหน่วยงานในบริษทั ให้มกี าร ปฏิบตั เิ ป็นไปตามกฎหมายอยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ 6. มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ Supplier และContractor บริษัทมีการป้องกันกรณี ความเสียหายในการละเมิดต่อ Supplier และ Contractor โดยบริษัทมีนโยบายในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ Supplier และ Contractor ทุกราย รวมถึงมีการปฏิบตั ติ อ่ Supplier และ Contractor ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน 7. มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ นักวิชาการ บริษทั ได้เปิดโอกาสให้นกั วิชาการเข้าเยีย่ มชม กระบวนการให้บริการ และให้ขอ้ มูลวิธกี าร กระบวนการ ด�ำเนินงานในการให้บริการของบริษทั เพือ่ เป็นประโยชน์ ในด้านวิชาการ ตลอดจนร่วมมือกับนักวิชาการในการ ศึกษาปรับปรุงเทคโนโลยีในการให้บริการต่างๆ ร่วมกัน อย่างสม�ำ่ เสมอ
รายงานประจ�ำปี 2559
97
8. มาตรการป้องกันกรณีความเสียหายจากการละเมิดต่อ สถาบันการศึกษา บริษทั ได้ให้ความร่วมมือกับสถาบัน การศึกษาในการเปิดโอกาสให้เยีย่ มชมสถานประกอบการ ของบริษัท และจัดบรรยายให้ความรู้ด้านเทคโนโลยี และกระบวนการให้บริการของบริษทั แก่สถาบันการศึกษา ตลอดจนให้การสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ อยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ 3.3 กลไกการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย บริษัทได้ก�ำหนดกลไกการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียดังต่อไปนี้ »» บริษัทได้จัดให้มีช่องทางรับข้อร้องเรียนและ/หรือแสดง ความคิดเห็น และเพิม่ ช่องทางในการอีเมล์ถงึ ผูบ้ ริหารระดับสูง โดย ฝ่ายตรวจสอบติดต่อ โทร.02-692-0869-73 ต่อ 169 E-mail : internalaudit@ktisgroup.com »» บริษทั ได้เปิดโอกาสให้มชี อ่ งทางการส่งข้อเสนอแนะถึงกรรมการ บริษทั ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั โดย ฝ่ายเลขานุการบริษทั ติดต่อ โทร.02-692-0869-73 ต่อ 175 E-mail : cs@ktisgroup.com »» บริษทั ได้จดั ให้มกี ารส่งตัวแทนของบริษทั เพือ่ เข้าเยีย่ มเยียน ชุมชนในพืน้ ทีร่ อบๆ โรงงานเป็นประจ�ำทุกปี 3.4 กลไกคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแส »» บริษทั ได้กำ� หนดให้มชี อ่ งทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน การกระท�ำผิดกฎหมายหรือจรรยาบรรณ รายงานทาง การเงิน หรือระบบควบคุมภายในบกพร่อง ตามช่องทาง ในข้อ 3.3 »» บริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ารคุม้ ครองพนักงาน/ผูแ้ จ้งเบาะแส โดย 1. ผู ้ ร ้ อ งเรี ย นสามารถเลื อ กที่ จ ะไม่ เ ปิ ด เผยตนเองได้ หากเห็นว่าการเปิดเผยนัน้ จะท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัย หรือความเสียหาย 2. บริษทั จะเก็บข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องไว้เป็นความลับ ค�ำนึงถึง ความปลอดภัยของผู้ร้องเรียน โดยก�ำหนดมาตรการ คุ ้ ม ครองผู ้ ร ้ อ งเรี ย นที่ เ ป็ น พนั ก งาน รวมถึ ง ผู ้ ใ ห้ ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง จากสาเหตุ แห่งการแจ้งข้อร้องเรียน เช่น การรบกวนในการท�ำงาน การโยกย้าย การเลิกจ้าง การข่มขู่ เป็นต้น »» บริษัทได้ก�ำหนดให้มีกระบวนการด�ำเนินการหลังจากมี ผูแ้ จ้งเบาะแส โดยในเบือ้ งต้นส�ำนักตรวจสอบภายในจะท�ำการ รวบรวมสรุปเรือ่ งดังกล่าวแล้วน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบเพื่อพิจารณาพิสูจน์หาข้อเท็จจริง หากพบว่า เป็นข้อมูลทีก่ ระทบต่อบริษทั จะต้องน�ำเสนอให้คณะกรรมการ บริษทั พิจารณาต่อไป
98
หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทมีนโยบายเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับ บริษัท ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางทีเ่ ข้าถึงข้อมูล ได้งา่ ย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชือ่ ถือ 4.1 การควบคุมภายในและการท�ำรายการ/ธุรกรรมที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ »» บริษทั มีนโยบายในการป้องกันและขจัดปัญหาความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ทอี่ าจเกิดขึน้ โดยก�ำหนดให้การท�ำรายการ และ/หรือธุรกรรมที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่บริษัทก�ำหนด และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง »»
บริษทั จะด�ำเนินการให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั แล้วแต่กรณีไม่ประกอบธุรกิจ ทีค่ ล้ายคลึง หรือแข่งขัน ซึง่ ส่งผลให้ความสามารถในการแข่งขันของบริษทั ลดลง หรือมีรายการระหว่างกันในลักษณะทีม่ ผี ลประโยชน์ อื่นที่อาจขัดแย้งกับผลประโยชน์ที่ดีที่สุดกับบริษัท หรือ บริษัทย่อย โดยกรรมการ ผู้บริหาร และ/หรือ ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท แล้วแต่กรณีจะต้องรายงานต่อบริษัท หากกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ/หรือหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่เข้าไป ถือหุ้นบริษัทที่มีวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินงานคล้ายคลึง กับบริษทั หรือบริษทั ย่อย เพือ่ ให้บริษทั และคณะกรรมการ ตรวจสอบพิจารณาว่าการถือหุน้ ดังกล่าวขัดต่อผลประโยชน์ ทีด่ ที สี่ ดุ ของบริษทั หรือบริษทั ย่อยหรือไม่
»» บริษทั ยังให้ความส�ำคัญกับระบบการควบคุมภายในทีด่ ี และ ได้จดั ให้มสี ำ� นักตรวจสอบภายในเพือ่ ตรวจสอบการปฏิบตั ิ งานของแต่ละสายงาน เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดและ ปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใส โดยมีการตรวจสอบ เป็นระยะและจัดท�ำรายงานส่งให้คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณา 4.2 การเปิดเผยข้อมูล บริษทั เปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามกฏหมายหรือกฎเกณฑ์ ทีเ่ กีย่ วข้องก�ำหนดผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และบริษทั ภายใต้หวั ข้อ ข้อมูลนักลงทุน โดยบริษทั จัดให้มผี รู้ บั ผิดชอบ คือ นักลงทุนสัมพันธ์ พร้อมทัง้ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบนั อยูเ่ สมอ เพือ่ เป็นตัวแทนในการสือ่ สาร บริการข้อมูล ข่าวสารกิจกรรมต่างๆ กับบริษัท สถาบันผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และประชาชน หากมี ข ้ อ สงสั ย สามารถติ ด ต่ อ ได้ ที่ ฝ ่ า ยนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ โทร.02-692-0869-73 ต่อ 193 ต่อ 26 E-mail : ir@ktisgroup.com 4.3 การเปิดเผยนโยบายก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ได้เปิดเผยนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีไ่ ด้ให้ ความเห็นชอบและผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าวผ่านช่องทาง ต่างๆ เช่น รายงานประจ�ำปี และเว็บไซต์ของบริษทั เป็นต้น
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
4.4 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อ รายงานทางการเงิน บริษทั จัดให้มรี ายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงินแสดงควบคูไ่ ปกับรายงานของผูส้ อบบัญชี ในรายงานประจ�ำปี ซึ่งมีเนื้อหารับรองการปฏิบัติตามหลักการ บัญชี และมีการรายงานทางการเงินที่มีข้อมูลถูกต้องครบถ้วน เป็นจริงตามมาตรฐานการบัญชี โดยรายงานดังกล่าวลงนาม โดยประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ 4.5 การเปิดเผยบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดย่อย ได้เปิดเผยบทบาทและหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั และ คณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวนครัง้ ของการประชุมและจ�ำนวนครัง้ ทีก่ รรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมในปีทผี่ า่ นมาและความเห็นจาก การท�ำหน้าทีใ่ นรายงานประจ�ำปี 4.6 การเปิดเผยข้อมูลการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั บริษัทก�ำหนดให้กรรมการต้องรายงานการซื้อ-ขาย หุน้ ของ/ถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ให้ทปี่ ระชุมคณะกรรมการ ทราบทุกครัง้
หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั บริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญในการพิจารณาสรรหา กรรมการที่ มี ภ าวะผู ้ น� ำ วิ สั ย ทั ศ น์ มี ป ระสบการณ์ ค วามรู ้ ความสามารถ และมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์ สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม และความส�ำคัญในการ แบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ บริษัทและฝ่ายจัดการที่ชัดเจน และดูแลให้บริษัทมีระบบงานที่ ให้ความเชื่อมั่นได้ว่ากิจกรรมต่างๆ ของบริษัทได้ด�ำเนินไปใน ลักษณะทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายและมีจริยธรรม บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษทั โดยค�ำนึงปัจจัยต่าง ๆ ซึง่ รวมถึงความรับผิดชอบของ กรรมการ โดยมีแนวนโยบายส�ำคัญทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนี้ 5.1 โครงสร้างคณะกรรมการบริษทั »» บริ ษั ท ค� ำ นึ ง ถึ ง การบริ ห ารงานที่ โ ปร่ ง ใสและสามารถ ตรวจสอบได้เป็นส�ำคัญ ดังนัน้ ประธานกรรมการของบริษทั จึ ง ไม่ เ ป็ น บุ ค คลเดี ย วกั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารหรื อ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ อีกทัง้ คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ ความเห็นชอบในการก�ำหนดนิยามกรรมการอิสระของ บริษทั ตามหลักเกณฑ์และค�ำนิยามทีก่ ำ� หนดไว้โดยส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ »» ส�ำหรับกระบวนการสรรหากรรมการบริษัทได้ก�ำหนดวิธี การที่เป็นทางการโดยยึดหลักความโปร่งใส ปราศจาก อิทธิพลของฝ่ายบริหารหรือผูถ้ อื หุน้ ทีม่ อี ำ� นาจควบคุม คือ คณะกรรมการสรรหาจะเป็นผูส้ รรหาบุคคลด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการโดยท�ำการพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสม
โดยพิจารณาจากคุณวุฒิ ความสามารถ ประสบการณ์ ท�ำงาน ฯลฯ และจะต้องมีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้าม ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ตลอดจนสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท เพื่ อ ให้ ต รงกั บ ภาระหน้ า ที่ ข อง กรรมการบริษัทและ/หรือกรรมการในคณะอนุกรรมการ ต่ า งๆ ซึ่ ง จะสรรหาจากบุ ค คลผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ นสาขา วิชาชีพต่างๆ หรือ Professional Search Firm หรือ Director Pool หรือองค์กรลักษณะดังกล่าว และเมือ่ คัดเลือก กรรมการทีเ่ หมาะสมได้แล้ว จงึ น�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ เป็นกรรมการต่อไป »» บริษทั ได้จดั ให้มกี ารเปิดเผยรายชือ่ ของคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการ โดยเปิดเผยชือ่ กรรมการรายบุคคล ต�ำแหน่ง อายุ ประวัตกิ ารศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ประสบการณ์ท�ำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหาร โดยได้เปิดเผยไว้ผ่านช่องทางต่างๆ ทั้งในรายงานประจ�ำปี และเว็บไซต์ของบริษทั »» กรรมการของบริษทั โดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ทัง้ นี้ กรรมการซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ อาจได้รบั เลือกตัง้ ใหม่จากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ »» คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ หมด และไม่นอ้ ยกว่า 3 คน กรรมการ อิสระของบริษทั จะต้องมีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้าม ตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ก� ำ หนดซึ่ ง มี ค วามเข้ ม งวด ไม่ น ้ อ ยกว่ า คุ ณสมบั ติ ที่ ค ณะกรรมการก� ำ กั บ ตลาดทุ น และตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด »» บริษัทมีนโยบายที่จะแต่งตั้งเลขานุการบริษัทเพื่อท�ำหน้าที่ ต่างๆ ตามที่กฎหมายก�ำหนด และท�ำหน้าที่อื่นตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั 5.2 ภาวะผูน้ ำ� และวิสยั ทัศน์ »» คณะกรรมการบริษทั มีภาวะผูน้ ำ � วิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ ทิศทางและนโยบายในการด�ำเนินงาน แผนการประกอบธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัทและมีความเป็นอิสระ ในการตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ โดยรวม บริษัทจึงจัดให้มีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรรมการบริษทั กับฝ่ายบริหารอย่างชัดเจน โดยฝ่าย บริหารจะเป็นผูห้ าข้อมูลต่างๆ เพือ่ ประกอบการพิจารณาและ คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีต่ ดั สินใจ »» คณะกรรมการบริษัทมุ่งหวังที่จะให้กิจการของบริษัทมี ความมัน่ คง และมีความส�ำเร็จทางธุรกิจทีย่ งั่ ยืนในระยะยาว จึงได้รว่ มกับฝ่ายบริหารพิจารณาทบทวนก�ำหนดวิสยั ทัศน์ และภารกิจที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงก�ำหนดเป้าหมาย แผนธุรกิจ และแผนงบประมาณใน รอบปีที่ผ่านมา โดยค�ำนึงถึงการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ สูงสุด และความมัน่ คงในระยะยาวของบริษทั และของผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนท�ำหน้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลและติดตามการด�ำเนินการ ของฝ่ายบริหารให้เป็นไปตามแผนธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
รายงานประจ�ำปี 2559
99
»» คณะกรรมการบริษัทมีการติดตามดูแลเพื่อให้เกิดความ เชื่อมั่นว่า ฝ่ายบริหารได้น�ำกลยุทธ์ของบริษัทไปประชุม ฝ่ายจัดการและปฏิบัติตามกลุยุทธ์ที่ได้ก�ำหนดไว้ โดยฝ่าย บริหารจะมีการรายงานผลให้คณะกรรมการบริษัททราบ ปีละ 4 ครัง้
»» บริษัทจะติดตามและดูแลให้การประกอบธุรกิจของบริษัท การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ การด�ำเนินการของฝ่าย บริหาร และการปฏิบตั งิ านของพนักงาน ยึดมัน่ อยูใ่ นกรอบ ของคุณธรรม และจริยธรรมอันดี นอกเหนือจากระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั และกรอบกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
»» คณะกรรมการบริษทั ได้สนับสนุนให้เกิดระบบบรรษัทภิบาล ในการบริหารงานภายในองค์กร คณะกรรมการบริษัท จึงได้เป็นผูน้ ำ� ในการก�ำหนดแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี หลักจรรยาบรรณ มาตรการและขั้นตอนการอนุมัติ การท�ำรายการระหว่างกันกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องหรือบุคคล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง รวมถึงการแบ่งแยกขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ อย่างชัดเจนระหว่างผูถ้ อื หุน้ กับคณะกรรมการบริษทั ระหว่าง คณะกรรมการบริษัทกับผู้บริหารและคณะอนุกรรมการ ชุดต่างๆ เพือ่ ให้เกิดการถ่วงดุลอ�ำนาจและสามารถตรวจสอบ ซึง่ กันและกันได้อย่างอิสระ
»» บริษทั ก�ำหนดนโยบายให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน หลี ก เลี่ ย งหรื อ งดการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ใน ช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญแก่ สาธารณชนทีอ่ าจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั เช่น ข้อมูลทางการเงิน เป็นต้น
5.3 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ »» บริษทั จะพิจารณาการท�ำรายการระหว่างกันทีอ่ าจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผูถ้ อื หุน้ กรรมการ และ ฝ่ายบริหาร ด้วยความรอบคอบ ซือ่ สัตย์สจุ ริต อย่างมีเหตุ มีผล และเป็นอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี ตลอดจน มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน โดยยึดผลประโยชน์ของ บริษัท โดยรวมเป็นส�ำคัญ รวมทั้งยึดถือการปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และวิธีการตามประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด โดย คณะกรรมการตรวจสอบจะให้ความเห็นเกีย่ วกับความจ�ำเป็น และความเหมาะสมของของการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันนัน้ »»
บริษทั ได้กำ� หนดให้มมี าตรการและขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารท�ำ รายการระหว่างกันกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง หรือบุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ง โดยห้ามมิให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรง และทางอ้อมมีสว่ นร่วมในการพิจารณารายการ และก�ำหนด ให้คณะกรรมการตรวจสอบร่วมพิจารณาและให้ความเห็น เกี่ยวกับความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ ที่น�ำเสนอนั้นเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท ตลอดจนให้มี การเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการระหว่างกัน ไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น ตามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ รั บ รอง โดยทัว่ ไป ในรายงานประจ�ำปี
5.4 จริยธรรมทางธุรกิจ »» บริ ษั ท ได้ จั ด ท� ำ หลั ก จรรยาบรรณส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารและ พนักงาน (Code of Conduct) เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและพนักงาน ทุกคนได้ใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานในหน้าที่ และยึดถือ ประพฤติปฏิบตั อิ ย่างสม�ำ่ เสมอและเคร่งครัด โดยครอบคลุม ทั้งด้านการประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์และสุจริต การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วยความเท่าเทียมและ เป็นธรรม การป้องกันการละเมิดต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การรักษาความลับ และการใช้ ข้อมูลในทางทีผ่ ดิ ตลอดจนเรือ่ งการรับสินบน ของขวัญ และ ของรางวัล ทั้งนี้ได้มอบหมายให้ส�ำนักตรวจสอบภายใน ติดตามและตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามหลักจรรยาบรรณนี้ 100
5.5 การรวมหรื อ แยกต� ำ แหน่ ง เพื่ อ การถ่ ว งดุ ล อ� ำ นาจการ บริหารงาน บริ ษั ท ก� ำ หนดแบ่ ง แยกขอบเขต อ� ำ นาจหน้ า ที่ และ ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รวมถึง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ไว้อย่างชัดเจน รวมถึงการก�ำหนดให้ บุคคลผู้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการ ไม่เป็นบุคคลเดียวกัน กับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหาร หรือประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ายบริหาร เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้บริหารคนใดคนหนึ่งมีอ�ำนาจโดยไม่จ�ำกัด และสามารถทีจ่ ะสอบทานถ่วงดุลการบริหารงานได้ 5.6 คณะอนุกรรมการ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ไ ด ้ จั ด ใ ห ้ มี ก า ร แ ต ่ ง ตั้ ง คณะอนุกรรมการ เพือ่ ช่วยงานคณะกรรมการบริษทั ในการศึกษา รายละเอียด ติดตามและควบคุมการปฏิบัติงาน และกลั่นกรอง กิจการทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดยมีการก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน 5.7 บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานกรรมการ บริษทั »» จัดให้มกี ารประชุมกรรมการบริษทั ในแต่ละปี ดูแลการจัดส่ง หนังสือเชิญประชุม รวมทัง้ เอกสารต่างๆ เพือ่ ให้คณะกรรมการ บริษทั ได้รบั ข้อมูลอย่างเพียงพอและทันเวลา »»
ท�ำหน้าทีป่ ระธานทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และสนับสนุน การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทอย่างถูกต้องตาม กฏหมายและข้อก�ำหนดต่างๆ
»» เปิดโอกาสให้กรรมการบริษทั ได้แสดงความคิดเห็น พจิ ารณา และตัดสินใจอย่างรอบคอบ และสุจริต »» จัดให้มีการรายงานจากฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการ บริ ษั ท ชุ ด ย่ อ ยๆ เพื่ อ ติ ด ตามผลการด� ำ เนิ น งานของ บริษัท และความคืบหน้าของกิจการต่างๆ ในการประชุม คณะกรรมการบริษทั »» ส่งเสริมและสร้างมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ คณะกรรมการบริษทั
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
»» เป็นประธานทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และควบคุมการประชุมให้เป็น ไปตามข้อบังคับของบริษทั และระเบียบวาระทีก่ ำ� หนดไว้ »» ดูแลส่งเสริมให้กรรมการบริษทั และผูถ้ อื หุน้ ติดต่อสือ่ สารกัน อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเมินประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยงอย่างน้อย ปีละ 1 ครัง้ และในทุกๆ ระยะเวลาทีพ ่ บว่าระดับความเสีย่ ง มีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ รวมถึงการให้ความส�ำคัญกับสัญญาณ เตือนภัยล่วงหน้าและรายการผิดปกติทงั้ หลาย
»» จัดให้มีการรายงานจากฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการ บริ ษั ท ชุ ด ย่ อ ยๆ เพื่ อ ติ ด ตามผลการด� ำ เนิ น งานของ บริษัท และความคืบหน้าของกิจการต่างๆ ในการประชุม คณะกรรมการบริษทั
»» คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายส่งเสริมพัฒนาความรู้แก่ กรรมการบริษทั ทุกท่าน โดยก�ำหนดให้แต่ละปี จัดให้กรรมการ บริษทั อย่างน้อย 1 ท่าน เข้าร่วมอบรมหลักสูตรหรือกิจกรรม สัมนาทีเ่ ป็นการเพิม่ พูนความรูใ้ นการปฏิบตั งิ านของบริษทั
5.8 บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั
5.9 อ�ำนาจอนุมตั ขิ องคณะกรรมการบริษทั
»» คณะกรรมการบริษทั ได้ทำ� หน้าทีพ ่ จิ ารณาและให้ความเห็นชอบ ในเรื่องที่ส�ำคัญเกี่ยวกับการด�ำเนินงาน รวมทั้งก�ำกับดูแล ให้ฝา่ ยจัดการด�ำเนินงานตามนโยบายและแผน รวมถึงตาม งบประมาณทีก่ ำ� หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล »» ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการของบริษทั เป็นลายลักษณ์อกั ษร และให้ความเห็นชอบ ในนโยบายดังกล่าวไว้แล้วนั้น คณะกรรมการบริษัทได้มี การทบทวนเป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ »» คณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำหลักจรรยาบรรณธุรกิจ ที่เป็นลายลักษณ์อักษรขึ้นไว้ และได้เผยแพร่แจกจ่ายให้แก่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทีเ่ ข้าใหม่ รวมทัง้ ด�ำเนินการ ทบทวนจรรยาบรรณต่างๆ ส�ำหรับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงานเดิม เพื่อให้เข้าใจถึงมาตรฐานด้านจริยธรรมที่ บริษัทใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการบริษัทได้ มอบหมายให้สำ� นักตรวจสอบภายในติดตามการปฏิบตั ติ าม จรรยาบรรณดังกล่าวอย่างใกล้ชดิ »» คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาเรื่องความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ อ ย่ า งรอบคอบ รวมถึ ง การท� ำ รายการ ที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งอาจมีความขัดแย้งกับผลประโยชน์ของ บริษัท โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ รายการระหว่างกันที่ส�ำคัญต้องได้รับการพิจารณา อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั »» คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบการควบคุมด้านการ รายงานทางการเงิน และการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ ซึ่งจะมีหน่วยงานตรวจสอบภายในท�ำหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งมี ความอิสระต่อการปฏิบัติหน้าที่ และได้มีการทบทวนระบบ ดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ »» คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีร่ ว่ มกับคณะกรรมการตรวจสอบ ในการพิจารณางบการเงินประจ�ำปีและประจ�ำไตรมาส และ สารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี และ ร่วมประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ของบริษทั เพือ่ เปิดเผยต่อผูล้ งทุน »» คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีร่ ว่ มกับคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งในการพิจารณาก�ำหนดนโยบายด้านการบริหาร ความเสีย่ ง (Risk Management Policy) อย่างครอบคลุม ทั้ ง องค์ ก ร โดยมอบหมายให้ ฝ ่ า ยจั ด การเป็ น ผู ้ ป ฏิ บั ติ ตามนโยบายและรายงานให้คณะกรรมการบริษัทและ/หรือ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งทราบเป็ น ประจ� ำ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั จะจัดให้มกี ารทบทวนระบบหรือ
»» แต่ ง ตั้ ง ถอดถอน มอบอ� ำ นาจหน้ า ที่ ใ ห้ แ ก่ ที่ ป รึ ก ษา คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดต่างๆ ไปปฏิบตั ิ »» ปรึกษาผูเ้ ชีย่ วชาญ หรือทีป่ รึกษาของบริษทั (ถ้ามี) หรือทีจ่ า้ ง ที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอกในกรณีที่จ�ำเป็นด้วย ค่าใช้จา่ ยของบริษทั »» อนุมัตินโยบาย หลักการ และมอบหมายให้ฝ่ายบริหาร ด�ำเนินการปฏิบตั ติ ามระเบียบวาระอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล »» อนุมตั ธิ รุ กรรมด้านการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ตราสารทุน และตราสารหนี้ การลงทุนหรือร่วมทุนในกิจการใหม่ ในวงเงิน ทีเ่ กินอ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร และตามกฏหมาย »» อนุมตั กิ ารตัดหนีส้ ญ ู ออกจากบัญชีตามเงือ่ นไขทีบ่ ริษทั ก�ำหนด »» อนุมตั แิ ผนธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปีของบริษทั »» อนุมตั ใิ ห้ซอื้ หุน้ บริษทั กลับคืนไม่เกินกว่าร้อยละ 10 ของทุน ช�ำระแล้ว หรือตามทีก่ ฏหมายก�ำหนด »» อนุมัติธุรกรรมการเงินนอกเหนือจากที่ได้ก�ำหนดให้ฝ่าย บริหารด�ำเนินการได้ »» อนุมตั กิ ารจ�ำหน่ายทรัพย์สนิ ถาวรของบริษทั ในวงเงินทีเ่ กิน อ�ำนาจคณะกรรมการบริหาร และตามกฏหมาย »» อนุมัติธุรกรรมทางการเงินต่างที่เกินอ�ำนาจอนุมัติของ คณะกรรมการบริหาร 5.10 การประชุมคณะกรรมการบริษทั »» คณะกรรมการบริษัทจะจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการ ไม่นอ้ ยกว่าปีละ 5 ครัง้ และด�ำเนินการประชุมให้เป็นไปตาม ข้อบังคับของบริษัท พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และกฎระเบี ย บของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย โดยประธานกรรมการในฐานะประธานใน ที่ประชุมจะส่งเสริมให้มีการใช้ดุลยพินิจที่รอบคอบ และ จัดสรรเวลาอย่างเพียงพอที่ฝ่ายบริหารจะเสนอเรื่อง และ มากพอที่ ก รรมการจะอภิ ป รายปั ญ หาส� ำ คั ญ กั น อย่ า ง รอบคอบ รวมทัง้ จัดให้มกี ารจดบันทึกรายงานการประชุม ทุกครัง้ เพือ่ ให้กรรมการและผูเ้ กีย่ วข้องสามารถตรวจสอบได้ กรรมการมีหน้าทีต่ อ้ งเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการทุกครัง้ ยกเว้ น กรณี ที่ มี เ หตุ ผ ลพิ เ ศษ กรรมการที่ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อมไม่มสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนและ ต้องออกจากการประชุมในระหว่างการพิจารณาวาระนัน้ ๆ รายงานประจ�ำปี 2559
101
»» ก�ำหนดให้จำ� นวนองค์ประชุมขัน้ ต�ำ ่ ณ ขณะทีค่ ณะกรรมการ จะลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการอยู่ ไม่นอ้ ยกว่า 2 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ หมด »» บริษัทได้จัดให้ฝ่ายจัดการท�ำรายงานผลการด�ำเนินงาน เสนอให้คณะกรรมการบริษัททราบโดยสม�่ำเสมอเพื่อให้ คณะกรรมการบริษัทสามารถก�ำกับ ควบคุมและดูแลการ ปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการได้อย่างต่อเนื่องและทันการ บริษทั จัดท�ำบันทึกรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยจัดเก็บต้นฉบับร่วมกับหนังสือเชิญประชุมและเอกสาร ประกอบการประชุม และจัดเก็บส�ำเนาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ความสะดวกส�ำหรับกรรมการและผูท้ เี่ กีย่ วข้องในการ ตรวจสอบ »» ประธานกรรมการบริษทั เป็นผูเ้ รียกประชุมคณะกรรมการ และพิจารณาก�ำหนดวาระในการประชุม โดยอาจปรึกษา หารือกับกรรมการผูจ้ ดั การ เลขานุการบริษทั หรือทีป่ รึกษา บริษทั โดยกรรมการแต่ละคนมีสทิ ธิทจี่ ะเสนอเรือ่ งเข้าสูว่ าระ การประชุมคณะกรรมการบริษทั ได้ »» คณะกรรมการบริษทั อาจเชิญผูบ้ ริหาร พนักงาน ทีป่ รึกษา บริษัท เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเพื่อให้สารสนเทศ เพิม่ เติม ในเรือ่ งทีป่ ระชุม »» ก่อนการประชุมคณะกรรมการบริษทั ในปีถดั ไปนัน้ เลขานุการ คณะกรรมการบริษัทจะจัดท�ำก�ำหนดการประชุมประจ�ำปี เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบก�ำหนดการประชุม ล่วงหน้าตลอดทัง้ ปี ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้กรรมการสามารถวางแผน ล่วงหน้าและจัดเวลาในการเข้าร่วมประชุมได้ »» ในการก�ำหนดจ�ำนวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ บริษัทได้พิจารณาถึงความเหมาะสมกับภาระหน้าที่และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั โดยเลขานุการ คณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำก�ำหนดการประชุมประจ�ำปี พร้อมระบุเรื่องที่ต้องพิจารณาในการประชุมแต่ละครั้ง เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ได้รบั ทราบถึงรายละเอียดต่างๆ ทีต่ อ้ งพิจารณาในการประชุมแต่ละครัง้ ล่วงหน้า »» ในการจั ด ประชุ ม คณะกรรมการแต่ ล ะครั้ ง เลขานุ ก าร คณะกรรมการบริษัทจะจัดส่งเอกสารการประชุมให้แก่ กรรมการพิ จ ารณาล่ ว งหน้ า ก่ อ นการประชุ ม และได้ มี การจัดท�ำเอกสารและสารสนเทศประกอบการประชุม »»
การจัดประชุมคณะกรรมการเป็นไปตามข้อบังคับของบริษทั และพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 อย่าง เคร่งครัด โดยเปิดโอกาสให้กรรมการอภิปรายปัญหาส�ำคัญ กันอย่างรอบคอบโดยทัว่ กัน และมีเลขานุการคณะกรรมการ บริษทั เข้าร่วมการประชุมและจดบันทึกรายงานการประชุม ข้อซักถาม และข้อเสนอแนะต่างๆ ของกรรมการด้วย เพือ่ ให้ กรรมการและผูเ้ กีย่ วข้องสามารถติดตามและตรวจสอบได้
»» ประธานคณะกรรมการเป็นผูด้ ำ� เนินจัดสรรเวลาให้เหมาะสม ในการน� ำ เสนอข้ อ มู ล ของฝ่ า ยจั ด การ และกรรมการ สามารถอภิปรายปัญหาส�ำคัญกันได้อย่างรอบคอบโดย ทั่วกัน ทั้งนี้ประธานกรรมการได้ส่งเสริมให้กรรมการใน ทีป่ ระชุมใช้ดลุ ยพินจิ ทีร่ อบคอบ และสอบถามทีป่ ระชุมว่าจะ มีผใู้ ดสอบถามเพิม่ เติมหรือมีความเห็นเป็นอย่างอืน่ หรือไม่ ในการประชุมแต่ละวาระทุกครัง้ 102
»» คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายให้กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร ที่จะประชุมระหว่างกันเองตามความจ�ำเป็น เพื่ออภิปราย ปัญหาต่างๆ เกีย่ วกับการจัดการทีอ่ ยูใ่ นความสนใจโดยไม่มี ฝ่ายจัดการร่วมกันด้วยและควรแจ้งให้กรรมการผูจ้ ดั การ ทราบถึงผลการประชุมด้วย »» คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายให้เลขานุการบริษัทจัดท�ำ ก�ำหนดการตารางการประชุมคณะกรรมการบริษทั ล่วงหน้า ทุกปี เพือ่ ให้กรรมการบริษทั ทุกท่านปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.11 การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั »» มีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองรายคณะของกรรมการ บริษัทแบบรายคณะในแต่ละปี เพื่อให้คณะกรรมการบริษัท ได้รับทราบถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานร่วมกัน และ พัฒนาปรับปรุงแก้ไขต่อไปตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การท�ำหน้าทีข่ องกรรมการ ความสัมพันธ์กบั ฝ่ายจัดการ การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร
»» กระบวนการในการประเมินตนเองรายคณะของกรรมการ บริษทั แบบรายคณะ มีดงั นี้ 1. คณะกรรมการบริ ษัท พิ จารณาแบบประเมิ น ผลการ ปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการบริษทั แบบรายคณะ ให้มคี วามถูกต้องครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด 2. เลขานุการบริษทั สรุปผลการประเมินตนเองของกรรมการ บริษทั แบบรายคณะ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาต่อไป »» มีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการ บริ ษั ท แบบรายบุ ค คลในแต่ ล ะปี เ พื่ อ ให้ ก รรมการบริ ษั ท แต่ละท่านได้พิจารณาผลการปฏิบัติงานและการท�ำหน้าที่ กรรมการบริษัทของตนเองเพื่อใช้ในการปรับปรุงพัฒนา ตนเองต่อไป ตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ 2. การประชุมของคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ »» กระบวนการในการประเมินตนเองของกรรมการบริษัท แบบรายบุคคลมีดงั นี้ 1. คณะกรรมการบริ ษัท พิ จารณาแบบประเมิ น ผลการ ปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการบริษทั แบบรายบุคคล ให้มคี วามถูกต้องครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด 2. เลขานุการบริษทั สรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการ บริษทั แบบรายบุคคล และและรายงานต่อคณะกรรมการ บริษทั เพือ่ พิจารณาต่อไป
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
»» มีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการ บริษัทชุดย่อยแบบรายคณะในแต่ละปี เพื่อให้กรรมการ บริษัทชุดย่อยแต่ละชุดได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รับทราบถึง ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านร่วมกัน และพัฒนาปรับปรุง แก้ไขต่อไป ตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ 2. การประชุมของคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ »» กระบวนการในการประเมินตนเองของกรรมการบริษัท ชุดย่อยแบบรายคณะ มีดงั นี้ 1. คณะกรรมการบริษทั ชุดย่อยพิจารณาแบบประเมินผล การปฏิ บั ติ ง านตนเองของกรรมการบริ ษั ท ชุ ด ย่ อ ย แบบรายคณะ ให้มคี วามถูกต้องครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ ทีก่ ำ� หนด 2. เลขานุการของคณะกรรมการบริษทั ชุดย่อยในแต่ละชุด สรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท ชุดย่อยแบบรายคณะ และรายงานต่อคณะกรรมการ บริษทั ชุดย่อย เพือ่ พิจารณาต่อไป 3. เลขานุการบริษัทรายงานผลการประเมินตนเองของ คณะการบริษทั ชุดย่อยแบบรายคณะให้คณะกรรมการ บริษทั ทราบต่อไป 5.12 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร »» คณะกรรมการบริษทั จะเป็นผูพ ้ จิ ารณาก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ เพื่อเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้พิจารณา อนุมตั ิ ทัง้ นี้ ในการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการบริษัทควรเปรียบเทียบกับมาตรฐานการ จ่ายค่าตอบแทนของบริษทั ในธุรกิจเดียวกัน และพิจารณา บนพืน้ ฐานของความเป็นธรรม โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์ ภาระหน้ า ที่ ขอบเขตของบทบาทและ ความรั บ ผิ ด ชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชน์ ทีค่ าดว่าจะได้รบั จากกรรมการแต่ละคน ทัง้ นี้ กรรมการที่ ได้รบั มอบหมายหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบเพิม่ ขึน้ ควรได้รบั ค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมเพิม่ ขึน้ เช่น กรรมการทีเ่ ป็นสมาชิก ของคณะกรรมการตรวจสอบ อาจได้รบั ค่าตอบแทนเพิม่ ขึน้ ส�ำหรับการท�ำหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นต้น »» ค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทและ ผู้บริหารระดับสูงเป็นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะ กรรมการบริษัทก�ำหนด โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของ บริษทั ทัง้ นี้ การก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน โบนัส และ ผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ควรสอดคล้องกับผลงานของ บริษทั และผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารแต่ละคน »» กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารทัง้ หมด เป็นผูป้ ระเมินผลกรรมการ ผูจ้ ดั การเป็นประจ�ำทุกปีเพือ่ น�ำไปใช้ในการพิจารณาก�ำหนด ค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การ โดยใช้บรรทัดฐานทีไ่ ด้ ตกลงกันล่วงหน้ากับประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท ตามเกณฑ์ทเ่ี ป็นรูปธรรม ซงึ่ รวมถึงผลปฏิบตั งิ านทางการเงิน
ผลงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ในระยะยาว การพัฒนาผูบ้ ริหาร ทัง้ นี้ กรรมการ ทีไ่ ม่เป็น ผู ้ บ ริ ห ารดั ง กล่ า วควรเสนอผลการประเมิ น กรรมการ ผูจ้ ดั การให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาให้ความเห็นชอบ 5.13 คณะกรรมการชุดย่อย และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ กรรมการจ�ำนวนหนึง่ จากคณะกรรมการบริษทั เป็นกรรมการในคณะกรรมการย่อยเพือ่ ท�ำหน้าทีพ ่ เิ ศษ โดยคณะกรรมการย่อยแต่ละคณะจะมีหน้าทีต่ ามที่ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ปัจจุบนั คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการย่อยจ�ำนวน 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง »» คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหาร ซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั การแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่ง กรรมการบริหารว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใดนอกจากถึงคราว ออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งบุคคล ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเป็ น กรรมการบริ ห าร เพื่ อ ให้ กรรมการบริหารมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการบริหารแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่ง ได้เพียงวาระทีเ่ หลืออยูข่ องกรรมการบริหารซึง่ ตนทดแทน
คณะกรรมการบริหาร มีอำ� นาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่ในการบริหารกิจการ ของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การประกอบ กิจการของบริษัทฯ ทั้งนี้ ในการบริหารกิจการของ บริษทั ฯ ดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามนโยบาย ข้อบังคับ หรือ ค�ำสัง่ ใดๆ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด นอกจากนี้ ให้ ค ณะกรรมการบริ ห ารมี ห น้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณา กลั่นกรองเรื่องต่างๆ ที่จะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั หิ รือให้ความเห็นชอบ 2. จัดท�ำวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เพือ่ น�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 3. ก�ำหนดแผนธุรกิจ อ�ำนาจการบริหารงาน อนุมัติงบ ประมาณส�ำหรับประกอบธุรกิจประจ�ำปี และงบประมาณ รายจ่ายประจ�ำปี และด�ำเนินการตามแผนทางธุรกิจและ กลยุทธ์ทางธุรกิจโดยสอดคล้องกับนโยบาย และแนวทาง ธุรกิจทีไ่ ด้แถลงต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ 4. ตรวจสอบ ติดตามการด�ำเนินนโยบาย และแนวทาง การบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 5. มีอำ� นาจพิจารณาอนุมตั เิ ฉพาะกรณีหรือการด�ำเนินการ ใดๆ อันเป็นปกติธุรกิจของบริษัทฯ ภายใต้วงเงินหรือ งบประมาณประจ�ำปีตามทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ บริษทั ฯ และมีอำ� นาจด�ำเนินการตามทีก่ ำ� หนดไว้ โดยใน รายงานประจ�ำปี 2559
103
การด�ำเนินการใดๆ ตามทีก่ ล่าวข้างต้น คณะกรรมการ บริหารจะต้องไม่กอ่ ให้เกิดหนีส้ นิ หรือภาระผูกพันใดๆ ทีม่ ี มูลค่าเกินกว่า 1,000 ล้านบาท และระยะเวลาผูกพัน เกินกว่า 5 ปี ทั้งนี้ ในส่วนของหนี้สินหรือภาระผูกพัน ใดๆ ให้รวมถึง สินเชือ่ โครงการทีบ่ ริษทั ฯ ท�ำกับสถาบัน การเงินใดๆ (Project Finance) ด้วย 6. มีอ�ำนาจพิจารณาอนุมัติการกู้หรือให้กู้ยืมเงิน หรือ การขอสินเชือ่ ใดๆ จากสถาบันการเงิน และบริษทั ในกลุม่ รวมตลอดถึงการเข้าเป็นผู้ค�้ำประกันให้แก่บริษัทย่อย หรือการช�ำระหรือใช้จา่ ยเงินเพือ่ ธุรกรรมตามปกติธรุ กิจ ของบริษทั ฯ 7. มีอำ� นาจแต่งตัง้ ถอดถอนเจ้าหน้าทีข่ องบริษทั ฯ ในต�ำแหน่ง ทีต่ ำ�่ กว่าต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ 8. ให้คณะกรรมการบริหาร รายงานผลการด�ำเนินงาน ดังต่อไปนี้ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบ »» รายงานผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ รายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนดโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย »» รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีเกี่ยวกับงบการเงิน ของบริษัทฯ ซึ่งรวมถึงงบการเงินประจ�ำปีและงบ การเงินรายไตรมาส ภายในกรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนด โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย »» รายงานอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารพิจารณา เห็นสมควร 9. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย ทัง้ นี้ การมอบอ�ำนาจให้คณะกรรมการบริหารดังกล่าว ข้างต้น จะไม่รวมถึงการมอบอ�ำนาจทีท่ ำ� ให้คณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมตั ริ ายการทีก่ รรมการบริหารท่านใดท่านหนึง่ หรือ บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ตามประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต. มีสว่ นได้ ส่วนเสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ หรือ บริษทั ย่อย โดยคณะกรรมการบริหารจะต้องน�ำเสนอเรือ่ งดังกล่าว ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ พิจารณาและอนุมัติรายการดังกล่าวภายใต้ข้อบังคับ ประกาศ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
คณะกรรมการตรวจสอบ มีอำ� นาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความ เป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอืน่ ใด ทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็น อิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุม กับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า รายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุด ต่อบริษทั ฯ 6. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผย ไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ ต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ »» ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นทีเ่ ชือ่ ถือ ได้ของรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ »» ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในของบริษทั ฯ »» ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ ของบริษทั ฯ
»» คณะกรรมการตรวจสอบ
»» ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี
»» ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์
คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง คราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตาม วาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใด นอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้กรรมการตรวจสอบมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการ บริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลทีเ่ ป็นกรรมการตรวจสอบแทน จะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ ตรวจสอบซึง่ ตนทดแทน
104
»» จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน »» ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการ ตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ (Charter) »» รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธีการพิจารณาค่าตอบแทน ที่ เ ป็ น ธรรมและสมเหตุ ส มผลเพื่ อ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อ พิจารณาอนุมตั ิ
7. ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการตรวจสอบ หากคณะกรรมการตรวจสอบพบหรือมีข้อสงสัยว่า มีรายการ หรือการกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึ่งมีผลกระทบ อย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข ภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร
4. รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหา และการพิจารณาค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบ และจัดท�ำรายงานของคณะกรรมการสรรหา และการพิจารณาค่าตอบแทนเพือ่ เปิดเผยไว้ในรายงาน ประจ�ำปีของบริษทั ฯ และลงนามโดยประธานกรรมการ สรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน
»» รายการทีเ่ กิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ »» การทุจริต หรือมีสงิ่ ผิดปกติ หรือมีความบกพร่อง ทีส่ ำ� คัญในระบบควบคุมภายใน
5. จัดท�ำการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ สรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน และรายงานผล การประเมินประจ�ำปีตอ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ
»» การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ
6. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย อันเกีย่ วเนือ่ งกับการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ของกรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่
หากคณะกรรมการของบริษทั ฯ หรือผูบ้ ริหารไม่ดำ� เนินการ ให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาตามวรรคหนึง่ กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึง่ อาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำ ตามวรรคหนึง่ ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ 8. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั ฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ »» คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการสรรหา และการพิจารณาค่าตอบแทน ซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ อาจได้รบั การแต่งตัง้ ให้กลับมาต�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีท่ี ต�ำแหน่งกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน ว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม เป็นกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน เพือ่ ให้ กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนมีจำ� นวนครบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็น กรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทนแทนจะอยูใ่ น ต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการสรรหาและ การพิจารณาค่าตอบแทนซึง่ ตนทดแทน
คณะกรรมการสรรหาและการพิจารณาค่าตอบแทน มีอ�ำนาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. พิจารณาโครงสร้างองค์กร คุณสมบัติของกรรมการ บริษทั ฯ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ของ บริษทั ฯ ให้เหมาะสมกับธุรกิจ 2. คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับ การเสนอรายชื่อเป็น กรรมการรายใหม่ หรือสรรหาประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กลุม่ บริษทั ฯ โดยให้มกี ารก�ำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธกี าร สรรหาและคัดเลือกอย่างมีหลักเกณฑ์และความโปร่งใส เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 3. พิจารณาแนวทางและพิจารณาค่าตอบแทนและผลประโยชน์ ตอบแทนอืน่ ๆ ทงั้ ทีเ่ ป็นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินให้แก่กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ โดยให้มีการ
»» คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการบริหารความเสีย่ งซึง่ พ้นจาก ต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาต�ำรง ต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการบริหารความเสีย่ ง ว่างลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้กรรมการบริหาร ความเสีย่ งมีจำ� นวนครบตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงแทนจะอยู่ใน ต� ำ แหน่ ง ได้ เ พี ย งวาระที่ เ หลื อ อยู ่ ข องกรรมการบริ ห าร ความเสีย่ งซึง่ ตนทดแทน
คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีอำ� นาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ก�ำหนดนโยบายความเสีย่ ง รวมถึงการทบทวนเป็นระยะ เพือ่ ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ และธุรกรรม ของบริษทั ฯ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการ เพือ่ อนุมตั ิ 2. วางแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับนโยบายบริหาร ความเสีย่ ง โดยสามารถประเมิน ติดตาม ดูแลปริมาณ ความเสีย่ งของบริษทั ฯ ให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม 3. อนุมตั เิ ครือ่ งมือในการวัด ติดตาม และควบคุมความเสีย่ ง 4. ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงดูแลให้ระบบการบริหารความเสีย่ งมีประสิทธิภาพ 5. ดูแลความเพียงพอของทรัพยากรที่ใช้ในการบริหาร ความเสีย่ ง เช่น บุคลากรของสายงานบริหารความเสีย่ ง และระบบงานรองรับการบริหารความเสีย่ ง เป็นต้น 6. พิจารณาระเบียบ/หลักเกณฑ์ในธุรกรรมที่ส�ำคัญหรือ การริเริม่ โครงการใหม่ทมี่ ผี ลกระทบต่อความเสีย่ งก่อน ที่จะน�ำเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติการท�ำธุรกรรมหรือ รายงานประจ�ำปี 2559
105
3. ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะทีส่ อดคล้องกับกฎหมาย และข้อบังคับของการแข่งขัน ตลอดจนให้ ความร่วมมือกับ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
โครงการนัน้ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการ บริษทั ฯ หรือคณะกรรมการทีบ่ ริษทั ฯ มอบหมายต่อไป 7. ติดตามและรายงานสถานะความเสีย่ งของบริษทั ฯ เสนอ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ 8. บูรณาการกระบวนการท�ำงานเกี่ยวกับการก�ำกับดูแล กิจการ (Governance) การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) และการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์ (Compliance) เพื่อให้บรรลุการด�ำเนินงานที่เกิดจาก การมีส่วนร่วมของทุกหน่วยงาน (Integrity-Driven Performance) 9. แต่งตัง้ คณะท�ำงานได้ตามทีเ่ ห็นสมควร 10. ปฏิบตั งิ านอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย 5.14 การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริหาร »» บริษทั ได้สง่ เสริมและอ�ำนวยความสะดวกให้มกี ารฝึกอบรม เพื่อพัฒนาและให้ความรู้แก่กรรมการที่เกี่ยวข้อง รวมถึง กรรมการในคณะอนุกรรมการต่างๆ เพือ่ ให้มกี ารปรับปรุง การปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนือ่ ง »» เลขานุการบริษัทได้จัดให้มีเอกสารคู่มือกรรมการ และ หลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูล ประวัต ิ การถือครองหลักทรัพย์ การเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ เป็นต้น โดยจะ จัดส่งให้ทกุ ครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงกรรมการใหม่ รวมถึง เลขานุการบริษทั จะด�ำเนินการเชิญกรรมการใหม่ไปเยีย่ มชม โรงงานของบริษัทเพื่อแนะน�ำลักษณะธุรกิจ และแนวทาง การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ให้แก่กรรมการใหม่ทราบ »» บริษทั ได้กำ� หนดให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารจัดท�ำรายงาน เพื่อทราบเป็นประจ�ำถึงแผนการพัฒนาและสืบทอดงาน ซึ่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการ ได้เตรียมความพร้อมในเรื่องผู้สืบทอดงานในกรณีที่ตน ไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ไว้แล้ว บริษทั ได้กำ� หนดโครงสร้าง ส�ำหรับการพัฒนาผู้บริหาร โดยมอบหมายให้ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารรายงานเป็นประจ�ำทุกปีถงึ สิง่ ทีไ่ ด้ดำ� เนินการ ไปในระหว่างปี และพิจารณาควบคูก่ บั แผนการสืบทอดงาน 5.15 นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม »» การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม
บริษัทให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจตามกรอบ การแข่งขันทางการค้าทีเ่ ป็นธรรม และสุจริตภายใต้กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงความส�ำคัญของการ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายการแข่งขัน และการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม
»» การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่
บริษทั มีเจตนารมณ์ทจี่ ะด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส ยึดมั่นในหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัทภิบาลที่ดี ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกด้าน และจัดให้ มีแนวทางต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ รวมถึงการสนับสนุน กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมและปลูกฝังให้ผบู้ ริหารและพนักงานปฏิบตั ิ ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง โดยก�ำหนด แนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. สร้างจิตส�ำนึก ค่านิยม ทัศนคติให้แก่พนักงานในการ ปฏิบตั งิ านตามกฎระเบียบ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต 2. จัดให้มรี ะบบควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มกี ารตรวจสอบ และถ่วงดุลอ�ำนาจทีเ่ หมาะสม 3. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท กระท�ำการใดๆ อันเป็นการเรียกร้องหรือยอมรับซึ่ง ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใด ที่ส่อไปในทางจูงใจ ให้ปฏิบตั หิ รือละเว้นการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นทางมิชอบ 4. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท กระท�ำการใดๆ อันเป็นการเสนอซึ่งทรัพย์สิน หรือผล ประโยชน์อนื่ ใด ทีส่ อ่ ไปในทางจูงใจให้ปฏิบตั ิ หรือละเว้น การปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นทางมิชอบ
»» กระบวนการในการประเมิ น ความเสี่ ย งจากการทุ จ ริ ต คอร์รปั ชัน่ 1. ก�ำหนดให้ฝา่ ยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบริหารความเสีย่ ง ให้ขอ้ เสนอแนะอย่างต่อเนือ่ ง โดยด�ำเนินการก�ำกับดูแล และตรวจสอบตามแบบการตรวจสอบประจ�ำปีที่ได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงาน ผลทีม่ นี ยั ส�ำคัญและข้อเสนอแนะต่อกรรมการตรวจสอบ 2. ก�ำหนดให้ฝ่ายบริหารความเสี่ยง รับผิดชอบในการ ทดสอบและประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตคอร์รปั ชัน่ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ใหมีการน�ำมาตรการต่อต้านทุจริต และคอร์รัปชั่นไปปฏิบัติให้มีประสิทธิผล มีการทบทวน มาตรการอย่างสม�่ำเสมอ และน�ำเสนอผลการประเมิน ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อ คณะกรรมการบริษทั ตามล�ำดับอย่างสม�ำ่ เสมอ 3. หากการตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่า มีการด�ำเนินงาน ที่ไม่ถูกต้องตามนโยบาย ให้คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ด�ำเนินการปรับปรุง แก้ ไ ขภายในระยะเวลาที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร
2. สนับสนุนนโยบายสาธารณะต่างๆ ทีส่ ง่ เสริมการแข่งขัน ทีเ่ ป็นธรรม
106
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
»» การเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และการปฏิ บั ติ ต ่ อ แรงงาน อย่างเป็นธรรม บริษทั มีนโยบายในการดูแลและปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคน ด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบตั ติ อ่ บุคคลใดบุคคลหนึง่ อันเนือ่ งมาจากความเหมือนหรือแตกต่างทางเชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ อายุ หรือเรือ่ งอืน่ ใด นอกจากนีบ้ ริษทั มีนนโยบายปฏิบตั ิ ตามกฎหมายคุม้ ครองแรงงานอย่างเคร่งครัด »» การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม บริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญในการมีสว่ นร่วมในการ รับผิดชอบต่อสังคม จึงจะจัดให้มีโครงการช่วยเหลือและ พัฒนาสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการบริจาค และ การสนับสนุนการศึกษา ท�ำนุบำ� รุงศาสนา การส่งเสริมและ เข้าร่วมกิจกรรมกับชุนชนในโอกาสต่างๆ
2. บริษัทมีนโยบายให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานใน ด้านสิง่ แวดล้อมทุกปี เพือ่ ให้พนักงานทุกระดับได้ตระหนัก และเข้าใจถึงปัญหาผลกระทบทีเ่ กิดจากมลภาวะทีเ่ กิดใน ทุกด้าน พร้อมทัง้ ให้ความรูด้ า้ นการบริหารจัดการทีด่ ี เพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่าย และปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เพือ่ การเติบโตขององค์กรอย่างยัง่ ยืน »» การมีนวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมซึ่งได้จากการ ด�ำเนินงานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริษทั มุง่ เน้นทีจ่ ะส่งเสริมชาวไร่ออ้ ยให้มคี วามก้าวหน้า และมัน่ คงไปพร้อมกับบริษทั บริษทั จึงจัดให้มโี ครงการวิจยั ต่างๆ เพือ่ พัฒนาศักยภาพของชาวไร่ออ้ ยอย่างต่อเนือ่ ง »» การไม่ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญาหรือลิขสิทธิข์ องผูอ้ นื่
»» การดูแลสิง่ แวดล้อม 1. บริษทั ให้ความส�ำคัญต่อผลกระทบจากกระบวนการผลิต ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยบริ ษั ท มี น โยบาย การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ บริษทั มีแผนการ ส่งเสริมแนวคิดการน�ำสิง่ ปฏิกลู ต่างๆ จากกระบวนการผลิต เหลือใช้มาเพิม่ มูลค่า
บริษัทมีนโยบายในการปฏิบัติเกี่ยวกับการไม่ละเมิด ทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ อาทิ การไม่กระท�ำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ใน การท�ำงานหรือไม่เกี่ยวข้องกับการท�ำงาน และปฏิบัติตาม กฏหมายทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา กฏหมายลิ ข สิ ท ธิ์ และ ข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง
รายงานประจ�ำปี 2559
107
ความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอด 5 ทศวรรษในธุรกิจน�ำ้ ตาลทรายและอุตสาหกรรม ต่อเนือ่ ง กลุม่ KTIS ได้ดำ� เนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาล และ ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของผูเ้ กีย่ วข้อง อาทิ ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน คูค่ า ้ ลูกค้า ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ให้ความส�ำคัญต่อการ ดูแลรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม รวมถึงชุมชนรอบๆ ด้วยจิตส�ำนึก ของการเป็นส่วนหนึง่ ของชุมชน ทีต่ อ้ งใส่ใจ มีสว่ นร่วม และสร้าง คุณค่าร่วมกันระหว่างธุรกิจ ชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม (Creating Share Value: CSV) เพือ่ จะได้เติบโตไปด้วยกันอย่างมัน่ คงและ ยัง่ ยืน อย่างสม�ำ่ เสมอต่อเนือ่ ง การสาธิตเครือ่ งปลูกอ้อยแบบ Shute Planter
กลุม่ KTIS ได้สอดแทรกจิตส�ำนึกแห่งความรับผิดชอบ ต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) ภายใต้แนวคิด ในการจัดการของเสียให้เป็นศูนย์ในทุกกระบวนการผลิต (Zero Waste Management) ด้วยตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร และ การน�ำทรัพยากรมาใช้อย่างคุม้ ค่า ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ของเสียที่ได้จากกระบวนการผลิต ก็ น� ำ มาเพิ่ ม มู ล ค่ า เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลอยได้ ต ่ างๆ เป็ น การใช้ ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ ห้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) ของกลุ่ม KTIS เริ่มตั้งแต่ต้นน�้ำ คือ การพัฒนา คุณภาพอ้อย ซึง่ เป็นวัตถุดบิ ในกระบวนการผลิตให้มคี ณ ุ ภาพดี
การสาธิตเครือ่ งจักรกลการเกษตรในไร่ออ้ ย
การสาธิตเครือ่ งจักรกลการเกษตร และพันธุอ์ อ้ ย ในอุทยานการเรียนรูก้ ารท�ำอ้อยครบวงจรสูค่ วามยัง่ ยืน 108
การสาธิตเครือ่ งจักรกลการเกษตรในไร่ออ้ ย ป้อนเข้าสูก่ ระบวนการผลิต โดยกลุม่ KTIS จะให้ความรูเ้ กีย่ วกับ การท�ำไร่ออ้ ยให้ประสบความส�ำเร็จแก่ชาวไร่ออ้ ยคูส่ ญ ั ญา ผ่านแผน พัฒนาชาวไร่อ้อย และโครงการต่างๆ อาทิ โรงเรียนเกษตรกร โครงการหมูบ่ า้ นอ้อยสด (หรือหมูบ่ า้ นพืน้ ทีส่ เี ขียวปลอดไฟไหม้) โครงการหมูบ่ า้ นดินดี มากมีอนิ ทรียวัตถุ โครงการอุทยานการ เรียนรูก้ ารท�ำอ้อยครบวงจรสูค่ วามยัง่ ยืน โดยโครงการต่างๆ จะให้ ความรูเ้ รือ่ งการปลูกอ้อยโดยใช้วธิ กี ารเกษตรอินทรีย์ (Organic Farming) หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี การใช้แตนเบียนควบคุม จ�ำนวนหนอนศัตรูอ้อยซึ่งเป็นวิธีการท�ำการเกษตรที่ไม่ท�ำลาย ระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติ การให้ความรู้ด้านการเก็บเกี่ยว การรณรงค์ตดั อ้อยสดแทนการเผาอ้อย การดูแลบ�ำรุงรักษาตอ เพือ่ สามารถเก็บเกีย่ วได้หลายฤดูการผลิต การไถคลุกใบเพือ่ เป็น อินทรียวัตถุให้กบั ดินซึง่ ช่วยลดปริมาณการใช้ปยุ๋ เป็นต้น นอกจากนี้ กลุม่ KTIS ยังได้นำ� องค์ความรู้ เทคนิคที่ ทันสมัยจากประเทศออสเตรเลีย และความเชีย่ วชาญด้านเครือ่ งมือ เครือ่ งจักรมาต่อยอด พัฒนาเครือ่ งจักรกลในไร่ออ้ ยให้เหมาะสม กั บ สภาพภู มิ ป ระเทศ สภาพภู มิ อ ากาศในประเทศไทย อาทิ เครื่ อ งปลู ก อ้ อ ยแบบ Sonic เครื่ อ งปลู ก อ้ อ ยแบบ Shute Planter เครื่องจักรพรวนดินใส่ปุ๋ย CRB MPI เครื่องตัดอ้อย เป็ น ต้ น และสนั บ สนุ น ให้ ช าวไร่ อ ้ อ ยคู ่ สั ญญาน� ำ มาใช้ ใ นการ ท�ำไร่อ้อย เพื่อให้มีต้นทุนที่ต�่ำลง เพิ่มผลผลิตตันต่อไร่ อีกทั้ง ยังช่วยแก้ปญ ั หาการขาดแคลนแรงงานในไร่ออ้ ยด้วย
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ด้านระบบการให้น้�ำแก่อ้อยนั้น กลุ่ม KTIS ได้พัฒนา ระบบน�ำ้ หยดบนดินแบบเคลือ่ นทีไ่ ด้ในการให้นำ�้ แก่ออ้ ยในแต่ละแปลง ซึ่งอุปกรณ์นี้สามารถม้วนสายยางเก็บและย้ายไปให้น�้ำแก่อ้อย ในแปลงถัดไปได้สำ� หรับแหล่งน�ำ้ ชลประทานนัน้ ในปี 2559 ทีผ่ า่ นมา กลุม่ KTIS ได้ลงนาม MOU เข้าร่วมโครงการประชารัฐ ขุดเจาะ บ่อบาดาล เป็นการแก้ปัญหาภัยแล้ง อย่างยั่งยืน เป็นรูปธรรม ท�ำให้ชาวไร่ออ้ ยมีแหล่งน�ำ้ ในการอุปโภคบริโภค และเกษตรกรรม ท�ำไร่ออ้ ยอย่างเพียงพอตลอดปี ซึง่ ระบบชลประทานดังกล่าวเป็น การใช้ทรัพยากรน�ำ้ อย่างมีคณ ุ ค่า เกิดประโยชน์สงู สุด จากอ้ อ ยที่ เ ป็ น วั ต ถุ ดิบ คุ ณ ภาพดี ปลอดสารเคมี สังเคราะห์ตกค้าง และไม่มกี ารดัดแปลงพันธุกรรมข้างต้น น�ำมาเข้า กระบวนการผลิตทีท่ นั สมัย และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้ได้ น�ำ้ ตาล KTIS ทีม่ คี ณ ุ ภาพดี ได้มาตรฐานสากล ปราศจากสาร ฟอกขาว และปลอดภัยแก่ผบู้ ริโภค นอกจากนี้ กลุม่ KTIS ยังมุง่ มัน่ พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในกระบวนการท�ำงานทีส่ ร้างคุณค่าเพิม่ ต่อสังคม และตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าในทุกกลุ่มอย่างสม�่ำเสมอ โดยในปีที่ ผ่านมา กลุม่ KTIS ได้เริม่ ผลิตน�ำ้ เชือ่ มและน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิ์ พิเศษมาตรฐานญี่ปุ่นเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า อุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ รวมทัง้ ลูกค้าทีต่ อ้ งการน�ำ้ ตาล คุณภาพพรีเมีย่ มด้วย กลุม่ KTIS ยังได้สอดแทรกจิตส�ำนึกแห่งความรับผิดชอบ ต่อสังคมในกระบวนการผลิต (CSR In-Process) ภายใต้แนวคิด ในการจัดการของเสียให้เป็นศูนย์ในทุกกระบวนการผลิต (Zero Waste Management) ด้วยตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร และ การน�ำทรัพยากรมาใช้อย่างคุม้ ค่า ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการ ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ของเสียทีไ่ ด้จากกระบวนการผลิตก็นำ� มา เพิม่ มูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ตา่ งๆ เป็นการใช้ทรัพยากรทีม่ ี อยูใ่ ห้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และช่วยยกระดับราคาพืชผลทางการ เกษตรอีกด้วย ผลพลอยได้ (By-Product) ทีไ่ ด้จากการผลิตน�ำ้ ตาล ได้แก่ กากน�ำ้ ตาล หรือโมลาส (Molasses) สามารถน�ำมาผลิต เป็นเอทานอลซึง่ ให้ประโยชน์ทหี่ ลากหลาย เช่น เอทานอลทีใ่ ช้เป็น พลังงาน กล่าวคือ น�ำไปผสมกับน�้ำมันเบนซินเป็นแก๊สโซฮอลล์ ซึง่ ถือเป็นพลังงานสะอาด ลดมลพิษต่อสิง่ แวดล้อม ลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุส�ำคัญในการเกิดภาวะ โลกร้อน นอกจากนี้ ยังมีเอทานอลเกรดอุตสาหกรรมทีเ่ ป็นส่วน ผสมของเครือ่ งส�ำอาง และยาบางประเภท และกากน�ำ้ ตาลดังกล่าว ยังน�ำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น น�ำไปผลิตเป็นซีอิ๊วด�ำ ผงชูรส อาหารสัตว์ เป็นต้น ชานอ้อย (Bagasse) ทีเ่ ป็นผลพลอยได้อกี อย่างหนึง่ จากกระบวนการผลิตน�้ำตาลทราย ส่วนหนึ่งน�ำมาผลิตเยื่อ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย 100% ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ช่วยลดการตัดต้นไม้ ได้ปีละ 32 ล้านต้น ทั้งนี้ในกระบวนการ ฟอกขาวเยือ่ กระดาษนัน้ ไม่ได้ใช้สารคลอรีนทีเ่ ป็นสารก่อมะเร็ง ท�ำให้เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยของบริษทั ได้รบั มาตรฐาน ปลอดภัยต่อการบริโภค GMP และ HACCP นับได้วา่ เป็นผลิตภัณฑ์ เยือ่ กระดาษรายแรกในประเทศไทยทีไ่ ด้รบั มาตรฐานนี้ เยือ่ กระดาษ ฟอกขาวจากชานอ้ อ ยจึ งถู ก น� ำ มาผลิ ต เป็ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ เพื่ อ สิง่ แวดล้อมจากเยือ่ ชานอ้อย 100% (Pulp Mold) ส�ำหรับใส่อาหาร
ทดแทนการใช้ภาชนะที่ท�ำจากโฟม และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มากกว่า สามารถย่อยสลายได้รวดเร็ว นอกจากนีช้ านอ้อยยัง น�ำมาสกัดเป็นผงเซลลูโลส (Cellulose Powder) ซึง่ ใช้เป็นส่วน ผสมในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพต่างๆ เช่น คุก้ กีไ้ ฟเบอร์ ไส้กรอก เพือ่ สุขภาพ ไอศกรีมเพือ่ สุขภาพ เป็นต้น ชานอ้อย (Bagasse) อีกส่วนหนึง่ น�ำมาเป็นเชือ้ เพลิง ในโรงไฟฟ้าชีวมวลในการผลิตไอน�ำ้ และกระแสไฟฟ้า ส�ำหรับใช้ใน กระบวนการผลิตน�ำ้ ตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งอืน่ ๆ ของ กลุม่ KTIS และขายไฟฟ้าส่วนทีเ่ หลือให้แก่การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) และการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) เพือ่ ส่งต่อไปยังคนไทยใน ภูมภิ าคได้มไี ฟฟ้าใช้ มีความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ และไฟฟ้าจากชานอ้อย นีเ้ ป็นพลังงานสะอาดจากวัตถุดบิ ชีวมวล ช่วยลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์สชู่ นั้ บรรยากาศด้วย น�ำ้ วีนาส (Vinasses) ซึง่ เป็นของเสียจากกระบวนการผลิต เอทานอล สามารถน�ำมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ (Biogas) ส�ำหรับ ใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิงในโรงงานเอทานอล ซึ่งถือเป็นการใช้ ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่าอีกทางหนึง่ กากตะกอนหม้อกรอง (Filter Cake) ตะกอนสลัจ (Sludge) และน�ำ้ วีนาส (Vinasses) ทีเ่ ป็นของเสียจากกระบวนการ ผลิตแต่ยงั มีคณ ุ ค่าทางอินทรียสาร สามารถน�ำมาผลิตเป็นวัสดุ ปรับปรุงดิน (Soil Conditioner) เพื่อน�ำไปใช้ปรับปรุงดินให้ คุณภาพดินดีขนึ้ โดยไม่มสี ารเคมีตกค้าง ส่งผลให้ผลผลิตตันต่อไร่ สูงขึน้ หมุนเวียนสูไ่ ร่ออ้ ยให้แก่เกษตรกรอีกครัง้ เป็นวัฏจักร Zero Waste อีกครัง้ หนึง่ ภายใต้กระแสของโลกยุคโลกาภิวตั น์ทหี่ มุนไปอย่างไม่ หยุดยัง้ การพัฒนาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรม รวมถึงการเผยแพร่ ความรูข้ า่ วสารตามช่องทางต่างๆ ก็เป็นสิง่ ทีก่ ลุม่ KTIS ตระหนักถึง และมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ มาประยุกต์ ปรับใช้กบั ชุมชน สิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เกิดประโยชน์แก่ทกุ ฝ่าย ลดค่าใช้จา่ ยรวมถึง ลดการท�ำงานทีส่ ญ ู เปล่า โดยมุง่ หวังให้ธรุ กิจ ชุมชน และสังคม สามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างมีความสุข ยัง่ ยืน มีศกั ยภาพ ทัง้ นี้ ปี 2559 ทีผ่ า่ นมา กลุม่ KTIS ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานราชการและสถานศึกษาหลายแห่ง อาทิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร ี มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ การลงนามใน MOU กับแต่ละ หน่วยงานนั้นจะมีหัวข้อที่ร่วมกันศึกษาแตกต่างกันตามความ
ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับมหาวิทยาลัยนเรศวร Annual Report 2015
109
ถนัด แต่จดุ มุง่ หมายเพือ่ พัฒนาด้านภาคเกษตรเพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐ Thailand Industry 4.0 ในการพัฒนานวัตกรรมและ เทคโนโลยีตา่ งๆ มาเพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการผลิตของกลุม่ KTIS รวมทัง้ เพิม่ ผลผลิตในไร่ออ้ ยของชาวไร่ออ้ ย คูส่ ญ ั ญาของกลุม่ KTIS ด้วย
นอกจากความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมใน กระบวนการผลิต (CSR In-Process) แล้ว กลุม่ KTIS ยังจัดโครงการเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่นอกเหนือ จากการด�ำเนินธุรกิจปกติ (CSR After-process) อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ความรูแ้ ละสร้างความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างองค์กรกับชุมชนต่อยอดสูก่ ารสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่ชุมชนและสังคมบนแนวคิด ‘การเติบโตร่วมกัน ระหว่างอุตสาหกรรม สิง่ แวดล้อมและชุมชน’ ซึง่ จะก่อ ให้เกิดประโยชน์แก่สว่ นรวมในท้ายทีส่ ดุ โดยในปี 2559 กลุ่ม KTIS มุ่งเน้นไปที่ เด็กและเยาวชน สุขภาพ และ สิง่ แวดล้อม ภายใต้แนวคิด KTIS 3C+1 กล่าวคือ
KTIS CAMP
COMMUNITY RELATIONS
KTIS CSR KTIS
KTIS CARES
CONSERVES
KTIS CAMP = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านเด็กและเยาวชน KTIS CARE = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านสุขภาพ KTIS CONSERVE = ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านสิง่ แวดล้อม +1 = COMMUNITY RELATIONS มวลชนสัมพันธ์
ตัวอย่างกิจกรรมและโครงการ CSR ของบริษทั โรงเรียนเกษตรกร กลุม่ KTIS ไม่สนับสนุนการใช้แรงงานเด็กใน ทุกกระบวนการผลิตในโรงงานและในไร่ออ้ ย ในด้านของการอยูร่ ว่ มกับชุมชน (Community Relations) กลุม่ KTIS ยังคงมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ชุมชนบริเวณใกล้เคียง มีการพบปะผู้น�ำชุมชนอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ ยังมีการจัด กิจกรรมต่างๆ เพือ่ กระชับความสัมพันธ์ให้ดยี งิ่ ขึน้ เช่น การจัดแข่ง กีฬาท้องถิน่ การปรับภูมทิ ศั น์บริเวณชุมชน การเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆ กับทางชุมชน เป็นต้น
ด้วยนโยบายของกลุม่ KTIS ทีม่ งุ่ เน้นการพัฒนาอย่าง มัน่ คงและยัง่ ยืนผ่านการให้ความรูแ้ ก่ชาวไร่ออ้ ย จึงก่อเกิดโรงเรียน เกษตรกรขึ้น ซึ่งเป็นโครงการที่กลุ่ม KTIS ด�ำเนินการมาอย่าง ต่อเนื่อง เพราะเทคนิคหรือวิธีการดูแลอ้อยนั้นมีการพัฒนา ตลอดเวลา โดยโรงเรียนเกษตรกรนัน้ จะมีการแลกเปลีย่ นความรูใ้ น ด้านของการเตรียมดิน การสาธิตใช้เครือ่ งมือเครือ่ งจักร การใส่ปยุ๋ ตามช่วงระยะต่างๆ ของอ้อย ผ่านทีมงานฝ่ายไร่ของกลุม่ KTIS ซึง่ สถานทีจ่ ดั นัน้ จะเป็นไร่ออ้ ยสาธิต เพือ่ ให้ชาวไร่ออ้ ยทดลองและ ลงมือปฏิบตั จิ ริง พร้อมเปิดโอกาสให้ถามและแลกเปลีย่ นความรู้ ระหว่างชาวไร่ออ้ ย
นักเรียน รร.บ้านหาดเสือเต้น จ.อุตรดิตถ์ เข้าร่วม โครงการโรงเรียนเกษตรกรอ้อยตามแนวพระราชด�ำริ
110
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
โรงเรียนเกษตรกรอ้อย
งานอ้อยสดประจ�ำปี
โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติในวันแม่แห่งชาติ 999 ต้น
งานอ้อยสดประจ�ำปี จัดขึน้ เพือ่ สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกร ชาวไร่อ้อยคู่สัญญา ตัดอ้อยสดส่งโรงงานแทนอ้อยไฟไหม้ ซึง่ เป็นการจัดต่อเนือ่ งกันเป็นปีที่ 15 วัตถุประสงค์เพือ่ มอบรางวัล แก่เกษตรกรทีส่ ง่ อ้อยสดให้แก่โรงงาน รวมถึงชีใ้ ห้เห็นถึงข้อดีของ การปลูกอ้อยสดที่นอกจากจะลดมลพิษที่ออกสู่ธรรมชาติและ รักษาหน้าดินในปีการผลิตถัดไปแล้ว ยังช่วยเพิม่ ผลผลิตต่อตัน อ้อยให้สงู ขึน้ โดยปีทผี่ า่ นมามีเกษตรกรคูส่ ญ ั ญาเข้าร่วมโครงการ มากกว่า 20,000 ราย
เป็นโครงการทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ ปลูกต้นไม้จำ� นวน 999 ต้น เฉลิมพระเกียรติแก่สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในโอกาสมหามงคล ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 7 รอบ โดยทางกลุม่ KTIS เห็นถึงความส�ำคัญของต้นไม้และป่าทีเ่ ป็นจุด ก�ำเนิดของแหล่งน�ำ้ เป็นทีฟ ่ อกอากาศและรักษาคุณภาพของดิน ซึง่ เป็นจุดเริม่ ต้นการเกษตรภายในประเทศ สอดคล้องกับการผลิต เยือ่ กระดาษจากชานอ้อยของกลุม่ ทีช่ ว่ ยลดการตัดต้นไม้อกี ด้วย
โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติในวันแม่แห่งชาติ 999 ต้น งานอ้อยสดประจ�ำปี โครงการธรรมาภิบาลเพือ่ สิง่ แวดล้อม โครงการ KTIS “ASEAN Excellent Camp” ในปี ที่ ผ ่ า นมากลุ ่ ม KTIS ได้ ร ่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เจ้าพระยาซึ่งเป็นสถานศึกษาในเครือ ร่วมกันจัดกิจกรรมค่าย เยาวชนอาเซียน “ASEAN Excellent Camp” โดยมีเยาวชนจ�ำนวน 102 คน จาก 4 ประเทศ ได้แก่ ไทย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักร กั ม พู ช า วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งและพั ฒ นาความรู ้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่การเป็นพลเมืองที่ดีในประชาคม อาเซียนผ่านกระบวนการเรียนรูท้ สี่ ร้างสรรค์โดยมุง่ เน้นไปทีก่ าร พัฒนาบุคลิกภาพ การปรับตัวเข้ากับสังคม ความสามัคคี และ การแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมประเพณีระหว่างประเทศ โดยเยาวชน ทีเ่ ข้าร่วมนัน้ จะใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสือ่ สารและ ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในค่าย เพื่อตอบรับการเปิดประเทศ สูป่ ระชาคม AEC อย่างสมบูรณ์
กลุม่ KTIS มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะจัดการมลภาวะอย่างจริงจัง ถูกต้องตามกฎหมาย จึงได้จัดโครงการธรรมาภิบาลขึ้น โดย โครงการนี้จะเปิดโอกาสให้ตัวแทนประชาชนจากหลายภาคส่วน ทัง้ ภาคอุตสาหกรรม ผูน้ ำ� ชุมชน รวมถึงผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียน บริเวณใกล้เคียงเข้าร่วม ภายในกิจกรรมได้มกี ารให้ความรูเ้ กีย่ วกับ กระบวนการผลิต เยีย่ มชมโรงงานโดยมีทมี วิศวกรโรงงานดูแล อย่างใกล้ชดิ นอกจากนี้ ยังมีพธิ ปี ล่อยปลาและรับประทานอาหาร ร่วมกัน พร้อมมอบของทีร่ ะลึกแก่ตวั แทนผูเ้ ข้าร่วมเพือ่ เป็นสิรมิ งคล แก่ทกุ ฝ่าย โดยในปีนจี้ ดั ต่อเนือ่ งกันเป็นปีที่ 3
KTIS “ASEAN Excellent Camp” 2016
Annual Report 2015
111
นอกเหนือจากโครงการต่างๆ ข้างต้นแล้ว กลุม่ KTIS ยังมีการ สนับสนุนกิจกรรม เพือ่ การพัฒนาและรักษาความสัมพันธ์อนั ดี รวมถึงคุณภาพชีวติ แก่ชมุ ชนบริเวณใกล้เคียง เช่น
»» มอบเงินสดและสิง่ ของจ�ำเป็นแก่ชมุ ชน เพือ่ น�ำมาพัฒนาชุมชน และจัดกิจกรรมในโอกาสต่างๆ เช่น วันเด็กแห่งชาติ
»» ร่วมกิจกรรมการแข่งขันฟุตบอลต้านยาเสพติด เพือ่ ให้เกิด การมีสว่ นร่วมกับชุมชนและสนับสนุนให้หา่ งไกลจากยาเสพติด รวมถึงเป็นแบบอย่างที่ดีแก่พนักงานให้รู้จักการใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์
แข่งขันฟุตบอลต้านยาเสพติด »» ปรับปรุงภูมิทัศน์รวมถึงท�ำความสะอาดวัดบริเวณชุมชน ใกล้เคียง เพือ่ ทัศนียภาพทีด่ ี
»» เข้าร่วมกิจกรรมบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้กับ ประชาชน ให้ความรูแ้ ละสุขภาพจิตทีแ่ ข็งแรงให้แก่ชมุ ชน
»» มอบน�ำ้ ตาลทรายแก่สภาอุตสาหกรรมจังหวัด เพือ่ ใช้ในงาน กาชาดประจ�ำจังหวัด
»» ร่วมบริจาคโลหิตแก่โรงพยาบาลต่างๆ โดยพนักงานและ ผูบ้ ริหาร ทัง้ ในส่วนของส�ำนักงานและโรงงาน
ส�ำหรับกิจกรรม CSR รวมถึงรายงานการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของ บริษทั ผูท้ สี่ นใจสามารถดูเพิม่ เติมได้ที่ : www.ktisgroup.com 112
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
การควบคุมภายใน และการบริหารความเสีย่ ง กลุ่มบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อการมีระบบการ ควบคุมภายในที่ดีและเป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กล่าวคือ ดูแลการปฏิบัติงานในหน้าที่ต่างๆ ให้มีความโปร่งใส ยุตธิ รรม เชือ่ ถือได้ และมีการถ่วงดุลอ�ำนาจซึง่ สามารถตรวจสอบได้ อันน�ำไปสูป่ ระโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุน้ พนักงาน และผูม้ สี ว่ นร่วม ต่างๆ กับธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ เนือ่ งจากระบบควบคุมภายใน เริ่มต้นจากการใช้หลักก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยระมัดระวังต่อ ความเสีย่ งทางธุรกิจ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ ตามทีก่ ำ� หนด ตลอดจนได้มกี ารก�ำหนดนโยบายการตรวจสอบและ การควบคุมภายในลงสู่ ผูป้ ฏิบตั ิ เพือ่ ใช้เป็นหลักการและแนวทาง ในการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานต่างๆ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ม อบหมายให้ ส� ำ นั ก ตรวจสอบภายในมีหน้าทีป่ ระเมินการควบคุมภายใน โดยการจัดท�ำ แบบประเมินการควบคุมภายในประจ�ำปี 2559 ส�ำนักตรวจสอบ ภายในพบว่าระบบควบคุมภายในของกลุม่ บริษทั ฯ สอดคล้องกับ แบบประเมินของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ทัง้ นี้ ได้เสนอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา อนุมตั ใิ นการประชุมครัง้ ที่ 5/2559 เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2559 และการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท พิจารณาและมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของกลุม่ บริษทั ฯ อยูใ่ นเกณฑ์ทเี่ หมาะสมกับการด�ำเนินงานในปัจจุบนั ประกอบกับ ฝ่ายจัดการได้สนับสนุนให้มกี ารพัฒนาระบบการควบคุมภายใน อย่างต่อเนือ่ ง โดยใช้หลักการและแนวทางการควบคุมภายในตาม มาตรฐานของ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) ฉบับปี 2013 เพือ่ ยืนยัน ว่า การด�ำเนินงานจะบรรลุวตั ถุประสงค์ของการควบคุมภายใน โดยสรุปผลการประเมิน ได้ดงั นี้
1. องค์กรและสภาพแวดล้อม (Organizational Control and Environment) กลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ว่ า โครงสร้ า งองค์ ก รและ สภาพแวดล้อมทีด่ ี ซึง่ เป็นรากฐานส�ำคัญของการควบคุมภายใน ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ดังนัน้ จึงได้ดำ� เนินการ ดังนี้
»» ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย ทิศทางการด�ำเนินธุรกิจทีช่ ดั เจน
วัดผลได้เป็นรูปธรรม เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ตลอดจนก�ำกับดูแลกิจการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ มีการติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างสม�ำ่ เสมอ
»» ก�ำหนดโครงสร้างองค์กรที่เอื้อต่อการด�ำเนินงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ เช่น จัดให้มีการแบ่งแยกต�ำแหน่งประธาน กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ ถ่วงดุลอ�ำนาจ ระหว่างกัน (Check and Balance) และก�ำหนดให้คณะกรรมการ บริษทั ต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวนไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ หมด ทัง้ นีต้ อ้ งไม่นอ้ ยกว่า 3 คน พร้อมทัง้ แต่งตัง้ คณะกรรมการเฉพาะด้านต่างๆ เพือ่ ช่วยพิจารณากลัน่ กรองและด�ำเนินการตามทีค่ ณะกรรมการ บริษทั มอบหมาย
»» สื่อสารนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและประมวลจรรยา
บรรณทางธุรกิจ และจัดให้มีการติดตามผลการปฏิบัติ โดยมุ่งหมายให้เกิดจิตส�ำนึกและความตระหนักที่ดีในการ ปฏิบตั หิ น้าที ่
»» ก�ำหนดนโยบายและระเบียบวิธปี ฏิบตั งิ านเป็นลายลักษณ์อกั ษร
รวมทัง้ ก�ำหนดค�ำบรรยายลักษณะงาน คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน กฎระเบียบ ค�ำสัง่ และข้อบังคับเป็นลายลักษณ์อกั ษร ตลอดจน อ�ำนาจอนุมตั ติ ามหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของผูบ้ ริหารแต่ละ ต�ำแหน่งอย่าง เหมาะสม
2. การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) กลุ่มบริษัทฯ ตระหนักถึงปัจจัยความเสี่ยงทั้งปัจจัย ภายในและปัจจัยภายนอกทีอ่ าจมีผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจ อย่างมีนยั ส�ำคัญ คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งด�ำเนินการและติดตามผลการด�ำเนินงานตาม นโยบายการบริหารความเสีย่ ง โดยการก�ำหนดให้มคี มู่ อื บริหาร ความเสีย่ ง และให้ฝา่ ยบริหารความเสีย่ งท�ำหน้าทีใ่ นการสนับสนุน ส่งเสริม ให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกคนตระหนักถึงความส�ำคัญ ของการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ก ระทบต่ อ การบรรลุ เ ป้า หมาย ทางธุรกิจ เพือ่ เตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขได้อย่าง เหมาะสมและทันเวลา รวมทัง้ มีการติดตามการบริหารความเสีย่ ง ของหน่วยงานต่างๆ และรายงานผลต่อคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง นอกจากนีก้ ลุม่ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารประเมินความเสีย่ ง ตามเหตุการณ์ (Event Risk) เช่น ความเสี่ยงจากการแก้ ไข พ.ร.บ.อ้อยและน�ำ้ ตาล ปัจจัยความเสีย่ งทีเ่ กิดมาจากธรรมชาติ ในแต่ละปี ได้แก่ ภาวะภัยแล้งและอุทกภัยซึง่ อาจกระทบต่อผลิตผล และผลิตภัณฑ์ออ้ ยและน�ำ้ ตาล เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าเหตุการณ์ดงั กล่าว จะไม่สง่ ผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจ อนึ่ง ในปี 2559 ฝ่ายบริหารความเสี่ยงได้จัดอบรม เชิงปฏิบตั กิ ารเรือ่ งการบริหารจัดการความเสีย่ งภายในองค์กร เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและผูร้ บั ผิดชอบแต่ละหน่วยงาน มคี วามรูค้ วามเข้าใจ ในเรือ่ งการระบุเหตุการณ์หรือปัจจัยเสีย่ ง เพือ่ น�ำไปปฏิบตั ไิ ด้อย่าง มีประสิทธิภาพ รายงานประจ�ำปี 2559
113
3. การควบคุมการปฏิบตั งิ าน (Management Control Activities)
»» จัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีตา่ งๆ ไว้ครบถ้วน
กลุม่ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการควบคุม การปฏิบตั งิ านของฝ่ายจัดการ จึงได้ดำ� เนินการดังนี้
»» ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำความผิด
»» ก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และวงเงินอ�ำนาจอนุมตั ริ ายการ
ของฝ่ายจัดการแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน และเป็นลายลักษณ์ อักษร โดยมีฝา่ ยบัญชี และฝ่ายควบคุมและตรวจสอบท�ำหน้าที่ ตรวจสอบและก�ำกับการปฏิบตั งิ านด้านเอกสารให้ถกู ต้อง ตามเงือ่ นไขการอนุมตั ทิ ก่ี ำ� หนดไว้
»» แบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามหลักการควบคุมภายใน ทีด่ ี ได้แก่ (1) ผูท้ ำ� หน้าทีอ่ นุมตั ิ (2) ผูท้ ำ� หน้าทีบ่ นั ทึกรายการ บัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และ (3) ผู้ท�ำหน้าที่ในการดูแล จัดเก็บทรัพย์สนิ เพือ่ สอบยันความถูกต้อง
»» ในการพิจารณาอนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน กลุม่ บริษทั ฯ ด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์และข้อบังคับ และหากเป็นรายการ ที่มีนัยส�ำคัญ คณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาให้ ความเห็นก่อนเสนอให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัติและจะ เปิดเผยในรายงานประจ�ำปีต่อไป อนึ่ง การพิจารณาท�ำ รายการเกีย่ วโยงนัน้ จะค�ำนึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของกลุม่ บริษทั ฯ เป็นส�ำคัญ
»» ส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงานไว้เป็น ลายลักษณ์อกั ษร
»» มีคณะท�ำงานติดตามข้อก�ำหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
การด�ำเนินธุรกิจในแต่ละด้าน เพื่อท�ำหน้าที่ในการติดตาม ศึกษาผลกระทบ และก�ำหนดมาตรการในการจัดการเพื่อ ลดความเสีย่ ง พร้อมทัง้ จัดท�ำรายงานเสนอต่อคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงเพื่อพิจารณาความเพียงพอเหมาะสม ของมาตรการจัดการความเสีย่ ง
4. สารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication) กลุม่ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบตั ิ หน้าที่ด้วยความระมัดระวัง บนพื้นฐานข้อมูลที่มีคุณภาพและ เพียงพอต่อการตัดสินใจ รวมทัง้ การสือ่ สารข้อมูลไปยังผูเ้ กีย่ วข้อง โดยด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้
»» ก�ำหนดให้มกี ารจัดท�ำและจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศทีส่ ำ� คัญ
อย่างเพียงพอ ครบถ้วน เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและคณะกรรมการ บริษัท มีข้อมูลและสารสนเทศที่เพียงพอต่อการตัดสินใจ รวมทัง้ ได้เชิญผูบ้ ริหารและผูท้ เี่ กีย่ วข้องเข้าร่วมประชุม เพือ่ น�ำเสนอและชีแ้ จงประเด็นส�ำคัญต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษทั ด้วย
»» ใช้นโยบายบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีทปี่ ระกาศโดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ และเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่ม บริษทั ฯ
114
เป็นหมวดหมู่ รวมทัง้ ได้กำ� หนดระยะเวลาการจัดเก็บเอกสาร ให้เป็นตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด
เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ โดยได้สอื่ สารให้พนักงานได้รบั ทราบ และตระหนักถึงสาระส�ำคัญและบทลงโทษ นอกจากนี้กลุ่ม บริษัทฯ ยังได้จัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ตาม ประกาศของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
»» มีระบบการส�ำรองข้อมูลสารสนเทศ และจัดท�ำแผนการกูค้ นื
ระบบจากภัยพิบัติ (Disaster Recovery Plan : DRP) โดยจัดเตรียมสถานที่ท�ำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทีจ่ ำ� เป็นต้องใช้ในกรณีเกิดเหตุภยั พิบตั ิ
»» เผยแพร่ขอ้ มูลส�ำคัญ ผ่านเว็บไซต์ของกลุม่ บริษทั ฯ (www. ktisgroup.com) อย่างครบถ้วน และทันเหตุการณ์
5. การติดตาม (Monitoring) กลุม่ บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญในระบบการติดตาม เพือ่ ให้ มัน่ ใจว่าการด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุผล ตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ รวมทัง้ การมีระบบการควบคุมภายใน ส�ำหรับการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ จึงด�ำเนินการ ดังนี้
»» คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมเพื่อติดตามผลการ
ด� ำ เนิ น งานของฝ่ า ยจั ดการ พร้ อ มทั้ ง ให้ ค วามเห็ น และ ข้อเสนอแนะต่อฝ่ายจัดการ
»» คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี ฝ่ายบัญชี และฝ่ายตรวจสอบภายใน เพือ่ สอบทานงบการเงิน ระบบการควบคุมภายใน และติดตามการแก้ไขปรับปรุงอย่าง สม�ำ่ เสมอ รวมทัง้ รายงานประเด็นส�ำคัญต่อคณะกรรมการ บริษทั เป็นประจ�ำทุกไตรมาส
»» คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุมทุกไตรมาส
เพือ่ ก�ำกับ ดูแล และติดตามให้มกี ารด�ำเนินการตามนโยบาย การบริ ห ารความเสี่ ย งและคู ่ มื อ การบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่อให้การบริหารจัดการด้านความเสี่ยงในองค์กรเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ
»» คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทนมีการประชุม
เพือ่ พิจารณาสรรหาผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตสิ มควรได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั รวมทัง้ พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการและทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณา อนุมตั ิ
»» ก�ำหนดให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน สามารถตรวจสอบและ
ให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ โดยให้รายงานผลการด�ำเนินงาน โดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส หรือรายงานทันทีเมือ่ มีประเด็นส�ำคัญ
»» คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบ ภายใน โดยใช้หลักการประเมินตามระดับความเสีย่ ง และเมือ่ ฝ่ายตรวจสอบภายในตรวจพบข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
จะรายงานให้ผบู้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบกิจกรรมนัน้ ๆ ทราบทันที และน�ำเสนอรายงานต่อฝ่ายจัดการเพื่อรับทราบหรือขอ ค�ำแนะน�ำเพิ่มเติม เพื่อให้มั่นใจว่ากลุ่มบริษัทฯ จะบรรลุ วัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ
»» ความถูกต้อง น่าเชือ่ ถือของรายงานทางการเงิน »» การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของทางการ และกลุม่ บริษทั ฯ
»» การมีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ
รวมถึงการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ ความปลอดภัย ของทรัพย์สิน และการบรรลุวัตถุประสงค์ของการ ปฏิบตั งิ าน
งานก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั (Compliance) กลุ่มบริษัทฯ มีการก�ำหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบ การปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ ของกลุ่มบริษัทฯ ประกอบด้วย
»» ส�ำนักประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและเลขานุการบริษทั รบั ผิดชอบ
ในการดูแลติดตามให้กลุม่ บริษทั ฯ / คณะกรรมการบริษทั ฯ / คณะกรรมการของกลุม่ บริษทั ฯ / ผูบ้ ริหาร / และฝ่ายปฏิบตั งิ าน ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของบริษทั จดทะเบียน รวมทัง้ ระเบียบ และข้อบังคับของกลุ่มบริษัทฯ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางใน การรวบรวม ติดตามข้อมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบภายนอก ทีเ่ กีย่ วข้อง และสือ่ สาร ให้ความรู้ ค�ำปรึกษา เพือ่ ให้บคุ ลากร / หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องด�ำเนินการได้อย่างถูกต้อง
»» ส�ำนักตรวจสอบภายใน มีหน้าที่รับผิดชอบในการประเมิน
การบริหารจัดการความเสีย่ ง เพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจว่ า การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ และการ ด�ำเนินงานด้านต่างๆ ในองค์กรเป็นไปตามวัตถุประสงค์ทอี่ งค์กร ได้กำ� หนดไว้ และบริหารจัดการกับความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญขององค์กร ให้อยูใ่ นระดับทีจ่ ะไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อองค์กรหรือมีผลกระทบ น้อยทีส่ ดุ คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงได้มอบหมายให้คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งองค์กร (Risk Management Committee) ท�ำหน้าทีก่ ำ� หนดนโยบาย ทบทวน และปรับปรุงกรอบการบริหาร ความเสีย่ งองค์กรมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีฝา่ ยบริหารความเสีย่ ง รับนโยบายมาก�ำหนดและออกแบบระบบบริหารความเสีย่ งเพือ่ ให้ มีระบบงานทีเ่ ป็นมาตรฐานและใช้ดำ� เนินงานได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึง่ กรอบแนวคิดทีใ่ ช้ในการออกแบบระบบการบริหารความเสีย่ ง คือ การบริหารความเสีย่ งตามแนวคิดของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) และมีคณะท�ำงานบริหารความเสี่ยงสายงานต่างๆ (Operation Risk Management Team) รับผิดชอบในการน�ำนโยบายลงสู่ การปฏิบตั ิ รวบรวมและทบทวนข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับความเสีย่ ง และสร้างหลักประกันว่าความเสี่ยงที่ส�ำคัญจะได้รับการจัดการ ทีเ่ หมาะสม ทงั้ ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ ดา้ นการเงิน ดา้ นปฏิบตั กิ าร ด้านกฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับการ ประกอบธุรกิจ และด้านความเชื่อถือชื่อเสียงของกลุ่มบริษัทฯ พร้อมติดตามประเมินความเสีย่ งของงานทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบ ตามกรอบแนวทางที่ ก� ำ หนด ตลอดจนรายงานความเสี่ ย ง อย่ า งสม�่ ำ เสมอผ่ า นรายงานความก้ า วหน้ า การด� ำ เนิ น งาน บริหารความเสีย่ ง (Operation Risk Management Monthly Report) และเครื่องชี้วัดผลลัพธ์การบริหารความเสี่ยง (Key Risk Indicator)
ประสิทธิภาพและความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน และตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของทัง้ องค์กร รวมทัง้ บริษทั ในเครือ
รายงานประจ�ำปี 2559
115
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการอิสระ ซงึ่ เป็นผูท้ รงคุณวุฒแิ ละมีประสบการณ์ดา้ นบัญชี ด้านการเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านเทคโนโลยี และ ด้านธุรกิจเป็นอย่างดี ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ 3 ทา่ น ประกอบด้วย นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา ประธานกรรมการตรวจสอบ นายธีรยุทธ ช่างเพชร และนายสถาพร โคธีรานุรกั ษ์ กรรมการ ตรวจสอบ โดยกรรมการตรวจสอบทัง้ 3 ท่านมิได้เป็นกรรมการ ในบริษทั ย่อย และมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลท.”) และส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“ส�ำนักงาน ก.ล.ต.”) ไม่ได้ถอื หุน้ ของบริษทั ฯ หรือถือหุน้ ไม่เกินศูนย์จดุ หนึง่ เปอร์เซ็นต์ ตลอดจนไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน หรือเป็น ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ทีป่ รึกษา คูค่ า้ กับบริษทั ฯ และบริษทั ในกลุม่ ซึง่ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกฎหมาย และกฎระเบียบทีต่ ลท. และ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ก�ำหนดไว้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้ รับมอบหมาย โดยให้มีบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบในการ สอบทานรายงานทางการเงิน รายการระหว่างกัน และงานการ ตรวจสอบภายใน รวมทัง้ ส่งเสริมและผลักดันให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ าม ข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องบริษทั จดทะเบียน เพือ่ ให้บริษทั ฯ มกี ารก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี มีการบริหารความเสีย่ ง และมีระบบการควบคุม ภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ในรอบปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการ ประชุมทัง้ สิน้ 5 ครัง้ และได้ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุม 1 ครัง้ เพือ่ ปรึกษาหารือกัน อย่างเป็นอิสระถึงประเด็นส�ำคัญ ๆ ในการจัดท�ำงบการเงิน และ การเปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้งบการเงิน รวมถึงรับทราบ ผลการปฏิบตั งิ านสอบบัญชี ขอ้ สังเกตทีต่ รวจพบ ตลอดจนปัญหา และอุปสรรคระหว่างการปฏิบตั งิ านสอบบัญชี สรุปสาระส�ำคัญ ในการปฏิบตั หิ น้าที ่ ได้ดงั นี้
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ตามมาตรฐานการบัญชี ทีร่ บั รองทัว่ ไป ของรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาให้ความเห็นต่อ งบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2559 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ที่ผู้สอบบัญชีฯ ได้สอบทานและตรวจสอบ ตามรายงานของผูส้ อบบัญชีฯ ซึง่ มิได้พบข้อสังเกตเป็นสาระส�ำคัญ และไม่มีเงื่อนไข เพื่อเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการ บริษทั ต่อไป คณะกรรมการตรวจสอบมุง่ สอบทานรายการบัญชี รายการทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง และรายการปรับปรุงทีม่ นี ยั ส�ำคัญ 116
ตลอดจนความเหมาะสม เพียงพอของการเปิดเผยข้อมูล เพือ่ ให้ มั่นใจได้ว่างบการเงินได้แสดงรายการอย่างเหมาะสม ชัดเจน เพี ย งพอ ทั น เวลา และจากผลการสอบทานคณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่ารายงานทางการเงินในปี 2559 ทีบ่ ริษทั ฯ จัดท�ำขึ้นนั้น มีความถูกต้อง เหมาะสม เพียงพอ เชื่อถือได้ และ เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองโดยทัว่ ไป
2. การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหารให้ความส�ำคัญใน การบริหารงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการและบรรษัท ภบิ าล ทีด่ ี เพือ่ ให้ความเชือ่ มัน่ แก่ผถู้ อื หุน้ ผูล้ งทุน และผูท้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่าย ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกด้าน และจัดให้มแี นวทาง การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมที่ ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผบู้ ริหารและพนักงานปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง และก�ำหนดให้มกี ระบวนการในการ ประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตคอร์รปั ชัน่ เพือ่ ใช้ปฏิบตั ใิ นองค์กร
3. การบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลการบริหาร ความเสี่ยงของบริษัท เพื่อให้มั่นใจได้ว่าคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งและฝ่ายจัดการได้ดำ� เนินการบริหารความเสีย่ งถึงระดับ ปฏิบตั กิ ารอย่างเหมาะสม และการระบุ ปัจจัยเสีย่ งมีความครบถ้วน ถูกต้องเพียงพอต่อการเป็นข้อมูลพืน้ ฐานส�ำหรับการตรวจสอบ ภายใน และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ในปี 2559 ปัจจัยเสี่ยงที่บริษัทได้ระบุมีความเหมาะสม รวมทั้งฝ่ายจัดการ ด�ำเนินการลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้สอดคล้อง กับการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบนั
4. ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานความเพียงพอ ของระบบควบคุมภายในร่วมกับส�ำนักตรวจสอบภายใน และผูส้ อบ บัญชีฯ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส โดยบริษทั ฯ ได้ตดิ ตามให้มกี ารแก้ไข ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะในรายงานผลการตรวจสอบ และข้อคิด เห็นของผูส้ อบบัญชีฯ ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับ การด�ำเนินงานในปัจจุบนั ประกอบกับฝ่ายจัดการได้สนับสนุนให้มี การพัฒนาระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนือ่ ง โดยใช้หลักการ และแนวทางการควบคุมภายในตามมาตรฐานของ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(COSO) เพือ่ ให้มนั่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การด�ำเนินงานจะบรรลุ วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน รวมทัง้ ได้สรุปผลการประเมิน องค์ประกอบการควบคุมภายในประจ�ำปี ไว้ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจ�ำปี (56-1) และรายงานประจ�ำปี (56-2) ของบริษทั ในหัวข้อที่ 15 เรือ่ งการควบคุมภายใน ด้วย
5. ความเหมาะสมของรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจิ ารณารายการทีอ่ าจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยสอบทานรายการเกี่ยวโยง ซึง่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และมีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน้ ในปี 2559 เป็นรายการเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั มีเงื่อนไขทางการค้า และราคาตามปกติทั่วไป มีการเปิดเผยใน งบการเงินอย่างเพียงพอ และเป็นไปตามข้อก�ำหนดและแนวทาง ปฏิบัติที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
6. การปฏิบตั ติ าม กฎ และระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับธุรกิจของบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทานการปฏิบตั ติ าม กฎหมายต่างๆ ร่วมกับส�ำนักตรวจสอบภายใน โดยไม่พบประเด็น ทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญทีแ่ สดงให้เห็นว่าบริษทั ฯ ได้มกี ารปฏิบตั ทิ ขี่ ดั ต่อ กฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษทั ฯ
7. การพิจารณาแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ประจ�ำปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้เลือกผู้สอบบัญชี โดย พิจารณาจากความเป็นอิสระ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ ในวิชาชีพ การมีบุคลากรที่เพียงพอในการให้บริการงานสอบ บัญชีแก่บริษัท และค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีเมื่อเทียบกับ ความเหมาะสมในด้านปริมาณ โดยมีคณ ุ สมบัตติ ามหลักเกณฑ์ของ ตลาดหลักทรัพย์และไม่มีความสัมพันธ์และ/หรือส่วนได้เสียกับ บริษทั /บริษทั ย่อย/ผูบ้ ริหาร/ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือผูท้ เี่ กีย่ วข้อง กับบุคคลดังกล่าวในลักษณะทีจ่ ะมีผลกระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าที่ อย่างเป็นอิสระแต่อย่างใด ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความเหมาะสมตาม มาตรฐานการประกอบวิชาชีพการสอบบัญชี เป็นผู้สอบบัญชี ประจ�ำปี 2560 นอกจากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมิน การปฏิบตั งิ านของตนเองในปี 2559 ทัง้ คณะโดยเปรียบเทียบกับ กฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ และแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ซึง่ ผล การประเมิ น พบว่ า คณะกรรมการตรวจสอบปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ตามขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ โดยใช้ความรู้ความสามารถ และความ ระมัดระวัง มีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ เพือ่ ประโยชน์ตอ่ ผูม้ ี ส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน และมีความเห็นในภาพรวมว่า บริษทั ฯ มีการรายงานข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง มีการด�ำเนินงาน ภายใต้ระบบควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม มีการบริหารความเสีย่ ง ให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อก�ำหนดและ ข้อผูกพันต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ เปิดเผย รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางประโยชน์อย่างครบถ้วน และมี การปฏิบตั งิ านทีส่ อดคล้องตามระบบการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี
นายไกรฤทธิ ์ นิลคูหา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
รายงานประจ�ำปี 2559
117
118
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
1. บริษทั เอส.ไอ.พรอพ เพอร์ต้ี จำ�กัด (“S.I. Property”) (ประกอบธุรกิจให้เช่า อสังหาริมทรัพย์)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ค่าเช่าสำ�นักงานและค่าบริการที่ เกีย่ วข้อง S.I. Property ให้เช่าพืน้ ทีส่ �ำ นักงาน เป็นรายได้คา่ เช่าสำ�นักงาน ค่าบริการส่วนกลาง และค่าไฟฟ้า และค่าบริการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจาก TIS
ลักษณะรายการ
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน เป็นค่าบริการส่วนกลางอาคาร S.I. Property คือ ค้างจ่าย 1. บจ.สืบสิรสิ วัสดิ์ ลูกหนีเ้ งินประกันค่าเช่าสำ�นักงาน 2. บจ.น้�ำ ตาลเอกผล เป็นเงินประกันการเช่าสำ�นักงาน
• มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ 1. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 2. นายปรีชา อรรถวิภชั น์ 3. นางสาวฉัว่ อิง๋ อิง๋ 4. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์
398,758.00
398,758.00
2,239,093.16
4,349.73
1,739,842.80
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
• S.I. Property เป็นเจ้าของพืน้ ทีอ่ าคารสำ�นักงานขนาด 245.0 ตารางเมตร และ 444.2 ตารางเมตร ทีอ่ าคาร ลิเบอร์ต้ี พลาซ่า ชัน้ 11 ซอยทองหล่อ ถนนสุขมุ วิท 55 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ ให้เช่า พื้นที่เพื่อเป็นสำ�นักงาน โดยคิดค่าเช่า และบริการ ส่วนกลาง 230 บาทต่อตารางเมตร ทัง้ นีร้ าคา และ เงือ่ นไขการให้เช่าเป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการเช่า ในอัตราตลาด
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งในระหว่างปี พ.ศ. 2558 – 2559 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม ของแต่ละปี สามารถสรุปได้ดงั นี้
รายการระหว่างกัน
รายการระหว่างกัน
รายงานประจ�ำปี 2559
119
3. บริษทั ทัศน์ไทยธุรกิจ จำ�กัด (“TT”) (ประกอบธุรกิจปัม๊ น้�ำ มัน)
2. บริษทั น้�ำ ตาลเอกผล จำ�กัด (“APS”) (ณ ปัจจุบนั ประกอบ ธุรกิจให้เช่า อสังหาริมทรัพย์)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน TT คือ 1. บจ.ภูมพ ิ ฒ ั นาธุรกิจ
• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ในAPS คือ 1. บจ.จรูญหทัยเอกโฮลดิง้
• มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ 1. นายอภิชาต นุชประยูร 2. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 3. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ 4. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์
เจ้าหนีก้ ารค้า เป็นเจ้าหนีก้ ารค้าจากการทีบ่ ริษทั ฯ TIS ซือ้ ยางรถยนต์จาก TT
ซือ้ ยางรถยนต์ TT ขายยางรถยนต์ให้แก่ บริษทั และ TIS
เจ้าหนีก้ ารค้า เป็นเจ้าหนีก้ ารค้าจากการทีบ่ ริษทั ฯ TIS EPC EPPCO KTBP และ TEP ซือ้ น้�ำ มันจาก TT
ซือ้ น้�ำ มัน TT ขายน้�ำ มันให้แก่ บริษทั ฯ TIS EPC EPPCO และ KTF
ลูกหนีเ้ งินประกันค่าเช่าสำ�นักงาน เป็นเงินประกันการเช่าสำ�นักงาน
ยานพาหนะ EPPCO ซือ้ รถกะบะบรรทุก
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าเช่าและค่าบริการทีเ่ กีย่ วข้อง ค้างจ่าย
ค่าเช่าสำ�นักงาน และค่าบริการ ทีเ่ กีย่ วข้อง APS ให้เช่าพืน้ ทีส่ �ำ นักงาน เป็นรายได้ ค่าเช่าสำ�นักงาน ค่าบริการส่วนกลาง และค่าไฟฟ้า และค่าบริการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง จากกลุม่ บริษทั
ลักษณะรายการ
940,758.00
2,196,878.51
13,516,079.85
154,177,109.58
3,033,099.00
-
147,784.75
12,715,079.97
1,891,301.00
2,035,167.29
10,720,962.40
113,645,606.57
3,033,099.00
100,000.00
128,177.26
14,931,242.36
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
• TT ขายยางรถยนต์เพือ่ อำ�นวยความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กับกลุ่ม บริษัทฯ โดยราคา และเงื่อนไขการค้าเป็น ไปตามเกณฑ์เดียวกันกับตลาด
• TT เช่ า ที่ เ พื่ อ เป็ น สถานี ข ายน้ำ � มั น เพื่ อ อำ � นวย ความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กับ กลุม่ บริษทั ฯ ในการซือ้ น้�ำ มันเพือ่ ใช้ในธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามเกณฑ์เดียวกันกับตลาด
• EPPCO ได้ซอ้ื รถกะบะบรรทุกใช้งานแล้ว เพือ่ ความ สะดวก, ประสิ ท ธิ ภ าพ และประโยชน์ ท างธุ ร กิ จ โดยราคาและเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด
• APS เป็นเจ้าของพืน้ ทีอ่ าคารสำ�นักงาน อาคารเลขที่ 24 ถนนวิ ภ าวดี รัง สิ ต แขวงดิ นแดง เขตดิ นแดง กรุงเทพฯ และพืน้ ทีส่ �ำ นักงาน ชัน้ 9, 10, และ 11 ของ อาคารเลขที่ 133 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ ให้เช่าแก่ บริษทั ฯ TIS EPC และ EPPCO เพือ่ เป็นสำ�นักงาน โดยคิดค่าเช่า 180 – 230 บาทต่อตารางเมตร ทัง้ นี้ ค่าเช่า และเงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามค่าเช่า และเงือ่ นไขการเช่าในอัตราตลาด
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
120
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
ลักษณะความสัมพันธ์
ลูกหนีอ้ น่ื บริษทั ฯ ค้างรับค่าวัสดุ
รายได้จากการขายวัสดุ บริษทั ฯ และ TIS ขายวัสดุส�ำ นักงาน ให้ TT
เจ้าหนีอ้ น่ื บริษทั ฯ และ TIS รับค่าเช่าทีด่ นิ ล่วงหน้า
รายได้คา่ เช่าทีด่ นิ บริษทั ฯ และ TIS ให้เช่าทีด่ นิ เพือ่ ให้ TT ดำ�เนินกิจการปัม๊ น้�ำ มัน ได้รบั ค่าเช่าทีด่ นิ
ลักษณะรายการ
-
1,067.86
29,917.80
120,000.00
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
-
1,812.59
• บริษัทฯ และ TIS ขายวัสดุสำ�นักงานเพื่ออำ�นวย ความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กับ TT โดยราคา และเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามราคา และ เงือ่ นไขการค้าในอัตราตลาด
• อย่างไรก็ดี ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 บริษทั ฯ และTIS ได้ท�ำ สัญญาเช่าระยะยาวกับ TT โดยค่าเช่า ทีด่ นิ ทัง้ 2 ผืนจะเท่ากับ 60,000 บาทต่อปี ต่อผืน และจะ เพิม่ ขึน้ ตามอัตราการเปลีย่ นแปลงดัชนีราคาผูบ้ ริโภค ทัว่ ไปเฉลีย่ ย้อนหลัง 5 ปี นับแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2554 โดยสัญญาดังกล่าวมีอายุทง้ั สิน้ 30 ปี
• TT ได้เช่าทีด่ นิ เนือ้ ที่ 5 ไร่ ตัง้ อยูท่ ่ี ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอ 120,000.00 ตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ใกล้กับโรงงานบริษัทฯ และเนือ้ ที่ 4 ไร่ 9 ตารางวา ตัง้ อยูท่ ่ี ตำ�บลคุง้ ตะเพา อำ�เภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กบั โรงงานของ TIS เพือ่ ดำ�เนินกิจการปัม๊ น้�ำ มัน เพือ่ อำ�นวยความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กบั กลุม่ บริษทั ฯ โดย 29,917.80 ราคา และเงือ่ นไขการเช่าเป็นไปตามอัตราตลาด
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
รายงานประจ�ำปี 2559
121
4. บริษทั ที.ไอ.เอส. เอส. จำ�กัด (“TISS”) (ประกอบธุรกิจส่งออก น้�ำ ตาลทราย)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ค่าบริการเพือ่ ส่งออก TISS เป็นบริษทั ทีด่ �ำ เนินการส่งออก น้�ำ ตาลทรายให้แก่ บริษทั ฯ และTIS โดยรายการดังกล่าวส่วนใหญ่ เป็นค่าธรรมเนียมในการเป็นตัวแทน ส่งออกค่าธรรมเนียมทีเ่ กีย่ วข้อง และค่าดำ�เนินการเอกสารต่างๆ ใน การส่งออกและพิธกี ารทางศุลกากร
ลักษณะรายการ
ลูกหนีอ้ น่ื ค่าธรรมเนียมในการส่งออกโควตา ข. ที่ TISS ต้องจ่ายให้ อนท.
• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ในTISS คือ ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย 1. บมจ. เกษตรไทย อินเตอร์ฯ เป็นค่าใช้จา่ ยบริการเพือ่ ส่งออก น้�ำ ตาลค้างจ่ายที่ TIS จ่ายให้ TISS 2. บจ. น้�ำ ตาลเอกผล
• มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ 1. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 2. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 3. นายอภิชาต นุชประยูร 4. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์
-
15,746.22
32,786,049.63
11,782.00
-
20,266,391.41
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
• ทัง้ นี้ ค่าธรรมเนียมทีก่ ลุม่ บริษทั ฯ ต้องจ่ายให้กบั อนท. เป็นไปตามราคา ค่าธรรมเนียม และเงื่อนไขการค้า ในอัตราตลาด
• เนือ่ งจาก พรบ. อ้อยและน้�ำ ตาล กำ�หนดว่าโรงงาน น้�ำ ตาลทรายจะต้องจัดสรรน้�ำ ตาลทรายดิบจำ�นวน 400,000 ตัน ให้แก่ อนท. โดย อนท. จะเป็นผูก้ �ำ หนด ราคาขาย และนำ � น้ำ� ตาลทรายดั ง กล่ า วส่ ง ออก ให้แก่ลกู ค้าต่างประเทศ
• ราคา ค่าธรรมเนียมและเงือ่ นไขการค้าทีก่ ลุม่ บริษทั ฯ ดำ�เนินการผ่าน TISS เป็นไปตามราคา ค่าธรรมเนียม และเงือ่ นไขการค้าในอัตราตลาด
• สำ�หรับการส่งออกน้�ำ ตาลทรายนัน้ กลุม่ บริษทั ฯ จะ เป็นผู้ติดต่อลูกค้าโดยตรง โดย TISS จะเป็นเพียง ผู้ดำ�เนินการจัดการสินค้า และดำ�เนินเรื่องเอกสาร สำ�หรับการส่งออกเท่านัน้
• เนือ่ งจาก พรบ. อ้อยและน้�ำ ตาล กำ�หนดว่าโรงงาน น้ำ�ตาลทรายไม่สามารถส่งออกน้ำ�ตาลทรายด้วย ตนเองได้ กลุม่ บริษทั ฯ จึงต้องดำ�เนินการส่งออกผ่าน บริษทั ส่งออก ซึง่ ณ ปัจจุบนั หนึง่ ในบริษทั ส่งออกที่ บริษทั ฯ ใช้บริการคือ TISS
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
122
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
5. บริษทั สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด (“Siam PP”) (ประกอบธุรกิจผลิต และ จำ�หน่ายปูนขาว)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
ลูกหนีอ้ น่ื ค่าน้�ำ ตาลทรายขายต่างประเทศ
เงินกูย้ มื เพือ่ การส่งออก (Packing Credit) • บริษทั ฯ และ TIS กูย้ มื เงินระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน • ดอกเบีย้ จ่าย • ดอกเบีย้ ค้างจ่าย
ลักษณะรายการ
• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ การขายปูนขาว นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล Siam PP ขายปูนขาว ซึง่ เป็นส่วน • บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน หนึง่ ของวัตถุดบิ ในกระบวนการผลิต น้�ำ ตาลทราย และเยือ่ กระดาษ ให้แก่ Siam PP คือ บริษทั ฯและ EPPCO 1. บจ. น้�ำ ตาลเอกผล เจ้าหนีก้ ารค้า เป็นเจ้าหนีก้ ารค้าจากการทีบ่ ริษทั ฯ และ EPPCO ซือ้ ปูนขาวจาก Siam PP
ลักษณะความสัมพันธ์
62,394,889.52
5,030,396.26
80,522,610.44
7,249,917.19
-
-
4,138,541.65 -
-
-
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
• Siam PP ขายปูนขาวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัตถุดิบ ในกระบวนการผลิตน้ำ�ตาลทราย และเยื่อกระดาษ ให้แก่ บริษทั ฯ และ EPPCO เพือ่ อำ�นวยความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไข การค้าในอัตราตลาด และคู่มือจัดซื้อจัดจ้างของ บริษทั ฯ
• ค่าน้�ำ ตาลทรายที่ TISS ได้รบั จากผูซ้ อ้ื ต่างประเทศแล้ว และอยูใ่ นระหว่างการจ่ายคืนให้กบั KTIS
• TISS จะโอนเงินที่ได้รับตามวงเงินสินเชื่อเพื่อการ ส่งออกจากธนาคารพาณิชย์ให้แก่ บริษทั ฯและ TIS โดยบริษทั ฯและ TIS ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินให้แก่ TISS เพื่อ เป็ น หลั ก ฐานการรั บ เงิ น โดยอั ต ราดอกเบี้ย ทีบ่ ริษทั ฯ และ TIS จ่ายให้ TISS ตามตัว๋ สัญญาใช้เงิน เป็นอัตราเดียวกับอัตราดอกเบี้ยที่ TISS จ่ายให้กับ ธนาคารพาณิชย์
• TISS เป็นผู้เข้าทำ�สัญญาสินเชื่อเพื่อการส่งออกกับ ธนาคารพาณิชย์ให้แก่ บริษทั ฯและ TIS ในนามของ TISS เพือ่ รับการสนับสนุนทางการเงิน (Packing Credit)
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
รายงานประจ�ำปี 2559
123
ลักษณะความสัมพันธ์
7. บริษทั ร่วมทุนคลังสินค้า นครสวรรค์ จำ�กัด (“ร่วมทุน”) (ประกอบธุรกิจคลัง สินค้า)
117,623,518.36
ค่าบริการในการส่งสินค้า ให้บริการจัดส่งสินค้าจากคลังสินค้า แก่บริษทั ฯ และ TIS
รายได้อน่ื ค่าภาชนะบรรจุ
บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน ร่วมทุน คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ 2. บจ. น้�ำ ตาลเอกผล
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าบริการฝากสินค้าค้างจ่าย
2,260,785.28
47,758,015.26
-
7,160,679.73
5,740,279.36
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่ารับฝากน้�ำ ตาลค้างจ่ายที่ บริษทั ฯ และ TIS ต้องจ่ายให้รว่ มกิจ
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าใช้จา่ ยจัดส่งสินค้าค้างจ่าย
80,818,212.80
538,412.30
26,443,344.12
2,985.98
2,843,110.85
113,501,608.25
1,856,988.27
33,034,562.20
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
ค่าบริการฝากสินค้า ร่วมกิจรับฝากน้�ำ ตาลจากบริษทั ฯ และ TIS
ลักษณะรายการ
• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ ค่าบริการฝากสินค้า บริษทั ฯ และ TIS จ่ายค่าบริการฝาก นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล สินค้าให้รว่ มทุน • มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และ
• มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน ร่วมกิจ คือ 1. บจ.น้�ำ ตาลเอกผล
6. บริษทั ร่วมกิจอ่างทองคลัง • มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ สินค้า จำ�กัด (“ร่วมกิจ”) (ประกอบธุรกิจคลัง 1. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ สินค้า) 2. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 3. นายอภิชาต นุชประยูร 4. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
• กลุ่ม บริ ษัท ฯ ฝากเก็ บ น้ำ� ตาลทรายที่ค ลั ง สิ น ค้ า ของร่วมทุน เพือ่ ความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพใน การดำ�เนินธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการรับฝากฯ เป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการรับฝากฯ ในอัตราตลาด
• บริษัทฯ ขายภาชนะบรรจุนำ�้ ตาลเพื่ออำ�นวยความ สะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กบั ร่วมกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามราคาและเงือ่ นไข การค้าในอัตราตลาด
• นอกจากการให้ เ ช่ า คลั ง สิ น ค้ า แล้ ว ร่ ว มกิ จ ยั ง ให้ บริการจัดส่งสินค้าจากคลังสินค้าแก่กลุ่มบริษัทฯ เพือ่ อำ�นวยความสะดวกและเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ดำ�เนินธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขทางการค้าเป็นไป ตามราคา และเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด
• ร่วมกิจมีคลังสินค้าจำ�นวน 4 แห่ง ตัง้ อยูท่ ่ี (1) 1 แห่งที่ ตำ�บลป่าโมก อำ�เภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง (2) 3 แห่ง ที่ ตำ�บลปลากด อำ�เภอป่าโมก จังหวัด อ่างทอง เพือ่ ใช้รบั ฝากน้�ำ ตาลของกลุม่ บริษทั ฯ เพือ่ ความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการรับฝากฯ เป็นไปตามราคา และเงือ่ นไข การรับฝากฯ ในอัตราตลาด
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
124
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
8. บริษทั เค.ที.เอส. อินดัสตรี้ จำ�กัด (“KTSI”) (ประกอบธุรกิจรับเหมา ก่อสร้าง และงานด้าน วิศวกรรม
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
• มีกรรมการ และผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ 1 ท่านใน KTSI เป็นผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุม ในบริษทั ฯ กล่าวคือ นายพงศ์ภพ ภพวิภาค
ลักษณะความสัมพันธ์
รายได้คา่ วัสดุ เป็นค่าวัสดุ ลวดเชือ่ ม และแก๊สที่ บริษทั ฯ TIS EPPCO และ EPC ได้ขายให้ KTSI
ค่าบริการ และค่าอะไหล่ทเ่ี กีย่ วข้อง กับการบำ�รุงรักษาโรงงาน บริษทั ฯ TIS EPC และ EPPCO จ้าง KTSI บำ�รุงรักษาโรงงานของกลุม่ บริษทั ฯ โดยจ่ายเป็นค่าบริการ ค่าเครือ่ งจักรอุปกรณ์และค่าอะไหล่ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการบำ�รุงรักษา ดังกล่าว
รายได้อน่ื ภาชนะบรรจุ
รายได้จากการขาย ค่าน้�ำ ตาล
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าบริการฝากสินค้าค้างจ่าย
ค่าบริการฝากสินค้า บริษทั ฯ และ TIS จ่ายค่าบริการ ฝากสินค้าให้รว่ มทุน
ลักษณะรายการ
-
-
-
817,552.80
1,786,265.30
20,866,680.52
-
-
3,745.00
-
806,071.84
11,502,758.87
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
• เงือ่ นไขการจัดซือ้ จัดจ้าง การบำ�รุงรักษา ของกลุม่ บริษทั ฯ เป็นไปตามคูม่ อื จัดซือ้ จัดจ้างของบริษทั ฯ
• บริษัทฯ ได้ขายวัสดุ ลวดเชื่อม และแก๊สให้แก่ KTSI เพือ่ ใช้ในการบำ�รุงรักษาโรงงานของกลุม่ บริษทั ฯ เพือ่ ความสะดวกรวดเร็ว และคุณภาพของงาน โดยใช้ ราคาทุนบวกกำ�ไรร้อยละ 7.0 ซึง่ เป็นเงือ่ นไขเดียวกัน กับผูร้ บั เหมา รับจ้างทุกราย
• กลุม่ บริษทั ฯ จ้าง KTSI บำ�รุงรักษาโรงงาน เครือ่ งจักร โรงงานเพื่อความสะดวก คุณภาพ และมาตรฐาน ของงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจ โดย การจัดจ้างฯ กลุม่ บริษทั ฯ จะมีการประเมินขอบเขต การทำ�งาน และดำ�เนินการเปรียบเทียบราคากับบริษทั อืน่ ๆ ซึง่ ในงานที่ KTSI ได้รบั การจัดจ้างนัน้ KTSI เสนอ ราคาที่ตำ�่ ที่สุด และเงื่อนไขการค้าที่เทียบเท่าเงื่อนไข การค้าในอัตราตลาด
• TIS ได้ขายภาชนะบรรจุนำ้�ตาลเพื่ออำ�นวยความ สะดวกและเพิม่ ประสิทธิภาพเชิงธุรกิจให้กบั ร่วมทุน โดยราคาและเงื่อนไขการค้าเป็นไปตามราคาตลาด และเงือ่ นไขการค้าในอัตราตลาด
• ร่วมทุน มีการซือ้ น้�ำ ตาลทีเ่ ปียกชืน้ จากการรับฝาก จาก TIS ตามเงือ่ นไขการรับฝากน้�ำ ตาลฯ โดยราคา และเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขการค้า ในอัตราตลาด
• นอกจากการรับฝากน้�ำ ตาลฯ ร่วมทุนยังให้บริการ จัดส่งสินค้าแก่กลุม่ บริษทั ฯ เพือ่ อำ�นวยความสะดวก และเพิม่ ประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตามราคา และเงื่อนไข ทางการค้าในอัตราตลาด
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
รายงานประจ�ำปี 2559
125
9. บริษทั ไทยวิษณุ นครสวรรค์ จำ�กัด (“ไทยวิษณุ”) (ประกอบธุรกิจโรงแรม)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน ไทยวิษณุ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้
• มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ 1. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยะกุล 2. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ 3. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 4. นายณัฎฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์
ค่าเช่าโรงแรม บริษทั ฯ และ TIS จ่ายเช่าโรงแรมให้ ไทยวิษณุ ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าเช่าโรงแรมทีบ่ ริษทั ฯ และ TIS ค้างจ่ายกับไทยวิษณุ
ลูกหนีก้ ารค้า เป็นลูกหนีจ้ ากการที่ EPPCO รับจ้าง ทำ� Steam Transformer ให้ KTSI
ค่าสินค้าอืน่ EPPCO ซือ้ วัสดุโรงงานจาก KTSI
สินทรัพย์โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวล KTBP ได้จา้ งแรงงานจาก KTSI เพือ่ ประกอบและติดตัง้ เครือ่ งจักร ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาดกำ�ลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ มูลค่ารวมกันทัง้ สิน้ 50,000,000 บาท
ลักษณะรายการ
84,200.00
622,090.41
2,140,000.00
-
-
3,200.00
1,591,281.64
-
-
-
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
• กลุ่มบริษัทฯ เช่าโรงแรมจากไทยวิษณุ ซึง่ เป็นเจ้าของโรงแรมแกรนด์วษิ ณุ พลาซ่า ตัง้ อยูท่ ่ี 26 - 28 ถนน อรรถกวี อำ�เภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ใช้เป็นทีพ ่ กั และทีป่ ระชุม สัมนาของพนักงานในกลุ่ม KTIS หรือ ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมเพื่อประโยชน์ ทางธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการเช่าห้อง และบริการโรงแรมเป็นไปตามราคา และ เงือ่ นไขในอัตราตลาด
• KTSI จ้างแรงงาน EPPCO ทำ�อุปกรณ์ Steam Transformer ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวล KTBP เพื่อประโยชน์ใน การดำ�เนินธุรกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขเป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการค้าในอัตราตลาด
• EPPCO ได้ซ้อื อิฐ ซึ่งเป็นวัสดุโรงงานคงเหลือจาก KTSI เพื่อประโยชน์ในการดำ�เนินธุรกิจ โดยราคา และเงือ่ นไขการค้า เป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการค้า ในอัตราตลาด
• KTBP ได้จา้ งแรงงานจาก KTSI เพือ่ ประกอบและติดตัง้ เครือ่ งจักร ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวล ขนาดกำ�ลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ มูลค่ารวมกันทัง้ สิน้ 50,000,000 บาท และได้เปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ เมือ่ วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556 โดยราคา และเงือ่ นไข ทางการค้าเป็นไปตามนโยบายภายในของกลุม่ บริษทั ฯ และเป็นไปตามอัตราตลาด ซึง่ ดำ�เนินการตามคูม่ อื การ จัดซือ้ จัดจ้าง โดยได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการ ตรวจสอบให้ด�ำ เนินการได้
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
126
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องถือหุน้ ใน เวศม์วษิ ณุ คือ 1. บจ. หทัยจรูญเอกโฮลดิง้
ลักษณะความสัมพันธ์
• มีกรรมการ และ 11. บริษทั เค.ที.เอส.เอ็น เตอร์ไพรส์แอนด์ ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ 1 ท่านใน เทรดดิง้ จำ�กัด (“KTSE”) KTSEเป็นผูม้ อี �ำ นาจควบคุม (ประกอบธุรกิจขาย ในบริษทั ฯ กล่าวคือ นายพงศ์ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์) ภพ ภพวิภาค
10. บริษทั เวศม์วษิ ณุ จำ�กัด (“เวศม์วษิ ณุ”) (ประกอบธุรกิจหอพัก)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
เจ้าหนีก้ ารค้า เป็นค่ารับประกันผลงานการซือ้ เครือ่ งจักร และอุปกรณ์จาก KTSE ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวล KTBP
11,492,694.31
-
454,065.00
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เป็นค่าเช่าหอพักที่ EPC และ EPPCO เช่าหอพักค้างจ่ายให้เวศม์วษิ ณุ
สินทรัพย์โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวล KTBP ซือ้ เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ จาก KTSE เพือ่ ก่อสร้างโรงไฟฟ้า ชีวมวล ขนาดกำ�ลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ มูลค่ารวมกันทัง้ สิน้ 421,524,889 บาท
5,391,437.50
-
-
396,520.00
4,277,752.00
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
ค่าเช่าหอพักพนักงาน เป็นค่าเช่าหอพักสำ�หรับพนักงานที่ จ่ายให้เวศม์วษิ ณุ
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการ (บาท)
• KTBP ซือ้ เครือ่ งจักร และอุปกรณ์จาก KTSE เพือ่ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวล ขนาดกำ�ลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ เพือ่ ประโยชน์ในการเพิม่ ประสิทธิภาพ การก่อสร้างโรงไฟฟ้า และธุรกิจของกลุ่มฯ ซึ่งได้ ก่อสร้างแล้วเสร็จ และเปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ใน ไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2556 โดยราคา และเงือ่ นไขทางการ ค้าเป็นไปตามนโยบายของกลุม่ บริษทั ฯ และเป็นไปตาม อัตราตลาด ซึง่ ดำ�เนินการตามคูม่ อื การจัดซือ้ จัดจ้าง โดยได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบ ให้ด�ำ เนินการได้
• โดยราคาเช่าห้องละ 3,000 บาทต่อเดือน ซึง่ เป็นราคา ตลาดในละแวกนัน้ ซึง่ หากคิดเป็นผลตอบแทนเทียบ กับทรัพย์สนิ ของเวศม์วษิ ณุแล้ว อยูใ่ นเกณฑ์ทไ่ี ม่สงู ไปกว่าบริษทั อืน่ ในตลาดเช่าหอพักทัว่ ไป
• กลุม่ บริษทั ฯ เช่าหอพักให้พนักงาน จากเวศม์วษิ ณุ ซึง่ เป็นเจ้าของหอพักตัง้ อยูท่ ่ี ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอ ตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ซึง่ ใกล้กบั โรงงานของ EPC และ EPPCO เพือ่ อำ�นวยความสะดวกให้กบั พนักงาน และเจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงของบริษทั ฯ และการดำ�เนินธุรกิจ ของกลุม่ บริษทั ฯ
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
รายงานประจ�ำปี 2559
127
ลักษณะความสัมพันธ์
• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ 13. บริษทั ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ จำ�กัด 1. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล (“ร่วมทุนเทรดดิง้ • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน นครสวรรค์”) ร่วมทุนเทรดดิง้ นครสวรรค์ คือ (ประกอบธุรกิจขนส่งสินค้า) 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้
12. บริษทั สืบสิรสิ วัสดิ์ จำ�กัด • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน (“สืบสิรสิ วัสดิ”์ ) สืบสิรสิ วัสดิ์ คือ (ประกอบธุรกิจซือ้ ขาย 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ และให้เช่าทรัพย์สนิ )
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
เงินค้�ำ ประกัน – ค่าขนส่ง เงินค้�ำ ประกันค่าขนส่ง
รายได้อน่ื ค่าวัสดุ และเงินชดเชยค่าน้�ำ ตาล เสียหาย
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค้างค่าบรรทุก ค่าขนส่งน้�ำ ตาลค้างจ่าย
1,071,700.00
34,442.67
1,797,574.89
15,804,863.57
99,726.03
ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า
ค่าบรรทุกน้�ำ ตาลทราย TIS จ่ายค่าบรรทุกขนส่งน้�ำ ตาล ทรายไปเก็บทีค่ ลังสินค้าให้ ร่วมทุน เทรดดิง้ นครสวรรค์
200,000.00
197,517.79
12,710.28
48,164.47
4,896,879.88
100,000.00
200,093.03
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
รายจ่ายค่าเช่าทีด่ นิ EPC จ่ายค่าเช่าทีด่ นิ ให้สบื สิรสิ วัสดิ์
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการ (บาท)
• บริษัทฯ จะหักเงินค้ำ�ประกันค่าขนส่งไว้ร้อยละ 10 เพือ่ เป็นหลักประกัน กรณีทม่ี คี า่ เสียหายจากการขนส่ง โดยบริษทั ฯ จะคืนเงินดังกล่าวภายหลังการส่งมอบ สินค้าเสร็จสิน้
• บริษัทฯ และ TIS จ้างร่วมทุนเทรดดิ้งนครสวรรค์ เพือ่ ขนส่งน้�ำ ตาลทรายไปเก็บทีค่ ลังสินค้า เพือ่ ความ สะดวกและประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจ โดยราคา และเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตามราคา และเงื่อนไข ทางการค้าในอัตราตลาด
• โดย ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 EPC ได้ท�ำ สัญญาเช่าระยะยาวกับ สืบสิรสิ วัสดิ์ โดยอัตราค่าเช่า ทีด่ นิ คือ 200,000 บาทต่อปี และจะเพิม่ ขึน้ ตามอัตรา การเปลีย่ นแปลงดัชนีราคาผูบ้ ริโภคทัว่ ไปเฉลีย่ ย้อน หลัง 5 ปี นับแต่ปี พ.ศ. 2550 - 2554 โดยสัญญา ดังกล่าวมีอายุทง้ั สิน้ 30 ปี และให้สทิ ธิบ์ ริษทั ฯ ในการ ต่ออายุได้อกี 30
• EPC เช่าทีด่ นิ ของสืบสิรสิ วัสดิ์ เนือ้ ที่ 48 ไร่ 44 ตาราง วา ทีต่ �ำ บลหนองโพ อำ�เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อประโยชน์คือเป็นทางเข้าออกโรงงานของ EPC โดยราคา และเงือ่ นไขการเช่าเป็นราคา และเงือ่ นไขการ เช่าทีด่ กี ว่าราคาตลาด
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
128
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
14. บริษทั ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต จำ�กัด (“ศิรเิ จริญ”) (ประกอบธุรกิจการค้า และอืน่ ๆ)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
• บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องถือหุน้ ใน ศิรเิ จริญ คือ 1. บจ.จรูญหทัยเอกโฮลดิง้ 2. บจ.น้�ำ ตาลเอกผล
• มีกรรมการ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง กันถือหุน้ ในศิรเิ จริญ คือ 1. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ 1. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์ เจ้าหนี้เงินกู้ยืมในการปรับ โครงสร้างหนี้ • TIS มีภาระเงินกูก้ บั ศิรเิ จริญ • ดอกเบีย้ จ่าย • ดอกเบีย้ ค้างจ่าย
ลักษณะรายการ
87,300,000.00 362,295.00 627,977,323.56
82,450,000.00 342,167.50 598,319,491.06
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
• อย่างไรก็ดี เมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ลูกหนี้ และเจ้าหนี้ ได้ตกลงแก้ไขสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ โดยสัญญาปรับโครงสร้างหนีฉ้ บับแก้ไข มีผลบังคับ ใช้ต้งั แต่วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ซึ่งลูกหนี้ ตกลงทีจ่ ะชำ�ระหนีค้ งค้างแบ่งเป็นเงินต้น 97,000,000 บาท และดอกเบีย้ ค้างจ่าย 687,156,121.56 บาท ให้กบั เจ้าหนี้ โดยบริษทั ฯ เห็นว่าการแก้ไขสัญญาปรับ โครงสร้างหนีด้ งั กล่าวเป็นผลดีกบั บริษทั ฯ โดยทำ�ให้ บริษทั น้�ำ ตาลไทยเอกลักษณ์ จำ�กัด ในฐานะลูกหนี้ มีภาระในการชำ�ระหนี้ลดลง (โปรดดูรายละเอียด การแก้ไขสัญญาในส่วน 2 หัวข้อ 13.5 สัญญาปรับ โครงสร้างหนี)้
• ทัง้ นี้ สัญญาปรับโครงสร้างหนีด้ งั กล่าวได้ถกู เปิดเผย ไว้ในส่วน 2 หัวข้อ 13.5 สัญญาปรับโครงสร้างหนี้
• TIS และ ศิรเิ จริญ ทำ�สัญญาปรับโครงสร้างหนี้ ซึง่ มี ผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็น วั น ที่ศ าลล้ ม ละลายกลางมี คำ� สั่ง ยกเลิ ก ให้ ฟ้ืน ฟู กิจการของTISโดยTISจะดำ�เนินการผ่อนชำ�ระยอดหนี้ เงินต้น และดอกเบี้ยค้างจ่ายดังกล่าวภายในระยะ เวลา 20 ปี นอกจากนี้ ศิรเิ จริญ จะคิดดอกเบีย้ ทีอ่ ตั รา ดอกเบีย้ เงินฝากออมทรัพย์เฉลีย่ ของ 3 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) และธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) จากยอดเงินคงค้างรวมกับดอกเบีย้ ค้างจ่าย
• ในอดีต TIS มีหนีส้ นิ กับสถาบันการเงิน ต่อมา ในช่วง ปี พ.ศ.2550 – 2551 ศิรเิ จริญซึง่ มีผถู้ อื หุน้ ส่วนใหญ่ ได้แก่ นางเนาวรัตน์ หวังปรีดาเลิศกุล ร้อยละ 62.5 บริษทั น้�ำ ตาลเอกผล จำ�กัด ร้อยละ 25.0 และนายมนตรี เล็กวิจติ รธาดา ร้อยละ 12.4 ได้ซอ้ื หนีส้ นิ ของ TIS ทัง้ หมดจากสถาบันการเงินดังกล่าว ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการปรับโครงสร้างหนีข้ อง TIS
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
รายงานประจ�ำปี 2559
129
15. บริษัท รวมผล อุตสาหกรรม นครสวรรค์ จำ�กัด (“RPE”) (ประกอบธุรกิจการค้า และอืน่ ๆ)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
• มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน RPE คือ 1. บจ. ศิรเิ จริญเอ็กซ์ปอร์ต 2. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้
• มีกรรมการร่วมกัน 6 ท่าน ได้แก่ 1. นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 2. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 3. นายณัฏฐปัญญ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล 4. นายสิรวิ ทุ ธิ์ เสียมภักดี 5. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ 6. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์
เจ้าหนีก้ ารค้า ค่าน้�ำ ตาล และกากน้�ำ ตาล
รายการซือ้ น้�ำ ตาลและกากน้�ำ ตาล บริษทั ฯ TIS และ EPC ซือ้ น้�ำ ตาล ทราย และกากน้�ำ ตาลจาก RPE
ลักษณะรายการ
-
-
-
-
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 RPE มีสต๊อกน้�ำ ตาลทรายเหลืออยูท่ ง้ั สิน้ ประมาณ 5,269,400 กิโลกรัม ซึง่ เป็นน้�ำ ตาลทรายโควตา ก โดยบริษทั ฯ ดำ�เนินการซือ้ สต๊อกน้�ำ ตาลทราย ส่วนที่เหลือดังกล่าวในราคาตลาด ซึ่งเป็นราคา ควบคุ ม ตามประกาศของกรมการค้ า ภายใน กระทรวงพาณิชย์เท่ากับ 20.33 บาทต่อกิโลกรัม (ซึง่ เป็นราคาทีร่ วมภาษีมลู ค่าเพิม่ และเมือ่ หักภาษี มูลค่าเพิม่ ออกแล้วราคาจะเท่ากับ 19.00 บาทต่อ กิโลกรัม) หักด้วยค่าใช้จา่ ยเงินนำ�ส่งกองทุนอ้อย และน้�ำ ตาลทรายเท่ากับ 5.7196 บาทต่อกิโลกรัม และค่าเก็บสต๊อกน้�ำ ตาลทรายเท่ากับ 0.45 บาท ต่อกิโลกรัม (คิดจากค่าเก็บสต๊อกน้�ำ ตาลทรายที่ 0.15 บาทต่อกิโลกรัมต่อเดือน และจะจัดเก็บ เป็นเวลา 3 เดือน) โดยคิดเป็นเงินทัง้ สิน้ ประมาณ 67,608,509.76 บาท ภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556
1. บริษทั ฯ และ TIS ซือ้ น้�ำ ตาลทราย และกากน้�ำ ตาล บางส่วนจาก RPE โดยราคา และเงือ่ นไขการค้า เป็นราคา และเงือ่ นไขการค้าเป็นไปตามอัตราตลาด การซือ้ ขายดังกล่าวเป็นไปตามการระบายสต๊อก น้�ำ ตาลทราย และกากน้�ำ ตาลทีเ่ หลือของ RPE
• รายการซือ้ น้�ำ ตาลและกากน้�ำ ตาลสามารถแจกแจง ได้เป็น 2 รายการดังนี้
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
130
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
ลักษณะความสัมพันธ์
-
-
เจ้าหนีก้ ารค้า ค่าวัสดุโรงงาน
-
-
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
เจ้าหนีก้ ารค้า ค่าปุย๋ และยา
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการ (บาท)
• เนือ่ งจาก RPE ให้เช่าสินทรัพย์โรงงานน้�ำ ตาลทัง้ หมด แก่ บริษัทฯ ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555 RPE จึงวัสดุโรงงาน ให้แก่บริษทั ฯ ทีม่ ลู ค่าทางบัญชี
• เนือ่ งจาก RPE ให้เช่าสินทรัพย์โรงงานน้�ำ ตาลทัง้ หมด แก่บริษัทฯ ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555 RPE จึงขายสต๊อกปุย๋ และยา ให้แก่บริษทั ฯ ทีม่ ลู ค่า ทางบัญชี
2. EPC มีการซื้อกากน้ำ�ตาลจาก RPE เพื่อใช้ใน การผลิตเอทานอล โดยราคาซื้อขายเป็นไปตาม นโยบายภายในกลุม่ บริษทั ฯ การซือ้ ขายดังกล่าว เป็นไปตามการระบาย สต๊อกกากน้�ำ ตาลทีเ่ หลือ ของ RPE โดยบริษทั ฯ จะไม่ให้มรี ายการดังกล่าว อีกหลังจากวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556
ทัง้ นี้ การขายดังกล่าวเป็นผลมาจากการที่ RPE ได้ปล่อยเช่าสินทรัพย์โรงงานน้�ำ ตาล ให้แก่ บริษทั ฯ ตัง้ แต่วนั ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555 รวมทัง้ โอน ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานมาทีบ่ ริษทั ฯ ใน วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 แล้ว RPE จึงไม่ สามารถจำ�หน่ายน้�ำ ตาลทรายเองได้
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
รายงานประจ�ำปี 2559
131
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
ลักษณะความสัมพันธ์
812,307,175.14
33,507,670.95
89,746,854.10
ดอกเบีย้ ค้างจ่าย ดอกเบีย้ ค้างจ่ายตามสัญญาเช่า ทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน ดอกเบีย้ จ่ายตามสัญญาเช่าทางการ เงินอาคารและเครือ่ งจักร
3,312,499.99
101,000,000.00
5,300,000.00
89,092,008.08
33,245,889.76
805,960,964.41
3,312,499.99
101,000,000.00
5,300,000.00
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าทางการเงิน หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าทางการเงิน อาคาร และเครือ่ งจักร
ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ โรงงานจ่ายล่วงหน้า
ลูกหนีเ้ งินประกันค่าเช่าโรงงาน เงินประกันค่าเช่าทีด่ นิ โรงงานน้�ำ ตาล และค่าเช่าเครือ่ งจักร
รายจ่ายค่าเช่าทีด่ นิ KTIS จ่ายค่าเช่าทีด่ นิ
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการ (บาท)
• อัตราค่าเช่าดังกล่าวเป็นไปตามราคาประเมินโดย ผูป้ ระเมินอิสระ 2 ราย ได้แก่บริษทั ไนท์แฟรงค์ชาร์เตอร์ (ประเทศไทย) จำ � กั ด เมื่ อ วั น ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 และ บริษทั ซาลแมนน์ (ฟาร์อสี ท์) จำ�กัด เมือ่ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
• สัญญาดังกล่าวมีอายุ 30 ปีและให้สทิ ธิบริษทั ฯในการ ต่ออายุได้อกี 30 ปี
• สั ญ ญาเช่ า ที่ ดิน ดั ง กล่ า วได้ ถู ก ทำ � ขึ้ น ณ วั น ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 โดยมี ค่า เช่ า เท่ า กั บ 5,300,000 บาทต่อปี และจะมีการปรับขึน้ ได้ทกุ รอบ 5 ปี ตามอัตรารวมของดัชนีราคาผูบ้ ริโภคทัว่ ไปเฉลีย่ ย้อนหลัง 5 ปีและจะปรับเพิม่ ไม่เกินกว่าร้อยละ 20 ของ ค่าเช่าในปีกอ่ นทีจ่ ะมีการปรับขึน้ ค่าเช่า
• บริษทั ฯ เช่าทีด่ นิ ของ RPE เนือ้ ที่ 173 ไร่ 95.9 ตารางวา ทีต่ �ำ บลบ้านมะเกลือ อำ�เภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์ซ่งึ เป็นส่วนหนึ่งของการเช่าสินทรัพย์ โรงงานน้�ำ ตาลทรายของ RPE เพือ่ ประกอบธุรกิจ ของบริษทั ฯ
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
132
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
17. บริษัท นครสวรรค์ ร่วมทุนพัฒนา จำ�กัด (“นครสวรรค์ร่วมทุน พัฒนา”) (ประกอบธุรกิจขนส่ง สินค้า)
16. บริษัท ศิริเจริญทรัพย์ ไพรวัลย์ จำ�กัด (“SSPW”) (ประกอบธุรกิจโรงแรม และรีสอร์ท)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
• มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน นครสวรรค์รว่ มทุน คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้
• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ 1. นายประเสริฐ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
• มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน SSPW คือ 1. บจ.น้�ำ ตาลเอกผล
• มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่านได้แก่ 1. นายปรีชา อรรถวิภชั น์ 2. นางสาวฉัว่ อิง อิง 3. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์
-
ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า
33,196.43
1,612,719.31
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าขนส่งน้�ำ ตาลค้างจ่าย รายได้อน่ื ค่าวัสดุและเงินชดเชยค่าน้�ำ ตาลเสียหาย
11,428,621.89
-
ค่าบรรทุกน้�ำ ตาลทราย ค่าขนส่งน้�ำ ตาลไปเก็บทีค่ ลังสินค้า
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่าห้องพักฯ ค้างจ่าย
553,638.70
-
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่าทีด่ นิ ค้างจ่าย
ค่าทีพ ่ กั รีสอร์ท ค่าเช่าห้องพักรีสอร์ท
-
13,644.86
48,164.47
4,528,722.91
-
18,450.00
-
-
412,400.00
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการ (บาท)
• TIS จ้างนครสวรรค์รว่ มทุนพัฒนา ขนส่งน้�ำ ตาลไป เก็บทีค่ ลังสินค้า เพือ่ ความสะดวก ประสิทธิภาพ และ ประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขทางการค้า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด
• กลุม่ บริษทั ฯ ได้เช่าห้องพักรีสอร์ทจาก SSPW ซึง่ เป็น เจ้าของรีสอร์ท ตั้งอยู่เลขที่ 1/79 หมู่ท่ี 2 ตำ�บล แก่งโสภา อำ�เภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก เพือ่ ใช้เป็น ทีพ ่ กั และทีป่ ระชุม สัมนาของพนักงานในกลุม่ KTIS หรือใช้เป็นทีร่ บั รองแขกของบริษทั ฯ และเป็นสถานที่ จัดกิจกรรมเพือ่ ประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและ เงือ่ นไขการเช่าห้องพักรีสอร์ทเป็นไปตามราคาและ เงือ่ นไขในอัตราตลาด
• บริษทั ฯ เช่าทีด่ นิ จาก RPE เพือ่ เพือ่ ประกอบธุรกิจขอ งบริษทั ฯ โดยราคาและเงือ่ นไขทางการเช่าเป็นไปตาม ราคาและเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
รายงานประจ�ำปี 2559
133
19. บริษัท ภูมิพัฒนาธุรกิจ จำ�กัด (“ภูมิพัฒนา ธุรกิจ”) (ประกอบธุรกิจให้เช่า อสังหาริมทรัพย์)
18. บริษัท ภูมิเลิศ บิซซิเนส จำ�กัด (“PB”) (ประกอบธุรกิจให้ เช่าเครือ่ งจักรกล การเกษตร)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
• มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน ภูมพ ิ ฒ ั นาธุรกิจ คือ 1. บจ. จรูญหทัยเอกโฮลดิง้
• มีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ถือหุน้ ใน PB คือ 1. บจ.รวมผลอุตสาหกรรม นครสวรรค์
• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ 1. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์
-
6,616.44
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่าทีด่ นิ ค้างจ่าย ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า
6,616.44
-
-
3,000,000.00
-
-
6,041,928.04
22,037,383.17
-
3,000,000.00
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ
เครือ่ งจักรกลการเกษตร บริษทั ฯ และ TIS ซือ้ รถอัดใบอ้อย จาก PB
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่ารถอัดใบอ้อยค้างจ่าย
ค่าเช่ารถอัดใบอ้อย KTIS และ TIS เช่ารถอัดใบอ้อย
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการ (บาท)
• ราคา และเงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคา และเงือ่ นไขการเช่าในอัตราตลาด
• EPC เช่า 35 แปลงเนือ้ ที่ 965 ไร่ เพือ่ บริหารจัดการ น้�ำ เสีย
• EPPCO เช่าทีด่ นิ จาก ภูมพ ิ ฒ ั นา ธุรกิจ จำ�นวน 35 แปลง เนื้อที่ 459-0-87.3 ไร่ เพื่อบริหารจัดการ น้�ำ เสียและกากสลัด
• บริษทั ฯ และ TIS เช่าทีด่ นิ จาก ภูมพ ิ ฒ ั นา ธุรกิจ เพือ่ ใช้ ในการปลูกอ้อย และใช้ประโยชน์ในการดำ�เนินธุรกิจ
• KTF ได้เช่าที่ดินจาก ภูมิพัฒนา ธุรกิจ เพื่อใช้เป็น สถานที่ก่อสร้างโรงงานผลิตปุ๋ยชีวภาพ และเพื่อ ประโยชน์ในการดำ�เนินธุรกิจ
• KTIS และ TIS ซือ้ รถอัดใบอ้อย เพือ่ อัดใบอ้อย ใช้เป็น เชือ้ เพลิงเสริม เพือ่ ความสะดวก ประสิทธิภาพ และ ประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขทางการค้า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด
• อัตราค่าเช่าชุดละ 1,000,000 บาทต่อ 1 ฤดูการผลิต หรือ 120 วัน คำ�นวณจากค่าเสือ่ มทีเ่ กิดขึน้ ใน 1 ปี
• KTIS และ TIS เช่ารถอัดใบอ้อย เพือ่ อัดใบอ้อย ใช้เป็น เชือ้ เพลิงเสริม เพือ่ ความสะดวก ประสิทธิภาพ และ ประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและเงือ่ นไขทางการค้า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
134
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านคือ 1. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
22. บริษทั อี.พี.ซี. เพาเวอร์ จำ�กัด (“อี.พี.ซี. เพาเวอร์”) (ประกอบธุรกิจลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์)
23. บริษทั น้�ำ ตาลเกษตรไทย • มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ จำ�กัด (“KT”) ใน KT คือ (ประกอบธุรกิจการค้า 1. บจ.น้�ำ ตาลเอกผล และ อืน่ ๆ) 2. บจ.ร่วมกิจอ่างทองคลัง สินค้า
-
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่าทีด่ นิ ค้างจ่าย
-
1,920.00
• อัตรา และ เงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไข การเช่าในอัตราตลาด
• บริษทั ฯ ได้เช่าทีด่ นิ จาก KT เพือ่ ใช้ในการปลูกอ้อย
-
ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ
• อัตรา และเงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไข การเช่าในอัตราตลาด
-
182,400.00
• บริษทั ฯ ได้เช่าทีด่ นิ จาก อี.พี.ซี. เพาเวอร์ เพือ่ ใช้ใน การปลูกอ้อย
• TIS ซื้อ วั ส ดุ ท่ัวไป ใช้ ง านแล้ ว เพื่อความสะดวก ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทางธุรกิจ โดยราคาและ เงือ่ นไขทางการค้า เป็นไปตามราคาตลาด และเงือ่ นไข ทางการค้าในอัตราตลาด
• บริษทั ฯ ได้ซอ้ื รถยนต์ และ รถแทรกเตอร์ใช้งานแล้ว เพือ่ ความสะดวก ประสิทธิภาพ และประโยชน์ทาง ธุรกิจ โดยราคาและเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตาม ราคาและเงือ่ นไขทางการค้าในอัตราตลาด
• อัตรา และเงือ่ นไขการเช่า เป็นไปตามราคาและเงือ่ นไข การเช่าในอัตราตลาด
• EPPCO ได้เช่าที่ดินจาก อะโกร เอทานอล เพื่อใช้ ประโยชน์ในการดำ�เนินธุรกิจ
-
-
ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ
7,600.00
-
150,000.00
-
-
293,760.00
• บริษทั ฯ ได้เช่าทีด่ นิ จาก อะโกร เอทานอล เพือ่ ใช้ในการ ปลูกอ้อย และใช้ประโยชน์ในการดำ�เนินธุรกิจ
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล
• EPC ได้เช่าทีด่ นิ จาก อี.พี.ซี. เพาเวอร์ เพือ่ ใช้ประโยชน์ ในการบริหารจัดการน้�ำ เสีย และดำ�เนินธุรกิจ
-
วัสดุทว่ั ไป TIS ซือ้ วัสดุทว่ั ไป
-
เจ้าหนีอ้ น่ื ๆ เจ้าหนีอ้ น่ื ๆ จากการ ซือ้ รถยนต์ และ รถแทรกเตอร์ จาก R&W
-
ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า -
-
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่าทีด่ นิ ค้างจ่าย
ยานพาหนะ บริษทั ฯ ซือ้ รถยนต์ และรถ แทรกเตอร์
-
ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ธ.ค. 59
มูลค่ารายการ (บาท)
ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าทีด่ นิ
ลักษณะรายการ
• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันถือหุน้ ใน ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ค่าเช่าทีด่ นิ ค้างจ่าย อี.พี.ซี. เพาเวอร์ คือ ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า 1. บจ.น้�ำ ตาลเอกผล ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า
• มีบคุ คลทีเ่ กีย่ วโยงกัน เป็น กรรมการ คือ 1. นางศิรวิ รรณ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล เป็นภรรยานายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
• มีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องถือหุน้ ใน อะโกร เอทานอล คือ 1. บจ. น้�ำ ตาลเอกผล
• มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านคือ 1. นายศิรภาคย์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล
ลักษณะความสัมพันธ์
21. บริษัท อาร์ แอนด์ ดับเบิ้ลยู ชูการ์ จำ�กัด (“R&W”) (ประกอบธุรกิจซือ้ -ขาย สินค้า)
20. บริษทั อะโกร เอทานอล จำ�กัด (“อะโกร เอทานอล”) (ประกอบธุรกิจลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์)
บุคคล/นิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ ระหว่างกัน ทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2560 เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 ได้พจิ ารณาข้อมูล รายการระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท ฯ ในรอบปี บั ญ ชี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2559 ประกอบกับการสอบถามข้อมูลต่างๆ จากฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ รวมทัง้ การสอบทานข้อมูลตามทีร่ ะบุ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมเสมือนสอบทานโดยผู้สอบ บัญชีของบริษทั ฯ แล้วเห็นว่า รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ ใน รอบปีบญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2559 เป็นรายการที่ เป็นไปเพือ่ การด�ำเนินธุรกิจตามปกติของบริษทั ฯ และเป็นไปตาม เงื่อนไขการค้าทั่วไป ในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระท�ำ กับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรอง ทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีค่ สู่ ญ ั ญาอีกฝ่ายมีสถานะ เป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง (Arm’s Length Basis) และไม่มกี าร ถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษทั ฯ และบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง
มาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารท�ำรายการ ระหว่างกัน บริษทั ฯ มีนโยบายและขัน้ ตอนการทำ�รายการระหว่างกัน
เพือ่ ให้รายการระหว่างบุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เป็นไปอย่างโปร่งใส และเพือ่ เป็นการรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ โดยสามารถสรุปได้ดงั นี้ การเข้าทำ�รายการระหว่างกันหรือรายการทีเ่ กีย่ วโยง กันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ของพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ฯ และประกาศของคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2551 เรือ่ งหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกัน ประกอบกับประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ เรือ่ ง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนใน รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันรวมทัง้ กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ของสำ�นักงานกลต. และ/ หรือในหมายเหตุตลาดหลักทรัพย์ฯ ทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจน การปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดเกีย่ วกับการเปิดเผยรายการระหว่างกัน ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบจากผูส้ อบ บัญชีของบริษทั ฯ และแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (56-1) ด้วย ในกรณีทก่ี ฎหมายกำ�หนดให้บริษทั ฯ ต้องได้รบั อนุมตั ิ จากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน การเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันในเรื่องใด บริษัทฯ จะจัดให้ คณะกรรมการตรวจสอบ ตรวจสอบและให้ความเห็นเกี่ยวกับ รายการดังกล่าว และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบจะ ถูกนำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท หรือผู้ถือหุ้นแล้ว แต่กรณี เพื่อให้ม่นั ใจว่าการเข้าทำ�รายการตามที่เสนอนั้นเป็นไป เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ กรณีทม่ี รี ายการระหว่างกันของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต คณะกรรมการ ตรวจสอบจะเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับความจำ�เป็นในการเข้าทำ� รายการและความเหมาะสมด้านราคาของรายการนั้นๆ โดย
พิจารณาจากเงือ่ นไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการดำ�เนินธุรกิจ ปกติในอุตสาหกรรม และมีการเปรียบเทียบกับราคาของบุคคล ภายนอกหรือราคาตลาด หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มี ความชำ�นาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษทั ฯ จะจัดให้ผเู้ ชีย่ วชาญอิสระหรือผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ เป็น ผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนำ�ไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือผูถ้ อื หุน้ ตามแต่กรณี โดยกรรมการผูม้ สี ว่ นได้สว่ น เสียจะไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในรายการดังกล่าว อีกทัง้ จะมีการเปิดเผย รายการระหว่างกันในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีต่ รวจสอบ หรือสอบทานโดยผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ทั้งนี้ ในหลักการให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการ ทำ � ธุ ร กรรมดั ง กล่ า วหากธุ ร กรรมเหล่ า นั้ น มี ข้ อ ตกลงทาง การค้าในลักษณะเดียวกับทีว่ ญ ิ ญูชนพึงกระทำ�กับคูส่ ญ ั ญาทัว่ ไป ในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำ�นาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจาก อิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะเป็นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคล ทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง โดยบริษทั ฯ จะต้องจัดทำ�รายงานสรุปการทำ� ธุรกรรมที่มีขนาดเกินกว่า 5,000,000 บาท เพื่อรายงานใน การประชุมคณะกรรมการบริษทั ในครัง้ ต่อไป
นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกัน ในอนาคต การเข้าท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการระหว่าง บริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย บริษทั ฯ จะปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทมี่ ผี ลใช้บงั คับ หากบริษัทฯ ประสงค์จะเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อย บริษัทฯ จะปฏิบัติ ตามนโยบายและขั้นตอนที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้แนวทางในการพิจารณาคือ ให้พิจารณาความจ�ำเป็นของรายการต่อการด�ำเนินงานของบ ริษทั ฯ และให้พจิ ารณาเปรียบเทียบราคากับรายการเทียบเคียงที่ ท�ำกับบุคคลภายนอก (หากมี) รวมถึงพิจารณาสาระส�ำคัญของ ขนาดรายการด้วย อย่างไรก็ดี หากมีการเข้าท�ำรายการระหว่างกัน บริษทั ฯ จะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นเกี่ยวกับความ เหมาะสมของรายการดังกล่าว ในกรณีทคี่ ณะกรรมการตรวจสอบ ไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดให้มีบุคคลที่มีความรู้ ความช�ำนาญพิเศษ เช่น ผูส้ อบบัญชีหรือผูป้ ระเมินราคาทรัพย์สนิ ทีม่ คี วามเป็นอิสระเป็น ผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน โดยความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบหรือบุคคลที่มีความรู้ความช�ำนาญ พิเศษ จะถูกน�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ บริษทั ฯ หรือผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่กรณี เพือ่ ให้มคี วามมัน่ ใจว่าการเข้า ท�ำรายการดังกล่าวจะไม่เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ ระหว่างบริษทั ฯ หรือผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ แต่เป็นการท�ำรายการ ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ค�ำนึงถึงประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ ทุกราย
รายงานประจ�ำปี 2559
135
ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะทางการเงิน ภาพรวมของผลการด�ำเนินงานปี 2559 รายได้รวมประกอบด้วยรายได้จากการขายและการ ให้บริการ และรายได้อื่น บริษัทมีรายได้รวมในปี 2559 ทั้งสิ้น 15,086.6 ล้านบาท ลดลง 4,357.3 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 22.4 จากปี 2558 ที่ 19,443.9 ล้านบาท เป็นผลมาจากรายได้จาก การขายและการให้บริการ รวมทัง้ รายได้อนื่ ๆ ในปี 2559 ลดลง
ประเทศไทย
บริษทั
รายได้จากการขายและการให้บริการในปี 2559 จ�ำนวน 15,005.6 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 22.4 จากปี 2558 ที่ 19,328.2 ล้านบาท จากภาวะภัยแล้งในปีกอ่ นหน้าส่งผลให้ปริมาณอ้อยเข้าหีบ ในปีการผลิต 2558/2559 ลดลง ดังนัน้ ปริมาณวัตถุดบิ ส�ำหรับ ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งจึงลดลงด้วย รายละเอียดดังต่อไปนี้
ปริมาณผลิต
2557/2558
2558/2559
ปริมาณอ้อย
106.0
94.0
ล้านตัน
น�ำ้ ตาลทราย
113.0
97.8
ล้านกระสอบ (กระสอบละ 100 กิโลกรัม)
กากน�ำ้ ตาล
4.6
4.3
ล้านตัน
ปริมาณอ้อย
9.8
7.5
ล้านต้น
น�ำ้ ตาลทราย
9.9
7.2
ล้านกระสอบ (กระสอบละ 100 กิโลกรัม)
กากน�ำ้ ตาล
0.5
0.4
ล้านตัน
แหล่งทีม่ า : สำ�นักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำ�ตาลทราย
• รายได้ ส ายธุ ร กิ จ น�้ ำ ตาลในปี 2559 ลดลงร้ อ ยละ 26.1 จากปริ ม าณการขายน�้ ำ ตาลและกากน�้ ำ ตาล ลดลง แม้ว่าราคาขายน�้ำตาลสูงขึ้น • รายได้จากธุรกิจเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ในปี 2559 ลดลงร้อยละ 31.4 จากปริมาณการขาย เยื่อกระดาษทั้งในประเทศและต่างประเทศลดลงแม้ว่า ราคาขายเยื่อกระดาษสูงขึ้น • รายได้จากธุรกิจเอทานอลในปี 2559 ลดลงเล็กน้อย ร้อยละ 0.3 จากปริมาณขายเอทานอลเพิ่มขึ้นแต่ราคา ขายเอทานอลลดลง • รายได้จากการขายไฟฟ้าในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.0 จากระยะเวลาการผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ ย าวขึ้ น ของ โรงไฟฟ้าเกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ และการผลิตไฟฟ้า ของโรงไฟฟ้าไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ ทีเ่ ริม่ ด�ำเนินการ เชิงพาณิชย์ในไตรมาส 2 ปี 2559 แม้วา่ ราคาขายไฟฟ้า ต่อหน่วยจะลดลง • รายได้จากการบริการจักรกลทางการเกษตรและอืน่ ๆ ในปี 2559 ลดลงร้อยละ 13.0 รายได้อื่นในปี 2559 อยู่ที่ 81.0 ล้านบาท ลดลง 34.7 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 30.0 จากปี 2558 ที่ 115.7
136
ล้านบาท เนื่องจากค่าสิทธิขายน�้ำตาล และก�ำไรที่เกิดขึ้นจาก ส่วนลดรับจากการโอนสิทธิลูกหนี้ชาวไร่ในปี 2559 ลดลง ต้ น ทุ น ขายและการให้ บ ริ ก ารในปี 2559 จ� ำ นวน 12,168.7 ล้านบาท ลดลง 2,685.4 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 18.1 จากปี 2558 ที่ 14,854.2 ล้านบาท เป็นสัดส่วนตามรายได้ จากการขายและการให้บริการที่ลดลง ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหารในปี 2559 จ�ำนวน 2,871.7 ล้านบาท ลดลง 490.5 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 14.6 จากปี 2558 ที่ 3,362.2 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมา จากค่าฝากน�้ำตาลทรายที่ลดลง ค่าใช้จ่ายในการส่งออกลดลง และค่าขนส่งก็ลดลงเป็นสัดส่วนกับราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงที่ลดลง รวมทั้ ง ค่ า ขนส่ ง และค่ า ใช้ จ ่ า ยในการส่ ง ออกเยื่ อ กระดาษ ฟอกขาวจากชานอ้อยลดลงจากปริมาณขายที่ลดลง บริษทั ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นในปี 2559 จ�ำนวน 117.6 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ซึ่งขาดทุน 172.9 ล้านบาท ในปี 2558 จากค่าเงินบาทเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลง ต�ำ่ กว่าระดับทีบ่ ริษทั ท�ำสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน โดยอ้างอิงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่บริษัท อ้อยและน�้ำตาลไทย จ�ำกัด ได้ใช้ส�ำหรับการค�ำนวณราคาอ้อย
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ต้นทุนทางการเงินในปี 2559 จ�ำนวน 317.0 ล้านบาท ลดลง 56.0 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 15.0 จากปี 2558 ที่ 372.9 ล้านบาท เนือ่ งจากบริษทั ได้มกี ารบริหารจัดการทางการเงินทีด่ ที ำ� ให้ตน้ ทุนทางการเงินลดลง ตามปัจจัยทีก่ ล่าวข้างต้น ในปี 2559 บริษทั มีผลการด�ำเนินงานทีล่ ดลงกว่าปีกอ่ น โดยขาดทุนสุทธิ 512.5 ล้านบาท เทียบกับ ปี 2558 ทีม่ กี าํ ไรสุทธิ 729.9 ล้านบาท
การวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน รายได้
ปี 2558 (ล้านบาท)
ปี 2559 (ล้านบาท)
เปลีย่ นแปลง (ล้านบาท)
เปลีย่ นแปลง (ร้อยละ)
รายได้จากการขายและการให้บริการ
19,328.2
15,005.6
(4,322.6)
(22.4%)
15,340.6
11,336.0
(4,004.6)
(26.1%)
14,351.7
10,888.3
(3,463.4)
(24.1%)
รายได้จากการขายกากนาํ้ ตาล
766.5
447.7
(318.8)
(41.6%)
ผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายนาํ้ ตาล
222.4
-
(222.4)
(100%)
3,987.6
3,669.6
(318.0)
(8.0%)
รายได้จากการขายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย
1,305.5
896.1
(409.3)
(31.4%)
รายได้จากการขายเอทานอล
1,638.6
1,634.4
(4.2)
(0.3%)
รายได้จากการขายไฟฟ้า
538.3
699.6
161.2
30.0%
อืน่ ๆ
505.2
439.5
(65.8)
(13.0%)
รายได้อนื่
115.7
81.0
(34.7)
(30.0%)
19,443.9
15,086.6
(4,357.3)
(22.4%)
ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายนาํ้ ตาลทราย รายได้จากการขายนาํ้ ตาล
ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง
รายได้รวม แหล่งทีม่ า : ข้อมูลบริษทั
รายได้รวม
บริษทั มีรายได้รวมในปี 2559 ทัง้ สิน้ 15,086.6 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 22.4 จากปี 2558 ที่ 19,443.9 ล้านบาท รายละเอียด มีดงั นี้ ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทราย รายได้ของธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�ตาลทรายของ บริษทั ในปี 2559 และปี 2558 เท่ากับ 11,336.0 ล้านบาท และ 15,340.6 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 26.1 ซึง่ เป็นผลมาจากปัจจัย สำ�คัญดังต่อไปนี้ • ปริมาณการขายน�ำ้ ตาลทรายในประเทศและต่างประเทศ ในปี 2559 ลดลง 323,844.9 ตัน หรือลดลงร้อยละ 30.0 จากปี 2558 จากภาวะภัยแล้งในประเทศอันเป็น ผลกระทบจากเอลนิลโญ่ ซึง่ ส่งผลให้ปริมาณและคุณภาพ อ้อยลดลง • ราคาขายน�้ ำ ตาลทรายในประเทศเฉลี่ ย ในปี 2559 อยูใ่ นระดับเดียวกันกับปี 2558 ซึง่ เป็นราคาควบคุมของ ทางราชการ • ราคาขายน�้ำตาลทรายในต่างประเทศเฉลี่ยส�ำหรับปี 2558 เท่ากับ 12,495.8 บาทต่อตัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.9 จาก 11,690.3 บาทต่อตัน ในปี 2558
• ราคาน�ำ้ ตาลทรายในตลาดล่วงหน้านิวยอร์ก (NY#11) เพิม่ ขึน้ อันเป็นผลกระทบจากเอลนิลโญ่ โดยในปี 2559 ที่ผ ่ านมา ผลผลิ ตน�้ ำตาลโลกน้อยกว่ าการบริโภค ส่ ง ผลให้ ส ต๊ อ กน�้ ำ ตาลในตลาดโลกเกิ ด ภาวะตึ ง ตั ว ในฤดูการผลิต 2558/59 • ปริ ม าณการขายกากน�้ ำ ตาลในปี 2559 จ� ำ นวน 108,493.4 ตัน ลดลงร้อยละ 40.3 จากปี 2558 ที่ 181,703.4 ตัน • ราคาขายเฉลี่ ย ของกากน�้ ำ ตาลในปี 2559 เท่ า กั บ 4,126.2 บาทต่อตัน ลดลงร้อยละ 2.2 จาก 4,218.4 บาทต่อตัน ในปี 2558 ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รายได้จากธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องของบริษัท ในปี 2559 เท่ากับ 3,669.6 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 8.0 จากปี 2558 ที่ 3,987.6 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจาก (1) รายได้จากการขายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย สำ�หรับปี 2559 ที่ 896.1 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 31.4 จาก ปี 2558 ที่ 1,305.5 ล้านบาท ซึง่ เป็นผลจากปัจจัยดังต่อไปนี้ • ปริมาณการขายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ในปี 2559 และปี 2558 เท่ากับ 40,985.3 ตัน และ รายงานประจ�ำปี 2559
137
63,745.7 ตัน ตามล�ำดับ ลดลงร้อยละ 35.7 โดยทัง้ ปริมาณการขายในประเทศและปริมาณการขายต่างประเทศลดลง เป็นผล มาจากสภาวะเศรษฐกิจโลกทีซ่ บเซา ท�ำให้ผใู้ ช้เยือ่ กระดาษให้ความสนใจในเรือ่ งราคามากกว่าเรือ่ งสิง่ แวดล้อม • ราคาขายเฉลีย่ เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยในประเทศปรับตัวสูงขึน้ เป็น 20,820.6 บาทต่อตันในปี 2559 จาก 20,254.5 บาทต่อตัน ในปี 2558 และราคาขายเฉลีย่ เยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยต่างประเทศจะปรับตัวสูงขึน้ เป็น 21,865.1 บาทต่อตัน ในปี 2559 จาก 20,479.4 บาทต่อตัน ในปี 2558 เป็นผลมาจากจ�ำนวนผูผ้ ลิตเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยมีเพียงไม่กรี่ าย ในโลก จึงท�ำให้สามารถก�ำหนดราคาขายเยือ่ กระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยได้ในระดับหนึง่
กราฟต่อไปนีแ้ สดงการเปลีย่ นแปลงของราคาเยือ่ กระดาษฟอกขาวจาก ชานอ้อยย้อนหลัง 3 ปี ยูคาลิปตัส (CIF) ชานอ้อย (CFR)
850 750 650
พ.ย. 59
ก.ย. 59
ก.ค. 59
พ.ค. 59
มี.ค. 59
ม.ค. 59
พ.ย. 58
ก.ย. 58
ก.ค. 58
พ.ค. 58
มี.ค. 58
ม.ค. 58
พ.ย. 57
ก.ย. 57
ก.ค. 57
มี.ค. 57
ม.ค. 57
450
พ.ค. 57
550
แหล่งทีม่ า: ข้อมูลจาก RISI
(2) รายได้จากการขายเอทานอลในปี 2559 และปี 2558 เท่ากับ 1,634.4 ล้านบาท และ 1,638.6 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลงเล็กน้อย ร้อยละ 0.3 ซึง่ เป็นผลจากปัจจัยดังต่อไปนี้ • ปริมาณการขายเอทานอลในปี 2559 และปี 2558 เท่ากับ 72.3 ล้านลิตรและ 66.6 ล้านลิตร ตามล�ำดับเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.5 จาก การเติบโตของการบริโภคเอทานอลภายในประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ • ราคาขายเอทานอลเฉลีย่ ในประเทศในปี 2559 เท่ากับ 22.60 บาทต่อลิตร ลดลงร้อยละ 8.1 จากปี 2558 ที่ 24.59 บาทต่อลิตร ซึง่ เป็นผลมาจากราคาน�ำ้ มันโลกทีผ่ นั ผวนต�ำ่ ลง กราฟต่อไปนีแ้ สดงการปริมาณการบริโภคเอทานอลย้อนหลัง 3 ปี ล้านลิตรต่อวัน 3.65
3.5
3.35 3.12
2.5
1.5
3.48
3.44
3.16
3.15
2.56
2.65
2.75
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
3.30
3.50
3.46
3.17
3.19
3.57 3.28
2.98
2.89
2.85
2.84
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
3.73
3.62
3.54
3.48
3.17
3.27
3.09
3.05
3.11
3.19
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
3.23
3.81 3.55
3.31 3.42
2559 2558 2557
ธ.ค.
