20180312 lhfg ar2017 th

Page 1

Securities

Advisory



สารบัญ 002 004 สารจากประธานกรรมการ ความเป็นมาของบริษัท

ข้อมูลทั่วไป

010 คณะกรรมการบริษัท

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น

052 ปั​ัจจัยความเสี่ยง

066 090 การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของ รายงานคณะกรรมการ

019

ฝ่ายจัดการ

092 รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน

102 1. การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี 128 2. การประกอบกิจการ ด้วยความเป็นธรรม 128 3. การต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชั่น 130 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน 131 5. การปฏิบัติต่อแรงงาน อย่างเป็นธรรม

155 รายการระหว่างกัน 161 รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต

008

ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ

037

บรรษัทภิบาล

040

โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการจัดการ

091 สารจากกรรมการผู้จัดการ

152

136 6. ความรับผิดชอบ ต่อผู้บริโภค 7. การร่วมพัฒนาชุมชน 140 และสังคม 146 8. การจัดการสิ่งแวดล้อม 150 9. นวัตกรรมและการเผยแพร่ นวัตกรรมจากการ ดำ�เนินความรับผิดชอบ ต่อสังคม

158

รายงานคณะกรรมการ ตรวจสอบ

164

006

งบการเงินประจำ�ปีและ หมายเหตุประกอบงบการเงิน

การควบคุมภายในและ การบริหารจัดการความเสี่ยง

159 160 รายงานคณะกรรมการสรรหา รายงานความรับผิดชอบของ และกำ�หนดค่าตอบแทน

243

ข้อมูลอ้างอิง

คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

244

ทำ�เนียบสาขาของธนาคาร


2

รายงานประจำ�ปี 2560

สารจากประธานกรรมการ การประสานความร่วมมือกับ CTBC Bank เพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่มีความหลากหลาย ครบวงจร ตรงกับความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม การร่ ว มเป็ น พั น ธมิ ต รกั บ CTBC Bank เพื่อรองรับการเติบโตและการขยายธุรกิจ และ เพื่ อ ยกระดั บ การให้ บ ริ ก ารทางการเงิ น ด้ ว ย ความเชี่ ย วชาญทางด้ า นการบริ ห ารการเงิ น ส่ ว น บุ ค ค ล ( We a l t h M a n a g e m e n t ) ด้ า นดิ จิ ต อลแบงกิ้ ง (Digital Banking) และ ด้ า นเทรดไฟแนนซ์ (Trade Finance) ของ CTBC Bank

ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2560 เติบโตสูงกว่าที่คาดการณ์ เนือ่ งจากเศรษฐกิจขนาดใหญ่อย่างสหรัฐฯ สหภาพยุโรป และญีป่ นุ่ ฟื้นตัวพร้อมๆ กัน ส่งผลให้การส่งออกของไทยเติบโตได้ดี รวมทั้ง ภาคการท่องเทีย่ วทีม่ แี นวโน้มดี อย่างไรก็ดี กำ�ลังซือ้ ของภาคครัวเรือนไทย ยังไม่ดขี น้ ึ ตามกำ�ลังซือ้ จากต่างประเทศ แม้การใช้จา่ ยของผูม้ รี ายได้สงู จะค่อนข้างดี แต่การใช้จ่ายของผู้มีรายได้ปานกลางถึงรายได้น้อย ยังคงซบเซา ซึ่งเป็นไปตามทิศทางของรายได้เกษตรกรที่ลดลง และมีภาระหนี้เดิมในระดับสูง ในขณะที่รายได้นอกภาคเกษตร มีแนวโน้มทรงตัว ปี 2560 บริษทั ได้รว่ มเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับ CTBC Bank ซึ่ ง เป็ น ธนาคารเอกชนที่ มี สิ น ทรั พ ย์ ข นาดใหญ่ เ ป็ น อั น ดั บ ที่ 1 ของไต้หวัน ที่มีมูลค่ากว่า 3.5 ล้านล้านดอลลาร์ไต้หวันใหม่ หรือ คิดเป็นเงินไทยประมาณ 4.0 ล้านล้านบาท มีเครือข่ายและตัวแทน มากกว่า 100 แห่ง ครอบคลุมกว่า 14 ประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ฮ่องกง สิงคโปร์ และจีน เป็นต้น CTBC Bank เข้ามาถือหุ้นของบริษัทในสัดส่วนร้อยละ 35.617 ซึง่ เป็นสัดส่วนเท่ากับการถือหุน้ รวมกันของบริษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่มีสัดส่วนการถือหุ้นเท่ากับร้อยละ 21.879 และร้อยละ 13.738 ตามลำ�ดับ การร่วมเป็นพันธมิตรกับ CTBC Bank เป็น การเพิม่ ศักยภาพให้กบั บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ได้แก่ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด การร่วมเป็นพันธมิตรกับ CTBC Bank เพือ่ รองรับการเติบโต และการขยายธุรกิจ และเพือ่ ยกระดับการให้บริการทางการเงินด้วย ความเชี่ยวชาญทางด้านการบริหารการเงินส่วนบุคคล (Wealth Management) ด้านดิจิตอลแบงกิ้ง (Digital Banking) และด้าน เทรดไฟแนนซ์ (Trade Finance) ของ CTBC Bank การให้บริการทางการเงินของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นการประสาน ความร่วมมือระหว่างกันเพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามหลากหลาย ครบวงจรและตรงกับความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีสินทรัพย์ รวม 230,396 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อนร้อยละ 9.9 มีเงินให้ สินเชื่อรวม 173,239 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อนร้อยละ 10.0 และ มีคุณภาพสินเชื่อจัดอยู่ในเกณฑ์ดี มีสินเชื่อด้อยคุณภาพ (NPL) อยู่ที่ร้อยละ 1.88 ของเงินให้สินเชื่อรวม ธนาคารได้พัฒนาบริการ เพิ่มสินค้าและบริการ เพื่อให้ลูกค้าได้รับบริการที่สะดวกรวดเร็ว และมีความพึงพอใจ การพัฒนาบริการของสาขาเพื่อให้เป็นที่ ปรึกษาทางการเงินมืออาชีพ (Professional Financial Advisors) มากขึ้น รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีการให้บริการด้วยระบบธนาคาร อิเล็กทรอนิกส์ (Digital Banking) เพือ่ ตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าให้มคี วามสะดวกและรวดเร็วทีส่ ามารถทำ�ธุรกรรมทางการเงิน ได้ทกุ วัน ทุกที่ ทุกเวลา และในปี 2561 ธนาคารจะพัฒนาระบบงาน Trade Finance ซึ่งจะทำ�ให้ธนาคารมีผลิตภัณฑ์และการบริการ สินเชื่อที่ครบวงจรมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการวางระบบการบริหาร การเงินส่วนบุคคล (Wealth Management) ให้มีประสิทธิภาพ และการคงสาขาที่จำ�นวน 133 สาขา เท่ากับปี 2560 ซึ่งเป็นไปใน ทิศทางเดียวกับระบบธนาคารพาณิชย์ โดยจะพัฒนาเทคโนโลยี การ ให้บริการเข้าสู่ยุคดิจิตอลมากขึ้น บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด มีกองทุนภายใต้การบริหารจัดการ คิดเป็นมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ ทั้งสิ้น 59,774 ล้านบาท มีส่วนแบ่งการตลาด (Market Share) เท่ากับร้อยละ 0.9 บริษัทมีแผนออกกองทุนใหม่อย่างต่อเนื่อง ทั้งกองทุนที่มีนโยบายลงทุนในไทยและในต่างประเทศ เพื่อเป็น ทางเลือกในการกระจายการลงทุนและเพิ่มโอกาสรับผลตอบแทน ที่ดี รวมทั้งวางเป้าหมายที่จะเพิ่มขนาดกองทุนภายใต้การบริหาร จัดการและเพิม่ ส่วนแบ่งการตลาดให้มากขึน้ โดยอาศัยความเชีย่ วชาญ ด้านการบริหารจัดการภายใต้กลยุทธ์ Asset Allocation ที่กระจาย การลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ เพื่อสร้างผลตอบแทนที่ดีแก่นักลงทุน บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้พัฒนาระบบเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มความได้เปรียบ ในการแข่งขันและเพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับลูกค้าในการใช้ บริการ การพัฒนาคุณภาพบุคลากร ให้มปี ระสิทธิภาพในการให้บริการ และการให้ค�ำ แนะนำ�การลงทุน การเพิม่ ผลิตภัณฑ์การลงทุนใหม่ๆ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย การทำ�ตลาดร่วมกับธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในโครงการ Banker-to-Broker หรือโครงการส่งเสริมช่องทาง การลงทุนผ่านสาขาธนาคาร รวมทั้งการขยายสาขา ซึ่งบางสาขา อยู่ในสาขาของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ทำ�ให้นกั ลงทุนสามารถ เปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านสาขาของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ที่มีอยู่ทั่วประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น คณะกรรมการบริษัทได้ ให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี ดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม มีความรับผิดชอบ และรักษาผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สังคมโดยรวม รวมทั้ ง การบริ ห ารจั ด การด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต อั น นำ � ไปสู่ การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น และเป็ น รากฐานของ

3

การเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน ในปี 2560 สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเมินผลการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีโดยบริษัทได้รับจำ�นวนตราสัญลักษณ์ 5 ดวง จัดอยู่ ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” และบริษัทได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 100 บริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ มี ความโดดเด่ น ในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) หรือที่เรียกว่ากลุ่มหลักทรัพย์ ESG100 โดยสถาบันไทยพัฒน์ เป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน รวมทั้งการสนับสนุน ให้บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินการตามแนวทางการกำ�กับดูแล ด้านการให้บริการอย่างมีคณ ุ ภาพและเป็นธรรม (Market Conduct) ตามที่ทางการกำ�หนด บริษัทขอขอบคุณลูกค้า ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม พนักงาน สถาบันการเงินภาครัฐและเอกชน รวมถึงหน่วยงาน ราชการต่างๆ ที่ให้ความไว้วางใจและสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ด้วยดีเสมอมา

(นายรัตน์ พานิชพันธ์) ประธานกรรมการ


4

รายงานประจำ�ปี 2560

ความเป็นมาของบริษัท บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็น บริษัทโฮลดิ้ง จัดตั้งขึ้นตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่กำ�หนดให้สถาบันการเงินปรับโครงสร้างการถือหุน้ ของกลุม่ ธุรกิจ ทางการเงินของตนเองให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การกำ�กับแบบ รวมกลุ่ม บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ด้วยทุนจดทะเบียนแรกเริ่มจำ�นวน 100,000 บาท โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นบริษัทแม่ของ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ไม่ ทำ � ธุ ร กิ จ ของตนเอง (Non - Operating Holding Company) แต่จะเข้าถือหุน้ ในบริษทั อืน่ เพือ่ การมีอำ�นาจควบคุมกิจการ

เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2552 บริษัทได้ยื่นขออนุญาตจัดตั้งกลุ่ม ธุรกิจทางการเงินต่อธนาคารแห่งประเทศไทย และเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2552 ธนาคารแห่งประเทศไทยได้อนุญาตให้บริษัท และ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิน โดยมีบริษัทเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน และมีธนาคารเป็นบริษัทลูกในกลุ่ม Solo Consolidation และมี บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เป็น บริษัทลูกนอกกลุ่ม Solo Consolidation กล่าวคือ บริษัทจะต้อง อยู่ ภายใต้ การกำ � กั บ ดู แ ลของธนาคารแห่ ง ประเทศไทยตามที่ กำ�หนดในพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

เมือ่ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2552 บริษทั ได้ปรับโครงสร้างการถือหุน้ เพือ่ ให้เป็นไปตามแผนการจัดตั้งกลุ่มธุรกิจทางการเงินที่ได้รับอนุญาต จากธนาคารแห่งประเทศไทย และเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2552 สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้อนุญาตให้บริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และใบสำ�คัญ แสดงสิทธิ ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้น โดยเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2552 บริษัทได้ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน ของบริษัทให้แก่ผู้ถือหุ้นของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) โดยเสนอขายเพือ่ แลกเปลีย่ นกับหุน้ สามัญของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ในอัตราแลกเปลีย่ น 1 ต่อ 1 และเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2552 บริษัทได้จดทะเบียนเพิ่มทุน ทีอ่ อกเพือ่ แลกเปลีย่ นกับหุน้ สามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) โดยถือเสมือนว่าชำ�ระราคาค่าหุน้ แล้วกับกระทรวงพาณิชย์ ซึ่ ง ภายหลั ง จากการปรั บ โครงสร้ า งการถื อ หุ้ น ผู้ ถื อ หุ้ น ของ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้ามาเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษัทแทน และบริษัทเข้าถือหุ้นร้อยละ 99.99 ในธนาคาร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รับหุ้นสามัญของบริษัทเป็น หลั ก ทรั พ ย์ จ ดทะเบี ย นและเริ่ ม ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 โดยใช้อักษรย่อ ในการซื้อขายหลักทรัพย์ว่า LHBANK เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2557 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นสามัญของบริษัท หลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.80 ของทุนที่ชำ�ระแล้ว และซื้อหุ้นบริษัท ซีไอเอ็มบี แอ็ดไวเซอรี่ (ประเทศไทย) จำ�กัด ผ่านบริษทั หลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้ว และเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2557

5

ธนาคารแห่งประเทศไทยได้อนุญาตให้ทั้ง 2 บริษัทอยู่ในกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิน การเข้าซื้อหุ้นทั้ง 2 บริษัทดังกล่าว เพื่อเป็นการขยาย การทำ�ธุรกรรมด้านการเงินของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ในด้านการซื้อ ขายหลักทรัพย์ และที่ปรึกษาทางการเงิน และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ บริษัททั้ง 2 แห่ง โดยชื่อว่าบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559 บริษัทได้ปรับโครงสร้างกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) โดยบริ ษั ท ได้ เ ข้ า ซื้ อ หุ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การ กองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด จำ�นวน 2,999,995 หุน้ คิดเป็น ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและเรียกชำ�ระแล้วจากธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2559 บริษัทได้ลงนามในบันทึกข้อตกลง เกี่ยวกับสัญญาจองซื้อหุ้น (MOU in relation to Share Subscription Agreement) กับ CTBC Bank Co., Ltd. ในการร่วมเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ โดยบริษทั ได้ตกลงออกหุน้ สามัญ เพิ่มทุนจำ�นวน 7,544,961,342 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 35.617 ของ ทุ น จดทะเบี ย นชำ � ระแล้ ว เพื่ อ เสนอขายต่ อ CTBC Bank ในราคา 2.20 บาทต่อหุน้ คิดเป็นเงิน 16,598.9 ล้านบาท และเมือ่ วันที่ 27 กรกฎาคม 2560 กระบวนการร่วมเป็นพันธมิตรทาง ธุรกิจได้เสร็จสมบูรณ์ทำ�ให้ CTBC Bank เข้ามาถือหุ้นของบริษัท ในสัดส่วนร้อยละ 35.617 ซึ่งเป็นสัดส่วนเท่ากับการถือหุ้นรวมกัน ของ บริษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษทั ควอลิต้ี เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่มีสัดส่วนการถือหุ้นเท่ากับร้อยละ 21.879 และร้อยละ 13.738 ตามลำ�ดับ


6

รายงานประจำ�ปี 2560

ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท อักษรย่อหลักทรัพย์ เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ

เว็บไซต์ ปีที่ก่อตั้ง วันแรกที่ซื้อขายหุ้น ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นบุริมสิทธิ รอบระยะเวลาบัญชี ติดต่อ

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) LHBANK 0107552000081 ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company) ลงทุนในบริษัทย่อย 3 แห่ง คือ 1. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 3. บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด www.lhfg.co.th 2552 10 พฤษภาคม 2554

เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 จำ�นวน 21,183,660,594 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ จำ�นวน 21,183,660,594 หุ้น จำ�นวน 21,183,660,594 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ จำ�นวน 21,183,660,594 หุ้น หุ้นสามัญหุ้นละ 1 บาท ไม่มี 1 มกราคม - 31 ธันวาคม สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ 0 2359 0000 โทรสาร 0 2677 7223 เลขานุการบริษัท โทรศัพท์ 0 2359 0000 ต่อ 2020, 2019, 2021, 2024 E-mail : presidentoffice@lhbank.co.th ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทเพิ่มเติมได้จาก แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท www.lhfg.co.th

คณะกรรมการตรวจสอบ : นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 08 1834 0104 E-mail : adulv@lhbank.co.th รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ กรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 08 5901 5888 E-mail : supriyak@lhbank.co.th นายสรร วิเทศพงษ์ กรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 09 8262 4549 E-mail : sunv@lhbank.co.th ผู้สอบบัญชี นางสาวรัตนา จาละ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3734 และ/หรือ นางสาวสมใจ คุณปสุต ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4499 และ/หรือ นางสาวรัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4951 บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 264 0789-90 เว็บไซต์ www.ey.com/th


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น จี,1,5,6,32 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท 0107548000234 ทุนจดทะเบียน จำ�นวน 20,000,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 20,000,000,000 บาท โทรศัพท์ 0 2359 0000 โทรสาร 0 2677 7223 เว็บไซต์ www.lhbank.co.th ผู้สอบบัญชี บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ www.ey.com/th

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 14 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท 0105551006645 ทุนจดทะเบียน จำ�นวน 300,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 300,000,000 บาท โทรศัพท์ 0 2286 3484 , 0 2679 2155 โทรสาร 0 2286 3585 , 0 2679 2150 เว็บไซต์ www.lhfund.co.th ผู้สอบบัญชี บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ www.ey.com/th

บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น M, 10 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท 0107542000038 ทุนจดทะเบียน จำ�นวน 637,215,030 บาท ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 637,215,030 บาท โทรศัพท์ 0 2352 5100 โทรสาร 0 2286 2681-2 เว็บไซต์ www.lhsec.co.th ผู้สอบบัญชี บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ www.ey.com/th

บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 10 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท 0105545029400 ทุนจดทะเบียน จำ�นวน 20,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 20,000,000 บาท โทรศัพท์ 0 2352 5100 โทรสาร 0 2286 2681-2 ผู้สอบบัญชี

บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ www.ey.com/th

7


8

รายงานประจำ�ปี 2560

ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ รายการ

งบการเงินรวม 2560

2559

2558

งบแสดงฐานะการเงิน : ล้านบาท สินทรัพย์รวม

233,111

212,147

199,667

เงินให้สินเชื่อ

153,684

141,070

133,097

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

3,422

3,102

2,564

สินเชื่อด้อยคุณภาพ (Gross NPLs)

3,264

2,766

2,815

143,731

149,097

137,064

32,896

20,327

21,664

194,556

191,831

181,716

ส่วนของเจ้าของ

38,555

20,316

17,951

ทุนจดทะเบียน

21,184

13,639

13,639

ทุนออกจำ�หน่ายและทุนชำ�ระแล้ว

21,184

13,639

13,639

8,646

8,810

8,494

ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย

(3,667)

(3,971)

(4,128)

รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ

4,979

4,839

4,366

รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย

1,514

2,128

1,177

รายได้จากการดำ�เนินงาน

6,493

6,967

5,543

ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย

(2,721)

(2,602)

(2,400)

หนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญ

(617)

(1,025)

(1,089)

กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

3,155

3,340

2,054

กำ�ไรสุทธิ

2,603

2,696

1,652

กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

0.15

0.20

0.12

อัตราเงินปันผลต่อหุ้น

0.0580

0.0520

0.0330

มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น

1.8200

1.4896

1.3162

อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เฉลี่ย (ROA)

1.17

1.31

0.91

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (ROE)

8.84

14.09

9.65

รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยต่อรายได้รวม

23.32

30.54

21.23

ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ยต่อรายได้รวม

41.90

37.34

43.29

อัตราการจ่ายเงินปันผล

60.73

70.39

44.42

เงินรับฝาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม หนี้สินรวม

งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ : ล้านบาท รายได้ดอกเบี้ย

เทียบเป็นรายหุ้น : บาท

อัตราส่วนทางการเงิน (%)


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

สินทรัพย รวม (ล านบาท) 250,000

233,111

9

เง�นให สินเชื่อ (ล านบาท) 200,000

212,147

199,667

150,000

153,684

141,070

150,000

133,097

100,000 50,000

50,000 ป 2560

2559

2558

2560

เง�นรับฝากและตราสารหนี้ที่ออกและเง�นก ูยืม (ล านบาท) 200,000

169,424 150,000

158,728

2558

รายได จากการดำเนินงาน (ล านบาท) 8,000

176,627

2559

6,000

100,000

4,000

50,000

2,000

6,493

6,967 5,543

ป 2560

2559

2558

2560

กำไรสุทธิ (ล านบาท) 3,000 2,603

2558

ส วนของเจ าของ (ล านบาท) 40,000

2,696

38,555

30,000

2,000

2559

1,652

20,316 17,951

20,000

1,000

10,000 ป 2560

2559

2558

ป 2560

2559

2558


10

รายงานประจำ�ปี 2560

คณะกรรมการบริษัท ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการ 70 • Master of Science in Business Administration, Fort Hays Kansas State University, USA • วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.388) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 4/2003 : IOD • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 61/2005 : IOD • หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 1/2010 : IOD • หลักสูตร Corporate Governance For Capital Market Intermediaries (CGI) 14/2016 : IOD จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง มิ.ย. 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ เม.ย. 2552 - มิ.ย. 2560 ประธานกรรมการบริหาร เม.ย. 2559 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ เม.ย. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ พ.ค. 2548 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน เม.ย. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ มิ.ย. 2550 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร มี.ค. 2550 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ธ.ค. 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ ส.ค. 2544 - ธ.ค. 2557 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ ต.ค. 2549 - เม.ย. 2552 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ ก.พ. - ธ.ค. 2548 กรรมการ พ.ค. 2547 - ธ.ค. 2548 กรรมการบริหาร เม.ย. 2546 - เม.ย. 2547 กรรมการตรวจสอบ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง มิ.ย. 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ธ.ค. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ ธ.ค. 2548 - มิ.ย. 2560 ประธานกรรมการบริหาร ธ.ค. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ต.ค. 2553 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ม.ค. 2546 - ธ.ค. 2557 กรรมการ ส.ค. 2544 - ธ.ค. 2557 กรรมการ 2549 - 2551 กรรมการ 2545 - 2551 ประธานกรรมการ ส.ค. 2544 - ธ.ค. 2552 กรรมการ 2543 - 2548 ประธานกรรมการ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. บ้านปู

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บมจ. ไออาร์พีซี บมจ. ทิพยประกันภัย บมจ. ธนาคารกรุงไทย ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. คิว.เอช. แมเนจเม้นท์ บจ. คิว.เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจ. เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้นท์ บจ. ยูไนเต็ด แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วิส


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

11

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง

นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล และประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ (ปี) 71 คุณวุฒิทางการศึกษา • Master of Arts (Economics), University of Texas at Austin, USA • เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ. 388) • นักบริหารระดับสูง สำ�นักงานข้าราชการพลเรือน (นบส.) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 14 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 25/2002 : IOD • หลักสูตร Audit Committee Program (AACP) 7/2005 : IOD • หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) 2/2007 : IOD • หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 1/2010 : IOD จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เม.ย. 2552 - ส.ค. 2560 กรรมการตรวจสอบ พ.ค. 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ ม.ค. 2555 - เม.ย. 2559 ประธานกรรมการบริหาร พ.ค. 2558 - เม.ย. 2560 ที่ปรึกษา ธ.ค. 2553 - เม.ย. 2558 กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ก.ค. 2551 - เม.ย. 2558 ประธานกรรมการตรวจสอบ ส.ค. 2544 - เม.ย. 2558 กรรมการอิสระ ก.ค. 2551 - ธ.ค. 2553 ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ส.ค - ธ.ค. 2548 กรรมการตรวจสอบ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการบรรษัทภิบาล ธ.ค. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และกรรมการตรวจสอบ ก.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ 2545 - 2551 กรรมการรองผู้อำ�นวยการใหญ่ ต.ค. 2557 - มิ.ย. 2559 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ 2551 - ต.ค. 2556 ผู้อำ�นวยการ มี.ค. - ก.ค. 2553 กรรมการ 2548 - ธ.ค. 2552 กรรมการ มิ.ย. 2547 - ธ.ค. 2548 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 2546 - 2551 กรรมการ 2545 - 2550 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ 2545 - 2550 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

บมจ. ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์

บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. เอเวอร์กรีน พลัส บมจ. ไอ.จี.เอส. มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลังแห่งประเทศไทย (TTDI) บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ สถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลัง (ห้วยบง) บจ. ไทยแอร์ไลน์ โฮลดิ้ง บจ. สมาร์ทคอลเลคเตอร์ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจ. ปัญจพล เปเปอร์ อินดัสตรี้ บมจ. ปัญจพล พัลพ์ อินดัสตรี้


12

รายงานประจำ�ปี 2560

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง

รศ.ดร. สุปรียา ควรเดชะคุปต์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ (ปี) 64 คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาเอก สาขาเศรษฐศาสตร์ University of Hawaii, USA • Master of Arts (Economics) (English Program) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์​์ • ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ University of Tasmania, Australia • Diploma of Tertiary Education University of New England, Australia • หลักสูตร การกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของ รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุ่นที่ 7 : สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงภาครัฐ สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 56/2549 : IOD • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 97/2550 : IOD • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) 10/2553 : IOD • หลักสูตร Audit Committee Effectiveness (ACE) ปี 2555 : IOD • หลักสูตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP) 4/2556 : IOD • หลักสูตร Chartered Director Class 9/2558 : IOD • หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) 7/2558 : IOD จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2549 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2556 - ปัจจุบัน ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ คณะเศรษฐศาสตร์ 2529 - ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ 2555 - 2556 ประธานคณะกรรมการดำ�เนินงานโครงการหลักสูตรนานาชาติ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การประกอบการ ภาคพิเศษ 2550 - 2556 ประธานสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ 2543 - 2547 คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ 2544 - 2546 กรรมการ สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2555 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ 2553 - 2555 กรรมการ คณะกรรมการสลากกินแบ่งรัฐบาล 2547 - 2549 ที่ปรึกษา ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. เอเซียเสริมกิจลีสซิ่ง ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

บจ. เดสติเนชั่น รีสอร์ท บจ. พี.เอ.เค. ซัพพลาย สำ�นักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล สำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายสรร วิเทศพงษ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล 63 • Bachelor of Economics, University of Tasmania, Australia (Colombo Plan Scholarship) • หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. 4616) จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล ต.ค. 2555 - ก.ย. 2557 กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน พ.ย. 2558 - มี.ค. 2559 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง พ.ค. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ พ.ย. 2558 - ส.ค. 2560 กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล ก.ย. 2557 - ส.ค. 2558 เลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง 2553 - 2554 นักวิชาการคลังผู้ทรงคุณวุฒิ 2550 - 2551 ที่ปรึกษาการคลัง 2554 - 2557 กรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน 2551 - 2553 Executive Director 2539 - 2541 Alternate Executive Director 2537 - 2539 Assistant Executive Director 2550 - 2551 กรรมการ 2548 - 2549 กรรมการ 2549 - 2550 กรรมการ 2549 - 2549 กรรมการ 2547 - 2550 กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ 2546 - 2549 กรรมการ 2545 - 2546 กรรมการ 2544 - 2549 กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ 2543 - 2545 กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ 2542 - 2550 รองผู้อำ�นวยการ 2541 - 2542 ผู้อำ�นวยการกองนโยบายเงินกู้ 2534 - 2536 รักษาการหัวหน้าฝ่ายนโยบายเศรษฐกิจ 2525 - 2531 เศรษฐกร กองนโยบายการคลังและภาษีอากร 2531 - 2534 Assistant Director 2523 - 2525 เจ้าหน้าที่วิเทศสหการ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บจ.ไทคอน แมนเนจเม้นท์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กระทรวงการคลัง สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน ธนาคารโลก กรุงวอชิงตัน การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน บจ. โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ บจ. เหมืองแร่โปแตชอาเซียน บมจ. กัลฟ์อิเล็คตริก องค์การจัดการน้ำ�เสีย สำ�นักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง สำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง สำ�นักงานเลขาธิการอาเซียน กรุงจาร์กาต้า อินโดนีเซีย กรมวิเทศสหการ

13


14

รายงานประจำ�ปี 2560

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายฉี ชิง-ฟู่ กรรมการ 53 • MBA, University of Texas at Austin, USA • Bachelor of Economics, National Taiwan University, Taiwan จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ 2560 - ปัจจุบัน Head of Global Operations Group 2556 - 2560 Head of South East Asia 2556 - 2560 Chief Strategy Officer 2550 - 2557 Head of Global Commercial Product Group 2549 - 2555 Symphony Project Leader 2553 - 2554 Head of North America Division 2550 - 2550 Head of Corporate Baking Division 2548 - 2549 Regional Manager, Taipei Region Center II, Institute Banking 2546 - 2548 Regional Manager, Hong Kong Branch 2544 - 2546 Vice President - Team Leader, CTBC Corporate Banking Regional Center 2560 - ปัจจุบัน Commissioner 2556 - 2560 Director 2553 - 2554 Director 2535 - 2544 Vice President of Marketing Department

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ CTBC Bank Co., Ltd.

PT Bank CTBC Indonesia CTBC Bank (Philippines) Corp. CTBC Capital Corp. ABN AMRO Bank, Taipei Branch


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

15

นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 59 • MBA, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. 2549) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 25/2004 : IOD • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 53/2005 : IOD • หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 2/2011 : IOD จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 2535 - ปัจจุบัน กรรมการ พ.ค. 2556 - ส.ค. 2560 กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ (ปฏิบัติการ) 2545 - เม.ย. 2556 กรรมการบริหาร และรองกรรมการผู้จัดการ สายปฏิบัติการ 2534 - พ.ค. 2544 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ มิ.ย. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ พ.ค. 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน พ.ค. 2559 - มิ.ย. 2560 กรรมการบริหาร 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2537 - ปัจจุบัน กรรมการ 2537 - มี.ค. 2554 กรรมการ ส.ค. - ธ.ค. 2548 กรรมการ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 15 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ธ.ค. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2536 - ปัจจุบัน กรรมการ 2534 - ปัจจุบัน กรรมการ 2531 - ปัจจุบัน กรรมการ 2529 - ปัจจุบัน กรรมการ 2548 - ส.ค. 2560 กรรมการ 2544 - 2559 กรรมการ มิ.ย. - ธ.ค. 2548 กรรมการ 2538 - 2547 กรรมการ 2544 - ก.พ. 2553 กรรมการ 2537 - ธ.ค. 2552 กรรมการ 2537 - ธ.ค. 2552 กรรมการ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส์ บมจ. บางกอก เชน ฮอสปิทอล บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ Land and Houses USA, INC บจ. ภูเก็ต ฟิวเจอร์ แพลน บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แอล เอช เรียลเอสเตท บจ. แอล เอช แอสเซท กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 2 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 1 บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธ บจ. แอล เอช เมืองใหม่ บจ. สยามธานี เรียลเอสเตท บจ. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ บจ. แอตแลนติก เรียลเอสเตท บจ. แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล บจ. ดับเบิ้ลทรี บมจ. เมืองใหม่ กัตทรี บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บลจ. แอสเซท พลัส บจ. คิว-คอน อิสเทอร์น บจ. สระบุรี เวชกิจ บจ. ศรีบุรินทร์การแพทย์


16

รายงานประจำ�ปี 2560

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายวู โค-ชิน กรรมการ 63 • MBA, University of San Francisco, USA • Bachelor of Arts in Business Administration, National Cheng kung University, Taiwan จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร 2560 - ปัจจุบัน Chief Representative, Bangkok Representative Office 2559 - 2560 Senior Advisor, Bangkok Representative Office 2558 - 2559 Executive Officer, Office of the Chairman 2556 - 2558 Senior Advisor, Bangkok Representative Office 2543 - 2556 Chief Representative, Bangkok Representative Office

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ CTBC Bank Co., Ltd.


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ 59 • MBA, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 8/2001 : IOD จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ปี 2560 ถือโดยคู่สมรส จำ�นวน 2,700,066 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.013 • ปี 2559 ถือโดยคู่สมรส จำ�นวน 2,700,066 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.020 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ ส.ค. 2556 - ส.ค. 2560 กรรมการบริหาร มิ.ย. 2550 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร พ.ค. 2544 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ก.ย. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ก.ค. 2555 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ก.ค. 2554 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ พ.ค. 2548 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ มี.ค. 2555 - ส.ค. 2560 กรรมการบริหาร ก.ค. 2559 - ม.ค. 2560 กรรมการ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บจ. ดีซี เซอร์วิส เซ็นเตอร์ บจ. เมกา โฮม เซ็นเตอร์ Home Product Center (Malaysia) SDN, BHD บจ. มาร์เก็ต วิลเลจ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

17


18

รายงานประจำ�ปี 2560

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ 60 • MBA, Nortre Dame de Namur University, USA • ปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุน่ ที่ 12 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 28/2004 : IOD • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 58/2005 : IOD • หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 3/2011 : IOD • หลักสูตร Corporate Governance For Capital Market Intermediaries (CGI) 17/2016 (English Program) : IOD จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง • ปี 2560 = 1,983,622 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.009 • ปี 2559 = 1,356,522 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.009 จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง เม.ย. 2552 - มิ.ย. 2560 กรรมการบริหาร พ.ย. 2548 - ก.ย. 2560 กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน ก.ค - ธ.ค. 2548 รองกรรมการผู้จัดการ ม.ค. 2547 - พ.ค. 2548 กรรมการผู้อำ�นวยการ พ.ย. 2541 - ก.ค. 2542 Chief Financial Officer ก.ย. 2526 - ก.ค. 2541 ผู้อำ�นวยการอาวุโสโครงการพิเศษ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ ธ.ค. 2559 - เม.ย. 2560 ประธานกรรมการบริหาร ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ ธ.ค. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ส.ค. 2555 - ส.ค. 2557 กรรมการ อนุกรรมการก่อสร้างอาคาร อนุกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ อนุกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เม.ย. 2543 - ธ.ค. 2546 ผู้อำ�นวยการอาวุโส

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ บมจ. หลักทรัพย์ ยูไนเต็ด บมจ. เดอะโคเจเนอเรชั่น บมจ. เงินทุนหลักทรัพย์ ธนสยาม ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บจ. ยูไนเต็ด แอ็ดไวเชอรี่ เซอร์วิส


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

19

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็น บริษทั โฮลดิง้ และเป็นบริษทั แม่ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ประกอบ ธุรกิจโดยการเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่นโดยไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง (Non - operating Holding Company) แต่จะเข้าถือหุน้ ในบริษทั อืน่

เพือ่ การมีอ�ำ นาจควบคุมกิจการ ดังนัน้ การประกอบธุรกิจของบริษทั จึงแบ่งตามลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทย่อยที่มีความ หลากหลายในด้านบริการทางการเงินในรูปแบบต่างๆ ทีต่ อบสนอง ความต้องการทางด้านการเงินให้แก่ลูกค้าอย่างครบวงจร

1. โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

24.98%

21.88%

35.62%

13.74%

99.99%

นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์

10.43%

99.99%

99.80%

Securities 99.99%

Advisory

หมายเหตุ : บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : CTBC Bank Company Limited

นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์

: มารดาของ นายอนันต์ อัศวโภคิน : บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด

Securities

: บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)

Advisory

: บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด


20

รายงานประจำ�ปี 2560

การดำ�เนินงานของบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน กลุ่มธุรกิจทางการเงินบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) แบ่งการดำ�เนินงาน ออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ • ธุรกิจการลงทุน คือ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) • ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) • ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน คือ บริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด • ธุรกิจหลักทรัพย์ คือ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) • ธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน คือ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1 ธุรกิจการลงทุน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ดังนี้ • ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด • บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.80 ของทุนทีช่ �ำ ระแล้วทัง้ หมด • บริษทั หลัทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด

วัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจของบริษัท มีดังนี้ 1. ลงทุนในตราสารทางการเงินทั้งตราสารหนี้และ ตราสารทุนเพื่อแสวงหาผลตอบแทน 2. ทำ�ธุรกรรมกับบริษัทลูกในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ของตนเอง 3. บริ ห ารเงิ น เพื่ อ ตนเองหรื อ เพื่ อ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงินของตนเอง 4. จัดหาเงินทุนโดยวิธีอื่นใดเพื่อใช้ ในการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษทั และบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน รวมถึงการออกหุ้นกู้ 5. ประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ใดตามที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย เป้าหมายในการดำ�เนินงานของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เป้ า หมายการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ได้กำ�หนดกลยุทธ์ให้ เป็ น กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น เพื่ อ ทำ � ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ทีค่ รบวงจร ปัจจุบนั กลุม่ ธุรกิจทางการเงินมีผลิตภัณฑ์ทางการเงิน และบริการต่างๆ ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า ทัง้ ด้านเงินฝาก เงินให้สนิ เชือ่ กองทุน หลักทรัพย์ ทีป่ รึกษาทางการเงิน และบริการต่างๆ เช่น บริการเป็นนายหน้า ประกันชีวิต บริการรับชำ�ระค่าสินค้าและบริการ บริการรับ ชำ�ระภาษีของกรมสรรพากร บริการแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต บริการ Cash Management เป็นต้น รวมทัง้ การพัฒนาคุณภาพการบริการ และการพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการให้ บริการที่รวดเร็วและตรงต่อความต้องการของลูกค้า


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

นอกจากเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจแล้ว กลุ่มธุรกิจ ทางการเงิ น ได้ ใ ห้ ความสำ � คั ญ กั บ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ตาม หลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี การป้ อ งกั น การจ่ า ยเงิ น เพื่อการคอร์รัปชั่น การเสริมสร้างระบบบริหารความเสี่ยง ที่ครอบคลุม รวมถึงการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคม โดยเมื่อเดือนตุลาคม 2557 บริษัทในกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิน ได้แก่ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ � กั ด ได้ รั บ การรั บ รองเป็ น สมาชิ ก แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตจากคณะกรรมการแนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต สำ�หรับ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้าร่วมลงนามประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต และอยู่ระหว่าง ดำ � เนิ น การขอรั บ รองเป็ น สมาชิ ก แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต

วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร และเป้าหมาย ในการดำ�เนินงานของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่ อ เป็ น การกำ � หนดทิ ศ ทางและเป้ า หมายที่ เ ป็ น อันหนึ่งอันเดียวกันของทั้งกลุ่มธุรกิจทางการเงิน กอปรกับ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษทั แกน และเป็นธุรกิจหลักของกลุ่ม บริษัทจึงได้ยึดถือวิสัยทัศน์และ พันธกิจของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มาเป็นตัวกำ�หนดภาพความมุ่งหวังสูงสุดที่องค์กรต้องการ จะบรรลุ ผ ลสำ � เร็ จ ตามวิ สั ย ทั ศ น์ สำ � หรั บ พั น ธกิ จ จะเป็ น การกำ � หนดภารกิ จ และหลั ก ปฏิ บั ติ ที่ อ งค์ ก รจะยึ ด ถื อ ในการดำ�เนินธุรกิจส่งถึงค่านิยมองค์กร คือหลักการร่วมกัน ที่ผู้บริหารและพนักงานจะนำ�มาใช้ ใ นการดำ�เนิน งานให้ บรรลุเป้าหมาย คณะกรรมการธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ กำ � หนดวิ สั ย ทั ศ น์ และพั น ธกิ จ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ การกำ�หนดแผนกลยุทธ์เพื่อ ให้การดำ�เนินธุรกิจเป็นไปตามเป้าหมายที่กำ�หนด รวมทั้ง ได้ทบทวนความเหมาะสมของวิสัยทัศน์ และพันธกิจทุกปี

Vision/ วิสัยทัศน์

“เรามุ่งมั่นที่จะเป็นธนาคาร ที่มีการเติบโต อย่างมีคุณภาพ”

Mission/พันธกิจ

21

1. มุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงและยั่งยืน 2. ให้บริการอย่างเชี่ยวชาญด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจ รวมทัง้ พัฒนา ไปสู่ธนาคารดิจิตอล 3. ดำ�เนินการด้วยหลักบรรษัทภิบาลโดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้นและสังคมเป็นหลัก 4. พัฒนาและสนับสนุนระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล ทั้งใน เชิงความรู้และผลประโยชน์ของพนักงาน


22

รายงานประจำ�ปี 2560

ค่านิยมองค์กร การพัฒนาเชิงความรู้ นอกจากองค์ความรูท้ สี่ นับสนุน การทำ�งานแล้ว ในด้านพฤติกรรมการทำ�งานและการอยูร่ ว่ ม กัน ธนาคารมีแนวทางในการสร้างค่านิยมองค์กรเพื่อให้ พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมที่อยู่บนค่า นิยมเดียวกันผ่านกระบวนการสื่อสาร การเรียนรู้ และการ ทำ�งานบนค่านิยม PRO-AcTIVE เพื่อให้พนักงานทุกคนได้ ร่วมเติบโตไปพร้อมกับธนาคารอย่างยั่งยืน PRO-AcTIVE คือ ค่านิยมของธนาคาร เพือ่ หล่อหลอม พนักงานให้ยดึ ถือเป็นแนวปฏิบตั ิ โดยสะท้อนผ่านพฤติกรรม การทำ�งาน การอยู่ร่วมกัน การปฏิบัติต่อลูกค้าตลอดจน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

PROfessional

PRO - Professional : “พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งาน เชิงรุก พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง” ธนาคารส่งเสริมให้พนักงานมีความสามารถในระดับ ความเป็นมืออาชีพ รอบรู้ในงานและระบบงาน มุ่งพัฒนา ตนเองอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เคร่ ง ครั ด ในกฎระเบี ย บ มี ก าร สร้างสรรค์งานในเชิงรุก ยืดหยุน่ และพร้อมเปลีย่ นแปลงรูปแบบ วิธกี ารทำ�งาน ให้มคี วามเป็นปัจจุบนั เพือ่ รองรับความต้องการ ของลูกค้าอยู่เสมอ Accountability

Ac - Accountability : “รับผิดชอบในทุกมิติ ยึดมั่น สัจจะ ใฝ่สำ�เร็จ” ธนาคารส่งเสริมความมีจติ วิญญาณ ความเป็นเจ้าของ องค์ กร มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในงาน มุ่ง ทำ � งานให้ ลุล่ว ง ตรงตามกำ � หนดเวลา มี สัจ จะ ปฏิ บัติตามคำ � มั่น สั ญ ญา โดยมองเป้ า หมายและความสำ � เร็ จ ตามวิ สั ย ทั ศ น์ และพันธกิจของธนาคารเป็นสำ�คัญ Teamwork

T - Teamwork : “เปิดใจแก่กัน ทำ�งานเป็นทีม มุ่งสู่ เป้าหมายร่วม” ธนาคารส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานเสนอความคิ ด เห็ น ที่ เป็นประโยชน์ รับฟัง ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ประสานแนวคิดเพื่อความสำ�เร็จของทีมและธนาคาร Integrity

I - Integrity : “สุจริต มีจริยธรรม โปร่งใส” ธนาคารส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ ต่อธนาคาร อาชีพ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถดำ�รงตน เป็นแบบอย่างทีด่ ใี นทุกกระบวนการของการทำ�งาน ปฏิบตั งิ าน ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีความยุติธรรม

Visioning

V - Visioning : “คิดนอกกรอบ มองกว้างไกล ยึดมั่น ในเป้าหมาย” ธนาคารส่งเสริมให้การทำ�งานมีแบบแผน กำ�หนด เป้าหมายการทำ�งานได้อย่างชัดเจนทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว สามารถปฏิ บั ติ ตามแผนงานที่ กำ � หนดโดยมี การติ ด ตาม ประเมินผล เพื่อพัฒนาปรับปรุงข้อบกพร่อง โดยยึดมั่นใน

หลักการมีความคิดสร้างสรรค์ และคำ�นึงถึงผลประโยชน์ ของธนาคาร และความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในระยะยาว

Excellence Service

E - Excellence Service : “ใจรักบริการ ให้เกียรติ จิตอาสา” ธนาคารส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีคา่ นิยมในด้านการ ให้บริการทีเ่ ป็นเลิศ สามารถให้บริการทีส่ ร้างความประทับใจ ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ทั้ ง ภายในและภายนอก ด้ ว ยความทุ่ ม เท ทัง้ แรงกายแรงใจ มีจติ อาสาในการให้ความช่วยเหลือแก่เพือ่ น พนักงาน หน่วยงาน และธนาคาร สนับสนุนให้พนักงาน สามารถให้ค�ำ แนะนำ�ทีเ่ ป็นประโยชน์แก่ลกู ค้า และมุง่ พัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการโดยคำ�นึงถึงลูกค้าเป็นสำ�คัญ 2.2 ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ กำ�หนดแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจสำ�หรับระยะเวลา 3 ปี ข้างหน้าตามวิสัยทัศน์และพันธกิจที่วางไว้โดยพิจารณาถึง สภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ ภาวะเศรษฐกิ จ และ การเมื อ งทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ นอกจากนี้ ได้พจิ ารณาถึงปัจจัยภายในอืน่ ๆ เช่น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ความเสี่ยง ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ และประเด็นสำ�คัญต่างๆ ที่ต้องปฎิบัติ โดยจะนำ�ปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวมาประกอบ การพิ จารณาเพื่ อ กำ � หนดแนวทางขององค์ กรในแต่ ล ะปี และมีการทบทวนแผนการดำ�เนินงานอย่างสม่ำ�เสมอเพื่อ ให้ทันต่อสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รับ การจัดอันดับเครดิตองค์กรโดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด อยู่ที่ระดับ “A-” (Single A Minus) แนวโน้มอันดับเครดิต “Positive” หรือ “บวก” แสดงให้เห็นถึงสถานะทางธุรกิจ และการเงินของธนาคารที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการมี คุณภาพสินทรัพย์ที่ดีและมีเงินทุนที่แข็งแกร่ง และอันดับ เครดิตตราสารหนี้ประเภทหุ้นกู้ด้อยสิทธิลักษณะคล้ายทุน ทีน่ บั เป็นเงินกองทุนชัน้ ที่ 2 ทีร่ ะดับ “BBB” (Triple B Straight) เครือข่ายสาขาของธนาคาร ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้สร้าง เครือข่ายสาขาเพื่อให้บริการแก่ลูกค้าอย่างทั่วถึง กลยุทธ์ การขยายสาขาภูมิภาคของธนาคารส่วนใหญ่เป็นสาขาที่ เปิดใน HomePro ซึ่งธนาคารได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับบริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) ที่จะขยายสาขาใน ทุกจังหวัดทีม่ ี HomePro ตัง้ อยู่ ซึง่ เป็นยุทธศาสตร์การขยาย สาขาของธนาคารเพื่อให้มีจุดบริการครอบคลุมทุกพื้นที่ ทั่วประเทศและเป็นการขยายฐานลูกค้า


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ปัจจุบันธนาคารมี 133 สาขา แบ่งตามภูมิภาคดังนี้ • กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 64 • ภาคกลาง 10 • ภาคเหนือ 7 • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 19 • ภาคตะวันออก 11 • ภาคตะวันตก 7 • ภาคใต้ 15

สาขา สาขา สาขา สาขา สาขา สาขา สาขา

จำ�นวนสาขาธนาคารที่ขยายในแต่ละปี (สาขา) 120 105 90 75 60 45 30 15

133

2560

133

2559

126

2558

117

2557

100

2556

ผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคาร ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนอง ความต้องการทีห่ ลากหลายของลูกค้า ผลิตภัณฑ์และบริการ ของธนาคารสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1. บริการด้านเงินฝาก

เป็นการให้บริการด้านเงินฝากสำ�หรับกลุ่มลูกค้า ทั้ ง ประเภทบุ ค คลธรรมดา นิ ติ บุ ค คลทั่ ว ไป นิ ติ บุ ค คล ที่ไม่แสวงหากำ�ไร หน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ กองทุน และสหกรณ์ และสถาบันการเงินในประเทศ โดยให้บริการ รับฝากเงินประเภทต่างๆ อาทิเช่น • เงินฝากออมทรัพย์ - เงินฝากออมทรัพย์ที่เพิ่มค่าด้วยอัตรา ดอกเบีย้ ที่สูง สามารถฝาก ถอน เมือ่ ใดก็ได้ตามทีต่ ้องการ ทำ�ให้มีความคล่องตัวและดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นทุกวัน - เงิ น ฝากออมทรั พ ย์ ธุ ร กิ จ คุ้ ม ค่ า (Biz Saving) สำ�หรับลูกค้านิติบุคคล อัตราดอกเบี้ยสูง พร้อมรับ โบนัสพิเศษ + 0.10% จากอัตราดอกเบี้ยปกติ เมื่อมียอด เงินฝากคงเหลือเฉลีย่ ต่อเดือนไม่ต�ำ่ กว่า 1 ล้านบาท กำ�หนดจ่าย ดอกเบี้ยรายเดือน เหมาะสำ�หรับใช้เป็นบัญชีประกอบธุรกิจ ควบคู่กับบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร - เงินฝากออมทรัพย์คุ้มครองชีวิต สำ�หรับ ลูกค้าบุคคล อายุตั้งแต่ 15 ปี ถึง 70 ปี ที่มอบความ คุ้มครองสูงสุด 25 เท่าของยอดเงินฝากคงเหลือกรณีเสีย ชีวิตจากอุบตั เิ หตุทว่ั โลก 24 ชัว่ โมง เริม่ ต้นฝากขัน้ ต่�ำ เพียง 1,000 บาท ยิง่ ฝากมากยิง่ คุม้ ครองมาก ไม่ตอ้ งตรวจสุขภาพ ไม่ต้องจ่ายค่าเบี้ยประกัน

23

• เงินฝากไม่ประจำ� เป็นเงินฝากออมทรัพย์ ประเภทหนึง่ ทีใ่ ห้ดอกเบีย้ สูง โดยทุกขณะต้องมีเงินฝากคงเหลือ ในบัญชีไม่ต่ำ�กว่า 5,000 บาท สามารถฝาก ถอน เมื่อใด ก็ได้ตามที่ต้องการทำ�ให้มีความคล่องตัว • เงินฝากกระแสรายวัน เป็นบัญชีเงินฝากทีเ่ พิม่ ความคล่องตัวให้กบั ธุรกิจ รับดอกเบีย้ เพิม่ พูนทุกวัน สะดวก กับการเบิกถอน ไม่วา่ จะเป็นการจ่ายผ่านเช็ค หรือถอนผ่าน บัตรเอทีเอ็ม • เงิ น ฝากประจำ � และใบรั บ เงิ น ฝากประจำ � (FDR) เป็นเงินฝากที่สร้างหลักประกันที่มั่นคงในอนาคต มีระยะเวลาการฝากให้เลือกตามความต้องการ และจ่ายคืน เมื่อครบกำ�หนด • เงินฝากปลอดภาษี เป็นการฝากเงินรายเดือน ด้วยจำ�นวนเงินเท่าๆ กันทุกเดือน โดยมีระยะเวลาตามที่ ธนาคารกำ�หนด เช่น 24 เดือน 36 เดือน และมีจำ�นวน เงินฝากรวมกันตลอดระยะเวลาการฝากไม่เกิน 600,000 บาท กลยุทธ์การแข่งขันด้านเงินฝาก ธนาคารได้ พั ฒ นาและออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ เงินฝากใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นความหลากหลาย เหมาะสมกับอาชีพและฐานะการเงินของลูกค้ากลุ่มต่างๆ เพื่อเป็นทางเลือกในการออมและตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าที่แตกต่างอย่างทั่วถึง โดยให้ผลตอบแทนในอัตรา ทีจ่ งู ใจ ควบคูก่ บั สิทธิประโยชน์ดา้ นต่างๆ ซึง่ เป็นการเพิม่ ขีด ความสามารถในการแข่ ง ขั น รวมทั้ ง การจั ด กิ จ กรรม สันทนาการต่างๆ เพื่อตอบแทนลูกค้าและเป็นการรักษา ฐานลูกค้าเงินฝากซึ่งได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี สาขาของธนาคารเป็นช่องทางทีช่ ว่ ยในการขยาย ฐานลูกค้าเงินฝาก และเป็นช่องทางในการให้บริการลูกค้าใน การทำ�ธุรกรรมต่างๆ รวมทัง้ ให้ค�ำ แนะนำ�เพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ความสะดวกและมีความพึงพอใจ ธนาคารได้จดั แคมเปญและ โปรโมชัน่ ใหม่ๆ และการสร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้าทีม่ งุ่ เน้น ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า เพื่ อ เป็ น การดึ ง ดู ด และเพิม่ จำ�นวนลูกค้าให้มาใช้บริการกับธนาคารเพิม่ มากขึน้ และเป็นการสร้างโอกาสในการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการ ต่างๆ (Cross-selling) เพื่อขยายฐานรายได้ค่าธรรมเนียม การกำ�หนดอัตราดอกเบี้ย ธนาคารจะพิจารณา จากปัจจัยภายในและภายนอกทีอ่ าจมีผลกระทบ เช่น ต้นทุน ของธนาคาร แนวโน้มอัตราดอกเบี้ย ทิศทางเศรษฐกิจ และ สภาวะการแข่งขันการระดมเงินฝาก เป็นต้น ทัง้ นี้ ธนาคาร ไม่ได้เน้นการแข่งขันด้านอัตราดอกเบีย้ เป็นหลัก แต่จะเน้นการ บริการและการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ทตี่ อบสนองความต้องการ ของลูกค้าทุกกลุ่ม 2. บริการด้านสินเชื่อ

ธนาคารจำ�แนกบริการด้านสินเชื่อ ออกเป็น 3 ภาคธุรกิจ ได้แก่ สินเชือ่ เพือ่ ธุรกิจขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME) และสินเชื่อเพื่อรายย่อย (Retail) ดังนี้


24

รายงานประจำ�ปี 2560

1. บริ การสิ น เชื่ อ เพื่ อ ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) เป็นบริการสินเชือ่ แก่กลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็นธุรกิจขนาดใหญ่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเงินทุนในการประกอบธุรกิจ หรือใช้เสริมสภาพคล่องหมุนเวียนในกิจการ สนับสนุนการ ขยายกำ�ลังการผลิตหรือลงทุนทั้งอาคาร โรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณ์ มีทั้งสินเชื่อระยะสั้น และสินเชื่อระยะยาวที่มี ความเหมาะสมตามประเภทธุรกิจและความต้องการของลูกค้า 2. สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME) เป็นบริการสินเชือ่ แก่กลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็นธุรกิจขนาด กลางและขนาดย่อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเงินทุน ในการประกอบธุรกิจหรือใช้เสริมสภาพคล่องหมุนเวียนใน กิจการ สนับสนุนการขยายกำ�ลังการผลิตหรือลงทุนทัง้ อาคาร โรงงาน เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ มีทง้ั สินเชือ่ ระยะสัน้ และสินเชือ่ ระยะยาวที่มีความเหมาะสมตามประเภทธุรกิจตามความ ต้องการของลูกค้า ประเภทสินเชือ่ แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการกูย้ มื ดังนี้ - สินเชื่อระยะสั้น เป็นบริการสินเชื่อเพื่อเสริมสภาพคล่องและ บริหารกระแสเงินสด ทีส่ ามารถเบิกใช้และชำ�ระคืนได้ภายใน วงเงินที่กำ�หนดตลอดระยะเวลาการกู้ อายุวงเงินไม่เกิน 1 ปี เช่น Overdraft (O/D) สินเชื่อตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) - สินเชื่อระยะยาว เป็นบริการสินเชื่อเพื่อการพัฒนาธุรกิจระยะ ปานกลางและระยะยาวทีม่ วี ัตถุประสงค์การใช้เงินกู้ทชี่ ดั เจน และกำ�หนดระยะเวลาการชำ�ระคืนสอดคล้องกับความคืบหน้า ของโครงการหรื อ กระแสเงิ น สดของโครงการหรื อ ของ กิจการเพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการในการลงทุนในโครงการ ต่างๆ เช่น การขยายกิจการ สร้างโรงงาน/อาคารสำ�นักงาน การซื้อสินทรัพย์ถาวร อาทิ เครื่องจักร ยานพาหนะ และ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เช่น ซื้อที่ดินเพื่อสร้างโรงงาน ซื้อบ้านพักรับรอง - สินเชื่อแฟคตอริ่ง เป็นบริการทางการเงินอีกรูปแบบหนึ่งเพื่อเป็น เงินทุนหมุนเวียน ช่วยเพิ่มสภาพคล่องทางการเงินให้แก่ ผู้ประกอบการ โดยการโอนสิทธิการรับเงินจากลูกหนี้ ให้ ธนาคารหลังจากผู้ประกอบการได้ส่งสินค้า / ให้บริการกับ ลูกค้า (ลูกหนี)้ เรียบร้อยแล้ว โดยส่งเอกสารทางการค้า อาทิ ใบอินวอยซ์ ใบสัง่ ซือ้ ใบส่งของ ใบวางบิล และใบเสร็จรับเงิน มายังธนาคารก็จะได้รับเงินตามอัตราส่วนที่ตกลงกัน โดย ไม่ต้องมีหลักทรัพย์อื่นค้ำ�ประกัน เช่น ได้รับเงินร้อยละ 70 - 80 ของใบอินวอยซ์ ใบสั่งซื้อ ใบส่งของ ใบวางบิล และ ใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น และเมื่อลูกหนี้การค้าจ่ายชำ�ระหนี้ ให้ธนาคารเรียบร้อยแล้ว ธนาคารจะจ่ายเงินค่าสินค้าส่วนที่ เหลือให้แก่ลูกค้า

- สินเชื่อเช่าซื้อ - เพื่อการพาณิชย์ เป็ น บริ การสิ น เชื่ อ รถยนต์ เ พื่ อ การพาณิ ช ย์ สำ�หรับผู้ประกอบการธุรกิจโลจิสติกส์ ธุรกิจบริการรถเช่า และอื่นๆ - บริการออกหนังสือค้ำ�ประกัน อาวัล และ รับรองตั๋วเงิน เป็นบริการออกหนังสือค้ำ�ประกัน อาวัล และ รับรองตัว๋ เงิน สำ�หรับลูกค้าทีต่ อ้ งการใช้วางหนังสือค้�ำ ประกัน ให้กับหน่วยงานผู้ว่าจ้างหรือการยื่นประมูลงาน เช่น 1. หนังสือค้ำ�ประกันการยื่นซองประกวดราคา หรือยื่นซองประมูล (Bid Bond / Tender Guarantee) 2. หนังสือค้�ำ ประกันการปฏิบตั ติ ามสัญญาหรือ สัญญาค้ำ�ประกันผลงาน (Performance Bond) 3. หนั ง สื อ ค้ำ � ประกั น การชำ � ระเงิ น ล่ ว งหน้ า (Advance Payment Guarantee / Security) และหนังสือค้�ำ ประกันการเบิกเงินประกันผลงาน (Retention Guarantee) - บริการให้ค�ำ ปรึกษาและบริการอืน่ ๆ ด้านสินเชือ่ เป็นบริการให้คำ�ปรึกษาและบริการอื่นๆ ด้าน สินเชื่อที่ครบวงจร เช่น การให้คำ�ปรึกษาด้านโครงสร้าง ทางการเงิน การเป็นผู้จัดหาเงินกู้ร่วม (Syndicated Loan) ตัวแทนสินเชื่อ (Facility Agent) และตัวแทนหลักประกัน (Security Agent) 3. สินเชื่อรายย่อย (Retail) เป็นบริการสินเชื่อกับกลุ่มลูกค้ารายย่อยที่เป็น บุคคลธรรมดา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการอุปโภคบริโภค เป็นหลัก โดยแบ่งประเภทสินเชื่อตามวัตถุประสงค์ของการ กู้ยืม ดังนี้ • สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย - สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย เป็นบริการสินเชื่อ สำ�หรับผู้ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัยทุกโครงการ - สินเชื่อ Refinance เป็นบริการสินเชื่อ เพื่ อ ชำ � ระหนี้ สิ น เชื่ อ เพื่ อ ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของสถาบั น การเงิ น เดิม สามารถขอวงเงินเพิ่มสำ�หรับการต่อเติม ตกแต่ง ซื้อเฟอร์นิเจอร์ ด้วยเงื่อนไขพิเศษ • สินเชือ่ อเนกประสงค์ เป็นบริการสินเชือ่ โดยนำ� ที่อยู่อาศัยปลอดภาระ เช่น บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ หรือ ห้องชุดมาเป็นหลักประกัน เพือ่ นำ�เงินไปใช้ในเรือ่ งต่างๆ เช่น เพื่อซ่อมแซม ต่อเติมที่อยู่อาศัย ใช้ในการประกอบธุรกิจ หรือใช้จ่ายในวัตถุประสงค์อื่นๆ ตามต้องการ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

กลยุทธ์การแข่งขันบริการด้านสินเชื่อ ธนาคารแบ่งลูกค้าออกเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถ เข้าถึงความต้องการ โดยมุง่ เน้นการพัฒนาความสัมพันธ์อนั ดี กับกลุ่มลูกค้าทุกกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ และบริการทางการเงินที่ครบวงจรเพื่อสามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่มได้อย่างชัดเจน โดย จะพิจารณาจัดรูปแบบสินเชื่อ อัตราดอกเบี้ย ประเภทวงเงิน ระยะเวลาการชำ�ระคืนทีเ่ หมาะสมกับประเภทธุรกิจของลูกค้า แต่ละรายและมีกระบวนการพิจารณาสินเชื่อที่รวดเร็ว เพื่อขยายฐานลูกค้า SMEs ธนาคารเน้นกลยุทธ์ การขยายสินเชื่อแก่ลูกค้าเดิมที่มีประวัติการชำ�ระดีเพื่อเพิ่ม โอกาสทางธุรกิจและรักษาฐานลูกค้าเดิมให้อยู่กับธนาคาร อย่างยาวนาน สำ�หรับฐานลูกค้าใหม่ธนาคารตั้งเป้าขยาย สินเชื่อไปที่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่มีฐานะการเงินดี และใช้ กลยุทธ์ ให้สาขาของธนาคารทั้งในกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล รวมถึงภูมิภาคทั่วประเทศเป็นผู้แนะนำ�สินเชื่อ รวมทั้งให้ลูกค้าเดิมแนะนำ�บริการสินเชื่อของธนาคารไปยัง เพื่อน หรือคู่ค้าทางธุรกิจให้มาใช้บริการสินเชื่อของธนาคาร กลยุทธ์การปล่อยสินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ธนาคาร ใช้กลยุทธ์ในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายโดยการเน้นการ บริการที่ดีมีคุณภาพและรวดเร็ว รวมถึงการสร้างความ สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ประกอบการและพนักงานขายของโครงการ ทีอ่ ยูอ่ าศัยและการจัดรายการส่งเสริมการขายตามวาระพิเศษ 3. บริการด้านอิเล็กทรอนิกส์

บริการด้านอิเล็กทรอนิกส์เป็นบริการที่ธนาคาร ให้ความสำ�คัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทย และสังคมไทยกำ�ลังเข้าสู่ยุคดิจิตอล ดังนั้นการทำ�ธุรกรรม หรือบริการ จากนี้ไปจะเน้นเรือ่ งดิจติ อลเป็นหลัก ธนาคารได้

25

พัฒนาและเพิ่มบริการด้านอิเล็กทรอนิกส์อย่างต่ อเนื่ อง เพื่อรองรับการทำ�ธุรกรรมทางการเงินในยุคดิจิตอล เช่น - บริการตู้เอทีเอ็ม เป็นบริการถอนเงินสด โอนเงินชำ�ระค่าสินค้าและบริการ การโอนเงินพร้อมเพย์ที่ ตู้เอทีเอ็มของธนาคารไปยังบุคคลทั่วไป โดยตู้เอทีเอ็มของ ธนาคารสามารถรับบัตรเอทีเอ็มและบัตรเดบิตทุกธนาคาร รวมถึงบัตร JCB (Japan Credit Bureau) และบัตร UPI (UnionPay International) ที่เป็น Chip Card เพื่อให้บริการ แก่นักธุรกิจ นักท่องเที่ยว และบุคคลทั่วไป ให้สามารถถอน เงินสดเป็นสกุลเงินบาทได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ธนาคารมีตู้เอทีเอ็ม จำ�นวน 204 เครือ่ ง โดยแบ่งเป็นตูเ้ อทีเอ็ม จำ�นวน 199 เครือ่ ง และตู้ฝาก-ถอนเงิน หรือ R-ATM จำ�นวน 5 เครื่อง - บริการบัตรเดบิต (LH Bank Debit Chip Card) เป็นบัตรที่ใช้ทำ�ธุรกรรมทางการเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม ได้ทุกตู้ ทุกธนาคารทั่วประเทศ ปลอดภัยด้วยการบันทึกข้อมูลบน Chip Card จึงไม่ตอ้ งกลัวการถูกคัดลอกข้อมูลจากบัตร อีกทัง้ ยังสามารถนำ�บัตรไปใช้สอบถามยอดและถอนเงินที่เครื่อง เอทีเอ็มต่างประเทศทีม่ สี ญั ลักษณ์ UnionPay International และสามารถซือ้ สินค้าและบริการทีร่ า้ นค้าหรือ Online Shopping ได้อย่างสะดวก พร้อมรับสิทธิพเิ ศษมากมายจากร้านค้าทีเ่ ข้าร่วม โปรโมชั่นกับ UnionPay International - บริการบัตรเดบิตพรีเมีย่ ม (LH Bank Premium) เป็นบัตรที่คุ้มครองอุบัติเหตุส่วนบุคคลสูงสุด 300,000 บาท ซึง่ รับประกันภัยโดยบมจ.ชับบ์สามัคคีประกันภัย โดยไม่ตอ้ ง ตรวจสุขภาพ เพียงแถลงประวัตสิ ขุ ภาพในใบสมัคร คุม้ ครอง ทันที สำ�หรับค่ารักษาพยาบาลเนื่องจากอุบัติเหตุ เพียงยื่น บัตร LH Bank Premium พร้อมบัตรประชาชน กับสถาน พยาบาลคู่สัญญา


26

รายงานประจำ�ปี 2560

- บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต (LH Bank Speedy) เป็นบริการที่ช่วยอำ�นวยความสะดวกในการทำ� ธุรกรรมทางการเงินที่สามารถทำ�ธุรกรรมได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยแบบ Double Security ทีท่ �ำ ให้การทำ�ธุรกรรมทางการเงินมีความมัน่ ใจ มีเมนูใช้งานง่าย สามารถทำ�รายการโอนเงินภายในธนาคาร และโอนเงิน ต่างธนาคาร รวมถึงการโอนเงินพร้อมเพย์ไปยังบุคคลทัว่ ไป การชำ�ระค่าสินค้าและบริการ ชำ�ระสินเชือ่ ตรวจสอบสถานะเช็ค หรืออายัดเช็ค ดูกองทุน ดูประกันทีซ่ อ้ื ผ่านธนาคาร ตรวจสอบ สถานะบัญชี ค้นหาทีต่ งั้ สาขาของธนาคาร และเพือ่ เพิม่ ความ ปลอดภัยเมื่อทำ�ธุรกรรม ธนาคารจะส่ง SMS แจ้งผลการทำ� ธุรกรรมให้ลูกค้าทราบทุกครั้ง ที่มีการทำ�รายการในทันที - บริการโอนเงิน เป็นบริการที่อำ�นวยความ สะดวกให้แก่ลูกค้าที่สามารถโอนเงินภายในบัญชี โอนเงิน ให้กบั บุคคลอืน่ ภายในธนาคาร โอนเงินต่างธนาคาร โอนเงิน รายย่อยอัตโนมัติ (ATS) และโอนเงินรายใหญ่ระหว่าง ธนาคาร (BAHTNET) - บริ การโอนเงิ น ผ่ า นเคาน์ เ ตอร์ ส าขาของ ธนาคารไปยังบัญชีต่างธนาคาร (Counter-ORFT) เป็น บริการที่ลูกค้าสามารถทำ�รายการผ่านเคาน์เตอร์สาขาของ ธนาคารได้ทุกสาขา ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว ซึ่งสามารถ โอนเงิ น เข้ า บั ญ ชี ผู้ รั บ โอนที่ มี บั ญ ชี กั บ ธนาคารอื่ น ได้ ทุกธนาคาร - บริ การฝากเงิ น ผ่ า นเครื่ อ งรั บ ฝากเงิ น สด อัตโนมัติ (LH Bank CDM) เป็นบริการฝากเงินโดยไม่ต้อง ใช้บัตรเอทีเอ็ม ไม่ต้องใช้สมุดคู่ฝาก ฝากได้ทุกวัน ทุกเวลา และสามารถฝากเงินเข้าบัญชีภายในธนาคารหรือต่างธนาคาร - บริการ Cash Management เป็นบริการ ทางการเงินสำ�หรับธุรกิจที่สะดวก รวดเร็ว ลดงานเอกสาร ลดต้นทุนการบริหาร เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการธุรกิจ อย่างลงตัว ได้แก่ 1. บริ ก ารจ่ า ยเงิ น เดื อ นพนั ก งาน โดยทำ � รายการโอนเงินที่มีจำ�นวนรายการมากๆ ด้วยการส่งคำ�สั่งเพียงครั้งเดียว 2. บริการโอนเงินรายย่อยต่างธนาคาร (Bulk Payment) โดยทำ�รายการโอนที่มีจำ�นวน รายการมากๆ ด้วยการส่งคำ�สัง่ เพียงครัง้ เดียว 3. บริการตัวแทนรับชำ�ระค่าสินค้าและบริการ ผ่านธนาคาร (Bill Payment) 4. บริการตัดบัญชี/โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝาก อัตโนมัติ (Direct Debit / Direct Credit) - บริ ก ารทางการเงิ น ผ่ า นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ (LH Bank M Choice) เป็นบริการทีส่ ามารถทำ�ธุรกรรมทางการเงิน ได้สะดวก รวดเร็ว ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านโทรศัพท์มอื ถือ โดยไม่มีข้อจำ�กัดด้านเครือข่าย ไม่ต้องเปลี่ยนซิม - บริการ SMS Alert เป็นบริการส่งข้อความ SMS แจ้งเตือนเมื่อมีเงินเข้าออกผ่านบัญชีเงินฝากของ ลูกค้าผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ทำ�ให้รู้สถานะของบัญชีเพื่อ

เพิ่มความมั่นใจ ในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินมากยิ่งขึ้น โดยสามารถเลือกวงเงินแจ้งเตือนได้ตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป เพียงลงทะเบียนสมัครใช้บริการ LH Bank SMS Alert ทีส่ าขา ธนาคาร หรือ Call Center 0 2359 0000 หรือ ที่ตู้เอทีเอ็ม หรือบริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต - บริการรับชำ�ระภาษีกับกรมสรรพากร เพื่อ อำ�นวยความสะดวกและเพิ่มช่องทางการให้บริการแก่ลูกค้า และประชาชนทัว่ ไปในการชำ�ระภาษีผา่ นช่องทางต่างๆ อาทิ ผ่านเครือข่ายสาขาของ LH Bank ผ่านตู้เอทีเอ็ม LH Bank หรือผ่านบริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต LH Bank Speedy - บริการพร้อมเพย์ (LH Bank PromptPay) เป็นบริการรับ-โอนเงินรูปแบบใหม่ โดยการผูกบัญชีเงินฝาก ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กับหมายเลขบัตรประชาชน, หมายเลขโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หรื อ หมายเลข e-Wallet ก็สามารถรับ-โอนเงินได้งา่ ยๆ โดยไม่ตอ้ งใช้เลขทีบ่ ญั ชีเงินฝาก - บริการพร้อมเพย์นติ บิ คุ คล (LH Bank Business PromptPay) เป็ น บริ ก ารโอนเงิ น และรั บ โอนเงิ น ทางเลือกใหม่ส�ำ หรับบริษทั /องค์กร โดยผูกบัญชีเงินฝากของ บริษัท + เลขประจำ�ตัวผู้เสียภาษี 13 หลัก ประโยชน์ที่ได้รับจากบริการพร้อมเพย์ สะดวก รวดเร็ว - สามารถโอนเงินไปยังผู้รับเงินปลายทางได้ ทุกธนาคารทั่วประเทศ เพียงใช้หมายเลขโทรศัพท์มือถือ, เลขประจำ�ตัวประชาชน, หมายเลขผูเ้ สียภาษี หรือหมายเลข e-Wallet ของผู้รับเงินปลายทางแทนเลขที่บัญชีเงินฝาก


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

4. บริการด้านอื่นๆ

- สามารถรับเงินจากภาครัฐเข้าบัญชีได้โดยตรง ด้วยเลขประจำ�ตัวประชาชน - เป็นช่องทางสำ�หรับการรับคืนเงินภาษีจาก กรมสรรพกร ปลอดภัย - ลดความเสี่ยงจากการพกพาเงินสด ส่งมอบ เงินสดและสามารถตรวจสอบรายการโอนเงินได้ ประหยัด - ค่าธรรมเนียมการใช้บริการต่ำ�กว่าการโอนเงิน แบบอื่น ๆ เพิ่มความคุ้มค่าและสิทธิประโยชน์ต่างๆ เมื่อ สมัครใช้บริการพร้อมเพย์คู่กับบัญชีเงินฝากออมทรัพย์/ บัญชีกระแสรายวันของ LH Bank จะได้รับสิทธิประโยชน์ที่ เพิ่มขึ้นดังนี้ 1. ประหยัด บัตรเอทีเอ็ม บัตรเดบิต LH Bank กดฟรีทั่วประเทศผ่านตู้เอทีเอ็ม LH Bank ไม่ จำ � กั ด จำ � นวนครั้ ง และกดฟรี 6 ครั้ ง ต่อเดือน ผ่านตู้เอทีเอ็มต่างธนาคาร 2. สะดวก ใช้บริการได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา ด้ ว ย บ ริ ก า ร อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต แ บ ง ก์ กิ้ ง (LH Bank Speedy) และบริการทางการเงิน ผ่านโทรศัพท์มือถือ (LH Bank M Choice) 3. คุม้ ค่า รับดอกเบีย้ สูง และสามารถเบิกถอน เมื่อไหร่ก็ได้ 4. คุ้มครอง ฟรีประกันอุบัติเหตุกรณีเสียชีวิต ไม่ ต้ อ งจ่ า ยค่ า เบี้ ย ประกั น ไม่ ต้ อ งตรวจ สุขภาพ ให้ความคุม้ ครองสูงสุด 25 เท่าของ ยอดเงินฝากคงเหลือ เมื่อผูกบัญชีเงินฝาก คุ้มครองชีวิต 1 กับบริการพร้อมเพย์

27

• บริการด้านประกัน มีผลิตภัณฑ์ประกันให้ เลือกหลายแบบตามความต้องการของลูกค้า ทัง้ ประกันชีวติ และประกันวินาศภัย โดยมีผลิตภัณฑ์ของบริษทั ประกันต่างๆ ให้เลือก ดังนี้ • บริการเป็นนายหน้าประกันชีวิต ให้กับ - บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำ�กัด (มหาชน) - บริษทั ไทยสมุทรประกันชีวติ จำ�กัด (มหาชน) - บริษัท เอ ไอ เอ จำ�กัด • บริ ก ารเป็ น นายหน้ า ประกั นวิ นาศภั ย ให้กับ - บริษทั ชับบ์สามัคคีประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) - บริ ษั ท จรั ญ ประกั น ภั ย จำ � กั ด (มหาชน) - บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) - บริ ษั ท กรุ ง ไทยพานิ ช ประกั น ภั ย จำ�กัด (มหาชน) - บริ ษั ท ทิ พ ยประกั น ภั ย จำ � กั ด (มหาชน) - บริ ษั ท วิ ริ ย ะประกั น ภั ย จำ � กั ด (มหาชน) • บริ การซื้ อ ขายหน่ ว ยลงทุ น ธนาคารเป็ น ผู้ ส นั บ สนุ น การขายและรั บ ซื้ อ คื น หน่ ว ยลงทุ น ให้ กั บ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนต่างๆ ซึง่ มีกองทุนประเภทต่างๆ ทั้งตราสารหนี้และตราสารทุน กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund หรือ RMF) และกองทุนรวมหุ้น ระยะยาว (Long Term Equity Fund หรือ LTF) ดังนี้ • บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (LH FUND) • บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แอสเซท พลัส จำ�กัด (ASP) • บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ซีไอเอ็มบีพรินซิเพิล จำ�กัด (CPAM) • บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น เอ็มเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) (MFC) • บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ไทยพาณิชย์ จำ�กัด (SCBAM) • บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด (ONEAM) • บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) (KTAM) • บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนทหารไทย จำ�กัด (TMBAM)


28

รายงานประจำ�ปี 2560

• บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน โซลาริส จำ�กัด (S-FUND) • บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กรุงศรี จำ�กัด (KSAM) • บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด (PHATRA) • บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ยูโอบี (ประเทศไทย) จำ�กัด (UOBAM) • บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทิสโก้ จำ�กัด (TISCO) • บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จำ�กัด (KASSET) • บริการ LH Bank Privilege Banking เป็น บริ ก ารทางการเงิ น รู ป แบบใหม่ ด้ ว ยบริ ก ารเหนื อ ระดั บ เอกสิทธิส์ �ำ หรับลูกค้าระดับพรีเมีย่ ม ด้วยสิทธิประโยชน์ตา่ งๆ อาทิ บริการให้ค�ำ ปรึกษาและวางแผนด้านการเงิน ช่วยดูแล และบริ ห ารเงิ น ในพอร์ ต อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บริ ก าร ช่วยเหลือฉุกเฉินบนท้องถนนและภายในบ้าน • บริการฝาก-ถอน ไม่ต้องเขียนสลิป เป็น บริ การที่ เ พิ่ มความสะดวกให้กับ ลูก ค้าที่เข้ามาใช้บริการ ที่สาขาเพียงลูกค้าแจ้งความประสงค์ ฝาก-ถอน เงินสดกับ พนักงานพนักงานจะทำ�รายการและจัดทำ�สลิปให้ลกู ค้าลงนาม • บริการรับคำ�ขอตรวจเครดิตบูโรผ่านเคาน์เตอร์ ธนาคาร เป็นบริการที่อำ�นวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าและ ประชาชนทั่วไปที่ต้องการตรวจสอบข้อมูลเครดิตของตนเอง โดยสามารถใช้บริการได้ทเ่ี คาน์เตอร์ของธนาคารได้ทกุ สาขา ทัว่ ประเทศ • บริการทางการเงินบนรถตู้เคลื่อนที่ เปรียบ เสมื อ นสาขาเคลื่ อ นที่ ข องธนาคาร เพื่ อ เพิ่ ม ช่ อ งทาง การให้บริการทางการเงินแก่ลกู ค้าตามจุดต่างๆ โดยธุรกรรม ทางการเงินที่ ให้บริการ ได้แก่ บริการเปิดบัญชีเงินฝาก บริการรับฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงิน รับชำ�ระค่าสินค้าและ บริการ • บริการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน อาทิ แคชเชียร์เช็ค และเช็คของขวัญ • บริการรับชำ�ระค่าสินค้าและบริการ อาทิ ค่าสาธารณูปโภค ค่าบัตรเครดิต ค่าเบี้ยประกันชีวิต และ ค่าใช้จ่ายต่างๆ รวมถึงระบบหักบัญชีอัตโนมัติ ซึ่งธนาคาร เป็นตัวแทนของเคาน์เตอร์เซอร์วิส (Counter Service) และ ทรูมันนี่ (True Money) ในการเป็นจุดรับชำ�ระค่าสินค้าและ บริการมากกว่า 500 บริการ • บริการเป็นผูแ้ นะนำ�ลูกค้าให้บริษทั หลักทรัพย์ ให้กบั บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) • บริการเป็นผู้แนะนำ�กองทุนส่วนบุคคล ให้ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด • บริการอื่นๆ เช่น บริการให้เช่าตู้นิรภัย

ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ โอกาสหรื อ ข้ อ จำ � กั ด ใน การประกอบธุรกิจ ฐานลูกค้าอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทในกลุ่มบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ เป็นผูน้ �ำ ตลาดอสังหาริมทรัพย์ของ ประเทศเป็ น ประโยชน์ ต่อ การปล่ อ ยสิ น เชื่อ ของธนาคาร โดยเฉพาะอย่างยิง่ สินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย รวมไปถึงเป็นโอกาส ในการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินอื่นๆ ให้กับ ลูกค้าดังกล่าว นอกจากนี้ ธนาคารยังมีโอกาสในการปล่อย สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้กับบริษัทคู่ค้า ต่างๆ ของบริษัทในกลุ่มบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) เป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจ การขยายบริการด้านสินเชื่อไปยังลูกค้ากลุ่มใหม่ๆ การขยายฐานลูกค้าเงินฝาก การเพิม่ ช่องทางการให้บริการ เพือ่ ขยายฐานรายได้ค่าธรรมเนียม การให้ความสำ�คัญกับการ พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และความชำ�นาญในผลิตภัณฑ์ ทางการเงิน รวมทั้งพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อตอบ สนองความต้องการของลูกค้า และพัฒนาระบบสารสนเทศ เพือ่ ช่วยให้การทำ�งานรวดเร็วและมุง่ สูก่ ารเป็น Digital Banking ธนาคารได้ให้บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต และได้ตอ่ ยอด พัฒนาเป็นรูปแบบแอพพลิเคชัน่ เพือ่ ทำ�ธุรกรรมทางการเงิน บนโทรศัพท์มอื ถือ รวมทัง้ การทำ�การตลาดผ่าน Social Media เช่ น Line Facebook และ Youtube เพื่ อ เพิ่ ม ช่องทางการสื่อสารเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น นอกจากเป้ า หมายการขยายฐานด้ า นธุ ร กิ จ แล้ ว ธนาคารได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การดำ � เนิ น กิ จ การตาม หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การป้องกันการจ่ายเงินเพื่อ การคอร์รัปชั่น การเสริมสร้างระบบบริหารความเสี่ยงที่ ครอบคลุม รวมถึงการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม 2.3 ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ � กั ด ประกอบธุ ร กิ จ จั ด การกองทุ น รวม กองทุ น รวม อสังหาริมทรัพย์ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ กองทุ น สำ � รองเลี้ ย งชี พ และกองทุ น ส่ ว นบุ ค คล บริ ษั ท วางแผนกลยุ ท ธ์ แ ละแผนธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิสัยทัศน์และพันธกิจของบริษัท และมีการติดตาม ทบทวน แผนการดำ�เนินงานอย่างสม่�ำ เสมอเพือ่ ให้ทนั ต่อสถานการณ์ และสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา รวมทั้ง ได้ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินกิจการตามหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี การป้องกันการจ่ายเงินเพื่อการคอร์รัปชั่น การเสริมสร้างระบบบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุม รวมถึง การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ เมื่อเดือนตุลาคม 2557 บริษัทได้รับการรับรองเป็นสมาชิก


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยใน การต่อต้านการทุจริต บริษัทได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ แบบ ค 1.1 ประเภทการจัดการกองทุนรวม 1.2 ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล 1.3 ประเภทการเป็นนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์ ที่เป็นหน่วยลงทุน 1.4 ประเภทการค้าหลักทรัพย์ทเี่ ป็นหน่วยลงทุน 1.5 ประเภทการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ที่เป็น หน่วยลงทุน 1.6 ประเภทการเป็นที่ปรึกษาการลงทุน 1.7 ประเภทการจัดการเงินร่วมลงทุน 2. ใบอนุญาตประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า 2.1 ประเภทการเป็ น ผู้ จั ด การเงิ น ทุ น สั ญ ญา ซื้อขายล่วงหน้า 2.2 ประเภทการเป็นที่ปรึกษาสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า 3. การเป็ น ผู้ จั ด การกองทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในอสังหาริมทรัพย์ 4. การเป็ น ทรั ส ตี ข องทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในอสังหาริมทรัพย์

29

วิสัยทัศน์ (Vision) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด จะเป็นบริษทั ทีม่ มี าตรฐานประกอบธุรกิจ โดยคำ�นึงถึง หลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยมุง่ เน้นให้มกี ารปฏิบตั งิ าน ที่คำ�นึงและรักษาผลประโยชน์ที่เหมาะสมที่สุดให้แก่ลูกค้า ภายใต้หลักความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) และ หลักความระมัดระวัง (Duty of Care) พันธกิจ (Mission) เป็นธุรกิจที่ช่วยเสริมศักยภาพในการแข่งขันให้แก่ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ในการให้ บ ริ การทางการเงิ น เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ทั้ ง ในวั ต ถุ ป ระสงค์ ของการออมและการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัทให้มีบริการที่หลากหลายขึ้น และเพื่ อ เป็นทางเลือกให้แก่ผ้สู นใจลงทุนโดยการลงทุนผ่าน กองทุนรวม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพือ่ การลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และกองทุน ส่วนบุคคล ซึง่ มีผบู้ ริหารจัดการลงทุนทีเ่ ป็นมืออาชีพดูแลจัดการ ลงทุนให้เป็นบริษัทจัดการที่สร้างผลตอบแทนให้เป็นที่พอใจ ทั้งแก่ผู้ถือหน่วยและผู้ถือหุ้นของกิจการ


30

รายงานประจำ�ปี 2560

ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ให้ความสำ�คัญและเน้นการทำ�ตลาดให้มคี วามหลากหลาย เพื่อให้ครอบคลุมทุกระดับความต้องการและทุกกลุ่มของ ผู้ ล งทุ น และเสนอขายหน่ ว ยลงทุ น ผ่ า นช่ อ งทางการ จัดจำ�หน่ายหลายช่องทาง ได้แก่ สาขาของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และผู้สนับสนุนการขายหรือ รับซื้อคืนหน่วยลงทุนอื่น รวมทั้งการจัดให้มีบุคลากรที่มี คุณสมบัติตามที่กฎหมายกำ�หนด ควบคุมดูแลให้พนักงาน ปฏิ บั ติ ตามกฎหมาย และกฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่ า ง เคร่งครัดโดยลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ มีดังนี้ • กองทุนรวม เป็นบริการจัดการกองทุนรวม โดย เสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนทั่วไป ผู้ลงทุนสถาบัน โดยพิ จารณาจากความต้อ งการของผู้ลงทุน บริษัทเน้น วิธกี ารจัดการลงทุนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ การลงทุนอย่างสม่�ำ เสมอ รวมถึงการบริหารความเสีย่ ง ในการลงทุ น และรายงานสภาพตลาดการลงทุ น และ ความเสี่ยงในการลงทุนให้ผู้ลงทุนทราบอย่างสม่ำ�เสมอ • กองทุ น รวมอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เป็ น บริ ก าร จัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ที่เน้นการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ที่มีรายได้ประจำ� เช่น อาคารสำ�นักงาน เซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ โดยรายได้สุทธิที่เกิดจากกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์จะถูกส่งไปให้ผลู้ งทุนในรูปเงินปันผล รวมถึง การรายงานข้อมูลมูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิของกองทุนรวมอย่าง สม่ำ�เสมอ และจัดทำ�รายงานประจำ�ปีส่งให้ผู้ถือหน่วย • กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เป็นบริการจัดการลงทุน ให้แก่กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ซึ่งจัดตั้งโดยความสมัครใจ ของบริษทั นายจ้างทีต่ อ้ งการออมเงินเพือ่ เป็นสวัสดิการให้แก่ พนักงาน และให้พนักงานออมเงินเข้ากองทุนอีกส่วนหนึ่ง เมื่อออกจากงานหรือเกษียณอายุ สมาชิกจะได้รับสิทธิ ประโยชน์ทางภาษี ซึ่งบริษัทจะนำ�เงินดังกล่าวไปลงทุนให้ เหมาะสมกับภาวะการลงทุนในแต่ละช่วงเวลาเพือ่ ให้เงินออม มีผลประโยชน์สะสมให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสมและพอเพียง สำ�หรับการดำ�รงชีวิตภายหลังเกษียณหรือพ้นสภาพการเป็น พนักงาน ซึง่ กองทุนมีทงั้ รูปแบบที่ให้พนักงานตัดสินใจเลือก นโยบายการลงทุนเองให้เหมาะกับความต้องการและความเสีย่ ง ทีย่ อมรับได้ หรือแบบทีค่ ณะกรรมการกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ เป็นผูเ้ ลือก โดยบริษทั มีการจัดทำ�รายงานสรุปยอดเงินลงทุน และประเมินผลตอบแทนให้แก่พนักงาน และบริษัทนายจ้าง อย่างสม่ำ�เสมอ • กองทุนส่วนบุคคล เป็นบริการจัดการลงทุนแก่ ผู้ลงทุนทั้งบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล การจัดการกองทุน ส่วนบุคคล ซึ่งครอบคลุมการจัดการลงทุนในหลักทรัพย์ ประเภทต่างๆ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ หุ้นทุน และหน่วยลงทุน โดยพิ จารณาจากระดั บ ความเสี่ ย งที่ เ หมาะสมกั บ ลู ก ค้ า และมีการจัดทำ�รายงานสรุปและประเมินผลให้แก่ลูกค้า อย่างสม่ำ�เสมอ

• ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เป็นบริการ ในฐานะผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งสามารถลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ได้หลากหลายประเภท มากขึ้น รวมถึงอสังหาริมทรัพย์ ในต่างประเทศ ผู้จัดการ กองทรัสต์จะลงทุนและบริหารจัดการทรัสต์ โดยมุ่งสร้าง ผลประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตลอดจนมี การรายงานข้อมูลมูลค่าสินทรัพย์สุทธิอย่างสม่ำ�เสมอ และ จัดประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์เป็นประจำ�ทุกปี • ทรัสตีของทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เป็ น บริ ก ารในฐานะทรั ส ตี ข องทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ใน อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ ง จะควบคุ ม ดู แ ลการบริ ห ารงาน กองทรัสต์ของผู้จัดการกองทรัสต์ เพื่อให้เป็นไปตามสัญญา ก่อตัง้ ทรัสต์ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของ ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ โอกาสหรื อ ข้ อ จำ � กั ด ใน การประกอบธุรกิจ ปี 2560 แม้ว่าจะเป็นปีที่เศรษฐกิจโลกจะมีทิศทาง การขยายตัวต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา แต่การเติบโตของ เศรษฐกิ จ โลก อาจส่ ง ผลให้ อั ต ราเงิ น เฟ้ อ ทั่ ว โลกเร่ ง ตั ว สูงขึ้นเร็วกว่าที่ตลาดคาดไว้ ซึ่งอาจเป็นผลให้ธนาคารกลาง ในประเทศหลักทัว่ โลกใช้นโยบายการเงินทีเ่ ข้มงวดขึน้ ผลักดัน ให้อัตราดอกเบี้ยทั่วโลกอาจปรับตัวสูงขึ้น ทำ�ให้การลงทุน ในตลาดหุน้ ทัว่ โลกได้รบั ความน่าสนใจน้อยลง และเนือ่ งจาก แผนงานบริษัทในปีนี้ ซึ่งมุ่งเน้นขยายขนาดและจำ�นวน กองทุนส่วนใหญ่ซึ่งเป็นกองทุนประเภทตราสารทุน ดังนั้น หากความน่าสนใจต่อการลงทุนในสินทรัพย์ประเภทหุ้นหรือ ตราสารทุนได้รบั ความน่าสนใจลดลง อาจกระทบกับแผนงาน ของบริษัทได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั มีแผนรองรับหากเกิดกรณีดงั กล่าว ไว้แล้ว เช่น การออกกองทุนประเภทผสม กองทุนประเภท ตราสารหนีท้ วั่ โลกระยะสัน้ เพือ่ ลดความเสีย่ งหากสินทรัพย์ ประเภทหุน้ หรือตราสารทุนได้รบั ความสนใจจากตลาดลดลง


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ ปี 2561 บริษทั จะเพิม่ ส่วนแบ่งการตลาดในการบริหาร กองทุ น รวม ได้ แ ก่ กองทุ น รวม กองทุ น ส่ ว นบุ ค คล กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ทรัสต์เพื่อลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และการให้ บ ริ การเป็ น ทรั ส ตี ข องทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ใน อสังหาริมทรัพย์ และบริษัทจะเพิ่มบริการ เช่น ธุรกิจการ เป็นนายทะเบียนของกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และธุรกิจการ เป็นตัวแทนขายหน่วยลงทุน เป็นต้น นอกจากนี้บริษัทมี เป้าหมายเพิ่มช่องทางการจำ�หน่ายหน่วยลงทุนของกองทุน รวมผ่านธนาคารพาณิชย์ที่เป็นผู้สนับสนุนการขาย (Open Architecture) ที่มีนโยบายเปิดกว้างในการนำ�เสนอกองทุน รวมของบริ ษั ท จั ด การอื่ น ๆ เสนอขายให้ กั บ ลู ก ค้ า ของ ธนาคาร และเพิ่ ม ช่ อ งทางให้ ลู ก ค้ า ผู้ ถื อ หน่ ว ยสามารถ ทำ�รายการซื้อและขายคืนหน่วยลงทุนของกองทุนรวมผ่าน ระบบอินเตอร์เน็ต (Internet Trading) เพื่อเป็นการอำ�นวย ความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งาน และให้ลูกค้า สามารถเข้าถึงกองทุนรวมภายใต้การบริหารจัดการของ บริษัทได้ง่ายขึ้น 2.4 ธุรกิจหลักทรัพย์ บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เปิ ด ให้ บ ริ ก ารธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ ภายใต้ ชื่ อ ย่ อ “LHS” โดยเป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมายเลข 5 และได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจดังนี้ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ แบบ ก 1) การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ 2) การค้าหลักทรัพย์ 3) การจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ 4) การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน 5) การจัดการกองทุนรวม 6) การจัดการกองทุนส่วนบุคคล 7) กิจการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ 8) การจัดการเงินร่วมทุน ใบอนุญาตประกอบธุรกิจสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า แบบ ส-1 1) การเป็นตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า 2) การเป็นผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้า 3) การเป็นที่ปรึกษาสัญญาซื้อขายล่วงหน้า 4) การเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท • ธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ บริษัทให้บริการนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์กับลูกค้า บุคคลธรรมดา ลูกค้านิตบิ คุ คล และลูกค้าสถาบัน โดย ประเภทบัญชีซอื้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั แบ่งได้เป็น 3 แบบ ดังนี้ 1. บัญชีเงินสด (Cash Account) 2. บัญชีเงินฝาก (Cash Balance Account)

31

3. บัญชีเงินกู้ยืมเพื่อซื้อขายหลักทรัพย์ (Credit Balance Account) ลูกค้าสามารถทำ�รายการซื้อขายได้ 2 ช่องทาง คือ การซื้อขายผ่านผู้แนะนำ�การลงทุน และการซื้อขายผ่าน ระบบอินเตอร์เน็ต (Internet Trading) หรือระบบ PROMPT TRADE ที่บริษัทได้พัฒนาขึ้นเพื่ออำ�นวยความสะดวกให้ แก่ลูกค้า ระบบ PROMPT TRADE เป็นระบบการส่งคำ�สั่ง ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ท่ีบ ริ ษัท ได้ พัฒ นาขึ้น จากระบบต่ า งๆ ทีไ่ ด้รบั ความนิยมในหมูผ่ ลู้ งทุน อาทิระบบ eFin Trade+ และ Streaming โดยบริษัทได้เพิ่มเครื่องมือสนับสนุนการลงทุน เครื่องมือวิเคราะห์ทางเทคนิคและบริการข้อมูลข่าวสาร การลงทุนแบบพร้อมสรรพ เพื่อให้ลูกค้ามีความสะดวก มีข้อมูลที่เพียงพอต่อการตัดสินใจในการลงทุน ซึ่งลูกค้า สามารถติดตามข่าวสารการลงทุน การเคลื่อนไหวของราคา หลักทรัพย์ และส่งคำ�สั่งซื้อขายหลักทรัพย์ได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านคอมพิวเตอร์ Tablet หรือ Smart Phone บริษัทมีนโยบายรับลูกค้าและแนวทางการพิจารณา วงเงินซื้อขายหลักทรัพย์ ดังนี้ 1. บุคคลธรรมดา พิจารณาจากฐานะทางการเงิน อายุ อาชีพ ที่มาของรายได้ ความรู้ ความเข้าใจในการลงทุนใน หลักทรัพย์ ความสามารถในการรับความเสีย่ ง โดยพิจารณา จากเอกสารประกอบต่างๆ เช่น สำ�เนาบัตรประชาชน/ Bank Statement และข้อมูลแสดงฐานะการเงินอื่น 2. นิติบุคคล พิจารณาจากประเภทธุรกิจ ที่มาของ รายได้และผลประกอบการธุรกิจ ความมั่นคงทางการเงิน ภาระหนี้สิน กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้บริหาร อายุ อาชีพ ที่มาของรายได้ วัตถุประสงค์ ในการลงทุนความสามารถ ในการรับความเสี่ยง โดยพิจารณาจากเอกสารประกอบ ต่างๆ เช่น งบแสดงฐานะการเงินย้อนหลัง หนังสือรับรอง การจดทะเบียนบริษัท รวมทั้งเอกสารแสดงฐานะการเงินอื่น เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทได้ขอความร่วมมือจากลูกค้าในการให้ ข้อมูลเพื่อการจัดให้ลูกค้าแสดงตน (Know Your Customer หรื อ KYC) และแบบประเมิ น ความสามารถในการ รับความเสีย่ งของลูกค้า (Suitability Test) โดยเจ้าหน้าทีข่ อง บริษัทจะทำ�การประเมินความเสี่ยง และมีการทบทวนวงเงิน ซื้อขายอย่างสม่ำ�เสมอ • ธุรกิจตัวแทนนายหน้าซื้อขายสัญญาล่วงหน้า บริษัทได้รับใบอนุญาตเพื่อประกอบกิจการการเป็น ตั ว แทนซื้ อ ขายสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า จากสำ � นั ก งาน คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ รวมทัง้ ได้เข้าเป็นสมาชิกประเภทตัวแทนซือ้ ขายสัญญาซือ้ ขาย ล่วงหน้ากับบริษทั ตลาดสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทสำ�นักหักบัญชี (ประเทศไทย) จำ�กัด ปัจจุบันบริษัทให้บริการซื้อขายตราสารอนุพันธ์ ดังนี้ • สัญญาฟิวเจอร์สของดัชนี SET50 (SET50 Index Futures)


32

รายงานประจำ�ปี 2560

• สัญญาออปชั่นของดัชนี SET50 (SET50 Index Options) • สัญญาฟิวเจอร์สทีอ่ า้ งอิงกับหุน้ สามัญรายตัว (Single Stock Futures) • สัญญาฟิวเจอร์สที่อ้างอิงกับทองคำ� (Gold Futures) • สัญญาฟิวเจอร์สที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Futures) • สัญญาฟิวเจอร์สทีอ่ า้ งอิงกับอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราระหว่างประเทศ (Currency Futures) • สัญญาฟิวเจอร์สทีอ่ า้ งอิงกับดัชนีหมวดธุรกิจ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Sector Futures) • สัญญาฟิวเจอร์สที่อ้างอิงกับยางแผ่นรมควัน ชั้น 3 (RSS3 Futures) ทั้งนี้ บริษัทยังมีบริการ Single Stock Futures Block Trade สำ�หรับกลุ่มลูกค้าที่ต้องการซื้อขายจำ�นวนสัญญา ปริมาณมากอีกด้วย

1. บัญชีแบบไม่เปิดเผยชือ่ หรือ Omnibus Account บัญชีซอื้ ขายหน่วยลงทุนแบบไม่เปิดเผยชือ่ ผูถ้ อื หน่วย ลงทุน เป็นบัญชีที่เพิ่มความสะดวกในการทำ�ธุรกรรมให้ กับลูกค้า บริษัทมีระบบการซื้อขายที่เชื่อมโยงข้อมูลกับทุก บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนทีบ่ ริษทั เป็นตัวแทนฯ ลูกค้า เพียงเปิดบัญชีกับบริษัทครั้งเดียว ก็สามารถทำ�รายการซื้อ ขายหน่วยลงทุนของทุกบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนได้ ช่วยลดความยุง่ ยากในการจัดเตรียมเอกสาร การทำ�รายการ ซื้อขาย และลูกค้าสามารถบริหารพอร์ตการลงทุนได้ง่ายขึ้น 2. บัญชีแบบเปิดเผยชือ่ หรือ Selling Agent Account บัญชีซื้อขายหน่วยลงทุนแบบเปิดเผยชื่อผู้ถือหน่วย ลงทุน เป็นบัญชีที่เหมาะสำ�หรับลูกค้าที่ต้องการซื้อขาย กองทุนรวมหุน้ ระยะยาว (LTF) กองทุนรวมเพือ่ การเลีย้ งชีพ (RMF) และกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ซงึ่ กองทุนดังกล่าวมี ข้อกำ�หนดให้ลกู ค้าต้องทำ�การลงทุนแบบเปิดเผยชือ่ ผูล้ งทุน เท่านั้น โดยบัญชีประเภทนี้มีข้อจำ�กัดที่ลูกค้าต้องเปิดบัญชี กับบริษัทจัดการทุกๆ บริษัทที่ต้องการลงทุน ซึ่งใช้เวลาและ มีความยุ่งยากกับการเปิดบัญชีหลายครั้ง

• ธุรกิจการจัดจำ�หน่ายและรับประกันการจำ�หน่าย หลักทรัพย์ บริษทั ให้บริการจัดจำ�หน่ายและรับประกันการจำ�หน่าย หลักทรัพย์ ให้กับบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ที่ประสงค์จะเสนอ ขายหลักทรัพย์ประเภทต่างๆ ทั้งตราสารหนี้ ตราสารทุน รวมทั้ ง การเสนอขายหุ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ให้ แ ก่ ป ระชาชน ทั่ ว ไป (PO) และการเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิม (RO)

• ธุรกิจการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ บริการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ (SBL) มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ลูกค้าสามารถยืมหลักทรัพย์เพื่อทำ�การขายชอร์ต ผ่านบัญชีแคชบาลานซ์ (Cash Balance) ทีม่ อี ยูก่ บั บริษทั ได้ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยอนุ ญ าตให้ ขายชอร์ตได้เฉพาะหลักทรัพย์ที่อยู่ในดัชนี SET100 และ หลักทรัพย์ที่อยู่ในรายชื่อที่อนุญาต และหน่วยลงทุนของ กองทุนรวม ETF เท่านั้น บริษัทมีนโยบายให้บริการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ ในลักษณะแบบผู้กระทำ�การ (Principle) โดยจะทำ�ธุรกรรม SBL กับลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบัน และหลักทรัพย์ ที่บริษัทให้ยืมหรือยืมในบัญชี SBL จะเป็นหลักทรัพย์ที่มี สภาพคล่องสูงมี Market Capitalization สูง มีปจั จัยพืน้ ฐานดี และอยู่ในกลุ่ม SET50

• ธุรกิจตัวแทนสนับสนุนการขายและรับซื้อคืน หน่วยลงทุน ธุรกิจตัวแทนสนับสนุนการขายและรับซื้อคืนหน่วย ลงทุน เป็นบริการด้านการบริหารทรัพย์สินตามที่ได้รับมอบ หมายจากลูกค้า โดยจะกำ�หนดกรอบการลงทุนให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของลูกค้าแต่ละราย เพื่อให้สอดคล้องกับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ผ่านการลงทุนในกองทุนรวม บริษัท มีกองทุนหลากหลายประเภทจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุนชั้นนำ�ต่างๆ ให้ลูกค้าเลือกลงทุน ซึ่งลูกค้าจะได้รับ การดูแลและรับคำ�ปรึกษาจากเจ้าหน้าทีผ่ มู้ ปี ระสบการณ์และ มีความเชีย่ วชาญด้านการวางแผนการลงทุนและการวางแผน ภาษี การให้บริการของบริษัทจะคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุด ของลูกค้าเป็นสำ�คัญ และให้ความสำ�คัญในเรือ่ งความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ และการควบคุมข้อมูลภายในเพื่อมิ ให้ เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบในการลงทุนของบริษัทและ การลงทุนของลูกค้า ปัจจุบนั บริษทั มีบริการธุรกิจตัวแทนสนับสนุนการขาย และรับซื้อคืนหน่วยลงทุน 2 ประเภท ได้แก่

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อโอกาสหรือข้อจำ�กัดในการ ประกอบธุรกิจ 1. ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2561 เศรษฐกิจไทยปี 2561 มีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์ดี และเร่งขึน้ อย่างช้าๆ โดยได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัว ในเกณฑ์ดีของเศรษฐกิจโลกและการส่งออกอย่างต่อเนื่อง ซึง่ จะส่งผลให้การผลิตภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มการฟืน้ ตัว ที่ชัดเจนและสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้มากขึ้น เช่นเดียวกับการลงทุนรวมทีม่ แี นวโน้มเร่งตัวขึน้ ตามแนวโน้ม การปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องของการลงทุนภาคเอกชนที่ ได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวลดลงของกำ�ลังการผลิต ส่วนเกินในอุตสาหกรรมสำ�คัญๆ และการปรับตัวดีขึ้นของ ความเชื่อมั่นในระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งการขยายตัวเร่งขึ้น


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ของการลงทุนภาครัฐตามความคืบหน้าของโครงการลงทุนใน โครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ �ำ คัญๆ และการเพิม่ ขึน้ ของงบประมาณ รายจ่ายลงทุน ในขณะทีส่ าขาเศรษฐกิจสำ�คัญอืน่ ๆ ยังมีแนวโน้ม ทีจ่ ะยังขยายตัวในเกณฑ์ดอี ย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ดภี าคเกษตร มีแนวโน้มชะลอตัวลง ทำ�ให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจต้อง พึ่งพิงนอกภาคเกษตรมากขึ้น รวมทั้งระบบเศรษฐกิจและ การเงินโลกยังมีความเสี่ยงที่จะผันผวนและต้องติดตามและ ประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด (ที่มา : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)

2. ปัจจัยจากตลาดต่างประเทศ เศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลกปี 2561 ขยายตัว ร้อยละ 3.6 และร้อยละ 4.0 ต่อเนื่องจากร้อยละ 3.6 และ ร้อยละ 4.2 ในปี 2560 ตามลำ�ดับ โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก การขยายตัวเร่งขึ้นของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และประเทศกำ�ลัง พัฒนาโดยเฉพาะรัสเซีย อินเดีย บราซิล และกลุ่มประเทศ ตะวันออกกลาง รวมทั้งการขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่องของ กลุ่มประเทศยูโรโซน ญี่ปุ่น และจีน ซึ่งคาดว่าจะทำ�ให้ราคา สินค้าในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อ ของประเทศสำ�คัญมีแนวโน้มที่จะกลับสู่เป้าหมายนโยบาย การเงินอย่างชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้สหรัฐฯ ปรับขึ้น อัตราดอกเบี้ยนโยบายและลดขนาดงบดุลอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ประเทศสำ�คัญอืน่ ๆ มีแนวโน้มทีจ่ ะส่งสัญญาณการปรับ ทิศทางการดำ�เนินนโยบายทางการเงินอย่างชัดเจนมากขึ้น แม้วา่ ธนาคารกลางญีป่ นุ่ จะยังคงรักษาการผ่อนคลายนโยบาย การเงินไว้ที่ระดับเดิมอย่างต่อเนื่องก็ตาม (ที่มา : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)

3. การเติบโตของระบบเทคโนโลยีส�ำ หรับธุรกิจการเงิน ภายใต้ โ ลกแห่ ง ยุ ค ดิ จิ ต อลที่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารและ การบริการสามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย จึงนับเป็นความท้าทายของการดำ�เนินธุรกิจที่ต้องปรับตัว ตลอดจนก้าวให้ทนั ต่อความเปลีย่ นแปลง บริษทั จึงได้ด�ำ เนิน ธุรกิจภายใต้สภาพแวดล้อมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา มี ก ารปฏิ รู ป ระบบการทำ � งานและการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่อให้นักลงทุนสามารถเข้าถึงข้อมูลด้านการลงทุนได้ง่าย สามารถทำ�ธุรกรรมทางการเงินได้ทุกที่ทุกเวลา สอดคล้อง กับการเติบโตของมูลค่าการซื้อขายผ่านระบบอินเตอร์เน็ตที่ มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง 4. ปัจจัยอื่นๆ ปั จ จั ย จากภั ย ธรรมชาติ ได้ แ ก่ ฝนแล้ ง น้ำ � ท่ ว ม แผ่นดินไหว หรือภัยพิบตั ติ า่ งๆ ความไม่สงบภายในประเทศ หรื อ การเปลี่ ย นแปลงกฎเกณฑ์ แ ละกฎหมายที่ เ กี่ ย วกั บ การดำ�เนินธุรกิจ อาจส่งผลกระทบต่อภาวะทางเศรษฐกิจ และอาจมีผลต่อผลประกอบการของธุรกิจ

33

เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจปี 2561 บริ ษั ท มี แ ผนพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การบริ การอย่ า ง ต่อเนื่องควบคู่กับการขยายฐานลูกค้าเพื่อให้ธุรกิจขยายตัว ได้อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2561 บริษัทคาดว่าจะมีปริมาณ การซือ้ ขายเติบโตในระดับดีเช่นเดียวกับปี 2560 นอกจากนี้ บริษัทมีเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยงาน สนั บ สนุ น และการพั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ การบริหารจัดการการปฏิบตั งิ าน การให้บริการ ที่ ดี ที่ ส ามารถตอบสนองต่ อ ทุ ก ความต้ อ งการของ ลูกค้า รวมทั้งการพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่บริษัทยังคง ให้ความสำ�คัญอย่างต่อเนื่อง 2.5 ธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด ประกอบธุรกิจให้บริการที่ปรึกษาทางการเงินแบบครบวงจร ทั้งการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้กับประชาชน การนำ�บริษัท เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การควบรวม กิ จ การ การประเมิ น มู ล ค่ า หุ้ น การจั ด หาแหล่ ง เงิ น กู้ การปรับโครงสร้างหนี้ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ และการให้ค�ำ ปรึกษาทางการเงิน

3. โครงสร้างรายได้ 3.1 โครงสร้างรายได้ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน จำ�แนกตามสายธุรกิจ โครงสร้ า งรายได้ ข องกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ปี 2560 ปี 2559 และปี 2558 สามารถจำ�แนกตามสายธุรกิจหลักได้ 5 สายธุรกิจ คือ สายธุรกิจการลงทุน สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ สายธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน สายธุรกิจหลักทรัพย์ และสายธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน มีรายละเอียดดังนี้


34

รายงานประจำ�ปี 2560

ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินจำ�แนกตามสายธุรกิจ

โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินจำ�แนกตามสายธุรกิจ รายได้ดอกเบี้ย สายธุรกิจการลงทุน สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ สายธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน สายธุรกิจหลักทรัพย์ สายธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน รวมรายได้ดอกเบี้ย รวมค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รวมรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ สายธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน สายธุรกิจหลักทรัพย์ สายธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน รวมรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ รวมค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน หมายเหตุ : LHFG/1 LH Bank/2 : LH Fund/3 : LH Securities/4 : LH Advisory/5 :

ดำ�เนินการโดย

สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท (ร้อยละ)

LHFG/1 LH Bank/2 LH Fund/3 LH Securities/4 LH Advisory/5

99.99 99.99 99.80 99.99

LH Bank LH Fund LH Securities LH Advisory

99.99 99.99 99.80 99.99

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 0.37 8,612.66 33.10 8,646.13 (3,667.00) 4,979.13

132.64 0.51 133.15 (56.47) 76.68

0.07 8,786.66 0.03 23.27 8,810.03 (3,971.04) 4,838.99

126.12 0.33 126.45 (57.00) 69.45

0.03 8,479.82 0.02 14.02 8,493.89 (4,127.46) 4,366.43

152.97 0.25 153.22 (74.45) 78.77

346.78 297.29 144.21 788.28 (134.65) 653.63 860.67 6,493.43

5.34 276.25 3.96 268.32 4.84 4.58 268.12 3.85 131.94 2.38 2.22 92.50 1.33 55.32 1.00 12.14 636.87 9.14 455.58 8.22 (2.07) (126.27) (1.81) (106.20) (1.92) 10.07 510.60 7.33 349.38 6.30 13.25 1,617.47 23.22 827.61 14.93 100.00 6,967.06 100.00 5,543.42 100.00


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

3.2 โครงสร้างรายได้ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน จำ�แนกตามประเภทรายได้ โครงสร้ า งรายได้ ข องกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ปี 2560 ปี 2559 และปี 2558 จำ�แนกตามประเภทรายได้หลัก

35

เป็น 3 ประเภท คือ รายได้ดอกเบีย้ รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการ และรายได้อื่น มีรายละเอียดดังนี้

ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินจำ�แนกตามประเภทรายได้ โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน จำ�แนกตามประเภทรายได้ รายได้ดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เงินลงทุนในตราสารหนี้ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน การให้เช่าซื้อ อื่นๆ รวมรายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย เงินรับฝาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินนำ�ส่งสถาบันคุ้มครองเงินฝากและธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่ารับรอง รับอาวัล และการค้ำ�ประกัน ค่าธรรมเนียมรับนายหน้า อื่นๆ รวมรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าธรรมเนียมและบริการ อื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้อื่น กำ�ไรจากเงินลงทุน กำ�ไร (ขาดทุน) จากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ รายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน

31 ธันวาคม 2560 จำ�นวน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 จำ�นวน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

31 ธันวาคม 2558 จำ�นวน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

6,412.18 1,629.46 556.93 47.45 0.11 8,646.13

98.75 25.09 8.58 0.73 133.15

6,473.30 1,666.09 586.12 84.41 0.11 8,810.03

92.91 23.92 8.41 1.21 126.45

6,268.21 1,470.96 633.09 121.58 0.05 8,493.89

113.07 26.54 11.42 2.19 153.22

(2,152.47) (607.53) (95.30) (807.51) (4.19) (3,667.00) 4,979.13

(33.15) (9.35) (1.47) (12.44) (0.06) (56.47) 76.68

(2,464.44) (536.70) (206.00) (761.97) (1.93) (3,971.04) 4,838.99

(35.37) (7.70) (2.96) (10.94) (0.03) (57.00) 69.45

(2,776.29) (383.92) (274.42) (691.93) (0.90) (4,127.46) 4,366.43

(50.08) (6.93) (4.95) (12.48) (0.01) (74.45) 78.77

41.11 337.15 410.02 788.28

0.63 5.19 6.31 12.13

46.05 237.86 352.96 636.87

0.66 3.41 5.07 9.14

43.50 212.47 199.61 455.58

0.79 3.83 3.60 8.22

(58.85) (75.80) (134.65) 653.63

(0.91) (1.16) (2.07) 10.06

(56.68) (69.59) (126.27) 510.60

(0.81) (1.00) (1.81) 7.33

(50.71) (55.49) (106.20) 349.38

(0.92) (1.00) (1.92) 6.30

240.77 (0.80) 620.70 860.67 6,493.43

3.71 (0.01) 9.56 13.26 100.00

1,188.49 0.58 428.40 1,617.47 6,967.06

17.06 0.01 6.15 23.22 100.00

673.39 2.17 152.05 827.61 5,543.42

12.15 0.04 2.74 14.93 100.00


36

รายงานประจำ�ปี 2560

1. รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ดอกเบีย้ ประกอบด้วย รายได้จากเงินให้สนิ เชือ่ แก่ลูกหนี้ รายได้จากเงินลงทุนในตราสารหนี้ รายได้จาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน รายได้จากการให้เช่าซือ้ และรายได้ดอกเบีย้ อืน่ ๆ โดยในปี 2560 บริษทั และบริษทั ย่อย มีรายได้ดอกเบี้ยจำ�นวน 8,646.13 ล้านบาท ลดลงจาก ปี 2559 จำ�นวน 163.90 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.86 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย จากเงินรับฝาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม รายการ ระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินนำ�ส่งสถาบันคุ้มครอง เงิ น ฝากและธนาคารแห่ ง ประเทศไทย และค่ า ใช้ จ่ า ย ดอกเบีย้ อืน่ ๆ โดยในปี 2560 บริษทั และบริษทั ย่อยมีคา่ ใช้จา่ ย ดอกเบี้ยจำ�นวน 3,667.00 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 จำ�นวน 304.04 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 7.66 เป็นการ ลดลงจากการลดลงของค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยจากเงินรับฝาก เป็นหลัก เนื่องจากในปี 2560 มีแนวโน้มของอัตราดอกเบี้ย ที่ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน รายได้ ด อกเบี้ ย สุ ท ธิ จำ � นวน 4,979.13 ล้ า นบาท คิดเป็นร้อยละ 76.68 ของรายได้จากการดำ�เนินงานรวม รายได้ดอกเบี้ยสุทธิเพิ่มขึ้นจากปี 2559 เท่ากับ 140.14 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.90 รายได้ดอกเบีย้ สุทธิเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของบริษัทย่อย

2. รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ส่วนมากมาจาก ค่าธรรมเนียมการอำ�นวยสินเชื่อ ซึ่งประกอบด้วย รายได้ ค่ า รั บ รอง อาวั ล และการค้ำ � ประกั น และมาจากธุ ร กิ จ หลักทรัพย์และธุรกิจหลักทรัพย์จดั การกองทุน ซึง่ ประกอบด้วย ค่ า นายหน้ า จากการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ค่ า ธรรมเนี ย ม การจัดการกองทุนรวม ค่าธรรมเนียมนายทะเบียนกองทุน และ ค่าธรรมเนียมจากการเป็นตัวแทนจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์และ บริการทางการเงินต่างๆ เป็นต้น โดยในปี 2560 บริษัทและ บริษัทย่อยมีรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการจำ�นวน 788.28 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2559 จำ�นวน 151.41 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.77 ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการจำ�นวน 134.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2559 จำ�นวน 8.38 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.64 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิจำ�นวน 653.63 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.07 ของรายได้จากการดำ�เนินงาน รวม รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการสุทธิเพิม่ ขึน้ จากปี 2559 เท่ากับ 143.03 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.01 3. รายได้อื่น รายได้อน่ื ประกอบด้วย กำ�ไรจากเงินลงทุน กำ�ไร (ขาดทุน) จากธุ ร กรรมเพื่ อ ค้ า และปริ ว รรตเงิ น ตราต่ า งประเทศ และรายได้ จ ากการดำ � เนิ น งานอื่ น ๆ โดยในปี 2560 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้อื่นจำ�นวน 860.67 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 จำ�นวน 756.80 ล้านบาท หรือลดลง ร้อยละ 46.79 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากบริษัทย่อยมีกำ�ไรจาก การขายเงินลงทุนที่ลดลง 947.72 ล้านบาท


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

37

ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 1. หลักทรัพย์ของบริษัท 1.1 หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทมีทุนจดทะเบียนและ ทุนชำ�ระแล้ว ดังนี้ ทุนจดทะเบียน : 21,183,660,594 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : 21,183,660,594 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายและชำ�ระแล้ว จำ�นวน 21,183,660,594 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 2. โครงสร้างการถือหุ้น

1.2 ข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ข้ อ ตกลงระหว่ า งผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การออกและเสนอขายหลักทรัพย์หรือการบริหารงานของบริษทั และสาระสำ�คัญที่มีผลต่อการดำ�เนินงาน - ไม่มี 1.3 พันธะผูกพันเกี่ยวกับการออกหุ้นในอนาคต - ไม่มี -

2.1 ผู้ถือหุ้นสามัญสูงสุด 10 รายแรก รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 10 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียน เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2560 มีดังนี้ ลำ�ดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อผู้ถือหุ้น CTBC BANK Company Limited บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ นายสำ�เริง มนูญผล นายวิโรจน์ อึ้งไพบูลย์ กลุ่มตระกูลอัศวโภคิน บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด นายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข นายวิศิษฐ์ เจนอัครเศรษฐ์ รวมการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ผู้ถือหุ้นรายย่อยอื่น รวม

3. นโยบายการจ่ายเงินปันผล 3.1 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท ในการพิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผลบริ ษั ท จะคำ � นึ ง ถึ ง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว และ จะพิจารณาจากงบการเงินรวม ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับของ บริษัท ซึง่ สรุปสาระสำ�คัญคือ เงินปันผลให้แบ่งตามจำ�นวนหุน้ หุน้ ละเท่าๆ กัน โดยการจ่ายเงินปันผลต้องได้รับอนุมัติจากที่ ประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการอาจจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล

จำ�นวนหุ้น 7,544,961,342 4,634,761,967 2,910,199,375 2,210,050,479 246,481,023 185,010,134 148,782,177 138,804,894 118,000,098 49,873,407 18,186,924,896 2,996,735,698 21,183,660,594

ร้อยละ 35.617 21.879 13.738 10.433 1.164 0.873 0.702 0.655 0.557 0.235 85.853 14.147 100.000

ให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นครั้งคราวได้เมื่อเห็นว่าบริษัทมีกำ�ไรสมควร พอที่จะทำ�เช่นนั้น และรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบใน การประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผลต้อง เป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยและตามที่ กฎหมายกำ�หนด 3.2 ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผล ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องข้อกำ�หนด เกีย่ วกับการบันทึกบัญชีของสถาบันการเงิน กำ�หนดให้สถาบัน การเงินไม่ควรนำ�กำ�ไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงหรือไม่มกี ระแสเงินสดรับ จริงมาใช้ในการจ่ายเงินปันผล เช่น กำ�ไรทีเ่ กิดจากการตีราคา


38

รายงานประจำ�ปี 2560

หลักทรัพย์เพื่อค้า (Mark to Market) และกำ�ไรที่เกิดจากการ โอนเปลีย่ นประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน เป็นต้น หรือ สถาบัน การเงินไม่ควรนำ�กำ�ไรทีเ่ กิดจากการขายทรัพย์สนิ ทีม่ ไิ ด้มกี าร ซื้อขายจริง ซึ่งมีผลทำ�ให้สถาบันการเงินมีกำ�ไรสูงกว่าหรือ ขาดทุนต่ำ�กว่ากรณีปกติมาใช้ในการจ่ายเงินปันผล เช่น กำ�ไร ที่เกิดจากการขายทรัพย์สินรอการขายของสถาบันการเงิน ที่มีเงื่อนไขให้สถาบันการเงินสามารถซื้อคืนหรือมีสิทธิซื้อคืน ทรัพย์สินนั้นได้ในอนาคต

ทราบในการประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผล ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำ�หนด 3.3.3 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลบริษัทจะคำ�นึงถึง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับ ของบริษทั ซึง่ สรุปสาระสำ�คัญ คือ การจ่ายเงินปันผลทุกคราว บริษัทต้องจัดสรรเงินไว้เป็นทุนสำ�รองอย่างน้อยหนึ่งในยี่สิบ ของเงินกำ�ไรสุทธิ ซึ่งบริษัททำ�มาหาได้จากกิจการของบริษัท จนกว่าสำ�รองนั้นจะมีจำ�นวนถึงหนึ่งในสิบของจำ�นวนทุนของ บริษัทหรือมากกว่านั้น

นอกจากนี้ รายได้หลักของบริษทั คือ เงินปันผลทีไ่ ด้รบั จาก บริษทั ย่อย ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด สำ � หรั บ ธนาคารจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามประกาศของธนาคาร แห่งประเทศไทย เรือ่ ง หลักเกณฑ์การจัดชัน้ และการกันเงินสำ�รอง ของสถาบั น การเงิ น ที่ กำ � หนดให้ ใ นระหว่ า งเวลาที่ ส ถาบั น 4. จำ�นวนและชนิดหุ้นที่บริษัทถือหุ้นในบริษัทอื่นหรือบริษัท เอกชน ตั้งแต่ร้อยละสิบขึ้นไป และไม่เกินร้อยละห้าสิบ การเงินยังไม่ตัดสินทรัพย์ที่เสียหายออกจากบัญชี หรือยังกัน เงินสำ�รองสำ�หรับสินทรัพย์และภาระผูกพันทีอ่ าจเสียหายและ - ไม่มี ไม่เสียหายไม่ครบทัง้ จำ�นวนจะจ่ายเงินปันผลหรือเงินตอบแทน อื่นใดแก่ผู้ถือหุ้นมิได้ 5. จำ�นวนและชนิดหุ้นที่บริษัทถือหุ้นในบริษัทอื่นหรือบริษัท เอกชน ตั้งแต่ร้อยละห้าสิบขึ้นไป 3.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย 3.3.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ชื่อบริษัท : ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลธนาคารจะคำ�นึงถึง ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชัน้ จี, 1, 5, 6, 32 ผลประกอบการและผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับ ของธนาคาร ซึ่ ง สรุ ป สาระสำ � คั ญ คื อ เงิ น ปั น ผลให้ แ บ่ ง ตามจำ � นวนหุ้ น หุ้ น ละเท่ า ๆ กั น โดยการจ่ า ยเงิ น ปั น ผล ต้ อ งได้ รับ อนุ มัติจากที่ป ระชุ ม ผู้ถือ หุ้น คณะกรรมการอาจ พิ จ ารณาการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลระหว่ า งกาลให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น ครั้ ง คราวได้ เมื่ อ เห็ นว่ า ธนาคารมี กำ � ไรสมควรพอที่ จะทำ � เช่ น นั้ น และรายงานให้ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบใน การประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผลต้อง เป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยและตามที่ กฎหมายกำ�หนด 3.3.2 บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลบริษัทจะคำ�นึงถึง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาวและ จะพิจารณาจากงบการเงินรวม ทัง้ นี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับของ บริษทั ซึง่ สรุปสาระสำ�คัญ คือ เงินปันผลให้แบ่งตามจำ�นวนหุน้ หุ้นละเท่าๆ กัน โดยการจ่ายเงินปันผลต้องได้รับอนุมัติจากที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการอาจพิจารณาการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ เป็นครัง้ คราวได้ เมือ่ เห็นว่าบริษทั มี กำ�ไรสมควรพอทีจ่ ะทำ�เช่นนัน้ และรายงานให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้

เลขทะเบียนบริษัท : ทุนจดทะเบียน : ทุนชำ�ระแล้ว : มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ : ชนิดของหุ้นทั้งหมด : โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

: : : :

ถนนสาทรใต้่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 0107548000234 จำ�นวน 20,000,000,000 บาท จำ�นวน 20,000,000,000 บาท 10 บาท ประกอบด้วย หุน้ สามัญ 2,000,000,000 หุน้ หุ้นบุริมสิทธิ -ไม่มี0 2359 0000 0 2677 7223 www.lhbank.co.th ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของธนาคาร ได้แก่ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออก และชำ�ระแล้ว แบ่งเป็นหุน้ สามัญ จำ�นวน 1,999,999,900 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 10 บาท


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

: บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชัน้ M, 10 ถนนสาทรใต้่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0107542000038 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 637,215,030 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 637,215,030 บาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ : 1 บาท ชนิดของหุ้นทั้งหมด : ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 637,215,030 หุ้น หุ้นบุริมสิทธิ -ไม่มีโทรศัพท์ : 0 2352 5100 โทรสาร : 0 2286 2681-2 เว็บไซต์ : www.lhsec.co.th ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท ได้แก่ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 99.80 ของทุนที่ออก และชำ�ระแล้ว แบ่งเป็นหุน้ สามัญ จำ�นวน 635,925,646 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 1 บาท

ชื่อบริษัท

39

: บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชัน้ 14 ถนนสาทรใต้่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0105551006645 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 300,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 300,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ : 100 บาท ชนิดของหุ้นทั้งหมด : ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 3,000,000 หุ้น หุ้นบุริมสิทธิ -ไม่มีโทรศัพท์ : 0 2286 3484, 0 2679 2155 โทรสาร : 0 2286 3585 เว็บไซต์ : www.lhfund.co.th ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท ได้แก่ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออก และชำ�ระแล้ว แบ่งเป็นหุน้ สามัญ จำ�นวน 2,999,995 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 100 บาท


40

รายงานประจำ�ปี 2560

โครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการจัดการ โครงสร้างองค์กร บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา และ กำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

กรรมการผู้จัดการ

คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคล

คณะกรรมการ ลงทุน

คณะกรรมการ สินเชื่อ

คณะกรรมการ เทคโนโลยี สารสนเทศ

คณะกรรมการ จัดซื้อจัดจ้าง

คณะอนุกรรมการ บริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ

โครงสร้างการจัดการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็น คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและ บริษัทโฮลดิ้งที่ไม่ได้ประกอบธุรกิจของตนเอง (Non-operating กำ�หนดค่าตอบแทน ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการ Holding Company) โดยเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ชุดย่อย มีการแบ่งแยกหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบอย่างชัดเจน ดังนี้ ประกอบธุรกิจการเข้าถือหุน้ ในบริษทั อืน่ ปัจจุบนั บริษทั ถือหุน้ บริษทั ในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท (Board of Directors) • ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการ 9 ท่าน ดังนี้ ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด 1. นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการ • บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ ร้อยละ 99.80 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด 3. รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ กรรมการอิสระ • บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด 4. นายสรร วิเทศพงษ์ กรรมการอิสระ ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด 5. นายฉี ชิง-ฟู่ กรรมการ 6. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการ โครงสร้างการจัดการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล 7. นายวู โค-ชิน กรรมการ กรุ๊ ป จำ � กั ด (มหาชน) ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการบริ ษั ท 8. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยอีก 4 คณะ 9. นางศศิธร พงศธร กรรมการ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการบริษทั


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัท นายรัตน์ พานิชพันธ์ นางศศิธร พงศธร และนายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการสองในสามคนนีล้ งลายมือชือ่ ร่วมกันและ ประทับตราสำ�คัญของบริษัท ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท ดํ า เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ขององค์กรโดยรวม ไม่มคี วามขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นกลุ่มใดหรือรายใด โดยมีหน้าที่และ ความรับผิดชอบดังนี้ 1) ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทและของหน่วยงานภายนอกที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความ ซือ่ สัตย์สจุ ริตและระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั 2) กาํ หนดทิศทางและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ในภาพรวม ของบริษทั รวมทัง้ พิจารณาอนุมตั นิ โยบายและทิศทาง การดําเนินงานของบริษัทตามที่ฝ่ายจัดการเสนอ และกํากับควบคุมดูแลให้ฝ่ายจัดการดําเนินการ ให้เป็นไปตามนโยบายที่ ได้รับการอนุมัติไว้อย่าง มี ป ระสิ ท ธิ ภาพและประสิ ท ธิ ผ ลเพื่ อ ระวั ง รั ก ษา ผลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้น 3) จั ด ให้ มี บ ทบั ญ ญั ติ เ กี่ ย วกั บ จรรยาบรรณและ จริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน เพือ่ เป็นแนวทางปฏิบตั ภิ ายในองค์กร 4) ติดตามการดําเนินกิจการของบริษัทตลอดเวลาเพื่อ ให้ม่นั ใจว่ากรรมการที่เป็นผู้บริหารและฝ่ายจัดการ ดําเนินกิจการตามกฎหมายและนโยบายทีว่ างไว้ 5) ดู แ ลให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจว่ า ฝ่ า ยจั ด การมี ค วาม สามารถในการจัดการในงานของบริษัทซึ่งรวมถึง การแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูง 6) ดําเนินการให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในและ การตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ 7) ดูแลให้ฝา่ ยจัดการบอกกล่าวเรือ่ งทีส่ าํ คัญของบริษทั ต่อคณะกรรมการ รวมถึงดูแลให้มีกระบวนการ ในการจัดส่งข้อมูลเพือ่ ให้คณะกรรมการได้รบั ข้อมูล จากฝ่ายจัดการอย่างเพียงพอที่จะทําให้สามารถ ปฏิบัติตามอํานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบได้ อย่างสมบูรณ์ 8) ดูแลให้ฝ่ายจัดการของบริษทั มีการควบคุมทางด้าน การบริหารความเสี่ยง 9) พิจารณาอนุมัติบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงในองค์ประกอบ รวมทัง้ การเปลีย่ นแปลงทีม่ นี ยั สําคัญต่อการปฏิบตั งิ าน ของคณะกรรมการชุดย่อยที่ได้แต่งตั้งขึ้น 10) ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท กํ า หนดนโยบายเกี่ ย วกั บ การทำ � ธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัท

41

11) ดู แ ลให้ มี ก ระบวนการในการจั ด ส่ ง รายงาน (Management Letter) จากผู้สอบบัญชีภายนอก และข้ อ คิ ด เห็ น จากฝ่ า ยจั ด การของบริ ษั ท ต่ อ คณะกรรมการภายในระยะเวลาที่เหมาะสม 12) จัดให้มกี ารถ่วงดุลอาํ นาจของฝ่ายจัดการ และ/หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ให้อยู่ ในระดับที่เหมาะสม โดย กำ�หนดให้มีสัดส่วนหรือจํานวนของกรรมการอิสระ ในคณะกรรมการบริษัทอย่างเหมาะสม 13) ในการพิจารณาอนุมัติเรื่องใดๆ องค์ประชุมต้องมี กรรมการไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการ ทั้งหมด 14) ให้กรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยกึ่งหนึ่งของ จำ�นวนครั้งของการประชุมที่จัดขึ้นในแต่ละปี ทั้งนี้ ในกรณีท่ีกรรมการท่านใด หรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการท่านนัน้ ไม่มอี �ำ นาจอนุมตั กิ ารดำ�เนินการดังกล่าวกับบริษทั หรือบริษทั ย่อย ตามทีส่ �ำ นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด ขอบเขตอำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั มีขอบเขตอำ�นาจอนุมตั ใิ นเรือ่ งต่างๆ พอสรุปได้ ดังนี้ • พิจารณางานด้านบริหาร • พิจารณาอนุมัติแผนงาน กลยุทธ์ ในการดำ�เนิน ธุรกิจ • พิจารณาอนุมัติงบประมาณประจำ�ปี • พิจารณาอนุมัติวิสัยทัศน์ และพันธกิจ • พิ จารณาอนุ มั ติ เ รื่ อ งต่ า งๆ ในงานการบริ ห าร การตัดสินใจ • พิจารณางานด้านปฏิบัติการ • พิจารณาอนุมัตินโยบายต่างๆ • พิจารณาอนุมตั กิ ารขออนุญาตต่อหน่วยงานราชการ • พิจารณาอนุมัติเรื่องต่างๆ ตามที่พระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ�กัด กำ�หนด อนึ่ง การพิจารณาอนุมัติเรื่องใดๆ ของคณะกรรมการ บริษัท จะมีกรรมการร่วมพิจารณาไม่น้อยกว่าสองในสามของ จำ�นวนกรรมการทั้งหมด บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ บทบาทหน้าทีข่ องประธานกรรมการ มีหน้าทีน่ อกเหนือ จากทีก่ ล่าวข้างต้น ดังนี้ • ทำ�หน้าที่ประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ • ลงคะแนนเสียงชีข้ าด ในกรณีทป่ี ระชุมคณะกรรมการ มีการลงคะแนนเสียง 2 ข้างเท่ากัน • เป็นผูเ้ รียกประชุมคณะกรรมการ • ทำ�หน้าทีป่ ระธานในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้


42

ดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2560

2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. รศ.ดร.สุปรียา/1 ควรเดชะคุปต์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสรร/1 วิเทศพงษ์ กรรมการตรวจสอบ นางสาวชุติมา บุญมี เลขานุการ หมายเหตุ /1 เป็นกรรมการทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นบัญชีและการเงิน

9) รับรายงานจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อย่างสม่ำ�เสมอในประเด็นที่บริษัทต้องดำ�เนินการ ปรับปรุง แก้ไข เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและ กลยุทธ์ที่บริษัทกำ�หนด 10) จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการ ตรวจสอบโดยเปด เผยไวใ นรายงานประจาํ ปข องบริษทั 11) รายงานการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการบริษัท 12) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินยั แพทย์ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 2. รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ กรรมการบรรษัทภิบาล 3. นายสรร วิเทศพงษ์ กรรมการบรรษัทภิบาล นางสาวชุติมา บุญมี เลขานุการ

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ มีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึง่ ได้ รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ 2) สอบทานและประเมิ น ผลให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบการ ควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจ สอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและ มีประสิทธิผล ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 3) สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ กับธุรกิจของบริษัท ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 4) พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตัง้ และเสนอคาตอบแทน 1) กำ�หนดและทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ผูสอบบัญชีของบริษัท 2) กำ�หนดและทบทวนนโยบายการป้องกันการจ่ายเงิน 5) พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัท โดยเฉพาะ เพือ่ การคอร์รปั ชัน่ ในกรณีทเ่ี กิดรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมี 3) ดูแลให้มีการปฏิบัติเป็นไปตามนโยบาย รวมทั้งให้ ความขัดแยงทางผลประโยชน ใหมีความถูกตอง ข้อแนะนำ�และการสนับสนุนทีจ่ �ำ เป็นแก่ผทู้ ป่ี ฏิบตั งิ าน และครบถวน เพือ่ ให้บรรลุแผนงาน 6) ดูแลให้ฝ่ายตรวจสอบ ทำ�หน้าที่ตรวจสอบกิจการ 4) ประเมินผลภายในด้วยเกณฑ์บรรษัทภิบาลเพือ่ กำ�หนด ภายในที่มีประสิทธิภาพ มีบุคลากรและระบบการ ประเด็นทีค่ วรปรับปรุง ทำ�งานที่เหมาะสม มีความเป็นอิสระจากหน่วยงาน 5) เป็ น ตั ว แทนบริ ษั ท ในการสื่ อ สารและการดำ � เนิ น ที่ต้องถูกตรวจสอบ และปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามมาตรฐานการ กิจกรรมด้านบรรษัทภิบาล การป้องกันการจ่ายเงิน ตรวจสอบกิจการภายในที่เป็นที่ยอมรับทางวิชาชีพ เพื่อการคอร์รัปชั่นทั้งกับผู้บริหาร พนักงาน และ และตามแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย หน่วยงานภายนอก ว่าด้วยแนวทางการปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายในของ 6) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย สถาบันการเงิน ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 7) กำ�หนดนโยบายการแจ้งเบาะแส กรณีพบเห็นการกระทำ�ที่ ไม่เหมาะสมหรือไม่ถกู ต้อง (Whistle-Blowing Policy) 4. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และกำ�กับดูแลให้ผู้บริหารสร้างช่องทางในการรับ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบ เรื่องร้องเรียน หรือรายงานข้อมูลที่ละเอียดอ่อน ด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ (Sensitive Information) ที่สามารถปกปิดข้อมูล 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ของผู้ร้องเรียน และป้องกันไม่ ให้เกิดผลกระทบ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เชิงลบต่อผู้ร้องเรียน 2. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ 8) จัดให้มีแนวทางและระบบการควบคุมภายในในการ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ต่อต้านการทุจริต มีการควบคุมและติดตามความเสีย่ ง 3. รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ จากการทุจริตในบริษัท มีการสื่อสารและอบรม กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ทำ�ความเข้าใจให้พนักงานทุกระดับถือปฏิบัติ นายเรืองศักดิ์ วิทวัสการเวช เลขานุการ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ ซึง่ ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ดังนี้ 1. กำ�หนดหลักเกณฑ์ คุณสมบัติ วิธีการคัดเลือก กรรมการ และ/หรือ ตำ�แหน่งผู้บริหารของบริษัท ตั้งแต่กรรมการผู้จัดการขึ้นไป เมื่อครบวาระ หรือ มีตำ�แหน่งว่างลง หรือเพิ่มเติม 2. คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อดำ�รงตำ�แหน่งต่างๆ ดังต่อไปนี้ เพื่อนำ�เสนอ คณะกรรมการบริษัท 2.1 กรรมการ (เพิ่มเติม / ทดแทน / ครบวาระ) 2.2 ผูบ้ ริหารระดับสูง ตัง้ แต่ต�ำ แหน่งกรรมการผูจ้ ดั การขึน้ ไป 3. เสนอแนะวิธกี ารประเมินผลการทำ�งานของกรรมการ บริษทั และคณะกรรมการบริษัทต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินผลของ กรรมการบริษัทและคณะกรรมการบริษัท 4. เสนอแนวทาง วิ ธี ก ารจ่ า ยค่ า ตอบแทนและ ผลประโยชน์อื่นใด รวมถึงโบนัสประจำ�ปี ให้แก่ คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย คณะต่างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้ง 5. พิ จารณาแนวทางการประเมิ น ผลและรั บ ทราบ ผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ้ ดั การ รวมถึงกำ�หนด ผลตอบแทนและโบนั ส สำ � หรั บ การปฏิ บั ติ ง าน ประจำ�ปี โดยคำ�นึงถึงหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ บริษทั 6. พิ จารณางบประมาณการขึ้ น เงิ น เดื อ นประจำ � ปี หรือ งบประมาณการจ่ายเงินโบนัสประจำ�ปี หรือ ผลตอบแทนพิเศษอืน่ ๆ ทีบ่ ริษทั กำ�หนดให้พนักงาน เพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัท 6.1 พิจารณาภาพรวมและกรอบการดำ�เนินการ ของโครงสร้ า งค่ า ตอบแทน การขึ้ น เงิ น เดื อ น ประจำ�ปีและโบนัสประจำ�ปี ตลอดจนผลประโยชน์ อื่ น ใดของผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และพนั ก งานบริ ษั ท ในประเทศ (Local Staff) และค่าตอบแทนของ พนักงานชาวต่างชาติ (Expatriate) ที่เป็นบริษัท ร่วมทุน อาทิเช่น ค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการต่างๆ ฯลฯทีเ่ กีย่ วข้องกับการทำ�งานของพนักงานชาวต่างชาติ ตามที่ได้ตกลงกัน ตามข้อเสนอของฝ่ายจัดการ เพือ่ ความเหมาะสมและก่อให้เกิดผลงานตามทีค่ าดหวัง มีความเป็นธรรมและเป็นการตอบแทนพนักงานที่ ช่วยให้งานของบริษัทประสบผลสำ�เร็จ 6.2 พิจารณางบประมาณการขึ้นเงินเดือน ประจำ�ปี ตลอดจนผลตอบแทนพิเศษอื่นๆ ที่บริษัท กำ�หนดให้พนักงาน 7. พิจารณานโยบายแนวทางและวิธีการจัดทำ�แผน สืบทอดตำ�แหน่ง เพื่อความต่อเนื่องในการบริหาร ที่เหมาะสมและอย่างเป็นระบบ สำ�หรับตำ�แหน่ง ผูบ้ ริหารระดับสูง ตัง้ แต่ผอู้ �ำ นวยการฝ่าย/สำ�นักขึน้ ไป

43

8. พิจารณากรอบนโยบายและหลักเกณฑ์เกี่ยวกั บ รูปแบบลักษณะการจ้างงานที่มีลักษณะพิเศษ 9. ทบทวนและเสนอข้อแก้ไข ขอบเขตหน้าที่ และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับภาวการณ์ 10. เปิดเผยรายงานการดำ�เนินงานของคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจำ�ปี ของบริษัท 11. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการ กรรมการอิสระ และ ผู้บริหารของบริษัท 1. การสรรหากรรมการและกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน จะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม รวมถึงมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ในด้านต่างๆ มีความเข้าใจเพียงพอด้านการธนาคาร การเงิน รวมถึงเศรษฐกิจ กฎหมาย และอื่ น ๆ โดยคำ � นึ ง ถึ ง ความจำ � เป็ น ขององค์ ก ร และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนจะรับฟังข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้นรายย่อย ซึ่ ง เสนอชื่ อ บุ ค คลที่ ควรได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการหรื อ กรรมการอิสระของบริษัทด้วย ทั้งนี้ บริษัทเปิดโอกาสให้ผ้ถู ือหุ้น เสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ รั บ การพิ จารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการใน การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ บ ริ ษั ท กำ � หนด รายละเอียดแสดงไว้ในรายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน หัวข้อ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะ เสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแต่งตั้งกรรมการ และ/หรือ กรรมการอิ ส ระแทน กรณี ที่ ตำ � แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท ว่ า งลง เพราะเหตุอน่ื นอกจากถึงคราวออกตามวาระหรือเพือ่ พิจารณาเสนอต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งกรรมการและ/หรือกรรมการอิสระ ในกรณีที่กรรมการพ้นตำ�แหน่งตามวาระหรือเลือกตั้งกรรมการ ใหม่เพิ่มเติมโดยหลักเกณฑ์ในการเลือกตั้งและถอดถอนกรรมการ เป็นดังนี้ • องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท จำ�นวนของกรรมการบริษัทเป็นไปตามที่ที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ กำ�หนด โดยมีจ�ำ นวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน ทัง้ นี้ กรรมการบริษทั จะประกอบด้วย กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารจำ�นวนไม่เกิน 1 ใน 3 และ จำ�นวนของกรรมการอิสระจะต้องมีอย่างน้อย 3 คน หรืออย่างน้อย 1 ใน 3 แล้วแต่จำ�นวนใดจะสูงกว่า • การเลือกตั้งกรรมการบริษัท 1. ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ ให้ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังนี้ (ก) ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึ่งเสียง


44

รายงานประจำ�ปี 2560

(ข) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ ทั้ ง หมดเลื อ กตั้ ง บุ ค คลคนเดี ย วหรื อ หลายคนเป็นกรรมการก็ได้ ในกรณีที่ เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป็นกรรมการจะ แบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใ้ ู ดมากน้อยเพียงใด ไม่ได้ (Non-Cumulative Voting) (ค) บุ ค คลซึ่ ง ได้ รั บ คะแนนเสี ย งสู ง สุ ด ตาม ลำ�ดับลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็น กรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่ บุคคลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลำ�ดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการ ที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 2. การพ้นจากตำ�แหน่งของกรรมการ (ก) การพ้นตำ�แหน่งตามวาระ • ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี ทุกครั้งให้กรรมการออกจากตำ�แหน่ง หนึ่งในสาม • กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากตำ�แหน่งใน ปีแรกและปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียน บริษทั นัน้ ให้จบั สลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ถัดไปให้กรรมการคน ที่ อ ยู่ ใ นตำ � แหน่ ง นานที่ สุ ด นั้ น เป็ น ผู้ออกจากตำ�แหน่ง • กรรมการผูพ้ น้ จากตำ�แหน่งนีจ้ ะเลือก เข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้ (ข) ตาย (ค) ลาออก (ง) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้าม ตามกฎหมาย (จ) ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ลงมติให้ออกด้วยคะแนน เสียงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงและมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำ�นวน หุ้ น ที่ ถื อ โดยผู้ ถื อ หุ้ น ที่ เ ข้ า ประชุ ม และ มีสิทธิออกเสียง (ฉ) ศาลมีคำ�สั่งให้ออก 3. ในกรณีทกี่ รรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่ง มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัท มหาชนจำ�กัดเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ คราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในตำ�แหน่งกรรมการ ได้เพียงเท่าวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน ทั้งนี้มติของ

คณะกรรมการดังกล่าวต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนกรรมการที่เหลืออยู่ • วิธีการคัดเลือกกรรมการ การสรรหาบุคคลที่จะมาดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ เป็นไปตามแนวทางในการแต่งตัง้ กรรมการตามข้อบังคับของบริษทั แบ่งเป็น 2 กรณี กรณีที่ 1 การแต่งตั้งกรรมการใหม่อันเนื่องจาก การออกตามวาระคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม รวมถึงมีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ ตลอด จนมีความเข้าใจด้านการเงิน การธนาคาร เศรษฐกิจ กฎหมาย โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็นขององค์กรและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และนำ�เสนอรายชือ่ ต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณากลัน่ กรอง บุคคลนั้นๆ ก่อนนำ�เสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาเพื่ออนุมัติ กรณีที่ 2 การแต่งตัง้ กรรมการใหม่แทนกรรมการ ที่ออกก่อนครบกำ�หนดวาระ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนจะพิจารณาคัดเลือกและกลัน่ กรองบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ เหมาะสม รวมถึงมีความรูค้ วามสามารถ มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ ตลอดจนมี ความเข้ า ใจด้ า นการเงิ น การธนาคาร เศรษฐกิ จ กฎหมาย โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็นขององค์กรและการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ทั้งนี้เพื่อนำ�เสนอรายชื่อต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณาอนุมัติ 2. การสรรหาผู้บริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน จะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีความสามารถและ คุณสมบัติที่เหมาะสม โดยคำ�นึงถึงจริยธรรม คุณธรรม ความ ซื่อสัตย์ เพื่อดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูง ได้แก่ กรรมการ ผู้ จั ด การ โดยมี ปั จ จั ย เบื้ อ งต้ น ที่ ใ ช้ ป ระกอบการพิ จ ารณา ได้ แ ก่ คุณสมบัติ ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ ใน สายงานด้านการเงิน ผู้ที่ ได้รับคัดเลือกให้ดำ�รงตำ�แหน่งควรมี แนวคิดและวิสัยทัศน์ ในการบริหารจัดการในแนวทางเดียวกับ คณะกรรมการบริษัทเพื่อให้การดำ�เนินงานขององค์กรประสบ ผลสำ�เร็จลุล่วงตามเป้าหมายซึ่งผู้บริหารสูงสุดและคณะกรรมการ บริ ษั ท จะต้ อ งมี ความไว้ ว างใจซึ่ ง กั น และกั น ตลอดจนมี ก าร ประสานงานกั น อย่ า งใกล้ ชิ ด โดยคณะกรรมการสรรหาและ กำ � หนดค่ า ตอบแทนจะเสนอชื่ อ บุ ค คลที่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ กต่ อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาแต่งตั้งต่อไป กรณีผบู้ ริหารในตำ�แหน่งอืน่ ๆ กรรมการผูจ้ ดั การจะ เป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติเพื่อพิจารณาอนุมัติแต่งตั้ง คุณสมบัติของกรรมการอิสระ การสรรหาและแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลเข้ า ดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการอิสระนั้น บุคคลดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติของกรรมการ อิสระตามทีบ่ ริษทั กำ�หนด และสอดคล้องกับแนวปฏิบตั ขิ องนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุนกำ�หนด โดยคุณสมบัติของกรรมการอิสระ มีดังนี้


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

(1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่มี สิทธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ให้นับ รวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นใหญ่ หรือของผู้มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัท เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่ น้อยกว่าสองปีก่อนเข้ารับตำ�แหน่ง (3) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็นบิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน่ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้ รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษัท หรือบริษัทย่อย
 (4) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวาง การใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็น หรือเคยเป็น ผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทาง ธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนเข้ารับตำ�แหน่ง ความสัมพัน ธ์ทางธุร กิจ รวมถึงการทำ�รายการ ทางการค้ า ที่ กระทำ � เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การการเช่ า หรื อ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กยู้ มื ค้ำ � ประกั น การให้ สิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น หลั ก ประกั น หนี้ สิ น รวมถึ ง พฤติการณ์อื่นทำ�นองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทหรือคู่สัญญามี ภาระหนี้ที่ต้องชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึ่งตั้งแต่ร้อยละสามของสินทรัพย์ ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแต่ยี่สิบล้านบาทขึ้นไปแล้วแต่ จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า ทั้งนี้ การคำ�นวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็น ไปตามวิธกี ารคำ�นวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ ในการทำ�รายการ ที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้ นั บ รวมภาระหนี้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว่ า งหนึ่ ง ปี ก่ อ นวั น ที่ มี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุมของบริษทั สังกัดอยูเ่ ว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนเข้ารับตำ�แหน่ง (6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริการเป็น ที่ปรึก ษากฎหมาย หรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำ นาจ

45

ควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จาก การมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นเข้ารับตำ�แหน่ง (7) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็น ตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่ง เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและ เป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย หรือ ไม่เป็นหุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ� หรือ ถือหุน้ เกินร้อยละหนึง่ ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของ บริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย (9) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความ เห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท ภายหลัง ได้ รับ การแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะดังกล่าวข้างต้น แล้ว กรรมการอิ ส ระอาจได้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตัดสินใจในการดำ�เนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุ ม ของบริ ษัท โดยมี การตั ด สิ น ใจในรู ป แบบของ องค์คณะ (Collective Decision) ได้ 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประกอบด้วยกรรมการ 6 ท่าน ดังนี้ 1. กรรมการผู้จัดการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. รองกรรมการผู้จัดการ ทุกกลุ่ม กรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 3. ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานบริหารความเสีย่ ง กรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 4. ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 5. ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 6. ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ผู้อำ�นวยการอาวุโสฝ่ายบริหารความเสี่ยง เลขานุการ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)


46

รายงานประจำ�ปี 2560

5) รายงานต่อคณะกรรมการต่างๆ อย่างน้อยปีละครั้ง หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยความเสี่ยง ต่ า งๆที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การบริ ห ารความเสี่ ย ง อย่างมีนัยสำ�คัญในเรื่องสถานะความเสี่ยง และ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่มีผลต่อระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) เพื่อสร้างความมั่นใจ ว่าคณะกรรมการต่างๆ ได้รับทราบและตระหนักถึง ปัจจัยต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อ ฐานะความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน

ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึง่ ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ดังนี้ 1) กำ�หนดนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยง ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการ บริษทั เพือ่ พิจารณาในเรือ่ งของการบริหารความเสีย่ ง โดยรวม ซึง่ ต้องครอบคลุมถึงความเสีย่ งประเภทต่างๆ ที่สำ�คัญ เช่น ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยง ด้านตลาด ความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง ความเสีย่ ง ด้านปฏิบตั กิ าร และความเสีย่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อชือ่ เสียง ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เป็นต้น 2) วางกลยุทธ์ ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหาร ความเสี่ยง โดยสามารถประเมิน ติดตามและดูแล ปริมาณความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทางการเงินให้ อยู่ในระดับที่เหมาะสม 3) ทบทวนความเพี ย งพอของนโยบายและระบบ การบริหารความเสีย่ ง โดยรวมถึงความมีประสิทธิผล ของระบบและการปฏิบัติตามนโยบายที่กำ�หนด 4) ควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการบริหาร ความเสีย่ ง และดูแลให้บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ดำ�เนินการตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงที่ บริษัทกำ�หนดและปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยกำ�หนด

การประชุมคณะกรรมการบริษทั บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่�ำ เสมอ โดยมีการ กำ�หนดวาระชัดเจนล่วงหน้าและมีวาระการประชุมที่สำ�คัญ เช่น การพิจารณางบการเงินของบริษัทในแต่ละไตรมาส การติดตาม ผลการดำ�เนินงานของบริษทั การติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษทั ในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ซึ่งบริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุม พร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารก่อนการประชุมล่วงหน้า เพือ่ ให้กรรมการมีเวลาในการพิจารณาศึกษาข้อมูลและมีการจดบันทึก การประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและจัดเก็บรายงานการประชุมที่ ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้สามารถตรวจสอบได้ ปี 2560 มีการประชุมคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการ ชุดย่อย โดยมีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ประกอบด้วย จำ�นวนครัง้ ของการประชุม และจำ�นวนครัง้ ทีก่ รรมการ แต่ละท่านได้เข้าร่วมประชุม สรุปดังตารางด้านล่างนี้

ตารางแสดงการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการ ประจำ�ปี 2560 จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม รายนามกรรมการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ บรรษัทภิบาล สรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน จำ�นวนการประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 15 15 5 4 1. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 15 2. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ 15 14 5 4 ควรเดชะคุปต์ 5 5 1 1 3. รศ.ดร.สุปรียา/1 (จากจำ�นวน 6 ครั้ง) (จากจำ�นวน 5 ครั้ง) (จากจำ�นวน 1 ครั้ง) (จากจำ�นวน 1 ครั้ง) /2 4. นายสรร วิเทศพงษ์ 5 5 1 (จากจำ�นวน 6 ครั้ง) (จากจำ�นวน 5 ครั้ง) (จากจำ�นวน 1 ครั้ง) 5. นายฉี/3 ชิง-ฟู่ 5 (จากจำ�นวน 6 ครั้ง) 6. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ 15 4 /4 7. นายวู โค-ชิน 6 (จากจำ�นวน 6 ครั้ง) 8. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 15 9. นางศศิธร พงศธร 15 10. นางสุธารทิพย์ พิสิฐบัณฑูรย์ 11. นางสาวเยาวลักษณ/์ 5 อร่ามทวีทอง 12. นางระวีวรรณ 13. นายธานี

วัธนานุกิจ ผลาวงศ์

-

-

-

-

คณะกรรมการ บริหาร ความเสี่ยง 4 4 3 1 (จากจำ�นวน 2 ครั้ง) 4 4


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

47

หมายเหตุ /1 รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และกรรมการบรรษัทภิบาล ตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2560 แทนนายสมศักดิ์ อัศวโภคี ที่ลาออก โดยรศ.ดร.สุปรียา ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท ตั้งแต่ครั้งที่ 10/2560 วันที่ 21 สิงหาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่ครั้งที่ 11/2560 วันที่ 17 สิงหาคม 2560 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ตั้งแต่ครั้งที่ 4/2560 วันที่ 8 ธันวาคม 2560 และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ตั้งแต่ครั้งที่ 5/2560 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2560 /2 นายสรร วิเทศพงษ์ เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2560 แทนนายไพโรจน์ เฮงสกุล ที่ลาออก โดยนายสรรได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท ตั้งแต่ครั้งที่ 10/2560 วันที่ 21 สิงหาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่ครั้งที่ 11/2560 วันที่ 17 สิงหาคม 2560 และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ตั้งแต่ครั้งที่ 5/2560 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2560 /3 นายฉี ชิง-ฟู่ เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม 2560 แทนนายอนันต์ อัศวโภคิน ทีล่ าออก โดยนายฉี ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษทั ตัง้ แต่ครั้งที่ 10/2560 วันที่ 21 สิงหาคม 2560 /4 นายวู โค-ชิน เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2560 แทนนางสุวรรณา พุทธประสาท ที่ลาออก โดยนายวู ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท ตั้งแต่ครั้งที่ 10/2560 วันที่ 21 สิงหาคม 2560 /5 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยง ตั้งแต่วันที่ 19 มิถุนายน 2560

7. คณะผู้บริหาร บริษัทมีผู้บริหารจำ�นวน 1 ท่าน ดังนี้ รายชื่อผู้บริหาร

ตำ�แหน่ง ในบริษัท

1. นางศศิธร พงศธร

กรรมการผู้จัดการ ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง

หมายเหตุ บริษัท บริษัทย่อย/1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3 บริษัทย่อย/4

ผู้จัดการ

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ตำ�แหน่ง ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ในบริษทั ย่อย/1 กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/2 กรรมการ

ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/3 กรรมการ

ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/4 กรรมการ

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด

ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการ 1) ดำ�เนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตามนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายที่คณะกรรมการกำ�หนดไว้ 2) ติดตามและรายงานสภาวะฐานะของบริษทั เสนอแนะ ทางเลื อ กและกลยุ ท ธ์ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบาย และสภาพตลาด 3) พิจารณาและกลั่นกรองการดำ�เนินงานทางธุรกิจ รวมทัง้ มีอ�ำ นาจในการดำ�เนินธุรกิจใดๆ เพือ่ ให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์และนโยบาย 4) ดู แ ลและควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง านด้ า นต่ า งๆของ บริษัท อาทิ การเงิน การบริหารความเสี่ยง การ ควบคุมภายใน งานด้านปฏิบัติการและงานด้าน สนับสนุนต่างๆ และงานทรัพยากร 5) เป็นตัวแทนบริษัทตลอดจนมีอำ�นาจมอบหมายใน การติดต่อกับหน่วยงานราชการและหน่วยกำ�กับดูแล อื่นๆ

6) ดูแลให้การสื่อความกับสาธารณชน ผู้ถือหุ้น ลูกค้า และพนักงาน เพื่อเสริมชื่อเสียงและภาพลักษณ์ที่ดี ของบริษัท 7) ดูแลให้มีการกำ�กับกิจการที่ดี 8) ดำ � เนิ น การเรื่ อ งอื่ น ใดที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยที่ แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้จัดการหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการผู้จัดการไม่มีอำ�นาจอนุมัติดำ�เนินการดังกล่าวกับบริษัท หรือบริษัทย่อย ตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กำ�หนด


48

รายงานประจำ�ปี 2560

8. เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งนายวิเชียร อมรพูนชัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานกิจการองค์กรและกฎหมาย ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2552 เพื่อทำ�หน้าที่เลขานุการบริษัท

ตามที่กฎหมายกำ�หนด โดยคณะกรรมการบริษัทได้ส่งเสริมและ สนับสนุนให้เลขานุการบริษัทได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาความรู้ ทั้งด้านกฎหมาย การบัญชี หรือการปฏิบัติหน้าที่เลขานุการบริษัท โดยมีข้อมูลประวัติ ดังนี้

ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการบริษัท 56 • บัญชีบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร • ประกาศนียบัตรวิชาชีพผูต้ รวจสอบภายใน (CPIA) สมาคมผูต้ รวจสอบภายใน ประวัติการฝึกอบรม แห่งประเทศไทย (สตท.) • หลักสูตร Modern Managers Program จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Company Secretary Program 32/2009 : IOD • หลักสูตร Effective Minute Taking 17/2010 : IOD • หลักสูตร Company Reporting Program 17/2017 : IOD • หลักสูตร Corporate Secretary Development Program สมาคมบริษทั จดทะเบียน สัดส่วนการถือหุน้ (ร้อยละ) • 0.003 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • ไม่มี

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง พ.ค. 2552 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท ธ.ค. 2541 - ธ.ค. 2548 ผู้อำ�นวยการฝ่ายตรวจสอบ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค.2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานกิจการองค์กรและกฎหมาย มี.ค. 2551 - ปัจจุบัน เลขานุการธนาคาร เม.ย. 2559 - ส.ค. 2560 ผู้ช่วยสายงาน สำ�นักกรรมการผู้จัดการ พ.ย. 2553 - มี.ค. 2559 ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ ส.ค. 2549 - ต.ค. 2553 ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ รักษาการผู้อำ�นวยการสำ�นักกำ�กับธนาคาร ธ.ค. 2548 - ก.ค. 2549 ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการและกำ�กับธนาคาร รักษาการผู้อำ�นวยการฝ่ายตรวจสอบ ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ และเลขานุการบริษัท มี.ค. 2557 - ส.ค. 2560 เลขานุการบริษัท

หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสาร ดังนี้ 1.1 จัดทำ�ทะเบียนกรรมการ 1.2 หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการ ประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจำ�ปี ของบริษัท 1.3 หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และรายงาน การประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็ บ รั ก ษารายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย รายงานโดย กรรมการหรือผู้บริหาร 2.1 กรรมการและผู้บ ริห ารมีหน้าที่ “รายงาน การมีส่วนได้เสีย” (หมายถึง กรรมการ และ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ บมจ. หลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

ผูบ้ ริหารมีหน้าทีร่ ายงานการมีสว่ นได้เสียของ ตนและผู้เกี่ยวข้องให้บริษัททราบ) 2.2 จัดส่งสำ�เนารายงานให้ประธานกรรมการและ ประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน เจ็ดวันทำ�การนับแต่วันที่ได้รับรายงานนั้น 2.3 จัดให้มรี ะบบการเก็บรักษาเอกสารและหลักฐาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ ถู ก ต้ อ งและครบถ้ ว น และ สามารถตรวจสอบได้ภายในระยะเวลาไม่นอ้ ย กว่าห้าปีนับแต่วันที่มีการจัดทำ�เอกสารหรือ ข้อมูลดังกล่าว 3. ดำ�เนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ประกาศกำ�หนด


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

49

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล และ นโยบายกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมีคณะกรรมการ การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัท กำ�หนดโดยที่ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณาความเหมาะสม ประชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ผ่านการพิจารณาและนำ�เสนอโดยคณะกรรมการ ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนดังกล่าวจะต้องมี ค่าตอบแทนกรรมการ จำ�นวนและส่วนประกอบทีส่ ามารถดึงดูดกรรมการทีม่ คี วามสามารถ ค่ า ตอบแทนกรรมการบริ ษั ท กำ � หนดโดยที่ ป ระชุ ม และมีความสำ�คัญต่อการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการได้ และ ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น ในรู ปของตัวเงิน ได้แก่ ค่าตอบแทนรายเดือน และ จะหลีกเลี่ยงการจ่ายค่าตอบแทนที่มากเกินความจำ�เป็น ในการ กำ�หนดค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการจะพิจารณาตามหลักปฎิบัติ ค่าเบีย้ ประชุม นอกจากนี้ ได้ผา่ นการพิจารณาให้ความเห็นชอบจาก โดยทั่วไปในอุตสาหกรรม ซึ่งพิจารณาจากประสบการณ์ทำ�งาน คณะกรรมการบริษทั โดยการนำ�เสนอจากคณะกรรมการสรรหาและ ความรู้ ความสามารถ ความตัง้ ใจและทุม่ เท รวมทัง้ คุณประโยชน์ตา่ งๆ กำ�หนดค่าตอบแทน ซึ่งค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการจะกำ�หนดไว้ ที่กรรมการแต่ละคนสามารถทำ�ให้กับบริษัทได้และเปรียบเทียบ อย่างชัดเจนและโปร่งใสตามหลักปฏิบัติโดยทั่วไปในอุตสาหกรรม กับบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่อยู่ใน โดยพิจารณาจากประสบการณ์ทำ�งาน ความรู้ ความสามารถ อุตสาหกรรมและธุรกิจที่มีขนาดใกล้เคียงกัน รวมถึงได้เทียบเคียง สอดคล้ อ งกั บ บทบาทหน้ า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบของกรรมการใน กั บ ค่ า เฉลี่ ย ของบริ ษั ท จดทะเบี ย น จากรายงานผลสำ � รวจ การกำ�กับการทำ�งานของบริษทั และคำ�นึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของ อัตราค่าตอบแทนกรรมการบริษัทจดทะเบียนของสมาคมส่งเสริม บริษัทและผู้ถือหุ้น ค่าตอบแทนกรรมการ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล สถาบันกรรมการบริษัทไทย กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2560 เมื่อ การกำ�หนดค่าตอบแทนจะต้องได้รับการอนุมัติตาม วันที่ 24 เมษายน 2560 มีมติอนุมัติกำ�หนดค่าตอบแทนรายเดือน ลำ�ดับอำ�นาจ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์และเพื่อ และค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ดังนี้ ความโปร่งใส เช่น ผูถ้ อื หุน้ อนุมตั คิ า่ ตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั 9. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ตารางแสดงอัตราค่าตอบแทนกรรมการประจำ�ปี 2560 และ 2559 ตำ�แหน่ง

ประธาน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร

ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษทั กรรมการ (บาทต่อเดือน) 2560 2559 2560 2559 60,000 60,000 30,000 30,000 40,000 40,000 25,000 25,000 40,000 40,000 -

ค่าบำ�เหน็จกรรมการ

ค่าเบี้ยประชุม (บาทต่อครั้ง) คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหาร ตรวจสอบ 2560 2559 30,000 30,000 20,000 20,000 -

ค่าบำ�เหน็จกรรมการบริษทั กำ�หนดโดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในรูปของตัวเงิน ซึ่งได้ผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัท โดยการนำ�เสนอจากคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน และในปี 2560 ได้กำ�หนดค่าบำ�เหน็จ รวมทั้งสิ้น 7.0 ล้านบาท หมายถึง ตารางแสดงค่าบำ�เหน็จกรรมการ ประจำ�ปี 2560 และ 2559

ค่าบำ�เหน็จกรรมการ (บาท)

2560 7,000,000

2559 5,000,000

2560 2559 30,000 30,000 20,000 20,000 -

คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล

คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน 2560 2559 2560 2559 30,000 30,000 30,000 30,000 20,000 20,000 20,000 20,000 -

ค่าตอบแทนผู้บริหาร - ไม่มี -

ค่าตอบแทนอื่น ค่ าตอบแทนอื่ น หรื อ ผลประโยชน์ ต อบแทนอื่ น หุน้ หุน้ กู้ รวมทัง้ สิทธิประโยชน์อน่ื ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงิน และไม่ เ ป็ น ตั ว เงิ น นอกเหนื อ จากผลประโยชน์ ที่ พึ ง ได้ รั บ ตามปกติ ซึ่งได้แก่ เงินเดือน เบี้ยประชุม ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ - ไม่มี -

ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร - ไม่มี -


50

รายงานประจำ�ปี 2560

ค่าตอบแทนและเบี้ยประชุมกรรมการ

ในปี 2560 บริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนกรรมการ ซึ่งประกอบด้วย ค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุม รวมทั้งสิ้น 16,864,000 บาท ดังตารางด้านล่างนี้ ตารางแสดงค่าตอบแทน และเบี้ยประชุมกรรมการ ประจำ�ปี 2560 และ 2559 2560 รายนามกรรมการ

วันที่เริ่มเป็น กรรมการ บริษัท

ค่าตอบแทน/ เบี้ยประชุม (บาท)

โบนัส (บาท)

2559 ผลประโยขน์ ตอบแทนอื่น/1 (บาท)

ค่าตอบแทน และ เบี้ยประชุม (บาท)

โบนัส (บาท)

ผลประโยขน์ ตอบแทนอื่น/1 (บาท)

1. นายรัตน์

พานิชพันธ์

22 เม.ย. 2552

2,149,842.10

-ไม่มี-

-ไม่มี-

2,046,315.79

-ไม่มี-

-ไม่มี-

2. นายอดุลย์

วินัยแพทย์

22 เม.ย. 2552

2,216,842.10

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1,656,315.79

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1 ส.ค. 2560

485,000.00

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

3. รศ.ดร.สุปรียา/2 ควรเดชะคุปต์ /3

4. นายสรร

วิเทศพงษ์

1 ส.ค. 2560

445,000.00

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

5. นายฉี/4

ชิง-ฟู่

1 ส.ค. 2560

325,000.00

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

6. นายนพร

สุนทรจิตต์เจริญ

3 พ.ค. 2554

1,936,842.10

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1,791,315.79

-ไม่มี-

-ไม่มี-

7. นายวู/5

โค-ชิน

1 ส.ค. 2560

350,000.00

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

8. นายคุณวุฒิ

ธรรมพรหมกุล

14 ส.ค. 2556

1,836,842.10

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1,736,315.79

-ไม่มี-

-ไม่มี-

9. นางศศิธร

พงศธร

22 เม.ย. 2552

1,216,842.10

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1,006,315.79

-ไม่มี-

-ไม่มี-

22 เม.ย. 2552

1,531,263.20

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1,899,473.68

-ไม่มี-

-ไม่มี-

22 เม.ย. 2552

1,541,842.10

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1,716,315.79

-ไม่มี-

-ไม่มี-

12. นางสุวรรณา/5 พุทธประสาท

3 พ.ค. 2554

1,241,842.10

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1,306,315.79

-ไม่มี-

-ไม่มี-

/2

9 ต.ค. 2557

1,586,842.10

-ไม่มี-

-ไม่มี-

1,611,315.79

-ไม่มี-

-ไม่มี-

10. นายอนันต์/4 อัศวโภคิน /3

11. นายไพโรจน์ เฮงสกุล 13. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี รวม

16,864,000.00

14,770,000.00

หมายเหตุ /1 ผลประโยชน์ตอบแทนอื่น หมายถึง หุ้น หุ้นกู้ รวมทั้งสิทธิประโยชน์อื่นๆ ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน นอกเหนือจากผลประโยชน์ที่พึงได้รับตามปกติ ซึ่งได้แก่ เงินเดือน เบี้ยประชุม /2 รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และกรรมการบรรษัทภิบาล ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2560 แทนนายสมศักดิ์ อัศวโภคี ที่ลาออก /3 นายสรร วิเทศพงษ์ เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2560 แทน นายไพโรจน์ เฮงสกุล ที่ลาออก /4 นายฉี ชิง-ฟู่ เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2560 แทนนายอนันต์ อัศวโภคิน ที่ลาออก /5 นายวู โค-ชิน เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2560 แทนนางสุวรรณา พุทธประสาท ที่ลาออก


วินัยแพทย์

2. นายอดุลย์

ธรรมพรหมกุล

พงศธร

8. นายคุณวุฒิ

9. นางศศิธร

หมายเหตุ บริษัท บริษัทย่อย/1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โค-ชิน กรรมการ

6. นายนพร

1,983,622 หุ้น ร้อยละ 0.009 (เพิ่มขึ้น ร้อยละ 46.23)

2,700,066 หุ้น ร้อยละ 0.013 ถือโดย คู่สมรส (ลดลง ร้อยละ 0.007

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

บริษัท

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด

กรรมการ กรรมการผู้จัดการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการ

ชิง-ฟู่

5. นายฉี

7. นายวู

วิเทศพงษ์

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการ

ประธานกรรมการ

ตำ�แหน่ง

4. นายสรร

3. รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์

พานิชพันธ์

1. นายรัตน์

รายนามกรรมการ

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

31 ธันวาคม 2560 จำ�นวนการถือหลักทรัพย์ บริษัทย่อย /1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3

1,356,522 หุ้น ร้อยละ 0.010

2,700,066 หุ้น ร้อยละ 0.020 ถือโดย คู่สมรส

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

บริษัท

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

-ไม่มี-

31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนการถือหลักทรัพย์ บริษัทย่อย/1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3

ตารางแสดงจำ�นวนและสัดส่วนการถือหุน้ ของกรรมการบริษทั ทีถ่ อื ในบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 31 ธันวาคม 2559

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

51


52

รายงานประจำ�ปี 2560

ปัจจัยความเสี่ยง บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็น บริษัทโฮลดิ้งและเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินประกอบ ธุรกิจโดยการเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น โดยไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง (Non-operating Holding Company) แต่จะเข้าถือหุ้นในบริษัท อื่นเพื่อการมีอำ�นาจควบคุมกิจการ บริษัทจัดตั้งขึ้นตามประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทยทีก่ �ำ หนดให้สถาบันการเงินปรับโครงสร้าง การถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจทางการเงินของตนเองให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม

นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการบริหารความเสี่ยง มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้กำ�กับ ดูแลการทำ�ธุรกรรมภายในและภายนอกกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ให้มคี วามเสีย่ งอยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ มีการควบคุมภายในทีด่ แี ละ มีประสิทธิภาพ โดยการทำ�ธุรกรรมจะมีกระบวนการวิเคราะห์ปจั จัย ความเสี่ยงด้านต่างๆ เพื่อบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่าง เพียงพอและเหมาะสม มีการทบทวนนโยบายอย่างสม่ำ�เสมอให้ ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆ และมีการกำ�หนด กลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยคำ�นึง การประกอบธุรกิจของบริษัทแบ่งตามลักษณะการประกอบ ถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มธุรกิจ ธุรกิจของบริษัทย่อย ซึ่งแบ่งเป็น 5 ประเภทธุรกิจ ได้แก่ ทางการเงิน ดังนี้ 1. ธุรกิจการลงทุน ได้แก่ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 2. ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 3. ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน ได้แก่ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด 4. ธุรกิจหลักทรัพย์ ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 5. ธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน ได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง บริษทั ตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหารความเสีย่ งและ การควบคุมความเสีย่ งอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ บริษทั ได้ กำ�หนดโครงสร้างและกำ�หนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงเป็น ลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและ บริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงกำ�หนดแนวปฏิบัติที่สอดคล้อง ตามกฎเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

1. นโยบายการบริหารความเสีย่ งของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน มีวัตถุประสงค์เพื่อกำ�หนดมาตรฐานในการระบุ ประเมิน ควบคุม ติดตาม และรายงานความเสี่ยงที่สำ�คัญของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อเป็นการสร้างกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เป็นระเบียบ แบบแผนและเหมาะสมกับความเสีย่ งในการดำ�เนินธุรกิจของแต่ละ บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน 2. นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งในการทำ � ธุ ร กรรม ภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เป็นแนวทางการกำ�กับดูแลการทำ� ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจ ภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงินมีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ ซึ่งได้ให้บริษัทภายในกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินรายงานการทำ�ธุรกรรมภายในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้รับทราบระดับ ความเสี่ยงที่กลุ่มธุรกิจทางการเงินเผชิญอยู่ และเพื่อให้ม่นั ใจได้ว่า การดำ�เนินธุรกิจอยู่ภายใต้ขอบเขตความเสี่ยงที่กำ�หนดไว้ 3. นโยบายการบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ของ กลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เป็นมาตรฐานขัน้ ต่�ำ ทีบ่ ริษทั และบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินต้องมีความพร้อมในการตอบสนองต่อเหตุการณ์ วิกฤตทีอ่ าจก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรบุคคล สิง่ แวดล้อม หรือความปลอดภัยของสถานที่ปฏิบัติงาน เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัท และบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินสามารถบริหารจัดการเหตุการณ์ วิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งสามารถจำ�กัดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ หรือบริการอันเนื่องมาจากการหยุดชะงักของธุรกิจ 4. นโยบายการเปิดเผยข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุนของ กลุ่มธุรกิจทางการเงิน เป็นการเปิดเผยข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุน และการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ เงินกองทุน ระดับความเสี่ยง กระบวนการประเมินความเสี่ยงและความเพียงพอของเงินกองทุน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และผูท้ ม่ี สี ว่ นได้เสียใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินกับบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ได้ กำ � หนดโครงสร้ า งองค์ กรให้ สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงที่สอดคล้องกับระดับความเสี่ยง ทีย่ อมรับได้และสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละ การควบคุมภายในที่ดี ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่กำ�หนดนโยบายและ แผนกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจของกลุม่ ธุรกิจทางการเงินและกำ�หนด นโยบายการบริหารความเสี่ยง ซึ่งรวมถึงการทำ�ธุรกรรมภาย ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน การบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจของกลุม่ ธุรกิจทางการเงินและกำ�หนดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ เหมาะสม ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ปฏิ บั ติ ตาม นโยบายการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลการทำ�ธุรกรรม ภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด 2. คณะกรรมการตรวจสอบ มี ห น้ า ที่ ส อบทานให้ กลุม่ ธุรกิจทางการเงินมีการรายงานทางการเงินทีค่ รบถ้วนเพียงพอ และเปิดเผยข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และสอดคล้องตามกฎระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทย รวมถึง

