สารบัญ
2 สารจาก
4 ความเป็นมา
ประธานกรรมการ 8 10 19 36 39 39 52 63 64
ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ คณะกรรมการบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ ข้อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการจัดการ ปัจจัยความเสี่ยง รายงานคณะกรรมการบริหาร การวิเคราะห์และคำ�อธิบาย ของฝ่ายจัดการ
92 รายงานคณะกรรมการ บรรษัทภิบาล
93 สารจากกรรมการผู้จัดการ
ของบริษัท
94 รายงานการพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืน
101 127
การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี
127 129 129
การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น
133 135 139 142
ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
การประกอบกิจการ ด้วยความเป็นธรรม การเคารพสิทธิมนุษยชน การปฏิบัติต่อแรงงาน อย่างเป็นธรรม การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม การจัดการสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมและการเผยแพร่ นวัตกรรมจากการดำ�เนิน ความรับผิดชอบต่อสังคม
6 ข้อมูลทั่วไป 144 การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการ ความเสี่ยง
147 รายการระหว่างกัน 151 รายงานคณะกรรมการ ตรวจสอบ
152 รายงานคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน
153 รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่อ รายงานทางการเงิน
154 รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต
155 งบการเงินประจำ�ปี และหมายเหตุประกอบ งบการเงิน
252 ข้อมูลอ้างอิง 253 ทำ�เนียบสาขาของธนาคาร
สารจากประธานกรรมการ นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ
“
ปี 2559 กลุ่มธุรกิจทางการเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มีแผนปรับโฉมไอที เพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า ในยุคดิจิตอล
”
2
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ภ
าพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2558 มีทิศทางชะลอตัวต่อเนื่อง โดยการบริโภคภาคเอกชนยังไม่มีสัญญาณฟื้นตัวที่ชัดเจน จากปั จ จั ย รายได้ เ กษตรกรที่ ยั ง อยู่ ใ นระดั บ ต่ำ � เนื่ อ งจากราคาสิ น ค้ า โภคภั ณ ฑ์ โ ลกยั ง ไม่ ฟื้ น ตั ว หนี้ ค รั ว เรื อ น ที่อยู่ในระดับสูงกดดันการใช้จ่ายภาคครัวเรือน ด้วยทิศทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัวประกอบกับความเชื่อมั่นภาคเอกชน ทำ � ให้ ก ารลงทุ น ภาคเอกชนกลั บ มาหดตั ว ด้ า นการส่ ง ออกยั ง คงหดตั ว ต่ อ เนื่ อ งตลอดทั้ ง ปี ทั้ ง จากการชะลอตั ว ของอุปสงค์ภายนอกและปัจจัยเชิงโครงสร้าง เช่น การย้ายฐานการผลิต อย่างไรก็ดี ในช่วงปลายปีรัฐบาลได้ออกมาตรการ ช่วยเหลือหลายมาตรการ เช่น การส่งเสริมการลงทุน การกระตุ้นค่าใช้จ่ายภาครัฐด้านโครงสร้างพื้นฐานการช่วยเหลือ เกษตรกร ทำ�ให้ภาวะเศรษฐกิจกระเตื้องขึ้น แต่จากผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวข้างต้นยังคงทำ�ให้ GDP ในปี 2558 ยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำ�กว่าที่คาดการณ์ ใ น ปี 2 5 5 8 บ ริ ษั ทใ น ก ลุ่ ม ธุ ร กิ จ ท า ง ก า ร เ งิ น บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีการ ขยายตัวในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะบริษัทมีผลการดำ�เนินงาน กำ�ไรสุทธิ 1,652 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อน 37.5% เช่นเดียวกับ การเติบโตของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่มีสินทรัพย์รวม 198,039 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อน 20.2% มี เ งิ นให้ สิ น เชื่ อ รวม 149,010 ล้ า นบาท เติ บโตจากปี ก่ อ น 16.8% คุณภาพสินเชื่อจัดอยู่ในเกณฑ์ดี มีสินเชื่อด้อยคุณภาพ (NPL) ที่ต่ำ�เพียง 1.89% ของเงินให้สินเชื่อรวม เมื่อเทียบกับ ค่าเฉลี่ยของระบบธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ที่ 2.55% ปี 2559 ธนาคารจะพั ฒ นาบริ ก าร การเพิ่ ม สิ น ค้ า และบริ ก ารเพื่ อให้ ลู ก ค้ า ได้ รั บ บริ ก ารที่ ส ะดวกรวดเร็ ว และ มีความพึงพอใจ เพิ่มช่องทางการให้บริการผ่านสาขาเพิ่มขึ้น จาก 117 สาขา ในปี 2557 เป็น 126 สาขา ในปี 2558 รวมทั้ ง ปรั บ ระบบงานเทคโนโลยี ใ ห้ เ ข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการให้บริการของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน โดยมีแผนปรับโฉมไอที เพื่อรองรับสังคมดิจิตอล และตอบสนองความต้องการของลูกค้า ในยุ ค ดิ จิ ต อล ด้ ว ยการออกแอพพลิ เ คชั่ น บนโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ที่เรียกว่า LH Bank M-Choice Application ที่สามารถ ทำ�ธุรกรรมทางการเงินได้สะดวกและรวดเร็ว สามารถเช็คยอดเงิน โอนเงิน เติมเงิน ชำ�ระค่าสินค้าและบริการ ดูรายละเอียดกองทุน รวมไปถึงการค้นหาสาขาและตู้เอทีเอ็มของธนาคาร ซึ่งสามารถ ใช้บริการได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด มีกองทุนภายใต้การบริหารจัดการ คิดเป็นมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ ทั้งสิ้น 49,858 ล้านบาท มี Market share เท่ากับ 1.23% อยู่อันดับที่ 11 จาก 20 บริษัท
บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ขยายการทำ�ตลาดร่วมกับธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดำ�เนินโครงการ Banker-to-Broker หรือโครงการส่งเสริมช่องทางการลงทุน ผ่านสาขาธนาคาร เพื่อให้ลูกค้าและนักลงทุนสามารถเปิดบัญชี ซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านสาขาของ LH Bank ที่มีอยู่ทั่วประเทศ ได้สะดวกยิ่งขึ้น คณะกรรมการบริ ษั ทได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความโปร่ งใส เป็ น ธรรม มีความรับผิดชอบและรักษาผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ สั ง คมโดยรวม รวมทั้ ง การบริ ห ารจั ด การด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุจริตอันนำ�ไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและ เป็นรากฐานของการเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน ในปี 2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเมิ น ผลการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ประจำ � ปี 2558 โดย บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ได้รับ จำ�นวนตราสัญลักษณ์ 5 ดวง จัดอยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” และ บริษัทได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียน ที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ ธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) หรือที่เรียกว่ากลุ่มหลักทรัพย์ ESG100 โดยสถาบันไทย พัฒน์ บริษัทขอขอบคุณลูกค้า ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม พนักงาน สถาบันการเงินภาครัฐและเอกชน รวมถึงหน่วยงาน ราชการต่างๆ ที่ให้ความไว้วางใจและสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
(นายอนันต์ อัศวโภคิน) ประธานกรรมการ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
3
ความเป็นมาของบริษทั
บ
ริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้ง จัดตัง้ ขึน้ ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยทีก่ �ำ หนดให้สถาบันการเงิน ปรับโครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจทางการเงินของตนเองให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม
2552
บริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์ เ ชี ย ล กรุ๊ ป จำ � กั ด (มหาชน) ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วันที่ 22 เมษายน 2552 ด้วยทุนจดทะเบียนแรกเริ่มจำ�นวน 100,000 บาท โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ เป็ น บริ ษั ท แม่ ข องกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ทั้ ง นี้ บริษัทไม่ทำ�ธุรกิจของตนเอง (Non - Operating Holding Company) แต่จะเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่นเพื่อการมีอำ�นาจควบคุมกิจการ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2552 บริษัทได้ยื่นขออนุญาตจัดตั้งกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิ น ต่ อ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย และเมื่ อ วั น ที่ 28 ตุ ล าคม 2552 ธนาคารแห่งประเทศไทยได้อนุญาตให้บริษัท และธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งกลุ่มธุรกิจทางการเงิน โดยมีบริษัทเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิ น และมี ธ นาคารเป็ น บริ ษั ท ลู ก ในกลุ่ ม Solo Consolidation และมีบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เป็นบริษทั ลูกนอกกลุม่ Solo Consolidation กล่ า วคื อ บริ ษั ท จะต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ ก ารกำ �กั บ ดู แ ลของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ตามที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 เมื่ อ วั น ที่ 10 มิ ถุ น ายน 2552 บริ ษั ท ได้ ป รั บโครงสร้ า งการถื อ หุ้ น เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามแผนการจั ด ตั้ ง กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าต จากธนาคารแห่งประเทศไทย และเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2552 สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้อนุญาตให้บริษัทเสนอขาย หลักทรัพย์ทอ่ี อกใหม่ และใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุน้ โดยเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2552 บริษัทได้ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน ของบริ ษั ทให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ � กั ด (มหาชน) โดยเสนอขายเพื่อแลกเปลี่ยนกับหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ในอั ต ราแลกเปลี่ ย น 1 ต่ อ 1 และเมื่ อ วั น ที่ 9 ธั น วาคม 2552 บ ริ ษั ทไ ด้ จ ด ท ะ เ บี ย น เ พิ่ ม ทุ น ที่ อ อ ก เ พื่ อ แ ล ก เ ป ลี่ ย น กั บ หุ้ น ส า มั ญ ข อ ง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) โดยถือเสมือนว่าชำ�ระราคาค่าหุ้นแล้ว กั บ กระทรวงพาณิ ช ย์ ซึ่ ง ภายหลั ง จากการปรั บโครงสร้ า งการถื อ หุ้ น ผู้ ถื อ หุ้ น ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ � กั ด (มหาชน) ได้ เ ข้ า มาเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ของบริษัทแทน และบริษัทเข้าถือหุ้นร้อยละ 99.99 ในธนาคาร
4
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รับหุ้นสามัญของบริษัทเป็นหลักทรัพย์ จดทะเบี ย นและเริ่ ม ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เมื่ อ วั น ที่ 10 พฤษภาคม 2554 โดยใช้อักษรย่อในการซื้อขายหลักทรัพย์ว่า LHBANK เมื่ อ วั น ที่ 22 มกราคม 2557 บริ ษั ท ได้ เ ข้ า ซื้ อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษัทหลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.79 ของทุนที่ชำ�ระแล้ว และซื้อหุ้นบริษัท ซีไอเอ็มบี แอ็ดไวเซอรี่ (ประเทศไทย) จำ � กั ด ผ่ า นบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ ซี ไ อเอ็ ม บี อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้ว และเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2557 ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยได้ อ นุ ญ าตให้ ทั้ ง 2 บริ ษั ท อยู่ในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน โดยเป็นบริษัทลูกนอกกลุ่ม Solo Consolidation การเข้าซื้อหุ้นทั้ง 2 บริษัทดังกล่าว เพื่อเป็นการขยายการทำ�ธุรกรรมด้านการเงิน ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ในด้านการซื้อขายหลักทรัพย์ และที่ปรึกษาทางการเงิน และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ บริษัททั้ง 2 แห่ง โดยชื่อว่าบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด
2554 2557
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
5
ข้อมูลทัว่ ไป ชื่อบริษัท : บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) อักษรย่อหลักทรัพย์ : LHBANK เลขทะเบียนบริษัท : 0107552000081 ประเภทธุรกิจ : ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company) ลงทุนในบริษัทย่อย 2 แห่ง คือ 1. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เว็บไซต์ : www.lhfg.co.th ปีที่ก่อตั้ง : 2552 วันแรกที่ซื้อขายหุ้น : 10 พฤษภาคม 2554 ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 13,638,705,250 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ จำ�นวน 13,638,705,250 หุ้น ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 13,638,699,252 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ จำ�นวน 13,638,699,252 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ : หุ้นสามัญหุ้นละ 1 บาท หุ้นบุริมสิทธิ : ไม่มี รอบระยะเวลาบัญชี : 1 มกราคม - 31 ธันวาคม ติดต่อ : สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ 0-2359-0000, 0-2677-7111 โทรสาร 0-2677-7223 : เลขานุการบริษัท โทรศัพท์ 0-2359-0000 ต่อ 2020, 2019, 2021, 2024 E-mail : presidentoffice@lhbank.co.th ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทเพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท www.lhfg.co.th
6
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
คณะกรรมการตรวจสอบ : นายไพโรจน์ เฮงสกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 081-990-7448 E-mail : phairojh@lhbank.co.th นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 081-834-0104 E-mail : adulv@lhbank.co.th นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 085-485-4269 E-mail : somsaka@lhbank.co.th ผู้สอบบัญชี : นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3734 และ/หรือ : นางสาวสมใจ คุณปสุต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4499 และ/หรือ : นางสาวรัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4951 : บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777 โทรสาร 0-2264-0789-90 เว็บไซต์ www.ey.com/th
บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น จี,1,5,6,32 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0107548000234 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 20,000,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 14,000,000,000 บาท โทรศัพท์ : 0-2359-0000, 0-2677-7111 โทรสาร : 0-2677-7223 เว็บไซต์ : www.lhbank.co.th
บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชัน้ M,10 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0107542000038 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 637,215,030 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 637,215,030 บาท โทรศัพท์ : 0-2352-5100 โทรสาร : 0-2286-2681-2 เว็บไซต์ : www.lhsec.co.th
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชัน้ 14 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0105551006645 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 300,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 300,000,000 บาท โทรศัพท์ : 0-2286-3484, 0-2679-2155 โทรสาร : 0-2286-3585, 0-2679-2150 เว็บไซต์ : www.lhfund.co.th
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 10 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0105545029400 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 20,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 20,000,000 บาท โทรศัพท์ : 0-2352-5100 โทรสาร : 0-2286-2681-2
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
7
ข้อมูลทางการเงินทีส่ �ำ คัญ รายการ
2558
2557
2556
งบแสดงฐานะการเงิน : ล้านบาท สินทรัพย์รวม เงินให้สินเชื่อ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินเชื่อด้อยคุณภาพ (Gross NPLs) เงินรับฝาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม หนี้สินรวม ส่วนของเจ้าของ ทุนจดทะเบียน ทุนออกจำ�หน่ายและทุนชำ�ระแล้ว
199,667 133,097 2,564 2,815 137,064 21,664 181,716 17,951 13,639 13,639
164,970 115,634 2,145 2,519 122,632 1,000 148,684 16,286 13,200 13,199
149,099 103,649 1,433 1,980 108,805 3 134,078 15,021 13,375 12,716
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ : ล้านบาท รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย รายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย หนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญ กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิ
8,494 (4,128) 4,366 1,177 5,543 (2,400) (1,089) 2,054 1,652
7,455 (4,073) 3,382 865 4,247 (2,045) (710) 1,492 1,201
6,517 (3,719) 2,798 516 3,314 (1,688) (526) 1,100 893
เทียบเป็นรายหุ้น : บาท กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน อัตราเงินปันผลต่อหุ้น มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น
0.1211 0.033 1.3162
0.0892 0.0370/1 1.2339
0.0702 0.0333 1.1813
0.91 9.65 21.23 43.29 44.42
0.77 7.67 20.36 48.16 58.88
0.66 6.12 15.59 50.93 76.65
อัตราส่วนทางการเงิน (%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เฉลี่ย (ROA) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (ROE) รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยต่อรายได้รวม ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ยต่อรายได้รวม อัตราการจ่ายเงินปันผล หมายเหตุ 8
งบการเงินรวม
/1
หมายถึง ในปี 2557 บริษทั จ่ายเงินปันผลประจำ�ปีเป็นหุน้ สามัญในอัตรา 30 หุน้ เดิมต่อ 1 หุน้ ปันผล และเงินสดปันผลในอัตราหุน้ ละ 0.0037 บาท
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
สินทรัพย รวม (ล านบาท) 67
,6 199
97
70
,9 164
2558
2557
เง�นให สินเช�่อ (ล านบาท) 9
09 49,
1
2556
เง�นรับฝากและตราสารหนี้ที่ออกและเง�นกู ยืม (ล านบาท) 28
34
,6 115
2558
2557
2556
รายได จากการดำเนินงาน (ล านบาท) 5,5
32
,6 123
2557
47
4,2
808
, 108
2556
กำไรสุทธิ (ล านบาท)
2558
2557
14
3,3
2556
ส วนของเจ าของ (ล านบาท)
52
951
1,6
17,
01
1,2
86
2 16,
0 15,
2557
2556
893
2558
49
,6 103
43
,7 158
2558
,0 133
2557
2556
2558
21
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
9
คณะกรรมการบริษัท นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ
อายุ : 65 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ¤ M.S. Industrial Engineering, Illinois Institute of Technology, Chicago, USA ¤ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 52/2004 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ไม่มี จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ¤ ปี 2558 ถือโดย บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 4,634,761,967 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 33.982 ¤ ปี 2557 ถือโดย บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 4,485,253,517 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 33.982 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ตำ�แหน่ง
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. 2538 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บมจ. 2528 - ปัจจุบัน 2526 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. 2531 - เม.ย. 2556 กรรมการผู้จัดการ บมจ. 2548 - มี.ค. 2554 ประธานกรรมการ บมจ. 2537 - ก.พ. 2553 ประธานกรรมการ บมจ. ส.ค. - ธ.ค. 2548 ประธานกรรมการ บมจ. ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 10
ช่วงเวลา
2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2547 - ปัจจุบัน 2547 - ปัจจุบัน 2545 - ปัจจุบัน 2543 - ปัจจุบัน 2543 - ปัจจุบัน 2538 - ปัจจุบัน 2536 - ปัจจุบัน 2534 - ปัจจุบัน 2533 - ปัจจุบัน 2531 - ปัจจุบัน 2529 - ปัจจุบัน 2523 - ปัจจุบัน 2544 - มี.ค. 2553 2537 - ธ.ค. 2552 มิ.ย. - ธ.ค. 2548
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ
ตำ�แหน่ง
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ควอลิตี้ เฮ้าส์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บางกอก เชน ฮอสปิทอล ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส์ เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ บจ. แอล แอนด์ เอช สาทร บจ. แอล เอช เรียลแอสเตท บจ. แอล เอช แอสเซท กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 2 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 1 บจ. เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ บจ. คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล บจ. สยามธานี เรียลเอสเตท บจ. บุญชัยโฮลดิ้ง บจ. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ บจ. แอตแลนติก เรียลเอสเตท บจ. แปซิฟิค เรียลเอสเตท บจ. พลาซ่า โฮเต็ล บจ. คิว-คอน อิสเทอร์น บจ. เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้นท์ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการบริหาร
อายุ : 68 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ M.S. in Business Ad., Fort Hays Kansas State University, Hays, Kansas, USA ¤ วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ¤ ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ. 388) ¤ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 4/2003 : IOD ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 61/2005 : IOD ¤ หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 1/2010 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ไม่มี จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
เ ม.ย. 2557 - ปัจจุบัน เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน เม.ย. 2548 - ปัจจุบัน
2544 - ปัจจุบัน
ส.ค. ต.ค. พ.ค. เม.ย.
2544 - ธ.ค. 2557 2549 - เม.ย. 2552 ก.พ. - ธ.ค. 2548 2547 - ธ.ค. 2548 2546 - เม.ย. 2547
ตำ�แหน่ง
กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการตรวจสอบ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. บ้านปู บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. บ้านปู บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ.
ควอลิตี้ เฮ้าส์ ไออาร์พีซี ทิพยประกันภัย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงไทย
¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ธ.ค. ต.ค. ธ.ค. ม.ค. ส.ค.
ช่วงเวลา
2556 - ปัจจุบัน 2553 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2546 - ธ.ค. 2557 2544 - ธ.ค. 2557 2549 - 2551 2545 - 2551
ส.ค. 2544 - ธ.ค. 2552 2543 - 2548
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. คิว.เอช. แมเนจเม้นท์ บจ. คิว.เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจ. เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้นท์ บจ. ยูไนเต็ด แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วิส
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 11
รอรูปจริง
นายไพโรจน์ เฮงสกุล
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล อายุ : 68 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ Executive M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ¤ เนติบัณฑิต ¤ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ¤ บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ¤ หลักสูตรพัฒนาผู้ตรวจสอบ “Bank Examiner Course”, Federal Deposit Insurance Corporation, Washington DC., USA ¤ หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ¤ หลักสูตร Executive Program for Central Banker, Harvard University, BOT - Chiangmai ¤ หลักสูตร Media and Public Relations, Ogilvy (Thailand) ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 121/2009 : IOD ¤ หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 1/2010 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ¤ ปี 2558 = 6,606,797 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.048 ¤ ปี 2557 = 6,393,675 หุน ้ สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.048 จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน เม.ย. 2552 - เม.ย. 2554
ตำ�แหน่ง
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ก.พ. 2552 - ปัจจุบัน 2550 - ปัจจุบัน ก.ย. - ธ.ค. 2552 2549 - พ.ค. 2552 2549 - 2550 2543 - 2549
12
ตำ�แหน่ง
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายจัดการกองทุน ผู้อำ�นวยการอาวุโส - สำ�นักงานภาคใต้ - ฝ่ายบริหารโครงการและทรัพย์สิน
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บจ. หลักทรัพย์ นครหลวงไทย บจ. บริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย
นายอดุลย์ วินัยแพทย์
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการตรวจสอบ อายุ : 69 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ M.A. (Econ) University of Texas at Austin, Texas, USA ¤ เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ¤ นักบริหารระดับสูง สำ�นักงานข้าราชการพลเรือน (นบส.) ¤ ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ. 388) ¤ หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 14 ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 25/2002 : IOD ¤ หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 7/2005 : IOD ¤ หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) 2/2007 : IOD ¤ หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 1/2010 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ไม่มี จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
พ.ค. 2553 - ปัจจุบัน เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน
ตำ�แหน่ง
กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และ กรรมการตรวจสอบ ส.ค. 2544 - เม.ย. 2558 กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ก.ค. 2551 - ธ.ค. 2553 ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ส.ค. - ธ.ค. 2548 กรรมการตรวจสอบ ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต.ค. เม.ย. ธ.ค.
ช่วงเวลา
2557 - ปัจจุบัน 2552 - ปัจจุบัน 2550 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน
ตำ�แหน่ง
2545 - ปัจจุบัน
กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า ตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ
2545 - 2557
กรรมการรองผู้อำ�นวยการใหญ่
มิ.ย.
2551 - ต.ค. 2556 มี.ค. - ก.ค. 2553 2548 - ธ.ค. 2552 2547 - ธ.ค. 2548 2546 - 2551
ผู้อำ�นวยการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ
2545 - 2550 2545 - 2550
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จดั การ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. เอเวอร์กรีน พลัส บมจ. ไอ.จี.เอส. บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลัง แห่งประเทศไทย (TTDI) มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลัง แห่งประเทศไทย (TTDI) สถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลัง (ห้วยบง) บจ. ไทยแอร์ไลน์ โฮลดิ้ง บจ. สมาร์ทคอลเลคเตอร์ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บจ. ปัญจพล เปเปอร์ อินดัสตรี้ บมจ. ปัญจพล พัลพ์ อินดัสตรี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 13
นายสมศักดิ์ อัศวโภคี
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ : 63 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ M.B.A., New York University, USA ¤ พาณิชยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 157/2012 : IOD
จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ไม่มี จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน
ตำ�แหน่ง
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ต.ค. 2555 - ปัจจุบัน ต.ค. พ.ย. เม.ย.
2548 - ก.ย. 2555 2546 - ก.ย. 2555 2543 - ต.ค. 2548 2543 - ต.ค. 2543
ต.ค. 2541 - เม.ย. 2543 พ.ย. 2537 - ต.ค. 2541
14
ตำ�แหน่ง
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส กรรมการและกรรมการบริหาร รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ รักษาการในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ
กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ : 57 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ¤ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ¤ หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. 2549) ¤ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 25/2004 : IOD ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 53/2005 : IOD ¤ หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 2/2011 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ไม่มี จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
พ.ค. 2554 - ปัจจุบัน พ.ค. 2556 - ปัจจุบัน 2538 - ปัจจุบัน 2537 - ปัจจุบนั 2545 - เม.ย. 2556 2537 - มี.ค. 2554 ส.ค. - ธ.ค. 2548 2534 - พ.ค. 2544
ตำ�แหน่ง
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ (ปฏิบัติการ) กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร และรองกรรมการผู้จัดการสายปฏิบัติการ กรรมการ กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ. บมจ.
แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บางกอก เชน ฮอสปิทอล เงินทุนบุคคลัภย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ธ.ค. 2556 - ปัจจุบัน 2555 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2547 - ปัจจุบัน 2547 - ปัจจุบนั 2545 - ปัจจุบนั 2544 - ปัจจุบนั 2543 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั 2538 - ปัจจุบนั 2536 - ปัจจุบนั 2534 - ปัจจุบนั 2531 - ปัจจุบนั 2529 - ปัจจุบนั มิ.ย. - ธ.ค. 2548 2544 - ก.พ. 2553 2537 - ธ.ค. 2552 2537 - ธ.ค. 2552
ตำ�แหน่ง
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ Land and Houses USA, INC บจ. ภูเก็ต ฟิวเจอร์ แพลน บจ. ดับเบิ้ลทรี บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แอล เอช เรียลเอสเตท บจ. แอล เอช แอสเซท กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 2 บมจ. เมืองใหม่ กัตทรี กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 1 บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธ บจ. แอล เอช เมืองใหม่ บจ. สยามธานี เรียลเอสเตท บจ. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ บจ. แอตแลนติก เรียลเอสเตท บจ. แปซิฟิค เรียลเอสเตท บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. คิว-คอน อิสเทอร์น บจ. สระบุรีเวชกิจ บจ. ศรีบุรินทร์การแพทย์
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 15
นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการบริหาร
อายุ : 58 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ M.B.A. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ¤ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 8/2001 : IOD
จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ไม่มี จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ¤ ปี 2558 ถือโดยคู่สมรส จำ�นวน 2,700,066 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.020 ¤ ปี 2557 ถือโดยคู่สมรส จำ�นวน 3,000,000 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.023 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ส.ค. 2556 - ปัจจุบัน 2538 - ปัจจุบัน
ตำ�แหน่ง
กรรมการ และกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ก.ย. มี.ค.
16
2556 - ปัจจุบัน 2555 - ปัจจุบัน 2555 - ปัจจุบัน 2554 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการ กรรมการ และกรรมการบริหาร ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บจ. ดีซี เซอร์วิส เซ็นเตอร์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. เมกา โฮม เซ็นเตอร์ บจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ (มาเลเซีย) บจ. มาร์เก็ต วิลเลจ
นางสุวรรณา พุทธประสาท กรรมการ
อายุ : 60 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ M.B.A. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ¤ บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ¤ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 29/2004 : IOD ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 85/2007 : IOD ¤ หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 3/2011 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ไม่มี จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
เ ม.ย. 2554 - ปัจจุบัน 2546 - ปัจจุบัน 2543 - ปัจจุบัน พ.ค. 2554 - เม.ย. 2555 ส.ค. - ธ.ค. 2548
ตำ�แหน่ง
กรรมการ กรรมการ กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหาร ความเสี่ยง และเลขานุการบริษัท กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์
¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ก.พ. ม.ค. มิ.ย. ก.พ. ส.ค.
2556 - ปัจจุบัน 2556 - ปัจจุบัน 2555 - ปัจจุบัน 2555 - ปัจจุบัน 2553 - ปัจจุบัน 2551 - ปัจจุบัน 2546 - ปัจจุบัน 2546 - ปัจจุบัน 2543 - ปัจจุบัน 2543 - ปัจจุบัน 2556 - ธ.ค. 2557 2548 - ก.พ. 2555
ม.ค. ม.ค. ม.ค.
2556 - ก.พ. 2558 2556 - ก.พ. 2558 2556 - ก.พ. 2558 2535 - 2548
ตำ�แหน่ง
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บจ. พร็อพเพอร์ตี้ โฮสท บจ. คาซ่า วิลล์ (ชลบุรี 2554) บจ. เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี้ บจ. แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ บจ. คิว.เฮ้าส์ พรีคาสท์ บจ. แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ บจ. คิว.เอช. แมเนจเม้นท์ บจ. คาซ่า วิลล์ บจ. เดอะ คอนฟิเด้นซ์ บจ. คิว.เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. คาซ่า วิลล์ (ประจวบคีรีขันธ์ 2554) บจ. คาซ่า วิลล์ (เพชรบุรี 2553) บจ. คาซ่า วิลล์ (ระยอง 2553) บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 17
นางศศิธร พงศธร
กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ อายุ : 58 ปี คุณวุฒิทางการศึกษา : ¤ M.B.A. Nortre Dame de Namur University, California, USA ¤ ปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ¤ หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 12 ¤ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 28/2004 : IOD ¤ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 58/2005 : IOD ¤ หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 3/2011 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง : ¤ ปี 2558 = 1,216,592 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.009 ¤ ปี 2557 = 747,524 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.006 จำ�นวนการถือหุ้นทางอ้อม : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง : ¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน พ.ย. 2548 - ปัจจุบัน ม.ค. พ.ย. ก.ย.
ก.ค. - ธ.ค. 2548 2547 - พ.ค. 2548 2541 - ก.ค. 2542 2526 - ก.ค. 2541
ตำ�แหน่ง
กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกรรมการกำ�หนด ค่าตอบแทน รองกรรมการผู้จัดการ กรรมการ และกรรมการผู้อำ�นวยการ Chief Financial Officer ผู้อำ�นวยการอาวุโสโครงการพิเศษ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) บมจ. บมจ. บมจ. บมจ.
เงินทุน บุคคลัภย์ หลักทรัพย์ ยูไนเต็ด เดอะโคเจเนอเรชั่น เงินทุนหลักทรัพย์ ธนสยาม
¤ การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา
ก.พ. ม.ค. ม.ค. ธ.ค.
2558 - ปัจจุบัน 2557 - ปัจจุบัน 2557 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน
ส.ค. 2555 - ส.ค. 2557 เม.ย. 2543 - ธ.ค. 2546
18
ตำ�แหน่ง
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ อนุกรรมการการก่อสร้างอาคาร และอนุกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ ผู้อำ�นวยการอาวุโส
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท
บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บจ. ยูไนเต็ด แอ็ดไวเซอรี่ เซอรวิส
ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้งและเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจโดยการเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่นโดยไม่ได้ทำ�ธุรกิจ ของตนเอง (Non - operating Holding Company) แต่จะเข้าถือหุน้ ในบริษทั อืน่ เพือ่ การมีอ�ำ นาจควบคุมกิจการ ดังนัน้ การประกอบธุรกิจของบริษทั จึงแบ่งตามลักษณะการประกอบธุรกิจ ของบริษัทย่อยและบริษัทที่บริษัทเข้าถือหุ้นโดยอ้อม
การประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท แบ่ ง ตามลั ก ษณะ การประกอบธุรกิจของบริษทั ย่อย สามารถแบ่งได้ 4 กลุม่ ประเภท ธุรกิจ คือ กลุ่มธุรกิจธนาคารพาณิชย์ กลุ่มธุรกิจหลักทรัพย์ จัดการกองทุน กลุ่มธุรกิจหลักทรัพย์ และกลุ่มธุรกิจที่ปรึกษา ทางการเงิน เพือ่ ให้มคี วามหลากหลายในด้านบริการทางการเงิน ในรู ป แบบต่ า งๆ และสามารถตอบสนองความต้ อ งการทาง ด้านการเงินให้แก่ลูกค้าอย่างครบวงจร
โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)
24.98% นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์
21.34%
33.98%
16.20%
99.99%
99.79%
99.99%
99.99%
หมายเหตุ : บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์
: มารดา ของ นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) : บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด : บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
19
การด�ำเนินงานของบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) แบ่งการด�ำเนินงานในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ - ธุรกิจการลงทุน คือ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) - ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) - ธุรกิจหลักทรัพย์จดั การกองทุน คือ บริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด - ธุรกิจหลักทรัพย์ คือ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) - ธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน คือ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จ�ำกัด 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ธุรกิจการลงทุน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) บริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์ เ ชี ย ล กรุ ๊ ป จ�ำกั ด (มหาชน) เ ป ็ น บ ริ ษั ท โ ฮ ล ดิ้ ง ที่ ไ ม ่ ไ ด ้ ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ข อ ง ต น เ อ ง (Non-operating Holding Company) เป็ น บริ ษั ท แม่ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจโดยการเข้าถือหุ้น ในบริษทั อืน่ ซึง่ ปัจจุบนั ถือหุน้ ในธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ช�ำระแล้วทั้งหมด และถือหุ้น
20
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ในบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ร้อยละ 99.79 ดังนั้น ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) จึงเป็นบริษัทแกน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กรและเป้าหมายในการ ด�ำเนินงานของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อเป็นการก�ำหนดทิศทางและเป้าหมายที่เป็นอันหนึ่ง อั น เดี ย วกั น ของทั้ ง กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น กอรปกั บ ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จ�ำกั ด (มหาชน) เป็ น บริ ษั ท แกน และเป็ น ธุ ร กิ จ หลั ก ของกลุ ่ ม บริ ษั ท จึ ง ได้ ยึ ด ถื อ วิ สั ย ทั ศ น์ และพันธกิจของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) มาเป็ น ตั ว ก�ำหนดภาพความมุ ่ ง หวั ง สู ง สุ ด ที่ อ งค์ ก รต้ อ งการ จะบรรลุตามวิสัยทัศน์ ส�ำหรับพันธกิจจะเป็นการก�ำหนดภารกิจ และหลั ก ปฏิ บั ติ ที่ อ งค์ ก รจะยึ ด ถื อ ในการด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ส่ ง ถึ ง ค่ า นิ ย มองค์ ก ร คื อ หลั ก การร่ ว มกั น ที่ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน จะน�ำมาใช้ในการด�ำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย คณะกรรมการธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ อ นุ มั ติ วิ สั ย ทั ศ น์ และพั น ธกิ จ ตั้ ง แต่ ป ี 2555 ซึ่ ง ธนาคารได้ ยึ ด วิ สั ย ทั ศ น์ และพั น ธกิ จ ในการก�ำหนด แผนกลยุ ท ธ์ เ พื่ อ ให้ ก ารด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ เป็ น ไปตามเป้ า หมาย ที่ ก�ำหนด รวมทั้ ง ได้ ท บทวนความเหมาะสมของวิ สั ย ทั ศ น์ และพันธกิจทุกปี ในปี 2558 คณะกรรมการธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ทบทวนวิสัยทัศน์ และพันธกิจ เพื่อเป็น แนวทางในการด�ำเนินธุรกิจของธนาคาร ดังนี้
• ค่านิยมองค์กร การพัฒนาเชิงความรู้นอกจากองค์ความรู้ที่สนับสนุน การท�ำงานแล้ว ในด้านพฤติกรรมการท�ำงานและการอยู่ร่วมกัน ธนาคารมีแนวทางในการสร้างค่านิยมองค์กรเพื่อให้พนักงาน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมที่อยู่บนค่านิยมเดียวกัน ผ่านกระบวนการสือ่ สาร การเรียนรู้ และการท�ำงาน บนค่านิยม PRO-AcTIVE เพื่อให้พนักงานทุกคนได้ร่วมเติบโตไปพร้อมกับ ธนาคารอย่างยั่งยืน PRO-AcTIVE คือ ค่านิยมของธนาคาร เพือ่ หล่อหลอม พนักงานให้ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ โดยสะท้อนผ่านพฤติกรรม การท�ำงาน การอยู ่ ร ่ ว มกั น การปฏิ บั ติ ต ่ อ ลู ก ค้ า ตลอดถึ ง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PRO – Professional : “พั ฒ นาศั ก ยภาพ สร้างสรรค์งานเชิงรุก พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง” ธนาคารส่งเสริมให้พนักงานมีความสามารถในระดับ ความเป็นมืออาชีพ รอบรูใ้ นงานและระบบงาน มุง่ พัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง เคร่งครัดในกฎระเบียบ มีการสร้างสรรค์งาน ในเชิงรุก ยืดหยุ่นและพร้อมเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิธีการท�ำงาน ให้มคี วามเป็นปัจจุบนั เพือ่ รองรับความต้องการของลูกค้าอยูเ่ สมอ Ac – Accountability : “รับผิดชอบในทุกมิติ ยึดมั่นสัจจะ ใฝ่ส�ำเร็จ” ธนาคารส่งเสริมความมีจติ วิญญาณ ความเป็นเจ้าของ องค์กร มีความรับผิดชอบในงานมุ่งท�ำงานให้ลุล่วงตรงตาม ก�ำหนดเวลา มี สั จ จะ ปฏิ บั ติ ต ามค�ำมั่ น สั ญ ญา โดยมอง เป้าหมายและความส�ำเร็จตามวิสัยทัศน์และพันธกิจของธนาคาร เป็นส�ำคัญ T – Teamwork : “เปิดใจแก่กัน ท�ำงานเป็นทีม มุง่ สู่เป้าหมายร่วม” ธนาคารส่งเสริมให้พนักงานเสนอความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ รับฟัง ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ประสาน แนวคิดเพื่อความส�ำเร็จของทีมและธนาคาร
I – Integrity : “สุจริต มีจริยธรรม โปร่งใส”
ธนาคารส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ ต่ อ ธนาคาร อาชี พ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย สามารถด�ำรงตน เป็นแบบอย่างที่ดีในทุกกระบวนการของการท�ำงาน ปฏิบัติงาน ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีความยุติธรรม
V – Visioning : “คิดนอกกรอบ มองกว้างไกล ยึดมั่นในเป้าหมาย” ธนาคารส่งเสริมให้การท�ำงานมีแบบแผน ก�ำหนด เป้าหมายการท�ำงานได้อย่างชัดเจนทั้งระยะสั้นและระยะยาว สามารถปฏิ บั ติ ต ามแผนงานที่ ก�ำหนดโดยมี ก ารติ ด ตาม ประเมิ น ผลเพื่ อ พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ข้ อ บกพร่ อ ง โดยยึ ด มั่ น ในหลักการ มีความคิดสร้างสรรค์ และค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ของธนาคาร และความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย ในระยะยาว E – Excellence Service : “ใจรักบริการ ให้เกียรติ จิตอาสา” ธนาคารส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีค่านิยมในด้าน การให้บริการทีเ่ ป็นเลิศ สามารถให้บริการทีส่ ร้างความประทับใจ ให้แก่ลูกค้าทั้งภายในและภายนอก ด้วยความทุ่มเททั้งแรงกาย แรงใจ มีจิตอาสาในการให้ความช่วยเหลือแก่เพื่อนพนักงาน หน่ ว ยงาน และธนาคาร สนั บ สนุ น ให้ พ นั ก งานสามารถ ให้ค�ำแนะน�ำที่เป็นประโยชน์แก่ลูกค้า และมุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการโดยค�ำนึงถึงลูกค้าเป็นส�ำคัญ • ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) บริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์ เ ชี ย ล กรุ ๊ ป จ�ำกั ด (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้งและเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิ น ประกอบธุ ร กิ จ โดยการเข้ า ถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท อื่ น โดยไม่ได้ท�ำธุรกิจของตนเอง (Non - operating Holding Company) แต่ จ ะเข้ า ถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท อื่ น เพื่ อ การมี อ�ำนาจ ควบคุมกิจการ วัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจของบริษัท มีดังนี้ 1. ลงทุ น ในตราสารทางการเงิ น ทั้ ง ตราสารหนี้ และตราสารทุนเพื่อแสวงหาผลตอบแทน 2. ท�ำธุรกรรมกับบริษัทลูกในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ของตนเอง 3. บริหารเงินเพือ่ ตนเองหรือเพือ่ กลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ของตนเอง 4. จัดหาเงินทุนโดยวิธอี นื่ ใดเพือ่ ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ในกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น รวมถึงการออกหุ้นกู้ 5. ประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ใดตามที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าต จากธนาคารแห่งประเทศไทย
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
21
• เป้าหมายในการด�ำเนินงานของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เป้ า หมายการด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์ เ ชี ย ล กรุ ๊ ป จ�ำกั ด (มหาชน) ได้ ก�ำหนดกลยุ ท ธ์ ให้เป็นกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เพือ่ ท�ำธุรกิจทางการเงินทีค่ รบวงจร ปั จ จุ บั น กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างการเงิ น และบริการต่างๆ ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า ทั้งด้านเงินฝาก เงินให้สินเชื่อ กองทุน หลักทรัพย์ ทีป่ รึกษาทางการเงิน และบริการต่างๆ เช่น บริการเป็นนายหน้า ประกั น ชี วิ ต บริ ก ารรั บ ช�ำระค่ า สิ น ค้ า และบริ ก าร บริ ก าร รั บ ช�ำระภาษี ข องกรมสรรพากร บริ ก ารแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่ า งประเทศ บริ ก ารธนาคารทางอิ น เตอร์ เ น็ ต บริ ก าร Cash Management เป็นต้น รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพ การบริการ และการพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การให้บริการที่รวดเร็วและตรงต่อความต้องการของลูกค้า นอกจากเป้ า หมายการด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ แล้ ว กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ได้ ใ ห้ ค วามส�ำคั ญ กั บ การด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ตาม หลั ก การก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี การป้ อ งกั น การจ่ า ยเงิ น เพื่ อ การคอร์ รั ป ชั่ น การเสริ ม สร้ า งระบบบริ ห ารความเสี่ ย ง ที่ ค รอบคลุ ม รวมถึ ง การด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ ต่ อ สั ง คม โดยเมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม 2557 บริ ษั ท ในกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิน ได้แก่บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต จากคณะกรรมการแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ของภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ส�ำหรั บ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้เข้าร่วม ลงนามประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต และอยู่ระหว่างด�ำเนินการขอรับรอง เป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต 2.2 ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จ�ำกั ด (มหาชน) เปิดด�ำเนินกิจการอย่างเป็นทางการเมือ่ วันที่ 19 ธันวาคม 2548 โดยได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยให้ประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย เมื่ อ วั น ที่ 16 ธั น วาคม 2554 กระทรวงการคลั ง โดยค�ำแนะน�ำของธนาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จ�ำกัด (มหาชน) ปรับฐานะจาก ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อยเป็นธนาคารพาณิชย์ โดยใช้ชื่อว่า ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และได้ด�ำเนินการ ธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2554 22
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็น บริษัทย่อยของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) และเป็นบริษัทแกน ธนาคารได้ก�ำหนดแผนกลยุทธ์ และแผนธุรกิจส�ำหรับระยะเวลา 3 ปีข้างหน้าตามวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่วางไว้โดยพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจ และการเมืองทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ ได้พจิ ารณาถึงปัจจัยภายในอืน่ ๆ เช่น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ความเสี่ ย ง ปั จ จั ย แห่ ง ความส�ำเร็ จ และประเด็ น ส�ำคั ญ ต่ า งๆ ที่ ต ้ อ งปฎิ บั ติ โดยผู ้ บ ริ ห ารจะน�ำปั จ จั ย ต่ า งๆ ดั ง กล่ า วมาประกอบการพิ จ ารณาเพื่ อ ก�ำหนดแนวทางของ องค์กรในแต่ละปี และมีการทบทวนแผนการด�ำเนินงานอย่าง สม�่ ำ เสมอเพื่ อ ให้ ทั น ต่ อ สถานการณ์ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับ การจัดอันดับเครดิตองค์กรโดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด อยู่ที่ ระดับ “A-” (Single A Minus) และอันดับเครดิตตราสารหนี้ คงเดิมที่ระดับ “BBB” (Triple B Straight) โดยแนวโน้ม อั น ดั บ เครดิ ต เป็ น “Stable” หรื อ “คงที่ ” อั น ดั บ เครดิ ต ดังกล่าวธนาคารได้รับเป็นปีที่ 3 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสถานะ ทางธุรกิจและการเงินของธนาคารที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึง การมีคุณภาพสินทรัพย์ที่ดีและมีเงินทุนที่แข็งแกร่ง เครือข่ายสาขาของธนาคาร ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จ�ำกั ด (มหาชน) ได้ ส ร้ า งเครื อ ข่ า ยสาขาเพื่ อ ให้ บ ริ ก ารแก่ ลู ก ค้ า อย่ า งทั่ ว ถึ ง กลยุ ท ธ์ ก ารขยายสาขาของธนาคารส่ ว นใหญ่ เ ป็ น สาขา ที่ เ ปิ ด ใน HomePro ซึ่ ง ธนาคารได้ ร ่ ว มเป็ น พั น ธมิ ต รกั บ บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ที่จะขยายสาขา ในทุ ก จั ง หวั ด ที่ มี HomePro ตั้ ง อยู ่ ซึ่ ง เป็ น ยุ ท ธศาสตร์ การขยายสาขาของธนาคารเพื่ อ ให้ มี จุ ด บริ ก ารครอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศและเป็ น การขยายฐานลู ก ค้ า ให้ ม ากขึ้ น ปัจจุบันธนาคารมี 126 สาขา แบ่งตามภูมิภาคดังนี้ • กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 61 สาขา • ภาคกลาง 9 สาขา • ภาคเหนือ 7 สาขา • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 16 สาขา • ภาคตะวันออก 11 สาขา • ภาคตะวันตก 7 สาขา • ภาคใต้ 15 สาขา
จ�ำนวนสาขาธนาคารที่ขยายในแต่ละปี
ผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคาร ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้พัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองความต้องการ ที่ ห ลากหลายของลู ก ค้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารของธนาคาร สามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1. บริการด้านเงินฝาก เป็ น การให้ บ ริ ก ารด้ า นเงิ น ฝากส�ำหรั บ กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ทั้ ง ประเภทบุ ค คลธรรมดา นิ ติ บุ ค คลทั่ ว ไป นิ ติ บุ ค คล ที่ ไ ม่ แ สวงหาก�ำไร หน่ ว ยงานราชการ/รั ฐ วิ ส าหกิ จ กองทุ น และสหกรณ์ และสถาบันการเงินในประเทศ โดยให้บริการ รับฝากเงินประเภทต่างๆ อาทิเช่น • เงินฝากออมทรัพย์ (Saving Deposit) - เงินฝากออมทรัพย์ที่เพิ่มค่าด้วยอัตราดอกเบี้ยที่สูง สามารถฝาก ถอน เมื่ อ ใดก็ ไ ด้ ต ามที่ ต ้ อ งการท�ำให้ มี ค วาม คล่องตัวและดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นทุกวัน - เงินฝากออมทรัพย์ธุรกิจคุ้มค่า (Biz Saving) ส�ำหรับ ลู ก ค้ า นิ ติ บุ ค คล อั ต ราดอกเบี้ ย สู ง พร้ อ มรั บ โบนั ส พิ เ ศษ +0.10% จากอัตราดอกเบี้ยปกติ เมื่อมียอดเงินฝากคงเหลือ เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นไม่ ต�่ำกว่า 1 ล้านบาท ก�ำหนดจ่ายดอกเบี้ ย รายเดือน ทุกวันที่ 1 เหมาะส�ำหรับใช้เป็นบัญชีประกอบธุรกิจ ควบคู่กับบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร • เงินฝากไม่ประจ�ำ เป็นเงินฝากออมทรัพย์ประเภทหนึง่ ที่ ใ ห้ ด อกเบี้ ย สู ง โดยทุ ก ขณะต้ อ งมี เ งิ น ฝากคงหลื อ ในบั ญ ชี ไม่ต�่ำกว่า 5,000 บาท สามารถฝาก ถอน เมื่อใดก็ได้ตามที่ ต้องการท�ำให้มีความคล่องตัว • เงินฝากกระแสรายวัน (Current Deposit) เป็นบัญชี เงินฝากที่เพิ่มความคล่องตัวให้กับธุรกิจ รับดอกเบี้ยเพิ่มพูน ทุกวัน สะดวกกับการเบิก-ถอน ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายผ่านเช็ค หรือถอนผ่านบัตรเอทีเอ็ม • เงินฝากประจ�ำ (Fixed Deposit) และใบรับเงิน ฝากประจ�ำ (FDR) เป็นเงินฝากที่สร้างหลักประกันที่มั่นคง ในอนาคต มี ร ะยะเวลาการฝากให้ เ ลื อ กตามความต้ อ งการ และจ่ายคืนเมื่อครบก�ำหนด
• เงิ น ฝากปลอดภาษี เป็ น การฝากเงิ น รายเดื อ น ด้ ว ยจ�ำนวนเงิ น เท่ า ๆ กั น ทุ ก เดื อ น โดยมี ร ะยะเวลาตามที่ ธนาคารก�ำหนด เช่น 24 เดือน 36 เดือน และมีจ�ำนวนเงินฝาก รวมกันตลอดระยะเวลาการฝากไม่เกิน 600,000 บาท กลยุทธ์การแข่งขันด้านเงินฝาก ธนาคารได้พัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์เงินฝากใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นความหลากหลายเหมาะสมกับอาชีพ และฐานะการเงินของลูกค้าในกลุ่มต่างๆ เพื่อเป็นทางเลือก ในการออมและตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่แตกต่าง อย่างทั่วถึง โดยให้ผลตอบแทนในอัตราที่จูงใจ และมีระยะเวลา การฝากที่สามารถเลือกให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านเงินฝาก ของธนาคาร รวมทั้งธนาคารได้จัดกิจกรรมสันทนาการต่างๆ เพื่ อ ตอบแทนลู ก ค้ า และเป็ น การรั ก ษาฐานลู ก ค้ า เงิ น ฝาก ซึ่งได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี สาขาของธนาคารเป็นช่องทางที่ช่วยในการขยายฐาน ลูกค้าเงินฝาก และเป็นช่องทางในการให้บริการลูกค้าในการ ท�ำธุ ร กรรมต่ า งๆ รวมทั้ ง ให้ ค�ำแนะน�ำเพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ได้ รั บ ความสะดวกและความพึงพอใจ ธนาคารได้จัดแคมเปญต่างๆ โปรโมชั่ น ใหม่ ๆ และโครงการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ ลู ก ค้ า (Loyalty Program) ที่มุ่งเน้นตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า เพื่อเป็นการดึงดูดและเพิ่มจ�ำนวนลูกค้าให้มาใช้บริการ กับธนาคารเพิ่มมากขึ้น และเป็นการสร้างโอกาสในการน�ำเสนอ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารต่ า งๆ (Cross-selling) เพื่ อ ขยาย ฐานรายได้ค่าธรรมเนียมของธนาคาร การก�ำหนดอั ต ราดอกเบี้ ย ธนาคารจะพิ จ ารณาจาก ปัจจัยภายในและภายนอกที่อาจมีผลกระทบ เช่น ต้นทุนของ ธนาคาร แนวโน้มอัตราดอกเบี้ย ทิศทางเศรษฐกิจ และสภาวะ การแข่งขันการระดมเงินฝาก เป็นต้น ทั้งนี้ ธนาคารไม่ได้เน้น การแข่งขันด้านอัตราดอกเบี้ยเป็นหลัก แต่จะเน้นการบริการ และการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้าพึงพอใจ 2. บริการด้านสินเชื่อ ธนาคารจ�ำแนกบริ ก ารด้ า นสิ น เชื่ อ ออกเป็ น 3 ภาคธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ บริ ก ารสิ น เชื่ อ เพื่ อ ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) สินเชื่อเพื่อธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs & SSME) และสินเชื่อเพื่อรายย่อย (Retail) ดังนี้ 1. บ ริ ก า ร สิ น เ ชื่ อ เ พื่ อ ธุ ร กิ จ ข น า ด ใ ห ญ่ (Big Corporate & Corporate) เป็นบริการสินเชือ่ แก่กลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็นธุรกิจขนาดใหญ่ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น เงิ น ทุ น ในการประกอบธุ ร กิ จ หรื อ ใช้ เ สริ ม สภาพคล่ อ ง หมุ น เวี ย นในกิ จ การ สนั บ สนุ น รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
23
การขยายก�ำลังการผลิตหรือลงทุนทัง้ อาคาร โรงงาน เครือ่ งจักร และอุ ป กรณ์ มี ทั้ ง สิ น เชื่ อ ระยะสั้ น และสิ น เชื่ อ ระยะยาวที่ มี ความเหมาะสมตามความต้องการของลูกค้า 2. สิ น เชื่ อ เพื่ อ ธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (SMEs & SSME) เป็นบริการสินเชือ่ แก่กลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็นธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่ อ ม โดยมีวัต ถุประสงค์เ พื่อ ใช้เ ป็นเงินทุนในการ ประกอบธุ ร กิ จ หรื อ ใช้ เ สริ ม สภาพคล่ อ งหมุ น เวี ย นในกิ จ การ สนับสนุนการขยายก�ำลังการผลิตหรือลงทุนทั้งอาคาร โรงงาน เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ มีทงั้ สินเชือ่ ระยะสัน้ และสินเชือ่ ระยะยาว ที่มีความเหมาะสมตามความต้องการของลูกค้า โดยแบ่งประเภทสินเชือ่ ตามวัตถุประสงค์ของการกูย้ มื ดังนี้ - สินเชื่อระยะสั้น เป็ น บริ ก ารสิ น เชื่ อ เพื่ อ เสริ ม สภาพคล่ อ งและ บริหารกระแสเงินสด ที่สามารถเบิกใช้และช�ำระคืนได้ภายใน วงเงินที่ก�ำหนดตลอดระยะเวลาการกู้ อายุวงเงินไม่เกิน 1 ปี เช่น Overdraft (O/D) เงินกู้ระยะสั้น Short Term Loan - สินเชื่อระยะยาว เ ป ็ น บ ริ ก า ร สิ น เ ชื่ อ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ธุ ร กิ จ ระยะปานกลางและระยะยาวที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารใช้ เ งิ น กู ้ ที่ชัดเจน และก�ำหนดระยะเวลาการช�ำระคืนชัดเจนสอดคล้อง กับความคืบหน้าของโครงการหรือกระแสเงินสดของโครงการ หรื อ ของกิ จ การ เพื่ อ สนั บ สนุ น ผู ้ ป ระกอบการในการลงทุ น ในโครงการต่ า งๆ เช่ น การขยายกิ จ การ สร้ า งโรงงาน/ อาคารส�ำนั ก งาน การซื้ อ สิ น ทรั พ ย์ ถ าวร อาทิ เครื่ อ งจั ก ร ยานพาหนะ และลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เช่ น ซื้ อ ที่ ดิ น เพื่อสร้างโรงงาน ซื้อบ้านพักรับรอง - สินเชื่อแฟคตอริ่ง เป็ น การให้ บ ริ ก ารทางการเงิ น อี ก รู ป แบบหนึ่ ง เพื่ อ เป็ น เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย น ช่ ว ยเพิ่ ม สภาพคล่ อ งทางการเงิ น ให้ แ ก่ ผู ้ ป ระกอบการ โดยการโอนสิ ท ธิ การรั บ เงิ น จากลู ก หนี้ ให้แก่ธนาคารหลังจากผู้ประกอบการได้ส่งสินค้า / ให้บริการ กับลูกค้า (ลูกหนี้) เรียบร้อยแล้ว โดยส่งเอกสารทางการค้า อาทิ ใบอิ น วอยส์ ใบสั่ ง ซื้ อ ใบส่ ง ของ ใบวางบิ ล และ ใบเสร็ จ รั บเงิ น มายั ง ธนาคาร ก็จะได้รับเงินตามอัตราส่ ว น ที่ตกลงกัน โดยไม่ต้องมีหลักทรัพย์อื่นค�้ำประกัน เช่น ได้รับเงิน ร้อยละ 70 - 80 ของใบอินวอยส์ ใบสั่งซื้อ ใบส่งของ ใบวางบิล และใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น และเมื่อลูกหนี้การค้าจ่ายช�ำระหนี้ ให้ธนาคารเรียบร้อยแล้ว ธนาคารจะจ่ายเงินค่าสินค้าส่วนทีเ่ หลือ ให้แก่ลูกค้า - สินเชื่อเช่าซื้อ – เพื่อการพาณิชย์ เป็นบริการสินเชื่อรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ส�ำหรับ ผู้ประกอบการธุรกิจโลจิสติกส์ ธุรกิจบริการรถเช่า และอื่นๆ 24
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
- บริการออกหนังสือค�้ำประกัน อาวัล และรับรอง ตั๋วเงิน เป็นบริการออกหนังสือคำ�้ ประกัน อาวัลและรับรอง ตั๋วเงิน ส�ำหรับลูกค้าที่ต้องการใช้วางหนังสือค�้ำประกันให้กับ หน่วยงานผู้ว่าจ้างหรือการยื่นประมูลงาน เช่น 1. หนั ง สื อ ค�้ ำ ประกั น การยื่ น ซองประกวดราคา หรือยื่นซองประมูล (Bid Bond / Tender Guarantee) 2. หนั ง สื อ ค�้ ำ ประกั น การปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา หรือสัญญาค�้ำประกันผลงาน (Performance Bond) 3. หนั ง สื อ ค�้ ำ ประกั น การช�ำระเงิ น ล่ ว งหน้ า (Advance Payment Guarantee / Security) และ หนั ง สื อ ค�้ ำ ประกั น การเบิ ก เงิ น ประกั น ผลงาน (Retention Guarantee) - บริการให้ค�ำปรึกษาและบริการอื่นๆ ด้านสินเชื่อ ให้ค�ำปรึกษาและบริการอื่นด้านสินเชื่อที่ครบวงจร เช่น การให้ค�ำปรึกษาด้านโครงสร้างทางการเงิน การเป็นผูจ้ ดั หา เงินกู้ร่วม (Syndicated Loan) ตัวแทนสินเชื่อ (Facility Agent) และตัวแทนหลักประกัน (Security Agent) 3. สินเชื่อรายย่อย (Retail) เป็นบริการสินเชือ่ กับกลุม่ ลูกค้ารายย่อยทีเ่ ป็นบุคคลธรรมดา โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ การอุปโภคบริโภคเป็นหลัก โดยแบ่งประเภท สินเชื่อตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม ดังนี้ • สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย - สิ น เชื่ อ บ้ า นแสนสบาย เป็ น บริ ก ารสิ น เชื่ อ ส�ำหรั บ ผู ้ ท่ี ต ้ อ งการซื้ อ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ใหม่ แ ละ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย มื อ สองทุ ก โครงการ และสิ น เชื่ อ เพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย - สิ น เชื่ อ Refinance เป็ น บริ ก ารสิ น เชื่ อ เพื่อช�ำระหนี้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของสถาบัน การเงิ น เดิ ม สามารถขอวงเงิ น เพิ่ ม ส�ำหรั บ การต่อเติม ตกแต่ง ซือ้ เฟอร์นเิ จอร์ ด้วยเงือ่ นไข พิเศษ • สินเชื่ออเนกประสงค์ เป็นบริการสินเชื่อโดยน�ำ ที่อยู่อาศัยปลอดภาระ เช่น บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ หรือบ้านแฝด มาเป็ น หลั ก ประกั น เพื่ อ น�ำเงิ น ไปใช้ ใ นเรื่ อ งต่ า งๆ เช่ น เพื่อซ่อมแซม ต่อเติมที่อยู่อาศัย ใช้ในการประกอบธุรกิจ หรือ ใช้จ่ายในวัตถุประสงค์อื่นๆ ตามต้องการ • สินเชื่อบุคคล เป็นบริการสินเชื่อเพื่อน�ำไปใช้จ่าย ในการจัดหาความสะดวกสบายในการใช้ชีวิตที่ทันสมัย เช่น สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภค และสินเชื่อส�ำหรับซื้อประกันชีวิต เพื่อคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ เป็นต้น • สิ น เชื่ อ เพื่ อ การศึ ก ษา เป็ น บริ ก ารสิ น เชื่ อ เพือ่ รองรับค่าใช้จา่ ยด้านการศึกษา ทัง้ ทีอ่ ยูใ่ นหลักสูตรภาคบังคับ หรือการศึกษาเพื่อหาประสบการณ์เพิ่มพูนมูลค่าให้กับตนเอง
สามารถใช้ได้กับการศึกษาทุกระดับชั้นไม่ว่าจะเป็นหลักสูตร ระยะสั้นไปถึงระดับปริญญาเอกทั้งสถาบันการศึกษาในประเทศ และต่างประเทศ • สินเชื่อเช่าซื้อ - รายย่อย เป็นการให้บริการสินเชื่อ เช่ า ซื้ อ รถยนต์ ส ่ ว นบุ ค คลทุ ก ประเภท ทั้ ง รถยนต์ ใ หม่ และ รถยนต์ใช้แล้ว กลยุทธ์การแข่งขันบริการด้านสินเชื่อ ธนาคารแบ่งลูกค้าออกเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถเข้าถึง ความต้ อ งการ โดยมุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กับกลุ่มลูกค้าทุกกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และ บริ ก ารทางการเงิ น ที่ ค รบวงจรตามความต้ อ งการของลู ก ค้ า เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่ม ได้อย่างชัดเจน โดยจะพิจารณาจัดรูปแบบสินเชือ่ อัตราดอกเบีย้ ประเภทวงเงิ น ระยะเวลาการช�ำระคืนที่เ หมาะสมกั บ ลู ก ค้ า แต่ละรายและมีกระบวนการพิจารณาสินเชื่อที่รวดเร็ว เพื่ อ ขยายฐานลู ก ค้ า SMEs ธนาคารเน้ น กลยุ ท ธ์ การขยายสินเชือ่ แก่ลกู ค้าเดิมทีม่ ปี ระวัตกิ ารช�ำระดีเพือ่ เพิม่ โอกาส ทางธุ ร กิ จ และรั ก ษาฐานลู ก ค้ า เดิ ม ให้ อ ยู ่ กั บ ธนาคารอย่ า ง ยาวนาน ส�ำหรั บ ฐานลูกค้าใหม่ธ นาคารตั้ง เป้าขยายสิ น เชื่ อ ไปที่ ก ลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมายที่ มี ฐ านะการเงิ น ดี และใช้ ก ลยุ ท ธ์ ให้ ส าขาของธนาคารที่ ป ั จ จุ บั น มี อ ยู ่ 126 สาขา ทั้ ง ใน กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล รวมถึงภูมิภาคทั่วประเทศ ในการเป็นผู้แนะน�ำสินเชื่อธุรกิจมาสู่ธนาคาร และให้ลูกค้าเดิม แนะน�ำบริการสินเชื่อของธนาคารไปยังเพื่อน หรือคู่ค้าทางธุรกิจ ให้มาใช้บริการสินเชื่อของธนาคาร กลยุ ท ธ์ ก ารปล่ อ ยสิ น เชื่ อ เพื่ อ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ธนาคาร ใช้กลยุทธ์ในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายด้วยการขยายสาขา ไปในพื้นที่ที่มีศักยภาพในด้านสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยพร้อมกับ การลงพื้นที่ของพนักงานการตลาดของธนาคาร โดยจะเน้น ลูกค้ าในโครงการบนท�ำเลที่มีศักยภาพและโครงการบ้า นที่มี คุณภาพและสามารถขายต่อได้ในราคาดี อย่างไรก็ดี สินเชื่อ ประเภทนี้มีการแข่งขันท�ำการตลาดค่อนข้างสูง โดยกลยุทธ์ ทางการตลาดที่ ส�ำคั ญ ของธนาคาร ได้ แ ก่ การบริ ก ารที่ ดี มี คุ ณ ภาพและรวดเร็ ว รวมถึ ง การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ ผู ้ ป ระกอบการและพนั ก งานขายของโครงการที่ อ ยู ่ อ าศั ย และการจัดรายการส่งเสริมการขายตามวาระพิเศษ 3. บริการด้านอิเล็กทรอนิกส์ เป็นบริการทีร่ องรับการท�ำธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทาง อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เช่น - บริการตู้ ATM บริการถอนเงินสด โอนเงินภายใน ธนาคาร โอนเงิ น ต่ า งธนาคาร ช�ำระค่ า สิ น ค้ า และบริ ก าร โดยตู้เอทีเอ็มของธนาคารสามารถรับบัตรเอทีเอ็มทุกธนาคาร รวมถึงบัตร JCB (Japan Credit Bureau) และบัตร CUP
(China Union Pay) เพื่อให้บริการแก่นักธุรกิจ นักท่องเที่ยว ให้สามารถถอนเงินสดเป็นสกุลเงินบาทได้ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 ธนาคารมี ตู ้ เ อที เ อ็ ม จ�ำนวน 190 เครื่อง เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2557 จ�ำนวน 12 เครื่อง
- บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต (LH Bank Speedy) เป็ น บริ ก ารที่ ช ่ ว ยอ�ำนวยความสะดวกในการท�ำธุ ร กรรม ทางการเงินที่สามารถท�ำธุรกรรมได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา และ มีระบบรักษาความปลอดภัยแบบ Double Security ที่ท�ำให้ การท�ำธุ ร กรรมทางการเงิ น มี ค วามมั่ น ใจ มี เ มนู ใ ช้ ง านง่ า ย สามารถท�ำรายการโอนเงิ น ภายในธนาคาร และโอนเงิ น ต่างธนาคาร ช�ำระค่าสินค้าและบริการ ช�ำระสินเชื่อ ตรวจสอบ สถานะเช็คหรืออายัดเช็ค รวมถึงตรวจสอบสถานะทางบัญชี และธนาคารจะส่ง SMS แจ้งผลการท�ำธุรกรรมให้ลูกค้าทราบ ทุกครั้งที่มีการท�ำรายการ
- บริการโอนเงิน เป็นบริการโอนเงินภายในประเทศ ซึ่ ง เป็ น บริ ก ารที่ อ�ำนวยความสะดวกให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ที่ ส ามารถ โอนเงินภายในบัญชี โอนเงินให้กับบุคคลอื่นภายในธนาคาร โอนเงินต่างธนาคาร โอนเงินรายย่อยอัตโนมัติ (ATS) และ โอนเงินรายใหญ่ระหว่างธนาคาร (BAHTNET) - บริการโอนเงินผ่านเคาน์เตอร์สาขาของธนาคารไปยัง บั ญ ชี ต ่ า งธนาคาร (Counter-ORFT) โดยลู ก ค้ า สามารถ ท�ำรายการผ่ า นเคาน์ เ ตอร์ ส าขาของธนาคารได้ ทุ ก สาขา กว่า 126 สาขาทั่วประเทศ บริการดังกล่าวจะเพิ่มความสะดวก รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
25
รวดเร็ว ให้ลูกค้าสามารถโอนเงินเข้าบัญชีผู้รับโอนที่มีบัญชี กับธนาคารอื่นได้ทุกธนาคาร - บริ ก ารฝากเงิ น ผ่ า นเครื่ อ งรั บ ฝากเงิ น สดอั ต โนมั ติ (LH Bank CDM) เป็นบริการที่สามารถฝากเงินโดยไม่ต้องใช้ บัตร ATM และสามารถฝากเงินเข้าบัญชีภายในธนาคารหรือ ต่างธนาคาร
- บริ ก ารทางการเงิ น ผ่ า นโทรศั พ ท์ มือถื อ (Internet Banking on Mobile) เป็ น บริ ก ารที่ ส ามารถท�ำธุ ร กรรม ทางการเงินได้สะดวก รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านโทรศัพท์มอื ถือ โดยไม่มีข้อจ�ำกัดด้านเครือข่าย ไม่ต้องเปลี่ยนซิม
- บริ ก าร LH Bank SMS Alert เป็ น บริ ก าร ส่ ง ข้ อ ความ SMS แจ้ ง เตื อ นเมื่ อ มี เ งิ น เข้ า ออกผ่ า นบั ญ ชี เงิ น ฝากของลู ก ค้ า ผ่ า นทางโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ท�ำให้ รู ้ ส ถานะ ของบั ญ ชี เ พื่ อ เพิ่ ม ความมั่ น ใจในการท�ำธุ ร กรรมทางการเงิ น มากยิ่ ง ขึ้ น โดยสามารถเลื อ กวงเงิ น แจ้ ง เตื อ นได้ ตั้ ง แต่ 500 บาทขึ้นไป เพียงลงทะเบียนสมัครใช้บริการ LH Bank SMS Alert ที่สาขาธนาคาร หรือ Call Center 0-2359-0000 หรือ ที่ตู้ ATM ของธนาคาร จากนั้นลูกค้าจะได้รับ SMS ยืนยัน การสมัครใช้บริการและแจ้งความเคลื่อนไหวของบัญชีได้ทันที
- บริการ Cash Management เป็นบริการทางการเงิน ส�ำหรั บ ธุ ร กิ จ ที่ ส ะดวก รวดเร็ ว ลดงานเอกสาร ลดต้ น ทุ น การบริหาร เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการธุรกิจอย่างลงตัว ได้แก่ 1. บริการจ่ายเงินเดือนพนักงาน โดยท�ำรายการโอนเงิน ที่มีจ�ำนวนรายการมากๆ ด้วยการส่งค�ำสั่งเพียงครั้งเดียว 2. บริ ก ารโอนเงิ น รายย่ อ ยต่ า งธนาคาร (Bulk Payment) โดยท�ำรายการโอนที่มีจ�ำนวนรายการมากๆ ด้วย การส่งค�ำสั่งเพียงครั้งเดียว 3. บริการตัวแทนรับช�ำระค่าสินค้าและบริการผ่านธนาคาร (Bill Payment) 4. บริการตัดบัญชี/โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากอัตโนมัติ (Direct Debit / Direct Credit)
26
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
บริการรับช�ำระภาษีกับกรมสรรพากร เพื่ออ�ำนวยความสะดวกและเพิ่มช่องทางการให้บริการ แก่ลูกค้าและประชาชนทั่วไปในการช�ำระภาษีผ่านช่องทางต่างๆ อาทิ ผ่านเครือข่ายสาขาของ LH Bank ผ่านตู้ ATM LH Bank ผ่านบริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต LH Bank Speedy
กลยุทธ์การแข่งขันด้านบริการอิเล็กทรอนิกส์ ธนาคารก�ำหนดกลยุทธ์ในการท�ำการตลาดด้านบริการ อิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับกลุ่มลูกค้าที่ต้องการความสะดวก รวดเร็ว ในการท�ำธุรกรรม และต้องการความปลอดภัยในการท�ำธุรกรรม ทางการเงิน เน้นการเข้าถึงง่าย และสะดวกรวดเร็ว รวมทั้ง การจั ด รายการส่ ง เสริ ม การขาย การโฆษณาประชาสั ม พั น ธ์ ให้เป็นที่รู้จักผ่านสื่อต่างๆ 4. บริการด้านอื่นๆ • บริการด้านประกัน มีผลิตภัณฑ์ประกันให้เลือก หลายแบบตามความต้ อ งการของลู ก ค้ า ทั้ ง ประกั น ชี วิ ต และประกันวินาศภัย โดยมีผลิตภัณฑ์ของบริษัทประกันต่างๆ ให้เลือก ดังนี้ - บริการเป็นนายหน้าประกันชีวิต ให้กับ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไทยสมุทรประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอ ไอ เอ จ�ำกัด - บริ ก ารจ�ำหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น วิ น าศภั ย ให้กับ บริษัท สามัคคีประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เทเวศประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท จรัญประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) • บริการซือ้ ขายหน่วยลงทุน ธนาคารเป็นผูส้ นับสนุน การขายและรั บ ซื้ อ คื น หน่ ว ยลงทุ น ให้ กั บ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จัดการกองทุนต่างๆ ซึ่งมีกองทุนประเภทต่างๆ ทั้งตราสารหนี้ และตราสารทุน กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund หรื อ RMF) และกองทุ น รวมหุ ้ น ระยะยาว (Long Term Equity Fund หรือ LTF) ดังนี้ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (LH FUND) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แอสเซท พลัส จ�ำกัด (ASP) บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ซี ไ อเอ็ ม บี พรินซิเพิล จ�ำกัด (CPAM) บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น เอ็ ม เอฟซี จ�ำกัด (MFC) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (SCBAM) บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น รวม วรรณ จ�ำกัด (ONEAM) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) (KTAM)
บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ทหารไทย จ�ำกัด (TMBAM) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน โซลาริส จ�ำกัด (S-FUND) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงศรี จ�ำกัด (KSAM) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จ�ำกัด (PHATRA) บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ยู โ อบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด (UOBAM) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทิสโก้ จ�ำกัด (TISCO) บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น กสิ ก รไทย จ�ำกัด (KASSET) • บริ ก าร LH Bank Privilege Banking เป็ น บริ ก ารทางการเงิ น รู ป แบบใหม่ ด ้ ว ยบริ ก ารเหนื อ ระดั บ เอกสิทธิ์ส�ำหรับลูกค้าระดับพรีเมี่ยม ด้วยสิทธิประโยชน์ต่างๆ อาทิ บริการให้ค�ำปรึกษาและวางแผนด้านการเงิน ช่วยดูแล และบริหารเงินในพอร์ตอย่างมีประสิทธิภาพและได้รบั ผลตอบแทนสูง บริการช่วยเหลือฉุกเฉินบนท้องถนนและภายในบ้าน
• บริการฝาก-ถอน ไม่ต้องเขียนสลิป เป็นบริการ ที่ เ พิ่ ม ความสะดวกให้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก ารที่ ส าขา เพียงลูกค้าแจ้งความประสงค์ ฝาก-ถอน เงินสด กับพนักงาน พนักงานจะท�ำรายการและจัดท�ำสลิปให้ลูกค้าลงนาม • บริการรับค�ำขอตรวจเครดิตบูโรผ่านเคาน์เตอร์ ธนาคาร เป็ น บริ ก ารที่ อ�ำนวยความสะดวกให้ แ ก่ ลู ก ค้ า และ ประชาชนทั่วไปที่ต้องการตรวจสอบข้อมูลเครดิตของตนเอง โดยสามารถใช้บริการได้ที่เคาน์เตอร์ของธนาคารได้ทุกสาขา ทั่วประเทศ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
27
• บริการทางการเงินบนรถตู้เคลื่อนที่ เปรียบเสมือน สาขาเคลื่ อ นที่ ข องธนาคาร เพื่ อ เพิ่ ม ช่ อ งทางการให้ บ ริ ก าร ทางการเงินแก่ลูกค้าตามจุดต่างๆ โดยธุรกรรมทางการเงิน ที่ให้บริการ ได้แก่ บริการเปิดบัญชีเงินฝาก บริการรับฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงิน รับช�ำระค่าสินค้าและบริการ
• บริ ก ารจ�ำหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างการเงิ น อาทิ แคชเชียร์เช็ค และเช็คของขวัญ • บริ ก ารรั บ ช�ำระค่ า สิ น ค้ า และบริ ก าร อาทิ ค่ า สาธารณู ป โภค ค่ า บั ต รเครดิ ต ค่ า เบี้ ย ประกั น ชี วิ ต และค่าใช้จ่ายต่างๆ รวมถึงระบบหักบัญชีอัตโนมัติ ซึ่งธนาคาร เป็ น ตั ว แทนของเคาน์ เ ตอร์ เ ซอร์ วิ ส (Counter Service) และทรูมันนี่ (True Money) ในการเป็นจุดรับช�ำระค่าสินค้า และบริการมากกว่า 500 บริการ • บริ ก ารเป็ น ผู ้ แ นะน�ำลู ก ค้ า ให้ บ ริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ อาทิ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ ฟิ นั น เซี ย -ไซรั ส จ�ำกั ด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จ�ำกัด • บ ริ ก า ร เ ป ็ น ผู ้ แ น ะ น�ำ ก อ ง ทุ น ส ่ ว น บุ ค ค ล ให้บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จ�ำกัด (มหาชน) • บริ ก ารจั ด การกองทุ น รวม จั ด การกองทุ น ส่ ว นบุ ค คล นายหน้ า ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ที่ เ ป็ น หน่ ว ยลงทุ น โดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด • บ ริ ก า ร น า ย ห น ้ า ซื้ อ ข า ย ห ลั ก ท รั พ ย ์ โ ด ย บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) • บริการอื่นๆ เช่น บริการให้เช่าตู้นิรภัย ป ั จ จั ย ที่ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต ่ อ โ อ ก า ส ห รื อ ข ้ อ จ� ำ กั ด ในการประกอบธุรกิจ ฐานลู ก ค้ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ในกลุ ่ ม บริ ษั ท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ควอลิตี้ เฮ้ า ส์ จ�ำกั ด (มหาชน) ซึ่ ง เป็ น ผู ้ น�ำตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ของประเทศไทยเป็นประโยชน์ต่อการปล่อยสินเชื่อของธนาคาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย รวมไปถึงเป็นโอกาส 28
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ในการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินอื่นๆ ให้กับ ลูกค้าดังกล่าว นอกจากนี้ ธนาคารยังมีโอกาสในการปล่อยสินเชือ่ เพื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้กับบริษัทคู่ค้าต่างๆ ของ บริษัทในกลุ่มบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) เป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจ การขยายบริ ก ารด้ า นสิ น เชื่ อ ไปยั ง ลู ก ค้ า กลุ ่ ม ใหม่ ๆ การขยายฐานลูกค้าเงินฝาก การเพิ่มช่องทางการให้บริการ เพื่ อ ขยายฐานรายได้ ค ่ า ธรรมเนี ย ม ให้ ค วามส�ำคั ญ กั บ การ พั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามรู ้ แ ละความช�ำนาญในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทางการเงิน รวมทั้งพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า และพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อช่วย ในการท�ำงานที่รวดเร็วและมุ่งสู่การเป็น Digital Banking ธนาคารได้ให้บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต และได้ต่อยอด พัฒนาเป็นรูปแบบแอพพลิเคชั่น เพื่อท�ำธุรกรรมทางการเงิน บนโทรศัพท์มือถือ และท�ำการตลาดผ่าน Social Media เช่น Line Facebook และ Youtube เพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสาร เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น นอกจากเป้ า หมายการขยายฐานด้ า นธุ ร กิ จ แล้ ว ธนาคารได้ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินกิจการตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การป้องกันการจ่ายเงินเพื่อการคอร์รัปชั่น การเสริ ม สร้ า งระบบบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ค รอบคลุ ม รวมถึ ง การด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเมื่อเดือน ตุลาคม 2557 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต 2.3 ธุรกิจหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) เปิดให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2557 ภายใต้ชอื่ ย่อ LHS โดยเป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมายเลข 5 และได้ รั บ ใบอนุ ญ าตจากกระทรวงการคลั ง ให้ ป ระกอบธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละอนุ พั น ธ์ โดยปั จ จุ บั น ธุ ร กิ จ ของบริษัทมีดังนี้ - ธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ - ธุรกิจตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า - ธุรกิจตัวแทนการซื้อขายกองทุนรวม - ธุรกิจการจัดจ�ำหน่ายและรับประกันการจัดจ�ำหน่าย หลักทรัพย์ - ธุรกิจการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์
• ธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็ น สมาชิ ก ตลาดหลักทรัพย์แ ห่ง ประเทศไทย หมายเลข 5 ให้บริการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์กับลูกค้าบุคคลธรรมดา นิติบุคคล และลูกค้าสถาบัน โดยมีประเภทบัญชีท่ีให้บริการ ได้ แ ก่ บั ญ ชี เ งิ น สด (Cash Account) บั ญ ชี เ งิ น ฝาก (Cash Balance Account) และบัญชีเงินกู้ยืมเพื่อซื้อขาย หลักทรัพย์ (Credit Balance Account) บริษัทมีเจ้าหน้าที่ การตลาดทีม่ ปี ระสบการณ์ให้บริการลูกค้า โดยลูกค้าสามารถเลือก ส่งค�ำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ได้ 2 ช่องทาง คือ ส่งผ่านเจ้าหน้าที่ การตลาด หรื อ ส่ ง ค�ำสั่ ง ด้ ว ยตนเองผ่ า นระบบอิ น เตอร์ เ น็ ต หรื อ ระบบ PROMPT TRADE ที่ บ ริ ษั ท ได้ พั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ อ�ำนวยความสะดวกให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ซึ่ ง ลู ก ค้ า สามารถติ ด ตาม ข่ า วสารการลงทุ น การเคลื่ อ นไหวของราคาหลั ก ทรั พ ย์ การส่งค�ำสัง่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ได้ทกุ ที่ ทุกเวลา ผ่านคอมพิวเตอร์ Tablet หรือ Smart Phone ระบบ PROMPT TRADE เป็ น ระบบที่ ร องรั บ การ ส่งค�ำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ ซึ่งเป็นระบบที่บริษัทได้พัฒนาจาก ระบบต่างๆ ที่ได้รับความนิยมในแวดวงผู้ลงทุนอย่างระบบ eFin Trade+ และ Streaming โดยบริษัทได้เพิ่มเครื่องมือ สนั บ สนุ น การลงทุ น และบริ ก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารการลงทุ น และฉับไว ซึ่งเป็นข้อมูลจากระบบ Aspen บริษัทมีนโยบายการรับลูกค้าและก�ำหนดวงเงินซื้อขาย ให้กับลูกค้าตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 1. บุ ค คลธรรมดา พิ จ ารณาจากฐานะทางการเงิ น อาชีพ อายุ ที่มาของรายได้ ความรู้ความเข้าใจในการลงทุน ในหลักทรัพย์ และความสามารถในการรับความเสี่ยง 2. นิติบุคคล พิจารณาจากประเภทธุรกิจ แหล่งที่มา ของรายได้ ผลการด�ำเนิ น งาน ความมั่ น คงทางการเงิ น ภาระหนี้ สิ น กลุ ่ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ ผู ้ บ ริ ห ารของกิ จ การ วัตถุประสงค์ในการลงทุนในหลักทรัพย์ ความสามารถในการ รับความเสี่ยง ในการเปิ ด บั ญ ชี ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ บริ ษั ท ได้ รั บ ความร่วมมือจากลูกค้าในการให้ข้อมูลเพื่อจัดท�ำ KYC และ Suitability test เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของทางการ • ธุรกิจตัวแทนนายหน้าซื้อขายอนุพันธ์ บริ ษั ท ได้ รั บ ใบอนุ ญ าตเพื่ อ ประกอบกิ จ การตั ว แทน ซื้ อ ขายสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า จากส�ำนั ก งานคณะกรรมการ ก�ำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ รวมทั้ ง ได้ เ ข้ า เป็ น สมาชิ ก ประเภทตั ว แทนซื้ อ ขายสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า กั บ บริษัท ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ส�ำนักหักบัญชี (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริ ษั ท ให้ บ ริ ก ารเกี่ ย วกั บ ตราสารอนุ พั น ธ์ ที่ จ ดทะเบี ย น