แหล่งทีม่ า: ข้อมูลจากกระทรวงพลังงาน
(3) รายได้ จ ากการขายไฟฟ้ า ในปี 2559 และปี 2558 เท่ากับ 699.6 ล้านบาท และ 538.3 ล้านบาทตามล�ำดับ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 30.0 จากระยะเวลาการผลิตไฟฟ้าทีย่ าวขึน้ ของ 138
โรงไฟฟ้าเกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ (KTBP) และการผลิตไฟฟ้า ของโรงไฟฟ้าไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ (TEP) ที่เริ่มด�ำเนินการ เชิงพาณิชย์ในไตรมาส 2 ปี 2559
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ต้นทุนขายและการให้บริการ และอัตราก�ำไรขัน้ ต้น
(4) รายได้จากการขายและบริการอืน่ ๆ ปี 2559 และ ปี 2558 เท่ากับ 439.5 ล้านบาท และ 505.2 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลงร้อยละ 13.0 ส่วนใหญ่เป็นรายได้จากการให้บริการ เครื่องจักรกลการเกษตร ตลอดจนปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืช แก่ชาวไร่ทลี่ ดลง
ต้นทุนขายและการให้บริการในปี 2558 เท่ากับ 12,168.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 18.1 จากปี 2558 ที่ 14,854.2 ล้านบาท เป็นสัดส่วนตามรายได้จากการขายและการให้บริการทีล่ ดลง
รายได้อนื่
ต้นทุนขายและการให้บริการ และอัตราก�ำไรขัน้ ต้นในปี 2559 เทียบกับปี 2558 แสดงในตารางข้างล่าง
รายได้อนื่ ในปี 2559 จ�ำนวน 81.0 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 30.0 จาก 115.7 ล้านบาท ในปี 2558 รายได้
ปี 2558 (ล้านบาท)
ปี 2559 (ล้านบาท)
เปลีย่ นแปลง (ล้านบาท)
เปลีย่ นแปลง (ร้อยละ)
รายได้จากการขายและการให้บริการ
19,328.2
15,005.6
(4,322.6)
(22.4%)
15,340.6
11,336.0
(4,004.6)
(26.1%)
3,987.6
3,669.6
(318.0)
(8.0%)
14,854.2
12,168.7
(2,685.4)
(18.1%)
12,643.2
9,406.3
(3,236.9)
(25.6%)
2,210.9
2,762.4
551.5
24.9%
4,474.1
2,836.9
(1,637.1)
(36.6%)
ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายนาํ้ ตาลทราย
2,697.4
1,929.7
(767.7)
(28.5%)
ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง
1,776.7
907.2
(869.5)
(48.9%)
23.1%
18.9%
(4.2%)
ธุรกิจผลิติ และจ�ำหน่ายนาํ้ ตาลทราย
17.6%
17.0%
(0.6%)
ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง
44.6%
24.7%
(19.8%)
ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายนาํ้ ตาลทราย ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ต้นทุนขายและการให้บริการ ธุรกิจผลิติ และจ�ำหน่ายนาํ้ ตาลทราย ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ก�ำไรขัน้ ต้น
อัตราก�ำไรขัน้ ต้น
แหล่งทีม่ า : ข้อมูลบริษทั
• ราคาขายเอทานอลเฉลีย่ ในปี 2559 เท่ากับ 22.60 บาท ต่อลิตร ลดลงจากจากปี 2558 ที่ 24.59 บาทต่อลิตร
อัตราก�ำไรขัน้ ต้นรวมในปี 2559 เท่ากับร้อยละ 18.9 ลดลงจากอัตราก�ำไรขัน้ ต้นรวมในปี 2558 ทีร่ อ้ ยละ 23.1 เนือ่ งจาก ก�ำไรขัน้ ต้นจากทัง้ 2 สายธุรกิจ ลดลง
• ราคาขายไฟฟ้าเฉลีย่ ในปี 2559 เท่ากับ 3.08 บาทต่อหน่วย ลดลงจากปี 2558 ที่ 3.34 บาทต่อหน่วย จากค่า FT ของปีกอ่ นหน้าทีเ่ ป็นค่าบวก แต่ปี 2559 เป็นค่าลบ
ก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย ลดลงมีสาเหตุหลักมาจาก • ปริ ม าณขายน�้ ำ ตาลในประเทศและต่ า งประเทศในปี 2559 จ�ำนวน 756,220.8 ตัน ลดลงจากปี 2558 ที่ 1,080,065.7 ตัน • ปริมาณขายกากน�ำ้ ตาลในปี 2559 เท่ากับ 108,493.4 ตัน ลดลงจากปี 2558 ที่ 181,703.4 ตัน • ราคาขายกากน�ำ้ ตาลเฉลีย่ ในปี 2559 เท่ากับ 4,126.2 บาทต่อตัน ลดลงจากปี 2558 ที่ 4,218.4 บาทต่อตัน ก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องลดลง มีสาเหตุหลักมาจาก
ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหาร
ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหารในปี 2559 จ�ำนวน 2,871.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 14.6 จากปี 2558 ที่ 3,362.2 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากค่าฝากน�้ำตาลทรายที่ลดลง ค่าใช้จ่ายในการส่งออกลดลง และค่าขนส่งก็ลดลงเป็นสัดส่วน กับราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงที่ลดลง รวมทั้งค่าขนส่งและค่าใช้จ่าย ในการส่งออกเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยลดลงจาก ปริมาณขายทีล่ ดลง
• ปริมาณขายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยในปี 2558 เท่ากับ 40,985.3 ตัน ลดลงจากปี 2558 ที่ 58,745.7 ตัน รายงานประจ�ำปี 2559
139
ก�ำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น
บริษทั ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นในปี 2559 จ�ำนวน 117.6 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ซึง่ ขาดทุน 172.9 ล้านบาทในปี 2558 จากค่าเงินบาทเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลง ต�ำ่ กว่าระดับทีบ่ ริษทั ท�ำสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน โดยอ้างอิงจากอัตราแลกเปลีย่ นทีบ่ ริษทั อ้อยและน�ำ้ ตาลไทย จ�ำกัด ได้ใช้สำ� หรับการค�ำนวณราคาอ้อย
หนีส้ นิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 หนี้สินรวมของบริษัท เท่ากับ 8,230.8 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 18.5 จากหนี้สินรวม ปี 2558 ที่ 10,100.8 ล้านบาท • หนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 3,642.9 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 26.4 จากปี 2558 ที่ 4,948.9 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก »» เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบัน การเงินลดลง 855.5 ล้านบาท
ต้นทุนทางการเงิน
ต้นทุนทางการเงินในปี 2559 เท่ากับ 317.0 ล้านบาท ลดลง 56.0 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 15.0 จากปี 2558 ที่ 372.9 ล้านบาท เนือ่ งจากบริษทั ได้มกี ารบริหารจัดการทางการเงิน ทีด่ ที ำ� ให้ตน้ ทุนทางการเงินลดลง
»» เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นลดลง 313.4 ล้านบาท »» ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ ถึงครบก�ำหนดช�ำระในหนึง่ ปีลดลง 128.3 ล้านบาท • หนี้สินไม่หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 4,587.9 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10.9 จากปี 2558 ที่ 5,151.9 ล้านบาท จากการทยอยช�ำระคืนเงินกู้ยืม ระยะยาวให้กับสถาบันการเงิน
กาํ ไรสุทธิ และอัตราก�ำไรสุทธิ
ปี 2559 บริษทั ขาดทุนสุทธิ 512.5 ล้านบาท เทียบกับ ปี 2558 ที่มีก�ำไรสุทธิ 729.9 ล้านบาท โดยอัตราก�ำไรสุทธิใน ปี 2559 และปี 2558 เท่ากับร้อยละ -3.40 และ 3.75 ตามล�ำดับ
การวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน
สินทรัพย์
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพย์รวมของบริษทั เท่ากับ 16,052.3 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 14.6 จากปี 2558 ที่ 18,793.2 ล้านบาท • สินทรัพย์หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 4,217.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 24.4 จากปี 2558 ที่ 5,578.0 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก »» เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง 7.3 ล้านบาท »» ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นลดลง 486.7 ล้านบาท และลูกหนี้ชาวไร่เพิ่มขึ้น 124.5 ล้านบาท • ลูกหนีท้ างการค้าและลูกหนีอ้ นื่ สุทธิลดลงจาก 1,175.6 ล้านบาท เหลือ 688.9 ล้านบาท • ระยะเวลาการเก็บหนีเ้ ฉลีย่ ปี 2559 ที่ 22.68 วัน เทียบกับ 24.76 วันในปี 2558 »» สินค้าคงเหลือสุทธิลดลง 1,053.5 ล้านบาท • สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 11,834.6 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10.4 จากปี 2558 ที่ 13,215.2 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก »» ลู ก หนี้ ส� ำ นั ก งานกองทุ น อ้ อ ยและน�้ ำ ตาลลดลง 798.1 ล้ า นบาท จากที่ บ ริ ษั ท ได้ รั บ เงิ น ชดเชย ผลตอบแทนการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำตาลทราย ที่ส�ำนักงานกองทุนอ้อยและน�้ำตาลค้างจ่ายแล้ว ทั้งจ�ำนวน »» ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์สทุ ธิลดลง 494.6 ล้านบาท จากค่าเสือ่ มราคาของอาคาร เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ 140
ส่วนของผูถ้ อื หุน้
ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 ส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริษัทเท่ากับ 7,821.5 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10.0 จาก ปี 2558 ที่ 8,692.5 ล้านบาท จากผลประกอบการทีข่ าดทุนและ การจ่ายเงินปันผลในปี 2559
สภาพคล่องและความเพียงพอของเงินทุน
บริ ษั ท ได้ ย กระดั บ ความสั ม พั น ธ์ แ ละความร่ ว มมื อ กับสถาบันการเงินต่างๆ โดยเน้นความเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ (Strategic Partner) เป็นคู่คิดและเติบโตไปด้วยกัน ซึ่งในช่วง ที่ ผ ่ า นมา บริ ษั ท ได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ บริการทางการเงินร่วมกับสถาบันการเงินต่างๆ เช่น บริการ Cash Management ที่ ค รบวงจร บริ ก ารขายลดเช็ ค อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ท�ำให้สถาบันการเงินมีความเชื่อมั่น และให้ ก ารสนั บ สนุ น วงเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นที่ เ พี ย งพอ รวมถึ ง ความพร้ อ มที่ จ ะมี ส ่ ว นร่ ว มสนั บ สนุ น โครงการลงทุ น ต่ า งๆ ในอนาคตของบริษทั ส�ำหรับตลาดการเงิน บริษัทได้เสนอขายตั๋วแลกเงิน ระยะสัน้ อายุไม่เกิน 270 วัน นับจากวันออกตัว๋ แลกเงินระยะสัน้ สกุ ล เงิ น บาท ชนิ ด ระบุ ชื่ อ ผู ้ รั บ เงิ น มู ล ค่ า รวมทั้ ง สิ้ น ไม่ เ กิ น 5,000 ล้านบาท ณ ขณะใดขณะหนึ่ง และเมื่อมีการไถ่ถอนตั๋ว เงินระยะสั้นแล้ว บริษัทสามารถน�ำมูลค่าที่ไถ่ถอนแล้วดังกล่าว กลับมาเสนอขายได้อกี โดยมูลค่าคงค้างรวมต้องไม่เกิน 5,000 ล้านบาท ทั้งนี้หนังสือชี้ชวนการเสนอขายหลักทรัพย์ดังกล่าว จะต้องด�ำเนินการต่ออายุเป็นรายปี โดยหนังสือชี้ชวนปัจจุบัน จะครบอายุในวันที่ 19 เมษายน 2560 บริษัทมีวงเงินทุนหมุนเวียนที่เพียงพอส�ำหรับการ รองรับภาระตั๋วแลกเงินระยะสั้นที่ครบก�ำหนดทั้งจ�ำนวน อีกทั้ง บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดนโยบายและมาตรการป้ อ งกั น ความเสี่ ย ง ทางสภาพคล่อง ท�ำให้บริษัทได้รับความเชื่อถือจากนักลงทุน สถาบั น และผู ้ ล งทุ น รายใหญ่ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ก� ำ หนด (High Net Worth) เป็นอย่างดีมาโดยตลอด
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
กระแสเงินสด
ในปี 2559 แม้วา่ บริษทั มีขาดทุนสุทธิกอ่ นภาษีเงินได้ จ�ำนวน 388.3 ล้านบาท แต่บริษทั มีคา่ เสือ่ มราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย เป็นจ�ำนวน 1,142.3 ล้านบาทและปรับปรุงกับรายการอืน่ ทีม่ ไิ ด้ เป็นเงินสดแล้ว ท�ำให้บริษัทมีก�ำไรจากกิจกรรมด�ำเนินงานก่อน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงานเป็นจ�ำนวน 957.2 ล้ า นบาท และเมื่ อ ค� ำ นวณจากส่ ว นเปลี่ ย นแปลงใน สินทรัพย์และหนีส้ นิ ด�ำเนินงานแล้ว ยังคงมีเงินสดสุทธิจากกิจกรรม ด�ำเนินงานหลังจ่ายดอกเบีย้ และภาษีเงินได้แล้ว จ�ำนวน 2,661.4 ล้านบาท ซึ่งได้ใช้ไปส�ำหรับกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน 600.1 ล้าน บาท และ ใช้ไปส�ำหรับกิจกรรมจัดหาเงิน เพือ่ ลดภาระหนีร้ ะยะยาว และ ภาระหนี้ระยะสั้น เป็นจ�ำนวน 2,068.7 ล้านบาท ส่งผลให้ รายการเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิเท่ากับ 7.3 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยกมา ต้นงวด จ�ำนวน 346.7 ล้านบาท ท�ำให้เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดปลายปี เป็นจ�ำนวนเงิน 339.4 ล้านบาท
สภาพคล่องทางการเงิน
อัตราส่วนสภาพคล่องตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 1.16 เท่า ดีกว่าปีกอ่ นซึง่ อยูท่ ี่ 1.13 เท่า และอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็วเท่ากับ 0.28 เท่า ใกล้เคียง กับปีกอ่ น การทีบ่ ริษทั ได้พฒ ั นาระบบบริหารจัดการเงินสดร่วมกับ สถาบันการเงิน โดยใช้บริการทัง้ กลุม่ บริษทั ท�ำให้บริษทั สามารถน�ำ กระแสเงินสดส่วนเกินในแต่ละวัน ช�ำระคืนหนีว้ งเงินทุนหมุนเวียน ได้ และกรณีทบี่ ริษทั มีความจ�ำเป็นต้องใช้เงินก็สามารถเบิกใช้จาก วงเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละวันได้เช่นกัน การด�ำเนินการดังกล่าว ท�ำให้บริษัทสามารถประหยัดต้นทุนทางการเงินลงได้ รวมถึง การทีบ่ ริษทั มีตลาดการเงินเป็นทางเลือกในการสนับสนุนวงเงิน ทุนหมุนเวียน ประเภทตั๋วแลกเงินระยะสั้น ส่งผลให้บริษัท มี สภาพคล่ อ งทางการเงิ น ที่ ดีม าก และมี ต ้ น ทุ น ทางการเงิ น ที่ เหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว แหล่งที่ม าและใช้ ไ ปของเงิ น ทุ น ความเหมาะสมของ โครงสร้างเงินทุน บริษัทมี น โยบายในการบริ หารโครงสร้ า งเงิ น ทุ น ที่ เหมาะสม เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั และสร้างเสริม มูลค่าการถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ โดยค�ำนึงถึงการป้องกันความเสีย่ ง ทางการเงิน ในปี 2558 บริษทั ได้ดำ� เนินการปรับโครงสร้างทางการเงิน ของบริษทั และบริษทั ย่อย เพือ่ เป็นการลดความเสีย่ งทางการเงิน บริษัทได้ปรับความสมดุลระหว่างหนี้ระยะสั้นและหนี้ระยะยาว เพื่อลดภาระต้นทุนทางการเงินของกลุ่มบริษัท โดยได้กู้ยืมเงิน ระยะยาว 4,000 ล้านบาท จากสถาบันการเงินในประเทศแห่งหนึง่ เพื่อน�ำไปเพิ่มทุนในบริษัทย่อย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริม สภาพคล่ อ ง และน� ำ ไปช� ำ ระคื น เงิ น กู ้ ยื ม ระยะยาวที่ มี ต ้ น ทุ น ทางการเงินที่สูงกว่า ส่วนที่เหลือจากการเพิ่มทุนในบริษัทย่อย ทางบริษัทได้น�ำไปลดภาระหนี้ระยะสั้นของกิจการ ทั้งนี้ในการ เข้าท�ำสัญญากู้ยืมระยะยาวดังกล่าว นอกจากนี้ บริษัทได้ท�ำ
สัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ จากอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวเป็น อัตราดอกเบีย้ คงทีต่ อ่ ปี เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ท�ำให้สามารถควบคุมต้นทุนทางการเงินได้ อั ต ร า ส ่ ว น ห นี้ สิ น ต ่ อ ส ่ ว น ข อ ง ผู ้ ถื อ หุ ้ น (Debt to Equity Ratio) เท่ากับ 1.05 เท่า ดีกว่าปี 2558 ซึง่ อยูท่ ี่ 1.16 เท่า โดยอัตราส่วนดังกล่าวไม่กอ่ ให้เกิดความเสีย่ งอย่างมี นัยส�ำคัญต่อบริษทั แต่ประการใด ทัง้ นี้ บริษทั ยังมีความสามารถ ในการก่อหนี้ เพื่อใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย รวมถึงเพิม่ โอกาสการลงทุนในโครงการอนาคต
รายจ่ายลงทุนและแหล่งเงินทุน
ในปี 2558 บริษทั ได้ใช้เงินลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า ชีวมวลขนาด 50 เมกะวัตต์ จ�ำนวน 2 โครงการ และโครงการ ผลิตน�ำ้ เชือ่ มและน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิพ ์ เิ ศษ ตามวัตถุประสงค์ ของการใช้ เ งิ น ที่ ไ ด้ เ สนอขายหุ ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ต่ อ ประชาชน เป็นเงินสดสุทธิทใี่ ช้ไปในกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน 2,386.2 ล้านบาท ท�ำให้ปี 2559 ไม่จำ� เป็นต้องใช้เงินสดสุทธิในกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน มากเหมือนปีกอ่ น จึงใช้เงินสดสุทธิในกิจกรรมลงทุนเพียง 600.1 ล้านบาท ปัจจัยหรือเหตุการณ์ทจี่ ะมีผลต่อฐานะการเงินหรือการ ด�ำเนินงานในอนาคต ปัจจัยความไม่แน่นอนในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โลกยั ง คงมี อ ยู ่ โดยเฉพาะเสถี ย รภาพทางการเมื อ งของ สหรัฐอเมริกา นโยบายการปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ ของธนาคาร กลางสหรัฐอเมริกา ปัญหาความกังวลเรือ่ งการผิดนัดช�ำระหนี้ ของยุโรป ประเด็นทีส่ มาชิกยูโรโซนก�ำลังพิจารณาถอนตัวออกจาก การเป็นสมาชิกภาพ ประเด็นการฟื้นตัวของเศรษฐกิจญี่ปุ่น ปั ญ หาความกั ง วลในความแข็ ง แรงของเศรษฐกิ จ ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในขณะที่ ประเทศไทยยังคงมีทนุ ส�ำรองระหว่างประเทศ ที่เข้มแข็ง มีดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดที่ดีอย่างต่อเนื่อง และมีนโยบายการลงทุนภาครัฐขนาดใหญ่ ล้วนแล้วแต่ท�ำให้ การด�ำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในปี 2560 น่ า จะเป็ น อี ก ปี ที่ ดีส� ำ หรั บ ประเทศไทย แต่ ก็ ต ้ อ งระมั ดระวั ง ปัจจัยภายนอกประเทศดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้ดำ� เนินการทบทวน นโยบาย ติดตามประเมินความเสีย่ งอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้มนั่ ใจ ได้ว่า การด�ำเนินการตามมาตรการและแผนบริหารความเสี่ยง ในแต่ละด้าน สามารถควบคุมความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม และยอมรับได้ตามทีร่ ะบุไว้ในหัวข้อปัจจัยความเสีย่ ง
รายงานประจ�ำปี 2559
141
รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด มหาชน ได้จดั ให้มกี ารท�ำงบการเงิน เพือ่ แสดงฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงานบริษทั ฯ ประจ�ำปี 2559 ภายใต้พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จ�ำกัด พ.ศ.2535 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารบั ญ ชี พ.ศ.2543 และพระราชบั ญ ญั ติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 รวมถึงประกาศ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนเรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธี การรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับฐานะการเงินและผลการ ด�ำเนินงานของบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ภาระหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบในฐานะกรรมการบริษัทจดทะเบียนในการเป็น ผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมถึง ข้อมูลสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฎในรายงานประจ�ำปี 2559 ซึง่ งบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รอง โดยทัว่ ไป โดยใช้นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั โิ ดยสม�ำ่ เสมอ ตลอดจนใช้ดลุ ยพินจิ อย่างรอบคอบและสมเหตุสมผลในการจัดท�ำ งบการเงินบริษทั ฯ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพือ่ ให้เป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทัว่ ไปอย่างโปร่งใส
นอกจากนัน้ คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มแี ละด�ำรง รักษาไว้ซึ่งระบบบริหารความเสี่ยงและระบบควบคุมภายในที่มี ประสิทธิผลเพือ่ ให้มนั่ ใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่าการบันทึกข้อมูล ทางบัญชีความถูกต้องครบถ้วนและเพียงพอทีจ่ ะด�ำรงรักษาไว้ซงึ่ ทรัพย์สินของบริษัท และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือ การด�ำเนินทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการ ตรวจสอบของบริษทั ฯ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระท�ำหน้าที่ สอบทานเกีย่ วกับคุณภาพทางการเงินและความเพียงพอของระบบ ควบคุมภายในโดยความเห็นของกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับ เรือ่ งนี้ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ แสดง ไว้ในรายงานประจ�ำปีฉบับนีแ้ ล้ว คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่า ระบบควบคุม ภายในของบริษทั ฯ โดนรวมอยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจและสามารถสร้าง ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลได้วา่ งบการเงินของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย ส�ำหรับปีสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีความเชือ่ ถือ ได้ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ถูกต้องตามกฏหมาย
นายปรีชา อรรถวิภชั น์ ประธานกรรมการ
142
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
นายประพันธ์ ศิรวิ ริ ยิ ะกุล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ KTIS
งบการเงินและ หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต เสนอต่อผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงิ น รวมของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย (กลุ่ มบริ ษทั ) ซึ่ งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงิ น รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวม สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ และได้ ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผลการดาเนินงานและกระแสเงินสด สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกันของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษทั ย่อย และเฉพาะของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)โดยถูกต้อง ตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่ วนของ ความรั บผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระจาก กลุ่มบริ ษทั ตามข้อกาหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีที่กาหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรม ราชูปถัมภ์ ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ อื่น ๆ ตามที่ระบุในข้อกาหนดนั้นด้วย ข้าพเจ้าเชื่ อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสม เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า
รายงานประจ�ำปี 2559
143
เรื่องสาคัญในการตรวจสอบ เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบคือเรื่ องต่าง ๆ ที่มีนยั สาคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าใน การตรวจสอบงบการเงินสาหรับงวดปั จจุบนั ข้าพเจ้าได้นาเรื่ องเหล่านี้มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบ งบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสาหรับ เรื่ องเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้ในส่ วนของความรั บผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบ งบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่ องเหล่านี้ดว้ ย การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้าได้ รวมวิธีการตรวจสอบที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองต่อการประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ ง อันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่ งได้รวมวิธีการตรวจสอบสาหรับเรื่ องเหล่านี้ ด้วย ได้ใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธีการตรวจสอบสาหรับแต่ละเรื่ องมีดงั ต่อไปนี้ ค่ าเผือ่ หนีส้ งสั ยจะสู ญของลูกหนีช้ าวไร่ ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 10 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของ ลูกหนี้ชาวไร่ ที่คา้ งชาระเป็ นจานวนเงินประมาณ 933 ล้านบาท ซึ่งการประมาณการค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญของ ลูกหนี้ชาวไร่ ผูบ้ ริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจอย่างสู งในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เมื่อลูกหนี้ ชาวไร่ ไม่สามารถจ่ายชาระคืนเงินส่ งเสริ มและเงินสนับสนุนตามกาหนดเวลา รวมถึงพิจารณาช่วงเวลาที่ควรจะ รับรู้ประมาณการผลขาดทุนดังกล่าว เนื่องจากค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมีจานวนที่มีนยั สาคัญ ดังนั้นอาจทาให้เกิด ความเสี่ ยงเกี่ยวกับมูลค่าของค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญของลูกหนี้ชาวไร่ ข้าพเจ้าได้ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในทีเ่ กี่ยวกับการอนุมตั ิ การบันทึกรายการ การติดตามหนี้ ของเงินส่ งเสริ มและเงินสนับสนุนแก่ลูกหนี้ชาวไร่ และระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวกับการประมาณการค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญของลูกหนี้ชาวไร่ และได้ประเมินข้อมูล ข้อสมมติและวิธีการที่กลุ่มบริ ษทั ใช้ในการคานวณหา ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญของลูกหนี้ชาวไร่ โดยการ สอบทานรายงานอายุหนี้ของลูกหนี้ชาวไร่ กบั แหล่งที่มาของข้อมูล วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อสมมติที่กลุ่มบริ ษทั ใช้กบั ข้อมูลในอดีต สอบทานราคาหลักประกันกับแหล่งที่มาของข้อมูล นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ประเมินค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญที่คานวณโดยผูบ้ ริ หาร โดยข้าพเจ้าได้ทาการสอบทาน
ลูกหนี้ชาวไร่ ที่กลุ่มบริ ษทั เห็นว่าไม่มีขอ้ บ่งชี้เรื่ องหนี้สงสัยจะสู ญ เพื่อตรวจสอบว่าไม่มีการบันทึกประมาณ ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญของกิจการสาหรับลูกหนี้ชาวไร่ กลุ่มดังกล่าว นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ทดสอบ การคานวณค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญดังกล่าวด้วย 2
144
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
มูลค่ าสุ ทธิทคี่ าดว่าจะได้ รับของสิ นค้ าคงเหลือของส่ วนงานธุรกิจผลิตและจาหน่ ายนา้ ตาลทราย กลุ่มบริ ษทั มีสินค้าคงเหลือของส่ วนงานธุรกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทรายเป็ นจานวนที่มีนยั สาคัญ โดยมียอด คงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เป็ นจานวนเงินประมาณ 1,319 ล้านบาท เนื่องจากน้ าตาลทรายเป็ นสิ นค้า โภคภัณฑ์ และราคาของสิ นค้าถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดโลก ทาให้ราคาของน้ าตาลทราย เพื่อการส่ งออกมีการปรับตัวขึ้นลงตามราคาตลาด ดังนั้นการประมาณการมูลค่าสุ ทธิ ที่คาดว่าจะได้รับของสิ นค้า คงเหลือต้องอาศัยดุลยพินิจของฝ่ ายบริ หารค่อนข้างมาก เนื่องจากการปรับมูลค่าให้เท่ากับมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับ ขึ้นอยูก่ บั การวิเคราะห์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการแข่งขันทางการตลาด สภาพเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม และ การกาหนดเกณฑ์อา้ งอิงเพื่อใช้ประมาณการราคาจาหน่ายน้ าตาลเพื่อการส่ งออก ซึ่งอาจทาให้เกิดความเสี่ ยง เกี่ยวกับมูลค่าของค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ข้าพเจ้าได้ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินค่าเผื่อการ ลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือของส่ วนงานธุรกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ประเมิน วิธีการและข้อสมมติที่ฝ่ายบริ หารใช้ในการพิจารณาค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือดังกล่าวดังนี้ ทาความเข้าใจเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ รวมถึงสอบทาน ความ
สม่าเสมอของการใช้เกณฑ์ดงั กล่าว วิเคราะห์เปรี ยบเทียบในรายละเอียดสาหรับสัญญาขายภายหลังวันที่ในงบการเงินกับราคาทุนของสิ นค้า คงเหลือแต่ละกลุ่มสิ นค้า วิเคราะห์ขอ้ มูลราคาน้ าตาลในตลาดโลกเพื่อประเมินข้อสมมติที่สาคัญที่ใช้ในการประมาณการราคาขายใน อนาคตของแต่ละกลุ่มสิ นค้าที่จดั ทาโดยฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั เรื่องอืน่ งบการเงินรวมของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และ งบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ที่แสดงเป็ นข้อมูลเปรี ยบเทียบ ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีท่านอื่น ซึ่งแสดงความเห็น อย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2559 ข้ อมูลอืน่ ผูบ้ ริ หารเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่รวมอยูใ่ นรายงานประจาปี ของกลุ่มบริ ษทั (แต่ไม่รวมถึง งบการเงินและรายงานของผูส้ อบบัญชีที่แสดงอยูใ่ นรายงานนั้น) ซึ่ งคาดว่าจะถูกจัดเตรี ยมให้กบั ข้าพเจ้าภายหลัง วันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน้ ี
3 รายงานประจ�ำปี 2559
145
ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ขอ้ สรุ ปในลักษณะการให้ความ เชื่อมัน่ ในรู ปแบบใดๆต่อข้อมูลอื่นนั้น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่นนั้นมี ความขัดแย้งที่มีสาระสาคัญกับงบการเงินหรื อกับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้าหรื อไม่ หรื อ ปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจาปี ของกลุ่มบริ ษทั ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุ ปได้วา่ มีการแสดงข้อมูลที่ ขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ ข้าพเจ้าจะสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวให้ผมู้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลทราบเพื่อให้มี การดาเนินการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป ความรับผิดชอบของผู้บริ หารและผู้มีหน้ าทีใ่ นการกากับดูแลต่ องบการเงิน ผูบ้ ริ หารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทาและนาเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผบู้ ริ หารพิจารณาว่าจาเป็ นเพื่อให้สามารถจัดทา งบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อ ข้อผิดพลาด ในการจัดทางบการเงิน ผูบ้ ริ หารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มบริ ษทั ในการดาเนินงานต่อเนื่อง การเปิ ดเผยเรื่ องที่เกี่ยวกับการดาเนินงานต่อเนื่ องในกรณี ที่มีเรื่ องดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับ กิจการที่ดาเนินงานต่อเนื่ องเว้นแต่ผบู ้ ริ หารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริ ษทั หรื อหยุดดาเนินงานหรื อไม่สามารถ ดาเนินงานต่อเนื่ องอีกต่อไปได้ ผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่ องดูแลกระบวนการในการจัดทารายงานทางการเงินของกลุ่ม บริ ษทั ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด และ เสนอรายงานของผูส้ อบบัญชี ซ่ ึงรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยูด่ ว้ ย ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมัน่ ในระดับสู งแต่ไม่ได้เป็ นการรับประกันว่าการปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจ พบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญที่มีอยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอาจเกิดจากการทุจริ ต หรื อข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสาคัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้วา่ รายการที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งแต่ละ รายการหรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสิ นใจทางเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงินจากการใช้งบการเงิน เหล่านี้ 4 146
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยีย่ ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานดังต่อไปนี้ดว้ ย ระบุและประเมินความเสี่ ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน
ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อ ความเสี่ ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญซึ่งเป็ นผลมาจาก การทุจริ ตจะสู งกว่าความเสี่ ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริ ตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริ ง หรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิ ทธิ ผลของการ ควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผบู้ ริ หารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ผบู้ ริ หารจัดทา สรุ ปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับกิจการที่ดาเนินงานต่อเนื่องของผูบ้ ริ หาร และ สรุ ปจากหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรื อ สถานการณ์ที่อาจเป็ นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนยั สาคัญต่อความสามารถของกลุ่มบริ ษทั ในการดาเนิ นงาน ต่อเนื่องหรื อไม่ หากข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุ ปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญ ข้าพเจ้าจะต้องให้ขอ้ สังเกตไว้ใน รายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบการเงิน หรื อหากเห็นว่าการเปิ ดเผย ดังกล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของข้าพเจ้าขึ้นอยูก่ บั หลักฐานการ สอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้กลุ่มบริ ษทั ต้องหยุดการดาเนินงานต่อเนื่องได้ ประเมินการนาเสนอ โครงสร้างและเนื้ อหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่างบการเงินแสดงรายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรหรื อไม่ รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรื อ ของกิจกรรมทางธุ รกิจภายในกลุ่มบริ ษทั เพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการ กาหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั ิงานตรวจสอบกลุ่มบริ ษทั ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบแต่เพียงผู้ เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า
5 รายงานประจ�ำปี 2559
147
ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผน ไว้ ประเด็นที่มีนยั สาคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่ องที่มีนยั สาคัญในระบบการควบคุมภายในซึ่ ง ข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คารับรองแก่ผมู ้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง กับความเป็ นอิสระและได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ท้งั หมดตลอดจนเรื่ องอื่นซึ่ง ข้าพเจ้าเชื่ อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ จากเรื่ องทั้งหลายที่สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่ องต่าง ๆ ที่มีนยั สาคัญที่สุดใน การตรวจสอบงบการเงินในงวดปัจจุบนั และกาหนดเป็ นเรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิ บายเรื่ องเหล่านี้ ไว้ ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรื อข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิ ดเผยเรื่ องดังกล่าวต่อสาธารณะ หรื อใน สถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทา ดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ที่ผมู้ ีส่วนได้เสี ย สาธารณะจะได้จากการสื่ อสารดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีที่รับผิดชอบงานสอบบัญชี และการนาเสนอรายงานฉบับนี้คือ นางสาวสุ มาลี รี วราบัณฑิต
สุ มาลี รี วราบัณฑิต ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3970 บริ ษทั สานักงาน อีวาย จากัด กรุ งเทพฯ: 24 กุมภาพันธ์ 2560
6 148
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบแสดงฐานะการเงิ นชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย บริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ณ วันที่ 31 ธันนวาคม 2559 งบแสดงฐานะการเงิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 หมายเหตุ หมายเหตุ
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์ชีวภาพ ต้นทุนค่าซ่อมแซมครั้งใหญ่ต้งั พัก สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้สานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
8 7, 9 10 7 11 12 7
13 14 15 16 17 29 7
งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม
2559 2559
2558 2558
(หน่วย: บาท) งบการเงิ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ 2559 2558 2559 2558
339,425,117 688,900,185 555,986,307 1,861,171,770 29,646,813 645,675,665 96,872,199 4,217,678,056
346,726,919 1,175,587,621 431,465,031 2,914,631,467 16,530,560 578,782,402 114,284,426 5,578,008,426
204,299,697 366,647,999 363,000,143 1,209,716,872 1,062,811,653 18,762,110 481,756,137 54,051,350 3,761,045,961
132,446,050 699,462,116 251,324,997 1,432,008,759 1,772,324,481 16,530,560 422,558,028 58,054,623 4,784,709,614
394,300 328,710,645 10,851,094,186 296,791,282 187,907,316 169,740,599 11,834,638,328 16,052,316,384
394,300 798,054,570 323,178,361 11,345,663,358 300,767,159 242,393,868 204,750,407 13,215,202,023 18,793,210,449
9,379,151,512 130,085 12,378,480 3,944,134,715 1,101,713 175,092,770 108,761,090 13,620,750,365 17,381,796,326
9,224,929,779 130,085 666,154,679 16,498,832 4,166,855,925 1,298,788 207,051,960 110,375,242 14,393,295,290 19,178,004,904
นนี้ หมายเหตุ นเป็ นนส่เป็ วนหนึ ของงบการเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นส่ว่ งนหนึ ง่ ของงบการเงิ นนี้
รายงานประจ�ำปี 2559
149
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบแสดงฐานะการเงิ นชู(ต่ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล การ์ อ คอร์) ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันนวาคม งบแสดงฐานะการเงิ (ต่อ) 2559 งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559
หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ
หนี หนีสส้้ ิินนและส่ และส่ ววนของผู นของผู้้ถถออืื หุหุ้้นน หนี หนีสส้้ ิินนหมุ หมุนนเวี เวียยนน เงิเงินนเบิ 18 เบิกกเกิ เกินนบับัญ ญชีชีแและเงิ ละเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะสั ระยะสั้้ นนจากสถาบั จากสถาบันนการเงิ การเงินน 18 เจ้ า หนี ก ารค้ า และเจ้ า หนี อ ่ ื น 7, ้ ้ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 7, 19 19 ่ เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะสั น จากกิ จ การที เ ่ กี ย วข้ อ งกั น 7 ้ ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7 ส่ส่ววนของหนี ส ิ น ตามสั ญ ญาเช่ า การเงิ น ้ นของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ทีที่ถ่ถึึงงกกาหนดช 20 าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี 20 ้ ส่ส่ววนของเงิ น กู ย ม ื ระยะยาวจากสถาบั น การเงิ น นของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ทีที่ถ่ถึึงงกกาหนดช 21 าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี 21 ่ ้ จ การที เ ่ กี ย วข้ อ งกั น ส่ส่ววนของเงิ น กู ย ม ื ระยะยาวจากกิ นของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ทีที่ถ่ถึึงงกกาหนดช 77 าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี ส่ส่ววนของเงิ นของเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยาวจากส ระยะยาวจากสานั านักกงานกองทุ งานกองทุนนอ้อ้ออยย และน 22 และน้้ าาตาลทรายที ตาลทรายที่ถ่ถึึงงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี 22 ภาษี เ งิ น ได้ ค า ้ งจ่ า ย ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี 77 หนี้้ สสิิ นนหมุ หมุนนเวี เวียยนอื นอื่่นน รวมหนี รวมหนีสส้้ ิินนหมุ หมุนนเวี เวียยนน หนี หนีสส้้ ิินนไม่ ไม่หหมุมุนนเวี เวียยนน หนี หนี้้ สสิินนตามสั ตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาการเงิ การเงินน -สุสุททธิธิจจากส่ 20 ากส่ววนที นที่ถ่ถึึงงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี 20 น เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยาวจากสถาบั น การเงิ ระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุสุททธิธิจจากส่ 21 ากส่ววนที นที่ถ่ถึึงงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี 21 ่ เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยาวจากกิ จ การที เ ่ กี ย วข้ อ งกั น ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุสุททธิธิจจากส่ 77 ากส่ววนที นที่ถ่ถึึงงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งงปีปี เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยาวจากส ระยะยาวจากสานั านักกงานกองทุ งานกองทุนนอ้อ้ออยและ ยและ นน้ าาตาลทราย สุ ท ธิ จ ากส่ ว นที ถ ่ ึ ง ก าหนดช าระภายในหนึ่งปี 22 ้ ตาลทราย - สุทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี 22 สสารองผลประโยชน์ 23 ารองผลประโยชน์รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงาน งาน 23 ประมาณการหนี ส ิ น ค่ า รื อ ถอนระยะยาว ้ ้ ประมาณการหนี้สินค่ารื้ อถอนระยะยาว หนี 77 หนี้้ สสิินนไม่ ไม่หหมุมุนนเวี เวียยนอื นอื่่นน รวมหนี รวมหนีสส้้ ิินนไม่ ไม่หหมุมุนนเวี เวียยนน รวมหนี รวมหนีสส้้ ิินน
งบการเงินนนรวม รวม งบการเงิ งบการเงิ รวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558
1,066,535,825 1,066,535,825 1,894,594,945 1,894,594,945 --
1,922,014,259 1,922,014,259 2,207,992,792 2,207,992,792 --
249,421,544 249,421,544 1,223,086,031 1,223,086,031 629,420,758 629,420,758
907,169,675 907,169,675 1,639,696,520 1,639,696,520 699,180,449 699,180,449
7,044,294 7,044,294
6,346,211 6,346,211
7,044,294 7,044,294
6,346,211 6,346,211
503,601,554 503,601,554
631,891,960 631,891,960
500,714,879 500,714,879
500,396,512 500,396,512
4,850,000 4,850,000
4,850,000 4,850,000
--
--
63,293,277 63,293,277 35,544,435 35,544,435 67,450,670 67,450,670 3,642,915,000 3,642,915,000
53,800,149 53,800,149 761,969 761,969 121,232,043 121,232,043 4,948,889,383 4,948,889,383
11,039,082 11,039,082 -36,954,572 36,954,572 2,657,681,160 2,657,681,160
10,566,123 10,566,123 -67,320,929 67,320,929 3,830,676,419 3,830,676,419
798,916,670 798,916,670
805,960,964 805,960,964
798,916,670 798,916,670
805,960,964 805,960,964
2,745,268,884 2,745,268,884
3,248,870,438 3,248,870,438
2,745,268,884 2,745,268,884
3,245,983,763 3,245,983,763
77,600,000 77,600,000
82,450,000 82,450,000
--
--
82,713,678 82,713,678 295,090,187 295,090,187 19,981,478 19,981,478 568,319,491 568,319,491 4,587,890,388 4,587,890,388 8,230,805,388 8,230,805,388
145,202,635 145,202,635 260,939,412 260,939,412 10,465,075 10,465,075 597,977,324 597,977,324 5,151,865,848 5,151,865,848 10,100,755,231 10,100,755,231
8,127,384 8,127,384 180,525,543 180,525,543 --3,732,838,481 3,732,838,481 6,390,519,641 6,390,519,641
19,166,466 19,166,466 154,179,775 154,179,775 --4,225,290,968 4,225,290,968 8,055,967,387 8,055,967,387
หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนเป็ เป็ นนส่ส่ววนหนึ นหนึ่่ งงของงบการเงิ ของงบการเงินนนีนี้้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
150
(หน่ววย: ย: บาท) บาท) (หน่ งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงิ การ งบการเงินนนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจจการ การ 2559 2558 2559 2558 2559 2558
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบแสดงฐานะการเงิ น (ต่าร์อคอร์ ) อเรชั่น่น จจากัากัดด (มหาชน) บริ บริษษทัทั เกษตรไทย เกษตรไทย อิอินนเตอร์ เตอร์เเนชั นชั่น่นแนล แนล ชูชูกการ์ คอร์ปปอเรชั (มหาชน) และบริ และบริษษทัทั ย่ย่ออยย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบแสดงฐานะการเงิ งบแสดงฐานะการเงินน (ต่ (ต่ออ))
ณ ่่ 31 บริ เตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ วัวัษนนทั ทีทีเกษตรไทย 31 ธัธันนวาคม วาคมอิน2559 2559 งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) งบการเงิ รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบการเงิ งบการเงินนนรวม รวม หมายเหตุ หมายเหตุ 2559 2558 หมายเหตุ 2559 2558 2559 2558 ส่ส่ ววนของผู งบการเงินรวม นของผู้้ถถอือื หุหุ้้นน ทุทุนนเรืเรื ออนหุ หมายเหตุ 2559 2558 นหุน้น้ นนจดทะเบี ส่ วทุทุนของผู ้ถอื ยหุยนน้ จดทะเบี สามั ทุนเรืหุหุอน้น้ นหุ สามัน้ ญ ญ 3,888,000,010 3,888,000,010 หุหุน้น้ มูมูลลค่ค่าาหุหุน้น้ ยละ 3,888,000,010 3,888,000,010 ทุนจดทะเบี น 11 บาท ละ บาท 3,888,000,010 3,888,000,010 ทุทุนนหุออกจ าายและช น้ สามัาหน่ ญ 3,888,000,010 ออกจ าหน่ ยและชาระเต็ าระเต็หุมมน้ มูมูลลค่ค่าาแล้ แล้วว หุหุน้มูน้ ลสามั ค่าหุญ ละ 1 บาท หุหุน้น้ 3,888,000,010 3,888,000,010 สามั ญน้ 3,860,000,010 3,860,000,010 มูมูลลค่ค่าาาหน่ หุหุน้น้ ละ 11 บาท 3,860,000,010 3,860,000,010 ทุนออกจ ละายและช บาทาระเต็มมูลค่าแล้ว 3,860,000,010 3,860,000,010 ส่ส่ววนเกิ มูมูลลญค่ค่าา3,860,000,010 หุหุน้น้ สามั 5,202,881,296 5,202,881,296 หุน้ นนสามั นเกิ สามัญ ญ หุน้ 5,202,881,296 5,202,881,296 ส่ส่ววนทุ 26 92,685,185 48,196,296 ค่าหุน้ ละาา1ยโดยใช้ บาท หหุนุ้น้ เป็เป็ นนเกณฑ์ 3,860,000,010 3,860,000,010 นทุมูนนลจากการจ่ จากการจ่ ยโดยใช้ เกณฑ์ 26 92,685,185 48,196,296 ส่กกาไรสะสม วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ 5,202,881,296 5,202,881,296 าไรสะสม ดดสรรแล้ วว -- สสารองตามกฎหมาย 256,442,734 245,193,041 ส่วจัจันทุ นจากการจ่ ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ 26 92,685,185 48,196,296 สรรแล้ ารองตามกฎหมาย 256,442,734 245,193,041 ยัยังงไม่ 1,986,666,795 2,913,349,599 กาไรสะสม ไม่ไได้ด้จจดดัั สรร สรร 1,986,666,795 2,913,349,599 ววนของผู (3,577,165,024) (3,577,165,024) องค์ ระกอบอื จัดปปสรรแล้ ว -่น่นสของส่ ารองตามกฎหมาย 256,442,734 245,193,041 องค์ ระกอบอื ของส่ นของผูถถ้้ ือือหุหุน้น้ (3,577,165,024) (3,577,165,024) 7,821,510,996 8,692,455,218 รวมส่ ้้ถถอือื หุหุ้้นน ยังไม่ววไนของผู ด้จดั สรร 1,986,666,795 2,913,349,599 7,821,510,996 8,692,455,218 รวมส่ นของผู 16,052,316,384 18,793,210,449 รวมหนี ส ้ ิ น และส่ ว นของผู ้ ถ อ ื หุ ้ น องค์ ป ระกอบอื ่ น ของส่ ว นของผู ถ ้ ื อ หุ น ้ (3,577,165,024) (3,577,165,024) 16,052,316,384 18,793,210,449 รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น --7,821,510,996 8,692,455,218 รวมส่ วนของผู้ถอื หุ้น หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ 16,052,316,384 18,793,210,449 รวมหนี ส้ ินปปและส่ วนของผู้ถอืนนหุเป็เป็้ นนนส่ส่ววนหนึ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ นหนึ่่ งงของงบการเงิ ของงบการเงินนนีนี้้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
-
-
(หน่ (หน่ววย: ย: บาท) บาท) งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงิ การ งบการเงินนนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ 2559 2558 (หน่ วย: บาท) 2559 2558 2559 2558 งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558
3,888,000,010 3,888,000,010
3,888,000,010 3,888,000,010
3,888,000,010 3,860,000,010 3,860,000,010 5,202,881,296 5,202,881,296 92,685,185 3,860,000,010 92,685,185
3,888,000,010 3,860,000,010 3,860,000,010 5,202,881,296 5,202,881,296 48,196,296 3,860,000,010 48,196,296
5,202,881,296 256,442,734 92,685,185 256,442,734 2,152,485,166 2,152,485,166 (573,217,706) 256,442,734 (573,217,706) 10,991,276,685 2,152,485,166 10,991,276,685 17,381,796,326 (573,217,706) 17,381,796,326 -10,991,276,685 17,381,796,326 -
5,202,881,296 245,193,041 48,196,296 245,193,041 2,338,984,580 2,338,984,580 (573,217,706) 245,193,041 (573,217,706) 11,122,037,517 2,338,984,580 11,122,037,517 19,178,004,904 (573,217,706) 19,178,004,904 -11,122,037,517 19,178,004,904 -
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
รายงานประจ�ำปี 2559
151
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบกำ �ไรขาดทุ นเบ็ เสร็ชูชูกจการ์าร์ คอร์ บริษษทั ทั เกษตรไทย เกษตรไทย เตอร์ นชัด แนล คอร์ปปอเรชั อเรชั่ น่ น จจากั ากัดด(มหาชน) (มหาชน) และบริ และบริษษทั ทั ย่ย่ออยย บริ อิอินนเตอร์ เเนชั ่ น่ นแนล สำงบก �หรั บปีสน้ินเบ็สุดดเสร็ วันจที่ี 31 ธันวาคม 2559 าไรขาดทุ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ าหรับบปีปี สิสิ้น้นสุสุดดวัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 สสาหรั
รายได้ รายได้ รายได้จจากการขายและบริ ากการขายและบริกการ าร รายได้ รายได้ออื่ นื่ น รายได้ ผลรับบ เงิเงินนปัปันนผลรั อือื่ น่ น ๆๆ รวมรายได้ รวมรายได้ ค่ค่าาใช้ใช้จจ่ า่ ายย ขายและบริกการ าร ต้ต้นนทุทุนนขายและบริ ใช้จจ่า่ายในการขาย ยในการขาย ค่ค่าาใช้ ใช้จจ่า่ายในการบริ ยในการบริหหาร าร ค่ค่าาใช้ ขาดทุนนจากอั จากอัตตราแลกเปลี ราแลกเปลี่ ย่ ยนน ขาดทุ รวมค่าาใช้ใช้จจ่ า่ ายย รวมค่ าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) ก่ก่ออนค่ นค่าาใช้ใช้จจ่ า่ ายทางการเงิ ยทางการเงินนและค่ และค่าาใช้ใช้จจ่ า่ ายภาษี ยภาษีเเงิงินนได้ ได้ กกาไร ใช้จจ่า่ายทางการเงิ ยทางการเงินน ค่ค่าาใช้ (ขาดทุนน)) ก่ก่ออนค่ นค่าาใช้ใช้จจ่ า่ ายภาษี ยภาษีเเงิงินนได้ ได้ าไร (ขาดทุ กกาไร ผลประโยชน์ (ค่ (ค่าาใช้ ใช้จจ่า่าย)ย) ภาษี ภาษีเเงิงินนได้ ได้ ผลประโยชน์ าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) สสาหรั าหรับบปีปี กกาไร
หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ
13 13
29 29
าไรขาดทุนนเบ็ เบ็ดดเสร็ เสร็จจอือื่น่น:: กกาไรขาดทุ รายการที่ จ่ จะไม่ ะไม่ถถูกูกบับันนทึทึกกในส่ ในส่ววนของก นของกาไรหรื าไรหรืออขาดทุ ขาดทุนนในภายหลั ในภายหลังง รายการที ผลกาไร าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) จากการประมาณการตามหลั จากการประมาณการตามหลักกคณิ คณิตตศาสตร์ ศาสตร์ ผลก ประกันนภัภัยย -- สุสุททธิธิจจากภาษี ากภาษีเเงิงินนได้ ได้ ประกั าไรขาดทุนนเบ็ เบ็ดดเสร็ เสร็จจอือื่น่นสสาหรั าหรับบปีปี กกาไรขาดทุ าไรขาดทุนนเบ็ เบ็ดดเสร็ เสร็จจรวมส รวมสาหรั าหรับบปีปี กกาไรขาดทุ าไรต่ออหุหุ้ น้ น กกาไรต่ าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) ต่ต่ออหุหุ้น้นขัขั้ น้ นพืพื้ น้ นฐาน ฐาน กกาไร าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) ส่ส่ววนที นที่เ่เป็ป็นของผู นของผูถ้ ถ้ ือือหุหุ้น้นของบริ ของบริษษทั ทั ฯฯ กกาไร าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) ต่ต่ออหุหุ้น้นปรั ปรับบลด ลด กกาไร าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) ส่ส่ววนที นที่เ่เป็ป็นของผู นของผูถ้ ถ้ ือือหุหุ้น้นของบริ ของบริษษทั ทั ฯฯ กกาไร
งบการเงินนนรวม รวม งบการเงิ รวม งบการเงิ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 15,005,627,283 15,005,627,283
19,328,216,903 19,328,216,903
10,155,106,572 10,155,106,572
12,550,175,033 12,550,175,033
-80,961,472 80,961,472 15,086,588,755 15,086,588,755
-115,689,414 115,689,414 19,443,906,317 19,443,906,317
1,016,164,650 1,016,164,650 135,892,883 135,892,883 11,307,164,105 11,307,164,105
946,439,354 946,439,354 169,795,104 169,795,104 13,666,409,491 13,666,409,491
12,168,708,810 12,168,708,810 1,583,390,086 1,583,390,086 1,288,278,041 1,288,278,041 117,552,686 117,552,686 15,157,929,623 15,157,929,623 (71,340,868) (71,340,868) (316,963,459) (316,963,459) (388,304,327) (388,304,327) (124,230,213) (124,230,213) (512,534,540) (512,534,540)
14,854,151,208 14,854,151,208 1,939,731,838 1,939,731,838 1,422,454,939 1,422,454,939 172,902,602 172,902,602 18,389,240,587 18,389,240,587 1,054,665,730 1,054,665,730 (372,934,426) (372,934,426) 681,731,304 681,731,304 48,217,856 48,217,856 729,949,160 729,949,160
8,611,970,886 8,611,970,886 1,195,409,496 1,195,409,496 843,871,752 843,871,752 89,293,121 89,293,121 10,740,545,255 10,740,545,255 566,618,850 566,618,850 (306,104,277) (306,104,277) 260,514,573 260,514,573 (35,520,710) (35,520,710) 224,993,863 224,993,863
10,539,181,668 10,539,181,668 1,206,971,720 1,206,971,720 876,498,139 876,498,139 73,963,957 73,963,957 12,696,615,484 12,696,615,484 969,794,007 969,794,007 (354,265,322) (354,265,322) 615,528,685 615,528,685 34,999,419 34,999,419 650,528,104 650,528,104
(16,901,070) (16,901,070) (16,901,070) (16,901,070)
40,402,803 40,402,803 40,402,803 40,402,803
(14,246,083) (14,246,083) (14,246,083) (14,246,083)
20,521,280 20,521,280 20,521,280 20,521,280
(529,435,610) (529,435,610)
770,351,963 770,351,963
210,747,780 210,747,780
671,049,384 671,049,384
(0.13) (0.13)
0.19 0.19
0.06 0.06
0.17 0.17
(0.13) (0.13)
0.19 0.19
0.06 0.06
0.17 0.17
31 31
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
หมายเหตุปประกอบงบการเงิ นเป็ นส่ ของงบการเงิ นนี้ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ นเป็วนหนึ นส่ว่ งนหนึ ง่ ของงบการเงิ นนี้
152
(หน่ววย:ย: บาท) บาท) (หน่ งบการเงินนนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจจการ การ งบการเงิ การ งบการเงิ เฉพาะกิ 2559 2558 2559 2558 2559 2558
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบกระแสเงิ นเตอร์ สดเเนชั บริ บริ ษษททัั เกษตรไทย เกษตรไทย อิอินนเตอร์ นชั่่ นนแนล แนล ชูชู กการ์ าร์ คอร์ คอร์ ปปอเรชั อเรชั่่ นน จจากั ากัดด (มหาชน) (มหาชน) และบริ และบริษษททัั ย่ย่ ออยย สำงบกระแสเงิ �หรับปีนสสดน้ิ สุดวันที่ี 31 ธันวาคม 2559 งบกระแสเงินสด สสาหรั าหรับบปีปี สิสิ้้นนสุสุ ดดวัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559
กระแสเงิ กระแสเงินนสดจากกิ สดจากกิจจกรรมด กรรมดาเนิ าเนินนงาน งาน กกาไร (ขาดทุ น ) ก่ อ นภาษี าไร (ขาดทุน) ก่อนภาษี รายการปรั รายการปรับบกระทบยอดก กระทบยอดกาไร าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) สุสุททธิธิกก่่ออนภาษี นภาษีเเป็ป็ นนเงิเงินนสดรั สดรับบ (จ่ (จ่าาย) ย) จากกิ จ กรรมด าเนิ น งาน จากกิจกรรมดาเนิ นงาน ค่ค่าาเสื เสื่่ ออมราคาและค่ มราคาและค่าาตัตัดดจจาหน่ าหน่าายย กกาไรที าไรที่่เเกิกิดดจากการรั จากการรับบรูรู้้สส่่ววนลดรั นลดรับบจากการโอนสิ จากการโอนสิ ททธิธิขของลู องลูกกหนี หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ ค่ค่าาเผื ่ อ หนี ส งสั ย จะสู ญ (โอนกลั บ ) ้ เผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) การปรั การปรับบลดราคาทุ ลดราคาทุนนของสิ ของสิ นนค้ค้าาคงเหลื คงเหลืออให้ ให้เเป็ป็ นนมูมูลลค่ค่าาสุสุททธิธิ ทีที่่จจะได้ (โอนกลับบ)) ะได้รรัับบ (โอนกลั ขาดทุนนจากการด้ จากการด้ออยค่ ยค่าาอสั อสังงหาริ หาริ มมทรั ทรัพพย์ย์เเพืพื่่ออการลงทุ การลงทุนน (โอนกลั (โอนกลับบ)) ขาดทุ ขาดทุนนจากการด้ จากการด้ออยค่ ยค่าาทีที่่ดดิินน อาคารและอุ อาคารและอุปปกรณ์ กรณ์ ขาดทุ าไรจากการเปลี่่ยยนแปลงในมู นแปลงในมูลลค่ค่าายุยุตติิธธรรมของสิ รรมของสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ชชีีววภาพ ภาพ กกาไรจากการเปลี รายได้เเงิงินนชดเชยรอตั ชดเชยรอตัดดบับัญ ญชีชีจจากส ากสานั านักกงานกองทุ งานกองทุนนอ้อ้ออยและน ยและน้้ าาตาล ตาล รายได้ ขาดทุนนจากอั จากอัตตราแลกเปลี ราแลกเปลี่่ยยนที นที่่ยยงงัั ไม่ ไม่เเกิกิดดขึขึ้้ นนจริ จริ งง ขาดทุ ขาดทุนนจากการจ จากการจาหน่ าหน่าายอสั ยอสังงหาริ หาริ มมทรั ทรัพพย์ย์เเพืพื่่ออการลงทุ การลงทุนน ขาดทุ าไรจากการจาหน่ าหน่าายอุ ยอุปปกรณ์ กรณ์ กกาไรจากการจ ขาดทุนนจากการตั จากการตัดดจจาหน่ าหน่าายอุ ยอุปปกรณ์ กรณ์ ขาดทุ ใช้จจ่่าายผลประโยชน์ ยผลประโยชน์รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงาน งาน ค่ค่าาใช้ การจ่าายโดยใช้ ยโดยใช้หหุุ้้นนเป็ เป็ นนเกณฑ์ เกณฑ์ การจ่ รายได้เเงิงินนปัปันนผล ผล รายได้ ดอกเบี้้ ยยรัรับบ ดอกเบี ใช้จจ่่าายดอกเบี ยดอกเบี้้ ยย ค่ค่าาใช้ าไร (ขาดทุ (ขาดทุนน)) จากกิ จากกิจจกรรมด กรรมดาเนิ าเนินนงานก่ งานก่ออนการเปลี นการเปลี่่ยยนแปลงใน นแปลงใน กกาไร ทรัพพย์ย์แและหนี ละหนี้้ สสิิ นนดดาเนิ าเนินนงาน งาน สิสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ดดาเนิ าเนินนงาน งาน (เพิ (เพิ่่มมขึขึ้้ นน)) ลดลง ลดลง สิสิ นนทรั หนี้้ กการค้ ารค้าาและลู และลูกกหนี หนี้้ ออื่ื่นน ลูลูกกหนี หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ ลูลูกกหนี คงเหลืออ สิสิ นนค้ค้าาคงเหลื ทรัพพย์ย์หหมุมุนนเวี เวียยนอื นอื่่นน สิสิ นนทรั หนี้้ สสานั านักกงานกองทุ งานกองทุนนอ้อ้ออยและน ยและน้้ าาตาลทราย ตาลทราย ลูลูกกหนี ทรัพพย์ย์ไไม่ม่หหมุมุนนเวี เวียยนอื นอื่่นน สิสิ นนทรั
งบการเงิ งบการเงิ รวม งบการเงินนนรวม รวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558
(หน่ (หน่ววย: ย: บาท) บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 2559 2558
(388,304,327) (388,304,327)
681,731,304 681,731,304
260,514,573 260,514,573
615,528,685 615,528,685
1,142,267,870 1,142,267,870 (14,147,604) (14,147,604) 20,043,114 20,043,114
940,614,843 940,614,843 (9,414,708) (9,414,708) 3,253,559 3,253,559
542,942,631 542,942,631 (13,595,253) (13,595,253) 30,006,310 30,006,310
410,639,720 410,639,720 (9,248,662) (9,248,662) (15,006,671) (15,006,671)
(176,179,431) (176,179,431) (1,278,610) (1,278,610) 31,565,867 31,565,867 (4,227,449) (4,227,449) -1,265,904 1,265,904 203,687 203,687 (15,389,901) (15,389,901) 240,603 240,603 21,030,601 21,030,601 44,488,889 44,488,889 -(21,365,461) (21,365,461) 316,963,459 316,963,459
179,858,459 179,858,459 1,945,554 1,945,554 72,387,168 72,387,168 -(222,380,298) (222,380,298) 27,523,268 27,523,268 -(13,511,582) (13,511,582) 10,822,362 10,822,362 24,817,988 24,817,988 44,488,889 44,488,889 -(30,408,080) (30,408,080) 372,934,426 372,934,426
(157,093,365) (157,093,365) 4,120,353 4,120,353 -(1,605,689) (1,605,689) -382,600 382,600 -(4,375,602) (4,375,602) -11,886,625 11,886,625 23,267,155 23,267,155 (1,016,164,650) (1,016,164,650) (66,520,565) (66,520,565) 306,104,277 306,104,277
177,189,612 177,189,612 ---(191,425,665) (191,425,665) 378,752 378,752 -(3,635,856) (3,635,856) 8,536 8,536 10,812,854 10,812,854 23,267,155 23,267,155 (946,439,354) (946,439,354) (122,464,038) (122,464,038) 354,265,322 354,265,322
957,177,211 957,177,211
2,084,663,152 2,084,663,152
(80,130,600) (80,130,600)
303,870,390 303,870,390
486,596,627 486,596,627 (131,764,242) (131,764,242) 1,229,639,128 1,229,639,128 (57,212,794) (57,212,794) 798,054,570 798,054,570 35,009,807 35,009,807
(304,901,999) (304,901,999) 93,518,820 93,518,820 1,751,208,466 1,751,208,466 32,899,588 32,899,588 (558,663,074) (558,663,074) (86,666,061) (86,666,061)
331,025,054 331,025,054 (128,086,201) (128,086,201) 866,606,194 866,606,194 (53,868,450) (53,868,450) 666,154,679 666,154,679 1,614,152 1,614,152
(354,784,129) (354,784,129) 115,706,620 115,706,620 1,369,536,250 1,369,536,250 (16,107,936) (16,107,936) (466,333,150) (466,333,150) (1,997,297) (1,997,297)
หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิ เป็ นส่ นนส่เป็ นหนึ ของงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นส่ว่่ งงนหนึ ง่ ของงบการเงิ นนี้ หมายเหตุ นนเป็ ววนหนึ ของงบการเงิ นนนีนี้้
รายงานประจ�ำปี 2559
153
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบกระแสเงิ สดเนชั(ต่ อ)ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด(มหาชน) และบริษทั ย่อย บริ ษทั เกษตรไทย อิน นเตอร์ ่ นแนล ทั เกษตรไทย ชู การ์ คอร์2559 ปอเรชั่ น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย สำบริ �ษหรั บปีนสสด น้ิ สุ(ต่อิดอนวั)เตอร์ นทีเ่ี นชั 31่ นแนล ธันวาคม งบกระแสเงิ งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สาหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559
หนี้ สินดาเนิ นงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) หนี้ สินดาเนิ นงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น หนี้ สินหมุนเวียนอื่ น หนี้ สินหมุนเวียนอื่น จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน เงินสดจากกิจกรรมดาเนิ นงาน เงินสดจากกิจกรรมดาเนิ นงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิจากกิจกรรมดาเนินงาน เงินสดสุ ทธิจากกิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้าประกันลดลง เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกันลดลง เงินให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง เงินให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ ยวข้องกันลดลง เงินสดรับจากการจาหน่ายเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดรับจากการจาหน่ายเงินลงทุนชัว่ คราว ซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุนของอาคารและอุปกรณ์ ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุนของอาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจาหน่ายอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจาหน่ายอุปกรณ์ จ่ายชาระเจ้าหนี้ ค่าซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จ่ายชาระเจ้าหนี้ ค่าซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ซื้ ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ซื้ ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดรับจากการจาหน่ายอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดรับจากการจาหน่ายอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน รับเงินปันผล รับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับ เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม งบการเงินรวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558 (344,896,944) (344,896,944) (53,856,666) (53,856,666) (8,006,162) (8,006,162) 2,910,740,535 2,910,740,535 (217,429,397) (217,429,397) (31,892,975) (31,892,975) 2,661,418,163 2,661,418,163