53

สอบทานให้ ก ลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ นมี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน ทีเ่ หมาะสม มีการกำ�กับดูแลและติดตามการปฏิบตั ติ ามแนวนโยบาย ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน 3. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีหน้าที่กำ�หนดนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นโยบายป้องกันการจ่ายเงินเพื่อการ คอร์ รั ป ชั่ น และดู แ ลให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามนโยบายดั ง กล่ า ว เป็นตัวแทนบริษทั ในการสือ่ สารและดำ�เนินกิจกรรมด้านบรรษัทภิบาล 4. คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง มี ห น้ า ที่ ควบคุ ม ติดตาม และดูแลให้บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินดำ�เนินการตาม นโยบายการบริหารความเสี่ยงที่ได้กำ�หนดไว้ รวมถึงประเมินผล การบริหารความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน 5. คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง-ด้านปฏิบัติการ มีหน้าที่ในการกำ�หนดกรอบนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้าน ปฏิบัติการ และควบคุมดูแลความเสี่ยงด้านปฏิบัติการโดยรวม พร้อมทั้งกำ�หนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ของบริษัทในกลุ่ม ธุรกิจทางการเงิน 6. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าที่ คัดเลือกกรรมการ หรือผู้บริหารระดับสูง เสนอแนวทางการจ่าย ค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นใดของคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดย่อย พิจารณากรอบโครงสร้างค่าตอบแทน การขึน้ เงินเดือนและโบนัสประจำ�ปีของผูบ้ ริหารระดับสูงและพนักงาน พิจารณานโยบาย แนวทาง และวิธกี ารจัดทำ�แผนสืบทอดตำ�แหน่ง ผู้บริหารเพื่อความต่อเนื่องในการบริหาร


54

รายงานประจำ�ปี 2560

ความเสี่ยงของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษทั จัดตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ถือหุน้ ในบริษทั อืน่ และ ไม่ได้ท�ำ ธุรกิจของตนเอง ดังนัน้ ความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับบริษทั สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัท 2. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัทย่อยของ บริษัท ได้แก่ 2.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2.2 บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2.3 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด

1. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัท

เนื่องจากบริษัทมีวัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งเพื่อลงทุน ในกิจการอืน่ และไม่ได้ท�ำ ธุรกิจของตนเอง ดังนัน้ การตัดสินใจลงทุน ในกิจการต่างๆ จึงมีความสำ�คัญต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัท บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญของการเลือกบริษัทที่จะ ลงทุนในอนาคต โดยเน้นลงทุนในธุรกิจที่ช่วยเสริมศักยภาพในการ แข่งขันให้กับกลุ่มธุรกิจทางการเงิน โดยพิจารณาจากแนวโน้มการ เติบโตของอุตสาหกรรม การแข่งขัน และศักยภาพในการทำ�กำ�ไร ระยะยาว รวมถึงความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง 1.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคาเป็นความเสีย่ ง ที่อาจได้รับความเสียหายอันสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงอัตรา ดอกเบีย้ และราคาของหลักทรัพย์ ซึง่ จะมีผลทำ�ให้เกิดความผันผวน ต่อรายได้ของบริษัทหรือการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินของบริษทั ปัจจุบนั บริษทั มีความเสีย่ ง จากการเปลี่ยนแปลงของราคาอยู่ในระดับต่ำ�เนื่องจากบริษัทไม่มี นโยบายลงทุนในหลักทรัพย์ที่มคี วามเสี่ยงสูง เช่น ตราสารอนุพันธ์ การลงทุ น ส่ ว นใหญ่ ข องบริ ษั ท เป็ น การลงทุ น ที่ มี วัตถุประสงค์เพื่อดำ�รงเป็นสินทรัพย์สภาพคล่องตามที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยกำ�หนด บริษทั จึงเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ทมี่ คี วาม เสี่ยงต่ำ� โดยส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในหลักทรัพย์ภาคธุรกิจเอกชน ที่ได้รับการจัดอันดับเครดิตจากสถาบันจัดอันดับเครดิตภายนอก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั มีมลู ค่าเงินลงทุนสุทธิ จำ � นวน 59,622.72 ล้ า นบาท แบ่ ง เป็ น เงิ น ลงทุ น เพื่ อ ค้ า ซึ่งมีมูลค่ายุติธรรม จำ�นวน 0.18 ล้านบาท เงินลงทุนเผื่อขายซึ่งมี มูลค่ายุติธรรม จำ�นวน 12,463.09 ล้านบาท และตราสารหนี้ที่จะ ถือจนครบกำ�หนด จำ�นวน 47,145.91 ล้านบาท นอกจากนี้ ยังมี เงินลงทุนทัว่ ไปทีเ่ ป็นตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด จำ�นวน 13.54 ล้านบาท

ของบริษัท

1.2 ความเสีย่ งจากการถือหุน้ ของผูล้ งทุนในหลักทรัพย์

ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ต้องปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์การถือหุน้ ซึ่งอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีสาระสำ�คัญ ดังนี้ • การรายงานการถือหุน้ ต่อธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ที่ถือหุ้นหรือมีไว้ซึ่งหุ้นของสถาบันการเงินทั้งทาง ตรงหรือทางอ้อมตั้งแต่ร้อยละห้าขึ้นไปของจำ�นวนหุ้น ที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมด ต้องรายงานการถือหุ้นต่อ ธนาคารแห่งประเทศไทย (อ้างอิงตามมาตรา 17) • การห้ามหรือจำ�กัดปริมาณการถือครองหุ้น ห้ามบุคคลใดถือหุ้นหรือมีไว้ซึ่งหุ้นของสถาบันการเงิน แห่งใดแห่งหนึง่ เกินร้อยละสิบของจำ�นวนหุน้ ทีจ่ �ำ หน่าย ได้ แ ล้ ว ทั้ ง หมด เว้ น แต่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตจากธนาคาร แห่งประเทศไทย (อ้างอิงตามมาตรา 18) • การนำ � หุ้ น ส่ ว นเกิ น ออกจำ � หน่ า ยหรื อ การขาย ทอดตลาด บุคคลที่ถือหุ้นหรือมีไว้ซึ่งหุ้นเกินกว่าที่กำ�หนดตาม มาตรา 18 ต้องนำ�หุ้นในส่วนที่เกินออกมาจำ�หน่าย ภายในเก้าสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั หุน้ นัน้ มา หากผูถ้ อื หุน้ ไม่จำ�หน่ายหุ้นในส่วนที่เกินภายในเวลาที่กำ�หนดหรือ ตามเวลาที่ได้รบั การผ่อนผัน ธนาคารแห่งประเทศไทย อาจร้องขอต่อศาลให้มีคำ�สั่งให้ขายทอดตลาดหรือขาย โดยวิธีอื่นก็ได้ (อ้างอิงตามมาตรา 19) 1.3 ความเสี่ยงจากความไม่เพียงพอของเงินกองทุน การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุน ภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ตามหลักการของ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) ซึ่งครอบคลุมเรื่องการดำ�รง เงินกองทุนและการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องสำ�หรับ กลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เพือ่ กำ�กับดูแลทัง้ ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยกำ�หนดให้กลุ่มธุรกิจทางการเงินต้องดำ�รงเงินกองทุนเพิ่มขึ้น ให้เพียงพอรองรับความเสียหายที่อาจเพิ่มขึ้นทั้งในภาวะปกติและ ภาวะวิกฤต อีกทั้งเป็นการเพิ่มความแข็งแกร่งของฐานเงินกองทุน และกำ � หนดกรอบในการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การกำ�กับดูแลเงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ Basel III ได้ก�ำ หนดให้กลุม่ ธุรกิจทางการเงินดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนทัง้ สิน้ ต่อสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้นไม่ตำ่�กว่าร้อยละ 8.5 แบ่งเป็นอัตราส่วน เงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ ไม่ต�่ำ กว่าร้อยละ 6 และ อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์ เสี่ยงทั้งสิ้นไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 4.5 นอกจากนี้ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยได้ กำ � หนดให้ กลุม่ ธุรกิจทางการเงินดำ�รงเงินกองทุนส่วนเพิม่ (Capital Buffer) เพือ่ รองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤต (Conservation Buffer) เช่นเดียว กับธนาคารพาณิชย์ โดยกำ�หนดให้ด�ำ รงอัตราส่วนเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของเพิ่มเติมจากการดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุน ขัน้ ต่�ำ อีกเกินกว่าร้อยละ 2.5 ของสินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ โดยให้ทยอย


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ดำ � รงอั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ส่ ว นเพิ่ม อี ก มากกว่ า ร้ อ ยละ 0.625 ในแต่ละปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559 จนครบมากกว่าร้อยละ 2.5 ในวันที่ 1 มกราคม 2562 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มธุรกิจทางการเงิน มี อั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ทั้ ง สิ้ น ต่ อ สิ น ทรั พ ย์ เ สี่ ย งทั้ ง สิ้ น อยู่ ที่ ร้อยละ 22.366 อัตราส่วนเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสีย่ งอยูท่ ี่ ร้อยละ 19.304 และอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของ เจ้าของต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 19.304 ซึ่งเป็นอัตราส่วน ทีส่ งู กว่าอัตราส่วนเงินกองทุนขัน้ ต่�ำ ตามทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทย กำ�หนด เงินกองทุนตามกฎหมายภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ทั้งสิ้นจำ�นวน 41,864.89 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของจำ�นวน 36,134.79 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 86.31 ของเงินกองทุนทั้งสิ้นและมีเงินกองทุนชั้นที่ 2 จำ�นวน 5,730.10 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 13.69 ของ เงินกองทุนทั้งสิ้น ซึ่งเป็นระดับที่เพียงพอต่อการดำ�เนินธุรกิจและ สามารถรองรับการเติบโตภายใต้ภาวะปกติและภาวะวิกฤตได้

55

บริษทั จึงมีความสัมพันธ์โดยตรงกับผลการดำ�เนินงานของบริษทั ย่อย แม้ว่าจะมีผลกำ�ไรจากการดำ�เนินงานในอดีตแต่บริษัทไม่สามารถ รับประกันได้ว่าบริษัทย่อยจะสามารถสร้างกำ�ไรให้กับบริษัทได้ อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผลประกอบการขึ้นอยู่กับปัจจัยความเสี่ยง ภายในกิจการและปัจจัยความเสี่ยงภายนอกเป็นสำ�คัญ 2.1 ความเสี่ยงจากธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อย)

ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้วาง กรอบและกลยุทธ์ ในการดำ�เนินธุรกิจให้มีการเติบโตบนพื้นฐาน การบริ ห ารความเสี่ ย งที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพควบคู่ กั บ การสร้ า งผล ตอบแทนที่ยั่งยืน ธนาคารมีการควบคุมดูแลการบริหารความเสี่ยง อย่างเป็นระบบ มีการกำ�หนดโครงสร้างและนโยบายการบริหาร ความเสีย่ งเป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน เพือ่ วัตถุประสงค์หลักใน การป้องกันความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 1.4 ความเสี่ ย งจากการเปลี่ ย นแปลงนโยบาย ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยง กฎระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานทางการ และความเพียงพอของเงินกองทุนต่อสาธารณะซึ่งเป็นไปตาม บริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ นมี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ตาม หลักการและแนวปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ภายใต้การกำ�กับของธนาคาร นโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับและหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่ทางการ แห่งประเทศไทย กำ�หนด ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ นโยบายการบริหารความเสี่ยง แห่งประเทศไทย สำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และ นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ หน่วยงานทางการที่เกี่ยวข้อง ใช้ กำ � กั บ ดู แ ลการทำ � ธุ ร กรรมของธนาคารและเป็ น แนวทาง ในการบริหารความเสี่ยงต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มีระบบ 1.5 ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง การควบคุมภายในที่เพียงพอ โดยการทำ�ธุรกรรมแต่ละประเภท ความเสีย่ งด้านชือ่ เสียง หมายถึง ความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดจาก จะมีกระบวนการวิเคราะห์เพื่อบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น โดย การทีบ่ ริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินดำ�เนินธุรกิจ หรือการไม่ปฏิบตั ิ มีคณะกรรมการชุดต่างๆ ของธนาคารเป็นผูก้ �ำ กับดูแลให้หน่วยงาน ตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ของทางการโดยไม่เจตนา ซึง่ อาจก่อให้ ภายในธนาคารดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่เกี่ยวข้องกับ เกิดความเสียหายต่อชื่อเสียงของบริษัทและกลุ่มธุรกิจทางการเงิน การบริหารความเสีย่ ง ดังนี้ ตั้งแต่การมีภาพลักษณ์ ในทางลบ การถูกเผยแพร่ ในสื่อต่างๆ 1. นโยบายการบริหารความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ เป็นการ ทัง้ ในวงจำ�กัดและวงกว้าง การถูกร้องเรียน การถูกฟ้องร้องดำ�เนินคดี กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินการของธนาคาร บทบาทหน้าที่ หากปัญหาเกิดขึ้นกับบริษัทใดบริษัทหนึ่งในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ความรับผิดชอบของคณะกรรมการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ อาจส่งผลกระทบไปยังบริษัทอื่นๆ ในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน กระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ และกำ�หนดนโยบาย บริษัทได้กำ�หนดกรอบการบริหารจัดการความเสี่ยง มาตรฐานการจัดทำ�แผนธุรกิจและงบประมาณ การติดตามผลการ ด้านชื่อเสียง โดยกำ�หนดให้บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินมีการ ดำ�เนินงาน เพือ่ นำ�มาปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ รายงานสถานะความเสี่ยงหรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่อาจก่อให้ ทั้งจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไป เกิ ด ความเสี่ ย งด้ า นชื่ อ เสี ย ง เพื่ อ ให้ มี การติ ด ตามและจั ด การ 2. นโยบายการบริหารความเสีย่ งด้านเครดิต ธนาคารได้ ความเสี่ยงได้อย่างทันกาล กำ�หนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต และหลักเกณฑ์ การพิจารณาสินเชื่อเพื่อควบคุม ป้องกันและลดทอนความเสี่ยง 2. ความเสี่ ย งจากการประกอบกิ จ การของ อันอาจจะเกิดขึน้ จากธุรกรรมการให้สนิ เชือ่ เพือ่ ให้เกิดความสมดุล ระหว่างความเสี่ยงในการให้สินเชื่อกับผลตอบแทนที่ได้รับ โดย บริษัทย่อยของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทมีบริษัทย่อย 3 แห่ง กำ�หนดนโยบายให้มเี ป้าหมายและกระบวนการทีม่ คี วามเหมาะสมกับ ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ ความเสีย่ งของสินเชือ่ แต่ละประเภทเพือ่ กำ�หนดเป้าหมายทีช่ ดั เจน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์จัดการ ในการปฏิบัติงาน และมีความยืดหยุ่นในการปรับปรุงนโยบาย กองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ดังนั้น ผลการดำ�เนินงานของ ภายใต้ระดับความเสี่ยงต่างๆ ที่ยอมรับได้


56

รายงานประจำ�ปี 2560

3. นโยบายการบริหารความเสี่ยงของประเทศคู่สัญญา ธนาคารได้ก�ำ หนดนโยบายเพือ่ เป็นแนวทางในการบริหารความเสีย่ ง ของประเทศคู่สัญญา กำ�หนดแนวทางควบคุม ป้องกัน และ ลดทอนความเสี่ยงอันอาจจะเกิดขึ้นจากธุรกรรมการให้สินเชื่อ ลงทุน หรือก่อภาระผูกพันกับคู่สัญญาในต่างประเทศ รวมทั้งมี การกำ�หนดวงเงินหรือเพดานสูงสุดในการทำ�ธุรกรรมของประเทศคูส่ ญั ญา 4. นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นตลาดและ สภาพคล่อง เป็นแนวทางในการบริหารการลงทุนในหลักทรัพย์ และการบริ ห ารสภาพคล่ อ งให้ เ หมาะสม สามารถรองรั บ การ จ่ายคืนหนี้สินและภาระผูกพันที่จะถึงกำ�หนดชำ�ระ การพัฒนา กระบวนการในการบริหารความเสี่ยงและติดตามสถานะความ เสี่ยงด้านตลาดอย่างต่อเนื่อง การดูแลให้โครงสร้างสินทรัพย์และ หนี้สินมีความเหมาะสม มีแหล่งเงินทุนหรือสินทรัพย์ที่พร้อมจะ เปลีย่ นเป็นเงินสดได้เพียงพอเพีอ่ รองรับความเสีย่ งในภาวะปกติและ ภาวะวิกฤตภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 5. นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร ธนาคารได้กำ�หนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ที่ ค รอบคลุ ม การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ การใช้บริการจากบุคคลภายนอก การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ การจัดทำ� แผนการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และการรายงานเหตุการณ์ ความเสียหายจากการปฏิบัติงานซึ่งสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของ ธนาคารแห่งประเทศไทย และ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) 6. นโยบายการใช้บริการจากบุคคลภายนอก ธนาคาร กำ�หนดนโยบายไว้เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานในการ ใช้บริการจากบุคคลภายนอก และกำ�หนดแนวทางการกำ�กับดูแล และควบคุมการใช้บริการจากบุคคลภายนอกให้เป็นไปอย่างรัดกุม มีกระบวนการระบุ วัดและติดตามความเสีย่ งเพือ่ เป็นข้อมูลประกอบ การพิจารณาตัดสินใจในการเลือกใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. นโยบายการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ธนาคารได้กำ�หนด กระบวนการปฏิบตั งิ านสำ�หรับการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยกำ�หนด ให้มีการระบุและประเมินความเสี่ยง รวมถึงแนวทางการควบคุม ความเสีย่ งในการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ให้อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ เพือ่ ให้มีการควบคุมภายในที่ดี มีความสอดคล้องกับกฎเณฑ์ทางการ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 8. นโยบายการประเมินความเสี่ยงและความเพียงพอ ของเงินกองทุนและนโยบายการทดสอบภาวะวิกฤต เป็นแนวทาง เพื่อให้ธนาคารดูแลเงินกองทุนให้เพียงพอที่จะรองรับความเสี่ยง ทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต โดยนโยบายได้เน้นถึงขั้นตอน กระบวนการบริหารความเสี่ยงและการประเมินความเพียงพอของ เงินกองทุนที่เป็นระบบ เพื่อรักษาระดับเงินกองทุนให้เพียงพอ สำ�หรับปัจจุบันและอนาคต 9. นโยบายการเปิดเผยข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุนและ การบริหารความเสี่ยง เป็นแนวทางการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ การดำ�รงเงินกองทุนและการบริหารความเสีย่ ง ได้แก่ ข้อมูลโครงสร้าง เงินกองทุนและความเพียงพอของเงินกองทุน ตลอดจนกระบวนการ บริหารความเสี่ยงด้านต่างๆ เพื่อให้นักลงทุน ผู้ถือหุ้น และผู้ท่มี ี ส่วนได้เสียได้รับข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน สามารถใช้เป็นข้อมูลใน การตัดสินใจทำ�ธุรกรรมกับธนาคาร

โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง ธนาคารมีโครงสร้างองค์กรทีส่ ามารถบริหารจัดการความเสีย่ ง และสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละการควบคุม ภายในที่ดี ดังนี้ 1. คณะกรรมการธนาคาร มีหน้าที่กำ�หนดนโยบายและ แผนกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจของธนาคารและกำ�หนดนโยบายการ บริหารความเสี่ยงด้านต่างๆ และกำ�หนดให้มีระบบการควบคุม ภายในที่เพียงพอ เหมาะสม ดูแลให้ธนาคารปฏิบัติ ตามนโยบาย การปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทย กำ�หนด 2. คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่รับผิดชอบเสนอนโยบาย และแผนกลยุทธ์ การดำ�เนินธุรกิจต่อคณะกรรมการธนาคาร ดูแล การปฎิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน ประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งวิเคราะห์เพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และแนวทางแก้ไข 3. คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่สอบทานให้ธนาคาร มีการรายงานทางการเงินที่ครบถ้วนเพียงพอและเปิดเผยข้อมูล เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และสอดคล้องตาม กฎระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทย รวมถึงสอบทานให้ ธนาคารมีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม มีการกำ�กับดูแลและ ติดตามการปฏิบัติตามแนวนโยบายของธนาคาร 4. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีหน้าที่กำ�หนดนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นโยบายป้องกันการจ่ายเงินเพื่อการ คอร์รัปชั่น และดูแลให้มีการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าว เป็น ตัวแทนธนาคารในการสือ่ สารและดำ�เนินกิจกรรมด้านบรรษัทภิบาล 5. คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีหน้าทีค่ วบคุม ติดตาม และดูแลให้ธนาคารดำ�เนินการตามนโยบายการบริหารความเสีย่ งที่ ได้กำ�หนดไว้ รวมถึงประเมินผลการบริหารความเสี่ยงของธนาคาร 6. คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนีส้ นิ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ในการบริ ห ารและเสนอแนะการบริ ห ารสภาพคล่ อ ง ประเมิ น ติ ด ตาม และจั ด ทำ � แผนการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นตลาดและ อัตราดอกเบีย้ ความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง รวมถึงกำ�หนดแผนการ ลงทุนและดูแลให้มีการปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนงาน 7. คณะอนุ กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร มี ห น้ า ที่ ใ นการกำ � หนดแนวนโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง ด้านปฏิบตั กิ ารและนโยบายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ควบคุมดูแลความเสีย่ ง ด้านปฏิบัติการ การปฏิ บั ติ ต ามกรอบการบริ ห ารความเสี่ ย ง ด้านปฏิบัติการ และแผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง รวมถึ ง พิ จารณากำ � หนดแนวทางแก้ ไ ขที่ เ หมาะสมกรณี พ บข้ อ บกพร่อง นอกจากนี้ ธนาคารได้จัดให้มีคณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่อ กำ�กับดูแลและควบคุมความเสี่ยงเฉพาะด้าน เช่น คณะกรรมการ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการสินเชือ่ คณะกรรมการพัฒนา สินเชื่อ เป็นต้น โดยมีฝ่ายบริหารความเสี่ยงเป็นหน่วยงานดูแล การบริหารความเสีย่ งในภาพรวมของธนาคาร และมีฝา่ ยตรวจสอบ ทำ � หน้ า ที่ ป ระเมิ น ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายใน การสอบทานความถูกต้องเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินและ การปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของทางการ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง การดำ�เนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์มคี วามเกีย่ วข้องโดยตรงต่อ ตลาดเงินและภาวะเศรษฐกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศซึง่ มีการ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมในการดำ�เนิน ธุรกิจไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบของทางการ การปรับตัวของคูแ่ ข่ง การชุมนุมทางการเมือง ล้วนเป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผล กระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์เช่นกัน การบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องกับแนวทางของธนาคาร แห่งประเทศไทย แบ่งออกเป็น 5 ด้านหลักๆ คือ ความเสี่ยงด้าน กลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยง ด้านสภาพคล่อง และความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ธนาคารมีนโยบายและกระบวนการปฏิบัติ ในการบริหาร ความเสี่ยง ดังนี้

1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ หมายถึง ความเสี่ยงอันเกิดจาก การกำ�หนดแผนกลยุทธ์ไม่เหมาะสมและการไม่สามารถปฏิบตั ติ าม แผนกลยุทธ์ที่กำ�หนดไว้ รวมถึงความไม่สอดคล้องระหว่างกลยุทธ์ นโยบาย เป้าหมาย โครงสร้างองค์กร การแข่งขัน และทรัพยากร ขององค์ กรอั น เป็ น ผลมาจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อศักยภาพในการแข่งขัน รายได้ และเงินกองทุน ของธนาคาร 1.1 ความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจ และการแข่งขัน ความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจ อาจมีผลกระทบต่อ การเติบโตของธุรกิจและคุณภาพสินเชื่อ ธนาคารจึงได้จัดทำ�แผน ธุรกิจ งบประมาณประจำ�ปี การทำ�ประมาณการเงินกองทุน โดย ผู้ บริหารแต่ละหน่วยงานมีสว่ นร่วมในการจัดทำ�และแสดงความคิดเห็น โดยแผนธุ ร กิ จ และงบประมาณ ได้ นำ � เสนอต่ อ คณะกรรมการ ธนาคารเพื่อพิจารณาอนุมัติ และมีการทบทวนทุกครึ่งปี เพื่อให้ สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป โดยคณะกรรมการ ได้ต้ ดิ ตามผลการดำ�เนินงานเปรียบเทียบกับแผนธุรกิจอย่างสม่�ำ เสมอ 1.2 ความเสี่ยงจากความไม่เพียงพอของเงินกองทุน การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุน ภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ตามหลักการของ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) ซึ่งครอบคลุมเรื่องการดำ�รง เงินกองทุนและการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องที่กำ�กับดูแล ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพและกำ�หนดให้ธนาคารต้องดำ�รง เงินกองทุนเพิ่มขึ้นให้เพียงพอที่จะรองรับความเสียหายที่อาจ เพิ่มขึ้นทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต รวมทั้งเพื่อเพิ่มความ แข็งแกร่งของเงินกองทุน การกำ�กับดูแลเงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ Basel III ได้ กำ � หนดให้ ธ นาคารต้ อ งดำ � รงอั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ทั้ ง สิ้ น ต่อสินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ ไม่ต�่ำ กว่าร้อยละ 8.50 โดยแบ่งเป็นอัตราส่วน เงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 6.00 และอัตราส่วนเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ทีเ่ ป็นส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์เสีย่ ง ทั้งสิ้น ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 4.50

57

นอกจากนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ก�ำ หนดให้ธนาคาร พาณิชย์ดำ�รงเงินกองทุนส่วนเพิ่ม (Capital Buffer) เพื่อรองรับ ผลขาดทุนในภาวะวิกฤต (Conservation Buffer) โดยกำ�หนด ให้ ธ นาคารพาณิ ช ย์ ดำ � รงอั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ชั้ น ที่ 1 ที่ เ ป็ น ส่วนของเจ้าของเพิ่มเติมจากการดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนขั้นต่ำ� อีกเกินกว่าร้อยละ 2.5 ของสินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ โดยให้ทยอยดำ�รง อัตราส่วนเงินกองทุนส่วนเพิม่ อีกมากกว่าร้อยละ 0.625 ในแต่ละปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 จนครบมากกว่าร้อยละ 2.5 ในวันที่ 1 มกราคม 2562 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ธนาคารดำ�รงอัตราส่วน เงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 21.857 อัตราส่วน เงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 18.673 และ อัตราส่วนเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ทีเ่ ป็นส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์เสีย่ ง อยูท่ ี่ ร้อยละ 18.673 ซึง่ เป็นอัตราส่วนทีส่ งู กว่าอัตราส่วนเงินกองทุน ขั้นต่ำ�ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด ธนาคารมีเงินกองทุนตามกฎหมายภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ทั้งสิ้นจำ�นวน 39,915.64 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของจำ�นวน 34,101.44 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 85.43 ของเงินกองทุนทั้งสิ้น และมีเงินกองทุนชั้นที่ 2 จำ�นวน 5,814.20 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 14.57 ของ เงินกองทุนทั้งสิ้น ซึ่งเป็นระดับที่เพียงพอต่อการดำ�เนินธุรกิจ และสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจให้เป็นไปตามเป้าหมายภายใต้ ภาวะปกติ แ ละภาวะวิ ก ฤตที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากความไม่ แ น่ น อน ทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ธนาคารได้มีการประเมินความเสี่ยงและ ความเพียงพอของเงินกองทุน (ICAAP) เพื่อรองรับความเสี่ยง ประเภทต่างๆ ตามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุนตามที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด ทำ�ให้มั่นใจว่าธนาคารสามารถ บริหารจัดการเงินกองทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีฐานะเงิน กองทุนที่แข็งแกร่งสามารถรองรับความเสี่ยงต่างๆ ได้ทั้งในภาวะ ปกติและภาวะวิกฤต และมีเงินกองทุนที่เพียงพอรองรับการขยาย ตัวของธุรกิจ

2. ความเสี่ยงด้านเครดิต

ความเสี่ยงด้านเครดิต หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น จากการที่ลูกหนี้หรือคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาในการ ชำ�ระหนี้คืน หรือความเสี่ยงที่เกิดจากโอกาสที่ลูกหนี้หรือคู่ค้าอาจ ไม่สามารถชำ�ระหนี้คืนได้จนเป็นเหตุให้ลูกหนี้ถูกปรับลดอันดับ ความน่าเชือ่ ถือลง ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อฐานะเงินกองทุนและรายได้ ของธนาคาร โดยมีสาเหตุจากปัจจัยความเสี่ยงภายนอก เช่น การเปลีย่ นแปลงด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับ ต่างๆ เป็นต้น และจากปัจจัยความเสี่ยงภายใน เช่น การขาด การกำ�กับดูแลควบคุม การขาดการติดตามให้ลกู หนีป้ ฏิบตั ติ ามเงือ่ นไข และสัญญากระบวนการพิจารณาสินเชื่อและการสอบทานสินเชื่อ ไม่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น โดยธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยง ด้านเครดิต ได้แก่ ธุรกรรมการให้สินเชื่อและคล้ายการให้สินเชื่อ ธุรกรรมที่คู่สัญญามีภาระที่ต้องส่งมอบสินทรัพย์หรือชำ�ระหนี้แก่ ธนาคาร ธุรกรรมที่เกี่ยวกับการลงทุนในตราสารหนี้


58

รายงานประจำ�ปี 2560

เครื่องมือบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารได้พัฒนาเครื่องมือที่ ใช้ ในการกลั่นกรองและ แยกแยะระดับความเสี่ยงของลูกหนี้ ทั้งลูกหนี้บุคคลธรรมดาหรือ นิตบิ คุ คล เพือ่ ช่วยให้การอนุมตั สิ นิ เชือ่ น่าเชือ่ ถือและมีประสิทธิภาพ ดังนี้ • Credit Scoring Model เป็นเครื่องมือแยกแยะและ จัดระดับความเสี่ยงของลูกหนี้ที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งตัวแบบ ที่ ใช้ประกอบการพิจารณาสินเชื่อ ได้รับการพัฒนาด้วยข้อมูล พืน้ ฐานทางสถิตขิ องลูกหนีข้ องธนาคาร ประกอบกับใช้ดลุ ยพินจิ ของ ผู้เชี่ยวชาญ (Expert Base) • Credit Rating Model เป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยกลัน่ กรอง และแยกแยะระดับความเสี่ยงของลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคล ธนาคาร ตระหนักถึงระดับความแม่นยำ�และประสิทธิภาพของเครื่องมือ ดังกล่าวที่ธนาคารนำ�มาใช้ประกอบการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ โดยธนาคารมี การติ ด ตามผลของการใช้ ตั ว แบบและวิ เ คราะห์ ประสิทธิภาพการใช้งานอย่างสม่ำ�เสมอ รวมถึงพัฒนาปรับปรุง เครื่องมือวัดความเสี่ยงด้านเครดิตให้สามารถสนับสนุนการดำ�เนิน ธุรกิจของธนาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารมี ก ระบวนการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง ด้านเครดิต โดยมีการตรวจสอบและถ่วงดุลอำ�นาจซึง่ กันและกัน มีการ แบ่งแยกหน้าที่อย่างชัดเจนระหว่างเจ้าหน้าที่การตลาด เจ้าหน้าที่ พิจารณาความเสีย่ งสินเชือ่ เจ้าหน้าทีป่ ระเมินราคาหลักประกันและ เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร ในกระบวนการพิจารณาอนุมตั สิ นิ เชือ่ ธนาคาร มีหน่วยงานที่มีความเป็นอิสระ ได้แก่ สำ�นักพิจารณาความเสี่ยง สินเชือ่ ธุรกิจและสำ�นักพิจารณาความเสีย่ งสินเชือ่ รายย่อย ซึง่ มีหน้าที่ ให้ความเห็นเกี่ยวกับประเด็นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ สินเชือ่ ของลูกค้าแต่ละราย เพือ่ ให้มน่ั ใจว่าสินเชือ่ ทีจ่ ะอนุมตั ไิ ด้รบั การ พิ จารณากลั่ น กรองด้ ว ยความระมั ด ระวั ง รวมทั้ ง มี ห น่ ว ยงาน สอบทานสิ น เชื่ อ ที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระเพื่ อ ทำ � หน้ า ที่ ส อบทาน ความถูกต้องของสินเชือ่ ทีผ่ า่ นการอนุมตั ิ มีการติดตามการปฏิบตั ิ ตามเงือ่ นไขสินเชือ่ การสร้างความเข้าใจ และอบรมเพือ่ เสริมความ รู้ด้านสินเชื่อให้เจ้าหน้าที่เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ� การตลาดสินเชื่อให้ได้สินเชื่อที่มีคุณภาพ การบริหารพอร์ตสินเชื่อ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับคุณภาพลูกหนี้ตามประเภท ธุรกิจและสัดส่วนการกระจุกตัวของสินเชื่อ ดังนั้น ธนาคารมีการ ติดตามการเปลีย่ นแปลงของพอร์ตสินเชือ่ ในมิตติ า่ งๆ อาทิ คุณภาพ ของพอร์ตสินเชือ่ แยกตามประเภทสินเชือ่ และประเภทธุรกิจ สัดส่วน ยอดหนี้ลูกหนี้รายใหญ่ 20 รายแรกต่อเงินกองทุนทั้งหมดของ ธนาคาร เพื่อให้ทราบถึงคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อและแนวโน้ม ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น

ความเสี่ยงด้านเครดิต ประกอบด้วย 2.1 ความเสี่ยงจากการด้อยคุณภาพของสินเชื่อ การเพิม่ ขึน้ ของเงินให้สนิ เชือ่ ด้อยคุณภาพเป็นความเสีย่ ง ทีส่ �ำ คัญของธนาคาร ทำ�ให้ธนาคารต้องกันเงินสำ�รองสำ�หรับค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อความสามารถในการทำ� กำ�ไรและความเพียงพอของเงินกองทุน อย่างไรก็ตาม ธนาคารได้ กำ�หนดกระบวนการควบคุมสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ โดยเน้น เพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารสินเชือ่ ตัง้ แต่กระบวนการพิจารณา อนุ มั ติ สิ น เชื่ อ ที่ มี ความเข้ ม งวด เช่ น การกำ � หนดหลั ก เกณฑ์ การพิจารณาสินเชื่อรายย่อย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการพิจารณา สิ น เชื่ อ และหลี ก เลี่ ย งการใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ของผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน การกำ�หนดเงินดาวน์ขน้ั ต่�ำ ของสินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยสำ�หรับลูกค้าทีม่ ี ความเสี่ยงสูง การกำ�หนดมาตรฐานขั้นต่ำ�เกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผูก้ ใู้ นแต่ละด้าน นอกจากนี้ ธนาคารได้ปรับปรุงและพัฒนาเครือ่ งมือ ที่ ใ ช้ ใ นการกลั่นกรองและแยกแยะระดับความเสี่ย งของลู ก หนี้ เพื่อช่วยลดความเสี่ยงจากกระบวนการอนุมัติสินเชื่อธนาคารให้ ความสำ�คัญกับการจัดการหนี้ที่เริ่มจะมีปัญหา หรือหนี้ที่มีปัญหา โดยจัดให้มีหน่วยงานที่ทำ�หน้าที่ติดตามหนี้โดยเฉพาะ 2.2 ความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของสินเชื่อ ธนาคารตระหนักถึงความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของ สินเชื่อในหลายมิติทั้งเรื่องการกระจุกตัวของลูกหนี้รายใหญ่ และ การกระจุกตัวของลูกหนี้ในแต่ละภาคธุรกิจ ธนาคารได้กำ�หนด เพดานความเสี่ยงและระดับการแจ้งเตือน เพื่อควบคุมไม่ให้เกิด การกระจุกตัวของสินเชื่ออย่างมีนัยสำ�คัญ 2.3 ความเสี่ยงจากการด้อยค่าของมูลค่าหลักประกัน ประเภทอสังหาริมทรัพย์ เงินให้สินเชื่อส่วนที่มีหลักประกัน คิดเป็นร้อยละ 45.54 ของเงินให้สนิ เชือ่ ทัง้ สิน้ โดยมีหลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์ คิดเป็นร้อยละ 91.82 ของหลักประกันทั้งสิ้น ซึ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์ ทีท่ �ำ ให้ตลาดอสังหาริมทรัพย์ซบเซาอาจทำ�ให้มคี วามเสีย่ งจากการที่ อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นหลักประกันมีมูลค่าลดลง ธนาคารจึงมีการ บริหารความเสี่ยงจากการด้อยค่าของมูลค่าหลักประกัน โดยการ กำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการประเมินราคาหลักประกัน ซึ่งกำ�หนด ให้มกี ารทบทวนราคาประเมินหลักประกันเป็นประจำ�ตามระยะเวลา ของการจัดชั้นสินทรัพย์ ได้แก่ สินทรัพย์จัดชั้นปกติ สินทรัพย์ จั ด ชั้ น กล่ า วถึ ง เป็ น พิ เ ศษ สิ น ทรั พ ย์ จั ด ชั้ น ต่ำ � กว่ า มาตรฐาน สินทรัพย์จัดชั้นสงสัย และสินทรัพย์จัดชั้นสงสัยจะสูญ รวมทั้ง ทบทวนราคาประเมินอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาจากการชำ�ระหนีห้ รือ ซื้อจากการขายทอดตลาด โดยระยะเวลาการทบทวนราคาจะเป็น ไปตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเพือ่ สะท้อนมูลค่าทีแ่ ท้จริง ของหลักประกันตามสภาวะปัจจุบัน 3. ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสีย่ งด้านตลาด หมายถึง ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการ เคลือ่ นไหวของอัตราดอกเบีย้ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ราคาตราสารในตลาดเงินตลาดทุนที่มีผลกระทบต่อรายได้และ ปริมาณเงินกองทุน โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ความเสีย่ ง จากการเปลี่ยนแปลงของราคา ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย และ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

59

ความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ น โดยธนาคารมีนโยบายการควบคุม โดยจะกำ�หนดโครงสร้างอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ หมาะสมในแต่ละช่วงเวลา และจัดการความเสีย่ งทุกประเภทให้อยู่ในระดับทีเ่ หมาะสม และเป็น และดูแลให้โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยเป็นไปตามที่กำ�หนด รวมทั้ง ควบคุมสัดส่วนของสินทรัพย์และหนี้สินที่มีดอกเบี้ยในระยะเวลา ไปตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงของธนาคาร ครบกำ�หนดต่างๆ ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ธนาคารได้ติดตามภาวะตลาด ภาวะดอกเบี้ย รวมทั้ง 3.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคาเป็นความเสีย่ ง จัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ระยะเวลาการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ ที่ อาจได้ รั บ ความเสียหายอัน สืบ เนื่อ งมาจากการเปลี่ย นแปลง ของสินทรัพย์และหนี้สิน ซึ่งรวมถึงการจำ�ลองรายได้ดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยและราคาของหลักทรัพย์ ซึ่งจะมีผลทำ�ให้เกิดความ สุทธิเพื่อดูผลกระทบต่อรายได้ของธนาคารให้อยู่ภายใต้เพดาน ผันผวนต่อรายได้ของบริษัทหรือการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบัน ความเสี่ยงที่กำ�หนด ของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินของธนาคาร ปัจจุบันธนาคาร 3.3 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน มีความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคาอยู่ในระดับต่�ำ เนือ่ งจาก ธนาคารมี บ ริ ก ารแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่ า งประเทศ ธนาคารไม่มีนโยบายลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น (Currency Exchange) เป็นเงินไทย (Baht) ทั้งประเภทรับซื้อ ตราสารอนุพันธ์ การลงทุ น ส่ ว นใหญ่ ข องธนาคารเป็ น การลงทุ น ที่ มี (Buy) และขาย (Sell) โดยธนาคารได้กำ�หนดการดำ�รงฐานะเงิน วัตถุประสงค์เพื่อดำ�รงเป็นสินทรัพย์สภาพคล่องตามที่ธนาคาร ตราต่างประเทศคงเหลือ ณ สิ้นวัน ไม่เกินกว่าจำ�นวนที่ได้รับ แห่งประเทศไทยกำ�หนด โดยส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในหลักทรัพย์ อนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงด้าน ภาคธุรกิจเอกชนที่ได้รับการจัดอันดับเครดิตจากสถาบันจัดอันดับ อัตราแลกเปลี่ยนอยู่ในระดับที่ไม่มีนัยสำ�คัญ เครดิตภายนอก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิ จำ�นวน 4. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง 55,236.56 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินลงทุนเผือ่ ขายซึง่ มีมลู ค่ายุตธิ รรม ความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง หมายถึ ง ความเสี่ ย ง จำ�นวน 8,085.40 ล้านบาท และตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด ที่ธนาคารไม่สามารถปฏิบัติตามภาระผูกพันในการชำ�ระเงินเมื่อ จำ�นวน 47,145.90 ล้านบาท นอกจากนี้ ยังมีเงินลงทุนทั่วไปที่ ครบกำ�หนดเนื่องจากไม่สามารถเปลี่ยนสินทรัพย์เป็นเงินสดหรือ เป็นตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด จำ�นวน 5.26 ไม่สามารถจัดหาเงินได้อย่างเพียงพอตามความต้องการภายใน ล้านบาท ระยะเวลาที่กำ�หนดและมีต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่งอาจทำ�ให้เกิด แนวทางการบริหารความเสีย่ งด้านราคาเพือ่ ให้สอดคล้อง ความเสียหายต่อรายได้และเงินกองทุนของธนาคารได้ปัจจัยที่ กับประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารมีการใช้แบบจำ�ลอง ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านสภาพคล่องมีทั้งภายในและภายนอก ของ Value-at-Risk (VaR Model) เพื่อวัดผลขาดทุนสูงสุด โดยปัจจัยภายในจะขึ้นอยู่กับโครงสร้างของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ ระดับความเชือ่ มัน่ หนึง่ ๆ หากถือครองหลักทรัพย์ในช่วงระยะเวลา และการสำ�รองสินทรัพย์สภาพคล่องเพือ่ นำ�มาใช้รองรับความต้องการ ที่กำ�หนด โดยธนาคารได้ใช้ค่าความเสี่ยงที่คำ�นวณได้เป็นแนวทาง ส่ ว นปั จ จั ย ภายนอกขึ้น อยู่กับ สภาพคล่ อ งของตลาดและความ ในการกำ�หนดระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ นอกจากนีธ้ นาคารมีการ เชื่อมั่นของผูฝ้ ากเงินเป็นหลัก ธนาคารมีเครือ่ งมือสำ�หรับวัด ติดตาม จำ�ลองเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อการลดลงของราคา ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องและได้กำ�หนดระดับการแจ้งเตือน หลักทรัพย์อย่างรุนแรงเฉียบพลัน หรือการทดสอบภาวะวิกฤต ที่ เ หมาะสม มี การทบทวนนโยบายและพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ และ (Stress Test) เพื่อสามารถประเมินความเสียหายจากความเสี่ยง วิธีการวัดความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง ในกรณีที่อยู่ภายใต้ภาวะวิกฤต การกำ�กับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทยและหลักการบริหาร ความเสี่ยงสากล 3.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ธนาคารได้วางแผนและบริหารความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยง ให้อยู่ ในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการชำ�ระภาระผูกพัน ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดซึ่งอาจทำ�ให้ ในปัจจุบนั และในอนาคต ประกอบกับการออกผลิตภัณฑ์ใหม่เพือ่ ระดมทุน เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่าตราสารทางการเงิน ความผันผวน ทั้งระยะสั้นและระยะยาวให้สอดคล้องกับสภาวะตลาด ต่อรายได้หรือมูลค่าของส่วนของผู้ถือหุ้น ซึ่งอาจเกิดจากฐานะ ทัง้ ในและนอกงบดุล ทัง้ นีค้ วามเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ เป็นผลมาจาก 5. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ การจัดโครงสร้างและลักษณะของรายการในสินทรัพย์ หนี้สินและ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ หมายถึง ความเสี่ยงที่จะ ส่วนของผู้ถือหุ้นที่อ้างอิงอัตราดอกเบี้ยของธนาคารและความ เกิดความเสียหายต่างๆ อันเนื่องมาจากความไม่เพียงพอหรือ ไม่สอดคล้องระหว่างระยะเวลาคงเหลือในการกำ�หนดอัตราดอกเบีย้ ความบกพร่องของกระบวนการภายใน บุคลากรและระบบงานหรือ ใหม่ของรายการทางด้านสินทรัพย์และหนีส้ นิ และรายการนอกงบดุล มาจากเหตุการณ์ภายนอก รวมถึงความเสีย่ งด้านกฎหมายแต่ไม่รวม โดยธนาคารได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์และความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ความเสี่ยง ทำ�หน้าที่ควบคุมดูแลการบริหารความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ด้านปฎิบัติการเป็นความเสี่ยงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้และเป็น ที่เกิดจากความแตกต่างของโครงสร้างอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว ส่วนหนึ่งของธุรกิจธนาคาร ดังนั้น ธนาคารจึงมีการกำ�หนดกรอบ


60

รายงานประจำ�ปี 2560

นโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการอย่างชัดเจน รวมทั้ง มีระบบการควบคุมภายในทีด่ แี ละมีการจัดทำ�คูม่ อื ปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ พนักงานมีความเข้าใจขั้นตอนการทำ�งาน และสามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำ�หนดให้มีกระบวนการวิเคราะห์ เชิงธุรกิจ การประเมินความเสีย่ ง และการติดตามความเสีย่ ง เป็นต้น ธนาคารได้พัฒนากระบวนการตลอดจนเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ได้แก่ การจัดเก็บ ข้อมูลเหตุการณ์ผิดปกติ (Incident Report) เพื่อจัดเก็บข้อมูล ความเสียหายทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน รวมถึงความเสียหาย ทีส่ ามารถป้องกันได้ ตลอดจนข้อมูลเหตุการณ์ผดิ ปกติอน่ื ๆ ซึง่ ข้อมูล เหล่านีธ้ นาคารจะนำ�ไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบตั งิ านและ กำ�หนดแนวทางการควบคุมเพือ่ ให้โอกาสเกิดความเสีย่ งลดลง ธนาคารกำ � หนดให้ ทุ ก หน่ ว ยงานทำ � การประเมิ น ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการด้วยตนเอง (Risk and Control Self Assessment: RCSA) โดยการระบุจดุ ทีม่ คี วามเสีย่ งในกระบวนการ ปฏิ บั ติ ง านในหน่ ว ยงานของตน รวมทั้ ง ประเมิ นว่ า มาตรการ ควบคุ ม ภายในที่ มี อ ยู่ เ พี ย งพอและเหมาะสมเพี ย งใด และได้ นำ�ข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผล และจัดทำ�ดัชนีช้ีวัดความเสี่ยง (Key Risk Indicators) เพื่ อ ใช้ ใ นการติ ด ตามความเสี่ ย ง ที่เกิดขึน้ รวมทัง้ มีการประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตในหน่วยงาน ที่มีโอกาสในการทุจริตจากการปฏิบัติงานสูง เพื่อเป็นข้อมูลในการ กำ�หนดแนวทางป้องกันและจัดการความเสี่ยงจากการทุจริตด้วย ธนาคารได้ กำ � หนดนโยบายการใช้ บ ริ การจากบุ ค คล ภายนอกและนโยบายการออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ โดยกำ � หนด ให้ ห น่ ว ยงานที่ ป ระสงค์ จ ะใช้ บ ริ การจากบุ ค คลภายนอก หรื อ ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ต้ อ งศึ ก ษา วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล และประเมิ น ความเสีย่ ง ความคุม้ ค่าของผลิตภัณฑ์ทจี่ ะออกใหม่ โดยมีฝา่ ยบริหาร ความเสี่ ย งพิ จารณาให้ ความเห็ น ก่ อ นการใช้ บ ริ การจากบุ ค คล ภายนอกหรือ การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ธนาคารจัดให้มแี ผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง (Business Continuity Plan) เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจภายใต้ สถานการณ์ฉกุ เฉิน อาทิ วินาศภัย และภัยพิบตั ติ า่ งๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ เพื่อให้สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องหรือลดเวลาการหยุด ชะงักการดำ�เนินงานของธนาคารให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งทุก หน่วยงานของธนาคารมีส่วนร่วมในการจัดทำ�และได้ปรับปรุงแผน ดังกล่าวทุกปี รวมถึงได้มีการทดสอบ ซักซ้อมการฟื้นฟูระบบ คอมพิวเตอร์ และทดสอบการปฏิบัติงานในธุรกรรมงานสำ�คัญเป็น ประจำ�ทุกปีเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าธนาคารสามารถดำ�เนินธุรกิจภายใต้ภาวะ วิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารมีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการทำ � งาน โดยได้ พั ฒ นาช่ อ งทางการสื่ อ สาร ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ ารในรูปแบบระบบ การเรียนรู้ด้วยตนเอง (E-Learning) เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงาน มีความเข้าใจและตระหนักถึงความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร รวมทัง้ จัดส่ง พนักงานเข้ารับการอบรมสัมมนาจากผู้จัดสัมมนาภายนอกและ จั ด อบรมสั ม มนาภายใน โดยเชิ ญ วิ ท ยากรที่ มี ความชำ � นาญ จากหน่วยงานภายในของธนาคาร รวมทั้งวิทยากร ผู้มีความรู้ ความเชีย่ วชาญจากภายนอกมาให้ความรูเ้ พือ่ เพิม่ พูนทักษะในการ ปฏิบัติงานของพนักงานอย่างสม่ำ�เสมอ

2.2 ความเสี่ยงจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (บริษัทย่อย) ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ประกอบธุรกิจการจัดการกองทุน ซึ่งเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้อง กับการเข้าไปจัดการเงินและทรัพย์สินของผู้อื่น ซึ่งอาจพบกับ ความเสี่ยงด้านต่างๆ ได้แก่ ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยง ด้านเครดิต ความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง ความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ บริษัทจึงได้วางกรอบและกลยุทธ์ ในการ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ มี การเติ บ โตบนพื้ น ฐานการบริ ห ารความเสี่ ย ง ที่มีประสิทธิภาพควบคู่กับการสร้างผลตอบแทนที่มั่นคงให้กับ ผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทมีนโยบายและหลักปฏิบัติด้านการบริหาร ความเสี่ยง กำ�หนดโครงสร้างและกรอบการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงเป็นไปอย่างมีระบบ สามารถดูแล และควบคุมความเสี่ยงที่สำ�คัญได้อย่างเพียงพอและเหมาะสมกับ ลักษณะการดำ�เนินธุรกิจ นโยบายบริหารความเสี่ยง นโยบายบริ ห ารความเสี่ ย งมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สร้ า ง วั ฒ นธรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ ข้ ม แข็ ง และชั ด เจนโดยมี กระบวนการที่เป็นระเบียบแบบแผน มีการกำ�หนดบทบาทหน้าที่ อย่างชัดเจน เพื่อให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ประกอบด้วย การระบุความเสี่ยง การเลือกเครื่องมือและแบบ จำ�ลองในการประเมินความเสี่ยง การกำ�หนดเพดานความเสี่ยง การควบคุมความเสี่ยง การติดตาม และรายงานความเสี่ยง เพื่อ ป้องกันมิ ให้เกิดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอน ของเหตุการณ์ต่างๆ รวมถึงเป็นเครื่องมือให้ผู้บริหารสามารถนำ� ข้อมูลไปประกอบการตัดสินใจบริหารจัดการเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย การดำ�เนินงาน และกองทุนภายใต้การบริหารจัดการ

ดังนี้

โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง บริษัทมีโครงสร้างองค์กรที่สามารถบริหารความเสี่ยง

1. คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีก่ �ำ หนดนโยบาย หลักการ และโครงสร้างองค์กรในการบริหารความเสีย่ งให้มปี ระสิทธิภาพและ เหมาะสม สอดคล้องกับการดำ�เนินงานของบริษัท รวมทั้งติดตาม การปฏิบัติงานด้านการบริหารความเสี่ยงของบริษัท 2. คณะกรรมการตรวจสอบ มี ห น้ า ที่ กำ � กั บ ดู แ ล ติดตามความเสีย่ งและเชือ่ มโยงกับการควบคุมภายในให้เป็นไปตาม กฎระเบียบของทางการ และคำ�สั่งของบริษัท 3. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่กำ�หนด กรอบกลยุ ท ธ์ แ ละแนวทางปฏิ บั ติ และติ ด ตามการปฏิ บั ติ ง าน การบริ ห ารความเสี่ ย ง ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ แ ละนโยบาย การบริหารความเสี่ยงที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนดไว้ รวมทั้ง รายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ 4. คณะกรรมการลงทุน มีหน้าทีว่ างกรอบ หรือกลยุทธ์ ในการจัดการลงทุน นโยบายการลงทุน และแผนการลงทุนของ กองทุน อนุมัติหลักทรัพย์ที่ลงทุนและกำ�กับดูแล ติดตามผลการ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ลงทุนให้เป็นไปตามกรอบ นโยบาย จรรยาบรรณ การจัดการลงทุน กฎระเบียบที่กำ�หนดไว้ 5. คณะกรรมการลงทุ น อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลการลงทุ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กองทรั ส ต์ เ พื่ อ ลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละกองทุ น รวมอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ กำ � หนด หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการลงทุน อนุมัติการคัดเลือก อสังหาริมทรัพย์ที่กองทรัสต์จะลงทุน และติดตาม ประเมินผลการ ดำ�เนินงานของกองทุน นอกจากนี้ บริษัทได้จัด ให้มีค ณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่ อ กำ � กั บ ดู แ ลและควบคุ ม ความเสี่ ย งเฉพาะด้ า น อาทิ คณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการพัฒนาธุรกิจ เป็นต้น รวมถึง มีฝ่ายบริหารความเสี่ยง รับผิดชอบด้านการบริหารความเสี่ยง ครอบคลุมการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ติดตาม และ จัดทำ�รายงานความเสีย่ งด้านต่างๆ เพือ่ ควบคุมความเสีย่ งให้อยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ และรายงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการลงทุน และคณะกรรมการบริษทั และมีฝา่ ยกำ�กับดูแล การปฏิบัติงาน ทำ�หน้าที่ควบคุมดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงาน ด้านการจัดการลงทุน และงานทีเ่ กีย่ วข้องให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ประกาศ หรือกฎหมาย และรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ปัจจัยความเสี่ยง บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ดำ�เนินธุรกิจบริหารจัดการกองทุนมีความเกี่ยวข้องโดยตรง ต่อตลาดเงินและภาวะเศรษฐกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมในการ ดำ�เนินธุรกิจไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบของทางการ การชุมนุมทางการเมืองล้วนเป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการดำ�เนิน ธุรกิจจัดการกองทุน การบริหารความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 5 ด้านหลัก คือ ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้าน สภาพคล่อง ความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร และความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ บริษัทมีนโยบายและกระบวนการปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้

1. ความเสี่ยงด้านตลาด

ความเสี่ยงด้านตลาด หมายถึง ความไม่แน่นอนของ มู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น ของกองทุ น ที่ เ กิ ด จากความผั น ผวนของอั ต รา ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ราคาหลักทรัพย์ ในตลาด ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงในการลงทุนของกองทุน ทีบ่ ริษทั บริหารจัดการ โดยการกระจายการถือครองสินทรัพย์หลาย ประเภท (การสร้าง Investment Portfolio) และกำ�หนดอัตราส่วน การลงทุนในสินทรัพย์แต่ละประเภท เพือ่ ลดความเสีย่ งในการลงทุน มีการประเมินค่าความเสี่ยงด้านตลาด (VAR, Beta, Duration, Tracking Error) การกำ�หนดเพดานความเสี่ยง โดยมีฝ่ายบริหาร ความเสีย่ ง ติดตามและรายงานความเสีย่ งเป็นรายวัน มีการทดสอบ ความถูกต้องของ Model และการทดสอบภาวะวิกฤตด้านตลาด อย่างสม่ำ�เสมอ

61

2. ความเสี่ยงด้านเครดิต

ความเสี่ยงด้านเครดิต หมายถึง ความเสี่ยงที่อาจเกิด ขึ้นเนื่องจากการผิดสัญญาของบริษัทคู่ค้า ตราสาร/ผู้ออกตราสาร (Counterparty Risk) ความเสี่ยงประเภทนี้เกิดขึ้นเมื่อกองทุน นำ�เงินไปลงทุนในตราสารการเงิน เมือ่ ถึงเวลาครบกำ�หนดชำ�ระเงิน ผู้ออกตราสารการเงินไม่สามารถชำ�ระเงินคืนให้แก่กองทุนได้ บริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างเข้มงวด อาทิ การกำ�หนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกหลักทรัพย์ที่จะลงทุน อย่างระมัดระวัง โดยใช้วธิ ี Top-Down Approach และ Bottom-Up Approach การกำ�หนดเกณฑ์คัดเลือกบริษัทคู่ค้า โดยใช้เกณฑ์ เชิงคุณภาพ และอันดับความน่าเชือ่ ถือ การกำ�หนดเครดิตขัน้ ต่�ำ ใน การลงทุน (Minimum Acceptable Credit) ทั้งตราสารหนี้ และ ตราสารทุน และการกำ�หนดวงเงิน (Credit Risk Limit) โดยอ้างอิง จากหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยทางการ และกำ�หนดเพิ่มเติมโดย บริษัท แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ 1) ผลรวมวงเงินของทุกกองทุนภายใต้การจัดการของบริษทั 2) วงเงินของแต่ละกองทุน

3. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง

ความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง หมายถึ ง ความเสี่ ย ง ที่เกิดจากกองทุนไม่สามารถดำ�รงสภาพคล่องได้เพียงพอต่อการ ไถ่ถอนหน่วยลงทุน รวมทั้งความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการที่กองทุน ไม่สามารถขายหลักทรัพย์ หรือเลิกสัญญาซื้อขายล่วงหน้าได้ ในราคาตลาด เนื่องจากขาดสภาพคล่อง หรือเกิดวิกฤตการณ์ใดๆ เพื่อให้มั่นใจว่ากองทุนภายใต้การบริหารจัดการของ บริษัทสามารถดำ�รงสภาพคล่องได้อย่างเพียงพอ บริษัทได้ติดตาม พฤติ กรรมการไถ่ ถ อนหน่ ว ยลงทุ น อย่ า งสม่ำ � เสมอ และดำ � รง สภาพคล่องของกองทุนที่เน้นการลงทุนในตราสารหนี้ตามเกณฑ์ ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

4. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ

ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ หมายถึง ความเสี่ยงที่จะเกิด ความเสียหายอันเนื่องมาจากการขาดการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือขาดธรรมาภิบาล และขาดการควบคุมที่ดี โดยอาจเกี่ยวข้อง กับกระบวนการปฏิบัติงานภายใน คน ระบบงาน หรือเหตุการณ์ ภายนอก ซึ่งส่งผลกระทบต่อรายได้และกำ�ไร บริ ษั ท ได้ พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ที่ ใ ช้ ใ นการบริ ห าร ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูลเหตุการณ์ ผิดปกติ (Incident Report) ซึ่งระบุรายละเอียดรวมถึงแนวทาง การแก้ไขและป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำ�อีก การจัดทำ� คู่มือการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร รวมถึงการลงทุนด้าน เทคโนโยลีสารสนเทศ ซึ่งสามารถลดโอกาสการเกิดความเสี่ยงได้ บริษัทจัดให้มีแผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan) เพือ่ รองรับการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ภายใต้สถานการณ์ฉกุ เฉิน อาทิ วินาศภัย และภัยพิบตั ติ า่ งๆ ทีอ่ าจ เกิดขึน้ เพือ่ ให้บริษทั สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนือ่ งหรือลดเวลา การหยุดชะงักการดำ�เนินงานของบริษัทให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึง่ มีการทดสอบแผนเป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั สามารถ ดำ�เนินธุรกิจภายใต้ภาวะวิกฤตต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


62

รายงานประจำ�ปี 2560

ความเสี่ยงด้านกฎหมาย เป็นส่วนหนึ่งของความเสี่ยง ด้านปฏิบตั กิ าร หมายถึง ความเสีย่ งทีบ่ ริษทั จะได้รบั ความเสียหาย เมื่อดำ�เนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายไม่รอบคอบ รัดกุม หรือบกพร่อง เช่น การจัดทำ�สัญญาต่างๆ ไม่มรี ะบบการตรวจสอบ ว่าบริษัทคู่ค้าตราสารเป็นผู้ที่มีอำ�นาจลงนามจริง หรือ มีตัวตน จริงหรือไม่ เป็นต้น และความเสี่ยงอาจเกิดจากการประกอบธุรกิจ ที่บริษัทหรือเจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ทาง การกำ�หนด โดยบริษัทให้ความสำ�คัญและกำ�หนดแนวทางบริหาร ความเสีย่ งเป็นการเฉพาะ อาทิ การร่างและจัดทำ�สัญญามาตรฐาน หรือบันทึกข้อตกลงต่างๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ จะต้อง ผ่านการตรวจสอบโดยนักกฎหมายหรือที่ปรึกษากฎหมาย และ ฝ่ายกำ�กับและตรวจสอบการปฏิบัติงานก่อนที่จะนำ�มาใช้งานจริง มีการกำ�หนดขั้นตอนการเปิดบัญชีซื้อขายหน่วยลงทุน โดยลูกค้า ต้องมีเอกสารประกอบการพิจารณาที่ครบถ้วน รวมถึง การดูแลให้ พนักงานปฏิบัติงานตามคู่มือการปฏิบัติงาน กฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ รวมถึงจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกอบธุรกิจ จัดการกองทุนโดยเคร่งครัด

5. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจาก การกำ�หนดแผนกลยุทธ์ แผนดำ�เนินงานและการนำ�ไปปฏิบัติไม่ เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับปัจจัยภายในและสภาพแวดล้อม ภายนอก อันส่งผลกระทบต่อรายได้ เงินกองทุน หรือการดำ�รงอยู่ ของกิจการ บริษัทมีแนวทางในการบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ได้ แ ก่ การมี กรรมการและผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ที่ มี ความรู้ และ มีประสบการณ์ทเี่ หมาะสม เป็นอิสระ มีการวางนโยบาย แผนกลยุทธ์ ที่ ชั ด เจนและมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ การมี บุ ค ลากรที่ มี คุ ณ ภาพและ มีการฝึกอบรมที่เพียงพอ มีระบบการบริหารความเสี่ยง และการ ได้รับข้อมูลต่างๆ อย่างเพียงพอ โดยแผนธุรกิจและงบประมาณ ได้นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ และมีการ ทบทวนเป็นประจำ�ทุกครึ่งปี เพื่อให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนแปลงไป

นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ กำ � หนดนโยบายพื้ น ฐานและกระบวนการควบคุ ม การบริ ห าร ความเสีย่ งควบคุมกิจกรรม และกระบวนการดำ�เนินงานต่างๆ เพือ่ ให้ กระบวนการบริหารความเสีย่ งมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ลดมูลเหตุและโอกาสทีอ่ าจทำ�ให้บริษทั ได้รบั ความเสียหาย ปัจจุบนั บริษัทจัดกลุ่มความเสี่ยงตามแนวทางกำ�กับดูแลของสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง 2. ความเสี่ยงด้านความรัดกุมของโครงสร้าง ระบบ และวิธีการปฏิบัติงานในภาพรวม 3. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติงานในเรื่องการติด ต่ อกั บ ลูกค้า 4. ความเสี่ยงด้านโครงสร้าง และการจัดการที่รัดกุม สำ�หรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ความเสี่ยงด้านเครดิต 6. ความเสี่ยงด้านการตลาด 7. ความเสี่ยงด้านกฎหมาย โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง บริ ษั ท มี โ ครงสร้ า งองค์ กรที่ ส ามารถบริ ห ารจั ด การ ความเสีย่ ง และสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่ดูแลให้ฝ่ายจัดการ มีการกำ�หนดนโยบาย กระบวนการ และการควบคุมด้านการบริหาร ความเสีย่ ง และอนุมตั นิ โยบายดังกล่าว รวมทัง้ ทบทวนกลยุทธ์ และ นโยบายอย่างสม่ำ�เสมอ 2. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่กำ�หนด นโยบายการบริหารความเสี่ยง ให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจ และ กลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจของบริษัท

ปัจจัยความเสี่ยง บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจหลักทรัพย์ มีความเกี่ยวข้องโดยตรงต่อตลาดเงินและ ภาวะเศรษฐกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศซึง่ มีการเปลีย่ นแปลง 2.3 ความเสี่ยงจากบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมในการดำ�เนินธุรกิจไม่ว่า แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อย) จะเป็นการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบของทางการ การเปลี่ยนแปลง ด้านระบบเทคโนโลยี ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการดำ�เนิน ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง ธุรกิจ โดยความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 8 ด้านหลักๆ ดังนี้ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ ว างกรอบและกลยุ ท ธ์ ใ นการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ มี ก ารเติ บ โต 1. ความเสี่ยงจากการแข่งขันในธุรกิจหลักทรัพย์ บ น พื้ น ฐ า น กา ร บ ริ ห า ร ควา ม เ สี่ ย ง ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภา พ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ประกาศใช้ วิธี ควบคู่ กั บ การสร้ า งผลตอบแทนที่ ยั่ ง ยื น บริ ษั ท มี การควบคุ ม การคิดค่าธรรมเนียมแบบต่อรองอย่างเสรีพร้อมกับการเปิดเสรี ดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ มีการกำ�หนด ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ส่งผลให้ธุรกิจหลักทรัพย์ โครงสร้างและนโยบายการบริหารความเสี่ยงเป็นลายลักษณ์อักษร มีการแข่งขันทีร่ นุ แรงมากขึน้ ทำ�ให้รายได้จากธุรกิจมีแนวโน้มลดลงแม้ เพื่อวัตถุประสงค์ ในการป้องกันความเสี่ยงและการบริหารจัดการ มูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์จะดีขึ้น ดังนั้น หากบริษัทไม่สามารถ ความเสีย่ งได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ดำ�เนินธุรกิจทีส่ อดคล้อง รักษาคุณภาพการให้บริการทีด่ อี าจทำ�ให้บริษทั สูญเสียส่วนแบ่งการตลาด กับการกำ�กับดูแลตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความเสี่ ย งดั ง กล่ า ว จึ ง ได้ เ ตรี ย ม ความพร้ อ มในการแข่ ง ขั น โดยกำ � หนดกลยุ ท ธ์ ที่ มุ่ ง เน้ น การ ขยายฐานลู ก ค้ า แบบยั่ ง ยื น ผ่ า นช่ อ งทางที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพของ กลุ่มธุรกิจทางการเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ การพัฒนาบุคลากรให้ มีความพร้อมในการแข่งขัน ตลอดจนการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ลูกค้าสามารถทำ�รายการซื้อขาย ได้ อ ย่ า งสะดวกและปลอดภั ย รวมถึ ง การนำ � เทคโนโลยี ม าใช้ ในการดำ�เนินงานทุกมิตทิ งั้ การปฏิบตั งิ านและการบริการเพือ่ อำ�นวย ความสะดวกแก่ลูกค้า

63

ราคาเสนอขายไม่เหมาะสม หรือความผันผวนของสภาวะตลาด อัตราดอกเบีย้ และอัตราแลกเปลีย่ น ทำ�ให้บริษทั ต้องรับหลักทรัพย์ ที่เหลือจากการจัดจำ�หน่ายเข้าบัญชีเงินลงทุน บริษัทจึงได้กำ�หนด แนวทางป้องกันความเสี่ยงโดยบริษัทจะทำ�การวิเคราะห์ และ ตรวจสอบถึงลักษณะธุรกิจ ข้อมูลเบื้องต้น ผลการดำ�เนินงานและ แนวโน้มการดำ�เนินธุรกิจในอนาคตของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ รวมถึ ง ความสนใจของนั ก ลงทุ น และความต้ อ งการที่ จ ะซื้ อ หลักทรัพย์เพือ่ นำ�ข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจในการพิจารณารับ เป็นผู้จัดจำ�หน่ายและรับประกันการจำ�หน่ายหลักทรัพย์

5. ความเสี่ ย งจากหนี้ ส งสั ย จะสู ญ และหนี้ สู ญ ของ 2. ความเสี่ยงด้านการกระจายตัวของฐานลูกค้า บริษัทมีการกระจายตัวของฐานลูกค้า โดยมีแผนขยาย ลูกหนี้หลักทรัพย์ ความเสีย่ งจากหนีส้ งสัยจะสูญและหนีส้ ญู เป็นความเสีย่ ง ฐานลูกค้าทั้งลูกค้ารายย่อย ลูกค้าสถาบัน และพัฒนาระบบการส่ง คำ�สัง่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ผา่ นระบบอินเตอร์เนต เพือ่ ขยายฐานลูกค้า ที่เกิดจากลูกค้าไม่สามารถชำ�ระเงินได้ภายในระยะเวลาที่กำ�หนด บริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงโดยการพิจารณากำ�หนดวงเงินที่จะ ที่ต้องการส่งคำ�สั่งด้วยตัวเองให้มีสัดส่วนมากขึ้น ให้กับลูกค้าหรือคู่สัญญาแต่ละรายอย่างเหมาะสม สำ�หรับลูกค้า บั ญ ชี เ งิ น สดบริ ษั ท ได้ ใ ห้ ความสำ � คั ญ กั บ การพิ จารณาคั ด เลื อ ก 3. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการพึ่งพิงบุคลากร ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ต้ อ งพึ่ ง พิ ง บุ ค ลากรที่ มี ลูกค้า การกำ�หนดวงเงินซื้อขายหลักทรัพย์ตามฐานะการเงินของ ความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น มี ป ระสบการณ์ แ ละมี ใ บอนุ ญ าต ลูกค้าแต่ละราย และมีการทบทวนฐานะการเงินและการใช้วงเงิน ในการทำ�หน้าทีเ่ ป็นผูต้ ดิ ต่อกับผูล้ งทุนเพือ่ ให้ค�ำ แนะนำ�การซือ้ ขาย อย่างใกล้ชดิ สำ�หรับลูกค้าประเภทบัญชีเครดิตบาลานซ์ บริษทั ได้ หลักทรัพย์อย่างเหมาะสม โดยทั่วไปเจ้าหน้าที่การตลาดมีอิทธิพล กำ�หนดนโยบายการให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์ เพื่อให้ปริมาณการ ต่อการตัดสินใจเปิดบัญชี การทำ�ธุรกรรมซือ้ ขายหลักทรัพย์ ดังนัน้ กู้ยืมอยู่ในระดับที่กำ�หนดและเหมาะสมกับสภาวะตลาดในขณะนั้น เจ้ า หน้ า ที่ ก ารตลาดจึ ง เป็ น กำ � ลั ง หลั ก ของธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ โดยการกำ�หนดวงเงินให้กู้ยืมของลูกค้าแต่ละรายจะสอดคล้องกับ บริษัทจึงให้ความสำ�คัญในการสรรหาเจ้าหน้าที่การตลาดที่มีความ ฐานะการเงินของลูกค้าและไม่เกินร้อยละ 25 ของเงินกองทุนของ รู้และประสบการณ์ และการสร้างทีมเจ้าหน้าที่การตลาดรุ่นใหม่ บริษทั อัตราส่วนเงินให้กยู้ มื ต่อเงินกองทุนโดยยอดหนีท้ งั้ หมดต้อง เพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจไปพร้อมกัน รวมทั้งเน้นการสร้าง ไม่เกิน 5 เท่าของเงินกองทุน และควบคุมไม่ให้ซอ้ื หลักทรัพย์กระจุกตัว ความสัมพันธ์อันดีภายในองค์กรเพื่อสนับสนุนการทำ�งานร่วมกัน ในหลักทรัพย์ใดหลักทรัพย์หนึ่ง 4. ความเสี่ยงในธุรกรรมการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ ความเสี่ยงในธุรกรรมการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์เป็น ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด จากการไม่ ส ามารถกระจายหรื อ เสนอขาย หลักทรัพย์ทจี่ ดั จำ�หน่ายได้ตามจำ�นวนทีร่ บั ประกัน ซึง่ อาจเกิดจาก


64

รายงานประจำ�ปี 2560

6. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายต่างๆ การเปลี่ยนแปลงนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของทางการ เช่น การเปลี่ยนแปลง หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบตั ิ การเปลีย่ นแปลงด้านระบบการซือ้ ขาย การเปลีย่ นแปลงอัตราค่าธรรมเนียม และอืน่ ๆ ซึง่ อาจส่งผลกระทบ ต่อการดำ�เนินงานของบริษัท บริษัทได้บริหารจัดการความเสี่ยง โดยมีการติดตาม การเปลี่ยนแปลงนโยบายของหน่วยงานกำ�กับดูแลอย่างสม่ำ�เสมอ รวมทั้งการส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมเพื่อร่วมแสดงความคิดเห็น กับหน่วยงานต่างๆ นอกจากนั้น หน่วยงานด้านการกำ�กับการดูแล ของบริษัทจะแจ้งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้พนักงานได้รับทราบ 7. ความเสี่ ย งด้ า นการลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ผลตอบแทน ความเสี่ยงด้านการลงทุนในหลักทรัพย์และผลตอบแทน เป็นความเสีย่ งทีบ่ ริษทั อาจไม่ได้รบั ผลตอบแทนจากเงินลงทุนตาม ทีค่ าดการณ์ไว้ บริษทั จึงกำ�หนดให้มแี นวทางและนโยบายการลงทุน ที่ชัดเจน ครอบคลุมทั้งประเภทตราสารหนี้และตราสารทุน พร้อม ทั้งกำ�หนดระดับความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนที่ยอมรับได้ และ จำ�กัดผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งทบทวนนโยบายการลงทุน อย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ ตลาดการลงทุน

8. ความเสี่ ย งจากการไม่ ส ามารถดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ได้อย่างต่อเนื่อง เหตุการณ์ช่วงภาวะวิกฤติต่างๆ เช่น ภัยธรรมชาติ การชุ ม นุ ม ทางการเมื อ ง เหตุ ก ารณ์ จ ลาจลอาจเป็ น เหตุ ใ ห้ บริษัทไม่สามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อให้ มั่นใจได้ว่าบริษัทสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องเมื่อเผชิญ ภาวะวิกฤต บริษทั จึงได้จดั ทำ�แผนความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Plan - BCP) ซึ่งมีการซักซ้อมและทดสอบอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

65


66

รายงานประจำ�ปี 2560

การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็น บริษทั โฮลดิง้ ทีไ่ ม่ได้ประกอบธุรกิจของตนเอง (Non-operating Holding Company) จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 22 เมษายน 2552 บริษทั เป็นบริษทั แม่ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ประกอบธุรกิจการ เข้าถือหุ้นในบริษัทอื่นโดยไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง ปัจจุบันบริษัท ถือหุ้นบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ดังนี้ี • ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด • บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.80 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด • บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด ดังนั้น ผลการดำ�เนินงานของบริษัทจะมาจากผลการดำ�เนิน งานของบริษัทแกน ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด

แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจปี 2561 ปี 2561 คาดว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวร้อยละ 3.6 - 4.6 ใกล้เคียงกับปีก่อน โดยมีปัจจัยสนันสนุนดังนี้ 1. การใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐยังเป็นแรงขับเคลื่อน สำ�คัญของเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะจากความคืบหน้าของโครงการ ลงทุนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ 2. การบริ โ ภคภาคครั ว เรื อ นที่ แ นวโน้ ม ขยายตั ว อย่ า ง ค่อยเป็นค่อยไปเนือ่ งจากรายได้ครัวเรือนนอกภาคเกษตรทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมทั้งภาวะการเงินที่ยังผ่อนคลายจะยังเป็นปัจจัยสนับสนุนการ ใช้จ่ายในกลุ่มสินค้าคงทน 3. การส่งออกมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนือ่ งตามภาวะเศรษฐกิจ ของประเทศคูค่ า้ ของไทยทีม่ แี นวโน้มขยายตัวดีใกล้เคียงกับปีกอ่ นหน้า

ในขณะที่ปัจจัยเสี่ยงที่สำ�คัญต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ ไทยในปี 2561 ได้แก่ ความผันผวนของตลาดการเงินโลกจาก การดำ�เนินนโยบายการเงินทีเ่ ข้มงวดมากขึน้ ของประเทศพัฒนาแล้ว ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจปี 2560 และแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจ การดำ�เนินนโยบายการค้าระหว่างประเทศของสหรัฐฯ และความผันผวน ปี 2561 ของค่าเงินและราคาน้ำ�มันในตลาดโลก

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจปี 2560 ปี 2560 ภาพรวมเศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 3.9 เร่งขึ้น ทีข่ ยายตัวร้อยละ 3.3 ในปี 2559 ขยายตัวชัดเจนจากภาคการส่งออก และภาคการท่องเที่ยว โดยมูลค่าการส่งออกปี 2560 เติบโต ร้อยละ 9.9 เมื่อเทียบกับที่ขยายตัวได้เพียงร้อยละ 0.5 ในปี 2559 สำ�หรับภาคการท่องเทีย่ วขยายตัวดีสอดคล้องกับจำ�นวนนักท่องเทีย่ ว ต่างชาติทเี่ พิม่ ขึน้ เกือบทุกกลุม่ สัญชาติโดยเฉพาะกลุม่ นักท่องเทีย่ ว ชาวจีน ด้านอุปสงค์ ในประเทศยังขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป ทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ขณะที่การใช้จ่ายภาครัฐ ยังคงเป็นแรงขับเคลื่อนที่สำ�คัญของเศรษฐกิจไทย สำ�หรับภาคการธนาคาร ในปี 2560 เงินให้สินเชื่อโดยรวม ขยายตัวดีขึ้นจากปีก่อน ทั้งสินเชื่อธุรกิจและสินเชื่ออุปโภคบริโภค สอดคล้องกับทิศทางเศรษฐกิจไทยทีข่ ยายตัว อย่างไรก็ตามธนาคาร พาณิชย์ยังระมัดระวังการให้สินเชื่อ เนื่องจากคุณภาพสินเชื่อ ที่ยังด้อยลงต่อเนื่องโดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ SMEs ซึ่งสะท้อน ถึ ง ผลกระทบจากการชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ ในช่ ว งที่ ผ่ า นมา โดยสัดส่วนสินเชือ่ ที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้ตอ่ สินเชือ่ รวม (NPL ratio) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.83 ณ สิ้นปี 2559 มาอยู่ที่ร้อยละ 2.91 ณ สิ้ น ปี 2560 อย่ า งไรก็ ดี ระบบธนาคารพาณิ ช ย์ ไ ทยยั ง มี เสถียรภาพ เนื่องจากมีเงินสำ�รองและเงินกองทุนอยู่ในระดับสูง ซึ่งสามารถรองรับการขยายตัวของสินเชื่อได้

แนวโน้ ม ของอุ ต สาหกรรมธนาคารพาณิ ช ย์ คาดว่ า ผลการดำ�เนินงานจะดีข้นึ ตามการขยายตัวของสินเชื่อที่ได้รับผลดี จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี จากที่ธุรกิจขนาดใหญ่ ยังมีแผนระดมทุนผ่านหุ้นกู้ และยังมีความเสี่ยงจากปัญหาสินเชื่อ ด้อยคุณภาพ โดยเฉพาะความกังวลต่อสินเชื่อของธุรกิจ SMEs ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวในระยะก่อน ประกอบกับ กำ�ลังซื้อของภาคครัวเรือนที่ยังเปราะบาง อาจกดดันให้กำ�ไรของ กลุ่มธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นได้ไม่มากนัก ที่ ม า : สำ � นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ สั ง คมแห่ ง ชาติ และ ธนาคารแห่งประเทศไทย


67

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ผลการดำ�เนินงานจำ�แนกตามกลุ่มธุรกิจ

1. กลุ่มธุรกิจลงทุน

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีผลการดำ�เนินงาน ดังนี้

อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทำ�กำ�ไร (PROFITABILITY RATIO) อัตรากำ�ไรขัน้ ต้น (%) อัตรากำ�ไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ (%) อัตราดอกเบีย้ รับ (%) อัตราดอกเบีย้ จ่าย (%) ส่วนต่างอัตราดอกเบีย้ (%) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (%) อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน (EFFICIENCY RATIO) อัตรารายได้ดอกเบีย้ สุทธิตอ่ สินทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (FINANCIAL RATIO) อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ (เท่า) อัตราส่วนเงินให้กตู้ อ่ เงินกูย้ มื (%) อัตราส่วนเงินให้กตู้ อ่ เงินรับฝาก (%) อัตราส่วนเงินฝากต่อหนีส้ นิ รวม (%) อัตราการจ่ายเงินปันผล (%) อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสีย่ ง (%) อัตราส่วนคุณภาพสินทรัพย์ (ASSET QUALITY RATIO) อัตราส่วนค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญต่อสินเชือ่ รวม (%) อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อที่หยุดรับรู้รายได้ต่อสินเชื่อรวม (%) อัตราส่วนดอกเบีย้ ค้างรับต่อสินเชือ่ รวม (%) ข้อมูลต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ (บาท) กำ�ไรสุทธิตอ่ หุน้ (บาท)

ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน

การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย เป็นการเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2560 เปรียบเทียบ กับผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2559 ปี 2560 มีกำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้จำ�นวน 3,155.65 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 184.89 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 5.53 เมือ่ เทียบกับปี 2559 โดยเมือ่ หักค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ 552.21 ล้านบาท ส่งผลให้บริษทั มีก�ำ ไรสุทธิจ�ำ นวน 2,603.44 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 93.00 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 3.45 เมื่อเทียบกับปี 2559

2560

2559

2558

51.29 40.09 8.84 4.18 1.97 2.21 4.38

47.34 38.70 14.09 4.34 2.10 2.24 6.51

43.39 29.80 9.65 4.86 2.56 2.30 5.61

2.24 1.17 0.03

2.35 1.31 0.03

2.39 0.91 0.03

5.05 87.05 107.11 73.88 60.73 22.366

9.44 83.36 94.77 77.72 70.39 13.904

10.12 83.90 97.27 75.43 44.42 14.29

2.22 1.92 0.17

2.19 1.79 0.16

1.92 1.91 0.17

1.8200 0.15

1.4896 0.20

1.3162 0.12

บริษัทและบริษัทย่อยมีกำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหนี้สูญและ หนีส้ งสัยจะสูญจำ�นวน 3,772.79 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 592.75 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 13.58 เมื่อเทียบกับปี 2559 อั ต รากำ � ไรจากการดำ � เนิ น งานก่ อ นหนี้ ส งสั ย จะสู ญ ต่ อ รายได้รวมปี 2560 อยู่ที่ร้อยละ 58.10 ลดลงจากปี 2559 ที่อยู่ ที่ร้อยละ 62.66 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานปี 2560 เท่ากับ 0.15 บาทต่อหุ้น เทียบกับปี 2559 ทีเ่ ท่ากับ 0.20 บาทต่อหุน้ และอัตราผลตอบแทน ต่อผูถ้ อื หุน้ ปี 2560 อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 8.84 และปี 2559 อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 14.09


68

รายงานประจำ�ปี 2560

ตารางแสดงผลการดำ�เนินงาน งบการเงินรวม ผลการดำ�เนินงาน

รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไรสำ�หรับปี กำ�ไรต่อหุ้น (EPS) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA)

2560

(บาท) (%) (%)

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,979.13 653.63 860.67 6,493.43 (2,720.64) 3,772.79 (617.14) 3,155.65 (552.21) 2,603.44 0.15 8.84 1.17

2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,838.99 510.60 1,617.47 6,967.06 (2,601.52) 4,365.54 (1,025.00) 3,340.54 (644.10) 2,696.44 0.20 14.09 1.31

2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,366.43 349.38 827.61 5,543.42 (2,399.65) 3,143.77 (1,089.61) 2,054.16 (402.45) 1,651.71 0.12 9.65 0.91

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 140.14 2.90 143.03 28.01 (756.80) (46.79) (473.63) (6.80) 119.12 4.58 (592.75) (13.58) (407.86) (39.79) (184.89) (5.53) (91.89) (14.27) (93.00) (3.45)

1.1 โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงาน โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย ปี 2560 2559 และ 2558 มีรายละเอียดดังนี้ รายได้จากการดำ�เนินงาน ปี 2560 มีรายได้จากการดำ�เนินงานจำ�นวน 6,493.43 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 473.63 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 6.80 เมื่อเทียบกับปี 2559 ตามรายละเอียด ดังนี้ ตารางแสดงรายได้จากการดำ�เนินงาน งบการเงินรวม รายได้จากการดำ�เนินงาน

รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไร (ขาดทุน) จากธุรกรรมเพือ่ ค้าและปริวรรรตเงินตราต่างประเทศ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน

2560 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 8,646.13 (3,667.00) 4,979.13 788.28 (134.65) 653.63 (0.80) 240.77 589.31 31.39 860.67 6,493.43

2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 8,810.03 (3,971.04) 4,838.99 636.87 (126.27) 510.60 0.58 1,188.49 396.62 31.78 1,617.47 6,967.06

2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 8,493.89 (4,127.46) 4,366.43 455.58 (106.20) 349.38 2.17 673.39 126.15 25.90 827.61 5,543.42

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (163.90) (1.86) (304.04) (7.66) 140.14 2.90 151.41 23.77 8.38 6.64 143.03 28.01 (1.38) (237.93) (947.72) (79.74) 192.69 48.58 (0.39) (1.23) (756.80) (46.79) (473.63) (6.80)


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ดอกเบีย้ สุทธิมจี �ำ นวน 4,979.13 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 140.14 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.90 เมือ่ เทียบกับ ปี 2559 เป็นผลมาจากการลดลงของรายได้ดอกเบี้ยและค่าใช้จ่าย ดอกเบี้ยเงินฝาก ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยมีจำ�นวน 3,667.00 ล้านบาท ลดลง จำ�นวน 304.04 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 7.66 เมื่อเทียบกับ ปี 2559 สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนทีด่ แี ละ ความสามารถในการสร้างรายได้ของสินทรัพย์ที่มีประสิทธิภาพ

69

ร้อยละ 28.01 เมื่อเทียบกับปี 2559 เป็นผลมาจาก การเพิ่มขึ้นของค่านายหน้าจากการซื้อขายหลักทรัพย์ ค่าธรรมเนียมจากการจัดการกองทุน และค่าธรรมเนียม จากการเป็นตัวแทนจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเงินต่างๆ อาทิ บริการเป็นนายหน้าประกันชีวิต และบริการเป็น ผู้สนับสนุนการขายและรับซื้อหน่วยลงทุน เป็นต้น • รายได้อื่น รายได้อื่นจำ�นวน 860.67 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 756.80 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 46.79 เมือ่ เทียบกับ ปี 2559 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการลดลงของกำ�ไรจาก เงินลงทุน และในส่วนของรายได้เงินปันผลมีจำ�นวน เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากการลงทุนในเงินลงทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ในปี 2560

รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ ที่ มิ ใ ช่ ด อกเบี้ ย สุ ท ธิ ประกอบด้ ว ยรายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ และรายได้อนื่ (ซึง่ ประกอบด้วยกำ�ไร ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น (ขาดทุน) จากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ปี 2560 ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นมีจำ�นวน กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผลและรายได้จากการดำ�เนินงานอืน่ ) รายได้ทมี่ ิใช่ดอกเบีย้ สุทธิลดลงจาก 2,128.07 ล้านบาท ในปี 2559 2,720.64 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 119.12 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น เป็นจำ�นวน 1,514.30 ล้านบาท ในปี 2560 ลดลงจำ�นวน 613.77 ล้านบาท ร้อยละ 4.58 เมื่อเทียบกับปี 2559 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของ ค่าใช้จ่ายของบริษัทย่อยที่เกี่ยวกับพนักงานที่มีจำ�นวนมากขึ้น • รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิมีจำ�นวน 653.63 เพื่อรองรับการขยายธุรกิจ ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 143.03 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ตารางแสดงค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น งบการเงินรวม ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและโฆษณา ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จา่ ยอืน่ รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น อัตราส่วนค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นต่อรายได้รวม จากการดำ�เนินงาน

2560 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,380.50 37.14 739.03 221.39 116.56 73.01 153.01 2,720.64 41.90%

• ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงานมีจ�ำ นวน 1,380.50 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 70.00 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.34 เมื่อเทียบกับปี 2559 เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของ เงินเดือน และค่าตอบแทนต่างๆ ที่จ่ายให้แก่พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีพนักงานรวมทัง้ สิน้ 1,749 ราย ลดลงจำ�นวน 101 ราย หรือลดลงร้อยละ 5.46 เมื่อเทียบกับปี 2559

2559

2558

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,310.50 32.38 710.04 220.64 105.48 70.42 152.06 2,601.52 37.34%

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,160.95 24.23 704.60 218.42 96.16 69.17 126.12 2,399.65 43.29%

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 70.00 5.34 4.76 14.70 28.99 4.08 0.75 0.34 11.08 10.50 2.59 3.68 0.95 0.62 119.12 4.58

ซึ่งประกอบด้วย - ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มี พนักงานจำ�นวน 1,504 ราย ลดลงจำ�นวน 188 ราย เมื่อเทียบกับปี 2559 - บริษทั หลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีพนักงานจำ�นวน 177 ราย เพิ่มขึ้นจำ�นวน 79 ราย เมื่อเทียบกับปี 2559 - บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด มีพนักงานจำ�นวน 68 ราย เพิ่มขึ้นจำ�นวน 8 ราย เมื่อเทียบกับปี 2559