ในประเทศไทยอย่ า งครบวงจร ในปี 2558 ธุ ร กิ จ ด้ า นนี้ ของบริ ษั ท เติ บ โตดี มี จ�ำนวนบั ญ ชี เ พิ่ ม ขึ้ น ต่ อ เนื่ อ ง ท�ำให้ บริษัทได้รับรางวัล TFEX Top IC Awards by Company จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 ไตรมาสติดต่อกัน • ธุรกิจตัวแทนซื้อขายกองทุนรวม ธุรกิจตัวแทนซื้อขายกองทุนรวม เป็นธุรกิจที่เน้นการ ให้ บ ริ ก ารด้ า นการบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย จากลู ก ค้ า โดยช่ ว ยก�ำหนดกรอบการลงทุ น ให้ เ ป็ น ไป ตามความประสงค์ของลูกค้าแต่ละราย เพื่อให้สอดคล้องกับ ความเสี่ ย งที่ ย อมรั บ ได้ ผ ่ า นการลงทุ น ในกองทุ น รวม บริษัทมีกองทุนหลากหลายประเภทจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุนต่างๆ ให้ลูกค้าเลือกลงทุน ซึ่งลูกค้าจะได้รับการดูแล และรับค�ำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ผู้มีประสบการณ์ และมีความ เชี่ ย วชาญด้ า นการวางแผนการลงทุ น และการวางแผนภาษี โดยการให้ บ ริ ก ารของบริ ษั ท จะค�ำนึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ สู ง สุ ด ของลูกค้าเป็นส�ำคัญ จึงให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก ในเรื่อง ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ แ ละการควบคุ ม ข้ อ มู ล ภายใน เพื่ อ มิ ใ ห้ เ กิ ด ความได้ เ ปรี ย บหรื อ เสี ย เปรี ย บในการลงทุ น ของ บริษัทและการลงทุนของลูกค้า บริษัทให้บริการธุรกิจตัวแทน ซื้อขายกองทุนรวม 2 ประเภทบัญชี ได้แก่ 1. บัญชีแบบไม่เปิดเผยชื่อ หรือ Omnibus Account บั ญ ชี ซื้ อ ข า ย ห น ่ ว ย ล ง ทุ น แ บ บ ไ ม ่ เ ป ิ ด เ ผ ย ชื่ อ ผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นบัญชีที่เพิ่มความสะดวกในการท�ำธุรกรรม ให้ กั บ ลู ก ค้ า โดยบริ ษั ท มี ร ะบบการซื้ อ ขายที่ เ ชื่ อ มโยงข้ อ มู ล กับทุกบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนที่บริษัทเป็นตัวแทนขาย ลูกค้าเพียงเปิดบัญชีกับบริษัทครั้งเดียว ก็สามารถท�ำรายการ ซื้อขายหน่วยลงทุนของทุกบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนได้ ท�ำให้ลดความวุ่นวายในการจัดเตรียมเอกสาร และช่วยให้ลูกค้า บริหารพอร์ตการลงทุนได้ง่ายขึ้น 2. บั ญ ชี แ บบเปิ ด เผยชื่ อ หรื อ Selling Agent Account บัญชีซื้อขายหน่วยลงทุนแบบเปิดเผยชื่อผู้ถือหน่วยลงทุน เป็นบัญชีส�ำหรับลูกค้าที่ต้องการซื้อขายกองทุนรวมหุ้นระยะยาว LTF กองทุ น รวมเพื่ อ การเลี้ ย งชี พ RMF และกองทุ น รวม อสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากบัญชีลักษณะนี้ ลูกค้าต้องเปิดบัญชี กับบริษทั จัดการทุกๆ บริษทั ทีต่ อ้ งซือ้ ขาย ซึง่ ใช้เวลาและยุง่ ยาก กับการเปิดบัญชีหลายครั้ง • บริ ก ารจั ด จ� ำ หน่ า ยและรั บ ประกั น การจั ด จ� ำ หน่ า ย หลักทรัพย์ บริษทั ให้บริการจัดจ�ำหน่ายและรับประกันการจัดจ�ำหน่าย หลั ก ทรั พ ย์ ใ ห้ กั บ บริ ษั ท ผู ้ อ อกหลั ก ทรั พ ย์ ที่ ป ระสงค์ จ ะเสนอ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ป ระเภทต่ า งๆ ทั้ ง ตราสารหนี้ ตราสารทุ น รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
29
การเสนอขายหุ ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ให้ แ ก่ ป ระชาชนทั่ ว ไป (PO) และการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม (RO) ปี 2558 บริษทั ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นผูร้ ว่ มจัดจ�ำหน่าย และรับประกันการจัดจ�ำหน่าย (Co-underwriter) ตราสาร ด้ อ ยสิ ท ธิ เ พื่ อ นั บ เป็ น เงิ น กองทุ น ประเภทที่ 2 ของธนาคาร ชื่อบริษัท ธนาคารแลนด์ แลนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แอสเซท ไบร์ท จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทาคุนิ กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน)
แลนด์ แลนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 4,000 ล้านบาท และให้ บ ริ ก ารงานด้ า นปฏิ บั ติ ก ารในการท�ำการเสนอขาย หุ้นสามัญเพิ่มทุน (RO) ให้กับบริษัท แอสเซท ไบร์ท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ทาคุนิ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)
รายละเอียดของโครงการ การร่วมจัดจำ�หน่ายตราสารด้อยสิทธิ เพื่อนับเป็นเงินกองทุนประเภทที่ 2 การเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ผู้ถือหุ้นเดิม การเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ผู้ถือหุ้นเดิม
• ธุรกิจการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ บริ ษั ท ให้ บ ริ ก ารยื ม และให้ ยื ม หลั ก ทรั พ ย์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ลูกค้ายืมหลักทรัพย์เพื่อท�ำการขายชอร์ต ผ่ า นแคชบาลานซ์ (Cash Balance) ที่ มี อ ยู ่ กั บ บริ ษั ท ซึง่ ปัจจุบนั ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอนุญาตให้ขายชอร์ต ได้ เ ฉพาะหลั ก ทรั พ ย์ ที่ อ ยู ่ ใ นดั ช นี SET100 และหลั ก ทรั พ ย์ ที่อยู่ในรายชื่อที่อนุญาตและหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ETF บริษทั มีนโยบายให้บริการยืมและให้ยมื หลักทรัพย์ (SBL) ในลักษณะแบบผูก้ ระท�ำการ (Principle) โดยจะท�ำธุรกรรม SBL กับลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบัน และหลักทรัพย์ที่บริษัท ให้ยืมหรือยืมในบัญชี SBL จะเป็นหลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง มีมูลค่า Market Capitalization สูง และมีปัจจัยพื้นฐานดี และอยู่ในกลุ่ม SET50 ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ โอกาสหรื อ ข้ อ จ� ำ กั ด ในการ ประกอบธุรกิจ นับตั้งแต่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ประกาศ ใช้ วิ ธี ก ารคิ ด ค่ า ธรรมเนี ย มแบบต่ อ รองอย่ า งเสรี พร้ อ มกั บ การเปิดเสรีใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์โดยไม่จ�ำกัด จ�ำนวน ส่งผลให้ธุรกิจหลักทรัพย์มีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น ประกอบกั บ การเปิ ด เสรี ท างการเงิ น และความเชื่ อ มโยง ในตลาดทุนโลกได้ส่งผลให้ธุรกิจหลักทรัพย์ต้องแข่งกับคู่แข่ง ทางธุรกิจทั้งในระดับภูมิภาคและในระดับโลก ปัจจุบันผู้ลงทุน สามารถเลื อ กลงทุ น ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ใ นต่ า งประเทศ ได้สะดวกขึ้น โดยเฉพาะการเตรียมเปิดตลาดในกลุ่ม AEC ที่ คู ่ แ ข่ ง สามารถพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ กล้ เ คี ย งหรื อ ทดแทน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องกลุ ่ ม ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เพื่อดึงดูดให้ผู้ลงทุนไปลงทุน อย่างไรก็ดี บริษัทตระหนักถึง ความเสี่ ย งดั ง กล่ า ว จึ ง ได้ เ ตรี ย มความพร้ อ มในการแข่ ง ขั น โดยก�ำหนดกลยุ ท ธ์ ที่ มุ ่ ง เน้ น การขยายฐานลู ก ค้ า แบบยั่ ง ยื น ผ่ า นช่ อ งทางที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น 30
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
มูลค่าการจัดจำ�หน่าย (ล้านบาท) 2,000.0 526.8 400.0
แลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ การพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามพร้ อ ม ในการแข่ ง ขั น ตลอดจนการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก าร ให้ ห ลากหลายครอบคลุ ม กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย การพั ฒ นา ประสิทธิภาพของระบบการซื้อขายทางอินเตอร์เน็ตให้มีความ สะดวก รวดเร็ ว ปลอดภั ย และง่ า ยต่ อ การใช้ ง าน การน�ำ เทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการด�ำเนิ น งานทุ ก มิ ติ ทั้ ง การปฏิ บั ติ ง าน และการพัฒนาบริการเพื่อตอบสนองและอ�ำนวยความสะดวก แก่ลกู ค้า ลดขัน้ ตอนทีซ่ บั ซ้อน เพิม่ ประสิทธิภาพการให้บริการ เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจ ในปี 2559 บริษัทยังมุ่งเน้นขยายฐานลูกค้าใหม่พร้อม รั ก ษาฐานลู ก ค้ า เดิ ม โดยมี แ ผนที่ จ ะเสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง ทั้งการพัฒนาบุคลากรในด้านปริมาณและคุณภาพ การขยาย สาขาให้ ค รอบคลุ ม มากยิ่ ง ขึ้ น การให้ บ ริ ก ารผลิ ต ภั ณ ฑ์ การลงทุนใหม่ๆ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย ตลอดจน การจัดอบรมให้ความรู้ด้านการลงทุนแก่ลูกค้าเพื่อเพิ่มโอกาส แห่ ง ความส�ำเร็ จ ในการลงทุ น ของลู ก ค้ า และพั ฒ นาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับ ลู ก ค้ า การร่ ว มมื อ กั บ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จ�ำกั ด (มหาชน) การให้ ลู ก ค้ า สามารถเปิ ด บั ญชี ซื้ อขายหลั ก ทรัพย์ และอนุพันธ์ ผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น ทั้งหมดนี้จะช่วยให้ บริษัทสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินกิจการตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การป้องกันการจ่ายเงินเพื่อการคอร์รัปชั่น การเสริ ม สร้ า งระบบบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ค รอบคลุ ม รวมถึ ง การด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทได้เข้าร่วม ลงนามประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต และมีแผนจะขอรับรองเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต
2.4 ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด ประกอบธุรกิจจัดการกองทุนรวม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนส่วนบุคคล บริษัทวางแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ ของบริ ษั ท และมีการติดตาม ทบทวนแผนการด�ำเนินงานอย่างสม�่ ำ เสมอ เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา รวมทั้งได้ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินกิจการ ตามหลั ก การก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี การป้ อ งกั น การจ่ า ยเงิ น เพื่ อ การคอร์ รั ป ชั่ น การเสริ ม สร้ า งระบบบริ ห ารความเสี่ ย ง ที่ ค รอบคลุ ม รวมถึ ง การด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อสังคม และเมื่อเดือนตุลาคม 2557 บริษัทได้รับการรับรอง เป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต บริษทั ได้รบั ใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ แบบ ค 1.1 ประเภทการจัดการกองทุนรวม 1.2 ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล 1.3 ประเภทการเป็ น นายหน้ า ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ที่เป็นหน่วยลงทุน 1.4 ประเภทการค้าหลักทรัพย์ที่เป็นหน่วยลงทุน 1.5 ประเภทการจั ด จ�ำหน่ า ยหลั ก ทรั พ ย์ ที่ เ ป็ น หน่วยลงทุน 1.6 ประเภทการเป็นที่ปรึกษาการลงทุน 1.7 ประเภทการจัดการเงินร่วมลงทุน 2. ใบอนุญาตประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า 2.1 ประเภทการเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า 2.2 ประเภทการเป็นที่ปรึกษาสัญญาซื้อขายล่วงหน้า 3. บริษทั ได้รบั ความเห็นชอบจากส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ให้เป็นผูจ้ ดั การกองทรัสต์ เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ โดยมีก�ำหนดระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม 2557 ถึงวันที่ 6 พฤษภาคม 2562 วิสัยทัศน์ (Vision) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด จะเป็นบริษัทที่มีมาตรฐานประกอบธุรกิจ โดยค�ำนึงถึง หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมุ่งเน้นให้มีการปฏิบัติงาน ที่ ค�ำนึ ง และรั ก ษาผลประโยชน์ ที่ เ หมาะสมที่ สุ ด ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ภายใต้หลักความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) และ หลักความระมัดระวัง (Duty of Care)
พันธกิจ (Mission) เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ช ่ ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น ให้ แ ก่ กลุ่มธุรกิจทางการเงินในการให้บริการทางการเงินเพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าทั้งในวัตถุประสงค์ของการออมและ การลงทุ น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการประกอบธุ ร กิ จ ของ กลุ่มบริษัท ให้มีบริการที่หลากหลายขึ้น และเพื่อเป็นทางเลือก ให้แก่ผู้สนใจลงทุนโดยการลงทุนผ่านกองทุนรวม กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ กองทุน ส�ำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนส่วนบุคคล ซึ่งมีผู้บริหารจัดการ ลงทุนที่เป็นมืออาชีพ ดูแลจัดการลงทุนให้เป็นบริษัทจัดการ ที่สร้างผลตอบแทนให้เป็นที่พอใจทั้งแก่ผู้ถือหน่วยและผู้ถือหุ้น ของกิจการ ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด ประกอบธุรกิจจัดการกองทุนรวม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนส่วนบุคคล โดยให้ความส�ำคัญและเน้นการท�ำตลาด ให้มีความหลากหลาย เพื่อให้ครอบคลุมทุกระดับความต้องการ และทุกกลุ่มของผู้ลงทุน ด้วยเสนอขายหน่วยลงทุนผ่านช่องทาง ก า ร จั ด จ�ำ ห น ่ า ย ห ล า ย ช ่ อ ง ท า ง ไ ด ้ แ ก ่ ส า ข า ข อ ง ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และผู้สนับสนุน การขายหรื อ รั บ ซื้ อ คื น หน่ ว ยลงทุ น อื่ น ที่ เ ป็ น สถาบั น การเงิ น ที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจากส�ำนั ก งานคณะกรรมการก�ำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ โดยจั ด ให้ มี บุ ค ลากร ที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�ำหนด ควบคุมดูแลให้พนักงาน ปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ มีดังนี้ • กองทุ น รวม เป็ น บริ ก ารจั ด การกองทุ น รวม โดย เสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนทั่วไป ผู้ลงทุนสถาบัน โดย พิ จ ารณาจากความต้ อ งการของผู ้ ล งทุ น บริ ษั ท เน้ น วิ ธี ก าร จัดการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ โดยมีการศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อการลงทุนอย่างสม�่ำเสมอรวมถึงการบริหารความเสี่ยง ในการลงทุน และรายงานสภาพตลาดการลงทุนและความเสี่ยง ในการลงทุนให้ผู้ลงทุนทราบอย่างสม�่ำเสมอ • กองทุ น รวมอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เป็ น บริ ก ารจั ด การ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ที่เน้นการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ที่มีรายได้ประจ�ำ เช่น อาคารส�ำนักงาน เซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ โดยรายได้ สุ ท ธิ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากกองทุ น รวมอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า วจะถู ก ส่ ง ไปให้ ผู ้ ล งทุ น ในรู ป เงิ น ปั น ผล รวมถึ ง การรายงานข้ อ มู ล มู ล ค่ า ทรั พ ย์ สิ น สุ ท ธิ ข องกองทุ น รวม อย่างสม�่ำเสมอ และจัดท�ำรายงานประจ�ำปีส่งให้ผู้ถือหน่วย เป็นประจ�ำทุกปี
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
31
• กองทุ น ส� ำ รองเลี้ ย งชี พ เป็ น บริ ก ารจั ด การลงทุ น ให้แก่กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจัดตั้งโดยความสมัครใจของ บริ ษั ท นายจ้ า งที่ ต ้ อ งการออมเงิ น เพื่ อ เป็ น สวั ส ดิ ก ารให้ แ ก่ พนั ก งาน และให้ พ นั ก งานออมเงิ น เข้ า กองทุ น อี ก ส่ ว นหนึ่ ง เมือ่ ออกจากงานหรือเกษียณอายุ โดยสมาชิกได้รบั สิทธิประโยชน์ ทางภาษี โดยบริษัทจัดการจะเป็นผู้น�ำเงินดังกล่าวไปลงทุน ให้เหมาะสมกับภาวะการลงทุนในแต่ละช่วงเวลาเพื่อให้เงินออม มีผลประโยชน์สะสมให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสมและพอเพียง ส�ำหรั บ การด�ำรงชี วิ ต ภายหลั ง เกษี ย ณหรื อ พ้ น สภาพการเป็ น พนักงาน ซึ่งกองทุนมีทั้งรูปแบบที่ให้พนักงานตัดสินใจเลือก นโยบายการลงทุนเองให้เหมาะกับความต้องการและความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ หรือแบบที่คณะกรรมการกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นผู้เลือก โดยบริษัทมีการจัดท�ำรายงานสรุปยอดเงินลงทุน และประเมินผลตอบแทนให้แก่พนักงาน และบริษัทนายจ้าง อย่างสม�่ำเสมอตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย • กองทุ น ส่ ว นบุ ค คล เป็ น บริ ก ารจั ด การลงทุ น แก่ผู้ลงทุนทั้งบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล การจัดการกองทุน ส่ ว นบุ ค คล ซึ่ ง ครอบคลุ ม การจั ด การลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ ประเภทต่างๆ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ หุ้นทุน และหน่วยลงทุน โดยพิจารณาจากระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมกับลูกค้าและมีการ จัดท�ำรายงานสรุปและประเมินผลให้แก่ลูกค้าอย่างสม�่ำเสมอ • ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เป็นบริการ ในฐานะผู้จัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ซึ่ ง สามารถลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ด้ ห ลากหลายประเภท มากขึ้ น รวมถึ ง อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ นต่ า งประเทศ ผู ้ จั ด การ กองทรั ส ต์ จ ะลงทุ น และบริ ห ารจั ด การทรั ส ต์ โดยมุ ่ ง สร้ า ง ผลประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตลอดจนมีการ รายงานข้อมูลมูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิอย่างสม�ำ่ เสมอ และจัดประชุม ผู้ถือหน่วยทรัสต์เป็นประจ�ำทุกปี มูลค่าสินทรัพย์สุทธิภายใต้การบริหารจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีจ�ำนวนกองทุนภายใต้ การบริหารจัดการ ทั้งสิ้น 51 กอง เพิ่มขึ้น 7 กอง หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15.91 เมื่อเทียบกับปี 2557 และมีมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ ทั้งสิ้น 49,858.06 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8,879.44 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.67 เมื่อเทียบกับปี 2557 บริ ษั ท มี ส ่ ว นแบ่ ง การตลาดคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 1.23 อยู่อันดับที่ 11 จาก 20 บริษัท ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ โอกาสหรื อ ข้ อ จ� ำ กั ด ในการ ประกอบธุรกิจ ปี 2558 การฟื ้ น ตั ว ของเศรษฐกิ จ ทั้ ง ในประเทศ และต่างประเทศยังมีความเปราะบาง ถึงแม้ว่าในช่วงครึ่งแรก ของปี การลงทุ น ในประเทศจะได้ รั บ ปั จ จั ย หนุ น จากปั ญ หา การเมืองที่คลี่คลายลง และแรงสนับสนุนจากการบริโภคและ การลงทุ น ของภาครั ฐ ก็ตาม แต่ใ นภาพรวมนักลงทุนยั ง คงมี 32
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ความระมัดระวังต่อการลงทุนมากพอสมควร ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อการลงทุน และการชลอการออกและเสนอขายกองทุนใหม่ ของบริษัท โดยบริษัทได้ปรับแผนการด�ำเนินงานและกลยุทธ์ การลงทุนให้เข้ากับสถานการณ์ และความต้องการลงทุนของ นักลงทุน ซึ่งท�ำให้บริษัทสามารถขยายขนาดกองทุนได้อย่าง ต่อเนื่อง และมีอัตราการขยายตัวสูงกว่าการขยายตัวโดยรวม ของตลาด เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจ ในปี 2559 บริ ษั ท จะเพิ่ ม ส่ ว นแบ่ ง ทางการตลาด ในการบริหารกองทุนรวม ได้แก่ กองทุนรวม กองทุนส่วนบุคคล กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และทรัสต์เพื่อลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ โดยบริษัทจะขออนุญาตประกอบธุรกิจเพิ่มเติม ได้แก่ ธุรกิจ การเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และ ธุ ร กิ จ การเป็ น ตั ว แทนขายหน่ ว ยลงทุ น เป็ น ต้ น ตลอดจน การเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายหน่วยลงทุน และเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน ทั้งในส่วนของบริษัทเอง และส่วนที่เชื่อมต่อ กับผู้สนับสนุนการขายหน่วยลงทุน เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ลูกค้าผู้ถือหน่วยลงทุน 2.5 ธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จ�ำกัด บริ ษั ท แลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ แอดไวเซอรี่ จ�ำกั ด ประกอบธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารที่ ป รึ ก ษาทางการเงิ น ตามขอบเขต ที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ก�ำหนด ซึ่ ง ครอบคลุ ม ถึ ง การเป็ น ที่ ป รึ ก ษาทางการเงิ น อย่างครบวงจร ทั้งการเสนอขายหลักทรัพย์ให้กับประชาชน การน�ำบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การควบรวมกิจการ การประเมินมูลค่าหุ้น การจัดหาแหล่งเงินกู้ การปรับโครงสร้างหนี้ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ และการให้ค�ำปรึกษาทางการเงิน
3. โครงสร้างรายได้
3.1 โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินจ�ำแนกตามสายธุรกิจ โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2558 ปี 2557 และปี 2556 สามารถจ�ำแนกตามสายธุรกิจหลักได้ 5 สายธุรกิจ คือ สายธุรกิจการลงทุน สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ สายธุรกิจหลักทรัพย์ จัดการกองทุน สายธุรกิจหลักทรัพย์ และสายธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน มีรายละเอียดดังนี้ ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินจ�ำแนกตามสายธุรกิจ โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินจำ�แนกตามสายธุรกิจ
ดำ�เนินการ โดย
รายได้ดอกเบี้ย สายธุรกิจการลงทุน LHFG/1 สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ LH Bank/2 สายธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน LH Fund/3 สายธุรกิจหลักทรัพย์ LH Securities/4 สายธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน LH Advisory/5 รวมรายได้ดอกเบี้ย รวมค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รวมรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ LH Bank สายธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน LH Fund สายธุรกิจหลักทรัพย์ LH Securities สายธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน LH Advisory รวมรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ รวมค่าใช้จา่ ยค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน หมายเหตุ
LHFG/1 LH Bank/2 LH Fund/3 LH Securities/4 LH Advisory/5
งบการเงินรวม สัดส่วน การถือหุ้น 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556 ของบริษัท จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ)
99.99 99.99 99.79 99.99
99.99 99.99 99.79 99.99
0.03 0.01 0.03 8,479.82 152.97 7,454.75 175.54 6,517.28 196.63 0.02 0.07 14.02 0.25 0.32 0.01 8,493.89 153.22 7,455.08 175.55 6,517.38 196.63 (4,127.46) (74.45) (4,073.15) (95.91) (3,719.46) (112.22) 4,366.43 78.77 3,381.93 79.64 2,797.92 84.41 268.32 131.94 55.32 455.58 (106.20) 349.38 827.61 5,543.42
4.84 2.38 1.00 8.22 (1.92) 6.30 14.93 100.00
198.72 4.68 94.34 2.22 3.70 0.09 296.76 6.99 (80.54) (1.90) 216.22 5.09 648.54 15.27 4,246.69 100.00
220.00 6.64 79.13 2.39 299.13 9.02 (50.18) (1.51) 248.95 7.51 267.65 8.08 3,314.52 100.00
: บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) : ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด : บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
33
3.2 โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินจ�ำแนกตามประเภทรายได้ โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2558 ปี 2557 และ ปี 2556 จ�ำแนกตามประเภทรายได้หลักเป็น 3 ประเภท คือ รายได้ดอกเบี้ย รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ และรายได้อื่น มีรายละเอียดดังนี้ ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินจ�ำแนกตามประเภทรายได้ โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน จำ�แนกตามประเภทรายได้
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556 จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ)
รายได้ดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ 6,268.21 เงินลงทุนในตราสารหนี้ 1,470.96 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 633.09 การให้เช่าซื้อ 121.58 อื่นๆ 0.05 รวมรายได้ดอกเบี้ย 8,493.89 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย เงินรับฝาก (2,776.29) ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม (383.92) รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (274.42) เงินนำ�ส่งสถาบันคุ้มครองเงินฝากและธนาคารแห่งประเทศไทย (691.93) อื่นๆ (0.90) รวมค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย (4,127.46) รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ 4,366.43 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่ารับรอง รับอาวัล และการค้ำ�ประกัน 43.50 ค่าธรรมเนียมรับนายหน้า 212.47 อื่นๆ 199.61 รวมรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ 455.58 ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าธรรมเนียมและบริการ (50.71) อื่นๆ (55.49) รวมค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ (106.20) รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ 349.38 รายได้อื่น กำ�ไรจากเงินลงทุน 673.39 กำ�ไร (ขาดทุน) จากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 2.17 รายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ 152.05 รวมรายได้อื่น 827.61 รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน 5,543.42
34
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
113.07 26.54 11.42 2.19 153.22
5,544.03 1,476.58 298.85 135.62 7,455.08
(50.08) (3,169.65) (6.93) (1.12) (4.95) (314.65) (12.48) (587.73) (0.01) (74.45) (4,073.15) 78.77 3,381.93
130.55 34.77 7.04 3.19 175.55
4,957.38 1,322.60 137.91 99.49 6,517.38
149.57 39.90 4.16 3.00 196.63
(74.64) (2,809.57) (84.77) (0.03) (6.13) (0.18) (7.41) (417.59) (12.60) (13.84) (486.17) (14.67) (95.91) (3,719.46) (112.22) 79.64 2,797.92 84.41
0.79 3.83 3.60 8.22
40.58 93.00 163.18 296.76
0.96 2.19 3.84 6.99
42.01 87.96 169.16 299.13
1.27 2.65 5.10 9.02
(0.91) (1.00) (1.91) 6.30
(41.69) (38.85) (80.54) 216.22
(0.98) (0.91) (1.90) 5.09
(27.72) (22.46) (50.18) 248.95
(0.84) (0.68) (1.51) 7.51
12.15 0.04 2.74 14.93 100.00
491.42 1.21 155.91 648.54 4,246.69
11.57 0.03 3.67 15.27 100.00
210.39 (30.80) 88.06 267.65 3,314.52
6.35 (0.93) 2.66 8.08 100.00
1. รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ดอกเบี้ย ประกอบด้วย รายได้จากเงินให้สินเชื่อ รายได้จากเงินลงทุนในตราสารหนี้ รายได้จากรายการระหว่าง ธนาคารและตลาดเงิ น รายได้ จ ากการให้ เ ช่ า ซื้ อ และรายได้ ดอกเบี้ยอื่นๆ โดยในปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้ ดอกเบี้ยจ�ำนวน 8,493.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 1,038.81 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.93 รายได้ดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นมาจากการเพิ่มขึ้นของรายได้ดอกเบี้ย จากเงินให้สนิ เชือ่ และรายได้ดอกเบีย้ จากรายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน ซึ่งเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเงินให้สินเชื่อ ของบริษัทย่อย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย จากเงินรับฝาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม รายการระหว่าง ธนาคารและตลาดเงิ น เงิ น น�ำส่ ง สถาบั น คุ ้ ม ครองเงิ น ฝาก และธนาคารแห่ ง ประเทศไทย และค่ า ใช้ จ ่ า ยดอกเบี้ ย อื่ น ๆ โดยในปี 2558 บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยดอกเบี้ ย จ�ำนวน 4,127.46 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 54.31 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.33 เป็นการเพิ่มขึ้น จากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยจากตราสารหนี้ที่ออก และเงิ น กู ้ ยื ม เป็ น หลั ก เนื่ อ งจากในปี 2558 บริ ษั ท และ บริษัทย่อยมีตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืมเพิ่มสูงขึ้นจากปีก่อน ถึง 20,663.97 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 2,066.40 รายได้ดอกเบี้ยสุทธิจ�ำนวน 4,366.43 ล้านบาท คิดเป็น ร้ อ ยละ 78.77 ของรายได้ ร วมจากการด�ำเนิ น งาน รายได้ ดอกเบี้ยสุทธิเพิ่มขึ้นจากปี 2557 และ 2556 เท่ากับ 984.50 ล้านบาท และ 1,568.51 ล้านบาท ตามล�ำดับ รายได้ดอกเบี้ย สุทธิเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของบริษัทย่อย
2. รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ ค ่ า ธรรมเนี ย มและบริ ก าร ส่ ว นมากมาจาก ค่ า ธรรมเนี ย มการอ�ำนวยสิ น เชื่ อ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย รายได้ ค่ารับรอง อาวัลและการค�้ำประกัน และมาจากธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน ซึ่งประกอบด้วย ค่านายหน้า จากการซื้อขายหลักทรัพย์ ค่าธรรมเนียมการจัดการกองทุนรวม ค่ า ธรรมเนี ย มนายทะเบี ย นกองทุ น และค่ า ธรรมเนี ย มจาก การเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินต่างๆ เป็ น ต้ น โดยในปี 2558 บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการจ�ำนวน 455.58 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปี 2557 จ�ำนวน 158.82 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.52 ค่ า ใช้ จ ่ า ยค่ า ธรรมเนี ย มและบริ ก ารจ�ำนวน 106.20 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2557 จ�ำนวน 25.66 ล้ า นบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.86 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิจ�ำนวน 349.38 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.30 ของรายได้รวมจากการด�ำเนินงาน รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิเพิ่มขึ้นจากปี 2557 เท่ากับ 133.16 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 61.59 3. รายได้อื่น รายได้อนื่ ประกอบด้วย ก�ำไรจากเงินลงทุน ก�ำไร (ขาดทุน) จากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศและรายได้ จากการด�ำเนินงานอื่นๆ โดยในปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อย มีรายได้อื่นจ�ำนวน 827.61 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 179.07 ล้ า นบาท หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 27.61 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากบริษัทย่อยมีก�ำไรจากการขายเงินลงทุน ที่เพิ่มสูงขึ้น 181.97 ล้านบาท
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
35
ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ อื หุน้ 1. หลักทรัพย์ของบริษัท
1.1 หุ้นสามัญ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว ดังนี้ ทุนจดทะเบียน : 13,638,705,250 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 13,638,699,252 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายและช�ำระแล้ว จ�ำนวน 13,638,699,252 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
1.2 ข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์หรือการบริหารงานของบริษัท และสาระส�ำคัญที่มีผลต่อการด�ำเนินงาน - ไม่มี
1.3 พันธะผูกพันเกี่ยวกับการออกหุ้นในอนาคต
- ไม่มี – 2. โครงสร้างการถือหุ้น
2.1 ผู้ถือหุ้นสามัญสูงสุด 10 รายแรก
รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 10 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียน เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 มีดังนี้ ลำ�ดับที่
รายชื่อผู้ถือหุ้น
ร้อยละ
1.
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
4,485,253,517
33.982
2.
บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
2,816,321,976
21.338
3.
นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์
2,138,758,529
16.204
4.
นายวันชัย พันธุ์วิเชียร
234,000,000
1.773
5.
บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด
212,920,564
1.613
6.
กลุ่มตระกูลอัศวโภคิน
192,273,076
1.457
7.
นายวิโรจน์ อึ้งไพบูลย์
178,000,001
1.349
8.
นายสำ�เริง มนูญผล
104,000,120
0.788
9.
นายวิศิษฐ์ เจนอัครเศรษฐ์
75,365,251
0.571
10.
นายวิน สิงห์พัฒนากุล
70,976,160
0.538
10,507,869,194
79.613
2,690,877,822
20.387
13,198,747,016
100.000
รวมการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ผู้ถือหุ้นรายย่อยอื่น รวม
36
จำ�นวนหุ้น
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
3. นโยบายการจ่ายเงินปันผล
3.3.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ในการพิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผลธนาคารจะค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผู ้ ถื อ หุ ้ น ในระยะยาว และจะพิจารณาจากงบการเงินรวม ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผล จะเป็ น ไปตามข้ อ บั ง คั บ ของธนาคาร ซึ่ ง สรุ ป สาระส� ำ คั ญ คื อ เงิ น ปั น ผลให้ แ บ่ ง ตามจ� ำ นวนหุ ้ น หุ ้ น ละเท่ า ๆ กั น โดย การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น คณะกรรมการอาจพิ จ ารณาการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลระหว่ า งกาล ให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็ น ครั้ ง คราวได้ เมื่ อ เห็ น ว่ า ธนาคารมี ก� ำ ไร สมควรพอที่จะท�ำเช่นนั้นและรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ในการประชุ ม คราวถั ด ไป นอกจากนี้ การจ่ า ยเงิ น ปั น ผล ต้ อ งเป็ น ไปตามประกาศของธนาคารแห่ ง ประเทศไทยและ ตามที่กฎหมายก�ำหนด
3.1 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท
ในการพิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผลบริ ษั ท จะค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผู ้ ถื อ หุ ้ น ในระยะยาว และจะพิจารณาจากงบการเงินรวม ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผล จะเป็ น ไปตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ซึ่ ง สรุ ป สาระส� ำ คั ญ คื อ เงินปันผลให้แบ่งตามจ�ำนวนหุ้น หุ้นละเท่าๆ กัน โดยการ จ่ า ยเงิ น ปั น ผลต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น คณะกรรมการอาจจ่ า ยเงิ น ปั น ผลระหว่ า งกาลให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็นครั้งคราวได้เมื่อเห็นว่าบริษัทมีก�ำไรสมควรพอทีจ่ ะท�ำเช่นนัน้ และรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลต้ อ งเป็ น ไปตามประกาศ ของธนาคารแห่งประเทศไทยและตามที่กฎหมายก�ำหนด
3.2 ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผล
ตามประกาศธนาคารแห่ ง ประเทศไทยเรื่ อ ง ข้ อ ก� ำ หนดเกี่ ย วกั บ การบั น ทึ ก บั ญ ชี ข องสถาบั น การเงิ น ก� ำ หนดให้ ส ถาบั น การเงิ น ไม่ ค วรน� ำ ก� ำ ไรที่ ยั ง ไม่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง หรือไม่มีกระแสเงินสดรับจริงมาใช้ในการจ่ายเงินปันผล เช่น ก�ำไรที่เกิดจากการตีราคาหลักทรัพย์เพื่อค้า (Mark to Market) และก�ำไรที่เกิดจากการโอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน เป็นต้น หรือสถาบันการเงินไม่ควรน�ำก�ำไรที่เกิดจากการขาย ทรัพย์สินที่มิได้มีการซื้อขายจริง ซึ่งมีผลท�ำให้สถาบันการเงิน มี ก� ำ ไรสู ง กว่ า หรื อ ขาดทุ น ต�่ ำ กว่ า กรณี ป กติ ม าใช้ ใ นการ จ่ายเงินปันผล เช่น ก�ำไรที่เกิดจากการขายทรัพย์สินรอการขาย ของสถาบันการเงินที่มีเงื่อนไขให้สถาบันการเงินสามารถซื้อคืน หรือมีสิทธิซื้อคืนทรัพย์สินนั้นได้ในอนาคต นอกจากนี้ รายได้ ห ลั ก ของบริ ษั ท คื อ เงิ น ปั น ผล ที่ได้รับจากบริษัทย่อย ซึ่งก็คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคารจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามประกาศของ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย เรื่ อ ง หลั ก เกณฑ์ ก ารจั ด ชั้ น และการกั น เงิ น ส� ำ รองของสถาบั น การเงิ น ที่ ก� ำ หนดให้ ในระหว่างเวลาที่สถาบันการเงินยังไม่ตัดสินทรัพย์ที่เสียหาย ออกจากบั ญ ชี หรื อ ยั ง กั น เงิ น ส� ำ รองส� ำ หรั บ สิ น ทรั พ ย์ และภาระผูกพันที่อาจเสียหายและไม่เสียหายไม่ครบทั้งจ�ำนวน ธนาคารจะจ่ายเงินปันผลหรือเงินตอบแทนอื่นใดแก่ผู้ถือหุ้นมิได้
3.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย
3.3.2 บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ในการพิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผลบริ ษั ท จะค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาวและ จะพิ จ ารณาจากงบการเงิ น รวม ทั้ ง นี้ การจ่ า ยเงิ น ปั น ผล จะเป็ น ไปตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ซึ่ ง สรุ ป สาระส� ำ คั ญ คื อ เงิ น ปั น ผลให้ แ บ่ ง ตามจ� ำ นวนหุ ้ น หุ ้ น ละเท่ า ๆ กั น โดย การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น คณะกรรมการอาจพิ จ ารณาการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลระหว่ า งกาล ให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็ น ครั้ ง คราวได้ เมื่ อ เห็ น ว่ า บริ ษั ท มี ก� ำ ไร สมควรพอที่ จ ะท� ำ เช่ น นั้ น และรายงานให้ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทราบในการประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผล ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายก�ำหนด 4. จ�ำนวนและชนิดหุน้ ทีบ่ ริษทั ถือหุน้ ในบริษทั อืน่ หรือบริษทั เอกชน ตั้งแต่ร้อยละสิบขึ้นไป และไม่เกินร้อยละห้าสิบ
- ไม่มี -
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
37
5. จ�ำนวนและชนิดหุ้นที่บริษัทถืออยู่ในบริษัทอื่นหรือบริษัทเอกชน ตั้งแต่ร้อยละห้าสิบขึ้นไป
38
ชื่อบริษัท ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ ชนิดของหุ้นทั้งหมด และที่ออกจ�ำหน่าย โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
: : : : : : : : : : :
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น จี, 1, 5, 6, 32 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 0107548000234 จ�ำนวน 20,000,000,000 บาท จ�ำนวน 14,000,000,000 บาท 10 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 1,400,000,000 หุ้น หุ้นบุริมสิทธิ -ไม่มี0-2359-0000, 0-2677-7111 0-2677-7223 www.lhbank.co.th ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของธนาคาร ได้แก่ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและช�ำระแล้ว แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จ�ำนวน 1,399,999,900 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท
ชื่อบริษัท ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ ชนิดของหุ้นทั้งหมด และที่ออกจ�ำหน่าย โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
: : : : : : : : : : :
บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น M,10 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 0107542000038 จ�ำนวน 637,215,030 บาท จ�ำนวน 637,215,030 บาท 1 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 637,215,030 หุ้น หุ้นบุริมสิทธิ -ไม่มี0-2352-5100 0-2286-2681-2 www.lhsec.co.th ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ได้แก่ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 99.79 ของทุนที่ออกและช�ำระแล้ว แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จ�ำนวน 635,925,646 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
กรรมการผู้จัดการ
โครงสร้างการจัดการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เ ป็ น บ ริ ษั ท โ ฮ ล ดิ้ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ข อ ง ต น เ อ ง (Non-operating Holding Company) โดยเป็นบริษทั แม่ของ กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจการเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น ปัจจุบันถือหุ้นในธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้ อ ยละ 99.99 ของทุ น ที่ ชำ � ระแล้ ว ทั้ ง หมด และเข้ า ถื อ หุ้ น ในบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.79 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด ดังนั้น ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จึงเป็นบริษัทแกน โครงสร้างการจัดการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท ซึ่ ง คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย อีก 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย มีการแบ่งแยก หน้าที่และความรับผิดชอบอย่างชัดเจน ดังนี้
1. คณะกรรมการบริษัท (Board of Directors) ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้วยกรรมการ 9 ท่าน ดังนี้ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ กรรมการ 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการอิสระ 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ 5. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการอิสระ 6. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ 7. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการ 8. นางสุวรรณา พุทธประสาท กรรมการ 9. นางศศิธร พงศธร กรรมการ นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการบริษัท
กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัท
นายรัตน์ พานิชพันธ์ นางศศิธร พงศธร และนายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการสองในสามคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสำ�คัญของบริษัท รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
39
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท
11) ดู แ ลให้ มี ก ระบวนการในการจั ด ส่ ง รายงาน (Management Letter) จากผู้สอบบัญชีภายนอก และข้ อ คิ ด เห็ น จากฝ่ า ยจั ด การของบริ ษั ท ต่ อ คณะกรรมการภายในระยะเวลาที่เหมาะสม 12) จัดให้มีการถ่วงดุลอํานาจของฝ่ายจัดการ และ/หรือ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ใ ห้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสม โดยกำ�หนดให้มสี ดั ส่วนหรือจํานวนของกรรมการอิสระ ในคณะกรรมการบริษัทอย่างเหมาะสม 13) ให้ ก รรมการเข้ า ร่ ว มประชุ ม อย่ า งน้ อยกึ่ งหนึ่ง ของ จำ�นวนครั้งของการประชุมที่จัดขึ้นในแต่ละปี
ดําเนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ระมั ด ระวั ง รั ก ษาผลประโยชน์ ข ององค์ ก รโดยรวมไม่ มี ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ข องผู้ ถื อ หุ้ น กลุ่ ม ใดหรื อ รายใด โดยมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1) ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท และของหน่ ว ยงานภายนอก ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริตและระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2) กําหนดทิศทางและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ในภาพรวม ของบริษทั รวมทัง้ พิจารณาอนุมตั นิ โยบายและทิศทาง การดําเนิ น งานของบริ ษั ท ตามที่ ฝ่ า ยจั ด การเสนอ และกํากั บ ควบคุ ม ดู แ ลให้ ฝ่ า ยจั ด การดําเนิ น การ ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับการอนุมัติไว้อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลเพื่ อ ระวั ง รั ก ษา ผลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้น 3) จัดให้มบี ทบัญญัตเิ กีย่ วกับจรรยาบรรณและจริยธรรม ทางธุรกิจ จริยธรรมของกรรมการ ผู้บริหารและ พนักงาน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติภายในองค์กร 4) ติ ด ตามการดําเนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ตลอดเวลา เพือ่ ให้มน่ั ใจว่ากรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารและฝ่ายจัดการ ดําเนินกิจการตามกฎหมายและนโยบายที่วางไว้ 5) ดูแลให้เกิดความมั่นใจว่าฝ่ายจัดการมีความสามารถ ในการจัดการในงานของบริษัทซึ่งรวมถึงการแต่งตั้ง ผู้บริหารระดับสูง 6) ดําเนิ น การให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน และการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ 7) ดูแลให้ฝ่ายจัดการบอกกล่าวเรื่องที่สําคัญของบริษัท ต่ อ คณะกรรมการ รวมถึ ง ดู แ ลให้ มี ก ระบวนการ ในการจัดส่งข้อมูลเพื่อให้คณะกรรมการได้รับข้อมูล จากฝ่ า ยจั ด การอย่ า งเพี ย งพอที่ จ ะทําให้ ส ามารถ ปฏิ บั ติ ต ามอํานาจหน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบ ได้อย่างสมบูรณ์ 8) ดูแลให้ฝ่ายจัดการของบริษัทมีการควบคุมทางด้าน การบริหารความเสี่ยง 9) พิจารณาอนุมตั บิ ทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการชุดย่อย ต่ า งๆ ตลอดจนการเปลี่ ย นแปลงในองค์ ป ระกอบ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญต่อการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการชุดย่อยที่ได้แต่งตั้งขึ้น 10) ดูแลให้บริษัทกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการทำ�ธุรกรรม กับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัท 40
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการท่านใด หรือบุคคลที่อาจมีความ ขั ด แย้ ง มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ มี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ กรรมการท่านนั้นไม่มีอำ�นาจอนุมัติดำ�เนินการดังกล่าวกับบริษัท หรือบริษัทย่อย ตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กำ�หนด
ขอบเขตอำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริ ษั ท มี ข อบเขตอำ � นาจอนุ มั ติ ใ นเรื่ อ ง ต่างๆ พอสรุปได้ ดังนี้ - พิจารณางานด้านบริหาร - พิจารณาอนุมัติแผนงาน กลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจ - พิจารณาอนุมัติงบประมาณประจำ�ปี - พิจารณาอนุมัติวิสัยทัศน์ และพันธกิจ - พจิ ารณาอนุมตั เิ รือ่ งต่างๆ ในงานการบริหารการตัดสินใจ - พิจารณางานด้านปฏิบัติการ - พิจารณาอนุมัตินโยบายต่างๆ - พิจารณาอนุมัติการขออนุญาตต่อหน่วยงานราชการ - พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ รื่ อ งต่ า งๆ ตามที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ บริษัทมหาชนจำ�กัด กำ�หนด อนึ่ ง ในปี 2558 การพิ จ ารณาอนุ มั ติ เ รื่ อ งใดๆ ของ คณะกรรมการบริษทั จะมีกรรมการร่วมพิจารณาไม่นอ้ ยกว่าสองในสาม ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด
บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ
บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ มีหน้าที่นอกเหนือจาก ที่กล่าวข้างต้น ดังนี้ - ทำ�หน้าที่ประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ - ลงคะแนนเสียงชี้ขาด ในกรณีที่ประชุมคณะกรรมการ มีการลงคะแนนเสียง 2 ข้างเท่ากัน - เป็นผู้เรียกประชุมคณะกรรมการ - ทำ�หน้าที่ประธานในที่ประชุมผู้ถือหุ้น
2. คณะกรรมการบริหาร
3. คณะกรรมการตรวจสอบ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการบริหาร 2. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการบริหาร 3. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการบริหาร 4. นางศศิธร พงศธร กรรมการบริหาร นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายไพโรจน์ เฮงสกุล/1 ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี/1 กรรมการตรวจสอบ นางสาวชุติมา บุญมี เลขานุการ
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริหารมีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) เสนอนโยบาย วางแผนกลยุ ท ธ์ และทิ ศ ทาง การดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท และดำ�เนินการ ให้เป็นไปตามนโยบายทีไ่ ด้รบั การอนุมตั ิ 2) พิจารณากลัน่ กรองงานต่างๆ ก่อนเสนอคณะกรรมการ บริษัท 3) บริหารจัดการองค์กรและพัฒนาองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพ 4) มอบหมายงานและประสานงานกับผู้บริหารระดับล่าง ลงมา ควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน ที่ ว างไว้ ติ ด ตามและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน เพื่อให้ผลงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งวิเคราะห์ ผลการปฏิบัติงานเพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และแนวทาง ในการแก้ไข 5) รายงานเรื่องที่มีนัยสำ�คัญของบริษัทต่อคณะกรรมการ บริษัท 6) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการบริหารท่านใด หรือบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้งมีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการบริหารท่านนั้นไม่มีอำ�นาจอนุมัติดำ�เนินการดังกล่าว กั บ บริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท และ ตามทีส่ �ำ นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด
หมายเหตุ
/1
เป็นกรรมการทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นบัญชีและการเงิน
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ก ารรายงานทางการเงิ น อย่างถูกต้องและเพียงพอ 2) สอบทานและประเมิ น ผลให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบควบคุ ม ภายใน (Internal Control) และการตรวจ สอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและ มีประสิทธิผล 3) สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับ ธุรกิจของบริษัท 4) พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งและเสนอคาตอบแทน ผูสอบบัญชีของบริษัท 5) พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัท โดยเฉพาะ ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจ มี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน ใ ห มี ค วามถู ก ต อ ง และครบถวน 6) จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการ ตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปข องบริษทั 7) รายงานการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการบริษัท 8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
41
4. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 2. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการบรรษัทภิบาล 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการบรรษัทภิบาล นางสาวชุติมา บุญมี เลขานุการ
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล
คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลมี ข อบเขตอำ � นาจหน้ า ที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) กำ�หนดและทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2) กำ�หนดและทบทวนนโยบายการป้องกันการจ่ายเงิน เพื่อการคอร์รัปชั่น 3) ดู แ ลให้ มี ก ารปฏิ บั ติ เ ป็ น ไปตามนโยบาย รวมทั้ ง ให้ข้อแนะนำ�และการสนับสนุนที่จำ�เป็นแก่ผ้ทู ่ปี ฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุแผนงาน
42
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
4) ป ร ะ เ มิ น ผ ล ภ า ยใ น ด้ ว ย เ ก ณ ฑ์ บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล เพื่อกำ�หนดประเด็นที่ควรปรับปรุง 5) เป็ น ตั ว แทนบริ ษั ท ในการสื่ อ สารและการดำ � เนิ น กิจกรรมด้านบรรษัทภิบาล การป้องกันการจ่ายเงิน เพื่อการคอร์รัปชั่นทั้งกับผู้บริหาร พนักงาน และ หน่วยงานภายนอก 6) ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายด้ ว ยความเห็ น ชอบจากคณะกรรมกา รบรรษัทภิบาล
5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการ 5 ท่าน ดังนี้ 1. กรรมการผู้จัดการ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2. รองกรรมการผู้จัดการ ทุกกลุ่ม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหารความเสี่ยง 3. ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานบริหารความเสี่ยง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหารความเสี่ยง
4) ควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการบริหาร ความเสี่ ย ง และดู แ ลให้ บ ริ ษั ทในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการ เงิน ดำ�เนินการตามนโยบายการบริหารความเสี่ยง ที่ บ ริ ษั ท กำ � หนดและปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด 5) รายงานต่อคณะกรรมการต่างๆ อย่างน้อยปีละครั้ง หรื อ เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงของปั จ จั ย ความเสี่ ย ง ต่ า งๆ ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การบริ ห ารความเสี่ ย ง อย่างมีนัยสำ�คัญ ในเรื่องสถานะความเสี่ยง และ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่มีผลต่อระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) เพื่อสร้างความมั่นใจ ว่าคณะกรรมการต่างๆ ได้รับทราบและตระหนักถึง ปั จ จั ย ต่ า งๆ ที่ อ าจส่ ง ผลกระทบอย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ต่อฐานะความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน
4. ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหารความเสี่ยง 5. ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารความเสี่ยงอาวุโส ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เลขานุการ
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) กำ�หนดนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยง ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ บริหาร/คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาในเรื่อง ของการบริหารความเสี่ยงโดยรวม ซึ่งต้องครอบคลุม ถึงความเสี่ยงประเภทต่างๆ ที่สำ�คัญ เช่น ความ เสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยง ด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ และ ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อชื่อเสียงของกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิน เป็นต้น 2) วางกลยุ ท ธ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายบริ ห ารความ เสี่ยง โดยสามารถประเมิน ติดตามและดูแลปริมาณ ความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทางการเงินให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสม 3) ทบทวนความเพี ย งพอของนโยบายและระบบ การบริหารความเสี่ยง โดยรวมถึงความมีประสิทธิผล ของระบบและการปฏิบัติตามนโยบายที่กำ�หนด
6. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน นายเรืองศักดิ์ วิทวัสการเวช เลขานุการ
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) กำ � หนดหลั ก เกณฑ์ คุ ณ สมบั ติ วิ ธี ก ารคั ด เลื อ ก กรรมการ และ/หรือ ตำ�แหน่งผู้บริหารของบริษัท ตั้งแต่กรรมการผู้จัดการขึ้นไป เมื่อครบวาระ หรือ มีตำ�แหน่งว่างลง หรือเพิ่มเติม 2) คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อดำ�รงตำ�แหน่งต่างๆ ดังต่อไปนี้ เพื่อนำ�เสนอ คณะกรรมการบริษัท 2.1) กรรมการ (เพิ่มเติม/ทดแทน/ครบวาระ) 2.2) ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ตั้ ง แต่ ตำ � แหน่ ง กรรมการ ผู้จัดการขึ้นไป รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
43
3) เสนอแนะวิธีการประเมินผลการทำ�งานของกรรมการ บริ ษั ท และคณะกรรมการบริ ษั ท ต่ อ คณะกรรมการ บริ ษั ท เพื่ อ เป็ น แนวทางในการประเมิ น ผลของ กรรมการบริษัทและคณะกรรมการบริษัท 4) เสนอแนวทาง วิธีการจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์ อื่นใด รวมถึงโบนัสประจำ�ปี ให้แก่ คณะกรรมการ บริ ษั ท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยคณะต่ า งๆ ที่คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้ง 5) พิจารณาแนวทางการประเมินผลและรับทราบผลการ ปฏิ บั ติ ง านของกรรมการผู้ จั ด การ รวมถึ ง กำ � หนด ผลตอบแทนและโบนัส สำ�หรับการปฏิบตั งิ านประจำ�ปี โดยคำ�นึงถึงหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อบริษัท 6) พิ จ ารณากรอบการดำ � เนิ น การของโครงสร้ า ง ค่าตอบแทน การขึน้ เงินเดือนประจำ�ปี โบนัสประจำ�ปี ตลอดจนผลประโยชน์อื่นๆ ดังต่อไปนี้ 6.1) พิ จ ารณาภาพรวมและกรอบการดำ � เนิ น การ ของโครงสร้างค่าตอบแทน การขึน้ เงินเดือนประจำ�ปี และโบนัสประจำ�ปี ตลอดจนผลประโยชน์อื่นใด ของผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และพนั ก งานบริ ษั ท ตามข้อเสนอของฝ่ายจัดการ เพือ่ ความเหมาะสม และก่อให้เกิดผลงานตามที่คาดหวัง มีความ เป็นธรรมและเป็นการตอบแทนพนักงานที่ช่วย ให้งานของบริษัทประสบผลสำ�เร็จ 6.2) พิจารณางบประมาณการขึ้นเงินเดือนประจำ�ปี และโบนั ส ประจำ � ปี ตลอดจนผลตอบแทน พิเศษอื่นๆ ที่บริษัทกำ�หนดให้พนักงาน 7) พิ จ ารณานโยบายแนวทางและวิ ธี ก ารจั ด ทำ � แผนสืบทอดตำ�แหน่ง เพื่อความต่อเนื่องในการบริหาร ที่ เ หมาะสมและอย่ า งเป็ น ระบบ สำ � หรั บ ตำ � แหน่ ง ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ตั้ ง แต่ ผู้ อำ � นวยการฝ่ า ย/สำ � นั ก ขึ้นไป 8) พิ จ ารณากรอบนโยบายและหลั ก เกณฑ์ เ กี่ ย วกั บ รูปแบบลักษณะการจ้างงานที่มีลักษณะพิเศษ 9) ท บ ท ว น แ ล ะ เ ส น อ ข้ อ แ ก้ ไ ข ข อ บ เ ข ต ห น้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับภาวการณ์ 10) เปิดเผยรายงานการดำ�เนินงานของคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจำ�ปี ของบริษัท 11) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย
44
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการ กรรมการอิสระ และผู้บริหารของบริษัท
1. การสรรหากรรมการและกรรมการอิสระ คณะ ก รร ม ก ารส ร รหาแล ะกำ � หน ด ค่ า ตอบ แ ทน จะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม รวมถึงมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านต่างๆ มีความเข้าใจเพียงพอด้านการธนาคาร การเงิน รวมถึงเศรษฐกิจ กฎหมาย และอื่นๆ โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็นขององค์กร และ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนจะรับฟังข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้นรายย่อยซึ่งเสนอชื่อ บุคคลที่ควรได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการหรือกรรมการอิสระ ของบริษัทด้วย ทั้งนี้ บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคล เพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทกำ�หนด รายละเอียดแสดงไว้ใน รายงานการพั ฒ นาธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น หั ว ข้ อ การกำ � กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง กรรมการและ/หรื อ กรรมการอิ ส ระแทน กรณี ที่ ตำ � แหน่ ง กรรมการว่ า งลง ในคณะกรรมการเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ หรือเพื่อพิจารณาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งกรรมการ และ/หรือกรรมการอิสระในกรณีทก่ี รรมการพ้นตำ�แหน่งตามวาระ หรือเลือกตั้งกรรมการใหม่เพิ่มเติมโดยหลักเกณฑ์ในการเลือกตั้ง และถอดถอนกรรมการ เป็นดังนี้ - องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท จำ�นวนของกรรมการบริษัทเป็นไปตามที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้น กำ�หนด โดยจะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่า 5 คน ทั้งนี้กรรมการบริษัท จะประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหารจำ�นวนไม่เกิน 1 ใน 3 และจำ�นวนของกรรมการอิสระจะต้องมีอย่างน้อย 3 คน หรือ อย่างน้อย 1 ใน 3 แล้วแต่จำ�นวนใดจะสูงกว่า
- การเลือกตั้งกรรมการบริษัท 1. ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ ให้ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังนี้ (ก) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อ หนึ่งเสียง
(ข) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมด เลือกตั้งบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการ ก็ ไ ด้ ในกรณี ที่ เ ลื อ กตั้ ง บุ ค คลหลายคนเป็ น กรรมการจะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อย เพียงใดไม่ได้ (Non-Cumulative Voting) (ค) บุ ค คลซึ่ ง ได้ รั บ คะแนนเสี ย งสู ง สุ ด ตามลำ � ดั บ ลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่า จำ � นวนกรรมการที่ จ ะพึ ง มี ห รื อ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้ง ในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธาน เป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด
2. การพ้นจากตำ�แหน่งของกรรมการ (ก) การพ้นตำ�แหน่งตามวาระ - ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่งหนึ่งในสาม - กรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรก และปี ที่ ส องภายหลั ง จดทะเบี ย นบริ ษั ท นั้ น ให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ถัดไปให้กรรมการคนที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุด นั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง - กรรมการผู้พ้นจากตำ�แหน่งนี้จะเลือกเข้ารับ ตำ�แหน่งอีกก็ได้ (ข) ตาย (ค) ลาออก (ง) ขาดคุ ณ สมบั ติ หรื อ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตาม กฎหมาย (จ) ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ลงมติ ใ ห้ อ อกด้ ว ยคะแนน เสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนผู้ถือหุ้น ทีเ่ ข้าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงและมีหนุ้ นับรวมกัน ได้ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจำ � นวนหุ้ น ที่ ถื อโดย ผู้ถือหุ้น ที่เข้าประชุมและมีสิทธิออกเสียง (ฉ) ศาลมีคำ�สั่งให้ออก 3. ในกรณี ที่ ก รรมการว่ า งลงเพราะเหตุ อื่ น นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วย บริษัทมหาชน จำ � กั ด เข้ า เป็ น กรรมการแทนในการประชุ ม คณะกรรมการ คราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุ ค คลซึ่ ง เข้ า เป็ น กรรมการแทนดั ง กล่ า วจะอยู่ ใ นตำ � แหน่ ง กรรมการได้ เ พี ย งเท่ า วาระที่ เ หลื อ อยู่ ข องกรรมการที่ ต นแทน
ทั้งนี้มติของคณะกรรมการดังกล่าวต้องประกอบด้วยคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนกรรมการที่เหลืออยู่ - วิธีการคัดเลือกกรรมการ การสรรหาบุคคลที่จะมาดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ เป็นไป ตามแนวทางในการแต่ ง ตั้ ง กรรมการตามข้ อบั ง คั บของบริษัท แบ่งเป็น 2 กรณี กรณีที่ 1 การแต่งตั้งกรรมการใหม่อันเนื่องจากการออก ตามวาระ คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน จะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม รวมถึ ง มี ค วามรู้ ค วามสามารถ มี ป ระสบการณ์ ใ นด้ า นต่ า งๆ ตลอดจนมีความเข้าใจด้านการเงิน การธนาคาร เศรษฐกิจ กฎหมาย โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็นขององค์กรและการกำ�กับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละนำ � เสนอรายชื่ อ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่อพิจารณากลั่นกรองบุคคลนั้นๆ ก่อนนำ�เสนอให้ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นพิจารณาเพื่ออนุมัติ กรณีที่ 2 การแต่งตั้งกรรมการใหม่แทนกรรมการที่ออก ก่ อ นครบกำ � หนดวาระ คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่ า ตอบแทนจะพิ จ ารณาคั ด เลื อ กและกลั่ น กรองบุ ค คล ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสม รวมถึ ง มี ค วามรู้ ค วามสามารถ มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ ตลอดจนมีความเข้าใจด้านการเงิน การธนาคาร เศรษฐกิจ กฎหมาย โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็นของ องค์กรและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ เพื่อนำ�เสนอรายชื่อ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. การสรรหาผู้บริหาร คณะ ก รร ม ก ารส ร รหาแล ะกำ � หน ด ค่ า ตอบแ ทน จะพิ จ ารณาคั ด เลื อ กและกลั่ น กรองบุ ค คลที่ มี ค วามสามารถ และคุ ณสมบั ติที่เ หมาะสม โดยคำ �นึ งถึ งจริ ย ธรรม คุณธรรม ความซื่ อ สั ต ย์ เพื่ อ ดำ � รงตำ � แหน่ ง ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ได้ แ ก่ กรรมการผู้จัดการ โดยมีปัจจัยเบื้องต้นที่ใช้ประกอบการพิจารณา ได้แก่ คุณสมบัติ ความรูค้ วามสามารถ และประสบการณ์ในสายงาน ด้านการเงิน ผู้ท่ีได้รับคัดเลือกให้ดำ�รงตำ�แหน่งควรมีแนวคิด และวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการบริ ห ารจั ด การในแนวทางเดี ย วกั บ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ให้ ก ารดำ � เนิ น งานขององค์ ก ร ประสบผลสำ � เร็ จ ลุ ล่ ว งตามเป้ า หมายซึ่ ง ผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด และ คณะกรรมการบริษทั จะต้องมีความไว้วางใจซึง่ กันและกันตลอดจน มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด โดยคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนจะเสนอชื่อบุคคลที่ได้รับการคัดเลือก ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาแต่งตั้งต่อไป กรณีผู้บริหารในตำ�แหน่งอื่นๆ กรรมการผู้จัดการจะเป็น ผู้พิจารณาคุณสมบัติเพื่อพิจารณาอนุมัติแต่งตั้ง รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
45
คุณสมบัติของกรรมการอิสระ
การสรรหาและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ อิสระนั้น บุคคลดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติของกรรมการอิสระ ตามที่บริษัทกำ�หนด และสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของนโยบาย การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ซึ่ ง เข้ ม กว่ า ที่ กำ � หนดในประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนและประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคุณสมบัติของกรรมการอิสระ มีรายละเอียดดังนี้ คุณสมบัติเฉพาะของกรรมการอิสระ จะต้องไม่มีธุรกิจ หรื อ การงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ษั ท อั น อาจมี ผ ลกระทบต่ อ การตัดสินใจโดยอิสระของตน โดยมีคุณสมบัติดังนี้ (1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการ อิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคล ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง เว้ น แต่ จ ะได้ พ้ น จากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ ยื่นขออนุญาต (3) ไม่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรส ของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจ ควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรื อ ผู้ มี อำ � นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ไม่เป็นผู้เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของผู้บริหารระดับสูง หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (4) ไม่ มี ห รื อ เคยมี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล ทีอ่ าจมีความขัดแย้งในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวาง การใช้ วิ จ ารณญาณอย่ า งอิ ส ระของตน รวมทั้ งไม่ เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่ กรรมการอิสระ หรือผู้บริหารของผู้ที่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วม หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง เว้ น แต่ จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า สองปี ก่ อ นวั น ที่ ยื่ น ขออนุ ญ าต ความสั ม พั น ธ์ 46
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ทางธุรกิจ รวมถึงการทำ�รายการทางการค้าที่กระทำ� เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่ า หรื อให้ เ ช่ า อสั งหาริ มทรั พ ย์ รายการเกี่ ยวกั บสิ นทรั พ ย์ หรือ บริการหรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืมค้ำ�ประกัน การให้สินทรัพย์ เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทำ�นอง เดี ย วกั น ซึ่ ง เป็ น ผลให้ ผู้ ข ออนุ ญ าตหรื อ คู่ สั ญ ญา มีภาระหนีท้ ต่ี อ้ งชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละสาม ของสิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ตั ว ตนสุ ท ธิ ข องผู้ ข ออนุ ญ าตหรื อ ตั้ ง แต่ ยี่ สิ บ ล้ า นบาทขึ้ น ไปแล้ ว แต่ จำ � นวนใดจะ ต่ำ�กว่า ทั้งนี้ การคำ�นวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไป ตามวิธีการคำ�นวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนว่าด้วย หลั ก เกณฑ์ ใ นการทำ � รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น โดยอนุ โ ลมแต่ ใ นการพิ จ ารณาภาระหนี้ ดั ง กล่ า ว ให้ นั บ รวมภาระหนี้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว่ า งหนึ่ ง ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษัท บริ ษัท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งและไม่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ซึ่ ง ไม่ ใ ช่ ก รรมการอิ ส ระ ผู้ บ ริ ห าร หรื อ หุ้ น ส่ ว น ผู้จัดการของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชี ของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิ ติ บุ ค คล ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง สั ง กั ด อยู่ เว้ น แต่ จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า สองปีก่อนวันที่ยื่นขออนุญาต (6) ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางวิ ช าชี พ ใดๆ ซึ่ ง รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารเป็ น ที่ ป รึ ก ษากฎหมาย หรือที่ปรึกษาทางการเงินซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า สองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริ ษั ท ร่ ว ม หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ให้บริการทางวิชาชีพเป็นนิติบุคคล ให้รวมถึงการเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่ กรรมการอิ ส ระ ผู้ บ ริ ห าร หรื อ หุ้ น ส่ ว นผู้ จั ด การ ของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อน วันที่ยื่นขออนุญาต (7) ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท
(8) ไม่ มี ลั ก ษณะอื่ นใดที่ ทำ �ให้ ไ ม่ ส ามารถให้ ค วามเห็ น อย่ า งเป็ น อิ ส ระเกี่ ย วกั บ การดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ภายหลั ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ งให้ เ ป็ น กรรมการอิ ส ระ ที่มีลักษณะดังกล่าวข้างต้นแล้ว กรรมการอิสระอาจ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการให้ตดั สินใจในการ ดำ � เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท บริ ษั ทใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบ ขององค์คณะ (Collective Decision) ได้ การประชุมคณะกรรมการบริษัท บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ โดยมี การกำ�หนดวาระชัดเจนล่วงหน้าและมีวาระการประชุมที่สำ�คัญ เช่ น การพิ จ ารณางบการเงิ น ของบริ ษั ท ในแต่ ล ะไตรมาส การติ ด ตามผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท การติ ด ตามผล การดำ�เนินงานของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ซึง่ บริษทั ได้จดั ส่งหนังสือ เชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารก่อนการ ประชุมล่วงหน้าเพือ่ ให้กรรมการมีเวลาในการพิจารณาศึกษาข้อมูล
และมีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและจัดเก็บ รายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ ในปี 2558 มี ก ารประชุ ม ของคณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุดย่อย โดยรายละเอียดการเข้าร่วมประชุม ของกรรมการแต่ละคณะกรรมการ ประกอบด้วย จำ�นวนครั้ง ของการประชุม และจำ�นวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านได้เข้าร่วม ประชุม สรุปดังตารางด้านล่างนี้
ตารางแสดงการเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษัท บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประจำ�ปี 2558
รายนามกรรมการ
จำ�นวนการประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ 5. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี 6. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 7. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ 8. นางสุวรรณา พุทธประสาท 9. นางศศิธร พงศธร 10. นางสุธารทิพย์ พิสิฐบัณฑูรย์/1 11. นายหรั่ง คงพลัง/2 12. นายธานี ผลาวงศ์/3
จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท บริหาร ตรวจสอบ สรรหาและ บรรษัทภิบาล บริหาร กำ�หนด ความเสี่ยง ค่าตอบแทน 12 12 12 11 12 12 12 12 12 12 -
24 24 15 23 23 -
12 12 12 12 -
3 3 3 3 -
3 3 3 3 -
3 3 3 3 3
หมายเหตุ /1 หมายถึง รองกรรมการผู้จัดการ กลุ่มสินเชื่อ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) /2 หมายถึง ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) /3 หมายถึง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
47
7. คณะผู้บริหาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีผู้บริหารจำ�นวน 1 ท่าน ดังนี้ รายชื่อผู้บริหาร
ตำ�แหน่งในบริษัท/1
1. นางศศิธร พงศธร
กรรมการผู้จัดการ
หมายเหตุ บริษัท/1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3 บริษัทย่อย/4 บริษัทย่อย/5
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/2 กรรมการผู้จัดการ
ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/4 กรรมการ
ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/5 กรรมการ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ กรรมการผู้จัดการ 1) ดำ�เนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายที่คณะกรรมการกำ�หนดไว้ 2) ติดตามและรายงานสภาวะฐานะของบริษทั เสนอแนะ ทางเลื อ กและกลยุ ท ธ์ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบาย และสภาพตลาด 3) พิ จ ารณาและกลั่ น กรองการดำ � เนิ น งานทางธุ ร กิ จ รวมทั้งมีอำ�นาจในการดำ�เนินธุรกิจใดๆ เพื่อให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์และนโยบาย 4) ดูแลและควบคุมการปฏิบตั งิ านด้านต่างๆ ของบริษทั อาทิ การเงิน การบริหารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน งานด้ า นปฏิ บั ติ ก ารและงานด้ า นสนั บ สนุ น ต่ า งๆ และงานทรัพยากร 5) เป็นตัวแทนบริษัทตลอดจนมีอำ�นาจมอบหมายในการ ติดต่อกับหน่วยงานราชการและหน่วยกำ�กับดูแลอืน่ ๆ 6) ดูแลให้การสื่อความกับสาธารณชน ผู้ถือหุ้น ลูกค้า และพนั ก งาน เพื่ อ เสริ ม ชื่ อ เสี ย งและภาพพจน์ ที่ ดี ของบริษัท 7) ดูแลให้มีการกำ�กับกิจการที่ดี 8) ดำ � เนิ น การเรื่ อ งอื่ น ใดที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท
ทั้ ง นี้ ในกรณี ที่ ก รรมการผู้ จั ด การหรื อ บุ ค คลที่ อ าจมี ความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการผู้จัดการไม่มีอำ�นาจอนุมัติดำ�เนินการดังกล่าวกับบริษัท หรือบริษัทย่อย ตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กำ�หนด 48
ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/3 กรรมการ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
8. เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งนายวิเชียร อมรพูนชัย ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักกรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นเลขานุการบริษทั ตัง้ แต่วนั ที่ 15 พฤษภาคม 2552 เพื่ อ ทำ � หน้ า ที่ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท ตามที่ ก ฎหมายกำ � หนด โดยคณะกรรมการบริษัทได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้เลขานุการ บริษัทได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้ง ด้านกฎหมาย การบัญชี หรือการปฏิบัติหน้าที่เลขานุการบริษัท
หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสาร ดังต่อไปนี้ 1.1 ทะเบียนกรรมการ 1.2 หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม คณะกรรมการ รายงาน การประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจำ�ปี ของบริษัท 1.3 หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และรายงาน การประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็ บ รั ก ษารายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย รายงานโดย กรรมการหรือผู้บริหาร 2.1 กรรมการและผู้บริหารมีหน้าที่ “รายงานการมี ส่วนได้เสีย” (หมายถึง กรรมการ และผูบ้ ริหาร มี หน้ า ที่ ร ายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของตนและ ผู้เกี่ยวข้องให้บริษัททราบ) 2.2 เลขานุ ก ารบริ ษั ท จั ด ส่ ง สำ � เนารายงานให้ ประธานกรรมการและประธานกรรมการ ตรวจสอบทราบภายในเจ็ ด วั น ทำ � การนั บ แต่ วันที่ได้รับรายงานนั้น
2.3 ต้ อ งจั ดให้ มี ร ะบบการเก็ บ รั ก ษาเอกสารและ หลั ก ฐานที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ ถู ก ต้ อ งและครบถ้ ว น และสามารถตรวจสอบได้ ภ ายในระยะเวลา ไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันที่มีการจัดทำ�เอกสาร หรือข้อมูลดังกล่าว 3. ดำ�เนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ประกาศกำ�หนด
9. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร • นโยบายกำ � หนดค่ า ตอบแทนกรรมการและ ผู้บริหาร
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลและคณะกรรมการ สรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน โดยมี ค ณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณาความเหมาะสม
การกำ � หนดค่ า ตอบแทนกรรมการบริ ษั ท กำ � หนด โดยที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง ผ่ า นการพิ จ ารณาและนำ � เสนอโดย คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ทัง้ นี้ ค่าตอบแทน ดังกล่าวจะต้องมีจ�ำ นวนและส่วนประกอบทีส่ ามารถดึงดูดกรรมการ ที่ มี ค วามสามารถและมี ค วามสำ � คั ญ ต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ของคณะกรรมการได้ และจะหลีกเลี่ยงการจ่ายค่าตอบแทน ทีม่ ากเกินความจำ�เป็น ในการกำ�หนดค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการ จะพิจารณาตามหลักปฏิบตั โิ ดยทัว่ ไปในอุตสาหกรรม ซึง่ พิจารณา จากประสบการณ์ทำ�งาน ความรู้ ความสามารถ ความตั้งใจ และทุ่ ม เท รวมทั้ ง คุ ณ ประโยชน์ ต่ า งๆ ที่ ก รรมการแต่ ล ะคน สามารถทำ�ให้กับบริษัทได้และเปรียบเทียบกับบริษัทที่จดทะเบียน ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรม และธุรกิจที่มีขนาดใกล้เคียงกัน รวมถึงได้เทียบเคียงกับค่าเฉลี่ย ของบริษัทจดทะเบียน จากรายงานผลสำ�รวจอัตราค่าตอบแทน กรรมการบริษัทจดทะเบียนของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย การกำ � หนดค่ า ตอบแทนจะต้ อ งได้ รั บ การอนุ มั ติ ตามลำ�ดับอำ�นาจ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และเพื่ อ ความโปร่ งใส เช่ น ผู้ ถื อ หุ้ น อนุ มั ติ ค่ า ตอบแทนของ
• ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่ า ตอบแทนกรรมการบริ ษั ท กำ � หนดโดยที่ ป ระชุ ม ผู้ถือหุ้นในรูปของตัวเงิน ได้แก่ ค่าตอบแทนรายเดือน และ ค่าเบี้ยประชุม นอกจากนี้ ได้ผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริษัท โดยการนำ�เสนอจากคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ซึ่งค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการ จะกำ�หนดไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใสตามหลักปฏิบัติโดยทั่วไป ในอุตสาหกรรม โดยพิจารณาจากประสบการณ์ทำ�งาน ความ รู้ ความสามารถ สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ของกรรมการในการกำ�กับการทำ�งานของบริษัทและคำ�นึงถึง ผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น ค่าตอบแทนกรรมการ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชีย ล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 มีมติอนุมัติกำ�หนดค่าตอบแทนราย เดือนและค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ดังนี้
ตารางแสดงอัตราค่าตอบแทนกรรมการ ประจำ�ปี 2558 และ 2557
ตำ�แหน่ง
ค่าเบี้ยประชุม (ต่อครั้ง) คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนด บริษัท ตรวจสอบ บริหาร บรรษัทภิบาล ค่าตอบแทน 2558 2557 2558 2557 2558 2557 2558 2557 2558 2557 2558 2557 60,000 60,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 ค่าตอบแทน กรรมการ (ต่อเดือน)
ประธาน กรรมการที่ไม่เป็น 40,000 40,000 25,000 25,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 ผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 40,000 40,000 รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
49
ค่าตอบแทนกรรมการ ในปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ได้จ่ายค่าตอบแทนกรรมการ ซึ่งประกอบ ด้วย ค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุมกรรมการให้กับ กรรมการจำ�นวน 9 ราย รวมทั้งสิ้น 9,445,000 บาท ค่าตอบแทนผู้บริหาร - ไม่มี –
• ค่าตอบแทนอื่น ค่าตอบแทนอื่น หรือ ผลประโยชน์ตอบแทนอื่น หมาย ถึง หุ้น หุ้นกู้ รวมทั้งสิทธิประโยชน์อ่ืนๆ ทั้งที่เป็นตัวเงิน และ ไม่เป็นตัวเงิน นอกเหนือจากผลประโยชน์ทพ่ี งึ ได้รบั ตามปกติ ซึ่ง ได้แก่ เงินเดือน เบี้ยประชุม ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ - ไม่มี ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร - ไม่มี -
ตารางแสดงค่าตอบแทน และค่าตอบแทนอื่นของกรรมการบริษัท ประจำ�ปี 2558 และ 2557 รายนามกรรมการ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ 5. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี 6. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ 7. นางสุวรรณา พุทธประสาท 8. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 9. นางศศิธร พงศธร รวม
วันที่เริ่มเป็น กรรมการบริษัท 22 เม.ย. 22 เม.ย. 22 เม.ย. 22 เม.ย. 9 ต.ค. 3 พ.ค. 3 พ.ค. 14 ส.ค. 22 เม.ย.