(794,445,108) (794,445,108) 37,148,927 37,148,927 (15,067,632) (15,067,632) 2,239,695,079 2,239,695,079 (239,513,515) (239,513,515) (97,403,672) (97,403,672) 1,902,777,892 1,902,777,892
(364,673,917) (364,673,917) (30,441,649) (30,441,649) (3,348,461) (3,348,461) 1,204,850,801 1,204,850,801 (179,308,299) (179,308,299) (1,952,250) (1,952,250) 1,023,590,252 1,023,590,252
(662,652,003) (662,652,003) 34,131,848 34,131,848 (5,725,159) (5,725,159) 315,645,434 315,645,434 (193,963,285) (193,963,285) (88,608,417) (88,608,417) 33,073,732 33,073,732
(506,254,131) (506,254,131) (24,571,693) (24,571,693) 16,991,365 16,991,365 (98,543,385) (98,543,385) (5,889,748) (5,889,748) (3,261,900) (3,261,900) 102,200 102,200 21,368,718 21,368,718 (600,058,574) (600,058,574)
10,022,406 10,022,406 965,041 965,041 (2,308,066,063) (2,308,066,063) (40,807,479) (40,807,479) 17,555,910 17,555,910 (77,103,412) (77,103,412) (19,145,555) (19,145,555) 30,408,490 30,408,490 (2,386,170,662) (2,386,170,662)
222,291,887 222,291,887 (303,551,984) (303,551,984) 4,399,196 4,399,196 (66,689,382) (66,689,382) (734,558) (734,558) 1,016,164,650 1,016,164,650 68,309,629 68,309,629 940,189,438 940,189,438
798,491,241 798,491,241 (1,400,688,955) (1,400,688,955) 3,678,658 3,678,658 (785,075) (785,075) 946,439,354 946,439,354 118,522,113 118,522,113 465,657,336 465,657,336
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นนส่เป็ วนหนึ ของงบการเงิ นนี้ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นส่ว่ งนหนึ ง่ ของงบการเงิ นนี้
154
(หน่วย: บาท) (หน่วย: บาท) งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ งบการเงิ การ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 2559 2558
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบกระแสเงินสด (ต่อ)
บริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่ นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่ น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ี 31 ธันวาคม 2559 งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินลดลง เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ ยวข้องกันลดลง เงินสดจ่ายซื้ อหุ ้นเพิ่มทุนของบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจากการออกหุ ้นสามัญ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ ยวข้องกันลดลง เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้อยและ น้ าตาลทรายเพิ่มขึ้น (ลดลง) ชาระหนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน จ่ายเงินปันผล เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดปลายงวด ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม่ใช่เงินสดประกอบด้วย ซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ยงั ไม่ได้จ่ายชาระ โครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นนเกณฑ์ เกณฑ์ที่บนั ทึก เป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ประมาณการหนี้ สินค่ารื้ อถอนระยะยาว อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้นจากการรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ ชาวไร่ เงินปันผลค้างจ่าย
(หน่วย: บาท) งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ งบการเงิ การ 2559 2558 2559 2558
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2559 2558 2559 2558 (891,567,357) (634,065,448) (4,850,000)
(723,626,005) (682,000,000) 124 2,195,896,061 (4,850,000)
(693,837,055) (69,759,691) (133,000,000) (502,570,000) -
(916,218,389) (419,819,551) (2,031,999,000) 124 3,237,480,000 -
(56,556,377) (95,700,000) (385,922,209) (2,068,661,391) (7,301,802) 346,726,919 339,425,117 -
7,131,331 (95,700,000) (694,799,820) 2,051,691 (481,341,079) 828,067,998 346,726,919 -
(11,137,088) (95,700,000) (385,922,209) (1,891,926,043) 71,853,647 132,446,050 204,299,697 -
(10,898,428) (95,700,000) (694,799,820) (931,955,064) (433,223,996) 565,670,046 132,446,050 -
131,408,210
98,543,385
15,761,398
66,689,382
8,850,000
-
21,221,733 -
21,221,733 -
1,454,636 75,292
-
75,292
-
หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นส่ว่ งของงบการเงิ นหนึง่ ของงบการเงิ นนี้ นนส่เป็ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นเป็ นส่ วนหนึ นนี้
รายงานประจ�ำปี 2559
155
156
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ขาดทุนสาหรับปี ยอดคงเหลื อ ณ วั น ที ่ 1 มกราคม 2559 3,860,000,010 กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี ขาดทุนสนาหรั ปี จรวมสาหรับปี กาไรขาดทุ เบ็ดบเสร็ - กาไรขาดทุ จอื่นส(หมายเหตุ าหรับปี 26) การจ่ ายโดยใช้นหเบ็ ุ้นเป็ดเสร็ นเกณฑ์ - เบ็ดเสร็ จรวมส เงินกปัาไรขาดทุ นผลจ่าย น(หมายเหตุ 32) าหรับปี - การจ่ายโดยใช้หุ้น(หมายเหตุ เป็ นเกณฑ์ 27) (หมายเหตุ 26) สารองตามกฏหมาย - ยอดคงเหลื อ ณายวัน(หมายเหตุ ที่ 31 ธันวาคม 3,860,000,010 เงินปั นผลจ่ 32) 2559 สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 27) ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 นธันเป็วาคม 2559่ งของงบการเงินนี้ 3,860,000,010 หมายเหตุ ปประกอบงบการเงิ นส่นวส่นหนึ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ นเป็ วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 กาไรสาหรับปี ยอดคงเหลื กาไรขาดทุ นเบ็อดณเสร็วันจอืที่น่ 1สมกราคม าหรับปี 2558 กาไรสาหรั กาไรขาดทุ นเบ็บดปีเสร็ จรวมสาหรับปี กาไรขาดทุ จอื่นสาหรั25) บปี ออกหุ ้นสามัญนเพิเบ็่มดทุเสร็ น (หมายเหตุ กาไรขาดทุ จรวมส(หมายเหตุ าหรับปี 26) การจ่ ายโดยใช้นหเบ็ ุ้นเป็ดเสร็ นเกณฑ์ ้นสามั ญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 25) เงินออกหุ ปั นผลจ่ าย (หมายเหตุ 32) การจ่ายโดยใช้หุ้น(หมายเหตุ เป็ นเกณฑ์ 27) (หมายเหตุ 26) สารองตามกฏหมาย เงินปั นผลจ่ 32) 2558 ยอดคงเหลื อ ณายวัน(หมายเหตุ ที่ 31 ธันวาคม สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 27) ยอดคงเหลื ่ 31 ธันวาคม ยอดคงเหลื อ ณอ วัณนวัทีน่ 1ทีมกราคม 25592558 48,196,296 - 44,488,889 - 44,488,889 92,685,185 92,685,185
งบการเงินรวม
(512,534,540) 2,913,349,599 (3,577,165,024) (16,901,070) (512,534,540) (529,435,610) - (16,901,070) - (529,435,610) (385,997,501) - (11,249,693) - 1,986,666,795 (385,997,501) (3,577,165,024) (11,249,693) 1,986,666,795 (3,577,165,024)
5,202,881,296 - - - - 5,202,881,296 5,202,881,296
245,193,041 - - - 11,249,693 256,442,734 11,249,693 256,442,734
(512,534,540) 8,692,455,218 (16,901,070) (512,534,540) (529,435,610) (16,901,070) 44,488,889 (529,435,610) (385,997,501) 44,488,889 7,821,510,996 (385,997,501) 7,821,510,996 -
(หน่วย: บาท)
(หน่วย: บาท) องค์ประกอบอื่น งบการเงิ งบการเงิ นรวมนรวม ของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ่น ระกอบอื น่ ส่ วนทุนจากการ ส่องค์ วนตป่าองค์ กว่าปทุระกอบอื นจาก ของส่ ว นผู ถ ้ อ ื หุ น ้ ของส่รกิวจนของผู ทุนเรื อนหุ ้นที่ออก ส่ วนเกินมูลค่า จ่ายโดยใช้หุ้น กาไรสะสม การรวมธุ ภายใต้ถ้ ือหุ ้น รวม ส่วนต่�ำ กว่าทุนจาก กำ�ไรสะสม รวม ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อก ส่วนเกิน ส่วนทุนส่จากการจ่ าย ว นทุ น จากการ ส่ ว นต ่ า และช าระเต็มมูลค่าแล้ว มูลหุค่า้นหุสามั ญ เป็ นเกณฑ์ จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร การควบคุรมกิเดีนกว่ ยวกัาทุนนจากส่ส่ววนของผู ถถ้้ ืออื หุหุน้ ้น การรวมธุ ภายใต้ นของผู และชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว น้ สามัญ โดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ ยังไม่ได้จดั สรรค์ ทุนเรื อนหุ้นที่ออก ส่วนเกินมูลค่า จ่ายโดยใช้หุ้น จัดสรรค์แล้ว กาไรสะสม การรวมธุ กิจนภายใต้ รวม การควบคุ มเดียรวกั และช าระเต็มมูลค่าแล้ว 5,202,881,182 หุ ้นสามัญ เป็3,707,407 นเกณฑ์ จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร (3,577,165,024) การควบคุมเดียวกัน 8,572,414,062 ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น 3,860,000,000 212,666,636 2,870,323,861 729,949,160 729,949,160 3,860,000,000 5,202,881,182 3,707,407 212,666,636 2,870,323,861 (3,577,165,024) 8,572,414,062 40,402,803 40,402,803 729,949,160 729,949,160 - - - - 770,351,963 - - 770,351,963 40,402,803 40,402,803 10 114 - - - 124 770,351,963 770,351,963 44,488,889 44,488,889 10 114 (694,799,820) (694,799,820) 124 44,488,889 44,488,889 - - 32,526,405 (32,526,405) - (694,799,820) (694,799,820) 3,860,000,010 5,202,881,296 48,196,296 245,193,041 2,913,349,599 (3,577,165,024) 8,692,455,218 32,526,405 (32,526,405) 3,860,000,010 5,202,881,296 5,202,881,296 48,196,296 245,193,041 2,913,349,599 2,913,349,599 (3,577,165,024) (3,577,165,024) 8,692,455,218 8,692,455,218 3,860,000,010 48,196,296 245,193,041
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น บริษบษท อินอิธัเตอร์ เนชั2559 ่นเนชั แนลน การ์ คอร์ ปอเรชั ่น จปากัอเรชั ด (มหาชน) ษทั ย่ อย และบริษท บริ ั ปีทั เกษตรไทย เตอร์ ่ ชูเนล ชูการ์ คอร์ น่ จำ�กัและบริ ด (มหาชน) ั ย่อย สาหรั สิเกษตรไทย ้นสุ ดวันที่ 31 นนวาคม งบแสดงการเปลี ย ่ นแปลงส่ ว นของผู ้ ถ อ ื หุ ้ น งบแสดงการเปลีย่ นแปลงของผูถ้ อื หุน้ าหรับบปีปี สสิ้น น้ิ สุสุดดวัวันน ที่ ที31่ี 31 ธันวาคม 2559 2559 สำ�สหรั ธันวาคม
รายงานประจ�ำปี 2559
157
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(หน่วย: บาท)
(หน่วย: บาท) องค์ประกอบอื่น งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการจการ ของส่วนของผูถ้ ือหุ้น น่ ่น ส่วนทุนจากการ ส่องค์ วนตปองค์ ่าระกอบอื กว่ปาทุระกอบอื นจาก ของส่วนผูถ้ อื หุน้ ของส่รวกินของผู ทุนเรื อนหุ ้นที่ออก ส่วนเกินมูลค่า จ่ายโดยใช้หุ้น กาไรสะสม การรวมธุ จภายใต้ถ้ ือหุ ้น รวม ส่วนต่�ำ กว่าทุนจาก กำ�ไรสะสม รวมถ้ ือหุ ้น ทุ น เรื อ นหุ น ้ ที อ ่ อก ส่ ว นเกิ น ส่ ว นทุ น จากการจ่ า ย ส่ ว นทุ น จากการ ส่ ว นต ่ า าทุนจากส่วนของผู และชาระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ เป็ นเกณฑ์ จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร การควบคุ ยวกั การรวมธุรมกิเดี นกว่ ภายใต้ ส่ ว นของผู ถ้ อื หุน้ และชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว มูลค่าหุน้ สามัญ โดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ ยังไม่ได้จดั สรรค์ การควบคุ มเดียรวกั ทุนเรื อนหุ้นที่ออก ส่วนเกินมูลค่า จ่ายโดยใช้หุ้น จัดสรรค์แล้ว กาไรสะสม การรวมธุ กิจนภายใต้ รวม และช าระเต็มมูลค่าแล้ว 5,202,881,182 หุ้นสามัญ เป็ นเกณฑ์ จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร การควบคุ มเดียวกัน 11,101,298,940 ส่ วนของผูถ้ ือหุ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 3,860,000,000 3,707,407 212,666,636 2,395,261,421 (573,217,706) กาไรสาหรับปี 650,528,104 650,528,104 ยอดคงเหลื ณ วัจนอืที่น่ ส1 าหรั มกราคม 3,860,000,000 5,202,881,182 3,707,407 212,666,636 2,395,261,421 (573,217,706) 11,101,298,940 กาไรขาดทุ นเบ็อดเสร็ บปี 2558 20,521,280 20,521,280 กาไรสาหรั 650,528,104 650,528,104 กาไรขาดทุ นเบ็บดปีเสร็ จรวมสาหรับปี - - - - - 671,049,384 - - 671,049,384 กาไรขาดทุ นเบ็ จอื่นสาหรั25) บปี 20,521,280 20,521,280 ออกหุ ้นสามัญเพิ 10 114 - - - 124 ่มทุดนเสร็(หมายเหตุ จรวมส าหรับปี 26) 671,049,384 671,049,384 การจ่กาไรขาดทุ ายโดยใช้หนุ ้นเบ็เป็ดเสร็ นเกณฑ์ (หมายเหตุ - - 44,488,889 - - 44,488,889 ญเพิ่มทุน 32) (หมายเหตุ 25) เงินออกหุ ปั นผลจ่้นาสามั ย (หมายเหตุ - 10 - 114 - - - (694,799,820) - - (694,799,820) 124 การจ่ายโดยใช้หุ้น(หมายเหตุ เป็ นเกณฑ์27) (หมายเหตุ 26) 44,488,889 44,488,889 สารองตามกฏหมาย - - 32,526,405 (32,526,405) - ยอดคงเหลื อ ณาวัยน(หมายเหตุ ที่ 31 ธันวาคม 3,860,000,010 - 5,202,881,296 48,196,296 - 245,193,041 - 2,338,984,580 เงินปันผลจ่ 32) 2558 (694,799,820) (573,217,706) - 11,122,037,517 (694,799,820) สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 27) 32,526,405 (32,526,405) ยอดคงเหลื อ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2558 3,860,000,010 5,202,881,296 48,196,296 245,193,041 2,338,984,580 (573,217,706) 11,122,037,517 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 3,860,000,010 5,202,881,296 48,196,296 245,193,041 2,338,984,580 (573,217,706) 11,122,037,517 กาไรสาหรับปี 224,993,863 224,993,863 ยอดคงเหลื ณ วัจนอืที่น่ ส1 าหรั มกราคม 3,860,000,010 5,202,881,296 48,196,296 245,193,041 2,338,984,580 (573,217,706) 11,122,037,517 กาไรขาดทุ นเบ็อดเสร็ บปี 2559 (14,246,083) (14,246,083) กาไรสาหรั 224,993,863 224,993,863 กาไรขาดทุ นเบ็บดปีเสร็ จรวมสาหรับปี - - - - - 210,747,780 - - 210,747,780 จอื่นส(หมายเหตุ าหรับปี 26) (14,246,083) (14,246,083) การจ่กาไรขาดทุ ายโดยใช้หนุ ้นเบ็เป็ดเสร็ นเกณฑ์ - - 44,488,889 - - 44,488,889 เงินกปัาไรขาดทุ นผลจ่าย (หมายเหตุ 32) าหรับปี - - - - - (385,997,501) - - (385,997,501) นเบ็ดเสร็ จรวมส 210,747,780 210,747,780 สารองตามกฏหมาย - - 11,249,693 (11,249,693) - การจ่ายโดยใช้หุ้น(หมายเหตุ เป็ นเกณฑ์27) (หมายเหตุ 26) 44,488,889 44,488,889 ยอดคงเหลื อ ณาวัยน(หมายเหตุ ที่ 31 ธันวาคม 3,860,000,010 - 5,202,881,296 92,685,185 - 256,442,734 - 2,152,485,166 เงินปันผลจ่ 32) 2559 (385,997,501) (573,217,706) - 10,991,276,685 (385,997,501) สารองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 27) 11,249,693 (11,249,693) ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31นธันเป็นเป็วาคม 2559 3,860,000,010 5,202,881,296 92,685,185 256,442,734 2,152,485,166 (573,217,706) 10,991,276,685 หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ นนส่ส่ววนหนึ นนีน้ นี้ หมายเหตุ ปประกอบงบการเงิ นหนึ่ งของงบการเงิ ง่ ของงบการเงิ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น (ต่ อ) บริ เนชัเ2559 ่นแนล ชูการ์ชูก คอร์ ากัด (มหาชน) ษทั ย่อยและบริษท สบริ าหรั สิเกษตรไทย ้นสุ ดวันที่ 31อิอินธันเตอร์ นเตอร์ วาคม ษบทั ษปีทั เกษตรไทย นชั น่ เนล าร์ปอเรชั คอร์่นปจอเรชั น่ จำ�กัดและบริ (มหาชน) ั ย่อย งบแสดงการเปลี ย ่ นแปลงส่ ว นของผู ้ ถ อ ื หุ ้ น (ต่ อ ) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงของผูถ้ อื หุน้ (ต่อ) าหรับบปีปีสสิน 25592559 สำ�สหรั ้ิ ้นสุสุดดวัวันนทีที่ 31 ่ี 31ธันธัวาคม นวาคม
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์ เนชั่นแนล ชู การ์ คอร์ ปอเรชั่ น จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชันน่ รวม เนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ นรวม สาหรับปี สิ้นปสุระกอบงบการเงิ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559
1.
ข้ อมูลทัว่ ไป บริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) เป็ นบริ ษทั มหาชน ซึ่ งจัดตั้งและมีภูมิลาเนาในประเทศไทย ธุ รกิจหลักของบริ ษทั ฯคือการผลิ ตและจาหน่ายน้ าตาลทั้งภายใน และต่างประเทศ ที่อยูต่ ามที่จดทะเบียนของบริ ษทั ฯอยูท่ ี่ สานักงานใหญ่และโรงงาน: 1/1 หมู่ 14 ตาบลหนองโพ อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ สานักงานสาขากรุ งเทพ: 24 อาคารเอกผล ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพมหานคร
2.
เกณฑ์ ในการจัดทางบการเงิน
2.1
งบการเงิ น นี้ จดั ท าขึ้ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ ก าหนดในพระราชบัญญัติวิช าชี พ บัญ ชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงิ น ตามข้อ ก าหนดในประกาศกรมพัฒนาธุ รกิ จ การค้า ลงวัน ที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงิ น ฉบับ ภาษาไทยเป็ นงบการเงิ น ฉบับ ที่ บ ริ ษัท ฯใช้ เ ป็ นทางการตามกฎหมาย งบการเงิ น ฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จดั ทาขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี
158
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
1
รายงานประจ�ำปี 2559
159
ถือหุ้นโดยบริษัทฯ บริถืษอทั หุ้นนโดยบริ ้ าตาลไทยเอกลั ษัทฯ กษณ์ จากัด บริบริ ษทั ษทัเพิน่ม้ าสิตาลไทยเอกลั นพัฒนา จากักดษณ์ จากัด บริบริ ษทั ษทัเกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด จากัด บริบริ ษทั ษทัเอ็เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์จากั เปเปอร์ ด จากัด บริบริ ษทั ษทัเอกรั ฐ พั ฒ นา จ ากั ด เอ็นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด บริบริ ษทั ษทัทรัเอกรั พย์ศฐิรพัิ เกษตร ากัดด ฒนา จจากั บริบริ ษทั ษทัไทยเอกลั ก ษณ์ เ พาเวอร์ ทรัพย์ศิริเกษตร จากัดจากัด บริบริ ษทั ษทัรวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัจดากัด ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ บริบริ ษทั ษทัเคทิรวมผลไบโอเพาเวอร์ ส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์จากัจากั ดด บริบริ ษทั ษทัเคทิเคทิ ส สชีวไบโอแก๊ พลังงานสจเพาเวอร์ ากัด จากัด บริบริ ษทั ษทัเกษตรไทย วิวฒงั งาน น์ จากั เคทิส ชีวพลั จากัดด บริบริ ษทั ษทัเคทิเกษตรไทย ส วิจยั และพั วิวฒ ฒั นา น์ จจากัากัดด ถือบริ หุ้นษโดยบริ ษ ท ั ย่ อ ยของบริ ทั เคทิส วิจยั และพัฒนาษัทจฯากัด บริถืษอทั หุ้นลพบุ รี อิษนัทเตอร์ เนชัน่ แนล โดยบริ ย่ อยของบริ ษัทชูฯการ์ จากัด (ถื โดยบริ เพิ่มเสินชั นพัน่ ฒแนล นา จชูากั บริอษหุทั น้ ลพบุ รี อิษนทั เตอร์ การ์ด)จากัด บริ ษ(ถืทั อลพบุ ร ี ไ บโอเพาเวอร์ จ ากั ด หุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) (ถื โดยบริ ทั เพิ่มสิ นพัฒจากั นาดจากัด) บริอษหุทั น้ ลพบุ รีไษบโอเพาเวอร์ บริ ษ(ถืทั อลพบุ รีไบโอเอทานอล ด จากัด) หุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัจากั ฒนา (ถื อ หุ น ้ โดยบริ ษ ท ั เพิ ม สิ น พั ฒ นา ่ บริ ษทั ลพบุรีไบโอเอทานอล จากัจดากัด) บริ ษ(ถืทั อเอ็หุนน้ ไวรอนเม็ โดยบริ ษทั นท์เพิพ่มลั สิพ์นแอนด์ พัฒนาเปเปอร์ จากัด) จากัด (ถื โดยบริ ษทั เพิน่มท์สิพนลั พัพ์ฒแอนด์ นา จากัเปเปอร์ ด) จากัด บริอษหุทั น้ เอ็ นไวรอนเม็ บริ ษ(ถืทั อเกษตรไทยปุ๋ ยชี ว ภาพ จ ากั ด หุน้ โดยบริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด) (ถื โดยบริ ษทั เอกรั พัฒนา บริอษหุทั น้ เกษตรไทยปุ๋ ยชีวฐภาพ จากัจดากัด) (ถือหุน้ โดยบริ ษทั เอกรัฐพัฒนา จากัด)
ชื่อบริ ษทั บริษษท ทัั ชืชื่ออ่ บริ
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
จัดตั้งขึ้นในประเทศ ในประเทศ จัดจัตัด้ งตัขึง้ ้ นขึน้ ในประเทศ
ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย การถื หุน้ ในบริ ทั อื้ าตาลทราย ่น ผลิตอและจ าหน่าษยน ผลิการถื ตและจ ายพลั า อหุน้ าหน่ ในบริ ษทั งอืงานไฟฟ้ ่น ผลิผลิตตและจ าหน่ า ยเยื อ ่ กระดาษ และจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิผลิตตและจ และจาหน่ าหน่ายเอทานอล ายเยือ่ กระดาษ ธุผลิ รกิตจซืและจ ให้ เช่าอสังหาริ มทรัพย์ ้ อ-ขาย าหน่ายเอทานอล ผลิธุรตกิและจ าหน่ า ยพลั งานไฟฟ้ จซื้อ-ขาย ให้เช่างอสั งหาริ มาทรัพย์ ผลิผลิตตและจ าหน่ า ยพลั ง งานไฟฟ้ และจาหน่ายพลังงานไฟฟ้าา ผลิผลิตตและจ และจาหน่ าหน่ายพลั ายพลังงงานไฟฟ้ งานไฟฟ้าา ผลิผลิตตและจ าหน่ า ยเอทานอลและพลั และจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า งงานไฟฟ้ า บริผลิหตารสิ นทรั พย์ายเอทานอลและพลังงานไฟฟ้ า และจ าหน่ วิบริ จยั และพั นาพย์ หารสิ ฒ นทรั วิจยั และพัฒนา ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย ผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผลิตและจาหน่ายเอทานอล ผลิตและจาหน่ายเอทานอล ผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ ผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ ผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยชีวภาพ ผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยชีวภาพ
ลักษณะธุรกิจ ษณะธุรรกิกิจจ ลัลักกษณะธุ
1,215 ล้านบาท 317 ล้ล้าานบาท 1,215 นบาท 1,260 ล้ า นบาท 317 ล้านบาท 2,400 1,260ล้ล้าานบาท นบาท 256 ล้ล้าานบาท 2,400 นบาท 311 ล้ า นบาท 256 ล้านบาท 350 311ล้ล้าานบาท นบาท 395 350ล้ล้าานบาท นบาท 1 ล้ า นบาท 395 ล้านบาท 201ล้ล้าานบาท นบาท 6120ล้ล้าานบาท นบาท 1061ล้ล้าานบาท นบาท 10 ล้านบาท 2 ล้านบาท 2 ล้านบาท 2 ล้านบาท 2 ล้านบาท 0.25 ล้านบาท 0.25 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท 35 ล้านบาท 35 ล้านบาท
1,215 ล้านบาท 317 ล้ล้าานบาท 1,215 นบาท 1,260 ล้ า นบาท 317 ล้านบาท 2,400 1,260 ล้ล้าานบาท นบาท 256 ล้ล้าานบาท 2,400 นบาท 311 ล้ า นบาท 256 ล้านบาท 350 311 ล้ล้าานบาท นบาท 350 350 ล้ล้าานบาท นบาท 1 ล้ า นบาท 350 ล้านบาท 11 ล้ล้าานบาท นบาท 11 ล้ล้าานบาท นบาท 11 ล้ล้าานบาท นบาท 1 ล้านบาท 2 ล้านบาท 2 ล้านบาท 2 ล้านบาท 2 ล้านบาท 0.25 ล้านบาท 0.25 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท 2,400 ล้านบาท 35 ล้านบาท 35 ล้านบาท
ทุทุนนเรีเรียยกช กชำาระแล้ �ระแล้วว 2559ทุนเรี ยกชาระแล้2558 ว 2559 2558 2559 2558
2 2
การถื อหุน้ อัตของการถื ราร้อยละของ อหุน้ 2559การถือหุน้ 2558 ร้2559 อยละ ร้2558 อยละ 2559 2558 ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 74 74 100 100 100 100 74 74 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 26 26 26 26 100 100 100 100
2.2 เกณฑ์ในการจัดทางบการเงินรวม 2.2 ก)เกณฑ์ ในการจั ดทางบการเงิ งบการเงิ นรวมนี ้ ได้จดั ทนาขึรวม ้ นโดยรวมงบการเงิ นของบริ ษทั เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) (ซึ่ งต่อไปนี้ เรี ยกว่า “บริ ษทั ฯ”) ก) และบริ งบการเงิ ดั ทาขึ้ รวมเรี เกษตรไทย อินเตอร์ เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) (ซึ่ งต่อไปนี้ เรี ยกว่า “บริ ษทั ฯ”) ้ นโดยรวมงบการเงิ ษทั นย่อรวมนี ย (ซึ่ง้ ไต่ด้อจไปนี ยกว่า “กลุ่มบรินษของบริ ทั ”) ดังต่ษอทั ไปนี ้ อัตราร้อยละของ และบริ ษทั ย่อย (ซึ่ งต่อไปนี้รวมเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”) ดังต่อไปนี้ อัตราร้อยละ
ข) บริ ษทั ฯจะถื อว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรื อบริ ษทั ย่อยได้ หากบริ ษทั ฯมีสิทธิ ได้รับหรื อ มีส่วนได้เสี ยในผลตอบแทนของกิจการที่เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อานาจในการสั่งการกิจกรรม ที่ส่งผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อจานวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ค) บริ ษทั ฯนางบการเงิ นของบริ ษทั ย่อยมารวมในการจัดทางบการเงินรวมตั้งแต่วนั ที่บริ ษทั ฯมีอานาจ ในการควบคุมบริ ษทั ย่อยจนถึงวันที่บริ ษทั ฯสิ้ นสุ ดการควบคุมบริ ษทั ย่อยนั้น ง) งบการเงินของบริ ษทั ย่อยได้จดั ทาขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สาคัญเช่นเดียวกันกับของบริ ษทั ฯ จ) ยอดคงค้างระหว่างกลุ่มบริ ษทั รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสาคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวม นี้แล้ว 2.3
บริ ษทั ฯจัดทางบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยตามวิธีราคาทุน
3.
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ ริ่มมีผลบังคับใช้ ในปี ปัจจุบัน ในระหว่างปี กลุ่มบริ ษทั ได้นามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2558) และฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางบัญชี ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชี ซึ่ งมีผลบังคับใช้สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มใน หรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 มาถื อปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรั บปรุ ง หรื อจัดให้มีข้ ึนเพื่อให้มีเนื้ อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่ วนใหญ่ เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคาและคาศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบตั ิทางการบัญชี กบั ผูใ้ ช้มาตรฐาน การนา มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังกล่าวมาถือปฏิบตั ิน้ ี ไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงิ น ของกลุ่มบริ ษทั ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบตั ิทางบัญชี ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่อง เกษตรกรรม และแนวปฏิบัติทางบัญชี สาหรั บการวัดมูลค่ าและรั บรู้ รายการของพืชเพือ่ การให้ ผลิตผล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 และแนวปฏิบตั ิทางบัญชีฯนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อกาหนดวิธีปฏิ บตั ิทางบัญชี สาหรับสัตว์หรื อพืชที่มีชีวติ (“สิ นทรัพย์ชีวภาพ”) และผลิตผลที่เก็บเกี่ยวได้จากสิ นทรัพย์ชีวภาพ (“ผลิตผล ทางการเกษตร”) ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเกษตรโดยมีหลักการดังนี้
160
-
วัดมูลค่าของสิ นทรัพย์ชีวภาพ เมื่อเริ่ มแรกและ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานด้วยมูลค่ายุติธรรมหัก ต้นทุนในการขาย
-
กรณี สินทรัพย์ชีวภาพนั้นเป็ นพืชเพื่อการให้ผลิ ตผล (Bearer plant) ให้ปฏิ บตั ิตามข้อกาหนดของ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อย่างไรก็ตามยังคงถือ ว่าผลผลิตที่เจริ ญเติบโตจากพืชเพื่อการให้ผลิตผลเป็ นสิ นทรัพย์ชีวภาพซึ่ งต้องวัดมูลค่าของสิ นทรัพย์ ชีวภาพ เมื่อเริ่ มแรกและ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย
- บริษัท วัเกษตรไทย ดมูลค่าผลิอินตเตอร์ ผลทางการเกษตรด้ วยมู ลค่า่นยุจ�ตำิธกัรรมหั กต้นทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ ปอเรชั ด (มหาชน) 3
-
วัดมูลค่าของสิ นทรัพย์ชีวภาพ เมื่อเริ่ มแรกและ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานด้วยมูลค่ายุติธรรมหัก ต้นทุนในการขาย
-
กรณี สินทรัพย์ชีวภาพนั้นเป็ นพืชเพื่อการให้ผลิ ตผล (Bearer plant) ให้ปฏิ บตั ิตามข้อกาหนดของ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อย่างไรก็ตามยังคงถือ ว่าผลผลิตที่เจริ ญเติบโตจากพืชเพื่อการให้ผลิตผลเป็ นสิ นทรัพย์ชีวภาพซึ่ งต้องวัดมูลค่าของสิ นทรัพย์ ชีวภาพ เมื่อเริ่ มแรกและ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย
-
วัดมูลค่าผลิตผลทางการเกษตรด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว การนามาตรฐานข้างต้นมาใช้ทาให้กลุ่มบริ ษทั ต้องเปลี่ยนวิธีในการบันทึกบัญชีสินทรัพย์ชีวภาพจากอ้อ3ย จากเดิมที่บนั ทึกด้วยวิธีราคาทุนมาเป็ นการวัดมูลค่าด้วยวิธีมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย อย่างไรก็ ตาม ผลสะสมจากการเปลี่ ยนแปลงนโยบายการบัญชี ดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่อ งบการเงินปี ก่อน ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีจ่ ะมีผลบังคับใช้ ในอนาคต ในระหว่างปี ปั จจุ บนั สภาวิชาชี พบัญชี ได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นและการตี ความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับปรั บปรุ ง (ปรั บปรุ ง 2559) รวมถึ งแนวปฏิ บ ตั ิ ทางบัญชี ฉบับใหม่ จ านวนหลายฉบับ ซึ่ งมี ผลบังคับ ใช้ ส าหรั บ งบการเงิ นที่ มี รอบระยะเวลาบัญชี ที่ เริ่ ม ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึนเพื่อให้มีเนื้อหา เท่าเที ยมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นระหว่างประเทศ โดยส่ วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคาและ คาศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีกบั ผูใ้ ช้มาตรฐาน ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั เชื่ อว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงิ นฉบับ ปรั บ ปรุ ง และแนวปฏิ บ ัติ ทางบัญชี ฉ บับใหม่ จะไม่ มี ผลกระทบอย่ างเป็ นสาระส าคัญต่ อ งบการเงิ นเมื่อนามาถื อปฏิ บตั ิ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่มีการเปลี่ยนแปลงหลักการ สาคัญ สรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับ ปรั บ ปรุ ง นี้ ก าหนดทางเลื อ กเพิ่ ม เติ ม ส าหรั บ การบัน ทึ ก บัญ ชี เ งิ น ลงทุ น ในบริ ษ ัท ย่อ ย เงิ นลงทุนในการร่ วมค้า และเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ในงบการเงินเฉพาะกิ จการโดยเลือกบันทึกตามวิธี ส่ วนได้เสี ยได้ ตามที่อธิบายไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า ทั้งนี้ กิจการต้องใช้วธิ ีการบันทึกบัญชีเดียวกันสาหรับเงินลงทุนแต่ละประเภทและหาก กิจการเลื อกบันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสี ยในงบการเงิ นเฉพาะกิจการ กิจการต้องปรับปรุ ง รายการดังกล่าวโดยวิธีปรับย้อนหลัง มาตรฐานฉบับดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบต่องบการเงิ นของกลุ่มบริ ษทั เนื่ องจากฝ่ ายบริ หารได้พิจารณา แล้วว่าจะเลือกบันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการตามเดิม
รายงานประจ�ำปี 2559
161
4.
นโยบายการบัญชี ทสี่ าคัญ
4.1
การรับรู้รายได้ ขายสิ นค้ า รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู้เมื่อกลุ่มบริ ษทั ได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่มีนยั สาคัญของความเป็ น เจ้า ของสิ นค้าให้ก ับผูซ้ ้ื อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่ าตามราคาในใบกากับสิ นค้าโดยไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม สาหรับสิ นค้าที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่ วนลดแล้ว รายได้ ค่าบริ การ รายได้ค่าบริ การรับรู้เมื่อได้ให้บริ การแล้ว โดยพิจารณาถึงขั้นความสาเร็ จของงาน ดอกเบีย้ รั บ ดอกเบี้ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ ง เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับถือเป็ นรายได้เมื่อกลุ่มบริ ษทั มีสิทธิในการรับเงินปันผล
4.2
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงิ นสดและรายการเที ย บเท่ า เงิ นสด หมายถึ ง เงิ นสดและเงิ นฝากธนาคาร และเงิ นลงทุ นระยะสั้ นที่ มี สภาพคล่องสู ง ซึ่ งถึงกาหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มา และไม่มีขอ้ จากัดใน การเบิกใช้
4.3
ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีช้ าวไร่ ลูกหนี้ การค้าและลู กหนี้ ชาวไร่ แสดงมูลค่าตามจานวนมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ กลุ่มบริ ษทั บันทึ กค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญสาหรั บผลขาดทุนโดยประมาณที่ อาจเกิ ดขึ้ นจากการเก็บเงิ นจากลู กหนี้ ไม่ได้ ซึ่ งโดยทัว่ ไป พิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ กลุ่มบริ ษทั รับซื้ อลูกหนี้ชาวไร่ ดอ้ ยคุณภาพจากบริ ษทั อื่นในมูลค่าที่มีส่วนลด โดยซื้ อเพื่อนามาดาเนิ นการ ติดตามเรี ยกเก็บหนี้ ซึ่งตามสัญญาซื้ อลดลูกหนี้ดอ้ ยคุณภาพดังกล่าว กลุ่มบริ ษทั ไม่มีสิทธิไล่เบี้ยจากผูข้ ายหนี้ ในกรณี ที่กลุ่ มบริ ษทั เรี ยกเก็บเงิ นไม่ได้ กลุ่ มบริ ษทั บันทึ กลู กหนี้ ชาวไร่ ดงั กล่ าวในราคาทุน และบันทึ ก มูลค่าส่ วนลดที่ได้รับไว้ในบัญชี “ส่ วนลดรับจากการรับโอนสิ ทธิ เรี ยกร้องลูกหนี้ชาวไร่ ”
162
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
5
4.4
สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าสาเร็ จรู ปและงานระหว่างทาแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใด จะต่ากว่า ราคาทุนดังกล่าวประกอบด้วยต้นทุนวัตถุดิบ แรงงานและค่าโสหุ ย้ ในการผลิต สิ นค้าซื้ อมาเพื่อขายแสดงมูลค่าตามราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ ากว่า ราคาทุน คานวณโดยใช้วธิ ีเข้าก่อนออกก่อน กากน้ าตาล ซึ่งเป็ นผลพลอยได้จากการผลิตน้ าตาลทราย แสดงด้วยมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ วัตถุดิบ อะไหล่ วัสดุโรงงาน และวัสดุสิ้นเปลืองแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ากว่า และจะถือเป็ นส่ วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้
4.5
เกษตรกรรม กลุ่มบริ ษทั มีสินทรัพย์ชีวภาพเป็ นต้นอ้อย และผลิตผลทางการเกษตรเป็ นอ้อยที่เก็บเกี่ยว ซึ่ งจะถูกวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว มูลค่ายุติธรรมของอ้อยคานวณโดยใช้วธิ ี อา้ งอิงจากราคามูลค่ายุติธรรมหักประมาณการค่าใช้จ่าย ณ จุดเก็บ เกี่ยว ผลกาไรหรื อขาดทุนที่เกิ ดจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ชีวภาพและผลิตผล ทางการเกษตรบันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน ในกรณี ที่ไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ สิ นทรัพย์ชีวภาพต้องวัดด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อม ราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม และในทันทีที่มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ชีวภาพนั้นสามารถวัด ได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริ ษทั จะวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ผลิตผลทางการเกษตรจะแสดงเป็ นส่ วนหนึ่งของสิ นค้าคงเหลือ
4.6
ต้ นทุนค่ าซ่ อมแซมครั้งใหญ่ต้งั พัก ต้นทุนค่าซ่ อมแซมครั้งใหญ่ต้ งั พักประกอบด้วยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริ งจากการซ่ อมแซมเครื่ องจักรในช่วง นอกฤดูการผลิต เพื่อเตรี ยมพร้อมสาหรับฤดูการผลิตครั้งถัดไป กลุ่มบริ ษทั จะตัดจาหน่ายต้นทุนค่าซ่ อมแซม ครั้งใหญ่ต้งั พักดังกล่าวอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ภายในฤดูกาลผลิตถัดไป โดยค่าตัดจาหน่าย ดังกล่าวรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน
4.7
เงินลงทุน ก)
เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยูใ่ นความต้องการของตลาดถือเป็ นเงินลงทุนทัว่ ไป ซึ่ งแสดงในราคา ทุนสุ ทธิ จากค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี)
ข)
เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงิ นเฉพาะกิ จการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุ นสุ ทธิ จาก ค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี)
กลุ่มบริ ษทั ใช้วธิ ีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนักในการคานวณต้นทุนของเงินลงทุน
รายงานประจ�ำปี 2559
163
6
4.8
อสั งหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน กลุ่มบริ ษทั บันทึกมูลค่าเริ่ มแรกของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่ งรวมต้นทุนการทารายการ หลัง จากนั้น จะบัน ทึ ก อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์เ พื่ อ การลงทุ น ด้ว ยราคาทุ น หั ก ค่ า เสื่ อ มราคาสะสมและค่ า เผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) ค่า เสื่ อมราคาของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์เพื่อการลงทุ นค านวณจากราคาทุ นโดยวิธี เส้ น ตรงตามอายุก ารให้ ประโยชน์โดยประมาณ 10 ปี ค่าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมอยูใ่ นการคานวณผล การดาเนินงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ผลต่างระหว่างจานวนเงินที่ได้รับสุ ทธิจากการจาหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ใน ส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในปี ที่ตดั รายการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี
4.9
ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ และค่ าเสื่ อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสม และค่า เผือ่ การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ คานวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์โดยวิธีเส้ นตรง ตามอายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อาคารและส่ วนปรับปรุ งอาคาร เครื่ องจักรและอุปกรณ์ เครื่ องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตร เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และเครื่ องใช้สานักงาน ยานพาหนะ
5 - 20 5 - 25 3 - 20 5 5 5 - 10
ปี ปี ปี ปี ปี ปี
ค่าเสื่ อมราคารวมอยูใ่ นการคานวณผลการดาเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้งและงานระหว่างก่อสร้าง กลุ่มบริ ษทั ตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจาหน่ายสิ นทรัพย์หรื อคาดว่าจะไม่ได้ รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตจากการใช้หรื อการจาหน่ ายสิ นทรัพย์ รายการผลกาไรหรื อขาดทุ น จากการจาหน่ายสิ นทรัพย์ จะรับรู ้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนเมื่อกลุ่มบริ ษทั ตัดรายการสิ นทรัพย์น้ นั ออก จากบัญชี
164
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
7
4.10 การกู 4.10 ต้ต้ นนทุทุนน4.10 การกู้้ยยต้มมืื นทุนการกู้ยมื ทุนการกู นกูดดท้ หาหรื ี่ใช้ในการจั อก่พพอสร้ นทรัรระยะเวลานานในการท พย์ที่ตอ้ งใช้ระยะเวลานานในการท ต้ต้นนทุทุนนการกู นนกูกูทท้้ ย้ ี่ี่ใใมื ช้ช้ของเงิ ใในการจั ออก่ก่ออสร้ าางสิ ย์ย์ททาี่ี่ตตงสิ ออ้้ งใช้ าให้ การกูยย้้ ต้มมืื นของเงิ ของเงิ นการจั หาหรื สร้ดหาหรื งสิ นนทรั ทรั งใช้ ะยะเวลานานในการท าให้ออยูยูใใ่่ นน าให้อยูใ่ น สภาพพร้ ขาย ได้ถูกนราคาทุ นาไปรวมเป็ นราคาทุ ย์จพพนกว่ นทรั่่ใใพนสภาพ ย์น้ นั จะอยู่ในสภาพ สภาพพร้ หหรืรื ออขาย ได้ นนของสิ นนทรั จจนกว่ สิสิ นนพทรั ย์ย์นน้้ นันั าสิจะอยู สภาพพร้ ออมใช้ มใช้ ขายอมใช้ ได้ถถหูู กกรืนนอาไปรวมเป็ าไปรวมเป็ นราคาทุ ของสิ ทรัพพนย์ย์ของสิ นกว่นาาทรั ทรั จะอยู นสภาพ ้ยืมาาอืใช้ ้ย้ยืืมมนอือืทุ่่นนนถืถืการกู ได้ตามทีส่ส่่ มววุ่งนต้ ประสงค์ ส่ วนต้ เป็ นค่าใช้่่เเจกิกิ่าดดยในงวดที ต้นทุน พร้ ไได้ด้อตตมที ามที ่่มมุุ่่งงประสงค์ นนทุทุนนการกู ออเป็ รายการ นน พร้ ออมที มที่่จจะใช้ ะใช้พร้ ามที่จะใช้ ประสงค์ นต้ การกู เป็ นค่ นค่ ใช้่นจจถื่่าาอยในงวดที ยในงวดที รายการ ต้ต้่เกินนดทุทุรายการ การกูย้ววมื ยดอกเบี ประกอบด้ วยดอกเบี อื่นที่เกิดยย้้ ขึมมืื ้ นนันัจากการกู ย้ มื นั้น การกู นนทุทุนนอือื้ ย่่นนและต้ ทีที่่เเกิกิดดนขึขึทุ้้ นนนจากการกู ้้ ยยและต้ ้้ นน การกูยย้้ มมืื ประกอบด้ ประกอบด้ ยดอกเบี และต้ จากการกู 4.11 พพย์ย์ไไม่ม่ มมสิีตีตนัวัวทรั ตน 4.11 สิสิ นนทรั ทรั4.11 ตนพย์ไม่ มีตัวตน พย์ไม่มีตลลวั ค่ค่ตนแสดงมู ลค่นนาตามราคาทุ นหักาาค่ยสะสมและค่ า ตัดจาหน่ ายสะสมและค่ าเผืาาสะสมของ ่อการด้อยค่าสะสมของ สิสิ นนทรั ตนแสดงมู าาตามราคาทุ หัหักกค่ค่าา ตัตัดดจจาหน่ าาเผื ทรัพพย์ย์ไไม่ม่มมสิีีตตนววัั ทรั ตนแสดงมู ตามราคาทุ าหน่ ยสะสมและค่ เผื่่ออการด้ การด้ออยค่ ยค่ สะสมของ สิสิ นนทรั มีมี)) พย์น้ นั (ถ้ามี) ทรัพพย์ย์นน้้ นนัั สิ(ถ้ (ถ้นาาทรั
่มบริาาษยสิ จาหน่ พย์่่มมไีีออม่ายุ มีตกกวั ารให้ ตนทีปป่มระโยชน์ ีอายุการให้ ากัดอย่างมีระบบตลอดอายุ การให้ กลุ พพย์ย์ไไาม่ม่ยสิ มมีีตตนววัั ทรั ตนที จจากั อย่ กการให้ กลุ่่มมบริ บริ ษษททัั ตัตัดดกลุจจาหน่ าหน่ ยสิทั ตันนดทรั ทรั ตนที ายุ ารให้ ระโยชน์ ากัปดดระโยชน์ อย่าางมี งมีรรจะบบตลอดอายุ ะบบตลอดอายุ ารให้ เชิงเศรษฐกิ นทรัพย์น้ นั และจะประเมิ นการด้นนทรั อยค่พพาย์ย์ของสิ ทรัพ่่ออย์มีมีดขขงั ออ้้ กล่ ประโยชน์ เศรษฐกิ นนทรั นน้้ นนัั และจะประเมิ นนการด้ ดดงงัั กล่ บ่บ่งงาชีชีวเมื ้้ ววาา่่ ่อมีขอ้ บ่งชี้วา่ ประโยชน์เเชิชิงงประโยชน์ เศรษฐกิจจของสิ ของสิ ทรัพพจย์ย์ของสิ และจะประเมิ การด้ออยค่ ยค่าาของสิ ของสิ ทรั กล่นาาวเมื วเมื ่่มมบริ พย์ออนยค่ า กลุ่มบริ ษทั จะทบทวนระยะเวลาการตั ดจธธาหน่ ายและวิ ารตัดจาหน่ายของ สิสิ นนทรั การด้ ดดจจาหน่ ีี กการตั ดดจจาหน่ ้ นั เกิาา ดกลุ ทรัพพย์ย์นน้้ นนัั สิเกิ เกินดดทรั การด้ ยค่ กลุการด้ บริอษษยค่ททัั จะทบทวนระยะเวลาการตั จะทบทวนระยะเวลาการตั าหน่าายและวิ ยและวิ ารตั าหน่ธีกาายของ ยของ พย์งงไกล่ ีตวั ตนดั วทุกาาสิงน้ อยาายรั ค่าบบตัรูรูด้้เเจป็ป็าหน่ ยรัจจบ่่าารูยในส่ ้เป็ นค่ววานของก ใช้จ่ายในส่ วนของก สิสิ นนทรั ตนดั กกสิสิ้้ นนงปีปีกล่ เป็ าาตัตัดดาจจงน้ าหน่ นค่ าไรหรื ออ าไรหรื อ ทรัพพย์ย์ไไม่ม่มมสิีีตตนววัั ทรั ตนดั กล่ม่มาาวทุ วทุ เป็ านอย่ นอย่ งน้้ นออปียยเป็ค่ค่นอย่ าหน่ ยรั นค่าาาใช้ ใช้ ยในส่ นของก าไรหรื ขาดทุน ขาดทุ ขาดทุนน พย์่่มมไีีออม่ายุ วั ตนทีปป่มระโยชน์ ีอายุการให้ สิสิ นนทรั ตนที จจากั มีมีดดงงัั นีนี้้ จากัดมีดงั นี้ ทรัพพย์ย์ไไม่ม่มมสิีีตตนววัั ทรั ตนที ายุมีกกตารให้ ารให้ ระโยชน์ ากัปดดระโยชน์ อายุกปารให้ ประโยชน์ อายุการให้ ระโยชน์ อายุ อายุกการให้ ารให้ปประโยชน์ ระโยชน์ เตอร์ซอฟต์แวร์ ปี คอมพิ อฟต์ 33 -- 55 ปีปี 3 - 5 คอมพิววเตอร์ เตอร์ซซคอมพิ อฟต์แแววร์ วร์ เครื่ อาางหมายการค้า ปี เครื 10 ปีปี 10 เครื่่ อองหมายการค้ งหมายการค้ 10 ธิในการใช้ ปี สิสิ ททธิธิใในการใช้ งงไฟฟ้ 20 ปีปี 20 นการใช้สิสสทายส่ ายส่ ไฟฟ้ าา สายส่ งไฟฟ้ า 20
ารคิาาดยส ค่าาหรั ตัดจบบาหน่ าหรับสิสสทายส่ ธิในการใช้ เริ่ มใช้สิทธิ ประโยชน์ ไม่มมีีกการคิ ารคิดดค่ค่าาไม่ สิสิ ททาธิธิยส ใในการใช้ งงไฟฟ้ งงัั ไม่ ด้ด้เเริริ่่ มมาทีใช้ ิิ ททธิธิไปปด้ระโยชน์ ไม่ ตัตัดดมจจีกาหน่ าหน่ ยส าหรั นการใช้ ายส่ ไฟฟ้ าที าทีส่่ยยายส่ ไม่งไไไฟฟ้ ใช้่ยสสงั ไม่ ระโยชน์ 4.12 รายการระหว่ คคลหรื 4.12 าางบุ จจการที เเ่่ กีกียย่่ อวข้ งกั 4.12 รายการระหว่ รายการระหว่ งบุคคคลหรื คลหรืออกิกิางบุ การที วข้กิจออการที งกันน เ่ กีย่ วข้ องกัน คคลหรื กับบริงงษบุบุทั คคฯคลหรื หมายถึออกิกิงจจบุการที คคลหรื อกิจการที่มมมีอบริ านาจควบคุ บุบุคคคลหรื ่่เเกีกี่่ยยอวข้ งกั ่่มมีีออานาจควบคุ ษษททัั ฯฯ หรื คลหรื ออกิกิจจบุการที การที วข้กิจออการที งกันนกักั่เกีบบ่ยบริ บริวข้ษษอททัั งกัฯฯ นหมายถึ หมายถึ คลหรื การที านาจควบคุ บริ หรืมออถูบริ ถูกกษทั ฯ หรื อถูก ษทั ววฯควบคุ ไม่วา่ จะเป็ นโดยทางตรงหรื อม หรื ออยูภ่ ายใต้ มเดีษษยททัั วกั บริ มม ไม่ าา่่ จะเป็ ออทางอ้ อยู กการควบคุ มมเดี วกั ฯฯ นกับบริ ษทั ฯ บริ ษษททัั ฯควบคุ ฯควบคุบริ ไม่ จะเป็ นนมโดยทางตรงหรื โดยทางตรงหรื ทางอ้ออมม หรื หรือออทางอ้ อยูภภ่่ ายใต้ ายใต้ ารควบคุ เดีกยยารควบคุ วกันนกักับบบริ บริ
่ยวข้องกันยังงบริ ุคคลหรื กิจออการที หมายรวมถึ งบริ ษคคทั คลหรื ร่ วมและบุ คคลหรื นอกจากนี คลหรื ่่เเกีกี่่ยยอวข้ งกั ษษททัั ร่ร่ ววมและบุ ออกิกิจจการที ่่มมีีสสอิิ ททกิธิธิจออการที อก นอกจากนี้้ บบุุคคนอกจากนี คลหรื ออกิกิจจ้ บการที การที วข้ งกันนยัยั่เกีงงหมายรวมถึ หมายรวมถึ บริ มและบุ คลหรื การที อก ่มีสิทธิ ออก เสี ย งโดยทางตรงหรื อ ทางอ้ าให้ มาา งเป็ ี อิ ท ธินสาระส พ ลอย่า งเป็ ษ ัท ฯาคั เสี ออทางอ้ าให้ ิิ ทท่ธิธิงทพพลอย่ าคั ต่ต่ ออ บริ บริ ษษาคั ารส าคัผูญ ญบ้ ริ ห ารส าคัญ เสี ยย งโดยทางตรงหรื งโดยทางตรงหรื ทางอ้ออมซึ มซึ่่ งท งท าให้มมอีี ออมซึ ลอย่ งเป็ นสาระส าคัญ ญนสาระส ัทัท ฯฯญผูผูต่บบ้้ อริริบริหห ารส อพนัษษกททัั งานของบริ ษทั ฯที่มีอานาจในการวางแผนและควบคุ มการดาเนิษษนททัั งานของบริ ษทั ฯ กรรมการหรื ออกรรมการหรื พนักกงานของบริ งานของบริ ฯที่่มมีีออานาจในการวางแผนและควบคุ มมการด ฯฯ กรรมการหรื พนั ฯที านาจในการวางแผนและควบคุ การดาเนิ าเนินนงานของบริ งานของบริ
รายงานประจ�ำปี 2559
165
88
8
4.13 4.13 สัสั ญ ญญาเช่ ญาเช่ าาระยะยาว ระยะยาว สัสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาทีที่่ดดิินน อาคาร อาคาร และอุ และอุปปกรณ์ กรณ์ทที่ี่คความเสี วามเสี่่ ยยงและผลตอบแทนของความเป็ งและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้ นเจ้าาของส่ ของส่ ววนใหญ่ นใหญ่ไได้ด้โโอนไป อนไป ให้กกบบัั ผูผูเเ้้ ช่ช่าาถืถืออเป็ เป็ นนสัสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาการเงิ การเงินน สัสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาการเงิ การเงินนจะบั จะบันนทึทึกกเป็ เป็ นรายจ่ นรายจ่าายฝ่ ยฝ่ ายทุ ายทุนนด้ด้ววยมู ยมูลลค่ค่าายุยุตติิธธรรมของ รรมของ ให้ สิสิ นนทรั ทรั พพย์ย์ทที่ี่ เเช่ช่ าาหรื หรื ออมูมูลลค่ค่าาปัปั จจจุจุบบนนัั สุสุ ททธิธิ ขของจ องจานวนเงิ านวนเงิ นนทีที่่ตตออ้้ งจ่ งจ่าายตามสั ยตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่ าาแล้ แล้ววแต่ แต่มมููลลค่ค่าาใดจะต ใดจะต่่ าากว่ กว่าา ภาระผู ภาระผูกกพั พันนตามสั ตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่ าาหัหักกค่ค่าาใช้ ใช้จจ่่าายทางการเงิ ยทางการเงิ นนจะบั จะบันนทึทึ กก เป็ เป็ นหนี นหนี้้ สสิิ นนระยะยาว ระยะยาว ส่ส่ ววนดอกเบี นดอกเบี้้ ยย จ่จ่าายจะ ยจะ บับันนทึทึกกในส่ นของกาไรหรื าไรหรื ออขาดทุ ขาดทุนนตลอดอายุ ตลอดอายุขของสั องสัญ ญญาเช่ ญาเช่าา สิสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ทที่ี่ไได้ด้มมาตามสั าตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาการเงิ การเงินนจะคิ จะคิดด ในส่ ววนของก ค่ค่าาเสื เสื่่ ออมราคาตลอดอายุ มราคาตลอดอายุกการใช้ ารใช้งงานของสิ านของสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ทที่ี่เเช่ช่าาหรื หรื อออายุ อายุขของสั องสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาแล้ แล้ววแต่ แต่รระยะเวลาใดจะสั ะยะเวลาใดจะสั้้ นนกว่ กว่าา สัสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาทีที่่ดดิินน อาคาร อาคาร และอุ และอุปปกรณ์ กรณ์ทที่ี่คความเสี วามเสี่่ ยยงและผลตอบแทนของความเป็ งและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้ นเจ้าาของส่ ของส่ ววนใหญ่ นใหญ่ไไม่ม่ไได้ด้โโอน อน ไปให้ ไปให้กกบบัั ผูผูเเ้้ ช่ช่าาถืถืออเป็ เป็ นสั นสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาดดาเนิ าเนิ นนงาน งาน จจานวนเงิ านวนเงินนทีที่่จจ่่าายตามสั ยตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่าาดดาเนิ าเนินนงานรั งานรับบรูรู้้เเป็ป็ นค่ นค่าาใช้ ใช้จจ่่าายใน ยใน ส่ส่ ววนของก ตรงตลอดอายุขของสั องสัญ ญญาเช่ ญาเช่าา นของกาไรหรื าไรหรื ออขาดทุ ขาดทุนนตามวิ ตามวิธธีี เเส้ส้นนตรงตลอดอายุ 4.14 4.14 เงิเงินนตราต่ ตราต่ าางประเทศ งประเทศ บริ บริ ษษททัั ฯแสดงงบการเงิ ฯแสดงงบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงิ นนเฉพาะกิ เฉพาะกิ จจการเป็ การเป็ นสกุ นสกุลลเงิเงิ นนบาท บาท ซึซึ่่ งงเป็ เป็ นสกุ นสกุลลเงิเงิ นนทีที่่ใใช้ช้ใในการ นการ ดดาเนิ าเนิ นนงานของบริ งานของบริ ษษททัั ฯฯ รายการต่ รายการต่าางง ๆๆ ของแต่ ของแต่ลละกิ ะกิจจการที การที่่รรวมอยู วมอยูใใ่่ นงบการเงิ นงบการเงินนรวมวั รวมวัดดมูมูลลค่ค่าาด้ด้ววยสกุ ยสกุลลเงิเงินนทีที่่ ใช้ ใช้ใในการด นการดาเนิ าเนินนงานของแต่ งานของแต่ลละกิ ะกิจจการนั การนั้้ นน รายการที รายการที่่ เเ ป็ป็ นเงิ นเงิ นน ตราต่ ตราต่ าา งประเทศแปลงค่ งประเทศแปลงค่ าา เป็ เป็ นเงิ นเงิ นนบาทโดยใช้ บาทโดยใช้ออตตัั ราแลกเปลี ราแลกเปลี่่ ยย นน ณ ณ วัวันน ทีที่่ เเ กิกิ ดดรายการ รายการ สิสิ นนทรั บาทโดยใช้ออตตัั รา รา ทรัพพย์ย์แและหนี ละหนี้้ สสิิ นนทีที่่เเป็ป็ นตั นตัววเงิเงินนซึซึ่่ งงอยู อยู่ใ่ในสกุ นสกุลลเงิเงินนตราต่ ตราต่าางประเทศได้ งประเทศได้แแปลงค่ ปลงค่าาเป็ เป็ นเงิ นเงิ นนบาทโดยใช้ แลกเปลี แลกเปลี่่ยยนน ณ ณ วัวันนสิสิ้้ นนรอบระยะเวลารายงาน รอบระยะเวลารายงาน กกาไรและขาดทุ าไรและขาดทุนนทีที่่เเกิกิดดจากการเปลี จากการเปลี่่ยยนแปลงในอั นแปลงในอัตตราแลกเปลี ราแลกเปลี่่ยยนได้ นได้รรวมอยู วมอยูใใ่่ นการค นการคานวณผลการด านวณผลการดาเนิ าเนินนงาน งาน 4.15 การด้ ออยค่ ยค่ าาของสิ ของสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ 4.15 การด้ ทุทุกกวัวันนสิสิ้้ นนรอบระยะเวลารายงาน รอบระยะเวลารายงาน กลุ กลุ่่มมบริ บริ ษษททัั จะท จะทาการประเมิ าการประเมินนการด้ การด้ออยค่ ยค่าาของที ของที่่ดดิินน อาคารและอุ อาคารและอุปปกรณ์ กรณ์หหรืรื ออ สิสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ออื่ื่นนของกลุ ของกลุ่่มมบริ บริ ษษททัั หากมี หากมีขขออ้้ บ่บ่งงชีชี้้ ววาา่่ สิสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ดดงงัั กล่ กล่าาวอาจด้ วอาจด้ออยค่ ยค่าา กลุ กลุ่่มมบริ บริ ษษททัั รัรับบรูรู้้ขขาดทุ าดทุนนจากการ จากการ ด้ด้ออยค่ ยค่าาเมื เมื่่ออมูมูลลค่ค่าาทีที่่คคาดว่ าดว่าาจะได้ จะได้รรัับบคืคืนนของสิ ของสิ นนทรั ทรัพพย์ย์มมีีมมููลลค่ค่าาตต่่ าากว่ กว่าามูมูลลค่ค่าาตามบั ตามบัญ ญชีชี ขของสิ องสิ นนทรั ทรัพพย์ย์นน้้ นนัั ทัทั้้ งงนีนี้้ มูมูลลค่ค่าาทีที่่คคาดว่ รรมหักกต้ต้นนทุทุนนในการขายของสิ ในการขายของสิ นนทรั ทรัพพย์ย์หหรืรื ออมูมูลลค่ค่าาจากการใช้ จากการใช้ าดว่าาจะได้ จะได้รรัับบคืคืนนหมายถึ หมายถึงงมูมูลลค่ค่าายุยุตติิธธรรมหั สิสิ นนทรั ทรั พพย์ย์แแล้ล้ววแต่ แต่รราคาใดจะสู าคาใดจะสู งงกว่ กว่าา ในการประเมิ ในการประเมินนมูมูลลค่ค่าาจากการใช้ จากการใช้สสิิ นนทรั ทรัพพย์ย์ กลุ กลุ่่ มมบริ บริ ษษททัั ประมาณการ ประมาณการ กระแสเงิ กระแสเงินนสดในอนาคตที สดในอนาคตที่่กกิิจจการคาดว่ การคาดว่าาจะได้ จะได้รรัับบจากสิ จากสิ นนทรั ทรัพพย์ย์แและค ละคานวณคิ านวณคิดดลดเป็ ลดเป็ นมู นมูลลค่ค่าาปัปั จจจุจุบบนนัั โดยใช้ โดยใช้ อัอัตตราคิ ราคิดดลดก่ ลดก่ออนภาษี นภาษีทที่ี่สสะท้ ะท้ออนถึ นถึงงการประเมิ การประเมินนความเสี ความเสี่่ ยยงในสภาพตลาดปั งในสภาพตลาดปั จจจุจุบบนนัั ของเงิ ของเงินนสดตามระยะเวลา สดตามระยะเวลา รรมหักก และความเสี่่ ยยงซึ งซึ่่ งงเป็ เป็ นลั นลักกษณะเฉพาะของสิ ษณะเฉพาะของสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ทที่ี่กกาลั าลังงพิพิจจารณาอยู ารณาอยู่่ ในการประเมิ ในการประเมินนมูมูลลค่ค่าายุยุตติิธธรรมหั และความเสี ต้ต้นนทุทุ นนในการขาย ในการขาย กลุ กลุ่่ มม บริ บริ ษษ ททัั ใช้ ใช้แแบบจ บบจาลองการประเมิ าลองการประเมิ นนมูมู ลลค่ค่ าา ทีที่่ ดดีี ทที่ี่ สสุุ ดดซึซึ่่ งง เหมาะสมกั เหมาะสมกับบ สิสิ นนทรั ทรั พพ ย์ย์ ซึซึ่่ งง สะท้ สะท้ออนถึ นถึ งงจจานวนเงิ านวนเงิ นนทีที่่กกิิจจการสามารถจะได้ การสามารถจะได้มมาจากการจ าจากการจาหน่ าหน่าายสิ ยสิ นนทรั ทรั พพย์ย์หหักักด้ด้ววยต้ ยต้นนทุทุนนในการจ ในการจาหน่ าหน่าายย โดยการจ โดยการจาหน่ าหน่าายนั ยนั้้ นนผูผูซซ้้ ้้ืื ออกักับบผูผูขข้้ ายมี ายมีคความรอบรู วามรอบรู้้แและเต็ ละเต็มมใจในการแลกเปลี ใจในการแลกเปลี่่ยยนและสามารถต่ นและสามารถต่ออรองราคากั รองราคากันนได้ ได้ อย่าางเป็ งเป็ นนอิอิสสระในลั ระในลักกษณะของผู ษณะของผูทท้้ ี่ี่ไไม่ม่มมีีคความเกี วามเกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน อย่ 166
กลุ กลุ่่มมบริ บริ ษษททัั จะรั จะรับบรูรู้้รรายการขาดทุ ายการขาดทุนนจากการด้ จากการด้ออยค่ ยค่าาในส่ ในส่ ววนของก นของกาไรหรื าไรหรื ออขาดทุ ขาดทุนน บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
99
4.16 ผลประโยชน์ ของพนักงาน ผลประโยชน์ ระยะสั้นของพนักงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานและผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นของพนักงาน โครงการสมทบเงิน กลุ่มบริ ษทั และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พ ซึ่ งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสม และเงิ นที่ กลุ่ มบริ ษ ทั จ่ ายสมทบให้เป็ นรายเดื อน สิ นทรั พย์ของกองทุ นสารองเลี้ ยงชี พได้แยกออกจาก สิ นทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั เงินที่กลุ่มบริ ษทั จ่ายสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชี พบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในปี ที่เกิด รายการ โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน กลุ่ ม บริ ษ ทั มี ภ าระส าหรั บ เงิ น ชดเชยที่ ตอ้ งจ่ า ยให้แก่ พ นัก งานเมื่ อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน และตามแผนสวัส ดิ ก ารพนัก งานซึ่ งกลุ่ ม บริ ษ ัท ถื อ ว่า เงิ น ชดเชยดัง กล่ า วเป็ นโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานสาหรับพนักงาน กลุ่มบริ ษทั คานวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละ หน่ วยที่ ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชี่ ย วชาญอิ สระได้ทาการประเมิ นภาระ ผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ผลกาไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู้ทนั ทีในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น 4.17 การจ่ ายโดยใช้ หุ้นเป็ นเกณฑ์ บริ ษั ท ฯด าเนิ น โครงการผลตอบแทนพนั ก งานโดยใช้ หุ้ น เป็ นเกณฑ์ ที่ ช าระด้ ว ยตราสารทุ น โดยที่กิจการได้รับบริ การจากพนักงานเป็ นสิ่ งตอบแทนสาหรับตราสารทุน (สิ ทธิ ซ้ื อหุ ้น) ที่กิจการออกให้ มูลค่ายุติธรรมของบริ การของพนักงานเพื่อแลกเปลี่ยนกับการให้สิทธิ ซ้ื อหุ ้นจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่าย จานวน รวมที่บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายจะอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรมของสิ ทธิ ซ้ื อหุน้ ที่ออกให้โดย - รวมเงื่อนไขทางการตลาด - ไม่รวมผลกระทบของการบริ การและเงื่อนไขการได้รับสิ ทธิ ที่ไม่ใช่เงื่อนไขการตลาด (ตัวอย่างเช่ น ความสามารถทากาไรการเติบโตของกาไรตามที่กาหนดไว้ และพนักงานจะยังเป็ นพนักงานของ กิจการในช่วงเวลาที่กาหนด) และ - ไม่รวมผลกระทบเงื่ อนไขการได้รับสิ ทธิ ที่ไม่ใช่เงื่อนไขการบริ การหรื อผลงาน (ตัวอย่างเช่น ความ ต้องการความปลอดภัยของพนักงาน) รายงานประจ�ำปี 2559
167
10
เงื่อนไขผลงานและบริ การที่ไม่ใช่เงื่อนไขทางตลาดจะรวมอยูใ่ นข้อสมมติฐานเกี่ยวกับจานวนของสิ ทธิ ซ้ื อ หุ ้นที่คาดว่าจะได้รับสิ ทธิ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดจะรับรู้ตลอดระยะเวลาได้รับสิ ทธิ ซึ่ งเป็ นไปตามเงื่อนไขการ ได้รับสิ ท ธิ ที่ กาหนดไว้ บริ ษทั ฯจะทบทวนการประเมิ นจานวนของสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้นที่ค าดว่าจะได้รับสิ ทธิ ซึ่ ง ขึ้ น กับ เงื่ อนไขการได้รั บ สิ ท ธิ ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ งื่ อ นไขการตลาด และจะรั บ รู้ ผ ลกระทบของการปรั บ ปรุ ง ประมาณการเริ่ มแรกในกาไรหรื อขาดทุนพร้อมกับการปรับปรุ งรายการไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ณ วันที่ สิ้ นรอบระยะเวลาการรายงาน เมื่อมีการใช้สิทธิ บริ ษทั ฯจะออกหุ ้นใหม่ สิ่ งตอบแทนที่ได้รับสุ ทธิ ด้วยต้นทุนในการทารายการทางตรง จะบันทึกไปยังทุนเรื อนหุ น้ (มูลค่าตามบัญชี) และส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ กรณี ที่บริ ษทั ฯให้สิทธิ ซ้ื อตราสารทุ นแก่พนักงานของบริ ษทั ย่อยจะปฏิ บตั ิเหมือนการเพิ่มทุนอย่างหนึ่ ง บริ ษทั ฯต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของบริ การของพนักงาน โดยอ้างอิงกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ ออก ให้ มูลค่ าของตราสารทุ นเหล่ า นั้นต้องวัด ณ วันที่ ให้สิ ทธิ ซึ่ งจะรั บรู้ ตลอดระยะเวลาที่ ไ ด้รับสิ ทธิ ใน งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการจะบันทึกเสมือนกับเป็ นการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและ เพิ่มส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ 4.18 ประมาณการหนีส้ ิ น กลุ่มบริ ษทั จะบันทึกประมาณการหนี้ สินไว้ในบัญชี เมื่อภาระผูกพันซึ่ งเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้ เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่ากลุ่มบริ ษทั จะเสี ยทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลด เปลื้องภาระผูกพันนั้น และกลุ่มบริ ษทั สามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่ มบริ ษทั รับรู้ ประมาณการหนี้ สินค่ารื้ อถอนระยะยาวด้วยจานวนประมาณการต้นทุ นค่ารื้ อถอนของ อาคารและอุปกรณ์ ที่จะต้องจ่าย ณ วันสิ้ นสุ ดสัญญา ภาระผูกพันดังกล่าวบวกค่าใช้จ่ายทางการเงิ นจะ บันทึกเป็ นหนี้สินระยะยาว 4.19 การอุดหนุนจากรัฐบาล การอุดหนุนจากรัฐบาลรับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม หากมีเหตุผลชัดเจนว่าจะได้รับการอุดหนุนนั้นและกลุ่ม บริ ษทั จะปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดมาพร้อมกับการอุดหนุนนั้น การอุดหนุนจากรัฐบาลเพื่อชดเชยต้นทุนจะรับรู้เป็ นรายการสิ นทรัพย์รอตัดบัญชีและจะทยอยรับรู้เป็ น รายได้ในกาไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์และระยะเวลาที่กาหนดโดยเปรี ยบเทียบการอุดหนุนกับต้นทุนที่ เกี่ยวข้อง ซึ่ งรัฐบาลตั้งใจให้การอุดหนุนชดเชยคืนให้แก่กลุ่มบริ ษทั
168
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
11
4.20 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน กลุ่มบริ ษทั บันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบนั ตามจานวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กบั หน่ วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดย คานวณจากกาไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กลุ่มบริ ษทั บันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ และหนี้ สิน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เกี่ ยวข้องนั้น โดยใช้ อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั รับรู้หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ของผลแตกต่างชัว่ คราวที่ตอ้ งเสี ยภาษีทุกรายการ แต่รับรู้ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาหรับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ ได้ใ ช้ใ นจานวนเท่า ที่ มีค วามเป็ นไปได้ค่ อนข้า งแน่ ที่ ก ลุ่ม บริ ษ ทั จะมี กาไรทางภาษี ใ นอนาคตเพีย ง พอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้น้ นั กลุ่ ม บริ ษ ทั จะทบทวนมู ล ค่ า ตามบัญชี ข องสิ น ทรั พ ย์ภ าษี เ งิ นได้รอการตัดบัญชี ทุ ก สิ้ นรอบระยะเวลา รายงานและจะทาการปรับลดมูลค่าตามบัญชี ดงั กล่าว หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ กลุ่มบริ ษทั จะ ไม่ มี ก าไรทางภาษี เ พี ย งพอต่ อการนาสิ นทรั พ ย์ภาษี เงิ นได้ร อการตัดบัญชี ท้ งั หมดหรื อบางส่ วนมาใช้ ประโยชน์ กลุ่มบริ ษทั จะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี โดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้อง กับรายการที่ได้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุน้ 4.21 ส่ วนต่ากว่ าทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การเข้าซื้ อและโอนกิ จการทั้งหมดกับบริ ษทั ย่อยภายใต้การควบคุมเดียวกัน บริ ษทั ฯได้มีการบันทึกบัญชี การได้มาซึ่ งสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ย่อยโดยวิธีการรวมกิจการแบบเสมือนว่าเป็ นวิธีการรวมส่ วนได้เสี ย ซึ่ ง ได้มีการรับรู ้ส่วนต่ากว่าทุนจากการรวมธุ รกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันจากการซื้ อกิจการดังกล่าวภายใต้ องค์ประกอบอื่ นของผูถ้ ื อหุ ้นในงบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ เข้า ซื้ อและโอนกิ จการทั้งหมด โดยใช้ ผลต่างของราคาซื้ อเทียบกับราคาตามบัญชี ณ วันที่ซ้ื อ 4.22 สั ญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ บริ ษทั ฯรับรู ้จานวนสุ ทธิ ของดอกเบี้ยที่ได้จ่ายให้แก่คู่สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเป็ นค่าใช้จ่ายตาม เกณฑ์คงค้าง
รายงานประจ�ำปี 2559
169
12
4.23 การวัดมูลค่ ายุติธรรม มู ล ค่า ยุติธ รรม หมายถึ ง ราคาที่ ค าดว่า จะได้รับ จากการขายสิ น ทรั พ ย์หรื อเป็ นราคาที่ จ ะต้อ งจ่า ยเพื่ อ โอนหนี้สินให้ผอู ้ ื่นโดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผูซ้ ้ื อและผูข้ าย ณ วันที่ วัดมูลค่า กลุ่มบริ ษทั ใช้ราคาเสนอซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ และหนี้ สินซึ่ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่เกี่ ยวข้องกาหนดให้ตอ้ งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณี ที่ไม่มีตลาดที่มีสภาพคล่องสาหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่มีลกั ษณะเดียวกันหรื อไม่สามารถ หาราคาเสนอซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องได้ กลุ่มบริ ษทั จะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการ ประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ขอ้ มูลที่สามารถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับ สิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ใช้วดั มูลค่าและเปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินในงบการเงิน แบ่งออกเป็ นสามระดับตามประเภทของข้อมูลที่นามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1
ใช้ขอ้ มูลราคาเสนอซื้ อขายของสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง
ระดับ 2
ใช้ขอ้ มูล อื่นที่ ส ามารถสัง เกตได้ของสิ นทรั พ ย์หรื อหนี้ สิ น ไม่ว่าจะเป็ นข้อมู ลทางตรงหรื อ ทางอ้อม
ระดับ 3
ใช้ขอ้ มูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น
ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั จะประเมินความจาเป็ นในการโอนรายการระหว่างลาดับชั้น ของมูลค่ายุติธรรมสาหรับสิ นทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัดมูลค่า ยุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจา 5.