70

รายงานประจำ�ปี 2560

กลุ่มธุรกิจทางการเงินบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

31 ธันวาคม 2560

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด รวมทั้งสิ้น

1,504 177 68 1,749

• ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์มีจำ�นวน 739.03 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 28.99 ล้านบาทหรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.08 เมือ่ เทียบกับปี 2559

จำ�นวนพนักงาน (ราย) 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 1,692 1,653 98 88 60 46 1,850 1,787

การส่งเสริมการขายของกองทุนต่างๆ ของบริษัทย่อย ที่ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน

1.2 ความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ การวิเคราะห์ฐานะการเงิน บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย • ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและโฆษณา ค่าใช้จา่ ยส่งเสริมการขายและโฆษณา มีจ�ำ นวน 116.56 เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 11.08 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ร้อยละ 10.50 เมื่อเทียบกับปี 2559 ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก ตารางแสดงสินทรัพย์รวม งบการเงินรวม สินทรัพย์รวม

31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

สินทรัพย์ เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก รายได้รอตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ ทรัพย์สินรอการขาย - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน สินทรัพย์อื่น - สุทธิ รวมสินทรัพย์

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

1,994.68 19,084.56 59,622.72

2,109.18 17,326.43 52,675.77

2,242.59 17,676.43 47,202.96

(114.50) 1,758.13 6,946.95

(5.43) 10.15 13.19

153,731.34 261.25 153,992.59 (46.97) (3,407.69) (14.02) 150,523.91 102.14 343.23 295.43 210.00 308.02 626.76 233,111.45

141,162.07 231.19 141,393.26 (91.77) (3,086.28) (15.23) 138,199.98 107.32 403.90 302.39 263.47 295.84 462.90 212,147.18

133,276.80 224.48 133,501.28 (179.45) (2,555.27) (8.74) 130,757.82 99.34 499.00 297.29 197.54 305.40 388.40 199,666.77

12,569.27 30.06 12,599.33 (44.80) 321.41 (1.21) 12,323.93 (5.18) (60.67) (6.96) (53.47) 12.18 163.86 20,964.27

8.90 13.00 8.91 (48.82) 10.41 (7.94) 8.92 (4.83) (15.02) (2.30) (20.29) 4.12 35.40 9.88


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

71

เงินลงทุนสุทธิ สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินลงทุนในหลักทรัพย์สทุ ธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สินทรัพย์รวมมีจำ�นวน 233,111.45 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 20,964.27 ล้านบาท หรือ แสดงด้วยมูลค่าตามบัญชีมีจำ�นวน 59,622.72 ล้านบาท เพิ่มขึ้น เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.88 เมือ่ เทียบกับปี 2559 สินทรัพย์หลักประกอบด้วย จำ�นวน 6,946.95 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 13.19 เมือ่ เทียบกับ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 64.57 ของ ปี 2559 ส่วนใหญ่เป็นการเพิม่ ขึน้ จากการลงทุนในเงินลงทุนเผือ่ ขาย สินทรัพย์รวม รองลงมาได้แก่ เงินลงทุน-สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 25.58 ประเภทตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ ของสินทรัพย์รวม ตารางแสดงเงินลงทุนแยกประเภทการลงทุนแสดงด้วยมูลค่าตามบัญชี งบการเงินรวม เงินลงทุนสุทธิ

31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

เงินลงทุนเพื่อค้า ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ รวมเงินลงทุนเพื่อค้า เงินลงทุนเผื่อขาย ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขาย ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้อื่น รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด เงินลงทุนทั่วไป - ราคาทุน ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดในประเทศ หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมเงินลงทุนทั่วไป - ราคาทุน เงินลงทุน - สุทธิ

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

0.18 0.18

0.08 0.08

12.25 12.25

0.10 0.10

125.00 125.00

12,326.39 136.70 12,463.09

6,636.59 222.09 6,858.68

2,145.47 207.49 2,352.96

5,689.80 (85.39) 5,604.41

85.73 (38.45) 81.71

18,221.11 23,952.94 4,971.86 47,145.91

18,313.43 22,417.36 5,072.68 45,803.47

22,073.90 17,399.35 5,350.96 44,824.21

(92.32) 1,535.58 (100.82) 1,342.44

(0.50) 6.85 (1.99) 2.93

13.57 (0.03) 13.54 59,622.72

13.57 (0.03) 13.54 52,675.77

13.57 (0.03) 13.54 47,202.96

6,946.95

13.19

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 หนี้สินรวมมีจำ�นวน เป็นเงินรับฝากและตราสารหนีท้ อี่ อกและเงินกูย้ มื ซึง่ คิดเป็นร้อยละ 194,556.51 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 2,724.97 ล้านบาท หรือ 73.88 และ 16.91 ของหนี้สินรวม ตามลำ�ดับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.42 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยหนี้สินรวมส่วนใหญ่ ตารางแสดงหนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน งบการเงินรวม หนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน

31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

หนี้สิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม อื่นๆ รวมหนี้สิน

143,730.69 15,346.14 219.78 32,895.58 2,364.32 194,556.51

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 149,097.14 20,009.85 75.99 20,327.49 2,321.07 191,831.54

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 137,064.32 20,638.56 176.52 21,663.97 2,172.55 181,715.92

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (5,366.45) (4,663.71) 143.79 12,568.09 43.25 2,724.97

(3.60) (23.31) 189.22 61.83 1.86 1.42


72

รายงานประจำ�ปี 2560

ความสัมพันธ์ของแหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน ส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินให้สนิ เชือ่ (ก่อนหักรายได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ส่วนของเจ้าของมีจำ�นวน 38,554.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 18,239.30 ล้านบาท หรือ รอตัดบัญชี) จำ�นวน 153,731.34 ล้านบาท โดยมีอัตราส่วนเงินให้ สินเชื่อต่อเงินรับฝากของธนาคารคิดเป็นร้อยละ 107.11 สำ�หรับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 89.78 เมื่อเทียบกับปี 2559 สภาพคล่องทีเ่ หลือบริษทั ได้น�ำ ไปลงทุนในสินทรัพย์สภาพคล่องต่างๆ เช่น รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินและเงินลงทุนในหลักทรัพย์ 1.3 ความเพียงพอของเงินทุน แหล่ ง ที่ ม าและใช้ ไ ปของเงิ น ทุ น ที่ สำ � คั ญ สามารถ แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 โครงสร้างเงินทุนตาม แบ่งตามระยะเวลาครบกำ�หนดตามสัญญาโดยเงินรับฝากที่มีอายุ งบการเงินรวม ประกอบด้วยหนีส้ นิ จำ�นวน 194,556.51 ล้านบาท น้อยกว่า 1 ปี จำ�นวน 133,716.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 93.03 และส่วนของเจ้าของจำ�นวน 38,554.94 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วน ของเงินรับฝากทั้งหมด ขณะที่เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่มีอายุ หนี้สินต่อส่วนของเจ้าของเท่ากับ 5.05 เท่า โดยองค์ประกอบของ น้อยกว่า 1 ปี จำ�นวน 66,233.84 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.08 แหล่งเงินทุนด้านหนี้สิน ได้แก่ เงินฝากคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมด ส่วนเงินรับฝากที่มีอายุมากกว่า 1 ปี 61.66 ของแหล่งเงินทุน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน จำ�นวน 10,014.24 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.97 ของเงินรับฝากทั้งหมด สัดส่วนร้อยละ 6.58 ตราสารหนีท้ อ่ี อกและเงินกูย้ มื สัดส่วนร้อยละ ขณะทีเ่ งินให้สนิ เชือ่ ทีม่ อี ายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน 86,435.44 ล้านบาท 14.11 และอืน่ ๆ สัดส่วนร้อยละ 1.11 ขณะทีส่ ว่ นของเจ้าของคิดเป็น หรือร้อยละ 56.23 ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมด สัดส่วนร้อยละ 16.54 ตารางแสดงแหล่งที่มาและใช้ ไปของเงินทุน เงินรับฝาก ระยะเวลา น้อยกว่า 1 ปี มากกว่า 1 ปี ไม่มีกำ�หนด รวม

31 ธันวาคม 2560 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 133,716.45 93.03 10,014.24 6.97 143,730.69 100.00

31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 141,756.14 95.08 7,341.00 4.92 149,097.14 100.00

1.4 การเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีเงินสดจำ�นวน 1,994.68 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 114.50 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2559 โดย มีเงินสดสุทธิได้มาและใช้ไปในกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ - เงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรมดำ � เนิ น งานจำ � นวน 11,201.81 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากกำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อน การเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ดำ�เนินงาน จำ�นวน 852.23 ล้านบาท และการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน ทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลกู หนีเ้ พิม่ ขึน้ 12,883.93 ล้านบาท รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์) เพิม่ ขึน้ 1,770.82 ล้านบาท เงินรับฝากลดลง 5,366.46 ล้านบาท และตราสารหนี้ ที่ออกและเงินกู้ยืมระยะสั้นเพิ่มขึ้น 12,504.41 ล้านบาท รายการ สินทรัพย์รวม เงินรับฝาก เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (สุทธิรายได้รอตัดบัญชี) สินทรัพย์สภาพคล่อง เงินให้สินเชื่อ/เงินรับฝาก (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/สินทรัพย์รวม (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/เงินรับฝาก (%)

เงินให้สินเชื่อ 31 ธันวาคม 2560 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 66,233.84 43.08 86,435.44 56.23 1,062.06 0.69 153,731.34 100.00

31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 62,856.32 44.53 77,965.12 55.23 340.63 0.24 141,162.07 100.00

- เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนจำ�นวน 4,415.99 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการลงทุนในเงินลงทุนเผื่อขายสุทธิ จำ�นวน 5,029.15 ล้านบาท - เงินสดสุทธิได้มาจากกิจ กรรมจัดหาเงินจำ � นวน 15,503.30 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากเงินสดรับสุทธิจากการออก หุ้นสามัญเพิ่มทุนอันเนื่องมาจากการเพิ่มทุนของ CTBC Bank จำ�นวน 16,530.32 ล้านบาท 1.5 ความเพียงพอของสภาพคล่อง สินทรัพย์สภาพคล่อง ประกอบด้วย เงินสด รายการ ระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ (สินทรัพย์) และเงินลงทุนสุทธิ สินทรัพย์สภาพคล่องเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจาก 57,020.33 ล้านบาท ในปี 2559 เป็น 65,369.05 ล้านบาท ในปี 2560 เพิ่มขึ้นจำ�นวน 8,348.72 ล้านบาท 31 ธันวาคม 2560 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 233,111.45 143,730.69 153,684.37 65,369.06 107.11 28.04 45.48

31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 212,147.18 149,097.14 141,070.30 57,020.33 94.77 26.88 38.24


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

73

1.6 ปัจจัยที่อาจมีผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงาน อย่างไรก็ตาม ระบบธนาคารพาณิชย์เผชิญกับปัญหาหนีท้ ไ่ี ม่กอ่ ให้เกิด ในอนาคต รายได้ (NPL) ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะจากลูกหนี้สินเชื่อธุรกิจ SME ปัจจัยทีอ่ าจมีผลต่อการดำ�เนินงานในอนาคต มีปจั จัยหลัก และสินเชือ่ รายย่อย ทำ�ให้ทง้ั ระบบธนาคารพาณิชย์เน้นการให้สนิ เชือ่ คือ แนวโน้มการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจไทยซึง่ ยังอยู่ในภาวะเปราะบาง อย่างรัดกุมและให้ความสำ�คัญ กับการเติบโตของสินเชื่ออย่ า ง โดยมีสาเหตุมาจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกทีฟ่ น้ื ตัวช้า ความผันผวน ระมัดระวังมากขึ้น ในตลาดเงิน ตลาดทุน ประกอบกับกำ�ลังซื้อภายในประเทศที่ยัง ไม่แข็งแรงนัก รวมถึงครัวเรือนในภาคเกษตรที่ได้รับผลกระทบ ด้านการระดมเงินฝาก ธนาคารต่างๆ แข่งขันออกผลิตภัณฑ์ ทั้งจากปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ�และวิกฤติภัยแล้ง เงินฝาก และมีการกู้ยืมเพิ่มขึ้นทั้งรูปแบบการออกหุ้นกู้ในประเทศ และต่างประเทศ 2. ธุรกิจธนาคารพาณิชย์

ความสามารถในการทำ�กำ�ไรในปีที่ผ่านมา ถูกกดดันจาก ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของธนาคารพาณิชย์ การตั้งสำ�รองที่เพิ่มขึ้น จากปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ปี 2560 และแนวโน้มปี 2561 ที่เพิ่มขึ้น และการเตรียมตัวสำ�หรับการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ใน อนาคต เช่น IFRS 9 ส่งผลให้กำ�ไรสุทธิชะลอตัว แต่ทั้งนี้ธนาคาร ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของธนาคารพาณิชย์ พาณิชย์มกี ารปรับตัวโดยเน้นบริหารจัดการต้นทุนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ปี 2560 มากขึ้น ทั้งต้นทุนดอกเบี้ยและต้นทุนบริหารจัดการ ปี 2560 ภาพรวมอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ยังคงเติบโต ต่อเนื่องจากปีก่อนจากแนวโน้มเศรษฐกิจไทยที่เริ่มฟื้นตัวในปี ที่ผ่านมา โดยเงินให้สินเชื่อขยายตัวร้อยละ 4.5 จากสิ้นปีก่อน ข้อมูลเปรียบเทียบของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) กับระบบธนาคารพาณิชย์ ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย : ล้านบาท) อัตราการเติบโต (ต่อปี) เฉลี่ยย้อนหลัง 2 ปี

อัตราการเติบโต (ต่อปี) 2560 ระบบธนาคารพาณิชย์ สินทรัพย์ สินเชื่อ เงินฝาก ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) สินทรัพย์ สินเชื่อ เงินฝาก ส่วนแบ่งตลาดของ LH BANK สินทรัพย์ (%) สินเชื่อ (%) เงินฝาก (%)

2559

2558

2560

2559

16,677,044 11,687,205 12,136,642

15,941,608 11,185,891 11,427,320

15,546,336 10,924,484 11,222,823

4.6% 4.5% 6.2%

2.5% 2.4% 1.8%

3.6% 3.4% 4.0%

230,396 154,020 143,742

209,695 141,145 149,639

198,039 132,727 137,300

9.9% 9.1% -3.9%

5.9% 6.3% 9.0%

7.9% 7.8% 2.5%

1.38 1.32 1.18

1.32 1.26 1.31

1.27 1.21 1.22

-

-

ที่มา ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย, ธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศ 15 แห่ง


74

รายงานประจำ�ปี 2560

แนวโน้ มภาวะธุ ร กิ จ และการแข่ ง ขั น ของธนาคารพาณิ ช ย์ นอกจากนี้ยังเน้นสร้างรายได้ในทุกส่วนทั้งรายได้จากดอกเบี้ยรับ และรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย และรายได้ค่าธรรมเนียม การควบคุม ในปี 2561 ต้นทุนการดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการเร่งพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่การเป็น Digital Banking ให้เต็มรูปแบบ

จากการคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือ GDP ของไทย ปี 2561 ของคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือสภาพัฒน์ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 3.6 - 4.6 หรือมีคา่ กลางราวร้อยละ 4.0 แสดงถึงเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง แต่ปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ หรือ NPL ในปี 2560 ยังค่อนข้างสูง ซึง่ เป็นเรือ่ งสำ�คัญ ที่ธนาคารพาณิชย์คำ�นึงถึงการปล่อยสินเชื่อในปี 2561 อย่างไร ก็ตาม จากการคาดการณ์การเติบโตของสินเชือ่ ของธนาคารพาณิชย์ หลายแห่ง คาดว่าสินเชือ่ ในระบบธนาคารพาณิชย์จะสามารถเติบโต เฉลี่ยร้อยละ 3.8 ใกล้เคียงกับการเติบโตของ GDP ระบบธนาคารพาณิชย์ ให้ความสำ�คัญกับการควบคุมต้นทุน การดำ�เนินงานต่อรายได้รวม (Cost-to-Income Ratio) โดยใน ปี 2560 หลายธนาคารได้ปดิ สาขา หรือชะลอการเปิดสาขา รวมทัง้ การลดจำ�นวนพนักงานสาขา เพือ่ เป็นการลดต้นทุนการดำ�เนินงาน ส่วนหนึ่ง และสอดคล้องกับการพัฒนาระบบธนาคารเข้าสู่ธนาคาร ดิจิตอล (Digital Banking) ที่เริ่มมีบทบาทสูงเพราะมีความสะดวก สามารถทำ�ธุรกรรมได้ทุกที่ ทุกเวลา รวดเร็วกว่าการทำ�ธุรกรรม ผ่านสาขา

ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน

การวิ เ คราะห์ ภ าวะธุ ร กิ จ ธนาคารพาณิ ช ย์ ที่ มี ผ ลต่ อ การดำ�เนินงาน

การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นการเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานประจำ� ปี 2560 เปรียบเทียบกับผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2559 ปี 2560 มีกำ�ไรจำ�นวน 2,312.06 ล้านบาท ลดลง 190.24 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 7.60 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยส่วน ใหญ่เป็นผลจากการลดลงของรายได้อื่นจำ�นวน 886.85 ล้านบาท ในขณะที่รายได้ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 142.18 ล้านบาท ค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินงานอืน่ เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 12.67 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.54 เมือ่ เทียบกับปี 2559 ส่วนใหญ่มาจากการ เพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ธนาคารได้ตั้งสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญลดลงจำ�นวน 407.86 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 39.79 เมื่อเทียบกับปี 2559 อั ต รากำ � ไรจากการดำ � เนิ น งานก่ อ นหนี้ ส งสั ย จะสู ญ ต่ อ รายได้รวมปี 2560 อยู่ที่ร้อยละ 59.51 ลดลงจากปี 2559 ที่อยู่ ที่ร้อยละ 63.96 กำ�ไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานปี 2560 เท่ากับ 1.40 บาทต่อหุน้ ลดลง เมื่อเทียบกับปีก่อนที่มีจำ�นวน 1.79 บาทต่อหุ้น อัตราผลตอบแทน ต่อผู้ถือหุ้นปี 2560 อยู่ที่ร้อยละ 8.79 และอัตราผลตอบแทนต่อ สินทรัพย์รวมปี 2560 อยู่ที่ร้อยละ 1.05

ระบบธนาคารพาณิ ช ย์ มี การแข่ ง ขั น พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทางการเงิ น เพื่ อ สร้ า งฐานลู ก ค้ า ให้ เ พิ่ ม มากขึ้ น โดยเฉพาะ ฐานลูกค้าธนบดีธนกิจ(Welath Managment) เนื่องจากศักยภาพ ทางการเงินของลูกค้าที่ค่อนข้างมั่นคงและมีแนวโน้มการเติบโตที่ดี ตารางแสดงผลการดำ�เนินงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลการดำ�เนินงาน

รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไรสำ�หรับปี กำ�ไรต่อหุ้น (EPS)(บาท) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE)(%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA)(%)

2560 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,980.22 325.72 488.25 5,794.19 (2,345.94) 3,448.25 (617.14) 2,831.11 (519.05) 2,312.06 1.40 8.79 1.05

2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,838.04 261.15 1,375.10 6,474.29 (2,333.27) 4,141.02 (1,025.00) 3,116.02 (613.72) 2,502.30 1.79 14.93 1.23

2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,344.06 228.28 755.75 5,328.09 (2,210.59) 3,117.50 (1,089.61) 2,027.89 (397.23) 1,630.66 1.24 10.74 0.90

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 142.18 2.94 64.57 24.73 (886.85) (64.49) (680.10) (10.50) 12.67 0.54 (692.77) (16.73) (407.86) (39.79) (284.91) (9.14) (94.67) (15.43) (190.24) (7.60)


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

75

2.1 โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงาน โครงสร้ า งรายได้ จ ากการดำ � เนิ น งานของธนาคาร 5,794.19 ล้านบาท ลดลง 680.10 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 10.50 เมือ่ เทียบกับปี 2559 สามารถจำ�แนกรายละเอียดได้ตามตารางต่อไปนี้ มีรายละเอียดดังนี้ รายได้จากการดำ�เนินงาน ในปี 2560 มี ร ายได้ จ ากการดำ � เนิ น งานจำ � นวน ตารางแสดงรายได้จากการดำ�เนินงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ รายได้จากการดำ�เนินงาน

รายได้ดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เงินลงทุนในตราสารหนี้ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน การให้เช่าซื้อ รวมรายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน

2560

2559

2558

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

6,395.74 1,626.91 583.59 47.45 8,653.69 (3,673.47) 4,980.22 400.58 (74.86) 325.72 65.77 392.83 29.65 488.25 5,794.19

รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ ปี 2560 มีรายได้ดอกเบีย้ สุทธิจ�ำ นวน 4,980.22 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 142.18 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.94 เมือ่ เทียบกับ ปี 2559 เป็นผลมาจากการลดลงของรายได้ดอกเบี้ยและค่าใช้จ่าย ดอกเบี้ยประเภทเงินรับฝาก ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยมีจำ�นวน 3,673.47 ล้านบาท ลดลง จำ�นวน 304.82 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 7.66 ซึง่ สะท้อนให้เห็นถึง ประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนที่ดีอย่างมีประสิทธิภาพ รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย รายได้ทมี่ ิใช่ดอกเบีย้ ประกอบด้วยรายได้คา่ ธรรมเนียม และบริการสุทธิและรายได้อื่น (ซึ่งประกอบด้วยกำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล และรายได้จากการดำ�เนินงานอื่น) ปี 2560 ธนาคารมีรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยจำ�นวน 813.97 ล้านบาท ลดลง จำ�นวน 822.28 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 50.25 เมื่อเทียบกับ ปี 2559 โดยมีรายละเอียดดังนี้

6,459.89 1,664.67 607.36 84.41 8,816.33 (3,978.29) 4,838.04 336.90 (75.75) 261.15 1,135.62 210.63 28.85 1,375.10 6,474.29

6,259.57 1,470.79 633.24 121.58 8,485.18 (4,141.12) 4,344.06 294.96 (66.68) 228.28 659.74 78.08 17.93 755.75 5,328.09

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (64.15) (37.76) (23.77) (36.96) (162.64) (304.82) 142.18 63.68 (0.89) 64.57 (1,069.85) 182.20 0.80 (886.85) (680.10)

(0.99) (2.27) (3.91) (43.79) (1.84) (7.66) 2.94 18.90 (1.17) 24.73 (94.21) 86.50 2.77 (64.49) (10.50)

• รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการสุทธิจ�ำ นวน 325.72 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 64.57 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 24.73 เมือ่ เทียบกับปี 2559 เป็นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ของ ค่าธรรมเนียมจากการเป็นตัวแทนจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ทางการเงินต่างๆ อาทิ บริการด้านประกัน บริการเป็น นายหน้าประกันชีวติ และบริการเป็นผูส้ นับสนุนการขาย และรับซื้อหน่วยลงทุน เป็นต้น • รายได้อื่น รายได้อื่นจำ�นวน 488.25 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 886.85 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 64.49 เมือ่ เทียบกับ ปี 2559 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการลดลงของกำ�ไร จากเงินลงทุน และในส่วนของรายได้เงินปันผลมีจ�ำ นวน เพิ่มขึ้นเนื่องจากการลงทุนในเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้นใน ปี 2560


76

รายงานประจำ�ปี 2560

รายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและ หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่า ปี 2560 ธนาคารมีหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุน ธนาคารได้ตั้งสำ�รองหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญแต่ละปี จากการด้อยค่าจำ�นวน 617.14 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 407.86 เป็นไปตามหลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 39.79 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดย และการประเมินคุณภาพลูกหนี้จากประสบการณ์ สัดส่วนเงินสำ�รองที่มีต่อเงินสำ�รองพึงกันตามเกณฑ์ของธนาคาร ปี 2560 รายได้ดอกเบีย้ สุทธิหลังหักหนีส้ ญู หนีส้ งสัยจะสูญ แห่งประเทศไทยอยู่ที่ร้อยละ 186.08 ในปี 2560 และอยู่ที่ร้อยละ และขาดทุนจากการด้อยค่ามีจำ�นวน 4,363.08 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 185.50 ในปี 2559 จำ�นวน 550.04 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 14.43 เมือ่ เทียบกับ ปี 2559 ตารางแสดงรายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า งบการเงินเฉพาะกิจการ รายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และ ขาดทุนจากการด้อยค่า รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า รายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า เงินสำ�รองที่มีต่อเงินสำ�รองพึงกัน (%)

2560

2559

2558

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,980.22 (617.14) 4,363.08

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,838.04 (1,025.00) 3,813.04

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,344.06 (1,089.61) 3,254.45

186.08

185.50

180.42

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 142.18 2.94 (407.86) (39.79) 550.04 14.43

ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 12.67 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่นๆ ค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินงานอืน่ ๆ ประกอบด้วย ค่าใช้จา่ ย 0.54 เมื่อเทียบกับปี 2559 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร เกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ โดยอัตราส่วนค่าใช้จ่ายจาก สถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและ การดำ�เนินงานอืน่ ต่อรายได้รวม ปี 2560 อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 40.49 เพิม่ ขึน้ โฆษณา ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนและค่าใช้จ่ายอื่น โดย จากปี 2559 ที่อยู่ที่ร้อยละ 36.04 ตามรายละเอียด ดังนี้ ปี 2560 ธนาคารมีค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่นจำ�นวน 2,345.94 ตารางแสดงค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและโฆษณา ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น อัตราส่วนค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานต่อรายได้รวม จากการดำ�เนินงาน (%)

2560 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,167.84 17.41 672.97 220.09 89.71 58.77 119.15 2,345.94 40.49

2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,159.31 15.31 659.97 219.73 90.12 63.09 125.74 2,333.27 36.04

2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,056.99 13.75 667.22 217.06 92.23 59.03 104.31 2,210.59 41.49

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 8.53 2.10 13.00 0.36 (0.41) (4.32) (6.59) 12.67

สัดส่วน (ร้อยละ) 0.74 13.72 1.97 0.16 (0.45) (6.85) (5.24) 0.54


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

77

2.2 ความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ การวิเคราะห์ฐานะการเงิน บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของธนาคาร เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ตารางแสดงสินทรัพย์รวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์รวม สินทรัพย์ เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก รายได้รอตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ ทรัพย์สินรอการขาย - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน สินทรัพย์อื่น - สุทธิ รวมสินทรัพย์

2560 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

1,994.55 20,928.06 55,236.57 -

2,109.13 17,961.03 49,978.12 -

2,242.56 17,742.12 45,965.02 257.29

(114.58) 2,967.03 5,258.45 -

(5.43) 16.52 10.52 -

154,067.28 257.01 154,324.29 (46.97) (3,388.69) (14.02) 150,874.61 102.14 258.31 170.14 210.00 308.02 313.87 230,396.27

141,236.44 229.43 141,465.87 (91.77) (3,078.63) (15.23) 138,280.24 107.32 317.88 180.24 263.45 295.84 201.72 209,694.97

132,906.68 222.89 133,129.57 (179.45) (2,555.27) (8.74) 130,386.11 99.34 409.04 181.27 190.71 305.40 259.97 198,038.83

12,830.84 27.58 12,858.42 (44.80) 310.06 (1.21) 12,594.37 (5.18) (59.57) (10.10) (53.45) 12.18 112.15 20,701.30

9.08 12.02 9.09 (48.82) 10.07 (7.94) 9.11 (4.83) (18.74) (5.60) (20.29) 4.12 55.60 9.87

สินทรัพย์รวม สินทรัพย์หลัก ประกอบด้วย เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลกู หนีแ้ ละ ดอกเบีย้ ค้างรับ - สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 65.48 ของสินทรัพย์รวม รองลงมา ได้แก่ เงินลงทุน - สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 23.97 ของสินทรัพย์รวม โดยสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจ�ำ นวน 230,396.27 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 20,701.30 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.87 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยส่วนใหญ่มาจากการเพิ่มขึ้นของ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ และเงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อ เงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามภาคธุรกิจสามารถแบ่งออก เป็นเงินให้สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) เงินให้สินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME) และเงินให้สินเชื่อเพื่อรายย่อย (Retail)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีเงินให้สนิ เชือ่ สุทธิจากรายได้ รอตัดบัญชี (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) จำ�นวน 173,239.52 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 15,745.68 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.00 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยส่วนใหญ่ เป็นสินเชือ่ ธุรกิจขนาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 68.37 รองลงมาเป็นสินเชือ่ เพื่อรายย่อยคิดเป็นร้อยละ 16.85 ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมดและ หากจำ�แนกตามประเภทเงินให้สินเชื่อพบว่าส่วนใหญ่เป็นสินเชื่อ เพื่อการสาธารณูปโภคและบริการ และสินเชื่อเพื่ออุตสาหกรรม การผลิตและการพาณิชย์ คิดเป็นร้อยละ 23.23 และร้อยละ 19.40 ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมด ตามลำ�ดับ


78

รายงานประจำ�ปี 2560

ตารางแสดงเงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามภาคธุรกิจ (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามภาคธุรกิจ

2560

จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) 118,439.54 68.37 สินเชือ่ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME) 25,601.25 14.78 สินเชื่อเพื่อรายย่อย (Retail) 29,198.73 16.85 รวมเงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี 173,239.52 100.00 บวก : ดอกเบี้ยค้างรับ 275.94 รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับสุทธิจาก 173,515.46 รายได้รอตัดบัญชี

2559

2558

จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 100,920.01 64.08 90,053.21 60.43 25,441.42 16.15 27,143.71 18.22 31,132.41 19.77 31,813.10 21.35 157,493.84 100.00 149,010.02 100.00 243.64 236.52 157,737.48 149,246.54

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับ ปี 2559) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 17,519.53 17.36 159.83 0.63 (1,933.68) (6.21) 15,745.68 10.00 32.30 13.26 15,777.98 10.00

ตารางแสดงรายละเอียดเงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามประเภทเงินให้สินเชื่อ (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) เงินให้สินเชื่อ จำ�แนกตามประเภทเงินให้สินเชื่อ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ การสาธารณูปโภคและบริการ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง การเกษตรและเหมืองแร่ ตัวกลางทางการเงิน สหกรณ์ออมทรัพย์ อื่นๆ รวมเงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

2558

จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 27,342.41 15.78 29,134.89 18.50 29,812.73 20.01 33,602.18 19.40 27,844.63 17.68 27,390.76 18.38 40,245.34 23.23 38,074.24 24.18 34,424.60 23.10 21,590.03 12.46 20,789.91 13.20 18,847.74 12.65 183.27 0.11 488.40 0.31 386.13 0.26 32,856.15 18.96 23,877.22 15.16 21,938.64 14.72 15,469.21 8.93 15,229.17 9.67 14,093.29 9.46 1,950.93 1.13 2,055.38 1.30 2,116.13 1.42 173,239.52 100.00 157,493.84 100.00 149,010.02 100.00

คุณภาพสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สินทรัพย์จดั ชัน้ ประกอบด้วย รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินและดอกเบีย้ ค้างรับ เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับและสินทรัพย์อ่ืน โดยจัดชั้น ตามหลักเกณฑ์ทก่ี �ำ หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย มีรายละเอียดดังนี้

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับ ปี 2559) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (1,792.48) (6.15) 5,757.55 20.68 2,171.10 5.70 800.12 3.85 (305.13) (62.48) 8,978.93 37.60 240.04 1.58 (104.45) (5.08) 15,745.68 10.00


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ตารางแสดงการจัดชั้นสินทรัพย์แยกตามประเภทสินทรัพย์ งบการเงินเฉพาะกิจการ

การจัดชั้นสินทรัพย์ แยกตามประเภทสินทรัพย์ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินและ ดอกเบี้ยค้างรับ • ปกติ เงินลงทุน • สงสัยจะสูญ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ • ปกติ • กล่าวถึงเป็นพิเศษ • ต่ำ�กว่ามาตรฐาน • สงสัย • สงสัยจะสูญ สินทรัพย์อื่น • สงสัยจะสูญ รวม

2560

2559

2558

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

79

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับ ปี 2559) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

19,238.14

16,363.39

16,296.41

2,874.75

17.57

21.16

71.72

50.66

(50.56)

(70.50)

149,492.38 1,521.18 169.47 211.45 2,882.84

137,462.17 1,146.01 912.01 621.85 1,232.06

129,150.53 984.94 347.08 1,471.27 996.30

12,030.21 375.17 (742.54) (410.40) 1,650.78

8.75 32.74 (81.42) (66.00) 133.99

60.91 173,597.53

51.17 157,860.38

34.97 149,332.16

9.74 15,737.15

19.03 9.97

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จำ�นวน 3,388.69 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 310.06 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.07 เมื่อเทียบกับปี 2559 ซึ่งสอดคล้องกับ การเติบโตของสินเชือ่ และเพือ่ รองรับความไม่แน่นอนทีอ่ าจเกิดขึน้ จาก

สภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ อัตราส่วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ต่อสินเชื่อรวมอยู่ที่ร้อยละ 2.22 เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ที่อยู่ที่ร้อยละ 2.19 อัตราส่วนค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญต่อเงินให้สนิ เชือ่ ด้อยคุณภาพ (LLR/NPL) ลดลงจากร้อยละ 119.62 เป็นร้อยละ 110.15

ตารางแสดงค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำ�แนกตามการจัดชั้นของลูกหนี้ (ไม่รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ และดอกเบี้ยค้างรับ และค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญจำ�แนกตาม การจัดชั้นของลูกหนี้ จัดชั้นปกติ จัดชัน้ กล่าวถึงเป็นพิเศษ จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย จัดชั้นสงสัยจะสูญ รวม เงินสำ�รองรายตัวเพิ่มเติม เงินสำ�รองทั่วไป รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และดอกเบี้ยค้างรับ จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 149,492.38 96.90 758.69 22.39 1,521.18 0.98 156.99 4.63 169.47 0.11 77.55 2.29 211.45 0.14 111.11 3.28 2,882.84 1.87 593.23 17.51 154,277.32 100.00 1,697.57 50.10 750.00 22.13 941.12 27.77 154,277.32 100.00 3,388.69 100.00

การเปลี่ยนแปลง 2559 (ปี 2560 เปรียบเทียบกับ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ปี 2559) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) และดอกเบี้ยค้างรับ จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 137,462.17 97.23 812.38 26.39 (53.69) (6.61) 1,146.01 0.81 168.48 5.47 (11.49) (6.82) 912.00 0.65 202.31 6.57 (124.76) (61.67) 621.85 0.44 49.61 1.61 61.50 123.97 1,232.06 0.87 320.92 10.42 272.31 84.85 141,374.09 100.00 1,553.70 50.47 143.87 9.26 571.54 18.56 178.46 31.22 953.39 30.97 (12.27) (1.29) 141,374.09 100.00 3,078.63 100.00 310.06 10.07


80

รายงานประจำ�ปี 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีเงินให้สินเชื่อแยกตามอายุลูกหนี้ที่ค้างชำ�ระตามกำ�หนดระยะเวลา ดังนี้ ตารางแสดงเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้จำ�แนกตามวันที่ครบกำ�หนด งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ครบกำ�หนดเมื่อทวงถาม/1 ครบกำ�หนดไม่เกิน 3 เดือน ครบกำ�หนด 3 - 12 เดือน ครบกำ�หนด มากกว่า 1 ปี รวม

2560

2559

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 18,854.55 32,627.08 16,150.21 86,435.44 154,067.28

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 15,843.04 27,454.52 19,973.76 77,965.12 141,236.44

2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 10,379.04 21,378.84 17,367.36 83,781.44 132,906.68

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับ ปี 2559) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 3,011.51 19.01 5,172.56 18.84 (3,823.55) (19.14) 8,470.32 10.86 12,830.84 9.08

หมายเหตุ /1 หมายถึง เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ครบกำ�หนดเมื่อทวงถามรวมจำ�นวนเงินคงค้างตามสัญญาของลูกหนี้รายที่ผิดนัดชำ�ระและเป็นเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้

สินเชื่อด้อยคุณภาพ (Net) จำ�นวน 2,471.77 ล้านบาท ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ ธนาคารตัง้ ค่าเผือ่ การปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ คิดเป็นร้อยละ 1.43 ของสินเชื่อรวมหลังหักสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัย จำ�นวน 14.02 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 1.21 ล้านบาทหรือลดลง จะสูญของสินเชื่อด้อยคุณภาพ ร้อยละ 7.94 เมื่อเทียบกับปี 2559 หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ธนาคารมีหนีส้ นิ รวมจำ�นวน สินเชื่อด้อยคุณภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีสินเชื่อด้อยคุณภาพ 195,273.95 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 3,076.86 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ (Gross) จำ�นวน 3,263.76 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 497.84 ร้อยละ 1.60 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้น ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 18.00 เมือ่ เทียบกับปี 2559 อัตราส่วน ของตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม สินเชื่อด้อยคุณภาพต่อสินเชื่อรวม คิดเป็นร้อยละ 1.88 เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2559 ที่คิดเป็นร้อยละ 1.76 ตารางแสดงหนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน งบการเงินเฉพาะกิจการ หนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม อื่นๆ รวมหนี้สิน

2560 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 143,741.92 15,415.97 219.79 32,979.12 2,917.15 195,273.95

เงินรับฝาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ธนาคารมีเงินรับฝากรวม จำ�นวน 143,741.92 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 5,897.58 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 3.94 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยส่วนใหญ่เป็น การลดลงของใบรับเงินฝากประจำ� และการเพิ่มขึ้นของเงินฝาก ประเภทออมทรัพย์

2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 149,639.50 20,053.83 75.99 20,464.66 1,963.11 192,197.09

2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 137,300.10 20,665.87 176.52 21,814.06 2,069.37 182,025.92

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับ ปี 2559) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (5,897.58) (3.94) (4,637.86) (23.13) 143.80 189.24 12,514.46 61.15 954.04 48.60 3,076.86 1.60


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

81

ตารางแสดงเงินรับฝากจำ�แนกตามประเภทเงินรับฝาก งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินรับฝากจำ�แนกตามประเภทเงินรับฝาก จ่ายคืนเมื่อทวงถาม ออมทรัพย์ เงินรับฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา ใบรับเงินฝากประจำ� รวมเงินรับฝาก

2560

2559

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 3,623.02 72,563.33 49,775.13 17,780.44 143,741.92

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 5,061.09 65,119.72 50,648.23 28,810.46 149,639.50

2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 5,678.02 51,887.27 41,212.83 38,521.98 137,300.10

การเปลี่ยนแปลง (ปี 2560 เปรียบเทียบกับ ปี 2559) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (1,438.07) (28.41) 7,443.61 11.43 (873.10) (1.72) (11,030.02) (38.28) (5,897.58) (3.94)

ส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ธนาคารมีสว่ นของเจ้าของ จำ�นวน 35,122.32 ล้านบาทเพิม่ ขึน้ จำ�นวน 17,624.44 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 100.72 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยมาจาก การเพิ่มทุนของ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม 2560 เป็นจำ�นวนเงิน 16,598.92 ล้านบาท ซึ่งได้รับมาจากการเพิ่มทุนของ CTBC Bank

ความสัมพันธ์ของแหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (ก่ อ นหั กรายได้ ร อตั ด บั ญ ชี ) จำ � นวน 154,067.28 ล้ า นบาท โดยมีอัตราส่วนของเงินให้สินเชื่อต่อเงินรับฝากคิดเป็นร้อยละ 107.33 สำ�หรับส่วนของสภาพคล่องที่เหลือธนาคารได้นำ�ไปลงทุน ในสินทรัพย์สภาพคล่องต่างๆ อาทิ รายการระหว่างธนาคารและ ตลาดเงิน เงินลงทุน และเงินให้สินเชื่อ

2.3 ความเพียงพอของเงินทุน แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 โครงสร้างเงินทุนตามงบการเงิน เฉพาะกิจการ ประกอบด้วยหนี้สินจำ�นวน 195,273.95 ล้านบาท และส่วนของเจ้าของจำ�นวน 35,122.32 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วน หนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 5.56 เท่า โดยองค์ประกอบของ แหล่งเงินทุนด้านหนี้สิน ได้แก่ เงินฝากรวมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 62.39 ของแหล่งเงินทุน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน มีสัดส่วนร้อยละ 6.69 ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืมสัดส่วน ร้อยละ 14.31 หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถามและอื่นๆ ร้อยละ 1.37 ขณะที่ส่วนของเจ้าของคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.24

แหล่ ง ที่ ม าและใช้ ไ ปของเงิ น ทุ น ที่ สำ � คั ญ ณ วั น ที่ 31 ธันวาคม 2560 สามารถแบ่งตามระยะเวลาครบกำ � หนด ตามสั ญ ญา โดยเงิ น รั บ ฝากที่ มี อ ายุ น้ อ ยกว่ า 1 ปี จำ � นวน 133,727.68 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 93.03 ของเงินรับฝาก ทั้ ง หมด ขณะที่ เ งิ น ให้ สิ น เชื่ อ ที่ มี อายุ น้ อ ยกว่ า 1 ปี จำ � นวน 67,631.84 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.90 ส่วนเงินรับฝาก ที่ มี อ ายุ ม ากกว่ า 1 ปี จำ � นวน 10,014.24 ล้ า นบาท คิดเป็นร้อยละ 6.97 ขณะที่เงินให้สินเชื่อที่มีอายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน 86,435.44 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 56.10

ตารางแสดงแหล่งที่มาและใช้ ไปของเงินทุน เงินรับฝาก ระยะเวลา น้อยกว่า1 ปี มากกว่า1 ปี รวม

เงินให้สินเชื่อ

2560 2559 2560 2559 จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 133,727.68 93.03 142,298.50 95.09 67,631.84 43.90 63,271.32 44.80 10,014.24 6.97 7,341.00 4.91 86,435.44 56.10 77,965.12 55.20 143,741.92 100.00 149,639.50 100.00 154,067.28 100.00 141,236.44 100.00


82

รายงานประจำ�ปี 2560

• เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนจำ�นวน 3,091.87 2.4 การเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีเงินสดจำ�นวน 1,994.55 ล้านบาท ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการลงทุนในเงินลงทุนเผื่อขายสุทธิ ลดลงจำ�นวน 114.58 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2559 โดยมีเงินสดสุทธิ จำ�นวน 3,544.76 ล้านบาท การลงทุนในเงินลงทุนที่ถือจนครบ กำ�หนดจำ�นวน 1,483.80 ล้านบาท และมีเงินสดรับจากดอกเบี้ย ได้มาและใช้ไปในกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ ของเงินลงทุนจำ�นวน 1,669.62 ล้านบาท • เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน • เงิ น สดสุทธิ ใ ช้ไปในกิจกรรมดำ�เนิน งานจำ�นวน 13,131.80 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากกำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อน 16,109.09 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากเงินสดรับสุทธิจากการออกหุ้น การเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ดำ�เนินงานจำ�นวน 890.91 สามัญเพิ่มทุนของ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด ล้านบาท และการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน (มหาชน) จำ�นวน 16,598.92 ล้านบาท ทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลกู หนีเ้ พิม่ ขึน้ 13,145.50 ล้านบาท 2.5 ความเพียงพอของสภาพคล่อง เงินรับฝากลดลง 5,897.58 ล้านบาท รายการระหว่างธนาคารและ สินทรัพย์สภาพคล่อง ประกอบด้วย เงินสด รายการ ตลาดเงิน (หนี้สิน) เพิ่มขึ้น 4,637.86 ล้านบาท และตราสารหนี้ ระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ (สินทรัพย์) และเงินลงทุนสุทธิ ที่ออกและเงินกู้ยืมระยะสั้นเพิ่มขึ้น 12,504.49 ล้านบาท สินทรัพย์สภาพคล่องเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากจำ�นวน 54,957.23 ล้านบาท ในปี 2559 เป็นจำ�นวน 62,826.27 ล้านบาท ในปี 2560 เพิ่มขึ้นจำ�นวน 7,869.04 ล้านบาท รายการ สินทรัพย์รวม เงินรับฝาก เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (สุทธิรายได้รอตัดบัญชี) สินทรัพย์สภาพคล่อง เงินให้สินเชื่อ/เงินรับฝาก (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/สินทรัพย์รวม (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/เงินรับฝาก (%)

2.6 อัตราการดำ�รงเงินฝาก ธนาคารต้องดำ�รงเงินฝากเฉลี่ยแล้วไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 1.00 ของยอดเงินรับฝากและเงินกู้ยืมเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยกำ�หนด ในกรณีท่ีธนาคารมีเงินสดที่ศูนย์เงินสด ธนาคารอาจนำ�เงินสดที่ศูนย์เงินสดมานับรวมได้เฉลี่ยแล้วไม่เกิน ร้อยละ 0.20 ของยอดเงินรับฝากและเงินกู้ยืมเฉลี่ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีเงินสดที่ศูนย์เงินสด และ เงินรับฝากทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทย รวมจำ�นวน 2,149.52 ล้านบาท

31 ธันวาคม 2560 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 230,396.27 143,741.92 154,020.31 62,826.27 107.33 27.27 43.71

31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 209,694.97 149,639.50 141,144.67 54,957.23 94.48 26.21 36.73

2.7 ความเพี ย งพอของเงิ น กองทุ น และการดำ � รง อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้น ต่อสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับร้อยละ 21.857 สูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ�ของ ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งกำ�หนดไว้ที่ร้อยละ 9.750 และเพิ่มขึ้น จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ที่มีอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้น ต่อสินทรัพย์เสี่ยงที่ร้อยละ 13.706 อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ ร้อยละ 18.673 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ขนั้ ต่�ำ ของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่กำ�หนดไว้ที่ร้อยละ 7.250


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

83

ตารางแสดงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของ เจ้าของ ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย * ส่วนต่าง เงินกองทุนชั้นที่ 1 ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย * ส่วนต่าง เงินกองทุนทั้งหมด ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย * ส่วนต่าง

31 ธันวาคม 2560 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)

34,101.44

18.673 5.750 12.923

16,557.45

10.195 5.125 5.070

15,202.82

10.18 4.50 5.68

34,101.44

18.673 7.250 11.423

16,557.45

10.195 6.625 3.570

15,202.82

10.18 6.00 4.18

39,915.64

21.857 9.750 12.107

22,259.27

13.706 9.125 4.581

20,936.11

14.01 8.50 5.51

หมายเหตุ * หมายถึง อัตราส่วนเงินกองทุนส่วนเพิ่ม เพื่อรองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤต (Conservation Buffer) กำ�หนดให้ธนาคารพาณิชย์ดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของ เจ้าของเพิ่มเติมจากการดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนขั้นต่ำ�อีกในอัตราร้อยละ 0.625 ต่อปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นไป จนครบอัตราร้อยละ 2.50 ในปี 2562

การจัดอันดับเครดิต ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รับ การจั ด อั น ดั บ เครดิ ต องค์ ก รโดยบริ ษั ท ทริ ส เรทติ้ ง จำ � กั ด อยู่ที่ระดับ “A-” (Single A Minus) แนวโน้ม “Positive” หรือ “บวก” และอั น ดั บ เครดิ ต ตราสารหนี้ ป ระเภทหุ้ น กู้ ด้ อ ยสิ ท ธิ ลักษณะคล้ายทุนที่นับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 2 ที่ระดับ “BBB” (Triple B Straight) แสดงให้เห็นถึงสถานะทางธุรกิจและการเงิน ของธนาคารที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการมีคุณภาพสินทรัพย์ ที่ดีและมีเงินทุนที่แข็งแกร่ง 2.8 ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานในอนาคต ปัจจัยที่อาจมีผลต่อการดำ�เนินงานในอนาคต มีปัจ จัย หลักคือ แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยซึ่งยังอยู่ในภาวะ เปราะบาง โดยมีสาเหตุมาจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกทีฟ่ นื้ ตัวช้า ความผั น ผวนในตลาดเงิ น ตลาดทุ น ประกอบกั บ กำ � ลั ง ซื้ อ ภายในประเทศที่ยังไม่แข็งแรงนัก รวมถึงครัวเรือนในภาคเกษตร ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบทั้งจากปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ�และวิกฤตภัยแล้ง ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องมายังความต้องการสินเชื่อและคุณภาพสินเชื่อ และอาจส่งผลให้รายได้ดอกเบีย้ รับของระบบธนาคารพาณิชย์ลดลง รวมทั้งปัญหาหนี้ด้อยคุณภาพในระดับสูงอาจทำ�ให้ต้องมีการตั้ง สำ�รองหนี้สงสัยจะสูญมากขึ้น

3. ธุรกิจหลักทรัพย์

ภาพรวมตลาดหลักทรัพย์และการแข่งขันของธุรกิจหลักทรัพย์ ภาพรวมตลาดหลักทรัพย์ปี 2560 ปี 2560 ดั ช นี ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ ไ ทยปรั บ ตั ว ขึ้ น ต่ อ เนื่ อ ง แม้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากหลายปั จ จั ย ทั้ ง ภายในและภายนอก โดยดัชนีตลาดหลักทรัพย์ปดิ ที่ 1,753.71 จุด ส่งผลให้ดชั นีปรับตัวขึน้ รวมร้อยละ 13.66 และอยู่ใ กล้ระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ท่ี 1,753.73 จุด ทีท่ �ำ ไว้เมือ่ วันที่ 4 มกราคม 2537 สำ�หรับปัจจัยบวก หลักมาจากนโยบายต่างๆ ของภาครัฐบาล การเลือกตั้งทั่วไปที่มี ความชัดเจนมากขึ้น และการที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเผย ผลสำ�รวจการใช้จา่ ยของคนไทยในช่วงปีใหม่อยูท่ ่ี 1.325 แสนล้านบาท ซึง่ เป็นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่มกี ารสำ�รวจมา 13 ปี เนือ่ งจากสัญญาณ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ชัดเจนส่งผลให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจใน การใช้จ่ายมากขึ้น และการที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ลงนามในร่าง กฏหมายปฏิรูปภาษีส่งผลให้ตลาดมีมุมมองเชิงบวกมากขึ้น มูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยอยู่ที่ 47,755.4 ล้านบาทต่อวัน ลดลงร้อยละ 4.95 จากปริมาณการซื้อขายเฉลี่ยต่อวัน ประมาณ 50,244.9 ล้านบาท ในปี 2559 นักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิที่ 25,755 ล้านบาท ส่วนนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผูซ้ อื้ สุทธิสงู ถึง 103,632 ล้านบาท


84

รายงานประจำ�ปี 2560

รายได้ ร วมจำ � นวน 384.41 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น ภาพรวมผลการดำ�เนินงานปี 2560 และเป้าหมายธุรกิจ 87.45 ล้ า นบาท เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2559 หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ ปี 2561

กลยุทธ์ในปี 2561 บริษทั ยังคงมุง่ เน้นการขยายฐานและ เพิม่ ความหลากหลายของนักลงทุนควบคูไ่ ปกับการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินและการลงทุนให้มคี วามแตกต่าง โดยบริ ษั ท มี เ ป้ า หมายในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพของหน่ ว ยงาน สนับสนุน และการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อการบริหารจัดการ การปฏิบัติงานการให้บริการที่ดีที่สามารถ ตอบสนองต่อทุกความต้องการของลูกค้า รวมทั้งการสนับสนุน ให้ผู้แนะนำ�การลงทุนสอบให้ได้รับใบอนุญาตด้านการวางแผน การลงทุนเพิ่มเติมเพื่อยกระดับศักยภาพของผู้แนะนำ�การลงทุน ในการให้บริการเป็นทีป่ รึกษาทางเงินและการลงทุนแก่นกั ลงทุนอย่างมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของบริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อยเป็นการเปรียบเทียบ ผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2560 เปรียบเทียบกับผลการดำ�เนินงาน ประจำ�ปี 2559 ปี 2560 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิ จำ�นวน 104.83 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 1.16 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือลดลง ร้อยละ 1.09 การลดลงเป็นผลมาจากค่าใช้จ่ายภาษีที่เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายรวมปี 2560 มีจำ�นวน 262.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 85.61 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 48.28 เนื่องจากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน และค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการดำ�เนินงานที่เพิ่มขึ้นตามการเติบโตของธุรกิจ อัตรากำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงานปี 2560 อยู่ที่ร้อยละ 27.27 ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2559 ที่อยู่ที่ ร้อยละ 35.69 เนื่องจาก อัตราส่วนการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายมากกว่ารายได้ กำ�ไรสุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐานปี 2560 เท่ากับ 0.16 บาท ต่อหุ้นลดลงเมื่อเทียบกับปี 2559 ที่เท่ากับ 0.17 บาทต่อหุ้น เนื่องจากกำ�ไรสุทธิที่ลดลง

โครงสร้างรายได้รวม

โครงสร้างรายได้รวมของบริษัทและบริษัทย่อย ดังนี้ • รายได้รวม รายได้รวมประกอบด้วย รายได้ค่านายหน้า รายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ดอกเบีย้ เงินให้กยู้ มื เพือ่ ซือ้ หลักทรัพย์ กำ�ไรและผลตอบแทนจากเครื่องมือทางการเงิน และรายได้อื่น ซึง่ รายได้หลักมาจากธุรกิจการเป็นนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์และ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า และพอร์ตเงินลงทุนของบริษัท ปี 2560 มีรายได้ค่านายหน้ารวม 143.93 ล้านบาท โดยค่านายหน้าเป็นของลูกค้ารายย่อยประมาณร้อยละ 91 ของ ปริมาณการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั และเป็นของลูกค้ารายใหญ่ และลูกค้าสถาบันประมาณร้อยละ 9

29.45 เนื่ อ งจากบริ ษั ท ได้ ข ยายสาขาทำ � ให้ มี ลู ก ค้ า มากขึ้ น การส่งเสริมการขาย และที่สำ�คัญคือ ความเชื่อมโยงกันของกลุ่ม ธุรกิจทางการเงินบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) โดยการนำ�ผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัทในกลุ่ม มานำ�เสนอร่วมกันซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี • รายได้ค่านายหน้า รายได้คา่ นายหน้าปี 2560 จำ�นวน 143.93 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 52.62 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 57.62 • รายได้ที่นอกเหนือจากรายได้ค่านายหน้า รายได้หลักนอกเหนือจากรายได้ค่านายหน้า ได้แก่ รายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มและบริ การ รายได้ ด อกเบี้ ย เงิ น ให้ กู้ ยื ม เพือ่ ซือ้ หลักทรัพย์ กำ�ไรและผลตอบแทนจากเครือ่ งมือทางการเงิน และรายได้อน่ื มีจ�ำ นวน 0.85, 30.71, 207.49 และ 1.43 ล้านบาท ตามลำ�ดับ

โครงสร้างค่าใช้จ่ายรวม

โครงสร้างค่าใช้จา่ ยรวมของบริษทั และบริษทั ย่อย ดังนี้ • ค่าใช้จ่ายรวม ค่าใช้จ่ายรวมจำ�นวน 262.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 85.61 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 48.28 เป็นการเพิ่มขึ้นจากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ อาคารสถานที่และอุปกรณ์ และค่าใช้จ่ายอื่น เนื่องจากธุรกิจ ขยายตัวเพิ่มขึ้น • หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทใช้หลักเกณฑ์การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกอบกับดุลยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ เมื่อลูกหนี้มีปัญหาในการจ่ายชำ�ระคืน โดยการวิเคราะห์สถานะ ของลูกหนี้แต่ละราย ความน่าจะเป็นของการผิดนัดและมูลค่าของ หลักทรัพย์ที่ใช้ค้ำ�ประกัน ซึ่ง ณ 31 ธันวาคม 2560 ไม่มีลูกหนี้ ที่ต้องตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

การวิเคราะห์ฐานะการเงิน

บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 • สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีสินทรัพย์รวมจำ�นวน 3,588.13 ล้านบาท สินทรัพย์สว่ นใหญ่เป็นเงินลงทุนคิดเป็นร้อยละ 56.61 ของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์รวมเพิม่ ขึน้ 1,499.32 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 71.78


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

• ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า รวมดอกเบี้ยค้างรับ จำ�นวน 1,347.13 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 903.58 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 203.71 ลูกหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าสุทธิ ประกอบด้วย ลูกหนีซ้ อ้ื หลักทรัพย์ดว้ ยเงินสดจำ�นวน 280.67 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.83 ของลูกหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขาย ล่วงหน้า ลูกหนีเ้ งินให้กย้ ู มื เพือ่ ซือ้ หลักทรัพย์ รวมดอกเบีย้ ค้างรับ จำ�นวน 1,066.46 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 79.17 ของลูกหนี้ ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า • เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สทุ ธิจ�ำ นวน 2,031.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 593.19 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 41.25 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ประกอบด้วย เงินลงทุนใน หลักทรัพย์เพื่อค้าจำ�นวน 0.18 ล้านบาท เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เผื่อขายจำ�นวน 2,022.86 ล้านบาท และเงินลงทุนทั่วไปจำ�นวน 8.29 ล้านบาท • ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชีและบริษัทหลักทรัพย์ ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชีและบริษัทหลักทรัพย์จำ�นวน 40.65 ล้านบาท

ล้านบาท

• อุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิ อุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิจำ�นวน 58.82

85

ความเพียงพอของเงินทุน • สภาพคล่อง ปี 2560 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดสุทธิ ใช้ไปในกิจกรรมดำ�เนินงานทัง้ สิน้ 619.44 ล้านบาท โดยมาจากลูกหนี้ ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่เพิ่มขึ้น กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรมลงทุ น ทั้ ง สิ้ น 480.18 ล้านบาท ซึ่งแหล่งที่ได้มาและใช้ไปของกระแสเงินสด จากกิจ กรรมการลงทุน คือ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุ น เผื่อขาย 1,202.53 ล้านบาท เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนเผื่อขาย 1,661.80 ล้ า นบาท เงิ น สดจ่ า ยซื้ อ ส่ ว นปรั บ ปรุ ง อาคารเช่ า และอุปกรณ์ 16.34 ล้านบาท และเงินสดจ่ายซือ้ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน 4.57 ล้านบาท กระแสเงิ น สดได้ ม าจากกิ จ กรรมจั ด หาเงิ น ทั้งสิ้น 1,135.00 ล้านบาท ซึ่งแหล่งที่ได้มาของกระแสเงินสด จากกิจกรรมจัดหาเงิน คือ เงินสดรับจากการกู้ยืมเงินจากสถาบัน การเงิน 6,360.00 ล้านบาท และเงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื จากสถาบัน การเงิน 5,225.00 ล้านบาท บริษัทดำ�รงเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ (NCR) สูงกว่าร้อยละ 7 ซึง่ เป็นอัตราขัน้ ต่�ำ ตามเกณฑ์การดำ�รงเงินกองทุน สภาพคล่องสุทธิที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีสภาพคล่ อง ที่เพียงพอในการดำ�เนินธุรกิจ โดยในปี 2560 บริษัทมีระดับ เงิ น กองทุ น สภาพคล่ อ งสุ ท ธิ อ ยู่ ใ นช่ ว งร้ อ ยละ 43.52-152.65 ซึง่ อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิอาจเปลีย่ นแปลงจากปัจจัยต่างๆ เช่น ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ การรับประกันการจัดจำ�หน่าย หลักทรัพย์ เป็นต้น

• แหล่งที่มาของเงินกองทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทและบริษัทย่อยมี แหล่งทีม่ าของเงินกองทุนจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ 1,240.40 ล้านบาท โดยอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม • หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีหนี้สินรวมจำ�นวน 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 0.87 เท่า และ 1.89 2,347.73 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,376.65 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ เท่าตามลำ�ดับ โดยหนีส้ นิ ส่วนใหญ่เป็นเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน ปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 141.76 หนี้สินส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ยืม เจ้าหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า ซึง่ เปลีย่ นแปลง ตามปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ ในสามวันทำ�การสุดท้ายของ จากสถาบันการเงิน คิดเป็นร้อยละ 80.93 ของหนี้สินรวม แต่ละงวดบัญชี • เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินงานในอนาคต เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินจำ�นวน 1,900.00 ล้านบาท • สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์อื่นจำ�นวน 48.05 ล้านบาท

1. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2561

• เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ปี 2561 คาดว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวร้อยละ 3.6 - 4.6 เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่สำ�คัญต่อเนื่องจากปี 2560 ดังนี้ จำ�นวน 241.88 ล้านบาท 1. การขยายตัวในเกณฑ์ดีของเศรษฐกิจโลก 2. แรงขับเคลื่อนจากการลงทุนภาครัฐที่มีแนวโน้ม • ส่วนของเจ้าของ เร่ ง ตั ว ขึ น ้ ตามความคื บหน้าของโครงการลงทุนทีส่ �ำ คัญและการเพิม่ ขึน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีส่วนของเจ้าของ จำ�นวน 1,240.40 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 122.68 ล้านบาท เมื่อเทียบ ของกรอบงบประมาณด้านการลงทุน กับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.98


86

รายงานประจำ�ปี 2560

3. การปรับตัวดีขึ้นของการลงทุนภาคเอกชน 4. แนวโน้มการขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่องของสาขา เศรษฐกิจสำ�คัญๆ 5. การปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นของการจ้างงานและ ฐานรายได้ของประชาชนในระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ คาดว่ามูลค่า การส่งออกสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 5.0 การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 3.1 และร้อยละ 5.5 ตามลำ�ดับ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 0.9 - 1.9 และบัญชี เดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 8.1 ของ GDP (ที่มา : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)

2. ภาวะการแข่งขันในธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์

ธุ ร กิ จ การเป็ น นายหน้ า ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ยั ง คงมี การแข่งขันที่รุนแรงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งบริษัทหลักทรัพย์ต่างใช้ กลยุทธ์ ในการเพิ่มคุณภาพการให้บริการ การให้วงเงินในการ ซื้อหลักทรัพย์ด้วยระบบเงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์ รวมทั้ง การพั ฒ นาระบบการให้ บ ริ ก ารซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ผ่ า นระบบ อินเทอร์เน็ตให้มีความทันสมัยมากขึ้น เพื่อรักษาฐานลูกค้าเดิม และเพิ่มลูกค้ารายใหม่ให้เข้ามาใช้บริการ และบางรายใช้กลยุทธ์ ราคาต่ำ�ในการดึงดูดลูกค้าให้มาใช้บริการ 3. แนวโน้ ม ผลประกอบการของบริ ษั ท จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปี 2561

ยังคงมีสัดส่วนสูงสุดต่อเนื่อง นอกจากนี้ นักลงทุนให้ความสำ�คัญ กับการลงทุนแบบกระจายความเสีย่ งมากขึน้ โดยมีการการกระจาย การลงทุนในสินทรัพย์ตา่ งประเทศ ทัง้ ในตราสารหนีแ้ ละตราสารทุน มากขึ้น

แนวโน้ ม ภาวะธุ ร กิ จ และการแข่ ง ขั น ของธุ ร กิ จ หลักทรัพย์จัดการกองทุนในปี 2561

ปี 2561 การลงทุนในตราสารทุนยังน่าจะให้ผลตอบแทน ที่ดีแก่นักลงทุน เนื่องจากเศรษฐกิจทั่วโลกอยู่ในช่วงปลายของ การขยายตัว กำ�ไรบริษทั จดทะเบียนมีการเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นี้ เศรษฐกิจโลกทีข่ ยายตัวส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อทัว่ โลกเริม่ ขยับตัวสูงขึน้ เป็นผลให้ธนาคารกลางในประเทศหลักมีแนวโน้มใช้นโยบายการเงิน ทีเ่ ข้มงวดขึน้ เช่น การขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบาย การดึงสภาพคล่อง ส่วนเกินออกจากระบบ ทำ�ให้อตั ราดอกเบีย้ ตลาดโลกขยับตัวสูงขึน้ ดังนั้นเศรษฐกิจโลกที่ขยายตัว กำ�ไรบริษัทจดทะเบียนที่เติบโต แต่อตั ราดอกเบีย้ ทีข่ ยับตัวสูงขึน้ น่าจะทำ�ให้การลงทุนในตราสารทุน ให้ผลตอบแทนที่น่าสนใจแต่จะมีความผันผวนในระดับสูงจาก อัตราดอกเบีย้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ สำ�หรับการลงทุนในตราสารหนี้ นักลงทุน ให้ความสนใจในตราสารหนี้ลดลงเนื่องจากราคาตราสารหนี้จะ ได้รับผลกระทบโดยตรงจากอัตราดอกเบี้ยตลาดที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น (ราคาตราสารหนี้ลดลง) อย่างไรก็ตามการลงทุนในตราสารหนี้ ที่ มี อ ายุ เ ฉลี่ ย ต่ำ � กว่ า 3 ปี ไ ด้ รั บ ผลกระทบค่ อ นข้ า งน้ อ ยจาก อัตราดอกเบี้ยตลาดที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น นอกจากนี้การกระจายการ ลงทุนในตราสารหนี้หลายประเภทและหลายประเทศทั่วโลกยังเป็น การกระจายความเสี่ยงจากการลงทุนและอาจสร้างผลตอบแทน ที่น่าสนใจในการลงทุนได้ด้วยเช่นกัน

บริษัทคาดว่ามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจภาครัฐ โดย เฉพาะอย่างยิง่ การลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานจะเป็นแรงขับเคลือ่ น การวิเคราะห์ภาวะธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุนที่มี หลักต่อเศรษฐกิจภายในประเทศขยายตัวต่อเนือ่ งในปี 2561 รวมทัง้ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) จะยังคงใช้นโยบายการเงิน ผลต่อการดำ�เนินงาน ธุรกิจจัดการกองทุนรวม ต้องเผชิญกับความผันผวน ที่ผ่อนคลายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เพื่อให้การบริโภคและการลงทุน มีการขยายตัวอย่างมีนัยสำ�คัญ ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้กำ�ไร ของอัตราดอกเบี้ยและอัตราผลตอบแทนในตลาดเงิน ตลาดทุน ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ และต้องบริหารจัดการให้ผถู้ อื หน่วย ต่อหุ้น (EPS) ของบริษัทจดทะเบียนในปี 2561 เติบโตต่อเนื่อง ได้ รั บ ผลตอบแทนในอั ต ราที่ เ หมาะสมในระดั บ ความเสี่ ย ง ที่ยอมรับได้ ภายใต้แรงกดดันจากความคาดหวังของผู้ถือหน่วย 4. ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว บริษัทจึง ภาพรวมภาวะธุ ร กิ จ และการแข่ ง ขั น ของธุ ร กิ จ เตรียมความพร้อม ดังนี้ 1. พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ต อบสนองความต้ อ งการ หลักทรัพย์จัดการกองทุนในปี 2560 ในปี 2560 ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุนมีมูลค่า ของลูกค้า โดยเน้นการกระจายความเสี่ยงในการบริหารจัดการ ทรัพย์สินสุทธิ ทั้งสิ้นจำ�นวน 5.03 ล้านล้านบาท เติบโตร้อยละ ทรัพย์สนิ (Asset Allocation) เพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ให้ผลตอบแทน 8.29 เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยพบว่าภาพรวมของสัดส่วนของ ที่เหมาะสมกับระดับความเสี่ยง 2. พั ฒ นาและเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการทำ � งาน มูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิทแ่ี บ่งตามประเภทกองทุนยังคงเหมือนจากปีกอ่ น กล่าวคือ ประเภทกองทุนที่ได้รับความนิยมสูงสุด 3 อันดับแรก โดยใช้เทคโนโลยี อันได้แก่ การซื้อขายผ่านระบบอินเทอร์เนต ยังคงเป็นกองทุนตราสารหนี้ที่สัดส่วนสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 54 เป็นต้น ตลอดจนการบริหารช่องทางการจำ�หน่ายให้เป็นไปอย่าง กองทุนตราสารทุน คิดเป็นร้อยละ 27 และกองทุนผสม คิดเป็น มีประสิทธิภาพ ร้อยละ 7 ตามลำ�ดับ อย่างไรก็ตามหากมองในภาพรวมแล้วนั้น นักลงทุนส่วนใหญ่ยังความนิยมลงทุนในสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยง ในระดับต่�ำ ถึงปานกลาง จึงส่งผลให้สนิ ทรัพย์หรือกองทุนตราสารหนี้


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน

การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของบริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เป็นการเปรียบเทียบ ผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2560 เปรียบเทียบกับผลการดำ�เนินงาน ประจำ�ปี 2559 ดังนี้ ปี 2560 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิ จำ�นวน 83.36 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 9.16 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.35 เมือ่ เทียบ กับงวดเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของรายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการ อันเนื่องมาจากจำ�นวนกองทุนภายใต้ การบริหารจัดการที่เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายรวมปี 2560 มีจำ�นวน 223.08 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 16.89 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.19 เนือ่ งจากค่าใช้จา่ ยผลประโยชน์พนักงาน จากการเพิม่ ขึน้ ของเงินเดือนและค่าตอบแทนต่างๆ ที่จ่ายให้แก่พนักงานแปรผัน ตามการเพิ่มจำ�นวนของพนักงาน อัตรากำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงานปี 2560 อยู่ที่ร้อยละ 25.81 เพิม่ ขึน้ เมือ่ เทียบกับปี 2559 ทีอ่ ยูท่ รี่ อ้ ยละ 24.97 เนือ่ งจาก รายได้เพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่มากกว่าค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น กำ�ไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานปี 2560 เท่ากับ 27.79 บาทต่อหุน้ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2559 ที่เท่ากับ 24.73 บาทต่อหุ้น

87

การวิเคราะห์ฐานะการเงิน

บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 • สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีสินทรัพย์รวมจำ�นวน 446.48 ล้านบาท สินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนคิดเป็นร้อยละ 72.13 ของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์รวมลดลง 87.50 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 16.39

• มูลค่าสินทรัพย์สุทธิภายใต้การบริหารจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีกองทุนรวมภายใต้ การบริ ห ารจั ด การทั้ ง สิ้ น จำ � นวน 54 กองทุ น ลดลงจำ � นวน 1 กองทุน เมื่อเทียบกับปี 2559 และมีมูลค่าสินทรัพย์สุทธิทั้งสิ้น 51,448.82 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 12,827.35 ล้านบาท หรือ ลดลงร้อยละ 19.96 เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน กองทุน รวมภายใต้ ก ารบริ ห ารจั ด การแสดงตามมู ล ค่ า ทรั พ ย์ สิ น สุ ท ธิ ประกอบด้วย • กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และทรัสต์ 30,910.21 ล้านบาท เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ • กองทุนรวมตราสารหนี้ 9,422.40 ล้านบาท โครงสร้างรายได้รวม • กองทุนรวมตราสารทุน 2,133.68 ล้านบาท • รายได้รวม 2,172.58 ล้านบาท รายได้รวม ประกอบด้วย รายได้ค่าธรรมเนียมและ • กองทุนแบบผสม บริการ ซึง่ เป็นรายได้สว่ นใหญ่ของบริษทั คิดเป็นร้อยละ 92.06 ของ • กองทุน Foreign Investment Fund 2,686.46 ล้านบาท 4,123.49 ล้านบาท รายได้รวม กำ�ไรและผลตอบแทนจากเครือ่ งมือทางการเงิน ร้อยละ • กองทุน Fund of Property Fund 7.65 โดยรายได้ส่วนนี้จะมาจากการบริหารจัดการเงินลงทุนของ บริษัทมีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ที่ร้อยละ 1.02 อยู่ บริษัท และรายได้อื่นๆ ร้อยละ 0.29 อันดับที่ 13 จาก 23 บริษัท ทัง้ นี้ หากรวมกองทุนส่วนบุคคล และกองทุนสำ�รอง • รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ จำ�นวน 297.29 เลี้ยงชีพ บริษัทมีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิทั้งสิ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 29.17 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.88 2560 เท่ากับ 59,773.55 ล้านบาท โดยมาจากกองทุนส่วนบุคคล เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน โดยค่าธรรมเนียมส่วนใหญ่ 5,683.05 ล้านบาท และกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ 2,641.68 ล้านบาท มาจากการจัดการกองทุนรวมและนายทะเบียนกองทุนรวม คิดเป็น • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ร้อยละ 75.27 ของรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการทั้งหมด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด จำ�นวน 50.47 ล้านบาท ลดลง 94.87 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือลดลง โครงสร้างค่าใช้จ่ายรวม ร้อยละ 65.28 • ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายรวมจำ�นวน 223.08 ล้านบาท เพิ่มขึ้น • เงินลงทุน 16.89 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.19 เงินลงทุน จำ�นวน 322.05 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4.15 เป็นการเพิม่ ขึน้ จากค่าใช้จา่ ยผลประโยชน์พนักงาน จากการเพิม่ ขึน้ ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.31 เงินลงทุน ของเงินเดือนและค่าตอบแทนต่างๆ ที่จ่ายให้แก่พนักงาน ประกอบด้วย ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ ประเภทหน่วยลงทุน • หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทไม่มีหนี้สงสัยจะสูญ


88

รายงานประจำ�ปี 2560

• ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์ ส่ ว นปรั บ ปรุ ง อาคารเช่ า และอุ ป กรณ์ จำ � นวน 10.42 ล้านบาท • สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน จำ�นวน 27.22 ล้านบาท • สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์อื่น จำ�นวน 14.97 ล้านบาท • หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีหนี้สินรวมจำ�นวน 30.47 ล้านบาท ลดลง 107.37 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 77.89 • ส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีส่วนของเจ้าของ จำ�นวน 416.01 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 19.87 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ ปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.02

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินงานในอนาคต - ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ โอกาสหรื อ ข้ อ จำ � กั ด ต่ อ การประกอบธุรกิจของบริษัทจัดการ ปี 2560 แม้ ว่ า จะเป็ น ปี ท่ี เ ศรษฐกิ จ โลกจะมี ทิ ศ ทาง การขยายตัวต่อเนือ่ งจากปีทผี่ า่ นมา แต่การเติบโตของเศรษฐกิจโลก อาจส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อทัว่ โลกเร่งตัวสูงขึน้ เร็วกว่าทีต่ ลาดคาดไว้ ซึ่งอาจเป็นผลให้ธนาคารกลางในประเทศหลักทั่วโลกใช้นโยบาย การเงินที่เข้มงวดขึ้น ผลักดันให้อัตราดอกเบี้ยทั่วโลกอาจปรับตัว สูงขึน้ ทำ�ให้การลงทุนในตลาดหุน้ ทัว่ โลกได้รบั ความน่าสนใจน้อยลง

- แนวโน้มการประกอบธุรกิจของบริษัทจัดการในปี 2561 เนื่องจากแผนงานบริษัท ใน 2561 มุ่งเน้นขยายขนาด และจำ�นวนกองทุนส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นกองทุนประเภทตราสารทุน ดั ง นั้ น หากความน่ า สนใจต่ อ การลงทุ น ในสิ น ทรั พ ย์ ป ระเภท หุ้ น หรื อ ตราสารทุ น ได้ รั บ ความน่ า สนใจลดลง อาจกระทบกั บ ความเพียงพอของเงินทุน แผนงานของบริษัทได้ ดังนั้น ในปีนี้บริษัทมีแผนรองรับเพิ่มเติม • สภาพคล่อง หากเกิดกรณีตลาดหุ้นได้รับความน่าสนใจน้อยลง โดยการทยอย ปี 2560 บริษทั มีกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรม จัดตัง้ กองทุนประเภทอืน่ ๆ มากขึน้ อาทิ การออกกองทุนประเภทผสม ดำ�เนินงานทั้งสิ้น 36.38 ล้านบาท โดยมาจากกำ�ไรก่อนค่าใช้จ่าย กองทุนประเภทตราสารหนี้ทั่วโลกระยะสั้น ภาษีเงินได้และหนี้สินอื่น กระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมลงทุนทั้งสิ้น จำ�นวน 11.53 ล้านบาท ซึ่งแหล่งที่ได้มาของกระแสเงินสดจาก กิจกรรมการลงทุน คือ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนเผื่อขาย จำ�นวน 79.91 ล้านบาท เงินปันผลรับจำ�นวน 21.53 ล้านบาท เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนเผื่อขาย จำ�นวน 74.43 ล้านบาท เงินสด จ่ายซื้อส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์จำ�นวน 2.67 ล้านบาท และเงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตนจำ�นวน 12.81 ล้านบาท เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 70.02 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการจ่ายเงินปันผล บริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้นจำ�นวน 416.01 ล้านบาท สามารถดำ � รงความเพี ย งพอของเงิ น กองทุ น ได้ สู ง กว่ า เกณฑ์ ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรือ่ ง การทำ�ประกันภัยความรับผิดของบริษทั จัดการ และข้อกำ�หนด สำ�หรับบริษัทจัดการในการดำ�รงความเพียงพอของเงินกองทุน ซึ่งระบุให้บริษัทจัดการที่มีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของทุกกองทุน รวมซึ่งอยู่ภายใต้การจัดการมากกว่า 25,000 ล้านบาท จะต้อง มีส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทจัดการกองทุนรวมไม่ต่ำ�กว่า 220 ล้านบาท • แหล่งที่มาของเงินกองทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทมีแหล่งที่มา ของเงินกองทุนจากส่วนของผู้ถือหุ้นจำ�นวน 416.01 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยทุนที่ออกและชำ�ระแล้วจำ�นวน 300.00 ล้านบาท กำ�ไรสะสมจำ�นวน 106.07 ล้านบาท และองค์ประกอบอื่นของ ส่วนของเจ้าของจำ�นวน 9.94 ล้านบาท



90

รายงานประจำ�ปี 2560

รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประกอบด้วยกรรมการ จำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 2. รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ กรรมการบรรษัทภิบาล 3. นายสรร วิเทศพงษ์ กรรมการบรรษัทภิบาล โดยมีนางสาวชุติมา บุญมี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานควบคุม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการ รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ และนายสรร วิเทศพงษ์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการบรรษัทภิบาล แทนกรรมการ ที่ลาออก เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2560 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามขอบเขต ความรับผิดชอบทีร่ ะบุไว้ในประกาศแต่งตัง้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ในระหว่ า งปี 2560 มี ก ารจั ด ประชุ ม คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล รวม 5 ครั้ ง และรายงานผลการประชุมต่อคณะกรรมการบริษทั สรุปสาระสำ�คัญ ดังนี้ 1. พิจารณาทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ให้ มี ความเหมาะสม และสอดคล้อ งกับแนวทาง ของหน่วยงานทางการที่กำ�กับดูแลบริษัทในฐานะ บริษัทจดทะเบียนเพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่าบริษัท ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ มีความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่าง เท่าเทียมกัน 2. พิจารณาทบทวนนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม เพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน เพือ่ ให้บริษทั เติบโต ได้อย่างยัง่ ยืน และให้ผบู้ ริหาร พนักงานในกลุม่ ธุรกิจ ทางการเงินมีส่วนร่วมในการปลูกฝังให้มีจิตสำ�นึก ในความรับผิดชอบต่อสังคม 3. พิ จารณาทบทวนนโยบายต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั่ น เพื่อให้กรรมการ และผู้บริหารของบริษัทยึดถือเป็น แนวปฏิ บัติเ กี่ย วกั บ การห้ า มให้ ห รื อ รั บ ของขวั ญ ของกำ�นัล การเลี้ยงรับรองและผลประโยชน์ สินบน และสิ่งจูงใจ การบริจาคเพื่อการกุศลและการให้เงิน สนับสนุนกิจกรรม และการมีส่วนร่วมทางการเมือง การรับแจ้งข้อมูลหรือข้อร้องเรียน 4. พิจารณาทบทวนนโยบายการป้องกันความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ เพื่อให้มั่นใจว่าการดำ�เนินธุรกิจ มี ความน่ า เชื่ อ ถื อ ความไว้ วางใจ และคำ�นึงถึง ผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ รวมถึงการปกป้องผลประโยชน์มิให้เกิดความเสียหาย และส่งผลกระทบต่อชือ่ เสียงและภาพลักษณ์ของบริษทั

5. พิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายการแจ้งเบาะแส และการร้องเรียน (Whistleblower Policy) เพื่อ ให้ ค วามคุ้ ม ครองผู้ ที่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ บริ ษั ท ในการแจ้งเบาะแสและร้องเรียน เพือ่ ให้เชือ่ มัน่ ได้วา่ การกระทำ�ดังกล่าวจะไม่ท�ำ ให้ผแู้ จ้งได้รบั ความเดือดร้อน เสียหาย หรือไม่ได้รบั ความเป็นธรรม 6. พิ จารณาทบทวนจรรยาบรรณบริ ษัท จริ ย ธรรม กรรมการ และจริยธรรมพนักงาน เพือ่ เป็นแนวทาง ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ที่ ดี และเป็ น การวางมาตรฐาน ในการทำ�งานให้กับกรรมการและพนักงานทุกระดับ โดยมุ่งเน้นและสนับสนุนให้ธนาคารประกอบธุรกิจ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ดำ�เนินการให้มีความสมดุล ระหว่ า งผลประกอบการ ผลกระทบต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น และลูกค้าเป็นสำ�คัญ รวมทัง้ ยึดหลักการดำ�เนินธุรกิจ อย่างยั่งยืน คำ�นึงถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม 7. ติดตามความคืบหน้าและให้ขอ้ แนะนำ�การยืน่ ต่ออายุ ใบรับรอง (Recertification) ประกาศนียบัตรรับรอง ฐานะสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านทุจริต 8. เป็นตัวแทนบริษัทในการสื่อสาร ดูแล และส่งเสริม ให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ให้ ความสำ � คั ญ ของการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจรรยาบรรณ ในการทำ�ธุรกิจ เพือ่ ให้บริษทั เติบโตอย่างยัง่ ยืนและสร้างความเชือ่ มัน่ แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย บริษัทมั่นใจว่าการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จะช่วยเพิ่มมูลค่าแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม

(นายอดุลย์ วินัยแพทย์) ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

91

สารจากกรรมการผู้จัดการ

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ยึ ด มั่ น ในการประกอบธุ ร กิ จ ตามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การ ที่ ดี ควบคู่ ไ ปกั บ การยึ ด มั่น ในจรรยาบรรณและจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ อันเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มมาอย่าง ต่อเนือ่ ง ซึง่ ถือเป็นส่วนหนึง่ ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ีในทุกกระบวนการดำ�เนินธุรกิจ โดยทุกบริบทของการปฏิบัติงานต้องมีมาตรฐาน ซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ รวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านอืน่ ๆ อาทิ การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม การต่อต้าน การทุจริตคอร์รปั ชัน่ การเคารพสิทธิมนุษยชน การปฏิบตั ติ อ่ แรงงาน อย่างเป็นธรรม ความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค การร่วมพัฒนาชุมชน และสังคม การจัดการสิ่งแวดล้อม และนวัตกรรมจากการดำ�เนิน การด้านความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งการนำ�พาบริษัทให้มี การเติบโตอย่างยั่งยืนที่นำ�มาซึ่งการที่บริษัทได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียน ที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนิน ธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) จากสถาบันไทยพัฒน์ เป็นปี ที่ 3 ทั้งนี้ บริษัทได้จัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2560 ควบคู่กับรายงานประจำ�ปี 2560 เพื่อสื่อสารการ ดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่ม บริษทั ได้สง่ เสริมการให้ความรูด้ า้ นการสร้างวินยั ทางการเงิน โดยการนำ�ความรู้ ความเชี่ยวชาญและทักษะของภาคธนาคาร ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ของบริษัทมาสร้างประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมเพื่อให้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการทางการเงินส่วนบุคคลและปลูกฝังวินยั ทางการเงิน รู้จักการเก็บออม โดยเข้าร่วมกับชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย

และสภาองค์การพัฒนาเด็กและเยาวชนในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สอ.ดย.) และ ภาคี อื่ น ได้ แ ก่ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ธนาคาร แห่งประเทศไทย ศูนย์คมุ้ ครองผูใ้ ช้บริการทางการเงิน (ศคง.) สำ�นักงาน ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และเครือข่าย เพื่อนกระบวนกรในการดำ�เนินโครงการ รู้เก็บ รู้ ใช้ สบายใจ มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2557 รวมทั้งการสนับสนุนให้บริษัทใน กลุม่ ธุรกิจทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินการตามแนวทางการกำ�กับดูแลด้านการให้บริการ อย่างมีคุณภาพและเป็นธรรม (Market Conduct) ตามที่ทางการ กำ�หนด บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนนี้จะเป็น ช่องทางหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะมีส่วนร่วมในการ ผลั ก ดั น และสนั บ สนุ น การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ เ ติ บ โตไปคู่ กั บ การเปลี่ยนแปลงของโลกต่อระบบสถาบันการเงินอย่างมั่นคงและ อย่างยัง่ ยืน บริษทั ขอขอบคุณท่านผูถ้ อื หุน้ คูค่ า้ ลูกค้า ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุ ก กลุ่ ม และพนั ก งานที่ ใ ห้ การสนั บ สนุ น การดำ � เนิ น งานของ บริ ษั ท ด้ ว ยดี เ สมอมา บริ ษั ท จะสานต่ อ เจตนารมณ์ แ ละยึ ด มั่ น ในความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและ ยั่งยืนต่อไป

(นางศศิธร พงศธร) กรรมการผู้จัดการ


92

รายงานประจำ�ปี 2560

รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีเจตนารมณ์ในการดำ�เนินธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ควบคูไ่ ปกับการดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยยึดมัน่ ในหลักจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ และการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ตอบสนองต่อความพึงพอใจอย่างเท่าเทียมกันของผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในทุกมิติ ด้วยตระหนักว่าบริษัทจะเติบโตอย่างยั่งยืนและมั่นคง ด้วยการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีวสิ ยั ทัศน์ มีความสามารถในการบริหาร จัดการธุรกิจให้บรรลุผลสำ�เร็จตามพันธกิจ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีส่วนร่วมในการดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่ง ส่งผลต่อการสร้างมูลค่าทีด่ แี ก่องค์กรและผูถ้ อื หุน้ รวมถึงการสร้าง ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น

ตราสัญลักษณ์ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน

แนวทางการดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ความสำ � คั ญ กั บ การดำ � เนิ น การ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เพือ่ ให้เกิดการปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม ในทุกกระบวนการดำ�เนินธุรกิจ เพื่อให้บริษัทเติบโตอย่างยั่งยืน และเพือ่ ให้พนักงานทุกระดับเข้ามามีสว่ นร่วม โดยยึดมัน่ ในจรรยาบรรณ อย่างเคร่งครัด ปลูกฝังให้มีจิตสำ�นึกในการปฏิบัติงานอย่างมี ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมีประธานกรรมการ และกรรมการ ผู้จัดการ ทำ�หน้าที่เป็นตัวแทนองค์กรในการขับเคลื่อนองค์กรไป สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน มีคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ทำ�หน้าที่ ดูแลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม พิจารณาให้ ข้อเสนอแนะและติดตามการดำ�เนินงานตามแผนการดำ�เนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั และมีกรรมการผูจ้ ดั การ ทำ�หน้าทีส่ ง่ เสริมและสนับสนุนการดำ�เนินงาน ให้เป็นไปตามแนวทางที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนตามแนวทางของสถาบันธุรกิจ เพือ่ สังคม (Corporate Social Responsibility Institute) สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือ่ ให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ โดยมีการทบทวน เป็นประจำ�ทุกปี ความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ หมายถึง การประกอบ กิจการด้วยความดูแลใส่ใจต่อผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคม และ สิง่ แวดล้อมอย่างมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจน มีธรรมาภิบาลเป็นเครือ่ งกำ�กับให้การดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ เป็นไป ได้ดว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส และยุตธิ รรม มีความตระหนักถึง ผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยพร้อม จะแก้ ไ ขเพื่ อลดผลกระทบดังกล่าวกับ การนำ�หลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาบู ร ณาการให้ เ กิ ด การดำ � เนิ น กิ จ การเป็ น การสร้างความสำ�เร็จและประโยชน์สขุ รวมทัง้ เพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข่งขันทุกเวทีการค้า ซึง่ จะเป็นผลดีตอ่ ความยัง่ ยืนของกิจการ ผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง

บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักธรรมาภิบาล และ ความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม การบริหารจัดการ ความเสี่ยงในทุกมิติ รวมทั้งการให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินการ ตามแนวทางการกำ�กับดูแลด้านการให้บริการอย่างมีคุณภาพและ เป็นธรรม (Market Conduct) โดยมุง่ หมายให้ลกู ค้ามีความเชือ่ มัน่ ว่า 1. ได้รับบริการอย่างเป็นธรรม จริงใจ ไม่เอาเปรียบ 2. ได้รับคำ�แนะนำ�ที่เหมาะสมชัดเจน 3. ได้รับบริการที่เป็นธรรมทั้งด้านราคาและเงื่อนไข 4. ได้รับความสะดวกในการใช้บริการ และได้รับการดูแล แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5. ได้รับความเข้าใจในสิทธิและหน้าที่ของตน การดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคม ถือเป็นหนึง่ ในหลักปฏิบตั ทิ บี่ ริษทั ได้ให้ความสำ�คัญ เพราะเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของคำ�ว่า “การพึง่ พิง” เนือ่ งจากทุกธุรกิจล้วนมีประชาชนหรือคนในสังคมเป็นกลุม่ เป้าหมาย หลักในการนำ�เสนอสินค้าและบริการ ดังนั้นไม่ว่าจะพัฒนาองค์กร ไปในทิศทางใดก็ย่อมต้องมีคนในสังคมเป็นผู้สนับสนุนไม่ทางใด ก็ทางหนึ่ง ซึ่งการกำ�หนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติดังกล่าว จะเป็นแนวทางให้บุคลากรในองค์กรยึดถือปฏิบัติ บริษทั ได้ด�ำ เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ประกอบด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการหลักของการดำ�เนินธุรกิจ (CSR-in-Process) และนอกกระบวนการหลักของการดำ�เนิน ธุรกิจ (CSR-after-Process) โดยมุ่งเน้นให้ผู้บริหารและพนักงาน ทุกระดับเข้ามามีส่วนร่วม มีจิตอาสา เพื่อปลูกฝังให้มีจิตสำ�นึกใน ความรับผิดชอบต่อสังคม อีกทั้งยังเป็นการสร้างรากฐานที่เข้มแข็ง ของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และนำ�ไปสูก่ ารพัฒนาสังคมและประเทศ ให้เกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวน การหลัก (CSR-in-Process) ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการหลัก (CSR-in-Process) หมายถึง การดำ�เนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมโดย การนำ�แนวปฏิบัติตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมตามหลัก มาตรฐานทั้งในประเทศและต่างประเทศมาปรับใช้เพื่อพัฒนา ต่อยอดให้เกิดนวัตกรรมทางธุรกิจจนกลายเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้น ในกระบวนการทำ�งานและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตลอดจนมาตรฐาน การบริการต่างๆ เพื่อจุดประสงค์หลักในการลดผลกระทบด้านลบ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้เสียระหว่างกระบวนการทำ�งาน รวมถึง การสร้างจิตสำ�นึกความรับผิดชอบต่อสังคมให้เกิดขึ้นกับกรรมการ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ กระดั บ จนก่ อ ให้ เ กิ ด ทั ศ นคติ ร่ ว มกั น ของทุกคนในองค์กร และเพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นในการเป็น สถาบันการเงินที่มีความแข็งแกร่งและมีความรับผิดชอบต่อสังคม สูงสุด

93

บริษทั มีความมุง่ มัน่ ในการดำ�เนินกิจการภายใต้หลักการของ กฎหมาย ความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม เป็นไปตามแนวทาง การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มีจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ ทั้ง ระดับกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน การสนับสนุนการเข้าร่วม กิจกรรมโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต รวมถึงการกำ�หนดให้มีนโยบายการต่อต้านการทุจริต การกำ � หนดแนวปฏิ บั ติ เ พื่ อ เป็ น แนวทางให้ แ ก่ ค ณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน ได้ รั บ ทราบและถื อ ปฏิ บั ติ โดยเมื่ อ วันที่ 16 ตุลาคม 2557 บริษัทได้รับประกาศนียบัตรการรับรองเป็น สมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต จากสมาคมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

การดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมนอกกระบวน การหลัก (CSR-after-Process) ความรับผิดชอบต่อสังคมนอกกระบวนการหลัก (CSRafter-Process) หมายถึง กิจกรรมที่ดำ�เนินการนอกเหนือจาก การดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยการเข้าไปมีบทบาทในการสนับสนุน กิจกรรมเพื่อสังคมตามวาระและโอกาสต่างๆ โดยมุ่งหวังให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อสังคมและชุมชน ทั้งในหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน อันนำ�ไปสู่การสร้างรากฐานที่เข้มแข็งของสังคมและ ประเทศอย่างยั่งยืน ผลการดำ � เนิ น งานด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ ผลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การ การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน พัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ในมิติต่างๆ ดังนี้ บริษัทมีความมุ่งมั่นในการดำ�เนินธุรกิจตามหลักการกำ�กับ มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม ดูแลกิจการที่ดีควบคู่ไปกับการดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมซึ่ ง ถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ระดับความพึงพอใจของ จำ�นวนข้อร้องเรียนของ วงเงินสินเชื่อที่ให้กับ บริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ีในทุกกระบวนการ ลูกค้าที่มาใช้บริการ พนักงานเกี่ยวกับ ที ส ่ าขาของธนาคาร การปฎิ บ ต ั ด ิ า ้ นแรงงาน ด้านพลังงาน ปี 2560 ดำ�เนินธุรกิจ โดยทุกบริบทของการปฏิบัติงานต้องมีมาตรฐาน ปี 2560 ร้อยละ 81.53 ปี 2560 ร้อยละ 0.00 ประมาณ 13,000 ล้านบาท ซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ และจากการดำ�เนินงาน ทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม ทำ�ให้บริษทั ได้รบั การคัดเลือกให้เป็น วงเงินสินเชื่อที่ให้กับ อัตราการบาดเจ็บของ ปริมาณการปล่อยก๊าช ษัทจดทะเบียนที่ พนักงานขณะปฏิบตั งิ าน เรือนกระจกลดลง 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจ บริ ได้รับการคัดเลือกให้ ปี 2560 ร้อยละ 0.00 อันเนื่องจากปริมาณ ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social อยู่กลุ่มหลักทรัพย์ การใช้กระดาษปี 2560 and Governance: ESG) หรือที่เรียกว่ากลุ่มหลักทรัพย์ ESG100 ESG100 ปี 2560 ลดลงร้อยละ 7.61 โดยสถาบันไทยพัฒน์ เป็นปีท่ี 3 ติดต่อกัน ซึ่งได้รายงานต่อ ประมาณ 22,800 ล้านบาท เมื่อเทียบจากปี 2559 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริษัทรับทราบ การสนับสนุนเพื่อพัฒนา ชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม ปี 2560 มูลค่ากว่า 4 ล้านบาท


94

รายงานประจำ�ปี 2560

ระดับความพึงพอใจของลูกค า ร อยละ ที่มาใช บริการที่สาขาของธนาคารป 2560

81.53

จำนวนข อร องเรียนของพนักงาน ร อยละ เกี่ยวกับการปฎิบัติด านแรงงานป 2560

0.00

อัตราการบาดเจ็บของพนักงาน ร อยละ ขณะปฏิบัติงานป 2560

22,800ล านบาท

13,000 ล านบาท

วงเงินสินเชื่อป 2560 ประมาณ ที่ให กับบริษัทที่ดำเนินธุรกิจด านพลังงาน

0.00

7.61

ปริมาณการปล อยก าชเรือนกระจกลดลง ร อยละ เน��องจากปริมาณการใช กระดาษป 2560 ลดลงเมี่อเทียบจากป 2559

วงเงินสินเชื่อที่ให กับบริษัทจดทะเบียนประมาณ ที่ได รับการคัดเลือกให อยู กลุ มหลักทรัพย ESG100 ป 2560

มูลค ากว า ล านบาท

4

การสนับสนุนเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม และสิ�งแวดล อมป 2560

ภาพประกอบผลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ในมิติต่างๆ

นโยบายความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ การพั ฒ นา แนวทางการจั ด ทำ � รายงานการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ธุรกิจอย่างยั่งยืน อย่างยั่งยืน บริษัทตระหนักถึงการดำ�เนินธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบ ต่อสังคมซึ่งจะทำ�ให้ธุรกิจมีความยั่งยืน โดยให้ความสำ�คัญต่อ การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและจรรยาบรรณ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ย ความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใสและยุติธรรม ตระหนั กถึงผลกระทบ ทางลบต่อเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม บริษทั จึงกำ�หนดนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เพื่อให้ กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกระดับยึดถือเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติ 9 ด้าน ดังนี้ 1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม 3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน 5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม 6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม 8. การจัดการสิ่งแวดล้อม 9. นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำ�เนิน ความรับผิดชอบต่อสังคม รายละเอี ย ดของนโยบายความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่เว็บไซต์ ของบริษัท (www.lhfg.co.th)

บริษัทให้ความสำ�คัญในการจัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืนมาอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นส่วนหนึ่งในรายงานประจำ�ปี เพื่ อ สื่ อ สารให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม ได้ ท ราบถึ ง แนวนโยบาย แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน ภายใต้กรอบการรายงาน ตามแนวทางของสถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility Institute) สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย ขอบเขตเนือ้ หาของรายงานจะเป็นข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงาน ของบริษทั ซึง่ ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่ายงานทีร่ บั ผิดชอบ โดยตรง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ได้น�ำ เสนอเนือ้ หาการรายงานการพัฒ ั นาธุรกิจอย่างยืน ซึง่ ได้ผา่ นการวิเคราะห์ความต้องการของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน และกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก และนำ�มากำ�หนดเป็นประเด็นหลัก ทีม่ คี วามสำ�คัญและมีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจตามแนวปฏิบตั ิ ของนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน โดยมีขั้นตอน ดังนี้


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

1. การวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งภายในและภายนอก 2. การกำ�หนดประเด็นที่มีความสำ�คัญและมีผลกระทบ ต่อการดำ�เนินธุรกิจ

95

ลูกค า ผู ถือหุ น

เจ าหน�้ คณะกรรมการบริษัท

3. การจัดลำ�ดับประเด็นที่มีความสำ�คัญและมีผลกระทบ ต่อการดำ�เนินธุรกิจ 4. การตรวจสอบประเด็นทีม่ คี วามสำ�คัญและมีผลกระทบ ต่อการดำ�เนินธุรกิจ 5. การทบทวนประเด็นที่มีความสำ�คัญและมีผลกระทบ ต่อการดำ�เนินธุรกิจ

1. การวิเคราะห์ความต้องการของผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริ ษั ท ให้ ความสำ � คั ญ ต่ อ สิ ท ธิ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม โดยมี ก ระบวนการและขั้ น ตอนเพื่ อ วิ เ คราะห์ ค วามต้ อ งการ ของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ ภายในและภายนอก ผ่านการจัดกิจกรรม รู ป แบบต่ า งๆ รวมถึ ง ช่ อ งทางการสื่ อ สารต่ า งๆ โดยกำ � หนด ความถี่ในการดำ�เนินงานทีช่ ดั เจน อาทิ การจัดประชุม การสำ�รวจ ความผูกพันของพนักงานที่มีต่อบริษัท เพื่อนำ�ข้อมูลมาใช้ ใน การกำ�หนดแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติตามนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ทัง้ นี้ การระบุและคัดเลือกผูม้ สี ว่ นได้เสีย จะพิจารณาจากการให้ความสำ�คัญกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และ ผลกระทบของการดำ�เนินธุรกิจต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย เพือ่ ให้การปฏิบตั ิ เป็นไปอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม

พนักงาน

คู แข ง

ชุมชน สิ�งแวดล อม สังคม

คู ค า

แนวปฎิบัติต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย

บริษัทกำ�หนดแนวทางการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียไว้เป็น ลายลักษณ์อกั ษรในจรรยาบรรณการดำ�เนินธุรกิจ และจรรยาบรรณ ของพนักงาน บริษัทให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่ม โดยการแบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อ ให้ทราบถึงความต้องการและสามารถตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย แต่ละกลุ่มได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ผู้มีส่วนได้เสีย กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ 1. กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน 2. กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า ชุมชนสิ่งแวดล้อมและสังคม คู่ค้า คู่แข่ง และเจ้าหนี้


96

รายงานประจำ�ปี 2560

การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย 1. ผู้ถือหุ้น

วิเคราะห์ความต้องการ

แนวปฏิบตั ทิ ด่ี �ำ เนินการตามนโยบาย

• ผลตอบแทนที่เหมาะสม และ • ดำ�เนินธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแล เติบโตอย่างยั่งยืน กิจการที่ดี • ผลการดำ�เนินงานดี ภายใต้ ความเสี่ยงที่เหมาะสม • ดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส มีความเป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้

2. คณะกรรมการบริษทั • ดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใสตาม • ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ตามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ล หลักบรรษัทภิบาล กิจการที่ดี เพื่อให้องค์กรเติบโตอย่างยั่งยืน • ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อย่างเป็นธรรม • การประเมินผลการปฏิบตั งิ านเพื่อ นำ�ผลการประเมินมาปรับปรุง การทำ�งาน

3. พนักงาน

• การให้ผลตอบแทน มีต�ำ แหน่งงาน • การจ้างงานที่ปลอดจากการเลือกปฏิบัติ และสวัสดิการที่เหมาะสม ไม่นำ�ความแตกต่างด้านเชื้อชาติ สีผิว • การจัดสถานที่ทำ�งานให้สะอาด เพศ ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง ถูกสุขอนามัย และมีความปลอดภัย อายุ มาเป็นปัจจัยในการพิจารณาและ • การจัดอบรม สัมมนาเพื่อพัฒนา ตัดสินการจ้างงาน ความรู้และศักยภาพ • ส่งเสริมการจ้างงานสำ�หรับกลุ่มแรงงาน ทีม่ สี ถานะเปราะบาง เช่น การเปิดโอกาส ให้มีการจ้างงานคนพิการ • พัฒนาพนักงานเพื่อฝึกฝนทักษะและ เพิ่มพูนศักยภาพ โดยเปิดโอกาสให้ พนักงานมีการเรียนรู้และเลื่อนตำ�แหน่ง เพื่อความก้าวหน้าในการทำ�งาน

กระบวนการดำ�เนินการ • ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละ 1 ครั้ง • แถลงข่าวต่อสือ่ มวลชน และจัดประชุม นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ปีละ 1 ครั้ง • การเข้าพบเพื่อให้ข้อมูลแบบตัวต่อตัว จำ�นวน 8 ครัง้ • นำ�เสนอข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อการรับรู้ข้อมูล อย่างเท่าเทียม และมีความโปร่งใส • รับข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียน ผ่านช่องทางที่บริษัทกำ�หนด • เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอเรื่อง ที่มีความสำ�คัญและ เป็นประโยชน์ต่อ การดำ�เนินกิจการผ่านทางเว็บไซต์ของ บริษัท และเผยแพร่ผ่านตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เพือ่ พิจารณาบรรจุเป็น วาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยให้สิทธิในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. การเสนอวาระการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น 2. การเสนอชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เหมาะสมเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็น กรรมการ 3. การเสนอคำ�ถามล่วงหน้า • ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ประจำ� ทุกเดือน • ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน ทันเวลา • มีส่วนร่วมในการกำ�กับดูแลกิจการ • ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ และธุรกิจของบริษัท • การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ • การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ โดยการ ประเมินตนเองของกรรมการเป็นรายคณะ และเป็นรายบุคคล และการประเมินตนเอง เรื่องการปฏิบตั ติ ามหลักการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี การประเมินตนเองเพือ่ นำ�ผลการประเมิน มาปรับปรุงการทำ�งานให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น • จัดกิจกรรมต้อนรับพนักงานใหม่ ในวันแรก ของการทำ�งาน • ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ • ส่งเสริมให้พนักงานมีคา่ นิยม PRO-AcTIVE • การพัฒนาศักยภาพพนักงาน โดยจัดให้ มีการเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะแก่พนักงานใน ทุกระดับ รวมทั้งเพิ่มช่องการเรียนรู้ผ่าน ระบบ Intranet ซึง่ พนักงานสามารถเรียนรู้ ผ่านช่องทางดังกล่าวได้ตลอดเวลา • แ ผ น พั ฒ นา เ พื่ อ ท ด แ ท น ตำ � แหน่ ง ผูบ้ ริหารและตำ�แหน่งสำ�คัญ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ผู้มีส่วนได้เสีย

วิเคราะห์ความต้องการ

3. พนักงาน (ต่อ)

4. ลูกค้า

• การบริ ห ารจั ด การด้ า นการให้ บริการแก่ลูกค้าอย่างมีคุณภาพ และเป็นธรรม (Market Conduct) • ความพึ ง พอใจในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทีห่ ลากหลาย ครบครัน มีคณุ ภาพ และบริการที่เป็นเลิศ • ความพร้ อ มในการรั บ ฟั ง และ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการ ของลูกค้า • การรักษาความลับของลูกค้า • ความเท่ า เที ย มกั น ของลู ก ค้ า แต่ละกลุ่ม

97

แนวปฏิบตั ทิ ด่ี �ำ เนินการตามนโยบาย

กระบวนการดำ�เนินการ

• ไม่ ป ลดหรื อ เลิ ก จ้ า งพนั ก งานอั น เป็ น การตั ด สิ น ใจของผู้ แ ทนฝ่ า ยบริ ห าร แต่เพียงฝ่ายเดียว หรือการตัดสินใจนั้น อยู่บนฐานของการเลือกปฏิบัติ • สนั บ สนุ น และเคารพในการปกป้ อ ง สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น โ ด ย ไ ม่ ส นั บ ส นุ น การใช้แรงงาน บังคับ ตลอดจนส่งเสริม ให้ พ นั ก งานมี ดุ ล ยภาพในการใช้ ชี วิ ต ระหว่างชีวิตการทำ�งานและชีวิตส่วนตัว • เคารพสิ ท ธิ ใ นการแสดงความคิ ด เห็ น ของพนั ก งาน ซึ่ ง ครอบคลุ ม ถึ ง การ มีอิสระในการให้ความเห็นโดยปราศจาก การแทรกแซง การได้ รั บ ข้ อ มู ล หรื อ ความเห็นผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งจัดให้ มีชอ่ งทางการสือ่ สารเพือ่ รับฟังความคิดเห็น ของพนักงาน • มี เ งื่ อ นไขการจ้ า งงานที่ เ ป็ น ธรรม พนักงานได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม ตามศั ก ยภาพ หรื อ ตามข้ อ ตกลงร่ ว ม ระหว่ า งนายจ้ า งและลู ก จ้ า ง โดย พิ จารณาตามมาตรฐานอุ ต สาหกรรม หรือมาตรฐานการครองชีพที่ควรจะเป็น • จัดสภาพทีท่ �ำ งานทีเ่ หมาะสมให้พนักงาน ทำ�งานได้อย่างปลอดภัยและมีศักดิ์ศรี โดยพนักงานสามารถทำ�งานได้อย่างเต็ม ศักยภาพและแบ่งเวลาให้แก่ครอบครัวได้ • ปกป้อง ไม่กลัน่ แกล้งหรือลงโทษทางวินยั กับพนักงานที่มีการรายงานอย่างสุจริต ต่อผูบ้ ริหารหรือหน่วยงานของรัฐ เกีย่ วกับ การกระทำ�ที่ไม่ถูกต้อง • จัดทำ�นโยบายความปลอดภัยและอาชีว อนามั ย ในสถานประกอบการรวมถึ ง วิเคราะห์และหามาตรการเพื่อควบคุม ความเสี่ ย งด้ า นความปลอดภั ย และ อาชีวอนามัยในการทำ�งาน • มุ่งเน้นการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า รวมถึง การพั ฒ นาศั ก ยภาพของพนั ก งานให้ สามารถนำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ตอบโจทย์ลูกค้าในทุกด้าน ตลอดจน การกำ � หนดเรื่ อ งการรั ก ษาความลั บ ของลู ก ค้ า เป็ น หนึ่ ง ในจรรยาบรรณ ของพนักงานทีต่ อ้ งปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด และมี การสื่ อ สารไปยั ง พนั ก งานอย่ า ง สม่ำ�เสมอ

• กิ จ กรรมเพื่ อ สื่ อ สารและเสริ ม สร้ า ง ความเป็นทีม • สำ�รวจการจ่ายผลตอบแทนของตลาดอย่าง สม่ำ�เสมอ เพื่อนำ�มาพิจารณาปรับปรุงให้ ใกล้เคียงตามมาตรฐานอุตสาหกรรมหรือ มาตรฐานการครองชีพที่ควรจะเป็น • จัดให้มชี อ่ งทางการรับเรือ่ งร้องเรียน ร้องทุกข์ รับฟังข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ • ปกป้ อ ง ไม่ ก ลั่ น แกล้ ง หรื อ ลงโทษ ทางวิ นั ย กั บ พนั ก งานที่ มี ก ารรายงาน อย่างสุจริตต่อผู้บริหาร หรือหน่วยงาน ของรั ฐ เกี่ ย วกั บ การกระทำ � ที่ไม่ถูกต้อง ที่เกิดขึ้นภายในบริษัท • จั ด ตั้ ง คณะกรรมการความปลอดภั ย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำ�งาน เ พื่ อ ขั บ เ ค ลื่ อ น น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ความปลอดภั ย และสุ ข อาชี ว อนามั ย ให้พนักงานมีความปลอดภัยขณะทำ�งาน • จ้ า งคนพิ การให้ มี โ อกาสประกอบอาชี พ เพื่อดำ�รงอยู่ในสังคมด้วยความภาคภูมิใจ

• ทำ�ความเข้าใจลูกค้า การพบปะลูกค้าเพื่อ เสริมสร้างความสัมพันธ์ • จัดกิจกรรม/ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ที่ชัดเจน • รับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น ต่างๆ เพือ่ นำ�มา ปรับปรุงแก้ไข • คิดค้น และสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า • เผยแพร่ขอ้ มูลผลิตภัณฑ์และบริการทีค่ รบถ้วน ตามความเป็นจริง เพือ่ ประกอบการตัดสินใจ ของผู้บริโภค และเผยแพร่ผ่านช่องทาง ที่หลากหลาย ง่ายแก่การเข้าถึงของลูกค้า • ให้ความช่วยเหลือ และตอบข้อซักถาม ของลู ก ค้ า เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจใน ผลิตภัณฑ์และบริการ • รับข้อร้องเรียน และจัดการข้อร้องเรียน ภายในระเวลาที่กำ�หนด • จัดกิจกรรม My Bank My Love เพือ่ สร้าง ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างลูกค้าและธนาคาร อย่างต่อเนื่องเป็นประจำ�ทุกปี


98

รายงานประจำ�ปี 2560

ผู้มีส่วนได้เสีย

วิเคราะห์ความต้องการ

แนวปฏิบตั ทิ ด่ี �ำ เนินการตามนโยบาย

• ดำ�เนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมควบคู่ไป 5. ชุมชนสิง่ แวดล้อมและ • สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน • การส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ กั บ กา ร มี ส่ ว น ร่ ว ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สังคม • การส่งเสริมและสนับสนุนนโยบาย สิ่งแวดล้อมและสังคม ภาครัฐ • สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ และ • ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้พนักงานมีสว่ นร่วม • ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา รวมทั้ง มี ส่ ว นร่ ว มดำ � เนิ น การเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง คุณภาพและการเข้าถึงการศึกษา • ส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมทีเ่ หมาะสม วัฒนธรรมท้องถิน่ วัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา • ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า กร อ ย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ด้ ว ยการตระหนั ก ถึ ง ขี ด ความสามารถในการใช้ ท รั พ ยากร ให้เกิดความคุ้มค่า • จั ด ทำ � แผนฉุ ก เฉิ น ให้ เ หมาะสมเพื่ อ ลดความสูญเสีย • เปิ ด กว้ า ง และอำ � นวยประโยชน์ ใ ห้ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งสามารถแสดงความคิ ด สร้ า งสรรค์ ซึ่ ง เป็ น รากฐานของ ความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรม อันจะทำ�ให้เกิดความต่อเนื่องของการ สร้างนวัตกรรม • ส่ ง เสริ ม และร่ ว มมื อ กั บ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย เช่น คู่ค้า เพื่อพัฒนานวัตกรรม และ การเผยแพร่นวัตกรรมดังกล่าว • สำ � รวจกระบวนการประกอบธุ ร กิ จ อยู่ เสมอว่ า ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี่ ย ง หรื อ มี ผ ล กร ะ ท บ ท า ง ล บ ต่ อ สั ง ค ม แ ล ะ สิง่ แวดล้อมหรือไม่ และหากมีความเสีย่ ง หรือมีผลกระทบทางลบจะแก้ไขในทันที • ทำ�ธุรกิจด้วยความโปร่งใส • ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการค้าและปฏิบตั ิ 6. คูค่ า้ • Facility and Process Sharing: ตามสัญญา ส่งต่อลูกค้าในกลุม่ การเงิน แลนด์ • สร้างพันธมิตรกับลูกค้าที่มีศักยภาพ แอนด์ เฮ้าส์ • มีความเป็นธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ • Information Sharing: • ไม่กีดกันคู่ค้า การแลกเปลีย่ นข้อมูลการทำ�ธุรกิจ • Network Extension: การขยาย เครือข่ายไปกับพันธมิตร 7. คูแ่ ข่ง

8. เจ้าหนี้

กระบวนการดำ�เนินการ • สำ�รวจความต้องการของชุมชน และสังคม และให้ ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มในการดำ � เนิ น กิจกรรม • ให้การสนับสนุนกิจกรรมทางวัฒนธรรม ที่เหมาะสม วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา • จัดทำ�แผนฉุกเฉินที่เหมาะสมเพื่อรองรับ ความสูญเสีย และเสียหาย กับสิง่ แวดล้อม • ทำ � โครงการ Green Office ลดการใช้ พลังงานไฟฟ้า และกระดาษ เปลีย่ นเครือ่ ง ใช้ส�ำ นักงานทีม่ คี ณุ สมบัตริ กั ษาสิง่ แวดล้อม • การร่ ว มพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ข องเยาวชน ผ่ า นโครงการรู้ เ ก็ บ รู้ ใ ช้ สบายใจโดย การพั ฒ นาบุ ค ลากรของบริ ษั ท เพื่ อ เป็ น วิทยากรในการให้ความรู้ทางการเงินแก่ เยาวชน • โครงการ “LH Bank สนับสนุนทุนการศึกษา” • เข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ย ต่ำ�เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs • การเข้ า ร่ ว มโครงการอบรม Train the trainer “คนไทยยุคใหม่...ใส่ใจเรื่องเงิน” • โครงการคอมพิ ว เตอร์ มื อ สองให้ น้ อ ง ผู้ด้อยโอกาส • ให้ความช่วยเหลือ การบริจาคสิง่ ของและเงิน การผ่อนปรนการชำ�ระหนี้ ลดค่างวดสินเชือ่ การให้สนิ เชือ่ เพิม่ สำ�หรับลูกค้า หรือผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ

• พบปะคู่ค้า • ทำ�การตลาดร่วมกับคู่ค้าของกลุ่มการเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ • สร้างพันธมิตรกับลูกค้าเพื่อลูกค้าแนะนำ� ลูกค้ารายอื่นมาใช้บริการ • รับข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน • จัดตัง้ คณะกรรมการจัดซือ้ จัดจ้าง เพือ่ ดูแล การจัดซื้อให้มีความเหมาะสม และเป็นธรรมกับคู่ค้า • ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความโปร่ ง ใส • ปฏิบัติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี • กำ�หนดเงื่อนไขในการแข่งขัน เป็นธรรม และไม่ใช้วิธีการที่ไม่สุจริต ที่เป็นธรรมร่วมกัน

• จ่ายดอกเบี้ยและชำ�ระคืน ตามกำ�หนด • มีการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง

• ปฏิบัติตามสัญญา หรือเงื่อนไขต่างๆ • ปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา หรื อ เงื่ อ นไขต่ า งๆ ตามข้อตกลง และหน้าที่ที่พึงมี ตามข้อตกลง และหน้าที่ที่พึงมี • รับข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

99

2. การกำ � หนดประเด็ น ที่ มี ค วามสำ � คั ญ และ 3. การจั ด ลำ � ดั บ ประเด็ น ที่ มี ค วามสำ � คั ญ และ มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทนำ�ประเด็น ข้อคิดเห็น คำ�แนะนำ� สิ่งที่คาดหวัง ในการดำ�เนินงานด้านความยั่งยืนที่มีความสำ�คัญและมีผลกระทบ ต่อการดำ�เนินธุรกิจ ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่ม ผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอก มาพิจารณาตามแนวปฏิบัติ ตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน เพื่อนำ�มากำ�หนดเป็นประเด็นที่มีความสำ�คัญและมีผลกระทบต่อ การดำ�เนินธุรกิจ ดังนี้ • กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ คณะกรรมการบริษัท และพนักงาน บริษัทจัดให้มีการแสดงความคิดเห็นในรูปแบบการ พบปะหารือ การจัดประชุม เพือ่ ให้ทราบถึงประเด็นด้านความยัง่ ยืน ที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสำ�คัญ • กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า ชุมชน สิ่งแวดล้อมและสังคม คู่ค้า คู่แข่ง และเจ้าหนี้ บริษัทได้รวบรวม ประเด็นข้อคิดเห็น ในรูปแบบการพบปะ หารือ การจัดประชุม เพือ่ ให้ทราบถึงประเด็นด้านความยัง่ ยืนทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียให้ความสำ�คัญ

บริษัทวิเคราะห์และพิจารณาข้อมูลที่ ได้จากการสอบถาม ผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอก เพื่อจัดลำ�ดับความสำ�คัญ ของประเด็นที่มีความสำ�คัญและมีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัท ทำ�ให้สามารถแบ่งประเด็นออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับความสำ�คัญน้อย ระดับความสำ�คัญปานกลาง และระดับ ความสำ�คัญมาก รวม 8 ประเด็น โดยนำ�มาจัดลำ�ดับความสำ�คัญ ของประเด็นดังกล่าวใน Materiality Matrix โดยแกนตัง้ เป็นประเด็น ที่มีความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสีย และแกนนอนเป็นประเด็นที่มี ความสำ�คัญต่อบริษัท

ระดับความสำคัญน อย

ประเด็นที่มีความสำคัญต อผู มีส วนได เสีย

ระดับความสำคัญมาก

Materiality Matrix

ระดับความสำคัญน อย การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล การส งเสริมและการให ความรู ด านการเงิน การดูแลชุมชน สิ�งแวดล อม และสังคม

ประเด็นที่มีความสำคัญต อบริษัท การกำกับดูแลกิจการที่ดี การดำเนินการตามแนวทางการกำกับดูแลด านการให บริการอย างมีคุณภาพและเป นธรรม (Market Conduct) การพัฒนาด านดิจิตอล จรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ การบริหารความเสี่ยง

ระดับความสำคัญมาก


100

รายงานประจำ�ปี 2560

ประเด็นที่มีความสำ�คัญและ มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ

กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายใน

กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายนอก

หัวข้อที่นำ�เสนอในรายงาน

การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี

• บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน • ผู้ถือหุ้น • คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร • ลูกค้า และพนักงาน • คูค่ ้า

• การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

การดำ�เนินการตามแนวทางการ กำ�กับดูแลด้านการให้บริการ อย่างมีคุณภาพและเป็นธรรม (Market Conduct)

• บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน • • คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร และพนักงาน

• กลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน • ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค

การพัฒนาด้านดิจิตอล

• บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน • ลูกค้า • คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร และพนักงาน

• นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรม จากการดำ � เนิ น ความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อสังคม

จรรยาบรรณและจริยธรรม ทางธุรกิจ

• บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน • ผู้ถือหุ้น • คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร • ลูกค้า และพนักงาน • คูค่ ้า

• จรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ • การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

การบริหารความเสี่ยง

• บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน • ผู้ถือหุ้น • คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร • ลูกค้า และพนักงาน • คูค่ ้า

• ปัจจัยความเสี่ยง • การควบคุ ม ภายในและการบริ ห าร จัดการความเสี่ยง • การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล • บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน

• คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร และพนักงาน

ลูกค้า

• คู่ค้า

• การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม • การเคารพสิทธิมนุษยชน

การส่งเสริมและการให้ความรู้ ด้านการเงิน

• บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน • ลูกค้า • คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร • ชุมชน สิ่งแวดล้อม และสังคม และพนักงาน

• การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม

การดูแลชุมชน สิ่งแวดล้อม และสังคม

• บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน • ลูกค้า • คณะกรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร • ชุมชน สิ่งแวดล้อม และสังคม และพนักงาน

• การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม

4. การตรวจสอบประเด็นที่มีความสำ�คัญและ 5. การทบทวนประเด็ น ที่ มี ค วามสำ � คั ญ และ มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ บริ ษั ท จะรวบรวมประเด็ น ที่ มี ความสำ � คั ญ นำ � เสนอต่ อ บริษัทจัดให้มีกระบวนการพิจารณาทบทวนข้อมูล หลังจาก ผู้บริหาร และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล เพื่อรับทราบและ การเผยแพร่รายงานฉบับนี้ เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอ ให้แนวทางการดำ�เนินงาน ซึง่ ได้รายงานในรายงานการพัฒนาธุรกิจ แนะสำ�หรับการปรับปรุงและปรับเปลี่ยนเนื้อหาการรายงานใน เพื่อความยั่งยืนและเว็บไซต์ของบริษัท ฉบับต่อไป


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

101

การตรวจสอบคุณภาพของรายงาน

การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน

เนื้อหาที่ได้นำ�เสนอในรายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน และเว็บไซต์ของบริษทั ได้ผา่ นการตรวจสอบ สอบทานจากหน่วยงาน ที่รับผิดชอบของบริษทั มีความถูกต้อง สมบูรณ์ และสอดคล้องกับ แนวปฏิบัติตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนา ธุรกิจอย่างยั่งยืน

ธนาคารตระหนักและให้ความสำ�คัญกับการเติบโตทางธุรกิจ โดยไม่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม ตลอดทัง้ ห่วงโซ่อปุ ทาน โดยมุ่ ง เน้ น เรื่ อ งความร่ ว มมื อ กั น กั บ คู่ ค้ า ทุ กรายเพื่ อ พั ฒ นา กระบวนการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ควบคู่ ไ ปกั บ การยกระดั บ มาตรฐาน การดำ � เนิ น งานด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คมเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ ง ตามจรรยาบรรณธนาคาร

การเชิ ญ ชวนคู่ ค้ า เข้ า ร่ ว มการเป็ น ภาคี เ ครื อ ข่ า ย ในการต่อต้านการทุจริต

ในปี 2560 ธนาคารมีคู่ค้าจำ�นวน 800 ราย โดยคู่ค้าได้รับ ทราบที่จะปฏิบัติตามจรรยาบรรณของธนาคาร รวมทั้งการแจ้งให้ บริษทั ได้สนับสนุนให้ลกู ค้าและผูม้ อี ปุ การะคุณได้ตระหนักถึง คู่ค้าทราบเกี่ยวกับระเบียบวิธีการจัดซื้อ เพื่อให้คู่ค้ามีความเข้าใจ การสร้างสังคมปลอดคอร์รปั ชัน่ โดยได้เชิญชวนให้เข้าร่วมการเป็นภาคี และปฏิบตั ิตามกฎระเบียบวิธีการจัดซือ้ ได้อย่างถูกต้องและโปร่งใส เครือข่ายในการต่อต้านการทุจริต การติดสินบน และคอร์รัปชั่น ด้วยการส่งหนังสือไปยังลูกค้าและผูม้ อี ปุ การะคุณเพือ่ ขอความร่วมมือ กระบวนการในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลคูค่ า้ งดเว้นการให้ของขวัญ ของกำ�นัล สิง่ ตอบแทนอืน่ ใด หรือการเลีย้ ง บริษัทมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของคู่ค้า รับรองแก่เจ้าหน้าที่บริษัท ในหลายรู ป แบบ อาทิ การประเมิ น ความพึ ง พอใจในการใช้ การพิ จ ารณาสิ น เชื่ อ ตามประเด็ น ความเสี่ ย ง บริการของคู่ค้า การมีช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียนหรือติชม ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ได้ รั บ สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ ดี ต รงกั บ ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ความต้ อ งการ บริ ษั ท มี ที ม งานที่ ทำ � หน้ า ที่ บ ริ ห ารงานจั ด ซื้ อ ในการอำ � นวยสิ น เชื่ อ ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ด้ า น การตรวจสอบสินค้าและบริการ การแนะนำ�คู่ค้าในการปรับปรุง สิง่ แวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล โดยการพิจารณาอนุมตั สิ นิ เชือ่ และพัฒนาคุณภาพสินค้า และหากคู่ค้าไม่สามารถดำ�เนินการได้ จะมีกระบวนการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบซึ่งมีประเด็น ตามมาตรฐานที่กำ�หนด บริษัทอาจพิจารณาไม่ใช้บริการ ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาลเป็นส่วนหนึ่ง ของการพิจารณา หากการดำ�เนินธุรกิจของลูกค้าไม่ก่อให้เกิด การดำ�เนินการด้านภาษี ผลดี ต่ อ เศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม ธนาคารจะไม่ ใ ห้ บริษทั เป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การสนับสนุนสินเชื่อ และเป็นกลุ่มธุรกิจทางการเงินที่ดำ�เนินธุรกิจภายใต้การกำ�กับดูแล ที่โปร่งใสและมั่นคง และตั้งมั่นอยู่บนหลักธรรมมาภิบาล บริษัท การบริหารจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า มีความมุ่งมั่นในการปฎิบัติให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับของ ในปี 2560 ธนาคารมุ่งมั่นยกระดับคุณภาพการให้บริการ กฎหมายภาษีอากร กลยุทธ์การดำ�เนินการด้านภาษี จึงได้ทำ�การสำ�รวจความพึงพอใจเมื่อลูกค้ามาใช้บริการที่สาขา บริษทั มีการวางแผนด้านภาษีอากรเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด เพื่อให้เกิดความเข้าใจในความต้องการของลูกค้า ด้วยการเก็บ ทั ้ ง ต่ อ ธนาคารและผู ้มีส่วนได้เสีย รวมถึงต้องเป็นไปตามข้อบังคับ ข้อมูลประสบการณ์ที่แท้จริงหลังจากลูกค้ามาใช้บริการทั้งการเก็บ ข้อมูลผ่านช่องทางสาขาและผ่านทาง Call Center เพื่อรับทราบ ของกฎหมายภาษีอากร การบริหารความเสี่ยงด้านภาษี ความคิดเห็นของลูกค้าเพื่อนำ�มาพัฒนามาตรฐานการให้บริการ บริษัทมีระบบการบริหารความเสี่ยงด้านภาษีอากร โดยมี ได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า และสามารถกำ�หนดเป็นตัวชีว้ ดั การอบรมและพั ฒนาให้ความรูแ้ ก่บคุ ลากรทีเ่ กีย่ วข้อง โดยคำ�นึงถึง การให้บริการของสาขาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ธนาคาร จั ด ทำ � คู่ มื อ การปฏิ บั ติ ง านของสาขาขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ป็ น มาตรฐาน ความเสีย่ ง ความรับผิดชอบและมีการปฏิบตั อิ ย่างเป็นธรรมต่อผูม้ สี ว่ น ในการให้บริการที่ดีและตอบสนองความพึงพอใจแก่ลูกค้า ทั้งนี้ ได้เสียและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง ในปี 2560 ระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่มาใช้บริการที่สาขา อยู่ที่ระดับประมาณร้อยละ 81.53


102

รายงานประจำ�ปี 2560

การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่นในการดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีเ ป็ น แนวทางควบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม อย่างยัง่ ยืน โดยให้ความสำ�คัญกับการสร้างวัฒนธรรมบรรษัทภิบาล ในองค์ กร การมี จ รรยาบรรณในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ สร้ า ง ความสามารถในการแข่งขัน และความเชือ่ มัน่ แก่ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอันเป็นปัจจัยพื้นฐาน ที่สำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และน่ า เชื่ อ ถื อ รวมทั้ ง สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การด้ ว ย ความซือ่ สัตย์สจุ ริต การเพิม่ มูลค่าในกิจการ ความมัน่ คง และการ เจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน รวมทั้งให้ความสำ�คัญ ต่อระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติ ต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม มีจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ ดูแลมิให้เกิดปัญหาความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ รวมทัง้ คำ�นึงถึง ความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยเพือ่ ช่วย กำ�กับดูแลการดำ�เนินกิจการในด้านต่างๆ ของบริษัทอย่างใกล้ชิด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ซึ่งคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะจะดูแล การดำ�เนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ แผนงานในการดำ�เนินธุรกิจและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยได้ กำ�หนดบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร ไว้อย่างชัดเจน ซึง่ การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั มีหลักสำ�คัญ ซึ่งคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนใช้ยึดเป็น แนวทางในการปฏิบัติงาน ตามหลัก 4 ประการ ดังนี้ 1. Transparency : ความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน และการเปิดเผยข้อมูลแก่ผเู้ กีย่ วข้อง 2. Integrity : ความซื่อสัตย์ 3. Accountability : ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั งิ าน ตามหน้าที่ 4. Competitiveness : ความสามารถในการแข่งขัน

บริษัทมีความมุ่งมั่นในการนำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีมาใช้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม โครงสร้าง และความจำ�เป็นขององค์กร ส่งผลให้บริษัทได้รับ คะแนนจากโครงการสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียน ประจำ�ปี 2560 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2017) อยู่ ในเกณฑ์ “ดี เ ลิ ศ ” จำ � นวน ตราสัญลักษณ์ 5 ดวง ต่อเนื่องเป็นปีท่ี 3 โดยสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ทั้งนี้ บริษัทได้นำ�เสนอรายงานผลการประเมินให้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลของบริษัทรับทราบ เพื่อพิจารณา ข้อเสนอแนะและนำ�ไปพัฒนาและปรับปรุงการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ของบริษัทให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง การคำ � นึ ง ถึ ง สิ ท ธิ แ ละ ความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ ทุกกลุม่ ตลอดจนความตัง้ ใจทีจ่ ะให้ ผูถ้ อื หุน้ ได้มสี ว่ นร่วมในการดูแลบริษทั อย่างแท้จริงและการส่งเสริมให้มี กลไกถ่วงดุลและตรวจสอบ ส่งผลให่้บริษัทได้รับผลการประเมิน คุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2560 ในระดับ “ดีเยีย่ ม และสมควรเป็นตัวอย่าง” โดยสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย สมาคม บริษทั จดทะเบียน และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ซึง่ บริษทั ได้รบั คะแนนเต็ม 100 คะแนนต่อเนือ่ งเป็น ปีที่ 4 นับตั้งแต่ปี 2556 โดยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2559 บริษัท ได้รับรางวัล “Investors’ Choice Awards” จากโครงการประเมิน คุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปีของบริษทั จดทะเบียน ที่ให้ความสำ�คัญด้านการเปิดเผยข้อมูลและการให้ความเท่าเทียมกัน ของผูถ้ อื หุน้ นโยบายการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ( Good Corporate Governance Policy) บริษทั กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ เี ป็นลายลักษณ์ อักษรโดยอ้างอิงจากหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีตามแนวทาง ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด ประกอบด้วยหลักการ และแนวปฏิ บั ติ ท่ี เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ พื่ อ ให้ คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานยึดถือเป็นแนวใน การปฏิบัติงานและมั่นใจว่าบริษัทดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ มี ความโปร่ ง ใสและปฏิ บัติต่อ ผู้มีส่ว นได้ เ สี ย อย่ า งเท่ า เที ย มกั น สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษทั ได้ทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ เี ป็นประจำ�ทุกปี โดยได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เมือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 โดยนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีดังกล่าวได้จัดทำ�ขึ้นตามหลักการและแนวปฏิบัติในการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ี (Corporate Governance Code : CG Code) ของ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพือ่ ให้​้ คณะกรรมการบริษัทนำ�มาปรับใช้ตามบริบททางธุรกิจของบริษัท รวมทัง้ เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและพนักงานยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน แบ่งเป็น 8 ข้อหลัก ได้แก่ หลักปฏิบัติ 1 การตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการในฐานะผูน้ �ำ องค์กรทีส่ ร้าง คุณค่าให้แก่กิจการอย่างยั่งยืน


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

หลักปฏิบัติ 2 การกำ�หนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ กิจการที่เป็นไปเพื่อความยั่งยืน หลักปฏิบัติ 3 การเสริมสร้างคณะกรรมการที่มีประสิทธิผล หลักปฏิบัติ 4 การสรรหาและพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและ การบริหารบุคลากร หลักปฏิบัติ 5 การส่งเสริมนวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ อย่างมีความรับผิดชอบ หลักปฏิบัติ 6 การดูแลให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงและ การควบคุมภายในที่เหมาะสม หลักปฏิบัติ 7 การรักษาความน่าเชื่อถือทางการเงินและ การเปิดเผยข้อมูล หลักปฏิบตั ิ 8 การสนับสนุนการมีสว่ นร่วมและการสือ่ สารกับ ผู้ถือหุ้น รายละเอียดของนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทได้ เปิดเผยไว้ที่เว็บไซต์ของบริษัท (www.lhfg.co.th) การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ต ระหนั ก ถึ ง บทบาทและหน้ า ที่ ความรับผิดชอบในการเสริมสร้างให้เกิดการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี เพือ่ ให้การดำ�เนินธุรกิจของบริษทั เจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืน บริหาร งานอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส เป็นธรรม ซึ่งบริษัทได้ปฏิบัติ ตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางที่สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด ดังนี้ หลักปฏิบตั ิ 1 การตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการในฐานะผู้นำ�องค์กรที่สร้างคุณค่าให้แก่ กิจการอย่างยั่งยืน คณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ผ่านการอนุมัติแผนงานและงบประมาณประจำ�ปี รวมทั้งกลยุทธ์ การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทและการจัดสรรทรัพยากรสำ�คัญเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่กำ�กับดูแลให้การบริหารงานของฝ่ายจัดการเป็นไปตาม กลยุทธ์และแผนงานที่กำ�หนด โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของ บริษัทเป็นสำ�คัญ ซึ่งจะติดตามการบริหารงานเป็นประจำ�ทุกเดือน เพื่อให้มั่นใจว่ากลยุทธ์ได้ถูกนำ�ไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ และ เป็นไปตามเป้าหมายและแผนงานที่กำ�หนด การประชุมคณะกรรมการ • บริษัทได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดย่อยอย่างสม่�ำ เสมอ โดยกำ�หนดการประชุม เป็ น การล่ ว งหน้ า สำ � หรั บ รอบระยะเวลา 1 ปี และจะมี การประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจำ�เป็น โดยบริษัทได้ แจ้งกำ�หนดการดังกล่าวให้กรรมการทุกท่านทราบล่วงหน้า เพื่อให้สามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ สำ�หรับวาระ การประชุมคณะกรรมการบริษทั จะกำ�หนดโดยประธานกรรมการ และกรรมการผู้ จั ด การร่ ว มกั น พิ จ ารณากำ � หนดเรื่ อ ง ที่จะบรรจุเข้าเป็นวาระการประชุมผ่านเลขานุการบริษทั ซึง่ จะมี วาระการประชุมทีก่ �ำ หนดวาระทีช่ ดั เจนไว้ลว่ งหน้าและมีวาระ

103

การประชุมที่สำ�คัญ เช่น การพิจารณางบการเงินแต่ละ ไตรมาส ผลการดำ�เนินงานของบริษัท ผลการดำ�เนินงาน ของบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัทได้ จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและ เอกสารให้แก่กรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 5 วัน เพื่อให้กรรมการมีเวลาศึกษาวาระการประชุมและเอกสาร ประกอบการประชุมและปกติการประชุมแต่ละครัง้ จะใช้เวลา ประมาณ 2 - 2.30 ชั่วโมง บริษัทได้จดบันทึกการประชุม เป็นลายลักษณ์อักษรครอบคลุมสาระสำ�คัญอย่างครบถ้วน แล้วเสร็จในเวลาที่เหมาะสม และจัดเก็บรายงานการประชุม ที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัท และเอกสาร ประกอบการประชุมอย่างเป็นระบบ พร้อมให้คณะกรรมการ บริษัทและผู้เกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบได้ และสะดวกใน การสืบค้นอ้างอิง • การประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการ ได้จัดสรรเวลาอย่างเพียงพอที่กรรมการจะอภิปรายเรื่องที่มี ความสำ�คัญ และในการพิจารณาบางวาระกรรมการผู้จัดการ ได้เชิญผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุม เพื่อให้รายละเอียด ข้อมูลเพิม่ เติมในฐานะทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งทีน่ �ำ เสนอโดยตรง • การประชุมคณะกรรมการบริษัท องค์ประชุมต้องมี จำ�นวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมดตาม ข้อบังคับของบริษัท และการวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ถือเสียงข้างมาก ในกรณีทคี่ ะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานใน ที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด • คณะกรรมการสามารถขอความเห็นจากทีป่ รึกษาอิสระ หรือผูป้ ระกอบวิชาชีพภายนอกได้ในกรณีทจี่ �ำ เป็นโดยถือเป็น ค่าใช้จ่ายของบริษัท • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารได้จัดประชุมระหว่างกัน โดยไม่มีกรรมการผู้จัดการเข้าร่วมประชุม เพื่ออภิปราย ประเด็ น หรื อ ปั ญ หาต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ การจั ด การที่ อ ยู่ ใ น ความสนใจและหาแนวทางพัฒนาปรับปรุง หรือให้ขอ้ เสนอแนะ ทีเ่ ป็นประโยชน์แก่ฝา่ ยจัดการ และแจ้งมติและสรุปข้อคิดเห็น ที่ได้รับจากการประชุมให้กรรมการผู้จัดการรับทราบ บริษัทได้กำ�หนดแนวทางการปฏิบัติงานของพนักงาน ให้ปฎิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตยุติธรรม ปฎิบัติ ตามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ และไม่ให้ความสำ�คัญต่อ ผลประโยชน์ส่วนตนเหนือความรับผิดชอบที่มีต่อบริษัท หลักปฏิบัติ 2 การกำ�หนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของกิจการที่เป็นไปเพื่อความยั่งยืน คณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย เป็นไปเพื่อความยั่งยืนและสอดคล้องกับการสร้างคุณค่าให้กับ บริษัท ลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสียและสังคมโดยรวม มีการกำ�กับดูแล และมีการทบทวนแผนงาน งบประมาณและกลยุทธ์เป็นประจำ� ทุกครึง่ ปีเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าแผนงาน งบประมาณและกลยุทธ์ ในแต่ละ ช่วงเวลาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย


104

รายงานประจำ�ปี 2560

หลั ก ปฏิ บั ติ 3 การเสริ ม สร้ า งคณะกรรมการ ที่มีประสิทธิผล คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น หั ว ใจสำ � คั ญ ของการกำ � กั บ ดูแลกิจการที่ดี ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ทีม่ คี วาม เชีย่ วชาญ มีประสบการณ์ มีภาวะผูน้ �ำ มีวสิ ยั ทัศน์ มีความเป็นอิสระใน การตั ด สิ น ใจ อุ ทิศ เวลาและปฏิ บัติห น้ า ที่ตามความรั บ ผิ ด ชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์สุจริตเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและ ผู้ถือหุ้น โครงสร้ า ง องค์ ป ระกอบ และคุ ณ สมบั ติ ข อง คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัท มีจำ�นวน 9 ท่าน ประกอบด้วยผู้ทรง คุณวุฒทิ มี่ คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทเี่ ป็นประโยชน์ ต่อบริษัท การเลือกตั้งกรรมการเป็นไปตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท ซึง่ เป็นจำ�นวนทีเ่ หมาะสมกับธุรกิจของบริษทั โดยบริษทั ได้ก�ำ หนด โครงสร้ า งของคณะกรรมการบริ ษั ท ไว้ ใ ห้ มี จำ � นวนที่ เ หมาะสม กรรมการบริษัทปัจจุบันประกอบด้วย 1. กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 1 ท่าน 2. กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 5 ท่าน 3. กรรมการอิสระ จำ�นวน 3 ท่าน โครงสร้างคณะกรรมการบริษัทเป็นไปตามสัดส่วนอย่าง ยุ ติ ธ รรมและเหมาะสม และเพื่ อ ความเป็ น อิ ส ระของประธาน กรรมการและเป็นการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ในการกำ�หนดนโยบาย การกำ�กับดูแลและการบริหารงานประจำ�ออกจากกัน ประธาน กรรมการบริษัท และประธานกรรมการตรวจสอบไม่เป็นบุคคล เดียวกันกับกรรมการผู้จัดการ โดยมีการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ ระหว่างกันอย่างชัดเจนไม่ให้คนใดคนหนึ่งมีอำ�นาจโดยไม่จำ�กัด เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและสอบทานการบริหารงาน • กรรมการบริษัทได้รับการคัดเลือก โดยพิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความเชีย่ วชาญ ความซือ่ สัตย์ ความ สามารถทีเ่ ป็นประโยชน์กบั บริษทั ความสามารถในการให้ความเห็น ทีเ่ ป็นอิสระและมีความเข้าใจในธุรกิจของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน และไม่กดี กันในเรือ่ งเพศ • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ กำ � หนดคุ ณ สมบั ติ กรรมการ อิ ส ระของบริ ษั ท ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แนวปฏิ บั ติ ข องนโยบาย การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และที่ กำ � หนดในประกาศ คณะกรรมการกำ � กั บ ตลาดทุ น และประกาศธนาคาร แห่งประเทศไทย โดยคณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย กรรมการอิสระจำ�นวนอย่างน้อย 3 ท่าน หรืออย่างน้อย 1 ใน 3 ของ จำ�นวนกรรมการทั้งคณะแล้วแต่จำ�นวนใดจะสูงกว่า โดย กรรมการอิสระต้องเป็นกรรมการที่ ไม่ได้เป็นลูกจ้างหรือ

พนักงานที่ได้รับเงินเดือนจากบริษัท และมีความเป็นอิสระ จากกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท รวมทั้งสามารถดูแล ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นรายย่อยได้ รายละเอียดคุณสมบัตกิ รรมการอิสระ บริษทั ได้เปิดเผยไว้ทห่ี วั ข้อ โครงสร้างการจัดการ เรือ่ ง คุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระ • คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ของกรรมการเป็นไปตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด ข้อบังคับของบริษทั โดยในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี ทุกคราวให้กรรมการออกจากตำ�แหน่งจำ�นวนหนึ่งในสาม ของจำ�นวนกรรมการ ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะออกแบ่งเป็น สามส่วนไม่ได้ ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้เคียงที่สุดกับส่วนหนึ่ง ในสาม ทัง้ นี้ ให้กรรมการซึง่ อยู่ในตำ�แหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ ออก จากตำ�แหน่งก่อน และถ้าตกลงกันในเรื่องของการออกจาก ตำ�แหน่งไม่ได้ให้ใช้วิธีจับฉลาก โดยกรรมการซึ่งพ้นจาก ตำ�แหน่งอาจได้รับเลือกตั้งใหม่ได้ • คณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ จำ�นวนบริษัทที่กรรมการจะไปดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่น ดังนี้ - กรรมการ กรรมการผู้จัดการ จะไปดำ�รงตำ�แหน่ง ในบริษัทอื่นไม่เกิน 5 บริษัทจดทะเบียน - กรรมการ กรรมการผู้จัดการ และผู้มีอำ�นาจใน การจัดการจะไปดำ�รงตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ ทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร หรือกรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงนาม อย่างใดอย่างหนึง่ หรือหลายอย่างในบริษัทอื่นไม่เกิน 3 กลุ่มธุรกิจ รายละเอียดข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทอื่น บริษัทได้เปิดเผยไว้ท่ี หัวข้อ คณะกรรมการบริษัท เรื่อง การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และการดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทย คณะกรรมการชุดย่อย

โครงสร้างการจัดการของบริษทั ประกอบด้วย คณะกรรมการ บริษทั ซึง่ คณะกรรมการบริษทั มีการกระจายอำ�นาจการบริหารงาน ที่มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใสในการบริหารจัดการ โดย คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย เพือ่ ช่วยศึกษา รายละเอียดและกลัน่ กรองงานเพือ่ เป็นการแบ่งเบาภาระหน้าทีข่ อง คณะกรรมการบริษทั และทำ�ให้บริษทั มีคณะกรรมการพิจารณาเรือ่ ง ต่างๆ เฉพาะด้าน คณะกรรมการชุดย่อยมี 4 คณะ ได้แก่ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 2. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล 3. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ทัง้ นี้ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล และประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นกรรมการ อิสระ เพื่อความโปร่งใสและเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ โดยมี การแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างชัดเจน รายละเอียดของคณะกรรมการชุดย่อย และขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ของคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ บริษทั ได้เปิดเผยไว้ท่ี หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ รายละเอียดของกรรมการตรวจสอบทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ ในการสอบทานงบการเงิน บริษทั ได้เปิดเผยไว้ท่ี หัวข้อ โครงสร้าง การจัดการข้อ 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 1. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการได้ประเมินตนเองเพื่อช่วยให้มีการพิจารณา ทบทวนผลงาน ปัญหาและอุปสรรคในปีที่ผ่านมาและเพื่อให้การ ทำ�งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะทราบถึงความรับผิดชอบ ของตนได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งการประเมินตนเองเป็นเครื่องมือสำ�คัญ ในการประเมินความเหมาะสมของโครงสร้างคณะกรรมการและ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ น้าที่ โดยผลการประเมินและข้อคิดเห็น ของกรรมการได้นำ�ไปใช้เพื่อการปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการ และของกรรมการในแต่ละปี โดยแบบที่ ใช้ ใน การประเมินได้ใช้แบบตัวอย่างของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนำ�มาปรับปรุงเพิ่มเติมเพื่อให้ครอบคลุมการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการและสอดคล้องกับลักษณะและสภาพแวดล้อม การ ประกอบธุรกิจของบริษัท ซึ่งบริษัทได้ทำ�การการประเมินตนเอง ดังนี้ - การประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดย่อยทั้งคณะ - การประเมินตนเองของกรรมการบริษัทและกรรมการ ชุดย่อยเป็นรายบุคคล - การประเมินตนเองเรือ่ งการปฏิบตั ติ ามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี โดยคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการ บริษัท - การประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดย่อยทั้งคณะ แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 6 หัวข้อได้แก่ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. บทบาท หน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการ 3. การประชุมคณะกรรมการ 4. การทำ�หน้าที่ของกรรมการ 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ 6. การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนา ผู้บริหาร

105

การให้คะแนน แบบประเมินได้กำ�หนดระดับคะแนน เพื่อให้คณะกรรมการสามารถเปรียบเทียบผลการประเมิน ในแต่ละหัวข้อและเปรียบเทียบผลการประเมินของแต่ละปีได้ โดยความหมายของการให้คะแนนมีดังนี้ 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หรือไม่มีการดำ�เนินการ ในเรื่องนั้น 1 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้น เล็กน้อย 2 = เห็ น ด้ ว ย หรื อ มี การดำ � เนิ น การในเรื่ อ งนั้ น พอสมควร 3 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรือมีการดำ�เนินการ ในเรื่องนั้นดี 4 = เห็นด้วยอย่างมาก หรือมีการดำ�เนินการใน เรื่องนั้นอย่างดีเยี่ยม วิธีการประเมินและผลการประเมิน ในการประชุม คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยแต่ ล ะ คณะกรรมการได้รว่ มกันประเมินโดยการให้คะแนนในแต่ละข้อ ซึ่งผลการประเมินตนเองทั้งคณะประจำ�ปี 2560 หัวข้อ ที่ทำ�การประเมินส่วนใหญ่ได้คะแนนระดับ 4 - การประเมินตนเองของกรรมการบริษทั และกรรมการ ชุดย่อยเป็นรายบุคคล แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อได้แก่ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ การให้ ค ะแนน ในแบบประเมิ น ได้ กำ �หนดระดั บ คะแนนเพือ่ ให้กรรมการสามารถเปรียบเทียบผลการประเมิน ในแต่ละหัวข้อและเปรียบเทียบผลการประเมินของแต่ละปีได้ โดยความหมายของการให้คะแนนมีดังนี้ 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หรือไม่มีการดำ�เนินการ ในเรื่องนั้น 1 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้น เล็กน้อย 2 = เห็ น ด้ ว ย หรื อ มี การดำ � เนิ น การในเรื่ อ งนั้ น พอสมควร 3 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรือมีการดำ�เนินการ ในเรื่องนั้นดี 4 = เห็นด้วยอย่างมาก หรือมีการดำ�เนินการในเรือ่ ง นั้นอย่างดีเยี่ยม


106

รายงานประจำ�ปี 2560

วิธีการประเมินและผลการประเมิน เลขานุการบริษัท ได้ จั ด ส่ ง แบบประเมิ น ตนเองเป็ น รายบุ ค คลให้ กรรมการ แต่ละท่านทำ�การประเมินตนเองตามคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่กรรมการดำ�รงตำ�แหน่ง และเมื่อกรรมการประเมินตนเอง เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ได้ นำ � ส่ ง ให้ เ ลขานุ การรวบรวม โดยภาพ รวมผลการประเมิ น ตนเองของกรรมการเป็ น รายบุ ค คล ประจำ � ปี 2560 หั ว ข้ อ ที่ ทำ � การประเมิ น ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ คะแนนระดับ 4 - การประเมินตนเองเรื่องการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีการประเมินตนเองเรื่องการ ปฏิ บัติ ตามหลั กการกำ�กับ ดูแ ลกิจการที่ดีเพื่อ เป็น เครื่องมือให้ คณะกรรมการบริษัทประเมินตนเองว่าบริษัทปฏิบัติหรือยังไม่ ปฏิบตั ใิ นเรือ่ งใด เพือ่ ใหบริษทั สามารถเปิดเผยข้อมูลได้อย่างครบถ้วน โดยคณะกรรมการบริษัทได้วิเคราะห์ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ ข้อควรสังเกตต่างๆ เพือ่ นำ�มาปฏิบตั ิให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม การดำ�เนินธุรกิจ ดังนี้ แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 4 หัวข้อได้แก่ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่าง เท่าเทียมกัน 2. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 4. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การให้คะแนน ในแบบประเมินไม่ได้กำ�หนดระดับ คะแนนแต่ได้กำ�หนดในแต่ละหัวข้อได้ปฏิบัติแล้วหรือไม่ ดังนี้ • หากได้ดูแลให้บริษัทปฏิบัติตามแล้ว ให้ทำ� เครื่องหมายถูก (√) ในช่อง “ใช่” • หากยังไม่ได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติยังไม่ครบถ้วน ให้ทำ�เครื่องหมายถูก (√) ในช่อง “ไม่ใช่” วิธีการประเมินและผลการประเมิน ในการประชุม คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล ได้รว่ มกันประเมิน โดยผลการประเมินตนเองเรือ่ งการปฏิบตั ิ ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประจำ�ปี 2560 หัวข้อ ที่ทำ�การประเมินส่วนใหญ่อยู่ในช่อง “ใช่” 2. การประเมินผลงานประจำ�ปีของกรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน พิจารณาแนวทางการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของกรรมการผู้จัดการ รวมถึงกำ�หนดผลตอบแทนและโบนัส สำ�หรับการปฏิบตั งิ านประจำ�ปี โดยคำ�นึงถึงหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ต่อบริษัท • ในการประเมิ น ผลงานประจำ � ปี ข องกรรมการ ผู้จัดการ ประธานกรรมการได้ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามแนวทางของคณะกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทน โดยมีตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ

และเป้ า หมายระยะยาวของบริ ษั ท การคำ � นึ ง ถึ ง หน้ า ที่ ความรับผิดชอบ ความสำ�เร็จตามเป้าหมาย และพิจารณา สถานการณ์และสภาวะธุรกิจในขณะนั้นร่วมด้วย ซึ่งแบบ การประเมิน แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ ตัวชี้วัด การปฏิบัติงานด้านการเงิน (Financial KPI) และตัวชี้วัด การปฏิบัติงานด้านที่ไม่ใช่การเงิน (Non-Financial KPI) • ประธานกรรมการได้ประเมินผลงานประจำ�ปีของ กรรมการผูจ้ ดั การ และได้น�ำ เสนอผลการประเมินต่อทีป่ ระชุม คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อพิจารณา กำ�หนดผลตอบแทนและโบนัส และเมือ่ คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงาน ของกรรมการผู้จัดการแล้ว ได้นำ�ผลการประเมินเสนอต่อที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง นายวิ เ ชี ย ร อมรพู น ชั ย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานกิจการองค์กรและกฎหมาย ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2552 เพื่อทำ�หน้าที่เลขานุการบริษัท ตามที่กฎหมายกำ�หนด โดยคณะกรรมการบริษัทได้ส่งเสริมและ สนับสนุนให้เลขานุการบริษัทได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาความรู้ ทั้งด้านกฎหมาย การบัญชี หรือการปฏิบัติหน้าที่เลขานุการบริษัท รายละเอียดข้อมูลประวัติของเลขานุการบริษัท บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่ หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ

หลักปฏิบัติ 4 การสรรหาและพัฒนาผู้บริหารระดับสูง และการบริหารบุคลากร คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนเพื่อทำ�หน้าที่สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ให้แก่ กรรมการ และกรรมการผู้จัดการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ทั้งนี้ การกำ�หนด ค่าตอบแทนกรรมการจะต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น และเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีและแบบแสดงรายการข้อมูล ประจำ�ปี (แบบ 56-1) คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณา คัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ใ นด้านต่างๆ มีความเข้ า ใจ เพียงพอในธุรกิจของบริษทั รวมถึงเศรษฐกิจ กฎหมาย และอืน่ ๆ โดย คำ�นึงถึงความจำ�เป็นขององค์กรและการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ทัง้ นี้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะรับฟังข้อเสนอแนะ ของผู้ถือหุ้นรายย่อยซึ่งเสนอชื่อบุคคลที่ควรได้รับการเลือกตั้งเป็น กรรมการหรือกรรมการอิสระของบริษัท ซึ่งบริษัทได้เปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทกำ�หนด การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการบริษทั คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนจะเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

แต่งตั้งกรรมการและ/หรือกรรมการอิสระ กรณีตำ�แหน่งกรรมการ ว่ า งลงเพราะเหตุ อื่ น นอกจากถึ ง คราวออกตามวาระหรื อ เพื่ อ พิจารณาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งกรรมการและ/หรือ กรรมการอิ ส ระในกรณี ที่ กรรมการพ้ น ตำ � แหน่ ง ตามวาระหรื อ เลือกตั้งกรรมการใหม่เพิ่มเติม รายละเอียดหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการ บริษทั ได้เปิดเผย ไว้ที่หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ หลักเกณฑ์การสรรหาและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการอิสระ บุคคลดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติของกรรมการอิสระ ตามที่ บ ริ ษั ท กำ � หนด ซึ่ ง เป็ น ไปตามที่ กำ � หนดโดยประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รายละเอียดหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการอิสระ และ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่หัวข้อ โครงสร้างการจัดการข้อ 1. การสรรหากรรมการและ กรรมการอิสระ หลักเกณฑ์การสรรหาผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรอง บุคคลที่มีความสามารถและมีคุณสมบัติที่เหมาะสม โดยคำ�นึงถึง จริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์ เพื่อดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหาร ระดับสูง ได้แก่ กรรมการผู้จัดการ โดยมีปัจจัยเบื้องต้นที่ ใช้ ประกอบการพิจารณา ได้แก่ คุณสมบัติ ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ การทำ � งานมี แ นวคิ ด และวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการบริ ห าร จัดการในทิศทางเดียวกับคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้การดำ�เนินงาน ประสบผลสำ�เร็จลุล่วงตามเป้าหมาย โดยคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนจะเสนอชื่อบุคคลที่ได้รับการคัดเลือกต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาแต่งตั้ง ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร • คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีกรรมการอิสระเป็นประธาน ทำ�หน้าทีก่ �ำ หนดนโยบาย วิธกี าร และหลักเกณฑ์การกำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และ กรรมการผูจ้ ดั การทีเ่ ป็นธรรมสมเหตุสมผล โปร่งใส เชือ่ มโยง กับผลการดำ�เนินงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงาน ให้ อยู่ในระดับเดียวกับอุตสาหกรรมและสูงเพียงพอที่จะดูแล รักษากรรมการ • ค่าตอบแทนกรรมการกำ�หนดโดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในรูปแบบของค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน และค่าตอบแทนอื่น ซึ่งผ่านการพิจารณาและนำ�เสนอจากคณะกรรมการสรรหา และกำ � หนดค่ า ตอบแทน ในการกำ� หนดค่ า ตอบแทนจะ พิจารณาตามหลักปฏิบัติโดยทั่วไปในอุตสาหกรรม โดย พิจารณาจากประสบการณ์ทำ�งาน ความรู้ความสามารถ หน้าที่ความรับผิดชอบ รวมทั้งคุณประโยชน์ที่กรรมการ ทำ � ให้ กั บ บริ ษัท และเทียบเคียงกับ บริษัทจดทะเบีย นใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรม และธุ ร กิ จ ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น รวมถึ ง ได้ เ ที ย บเคี ย งกั บ ค่าเฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียน จากรายงานผลสำ�รวจอัตรา

107

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทจดทะเบียนของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย และบริษัทได้เปิดเผยอัตรา ค่าตอบแทนกรรมการที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2560 ซึง่ ประชุมเมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2560 และเปิดเผยค่าตอบแทนและค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ ประจำ�ปี 2560 ไว้ในรายงานประจำ�ปี รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการที่ได้รับการอนุมัติจากที่ ประชุมผู้ถือหุ้น และจำ�นวนค่าตอบแทนและค่าตอบแทน อื่นของกรรมการ ได้เปิดเผยไว้ที่ โครงสร้างการจัดการ ข้อ 9. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร การพัฒนากรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน • บริษัทให้ความสำ�คัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท โดยบริษัท มีนโยบาย ส่งเสริมให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นสนั บ สนุ น งานเลขานุ ก ารบริ ษั ท การกำ�กับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบภายใน การกำ�กับ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ให้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาจากสถาบั น ภายนอกและภายในบริษทั เพือ่ เป็นการส่งเสริม พัฒนาทักษะ เพิ่มพูนความรู้ ความสามารถอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อรองรับ การเจริญเติบโตทางธุรกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว อาทิ การเข้ารับ การอบรมหลักสูตรต่างๆ ของสมาคมส่งเสริม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย สำ � นั ก งานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เป็นต้น โดยในปี 2560 กรรมการบริษัทที่เข้าอบรมหรือสัมมนา เช่น รายชื่อกรรมการ 1. นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการ

หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา • ประชุมทบทวนแผนงานและ งบประมาณกลางปี 2560 ผูจ้ ดั บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 22 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องสุขุมวิท โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ • สัมมนา Thailand’s Eastern Economic Corridor (EEC) ผู้จัดธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 7 ตุลาคม 2560 ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน สามย่าน • สัมมนา Cyber Resilience Leadership ผู้จัด ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องภัทรรวมใจ ธนาคารแห่งประเทศไทย


108

รายงานประจำ�ปี 2560

รายชื่อกรรมการ 2. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล

3. รศ.ดร. สุปรียา ควรเดชะคุปต์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน

4. นายสรร วิเทศพงษ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล

5. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการ

6. นายวู โค-ชิน กรรมการ

7. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ

หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา • สัมมนา Thailand’s Eastern Economic Corridor (EEC) ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 7 ตุลาคม 2560 ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน สามย่าน • สัมมนา Cyber Resilience Leadership ผู้จัด ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องภัทรรวมใจ ธนาคารแห่งประเทศไทย • สัมมนา Thailand’s Eastern • Economic Corridor (EEC) ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 7 ตุลาคม 2560 ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน สามย่าน • สัมมนาประจำ�ปี 2560 “ธุรกิจในยุค แห่งความผันแปรผิด” ผูจ้ ดั บริษทั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด วันที่ 22 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องคริสตัลฮอลล์ โรงแรมพลาซ่าแอทธินี • สัมมนา Cyber Resilience Leadership ผู้จัด ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องภัทรรวมใจ ธนาคารแห่งประเทศไทย • สัมมนา Thailand’s Eastern Economic Corridor (EEC) ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 7 ตุลาคม 2560 ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน สามย่าน • ประชุมทบทวนแผนงานและงบ ประมาณกลางปี 2560 ผูจ้ ดั บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 22 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องสุขุมวิท โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ • สัมมนา Cyber Resilience Leadership ผู้จัด ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องภัทรรวมใจ ธนาคารแห่งประเทศไทย • สัมมนา Thailand’s Eastern Economic Corridor (EEC) ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 7 ตุลาคม 2560 ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน สามย่าน

รายชื่อกรรมการ 8. นายฉี ชิง-ฟู่ กรรมการ

9. นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ

หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา • สัมมนา Thailand’s Eastern Economic Corridor (EEC) ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 7 ตุลาคม 2560 ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน สามย่าน • ประชุมทบทวนแผนงานและงบ ประมาณกลางปี 2560 ผูจ้ ดั บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 22 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องสุขุมวิท โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ • สัมมนา Thailand’s Eastern Economic Corridor (EEC) ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 7 ตุลาคม 2560 ณ ห้องแมนดาริน A โรงแรมแมนดาริน สามย่าน • สัมมนา Cyber Resilience Leadership ผู้จัด ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องภัทรรวมใจ ธนาคารแห่งประเทศไทย

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ • เมื่อมีการแต่งตั้งกรรมการใหม่ บริษัทได้จัดให้มี การปฐมนิเทศกรรมการที่ ได้รับการแต่งตั้งใหม่ โดยจัดให้มี การบรรยายสรุปวิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลการดำ�เนินงาน กลยุทธ์ และเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ รวมทั้งลักษณะการประกอบ ธุ ร กิ จของบริ ษัท โดยกรรมการผู้จัดการและผู้บ ริ ห ารระดับสูง พร้ อ มจั ด ทำ � เอกสารต่ า งๆ ที่ เ ป็ น ข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ที่ ใ ช้ ใ น การศึกษาเพิ่มเติม เช่น หน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ กฎหมายและกฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การประกอบธุ ร กิ จ รายงานประจำ�ปีและข้อมูลต่างๆ ของบริษัท แผนพัฒนาเพื่อทดแทนตำ�แหน่งผู้บริหารและตำ�แหน่งสำ�คัญ • เพื่อเป็นการเตรียมองค์กรให้พร้อมสำ�หรับงานใน ตำ � แหน่ ง สำ � คั ญ ๆ ในอนาคต บริ ษั ท ได้ มี ก ารพั ฒ นา ผู้ ที่ จ ะสื บ ทอดตำ � แหน่ ง โดยการส่ ง ผู้ บ ริ ห ารเข้ า รั บ การอบรม หลั ก สู ต รสำ � หรั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง การเข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการจัดการ การมอบหมายให้เป็น ตัวแทนบริษทั ในการดำ�เนินการต่างๆ เพือ่ ให้การดำ�เนินธุรกิจเป็น ไปอย่างราบรืน่ และต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างความมัน่ ใจว่าบริษทั เตรียม ความพร้อมของบุคลากรในการดำ�รงตำ�แหน่งงานที่มีความสำ�คัญ ต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

• บริ ษั ท ได้ ทำ � โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพผู้ บ ริ ห าร (Management Development Program) เป็นการสัมมนา เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ พั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารตามแผนพั ฒ นาผู้ นำ � ใน อนาคต โดยมีการเรียนรู้ใน 4 มิติ คือ การขับเคลื่อนผลงานด้วย วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ (Visionary Leadership) การปลุกพลัง ความเป็นผู้นำ�และใช้ ให้เหมาะกับสถานการณ์ (Leadership Role & Situational Leadership) การเป็ น ผู้ นำ � การเปลีย่ นแปลง (Change Leadership) การเป็นผูน้ �ำ การบริหาร และพัฒนาคน (Management & Developing People)

หลักปฏิบัติ 5 การส่งเสริมนวัตกรรมและการประกอบ ธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ บริ ษั ท ได้ กำ � หนดจรรยาบรรณและจริ ย ธรรมขึ้ น เป็ น ลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ พนักงานและ ผู้บริหาร หรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คูแ่ ข่ง ภาครัฐ และหน่วยงานอืน่ ๆ และปฏิบตั งิ านด้วยความโปร่งใส รวมถึงสนับสนุนให้เกิดการร่วมมือระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้ เสียในการสร้างสรรค์ประโยชน์ระหว่างกันและดูแลให้มั่นใจว่าผู้มี ส่วนได้เสียได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติด้วยดี ในระหว่างปี 2560 คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติปรับปรุง จรรยาบรรณธนาคาร จริยธรรมกรรมการ และจริยธรรมพนักงานขึน้ ใหม่ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ จรรยาบรรณกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ธนาคารพาณิ ช ย์ (Banking Industry Code of Conduct) ทั้งนี้ บริษัทได้สื่อสารให้ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั รับทราบผ่านช่องทางอินทราเน็ต ของบริษัท และบรรจุเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ เพื่อให้พนักงานได้ เรียนรู้ผ่านระบบ Digital Learning รวมทั้งเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ ของบริษัท ดังนี้ หมวดที่ 1 เจตนารมณ์ จรรยาบรรณบริษัท จริยธรรมกรรมการ และจริยธรรม พนักงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นแนวทางประพฤติปฏิบัติ ที่ดีเป็นการวางมาตรฐานในการทำ�งานสำ�หรับพนักงาน ทุกระดับรวมถึงกรรมการของบริษัท บริษัทถือเป็นสถาบันการเงินที่ได้รับความไว้วางใจให้ เป็นแหล่งระดมเงินทุนของประเทศ มุ่งเน้นการประกอบ ธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ดำ�เนินการโดยให้มีความ สมดุลระหว่าง ผลประกอบการ ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้น และ ลูกค้าเป็นสำ�คัญ รวมถึงยึดหลักการของการดำ�เนินธุรกิจ อย่ า งยั่ ง ยื น คำ � นึ ง ถึ ง สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม ตลอดจน หลักมนุษยธรรม อีกทัง้ บริษทั มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะดำ�เนินการภายใต้หลักการ ที่ธำ�รงไว้ซึ่งเกียรติคุณและความน่าเชื่อถือ อำ�นวยประโยชน์ ต่อลูกค้า ดำ�เนินการธุรกิจโดยคำ�นึงถึงหลักธรรมาภิบาล ดำ�เนินการให้มีความสมดุลระหว่างบริษัทและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย โดยจรรยาบรรณบริษัท จริยธรรมกรรมการ และ จริยธรรมพนักงาน แบ่งออกเป็น 4 หมวดได้แก่ หมวดที่ 1 เจตนารมณ์

109

หมวดที่ 2 จรรยาบรรณบริษัท หมวดที่ 3 จริยธรรมกรรมการ หมวดที่ 4 จริยธรรมพนักงาน คำ�นิยาม “จรรยาบรรณบริษัท” หมายถึง ประมวลประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพสถาบัน การเงินกำ�หนด เพือ่ รักษาและส่งเสริมเกียรติคณุ ชือ่ เสียง และฐานะของการเป็นพนักงานสถาบันการเงิน “จริยธรรม” หมายถึง ข้อประพฤติปฏิบัติขั้นพื้นฐานในการควบคุม ความประพฤติทางกาย และวาจาที่พนักงานพึงยึดถือ และปฏิบัติเป็นกิจปกติในการปฏิบัติงาน “บริษัท” หมายถึง บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) “กรรมการ” หมายถึง กรรมการบริษัท “พนักงาน” หมายถึง พนักงานของบริษัท โดยรวมถึงพนักงาน ประเภทต่างๆ ได้แก่ พนักงานทดลองงาน พนักงาน ประจำ� พนักงานที่มีสัญญาจ้างพิเศษ หมวดที่ 2 จรรยาบรรณบริษัท 2. จรรยาบรรณบริษัท แบ่งออกเป็น 10 ด้าน ได้แก่ 2.1 จรรยาบรรณด้านการประกอบธุรกิจ บริ ษั ท จะดู แ ลให้ พ นั ก งานปฏิ บั ติ ตามจรรยาบรรณ ด้านการประกอบธุรกิจ ดังต่อไปนี้ 2.1.1 ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต มีคณ ุ ธรรม มีความรับผิดชอบปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตาม กฎหมาย กฎเกณฑ์ของหน่วยงานของรัฐและระเบียบ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด รวมถึงนโยบายการต่อต้าน และป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น นโยบายด้านการ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการต่อต้าน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย 2.1.2 ป้องกัน หรือหลีกเลี่ยงการกระทำ�ซึ่งอาจ นำ�มาสู่ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 2.1.3 ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ยี่ ย งผู้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ ความชำ � นาญ และ ความระมัดระวังรอบคอบ 2.1.4 เก็บรักษาความลับ และไม่ใช้ข้อมูลภายใน หรือข้อมูลอันเป็นความลับเพื่อแสวงหาประโยชน์ ใน ทางที่มิชอบแก่ตนเองหรือผู้อื่น 2.2 บทบาทของกรรมการและผูบ้ ริหาร กรรมการและผู้บริหารของบริษัทมีจิตสำ�นึกในหน้าที่ และความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ภายใต้กรอบ คุณธรรมและจริยธรรม เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดธรรมาภิบาล ทุกระดับในบริษัท ดังต่อไปนี้


110

รายงานประจำ�ปี 2560

2.2.1 กรรมการและผู้ บ ริ ห ารจะกระทำ � การ ด้วยความรอบคอบระมัดระวังในการปฏิบัติหน้าที่และ การกำ�กับดูแลกิจการ มีความซื่อสัตย์สุจริต ยุติธรรม มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีจริยธรรมในการ ดำ�เนินธุรกิจ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูม้ สี ว่ น ได้เสียภายใต้กรอบและแนวทางของหลักการตัดสินใจ ทางธุรกิจ (Business Judgment Rule) รวมทัง้ คำ�นึงถึง และรักษาผลประโยชน์ของบริษทั เป็นสำ�คัญ ด้วยความ ใส่ใจในเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ กับบริษทั หรือการดำ�เนินการ ต่างๆ ของบริษัท 2.2.2 กรรมการและผูบ้ ริหารจะดำ�รงบทบาทสำ�คัญใน การสร้างธรรมาภิบาลทีด่ ใี นบริษทั อันจะสร้างความเชือ่ มัน่ ต่อผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า หน่วยงานกำ�กับดูแล และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุ ก ฝ่ า ยเพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ บริ ษั ท ภาคอุตสาหกรรมและประเทศชาติรวมถึงจัดให้มกี ารกำ�หนด นโยบายเรือ่ งธรรมาภิบาลทีด่ ใี ห้ชดั เจนเป็นลายลักษณ์อกั ษร ตลอดจนมีการจัดทำ�จรรยาบรรณและสือ่ สารให้พนักงาน และผู้บริหารนำ�ไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 2.2.3 กรรมการจะปฏิบตั ติ ามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีและต้องเป็นผู้เชื่อมโยงระหว่างผู้ถือหุ้นกับ ฝ่ายจัดการ โดยทำ�หน้าทีก่ �ำ หนดนโยบายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการดำ�เนินธุรกิจและทิศทางการดำ�เนินงาน รวมถึงจัดให้ มีการกำ�กับควบคุมดูแลกิจการทีด่ ตี ลอดจนดูแลให้ผบู้ ริหาร ของบริษทั และฝ่ายจัดการดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ทีก่ �ำ หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2.2.4 การดำ�เนินธุรกิจของบริษทั อยูภ่ ายใต้ขอ้ บังคับ ของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับมาตรฐาน แนวปฏิบตั ิ ต่างๆ ของหน่วยงานทางการ และกฎเกณฑ์หลายด้าน ดังนัน้ กรรมการในฐานะตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ จึงจะกำ�หนด นโยบาย โดยมีผ้บู ริหารของบริษัทในฐานะฝ่ายจัดการ ทำ�หน้าทีผ่ ลักดันนโยบายให้มกี ารนำ�ไปปฏิบตั ใิ ช้ได้จริงอย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และจัดให้มรี ะบบการควบคุม ภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ กำ�กับดูแลให้บริษทั ดำ�เนินธุรกิจ อย่างถูกต้องตามกฎหมาย กฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างเคร่งครัด 2.2.5 กรรมการจะดูแลให้บริษัทมีนโยบายและ ระบบการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ รองรับ ความเสีย่ งทีส่ �ำ คัญของบริษทั รวมทัง้ ดูแลให้คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งสามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ มีความเป็นมืออาชีพ และไม่ถกู ครอบงำ�จากหน่วยงาน ที่ประกอบธุรกิจ นอกจากนั้น ผู้บริหารของบริษัทจะ ต้องทราบถึงความเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ รวมทัง้ ปกป้อง ดูแลผลประโยชน์ของบริษัทและจำ�กัดความเสียหาย ทีอ่ าจเกิดขึน้ ให้อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ภายใต้การบริหาร ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ

2.2.6 การดำ�เนินกิจการใดๆ ของกรรมการและ ผู้บริหารที่มีต่อบริษัทจะอยู่ในระดับที่เหมาะสม หรือ เป็นการทำ�ธุรกรรมในลักษณะทีเ่ ป็นธรรมเนียมทางการค้า ปกติเสมือนเป็นการทำ�ธุรกรรมกับบุคคลทัว่ ไป ทีม่ ไิ ด้มี ความเกี่ยวข้องกันเป็นพิเศษโดยมุ่งประโยชน์ต่อบริษัท เป็นหลัก หลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ท่ี อาจเกิดขึน้ หรือคาดว่าจะเกิดขึน้ และเมือ่ เกิดกรณีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ จะต้องจัดการความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์นน้ั อย่างเป็นธรรมและรวดเร็ว 2.3 มาตรฐานการให้บริการ บริษทั จะสร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่ลกู ค้าและผูม้ สี ว่ นได้เสีย โดยจัดให้มีมาตรฐาน การให้บริการ ดังต่อไปนี้ 2.3.1 มีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้ ลูกค้าและผูม้ สี ว่ นได้เสียได้รบั การบริการอย่างดี 2.3.2 มีระบบการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อ การให้บริการที่สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของทางการ ที่เกี่ยวข้อง 2.3.3 มีระบบการจัดการและบริหารควบคุม ภายในที่รอบคอบ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด ในการให้บริการ 2.3.4 มีระบบการบริหารความเสีย่ งทีส่ อดคล้อง กับธุรกิจ เพือ่ ให้บริษทั สามารถจัดการความเสีย่ งทีอ่ าจ จะเกิดขึ้นและรับมือได้อย่างเหมาะสม 2.4 พนักงานและสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน บริ ษั ท จะจั ด ให้ มี สิ่ ง อำ � นวยความสะดวกเพื่ อ ให้ การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานทุกคน เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ดังต่อไปนี้ 2.4.1 จัดให้มีสภาพแวดล้อมในการทำ�งานที่ดี และปลอดภัย พร้อมให้บริการแก่ลูกค้า 2.4.2 ให้ความสำ�คัญกับการปฏิบตั ติ อ่ พนักงาน ทุกคนอย่างเป็นธรรมและให้เกียรติ 2.4.3 ส่งเสริม สนับสนุนให้พนักงานได้รบั โอกาส ในการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำ�เสมอโดยเข้ารับการ ฝึกอบรมเป็นประจำ� 2.4.4 ให้ค่าตอบแทนที่เป็นธรรมแก่พนักงาน บนพื้นฐานของการประเมินผลงานที่เป็นธรรม 2.4.5 เก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน ไว้เป็นความลับและไม่น�ำ ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน ออกไปหาประโยชน์อื่น 2.4.6 กรณีมกี ารสอบสวนเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ าน บริษทั จะให้การดูแลพนักงานในการให้ความร่วมมือกับ หน่วยงานกำ�กับและตรวจสอบทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม 2.4.7 ไม่เลือกปฏิบตั โิ ดยอ้างเหตุความแตกต่าง ทางเพศ เชื้อชาติ อายุ ศาสนา หรือความพิการ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

2.4.8 ดูแลไม่ให้เกิดการคุกคาม โดยการแสดงออก ทางคำ�พูดหรือกิริยาท่าทางที่อาจกระทบต่อเกียรติหรือ ศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ของผูอ้ น่ื ในทีท่ �ำ งาน 2.4.9 จั ด ให้ มี ช่ อ งทางการร้ อ งเรี ย นหรื อ แจ้งเบาะแสต่างๆ อย่างเหมาะสม 2.5 ความรับผิดชอบต่อลูกค้า บริ ษั ท จะให้ ความสำ � คั ญ และปฏิ บั ติ ต่ อ ลู ก ค้ า อย่ า ง มีความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 2.5.1 จัดให้มีการเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่ เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของลูกค้า 2.5.2 จัดให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ และบริการของบริษัท โดยครอบคลุมถึงเงื่อนไขและ ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงอัตราค่าบริการและดอกเบีย้ ทีถ่ กู ต้อง ชัดเจนและทันต่อเหตุการณ์แก่ลกู ค้า เพือ่ ให้ ลูกค้าเข้าใจและมีขอ้ มูลเพียงพอแก่การตัดสินใจรวมถึง การโฆษณาประชาสัมพันธ์จะต้องสื่อสารอย่างโปร่งใส ด้วยข้อความทีช่ ดั เจนไม่ท�ำ ให้เกิดการเข้าใจผิด 2.5.3 ปกป้องรักษาข้อมูลลูกค้าเป็นความลับ เว้นแต่กรณีทไ่ี ด้รบั ความยินยอมจากลูกค้า หรือบริษทั จะ ต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมาย 2.5.4 จัดให้มกี ระบวนการรับเรือ่ งร้องเรียน และ จัดการประเด็นต่างๆ ทีล่ กู ค้าร้องเรียนอย่างชัดเจนและ เหมาะสม 2.5.5 มีการรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าอย่าง ยัง่ ยืน ไม่เรียกรับสินบน และ/หรือ ผลประโยชน์ของกำ�นัล ทรัพย์สนิ และการเลีย้ งสังสรรค์ในรูปแบบใดๆ ทีส่ อ่ ถึง เจตนาดังกล่าวเพือ่ เอือ้ ประโยชน์ตอ่ ลูกค้าอย่างไม่ถกู ต้อง 2.6 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริ ษั ท จะจั ด ให้ มี ม าตรการเพื่ อ บริ ห ารจั ด การความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการดำ�เนินธุรกิจ ดังต่อไปนี้ 2.6.1 การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน (1) จั ด ให้ มี ม าตรการควบคุ ม การซื้ อ ขาย หลักทรัพย์และให้มกี ารเปิดเผยการมีบญั ชี ซือ้ ขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานที่อาจเข้าถึงข้อมูลภายใน รวมถึงบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ป้องกันการใช้ ข้อมูลจากตำ�แหน่ง หน้าที่ หรือการปฏิบตั งิ าน เพื่อหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ืน ในทางมิชอบ (2) กำ � หนดให้ มี ก ารแบ่ ง แยกสถานที่ ก าร ปฏิบัติงานหรือการป้องกันการรัว่ ไหลของ ข้อมูลระหว่างหน่วยงานโดยจัดให้หน่วย งานที ่ปฏิบัติหน้าที่ซ่ึงอาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์แยกออกจากกัน