2552 2552 2552 2552 2557 2554 2554 2556 2552
2558 ค่าตอบแทน โบนัส ผลประโยชน์ ค่าตอบแทน และเบี้ยประชุม (บาท) ตอบแทนอื่น/1 และเบี้ยประชุม (บาท) (บาท) (บาท) 1,080,000 -ไม่มี-ไม่มี1,005,000 1,500,000 -ไม่มี-ไม่มี1,415,000 1,115,000 -ไม่มี-ไม่มี1,110,000 1,110,000 -ไม่มี-ไม่มี1,130,000 1,060,000 -ไม่มี-ไม่มี187,000 1,240,000 -ไม่มี-ไม่มี1,145,000 780,000 -ไม่มี-ไม่มี765,000 1,080,000 -ไม่มี-ไม่มี1,130,000 480,000 -ไม่มี-ไม่มี480,000 9,445,000 8,367,000
2557 โบนัส ผลประโยชน์ (บาท) ตอบแทนอื่น/1 (บาท) -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-
หมายเหตุ /1 หมายถึง ผลประโยชน์ตอบแทนอื่น หมายถึง หุ้น หุ้นกู้ รวมทั้งสิทธิประโยชน์อื่นๆ ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน นอกเหนือจากผลประโยชน์ที่พึงได้รับตามปกติ ซึ่งได้แก่ เงินเดือน เบี้ยประชุม
50
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
51
ธรรมพรหมกุล
7. นายคุณวุฒิ
กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการบริหาร
ประธานกรรมการ
ตำ�แหน่ง
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
2,700,066 หุ้น ร้อยละ 0.020 ถือโดย คู่สมรส -ไม่มี1,216,592 หุ้น ร้อยละ 0.009
หมายเหตุ บริษัท/1 หมายถึง บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ย่อย/2 หมายถึง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทย่อย/3 หมายถึง บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
8. นางสุวรรณา พุทธประสาท 9. นางศศิธร พงศธร
สุนทรจิตต์เจริญ
6. นายนพร
วินัยแพทย์
4. นายอดุลย์
อัศวโภคี
พานิชพันธ์ เฮงสกุล
2. นายรัตน์ 3. นายไพโรจน์
5. นายสมศักดิ์
อัศวโภคิน
1. นายอนันต์
รายนามกรรมการ
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนการถือหลักทรัพย์ /1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3 บริษัท 4,634,761,967 หุ้น -ไม่มี-ไม่มีร้อยละ 33.982 ถือโดย บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี6,606,797 หุ้น -ไม่มี-ไม่มีร้อยละ 0.048
3,000,000 หุ้น ร้อยละ 0.023 ถือโดย คู่สมรส -ไม่มี747,524 หุ้น ร้อยละ 0.006
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
31 ธันวาคม 2557 จำ�นวนการถือหลักทรัพย์ /1 บริษัท บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3 4,485,253,517 หุ้น -ไม่มี-ไม่มีร้อยละ 33.982 ถือโดย บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ -ไม่มี-ไม่มี-ไม่ม-ี 6,393,675 หุ้น -ไม่มี-ไม่ม-ี ร้อยละ 0.048
ตารางแสดงจำ�นวนและสัดส่วนการถือหุ้นของกรรมการบริษัทที่ถือในบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 31 ธันวาคม 2557
ปัจจัยความเสี่ยง บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้งและเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจโดยการเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่น โดยไม่ได้ทำ�ธุรกิจ ของตนเอง (Non-Operating Holding Company) แต่ จ ะเข้ า ถื อ หุ้ นในบริ ษั ท อื่ น เพื่ อ การมี อำ � นาจควบคุ ม กิ จ การ บริษัทจัดตัง้ ขึน้ ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยทีก่ �ำ หนดให้ สถาบันการเงินปรับโครงสร้างการถือหุน้ ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ของตนเองให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ข อ ง บ ริ ษั ท แ บ่ ง ต า ม ลั ก ษ ณ ะ การประกอบธุรกิจของบริษัทย่อยและบริษัทที่บริษัทเข้าถือหุ้น โดยอ้อม ซึ่งแบ่งได้ 4 กลุ่มประเภทธุรกิจ ได้แก่ 1. ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. ธุรกิจหลักทรัพย์จดั การกองทุน ได้แก่ บริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด 3. ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ ได้ แ ก่ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 4. ธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน ได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด
ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมความเสี่ยงอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ บริษทั ได้ก�ำ หนดโครงสร้างและกำ�หนดนโยบายการบริหารความเสีย่ ง เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน และบริหารจัดการความเสีย่ ง รวมถึงกำ�หนดแนวปฏิบตั ทิ ส่ี อดคล้อง ตามกฎเกณฑ์ภายใต้การกำ�กับของธนาคารแห่งประเทศไทย
นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการบริหารความเสีย่ ง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ใช้ก�ำ กับ ดูแลการทำ�ธุรกรรมภายในและภายนอกกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ให้มีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มีการควบคุมภายในที่ดี และมีประสิทธิภาพ โดยการทำ�ธุรกรรมจะมีกระบวนการวิเคราะห์ ปัจจัยความเสี่ยงด้านต่างๆ เพื่อบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิด ขึ้ น อย่ า งเพี ย งพอและเหมาะสม มี ก ารทบทวนนโยบายอย่ า ง สม่�ำ เสมอให้ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยงในด้านต่างๆ และมี การกำ�หนดกลยุทธ์ในการจัดการความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต 52
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
โดยคำ � นึ ง ถึ ง ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ดังนี้ 1. นโยบายการบริหารความเสีย่ งของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน มีวตั ถุประสงค์เพือ่ กำ�หนดมาตรฐานในการระบุ ประเมิน ควบคุม ติดตาม และรายงานความเสี่ยงที่สำ�คัญของกลุ่มธุรกิจทางการ เงิน เพื่ อ เป็ น การสร้ า งกระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ ป็ น ระเบียบแบบแผนและเหมาะสมกับความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจ ของแต่ละบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน 2. นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งในการทำ � ธุ ร กรรม ภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เป็นแนวทางการกำ�กับดูแลการทำ� ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อให้การดำ�เนินงาน ภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงินมีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มี ก ารควบคุ ม ภายในที่ เ พี ย งพอ ซึ่ ง ได้ ใ ห้ บ ริ ษั ท ย่ อ ยภายใน กลุ่มธุรกิจทางการเงินรายงานการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้คณะกรรมการบริษัท ได้รับทราบระดับความเสี่ยงที่กลุ่มธุรกิจทางการเงินเผชิญอยู่ และเพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว่ า การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อยู่ ภ ายใต้ ข อบเขต ความเสี่ยงที่กำ�หนดไว้ 3. นโยบายการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจของกลุ่ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น เป็ น มาตรฐานขั้ น ต่ำ � ที่ บ ริ ษั ท และบริ ษั ท ในกลุ่มธุรกิจทางการเงินต้องมีความพร้อมในการตอบสนองต่อ เหตุการณ์วิกฤตที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรบุคคล สิ่งแวดล้อมหรื อ ความปลอดภั ย ของสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ให้ มั่ นใจว่ า บริ ษั ท และบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินสามารถ บริหารจัดการเหตุการณ์วิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถ ให้บริการลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสามารถจำ�กัดผลกระทบ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ธุ ร กิ จ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ บริ ก ารอั น เนื่ อ งมาจาก การหยุดชะงักของการดำ�เนินธุรกิจ
4. นโยบายการเปิ ด เผยข้ อ มู ล การดำ � รงเงิ น กองทุ น ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เป็นแนวทางการเปดิ เผยข้อมูลเกีย่ วกับ การดำ�รงเงินกองทุนและการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ การดำ�รง เงินกองทุน ระดับความเสี่ยง กระบวนการประเมินความเสี่ยง แ ล ะ ค ว า ม เ พี ย ง พ อ ข อ ง เ งิ น ก อ ง ทุ น เ พื่ อใ ห้ ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ประกอบการตั ด สิ น ใจ ในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินกับบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน
โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง กลุม่ ธุรกิจทางการเงินได้ก�ำ หนดโครงสร้างองค์กรให้สามารถ บริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งที่ ส อดคล้ อ งกั บ ระดั บ ความเสี่ ย ง ที่ยอมรับได้และสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และการควบคุมภายในที่ดี ดังนี้ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ กำ � หนดนโยบาย และแผนกลยุ ท ธ์ ก ารดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น และกำ�หนดนโยบายการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ รวมถึงการทำ�ธุรกรรม ภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงินและกำ�หนดให้มรี ะบบการควบคุมภายใน ที่ เ พี ย งพอเหมาะสม ดู แ ลให้ บ ริ ษั ทในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย รวมถึ ง การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ การกำ�กับดูแลการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงินที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด คณะกรรมการบริหาร มีหน้าทีเ่ สนอนโยบายและแผนกลยุทธ์ การดำ�เนินธุรกิจต่อคณะกรรมการบริษัท ดูแลการปฎิบัติงาน ให้เป็นไปตามแผนงาน ประเมินผลการปฏิบตั งิ านรวมทัง้ วิเคราะห์ เพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และแนวทางแก้ไข
คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่สอบทานให้กลุ่มธุรกิจ ทางการเงิ น มี การรายงานทางการเงิ น อย่า งครบถ้ ว นเพี ย งพอ และเปิดเผยข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และสอดคล้อง ตามกฎระเบียบของธนาคารแห่งประเทศไทย รวมถึงสอบทาน ให้กลุ่มธุรกิจทางการเงินมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม มี ก ารกำ � กั บ ดู แ ลและติ ด ตามการปฏิ บั ติ ต ามแนวนโยบาย ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีหน้าที่กำ�หนดนโยบาย การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี นโยบายป้ อ งกั น การจ่ า ยเงิ น เพื่ อ การคอร์รปั ชัน่ ดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายดังกล่าว เป็นตัวแทน บริษัทในการสื่อสารและดำ�เนินกิจกรรมด้านบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีหน้าที่ ควบคุม ติดตาม และดูแลให้บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินดำ�เนินการตามนโยบาย การบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ไ ด้ กำ � หนดไว้ รวมถึ ง ประเมิ น ผล การบริหารความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทางการเงินและรายงานต่อ คณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าที่ คั ด เลื อ กกรรมการ หรื อ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เสนอแนวทาง การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อน่ื ใดของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย พิจารณากรอบโครงสร้างค่าตอบแทน การขึ้ น เงิ น เดื อ นและโบนั ส ประจำ � ปี ข องผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และพนั ก งาน พิ จ ารณานโยบาย แนวทางและวิ ธี ก ารจั ด ทำ � แผนสืบทอดตำ�แหน่งผู้บริหารเพื่อความต่อเนื่องในการบริหาร
ความเสีย่ งของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถือหุ้นในบริษัทอื่น และไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง ดังนั้น ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น กับบริษัทสามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัท 2. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัทย่อยของ บริษัท ได้แก่ 2.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2.2 บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ แ ลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ � กั ด (มหาชน)
1. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัท
เนื่ อ งจากบริ ษั ท มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการจั ด ตั้ ง เพื่ อ ลงทุ น ในกิจการอื่นและไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง ดังนั้น การตัดสินใจ ลงทุนในกิจการต่างๆ จึงมีความสำ�คัญต่อผลการดำ�เนินงาน ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีเงินลงทุน รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
53
ในบริ ษั ทย่ อย 2 แห่ ง ได้แ ก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ � กั ด (มหาชน) ดั ง นั้ น ผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท จึ ง มี ความสัมพันธ์โดยตรงกับผลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อย แม้ว่า จะมี ผ ลกำ �ไรจากการดำ � เนิ น งานในอดี ต แต่ บ ริ ษั ทไม่ ส ามารถ รั บ ประกั นได้ ว่ า บริ ษั ท ย่ อ ยจะสามารถสร้ า งกำ �ไรให้ กั บ บริ ษั ท ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจากผลประกอบการขึ้ น อยู่ กั บ ปั จ จั ย ความเสีย่ งภายในกิจการและปัจจัยความเสีย่ งภายนอกเป็นสำ�คัญ บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการเลื อ กบริ ษั ท ที่จะลงทุนในอนาคต โดยเน้นลงทุนในธุรกิจที่ช่วยเสริมศักยภาพ ในการแข่งขันให้กับกลุ่มธุรกิจทางการเงิน โดยพิจารณาจาก แนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรม การแข่งขัน และศักยภาพ ในการทำ�กำ�ไรระยะยาว รวมถึงความมีประสิทธิภาพของระบบ การควบคุมและการบริหารความเสี่ยง 1.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคา คือ ความเสีย่ ง ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยและราคาของ หลักทรัพย์ ซึง่ จะมีผลทำ�ให้เกิดความผันผวนต่อรายได้ของบริษทั หรือการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของสินทรัพย์และหนี้สิน ทางการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทไม่มีความเสี่ยงจาก การเปลี่ยนแปลงของราคา เนื่องจากบริษัทไม่มีเงินลงทุนเพื่อค้า 1.2 ความเสี่ยงจากการถือหุ้นของผู้ลงทุนในหลักทรัพย์ ของบริษัท ผู้ ถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ การถือหุ้น ซึ่งอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีสาระสำ�คัญ ดังนี้ • การรายงานการถือหุน้ ต่อธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ ที่ ถื อ หุ้ น หรื อ มี ไ ว้ ซึ่ ง หุ้ น ของสถาบั น การเงิ น ทั้งทางตรงหรือทางอ้อมตั้งแต่ร้อยละห้าขึ้นไปของจำ�นวนหุ้น ที่ จำ � ห น่ า ยไ ด้ แ ล้ ว ทั้ ง ห ม ด ต้ อ ง ร า ย ง า น ก า ร ถื อ หุ้ น ต่ อ ธนาคารแห่งประเทศไทย (อ้างอิงตามมาตรา 17) • การห้ามหรือจำ�กัดปริมาณการถือครองหุ้น ห้ามบุคคลใดถือหุ้นหรือมีไว้ซึ่งหุ้นของสถาบัน การเงินแห่งใดแห่งหนึ่งเกินร้อยละสิบของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่าย ได้แล้วทัง้ หมด เว้นแต่ได้รบั อนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย (อ้างอิงตามมาตรา 18) • การนำ � หุ้ น ส่ ว นเกิ น ออกจำ � หน่ า ยหรื อ การขาย ทอดตลาด บุคคลที่ถือหุ้นหรือมีไว้ซึ่งหุ้นเกินกว่าที่กำ�หนด ตามมาตรา 18 ต้องนำ�หุ้นในส่วนที่เกินออกมาจำ�หน่ายภายใน 54
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหุ้นนั้นมา หากผู้ถือหุ้นไม่จำ�หน่ายหุ้น ในส่วนทีเ่ กินภายในเวลาทีก่ �ำ หนดหรือตามเวลาทีไ่ ด้รบั การผ่อนผัน ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจร้องขอต่อศาลให้มีคำ�สั่งให้ขาย ทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นก็ได้ (อ้างอิงตามมาตรา 19) 1.3 ความเสี่ยงจากความไม่เพียงพอของเงินกองทุน การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุน ภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ตามหลักการของ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) ซึ่ ง ครอบคลุ ม เรื่อ ง การดำ�รงเงินกองทุนและการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง สำ�หรับกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อกำ�กับดูแลทั้งในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยกำ�หนดให้กลุ่มธุรกิจทางการเงินต้องดำ�รง เงินกองทุนเพิ่มขึ้น เพื่อให้เพียงพอรองรับความเสียหายที่อาจ เพิ่ ม ขึ้ น ทั้ งในภาวะปกติ แ ละภาวะวิ ก ฤต อี ก ทั้ ง เป็ น การเพิ่ ม ความแข็งแกร่งของฐานเงินกองทุนและกำ�หนดกรอบในการบริหาร ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การกำ � กั บ ดู แ ลเงิ น กองทุ น ตามหลั ก เกณฑ์ Basel III ได้กำ�หนดให้กลุ่มธุรกิจทางการเงินดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุน ต่ อ สิ น ทรั พ ย์ เ สี่ ย งทั้ ง สิ้ นไม่ ต่ำ � กว่ า ร้ อ ยละ 8.5 โดยแบ่ ง เป็ น อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้นไม่ต่ำ�กว่า ร้อยละ 6 และอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของ เจ้าของต่อสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้นไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 4.5 โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลุ่มธุรกิจทางการเงิน มีอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 14.29 อั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ชั้ น ที่ 1 ต่ อ สิ น ทรั พ ย์ เ สี่ ย งอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 10.61 และอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ ต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 10.61 ซึ่งเป็นอัตราส่วนที่สูงกว่า อั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ขั้ น ต่ำ � ตามที่ ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทย กำ�หนด เงินกองทุนตามกฎหมายภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ทั้งสิ้น จำ�นวน 21,651.23 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของจำ�นวน 16,068.74 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 74.22 ของเงินกองทุนทั้งสิ้นและมีเงินกองทุนชั้นที่ 2 จำ � นวน 5,582.49 ล้ า นบาท หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 25.78 ของเงินกองทุนทั้งสิ้น ซึ่งเป็นระดับที่เพียงพอต่อการดำ�เนินธุรกิจ และสามารถรองรับการเติบโตภายใต้ภาวะปกติและภาวะวิกฤตได้ 1.4 ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานทางการ บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินมีหน้าทีป่ ฏิบตั ติ ามนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับและหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่หน่วยงานทางการ กำ�หนด ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์
แห่งประเทศไทย สำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และหน่วยงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง 1.5 ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ความเสีย่ งด้านชือ่ เสียง หมายถึง ความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดจาก การทีบ่ ริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินดำ�เนินธุรกิจ หรือการไม่ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ของทางการโดยไม่เจตนา ซึ่งอาจ ก่ อให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ชื่ อ เสี ย งของบริ ษั ท และกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิน ตั้งแต่การมีภาพลักษณ์ในทางลบ การถูกเผยแพร่ ในสื่อต่างๆ ทั้งในวงจำ�กัดและวงกว้าง การถูกร้องเรียน การถูก ฟ้องร้องดำ�เนินคดี หากปัญหาเกิดขึ้นกับบริษัทใดบริษัทหนึ่ง ในกลุ่ มธุ ร กิ จทางการเงิน อาจส่งผลกระทบไปยังบริ ษั ทอื่ นๆ ในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริ ษั ท ได้ กำ � หนดกรอบการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง ด้ า นชื่ อ เสี ย ง โดยกำ � หนดให้ บ ริ ษั ทในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น มี ก ารรายงานสถานะความเสี่ ย งหรื อ การเปลี่ ย นแปลงใดๆ ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านชื่อเสียง เพื่อให้มีการติดตาม และจัดการความเสี่ยงได้อย่างทันกาล
2. ความเสี่ ย งจากการประกอบกิ จ การของ บริษัทย่อยของบริษัท
2.1 ความเสี่ยงจากธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อย) ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารได้วางกรอบและกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจให้มี การเติ บโตบนพื้ น ฐานการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ควบคูก่ บั การสร้างผลตอบแทนทีย่ ง่ั ยืน ธนาคารมีการควบคุมดูแล การบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ มีการกำ�หนดโครงสร้าง และนโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร อย่างชัดเจน เพื่อวัตถุประสงค์หลักในการป้องกันความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยง และความเพียงพอของเงินกองทุนต่อสาธารณะซึ่งเป็นไปตาม หลั ก การและแนวปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ์ ภ ายใต้ ก ารกำ � กั บ ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการบริหารความเสีย่ ง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ใช้ก�ำ กับ ดูแลการทำ�ธุรกรรมของธนาคารและเป็นแนวทางในการบริหาร ความเสี่ยงต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มีระบบการควบคุม ภายในทีเ่ พียงพอ โดยการทำ�ธุรกรรมแต่ละประเภทจะมีกระบวนการ วิเคราะห์เพือ่ บริหารความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยมีคณะกรรมการ ชุดต่างๆ ของธนาคารเป็นผูก้ �ำ กับดูแลให้หน่วยงานภายในธนาคาร ดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารความเสีย่ ง ดังนี้ 1. นโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคาร ได้ก�ำ หนดนโยบายการบริหารความเสีย่ งด้านเครดิต และหลักเกณฑ์ การพิจารณาสินเชื่อเพื่อควบคุมป้องกันและลดทอนความเสี่ยง อันอาจจะเกิดขึ้นจากธุรกรรมการให้สินเชื่อ เพื่อให้เกิดความ สมดุลระหว่างความเสี่ยงในการให้สินเชื่อกับผลตอบแทนที่ได้รับ โดยกำ � หนดนโยบายให้ มี เ ป้ า หมายและกระบวนการที่ มี ความเหมาะสมกั บ ความเสี่ ย งของสิ น เชื่ อ แต่ ล ะประเภทเพื่ อ กำ�หนดเป้าหมายที่ชัดเจนในการปฏิบัติงาน และมีความยืดหยุ่น ในการปรับปรุงนโยบายภายใต้ระดับความเสีย่ งต่างๆ ทีย่ อมรับได้ 2. นโยบายการบริหารความเสีย่ งด้านตลาดและสภาพคล่อง เป็นแนวทางในการบริหารการลงทุนในหลักทรัพย์ และการบริหาร สภาพคล่ อ งให้ เ หมาะสม สามารถรองรั บ การจ่ า ยคื น หนี้ สิ น และภาระผูกพันที่จะถึงกำ�หนดชำ�ระ การรักษาระดับรายได้จาก ดอกเบี้ยสุทธิให้เป็นไปตามเป้าหมาย รวมทั้งพัฒนากระบวนการ ในการบริหารความเสี่ยงและติดตามสถานะความเสี่ยงด้านตลาด อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การดู แ ลให้ โ ครงสร้ า งสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น มีความเหมาะสม มีแหล่งเงินทุนหรือสินทรัพย์ทพ่ี ร้อมจะเปลีย่ นเป็น เงิ น สดได้ เ พี ย งพอเพื่ อ รองรั บ ความเสี่ ย งในภาวะปกติ แ ละ ภาวะวิกฤตภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 3. นโยบายการบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร ธนาคาร ได้ กำ � หนดนโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร ที่ครอบคลุมถึงการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้ บ ริ ก ารจากบุ ค คลภายนอก การออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ การจัดทำ�แผนการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และการรายงาน เหตุ ก ารณ์ ค วามเสี ย หายจากการปฏิ บั ติ ง านซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แนวปฏิบตั ขิ องธนาคารแห่งประเทศไทย และ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) 4. นโยบายการประเมินความเสี่ยงและความเพียงพอของ เงินกองทุนและนโยบายการทดสอบภาวะวิกฤต เป็นแนวทาง รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
55
เพื่อให้ธนาคารดูแลเงินกองทุนให้เพียงพอที่จะรองรับความเสี่ยง สำ�คัญทั้งหมดที่ธนาคารมีอยู่ท้ังในภาวะปกติและภาวะวิกฤต โดยนโยบายได้ เ น้ น ถึ ง ขั้ น ตอนกระบวนการบริ หารความเสี่ ย ง และการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุนทีเ่ ป็นระบบ เพือ่ รักษา ระดับเงินกองทุนให้เพียงพอสำ�หรับปัจจุบันและอนาคต 5. นโยบายการเปิดเผยข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุนและ การบริหารความเสีย่ ง เพือ่ เป็นแนวทางการเปดิ เผยข้อมูลเกีย่ วกับ การดำ�รงเงินกองทุนและการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ ข้อมูล โครงสร้างเงินกองทุนและความเพียงพอของเงินกองทุน ตลอดจน กระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆ เพื่อให้นักลงทุน ผู้ถือ หุน้ และผู้ที่มีส่วนได้เสียได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถ ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ในการวิ เ คราะห์ ตั ด สิ น ใจในการทำ � ธุ ร กรรม กับธนาคาร โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง ธนาคารมี โ ครงสร้ า งองค์ ก รที่ ส ามารถบริ ห ารจั ด การ ความเสี่ยงและสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และการควบคุมภายในที่ดี ดังนี้ คณะกรรมการธนาคาร (Board of Directors) มีหน้าที่ รั บ ผิ ด ชอบในการดู แ ลให้ ฝ่ า ยจั ด การมี ก ารกำ � หนดนโยบาย กระบวนการและการควบคุมด้านการบริหารความเสี่ยงประเภท ต่ า งๆ และอนุ มั ติ นโยบายดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง ทบทวนกลยุ ท ธ์ การปฏิบัติจริงและนโยบายในเรื่องดังกล่าวอย่างสม่ำ�เสมอ คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่รับผิดชอบเสนอนโยบาย และแผนกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจต่อคณะกรรมการธนาคาร ดูแล การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน ประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งวิเคราะห์เพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และแนวทางแก้ไข คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) มีหน้าที่ รั บ ผิ ด ชอบในการติ ด ตามดู แ ลให้ มั่ นใจว่ า นโยบายและระบบ การบริหารความเสี่ยงได้นำ�ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลต่อองค์กร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบกำ�หนดนโยบายและวางกลยุทธ์ การบริหารความเสี่ยงซึ่งครอบคลุมความเสี่ยงประเภทต่ างๆ ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด รวมทั้งมีการประเมิน ติดตามและดูแลการปฏิบัติตามนโยบายที่ได้รับการอนุมัติ คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน (Asset and Liability Committee) มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการบริ ห าร และเสนอแนะการบริหารสภาพคล่อง ประเมิน ติดตาม และจัดทำ� แผนการบริหารความเสีย่ งด้านตลาดและอัตราดอกเบีย้ ความเสีย่ ง ด้านสภาพคล่อง รวมถึงกำ�หนดแผนการลงทุนและดูแลให้มีการ ปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนงาน 56
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
คณะอนุ ก รรมการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร (Sub-Operational Risk Management Committee) มีหน้าที่รับผิดชอบในการกำ�หนดนโยบายการบริหารความเสี่ยง ด้ า นปฏิ บั ติ ก ารและนโยบายต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ควบคุ ม ดู แ ล ความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร การปฏิ บั ติ ต ามกรอบการบริ ห าร ความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร และแผนรองรั บ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมถึ ง พิ จ ารณากำ � หนดแนวทางแก้ ไ ข ที่เหมาะสมในกรณีที่พบข้อบกพร่อง รายงานสถานะความเสี่ยง การเปลี่ยนแปลงสถานะความเสี่ยงด้านปฏิบัติการที่มีนัยสำ�คัญ ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง นอกจากนี้ ธนาคารมีคณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่อกำ�กับ ดูแลและควบคุมความเสี่ยงเฉพาะด้าน เช่น คณะกรรมการ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการสินเชื่อ คณะกรรมการ พัฒนาสินเชื่อ เป็นต้น มีฝ่ายบริหารความเสี่ยงเป็นหน่วยงานดูแล การบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของธนาคารและรายงานตรงต่อ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีฝ่ายตรวจสอบ ทำ�หน้าที่ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน รวมถึงการ สอบทานความถูกต้อง เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินและ การปฏิบตั ติ ามระเบียบ ข้อบังคับ ของทางการ และรายงานตรงต่อ คณะกรรมการตรวจสอบ ปัจจัยความเสี่ยง การดำ�เนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์มีความเกี่ยวข้องโดยตรง ต่อตลาดการเงินและภาวะเศรษฐกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ สภาพแวดล้อม ในการดำ�เนินธุรกิจไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของการเปลีย่ นแปลงกฎระเบียบ ของทางการ การปรับตัวของคู่แข่ง การชุมนุมทางการเมือง ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์ เช่นกัน การบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ส อดคล้ อ งกั บ แนวทางของ ธนาคารแห่งประเทศไทยสามารถแบ่งออกเป็น 5 ด้านหลักๆ คือ ความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ ความเสี่ ย งด้ า นเครดิ ต ความเสี่ ย ง ด้ า นตลาด ความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ งและความเสี่ ย ง ด้านปฏิบัติการ โดยธนาคารมีนโยบายและกระบวนการปฏิบัติ ในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ หมายถึง ความเสี่ยงอันเกิดจาก การกำ�หนดแผนกลยุทธ์ไม่เหมาะสมและการไม่สามารถปฏิบัติ ตามแผนกลยุ ท ธ์ ที่ กำ � หนดไว้ รวมไปถึ ง ความไม่ ส อดคล้ อ ง ระหว่างกลยุทธ์ นโยบาย เป้าหมาย โครงสร้างองค์กร การแข่งขัน และทรั พ ยากรขององค์ ก รอั น เป็ น ผลมาจากปั จ จั ย ภายใน
และสภาพแวดล้อมภายนอกธนาคาร ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อ ศักยภาพในการแข่งขัน รายได้ และเงินกองทุนของธนาคาร 1.1 ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจ และการแข่งขัน ความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจ อาจมีผลกระทบต่อ การเติบโตของธุรกิจและคุณภาพสินเชื่อ ธนาคารจึงได้จัดทำ� แผนธุรกิจ งบประมาณประจำ�ปี การทำ�ประมาณการเงินกองทุน โดยผู้บริหารแต่ละหน่วยงานมีส่วนร่วมในการจัดทำ�และแสดง ความคิดเห็น โดยแผนธุรกิจ และงบประมาณ ได้นำ�เสนอต่อ คณะกรรมการธนาคารเพื่อพิจารณาอนุมัติ และมีการทบทวน แผนธุรกิจและงบประมาณเป็นประจำ�ทุกครึ่งปี เพื่อให้สอดคล้อง กับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีคณะกรรมการบริหาร เป็ น ผู้ ติ ด ตามผลการดำ � เนิ น งานเปรี ย บเที ย บกั บ แผนธุ ร กิ จ อย่างสม่ำ�เสมอ 1.2 ความเสี่ยงจากความไม่เพียงพอของเงินกองทุน การเปลีย่ นแปลงหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุนภายใต้ หลักเกณฑ์ Basel III ตามหลักการของ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) ซึ่งครอบคลุมเรื่องการ ดำ � รงเงิ น กองทุ น และการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง ของธนาคาร ที่ กำ � กั บ ดู แ ลทั้ งในเชิ ง ปริ ม าณและเชิ ง คุ ณ ภาพ และกำ�หนดให้ธนาคารต้องดำ�รงเงินกองทุนเพิม่ ขึน้ เพือ่ ให้เพียงพอ ที่ จ ะรองรั บ ความเสี ย หายที่ อ าจเพิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง ในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต รวมทั้งเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งของเงินกองทุน การกำ � กั บ ดู แ ลเงิ น กองทุ น ตามหลั ก เกณฑ์ Basel III ได้ กำ � หนดให้ ธ นาคารต้ อ งดำ � รงอั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ต่ อ สินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ ไม่ต�ำ่ กว่าร้อยละ 8.50 โดยแบ่งเป็นอัตราส่วน เงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 6.00 และอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของต่อ สินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 4.50 โดย ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 ธนาคารดำ � รง อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 14.01 อั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ชั้ น ที่ 1 ต่ อ สิ น ทรั พ ย์ เ สี่ ย งอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 10.18 และอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ ต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 10.18 ซึ่งเป็นอัตราส่วนที่สูงกว่า อั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ขั้ น ต่ำ � ตามที่ ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทย กำ�หนด ธนาคารมี เ งิ น กองทุ น ตามกฎหมายภายใต้ ห ลั ก เกณฑ์ Basel III ทัง้ สิน้ จำ�นวน 20,936.11 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกองทุน ชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของจำ�นวน 15,202.82 ล้านบาท หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 72.62 ของเงิ น กองทุ น ทั้ ง สิ้ น และ มีเงินกองทุนชั้นที่ 2 จำ�นวน 5,733.29 ล้านบาท หรือคิดเป็น
ร้อยละ 27.38 ของเงินกองทุนทั้งสิ้น ซึ่งเป็นระดับที่เพียงพอ ต่ อ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ และสนั บ สนุ น การเติ บ โตทางธุ ร กิ จ ให้เป็นไปตามเป้าหมายและกลยุทธ์ที่วางไว้ภายใต้ภ าวะปกติ และภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ธนาคารได้ มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งและ ความเพียงพอของเงินกองทุน (ICAAP) เพื่อรองรับความเสี่ยง ประเภทต่างๆ ตามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุนตามที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด ทำ�ให้มั่นใจว่าธนาคารสามารถ บริ ห ารจั ด การเงิ น กองทุ น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ฐ านะ เงินกองทุนที่แข็งแกร่ง สามารถรองรับความเสี่ยงด้านต่างๆ ได้ทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต และมีเงินกองทุนที่เพียงพอ รองรับการขยายตัวในการดำ�เนินธุรกิจ 2. ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านเครดิต หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น จากการที่ลูกหนี้หรือคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาในการ ชำ�ระหนี้คืน หรือความเสี่ยงที่เกิดจากโอกาสที่ลูกหนี้หรือคู่ค้า อาจไม่สามารถชำ�ระหนีค้ นื ได้จนเป็นเหตุให้ลกู หนีถ้ กู ปรับลดอันดับ ความน่าเชื่อถือลงได้ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อฐานะเงินกองทุน และรายได้ ข องธนาคาร โดยมี ส าเหตุ จ ากปั จ จั ย ความเสี่ ย ง ภายนอก เช่น การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย กฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ เป็นต้น และจากปัจจัยความเสีย่ ง ภายใน เช่น การขาดการกำ�กับดูแลควบคุม การขาดการติดตาม ให้ลูกหนี้ปฏิบัติตามเงื่อนไขและสัญญา กระบวนการพิจารณา สินเชื่อและการสอบทานสินเชื่อไม่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น โดย ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงด้านเครดิต ได้แก่ ธุรกรรม การให้สินเชื่อและคล้ายการให้สินเชื่อ ธุรกรรมที่คู่สัญญามีภาระ ทีต่ อ้ งส่งมอบสินทรัพย์หรือชำ�ระหนีแ้ ก่ธนาคาร ธุรกรรมทีเ่ กีย่ วกับ การลงทุนในตราสารหนี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
57
เครื่องมือบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารได้ พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการกลั่ น กรองและ แยกแยะระดั บ ความเสี่ ย งของลู ก หนี้ ทั้ ง ในกรณี ที่ ผู้ กู้ เ ป็ น บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลเพื่อช่วยให้การอนุมัติสินเชื่อเป็นไป อย่างน่าเชื่อถือและมีประสิทธิภาพ ดังนี้ • Credit Scoring Model เป็นเครื่องมือแยกแยะ และจัดระดับความเสี่ยงของผู้กู้ที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งตัวแบบที่ใช้ประกอบการพิจารณาสินเชื่อ ได้รับ การพัฒนาด้วยข้อมูลพื้นฐานทางสถิติของลูกค้าของ ธนาคาร ประกอบกั บใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ของผู้ เ ชี่ ย วชาญ (Expert Base) • Credit Rating Model เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ย กลั่นกรองและแยกแยะระดับความเสี่ยงของผู้กู้ที่เป็น นิติบุคคล ธนาคารตระหนักถึงระดับความแม่นยำ� และประสิ ทธิภาพของเครื่องมือดัง กล่าวที่ธ นาคาร นำ � มาใช้ ป ระกอบการพิ จ ารณาอนุ มั ติ สิ น เชื่ อ โดย ธนาคารมี ก ารติ ด ตามผลของการใช้ ตั ว แบบและ วิ เ คราะห์ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการใช้ ง านอย่ า งสม่ำ � เสมอ รวมถึ ง พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งมื อ วั ด ความเสี่ ย ง ด้านเครดิตให้สามารถสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ ธนาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารมี ก ระบวนการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง ด้านเครดิต โดยมีการตรวจสอบและถ่วงดุลอำ�นาจซึ่งกันและกัน มีการแบ่งแยกหน้าที่อย่างชัดเจนระหว่างเจ้าหน้าที่การตลาด เจ้าหน้าที่พิจารณาความเสี่ยงสินเชื่อ เจ้าหน้าที่ประเมินราคา หลักประกันและเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ในกระบวนการพิจารณา อนุมัติสินเชื่อ ธนาคารมีหน่วยงานที่มีความเป็นอิสระ ได้แก่ สำ � นั ก พิ จ ารณาความเสี่ ย งสิ น เชื่ อ ธุ ร กิ จ และสำ � นั ก พิ จ ารณา ความเสี่ ย งสิ น เชื่ อ รายย่ อ ย ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ใ ห้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ ประเด็นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการให้สินเชื่อสำ�หรับลูกค้า แต่ละรายเพื่อให้มั่นใจได้ว่าสินเชื่อที่จะอนุมัติได้รับการพิจารณา กลั่นกรองด้วยความระมัดระวัง รวมทั้งมีหน่วยงานสอบทาน สินเชื่อที่มีความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่สอบทานความถูกต้อง ของสินเชื่อที่ผ่านการอนุมัติ มีการติดตามการปฏิบัติตามเงื่อนไข สินเชื่อ การสร้างความเข้าใจ และอบรมเสริมความรู้ด้านสินเชื่อ ให้เจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�การตลาด สินเชื่อให้ได้สินเชื่อที่มีคุณภาพ การบริหารพอร์ตสินเชื่อ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับคุณภาพลูกหนี้ตามประเภท ธุรกิจและสัดส่วนการกระจุกตัวของสินเชื่อ ดังนั้น ธนาคาร 58
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของพอร์ตสินเชื่อในมิติต่างๆ อาทิ คุณภาพของพอร์ตสินเชื่อแยกตามประเภทสินเชื่อและประเภท ธุรกิจ สัดส่วนยอดหนี้ลูกหนี้รายใหญ่ 20 รายแรกต่อเงินกองทุน ทั้งหมดของธนาคารเพื่อให้ทราบถึงคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อ และแนวโน้มความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ความเสี่ยงด้านเครดิต ประกอบด้วย
2.1 ความเสี่ยงจากการด้อยคุณภาพของสินเชื่อ การเพิ่มขึ้นของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพเป็นความเสี่ยง ที่สำ�คัญของธนาคาร ทำ�ให้ธนาคารต้องกันเงินสำ�รองสำ�หรับ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อความสามารถ ในการทำ�กำ�ไรและความเพียงพอของเงินกองทุนของธนาคาร อย่างไรก็ตาม ธนาคารได้กำ�หนดกระบวนการควบคุมสินเชื่อ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ โดยเน้นเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร สิ น เชื่ อ ตั้ ง แต่ ก ระบวนการพิ จ ารณาอนุ มั ติ สิ น เชื่ อ ที่ มี ความเข้มงวด เช่น การกำ�หนดหลักเกณฑ์การพิจารณาสินเชื่อ รายย่อย เพือ่ ใช้เป็นมาตรฐานในการพิจารณาสินเชือ่ และหลีกเลีย่ ง การใช้ดุลยพินิจของผู้ปฏิบัติงาน การกำ�หนดเงินดาวน์ข้นั ต่ำ�ของ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยสำ�หรับลูกค้าที่มีความเสี่ยงสูง การกำ�หนด มาตรฐานขั้ น ต่ำ � เกี่ ย วกั บ คุ ณ สมบั ติ ข องผู้ กู้ ใ นแต่ ล ะด้ า น นอกจากนี้ ธนาคารได้มีการปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ ในการกลั่นกรองและแยกแยะระดับความเสี่ยงของลูกหนี้ เพื่อ ช่วยลดความเสี่ยงจากกระบวนการอนุมัติสินเชื่อ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการจัดการหนี้ที่เริ่มจะมีปัญหา หรือหนี้ที่มีปัญหา โดยจัดให้มีหน่วยงานที่ทำ�หน้าที่ติดตามหนี้ โดยเฉพาะ 2.2 ความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของสินเชื่อ ธนาคารได้ตระหนักถึงความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของ สินเชือ่ ในหลายมิตทิ ง้ั เรือ่ งการกระจุกตัวของลูกหนีร้ ายใหญ่ และ การกระจุกตัวของลูกหนีใ้ นแต่ละภาคธุรกิจ โดยธนาคารได้ก�ำ หนด เพดานความเสี่ยงและระดับการแจ้งเตือน เพื่อใช้ควบคุมไม่ให้ เกิดการกระจุกตัวของสินเชื่ออย่างมีนัยสำ�คัญ และรายงานให้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงรับทราบอย่างสม่ำ�เสมอ 2.3 ความเสี่ยงจากการด้อยค่าของมูลค่าหลักประกัน ประเภทอสังหาริมทรัพย์ เงินให้สินเชื่อของธนาคารส่วนใหญ่เป็นเงินให้สินเชื่อที่ มีหลักประกัน คิดเป็นร้อยละ 63.18 ของเงินให้สินเชื่อทั้งสิ้น โดยมีหลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์คิดเป็นร้อยละ 96.89 ของหลั ก ประกั น ทั้ ง สิ้ น ซึ่ ง เมื่ อ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ที่ ทำ �ให้ ต ลาด อสังหาริมทรัพย์ซบเซาอาจทำ�ให้ธนาคารมีความเสี่ยงจากการที่
อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นหลักประกันมีมูลค่าลดลง ธนาคารจึงมี การบริหารความเสี่ยงจากการด้อยค่าของมูลค่าหลักประกัน โดย การกำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการประเมินราคาหลักประกัน ซึ่ง กำ�หนดให้มีการทบทวนราคาประเมินหลักประกันเป็นประจำ� ตามระยะเวลาของการจัดชั้นสินทรัพย์ ได้แก่ สินทรัพย์จัดชั้น ปกติ สินทรัพย์จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ สินทรัพย์จัดชั้นต่ำ�กว่า มาตรฐาน สินทรัพย์จัดชั้นสงสัย และสินทรัพย์จัดชั้นสงสัยจะ สูญ รวมทั้งทบทวนราคาประเมินอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาจาก การชำ � ระหนี้ ห รื อ ซื้ อ จากการขายทอดตลาดเป็ น ประจำ � ทุ ก ปี โดยระยะเวลาการทบทวนราคาดั ง กล่ า วเป็ นไปตามประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทย ทั้งนี้เพื่อสะท้อนมูลค่าที่แท้จริงของ หลักประกันตามสภาวะปัจจุบัน 3. ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงด้านตลาด หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจาก การเคลื่ อ นไหวของอั ต ราดอกเบี้ ย อั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่างประเทศ ราคาตราสารในตลาดเงิน ตลาดทุนที่มีผลกระทบ ต่อรายได้ของธนาคารและปริมาณเงินกองทุนของธนาคารโดย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลง ของราคา ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงด้าน อัตราแลกเปลี่ยน โดยธนาคารมีนโยบายการควบคุมและจัดการ ความเสี่ยงทุกประเภทให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม และเป็นไปตาม นโยบายการบริหารความเสี่ยงของธนาคาร 3.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาเป็นความเสี่ยง ที่อาจได้รับความเสียหายอันสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง อั ต ราดอกเบี้ ย และราคาของหลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ธนาคาร มี ค วามเสี่ ย งจากการเปลี่ ย นแปลงของราคาอยู่ ใ นระดั บ ต่ำ � เนื่ อ งจากธนาคารไม่ มี นโยบายที่ จ ะลงทุ นในหลั ก ทรั พ ย์ ที่ มี ความเสี่ยงสูง เช่น ตราสารอนุพันธ์
การลงทุ น ส่ ว นใหญ่ ข องธนาคารเป็ น การลงทุ น ที่ มี วัตถุประสงค์เพื่อดำ�รงเป็นสินทรัพย์สภาพคล่องตามที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยกำ�หนด ธนาคารจึงเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ ที่ มี ค วามเสี่ ย งต่ำ � โดยส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การลงทุ นในหลั ก ทรั พ ย์ ภาครัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิมจี �ำ นวน 45,965.02 ล้านบาท (ไม่รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อยจำ�นวน 257.29 ล้านบาท) แบ่งเป็นเงินลงทุนเผื่อขายซึ่งมีมูลค่ายุติธรรม จำ�นวน 1,135.55 ล้านบาท และตราสารหนีท้ จ่ี ะถือจนครบกำ�หนด จำ�นวน 44,824.21 ล้านบาท นอกจากนี้ ยังมีเงินลงทุนทั่วไป ที่เป็นตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด จำ�นวน 5.26 ล้านบาท แนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านราคาเพื่อให้สอดคล้อง กับประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารมีการใช้แบบจำ�ลอง ของ Value-at-Risk (VaR Model) เพื่อวัดผลขาดทุนสูงสุด ณ ระดับความเชื่อมั่นหนึ่งๆ หากถือครองหลักทรัพย์ในช่วง ระยะเวลาที่กำ�หนด โดยธนาคารได้ใช้ค่าความเสี่ยงที่คำ�นวณได้ เป็ น แนวทางในการกำ � หนดระดั บ ความเสี่ ย งที่ ย อมรั บ ได้ นอกจากนี้ ธนาคารมีการจำ�ลองเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจส่งผล กระทบต่อการลดลงของราคาหลักทรัพย์อย่างรุนแรงเฉียบพลัน หรือการทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test) เพื่อให้ธนาคาร สามารถประเมินความเสียหายจากความเสี่ยงในกรณีที่อยู่ภายใต้ ภาวะวิกฤต 3.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ ย งจากอั ต ราดอกเบี้ ย หมายถึ ง ความเสี่ ย ง ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดซึ่งอาจ จะทำ �ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงต่ อ มู ล ค่ า ตราสารทางการเงิ น ความผั น ผวนต่ อ รายได้ ห รื อ มู ล ค่ า ของส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่งอาจเกิดจากฐานะทั้งในและนอกงบดุล ทั้งนี้ความเสี่ยงจาก อัตราดอกเบี้ยเป็นผลมาจากการจัดโครงสร้างและลักษณะของ รายการในสิ น ทรั พ ย์ หนี้ สิ น และส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ที่ อ้ า งอิ ง อั ต ราดอกเบี้ ย ของธนาคารและความไม่ ส อดคล้ อ งระหว่ า ง ระยะเวลาคงเหลือในการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ของรายการ ทางด้ า นสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น และรายการนอกงบดุ ล โดย ธนาคารได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ทำ�หน้าที่ควบคุมดูแลการบริหารความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ที่เกิดจากความแตกต่างของโครงสร้างอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว โดยจะกำ � หนดโครงสร้ า งอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ เ หมาะสมในแต่ ล ะ ช่ ว งเวลาและดู แ ลให้ โ ครงสร้ า งอั ต ราดอกเบี้ ย เป็ น ไปตามที่ กำ � หนด รวมทั้ ง ควบคุ ม สั ด ส่ ว นของสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ที่ มี ดอกเบีย้ ในระยะเวลาครบกำ�หนดต่างๆ ให้อยูใ่ นระดับความเสีย่ ง ที่ยอมรับได้ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
59
ธนาคารได้ติดตามภาวะตลาด ภาวะดอกเบี้ย รวมทั้ง จั ด ทำ � รายงานการวิ เ คราะห์ ร ะยะเวลาการเปลี่ ย นแปลง อัตราดอกเบี้ยของสินทรัพย์และหนี้สิน ซึ่งรวมถึงการจำ�ลอง รายได้ ด อกเบี้ ย สุ ท ธิ เ พื่ อ ดู ผ ลกระทบต่ อ รายได้ ข องธนาคาร ให้อยู่ภายใต้เพดานความเสี่ยงที่กำ�หนด 3.3 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ธนาคารมี บ ริ ก ารแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่ า งประเทศ (Currency Exchange) เป็นเงินไทย (Baht) ทั้งประเภท รั บ ซื้ อ (Buy) และขาย (Sell) โดยธนาคารได้ กำ � หนดการ ดำ�รงฐานะเงินตราต่างประเทศคงเหลือ ณ สิ้นวัน ไม่เกินกว่า จำ�นวนที่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ดังนั้น จึงมี ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนอยู่ในระดับที่ไม่มีนัยสำ�คัญ 4. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง หมายถึ ง ความเสี่ ย งที่ ธนาคารไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ต ามภาระผู ก พั นในการชำ � ระเงิ น เมื่อครบกำ�หนดเนื่องจากไม่สามารถเปลี่ยนสินทรัพย์เป็นเงินสด หรื อไม่ ส ามารถจั ด หาเงิ นได้ อ ย่ า งเพี ย งพอตามความต้ อ งการ ภายในระยะเวลาที่กำ�หนดและมีต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่งอาจทำ�ให้ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ รายได้ แ ละเงิ น กองทุ น ของธนาคารได้ ปั จ จั ย ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ งมี ทั้ ง ภายใน และภายนอก โดยปั จ จั ย ภายในจะขึ้ น อยู่ กั บโครงสร้ า งของ สิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น และการสำ � รองสิ น ทรั พ ย์ ส ภาพคล่ อ ง เพื่อนำ�มาใช้รองรับความต้องการ ส่วนปัจจัยภายนอกขึ้นอยู่กับ สภาพคล่องของตลาดและความเชื่อมั่นของผู้ฝากเงินเป็นหลัก ธนาคารมีเครือ่ งมือสำ�หรับวัด ติดตามความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง และได้กำ�หนดระดับการแจ้งเตือนที่เหมาะสม มีการทบทวน นโยบาย และพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ และวิ ธี ก ารวั ด ความเสี่ ย ง อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการกำ�กับดูแลของ ธนาคารแห่งประเทศไทยและหลักการบริหารความเสี่ยงสากล ธนาคารได้วางแผนและบริหารความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสมและเพี ย งพอ ต่อการชำ�ระภาระผูกพันในปัจจุบันและในอนาคต ประกอบกับ การออกผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อระดมทุนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ให้สอดคล้องกับสภาวะตลาด 5. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ หมายถึง ความเสี่ยงที่จะเกิด ความเสี ย หายต่ า งๆ อั น เนื่ อ งมาจากความไม่ เ พี ย งพอหรื อ ความบกพร่องของกระบวนการภายใน บุคลากรและระบบงาน หรือมาจากเหตุการณ์ภายนอก รวมถึงความเสี่ยงด้านกฎหมาย แต่ ไ ม่ ร วมความเสี่ ย งด้านกลยุทธ์แ ละความเสี่ยงด้านชื่อ เสี ย ง 60
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ความเสีย่ งด้านปฎิบตั กิ ารเป็นความเสีย่ งทีไ่ ม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ และเป็นส่วนหนึง่ ของธุรกิจธนาคาร ดังนัน้ ธนาคารจึงมีการกำ�หนด กรอบนโยบายบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ ารอย่างชัดเจน รวมทัง้ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีและมีการจัดทำ�คู่มือปฏิบัติงาน เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจในขั้นตอนการทำ�งาน และสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำ�หนดให้มีกระบวนการ วิเคราะห์เชิงธุรกิจ การประเมินความเสี่ยง และการติดตาม ความเสี่ยง เป็นต้น ธนาคารได้พัฒนากระบวนการตลอดจนเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ได้แก่ การจัดเก็บ ข้ อ มู ล เหตุ ก ารณ์ ผิ ด ปกติ (Incident Report) เพื่ อ จั ด เก็ บ ข้อมูลความเสียหายทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน รวมถึง ความเสียหายที่สามารถป้องกันได้ ตลอดจนข้อมูลเหตุการณ์ ผิดปกติอื่นๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ธนาคารจะนำ�ไปใช้ในการปรับปรุง กระบวนการปฏิบัติงานและกำ�หนดแนวทางการควบคุมเพื่อให้ โอกาสการเกิดความเสี่ยงลดลง ธนาคารกำ�หนดให้ทกุ หน่วยงานทำ�การประเมินความเสีย่ ง ด้ า นปฏิ บั ติ ก ารด้ ว ยตนเอง (Risk and Control Self Assessment: RCSA) โดยการระบุ จุ ด ที่ มี ค วามเสี่ ย งใน กระบวนการปฏิบัติงานในหน่วยงานของตน รวมทั้งประเมินว่า มาตรการควบคุมภายในที่มีอยู่นั้นเพียงพอและเหมาะสมเพียงใด และได้ นำ � ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วไปประมวลผล และจั ด ทำ � ดั ช นี ชี้ วั ด ความเสี่ยง (Key Risk Indicators) เพื่อใช้ในการติดตาม ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น รวมทั้ ง จั ดให้ มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย ง จากการทุ จ ริ ตโดยเริ่ ม จากหน่ ว ยงานที่ มี โ อกาสในการทุ จ ริ ต จากการปฏิบัติงานสู ง เพื่อเป็นข้อมูลในการกำ�หนดแนวทาง ป้องกันและจัดการความเสี่ยงจากการทุจริต ธนาคารได้ กำ � หนดนโยบายการใช้ บ ริ ก ารจากบุ ค คล ภายนอกและนโยบายการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยกำ�หนดให้ หน่ ว ยงานที่ ป ระสงค์ จ ะใช้ บ ริ ก ารจากบุ ค คลภายนอกและ ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ตอ้ งศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลและประเมินความเสีย่ ง ความคุ้ ม ค่ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ จ ะออกใหม่ โดยมี ฝ่ า ยบริ ห าร ความเสี่ ย งช่ ว ยพิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ก่ อ นการใช้ บ ริ ก าร จากบุคคลภายนอกหรือการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ธนาคารจัดให้มีแผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan) เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจ ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉิน อาทิเช่น วินาศภัย และภัยพิบัติ ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง หรือลดเวลาการหยุดชะงักการดำ�เนินงานของธนาคารให้อยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งทุกหน่วยงานของธนาคารมีส่วนร่วมในการ จัดทำ�และได้ปรับปรุงแผนดังกล่าวทุกปี รวมถึงได้มีการทดสอบ ซักซ้อมการฟื้นฟูระบบคอมพิวเตอร์ และทดสอบการปฏิบัติงาน ในธุรกรรมงานสำ�คัญของธนาคารเป็นประจำ�ทุกปีเพื่อให้มั่นใจว่า
ธนาคารสามารถดำ�เนินธุรกิจภายใต้ภาวะวิกฤตต่างๆ ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ธนาคารมี ก ารพั ฒ นาบุ ค ลากรอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการทำ � งาน โดยได้ พั ฒ นาช่ อ งทางการสื่ อ สาร ให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการในรูปแบบ ระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (E-Leaning) เพื่อให้ผู้บริหารและ พนักงานมีความเข้าใจและตระหนักถึงความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ รวมทั้งจัดส่งพนักงานเข้ารับการอบรมสัมมนาจากผู้จัดสัมมนา ภายนอกและจั ด อบรมสั ม มนาภายใน โดยเชิ ญ วิ ท ยากรที่ มี ความชำ�นาญจากหน่วยงานภายในของธนาคาร รวมทั้งวิทยากร ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญจากภายนอกมาให้ความรู้เพิ่มเติม เพื่อเพิ่มพูนทักษะในการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างสม่ำ�เสมอ 2.2 ความเสี่ยงจากบริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อย) ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง บริษัทได้วางกรอบและกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจให้มี การเติ บโตบนพื้ น ฐานการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ควบคู่กับการสร้างผลตอบแทนที่ยั่งยืนให้กับองค์กร บริษัทมีการ ควบคุมดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ มีการ กำ � หนดโครงสร้ า งและนโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรอย่ า งชั ด เจนเพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั กในการ ป้ อ งกั น ความเสี่ ย งและการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งดำ�เนินธุรกิจที่สอดคล้องกับการกำ�กับ ตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี 1. ความเสี่ ย งจากการแข่ ง ขั นในธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า นับตั้งแต่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ประกาศ ใช้วิธีการคิดค่าธรรมเนียมแบบต่อรองอย่างเสรี พร้อมกับการ เปิดเสรีใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์โดยไม่จำ�กัดจำ�นวน ส่งผลให้ธุรกิจหลักทรัพย์มีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้นประกอบกับ การเปดิ เสรีทางการเงินและความเชือ่ มโยงในตลาดทุนโลกได้สง่ ผล ให้ ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ ต้ อ งแข่ ง กั บ คู่ แ ข่ ง ทางธุ ร กิ จ ทั้ งในระดั บ ภูมิภาคและในระดับโลก ปัจจุบันผู้ลงทุนสามารถเลือกลงทุน ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ใ นต่ า งประเทศได้ ส ะดวกขึ้ น โดยเฉพาะ การเตรี ย มเปิ ด ตลาดในกลุ่ ม AEC ที่ คู่ แ ข่ ง สามารถพั ฒ นา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ กล้ เ คี ย งหรื อ ทดแทนผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องกลุ่ ม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพื่อดึงดูดให้ผู้ลงทุนไปลงทุน อย่างไรก็ดี บริษัทตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าว จึงได้เตรียม ความพร้อมในการแข่งขัน โดยกำ�หนดกลยุทธ์ที่มุ่งเน้นการขยาย ฐานลูกค้าแบบยั่งยืนผ่านช่องทางที่มีประสิทธิภาพของกลุ่มธุรกิจ
ทางการเงิ น แลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ การพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ความพร้ อ มในการแข่ ง ขั น ตลอดจนการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ และบริ ก ารให้ ห ลากหลายครอบคลุ ม กลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการซื้อขายทางอินเตอร์เน็ต ให้ มี ค วามสะดวก รวดเร็ ว ปลอดภั ย และง่ า ยต่ อ การใช้ ง าน การนำ�เทคโนโลยีมาใช้ในการดำ�เนินงานทุกมิติ ทัง้ การปฏิบตั งิ าน และการพัฒนาบริการ เพื่อตอบสนองและอำ�นวยความสะดวก แก่ลูกค้า ลดขั้นตอนที่ซับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ 2. ความเสี่ยงจากความผันผวนของตลาดหลักทรัพย์ รายได้ ค่ า นายหน้ า จากการซื้ อขายหลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ง เป็น รายได้ ห ลั ก ของบริ ษั ท เป็ น รายได้ ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ มู ล ค่ า ซื้ อ ขาย หลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง ขึ้ น อยู่ กั บ สภาวะตลาดและความเชื่ อ มั่ น ของ นั ก ลงทุ น สำ � หรั บ ภาพรวมสภาวะธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ ปี 2558 ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจัยหลักมาจากความไม่เชื่อมั่นของ นักลงทุนต่อการเติบโตของเศรษฐกิจโลก ทำ�ให้นักลงทุนต้องการ ลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยงลดน้อยลง รวมถึงความกังวลเกี่ยวกับ ภาวะตึ ง ตั วในตลาดการเงิ น ของสหรั ฐ อเมริ ก า (Financial Condition) รายงานการประเมินภาวะเศรษฐกิจที่จัดทำ�โดย กองทุนการเงินระหว่างประเทศหรือ IMF (ฉบับเดือนกรกฎาคม 2558) ที่คาดการณ์ว่า อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก มี แ นวโน้ ม อ่ อ นตั ว ลง แม้ ว่ า ปั จ จั ย ภายในประเทศจะเริ่ ม เห็ น ความชัดเจนด้านนโยบายการดำ�เนินการเชิงรุกมากขึน้ ของรัฐบาล ที่ จ ะช่ ว ยให้ เ ศรษฐกิ จ ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น อย่ า งจั บ ต้ อ งได้ ใ นปี 2559 แต่เศรษฐกิจไทยก็ยังคงต้องเผชิญกับการส่งออกที่หดตัวรวมถึง อุปสงค์ในประเทศที่ลดลง ทั้งหมดนี้ทำ�ให้ตลาดหุ้นไทยมีการ ซื้ อ ขายค่ อ นข้ า งบางตา ดั ง นั้ น เพื่ อ ลดความเสี่ ย งที่ เ กิ ด จาก ความผั น ผวนของรายได้ จ ากค่ า นายหน้ า ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
61
บริ ษั ท จึ ง มี แ ผนในการออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารต่ า งๆ เช่ น การให้ บ ริ ก ารสนั บ สนุ น การขายและรั บ ซื้ อ คื น หน่ ว ยลงทุ น การให้บริการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ (SBL) เป็นต้น 3. ความเสี่ยงด้านการกระจายตัวของฐานลูกค้า หลังจากเริ่มต้นธุรกิจในช่วงปลายปี 2557 บริษัทเริ่มมี รายได้จากการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์จากลูกค้าบุคคล ที่กระจายตัวมากขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการที่บริษัทเน้นทำ�การตลาด ในกลุม่ ลูกค้ารายย่อยเพิม่ มากขึน้ โดยส่วนหนึง่ เป็นการเพิม่ ลูกค้า รายใหม่ผ่านโครงการ Banker-to-Broker ที่ร่วมกับธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ทีม่ ฐี านลูกค้าเป็นจำ�นวนมาก ทีม่ คี วามสนใจในผลิตภัณฑ์การลงทุนในโครงการสะสมหุน้ รายเดือน ทำ�ให้บริษทั มีการกระจายตัวของลูกค้าแทนการพึง่ พิงกลุม่ รายใหญ่ 4. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการพึ่งพิงบุคลากร ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ต้ อ งพึ่ ง พิ ง บุ ค ลากรด้ า น เจ้าหน้าที่การตลาดที่มีความรู้ ประสบการณ์ และมีใบอนุญาต ในการทำ�หน้าที่เป็นผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน เพื่อให้คำ�แนะนำ�ในการ ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ก ารตลาดมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ ตั ด สิ นใจเปิ ด บั ญ ชี การทำ � ธุ ร กรรมซื้ อ ขายของลู ก ค้ า ดั ง นั้ น เจ้าหน้าที่การตลาดจึงถือว่าเป็นกำ�ลังหลักของธุรกิจหลักทรัพย์ ในการขยายฐานลูกค้า บริษัทจึงให้ความสำ�คัญในการสรรหา เจ้าหน้าที่การตลาดที่มีความรู้ และประสบการณ์ และมีการ สร้างทีมเจ้าหน้าที่การตลาดรุ่นใหม่ เพื่อรองรับการเติบโตของ ธุรกิจไปพร้อมกัน บริษัทถือว่าพนักงานเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า จึงให้ความ สำ�คัญต่อการสรรหา รักษาและพัฒนาทรัพยากรบุคคลรวมทั้ง ดูแลสวัสดิภาพ ผลตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่างๆ อย่างเหมาะสม ตลอดจนเสริมสร้างความผูกพันของพนักงาน ต่อองค์กรอย่างยั่งยืนในระยะยาว 5. ความเสี่ยงในธุรกรรมการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการไม่สามารถกระจายหรือเสนอขาย หลักทรัพย์ที่จัดจำ�หน่ายได้ตามจำ�นวนที่รับประกัน อาจเกิดจาก ราคาเสนอขายไม่เหมาะสม หรือ ความผันผวนของสภาวะตลาด ซึ่งนอกจากจะทำ�ให้ผ้ลู งทุนจองซื้อหลักทรัพย์น้อยลงแล้ว ยังอาจ ทำ�ให้บริษัทต้องรับผลขาดทุนจากการรับหลักทรัพย์ที่เหลือจาก การจั ด จำ � หน่ า ยเข้ า บั ญ ชี เ งิ น ลงทุ น ด้ ว ย บริ ษั ท จึ งได้ กำ � หนด แนวทางในการป้องกันความเสีย่ งโดยบริษทั จะทำ�การวิเคราะห์และ ตรวจสอบถึงลักษณะธุรกิจ ข้อมูลเบื้องต้น ผลการดำ�เนินงาน และแนวโน้มการดำ�เนินธุรกิจในอนาคตของบริษทั ผูอ้ อกหลักทรัพย์ รวมถึ ง ความสนใจของนั ก ลงทุ น และความต้ อ งการที่ จ ะซื้ อ หลั ก ทรั พ ย์ เ พื่ อ นำ � ข้ อ มู ล มาประกอบการตั ด สิ น ใจในการ 62
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
พิ จ ารณารั บ เป็ น ผู้ จั ด จำ � หน่ า ยและรั บ ประกั น การจั ด จำ � หน่ า ย หลักทรัพย์ 6. ความเสี่ยงจากหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญของลูกหนี้ หลักทรัพย์ ความเสี่ยงจากหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ เป็นความเสี่ยง ที่ เ กิ ด จากลู ก ค้ า ที่ ซื้ อ หลั ก ทรั พ ย์ ด้ ว ยเงิ น สด แต่ ไ ม่ ส ามารถ ชำ � ระเงิ นได้ ภ ายในระยะเวลาที่ กำ � หนด และลู ก ค้ า ที่ กู้ ยื ม เงิ น เพื่อซื้อหลักทรัพย์ของบัญชีเครดิตบาลานซ์ ลูกค้าบัญชีเงินสด บริษทั ได้ให้ความสำ�คัญกับการพิจารณา คั ด เลื อ กลู ก ค้ า โดยการกำ � หนดวงเงิ น ซื้ อ ขายที่ เ หมาะสม ตามฐานะการเงิ น ของลู ก ค้ า แต่ ล ะราย มี ก ารทบทวนสถานะ การเงินและการใช้วงเงินอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ บริษัทกำ�หนด ให้ มี ห ลั ก ประกั น ร้ อ ยละ 20 ของวงเงิ น ที่ ซื้ อ หลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง เป็ นไปตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย กำ�หนด รวมทั้งจัดให้มีกระบวนการติดตามการชำ�ระเงินจาก ลูกค้าเพื่อให้มีการชำ�ระเงินตรงตามกำ�หนด บริษัทได้กำ�หนดนโยบายการให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์ เพื่อให้ปริมาณการกู้ยืมอยู่ในระดับที่บริษัทกำ�หนดและเหมาะสม กับสภาวะตลาดในขณะนัน้ โดยวงเงินให้กยู้ มื ของลูกค้าแต่ละราย จะมี ค วามเหมาะสมสอดคล้ อ งกั บ ฐานะการเงิ น และไม่ เ กิ น ร้อยละ 20 ของเงินกองทุนของบริษัท อัตราส่วนเงินให้กู้ยืม ต่ อ เงิ น กองทุ น โดยยอดหนี้ ทั้ ง หมดต้ อ งไม่ เ กิ น 5 เท่ า ของเงิ น กองทุ น และควบคุ ม ไม่ ใ ห้ ซื้ อ หลั ก ทรั พ ย์ ก ระจุ ก ตั ว ในหลักทรัพย์ใดหลักทรัพย์หนึ่ง ณ 31 ธั น วาคม 2558 ลู ก หนี้ เ งิ น ให้ กู้ ยื ม เพื่ อ ซื้ อ หลั ก ทรั พ ย์ มี ย อดหนี้ จำ � นวน 371.71 ล้ า นบาท ลู ก หนี้ เหล่านี้มีหลักประกันมากกว่ามูลหนี้ ทั้งนี้ ในปี 2558 บริษัท ไม่มีหนี้สูญหรือการตั้งสำ�รองเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจากลูกหนี้ธุรกิจ หลักทรัพย์ 7. ความเสี่ยงจากการไม่สามารถดำ�เนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนื่อง เหตุ ก ารณ์ ใ นภาวะวิ ก ฤตต่ า งๆ เช่ น ภั ย ธรรมชาติ การชุมนุมทางการเมือง เหตุการณ์จลาจล อาจเป็นเหตุให้บริษัท ไม่สามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจได้ว่า บริษัทสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องเมื่อเผชิญวิกฤตดังกล่าว บริ ษั ท จึ ง ได้ จั ด ทำ � แผนความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ (Business Contingency Plan) โดยมีการซักซ้อมและมีการทดสอบปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้มั่นใจได้ว่าหากเกิดภาวะวิกฤตบริษัทสามารถ ให้บริการลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง
รายงานคณะกรรมการบริหาร ดังนี้
คณะกรรมการบริหาร บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 4 ท่าน
โดยมีนายวิเชียร อมรพูนชัย ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร
1. 2. 3. 4.