การใช้ ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชี ทสี่ าคัญ ในการจัดท างบการเงิ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพิ นิจและ การประมาณการในเรื่ องที่ มี ค วามไม่แน่ นอนเสมอ การใช้ดุล ยพินิจและการประมาณการดัง กล่ า วนี้ ส่ งผลกระทบต่อจานวนเงิ นที่แสดงในงบการเงิ นและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิ น ผลที่เกิ ดขึ้ นจริ งอาจแตกต่างไปจากจานวนที่ ป ระมาณการไว้ การใช้ดุล ยพินิจและการประมาณการที่ สาคัญมีดงั นี้ สั ญญาเช่ า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็ นสัญญาเช่าดาเนิ นงานหรื อสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ ายบริ หาร ได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่ากลุ่มบริ ษทั ได้โอนหรื อ รับโอนความเสี่ ยงและผลประโยชน์ในสิ นทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรื อไม่
170
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
13
ค่ าเผือ่ หนีส้ งสั ยจะสู ญของลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีช้ าวไร่ ในการประมาณค่ า เผื่อหนี้ ส งสัย จะสู ญของลู ก หนี้ การค้า และลู ก หนี้ ช าวไร่ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยคานึงถึงประสบการณ์ การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เป็ นต้น การปรับลดสิ นค้ าคงเหลือเป็ นมูลค่ าสุ ทธิทจี่ ะได้ รับ ในการประมาณการปรับลดสิ นค้าคงเหลื อเป็ นมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ ฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจในการ ประมาณมูล ค่า สุ ท ธิ ที่จะได้รับ ของสิ นค้า คงเหลื อ โดยจานวนเงิ นที่ คาดว่าจะได้รับจากสิ นค้าคงเหลื อ พิจารณาจากสัญญาขาย การเปลี่ ยนแปลงของราคาขายหรื อต้นทุ นที่ เกี่ ยวข้องโดยตรงกับเหตุ ก ารณ์ ที่ เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงินและฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะ เกิ ดขึ้ นจากสิ นค้าเสื่ อมคุ ณ ภาพ โดยค านึ ง ถึ ง อายุของสิ นค้า คงเหลื อและสภาวะเศรษฐกิ จที่ เป็ นอยู่ใ น ขณะนั้น ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ และค่ าเสื่ อมราคา ในการคานวณค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องทาการประมาณอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในแต่ละช่วงเวลาและ บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ากว่ามูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์น้ นั ในการนี้ ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่ ง เกี่ยวเนื่องกับสิ นทรัพย์น้ นั สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กลุ่มบริ ษทั จะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สาหรับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษีและขาดทุน ทางภาษีที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ กลุ่มบริ ษทั จะมีกาไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะ ใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องประมาณการว่ากลุ่ม บริ ษทั ควรรับรู้จานวนสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็ นจานวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจานวนกาไร ทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ต้ นทุนค่ าอ้อย ในการบันทึ ก ต้นทุ น ค่ า อ้อย ฝ่ ายบริ หารจ าเป็ นต้อ งประมาณราคาอ้อยโดยอ้างอิ ง วิธี ก ารค านวณจาก คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย ซึ่ งต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่าง ๆ ในการประมาณการนั้น เช่น ประมาณ การยอดขายและอัตราแลกเปลี่ยน เป็ นต้น รายงานประจ�ำปี 2559
171
14
ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนั กงานตามโครงการผลประโยชน์ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนั กงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้ สิ นหนี ตามโครงการผลประโยชน์ ห ลัง ออกจากงานของพนั ก งานประมาณขึ ก คณิ ตกศาสตร์ ้ น ตามหลั ห ลัง ออกจากงานของพนั ก งานประมาณขึ คณิ ต ศาสตร์ ้ สิ นตามโครงการผลประโยชน์ ้ น ตามหลั ประกันประกั ภัย ซึน่ งภัต้ยองอาศั ข้อสมมติ ฐานต่าฐงานต่ ๆ ในการประมาณการนั ตราคิ ราการขึ ้ นเงินเดื้ นอเงินนเดือน ้ น เช่ น้ นอัเช่ ซึ่ งต้อยงอาศั ยข้อสมมติ าง ๆ ในการประมาณการนั น อัดตลด ราคิอัดตลด อัตราการขึ ในอนาคต อัตรามรณะ และอัตและอั ราการเปลี ่ยนแปลงในจ านวนพนั กงาน กเป็งาน นต้นเป็ นต้น ในอนาคต อัตรามรณะ ตราการเปลี ่ยนแปลงในจ านวนพนั 6.
นงานที ป็ นไปตามฤดู กาล กาล 6.การดาเนิ การด าเนินเ่ งานที เ่ ป็ นไปตามฤดู ่มบริ ษ่มทั บริ การดาเนิ นงานของกลุ ที่ ปษระกอบธุ รกิ จผลิรกิตจและจ ยน้ าตาลมี ลกั ษณะขึ ฤดู่กกบั าลฤดูซึก่ งาล ซึ่ ง ้ นอยู่ก้ นบั อยู การด าเนิ นงานของกลุ ทั ที่ ประกอบธุ ผลิ ตาหน่ และจาาหน่ ายน้ าตาลมี ลกั ษณะขึ แบ่งเป็แบ่ นฤดู ระหว่ งช่วงประมาณเดื อนพฤศจิ กายนถึกงายนถึ เดือนเมษายน และนอกฤดู กาลผลิกตาลผลิ ระหว่ ง าง งเป็กนาลผลิ ฤดูกตาลผลิ ต าระหว่ างช่วงประมาณเดื อนพฤศจิ งเดือนเมษายน และนอกฤดู ต าระหว่ อนพฤษภาคมถึ งเดือนตุ ช่วงประมาณเดื อนพฤษภาคมถึ งเดืลอาคม นตุลาคม ช่วงประมาณเดื
7.
รกิจกับรกิกิจจกัการที กีย่ วข้เ่ อกีงกั 7.รายการธุ รายการธุ บกิจเ่ การที ย่ วข้นองกัน ่มบริกลุษ่มทั บริ ในระหว่ างปี กลุางปี มีรษายการธุ รกิจที่สรกิาคัจทีญ่สกัาคั บบุญคกัคลหรื อกิจการที กี่ยวข้่เอกีงกั รกิจดังรกล่ ่ยวข้นอรายการธุ ในระหว่ ทั มีรายการธุ บบุคคลหรื อกิจ่เการที งกัน รายการธุ กิจาดัวงกล่าว เป็ นไปตามเงื ่ อนไขทางการค้ า และเกณฑ์ ตามทีต่ ตามที กลงกั นระหว่ า งกลุ่ มา งกลุ บริ ษ่ มทั บริ และบุ ค คลหรืค คลหรื อกิ จการที เป็ นไปตามเงื ่ อนไขทางการค้ า และเกณฑ์ ่ ตกลงกั นระหว่ ษ ทั และบุ อกิ จ่การที่ เกี่ยวข้เกีองกั นเหล่ ธุรกิจ ธโดยสามารถสรุ ปได้ดปงั นีได้้ ดงั นี้ ้ น ซึา่ งนัเป็้ นนซึไปตามปกติ ่ยวข้ ่ งเป็ นไปตามปกติ ุรกิจ โดยสามารถสรุ องกัานนัเหล่
รายการธุ รกิจกับรบริ อยษัทย่ อย รายการธุ กิจษกััทบย่บริ (ตัดออกจากงบการเงิ นรวมแล้ ว) ว) (ตัดออกจากงบการเงิ นรวมแล้ รายได้จรายได้ ากการขายสิ นค้าและบริ การ การ จากการขายสิ นค้าและบริ เงินปันเงิผลรั นปับนผลรับ ดอกเบี้ดอกเบี ยรับ ้ ยรับ รายได้อรายได้ ื่น อื่น ซื้อสิ นค้ซืา้ อและบริ การ การ สิ นค้าและบริ ค่าใช้จ่าค่ยในการบริ หาร หาร าใช้จ่ายในการบริ ดอกเบี้ดอกเบี ยจ่าย ้ ยจ่าย
(หน่วย:(หน่ ล้านบาท) วย: ล้านบาท) งบการเงิ รวม นรวม งบการเงิ งบการเงิงบการเงิ เฉพาะกิ จการ จการ นโยบายการก าหนดราคา งบการเงิ นนรวม นนเฉพาะกิ งบการเงิ นจการ เฉพาะกิ นโยบายการก าหนดราคา นโยบายการกำ �หนดราคา 2559 2559 2558 2558 2559 2559 2559 2558 2558 2558 2559 2558 -
-
-
ราคาตามสั ญญา ญญา - 1,036 1,036 806 806 ราคาตามสั ตามที่ปตามที ระกาศจ่ าย าย - 1,016 1,016 946 946 ่ประกาศจ่ อัตราร้ออัยละ 4.20ถึงต่อ4.20 ปี ต่อปี - 53 53 105 105 ตราร้3.00 อยละถึง3.00 ราคาที่ตราคาที กลงร่่ตวกลงร่ มกัน วมกัน - 16 16 15 15 ราคาตามสั ญญา ญญา - 721 721 278 278 ราคาตามสั กลงร่่ตวกลงร่ มกัน วมกัน - 2 2 1 ราคาที 1 ่ตราคาที 1.75ถึงต่อ1.75 ปี ต่อปี - 7 7 8 อั8ตราร้ออัยละ ตราร้1.15 อยละถึง1.15
รายการธุ รกิจกับรกิกิจจการที ย่ วข้ อเ่ กีงกัย่ วข้ น องกัน รายการธุ กับกิจเ่ กีการที รายได้จรายได้ ากการขายสิ นค้าและบริ การ การ ญญา ญญา จากการขายสิ นค้าและบริ - 1 1 - - ราคาตามสั - ราคาตามสั รายได้อรายได้ ื่น อื่น ราคาตามสั ญญา ญญา - 40 40 - 40 40 ราคาตามสั ซื้อสิ นค้ซืา้ อและบริ การ การ 189 189 236 236 102 102 140 140 ราคาที่ตราคาที กลงร่่ตวกลงร่ มกัน วมกัน สิ นค้าและบริ ซื้อสิ นทรั าวรพย์ถาวร 22 22 ญญา ญญา ซื้อพสิย์นถทรั - 7 7 - ราคาตามสั - ราคาตามสั ค่าใช้จ่าค่ยในการขาย 206 206 270 270 133 133 160 160 ราคาที่ตราคาที กลงร่่ตวกลงร่ มกัน วมกัน าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่าค่ยในการบริ หาร หาร 47 47 50 50 19 19 15 15 ราคาที่ตราคาที กลงร่่ตวกลงร่ มกัน วมกัน าใช้จ่ายในการบริ ดอกเบี้ดอกเบี ยจ่าย ้ ยจ่าย 89 89 94 94 89 89 94 94 อัตราร้ออัยละ อปี ต่อปี ตราร้0.42 อยละและ 0.4211.00 และต่11.00 172
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
15 15
ณณวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม ออของสิ นนทรั พพย์ย์แและหนี วข้อองกั งกับบ ้้ สสิิ นนทีที่เ่เกีกี่ย่ยวข้ นวาคม วาคม2559 2559และ และ2558 2558กลุ กลุ่ม่ม่มบริบริ บริษษษทั ททัั มีมีมียยยอดคงเหลื อดคงเหลื ของสิ ทรั ละหนี ่ ณ วั น ที ่ 31 ธั น 2559 และ 2558 กลุ อดคงเหลื อ ของสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี ส ิ น ที ่ เ กี ย วข้ อ งกับ ้ ่ กิจกิการที ่ เ กี ย วข้ อ งกั น ดั ง นี ้ การที่เกี่ ่ยวข้องกันดังนี้ กิจจการที ่เกียวข้องกันดังนี้ (หน่วย: พันบาท) ลูกลูหนี ้การค้ าและลู กหนี ้อนื่ ้อนื่ – กิ– จกิการที กหนี ้การค้ าและลู กหนี จการที่เกี่เย่ กีวข้ ย่ วข้องกั องกันน กษหนี บริลูบริ ทั ษย่ทั ้กอย่ารค้ ยอย าและลูกหนี้อนื่ – กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริบริบริ ษษทั ษทั ทีทั ย่่เกีทีอ่ย่เกีวข้ องกั น น(มี(มี ผถู้ ผือถู้ หุือน้ หุ/กรรมการร่ ่ยวข้ องกั น้ /กรรมการร่วมกั วมกันน) ) บริรวมลู ษกทั หนี ทีก่เหนี กี้ ก่ยารค้ วข้ อางกั น (มีกหนี ผกถู้ หนี ือ้ อหุื่น้ อน้ ื่น-/กรรมการร่ )งกันน รวมลู และลู กิ- จกิการที ่ยมกั าและลู จการที่เกี่เ่ยกีววข้ วข้อนองกั ้ การค้ รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงิ งบการเงินนนรวม รวม งบการเงิ รวม งบการเงิ น รวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 --34,065 3,426 34,0653,42634,065 3,426 34,065 3,426 34,065 3,426 34,065 3,426
(หน่วย: พันบาท) (หน่ วย:จจพัการ นบาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ การ งบการเงิ น งบการเงินเฉพาะกิ เฉพาะกิ จการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 54,184 85,879 54,184 85,879 54,184 85,879 33,902 3,326 33,902 3,326 33,902 3,326 88,086 89,205 88,086 89,205 88,086 89,205
เงินเงิให้นให้ ก้ยู กืม้ยู ระยะสั ้ นแก่ กิจกการที ืมระยะสั ้ นแก่ ิจการที่เกีเ่ยกีวข้ ่ยวข้องกั องกันน บริเงิบริ ษนทัให้ษย่ทั กอ้ย่ยู ยอืมยระยะสั้ นแก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริรวมเงิ ษทันย่ให้ ยกยู้ กมื ยู้ ระยะสั รวมเงิ กิจกการที ้ นแก่ ิจการที่เกี่เ่ยกีวข้ ่ยวข้องกั นอให้ มื ระยะสั องกันน ้ นแก่ รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
----
--
1,209,717 1,209,717 1,209,717 1,209,717
1,432,009 1,432,009 1,432,009 1,432,009 1,432,009 1,432,009
สิ นสิทรั พย์พหย์มุหนมุเวีนยเวีนอื น่ น่ - กิ-จกิการที นทรั ยนอื จการที่เกี่เ่ยกีวข้ ่ยวข้องกั องกันน สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นอื น ่ กิ จ การที เ ่ กี ย ่ วข้ อ บริบริ ษทั ษทีทั ่เกีที่ยเกีวข้ องกั น น(มี(มี ผถู้ ผือถู้ หุือน้ หุ/กรรมการร่ วมกั ่ยวข้ องกั น้ /กรรมการร่งกั วนมกันน) ) บริรวมสิ ษทนั ทีทรั (มียนอื ผ่นถู้ ่นือ- หุกิ- จน้ กิการที ่ยวข้อวงกั น่เกีทรั พหย์มุอหนงกั มุเวีนนยเวีนอื จ/กรรมการร่ การที่เกี่เ่ยกีวข้ อมกังกันนน) รวมสิ พ่ยย์วข้ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
----
2,027 2,027 2,027 2,027 2,027 2,027
--
2,027 2,027 2,027 2,027 2,027 2,027
104,432 104,432 104,432 104,432 104,432 104,432
102,404 102,404 102,404 102,404 102,404 102,404
103,027 103,027 103,027 103,027
101,000 101,000 101,000 101,000 101,000 101,000
-87,540 87,540 87,540 87,540 87,540 87,540
-110,998 110,998 110,998 110,998 110,998 110,998
9,471 9,471 48,212 9,471 48,212 57,683 48,212 57,683 57,683
40,374 40,374 55,768 40,374 55,768 96,142 55,768 96,142 96,142
----
----
629,421 629,421 629,421 629,421 629,421 629,421
699,180 699,180 699,180 699,180 699,180 699,180
198 198 198 198 198 198
1,072 1,072 1,072 1,072 1,072 1,072
198 198 198 198 198 198
1,072 1,072 1,072 1,072 1,072 1,072
82,450 82,450 82,450 82,450 82,450 82,450
87,300 87,300 87,300 87,300 87,300 87,300
--
--
568,319 568,319 568,319 568,319 568,319 568,319
597,977 597,977 597,977 597,977 597,977 597,977
--
--
นทรั ยนอื จการที่เกี่เย่ กีวข้ ย่ วข้องกั องกันน สิ นสิทรั พย์พไย์ม่ไหม่มุหนมุเวีนยเวีนอื น่ น่ - กิ- จกิการที นษทรั ม่่ยหวข้ ่เกีย่ วข้วอมกั อนงกั (มี น้ การที /กรรมการร่ วงกั มกันนน) ) บริสิบริ ทั ษทีทั พ่เกีทีย์ย่เไกีวข้ อมุงกั นเวียน(มีนอื ผถู้ น่ผือถู้ -หุือกิน้ หุจ/กรรมการร่ บริรวมสิ ษทนั ทีทรั ือ่นหุ่น-น้ กิ-/กรรมการร่ ว่ยมกั นงกั )นน น่เกีทรั พไย์ม่อไหงกั ม่มุหนมุเวีน(มียเวีผนอื ยถู้ นอื จการที่เกี่เ่ยกีวข้ วข้อองกั รวมสิ พ่ยย์วข้ จกิการที รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี จการที่เกี่เย่ กีวข้ ย่ วข้องกั องกันน เจ้ าเจ้หนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อนื่ ้อนื่ – กิ– จกิการที อย าและเจ้ าหนี้อนื่ – กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริเจ้บริ ษาหนี ทั ษย่ทั อ้กย่ยารค้ ่ยวข้ บริ ษ ท ั ที องกั น้ /กรรมการร่วมกั วมกันน) ) บริบริษษทั ทั ทีย่่เกีอ่ย่เกีวข้ องกั น น(มี(มี ผถู้ ผือถู้ หุือน้ หุ/กรรมการร่ ่ยวข้อนองกั าและเจ้ าถู้ หนี จการที่เกี่เ่ยกีววข้ ้ การค้ บริรวมเจ้ ษทั าหนี ทีา่เหนี กี้ ก่ยารค้ วข้ อางกั น (มีาผหนี ือ้ อหุื่น้ อน้ ื่น-/กรรมการร่ มกั )งกันน รวมเจ้ และเจ้ กิ- จกิการที รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ืมระยะสั ้ นจากกิ จการที ย่ วข้องกั องกันน เงินเงิกูน้ยกูืม้ยระยะสั ้ นจากกิ จการที ่เกี่เย่ กีวข้ อย ้ นจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริเงิบริ ษนทักูษ้ยย่ทั ืมอย่ยระยะสั ่ยวข้องกั ืมระยะสั จการที่เกี่เ่ยกีวข้ องกันน ้ นจากกิ บริรวมเงิ ษทันย่กูนอย้ กูยืมย้ ระยะสั รวมเงิ จการที ้ นจากกิ รวมเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ิ นหมุ ยนอื จการที่เกี่เ่ยกีวข้ ่ยวข้องกั องกันน หนีหนี ้สิน้สหมุ นเวีนยเวีนอื น่ น่ - กิ-จกิการที บริ ษทั ที่เกีน่ยเวีวข้ยนอื องกัน (มีผถู้ ือหุน้ ่เกี/กรรมการร่ วมกัน) ่ยวข้ องกันวมกั บริหนีษ้สทั ิ นทีหมุ ่เกี่ยวข้องกันน่ (มี- ผกิถู้จือการที หุน้ /กรรมการร่ น) รวมหนี หมุอนงกัเวีนยนอื ่นถู้ -ือกิหุจน้ การที ่เกี่ยวข้อวงกัมกันน) ้กีส่ยิ นวข้ บริ ษ ท ั ที ่ เ (มี ผ /กรรมการร่ รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีผถู้ ือหุน้ /กรรมการร่ วมกัน) กีย่ วข้ องกันวมกัน) ่ยวข้องกัน (มีผจถู้ การที บริเงิษนทักู้ยทีืม่เกีระยะยาวจากกิ ือหุน้ ่เ/กรรมการร่ ้ รวมเงิ น กู ย ม ื ระยะยาวจากกิ จ การที ่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทันทีกู่ยเ้ กีืม่ยระยะยาวจากกิ วข้องกัน (มีผถู้ จือการที หุน้ /กรรมการร่ รวมเงิ ่เกี่ยวข้องกันวมกัน) รวมเงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินไม่ หมุนเวียนอืน่ - กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน หนีบริ้สินษไม่ เวีอยงกั นอืนน่ (มี- กิผจถู้ การที ่เกี่ยวข้ องกันวมกัน) ทั ทีห่เกีมุ่ยนวข้ ือหุน้ /กรรมการร่ หนี ส ้ ิ น ไม่ ห มุ น เวี ย นอื น ่ กิ จ การที ่เกี่ยวข้ องกัน น) บริรวมหนี ษทั ที่เกี้ ส่ยวข้ องกั ถู้ ือ่นหุน้ - /กรรมการร่ ิ นไม่ หมุนน(มี เวียผนอื กิจการที่เกี่ยววข้มกัองกั น ่ยวข้หอมุงกั บริ ษทั ้ ทีสิ่เนกีไม่ /กรรมการร่ รวมหนี นเวีนย(มี นอืผ่นถู้ ือ- หุกิน้ จการที ่เกี่ยวข้วอมกั งกัน) รวมหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
รายงานประจ�ำปี 2559
173 16
16 16
เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงิเงินนให้ ให้กกยยูู้้ มมืื ระยะสั ระยะสั้้ นนแก่ แก่กกิิจจการที การที่่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหว ในระหว่าางปี งปี สิ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินให้กูย้ ืมระยะสันแก่กิจการที่เกี่ ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหว ในระหว่ ดังต่อไปนี้ สิ้้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินให้กูย้ ืมระยะสั้้ นแก่กิจการที่เกี่ ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหว ไปนี้้ ดัดังงต่ต่ออไปนี (หน่วย: พันบาท) (หน่ววย: ย: พั พันนจบาท) บาท) งบการเงิ(หน่ นเฉพาะกิ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ จ งบการเงินเฉพาะกิ จการ การ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 1,432,009 ยอดคงเหลื ออ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 1,432,009 ยอดคงเหลื 1,432,009 เพิ่มขึ้นระหว่ าณงปีวันที่ 1 มกราคม 2559 4,373,599 เพิ ม ขึ น ระหว่ า งปี 4,373,599 ่ ้้ นระหว่างปี เพิ 4,373,599 รับ่มชขึาระคื นระหว่างปี (4,595,891) รัรับบชชาระคื างปี (4,595,891) าระคืนนอระหว่ ระหว่ (4,595,891) ยอดคงเหลื ณ วันางปี ที่ 31 ธันวาคม 2559 1,209,717 ยอดคงเหลื อ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2559 1,209,717 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 1,209,717 ยอดคงค้างของเงิ นให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่ เกี่ ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มี ยอดคงค้ งของเงิ นให้กู้ยืมระยะสันแก่กิจการที่ เกี่ ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มี ยอดคงค้ยาาดดั งของเงิ รายละเอี งนี้ นให้กู้ยืมระยะสั้้ นแก่กิจการที่ เกี่ ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มี รายละเอี รายละเอียยดดั ดดังงนีนี้้ (หน่วย: พันบาท) (หน่ ย: (หน่จววการ ย: พั พันนบาท) บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงิ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจ2558 การ 2559 2558 2559 2559 2558 2559 2558 บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย บริ บริ ษษททัั ย่นอ้ ายตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด 300,040 931,030 บริ ษ ท ั น า ตาลไทยเอกลั ก ษณ์ จ ากั ด 300,040 931,030 ้ บริ กษณ์ จจากัากัดด 300,040 931,030 ้ าตาลไทยเอกลั บริ ษษททัั นไทยเอกลั กษณ์เพาเวอร์ 604,782 364,187 บริ ษ ท ั ไทยเอกลั ก ษณ์ เ พาเวอร์ จ ากั ด 604,782 364,187 บริ ษษททัั รวมผลไบโอเพาเวอร์ ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์จากั จากัด ด 604,782 364,187 บริ 298,395 128,992 บริ ษทั รวมผลไบโอเพาเวอร์ จจากั ด 298,395 128,992 บริ 298,395 128,992 บริ ษษททัั รวมผลไบโอเพาเวอร์ ทรัพย์ศิริเกษตร จากัด ากัด 6,500 4,000 บริ ษ ท ั ทรั พ ย์ ศ ิ ร ิ เ กษตร จ ากั ด 6,500 4,000 บริ ทรัพสย์ชีศิรวิ เพลั กษตร ดด 6,5004,000 บริ ษษททัั เคทิ งงานจากัจากั 1,800 บริ ษทั เคทิสส ชีชีววพลั งงาน จจากั -1,800 บริ ากัดดด 1,800 บริ ษษททัั เคทิ เกษตรไทยพลัวิงวงาน ฒั น์ จากั 2,000 บริ ษ ท ั เกษตรไทย วิ ว ฒ ั น์ จ ากั ด 2,000 บริ ษทั นเกษตรไทย วิวฒั ้ นน์แก่จากั 2,000 รวมเงิ ให้กยู้ มื ระยะสั กิจดการที่เกี่ยวข้องกัน 1,209,7171,432,009 รวมเงิ 1,209,717 1,432,009 รวมเงินนให้ ให้กกยยูู้้ มมืื ระยะสั ระยะสั้้ นนแก่ แก่กกิิจจการที การที่่เเกีกี่่ยยวข้ วข้อองกั งกันน 1,209,717 1,432,009 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 เงิ นให้กู้ยืมระยะสั้นแก่ กิจการที่เกี่ ยวข้องกันคิ ดดอกเบี้ยในอัตรา ณ วัวันนทีที่่ 31 2559 และ 2558 นนให้ ูู้ย้ยืืมมระยะสั นแก่ 31 ธัธัถึนนงวาคม วาคม 2558กเงิเงิาหนดช ให้กการะคื ระยะสั แก่ กกิิ จจการที การที่่เเกีกี่่ ยยวข้ วข้อองกั งกันนคิคิ ดดดอกเบี ดอกเบี้้ ยยในอั ในอัตตรา รา ร้ณอยละ 3.00 ร้อยละ2559 4.20และ ต่อปี และมี นเมื่อ้้ นทวงถาม ร้ร้ออยละ ยละ 3.00 3.00 ถึถึงงร้ร้ออยละ ยละ 4.20 4.20 ต่ต่ออปีปี และมี และมีกกาหนดช าหนดชาระคื าระคืนนเมื เมื่่ออทวงถาม ทวงถาม
174
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
17 17 17
เงินกูย้ มื ระยะสั้ นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงิ นกูย้ ืมระยะสั้ นจากกิ จการที่ เกี่ยวข้องกันมี การเคลื่ อนไหว ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากกิ จการที่ เกี่ยวข้องกันมี การเคลื่ อนไหว ดัดังงต่ต่ออไปนี ไปนี้ ้
ยอดคงเหลื ยอดคงเหลืออ ณณ วัวันนทีที่ ่ 11 มกราคม มกราคม 2559 2559 เพิ่มขึ้นระหว่างปี เพิม่ ขึ้นระหว่างปี ชชาระคื าระคืนนระหว่ ระหว่าางปี งปี ยอดคงเหลื อ ณ วั ยอดคงเหลือ ณ วันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559
(หน่ (หน่ววย:ย: พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ นเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ น จ งบการเงินเฉพาะกิจการ การ 699,180 699,180 2,951,546 2,951,546 (3,021,305) (3,021,305) 629,421 629,421
ยอดคงค้า งของเงิ น กู้ ยื ม ระยะสั้ นจากกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 ยอดคงค้า งของเงิ น กู้ ยื ม ระยะสั้ นจากกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 มีมีรรายละเอี ายละเอียยดดั ดดังงนีนี้ ้
บริ บริษษทั ทั ย่ย่ออยย บริ บริษษทั ทั เอ็เอ็นนไวรอนเม็ ไวรอนเม็นนท์ท์พพลั ลั พ์พ์ แอนด์ แอนด์ เปเปอร์ เปเปอร์ จจากั ากัดด บริ บริษษทั ทั เอกรั เอกรัฐฐพัพัฒฒนา นา จจากั ากัดด บริ บริษษทั ทั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จจากั ากัดด บริ ษทั เพิ่ มสิ นพัฒนา จากัด บริ ษทั เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด บริ บริษษทั ทั เคทิ เคทิสส ชีชีววพลั พลังงงาน งาน จจากั ากัดด บริ บริษษทั ทั เคทิ เคทิสส วิวิจจยั ยั และพั และพัฒฒนา นา จจากั ากัดด บริ บริษษทั ทั เกษตรไทย เกษตรไทย วิวิววฒั ฒั น์น์ จจากั ากัดด รวมเงินกูย้ มื ระยะสั้ นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
(หน่ (หน่ววย:ย: พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ จการ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 270,176 270,176 115,000 115,000 218,645 218,645 13,600 13,600 2,000 2,000 10,000 10,000 629,421 629,421
301,190 301,190 295,000 295,000 93,990 93,990 9,000 9,000 ---699,180 699,180
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 เงิ น กู้ยื ม ระยะสั้ น จากกิ จการที่ เ กี่ ย วข้องกันคิ ดดอกเบี้ ย ในอัตรา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 เงิ น กู้ยื ม ระยะสั้น จากกิ จการที่ เ กี่ ย วข้องกันคิ ดดอกเบี้ ย ในอัตรา ร้ร้ออยละ ยละ 1.15 1.15 ถึถึงงร้ร้ออยละ ยละ 1.38 1.38 ต่ต่ออปีปี และมี และมีกกาหนดช าหนดชาระคื าระคืนนเมืเมื่อ่อทวงถาม ทวงถาม
รายงานประจ�ำปี 2559
175
18 18
เงิเงินนกูกูย้ ย้ มื มื ระยะยาวจากกิ ระยะยาวจากกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข้ วข้อองกั งกันน ณณวัวันนทีที่ ่ 3131ธัธันนวาคม ดดังงต่ต่ออไปนี ไปนี้ ้ วาคม2559 2559และ และ2558 2558เงิเงินนกูกูย้ ย้ มื มื ระยะยาวจากกิ ระยะยาวจากกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข้ วข้อองกั งกันนมีมีรรายละเอี ายละเอียยดดั
เงิเงินนกูกูย้ ย้ มื มื ระยะยาว ระยะยาว หัหักก::ส่ส่ววนที นที่ถ่ถึงึงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่ ง่ งปีปี เงิเงินนกูกูย้ ย้ มื มื ระยะยาวจากกิ ระยะยาวจากกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข้ วข้อองกั งกันน --สุสุททธิธิจจากส่ ากส่ววนที นที่ถ่ถึงึงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่ ง่ งปีปี
(หน่ (หน่ววย:ย:พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ น รวม งบการเงิ รวม งบการเงินนรวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558 82,450 87,300 82,450 87,300 (4,850) (4,850) (4,850) (4,850) 77,600 77,600
82,450 82,450
ในระหว่ ในระหว่าางปี งปีสิสิ้ น้ นสุสุดดวัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 เงิเงินนกูกูย้ ย้ ืมืมระยะยาวจากกิ ระยะยาวจากกิจจการที การที่เ่เกีกี่ ย่ ยวข้ วข้อองกั งกันนมีมีกการเคลื ารเคลื่ อ่ อนไหว นไหว ดัดังงต่ต่ออไปนี ้ ไปนี้ (หน่ (หน่ววย:ย:พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ รวม งบการเงิน นนรวม งบการเงิ รวม 87,300 87,300 (4,850) (4,850) 82,450 82,450
ยอดคงเหลื ยอดคงเหลืออณณวัวันนทีที่ ่11มกราคม มกราคม2559 2559 ชชาระคื าระคืนนระหว่ ระหว่าางปี งปี ยอดคงเหลื อ ณ วั ยอดคงเหลือ ณ วันนทีที่ ่ 3131ธัธันนวาคม วาคม2559 2559
ยอดคงค้ ยอดคงค้าางของเงิ งของเงินนกูกู้ ย้ยื มื มระยะยาวจากกิ ระยะยาวจากกิจจการที การที่ เ่ เกีกี่ ย่ ยวข้ วข้อองกั งกันน ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 และ และ 2558 2558 มีมีรรายละเอี ายละเอียยดดั ดดังงนีนี้ ้
บริ บริษษทั ทั ทีที่เ่เกีกี่ย่ยวข้ วข้อองกั งกันน บริ บริษษทั ทั ศิศิรริ เิ เจริจริญญเอ็เอ็กกซ์ซ์ปปอร์ อร์ตต จจากั ากัดด รวมเงิ รวมเงินนกูกูย้ ย้ มื มื ระยะยาวจากกิ ระยะยาวจากกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข้ วข้อองกั งกันน
(หน่ (หน่ววย:ย:พัพันนบาท) บาท) งบการเงิ น รวม งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558 82,450 82,450 82,450 82,450
87,300 87,300 87,300 87,300
ณณวัวันนทีที่ ่3131ธัธันนวาคม วาคม2559 2559และ และ2558 2558เงิเงินนกูกูย้ ย้ มื มื ระยะยาวจากกิ ระยะยาวจากกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข้ วข้อองกั งกันนคิคิดดดอกเบี ดอกเบี้ ย้ ยในอั ในอัตตราที ราที่อ่อา้ า้ งอิ งอิงง อัอัตตราดอกเบี ราดอกเบี้ ย้ ยเงิเงินนฝากออมทรั ฝากออมทรัพพย์ย์
176
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
19 19
8. 8.8.
ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร ค่ค่าาตอบแทนกรรมการและผู ตอบแทนกรรมการและผูบบ้้ ริริ หหาร าร ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 กลุ่มบริ ษทั มีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่ ในระหว่าางปี งปี สิสิ้้ นนสุสุ ดดวัวันนทีที่่ 31 31 ธันนวาคม วาคม 2559 2559 และ และ 2558 2558 กลุ กลุ่่มมบริ บริ ษษททัั มีมีคค่่าาใช้ ใช้จจ่่าายผลประโยชน์ ยผลประโยชน์พพนันักกงานที งานที่่ใให้ห้แแก่ก่ ในระหว่ กรรมการและผู บ้ ริ หาร ดังต่อธัไปนี ้ กรรมการและผูบบ้้ ริริ หหาร าร ดัดังงต่ต่ออไปนี ไปนี้้ กรรมการและผู (หน่วย: พันบาท) (หน่ววย: นนบาท) ย: จพั พัการ บาท) งบการเงินรวม งบการเงิน(หน่ เฉพาะกิ งบการเงิ รวม งบการเงิ จจการ งบการเงินน รวม งบการเงิน นเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ การ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 ผลประโยชน์ระยะสั้น 107,317 122,915 98,672 108,277 ผลประโยชน์ ร ะยะสั น 107,317 122,915 98,672 108,277 ้ ผลประโยชน์ 107,317 122,915 98,672 108,277 ้น ผลประโยชน์หระยะสั ลังออกจากงาน 1,804 1,985 1,183 1,426 ผลประโยชน์ ห ลั ง ออกจากงาน 1,804 1,985 1,183 1,426 ผลประโยชน์ ออกจากงาน 1,804 1,985 1,183 1,426 ผลประโยชน์หทลัี่จ่างยโดยใช้ หุน้ เป็ นเกณฑ์ 1,446 1,446 1,045 1,045 ่ ผลประโยชน์ ท ่ ี จ า ยโดยใช้ ห ุ น ้ เป็ น เกณฑ์ 1,446 1,446 1,045 1,045 ผลประโยชน์ที่จ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ 1,446 1,446 1,045 1,045 รวม 110,567 126,346 100,900 110,748 รวม 110,567 126,346 100,900 110,748 รวม 110,567 126,346 100,900 110,748 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงิเงินนสดและรายการเที สดและรายการเทียยบเท่ บเท่าาเงิเงินนสด สด (หน่วย: พันบาท) (หน่ ววย: นนบาท) (หน่ ย: จพั พัการ บาท) งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงิ งบการเงิ นนเฉพาะกิ จจการ งบการเงินนรวม รวม2558 งบการเงิ เฉพาะกิ2558 การ 2559 2559 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 เงินสด 3,191 2,817 1,029 1,019 เงิเงินนสด 3,191 2,817 1,029 1,019 3,191 2,817 1,029 1,019 เช็คสด ในมือ 22,097 72,116 28 72,116 เช็ คในมื 22,097 72,116 28 72,116 เช็ ในมืออ 22,097 72,116 28 72,116 เงินคฝากธนาคาร 314,137 271,794 203,243 59,311 เงิเงินนฝากธนาคาร 314,137 271,794 203,243 59,311 ฝากธนาคาร 314,137 271,794 203,243 59,311 รวม 339,425 346,727 204,300 132,466 รวม 339,425 346,727 204,300 132,466 รวม 339,425 346,727 204,300 132,466
ธันวาคม เงิ นฝากออมทรั ย์และเงิ น� มีฝากประจ า ย้มีระหว่ อตั ราดอกเบี ยระหว่ ณณ วัวัวันนนที่ ทีที31่่ 31 ธันวาคม 2559 2559 เงินฝากออมทรั พย์และเงิพพนฝากประจำ อตั ราดอกเบี างร้อยละ ้้ 0.37 ถึงร้าาองร้ ยละออยละ 0.38 ต่0.37 อปี ณ 31 ธั น วาคม 2559 เงิ น ฝากออมทรั ย์ แ ละเงิ น ฝากประจ า มี อ ต ั ราดอกเบี ย ระหว่ งร้ ยละ 0.37 ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2559 เงิ น ฝากออมทรั พ ย์ แ ละเงิ น ฝากประจ า มี อ ต ั ราดอกเบี ย ระหว่ า งร้ อ ยละ 0.37 ้ ถึงร้อยละ 0.380.37ต่อถึปีงร้(2558: ร้อยละ 0.38 ต่อปี ) (2558: ร้อยละ อยละ 0.38 ต่อปี0.37 ) ถึถึงงร้ร้ออยละ ถึงร้อยละ 0.38 ต่อปี (2558: ร้อยละ 0.37 ยละ 0.38 ต่อปี ) ถึงร้อยละ 0.38 ต่อปี (2558: ร้อยละ 0.37 ถึงร้อยละ 0.38 ต่อปี )
รายงานประจ�ำปี 2559
177
20 20 20
9.
ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ นื่ ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึง กาหนดชาระได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงิ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ 2559 2558 2559 2558
งบการเงิ รวม งบการเงิน นรวม 2559 2558 2559 2558 ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 3 เดือน รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการทีไ่ ม่ เกีย่ วข้ องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน, สุทธิ รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนีอ้ นื่ เงินทดรองจ่าย ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รายได้คา้ งรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายได้คา้ งรับ - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ 178
-
-
36,616
44,641
1 1
1 1
12,502 49,118
12,118 56,759
332,967
742,970
123,443
357,950
114,587 2,076 449,630 (107) 449,523 449,524
252,504 27 1,202 996,703 996,703 996,704
85,698 1,969 211,110 211,110 260,228
186,427 12 544,389 544,389 601,148
53,290 11 3,413 25,055 51,947 30,651 75,009 239,376 688,900
44,000 14 3,413 42,042 62,045 12 27,358 178,884 1,175,588
36,389 2,839 3,313 16,492 14,444 32,816 127 106,420 366,648
31,989 4,629 3,313 28,681 3,671 738 20,833 4,460 98,314 699,462
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
21
10. 10.
ลูลูกกหนี หนีชช้้ าวไร่ าวไร่ ลูลูกกหนี หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ ขของกลุ องกลุ่่มมบริ บริ ษษททัั สามารถแบ่ สามารถแบ่งงตามลั ตามลักกษณะของการให้ ษณะของการให้เเงิงินนช่ช่ววยเหลื ยเหลืออได้ ได้ 22 ส่ส่ ววนดั นดังงนีนี้้
10.1 10.1 ลูลูกกหนี หนีชช้้ าวไร่ าวไร่ เเงิงินนส่ส่ งงเสริ เสริมม ลูลูกกหนี หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ เเงิงินนส่ส่ งงเสริ เสริ มมเป็ เป็ นนลูลูกกหนี หนี้้ จจากเงิ ากเงินนทีที่่กกลุลุ่่มมบริ บริ ษษททัั ให้ ให้แแก่ก่เเกษตรกรเพื กษตรกรเพื่่ออนนาไปใช้ าไปใช้จจ่่าายในส่ ยในส่ ววนที นที่่เเกีกี่่ยยวกั วกับบ การเพาะปลู การเพาะปลูกกอ้อ้ออยโดยตรง ยโดยตรง และเป็ และเป็ นนสิสิ่่ งงทีที่่จจาเป็ าเป็ นนในการปลู ในการปลูกกอ้อ้ออยย เช่ เช่นน เงิเงินนส่ส่ งงเสริ เสริ มมค่ค่าาแรง แรง ปุ๋ปุ๋ ยย ยา ยา เป็ เป็ นนต้ต้นน
10.2 10.2 ลูลูกกหนี หนีชช้้ าวไร่ าวไร่ เเงิงินนสนั สนับบสนุ สนุนน ลูลูกกหนี หนี้้ จจากเงิ ากเงินนทีที่่กกลุลุ่่มมบริ บริ ษษททัั ให้ ให้แแก่ก่เเกษตรกรเพื กษตรกรเพื่่ออสนั สนับบสนุ สนุนนการเพาะปลู การเพาะปลูกกอ้อ้ออยย หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ เเงิงินนสนั สนับบสนุ สนุนนเป็ เป็ นนลูลูกกหนี รวมถึ รวมถึ งงการเก็ การเก็บบเกี เกี่่ยยวเพื วเพื่่ออให้ ให้มมีีปประสิ ระสิ ททธิธิ ผผลดี ลดี เช่ เช่ นน เงิเงิ นนสนั สนับบสนุ สนุ นนโครงการบริ โครงการบริ หหารจั ารจัดดการน การน้้ าา เงิเงินนสนั สนับบสนุ สนุ นน เครื เครื่่ อองมื งมืออการเกษตร การเกษตร เป็ เป็ นนต้ต้นน ยอดคงเหลื ยอดคงเหลืออของลู ของลูกกหนี หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ ณ ณ วัวันนทีที่่ และ และ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 และ และ 2558 2558 แยกตามอายุ แยกตามอายุหหนีนี้้ ทที่ี่คคงค้ งค้าางนั งนับบจาก จาก วัวันนทีที่่ถถึึงงกกาหนดช าหนดชาระได้ าระได้ดดงงัั นีนี้้
ยัยังงไม่ ไม่ถถึึงงกกาหนดช าหนดชาระ าระ ค้ค้าางช าระ งชาระ ไม่ ไม่เเกิกินน 11 ปีปี 11 -- 55 ปีปี มากกว่ มากกว่าา 55 ปีปี รวม รวม หัหักก:: ส่ส่ ววนลดรั จากการรับบโอนสิ นลดรับบจากการรั โอนสิ ททธิธิ เรีเรี ยยกร้ กร้อองลู งลูกกหนี หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ ค่ค่าาเผื เผืออ่่ หนี หนี้้ สสงสั งสัยยจะสู จะสู ญ ญ รวมลู รวมลูกกหนี หนี้้ ชชาวไร่ าวไร่ -- สุสุ ททธิธิ
งบการเงิ นรวม งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558 229,574 130,365 229,574 130,365
(หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนบาท) บาท) งบการเงิ นเฉพาะกิ จจการ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ การ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 132,268 84,751 132,268 84,751
199,560 199,560 48,805 48,805 684,684 684,684 933,049 933,049 1,162,623 1,162,623
116,368 116,368 245,693 245,693 539,887 539,887 901,948 901,948 1,032,313 1,032,313
164,253 164,253 47,619 47,619 400,370 400,370 612,242 612,242 744,510 744,510
42,849 42,849 234,835 234,835 253,989 253,989 531,673 531,673 616,424 616,424
(298,085) (298,085) (308,552) (308,552) 555,986 555,986
(312,232) (312,232) (288,616) (288,616) 431,465 431,465
(228,101) (228,101) (153,409) (153,409) 363,000 363,000
(241,696) (241,696) (123,403) (123,403) 251,325 251,325
รายงานประจ�ำปี 2559
179
22 22
11.11. สิ นสิค้นาคงเหลื ออ ค้ าคงเหลื 11. สิ นค้ าคงเหลือ 11.11. สิ นสิค้นาค้คงเหลื ออ าคงเหลื
วัตวัถุตดถุิบดิบ สิวัตนสิถุค้ดนาิบสค้าเร็ จรู ปจรู ป าสาเร็ สิสิ นนสิค้ค้นาาสซืค้้ าเร็ อมาเพื จรู ป่อขาย วัตวัถุตดถุิบดาซืิบ้ อมาเพื่อขาย อะไหล่ สวัดุสโดุรงงาน สิ นอะไหล่ ค้าซื อวัมาเพื ่อขาย สิ นสิค้นาค้ส้ าาเร็ จรูจปรูโปรงงาน สาเร็ และวัวัสสดุดุสสโดุิ้ นรงงาน เปลื อง อะไหล่ ิ้ น่อเปลื สิ นสิค้นาและวั ่อสขาย ค้ซืา้ อซืมาเพื ขายอง ้ อมาเพื สิ นสิและวั ค้นาระหว่ ต อตง สดุาสงผลิ ิ นาเปลื ค้าวัระหว่ อะไหล่ สวัดุสโ้ ดุรงงาน อะไหล่ โงผลิ รงงาน รวม สิ นรวม ค้และวั าระหว่ สดุาสสงผลิ ององ และวั ดุิ้ นสเปลื ิ้ นตเปลื รวม สิ นสิค้นาค้ระหว่ างผลิ ตต าระหว่ างผลิ รวมรวม
งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม รายการปรั บลดราคาทุ นน งบการเงิ นบรวม รายการปรั ลดราคาทุ ราคาทุ นน ให้รายการปรั เป็ นเป็งบการเงิ มูนลมูค่ลาบสุค่นลดราคาทุ ทารวม ธิททธิี่จทะได้ นรับรับ ราคาทุ ให้ งบการเงิ นสุรวม งบการเงิ นรวมี่จะได้ 2559 2558 น รับ ราคาทุ ให้เ2559 ป็รายการปรั น2559 มูลค่าสุบทลดราคาทุ ธิ ที่จ2558 ะได้ ราคาทุนน 2558 2559 รายการปรั บธิทลดราคาทุ ให้รายการปรั เป็นมูลค่าบ สุทลดราคาทุ จ่ี ะได้ร2558 บั น น 23,654 14,977 2559 2558 2559 2558 2559 23,654 ราคาทุ น น255814,977 ให้ให้ เ2559 ป็ นเป็มูนลมูค่ลาค่สุ-าทสุธิททธิ2558 ี่จทะได้ รับรับราคาทุ ี่จะได้ 1,479,595 2,654,290 (3,367) (210,686) 23,654 14,977 1,479,595 2,654,290 (3,367) (210,686) 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 255837,297 39,753 1,479,595 2,654,290 (3,367)- - (210,686)- 37,297 39,753 23,654 - - 23,654 14,977 14,977 37,297 39,753 1,479,595 (3,367) 1,479,595 2,654,290 2,654,290 (3,367) (210,686) (210,686) 336,844 394,905 (40,623) (9,483) 336,844 394,905 (40,623) (9,483) 37,297 - - 37,297 39,753 39,753 27,772 30,875 336,844 394,905 (40,623) (9,483) 27,772 30,875 1,905,162 (43,990) (220,169) 27,772 3,134,800 30,875 1,905,162 3,134,800 (43,990) (220,169) 336,844 (9,483) 336,844 394,905 394,905 (40,623) (40,623) (9,483) 1,905,162 27,772 30,875 27,772 3,134,800 30,875 (43,990)- - (220,169)- -
(หน่(หน่ วย:วพัย:นพับาท) นบาท) (หน่วย: พันบาท)
(หน่(หน่ วย:วย: พันพับาท) นบาท) สิ นสิค้นาคงเหลื อ สุ ท ธิ ค้าคงเหลือ - สุ ทธิ 2558 สิ2559 นสิน2559 ค้ค้าาคงเหลื ธิ คงเหลืออ- -สุสุ ทธิท 2558 23,654 14,977 2558 2559 สิ2559 นสิค้น23,654 าค้คงเหลื อ -2558 ธิทธิ าคงเหลื อสุ-ทสุ14,977 1,476,228 2,443,604 23,654 14,977 1,476,228 2,443,604 2559 2558 2559 2558 37,297 39,753 1,476,228 2,443,604 37,297 39,753 23,654 23,654 14,977 14,977 37,297 39,753 1,476,228 1,476,228 2,443,604 2,443,604 296,221 385,422 296,221 385,422 37,297 37,297 39,753 39,753 27,772 30,875 296,221 385,422 27,772 30,875 1,861,172 27,772 2,914,631 30,875 1,861,172 2,914,631 296,221 296,221 385,422 385,422 1,861,172 27,772 30,875 27,772 2,914,631 30,875 (หน่(หน่ วย:วพัย:นพับาท) นบาท) 1,905,162 1,905,162 3,134,800 3,134,800 (43,990) (43,990) (220,169) (220,169) 1,861,172 1,861,172 2,914,631 2,914,631 งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรั บลดราคาทุ งบการเงิน นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ จการน น รายการปรั บลดราคาทุ (หน่(หน่ วย:วย: พันพับาท) นบาท) รายการปรั บท ลดราคาทุ น รับ ราคาทุ ให้ เ ป็ น มู ล ค่ า สุ ธิ ท ่ ี จ ะได้ สิ น ค้ า คงเหลื อ สุ ท ธิ ราคาทุนน สิ น ค้ า คงเหลื อ สุ ท ธิ รายการปรั บค่นสุลดราคาทุ นการรับ ให้งบการเงิ เเป็ป็นนมูลมูน ค่ลาเฉพาะกิ ราคาทุน ให้ าทเฉพาะกิ สุธิททจ่ี ธิะได้ทจการ ี่รจจบั ะได้ สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ งบการเงิ 2559 2559 2558 2559 2558 2559 ราคาทุน 2558 2558 2559 2558 2559 เป็ น2559 มูลค่าสุบทลดราคาทุ ธิ ที่จะได้ ค้าคงเหลือ -2558 สุ ท2558 ธิ 2559 2558 ให้รายการปรั 2558 นรับน สิ น2559 รายการปรั บลดราคาทุ 909,430 1,775,687 (459) (175,642) 908,971 1,600,045 2559 909,430 (175,642) ราคาทุ น 2558 เ2559 ป็ นเป็มูนล(459) ี่จทะได้ รับรับ สิ2559 นสิ908,971 ค้นาค้คงเหลื อ -2558 สุ-ทสุธิทธิ ราคาทุ น1,775,687 ให้ให้ มูค่ลาค่สุาทสุธิททธิ2558 ี่จะได้ าคงเหลื อ1,600,045 34,904 17,319 34,904 17,319 909,430 1,775,687 (459) (175,642) 908,971 1,600,045 34,904 2558 17,319 2559 34,904 2558 17,319 2559 2559 2558 2559 - 2558 2558 - 2559 2559 2558 34,904 17,319 34,904 17,319 909,430 (459) 909,430 1,775,687 1,775,687 (459) (175,642) (175,642) 908,971 908,971 1,600,045 1,600,045 139,797 150,074 (25,163) (7,074) 114,634 143,000 139,797 150,074 (25,163) (7,074) 114,634 143,000 34,904 - - 34,904 34,904 17,319 17,319 34,904 17,319 17,319 4,303 11,960 4,303 11,960 139,797 (7,074) - 114,634 4,303 150,074 11,960 (25,163) 4,303 143,000 11,960 1,088,434 (25,622) (182,716) 4,303 1,955,040 11,960 - 1,062,812 4,303 1,772,324 11,960 1,088,434 1,955,040 (25,622) (182,716) 1,062,812 1,772,324 139,797 (7,074) 139,797 150,074 150,074 (25,163) (25,163) (7,074) 114,634 114,634 143,000 143,000 1,088,434 4,303 11,960 4,303 11,960 4,303 1,955,040 11,960 (25,622)- - (182,716)- - 1,062,812 4,303 1,772,324 11,960
สิ นสิค้นาสค้าเร็ จรู ปจรู ป าสาเร็ สิสิ นนสิค้ค้นาาสซืค้้ าเร็ อาซืมาเพื รู ป่อขาย ่อขาย ้ อจมาเพื อะไหล่ วั ส ดุ โ รงงาน สิ นอะไหล่ ค้าซื อมาเพื วัจสรูจปดุ่อรูโขาย สิ นสิค้นาค้ส้ าาเร็ สาเร็ ปรงงาน และวั ส ดุ ส ิ น เปลื ององ อะไหล่และวั วัสดุสโดุ้ รงงาน ส ิ น เปลื ้ สิ นสิค้นาค้ซืา้ อซืมาเพื ่ อ ขาย ้ อมาเพื่อขาย สิ นสิและวั ค้นาระหว่ าสงผลิ ต อตง ส ดุ ิ นาเปลื ค้าวัระหว่ อะไหล่ สวัดุสโ้ ดุรงงาน อะไหล่ โงผลิ รงงาน รวม สิ นรวม ค้และวั าระหว่ สดุาสสงผลิ ององ และวั ดุิ้ นสเปลื ิ้ นตเปลื รวม สิ นสิค้นาค้ระหว่ ต ต ่มบริ ษทั บันทึกกลับรายการปรับลดราคาทุนของสิ นค้าคงเหลื อให้เป็ นมูลค่าสุ ทธิ าระหว่ ในระหว่ างปีาางผลิ ปัาจงผลิ ในระหว่ งปี ปัจุจบจุนั บกลุ นั กลุ่มบริ ษทั บันทึกกลับรายการปรับลดราคาทุนของสิ นค้าคงเหลือให้เป็ นมูลค่าสุ ทธิ 1,955,040 (25,622) 1,062,812 (182,716) รวม รวม ที่จะได้รัาบงปีเป็ ปันจจจุานวน (เฉพาะของบริ ฯ:(25,622) 157นของสิ ล้(182,716) านบาท) โดยน าไปหั ก จากมู ลทค่ธิา ่มบริ1,088,434 ในระหว่ บนั กลุ176 ษล้1,088,434 ทั านบาท บันทึกกลั บ1,955,040 รายการปรัษบทั ลดราคาทุ นค้าคงเหลื อ1,062,812 ให้เป็ นมู ลค่1,772,324 าสุ1,772,324
ที่จะได้รับเป็ นจานวน 176 ล้านบาท (เฉพาะของบริ ษ ทั ฯ: 157 ล้านบาท) โดยนาไปหัก จากมู ล ค่า อที่รับ่รรู176 ้เป็รูน้เป็ค่นาล้ค่ใช้ จ่ายในระหว่ างปีางปี ษ ทั ฯ: 157 ล้านบาท) โดยนาไปหัก จากมูล ค่ า ทีของสิ ่จของสิ ะได้นค้รนั บาาค้คงเหลื เป็าคงเหลื นจ ใช้ ่มบริ ในระหว่ งปี ปั จปัานวน จุจบจุอนั บทีนกลุ ษาทั าษนบาท บัทั นบัจทึ่านยในระหว่ กทึ(เฉพาะของบริ กลั บรายการปรั บลดราคาทุ นของสิ นค้นาค้คงเหลื อให้ เป็ เนมู ลค่ลาค่สุาทสุธิทธิ ่มบริ ในระหว่ งปี ั ับกลุ กกลั บรายการปรั บลดราคาทุ นของสิ าคงเหลื อให้ ป็ นมู ของสิ นะได้ ค้ราั บคงเหลื อทีษานวน ่รับรู ้เป็ทึ176 นค่าล้ใช้าล้นบาท จา่าบนบาท ยในระหว่ านงปีของสิ นษค้าทั ษคงเหลื ่มบริ ในปี ลดราคาทุ อให้ เป็ล้นมู ค่ลาค่สุาทสุโดยน ธิททโดยน รับรเป็ นจ านวน ที่จในปี เป็ั บกลุ นจ (เฉพาะของบริ าไปหั กับจากมู ลานวน ค่ลาค่ า ทีะได้ ่จ2558 รกลุ เป็ นจ (เฉพาะของบริ ฯ: 157 157 าลนบาท) าไปหั กเป็จากมู ่มานวน 2558 บริทั ษบัทั น176 บันกทึการปรั กการปรั บลดราคาทุ นของสิ นค้ฯ:ทัาคงเหลื อให้ เป็าล้นบาท) นมู ธิี่จทะได้ ี่จะได้ นจ 180 ล้2558 านล้นบาท (เฉพาะของบริ ฯ:ทาั ใช้ 177 ล้าล้นบาท) นส่นวอส่นหนึ ของต้ ่มบริ(เฉพาะของบริ ของสิ ค้านนบาท าค้คงเหลื อษทีอทั ่รทีับบั่รรูนับ้เทึป็รูกน้เป็ษการปรั ค่นทั าษค่ใช้ จฯ: านงปีของสิ ในปี กลุาคงเหลื บ่าจยในระหว่ ลดราคาทุ นค้าคงเหลื ให้ เป็่ งนมู ลค่นาสุทุนทนทุธิขาย ี่จะได้รับเป็ นจานวน ่ายในระหว่ ของสิ าโดยแสดงเป็ งปีโดยแสดงเป็ 180 177 านบาท) วนหนึ ่ งของต้ นทขาย 180 ล้2558 านบาท (เฉพาะของบริ ฯ: 177 านบาท)นของสิ โดยแสดงเป็ ส่ วอนหนึ ่มบริ ในปีในปี ษทั ษบัทั นบัทึนกทึษการปรั บลดราคาทุ นค้นาค้คงเหลื ให้ เป็่ งนมู ลค่นลาค่ทุสุานทสุขาย ธิททธิี่จทะได้ รับรเป็ับนจ านวน ่มบริ 2558กลุกลุ กทั การปรั บล้ลดราคาทุ นของสิ านคงเหลื อให้ เของต้ ป็ นมู ี่จะได้ เป็ นจ านวน 180180ล้าล้นบาท ษทั ษฯ:ทั ฯ:177177ล้าล้นบาท) นส่นวส่นหนึ ่ งของต้ นทุนนทุขาย านบาท(เฉพาะของบริ (เฉพาะของบริ านบาท)โดยแสดงเป็ โดยแสดงเป็ วนหนึ ่ งของต้ นขาย
2323 180
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
23
2323
12. 12.
13. 13.
สิ นทรัพย์ชีวภาพ สิ นทรัพย์ชีวภาพ รายการเปลี่ยนแปลงของบัญชีสินทรัพย์ชีวภาพสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สรุ ปได้ดงั นี้ รายการเปลี่ยนแปลงของบัญชีสินทรัพย์ชีวภาพสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สรุ ปได้ดงั นี้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ผลกาไรจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ผลกาไรจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม เพิ่มขึ้นเนื่ องจากการปลูก เพิ่มขึ้นเนื่ องจากการปลูก ลดลงเนื่องจากการเก็บเกี่ยว ลดลงเนื่องจากการเก็บเกี่ยว ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
งบการเงินรวม งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 16,531 16,531 4,226 4,226 31,533 31,533 (22,643) (22,643) 29,647 29,647
เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่ อย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยประกอบด้วยเงินลงทุนในหุน้ สามัญของบริ ษทั ดังต่อไปนี้ เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยประกอบด้วยเงินลงทุนในหุ น้ สามัญของบริ ษทั ดังต่อไปนี้
บริษษทั ท บริ ั บริ ษทั
บริ ษทั น้ าตาลไทยเอกลักษณ์ จากัด บริ ษษททัั เพิ น้ า่มตาลไทยเอกลั กษณ์ บริ สิ นพัฒนา จากั ด จากัด บริ ษษททัั เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ เพิ่มสิ นพัฒนา จากัด จากัด บริ บริ ษษททัั เอ็ เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จากัเปเปอร์ ด บริ นไวรอนเม็นท์พลั พ์ แอนด์ จากัด บริ ษ ท ั เอ็ น ไวรอนเม็ น ท์ พ ล ั พ์ แอนด์ เปเปอร์ จากัด บริ ษทั เอกรัฐพัฒนา จากัด บริ ษษททัั ทรั เอกรั นา จากัจากั ดด บริ พย์ฐศพัิรฒิ เกษตร บริ ษษททัั ไทยเอกลั ทรัพย์ศิริเกกษตร จากัด จากัด บริ ษณ์เพาเวอร์ บริ ษษททัั รวมผลไบโอเพาเวอร์ ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์จากั จากัด ด บริ บริ ษษททัั เคทิ รวมผลไบโอเพาเวอร์ จากัดจากัด บริ ส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ บริ ษษททัั เคทิ เคทิสส ชีไบโอแก๊ ส เพาเวอร์ บริ วพลังงาน จากัด จากัด บริ ษษททัั เกษตรไทย เคทิส ชีวพลัวิงวงาน บริ ฒั น์ จจากั ากัดด บริ ษษททัั เคทิ เกษตรไทย วิวฒั ฒ น์ นา จากัจดากัด บริ ส วิจยั และพั บริ ษทั เคทิส วิจยั และพัฒนา จากัด รวม รวม
(หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินนเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ 16,531 16,531 1,605 1,605 18,857 18,857 (18,231) (18,231) 18,762 18,762
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ(หน่วย: พันบาท) งบการเงิ จการ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ เงินปัเงินนปัผลรั บสาหรับปี นผลสำ�หรับปี เงิ น ปั น ผลรั บสธัธัาหรั บปี ราคาทุน นน วาคม ราคาทุน สิ้ นสิน้สุสุดดวัวันนทีที่ ่ 3131 วาคม สิ้ น2559 สุ ดวันที่ 31 ธัน2558 วาคม 2559 ราคาทุน 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 1,240,395 1,228,205 1,240,395 1,228,205 1,010,905 1,010,905 62,005 -1,010,905 2,458,889 1,010,905 62,005 2,459,506 201,600 245,0002,459,506 2,648,615 2,458,889 201,600 245,0002,654,544 150,960 2,654,544 150,960 865,420 2,648,615 863,131 601,600 701,439865,420 863,131 601,600701,439311,000 311,000 311,000 311,000 350,020 349,997 --350,020 349,997 395,363 350,189 --395,363 350,189 1,000 1,000 --1,000 1,000 20,000 1,000 --20,000 1,000 61,000 1,000 --61,000 1,000 9,999 999 --9,999 999 9,379,152 9,224,930 1,016,165 946,439 9,379,152 9,224,930 1,016,165 946,439
รายงานประจ�ำปี 2559
181
24 24
เมื่ อ วัน ที่ 27 มิ ถุ น ายน 2559 บริ ษั ท เกษตรไทย วิ ว ัฒ น์ จ ากั ด ซึ่ งเป็ นบริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ ได้จดทะเบี ยนเพิ่มทุ นจาก 1 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 10,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 61 ล้านบาท (หุน้ สามัญ 610,000 หุ น้ มูลค่าหุ น้ ละ 100 บาท) และบริ ษทั ฯได้จ่ายเงินลงทุนเพิ่มตามสัดส่ วนการถือหุ ้นเดิม รวมเป็ นเงิน 60 ล้านบาท เมื่ อ วัน ที่ 22 สิ งหาคม 2559 บริ ษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์ จ ากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษัท ย่ อ ยของบริ ษัท ฯ ได้จดทะเบี ย นเพิ่ ม ทุ นจาก 350 ล้า นบาท (หุ ้นสามัญ 3,500,000 หุ ้น มูล ค่ า หุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 395 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 3,950,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท) และบริ ษทั ฯได้จ่ายเงิ นลงทุนเพิ่มตามสัดส่ วน การถือหุน้ เดิมรวมเป็ นเงิน 45 ล้านบาท เมื่ อ วัน ที่ 27 ธั น วาคม 2559 บริ ษัท เคทิ ส ชี ว พลัง งาน จ ากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษัท ย่ อ ยของบริ ษัท ฯ ได้จดทะเบียนเพิ่ม ทุ นจาก 1 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 10,000 หุ ้น มูลค่า หุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 20 ล้านบาท (หุ ้ น สามัญ 200,000 หุ ้ น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 100 บาท) และบริ ษ ัท ฯได้จ่ า ยเงิ น ลงทุ น เพิ่ ม ตามสั ด ส่ ว นการ ถือหุน้ เดิมรวมเป็ นเงิน 19 ล้านบาท เมื่ อ วัน ที่ 27 ธัน วาคม 2559 บริ ษ ัท เคทิ ส วิ จ ัย และพัฒ นา จ ากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษัท ย่ อ ยของบริ ษ ัท ฯ ได้จดทะเบี ยนเพิ่ม ทุ นจาก 1 ล้านบาท (หุ ้นสามัญ 10,000 หุ ้น มูลค่า หุ ้นละ 100 บาท) เป็ น 10 ล้านบาท (หุน้ สามัญ 100,000 หุน้ มูลค่าหุ น้ ละ 100 บาท) และบริ ษทั ฯได้จ่ายเงินลงทุนเพิม่ ตามสัดส่ วนการถือหุ ้นเดิม รวมเป็ นเงิน 9 ล้านบาท ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริ ษทั ฯรับรู ้ โครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ จานวนเงินรวม 21 ล้านบาท เป็ นเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย ซึ่ งรายการดังกล่าวจะรับรู ้เมื่อได้รับบริ การจาก พนักงานของบริ ษทั ย่อย 14. ลูกหนีส้ านักงานกองทุนอ้ อยและนา้ ตาลทราย ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คื อเงิ นชดเชยที่กลุ่มบริ ษทั จะได้รับชดเชยจากกองทุ นอ้อยและ น้ า ตาลทราย เนื่ องจากคณะรั ฐมนตรี มี ม ติ เห็ นชอบราคาอ้อยขั้นสุ ดท้า ยและผลตอบแทนการผลิ ตและ จาหน่ายน้ าตาลทรายขั้นสุ ดท้ายสาหรับฤดูการผลิตปี 2557/2558 ที่ต่ากว่าขั้นต้น ซึ่งตามพระราชบัญญัติออ้ ย และน้ าตาลทราย พ.ศ. 2527 มาตรา 56 กาหนดให้กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายจ่ายเงินชดเชยให้แก่กลุ่ม บริ ษทั เท่ากับส่ วนต่างดังกล่าว โดยชาวไร่ ออ้ ยไม่ตอ้ งส่ งคืนค่าอ้อยที่ได้รับเกิน โดยในระหว่างปี ปั จจุบนั กลุ่มบริ ษทั ได้รับชาระเงินชดเชยดังกล่าวแล้วทั้งจานวน
182
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
25
15. 15. 15. 15.