111

2.6.2 การทำ�ธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องและ รายการที่เกี่ยวโยงกัน (1) การเข้าทำ�รายการระหว่างบริษทั กับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และบุคคลที่ เกี่ ย วข้ อ ง ต้ อ งไม่ มี ลั ก ษณะถ่ า ยเท ผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท ไปยั ง บุ ค คล ทีเ่ กีย่ วข้อง (2) พนั ก งานบริ ษั ท ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ มีสว่ นเกีย่ วข้องกับธุรกรรมใดต้องไม่เข้าร่วม ในกระบวนการตัดสินใจพิจารณาธุรกรรมนัน้ เพือ่ ให้การตัดสินใจเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ของ บริษทั อย่างเต็มที่ (3) กำ�หนดระเบียบว่าด้วยการเข้าทำ�รายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกัน กำ�หนดกระบวนการพิจารณา อย่างรอบคอบ เพือ่ ประโยชน์ตอ่ บริษทั และ ผูถ้ อื หุน้ เป็นสำ�คัญ 2.6.3 การรับและให้ของขวัญ การรับรองและ ผลประโยชน์อน่ื ๆ (1) การรับ/ให้ของขวัญ การรับรอง และผลประโยชน์ อื่ น ๆ ของบริ ษั ท มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ ต้องดำ�เนินด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ เป็นไปอย่างสมเหตุสมผล และมีมูลค่า เหมาะสมตามกาลเทศะ ธรรมเนี ย ม จารีตประเพณี (2) ไม่ตดิ สินบน ตอบแทน เสนอให้ หรือ เรียกร้อง ผลประโยชน์ อ่ื น ใดซึ่ ง ไม่ เ หมาะสม ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมกับลูกค้า หน่วยงาน ของรัฐ เอกชน หรือบุคคลทีส่ ามเพือ่ ก่อให้ เกิดอิทธิพลต่อการใช้วิจารณญาณที่เป็น กลางในการตัดสินใจ หรือก่อให้เกิดอิทธิพล ต่อผูอ้ น่ื ต่อการกระทำ�ในหน้าที่ หรือ ทำ�ให้ ได้มาซึง่ ประโยชน์อนั ไม่สมควร 2.7 การจัดการข้อมูล บริษทั จะมีแนวทางการจัดการข้อมูลและการสือ่ สารต่างๆ ให้เหมาะสม ดังต่อไปนี้ 2.7.1 การจัดการข้อมูล (1) ปกป้อง จัดเก็บ ดูแลข้อมูลของลูกค้า รวมถึงข้อมูลของบริษัทตามที่กฎหมาย กำ�หนดให้สงวนไว้ไม่เปิดเผย โดยจะต้อง ทำ�การเก็บรวบรวม ดูแลรักษา และใช้ ข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าอย่างเหมาะสม ( 2 ) ไ ม่ เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล ข อ ง ลู ก ค้ า แ ล ะ บริษัทเว้นแต่จะได้รับความยินยอมจาก ลู ก ค้ า หรื อ เพื่ อ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง


112

รายงานประจำ�ปี 2560

2.7.2 การสื่อสาร การสื่อสาร แถลงการณ์ หรือการให้ข้อมูลใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ธุรกิจของบริษัทและลูกค้า ด้วย ความถูกต้องเหมาะสม โดยการกระทำ�ดังกล่าวต่อ สื่อมวลชน หรือสื่อใดๆ นั้น จะกระทำ�โดยบุคคลซึ่งได้ รับมอบหมายให้ทำ�หน้าที่ให้ข้อมูลในนามของบริษัท เท่านั้น 2.8 การกำ�กับดูแลโดยรวม บริษัทจะดำ�เนินธุรกิจให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง ตามกรอบของกฎหมายกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้อง นโยบาย และระเบียบปฏิบตั ขิ องบริษทั รวมถึงหลักธรรมาภิบาล ดังต่อไปนี้ 2.8.1 จัดให้พนักงานมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ กฎหมายและกฎเกณฑ์รวมทั้งตระหนักถึงความเสี่ยง ของการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ซึง่ อาจส่งผลกระทบ ต่อการดำ�เนินธุรกิจ ภาพลักษณ์ และชื่อเสียงของ บริษัทรวมถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงานเอง 2.8.2 จัดให้มีหน่วยงานเพื่อทำ�หน้าที่กำ�กับดูแล การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ซึ่งสามารถทำ� หน้าที่ ได้โดยอิสระจากการบริหารจัดการของบริษัท รวมถึงมีการจัดสรรบุคลากรและทรัพยากรต่างๆ ให้กบั หน่วยงานดังกล่าวอย่างเหมาะสมและเพียงพอ 2.8.3 จัดให้มีการกำ�กับดูแลเพื่อสอบทานการ ปฏิบัติตามกฎหมายกฎเกณฑ์ของหน่วยงานทางการ ทีเ่ กีย่ วข้อง นโยบายและระเบียบปฏิบตั ขิ องบริษทั อย่าง สม่�ำ เสมอ โดยให้มกี ารบริหารจัดการ พร้อมทัง้ แนวทาง แก้ ไ ขและมาตรการป้ อ งกั น ภายใต้ กรอบกฎหมาย กฎเกณฑ์ หลักธรรมาภิบาล นโยบายและระเบียบ ปฏิบัติของบริษัท 2.8.4 จั ด ให้ มี การดำ� เนิ น การทางวิ นั ย กั บ ผู้ ที่ ไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ตามความเหมาะสม ของผลกระทบและลักษณะของการกระทำ�ความผิดและ เป็นธรรมกับทุกฝ่ายโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ 2.8.5 จัดให้มีช่องทางต่างๆ ในการแจ้งเบาะแส หรือรายงานข้อสงสัยเกี่ยวกับความซื่อสัตย์หรือการ ปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 2.9 การแข่งขันทางการค้าและการระงับข้อพิพาท เพือ่ ให้ระบบการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ดำ�เนินไปอย่าง มีประสิทธิภาพและยั่งยืน บริษัทควรปฏิบัติดังต่อไปนี้ 2.9.1 บริษัทจะดำ�เนินธุรกิจเป็นไปอย่างเสรีและ แข่งขันอย่างเป็นธรรม โดยไม่มกี ารตกลงร่วมกันระหว่าง บริษทั ในการกำ�หนดราคาซือ้ ราคาขาย หรือเงือ่ นไขใน การให้บริการที่ไม่เป็นธรรมต่อลูกค้า 2.9.2 บริษัทจะเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็น ประโยชน์และคุม้ ค่าแก่ลกู ค้า ให้ลกู ค้าสามารถเลือกใช้ บริการได้อย่างเสรีและต้องไม่ขดั ขวางลูกค้าในการเปลีย่ น ไปใช้บริการกับบริษทั อืน่ จนเกินพอดี

2.9.3 บริษทั จะไม่กล่าวโจมตีคแู่ ข่ง หรือกระทำ�การใดๆ อันเป็นการผูกขาดหรือ ลดการแข่งขัน หรือจำ�กัดการ แข่งขันในตลาด 2.9.4 หากมีข้อพิพาทเกิดขึ้น บริษัทจะจัดให้มี กระบวนการทีเ่ หมาะสมในการระงับ หรือไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท 2.10 สังคมและสิง่ แวดล้อม บริษทั ยึดมัน่ ในการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ระมัดระวังในการพิจารณา ดำ�เนินการใดๆ ในเรื่องที่กระทบต่อความรู้สึกของ สาธารณชน และส่งเสริมพนักงานให้มีจิตสำ�นึกและ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม หมวดที่ 3 จริยธรรมกรรมการ เนื่องจากคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญ ในฐานะผู้นำ�ที่จ ะนำ�พาบริษัทไปสู่ความสำ�เร็จ โดยเป็ น ผู้กำ�หนดแนวนโยบายและชี้นำ�พฤติกรรมของบุคลากรใน บริษัทไปในทิศทางที่ถูกต้อง ดังนั้นคณะกรรมการจึงยึด หลั ก การและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ดั ง ต่ อ ไปนี้ ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ กรรมการที่ดีภายใต้กรอบคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อเป็น แบบอย่างทีด่ สี �ำ หรับผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับของบริษทั 3. จริยธรรมกรรมการ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ดังต่อไปนี้ 3.1 หน้าทีจ่ ดั การกิจการ 3.1.1 กำ�กับดูแลการดำ�เนินกิจการของบริษัท ให้เป็นไปโดยไม่เสีย่ งต่อความมัน่ คงของบริษทั จนเกินควร 3.1.2 ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส มีคณุ ธรรมและยุตธิ รรม เพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ ในการตัดสินใจ และกระทำ�การใดๆ มีการคำ�นึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของ บริษทั และจะไม่เลือกปฏิบตั หิ รือละเว้นปฏิบตั กิ บั บุคคลใด บุคคลหนึง่ เป็นการเฉพาะโดยยึดหลักความเสมอภาค 3.1.3 ปฏิบัติหน้าที่อย่างมืออาชีพ ด้วยความรู้ ความชำ�นาญ ความมุ่งมั่นและด้วยความระมัดระวัง รวมถึงมีการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในการจัดการ บริษทั อย่างเต็มความรูค้ วามสามารถ 3.1.4 ไม่หาประโยชน์สว่ นตนและผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง โดย นำ�สารสนเทศภายในทีย่ งั ไม่เปิดเผยหรือทีเ่ ป็นความลับ ไปใช้หรือนำ�ไปเปิดเผยกับบุคคลภายนอกหรือกระทำ�การ อันก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ทง้ั โดยเจตนา และไม่เจตนาต่อบุคคลทีส่ าม และจะไม่ใช้ขอ้ มูลที่ได้รบั จากตำ�แหน่งหน้าทีก่ ารงานเพือ่ ผลประโยชน์ทางการเงิน ส่วนตน และจะไม่ใช้ขอ้ มูลนัน้ เพือ่ ประโยชน์ทางการเงิน ของผูอ้ น่ื 3.1.5 กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ให้เป็น ไปตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กฎระเบียบและแนวนโยบาย ของทางการ รวมทั้งกำ�กับดูแลมิให้มีการปิดบังข้อมูล ที่เป็นข้อเท็จจริง และจัดให้มีการรายงานสารสนเทศ ทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และสม่�ำ เสมอ 3.1.6 ดำ�เนินการตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

3.2 ความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้น ลูกค้า เจ้าหนี้และคู่ค้า และพนักงาน 3.2.1 กรรมการมีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เช่น ในเรื่องเกี่ยวกับการเปิดเผยสารสนเทศ วิธีการปฏิบัติ ทางบัญชี การใช้สารสนเทศภายใน และความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ 3.2.2 ปกป้องผลประโยชน์ของลูกค้าตลอดเวลา เอาใจใส่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบสู ง สุ ด ต่ อ ลู ก ค้ า เกี่ ย วกั บ การให้บริการ นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ทด่ี ี มีคณ ุ ภาพ และ ดูแลรักษามาตรฐานนัน้ 3.2.3 ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาของ การแข่งขันทีด่ ี ไม่ท�ำ ลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้า รวมทั้งไม่แสวงหาข้อมูลของคู่แข่งทางการค้าอย่างไม่ สุจริตและ ไม่เป็นธรรม 3.2.4 ดูแลให้มีความเท่าเทียมกันในโอกาสของ การจ้างงานและหลักการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน และทำ�ให้ม่ันใจได้ว่าพนักงานมีความรู้ความชำ�นาญ ทีจ่ �ำ เป็นสำ�หรับการดำ�เนินงานในธุรกิจ 3.3 ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม 3.3.1 ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม 3.3.2 ร ะ มั ด ร ะ วั ง แ ล ะ เ อ า ใ จ ใ ส่ ใ น ก า ร ดำ�เนินการใดๆที่จะมีผลกระทบต่อสาธารณชน 3.3.3 ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานมี จิ ต สำ � นึ ก และ ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม หมวดที่ 4 จริยธรรมพนักงาน 4. จริยธรรมพนักงาน แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ดังต่อไปนี้ 4.1 ความซือ่ สัตย์ สุจริต และหลักคุณธรรม (Integrity) ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นคุณสมบัติพื้นฐานที่สำ�คัญของ เจ้าหน้าที่และผู้บริหารทุกระดับของบริษัท เจ้าหน้าที่และ ผู้บริหารทุกระดับมีโอกาสให้คุณให้โทษกับลูกค้า มีโอกาส สร้างความเสียหายแก่ลูกค้า เพื่อนร่วมงาน ผู้ถือหุ้น และ ระบบการเงิน ตลอดจนสังคมโดยส่วนรวม ดังนั้นเพื่อให้ ลูกค้า ผูถ้ อื หุน้ และผูก้ �ำ กับดูแลให้ความไว้วางใจและเชือ่ ถือ พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ แ ละผู้ บ ริ ห ารทุ ก คนจะต้ อ งมี ค วาม ซื่อสัตย์สุจริต จิตใจมั่นคงและมีคุณธรรม ปฏิบัติหน้าที่ โดยยุติธรรม ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง ไม่เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนตน ต้องยึดถือความสบายใจและประโยชน์ของลูกค้า ตลอดจนประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ก. ข้อพึงปฏิบัติสำ�หรับผู้ควบคุมการปฏิบัติงานและ ผู้บริหารของบริษัท (1) ต้องเข้าใจถึงความสำ�คัญของจรรยาบรรณใน การประกอบวิชาชีพการเงิน ซึ่งต้องยึดถือ ความซือ่ สัตย์สจุ ริตเป็นลำ�ดับแรก (2) เป็นผู้ประสานถ่ายทอดนโยบายจากทางการ และผูถ้ อื หุน้ ให้ผเู้ กีย่ วข้องเข้าใจ และนำ�ไปปฏิบตั ิ (3) ต้องเป็นผูน้ �ำ โดยปฏิบตั ติ นเป็นตัวอย่างทีด่ ี

113

(4) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานเห็นความ สำ � คั ญ และคุ ณ งามความดี ใ นการปฏิ บั ติ หน้าที่โดยสุจริต ยุติธรรม โดยการให้ความ รูค้ วามเข้าใจ ให้ค�ำ ชมเชย และ/หรือรางวัล แก่เจ้าหน้าที่และผู้บริหารที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจ และ มีคณุ ธรรมต่อทุกๆ คนที่ ติดต่อเกีย่ วข้อง (5) สร้างความไว้วางใจ ความน่าเชื่อถือ และ ความสบายใจให้ลูกค้า โดยชี้แจงให้เห็นถึง ผลเสีย ความไม่ถูกต้อง และผลกระทบที่ จะเกิดขึน้ จากการให้อามิสสินจ้าง รางวัลหรือ ผลประโยชน์อ่นื ใดอันมิพึงได้ให้แก่เจ้าหน้าที่ และผูบ้ ริหาร ข. ข้อพึงปฏิบัติสำ�หรับพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ของบริษัท (1) ความซื่อสัตย์ สุจริต เป็นพื้นฐานหลักของ การสร้ า งความน่ า เชื่ อ ถื อ ความมั่ น ใจ ให้แก่ลกู ค้าเพือ่ ความสำ�เร็จในการประกอบธุรกิจ และพัฒนาไปสูจ่ รรยาบรรณทีส่ งู ขึน้ ต่อไป (2) ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตในหน้าที่ และรักษาผลประโยชน์ของบริษทั เสมือนหนึง่ เป็นธุรกิจของตนเอง (3) ให้บริการแก่ลูกค้าโดยมีวัตถุประสงค์ว่าเพื่อ ให้ลูกค้าบรรลุผลประโยชน์สูงสุดบนพื้นฐาน ของความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และถู ก ต้ อ งตาม กฎหมาย (4) ไม่ ใ ห้ ความสำ � คั ญ ต่ อ ผลประโยชน์ ส่ว นตั ว เหนือความรับผิดชอบที่มีต่อบริษัท และไม่ แสวงหาผลประโยชน์หรือเบียดบังทรัพย์สิน ซึง่ ควรเป็นของบริษทั หรือลูกค้าของบริษทั (5) ไม่น�ำ ข้อมูลโครงการของลูกค้าไปเผยแพร่แก่ บุคคลอืน่ หรือนำ�ไปทำ�ธุรกิจแข่งกับลูกค้า (6) ซื่อ สั ต ย์ สุจ ริ ต ต่ อ ลู ก ค้ า และไม่ อาศั ย ความ ไว้วางใจของลูกค้ากระทำ�การ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ประโยชน์กบั ตน (7) หลีกเลีย่ งการรับของกำ�นัลมีคา่ หรือของขวัญ หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ หรือ ไม่เหมาะสมที่จะ ปฏิเสธให้คำ�นึงเสมอว่าสิ่งของนั้นรับไว้เพื่อ บริษัทในฐานะเป็นผู้ให้บริการ และไม่ยึดถือ เอาไว้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน (8) ไม่ อ าศั ย หน้ า ที่ ก ารงานเพื่ อ หาประโยชน์ ส่วนตัว และไม่ยินยอมให้ผู้อ่ืนนำ�ชื่อตนไป หาผลประโยชน์ (9) ไม่ เ รี ย กรั บ หรื อ รั บ ทรั พ ย์ อ่ื น ใดจากลู ก ค้ า นอกเหนือจากค่าใช้จา่ ยและค่าธรรมเนียมซึง่ บริษทั เรียกเก็บ (10) อนุ มัติสิน เชื่อ ตามขอบเขตอำ � นาจที่ ไ ด้ รับ มอบหมายและรักษาไว้ซง่ึ ระเบียบของบริษทั


114

รายงานประจำ�ปี 2560

(11) เอาใจใส่ ค วบคุ ม ดู แ ลและติ ด ตามการให้ สินเชื่อให้เป็นไปตามข้อตกลงและจะต้องไม่ ปกปิดเมือ่ เกิดปัญหา (12) วิ เ คราะห์ สิน เชื่อ ด้ ว ยความสุ ขุม รอบคอบ ภายใต้ขอ้ มูลทีเ่ ชือ่ ถือได้ และจะต้องไม่รายงาน ข้อความอันเป็นเท็จ (13) วิ เ คราะห์ สิ น เชื่ อ โดยปราศจากอคติ แ ละ มีแนวความคิดเชิงเสมอภาค โดยยึดถือว่า ธุ ร กิ จ ของบริ ษัท และธุ ร กิ จ ของลู ก ค้ า ต้ อ ง พึง่ พากัน และมีผลประโยชน์รว่ มกัน (14) ต้ อ งไม่ ใ ห้ ความหวั ง แก่ ลูก ค้ า หรื อ คำ �มั่น ในเรือ่ งหนึง่ เรือ่ งใดโดยทีต่ นเอง ไม่มอี �ำ นาจ ทีจ่ ะกระทำ�การนัน้ ได้ (15) พยายามแก้ไขปัญหาของลูกค้าและพร้อม ทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือเท่าทีก่ ารนัน้ ไม่ขดั กับ ผลประโยชน์หรือทำ�ให้เกิดความเสียหายแก่บริษทั (16) เมื่อได้รับมอบเงินจากลูกค้าเพื่อชำ�ระให้กับ บริษัท จะต้องรีบนำ�ส่งและส่งมอบใบเสร็จ รับเงินให้แก่ลกู ค้าโดยพลัน 4.2 การรักษาความลับภายในบริษทั (Confidentiality) ในกิจการของบริษทั การเก็บความลับ หมายถึง การรักษา ข้อมูลสำ�คัญทุกชนิดของบริษัท ตลอดจนข้อมูลของ ลูกค้า ข้อมูลสำ�คัญเหล่านี้รวมถึง • ข้อมูลทางการเงิน บัญชี ชื่อและที่อยู่ของลูกค้า • ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินของบริษัท • ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารระบบภายในของบริษัท ซึ่งรวมถึงสถิติตัวเลขและรายงานต่างๆ • ข้อมูลพนักงานของบริษัททั้งอดีตและปัจจุบัน • ข้อมูลเกี่ยวกับคู่ค้าของบริษัท • ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อธุรกิจกับทางรัฐบาลหรือ ตัวแทน การรักษาความลับภายในบริษัท และของลูกค้าเป็น สิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับธุรกิจการเงินและการบริษัท ซึ่งประกอบด้วยบริษัทที่ทำ�ธุรกิจต่อเนื่องกัน บางครั้ง เนื่ องจากลัก ษณะของงานทำ�ให้รู้ความลับ ของลูกค้า ซึ่งถ้าหากนำ�มาเปิดเผยอาจจะเป็นผลเสียต่อลูกค้าหรือ ผูอ้ นื่ ดังนัน้ จึงเห็นควรกำ�หนดให้มหี ลักในการปฏิบตั ิ เพือ่ ที่จะเป็นแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดการเสื่อมเสียชื่อเสียง หรือความเสียหายต่อบริษัทที่พนักงานสังกัดอยู่ หรือต่อ ลูกค้าและสาธารณชน ก. ข้อพึงปฏิบัติสำ�หรับผู้ควบคุมการปฏิบัติงานและ ผู้บริหารของบริษัท (1) รับแนวทางและข้อกำ�หนดจากหน่วยประสานงาน และควบคุ ม จรรยาบรรณของธุ ร กิ จ การ เพือ่ นำ�มาประยุกต์ใช้กบั แนวทางและนโยบาย ของบริษทั โดยกำ�หนดขึน้ เป็นข้อปฏิบตั ขิ องบริษทั

(2) ผูค้ วบคุมการปฏิบตั งิ าน พึงสร้างสภาพแวดล้อม ในบริษัทเพื่อเอื้ออำ�นวยในการป้องกันข้อมูล อันเป็นความลับ (3) จัดตัง้ หน่วยงานในบริษทั เพือ่ ควบคุมการปฏิบตั ิ ของพนักงานให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดในการ รักษาข้อมูลอันเป็นความลับ (4) หลังจากทีพ่ นักงานทุกคนรับทราบถึงข้อปฏิบตั ิ ผูค้ วบคุมและผูบ้ ริหารมีหน้าทีใ่ ห้ค�ำ ปรึกษากับ พนักงาน ในกรณีท่มี ีข้อติดขัดรวมทั้งรับฟัง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพนักงาน ซึง่ ผูค้ วบคุมและผูบ้ ริหารจะนำ�กลับไปพิจารณา แก้ไขข้อปฏิบตั ิให้เหมาะสมกับการปฏิบตั งิ าน ของบริษทั ต่อไป ข. ข้อพึงปฏิบัติสำ�หรับพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ของบริษัท (1) การรั ก ษาความลั บ ของบริ ษั ท และลู ก ค้ า เป็นหลักการพื้นฐานในการดำ�เนินธุรกิจของ บริษทั พนักงานเจ้าหน้าทีบ่ ริษทั จะต้องรักษา ความลับของลูกค้า และต้องไม่เปิดเผยข้อมูล ของบริษทั ทีย่ งั มิได้มกี ารเปิดเผยต่อสาธารณะ เว้นแต่ได้รบั การอนุญาตจากลูกค้า หรือเป็นไป ตามกฎหมาย หรื อ ได้ รั บ การอนุ มั ติ จ าก ผูบ้ ริหารระดับสูง (2) พนักงานเจ้าหน้าทีบ่ ริษทั ต้องไม่น�ำ ข้อมูลที่ได้ รับหรือจัดทำ�ขึน้ จากหน้าทีก่ ารงานในบริษทั ไป ใช้ในทางทีก่ อ่ ให้เกิดผลประโยชน์สว่ นตนหรือ บุคคลอืน่ ใด (3) พนักงานเจ้าหน้าที่บริษัทจะต้องรับทราบถึง ข้อปฏิบัติท่ผี ้คู วบคุมและผู้บริหารกำ�หนดไว้ ถ้ามีขอ้ ติดขัดหรือมีความคิดเห็นและข้อเสนอ แนะประการใดก็ปรึกษาหารือกับผู้ควบคุม และผูบ้ ริหาร เพือ่ แก้ไขข้อปฏิบตั ใิ ห้เหมาะสม กับการปฏิบตั งิ านของบริษทั ต่อไป (4) พนักงานเจ้าหน้าทีบ่ ริษทั จะต้องรักษาความลับ และข้อมูลต่างๆ ของลูกค้าอย่างเคร่งครัด และ ไม่น�ำ ข้อมูลของลูกค้าไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน (5) ในบางกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่บริษัทไม่พึง เปิดเผยข้อมูลของลูกค้าให้พนักงานภายใน บริษทั หรือให้ฝา่ ยอืน่ ทราบ เนือ่ งจากอาจเกิด การขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) (6) พนั ก งานที่ มี ห น้ า ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ข้ อ มู ล ส่วนบุคคลของพนักงาน ซึง่ หมายความรวมถึง ข้อมูลเกี่ยวกับรายได้และผลประโยชน์ จะ สามารถเปิดเผยข้อมูลให้บุคคลภายในหรือ ภายนอกบริษทั เพือ่ ใช้งานได้เมือ่ มีความจำ�เป็น อย่างยิ่งเท่านั้น โดยต้องใช้ความระมัดระวัง อย่างยิ่ง และจะต้องรักษาความลับอย่ า ง เคร่งครัด


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

(7) พนักงานเจ้าหน้าทีบ่ ริษทั ไม่พงึ นำ�เรือ่ งส่วนตัว หรือข้อมูลของลูกค้าตลอดจนผู้ร่วมงานไป วิพากษ์วจิ ารณ์ในทางเสือ่ มเสีย ค. ข้อยกเว้น ในบางกรณี บริษทั อาจจะเปิดเผยข้อมูลความลับได้ตอ่ เมือ่ • มีกฎหมายบังคับให้กระทำ�การดังกล่าว เช่น หมายศาล • ถ้าเป็นความรับผิดชอบ หรือความผูกพันทีม่ ตี อ่ สังคม • เมื่อได้รับการร้องขอเป็นกรณีพิเศษ ซึ่งต้องได้รับ ความเห็นชอบจากลูกค้าเป็นลายลักษณ์อักษร 4.3 จริยธรรมวิชาชีพ (Professional Ethics) เพือ่ เป็นการสร้างสามัญสำ�นึกของผูบ้ ริหาร และพนักงาน เจ้าหน้าที่ทุกระดับของบริษัทให้ประพฤติอยู่ ในกรอบ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ หมาะสมโดยให้ คำ � นึ ง ถึ ง หลั ก คุ ณ ธรรม จริยธรรม และความยุตธิ รรมอันจะส่งผลให้เกิดภาพพจน์ ที่ดีต่อธุรกิจบริษัทโดยรวม ก. ข้อพึงปฏิบัติสำ�หรับผู้ควบคุมการปฏิบัติงานและ ผู้บริหารบริษัท (1) กำ�หนดแนวทางหรือคูม่ อื ปฏิบตั งิ านในด้านต่างๆ ให้รดั กุมชัดเจน เพือ่ กำ�หนดมาตรฐานในการทำ� ธุรกิจให้สอดคล้องกับหลักคุณธรรม จริยธรรม และความยุตธิ รรม (2) ควบคุ ม ดู แ ลการปฏิ บัติง านของพนั ก งาน เจ้าหน้าที่ในบังคับบัญชาของตน และ/หรือ ในหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับหน้าทีข่ องตน เพือ่ ให้ เป็นไปตามแนวทางทีบ่ ริษทั กำ�หนดไว้ (3) ผูบ้ ริหารพึงวางตนและปฏิบตั ติ นเป็นตัวอย่าง ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าทีท่ กุ ระดับ (4) ผู้บริหารจะต้องพัฒนาพนักงานเจ้าหน้าที่ บริษัทให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่อง ผลิตภัณฑ์และการบริการของบริษทั ตามที่ได้ รับอนุญาต เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อลูกค้า (5) จะไม่จูงใจลูกค้าให้มาใช้ผลิตภัณฑ์หรือการ บริการของบริษัทด้วยการโฆษณาชวนเชื่อ หลอกลวง หรือให้ขอ้ มูลทีเ่ กินไปจากความเป็นจริง อันเป็นเหตุท�ำ ให้ลกู ค้าเกิดความเข้าใจผิด ข. ข้อพึงปฎิบัติสำ�หรับพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ของบริษัท (1) มีทศั นคติทด่ี ี และมีความภักดีตอ่ บริษทั (2) ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรูค้ วามสามารถอย่างดีมี ประสิทธิภาพ และได้มาตรฐานตามทีพ่ งึ มีใน ตำ�แหน่งหน้าทีก่ ารงานด้วยความเอาใจใส่และมี ความรับผิดชอบ (3) ให้ขอ้ มูลสำ�คัญต่างๆ ทีล่ กู ค้าพึงได้รบั เกีย่ วกับ สิทธิประโยชน์ และเงือ่ นไขต่างๆ ตามความเป็นจริง ครบถ้วน และชัดเจน

(4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11)

115

ละเว้นพฤติกรรมทีเ่ สือ่ มเสีย อาทิเช่น อบายมุข ยาเสพติด การพนันทุกประเภท การมีหนีส้ นิ ล้นพ้นตัว และการผิดต่อศีลธรรมอันดี อันอาจ มีผลเสียต่อภาพพจน์ของตนเอง และบริษทั ปฏิบัติต่อลูกค้าทุกรายด้วยความเสมอภาค มีความซือ่ สัตย์สจุ ริต และมีอธั ยาศัยทีด่ อี ยูเ่ สมอ ให้ความร่วมมือและส่งเสริมกิจกรรมทีจ่ ะนำ�มา ซึง่ ความเข้าใจอันดีระหว่างกันในทุกระดับ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และมาตรฐาน ต่างๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจบริษัทแต่ละประเภท อย่างเคร่งครัด จัดให้มีข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าอย่างเพียงพอ เพื่อประโยชน์ ในการปฏิบัติงานและการให้ บริการลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ จัดการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความ มัน่ คงทางการเงินและฐานะทีด่ อี ย่างเพียงพอ โดยให้มน่ั ใจได้วา่ จะไม่กอ่ ให้เกิดความเสียหาย ต่อลูกค้าและต่อสาธารณชน แข่ ง ขั น กั บ ผู้ อ่ื น หรื อ บริ ษั ท อื่ น ภายใต้ กฎระเบียบและข้อบังคับทีก่ �ำ หนดไว้ โดยไม่ ตำ�หนิตเิ ตียนหรือกล่าวร้ายแก่ผอู้ น่ื วางตนให้เหมาะสมในฐานะตัวแทนของบริษทั ต่อบุคคลภายนอก

4.4 การปฏิบตั ติ อ่ สังคม (Service to Community) การดำ�เนินธุรกิจบริษัทมิได้จำ�กัดอยู่เพียงในแวดวงของ เพื่อนร่วมอาชีพ อุตสาหกรรมบริษัทและลูกค้าเท่านั้น ในฐานะที่เป็นบุคคลและนิติบุคคลในสังคมของประเทศ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการเงินการบริษทั พึงมีจติ สำ�นึกและ ความตระหนักของการอำ�นวยประโยชน์ตอ่ สังคม ทัง้ ทาง ด้านการดำ�เนินธุรกิจหรือส่วนตัว ก. ข้อพึงปฏิบัติสำ�หรับผู้ควบคุมการปฏิบัติงานและ ผู้บริหารของบริษัท (1) รั บ แนวทางและข้ อ กำ � หนดจากหน่ ว ย ประสานงาน หรือควบคุมจรรยาบรรณของ ธุรกิจการบริษทั เพือ่ นำ�มาเป็นแนวทางกำ�หนด นโยบาย ของบริษทั ให้เหมาะสมกับฐานะสภาพ แวดล้อมของบริษทั (2) ผูบ้ ริหารพึงปฏิบตั ติ นเป็นตัวอย่างและจูงใจให้ สมาชิกของบริษทั เกิดสำ�นึกในการปฏิบตั ติ อ่ สังคม (3) กำ�หนดวัตถุประสงค์ของการดำ�เนินธุรกิจให้ อำ�นวยประโยชน์ตอ่ สังคม และ พึงระวังมิให้การ ดำ�เนินธุรกิจใดๆ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสังคม (4) สนับสนุนและปฏิบตั ติ ามนโยบายของรัฐและให้ ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของส่วนราชการ


116

รายงานประจำ�ปี 2560

ข. ข้อพึงปฏิบัติสำ�หรับพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ของบริษัท (1) ปฏิบัติตามนโยบายหรือข้อกำ�หนดเกี่ยวกับ ขอบเขตการปฏิบตั ติ อ่ สังคมที่ บริษทั กำ�หนดไว้ อย่างเคร่งครัด (2) เข้ามีสว่ นร่วมกิจกรรมสังคมและบริษทั ชุมชน ต่างๆ โดยให้ความร่วมมือ ความช่วยเหลือตาม สมควรแก่ฐานะและโอกาสทีเ่ หมาะสม (3) อนุ รัก ษ์ แ ละจรรโลงไว้ ซ่ึง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม อันดีงามของชาติ (4) ไม่ให้ความร่วมมือหรือสนับสนุนกิจการใดๆ ที่ ก่อให้เกิดผลเสียต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม (5) ไม่ให้ความร่วมมือหรือสนับสนุนกิจการใดๆ ทีม่ ี วัตถุประสงค์อนั เป็นภัยต่อศีลธรรมอันดีงามหรือ เป็นการส่งเสริมอบายมุข นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืน บริษทั ตระหนักถึงการดำ�เนินธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบ ต่อสังคมซึ่งจะทำ�ให้ธุรกิจมีความยั่งยืน โดยให้ความสำ�คัญ ต่อการดูแลผู้มสี ่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ ตลอดจน มีธรรมาภิบาล การดำ�เนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่ ง ใสและยุ ติ ธ รรม ตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบทางลบต่ อ เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทจึงกำ�หนดนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืนเป็น ลายลักษณ์อักษร ตามแนวทางของสถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility institute) สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยบริษัทเล็งเห็นถึง ความสำ�คัญของคำ�ว่า “การพึ่งพิง” เนื่องจากทุกธุรกิจล้วน มี ป ระชาชนหรื อ คนในสั ง คมเป็ น กลุ่ ม เป้ า หมายหลั ก ใน การนำ�เสนอสินค้าและบริการ ดังนั้นไม่ว่าองค์กรธุรกิจจะ พัฒนาองค์กรไปในทิศทางใดก็ย่อมต้องมีคนในสังคมเป็น ผู้ ส นั บ สนุ น ซึ่ ง การกำ� หนดนโยบายและแนวทางปฏิ บั ติ ดังกล่าวจะเป็นแนวทางให้บุคลากรในองค์กรยึดถือปฏิบัติ ทั้ ง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมในกระบวนการหลั ก ของ การดำ�เนินธุรกิจ (CSR-in-Process) และนอกกระบวนการหลัก ของการดำ�เนินธุรกิจ (CSR-after-Process) และมุ่งเน้นให้ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับเข้ามามีส่วนร่วม มีจิตอาสา เพื่อปลูกฝังให้มีจิตสำ�นึกในความรับผิดชอบต่อสังคม นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืน ประกอบด้วยหลักการและแนวปฏิบัติเพื่อให้ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับยึดถือเป็น แนวทางในการปฏิบัติ 9 ด้าน ดังนี้ 1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม 3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน

5. 6. 7. 8. 9.

การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม การจัดการสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำ�เนินงาน ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม

นโยบายความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานทีท่ �ำ งาน บริษทั กำ�หนดนโยบายความปลอดภัยและสุขอนามัยใน สถานทีท่ �ำ งาน และจัดตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีว อนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำ�งาน เพื่อเป็นกลไกในการ ขับเคลื่อนนโยบายให้บรรลุผลสำ�เร็จ การปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเป็นธรรม บริษัทมีระบบค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม และมีการจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เพื่อให้พนักงานมี คุณภาพชีวิตที่ดี บริษัทไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนและระมัดระวังดำ�เนิน การใดๆ ที่กระทบต่อความรู้สึกของสาธารณชน การปฏิบัติต่อคู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ อย่างเป็นธรรม บริ ษั ท ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ฏิ บั ติ ต่ อ คู่ ค้ า คู่ แ ข่ ง เจ้ า หนี้ อย่างเป็นธรรม ทั้งในด้านต้นทุนและผลตอบแทน เช่น การ จัดซื้อ การจัดจ้าง การกำ�หนดระยะเวลาส่งมอบที่เพียงพอ สัญญาการค้าที่ไม่เอารัดเอาเปรียบ และไม่เข้าไปเกี่ยวข้อง กับกิจกรรมใดๆ อันเป็นการละเมิดทรัพย์สินและการละเมิด ทรัพย์สินทางปัญญา รวมทั้งการชำ�ระค่าการใช้ หรือการได้ มาซึ่งทรัพย์สินอย่างเป็นธรรมและตรงเวลา การเปิ ด เผยการปฏิ บั ติ ต ามนโยบายและการจั ด ทำ � รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั เปิดเผยการปฎิบตั ติ ามนโยบายความรับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี และเว็บไซต์ ของบริษัท รวมถึงส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพนักงานใน การปฏิบัติตามนโยบายเพื่อปลูกฝังจิตสำ�นึกกับการรับผิด ชอบต่อสังคม บริษัทจัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคมเปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี และเว็บไซต์ ของบริษัท หลักปฏิบตั ิ 6 การดูแลให้มรี ะบบการบริหารความเสีย่ ง และการควบคุมภายในที่เหมาะสม การดู แ ลด้ า นการควบคุ ม ภายในบริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ ฝ่ายตรวจสอบและสำ�นักกำ�กับธนาคารของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้ดูแลและรายงานการปฎิบัติงานที่ เกี่ยวกับการควบคุมภายในต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท อย่างสม่�ำ เสมอโดยมีนายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการบริษทั เป็น ผู้ดูแลและประสานงานระหว่างบริษัทกับฝ่ายตรวจสอบ และสำ�นัก กำ�กับธนาคาร ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการ เงิน ซึ่งได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด บริษทั ดูแลให้บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการ เงินดังกล่าวมีข้อบังคับในเรื่องการทำ�รายการเกี่ยวโยงกัน มีการ รายงานผลการดำ�เนินงาน มีการบริหารธุรกิจทีเ่ ป็นไปตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี มีการจัดเก็บข้อมูลและการบันทึกบัญชีทเี่ ป็น ไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน คณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานของบริ ษั ท ใน กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ได้ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบและข้อ บังคับที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มั่นใจว่าได้ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิด ชอบ โปร่งใส และปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน มีการ บริหารจัดการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริ ษั ท ส่ ง เสริ ม และให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การควบคุมภายในของบริษทั ในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบ เพือ่ ให้ มัน่ ใจว่าบริษทั มีระบบการควบคุมภายในอย่างเพียงพอและเหมาะสม ที่จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ในการดำ�เนินธุรกิจที่กำ�หนดไว้ ภายใต้การกำ�กับดูแลและการควบคุมภายในที่ดี ได้แก่ - สภาพแวดล้อม - การควบคุมภายในองค์กร - การประเมินความเสี่ยง - กิจกรรม การควบคุมการปฎิบตั งิ านระบบสารสนเทศและ การสื่อสารข้อมูล - ระบบการติดตามและประเมินผล

117

การรับแจ้งข้อมูลหรือข้อร้องเรียน บริษัทจัดให้มีช่องทางที่หลากหลายในการให้ผู้มีส่วนได้เสีย สามารถแสดงความคิดเห็น ร้องเรียน หรือเสนอเรื่องสำ�คัญอื่นๆ ได้โดยตรงต่อกรรมการอิสระ และให้เลขานุการบริษัท ดูแลงาน นักลงทุนสัมพันธ์ รับผิดชอบการรับความคิดเห็น ข้อร้องเรียน ต่างๆ จากผู้ถือหุ้นและนักลงทุน และคัดกรองและรายงานเรื่อง ที่มีความสำ�คัญไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำ�เนินการแก้ไข และ/หรื อ รายงานไปยั ง คณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อ พิ จารณา ตามความเหมาะสม โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานไปยัง คณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ การร้องเรียนผ่านกรรมการอิสระ บริษัทมีช่องทางให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ลูกค้า และบุคคล ทั่วไปสามารถร้องเรียนผ่านกรรมการอิสระของบริษัทซึ่งมีจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่ นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการตรวจสอบ Email : adulv@lhbank.co.th โทรศัพท์ 08 1834 0104 รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ กรรมการตรวจสอบ Email : supriyak@lhbank.co.th โทรศัพท์ 08 5901 5888 นายสรร วิเทศพงษ์ กรรมการตรวจสอบ Email : sunv@lhbank.co.th โทรศัพท์ 09 8262 4549 การร้องเรียนผ่านเว็บไซต์ของบริษัทที่ www.lhfg.co.th การร้องเรียนผ่าน Email ที่ presidentoffice@lhbank.co.th

บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (Role of Stakeholders) บริษัทให้ความสำ�คัญและคำ�นึงถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุม่ ไม่กระทำ�การใดๆ ทีเ่ ป็นการละเมิดสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสีย และ การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำ�คัญกับการบริหารความเสีย่ ง ส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบระหว่างบริษทั กับผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ทั่วทั้งองค์กร โดยกระบวนการบริหารความเสี่ยงประกอบด้วย การกำ�หนดนโยบายการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย ขั้นตอนหลักๆ คือ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง บริ ษัท เป็ น บริ ษัท แม่ ข องกลุ่ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ซึ่ง เป็ น การติดตามและควบคุมความเสีย่ ง และการรายงานความเสีย่ ง และ มีการพิจารณาทบทวนความเพียงพอของระบบการบริหารความเสีย่ ง สถาบั น การเงิ น ที่ไ ด้ รับ ความไว้ วางใจให้ เ ป็ น แหล่ ง ระดมเงิ น ทุ น ของประเทศ บริ ษั ท จึ ง มี ห น้ า ที่ ป กป้ อ งผลประโยชน์ ข อง และประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยงอย่างสม่ำ�เสมอ ประชาชนผู้ฝ ากเงิ น และผลประโยชน์ ข องลู ก ค้ า ที่ม าใช้ บ ริ การ บริ ษั ท จะต้ อ งรั ก ษาไว้ ซ่ึง ชื่อ เสี ย ง เกี ย รติ ป ระวั ติแ ละภาพพจน์ นโยบายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส บริษัทได้กำ�หนดนโยบายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส เพื่อให้ อั น ดี ใ นการเป็ น บริ ษั ท ที่ มี คุ ณ ภาพ ยึ ด มั่ น ความโปร่ ง ใส ความคุ้มครองผู้ที่ ให้ความร่วมมือกับบริษัทในการแจ้งเบาะแส ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบอันเป็นการสร้างความเชื่อมั่น เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าการกระทำ�ดังกล่าวจะไม่ทำ�ให้ผู้แจ้งได้ ต่อผูล้ งทุนในระบบสถาบันการเงินและปลูกฝังจิตสำ�นึกในการปฏิบตั งิ าน รับความเดือดร้อนหรือเสียหายหรือไม่ได้รับความเป็นธรรม เพื่อ อย่างมีจริยธรรม รวมทั้งยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ เป็นการคุม้ ครองสิทธิของผูร้ อ้ งเรียนและให้ขอ้ มูล บริษทั จะปกปิด ตามภารกิจของบริษัทด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม ข้อมูลผู้แจ้งเบาะแส หรือ ผู้ให้ข้อมูลและเก็บข้อมูลเป็นความลับ ทัง้ การปฏิบตั ติ อ่ บริษทั ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ สาธารณชนและสังคม โดยจำ�กัดให้มีการรับรู้เฉพาะผู้ท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบ และหากพบ ว่ามีการนำ�ข้อมูลดังกล่าวไปใช้ผิดวัตถุประสงค์หรือเปิดเผยโดย ไม่เหมาะสมจะถือว่ากระทำ�ผิดวินัยของบริษัท


118

รายงานประจำ�ปี 2560

การมีส่วนได้เสียของกรรมการ บริ ษั ท กำ � หนดให้ กรรมการ ผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด หรื อ ผู้ ดำ � รง ตำ�แหน่งระดับบริหาร 4 รายแรกนับต่อจากผู้บริหารสูงสุดลงมา และผู้ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารรายที่ 4 ทุกราย รวมถึง ผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งสูงกว่าหรือเทียบเท่าผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องรายงานการถือ ครองหลักทรัพย์ของบริษัทต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ภายใน 30 วันนับจากวันทีด่ �ำ รงตำ�แหน่ง และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ภายใน 3 วัน ทำ�การนับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ กรรมการและผู้บริหารจะต้องนำ�ส่งรายงาน การมีสว่ นได้เสียของตนหรือบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันกับผูบ้ ริหารบริษทั หรือบริษัทย่อยให้เป็นไปตามระเบียบของบริษัทเพื่อให้สอดคล้อง กับกฎเกณฑ์ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงการดำ�เนินธุรกิจที่ต้อง สร้างความน่าเชื่อถือ ความไว้วางใจ และคำ�นึงถึงประโยชน์ของ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ รวมถึงการปกป้องผลประโยชน์ มิให้เกิดความเสียหายและส่งผลกระทบต่อชือ่ เสียงและภาพลักษณ์ ของบริษัท โดยนโยบายการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน มีดังนี้

แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ จึงกำ�หนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. กำ�หนดมาตรการป้องกันไม่ให้มีการใช้ข้อมูลไปใช้ใน ทางมิชอบ 2. กำ�หนดระเบียบปฏิบัติป้องกันการมีพฤติกรรมที่อาจ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 3. กำ � หนดมาตรการติ ด ตาม ควบคุ ม และตรวจสอบ การปฏิบัติตามมาตรการ • บริ ษั ท มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล การทำ � รายการที่ อ าจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตาม หลั ก เกณฑ์ ที่ สำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนกำ�หนด โดย เปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และ รายงานประจำ�ปี และเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันต่อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลรายการ ระหว่างกันในหมายเหตุประกอบงบการเงิน อนึ่ง ในปี 2560 บริษัทไม่มีการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันที่ เข้าข่ายต้องเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย • ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษัท หรื อ การประชุ ม ผู้ถือ หุ้น ได้ กำ� หนดให้ กรรมการบริ ษัท ผู้บ ริ ห าร หรื อ ผู้ถือ หุ้น ที่มีส่ว นได้ เ สี ย ในวาระใดให้ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ย วกั บ ส่ ว นได้ เ สี ย ของตนและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องให้ทป่ี ระชุมทราบโดยไม่ชกั ช้าและไม่มสี ทิ ธิออก เสียงในวาระดังกล่าวเพือ่ ให้ทป่ี ระชุมสามารถพิจารณาธุรกรรมทีอ่ าจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์และสามารถตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์ของ บริษทั และต้องไม่รว่ มพิจารณาในเรือ่ งนัน้ และมีการบันทึกการมีสว่ นได้เสีย ดังกล่าวไว้ในมติของเรือ่ งนัน้ ๆ ในรายงานการประชุม • กรรมการท่ า นใดหรื อ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ มี ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ กรรมการ ท่ า นนั้ น ไม่ มี อำ � นาจอนุ มั ติ ก ารดำ � เนิ น การกั บ บริ ษั ท หรื อ บริษัทย่อยตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด • กร ร ม กา ร บ ริ ษั ท มี ห น้ า ที่ ร า ย ง า น กา ร ซื้ อ ข า ย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละการเปลี่ ย นแปลงการถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท

หลักการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 1. การทำ�ธุรกรรมของบริษทั จะต้องขจัดปัญหาความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ อ ย่ า งรอบคอบมี เ หตุ ผ ล และเป็ น อิ ส ระ ภายในกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อประโยชน์ของบริษัท ผู้ถือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกกลุ่ม (Stakeholder) เป็นสำ�คัญ จึงกำ�หนดให้ กรรมการ ผู้บริหารที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับการทำ�ธุรกรรม ของบริษัท จะต้องไม่มีส่วนร่วมในการพิจารณาหรืออนุมัติธุรกรรม ดังกล่าว 2. การทำ � ธุ ร กรรมระหว่ า งบริ ษั ท และบริ ษั ท ใน กลุ่มธุรทางการเงินเดียวกัน จะต้องมีเงื่อนไขหรือข้อกำ�หนดที่เป็น ปกติเหมือนกับการทำ�ธุรกรรมกับบุคคลทั่วไปที่มีความเสี่ยงใน ระดับเดียวกัน และเป็นไปตามนโยบาย ระเบียบ หลักเกณฑ์และ ที่กฎหมายกำ�หนด 3. การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน และการทำ�ธุรกรรมกับ • นโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ กิจการที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลจะต้อง บริษทั กำ�หนดนโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ เพือ่ ให้กรรมการ เป็นไปตามระเบียบ หลักเกณฑ์ และที่กฎหมายกำ�หนด 4. กรรมการ ผู้บริหาร จะต้องปฏิบัติตามนโยบายการดูแล และพนักงานรับรูถ้ งึ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการต่อต้านการทุจริต ประกอบธุรกิจตามหลักคุณธรรม จริยรรมและดำ�เนินธุรกิจด้วยหลัก การใช้ข้อมูลภายในที่กำ�หนดอย่างเคร่งครัด 5. กรรมการ ผู้บริหาร ต้องเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ การทำ�ธุรกรรม กับบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินเดียวกันอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ เพือ่ ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือการพิจารณา อนุมตั กิ ารทำ�ธุรกรรมของบริษทั หรือบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เดียวกัน 6. การซื้อขายหลักทรัพย์ต้องเป็นไปตามระเบียบว่าด้วย การซื้อขายหลักทรัพย์ที่ทางการกำ�หนด


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

หลักปฏิบัติ 7 การรักษาความน่าเชื่อถือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูล บริษัทให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญของบริษัท ทั้ ง ข้ อ มู ล ทางการเงิ น และข้ อ มู ล ที่ มิ ใ ช่ ข้ อ มู ล ทางการเงิ น ให้ มี ความครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางทีเ่ ข้าถึงข้อมูลได้งา่ ย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชื่อถือ • บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของบริษัทต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุนและสาธารณชนทั่วไป อย่างถูกต้องครบถ้วน ทั่วถึง และ ทันเวลาและเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้ความร่วมมือต่อองค์กรที่กำ�กับดูแล โดยรายงานข้อมูล อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา • บริษัทเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่สำ�คัญของบริษัทต่อผู้ถือหุ้น ผู้ ล งทุ น และสาธารณชนทั่ ว ไป ด้ ว ยความโปร่ ง ใส ถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งเป็น ไปตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ผ่านช่องทางต่างๆ ที่สะดวกต่อการค้นหา สามารถ เข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย และเท่าเทียมกัน และปรับปรุงข้อมูลเป็น ปัจจุบันอยู่เสมอ ดังนี้ 1. เว็บไซต์ของบริษัท (www.lhfg.co.th) ซึ่งมี 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ข่าวประชาสัมพันธ์บริษัท 3. การจัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ 4. การจัดแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน และการส่งข่าวให้ แก่สื่อมวลชน 5. ช่ อ งทางการเปิด เผยข้อ มูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยเผยแพร่ขอ้ มูล อาทิ งบการเงินของบริษทั การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ รายงานประจำ�ปี แบบแสดงรายงานข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) เอกสาร แจ้งมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เอกสารแจ้งมติทปี่ ระชุม ผู้ถือหุ้น และข่าวสารอื่นๆ 6. เว็บไซต์ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ โดยเผยแพร่ข้อมูล อาทิ ข้อมูลแบบ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของผู้บริหาร (แบบ 59-2) ข้อมูลรายชือ่ กรรมการและผูบ้ ริหาร งบการเงิน รายงานประจำ�ปี และแบบแสดงรายงานข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) เป็นต้น 7. การจัดส่งหนังสือให้แก่ผู้ถือหุ้นทางไปรษณีย์ 8. การประกาศข้อมูลทางหนังสือพิมพ์ • คณะกรรมการบริ ษัท ให้ ความสำ � คั ญ ในด้ า นคุ ณ ภาพ งบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินทีส่ �ำ คัญอย่างเพียงพอ โดยเปิดเผยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึ่งงบการเงินได้ผ่านการสอบทาน หรือผ่านการตรวจสอบจาก ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ก่อนเปิดเผย

119

นอกจากนี้ บริษัทได้เปิดเผยงบการเงินรายไตรมาสก่อน การสอบทาน และก่อนการตรวจสอบ และรายงานการเปิดเผย ข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุน (Pillar III) ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับทราบข้อมูลและรับทราบการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นกับฐานะการเงินซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุนและ บุคคลทั่วไป • คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มกี ารรายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่ อ งบการเงิ น ของบริ ษั ท และสารสนเทศ ทางการเงิน โดยแสดงควบคูก่ ับรายงานของผูส้ อบบัญชีในรายงาน ประจำ�ปี งบการเงินของบริษัทได้จัดทำ�ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติ อย่างสม่ำ�เสมอ • บริษทั ได้เผยแพร่รายงานประจำ�ปี 2559 ภายใน 120 วัน นั บ ตั้ ง แต่ วั น สิ้ น สุ ด รอบปี บั ญ ชี โดยเผยแพร่ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข อง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2560 และ ผ่านเว็บไซต์ของบริษัท • บริ ษั ท ได้ เ ผยแพร่ ร ายงานการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปี 2560 ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั เมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม 2560 พร้อมแจ้งข่าวผ่านช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย บริษัทมีช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลและติดต่อสื่อสาร ดังนี้ ที่ อ ยู่ : เลขที่ 1 อาคารคิ ว เฮ้ า ส์ ลุ ม พิ นี ชั้ น 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : 0 2359 0000 ต่อ 2019, 2020, 2021, 2024 โทรสาร : 0 2677 7223 อีเมล์ : presidentoffice@lhbank.co.th เว็บไซต์ : www.lhfg.co.th การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและกำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี รวมถึงการกำ�หนดค่าตอบแทนของ ผู้ ส อบบั ญ ชี ใ นแต่ ล ะปี คณะกรรมการตรวจสอบจะพิ จ ารณา คุ ณ สมบั ติ แ ละการปฏิ บั ติ ง านของผู้ ส อบบั ญ ชี เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ รายชื่อบริษัทผู้สอบบัญชีที่จะเสนอเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็น ผู้สอบบัญชีของบริษัทจะต้องได้รับความเห็นชอบจากธนาคาร แห่งประเทศไทยและได้เปิดเผยไว้ ในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี บริษทั มีนโยบายใช้บริษทั ผูส้ อบบัญชีรายเดียวกับทุกบริษทั ใน กลุ่มธุรกิจทางการเงินบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งปัจจุบันได้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2560 เปรียบเทียบกับ ปี 2559 ของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ดังนี้


120

รายงานประจำ�ปี 2560

1. ค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษัทจ่ายค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีและค่าตรวจสอบอื่นๆ ให้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ 1.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2560 และ 2559 ค่าตอบแทนการสอบบัญชี (บาท) การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (ลดลง) ขอบเขตงาน 2560 2559 จำ�นวน (บาท) ร้อยละ 1. ค่าธรรมเนียมการสอบทาน สำ�หรับ - ไตรมาสที่หนึ่ง สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 130,000 130,000 - ไตรมาสที่สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 130,000 130,000 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบ สำ�หรับ - งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 295,000 270,000 25,000 9.26 - งวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 295,000 270,000 25,000 9.26 รวมทั้งสิ้น 850,000 800,000 50,000 6.25 1.2 ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มี2. ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทย่อย 2.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีและค่าตรวจสอบอื่นๆ ให้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ 2.1.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2560 และ 2559 ค่าตอบแทนการสอบบัญชี (บาท) การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (ลดลง) ขอบเขตงาน 2560 2559 จำ�นวน (บาท) ร้อยละ 1. ค่าธรรมเนียมการสอบทาน - ไตรมาสที่หนึ่ง สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 660,000 650,000 10,000 1.54 - ไตรมาสที่สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 660,000 650,000 10,000 1.54 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบ - งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 1,480,000 1,400,000 80,000 5.71 - งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 1,480,000 1,400,000 80,000 5.71 3. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบเป็นกรณีพิเศษตาม ข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย - การประเมินระบบการให้บริการโอนเงินทาง 220,000 220,000 อิเล็กทรอนิกส์ 4,320,000(1) 180,000 4.17 รวมทั้งสิ้น 4,500,000(1) หมายเหตุ (1) ค่าธรรมเนียมดังกล่าวยังไม่รวมค่าธรรมเนียมการสอบทานผลประโยชน์พนักงานทีส่ อบทาน โดยผูเ้ ชีย่ วชาญด้านคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึง่ จะเรียกเก็บจากธนาคารตาม ค่าใช้จา่ ยจริงทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ ประมาณไว้ไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี และค่าธรรมเนียมจากการสอบทานหรือตรวจสอบเพือ่ รายงานต่อผูส้ อบบัญชีของ CTBC Bank

2.1.2 ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มี-


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

121

2.2 บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีและค่าตรวจสอบอื่นๆ ให้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ 2.2.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2560 และ 2559 ค่าตอบแทนการสอบบัญชี (บาท) ขอบเขตงาน 2560 2559 1. ค่าธรรมเนียมการสอบทานสำ�หรับ - ไตรมาสที่หนึ่ง สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 40,000 35,000 - ไตรมาสที่สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 40,000 35,000 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบสำ�หรับ - งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 310,000 180,000 - งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 310,000 180,000 รวมทั้งสิ้น 700,000 430,000

การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวน (บาท) ร้อยละ 5,000 5,000

14.28 14.28

130,000 130,000 270,000

72.22 72.22 62.79

2.2.2 ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มี2.3 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัทจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีและค่าตรวจสอบอื่นๆ ให้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ 2.3.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2560 และ 2559 ค่าตอบแทนการสอบบัญชี (บาท) ขอบเขตงาน 2560 2559 1. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบงบการเงินสำ�หรับ - ไตรมาสที่หนึ่ง สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 20,000 16,000 - ไตรมาสที่สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 20,000 16,000 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบการเงินสำ�หรับ - งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 215,000 174,000 - งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 215,000 174,000 รวมทั้งสิ้น 470,000 380,000 2.3.2 ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มี-

การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวน (บาท) ร้อยละ 4,000 4,000

25.00 25.00

41,000 41,000 90,000

23.56 23.56 23.68


122

รายงานประจำ�ปี 2560

• บริษทั จัดทำ�รายงานต่างๆ เพือ่ เผยแพร่ตอ่ สาธารณชน บนพื้นฐานของความเป็นธรรมและง่ายต่อการเข้าใจ โดยมีการ อธิบายถึงผลการดำ�เนินงานและเหตุการณ์ส�ำ คัญในรอบปีให้ผถู้ อื หุน้ ได้ รั บ ทราบ และมี ก ารประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบ การควบคุมภายใน ซึง่ ประเมินโดยฝ่ายตรวจสอบของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท โดยมี คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทเป็นผู้สอบทาน • คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ทำ�หน้าทีส่ อบทานรายงานทางการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อยให้ มีการจัดทำ�อย่างถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและ เปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ • บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล รายงานคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน และรายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ใน รายงานประจำ�ปีและแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และได้เปิดเผยรายชื่อและอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย จำ�นวนครั้งของการประชุม จำ�นวนครั้ง ทีก่ รรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุม ค่าตอบแทนกรรมการ รวมถึง ข้อมูลกรรมการ ผู้บริหาร และข้อมูลของบริษัทในรายงานประจำ�ปี และบนเว็บไซต์ของบริษัท • บริ ษั ท แจ้ ง รายละเอี ย ดการประชุ ม และเอกสาร การประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยจัดทำ�เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และ เปิดเผยให้นักลงทุนทราบล่วงหน้าก่อนการประชุม โดยแจ้งผ่าน ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผ่านเว็บไซต์ของบริษทั เพือ่ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุน้ มีเวลาศึกษา ข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอ นอกจากนี้ บริษทั ได้ลงประกาศบอกกล่าวการนัดประชุมผู้ถือหุ้นทางหนังสือพิมพ์ เป็นเวลา 3 วันติดต่อกันล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน โดยรายละเอียดวาระการประชุมระบุชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอ เพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา รวมทั้งความเห็นของ คณะกรรมการในเรื่องดังกล่าว • บริษัทแจ้งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นผ่านช่องทางการเปิดเผย ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทันทีภายในวันประชุม หรือช่วงเวลาก่อนเปิดการซื้อขายหลักทรัพย์รอบเช้าอย่างน้อย 1 ชั่วโมงของวันทำ�การถัดไป เพื่อให้นักลงทุนทราบโดยทั่วกันและ จั ด ทำ � รายงานการประชุ ม ที่ มี ส าระสำ � คั ญ ครบถ้ ว น ซึ่ ง บริ ษั ท จะเผยแพร่รายงานการประชุมในเว็บไซต์ของบริษัทและนำ�ส่ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายใน 14 วันนับจากวันประชุม ผู้ถือหุ้น การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2560 บริษัทได้แจ้งมติ ที่ประชุมผ่านช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในวันประชุม และเผยแพร่รายงานการประชุม สามัญ ผู้ถือหุ้น ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2560 ซึ่งสอดคล้องกับระยะ เวลาที่กำ�หนด งานนักลงทุนสัมพันธ์ บริษทั มอบหมายให้เลขานุการบริษทั ทำ�หน้าทีน่ กั ลงทุนสัมพันธ์ เพื่อ ทำ � หน้ า ที่เ ผยแพร่ ข้อ มู ล ของบริ ษัท ทั้ง ข้ อ มู ล ทางการเงิ น และข้อมูลทั่วไปให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์

และหน่วยงานกำ�กับดูแลที่เกี่ยวข้องผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์ของบริษัทในหัวข้อ “นักลงทุนสัมพันธ์” เพื่อให้ผู้สนใจสามารถศึกษาข้อมูลได้โดย สะดวก นอกจากนี้ ได้จัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่และชี้แจงข้อมูล รวมถึงเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมซักถามข้อมูลอย่างโปร่งใส โดยมีผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมการชี้แจง ในปี 2560 บริษัทได้ จัดกิจกรรมเกี่ยวกับงานนักลงทุนสัมพันธ์ ดังนี้ 1. จั ด กิ จ กรรม Analyst Meeting จำ � นวน 1 ครั้ ง มี นั กวิ เ คราะห์ จากบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ ต่ า งๆ เข้ า ร่ ว ม ประมาณ 32 รายต่อครั้ง 2. การเข้าพบเพื่อให้ข้อมูลแบบตัวต่อตัว (One-on-One Meeting) จำ�นวน 8 ครั้ง 3. การจัดแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน (Press Conference) จำ�นวน 1 ครั้ง มีสื่อมวลชนเข้าร่วมประมาณ 30-40 สื่อต่อครั้ง 4. การส่งข่าวให้สอื่ มวลชน การสัมภาษณ์ผบู้ ริหารระดับสูง จำ�นวนหลายครั้ง หลั ก ปฏิ บั ติ 8 การสนั บ สนุ น การมี ส่ ว นร่ ว มและ การสื่อสารกับผู้ถือหุ้น สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of Shareholders) ไม่กระทำ�การใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือริดรอนสิทธิของ ผู้ถือหุ้น และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกรายได้ใช้สิทธิพื้นฐานตามที่ กฎหมายกำ�หนด 1. การคุ้มครองสิทธิของผู้ถือหุ้น • บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญของสิทธิข้นั พื้นฐาน ต่ า งๆ ของผู้ ถื อ หุ้ น โดยการรั ก ษาสิ ท ธิ แ ละ ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มอย่างเสมอภาค และส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก กลุ่ ม ใช้ สิ ท ธิ ข องตน รวมถึ ง ผู้ ถื อ หุ้ น สถาบั น โดยครอบคลุ ม สิ ท ธิ ขั้นพื้นฐานตามกฎหมาย ได้แก่ สิทธิในการซื้อขาย หรือ โอนหลักทรัพย์ที่ตนถืออยู่ สิทธิในการมีส่วน แบ่งในกำ�ไรของบริษัท สิทธิในการรับเงินปันผล


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

สิทธิในการมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าประชุมและ ออกเสียงลงคะแนนแทน สิทธิในการเข้าร่วมประชุม ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ใช้สทิ ธิออกเสียงใทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ แต่ ง ตั้ ง และถอดถอนกรรมการ การกำ � หนด ค่าตอบแทนกรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและ กำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี สิทธิในการแสดง ความคิดเห็นและซักถามในการประชุมผูถ้ อื หุน้ และ สิทธิทจี่ ะได้รบั สารสนเทศอย่างเพียงพอและทันเวลา ผ่านช่องทางที่เข้าถึงได้ง่ายและในเวลาที่เหมาะสม คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสีย ภายใน ได้ แ ก่ กรรมการบริ ษั ท ผู้ บ ริ ห ารและ พนักงานของบริษัทหรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก บริษัท ได้แก่ ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่ม คู่แข่ง ภาครัฐ และ หน่วยงานอืน่ ๆ โดยบริษทั มีนโยบายในการปฏิบตั งิ าน ทีม่ คี วามโปร่งใส มีการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี รวมถึง สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งบริ ษั ท กั บ ผูม้ สี ว่ นได้เสียในการสร้างสรรค์ประโยชน์ระหว่างกัน และดูแลให้มนั่ ใจว่าผูม้ สี ว่ นได้เสียได้รบั การคุม้ ครอง และปฏิบัติด้วยดี คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผย ข้อมูลและข่าวสารทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และ โปร่งใส โดยเปิดเผยบนเว็บไซต์ของบริษัท ได้แก่ www.lhfg.co.th เพื่ อ ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม ได้รบั ทราบอย่างทัว่ ถึง ซึง่ มี 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย และภาษาอั ง กฤษ สามารถเข้ า ถึ ง ได้ ง่ า ย เช่ น รายงานงบการเงิน การวิเคราะห์และคำ�อธิบาย ของฝ่ายจัดการ จดหมายข่าวถึงผู้ถือหุ้น กิจกรรม เพื่ อ สั ง คม แบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจำ � ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) หนังสือ เชิญประชุมผู้ถือหุ้น และกิจกรรมต่างๆ ของบริษัท บริษัทส่งเสริมให้ผ้ถู ือหุ้นใช้สิทธิของตนอย่างเต็มที่ โดยการอำ � นวยความสะดวกและจั ด หาช่ อ งทาง ให้ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิ ในการเข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนได้อย่างเต็มที่ ไม่ยุ่งยาก และไม่ กระทำ � การที่ จ ะเป็ น การจำ � กั ด โอกาสใน การเข้ า ร่ ว มประชุ ม และออกเสี ย งลงมติ แ ละมี วิธีการให้ผู้ถือหุ้นออกเสียงลงคะแนนที่มีขั้นตอน ไม่ยงุ่ ยาก เช่น การให้ขอ้ มูลสำ�คัญผ่านเว็บไซต์ของ บริษทั การมอบหมายให้เลขานุการบริษทั ทำ�หน้าที่ ติดต่อสื่อสารกับผู้ถือหุ้นโดยตรง การเปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นเสนอวาระการประชุมผู้ถือหุ้นและเสนอ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการ และ การอำ�นวยความสะดวกในการเข้าประชุมผู้ถือหุ้น เป็นต้น บริษัทได้เผยแพร่มติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 ซึ่งมี มติกำ�หนดให้จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี

123

2560 ในวันที่ 24 เมษายน 2560 โดยได้แจ้งวาระ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นทั้งฉบับภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ผ่านช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 และเปิดเผยเอกสารการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ ผู้ถือหุ้นทราบผ่านช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และในเว็บไซต์ ของบริษัทตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2560 2. การประชุมผู้ถือหุ้น • ก่อนประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เพือ่ เป็นการส่งเสริมและ สนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ทุกกลุม่ รวมถึงผูถ้ อื หุน้ ประเภท สถาบั น ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การเข้ า ร่ ว มประชุ ม บริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นใน รูปแบบหนังสือ โดยจัดส่งพร้อมรายงานประจำ�ปี ในรูปแบบ CD-ROM ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นตามที่กฎหมายกำ�หนด ซึ่ง หนังสือเชิญประชุมได้ระบุวัน เวลา สถานที่ประชุม เอกสารประกอบการประชุมในแต่ละวาระ ข้อบังคับ บริษทั เกีย่ วกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ หนังสือมอบฉันทะ ตามแบบที่กระทรวงพาณิช ย์กำ�หนด พร้ อมทั้ ง แผนที่สถานที่จัดประชุม โดยแนบไปกับหนังสือ เชิญประชุม กรณีต้องการมอบฉันทะสามารถใช้ หนังสือมอบฉันทะที่แนบไปกับหนังสือเชิญประชุม และสามารถระบุความเห็นในการลงคะแนนเสียงได้ ระเบียบวาระการประชุมจะระบุชัดเจนว่าเป็นเรื่อง เสนอเพื่อรับทราบ หรือเพื่อพิจารณาอนุมัติ พร้อม ด้วยข้อเท็จจริง เหตุผล ความเห็นที่เพียงพอและ ชัดเจนของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ชุดย่อยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ถือหุ้นประกอบการ พิจารณาตัดสินใจใช้สิทธิออกเสียง และได้เปิดเผย ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั (www.lhfg.co.th) ล่วงหน้า 30 วันก่อนวันประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบ ข้อมูล และมีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุม ล่วงหน้าอย่างเพียงพอ ซึ่งเป็นข้อมูลเดียวกับที่ บริษัทจัดส่งให้ผู้ถือหุ้นในรูปแบบเอกสาร บริษัทได้ประกาศคำ�บอกกล่าวเรียกประชุม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ร ายวั น ฉบั บ ภาษาไทยติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน และก่อนวัน ประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน รวมทั้งได้ส่งหนังสือเชิญ ประชุมและเอกสารประกอบการประชุมฉบับภาษา อังกฤษเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นต่างชาติ และ เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทพร้อมกับหนังสือ เชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุมฉบับ ภาษาไทย • ในการจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ นอกจากการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปีซึ่งต้องจัดภายใน 4 เดือนนับแต่ วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีแล้ว คณะกรรมการบริษัท


124

รายงานประจำ�ปี 2560

อาจเรียกประชุมวิสามัญในวัน เวลา และสถานที่ที่ คณะกรรมการกำ�หนด นอกจากนี้ผู้ถือหุ้นซึ่งมีหุ้น นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำ�นวนหุ้นที่ จำ�หน่ายได้ทง้ั หมดหรือผูถ้ อื หุน้ ไม่นอ้ ยกว่า 25 คน ซึง่ มีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำ�นวน หุ้นที่จำ�หน่ายได้ทั้งหมดอาจเข้าชื่อกันทำ�หนังสือ ให้ ค ณะกรรมการเรี ย กประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น การ ประชุมวิสามัญได้ และหนังสือร้องขอจะต้องระบุถงึ วัตถุประสงค์ของการเรียกประชุมไว้ให้ชัดเจนเมื่อ มีคำ�ร้องขอเช่นว่านั้นคณะกรรมการจะต้องกำ�หนด วัน เวลา และสถานที่ที่จะประชุมไม่ช้ากว่า 1 เดือน นับจากวันที่ได้รับหนังสือร้องขอ • บริษทั สนับสนุนและส่งเสริมให้ผถ้ ู อื หุน้ ทุกกลุม่ รวมถึง ผู้ถือหุ้นประเภทสถาบันเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น เนื่องจากผู้ถือหุ้นมีสิทธิในความเป็นเจ้าของบริษัท ผ่านการแต่งตัง้ กรรมการบริษทั ให้ท�ำ หน้าทีแ่ ทนตน และมีสิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ที่สำ�คัญของบริษัท • บริ ษั ท คำ � นึ ง ถึ ง สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ตามแนวทาง การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยปฏิบัติตามแนวทาง การประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้น (AGM Checklist) ของสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย

3. การดำ�เนินการในวันประชุมผู้ถือหุ้น • บริ ษั ท ได้ จั ด ทำ � แบบฟอร์ ม การลงทะเบี ย นโดย แนบไปพร้อมกับหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อ อำ�นวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในการลงทะเบียน เข้าร่วมประชุม • บริ ษัท ได้ดำ�เนิน การเพื่อ ให้ผู้ถือ หุ้น ที่จะเข้าร่วม ประชุ ม ได้ รั บ ความสะดวกและรวดเร็ ว ซึ่ ง เริ่ ม ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมข้อมูลผู้เข้าร่วมประชุม การลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม การประมวลผล การลงคะแนนรายวาระ และการรายงานสรุปผล การประชุมผู้ถือหุ้น • ในวั น ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถลง ทะเบี ย นเข้ า ร่ ว มประชุ ม ได้ ล่ ว งหน้ า ก่ อ นเวลา ประชุมประมาณ 2 ชั่วโมง โดยบริษัทได้อำ�นวย

ความสะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ ก่อนการประชุม อาทิ จัดเตรียม สถานทีแ่ ละเจ้าหน้าทีต่ อ้ นรับ เพือ่ ให้การลงทะเบียน เข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะ สะดวกรวดเร็ว • บริษัทได้นำ�ระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประชุม ผู้ถือหุ้น เพื่อให้การประชุมดำ�เนินไปอย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ� เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วมประชุม ได้รับความสะดวก ตั้งแต่ขั้นตอนการลงทะเบียน เข้ า ร่ ว มประชุ ม การจั ด พิ ม พ์ บั ต รลงคะแนน การประมวลผลการลงคะแนนตามรายวาระ และ การรายงานสรุปผลการประชุมผู้ถือหุ้น • บริษทั จัดให้มเี จ้าหน้าทีต่ รวจสอบการนับคะแนนเสียง ตลอดการประชุม การเข้าประชุมผู้ถือหุ้น • บริษทั จัดให้มเี จ้าหน้าทีต่ รวจสอบเอกสารของผูถ้ อื หุน้ หรือผู้รับมอบฉันทะที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุม ตามที่ ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมเพื่อรักษาสิทธิและ ความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และผูถ้ อื หุน้ สามารถ ลงทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้าได้ก่อนการประชุม อย่างเพียงพอและได้อำ�นวยความสะดวกให้ผ้ถู ือหุ้น โดยบริ ษั ท ได้ นำ � ระบบคอมพิ ว เตอร์ ม าใช้ ใ นการ ลงทะเบียนพร้อมทัง้ จัดพิมพ์บตั รลงคะแนนในแต่ละ วาระให้ผู้ถือหุ้น ทำ�ให้การลงทะเบียนเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย รวดเร็วและถูกต้อง • ในระหว่างการประชุม ผูถ้ อื หุน้ สามารถลงทะเบียน เข้าร่วมประชุมเพื่อใช้สิทธิออกเสียงในวาระที่ยังไม่ ได้ลงคะแนนได้ • การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2560 บริษัท ได้เสนอชื่อกรรมการอิสระพร้อมประวัติให้ผ้ถู ือหุ้น พิจารณามอบฉันทะจำ�นวน 2 ท่าน ได้แก่ ประธาน กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน และได้แนบหนังสือมอบฉันทะ แบบ ข. และแบบ ค. ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถกำ�หนด ทิ ศ ทางการลงคะแนนเสี ย งได้ และได้ ส่ ง ให้ ผู้ถือหุ้นพร้อมกับหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถดาวน์ โ หลดหนั ง สื อ มอบฉั น ทะ ประเภทอื่นได้จากเว็บไซต์ของบริษัท ซึ่งบริษัทได้ จัดทำ�เป็น 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ • การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2560 กรรมการ บริษัทเข้าร่วมประชุมครบทั้ง 9 ท่าน และผู้บริหาร ระดับสูงของบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินได้เข้าร่วม การประชุมด้วย • บริษัทจัดให้มีบุคคลที่เป็นอิสระ ได้แก่ ผู้สอบบัญชี และที่ ป รึ ก ษากฎหมาย เพื่ อ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น คนกลางในการสังเกตการณ์ ให้การประชุมผู้ถือหุ้น


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

เป็ น ไปอย่ า งโปร่ ง ใส ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายและ ข้อบังคับของบริษัท การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามและแสดงความคิดเห็น • ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่ ง คำ � ถามล่ ว งหน้ า ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท www.lhfg.co.th หรื อ จดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ถึงเลขานุการบริษทั ที่ presidentoffice@lhbank.co.th เพื่อให้คณะกรรมการบริษทั ชีแ้ จงในวันประชุม • ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธานทีป่ ระชุมได้จดั สรรเวลา ทีเ่ หมาะสมและส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ มีโอกาสเท่าเทียมกัน ในการแสดงความคิดเห็นหรือสอบถาม • บริษัทจะดำ�เนินการอย่างดีท่ีสุดเพื่อให้กรรมการ ทุกท่าน ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทและบริษัทย่อย รวมทั้งผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อชี้แจง ข้อซักถาม โดยกรรมการจะอธิบายและชีแ้ จงเหตุผล อย่างตรงประเด็นจนเป็นทีก่ ระจ่าง และจดบันทึกรายงาน การประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถ ตรวจสอบได้ในภายหลัง การดำ�เนินการประชุมและออกเสียงลงคะแนน • ก่อนเริ่มการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานที่ประชุมจะ กล่ า วต้ อ นรั บ และเปิ ด การประชุ ม โดยมี การแจ้ ง จำ�นวนและสัดส่วนผู้ถือหุ้น และผู้รับมอบฉันทะ ที่เข้าร่วมประชุม และชี้แจงกติกาและสิทธิในการ ลงคะแนนเสียงที่ต้อ งการในแต่ละวาระ วิธีการ ออกเสียงลงคะแนน และการนับคะแนน • การดำ�เนินการประชุมผู้ถือหุ้น - บริษทั ได้อ�ำ นวยความสะดวกในกระบวนการจัด ประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้องและเป็นไปตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บริษัท จัด สรรเวลาสำ�หรับ การประชุมอย่าง เหมาะสม โดยที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น จะพิ จ ารณา ระเบียบวาระการประชุมตามลำ�ดับที่กำ�หนดไว้ ในหนังสือเชิญประชุม เว้นแต่ที่ประชุมจะมีมติ ให้เปลี่ยนลำ�ดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่าสองในสามของจำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุม หรือผู้ถือหุ้นซึ่งมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่ง ในสามของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้ทั้งหมดขอให้ ที่ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นนอกจากที่กำ�หนดไว้ใน หนังสือเชิญประชุม - บริษัทส่งเสริมให้ผู้ถือ หุ้นมีโอกาสสอบถาม แสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ โดยกรรมการ และผู้บริหารที่เกี่ยวข้องได้ชี้แจงและตอบคำ�ถาม - การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2560 ดำ�เนินไปด้วยความเรียบร้อยเป็นไปตามข้อบังคับ ของบริษัทโดยเรียงตามวาระที่ระบุไว้ ในหนังสือ เชิ ญ ประชุ ม ไม่ มี การเพิ่ ม หรื อ สลั บ ลำ� ดั บ วาระ

125

การประชุ ม หรื อ เปลี่ ย นแปลงข้ อ มู ล สำ � คั ญ โดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า • วิธีการออกเสียงลงคะแนน - บริษทั ใช้บตั รลงคะแนนเพือ่ การลงคะแนนเสียง ในแต่ละวาระโดยเฉพาะวาระการแต่งตั้งกรรมการ แทนกรรมการที่ ต้ อ งออกตามวาระผู้ ถื อ หุ้ น ได้ ออกเสียงลงคะแนนแต่งตัง้ กรรมการเป็นรายบุคคล - การออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระผู้ถือหุ้น ที่มาประชุมด้วยตนเองหรือผู้รับมอบฉันทะให้มา ร่วมประชุมมีสิทธิออกเสียง 1 เสียงต่อ 1 หุ้น โดย เฉพาะวาระการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการ ที่ต้องออกตามวาระจะมีการออกเสียงลงคะแนน แยกเป็ น รายบุ ค คล และเพื่ อ ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่างเท่าเทียมกัน บริษัทได้นำ�บัตรลงคะแนนมา ใช้ในทุกวาระและเมื่อเสร็จสิ้นการตรวจนับคะแนน จะประกาศผลการลงคะแนนในแต่ ล ะวาระต่ อ ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นโดยระบุผลการลงคะแนนเสียงของ ผู้ถือหุ้นที่ลงมติเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และบัตรเสีย • ภายหลังการประชุมผู้ถือหุ้น - บริษัทได้เผยแพร่มติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2560 และผลการลงคะแนนแต่ละวาระ ทั้ ง ฉบั บ ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษภายในวั น ประชุมผู้ถือหุ้นคือวันที่ 24 เมษายน 2560 ผ่าน ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยภายในระยะเวลาท่ตี ลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยกำ�หนด และเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ ของบริษัท www.lhfg.co.th - บริษทั จัดทำ�รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทัง้ ฉบับ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยบันทึกรายงาน การประชุมอย่างครบถ้วน ประกอบด้วยข้อมูล สำ�คัญ ได้แก่ รายชื่อกรรมการที่เข้าร่วมประชุม และกรรมการที่ลาประชุม มติที่ประชุม ผลการ ลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระโดยแบ่งเป็นจำ�นวน เสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และบัตร เสีย คำ�ถามและคำ�ชีแ้ จง ความคิดเห็นของทีป่ ระชุม - บริษทั จัดให้มกี ารบันทึกภาพการประชุมผูถ้ อื หุน้ ในลักษณะสือ่ วีดทิ ศั น์ และได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ ของบริษัท - บริ ษั ท ส่ ง สำ � เนารายงานการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2560 ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย และกรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ ภายในระยะเวลา 14 วั น นับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น และเผยแพร่รายงาน การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ไว้ บ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2560 พร้อมแจ้งข่าว ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ ข้ อ มู ล ข อ ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย


126

รายงานประจำ�ปี 2560

การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเท่ า เที ย มกั น (Equitable Treatment of Shareholders) บริ ษัท ดู แ ลผู้ ถื อ หุ้น ให้ ไ ด้ รั บ การปฏิ บัติแ ละปกป้ อ งสิ ท ธิ ขัน้ พืน้ ฐานอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม รวมทัง้ มาตรการป้องกัน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือการใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ แสวงหา ผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ 1. การให้ข้อมูลก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น • บริษัทจัดทำ�หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อแจ้ง กำ�หนดการประชุม ระเบียบวาระการประชุม และเอกสาร ประกอบการประชุมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดย กำ�หนดวาระการประชุมผู้ถือหุ้นไว้เป็นเรื่องๆ อย่าง ชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือ เพื่ อ พิ จารณา รวมทั้ ง ความเห็ น ของคณะกรรมการ ข้อเท็จจริง และเหตุผลของแต่ละวาระทีเ่ สนอไว้ให้ชดั เจน เพียงพอต่อการตัดสินใจ และเปิดเผยให้ทราบเป็นการ ทัว่ ไปล่วงหน้าก่อนการประชุม โดยแจ้งผ่านช่องทางการ เผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ เผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์ของบริษัทเพื่อเปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นได้มีเวลาศึกษาล่วงหน้าก่อนการประชุมอย่าง เพี ย งพอ รวมทั้งบริษัทได้จัด ส่งหนังสือ เชิญ ประชุม พร้อมเอกสารประกอบการประชุมให้แก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ตามทีก่ ฎหมาย กำ�หนด และบริษัทได้ประกาศบอกกล่าวการนัดประชุม ผู้ ถื อ หุ้ น ทางหนั ง สื อ พิ ม พ์ เ ป็ น เวลา 3 วั น ติ ด ต่ อ กั น ล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุ ม ไม่ น้ อ ยกว่ า 3 วั น ทั้ ง นี้ รายละเอียดที่ปรากฎบนเว็บไซต์ และเอกสารที่จัดส่งให้ ผู้ถือหุ้นเป็นข้อมูลเดียวกัน ประกอบด้วย 1. หนังสือเชิญประชุม พร้อมคำ�อธิบาย เหตุผล ประกอบวาระการประชุม และความเห็นของ คณะกรรมการ 2. รายงานประจำ�ปีในรูปแบบ CD-ROM 3. ประวัติของกรรมการที่ออกจากตำ�แหน่งตาม วาระและเสนอให้ผู้ถือหุ้นเลือกตั้งเข้าดำ�รง ตำ�แหน่งอีกวาระหนึ่ง 4. คำ � ชี้ แ จงวิ ธี ก ารลงทะเบี ย นและการแสดง เอกสารก่ อ นเข้ า ประชุ ม การมอบฉั น ทะ และการออกเสียงลงคะแนนและการนับผล การลงคะแนนเสียง 5. ข้อบังคับของบริษัทเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การประชุมผู้ถือหุ้น 6. หนังสือมอบฉันทะ แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. 7. ประวัติของกรรมการอิสระเพื่อเป็นผู้รับมอบ ฉันทะเข้าประชุมแทนผู้ถือหุ้น 8. นิยามกรรมการอิสระ 9. แผนที่แสดงสถานที่ประชุมผู้ถือหุ้น 10. แบบฟอร์มขอรับรายงานประจำ�ปีแบบรูปเล่ม หนังสือ

2. การคุ้มครองสิทธิของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย • คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงสิทธิและความ เท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกรายและปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น ทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายย่อย บุคคล ธรรมดา หรือสถาบัน ผูถ้ อื หุน้ ไทย หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ ด้วยความเป็นธรรม เสมอภาคเท่าเทียมกัน ผู้ถือหุ้นจะ ได้รับข้อมูลที่สำ�คัญของบริษัทอย่างถูกต้องครบถ้วน ในเวลาเดียวกันเพื่อปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น • บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยเป็น โอกาสสำ�คัญที่ผู้ถือหุ้นจะสามารถใช้สิทธิเพื่อมีส่วนร่วม ในการพิจารณาตัดสินใจในเรื่องสำ�คัญต่างๆ ของกิจการ ซึ่งบริษัทได้อำ�นวยความสะดวกในเรื่องต่างๆ ดังนี้ - การเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ และผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย เสนอคำ�ถาม วาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และ บุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซึ่งมีสัดส่วนการ ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.01 ของหุ้นที่จำ�หน่าย แล้ ว ทั้ ง หมดของบริ ษั ท โดยอาจเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายเดี ย วหรื อ หลายรายรวมกั น เสนอคำ � ถาม เสนอเรื่ อ งที่ เ ห็ นว่ า สำ � คั ญ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การ ดำ�เนินธุรกิจ และควรบรรจุเป็นระเบีย บวาระใน การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเสนอชื่อบุคคลที่มี ความรู้ ความสามารถและคุณสมบัติที่เหมาะสม เพือ่ เข้ารับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการมายัง บริษัท โดยกำ�หนดช่วงเวลาการเปิดรับเรื่องเป็น ระยะเวลา 3 เดือนก่อนวันสิ้นสุดรอบบัญชี และ เผยแพร่หลักเกณฑ์และรายละเอียดทีเ่ กีย่ วข้องไว้บน เว็บไซต์ของบริษัท พร้อมทั้งเผยแพร่ข้อความ เรี ย นเชิ ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ผ่ า นช่ อ งทางการเผยแพร่ ข้ อ มู ล ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถส่งข้อเสนอมายังบริษัทผ่าน ช่องทางทีบ่ ริษทั กำ�หนด ได้แก่ เว็บไซต์ของบริษทั (www.lhfg.co.th) จดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ถึ ง เลขานุการบริษทั (presidentoffice@lhbank.co.th) จดหมายถึงเลขานุการบริษัท หรือทางโทรสาร ที่หมายเลข 0 2677 7223 สำ�หรับข้อเสนอเกี่ยวกับบุคคลเพื่อ เข้ า รั บ การพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทนจะพิ จ ารณา และเสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ เสนอ ผู้ถือหุ้น สำ�หรับเรื่องที่ไม่ผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริ ษั ท และ/หรื อ คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัทจะแจ้งให้ ผูถ้ อื หุน้ ทราบพร้อมชีแ้ จงเหตุผลในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บนเว็บไซต์ของบริษัท หรือช่องทางการเผยแพร่ ข้อมูลอื่นที่เหมาะสม