นายรัตน์ นายนพร นายคุณวุฒิ นางศศิธร
พานิชพันธ์ สุนทรจิตต์เจริญ ธรรมพรหมกุล พงศธร
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ
คณะกรรมการบริหาร ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดยในปี 2558 คณะกรรมการบริหาร ได้จัดให้มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง และได้รายงานผลการประชุมและความคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัททราบทุกครั้ง ดังนี้ • เสนอแผนกลยุทธ์ และทิศทางการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2558 และแผน 3 ปี ของบริษัท ต่อคณะกรรมการบริษัท และดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับการอนุมัติ • มอบหมายงานและประสานงานกับผู้บริหารเพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปตามแผนกลยุทธ์ ติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงาน รวมทั้งวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานเพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และแนวทางในการแก้ไข • พิจารณากลั่นกรองงานต่างๆ ก่อนเสนอคณะกรรมการบริษัท • ประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการเสนอคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
(นายรัตน์ พานิชพันธ์) ประธานกรรมการบริหาร
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
63
การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็น บริษัทโฮลดิ้งที่ไม่ได้ประกอบธุรกิจของตนเอง (Non-operating Holding Company) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 บริษัทเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ประกอบธุรกิจการเข้าถือหุน้ ในบริษทั อืน่ โดยไม่ได้ท�ำ ธุรกิจของตนเอง ปัจจุบันถือหุ้นในธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด และถือหุ้นในบริษัท หลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.79 ของ ทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด ดังนั้น ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จึงเป็นบริษัทแกน ผลการดำ�เนินงานของบริษัทจะมา จากผลการดำ�เนินงานของธนาคารและบริษัทหลักทรัพย์ ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจปี 2558 และแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจ ปี 2559
ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจปี 2558
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2558 สามารถขยายตั วได้ ร้อยละ 2.8 โดยมีแรงส่งที่สำ�คัญจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ที่ขยายตัวได้ดี โดยเฉพาะการเร่งรัดเบิกจ่ายของภาครัฐที่ทำ�ได้ดี ต่อเนื่อง โดยในปี 2558 การลงทุนของภาครัฐขยายตัวสูงถึง ร้อยละ 29.8 และการใช้จ่ายภาคเอกชนเริ่มฟื้นตัวดีขึ้นสามารถ ขยายตัวได้ร้อยละ 2.1 จากอานิสงส์ของการดำ�เนินมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ และอีกส่วนหนึ่งจากผลของราคา น้ำ � มั น ที่ อ ยู่ ใ นระดั บ ต่ำ � รวมทั้ ง การดำ � เนิ น นโยบายการเงิ น ที่ผ่อนคลายของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่มีมติ คงอั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายไว้ ที่ ร้ อ ยละ 1.50 ต่ อ ปี รวมถึ ง แรงกดดันด้านอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ระดับต่ำ�ซึ่งช่วยกระตุ้นกำ�ลังซื้อ ในช่ ว งที่ ผ่ า นมา นอกจากนี้ ในส่ ว นของภาคการท่ อ งเที่ ย ว ที่ยังขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง ตามการเพิ่มขึ้นของจำ�นวน นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ในปี 2558 มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ เดิ น ทางมายั ง ประเทศไทยจำ � นวน 29.8 ล้ า นคน เพิ่ ม ขึ้ น ร้อยละ 20.44 จากปีก่อน ทำ�ให้สามารถชดเชยแรงฉุดจาก ภาคการส่งออกที่หดตัวสูงถึงร้อยละ 5.78 รวมทั้งการชะลอตัว ของภาคการผลิ ต และการลงทุ น ภาคเอกชนไว้ ไ ด้ บ างส่ ว น จนสามารถช่ ว ยประคองภาพรวมเศรษฐกิ จไทยในปี 2558 ให้สามารถขยายตัวได้ อุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ไทยในปี 2558 ภาพรวม ระบบธนาคารพาณิ ช ย์มีกำ�ไรจากการดำ� เนินงานเพิ่ม ขึ้น จาก ปีก่อน แต่มีกำ�ไรสุทธิลดลงตามภาวะเศรษฐกิจที่ยังไม่ฟื้นตัว 64
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เท่าที่ควร การปล่อยสินเชื่อเป็นไปอย่างระมัดระวัง เช่นเดียวกับ การระดมเงินฝากที่ชะลอลงตามทิศทางสินเชื่อ รวมถึงแรงกดดัน จากค่ าใช้ จ่ า ยในการตั้ ง สำ � รองที่ สู ง ขึ้ น เพื่ อ รองรั บ การด้ อ ยลง ของคุณภาพสินเชื่อ ในปี 2558 เงินให้สินเชื่อสุทธิขยายตัว ร้อยละ 4.34 ชะลอลงจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 5.05 และ มีสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ต่อสินเชื่อรวมเพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 2.55 จากร้อยละ 2.15 ในปีก่อน ด้านเงินฝาก ขยายตัวร้อยละ 2.81 ชะลอลงจากร้อยละ 6.98 ของปีก่อน ส่งผลให้สภาพคล่องในระบบตึงตัวขึ้นกว่าปี 2557 โดยอัตราส่วน สินเชื่อต่อเงินฝากรวมกับตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม อยู่ที่ ร้อยละ 97.00 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 95.74 ในปี 2557
แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจปี 2559
แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจปี 2559 คาดว่าเศรษฐกิจไทย จะขยายตัวร้อยละ 2.8 – 3.8 ด้วยแรงหนุนต่อเนื่องจากปัจจัย ขับเคลื่อนหลักข้างต้นที่ยังขยายตัวดี รวมถึงปัจจัยบวกเพิ่มเติม จากการลงทุ น ภาคเอกชนที่ ค าดว่ า จะฟื้ น ตั ว ขึ้ น กว่ า ปี ก่ อ น อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจยังค่อนข้างเปราะบาง จาก รายได้ เ กษตรกรที่ ล ดลงจากผลของราคาสิ น ค้ า เกษตรตกต่ำ � บวกกับวิกฤติภัยแล้ง รวมถึงภาคการส่งออกที่คาดว่าจะเติบโต เพียงร้อยละ 1.2 อันเนื่องมาจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศคู่ค้าโดยเฉพาะจีนและอาเซียน ราคาสินค้าส่งออก ที่ ล ดต่ำ � ลงตามราคาน้ำ � มั น และสิ น ค้ า โภคภั ณ ฑ์ ปั ญ หา เชิงโครงสร้างและความสามารถในการแข่งขันของสินค้าไทย อีกทั้งความเสี่ยงจากความผันผวนของเงินทุนเคลื่อนย้ายและ อัตราแลกเปลี่ยนที่มีมากขึ้น ภาวะอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ คาดว่าจะมีผลการ ดำ � เนิ น งานที่ ดี ขึ้ น ตามการขยายตั ว ของสิ น เชื่ อ ที่ ไ ด้ รั บ ผลดี จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ได้รับอานิสงส์จากการเร่งลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอื่นๆ ของ ภาครัฐ อย่างไรก็ตาม จากการที่ธุรกิจขนาดใหญ่หันไประดมทุน ผ่านหุ้นกู้เอกชนซึ่งมีต้นทุนต่ำ�กว่า อีกทั้งความเสี่ยงจากปัญหา สิ น เชื่ อ ด้ อ ยคุ ณ ภาพที่ มี แ นวโน้ ม ดี ขึ้ น แต่ ยั ง คงมี ค วามกั ง วล ต่อกลุ่มสินเชื่อธุรกิจ SMEs ที่ได้รับผลกระทบจากการส่งออก หดตัวต่อเนื่องและกำ�ลังซื้อในประเทศที่ยังเปราะบาง รวมถึง ครัวเรือนในภาคเกษตรที่ได้รับผลกระทบทั้งจากปัญหาราคา สิ น ค้ า ตกต่ำ � และวิ ก ฤติ ภั ย แล้ ง และกดดั นให้ กำ �ไรของกลุ่ ม ธนาคารพาณิชย์ปรับเพิ่มขึ้นได้ไม่มากนัก ที่มา : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ และ ธนาคารแห่งประเทศไทย
ผลการดำ�เนินงานจำ�แนกตามกลุ่มธุรกิจ 1. กลุ่มธุรกิจลงทุน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีผลการดำ�เนินงาน ดังนี้ อัตราส่วนทางการเงิน
2558
2557
2556
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทำ�กำ�ไร (PROFITABILITY RATIO) อัตรากำ�ไรขั้นต้น
(%)
43.39
33.81
31.39
อัตรากำ�ไรสุทธิ
(%)
29.80
28.29
26.95
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น
(%)
9.65
7.67
6.12
อัตราดอกเบี้ยรับ
(%)
4.86
5.06
5.07
อัตราดอกเบี้ยจ่าย
(%)
2.56
3.00
3.35
ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย
(%)
2.30
2.06
1.72
อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
(%)
5.61
5.98
4.92
อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน (EFFICIENCY RATIO) อัตรารายได้ดอกเบี้ยสุทธิต่อสินทรัพย์
(%)
2.39
2.15
2.06
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์
(%)
0.91
0.77
0.66
(เท่า)
0.03
0.03
0.02
อัตราการหมุนของสินทรัพย์ อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (FINANCIAL RATIO) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น
(เท่า)
10.12
9.13
8.93
อัตราส่วนเงินให้กู้ต่อเงินกู้ยืม
(%)
83.90
93.64
95.26
อัตราส่วนเงินให้กู้ต่อเงินรับฝาก
(%)
97.27
94.49
95.45
อัตราส่วนเงินฝากต่อหนี้สินรวม
(%)
75.43
82.48
81.15
อัตราการจ่ายเงินปันผล
(%)
44.42
58.88
76.65
อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง
(%)
14.01
12.41
13.38
อัตราส่วนคุณภาพสินทรัพย์ (ASSET QUALITY RATIO) อัตราส่วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม
(%)
1.92
1.85
1.38
อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อที่หยุดรับรู้รายได้ต่อสินเชื่อรวม
(%)
1.91
2.04
1.91
อัตราส่วนดอกเบี้ยค้างรับต่อสินเชื่อรวม
(%)
0.17
0.21
0.20
ข้อมูลต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น
(บาท)
1.3162
1.2339
1.1813
กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น
(บาท)
0.1211
0.0892
0.0702
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
65
ทางการเงินต่างๆ บริษทั และบริษทั ย่อยมีก�ำ ไรจากการดำ�เนินงาน ก่อนหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญจำ�นวน 3,143.77 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 942.13 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 42.79 เมื่อเทียบกับปี 2557 อัตรากำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหนี้สงสัยจะสูญต่อ รายได้รวมปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 56.71 เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ที่ อ ยู่ ที่ ร้ อ ยละ 51.84 เป็ น ผลมาจากรายได้ ค่ า ธรรมเนี ย ม และบริ ก ารสุ ท ธิ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากการขยายตั ว ของสิ น เชื่ อ และผลตอบแทนจากการเป็ น ตั ว แทนจำ � หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ และบริการทางการเงิน กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานปี 2558 เท่ากับ 0.1211 บาท ต่อหุ้น เทียบกับปี 2557 ที่มีจำ�นวน 0.0892 บาทต่อหุ้น และ อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 9.65 และ ปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 7.67
ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน
การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย เป็ น การเปรี ย บเที ย บผลการดำ � เนิ น งานประจำ � ปี 2558 เปรียบเทียบกับผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2557 ปี 2558 มีก�ำ ไรก่อนค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ตามงบการเงินรวม จำ�นวน 2,054.16 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 562.52 ล้านบาท หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 37.71 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2557 โดยเมื่ อ หั ก ค่ าใช้ จ่ า ยภาษี เ งิ นได้ 402.45 ล้ า นบาท ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท มีกำ�ไรสุทธิจำ�นวน 1,651.71 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 450.32 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 37.48 เมื่อเทียบกับปี 2557 การเพิ่ ม ขึ้ น ของกำ �ไรสุ ท ธิ เ ป็ น ผลมาจากรายได้ ด อกเบี้ ย สุ ท ธิ ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.11 และรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ เพิ่มขึ้นร้อยละ 61.59 ตามการขยายตัวของสินเชื่อทุกภาคส่วน และผลตอบแทนจากการจำ � หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก าร
ตารางแสดงผลการดำ�เนินงาน งบการเงินรวม 2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
4,366.43
3,381.93
2,797.92
984.50
29.11
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ
349.38
216.22
248.95
133.16
61.59
รวมรายได้เงินปันผลและรายได้จากการดำ�เนินงานอืน่
827.61
648.54
267.65
179.07
27.61
รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน
5,543.42
4,246.69
3,314.52
1,296.73
30.54
ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น
(2,399.65)
(2,045.05)
(1,688.15)
354.60
17.34
3,143.77
2,201.64
1,626.37
942.13
42.79
(1,089.61)
(710.00)
(526.00)
379.61
53.47
กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
2,054.16
1,491.64
1,100.37
562.52
37.71
ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
(402.45)
(290.25)
(206.97)
112.20
38.66
กำ�ไรสำ�หรับปี
1,651.71
1,201.39
893.40
450.32
37.48
0.1211
0.0892
0.0702
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) (%)
9.65
7.67
6.12
อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA) (%)
0.91
0.77
0.66
ผลการดำ�เนินงาน
รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ
กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า
กำ�ไรต่อหุ้น (EPS) (บาท)
66
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
สัดส่วน (ร้อยละ)
เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.54 เมื่อเทียบกับปี 2557 เป็นผลมาจาก การเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได้ ด อกเบี้ ย สุ ท ธิ รายได้ ค่ า ธรรมเนี ย ม และบริการสุทธิ และกำ�ไรจากเงินลงทุน ในขณะที่ปี 2558 มีค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยจำ�นวน 4,127.46 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 54.31 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.33 เมื่อเทียบกับปี 2557 ตามรายละเอียด ดังนี้
1.1 โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงาน โครงสร้ า งรายได้ จ ากการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท และบริษัทย่อย ปี 2558 2557 และ 2556 มีรายละเอียดดังนี้ รายได้จากการดำ�เนินงาน ปี 2558 มี ร ายได้ จ ากการดำ � เนิ น งานจำ � นวน 5,543.42 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 1,296.73 ล้านบาท หรือ ตารางแสดงรายได้จากการดำ�เนินงาน
งบการเงินรวม
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง)
2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
8,493.89
7,455.08
6,517.38
1,038.81
13.93
ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
(4,127.46)
(4,073.15)
(3,719.46)
54.31
1.33
รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ
4,366.43
3,381.93
2,797.92
984.50
29.11
455.58
296.76
299.13
158.82
53.52
ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ
(106.20)
(80.54)
(50.18)
25.66
31.86
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ
349.38
216.22
248.95
133.16
61.59
2.17
1.21
(30.80)
0.96
79.34
กำ�ไรจากเงินลงทุน
673.39
491.42
210.39
181.97
37.03
รายได้เงินปันผล
126.15
131.68
80.86
(5.53)
(4.20)
25.90
24.23
7.20
1.67
6.89
827.61
648.54
267.65
179.07
27.61
5,543.42
4,246.69
3,314.52
1,296.73
30.54
รายได้จากการดำ�เนินงาน
รายได้ดอกเบี้ย
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ
กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากธุรกรรมเพื่อค้า และปริวรรตเงินตราต่างประเทศ
รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน
สัดส่วน (ร้อยละ)
รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ดอกเบี้ยสุทธิมีจำ�นวน 4,366.43 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 984.50 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.11 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2557 เป็ น ผลมาจากรายได้ ด อกเบี้ ย จาก เงินให้สนิ เชือ่ และรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์) ที่เพิ่มขึ้น
ค่ าใช้ จ่ า ยดอกเบี้ ย มี จำ � นวน 4,127.46 เพิ่ ม ขึ้ น จำ�นวน 54.31 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.33 ซึ่งเพิ่มขึ้น น้ อ ยกว่ า การเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได้ ด อกเบี้ ย สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนที่ดีและความสามารถในการ ก่อให้เกิดรายได้ของสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
67
รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยสุทธิ
- รายได้อื่น รายได้อื่นจำ�นวน 827.61 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จำ�นวน 179.07 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.61 เมื่อเทียบกับ ปี 2557 ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของกำ �ไรจาก เงินลงทุน
รายได้ ที่ มิ ใ ช่ ด อกเบี้ ย สุ ท ธิ ประกอบด้ ว ยรายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไร(ขาดทุน)สุทธิจากธุรกรรม เพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้ เ งิ น ปั น ผลและรายได้ จ ากการดำ � เนิ น งานอื่ น รายได้ ที่มิใช่ดอกเบี้ยสุทธิเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 864.76 ล้านบาท ในปี 2557 เป็น 1,176.99 ล้านบาท ในปี 2558 เพิ่มขึ้นจำ�นวน 312.23 ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น ปี 2558 ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นมีจำ�นวน 2,399.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 354.60 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.34 เมื่อเทียบกับปี 2557 ส่วนใหญ่เป็นการ เพิ่ ม ขึ้ น ของค่ าใช้ จ่ า ยของบริ ษั ท ย่ อ ยที่ เ กี่ ย วกั บ พนั ก งานที่ มี จำ�นวนมากขึ้นเพื่อรองรับการขยายธุรกิจและการเพิ่มขึ้นของ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์จากการขยายสาขา ของบริษัทย่อยเพิ่มจากปี 2557 จำ�นวน 9 สาขา เป็น 126 สาขา ณ สิ้นปี 2558
- รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มและบริ ก ารสุ ท ธิ มี จำ � นวน 349.38 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 133.16 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 61.59 เมื่อเทียบกับปี 2557 เป็นผลมาจากการส่งเสริม การขายเพื่ อ เพิ่ ม จำ � นวนผู้ ฝ ากเงิ น รายย่ อ ย การเพิ่ ม ขึ้ น ของ ค่านายหน้าจากการซื้อขายหลักทรัพย์ ค่าธรรมเนียมจากการ จัดการกองทุน และค่าธรรมเนียมจากการเป็นตัวแทนจำ�หน่าย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารทางการเงิ น ต่ า งๆ อาทิ บริ ก ารเป็ น นายหน้าประกันชีวิต และบริการเป็นผู้สนับสนุนการขายและ รับซื้อหน่วยลงทุน เป็นต้น
ตารางแสดงค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น งบการเงินรวม ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น
2558
2557
2556
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง)
จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน
1,161.42
960.97
767.73
200.45
20.86
23.76
11.42
9.53
12.34
108.06
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์
704.60
629.29
512.91
75.31
11.97
ค่าภาษีอากร
218.42
193.51
172.31
24.91
12.87
ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและโฆษณา
96.16
83.89
81.69
12.27
14.63
ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
69.17
58.75
57.17
10.42
17.74
126.12
107.22
86.81
18.90
17.63
2,399.65
2,045.05
1,688.15
354.60
17.34
43.29
48.16
50.93
ค่าตอบแทนกรรมการ
ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น อัตราส่วนค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นต่อรายได้รวม จากการดำ�เนินงาน (%)
68
สัดส่วน (ร้อยละ)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
- ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานมีจำ�นวน 1,161.42 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จำ � นวน 200.45 ล้ า นบาท หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้อยละ 20.86 เมื่อเทียบกับปี 2557 เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้น ของเงิ น เดื อ น การจ่ า ยเงิ นโบนั ส ประจำ � ปี แ ละการเพิ่ ม ขึ้ น ของจำ�นวนพนักงานเพื่อรองรับการขยายธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลุ่มธุรกิจทางการเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มีพนักงานรวมจำ�นวนทัง้ สิน้ 1,787 ราย เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 178 ราย หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 11.06 เมือ่ เทียบกับปี 2557 กลุ่มธุรกิจทางการเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
ซึ่งประกอบด้วย ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มี พ นั ก งานจำ � นวน 1,653 ราย เพิ่ ม ขึ้ น จำ � นวน 129 ราย เมื่อเทียบกับปี 2557 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นตามปริมาณสาขา ที่เพิ่มขึ้น บริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีพนักงานจำ�นวน 88 ราย เพิ่มขึ้นจำ�นวน 40 ราย เมื่อเทียบกับ ปี 2557 และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด มีพนักงานจำ�นวน 46 ราย เพิ่มขึ้นจำ�นวน 11 ราย เมื่อเทียบกับปี 2557 จำ�นวนพนักงาน (ราย) 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด รวมทั้งสิ้น - ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่ าใช้ จ่ า ยเกี่ย วกั บ อาคาร สถานที่แ ละอุ ป กรณ์ มีจ�ำ นวน 704.60 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 75.31 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.97 เมื่อเทียบกับปี 2557 เป็นผลมาจาก การขยายสาขาของบริษัทย่อยและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ATM - ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายอื่นมีจำ�นวน 126.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จำ�นวน 18.90 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.63 เมื่อเทียบกับ ปี 2557
1,653 88 46 1,787
1,524 48 35 2 1,609
1,369 31 1,400
1.2 ความสามารถในการบริหารสินทรัพย์
การวิเคราะห์ฐานะการเงิน บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
69
ตารางแสดงสินทรัพย์รวม
สินทรัพย์รวม
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 2556 จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
สินทรัพย์ เงินสด
2,242.59
2,503.97
1,726.30
(261.38)
(10.44)
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน-สุทธิ
17,676.43
13,117.18
7,010.08
4,559.25
34.76
เงินลงทุน-สุทธิ
47,202.96
33,728.13
36,466.10
13,474.83
39.95
133,276.80 115,915.21 103,969.33
17,361.59
14.98
206.15
(15.33)
(6.39)
133,501.28 116,155.02 104,175.48
17,346.26
14.93
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก รายได้รอตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
224.48 (179.45)
(281.52)
(320.24)
(102.07)
(36.26)
(2,555.27)
(2,137.82)
(1,422.29)
417.45
19.53
(8.74)
(7.55)
(11.18)
1.19
15.76
130,757.82 113,728.13 102,421.77
17,029.69
14.97
ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ ทรัพย์สินรอการขาย
99.34
52.81
-
46.53
88.11
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ
499.00
543.77
494.28
(44.77)
(8.23)
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-สุทธิ
297.29
291.45
209.05
5.84
2.00
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
197.54
145.19
127.45
52.35
36.06
ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน
305.40
345.39
356.86
(39.99)
(11.58)
สินทรัพย์อื่น-สุทธิ
388.40
514.28
286.82
(125.88)
(24.48)
199,666.77 164,970.30 149,098.71
34,696.47
21.03
รวมสินทรัพย์
70
239.81
สินทรัพย์รวม
เงินลงทุนสุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สินทรัพย์รวมมีจำ�นวน 199,666.77 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 34,696.47 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.03 เมื่อเทียบกับปี 2557 สินทรัพย์หลัก ประกอบด้วยเงินให้สนิ เชือ่ และดอกเบีย้ ค้างรับ-สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 65.49 ของสินทรัพย์รวม รองลงมาได้แก่ เงินลงทุน-สุทธิ คิดเป็น ร้อยละ 23.64 ของสินทรัพย์รวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินลงทุนในหลักทรัพย์สทุ ธิ แสดงด้วยมูลค่าตามบัญชีมีจำ�นวน 47,202.96 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จำ � นวน 13,474.83 ล้ า นบาท หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 39.95 เมื่อเทียบกับปี 2557 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นจากการลงทุน ในตราสารหนี้ที่ถือจนครบกำ�หนด
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ตารางแสดงเงินลงทุนแยกประเภทการลงทุนแสดงด้วยมูลค่าตามบัญชี
งบการเงินรวม
เงินลงทุนสุทธิ
การเปลี่ยนแปลง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) 2558 2557 2556 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
สัดส่วน (ร้อยละ)
ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ
12.25
-
26.40
12.25
n/a
รวมเงินลงทุนเพื่อค้า
12.25
-
26.40
12.25
n/a
หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ
-
-
2,311.98
-
-
ตราสารหนี้ภาคเอกชน
-
-
326.07
-
-
ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ
2,352.96
1,715.37
1,988.67
637.59
37.17
รวมเงินลงทุนเผื่อขาย
2,352.96
1,715.37
4,626.72
637.59
37.17
หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ
22,073.90
15,386.44
16,798.86
6,687.46
43.46
ตราสารหนี้ภาคเอกชน
17,399.35
15,262.82
13,989.32
2,136.53
14.00
5,350.96
1,350.41
1,020.00
4,000.55
296.25
44,824.21
31,999.67
31,808.18
12,824.54
40.08
ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด ในประเทศ
13.57
13.66
5.37
(0.09)
(0.66)
หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า
(0.03)
(0.57)
(0.57)
(0.54)
(94.74)
รวมเงินลงทุนทั่วไป - ราคาทุน
13.54
13.09
4.80
0.45
3.44
47,202.96
33,728.13
36,466.10
13,474.83
39.95
เงินลงทุนเพื่อค้า
เงินลงทุนเผื่อขาย
ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด
ตราสารหนี้อื่น รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด เงินลงทุนทั่วไป - ราคาทุน
เงินลงทุน - สุทธิ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
71
หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 หนี้สินรวมมีจำ�นวน 181,715.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 33,031.97 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.22 เมื่อเทียบกับปี 2557 ส่วนใหญ่เป็น
เงินรับฝากและตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 75.43 และ 11.92 ของหนี้สินรวม ตามลำ�ดับ
ตารางแสดงหนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน งบการเงินรวม
หนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน
การเปลี่ยนแปลง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) 2558 2557 2556 จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
เงินรับฝาก
137,064.32 122,631.90 108,805.48
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม อื่นๆ รวมหนี้สิน
สัดส่วน (ร้อยละ)
14,432.42
11.77
20,638.56
23,171.16
23,513.46
(2,532.60)
(10.93)
176.52
109.95
214.56
66.57
60.55
21,663.97
1,000.00
3.20
20,663.97
2,066.40
2,172.55
1,770.94
1,540.81
401.61
22.68
181,715.92 148,683.95 134,077.51
33,031.97
22.22
ส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ส่วนของเจ้าของมีจำ�นวน 17,950.85 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 1,664.50 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.22 เมื่อเทียบกับปี 2557 ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจากกำ�ไรสุทธิ จากการดำ�เนินงานในปี 2558 จำ�นวน 1,651.71 ล้านบาท
ความสัมพันธ์ของแหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน
ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 เงิ น ให้ สิ น เชื่ อ (ก่อนหักรายได้รอตัดบัญชี) จำ�นวน 133,276.80 ล้านบาท โดยมีอัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินรับฝากของธนาคารคิดเป็น ร้อยละ 97.27 สำ�หรับสภาพคล่องที่เหลือ ธนาคารได้นำ�ไปลงทุน ในสินทรัพย์สภาพคล่องต่างๆ เช่น รายการระหว่างธนาคาร 1.3 ความเพียงพอของเงินทุน และตลาดเงินและเงินลงทุนในหลักทรัพย์ แหล่ ง ที่ ม าและใช้ ไ ปของเงิ น ทุ น ที่ สำ � คั ญ สามารถ แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน แบ่ ง ตามระยะเวลาครบกำ � หนดตามสั ญ ญาโดยเงิ น รั บ ฝาก ที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปี จำ�นวน 129,078.24 ล้านบาท คิดเป็น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โครงสร้างเงินทุน ร้อยละ 94.17 ของเงินรับฝากทั้งหมด ขณะที่เงินให้สินเชื่อ ตามงบการเงินรวม ประกอบด้วยหนี้สินจำ�นวน 181,715.92 แก่ลูกหนี้ที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปี จำ�นวน 49,125.24 ล้านบาท ล้านบาท และส่วนของเจ้าของจำ�นวน 17,950.85 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.86 ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมด ส่วนเงินรับฝาก คิดเป็นอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของเท่ากับ 10.12 เท่า ที่มีอายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน 7,986.08 ล้านบาท คิดเป็น โดยองค์ประกอบของแหล่งเงินทุนด้านหนี้สิน ได้แก่ เงินฝาก ร้ อ ยละ 5.83 ของเงิ น รั บ ฝากทั้ ง หมด ขณะที่ เ งิ นให้ สิ น เชื่ อ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 68.65 ของแหล่งเงินทุน รายการระหว่าง ที่มีอายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน 83,781.44 ล้านบาท หรือร้อยละ ธนาคารและตลาดเงินสัดส่วนร้อยละ 10.34 ตราสารหนี้ที่ออก 62.86 ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมด และเงินกู้ยืมสัดส่วนร้อยละ 10.85 และอื่นๆสัดส่วนร้อยละ 1.17 ขณะที่ส่วนของเจ้าของ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 8.99 72
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ตารางแสดงแหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน เงินรับฝาก ระยะเวลา
31 ธันวาคม 2558
เงินให้สินเชื่อ
31 ธันวาคม 2557
จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท)
น้อยกว่า 1 ปี
129,078.24
94.17 118,897.47
มากกว่า 1 ปี
7,986.08
5.83
ไม่มีกำ�หนด
-
-
รวม
137,064.32
สัดส่วน (ร้อยละ)
31 ธันวาคม 2557
จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท)
สัดส่วน (ร้อยละ)
96.95
49,125.24
36.86
42,418.84
36.59
3,734.43
3.05
83,781.44
62.86
73,382.72
63.31
-
-
370.12
0.28
113.65
0.10
100.00 115,915.21
100.00
100.00 122,631.90
1.4 การเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสด
ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 มี เ งิ น สดจำ � นวน 2,242.59 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 261.38 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ ปี 2557 โดยมีเงินสดสุทธิได้มาและใช้ไปในกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ - เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานจำ�นวน 7,209.78 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากกำ�ไรจากการ ดำ � เนิ น งานก่ อ นการเปลี่ ย นแปลงในสิ น ทรั พ ย์ และหนี้สินดำ�เนินงาน จำ�นวน 947.56 ล้านบาท และการเปลี่ ย นแปลงในสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ดำ�เนินงานทีส่ �ำ คัญ อันได้แก่ เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลกู หนี้ เพิ่มขึ้น 17,837.39 ล้านบาท รายการระหว่าง ธนาคารและตลาดเงิ น (สิ น ทรั พ ย์ ) เพิ่ ม ขึ้ น
31 ธันวาคม 2558
100.00 133,276.80
4,597.70 ล้านบาท เงินรับฝากเพิ่มขึ้น 14,432.42 ล้ า นบาท และตราสารหนี้ ที่ อ อกและเงิ น กู้ ยื ม ระยะสั้นเพิ่มขึ้น 16,814.77 ล้านบาท - เงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรมลงทุ น จำ � นวน 11,271.53 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการลงทุน ในเงิ น ลงทุ น ที่ จ ะถื อ จนครบกำ � หนดจำ � นวน 23,385.04 ล้ า นบาท ในขณะที่ มี เ งิ น สดรั บ จากตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนดจำ�นวน 11,144.15 ล้านบาท - เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 3,800.36 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากเงินสดรับจาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืมระยะยาวจำ�นวน 3,849.20 ล้านบาท
1.5 ความเพียงพอของสภาพคล่อง รายการ สินทรัพย์รวม เงินรับฝาก เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (สุทธิรายได้รอตัดบัญชี) สินทรัพย์สภาพคล่อง เงินให้สินเชื่อ/เงินรับฝาก (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/สินทรัพย์รวม (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/เงินรับฝาก (%)
31 ธันวาคม 2558 199,666.77 137,064.32 133,097.35 53,156.00 97.11 26.62 38.78
31 ธันวาคม 2557 164,970.30 122,631.90 115,633.69 39,415.92 94.29 23.89 32.14
หมายเหตุ : สินทรัพย์สภาพคล่อง ประกอบด้วยเงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ (สินทรัพย์) และเงินลงทุนสุทธิ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
73
1.6 ปั จ จั ย ที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ ผลการดำ � เนิ น งาน ในอนาคต ปั จ จั ย ที่ อ าจมี ผ ลต่ อ การดำ � เนิ น งานในอนาคต มีปัจจัยหลักคือ แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยซึ่งยังอยู่ใน ภาวะเปราะบาง โดยมีสาเหตุมาจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ที่ฟื้นตัวช้า ความผันผวนในตลาดเงิน ตลาดทุน ประกอบกับ กำ � ลั ง ซื้ อ ภายในประเทศที่ ยั งไม่ แ ข็ ง แรงนั ก รวมถึ ง ครั ว เรื อ น ในภาคเกษตรที่ได้รับผลกระทบทั้งจากปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ� และวิกฤติภัยแล้ง ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องมายังความต้องการสินเชื่อ และคุณภาพสินเชือ่ และอาจส่งผลให้รายได้ดอกเบีย้ รับของระบบ ธนาคารพาณิชย์ลดลง รวมทั้งปัญหาหนี้ด้อยคุณภาพในระดับสูง จะทำ�ให้ต้องมีการตั้งสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญมากขึ้น
2. ธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย มีผลการดำ�เนินงาน ดังนี้ ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของธนาคารพาณิชย์ ปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของธนาคารพาณิชย์ ปี 2558 ปี 2558 ภาพรวมอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ขยายตัว เล็กน้อย และเติบโตในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี โดยเงินให้สนิ เชือ่ ขยายตัวร้อยละ 5.7 จากสิ้นปีก่อน เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ทีเ่ ติบโต ร้อยละ 4.8 ทั้งนี้ ปี 2558 ระบบธนาคารพาณิชย์เผชิญกับ ปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะ จากลูกหนี้สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ สินเชื่อธุรกิจ SME รวมถึง สิ น เชื่ อ รายย่ อ ย ส่ ง ผลให้ กำ �ไรสุ ท ธิ ล ดลงจากการตั้ ง สำ � รอง ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ เพื่ อ รองรั บ หนี้ ด้ อ ยคุ ณ ภาพที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ระบบธนาคารจึงเน้นการให้สินเชื่ออย่างรัดกุม และบริหารจัดการ ความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ แทนการแข่งขันการเร่งปล่อย สิ น เ ชื่ อ แ ล ะใ ห้ ค ว า ม สำ � คั ญ กั บ ก า ร เ ติ บโ ต ข อ ง สิ น เ ชื่ อ อย่างระมัดระวังมากขึ้น ด้านการระดมทุน ธนาคารต่างๆ แข่งขันออกผลิตภัณฑ์ เงินฝาก และมีการกู้ยืมเพิ่มขึ้นทั้งรูปแบบการออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิ และออกหุน้ กูใ้ นต่างประเทศ รวมไปถึงการระดมทุนผ่านกองทุนรวม (สำ�หรับธนาคารพาณิชย์ท่ีมีบริษัทจัดการกองทุน) ซึ่งมีแนวโน้ม เติบโตดีอย่างต่อเนื่องและเพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคาร
74
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ความสามารถในการทำ � กำ � ไรของอุ ต สาหกรรม ธนาคารพาณิชย์ยังอยู่ในเกณฑ์ดี แม้กำ�ไรสุทธิลดลงจากปีก่อน เนื่องจากปี 2558 เป็นปีที่ระบบธนาคารพาณิชย์ต้องกันสำ�รอง ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 50 เพื่อรองรับ หนี้ด้อยคุณภาพที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะลูกหนี้ ธุ ร กิ จ รายใหญ่ ใ นสิ น เชื่ อ ภาคอุ ต สาหกรรม ภาคพาณิ ช ย์ และก่อสร้าง ตลอดจนสินเชื่ออุปโภคบริโภค ส่งผลให้กำ�ไรสุทธิ ของระบบธนาคารพาณิ ช ย์ ใ นปี 2558 ลดลงร้ อ ยละ 10.2 เมื่อเทียบกับปี 2557 อย่างไรก็ตาม กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน ก่ อ นการตั้ ง สำ � รองค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ ยั ง ขยายตั ว ได้ ดี โดยกำ�ไรจากการดำ�เนินงานขยายตัวร้อยละ 7.2 จากปี 2557 เป็นผลจากการบริหารต้นทุนการดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมีรายได้จากรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย และรายได้ค่าธรรมเนียมที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว เศรษฐกิจไทยมีการ ฟื้ น ตั ว อย่ า งช้ า ๆ ตามการบริ โ ภคและการลงทุ น ภาคเอกชน ที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น ส่ ง ผลให้ ภ าพรวมของระบบธนาคารพาณิ ช ย์ ในปี 2558 เติบโตได้ดีท้ังด้านสินทรัพย์ สินเชื่อ และเงินฝาก โดยสินเชื่อรวมของระบบธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 และมีค่าเฉลี่ยการเติบโตของสินเชื่อ 2 ปีย้อนหลังอยู่ที่ร้อยละ 5.3 ส่ ว นด้ า นเงิ น ฝากของระบบธนาคารพาณิ ช ย์ ปี 2558 ค่อนข้างทรงตัว โดยเติบโตเพียงร้อยละ 2.7 ลดลงจากร้อยละ 6.5 ในปีก่อนหน้า ธนาคารมี อั ต ราการเติ บโตของสิ น เชื่ อในปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 15.1 และอัตราการเติบโตของเงินฝากอยู่ที่ร้อยละ 11.8 (ตามงบการเงินรวม) และมีสว่ นแบ่งการตลาดของสินทรัพย์ ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมาอยู่ที่ร้อยละ 1.22 จากร้อยละ 1.06 ณ ปี 2557
ข้อมูลเปรียบเทียบของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) กับระบบธนาคารพาณิชย์ ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย : ล้านบาท) ปี 2558
ระบบธนาคารพาณิชย์ สินทรัพย์ สินเชื่อ เงินฝาก ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) สินทรัพย์ สินเชื่อ เงินฝาก ส่วนแบ่งตลาดของ LH BANK สินทรัพย์ (%) สินเชื่อ (%) เงินฝาก (%)
ปี 2557
ปี 2556
อัตราการเติบโต (ต่อปี) ปี 2558
16,405,821 15,532,002 14,820,170 5.6% 11,235,273 10,629,190 10,140,574 5.7% 11,266,011 10,967,775 10,296,285 2.7% 199,667 133,097 137,064 1.22 1.18 1.22
164,970 115,634 122,632 1.06 1.09 1.12
149,099 103,649 108,805 1.01 1.02 1.06
21.0% 15.1% 11.8% -
ปี 2557
4.8% 4.8% 6.5% 10.6% 11.6% 12.7% - - -
อัตราการเติบโต (ต่อปี) เฉลี่ยย้อนหลัง 2 ปี
5.2% 5.3% 4.6% -
ที่มา ข้อมูลจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, ธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศ 15 แห่ง
แนวโน้มภาวะธุรกิจและการแข่งขันของธนาคารพาณิชย์ ในปี 2559
การวิ เ คราะห์ ภ าวะธุ ร กิ จ ธนาคารพาณิ ช ย์ ที่ มี ผ ลต่ อ การดำ�เนินงาน
จากรายงานการปรับลดคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือ GDP ของไทยปี 2559 ของคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ หรือ สภาพัฒน์ มาอยู่ที่ร้อยละ 2.8-3.8 หรือมีค่ากลางราวร้อยละ 3.3 (ข้อมูลเดือนกุมภาพันธ์ 2559) จากเดิมทีค่ าดการณ์วา่ จะเติบโตร้อยละ 3.0-4.0 แสดงถึงเศรษฐกิจ ที่ฟื้นตัวอย่างช้าๆ รวมถึงปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หรือ NPL ในปีทผ่ี า่ นมาค่อนข้างสูง ยังคงเป็นเรือ่ งสำ�คัญทีธ่ นาคารพาณิชย์ คำ�นึงถึงในการปล่อยสินเชือ่ ในปี 2559 อย่างไรก็ตาม จากตัวเลข การคาดการณ์การเติบโตของสินเชือ่ ของธนาคารพาณิชย์หลายแห่ง ทีร่ ายงานออกมาคาดว่าสินเชือ่ ในระบบธนาคารพาณิชย์จะยังสามารถ เติบโตร้อยละ 4.0-5.0 ระบบธนาคารพาณิชย์ ให้ความสำ�คัญกับการควบคุม ต้นทุนการดำ�เนินงานต่อรายได้รวม (Cost-to-Income Ratio) โดยในปี 2558 หลายธนาคารได้ปดิ สาขา หรือชะลอการเปิดสาขา เพือ่ เป็นการลดต้นทุนการดำ�เนินงานส่วนหนึง่ และสอดคล้องกับ การพัฒนาระบบธนาคารเข้าสูธ่ นาคารดิจติ อล (Digital Banking) ที่เริ่มมีบทบาทสูงเพราะมีความสะดวก และสามารถทำ�ธุรกรรม ได้ทุกที่ ทุกเวลา รวดเร็วกว่าการทำ�ธุรกรรมผ่านสาขา
กลยุทธ์ในปี 2559 ธนาคารยังคงมุง่ เน้นขยายส่วนแบ่งตลาด ทั้งในด้านเงินให้สินเชื่อ เงินฝาก ด้วยการกระจายฐานลูกค้า ให้เพิม่ มากขึน้ โดยด้านสินเชือ่ ธนาคารจะยังคงเน้นสินเชือ่ ธุรกิจ ขนาดใหญ่ทม่ี คี ณ ุ ภาพ เพือ่ ป้องกันปัญหาหนีด้ อ้ ยคุณภาพ หรือ NPL ส่วนในด้านการระดมเงินฝาก ธนาคารจะมุง่ เน้นการหาลูกค้ารายย่อย เป็นสำ�คัญเพื่อลดความเสี่ยงจากการไหลออกของเงินและรักษา สภาพคล่ อ งให้ มี เ สถี ย รภาพ ขณะที่ ด้ า นความสามารถใน การทำ � กำ � ไร ธนาคารเน้ น สร้ า งรายได้ ใ นทุ ก ส่ ว นทั้ ง รายได้ จากดอกเบี้ยรับ และรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย โดยเฉพาะรายได้ ค่าธรรมเนียมที่ธนาคารเพิ่มเป้าหมายให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการควบคุมต้นทุนการดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นทิศทางเดียวกับระบบธนาคารพาณิชย์ กลยุทธ์ท่ีสำ�คัญ อีกส่วนหนึ่ง คือการเร่งพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อตอบรับการเข้าสู่ การเป็น Digital Banking หรือ Mobile Banking ให้เต็มรูปแบบ มากที่สุด ระบบธนาคารพาณิชย์ จะมีการแข่งขันพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทางการเงินเพือ่ สร้างฐานลูกค้าให้เพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะฐานลูกค้า รายย่ อ ย เพื่ อ รองรั บ การลดการคุ้ ม ครองเงิ น ฝากจากไม่ เ กิ น รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
75
25 ล้านบาทเหลือไม่เกิน 1 ล้านบาท ในวันที่ 11 สิงหาคม 2559 และรองรับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์การดำ�รงสภาพคล่อง หรือ LCR (Liquidity Coverage Ratio) ที่ กำ � หนดโดย ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย เพื่ อ รั ก ษาระดั บ การไหลเข้ า -ออก ของเงินในระบบธนาคารพาณิชย์ให้มีเสถียรภาพ ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน การวิ เ คราะห์ ผ ลการดำ � เนิ น งานของธนาคารและ บริ ษั ท ย่ อ ย เป็ น การเปรี ย บเที ย บผลการดำ � เนิ น งานประจำ � ปี 2558 เปรียบเทียบกับผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2557 ปี 2558 มีกำ�ไรจำ�นวน 1,660.73 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 431.63 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 35.12 เมื่อเทียบกับ ปี 2557 การเพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากรายได้ดอกเบี้ยสุทธิที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 28.43 ตามการขยายตัวของสินเชื่อทุกภาคส่วน และ รายได้ค่าธรรมเนียมและค่าบริการสุทธิ เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.63
ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น เพิ่มขึ้นจำ�นวน 282.89 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 14.15 เมือ่ เทียบกับปี 2557 เนือ่ งจาก การขยายสาขาของธนาคาร ทำ�ให้ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ เพิ่มสูงขึ้น ธนาคารได้ ตั้ ง สำ � รองหนี้ ส งสั ย จะสู ญ เพิ่ ม ขึ้ น จำ � นวน 379.61 ล้ า นบาทหรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 53.47 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2557 ซึ่ ง การเพิ่ ม ขึ้ น ดั ง กล่ า วสอดคล้ อ งกั บ การเติ บโต ของสิ น เชื่ อ และเพื่ อ รองรั บ ความไม่ แ น่ น อนที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จาก สภาวะเศรษฐกิจ อั ต รากำ � ไรจากการดำ � เนิ น งานก่ อ นหนี้ ส งสั ย จะสู ญ ต่อรายได้รวมปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 58.00 เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ที่อยู่ที่ร้อยละ 52.71 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการ ดำ�เนินงานและค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น ซึ่งมีทิศทาง ไปในทางเดียวกัน โดยการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการดำ�เนินงาน มีสัดส่วนสูงกว่าค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นร้อยละ 14.38 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานปี 2558 เท่ากับ 1.26 บาทต่อหุ้น เพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ก่ อ นที่ มี จำ � นวน 0.97 บาทต่ อ หุ้ น อั ต ราผลตอบแทนต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ปี 2558 อยู่ ที่ ร้ อ ยละ 10.91 และอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมปี 2558 อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 0.92
ตารางแสดงผลการดำ�เนินงาน งบการเงินรวม ผลการดำ�เนินงาน
2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,344.31 319.52 771.71
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 3,382.66 225.60 620.84
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 2,792.35 256.92 276.26
4,229.10 (1,999.86) 2,229.24 (710.00) 1,519.24 (290.14) 1,229.10 0.97 8.82 0.78
3,325.53 (1,677.54) 1,647.99 (526.00) 1,121.99 (206.97) 915.02 0.73 6.69 0.68
รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รวมกำ�ไรสุทธิจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตรา ต่างประเทศ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล และรายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน 5,435.54 ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น (2,282.75) กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน 3,152.79 หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า (1,089.61) กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 2,063.18 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (402.45) กำ�ไรสำ�หรับปี 1,660.73 กำ�ไรต่อหุ้น (EPS) (บาท) 1.26 อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) (%) 10.91 อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA) (%) 0.92 76
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 961.65 28.43 93.92 41.63 150.87 24.30 1,206.44 282.89 923.55 379.61 543.94 112.31 431.63
28.53 14.15 41.43 53.47 35.80 38.71 35.12
2.1 โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงาน ร้อยละ 28.53 เมื่อเทียบกับปี 2557 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้น จากรายได้ ด อกเบี้ ย จากเงิ นให้ สิ น เชื่ อ ตามการขยายตั ว ของ เงินให้สินเชื่อ สามารถจำ�แนกรายละเอียดได้ตามตารางต่อไปนี้
โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงานของธนาคาร และบริษัทย่อย มีรายละเอียดดังนี้ รายได้จากการดำ�เนินงาน ในปี 2558 มีร ายได้จากการดำ� เนินงานจำ �นวน 5,435.54 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,206.44 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ตารางแสดงรายได้จากการดำ�เนินงาน
งบการเงินรวม รายได้จากการดำ�เนินงาน รายได้ดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เงินลงทุนในตราสารหนี้ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน การให้เช่าซื้อ รวมรายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน
2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
6,259.57 1,470.79 633.26 121.58 8,485.20 (4,140.89) 4,344.31 405.01 (85.49) 319.52 664.05 89.34 18.32 771.71 5,435.54
5,570.29 1,476.58 298.52 135.62 7,481.01 (4,098.35) 3,382.66 293.16 (67.56) 225.60 488.19 108.93 23.72 620.84 4,229.10
4,957.38 1,322.60 137.88 99.50 6,517.36 (3,725.01) 2,792.35 299.21 (42.29) 256.92 213.47 55.59 7.20 276.26 3,325.53
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 689.28 (5.79) 334.74 (14.04) 1,004.19 42.54 961.65 111.85 17.93 93.92 175.86 (19.59) (5.40) 150.87 1,206.44
12.37 (0.39) 112.13 (10.35) 13.42 1.04 28.43 38.15 26.54 41.63 36.02 (17.98) (22.77) 24.30 28.53
รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ ปี 2558 มีรายได้ดอกเบี้ยสุทธิจำ�นวน 4,344.31 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 961.65 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.43 เมื่อเทียบกับปี 2557 เป็นผลมาจากรายได้ดอกเบี้ย จากเงินให้สินเชื่อและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ตามการขยายตัวของเงินให้สินเชื่อ
ในขณะที่ ค่ าใช้ จ่ า ยดอกเบี้ ย มี จำ � นวน 4,140.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 42.54 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.04 ซึ่งเพิ่มขึ้นน้อยกว่าการเพิ่มขึ้นของรายได้ดอกเบี้ย สะท้อน ให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนที่ดีและความสามารถ ในการก่อให้เกิดรายได้ของสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
77
รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย รายได้ทม่ี ใิ ช่ดอกเบีย้ ประกอบด้วยรายได้คา่ ธรรมเนียม และบริการสุทธิ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผลและรายได้ จากการดำ�เนินงานอื่น ปี 2558 ธนาคารและบริษัทย่อยมีรายได้ ที่ มิใ ช่ ด อกเบี้ ย จำ � นวน 1,091.23 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้นจำ �นวน 244.79 ล้ า นบาทหรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 28.92 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2557 โดยมีรายละเอียดดังนี้ - รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มและบริ ก ารสุ ท ธิ จำ � นวน 319.52 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 93.92 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 41.63 เมื่อเทียบกับปี 2557 เป็นผลมาจากการส่งเสริม การขายเพื่อเพิ่มจำ�นวนผู้ฝากเงินรายย่อย การกระตุ้นการใช้ บัตร ATM LH BANK ที่สามารถกดเงินผ่านตู้ ATM ทุกตู้ทั่วไทย โดยไม่เสียค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมจากการจัดการกองทุน และค่ า ธรรมเนี ย มจากการเป็ น ตั ว แทนจำ � หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ และบริ ก ารทางการเงิ น ต่ า งๆ อาทิ บริ ก ารด้ า นประกั น บริ ก ารเป็ น นายหน้ า ประกั น ชี วิ ต และบริ ก ารเป็ น ผู้ ส นั บ สนุ น การขายและรับซื้อหน่วยลงทุน เป็นต้น - รายได้อื่น รายได้อื่นจำ�นวน 771.71 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จำ�นวน 150.87 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.30 เมื่อเทียบกับ
ปี 2557 ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของกำ �ไรจาก เงินลงทุน รายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า ธนาคารได้ตง้ั สำ�รองหนีส้ ญ ู และหนีส้ งสัยจะสูญแต่ละปี เป็นไปตามหลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย และการประเมินคุณภาพลูกหนี้จากประสบการณ์ ปี 2558 รายได้ ด อกเบี้ ย สุ ท ธิ ห ลั ง หั ก หนี้ สู ญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการด้อยค่ามีจำ�นวน 3,254.70 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 582.04 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.78 เมื่อเทียบกับปี 2557 หนีส้ ญ ู หนีส้ งสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า ปี 2558 ธนาคารมี ห นี้ สู ญ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ และขาดทุนจากการด้อยค่าจำ�นวน 1,089.61 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จำ�นวน 379.61 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.47 เมื่อ เที ย บกั บ ปี 2557 เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ รองรั บ การเติ บโตของสิ น เชื่ อ และเพือ่ รองรับความไม่แน่นอนทีอ่ าจเกิดขึน้ จากสภาวะเศรษฐกิจ ภายในประเทศ โดยสัดส่วนเงินสำ�รองที่มีต่อเงินสำ�รองพึงกัน ตามเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทยอยู่ที่ร้อยละ 180.42 ในปี 2558 และอยู่ที่ร้อยละ 157.35 ในปี 2557
ตารางแสดงรายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ หลังหักหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า รายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า เงินสำ�รองที่มีต่อเงินสำ�รองพึงกัน (%)
งบการเงินรวม 2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
สัดส่วน (ร้อยละ)
4,344.31 1,089.61
3,382.66 710.00
2,792.35 526.00
961.65 379.61
28.43 53.47
3,254.70 180.42
2,672.66 157.35
2,266.35 126.74
582.04
21.78
ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น ค่ าใช้ จ่ า ยจากการดำ � เนิ น งานอื่ น ประกอบด้ ว ย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าใช้จ่าย 78
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ส่งเสริมการขายและโฆษณา ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน และค่าใช้จ่ายอื่น โดยปี 2558 ธนาคารและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่าย จากการดำ�เนินงานอื่น จำ�นวน 2,282.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จำ�นวน 282.89 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.15 เมื่อเทียบกับ ปี 2557 ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การเพิ่ ม ขึ้ น ของค่ าใช้ จ่ า ยเกี่ ย วกั บ
พนักงาน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่ และอุปกรณ์ ดำ�เนินงานอื่นต่อรายได้รวมปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 42.00 ลดลง เนื่องจากการขยายสาขาเพิ่มขึ้นจากปี 2557 จำ�นวน 9 สาขา จากปี 2557 ที่อยู่ที่ร้อยละ 47.29 ตามรายละเอียด ดังนี้ เป็น 126 สาขา ณ สิ้นปี 2558 โดยอัตราส่วนค่าใช้จ่ายจากการ ตารางแสดงค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น งบการเงินรวม ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและโฆษณา ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น อัตราส่วนค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานต่อรายได้รวม จากการดำ�เนินงาน (%)
2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,105.99 14.32 679.65 217.18 94.14 61.05 110.42 2,282.75 42.00
2557 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 944.45 2.38 619.39 192.26 81.51 57.77 102.10 1,999.86 47.29
2556 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 767.74 1.65 513.97 172.19 80.73 57.17 84.09 1,677.54 50.44
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 161.54 17.10 11.94 501.68 60.26 9.73 24.92 12.96 12.63 15.50 3.28 5.68 8.32 8.15 282.89 14.15
2.2 ความสามารถในการบริหารสินทรัพย์
การวิเคราะห์ฐานะการเงิน บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของธนาคารและบริษทั ย่อย เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
79
ตารางแสดงสินทรัพย์รวม งบการเงินรวม สินทรัพย์รวม สินทรัพย์ เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน-สุทธิ เงินลงทุน-สุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก รายได้รอตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ ทรัพย์สินรอการขาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน สินทรัพย์อื่น-สุทธิ รวมสินทรัพย์
2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
2,242.56 17,761.61 46,203.90
2,503.96 13,092.52 33,378.73 116,301.56 239.68 116,541.24 (281.52) (2,068.13) (7.55) 114,184.04 52.81 466.52 188.61 142.55 345.39 452.90 164,808.03
1,726.29 7,002.09 36,112.66
(261.40) 4,669.09 12,825.17
132,906.68 222.89 133,129.57 (179.45) (2,555.27) (8.74) 130,386.11 99.34 416.70 192.68 194.90 305.40 287.60 198,090.80
103,969.33 206.15 104,175.48 (320.24) (1,422.29) (11.18) 102,421.77 456.64 209.05 127.45 356.86 283.93 148,696.74
16,605.12 (16.79) 16,588.33 (102.07) 487.14 1.19 16,202.07 46.53 (49.82) 4.07 52.35 (39.99) (165.30) 33,282.77
(10.44) 35.66 38.42 14.28 (7.01) 14.23 (36.26) 23.55 15.76 14.19 88.11 (10.68) 2.16 36.72 (11.58) (36.50) 20.19
สินทรัพย์รวม
เงินให้สินเชื่อ
สินทรัพย์หลัก ประกอบด้วยเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ และดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 65.82 ของสินทรัพย์รวม รองลงมาได้แก่ เงินลงทุน-สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 23.32 ของ สินทรัพย์รวม โดยสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจำ�นวน 198,090.80 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 33,282.77 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.19 เมื่อเทียบกับปี 2557 โดยส่ ว นใหญ่ ม าจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น ให้ สิ น เชื่ อ และ ดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ และเงินลงทุน-สุทธิ
เงินให้สนิ เชือ่ จำ�แนกตามภาคธุรกิจสามารถแบ่งออกเป็น เงินให้สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) เงินให้สินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME) และเงินให้สินเชื่อเพื่อรายย่อย (Retail) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีเงินให้สินเชื่อสุทธิจาก รายได้รอตัดบัญชี (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) จำ�นวน 149,010.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 21,392.48 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.76 เมื่อเทียบกับปี 2557
80
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
โดยส่ ว นใหญ่ เ ป็ น สิ น เชื่ อ ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 60.43 รองลงมาเป็ น สิ น เชื่ อ เพื่ อ รายย่ อ ยคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 21.35 ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมดและหากจำ�แนกตามประเภท
เงินให้สินเชื่อพบว่าส่วนใหญ่เป็นสินเชื่อเพื่อการสาธารณูปโภค และบริการ และสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยคิดเป็นร้อยละ 23.10 และร้อยละ 20.01 ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมด ตามลำ�ดับ
ตารางแสดงเงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามภาคธุรกิจ (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) งบการเงินรวม เงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามภาคธุรกิจ
2558
2557
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง)
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
ร้อยละ
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
ร้อยละ
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
ร้อยละ
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
สัดส่วน (ร้อยละ)
สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate)
90,053.21
60.43
69,774.26
54.67
52,233.84
48.15
20,278.95
29.06
สินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME)
27,143.71
18.22
25,486.31
19.97
22,112.60
20.38
1,657.40
6.50
สินเชื่อเพื่อรายย่อย (Retail)
31,813.10
21.35
32,356.97
25.36
34,141.10
31.47
(543.87)
(1.68)
149,010.02 100.00 127,617.54 100.00 108,487.54 100.00
21,392.48
16.76
รวมเงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี บวก : ดอกเบี้ยค้างรับ
236.52
244.93
208.81
(8.41)
(3.43)
รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับสุทธิจาก 149,246.54 รายได้รอตัดบัญชี
127,862.47
108,696.35
21,384.07
16.72
ตารางแสดงรายละเอียดของเงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามประเภทเงินให้สินเชื่อ (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) งบการเงินรวม เงินให้สินเชื่อ จำ�แนกตามประเภทเงินให้สินเชื่อ
2558
2557
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง)
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
ร้อยละ
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
ร้อยละ
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
ร้อยละ
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
สัดส่วน (ร้อยละ)
สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย
29,812.73
20.01
30,472.25
23.88
32,273.40
29.75
(659.52)
(2.16)
อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์
27,390.76
18.38
22,909.61
17.95
19,827.16
18.28
4,481.15
19.56
การสาธารณูปโภคและบริการ
34,424.60
23.10
27,283.53
21.38
26,248.89
24.19
7,141.07
26.17
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง
18,847.74
12.65
15,230.61
11.93
12,068.50
11.12
3,617.13
23.75
386.13
0.26
420.88
0.33
517.03
0.48
(34.75)
(8.26)
ตัวกลางทางการเงิน
21,938.64
14.72
19,001.13
14.89
10,620.63
9.79
2,937.51
15.46
สหกรณ์ออมทรัพย์
14,093.29
9.46
10,028.50
7.86
4,338.44
4.00
4,064.79
40.53
2,116.13
1.42
2,271.03
1.78
2,593.49
2.39
(154.90)
(6.82)
149,010.02 100.00 127,617.54 100.00 108,487.54 100.00
21,392.48
16.76
การเกษตรและเหมืองแร่
อื่นๆ รวมเงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
81
คุณภาพสินทรัพย์ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 สิ น ทรั พ ย์ จั ด ชั้ น ประกอบด้ ว ย รายการระหว่ า งธนาคารและตลาดเงิ น และ ดอกเบี้ยค้างรับ เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ
และสิ น ทรั พ ย์ อื่ น โดยจั ด ชั้ น ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ กำ � หนด โดยธนาคารแห่งประเทศไทย มีรายละเอียดดังนี้
ตารางแสดงการจัดชั้นสินทรัพย์แยกตามประเภทสินทรัพย์ งบการเงินรวม การจัดชั้นสินทรัพย์แยกตามประเภทสินทรัพย์
2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินและดอกเบีย้ ค้างรับ - ปกติ 16,296.41 11,602.75 4,841.10 เงินลงทุน - สงสัยจะสูญ 50.66 36.03 117.38 เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - ปกติ 129,150.53 111,826.75 100,187.65 - กล่าวถึงเป็นพิเศษ 984.94 1,983.91 1,687.45 - ต่ำ�กว่ามาตรฐาน 347.08 507.50 414.89 - สงสัย 1,471.27 570.55 550.54 - สงสัยจะสูญ 996.30 1,371.01 1,014.71 สินทรัพย์อื่น - สงสัยจะสูญ 34.97 26.11 25.90 รวม 149,332.16 127,924.61 108,839.62
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
สัดส่วน (ร้อยละ)
4,693.66
40.45
14.63
40.61
17,323.78 (998.97) (160.42) 900.72 (374.71)
15.49 (50.35) (31.61) 157.87 (27.33)
8.86 21,407.55
33.93 16.73
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จำ�นวน 2,555.27 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 487.14 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.55 เมื่อเทียบกับปี 2557 ซึ่งสอดคล้องกับ การเติบโตของสินเชือ่ และเพือ่ รองรับความไม่แน่นอนทีอ่ าจเกิดขึน้ จากสภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ อัตราส่วนค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ
82
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ต่อสินเชื่อรวมอยู่ที่ร้อยละ 1.93 เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ที่อยู่ที่ ร้อยละ 1.78 อัตราส่วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อเงินให้สินเชื่อ ด้ อ ยคุ ณ ภาพ (LLR/NPL) เพิ่ ม ขึ้ น จากร้ อ ยละ 84.75 เป็นร้อยละ 91.10
ตารางแสดงค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำ�แนกตามการจัดชั้นของลูกหนี้ (ไม่รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) งบการเงินรวม เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ 2558 และดอกเบี้ยค้างรับ และค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จำ�แนกตามการจัดชั้น และดอกเบี้ยค้างรับ ของลูกหนี้ จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) จัดชั้นปกติ 129,150.53 97.14 จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ 984.94 0.74 จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน 347.08 0.26 จัดชั้นสงสัย 1,471.27 1.11 จัดชั้นสงสัยจะสูญ 996.30 0.75 รวม 132,950.12 100.00 เงินสำ�รองรายตัวเพิม่ เติม เงินสำ�รองทั่วไป รวม 132,950.12 100.00 สำ�รองหนี้สงสัยจะสูญ ต่อเงินให้สินเชื่อ ด้อยคุณภาพ
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เพิ่มขึ้น (ลดลง) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และดอกเบี้ยค้างรับ 2557
จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท)
498.05 19.49 111,826.75 96.19 2.85 0.11 1,983.90 1.71 108.24 4.24 507.50 0.44 367.30 14.37 570.55 0.49 347.82 13.61 1,371.01 1.17 1,324.26 51.82 116,259.71 100.00 508.60 19.91 722.41 28.27 2,555.27 100.00 116,259.71 100.00
411.84 19.91 2.50 0.12 87.31 4.22 140.54 6.80 617.65 29.87 1,259.84 60.92 380.00 18.37 428.29 20.71 2,068.13 100.00
91.10
86.21 0.35 20.93 226.76 (269.83) 64.42 128.60 294.12 487.14
สัดส่วน (ร้อยละ) 20.93 14.00 23.97 161.35 (43.69) 5.11 33.84 68.67 23.55
84.75
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีเงินให้สินเชื่อแยกตามอายุลูกหนี้ที่ค้างชำ�ระตามกำ�หนดระยะเวลา ดังนี้
ตารางแสดงเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้จำ�แนกตามวันที่ครบกำ�หนด งบการเงินรวม เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ครบกำ�หนดเมื่อทวงถาม ครบกำ�หนดไม่เกิน 3 เดือน ครบกำ�หนด 3 - 12 เดือน ครบกำ�หนด มากกว่า 1 ปี รวม
2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 10,379.04/1 21,378.84 17,367.36 83,781.44 132,906.68
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 8,514.33/1 19,771.29 14,633.22 73,382.72 116,301.56
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 8,072.64/1 15,063.07 12,104.30 68,729.32 103,969.33
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 1,864.71 21.90 1,607.55 8.13 2,734.14 18.68 10,398.72 14.17 16,605.12 14.28
หมายเหตุ /1 หมายถึง เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลกู หนีท้ ค่ี รบกำ�หนดเมือ่ ทวงถามรวมจำ�นวนเงินคงค้างตามสัญญาของลูกหนีร้ ายทีผ่ ดิ นัดชำ�ระ และเป็นเงินให้สนิ เชือ่ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
83
ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้
สิ น เชื่ อ ด้ อ ยคุ ณ ภาพ (Net) จำ � นวน 1,832.22 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.24 ของสินเชื่อรวมหลังหักสำ�รอง ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของสินเชื่อด้อยคุณภาพ
ธ น า ค า ร ตั้ ง ค่ า เ ผื่ อ ก า ร ป รั บ มู ล ค่ า จ า ก ก า ร ปรับโครงสร้างหนี้จำ�นวน 8.74 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 1.19 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.76 เมื่อเทียบกับปี 2557
หนี้สินรวม
สินเชื่อด้อยคุณภาพ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธนาคารและบริษัทย่อย มีหนี้สินรวมจำ�นวน 182,032.31 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 31,599.91 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.01 เมื่อเทียบกับ ปี 2557 โดยส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของตราสารหนี้ที่ออก และเงินกู้ยืมและเงินรับฝาก
ณ วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 5 8 มี สิ น เ ชื่ อ ด้อยคุณภาพ (Gross) จำ�นวน 2,814.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จำ�นวน 365.59 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.93 เมื่อเทียบกับ ปี 2557 อัตราส่วนสินเชื่อด้อยคุณภาพต่อสินเชื่อรวม คิดเป็น ร้อยละ 1.89 ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2557 ที่คิดเป็นร้อยละ 1.92 ตารางแสดงหนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน
งบการเงินรวม หนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม อื่นๆ รวมหนี้สิน
2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 137,300.10 20,641.07 176.52 21,814.06 2,100.56 182,032.31
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 123,661.96 23,917.27 109.95 1,000.00 1,743.22 150,432.40
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 109,936.87 23,513.46 214.56 3.20 1,536.14 135,204.23
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 13,638.14 11.03 (3,276.20) (13.70) 66.57 60.55 20,814.06 2,081.41 357.34 20.50 31,599.91 21.01
เงินรับฝาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีเงินรับฝากรวม จำ�นวน 137,300.10 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 13,638.14 ล้านบาท
84
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.03 เมื่อเทียบกับปี 2557 โดยส่วนใหญ่ เป็นการเพิ่มขึ้นของเงินรับฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา
ตารางแสดงเงินรับฝากจำ�แนกตามประเภทเงินรับฝาก งบการเงินรวม 2558
2557
2556
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 5,678.02 51,887.27 41,212.83 38,521.98 137,300.10
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 5,034.06 50,659.00 30,684.68 37,284.22 123,661.96
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 3,869.66 27,660.88 35,409.88 42,996.45 109,936.87
เงินรับฝากจำ�แนกตามประเภทเงินรับฝาก
จ่ายคืนเมื่อทวงถาม ออมทรัพย์ เงินรับฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา ใบรับเงินฝากประจำ� รวมเงินรับฝาก
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ปี 2557) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 643.96 12.79 1,228.27 2.42 10,528.15 34.31 1,237.76 3.32 13,638.14 11.03
ความสัมพันธ์ของแหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน
ส่วนของเจ้าของ
ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 มี เ งิ นให้ สิ น เชื่ อ แก่ลูกหนี้ (ก่อนหักรายได้รอตัดบัญชี) จำ�นวน 132,906.68 ล้ า นบาท โดยมี อั ต ราส่ ว นของเงิ นให้ สิ น เชื่ อ ต่ อ เงิ น รั บ ฝาก คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 96.83 สำ � หรั บ ส่ ว นของสภาพคล่ อ งที่ เ หลื อ ธนาคารได้ นำ �ไปลงทุ นในสิ น ทรั พ ย์ ส ภาพคล่ อ งต่ า งๆ อาทิ 2.3 ความเพียงพอของเงินทุน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน และเงินให้สนิ เชือ่ แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุนที่สำ�คัญ ณ วันที่ แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน 31 ธันวาคม 2558 สามารถแบ่งตามระยะเวลาครบกำ�หนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โครงสร้างเงินทุน ตามสั ญ ญา โดยเงิ น รั บ ฝากที่ มี อ ายุ น้ อ ยกว่ า 1 ปี จำ � นวน ตามงบการเงินรวม ประกอบด้วยหนี้สินจำ�นวน 182,032.31 129,314.01 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 94.18 ของเงินรับฝาก ล้านบาท และส่วนของเจ้าของจำ�นวน 16,058.49 ล้านบาท ทั้งหมด ขณะที่เงินให้สินเชื่อที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปี จำ�นวน คิดเป็นอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 11.34 เท่า 49,125.23 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.96 ส่วนเงินรับฝาก โดยองค์ประกอบของแหล่งเงินทุนด้านหนี้สิน ได้แก่ เงินฝากรวม ที่มีอายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน 7,986.09 ล้านบาท คิดเป็น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 69.31 ของแหล่งเงินทุน รายการระหว่าง ร้อยละ 5.82 ขณะที่เงินให้สินเชื่อที่มีอายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน ธนาคารและตลาดเงินมีสัดส่วนร้อยละ 10.42 ตราสารหนี้ที่ออก 83,781.44 ล้านบาท หรือ คิดเป็นร้อยละ 63.04 และเงินกู้ยืมสัดส่วนร้อยละ 11.01 หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม และอื่นๆ ร้อยละ 1.15 ขณะที่ส่วนของเจ้าของคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 8.11 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีส่วนของเจ้าของ จำ�นวน 16,058.49 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 1,682.86 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.71 เมื่อเทียบกับปี 2557
เงินรับฝาก 2558 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) น้อยกว่า 1 ปี 129,314.01 94.18 มากกว่า 1 ปี 7,986.09 5.82 รวม 137,300.10 100.00 ระยะเวลา
เงินให้สินเชื่อ
2557 2558 2557 จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 119,927.53 96.98 49,125.24 36.96 42,918.84 36.90 3,734.43 3.02 83,781.44 63.04 73,382.72 63.10 123,661.96 100.00 132,906.68 100.00 116,301.56 100.00 รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
85
2.4 การเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสด
เงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจำ�นวน 2,242.56 ล้ า นบาท ลดลงจำ � นวน 261.40 ล้ า นบาท เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2557 โดยมี เ งิ น สดสุ ท ธิ ไ ด้ ม าและใช้ ไ ปใน กิจกรรมต่างๆ ดังนี้ - เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานจำ�นวน 6,440.38 ล้ า นบาท เกิ ด จากกำ � ไรจากการ ดำ � เนิ น งานก่ อ นการเปลี่ ย นแปลงในสิ น ทรั พ ย์ และหนี้สินดำ�เนินงานจำ�นวน 990.40 ล้านบาท และการเปลี่ ย นแปลงในสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ดำ�เนินงานที่สำ�คัญ ได้แก่ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เพิ่มขึ้น 17,337.39 ล้านบาท รายการระหว่าง ธนาคารและตลาดเงิ น (สิ น ทรั พ ย์ ) เพิ่ ม ขึ้ น 4,707.55 ล้านบาท ตราสารหนีท้ อ่ี อกและเงินกูย้ มื ระยะสั้ น เพิ่ ม ขึ้ น 16,814.06 ล้ า นบาท และเงินรับฝากเพิ่มขึ้น 13,638.13 ล้านบาท
- เงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรมลงทุ น จำ � นวน 10,701.70 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการลงทุน ในเงิ น ลงทุ น ที่ จ ะถื อ จนครบกำ � หนดจำ � นวน 23,385.04 ล้านบาท ในขณะที่มีเงินสดรับจาก เงินลงทุนที่ถือจนครบกำ�หนดจำ�นวน 11,144.13 ล้านบาท - เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 3,999.91 ล้านบาท เกิดจากการออกตราสารหนี้ ที่ออกและเงินกู้ยืมระยะยาวจำ�นวน 4,000.00 ล้านบาท เงินสดรับจากการเพิ่มทุนหุ้นสามัญ จำ�นวน 1,000.00 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผล จำ�นวน 1,000.09 ล้านบาท
2.5 ความเพียงพอของสภาพคล่อง รายการ สินทรัพย์รวม เงินรับฝาก เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (สุทธิรายได้รอตัดบัญชี) สินทรัพย์สภาพคล่อง เงินให้สินเชื่อ/เงินรับฝาก (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/สินทรัพย์รวม (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/เงินรับฝาก (%)
31 ธันวาคม 2558
31 ธันวาคม 2557
198,090.80 137,300.10 132,727.23 52,242.09 96.67 26.37 38.05
164,808.03 123,661.96 116,020.04 39,041.85 93.82 23.69 31.57
หมายเหตุ : สินทรัพย์สภาพคล่อง ประกอบด้วยเงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ (สินทรัพย์) และเงินลงทุนสุทธิ
2.6 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง
ธนาคารดำ � รงอั ต ราส่ ว นสิ น ทรั พ ย์ ส ภาพคล่ อ ง โดยเฉลี่ ย แล้ ว ไม่ ต่ำ � กว่ า ร้ อ ยละ 6.00 ของยอดเงิ น รั บ ฝาก และเงินกู้ยืมบางประเภท ตามเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย กำ�หนด โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีเงินสดในมือ เงิ น สดที่ ศู น ย์ เ งิ น สด เงิ น รั บ ฝากที่ ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทย และหลักทรัพย์ที่ปราศจากภาระผูกพันรวมจำ�นวน 47,877.59 ล้านบาท
86
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
2.7 ความเพียงพอของเงินกองทุนและการดำ�รงอัตราส่วน เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อัตราส่วนเงินกองทุน ทั้ ง สิ้ น ต่ อสิ น ทรั พ ย์ เ สี่ ย งเท่ า กั บ ร้ อยละ 14.01 สู งกว่ า เกณฑ์ ขั้นต่ำ�ของธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งกำ�หนดไว้ที่ร้อยละ 8.50 และเพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ที่มีอัตราส่วน เงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงที่ร้อยละ 12.41 อั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ชั้ น ที่ 1 ต่ อ สิ น ทรั พ ย์ เ สี่ ย ง เ ท่ า กั บ ร้ อ ย ล ะ 1 0 . 1 8 ซึ่ ง สู ง ก ว่ า เ ก ณ ฑ์ ขั้ น ต่ำ � ข อ ง ธนาคารแห่งประเทศไทยที่กำ�หนดไว้ที่ร้อยละ 6.00
ตารางแสดงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย ส่วนต่าง เงินกองทุนชั้นที่ 1 ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย ส่วนต่าง เงินกองทุนทั้งหมด ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย ส่วนต่าง
31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
31 ธันวาคม 2557 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
31 ธันวาคม 2556 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
15,202.82
10.18 13,895.82 4.50 5.68
11.32 13,206.94 4.50 6.82
12.69 4.50 8.19
15,202.82
10.18 13,895.82 6.00 4.18
11.32 13,206.94 6.00 5.32
12.69 6.00 6.69
20,936.11
14.01 15,231.93 8.50 5.51
12.41 13,921.53 8.50 3.91
13.38 8.50 4.88
อันดับความน่าเชื่อถือ
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รับ การจัดอันดับเครดิตองค์กรโดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด อยู่ที่ ระดับ “A-” (Single A Minus) แนวโน้มอันดับเครดิตเป็น “Stable” หรือ “คงที่” ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสถานะทางธุรกิจ และการเงิ น ของธนาคารที่ ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมถึ ง การมี คุณภาพสินทรัพย์ที่ดี และเงินทุนที่แข็งแกร่ง
บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีผลการดำ�เนินงาน ดังนี้
2.8 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานในอนาคต
ปั จ จั ย ที่ อ าจมี ผ ลต่ อ การดำ � เนิ น งานในอนาคต มีปัจจัยหลักคือ แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยซึ่งยังอยู่ใน ภาวะเปราะบาง โดยมีสาเหตุมาจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ที่ฟื้นตัวช้า ความผันผวนในตลาดเงิน ตลาดทุน ประกอบกับ กำ � ลั ง ซื้ อ ภายในประเทศที่ ยั งไม่ แ ข็ ง แรงนั ก รวมถึ ง ครั ว เรื อ น ในภาคเกษตรที่ได้รับผลกระทบทั้งจากปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ� และวิ ก ฤติ ภั ย แล้ ง ซึ่ ง จะส่ ง ผลต่ อ เนื่ อ งมายั ง ความต้ อ งการ สินเชื่อและคุณภาพสินเชื่อ และอาจส่งผลให้รายได้ดอกเบี้ยรับ ของระบบธนาคารพาณิชย์ลดลง รวมทั้งปัญหาหนี้ด้อยคุณภาพ ในระดับสูงจะทำ�ให้ต้องมีการตั้งสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญมากขึ้น
3. ธุรกิจหลักทรัพย์
ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของธุรกิจหลักทรัพย์ ปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของธุรกิจหลักทรัพย์ ในปี 2558 ภาพรวมตลาดหุ้นไทยปี 2558 ปรับตัวลดลง 14% จากระดั บ 1,497.67 จุ ด ณ สิ้ น ปี 2557 มาปิ ด ที่ ร ะดั บ 1,288.02 จุด ณ สิ้นปี 2558 โดยตลาดหุ้นปรับตัวเพิ่มขึ้น ในช่วงต้นปีไปแตะที่ระดับ 1,600 จุด ก่อนที่จะปรับลดลงต่อเนื่อง โดยมีปจั จัยหลักมาจากความไม่เชือ่ มัน่ ของนักลงทุนต่อการเติบโต ของเศรษฐกิ จ โลก ทำ � ให้ นั ก ลงทุ น มี ค วามต้ อ งการลงทุ น ในสิ น ทรั พ ย์ เ สี่ ย งลดน้ อ ยลง รวมถึ ง ความกั ง วลเกี่ ย วกั บ ภาวะตึ ง ตั วในตลาดการเงิ น ของสหรั ฐ อเมริ ก า (Financial Condition) การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของเฟด และการชลอตัว ของเศรษฐกิจจีน แม้วา่ ปัจจัยภายในประเทศจะเริม่ เห็นความชัดเจน ด้านนโยบายเชิงรุกที่มากขึ้นของรัฐบาลที่จะช่วยให้เศรษฐกิจ ปรับตัวดีขึ้นอย่างจับต้องได้ในปี 2559 แต่เศรษฐกิจไทยยังคง รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