อสั งหาริมมทรั ทรัพย์ เพือ่ อ่ การลงทุ การลงทุน อสั อสั งงหาริ หาริมทรัพพย์ย์ เเพื พือ่ การลงทุนน มูลลค่งค่าหาริ าตามบั ญชีขเองอสั หาริ มนทรัพพย์ย์เพืเพื่อ่อการลงทุ การลงทุน ณวัวันนทีที่ 31 ่ 31 ธันวาคม2559 2559 และ2558 2558 แสดงได้ดดงั งั นีนี้ ้ มูมูอสั ญ งงงหาริ มทรั พือ่ การลงทุ ลค่าตามบั ตามบั ญชีชีพขขย์องอสั องอสั หาริ มมทรั ทรัพย์เพื่อการลงทุนน ณ ณ วันที่ 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 และ และ 2558 แสดงได้ แสดงได้ดงั นี้
(หน่วดย:งั พันีพัน้ นบาท) บาท) (หน่ มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แสดงได้ (หน่ววย: ย: พันบาท)
ณ วันที่ 31ธัธันนวาคม วาคม 2559: ณ ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธันวาคม 2559: 2559: ราคาทุ น ราคาทุ น ราคาทุ ณ วันนที่ 31 ธันวาคม 2559: เสื่ อ่ อมราคาสะสม มราคาสะสม หัหัหักกก:: :ค่ค่ค่าาาเสื ราคาทุเสืน่ อมราคาสะสม เผื่อ่อการด้ การด้ออยค่ยค่าา หัหัหักกก:: :ค่ค่ค่าาาเผื อยค่า หัก: ค่าเผืเสื่อ่ อการด้ มราคาสะสม ตามบัญญชีชี- -สุสุททธิธิ มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาตามบั ชี - สุอยค่ ทธิา หัก: ค่ตามบั าเผื่อญการด้ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2558: ณ ่่ 31 นนวาคม ณมูลวัวันนค่าทีทีตามบั 31 ธัธัญ วาคม 2558: ชี - สุ ท2558: ธิ ราคาทุนน ราคาทุ ราคาทุ ณ วันนที่ 31 ธันวาคม 2558: เสื่ อ่ อมราคาสะสม มราคาสะสม หัหัหักกก:: :ค่ค่ค่าาาเสื ราคาทุเสืน่ อมราคาสะสม เผื่อ่อการด้ การด้ออยค่ยค่าา หัหัหักกก:: :ค่ค่ค่าาาเผื อยค่า หัก: ค่าเผืเสื่อ่ อการด้ มราคาสะสม มู ล ค่ า ตามบั ญ ชี มูมูลลค่ค่าาตามบั ญชีชี -- -สุสุสุทททธิธิธิ หัก: ค่ตามบั าเผื่อญการด้ อยค่า
ทีทีที่่ดด่ดิินนิน ทีรอการขาย ด่รอการขาย นิ รอการขาย รอการขาย ที่ดิน รอการขาย 343,329 343,329 343,329 -343,329(15,588) (15,588) (15,588)327,741 327,741 327,741 (15,588)
งบการเงินรวม งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม งบการเงิานั นรวม อาคารส กงาน อาคารส านั อาคารส านันกกงาน งาน งบการเงิ รวม อาคารสำ �นัเช่เกช่างานให้ ให้ า เช่า ให้ ให้เช่านัา กงาน อาคารส ให้เช่า 1,570 1,570 1,570 (600) (600) (600) 1,570 -- (600) 970 970 970 -
รวม รวม รวม รวม
รวม 344,899 344,899 344,899 (600) (600) (600) 344,899 (15,588) (15,588) (15,588) (600) 328,711 328,711 328,711 (15,588)
งบการเงินนเฉพาะ เฉพาะ งบการเงิ งบการเงิ (หน่วย:นเฉพาะ พันบาท) การ กิกิกิจจจการ การ งบการเงิ นนเฉพาะ เฉพาะ งบการเงิ ทีทีกิทีจ่่ดด่ดการ ิินนิน กิจการ ทีรอการขาย ด่ รอการขาย นิ รอการขาย รอการขาย ที่ดิน รอการขาย 24,910 24,910 24,910 -24,910(12,532) (12,532) (12,532)12,378 12,378 12,378 (12,532)
327,741 970 328,711 12,378 338,919 1,569 340,488 24,910 338,919 1,569 340,488 24,910 338,919 1,569 340,488 24,910 (443) (443) -(443) (443) -(443) (443) 338,9191,569 340,488 24,910(16,867) (16,867) (8,411) (16,867) -- (16,867) (8,411) (16,867)(16,867) (8,411)(443) (443) 322,052 1,126 323,178 16,499 322,052 1,126 323,178 16,499 322,052 1,126 323,178 16,499 (16,867) (16,867) (8,411) มูการกระทบยอดมู ลค่าตามบัญชี - สุลลทค่ค่ธิาาตามบั 322,052 ตามบัญญชีชีขของอสั องอสังงหาริ หาริ ทรัพพย์ย์เพืเพื่อ่อการลงทุ การลงทุ1,126 าหรับบปีปี 2559 2559323,178 และ2558 2558แสดงได้ แสดงได้ด16,499 ดงั งั นีนี้ ้ การกระทบยอดมู มมทรั นนสสาหรั และ
การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนสาหรับปี 2559 และ 2558 แสดงได้ดงั นี้ (หน่ ย: พันดนบาท) วววย: การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนสาหรับปี 2559 และ 2558(หน่ แสดงได้ งั บาท) นี้ (หน่ ย: พั พันบาท) ตามบัญชีชีตตน้ น้ ปีปี มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาตามบั ตามบัญ ญชีตน้ ปี เพิ่ม่ม ซืซืซื้้ ออ้ อเพิ มูลเพิค่่มาตามบัญชีตน้ ปี โอนเปลี่ย่ยนประเภทสิ นประเภทสินนทรั ทรัพพย์ย์ โอนเปลี โอนเปลี ซื้ อเพิ่ม ่ยนประเภทสิ นทรัพย์ าหน่าย จจจาหน่ าหน่าายย ่ยนประเภทสิ นทรัพย์ โอนเปลี เสื่ อมราคา ค่ค่ค่าาาเสื เสื่่ ออมราคา มราคา จาหน่ าย โอนกลับบด้ด้ออยค่ยค่าา(เพิ (เพิ่มขึ้น) โอนกลั โอนกลั บด้อยค่า (เพิ่่มมขึขึ้้ นน)) ค่าเสื่ อมราคา ตามบัญญชีชีปปลายปี ลายปี มูมูมูลลลค่ค่ค่าาาตามบั ตามบั ชีปาลายปี โอนกลั บด้อญยค่ (เพิ่มขึ้น) มูลค่าตามบัญชีปลายปี
งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 งบการเงินรวม2558 323,178 304,224 323,178 304,224 323,178 304,224 2559 2558 4,716 19,146 4,716 19,146 4,716 19,146 323,178 304,224 1,911 -- 1,911 1,911 4,716 19,146 (306) (306) -(306)1,911(156) (157) (156) (157) (156) (157)(306) 1,279 (1,946) 1,279 (1,946) 1,279 (1,946) (156) (157) 328,711 323,178 328,711 323,178 328,711 323,178 1,279 (1,946) 328,711 323,178
งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ งบการเงิ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิ จการ งบการเงิ จวการ (หน่ ย: พันบาท) 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 งบการเงินเฉพาะกิจ2558 การ 16,499 16,499 16,499 16,499 16,499 16,499 2559 2558 -- -- 16,499 16,499 -- -- -- -- -- -- (4,121) (4,121) (4,121)-12,378 16,499 12,378 16,499 12,378 16,499 (4,121) 12,378 16,499
รายงานประจ�ำปี 2559
26 26 183 26 26
มูมูลลค่ค่าายุยุตติิธธรรมของอสั รรมของอสังงหาริ หาริ มมทรั ทรัพพย์ย์เเพืพื่อ่อการลงทุ การลงทุนน ณ ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 และ และ 2558 2558 แสดงได้ แสดงได้ดดงงัั นีนี้้
ทีที่่ดดิินนรอการขาย รอการขาย อาคารส อาคารสานั านักกงานให้ งานให้เเช่ช่าา
งบการเงิ นนรวม รวม งบการเงิ รวม งบการเงิน 2559 2558 2559 2558 2559 2558 374,615 400,172 374,615 400,172 3,287 3,469 3,287 3,469
(หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนบาท) บาท) งบการเงิ นเฉพาะกิ จจการ งบการเงิ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 15,953 23,400 15,953 23,400 ---
มูมูลลค่ค่าายุยุตติิธธรรมของอสั รรมของอสังงหาริ หาริ มมทรั ทรัพพย์ย์เเพืพื่่ออการลงทุ การลงทุนนถูถูกกประเมิ ประเมินนโดยผู โดยผูปป้้ ระเมิ ระเมินนราคาอิ ราคาอิสสระ ระ โดยใช้ โดยใช้ววิิธธีี ตตนน้้ ทุทุนน ทดแทนสุ ทดแทนสุ ททธิธิ แและวิ ละวิธธีี เเปรี ปรี ยยบเที บเทียยบกั บกับบข้ข้ออมูมูลลตลาดในการวั ตลาดในการวัดดมูมูลลค่ค่าายุยุตติิธธรรม รรม โดยน โดยนาราคาขายของที าราคาขายของที่่ดดิิ นน และ และ อาคารที อาคารที่่เเปรี ปรี ยยบเที บเทียยบกั บกันนได้ ได้ใในบริ นบริ เเวณใกล้ วณใกล้เเคีคียยงกั งกันนมาปรั มาปรับบปรุ ปรุ งงด้ด้ววยความแตกต่ ยความแตกต่าางของคุ งของคุณ ณสมบั สมบัตติิทที่ี่สสาคั าคัญ ญ เช่ เช่นน ขนาดและสถานที ขนาดและสถานที่ต่ต้้งงัั ของอสั ของอสังงหาริ หาริ มมทรั ทรัพพย์ย์
184
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
27 27
ราคาทุราคาทุ น น ณ วันทีณ่ 1วัมกราคม 2558 2558 นที่ 1 มกราคม ซื้อเพิ่มซื้อเพิ่ม จาหน่าจยาหน่ / ตัดาจยาหน่ / ตัดาจยาหน่าย โอนเข้โอนเข้ า (โอนออก) า (โอนออก) ดอกเบีดอกเบี ้ ยจ่ายที้ ย่ถจ่ือาเป็ยทีน่ถต้ือนเป็ทุนนต้นทุน จัดประเภทรายการใหม่ จัดประเภทรายการใหม่ ณ วันทีณ่ 31วันธัทีน่ วาคม 31 ธัน2558 วาคม 2558 ซื้อเพิ่มซื้อเพิ่ม จาหน่าจยาหน่ / ตัดาจยาหน่ / ตัดาจยาหน่าย โอนเข้โอนเข้ า (โอนออก) า (โอนออก) ประมาณการค่ ารื้ อถอนระยะยาว ประมาณการค่ ารื้ อถอนระยะยาว ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุน ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่ ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่ จาหน่าย / ตัดจาหน่าย จาหน่าย / ตัดจาหน่าย โอนเข้า (โอนออก) โอนเข้า (โอนออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่ ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่ จาหน่าย / ตัดจาหน่าย จาหน่าย / ตัดจาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 480,727 480,727 86,255 86,255 (115) (115) (1,916) (1,916) 564,951 564,951 110,691 110,691 (21) (21) 675,621 675,621
54,485 54,485 12,806 12,806
(4,777) (4,777) 62,514 62,514 13,085 13,085
75,599
75,599
1,730,746 1,730,746 40,098 40,098 (935) (935) 53,565 53,565 1,564 1,564 1,825,038 1,825,038 9,483 9,483 (85) (85) 536,181536,181 3,000 3,000 2,373,617 2,373,617
296,516296,516 25,56325,563 7,563 7,563 (49,197)(49,197) 280,445280,445 67,30367,303 28,43728,437 376,185 376,185
(4,909) (4,909) 5,414,012 5,414,012
(3,776) (3,776) 9,631 9,631 4,568,600 4,568,600 850,321 850,321
3,869,952 3,869,952 692,793 692,793
9,072,972 9,072,972 373,033373,033 (3,776)(3,776) 516,667516,667 70,429 70,429 10,029,325 10,029,325 34,901 34,901 (4,909)(4,909) 1,964,420 1,964,420 5,850 5,850 12,029,587 12,029,587
(3,463) (3,463) 323,662 323,662
(46,782) (46,782) (208) (208) 273,332 273,332 53,793 53,793
271,577 271,577 48,745 48,745
398,086398,086 76,081 76,081 (47,457)(47,457) 4,340 4,340 (208) (208) 430,842430,842 33,804 33,804 (3,732) (3,732) 5,647 5,647 466,561 466,561
(935) (935) 120,009 120,009
(18,224) (18,224) (4,450) (4,450) 103,026 103,026 17,918 17,918
107,082 107,082 18,618 18,618
170,958170,958 18,012 18,012 (18,623)(18,623) 26 26 (23,084)(23,084) 147,289147,289 11,693 11,693 (1,078) (1,078) 1,818 1,818 159,722 159,722
(36,702) (36,702) 564,585 564,585
(32,549) (32,549) 514,849 514,849 86,438 86,438
473,659 473,659 73,739 73,739
912,818912,818 149,988149,988 (35,269)(35,269) 1,027,537 1,027,537 41,649 41,649 (38,068)(38,068) 1,031,118 1,031,118
-
-
-
-
-
-
2,739,320 2,739,320 1,577,133 1,577,133 (10,252)(10,252) (582,161)(582,161) 40,807 40,807 3,764,847 3,764,847 438,829438,829 (2,536,503) (2,536,503) 24,572 24,572 1,691,745 1,691,745
งบการเงิ รวม นรวม งบการเงิงบการเงิ นนรวม ทีที่ดด่ ินนิ ที่ดิน อาคาร อาคาร เครื กกรร่ องจักร เครื ออและอุ กรณ์ ปกรณ์ เครื ติติดดตัตั้ งง้ ง ติดตั้ง สิสินนทรั ทรัพ พสิย์ย์รนระหว่ ดดตัตั้ งง้ างติดตั้ง ะหว่พาาย์งติ งติ อาคาร เครื่ ออ่ งจั งจัเครื เครื่ ออ่ งมื งมืเครื และอุ เครื่ ออ่ งตกแต่ งตกแต่ ่ องมืปปอกรณ์ และอุ เครื่ องงงตกแต่ ทรั ระหว่ ยานพาหนะ และงานระหว่าางก่ ออสร้ างง และส่ววนปรั บบปรุ งงทีทีด่ ่ดนิิน และสิ และสิง่ ่ งปลู กกสร้ าางง และอุปปกรณ์ ทางการเกษตร และเครื่ ออ่ งใช้ งใช้สส�ำ านั นักกงาน และส่ นปรั ปรุ ปลู สร้ และอุ กรณ์ ทางการเกษตร และเครื งาน ยานพาหนะ และงานระหว่ งก่ สร้ และส่วนปรับปรุ งที่ดิน และสิ่ งปลูกสร้าง และอุปกรณ์ ทางการเกษตร และเครื่ องใช้สานักงาน ยานพาหนะ และงานระหว่าางก่ อสร้าง
16. 16.ทีด่ ินทีอาคารและอุ ปกรณ์ปกรณ์ ด่ ิน อาคารและอุ
รายงานประจ�ำปี 2559
185
รวม
28 28
(46,030) (46,030) 7,173,488 7,173,488
(101,446) (101,446) (1,720) (1,720) 6,087,272 6,087,272 1,132,246 1,132,246
5,257,482 5,257,482 932,956 932,956
15,321,416 15,321,416 2,259,9082,259,908 (116,312)(116,312) 40,807 40,807 (496) (496) 17,505,323 17,505,323 637,662637,662 (47,872)(47,872) 8,850 8,850 24,572 24,572 18,128,535 18,128,535
รวม
รวม
(หน่วย: (หน่ พันบาท) วย: พันบาท)
186
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
อาคาร อาคาร อาคาร และสิ กสร้าางง ่ งง่ ปลู และสิ และสิ่ งปลู ปลูกกสร้ สร้าง
เครื ่ องจังจักกรร เครื เครื่ ออ่ งจั กร และอุ ปปกรณ์ และอุ กรณ์ และอุปกรณ์
ค่ าเผือ่ การด้ อยค่ า ค่ าเผือ่ การด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 เพิ่มขึ้นระหว่างปี เพิ่มขึ้นระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เพิ่มขึ้นระหว่างปี เพิ่มขึ้นระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 217,931 1,260,087 5,460,725 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 217,931 1,260,087 5,460,725 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 300,586 1,697,996 6,615,575 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 300,586 1,697,996 6,615,575 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่ าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่ าเสื่ อมราคาสาหรับปี 2558 (828 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2558 (828 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2559 (1,011 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2559 (1,011 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)
ทีที่ดด่ ินนิ ที่ดิน และส่ ว นปรั บปรุ งงทีที่ดด่ ินนิ และส่ ว นปรั และส่วนปรับบปรุ ปรุ งที่ดิน 44,263 44,263 39,713 39,713
157,510 157,510 142,899 142,899
งบการเงินนรวม (ต่ อ) งบการเงิ งบการเงินรวม รวม (ต่(ต่ออ) ) เครื เครื เครื่ อ่ ออ่ งมื งมือออและอุ และอุปปปกรณ์ กรณ์ เครื่ อ่ ออ่ งตกแต่ งตกแต่งงงติติติดดดตัตั้ตัง้ งง้ เครื งมื และอุ กรณ์ เครื งตกแต่ ทางการเกษตร และเครื ่ อ ทางการเกษตร และเครื่ ออ่ งใช้ งใช้สสสานั �ำ านั นักกกงาน งาน ทางการเกษตร และเครื งใช้ งาน 512,688 512,688 466,533 466,533
ยานพาหนะ ยานพาหนะ ยานพาหนะ
3,692,460 3,692,460 1,587,792 1,587,792
72,387 72,387 72,387 72,387 31,566 31,566 103,953 103,953
สิสินนทรั พย์ย์รระหว่ ะหว่าาางติ งติดดดตัตัตั้ ง้ งง้ สิ นทรั ทรัพ พย์ระหว่ งติ และงานระหว่ า งก่ อ สร้าางง และงานระหว่าางก่ และงานระหว่ งก่ออสร้ สร้าง
29 29
932,956 932,956 1,132,246 1,132,246
11,345,664 11,345,664 10,851,094 10,851,094
72,387 72,387 72,387 72,387 31,566 31,566 103,953 103,953
รวม รวม รวม
(หน่วย: พันบาท) (หน่วย: พันบาท)
รายงานประจ�ำปี 2559
187
อาคาร อาคาร อาคาร และสิ ง ปลู กกสร้กสร้สร้ าางงาง ่ และสิ ง ่ และสิ่ งปลูปลู
เครืเครื่ ออ่งจังจักกรร เครื่ องจักร และอุ ปปกรณ์ และอุ และอุ ปกรณ์ กรณ์
ณ2559 วันที่(1,011 1 มกราคม 2558 รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที 4,030 ่ายในการบริ หาร) 618,840 ล้านบาท ่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ93,803 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี 2,960 36,526 299,552 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย / ตัดจาหน่าย 53 (53) จัดประเภทรายการใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 6,990 130,382 918,339 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี 3,419 56,904 395,672 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย / ตัดจาหน่าย 10,409 187,286 1,314,011 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 69,464 443,780 2,285,804 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 136,156 825,252 2,517,190 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่ าเสื่ อมราคาสาหรับปี 2558 (335 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) 2559 (450 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)
ค่ าเผือ่นการด้ อยค่ า ราคาทุ มกราคม2558 2558 ณณวันวัทีน่ ที1่ 1มกราคม 44,557 467,063 2,407,481 เพิ ม ขึ น ระหว่ า งปี ่ ้ ซื้อเพิ่ม 25,562 53,943 360,341 ณ วันายที/่ 31 วาคม - --จาหน่ ตัดธัจนาหน่ าย 2558 โอนเข้ า (โอนออก) 6,335 46,239 443,238 เพิ่มขึ้นระหว่างปี 6,917 (6,917) จัดณประเภทรายการใหม่ - วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณมูวัลนค่ทีา่สุ31ทธิธัตนามบั วาคมญ2558 76,454 574,162 3,204,143 ชี ซื้อเพิ่ม 67,302 8,209 17,699 217,931 1,260,087 5,460,725 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จาหน่าย / ตัดจาหน่าย 300,586 1,697,996 6,615,575 ณ วันาที(โอนออก) ่ 31 ธันวาคม 2559 2,809 430,167 609,359 โอนเข้ มราคาส าหรั2559 บปี 146,565 1,012,538 3,831,201 ณค่วัานเสืที่ อ่ 31 ธันวาคม (828 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) ค่ า2558 เสื่ อมราคาสะสม
ที่ดิน ที่ดินด่ นิ และส่ทีวนปรั บปรุ ง และส่และส่ วนปรั บทีปรุ ง วนปรั บ ปรุ ่ดิน ทีงที่ดด่ ินนิ
29,832 8,983 (7,906) 30,909 9,482 (11) 40,380 22,888 19,167
(29,679) 136,196 32,536 (2,101) 166,631 97,653 91,540
53,260 8,473 (7,936) --53,797 5,118 44,263 (11) 39,713 643 59,547
138,564 27,311
209,204 53,587 (29,685) 743 -233,849 22,864 157,510 (2,125) 142,899 3,583 258,171
งบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินนเฉพาะบริ รวม (ต่ อ)ษทั งบการเงิ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง เครืเครื ่ องมืงมื อและอุ ปกรณ์ เครืเครื ่ องตกแต่ ง ติติดดตัตั้ งง้ ออและอุ อ่ งตกแต่่ องงใช้ เครื่ ออ่ งมื และอุปปกรณ์ กรณ์ และเครื ทางการเกษตร และเครื ่ อ งใช้ ส านั ทางการเกษตร และเครืสอ่ านั งใช้กสงาน �ำ นักกงาน งาน ทางการเกษตร
269,190 245,782
(340) 184,764
(1,359) 141,106 43,998
108,444 34,021
307,169104,501(1,374)--410,296 20,590 512,688 (340) 466,533 430,546
ยานพาหนะ ยานพาหนะ ยานพาหนะ
978,077 109,047
-
-
-
627,128 72,387 847,504 72,387 (496,555) 31,566 103,953 978,077 177,531 3,692,460 1,587,792 (1,046,561) 109,047
สิ นทรัพพย์ย์รระหว่ ะหว่างติดตั้ง สิสินนทรั ทรัพย์ระหว่าางติงติดดตัตัง้ ้ ง และงานระหว่ งก่อสร้ สร้ และงานระหว่างก่ างาางง และงานระหว่ าางก่ ออสร้
30 29
409,353 542,011
4,166,856 3,944,134
(2,452) 1,903,481
(38,944) 1,363,922 542,011
1,132,246 993,513 409,353
4,115,862 72,387 1,453,911 72,387 (38,995) 31,566 103,953 5,530,778 319,313 11,345,664 (2,476) 10,851,094 5,847,615 932,956
รวม
รวม รวม
(หน่ (หน่ววย:ย:พัพันนบาท) บาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของโรงงานระหว่างก่อสร้างและสิ นทรัพย์ระหว่าง ติดตั้งจานวน 648 ล้านบาท (2558: 1,366 ล้านบาท) ซึ่ งใช้เงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงินแห่ งหนึ่งเพื่อในการ ก่อสร้างโรงงานดังกล่าว ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั ได้รวมต้นทุนการกูย้ ืมเข้า เป็ นราคาทุนของโครงการจานวน 25 ล้านบาท (2558: 41 ล้านบาท) โดยคานวณจากอัตราการตั้งขึ้นเป็ น ทุนในอัตราร้อยละ 3.00 - 4.75 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของโรงงานและเครื่ องจักร ซึ่ งได้มาภายใต้สัญญาเช่า ทางการเงิน โดยมีมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชีเป็ นจานวนเงิน 117 ล้านบาท (2558: 138 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มีอาคารและอุปกรณ์จานวนหนึ่ งซึ่ งตัดค่าเสื่ อมราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีจานวน เงินประมาณ 2,183 ล้านบาท (2558: 2,062 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 262 ล้านบาท 2558: 148 ล้านบาท) กลุ่มบริ ษทั ได้นาที่ดิน อาคารและอุ ปกรณ์ ซ่ ึ งมีมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จานวน 2,968 ล้านบาท (2558: 2,974 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 546 ล้านบาท 2558: 280 ล้านบาท) ไป ค้ าประกันวงเงินสิ นเชื่อระยะสั้นและระยะยาวที่ได้รับจากสถาบันการเงิน
188
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
31
17.
รายงานประจ�ำปี 2559
189
ซอฟต์ แวร์ 14,056 (11,090) 14,056 -
- การค้า 2,144 (1,071) 2,144 -
- ไฟฟ้ า 253,676 (20,244) 253,676 -
ไม่-ได้เริ่ มใช้สิทธิ 59,320 - 59,320 -
(หน่วย: พันบาท)
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะบริษทั สิ นทรัพย์รงบการเงิ ะหว่างติดตัน้ ง เฉพาะบริ ษท ั ยานพาหนะ และงานระหว่ า งก่ อ สร้ า ง รวม คอมพิ เครื คอมพิววเตอร์ เตอร์ เครื่ ออ่ งหมาย งหมาย รวม ซอฟต์แวร์ การค้า
งบการเงินเฉพาะบริ ษทั
(หน่วย: พันบาท)
- รวม 329,196 (32,405) 329,196 -
29
32
32
ซอฟต์แวร์ การค้า เครื่ องหมาย รวม คอมพิ - วเตอร์ 72,387การค้า 72,387รวม ซอฟต์ แวร์ 8,156 100 8,256 72,387 72,387 31,566 31,566 (7,087) 8,156 (67) 100 (7,154) 103,953 103,953 8,256 2,966(11,090) 1,073 (1,071) 233,432 (20,244) 59,320 33 - 296,791 (32,405) 1,069 (7,087) (67) 1,102 (7,154) 217,931 2,9661,260,087 1,0735,460,725 233,432 157,510 59,320 44,263 296,791 512,688 1,069 3,692,460 33 11,345,664 1,102 300,586 1,697,9962,144 6,615,575 142,899 39,713 466,533 1,587,792 10,851,094 ณ วันที่ 31 ราคาทุ น ธันวาคม 2559 13,086 104,332 203,745 323,307 7,421 100 7,521 ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2558: าหรับปี หัค่ากเสื่อค่มราคาส าตัดจาหน่ ายสะสม (9,658) (857) (12,025) (22,540) (6,165) (57) (6,222) ราคาทุ น รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู 13,086 2,144 104,332 203,745 323,307 7,421 100 932,956 7,521 2558 (828 ล้านบาท ใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ หาร) มู2559 ลค่(1,011 าตามบัล้าญนบาท ทธิ ใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนที3,428 1,287 าร) 92,307 43 1,299 ่เหลือรวมอยู ใ่ นค่าใช้จ่ายในการบริ ห(857) หัก ค่าชีตั-ดสุจรวมอยู าหน่ ายสะสม (9,658) (12,025) 203,745 - 300,767 (22,540) 1,256 (6,165) (57) 1,132,246 (6,222) มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ 3,428 1,287 92,307 203,745 300,767 1,256 43 1,299
ค่ าเผือ่ การด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559: เพิ่มขึ้นระหว่างปี ราคาทุ นณธัวันนวาคม ณ วันที่ 31 ที่ 312558ธันวาคม 2559: หัเพิก่มขึ้นค่ระหว่ าตัดจางปีาหน่ ยสะสม น า2559 ณ วันที่ 31ราคาทุ ธันวาคม มูมูลลค่ค่าาสุตามบั ญาชีตัชี-ดสุจาหน่ ทธิ ายสะสม ทหั ธิตกามบัค่ญ ณ วาคม ณ วัวันนทีที่ 31มู่ 31 2558ญ2558: ลธันค่ธัวาคม านตามบั ชี - สุทธิ
งบการเงินรวม งบการเงินรวม (ต่ อ) งบการเงิ นนรวม สิ ท ธิ ใ สิ ท ธิ ใ นการใช้ ที่ดิน อาคาร เครื่ องจักร งบการเงิ เครื่ อนงมืรวม อและอุปกรณ์ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง สิทธิงใไฟฟ้ นการใช้ และส่วนปรั บ ปรุ ง ที ่ ด ิ น และสิ ง ปลู ก สร้ า ง และอุ ป กรณ์ ทางการเกษตร ่ คอมพิ เตอร์ เครื การใช้ สายส่สิงทธิในสายส่ ่ยและเครื งั ่ องใช้สานักงาน คอมพิววเตอร์ เครื่ ออ่ งหมาย งหมาย สิทธิในการใช้ สิาทาที สายส่ ง ไฟฟ้ ทีธิย่ ใงั นการใช้ รวม ซอฟต์แวร์ การค้า สายส่งไฟฟ้า ใช้ ซอฟต์แคอมพิ วร์ วเตอร์ การค้เครื า ่ องหมาย ไฟฟ้ การใช้ า สายส่ ไม่ไม่งไได้ด้เเริริ่ มม่ สายส่ ใช้สสทิ ิ ทธิงธิไฟฟ้ าที่ยงั รวม
มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แสดงได้ดงั นี้
สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน 17. สิ นทรัญพชีย์ขไองสิ ม่ มีตนัวทรั ตนพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แสดงได้ดงั นี้ มูลค่าตามบั
การกระทบยอดมู การกระทบยอดมูลลค่ค่าาตามบั ตามบัญ ญชีชีขของสิ องสิ นนทรั ทรัพพย์ย์ไไม่ม่มมีีตตววัั ตนส ตนสาหรั าหรับบปีปี 2559 2559 และ และ 2558 2558 แสดงได้ แสดงได้ดดงงัั นีนี้้ รวม งบการเงิ งบการเงินน งบการเงิ นรวม รวม 2559 2558 2558 2559 2559 2558 300,767 234,299 300,767 234,299 5,890 77,104 5,890 77,104 (9,866) (7,501) (9,866) (7,501) -(3,135) (3,135) 296,791 300,767 296,791 300,767
มูมูลลค่ค่าาตามบั ตามบัญ ญชีชีตตนน้้ ปีปี ซืซื้้ ออเพิ เพิ่ม่ม ค่ค่าาตัตัดดจจาหน่ าหน่าายย จัจัดดประเภทรายการใหม่ ประเภทรายการใหม่ มู ล ตามบัญญชีชีปปลายปี ลายปี มูลค่ค่าาตามบั
(หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนบาท) บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ งบการเงิ การ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 1,299 1,801 1,299 1,801 735 785 735 785 (932) (1,287) (932) (1,287) --1,102 1,299 1,102 1,299
การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนสาหรับปี 2559 และ 2558 แสดงได้ดงั นี้ 18. เงิ 18. เงินนเบิ เบิกกเกิ เกินนบับัญ ญชีชี แและเงิ ละเงินนกูกู้้ยยมมืื ระยะสั ระยะสั้้ นนจากสถาบั จากสถาบันนการเงิ การเงินน (หน่วย: พันบาท) อัตรดอกเบีย้
งบการเงิงบการเงิ นรวมนรวม
อัตราดอกเบีย้ งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม 2559อัตราดอกเบี้ย 2558 2559 2559 25582558 2559 2558 2559 2558 2559 อปี) 2558 อปี) 2559 2558 (ร้อยละต่ (ร้อยละต่ มูลค่าตามบัญชีตน้ ปี 234,299 (ร้ (ร้ (ร้ออยละต่ ยละต่ออปีปี )) (ร้ออยละต่ ยละต่ออปีปี )) 300,767 เงิซืน้ อเบิเพิ กเกิม่ นบัญชี MOR 3 5,890 3 77,104 -เงินเบิกเกินบัญชี MOR ตัตัวว๋๋ สัสัญ ญาใช้เเงิงินนและตั ว๋ แลกเงิน 2.00 - 2.10 3.15 249,419 1,235,669 3.15 -- 3.45 3.45 249,419 1,235,669 ค่าญตัญาใช้ ดจาหน่าและตั ย ว๋ แลกเงิน 2.00 - 2.10 (9,866) (7,501) เจ้ 3.42 3.83 817,114 686,345 เจ้าาหนี หนี้้ ททรัรัสสต์ต์รรีี ซซีี ทท 3.42 3.83 817,114 686,345 จั ด ประเภทรายการใหม่ (3,135) รวม 1,066,536 1,922,014 รวม 1,066,536 1,922,014
19. 19. 18.
มูลค่าตามบัญชีปลายปี
296,791
เจ้ เจ้ าาหนี หนีกก้้ ารค้ ารค้ าาและเจ้ และเจ้ าาหนี หนีออ้้ นนื่ื่ เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน
300,767
งบการเงิ รวม งบการเงินนนรวม งบการเงิ รวม อัตราดอกเบี้ย 2559 งบการเงินรวม 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 ้ ่ เจ้ า หนี ก ารค้ า กิ จ การที ่ เ กี ย วข้ อ งกั น 12,737 21,478 เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้อ(ร้งกัอยละต่ น อปี ) (ร้อยละต่อปี ) 12,737 21,478 ่ เจ้ า หนี ก ารค้ า กิ จ การที ่ ไ ม่ เ กี ย วข้ อ งกั น 1,042,365 1,527,799 ้ เบิ้กกเกิารค้ นบัาญ-ชีกิจการที่ไม่เกี่ยวข้อMOR เจ้เงิานหนี งกัน 1,042,365 3 1,527,799 ้ ่ เจ้ า หนี อ ่ ื น กิ จ การที ่ เ กี ย วข้ อ งกั น 5,128 5,066 สัญ้ อญาใช้ และตัว๋ ่เกีแลกเงิ 3.15 - 3.45 249,419 1,235,669 ่ยวข้นองกัน2.00 - 2.10 เจ้ตัาว๋ หนี ื่น - เกิงินจการที 5,128 5,066 เจ้าาหนี หนี้ อ้ ทื่นรัส-ต์กิรีซจีการที ท ่ไม่เกี่ยวข้องกัน3.42 3.83 817,114 686,345 เจ้ 281,262 64,254 เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 281,262 64,254 รวม 1,066,536 1,922,014 รายได้ -17,011 รายได้รรอรั อรับบรูรู ้้จจากส ากสานั านักกงานกองทุ งานกองทุนนอ้อ้ออยและน ยและน้้ าาตาลทราย ตาลทราย 17,011 เงิเงินนรัรับบล่ล่ววงหน้ า ค่ า สิ น ค้ า 131,161 86,662 งหน้ าาค่และเจ้ าสิ นค้าาหนีอ้ น 131,161 86,662 19. ค่เจ้าใช้าหนี ก ้ ารค้ ่ ื ่ จ า ยค้ า งจ่ า ยส านั ก งานกองทุ น อ้ อ ยและน า ตาลทราย 120,674 203,762 ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายสานักงานกองทุนอ้อยและน้้ าตาลทราย 120,674 203,762 ่ ดอกเบี ย ค้ า งจ่ า ย กิ จ การที ่ เ กี ย วข้ อ งกั น 63,246 63,508 ้ ดอกเบี้ยค้างจ่าย - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 63,246 63,508 ้ ่ ดอกเบี ย ค้ า งจ่ า ย กิ จ การที ่ ไ ม่ เ กี ย วข้ อ งกั น 975 งบการเงิ ดอกเบี้ยค้างจ่าย - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 975 นรวม3,364 3,364 ่ ่ ค่ค่าาใช้ จ า ยค้ า งจ่ า ย กิ จ การที ่ เ กี ย วข้ อ งกั น 6,429 20,946 2559 2558 ใช้จ่ายค้างจ่าย - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6,429 20,946 ่ ่ ค่ค่เจ้ าาใช้ จ า ยค้ า งจ่ า ย กิ จ การที ่ ไ ม่ เ กี ย วข้ อ งกั น 230,618 194,143 ใช้ จ่ายค้ างจ่าา-ยกิ-จกิการที จการที วข้นองกัน 230,618 194,143 าหนี ่เกี่ไยม่วข้เกีอ่ยงกั 12,737 21,478 ้ การค้ รวมเจ้ า หนี ก ารค้ า และเจ้ า หนี อ ่ ื น 1,894,595 2,207,993 ้ ้ เจ้าหนีาหนี า - ากิและเจ้ จการทีาหนี ่ไม่เ้ อกีืน่ยวข้องกัน 1,042,365 2,207,993 1,527,799 ้ การค้ รวมเจ้ 1,894,595 ้ การค้ เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 5,128 5,066 เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 281,262 64,254 190 บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) รายได้รอรับรู ้จากสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย 17,011 เงินรับล่วงหน้าค่าสิ นค้า 131,161 86,662 ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายสานักงานกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย 120,674 203,762
(หน่วย: พันบาท)
(หน่ พั นนบาท) (หน่ววย: ย:จจการ พัการ บาท) งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินเฉพาะกิ2558 จการ 25592559 2558 2559 2558 2559 2558 1,299 1,801 3 735 3 785-249,419 907,170 249,419 907,170 (932) (1,287) --249,422 907,170 249,422 907,170 1,102 1,299
(หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนบาท) บาท) (หน่วย:จพัการ นบาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ งบการเงิน นเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 11,420 41,754 11,420 41,754 735,867 1,225,444 735,8673 1,225,4448,636 10,647 249,419 907,170 8,636 10,647 139,482 863 139,482 863 249,422 907,170 -8,396 8,396 48,074 41,872 48,074 41,872 78,351 156,459 78,351 156,459 33,781 นบาท) 33,781 (หน่วย: พั35,031 35,031 783 925 งบการเงิ 783นเฉพาะกิจการ 925 3,846 8,709 2559 2558 3,846 8,709 162,846 109,597 162,846 109,597 11,420 41,754 1,223,086 1,639,697 735,867 1,639,697 1,225,444 1,223,086 8,636 10,647 139,482 863 8,396 33 33 48,074 41,872 78,351 156,459
20. หนีส้ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน บริ ษทั ฯได้ทาสัญญาเช่ าการเงิ นกับกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันแห่ งหนึ่ งเพื่อเช่ าโรงงานและเครื่ องจักร ใช้ใน การดาเนิ นงานของกิ จการโดยมีกาหนดการชาระค่าเช่าเป็ นรายปี อายุของสัญญามีระยะเวลา 30 ปี สัญญา ดังกล่าวมีอตั ราดอกเบี้ยที่แท้จริ งร้อยละ 11 ต่อปี และมียอดคงเหลือดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงิ นนรวม/งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงิ นรวม/งบการเงินน จการจจการ งบการเงิ รวม/งบการเงิ นเฉพาะกิ เฉพาะกิ การ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 หนี้้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน 2,392,500 2,488,200 หัหักก:: ดอกเบี (1,586,539) (1,675,893) ดอกเบี้้ ยยรอการตั รอการตัดดจจาหน่ าหน่าายย รวม 805,961 812,307 รวม 805,961 812,307 (7,044) (6,346) หัก: ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี 798,917 805,961 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุ ทธิ จากส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี
บริ ษทั ฯมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่าตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้ (หน่ (หน่ววย: ย: ล้ล้าานบาท) นบาท) ณ วาคม 2559 31 ธัธัธัน ณณวัวัวันนนทีทีที่่ ่ 31 31 นนวาคม วาคม2559 2559 กว่าาา 555 ปีปีปี รวม ไม่ 111-5 -- 55 ปีปีปี เกิ รวม ไม่ไม่เเเกิกิกินนน 111 ปีปีปี เกิเกินนนกว่ กว่ รวม ผลรวมของจ 96 383 1,914 2,393 ผลรวมของจานวนเงิ านวนเงินนขัขั้้นนตต่่าาทีที่่ตตออ้้ งจ่ งจ่าายทั ยทั้้ งงสิสิ้้นนตามสั ตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่าา 96 383 1,914 2,393 ดอกเบี้้ ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี (89) (346) (1,152) (1,587) 77 37 762 806 มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขั้ นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 37 762 806 (หน่ (หน่ววย: ย: ล้ล้าานบาท) นบาท) ณณวัวันนทีที่่ 31 31 ธัธัธันนนวาคม วาคม2558 2558 รวม 111-5 ไม่ไม่เเกิกินน11ปีปี - 5ปีปี เกิเกินนกว่ กว่าา 55 ปีปี รวม ผลรวมของจ 96 383 2,009 2,488 ผลรวมของจานวนเงิ านวนเงินนขัขั้้นนตต่่าาทีที่่ตตออ้้ งจ่ งจ่าายทั ยทั้้ งงสิสิ้้นนตามสั ตามสัญ ญญาเช่ ญาเช่าา 96 383 2,009 2,488 ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี (89) (350) (1,237) (1,676) มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า 7 33 772 812
รายงานประจ�ำปี 2559
191
34
21. 21. เงิเงิเงินนนกูกูกู้้ ยย้ ยมมืื มื ระยะยาวจากสถาบั ระยะยาวจากสถาบันนนการเงิ การเงินนน 21. ระยะยาวจากสถาบั การเงิ อัอัอัอัตตตตราดอกเบี ราดอกเบี รดอกเบีย้ ้้ ยย้ ย ราดอกเบี เงือ่ นไขการชำ�ระเงิน เงิเงิเงินนนกูกูกู้้ ้ (ร้ เงืเงืเงื่่ออ่อนไขการช (ร้อ ยละต่ ยละต่ออออปีปีปีปี)))) นไขการชาระคื าระคืนนน (ร้(ร้ อออยละต่ ยละต่ นไขการช าระคื 111 4.20 กกกาหนดช 4.20 าหนดชาระคื าระคืนนนเงิเงิเงินนนต้ต้ต้นนนทุทุทุกกก666เดื โดย 4.20 าหนดช าระคื เดืเดือออนนนโดย โดย มีมีมีกกกาหนดช งวดสุ าหนดชาระคื าระคืนนนเงิเงิเงินนนต้ต้ต้นนนงวดสุ งวดสุดดดท้ท้ท้าาายยย าหนดช าระคื ในเดื ในเดือออนมิ นมิถถถุนุนุนายน ายน2565 2565 ในเดื นมิ ายน 2565 222 2.00 กกกาหนดช 2.00 าหนดชาระคื าระคืนนนเงิเงิเงินนนต้ต้ต้นนนเป็ นรายปี โดยมี โดยมี 2.00 าหนดช าระคื เป็เป็นรายปี นรายปี โดยมี กกกาหนดช าหนดชาระคื าระคืนนนเงิเงิเงินนนต้ต้ต้นนนงวดสุ งวดสุดดดท้ท้ท้าาายใน ยใน าหนดช าระคื งวดสุ ยใน เดื นมิถถถุนุนุนายน ายน2560 2560 เดืเดือออนมิ นมิ ายน 2560 333 3.94 กกกาหนดช 3.94 าหนดชาระคื าระคืนนนเงิเงิเงินนนต้ต้ต้นนนทุทุทุกกก666เดื โดย 3.94 าหนดช าระคื เดืเดือออนนนโดย โดย มีมีมีกกกาหนดช าหนดชาระคื าระคืนนนเงิเงิเงินนนต้ต้ต้นนนงวดสุ งวดสุดดดท้ท้ท้าาายยย าหนดช าระคื งวดสุ ภายในเดื ภายในเดือออนธั นธันนนวาคม วาคม2562 2562 ภายในเดื นธั วาคม 2562 444 3.94 กกกาหนดช 3.94 าหนดชาระคื าระคืนนนเงิเงิเงินนนต้ต้ต้นนนทุทุทุกกก666เดื โดย 3.94 าหนดช าระคื เดืเดือออนนนโดย โดย มีมีมีกกกาหนดช าระคื งวดสุ าหนดชาระคื าระคืนนนเงิเงิเงินนนต้ต้ต้นนนงวดสุ งวดสุดดดท้ท้ท้าาายยย าหนดช ภายในเดื นธั วาคม 2562 ภายในเดือออนธั นธันนนวาคม วาคม2562 2562 ภายในเดื รวม รวม รวม หัหัหักกก:: :ส่ส่ส่วววนที นที่่ถถ่ถึึงงึงกกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งง่ งปีปีปี นที าหนดช าระภายในหนึ เงิเงิเงินนนกูกูกูยย้้ ย้ มมืื มื ระยะยาว ระยะยาว---สุสุสุทททธิธิธิจจจากส่ ากส่วววนที นที่่ถถ่ถึึงงึงกกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่่ งง่ งปีปีปี ระยะยาว ากส่ นที าหนดช าระภายในหนึ เงินกู้
งบการเงิ รวม งบการเงิ รวม งบการเงิน งบการเงิ นนนรวม รวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558
(หน่ (หน่วววย: บาท) (หน่ ย:ย:พั พัพันนนบาท) บาท) งบการเงิ เฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิ จการ การ งบการเงิน จจจการ งบการเงิ นนนเฉพาะกิ เฉพาะกิ การ 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558
3,243,354 3,243,354 3,243,354
3,741,181 3,741,181 3,741,181
3,243,354 3,243,354 3,243,354
3,741,181 3,741,181 3,741,181
2,630 2,630 2,630
5,200 5,200 5,200
2,630 2,630 2,630
5,200 5,200 5,200
2,887 2,887 2,887
102,887 102,887 102,887
---
---
--3,248,871 3,248,871 3,248,871 (503,602) (503,602) (503,602) 2,745,269 2,745,269 2,745,269
31,494 31,494 31,494 3,880,762 3,880,762 3,880,762 (631,892) (631,892) (631,892) 3,248,870 3,248,870 3,248,870
--3,245,984 3,245,984 3,245,984 (500,715) (500,715) (500,715) 2,745,269 2,745,269 2,745,269
--3,746,381 3,746,381 3,746,381 (500,397) (500,397) (500,397) 3,245,984 3,245,984 3,245,984
เงิเงิเงินนนกูกูกูยย้้ ย้ ืืมมืมของบริ ของบริษษษททัั ทั ฯค ฯค้้ าา้ าประกั ประกันนนโดยการจดจ โดยการจดจานองที านองที่่ดด่ดิินนิน อาคารและอุ อาคารและอุปปปกรณ์ กรณ์ขขของบริ องบริษษษททัั ทั ฯฯฯตามที ตามที่่กก่กล่ล่ล่าาาวไว้ วไว้ใใในนน ของบริ ฯค ประกั โดยการจดจ านองที อาคารและอุ กรณ์ องบริ ตามที วไว้ หมายเหตุ หมายเหตุปปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนนข้ข้ข้อออ16 และเงินนนกูกูกูยย้้ ย้ มมืื มื ของบริ ของบริษษษททัั ทั ย่ย่ย่อออยค ยค้้ าา้ าประกั ประกันนนโดยบริ โดยบริษษษททัั ทั ฯฯฯ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ 1616และเงิ และเงิ ของบริ ยค ประกั โดยบริ
สัสัสัญ ญาเงินนนกูกูกู้ย้ย้ยืืมมืมดัดัดังงงกล่ กล่าาาวได้ วได้รรระบุ ะบุขขขออ้้ อ้ ปฏิ ปฏิบบบตตัั ตั ิิแแิและข้ ละข้อออกกกาหนดบางประการ าหนดบางประการเช่ การดารงอั ารงอัตตตราส่ ราส่วววนของหนี นของหนี้้ ตต้ ต่่ออ่อ ญญญาเงิ ญาเงิ กล่ วได้ ะบุ ปฏิ ละข้ าหนดบางประการ เช่เช่นนนการด การด ารงอั ราส่ นของหนี ส่ส่ส่วววนของผู นของผูถถ้้ ถ้ ืืออือหุหุหุนน้้ น้ และข้ และข้อออจจจากั ากัดดดเกี วกับบบการจ การจานองที านองที่่ดด่ดิินนินอาคารและอุ อาคารและอุปปปกรณ์ กรณ์เป็ นของผู และข้ ากั เกีเกี่่ยย่ยวกั วกั การจ านองที อาคารและอุ กรณ์ เป็เป็นนนต้ต้ต้นนน ณ วาคม2559 2559 บริ บริษษษททัั ทั ย่ย่ย่อออยมี ยมีวววงเงิ งเงินนนกูกูกูยย้้ ย้ ืมืมืมระยะยาวตามสั ระยะยาวตามสัญ ญาเงินนนกูกูกูทท้้ ท้ ี่ี่ยยี่ยงงัั งั มิมิมิไไได้ด้ด้เเบิบิเบิกกกใช้ ใช้เเป็ป็เป็นจ นจานวนเงิ านวนเงินนน ณณวัวัวันนนทีทีที่่ ่31 3131ธัธัธันนนวาคม วาคม 2559 บริ ยมี งเงิ ระยะยาวตามสั ญญญาเงิ ญาเงิ ใช้ นจ านวนเงิ 886 886ล้ล้ล้าาานบาท นบาท(2558: (2558:932 932ล้ล้ล้าาานบาท) นบาท)และวงเงิ และวงเงินนนกูกูกูยย้้ ย้ มมืื มื ดัดัดังงงกล่ กล่าาาวค วค้้ าา้ าประกั ประกันนนโดยบริ โดยบริษษษททัั ทั ฯฯฯ 886 นบาท (2558: 932 นบาท) และวงเงิ กล่ วค ประกั โดยบริ
192
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
35 3535
22. 22. 22. 22.
เงิเงินนกูกู้้ ยยมมืื ระยะยาวจากส านั กกงานกองทุ นนอ้อ้ ออยและน าา้้ ตาลทราย านั งานกองทุ ยและน ตาลทราย เงิเงินนกูกู้้ ยยมมืื ระยะยาวจากส ระยะยาวจากส านั ก งานกองทุ น อ้ อ ยและน ระยะยาวจากสานักงานกองทุนอ้ อยและนาา้้ ตาลทราย ตาลทราย
เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยาว ระยะยาว เงิเงิหักนน:กูกูส่ยย้้ วมมืื นที ระยะยาว ระยะยาว ่่ถถึึงงกกาหนดช าระภายในหนึ ่่ งงปีปี หัหักก:: ส่ส่ววนที าหนดช าระภายในหนึ นที ่ ถ ึ ง ก าหนดช าระภายในหนึ ่่ งงปีปี หัเงิกน:กูส่ย้ วมื นที ่ถึงกาหนดช าระภายในหนึ ระยะยาว สุ ท ธิ จ ากส่ ว นที ่ ถ ึ ง ก าระภายในหนึ ่่ งงปีปี เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ระยะยาว -- สุสุททธิธิจจากส่ ววนที ่่ถถึึงงกกาหนดช าหนดช าระภายในหนึ ระยะยาว ากส่ นที าหนดช าระภายในหนึ เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่่ งงปีปี
23. 23. 23. 23.
งบการเงิ นรวม งบการเงิ รวม งบการเงินน รวม งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 146,007 199,003 146,007 199,003 146,007 199,003 146,007 199,003 (63,293) (53,800) (63,293) (53,800) (63,293) (53,800) (63,293) (53,800) 82,714 145,203 82,714 145,203 82,714 145,203 82,714 145,203
(หน่ ววย: พั นนบาท) (หน่ ย: พั บาท) (หน่ ว ย: พั นนการ บาท) (หน่ ว ย: พั บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินนเฉพาะกิ จจการ งบการเงิ เฉพาะกิ การ งบการเงิ นเฉพาะกิ2558 จการ 2559 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 19,166 29,732 19,166 29,732 19,166 29,732 19,166 29,732 (11,039) (10,566) (11,039) (10,566) (11,039) (10,566) (11,039) (10,566) 8,127 19,166 8,127 19,166 8,127 19,166 8,127 19,166
เงิเงิ นนกูกู้้ยยืืมมดัดังงกล่ าาวเป็ นเงิ นนกูกู้ย้ยืืมม ทีที่่กก ลุลุ่่ มม บริ ษษ ททัั ยืยืมม จากกองทุ นนอ้อ้ออยและน (สอน.) ซึซึ่่ งงเป็ นไปตาม ้้ าา ตาลทราย วเป็ นเงิ บริ จากกองทุ ยและน ตาลทราย (สอน.) เป็ นไปตาม ้ ่ เงิเงิ นนกูกู้้ยยืืมมดัดังงกล่ กล่ า วเป็ นเงิ น กู ย ื ม ที ่ ก ลุ ม บริ ษ ท ั ยื ม จากกองทุ น อ้ อ ยและน า ตาลทราย (สอน.) ซึ ่ ง เป็ นไปตาม ้ ้ ่ กล่ า วเป็ นเงิ น กู ย ื ม ที ่ ก ลุ ม บริ ษ ท ั ยื ม จากกองทุ น อ้ อ ยและน า ตาลทราย (สอน.) ซึ ่ ง เป็ นไปตาม ้ ่ โครงการสนั บ สนุ น สิ น เชื ่ อ ส าหรั บ การจั ด ซื อ รถตั ด อ้ อ ย โดยมี อ ต ั ราดอกเบี ย เฉลี ่ ย อยู ท ่ ี ร ้ อ ยละ 2.10 ต่ ออปีปี โดย ้ ้ ่ โครงการสนั บ สนุ น สิ น เชื ่ อ ส าหรั บ การจั ด ซื อ รถตั ด อ้ อ ย โดยมี อ ต ั ราดอกเบี ย เฉลี ่ ย อยู ท ่ ี ร ้ อ ยละ 2.10 ต่ ้ ้ ่ โครงการสนั บ สนุ น สิ น เชื ่ อ ส าหรั บ การจั ด ซื อ รถตั ด อ้ อ ย โดยมี อ ต ั ราดอกเบี ย เฉลี ่ ย อยู ท ่ ี ร ้ อ ยละ 2.10 ต่ ออปีปี โดย โดย ้ ้ ่ โครงการสนั บ สนุ น สิ น เชื ่ อ ส าหรั บ การจั ด ซื อ รถตั ด อ้ อ ย โดยมี อ ต ั ราดอกเบี ย เฉลี ่ ย อยู ท ่ ี ร ้ อ ยละ 2.10 ต่ โดย ้ ้ ่่มมบริ มีมีรระยะเวลาช าระคื นนเงิเงิ นนต้ต้นนและดอกเบี นรายปี ตามสั ญ ญาขายลดเช็ คคระหว่ าางกลุ ษษททัั และสอน. ้้ ยยเป็ ะยะเวลาช าระคื และดอกเบี เป็ นรายปี ตามสั ญ ญาขายลดเช็ ระหว่ งกลุ บริ และสอน. โดย มีระยะเวลาชาระคื นนเงิเงิ นนต้ต้นนและดอกเบี ตามสั คคระหว่ าระคื และดอกเบี้้ ยยเป็ เป็ม้ นรายปี นรายปี ตามสัญ ญษญาขายลดเช็ ญาขายลดเช็ ระหว่าางกลุ งกลุ่่มมบริ บริ ษษททัั และสอน. และสอน. โดย โดย เงิเงิมีรนนะยะเวลาช กูกูยย้้ มมืื ดัดังงกล่ า วค า ประกั น โดยกรรมการผู ี อ านาจของบริ ท ั ้ าาวค นนโดยกรรมการผู มม้้ ีีออานาจของบริ ษษททัั ้้ าาประกั เงิเงินนกูกูยย้้ มมืื ดัดังงกล่ กล่ วค ประกั โดยกรรมการผู านาจของบริ กล่าวค้ าประกันโดยกรรมการผูม้ ีอานาจของบริ ษทั สสารองผลประโยชน์ รระยะยาวของพนั กกงาน ะยะยาวของพนั งาน สสารองผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักกงาน งาน ่่มมบริ สสารองผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ก ษษททัั ประกอบไปด้ ววยย เงิเงินนชดเชยตามกฎหมายแรงงาน รระยะยาวของพนั กกงานของกลุ งานของกลุ บริ ประกอบไปด้ ่ สสารองผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์ ะยะยาวของพนั งานของกลุ ม บริ ษ ท ั ประกอบไปด้ ววยย เงิเงินนชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ่ ารองผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ก งานของกลุ ม บริ ษ ท ั ประกอบไปด้ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน และผลประโยชน์ เ พิ ม เติ ม ตามแผนสวั ส ดิ ก ารพนั ก งานซึ ่ งให้ พ นั ก งานประจ าที ่่ เเ ริริ่่ มงานก่ ออ นวั นน ทีที่่ ่ และผลประโยชน์ เ พิ ม เติ ม ตามแผนสวั ส ดิ ก ารพนั ก งานซึ ่ งให้ พ นั ก งานประจ าที มงานก่ นวั ่ และผลประโยชน์ เ พิ ม เติ ม ตามแผนสวั ส ดิ ก ารพนั ก งานซึ ่ งให้ พ นั ก งานประจ าที ่ เ ริ มงานก่ อ นวั นน ทีที่่ ่ ่ และผลประโยชน์ เและมี พิ่ ม เติอมายุตามแผนสวั สปีดิ ขึก้ นารพนั ก งานซึก่ งานจะมี งให้ พ นัสกิ ทงานประจ าที ่ เ ริ่ มงานก่ อ่กนวั 16 กรกฎาคม 2555 ง านตั ง แต่ 10 ไป โดยพนั ธิ ไ ด้ ร ั บ เงิ น ตามเงื ่ อ นไขที าหนด ้ 16 กรกฎาคม 2555 และมีออายุ งานตั้้ งงแต่ 10 ปีปี ขึขึ้้ นนไป โดยพนักกงานจะมี สิทธิ ได้รับเงินตามเงื่่ออนไขที ่กาหนด 16 กรกฎาคม 2555 16 กรกฎาคม 2555 และมี และมีอายุ ายุงงานตั านตั้งแต่ แต่ 10 10 ปี ขึ้นไป ไป โดยพนั โดยพนักงานจะมี งานจะมีสสิิ ททธิธิ ไได้ด้รรัั บบเงิเงินนตามเงื ตามเงื่อนไขที นไขที่่กกาหนด าหนด ไว้ เ มื ่ อ ออกจากงาน ไว้ เเมืมื่่ออออกจากงาน ไว้ ออกจากงาน ไว้เมื่อออกจากงาน านวนเงินนสสารองผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักกงานซึ งานซึ่่ งงเป็เป็ นนเงิเงินนชดเชยพนั ชดเชยพนักกงานเมื งานเมื่่ออออกจากงานแสดงได้ ออกจากงานแสดงได้ดดงงัั นีนี้้ จจจานวนเงิ านวนเงิ น ส ารองผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ก งานซึ ่ ง เป็ น เงิ น ชดเชยพนั ก งานเมื ่ อ ดงงัั นีนี้้ จานวนเงินสารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่งเป็ นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงานแสดงได้ ออกจากงานแสดงได้ (หน่วย: พันดบาท)
สสารองผลประโยชน์ รระยะยาวของพนั กกงานต้ นนปีปี ะยะยาวของพนั งานต้ สสส่ารองผลประโยชน์ ารองผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ก งานต้ นนปีปี ว นที ่ ร ั บ รู ้ ใ นก าไรหรื อ ขาดทุ น : ารองผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ก งานต้ ส่ส่ววนที ่รับรูรู ้้ใในก าไรหรื ออขาดทุ นน:: าไรหรื ขาดทุ นนทุทุ่่รรนนัับบบริ กการในปั จ จุ บ น ั ส่วต้ต้นที นที รูบริ้ในก นก าไรหรื อ ขาดทุ ารในปั จจจุจุบบนนัั น: ต้ต้นนทุทุนนบริ ก ารในปั ดอกเบี การในปั ้้ ยย จจุบนั ต้ต้นนทุทุนนบริ ดอกเบี ดอกเบี ้้ ยย ส่ส่ววต้นที รูรู ้้ใในก าไรขาดทุ นนเบ็ ดดเสร็ จจอือื่่นน:: นทุ่่รรนัับบดอกเบี นที นก าไรขาดทุ เบ็ เสร็ ส่ส่วว(กนที ่ ร ั บ รู ้ ใ นก าไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ นทีาไร) ่รับรูขาดทุ ้ในกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จจอือื่่นน:: นนจากการประมาณการตามหลั กกคณิ ตตศาสตร์ (ก าไร) ขาดทุ จากการประมาณการตามหลั คณิ (ก าไร) ขาดทุ น จากการประมาณการตามหลั ก คณิ ตตศาสตร์ ศาสตร์ (กาไร) ขาดทุ น จากการประมาณการตามหลั ก คณิ ศาสตร์ ประกั น ภั ย ประกั น ภั ย ประกั น ภั ย ส่ส่ประกั วนที ่่ยยนแปลงข้ ออสมมติ ดดาา้้ นน น่่เเกิกิภัดดยจากการเปลี นที จากการเปลี นแปลงข้ สมมติ ส่ส่วววประชากรศาสตร์ นที ่ เ กิ ด จากการเปลี ่ ย นแปลงข้ อ สมมติ นที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติดดาา้้ นน ประชากรศาสตร์ ส่ส่ววประชากรศาสตร์ นที่่เเกิกิดดจากการเปลี ่่ยยนแปลงข้ ออสมมติ ททางการเงิ นน ประชากรศาสตร์ จากการเปลี นแปลงข้ สมมติ างการเงิ ส่ส่ววนที นที ่ เ กิ ด จากการเปลี ่ ย นแปลงข้ อ สมมติ ท างการเงิ จากการปรั บบ่ยปรุ งงจากประสบการณ์ ่่เเกิกิดดจากการเปลี นแปลงข้ อสมมติทางการเงินน ส่ส่ววนที นที จากการปรั ปรุ จากประสบการณ์ ส่วนที นที่่เเกิกิดดจากการปรั จากการปรับบปรุ ปรุ งงจากประสบการณ์ จากประสบการณ์ รวม รวม รวม รวม ผลประโยชน์ ทที่ี่จจ่่าายในระหว่ าางปี ผลประโยชน์ ยในระหว่ ่ ผลประโยชน์ ท ่ ี จ า ยในระหว่ าางปี งปี ่ ผลประโยชน์ ท ่ ี จ า ยในระหว่ งปี สสารองผลประโยชน์ รระยะยาวของพนั กกงานปลายปี ารองผลประโยชน์ ะยะยาวของพนั งานปลายปี สสารองผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักกงานปลายปี งานปลายปี
งบการเงิ รวม งบการเงินน งบการเงิ นนรวม รวม งบการเงิ รวม งบการเงิ น รวม2558 2559 2558 2559 2559 2558 2559 2558 2559 2558 260,939 299,168 260,939 299,168 260,939 299,168 260,939 299,168 15,193 18,766 15,193 18,766 15,193 18,766 5,838 8,576 15,193 18,766 5,838 8,576 5,838 8,576 5,838 8,576
(หน่ ววย: พั นนบาท) (หน่ ย: พั บาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ (หน่ ว ย: พั นการ บาท) งบการเงินนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ จ การ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงิ นเฉพาะกิ2558 จการ 2559 2558 2559 2559 2558 2559 2558 2559 2558 154,180 172,219 154,180 172,219 154,180 172,219 154,180 172,219 8,582 8,557 8,582 8,557 8,582 8,557 3,305 4,781 8,582 8,557 3,305 4,781 3,305 4,781 3,305 4,781
---21,126 21,126 21,126 21,126 21,126 21,126 21,126 (8,006) (8,006) (8,006) (8,006) 295,090 295,090 295,090 295,090
---17,807 17,807 17,807 17,807 17,807 17,807 17,807 (3,348) (3,348) (3,348) (3,348) 180,526 180,526 180,526 180,526
(20,270) (20,270) (20,270) 27,184 (20,270) 27,184 27,184 (57,418) 27,184 (57,418) (57,418) (57,418) (50,504) (50,504) (50,504) (50,504) (15,067) (15,067) (15,067) (15,067) 260,939 260,939 260,939 260,939
รายงานประจ�ำปี 2559
(10,278) (10,278) (10,278) 14,400 (10,278) 14,400 14,400 (29,773) 14,400 (29,773) (29,773) (29,773) (25,651) (25,651) (25,651) (25,651) (5,726) (5,726) (5,726) (5,726) 154,180 154,180 154,180 154,180 36 193 36
36 36
ค่าใช้จ่า่ ยเกี่่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน ค่าใช้จายเกียวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน ใช้จ่ายเกี่ย่ยวกั วกับผลประโยชน์รระยะยาวของพนั ะยะยาวของพนักงานรับบรูรู้ใ้ในรายการต่ นรายการต่อไปนี้ ้ใในส่ นส่ วนของกาไรหรื าไรหรืออขาดทุ ขาดทุนน ค่ค่ค่าาาใช้ (หน่วย:อพัขาดทุ นบาท) ใช้จจ่า่ายเกี ยเกี่ยวกับบผลประโยชน์ ผลประโยชน์ระยะยาวของพนักกงานรั งานรับรู ้ในรายการต่ออไปนี ไปนี้ในส่ววนของก นของกาไรหรื น (หน่วย: พันบาท)
(หน่ บาท) งบการเงินรวม งบการเงิ(หน่ นเฉพาะกิ ววย:ย: พัพันนจจการ บาท) งบการเงินรวม งบการเงิ(หน่ นเฉพาะกิ วย: พันการ บาท) งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ เฉพาะกิ2558 การ 2559 2558 2559 นนเฉพาะกิ งบการเงิ งบการเงิ จจการ งบการเงิ รวม งบการเงิ เฉพาะกิจ2558 จการ งบการเงินนรวม งบการเงิ การ 2559 2558 2559 นนเฉพาะกิ 2559 2558 2559 2558 ต้นทุนขาย 11,250 12,978 5,918 6,213 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 ต้นทุนขาย 11,250 12,978 5,918 6,213 ทุ น ขาย 11,250 12,978 5,918 6,213 ่ ค่ต้ต้นนาใช้ จ า ยในการขายและการบริ ห าร 9,781 14,364 5,969 7,125 ทุนจขาย 11,250 12,978 5,918 6,213 ค่ต้นาใช้ ยในการขายและการบริ หาร 9,781 14,364 5,969 7,125 ทุน่าขาย 11,250 12,978 5,918 6,213 ใช้จจา่า่าใช้ ยในการขายและการบริ าร น 9,781 14,364 5,969 7,125 จ่ายที่รับรู ้ในกาไรหรื อหหขาดทุ 21,031 27,342 11,887 13,338 ค่ค่รวมค่ าาใช้ ยในการขายและการบริ าร 9,781 14,364 5,969 7,125 ค่าใช้จา่าใช้ยในการขายและการบริ าร น รวมค่ จ่ายที่รับรู ้ในกาไรหรื อหขาดทุ 9,781 14,364 5,969 7,125 21,031 27,342 11,887 13,338 รวมค่าาใช้ ใช้จจ่า่ายที ยที่ร่รับับรูรู้ใ้ในก นกาไรหรื าไรหรืออขาดทุ ขาดทุนน 21,031 27,342 11,887 13,338 รวมค่ 21,031 27,342 11,887 13,338 รวมค่ ยที่รับารูจะจ่ ้ในกาาไรหรื อขาดทุน ระยะยาวของพนั 21,031 13,338 ่มบริาใช้ษจทั ่าคาดว่ กลุ ยชาระผลประโยชน์ กงานภายใน27,342 1 ปี ข้างหน้า11,887 เป็ นจานวนประมาณ
กลุ่มบริ ษทั คาดว่าจะจ่ายชาระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปี ข้างหน้า เป็ นจานวนประมาณ กลุ่ม่มล้บริ บริานบาท คาดว่ จะจ่าาจยช ยชานวน าระผลประโยชน์ ะยะยาวของพนั งหน้ล้าา นบาท นจานวนประมาณ 51 (2558: 49 ล้านบาท)รระยะยาวของพนั (เฉพาะของบริกกงานภายใน ษงานภายใน ทั ฯ: จานวน 2558: จานวน กลุ ษษษทัททัั คาดว่ าาาจะจ่ าระผลประโยชน์ 111 ปีปีปี ข้ข้ข้าาา41 เป็เป็ 51 (2558: 49 ล้านบาท)ระยะยาวของพนั (เฉพาะของบริกษงานภายใน ทั ฯ: จานวน 41งหน้ 2558: จานวน กลุ่มล้บริานบาท คาดว่ จะจ่าจยชานวน าระผลประโยชน์ งหน้ล้า นบาท เป็ นนจจานวนประมาณ านวนประมาณ 51 ล้ า นบาท (2558: จ านวน 49 ล้ า นบาท) (เฉพาะของบริ ษ ท ั ฯ: จ านวน 41 ล้ า นบาท 2558: จจานวน านวน 34 ล้ล้าานบาท) 51 51 ล้ล้านบาท) านบาท นบาท (2558: (2558: จจานวน านวน 49 49 ล้ล้าานบาท) นบาท) (เฉพาะของบริ (เฉพาะของบริษษทั ทั ฯ: ฯ: จจานวน านวน 41 41 ล้ล้าานบาท นบาท 2558: 2558: จานวน 34 34 ล้ล้าานบาท) นบาท) 34 ณ วัล้นานบาท) ที่ 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาเฉลี่ยถ่วงนาหนักในการจ่ายชาระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 34 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาเฉลี่ยถ่วงน้้ าหนักในการจ่ายชาระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ วัวันนทีที่ม่ 31 31บริธัษนทั วาคม 25597ระยะเวลาเฉลี ระยะเวลาเฉลี งน้ า้ าหนั หนักในการจ่ ยชปี าระผลประโยชน์ ะยะยาวของพนักงาน ประมาณ ปี (2558: 7 ปี่ย่ย) ถ่ถ่(เฉพาะของบริ ษทั ฯ:าา7ยช 2558: 7 ปี ) รระยะยาวของพนั ณของกลุ 2559 วววงน ของกลุ ประมาณ ปี (2558: 7 ปี ่ย) ถ่(เฉพาะของบริ ษทั ฯ:า7ยชปีาระผลประโยชน์ 2558: 7 ปี ) ระยะยาวของพนักกงาน ณ วันที่ม31บริธัธัษนนทั วาคม วาคม 25597ระยะเวลาเฉลี งน้ าหนักกในการจ่ ในการจ่ าระผลประโยชน์ งาน ของกลุ่ม่มบริ บริษษทัทั ประมาณ ประมาณ 77 ปีปี (2558: (2558: 77 ปีปี )) (เฉพาะของบริ (เฉพาะของบริษษทัทั ฯ: ฯ: 77 ปีปี 2558: 2558: 77 ปีปี )) ของกลุ สมมติ ญในการประมาณการตามหลั กคณิ ตศาสตร์ ประกั ภัย สรุ7ปปีได้ ของกลุฐฐ่มานที บริ ษ่่สสทั าคั 7 ปี (2558: 7 ปี ) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 7 ปีนน2558: ) ดดงงัั นีนี้้ สมมติ านที าคัประมาณ ญในการประมาณการตามหลั กคณิ ตศาสตร์ ประกั ภัย สรุ ปได้ สมมติฐฐานที านที่สาคัญญในการประมาณการตามหลั ในการประมาณการตามหลักคณิตตศาสตร์ ศาสตร์ ประกันนภัภัยย สรุ สรุ ปได้ดดงั งั นีนี้ ้ (หน่วย: ร้อยละต่อปี ) สมมติ สมมติฐานที่ส่สาคั าคัญในการประมาณการตามหลักกคณิ คณิ ตศาสตร์ปประกั ระกันภัย สรุปปได้ ได้ดงั นี้ (หน่วย: ร้อยละต่อปี ) (หน่วย: ร้อยละต่อปี ) งบการเงินรวม งบการเงิ(หน่ นเฉพาะกิ การ อปี ) วย: ร้อจจยละต่ งบการเงินรวม งบการเงิ(หน่ นเฉพาะกิ การ อปี ) วย: ร้อยละต่ งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ 2559งบการเงิ 2558 2559 2558 น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินนรวม งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจ2558 2559 งบการเงิ 2559 รวม2558 งบการเงิ จการ การ 2559 2558 2559 25582.8% อัตราคิดลด 2559 2.8% 2558 2.8% 25592.8% 2558 2559 2558 2559 2558 อัตราคิดลด 2559 2.8% 2558 2.8% 25592.8% 25582.8% ราคิดดลด ลด้ นเงินเดือน 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% ราการขึ 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% อัอัอัตตตราคิ 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% ราการขึ 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% ราคิดลด้ นเงินเดือน 2.8% 2.8% 2.8% 2.8% อัอัตตราการขึ ราการขึ้ น้ นเงิเงินนเดืเดืออนน 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% อั ต ราการขึ น เงิ น เดื อ น 5.0% 5.0% 5.0% 5.0% ้ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่สาคัญต่อมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาว
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่สาคัญต่อมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาว ผลกระทบของการเปลี นแปลงสมมติ านที าคัญญต่ต่สรุ ของภาระผูกกพัพันนผลประโยชน์ ผลประโยชน์ระยะยาว ของพนั กงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ่ส่ส2558 ผลกระทบของการเปลี ่ย่่ยยนแปลงสมมติ ฐฐฐานที าคั อออมูมูมูปปลลลได้ ค่ค่ค่าาาดดปัปัปังงัั จจจนีนีจุจุจุ้้ บบบนันนัั ของภาระผู ของพนั กงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ่ส2558 ได้ ผลกระทบของการเปลี นแปลงสมมติ านที าคัญต่สรุ ของภาระผูกพันผลประโยชน์รระยะยาว ะยะยาว ของพนั ก งาน ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 สรุ ป ได้ ด ง ั นี ้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท) ของพนั (หน่วย: ล้านบาท) ของพนักกงาน งาน ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 และ และ 2558 2558 สรุ สรุปปได้ ได้ดดงั งั นีนี้ ้
อัตราคิดลด อัตราคิดลด ราคิ ลด้ นเงินเดือน ราการขึ อัอัอัตตราคิ ดดลด ราการขึ ตราคิ ดลด้ นเงินเดือน ราการขึ้ น้ นเงิเงินนเดืเดืออนน อัอัตตราการขึ อัตราการขึ้นเงินเดือน
(หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 (หน่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 (หน่ววย:ย: ล้ล้าานบาท) นบาท) 31 31 ธัธัธันนนวาคม วาคม2559 2559 นเฉพาะกิจการ งบการเงินรวมณณณวัวัวันนนทีทีที่ ่่ 31 งบการเงิ วาคม 2559 งบการเงิ นรวมณ วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงิ นเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ จการ 2559 งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม งบการเงิ เฉพาะกิ จการ การ1% เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1% เพิ่มงบการเงิ ขึงบการเงิ ลดลง ้ น 1% นนนเฉพาะกิ งบการเงิ น รวม จ เพิเพิ่มม่ ขึขึ้ น้น 1% 1% ลดลง 1% เพิ ม ขึ น 1% ลดลง 1% ้ ่ งบการเงินรวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ1% ลดลง 1% เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง เพิม่ ม่ ขึขึ้ น้ น 1% 1% ลดลง 1% 1%23 เพิม่ ม่ ขึขึ้ น้ น 1% 1% ลดลง 1% 1%12 (21) (11) ลดลง เพิ ลดลง เพิ (21) (11) เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1%23 เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1%12 (21) 23 (11) 12 30 (25) 16 (14) (21) 23 (11) 12 30 (25) 16 (14) (21) 23 (11) 12 30 (25) 16 (14) 30 (25) 16 (14) 30 (25) 16 (14) (หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่ ณณวัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม2558 2558 (หน่ววย:ย: ล้ล้าานบาท) นบาท) 31 ธัธันนวาคม วาคม 2558 2558 นเฉพาะกิจการ งบการเงิ นรวม รวมณณ วัวันนทีที่ ่ 31 งบการเงิ งบการเงิ น งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงินรวมณ วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงิ 2558 นเฉพาะกิจการ งบการเงิ น รวม งบการเงิ การ1% เพิเพิ่มม่ ขึขึ้ น้น 1% 1% ลดลง 1% เพิ ม ขึขึ้น้น1% 1% นเฉพาะกิ ลดลง 1% ่ งบการเงินรวม ลดลง 1% ลดลง จจการ เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1% เพิเพิ่มม่ งบการเงิ ขึ้น 1% นนเฉพาะกิ ลดลง งบการเงินรวม งบการเงิ เฉพาะกิ จการ1% เพิ่ม่มขึขึ้ น้ น 1% 1% ลดลง 1% 1%21 เพิ่ม่มขึขึ้ น้ น 1% 1% ลดลง 1% 1%11 (20) (11) ลดลง เพิ ลดลง เพิ (20) (11) เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1%21 เพิ่มขึ้น 1% ลดลง 1%11 (20) 21 (11) 11 27 (25) 15 (14) (20) 21 (11) 11 27 (25) 15 (14) (20) 21 (11) 11 27 (25) 15 (14) 37 27 (25) 15 (14) 27 (25) 15 (14) 37
อัตราคิดลด อัตราคิดลด ราคิ ลด้ นเงินเดือน ราการขึ อัอัอัตตตราคิ ดดลด ราการขึ ราคิ ดลด้ นเงินเดือน ราการขึ้ น้ นเงิเงินนเดืเดืออนน อัอัตตราการขึ อั ต ้ นเงินเดือน 194 บริราการขึ ษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
37 37 37
สาหรับสปีาหรั สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคมธัน2559 วาคม 2559 สาหรับปี สิ้นบสุปีดสิวั้นนสุทีด่ 31วันธัทีน่ 31 วาคม 2559 ราคาอ้อราคาอ้ ย ณ ระดั บ ความหวานที ่ 10 ซี.ซี.เอส.ซี.ซี.เอส. 1,050.001,050.00 808.00 808.00 ย ณบความหวานที ระดับความหวานที ราคาอ้อย ณ อระดั ่ 10 ซี.ซี่ 10 .เอส. 1,050.00 808.00 อัตราขึอั้ นต/ลงของราคาอ้ อ ย ต่ อ 1 หน่ ว ย ซี . ซี . เอส. 63.00 48.48 ราขึ้น/ลงของราคาอ้ ต่อว1ย หน่ ย ซี.ซี.เอส. 63.00 63.00 48.48 48.48 อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้ อย ต่ออ1ยหน่ ซี.ซีว.เอส. สาหรับสปีาหรั สิ้นสุบดปี วัสิน้นทีสุ่ 31 ธั น วาคม 2558 ธัน2558 วาคม 2558 สาหรับปี สิ้นสุ ดวันทีด่ 31วันธัทีน่ 31 วาคม ราคาอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ย ณบความหวานที ระดับความหวานที ซี.ซี.เอส. - 808.00 ราคาอ้ราคาอ้ อย ณ อระดั ่ 10 ซี.ซี่ 10 .เอส. 808.00 808.00 อัตราขึ้น/ลงของราคาอ้อย ต่อ 1 หน่วย ซี.ซี.เอส. 48.48 ราขึ้น/ลงของราคาอ้ ต่อว1ย หน่ ย ซี.ซี.เอส. อัตราขึอั้ นต/ลงของราคาอ้ อย ต่ออ1ยหน่ ซี.ซีว.เอส. 48.48 48.48
-
-
-
38 38
38
808.00 861.44 808.00 808.00861.44 861.44 48.48 51.69 48.48 48.48 51.69 51.69
1,050.00 1,050.00 883.10 883.10 1,050.00 883.10 63.00 63.00 52.99 52.99 63.00 52.99 -
839.82 - 847.25 - 808.00 839.82 - 847.25-808.00 808.00 839.82 - 847.25 48.48 50.39 - 50.83 - 48.48 48.4850.39 - 50.83 50.39 - 50.83 -
865.27 - 868.87 - 1,050.00 1,050.001,050.00 865.27 - 865.27 868.87 - 868.87 51.92 - 52.13 - 63.00 51.92 - 52.13 -63.00 63.0051.92 - 52.13
900.00 900.00 900.00 54.00 54.00 54.00 -
-
(หน่วย: บาทต่ อย) อตันอ้อย) (หน่อวตัย:นอ้บาทต่ (หน่วย: บาทต่อตันอ้อย) ราคาที่คานวณโดยอ้ างอิงวิธีการค ราคาที่คานวณโดยอ้ างอิานวณ งวิธีการคานวณ ราคาที งอิงงวิวิธธกี ีการคำ ารค ราคาที่คค่ �านวณโดยอ้ ำ นวณโดยอ้าางอิ �านวณ นวณ จากส านั�นักจากส ออยและน ตาลทราย จากสำ กงานคณะกรรมการอ้ งานคณะกรรมการอ้ ยและน้�ำ ้ าตาลทราย านั ก งานคณะกรรมการอ้ ยและน้ าตาลทราย จากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าอตาลทราย ราคาอ้ บริ ทั ฯ บริ ราคาอ้ออยขั ยขั้ นน้ ต้ต้นนอยขั้นต้น บริษ บริษษทั ทั ย่ย่ออยย บริ ษทั ย่อย ราคาอ้อราคาอ้ ยขั้นต้น บริษษทั ทั ฯฯ บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อย ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ก าลผลิ ต ปี ฤดู ปี ฤดู ปีปี กาลผลิตปี ฤดูกาลผลิ ฤดูตกาลผลิ ตปีกาลผลิ ตปีกาลผลิ ตปีกาลผลิ ฤดูกกาลผลิ ฤดูกกาลผลิ ฤดูตตกปีปีาลผลิฤดู ตปีกกาลผลิ ฤดูตตกปีปีาลผลิฤดู ฤดูตตปีกปีาลผลิ ปีาลผลิตฤดู ตาลผลิ ปี ตตฤดู ตาลผลิ ปี ตตตฤดู ฤดูกาลผลิ ฤดู าลผลิ ฤดูตกปีกาลผลิ าลผลิ ฤดูกปีาลผลิฤดู ตปี ฤดู ฤดูตกกปีาลผลิ าลผลิฤดู ตปี ฤดู ฤดูตกกปีาลผลิ าลผลิฤดู ตปี ฤดู ฤดูกตกาลผลิ ตปีปีกาลผลิ ฤดูกาลผลิ ตปีปีกาลผลิ ฤดู กาลผลิ ปี 2559/2560 2558/2559 2557/2558 2559/2560 2558/2559 2557/2558 2559/2560 2558/2559 2557/2558 2559/2560 2558/2559 2557/2558 2559/2560 2558/2559 2557/2558 2559/2560 2558/2559 2557/2558 2559/25602558/2559 2558/2559 2557/2558 2559/2560 2558/2559 2559/2560 2557/2558 2559/2560 2558/2559 2557/25582557/2558 2559/25602559/2560 2558/25592558/2559 2557/25582557/2558
24. 24.ราคาอ้ราคาอ้ อย อย 24. ราคาอ้อย ฤดูกตารผลิ ตปี 2559/2560 2558/2559 และ 2557/2558 ซื้ ออ้อยโดยใช้ ประกาศราคาอ้ ยขั้นต้นกของฤดู าลผลิ ตลของแต่ ละปี ซึ่ งประกาศโดย สาหรัสบาหรั ฤดูกบารผลิ ปี 2559/2560 2558/2559 และ 2557/2558 กลุ่ มบริกลุ ษทั ่ มรับริ บซืษ้ อทั อ้รัอบยโดยใช้ ประกาศราคาอ้ อยขั้นต้นอของฤดู าลผลิ ตกของแต่ ะปี ซึ่ งประกาศโดย สาหรับฤดูการผลิ ตปี 2559/2560 2558/2559 และ 2557/2558 กลุ่ มบริ ษทั รับซื้ ออ้อยโดยใช้ประกาศราคาอ้อยขั้นต้นของฤดูกาลผลิ ตของแต่ละปี ซึ่ งประกาศโดย ่มบริ ษทั ่มคาดว่ สานักสงานคณะกรรมการอ้ อยและน อย่างไรก็ ฝ่ ายบริ ารของกลุ ยขั้นสุ ดอท้ยขัายจะต่ อยขั้นต้นอกลุ ทั จึ่มงบับรินษทึทักค่จึงาบันทึกค่า านักงานคณะกรรมการอ้ อยและน อย่ตาาม งไรก็ ตาม หฝ่ ายบริ หารของกลุ บริ ษาทั ราคาอ้ คาดว่อาราคาอ้ ายจะต่างจากราคาอ้ ยขั่ม้ นบริ ต้นษกลุ ้ นสุ ดท้างจากราคาอ้ ้ าตาลทราย ้ าตาลทราย สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย อย่างไรก็ตาม ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มบริ ษทั คาดว่าราคาอ้อยขั้นสุ ดท้ายจะต่างจากราคาอ้อยขั้นต้น กลุ่มบริ ษทั จึงบันทึกค่า อ้อยและเจ้ าหนี้ค่าอ้หนี อยส บฤดู ปี 2559/2560 2558/2559 และ 2557/2558 ด้วยราคาที ่คานวณโดยอ้ างอิงวิธีกาารค านักงานคณะกรรมการอ้ อยและ อยและ อ้อยและเจ้ อ้อยส าหรัการผลิ บฤดูกตารผลิ ตปี 2559/2560 2558/2559 และ 2557/2558 ด้วยราคาที ่คานวณโดยอ้ งอิงานวณจากส วิธีการคานวณจากส านักงานคณะกรรมการอ้ ้ ค่าาหรั อ้อยและเจ้าหนี้ค่าอ้อยสาหรับฤดูการผลิตปี 2559/2560 2558/2559 และ 2557/2558 ด้วยราคาที่คานวณโดยอ้างอิงวิธีการคานวณจากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและ น้ าตาลทราย รายละเอี ยดของราคาอ้ อยขั้นต้อนยขัและราคาที ่คานวณโดยอ้ างอิงวิธาี กงอิารค านักงานคณะกรรมการอ้ อยและนอ้ าตาลทรายดั งกล่าวสามารถสรุ ปได้ ปได้ น้ าตาลทราย รายละเอี ยดของราคาอ้ ่คานวณโดยอ้ งวิานวณจากส ธีการคานวณจากส านักงานคณะกรรมการอ้ ยและน้ าตาลทรายดั งกล่าวสามารถสรุ ้ นต้นและราคาที น้ าตาลทราย รายละเอียดของราคาอ้อยขั้นต้นและราคาที ่คานวณโดยอ้างอิงวิธีการคานวณจากสานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายดั งกล่าวสามารถสรุ ปได้ ดังนี้ ดังนี้ ดังนี้
รายงานประจ�ำปี 2559
195
25. ทุนเรือนหุ้น 25. เมื่ อทุวันนเรืทีอ่ นหุ 23 ้ น เมษายน 2558 ที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นสามัญประจาปี ของบริ ษทั ฯได้มี มติ อนุ ม ตั ิ การเพิ่ ม ทุ น เมื่ อวันยนของบริ ที่ 23 เมษายน ที่ ประชุ มบาท ผูถ้ ื อเป็ หุ ้นนสามั ญประจาปี ของบริ ษทั ฯได้มี มติ อ้นนุสามั ม ตั ญิ การเพิ จดทะเบี ษทั ฯจาก2558 3,888,000,000 3,888,000,010 บาท โดยการออกหุ เพิ่มทุ่ มนทุ น จดทะเบี ทั ฯจาก เป็รนับ3,888,000,010 ้นสามั จานวน 10 ยหุนของบริ ้น มูลค่าษตราไว้ หุ้น3,888,000,000 ละ 1 บาท บริ ษบาท ทั ฯได้ ค่าหุ ้นในราคาหุบาท ้นละ โดยการออกหุ 12.40 บาท โดยมี มูลญค่เพิ าหุ่ม้นทุน านวนว10 หุ ้นลค่มูาลทีค่่ตาราไว้ ตราไว้ หุ้นละ รับค่10 าหุ บาท ้นในราคาหุ ้นละบาท 12.40 ค่าหุ ้น ที่ชจาระแล้ ตามมู และมี ส่ว1นเกิบาท นมูลบริค่าษหุทั ้นฯได้ จานวน และ 114 ตามลบาท าดับโดยมี บริ ษมทั ูลฯได้ ที่ชาระแล้ าที่ตราไว้และมีชย์ส่เมื วนเกิ หุ ้นจานวน2558 10 บาท และ 114 บาท ตามลาดับ บริ ษทั ฯได้ จดทะเบี ยนเพิว่มตามมู ทุนกัลบค่กระทรวงพาณิ ่อวันทีมู่ ล25ค่าพฤษภาคม จดทะเบี ยนเพิ นกับกระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อทวัธินซทีื้อ่ 25 26. การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุน่มเป็ทุนเกณฑ์ - ใบสาคัญแสดงสิ หุ้นพฤษภาคม สามัญ 2558 26. บริการจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็าคันเกณฑ์ - ใบส ้ นสามัญแก่ผูบ้ ริ หารและพนักงานของกลุ่ ม บริ ษ ทั ษทั ฯได้ ออกใบส ญแสดงสิ ท ธิาคั ซ้ื อญหุแสดงสิ ้นสามัทญธิทีซ่ จื้อดั หุสรรให้
บริ ษทั ฯได้ ออกใบส สามัญมทีีร่ จาคาเสนอขาย ดั สรรให้แก่ผผููบ้ ถ้ ริือหใบส ารและพนั กงานของกลุ (“ESOP”) โดยมี อายุ 5 าคั ปี นัญบแสดงสิ ตั้งแต่วทนั ธิทีซ่อ้ื ออกหุ ้นและไม่ าคัญแสดงสิ ทธิ ฯจะต้่มอบริ งมีษ ทั (“ESOP”) อายุน5ทีปี่กนัาหนดการใช้ บตั้งแต่วนั ทีส่อิ ทอก ใบสาคั ธิ ฯจะต้องมี สถานะเป็ นพนัโดยมี กงานในวั ธิ ผูและไม่ ถ้ ือใบสมาคัีราคาเสนอขาย ญแสดงสิ ทธิฯทีผูถ้่ลื อาออก ถูกญเลิแสดงสิ กจ้าง ถูกทปลดออก สถานะเป็ กงานในวั นที่กาหนดการใช้ ทธิญผูแสดงสิ ถ้ ือใบสทาคัธิญฯทีแสดงสิ ฯที่ลาออก เลิก่เหลื จ้างอถูอีกปลดออก โดยมี ความผินดพนั จะไม่ สามารถใช้ สิทธิ ตามใบสสิาคั ่ได้รับทจัดธิสรร หรื อส่ถูวกนที ต่อไป โดยมีอคงคื วามผิ ด จะไม่ ามารถใช้ ิ ทธิแตก่ามใบส าคัญนแสดงสิ ธิ ฯที่ได้รับกจังาน ดสรร หรื อส่าคั วนที ่เหลืออีทกต่ธิอมไป โดยจะต้ นใบส าคัญสแสดงสิ ทธิ ฯสให้ บริ ษทั ฯทั ทีเมื่อพ้นทสถาพพนั โดยใบส ญแสดงสิ ี โดยจะต้องคืนสใบส แสดงสิ ทธิ ฯให้แ4ก่ปีบ6ริ ษเดืทั อฯทั เมื่อวนพ้ั ทีน่อสถาพพนั กงาน โดยใบส แสดงสิ ทธิ มี ระยะเวลาการใช้ ิ ทธิเมืาคั่อญ ครบก าหนดระยะ น นันบทีแต่ อก อัตราการใช้ สิทธิ ซ้ื อาคั หุ ้นญสามั ญและ ระยะเวลาการใช้ ่อครบก 4 ปีงต่6อเดืไปนี อน้ นับแต่วนั ที่ออก อัตราการใช้สิทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญและ ราคาการใช้ สิทธิ ณ สวัิ นทธิทีเ่อมือกสิ ทธิ มาหนดระยะ ีรายละเอียดดั ราคาการใช้สิทธิ ณ วันที่ออกสิ ทธิ มีรายละเอียดดั งต่อไปนี จานวนสิ ทธิ ้ อัตราการใช้สิทธิต่อ
ราคาใช้ ออกทธิ ทธิ 1 อัหน่ วยใบสสาคั กำ�หนดเวลาการใช้สสทิ ิ ทธิ ธิ ทิ สธิญ จ่านวนสิ อัตตรการใช้ ราการใช้ ิ ทธิต่อ กาหนดเวลาการใช้ ราคาใช้สสทิ ิ ทธิธิ จำ�ทีนวนสิ ที อ ่ อก ต่ อ 1 หน่ ว ย (บาทต่ออหุหุน้ น ) (หน่วทีวย) ญแสดงสิ วันที่ออก วันที่หมดอายุ (บาทต่ ย) ทธิ ทธิาคัญ เริเริ่กมม่ าหนดเวลาการใช้ สิสิ้นน้ สุสุดดสิทธิ ราคาใช้้ ส)ิ ทธิ (หน่ ่ออก ใบสำแสดงสิ 1�คัหน่ วยใบส ESOP 1 ธันวันวาคม 10 อหุน้ ) 28,000,000 1:1 ทธิ 1 มิถุนายน ที่ออก 1 วัธันนทีวาคม ่หมดอายุ (บาทต่ (หน่วย) แสดงสิ เริ่ ม 30 พฤศจิสิ้นกายน สุด 2562 ESOP 2557 1 ธันวาคม 2562 1 ธันวาคม 10 28,000,000 1:1 1 มิถุนายน 302562 พฤศจิกายน 2557 2562 2562 2562 วันทีอ่ อก
วันทีห่ มดอายุ
มูลค่ายุติธรรมของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ วัดมูลค่าโดยวิธี Black-Scholes Model ภายใต้ขอ้ สมมติฐานทาง มูลนค่าดัยุงตนีิธ้ รรมของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ วัดมูลค่าโดยวิธี Black-Scholes Model ภายใต้ขอ้ สมมติฐานทาง การเงิ ดังนี้ มูลการเงิ ค่ายุติธนรรมของใบส าคัญแสดงสิ ทธิ ณ วันที่ให้สิทธิ (บาท) 7.15
มูลค่น้ ายุณติธวัรรมของใบส แสดงสิทธิทธิ(บาท) ณ วันที่ให้สิทธิ (บาท) ราคาหุ นที่ให้ใบสาคัาคัญญแสดงสิ ราคาหุสิทน้ ธิณ(บาท) วันที่ให้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ (บาท) ราคาใช้ ราคาใช้นสผวนของราคาหุ ิ ทธิ (บาท) น้ ที่คาดหวัง ค่าความผั าความผั นผวนของราคาหุ น้ ทีาคั ่คาดหวั ง ทธิครบ ช่วค่งเวลาที ่คาดว่ าจะมีผมู้ าใช้ใบส ญแสดงสิ วงเวลาที ่คาดว่่คาดหวั าจะมีผงมู้ าใช้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิครบ อัตช่ราเงิ นปันผลที ตราเงินปั้ ยนปลอดความเสี ผลที่คาดหวัง่ ยง อัตอัราดอกเบี อัตราดอกเบี้ยปลอดความเสี่ ยง
196
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
7.15 11.70 11.70 10.00 10.00125.03 ร้อยละ 4.5ร้ปีอยละ 125.03 4.5 ปี2.56 ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 2.512.56 ร้อยละ 2.51
39
39
ใช้จจ่า่ายที ยที่่เเกิกิดดจากรายการจ่ จากรายการจ่าายโดยใช้ ยโดยใช้หหุุนน้้ เป็ เป็ นนเกณฑ์ เกณฑ์ใในงบการเงิ นงบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการส การสาหรั าหรับบปีปี ค่ค่าาใช้ 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 มีมีจจานวน านวน 44 44 ล้ล้าานบาท นบาท 23 23 ล้ล้าานบาท นบาท ตามล ตามลาดั าดับบ (2558: (2558: จจานวน านวน 44 44 ล้ล้าานบาทและ นบาทและ สิสิ้้ นนสุสุ ดดวัวันนทีที่่ 31 23 ล้ล้าานบาท นบาท ในงบการเงิ ในงบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ ตามล ตามลาดั าดับบ)) 23 รายการเคลื่่ออนไหวของส่ นไหวของส่ ววนทุ นทุนนจากการจ่ จากการจ่าายโดยใช้ ยโดยใช้หหุุ ้น้นเป็ เป็ นเกณฑ์ นเกณฑ์ใในงบแสดงฐานะการเงิ นงบแสดงฐานะการเงินน ณ ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม รายการเคลื 2559 ประกอบด้ ประกอบด้ววยรายละเอี ยรายละเอียยดดั ดดังงนีนี้้ 2559 (หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนบาท) บาท) งบการเงิ รวม/ งบการเงิน งบการเงิ นนรวม รวม/ งบการเงิ จจการ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ การ ยอดคงเหลื 48,196 ยอดคงเหลืออ ณ ณ วัวันนทีที่่ 11 มกราคม มกราคม 2559 2559 48,196 รัรับบรูรู้้รระหว่ 44,489 ะหว่าางปี งปี 44,489 92,685 ยอดคงเหลื ยอดคงเหลืออ ณ ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 92,685 รายการเคลื รายการเคลื่่ออนไหวของจ นไหวของจานวนใบส านวนใบสาคั าคัญ ญแสดงสิ แสดงสิ ททธิธิ มีมีดดงงัั นีนี้้
ยอดคงเหลื ยอดคงเหลืออ ณ ณ วัวันนทีที่่ 11 มกราคม มกราคม 2559 2559 การใช้ ส ิ ท ธิ ใ นใบส าคั ญ แสดงสิ ท การใช้สิทธิในใบสาคัญแสดงสิ ทธิธิ ใในระหว่ นระหว่าางปี งปี ยอดคงเหลื ยอดคงเหลืออ ณ ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559
(หน่ (หน่ววย: ย: พั พันนหน่ หน่ววย) ย) งบการเงิ รวม/ งบการเงิ นนรวม รวม/ งบการเงิน งบการเงิ จจการ งบการเงิน เฉพาะกิจการ งบการเงิ นนเฉพาะกิ เฉพาะกิ การ 28,000 28,000 -28,000 28,000
27. ารองตามกฎหมาย 27. สสารองตามกฎหมาย ภายใต้ ภายใต้บบทบั ทบัญ ญญั ญัตติิขของมาตรา องมาตรา 116 116 แห่ แห่งงพระราชบั พระราชบัญ ญญั ญัตติิบบริริ ษษททัั มหาชนจ มหาชนจากั ากัดด พ.ศ. พ.ศ. 2535 2535 บริ บริ ษษททัั ฯต้ ฯต้อองจั งจัดดสรร สรร กกาไรสุ าไรสุ ททธิธิ ปประจ ระจาปี าปี ส่ส่ ววนหนึ นหนึ่่ งงไว้ ไว้เเป็ป็ นทุ นทุ นนสสารองไม่ ารองไม่นน้้ออยกว่ ยกว่าาร้ร้ ออยละ ยละ 55 ของก ของกาไรสุ าไรสุ ททธิธิ ปประจ ระจาปี าปี หัหักกด้ด้ววยยอด ยยอด ขาดทุ ขาดทุนนสะสมยกมา สะสมยกมา (ถ้ (ถ้าามีมี)) จนกว่ จนกว่าาทุทุนนสสารองนี ารองนี้้ จจะมี ะมีจจานวนไม่ านวนไม่นนออ้้ ยกว่ ยกว่าาร้ร้ออยละ ยละ 10 10 ของทุ ของทุนนจดทะเบี จดทะเบียยนน สสารอง ารอง ตามกฎหมายดั ง กล่ า วไม่ ส ามารถน าไปจ่ า ยเงิ น ปั น ผลได้ ตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนาไปจ่ายเงินปันผลได้
รายงานประจ�ำปี 2559
197
40 40
28. ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สาคัญดังต่อไปนี้
ค่าใช้จ่ายพนักงานและสวัสดิการอื่น ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าไฟฟ้ าและพลังงาน ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ค่าซ่อมแซมบารุ งรักษา ค่ารักษาเสถียรภาพ ค่าธรรมเนียมวิจยั และเงินนาส่งกองทุนอ้อยและน้ าตาลทราย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป การเปลี่ยนแปลงในสิ นค้าสาเร็ จรู ปและงานระหว่างทา
งบการเงิ รวม งบการเงินนรวม 2559 2558 2559 2558 1,185,990 1,245,132 1,142,268 940,615 558,706 565,273 304,250 498,497 663,727 709,915
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ งบการเงิน นเฉพาะกิ 2559 2558 2559 2558 700,505 694,815 542,943 410,640 156,215 143,605 129,113 257,752 392,987 417,825
1,322,448 7,364,828 1,181,798
1,082,152 5,621,294 873,914
1,354,740 9,663,054 1,816,919
862,275 7,265,209 1,418,141
29. ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุ ปได้ดงั นี้
ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับปี ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่าง ชัว่ คราวและการกลับรายการผลแตกต่างชัว่ คราว ค่ าใช้ จ่าย (ผลประโยชน์ ) ภาษีเงินได้ ทแี่ สดงอยู่ในงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ
198
งบการเงิ รวม งบการเงินนรวม 2559 2558 2559 2558
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ งบการเงินนเฉพาะกิ 2559 2558 2559 2558
65,518
1,669
-
-
58,712
(49,887)
35,521
(34,999)
124,230
(48,218)
35,521
(34,999)
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
41
จานวนภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับส่ วนประกอบแต่ละส่ วนของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุ ปได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ งบการเงิน นเฉพาะกิ 2559 2558 2559 2558
งบการเงิ รวม งบการเงินนรวม 2559 2558 2559 2558 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับ: ผลกาไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ประกันภัย
(4,225) (4,225)
10,101 10,101
รายการกระทบยอดระหว่างกาไรทางบัญชีกบั ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้มีดงั นี้
กาไร (ขาดทุน) ทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล กาไร (ขาดทุน) ทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล คูณอัตราภาษี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ไม่ได้บนั ทึกใน ระหว่างปี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ไม่ได้บนั ทึกในปี ก่อน แต่นามาใช้ประโยชน์ในระหว่างปี - ขาดทุนทางภาษี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่บนั ทึกในปี ก่อน แต่ไม่ใช้ประโยชน์ในปี นี้ ผลกระทบทางภาษีสาหรับ: การส่งเสริ มการลงทุน รายได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้าม ค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหกั ได้เพิ่มขึ้น อื่น ๆ รวม ค่าใช้จ่าย (ผลประโยชน์) ภาษีเงินได้ที่แสดงอยูใ่ นงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จ
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2559 2558 2559 2558 (388,304) 681,731
(3,562) (3,562)
5,130 5,130
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิน นเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ 2559 2558 2559 2558 260,515 615,529
20%
20%
20%
20%
(77,661)
136,346
52,103
123,106
203,676
50,719
175,097
30,990
(2,446)
(78,316)
-
-
14,477
-
-
-
(31,837) 25,656 (14,583) 6,948 (13,816)
(157,291) 9,051 (8,953) 226 (156,967)
(203,232) 14,318 (2,765) (191,679)
(189,288) 2,125 (1,932) (189,095)
124,230
(48,218)
35,521
(34,999)
รายงานประจ�ำปี 2559
199
42
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี ที่แสดงอยู่ใน งบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ งบการเงิ รวม งบการเงินนรวม 2559 2558 2559 2558 สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผื่อการด้อยค่าของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่าทางการเงิน สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณหนี้สินค่ารื้ อถอนระยะยาว อื่น ๆ รวม หนีส้ ินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคาสะสม อื่น ๆ รวม สุ ทธิ
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิ เฉพาะกิจการ จการ งบการเงินนเฉพาะกิ 2559 2558 2559 2558
673 3,118 156,357 59,018 3,996 1,335 224,497
40,149 3,373 14,477 153,572 52,188 2,093 4,232 270,084
92 2,506 156,357 36,105 839 195,899
35,128 1,682 153,572 30,836 2,130 223,348
(34,415) (2,175) (36,590) 187,907
(25,926) (1,764) (27,690) 242,394
(19,156) (1,650) (20,806) 175,093
(14,532) (1,764) (16,296) 207,052
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่ มบริ ษทั มีรายการผลแตกต่างชัว่ คราวที่ ใช้หักภาษี และขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้จานวน 1,496 ล้านบาท ที่กลุ่มบริ ษทั ไม่ได้บนั ทึกสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เนื่องจากกลุ่ม บริ ษ ัท พิ จ ารณาแล้ว เห็ น ว่า อาจไม่ มี ก าไรทางภาษี ใ นอนาคตเพี ย งพอที่ จ ะน าผลแตกต่ า งชั่ว คราวและ ผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ขา้ งต้นมาใช้ประโยชน์ได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ของกลุ่มบริ ษทั ที่ไม่ได้บนั ทึกสิ นทรัพย์ภาษีเงิน ได้รอการตัดบัญชีจะสิ้ นสุ ดระยะเวลาการให้ประโยชน์ในปี 2572
200
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
43
สิ ทธิ ตามบัตรส่งเสริ ม
เริ่ มใช้สิทธิ
เริ่ มใช้สิทธิ
44 4444 44
44
44
เริ่ มใช้สิทธิ
44
2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-1195-0-00-1-059-0348-0-13-2-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-0268-0-00-2-0 2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 ่ มเลขที เลขที ่ ่ ่ ่ 1276/อ./2546 1. บัตเลขที บัตรส่งเสริ ม 1276/อ./2546 1826(2)/2547 1095(1)/2555 2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 1. รส่งเสริ 1826(2)/2547 1095(1)/2555 2590(5)/2556 1557(1)/2558 59-1195-0-00-1-0 59-0348-0-13-2-0 59-0268-0-00-2-0 เลขที เลขที 2. เลขที่ 2.2.2. 2. เพื่อส่งเพืเพืเสริ เยืผลิ ตผลิตแอลกอฮอล์ บบบริริสริสบสุ ทุ ทริุ ทธิธิสธิ์ ธิ์ ุ ท์ ธิ์ ผลิ ผลิตตผลิ ไฟฟ้ าจาก ตยชี ยชี ภาพ ผลิ ตาและไอน ไฟฟ้ าและไอน ผลิภภภณั ตณั ณั ฑ์บรรจุ ั ฑ์ผลิ ผลิาและไอน ตไฟฟ้้ า้ า้ าาและไอน ตก๊าซชีวภาพ ส่เสริ งมเสริ เยืกระดาษ ่อกระดาษ ผลิผลิ ตแอลกอฮอล์ ตไฟฟ้ าจาก ปุ๋ววยชี ววภาพ ตไฟฟ้ าและไอน ตบรรจุ ภฑ์ฑ์ณ ั ฑ์ ภณ ตไฟฟ้ ก๊ซชีาววซชี วผลิ ภาพ เยืเยืเยื่อต่อ่อกระดาษ าจาก ผลิ ภาพ ปุ๋ปุ๋ปุ๋ยยยปุ๋ ปุ๋ยย ผลิ าและไอน าและไอน ภาพ ้ าตตผลิ เลขที่ เพื่อ่อ่อส่เพืส่มส่งง่อเสริ งเสริ ผลิ่อตตผลิ ตกระดาษ กระดาษ ตแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ ตไฟฟ้ ไฟฟ้ าจาก ผลิตผลิ ยชี วภาพ ภาพ ผลิตตผลิ ตไฟฟ้ ไฟฟ้ าและไอน ผลิตตผลิ ตบรรจุ บรรจุ ผลิตตผลิ ตไฟฟ้ ไฟฟ้ าและไอน ผลิ ตก๊ก๊ก๊าาตซชี าซชี วภาพ ภาพ มม ม ผลิตผลิ ผลิ ตผลิ แอลกอฮอล์ ผลิ ไฟฟ้ าจาก ผลิ ตตปุ๋ปุ๋ปุ๋ยชี ผลิ ไฟฟ้ ผลิ บรรจุ ผลิ ไฟฟ้ าและไอน ผลิ ้ า ผลิ ้ า้ า้ า ้ า ้ าผลิ การลงทุ ในกิ สบริาหรั บธิ่ อ่ ์อเครื ่มผลิและ เชืเพลิ ชีมวลและ วมวลและ ยยอ์ อ์หรื ออผลิ ชีมวล วงตมวล สฑ์าหรั บ้ าาหรั อาหาร(ชนิ ชีมวล จจ่อการ สาหรั บเครื อิอิอินนนทรี สาร จากเชื สาและไอน บบบอาหาร(ชนิ ดตดดไฟฟ้ งเพลิ ้ อปุ๋งเพลิ ้ องเพลิ ้ อจากเชื 2. เพื่อการลงทุ ส่จงการ เสริ ม ตเยื่อกระดาษบริ สุทธิ์ ผลิตแอลกอฮอล์ บาจาก สบบเครื ุ ทเครื ตไฟฟ้ ผลิ ยชีวาและไอน ภาพ ปุ๋อิทรี ยนยยทรี ผลิ ตสาร ไฟฟ้ าและไอน าเพลิ บรรจุ ณ ั าหรั าเพลิ ตก๊งาชีซชีวมวล วภาพ ้ อ้ อ้ อเพลิ การลงทุ นในกิ ในกิ จ่อการ การ าหรั เครื ่ องดืงดื งดื่ มอ่มงดื ่มและ และ เชื้ อภาพ ววมวลและ ทรี ์ หรื อหรื สาร จากเชื เพลิ วผลิ จากเชื เพลิ วมวล นผลิ ในกิ สสาหรั าหรั ่ องดื และ งชียงชีชีวชีวงมวลและ ์ หรื สาร จากเชื งชี้ องชีชีวเพลิ วงมวล มวล สภสาหรั าหรั อาหาร(ชนิ จากเชื งชีงชีชีววงมวล 2. ส่งเสริ มการลงทุ ตนเยืเพื กระดาษ ผลิผลิตแอลกอฮอล์ ผลิตสไฟฟ้ ปุ๋ ยชีเชืเชื วาจาก ผลิตตปุ๋ไฟฟ้ า้ ์ยหรื ตบรรจุ ภณ ั จากเชื ฑ์้ อจากเชื ผลิดตาและไอน ก๊าจากเชื ซชี ภาพ ้ ออ้ เพลิ ้ อ้ อเพลิ นการลงทุ ในกิ จนการ เพลิ มวลและ สาร ชีไฟฟ้ วมวล สอาหาร(ชนิ บผลิอาหาร(ชนิ ด วจากเชื อ้ วผลิมวล เพลิ อุสาหกรรมผลิ ตสาหกรรมผลิ ไอน ดิดิและปุ๋ นนจากเชื ไอน ดิงดิดินนงนงและปุ๋ ยยย้ อบยเพลิ เครืง่ อชีอุงดื ่มตตสาหกรรมผลิ และ เชืตต้ อตตเพลิ งชียว์มวลและ อินทรี้ อยเพลิ ์ หรืปรั องชีบสาร บอาหาร(ชนิ ด Biodegradable) จากเชื้อเพลิงชีวมวล การลงทุนในกิจการ การลงทุนในกิจการ สาหรับเครื่ องดื่มและ สาหรั เชื้อบเพลิ วตอุอุมวลและ อินตทรี หรื อสาร วบปรุ มวล สและปุ๋ าหรั อาหาร(ชนิ จากเชื งBiodegradable) ชีBiodegradable) วBiodegradable) มวล อุตสาหกรรมผลิ ไอน ปรั ปรุ และปุ๋ สาหกรรมผลิ ไอน ปรั บปรั ปรุ ้ อเพลิBiodegradable) ้ า้ า้ า้ า ้ า จากเชื ไอน ปรั บบงงปรุ ปรุ และปุ๋ ย งชีวมวลด สาหรั ์ ์ แอลกอฮอล์ บ ริ ส ุ ท ธิ อิ น ทรี ย อ ์ ั เม็ ด แอลกอฮอล์ บ ริ ส ุ ท ธิ อิ น ทรี ย อ ์ ด ั เม็ ด อุตสาหกรรมผลิ ต ปรั บ ปรุ ง ดิ น และปุ๋ ย Biodegradable) ไอน า ์ ์ อุตสาหกรรมผลิต ไอน า ปรั บ ปรุ ง ดิ น และปุ๋ ย Biodegradable) แอลกอฮอล์ บ ริ ส ุ ท ธิ อิ น ทรี ย อ ์ ด ั เม็ ด แอลกอฮอล์ บ ริ ส ุ ท ธิ อิ น ทรี ย อ ์ ด ั เม็ ด ้ ้ แอลกอฮอล์บริ สุทธิ์ อินทรี ยอ์ ดั เม็ด เชืเพลิ แอลกอฮอล์บริ สุทธิ์ แอลกอฮอล์สบสาหรั บ์ บเชืบเชืเชื้เชื ริสสาหรั สาหรั ุ ทสบธิาหรั อินทรี ยอ์ ดั เม็ด ้ องงเพลิ ้ออบ้ อเพลิ าหรั เพลิ งง งอินทรี ยอ์ ดั เม็ด ้ อเพลิ การผลิ ตยชี ปุ๋ววยชี วภาพหรื ตงตตปุ๋ปุ๋ปุ๋ยชี ภาพหรื อออ อ สาหรับเชืการผลิ สาหรับเชื้ อเพลิง ้ อเพลิ การผลิ ยชี วภาพหรื ภาพหรื การผลิ การผลิตปุ๋ ยชีวภาพหรื อ ปุ๋อนนยอิ นยยทรี ปุ๋ปุ๋ปุ๋ยอิ ์ย์ ์ ย ์ ยอิ นทรี ทรี ยอิ ทรี การผลิตปุ๋ ยชีวภาพหรื อ การผลิตปุ๋ ยชีวภาพหรื ปุ๋ ยอินทรี ย ์ ปุ๋ ยอินทรี ย ์ ปุ๋ ยอินทรี ย ์ ธิระโยชน์ ประโยชน์ 3.3.3. 3. สิสิสิทททธิสิธิธิปปทประโยชน์ ระโยชน์ ทธิ ประโยชน์ สสสาคั 3. 3.สิ ทธิ ประโยชน์ 3. าคัสญญาคั ญทีทีที่ไญ่ได้่ได้ทีด้รร่ไับรับด้ับสิรทับธิ ปสิระโยชน์ าคั สาคัสญาคัทีญ่ได้ทีร่ไับด้รับ สาคัญที่ได้รับ รยกเว้ ับยกเว้ นภาษี เได้ งิได้ นนนได้ ิคล บคล ุคคล 3.1 ได้ ับรับับยกเว้ นนนภาษี เงิเงิเนงินนได้ 888ปีปีปี8 ปี 888ปีปีปี8 ปี 888ปีปีปี8 ปี 888ปีปีปี8 ปี 888ปีปีปี8 ปี 888ปีปีปี8 ปี 888ปีปีปี8 ปี 888ปีปีปี8 ปี 3.13.1 ได้รรได้ ภาษี นิติติตบนิบิบุคิุคตุคคล 3.1 ได้ ยกเว้ ภาษี 3.1 ได้ ร ั บ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ น ิ ต ิ บ ค ุ คล 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี 8 ปี สเาหรั บาไรสุ กนาไรสุ ด้ากการประกอบ จากการประกอบ บงิบนบกกกได้ าไรสุ 3.1นิตได้ิบรุคับคลยกเว้นสสภาษี ิตทิบท8ทธิุคธิปีธิทคล 8 ปี8 ปี 8 ปี8 ปี 8 ปี8 ปี 88ปีปี 88ปีปี 8 ปี8 ปี 8 ปี8 ปี 8 ปี 3.1 ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ สาหรั าหรั จากการประกอบ าหรั าไรสุ ทที่ไี่ไธิด้ี่ได้ทด้จจี่ไากการประกอบ กิการที ่ีไับรับด้ับการส่ รจการส่ ับากการประกอบ การส่ งมเสริ มและได้ งงเสริ รรับรับับรับ สาหรั กกิกิาไรสุ ที่ไ่ไธิ่ได้ด้่ได้ทจด้รรากการประกอบ สาหรั บกบาไรสุ ธิจทการที สาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบ กิจจการที จทการที งเสริ เสริ และได้ การส่ มมและได้ และได้ ยกเว้ น ไม่ ต อ ้ งน าเงิ น ปั น ผลจากกิ จการที ยกเว้ น ไม่ ต อ ้ งน าเงิ น ปั น ผลจากกิ จ การที ่่่ ่ จกิการที ่ ไ ด้ ร ั บ การส่ ง เสริ ม และได้ ร ั บ ยกเว้ น ไม่ ต อ ้ งน าเงิ น ปั น ผลจากกิ จ การที ยกเว้ น ไม่ ต อ ้ งน าเงิ น ปั ผลจากกิ จ กิจการที่ได้รับการส่งเสริ มกิและได้ ร ั บ จการที่ได้รับการส่งเสริ มและได้รับ การที รนการส่ ับาเงิ ซึการที ร่ การที ับยกเว้ นภาษี ับาเงิ เสริ ับรับับจยกเว้ นนนภาษี ยกเว้ นไม่ ตไม่ อ้ ได้ งน ปัการส่ นงนงผลจากกิ จ่ งได้ ยกเว้นไม่ตอ้ งนาเงินปันผลจากกิ จนการที ได้ รับงน ับการส่ งเสริ มซึซึซึ่ ง่ มงได้ ได้่ งรรได้ ยกเว้ ได้ การส่ มผลจากกิ ยกเว้ ภาษี ยกเว้ ต่ รอ้รได้ ปัเสริ นงมเสริ ่ ภาษี เงิ น ได้ น ิ ต ิ ุ ค คลไปรวมค านวณเพื เงิ น ได้ น ิ ต บ ุ ค คลไปรวมค านวณเพื อ ่ เสี รได้ับรการส่ ง เสริ ม ซึ ่ ง ได้ ร ั บ ยกเว้ น ภาษี ได้รับการส่งเสริ มซึ่งได้รับได้ยกเว้ นับภาษี เงิ น ได้ น ิ ต ิ บ ุ ค คลไปรวมค านวณเพื อ ่ เงิ น ได้ น ิ ต ิ บ ุ ค คลไปรวมค านวณเพื อ ่ การส่งเสริ มซึ่งได้รับยกเว้นภาษี เสีเสีย่อยยเสีย เงินได้นิต่อิบเสีภาษี คลไปรวมค านวณเพื่อเสี ย เงินได้นิติบุคคลไปรวมคานวณเพื ภาษี เงินได้นุคิตยภาษี ิบุคภาษี คลไปรวมค านวณเพื่อเสี ย ภาษี ภาษี รลดหย่ ับลดหย่ อนภาษี เได้ งิได้ นนนได้ ิคล บคล ุคคล ได้ ับรับับลดหย่ อออนภาษี เงิเงิเนงินนได้ ได้ ับรับับรับ ไม่ ด้ได้ด้รรไับรับด้ับรับ ได้ ับรับับรับ ไม่ ด้ได้ด้รรไับรับด้ับรับ ได้ ับรับับรับ ไม่ ด้ได้ด้รรไับรับด้ับรับ ได้ ับรับับรับ ไม่ ด้ได้ด้รรไับรับด้ับรับ 3.23.2 ได้รรได้ นภาษี นิติติตบนิบิบุคิุตคุคคล ได้รรได้ ไม่ไไไม่ ได้รรได้ ไม่ไไไม่ ได้รรได้ ไม่ไไไม่ ได้รรได้ ไม่ไไไม่ 3.2 ได้ ลดหย่ นภาษี ได้ ไม่ ได้ ไม่ ได้ ไม่ ได้ ไม่ ภาษี3.2 สาหรั บนาไรสุ กได้าไรสุ รจากการลงทุ ับจากการลงทุ บบบกเกงิกาไรสุ ทนททธิิตธิรธิทิบทับที่ไุคี่ไธิด้ี่ไคล นนนได้ นภาษี ไม่ไได้ ด้รรับับ ได้ ไม่ได้ ได้รับ ได้ไรด้ับรับ ไม่ไได้ ด้รรับับ ได้ไม่รับได้รับ ไม่ได้รับ 3.2 ได้รับลดหย่อนภาษีเงิ3.2 นได้ได้ นิตรัิบุลดหย่ คคล สอสสาหรั ได้ ไม่นรไับด้รับ ไม่รไับด้รับ ไม่ าหรั าหรั าไรสุ ด้ทด้รรี่ไับรับด้ับจากการลงทุ จากการลงทุ 3.2 าหรั ได้รบับกาไรสุ ลดหย่ นภาษี เงิอจากการลงทุ นยละห้ ได้ ิตสิของอั ิบบุคของอั คลราปกติ ไม่ได้รับ ได้รับ ไม่ได้รับ ได้รับ ไม่ได้รับ ได้รับ ไม่ได้รับ ตราปกติ ในอั ตอธิตตราร้ าาสิาสิสิบนบาบของอั เป็เป็เป็นนนเป็ น ได้รับ ทในอั ทราร้ ี่ไตด้อราร้ ับยละห้ นตตตราปกติ ราร้ ของอั ราปกติ ในอั อรอยละห้ ยละห้ สาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้รับสจากการลงทุ นในอั ส าหรั บ ก าไรสุ ท ธิ ท ่ ี ไ ด้ ร ั บ จากการลงทุ น นัจากวั บจากวั นาหนด ้ าหนด กาหนด ระยะเวลาห้ าาปีาปีปีนัาตนันัปีบราปกติ นเนป็นทีทีนที่พน่พ่พน้ ทีน้ น้ ก่พกกาหนด ในอั ตราร้อเยละห้ าสิ บของอั ในอัตราร้อยละห้าสิ บของอั ตราปกติ ป็ระยะเวลาห้ น ระยะเวลาห้ ระยะเวลาห้ จากวั บบจากวั ในอั ต ราร้ อ ยละห้ า สิ บ ของอั ต ราปกติ เ ป็ น ราหนด ับยกเว้ นภาษี เได้ งิได้ นได้ ระยะเวลาการได้ นนนภาษี เงิเงิเนงินนได้ าระยะเวลาการได้ ปี นัระยะเวลาการได้ บจากวันที่พรรนับ้ รับับกยกเว้ ระยะเวลาห้าปี นับจากวันระยะเวลาห้ ที่พน้ กาหนด ระยะเวลาการได้ ยกเว้ ภาษี ยกเว้ ภาษี ระยะเวลาห้ นัคลดั นวข้เาทีงิางต้ ่พงต้ได้ ุคบคลดั งาากล่ วข้ น งจากวั วข้ นา้ นงต้ ับิบคลดั ยกเว้ นกล่ภาษี ระยะเวลาการได้รับยกเว้นระยะเวลาการได้ ภาษี เงินได้นินินิตตติบนิิบาิบุครปีุตคุคคลดั งกล่ าวข้ านงต้ นกาหนด งกล่ นิติบุคคลดังกล่าวข้างต้น นิตระยะเวลาการได้ ิบุคคลดังกล่าวข้างต้ รับนยกเว้นภาษีเวังิวันวันนนทีได้ ่เใช้ ริใช้ ตุาคม ลาคม 2547 มีาคม นาคม 2551 ตุาคม ลาคม 2556 ยังไไไม่ 7 กรกฏาคม 2559 313131ตุตุ31 ตุาคม ลาคม 2559 ยังไไไม่ ยังไไไม่ 4.4.4. 4. 141414ตุตุ14 2547 141414มีมี14 2551 777ตุตุตุล7ลาคม 2556 ยัยังยังไม่ ด้ได้ด้ได้ 777กรกฏาคม 2559 2559 ยัยังยังไม่ ด้ได้ด้ได้ ยัยังยังไม่ ด้ได้ด้ได้ ่ มใช้ ตุลลาคม ลาคม 2547 มีนนนาคม าคม 2551 ลาคม 2556 งไม่ ไม่ กรกฏาคม 2559 ตุลลลาคม 2559 งไม่ ไม่ งไม่ ไม่ ทีวัที่เนริ่เริ่เมริที่ ม่ มใช้ 2547 2551 2556 กรกฏาคม 2559 าคม 2559 นิ ต ิ บ ุ ค คลดั ง กล่ า วข้ าตุรส่ งต้ นงทีเสริ ธิามบั ต14ามบั เริใช้ ธิกรกฏาคม เริใช้ เริใช้ ตตตรส่ เสริ เริเริเริ่ ม่ ม่ มใช้ 4. วันที่เริ่ มใช้ สิสิสิทททธิสิธิธิตตทตามบั วัลตนงาคม ่เริงม2547 มมใช้ม 1414ตุลมีาคม 14 7มีนตุลาคม 7 ตุลาคม ยังไม่ได้ 2559 31 ตุลยัาคม ยังไม่ 4. นาคม2547 2551 าคม2551 2556 ยังไม่2556 ได้ 7 กรกฏาคม ตุลาคม 2559 งไม่2559 ได้ ยังไไม่ด้ได้เริเริเริ่ ม่ ม่ มใช้ ่ มสสใช้ ่ มสสใช้ ่ มสสใช้ รส่ เสริ ใช้ สิ ทิ ทิ ทธิสธิธิิ7ท31 ใช้ สิ ทิ ทิ ทธิสธิธิิ ทธิ ยังไม่ได้ เริเริเริ่ ม่ ม่ มใช้ ใช้ สิ ทิ ทิ ทธิสธิธิิ ทธิ ามบั งรส่ ่ เสริ เริ่ มไใช้ สิ ทธิ ตามบัตรส่งเสริ ม 4. สิ ทธิ ตามบัตรส่งเสริ ม เริใช้่ มสใช้ิ ทสธิิ ทธิ ่ มใช้สิทธิ 31 ตุลาคมเริ่ ม2559 วันที่เริ่ มใช้ 14 ตุลาคม 2547 14 มีนาคม 2551 เริ่ มใช้สิท7ธิตุลาคม 2556 เริ่ มใช้สิทธิ ยังไม่ได้ 7 กรกฏาคม เริ2559 ยังไม่ ด้ สิทธิ ยังไม่ได้
บัธิตพรส่ิเศษทางภาษี 1826(2)/2547 1095(1)/2555 ากคณะกรรมการส่ การลงทุ ไปนี บริ ษทั ย่อยได้ร1.ับสิบริ ทธิษ1.พ1.1.ทั ิเศษทางภาษี ง1276/อ./2546 เสริ มการลงทุนดังงเสริ ต่1826(2)/2547 อมไปนี ้ ้ นดังต่อ1095(1)/2555 1.ย่อยได้รับสิจทากคณะกรรมการส่ บัรส่ งมเสริ 1276/อ./2546 1826(2)/2547 1095(1)/2555 บังบับัตเสริ เสริ รส่ตมงงรส่ งเสริ เสริ 1276/อ./2546 1826(2)/2547 1095(1)/2555 ตตรส่ มม มจ1276/อ./2546 1276/อ./2546 1826(2)/2547 1095(1)/2555
30. 30. การส่ งการส่ เสริ มงงงเสริ การลงทุ น นนนน การส่ งเสริ มการลงทุ มมมการลงทุ 30.30. การส่ การส่ เสริ การลงทุ 30. เสริ การลงทุ การส่ การลงทุ . การส่ งเสริม30. การลงทุ น ษงเสริ บริ ทั บริ ย่มอบริ ับยได้ สินรรทรับับับธิรสิสิสิับพทททสิิเธิศษทางภาษี จากคณะกรรมการส่ งงงเสริ การลงทุ อไปนี อยได้ พิเศษทางภาษี ิเศษทางภาษี จากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุ อไปนี ไปนี ษษษยได้ ทั ทั ทษั ย่ย่ย่ทั อออรย่ยได้ จจจากคณะกรรมการส่ มมมมการลงทุ นนนนดัดัดันดังงงต่ดังต่ต่ต่องออต่ไปนี บริ ศษทางภาษี ากคณะกรรมการส่ งเสริ เสริ การลงทุ ไปนี บริ ยได้ ธิธิทพพพธิิเิเศษทางภาษี ากคณะกรรมการส่ เสริ การลงทุ ้้้ ้ ้
รายงานประจ�ำปี 2559
201
31. 31. 31.
กาไรต่ อหุ้น กาไรต่ อหุ้น กกาไรต่ อหุ้น น) ต่อหุ ้นขันพืนฐานคานวณโดยหารกาไร (ขาดทุน) สาหรับปี ที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ าไร (ขาดทุ ้ ้ กาไร (ขาดทุน) ต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานคานวณโดยหารกาไร (ขาดทุน) สาหรับปี ที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ก(ไม่ าไรรวมก (ขาดทุ น) ต่อนหุเบ็ ้นขัด้ นเสร็ พื้นจอืฐานค สาหรัน้ บสามั ปี ที่เญป็ ทีนของผู หุ ้นของบริ าไรขาดทุ ่น) ด้านวณโดยหารก วยจานวนถัวเฉลีาไร ่ยถ่ว(ขาดทุ งน้ าหนันก)ของหุ ่ออกอยูถ้ ใ่ ือนระหว่ างปี ษทั ฯ (ไม่รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ น้ สามัญที่ออกอยูใ่่ นระหว่างปี (ไม่ าไรขาดทุ เสร็บจลดค อื่น)านวณโดยหารก ด้วยจานวนถัวเฉลี วงน้ าหนั ที่ออกอยูถ้ ือในระหว่ างปี ษทั ฯ กาไรรวมก (ขาดทุ น) ต่อนหุเบ็้นดปรั าไร่ยถ่(ขาดทุ น)กสของหุ าหรับน้ ปีสามั ที่เป็ญนของผู หุ ้นของบริ กาไร (ขาดทุน) ต่อหุ ้นปรั บลดคานวณโดยหารกาไร (ขาดทุน) สาหรับปี ที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ กาไรรวมก (ขาดทุ น) ต่อนหุเบ็ ้นปรั บลดค าไรานวนถั (ขาดทุวนเฉลี ) ส่ยาหรั บปี้ าหนั ที่เป็กนของผู ือหุ ้นญของบริ ษทั ใ่ นฯ (ไม่ าไรขาดทุ ดเสร็ จอื่นานวณโดยหารก ) ด้วยผลรวมของจ ถ่วงน ของหุ ้นถ้ สามั ที่ออกอยู (ไม่รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยผลรวมของจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ ้นสามัญที่ออกอยูใ่่ น (ไม่รวมก นเบ็วเฉลี ดเสร็่ยถ่จวอืงน ่น)้ าหนั ด้วยผลรวมของจ ่ยถ่วองนงออกเพื ้นสามั ญทีญ่อเที อกอยู ้ าหนักของหุ ระหว่ างปี าไรขาดทุ กับจานวนถั กของหุ ้นสามัญานวนถั ที่บริ ษวทั เฉลี ฯอาจต้ ่อแปลงหุ ้นสามั ยบเท่ในา ระหว่างปี กับจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ ้นสามัญที่บริ ษทั ฯอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ ้นสามัญเทียบเท่า ระหว่ างปี ้ งกัสิบ้ นจานวนถั ่ยถ่ญวงนโดยสมมติ ้นสามั ญที่บริ ษทั นหุ ฯอาจต้ องออกเพื ยบเท่้นา ้ าหนักของหุ ปรั บลดทั ให้เป็ นหุวเฉลี ้นสามั วา่ ได้ มีการแปลงเป็ ้นสามั ญ ณ วัน่อต้แปลงหุ นปี หรื้นอ สามั ณ วัญนเทีออกหุ ปรับลดทั้งสิ้ นให้เป็ นหุ ้นสามัญ โดยสมมติวา่่ ได้มีการแปลงเป็ นหุ ้นสามัญ ณ วันต้นปี หรื อ ณ วันออกหุ ้น ปรับญลดทั สิ้ นาให้เป็ นหุ ้นสามัญ โดยสมมติวาได้มีการแปลงเป็ นหุ ้นสามัญ ณ วันต้นปี หรื อ ณ วันออกหุ ้น สามั เทีย้ งบเท่ สามัญเทียบเท่า เทียบเท่นา) ต่อหุน้ ขันพื้นฐานและกาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด แสดงการคานวณได้ดงั นี้ กสามั าไรญ(ขาดทุ ้ กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐานและกาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด แสดงการคานวณได้ดงั นี้ กาไร (ขาดทุน) ต่อหุ น้ ขั้นพื้นฐานและกาไร (ขาดทุน) ต่อหุ น้ ปรับลด แสดงการค งบการเงิ นรวม านวณได้ดงั นี้
กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน กผลกระทบของหุ าไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขัญ้ นเทีพืย้นบเท่ ฐาน กาไร (ขาดทุน) ต่น้ อสามั หุน้ ขั้นพื้นฐานาปรับลด ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด กผลกระทบของหุ าไร (ขาดทุน) ต่น้ อสามั หุน้ ปรั ญเทีบลด ยบเท่าปรับลด กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด กาไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด
กกำาไร (ขาดทุ น) สสำ�าหรั บปี �ไร(ขาดทุ (ขาดทุนน)) ส หรับบปีปี กาไร าหรั 2559 กาไร (ขาดทุน) ส2558 าหรับปี 2559 2558 2559 2558 (พั นนบาท) (พั นนบาท) (พั2559 บาท) (พั (พั2558 บาท) (พั น บาท) นบาท) (512,535) (พั นบาท) (พั729,949 นบาท) (512,535)729,949 (512,535) 729,949(512,535)729,949(512,535) 729,949 (512,535) 729,949
กาไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน กผลกระทบของหุ าไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐานญเทียบเท่าปรับลด กาไรต่อหุน้ ขั้นพืน้ สามั ฐาน ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด กผลกระทบของหุ าไรต่อหุน้ ปรับลด น้ สามัญเทียบเท่าปรับลด กาไรต่อหุน้ ปรับลด กาไรต่อหุน้ ปรับลด
�ไรสำาหรั �หรับบปีปี กกำาไรส กาไรสาหรับ2558 ปี 2559 2559 กาไรสาหรับ2558 ปี 2559 2558 (พั น บาท) (พั น บาท) (พั2559 นบาท) (พั2558 นบาท) (พั224,994 นบาท) (พันบาท) (พันบาท) (พั650,528 นบาท) 224,994650,528224,994 650,528 224,994650,528224,994 650,528 224,994 650,528
งบการเงินรวม จงบการเงิ านวนหุ ้ นนสามั รวม งบการเงิน รวมญ จ านวนหุ น ้ สามั ญ ถัจวจำานวนหุ เฉลี ่ยถ่วน้น้ งน ้ าหนั �นวนหุ สามั ญญก สามั ถัถัววเฉลี เฉลี่ยย่ ถ่ถ่ววงน งน้้ า�ำ หนั หนักก ถั2559 วเฉลี่ยถ่วงน้ า2558 หนัก 2559 2558 2559 2558 (พั น หุ น ้ ) (พั นหุน้น้ )) 2559 2558 (พันนหุหุน้น )) (พันนหุหุน (พั ้ (พั ้ ) 3,860,000 (พันหุน้ ) 3,860,000 (พันหุน้ ) 3,860,000- 3,860,0003,860,000 3,860,000 3,860,000- 3,860,0003,860,000 3,860,000 3,860,000 3,860,000 งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ การ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ จานวนหุ น้ สามัจญการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จำ�นวนหุน้น สามั ญญ ้ งน สามั ถัถัจจววานวนหุ เฉลี ้ า�ำ หนั านวนหุ ้ งน้สามั เฉลี่ยย่ ถ่ถ่ววน หนัญกก ถั2559 วเฉลี่ยถ่วงน้ า2558 หนัก ถั2559 วเฉลี่ยถ่วงน้ า2558 หนัก 2559 2558 (พั น หุ น ้ ) (พั (พั2559 นหุน้ ) (พั2558 นนหุหุน้น้ )) (พันหุน้ ) 3,860,000 (พันหุน้ ) 3,860,000 (พันหุน้ ) (พันหุน้ ) 3,860,000- 3,860,0003,860,000 3,860,000 3,860,000- 3,860,0003,860,000 3,860,000 3,860,000 3,860,000
กาไร (ขาดทุ น) ต่อหุหุน้ น้ กำ�ไร(ขาดทุ (ขาดทุนน)) ต่ต่ออหุ กาไร น้ 2559(ขาดทุน) 2558 กาไร ต่อหุน้ 2559 2558 2559 2558 (บาท) (บาท) 2559 2558 (บาท) (บาท) (บาท) (0.13) (บาท) 0.19 (บาท) (บาท) (0.13) 0.19 (0.13) 0.19 (0.13) (0.13) (0.13)
0.19 0.19 0.19
กำ�ไรต่ออหุหุน กาไรต่ ้ น้ กาไรต่อหุน้ 2558 2559 2559 กาไรต่อหุน้ 2558 2559 2558 (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) 2559 2558 (บาท) 0.06 (บาท) 0.17 (บาท) (บาท) 0.06 0.17 0.06 0.17
0.06 0.06 0.06
0.17 0.17 0.17
ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สมมติฐานของการแปลงสภาพของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สมมติฐานของการแปลงสภาพของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ างปีญสิไม่้ นเสุกิดขึวั้นทีเนื่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สมมติ ญแสดงสิ ซืในระหว่ ่องจากราคาตลาดของหุ ้นของบริ ษทั ฐฯตานของการแปลงสภาพของใบส ่ากว่าราคาใช้สิทธิ ของใบสาคัญาคัแสดงสิ ทธิ ทซ้ืธิอ ้ อหุน้ สามั ซื้ อหุน้ สามัญไม่เกิดขึ้น เนื่องจากราคาตลาดของหุ ้นของบริ ษทั ฯต่ากว่าราคาใช้สิทธิ ของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซ้ื อ ซืหุ้ อนหุสามั น้ สามั ดขึ้น เนือ่อการแสดงก งจากราคาตลาดของหุ ้นของบริ ญ จึญงไม่เกกิระทบต่ าไรต่อหุ ้นปรั บลด ษทั ฯต่ากว่าราคาใช้สิทธิ ของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซ้ื อ หุน้ สามัญ จึงไม่กระทบต่อการแสดงกาไรต่อหุ ้นปรับลด หุน้ สามัญ จึงไม่กระทบต่อการแสดงกาไรต่อหุ ้นปรับลด
202
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
45 45 45
32. เงินปันผลจ่ าย 32. เงินปันผลจ่ าย เงินปันผล เงิเงินนปัปันนผลผล เงินปันผลประจาปี 2557 เงินปันผลประจาปี 2557 เงินปันผลสาหรับปี 2558 เงินปันผลสาหรับปี 2558 เงินปันผลประจาปี 2558 เงินปันผลประจาปี 2558
อนุมตั ิโดย อนุมมตต ั ั โิ ิโดย อนุ ดย
เงิเงินนปัปันนผลจ่ ผลจ่ายาย เงิ(ล้ น(ล้ปัาานบาท) นนบาท) ผลจ่าย ที่ประชุมใหญ่สามัญผูถ้ ือหุ น้ เมื่อวันที่ (ล้านบาท) ที่ป23 ระชุเมษายน มใหญ่ส2558 ามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 695 23 เมษายน 2558 695 695 695 ที่ประชุมใหญ่สามัญผูถ้ ือหุ น้ เมื่อวันที่ ที่ป22 ระชุเมษายน มใหญ่ส2559 ามัญผูถ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559
386 386 386 386
เงินปันผลจ่าย เงิเงินนต่ปัปัอนนหุผลจ่ ผลจ่ ้นายาย ต่ออหุ หุน้ ้น ต่(บาท) (บาท) (บาท) 0.18 0.18 0.18 0.18 0.10 0.10 0.10 0.10
เงินปันผลสาหรับปี 2559 เงินปันผลสาหรับปี 2559 33. ส่ วนงานดาเนินงาน 33. ส่ วนงานดาเนินงาน ข้อมูลส่ วนงานดาเนิ นงานที่นาเสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของบริ ษทั ฯที่ผมู ้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ด มูลส่ วนงานด าเนิ นรงานที ่นาเสนอนี้สอดคล้ บรายงานภายในของบริ ษทั ฯที่ผมู ้ ดีอสรรทรั านาจตัดพสิยากรให้ นใจสู งกสุบั ด ด้ข้าอนการด าเนินงานได้ ับและสอบทานอย่ างสมอ่างกั เสมอเพื ่อใช้ในการตัดสิ นใจในการจั าเนินงานได้ รับและสอบทานอย่ างสม ่าเสมอเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กบั ส่ด้าวนการด นงานและประเมิ นผลการด าเนินงานของส่ วนงาน ส่ วนงานและประเมินผลการดาเนินงานของส่ วนงาน เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริ หารงาน กลุ่มบริ ษทั จัดโครงสร้ างองค์กรเป็ นหน่วยธุ รกิจตามประเภทของการ เพื่อกวัารตถุกลุ ประสงค์ หารงาน ่มบริ ษทั ใมีนการบริ บริ ส่วนงานหลั ก ดังกลุ นี้ ่มบริ ษทั จัดโครงสร้ างองค์กรเป็ นหน่วยธุ รกิจตามประเภทของการ บริ การ กลุ่มบริ ษทั มีส่วนงานหลัก ดังนี้ 1) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย 1) ธุรกิจผลิตและจาหน่ายน้ าตาลทราย 2) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ 2) ธุรกิจผลิตและจาหน่ายเยือ่ กระดาษ 3) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายแอลกอฮอล์ 3) ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายแอลกอฮอล์ 4) ธุรกิจผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า 4) ธุรกิจผลิตและจาหน่ายพลังงานไฟฟ้ า ผูม้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ดสอบทานผลการดาเนินงานของแต่ละหน่วยธุ รกิจแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงค์ใน ผูม้ ีอานาจตั ดสิ น่ ยใจสู ดสอบทานผลการด าเนินงานของแต่ลนะหน่ วยธุ รกิจบแยกจากกั ่อวัตถุประสงค์ ใน การตั ดสิ นใจเกี วกับงสุการจั ดสรรทรั พยากรและการประเมิ ผลการปฏิ ตั ิงาน บรินษเพื ทั ฯประเมิ นผลการ การตั นใจเกี่ ยววกันงานโดยพิ บการจัดสรรทรั พยากรและการประเมิ ผลการปฏิ ิงาน บริ นผลการ ปฏิ บตั ดิงสิานของส่ จารณาจากก าไรหรื อขาดทุนนจากการด าเนิบนตั งานซึ ่ งวัษดมูทั ลฯประเมิ ค่าโดยใช้ เกณฑ์ ปฏิยวกั บตั บิงทีานของส่ วนงานโดยพิ ารณาจากก าไรหรื นจากการดนาเนิ นงานซึ่ งวัดมูลค่าโดยใช้เกณฑ์ เดี ่ใช้ในการวั ดกาไรหรื อจขาดทุ นจากการด าเนิอนขาดทุ งานในงบการเงิ เดียวกับที่ใช้ในการวัดกาไรหรื อขาดทุนจากการดาเนินงานในงบการเงิน การบันทึ กบัญชี ส าหรับ รายการระหว่า งส่ วนงานที่รายงานเป็ นไปในลัก ษณะเดี ย วกับ การบันทึ ก บัญชี ทึ กบัญชีรสกิาหรั สการบั าหรับนรายการธุ จกับบบุรายการระหว่ คคลภายนอก า งส่ วนงานที่รายงานเป็ นไปในลัก ษณะเดี ย วกับ การบันทึ ก บัญชี สาหรับรายการธุ รกิจกับบุคคลภายนอก ในปี 2559 และ 2558 กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จานวนหนึ่งรายเป็ นจานวนเงินประมาณ 1,846 ่มบริตามล 2559และ และ2,382 2558ล้ากลุ ษทั มีราดัายได้ ล้ในปี านบาท นบาท บ จากลูกค้ารายใหญ่จานวนหนึ่งรายเป็ นจานวนเงินประมาณ 1,846 ล้านบาท และ 2,382 ล้านบาท ตามลาดับ รายงานประจ�ำปี 203 46 2559 46
204
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(หน่วย: ล้านบาท) (หน่ วย:วย:ล้าล้นบาท) (หน่ านบาท)
กลุ่มบริ ษทั ใช้เกณฑ์ในการกาหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7
47 4747
ธุรกิจผลิตและ ธุรกิจผลิตและ ธุรกิจผลิตและ ธุรกิจผลิตและ การตัดรายการ ธุรธุกิรธุจกิรผลิ ตผลิและ ธุ ร กิ จ ผลิ ต และ ธุ ร กิ จ ผลิ ต และ ธุ ร กิ จ ผลิ ต และ การตั ดรายการ กิจจผลิ ต ธุ ร กิ จ ผลิ ต ธุ ร กิ จ ผลิ ต และ ธุ ร กิ จ ผลิ ต การตั ธุรจกิาหน่ จผลิาตย และ ธุจราหน่ กิจผลิายตและ จาหน่ ธุรากิยพลั จผลิงตงาน และ การตั ดชีรายการ จาหน่ าตยายและ บับัดญญรายการ และจำ � หน่ และจำ � หน่ า ย จำ � หน่ า ย และจำ � หน่ า ย ธุ ร กิ จ อื น ่ ๆ ชีชี งบการเงินรวม จน้�ำ าหน่ า ย จ าหน่ า ย จ าหน่ า ย จ าหน่ า ยพลั ง งาน บั ญ จ าหน่ า ย จ าหน่ า ย จ าหน่ า ย จ าหน่ า ยพลั ง งาน บั ญ ชี ตาลทราย เยื อ ่ กระดาษ แอลกอฮอล์ พลั ง งานไฟฟ้ า ระหว่ า งกั น น า ตาลทราย เยื อ ่ กระดาษ แอลกอฮอล์ ไฟฟ้ า ธุ ร กิ จ อื ่ น ๆ ระหว่ า งกั น งบการเงิ นรวม ้ ่มบริ ษทั สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีดงั ต่อไปนี้ ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงานของกลุ น า ตาลทราย เยื อ ่ กระดาษ แอลกอฮอล์ ไฟฟ้ า ธุ ร กิ จ อื ่ น ๆ ระหว่ า งกั น งบการเงิ นรวม ้ น้ าตาลทราย า ่น ๆ 2559 างกัน 2559 นรวม 2559 2558 2558 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2559เยือ่ กระดาษ 2558 2559 2559แอลกอฮอล์ 2558 2559 2559 ไฟฟ้2558 2558 2559ธุรกิจอื2558 2558 2559ระหว่2558 2559งบการเงิ2558 2558 (หน่ ว ย: ล้ า นบาท) 2559 2559 2558 2558 2559 2559 2558 2558 2559 2559 2558 2558 2559 2559 2558 2558 2559 2559 2558 2558 2559 2559 2558 2558 2559 2559 2558 2558 รายได้จากการขายและบริ การ ธุ ร กิ จ ผลิ ต และ ธุ ร กิ จ ผลิ ต และ ธุ ร กิ จ ผลิ ต และ ธุ ร กิ จ ผลิ ต และ การตั ด รายการ รายได้ จากการขายและบริ การการ รายได้ จากการขายและบริ - ในประเทศ 7,299 223จาหน่าย324 1,645จาหน่า1,650 832 ายพลัง576 43 7 (1,816) บัญ(1,167) 8,226 9,633 จาหน่8,243 า8,243 ย ย จ832 าหน่ งาน ชี - --ในประเทศ 7,299 223 324 1,645 1,650 576 43 7 (1,816) (1,167) 8,226 9,633 7,299 8,713 8,243 675 223 982 324 1,645 1,650 832 8,226 9,695 9,633 ต่ในประเทศ างประเทศ 6,105 - ไฟฟ้ า 576 -ร43กิจอื่น ๆ - 7 (1,816) - างกั(1,167) - 6,780 น า ตาลทราย เยื อ ่ กระดาษ แอลกอฮอล์ ธุ ระหว่ น งบการเงิ น รวม ้ - รวม 6,105 8,713 982982 - 6,780 9,695 -ต่าต่งประเทศ างประเทศ 6,105 16,956 8,713 675 675 1,306 6,780 19,328 9,695 13,404 898 1,645 - 1,650 - 832 - 576 43 7 - (1,816) - (1,167) - 15,006 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 รวม 13,404 4343 7 7 (1,816) รวม 13,404 16,956 16,956 898898 1,306 1,306 1,645 1,645 1,650 1,650 832832 576576 (1,816) (1,167) (1,167) 15,006 15,006 19,328 19,328 กรายได้ าไร (ขาดทุ น ) จากการด าเนิ น งาน จ ากการขายและบริ ก าร กาไร (ขาดทุ น)นจากการด าเนิาเนิ นงาน กาไร (ขาดทุ ) จากการด นงาน ตามส่ วนงาน 2,162 3,147 192 398 337 666 118 264576 1943 (1) 7 (1,816) 9 - 2,837 ในประเทศ 7,299 3,147 8,243 192 223 398 324 337 1,645 1,650 832 264 (1,167) 8,226 4,474 9,633 ตามส่ ว นงาน 2,162 666 118 19 (1) 9 2,837 ตามส่และค่ วนงาน 2,162 3,147 192 398 337 666 118 264 19 (1) 9 - 2,837 4,474 4,474 ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน: รายได้ า ใช้ จ ต่ า งประเทศ 6,105 8,713 675 982 6,780 9,695 รายได้ และค่ จ่าจยที่ายที ่ไม่่ไไม่ด้ไปด้ั นปส่ั นวส่น:วน: รายได้ แอละค่ รายได้ ื่นาใช้าใช้ 81 116 รวม 13,404 16,956 898 1,306 1,645 1,650 832 576 43 7 (1,816) (1,167) 15,006 19,328 รายได้ อนื่นอจากอั 8181 (173) 116116 รายได้ ื่น ตราแลกเปลี่ยน ขาดทุ (118) กาไร (ขาดทุ นตราแลกเปลี )ตจากการด งาน ขาดทุ ่ยาเนิ น่ยหนนาร (118) (173) น่ายในการขายและบริ จากอั ราแลกเปลี (118) (3,362) (173) ค่ขาดทุ าใช้นจจากอั (2,872) ตามส่ ว นงาน 2,162 3,147 192 398 337 666 118 264 19 (1) 9 2,837 4,474 ค่าค่ใช้าใช้ จ่าจยในการขายและบริ (2,872) ยในการขายและบริ หาร (2,872) (3,362) (3,362) ่ายทางการเงิ น หาร (317) (373) ่ รายได้ แ ละค่ า ใช้ จ า ยที ่ ไ ม่ ไ ด้ ป ั น ส่ ว น: ค่าผลประโยชน์ จ่าจยทางการเงิ (317) ่ายทางการเงิ ค่ใช้าใช้ (317) (373) (ค่านใช้นจ่าย) ภาษีเงินได้ (124) 48(373) รายได้ อ ่ ื น 81 ่ ผลประโยชน์ (ค่ า ใช้ จ า ย) ภาษี เ งิ น ได้ (124) กาไร (ขาดทุน) ส(ค่าหรั ผลประโยชน์ าใช้บจปี่าย) ภาษีเงินได้ (124) 73048116 48 (513) ขาดทุ น จากอั ต ราแลกเปลี ่ ย น (118) (173) กาไร น)นส)าหรั บปีบปี (513) กาไร(ขาดทุ (ขาดทุ สาหรั (513) 730730 ่ ค่ า ใช้ จ า ยในการขายและบริ ห าร (2,872) (3,362) กลุ่มบริ ษทั ใช้เกณฑ์ในการกาหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7 (317) (373) ่มค่บริ กลุกลุ ใช้ เกณฑ์ ในนการก าหนดราคาระหว่ างกั นตามที ่กล่่กาล่วไว้ ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ่มาใช้บริษจทั่าษยทางการเงิ ทั ใช้ เกณฑ์ ในการก าหนดราคาระหว่ างกั นตามที าวไว้ ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้นอข้อ7 7 ผลประโยชน์ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ (124) 48 กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี (513) 730
ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงานของกลุ่มบริ ษทั สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีดงั ต่อไปนี้ ่มบริ ข้อข้มูอลมูทางการเงิ บปีบสิปี้ นสิสุ้ นดสุวัดนวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม ้ ้ ่มบริษทั ษสทั าหรั ลทางการเงินจนาแนกตามส่ จาแนกตามส่วนงานของกลุ วนงานของกลุ สาหรั นวาคม2559 2559และ และ2558 2558มีดมีงั ดต่งั อต่ไปนี อไปนี
34.
กองทุนสารองเลีย้ งชี พ กลุ่มบริ ษทั และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยง ชีพ พ.ศ. 2530 โดยกลุ่มบริ ษทั และพนักงานที่สมัครใจเข้าร่ วมกองทุนจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็ นรายเดือน ในอัตราร้อยละ 3 - 15 ของเงินเดือน กองทุนสารองเลี้ยงชี พนี้บริ หารโดยผูจ้ ดั การกองทุนที่ได้รับอนุญาต และจะจ่ ายให้แก่ พนัก งานเมื่อพนัก งานนั้นออกจากงานตามระเบี ยบว่าด้วยกองทุนของกลุ่ ม บริ ษ ทั ใน ระหว่างปี 2559 กลุ่มบริ ษทั รับรู้เงินสมทบดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายจานวน 14 ล้านบาท (2558: 13 ล้านบาท) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 8 ล้านบาท 2558: 7 ล้านบาท)
35.
ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้
35.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ ายฝ่ ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุนที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างอาคาร โรงงาน และการซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์เป็ นจานวนเงิน 55 ล้านบาท 4 ล้านเหรี ยญสหรัฐ และ 1 ล้านเยน (2558: 187 ล้านบาท 5 ล้านเหรี ยญสหรัฐ และ 11 ล้านเยน) (เฉพาะของบริ ษทั ฯ: 10 ล้านบาท และ 1 ล้านเยน 2558: 53 ล้านบาท 1 ล้านเหรี ยญสหรัฐ และ 11 ล้านเยน) 35.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสั ญญาเช่ าดาเนินงาน กลุ่มบริ ษทั ได้ทาสัญญาเช่ าที่เกี่ ยวข้องกับการเช่ าที่ดิน พื้นที่ในอาคารสานักงานและอุปกรณ์ และสัญญา บริ การ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 30 ปี กลุ่ มบริ ษทั มี จานวนเงิ นขั้นต่ าที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตทั้งสิ้ นภายใต้สัญญาเช่ าดาเนิ นงานและสัญญาบริ การ ดังกล่าวดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงิ จการ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558
งบการเงิ รวม งบการเงิน นรวม 2559 2558 2559 2558 จ่ายชาระ ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี
30 18 4
24 25 4
3 2 -
4 -
นอกจากนี้ บริ ษทั ฯได้ทาสัญญาเช่าระยะยาวที่เกี่ ยวกับการเช่ าที่ดินกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่ งหนึ่ งเป็ น เวลา 30 ปี โดยมีการทบทวนค่าเช่าเพิ่มขึ้นทุก 5 ปี ตามดัชนีราคาผูบ้ ริ โภค แต่ไม่เกินร้อยละ 20 ของค่าเช่าปี ก่อน โดยบริ ษทั ฯมีสิทธิ ในการเช่าต่อไปอีก 30 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ครบกาหนดสัญญาเช่า โดยต้องมีการแจ้ง ล่วงหน้าอย่างน้อย 2 ปี ก่อนวันครบกาหนดสัญญาเช่า ในระหว่างปี 2559 บริ ษทั ฯได้จ่ายค่าเช่าตามสัญญา ระยะยาวดังกล่าวเป็ นจานวนเงินประมาณ 5 ล้านบาท รายงานประจ�ำปี 205 2559 48
35.3 หนังสื อคา้ ประกันธนาคาร กลุ่มบริ ษทั มีหนังสื อค้ าประกันซึ่ งออกโดยธนาคารในนามกลุ่มบริ ษทั ซึ่ งเกี่ ยวเนื่ องกับภาระผูกพันทาง ปฏิบตั ิบางประการตามปกติธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ประกันตามสัญญาขายไฟ ประกันการใช้ไฟฟ้ า ประกันการชาระค่าสิ นค้า ประกันอื่นๆ รวม
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2559 2558 2559 2558 15 31 46
15 22 9 3 49
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ จการ 2559 2558 2559 2558 6 1 3 6 4
35.4 เช็คลงวันทีล่ ่วงหน้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 กลุ่มบริ ษทั มีเช็คลงวันที่ล่วงหน้าซึ่ งออกให้แก่ชาวไร่ เพื่อการรั บ ซื้ ออ้อยดังนี้
เช็คลงวันที่ล่วงหน้า
206
งบการเงินนรวม งบการเงิ รวม 2559 2558 2559 2558 2,601 2,528
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ งบการเงิ จการ 2559 2558 2559 2558 1,949 1,863
49
36. เครื่องมือทางการเงิน 36.1 นโยบายการบริหารความเสี่ ยง เครื่ องมือทางการเงินที่สาคัญของกลุ่มบริ ษทั ตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดง รายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสาหรับเครื่ องมือทางการเงิ น ” ประกอบด้วย เงิ นสดและรายการเทียบเท่ า เงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ เงินให้กยู้ ืม เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สิน ตามสัญ ญาเช่ า การเงิ น เงิ นกู้ยื ม ระยะสั้ น และเงิ นกู้ยืม ระยะยาว กลุ่ ม บริ ษ ทั มี ค วามเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ เครื่ องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริ หารความเสี่ ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้ านการให้ สินเชื่อ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่ อที่เกี่ ยวเนื่ องกับลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ ชาวไร่ และ เงินให้กยู้ มื ฝ่ ายบริ หารควบคุมความเสี่ ยงนี้ โดยการกาหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสิ นเชื่อที่ เหมาะสม ดัง นั้น กลุ่ ม บริ ษ ัท จึ ง ไม่ ค าดว่า จะได้รั บ ความเสี ย หายที่ เ ป็ นสาระส าคัญ จากการให้ สิ น เชื่ อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของกลุ่มบริ ษทั ไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่ จานวนมากราย จานวนเงินสู งสุ ดที่อาจต้องสู ญเสี ยจากการให้สินเชื่ อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ การค้า และลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ชาวไร่ และเงินให้กยู้ มื ที่แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุ่ มบริ ษ ัทมี ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ ยที่ ส าคัญอันเกี่ ยวเนื่ องกับเงิ นฝากธนาคาร เงิ นให้กู้ยืม เงิ นเบิ ก เกินบัญชี หนี้ สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน และเงินกูย้ ืมที่มีดอกเบี้ย ทั้งนี้สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่ วน ใหญ่ มี อตั ราดอกเบี้ ยที่ ปรั บขึ้ นลงตามอัตราตลาด หรื อมี อ ัตราดอกเบี้ ยคงที่ ซ่ ึ งใกล้เคี ยงกับอัตราตลาดใน ปัจจุบนั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินที่สาคัญของกลุ่มบริ ษทั สามารถจัด ตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสาหรับสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินที่มีอตั ราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยก ตามวันที่ครบกาหนด หรื อ วันที่มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ ถึงก่อน) ได้ดงั นี้
รายงานประจ�ำปี 2559
207
50
208
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
ลูกหนี้ชาวไร่
37 2,295 83 2,415
1,067 7 504 -
63 1,641
3,147
8,243 8,713 16,956
7,299 6,10513,404-
2,162-
ถึง 5 ปี
1 ปี
192
1,212
82
82
314 398
324 982 314 1,306-
ตามราคาตลาด
223 675 898
762 450 -
5 ปี
1,895
1,895 -
556 1,270 337
1,645 -25 1,645689
ดอกเบี้ย
146 7,245
1,067 1,895 806 3,249 82
556 1,584 666
1,650 339 689 1,650
รวม
ธุรกิจผลิตและ จาหน่าย ไม่มแอลกอฮอล์ อี ตั รา รวม ดอกเบี ไม่มี ย้ 2559 2558 อัตรา
54 2,615
1,922 7 632 -
1181
832 -1 832-
1 ปี
137 2,370
33 2,200 -
264-
576 -576-
ถึง 5 ปี
19-
43 -43-
8 1,829
772 1,049 -
5 ปี
ตามราคาตลาด
ดอกเบี้ย
รวม
(หน่วย: ล้านบาท)
87
87
(1)271
2,208
2,208 -
431 798 92,480
2,837
-
4,474
199 9,109
51
47
(124) 48 ตามหมายเหตุขอ้ 22 (513) 730
81 1,922 ตามหมายเหตุ ข116 อ้ 18 2,208 (118) - (173) 812 ตามหมายเหตุขอ้ 20 (2,872) (3,362) 3,881 ตามหมายเหตุขอ้ 21 87 (317) ตามหมายเหตุ(373) ขอ้ 7
431 798 -2,752
7 (1,816) (1,167) 8,226 9,633 -271 - 75 - 347 6,780 ตามหมายเหตุ9,695 ขอ้ 8 1,176 1,176 7 (1,816) (1,167) 15,006 19,328
(ร้อยละ)
ดอกเบี้ย (ร้อยละ)
2558 ธุรกิจผลิตและ การตัดรายการ (หน่วย : ล้านบาท) จาหน่อัาตยพลั งงานย้ คงที่ บัญชี ราดอกเบี อัตรา อัตราดอกเบีย้ 2558 ไม่ระหว่ มอี ตั ราางกัน ดอกเบี ย้ ไฟฟ้ า ธุ ร กิ จ อื ่ น งบการเงิ นรวม ปรัๆบขึน้ ลง รวม ภายใน อัตราดอกเบี มากกว่า้ ย1คงที่ มากกว่า ดอกเบี ย้ อั ต ราดอกเบี ย ไม่ ม ี ้ ตามราคาตลาด 1 ปี ถึ2558 ง 5 ปี 5 ปี 2559 2559 2559 อัตรา2558 ภายใน มากกว่ า 1 มากกว่ า ปรั2558 บขึ้นลง 2559 อัตรา 2558
กลุ่มบริ ษทั ใช้เกณฑ์ในการกาหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7
กาไร น) จากการด าเนิ้ านตาลทราย งาน ลูกหนี(ขาดทุ นอ้อยและน ้ สานักงานกองทุ ตามส่วนงาน หนีส้ ิ นแทางการเงิ รายได้ ละค่าใช้น จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน: เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ ืมระยะสั้นจาก รายได้ อื่นนการเงิน สถาบั เจ้าหนี้กนารค้ าและเจ้ าหนี้อื่น ขาดทุ จากอั ตราแลกเปลี ่ยน ญญาเช่าการเงิน ้ สินจตามสั ่ายในการขายและบริ ค่หนีาใช้ หาร เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ค่เงิานใช้ ยทางการเงิจการที น ่เกี่ยวข้องกัน กูย้ จืม่าระยะยาวจากกิ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากส านักจงานกองทุ ่าย) ภาษีนอ้เงิอนย ได้ ผลประโยชน์ (ค่าใช้ ้ าตาลทราย กาไร และน (ขาดทุ น) สาหรับปี
รายได้จากการขายและบริ การ - ในประเทศ สิ นทรัพย์ ทางการเงิน - เงิต่นาสดและรายการเที งประเทศ ยบเท่าเงินสด รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น
ธุรกิจผลิตและ ธุรกิจ2559 ผลิตและ จอัาหน่ าย ย้ คงที่ จาหน่าย ตรดอกเบี อัตราดอกเบีย้ 2559 น า ตาลทราย เยื อ ่ กระดาษ ้ ปรับขึน้ ลง ภายใน อัตราดอกเบี มากกว่า้ ย1คงที่ มากกว่า อัตราดอกเบี้ย ตามราคาตลาด 1 ปี ถึง2558 5 ปี 52559 ปี 2559 ภายใน มากกว่ า 1 มากกว่ า ปรับ2558 ขึ้นลง
ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงานของกลุ่มบริ ษทั สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีดงั ต่อไปนี้
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 กลุ่มบริ ษงบการเงิ ทั มีสัญนญาแลกเปลี ่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) เพื่อ รวม แลกเปลี ่ยนอั ราดอกเบี โดยมี2558 รายละเอี ้ 2559 ่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) เพื่อ วันษทีงทั ต่่ 31 ธััญนญาแลกเปลี วาคม ณ วันที่ 31 ธันตวาคม 2559้ ย และ กลุ่มณยบริดดั มีอสไปนี
แลกเปลี ่ยนอั ราดอกเบี โดยมี2558 รระยะเวลา ายละเอี งทั ต่มีอสไปนี ้ รวม ณ วันที่ 31 ธันตวาคม 2559้ ย และ กลุ่มยบริดดัษงบการเงิ ัญนญาแลกเปลี ่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) เพื่อ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2559 ่าย มูแลกเปลี ลค่าคงเหลื ญญา ้ ย โดยมีสิร้ นายละเอี สุ ดสัญญา งบการเงิ อัตนราดอกเบี อัตราดอกเบี้ยที่รับ ่ยนอัธัอตามสั ราดอกเบี ้ รวม ้ ยที่ย่จนอั ณ วันที่ 31 นตวาคม 2559 และ 2558 กลุ่มยบริดดัษงทั ต่มีอสไปนี ัญญาแลกเปลี ตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) เพื่อ
(ล้านบาท) 3,910 (ล้านบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,910 (ล้านบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา มูลค่าคงเหลือตามสัญญา านบาท) นบาท) (ล้(ล้า3,910 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,910 (ล้านบาท) 3,910 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา
ระยะเวลา (ร้อยละต่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559อปี ) ธันระยะเวลา วาคม 2561 3.9 2559 - 4.2 ณ วัน- งบการเงิ ที่ 31 ธันนวาคม รวม อยละต่้ อยทีปี ่จ) ่าย มิสิถ้ นระยะเวลา ุนสุายน รวม ดสัญ2563 ญา งบการเงิ อัตน(ร้ราดอกเบี ณณวันวั- นทีที่ ่31 วาคม 2559 ธันวาคม 2561 3.9 - 4.2 31 ธัธัน นวาคม 2559 (ร้ อ ยละต่ สิ้ นสุ ดสัญญา อัตราดอกเบี้อยทีปี ่จ) ่าย อัตราดอกเบี ย้ ทีจ่ า่ ย ระยะเวลา ุนายน จการ ระยะเวลาสิ น้ สุ2561 ด2563 สังบการเงิ ญญา ธัมินถวาคม - นเฉพาะกิ 3.9 4.2 (ร้ อ ยละต่ (ร้ราดอกเบี อยละต่อ้อยปีทีปี)่จ) ่าย สิ้ นสุ ดสัญณญาวันที่ 31 ธัอันตวาคม ุนายน2561 2563ธัมินถวาคม 3.9 2559 - 4.2 (ร้ อ ยละต่ อปี ) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ มิถระยะเวลา ุนายน 2563 ธัสิน้ นวาคม 3.92559 - 4.2 วัน- ที่ 31นธัเฉพาะกิ สุ ดสั2561 ญณญา อันตวาคม ราดอกเบี งบการเงิ จการ้ ยที่จ่าย มิถระยะเวลา ุนายน 2563 (ร้อยละต่ ณงบการเงิ วันที่ 31นธัเฉพาะกิ นวาคม จ2559 การอปี ) ดสัญ2563 ญางบการเงินอัเฉพาะกิ ตราดอกเบี ้ ยที่จ่าย มิสิถ้ นระยะเวลา ุนสุายน 4.2 ณงบการเงิ วันที่ 31นธัเฉพาะกิ นวาคมจจการ 2559 การ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559อปี ) อยละต่ สิ้ นระยะเวลา สุ ดสัญญา อัต(ร้ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย อั ต ราดอกเบี ย ้ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2559 ระยะเวลาสิ น้ สุด2563 สัญญา มิถุนายน 4.2 ออทีปีปีจ่))า่ ย (ร้ออยละต่ ยละต่ สิ้ นสุ ดสัญญา อัต(ร้ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย ระยะเวลา งบการเงินรวม มิถุนายน 2563 4.2 อปี ) (ร้ราดอกเบี อยละต่ สิ้ นสุ ดสัญณญาวันที่ 31 ธัอันตวาคม ้ ยที่จ่าย 2558 มิถุนายน 2563 4.2 อยละต่อปี ) ระยะเวลา งบการเงิน(ร้รวม มิสิถ้ นุนสุายน 4.2 ณญาวันงบการเงิ ที่ 31 ธัอันตนวาคม ดสัญ2563 ราดอกเบี รวม 2558้ ยที่จ่าย งบการเงินรวม ระยะเวลา (ร้รวม อยละต่ ณ วันงบการเงิ ที่ 31 ธันนวาคม 2558อปี ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สุ ดสั2561 ญญา อัตราดอกเบี ธัสิน้ นระยะเวลา วาคม 3.9 2558 - 4.2ย้้ ยทีทีจ่ ่จา่ ่ายย อั ต ราดอกเบี ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม ระยะเวลาสิน้ สุดสัญญางบการเงิ น(ร้ รวม ยละต่ออปีปี)) ออยละต่ มิสิถ้ นระยะเวลา ุนสุายน ดสัญ2563 ญา อัต(ร้ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2558 ธันวาคม 2561 - 4.2อปี ) อ3.9 ยละต่ สิ้ นสุ ดสัญญา อัต(ร้ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย ระยะเวลา มิ ถ ุ น ายน 2563 งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ธันวาคม 2561 - 4.2อปี ) (ร้ราดอกเบี อ3.9 ยละต่ สิ้ นสุ ดสัญณญาวันที่ 31 ธัอันตวาคม ้ ยที่จ่าย ุนายน2561 2563ธัมินถวาคม 3.9 2558 - 4.2 (ร้อยละต่ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิ จจการ งบการเงิ การอปี ) มิถระยะเวลา ุนายน 2563 ณ วั- นที่ 31 ธันวาคม ธัสิน้ นวาคม 3.92558 - 4.2้ ยที่จ่าย วันที่ 31นธัเฉพาะกิ 2558 สุ ดสั2561 ญณญา อันตวาคม ราดอกเบี งบการเงิ จ การ อัตราดอกเบีย้ ทีจ่ า่ ย ระยะเวลาสิ น้ สุด2563 สัญญา มิถระยะเวลา ุนายน ยละต่ (ร้(ร้ออยละต่ ณงบการเงิ วันที่ 31นธัเฉพาะกิ นวาคม จ2558 การออปีปี)) ดสัญ2563 ญา อัตราดอกเบี ้ ยที่จ่าย มิสิถ้ นระยะเวลา ุนสุายน ณงบการเงิ วันที่ 31นธัเฉพาะกิ นวาคมจ4.2 2558 การอปี ) อยละต่ สิ้ นระยะเวลา สุ ดสัญญา อัต(ร้ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2558 มิถุนายน 2563 4.2 อปี ) อยละต่ สิ้ นสุ ดสัญญา อัต(ร้ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย ระยะเวลา มิถุนายน 2563 4.2 อปี ) อยละต่ สิ้ นสุ ดสัญญา อัต(ร้ราดอกเบี ้ ยที่จ่าย มิถุนายน 2563 4.2 (ร้อยละต่อปี ) มิถุนายน 2563 4.2
นรวม ่ยนอั ตราดอกเบี ยดดังบการเงิ งต่อไปนี ้ มูแลกเปลี ลค่าคงเหลื อตามสั ญญา ้ ย โดยมีสิร้ นายละเอี สุ ดสัญญา อัตราดอกเบี ้ ยที่จ่าย
(ล้านบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,250 (ล้านบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา มูลค่าคงเหลือตามสัญญา านบาท) นบาท) (ล้(ล้า3,250 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้า3,250 นบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,250 (ล้านบาท) 3,250 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้านบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 4,560 มูลค่าคงเหลือตามสัญญา นบาท) (ล้(ล้าานบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้า4,560 นบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้า4,560 นบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 4,560 (ล้านบาท) 4,560 มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา มูลค่าคงเหลือตามสัญญา นบาท) (ล้(ล้าานบาท)
มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,750 (ล้านบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,750 (ล้านบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา (ล้า3,750 นบาท) มูลค่าคงเหลื อตามสัญญา 3,750 (ล้านบาท) 3,750
(ร้อยละต่อปี ) ้ ยที่รับ6 เดือน อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX อยละต่ )่รับ่ต่อปี บวกอัอัตต(ร้ราส่ วนเพิอ้ ย่มปีทีคงที ราดอกเบี อัตราที่อา้(ร้งอิอยละต่ ง THBFIX 6 เดือน อัตราดอกเบีอ้ ยปีที)่รับ อัตราดอกเบี ร่ บั ่ต่อปี นเพิย้่มทีคงที อัตบวกอั ราที่อตา้(ร้ราส่ งอิ งวยละต่ THBFIX (ร้ออยละต่ ออปีปี)) 6 เดือน อัตราดอกเบี้ยที่รับ นเพิ่มคงที6่ตเดื่อปีอน อัตบวกอั ราที่อตา้ ราส่ งอิงวTHBFIX (ร้อยละต่อปี ) บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี (ร้อยละต่อปี ) ้ ยที่รับ6 เดือน อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX อยละต่ )่รับ่ต่อปี บวกอัอัตต(ร้ราส่ วนเพิอ้ ย่มปีทีคงที ราดอกเบี ราดอกเบีย้ ทีร่ บั อัตราที่ออัา้(ร้ตงอิ งยละต่ THBFIX (ร้ออยละต่ ออ้ ยปีปีที))่รับ6 เดือน อัตราดอกเบี นเพิ่มคงที6่ตเดื่อปีอน อัตบวกอั ราที่อตา้(ร้ราส่ งอิอยละต่ งวTHBFIX อัตราดอกเบีอ้ ยปีที)่รับ นเพิ่มคงที6่ตเดื่อปีอน อัตบวกอั ราที่อตา้ ราส่ งอิงวTHBFIX (ร้อยละต่อปี ) บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ้ ยที่รับ6 เดือน บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี (ร้อยละต่อปี ) ้ ยที่รับ6 เดือน อัตราทีอั่อตอัา้ ตราดอกเบี งอิราดอกเบี ง THBFIX ย้ ทีร่ บั (ร้ อ ยละต่ อ )) ่ต่อปี อยละต่ บวกอัอัตต(ร้ราส่ วนเพิอ้ ย่มปีปีทีคงที ราดอกเบี ่รับ อัตราที่อา้(ร้งอิอยละต่ ง THBFIX 6 เดือน อัตราดอกเบีอ้ ยปีที)่รับ นเพิ่มคงที6่ตเดื่อปีอน อัตบวกอั ราที่อตา้(ร้ราส่ งอิอยละต่ งวTHBFIX อัตราดอกเบีอ้ ยปีที)่รับ นเพิ่มคงที6่ตเดื่อปีอน อัตบวกอั ราที่อตา้ ราส่ งอิงวTHBFIX (ร้อยละต่อปี ) บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX ยที่รับ6 เดือน ้ ตราดอกเบีย้ ทีร่ บั บวกอัตอัราส่ วยละต่ นเพิอ่มปีคงที ่ต่อปี (ร้(ร้ออยละต่ อปี)) ้ ยที่รับ6 เดือน อัตราทีอั่อตา้ ราดอกเบี งอิง THBFIX อยละต่ )่รับ่ต่อปี บวกอัอัตต(ร้ราส่ วนเพิอ้ ย่มปีทีคงที ราดอกเบี อัตราที่อา้(ร้งอิอยละต่ ง THBFIX 6 เดือน อัตราดอกเบีอ้ ยปีที)่รับ นเพิ่มคงที6่ตเดื่อปีอน 52 อัตบวกอั ราที่อตา้(ร้ราส่ งอิอยละต่ งวTHBFIX อัตราดอกเบีอ้ ยปีที)่รับ นเพิ่มคงที6่ตเดื่อปีอน อัตบวกอั ราที่อตา้ ราส่ งอิงวTHBFIX (ร้อยละต่อปี ) บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี 52 อัตราที่อา้ งอิง THBFIX 6 เดือน บวกอัตราส่ วนเพิ่มคงที่ต่อปี 52 รายงานประจ�ำปี 2559
52
209
52
ความเสี ่ย่ยงจากอั ตตราแลกเปลี ่ย่ยนน ความเสี งจากอั ราแลกเปลี ความเสี ่ยงจากอั ตราแลกเปลี ่ยน ่ ย วเนื่ ่อองจากการซื กลุ บริ ทั ทั มีมีคความเสี ่ ่ ยยงจากอั ่ ่ยยนที าคั อัอันนเกี ขายสิ นนค้ค้าาและซื ้ ้ ออหรื ้ ้ ออ ความเสี ตมีราแลกเปลี นตตราแลกเปลี กลุ่ ม่ มกลุ บริ่ย่ มษษงจากอั งจากอั ราแลกเปลี นที่ ย่ ส่ สนที าคั่ญสญาคั งจากการซื หรื้ อออหรื ขายสิ บริ ษ ทั วามเสี ค วามเสี ่ ย่ยงจากอั ตราแลกเปลี ญเกีอั่ ยนวเนื เกี่ ย วเนื ่ องจากการซื อ ขายสิ นและซื ค้า และซื ้อ เครื ่ อ งจั ก ร บริ ษ ท ั ฯและบริ ษ ท ั ย่ อ ยบางแห่ ง ได้ ต กลงท าสั ญ ญาซื อ ขายเงิ น ตราต่ า งประเทศล่ ว งหน้ า เพื ่ อ ใช้ เ ป็ น ้ ความเสี ราแลกเปลี เครื่ ม่ อบริ งจักษ่ อรงจั ทั ฯและบริ ษทั ย่ตษอยบางแห่ งได้่ ยตงนที กลงท าสัญญอัาสั ญาซื อ่ ยขายเงิ นงจากการซื ตราต่ างประเทศล่ วงหน้วนงหน้ าค้เพืา่อและซื กลุ ทั บริ มีก่ยครษงจากอั วามเสี งจากอั ราแลกเปลี าคั นญเกี้ญาซื วเนื้ อ่ อขายเงิ หรื อ ขายสิ ้าองประเทศล่ ้ อน เป็ น เครื บริ ษทั ต่ ยฯและบริ ทั ่ยย่นอยบางแห่ ได้่ตสกลงท นตราต่ าใช้ เพืเ่อป็ใช้ เครื งมื หหารความเสี ่ ่ยยงง และบริ ษทั ฯได้ ททาสั ญญาซื นนตราต่ าางประเทศล่ ววงหน้ าาบางส่ ววน ้ ้ออขายเงิ เครื่ อ่ ่ออกลุ งมืก่ มอออรในการบริ ในการบริ ารความเสี ฯได้ ญาซื ขายเงิ ตราต่ งประเทศล่ บางส่ บริ ทั ทั มีฯและบริ ค วามเสี ่ ยทั งจากอั ตและบริ ญญอั้ อญาซื นขายเงิ เกี่ ย้ อวเนื ่ องจากการซื องหน้ ขายสิ ้ อหรื เครื งจั บริอษษในการบริ ย่อยบางแห่ ได้ษตทั กลงท าสัาสั่ สญทญาคั ญาซื นขายเงิ ตราต่ งประเทศล่ วงหน้ าวเพืงหน้ ่อนใช้ค้าาเบางส่ ป็และซื น ว้นอ เครื งมื หษารความเสี ่ ยราแลกเปลี ง งและบริ ษ่ ยทั นที ฯได้ าสั นาตราต่ างประเทศล่ แทนบริ ษทัทั ย่ย่ออยย สัสัญญญาส่ ววนใหญ่ มีอายุ สัญญาไม่เเกิกินนหนึ ่ งงปีปี แทนบริ นใหญ่ งจักษรทั บริ ทั สัารความเสี ฯและบริ อายุยบางแห่ ตกลงท าสั ญ่ งปีญาซื นตราต่ างประเทศล่ วงหน้ าเพื่อวใช้ ้ อขายเงิ เครื ่ อเครื งมือ่ษในการบริ ่ ยทั มงย่ีอและบริ ษสทัญงได้ ฯได้ ทหนึ าสั ญาซื นตราต่ างประเทศล่ วงหน้ าบางส่ น เป็ น ้ อขายเงิ แทนบริ ย่อษยหญาส่ ญญาส่ วษนใหญ่ มสีอัญายุญาไม่ ญาไม่ เกิน่ ญ หนึ ่ม่มญาไม่ ณณ วัวันนเครื ที่ 31 ธันนยในการบริ วาคม 2559 และ 2558 บริ ทัทั เษกิมีมีทั นยยฯได้ อดคงเหลื ของสิ นนทรั ย์ย์ตราต่ แและหนี นนทีทีาบางส่ ่เ่เป็ป็ นน วน ้ ้ สสิ ินนทางการเงิ อนทั งมื ารความเสี ่ ยกลุ าสัญออญาซื ขายเงิ งประเทศล่ วงหน้ แทนบริ สัธันญวาคม ญาส่ นใหญ่ มีอายุ2558 สง ัญและบริ วาคม 2559วห2559 และ และ 2558 กลุ บริษ่มษบริ ของสิ ทรันพพนทรั ทางการเงิ ณทีวั่ ษ่ 31 ทีย่ธั่ อ31 กลุ ษหนึ ทัอดคงเหลื มี่ ยงทปีอดคงเหลื อ้ อของสิ พละหนี ย์แาละหนี นที่เป็ น ้ สินทางการเงิ สกุ ล เงิ น ตราต่ า งประเทศ ดั ง นี ้ แทนบริ ษ ท ั ย่ อ ย สั ญ ญาส่ ว นใหญ่ ม ี อ ายุ ส ญ ั ญาไม่ เ กิ น หนึ ่ ง ปี เงิทีน่ ล31 ตราต่ าวาคม งประเทศ งนี้ ดัง2558 ณสกุวัลนสกุ 2559ดัและ เงิธันนตราต่ างประเทศ นี้ กลุ่มบริ ษทั มียอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็ น
ณณ วั่มวันนบริทีที่ ่ ษ31 ธันยวาคม 2559 นที่ 31างประเทศ ธันวาคมดั2559 อดคงเหลื ของสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็ น สกุลเงิณนวัตราต่ งนี้ และ 2558 กลุ วาคม 2559อ2559 ณ วั31นทั ทีธัมี่ น31 ธันวาคม ษทั ฯ สกุลเงินตราต่างประเทศกลุ ดัง่ม่มนีบริ ้ ษษ่มทัทับริ ษณทั วันที่ 31 ธันเฉพาะของบริ กลุ บริ เฉพาะของบริ วาคม 2559 ษทั ฯษทั ฯ กลุ เฉพาะของบริ
สิสินนทรั หนี้้สสิ นิ นทาง สิสินนทรั พพย์ย์ หนี ้ ้สสิ นิ นทาง ทรัสิพพนกลุย์ย์ทรั่มบริ ทรั หนี วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2559 ทั หนีทาง เฉพาะของบริ ษ ทั หนี ฯ ทาง พย์ษหนี สิ น ทรั พ ย์ ้ณสินวันณทาง ้ สินทาง ที่ 31 ธันวาคม 2559 สกุ ล เงิ น ทางการเงิ น การเงิ น ทางการเงิ น การเงิ น อัอัตตราแลกเปลี ่ย่ยนเฉลี ่ย่ย สกุลเงิสกุนลเงิน ทางการเงิ การเงิ น น ทางการเงิ น นหนี ราแลกเปลี นเฉลี ทางการเงิ การเงิ ทางการเงิ การเงิ อัตราแลกเปลี ่ยนเฉลี ่ย ่มทั บริ กลุนษหนี ษนทั ฯ น สิ นทรั พกลุ ย์นม่ บริ สิ นทรั พย์เฉพาะของบริ ้ สิษนทัทาง เฉพาะของบริ ษการเงิ ทั ้ ส ฯ ิ นทาง อัหน่ ตราแลกเปลี ย่ นเฉลีางประเทศ) ย่ (ล้ า น) (ล้ า น) (ล้ า น) (ล้ า น) (บาทต่ อ ว ยเงิ น ตราต่ สิ(ล้ นทรั พน หนีาหนี ส้ น) นิ น สิน(ล้ทรัาสิน) พน ย์ทรั หนี ส้ น) นิ น าสิน) (ล้ (ล้าหนี (บาทต่ นวยเงิ ตราต่ างประเทศ) สกุลลเงิเงินน สกุ ทางการเงิ นาน)พย์ ทางการเงิ การเงิ นาน)พย์ ทางการเงิ การเงิ อัอตหน่ ราแลกเปลี ่ยนนเฉลี ่ย างประเทศ) (ล้ย์นทรั (ล้้ สนาิ นน)ทางทางการเงิ (ล้ (ล้้ นสาิ นน)ทาง (บาทต่ อววยเงิ หน่ ตราต่ (บาทต่ อ หน่ ยเงิ น ตราต่ า งประเทศ) ทางการเงิ ทางการเงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ อเมริ ก า 1.4 2.4 0.4 35.88 เหรี ยเหรี ญสหรั ฐอเมริ กา กา(ล้(ล้1.4 -น) 35.88 าน) น) 1.4 น (ล้ (ล้2.4 น)การเงิ (ล้าาทางการเงิ น) - น (ล้ (ล้0.4 าาน) ยญสหรั 2.4 น (ล้ 0.4 น(บาทต่อหน่วอัยเงิ 35.88 สกุ ลเงิฐนอเมริ ตราแลกเปลี ่ยนเฉลี่ย าทางการเงิ าาน) น)การเงิ นตราต่ างประเทศ) เยน 0.7 0.7 0.31 เยนยญสหรั 0.7(ล้0.7 0.7(ล้0.7 0.31 เยน ฐอเมริ กา เหรี 1.4- (ล้า-น) 2.4 -- (ล้า-น) 0.4 35.88 าน) าน) (บาทต่อหน่ วยเงิ0.31 นตราต่างประเทศ) เยน เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา - 1.4 0.7 2.4 - 0.7 0.4 0.31 35.88 ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 ธั น วาคม 2558 ธันวาคม เยน 0.7ณ วั31นทีธั่ น31วาคม - 25582558 0.7 0.31 ่ กลุ ม บริ ษ ท ั เฉพาะของบริ ษ ท ั ฯ กลุ่มบริ เฉพาะของบริ 2558 ษทั ฯษทั ฯ กลุษ่มทับริ ษณ ทั ณวันวัทีนที่ 31 เฉพาะของบริ ่ 31ธัธันนวาคม วาคม 2558 สิสินนทรั หนี้้สสิ นิ นทาง สิ นทรั พพย์ย์ หนี ้ สสิ นิ นทาง ทรัสิพพนกลุย์ย์ทรั ่ ทรั 31สิเฉพาะของบริ 2558 ่มบริ ั ทั หนีทาง ั ฯหนี ฯ ทาง กลุ มพ ่ บริ ษท ษษทั ้ ท ย์ษหนี นธันทรัวาคม พย์ หนี ้ สินณทางวันสิทีนเฉพาะของบริ ้ สินทาง ตราแลกเปลี่ยย่ นเฉลี ย่ ่ย สกุ ล เงิ น ทางการเงิ น การเงิ น ทางการเงิ น การเงิ น อัอัตตอัราแลกเปลี ทรัพพย์ย์น กลุนหนี หนี ส้ ท นิ น น ทางการเงิ สินทรั ทรัพ พย์ย์เฉพาะของบริ หนีิ นส้ ทาง นิ นท สกุสกุลลเงิสกุ ทางการเงิ การเงิ น นหนีการเงิ ราแลกเปลี ่ยนเฉลี นเฉลี ่ย ่ย เงิน น ลเงิ น ทางการเงิ การเงิ ทางการเงิ การเงิ น อั ต ราแลกเปลี ่ ย นเฉลี ่ ม บริ ษ ั ษ ั ฯ สิทางการเงิ นสินทรั ส ิ น ทาง สิ น ส ้ ้ (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) น ทางการเงิน ทางการเงิน ทางการเงิน (ล้ (ล้ (ล้ (ล้ (บาทต่ อหน่ววยเงิ นตราต่ าางประเทศ) าน) น) น)น าน) น)น (ล้(ล้าาสิาน) น)น)น(ล้ทรั (ล้(ล้าาหนี น) (ล้(ล้าาาสิน) น) (ล้(ล้าาหนี น) (บาทต่ ตราต่ งประเทศ) สกุลเงิน ทางการเงิ นาน)พย์ การเงิ น(ล้้ สาิ นน)ทางทางการเงิ นาน)พย์ การเงิ อัอตหน่ ราแลกเปลี ่ยนนเฉลี ่ย างประเทศ) (ล้ทรั (ล้้ สาิ นน)ทาง (บาทต่ อยเงิ หน่นวยเงิ ตราต่ เหรี ย ญสหรั ฐ อเมริ ก า 9.8 5.3 4.8 0.5 36.04 เหรี ยเหรี ญสหรั ฐอเมริ กา กา(ล้9.8 36.04 ยญสหรั 5.3 น (ล้4.8 0.5 น(บาทต่อหน่วอัยเงิ 36.04 สกุ ลเงิฐนอเมริ ตราแลกเปลี ่ยนเฉลี่ย าทางการเงิ น) 9.8 น (ล้5.3 าน)การเงิ าทางการเงิ น) 4.8 น (ล้0.5 าน)การเงิ นตราต่ างประเทศ) เยน 11.4 11.4 0.30 เยนยญสหรั 0.30 เยน ฐอเมริ กา เหรี 9.8- (ล้า-น) 11.4 5.3 (ล้11.4 4.8- (ล้า-น) 11.4 0.5 (ล้11.4 36.04 าน) าน) (บาทต่อหน่ วยเงิ0.30 นตราต่างประเทศ) เยน 11.4 5.3วงหน้าคงเหลื - 4.8อดังนี้ 11.4 0.5 0.30 36.04 ยษญสหรั อเมริ้ อกขายเงิ า - น9.8 กลุ บริ ทัทั มีมีสสัญัญฐญาซื าางประเทศล่ กลุ่ม่มเหรี บริ อขายเงิ นตราต่ ตราต่ งประเทศล่ วงหน้วงหน้ าคงเหลื อดังนีอ้ ดังนี้ กลุษ่มบริ ษทั มีญาซื สัญ้ญาซื นตราต่ างประเทศล่ าคงเหลื ้ อขายเงิ เยน 11.4 11.4 0.30 นนรวม กลุ่มบริ ษทั มีสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงบการเงิ งหน้ าคงเหลื งบการเงิ รวม อดังนี้ งบการเงิ งบการเงิ นรวมนรวม ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 นวาคม 2559 31นวทีธัธัธังหน้ วาคม 2559 2559 กลุ่มบริ ษทั มีสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่ อดังนี้ ณที่ วั31 ธัานคงเหลื วาคม ณ วันงบการเงิ น่น31 2559 นวาคม รวม
ขาดทุ นนขาดทุ (ก ทีไร)่ย่ยงงั ั ทีไม่ รับรรูรูบั ้จ้จรูากการ ขาดทุขาดทุ (กาไร) าไร) ไม่ นน(กำ �ที ย่ ทีงั ่ยรไม่งับ ้ ับรู ้จากการ (ก าไร) ั ไม่รากการ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2559 อั ต ราแลกเปลี ย ่ นตามสั ญ ญาของ งบการเงิ นรวมญญาของ จากการเปลี ย่ นแปลงมู ลยุค่ตาิธยุตรรมของ ธิ รรมของ อัอัตตราแลกเปลี ่ ย นตามสั เปลี ่ ย นแปลงมู ล ค่ า �นวน จำจ�านวน นนวน จจจำานวน ราแลกเปลี ่ยนตามสั ญญาของ เปลี่ยนแปลงมู ลค่ายุลตค่ิธารรมของ านวน อันตทีซ่ราแลกเปลี ่ยจำนตามสั ญ ญาของขาดทุ เปลี ่ยนแปลงมู ิธรรมของ สกุลเงิน ทีซ่ อ้ื จานวน จทีานวน ข่ ายจานวน จำ�ณ น (ก าไร) ที ่ยงั ไม่ รับรูยุ้จตากการ วั ่ 31 ธั น วาคม 2559 นวนที อ ้ ื � นวนที ข ่ าย จำานวนที �นวนทีซ่ ่ซอ้ื ้ื อ จำานวนที �นวนทีข่ ่ขาย สกุ ล เงิ น ที ่ ซ ื อ ที ่ ข าย จ านวนที ่ ซ ื อ จ านวนที ่ ข าย จ จ ้ ้ (ล้ า น) (ล้ า น) สกุลเงิสกุน ลเงิน จานวน ที่ซ้ือ ที่ซ้ือ จทีานวน ่ขายที่ขาย อัจานวนที ่ซ้ือ ่ย่ซนตามสั จานวนที ่ขาย ่ขาย จเปลี านวนที ่ซ้ือ ่ซล้ือค่ายุจตานวนที ่ขาย าย ่ขาย จานวนที จญาของ านวนที จนแปลงมู านวนที จานวนที ้ือตราต่ (ล้าขาดทุ (ล้่ยิธงาั รรมของ นบาท) ตราแลกเปลี ญงประเทศ) ่ยนบาท) (บาทต่ อ หน่ ว ยเงิ น า น (ก าไร) ที ไม่ ร ับรู ้จากการ (ล้ า น) (ล้ า น) (บาทต่ อ หน่ ว ยเงิ น ตราต่ า งประเทศ) (ล้ า นบาท) (ล้ า นบาท) (ล้ น)(ล้าน)(บาทต่ อหน่ างประเทศ) านบาท) (ล้านบาท) าน) ที(ล้่ขาาย (บาทต่ หน่นวตราต่ ยเงิ นนตามสั ตราต่ (ล้ สกุลเงิฐนอเมริ กา ที2.3 ่ซา้น) ือจ(ล้านวน ่ซ้ือวอยเงิ จ่ยานวนที ่ขาญงประเทศ) ายญาของ จ(ล้ านวนที าย อัตราแลกเปลี เปลีา่ซนบาท) ่ย้ือนแปลงมูจานวนที ลค่า4.3 ยุ(ล้ ติธ่ขานบาท) รรมของ จานวน จานวนที เหรี ย ญสหรั 49.0 35.65 35.33 35.85 (0.5) เหรี ยญสหรั ฐ อเมริ ก า 2.3 49.0 35.65 35.33 35.85 (0.5) 4.3 เหรี ยญสหรั 35.33 - 35.85 (0.5) ่ซ้ือ (ล้านบาท) 4.3 ่ขาย หน่35.65 วยเงิ่ซน้ือตราต่างประเทศ) สกุลเงิฐอเมริ น กา (ล้าน) ที2.3 ่ซ้ือ (ล้าน)ที49.0 ่ขาย(บาทต่จอานวนที จานวนที ่ขาย (ล้านบาท) จานวนที จานวนที
เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา
2.3 (ล้าน) 49.0 (ล้าน) เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 2.3 49.0
210
35.65 35.33 - 35.85 (บาทต่อหน่วยเงิ นตราต่ างประเทศ) (0.5) (ล้านบาท) 35.65 35.33 - 35.85 (0.5)
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
4.3(ล้านบาท) 4.3
53 53 53 53 53
งบการเงิ นเฉพาะกิ เฉพาะกิ จการ การจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ งบการเงิ นนเฉพาะกิ จจการ ณงบการเงิ วันณทีวั่ 31 ธั่ 31 นวาคม วาคม 25592559 น31นทีเฉพาะกิ ธันจวาคม ณ 2559 การ ณ วัวันนทีที่่ 31 ธัธันนวาคม 2559
ขาดทุขาดทุ น (ก (กนาไร) าไร) ที่ยงั ทีไม่ ไม่่ยรงรั ไม่ ับรูร้จับากการ ากการ (กาไร) รู ้จากการ ขาดทุ ขาดทุ นน (ก าไร) ทีที่ย่ยงงัั ไม่ รับับรูรู้จ้จากการ ราแลกเปลี ่ยนตามสั นตามสั ญญาของ ญาของ เปลี่ย่ยขาดทุ นแปลงมู รรมของ อัราแลกเปลี ตราแลกเปลี ่ยนตามสั ญญาของ เปลี เปลี ่ยนนแปลงมู จานวน านวน านวน (กำ�ไร) รตบั ิธรูรรมของ ้ จานวน จจานวน จานวน อัอัตตอัตราแลกเปลี ญ นแปลงมู ลลค่ค่ค่าทีาายุยุลยุย่ ตตตค่งั ไม่ ิธิธายุรรมของ รรมของ ย่ ่ย่ยนตามสั ญญ ญาของ อั ต ราแลกเปลี นตามสั ญาของ เปลี ่ ย นแปลงมู ล ิ ธ จจจำานวน จ านวน จากการเปลี ย ่ นแปลงมู ล ค่ า ยุ ต ธิ รรมของ � นวน จำ � นนวน สกุ ลเงิเงิเงินนนลเงิน ายที่ขาย จจานวนที านวนที านวนที าย ่ขาย จจานวนที านวนที านวนที าย ่ขาย จานวนที จานวนที จานวนที จานวนที สกุ ทีทีทีซ่ ่ซ่่ซซอ้ื ้ื้้อืืออที่ซ้ือ ทีทีทีทีข่่ข่่ขขาย าย ่่ซซ้้ืืออ ่ซ้ือ จจจจำานวนที านวนที ่ข่ขาย าย ่่ซซ้ื้้อืืออ ่ซ้ือ จจจานวนที านวนที ่ข่ขาย าย สกุลลลสกุ สกุ เงิน ที าย จ จ านวนที ่ ซ ่ ข จำานวนที �นวนทีซ่ ่ซอ้ื ้ื อ �นวนทีข่ ่ขาย จำ � นวนที ซ ่ อ ้ ื จำ � นวนที ข ่ าย (ล้ (ล้าาน) (ล้าาาน)น) น) (ล้ น) (บาทต่ อหน่ หน่อววหน่ ยเงิวนนยเงิ ตราต่ างประเทศ) งประเทศ) (ล้(ล้าาานบาท) นบาท) (ล้านบาท) นบาท) (ล้าน) (ล้ (ล้าน) (บาทต่ (บาทต่ นตราต่ างประเทศ) (ล้ (ล้านบาท) (ล้ (ล้านบาท) (ล้ น) ยเงิ ตราต่ นบาท) นบาท) (บาทต่อออหน่ หน่ววยเงิ ยเงิน นตราต่ าาางประเทศ) (ล้ าน) (ล้าาน) (บาทต่ ตราต่ งประเทศ) (ล้ านบาท) (ล้(ล้าาานบาท) เหรี ยยเหรี ญสหรั ฐอเมริ อเมริ กา กา 2.3 2.3 2.3 49.0 49.049.0 35.6535.65 35.33 35.3335.33 - 35.85 35.85 (0.5)(0.5) 4.3 4.3 ยญสหรั ฐอเมริ - 35.85 เหรี ญสหรั 35.65 (0.5) 4.3 เหรี ยญสหรั ฐฐอเมริ กกาา 2.3 49.0 35.65 35.33 -- 35.85 (0.5) 4.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
งบการเงิ นรวม รวม งบการเงิ นรวม งบการเงิ งบการเงิ นนรวม รวม ณ วัวันนณทีทีงบการเงิ วาคม 25582558 วั่่ 31 น31ทีธัธั่ 31 ธันวาคม ณ นนนวาคม วาคม 2558 ณ วั น ที ่ 31 ธั น 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ขาดทุขาดทุ น (ก (กนาไร) าไร) ที่ยงั ทีไม่ ไม่่ยรงรั ไม่ ับรูร้จับากการ ากการ (กาไร) รู ้จากการ ขาดทุ ขาดทุ นน (ก าไร) ทีที่ย่ยงงทีัั ไม่ รับับรรูบัรู้จ้จรู้ากการ ขาดทุ น (กำ � ไร) ย ่ ง ั ไม่ ราแลกเปลี นตามสั ญญาของ ญาของ เปลี่ย่ยเปลี นแปลงมู ลค่าลยุตค่ิธายุรรมของ รรมของ อัตราแลกเปลี ่ยนตามสั ญญาของ จากการเปลี ่ยย่ นแปลงมู ติธรรมของ จ�านวน านวน านวน ราแลกเปลี ย่ ่ยนตามสั ญญ จานวน จำจจ�านวน จานวน อัอัอัตตตราแลกเปลี นตามสั ญาของ เปลี นแปลงมู นแปลงมู ธิ รรมของ นวน นนวน อัตราแลกเปลี่ย่ยนตามสั ญญาของ เปลี ่ยนแปลงมู ลลค่ค่ลาาค่ยุยุตาตยุิธิธตรรมของ จจจำานวน จานวน สกุลลลสกุ เงิเงินนลเงิน สกุ ทีทีซ่ ่ซอ้ื ้ือที่ซ้ือ ทีทีทีข่ ่่ขขายาย ายที่ขาย จจจำานวนที านวนที ซ้ือ ่ซ้ือ จจจำ�านวนที านวนที ่ขาย าย ่ขาย จจานวนที านวนที านวนที ่ขาย าย ่ขาย จานวนที จานวนที จานวนที จานวนที �นวนที ซ่ ่่ซ นวนที ข่ ่าย สกุ ่่ซซอ้ื ้ื้้อืืออ ่ซ้ือ จจจจำานวนที านวนที �นวนทีซ่ ่ซ �นวนทีข่ ่ข่ขายาย สกุ ลเงิเงินน ทีทีา่ซ่ซน)้ื้อือ ที่ขาน)าย จานวนที ่ซอ้ื ้ื้อือ จานวนที ่ขขาย จจำานวนที (ล้ (ล้ (ล้าานบาท) (ล้าานบาท) (ล้าาน) น) (ล้าน) น) (บาทต่ ออหน่ หน่ ยเงินวนนตราต่ ตราต่ างประเทศ) งประเทศ) (ล้ นบาท) (ล้ นบาท) (ล้าน) (ล้ (ล้าน) (บาทต่ (บาทต่ ยเงิ นตราต่ างประเทศ) (ล้ (ล้านบาท) (ล้ (ล้านบาท) (บาทต่ หน่อวววหน่ ยเงิ างประเทศ) (ล้ ยเงิ ตราต่ นบาท) นบาท) (ล้ าน) (ล้าาน) (บาทต่ออหน่ วยเงิ นตราต่ าางประเทศ) (ล้าานบาท) (ล้าานบาท) เหรี ยยเหรี ญสหรั ฐอเมริ อเมริ กา กา 1.4 1.4 1.4 108.0 108.0108.0 35.82 35.8235.82 - 35.87 35.87 33.2033.20 - 36.47 36.47 (0.4)(0.4) 185.2185.2 ยญสหรั ฐอเมริ - 35.87 33.20 - 36.47 เหรี ญสหรั (0.4) 185.2 เหรี ยญสหรั ฐฐอเมริ กกาา 1.4 108.0 35.82 -- 35.87 33.20 -- 36.47 (0.4) 185.2 งบการเงิ นเฉพาะกิ เฉพาะกิ จการ การจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ งบการเงิ นนเฉพาะกิ เฉพาะกิจการ จจการ งบการเงิ น ณ วัวันนณทีทีวั่่ 31 นวาคม วาคม 25582558 น31ทีธั่ 31 ธันวาคม ณ 2558 ณ 31ธัธัธันนนวาคม วาคม2558 2558 ณ วัวัน นทีที่ ่31
ขาดทุขาดทุ ไม่่ยรงรั ไม่ ากการ รู ้จากการ ขาดทุ นนทีทีที(กำ่ย่่ยย�นงงงัััไร)ทีไม่ ไม่ ับับงั รูรูรูไม่ร้จ้จ้จรับากการ ากการ ขาดทุ น ที ย ่ บั รู้ ขาดทุ น ร บ ั อั ต ราแลกเปลี ย ่ นตามสั ญ ญาของ ราแลกเปลี ่ยนตามสั นตามสั ญญาของ ญาของ เปลี่ย่ยเปลี นแปลงมู ลค่ลาค่ลยุาตค่ยุิธตายุรรมของ รรมของ อัตราแลกเปลี ่ยนตามสั ญญาของจากการเปลี นแปลงมู ิธรรมของ านวน านวน จานวน จำจจ�นนวน จานวน อัอัตตราแลกเปลี ย่ ่ยนแปลงมู ธิ ตรรมของ จำจ�านวน นวน เปลี นแปลงมู านวน อัตราแลกเปลี่ย่ยนตามสั ญญญาของ เปลี ่ยนแปลงมู ลลค่ค่าายุยุตติธิธรรมของ จจทีานวน จทีานวน สกุ ล เงิ น ซ ่ อ ้ ื ข ่ าย นวนที ซ่ อ้ื ่่ซ นวนที ข่ าย สกุลลสกุ เงินลเงิน ที่ซ้ือที่ซ้ือ (ล้ทีทีา่่ขขน)าย ายที่ขาย จำจจ�านวนที านวนที ซ้้ืืออ ่ซ้ือ จำจจ�านวนที านวนที าย ่ขาย จำจจ�านวนที านวนที ซ้้ืืออ ่ซ้ือ จำจจ�านวนที านวนที าย ่ขาย จานวนที จานวนที จานวนที จานวนที นวนที ซ่ อ้ื ่่ซ นวนที ข่ าย สกุ ่ข่ขาย าย ่ข่ขาย าย (ล้ สกุ ลเงิเงินน ทีทีา่ซ่ซน)้ื้อือ ที่ขาย จ(บาทต่ านวนที ่ ซ ื อ จ านวนที ่ ข จ านวนที ่ ซ ื อ จ านวนที ่ ข ้ ้ หน่ งประเทศ) (ล้าาน) น) (ล้าาน) น) (บาทต่ ออหน่ หน่อวววยเงิ ยเงินวนนตราต่ ตราต่ างประเทศ) งประเทศ) (ล้าาานบาท) นบาท) (ล้าาานบาท) นบาท) (ล้าน) (ล้ (ล้าน) (บาทต่ (บาทต่ หน่ ยเงิ นาตราต่ างประเทศ) (ล้(ล้ (ล้านบาท) (ล้(ล้ (ล้านบาท) (ล้ อ ยเงิ ตราต่ า นบาท) นบาท) (ล้าน) (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) (ล้านบาท) (ล้านบาท) เหรี ยยเหรี ญสหรั ฐอเมริ อเมริ กา กา -- 108.0108.0 - 33.2033.20 - 36.47 36.47 - 185.2185.2 ยญสหรั ฐอเมริ - 36.47 เหรี ญสหรั 108.0 33.20 185.2 เหรี ยญสหรั ฐฐอเมริ กกาา 108.0 -33.20 -- 36.47 -185.2
ความเสี ่ยงจากความผั งจากความผั นผวนของราคาน ผวนของราคาน ้าตาลทรายและราคาอ้ ตาลทรายและราคาอ้ อย อย ความเสี ่ยงจากความผั นผวนของราคาน ้าตาลทรายและราคาอ้ ความเสี ความเสี ่่ยยงจากความผั นนผวนของราคาน ้า้าตาลทรายและราคาอ้ ออยย เนื่่ออเนื งจากอุ ตสาหกรรมอ้ สาหกรรมอ้ อยและน ยและน ตาลในประเทศไทยเป็ นอุตตนอุ สาหกรรมที ่ ถูกควบคุ ควบคุ มและก และก ากับบากัดูดูแแบลจาก ลจาก ่ องจากอุ ตสาหกรรมอ้ อยและน ตสาหกรรมที ่ ถูกควบคุ มและก ดูแลจาก ้ าตาลในประเทศไทยเป็ ้ าตาลในประเทศไทยเป็ เนื งจากอุ นอุ สาหกรรมที ากั เนื ่ องจากอุ ตตสาหกรรมอ้ ออยและน นอุ ตสาหกรรมที ่่ถถูกูกควบคุ มมและก ากั บดูแลจาก ้้ าาตาลในประเทศไทยเป็ ภาครัภาครั ฐ ผ่าฐนคณะกรรมการอ้ นคณะกรรมการอ้ อยและน ยและน ตาลทรายภายใต้ พระราชบั ระราชบั ญญั ญัญตติิออญัออ้้ ตยและน ยและน ตาลทราย พ.ศ.พ.ศ. 25272527 ซึ่ ง ซึ่ ง ผ่านคณะกรรมการอ้ อยและน พระราชบั ิออ้ ยและน ้ าตาลทรายภายใต้ ้ าตาลทราย ้ าตาลทรายภายใต้ ้ าตาลทราย ภาครั พ.ศ. 2527 ภาครั ฐฐ ผ่ผ่าานคณะกรรมการอ้ ออยและน พพระราชบั ญญญั ติออ้ ยและน้้ าาตาลทราย พ.ศ. 2527 ซึซึ่่ งง ้้าาตาลทรายภายใต้ ่ยวกั ได้มมได้ ีขอ้ มกีขาหนดเกี าหนดเกี วกั่ยบบวกับ อ้ กาหนดเกี ได้ ่ย่ยวกั ได้ มีขีขออ้้ กกาหนดเกี บ 1. 1.การจั การจัการจั ดสรรช่ สรรช่ องทางการจ งทางการจ าหน่าหน่ ายน ยนา้้ าายน ตาลออกเป็ นระบบโควตา ระบบโควตา ดังนีดั้ งนี้ ดสรรช่ องทางการจ นระบบโควตา ้ าตาลออกเป็ าหน่ ตาลออกเป็ 1.1. การจั ดดสรรช่ อองทางการจ าหน่ าายน นนระบบโควตา ดัดังงนีนี้้ ้ าตาลออกเป็ 1.1 1.1โควตา โควตา ก. สสก.าหรั าหรั บน้ าบตาลทรายผลิ ตาลทรายผลิ ตเพื เพืต่อ่อเพื ใช้่อบบใช้ ริ โบภคภายในประเทศ ภคภายในประเทศ โควตา สาหรั น้ าตาลทรายผลิ ริ โภคภายในประเทศ 1.1 ก. ใช้ 1.1 โควตา ก. สาหรับบนน้้าาตาลทรายผลิ ตตเพื ่อใช้ บริริโโภคภายในประเทศ 1.2 1.2โควตา โควตา ข. สสข.าหรั าหรั บน้ าบตาลทรายดิ ตาลทรายดิ บที่คบณะกรรมการอ้ ณะกรรมการอ้ อยและน ยและน ตาลทรายก าหนดให้ โรงงานผลิ รงงานผลิ ต ต โควตา สาหรั น้ าตาลทรายดิ ที่คณะกรรมการอ้ อยและน าหนดให้ โรงงานผลิ ้ าตาลทรายก ้ าตาลทรายก 1.2 ข. าหนดให้ 1.2 โควตา ข. สาหรับบนน้้ าาตาลทรายดิ บบทีที่ค่คณะกรรมการอ้ ออยและน าหนดให้ โโรงงานผลิ ตต ้้ าาตาลทรายก และส่ งมอบให้ มอบให้ บริ ษบทั ริ ษอ้ทั อยและน ยและน ตาลไทย จากั ากัจดดากั(อนท.) (อนท.) จาหน่ าหน่ าย เพื เพื นามาใช้ ามาใช้ กาหนดราคา าหนดราคา และส่ งมอบให้ อ้อยและน ด (อนท.) จาหน่ าย่่ออเพื ่อนามาใช้ กาหนดราคา ้ าตาลไทย ้ าตาลไทย และส่ และส่ งงมอบให้ บบริริ ษษทัทั อ้อ้ออยและน จจากั ด (อนท.) จจาหน่ าายย เพื ่อนนามาใช้ กกาหนดราคา ้้ าาตาลไทย มาตรฐานของน ตาลทรายดิ บที่สบ่ งทีออกในการค ออกในการค านวณรายได้ ของระบบ องระบบ มาตรฐานของน ่ส่งออกในการค านวณรายได้ ของระบบ ้ าตาลทรายดิ ้ าตาลทรายดิ มาตรฐานของน านวณรายได้ มาตรฐานของน บบทีที่ส่ส่่งงออกในการค านวณรายได้ ขของระบบ ้้าาตาลทรายดิ 1.3 1.3โควตา โควตา ค. สสค.าหรั าหรั บน้ าบตาลที ตาลที ่โรงงานผลิ รงงานผลิ ตเพื เพืต่อ่อเพื ส่ ง่อขายต่ ขายต่ างประเทศหรื งประเทศหรื อเพื เพือ่อ่อเพื เป็่อนวั นวั ถุดติบถุในการผลิ ในการผลิ ต ต โควตา สาหรั น้ าตาลที ่โรงงานผลิ ส่ งขายต่ างประเทศหรื เป็ตตนวั ดิบในการผลิ 1.3 ค. 1.3 โควตา ค. สาหรับบนน้้าาตาลที ่โ่โรงงานผลิ ตตเพื ่อส่ส่งงขายต่ าางประเทศหรื ออเพื ่อเป็เป็ นวั ตถุถุดดิบิบในการผลิ ตต สิ นค้สิานส่ค้งาออกต่ ออกต่ างประเทศ งประเทศ ส่ งออกต่ างประเทศ สิสินนค้ค้าาส่ส่งงออกต่ าางประเทศ รายงานประจ�ำปี 2559
54211 54 54 54
2. การจัดสรรส่ วนแบ่งรายได้สุทธิ ของระบบระหว่างเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยและโรงงานน้ าตาลภายใต้ ระบบแบ่งปั นผลประโยชน์ โดยเกษตรกรชาวไร่ ออ้ ยจะได้รับส่ วนแบ่งรายได้ร้อยละ 70 ซึ่ งคือราคา อ้อย และโรงงานจะได้รับส่ วนแบ่งรายได้ร้อยละ 30 ซึ่งคือผลตอบแทนการผลิต รายได้สุทธิ ของระบบอ้อยและน้ าตาลทรายคานวณจากรายได้จากการจาหน่ายน้ าตาลทรายภายในประเทศ (โควตา ก.) และรายได้จากการจาหน่ายน้ าตาลทรายต่างประเทศ (โควตา ข. และโควตา ค. ซึ่ งจะใช้ราคา เฉลี่ยของน้ าตาลทรายโควตา ข. และอัตราแลกเปลี่ยนที่ อนท. ขายได้จริ งเป็ นฐานในการคานวณรายได้จาก การขายน้ า ตาลต่างประเทศ) หักด้วยค่า ใช้จ่ายของอุ ตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลทราย โดยในปั จจุ บ นั สัดส่ วนน้ าตาลส่ งออกเทียบกับน้ าตาลขายภายในประเทศอยูท่ ี่ประมาณ 70:30 จากระบบดังกล่าว ราคาขายน้ าตาลโควตา ข. และอัตราแลกเปลี่ยนที่ อนท. ขายได้จริ ง มีผลอย่างมากต่อ ราคาอ้อยซึ่ งเป็ นต้นทุนหลักของการผลิตน้ าตาลทราย ดังนั้นเพื่อเป็ นการบริ หารความเสี่ ยงจากความผัน ผวนของกาไรขั้นต้น บริ ษทั ฯจึงมีกระบวนการป้ องกันความเสี่ ยงดังนี้ 1.
บริ ษทั ฯจัดทาสัญญาขายน้ าตาลทรายล่วงหน้าในตลาดล่วงหน้า (Futures market) โดยอ้างอิงราคา ขายน้ าตาลทรายล่วงหน้า ปริ มาณขาย และระยะเวลาสิ้ นสุ ดตามที่ อนท. ขายได้จริ ง
2.
เมื่อบริ ษทั ฯสามารถท าสัญญาขายน้ าตาลจริ งกับลู กค้า บริ ษทั ฯจะทาการปิ ดสถานะสัญญาขาย ล่วงหน้าข้างต้น โดยการทาสัญญาซื้ อน้ าตาลล่วงหน้าด้วยราคาและปริ มาณที่เท่ากับสัญญาขายให้ ลูกค้า และระยะเวลาสิ้ นสุ ดของสัญญาซื้ อจะเป็ นช่ วงเวลาเดี ย วกับสัญญาขายล่ วงหน้า ดังกล่ า ว ข้างต้น
จากการป้ องกันความเสี่ ยงข้างต้นพบว่าบริ ษทั ฯสามารถที่จะป้ องกันความเสี่ ยงได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพใน ทุกสภาพการณ์ ด้วยการที่ บริ ษทั ฯสามารถกาหนดราคาขายล่วงหน้าให้ใกล้เคียงกับราคาขายของ อนท. และส่ งผลให้บริ ษทั ฯสามารถดารงสัดส่ วนกาไรขั้นต้นอันเกิดจากราคาขายน้ าตาลของบริ ษทั ฯ และต้นทุน อ้อยอันเกิดจากราคาขายของ อนท. มิให้เกิดความผันผวน บริ ษทั ฯได้เข้าทาสัญญาขายน้ าตาลที่จะส่ งมอบในปี 2559 ในตลาดล่วงหน้า (Futures market) แต่หลังจาก ที่บริ ษทั ฯได้เข้าท าสัญญาขายล่ วงหน้า ดังกล่ า วจนถึ ง วันที่บ ริ ษทั ฯท าสั ญญาขายจริ งให้ก ับลู กค้า ราคา น้ า ตาลในตลาดโลกส าหรั บ การส่ ง มอบในปี 2559 ได้ป รั บ ตัวเปลี่ ย นแปลงไปอย่า งต่อเนื่ อง ท าให้ใ น ระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯมีผลขาดทุนจากการปิ ดสถานะสัญญาขายล่วงหน้าที่จะส่ ง มอบในปี 2559 เป็ นจานวนเงินประมาณ 10 ล้านบาท ซึ่ งได้ถูกบันทึกไว้ในงบกาไรขาดทุนแล้ว อย่างไรก็ ตาม บริ ษทั ฯคาดว่าผลขาดทุนดังกล่าวจะถูกชดเชยจากราคาขายน้ าตาลจริ งในปี 2560
212
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
55
ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 ญาซื ไม่ ารส่ มอบจริ 31 ธัธัธันนนวาคม วาคม 2559 2559 บริ บริษษษททััทั ฯมี ฯมีสสสััญ ญาซื้้ ้อออขายน ขายน้้ ้าาาตาลทรายล่ ตาลทรายล่วววงหน้ งหน้าาาทีทีที่่ยย่ ยงงัังั ไม่ ไม่มมมีีกกีการส่ ารส่งงงมอบจริ มอบจริงงงทีทีที่่เเ่เปิปิปิ ดดด ณ วันที่ 31 วาคม 2559 บริ ฯมี ญัญญาซื ขายน ตาลทรายล่ งหน้ สถานะไว้ สถานะไว้ดดดงงัังั นีนีนี้้ ้ สถานะไว้ (หน่ ล้านเหรี (หน่วววย: นเหรียยยญสหรั ญสหรัฐฐฐอเมริ อเมริกกกา)า)า) (หน่ ย:ย: ล้ล้าานเหรี ญสหรั อเมริ งบการเงิ นนรวม/งบการเงิ นนเฉพาะกิ จจการ งบการเงิ รวม/งบการเงิ เฉพาะกิจการ การ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิน นรวม/งบการเงิ รวม/งบการเงินรมเฉพาะกิ 31 2559 3131ธัธัธัธันนนนวาคม วาคม 2559 วาคม 2559 31 วาคม 2559 มูมูลมูลลค่ค่ค่าาาตามสั ญา มูมูมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตตธิ ิธิธรรม รรม ตามสัญญ ตามสั ญา รรม มูลค่าตามสั ญญญา ญา มูลค่ายุติธรรม สัสัญญญาซื อ ล่ ว งหน้ า 13.9 12.7 ้ ญาซื้ อ้ อล่ล่ววงหน้ งหน้าา 13.9 12.7 สัญญาซื 13.9 12.7 สัสัญญญาขายล่ 42.7 37.8 ญาขายล่วววงหน้ งหน้าาา 42.7 37.8 สัญญาขายล่ งหน้ 42.7 37.8 มูมูลลค่ค่าายุยุตติธิธรรมของสั ญาซื รรมของสัญ ญาซื้้ ้อออขายน ขายน้้ ้าาาตาลทรายล่ ตาลทรายล่วววงหน้ งหน้าาากกกาหนดขึ าหนดขึ้้ ้นนนโดยใช้ โดยใช้รรราคาตาม าคาตาม Intercontinental Intercontinental Exchange Exchange มูลค่ายุติธรรมของสั ญญญาซื ขายน ตาลทรายล่ งหน้ าหนดขึ โดยใช้ าคาตาม Intercontinental Exchange ในตลาดนิ ในตลาดนิวววยอร์ ยอร์คคค หมายเลข หมายเลข 11 11 ในตลาดนิ ยอร์ หมายเลข 11 36.2 36.2 มูมูมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติธิธิธรรมของเครื รรมของเครื่่ออ่องมื งมือออทางการเงิ ทางการเงินนน 36.2 รรมของเครื งมื ทางการเงิ เนื เนื่่ออ่องจากสิ งจากสินนนทรั ทรัพพพย์ย์ย์แแและหนี ละหนี้้ ้สสสิิ นนิ นทางการเงิ ทางการเงินนนส่ส่ส่วววนใหญ่ นใหญ่ขขของกลุ องกลุ่่มม่มบริ บริษษษททััทั จัจัจัดดดอยู อยู่ใ่ใ่ในประเภทระยะสั นประเภทระยะสั้้ ้นนน เงิเงิเงินนนให้ ให้กกกยูยู้้ ยู้ ืืมมืม เนื งจากสิ ทรั ละหนี ทางการเงิ นใหญ่ องกลุ บริ อยู นประเภทระยะสั ให้ และเงิ และเงินนนกูกูกูยย้้ ย้ ืมืมืมมีมีมีอออตตััตั ราดอกเบี ราดอกเบี้้ ้ยยยใกล้ ใกล้เเเคีคีคียยยงกั งกับบบอัอัอัตตตราดอกเบี ราดอกเบี้้ ้ยยยในตลาด ในตลาด กลุ กลุ่่มม่มบริ บริษษษททััทั จึจึจึงงงประมาณมู ประมาณมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรมของ รรมของ และเงิ ราดอกเบี ใกล้ งกั ราดอกเบี ในตลาด กลุ บริ ประมาณมู รรมของ สิสินนทรั พ ย์ แ ละหนี ส ิ น ทางการเงิ น ใกล้ เ คี ย งกั บ มู ล ค่ า ตามบั ญ ชี ท ่ ี แ สดงในงบแสดงฐานะการเงิ น ้ ทรัพพย์ย์แและหนี ละหนี้ ้สสิ นิ นทางการเงิ ทางการเงินนใกล้ ใกล้เเคีคียยงกั งกับบมูมูลลค่ค่าาตามบั ตามบัญญชีชีทที่แี่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิ สดงในงบแสดงฐานะการเงินน สิ นทรั กลุ กลุ่่มม่มบริ บริษษษททััทั มีมีมีกกการประมาณการมู ารประมาณการมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรมของเครื รรมของเครื่่ ออ่ องมื งมือออทางการเงิ ทางการเงินนนตามหลั ตามหลักกกเกณฑ์ เกณฑ์ดดดงงัังั นีนีนี้้ ้ กลุ บริ ารประมาณการมู รรมของเครื งมื ทางการเงิ ตามหลั เกณฑ์ ก) ก) สิสิสินนนทรั ทรัพพพย์ย์ย์แแและหนี ละหนี้้ ้ สสสิิ ินนนทางการเงิ ทางการเงินนนทีทีที่่จจ่จะครบก ะครบกาหนดในระยะเวลาอั าหนดในระยะเวลาอันนนสัสัสั้้ ้ นนน ได้ ได้แแแก่ก่ก่ เงิเงิเงินนนสดและรายการ สดและรายการ ก) ทรั ละหนี ทางการเงิ ะครบก าหนดในระยะเวลาอั ได้ สดและรายการ เที เทียยยบเท่ บเท่าาาเงิเงิเงินนนสด สด ลูลูลูกกกหนี หนี้้ ้แแและเงิ ละเงินนนให้ ให้กกกููยย้้ ูย้ ืมืมืมระยะสั ระยะสั้้ ้นนน เจ้ เจ้าาาหนี หนี้้ ้แแและเงิ ละเงินนนกูกูกูยย้้ ย้ ืืมมืมระยะสั ระยะสั้้ ้นนน แสดงมู แสดงมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรม รรม เที บเท่ สด หนี ละเงิ ให้ ระยะสั เจ้ หนี ละเงิ ระยะสั แสดงมู รรม โดยประมาณตามมู ชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิ โดยประมาณตามมูลลลค่ค่ค่าาาตามบั ตามบัญ สดงในงบแสดงฐานะการเงินนน โดยประมาณตามมู ตามบั ญญชีชีทที่แี่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิ ข) ข) สิสิสินนนทรั ทรัพพพย์ย์ย์ชชชีีววีวภาพ ภาพ แสดงมู แสดงมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรมซึ รรมซึ่่ ่งงงคคคานวณโดยใช้ านวณโดยใช้วววธธิิ ธิ ีีคคีคิิดดิดลดกระแสเงิ ลดกระแสเงินนนสดในอนาคตอ้ สดในอนาคตอ้าาางอิ งอิงงงจาก จาก ข) ทรั ภาพ แสดงมู รรมซึ านวณโดยใช้ ลดกระแสเงิ สดในอนาคตอ้ งอิ จาก ราคามู จุดเก็ ราคามูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรมหั รรมหักกกประมาณการต้ ประมาณการต้นนนทุทุทุนนนขาย ขาย ณ เก็บบบเกี เกี่่ยย่ยววว การประเมิ การประเมินนนมูมูมูลลลค่ค่ค่าาาดัดัดังงงกล่ กล่าาาวต้ วต้ออองอาศั งอาศัยยย ราคามู รรมหั ประมาณการต้ ขาย ณณ จุจุดดเก็ เกี การประเมิ กล่ วต้ งอาศั ข้ข้ออสมมติ สมมติฐฐฐานและการประมาณการบางประการ านและการประมาณการบางประการ เช่ เช่นนน ราคาอ้ ราคาอ้อออยขั ยขั้้ นน้ นสุสุสุดดดท้ท้ท้าาายยย ระดั ระดับบบความหวานและ ความหวานและ ข้อสมมติ านและการประมาณการบางประการ เช่ ราคาอ้ ยขั ระดั ความหวานและ นน้ าาหนั ก ของอ้ อ ย เป็ น ต้ น หนักกของอ้ ของอ้ออยย เป็เป็ นนต้ต้นน น้ า้ หนั ค) ค) เงิเงิเงินนนกูกูกูยย้้ ย้ ืืมมืมระยะยาวที ระยะยาวที่่จจ่จ่่าา่ายดอกเบี ยดอกเบี้้ ้ยยยในอั ในอัตตตราใกล้ ราใกล้เเเคีคีคียยยงกั งกับบบอัอัอัตตตราดอกเบี ราดอกเบี้้ ้ยยยในตลาด ในตลาด แสดงมู แสดงมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรม รรม ค) ระยะยาวที ยดอกเบี ในอั ราใกล้ งกั ราดอกเบี ในตลาด แสดงมู รรม โดยประมาณตามมู ล ค่ า ตามบั ญ ชี ท ่ ี แ สดงในงบแสดงฐานะการเงิ น โดยประมาณตามมูลลค่ค่าาตามบั ตามบัญญชีชีทที่แี่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิ สดงในงบแสดงฐานะการเงินน โดยประมาณตามมู ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธัธันนนวาคม วาคม 2559 2559 กลุ กลุ่่มม่มบริ บริษษษททัั ทั มีมีมีสสสิิ ินนนทรั ทรัพพพย์ย์ย์ททที่ี่ววี่วดดััดั มูมูมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรมตามที รรมตามที่่กก่กล่ล่ล่าาาวไว้ วไว้ใใในหมายเหตุ นหมายเหตุปปประกอบ ระกอบ ณ วันที่ 31 วาคม 2559 กลุ บริ ทรั รรมตามที วไว้ นหมายเหตุ ระกอบ ่ งบการเงิ น ข้ อ 12 ซึ ่ ง ล าดั บ ชั น การวั ด มู ล ค่ า ยุ ต ิ ธ รรมดั ง กล่ า วอยู ใ นระดั บ ที ่ 3 ้ งบการเงินนข้ข้ออ 12 12 ซึซึ่ ่งงลลาดั าดับบชัชั้ น้ นการวั การวัดดมูมูลลค่ค่าายุยุตติธิธรรมดั รรมดังงกล่ กล่าาวอยู วอยูใ่ ใ่ นระดั นระดับบทีที่ ่ 33 งบการเงิ ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 2559 กลุ กลุ่่มม่มบริ บริษษษททััทั มีมีมีสสสิิ นนิ นทรั ทรัพพพย์ย์ย์แแและหนี ละหนี้้ ้สสสิิ นนิ นทีทีที่่เเ่เปิปิปิ ดเผยมู ดเผยมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรม รรม ดัดัดังงงนีนีนี้้ ้ 31 ธัธัธันนนวาคม วาคม 2559 2559 กลุ บริ ทรั ละหนี ดเผยมู รรม ณ วันที่ 31 วาคม -ลลาดั าดับบบชัชัชั้้ นน้ นของมู ของมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรม รรม ระดั ระดับบบ 222 แสดงอยู แสดงอยูใใ่่ ใ่ นหมายเหตุ นหมายเหตุปปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนนข้ข้ข้อออ 36.1 36.1 ลาดั ของมู รรม ระดั แสดงอยู นหมายเหตุ ระกอบงบการเงิ 36.1 -ลลาดั าดับบบชัชัชั้้ นน้ นของมู ของมูลลลค่ค่ค่าาายุยุยุตตติิธธิธรรม รรม ระดั ระดับบบ 333 แสดงอยู แสดงอยูใใ่่ ใ่ นหมายเหตุ นหมายเหตุปปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนนข้ข้ข้อออ 15 15 ลาดั ของมู รรม ระดั แสดงอยู นหมายเหตุ ระกอบงบการเงิ 15 รายงานประจ�ำปี 2559
213
56 56 56
มูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพนั ธ์ ที่เปิ ดเผยไว้คานวณโดยใช้เทคนิคการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคต และแบบจาลองตามทฤษฎี ในการประเมินมูลค่า ซึ่ งข้อมูลที่นามาใช้ในการประเมินมูลค่าส่ วนใหญ่เป็ น ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ในตลาดที่เกี่ ยวข้อง เช่น อัตราแลกเปลี่ ยนทันที อัตราแลกเปลี่ ยนล่วงหน้าของ เงิ นตราต่างประเทศ เส้นอัตราผลตอบแทนของอัตราดอกเบี้ย และเส้นราคาล่วงหน้าของสิ นค้าโภคภัณฑ์ เป็ นต้น กลุ่ มบริ ษทั ได้คานึ งถึ งผลกระทบของความเสี่ ยงด้านเครดิ ตของคู่สัญญาในการประมาณมูลค่า ยุติธรรมของตราสารอนุพนั ธ์ ในระหว่างปี ปั จจุบนั ไม่มีการโอนรายการระหว่างลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม 37.
การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริ หารจัดการทุนที่สาคัญของบริ ษทั ฯ คือการจัดให้มีซ่ ึ งโครงสร้างทุนที่เหมาะสมเพื่อ สนับ สนุ น การด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท ฯและเสริ ม สร้ า งมู ล ค่ า การถื อ หุ ้ น ให้ก ับ ผูถ้ ื อ หุ ้ น โดย ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ1.05:1 (2558: 1.16:1) และเฉพาะบริ ษทั ฯมี อัตราส่ วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.58:1 (2558: 0.72:1)
38.
เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 ได้อนุมตั ิเสนอให้จ่ายเงินปั นผลจากกาไร สุ ทธิ ของปี 2559 จานวน 0.1 บาทต่อหุ ้น สาหรับหุ ้นสามัญจานวน 3,860,000,010 หุ ้น เป็ นจานวนเงินรวม 386 ล้านบาท ทั้งนี้ การอนุ มตั ิเสนอให้จ่ายเงิ นปั นผลดังกล่ าวจะได้นาเสนอต่อที่ ประชุ มใหญ่ผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2560 เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป
39.
การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกโดยกรรมการผูม้ ีอานาจของบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560
214
บริษัท เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
57
บร�ษัท เกษตรไทย อินเตอร เนชั่นแนล ชูการ คอร ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
Kaset Thai International Sugar Corporation Public Company Limited 24 อาคารเอกผล ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2692-0869-73 โทรสาร 0-2246-9125, 0-2246-9140 24 Aekaphol Bldg., Vibhavadi Rangsit Rd., Din Daeng, Din Daeng, Bangkok 10400, Thailand Tel. [+66] 2692-0869-73 Fax [+66] 2246-9125, 2246-9140