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2560 บริษัทได้เผยแพร่และแจ้งเรื่องการเปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอเรื่องต่างๆ และเสนอชื่อ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อรับการพิจารณา เลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการเมื่ อวั น ที่ 22 กั น ยายน 2560 โดยกำ�หนดช่วงเวลาเปิดรับเรื่องตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 และเมื่อวัน ที่ 23 มกราคม 2561 บริษัทได้รายงานผลการให้ สิทธิผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอเรือ่ งเพือ่ พิจารณาบรรจุ เป็นวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2560 ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท • บริษทั จะไม่เพิม่ วาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ที่ไม่ได้แจ้ง เป็นการล่วงหน้าโดยไม่จำ�เป็น โดยเฉพาะวาระสำ�คัญที่ ผู้ถือหุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ • บริษทั ได้ด�ำ เนินการตามกระบวนการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นไปตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพการประชุม ผู้ถือหุ้น และดำ�เนินการด้านการกำ�กับดูแลกิจการตาม หลักเกณฑ์ของการประเมินการกำ�กับดูแลกิจการบริษัท จดทะเบียนของสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยและของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทได้กำ�หนดนโยบายการดูแลการใช้ข้อมูลภายใน เพือ่ เป็นหลักเกณฑ์ในการรักษาความลับของบริษทั เพือ่ ความ เท่าเทียมกันในการรับรู้ข้อมูลและเพื่อป้องกันการใช้ข้อมูล ภายในเพื่อประโยชน์ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ซึ่ งรวมถึ งคู่ ส มรสและบุต รที่ยังไม่บ รรลุนิติภาวะและเพื่อ เป็นการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

127

• คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงความสำ�คัญของ การเก็บรักษาและป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยได้ก�ำ หนด นโยบายการดูแลการใช้ข้อมูลภายในเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ในการดูแลการรักษาความลับของบริษัท เพื่ อ ความเท่ า เที ย มกั น ในการรั บ รู้ ข้ อ มู ล และเพื่ อ ป้ อ งกั น การใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และเพื่อเป็นการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยนโยบายการดูแล การใช้ข้อมูลภายใน มีดังนี้ 1. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ซึง่ รวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะทีท่ ราบข้อมูล ที่มีสาระสำ�คัญและงบการเงินของบริษัทซึ่งยังมิได้เปิดเผย แก่สาธารณชน ทำ�การเผยแพร่หรือเปิดเผยแก่บุคคลอื่นทั้ง ภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมทั้งมิให้มีการล่วงรู้ข้อมูล ระหว่างส่วนงานเพื่อป้องกันการนำ�ข้อมูลภายในที่มีสาระ สำ�คัญซึ่งยังมิได้เปิดเผยแก่สาธารณชนไปเปิดเผยก่อนเวลา อันควรเว้นแต่ส่วนงานนั้นจำ�เป็นต้องรับทราบโดยหน้าที่และ ให้ดูแลข้อมูลดังกล่าวเช่นเดียวกับหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ทั้ ง นี้ ไ ม่ ร วมถึ ง การให้ ข้ อ มู ล แก่ ห น่ ว ยงานราชการที่ กำ�กับดูแลซึ่งได้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นั ก งาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ซึง่ รวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะทีท่ ราบข้อมูล ที่สำ�คัญและงบการเงินของบริษัททำ�การซื้อ ขาย โอนหรือ รับโอนหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 7 วันก่อนการเปิดเผย งบการเงินให้แก่สาธารณชน บริษัทให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลโดยคำ�นึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม การพบปะสื่อมวลชนและนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์เพื่อรายงานผลการดำ�เนินงานของบริษัทและ ตอบข้อซักถาม การเปิดเผยข้อมูลในแบบแสดงข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และการวิเคราะห์และคำ�อธิบาย ของฝ่ายจัดการ


128

รายงานประจำ�ปี 2560

การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งบริษัทได้ กำ�หนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้กรรมการ ผู้บริหารและ พนั กงานทุ กระดั บ ยึด ถือ เป็น แนวปฏิบัติเพื่อ ให้สอดคล้องกับ กฎหมายและก่อให้เกิดความเป็นธรรมในการดำ�เนินธุรกิจไม่เห็น แก่ผลประโยชน์อื่น รวมทั้งหลีกเลี่ยงการดำ�เนินการที่อาจก่อให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สงู สุดของ บริษัท ลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทเชื่อมั่นว่าการประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรมย่อม ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้เกี่ยวข้องอันจะส่งผลดีต่อกิจการใน ระยะยาว บริษทั ได้ด�ำ เนินการตามแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการประกอบ กิจการด้วยความเป็นธรรมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ซึ่งได้ ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับกฎหมาย และการแข่งขัน ที่เป็นธรรม ตลอดจนให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ เช่น ส่งเสริมให้พนักงานให้ความสำ�คัญกับการปฏิบัติตามกฎหมาย สนับสนุนให้มีการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบของกฎหมาย ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงการรักษาความลับทางการค้าไม่ แสวงหาข้อมูลของพันธมิตรและคู่แข่งทางการค้าอย่างไม่สุจริต บริษัทได้ส่งเสริมการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรม ทัง้ ในด้านต้นทุนและผลตอบแทน เช่น การจัดซือ้ จัดจ้าง การกำ�หนด ระยะเวลาส่งมอบทีเ่ พียงพอและสัญญาการค้าที่ไม่เอารัดเอาเปรียบ และไม่เข้าไปเกีย่ วข้องกับกิจกรรมใดๆ อันเป็นการละเมิดทรัพย์สนิ และการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา รวมทั้งชำ�ระค่าการใช้หรือได้

มาซึ่งทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม เช่น การชำ�ระเงินให้แก่เจ้าหนี้ตรง ตามงวดการจ่ายประจำ�เดือน บริษัทได้กำ�หนดวิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ จัดจ้าง และการ รับบริการต่างๆ เพื่อให้ได้สินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพและราคา ที่เหมาะสม โดยได้กำ�หนดกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้าง และการรับ บริการต่างๆ เป็น 6 วิธี ได้แก่ วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธีต่อเนื่อง วิธีพิเศษและวิธีฉุกเฉิน ซึ่งการจะใช้ วิธีใดขึน้ อยูก่ บั วงเงินทีจ่ ะดำ�เนินการในแต่ละครัง้ สำ�หรับการคัดเลือก ผู้จำ�หน่ายสินค้าหรือผู้ ให้บริการ เพื่อให้มีความเป็นธรรมและ มีความเท่าเทียมกัน บริษัทได้กำ�หนดหลักเกณฑ์ ในการคัดเลือก จากความมั่นคงของกิจการ คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์และบริการ และราคา โดยมีคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้พิจารณา

การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) แนวทางการปฏิบัติ มีความมุ่งมั่น ที่จ ะดำ�เนิน กิจการภายใต้หลัก การของกฎหมาย บริษัท ให้ความสำ�คัญในการป้องกันมิให้เกิดการแสวงหา ความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม เป็นไปตามแนวทางการกำ�กับดูแล ผลประโยชน์ ในหน้าที่โดยมิชอบ สำ�หรับตนเองหรือผู้อื่นในเรื่อง กิจการที่ดี มีจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ ทั้งระดับกรรมการ ต่างๆ ดังนี้ ผู้บริหารและพนักงาน โดยการสนับสนุนเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ 1. ห้ามให้หรือรับของขวัญ ของกำ�นัล รวมถึงผลประโยชน์ แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต อื่ น ใด เพื่ อ จู ง ใจให้ เ กิ ด การปฏิ บั ติ ห รื อ ละเว้ น จาก เพื่อจรรโลงไว้ซึ่งชื่อเสียงจริยธรรมของบริษัท และบริษัทได้รับ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยมิ ช อบหรื อ อาจทำ � ให้ เ กิ ด การ ประกาศนียบัตรเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ยินยอมผ่อนปรนในข้อตกลงทางธุรกิจที่ ไม่เหมาะสม ในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต รวมถึ ง กำ � หนดให้ มี น โยบายต่ อ ต้ า น และให้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดไว้ในจรรยา การคอร์รัปชั่น เพื่อเป็นแนวทางให้แก่คณะกรรมการ ผู้บริหาร บรรณและจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ ของกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนักงานของบริษทั รับทราบและถือปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด ดังนี้ และพนักงานบริษัท 2. ห้ามให้หรือรับสินบน และสิ่งจูงใจในรูปแบบใดๆ ทั้งสิ้น บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ และห้ามมอบหมายให้ผู้อื่นให้หรือรับสินบนและสิ่งจูงใจ คณะกรรมการบริษัท อนุมัตินโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น แทนตนเอง และรั บ ผิ ด ชอบให้ ก ารดำ � เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท เป็ น ไปด้ ว ย 3. การบริจาคเพือ่ การกุศลและการให้เงินสนับสนุนต้องเป็นไป ความซือ่ สัตย์สจุ ริต ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั โดยรวม อย่างโปร่งใสไม่ขัดต่อกฏหมายและศีลธรรม คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ดูแลและส่งเสริมการปฏิบตั ติ าม 4. บริ ษัท จะไม่ นำ� เงิ น ทุ น หรื อ ทรั พ ยากรของบริ ษัท ไปใช้ นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น รวมทั้งให้มีการสื่อสารไปยังบริษัท สนับสนุนทางการเมืองให้แก่ผสู้ มัครแข่งขันเป็นนักการเมือง ในกลุ่มธุรกิจทางการเงินของบริษัทด้วย หรือพรรคการเมืองใด เพื่อการรณรงค์ทางการเมือง


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

129

• จัดให้มชี อ่ งทางในการสือ่ สาร เพือ่ ให้พนักงานบริษทั หรือการดำ�เนินกิจกรรมทางการเมือง ยกเว้นการให้ และผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องสามารถแจ้งเบาะแสอันควรสงสัย ความสนั บ สนุ น นั้ น ได้ รั บ อนุ ญ าตตามกฏหมาย โดยมัน่ ใจได้วา่ จะได้รบั การคุม้ ครองและมีการแต่งตัง้ และสนับสนุนประชาธิปไตยโดยรวม โดยต้องได้รบั อนุมตั ิ เจ้าหน้าทีท่ มี่ หี น้าทีต่ รวจสอบทุกเบาะแสทีม่ กี ารแจ้ง จากคณะกรรมการบริษัทก่อนการดำ�เนินการ 2. จะเปิดเผยและแลกเปลี่ยนนโยบายภายใน ประสบการณ์ 5. จัดให้มีการกำ�กับดูแลการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทภายใต้ การควบคุมที่ดี มีการประเมินความเสี่ยงที่มีนัยสำ�คัญ แนวปฏิบัติที่ดี และแนวทางความสำ�เร็จในการสนับสนุนให้เกิด มีกจิ กรรมการควบคุมทีม่ ปี ระสิทธิผลและแบ่งแยกหน้าที่ การทำ�รายการทางธุรกิจอย่างมีคุณธรรม ถูกต้องและโปร่งใส การทำ�งานที่เหมาะสม รวมทั้งจัดให้มีระบบสารสนเทศ ในประเทศไทย • สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารริ เ ริ่ ม โครงการระดั บ ประเทศ ที่เพียงพอน่าเชื่อถือและติดตามประเมินผลการควบคุม เพื่อสร้างเงื่อนไขในการแข่งขันการดำ�เนินธุรกิจ ภายในอย่างสม่ำ�เสมอ ที่เป็นธรรม โปร่งใส รวมถึงให้มั่นใจว่ามีการกำ�กับ 6. จัดให้มชี อ่ งทางการรับแจ้งข้อมูล ข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียน ดูแลกิจการที่ดี ผ่านกรรมการอิสระของบริษัท หรือผ่านทางเว็บไซต์ • จะมี ส่ ว นร่ ว มในการเสวนาและร่ ว มอภิ ป ราย ของบริษทั Email : presidentoffice@lhbank.co.th แสดงความคิดเห็นในการประชุมต่างๆ เพื่อสร้าง ความเข้าใจในข้อกังวลและปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั บริษัทได้ลงนามเป็นแนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action ที่มีผลต่อธุรกิจเอกชนเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ สุจริต Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เพื่อแสดง และความโปร่งใสในการดำ�เนินธุรกิจ เจตนารมณ์ในการต่อต้านการทุจริตโดยรับรูห้ น้าทีค่ วามรับผิดชอบ 3. จะร่ ว มมื อ กั บ บริ ษั ท ในอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น คู่ ค้ า ของบริษัท ในการเป็นผู้นำ�ตัวอย่างในการต่อต้าน การทุจริต ประกอบธุรกิจตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และดำ�เนินธุรกิจด้วย และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ โดยสร้างแนวร่วมปฏิบัติและการ หลักการในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ โดยมีความตกลง ดังนี้ เข้าร่วมในกิจกรรมร่วมต่อต้านการทุจริต • จะร่ ว มแบ่ ง ปั น แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี แ ละกรอบความคิ ด 1. จะจั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่อมุ่งหวังให้ทุกองค์กรที่เป็นแนวร่วมได้นำ�ไปใช้ กับการทุจริตภายในบริษทั รวมถึงการนำ�นโยบายการต่อต้านการทุจริต ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามโครงการ แผนการกำ�กับการปฏิบัติงานและแผนการตรวจสอบ ไปปฏิบัติ • จะเข้ า ร่ ว ม Integrity Pacts กั บ องค์ ก รอื่ น และจัดให้มีคู่มือในการดำ�เนินธุรกิจแก่ผู้บริหารและพนักงาน และหน่ ว ยงานภาครั ฐ ในการประมู ล และจั ด ซื้ อ • นโยบายนี้ ห้ า มการให้ สิ น บนในทุ ก รู ป แบบ สิ่งของวัตถุดิบอุปกรณ์และการก่อสร้าง ในทุ ก กิ จ กรรมที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ก ารควบคุ ม และต้อง • จะร่วมมือและร่วมคิด เพือ่ พัฒนาจรรยาบรรณธุรกิจ แน่ ใจว่าการบริจาคเพื่อการกุศลและบริจาคให้แก่ ที่สามารถใช้ได้กับทุกองค์กร และเป็นที่ยอมรับ พรรคการเมือง การให้ของขวัญทางธุรกิจ การสปอนเซอร์ จากทุกองค์กรที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมใดๆ ต้องโปร่งใสและไม่มเี จตนาเพือ่ โน้มน้าว • จะร่วมสร้างมาตรการและระบบตรวจสอบ เพือ่ ส่งเสริม ให้เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐ / เอกชนดำ�เนินการไม่เหมาะสม ความเพื่อส่งเสริมความโปร่งใส ซื่อสัตย์ สุ จริ ต นโยบายเหล่านี้จะถูกประกาศและเผยแพร่ในองค์กร ในการประกอบธุรกิจ ในรูปของ “จรรยาบรรณธุรกิจ” เพื่อเป็นแนวทาง • จะร่วมมือกับภาคประชาสังคมและสื่อในการสร้าง ให้ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานบริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต นอย่ า ง จิตสำ�นึกและการให้การศึกษาแก่สาธารณะ เพื่อ มีจริยธรรมและรับผิดชอบในทุกโอกาส พร้อมกำ�หนด เปลี่ ย นค่ า นิ ย มไปสู่ ก ารต่ อ ต้ า นและประฌาม บทลงโทษ หากไม่ปฏิบัติตาม การทุจริตในทุกรูปแบบ • จัดให้มีการอบรมแก่พนักงานบริษัท เพื่อส่งเสริม • จะสนั บ สนุ น การพั ฒ นาโครงการตรวจสอบ และ ความซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบในการปฏิบัติ รับรองการปฏิบัติตามโครงการ พร้อมทั้งมีการจัด ตามหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ รวมถึ ง สื่ อ สาร ฝึกอบรมให้แก่เจ้าหน้าทีผ่ ใู้ ห้ค�ำ ปรึกษาและผูต้ รวจสอบ ให้ เ ห็ น ถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ของบริ ษั ท ในการปฏิ บั ติ เพื่อเป็นแนวทางให้กับบริษัทที่เข้าร่วมโครงการใน ตามแนวปฏิบัติที่ดีของธุรกิจ การดำ�เนินธุรกิจ ตามหลักจริยธรรม และยกระดับ • จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสม กระบวนการนี้ให้อยู่ในวัฒนธรรมองค์กร เพือ่ ส่งเสริม เพือ่ ป้องกันไม่ให้พนักงานมีการปฏิบตั ทิ ี่ไม่เหมาะสม ความยั่งยืนของโครงการแนวร่วมปฏิบัตินี้ต่อไป และยกระดั บ ค่ า นิ ย มความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต • ยินดีให้มกี ารตรวจสอบและรับรองโดยคณะกรรมการ และความรับผิดชอบให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ใ นการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ในภาค • จัดให้มกี ลไกการรายงานสถานะทางการเงินที่โปร่งใส เอกชนไทย ทุก 3 ปี และถูกต้อง


130

รายงานประจำ�ปี 2560

คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีนโยบายการแจ้งเบาะแส และการร้องเรียน (Whistleblower Policy) เพื่อเป็นช่องทาง ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสีย สามารถแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการทำ�ผิดกฏหมาย ทุ จ ริ ต หรื อ คอร์ รั ป ชั่ น โดยผ่ า นช่ อ งทางที่ ธ นาคารกำ � หนด และให้ ความคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ข องผู้ แ จ้ ง เบาะแสกั บ ธนาคารและ บุคคลที่เกี่ยวข้องให้ได้รับความเป็นธรรม นอกเหนือจากนโยบาย การป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ เพื่ อ ให้ พ นั ก งานยึ ด ถื อ เป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ง าน และมี การทบทวนนโยบายเป็นประจำ�ทุกปี โดยเผยแพร่นโยบายป้องกัน การหาผลประโยชน์ ใ นหน้ า ที่ โ ดยมิ ช อบในเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท และช่องทางการสื่อสารภายในบริษัทด้วยเช่นกัน

บริษัทเชื่อมั่นว่านโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น เป็นกรอบ และทิ ศ ทางของการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น และเป็ น แนวทางต่ อ ต้ า น การทุจริตคอร์รปั ชัน่ ซึง่ สะท้อนความมุง่ มัน่ และความทุม่ เททีส่ �ำ คัญ ของการเป็นองค์กรที่โปร่งใส และปราศจากการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมทัง้ ไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยบริษทั มุง่ หมาย และมุ่งหวังให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้ความร่วมมือสนับสนุนด้วยดี รวมถึงตระหนักและให้ความสำ�คัญต่อพนักงานให้ถือปฏิบัติตาม ระเบียบการให้และรับของขวัญ การรับรองและผลประโยชน์อื่นๆ ในเทศกาลปีใหม่หรือในโอกาสอื่นๆ ตามจรรยาบรรณพนักงาน อย่างเคร่งครัด โดยสื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ ของบริษัท

การเคารพสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ บริษทั ได้สนับสนุน และเคารพการปกป้องศักดิศ์ รี บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ให้ ความสำ � คั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งไม่ ว่ า จะเป็ น ความเป็นมนุษย์ โดยไม่มกี ารใช้แรงงานบังคับ และการใช้แรงงานเด็ก พนักงาน ชุมชน และสังคมรอบข้างด้วยความยุติธรรม มีความ ซึ่งส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก การเคารพในสิทธิมนุษ ยชนเป็นแนวปฏิบัติขั้นพื้นฐานที่ เสมอภาค เคารพต่อชีวิตและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของทุกคน บริ ษ ท ั ให้ ความสำ�คัญ โดยกำ�หนดแนวทางปฏิบัติ อาทิเช่น การสร้างมนุษยสัมพันธ์ทดี่ ี ไม่ละเมิดสิทธิขนั้ พืน้ ฐานและระมัดระวัง • การจัดจำ�นวนวันลา และวันหยุดต่างๆ ตามที่กฎหมาย การพิ จ ารณาดำ � เนิ น การใดๆ ที่ จ ะกระทบต่ อ ความรู้ สึ ก ของ กำ�หนด หรือมากกว่าทีก่ ฎหมายกำ�หนดในบางประเภท สาธารณชน ซึ่งเป็นรากฐานของการบริหารและพัฒนาทรัพยากร ของวันหยุด เพื่อให้พนักงานสามารถวางแผนการใช้ บุคคล ชีวิตการทำ�งาน และชีวิตส่วนตัวได้อย่างสมดุล • การกำ�หนดหลักเกณฑ์การสอบสวนและการลงโทษ บริษัทให้ความสำ�คัญกับการปฏิบัติต่อพนักงานทุกระดับ ทางวินัยไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้การลงโทษเป็นไปด้วย ดูแลให้พนักงานได้รับผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและ ความยุติธรรม และมีแนวปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นธรรม พัฒนาศักยภาพของพนักงานเพื่อความก้าวหน้าใน • การสนั บ สนุ น ให้ มี การเสริ ม สร้ า งความรู้ เ พื่ อ พั ฒ นา วิชาชีพและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของพนักงาน รวมทั้งการเปิด ศักยภาพของพนักงาน ช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์และการรายงานการ • การสนับสนุนให้แต่ละหน่วยงานจัดกิจกรรมเพื่อเสริม กระทำ�ที่ ไม่ถูกต้องจากพนักงานในหลายช่องทาง ซึ่งพนักงาน สร้างความเป็นทีม (Staff Activity) เป็นกิจกรรมที่เป็น สามารถเสนอความคิดเห็น รายงานหรือร้องเรียนเรื่องที่เห็นว่า นโยบายของธนาคาร เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ ไม่เป็นธรรม ทุจริต หรือปฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้องผ่านผูบ้ งั คับบัญชา หรือผ่าน หน่วยงานทำ�กิจกรรมร่วมกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์ ช่องทางอืน่ ๆ โดยบริษทั ได้ก�ำ หนดขัน้ ตอนการรับเรือ่ งร้องเรียนและ เสริมสร้างความผูกพัน ความสามัคคี ร้องทุกข์ที่มีความเป็นอิสระในการตรวจสอบและการตัดสินใจโดย คำ�นึงถึงผลลัพธ์ที่ออกมาและการเยียวยาใดๆ เป็นไปตามหลักสิทธิ มนุษยชนและส่งเสริมเปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น หากมีการกระทำ�ของกิจการหรือบุคลากรในกิจการ ที่อาจเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อประโยชน์ ในการสะท้อน ปัญหาและหาแนวทางแก้ไข

ผู้บริหารและพนักงานจัดกิจกรรม Staff Activity “โครงการปลูกรักเพื่อน้อง” โรงเรียนวัดผดุงธรรม อ.ภาชี จ.อยุธยา


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

131

การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ให้ความ สำ�คัญกับการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยกำ�หนดเป็นพันธกิจ ในการพัฒนาและสนับสนุนระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลทั้ง ในเชิงความรู้และผลประโยชน์ของพนักงาน ธนาคารได้จัดตั้ง คณะกรรมการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล (Human Resources Development Committee) เพื่อให้การบริหารและการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของธนาคาร

LH BANK

หลักสำ�คัญในการบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ธนาคารมุ่งมั่นพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ด้วยนวัตกรรมเทียบเท่าองค์กรชั้นนำ�ในประเทศ ตลอดจนให้ การสนับสนุนการดำ�เนินการด้านทรัพยากรบุคคลเชิงรุกเพื่อให้ การปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ และมุ่ ง มั่ น พั ฒ นาให้ พ นั ก งานได้ รั บ การเพิ่ ม พู น ภู มิ ปั ญ ญาและ คุณภาพชีวิตในการทำ�งานที่ดีอย่างต่อเนื่อง โดยคำ�นึงถึงหลักการ ปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเป็นธรรมและหลักสิทธิมนุษยชน เพื่ อ การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ธนาคารให้ ความสำ � คั ญ กั บ การดูแลพนักงานในด้านต่างๆ ด้วยเชื่อมั่นว่า การพัฒนาทักษะ ความสามารถ การสร้างแรงจูงใจในการทำ�งาน การสร้างสภาพ แวดล้อมที่ดี สุขชีวอนามัยที่ดี และการให้สวัสดิการที่ดี จะช่วย ให้พนักงานมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มศักยภาพ อันจะส่งผลต่อลูกค้าตลอดจนผู้มีส่วนได้เสีย บุคลากรของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ณ 31 ธันวาคม 2560 มีทั้งสิ้น 1,504 คน

ติดต่อสอบถาม โทร. 08 1448 4346

ข้อมูลพนักงาน ปี 2560 จำ�นวนพนักงาน 1,504 คน

ชาย

531 คน 35.3%

เชิญคุณ... ร่วมเติบโตไปด้วยกัน

รับสมัครด่วน! หลายอัตรา (วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 8.30 - 17.30 น. ดูรายละเอียดเพิ่มเติม… LH Bank

0 2359 0299

การสรรหาพนักงาน ธนาคารมีนโยบายการสรรหาบุคลากรที่มุ่งเน้นคัดเลือก บุคลากรบนพืน้ ฐานของความสามารถและการมีคณุ สมบัตทิ เ่ี หมาะสม กั บ ตำ � แหน่ ง งาน รวมถึ ง สอดคล้ อ งกั บ ค่ า นิ ย มของธนาคาร “PRO-AcTIVE” โดยมีช่องทางการสรรหาบุคลากร ได้แก่ การจัด กิจกรรมและการเพิม่ ช่องทางทีส่ ามารถเข้าถึงผูส้ มัครกลุม่ เป้าหมาย อย่างหลากหลาย อาทิ กิจกรรม “Toward Success Together Day” กิจกรรม “Mobile Recruitment” กิจกรรม “Friend get Friends” รวมถึง การประชาสัมพันธ์ การรับสมัครงานผ่านช่องทาง Social Media อาทิ LINE และ Facebook เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้สมัคร รวมถึง การรับสมัครผ่านเว็บไซต์ของธนาคาร การคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าร่วมงาน การคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าทำ�งานกับธนาคาร นอกจาก การพิจารณาในด้านความรู้ความสามารถ และเกณฑ์การพิจารณา หลักที่ธนาคารกำ�หนด ธนาคารได้ตระหนักถึงความสำ� คั ญ ใน การคัดเลือกบุคลากรที่มีความเชื่อและค่านิยมที่สอดคล้องไปใน ทิศทางเดียวกับธนาคาร ธนาคารได้จัดให้ผู้สมัครทำ�แบบทดสอบ พฤติกรรมที่พัฒนาข้อสอบจากค่านิยม PRO-AcTIVE และนำ� ผลการทดสอบมาเป็นส่วนหนึง่ ในการคัดเลือกบุคลากรเข้าร่วมงาน กับธนาคาร เพื่อให้ได้บุคลากรที่เหมาะกับหน่วยงานและธนาคาร

หญิง

973 คน 64.7%

ความเท่าเทียมและความหลากหลาย ธนาคารยึดหลักปฏิบัติกับพนักงานอย่างเป็นธรรม อันได้แก่ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายแรงงาน และหลักสิทธิมนุษยชน ไม่เลือก ปฏิบตั อิ นั เนือ่ งมาจากความแตกต่างด้านเชือ้ ชาติ สีผวิ เพศ ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมืองการถูกถอนสัญชาติ หรือพื้นเพทาง สังคม หรือการเลือกปฏิบตั ิในรูปแบบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทั้งภายในและภายนอก ไม่ใช้แรงงานทีผ่ ดิ กฎหมายและไม่ใช้แรงงาน เด็ก ซึง่ แนวทางปฏิบตั ดิ งั กล่าวครอบคลุมพนักงานทุกคน ทุกระดับ ตัง้ แต่ผบู้ ริหารจนถึงพนักงานระดับปฏิบตั กิ าร รวมถึงเปิดโอกาสให้ ผู้พิการเข้าร่วมงานกับธนาคาร


132

รายงานประจำ�ปี 2560

• การจ้างงานผู้พิการ การเข้าร่วมโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ ธนาคารได้ส่งเสริมให้เกิดการสร้างโอกาสและรายได้สำ�หรับ ผู้พิการ โดยได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการ ซึ่งจัดขึ้นโดยสมาคมธนาคารไทย โดยมีการจ้างเหมา คนพิการเพือ่ ทำ�งานให้กบั สภากาชาดไทยตามจังหวัดต่างๆ รวมถึง การจ้างผู้พิการเป็นพนักงานของธนาคาร การเติบโตอย่างมั่นคงด้วยการสร้างคน ธนาคารได้ส่งเสริมและพัฒนาให้พนักงานมีค่านิยม PROAcTIVE ซึง่ เป็นค่านิยมหลักเดียวกัน โดยใช้แผนแม่บทการส่งเสริม ค่านิยมด้วยการสร้างการรับรู้ สร้างทัศนะคติ (Perception Attitude) ผ่านช่องทางการสื่อสาร กิจกรรม การปฏิบัติด้วยพฤติกรรมบน พื้นฐานความเชื่อเดียวกัน (Practice Believe & Individual Mindsets) การเกิดเป็นพฤติกรรมกลุ่มและค่านิยมร่วมในองค์กร (Group Habit Norm & Corporate Value) ซึ่งธนาคารได้ส่งเสริม ค่านิยมแก่พนักงานเข้าใหม่และพนักงานปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง

Perception Attitude

Practice Belief & Indevidual Mindsets

Group Habit Norm & Corp. Value

กิจกรรม Welcome Newcomer กิจกรรมต้อนรับพนักงานใหม่ในวันแรกของการทำ�งานผ่าน กิจกรรม Welcome Newcomer มีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างความรูส้ กึ ดีๆ ของพนักงานใหม่ รวมถึงเป็นการสร้างการรับรูเ้ กีย่ วกับค่านิยม องค์กร การใช้ชวี ติ ประจำ�วันภายในธนาคาร อาทิ การได้รจู้ กั เพือ่ น ร่วมงาน การแนะนำ�ร้านอาหารบริเวณใกล้เคียงกับสถานทีท่ �ำ งาน เพือ่ ให้พนักงานใหม่มคี วามเข้าใจและตระหนักถึงความสำ�คัญอันจะ นำ�ไปสู่การปรับใช้ในชีวิตการทำ�งาน กิจกรรมส่งเสริมค่านิยมองค์กรในหลักสูตรปฐมนิเทศ การจั ด กิ จ กรรมเสริมสร้างค่านิยมองค์กรร่ว มกับการจัด หลักสูตรปฐมนิเทศในรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยการปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านบทบาทสมมติ (Action Learning) การบริหารผลการปฏิบัติงาน ธนาคารใช้ ร ะบบตั ว ชี้ วั ด ผลการปฏิ บั ติ ง าน (Key Performance Indicator หรื อ KPI) เพื่ อวั ด ประสิ ท ธิ ภาพ การทำ�งานของพนักงานทุกระดับ และใช้ตวั ชีว้ ดั ประเมินพฤติกรรม ตามค่านิยมองค์กร PRO-AcTIVE ผ่านระบบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน (Performance Appraisal System : PAS) การพัฒนาศักยภาพพนักงาน ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากรและการเรียนรู้ ของพนักงานในทุกระดับ ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง (Executive)

ผูบ้ ริหาร (Management) ผูบ้ ริหารระดับกลาง (Middle Management) หัวหน้างาน (Supervisor) เจ้าหน้าที่ (Officer) โดยส่งเสริมการ พัฒนาศักยภาพให้มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะให้สอดคล้อง กับภาระหน้าที่ตามตำ�แหน่ง พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้พนักงาน ได้พัฒนาความสามารถให้เต็มศักยภาพ ทั้งการพัฒนาตนเอง การฝึกอบรมในรูปแบบต่างๆ โดยหลักการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ยังเป็นสาระสำ�คัญในการพิจารณาความก้าวหน้า (Career Path) ของพนักงาน ธนาคารได้พฒ ั นาศักยภาพพนักงานโดยการจัดให้มกี ารเรียนรู้ ตามแผนการฝึกอบรมประจำ�ปี ซึ่งประกอบด้วยประเภทการเรียนรู้ ดังนี้ 1. Compulsory Program 2. Compliance Program 3. Work System Program 4. Leadership Development Program 5. Event & Meeting โดยเป็นแผนการเรียนรู้เริ่มตั้งแต่พนักงานเริ่มปฏิบัติงาน กั บ ธนาคารในวั น แรกจนกระทั่ ง ผ่ า นพ้ น ระยะการทดลองงาน รวมถึงการพัฒนาความรู้ ทักษะ ความสามารถและ Soft Skill ต่างๆ ที่มีความสำ�คัญและจำ�เป็นต่อการทำ�งานในตำ�แหน่งต่างๆ เช่น หลักสูตรมาตรฐานการบริหารกิจการสาขาตามตำ�แหน่งต่างๆ หลักสูตรมาตรฐานสินเชื่อที่เป็นพื้นฐานความรู้ของพนักงาน นอกจากนี้ยังมีหลักสูตรพัฒนาผู้บริหาร ซึ่งอยู่ในหมวดหมู่ การเรียนรู้ Leadership development Program ได้แก่ 1. Supervisory Development Program 2. Management Development Program 3. Executive Development Program ทั้ง 3 หลักสูตรเป็นหลักสูตรพัฒนาพนักงานตั้งแต่ระดับ หั ว หน้ า งานและผู้ บ ริ ห าร โดยเริ่ ม ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ผู้ จั ด การแผนก ผูจ้ ดั การส่วน รองผูอ้ �ำ นวยการ ผูอ้ �ำ นวยการจนถึงผูบ้ ริหารระดับสูง โดยรูปแบบการเรียนรูจ้ ะเป็นแบบผสมผสาน คือ Lecture, Workshop, Best Practice, Problem Based, Company Case และ Discussion นอกจากนี้ได้สง่ เสริมการเรียนรูว้ ธิ อี นื่ ๆ อีก เช่น Keynote Speaker, Company Visit, Self-Initiative Program ทั้งหมดจะถูกออกแบบ เป็นวิธกี ารเรียนภายในหลักสูตร เพือ่ ให้เกิดกระบวนการเรียนรูด้ ว้ ย วิธีที่หลากลายและก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้มากที่สุด


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

แผนสืบทอดตำ�แหน่ง ธนาคารได้เตรียมความพร้อมในการจัดเตรียมแผนสืบทอด ผูบ้ ริหาร (Succession Plan) โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนได้กำ�หนดนโยบาย และวิธีการจัดทำ�แผนสืบทอด ตำ�แหน่ง ครอบคลุมการกำ�หนดหลักเกณฑ์ แนวทาง วิธีการ การสื่อสารและการสร้างความภาคภูมิใจในองค์กร ธนาคารให้ความสำ�คัญในการสื่อสารและการสร้างความ ภาคภูมิ ใจในองค์กร โดยจัดให้มีสื่อและช่องทางในการสื่อสาร ภายในองค์กรทีห่ ลากหลาย เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าพนักงานได้รบั รูแ้ ละเพือ่ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรได้อย่างทั่วถึง นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างความมีส่วนร่วม สร้างความ ภาคภูมิใจ และเสริมสร้างบรรยากาศในการทำ�งานทีด่ ภี ายในองค์กร ธนาคารถือว่าการสื่อสารเป็นปัจจัยสำ�คัญในการขับเคลื่อน องค์กร การหล่อหลอม และสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างองค์กร ให้ยั่งยืน และได้จัดทำ�กลยุทธ์และแผนการสื่อสาร โดยมีความ หลากหลายครอบคลุมทั้งการสื่อสารภายใน และภายนอกองค์กร (ดังภาพ)

133

สร้างการตระหนักรู้ผ่านช่องทางการสื่อสาร ธนาคารได้ให้ความสำ�คัญในการดูแลและพัฒนาศักยภาพ พนักงานผ่านการสื่อสารภายในองค์กร โดยใช้ช่องทางการสื่อสาร ที่หลากหลายเพื่ออำ�นวยความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และสร้างการสื่อสารที่ต่อเนื่อง ดังนั้นการสร้างการตระหนักรู้จึง ใช้แนวทางการบริหารเนื้อหาและช่องทางการสื่อสาร (Content & Channel Management) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการสร้าง การรับรู้และสร้างทัศนคติในค่านิยมร่วมกัน โดยแบ่งตามประเภท ของสื่อเป็น 2 แบบ คือ สื่อออนไลน์ และสื่อออฟไลน์ ดังนี้ 1. สื่อออนไลน์ ได้แก่ LH Bank People Intranet, LH Bank People Voice, LH BANK People TV, Line, Facebook ซึ่งในปี 2560 ได้มีการพัฒนาและเปิดตัวช่องการทางสื่อสารใหม่ LH Bank People LIVE

• LH BANK People Intranet : เป็นแหล่งข้อมูล ข่าวสารที่พนักงานสามารถเข้าถึงได้ มีทั้งความรู้ทั่วไป ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งรวมความคิดเห็นของ พนักงานในการแสดงความคิดเห็นเรื่องต่างๆ เพื่อนำ�มาวิเคราะห์ และพัฒนาต่อไป อาทิ การกด Like, Comment, Vote • LH BANK People Voice: รายการวิทยุเพื่อสื่อสาร ภายในองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของ พนักงาน โดยส่งเสริมให้พนักงานได้มีส่วนร่วมในการเป็นผู้ดำ�เนิน รายการ


134

รายงานประจำ�ปี 2560

• Social Media: Line, Facebook เป็นอีกหนึง่ ช่องทาง ได้เรียนรูเ้ พือ่ เป็นแนวทางให้สามารถนำ�ไปปฏิบตั เิ ป็นพฤติกรรมใน ของการสือ่ สารเกีย่ วกับการรับสมัครงาน และข้อมูลข่าวสารต่างๆ การทำ�งาน และพนักงานทดลองงานทุกคนต้องเข้าเรียนและผ่าน ภายในธนาคาร ซึ่งเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้คนภายนอกได้ การทดสอบ Pre-test, Post-test ก่อนได้รบั การบรรจุเป็นพนักงาน รู้จักองค์กรมากขึ้น 2. สื่อออฟไลน์ ได้แก่ กิจกรรมที่สื่อสารเสริมสร้างความ ภาคภูมิใจ ความมีส่วนร่วม ความสัมพันธ์ระหว่างธนาคารและ พนักงาน อาทิ กิจกรรม Zone Visit, กิจกรรมมอบเข็มเกียรติคุณ อายุงานครบ 10 ปี เป็นต้น • Zone Visit: เป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสื่อสาร ทิศทางนโยบายของธนาคาร และเป็นการกระชับความสัมพันธ์ ระหว่างพนักงานที่ปฏิบัติงานประจำ�อยู่ในสาขาต่างๆ ทั่วประเทศ อีกทั้งเป็นการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้แก่พนักงาน (Care & Share) นับว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่สามารถเข้าถึงกลุ่มพนักงาน ได้ง่ายที่สุด • การมอบเข็มเกียรติคุณปฏิบัติงานครบ 10 ปี: เพื่อ เป็นการเสริมสร้างขวัญและกำ�ลังใจแก่พนักงาน และแสดงความยินดี กับพนักงานที่ร่วมเติบโตไปกับธนาคาร คุณภาพชีวิตที่ดี เพื่ อ สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี แ ก่ พ นั ก งาน ธนาคารได้ ใ ห้ ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม รวมทั้งดูแลสภาพแวดล้อม และความปลอดภัยในการทำ�งานที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้พนักงานมี ความสุขในการทำ�งาน สุขภาพที่ดี เพือ่ สร้างสุขภาพทีด่ ี ธนาคารได้จดั กิจกรรมและบริการต่างๆ เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพที่ดี อาทิเช่น • การตรวจสุขภาพประจำ�ปี และการฉีดวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ • จัดให้มหี อ้ งพยาบาลทีเ่ ปิดให้บริการทุกวันในวันและเวลา ทำ�การ โดยมีพยาบาลวิชาชีพประจำ�อยู่ที่ห้องพยาบาล เพื่อให้การปฐมพยาบาลพนักงานยามเจ็บป่วยเบื้องต้น ซึ่งในห้องพยาบาลจะมีเตียงพักเพื่อให้พนักงานนอน Digital Handbook พักชั่วคราวเมื่อมีอาการป่วยเล็กน้อย และมีอุปกรณ์ ธนาคารได้จดั ทำ�คูม่ อื พนักงาน ประกอบด้วย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ การปฐมพยาบาล ค่านิยมองค์กร มาตรฐานการบริการ และจรรยาบรรณธุรกิจ ใน • การปรั บ ปรุ ง สวั ส ดิ การให้ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ รูปแบบ Digital Handbook ปัจจุบัน รวมทั้งด้านสุขภาพและความปลอดภัยของ พนักงาน Digital Learning ธนาคารได้พัฒนาช่องทาง และพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร การเรียนรู้เพื่อให้พนักงานเรียนรู้ผ่านระบบ Digital Learning ให้ เป็นปัจจุบัน อาทิ หลักสูตร All about LH Bank หลักสูตร We are LH Bank หลักสูตร Risk Management หลักสูตร Compliance หลักสูตร Product & Service หลักสูตร IT Security หลักสูตร IT Helpdesk หลักสูตร Internal Control และหลักสูตรผู้แนะนำ� การลงทุน เป็นต้น สำ�หรับหลักสูตร We are LH Bank เป็นหัวข้อการเรียนรู้ เกี่ยวกับค่านิยม PRO-AcTIVE และได้กำ�หนดให้พนักงานทุกคน


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

135

สภาพแวดล้อมที่ดีและความปลอดภัยในการทำ�งาน ธนาคารให้ ค วามสำ � คั ญ ในการสร้ า งสภาพแวดล้ อ มใน การทำ�งานที่ดี เพื่อให้พนักงานมีความปลอดภัยในการทำ�งาน ธนาคารได้ ตั้ ง คณะกรรมการความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ สิ่งแวดล้อมในการทำ�งาน (SHE : Safety Healthy Environment) เพือ่ เป็นกลไกในการขับเคลือ่ นนโยบายและแผนความปลอดภัยและ สุขชีวอนามัยให้พนักงานมีความปลอดภัยขณะทำ�งาน ดังนี้ • การสื่ อ สารให้ ความรู้ แ ละสร้ า งความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความปลอดภัยในสถานทีท่ �ำ งานผ่านช่องทางการสือ่ สาร ต่างๆ • การซ้อมหนีไฟประจำ�ปี • การจัดตั้ง SHE Hotline เพื่อรับแจ้งเหตุความไม่ ปลอดภัยต่างๆ ที่เกิดขึ้น พร้อมดำ�เนินการประสาน ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ดี งานกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ทำ�การช่วยเหลือ ทัง้ นี้ สวัสดิการที่ดีเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อขวัญและกำ�ลังใจในการ ในปี 2560 ไม่มีพนักงานได้รับบาดเจ็บขณะปฏิบัติงาน ทำ�งาน ธนาคารสร้างระบบค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม • CARE Project กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ และเป็นธรรม เพื่อให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยธนาคารให้ สวัสดิการต่างๆ ดังนี้ ในด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน ธนาคารได้มีการจัด • เครื่องแบบพนักงาน ตัวแทนหน่วยงานในการเป็นผูน้ �ำ หนีไฟ มีการฝึกซ้อม อบรมผูน้ �ำ • กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ • การรักษาพยาบาล ทันตกรรม และการตรวจสุขภาพ หนีไฟ การติดตั้งผังทางหนีไฟ นอกจากนี้ ธนาคารได้จัดให้มี การสื่อสารด้านสุข ภาพและความปลอดภัย รวมถึงการจั ดทำ � • ประกันชีวิตและประกันสุขภาพกลุ่ม คู่มือเพื่อให้พนักงาน ได้ศึกษาทำ�ความเข้าใจและรับทราบข้อมูล • สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย และสินเชื่อรถยนต์ สวัสดิการต่างๆ ที่จ ะเป็นประโยชน์แก่ตนเองและครอบครั วมี การสื่อสารกระตุ้นเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจส่งผลต่อสุขภาพ และความปลอดภัยในช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์หรือภาวะไม่ปกติ ตลอดจนช่วงระยะเวลาวันหยุดประเพณีมวี นั หยุดติดต่อกันหลายวัน สุขภาพใจที่ดี ธนาคารได้จดั กิจกรรมเพือ่ สร้างความรูส้ กึ ทีด่ ีให้กบั พนักงาน โดยมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพใจที่ดี ดังนี้ • กิจกรรม Welcome Newcomers เพื่อเป็นการต้อนรับ และสร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่พนักงานใหม่ • แบบสอบถาม How are you สำ�หรับพนักงานระหว่าง ช่วงทดลองงาน เพือ่ รับทราบความรูส้ กึ และความคิดเห็น ที่มีต่องาน สภาพแวดล้อมในการทำ�งาน และองค์กร • กิจกรรม Zone visit โดยมีวัตถุประสงค์คือ Share & Care เพือ่ สอบถามความเป็นอยูข่ องพนักงานสาขาและ สิ่งที่ต้องการให้สำ�นักงานใหญ่สนับสนุน


136

รายงานประจำ�ปี 2560

ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค เนือ่ งจากธุรกิจการเงินเป็นธุรกิจทีอ่ งิ กับภาวะเศรษฐกิจการเงิน ของประเทศ จึงทำ�ให้ผลกระทบของการดำ�เนินธุรกิจสามารถส่งผลต่อ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการลงทุนต่างๆ ในวงกว้างกว่าธุรกิจ ประเภทอืน่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จึงกำ�หนด มาตรฐานการดำ�เนินงานของธนาคารให้มปี ระสิทธิภาพควบคูไ่ ปกับ ความรับผิดชอบต่อสังคมโดยเฉพาะความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ทีถ่ อื เป็นผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีธ่ นาคารให้ความสำ�คัญเป็นอันดับต้นๆ

มีการพัฒนาด้านต่างๆ เพือ่ ให้เกิดความคล่องตัวในการใช้บริการของ ลูกค้า มีการนำ�เสนอข้อมูลเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์และบริการทีช่ ดั เจน ถูกต้องแม่นยำ� เพื่อลูกค้าสามารถใช้ประกอบการตัดสินใจ รวมทั้ง มีช่องทางการค้นหาข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายและสามารถ เข้ า ถึ ง ได้ ง่ า ย เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า สามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล เพื่ อ ศึ ก ษา รายละเอียดผลิตภัณฑ์หรือรายการส่งเสริมการขายที่สนใจ

สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภค ธนาคารคำ�นึงถึงผลประโยชน์และสร้างความพึงพอใจให้กับ ธนาคารได้ ป ระกาศสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานของผู้ บ ริ โ ภคเพื่ อ ลูกค้าเป็นสำ�คัญ โดยนำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ และสามารถตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ในทุ กระดั บ ให้ผู้บริโภคได้รับรู้ถึงสิทธิที่พึ่งได้รับจากการใช้บริการของธนาคาร ผ่านช่องทางเว็บไซต์ของธนาคาร ดังนี้ สิทธิของผู้บริโภค 1. สิทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง

ผลิตภัณฑ์

บุคลากรหรือกระบวนการ

• ผู้ บ ริ โ ภคต้ อ งได้ รั บ ชี้ แ จงถึ ง ความแตกต่ า ง • ผู้ บ ริ โ ภคต้ อ งได้ รั บ เอกสารสรุ ป ข้ อ มู ล ลำ � คั ญ ประกอบการ ระหว่าง ผลิตภัณฑ์หลักของธนาคารพาณิชย์ กับ เสนอขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ า นหลั ก ทรั พ ย์ แ ละด้ า นประกั น ภั ย ผลิตภัณฑ์ดา้ นหลักทรัพย์และประกันภัยทีช่ ดั เจน (Fact Sheet) ทีร่ ะบุลกั ษณะพิเศษและความเสีย่ งของผลิตภัณฑ์ • ผู้บริโภคต้องได้รับข้อมูลรายละเอียดผลิตภัณฑ์ ด้วยถ้อยคำ�ที่กระชับ เข้าใจง่าย ตามรูปแบบที่สำ�นักงาน ความเสีย่ ง เงือ่ นไข ผลตอบแทน เช่น ในรูปแบบ คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ของ APR (Annual Percentage Rate) หรือ และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบ IRR (Internal Rate Return) และสมมติฐาน ธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เพื่อประกอบการตัดสินใจในการซื้อ ที่เกี่ยวข้อง ผลิตภัณฑ์ • ผูบ้ ริโภคต้องได้รบั ข้อมูลการโฆษณาหรือการใช้สอ่ื ทางการตลาดในการส่งเสริมการขายอย่างถูกต้อง และเหมาะสม

2. สิทธิที่จะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์และ บริการทางการเงินได้อย่างอิสระ

• ผูบ้ ริโภคมีสทิ ธิตดั สินใจลงทุนอย่างอิสระและสามารถปฏิเสธการซือ้ ผลิตภัณฑ์ด้านหลักทรัพย์และด้านประกันภัยได้ • ผู้บริโภคมีสิทธิปฏิเสธการซื้อผลิตภัณฑ์ด้านหลักทรัพย์และ ด้านประกันภัยควบคู่กับผลิตภัณฑ์ของธนาคารพาณิชย์ และ ธนาคารพาณิชย์ต้องให้สิทธิแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้อหรือ ไม่ซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าว • ผู้บริโภคมีสิทธิ ให้คำ�ยินยอมหรือปฏิเสธการเปิดเผยข้อมูล ตามเอกสารหนังสือให้ความยินยอม ซึ่งแยกออกจากสัญญา การซื้อผลิตภัณฑ์

3. สิทธิทจี่ ะร้องเรียนเพือ่ ความเป็นธรรม

• ผู้บริโภคมีสิทธิร้องเรียนทุกสาขาของธนาคารพาณิชย์ที่ขาย ผลิตภัณฑ์ด้านหลักทรัพย์และด้านประกันภัย (Point of Sale) โดยต้องได้รับหลักฐานว่าธนาคารพาณิชย์ ได้รับเรื่องร้องเรียน แล้ว • ผู้บริโภคสามารถสอบถามข้อมูลเพื่อให้เกิดความเข้าใจใน ผลิตภัณฑ์จากศูนย์ข้อมูลผู้บริโภค (Call Center) ของธนาคาร ผู้ขาย

4. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณา ค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย

• ผูบ้ ริโภคมีสทิ ธิได้รบั การชดเชยตามความเหมาะสม หากพิสจู น์ แล้วว่าธนาคารพาณิชย์ ไม่ได้ปฏิบัติตามแนวนโยบายการขาย ผลิตภัณฑ์ที่ดี โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้ ผู้บริโภคได้รับความเสียหาย


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

137

วงเงินและประเภทลูกค้า รายละเอียดและเงือ่ นไขของผลิตภัณฑ์นน้ั ๆ ไว้ อ ย่ า งชั ด เจนเพื่ อ ลู ก ค้ า สามารถใช้ ป ระกอบการตั ด สิ น ใจได้ ธนาคารได้ ดำ � เนิ น การด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมใน เป็นอย่างดี กระบวนการหลัก (CSR-in-Process) มาอย่างต่อเนื่อง โดยการ ธนาคารมีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายสามารถเข้าถึง ยึดแนวปฏิบตั ติ ามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนา ธุรกิจอย่างยั่งยืน และพัฒนาต่อยอดให้เกิดนวัตกรรมทางธุรกิจ ได้ง่ายเพื่อให้ลูกค้าได้รับข้อมูลข่าวสารสามารถดูรายละเอียดของ จนกลายเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำ�งาน การพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคารได้อย่างสะดวกรววดเร็วและ ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนมาตรฐานการบริการต่างๆ ทัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ ทั่วถึง ซึ่งช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการของ เพือ่ ลดผลกระทบด้านลบทีอ่ าจเกิดขึน้ กับผูม้ สี ว่ นได้เสียของธนาคาร ธนาคาร แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ • สื่อ Off-Line ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ ที่อยู่ตาม ในทุกมิตคิ วบคูไ่ ปกับการสร้างจิตสำ�นึกและทัศนคติทด่ี ใี นความรับผิดชอบ ต่อสังคมให้เกิดขึน้ ทัง้ องค์กรตัง้ แต่คณะกรรมการธนาคาร ผูบ้ ริหาร สาขาของธนาคารและสื่อภายนอก รวมถึงจดหมาย Direct mail ที่ ส่งตรงถึงลูกค้า และพนักงาน • สื่อ On-Line ได้แก่ สื่อผ่านช่องทางตู้ ATM , LCD , ธนาคารได้ พั ฒ นากระบวนการทำ � งานตามนโยบาย Website , Line , Facebook , Youtube , วิทยุ , โทรทัศน์ รวมถึง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น บริการแจ้งเตือนความเคลื่อนไหวของการทำ�รายการ “SMS Alert” โดยกำ�หนดระเบียบและคู่มือปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐาน เน้นการ ธนาคารจัดให้มีพนักงานที่มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และ แบ่งแยกหน้าทีข่ องพนักงานในแต่ละหน่วยงานอย่างเหมาะสมมีขน้ั ตอน การปฏิบตั งิ านทีช่ ดั เจน มีระบบงานทีร่ วดเร็ว มีความถูกต้องแม่นยำ� บริการเพื่อสามารถให้ข้อมูลต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ มีการควบคุมการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การจัดเก็บ ลดการติดขัดในการใช้บริการเพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า หลักฐานการทำ�รายการและเอกสารสำ�คัญเกี่ยวกับการให้บริการ โดยธนาคารมีหน่วยงานที่เป็น Call Center ที่ให้บริการปรึกษา ไว้ในที่ปลอดภัย มีระบบงานที่ทำ�ให้พนักงานและหน่วยงานอื่ น ๆ ตลอด 24 ชั่วโมง โทร. 0 2359 0000 ที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน ช่วยลดข้อผิดพลาด ธนาคารจัดให้มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน แนะนำ� ติชม สามารถตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นีเ้ พือ่ ผลประโยชน์สงู สุดของลูกค้าผูร้ บั บริการเป็นสำ�คัญ อาทิเช่น โดยมีหน่วยงานที่เป็นอิสระในการรับข้อร้องเรียน และดำ�เนินการ • การดูแลบัญชีเงินฝากออมทรัพย์และบัญชีเงินฝากกระแส แก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน มีการจัดเก็บข้อมูลเพื่อนำ�มาพัฒนา รายวันที่ไม่มีรายการเคลื่อนไหวติดต่อกันเกินกว่า 1 ปี ธนาคาร ปรับปรุงการปฏิบัติงานและการให้บริการให้ดียิ่งขึ้น โดยธนาคาร จะแจ้งยอดเงินคงเหลือและเงื่อนไขการตัดชำ�ระค่าบริการรักษา ได้เปิดช่องทางการรับเรื่องเรียนหลายช่องทาง ได้แก่ - สำ�นักงานใหญ่ / สาขาของธนาคาร บัญชีให้ลูกค้ารับทราบล่วงหน้า 30 วัน - ทางโทรศัพท์ Contact Center โทร. 0 2359 0000 • การติดตามทวงหนี้และบริหารหนี้ ผู้ติดตามหนี้ต้อง - Website: www.lhbank.co.th แสดงตัวต่อลูกค้าโดยแจ้งชือ่ และวัตถุประสงค์ในการติดต่อให้ลกู ค้า - Official Facebook Fanpage ได้รับทราบอย่างถูกต้องเหมาะสมและในกรณีที่ผู้ติดตามหนี้ติดต่อ กับลูกค้าโดยตรง (Face to Face) ต้องแสดงเอกสาร ซึ่งแสดงให้ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการดูแลข้อมูลที่เป็นความลับ เห็นว่าตนได้รบั อนุญาตจากธนาคารให้ตดิ ตามทวงถามหนีแ้ ทนด้วย รวมทัง้ ธนาคารได้ก�ำ หนดเวลาและความถี่ในการติดตามทวงถามหนี้ ของลู ก ค้ า โดยไม่ นำ �ข้ อ มู ล ของลู ก ค้ า ไปเปิ ด เผย เว้ น แต่ ไ ด้ รั บ ความยินยอมจากลูกค้าเป็นลายลักษณ์อักษร ที่เหมาะสมไม่รบกวนช่วงเวลาที่เป็นส่วนตัว ดังนี้ - วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 8.00-20.00 น. การวิจัยและวัดระดับความพึงพอใจของลูกค้า - วันหยุดราชการ เวลา 8.00-18.00 น. • การเผยแพร่ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการที่ครบถ้วนตาม ธนาคารคำ�นึงถึงความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้าผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ ความเป็นจริงเพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้บริโภคไม่บิดเบือน แสดงรายละเอี ย ดเงื่ อ นไขที่ เ ข้ า ใจง่ า ย ไม่ ส ร้ า งความสั บ สน และบริ ก าร เพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารที่ เ ป็ น ธรรม มีการเปิดเผยข้อตกลงและเงือ่ นไขการให้บริการให้ลกู ค้าทราบและ มีคุณภาพ ธนาคารได้ ให้หน่วยงานภายนอกที่มีประสบการณ์ มีวิธีปฏิบัติในการให้ลูกค้าแสดงการยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไข ทำ�การวิจัยความพึงพอใจของลูกค้า และการรับรูข้ องประชาชนทัว่ ไป เกีย่ วกับ BRAND ผลิตภัณฑ์ และบริการของธนาคาร เพื่อวัดระดับ ก่อนการตัดสินใจใช้บริการ • การเผยแพร่ประกาศอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม ความพึงพอใจของลูกค้าด้วยวิธีการที่ได้มาตรฐาน มีกระบวนการ ต่างๆ ล่วงหน้าก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ลูกค้าได้รับทราบ เก็บข้อมูลทัง้ ในเชิงคุณภาพและปริมาณ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีค่ รบถ้วน ประกอบการตั ด สิ น ใจในการใช้ บ ริ ก าร ซึ่ ง การเผยแพร่ และโปร่งใส โดยธนาคารได้น�ำ ข้อมูลที่ได้รบั มาเพือ่ ใช้ในการพัฒนา จะกระทำ � โดยการติดประกาศที่ทุกสาขาผ่านเว็บไซต์ของธนาคาร และปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคารให้สอดคล้องกับ www.lhbank.co.th ซึ่ ง ในประกาศจะระบุ อั ต ราดอกเบี้ ย ตาม ความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่มได้อย่างถูกต้อง เพื่อเพิ่ม ความพึงพอใจให้กับลูกค้า การปฏิบัติต่อผู้บริโภค


138

รายงานประจำ�ปี 2560

การเปิดบัญชีสำ�หรับผู้พิการทางสายตา ธนาคารให้ความสำ�คัญกับเข้าถึงบริการทางการเงินของ ประชาชนทุกกลุ่มอย่างทั่วถึง โดยธนาคารได้เปิดให้บริการแก่ ผู้พิการทางสายตาให้สามารถเข้าถึงบริการทางการเงินได้เหมือน กับคนปกติ ดังนี้ 1. ประเภทบริการ 1. ให้บริการเฉพาะเปิดบัญชีเงินฝาก ฝาก/ถอนเงิน จากบัญชีเงินฝาก และปิดบัญชีเงินฝาก 2. เปิดบัญชีเงินฝากได้เฉพาะประเภทออมทรัพย์ และ ฝากประจำ� 3. ถอนเงินฝากและการปิดบัญชีเงินฝากได้เฉพาะ สาขาเจ้าของบัญชี 2. เงื่อนไขในการให้บริการ 1. การลงนามในเอกสารการขอใช้บริการและเงื่อนไข การสัง่ จ่าย โดยการประทับลายนิว้ มือแทนการลงนาม 2. การดำ�เนินการแทนผู้พิการทางสายตา 2.1 กรอกเอกสารการขอใช้บริการ 2.2 อ่านรายการที่ขอใช้บริการ รวมทั้งข้อตกลง และเงื่อนไขในการใช้บริการ 2.3 ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของเอกสารหรื อ ตรวจนับเงินสด 2.4 ลงนามในฐานะพยานในเอกสารการขอใช้ บริการและเงื่อนไขการสั่งจ่าย โดย 2.4.1 กรณีผู้พิการทางสายตามีญาติหรือ บุคคลที่ไว้วางใจมาด้วย - พยานคนที่ 1 เป็นญาติหรือบุคคล ที่ผู้พิการทางสายตาไว้วางใจ - พยานคนที่ 2 เป็นพนักงานสาขา ผู้ให้บริการ 2.4.2 กรณีผู้พิการทางสายตาไม่มีญาติหรือ บุคคลที่ไว้วางใจมาด้วย

- พยานคนที่ 1 เป็นพนักงานสาขา คนที่ อ่ า นเอกสารให้ ผู้ พิ ก าร ทางสายตา - พยานคนที่ 2 เป็นพนักงานสาขาคน ทีก่ รอกเอกสารให้ผพู้ กิ ารทางสายตา 3. ผู้ดำ�เนินการแทนผู้พิการทางสายตา 3.1 กรณี ผู้ พิ ก ารทางสายตามี ญ าติ ห รื อ บุ ค คล ที่ไว้วางใจมาด้วย • ให้ ญ าติ ห รื อ บุ ค คลที่ ผู้ พิ การทางสายตา ไว้วางใจดำ�เนินการ 3.2 กรณี ผู้ พิ การทางสายตาไม่ มี ญ าติ ห รื อ บุ ค คล ที่ไว้วางใจมาด้วย • ให้พนักงานสาขาดำ�เนินการ โดยผู้กรอก เอกสารและผูอ้ า่ นเอกสารหรือข้อตกลงและ เงื่อนไขในการใช้บริการเป็นคนละคนกัน การเข้าร่วมโครงการเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารศูนย์บาท ตามทีค่ ณะกรรมการขับเคลือ่ นตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment เห็นชอบให้จัดทำ�โครงการบูรณาการฐานข้ อมู ล สวัสดิการสังคมและการจ่ายเงินสวัสดิการสังคมทางอิเล็กทรอนิกส์นน้ั ธนาคารเห็นถึงความสำ�คัญต่อความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค จึงได้เข้าร่วมโครงการเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารศูนย์บาท สำ�หรับ การจ่ายเงินสวัสดิการสังคมและเงินอื่นในลักษณะเดียวกั น กั บ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง โดยธนาคารให้บริการเปิดบัญชี เงินฝากด้วยจำ�นวนเงินขั้นต่ำ�ศูนย์บาท และยกเว้นค่าธรรมเนียม การรักษาบัญชี ในการเปิดบัญชีสำ�หรับผู้มีสิทธิในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. ผู้มีสิทธิรับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2. ผูม้ สี ทิ ธิรบั เงินค่าป่วยการอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ� หมู่บ้าน (อสม.) 3. ผู้มีสิทธิรับเบี้ยความพิการ 4. ผู้มีสิทธิรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

กระบวนการหาข้อยุติและการแจ้งผลให้ผู้ร้องเรียนรับทราบ ตามมาตรฐานการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) ตามที่สมาคมธนาคารไทยได้ร่วมกับธนาคารพาณิชย์ก�ำ หนด มาตรฐานการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) เพื่อกำ�หนด ระยะเวลาดำ�เนินการของบริการทางการเงินต่างๆ สำ�หรับลูกค้า บุคคลธรรมดารายย่อย โดยครอบคลุมบริการด้านสินเชือ่ ด้านเงินฝาก ด้านบัตรอิเล็กทรอนิกส์ และด้านบริการทัว่ ไป เพือ่ เป็นการยกระดับ มาตรฐานการให้บริการทางการเงิน ตลอดจนกำ�หนดมาตรฐาน ในการรับและดูแลเรื่องร้องเรียนของลูกค้าซึ่งจะเป็นการช่วยลด เรื่องร้องเรียน ธนาคารได้กำ�หนดมาตรฐานการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) ซึ่งเป็นความมุ่งมั่นของธนาคารที่จะให้บริการ อย่างมีประสิทธิภาพและตอบสนองความต้องการของลูกค้า เพือ่ ให้ ลูกค้าได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว และทราบถึงการดำ�เนินงาน ของธนาคาร ซึง่ มาตรฐานการให้บริการดังกล่าวได้ค�ำ นึงถึงความถูกต้อง และครบถ้วนของข้อเท็จจริง และ/หรือข้อมูล รวมถึงความร่วมมือ ของลูกค้า เหตุสุดวิสัย เหตุการณ์ที่ธนาคารไม่สามารถป้องกันได้ และ/หรือเหตุการณ์ทธี่ นาคารต้องปฏิบตั ติ ามแผนรองรับการดำ�เนิน ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ทัง้ นีธ้ นาคารได้เผยแพร่มาตรฐานการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) ไว้บนเว็บไซต์ของธนาคาร www.lhbank.co.th ประกอบด้วยบริการทางการเงิน 5 ด้าน ดังนี้

139

ยอดเงินไม่ตรงกับทีท่ �ำ รายการ (ไม่รวมกรณีทส่ี งสัยว่า เป็นการ Fraud หรือ ทุจริต) • การทำ�ธุรกรรมโอนเงิน หรือเติมเงินเข้ากระเป๋าเงิน อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Wallet) ผ่ า นช่ อ งทาง อิเล็กทรอนิกส์ ATM/CDM/Internet/Banking Mobile แต่เกิดข้อผิดพลาดระบบขัดข้อง ไม่ได้รบั เงิน ธนาคารจะตรวจสอบ แจ้งผล และปรับปรุงรายการ ให้ถูกต้อง • การขอตรวจสอบรายการโอนเงิ น ผิ ด บั ญ ชี การโอนเงินภายในธนาคารเดียวกัน และโอนเงิน ต่ า งธนาคาร หรื อ เติ ม เงิ น เข้ า กระเป๋ า เงิ น อิเล็กทรอนิกส์ (e-Wallet) ผิดบัญชี (ไม่รวมกรณี ที่สงสัยว่าเป็นการ Fraud หรือ ทุจริต) ธนาคาร จะตรวจสอบและ แจ้งผลการติดตามให้ลกู ค้าทราบ 4. ด้านบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ • การอายัดบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ บัตรเอทีเอ็ม และบัตรเดบิต • การทักท้วงการชำ�ระเงินของผู้ถือบัตรเดบิต • การตรวจสอบรายการใช้บัตรเดบิต ณ จุดขาย ภายในประเทศ และการคืนเงินแก่ผู้ถือบัตร 5. ด้านบริการทั่วไป ได้แก่ • การขอข้อมูลประเภทต่างๆ สำ�หรับลูกค้าบุคคล ธรรมดารายย่อย เกี่ยวกับการคำ�นวณดอกเบี้ย สินเชือ่ /เช่าซือ้ สำ�หรับข้อมูลย้อนหลังไม่เกิน 12 เดือน ธนาคารจะแจ้งข้อมูลให้ลกู ค้าทราบเป็นลายลักษณ์อกั ษร • รายการเดินบัญชีเงินฝาก (Bank Statement) สำ�หรับข้อมูลย้อนหลังไม่เกิน 6 เดือน ธนาคาร จะแจ้งข้อมูลให้ลูกค้าทราบเป็นลายลักษณ์อักษร

1. ด้านการรับและดูแลเรื่องร้องเรียน ได้แก่ • การยืนยันการรับเรื่องร้องเรียนผ่านช่องทางการ ร้องเรียนต่างๆ • การแจ้งข้อยุติหรือความคืบหน้าในการดำ�เนินการ เพื่อแก้ไขเรื่องร้องเรียนสำ�หรับทุกช่องทางการ การกำ�กับดูแลด้านการให้บริการอย่างมีคณ ุ ภาพและเป็นธรรม ร้องเรียน (Market Conduct) 2. ด้านสินเชื่อ สำ�หรับลูกค้าบุคคลธรรมดารายย่อย ได้แก่ บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล • การไถ่ถอนหลักประกัน • ก า ร โ อ น กร ร ม สิ ท ธิ์ ใ ห้ ผู้ เ ช่ า ซื้ อ ร ถ ย น ต์ / กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ทุกบริษัท ให้ความสำ�คัญและส่งเสริม รถจักรยานยนต์เมื่อชำ�ระหนี้เสร็จสิ้น โดยธนาคาร ให้ดำ�เนินการตามแนวทางการกำ�กับดูแลด้านการให้บริการอย่างมี คุณภาพและเป็นธรรม (Market Conduct) ตามทีท่ างการกำ�หนดเพือ่ จะดำ�เนินการจนพร้อมโอนกรรมสิทธิ์ให้ลูกค้า • การพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ โดยธนาคาร การดำ�เนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน โดยมุง่ หมายให้ลกู ค้ามีความเชือ่ มัน่ ว่า 1. ได้รับบริการอย่างเป็นธรรม จริงใจ ไม่เอาเปรียบ จะแจ้งผลการพิจารณาให้ลูกค้าทราบ นับจากวันที่ 2. ได้รับคำ�แนะนำ�ที่เหมาะสมชัดเจน ธนาคารได้รับเอกสารครบถ้วน 3. ได้รับบริการที่เป็นธรรมทั้งด้านราคาและเงื่อนไข • การออกหนังสือยืนยันการชำ�ระหนี้เสร็จสิ้น 4. ได้รับความสะดวกในการใช้บริการ และได้รับการดูแล • การขอตรวจสอบสถานะบัญชีสินเชื่อ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5. ได้รับความเข้าใจในสิทธิและหน้าที่ของตน 3. ด้านเงินฝาก ได้แก่ • การทำ�ธุรกรรมฝาก/ถอนเงินสดผ่านเครื่อง ATM/ CDM กรณี ภายในธนาคารเดี ย วกั น และกรณี ต่างธนาคารแต่เกิดข้อผิดพลาด ไม่ได้รับเงินหรือ


140

รายงานประจำ�ปี 2560

การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) มีเจตนารมณ์ ที่จะดำ�เนินธุรกิจควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดมั่น ในหลักจริยธรรมทางธุรกิจและการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี การดำ�เนิน กิจกรรมเพื่อสังคมจะมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของพนักงานด้วยการ มีจติ อาสา เพือ่ ปลูกฝังจิตสำ�นึกกับการรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ได้ เข้าไปมีบทบาทในการสนับสนุนกิจกรรมเพือ่ สังคมตามวาระและโอกาสต่างๆ โดยมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคมและชุมชน และดำ�เนิน กิจกรรมต่างๆ ที่สร้างสรรค์ อำ�นวยประโยชน์ และสนับสนุน กิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง การมอบทุน การศึกษา การบริจาคหนังสือหรือน้�ำ ดืม่ แก่องค์กรสาธารณกุศลต่างๆ การดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสังคมเพื่อช่วยเหลือและส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตของเยาวชนและสังคมไทยด้วยมุ่งหวังว่าจะร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของการส่งเสริมสังคมไทยให้เข้มแข็งเพือ่ เสริมสร้างรากฐานสังคม ของประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) กิจกรรมเพื่อสังคมที่ดำ�เนินการแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านการศึกษา 2. ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 3. ด้านศิลปวัฒนธรรม 1. ด้านการศึกษา การศึกษานับเป็นพืน้ ฐานของความสำ�เร็จในทุกๆ ด้าน ธนาคาร จึงให้ความสำ�คัญของการส่งเสริมด้านการศึกษา การพัฒนาความรู้ ความสามารถและคุณภาพของเยาวชนไทยมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ การให้ผู้บริหารและพนักงานมีส่วนร่วมในการบริจาคหนังสือเพื่อ ส่งเสริมความรู้ให้แก่ผ้ตู ้องขังในโครงการ “ส่งหนังสือ สื่อความรู้ สู่กรมราชทัณฑ์” อีกทั้งจัดทำ�โครงการสนับสนุนทุนการศึกษา ทั่ ว ประเทศ โดยมี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม เยาวชนที่ เ รี ย นดี มีความสามารถ มีความมุ่งมั่น ที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้มีโอกาสศึกษาต่อ

• โครงการสนับสนุนทุนการศึกษา

บริษัทให้ความสำ�คัญของการศึกษาและการพัฒนาเยาวชน เพื่ อ เป็ น กำ � ลั ง หลั ก และแรงขั บ เคลื่ อ นที่ สำ � คั ญ ของประเทศใน ระยะยาว จึงได้ดำ�เนินโครงการสนับสนุนทุนการศึกษา จำ�นวน 89 ทุนทั่วประเทศ ติดต่อกันเป็นปีที่ 2 เพื่อเยาวชนที่เรียนดี มีความสามารถมีความมุ่งมั่นที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้นแต่ ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้มโี อกาสศึกษาต่อ เพือ่ เป็นการปลูกฝังค่านิยม ให้เยาวชนเห็นคุณค่าและความสำ�คัญของการศึกษา อีกทั้งเป็น การเพิ่มกำ�ลังทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ ในการดำ�เนินการหลักๆ คือ • เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษา ให้กับเยาวชนที่เรียนดี มีความสามารถ มีความประพฤติดีแต่ยากจน • เพื่ อ ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มให้ เ ยาวชนเห็ น คุ ณ ค่ า และความ สำ�คัญของการศึกษา • เพื่ อ เพิ่ ม กำ � ลั ง ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ มี คุ ณ ภาพและ มีศักยภาพให้แก่สังคม • เพือ่ ดำ�เนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ตอบแทนและช่วยเหลือ สังคมและประเทศชาติโดยรวม (Corporate Social Responsibilities) ลักษณะของทุนการศึกษา • เป็ น ทุ น ที่ ใ ห้ กั บ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น และตอนปลายที่ มี ผ ลการเรี ย นสะสมดี เ ด่ น และมี ความประพฤติดี • แบ่ ง พื้ น ที่ ใ ห้ ทุ น การศึ ก ษาผ่ า นเครื อ ข่ า ยสาขาของ ธนาคาร 6 ภูมิภาค • จำ�นวนทุนการศึกษา 89 ทุน คุณสมบัติของผู้ที่ได้รับทุนการศึกษา • สัญชาติไทย และมีภูมิลำ�เนาอยู่ในประเทศไทย • อายุตั้งแต่ 11 ปี - 18 ปีบริบูรณ์ • เป็นผู้ด้อยโอกาสเนื่องจากครอบครัวยากจน หรือขาด บุพการีโดยอยู่ในอุปการะของบุคคลอื่นซึ่งผู้อุปการะมี ฐานะยากจน หรือเป็นผู้ที่อยู่ในความดูแลอุปถัมภ์ของ สถานสงเคราะห์หรือมูลนิธิต่างๆ • เป็นผู้มีความประพฤติดีอยู่ในระเบียบวินัย โดยได้ดำ�เนินการภายใต้เครือข่ายสาขาของธนาคารที่อยู่ใน พืน้ ทีท่ งั้ 6 ภูมภิ าคทัว่ ประเทศ การสรรหาโรงเรียนและเด็กนักเรียน ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมและตรงตามเงือ่ นไขทีจ่ ะได้รบั ทุนการศึกษา มีดังนี้

มอบหนังสือให้แก่กรมราชทัณฑ์ เพือ่ ใช้เป็นสือ่ การเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองของผูต้ อ้ งขัง

รายชื่อโรงเรียนในโครงการสนับสนุนทุนการศึกษา ปี 2560 - โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย จังหวัดกรุงเทพมหานคร - โรงเรียนวัดสุทธิวราราม จังหวัดกรุงเทพมหานคร - โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม จังหวัดปทุมธานี - โรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ - โรงเรียนชื่นชมพิทยาคาร จังหวัดมหาสารคาม - โรงเรียนบุญวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

- - - - - - -

โรงเรียนบ้านหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี โรงเรียนวัดเปี่ยมนิโคธาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา โรงเรียนเทิงพิทยาคม จังหวัดเชียงราย โรงเรียนสันกำ�แพง จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนบ้านทุ่งโฮ้ง จังหวัดแพร่ โรงเรียนวัดเนินมะคึก จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนไทยรัฐวิทยา (8) จังหวัดพิษณุโลก

- - - - - - -

โรงเรียนวัดจันทร์ตะวันออก จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนวัดโป่งหม้อข้าว จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนบ้านหนองกุลา จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนพระนารายห์ จังหวัดลพบุรี โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย จังหวัดสงขลา โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย (2) จังหวัดสงขลา

ภาพกิจกรรมการมอบทุนการศึกษา

141


142

รายงานประจำ�ปี 2560

2. ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม การสนั บ สนุ น โครงการที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ด้ า นสั ง คมและ สิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง การร่วมสนับสนุนกิจกรรมให้กับ สมาคมหรือมูลนิธิต่างๆ โดยการเปิดรับบริจาคเงินผ่านตู้ ATM และผ่านเคาน์เตอร์ LH Bank ทุกสาขาทั่วประเทศ การเชิญชวน ผู้บริหาร พนักงาน และลูกค้า ร่วมบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยต่างๆ รวมไปถึงการร่วมกิจกรรมสนับสนุนการต่อต้าน คอร์รัปชั่นเพื่อกระตุ้นให้สังคมไทยร่วมมือกันต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ • ด้านสังคม

การเปิดรับบริจาคเงินผ่านตู้เอทีเอ็มให้กับองค์กรสาธารณะ ต่างๆ เช่น โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ และมูลนิธิ ส่งเสริมอาชีพคนตาบอด มูลนิธพิ ระครูบาน้อย เขมปัญโญ เป็นต้น การเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชือ่ ดอกเบีย้ ต่�ำ เพือ่ ช่วยเหลือ ผู้ประกอบการ SMEs

ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมมีนโนบายช่วยเหลือผู้ประกอบ การ SMEs นัน้ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้า ร่วมโครงการเปิดศูนย์สนับสนุนและช่วยเหลือเอสเอ็มอี (SME Support & Rescue Center) เพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ที่ประสบปัญหาทางธุรกิจ ทัง้ ด้านการพัฒนาและการเงินเพือ่ เพิม่ โอกาสผูป้ ระกอบการ SMEs สามารถเข้าถึงสินเชือ่ มากขึน้ ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศการลงทุน และสร้างเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจในประเทศ

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับ สมาคม ธนาคารไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย และสมาคมโทรคมนาคม แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สมาคมโทรคมนาคมฯ) ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงการยกระดับความปลอดภัยในการใช้ บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านอุปกรณ์โทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดยเริม่ ต้น ที่โครงการระบบรับและโอนเงินพร้อมเพย์ เพื่อผลักดันให้การทำ� ธุรกรรมการชำ�ระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภัย ซึง่ จะส่งผลต่อ ลูกค้าให้มีความเชื่อมั่นและผลดีต่อสังคมและเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศต่อไป • ด้านสิ่งแวดล้อม

จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่ช่วง เดือนมกราคม 2560 เป็นต้นมา ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีความห่วงใยประชาชนและลูกค้าธนาคารที่อยู่ในพื้นที่ ประสบภัยน้ำ�ท่วมในหลายจังหวัดของภาคใต้ ธนาคารจึงได้ให้ ความช่วยเหลือด้านต่างๆ แก่ผู้ประสบภัย อาทิ การเชิญชวน ผู้บริหาร พนักงาน และลูกค้า ผู้มีอุปการคุณ ร่วมบริจาคเงินเพื่อ นำ�ไปช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยภาคใต้ผ่านสภากาชาดไทย

• ด้านกิจกรรมรวมพลังจิตอาสาเพื่อพัฒนาสังคม

กิจกรรมร่วมบริจาคโลหิตกับสภากาชาดไทย


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

143

การเข้าร่วมโครงการอบรม Train the Trainer “คนไทยยุคใหม่...ใส่ใจเรื่องเงิน” เป็นหนึ่งในแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ของสมาคมธนาคารไทย ในการส่งเสริมการให้ความรู้ ด้านการเงิน (Financial Literacy) เพื่อมุ่งเน้นการให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนทัศนคติ การสร้างวินัยทางการเงิน แก่ภาคประชาชน โดยกลุ่มเป้าหมายนำ�ร่อง คือ เยาวชน นักศึกษามหาวิทยาลัย ในพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล

• การส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนไทย

ธนาคารเล็งเห็นถึงเยาวชนไทยคืออนาคตของชาติและจะ ทำ�อย่างไรให้เยาวชนเป็นคนเก่งและเป็นคนดี ธนาคารจึงได้รว่ มกับ ชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย และสภาองค์การพัฒนาเด็ก และเยาวชนในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี (สอ.ดย.) ภายใต้ ชื่ อ โครงการ “รู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ” หรือเรียกภาษาอังกฤษว่า “Saving for Change” มาอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2557-2558 (โครงการปีที่ 1) เป็นต้น มาจนถึงปี พ.ศ. 2559-2560 (โครงการปีที่ 2) เพื่อให้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการทางการเงินส่วนบุคคลและปลูกฝังวินัย ทางการเงิ น ให้ เ กิ ด ขึ้ น แก่ แ กนนำ � นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ในสถาบันการศึกษาในจังหวัดนครปฐม โดยร่วมมือกับองค์กรภาค สังคม ได้แก่ สภาองค์การพัฒนาเด็กและเยาวชน ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สอ.ดย.) และ ภาคีอื่น ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศูนย์คุ้มครอง ผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ศูนย์คุ้มครอง ผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) สำ�นักงานป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และเครือข่ายเพื่อนกระบวนกร เพื่อร่วมกันสร้างความเปลี่ยนแปลงที่ดีเชิงทัศนคติและพฤติกรรม ให้เกิดขึ้นกับเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย โครงการรู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ (1) พัฒนาวิทยากรของธนาคารสมาชิกชมรม CSR สมาคม ธนาคารไทยให้มีทักษะในการให้ความรู้ทางการเงินแก่เยาวชน (2) สร้างแกนนำ�นักศึกษาให้มีความรู้ขั้นพื้นฐานในเรื่อง การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล และสามารถขยายผลต่อไปยัง ชุมชนได้ (3) พัฒนาหลักสูตรมาตรฐานที่สถาบันการเงินจะนำ�ไปใช้ ในการให้ความรู้ทางการเงินแก่เยาวชน รูปแบบการดำ�เนินโครงการ (1) จัดอบรมพัฒนาทักษะวิทยากรของธนาคารสมาชิก 15 แห่ง ด้านความรูพ้ นื้ ฐานทางการเงิน เทคนิคการให้ความรูท้ างการเงินแก่ เยาวชน และภัยทางการเงิน

(2) วิทยากรที่ผ่านการอบรมในข้อ (1) ลงพื้นที่จังหวัด นครปฐมเพื่ อ ให้ ความรู้ พื้ น ฐานเรื่ อ งการวางแผนทางการเงิ น ส่วนบุคคลแก่แกนนำ�นักศึกษา (3) วิทยากรจากสำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ (ปปช.) ปลูกฝังแนวคิดเรื่องการต่อต้านการทุจริตให้กับ แกนนำ�นักศึกษา (4) วิทยากรจากเครือข่ายเพือ่ นกระบวนกรให้ความรูแ้ ก่แกนนำ� นักศึกษาเรือ่ งการบริหารจัดการโครงการ (Project Management) เพื่อให้แกนนำ�นักศึกษาสามารถจัดทำ�โครงการขยายผลกับชุมชน รอบข้างได้ (5) ประเมินผลการดำ�เนินโครงการระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 (6) จัดพิธีแสดงผลงานเพื่อเป็นเวทีให้แกนนำ�นักศึกษาได้ นำ�เสนอผลงานต่อสาธารณชน ผลงานของโครงการรู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ (1) พัฒนาทักษะการให้ความรูท้ างการเงินและการสร้างวินยั ทางการเงินให้กบั วิทยากรจากธนาคารสมาชิกทัง้ 15 แห่ง ได้รวม 133 คน (2) อบรมให้กับแกนนำ�นักศึกษาจำ�นวน 614 คนจาก 10 สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาและสภาเด็กและเยาวชน จังหวัด นครปฐม และ 206 คนในจำ�นวนนี้มีความสามารถในการเป็นผู้นำ� การเปลีย่ นแปลง (Peer educators) โดยจัดทำ�กิจกรรมขยายผลกับ ชุมชนขึ้น 34 กิจกรรม มีผู้ได้รับประโยชน์ 6,261 คน (3) พัฒนาหลักสูตร 4 รู้สู่ความมั่งคั่งเพื่อใช้เป็นหลักสูตร มาตรฐานของสถาบันการเงินในการให้ความรู้แก่เยาวชนระดับ อุดมศึกษา (4) ปรับทัศนคติของเยาวชนกลุม่ เป้าหมายทีม่ ตี อ่ ธนาคาร ไปในทางที่ดีขึ้น (5) เป็นโครงการต้นแบบให้กับโครงการรณรงค์สร้างวินัย ทางการเงินเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 ซึ่งริเริ่มโดยสหพันธ์สตรีนักธุรกิจและวิชาชีพ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ โดยได้รับความร่วมมือ จากองค์กรภาคีหลักอีก 5 แห่ง ได้แก่ กระทรวงพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สภาหอการค้าไทย สมาคมธนาคารไทย และ สอ.ดย. เพื่อรณรงค์


144

รายงานประจำ�ปี 2560

สร้างวินัยทางการเงินให้กับลูกจ้างและพนักงานบริษัทขององค์กร ต้นแบบ 66 แห่ง ในปี 2559-2561 (6) ผู้ประกอบการภาคสังคมตระหนักถึงประโยชน์ที่ภาค การธนาคารให้กับสังคมในโครงการนี้ และมีทัศนคติที่ดีต่อภาค การธนาคาร เช่ น มู ล นิ ธิ ส งเคราะห์ เ ด็ ก ยากจน ซี . ซี . เอฟ. ในพระราชชูปถัมภ์ ได้แสดงความชื่นชมต่อการดำ�เนินโครงการ และขอนำ�หลักสูตรของโครงการไปอบรมให้เด็กด้อยโอกาสในมูลนิธิ จำ�นวน 79 คน นอกจากนี้ เครือข่ายนักพัฒนารุน่ ใหม่ภาคตะวันออกได้มี การปรับเปลีย่ นทัศนคติและพฤติกรรมการใช้จา่ ยเงินของตน ตัง้ แต่ ได้เข้ารับการอบรม Train the Trainers ร่วมกับวิทยากรของชมรม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ในฐานะ 1 ใน 15 สมาชิกของชมรม CSR สมาคมธนาคารไทยได้ให้ความร่วมมือ อย่างต่อเนือ่ งในการดำ�เนินโครงการรูเ้ ก็บ รูใ้ ช้ สบายใจ ด้วยตระหนัก ถึงความสำ�คัญในการปลูกฝังความรู้ด้านการวางแผนทางการเงิน การสร้างวินัยทางการเงิน และคุณธรรมเรื่องการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นอย่างบูรณาการให้กับสังคมตั้งแต่ระดับเยาวชนเพื่อร่วม สร้างรากฐานทางเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืนให้กับสังคมต่อไปใน อนาคต เพือ่ เป็นการรณรงค์เสริมสร้างวินยั ทางการเงินให้แก่เยาวชน ทีเ่ ป็นแกนนำ�จากมหาวิทยาลัยต่างๆ เพือ่ พัฒนาศักยภาพแกนนำ�ให้ มีบทบาทในการรณรงค์เผยแพร่ดา้ นวินยั ทางการเงิน อันเป็นการนำ� ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะของภาคธนาคาร ในการสร้าง ประโยชน์แก่ชมุ ชนและสังคมเพือ่ ตอบสนองเจตนารมย์ของธนาคาร ที่เล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการสร้างทุนทางปัญญาให้กับสังคม เพื่อพัฒนาสังคมให้เป็นสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน

การจัดกิจกรรม My Bank My Love โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างลูกค้าและธนาคารอย่างต่อเนื่อง เป็นประจำ�ทุกปี โดยนำ�เสนอกิจกรรมที่มีคุณค่าและมีประโยชน์ ต่อลูกค้า ทั้งนี้ ธนาคารได้จัดจ้างผู้สูงอายุที่มีความเชี่ยวชาญใน แขนงต่างๆ มาเป็นวิทยากรเพื่อถ่ายทอดความรู้แก่ลูกค้าธนาคาร ส่งผลให้ลูกค้าที่มาเข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำ�ความรู้ที่ได้รับไป ประกอบอาชีพได้ อาทิ กิจกรรมทำ�สบู่หอม กิจกรรมทำ�น้ำ�ปรุง กิจกรรมจัดดอกไม้ กิจกรรมเย็บปักถักร้อย กิจกรรมปัน้ ดิน กิจกรรม ทำ�ยาดมสมุนไพร เป็นต้น

การสนั บ สนุ น โครงการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิต คนพิการ โดยการมอบอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จำ�นวน 271 เครื่อง ให้กับสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล เพื่อให้สมาคมฯ นำ�ไปแยกชิ้นส่วนรีไซเคิล หรือดัดแปลงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และ นำ�ไปจำ�หน่ายหารายได้มาช่วยเหลือคนพิการ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

145

การสนับสนุนกิจกรรมด้านกีฬาเพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งพัฒนา เยาชนให้เป็นบุคคลากรทีเ่ ข้มแข็งมีระเบียบวินยั และมีสขุ ภาพดี โดย การสนับสนุนชุดแข่งขันกีฬาแฮนด์บอล ให้กบั สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตลำ�ปาง

3. ด้านศิลปวัฒนธรรม การเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณีต่างๆ ร่วมกับประชาชน ในพื้นที่ที่ธนาคารให้บริการอยู่ อาทิ การสนับสนุนกิจกรรมเนื่องใน เทศกาลตรุษจีน การสนับสนุนกิจกรรมงานวันเด็ก เพื่อเสริมสร้าง และส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรมร่วมกับ ชุมชนโดยรอบสาขาของธนาคาร

สนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก ณ ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ สวนลุมพินี

LH Bank พื้นที่เยาวราช ร่วมกิจกรรมงานเทศกาลตรุษจีน โดยมอบน้ำ�แห่งความร่ำ�รวยและส้มมงคลให้กับลูกค้าของธนาคาร


146

รายงานประจำ�ปี 2560

การจัดการสิ่งแวดล้อม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ตระหนักถึง ความสำ�คัญของปัญหาสิง่ แวดล้อมด้วยเห็นว่าการดำ�เนินกิจการต่างๆ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เมือ่ เวลาผ่านไป ผลกระทบดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม และ เป็นสาเหตุทก่ ี อ่ ให้เกิดมหันตภัยทางธรรมชาติ ซึง่ ทำ�ให้เกิดความสูญเสีย อย่างมหาศาล ธนาคารได้ดำ�เนินมาตรการหลายประการเพื่อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการมี ส่ ว นร่ ว มลดปั ญ หามลพิ ษ เพื่ อ ช่ ว ยรั ก ษา สิง่ แวดล้อม โดยได้มกี ารรณรงค์การประหยัดพลังงานภายในองค์กร และประหยัดการใช้กระดาษ โครงการ GREEN OFFICE การดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ของธนาคาร ล้วนต้องใช้ทรัพยากร พลังงาน และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ทัง้ ขยะและน้�ำ เสีย ธนาคารจึงมีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศ อันเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และปรากฏการณ์โลกร้อน (Global Warming) ทีก่ �ำ ลัง กลายเป็นวิกฤติดา้ นสิง่ แวดล้อมทีส่ �ำ คัญ และมีผลกระทบอย่างกว้าง ขวางทั้งในประเทศและทั่วโลก