87
เผชิญกับการส่งออกที่หดตัว รวมถึงอุปสงค์ในประเทศที่ลดลง ทั้งหมดนี้กดดันให้นักลงทุนต่างชาติเทขายหุ้นไทยอย่างต่อเนื่อง นับจากช่วงกลางปี 2558 นักลงทุนต่างชาติได้ขายหุ้นไทยสุทธิ 1.5 แสนล้านบาท เมื่อรวมกับการชะลอตัวของตลาดหุ้นไทย ทำ�ให้มีการซื้อขายค่อนข้างบางตา โดยมูลค่าการซื้อขายปี 2558 มีจำ�นวน 10.0 ล้านล้านบาท ลดลงจากปี 2557 ที่มีจำ�นวน 10.2 ล้านล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.92 การเปิดเสรีค่าคอมมิชชั่นทำ�ให้การแข่งขันของธุรกิจ หลักทรัพย์มีความรุนแรง โดยมีบริษัทหลักทรัพย์แห่งใหม่เกิดขึ้น หลายแห่ง และมีกลยุทธ์ด้านราคา ส่งผลให้อัตราค่าคอมมิชชั่น เฉลี่ ย ของบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ ล ดลง รวมทั้ ง เกิ ด การโยกย้ า ย ของพนั ก งานการตลาด ซึ่ ง บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ แ ต่ ล ะแห่ ง มี การปรับรูปแบบการดำ�เนินธุรกิจไปสู่ Pure Internet Trading การปรับตัวด้วยการเพิ่มสินค้าและบริการเพื่อเพิ่มฐานรายได้ เพื่ อ ลดผลกระทบจากการแข่ ง ขั นในธุ ร กิ จ นายหน้ า รวมถึ ง การพัฒนาคุณภาพข้อมูลการวิเคราะห์หลักทรัพย์ให้มปี ระสิทธิภาพ และการพั ฒ นาระบบเทคโนโลยี เ พื่ อ เพิ่ ม ความได้ เ ปรี ย บ ด้านการแข่งขันด้านการให้บริการ และการนำ�เสนอบทวิเคราะห์ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่หันมาให้ความสำ�คัญ กับการซื้อขายผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมากยิ่งขึ้น แนวโน้มภาวะธุรกิจและการแข่งขันของธุรกิจหลักทรัพย์ ปี 2559
และเดิ น หน้ า ปรั บ ขึ้ น อั ต ราดอกเบี้ ย เพื่ อให้ เ ข้ า สู่ ร ะดั บ ปกติ (Normalization) ในขณะที่ ฝั่ ง ยุ โ รป ECB ขยายเวลา การทำ� QE ออกไปถึงเดือนมีนาคม 2017 ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (BOJ) ยั ง คงขยายขนาดงบดุ ล ปี ล ะ 80 ล้ า นล้ า นเยน ทั้งนี้ธนาคารกลางยุโรปและตลาดเกิดใหม่ (EM) โดยเฉพาะ จีนและอินเดียมีแนวโน้มที่จะผ่อนคลายนโยบายการเงินเพิ่มเติม ในปี นี้ ซึ่ ง จากความต่ า งของนโยบายนี้ บริ ษั ท คาดว่ า จะส่ ง ผลให้ ก ารลงทุ น ปี 2559 ยั ง คงเผชิ ญ กั บ ความผั น ผวน แต่ตลาดในปีนี้ยังคงมีความน่าสนใจ โดยการเติบโตของดัชนี น่าจะเป็นไปตามการเติบโตของกำ�ไรสุทธิของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งยังมีแนวโน้มเป็นบวก
การวิเคราะห์ภาวะธุรกิจหลักทรัพย์ทม่ี ผี ลต่อการดำ�เนินงาน
1. ธุรกิจหลักทรัพย์จะมีการแข่งขันที่รุนแรงมาก ดังนั้น บริษัทจึงได้มีมาตรการเพื่อรองรับการแข่งขันที่รุนแรงโดยการ เร่งขยายฐานลูกค้าของบริษัทให้กว้างขวางขึ้น การเพิ่มสินค้า และบริ ก ารเพื่ อ เพิ่ ม ฐานรายได้ ซึ่ ง จะช่ ว ยลดผลกระทบจาก การแข่งขันในธุรกิจนายหน้า รวมถึงการพัฒนาคุณภาพข้อมูล การวิเคราะห์หลักทรัพย์ให้ครอบคลุม มีประสิทธิภาพ และการ พัฒนาระบบเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความได้เปรียบด้านการแข่งขัน ด้ า นการให้ บ ริ ก าร เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ที่ หั น มาให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การซื้ อ ขายผ่ า นระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต มากยิง่ ขึน้ และอีกส่วนคือการควบคุมค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินงาน ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม 2. การเปลีย่ นแปลงรูปแบบโครงสร้างของการดำ�เนินธุรกิจ ปั จ จุ บั น โครงสร้ า งรายได้ ข องธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ โ ดยรวม เริ่ ม มี ก ารขยายตั ว ของรายได้ ใ นส่ ว นอื่ น ๆ มากขึ้ น แม้ ว่ า รายได้ ห ลั ก จะยั ง มาจากส่ ว นของธุ ร กิ จ นายหน้ า ก็ ต าม แสดงให้ เ ห็ น ชั ด เจนถึ ง การปรั บ รู ป แบบโครงสร้ า งธุ ร กิ จ ที่ ข ยายฐานสู่ ก ารเป็ น ธุ ร กิ จ Wealth Management และการดำ�เนินธุรกิจด้านการลงทุนอย่างชัดเจน ตารางที่ 1 : Revenue of Securities Industry (Unit : THB Million)
2556
2557
ปี 2559 เป็ น ปี ที่ 4 ของการเปิ ด เสรี ค่ า คอมมิ ช ชั่ น Brokerage - Securities 32,749 28,381 การแข่ ง ขั น ของธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ ยั ง มี ค วามรุ น แรงต่ อ เนื่ อ ง Brokerage - Derivatives 2,290 1,721 ซึ่ ง จะมี ก ารใช้ ก ลยุ ท ธ์ ด้ า นราคาที่ เ ข้ ม ข้ น และจะส่ ง ผลให้ Underwriting 1,626 1,327 546 734 อัตราค่าคอมมิชชั่นเฉลี่ยของบริษัทหลักทรัพย์ในปีนี้ปรับลดลง Financial Advisory Gains on Trading Securities -442 920 ได้อีก Gains on Trading - Derivatives 4,546 2,398 ในปี 2559 ทิศทางนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา Interest and Dividend 3,144 3,171 ยุ โ รปและอี ก หลายประเทศที่ มี ข นาดเศรษฐกิ จ ค่ อ นข้ า งใหญ่ Others 5,628 5,978 มีความแตกต่างกัน (Policy Divergence) ชัดเจนมากขึ้น Total Revenue 50,087 44,631 โดยธนาคารกลางสหรั ฐ อเมริ ก า (FED) ยุ ติ ก ารทำ � QE Source : SEC 88
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
% Change -13.3% -24.8% -18.4% 34.3% 308.1% -47.2% 0.9% 6.2% -10.89%
3. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ โดยปัจจุบันมีระบบการบริการซื้อขายหุ้นผ่านโปรแกรมอัตโนมัติ หรือ “Algorithm Trading“ ซึ่งในระยะต่อไปน่าจะมีส่วนช่วยให้ ภาคธุรกิจการเงินเติบโตได้ค่อนข้างดี การลงทุนในส่วนของ ระบบซื้อขายหุ้นผ่านระบบอินเทอร์เน็ต จึงยังเป็นปัจจัยหลัก สำ�หรับธุรกิจนี้ต่อไป ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน การวิ เ คราะห์ ผ ลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เป็นการ เปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2558 เปรียบเทียบกับ ผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2557 ปี 2558 ขาดทุนสุทธิจำ�นวน 19.83 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5.67 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.99 เมื่อเทียบกับปี 2557 การเพิ่มขึ้นของขาดทุนสุทธิเป็นผลมาจากค่าใช้จ่ายดำ�เนินงาน ที่เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน มีจำ�นวน 108.10 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 72.96 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 207.59 เมื่อเทียบกับปี 2557 เนื่องจากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน และ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่ และอุปกรณ์เพิ่มขึ้น ปี 2558 บริษัทได้ตัดจำ�หน่ายค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ที่ได้ตั้งไว้ทั้งจำ�นวน 69.69 ล้านบาท อั ต รากำ � ไรจากการดำ � เนิ น งานก่ อ นหนี้ ส งสั ย จะสู ญ ต่อรายได้รวมปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ12.57 ลดลงจากปี 2557 ที่อยู่ที่ร้อยละ 41.02 เนื่องมาจากค่าใช้จ่ายดำ�เนินงานที่เพิ่มขึ้น ขาดทุนต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานปี 2558 เท่ากับ 0.03 บาทต่อหุน้ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2557 ที่มีจำ�นวน 0.02 บาทต่อหุ้น
โครงสร้างรายได้รวม
โครงสร้างรายได้รวมของบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีรายละเอียด ดังนี้ • รายได้รวม รายได้ ป ระกอบด้ ว ยรายได้ จ ากค่ า นายหน้ า ซื้ อ ขาย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละค่ า นายหน้ า ซื้ อ ขายสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ กำ�ไร(ขาดทุน)จากการซื้อขาย หลักทรัพย์ ดอกเบี้ยและเงินปันผล ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมเพื่อ ซื้อหลักทรัพย์และรายได้อื่น ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการโอนหุ้น ซึ่งรายได้หลักมาจากธุรกิจการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ และการเป็นนายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ในปี 2558 บริ ษั ท มี ร ายได้ ค่ า นายหน้ า คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 57
ของรายได้ ร วม โดยค่ า นายหน้ า จะเป็ น ของลู ก ค้ า รายย่ อ ย สัดส่วนประมาณร้อยละ 96 ของปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ ของบริ ษั ท และลู ก ค้ า สถาบั น สั ด ส่ ว นประมาณร้ อ ยละ 4 ของปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท รายได้รวมจำ�นวน 93.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 67.68 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2557 เนื่องจากในปี 2557 หรือเพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ 258.27 เนื่ อ งจากบริ ษั ท เริ่ ม เปิ ดให้ บ ริ ก ารซื้ อ ขาย หลักทรัพย์ปลายเดือนกันยายน 2557 • รายได้ค่านายหน้า มี ร ายได้ ค่ า นายหน้ า จากการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ และสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าจำ�นวน 53.78 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 50.46 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1,517.35 เนื่องจากในปี 2557 บริษัทเริ่มเปิดให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์ ปลายเดือนกันยายน 2557 • รายได้ที่นอกเหนือจากรายได้ค่านายหน้า รายได้ ที่ น อกเหนื อ จากรายได้ ค่ า นายหน้ า ได้ แ ก่ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ กำ�ไร(ขาดทุน)จากการซื้อขาย หลักทรัพย์ ดอกเบี้ยและเงินปันผล ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อ หลักทรัพย์ และรายได้อื่นๆ มีจำ�นวน 1.53, 7.09, 16.47, 13.74 และ 1.28 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โครงสร้างค่าใช้จ่ายรวม โครงสร้างค่าใช้จ่ายรวมของบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีรายละเอียด ดังนี้ • ค่าใช้จ่าย ค่ าใช้ จ่ า ยรวมจำ � นวน 113.72 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 73.47 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2557 หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 182.52 เนื่องจากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ อาคารสถานที่และอุปกรณ์ และค่าใช้จ่ายอื่นเพิ่มขึ้น • หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ บ ริ ษั ทไ ด้ จำ � แ น ก ลู ก ห นี้ ธุ ร กิ จ ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ สัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามประกาศของสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เรื่ อ งการจั ด ทำ � บั ญ ชี ที่เกี่ยวกับลูกหนี้ด้อยคุณภาพของบริษัทหลักทรัพย์ หนี้ด้อยคุณภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จำ�นวน 69.69 ล้านบาท ซึ่งในปี 2558 บริษัทได้ตัดจำ�หน่ายค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญที่ได้ตั้งไว้ทั้งจำ�นวน
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
89
การวิเคราะห์ฐานะการเงิน บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ � กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย เป็ น การ เปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 • สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีสินทรัพย์รวมจำ�นวน 1,064.20 ล้านบาท สินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุน คิดเป็น รัอยละ 47.06 ของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น 89.41 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.17 • ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าสุทธิ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าสุทธิ (บวกดอกเบี้ ย ค้ า งรั บ ) จำ � นวน 407.78 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 347.31 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 574.31 ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าสุทธิ ประกอบด้วย ลู ก หนี้ ซื้ อ ขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสดจำ� นวน 36.07 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 8.84 ของลู ก หนี้ ธุ ร กิ จ หลักทรัพย์และดอกเบี้ยค้างรับ – สุทธิ ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์จำ�นวน 371.71 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 91.16 ของลู ก หนี้ ธุ ร กิ จ หลักทรัพย์และดอกเบี้ยค้างรับ – สุทธิ • เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิจำ�นวน 500.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 477.97 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2557 หรือเพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ 2,094.97 เงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ ป ระกอบด้ ว ย เงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ เ พื่ อ ค้ า จำ � นวน 12.25 ล้ า นบาท เงิ น ลงทุ นในหลั ก ทรั พ ย์ เ ผื่ อ ขายจำ � นวน 480.25 ล้ า นบาท และเงินลงทุนทั่วไปจำ�นวน 8.29 ล้านบาท • เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อย ได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด โดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99
• ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชีจำ�นวน 25.89 ล้านบาท
• อุปกรณ์สุทธิ อุปกรณ์สุทธิจำ�นวน 44.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5.19 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.07 90
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เนื่ อ งจากบริ ษั ทได้ ซื้ อ เครื่ อ งใช้ สำ � นั ก งาน เครื่ อ งตกแต่ ง และ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น • สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์อื่น จำ�นวน 41.77 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3.36 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.76 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า • หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีหนี้สินรวมจำ�นวน 161.18 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 130.59 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 426.80 หนี้สินส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ยืม จากสถาบั น การเงิ น และเจ้ า หนี้ ธุร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ และสั ญ ญา ซื้อขายล่วงหน้า คิดเป็นรัอยละ 55.52 และ 32.28 ของหนี้สินรวม ตามลำ�ดับ
• เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เท่ากับ 89.50 ล้านบาท
• เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เจ้ า หนี้ ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า เท่ากับ 52.04 ล้านบาท • ส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีส่วนของเจ้าของจำ�นวน 903.02 ล้านบาท ลดลง 41.17 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2557 หรือลดลงร้อยละ 4.36 ความเพียงพอของเงินทุน • สภาพคล่อง ปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดสุทธิ ใช้ไปในกิจกรรมดำ�เนินงานทั้งสิ้น 351.51 ล้านบาท โดยมี สาเหตุ ห ลั ก จากการเพิ่ ม ขึ้ น ของลู ก หนี้ ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า และการลดลงของเจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปจากกิ จ กรรมลงทุ น ทั้ ง สิ้ น 502.18 ล้ า นบาท ซึ่ ง แหล่ ง ที่ ใ ช้ ไ ปของกระแสเงิ น สดจาก กิจกรรมการลงทุนคือ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนเผื่อขาย 386.12 ล้านบาท เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนเผื่อขาย 866.28 ล้านบาท เงินสดจ่ายซื้อส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์ 16.07 ล้านบาท และเงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 5.96 ล้านบาท
กระแสเงิ น สดได้ ม าจากกิ จ กรรมจั ด หาเงิ น ทั้ ง สิ้ น 89.50 ล้านบาท ซึ่งแหล่งที่ได้มาของกระแสเงินสดจากกิจกรรม จัดหาเงินคือ เงินสดรับจากการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงิน 309.20 ล้ า นบาท และเงิ น สดจ่ า ยคื น เงิ น กู้ ยื ม จากสถาบั น การเงิน 219.70 ล้านบาท ในการพิจารณาสภาพคล่อง บริษัทมีความสามารถ ในการดำ � รงเงิ น กองทุ น สภาพคล่ อ งสุ ท ธิ (NCR) สู ง กว่ า ร้อยละ 7 ซึ่งเป็นอัตราขั้นต่ำ�ตามเกณฑ์การดำ�รงเงินกองทุน สภาพคล่ อ งสุ ท ธิ ที่ สำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีสภาพคล่อง ที่เพียงพอในการดำ�เนินธุรกิจ โดยในปี 2558 มีระดับเงินกองทุน สภาพคล่ อ งสุ ท ธิ อยู่ ใ นช่ ว งร้ อ ยละ 374.05 – 4,426.49 ซึ่งอัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิอาจเปลี่ยนแปลงจาก ปัจจัยต่างๆ เช่น ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ การรับประกัน การจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ เป็นต้น • แหล่งที่มาของเงินกองทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทและบริษัทย่อย มีแหล่งที่มาของเงินทุนจากส่วนของผู้ถือหุ้น 903.02 ล้านบาท โดยอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เท่ากับ 0.03 เท่า และ 0.18 เท่า ตามลำ�ดับ ซึ่งหนี้สินส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ยืมจากสถาบัน การเงิ น เจ้ า หนี้ ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า ซึง่ เปลีย่ นแปลงตามปริมาณการซือ้ ขายหลักทรัพย์ในสามวันทำ�การ สุดท้ายของแต่ละงวดบัญชี
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานในอนาคต ปัจจัยที่อาจมีผลต่อการดำ�เนินงานในอนาคตมีปัจจัยหลัก คือ ปัจจัยจากการแข่งขันในธุรกิจหลักทรัพย์ โดยนับตั้งแต่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้เริ่มประกาศใช้วิธีการคิด ค่าธรรมเนียมแบบต่อรองอย่างเสรี พร้อมกับการเปิดเสรีใบอนุญาต ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์โดยไม่จำ�กัดจำ�นวน ส่งผลให้ธุรกิจ หลักทรัพย์มีการแข่งขันที่รุนแรงมาก ทั้งการแข่งขันด้านราคา ที่ รุ น แรงมาก สะท้ อ นออกมาในรู ป ของค่ า คอมมิ ช ชั่ น เฉลี่ ย ของบริษัทหลักทรัพย์ที่ปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับ การมีบริษัทหลักทรัพย์แห่งใหม่เกิดขึ้น ซึ่งนอกจากจะส่งผล ให้ เ กิ ด การแข่ ง ขั น ด้ า นราคาแล้ ว ยั ง ทำ �ให้ เ กิ ด การโยกย้ า ย ของพนักงานทางการตลาดเพือ่ รักษาส่วนแบ่งทางการตลาดอีกด้วย ส่งผลให้มีความเสี่ยงในการพึ่งพิงบุคลากรมากขึ้นอีกส่วนหนึ่ง เพราะลั ก ษณะของธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ ต้ อ งอาศั ย บุ ค ลากรที่ มี ประสบการณ์ ความรู้ ค วามสามารถ และความเชี่ ย วชาญ ในการดำ � เนิ น งาน บุ ค ลากรจึ ง ถื อ เป็ น ปั จ จั ย สำ � คั ญในการ ประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
91
รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้
1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 2. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการบรรษัทภิบาล 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการบรรษัทภิบาล
คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล ได้ ป ฏิ บัติห น้ า ที่ต ามขอบเขตความรั บ ผิ ด ชอบที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นประกาศแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ในระหว่างปี 2558 มีการจัดประชุมคณะกรรมการบรรษัทภิบาล รวม 3 ครั้ง และรายงานผลการประชุมต่อคณะกรรมการบริษัท สรุปสาระสำ�คัญ ดังนี้ • พิจารณาทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับแนวทางของหน่วยงานทางการ ที่กำ�กับดูแลบริษัทในฐานะบริษัทจดทะเบียน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่าบริษัทดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ มีความ โปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน • พิจารณาทบทวนนโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร ของบริษัทยึดถือเป็น แนวปฏิบัติเกี่ยวกับห้ามให้หรือรับของขวัญ ของกำ�นัล การเลีย้ งรับรองและผลประโยชน์ สินบนและสิ่งจูงใจ การบริจาค เพื่อการกุศลและการให้เงินสนับสนุนกิจกรรมและการมีส่วนร่วมทางการเมือง การรับแจ้งข้อมูลหรือข้อร้องเรียน • พิจารณาทบทวนนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เพื่อให้บริษัทเติบโตได้อย่างยั่งยืน • พิจารณาให้ความเห็นชอบแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น เพื่อขอรับประกาศนียบัตรรับรอง ฐานะสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตจากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต ซึ่งได้รับความเห็นชอบและได้รับประกาศนียบัตรรับรองฐานะสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาค เอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557 • เป็นตัวแทนบริษัทในการสื่อสาร ดูแลและส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และนโยบายการ ป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่มิชอบ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ให้ความสำ�คัญของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ ในการทำ�ธุรกิจ เพื่อทำ�ให้บริษัทเติบโตได้อย่างยั่งยืน และสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ซึ่งบริษัทมั่นใจว่าการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีจะช่วยเพิ่มมูลค่าแก่ผู้ถือหุ้น (นายอดุลย์ วินัยแพทย์) ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 92
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
สารจากกรรมการผูจ้ ดั การ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ยึดมั่นในการประกอบธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ควบคู่ไปกับการยึดมั่นในจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ อันเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่อง นับเป็นส่วนหนึ่งที่นำ�มาซึ่งการที่บริษัทได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียน ที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) จากสถาบันไทยพัฒน์ บริษัทได้ส่งเสริมการให้ความรู้ด้านการสร้างวินัยทางการเงิน โดยการนำ�ความรู้ ความเชี่ยวชาญและทักษะของภาคธนาคาร ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย มาสร้างประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมเพื่อให้รู้จักการเก็บออม โดยบริษัทได้ร่วมกับภาครัฐและภาคเอกชน ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นส่วนหนึ่งในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในทุกกระบวนการดำ�เนินธุรกิจ โดยทุกบริบทของการปฏิบัติงาน ต้องมีมาตรฐาน ซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ รวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมด้านอื่นๆ อาทิ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น การเคารพสิทธิมนุษยชน การร่วมพัฒนาชุมชน และสังคม การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง การนำ�พาบริษัทให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืน ผ่านการขับเคลื่อนภายใต้วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ดังนี้ วิสัยทัศน์ (Vision) เรามุ่งมั่นที่จะเป็นธนาคารที่มีการเติบโตอย่างมีคุณภาพ พันธกิจ (Mission) 1. มุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงและยั่งยืน 2. ให้บริการอย่างเชี่ยวชาญด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจ รวมทั้งพัฒนาไปสู่ธนาคารดิจิตอล 3. ดำ�เนินการด้วยหลักบรรษัทภิบาล โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และสังคมเป็นหลัก 4. พัฒนาและสนับสนุนระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลทั้งในเชิงความรู้และผลประโยชน์ของพนักงาน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้มีส่วนร่วมในการผลักดันและสนับสนุน การดำ�เนินงานด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน บริษัทขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น คู่ค้า ลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และพนักงาน ที่ให้การสนับสนุนการดำ�เนินงานของบริษัทด้วยดีเสมอมา บริษัทจะสานต่อเจตนารมณ์และยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืนต่อไป
(นางศศิธร พงศธร) กรรมการผู้จัดการ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
93
รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีเจตนารมณ์ในการดำ�เนินธุรกิจตามหลักการการกำ�กับดูแล กิ จ การที่ ดี ค วบคู่ ไ ปกั บ การดำ � เนิ น การด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบ ต่ อ สั ง คมโดยยึ ด มั่ นในหลั ก จรรยาบรรณและจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อตอบสนองต่อความพึงพอใจ อย่างเท่าเทียมกันของผู้มีส่วนได้เสียในทุกมิติ ด้วยตระหนักว่า บริษัทจะเติบโตได้อย่างยั่งยืนและมั่นคง จะต้องประกอบด้วย การดำ�เนินธุรกิจอย่างมีวิสัยทัศน์ มีความสามารถในการบริหาร จัดการธุรกิจให้บรรลุผลสำ�เร็จตามพันธกิจ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และการมีสว่ นร่วมในการดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งส่งผลต่อการสร้างมูลค่าที่ดีแก่องค์กรและผู้ถือหุ้น รวมถึง การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น
บริ ษั ท มี ค วามมุ่ ง มั่ นในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ตามหลั ก การ กำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ค วบคู่ ไ ปกั บ การดำ � เนิ น การด้ า น ความรับผิดชอบต่อสังคมซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งในการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในทุกกระบวนการดำ�เนินธุรกิจ โดยทุกบริบทของการปฏิบัติงาน ต้องมีมาตรฐาน ซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ และจากการดำ�เนินงานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ส่งผลให้ บริษัทได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียน ที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิ บ าล (Environmental, Social and ตราสัญลักษณ์ Governance: ESG) หรือที่เรียกว่ากลุ่มหลักทรัพย์ ESG100 ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยสถาบันไทยพัฒน์ ของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินกิจการภายใต้หลักการ ของกฎหมาย ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต มี คุ ณ ธรรม เป็ นไปตาม ความรับผิดชอบต่อสังคม ถือเป็นหนึ่งในหลักปฏิบัติที่ แนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มีจรรยาบรรณและจริยธรรม บริษัทได้ให้ความสำ�คัญ เพราะเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของ คำ�ว่า ธุรกิจ ทั้งระดับกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน การสนับสนุน “การพึ่งพิง” เนื่องจากทุกธุรกิจล้วนมีประชาชนหรือคนในสังคม การเข้าร่วมกิจกรรมโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักในการนำ�เสนอสินค้าและบริการ ดังนั้น ในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต รวมถึ ง การกำ � หนดให้ มี นโยบาย ไม่ว่าจะพัฒนาองค์กรไปในทิศทางใดก็ย่อมต้องมีคนในสังคม การป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบ การกำ�หนด เป็ น ผู้ ส นั บ สนุ นไม่ ท างใดก็ ท างหนึ่ ง ซึ่ ง การกำ � หนดนโยบาย แนวปฏิบัติเพื่อเป็นแนวทางให้แก่คณะกรรมการ ผู้บริหาร และ และแนวทางปฏิบัติดังกล่าวจะเป็นแนวทางให้บุคลากรในองค์กร พนักงาน ได้รับทราบและถือปฏิบัติ โดยเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม ยึดถือปฏิบัติ 2557 บริษัทได้รับประกาศนียบัตรการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วม บริ ษั ท ได้ ดำ � เนิ น การด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต จากสมาคม ประกอบด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการหลักของ สถาบันกรรมการบริษัทไทย การดำ�เนินธุรกิจ (CSR-in-Process) และนอกกระบวนการหลัก ปี 2558 สถาบั น ไทยพั ฒ น์ โดยการสนั บ สนุ น จาก ของการดำ�เนินธุรกิจ (CSR-after-Process) โดยมุง่ เน้นให้ผบู้ ริหาร สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และพนักงานทุกระดับเข้ามามีส่วนร่วม มีจิตอาสา เพื่อปลูกฝัง ได้ประเมินผลระดับการพัฒนาความยัง่ ยืนเรือ่ ง Anti-Corruption ให้มีจิตสำ�นึกในความรับผิดชอบต่อสังคม อีกทั้งยังเป็นการสร้าง ประจำ�ปี 2558 ของบริษัท โดยประเมินผลด้านความคืบหน้า รากฐานทีเ่ ข้มแข็งของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และนำ�ไปสูก่ ารพัฒนา ในเรื่องการป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้องกับคอร์รัปชั่นอยู่ที่ระดับ สังคมและประเทศให้เกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง 4 Certified 94
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
การดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการหลัก (CSR-in-Process) ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมในกระบวนการหลั ก (CSR-in-Process) หมายถึ ง การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สัง คมโดยการนำ� แนวปฏิบัติตามนโยบาย ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมตามหลั ก มาตรฐานทั้ งในประเทศ และต่างประเทศมาปรับใช้เพื่อพัฒนาต่อยอดให้เกิดนวัตกรรม ทางธุรกิจจนกลายเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำ�งาน และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตลอดจนมาตรฐานการบริการต่างๆ เพื่อจุดประสงค์หลักในการลดผลกระทบด้านลบที่อาจเกิดขึ้นกับ ผูม้ สี ว่ นได้เสียระหว่างกระบวนการทำ�งาน รวมถึงการสร้างจิตสำ�นึก ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมให้ เ กิ ด ขึ้ น กั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ ก ระดับจนก่อให้เ กิดทัศ นคติร่วมกันกั บ ทุ ก คน ในองค์กร และเพือ่ แสดงถึงความมุง่ มัน่ ในการเป็นสถาบันการเงิน ที่มีความแข็งแกร่งและมีความรับผิดชอบต่อสังคมสูงสุด การดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมนอกกระบวนการหลัก (CSR-after-Process) ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมนอกกระบวนการหลั ก (CSR-after-Process) หมายถึ ง กิ จ กรรมที่ ดำ � เนิ น การ นอกเหนือจากการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยการเข้าไปมีบทบาท ในการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคมตามวาระและโอกาสต่างๆ โดยมุ่ ง หวั งให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ สั ง คมและชุ ม ชน ทั้ งใน หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน อั น นำ � ไปสู่ ก ารสร้ า งรากฐาน ที่เข้มแข็งของสังคมและประเทศอย่างยั่งยืน แนวทางการดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินการ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้เกิดการปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรมในทุกกระบวนการดำ�เนินธุรกิจ เพื่อให้บริษัทเติบโต อย่ า งยั่ ง ยื น และเพื่ อ ให้ พ นั ก งานทุ ก ระดั บ เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม โดยยึดมั่นในจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด ปลูกฝังให้มีจิตสำ�นึก ในการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม โดยมี ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ ทำ�หน้าที่เป็น ตัวแทนองค์กรในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน มีคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ทำ�หน้าที่ดูแลการดำ�เนินงานด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม พิจารณาให้ข้อเสนอแนะและติดตาม การดำ�เนินงานตามแผนการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คม และรายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท โดยมี กรรมการผู้จัดการ ทำ�หน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการดำ�เนินงาน ให้เป็นไปตามแนวทางที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด
คณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดนโยบายความรับผิดชอบ ต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืนตามแนวทางของสถาบัน ธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility Institute) สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้กรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติ โดยมีการทบทวนเป็นประจำ�ทุกปี ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมของกิ จ การ หมายถึ ง การประกอบกิจการด้วยความดูแลใส่ใจต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมอย่างมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนมีธรรมาภิบาลเป็นเครื่องกำ�กับให้การดำ�เนินกิจกรรม ต่างๆ เป็นไปได้ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และยุติธรรม มีความตระหนักถึงผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยพร้ อ มจะแก้ ไ ขเพื่ อ ลดผลกระทบดั ง กล่ า ว กั บ การนำ � หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาบู ร ณาการ ให้เกิดการดำ�เนินกิจการเป็นการสร้างความสำ�เร็จและประโยชน์สขุ อี ก ทั้ ง เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ทุ ก เวที ก ารค้ า ซึ่งจะเป็นผลดีต่อความยั่งยืนของกิจการ ผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน บริษทั ตระหนักถึงการดำ�เนินธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมซึ่ ง จะทำ �ให้ ธุ ร กิ จ มี ค วามยั่ ง ยื น โดยให้ ค วามสำ � คั ญ ต่อการดูแลต่อผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม อย่างมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ การดำ�เนินธุรกิจ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต โปร่ งใสและยุ ติ ธ รรม ตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทจึง กำ�หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจ อย่ า งยั่ ง ยื น เพื่ อให้ ก รรมการบริ ษั ท ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน ทุกระดับยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติ 9 ด้าน ดังนี้ 1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม 3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน 5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม 6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม 8. การจัดการสิ่งแวดล้อม 9. นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำ�เนิน ความรับผิดชอบต่อสังคม รายละเอียดของนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อ การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่เว็บไซต์ของ บริษัท (www.lhfg.co.th) รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
95
ในรูปแบบต่างๆ รวมถึงช่องทางการสื่อสารต่างๆ โดยกำ�หนด ความถี่ในการดำ�เนินงานที่ชัดเจน อาทิ การจัดประชุม การสำ�รวจ ความผู ก พั น ของพนั ก งานที่ มี ต่ อ บริ ษั ท เพื่ อ นำ � ข้ อ มู ล มาใช้ ในการกำ�หนดแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ติ ามนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ การระบุและคัดเลือก ผูม้ สี ว่ นได้เสีย จะพิจารณาจากการให้ความสำ�คัญกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกกลุ่ม และผลกระทบของการดำ�เนินธุรกิจต่อผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม
แนวทางการจัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษทั ให้ความสำ�คัญในการจัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจ อย่างยัง่ ยืนมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเป็นส่วนหนึง่ ในรายงานประจำ�ปี เพื่ อ สื่ อ สารให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม ได้ ท ราบถึ ง แนวนโยบาย แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดำ�เนินงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน ภายใต้กรอบ การรายงานตามแนวทางของสถาบันธุรกิจเพือ่ สังคม (Corporate Social Responsibility Institute) สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยขอบเขตเนื้อหาของรายงานจะเป็นข้อมูล ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานของบริษทั ซึง่ ได้จากการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากหน่ายงานที่รับผิดชอบโดยตรง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2558 บริ ษั ทได้ นำ � เสนอเนื้ อ หาการรายงานการพั ฒ นาธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ งได้ ผ่ า นการวิ เ คราะห์ ค วามต้ อ งการของกลุ่ ม ผู้มีส่วนได้เสียภายในและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายนอก และนำ�มา จั ด เป็ น ประเด็ น หลั ก ที่ มี ค วามสำ � คั ญ และมี ผ ลกระทบต่ อ การ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ตามแนวปฏิ บั ติ ของนโยบายความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยมีขั้นตอน ดังนี้
แนวปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทกำ�หนดแนวทางการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียไว้เป็น ลายลักษณ์อกั ษรในจรรยาบรรณการดำ�เนินธุรกิจ และจรรยาบรรณ ของพนักงาน บริษทั ให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ โดยการแบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อให้ทราบถึง ความต้องการและสามารถตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม ได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้เสีย กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ 1. กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ คณะกรรมการบริษัท และพนักงาน 2. กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า ชุมชนสิ่งแวดล้อมและสังคม คู่ค้า คู่แข่ง และเจ้าหนี้
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม โดยได้จัดทำ�กระบวนการและขั้นตอนเพื่อวิเคราะห์ความต้องการ ของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ ภายในและภายนอก ผ่านการจัดกิจกรรม
ลูกค้า ผู้ถือหุ้น
เจ้าหนี้ คณะกรรมการบริษัท
คู่แข่ง
พนักงาน
คู่ค้า
96
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ชุมชน สิ่งแวดล้อม สังคม
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย 1. ผู้ถือหุ้น
วิเคราะห์ความต้องการ
- ผลตอบแทนที่เหมาะสมจากการลงทุน - ดำ�เนินธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแล ในหุ้นของบริษัท กิจการที่ดี - ผลการดำ�เนินงานดี ภายใต้ความเสี่ยง ที่เหมาะสม - ดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส มีความ เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้
2. คณะกรรมการบริษัท - ดำ�เนินงานเป็นไปอย่างโปร่งใสตาม หลักบรรษัทภิบาล เพื่อให้องค์กร เติบโตอย่างยั่งยืน - ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อย่างเป็นธรรม - การประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำ�ผลการประเมินมาปรับปรุง การทำ�งาน
3. พนักงาน
แนวปฏิบัติที่ดำ�เนินการตามนโยบาย
- ดำ�เนินธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี
- ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม - การจ้างงานทีป่ ลอดจากการเลือกปฏิบตั ิ - ความมั่นคงและก้าวหน้าในงาน ไม่นำ�ความแตกต่างด้านเชื้อชาติ สีผิว - การพัฒนาความรู้ ความสามารถ เพศ ภาวะ ศาสนา ความคิดเห็น อย่างต่อเนื่อง ทางการเมือง อายุ มาเป็นปัจจัย - มีความสุข และความปลอดภัย ในการพิจารณาและตัดสินการจ้างงาน ในการทำ�งาน - ส่งเสริมการจ้างงานสำ�หรับกลุ่ม แรงงานที่มีสถานะเปราะบาง เช่น การเปิดโอกาสให้มกี ารจ้างงานคนพิการ - พัฒนาพนักงานเพื่อฝึกฝนทักษะและ เพิ่มพูนศักยภาพ โดยเปิดโอกาสให้ พนักงานมีการเรียนรู้และเลื่อนตำ�แหน่ง เพื่อความก้าวหน้าในการทำ�งาน - ไม่ปลดหรือเลิกจ้างพนักงาน อันเป็นการตัดสินใจของผู้แทน ฝ่ายบริหารแต่เพียงฝ่ายเดียว หรือการตัดสินใจนั้นอยู่บนฐาน ของการเลือกปฏิบัติ
กระบวนการดำ�เนินการ - ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละ 1 ครั้ง - แถลงข่าวต่อสื่อมวลชน และจัดประชุม นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ปีละ 2 ครั้ง - การเข้าพบเพื่อให้ข้อมูลแบบตัวต่อตัว จำ�นวน 2 ครั้ง - การจัดประชุมนักลงทุน จำ�นวน 9 ครัง้ - นำ�เสนอข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ อย่างครบถ้วน ถูกต้อง เท่าเทียม มีความโปร่งใส - รับข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียน ผ่านช่องทางที่บริษัทกำ�หนด - ประชุมคณะกรรมการบริษัททุกเดือน - ให้ขอ้ มูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน ทันเวลา - มีส่วนร่วมในการกำ�กับดูแลกิจการ - ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาความรู้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการ - การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ - การประเมินตนเองของคณะกรรมการ บริษัท การประเมินตนเองของ กรรมการเป็นรายบุคคล ประเมินตนเอง เรื่องการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีเพื่อนำ�ผลการประเมิน มาปรับปรุงการทำ�งาน - จัดกิจกรรมต้อนรับพนักงานใหม่ ในวันแรกของการทำ�งาน - ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ - ส่งเสริมให้พนักงานมีค่านิยม PRO-AcTIVE - การพัฒนาศักยภาพพนักงาน โดยจัดให้มีการเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะ แก่พนักงานในทุกระดับ ผ่านช่องทาง การสื่อสารภายในบริษัท - แผนพัฒนาเพื่อทดแทนตำ�แหน่ง ผู้บริหารและตำ�แหน่งสำ�คัญ - กิจกรรมเพื่อสื่อสารและเสริมสร้าง ความเป็นทีม - สำ�รวจการจ่ายผลตอบแทนของตลาด อย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อนำ�มาพิจารณา ปรับปรุงให้ใกล้เคียงตามมาตรฐาน อุตสาหกรรมหรือมาตรฐาน การครองชีพที่ควรจะเป็น
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
97
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย 3. พนักงาน (ต่อ)
4. ลูกค้า
98
วิเคราะห์ความต้องการ
แนวปฏิบัติที่ดำ�เนินการตามนโยบาย
- สนับสนุนและเคารพในการปกป้อง สิทธิมนุษยชนโดยไม่สนับสนุน การใช้แรงงานบังคับ ตลอดจนส่งเสริม ให้พนักงานมีดุลยภาพในการใช้ชีวิต ระหว่างชีวิตการทำ�งานและชีวิตส่วนตัว - เคารพสิทธิในการแสดงความคิดเห็น ของพนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงการ มีอสิ ระในการให้ความเห็นโดยปราศจาก การแทรกแซง การได้รับข้อมูลหรือ ความเห็นผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้ง จัดให้มีช่องทางการสื่อสารเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นของพนักงาน - มีเงื่อนไขการจ้างงานที่เป็นธรรม พนักงานได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม ตามศักยภาพ หรือตามข้อตกลงร่วม ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง โดย พิจารณาตามมาตรฐานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานการครองชีพทีค่ วรจะเป็น - จัดสภาพที่ทำ�งานที่เหมาะสม ให้พนักงานทำ�งานได้อย่างปลอดภัย และมีศักดิ์ศรี โดยพนักงานสามารถ ทำ�งานได้เต็มศักยภาพและแบ่งเวลา ให้แก่ครอบครัวได้ - ปกป้อง ไม่กลั่นแกล้งหรือลงโทษ ทางวินัยกับพนักงานที่มีการรายงาน อย่างสุจริตต่อผู้บริหารหรือหน่วยงาน ของรัฐเกี่ยวกับการกระทำ�ที่ไม่ถูกต้อง - จัดทำ�นโยบายความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยในสถานประกอบการ รวมถึงวิเคราะห์และหามาตรการเพื่อ ควบคุมความเสี่ยงด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทำ�งาน - ความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ - มุ่งเน้นการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่ ที่หลากหลาย ครบครัน มีคุณภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของ และบริการที่เป็นเลิศ ลูกค้า รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของ - ความพร้อมในการรับฟังและตอบสนอง พนักงานให้สามารถนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ ต่อความต้องการของลูกค้า และบริการที่ตอบโจทย์ลูกค้าในทุกด้าน - การรักษาความลับของลูกค้า ตลอดจนการกำ�หนดเรื่องการรักษา ความลับของลูกค้าเป็นหนึ่งใน จรรยาบรรณของพนักงานที่ต้องปฏิบัติ อย่างเคร่งครัด และมีการสื่อสารไปยัง พนักงานอย่างสม่ำ�เสมอ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
กระบวนการดำ�เนินการ - จัดให้มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ รับฟังข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะ - ปกป้อง ไม่กลั่นแกล้งหรือลงโทษ ทางวินัยกับพนักงานที่มีการรายงาน อย่างสุจริตต่อผู้บริหารหรือหน่วยงาน ของรัฐเกี่ยวกับการกระทำ�ที่ไม่ถูกต้อง ที่เกิดขึ้นภายในบริษัท - จัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการ ทำ�งาน เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย และแผนความปลอดภัยและ สุขอาชีวอนามัยให้พนักงาน มีความปลอดภัยขณะทำ�งาน - จ้างคนพิการให้มีโอกาสประกอบอาชีพ เพื่อดำ�รงอยู่ในสังคมด้วยความ ภาคภูมิใจ
- ทำ�ความเข้าใจลูกค้าโดยการพบปะ ลูกค้าผ่านการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ - จัดกิจกรรม/ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ - รับข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน - คิดค้น และสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และ บริการที่ตอบสนองต่อความต้องการ ของลูกค้า
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย
วิเคราะห์ความต้องการ
แนวปฏิบัติที่ดำ�เนินการตามนโยบาย
4. ลูกค้า (ต่อ)
5. ชุมชนสิ่งแวดล้อม และสังคม
- สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน - การส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ - การส่งเสริมและสนับสนุนนโยบาย ภาครัฐ - ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
- ดำ�เนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมควบคู่ ไปกับการมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม - สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ - ส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วม ในกิจกรรมต่างๆ - ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา รวมทัง้ มีส่วนร่วมดำ�เนินการเพื่อปรับปรุง คุณภาพและการเข้าถึงการศึกษา - ส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ที่เหมาะสม วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และศาสนา - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ ด้วยการตระหนักถึง ขีดความสามารถในการใช้ทรัพยากร ให้เกิดคุณค่า - จัดทำ�แผนฉุกเฉินให้เหมาะสมเพื่อลด ความสูญเสียที่อาจจะบานปลาย ในอนาคต - เปิดกว้าง และอำ�นวยประโยชน์ ให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องสามารถมีความคิดสร้างสรรค์ ซึง่ เป็นรากฐานของความสามารถในการ สร้างนวัตกรรม อันจะทำ�ให้เกิดความ ต่อเนื่องของการสร้างนวัตกรรม - ส่งเสริมและร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสีย กับธนาคาร เช่น คู่ค้า เพื่อพัฒนา นวัตกรรมอย่างมีความรับผิดชอบ ต่อสังคม การเผยแพร่นวัตกรรม ดังกล่าว รวมถึงเป็นตัวอย่างในการ พัฒนานวัตกรรมอย่างมีความ รับผิดชอบต่อสังคม
กระบวนการดำ�เนินการ - เผยแพร่ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ครบถ้วนตามความเป็นจริง เพื่อ ประกอบการตัดสินใจของผู้บริโภค และเผยแพร่ผ่านช่องทางที่หลากหลาย ง่ายแก่การเข้าถึงของลูกค้า - ให้ความช่วยเหลือ และตอบข้อซักถาม ของลูกค้า เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ในการใช้บริการ - จัดการข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็นต่างๆ เพื่อนำ�มาปรับปรุงแก้ไข - สำ�รวจความต้องการของชุมชน และสังคม - ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการ ดำ�เนินกิจกรรม - ให้การสนับสนุนกิจกรรมทางวัฒนธรรม ที่เหมาะสม วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และศาสนา - จัดทำ�แผนฉุกเฉินที่เหมาะสมเพื่อ รองรับความสูญเสีย และเสียหาย กับสิ่งแวดล้อม - โครงการ Green Office ลดการใช้ พลังงานไฟฟ้า และกระดาษ เปลี่ยน เครื่องใช้สำ�นักงานที่มีคุณสมบัติรักษา สิ่งแวดล้อม - การร่วมพัฒนาการเรียนรู้ของ เยาวชนไทยผ่านโครงการรู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจโดยการพัฒนาบุคลากร ของบริษัท เพื่อเป็นวิทยากรในการ ให้ความรู้ทางการเงินแก่เยาวชน - ตอบรับนโยบายช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ SMEs ของกระทรวงการคลังผ่านการ เข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อ ดอกเบี้ยต่ำ�เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs - โครงการคอมพิวเตอร์มือสองให้น้อง ผู้ด้อยโอกาส
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
99
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย
วิเคราะห์ความต้องการ
5. ชุมชนสิ่งแวดล้อม และสังคม (ต่อ)
แนวปฏิบัติที่ดำ�เนินการตามนโยบาย - สำ�รวจกระบวนการประกอบธุรกิจ อยู่เสมอว่า ก่อให้เกิดความเสี่ยง หรือมีผลกระทบทางลบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมหรือไม่ และหากมี ความเสี่ยงหรือมีผลกระทบทางลบ ควรแก้ไขทันที
- พบปะคู่ค้า - ทำ�การตลาดร่วมกับกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ รวมทั้งคู่ค้าของบริษัท - สร้างพันธมิตรกับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้า แนะนำ�ลูกค้ารายอื่นมาใช้บริการ - รับข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน
6. คู่ค้า
- ทำ�ธุรกิจด้วยความโปร่งใส - Facility and Process Sharing: ส่งต่อลูกค้าในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ - Information Sharing: การแลกเปลี่ยนข้อมูลการทำ�ธุรกิจ - Network Extension: การขยาย เครือข่ายของธนาคารไปกับพันธมิตร
- ปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการค้า และปฏิบัติตามสัญญา - สร้างพันธมิตรกับลูกค้าที่มีศักยภาพ
7. คู่แข่ง
- ดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม
- ปฏิบัติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี - กำ�หนดเงื่อนไขในการแข่งขัน และไม่ใช้วิธีการที่ไม่สุจริต ที่เป็นธรรมร่วมกัน
8. เจ้าหนี้
- จ่ายดอกเบี้ยและชำ�ระคืนตามกำ�หนด - ปฏิบัติตามสัญญา หรือเงื่อนไขต่างๆ - มีการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง ตามข้อตกลง และหน้าที่ที่พึงมี
การกำ�หนดประเด็นสำ�คัญที่สอดคล้องกับความรับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทจะพิจารณาจากประเด็น ข้อคิดเห็น คำ�แนะนำ� สิ่ ง ที่ ค าดหวั ง ในการดำ � เนิ น งาน ซึ่ ง ได้ จ ากการวิ เ คราะห์ ความต้ อ งการของกลุ่ ม ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ภายในและภายนอก ความสอดคล้ อ งกั บ แนวปฏิ บั ติ ต ามนโยบายความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนและการดำ�เนินการ ของบริ ษั ท ต่ อ กลุ่ ม ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ร่ ว มด้ ว ย เพื่ อ ประกอบการ จัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน
100
กระบวนการดำ�เนินการ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
- จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ ในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการจัดกิจกรรม ให้ความรู้ - รับข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน
การตรวจสอบคุณภาพของรายงาน เนือ้ หาทีไ่ ด้น�ำ เสนอในรายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน และเว็บไซต์ของบริษัท มีความถูกต้อง สมบูรณ์ และสอดคล้อง กับแนวปฏิบัติตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการ พัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน
1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มี ค วามมุ่ ง มั่ นในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จโดยยึ ด หลั ก การกำ � กั บ ดู แ ล กิ จ การที่ ดี เ ป็ น แนวทางควบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาสั ง คมและ สิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน โดยให้ความสำ�คัญกับการสร้างวัฒนธรรม บรรษัทภิบาลในองค์กร การมีจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันและความเชื่อมั่นแก่ผ้ถู ือหุ้น นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอันเป็นปัจจัย พื้นฐานที่สำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและน่าเชื่อถือรวมทั้งสนับสนุนให้มีการบริหารจัดการ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต การเพิ่มมูลค่าในกิจการ ความมั่นคง และการเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยัง่ ยืน รวมทัง้ ให้ความ สำ � คั ญ ต่ อ ระบบการควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกันและ เป็นธรรม มีจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจดูแลมิให้เกิดปัญหา ความขัดแย้งทางผลประโยชน์และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ รวมทั้งคำ�นึงถึงความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อช่วยกำ�กับดูแลการดำ�เนินกิจการในด้านต่างๆ ของบริษัท อย่างใกล้ชดิ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการ บรรษั ท ภิ บ าล และคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ซึ่งคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะจะดูแลการดำ�เนินงานของ บริ ษั ทให้ เ ป็ นไปตามวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และแผนงานในการ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ และการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี โดยได้ กำ � หนด บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษรไว้อย่าง ชั ด เจน ซึ่ ง การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท มี ห ลั ก สำ � คั ญ ซึ่งคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนใช้ยึดเป็น แนวทางในการปฏิบัติงาน ตามหลัก 4 ประการ ดังนี้ 1. Transparency : ความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน และการเปิ ด เผยข้ อ มู ล แก่ ผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. Integrity : ความซื่อสัตย์ 3. Accountability : ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ 4. Competitiveness : ความสามารถในการแข่งขัน บริษทั มีความมุง่ มัน่ ในการนำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี มาใช้ ป ฏิ บั ติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และเหมาะสมกั บ สภาพแวดล้ อ ม โครงสร้างและความจำ�เป็นขององค์กร ส่งผลให้บริษทั ได้รบั คะแนน จากโครงการสำ � รวจการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การบริ ษั ท จดทะเบี ย น ประจำ�ปี 2558 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2015) อยู่ใ นเกณฑ์ “ดี เ ลิ ศ ” โดยสถาบันกรรมการบริษัทไทย ทั้งนี้ บริษัทได้นำ�เสนอรายงาน
ผลการประเมิ น ให้ ค ณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลของบริ ษั ท รับทราบ เพือ่ พิจารณาข้อเสนอแนะและนำ�ไปพัฒนาและปรับปรุง การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง การคำ � นึ ง ถึ ง สิ ท ธิ แ ละ ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกกลุ่ม ตลอดจนความตั้งใจ ที่ จ ะให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารงานอย่ า งแท้ จ ริ ง และส่งเสริมให้มีกลไกถ่วงดุลและตรวจสอบในการบริหารที่ดี อั น เป็ น หั วใจของการมี บ รรษั ท ภิ บ าลที่ ดี ข องบริ ษั ท ส่ ง ผลให้ บริษัทได้รับผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2558 ในระดับ “ดีเยีย่ ม” โดยสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียน และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 1.1 นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance Policy) บริษัทกำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance Policy) ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร โดยอ้ า งอิ ง จากหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามแนวทางที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด ประกอบด้วยหลักการ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อให้ คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานยึดถือเป็นแนว ในการปฏิ บั ติ ง านและมั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ย ความรับผิดชอบ มีความโปร่งใสและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย อย่างเท่าเทียมกัน สนันสนุนให้มีการบริหารจัดการด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษัทได้ทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเป็น ประจำ�ทุกปี โดยได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2558 ซึ่งนโยบายการกำ�กับดูแล กิ จ การที่ ดี ประกอบด้ ว ยหลั ก การและแนวปฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนั ก งานยึ ด ถื อ เป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ง าน แบ่ ง เป็ น 5 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถ้ อื หุน้ (Rights of Shareholders) หมวดที่ 2 การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเท่ า เที ย มกั น (Equitable Treatment of Shareholders) หมวดที่ 3 บทบาทของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย (Role of Stakeholders) หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) หมวดที่ 5 ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการบริ ษั ท (Responsibilities of the Board) รายละเอียดของนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ได้เปิดเผยไว้ที่เว็บไซต์ของบริษัท (www.lhfg.co.th) รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
101
บริษัทให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลโดยคำ�นึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม การพบปะสื่อมวลชนและนักวิเคราะห์ หลั ก ทรั พ ย์ เ พื่ อ รายงานผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท และ ตอบข้อซักถาม การเปิดเผยข้อมูลในแบบแสดงข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ � ปี หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และการวิเคราะห์และคำ�อธิบาย ของฝ่ายจัดการ บริ ษั ทได้ ดำ � เนิ น การตามกระบวนการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพการประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ และดำ�เนินการด้านการกำ�กับดูแลกิจการตามหลักเกณฑ์ ของการประเมินการกำ�กับดูแ ลกิจการบริษัทจดทะเบียนของ สมาคมส่ ง เสริ ม ผู้ ล งทุ นไทยและของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษัทไทย
1.2 คณะกรรมการชุดย่อย
โครงสร้างการจัดการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท ซึ่ ง คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย อีก 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า และกำ�หนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท แ ล ะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ชุ ด ย่ อ ย มีการแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างชัดเจน รายละเอียดของคณะกรรมการชุดย่อย และขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่ หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ รายละเอี ย ดของกรรมการตรวจสอบที่ มี ค วามรู้ แ ละ ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่ หัวข้อ โครงสร้างการจัดการข้อ 3. คณะกรรมการตรวจสอบ
1.3 การสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงสุด
คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณา คัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านต่างๆ มีความเข้าใจ เพียงพอในธุรกิจของบริษัท รวมถึงเศรษฐกิจ กฎหมาย และอื่นๆ โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็นขององค์กรและการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะรับฟัง ข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้นรายย่อยซึ่งเสนอชื่อบุคคลที่ควรได้รับ การเลือกตัง้ เป็นกรรมการหรือกรรมการอิสระของบริษทั ซึง่ บริษทั ได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ เสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็ น กรรมการ ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ตามหลั ก เกณฑ์ ที่บริษัทกำ�หนด 102
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
1. กรรมการอิสระ หลักเกณฑ์การสรรหาและแต่งตัง้ บุคคลเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการอิสระ บุคคลดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติของกรรมการ อิ ส ระตามที่ บ ริ ษั ท กำ � หนด ซึ่ ง เข้ ม กว่ า ที่ กำ � หนดโดยประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รายละเอี ย ดหลั ก เกณฑ์ ก ารสรรหากรรมการอิ ส ระ และคุณสมบัติของกรรมการอิสระ บริษัทได้เปิดเผยไว้ท่ีหัวข้อ โครงสร้างการจัดการข้อ 1. การสรรหากรรมการและกรรมการอิสระ 2. การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการของบริษัท คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะเสนอให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณาแต่งตัง้ กรรมการและ/หรือกรรมการอิสระ กรณีต�ำ แหน่ง กรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ หรือเพื่อพิจารณาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งกรรมการ และ/หรือกรรมการอิสระในกรณีทก่ี รรมการพ้นตำ�แหน่งตามวาระ หรือเลือกตั้งกรรมการใหม่เพิ่มเติม รายละเอี ย ดหลั ก เกณฑ์ ก ารสรรหากรรมการ บริ ษั ท ได้เปิดเผยไว้ที่ หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ หลั ก เกณฑ์ ก ารสรรหาผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณาคัดเลือก และกลัน่ กรองบุคคลทีม่ คี วามสามารถและมีคณ ุ สมบัตทิ เ่ี หมาะสม โดยคำ�นึงถึงจริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์ เพื่อดำ�รงตำ�แหน่ง ผู้บริหารระดับสูง ได้แก่ กรรมการผู้จัดการ โดยมีปัจจัยเบื้องต้น ทีใ่ ช้ประกอบการพิจารณา ได้แก่ คุณสมบัติ ความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์การทำ�งาน มีแนวคิดและวิสัยทัศน์ในการบริหาร จั ด การในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อให้ ก าร ดำ�เนินงานประสบผลสำ�เร็จลุลว่ งตามเป้าหมาย โดยคณะกรรมการ สรรหาและกำ �หนดค่ า ตอบแทนจะเสนอชื่ อบุ ค คลที่ ไ ด้ รั บการ คัดเลือกต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาแต่งตั้ง 1.4 การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินและเป็น บริษัทแม่ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เนื่องจากบริษัทไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง ดังนั้น การดูแลด้าน การควบคุ ม ภายในบริ ษั ท จึ ง มอบหมายให้ ฝ่ า ยตรวจสอบและ สำ�นักกำ�กับธนาคาร ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผูด้ แู ลและรายงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วกับการควบคุมภายใน
และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั อย่างสม่�ำ เสมอ โดยมี น ายวิ เ ชี ย ร อมรพู น ชั ย เลขานุ ก ารบริ ษัท เป็ น ผู้ดูแ ล และประสานงานระหว่างบริษัทกับฝ่ายตรวจสอบ และสำ�นัก กำ�กับธนาคาร ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) การกำ � กับดูแ ลการดำ�เนินงานของบริษัทในกลุ่มธุร กิ จ ทางการเงิ น ซึ่ งได้ แ ก่ ธ นาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ � กั ด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด บริษัทดูแล ให้บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินดังกล่าวมีข้อบังคับในเรื่อง การทำ�รายการเกี่ยวโยงกัน มีการรายงานผลการดำ�เนินงาน มีการบริหารธุรกิจที่เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มีการจัดเก็บข้อมูลและการบันทึกบัญชีที่เป็นไปตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน คณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานของบริ ษั ท ในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ได้ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มั่นใจว่าได้ดำ�เนินธุรกิจด้วยความ รับผิดชอบ โปร่งใส และปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน มีการบริหารจัดการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
1.5 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน
บริษัทได้กำ�หนดนโยบายการดูแลการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ในการรักษาความลับของบริษัท เพื่อความ เท่าเทียมกันในการรับรู้ข้อมูลและเพื่อป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อประโยชน์ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานซึ่งรวมถึง
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและเพื่อเป็นการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี รายละเอียดนโยบายการดูแลการใช้ข้อมูลภายใน บริษัท ได้เปิดเผยไว้ที่ หัวข้อที่ 1.7 การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ข้อ 3. การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน
1.6 การแต่งตั้งและกำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี
คณะกรรมการตรวจสอบพิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ แ ละ การปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีในแต่ละปี รวมถึงกำ�หนดค่าตอบแทน ของผู้สอบบัญชีเพื่อเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ รายชื่ อ บริ ษั ท ผู้ ส อบบั ญ ชี ที่ จ ะเสนอเพื่ อ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท จะต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2558 เปรียบเทียบ กับปี 2557 ของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ดังนี้ 1. ค่ า ตอบแทนผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษัทจ่ายค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีและค่าตรวจสอบอื่นๆ ให้แก่บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้
1.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2558 และ 2557 รายละเอียดค่าธรรมเนียม 1. ค่าธรรมเนียมในการสอบทาน • ไตรมาสที่หนึ่งสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม • ไตรมาสที่สามสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2. ค่าธรรมเนียมในการตรวจสอบ • งวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน • งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม รวมทั้งสิ้น
2558 จำ�นวนเงิน (บาท)
2557 จำ�นวนเงิน (บาท)
การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน (ร้อยละ) (บาท)
120,000 120,000
120,000 120,000
-
-
255,000 255,000 750,000
255,000 255,000 750,000
-
-
1.2 ค่าบริการอื่นๆ
-ไม่มี-
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
103
2. ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทย่อย
2.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
ธนาคารจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีและค่าตรวจสอบอื่นๆ ให้แก่บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ 2.1.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2558 และ 2557 รายละเอียดค่าธรรมเนียม
1. ค่าธรรมเนียมในการสอบทาน • ไตรมาสที่หนึ่งสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม • ไตรมาสที่สามสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2. ค่าธรรมเนียมในการตรวจสอบ • งวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน • งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 3. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบเป็นกรณีพิเศษตามข้อกำ�หนดของ ธนาคารแห่งประเทศไทย • การประเมินประสิทธิภาพของการตรวจสอบภายในและการประเมิน ธุรกรรมของธนาคารทีม่ ลี กั ษณะหรือเงือ่ นไขพิเศษแตกต่างจากปกติ • การประเมินระบบการให้บริการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งสิ้น/1
2558 จำ�นวนเงิน (บาท)
2557 จำ�นวนเงิน (บาท)
การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน (ร้อยละ) (บาท)
600,000 600,000
600,000 600,000
-
-
1,375,000 1,375,000
1,375,000 1,375,000
-
-
220,000 220,000 4,390,000
220,000 220,000 4,390,000
-
-
หมายเหตุ /1 หมายถึง ค่าธรรมเนียมดังกล่าวยังไม่รวมค่าธรรมเนียมการสอบทานผลประโยชน์พนักงานทีส่ อบทานโดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งจะเรียกเก็บจากธนาคารตามค่าใช้จ่ายจริงประมาณไว้ 200,000 บาท
2.1.2 ค่าบริการอื่นๆ
-ไม่มี-
2.2 บริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีและค่าตรวจสอบอื่นๆ ให้แก่บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ 2.2.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2558 และ 2557 รายละเอียดค่าธรรมเนียม
1. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบงบการเงินสำ�หรับ • ไตรมาสที่หนึ่งสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม • ไตรมาสที่สามสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบงบการเงินสำ�หรับ • งวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน • งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ
/1
2557 จำ�นวนเงิน (บาท)
การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวน (ร้อยละ) (บาท)
30,000 30,000
-/1 40,000/1
30,000 (10,000)
100.00 (25.00)
165,000 165,000 390,000
80,000 270,000 390,000
85,000 (105,000) -
106.25 (38.89) -
หมายถึง ค่าธรรมเนียมดังกล่าวคำ�นวณบนข้อมูลที่ว่าบริษัทจะเริ่มดำ�เนินธุรกิจในไตรมาสที่ 3 ของปี 2557
2.2.2 ค่าบริการอื่นๆ
104
2558 จำ�นวนเงิน (บาท)
-ไม่มี-
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
1.7 การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี
คณะกรรมการบริษัทได้ตระหนักถึงบทบาทและหน้าที่ ความรับผิดชอบในการเสริมสร้างให้เกิดการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่ อให้ ก ารดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท เจริ ญ เติ บโตอย่ า งยั่ ง ยื น บริ ห ารงานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โปร่ งใส เป็ น ธรรม ซึ่ งได้ ปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด ดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of Shareholders) ไม่กระทำ�การใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือริดรอน สิทธิของผู้ถือหุ้น และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกรายได้ใช้สิทธิพื้นฐาน ตามที่กฎหมายกำ�หนด 1. การคุ้มครองสิทธิของผู้ถือหุ้น • บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญของสิทธิข้นั พื้นฐาน ต่ า งๆ ของผู้ ถื อ หุ้ น โดยการรั ก ษาสิ ท ธิ แ ละ ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มอย่างเสมอภาค และส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก กลุ่ ม ใช้ สิ ท ธิ ข องตน รวมถึ ง ผู้ ถื อ หุ้ น สถาบั น โดยครอบคลุ ม สิ ท ธิ ขั้นพื้นฐานตามกฎหมาย ได้แก่ สิทธิในการซื้อขาย หรือโอนหลักทรัพย์ทต่ี นถืออยู่ สิทธิในการมีสว่ นแบ่ง ในกำ � ไรของบริ ษั ท สิ ท ธิ ใ นการรั บ เงิ น ปั น ผล สิ ท ธิ ใ นการมอบฉั น ทะให้ บุ ค คลอื่ น เข้ า ประชุ ม และออกเสี ย งลงคะแนนแทน สิ ท ธิ ใ นการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ ใช้ สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง ในที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ แต่ ง ตั้ ง และถอดถอน กรรมการ การกำ � หนดค่ า ตอบแทนกรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและกำ�หนดค่าตอบแทน ผู้ ส อบบั ญ ชี สิ ท ธิ ใ นการแสดงความคิ ด เห็ น และซั ก ถามในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และสิ ท ธิ ที่จะได้รับสารสนเทศอย่างเพียงพอและทันเวลา ผ่านช่องทางทีเ่ ข้าถึงได้งา่ ยและในเวลาทีเ่ หมาะสม
• คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสีย ภายใน ได้แก่ กรรมการบริษัท ผู้บริหารและ พนักงานของบริษัทหรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก บริ ษั ท ได้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก กลุ่ ม ไม่ ว่ า จะเป็ น ผูถ้ อื หุน้ สถาบัน คูแ่ ข่ง ภาครัฐ และหน่วยงานอืน่ ๆ โดยบริษัทมีนโยบายในการปฏิบัติงานที่มีความ โปร่งใส มีการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี รวมถึงสนับสนุน ให้เกิดความร่วมมือระหว่างบริษทั กับผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในการสร้างสรรค์ประโยชน์ระหว่างกันและดูแล ให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้เสียได้รับการคุ้มครองและ ปฏิบัติด้วยดี • คณะกรรมการบริ ษั ทได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญในการ เปิดเผยข้อมูลและข่าวสารที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส โดยเปิดเผยบนเว็บไซต์ ของบริษัท ได้แก่ www.lhfg.co.th เพื่อให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม ได้ รั บ ทราบอย่ า งทั่ ว ถึ ง ซึ่งมี 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ สามารถเข้าถึงได้ง่าย เช่น รายงานงบการเงิน การวิ เ คราะห์ แ ละคำ � อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ จดหมายข่ า วถึ ง ผู้ ถื อ หุ้ น กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คม แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) หนังสือเชิญประชุม ผู้ถือหุ้น และกิจกรรมต่างๆ ของบริษัท • บริษทั ส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ใช้สทิ ธิของตนอย่างเต็มที่ โดยการอำ�นวยความสะดวกและจัดหาช่องทาง ให้ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิในการเข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนได้อย่างเต็มที่ไม่ยุ่งยาก และไม่กระทำ�การที่จะเป็นการจำ�กัดโอกาสในการ เข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงมติและมีวิธีการ ให้ผถู้ อื หุน้ ออกเสียงลงคะแนนทีม่ ขี น้ั ตอนไม่ยงุ่ ยาก เช่น การให้ข้อมูลสำ�คัญผ่านเว็บไซต์ของบริษัท การมอบหมายให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท ทำ � หน้ า ที่ ติดต่อสื่อสารกับผู้ถือหุ้นโดยตรง การเปิดโอกาส ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น เสนอวาระการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ เสนอบุ ค คลเพื่ อ รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการ และการอำ�นวยความสะดวกในการ เข้าประชุมผู้ถือหุ้น เป็นต้น • บริ ษั ท ได้ เ ผยแพร่ ม ติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 ซึ่งมีมติกำ�หนดให้จัดการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 ในวันที่ 24 เมษายน 2558 โดยได้แจ้งวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านช่องทาง รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
105
ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล ข อ ง ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย ตั้ ง แต่ วั น ที่ 23 กุ ม ภาพั น ธ์ 2558 และเปิ ด เผยเอกสารการประชุ ม สามั ญ ผู้ถือหุ้นทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ผู้ถือหุ้น ทราบผ่ า นช่ อ งทางการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และในเว็บไซต์ ของบริษัทตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2558
• ในการจัดประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีซึ่งต้องจัดภายใน 4 เดือน นับแต่วนั สิน้ สุดรอบปีบญ ั ชีแล้ว คณะกรรมการบริษทั อาจเรียกประชุมวิสามัญในวัน เวลา และสถานที่ ที่ ค ณะกรรมการกำ � หนด ทั้ ง นี้ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง มี หุ้ น นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำ�นวนหุ้น ที่ จำ � หน่ า ยได้ ทั้ ง หมดหรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ไม่ น้ อ ยกว่ า 25 คน ซึ่งมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้ทง้ั หมดอาจเข้าชือ่ กัน ทำ�หนังสือให้คณะกรรมการเรียกประชุมผู้ถือหุ้น เป็นการประชุมวิสามัญได้ และหนังสือร้องขอ จะต้องระบุถงึ วัตถุประสงค์ของการเรียกประชุมไว้ ให้ชัดเจนเมื่อมีคำ�ร้องขอเช่นว่านั้นคณะกรรมการ จะต้องกำ�หนดวัน เวลา และสถานที่ที่จะประชุม ไม่ช้ากว่า 1 เดือน นับจากวันที่ได้รับหนังสือ ร้องขอ • บริษัทสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่ม รวมถึ ง ผู้ ถื อ หุ้ น ประเภทสถาบั น เข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เนื่ อ งจากผู้ ถื อ หุ้ น มี สิ ท ธิ ใ นความเป็ น เจ้ า ของบริ ษั ท ผ่ า นการแต่ ง ตั้ ง กรรมการบริ ษั ท ให้ ทำ � หน้ า ที่ แ ทนตนและมี สิ ท ธิ ใ นการตั ด สิ นใจ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญของบริษัท • บริษัทคำ�นึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นตามแนวทางการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยปฏิบัติตามแนวทาง การประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น (AGM Checklist) ของสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย
2. การประชุมผู้ถือหุ้น • ก่อนประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อเป็นการส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มรวมถึงผู้ถือหุ้น ประเภทสถาบันให้ความสำ�คัญกับการเข้าร่วมประชุม บริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้น ในรูปแบบหนังสือ โดยจัดส่งพร้อมรายงานประจำ�ปี ในรูปแบบ CD-ROM ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่ อ นวั น ประชุ ม ผู้ถือ หุ้น ตามที่ก ฎหมายกำ � หนด ซึง่ หนังสือเชิญประชุมได้ระบุวนั เวลา สถานทีป่ ระชุม เอกสารประกอบการประชุ ม ในแต่ ล ะวาระ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท เกี่ ย วกั บ การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น หนังสือมอบฉันทะตามแบบที่กระทรวงพาณิชย์ กำ � หนด พร้ อ มทั้ ง แผนที่ ส ถานที่ จั ด ประชุ ม โดยแนบไปกับหนังสือเชิญประชุม กรณีต้องการ มอบฉันทะสามารถใช้หนังสือมอบฉันทะทีแ่ นบไปกับ หนังสือเชิญประชุมและสามารถระบุความเห็น ในการลงคะแนนเสียงได้ ระเบียบวาระการประชุม จะระบุ ชั ด เจนว่ า เป็ น เรื่ อ งเสนอเพื่ อ รั บ ทราบ หรือเพื่อพิจารณาอนุมัติ พร้อมด้วยข้อเท็จจริง 3. การดำ�เนินการในวันประชุมผู้ถือหุ้น เหตุ ผ ล ความเห็ น ที่ เ พี ย งพอและชั ด เจนของ • บริษทั ได้ด�ำ เนินการเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทีจ่ ะเข้าร่วมประชุม คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ได้รบั ความสะดวกและรวดเร็ว ซึง่ เริม่ ตัง้ แต่ขน้ั ตอน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ถือหุ้นประกอบการพิจารณา การเตรียมข้อมูลผูเ้ ข้าร่วมประชุม การลงทะเบียน ตัดสินใจใช้สิทธิออกเสียง และได้เปิดเผยไว้บน เข้าร่วมประชุม การประมวลผลการลงคะแนน เว็บไซต์ของบริษัท (www.lhfg.co.th) ล่วงหน้า รายวาระ และการรายงานสรุปผลการประชุม 30 วันก่อนวันประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบ ผู้ถือหุ้น ข้อมูล และมีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุม • ในวันประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียน ล่ ว งหน้ า อย่ า งเพี ย งพอ ซึ่ ง เป็ น ข้ อ มู ล เดี ย วกั บ เข้าร่วมประชุมได้ลว่ งหน้าก่อนเวลาประชุมประมาณ ที่บริษัทจัดส่งให้ผู้ถือหุ้นในรูปแบบเอกสาร บริษัท 2 ชั่วโมง โดยบริษัทได้อำ�นวยความสะดวกแก่ ได้ ป ระกาศคำ � บอกกล่ า วเรี ย กประชุ ม สามั ญ ผู้ถือหุ้นก่อนการประชุม อาทิ จัดเตรียมสถานที่ ผู้ ถื อ หุ้ นในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ร ายวั น ฉบั บ ภาษาไทย และเจ้ า หน้ า ที่ ต้ อ นรั บ เพื่ อให้ ก ารลงทะเบี ย น ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน และก่อนวันประชุม เข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะ ไม่น้อยกว่า 3 วัน รวมทั้งได้ส่งหนังสือเชิญประชุม สะดวกรวดเร็ว และเอกสารประกอบการประชุมฉบับภาษาอังกฤษ • บริษทั ได้น�ำ ระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประชุม เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นต่างชาติ และเผยแพร่ ผู้ถือหุ้น เพื่อให้การประชุมดำ�เนินไปอย่างรวดเร็ว บนเว็บไซต์ของบริษทั พร้อมกับหนังสือเชิญประชุม ถูกต้องและแม่นยำ� เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วมประชุม และเอกสารประกอบการประชุมฉบับภาษาไทย 106
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ได้รับความสะดวก ตั้งแต่ขั้นตอนการลงทะเบียน เข้ า ร่ ว มประชุ ม การจั ด พิ ม พ์ บั ต รลงคะแนน การประมวลผลการลงคะแนนตามรายวาระ และการรายงานสรุปผลการประชุมผู้ถือหุ้น • บริษทั จัดให้มเี จ้าหน้าทีต่ รวจสอบการนับคะแนนเสียง ตลอดการประชุม
■
■
• การเข้าประชุมผู้ถือหุ้น ■
■
■
บริ ษั ท จั ดให้ มี เ จ้ า หน้ า ที่ ต รวจสอบเอกสาร ของผู้ ถื อ หุ้ น หรื อ ผู้ รั บ มอบฉั น ทะที่ มี สิ ท ธิ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ตามที่ ไ ด้ แ จ้ งไว้ ใ นหนั ง สื อ เชิญประชุมเพือ่ รักษาสิทธิและความเท่าเทียมกัน ของผู้ถือหุ้นและผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียน เข้าประชุมล่วงหน้าได้ก่อนการประชุมอย่าง เพียงพอและได้อำ�นวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้น โดยบริษัทได้นำ�ระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ ลงทะเบียนพร้อมทั้งจัดพิมพ์บัตรลงคะแนน ในแต่ละวาระให้ผู้ถือหุ้นทำ�ให้การลงทะเบียน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย รวดเร็วและถูกต้อง ในระหว่ า งการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถ ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมเพือ่ ใช้สทิ ธิออกเสียง ในวาระที่ยังไม่ได้ลงคะแนนได้ การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2558 บริษัทได้เสนอชื่อกรรมการอิสระพร้อมประวัติ ให้ผู้ถือหุ้นพิจารณามอบฉันทะจำ�นวน 2 ท่าน ได้ แ ก่ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยบริษัทได้แนบหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. และแบบ ค. ซึ่ ง ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถกำ � หนด ทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ และได้ส่งให้ ผูถ้ อื หุน้ พร้อมกับหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถดาวน์โหลดหนังสือมอบฉันทะ ประเภทอื่นได้จากเว็บไซต์ของบริษัท ซึ่งบริษัท
ได้จัดทำ�เป็น 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2558 กรรมการบริษัทเข้าร่วมประชุมครบ 9 ท่าน และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทในกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินได้เข้าร่วมการประชุมด้วย บริ ษั ท จั ด ให้ มี บุ ค คลที่ เ ป็ น อิ ส ระ ได้ แ ก่ ผู้ ส อ บ บั ญ ชี แ ล ะ ที่ ป รึ ก ษ า ก ฎ ห ม า ย เพื่อทำ�หน้าที่เป็นคนกลางในการสังเกตการณ์ ให้ ก ารประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น ไปอย่ า งโปร่ งใส ถูกต้องตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท
• ก า ร เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ ถื อ หุ้ น ซั ก ถ า ม แ ล ะ แสดงความคิดเห็น ■
■
■
ก่ อ นวั น ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น บริ ษั ท เปิ ดโอกาส ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ง คำ � ถามล่ ว งหน้ า ผ่ า นทาง เว็บไซต์ของบริษัท www.lhfg.co.th หรือ จดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ถึงเลขานุ การบริษัท ที่ presidentoffice@lhbank.co.th เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทชี้แจงในวันประชุม ในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ประธานที่ ป ระชุ ม ได้จดั สรรเวลาทีเ่ หมาะสมและส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ มีโอกาสเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็น หรือสอบถาม บริษทั จะดำ�เนินการอย่างดีทส่ี ดุ เพือ่ ให้กรรมการ ทุกคน ผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั และบริษทั ย่อย รวมทั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่อชี้แจงข้อซักถาม โดยกรรมการจะอธิบาย และชี้แจงเหตุผลอย่างตรงประเด็นจนเป็นที่ กระจ่า ง และจดบันทึกรายงานการประชุม อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถตรวจสอบได้ในภายหลัง
• การดำ�เนินการประชุมและออกเสียงลงคะแนน ■
ก่อนเริ่มการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานที่ประชุม จะกล่ า วต้ อ นรั บ และเปิ ด การประชุ มโดยมี การแจ้ ง จำ � นวนและสั ด ส่ ว นผู้ ถื อ หุ้ น และ ผูร้ บั มอบฉันทะทีเ่ ข้าร่วมประชุม และชีแ้ จงกติกา และสิ ท ธิ ใ นการลงคะแนนเสี ย งที่ ต้ อ งการ ในแต่ ล ะวาระ วิ ธี ก ารออกเสี ย งลงคะแนน และการนับคะแนน
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
107
■
■
108
การดำ�เนินการประชุมผู้ถือหุ้น - บริษทั ได้อ�ำ นวยความสะดวกในกระบวนการ จั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ นให้ เ ป็ นไปอย่ า งถู ก ต้ อ ง ตามกฎหมายและข้ อ กำ � หนดที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และเป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี - บริษัทจัดสรรเวลาสำ�หรับการประชุมอย่าง เหมาะสม โดยที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะพิจารณา ระเบียบวาระการประชุมตามลำ�ดับทีก่ �ำ หนดไว้ ในหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม เว้ น แต่ ที่ ป ระชุ ม จะมีมติให้เปลี่ยนลำ�ดับระเบียบวาระด้วย คะแนนเสี ย งไม่ น้ อ ยกว่ า สองในสามของ จำ�นวนผู้ถือหุ้นที่มาประชุม หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งมีห้นุ นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม ของจำ � นวนหุ้ น ที่ จำ � หน่ า ยได้ ทั้ ง หมด ขอให้ ที่ ป ระชุ ม พิ จ ารณาเรื่ อ งอื่ น นอกจาก ที่กำ�หนดไว้ในหนังสือเชิญประชุม - บริษัทส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสสอบถาม แสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ โดย กรรมการและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องได้ช้ีแจง และตอบคำ�ถาม - การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 ดำ � เนิ นไปด้ ว ยความเรี ย บร้ อ ยเป็ นไปตาม ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท โดยเรี ย งตามวาระ ที่ระบุไว้ในหนังสือเชิญประชุม ไม่มีการเพิ่ม หรื อ สลั บ ลำ � ดั บ วาระการประชุ ม หรื อ เปลี่ ย นแปลงข้ อ มู ล สำ � คั ญโดยไม่ แ จ้ งให้ ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า วิธีการออกเสียงลงคะแนน - บริษทั ใช้บตั รลงคะแนนเพือ่ การลงคะแนนเสียง ในแต่ละวาระโดยเฉพาะวาระการแต่งตั้ง กรรมการแทนกรรมการทีต่ อ้ งออกตามวาระ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ อ อกเสี ย งลงคะแนนแยกเป็ น รายบุคคล - การออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระผูถ้ อื หุน้ ที่มาประชุมด้วยตนเองหรือผู้รับมอบฉันทะ ให้มาร่วมประชุมมีสิทธิออกเสียง 1 เสียงต่อ 1 หุ้น โดยเฉพาะวาระการแต่งตั้งกรรมการ แทนกรรมการที่ต้องออกตามวาระจะมีการ ออกเสียงลงคะแนนแยกเป็นรายบุคคล และ เพื่ อ ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเท่ า เที ย มกั น บริษัทได้นำ�บัตรลงคะแนนมาใช้ในทุกวาระ และเมื่ อ เสร็ จ สิ้ น การตรวจนั บ คะแนน จะประกาศผลการลงคะแนนในแต่ละวาระ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
■
ต่ อ ที่ ป ร ะ ชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น โ ด ย ร ะ บุ ผ ล การลงคะแนนเสียงของผูถ้ อื หุน้ ทีล่ งมติเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และบัตรเสีย ภายหลังการประชุมผู้ถือหุ้น - บริษัทได้เผยแพร่มติท่ปี ระชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ � ปี 2558 และผลการลงคะแนน แต่ละวาระทัง้ ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ภายในวันประชุมผูถ้ อื หุน้ คือวันที่ 24 เมษายน 2558 ผ่ า นช่ อ งทางการเผยแพร่ ข้ อ มู ล ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ภายในระยะเวลาที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยกำ�หนด และเผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์ของบริษัท www.lhfg.co.th - บริ ษั ท จั ด ทำ � รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดย บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม อย่ า งครบถ้ ว น ประกอบด้วยข้อมูลสำ�คัญ ได้แก่ รายชื่อ กรรมการที่ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม และกรรมการ ที่ ล า ป ร ะ ชุ ม ม ติ ที่ ป ร ะ ชุ ม ผ ล ก า ร ลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระ โดยแบ่งเป็น จำ�นวนเสียงทีเ่ ห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และบัตรเสีย คำ�ถามและคำ�ชีแ้ จง ความคิดเห็น ของที่ประชุม - บริ ษั ท จั ดให้ มี ก ารบั น ทึ ก ภาพการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ในลั ก ษณะสื่ อ วี ดิ ทั ศ น์ และได้ เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท - บริษัทส่งสำ�เนารายงานการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 ต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ภายในระยะเวลา 14 วัน นั บ จากวั น ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และเผยแพร่ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นไว้บนเว็บไซต์ ของบริษัทเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 พร้อมแจ้งข่าวผ่านช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มูล ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders) บริษัทดูแลผู้ถือหุ้นให้ได้รับการปฏิบัติและปกป้องสิทธิ ขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม รวมทั้งมาตรการ ป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ
1. การให้ข้อมูลก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น • บริ ษั ท จั ด ทำ � เอกสารการประชุ ม ทั้ ง ภาษาไทย และภาษาอังกฤษและเปิดเผยให้ทราบเป็นการ ทั่ ว ไปล่ ว งหน้ า ก่ อ นการประชุ ม โดยแจ้ ง ผ่ า น ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและเผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์ ของบริ ษั ท เพื่ อ เปิ ดโอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ นได้ มี เ วลา ศึ ก ษาล่ ว งหน้ า ก่ อ นการประชุ ม อย่ า งเพี ย งพอ รวมทั้งบริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อม เอกสารประกอบการประชุมให้แก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นตามที่ กฎหมายกำ�หนด ทั้งนี้ รายละเอียดที่ปรากฏบน เว็บไซต์ และเอกสารที่จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นเป็นข้อมูล เดียวกัน ประกอบด้วย 1. หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม พร้ อ มคำ � อธิ บ าย และเหตุผลประกอบวาระการประชุม 2. รายงานประจำ�ปีในรูปแบบ CD-ROM 3. ประวัตขิ องกรรมการทีอ่ อกจากตำ�แหน่ง ตามวาระและเสนอให้ผู้ถือหุ้นเลือกตั้ง เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง 4. คำ�ชีแ้ จงวิธกี ารลงทะเบียนและการแสดง เอกสารก่อนเข้าประชุม การมอบฉันทะ และการออกเสี ย งลงคะแนนและ การนับผลการลงคะแนนเสียง 5. ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท เฉพาะส่ ว นที่ เกี่ยวข้องกับการประชุมผู้ถือหุ้น 6. หนังสือมอบฉันทะ 7. ประวั ติ ข องกรรมการอิ ส ระเพื่ อ เป็ น ผู้รับมอบฉันทะเข้าประชุมแทนผู้ถือหุ้น 8. นิยามกรรมการอิสระ 9. แผนที่แสดงสถานที่ประชุมผู้ถือหุ้น 10. แบบฟอร์ ม ขอรั บ รายงานประจำ � ปี แบบรูปเล่มหนังสือ บริ ษั ท ได้ ล งประกาศบอกกล่ า วการนั ด ประชุมผู้ถือหุ้นทางหนังสือพิมพ์เป็นเวลา 3 วัน ติดต่อกัน ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน ทั้งนี้ วาระการประชุมระบุชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะ เสนอเพื่อทราบ หรือเพื่อพิจารณาอนุมัติ รวมทั้ง ความเห็นของคณะกรรมการในเรื่องดังกล่าว บริษัทเผยแพร่มติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 ซึ่งมีมติกำ�หนดให้จัดการประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2558 ในวันที่ 24 เมษายน 2558
โดยได้ แ จ้ ง วาระการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านช่องทาง ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล ข อ ง ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ แห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 และเปิ ด เผยเอกสารการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ผู้ถือหุ้นทราบ ผ่านช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และในเว็บไซต์ของบริษัทตั้งแต่ วันที่ 17 มีนาคม 2558 • ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ได้อ�ำ นวยความสะดวก ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยการเสนอชื่ อ กรรมการอิ ส ระ เป็นผู้รับมอบฉันทะจำ�นวน 2 ท่าน พร้อมประวัติ ให้ผู้ถือหุ้นพิจารณามอบฉันทะ • บริษัทได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ ใ ช้ ใ นการประชุ ม โดยในหนั งสื อเชิ ญ ประชุม ผู้ ถื อ หุ้ น มี ร ายละเอี ย ดหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร ในการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ขั้ น ตอนการออกเสี ย ง ลงมติ รวมถึงสิทธิการออกเสียงลงคะแนนและ การนับผลการลงคะแนนเสียง 2. การคุ้มครองสิทธิของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย • คณะกรรมการบริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ แ ละ ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกรายและปฏิบัติ ต่อผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายย่อย บุคคลธรรมดาหรือสถาบัน ผู้ถือหุ้นไทย หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ ด้วยความเป็นธรรม เสมอภาค เท่ า เที ย มกั น ผู้ ถื อ หุ้ น จะได้ รั บ ข้ อ มู ล ที่ สำ � คั ญ ของบริษัทอย่างถูกต้องครบถ้วนในเวลาเดียวกัน เพื่อปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น • บริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ด้วยเป็นโอกาสสำ�คัญที่ผ้ถู ือหุ้นจะสามารถใช้สิทธิ เพือ่ มีสว่ นร่วมในการพิจารณาตัดสินใจในเรือ่ งสำ�คัญ ต่างๆ ของกิจการ ซึง่ บริษทั ได้อ�ำ นวยความสะดวก ในเรื่องต่างๆ ดังนี้ - การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นและผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เสนอคำ�ถาม วาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และบุ ค คลเพื่ อ รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการ บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซึ่งมีสัดส่วน การถื อ หุ้ น ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 0.01 ของหุ้ น ที่จำ�หน่ายได้ท้งั หมดโดยอาจเป็นผู้ถือหุ้นรายเดียว หรือหลายรายรวมกันเสนอคำ�ถาม เสนอเรื่อง ที่เห็นว่าสำ�คัญและควรบรรจุเป็นระเบียบวาระ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเสนอชื่อบุคคล รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
109
ทีม่ คี วามรู้ ความสามารถและคุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสม เป็นกรรมการมายังบริษทั โดยมีก�ำ หนดระยะเวลา ที่เหมาะสมและเพียงพอ โดยผู้ถือหุ้นสามารถ นำ�ส่งข้อเสนอมายังบริษทั ล่วงหน้าก่อนการประชุม ผู้ถือหุ้นตามรูปแบบและวิธีการที่บริษัทกำ�หนด ซึ่ ง คณะกรรมการจะพิ จ ารณาความเหมาะสม ในการบรรจุเป็นระเบียบวาระการประชุมผู้ถือหุ้น สำ�หรับข้อเสนอเกี่ยวกับบุคคลเพื่อเข้ารับ การพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทนจะพิ จ ารณา และเสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ เสนอ ผู้ถือหุ้น สำ�หรับเรื่องที่ไม่ผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัทและ/หรือ คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัทจะแจ้ง ให้ผู้ถือหุ้นทราบพร้อมชี้แจงเหตุผลในการประชุม ผู้ ถื อ หุ้ น บนเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท หรื อ ช่ อ งทาง การเผยแพร่ข้อมูลอื่นที่เหมาะสม ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2558 บริ ษั ทได้ เ ปิ ดโอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ย มี สิ ท ธิ เ สนอเพิ่ ม ระเบี ย บวาระการประชุ ม และ เสนอชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเพื่ อ รั บ การพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน 2557 ถึง 31 ธันวาคม 2557 โดยได้เผยแพร่หลักเกณฑ์ ไว้ บ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท และแจ้ ง ข้ อ มู ล ผ่ า น ช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงสิทธิและ วิธีการเสนอเพิ่มวาระ และเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2558 บริษัทได้รายงานผลการให้สิทธิผู้ถือหุ้น ส่ ว นน้ อ ยเสนอเรื่ อ งเพื่ อ พิ จ ารณาบรรจุ เ ป็ น วาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท • บริษัทจะไม่เพิ่มวาระการประชุมผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้ แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จำ�เป็น โดยเฉพาะ ในวาระสำ�คัญที่ผู้ถือหุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษา ข้อมูลก่อนการตัดสินใจ 3. การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน • คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงความสำ�คัญ ของการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน โดยได้ กำ � หนดนโยบายการดู แ ลการใช้ ข้ อ มู ล ภายในขึน้ เป็นลายลักษณ์อกั ษรเพือ่ เป็นหลักเกณฑ์ ในการดู แ ลการรั ก ษาความลั บ ของบริ ษั ท เพื่ อ ความเท่ า เที ย มกั น ในการรั บ รู้ ข้ อ มู ล และ 110
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เพื่อป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน รวมถึงคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและเพื่อเป็นการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทได้กำ�หนดนโยบาย การดูแลการใช้ข้อมูลภายในดังนี้ 1. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ของบริ ษั ท ซึ่ ง รวมถึ ง คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ยั ง ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ทีท่ ราบข้อมูลทีม่ สี าระสำ�คัญ และงบการเงินของบริษัทซึ่งยังมิได้เปิดเผยแก่ สาธารณชน ทำ�การเผยแพร่หรือเปิดเผยแก่ บุคคลอื่นทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมทั้งมิให้มีการล่วงรู้ข้อมูลระหว่างส่วนงาน เพือ่ ป้องกันการนำ�ข้อมูลภายในทีม่ สี าระสำ�คัญ ซึ่งยังมิได้เปิดเผยแก่สาธารณชนไปเปิดเผย ก่ อ นเวลาอั น ควรเว้ น แต่ ส่ ว นงานนั้ น จำ � เป็ น ต้ อ งรั บ ทราบโดยหน้ า ที่ แ ละให้ ดู แ ลข้ อ มู ล ดังกล่าวเช่นเดียวกับหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ทั้ ง นี้ ไ ม่ ร ว ม ถึ ง ก า รใ ห้ ข้ อ มู ล แ ก่ หน่ ว ยงานราชการที่ กำ � กั บ ดู แ ลซึ่ ง ได้ แ ก่ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย สำ � นั ก งาน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กำ � กั บ ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ตลาดหลักทรัพย์ 2. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ของบริ ษั ท ซึ่ ง รวมถึ ง คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ยั ง ไม่บรรลุนิติภาวะ ที่ทราบข้อมูลที่สำ�คัญและ งบการเงิ น ของบริ ษั ท ทำ �การซื้ อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 7 วัน ก่อนการเปิดเผยงบการเงินให้แก่สาธารณชน • บริ ษั ท ได้ กำ � หนดแนวทางการปฏิ บั ติ ง านของ พนักงานให้ปฎิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยุติธรรม ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ และไม่ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ ต่ อ ผลประโยชน์ ส่ ว นตน เหนือความรับผิดชอบที่มีต่อบริษัท
4. การมีส่วนได้เสียของกรรมการ • บริ ษั ท กำ � หนดให้ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด หรื อผู้ดำ� รงตำ� แหน่ง ระดับบริหาร 4 รายแรก นับต่อจากผู้บริหารสูงสุดลงมาผู้ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่ง ระดับบริหารรายที่ 4 ทุกราย รวมถึงผูด้ �ำ รงตำ�แหน่ง สูงกว่าหรือเทียบเท่าผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีและการเงิน รวมถึ ง คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ยั งไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท ต่ อ สำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ภ ายใน 30 วั น นั บ จาก วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งและรายงานการเปลี่ยนแปลง การถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ภ ายใน 3 วั น ทำ � การ นั บ จากวั น ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง นอกจากนี้ กรรมการและผู้ บ ริ ห ารจะต้ อ งนำ � ส่ ง รายงาน การมีส่วนได้เสียของตนหรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน กับผู้บริหารบริษัทหรือบริษัทย่อยให้เป็นไปตาม ระเบียบของบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ ของสำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์ 5. การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงการดำ�เนินธุรกิจ ที่ต้องสร้างความน่าเชื่อถือ ความไว้วางใจ และ คำ�นึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย ทุ ก กลุ่ ม รวมถึ ง การปกป้ อ งผลประโยชน์ มิ ใ ห้ เกิดความเสียหายและส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง และภาพลักษณ์ของบริษัท โดยกำ�หนดนโยบาย การป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หลักการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 1. การทำ � ธุ ร กรรมของบริ ษั ท จะต้ อ งขจั ด ปั ญ หา ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีเหตุผล และเป็น อิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อประโยชน์ ของบริษัท ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เป็นสำ�คัญ 2. การทำ�ธุรกรรมกับกิจการทีม่ ผี ลประโยชน์เกีย่ วข้อง ต้องมีเงือ่ นไขหรือข้อกำ�หนดทีเ่ ป็นปกติเหมือนกับ การทำ � ธุ ร กรรมกั บ บุ ค คลทั่ วไปที่ มี ค วามเสี่ ย ง ในระดับเดียวกัน รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล ทีเ่ ป็น ไปตามนโยบาย ระเบียบหลักเกณฑ์ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง แนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการป้องกันความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ จึงกำ�หนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้
1. กำ � หนดมาตรการป้ อ งกั นไม่ ใ ห้ นำ � ข้ อ มู ลไปใช้ ในทางมิชอบ 2. กำ � หนดระเบี ย บปฏิ บั ติ ป้ อ งกั น ที่ อาจก่ อให้ เ กิ ด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 3. กำ�หนดมาตรการติดตาม ควบคุม และตรวจสอบ การปฏิบัติตามมาตรการ • บริษัทมีการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการที่อาจ มี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ หรื อ รายการ ที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ สำ � นั ก งาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนกำ�หนด โดย เปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี และเปิดเผย ข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันต่อตลาดหลักทรัพย์ แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ข อ ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และ สำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล รายการระหว่างกันในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ในปี 2558 บริ ษั ทไม่ มี ก ารทำ � รายการ ที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ เ ข้ า ข่ า ยต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล การ ทำ�รายการต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั หรือการประชุม ผู้ถือหุ้นได้กำ�หนดให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้เสียในวาระใดให้เปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียของตนและผู้ท่เี กี่ยวข้อง ให้ ที่ ป ระชุ ม ทราบโดยไม่ ชั ก ช้ า และไม่ มี สิ ท ธิ ออกเสี ย งในวาระดั ง กล่ า วเพื่ อ ให้ ที่ ป ระชุ ม สามารถพิจารณาธุรกรรมที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ แ ละสามารถตั ด สิ น ใจเพื่ อ ประโยชน์ของบริษัท
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
111
หมวดที่ 3 บทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย (Role of Stakeholders) บริษัทให้ความสำ�คัญและคำ�นึงถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุม่ ไม่กระทำ�การใดๆ ทีเ่ ป็นการละเมิดสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสีย และส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบระหว่างบริษทั กับผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกกลุ่ม 1. การกำ�หนดนโยบายการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย • บริ ษั ท เป็ น บริ ษั ท แม่ ข องกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ซึง่ เป็นสถาบันการเงินทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจให้เป็น แหล่งระดมเงินทุนของประเทศ บริษัทจึงมีหน้าที่ ปกป้องผลประโยชน์ของประชาชนผู้ฝากเงินและ ผลประโยชน์ ข องลู ก ค้ า ที่ ม าใช้ บ ริ ก าร บริ ษั ท จะต้ อ งรั ก ษาไว้ ซ่ึ ง ชื่ อ เสี ย ง เกี ย รติ ป ระวั ติ แ ละ ภาพพจน์อนั ดีในการเป็นบริษทั ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ยึดมัน่ ความโปร่งใส ความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ อันเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ลงทุนในระบบ สถาบั น การเงิ น และปลู ก ฝั ง จิ ต สำ � นึ ก ในการ ปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม รวมทั้งยึดถือเป็น แนวทางในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามภารกิจของบริษทั ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และเที่ ย งธรรม ทั้งการปฏิบัติต่อบริษัท ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สาธารณชนและสังคม • บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล ข่ า วสารของบริ ษั ท ต่ อ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป อย่าง ถูกต้องครบถ้วน ทั่วถึง และทันเวลา และเป็น ไปตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ งให้ ค วามร่ ว มมื อ ต่ อ องค์ ก รที่ กำ � กั บ ดู แ ล โดยรายงานข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และ ทันเวลา • จรรยาบรรณและจริยธรรม บริษัทได้กำ�หนดจรรยาบรรณและจริยธรรมขึ้น เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเพื่ อ ใช้ ยึ ด ถื อ เป็ น แนวทาง ในการปฏิบัติ ไว้ดังนี้ 1. จรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจของบริษัท 2. จริยธรรมของกรรมการ 3. จริยธรรมของพนักงาน 1. จรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจของบริษัท บริษัทมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินการภายใต้หลักการที่ยึดมั่น ขององค์กร ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริตมีคุณธรรม และมีความ รับผิดชอบ ทั้งนี้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนจะมุ่งมั่น ที่จะดำ�เนินการและยึดถือในหลักการต่อไปนี้
112
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
1. ลูกค้า
บริ ษั ท มุ่ ง ให้ ลู ก ค้ า ได้ รั บ ประโยชน์ แ ละ ความพึงพอใจอย่างสูงสุด โดยเอาใจใส่ปกป้อง ผลประโยชน์ของลูกค้า นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ และบริการที่ดีอย่างมีคุณภาพ ให้บริการ ด้วยความเป็นธรรม รวมถึงดูแลรักษาข้อมูล ต่างๆ ของลูกค้าไว้เป็นความลับ
2. ผู้ถือหุ้น
บริ ษั ท มุ่ ง ให้ มี ก ารดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ประสิทธิภาพ โปร่งใส สร้างผลตอบแทน ที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้น โดยดำ�เนินการให้มี ผลประกอบการที่ดีอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้ง มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายใน รวมทั้งระบบการบริหารความเสี่ยง ที่มีประสิทธิภาพ
3. พนักงาน
บริ ษั ท ถื อ ว่ า พนั ก งานของบริ ษั ท ทุ ก คน เป็นสมบัติที่มีค่า บริษัทมุ่งพัฒนาพนักงาน อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและส่ ง เสริ ม พนั ก งานให้ มี โอกาสในความก้ า วหน้ า และความมั่ น คง ให้ ผ ลตอบแทนที่ เ หมาะสมตามความรู้ ความสามารถและผลการปฏิบัติงาน
4. พันธมิตรและคู่แข่งทางการค้า บริษทั ปฏิบตั ติ อ่ พันธมิตรและคูแ่ ข่งทางการค้า อย่างเป็นธรรมและรักษาความลับภายใต้ หลักเกณฑ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง ไม่ แสวงหาข้ อมู ล ของพั นธมิ ตรและคู่แ ข่ง ทางการค้าอย่างไม่สุจริตและไม่เป็นธรรม 5. เจ้าหนี้และคู่ค้า บริ ษั ท ยึ ด มั่ น ในความซื่ อ สั ต ย์ ต่ อ การ ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ให้ไว้ต่อเจ้าหนี้และคู่ค้า ทุกประเภทโดยอยู่ภายใต้เงื่อนไข รวมทั้ง หลักเกณฑ์และที่กฎหมายกำ�หนด 6. สังคมและสิ่งแวดล้อม บริ ษั ท ยึ ด มั่ นในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ระมัดระวังในการพิจารณาดำ�เนินการใดๆ ในเรือ่ งทีก่ ระทบต่อความรูส้ กึ ของสาธารณชน และส่ ง เสริ ม พนั ก งานให้ มี จิ ต สำ � นึ ก และ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
7. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทยึดมั่นในการดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึง ประโยชน์ สู ง สุ ด ของลู ก ค้ า และของบริ ษั ท โดยบริ ษั ท จะควบคุ ม ดู แ ลและให้ ค วาม สำ�คัญเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างกันที่ไม่เหมาะสม ซึ่ง รายการที่เกี่ยวโยงกันได้กำ�หนดราคาและ เงือ่ นไขเสมือนทำ�รายการกับบุคคลภายนอก
• ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ย่ า งมื อ อาชี พ ด้ ว ยความรู้ ความชำ�นาญ ความมุ่งมั่นและด้วยความ ระมัดระวัง รวมถึงมีการประยุกต์ใช้ความรู้ และทั ก ษะในการจั ด การบริ ษั ท อย่ า งเต็ ม ความรู้ความสามารถ • ไม่ ห าประโยชน์ ส่ ว นตนและผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยนำ�สารสนเทศภายในที่ยังไม่เปิดเผยหรือ ที่เป็นความลับไปใช้ หรือนำ�ไปเปิดเผยกับ บุคคลภายนอกหรือกระทำ�การอันก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ทั้งโดยเจตนา และไม่ เ จตนาต่ อ บุ ค คลที่ ส ามและไม่ ใ ช้ ข้อมูลที่ได้รับจากตำ�แหน่งหน้าที่การงานเพื่อ ผลประโยชน์ส่วนตนและจะไม่ใช้ข้อมูลนั้น เพื่อประโยชน์ของผู้อื่น • กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ให้เป็นไป ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎระเบียบ และ แนวนโยบายของทางการ รวมทั้งกำ�กับดูแล มิให้มีการปิดบังข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและ จั ดให้ มี ก ารรายงานสารสนเทศที่ ถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน ทันเวลา และสม่ำ�เสมอ • ดำ�เนินการตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ
8. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร บริษัทมุ่งเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของบริษัท ต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป อย่ า งถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นทั่ ว ถึ ง และทั น เวลา รวมทั้ ง เป็ นไปตามกฎหมายและระเบี ย บ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 9. การกำ�กับดูแลกิจการ บริ ษั ท ยึ ด มั่ นในการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี รวมทัง้ ให้ความร่วมมือ ต่อองค์กรที่กำ�กับดูแลบริษัท โดยบริษัท จะรายงานข้ อ มู ล ต่ อ องค์ ก รที่ กำ � กั บ ดู แ ล อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา 2. จริยธรรมของกรรมการ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญในฐานะ ผู้นำ�ที่จะนำ�พาองค์กรไปสู่ความสำ�เร็จ โดยเป็นผู้กำ�หนดนโยบาย และชี้นำ�พฤติกรรมของบุคลากรในบริษัทไปในทิศทางที่ถูกต้อง ดังนัน้ คณะกรรมการบริษทั จึงยึดหลักการและวิธปี ฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี้ ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก รรมการที่ ดี ภ ายใต้ ก รอบคุ ณ ธรรมและ จริยธรรมเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีสำ�หรับผู้บริหาร และพนักงาน ทุกระดับของบริษัท 2.1 หน้าที่จัดการกิจการ • กำ � กั บ ดู แ ลการดำ � เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปโดยไม่ เ สี่ ย งต่ อ ความมั่ น คง ของบริษัทจนเกินควร • ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต โปร่ งใส มี คุ ณ ธรรมและยุ ติ ธ รรม เพื่ อให้ มั่นใจได้ว่าการตัดสินใจและกระทำ�การใดๆ มีการคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัท และจะไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ห รื อ ละเว้ น ปฏิ บั ติ กับบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเฉพาะโดย ยึดหลักความเสมอภาค
2.2 ความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้น ลูกค้า เจ้าหนี้ คู่ค้า และพนักงาน • กรรมการมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น เช่น การเปิดเผยสารสนเทศ วิธีการปฏิบัติ ทางบัญชี การใช้สารสนเทศภายใน และ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • ปกป้ อ งผลประโยชน์ ข องลู ก ค้ า เอาใจใส่ และรับผิดชอบสูงสุดต่อลูกค้า • ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ภ ายใต้ ก รอบกติ ก าของ การแข่งขันที่ดี ไม่ทำ�ลายชื่อเสียงของคู่แข่ง ทางการค้า รวมทัง้ ไม่แสวงหาข้อมูลของคูแ่ ข่ง ทางการค้าอย่างไม่สจุ ริตและไม่เป็นธรรม • ดู แ ลให้ มี ค วามเท่ า เที ย มกั นในโอกาสของ การจ้างงานและหลักการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับพนักงานและทำ�ให้มั่นใจได้ว่าพนักงาน มี ค วามรู้ ค วามชำ � นาญที่ จำ � เป็ น สำ � หรั บ การดำ�เนินงานในธุรกิจ
2.3 ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม • ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สังคมและสิ่งแวดล้อม
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
113
• ระมัดระวังและเอาใจใส่ในการดำ�เนินการใดๆ ที่จะมีผลกระทบต่อสาธารณชน • ส่งเสริมให้มีจิตสำ�นึกและความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อม 3. จริยธรรมของพนักงาน
แบ่งออกเป็น 4 หมวด ดังต่อไปนี้
หมวดที่ 1 ความซื่อสัตย์ สุจริต และหลักคุณธรรม (Integrity) ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นคุณสมบัติพ้ืนฐานที่สำ�คัญ ของพนักงานและผู้บริหารทุกระดับของบริษัท พนักงานและ ผู้บริหารทุกระดับมีโอกาสให้คุณให้โทษกับลูกค้า มีโอกาสสร้าง ความเสียหายแก่ลูกค้า เพื่อนร่วมงาน ผู้ถือหุ้น ตลอดจนสังคม โดยรวม ดังนั้น เพื่อให้ลูกค้า ผู้ถือหุ้น และผู้กำ�กับดูแลให้ความ ไว้วางใจและเชื่อถือ เจ้าหน้าที่และผู้บริหารทุกคนต้องมีความ ซื่อสัตย์สุจริต จิตใจมั่นคงและมีคุณธรรม ปฏิบัติหน้าที่โดย ยุติธรรม ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ยึดถือความสบายใจและประโยชน์ของลูกค้า ตลอดจนประโยชน์ ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง หมวดที่ 2 การรักษาความลับภายในบริษัท (Confidentiality) ในกิ จ การของบริ ษั ท การเก็ บ ความลั บ หมายถึ ง การรักษาข้อมูลสำ�คัญทุกชนิดของบริษทั ข้อมูลสำ�คัญเหล่านีร้ วมถึง - ข้อมูลทางการเงิน - ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินของบริษัท - ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารระบบภายในของบริษัท ซึ่งรวมถึงสถิติตัวเลขและรายงานต่างๆ - ข้อมูลพนักงานของบริษัททั้งอดีตและปัจจุบัน - ข้อมูลเกี่ยวกับคู่ค้าของบริษัท - ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อธุรกิจกับทางรัฐบาลหรือ ตัวแทน การรักษาความลับภายในบริษทั เป็นสิง่ จำ�เป็นอย่างยิง่ สำ�หรับธุรกิจการเงิน ซึ่งประกอบด้วยบริษัทที่ทำ�ธุรกิจต่อเนื่องกัน บางครั้งเนื่องจากลักษณะของงานทำ�ให้รู้ความลับของลูกค้า ซึ่ง หากนำ�มาเปิดเผยอาจจะเป็นผลเสียต่อลูกค้าหรือผู้อื่น ดังนั้น จึง มีแ นวทางในการปฏิบัติเ พื่อป้องกันไม่ให้เ กิดการเสื่อมเสีย ชื่อเสียงหรือความเสียหายต่อบริษัทที่พนักงานสังกัดอยู่ หรือ ต่อลูกค้าและสาธารณชน 114
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
หมวดที่ 3 จรรยาบรรณวิชาชีพ (Professionalism) สร้างสามัญสำ�นึกของผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ ของบริษทั ให้ประพฤติอยูใ่ นกรอบวิธปี ฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสมโดยคำ�นึงถึง หลักคุณธรรม จริยธรรม และความยุติธรรมอันจะส่งผลให้เกิด ภาพพจน์ที่ดีต่อบริษัทโดยรวม หมวดที่ 4 การปฏิบัติต่อสังคม (Service to Community) การดำ�เนินธุรกิจบริษัทมิได้จำ�กัดอยู่เพียงในแวดวง ของเพื่อนร่วมอาชีพอุตสาหกรรมและลูกค้าเท่านั้น ในฐานะ ที่เป็นบุคคลและนิติบุคคลในสังคมของประเทศพึงมีจิตสำ�นึก และความตระหนักต่อการอำ�นวยประโยชน์ต่อสังคม ทั้งด้าน การดำ�เนินธุรกิจหรือส่วนตัว • การรับแจ้งข้อมูลหรือข้อร้องเรียน บริ ษั ท จั ด ให้ มี ช่ อ งทางที่ ห ลากหลายในการ ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย สามารถแสดงความคิ ด เห็ น ร้องเรียน หรือเสนอเรื่องสำ�คัญอื่นๆ ได้โดยตรง ต่ อ กรรมการอิ ส ระ และให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท ดู แ ลงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ รั บ ผิ ด ชอบในการ รับความคิดเห็น ข้อร้องเรียนต่างๆ จากผู้ถือหุ้น และนั ก ลงทุ น และคั ด กรองและรายงานเรื่ อ ง ที่ มี ค วามสำ � คั ญ ไปยั ง หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ดำ � เนิ น การแก้ ไ ขและ/หรื อ รายงานไปยั ง คณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อ พิ จ ารณาตาม ความเหมาะสม โดยคณะกรรมการตรวจสอบ จะรายงานไปยังคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ - การร้องเรียนผ่านกรรมการอิสระ บริษัทมีช่องทางให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ลูกค้า และบุ ค คลทั่ ว ไปสามารถร้ อ งเรี ย นผ่ า น กรรมการอิสระของบริษัทซึ่งมีจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่
นายไพโรจน์ เฮงสกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ Email : phairojh@lhbank.co.th โทรศัพท์ 081-990-7448 นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ Email : adulv@lhbank.co.th โทรศัพท์ 081-834-0104 นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการตรวจสอบ Email : somsaka@lhbank.co.th โทรศัพท์ 085-485-4269 ผ่านเว็บไซต์ของบริษัทที่ www.lhfg.co.th Email ที่ presidentoffice@lhbank.co.th • นโยบายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส บริษัทได้กำ�หนดนโยบายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส เพื่อให้ความคุ้มครองผู้ท่ใี ห้ความร่วมมือกับบริษัท ในการแจ้งเบาะแส เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่า การกระทำ�ดังกล่าวจะไม่ทำ�ให้ผู้แจ้งได้รับความ เดือดร้อนหรือเสียหายหรือไม่ได้รบั ความเป็นธรรม เพื่ อ เป็ น การคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ข องผู้ ร้ อ งเรี ย นและ ให้ ข้ อ มู ล บริ ษั ท จะปกปิ ด ข้ อ มู ล ผู้ แ จ้ ง เบาะแส หรือผู้ให้ข้อมูลและเก็บข้อมูลเป็นความลับ โดย จำ�กัดให้มีการรับรู้เฉพาะผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ และหากพบว่ า มี ก ารนำ � ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วไปใช้ ผิ ด วั ต ถุ ป ระสงค์ ห รื อ เปิ ด เผยโดยไม่ เ หมาะสม จะถือว่ากระทำ�ผิดวินัยของบริษัท • นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนา ธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทตระหนักถึงการดำ�เนินธุรกิจภายใต้ความ รับผิดชอบต่อสังคมซึ่งจะทำ�ให้ธุรกิจมีความยั่งยืน
โดยให้ ค วามสำ � คั ญ ต่ อ การดู แ ลผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม อย่างมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ ตลอดจนมีธรรมาภิบาล การดำ�เนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และยุติธรรม ตระหนักถึงผลกระทบทางลบต่อ เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทจึงกำ�หนด นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนา ธุรกิจอย่างยัง่ ยืนเป็นลายลักษณ์อกั ษร ตามแนวทาง ของสถาบั น ธุ ร กิ จ เพื่ อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility institute) สำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย โดยบริษทั เล็งเห็นถึงความสำ�คัญ ของคำ�ว่า “การพึ่งพิง” เนื่องจากทุกธุรกิจล้วนมี ประชาชนหรือคนในสังคมเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ในการนำ�เสนอสินค้าและบริการ ดังนั้น ไม่ว่า องค์ ก รธุ ร กิ จ จะพั ฒ นาองค์ ก รไปในทิ ศ ทางใด ก็ย่อมต้องมีคนในสังคมเป็นผู้สนับสนุน ซึ่งการ กำ � หนดนโยบายและแนวทางปฏิ บั ติ ดั ง กล่ า ว จะเป็ น แนวทางให้ บุ ค ลากรในองค์ ก รยึ ด ถื อ ปฏิ บัติทั้ง การดำ �เนิ น ความรั บ ผิ ด ชอบต่อ สัง คม ในกระบวนการหลั ก ของการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ (CSR-in-Process) และนอกกระบวนการหลัก ของการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ (CSR-after-Process) และมุ่ ง เน้ นให้ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม มี จิ ต อาสาเพื่ อ ปลู ก ฝั ง ให้มีจิตสำ�นึกในความรับผิดชอบต่อสังคม นโยบายความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ประกอบด้วยหลักการ และแนวปฏิบัติเพื่อให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนั ก งานทุ ก ระดั บ ยึ ด ถื อ เป็ น แนวทาง ในการปฏิบัติ 9 ด้าน ดังนี้ 1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม 3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน 5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม 6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม 8. การจัดการสิ่งแวดล้อม 9. นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรม จากการดำ�เนินงานทีม่ คี วามรับผิดชอบ ต่อสังคม
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
115
• นโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่ โดยมิชอบ บริษทั กำ�หนดนโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ ใ น ห น้ า ที่ โ ด ย มิ ช อ บ เ พื่ อใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เจตนารมณ์ ที่ ไ ด้ ล งนามเป็ น แนวร่ ว มปฏิ บั ติ (Collective Action Coalition) ของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตเพื่อให้ กรรมการและพนักงานรับรูถ้ งึ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ในการต่อต้านการทุจริต ประกอบธุรกิจตามหลัก คุณธรรม จริยรรม และดำ�เนินธุรกิจด้วยหลักการ ในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ 2. การเปิ ด เผยการปฏิ บั ติ ต ามนโยบายและ การจัดทำ�รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม • บริ ษั ท เปิ ด เผยการปฎิ บั ติ ต ามนโยบายความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมในรู ป แบบรายงานแห่ ง ความยั่ ง ยื น ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม เพื่อเปิดเผยการปฏิบัติกิจกรรมด้านต่างๆ ของ บริษัท รวมถึงส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพนักงาน ในการปฏิบัติตามนโยบายเพื่อปลูกฝังจิตสำ�นึก กับการรับผิดชอบต่อสังคมแก่พนักงานในองค์กร ทุกระดับอย่างต่อเนื่อง • บริ ษั ท จั ด ทำ � รายงานแห่ ง ความยั่ ง ยื น ด้ า น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม เ ปิ ด เ ผ ยไ ว้ ใ น แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี รายงานประจำ�ปี และเว็ บไซต์ ข องบริ ษั ท เพื่ อ เผยแพร่ ก ารปฎิ บั ติ ตามแนวทางของนโยบายความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) การเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญของบริษทั ทัง้ รายงานทางการเงิน และที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน มีความครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางทีเ่ ข้าถึงข้อมูลได้งา่ ย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชือ่ ถือ
116
1. การเปิดเผยข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูล ทางการเงิน • บริษัทเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่สำ�คัญของบริษัท ต่อผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุน และสาธารณชนทัว่ ไปด้วยความ โปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา และ สามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งเป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
1. เว็บไซต์ของบริษัท (www.lhfg.co.th) ซึ่งมี 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ข่าวประชาสัมพันธ์บริษัท 3. การจัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ 4. การจั ด แถลงข่ า วต่ อ สื่ อ มวลชน และ การส่งข่าวให้แก่สื่อมวลชน 5. ช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยเผยแพร่ข้อมูล อาทิ งบการเงิ น ของบริ ษั ท การวิ เ คราะห์ แ ละ คำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ รายงานประจำ�ปี แบบแสดงรายงานข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) เอกสารแจ้งมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เอกสารแจ้งมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และข่าวสาร อื่นๆ 6. เว็บไซต์ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยเผยแพร่ ข้อมูล อาทิ ข้อมูลแบบรายงานการเปลีย่ นแปลง การถือหลักทรัพย์ของผู้บริหาร (แบบ 59-2) ข้อมูลรายชือ่ กรรมการและผูบ้ ริหาร งบการเงิน รายงานประจำ�ปี และแบบแสดงรายงานข้อมูล ประจำ�ปี (แบบ 56-1) เป็นต้น 7. การจัดส่งหนังสือให้แก่ผู้ถือหุ้นทางไปรษณีย์ 8. การประกาศข้อมูลทางหนังสือพิมพ์ • คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ ในด้ า น คุ ณ ภาพงบการเงิ น และการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ทางการเงินที่สำ�คัญอย่างเพียงพอ โดยเปิดเผย เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย สำ � นั ก งาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึง่ งบการเงิน ได้ผ่านการสอบทาน หรือผ่านการตรวจสอบ จาก ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และผ่านความเห็นชอบ จากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ก่อนเปิดเผย รวมทั้งบริษัทได้เปิดเผยรายงาน ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการบริ ษั ท ต่ อ รายงานทางการเงินในรายงานประจำ�ปี นอกจากนี้ บริษัทได้เปิดเผยงบการเงิน รายไตรมาสก่ อ นการสอบทาน และก่ อ นการ ตรวจสอบ และรายงานการเปิดเผยข้อมูลการ ดำ � รงเงิ น กองทุ น (Pillar III) ของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น และการวิ เ คราะห์ แ ละคำ � อธิ บ าย ของฝ่ายจัดการ เพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับทราบข้อมูล และรั บ ทราบการเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ
ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัท ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน และบุคคล ทั่วไป • บริ ษั ท ได้ เ ผยแพร่ ร ายงานประจำ � ปี 2557 ภายใน 120 วัน นับตั้งแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชี โดยเผยแพร่ ผ่ า นเว็ บไซต์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558 • บริ ษั ท ได้ เ ผยแพร่ ร ายงานการประชุ ม สามั ญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 พร้อมแจ้งข่าว ผ่านช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย บริษัทมีช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลและ ติดต่อสื่อสาร ดังนี้ ที่อยู่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชัน้ 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : 0-2359-0000 ต่อ 2019, 2020, 2021, 2024 โทรสาร : 0-2677-7223 อีเมล์ : presidentoffice@lhbank.co.th เว็บไซต์ : www.lhfg.co.th • การกำ � หนดค่ า สอบบั ญ ชี ป ระจำ � ปี ไ ด้ ผ่ า น ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัทได้ เสนอขออนุมัติการกำ�หนดค่าสอบบัญชีประจำ�ปี ต่อผู้ถอื หุน้ และได้เปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี • คณะกรรมการบริ ษั ทได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ สรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทนเพื่ อ ทำ � หน้ า ที่ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการผู้จัดการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส สอดคล้ อ งกั บ บทบาทหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ทั้งนี้ การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการจะต้อง ได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ เปิ ด เผยไว้ ใ นรายงานประจำ � ปี แ ละแบบแสดง รายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี ก ารรายงาน ความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่องบการเงิน ของบริษัทและสารสนเทศทางการเงิน โดยแสดง ควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชีในรายงานประจำ�ปี งบการเงิ น ของบริ ษั ท ได้ จั ด ทำ � ตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินและเลือกใช้นโยบายบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ
• บริ ษั ท จั ด ทำ � รายงานต่ า งๆ เพื่ อ เผยแพร่ ต่ อ สาธารณชนบนพื้นฐานของความเป็นธรรมและ ง่ า ยต่ อ การเข้ าใจ โดยมี ก ารอธิ บ ายถึ ง ผลการ ดำ�เนินงานและเหตุการณ์ส�ำ คัญในรอบปีให้ผถู้ อื หุน้ ได้รับทราบ และมีการประเมินความเพียงพอของ ระบบการควบคุ ม ภายใน ซึ่ งประเมิ น เบื้อ งต้น โดยฝ่ า ยตรวจสอบของบริ ษั ท ย่ อ ย โดยมี คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั เป็นผูส้ อบทาน • การรับรองความถูกต้องของรายงานทางการเงิน คณะกรรมการมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ทำ�หน้าที่สอบทานรายงานทางการเงินของบริษัท และบริ ษั ท ย่ อ ยให้ มี ก ารจั ด ทำ � อย่ า งถู ก ต้ อ ง ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ • บริษัทได้เปิดเผยรายงานคณะกรรมการบริหาร รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงาน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ร ร ษั ท ภิ บ า ล ร า ย ง า น คณะกรรมการสรรหาและกำ �หนดค่ า ตอบแทน และรายงานของผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าตจะ รวบรวมเอาไว้ในรายงานประจำ�ปีและแบบแสดง รายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และได้เปิดเผย รายชื่ อ และอำ � นาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการ บริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย จำ�นวนครั้ง ของการประชุม จำ�นวนครั้งที่กรรมการแต่ละคน เข้าร่วมประชุม ค่าตอบแทนกรรมการ รวมถึง ข้อมูลกรรมการ ผู้บริหาร และข้อมูลขององค์กร ในรายงานประจำ�ปีและบนเว็บไซต์ของบริษัท • บริษัทแจ้งรายละเอียดการประชุมและเอกสาร การประชุมผู้ถือหุ้น โดยจัดทำ�เอกสารการประชุม ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษและเปิ ด เผยให้ นักลงทุนทราบล่วงหน้าก่อนการประชุม โดยแจ้ง ผ่านช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและผ่านเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการ ประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอ นอกจากนี้ บริษทั ได้ ลงประกาศบอกกล่าวการนัดประชุมผู้ถือหุ้นทาง หนังสือพิมพ์เป็นเวลา 3 วันติดต่อกันล่วงหน้า ก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน โดยรายละเอียด วาระการประชุมระบุชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอ เพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา รวมทั้ง ความเห็นของคณะกรรมการในเรื่องดังกล่าว • บริ ษั ท แจ้ ง มติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ผ่ า นช่ อ งทาง ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล ข อ ง ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทยทั น ที ภ ายในวั น ประชุ ม หรื อ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
117
ช่วงเวลาก่อนเปิดการซื้อขายหลักทรัพย์รอบเช้า อย่างน้อย 1 ชั่วโมงของวันทำ�การถัดไป เพื่อให้ นั ก ลงทุ น ทราบโดยทั่ ว กั น และจั ด ทำ � รายงาน การประชุมที่มีสาระสำ�คัญครบถ้วน ซึ่งบริษัท จะเผยแพร่ ร ายงานการประชุ ม ในเว็ บไซต์ ข อง บริษัทและนำ�ส่งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายใน 14 วันนับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 บริษัทได้แจ้งมติท่ปี ระชุมผ่านช่องทางการเปิดเผย ข้ อ มู ล ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ในวันประชุม และเผยแพร่รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้น ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 ซึ่งสอดคล้องกับระยะเวลาที่กำ�หนด 2. งานนักลงทุนสัมพันธ์ • บริษัทมอบหมายให้เลขานุการบริษัท ทำ�หน้าที่ นักลงทุนสัมพันธ์เพื่อทำ�หน้าที่เผยแพร่ข้อมูลของ องค์ ก ร ทั้ ง ข้ อ มู ล ทางการเงิ น และข้ อ มู ล ทั่ วไป ให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และหน่วยงานกำ�กับดูแลที่เกี่ยวข้องผ่านช่องทาง ต่างๆ ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์ของบริษัทในหัวข้อ “นักลงทุนสัมพันธ์” เพื่อให้ผู้สนใจสามารถศึกษา ข้อมูลได้โดยสะดวก นอกจากนี้ มีการจัดกิจกรรม เพื่อเผยแพร่และชี้แจงข้อมูล รวมถึงเปิดโอกาส ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมซักถามข้อมูลอย่างโปร่งใส โดยมีผบู้ ริหารระดับสูงเข้าร่วมการชีแ้ จง ในปี 2558 บริษทั ได้จดั กิจกรรมเกีย่ วกับงานนักลงทุนสัมพันธ์ ดังนี้ 1. จัดกิจกรรม Analyst Meeting จำ�นวน 2 ครั้ง มีนักวิเคราะห์จากบริษัทหลักทรัพย์ ต่างๆ เข้าร่วมประมาณ 20-30 รายต่อครั้ง
2. การเข้ า พบเพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล แบบตั ว ต่ อ ตั ว (One-on-One Meeting) จำ�นวน 2 ครั้ง 3. ก า ร จั ด ป ร ะ ชุ ม นั ก ล ง ทุ น ( I n v e s t o r Meeting) จำ�นวน 9 ครั้ง 4. การจั ด แถลงข่ า วต่ อ สื่ อ มวลชน (Press Conference) จำ�นวน 2 ครั้ง มีสื่อมวลชน เข้าร่วมประมาณ 30-40 สื่อต่อครั้ง 5. การส่ ง ข่ า วให้ สื่ อ มวลชน การสั ม ภาษณ์ ผู้บริหารระดับสูงจำ�นวนหลายครั้ง หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท (Responsibilities of the Board) คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น หั วใจสำ � คั ญ ของการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ประกอบด้ ว ยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ นสาขาต่ า งๆ ที่มีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ มีภาวะผู้นำ� มีวิสัยทัศน์ มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ อุทิศเวลาและปฏิบัติหน้าที่ ตามความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์สุจริตเพื่อประโยชน์ สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น
1. โครงสร้ า ง องค์ ป ระกอบ และคุ ณ สมบั ติ ข อง คณะกรรมการบริษัท • คณะกรรมการบริ ษั ท มี จำ � นวน 9 ท่ า น ประกอบด้ ว ยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ค วามรู้ ความ สามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อ บริ ษั ท การเลื อ กตั้ ง กรรมการเป็ น ไปตามมติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ตามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร ตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท ซึ่งเป็น จำ�นวนทีเ่ หมาะสมกับธุรกิจของบริษทั โดยบริษทั ได้ กำ � หนดโครงสร้ า งของคณะกรรมการบริ ษั ท ไว้ให้มีจำ�นวนที่เหมาะสมและพอเพียง สอดคล้อง กับประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย และประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน กรรมการบริษัท ปัจจุบันประกอบด้วย 1. กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 1 ท่าน 2. กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 5 ท่าน 3. กรรมการอิสระ จำ�นวน 3 ท่าน โครงสร้างคณะกรรมการบริษทั เป็นไปตาม สั ด ส่ ว นอย่ า งยุ ติ ธ รรมและเหมาะสม และ เพื่อความเป็นอิสระของประธานกรรมการและ เป็ น การแบ่ ง แยกอำ � นาจหน้ า ที่ ใ นการกำ � หนด นโยบายการกำ�กับดูแลและการบริหารงานประจำ� ออกจากกัน จึงกำ�หนดให้ประธานกรรมการบริษทั
118
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ประธานกรรมการบริหาร และประธานกรรมการ ตรวจสอบไม่ เ ป็ น บุ ค คลเดี ย วกั น กั บ กรรมการ ผู้ จั ด การ โดยมี ก ารแบ่ ง แยกอำ � นาจหน้ า ที่ ระหว่ า งกั น อย่ า งชั ด เจนไม่ ใ ห้ ค นใดคนหนึ่ ง มี อำ � นาจโดยไม่ จำ � กั ด เพื่ อให้ เ กิ ด การถ่ ว งดุ ล และสอบทานการบริหารงานได้ • กรรมการบริษัทได้รับการคัดเลือก โดยพิจารณา จากความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ ความซื่อสัตย์ ความสามารถที่เป็นประโยชน์กับ บริษัท ความสามารถในการให้ความเห็นที่เป็น อิสระและมีความเข้าใจในธุรกิจของกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินและไม่กีดกันในเรื่องเพศ • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ กำ � หนดคุ ณ สมบั ติ กรรมการอิ ส ระของบริ ษั ท ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แนว ปฏิ บั ติ ข องนโยบายการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และเข้มกว่าที่กำ�หนดในประกาศคณะกรรมการ กำ � กั บ ต ล า ด ทุ น แ ล ะ ป ร ะ ก า ศ ธ น า ค า ร แห่ ง ประเทศไทย โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้วย กรรมการอิสระจำ�นวนอย่างน้อย 3 ท่าน หรืออย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำ�นวน กรรมการทั้ ง คณะแล้ ว แต่ จำ � นวนใดจะสู ง กว่ า โดยกรรมการอิสระต้องเป็นกรรมการที่ไม่ได้เป็น ลูกจ้างหรือพนักงานที่ได้รับเงินเดือนจากบริษัท และมีความเป็นอิสระจากกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท รวมทั้งสามารถดูแลผลประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้นรายย่อยได้
จดทะเบียน และไม่เกิน 3 กลุ่มธุรกิจ เพื่อให้ มั่นใจว่ากรรมการสามารถทุ่มเทเวลาการปฏิบัติ หน้าที่ในบริษัทได้อย่างเพียงพอ โดยแนวปฏิบัติ ดังกล่าวได้กำ�หนดไว้ในนโยบายการกำ�กับดูแล กิ จ การที่ ดี หมวดที่ 5 ความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริ ษั ท และรายละเอี ย ดข้ อ มู ล การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทได้เปิดเผยไว้ใน รายงานประจำ�ปี หัวข้อ คณะกรรมการบริษัท รายละเอียดข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษทั อืน่ บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยไว้ ที่ หั ว ข้ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เรื่ อ ง การดำ � รงตำ � แหน่ งในบริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย และการดำ�รงตำ�แหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทย • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ กำ � หนดวาระการ ดำ � รงตำ � แหน่ ง ของกรรมการเป็ น ไปตาม พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด ข้อบังคับ ของบริ ษั ท โดยในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปีทุกคราว ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่ง จำ�นวนหนึง่ ในสามของจำ�นวนกรรมการ ถ้าจำ�นวน กรรมการที่จะออกแบ่งเป็นสามส่วนไม่ได้ ให้ออก โดยจำ � นวนใกล้ เ คี ย งที่ สุ ด กั บ ส่ ว นหนึ่ งในสาม ทั้งนี้ ให้กรรมการซึ่งอยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้น ออกจากตำ�แหน่งก่อน และถ้าตกลงกันในเรือ่ งของ การออกจากตำ � แหน่ งไม่ ไ ด้ ให้ ใ ช้ วิ ธี จั บ ฉลาก โดยกรรมการซึ่ ง พ้ น จากตำ � แหน่ ง อาจได้ รั บ เลือกตั้งใหม่ได้ • กรรมการท่านใดหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการท่านนัน้ ไม่มอี �ำ นาจอนุมตั กิ ารดำ�เนินการ กั บ บริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ยตามที่ สำ � นั ก งาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรื อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย กำ�หนด
รายละเอียดคุณสมบัตกิ รรมการอิสระ บริษทั ได้เปิดเผยไว้ท่ี หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ เรื่อง คุณสมบัติของกรรมการอิสระ • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ อ นุ มั ติ แ ผนงานและ งบประมาณประจำ � ปี รวมทั้ ง กลยุ ท ธ์ ใ นการ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท โดยแผนงานได้ มี ก าร ทบทวนเป็ น ประจำ � ทุ ก ครึ่ ง ปี นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่กำ� กับดูแ ลให้ ก าร บริ ห ารงานของฝ่ า ยจั ด การเป็ นไปตามกลยุ ท ธ์ และแผนงานที่กำ�หนด โดยคำ�นึงถึงประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท เป็ น สำ � คั ญ ซึ่ ง จะติ ด ตาม การบริหารงานเป็นประจำ�ทุกเดือน เพื่อให้มั่นใจ ว่ากลยุทธ์ได้ถูกนำ�ไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมายและแผนงานที่กำ�หนด • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ กำ � หนดแนวปฏิ บั ติ เกี่ยวกับจำ�นวนบริษัทที่กรรมการแต่ละท่านจะ ไปดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทอื่นไม่เกิน 5 บริษัท
2. คณะกรรมการชุดย่อย • คณะกรรมการบริ ษั ท มี ก ารกระจายอำ � นาจ การบริหารงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพและมีความโปร่งใส ในการบริหารจัดการ โดยคณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อช่วยศึกษา รายละเอียดและกลัน่ กรองงานเพือ่ เป็นการแบ่งเบา ภาระหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และทำ�ให้ บริ ษั ท มี ค ณะกรรมการพิ จ ารณาเรื่ อ งต่ า งๆ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
119
เฉพาะด้าน คณะกรรมการชุดย่อยมี 5 คณะ ได้แก่ 1. คณะกรรมการบริหาร 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล 4. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ทั้ ง นี้ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล และประธาน กรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทนเป็ น กรรมการอิสระ เพื่อความโปร่งใสและเป็นอิสระ ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โดยมี ก ารแบ่ ง แยกหน้ า ที่ และความรับผิดชอบอย่างชัดเจน
รายละเอียดคณะกรรมการชุดย่อย บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่ โครงสร้างการจัดการ พร้อมรายละเอียดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ของคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ
3. เลขานุการบริษัท • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง นายวิ เ ชี ย ร อมรพูนชัย ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2552 เพื่ อ ทำ � หน้ า ที่ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท ตามที่ กฎหมายกำ�หนด โดยคณะกรรมการบริษัทได้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เลขานุการบริษัทได้รับ การฝึกอบรมและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่องทั้ง ด้านกฎหมาย การบัญชี หรือการปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการบริษัท โดยมีข้อมูลประวัติ ดังนี้
ชื่อ-สกุล นายวิเชียร อมรพูนชัย ตำ�แหน่ง เลขานุการบริษัท อายุ (ปี) 54 คุณวุฒิทางการศึกษา - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ประวัติการฝึกอบรม - ประกาศนียบัตรวิชาชีพผู้ตรวจสอบภายใน (CPIA) - หลักสูตร Modern Managers Program จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Company Secretary Program 32/2009 : IOD - หลักสูตร Effective Minute Taking 17/2010 : IOD - หลักสูตร Corporate Secretary Development Program สมาคมบริษัทจดทะเบียน สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) 0.003 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา พ.ค. 2552 - ปัจจุบัน ธ.ค. 2541 - ธ.ค. 2548
ตำ�แหน่ง
เลขานุการบริษัท ผู้อำ�นวยการฝ่ายตรวจสอบ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์
การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา มี.ค. 2557 - ปัจจุบัน ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน พ.ย. 2553 - ปัจจุบัน ส.ค. 2549 - ต.ค. 2553 ธ.ค. 2548 - ก.ค. 2549 120
ตำ�แหน่ง
เลขานุการบริษัท กรรมการ และเลขานุการบริษัท ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ และเลขานุการธนาคาร ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ และรักษาการผู้อำ�นวยการสำ�นักกำ�กับธนาคาร ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการและกำ�กับธนาคาร และรักษาการผู้อำ�นวยการ ฝ่ายตรวจสอบ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. หลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย
หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสาร ดังนี้ 1.1 จัดทำ�ทะเบียนกรรมการ 1.2 หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงาน การประชุ ม คณะกรรมการ และรายงาน ประจำ�ปีของบริษัท 1.3 หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และรายงาน การประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียรายงานโดย กรรมการหรือผู้บริหาร 2.1 กรรมการและผู้บริหารมีหน้าที่ “รายงาน การมีส่วนได้เสีย” (หมายถึง กรรมการ และ ผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ ร ายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของตนและผู้เกี่ยวข้องให้บริษัททราบ) 2.2 จัดส่ง สำ� เนารายงานให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบ ภายในเจ็ ด วั น ทำ � การนั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ รั บ รายงานนั้น 2.3 จั ด ให้ มี ร ะบบการเก็ บ รั ก ษาเอกสารและ หลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องและครบถ้วน และสามารถตรวจสอบได้ภายในระยะเวลา ไม่นอ้ ยกว่าห้าปีนบั แต่วนั ทีม่ กี ารจัดทำ�เอกสาร หรือข้อมูลดังกล่าว 3. ดำ�เนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ประกาศกำ�หนด
4. การประชุมคณะกรรมการ • บริษัทได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยอย่ า งสม่ำ � เสมอ โดยกำ�หนดการประชุมเป็นการล่วงหน้าสำ�หรับ รอบระยะเวลา 1 ปี และจะมีการประชุมพิเศษ เพิ่ ม เติ ม ตามความจำ � เป็ น โดยบริ ษั ท ได้ แ จ้ ง กำ�หนดการดังกล่าวให้กรรมการทุกท่านทราบ ล่วงหน้าเพือ่ ให้สามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ สำ � หรั บ วาระการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท จะกำ�หนดโดยประธานกรรมการ โดยประธาน กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ ร่วมกัน พิ จ ารณากำ � หนดเรื่ อ งที่ จ ะบรรจุ เ ข้ า เป็ น วาระ การประชุมผ่านเลขานุการบริษัท ซึ่งจะมีวาระ การประชุ ม ที่กำ� หนดวาระที่ชัด เจนไว้ ล่ว งหน้ า และมีวาระการประชุมที่สำ�คัญ เช่น การพิจารณา งบการเงินแต่ละไตรมาส ผลการดำ�เนินงานของ บริษัท ผลการดำ�เนินงานของบริษัทในกลุ่มธุรกิจ
ทางการเงิน ทัง้ นี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั เลขานุ ก ารบริ ษั ท ได้ จั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม พร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารให้แก่ กรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 7 วัน เพื่ อให้ ก รรมการมี เ วลาศึ ก ษาวาระการประชุ ม และเอกสารประกอบการประชุมและปกติการประชุม แต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 1.30 - 2 ชั่วโมง บริษทั ได้จดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อกั ษร ครอบคลุมสาระสำ�คัญอย่างครบถ้วนแล้วเสร็จ ในเวลาทีเ่ หมาะสม และจัดเก็บรายงานการประชุม ที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัท และ เอกสารประกอบการประชุ ม อย่ า งเป็ น ระบบ พร้ อ มให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท และผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง สามารถตรวจสอบได้ และสะดวกในการสืบค้น อ้างอิง • ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ประธาน กรรมการได้จัดสรรเวลาอย่างเพียงพอที่กรรมการ จะอภิปรายเรือ่ งทีม่ คี วามสำ�คัญ และในการพิจารณา บางวาระกรรมการผูจ้ ดั การได้เชิญผูบ้ ริหารระดับสูง เข้าร่วมประชุม เพื่อให้รายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติม ในฐานะที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่นำ�เสนอโดยตรง • การประชุมคณะกรรมการบริษัท องค์ประชุมต้อง มีจำ�นวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการ ทั้งหมดตามข้อบังคับของบริษัท และการวินิจฉัย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ถื อ เสี ย งข้ า งมาก ในกรณี ที่ ค ะแนนเสี ย งเท่า กั น ให้ ป ระธานในที่ ป ระชุ ม ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด • การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท กรรมการ ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ยในเรื่ อ งใดต้ อ งไม่ ร่ ว มพิ จ ารณา และไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น และ มี ก ารบั น ทึ ก การมี ส่ ว นได้ เ สี ย ดั ง กล่ า วไว้ ใ นมติ ของเรื่องนั้นๆ ในรายงานการประชุม • คณะกรรมการสามารถขอความเห็ น จาก ที่ปรึกษาอิสระหรือผู้ประกอบวิชาชีพภายนอกได้ ในกรณีที่จำ�เป็นโดยถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัท • กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารได้จดั ประชุมระหว่างกัน ได้ โ ดยไม่ มี ก รรมการผู้ จั ด การเข้ า ร่ ว มประชุ ม เพื่ออภิปรายประเด็นหรือปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับ การจั ด การที่ อ ยู่ ใ นความสนใจและหาแนวทาง พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง หรื อ ให้ ข้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ น ประโยชน์แก่ฝ่ายจัดการ และแจ้งมติและสรุป ข้ อ คิ ด เห็ น ที่ ไ ด้ รั บ จากการประชุ ม ให้ ก รรมการ ผู้จัดการรับทราบ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
121
5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการได้ ป ระเมิ น ตนเองเพื่ อ ช่ ว ยให้ มี ก าร พิ จ ารณาทบทวนผลงาน ปั ญ หาและอุ ป สรรคในปี ที่ ผ่ า นมา และเพื่อให้การทำ�งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะทราบถึง ความรับผิดชอบของตนได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งการประเมินตนเองเป็น เครื่องมือสำ�คัญในการประเมินความเหมาะสมของโครงสร้าง คณะกรรมการและประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โดย ผลการประเมิ น และข้ อ คิ ด เห็ น ของกรรมการได้ นำ �ไปใช้ เ พื่ อ การปรับปรุงการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ และของกรรมการ ในแต่ละปี โดยแบบที่ใช้ในการประเมินได้ใช้แบบตัวอย่างของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนำ�มาปรับปรุงเพิ่มเติม เพื่ อให้ ค รอบคลุ ม การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการและ สอดคล้องกับลักษณะและสภาพแวดล้อมการประกอบธุรกิจของ บริษัท ซึ่งบริษัทได้ทำ�การประเมินตนเอง ดังนี้ - การประเมิ นตนเองของคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการชุดย่อยทั้งคณะ - การประเมินตนเองของกรรมการบริษัทและกรรมการ ชุดย่อยเป็นรายบุคคล - การประเมินตนเองเรื่องการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และ คณะกรรมการบริษัท 5.1 การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการชุดย่อยทั้งคณะ แบบประเมินแบ่งออกเป็น 6 หัวข้อได้แก่ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3. การประชุมคณะกรรมการ 4. การทำ�หน้าที่ของกรรมการ 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ 6. การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร การให้คะแนน ในแบบประเมินได้กำ�หนดระดับคะแนน เพื่อให้คณะกรรมการสามารถเปรียบเทียบผลประเมินในแต่ละ หัวข้อและเปรียบเทียบผลประเมินของแต่ละปีได้ โดยความหมาย ของการให้คะแนนมีดังนี้ 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ หรือไม่มกี ารดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ 1 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ เล็กน้อย 2 = เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ พอสมควร 3 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรือมีการดำ�เนินการ ในเรื่องนั้นดี 4 = เห็นด้วยอย่างมาก หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้น อย่างดีเยี่ยม
122
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
วิ ธี ก ารประเมิ น และผลการประเมิ น ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยแต่ ล ะ คณะกรรมการได้ร่วมกันประเมินโดยการให้คะแนนในแต่ละข้อ ซึ่งผลการประเมินตนเองทั้งคณะประจำ�ปี 2558 หัวข้อที่ทำ�การ ประเมินส่วนใหญ่ได้คะแนนระดับ 4 5.2 การประเมิ น ตนเองของกรรมการบริ ษั ท และ กรรมการชุดย่อยเป็นรายบุคคล แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อได้แก่ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ การให้คะแนน ในแบบประเมินได้กำ�หนดระดับคะแนน เพื่อให้กรรมการสามารถเปรียบเทียบผลประเมินในแต่ละหัวข้อ และเปรียบเทียบผลประเมินของแต่ละปีได้ โดยความหมายของ การให้คะแนนมีดังนี้ 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ หรือไม่มกี ารดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ 1 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ เล็กน้อย 2 = เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ พอสมควร 3 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรือมีการดำ�เนินการ ในเรื่องนั้นดี 4 = เห็นด้วยอย่างมาก หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้น อย่างดีเยี่ยม วิธีการประเมินและผลการประเมิน เลขานุการบริษัทได้ จัดส่งแบบประเมินตนเองเป็นรายบุคคลให้กรรมการแต่ละท่าน ทำ�การประเมินตนเองตามคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่กรรมการ ดำ�รงตำ�แหน่ง และเมื่อกรรมการประเมินตนเองเรียบร้อยแล้ว ได้นำ�ส่งให้เลขานุการบริษัทรวบรวม และนำ�ผลการประเมิน แจ้งให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบ โดยภาพรวมผลการประเมิน ตนเองของกรรมการเป็ น รายบุ ค คลประจำ � ปี 2558 หั ว ข้ อ ที่ทำ�การประเมินส่วนใหญ่ได้คะแนนระดับ 4
5.3 การประเมิ น ตนเองเรื่ อ งการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีการประเมินตนเองเรื่อง การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อเป็นเครื่องมือ ให้คณะกรรมการบริษทั และฝ่ายจัดการของบริษทั ประเมินตนเอง ว่าบริษัทปฏิบัติหรือยังไม่ปฏิบัติในเรื่องใด และเพื่อใหบริษัท สามารถเปิ ด เผยข้ อ มู ลได้ อ ย่ า งครบถ้ ว น โดยคณะกรรมการ บริษัทได้วิเคราะห์ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ ข้อควรสังเกต ต่ า งๆ เพื่ อ นำ � มาปฏิ บั ติ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ สภาพแวดล้ อ ม การดำ�เนินธุรกิจ ดังนี้ แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 4 หัวข้อได้แก่ 1. สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น และการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า ง เท่าเทียมกัน 2. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 4. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การให้คะแนน ในแบบประเมินไม่ได้ก�ำ หนดระดับคะแนน แต่ได้กำ�หนดในแต่ละหัวข้อได้ปฏิบัติแล้วหรือไม่ ดังนี้ • ห า กไ ด้ ดู แ ลใ ห้ บ ริ ษั ท ป ฏิ บั ติ ต า ม แ ล้ ว ใ ห้ ทำ � เครื่องหมายถูก (√) ในช่อง “ใช่” • หากยังไม่ได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติยังไม่ครบถ้วน ให้ทำ� เครื่องหมายถูก (√) ในช่อง “ไม่ใช่” วิ ธี ก ารประเมิ น และผลการประเมิ น ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล คณะกรรมการได้ร่วมกันประเมิน โดยผลการประเมินตนเอง เรื่ อ งการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ประจำ � ปี 2558 หัวข้อที่ทำ�การประเมินส่วนใหญ่อยู่ในช่อง “ใช่” 6. หลั ก เกณฑ์ ก ารประเมิ น ผลงานประจำ � ปี ข อง กรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้คณะกรรมการ สรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน พิ จ ารณาแนวทาง การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ้ ดั การ รวมถึง กำ�หนดผลตอบแทนและโบนัส สำ�หรับการปฏิบัติงาน ประจำ�ปี โดยคำ�นึงถึงหน้าที่ความรับผิดชอบต่อบริษัท ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ง า น ป ร ะ จำ � ปี ข อ ง กรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการบริหารโดยประธาน กรรมการบริ ห ารได้ กำ � หนดตั ว ชี้ วั ด ตามแนวทาง การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหา และกำ � หนดค่ า ตอบแทน โดยตั ว ชี้ วั ด สอดคล้ อ งกั บ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายระยะยาวของบริษัท โดยคำ � นึ ง ถึ ง หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ความสำ � เร็ จ
ตามเป้าหมาย และพิจารณาสถานการณ์และสภาวะธุรกิจ ในขณะนั้นร่วมด้วย ซึ่งแบบการประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ ตัวชี้วัดการปฏิบัติงานด้านการเงิน (Financial KPI) และตั ว ชี้ วั ด การปฏิ บั ติ ง านด้ า น ที่ไม่ใช่การเงิน (Non-Financial KPI) ประธานกรรมการบริ ห าร ได้ ป ระเมิ น ผลงาน ประจำ � ปี ข องกรรมการผู้ จั ด การ และได้ นำ � เสนอผล การประเมิ น ต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อพิจารณากำ�หนดผลตอบแทน และโบนัส และเมื่อคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่ า ตอบแทนพิ จ ารณาประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ กรรมการผู้จัดการแล้ว ได้นำ�ผลการประเมินเสนอต่อ ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารเพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร • คณะกรรมการสรรหาและกำ �หนดค่ า ตอบแทน มีกรรมการอิสระเป็นประธาน ทำ�หน้าที่กำ�หนด นโยบาย วิ ธี ก าร และหลั ก เกณฑ์ ก ารกำ � หนด ค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ ที่เป็นธรรมสมเหตุสมผล โปร่งใส เชื่อมโยงกับ ผลการดำ�เนินงานของบริษทั และผลการปฏิบตั งิ าน ให้อยูใ่ นระดับเดียวกับอุตสาหกรรมและสูงเพียงพอ ที่จะดูแลรักษากรรมการ • ค่ า ตอบแทนกรรมการกำ � หนดโดยที่ ป ระชุ ม ผู้ถือหุ้น ในรูปแบบของค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน และค่าตอบแทนอื่น ซึ่งผ่านการพิจารณาและ นำ�เสนอจากคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่ า ตอบแทน ในการกำ � หนดค่ า ตอบแทน จะพิ จ ารณาตามหลั ก ปฏิ บั ติ โ ดยทั่ ว ไปใน อุ ต สาหกรรม โดยพิ จ ารณาจากประสบการณ์ ทำ � งาน ความรู้ ค วามสามารถ หน้ า ที่ ค วาม รับผิดชอบ รวมทั้งคุณประโยชน์ที่กรรมการทำ�ให้ กับบริษัท และเทียบเคียงกับบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยที่ อ ยู่ ใ น อุ ต สาหกรรมและธุ ร กิ จ ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น รวมถึ ง ได้เทียบเคียงกับค่าเฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียน จากรายงานผลสำ�รวจอัตราค่าตอบแทนกรรมการ บริ ษั ท จดทะเบี ย นของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษัทไทย และบริษัทได้เปิดเผยอัตรา ค่ า ตอบแทนกรรมการที่ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ จ าก ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2558 ซึ่ ง ประชุมเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 และจำ�นวน ค่ า ตอบแทนและค่ า ตอบแทนอื่ น ของกรรมการ ประจำ�ปี 2558 ไว้ในรายงานประจำ�ปี
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
123
รายละเอียดอัตราค่าตอบแทนกรรมการที่ได้รับการอนุมัติ จากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และจำ�นวนค่าตอบแทนและค่าตอบแทนอืน่ ของกรรมการ ได้เปิดเผยไว้ที่ โครงสร้างการจัดการ ข้อ 9. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
8. การพัฒนากรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน • บริษัทได้ให้ความสำ�คัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท โดยบริษัทมีนโยบายส่งเสริมให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ปฏิบัติงานด้านสนับสนุน งานเลขานุการบริษัท การกำ�กับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบภายใน การกำ�กับดูแลกิจการของ รายชื่อกรรมการ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ
2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการบริหาร
3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล
4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ
124
บริษทั ให้เข้าร่วมสัมมนาจากสถาบันภายนอกและ ภายในบริษัท เพื่อเป็นการส่งเสริม พัฒนาทักษะ เพิ่ ม พู น ความรู้ ความสามารถอย่ า งสม่ำ � เสมอ เพื่ อ รองรั บ การเจริ ญ เติ บ โตทางธุ ร กิ จ ทั้ ง ใน ระยะสั้นและระยะยาว อาทิ การเข้ารับการอบรม หลั ก สู ต รต่ า งๆ ของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษัทไทย สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ � กั บ ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสมาคม บริษัทจดทะเบียนไทย เป็นต้น โดยในปี 2558 กรรมการบริษัทที่เข้าอบรมหรือสัมมนา เช่น หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา
- สัมมนา ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย โดย คุณอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ห้องแมนดาริน แกรนด์ บอลรูม ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน สามย่าน - สัมมนา ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย โดย คุณอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ห้องแมนดาริน แกรนด์ บอลรูม ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน สามย่าน - สัมมนา เศรษฐกิจไทยกับบริบทใหม่ทางเศรษฐกิจ ผู้จัด ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 17-18 กันยายน 2558 ห้อง Bangkok Convention โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร - สัมมนา ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย โดย คุณอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ห้องแมนดาริน แกรนด์ บอลรูม ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน สามย่าน - สัมมนา หลากหลายประเด็นสำ�หรับกรรมการตรวจสอบ ผู้จัด บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด วันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 ห้องคริสตัลฮอลล์ โรงแรมพลาซ่าแอทธินี ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ - สัมมนา ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย โดย คุณอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ห้องแมนดาริน แกรนด์ บอลรูม ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน สามย่าน
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
รายชื่อกรรมการ 5. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 6. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการบริหาร
หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา - สัมมนา หลากหลายประเด็นสำ�หรับกรรมการตรวจสอบ ผู้จัด บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด วันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 ห้องคริสตัลฮอลล์ โรงแรมพลาซ่าแอทธินี ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ
- สัมมนา ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย โดย คุณอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ห้องแมนดาริน แกรนด์ บอลรูม ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน สามย่าน 7. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ - สัมมนา ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย กรรมการบริหาร โดย คุณอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ห้องแมนดาริน แกรนด์ บอลรูม ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน สามย่าน 8. นางสุวรรณา พุทธประสาท - สัมมนา ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย กรรมการ โดย คุณอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ห้องแมนดาริน แกรนด์ บอลรูม ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน สามย่าน 9. นางศศิธร พงศธร - การประชุม Special Workshop แผนงาน 5 ปี ของสมาคมธนาคารไทย กรรมการบริหาร ผู้จัด สมาคมธนาคารไทย กรรมการผู้จัดการ วันที่ 19 พฤษภาคม 2558 ห้อง Astor III ชั้น 14 โรงแรม The St. Regis Bangkok - การประชุม แผนพัฒนาธุรกิจสถาบันการเงินระยะที่ 3 (2558-2562) ผู้จัด สมาคมธนาคารไทย และธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 20 พฤษภาคม 2558 ห้องแกรนด์ฮอลล์ บางกอกคลับ อาคารสาธรซิตี้ทาวเวอร์ - การประชุม CEO Special Workshop แผน Payment Roadmap ผู้จัด สมาคมธนาคารไทย วันที่ 7 สิงหาคม 2558 โรงแรมสุโขทัย ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ - การประชุม ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายอิเล็กทรอนิกส์ ผู้จัด สมาคมธนาคารไทย และสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ วันที่ 19 สิงหาคม 2558 ห้องแกรนด์ฮอลล์ บางกอกคลับ อาคารสาธรซิตี้ทาวเวอร์ - สัมมนา ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย โดย คุณอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้จัด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 1 ตุลาคม 2558 ห้องแมนดาริน แกรนด์ บอลรูม ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน สามย่าน รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
125
9. การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ • เมื่อมีการแต่งตั้งกรรมการใหม่ บริษัทได้จัดให้มี การปฐมนิเทศกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ โดยจัดให้มีการบรรยายสรุปวิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลการดำ � เนิ น งาน กลยุ ท ธ์ แ ละเป้ า หมาย การดำ�เนินธุรกิจ รวมทัง้ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ของบริ ษั ท โดยประธานกรรมการบริ ห าร ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด การและผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง พร้อมจัดทำ�เอกสารต่างๆ ที่เป็นข้อมูลของบริษัท ทีใ่ ช้ในการศึกษาเพิม่ เติม เช่น หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ของกรรมการ กฎหมายและกฎระเบี ย บ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกอบธุรกิจ รายงานประจำ�ปี และข้อมูลต่างๆ ของบริษัท
10. แผนพั ฒ นาเพื่ อ ทดแทนตำ � แหน่ ง ผู้ บ ริ ห ารและ ตำ�แหน่งสำ�คัญ • เพื่ อ เป็ น การเตรี ย มองค์ ก รให้ พ ร้ อ มสำ � หรั บ งานในตำ � แหน่ ง สำ � คั ญ ๆ ในอนาคต บริ ษั ท ได้มีการพัฒนาผู้ที่จะสืบทอดตำ�แหน่ง โดยการส่ง ผูบ้ ริหารเข้ารับการอบรมหลักสูตรสำ�หรับผูบ้ ริหาร ระดับสูง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการจั ด การ การมอบหมายให้ เ ป็ น ตั ว แทนบริ ษั ทในการดำ � เนิ น การต่ า งๆ ทั้ ง นี้ เพือ่ ให้การดำ�เนินธุรกิจเป็นไปอย่างราบรืน่ และต่อเนือ่ ง เพื่อสร้างความมั่นใจว่าบริษัทเตรียมความพร้อม ของบุ ค ลากรในการดำ � รงตำ � แหน่ ง งานที่ มี ความสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท • บริ ษั ทได้ ทำ �โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพผู้ บ ริ ห าร (Management Development Program) เป็นการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้บริหาร ตามแผนพัฒนาผู้นำ�ในอนาคต โดยมีการเรียนรู้ ใน 4 มิติ คือ การขับเคลื่อนผลงานด้วยวิสัยทัศน์ 126
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
และกลยุ ท ธ์ (Visionary Leadership) การปลุกพลังความเป็นผู้นำ�และใช้ให้เหมาะกับ สถานการณ์ (Leadership Role & Situational Leadership) การเป็ น ผู้ นำ � การเปลี่ ย นแปลง (Change Leadership) การเป็ น ผู้ นำ � การบริหารและพัฒนาคน (Management & Developing People)
11. การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน • คณะกรรมการบริษัท ส่งเสริมและให้ความสำ�คัญ กั บ การควบคุ ม ภายในของบริ ษั ทในด้ า นต่ า งๆ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ สภาพแวดล้อมการควบคุม ภายในองค์กร การประเมินความเสี่ยง กิจกรรม การควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง านระบบสารสนเทศ และการสื่ อ สารข้ อ มู ล และระบบการติ ด ตาม และประเมินผล เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทมีระบบ การควบคุมภายในอย่างเพียงพอและเหมาะสม ทีจ่ ะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ในการดำ�เนินธุรกิจ ที่กำ�หนดไว้ภายใต้การกำ�กับดูแลและการควบคุม ภายในที่ดี
12. การบริหารความเสี่ยง • ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ทใ ห้ ค ว า ม สำ � คั ญ กั บ การบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร โดยกระบวนการ บริ ห ารความเสี่ ย งประกอบด้ ว ยขั้ น ตอนหลั ก ๆ คือ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การติ ด ตามและควบคุ ม ความเสี่ ย ง และ การรายงานความเสี่ ย ง และมี ก ารพิ จ ารณา ทบทวนความเพี ย งพอของระบบการบริ ห าร ความเสี่ ย งและประสิ ท ธิ ผ ลของการจั ด การ ความเสี่ยงอย่างสม่ำ�เสมอ
2. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเป็นแนวทาง ซึ่ ง บริ ษั ทได้ กำ � หนดไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเพื่ อให้ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก ระดั บ ยึ ด ถื อ เป็ น แนวปฏิ บั ติ เพื่ อให้ ส อดคล้ อ งกั บ กฎหมายและก่ อให้ เ กิ ด ความเป็ น ธรรม ในการดำ�เนินธุรกิจไม่เห็นแก่ผลประโยชน์อื่น รวมทั้งหลีกเลี่ยง การดำ�เนินการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทเชื่อมั่นว่าการประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม ย่ อ มก่ อให้ เ กิ ด ความเชื่ อ มั่ น แก่ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งอั น จะส่ ง ผลดี ต่ อ กิจการในระยะยาว บริษัทได้ดำ�เนินการตามแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรมเพื่อการพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืน ซึ่งได้ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับกฎหมาย และการแข่ ง ขั น ที่ เ ป็ น ธรรม ตลอดจนให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ เช่ น ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานให้ ค วามสำ � คั ญ กับการปฏิบัติตามกฎหมายการแข่งขันทางการค้า การแข่งขัน ที่เป็นธรรม สนับสนุนให้มีการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีภายใต้ กรอบของกฎหมาย ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงการรักษา ความลับทางการค้าไม่แสวงหาข้อมูลของพันธมิตรและคู่แข่ง ทางการค้าอย่างไม่สุจริตและไม่เป็นธรรม บริษทั ได้สง่ เสริมการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเป็นธรรม ทั้ งในด้ า นต้ น ทุ น และผลตอบแทน เช่ น การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง การกำ � หนดระยะเวลาส่ ง มอบที่ เ พี ย งพอและสั ญ ญาการค้ า ที่ไม่เอารัดเอาเปรียบ และไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมใดๆ อันเป็นการละเมิดทรัพย์สินและการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา รวมทั้งชำ�ระค่าการใช้หรือได้มาซึ่งทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม เช่น การชำ�ระเงินให้แก่เจ้าหนี้ตรงตามงวดการจ่ายประจำ�เดือน บริษัทได้กำ�หนดวิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ จัดจ้าง และ การรั บ บริ ก ารต่ า งๆ เพื่ อให้ ไ ด้ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพ และราคาที่เหมาะสม โดยได้กำ�หนดกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้าง และการรับบริการต่างๆ เป็น 3 วิธี ได้แก่ วิธีตกลงราคา
วิธีสอบราคา และวิธีประกวดราคา ซึ่งการจะใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับ วงเงิ น ที่ จ ะดำ � เนิ น การในแต่ ล ะครั้ ง สำ � หรั บ การคั ด เลื อ ก ผู้จำ�หน่ายสินค้าหรือผู้ให้บริการ เพื่อให้มีความเป็นธรรมและ มีความเท่าเทียมกัน บริษัทได้กำ�หนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก จากความมั่นคงของกิจการ คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์และบริการ และราคา 3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินกิจการภายใต้หลักการของกฎหมาย ความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม เป็นไปตามแนวทางการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี มีจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ ทั้งระดับ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน โดยการสนับสนุนเข้าร่วม กิจกรรมโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต เพื่อจรรโลงไว้ซ่งึ ชื่อเสียงจริยธรรมของบริษัท รวมถึง กำ�หนดให้มีนโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่ โดยมิชอบ เพื่อเป็นแนวทางให้แก่คณะกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของบริษัท รับทราบและถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ดังนี้
บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ
คณะกรรมการบริ ษั ท อนุ มั ติ น โยบายการป้ อ งกั น การหาผลประโยชน์ ใ นหน้ า ที่ โ ดยมิ ช อบและรั บ ผิ ด ชอบ ให้การดำ�เนินกิจการของบริษัทเป็นไปด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทโดยรวม คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ดูแลและส่งเสริมการปฏิบัติ ตามนโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบ รวมทั้ งให้ มี ก ารสื่ อ สารไปยั ง บริ ษั ทในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ของบริษัทด้วย
แนวทางการปฏิบัติ
บริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ ในการป้ อ งกั น มิ ใ ห้ เ กิ ด การ แสวงหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบ สำ�หรับตนเองหรือผู้อื่น ในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. ห้ามให้หรือรับของขวัญ ของกำ�นัล รวมถึงผลประโยชน์ อื่นใด เพื่อจูงใจให้เกิดการปฏิบัติหรือละเว้นจากการ ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรืออาจทำ�ให้เกิดการยินยอม ผ่ อ นปรนในข้ อ ตกลงทางธุ ร กิ จ ที่ ไ ม่ เ หมาะสมและ ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ทก่ี �ำ หนดไว้ในจรรยาบรรณ และจริ ย ธรรมธุ ร กิ จ ของกรรมการ ผู้ บ ริ ห ารและ พนักงานบริษัท
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
127
2. ห้ามให้หรือรับสินบน และสิง่ จูงใจในรูปแบบใดๆ ทัง้ สิน้ และห้ า มมอบหมายให้ ผู้ อื่ นให้ ห รื อ รั บ สิ น บนและ สิ่งจูงใจแทนตนเอง 3. การบริจาคเพื่อการกุศลและการให้เงินสนับสนุนต้อง เป็นไปอย่างโปร่งใสไม่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม 4. บริ ษั ท จะไม่ นำ � เงิ น ทุ น หรื อ ทรั พ ยากรของบริ ษั ท ไปใช้ ส นั บ สนุ น ทางการเมื อ งให้ แ ก่ ผู้ ส มั ค รแข่ ง ขั น เป็ น นั ก การเมื อ งหรื อ พรรคการเมื อ งใด เพื่ อ การ รณรงค์ ท างการเมื อ งหรื อ การดำ � เนิ น กิ จ กรรม ทางการเมือง ยกเว้นการให้ความสนับสนุนนั้น ได้รับ อนุญาตตามกฎหมายและสนับสนุนประชาธิปไตย โดยรวม โดยต้องได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ก่อนการดำ�เนินการ 5. จั ดให้ มี ก ารกำ � กั บ ดู แ ลการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ภายใต้การควบคุมที่ดี มีการประเมินความเสี่ยงที่มี นัยสำ�คัญ มีกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิผลและ แบ่งแยกหน้าที่การทำ�งานที่เหมาะสม รวมทั้งจัดให้ มีระบบสารสนเทศที่เพียงพอน่าเชื่อถือและติดตาม ประเมินผลการควบคุมภายในอย่างสม่ำ�เสมอ 6. จั ดให้ มี ช่ อ งทางการรั บ แจ้ ง ข้ อ มู ล ข้ อ เสนอแนะ หรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น ผ่ า นกรรมการอิ ส ระของบริ ษั ท ห รื อ ผ่ า น ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง บ ริ ษั ท Email : presidentoffice@lhbank.co.th บริ ษั ท ได้ ล งนามเป็ น แนวร่ ว มปฏิ บั ติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เพื่ อแสดงเจตนารมณ์ ในการต่อ ต้านการทุจริตโดยรับรู้หน้ า ที่ ความรับผิดชอบของบริษทั ในการเป็นผูน้ �ำ ตัวอย่างในการต่อต้าน การทุจริต ประกอบธุรกิจตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และ ดำ�เนินธุรกิจด้วยหลักการในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ โดยมีความตกลง ดังนี้ 1. จะจั ดให้ มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การทุจริตภายในบริษทั รวมถึงการนำ�นโยบายการต่อต้านการทุจริต แผนการกำ�กับการปฏิบัติงานและแผนการตรวจสอบไปปฏิบัติ และจัดให้มีคู่มือในการดำ�เนินธุรกิจแก่ผู้บริหารและพนักงาน - นโ ย บ า ย นี้ ห้ า ม ก า รใ ห้ สิ น บ นใ น ทุ ก รู ป แ บ บ ในทุกกิจกรรมที่อยู่ภายใต้การควบคุมและต้องแน่ใจว่า การบริจาคเพือ่ การกุศลและบริจาคให้แก่พรรคการเมือง การให้ของขวัญทางธุรกิจ การสปอนเซอร์ กิจกรรมใดๆ ต้ อ ง โ ป ร่ ง ใ ส แ ล ะ ไ ม่ มี เ จ ต น า เ พื่ อ โ น้ ม น้ า ว ให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐ / เอกชนดำ�เนินการไม่เหมาะสม - นโยบายเหล่านี้จะถูกประกาศและเผยแพร่ในองค์กร ในรูปของ “จรรยาบรรณธุรกิจ” เพื่อเป็นแนวทาง ให้ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานบริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต นอย่ า งมี 128
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
-
-
- -
จริยธรรมและรับผิดชอบในทุกโอกาส พร้อมกำ�หนด บทลงโทษหากไม่ปฏิบัติตาม จั ดให้ มี ก ารอบรมแก่ พ นั ก งานบริ ษั ท เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบในการปฏิบัติ ตามหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ รวมถึ ง สื่ อ สาร ให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัทในการปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติที่ดีของธุรกิจ จั ดให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสม เพื่ อ ป้ อ งกั นไม่ ใ ห้ พ นั ก งานมี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ไ ม่ เ หมาะสม และยกระดั บ ค่ า นิ ย มความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และ ความรับผิดชอบให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร จัดให้มีกลไกการรายงานสถานะทางการเงินที่โปร่งใส และถูกต้อง จัดให้มีช่องทางในการสื่อสาร เพื่อให้พนักงานบริษัท และผู้ ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งสามารถแจ้ ง เบาะแส อันควรสงสัย โดยมั่นใจได้ว่าจะได้รับการคุ้มครอง และมี ก ารแต่ ง ตั้ ง เจ้ า หน้ า ที่ ที่ มี ห น้ า ที่ ต รวจสอบ ทุกเบาะแสที่มีการแจ้ง
2. จะเปิดเผยและแลกเปลีย่ นนโยบายภายใน ประสบการณ์ แนวปฏิบัติที่ดี และแนวทางความสำ�เร็จในการสนับสนุนให้เกิด การทำ�รายการทางธุรกิจอย่างมีคุณธรรม ถูกต้องและโปร่งใส ในประเทศไทย - สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารริ เ ริ่ ม โครงการระดั บ ประเทศ เพือ่ สร้างเงือ่ นไขในการแข่งขันการดำ�เนินธุรกิจทีเ่ ป็นธรรม โปร่งใส รวมถึงให้มั่นใจว่ามีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - จะมี ส่ว นร่ ว มในการเสวนาและร่ ว มอภิ ป รายแสดง ความคิดเห็นในการประชุมต่างๆ เพือ่ สร้างความเข้าใจ ในข้อกังวลและปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่มีผลต่อ ธุ ร กิ จ เอกชนเกี่ ย วกั บ ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และ ความโปร่งใสในการดำ�เนินธุรกิจ 3. จะร่วมมือกับบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกัน คู่ค้า และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม อื่ น ๆ โดยสร้ า งแนวร่ ว มปฏิ บั ติ แ ละ การเข้าร่วมในกิจกรรมร่วมต่อต้านการทุจริต - จะร่ ว มแบ่ ง ปั น แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี แ ละกรอบความคิ ด เพื่ อ มุ่ ง หวั งให้ ทุ ก องค์ ก รที่ เ ป็ น แนวร่ ว มได้ นำ �ไปใช้ ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามโครงการ - จะเข้าร่วม Integrity Pacts กับองค์กรอื่นและ หน่วยงานภาครัฐ ในการประมูลและจัดซื้อสิ่งของ วัตถุดิบอุปกรณ์และการก่อสร้าง - จะร่วมมือและร่วมคิด เพื่อพัฒนาจรรยาบรรณธุรกิจ ที่สามารถใช้ได้กับทุกองค์กร และเป็นที่ยอมรับจาก ทุกองค์กรที่เข้าร่วมโครงการ
- จะร่วมสร้างมาตรการและระบบตรวจสอบเพือ่ ส่งเสริม ความโปร่งใส ซื่อสัตย์ สุจริต ในการประกอบธุรกิจ - จะร่วมมือกับภาคประชาสังคมและสื่อในการสร้าง จิ ต สำ � นึ ก และการให้ ก ารศึ ก ษาแก่ ส าธารณะ เพื่ อ เปลี่ ย นค่ า นิ ย มไปสู่ ก ารต่ อ ต้ า นและประณาม การทุจริตในทุกรูปแบบ - จะสนับสนุนการพัฒนาโครงการตรวจสอบและรับรอง การปฏิบัติตามโครงการ พร้อมทั้งมีการจัดฝึกอบรม ให้ แ ก่ เ จ้ า หน้ า ที่ ผู้ ใ ห้ คำ � ปรึ ก ษาและผู้ ต รวจสอบ เพื่ อ เป็ น แนวทางให้ กั บ บริ ษั ท ที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ ในการดำ�เนินธุรกิจตามหลักจริยธรรม และยกระดับ กระบวนการนีใ้ ห้อยูใ่ นวัฒนธรรมองค์กร เพือ่ ส่งเสริม ความยั่งยืนของโครงการแนวร่วมปฏิบัตินี้ต่อไป - ยินดีให้มีการตรวจสอบและรับรองโดยคณะกรรมการ แนวร่วมปฏิบตั ใิ นการต่อต้านการทุจริตในภาคเอกชนไทย ทุก 3 ปี วันที่ 16 ตุลาคม 2557 บริษัทได้รับประกาศนียบัตร เป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุ จ ริ ต ในการสั ม มนา Thailand’s 5 th National Conference on Collective Action Against Corruption “Tackling Corruption through Public - Private Collaboration” ที่จัดโดยสมาคมสถาบันกรรมการบริษัทไทย คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ดให้ มี นโยบายการป้ อ งกั น การหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้พนักงานยึดถือ เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน และมีการทบทวนนโยบายเป็นประจำ� ทุกปี รวมทั้งเผยแพร่นโยบายป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่ โดยมิชอบไว้ที่เว็บไซต์ของบริษัท และช่องทางการสื่อสารภายใน เช่น ระบบอินทราเน็ต บริษัทส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่อต้านการทุจริต อาทิเช่น กิจกรรมในงานวันต่อต้านคอร์รัปชั่นแห่งชาติ 2558 “Active Citizen…พลั ง พลเมื อ ง ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น ” เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2558 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นการร่วมตอกย้ำ�ให้สังคม ทุ ก ภาคส่ ว นได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการเปลี่ ย นค่ า นิ ย มของสั ง คม ในการปฏิเสธการคอร์รัปชั่น 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ให้ความสำ�คัญกับการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น พนักงาน ชุมชน และสังคมรอบข้างด้วยความยุติธรรม มีความ เสมอภาค เคารพต่ อ ชี วิ ต และศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ ข อง ทุกคน และไม่ละเมิดสิทธิขน้ั พืน้ ฐานและระมัดระวังในการพิจารณา
ดำ�เนินการใดๆ ในเรื่องที่กระทบต่อความรู้สึกของสาธารณชน ซึ่งเป็นรากฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมทั้ง การสร้างมนุษยสัมพันธ์อันมีความเชื่อมโยงกับกิจการในลักษณะ ทำ�ให้มีคุณภาพและคุณค่าสูงขึ้น บริษัทให้ความสำ�คัญกับการปฏิบัติต่อพนักงานทุกระดับ ดู แ ลให้ พ นั ก งานได้ รั บ ผลตอบแทนและสวั ส ดิ ก ารที่ เ ป็ น ธรรม เปิดกว้างในการพัฒนาศักยภาพของพนักงานเพื่อความก้าวหน้า ในวิชาชีพและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของพนักงาน โดยบริษัท ได้เปิดช่องทางในการรับเรือ่ งร้องเรียน ร้องทุกข์ และการรายงาน การกระทำ�ทีไ่ ม่ถกู ต้องจากพนักงานในหลายช่องทาง โดยพนักงาน สามารถเสนอความคิดเห็น รายงานหรือร้องเรียนเรื่องที่เห็นว่า ไม่เป็นธรรม ทุจริต หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องผ่านผู้บังคับบัญชา หรือผ่านช่องทางอื่นๆ โดยบริษัทได้กำ�หนดขั้นตอนการรับเรื่อง ร้องเรียนและร้องทุกข์ที่มีความเป็นอิสระในการตรวจสอบและ การตัดสินใจโดยคำ�นึงถึงผลลัพธ์ที่ออกมาและการเยียวยาใดๆ เป็ นไปตามหลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและได้ ส่ ง เสริ ม เปิ ดโอกาสให้ พนักงานมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น หากมีการกระทำ�ของ กิจการหรือบุคลากรในกิจการที่อาจเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทัง้ นี้ เพือ่ เป็นประโยชน์ในการสะท้อนปัญหาและหาแนวทางแก้ไข การเคารพในสิทธิมนุษยชนเป็นแนวปฏิบัติขั้นพื้นฐาน ที่บริษัทให้ความสำ�คัญ โดยกำ�หนดแนวทางปฏิบัติที่ดีให้กับ พนักงาน ได้แก่ • การจัดจำ�นวนวันลา และวันหยุดต่างๆ ตามทีก่ ฎหมาย กำ�หนด หรือมากกว่าทีก่ ฎหมายกำ�หนดในบางประเภท ของวันหยุด เพือ่ ให้พนักงานสามารถวางแผนการใช้ชวี ติ การทำ�งาน และชีวิตส่วนตัวได้อย่างสมดุล • การกำ�หนดหลักเกณฑ์การสอบสวนและการลงโทษ ทางวินัยไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้การลงโทษเป็นไปด้วย ความยุ ติ ธ รรม และมี แ นวปฏิ บั ติ เ ป็ น มาตรฐาน เดียวกัน • การสนับสนุนให้แต่ละหน่วยงานจัดกิจกรรมเพือ่ สือ่ สาร และเสริมสร้างความเป็นทีม (Staff Activity) นอกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง สนั บ สนุ น และเคารพในการ ปกป้องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยไม่มีการใช้แรงงานบังคับ และการใช้ แ รงงานเด็ ก ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความเชื่ อ มั่ น ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก 5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ให้ ความสำ�คัญกับการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยกำ�หนดเป็น พั น ธกิ จ ของธนาคารในการพั ฒ นาและสนั บ สนุ น ระบบ การบริหารทรัพยากรบุคคลทั้งในเชิงความรู้และผลประโยชน์ของ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
129
ผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอก ธนาคารไม่ใช้แรงงาน ที่ผิดกฎหมายและไม่ใช้แรงงานเด็ก ซึ่งแนวทางปฏิบัติดังกล่าว ครอบคลุมพนักงานทุกคนตั้งแต่ผู้บริหารจนถึงพนักงานระดับ ปฏิบัติการ รวมถึงเปิดโอกาสให้ผู้พิการเข้าร่วมงานกับธนาคาร การคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าร่วมงาน การคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าทำ�งานกับธนาคาร นอกจาก การพิ จ ารณาในด้ า นความรู้ ค วามสามารถ และเกณฑ์ ก าร พิ จ ารณาหลั ก ที่ ธ นาคารกำ � หนด ธนาคารได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำ�คัญในการคัดเลือกบุคลากรที่มีความเชื่อและค่านิยม สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับธนาคาร โดยมีการจัดให้ผู้สมัคร ได้ ทำ � แบบทดสอบพฤติ ก รรมที่ พั ฒ นาข้ อ ทดสอบจากค่ า นิ ย ม PRO-AcTIVE และนำ�ผลการทดสอบมาเป็นส่วนหนึ่งในการ คัดเลือกบุคลากรเข้าร่วมงานกับทางธนาคาร กิจกรรม Welcome Newcomer
พนักงาน ธนาคารได้จดั ตัง้ คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (Human Resources Development Committee) ตั้งแต่ ปี 2552 เพื่อให้การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของธนาคาร เพือ่ การเติบโตทีย่ ง่ั ยืน ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการดูแล พนักงานในด้านต่างๆ ด้วยเชือ่ มัน่ ว่าการพัฒนาทักษะความสามารถ การสร้างแรงจูงใจในการทำ�งาน การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี สุขชีวอนามัยที่ดี และการให้สวัสดิการที่ดี จะช่วยให้พนักงาน มีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มศักยภาพ อันจะส่งผล ต่ อ ลู ก ค้ า ตลอดจนผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย บุ ค ลากรของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ณ 31 ธันวาคม 2558 มีทั้งสิ้น 1,653 คน ความเท่าเทียมและความหลากหลาย ธนาคารยึดหลักในการปฏิบัติกับพนักงานอย่างเป็นธรรม อันได้แก่ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายแรงงาน และหลักสิทธิมนุษยชน โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ อันเนือ่ งมาจากความแตกต่างด้านเชือ้ ชาติ สีผวิ เพศ ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง การถูกถอนสัญชาติ หรือ พื้นเพทางสังคม หรือการเลือกปฏิบัติในรูปแบบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ 130
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
กิจกรรมต้อนรับพนักงานใหม่ในวันแรกของการทำ�งาน ผ่ า นกิ จ กรรม Welcome Newcomer มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ในการสร้างความรู้สึกดีๆ สำ�หรับพนักงานใหม่ รวมถึงเป็น การสร้างการรับรู้เกี่ยวกับค่านิยมองค์กร การใช้ชีวิตประจำ�วัน ภายในธนาคาร อาทิ การได้รู้จักเพื่อนร่วมงาน การแนะนำ� ร้านอาหารบริเวณใกล้เคียงกับสถานทีท่ �ำ งาน เพือ่ ให้บคุ ลากรใหม่ ของธนาคารมี ค วามเข้ า ใจและตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ อันจะนำ�ไปสู่การปรับใช้ในชีวิตการทำ�งาน กิจกรรมส่งเสริมค่านิยมองค์กรในหลักสูตรปฐมนิเทศ ธนาคารได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างค่านิยมองค์กรร่วมกับ การจั ด หลั ก สู ต รปฐมนิ เ ทศในรู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ด้วยการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านบทบาทสมมุติ (Action Learning) การพัฒนาศักยภาพพนักงาน ธนาคารให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การพั ฒ นาบุ ค ลากรและ การเรียนรู้ของพนักงานในทุกระดับ ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง (Executive) ผูบ้ ริหาร (Management) ผูบ้ ริหารระดับกลาง (Middle Management) หั ว หน้ า งาน (Supervisor) เจ้าหน้าที่ (Officer) โดยส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพให้มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะให้สอดคล้องกับภาระหน้าทีต่ ามตำ�แหน่ง พร้ อ มทั้ ง เปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานได้ พั ฒ นาความสามารถ ให้เต็มศักยภาพ ทัง้ การพัฒนาตนเอง การฝึกอบรมในรูปแบบต่างๆ
ข้อมูลการเรียนรู้ของพนักงาน
โดยหลั ก การพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลยั ง เป็ น สาระสำ � คั ญ ในการพิจารณาความก้าวหน้า (Career Path) ของพนักงาน การเติบโตอย่างมั่นคงด้วยการสร้างคน ธนาคารได้ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาให้ พ นั ก งานมี ค่ า นิ ย ม PRO-AcTIVE ซึ่งเป็นค่านิยมหลักเดียวกัน โดยใช้แผนแม่บท การส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย มด้ ว ยการสร้ า งการรั บ รู้ สร้ า งทั ศ นคติ (Perception Attitude) ผ่านช่องทางการสื่อสาร กิจกรรม การปฏิบตั ดิ ว้ ยพฤติกรรมบนพืน้ ฐานความเชือ่ เดียวกัน (Practice Believe & Individual Mindsets) การเกิดเป็นพฤติกรรมกลุ่ม และค่านิยมร่วมในองค์กร (Group Habit Norm & Corporate Value) ซึ่งธนาคารได้ส่งเสริมค่านิยมให้แก่พนักงานเข้าใหม่ และพนักงานปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง การสร้างการตระหนักรู้ผ่านช่องทางการสื่อสาร ธนาคารได้ให้ความสำ�คัญในการดูแลและพัฒนาศักยภาพ พนักงานผ่านการสือ่ สารภายในองค์กร โดยใช้ชอ่ งทางการสือ่ สาร ที่หลากหลายเพื่ออำ�นวยความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และสร้างการสื่อสารที่ต่อเนื่อง ดังนั้น การสร้างการตระหนักรู้ ธนาคารจึงใช้แนวทางการบริหารเนื้อหาและช่องทางการสื่อสาร (Content & Channel Management) เพื่ อให้ บ รรลุ
วัตถุประสงค์ในการสร้างการรับรู้และสร้างทัศนคติในค่านิยม ร่วมกัน ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ อาทิ • ระบบอินทราเน็ต : LH BANK People Intranet • เสียงตามสาย : LH BANK People Voice • คลิปวิดิโอออนไลน์ : LH BANK People TV • อีเมล์ และกิจกรรมต่างๆ Digital Handbook ธนาคารได้จัดทำ�คู่มือพนักงาน ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร มาตรฐานการบริการ และจรรยาบรรณ ธุรกิจ ในรูปแบบ Digital Handbook Digital Learning ธนาคารได้พฒ ั นาช่องทาง และพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ เพื่ อให้ พ นั ก งานเรี ย นรู้ ผ่ า นระบบ Digital Learning อาทิ หลักสูตร All about LH BANK หลักสูตร We are LH BANK หลักสูตร Risk Management หลักสูตร Compliance หลักสูตร 5 ส. หลักสูตร Product & Service หลักสูตร IT Security หลักสูตร IT Helpdesk หลักสูตร Internal Control และหลักสูตรผู้แนะนำ�การลงทุน เป็นต้น
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
131
สำ � หรั บ หลั ก สู ต ร We are LH BANK โดยหั ว ข้ อ การเรียนรูเ้ กีย่ วกับค่านิยม PRO-AcTIVE รวมถึงจรรยาบรรณธุรกิจ ได้กำ�หนดให้พนักงานทุกคนได้เรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้สามารถ นำ�ไปปฏิบตั เิ ป็นพฤติกรรมในการทำ�งานได้ โดยพนักงานทดลองงาน ทุ ก คนเข้ า เรี ย นและผ่ า นการทดสอบ Pre-test, Post-test ก่อนได้รับการบรรจุเป็นพนักงานของธนาคาร
คุณภาพชีวิตที่ดี
การสำ�รวจความผูกพันของพนักงาน
สุขภาพที่ดี
ธนาคารได้ มี ก ารสำ � รวจความคิ ด เห็ น ของพนั ก งาน (LH BANK Employee Survey) เพื่ อ นำ � ผลการสำ � รวจ มาปรับปรุงด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับพนักงานให้ดีขึ้น โดยสำ�รวจ เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพัน ของพนั ก งานที่ มี ต่ อ ธนาคาร และส่ ว นที่ 2 เป็ น การรั บ รู้ และพฤติกรรมค่านิยมองค์กร ซึ่งมีพนักงานตอบแบบสำ�รวจ จำ�นวน 1,302 คน คิดเป็น 80.76% ของจำ�นวนพนักงาน ทั้งธนาคาร โดยผลการสำ�รวจสามารถสรุปผลได้ ดังนี้ - ด้านการรับรู้ค่านิยมองค์กร 76.4% - การจดจำ�ค่านิยมองค์กร 75.1% - ความเข้าใจในค่านิยมองค์กร 75.8% - พฤติกรรมการปฏิบัติงานตามค่านิยม 80.2% ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ 75%
เพื่อสร้างสุขภาพที่ดี ธนาคารได้จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ พนักงานมีสุขภาพที่ดี อาทิเช่น • การตรวจสุขภาพประจำ�ปี และการฉีดวัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่ • ห้องพยาบาลทีเ่ ปิดให้บริการทุกวัน ในช่วงเวลาทำ�การ • กิ จ กรรม “โยคะเก้ า อี้ พิ ชิ ต ออฟฟิ ศ ซิ น โดรม” เพื่ อ ให้ พ นั ก งานได้ เ รี ย นรู้ วิ ธี แ ละท่ า ทางสำ � หรั บ การออกกำ�ลังกายในรูปแบบของโยคะ
เพื่ อ สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี แ ก่ พ นั ก งาน ธนาคารได้ ใ ห้ ค่าตอบแทนและสวัสดิการทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ ดูแลสภาพแวดล้อม และความปลอดภัยในการทำ�งานที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้พนักงาน มีความสุขในการทำ�งาน
สุขภาพใจที่ดี ธนาคารได้จดั กิจกรรมเพือ่ สร้างความรูส้ กึ ทีด่ ใี ห้กบั พนักงาน โดยมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพใจที่ดี ดังนี้ • กิจกรรม Welcome Newcomers เพื่อเป็นการ ต้อนรับและสร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่พนักงานใหม่ • แบบสอบถาม How are you สำ�หรับพนักงาน ระหว่ า งช่ ว งทดลองงาน เพื่ อ รั บ ทราบความรู้ สึ ก และความคิดเห็นที่มีต่อลักษณะงาน สภาพแวดล้อม ในการทำ�งาน และองค์กร • กิจกรรม Zone visit โดยมีวตั ถุประสงค์คอื Share & Care เพื่อสอบถามความเป็นอยู่ของพนักงานสาขา และสิ่งที่ต้องการให้สำ�นักงานใหญ่สนับสนุน ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ดี สวั ส ดิ ก ารที่ ดี เ ป็ น ปั จ จั ย สำ � คั ญ ต่ อ ขวั ญ และกำ � ลั ง ใจ ในการทำ�งาน ธนาคารสร้างระบบค่าตอบแทนและสวัสดิการ ที่เหมาะสมและเป็นธรรม เพื่อให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยธนาคารให้สวัสดิการต่างๆ ดังนี้ • เครื่องแบบพนักงาน • กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ • การรักษาพยาบาล ทันตกรรม และการตรวจสุขภาพ • ประกันชีวิตและประกันสุขภาพกลุ่ม • สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย และสินเชื่อรถยนต์
132
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
สภาพแวดล้อมที่ดีและความปลอดภัยในการทำ�งาน ธนาคารให้ ค วามสำ � คั ญในการสร้ า งสภาพแวดล้ อ ม ในการทำ�งานที่ดี เพื่อให้พนักงานมีความปลอดภัยในการทำ�งาน ธนาคารได้ ตั้ ง คณะกรรมการความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ มในการทำ � งาน (SHE : Safety Healthy Environment) เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนนโยบายและ แผนความปลอดภัยและสุขชีวอนามัยให้พนักงานมีความปลอดภัย ขณะทำ�งาน ดังนี้ • การสื่อสารให้ความรู้และสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับ ความปลอดภั ย ในสภาพที่ ทำ � งานผ่ า นช่ อ งทาง การสื่อสารต่างๆ • การซ้อมหนีไฟประจำ�ปี • การจั ด ตั้ ง SHE Hotline เพื่ อ รั บ การแจ้ ง เหตุ ความไม่ ป ลอดภั ย ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น พร้ อ มทั้ ง ดำ � เนิ น การประสานงานกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่อทำ�การช่วยเหลือในทันที • CARE Project กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค เนื่องจากธุรกิจการเงินเป็นธุรกิจที่อิงกับภาวะเศรษฐกิจ การเงินของประเทศ จึงทำ�ให้ผลกระทบของการดำ�เนินธุรกิจ สามารถส่งผลต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการลงทุนต่างๆ ในวงกว้างกว่าธุรกิจประเภทอื่น ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ � กั ด (มหาชน) จึ ง กำ � หนดมาตรฐานการดำ � เนิ น งานของ ธนาคารให้มีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเฉพาะความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภคทีถ่ อื เป็นผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ที่ธนาคารให้ความสำ�คัญเป็นอันดับต้นๆ ธนาคารคำ�นึงถึงผลประโยชน์และสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าเป็นสำ�คัญ โดยนำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ และสามารถตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ าในทุ ก ระดั บ มี การพั ฒ นากระบวนการเพื่ อก่ อให้ เ กิ ด ความคล่ องตัวในการ ใช้ บ ริ ก ารของลู ก ค้ า มี ก ารนำ � เสนอข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ และบริการที่ถูกต้องแม่นยำ�เพื่อให้ลูกค้าใช้ประกอบการตัดสินใจ ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ ที่หลากหลายและสามารถเข้าถึงได้ง่าย และเพื่อให้ลูกค้าเกิดความเข้าใจในผลิตภัณฑ์และบริการของ ธนาคารอย่างถูกต้องชัดเจน รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
133
สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภค ธนาคารได้ประกาศสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภคเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับรู้ถึงสิทธิที่พึงได้รับจากการใช้บริการของธนาคารผ่านช่อง ทางเว็บไซต์ของธนาคาร ดังนี้ สิทธิของผู้บริโภค
ผลิตภัณฑ์
1. สิทธิที่จะได้รับข้อมูล ที่ถูกต้อง
• ผูบ้ ริโภคต้องได้รบั ชีแ้ จงถึงความแตกต่างระหว่างผลิตภัณฑ์หลัก • ผูบ้ ริโภคต้องได้รบั เอกสารสรุปข้อมูลสำ�คัญประกอบการเสนอขายผลิตภัณฑ์ ของธนาคารพาณิชย์ กับผลิตภัณฑ์ดา้ นหลักทรัพย์และประกันภัย ด้านหลักทรัพย์และด้านประกันภัย (Fact Sheet) ทีร่ ะบุลกั ษณะพิเศษ ที่ชัดเจน และความเสีย่ งของผลิตภัณฑ์ดว้ ยถ้อยคำ�ทีก่ ระชับเข้าใจง่าย ตามรูปแบบ • ผูบ้ ริโภคต้องได้รบั ข้อมูลรายละเอียดผลิตภัณฑ์ ความเสีย่ ง เงือ่ นไข ทีส่ �ำ นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ผลตอบแทน เช่น ในรูปแบบของ APR (Annual Percentage และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย Rate) หรือ IRR (Internal Rate Return) และสมมติฐาน (คปภ.) เพื่อประกอบการตัดสินใจในการซื้อผลิตภัณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง • ผูบ้ ริโภคต้องได้รบั ข้อมูลการโฆษณาหรือการใช้สอ่ื ทางการตลาด ในการส่งเสริมการขายอย่างถูกต้องและเหมาะสม
2. สิทธิที่จะเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์และบริการ ทางการเงินได้อย่าง อิสระ
• ผู้บริโภคมีสิทธิตัดสินใจลงทุนอย่างอิสระและสามารถปฏิเสธการซื้อ ผลิตภัณฑ์ด้านหลักทรัพย์และด้านประกันภัยได้ • ผูบ้ ริโภคมีสทิ ธิปฏิเสธการซือ้ ผลิตภัณฑ์ดา้ นหลักทรัพย์และด้านประกันภัย ควบคูก่ บั ผลิตภัณฑ์ของธนาคารพาณิชย์ และธนาคารพาณิชย์ตอ้ งให้สทิ ธิ แก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้อหรือไม่ซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าว • ผู้บริโภคมีสิทธิให้คำ�ยินยอมหรือปฏิเสธการเปิดเผยข้อมูล ตามเอกสาร หนังสือให้ความยินยอม ซึ่งแยกออกจากสัญญาการซื้อผลิตภัณฑ์
3. สิทธิที่จะร้องเรียน เพื่อความเป็นธรรม
• ผู้บริโภคมีสิทธิร้องเรียนทุกสาขาของธนาคารพาณิชย์ที่ขายผลิตภัณฑ์ ด้านหลักทรัพย์และด้านประกันภัย (Point of Sale) โดยต้องได้รับ หลักฐานว่าธนาคารพาณิชย์ได้รับเรื่องร้องเรียนแล้ว • ผู้บริโภคสามารถสอบถามข้อมูลเพื่อให้เกิดความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ จากศูนย์ข้อมูลผู้บริโภค (Call Center) ของธนาคารผู้ขาย
4. สิทธิที่จะได้รับการ พิจารณาค่าชดเชย หากเกิดความเสียหาย
• ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับการชดเชยตามความเหมาะสม หากพิสูจน์แล้วว่า ธนาคารพาณิชย์ไม่ได้ปฏิบัติตามแนวนโยบายการขายผลิตภัณฑ์ที่ดี โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้ผู้บริโภคได้รับความเสียหาย
การปฏิบัติต่อผู้บริโภค ธนาคารได้ ดำ � เนิ น การด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ในกระบวนการหลั ก (CSR-in-Process) มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยการยึดแนวปฏิบัติตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนของคณะกรรมการธนาคาร และ พัฒนาต่อยอดให้เกิดนวัตกรรมทางธุรกิจจนกลายเป็นกิจกรรม ทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการทำ�งาน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของธนาคาร ตลอดจนมาตรฐานการบริการต่างๆ ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ลดผลกระทบด้านลบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้เสียของธนาคาร ในทุกมิติควบคู่ไปกับการสร้างจิตสำ�นึกและทัศนคติที่ดีในความ รับผิดชอบต่อสังคมให้เกิดขึน้ ทัง้ องค์กรตัง้ แต่คณะกรรมการธนาคาร ผู้บริหารและพนักงานของธนาคารในทุกระดับชั้น ธนาคารได้ พั ฒ นากระบวนการทำ � งานตามนโยบาย ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น โดยกำ�หนดระเบียบและคู่มือปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐาน เน้นการ 134
บุคลากรหรือกระบวนการ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
แบ่งแยกหน้าที่ของพนักงานในแต่ละหน่วยงานอย่างเหมาะสม มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีระบบงานที่รวดเร็ว มีความ ถูกต้องแม่นยำ� มีการควบคุมการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การจัดเก็บหลักฐานการทำ�รายการและเอกสารสำ�คัญเกีย่ วกับ การให้ บ ริ ก ารไว้ ใ นที่ ป ลอดภั ย มี ร ะบบงานที่ ทำ �ให้ พ นั ก งาน และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน ช่วยลดข้อผิดพลาด สามารถตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อผลประโยชน์สูงสุดของลูกค้า ผู้รับบริการเป็นสำ�คัญ อาทิเช่น - การดู แ ลบั ญ ชี เ งิ น ฝากออมทรั พ ย์ แ ละบั ญ ชี เ งิ น ฝาก กระแสรายวันที่ไม่มีรายการเคลื่อนไหวติดต่อกันเกินกว่า 1 ปี ธนาคารจะแจ้งยอดเงินคงเหลือและเงือ่ นไขการตัดชำ�ระค่าบริการ รักษาบัญชีให้ลูกค้ารับทราบล่วงหน้า 30 วัน - การติ ด ตามทวงหนี้ แ ละบริ ห ารหนี้ ผู้ ติ ด ตามหนี้ ต้องแสดงตัวต่อลูกค้าโดยแจ้งชื่อและวัตถุประสงค์ในการติดต่อ ให้ ลู ก ค้ า ได้ รั บ ทราบอย่ า งถู ก ต้ อ งเหมาะสมและในกรณี
ที่ ผู้ ติ ด ตามหนี้ ติ ด ต่ อ กั บ ลู ก ค้ าโดยตรง (Face to Face) ต้องแสดงเอกสาร ซึง่ แสดงให้เห็นว่าตนได้รบั อนุญาตจากธนาคาร ให้ติดตามทวงถามหนี้แทนด้วย รวมทั้งธนาคารได้กำ�หนดเวลา และความถี่ ใ นการติ ด ตามทวงถามหนี้ ที่ เ หมาะสมไม่ ร บกวน ช่วงเวลาที่เป็นส่วนตัว ดังนี้ • วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 8.00-20.00 น. • วันหยุดราชการ เวลา 8.00-18.00 น. - การเผยแพร่ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการที่ครบถ้วน ตามความเป็ น จริ ง เพื่ อ ประกอบการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ โ ภค ไม่บิดเบือน แสดงรายละเอียดเงื่อนไขที่เข้าใจง่าย ไม่สร้าง ความสับสน มีการเปิดเผยข้อตกลงและเงื่อนไขการให้บริการ ให้ลูกค้าทราบและมีวิธีปฏิบัติในการให้ลูกค้าแสดงการยอมรับ ข้อตกลงและเงื่อนไขก่อนการตัดสินใจใช้บริการ - การเผยแพร่ประกาศอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม ต่างๆ ล่วงหน้าก่อนทีจ่ ะมีการเปลีย่ นแปลงเพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ทราบ ประกอบการตัดสินใจในการใช้บริการ ซึ่งการเผยแพร่จะกระทำ� โดยการติ ด ประกาศที่ ทุ ก สาขา ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข องธนาคาร www.lhbank.co.th ซึ่ งในประกาศจะระบุ อั ต ราดอกเบี้ ย ตามวงเงิ น และประเภทลู ก ค้ า รายละเอี ย ดและเงื่ อ นไขของ ผลิตภัณฑ์นั้นๆ ไว้อย่างชัดเจนเพื่อลูกค้าสามารถใช้ประกอบ การตัดสินใจได้เป็นอย่างดี ธนาคารมีชอ่ งทางการสือ่ สารทีห่ ลากหลายสามารถเข้าถึง ได้ง่ายเพื่อให้ลูกค้าได้รับข้อมูลข่าวสาร สามารถดูรายละเอียด ของผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคารได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และทั่วถึง ซึ่งช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการ ของธนาคาร แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ • สื่ อ Off-Line ได้ แ ก่ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ป ระเภทต่ า งๆ ที่อยู่ตามสาขาของธนาคารและสื่อภายนอก รวมถึง จดหมาย Direct mail ที่ส่งตรงถึงลูกค้า • สื่อ On-Line ได้แก่ สื่อผ่านช่องทาง ATM Screen, LCD, Website, Line, Facebook, Youtube, วิทยุ, โทรทัศน์ รวมถึงบริการแจ้งเตือนความเคลื่อนไหว ของการทำ�รายการ “SMS Alert” ธนาคารจัดให้มีพนักงานที่มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการเพือ่ สามารถให้ขอ้ มูลต่างๆ ของธนาคารได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและลดการติดขัดในการใช้บริการเพื่อสร้างความพึงพอใจ ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า โดยธนาคารมี ห น่ ว ยงานที่ เ ป็ น Call Center ที่ให้บริการปรึกษาตลอด 24 ชั่วโมง โทร. 0-2359-0000 ธนาคารจัดให้มชี อ่ งทางการรับเรือ่ งร้องเรียน แนะนำ� ติชม โดยมีหน่วยงานที่เป็นอิสระในการรับข้อร้องเรียน และดำ�เนินการ แก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน มีการจัดเก็บข้อมูลเพื่อนำ�มาพัฒนา ปรับปรุงการปฏิบัติงานและการให้บริการของธนาคารให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้ ง มี ก ระบวนการหาข้ อ ยุ ติ แ ละการแจ้ ง ผลให้ ผู้ ร้ อ งเรี ย น รั บ ทราบภายใน 7 วั น ทำ � การนั บ แต่ ไ ด้ ข้ อ ยุ ติ หากกรณี
ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ข้ อ ยุ ติ จ ะแจ้ ง ความคื บ หน้ าให้ ผู้ ร้ อ งเรี ย นรั บ ทราบ ทุ ก 15 วั น ทำ � การ โดยธนาคารได้ เ ปิ ด ช่ อ งทางการรั บ เรื่ อ ง ร้องเรียนหลายช่องทาง ได้แก่ • สำ�นักงานใหญ่ / สาขาของธนาคาร • ทางโทรศัพท์ Contact Center โทร. 0-2359-0000 • Website: www.lhbank.co.th • Official Facebook Fanpage ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการดูแลข้อมูลที่เป็นความลับ ของลูกค้าโดยไม่นำ�ข้อมูลของลูกค้าไปเปิดเผย เว้นแต่ได้รับ ความยินยอมจากลูกค้าเป็นลายลักษณ์อักษร 7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีเจตนารมณ์ ที่จะดำ�เนินธุรกิจควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดย ยึดมั่นในหลักจริยธรรมทางธุรกิจและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การดำ�เนินกิจกรรมเพือ่ สังคมจะมุง่ เน้นการมีสว่ นร่วมของพนักงาน ด้วยจิตอาสา เพื่อปลูกฝังจิตสำ�นึกกับการรับผิดชอบต่อสังคม ธนาคารได้เข้าไปมีบทบาทในการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อ สังคมตามวาระและโอกาสต่างๆ โดยมุง่ หวังให้เกิดประโยชน์สงู สุด ต่อสังคมและชุมชน และดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ที่สร้างสรรค์ อำ�นวยประโยชน์ และสนับสนุนกิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน รวมทั้ ง การบริ จ าคหนั ง สื อ หรื อ น้ำ � ดื่ ม แก่ อ งค์ ก ร สาธารณกุศลต่างๆ การดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสังคมเพื่อช่วยเหลือ และส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ของเยาวชนและสั ง คมไทยด้ ว ย มุง่ หวังว่าจะร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของการส่งเสริมสังคมไทยให้เข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างรากฐานสังคมของประเทศให้ยั่งยืน กิจกรรมเพื่อสังคมที่ดำ�เนินการแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านการศึกษา 2. ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 3. ด้านศิลปวัฒนธรรม
1. ด้านการศึกษา
การศึกษานับเป็นพื้นฐานของความสำ�เร็จในทุกๆ ด้าน ธนาคารจึ ง ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การส่ ง เสริ ม ด้ า นการศึ ก ษา การพัฒนาความรู้ ความสามารถ และคุณภาพของเยาวชนไทย มาอย่างต่อเนื่อง อาทิ การให้ผู้บริหารและพนักงานมีส่วนร่วม ในการบริจาคหนังสือเพือ่ ส่งเสริมความรูใ้ ห้แก่ผตู้ อ้ งขังในโครงการ “ส่ ง หนั ง สื อ สื่ อ ความรู้ สู่ ก รมราชทั ณ ฑ์ ” อี ก ทั้ ง ธนาคาร ยังจัดทำ�โครงการ “คอมพิวเตอร์มือสองให้น้องผู้ด้อยโอกาส” รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
135
ในการมอบคอมพิ ว เตอร์ พ ร้ อ มอุ ป กรณ์ ต่ อ พ่ ว งให้ แ ก่ เ ยาวชน ในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ที่ขาดแคลนหรือมีไม่เพียงพอ โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูข้ องนักเรียนให้ได้รบั โอกาส ที่ เ ปิ ด กว้ า งและสามารถใช้ ป ระโยชน์ จ ากอิ น เตอร์ เ น็ ตในการ เรียนรู้ได้อย่างเต็มที่
LH Bank มอบหนังสือให้แก่กรมราชทัณฑ์ เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองของผู้ต้องขัง
2. ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
ธนาคารได้เข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ� เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ตามทีก่ ระทรวงการคลังมีนโนบายช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ SMEs ให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบีย้ ต่�ำ ผ่านธนาคารพาณิชย์นน้ั ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้าร่วมโครงการ ดังกล่าวเพื่อช่วยกระจายเงินให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ�เข้าสู่ระบบ SMEs ซึ่งคิดดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี ระยะเวลาสินเชื่อ 7 ปี โดยได้รับการตอบรับจากผู้ประกอบการ SMEs จำ�นวนมาก
ธนาคารได้ จัด สั ม มนาพิ เ ศษครบรอบ 10 ปี ธ นาคาร ในหัวข้อ ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย ให้กบั ลูกค้าและผูม้ อี ปุ การคุณ ของธนาคารโดยได้ รั บ เกี ย รติ จ ากคุ ณ อดิ ศั ก ดิ์ ตั น ติ ว รวงศ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง เป็นองค์ปาฐก
ธนาคารสนับสนุนโครงการที่ช่วยส่งเสริมด้านสังคมและ สิ่ ง แวดล้ อ มมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การร่ ว มสนั บ สนุ น กิ จ กรรมกั บ สมาคมหรือมูลนิธิต่างๆ โดยการเปิดรับบริจาคเงินผ่านตู้ ATM และผ่านเคาน์เตอร์ LH Bank ทุกสาขาทัว่ ประเทศ การเชิญชวน ผูบ้ ริหาร พนักงานธนาคาร และลูกค้า ร่วมบริจาคเงินเพือ่ ช่วยเหลือ ผูป้ ระสบภัยต่างๆ รวมไปถึงการร่วมกิจกรรมสนับสนุน การต่อต้าน คอร์รัปชั่นเพื่อกระตุ้นให้สังคมไทยร่วมมือกันต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ
• ด้านสังคม
LH Bank เปิดรับบริจาคเงินผ่านตู้เอทีเอ็มให้กับองค์กรสาธารณะต่างๆ เช่น โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ และมูลนิธิส่งเสริมอาชีพคนตาบอด เป็นต้น
136
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
• ด้านสิ่งแวดล้อม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับ กระทรวงพลังงานลงนามข้อตกลงความร่วมมือโครงการปล่อยกู้ เงินทุนหมุนเวียนเพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน เพือ่ ลดการนำ�เข้าพลังงาน ในระยะยาวและทำ�ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ การสนับสนุนโครงการในครัง้ นีย้ ดึ หลักความยัง่ ยืนเป็นสำ�คัญ
• ด้านกิจกรรมรวมพลังจิตอาสาเพื่อพัฒนาสังคม LH Bank ร่วมกิจกรรม บริจาคโลหิตกับสภากาชาดไทย เพื่อนำ�โลหิตที่รับบริจาคให้กับ ผู้ป่วยตามโรงพยาบาลต่างๆ ทั่วประเทศ
• การส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนไทย ธนาคารเล็ ง เห็ น ถึ ง เยาวชนไทยคื อ อนาคตของชาติ และจะทำ�อย่างไรให้เยาวชนเป็นคนเก่งและเป็นคนดี ธนาคาร จึงได้ร่วมกับชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย และสภาองค์การ พัฒนาเด็กและเยาวชนในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สอ.ดย.) ในการจัดทำ� โครงการรู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ เพื่อเป็นการรณรงค์เสริมสร้างวินัย ทางการเงินให้แก่เยาวชนที่เป็นแกนนำ�จากมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำ�ให้มีบทบาทในการรณรงค์เผยแพร่ ด้านวินัยทางการเงิน อันเป็นการนำ�ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะของภาคธนาคาร ในการสร้างประโยชน์แก่ชุมชน และสังคมเพื่อตอบสนองเจตนารมณ์ของธนาคารที่เล็งเห็นถึง ความสำ�คัญของการสร้างทุนทางปัญญาให้กับสังคมเพื่อพัฒนา สังคมให้เป็นสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน ชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย ซึ่ ง มี ธ นาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็น 1 ในจำ�นวน ธนาคารพาณิชย์ 15 แห่งที่เป็นสมาชิกของชมรม และ สอ.ดย. ร่วมด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศูนย์คมุ้ ครองผูใ้ ช้บริการ ทางการเงิ น ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย สำ � นั ก งานป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และเครือข่ายนักพัฒนารุน่ ใหม่ ภาคตะวันตก ได้ร่วมกันดำ�เนินโครงการรู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ หรือ Saving for Change ในระยะนำ�ร่อง (ปี 2557-2558) โดยมีผลงานบรรลุตามเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ รู้เป้าหมาย
รู้ใช้จ่าย รู้จักออม รู้ลึกลงทุน
1. การพัฒนาวิทยากรของธนาคารสมาชิกชมรม CSR สมาคมธนาคารไทยให้ มี ทั ก ษะในการให้ ค วามรู้ ทางการเงินแก่เยาวชน วิทยากรจากธนาคารสมาชิก 15 แห่ง จำ�นวน 49 คน ได้รับการถ่ายทอดเทคนิคการเป็นวิทยากรให้ความรู้ทางการเงิน แก่เยาวชนจากวิทยากรของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้ร่วมกันพัฒนาหลักสูตร 4 รู้สู่ความมั่งคั่งเพื่อใช้ในการ ให้ความรู้แก่แกนนำ�นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ 2. สร้างแกนนำ�นักศึกษาให้มีความรู้ขั้นพื้นฐานในเรื่อง การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล และสามารถ ขยายผลต่อไปยังชุมชนได้ โครงการได้สร้างแกนนำ�นักศึกษาให้มคี วามรูข้ น้ั พืน้ ฐาน ในเรื่องการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลจำ�นวน 245 คน ซึ่งแกนนำ�นักศึกษาสามารถนำ�ความรู้ไปปรับใช้กับชีวิตจริงได้ รวมทั้งสามารถขยายผลไปยังชุมชนได้ในเรื่องต่างๆ ดังนี้
• วางแผนเป็นรูปธรรมในเรื่องต่างๆ เช่น การศึกษา การเพิ่มรายได้ การดูแลพ่อแม่ การมีครอบครัวเป็นสุข มั่นคง มีงานที่มั่นคง และมีเงินเพียงพอสำ�หรับการดำ�รงชีพ • ตั้งเป้าหมายในชีวิตและวางแผนการใช้จ่ายเงินให้ชัดเจน • จัดลำ�ดับความสำ�คัญของเป้าหมายแต่ละอย่าง • รู้ค่าของเงินและรู้จักวางแผนใช้จ่ายเงิน เหลือเก็บไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน • ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำ�เป็น ไม่ใช้จ่ายเกินตัวเพื่อหลีกเลี่ยงการก่อหนี้ • บันทึกข้อมูลรายรับ-รายจ่าย • วางแผนการออมก่อนการใช้จ่าย โดยแบ่งเงินเป็นสัดส่วนจากรายได้ • ออมเพื่อนำ�เงินไปลงทุน • ออมเพื่อสำ�รองไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน • วางแผนการลงทุนโดยศึกษาข้อมูลก่อนและติดตามข่าวสารที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ • เลือกการลงทุนที่มีความเสี่ยงในระดับที่เหมาะสมกับตัวเอง รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
137
นอกจากความรู้ที่เกิดขึ้นกับตัวเองแล้ว แกนนำ�นักศึกษา ได้ จั ด ทำ � กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ความรู้ ท างการเงิ น ให้ แ ก่ ชุ ม ชน รวม 15 กิ จ กรรม โดยแบ่ ง ตามเนื้ อ หาของประเด็ น ที่ ไ ด้ รั บ การฝึกอบรม ดังนี้ การรู้เป้าหมาย 3 กิจกรรม การรู้ใช้จ่าย 2 กิจกรรม การรู้จักออม 6 กิจกรรม การรู้เท่าทันภัยทางการเงิน 3 กิจกรรม การรู้จักรับผิดชอบในหนี้สิน 1 กิจกรรม 3. พัฒนาหลักสูตรมาตรฐานทีส่ ถาบันการเงินจะนำ�ไปใช้ ในการให้ความรู้ทางการเงินแก่เยาวชน ได้ พั ฒ นาหลั ก สู ต ร “4 รู้ สู่ ค วามมั่ ง คั่ ง ” โดย ปรับปรุงจากหลักสูตร “เงินทองต้องวางแผน” ของศูนย์ส่งเสริม การพัฒนาความรู้ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 4. ประโยชน์อื่นๆ ที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินโครงการ • ประโยชน์ต่อสมาคมธนาคารไทยและชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย - โครงการ “รู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ” เป็นความร่วมมือ ของธนาคารพาณิชย์ 15 แห่ง ซึ่งเป็นสมาชิก ของสมาคมธนาคารไทยในการดำ�เนินโครงการ ให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมร่วมกันตามภารกิจ ที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงการคลัง ตั้งแต่ ปี 2556 เป็นต้นมา จนประสบความสำ�เร็จตาม วัตถุประสงค์ของโครงการในเดือนกรกฎาคม 2558 - โครงการมีส่วนช่วยปรับทัศนคติของชุมชนที่มีต่อ ธนาคารพาณิชย์ให้ดขี น้ึ จากทีเ่ คยรูส้ กึ ว่าเข้าถึงยาก และคิ ด ถึ ง แต่ ผ ลประโยชน์ ท างธุ ร กิ จ เป็ น หลั ก มีแนวโน้มเปลี่ยนเป็นเข้าถึงง่าย เป็นมิตร รับฟัง ปั ญ หา พร้ อ มให้ ค วามรู้ แ ก่ ผู้ ส นใจ และใส่ ใ จ ในการแก้ไขปัญหาทางการเงินที่เกิดขึ้นในสังคม • ประโยชน์ที่สถาบันการศึกษาได้รับ - สถาบั น การศึ ก ษาที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการมี โ อกาส สร้างนวัตกรรมการเรียนรูภ้ ายในสถาบัน เนือ่ งจาก โครงการนีเ้ ป็นความร่วมมือไตรภาคี ซึง่ มีทง้ั ภาครัฐ ภาคเศรษฐกิจและภาคสังคมมาดำ�เนินงานร่วมกัน - สถาบันการศึกษาได้ส่งเสริมการพัฒนานักศึกษา ให้ เ ป็ น แกนนำ � ในการเผยแพร่ ค วามรู้ แ ละ เป็นแบบอย่างในเรื่องการเรียนรู้และการมีวินัย ทางการเงิน 138
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
• ประโยชน์ต่อชุมชน แกนนำ�นักศึกษาได้ร่วมกันทำ�กิจกรรมขยายผลการเรียนรู้ ที่ ไ ด้ รั บ จากโครงการสู่ ชุ ม ชนที่ ห ลากหลาย เช่ น นั ก เรี ย น ชั้นประถมศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา นักศึกษามหาวิทยาลัย และสาธารณชนทั่วไป จำ�นวน 15 โครงการ ซึ่งมีผู้ได้รับประโยชน์ ทั้งสิ้นประมาณ 6,276 คน แยกเป็น 4 กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ นักศึกษาในมหาวิทยาลัย 4,020 คน (ร้อยละ 64.1) สมาชิกชมรมเดียวกัน 940 คน (ร้อยละ 15.0) สมาชิกครอบครัว 768 คน (ร้อยละ 12.2) เพื่อนบ้าน 548 คน (ร้อยละ 8.7) จากผลสำ�เร็จดังกล่าว ในปี 2559 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จึงร่วมมือกับชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย และภาคีอื่นๆ ดำ�เนินโครงการรู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ ในระยะที่ 2 เพื่อขยายผลให้ชัดเจนและต่อเนื่อง 3. ด้านศิลปวัฒนธรรม ธนาคารได้เข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณีต่างๆ ร่วมกับ ประชาชนในพื้นที่ที่ธนาคารให้บริการอยู่ อาทิ การสนับสนุน กิจกรรมเนือ่ งในเทศกาลตรุษจีน การสนับสนุนกิจกรรมงานวันเด็ก เพื่ อ เสริ ม สร้ า งและส่ ง เสริ ม ขนบธรรมเนี ย มประเพณี แ ละ ศิลปวัฒนธรรมร่วมกับชุมชนโดยรอบสาขาของธนาคาร
LH Bank สนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก ณ ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ สวนลุมพินี และ ณ บริษัท เอ็นเอสเอส อีเล็คทริคซัพพลาย จำ�กัด
LH Bank พื้นที่เยาวราช ร่วมกิจกรรมงานเทศกาลตรุษจีน โดยมอบส้มมงคลให้กับลูกค้าของธนาคาร
8. การจัดการสิ่งแวดล้อม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ตระหนักถึง ความสำ�คัญของปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเห็นว่า การดำ�เนิน กิจการต่างๆ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรง และทางอ้อม เมื่อเวลาผ่านไปผลกระทบดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหา มลพิ ษ ทางสิ่ ง แวดล้อม และเป็นสาเหตุที่ก่อให้เ กิดมหั นตภั ย ทางธรรมชาติ ซึ่งทำ�ให้เกิดความสูญเสียอย่างมหาศาล ธนาคาร ได้ ดำ � เนิ น มาตรการหลายประการเพื่ อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ งในการ มี ส่ ว นร่ ว มลดปั ญ หามลพิ ษ เพื่ อ ช่ ว ยรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม โดย ได้มีการรณรงค์การประหยัดพลังงานภายในองค์กรและประหยัด การใช้กระดาษ โครงการ GREEN OFFICE การดำ � เนิ นกิจกรรมต่า งๆ ของธนาคาร ล้ว นต้ องใช้ ทรัพยากร พลังงาน และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทัง้ ขยะและน้�ำ เสีย ธนาคารจึงมีสว่ นในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สูช่ น้ั บรรยากาศอันเป็นสาเหตุของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change) และปรากฏการณ์โลกร้อน (Global Warming) ที่กำ�ลังกลายเป็นวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อมที่สำ�คัญ และมีผลกระทบอย่างกว้างขวางทั้งในประเทศและทั่วโลก ธนาคารได้ เ ห็ น ความสำ � คั ญ ของการบริ ห ารจั ด การ สิ่งแวดล้อมที่ดี จึงได้มอบหมายให้คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน ทำ�การศึกษา และพัฒนาแนวปฏิบัติต่างๆ เพื่อจัดทำ�โครงการ Green Office ต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ ปี 2555 โดยสร้ า งความรู้ ค วามเข้ าใจในการ บริหารจัดการทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ที่เป็นมิตร ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยมี เ ป้ า หมายให้ เ กิ ด การใช้ ท รั พ ยากรและ พลังงานอย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับมาตรฐาน สำ � นั ก งานให้ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มมากยิ่ ง ขึ้ น โดยรณรงค์ ให้ พ นั ก งานมี ส่ ว นร่ ว มในการลดปริ ม าณการใช้ พ ลั ง งาน ลดปริมาณการปล่อยมลภาวะเสียสู่สาธารณะ การดำ�เนินงานโครงการ GREEN OFFICE 1. เลือกใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 2. ใช้พลังงานแสงสว่างจากธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ 3. การจัดวาง Layout ของสำ�นักงาน 4. ส่งเสริมกิจกรรม 5 ส. 5. การตรวจวัดค่ามาตรฐานแสงสว่างภายในสำ�นักงาน 6. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในสำ�นักงาน
การบริหารจัดการพลังงาน ธนาคารได้บริหารจัดการพลังงานอย่างต่อเนื่อง ทั้งไฟฟ้า และน้ำ � ประปา เพื่ อให้ เ กิ ด การใช้ ที่ คุ้ ม ค่ า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อาทิเช่น - การปรั บ ปรุ ง อาคารสำ � นั ก งาน อุ ป กรณ์ สำ � นั ก งาน ที่มุ่งใส่ใจสิ่งแวดล้อม และมุ่งเน้นการบริหารจัดการ เพื่อลดมลภาวะ ลดการใช้พลังงานและลดค่าใช้จ่าย - การลดจำ � นวนอุ ป กรณ์ สำ � นั ก งานที่ เ ป็ น เทคโนโลยี รุ่ น เก่ า และเป็ น อุ ป กรณ์ ที่ ส ามารถใช้ ไ ด้ เ ฉพาะด้ า น (Single Function) ที่มีอยู่เดิมลง โดยเปลี่ยนไปใช้ เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ที่ ช่ ว ยลดมลภาวะและช่ ว ยลด การใช้ พ ลั ง งาน ซึ่ ง จากการดำ � เนิ น การโครงการ ต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2555 ส่งผลให้สามารถลดค่าใช้จ่าย ด้านพลังงานและประหยัดค่าใช้จ่ายอื่นๆ ได้ เช่น ค่าใช้จ่ายกระดาษ ค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์ สำ � นั ก งานและค่ าใช้ จ่ายในการซ่ อมบำ � รุ ง รวมทั้ง ประหยัดพื้นที่ในการจัดวางอุปกรณ์สำ�นักงาน - ธนาคารเลือกใช้หลอดไฟแบบหลอดผอมประหยัด พลั งงาน และหลอดไฟที่มีวัตต์พ อเหมาะกับพื้นที่ ขนาดของสายไฟที่เหมาะสม การเลือกใช้สีโทนอ่อน ตกแต่งอาคาร และใช้แสงจากธรรมชาติให้มากที่สุด การเลื อ กใช้ หั ว ก๊ อ กน้ำ � ที่ ป ระหยั ด น้ำ � ส่ ง ผลให้ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า และปริมาณการใช้น้ำ�ลดลง ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า ปี 2558 ทั้ ง สิ้ น 1,322,054 หน่ ว ย (kWh) เพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2557 ที่ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ทั้งสิ้น 1,150,900 หน่วย (kWh) หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.87 ปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า เพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากปี 2558 มี ก ารใช้ ห้ อ งประชุ ม และพื้ น ที่ อ เนกประสงค์ เพื่ อ จั ด สั ม มนาและ ทำ�กิจกรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (หน่วย) 1,322,054
1,302,955
1,386,123
1,150,900
2558
2557
2556
2555
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
139
ปริมาณการใช้น้ำ�ประปา ปริ ม าณการใช้ น้ำ � ประปาปี 2558 ทั้ ง สิ้ น 13,586 ลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2557 ที่ใช้น้ำ�ประปาทั้งสิ้น 9,399 ลูกบาศก์เมตร หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.54 ปริมาณการใช้ น้ำ � ประปาเพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากปี 2558 มี ก ารใช้ ห้ อ งประชุ ม และพื้นที่อเนกประสงค์ เพื่อจัดสัมมนาและทำ�กิจกรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
ปริมาณการใช้กระดาษ ปริมาณการใช้กระดาษปี 2558 จำ�นวน 14,313 รีม เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2557 ที่ มี ป ริ ม าณการใช้ 13,780 รี ม หรื อ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.87 ปริมาณการใช้กระดาษเพิ่มขึ้นเนื่องจาก เพิม่ ขึน้ ตามการเติบโตของธนาคาร ในการจัดทำ�เอกสารด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ปริมาณการใช้น�ำ้ ประปา (ลบ.ม)
ปริมาณการใช้กระดาษ (รีม) 21,210
13,586
9,399 2558
2557
10,037 2556
10,676 2555
การเปลีย่ นรูปแบบแฟ้มหนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการ ชุดต่างๆ เป็นการบันทึกข้อมูลลงใน iPad ธนาคารเปลี่ยนวิธีการทำ�เอกสารประกอบการประชุม คณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ อาทิ คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จากการพิมพ์หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุม ในรูปแบบกระดาษ เปลี่ยนเป็นการบันทึกข้อมูลลงใน iPad ทำ�ให้ปริมาณการใช้กระดาษลดลงประมาณเดือนละ 5,000 แผ่น
15,680
14,313
13,780
2558
2557
2556
2555
โครงการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างสถานที่ทำ�งาน ธนาคารให้ ค วามสำ � คั ญ ถึ ง อั น ตรายของแสงสว่ า งซึ่ ง มีผลกระทบต่อพนักงาน ในกรณีแสงสว่างน้อยหรือมากเกินไป จะมีผลเสียต่อนัยน์ตา ทำ�ให้การหยิบจับเครื่องมืออุปกรณ์อาจ ผิดพลาดทำ�ให้เกิดอุบัติเหตุได้ รวมทั้งก่อให้เกิดผลทางจิตใจ คือ อาจเบื่อหน่ายในการทำ�งาน และประสิทธิภาพในการทำ�งาน ลดลง ตั้ ง แต่ ปี 2557 ธนาคารได้ ดำ � เนิ นโครงการตรวจวั ด ความเข้มของแสงสว่างทุกพื้นที่ในสำ�นักงาน เพื่อดูแลให้พื้นที่ ทำ�งานมีแสงสว่างเพียงพอ และจะตรวจวัดค่าความเข้มของ แสงสว่างทุก 3 ปี
โครงการบริหารจัดการ Pool Printer ธนาคารเปลี่ยนรูปแบบการใช้งานของ Printer จากเดิม ฝ่ายงานต่างๆ ใช้ Printer แบบ Single Function เปลี่ยนเป็น แบบ Multi Function (4 in 1) โดยจัดวางให้เป็น Pool เพื่อ ให้ฝา่ ยงานต่างๆ ได้ใช้รว่ มกัน ทำ�ให้ประหยัดปริมาณการใช้ไฟฟ้า และประหยัดพื้นที่ใช้สอย
ขั้นตอนการวัดผลและเก็บข้อมูล 1. วั ด ที่ จุ ด ทำ � งาน เป็ น การตรวจวั ด ความเข้ ม ของ แสงสว่างบริเวณที่ลูกจ้างต้องทำ�งานโดยใช้สายตา เฉพาะจุดหรือต้องใช้สายตาอยู่กับที่ในการทำ�งาน 2. วั ด แบบค่ า เฉลี่ ย ของพื้ น ที่ ท่ั วไป เป็ น การตรวจวั ด ความเข้ ม ของแสงสว่ า งในบริ เ วณพื้ น ที่ ทั่วไป เช่น ทางเดิน และบริเวณพืน้ ทีใ่ ช้ประโยชน์ทล่ี กู จ้างทำ�งาน
ผลลัพธ์จากการดำ�เนินโครงการตรวจวัดความเข้มของ แสงสว่างสถานทีท่ �ำ งาน จากการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง ในหน่ ว ยของลั ก ซ์ (Lux) โดยทำ � การตรวจวั ด ตามสภาพ ความเป็นจริง พบว่าความเข้มของแสงสว่างในสถานที่ทำ�งาน ทุกพื้นที่ของธนาคารเพียงพอและเป็นไปตามมาตรฐาน กล่าวคือ ค่ามาตรฐาน อยู่ที่ไม่น้อยและมากกว่า 400 Lux 140
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
โครงการ กิจกรรม 5 ส. ธนาคารได้ทำ�กิจกรรม 5 ส. ได้แก่ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และ สร้างนิสัย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ทำ�ให้ สถานที่ทำ�งานและสภาพแวดล้อมการทำ�งานสะอาด บุคลากร มีสุขภาพกายและจิตที่ดี ลดการสิ้นเปลืองของทรัพยากรและ งบประมาณ เพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน โดยโครงการ 5 ส. ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากพนั ก งานเป็ น อย่ า งดี และธนาคาร ได้ดำ�เนินโครงการอย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์จากโครงการ กิจกรรม 5 ส. 1. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการสะสาง - ขจัดความสิ้นเปลืองของทรัพยากร - เหลือเนื้อที่ใช้สอยทำ�อย่างอื่นได้ - ที่ทำ�งานดูกว้างและโล่ง สะอาดตา ทำ�ให้พนักงาน มีสุขภาพจิตที่ดี 2. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการทำ�ให้สะดวก - ขจัดการค้นหาที่เกิดขึ้นอยู่บ่อยๆ - เพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งาน - เป็นภาพพจน์ที่ดีของธนาคาร 3. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการทำ�ให้สะอาด - มีสภาพแวดล้อมที่ดี น่าทำ�งาน - ขจัดความสิ้นเปลืองของทรัพยากร - เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือเครื่องใช้ ลดปัญหา การขัดข้องหรือเสียบ่อยของอุปกรณ์สำ�นักงาน 4. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการทำ�ให้ถูกสุขลักษณะ - สถานที่ทำ�งานเป็นระเบียบ เรียบร้อย น่าทำ�งาน - สุขภาพที่ดีของพนักงานทั้งร่างกายและจิตใจ 5. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการสร้างนิสัย - พนักงานมีทัศนคติที่ดีในการทำ�งาน - ลูกค้าได้รบั บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ และสะดวกรวดเร็ว
การสื่อสารเพื่อรณรงค์ด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ธนาคารได้มงุ่ เน้นการสร้างจิตสำ�นึกและจุดประกายการสร้าง ความมีส่วนร่วมในการประหยัดพลังงาน และรักษ์สิ่งแวดล้อม ผ่ า นช่ อ งทางการสื่ อ สารภายในธนาคาร ผ่ า น Intranet : LH BANK People : คอลัมน์ Pro Eco และในปี 2558 ได้มกี ารปรับปรุงเนือ้ หาสาระให้พนักงานสามารถนำ�กลับไปปฏิบตั ิ ได้จริง ทั้งที่บ้านและที่ทำ�งาน
LH BANK ATM ร่วมลดภาวะโลกร้อน ธนาคารได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการลดภาวะโลกร้ อ น โดย ลดปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า เพิ่ ม ทางเลื อ กให้ ลู ก ค้ า ที่ จ ะไม่ พิ ม พ์ ใบบันทึกรายการ เพื่อลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยลด ภาวะโลกร้อน ผ่านเครื่องเอทีเอ็มของธนาคาร ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธนาคารมีเครื่องเอทีเอ็มจำ�นวน 190 เครื่อง อาทิ 1. ลดการใช้ ก ระแสไฟฟ้ า ของเครื่ อ งเอที เ อ็ ม ที่ อ ยู่ ใ น ห้างสรรพสินค้า โดยปรับลดเวลาเปิด-ปิด ระบบไฟฟ้า และแสงสว่างตามเวลาเปิด-ปิดของห้างสรรพสินค้า 2. ลดปริมาณการใช้ใบบันทึกรายการจากเครื่องเอทีเอ็ม โดยลูกค้าสามารถเลือกรับหรือไม่รับใบบันทึกรายการ จากเครื่องเอทีเอ็ม ซึ่งเป็นการช่วยส่งเสริมพฤติกรรม การลดการใช้กระดาษของลูกค้า รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
141
9. นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำ�เนินความ รับผิดชอบต่อสังคม
บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต (LH Bank Speedy) ให้ บ ริ ก ารทั้ ง บุ ค คลธรรมดา และนิ ติ บุ ค คล ที่ ช่ ว ยอำ � นวย ความสะดวกในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินที่สามารถทำ�ธุรกรรม ได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยแบบ Double Security ที่ทำ�ให้การทำ�ธุรกรรมทางการเงินมีความ มั่ นใจ มี เ มนู ใ ช้ ง านง่ า ย สามารถทำ � รายการโอนเงิ น ภายใน ธนาคาร และโอนเงินต่างธนาคาร ชำ�ระค่าสินค้าและบริการ ชำ � ระสิ น เชื่ อ ตรวจสอบสถานะเช็ ค หรื อ อายั ด เช็ ค รวมถึ ง ตรวจสอบสถานะทางบัญชี และธนาคารจะส่ง SMS แจ้งผล การทำ � ธุ ร กรรมให้ ลู ก ค้ า ทราบทุ ก ครั้ ง ที่ มี ก ารทำ � รายการ ผ่านโทรศัพท์มือถือ
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีความมุง่ มัน่ ในการคิ ด ค้ นให้ เ กิ ด นวั ต กรรมในทางธุ ร กิ จ ที่ ส ามารถสร้ า ง ประโยชน์สูงสุดทั้งต่อธุรกิจและสังคมไปพร้อมๆ กัน รวมทั้ง ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารทางการเงิ น อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ อำ�นวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า อีกทั้งเป็นการรองรับและเตรียมพร้อมกับโลกยุคใหม่ ทีก่ �ำ ลังขับเคลือ่ นสูก่ ารปฏิรปู เชิงดิจติ อล (Digital Transformation) และนโยบายของรั ฐ บาลในการดำ � เนิ น แผนงานสู่ Digital Economy ธนาคารได้ตระหนักถึงความสำ�คัญนี้ จึงส่งเสริม ให้มีการพัฒนานวัตกรรมของผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงิน ในรู ป แบบดิ จิ ต อล เพื่ อ ช่ ว ยลู ก ค้ า ประหยั ด เวลาการเดิ น ทาง และลดการใช้ทรัพยากรกระดาษ อาทิ บริ ก ารทางการเงิ น บนรถตู้ เ คลื่ อ นที่ ที่ เ ปรี ย บเสมื อ น สาขาเคลื่อนที่เป็นการเพิ่มช่องทางการให้บริการทางการเงิน แก่ ลู ก ค้ า ตามจุ ด ต่ า งๆ เพื่ อ อำ � นวยความสะดวกให้ ลู ก ค้ า บริการบัตร ATM Chip Card และบัตร Debit Chip ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปทำ�ธุรกรรมที่สาขา Card เป็นบัตรรูปแบบใหม่ทเ่ี พิม่ ระดับความปลอดภัยด้วยการใช้ Chip Card ในการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ของลู ก ค้ า บั ต ร ATM Chip Card และบัตร Debit Chip Card เป็นบัตรที่ช่วย อำ �นวยความสะดวกในการทำ �ธุ ร กรรมทางการเงิ น ที่ ส ามารถ ทำ�ธุรกรรมได้ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง และในการทำ�ธุรกรรม ทางการเงินทำ�ให้ลูกค้ามีความมั่นใจในความปลอดภัยมากขึ้น บริ ก ารของบั ต รสามารถถอนเงิ น โอนเงิ น ชำ � ระค่ า สิ น ค้ า และบริการ ชำ�ระสินเชื่อ เป็นต้น นอกจากนี้ ธนาคารมีบริการ ส่ง SMS แจ้งผลการทำ�ธุรกรรมให้ลูกค้าทราบทุกครั้งที่มีการ ทำ�รายการผ่านโทรศัพท์มือถือ บริ ก ารบั ต ร Debit Card ร่ ว มกั บ UnionPay บริการฝาก-ถอน เงินสดที่สาขาของธนาคารโดยไม่ต้อง International เป็นบัตรที่เพิ่มความสะดวกในการทำ�ธุรกรรม เขียนสลิป เป็นอีกทางหนึ่งที่ช่วยเพิ่มความสะดวกให้กับลูกค้า ทางการเงินของลูกค้าขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง กล่าวคือ บัตร Debit Card ร่วมกับ UnionPay International สามารถนำ�ไปใช้ ให้สามารถทำ�ธุรกรรมได้รวดเร็วยิ่งขึ้น บริการทางการเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Native ในต่างประเทศได้ โดยใช้บริการผ่านตู้ ATM และร้านค้าสมาชิก Application) เพื่ อ อำ � นวยความสะดวกในการทำ � ธุ ร กรรม UnionPay International ที่ให้บริการในหลายประเทศทั่วโลก ทางการเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ ซึ่งปัจจุบันเสมือนเป็นส่วนหนึ่ง ภายใต้สัญลักษณ์ ของการใช้ชีวิตประจำ�วัน สามารถให้บริการอย่างไร้ข้อจำ�กัด ไม่ ว่ า จะเป็ น เรื่ อ งสถานที่ เวลา ด้ ว ยรู ป แบบและมาตรฐาน ความปลอดภัยเช่นเดียวกันกับการทำ�ธุรกรรมผ่านสาขาธนาคาร
142
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ธนาคารได้ประชาสัมพันธ์ สื่อสารแก่ลูกค้าอย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งต่อลูกค้า สังคม รวมถึงสิ่งแวดล้อม ธนาคารเปิดกว้างและสนับสนุนให้มกี ารคิดค้น สร้างสรรค์ และพั ฒ นานวั ต กรรมใหม่ ๆ อั น จะทำ �ให้ เ กิ ด ความต่ อ เนื่ อ ง ของการสร้างนวัตกรรมจากภายในธนาคารภายใต้การพัฒนา
นวั ต กรรมอย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม รวมถึ ง สำ � รวจ กระบวนการประกอบธุรกิจอยู่เสมอว่าได้ก่อให้เกิดความเสี่ยง หรือมีผลกระทบทางลบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมหรือไม่ และ หากมีความเสีย่ งหรือมีผลกระทบทางลบธนาคารจะรีบดำ�เนินการ แก้ไขโดยทันที
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
143
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย่ ง บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน และเป็น บริษัทแม่ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้นที่ได้รับความเห็นชอบจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย บริษัทไม่ได้ดำ�เนินธุรกิจของตนเอง ดังนั้น การดูแล ด้านการควบคุมภายใน บริษัทได้มอบหมายให้สายงานควบคุม ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ � กั ด (มหาชน) เป็ น ผู้ดูแลและรายงานการปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับการควบคุมภายใน ต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ โดยมี นายวิ เ ชี ย ร อมรพู น ชั ย เลขานุ ก ารบริ ษั ท เป็ น ผู้ ดู แ ลและ ประสานงานระหว่ า งบริ ษั ท กั บ สายงานควบคุ ม ของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) คณะกรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การ เพื่ อ ให้การทำ�ธุรกรรมภายในและภายนอกกลุ่มธุรกิจทางการเงิน มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ได้รายงานการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มต่อคณะกรรมการบริษัท บริ ษั ท ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ก รอบการควบคุ ม ตามนโยบาย ระเบียบและวิธีปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษร ทำ�ให้มั่นใจได้ว่า บริษัทบริหารงานได้ตามนโยบายที่กำ�หนด ตลอดจนกำ�หนด โครงสร้าง หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่มีความเหมาะสมเพื่อสามารถดำ�เนินงานได้ตามวัตถุประสงค์ การรายงานผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุรกิจทางการเงินต่อคณะกรรมการบริษัท ได้กระทำ�ขึ้นอย่าง สม่ำ�เสมอ พร้อมกับการรายงานแนวโน้ม การประมาณการและ ผลการดำ�เนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย คณะกรรมการตรวจสอบ มีบทบาทหน้าที่ในการเสนอ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี โดยพิจารณาถึงคุณสมบัติและการปฏิบัติงาน ของผู้ ส อบบั ญ ชี เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ในแต่ ล ะปี รวมถึงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอขออนุมัติจากที่ประชุม ผู้ ถื อ หุ้ น รวมทั้ งได้ ส อบทานงบการเงิ น โดยในการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบได้เชิญผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุม เพื่อ ให้นำ�เสนอประเด็นสำ�คัญที่เห็นว่าเกี่ยวข้องกับสภาวะแวดล้อม ด้านการควบคุมภายในและงบการเงินของบริษัท ผู้สอบบัญชี ของบริษัทคือ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบ งบการเงินปี 2558 ได้เสนอรายงานการตรวจสอบงบการเงิน แบบไม่มีเงื่อนไข นอกจากนี้ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ครอบคลุ ม ถึ ง การพิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ แ ละ ความเหมาะสมของผู้ทำ�หน้าที่หัวหน้างานตรวจสอบ ซึ่งผ่าน
144
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
การพิจารณากลั่นกรองจากฝ่ายจัดการ การแต่งตั้ง ถอดถอน และโยกย้ า ยหั ว หน้ า งานตรวจสอบจะได้ รั บ ความเห็ น ชอบ จากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ ง ได้ ร ะบุ ไ ว้ ใ นกฎบั ต รของ คณะกรรมการตรวจสอบ การตรวจสอบและการติ ด ตามการปฏิ บั ติ ง าน โดย สายงานควบคุ ม ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ � กั ด (มหาชน) มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานซึ่งรายงานตรง ต่ อคณะกรรมการตรวจสอบ การตรวจสอบและการติ ดตาม การปฏิบตั งิ านได้เน้นความเสีย่ งครอบคลุมการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับของทางการ นโยบาย ระเบียบปฏิบัติ กระบวนการปฏิบัติและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน โดยมี ฝ่ายตรวจสอบ และสำ�นักกำ�กับธนาคาร ทำ�หน้าที่หลักในการ ควบคุมภายใน ดังนี้
• ฝ่ายตรวจสอบ (Internal Audit)
มีหน้าทีต่ รวจสอบและประเมินความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายใน ตรวจสอบและติดตามดูแลการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ กระบวนการปฏิบัติงาน และจรรยาบรรณในการปฏิ บั ติ ง าน รวมทั้ ง ข้ อ กำ � หนดตาม กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับของทางการ ตรวจสอบระบบ การควบคุมภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอของระบบการ ควบคุมภายใน และความเหมาะสมของการจัดการความเสี่ยง ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของการบริ ห ารทรั พ ยากรและประเมิ น ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล พร้อมทั้งเสนอแนะ แนวทางในการปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง าน และรายงานผลการ ตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท อย่างสม่ำ�เสมอ
• สำ�นักกำ�กับธนาคาร (Compliance Unit)
มี ห น้ า ที่ กำ � กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง าน ให้ เ ป็ น ไปตาม กฎหมาย และระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของทางการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง วางระบบการกำ�กับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล สอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และรายงานผลการกำ�กับและ สอบทานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท อย่างสม่ำ�เสมอ พร้อมทั้งติดตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ของทางการที่มีการแก้ไขปรับปรุง
งานในความรับผิดชอบของหัวหน้าผู้กำ�กับดูแลสายงานควบคุม ประกอบด้วย
1. 2. 3. 4. 5. 6.