ใหม่ๆ ที่ช่วยลดมลภาวะและช่วยลดการใช้พลังงาน ซึ่ ง จากการดำ � เนิ น โครงการต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ ปี 2555 ส่ ง ผลให้ ส ามารถลดค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า นพลั ง งานและ ประหยั ด ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ได้ เช่น ค่าใช้จ่ายกระดาษ ค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์สำ�นักงานและค่าใช้จ่าย ในการซ่อมบำ�รุง รวมทั้งประหยัดพื้นที่ในการจัดวาง อุปกรณ์สำ�นักงาน • การเลือกใช้หลอดไฟแบบหลอดผอมประหยัดพลังงาน หลอดไฟ LED และหลอดไฟที่มีวัตต์พอเหมาะกับพื้นที่ ขนาดของสายไฟที่เหมาะสม การเลือกใช้สีโทนอ่อน ตกแต่งอาคาร และใช้แสงจากธรรมชาติให้มากที่สุด และเลือกใช้หัวก็อกน้ำ�ที่ประหยัดน้ำ� ตั้งแต่ปี 2559 ต่อเนื่องถึงปี 2560 ได้มีโครงการเปลี่ยน การใช้หลอดไฟจากหลอดผอมมาเป็นหลอดไฟ LED ซึ่งช่วยลด การใช้พลังงานประมาณร้อยละ 25 และลดความร้อนจากการ แผ่กระจายของรังสีความร้อนลดลงอย่างมากเมือ่ เทียบกับหลอดผอม ซึ่งได้ดำ�เนินโครงการทั่วทั้งองค์กรเรียบร้อยแล้ว

ธนาคารได้ เ ห็ น ความสำ � คั ญ ของการบริ ห ารจั ด การ สิง่ แวดล้อมทีด่ ี จึงได้มอบหมายให้คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ทำ�การศึกษาและพัฒนา แนวปฏิบตั ติ า่ งๆ เพือ่ จัดทำ�โครงการ Green Office ต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2555 โดยสร้างความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการทรัพยากร พลังงาน และสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยมีเป้าหมาย ให้เกิดการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างคุม้ ค่า มีประสิทธิภาพ เพือ่ ยกระดับมาตรฐานสำ�นักงานให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น และรณรงค์ให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการลดปริมาณการใช้พลังงาน ลดปริมาณการปล่อยมลภาวะเสียสู่สาธารณะ การดำ�เนินโครงการ GREEN OFFICE 1. เลือกใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 2. ใช้พลังงานแสงสว่างจากธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ 3. การจัดวาง Layout ของสำ�นักงาน 4. ส่งเสริมกิจกรรม 5 ส. 5. การตรวจวัดค่ามาตรฐานแสงสว่างภายในสำ�นักงาน 6. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในสำ�นักงาน การบริหารจัดการพลังงาน ธนาคารได้บริหารจัดการพลังงานอย่างต่อเนื่อง ทั้งไฟฟ้า และน้ำ�ประปา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่า มีประสิทธิภาพ อาทิเช่น • การปรั บ ปรุ ง อาคารสำ � นั ก งาน อุ ป กรณ์ สำ � นั ก งาน ทีม่ งุ่ ใส่ใจสิง่ แวดล้อม และมุง่ เน้นการบริหารจัดการเพือ่ ลดมลภาวะ ลดการใช้พลังงานและลดค่าใช้จ่าย • การลดจำ�นวนอุปกรณ์สำ�นักงานที่เป็นเทคโนโลยีร่นุ เก่า และเป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้ได้เฉพาะด้าน (Single Function) ที่มีอยู่เดิมลง โดยเปลี่ยนไปใช้เทคโนโลยี

ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ปริมาณการใช้ไฟฟ้าปี 2560 ทัง้ สิน้ 1,870,689 หน่วย(kWh) เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2559 ที่ใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น 1,849,692 หน่วย (kWh) หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.14 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปี 2560 มีการขยายตัวของธุรกิจ มีการใช้ห้องประชุม และพืน้ ทีอ่ เนกประสงค์ เพือ่ จัดอบรม สัมมนาและทำ�กิจกรรมต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างมาก


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

147

ปริมาณการใช้ ไฟฟ้า (หน่วย) 1,870,689

1,849,692

1,322,054

1,302,955

1,386,123

1,150,900

2560

2559

2558

2557

2556

2555

ปริมาณการใช้น้ำ�ประปา ปริมาณการใช้น�ำ้ ประปาปี 2560 ทัง้ สิ้น 29,983 ลูกบาศก์เมตร เนื่องจากปี 2560 มีการขยายตัวของธุรกิจ มีการใช้ห้องประชุม เพิม่ ขึน้ เมือ่ เทียบกับปี 2559 ทีใ่ ช้น�ำ ้ ประปาทัง้ สิน้ 18,390 ลูกบาศก์เมตร และพื้ น ที่ อ เนกประสงค์ เพื่ อ จั ด สั ม มนาและทำ�กิ จ กรรมต่ า งๆ หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 63.04 ปริ ม าณการใช้ น้ำ � ประปาเพิ่ ม ขึ้ น เพิ่มมากขึน้

ปริมาณการใช้น้ำ�ประปา (ลูกบาศก์เมตร) 29,983

18,390 13,586 9,399

2560

2559

2558

2557

10,037

2556

10,676

2555


148

รายงานประจำ�ปี 2560

การเปลี่ยนรูปแบบแฟ้มหนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการ ชุดต่างๆ เป็นการบันทึกข้อมูลลงใน iPad ธนาคารเปลี่ยนวิธีการทำ�เอกสารประกอบการประชุม คณะกรรมมการชุ ด ต่ า งๆ อาทิ คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จากการพิมพ์หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุม ในรูปแบบกระดาษ เปลีย่ นเป็นการบันทึกข้อมูลลงใน iPad ทำ�ให้ ปริมาณการใช้กระดาษลดลงประมาณเดือนละ 5,000 แผ่น

โครงการบริหารจัดการ Pool Printer ธนาคารเปลี่ยนรูปแบบการใช้งานของ Printer จากเดิม ฝ่ายงานต่างๆ ใช้ Printer แบบ Single Function เปลี่ยนเป็น แบบ Multi Function (4 in 1) โดยจัดวางให้เป็น Pool เพื่อให้ ฝ่ายงานต่างๆ ได้ใช้รว่ มกัน ทำ�ให้ประหยัดปริมาณการใช้ไฟฟ้า และ ประหยัดพื้นที่ใช้สอย ปริมาณการใช้กระดาษ ปริมาณการใช้กระดาษปี 2560 จำ�นวน 13,235 รีม ลดลง จากปี 2559 ที่ใช้กระดาษทัง้ สิน้ 14,325 รีม หรือลดลงร้อยละ 7.61

ปริมาณการใช้กระดาษ (รีม)

21,210 15,680

14,325

14,313 13,780

13,235

2560

2559

2558

โครงการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างสถานทีท่ �ำ งาน ธนาคารให้ความสำ�คัญถึงอันตรายของแสงสว่างซึง่ มีผลกระทบ ต่อพนักงาน ในกรณีแสงสว่างน้อยหรือมากเกินไปจะมีผลเสียต่อ นัยน์ตา ทำ�ให้การหยิบจับเครื่องมืออุปกรณ์อาจผิดพลาดทำ�ให้เกิด อุบัติเหตุได้ รวมทั้งก่อให้เกิดผลทางจิตใจ คือ อาจเบื่อหน่ายใน การทำ�งาน และประสิทธิภาพในการทำ�งานลดลง

2557

2556

2555

ขั้นตอนการวัดผลและเก็บข้อมูล 1. วัดทีจ่ ดุ ทำ�งาน เป็นการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง บริเวณที่ลูกจ้างต้องทำ�งานโดยใช้สายตาเฉพาะจุดหรือ ต้องใช้สายตาอยู่กับที่ในการทำ�งาน 2. วัดแบบค่าเฉลีย่ ของพืน้ ทีท่ ว่ั ไป เป็นการตรวจวัดความเข้ม ของแสงสว่างในบริเวณพื้นที่ทั่วไป เช่น ทางเดิน และ บริเวณพื้นที่ทำ�งาน

ผลลั พ ธ์ จ ากการดำ � เนิ น โครงการตรวจวั ด ความเข้ ม ของ ตั้งแต่ปี 2557 ธนาคารได้ดำ�เนินโครงการตรวจวัดความ แสงสว่ างสถานที่ทำ�งาน จากการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง เข้มของแสงสว่างทุกพื้นที่ในสำ�นักงาน เพื่อดูแลให้พื้นที่ท�ำ งานมี แสงสว่างเพียงพอ และจะตรวจวัดค่าความเข้มของแสงสว่าง ในหน่วยของลักซ์ (Lux) โดยทำ�การตรวจวัดตามสภาพความเป็นจริง พบว่าความเข้มของแสงสว่างในสถานทีท่ �ำ งานทุกพืน้ ทีข่ องธนาคาร ทุก 3 ปี เพียงพอและเป็นไปตามมาตรฐาน กล่าวคือ ค่ามาตรฐานอยู่ที่ ไม่น้อยและมากกว่า 400 Lux


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

กิจกรรม 5 ส. ธนาคารได้ทำ�กิจกรรม 5 ส. ได้แก่ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และ สร้างนิสัย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ทำ�ให้สถานที่ทำ�งาน และสภาพแวดล้อมการทำ�งานสะอาด บุคลากรมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ลดการสิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณ เพิม่ ประสิทธิภาพการทำ�งาน โดยกิจกรรม 5 ส. ได้รบั ความร่วมมือ จากพนักงานเป็นอย่างดี และธนาคารได้ด�ำ เนินโครงการอย่างต่อเนือ่ ง ผลลัพธ์จากกิจกรรม 5 ส. 1. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการ สะสาง • ขจัดความสิ้นเปลืองของทรัพยากร • มีพื้นที่ใช้สอยเพิ่มขึ้น • ทีท่ �ำ งานดูกว้างและโล่ง สะอาดตา ทำ�ให้พนักงาน มีสุขภาพจิตที่ดี 2. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการทำ�ให้ สะดวก • ขจัดการค้นหาที่เกิดขึ้นอยู่บ่อยๆ • เพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน • เป็นภาพพจน์ที่ดีของธนาคาร 3. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการทำ�ให้ สะอาด • มีสภาพแวดล้อมที่ดี น่าทำ�งาน • ขจัดความสิ้นเปลืองของทรัพยากร • เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือเครื่องใช้ ลดปัญหา การขัดข้องหรือเสียบ่อยของอุปกรณ์สำ�นักงาน 4. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการทำ�ให้ถูก สุขลักษณะ • สถานที่ทำ�งานเป็นระเบียบเรียบร้อย น่าทำ�งาน • สุขภาพที่ดีของพนักงานทั้งร่างกายและจิตใจ 5. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการ สร้างนิสัย • พนักงานมีทัศนคติที่ดีในการทำ�งาน • ลูกค้าได้รบั บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ และสะดวกรวดเร็ว LH BANK ATM ร่วมลดภาวะโลกร้อน

149

ธนาคารได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการลดภาวะโลกร้ อ น โดยเพิ่ ม ทางเลือกให้ลูกค้าที่จะไม่พิมพ์ ใบบันทึกรายการจากการใช้บริการ ตูเ้ อทีเอ็ม เพือ่ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยลดภาวะโลกร้อน ผ่านตูเ้ อทีเอ็ม ของธนาคาร ซึง่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ธนาคาร มีตู้เอทีเอ็มจำ�นวน 204 เครื่อง รวมทั้งลดการใช้กระแสไฟฟ้าของ เครื่องเอทีเอ็มที่อยู่ในห้างสรรพสินค้า โดยปรับลดเวลาเปิด-ปิด ระบบไฟฟ้าและแสงสว่างตามเวลาเปิด-ปิดของห้างสรรพสินค้า การสื่อสารเพื่อรณรงค์ด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ธนาคารได้มงุ่ เน้นการสร้างจิตสำ�นึก และจุดประกายการสร้าง ความมีส่วนร่วมในการประหยัดพลังงาน และรักษ์สิ่งแวดล้อม ผ่านช่องทางการสื่อสารภายในธนาคารผ่าน Intranet : LH BANK People : คอลัมน์ Pro Eco ซึ่งมีเนื้อหาสาระให้พนักงานสามารถ นำ�กลับไปปฏิบัติได้จริง ทั้งที่บ้านและที่ทำ�งาน อาทิ • ประหยัดน้ำ�ด้วยวิธีง่ายๆ ประหยัดได้หลายลิตร • 10 วิธีลดจำ�นวนขยะ • ประหยัดพลังงานใกล้ตัวง่ายๆ ฉบับชาว Office • วิ ธี ป ระหยั ด น้ำ � สู้ วิ ก ฤตภั ย แล้ ง ขอให้ ต ระหนั ก แต่อย่าตระหนก • ทิ ช ชู่ กั บ เรื่ อ งต้ อ งรู้ ก่ อ นเลื อ กใช้ ตอนทิ ช ชู่ จ าก เยื่อกระดาษรีไซเคิลทางเลือกใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม


150

รายงานประจำ�ปี 2560

นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำ�เนินความรับผิดชอบต่อสังคม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่น ในการคิดค้นให้เกิดนวัตกรรมทีส่ ามารถสร้างประโยชน์ตอ่ ธุรกิจและ สังคมไปพร้อมๆ กัน รวมทั้งได้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการทางการเงินอย่างต่อเนื่อง เพื่ออำ�นวยความสะดวกและ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า อีกทัง้ เป็นการรองรับกับโลกยุคใหม่ ทีก่ �ำ ลังขับเคลือ่ นสูก่ ารปฏิรปู เชิงดิจติ อล (Digital Transformation) และนโยบายของรัฐบาลในการดำ�เนินแผนงานสู่ Digital Economy ซึ่งธนาคารได้ตระหนักถึงความสำ�คัญนี้ จึงส่งเสริมให้มีการพัฒนา นวัตกรรมของผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินในรูปแบบดิจิตอล Digital Banking เพือ่ ช่วยลูกค้าประหยัดเวลาการเดินทาง ลดค่าใช้จา่ ย และสะดวกต่อการใช้บริการ

อีกทั้งยังสามารถนำ�บัตรไปใช้สอบถามยอดและถอนเงินที่ เครื่องเอทีเอ็มต่างประเทศที่มีสัญลักษณ์ UnionPay International และสามารถซื้อสินค้าและบริการที่ร้านค้าหรือ Online Shopping ได้อย่างสะดวก พร้อมรับสิทธิพิเศษมากมายจากร้านค้าที่เข้าร่วม โปรโมชั่นกับ UnionPay International

บริการทางการเงินบนรถตูเ้ คลือ่ นที่ ทีเ่ ปรียบเสมือนสาขา เคลื่อนที่เป็นการเพิ่มช่องทางการให้บริการทางการเงินแก่ลูกค้า ตามจุดต่างๆ เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้ลูกค้า ประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปทำ�ธุรกรรมที่สาขา บริการบัตรเดบิตพรีเมี่ยม (LH Bank Premium) เป็น บริการฝาก-ถอน เงินสดทีส่ าขาของธนาคารโดยไม่ตอ้ ง บัตรที่คุ้มครองอุบัติเหตุส่วนบุคคลสูงสุด 300,000 บาท ซึ่งรับ เขียนสลิป เป็นอีกหนึ่งบริการที่ช่วยเพิ่มความสะดวกให้กับลูกค้า ประกันภัยโดย บมจ.ชับบ์สามัคคีประกันภัย โดยไม่ต้องตรวจ ให้สามารถทำ�ธุรกรรมได้รวดเร็วยิ่งขึ้น สุขภาพ เพียงแถลงประวัติสุขภาพในใบสมัคร คุ้มครองทันที สำ�หรับค่ารักษาพยาบาลเนือ่ งจากอุบตั เิ หตุ เพียงยืน่ บัตร LH Bank บริการทางการเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ (LH Bank Premium พร้อมบัตรประชาชนกับสถานพยาบาลคู่สัญญา M Choice) เพือ่ อำ�นวยความสะดวกในการทำ�ธุรกรรมทางการเงิน ผ่านโทรศัพท์มอื ถือ โอนเงิน เช็คยอดเงิน จ่ายบิล ได้ทกุ ที่ ทุกเวลา บริ ก าร LH Bank PromptPay (พร้ อ มเพย์ ) ซึ่งปัจจุบันเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิตประจำ�วัน สามารถ เป็นบริการรับ-โอนเงินรูปแบบใหม่ เพื่อลดการพกพาเงิ น สด ให้บริการอย่างไร้ข้อจำ�กัด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสถานที่ เวลา ด้วย โดยการผูกบัญชีเงินฝากของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กับ รูปแบบและมาตรฐานความปลอดภัยเช่นเดียวกันกับการทำ�ธุรกรรม หมายเลขบัตรประชาชนหรือหมายเลขโทรศัพท์มือถือก็สามารถ ผ่านสาขาธนาคาร รั บ -โอนเงิ น ได้ ง่ า ยๆ เพี ย งใช้ ห มายเลขบั ต รประชาชน หรื อ หมายเลขโทรศัพท์มอื ถือ โดยไม่ตอ้ งใช้เลขทีบ่ ญั ชีเงินฝากธนาคาร บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต (LH Bank Speedy) สามารถใช้บริการ LH Bank PromptPay ผ่าน 4 ช่องทาง ได้แก่ เพือ่ อำ�นวยความสะดวกในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินทีส่ ามารถทำ� 1. โทรศัพท์มือถือ (LH Bank M Choice) ธุรกรรมได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัย 2. อินเตอร์เน็ต แบงกิ้ง (LH Bank Speedy) แบบ Double Security ที่ทำ�ให้การทำ�ธุรกรรมทางการเงินมี 3. ตู้ ATM LH Bank ความมั่นใจ มีเมนูใช้งานง่าย สามารถทำ�รายการโอนเงินภายใน 4. สาขาของธนาคาร ธนาคาร โอนเงินต่างธนาคาร ชำ�ระค่าสินค้าและบริการ ชำ�ระสินเชือ่ ตรวจสอบสถานะเช็คหรืออายัดเช็ค รวมถึงตรวจสอบสถานะทางบัญชี และธนาคารจะส่ง SMS แจ้งผลการทำ�ธุรกรรมให้ลูกค้าทราบ ทุกครั้งที่มีการทำ�รายการผ่านโทรศัพท์มือถือ บริ ก ารบั ต ร ATM Chip Card และบั ต ร Debit Chip Card เป็นบัตรที่มีความปลอดภัยด้วยการใช้ Chip Card ในการบันทึกข้อมูล เพิ่มความมั่นใจในการทำ�ธุรกรรมทางการเงิน บัตร ATM Chip Card และบัตร Debit Chip Card เป็นบัตรที่ช่วย อำ�นวยความสะดวกในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินที่สามารถทำ� ธุรกรรมได้ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง และ บริการของบัตรสามารถ ถอนเงิน โอนเงิน ชำ�ระสินเชื่อ ชำ�ระค่าสินค้าและบริการ เป็นต้น


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

151

ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ธนาคารได้ประชาสัมพันธ์ บริการพร้อมเพย์นิติบิบุคคล (LH Bank Business PromptPay) บริการโอนเงินและรับโอนเงินทางเลือกใหม่ส�ำ หรับ และสื่อสารให้ลูกค้าได้รับทราบข้อมูลอย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิด บริษัท/องค์กร โดยผูกบัญชีเงินฝากของบริษัทกับเลขประจำ�ตัว ประสิทธิภาพสูงสุดทั้งต่อลูกค้าและสังคม ผู้เสียภาษี ธนาคารได้เปิดกว้างและสนับสนุนให้มกี ารคิดค้น สร้างสรรค์ บริการข้อมูล My Portfolio เป็นบริการดูขอ้ มูลส่วนตัว และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ อันจะทำ�ให้เกิดความต่อเนื่องของ ถึง 9 ผลิตภัณฑ์ แบบออนไลน์ผ่าน LH Bank M Choice และ การสร้ า งนวั ต กรรมจากภายในธนาคารภายใต้ ก ารพั ฒ นา LH Bank Speedy โดยสามารถดูข้อมูลดังนี้ ตู้นิรภัย (Safe Box) นวัตกรรมอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม รวมถึงสำ�รวจกระบวน เงินฝาก (Deposit) สินเชื่อ (Loan) เงินเบิกเกินบัญชี (OD) การประกอบธุรกิจอยูเ่ สมอว่าได้กอ่ ให้เกิดความเสีย่ งหรือมีผลกระทบ หลักทรัพย์ (Securities) กองทุน (Mutual Fund) หุน้ กู้ (Debenture) ทางลบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมหรือไม่ และหากมีความเสี่ยงหรือ มีผลกระทบทางลบธนาคารจะรีบดำ�เนินการแก้ไขโดยทันที กองทุนส่วนบุคคล (Private Fund) ประกัน (Insurance)


152

รายงานประจำ�ปี 2560

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง การตรวจสอบและการติ ด ตามการปฏิ บั ติ ง าน โดย สายงานควบคุมของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มี ความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานซึ่งรายงานตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ การตรวจสอบและการติดตามการปฏิบัติงานได้เน้น ความเสีย่ งครอบคลุมการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และระเบียบข้อบังคับ ของทางการ นโยบาย ระเบียบปฏิบัติ กระบวนการปฏิบัติและ จรรยาบรรณในการปฏิบตั งิ าน โดยมีฝา่ ยตรวจสอบ สำ�นักตรวจสอบ บริ ษั ท ไม่ ไ ด้ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของตนเอง ดั ง นั้ น การดู แ ล ระบบสารสนเทศ สำ � นั ก กำ � กั บ ธนาคาร และสำ � นั ก สอบทาน ด้านการควบคุมภายใน บริษัทได้มอบหมายให้สายงานควบคุม การปฏิบัติงานด้านระบบสารสนเทศ ทำ�หน้าที่หลักในการควบคุม ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผูด้ แู ลและรายงาน ภายใน ดังนี้ การปฎิ บัติ งานที่ เ กี่ยวกับ การควบคุมภายในต่อ คณะกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ โดยมีนายวิเชียร อมรพูนชัย • ฝ่ า ย ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ สำ � นั ก ต ร ว จ ส อ บ ร ะ บ บ เลขานุ การบริ ษั ท เป็ น ผู้ ดู แ ลและประสานงานระหว่ า งบริ ษั ท สารสนเทศ (Internal Audit Department and กับสายงานควบคุมของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) Information Technology Audit Office ) มีหน้าที่ตรวจสอบและประเมินความเพียงพอของระบบ คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่บริหารจัดการเพื่อให้การทำ� การควบคุมภายใน ตรวจสอบและติดตามดูแลการปฏิบัติงาน ธุรกรรมภายในและภายนอกกลุ่มธุรกิจทางการเงินมีการควบคุม ให้เป็นไปตามนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ กระบวนการปฏิบัติงาน ภายในที่เ พี ย งพอ บริ ษัท ในกลุ่ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ได้ ร ายงาน และจรรยาบรรณในการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ ข้อกำ�หนดตามกฎหมาย การทำ�ธุรกรรมภายในกลุม่ ต่อคณะกรรมการบริษทั บริษทั ดำ�เนินธุรกิจ และระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของทางการ ตรวจสอบระบบควบคุ ม ภายใต้กรอบการควบคุมตามนโยบาย ระเบียบและวิธีปฏิบัติที่เป็น ภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ลายลักษณ์อกั ษร ทำ�ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั บริหารงานได้ตามนโยบาย และความเหมาะสมของการจั ด การความเสี่ ย ง ประเมิ น ที่กำ�หนด ตลอดจนกำ�หนดโครงสร้าง หน้าที่ ความรับผิดชอบของ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรและประเมินความถูกต้อง คณะกรรมการชุดต่างๆ ทีม่ คี วามเหมาะสมเพือ่ สามารถดำ�เนินงาน และความน่ า เชื่ อ ถื อ ของข้ อ มู ล การเก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล ลู ก ค้ า ได้ตามวัตถุประสงค์ และกำ�หนดให้มีมาตรการป้องกันการนำ�ข้อมูลลูกค้าออกเปิดเผย พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน และ การรายงานผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ รายงานผลการตรวจสอบต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ และ ทางการเงินต่อคณะกรรมการบริษัท ได้กระทำ�ขึ้นอย่างสม่ำ�เสมอ คณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ พร้อมกับการรายงานแนวโน้ม การประมาณการและผลการดำ�เนินงาน เปรียบเทียบกับเป้าหมาย • สำ � นั ก กำ � กั บ ธ น า ค า ร แ ล ะ สำ � นั ก ส อ บ ท า น บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นบริษทั แม่ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน และเป็นบริษทั แม่ของ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ตามแผนการปรับโครงสร้าง การถือหุ้นที่ได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย

คณะกรรมการตรวจสอบ มีบทบาทหน้าที่ในการเสนอแต่ง ตัง้ ผู้สอบบัญชี โดยพิจารณาถึงคุณสมบัติและการปฏิบัติงาน ของผู้สอบบัญชี เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทในแต่ละปี รวมถึง ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งได้สอบทานงบการเงิน โดยในการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบได้ เ ชิ ญ ผู้ ส อบบั ญ ชี เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม เพื่ อ ให้ นำ �เสนอ ประเด็นสำ�คัญทีเ่ ห็นว่าเกีย่ วข้องกับสภาวะแวดล้อมด้านการควบคุม ภายในและงบการเงินของบริษัท ผู้สอบบัญชีของบริษัทคือ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบงบการเงินปี 2560 ได้เสนอรายงานการตรวจสอบงบการเงินแบบไม่มเี งือ่ นไข นอกจากนี้ การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการตรวจสอบ ครอบคลุ ม ถึ ง การพิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ แ ละความเหมาะสมของผู้ ทำ � หน้ า ที่ หัวหน้างานตรวจสอบ ซึง่ ผ่านการพิจารณากลัน่ กรองจากฝ่ายจัดการ การแต่งตัง้ ถอดถอนและโยกย้าย หัวหน้างานตรวจสอบจะได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ได้ระบุไว้ในกฏบัตร ของคณะกรรมการตรวจสอบ

การปฏิบัติงานด้านระบบสารสนเทศ (Compliance Office and Information Technology Compliance Office)

มีหน้าที่กำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามกฎหมาย และระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของทางการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง วางระบบ การกำ�กับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล สอบทาน การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และรายงานผลการกำ�กับและสอบทาน ต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษั ท อย่างสม่ำ�เสมอ พร้อมทั้งติดตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ของทางการที่มีการแก้ไขปรับปรุง


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

งานในความรับผิดชอบของหัวหน้าผู้กำ�กับดูแลสายงาน ควบคุม ประกอบด้วย

1. งานด้านสอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ (Compliance) 2. งานด้านสอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ด้านระบบ สารสนเทศ (Information Technology Compliance) 3. งานด้านสอบทานสินเชื่อ (Credit Review)

153

4. งานด้านตรวจสอบ (Internal Audit) 5. งานด้ า นตรวจสอบระบบสารสนเทศ (Information Technology Audit) 6. งานด้านตรวจสอบพิเศษและทุจริต (Special Audit and Fraud)

ประวัติหัวหน้าผู้กำ�กับดูแลสายงานควบคุม ชื่อ-สกุล นางสาวชุติมา บุญมี ตำ�แหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานควบคุม อายุ (ปี) 65 คุณวุฒิทางการศึกษา • รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาโท มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัติการฝึกอบรม • ปัจจัยความสำ�เร็จและแนวทางในการยกระดับมาตรฐานด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ในประชาคมอาเซียน : National Institute of Development Administration • Thailand’s 5th National Conference on Collective Action Against Corruption “Tackling Corruption through Public - Private Collaboration” : IOD • Anti - Corruption for Executive Program 4/2012 : IOD • หลักสูตร การกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านสำ�หรับผูร้ บั ผิดชอบสูงสุดในหน่วยงานกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ าน ตามหลักเกณฑ์สำ�นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. รุ่นที่ 1/2556 ปี 2558 และปี 2560 โดยสมาคมธนาคารไทย • Leadership Program for Managers : CC Knowledge Base Co., Ltd. • Compliance Officer : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Certificate to Pacific Rim International Conference on Money Laundering and Financial Crime : สำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน • Risk Management for Financial Institutions โดยสถาบันคีนันแห่งเอเชีย • Best Practices in Credit Risk Management & Operational Risk Management โดย Pricewaterhousecoopers (PwC) สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) -ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย -ไม่มีช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ชื่อหน่วยงาน/บริษัท เม.ย. 2545 - ต.ค. 2553 ผู้จัดการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายกำ�กับการปฏิบัติงาน บมจ. ธนาคารนครหลวงไทย การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ชื่อหน่วยงาน/บริษัท ส.ค. 2556 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานควบคุม บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มี.ค. 2555 - ส.ค. 2556 ผู้ช่วยสายงานควบคุม พ.ย. 2553 - ก.พ. 2555 ผู้อำ�นวยการสำ�นักอาวุโส สำ�นักกำ�กับธนาคาร


154

รายงานประจำ�ปี 2560

หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบงานด้ า นตรวจสอบพิ เ ศษ หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบงานสอบทานการปฏิ บั ติ ตามกฎเกณฑ์ (Compliance) และงานสอบทานการปฏิ บั ติ และทุจริต • กำ�หนดให้มกี าร Monitor ธุรกรรมทีผ่ ดิ ปกติบนระบบงาน ตามกฏเกณฑ์ด้านระบบสารสนเทศ (Information Technology ของธนาคาร และโดยเฉพาะธุรกรรมที่เป็นความเสี่ยง Compliance) สูงของระบบธนาคารและสาขาไว้ด้วย เช่น ธุรกรรม • กำ � กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานต่ า งๆ การโอนเงินของกลุม่ มิจฉาชีพแก็ง Call Center เป็นต้น ให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามแนวปฏิบัติของ • เสนอผลการวิ เ คราะห์ ง านตรวจสอบพิ เ ศษต่ อ หน่วยงานทางการทีก่ �ำ กับดูแล สอดคล้องกับ BIS April กรรมการผู้ จั ด การ เพื่ อ ทราบและประสานงานกั บ 2005, FATF 40+9 Recommendations และ BOT : IT หน่ ว ยงานภายในธนาคาร เพื่ อ หาแนวทางให้ มี Best Practice Phase l และ Phase ll การปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องครบถ้วน • พั ฒ นาระบบการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นการปฏิ บั ติ • เสนอผลการตรวจสอบพิ เ ศษ พร้ อ มด้ ว ยเอกสาร ตามกฎเกณฑ์ หลักฐานต่อกรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารระดับสูงและ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบงานด้ า นตรวจสอบและ • ติ ด ตามความคื บ หน้ า งานตรวจสอบพิ เ ศษ เช่ น งานด้านตรวจสอบระบบสารสนเทศ มติทปี่ ระชุมคณะกรรมการวินยั ธนาคาร การดำ�เนินคดี • กำ�หนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขตของการตรวจสอบ ทางกฏหมาย เป็นต้น พร้อมทั้งวางแผนการตรวจสอบ • จัดทำ� และปรับปรุงคู่มือการตรวจสอบให้สอดคล้อง จำ�นวนพนักงานในหน่วยงานตรวจสอบ กับหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลความเสีย่ งด้านเทคโนโลยี จำ�นวนพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบ จำ�นวน 29 คน สารสนเทศ (Information Technology Risk) เป็นผู้ตรวจสอบทั่วไปและสาขา จำ�นวน 20 คน และผู้ตรวจสอบ ของธนาคารแห่งประเทศไทย • บริหารงานด้านตรวจสอบ งานด้านตรวจสอบระบบ ระบบสนเทศ จำ�นวน 9 คน สารสนเทศ และกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบ • สอบทานการอนุมัติแนวทางการตรวจสอบ (Audit Program)ประเมิ น ความเพี ย งพอและความ มีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในขององค์กร เพื่ อ ลดความเสี่ ย งและคุ ณ ภาพของการปฏิ บั ติ ง าน ตามที่ได้รับมอบหมาย • ประเมินความเชื่อถือได้ และความถูกต้องของข้อมูล ทางการเงินและข้อมูลด้านปฏิบัติการ • พิจารณาการปฏิบัติงานต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ แผนงาน และระเบียบปฏิบตั งิ าน กฎหมาย และระเบียบของทางการที่เกี่ยวข้อง • กำ � หนดมาตรฐานการปฏิ บั ติ ง านและสอบทานว่ า ผู้ตรวจสอบได้ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำ�หนดรวมทั้ง ควบคุมแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ • เสนอผลการตรวจสอบต่อหน่วยงานผู้รับการตรวจ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการธนาคารตามความเหมาะสม • พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบให้มีความรู้ความสามารถ ตามการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจ สังคม • จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบ ทุกระดับ • ให้ คำ � ปรึ ก ษา ข้ อ คิ ด เห็ น และคำ � แนะนำ � แนวทาง ในการปฏิบตั ติ ามระเบียบ คำ�สัง่ และการควบคุมภายใน • ปฏิ บั ติ ง านต่ า งๆ ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการตรวจสอบ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

155

รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกัน หมายถึง ธุรกรรมหรือธุรกิจที่คล้ายคลึง หรือแข่งขันกัน หรือความเกีย่ วข้องอืน่ ใดทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ระหว่างบริษทั กับบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง การทำ�รายการ ระหว่างกันที่บริษัทมีกับบุคคล/บริษัทที่มีความเกี่ยวข้องทั้งหมด บริษัทจะถือปฏิบัติตามนโยบาย และเงื่อนไขการค้าตามปกติธุรกิจ ซึ่งจะเป็นไปตามกระบวนการที่กำ�หนดไว้อย่างเหมาะสม โปร่งใส และถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำ�หนด โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุด ที่บริษัทและผู้ถือหุ้นจะได้รับเป็นสำ�คัญ

และผ่านคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริษัทได้มีการขออนุมัติ ในหลักการเกีย่ วกับข้อตกลงทางการค้าทีม่ เี งือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไป ในการทำ�ธุรกรรมระหว่างบริษทั และบริษทั ย่อยกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรื อ บุ ค คลที่ มี ความเกี่ ย วข้ อ ง ดั ง นี้ “บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย อาจมีรายการระหว่างกันในอนาคต บริษัทจึงขออนุมัติในหลักการ ให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการทำ�ธุรกรรมดังกล่าว หากธุรกรรม เหล่านั้นมีข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะ พึงกระทำ�กับคูส่ ญั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำ�นาจต่อรอง ทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งในการทำ � ธุ ร กรรม ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริษัทจะจัดทำ� รายงานสรุปการทำ�ธุรกรรม เพือ่ รายงานในการประชุมคณะกรรมการ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำ�ธุรกรรมระหว่างกันของ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมีความประสงค์” บริษัทภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน และไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กบั กิจการทีม่ ผี ลประโยชน์เกีย่ วข้อง บริษทั ได้จดั ทำ� นอกจากนี้ รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตกับ นโยบายการบริหารความเสี่ยงในการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจ บุคคลที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสียใดๆ ทางการเงิน ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และทบทวน คณะกรรมการตรวจสอบจะให้ความเห็นเกี่ยวกับความจำ�เป็นและ เป็นประจำ�ทุกปี โดยนโยบายครอบคลุมการบริหารความเสี่ยง ความเหมาะสมของรายการนั้น ในกรณีท่คี ณะกรรมการตรวจสอบ สำ�หรับการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ซึ่งควบคุม ไม่มคี วามชำ�นาญในการพิจารณารายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ ใดๆ การทำ � ธุ ร กรรมประเภทต่ า งๆ ที่ สำ � คั ญ และนโยบายดั ง กล่ า ว บริ ษั ท จะให้ ผู้ เ ชี่ ย วชาญอิ ส ระหรื อ ผู้ ต รวจสอบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ได้กำ�หนดให้การทำ�ธุรกรรมใดๆ ระหว่างกันภายในกลุ่มต้องไม่มี เป็นผู้ ให้ความเห็นเพื่อใช้ ในการตัดสินใจตามแต่กรณี และเมื่อ เงือ่ นไขหรือข้อกำ�หนดใดๆ ทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญทีต่ า่ งจากการค้าปกติ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นรายการระหว่างกันแล้ว ทั่วไปที่มีความเสี่ยงระดับเดียวกัน จะนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ดิ ว้ ยมติทเี่ ป็น เอกฉันท์ และจะเปิดเผยรายการระหว่างกันทีส่ �ำ คัญไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผลของรายการ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย เข้ า ทำ � รายการระหว่ า งกั น ด้ ว ย ความระมัดระวัง โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั บริษทั ย่อย นโยบายหรื อ แนวโน้ ม การทำ � รายการระหว่ า งกั น และผู้ถือหุ้นเป็นสำ�คัญ การทำ�รายการระหว่างกันของบริษัทและ ในอนาคต บริษัทย่อยกับบุคคลที่มีความขัดแย้งทุกรายการ เป็นรายการตาม บริษทั และบริษทั ย่อย มีนโยบายในการทำ�รายการระหว่างกัน ธุรกิจปกติ หรือเป็นรายการทีม่ คี วามจำ�เป็นและมีความสมเหตุสมผล ที่เ กิ ด ขึ้น ในปั จ จุ บัน และในอนาคตที่คาดว่ า จะเกิ ด ขึ้น กั บ บุ ค คล เพือ่ สนับสนุนธุรกิจปกติของบริษทั และบริษทั ย่อย โดยเงือ่ นไขต่างๆ ที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยถือปฏิบัติเช่นเดียวกับลูกค้า ของรายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ จะถูกกำ�หนดให้เป็นไปตามเงือ่ นไข ทั่วไปด้วยนโยบายการกำ�หนดราคาที่เป็นธรรม และเป็นไปตาม การค้าปกติและเป็นไปตามราคาตลาด และดำ�เนินการเช่นเดียวกับ เงื่อนไขการค้าทั่วไปที่สามารถแข่งขันกับสถาบันการเงินอื่นๆ ได้ ที่ปฏิบัติกับลูกค้าทั่วไปที่มีลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน โดยผ่านกระบวนการพิจารณาอนุมตั ทิ ช่ี ดั เจน โปร่งใส ยุตธิ รรม เป็น ไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทก่ี �ำ หนด และเป็นไปตามอำ�นาจอนุมตั กิ ารทำ�รายการระหว่างกัน การปฎิบัติงาน และขั้นตอนการอนุมัติ บ ริ ษั ท ป ฏิ บั ติ ตา ม ร ะ เ บี ย บ ข อ ง ต ลา ด ห ลั ก ท รั พ ย์ รายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคตนัน้ คณะกรรมการ แห่งประเทศไทย ประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และประกาศคณะกรรมการกำ � กั บ ตลาดทุ น บริ ษั ท จะต้ อ งปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฏหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ ที่เกี่ยวข้องกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่อาจก่อให้ และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกรรมการหรือผู้บริหาร กำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติ ที่มีความเกี่ยวข้องกับรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ตามข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการเกี่ยวโยง ผลประโยชน์ตอ้ งไม่มสี ว่ นร่วมในการพิจารณาตัดสินใจรายการดังกล่าว และการได้มาหรือจำ�หน่ายทรัพย์สินที่สำ�คัญของบริษัท และเลขานุการที่ประชุมได้จดความเกี่ยวข้องของกรรมการหรือ ผู้บริหารเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรายงานการประชุม การเปิดเผยข้อมูล บริษัทจะเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการระหว่างกัน รายการ ในกรณีท่ีเกิดรายการระหว่างกันจะคำ�นึงถึงผลประโยชน์ ทีเ่ กีย่ วโยงกันตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยและผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น สำ � คั ญ โดยผ่ า น ไว้ในรายงานประจำ�ปี ขั้นตอนการพิจารณาตามระเบียบปฏิบัติของบริษัทและบริษัทย่อย


156

รายงานประจำ�ปี 2560

ปี 2560 บริษัทไม่มีการทำ�รายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่ ง ได้ เ ปิ ด เผยอยู่ ใ นหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ของบริ ษั ท ทีม่ ขี นาดรายการอันมีนยั สำ�คัญทีต่ อ้ งเปิดเผยข้อมูลตามเกณฑ์การ และบริษทั ย่อย ข้อ 40. โดยมีรายละเอียดของรายการดังกล่าวดังนี้ พิจารณาของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายการที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2560 ในระหว่างปี 2560 บริษัทและบริษัทย่อย มีรายการธุรกิจ รายการธุรกิจกับกิจการ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ปี 2560 บริษัทและบริษัทย่อย มีรายการธุรกิจที่สำ�คัญกับ ที่สำ�คัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าว บุคคลและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ที่ตกลงกันระหว่างบริษัท เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ที่ตกลงกันระหว่างบริษัท บริษัทย่อย บริษัทย่อย บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องเหล่านั้นเป็นไปตามปกติ บุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้นเป็นไปตามปกติธุรกิจ ธุรกิจ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) รายได้ดอกเบี้ย

ลักษณะความสัมพันธ์/1 1. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 2. บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 3. กรรมการและผู้บริหาร 4. บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รวม หมายเหตุ

/1

175.05 0.42 1.17 176.64

รายได้ ค่าธรรมเนียม และบริการ 46.57 46.57

งบการเงินรวม รายได้เงินปันผล 41.45 41.45

ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย

ค่าใช้จ่ายใน การดำ�เนินงานอืน่

38.37 58.31 6.52 13.87 117.07

44.37 106.19 150.56

หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 40. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

(หน่วย : ล้านบาท) ลักษณะความสัมพันธ์/1 1. บริษัทย่อยของบริษัทฯ 2. บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รวม หมายเหตุ

/1

รายได้ดอกเบี้ย 7.63 7.63

รายได้เงินปันผล 1,569.82 13.69 1,583.51

งบการเงินเฉพาะกิจการ รายได้จากการ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ดำ�เนินงานอื่น 1.34 1.34

14.24 14.24

ค่าใช้จ่ายในการ ดำ�เนินงานอื่น 0.07 0.07

หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 40. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

ค่าใช้จ่าย ค่าธรรมเนียม และบริการ 0.27 0.27


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

157

ยอดคงค้างระหว่างกัน ยอดคงเหลือของรายการที่บริษัทและบริษัทย่อยมีกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระสำ�คัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังต่อไปนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

ลักษณะความสัมพันธ์/1

1. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 2. บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 3. กรรมการและผู้บริหาร 4. บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รวม หมายเหตุ

/1

งบการเงินรวม เงินลงทุน - ดอกเบี้ย เงินให้ ดอกเบี้ย สินทรัพย์ เงินรับฝาก ตราสารหนี้ ดอกเบี้ย ราคาทุน ค้างรับจาก สินเชื่อแก่ ค้างรับ อื่น ที่ออกและ ค้างจ่าย เงินลงทุน ลูกหนี้ จากเงินให้ เงินกู้ยืม สินเชื่อแก่ ลูกหนี้ 2,373.65 2,373.65

15.81 15.81

5,557.20 18.97 27.83 5,604.00

3.84 0.02 0.01 3.87

9.96 33.73 43.69

3,478.62 5,093.92 115.57 988.16 9,676.27

48.00 41.20 89.20

0.44 3.94 0.32 1.45 6.15

หนี้สินอื่น

ภาระ ผูกพัน หนังสือ ค้ำ�ประกัน ธนาคาร

0.25 2.24 0.04 2.53

196.89 196.89

หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 40. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

(หน่วย : ล้านบาท)

ลักษณะความสัมพันธ์/1

1. บริษัทย่อยของบริษัทฯ 2. บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รวม หมายเหตุ

/1

รายการ ระหว่าง ธนาคารและ ตลาดเงิน (สินทรัพย์) 6.10 6.10

เงินลงทุน ราคาทุน

84.10 433.64 517.74

ดอกเบี้ย ค้างรับจาก เงินลงทุน

0.48 0.48

งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินปันผล รายการ ค้างรับ ระหว่าง ธนาคารและ ตลาดเงิน (หนี้สิน) 1,000.00 1,000.00

1,398.00 1,398.00

ดอกเบี้ย เจ้าหนีจ้ ากการ ค้างจ่าย ซื้อหลักทรัพย์ จากรายการ ระหว่าง ธนาคารและ ตลาดเงิน (หนี้สิน) 0.16 0.16

หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 40. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

50.72 50.72

หนี้สินอื่น

0.30 0.30


158

รายงานประจำ�ปี 2560

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสรร วิเทศพงษ์ กรรมการตรวจสอบ โดยมีนางสาวชุติมา บุญมี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานควบคุม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการ รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ และนายสรร วิเทศพงษ์ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการตรวจสอบ แทนกรรมการทีล่ าออก เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต ความรับผิดชอบที่ระบุไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ทัง้ นี้ในระหว่างปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 15 ครั้ง และได้ ร ายงานผลการประชุ ม พร้ อ มให้ ข้ อ เสนอแนะ ต่อคณะกรรมการบริษัททราบทุกครั้ง เพื่อให้มีการดำ�เนินการใน เรื่องที่เห็นสมควรสรุปสาระสำ�คัญ ดังนี้ 1. สอบทานรายงานทางการเงิน สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำ�ปี ของบริษทั ทีม่ กี ารจัดทำ�ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เพือ่ พิจารณาความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล ความเพียงพอของการ เปิดเผยข้อมูลตลอดจนผลการตรวจสอบความเสี่ยงที่สำ�คัญ นอกจากนี้ ได้พิจารณาผลประกอบการของบริษัทเป็น ประจำ�ทุกเดือน และจัดให้มกี ารประชุมกับผูส้ อบบัญชี เพือ่ ปรึกษาหารือ เกีย่ วกับความเป็นอิสระในการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละการแสดงความเห็น ของผู้ ส อบบั ญชี รวมทั้งผู้สอบบัญชีได้รายงานประเด็นที่พบจาก การตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบให้พจิ ารณาในทุกประเด็นแล้ว 2. การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน สอบทานและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุม ภายในของบริษัท โดยพิจารณาข้อสังเกตที่ตรวจพบจากรายงาน การตรวจสอบภายในและรายงานของผู้สอบบัญชี เพื่อประเมิน ความเพี ย งพอเหมาะสมและความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของระบบ การควบคุมภายใน พร้อมทัง้ มีการประเมินความเป็นอิสระของหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน รวมถึงกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 3. การกำ�กับดูแลการปฏิบัติตามกฏเกณฑ์ สอบทานและประเมินแผนและรายงานการกำ�กับดูแล การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ประจำ�ปีว่าการดำ�เนินงานของบริษัท เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท รวมถึงนโยบายการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compliance Policy) ที่บริษัทกำ�หนดเป็นพื้นฐานและแนวทางให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนถือปฏิบัติอย่างเหมาะสม

4. ผู้สอบบัญชีภายนอก พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี โดยพิจารณาถึงความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ความน่าเชื่อถือ และความเพียงพอ ของทรัพยากร รวมถึงผลการประเมินความเป็นอิสระและคุณภาพงาน ของผูส้ อบบัญชีในรอบปีทผ่ี า่ นมา สำ�หรับค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีได้ พิจารณาถึงขอบเขตความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี ในรอบปี 2560 ผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบงบการเงินปี 2560 ได้เสนอรายงานผลการตรวจสอบงบการเงินแบบไม่มเี งือ่ นไข 5. รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ พิ จ ารณารายการที่เ กี่ย วโยงกั น หรื อ รายการที่อ าจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเพือ่ ให้มน่ั ใจว่ามีความโปร่งใส สมเหตุสมผลและปกป้องผลประโยชน์ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงินและ ผูถ้ อื หุน้ และพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั โดยเฉพาะกรณีทเ่ี กิด รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้มคี วามถูกต้องและครบถ้วน 6. การบริหารความเสี่ยง มี ก ารวางระบบการควบคุ ม ภายในและการบริ ห าร ความเสี่ยงทั้งในระดับภาพรวมของบริษัทไปจนถึงระดับกิจกรรม ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั จะสามารถบรรลุ เป้าหมายอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถ ปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างเหมาะสม 7. มาตราการต่อต้านการคอร์รับชั่น รับทราบผลการประเมินตนเองของบริษทั เกีย่ วกับมาตรการ ต่อต้านการคอร์รบั ชัน่ ขณะนีบ้ ริษทั อยูร่ ะหว่างการต่ออายุการรับรอง ฐานะสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต 8. การประเมินตนเอง ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง โดยเปรียบเทียบ กิ จ กรรมที่สำ� คั ญ ของคณะกรรมการตรวจสอบกั บ กฎบั ต รของ คณะกรรมการตรวจสอบ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องและแนวปฏิบัติท่ดี ี ผลการประเมินแสดงให้เห็นว่าคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั งิ าน ตามหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบอย่างเพียงพอและมีประสิทธิผลตามทีไ่ ด้ กำ�หนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ในการดำ � เนิ น งานตามบทบาทหน้ า ที่ ท่ี ไ ด้ รั บ มอบ หมายโดยรวม คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงาน ทางการเงินของบริษัท มีการจัดทำ�อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินและมีการเปิดเผยข้อมูลเหมาะสมและ เพี ย งพอ ผู้ ส อบบั ญ ชี ภายนอกที่ ทำ � หน้ า ที่ ต รวจสอบรายงาน ทางการเงินของบริษัทมีความเป็นอิสระและปฏิบัติหน้าที่เยี่ยง ผู้ประกอบวิชาชีพ บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและ เหมาะกับการดำ�เนินธุรกิจ มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ (นายอดุลย์ วินัยแพทย์) ประธานกรรมการตรวจสอบ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

159

รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ตลอดระยะเวลาปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด คณะกรรมการบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ค่าตอบแทนได้มีการประชุมจำ�นวน 4 ครั้ง โดยกรรมการสรรหา ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่ นายอดุลย์ วินยั แพทย์ และกำ�หนดค่าตอบแทน เข้าร่วมประชุมครบทุกท่าน นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ และรศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ ในปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เป็นกรรมการ โดยมีนายอดุลย์ วินัยแพทย์ เป็นประธานกรรมการ ได้มีการพิจารณาวาระหลักๆ ได้แก่ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน • การสรรหากรรมการใหม่และที่ครบวาระ • การกำ�หนดกรอบค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม และ ในระหว่างปี 2560 Chinatrust Commercial Bank Company เงิ น บำ � เหน็ จ สำ � หรั บ คณะกรรมการบริ ษั ท รวมถึ ง Limited : CTBC Bank ได้เข้ามาร่วมทุนกับบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นผลทำ�ให้มีการปรับเปลี่ยนสัดส่วนของ และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพือ่ คณะกรรมการบริษัท เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั • การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านด้ ว ยตนเองของ คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน ได้ รั บ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประจำ�ปี 2560 มอบหมายให้ดำ�เนินการสรรหากรรมการตามอำ�นาจหน้าที่ โดย ตามหลักเกณฑ์ด้านบรรษัทภิบาล บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และ CTBC Bank ต่างได้เสนอรายชือ่ บุคคลเพือ่ เข้ารับการพิจารณาสรรหาตาม ข้อตกลงการร่วมทุน

(นายอดุลย์ วินัยแพทย์) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

หมายเหตุ : วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง นายสมศักดิ์ อัศวโภคี ปฏิบัติหน้าที่กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2560 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 รศ.ดร.สุปรียา ควรเดชะคุปต์ ปฏิบตั ิหน้าที่กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2560 ถึงปัจจุบัน


160

รายงานประจำ�ปี 2560

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวมของบริษัท รวมถึงสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฎ ในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและ ถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง รวมทั้ง การเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีและเกณฑ์ การจัดทำ�งบการเงินอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใสและเป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุน ทั่วไป คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีและดำ�รงรักษาไว้ซึ่ง ระบบบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่เหมาะสมและ มี ประสิทธิ ผ ลเพื่ อให้มั่น ใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชี มีความถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอทีจ่ ะดำ�รงรักษาไว้ซงึ่ ทรัพย์สนิ ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระ ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพ ของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน โดยความเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปี

(นายรัตน์ พานิชพันธ์) ประธานกรรมการ

งบการเงินของบริษทั ได้รบั การตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตจากบริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชี ในการตรวจสอบบริษัทได้ให้การสนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยความเห็นของผูส้ อบบัญชีได้ ปรากฏในรายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตซึง่ แสดงไว้ในรายงาน ประจำ�ปี คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่าระบบการควบคุม ภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่มีความเหมาะสม เพียงพอ และสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชือ่ ถือได้ของ งบการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

(นางศศิธร พงศธร) กรรมการผู้จัดการ


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

161

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมงบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของเจ้าของรวม และงบกระแสเงินสดรวมสำ�หรับปีสิ้นสุด วันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุ สรุปนโยบายการบัญชีท่สี ำ�คัญ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน

ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงิน ผลของ วิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมวิธีการตรวจสอบสำ�หรับ เรือ่ งเหล่านีด้ ว้ ย ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ต่องบการเงินโดยรวม

ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อยและเฉพาะของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรใน สาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 10 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริษัทมีเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ จำ�นวน 153,731 ล้านบาท (คิดเป็นอัตราร้อยละ 66 ของยอด สินทรัพย์รวม) และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญจำ�นวน 3,408 ล้านบาท ซึง่ เป็นจำ�นวนทีม่ นี ยั สำ�คัญ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของเงินให้สนิ เชือ่ แก่ลูกหนี้บันทึกโดยการประมาณผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เมื่อลูกหนี้มีปัญหาในการจ่ายชำ�ระคืนและพิจารณาถึงช่วงเวลา ที่ ควรจะรั บ รู้ ป ระมาณการผลขาดทุ น ดั ง กล่ า วโดยอ้ า งอิ ง ตาม หลักเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งต้องอาศัย ข้อสมมติหลายประการ ดังนั้น ผู้บริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจ อย่างสูงในการพิจารณาข้อสมมติดงั กล่าว ข้าพเจ้าจึงให้ความสำ�คัญ กับการตรวจสอบความเพียงพอของค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้

เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น

เรือ่ งสำ�คัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธกี ารตรวจสอบสำ�หรับแต่ละเรือ่ ง มีดังต่อไปนี้

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้

ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรค ความรับผิดชอบ ของผูส้ อบบัญชีตอ่ การตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุม่ บริษทั ตามข้อกำ�หนดจรรยาบรรณ ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่กำ�หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตาม ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบความเพียงพอของค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณอื่นๆ ตามที่ระบุในข้อกำ�หนดนั้นด้วย ของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ โดย ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและ 1. ทำ�ความเข้าใจกระบวนการบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ เหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า สูญของกลุ่มบริษัท 2. ประเมินและทดสอบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้อง เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ กั บ การบั น ทึ ก ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ ซึ่ ง ได้ แ ก่ การรับชำ�ระหนีข้ องเงินให้สนิ เชือ่ แก่ลกู หนี้ การจัดชัน้ หนี้ เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ที่มีนัยสำ�คัญที่สุด การประเมินมูลค่าหลักประกัน การกำ�หนดข้อสมมติ ตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบ และการคำ�นวณค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ โดยการสอบถาม งบการเงินสำ�หรับงวดปัจจุบนั ข้าพเจ้าได้น�ำ เรือ่ งเหล่านีม้ าพิจารณา และสุม่ ทดสอบการปฏิบตั ติ ามการควบคุมทีก่ ลุม่ บริษทั ในบริบทของการตรวจสอบ งบการเงินโดยรวมและในการแสดง ได้ออกแบบไว้ทเ่ี กีย่ วข้องกับการบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัย ความเห็นของข้าพเจ้า ทัง้ นี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหาก จะสูญ สำ�หรับเรื่องเหล่านี้ 3. สุม่ ทดสอบข้อมูลทีใ่ ช้ในการคำ�นวณค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ กับแหล่งที่มาของข้อมูลเหล่านั้น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้ใน 4. เปรียบเทียบข้อสมมติท่กี ลุ่มบริษัทใช้กับข้อมูลที่เกิดขึ้น วรรคความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน จริงในอดีต สอบทานความสม่ำ�เสมอในการประยุกต์ ในรายงานของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับ ใช้ข้อสมมติดังกล่าว และพิจารณาวิธีการที่กลุ่มบริษัท เรือ่ งเหล่านีด้ ว้ ย การปฏิบตั งิ านของข้าพเจ้าได้รวมวิธกี ารตรวจสอบที่ เลือกใช้ ใ นการประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ ออกแบบมาเพือ่ ตอบสนองต่อการประเมินความเสีย่ งจากการแสดง สำ�หรับลูกหนี้สินเชื่อแต่ละประเภท


162

รายงานประจำ�ปี 2560

5. สอบทานข้อมูลเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และทดสอบ การจัดชั้นเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ณ วันสิ้นรอบระยะ เวลารายงาน 6. ประเมินค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญทีค่ �ำ นวณโดยผูบ้ ริหารโดย 6.1 สำ�หรับเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่กลุ่มบริษัท พิจารณาการกันสำ�รองเป็นรายลูกหนี้ ข้าพเจ้าได้สุ่ม ทดสอบสถานะคงค้างของลูกหนี้ การจัดชั้นหนี้และ มูลค่าหลักประกันที่ใช้ในการคำ�นวณค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญและทดสอบการคำ�นวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กลุ่มบริษัทกำ�หนด 6.2 สำ � หรั บ การกั น สำ � รองเป็ น กลุ่ ม ลู ก หนี้ (Collective Approach) ข้ า พเจ้ า ได้ สุ่ ม ทดสอบ การคำ�นวณอัตราค่าความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้จะผิดนัด ชำ�ระหนี้ (Probability of default) และอัตราร้อยละ ของความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ เมือ่ ลูกหนีผ้ ดิ นัดชำ�ระหนี้ ต่ อ ยอดหนี้ (Loss given default) และทดสอบ การคำ�นวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดังกล่าว 7. วิเคราะห์เปรียบเทียบการเคลื่อนไหวของค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญในภาพรวมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง การจัดชั้น การเปลี่ยนแปลงยอดเงินต้นคงค้างและ การเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักประกัน การรับรู้รายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อ กลุม่ บริษทั มีนโยบายการรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ จากเงินให้สนิ เชือ่ ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อที่ 4.1 (ก) โดยกลุ่มบริษัทมีรายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อที่รับรู้ในปี 2560 จำ�นวน 6,460 ล้านบาท คิดเป็นอัตราร้อยละ 75 ของยอดรวม รายได้ดอกเบี้ยกลุ่มบริษัทมีลูกหนี้เงินให้สินเชื่อจำ�นวนมากราย โดยสามารถแบ่ ง กลุ่ ม เป็ น ลู ก ค้ า รายย่ อ ย ลู ก ค้ า รายใหญ่ แ ละ ลูกค้าขนาดกลาง สัญญาเงินให้สินเชื่อมีหลากหลายประเภทและ มีเงื่อนไขการรับรู้รายได้ที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทรับรู้ รายได้ดอกเบีย้ จากเงินให้สนิ เชือ่ โดยอาศัยการประมวลผลโดยระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงให้ความสนใจกับ การตรวจสอบรายได้ดอกเบีย้ จากเงินให้สนิ เชือ่ ว่าได้รบั รูด้ ว้ ยมูลค่า ถูกต้องตามที่ควรจะเป็น

ข้อมูลอื่น ผูบ้ ริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อข้อมูลอืน่ ซึง่ รวมถึงข้อมูลทีร่ วมอยู่ ในรายงานประจำ�ปีของกลุ่มบริษัท (แต่ไม่รวมถึงงบการเงินและ รายงานของผู้สอบบัญชีที่แสดงอยู่ในรายงานนั้น) ซึ่งคาดว่าจะ ถูกจัดเตรียมให้กบั ข้าพเจ้าภายหลังวันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน้ี ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอืน่ และข้ า พเจ้ า ไม่ ไ ด้ ใ ห้ ข้ อ สรุ ป ในลั ก ษณะการให้ ค วามเชื่ อ มั่ น ในรูปแบบใดๆ ต่อข้อมูลอื่นนั้น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบ งบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอืน่ นัน้ มีความขัดแย้ง ทีม่ สี าระสำ�คัญกับงบการเงินหรือกับความรูท้ ่ไี ด้รบั จากการตรวจสอบ ของข้าพเจ้าหรือไม่ หรือปรากฏว่าข้อมูลอืน่ แสดงขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจำ�ปีของกลุ่มบริษัทตาม ที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญ ข้าพเจ้าจะสื่อสารเรื่องดังกล่าว ให้ผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลทราบเพื่อให้มีการดำ�เนินการแก้ไข ที่เหมาะสมต่อไป ความรับผิดชอบของผูบ้ ริหารและผูม้ หี น้าที่ในการกำ�กับดูแล ต่องบการเงิน ผูบ้ ริหารมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการจัดทำ�และนำ�เสนองบการเงิน เหล่านี้โดยถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่า จำ�เป็นเพื่อให้สามารถจัดทำ�งบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริต หรือข้อผิดพลาด

ในการจัดทำ�งบการเงิน ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมิน ความสามารถของกลุม่ บริษทั ในการดำ�เนินงานต่อเนือ่ ง การเปิดเผย เรื่องที่เกี่ยวกับการดำ�เนินงานต่อเนื่องในกรณีที่มีเรื่องดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ�หรับกิจการที่ดำ�เนินงานต่อเนื่อง ข้ า พเจ้ า ได้ ป ระเมิ น และทดสอบการปฏิ บั ติ ง านของ เว้นแต่ผบู้ ริหารมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเลิกกลุม่ บริษทั หรือหยุดดำ�เนินงาน การควบคุมที่ออกแบบโดยกลุ่มบริษัทด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไม่สามารถดำ�เนินงานต่อเนื่องอีกต่อไปได้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับบันทึกรายการการปล่อยสินเชือ่ การรับชำ�ระเงินจาก ลูกหนี้เงินให้สินเชื่อและการรับรู้และการหยุดรับรู้รายได้ดอกเบี้ย ผู้ มี ห น้ า ที่ ใ นการกำ � กั บ ดู แ ลมี ห น้ า ที่ ใ นการสอดส่ อ งดู แ ล จากเงินให้สนิ เชือ่ และข้าพเจ้าได้สมุ่ ทดสอบการรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ กระบวนการในการจัดทำ�รายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัท ว่าเป็นไปตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้ในสัญญา และสอดคล้องกับนโยบาย การรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ จากเงินให้สนิ เชือ่ ของกลุม่ บริษทั นอกจากนี้ ความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชีตอ่ การตรวจสอบงบการเงิน ข้าพเจ้าได้ทำ�การวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลบัญชีรายได้ดอกเบี้ย และสุม่ ทดสอบรายการปรับปรุงบัญชีทส่ี �ำ คัญทีท่ �ำ ผ่านใบสำ�คัญทัว่ ไป การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจาก การทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่ง


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

รวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วยความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผล คื อ ความเชื่ อ มั่ น ในระดั บ สู ง แต่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น การรั บ ประกั น ว่ า การปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถ ตรวจพบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญที่มีอยู่ได้ เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสำ�คัญเมือ่ คาดการณ์อย่างสมเหตุสมผล ได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการ รวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงิน จากการใช้งบการเงินเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพ ตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ด้วย • ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบ และปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนอง ต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชี ที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็นเกณฑ์ ในการแสดง ความเห็ น ของข้ า พเจ้ า ความเสี่ ย งที่ ไ ม่ พ บข้ อ มู ล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญซึ่งเป็นผลมา จากการทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่ อ งจากการทุ จ ริ ต อาจเกี่ ย วกั บ การสมรู้ ร่ ว มคิ ด การปลอมแปลงเอกสารหลัก ฐาน การตั้งใจละเว้น การแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริง หรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน • ทำ � ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ระบบการควบคุ ม ภายใน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การตรวจสอบ เพื่ อ ออกแบบวิ ธี การตรวจสอบให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่ เพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการแสดงความเห็ น ต่ อ ความ มีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหาร ใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดทำ� • สรุ ป เกี่ ย วกั บ ความเหมาะสมของการใช้ เ กณฑ์ การบั ญ ชี สำ � หรั บ กิ จ การที่ ดำ � เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งของ ผูบ้ ริหาร และสรุปจากหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รบั ว่า มีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่าง มี นั ย สำ � คั ญ ต่ อ ความสามารถของกลุ่ ม บริ ษั ท ใน การดำ�เนินงานต่อเนื่องหรือไม่ หากข้าพเจ้าได้ข้อสรุป ว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญ ข้าพเจ้าจะต้อง ให้ข้อสังเกตไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า ถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบการเงิน หรือ หากเห็นว่าการเปิดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดง ความเห็นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึน้ อยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รบั จนถึงวันที่ในรายงานของ ผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือ สถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุม่ บริษทั ต้องหยุด

163

การดำ�เนินงานต่อเนื่องได้ • ประเมินการนำ�เสนอ โครงสร้างและเนือ้ หาของงบการเงิน โดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจน ประเมินว่างบการเงินแสดงรายการและเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ โดยถูกต้องตามที่ควรหรือไม่ • รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสม อย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการ หรื อ ของกิ จ กรรมทางธุ ร กิ จ ภายในกลุ่ ม บริ ษั ท เพื่ อ แสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบ ต่อการกำ�หนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบกลุม่ บริษทั ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบแต่เพียง ผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าที่ในการกำ�กับดูแลในเรือ่ งต่างๆ ซึง่ รวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามทีไ่ ด้วางแผนไว้ ประเด็นทีม่ นี ยั สำ�คัญทีพ่ บจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องทีม่ ี นัยสำ�คัญในระบบการควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่าง การตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ ให้คำ�รับรองแก่ผู้มีหน้าที่ ในการกำ�กับดูแลว่า ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ตามข้ อ กำ � หนดจรรยาบรรณที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความเป็ น อิ ส ระและได้ สื่ อ สารกั บ ผู้ มี ห น้ า ที่ ใ นการกำ � กั บ ดู แ ล เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมดตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่า มีเหตุผลทีบ่ คุ คลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็นอิสระ ของข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้า ขาดความเป็นอิสระ จากเรื่องทั้งหลายที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ ในการกำ�กับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่างๆ ที่มีนัยสำ�คัญที่สุดในการตรวจสอบ งบการเงินในงวดปัจจุบนั และกำ�หนดเป็นเรือ่ งสำ�คัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรือ่ งเหล่านี้ไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่ กฎหมายหรือข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิดเผยเรือ่ งดังกล่าวต่อสาธารณะ หรือในสถานการณ์ท่ียากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควร สื่ อ สารเรื่ อ งดั ง กล่ า วในรายงานของข้ า พเจ้ า เพราะการกระทำ � ดังกล่าวสามารถคาดการณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบ ในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ที่ผู้มีส่วนได้เสียสาธารณะจะได้จาก การสื่อสารดังกล่าว ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบงานสอบบัญชีและการนำ�เสนอ รายงานฉบับนี้

รัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4951 บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด กรุงเทพฯ: 21 กุมภาพันธ์ 2561


164

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

165


166

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

167


168

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

169


170

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

171


172

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

173


174

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

175


176

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

177


178

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

179


180

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

181


182

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

183


184

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

185


186

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

187


188

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

189


190

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

191


192

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

193


194

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

195


196

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

197


198

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

199


200

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

201


202

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

203


204

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

205


206

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

207


208

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

209


210

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

211


212

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

213


214

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

215


216

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

217


218

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

219


220

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

221


222

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

223


224

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

225


226

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

227


228

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

229


230

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

231


232

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

233


234

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

235


236

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

237


238

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

239


240

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

241


242

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ข้อมูลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ ที่ตั้งสำ�นักงาน โทรศัพท์ โทรสาร SET Contact center เว็บไซต์ ผู้สอบบัญชี รายชื่อผู้สอบบัญชี

ที่ตั้งสำ�นักงาน

โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ บริษัทที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ตั้งสำ�นักงาน

โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 0 2009 9000 0 2009 9991 0 2009 9999 www.set.or.th/tsd บริษัท สำ�นักงาน อี วาย จำ�กัด นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3734 และ/หรือ นางสาวสมใจ คุณปสุต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4499 และ/หรือ นางสาวรัชดา ยงสวัสดิ์วณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4951 เลขที่ 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 0 2264 0777 0 2264 0789-90 www.ey.com/th บริษัท ที่ปรึกษา เอเซีย พลัส จำ�กัด เลขที่ 175 อาคารสาธรซิตี้ ชั้น 11 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 0 2680 4000 0 2670 9291-2 www.asiaplus.co.th

243


244

รายงานประจำ�ปี 2560

ทำ�เนียบสาขาของธนาคาร

มิ ณ ฑล

กรุงเท

เขตพื้นที่

พม หานครและปร

สำ�นักลุมพินี

สาขา (ชั้น G อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี)

สาขาคิวเฮ้าส์ อโศก สาขาคิวเฮ้าส์ สาทร สาขาทองหล่อ สาขาพาร์คเลน (เอกมัย) สาขาเทอร์มินอล 21 สาขาเวฟเพลส (เพลินจิต) สาขาสีลม สาขาบางรัก สาขาถนนจันทน์

(ชั้น G อาคารคิวเฮ้าส์ อโศก) (ชั้น G อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร) (ใกล้โชวรูม TSL) (ชั้น 1 พาร์คเลน คอมมูนิตี้ มอลล์) (ชั้น LG ติดร้าน Booth) (ชั้น 2 อาคารเวฟเพลส (เพลินจิต)) (ใกล้สีลม คอมเพล็กซ์) (ตรงข้ามโรบินสัน บางรัก) (ปากซอยจันทน์ 18/8 ถนนจันทร์)

สาขามาบุญครอง เซ็นเตอร์ สาขาประตูน้ำ� สาขาเยาวราช สาขาสำ�เพ็ง

(ชั้น 4 Banking Zone) (หลังโรงแรมอินทราสแควร์ ติดกับ Kbank) (ปากซอยเท็กซัส ฝั่งถนนเยาวราช) (ถนนมังกร - ซอยวานิช 1)

สาขาวงเวียน 22 กรกฎา

(ซอยวัดพลับพลาไชย)

สาขาคลองถม สาขาวรจักร สาขาโบ๊เบ๊

(ใกล้แยก เอส. เอ. บี.) (หน้าตลาดวรจักร) (ทางเข้าโรงแรมปริ๊นเซส)

สาขาบางลำ�พู สาขาตลาดน้อย สาขาดิโอลด์สยาม สาขาปากคลองตลาด สาขาเสนา เฟสท์ (เจริญนคร) สาขาสุขสวัสดิ์ สาขาพรานนก สาขาแฟชั่น ไอส์แลนด์ สาขาเดอะ พรอมานาด สาขาเดอะ พาซิโอทาวน์ (รามคำ�แหง) สาขาเดอะ เซอร์เคิล ราชพฤกษ์ สาขาเสนานิคม

(ถนนสิบสามห้าง) (ชัน้ 1 อาคารณัฐภูมิ ถนนเจริญกรุง แยกทรงวาด) (ชั้น 1 ฝั่งถนนบูรพา) (ตรงข้ามตลาดส่งเสริมเกษตรไทย) (ชั้น 1 เสนา เฟสท์ ถนนเจริญนคร) (ตั้งอยู่ในโครงการสุขนิเวศน์ 3 ปากซอยวัด ครุนอก) (ตรงข้ามตลาดพรานนก) (ชั้น 2 ติดนิติพล คลินิก) (ชั้น G ใกล้กลูเม่ มาร์เก็ต ) (ชั้น 2 ใกล้ร้านไดโซะ) (ใกล้ Kids Park Zone) (ตรงข้าม โรงพยาบาลเมโย)

สาขาสะพานควาย สาขาตลาดไท

(ฝั่งบิ๊กซี ใกล้สี่แยกสะพานควาย) (อยู่ใกล้ตลาดผลไม้รวม)

สาขาฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต สาขาสะพานใหม่ สาขาสมุทรปราการ สาขาบิ๊กซี พระราม 2

(ชั้น 2 Central Zone) (ตรงข้ามตลาดยิ่งเจริญ) (ถนนประโคนชัย) (ชั้น 1 ใกล้ True Move)

สาขาบิ๊กซี บางนา สาขาบิ๊กซี บางพลี

(ชั้น 1 ติดร้าน Black Canyon) (ชั้น 1 Banking Zone)

สาขาบิ๊กซี อ่อนนุช สาขาบิ๊กซี ติวานนท์

(ชั้น 3 บริเวณ Food Court) (ชั้น 1 ติดกับธนาคารกรุงเทพ)

สาขาบิ๊กซี รัตนาธิเบศร์

(ชั้น 1 บริเวณร้านทอง)

หมายเลขโทรศัพท์ 0 2359 0000 ต่อ 4801-4, 0 2677 7111 0 2204 2515-7 0 2286 2646-7, 0 2105 3994 0 2392 6053-5 0 2381 6573-5, 0 2714 4182 0 2254 0045-7, 0 2108 0674 0 2254 4150-2, 0 2655 7128 0 2235 8372-4 0 2235 7050-3 0 2212 8639-40, 0 2212 8634, 0 2673 0453 0 2853 3930-2 0 2208 0860-2, 0 2656 3162 0 2221 4600-2 0 2225 3552, 0 2225 3556-7, 0 2622 4938 0 2223 4194-5, 0 2223 4280, 0 2623 0218 0 2223 2024-6 0 2221 6946-8, 0 2621 2026 0 2280 9518, 0 2280 9530, 0 2280 9541, 0 2628 1356 0 2282 4712-4, 0 2629 4162 0 2235 7463-5, 0 2639 6103 0 2223 9866-8 0 2225 4932-4, 0 2623 7316 0 2437 0038-40, 0 2108 9040 0 2462 8364-6, 0 2819 2726 0 2411 1272-4, 0 2866 0314 0 2947 5588 0 2947 5056-8, 0 2130 4200 0 2111 3007-9 0 2863 8757-9, 0 2863 8762 0 2561 5577, 0 2561 2376, 0 2561 1957, 0 2941 1051 0 2278 1755-7, 0 2616 9407 0 2529 6162-3, 0 2529 6176-7, 0-2908-3420 0 2958 5271-3 0 2522 7088-91, 0 2971 1404 0 2389 1683-5, 0 2702 6721 0 2415 3737, 0 2415 3313 0 2415 5423, 0 2415 7236 0 2361 6324-6 0 2312 2626, 0 2312 2665, 0 2312 2667 0 2331 6471-3, 0 2742 6800 0 2527 4551-2, 0 2527 4557, 0 2968 3932 0 2594 2578-80


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

หาน

ณฑ ล (ต่อ)

กรุงเทพม

เขตพื้นที่

ครและปริม

เขตพื้นที่

ภาคเหนือ

ภาค

หนอื

เขตพื้นที่

ตะวั นออกเฉียงเ

สาขาเทสโก้ โลตัส พระราม 1 สาขาเทสโก้ โสตัส พระราม 4 สาขาเทสโก้ โลตัส บางนา-ตราด สาขาเทสโก้ โลตัส ศรีนครินทร์ สาขาโฮมโปร เพชรเกษม สาขาโฮมโปร สุวรรณภูมิ สาขาโฮมโปร เอกมัย-รามอินทรา สาขาโฮมโปร ประชาชื่น

สาขา (ชั้น 3 ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส พระราม 1) (ชั้น 2 ทางขึ้นบันไดเลื่อน) (ชั้น 1 Banking Zone) (ชั้น 2 ใกล้โรงภาพยนตร์) (ชั้น 1 Plaza Zone ฝั่ง Home Pro) (ชั้น 3 Banking Zone) (ใกล้ร้านก๋วยเตี๋ยวไก่ แม่ศรีเรือน) (ชั้น 1 โฮมโปร ประชาชื่น)

สาขาโฮมโปร พุทธมณฑลสาย 5 สาขาเมกาโฮม รังสิต สาขาเซ็นทรัล พระราม 9 สาขาเซ็นทรัล ปิ่นเกล้า สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ

(ชั้น 1 โฮมโปร พุทธมณฑล) (ชั้น 1 ศูนย์การค้าเมกาโฮม รังสิต) (ชั้น 5 Banking Zone) (ชั้น 4 Banking Zone) (ชั้น B หน้า Supermarket)

สาขาเดอะมอลล์ บางแค สาขาเดอะมอลล์ บางกะปิ สาขาเดอะมอลล์ งามวงศ์วาน สาขาซีคอน บางแค สาขาซีคอนสแควร์ สาขานครปฐม สาขาสมุทรสาคร

(ชั้น 3 Banking Zone) (ชั้น 2 เยื้องศูนย์ Nokia ฝั่ง Plaza) (ชั้น 1 ตรงข้าม DTAC ) (ชั้น 3 Banking Zone) (ชั้น 3 Banking Zone) (ถนนราชวิถี) (ตรงข้าม โรงเรียนมหาชัย คริสเตียน)

สาขาเซ็นทรัล แจ้งวัฒนะ สาขาโฮมโปร พระราม 3 สาขาเดอะ พาซิโอมอลล์ (ลาดกระบัง)

(ชั้น 4 ใกล้กับ True) (ชั้น 1 โฮมโปร พระราม 3) (ใกล้กับ McDonald’s)

สาขา สาขาโฮมโปร เชียงราย (ชั้น 1 โฮมโปร เชียงราย) สาขาโฮมโปร แพร่ (ชั้น 1 โฮมโปร แพร่) สาขาโฮมโปร ลำ�ปาง (ชั้น 1 โฮมโปร ลำ�ปาง) สาขาเทสโก้ โลตัส รวมโชค (เชียงใหม่) (ชั้น 2 ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส รวมโชค) สาขาบิ๊กซี หางดง สาขาตลาดวโรรส สาขาเชียงราย

(ชั้น 1 Banking Zone) (ปากทางเข้าตลาดวโรรส) (ถนนธนาลัย)

สาขาโฮมโปร ร้อยเอ็ด สาขาโฮมโปร สกลนคร

สาขา (ชั้น 1 โฮมโปร ร้อยเอ็ด) (ชั้น 1 โฮมโปร สกลนคร)

สาขาโฮมโปร เลย สาขาโฮมโปร อุบลราชธานี สาขาโฮมโปร ชัยภูมิ สาขาโฮมโปร บุรีรัมย์ สาขาโฮมโปร สุรินทร์ สาขาโฮมโปร เขาใหญ่ สาขาโฮมโปร นครราชสีมา (หัวทะเล) สาขาเมกาโฮม หนองคาย

(ชั้น 1 โฮมโปร เลย) (ชั้น 1 โฮมโปร อุบลราชธานี) (ชั้น 1 โฮมโปร ชัยภูมิ) (ชั้น 1 โฮมโปร บุรีรัมย์) (ชั้น 1 โฮมโปร สุรินทร์) (ชั้น 1 โฮมโปร เขาใหญ่) (ชั้น 1 โฮมโปร นครราชสีมา (หัวทะเล)) (ชั้น 1 เมกาโฮม หนองคาย)

245

หมายเลขโทรศัพท์ 0 2214 3568-70, 0 2612 4920 0 2249 5758-60, 0 2671 4697 0 2316 3184-6, 0 2752 8143 0 2175 7712-4, 0 2105 3995 0 2444 3045-7 0 2316 6701-4, 0 2002 1024 0 2514 9112-4 0 2589 6015, 0 2589 6071, 0 2589 6074, 0 2951 8353 0 2482 1286-7, 0 3410 9605 0 2516 0971-2, 0 2105 3935 0 2160 3866-8 0 2433 1155, 0 2433 1352-3 0 2477 9525, 0 2477 9497, 0 2477 9540 0 2454 9204-6 0 2363 3489-91 0 2550 1287-9 0 2458 2846-9 0 2138 6180-2, 0 2721 9246 0 3427 1981-3, 0 3421 0143 0 3487 0737-9, 0 3487 0741, 0 3481 0877 0 2193 8130-2, 0 2024 8430 0 2164 4390-1, 0 2024 8959 0 2346 4211-3, 0 2024 8564 หมายเลขโทรศัพท์ 0 5360 4430-1, 0 5202 9835 0 5453 1955-6, 0 5406 9505 0 5481 1481-2, 0 5431 6228 0 5301 4124-5, 0 5301 4282-3, 0 5301 4154, 0 5301 4285, 0 5385 2027 0 5344 7855-7 0 5325 2223-5 0 5371 7873-6 หมายเลขโทรศัพท์ 0 4351 6849-50, 0 4303 9805 0 4271 2862, 0 4271 2868, 0 4209 9705 0 4284 5827-8, 0 4203 9805 0 4534 4738-9, 0 4595 9715 0 4405 1842-3, 0 4410 9705 0 4469 0490-1, 0 4411 9805 0 4451 9902-3 0 4492 9458-9, 0 4432 8033 0 4492 0530-1 0 4299 0453-4, 0 4246 4299


ะ ภาคต

เขตพื้นที่

อ่ )

รายงานประจำ�ปี 2560

อื (ต

246

วนั อ อกเฉียงเหน

เขตพื้นที่

ภาคกลาง

เขตพื้นที่ ภาคตะวันตก

เขตพื้นที่

ภาคต ออก ะวัน

สาขาขอนแก่น

สาขา ถนนศรีจันทร์

สาขาเซ็นทรัล ขอนแก่น สาขาเซ็นทรัล อุดรธานี สาขาอุดรธานี

(ชัน้ 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซ่า ขอนแก่น) (ชั้น 3 เซ็นทรัล อุดรธานี) (ใกล้ห้าแยกน้ำ�พุ)

สาขาอุบลราชธานี สาขาเดอะมอลล์ นครราชสีมา สาขาปากช่อง สาขาเมกาโฮม นครพนม สาขาเทอร์มินอล 21 โคราช

(ถนนชยางกูร) (ชั้น B ติดกับ TMB) (ตลาดปากช่อง) (ชั้น 1 เมกาโฮม นครพนม) (ชั้น 2 ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช)

หมายเลขโทรศัพท์ 0 4323 5244, 0 4323 5258, 0 4323 5260, 0 4324 5364, 0 4324 5366, 0 4324 5415 0 4328 8540-3 0 4213 6155-7, 0 4234 3341 0 4223 0280-2, 0 4223 0284, 0 4223 0286, 0 4234 3788, 0 4223 0308 0 4524 2584-6, 0 4526 2311 0 4439 3925-7, 0 4428 8118 0 4431 4882-4, 0 4408 1114 0 4251 1981-2, 0 4219 9783 0 4449 8511-4, 0 4408 1115

สาขาโฮมโปร สระบุรี สาขาโฮมโปร ลพบุรี สาขาโฮมโปร สุพรรณบุรี สาขาบิ๊กซี อยุธยา สาขาโฮมโปร สุโขทัย สาขาโฮมโปร นครสวรรค์ สาขาโฮมโปร เพชรบูรณ์ สาขาพิษณุโลก สาขานครสวรรค์ สาขาอยุธยาซิตี้พาร์ค

สาขา (ชั้น 1 โฮมโปร สระบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร ลพบุรี) (ถนนมาลัยแมน) (ชั้น 2 ศูนย์การค้าบิ๊กซี อยุธยา) (ชั้น 1 โฮมโปร สุโขทัย) (ชั้น 1 โฮมโปร นครสวรรค์) (ชั้น 1 โฮมโปร เพชรบูรณ์) (ถนนบรมไตรโลกนาถ) (ถนนสวรรค์วิถี) (ชั้น 1 ตรงข้ามร้าน Boots)

หมายเลขโทรศัพท์ 0 3622 4471-2, 0 3667 9715 0 3677 6095-6, 0 3668 9805 0 3552 2346-7, 0 3596 9605 0 3574 7133-4, 0 3595 9715 0 5561 6631-2, 0 5562 0004 0 5637 1357-8, 0 5600 9735 0 5671 9541-2, 0 5602 9705 0 5525 8051-3, 0 5521 9033 0 5622 8521-3, 0 5631 1015 0 3580 1929-31, 0 3590 2349

สาขาโฮมโปร กาญจนบุรี สาขาโฮมโปร สมุทรสงคราม สาขาโฮมโปร เพชรบุรี สาขาโฮมโปร ประจวบคีรีขันธ์ สาขาโรบินสัน ราชบุรี สาขาหัวหิน สาขาเมกาโฮม แม่สอด

สาขา (ชั้น 1 โฮมโปร กาญจนบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร สมุทรสงคราม) (ชั้น 1 โฮมโปร เพชรบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร ประจวบคีรีขันธ์) (ชั้น 1 ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน ราชบุรี) (ตรงข้ามแขวงการทางหัวหิน) (ชั้น 1 เมกาโฮม แม่สอด)

หมายเลขโทรศัพท์ 0 3460 2695-6, 0 3462 2043 0 3477 0898-9, 0 3472 3027 0 3247 4575-6, 0 3241 0062 0 3265 2151-2 0 3232 8025-7, 0 3231 0330 0 3251 3420-2 0 5550 6993-4

สาขาโฮมโปร ชลบุรี สาขาโฮมโปร ชลบุรี (อมตะ) สาขาโฮมโปร ฉะเชิงเทรา สาขาโฮมโปร จันทบุรี สาขาโฮมโปร ปราจีนบุรี สาขาเมกาโฮม บ่อวิน สาขาเมกาโฮม กบินทร์บุรี สาขาเมกาโฮม อรัญประเทศ สาขาศรีราชา สาขาบิ๊กซี พัทยากลาง สาขาระยอง

สาขา (ชั้น 2 โฮมโปร ชลบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร ชลบุรี (อมตะ)) (ชั้น 1 โฮมโปร ฉะเชิงเทรา) (ชั้น 1 โฮมโปร จันทบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร ปราจีนบุรี) (ชั้น 1 เมกาโฮม บ่อวิน) (ชั้น 1 เมกาโฮม กบินทร์บุรี) (ชั้น 1 เมกาโฮม อรัญประเทศ) (ถนนศรีราชานคร 2) (ชั้น 2 ติดร้าน 3BB) (ถนนสุขุมวิท ติดกับธนาคารยูโอบี)

หมายเลขโทรศัพท์ 0 3838 7924-6 0 3824 2052-4, 0 3304 6235 0 3851 3418-9, 0 3359 9515 0 3941 8112-3, 0 3960 9815 0 3748 2338-9, 0 3762 9755 0 3811 9168-9 0 3748 0314-5, 0 3720 2003 0 3724 7440-1, 0 3760 9824 0 3832 5693-5 0 3842 8946-8, 0 3836 0200 0 3861 9434-6, 0 3886 4486


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

เขตพื้นที่ ภาคใต้

สาขาโฮมโปร ภูเก็ต (ฉลอง) สาขาโฮมโปร ภูเก็ต (ถลาง) สาขาโฮมโปร ตรัง สาขาโฮมโปร พัทลุง

สาขา (ชั้น 1 โฮมโปร ภูเก็ต (ฉลอง) (ชั้น 1 โฮมโปร ภูเก็ต (ถลาง) (ชั้น 1 โฮมโปร ตรัง) (ชั้น 1 โฮมโปร พัทลุง)

สาขาโฮมโปร ชุมพร สาขาเทสโก้ โลตัส สมุย สาขาเทสโก้ โลตัส ภูเก็ต สาขาภูเก็ต สาขาป่าตอง

(ชั้น 1 โฮมโปร ชุมพร) (ชั้น 1 ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส สมุย) (ชั้น G Banking Zone) (ถนนเทพกระษัตรี) (ปากซอย เดอะโรยัล พาราไดซ์)

สาขากระบี่

(ถนนมหาราช)

สาขานครศรีธรรมราช สาขาหาดใหญ่

(ถนนพัฒนาการคูขวาง) (ถนนนิพัทธ์อุทิศ 2)

สาขาบิ๊กซี หาดใหญ่ 2

(ชั้น 1 ศูนย์การค้า บิ๊กซี หาดใหญ่ 2)

สาขาเซ็นทรัล สุราษฎร์ธานี สาขาสมุย (ละไม)

(ชั้น 3 Banking Zone) (ถนนรอบเกาะ ตรงข้ามละไม รีสอร์ท)

247

หมายเลขโทรศัพท์ 0 7638 4618-9, 0 7668 1135 0 7639 0430-1 0 7550 2276-7, 0 7582 9705 0 7460 3663, 0 7460 3667, 0 7462 1219 0 7765 8893-4, 0 7797 9905 0 7743 0628-30, 0 7725 6091 0 7630 4113-5 0 7635 5305-9 0 7634 0770-1, 0 7634 0773, 0 7634 0775, 0 7634 0778, 0 7634 0801, 0 7629 2013 0 7562 0292-3, 0 7562 0377, 0 7563 0027 0 7535 7617-9, 0 7531 7770 0 7422 5622-3, 0 7422 5628, 0 7435 0067 0 7455 5211, 0 7455 5281-2, 0 7434 4014 0 7760 2709-12 0 7745 8599, 0 7745 8600, 0 7795 4031, 0 7745 8640


248

รายงานประจำ�ปี 2560




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.