งานด้านสอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compliance) งานด้านสอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ด้านระบบสารสนเทศ (Information Technology Compliance) งานด้านสอบทานสินเชื่อ งานด้านตรวจสอบ งานด้านตรวจสอบระบบสารสนเทศ งานตรวจสอบพิเศษและทุจริต
ประวัติหัวหน้าผู้กำ�กับดูแลสายงานควบคุม ชื่อ-สกุล นางสาวชุติมา บุญมี ตำ�แหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานควบคุม อายุ (ปี) 63 คุณวุฒิทางการศึกษา - พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ปริญญาโท มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประวัติการฝึกอบรม - Thailand’s 5th National Conference on Collective Action Against Corruption “Tackling Corruption through Public – Private Collaboration” : IOD - Anti – Corruption for Executive Program 4/2012 : IOD - หลักสูตร การกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านสำ�หรับผูร้ บั ผิดชอบสูงสุดในหน่วยงานกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ าน ตามหลั ก เกณฑ์ สำ� นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ รุ่น ที่ 1/2556 และปี 2558 โดยสมาคมธนาคารไทย - Leadership Program for Managers : CC Knowledge Base Co., Ltd. - Compliance Officer : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Certificate to Pacific Rim International Conference The Anti - Money Laundering Office On Money Laundering and Financial Crime : สำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน - Risk Management for Financial Institutions โดยสถาบันคีนันแห่งเอเชีย - Best Practices in Credit Risk Management & Operational Risk Management โดย Price Waterhouse Coopers (PwC) สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) -ไม่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มีประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง
• การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา เม.ย. 2545 - ต.ค. 2553
ตำ�แหน่ง ผู้จัดการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายกำ�กับการปฏิบัติงาน
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ.ธนาคารนครหลวงไทย
• การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่วงเวลา ส.ค. 2556 - ปัจจุบัน มี.ค. 2555 - ส.ค. 2556 พ.ย. 2553 - ม.ค. 2555
ตำ�แหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานควบคุม ผู้ช่วยสายงานควบคุม ผู้อำ�นวยการสำ�นักอาวุโส สำ�นักกำ�กับธนาคาร
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
145
หน้าที่และความรับผิดชอบงานสอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compliance) และงานสอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ด้านระบบสารสนเทศ (Information Technology Compliance) - กำ�กับ ดูแลการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามแนวปฏิบัติของหน่วยงานทางการที่ กำ�กับดูแล สอดคล้องกับ BIS April 2005 และ FATF 40+9 Recommendations - พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ หน้าที่และความรับผิดชอบงานด้านตรวจสอบ - - - - - - - - - - - -
กำ�หนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขตของการตรวจสอบพร้อมทั้งวางแผนการตรวจสอบ จัดทำ� และปรับปรุงคู่มือการตรวจสอบ บริหารงานฝ่ายตรวจสอบและกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ สอบทานการอนุมัติแนวทางการตรวจสอบ (Audit Program) ประเมินความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพของระบบ การควบคุมภายในขององค์กร เพื่อลดความเสี่ยงและคุณภาพของการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย ประเมินความเชื่อถือได้ และความถูกต้องของข้อมูลทางการเงินและข้อมูลด้านปฏิบัติการ พิจารณาการปฏิบัติงานต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ แผนงาน และระเบียบปฏิบัติงาน กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับของทางการที่เกี่ยวข้อง กำ�หนดแนวทางมาตรฐานการปฏิบัติงานและสอบทานว่าผู้ตรวจสอบได้ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำ�หนดรวมทั้งควบคุม แผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ เสนอผลการตรวจสอบต่อหน่วยงานผู้รับการตรวจ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริษัทตามความเหมาะสม พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบให้มีความรู้ความสามารถตามการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจสังคม จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบทุกระดับ ให้คำ�ปรึกษา ข้อคิดเห็นและคำ�แนะนำ� แนวทางในการปฏิบัติตามระเบียบ คำ�สั่ง และการควบคุมภายใน ปฏิบัติงานต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบ
จำ�นวนพนักงานในหน่วยงานตรวจสอบ
146
จำ�นวนพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบ จำ�นวน 20 คน
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
รายการระหว่างกัน รายการระหว่ า งกั น หมายถึ ง ธุ ร กรรมหรื อ ธุ ร กิ จ ที่คล้ายคลึง หรือแข่งขันกัน หรือความเกี่ยวข้องอื่นใดที่อาจ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทกับบุคคล ที่เกี่ยวข้อง การทำ�รายการระหว่างกันที่บริษัทมีกับบุคคล/บริษัท ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งทั้ ง หมด บริ ษั ท จะถื อ ปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย และเงื่อนไขการค้าตามปกติธุรกิจ ซึ่งจะเป็นไปตามกระบวนการ ที่กำ�หนดไว้อย่างเหมาะสม โปร่งใส และถูกต้องตามเกณฑ์ ที่ กำ � หนด โดยคำ � นึ ง ถึ ง ประโยชน์ สู ง สุ ด ที่ บ ริ ษั ท และผู้ ถื อ หุ้ น จะได้รับเป็นสำ�คัญ นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งในการทำ � ธุ ร กรรมของ กลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำ�ธุรกรรมระหว่างกันของ บริษทั ภายในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน และไม่กอ่ ให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กับกิจการที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง บริษัท ได้จัดทำ�นโยบายการบริหารความเสี่ยงในการทำ�ธุรกรรมภายใน กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และทบทวนเป็นประจำ�ทุกปี โดยนโยบายครอบคลุมการบริหาร ความเสี่ยงสำ�หรับการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ซึ่งควบคุมการทำ�ธุรกรรมประเภทต่างๆ ที่สำ�คัญ และนโยบาย ดังกล่าว ได้ก�ำ หนดให้การทำ�ธุรกรรมใดๆ ระหว่างกันภายในกลุม่ ต้ อ งไม่ มี เ งื่ อ นไขหรื อ ข้ อ กำ � หนดใดๆ ที่ เ ป็ น สาระสำ � คั ญ ที่ต่างจากการค้าปกติทั่วไปที่มีความเสี่ยงระดับเดียวกัน ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผลของรายการ บริ ษั ทและบริษัทย่อ ย เข้า ทำ�รายการระหว่างกั นด้ ว ย ความระมั ด ระวั ง โดยคำ � นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท บริษัทย่อย และผู้ถือหุ้นเป็นสำ�คัญ การทำ�รายการระหว่างกัน ของบริษัทและบริษัทย่อยกับบุคคลที่มีความขัดแย้งทุกรายการ เป็นรายการตามธุรกิจปกติ หรือเป็นรายการที่มีความจำ�เป็น และมีความสมเหตุสมผลเพื่อสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษัทและ บริษัทย่อย โดยเงื่อนไขต่างๆ ของรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น จะถูกกำ�หนดให้เป็นไปตามเงื่อนไขการค้าปกติและเป็นไปตาม ราคาตลาด และดำ�เนินการเช่นเดียวกับที่ปฏิบัติกับลูกค้าทั่วไป ที่มีลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน การปฎิบัติงาน และขั้นตอนการอนุมัติ บริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ และประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่เกี่ยวข้องกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่อาจก่อให้เกิด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ โดยกรรมการหรื อ ผู้ บ ริ ห าร ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ รายการที่ อ าจก่ อให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ต้ อ งไม่ มี ส่ ว นร่ ว มในการพิ จ ารณาตั ด สิ นใจ รายการดังกล่าว และเลขานุการที่ประชุมได้จดความเกี่ยวข้อง ของกรรมการหรือผู้บริหารเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรายงาน การประชุม ในกรณีที่เกิดรายการระหว่างกันจะคำ�นึงถึงผลประโยชน์ ของบริษทั และบริษทั ย่อยและผูถ้ อื หุน้ เป็นสำ�คัญ โดยผ่านขัน้ ตอน การพิจารณาตามระเบียบปฏิบัติของบริษัทและบริษัทย่อย และ ผ่านคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริษัทได้มีการขออนุมัติ ในหลั ก การเกี่ ย วกั บ ข้ อ ตกลงทางการค้ า ที่ มี เ งื่ อ นไขการค้ า โดยทั่ วไปในการทำ � ธุ ร กรรมระหว่ า งบริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยกั บ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร หรื อ บุ ค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ ง ดั ง นี้ “บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย อาจมี ร ายการระหว่ า งกั นในอนาคต บริ ษั ท จึ ง ขออนุ มั ติ ใ นหลั ก การให้ ฝ่ า ยจั ด การสามารถอนุ มั ติ การทำ�ธุรกรรมดังกล่าว หากธุรกรรมเหล่านัน้ มีขอ้ ตกลงทางการค้า ในลั ก ษณะเดี ย วกั บ ที่ วิ ญ ญู ช นจะพึ ง กระทำ � กั บ คู่ สั ญ ญาทั่ วไป ในสถานการณ์ เ ดี ย วกั น ด้ ว ยอำ � นาจต่ อ รองทางการค้ า ที่ ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริษัทจะจัดทำ�รายงานสรุป การทำ�ธุรกรรม เพื่อรายงานในการประชุมคณะกรรมการ ตามที่ คณะกรรมการบริษัทมีความประสงค์” นอกจากนี้ รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต กับบุคคลที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสียใดๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะให้ความเห็นเกีย่ วกับความจำ�เป็นและ ความเหมาะสมของรายการนัน้ ในกรณีทค่ี ณะกรรมการตรวจสอบ ไม่มคี วามชำ�นาญในการพิจารณารายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ ใดๆ บริษทั จะให้ผเู้ ชีย่ วชาญอิสระหรือผูต้ รวจสอบบัญชีของบริษทั เป็นผู้ให้ความเห็นเพื่อใช้ในการตัดสินใจตามแต่กรณี และเมื่อ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นรายการระหว่างกันแล้ว จะนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติด้วยมติ ที่ เ ป็ น เอกฉั น ท์ และจะเปิ ด เผยรายการระหว่ า งกั น ที่ สำ � คั ญ ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจาก ผู้สอบบัญชี นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย มี นโยบายในการทำ � รายการ ระหว่างกันที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและในอนาคตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กั บ บุ ค คลที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ โดยถื อ ปฏิ บั ติ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
147
เช่ น เดี ย วกั บ ลู ก ค้ า ทั่ ว ไป ด้ ว ยนโยบายการกำ � หนดราคาที่ เป็นธรรม และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไปที่สามารถแข่งขัน กั บ สถาบั น การเงิ น อื่ น ๆ ได้ โดยผ่ า นกระบวนการพิ จ ารณา อนุมัติ ที่ชัดเจน โปร่งใส ยุติธรรม เป็นไปตามหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนด และเป็นไปตาม อำ�นาจอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน รายการระหว่ า งกั น ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตนั้ น คณะกรรมการบริ ษั ท จะต้ อ งปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำ � สั่ ง หรื อ ข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย รวมถึ ง การปฏิ บั ติ ต ามข้ อ กำ � หนดเกี่ ย วกั บ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล การทำ � รายการเกี่ ย วโยงและการได้ ม าหรื อ จำ � หน่ า ยทรั พ ย์ สิ น ที่สำ�คัญของบริษัท
ปี 2558 บริษัทไม่มีการทำ�รายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ที่มีขนาดรายการอันมีนัยสำ�คัญที่ต้องเปิดเผยข้อมูลตามเกณฑ์ การพิจารณาของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายการธุรกิจกับกิจการ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อย มีรายการธุรกิจที่สำ�คัญ กั บ บุ ค คลและบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น รายการธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า ว เป็ นไปตามเงื่ อ นไขทางการค้ า และเกณฑ์ ที่ ต กลงกั น ระหว่ า ง บริษัท บริษัทย่อย บุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจ ซึ่งได้เปิดเผยอยู่ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ข้อ 41. โดยมีรายละเอียด ของรายการดังกล่าวดังนี้
การเปิดเผยข้อมูล บริ ษั ท จะเปิ ด เผยข้ อ มู ล การทำ � รายการระหว่ า งกั น รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามหลั ก เกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ไว้ในรายงานประจำ�ปี ยอดคงค้างระหว่างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ยอดคงเหลือของรายการทีบ่ ริษทั และบริษทั ย่อยมีกบั บุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันทีม่ สี าระสำ�คัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีดังต่อไปนี้
1. บริษัทย่อยทางตรงและทางอ้อมของบริษัท ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด 2. บริษัทและบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทเกินกว่า ร้อยละ 10 ขึ้นไป (“ผู้ถือหุ้นรายใหญ่”) 3. บริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัท และบริษัทย่อย 4. บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัท และบริษัทย่อย 148
-
-
-
-
-
-
-
-
-
67.20
-
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
-
หนี้สินอื่น
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
เงินรับฝาก
สินทรัพย์อื่น
ดอกเบี้ยค้างรับ จากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
เงินลงทุน - ราคาทุน
ลักษณะความสัมพันธ์/1
ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน
งบการเงินรวม
ภาระผูกพัน หนังสือค้ำ�ประกันธนาคาร
(หน่วย : ล้านบาท)
-
-
-
-
-
-
8.43 4,713.30
-
5.16
0.25
-
-
-
1.57 2,661.58
-
1.34
0.03
-
-
-
22.08 2,255.92
-
1.52
0.96
21.19
(หน่วย : ล้านบาท)
5. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมการของบริษัท และบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัท และบริษัทย่อย 2,065.00 6. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัท และบริษัทย่อย 91.46 7. บริษัทที่ถูกควบคุมโดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทและบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัท และบริษัทย่อย 8. กรรมการและผู้บริหาร 9. บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รวม 2,223.66
31.20 1,015.01 -
0.17
8.50
ภาระผูกพัน หนังสือค้ำ�ประกันธนาคาร
หนี้สินอื่น
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
เงินรับฝาก
สินทรัพย์อื่น
ดอกเบี้ยค้างรับ จากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน
ลักษณะความสัมพันธ์/1
เงินลงทุน - ราคาทุน
งบการเงินรวม
91.64
-
0.15
2.09
51.80
-
-
0.77 614.36
-
1.69
-
-
- 10.43 - 51.51 31.20 1,076.95
0.01 0.04 0.22
0.14 - 482.50 - 823.85 41.35 11,643.29
20.00 7.50 27.50
0.24 2.35 12.45
3.33
72.99
หมายเหตุ /1 หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
1. บริษัทย่อยทางตรงและทางอ้อมของบริษัท ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด 230.20 150.80 รวม 230.20 150.80 หมายเหตุ
/1
0.87 0.87
-
-
-
-
4.01 4.01
0.30 0.30
ภาระผูกพัน หนังสือค้ำ�ประกันธนาคาร
เจ้าหนี้จากการซื้อหลักทรัพย์
เงินรับฝาก
สินทรัพย์อื่น
ดอกเบี้ยค้างรับ จากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน
เงินลงทุน - ราคาทุน
รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน (สินทรัพย์)
ลักษณะความสัมพันธ์/1
หนี้สินอื่น
(หน่วย : ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
-
หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
รายการที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2558 ในระหว่างปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อย มีรายการ ธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจ ดั ง กล่ า วเป็ นไปตามเงื่ อ นไขทางการค้ า และเกณฑ์ ที่ ต กลงกั น
ระหว่างบริษัท และบริษัทย่อย บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้อง เหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
149
ลักษณะความสัมพันธ์/1 1. บริษัทย่อยทางตรงและทางอ้อมของบริษัท ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด 2. บริษัทและบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท เกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไป (“ผู้ถือหุ้นรายใหญ่”) 3. บริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ผู้ถือหุ้น ตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทและบริษัทย่อย 4. บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ผู้ถือหุ้น ตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทและบริษัทย่อย
5. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมการของบริษัท และบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัท และบริษัทย่อย 6. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัท และบริษัทย่อย 7. บริษัทที่ถูกควบคุมโดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทและบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัท และบริษัทย่อย 8. กรรมการและผู้บริหาร 9. บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
ลักษณะของรายการ
-ไม่มี-
งบการเงินรวม มูลค่ารายการ
-ไม่มี-
ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ
33.36 36.20 10.78 0.57 28.85
รายได้เงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น รายได้ดอกเบี้ย
4.97 25.30 84.62 145.54
ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ
1.73 12.94 8.96
รายได้เงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
6.41 9.78 0.25 0.01
(หน่วย : ล้านบาท) นโยบายการกำ�หนดราคา
-ไม่มี-
ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา คิดเป็นอัตราร้อยละจากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ ของกองทุนที่บริษัทย่อยบริหารจัดการ ตามที่ประกาศจ่ายโดยกองทุนฯ ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป และตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา คิดเป็นอัตราร้อยละจากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ ของกองทุนที่บริษัทย่อยบริหารจัดการ ตามที่ประกาศจ่ายโดยกองทุนฯ ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป
0.45 ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป 7.76 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป และตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน 1.64 ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป 13.16 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป และตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน
หมายเหตุ /1 หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
ลักษณะความสัมพันธ์/1 1. บริษัทย่อยของบริษัท ซึ่งได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุ
150
/1
(หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ลักษณะของรายการ มูลค่ารายการ นโยบายการกำ�หนดราคา 8.57 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป รายได้ดอกเบี้ย และตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน 1,000.09 ตามอัตราที่บริษัทย่อยประกาศจ่าย รายได้เงินปันผล 1.32 ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น 5.08 ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 0.03 ตามอัตราที่คิดกับลูกค้าทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น 0.02 ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ
หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้
1. นายไพโรจน์ เฮงสกุล 2. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี
ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
โดยมีนางสาวชุติมา บุญมี ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต ความรับผิดชอบที่ระบุไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ในระหว่างปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบ มีการจัดประชุม รวมทั้งสิ้น 12 ครั้ง มีรายงานผลการประชุม พร้อมให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัททราบทุกครั้ง เพื่อให้มีการดำ�เนินการในเรื่องที่เห็นสมควร สรุปสาระสำ�คัญ ดังนี้ • รายงานทางการเงิน สอบทานงบการเงินประจำ�ไตรมาส ประจำ�งวดครึ่งปี และประจำ�ปีของบริษัท ที่มีการจัดทำ�ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน เพื่อพิจารณาความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล ความเพียงพอของการเปิดเผยข้อมูลตลอดจนผลการตรวจสอบ ความเสี่ยงที่สำ�คัญ โดยประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีอย่างสม่ำ�เสมอ • การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน สอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท โดยพิจารณาจากรายงานการตรวจสอบภายในและของ ผู้สอบบัญชี เพื่อประเมินความเพียงพอเหมาะสมและความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน • การกำ�กับดูแลการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ สอบทานการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปตามกฎเกณฑ์ ข องสำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • ผู้สอบบัญชีภายนอก พิจารณาคุณสมบัติและการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของ บริษัทในแต่ละปี รวมถึงค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ รายชื่อผู้สอบบัญชี ที่จะเสนอเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท จะต้องเป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากธนาคาร แห่งประเทศไทยในรอบปี 2558 ผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบ งบการเงินปี 2558 ได้เสนอรายงานผลการตรวจสอบงบการเงินแบบไม่มีเงื่อนไข • รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเพื่อให้มั่นใจว่ามีความโปร่งใส สมเหตุสมผลและปกป้องผลประโยชน์ของ กลุ่มธุรกิจทางการเงินและผู้ถือหุ้น และพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัท โดยเฉพาะกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน ในการดำ�เนินงานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายโดยรวม คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงิน ของบริษัท มีการจัดทำ�อย่างถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี และมีการเปิดเผยข้อมูลเหมาะสมและเพียงพอ ผู้สอบบัญชีภายนอก ทีท่ �ำ หน้าทีต่ รวจสอบรายงานทางการเงินของบริษทั มีความเป็นอิสระและปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพ บริษทั มีระบบการควบคุม ภายในที่เพียงพอและเหมาะกับการดำ�เนินธุรกิจ มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ
(นายไพโรจน์ เฮงสกุล) ประธานกรรมการตรวจสอบ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
151
รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดค่ า ตอบแทน ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จากคณะกรรมการบริ ษั ท ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยกรรมการ จำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่ นายอดุลย์ วินัยแพทย์ เป็นประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ และนายสมศักดิ์ อัศวโภคี เป็นกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ทุกท่านไม่ได้เป็นผู้บริหารของบริษัท โดยประธานกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ ในปี 2558 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้มีการประชุมจำ�นวน 3 ครั้ง โดยกรรมการสรรหาและ กำ � หนดค่ า ตอบแทน เข้ า ร่ ว มประชุ ม ครบทุ ก ท่ า น และได้ มี ก ารทบทวนหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนให้มีหน้าที่เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม ได้แก่ การเสนอแนะวิธีการประเมินผลการทำ�งานของกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการบริษทั การพิจารณาภาพรวมและกรอบการดำ�เนินการของโครงสร้างค่าตอบแทน การขึน้ เงินเดือน และโบนัสประจำ�ปี ตลอดจนผลประโยชน์อื่นใดของผู้บริหารระดับสูงและพนักงานบริษัท การพิจารณานโยบายและวิธีการจัดทำ�แผนสืบทอดตำ�แหน่ง การพิจารณากรอบนโยบายและหลักเกณฑ์เกี่ยวกับรูปแบบลักษณะการจ้างงานที่มีลักษณะพิเศษในการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสม
ในปี 2558 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้มีการพิจารณาวาระหลักๆ ได้แก่ • การสรรหากรรมการที่ครบวาระ • การกำ�หนดกรอบของค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม และเงินบำ�เหน็จ สำ�หรับคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้น
(นายอดุลย์ วินัยแพทย์) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
152
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวมของบริษัท รวมถึงสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง รวมทัง้ การเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญเกีย่ วกับนโยบายการบัญชีและเกณฑ์การจัดทำ�งบการเงินอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ดให้ มี แ ละดำ � รงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ระบบบริ ห ารความเสี่ ย งและการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสมและ มีประสิทธิผลเพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระ ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพ ของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปี งบการเงินเฉพาะบริษัทและงบการเงินรวมของบริษัทได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจาก บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชี ในการตรวจสอบบริษัทได้ให้การสนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถ ตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏในรายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปี คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่มีความเหมาะสม เพียงพอ และสามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินเฉพาะบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
(นายอนันต์ อัศวโภคิน) ประธานกรรมการ
(นางศศิธร พงศธร) กรรมการผู้จัดการ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
153
รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต
เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของรวม และงบกระแสเงินสดรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึง หมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำ�คัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงาน ทางการเงินและรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพื่อให้สามารถจัดทำ�งบการเงินที่ปราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำ�หนด ด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงาน ตรวจสอบเพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้ ส อบบั ญ ชี พิ จ ารณาการควบคุ ม ภายในที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด ทำ � และการนำ � เสนองบการเงิ นโดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรของกิ จ การ เพื่ อ ออกแบบวิ ธี ก ารตรวจสอบที่ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ แต่ ไ ม่ ใ ช่ เ พื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการแสดงความเห็ น ต่ อ ประสิ ท ธิ ผ ล ของการควบคุ ม ภายในของกิ จ การ การตรวจสอบรวมถึ ง การประเมิ น ความเหมาะสมของนโยบายการบั ญ ชี ที่ ผู้ บ ริ ห ารใช้ และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทำ�ขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการนำ�เสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของ ข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสด สำ � หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น เดี ย วกั น ของบริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์ เ ชี ย ล กรุ๊ ป จำ � กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย และเฉพาะของ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
รัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4951 บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2559 154
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
งบการเงินประจำ�ปี และหมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซเชียล กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
2557
2558
2557
2,242,589
2,503,973
8
4
สินทรัพย เงินสด รายการระหวางธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ
6
17,676,429
13,117,183
230,202
1,024,099
เงินลงทุน - สุทธิ
7
47,202,958
33,728,134
649,066
326,591
เงินลงทุนในบริษัทยอย
8
-
-
15,035,991
14,035,991
เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้และดอกเบี้ยคางรับ
9 133,276,799
115,915,211
-
-
224,480
239,810
-
-
133,501,279
116,155,021
-
-
(179,447)
(281,516)
-
-
เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้ ดอกเบี้ยคางรับ รวมเงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้และดอกเบี้ยคางรับ หัก: รายไดรอตัดบัญชี คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
10
(2,555,273)
(2,137,826)
-
-
คาเผื่อการปรับมูลคาจากการปรับโครงสรางหนี้
11
(8,740)
(7,547)
-
-
130,757,819
113,728,132
-
-
เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้และดอกเบี้ยคางรับ - สุทธิ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน
13
-
-
37,382
37,514
ทรัพยสินรอการขาย
14
99,340
52,809
-
-
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ
15
499,000
543,764
-
-
สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี
16 17.1
297,294 197,540
291,450 145,192
-
-
ดอกเบี้ยคางรับจากเงินลงทุน
305,398
345,393
868
-
ลูกหนี้จากการขายหลักทรัพย
-
159,604
-
-
388,406
354,672
1,533
1,511
199,666,773
164,970,306
15,955,050
15,425,710
สินทรัพยอื่น - สุทธิ
18
รวมสินทรัพย หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
156
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซเชียล กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
2557
2558
2557
หนี้สินและสวนของเจาของ เงินรับฝาก
20
137,064,320
122,631,902
-
-
รายการระหวางธนาคารและตลาดเงิน
21
20,638,556
23,171,161
-
500,000
176,517
109,952
-
-
หนี้สินจายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ
22
5,395
-
-
-
ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกูยืม - สุทธิ
23
21,663,968
1,000,000
-
-
ดอกเบี้ยคางจาย
818,440
727,565
-
48
คาใชจายคางจาย
420,637
339,172
928
803
87,293
73,981
-
-
ภาษีคางจาย
288,831
256,541
114
84
รายไดรับลวงหนา
275,308
158,034
-
-
ประมาณการหนี้สิน
24
เจาหนี้จากการซื้อขายหลักทรัพย
25
18,816
10,673
4,013
-
หนี้สินอื่น
26
257,837
204,970
745
573
181,715,918
148,683,951
5,800
501,508
13,638,705
13,199,600
13,638,705
13,199,600
13,638,699 642,556
13,198,747 642,556
13,638,699 642,556
13,198,747 642,556
(18,749)
(78,921)
10,249
(50,505)
528,700
396,400
180,900
130,200
3,159,648
2,127,572
1,476,846
1,003,204
17,950,854
16,286,354
15,949,250
14,924,202
1
1
-
-
17,950,855
16,286,355
15,949,250
14,924,202
199,666,773
164,970,306
15,955,050
15,425,710
รวมหนี้สิน สวนของเจาของ ทุนเรือนหุน
27
ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 13,638,705,250 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท (2557: 13,199,599,896 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) ทุนออกจําหนายและชําระแลว หุนสามัญ 13,638,699,252 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท (2557: 13,198,747,016 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) สวนเกินมูลคาหุน องคประกอบอื่นของสวนของเจาของ สวนเกิน (ต่ํากวา) ทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขาย - สุทธิจากภาษีเงินได
7.3
กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร รวมสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทฯ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมสวนของเจาของ รวมหนี้สินและสวนของเจาของ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
157
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซเชียล กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หนวย: พันบาท ยกเวนกําไรตอหุนแสดงเปนบาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557
2558
2557
กําไรหรือขาดทุน: รายไดดอกเบี้ย
31
8,493,893
7,455,078
8,607
6,880
คาใชจายดอกเบี้ย
32
(4,127,464)
(4,073,150)
(5,082)
(28,132)
4,366,429
3,381,928
3,525
(21,252)
รายไดดอกเบี้ยสุทธิ (ขาดทุน) รายไดคา ธรรมเนียมและบริการ
33
455,583
296,757
-
-
คาใชจายคาธรรมเนียมและบริการ
33
(106,203)
(80,535)
(7,843)
(7,801)
349,380
216,222
(7,843)
(7,801)
2,172
1,206
-
668
รายไดคาธรรมเนียมและบริการสุทธิ (ขาดทุน) กําไรสุทธิจากธุรกรรมเพื่อคาและปริวรรตเงินตราตางประเทศ กําไรจากเงินลงทุน
673,392
491,419
2,522
3,209
126,153
131,686
1,026,437
866,888
25,896
24,229
1,320
1,220
5,543,422
4,246,690
1,025,961
842,932
1,161,418
960,970
-
-
23,759
11,416
9,445
9,036
คาใชจายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ
704,601
629,286
132
132
คาภาษีอากร
218,416
193,512
366
148
34
รายไดเงินปนผล รายไดจากการดําเนินงานอื่น รวมรายไดจากการดําเนินงาน คาใชจายในการดําเนินงานอื่น คาใชจา ยเกี่ยวกับพนักงาน คาตอบแทนกรรมการ
35
คาใชจายสงเสริมการขายและโฆษณา
96,155
83,887
1,085
1,339
คาตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน
69,174
58,755
-
-
126,123
107,219
1,799
2,002
2,399,646
2,045,045
12,827
12,657
1,089,614
710,000
-
-
2,054,162
1,491,645
1,013,134
830,275
(402,449)
(290,258)
-
-
1,651,713
1,201,387
1,013,134
830,275
กําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขาย - สุทธิจากภาษีเงินได
60,172
5,100
60,754
6,577
รวมรายการที่จะถูกบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง
60,172
5,100
60,754
6,577
1,455
-
-
-
1,455
-
-
-
กําไรเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
61,627
5,100
60,754
6,577
กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป
1,713,340
1,206,487
1,073,888
836,852
คาใชจายอื่น รวมคาใชจายในการดําเนินงานอื่น หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการดอยคา
36
กําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินได
17.2
กําไรสําหรับป กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น:
37
รายการที่จะถูกบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง:
รายการที่จะไมถูกบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง: กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย - สุทธิจากภาษีเงินได รวมรายการที่จะไมถูกบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
158
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซเชียล กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หนวย: พันบาท ยกเวนกําไรตอหุนแสดงเปนบาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557
2558
2557
การแบงปนกําไรสําหรับป: สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทฯ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
1,651,713
1,201,387
1,013,134
830,275
-
-
-
-
1,651,713
1,201,387
-
-
1,713,340
1,206,487
1,073,888
836,852
-
-
-
-
1,713,340
1,206,487
-
-
0.1211
0.0892
0.0743
0.0617
การแบงปนกําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป: สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทฯ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
กําไรตอหุนของผูถือหุนบริษัทฯ:
38
กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาทตอหุน) กําไรสําหรับปสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทฯ กําไรตอหุนปรับลด (บาทตอหุน) กําไรสําหรับปสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทฯ
0.0892
0.0616
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
159
160
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
29
28
การจายปนผลเปนเงินสด
จัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย
642,556
13,198,747
642,556
13,638,699
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
-
-
กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป
-
-
-
-
-
-
-
กําไรเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
28
จัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย
-
29
การจายปนผลเปนเงินสด
กําไรสําหรับป
27.2
การจายปนผลเปนหุนสามัญ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 439,952
642,556
13,198,747
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
-
-
กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป
-
-
กําไรเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
-
-
-
-
(963)
-
643,519
มูลคาหุนสามัญ
สวนเกิน
กําไรสําหรับป
-
-
423,994
27.2
ออกหุนสามัญเพิ่มทุน
12,715,551
และชําระแลว
59,202
หมายเหตุ
ทุนออกจําหนาย
ออกหุนสามัญจากการใชสิทธิในใบสําคัญแสดงสิทธิ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซเชียล กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
(18,749)
60,172
60,172
-
-
-
-
(78,921)
-
(78,921)
5,100
5,100
-
-
-
-
-
(84,021)
สุทธิจากภาษีเงินได
เงินลงทุนเผื่อขาย -
จากการวัดมูลคา
- สวนต่ํากวาทุน
ของสวนของเจาของ
องคประกอบอื่น
กําไรสะสม
528,700
-
-
-
132,300
-
-
3,159,648
1,653,168
1,455
1,651,713
(132,300)
(48,840)
(439,952)
2,127,572
-
396,400
2,127,572
1,201,387
-
1,201,387
(101,800)
(423,569)
-
-
1,451,554
ยังไมไดจัดสรร
396,400
-
-
-
101,800
-
-
-
294,600
สํารองตามกฎหมาย
จัดสรรแลว -
สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทฯ
งบการเงินรวม
17,950,854
1,713,340
61,627
1,651,713
-
(48,840)
-
16,286,354
-
16,286,354
1,206,487
5,100
1,201,387
-
(423,569)
423,031
59,202
15,021,203
ผูถือหุนบริษัทฯ
รวมสวนที่เปนของ
อํานาจควบคุม
สวนไดเสียที่ไมมี
1
-
-
-
-
-
-
1
-
1
-
-
-
-
-
-
-
1
17,950,855
1,713,340
61,627
1,651,713
-
(48,840)
-
16,286,355
-
16,286,355
1,206,487
5,100
1,201,387
-
(423,569)
423,031
59,202
15,021,204
รวม
(หนวย: พันบาท)
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
161
29 28
การจายปนผลเปนเงินสด
จัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย
642,556
13,198,747
642,556
13,638,699
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
-
-
กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป
-
-
-
-
-
กําไรเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
28
จัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย
-
29
การจายปนผลเปนเงินสด
-
กําไรสําหรับป
27.2
การจายปนผลเปนหุนสามัญ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 439,952
642,556
13,198,747
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
-
-
กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป
-
-
กําไรสําหรับป
กําไรเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
-
-
(963)
-
643,519
มูลคาหุนสามัญ
สวนเกิน
-
-
423,994
27.2
ออกหุนสามัญเพิ่มทุน
12,715,551
และชําระแลว
59,202
หมายเหตุ
ทุนออกจําหนาย
ออกหุนสามัญจากการใชสิทธิในใบสําคัญแสดงสิทธิ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (ตอ)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซเชียล กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
10,249
60,754
60,754
-
-
-
-
(50,505)
-
(50,505)
6,577
6,577
-
-
-
-
-
(57,082)
สุทธิจากภาษีเงินได
เงินลงทุนเผื่อขาย -
จากการวัดมูลคา
- สวนเกิน (ต่ํากวา) ทุน
ของสวนของเจาของ
องคประกอบอื่น
กําไรสะสม
180,900
-
-
-
50,700
-
-
130,200
-
130,200
-
-
-
41,600
-
-
-
88,600
สํารองตามกฎหมาย
จัดสรรแลว -
งบการเงินเฉพาะกิจการ
1,476,846
1,013,134
-
1,013,134
(50,700)
(48,840)
(439,952)
1,003,204
-
1,003,204
830,275
-
830,275
(41,600)
(423,569)
-
-
638,098
ยังไมไดจัดสรร
15,949,250
1,073,888
60,754
1,013,134
-
(48,840)
-
14,924,202
-
14,924,202
836,852
6,577
830,275
-
(423,569)
423,031
59,202
14,028,686
รวม
(หนวย: พันบาท)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซเชียล กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2558
2557
2558
2557
2,054,162
1,491,645
1,013,134
830,275
235,953
204,446
492
277
1,089,614
710,000
-
-
หนี้สงสัยจะสูญโอนกลับจากการรับคืน
(5,205)
-
-
-
สํารองผลประโยชนของพนักงาน
15,858
14,588
-
-
ขาดทุนจากการจําหนาย/ตัดจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ
1,664
5,795
-
-
ขาดทุน (กําไร) จากธุรกรรมเพื่อคาและปริวรรตเงินตราตางประเทศ
1,960
(670)
-
(668)
(673,392)
(491,419)
(2,522)
(3,209)
-
(12)
-
-
(4,366,429)
(3,381,928)
(3,525)
21,252
(126,153)
(131,686)
(1,026,437)
(866,888)
เงินสดรับจากดอกเบี้ย
7,137,122
5,998,641
3,757
8,441
เงินสดจายดอกเบี้ย
(3,982,105)
(4,079,401)
(5,130)
(28,084)
(435,491)
(207,246)
(360)
(145)
947,558
132,753
(20,591)
(38,749)
(4,597,704)
(6,172,098)
793,897
115,281
(14,210)
27,070
-
27,070
เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้
(17,837,393)
(11,032,153)
-
-
ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย
(320,956)
(43,961)
-
-
48,000
(11,552)
-
-
107,732
(36,893)
(22)
(28)
เงินรับฝาก
14,432,418
13,826,425
-
-
รายการระหวางธนาคารและตลาดเงิน
(2,532,605)
(342,296)
(500,000)
500,000
66,565
(104,609)
-
-
16,814,768
996,802
-
-
26,982
(7,369)
125
536
(688)
(2,715)
-
-
8,143
(7,019)
-
-
61,171
93,840
202
348
7,209,781
(2,683,775)
273,611
604,458
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได รายการปรับกระทบกําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได เปนเงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการดอยคา
กําไรจากการขายเงินลงทุน ตัดจําหนายสวนลดจากการปรับมูลคาตั๋วเงินรับเปนรายไดดอกเบี้ย (รายได) คาใชจายดอกเบี้ยสุทธิ รายไดเงินปนผล
เงินสดจายภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง รายการระหวางธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนเพื่อคา
ทรัพยสินรอการขาย สินทรัพยอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง)
หนี้สินจายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกูยืมระยะสั้น คาใชจายคางจาย ประมาณการหนี้สิน เจาหนี้จากการซื้อขายหลักทรัพย หนี้สินอื่น เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 162
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซเชียล กรุป จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2558
2557
2558
2557
1,758,780
2,494,752
40,342
70,836
11,144,154
13,747,221
5,022
-
เงินสดรับจากดอกเบี้ยของเงินลงทุน
1,577,088
1,538,885
3,982
-
เงินสดรับจากเงินปนผลจากเงินลงทุน
126,153
134,300
1,026,437
868,586
(2,296,996)
(1,787,472)
(144,750)
(66,551)
(23,385,041)
(11,454,403)
(155,800)
-
-
(995,647)
(1,000,000)
(1,535,992)
376
1,706
-
-
(126,725)
(214,989)
-
-
(69,314)
(61,569)
-
-
(11,271,525)
3,402,784
(224,767)
(663,121)
3,849,200
-
-
-
(48,840)
(423,569)
(48,840)
(423,569)
เงินสดรับจากการเพิ่มทุนหุนสามัญ
-
423,031
-
423,031
เงินสดรับจากการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิ
-
59,202
-
59,202
3,800,360
58,664
(48,840)
58,664
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ
(261,384)
777,673
4
1
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม
2,503,973
1,726,300
4
3
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2,242,589
2,503,973
8
4
-
-
-
-
7,264
4,559
-
-
94,531
41,257
-
-
หนี้สูญตัดบัญชี
370,383
-
-
-
การออกหุนปนผล
439,952
-
439,952
-
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนเผื่อขาย เงินสดรับจากเงินลงทุนที่จะถือจนครบกําหนด
ลงทุนในเงินลงทุนเผื่อขาย ลงทุนในเงินลงทุนที่จะถือจนครบกําหนด ลงทุนในบริษัทยอย เงินสดรับจากการจําหนายอุปกรณ เงินสดจายซื้อสวนปรับปรุงอาคารเชาและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกูยืมระยะยาว จายเงินปนผล
เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระแสเงินสด รายการที่ไมเกี่ยวของกับเงินสด การซื้อทรัพยสินโดยการกอหนี้สิน รับโอนทรัพยสินรอการขายจากลูกหนี้เพื่อชําระหนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
163
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 1.
ข้อมูลบริษทั ฯ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหำชนจำกัดตำมกฎหมำยไทยและ ประกอบธุ ร กิ จ กำรลงทุ น ในประเทศไทย โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ป็ น บริ ษั ท แม่ ข องกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทำงกำรเงิ น และ เป็ น บริษัทจดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทฯมีที่อยู่ตำมที่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 1 อำคำรคิวเฮ้ำส์ ลุมพินี ชั้น 5 ถนนสำทรใต้ แขวงทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 บริษัทฯ มีผู้ถือหุ้นใหญ่ 3 รำย ซึ่งได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) และ คุณเพียงใจ หำญพำณิชย์ โดยมีสัดส่วนกำรถือหุ้นในบริษัทฯในอัตรำร้อยละ 33.98 ร้อยละ 21.34 และร้อยละ 16.20 ตำมลำดับ (31 ธันวำคม 2557: บริษัทฯมีผู้ถือหุ้นใหญ่ 3 รำย ซึ่งได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริ ษั ท ควอลิ ตี้ เฮ้ ำส์ จ ำกั ด (มหำชน) และคุ ณเพี ยงใจ หำญพำณิ ช ย์ โดยมี สั ด ส่ ว นกำรถื อ หุ้ น ในบริ ษั ท ฯ ในอัตรำร้อยละ 34.12 ร้อยละ 21.43 และร้อยละ16.55 ตำมลำดับ)
2.
เกณฑ์ในกำรจัดทำงบกำรเงิน
2.1
เกณฑ์ในกำรจัดทำงบกำรเงิน งบกำรเงินนี้จัดทำขึ้นตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่กำหนดในพระรำชบั ญญัติวิชำชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และ อ้ำงอิงตำมหลักเกณฑ์ที่กำหนดโดยธนำคำรแห่ งประเทศไทย (“ธปท.”) และกำรแสดงรำยกำรในงบกำรเงิ นนี้ได้ทำขึ้น เพื่อให้เป็นไปตำมประกำศ ธปท. ที่ สนส. 21/2558 เรื่อง กำรจัดทำและกำรประกำศงบกำรเงินของธนำคำรพำณิชย์และ บริษัท โฮลดิ้งที่เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงิน ลงวันที่ 4 ธันวำคม 2558 งบกำรเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์รำคำทุนเดิมเว้นแต่ จ ะได้เ ปิด เผยเป็น อย่ำ งอื่น ในหมำยเหตุป ระกอบงบกำรเงิน ข้อที่ 4 เรื่องสรุปนโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญ งบกำรเงินฉบับภำษำไทยเป็นงบกำรเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทำงกำรตำมกฎหมำย งบกำรเงินฉบับภำษำอังกฤษแปลมำ จำกงบกำรเงินฉบับภำษำไทยนี้
164
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
2.2
เกณฑ์ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวม (ก)
งบกำรเงินรวมนี้ได้จัดทำขึ้นโดยรวมงบกำรเงินของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย ดังต่อไปนี้ อัตรำร้อยละของ กำรถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม ชื่อบริษัท
ลักษณะธุรกิจ
บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยตรงโดยบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) ธุรกิจกำรธนำคำร บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด ธุรกิจหลักทรัพย์ (มหำชน) บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยอ้อมผ่ำนบริษัทย่อย บริษัทหลักทรัพย์จัดกำรกองทุน แลนด์ แอนด์ ธุรกิจหลักทรัพย์ เฮ้ำส์ จำกัด ประเภทจัดกำร กองทุน บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ แอดไวเซอรี่ จำกัด ธุรกิจให้คำปรึกษำ ทำงกำรเงิน (หยุดดำเนิน ธุรกิจชั่วครำว)
ร้อยละของสินทรัพย์ที่รวมอยู่ ร้อยละของรำยได้ที่รวมอยู่ ในสินทรัพย์รวม ณ วันที่ ในรำยได้รวมสำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวำคม วันที่ 31 ธันวำคม
2558
2557
2558
2557
2558
2557
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
99.99 99.80
99.99 99.80
99.01 0.52
99.45 0.13
97.28 0.97
98.38 0.07
99.99
99.99
0.16
0.15
1.45
1.24
99.99
99.99
-
-
-
-
เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกำยน 2556 บริษัทฯได้เข้ำทำสัญญำซื้อขำยหุ้นบริษัทหลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด (มหำชน) (“บริษัทหลักทรัพย์”) จำก CIMB Securities International Pte. Ltd. และผู้ถือหุ้นอื่น ในกลุ่ม รวมทั้งสิ้น 635,900,646 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 99.79 ของทุนออกจำหน่ำยและชำระแล้วในรำคำรวม 1,035.95 ล้ ำ นบำท โดยสั ญ ญำซื้ อ ขำยดั ง กล่ ำ วมี ผ ลบั ง คั บ เมื่ อ บริ ษั ท ฯได้ รั บ ควำมเห็ น ชอบจำกส ำนั ก งำน คณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ (“ก.ล.ต.”) และธนำคำรแห่งประเทศไทย (“ธปท.”) โดยเมื่อ วันที่ 15 มกรำคม 2557 บริษัทฯ ได้รับควำมเห็นชอบจำก ก.ล.ต. และ ธปท. และบริษัทฯได้จ่ำยชำระค่ำหุ้นแล้ว ในวันที่ 22 มกรำคม 2557 และ 24 มกรำคม 2557 และต่อมำภำยหลังกำรเข้ำถือหุ้น วันที่ 17 เมษำยน 2557 บริษัทฯ ได้จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อบริษัทหลักทรัพย์ดังกล่ำวเป็น “บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน)” บริษัทหลักทรัพย์ถือหุ้นในบริษัท ซีไอเอ็มบี แอ็ดไวเซอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด ในอัตรำร้อยละ 99.99 ทำให้บริษัท ซีไอเอ็มบี แอ็ดไวเซอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด เป็นบริษัทย่อยในกลุ่มด้วย ซึ่งต่อมำได้ จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ แอดไวเซอรี่ จำกัด เมื่อวันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2557 จำกกำรซื้อหุ้นในบริษัทหลักทรัพย์ บริษัทฯได้มีกำรประมำณมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินแต่ละรำยกำร ของบริษัทหลักทรัพย์ดังกล่ำว ผลต่ำงของต้นทุนกำรซื้อธุรกิจและมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สิน จำนวน 80 ล้ำนบำท ได้รับรู้เป็นส่วนหนึ่งของรำยกำรสินทรัพย์ไม่มีตัวตนในงบกำรเงินรวม
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
165
2.3
(ข)
บริษัทฯจะถือว่ำมีกำรควบคุมกิจกำรที่เข้ำไปลงทุนหรือบริษัทย่อยได้ หำกบริษัทฯมีสิทธิได้รับหรือมีส่วนได้เสีย ในผลตอบแทนของกิ จ กำรที่ เ ข้ ำ ไปลงทุ น และสำมำรถใช้ อ ำนำจในกำรสั่ ง ให้ ท ำกิ จ กรรมที่ ส่ ง ผลกระทบ อย่ำงมีนัยสำคัญต่อจำนวนเงินผลตอบแทนนั้นได้
(ค)
บริษัทฯนำงบกำรเงินของบริษัทย่อยมำรวมในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมตั้งแต่วันที่บริษัทฯมีอำนำจในกำรควบคุม บริษัทย่อยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดกำรควบคุมบริษัทย่อยนั้น
(ง)
งบกำรเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำขึ้นโดยมีรอบระยะเวลำบัญชีและใช้นโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญเช่นเดียวกันกับของ บริษัทฯ
(จ)
ยอดคงค้ำงและรำยกำรค้ำระหว่ำงกันที่มีสำระสำคัญได้ถูกตัดออกจำกงบกำรเงินรวมนี้แล้ว เงินลงทุนในบริษัทย่อย ในบัญชีของบริษัทฯได้ตัดกับส่วนของเจ้ำของของบริษัทย่อยแล้ว
(ฉ)
ส่วนของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำนำจควบคุม คือ จำนวนกำไรหรือขำดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรำยกำรแยกต่ำงหำกในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวมและส่วนของเจ้ำของ ในงบแสดงฐำนะกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริษัทฯ จัดทำงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยตำมวิธีรำคำทุน
3.
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับใหม่และฉบับปรับปรุง
3.1
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เริ่มมีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน บริ ษั ทฯและบริ ษัทย่ อยได้ น ำมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ นฉบั บใหม่ และฉบั บปรั บปรุ ง (ปรั บปรุ ง 2557) ที่ อ อกโดย สภำวิชำชีพบัญชี ซึ่งมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกรำคม 2558 เป็นต้นไป มำถือปฏิบัติ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินดังกล่ำวได้รับกำรปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหำเท่ำเทียมกับมำตรฐำนกำร รำยงำนทำงกำรเงินระหว่ำงประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นกำรปรับปรุงถ้อยคำและคำศัพท์ กำรตีควำมและกำรให้ แนวปฏิบัติ ทำงกำรบัญชีกับผู้ใช้มำตรฐำน กำรนำมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินดังกล่ำวมำถือปฏิบัตินี้ไม่มีผลกระทบอย่ำงเป็น สำระสำคัญต่องบกำรเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย อย่ำงไรก็ตำม มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินตำมที่กล่ำวข้ำงต้น บำงฉบับมีกำรเปลี่ยนแปลงหลักกำรสำคัญ ซึ่งสำมำรถสรุปได้ดังนี้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงำน มำตรฐำนกำรบั ญ ชี ฉ บั บ ปรั บ ปรุ ง นี้ ก ำหนดให้ กิ จ กำรต้ อ งรั บ รู้ ร ำยกำรก ำไรขำดทุ น จำกกำรประมำณกำ ร ตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัยทันทีในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในขณะที่มำตรฐำนฉบับเดิมอนุญำตให้กิจกำรเลือกรับรู้ รำยกำรดังกล่ำวทันทีในกำไรหรือขำดทุน หรือในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือทยอยรับรู้ในกำไรหรือขำดทุนก็ได้
166
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
มำตรฐำนฉบับปรับปรุงดังกล่ ำวไม่มีผลกระทบต่องบกำรเงินนี้เนื่องจำกบริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้รำยกำรกำไรขำดทุน จำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัยทันทีในส่วนของกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่นอยู่แต่เดิมแล้ว มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบกำรเงินรวม มำตรฐำนฉบับนี้กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกำรจัดทำงบกำรเงินรวม โดยใช้แทนเนื้อหำเกี่ยวกับกำรบัญชีสำหรับงบกำรเงินรวม ที่เดิมกำหนดอยู่ในมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 27 เรื่อง งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร มำตรฐำนฉบับนี้ เปลี่ยนแปลงหลักกำรเกี่ยวกับกำรพิจำรณำว่ำผู้ลงทุนมีอำนำจควบคุมหรือไม่ กล่ำวคือ ภำยใต้มำตรฐำนฉบับนี้ผู้ลงทุน จะถือว่ำตนควบคุมกิจกำรที่เข้ำไปลงทุนได้ หำกตนมีสิทธิได้รับหรือมีส่วนได้เสียในผลตอบแทนของกิจกำรที่เข้ำไปลงทุน และตนสำมำรถใช้อำนำจในกำรสั่งกำรกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อจำนวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ถึงแม้ว่ำตนจะมีสัดส่วน กำรถือหุ้นหรือสิทธิในกำรออกเสียงโดยรวมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่งก็ตำม กำรเปลี่ยนแปลงที่สำคัญนี้ส่งผลให้ฝ่ำยบริหำรต้องใช้ ดุลยพินิจอย่ำงมำกในกำรทบทวนว่ำบริษัทฯและบริษัทย่อยมีอำนำจควบคุมในกิจกำรที่เข้ำไปลงทุนหรือไม่และจะต้องนำ บริษัทใดในกลุ่มกิจกำรมำจัดทำงบกำรเงินรวมบ้ำง มำตรฐำนฉบับนี้มีกำรเปลี่ยนแปลงหลักกำรไปจำกมำตรฐำนฉบับเดิมแต่กำรเปลี่ยนแปลงดังกล่ำวไม่มีผลกระทบต่อ งบกำรเงินนี้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12 เรื่อง กำรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจกำรอื่น มำตรฐำนฉบั บ นี้ก ำหนดเรื่ อ งกำรเปิ ด เผยข้ อมู ลที่เ กี่ ยวข้ อ งกั บ ส่ว นได้ เ สี ยของกิ จ กำรในบริ ษัท ย่ อย กำรร่ วมกำรงำน บริษัทร่วม รวมถึงกิจกำรที่มีโครงสร้ำงเฉพำะตัว มำตรฐำนฉบับนี้ไม่มีผลกระทบอย่ำงเป็นสำระสำคัญต่องบกำรเงินนี้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 13 เรื่อง กำรวัดมูลค่ำยุติธรรม มำตรฐำนฉบั บนี้กำหนดแนวทำงเกี่ยวกับกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมและกำรเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวกับกำรวัดมูลค่ำยุติธรรม กล่ำวคือ หำกกิจกำรต้องวัดมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์หรือหนี้สินใดตำมข้อกำหนดของมำตรฐำนที่เกี่ยวข้องอื่น กิจกำร จะต้องวัดมูลค่ำยุติธรรมนั้นตำมหลักกำรของมำตรฐำนฉบับนี้ และใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไปในกำรรับรู้ผลกระทบจำกกำร เริ่มใช้มำตรฐำนนี้ มำตรฐำนฉบับนี้ไม่มีผลกระทบอย่ำงเป็นสำระสำคัญต่องบกำรเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
167
3.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับในอนาคต ในระหวางปปจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศใชมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2558) และ ฉบับใหม รวมถึงแนวปฏิบัติทางบัญชี จํานวนหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใชสําหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เปนตนไป มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวไดรับการปรับปรุงหรือจัดใหมีขึ้น เพื่อใหมีเนื้อหาเทาเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ ฝายบริหารของบริษัทฯและบริษัทยอยเชื่อวา มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรั บปรุ งและฉบั บใหม รวมถึงแนวปฏิ บั ติทางบั ญชี ดังกลา วจะไมมีผลกระทบ อยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินเมื่อนํามาถือปฏิบัติ
4.
สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ
4.1
การรับรูรายได (ก)
ดอกเบี้ยและสวนลดรับจากเงินใหสินเชื่อและเงินใหกูยืม ธุรกิจธนาคาร บริษัทยอยที่ประกอบธุรกิจธนาคารรับรูรายไดดอกเบี้ยและสวนลดรับจากเงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้ตามเกณฑคงคาง จากยอดเงินตนที่คางชําระ โดยจะหยุดรับรูรายไดดอกเบี้ยตามเกณฑคงคางสําหรับ (ก) เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้ ที่ผิดนัดชําระเงินตนหรือดอกเบี้ยเกินกําหนดสามเดือนนับจากวันครบกําหนดชําระ (ข) เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้ ที่คางชําระไมเกินสามเดือน แตถูกจัดชั้นเปนสินทรัพยจัดชั้นต่ํากวามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ หรือ (ค) เงินใหสินเชื่อ แกลูกหนี้ แฟคตอริ่ง ที่ผิดนัดชํ า ระนับแตวัน ที่ครบกําหนด โดยจะรับ รู เ ปน รายไดตามเกณฑเ งิ นสด และจะกลั บ รายการดอกเบี้ยคางรับจากสินเชื่อที่ผิดนัดชําระดังกลาวที่ไดบันทึกบัญชีเปนรายไดแลวนั้นออกจากบัญชี เพื่อให เปนไปตามขอกําหนดของ ธปท. การบันทึกรายไดดอกเบี้ยรับหลังจากนั้นจะบันทึกตามเกณฑเงินสดจนกวาจะไดรับ ชําระหนี้ที่คางเกินกําหนดชําระดังกลาวแลว บริษัทยอยรับรูรายไดดอกเบี้ยจากสัญญาเชาซื้อโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ตามระยะเวลาของสัญญาเชาซื้อ บริษัทยอยจะหยุดรับรูรายไดเมื่อลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อผิดนัดและคางชําระคางวดเกินกวาสามเดือนขึ้นไปนับจาก วันครบกําหนดชําระ และจะกลับรายการรายไดรอตัดบัญชีที่ไดบนั ทึกเปนรายไดแลวนั้นออกจากบัญชี บริษัทยอยรับรูรายไดดอกเบี้ยสําหรับลูกหนี้ภายหลังการปรับโครงสรางหนี้ใหมตามเกณฑคงคางเชนเดียวกั บ เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้ที่กลาวขางตน ยกเวนหนี้ตามสัญญาปรับโครงสรางหนี้ที่อยูระหวางการติดตามผลการปฏิบัติ ตามเงื่อนไขการปรั บโครงสรา งหนี้ใหม ซึ่ งจะรั บ รูร ายไดตามเกณฑ เ งิ นสดจนกว า ลู กหนี้ จ ะปฏิบั ติตามเงื่ อ นไข การปรับโครงสรางหนี้ติดตอกันไมนอยกวาสามเดือนหรือสามงวดการชําระเงินแลวแตระยะเวลาใดจะนานกวา ในกรณีที่ดอกเบี้ยหรือสวนลดไดคิดรวมอยูในตั๋วเงินหรือเงินใหสินเชื่อแลว ดอกเบี้ยหรือสวนลดดังกลาวจะบันทึก เป น รายได ร อตั ด บั ญ ชี แ ละตั ด จํ า หน า ยเป น รายได เ ฉลี่ ย เท า ๆ กั น ตลอดอายุ ข องตั๋ ว เงิ น หรื อ ระยะเวลาของ เงินใหสินเชื่อนั้น
168
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ธุรกิจหลักทรัพย์ ดอกเบี้ยรับรูเ้ ป็นรำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำงซึ่งคำนวณตำมระยะเวลำของเงินให้กู้ยืม เว้นแต่มีควำมไม่แน่นอนในกำร เรียกเก็บเงินต้นและดอกเบี้ย บริษัทย่อยจึงหยุดรับรู้รำยได้ดอกเบี้ยดังกล่ำวตำมเกณฑ์คงค้ำง กรณีดังต่อไปนี้ถือว่ำมีควำมไม่แน่นอนในกำรเรียกเก็บเงินต้นและดอกเบี้ย (1)
ลูกหนี้ทั่วไปที่มีหลักประกันต่ำกว่ำมูลหนี้
(2)
ลู ก หนี้ ผ่ อ นช ำระรำยที่ มี ง วดกำรช ำระเงิ น ไม่ เ กิ น ทุ ก สำมเดื อ น ซึ่ ง ค้ ำ งช ำระเงิ น ต้ น หรื อ ดอกเบี้ ย ตั้งแต่สำมเดือนขึ้นไป
(3)
ลู ก หนี้ ผ่ อ นช ำระรำยที่ มี ง วดกำรช ำระเงิ น เกิ น กว่ ำ ทุ ก สำมเดื อ น เว้ น แต่ มี ห ลั ก ฐำนที่ ชั ด เจนและ มีควำมเป็นไปได้ค่อนข้ำงแน่ที่บริษัทย่อยจะได้รับชำระหนี้ทั้งหมด
(4)
ลูกหนี้สถำบันกำรเงินที่มีปัญหำ
(5)
ลูกหนี้อื่นที่ค้ำงชำระดอกเบี้ยตั้งแต่สำมเดือนขึ้นไป
เงื่ อ นไขดั ง กล่ ำ วข้ ำ งต้ น เป็ น ไปตำมหลั ก เกณฑ์ ที่ ก ำหนดโดยสำนั ก งำนคณะกรรมกำรก ำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลำดหลักทรัพย์ ตำมหนังสือที่ กธ. 5/2544 ลงวันที่ 15 กุมภำพันธ์ 2544 (ข)
ค่ำธรรมเนียมและบริกำร ค่ ำ ธรรมเนี ย มและบริ ก ำรรั บ รู้ เ ป็ น รำยได้ ต ำ มเกณฑ์ ค งค้ ำ ง โดยพิ จ ำรณำถึ ง ขั้ น ควำมส ำเร็ จ ของงำน รำยได้ ค่ ำ ธรรมเนี ย มกำรจั ด กำรและค่ ำ ธรรมเนี ย มนำยทะเบี ย นกองทุ น รั บ รู้ เ ป็ น รำยได้ ต ำมเกณฑ์ ค งค้ ำ ง โดยคิ ด เป็ น อั ต รำร้ อ ยละของมู ลค่ ำ สิ น ทรั พ ย์ สุท ธิ ข องกองทุ น ที่ บ ริ ษั ท ย่ อ ยบริ ห ำรจั ด กำรหรื อ ตำมอั ต รำที่ ร ะบุ ไว้ในสัญญำ
(ค) ค่ำนำยหน้ำ บริ ษัท ย่ อยรั บรู้ ค่ำ นำยหน้ำ จำกกำรเป็ นนำยหน้ ำซื้ อขำยหลั กทรัพ ย์ และสัญ ญำซื้ อขำยล่ วงหน้ำ ถื อเป็น รำยได้ ณ วันที่เกิดรำยกำร (ง)
กำไร (ขำดทุน) จำกเงินลงทุน กำไร (ขำดทุน) จำกเงินลงทุนรับรูเ้ ป็นรำยได้หรือค่ำใช้จ่ำย ณ วันที่เกิดรำยกำร
(จ)
ดอกเบี้ยและเงินปันผล ดอกเบี้ยรับรับรู้ เป็นรำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำง โดยคำนึงถึงอัตรำผลตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับรู้เป็นรำยได้ เมื่อสิทธิในกำรรับเงินปันผลเกิดขึ้น
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
169
4.2
กำรรับรู้ค่ำใช้จ่ำย (ก)
ดอกเบี้ยจ่ำย ดอกเบี้ยจ่ำยรับรู้เป็นค่ำใช้จ่ำยตำมเกณฑ์คงค้ำง ในกรณีที่ดอกเบี้ยได้คิดรวมอยู่ในตั๋วเงินจ่ำยแล้ว ดอกเบี้ยนั้นจะ บันทึกเป็นดอกเบี้ยจ่ำยรอตัดบัญชีและจะตัดจำหน่ำยเป็นค่ำใช้จ่ำยเฉลี่ยเท่ำ ๆ กันตลอดอำยุของตั๋วเงินนั้น
(ข)
ค่ำนำยหน้ำและค่ำใช้จ่ำยทำงตรงจำกกำรให้เช่ำซื้อ ค่ำนำยหน้ำและค่ำใช้จ่ำยทำงตรงเมื่อเริ่มแรกที่เกิดขึ้นจำกกำรให้เช่ำซื้อ เช่น ค่ำนำยหน้ำ จะปันส่วนทยอยรับรู้ตำม วิธีอัตรำดอกเบี้ยที่แท้จริง โดยแสดงสุทธิจำกรำยได้ดอกเบี้ยจำกกำรให้เช่ำซื้อ
(ค)
ค่ำธรรมเนียมและบริกำรและค่ำใช้จ่ำยอื่น ค่ำธรรมเนียมและบริกำรและค่ำใช้จ่ำยอื่นรับรูเ้ ป็นค่ำใช้จ่ำยตำมเกณฑ์คงค้ำง
4.3
กำรรับรู้และตัดบัญชีสินทรัพย์ของลูกค้ำ บริษัทย่อยบันทึกเงินที่ลูกค้ำวำงไว้กับบริษัทย่อยเพื่อกำรซื้อขำยหลักทรัพย์บัญชีเงินสด กำรซื้อขำยหลักทรัพย์ในระบบ เครดิ ต บำลำนซ์ และกำรซื้ อ ขำยสั ญ ญำซื้ อ ขำยล่ ว งหน้ ำ เป็ น สิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิน ของบริ ษั ท ย่ อ ยเพื่ อ ประโยชน์ ข อง กำรควบคุมภำยใน และ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน บริษัทย่อยได้ตัดรำยกำรดังกล่ำวในส่วนที่ไม่มีภำระค้ำประกันออก ทั้งด้ำนสินทรัพย์และหนี้สิน โดยจะแสดงเฉพำะที่เป็นของบริษัทย่อยเท่ำนั้น
4.4
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด หมำยถึง รำยกำร “เงินสด” ที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ซึ่งประกอบไปด้วย เงินสดในมือ และเช็คระหว่ำงเรียกเก็บ
4.5
หลักทรัพย์ซื้อโดยมีสัญญำขำยคืน/หลักทรัพย์ขำยโดยมีสัญญำซื้อคืน บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำรมีกำรทำสัญญำซื้อหลักทรัพย์โดยมีสัญญำขำยคืนหรือมีกำรทำสัญญำขำยหลักทรัพย์ โดยมีสัญญำซื้อคืนโดยมีกำรกำหนดวันเวลำ และรำคำที่แน่นอนในอนำคต จำนวนเงินที่จ่ำยสำหรับหลักทรัพย์ซื้อโดยมี สัญญำขำยคืนในอนำคตแสดงเป็นสินทรัพย์ภำยใต้บัญชี “รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน” ด้ำนสินทรัพย์ในงบแสดง ฐำนะกำรเงิน โดยหลักทรัพย์ภำยใต้สัญญำขำยคืนถือเป็นหลักประกัน ในขณะที่หลักทรัพย์ขำยโดยมีสัญญำซื้อคืนในอนำคต แสดงเป็นหนี้สินภำยใต้บัญชี “รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน” ด้ำนหนี้สินในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ด้วยจำนวนเงินที่ ได้รับมำจำกกำรขำยหลักทรัพย์ดังกล่ำว โดยหลักทรัพย์ภำยใต้สัญญำซื้อคืนถือเป็นหลักประกัน ผลต่ำงระหว่ำงรำคำซื้อและรำคำขำยจะถูกรับรู้ตำมระยะเวลำของรำยกำรซึ่งแสดงรวมอยู่ในดอกเบี้ยรับ หรือดอกเบี้ยจ่ำย แล้วแต่กรณี
170
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
4.6
เงินลงทุน เงินลงทุนเพื่อคาแสดงตามมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนดังกลาวจะรับรูเปนรายไดหรือ คาใชจายในสวนของกําไรหรือขาดทุน เงินลงทุนเผื่อขายแสดงตามมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนดังกลาวบันทึกในสวนของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และจะบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลังเมื่อไดจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป เงินลงทุนที่จะถือจนครบกําหนดแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุนตัดจําหนายและหักดวยคาเผื่อการดอยคา (ถามี) บริษัทยอย ตัดบัญชีสวนเกิน/รับรูสวนต่ํากวามูลคาตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ซึ่งจํานวนที่ตัดจําหนายนี้จะแสดงเปน รายการปรับกับรายไดดอกเบี้ย เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไมอยูในความตองการของตลาดจัดประเภทเปนเงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิจาก คาเผื่อการดอยคา (ถามี) มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยในความตองการของตลาดคํานวณจากราคาเสนอซื้อครั้งสุดทาย ณ สิ้นวันทําการสุดทาย ของรอบระยะเวลารายงานของตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย มู ล ค า ยุ ติ ธ รรมของตราสารหนี้ คํ า นวณโดยใช อั ต ราผลตอบแทนที่ ป ระกาศโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ ไ ทย และมู ล ค า ยุ ติ ธ รรมของหน ว ยลงทุ น ที่ มิ ใ ช ห ลั ก ทรั พ ย จดทะเบียนคํานวณจากมูลคาสินทรัพยสุทธิตอหนวยของกองทุน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกขาดทุนจากการดอยคา (ถามี) ของเงินลงทุนในสวนของกําไรหรือขาดทุน ในกรณีที่มีการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนจากประเภทหนึ่งไปอีกประเภทหนึ่ง บริษัทฯและบริษัทยอยจะปรับมูลคา ของเงิ นลงทุ นดั งกล าวใหม โดยใช มู ลค ายุ ติ ธรรม ณ วั นที่ โอนเปลี่ ยนประเภท ผลแตกต า งระหว า งราคาตามบั ญ ชี แ ละ มูลคายุติธรรม ณ วันที่โอนจะบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น แลวแตประเภทของเงินลงทุน ที่มีการโอนเปลี่ยน บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย อ ยบั น ทึ ก รายการซื้ อ ขายเงิ น ลงทุ น ณ วั น ที่ เ กิ ด รายการ เมื่ อ มีก ารขายเงิ น ลงทุ น ผลต า งระหว า ง สิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับกับมูลคาตนทุนของเงินลงทุนจะถูกบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุน บริษัทฯและบริษัทยอยใช วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุนเมื่อมีการขาย
4.7
เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอยที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อการดอยคา (ถามี)
4.8
เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้ ธุรกิจธนาคาร เงิน ใหสิน เชื่อ แกลูก หนี้แ สดงเฉพาะยอดเงิน ตน ไม ร วมดอกเบี้ ย ค า งรั บ ยกเว น เงิ น เบิ ก เกิ น บั ญ ชี แ สดงด ว ยยอดเงิ น ต น รวมดอกเบี้ย รายไดรอตัดบัญชีและสวนลดรับลวงหนาของเงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้ที่ยังไมรับรูเปนรายไดแสดงเปนรายการหัก จากเงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
171
ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำซื้อแสดงมูลค่ำตำมสัญญำเช่ำซื้อคงค้ำงสุทธิจำกยอดคงเหลือของรำยได้ทำงกำรเงินที่ยังไม่ถือเป็น รำยได้ ซึ่งแสดงสุทธิจำกค่ำใช้จ่ำยทำงตรงที่เกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรกจำกกำรให้เช่ำซื้อรอตัดบัญชี ธุรกิจหลักทรัพย์ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ หมำยถึง ยอดสุทธิลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และลูกหนี้สัญญำซื้อขำย ล่วงหน้ำบวกดอกเบี้ยค้ำงรับและหักค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ทั้งนี้ลูกหนี้ธุ รกิจหลักทรัพย์ หมำยถึง ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์โดยใช้หลักทรัพย์ที่ซื้อนั้นมำวำงเป็นประกัน ลูกหนี้ทรัพย์สินวำงประกัน อันได้แก่ เงินที่นำไปวำงเป็นประกันกับเจ้ำหนี้หุ้นยืมหรือศูนย์รับฝำกหลักทรัพย์ และลูกหนี้ อื่น อันได้แก่ ลูกหนี้ซื้อหลักทรัพย์ด้ วยเงินสดที่ไม่สำมำรถชำระเงินได้ภำยในระยะเวลำที่กำหนด และลูกหนี้ที่อยู่ระหว่ำง ดำเนินคดี ประนอมหนี้หรือผ่อนชำระ เป็นต้น แต่ไม่รวมลูกหนี้ที่ซื้อขำยหลักทรัพย์ด้วยเงินสด 4.9
ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ธุรกิจธนำคำร บริษัทย่อยตั้งค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ตำมหลักเกณฑ์ที่กำหนดโดย ธปท. โดยใช้อัตรำร้อยละขั้นต่ำ ตำมที่กำหนดโดย ธปท. ตำมกำรจัดชั้นลูกหนี้ดังต่อไปนี้ สำหรับลูกหนี้จัดชั้นปกติ (รวมลูกหนี้ที่ผ่ำนกำรปรับโครงสร้ำงหนี้) และลูกหนี้จัดชั้นกล่ำวถึงเป็นพิเศษ อัตรำร้อยละขั้นต่ำ ตำมที่กำหนดโดย ธปท. ได้แก่ อัตรำร้อยละ 1 และ 2 ตำมลำดับ ของยอดหนี้เงินต้นคงค้ำงสุทธิจำกรำยได้รอตัดบัญชี (ไม่รวมดอกเบี้ยค้ำงรับ) หลังหักมูลค่ำหลักประกันที่คำนวณตำมหลักเกณฑ์ที่กำหนดโดย ธปท. สำหรับลูกหนี้ด้อยคุณภำพ ซึ่งได้แก่ เงินให้สินเชื่อจัดชั้นต่ำกว่ำมำตรฐำน จั ดชั้นสงสัย และจัดชั้นสงสัยจะสูญ อัตรำขั้นต่ำ ตำมที่ ก ำหนดโดย ธปท. ได้ แ ก่ อั ต รำร้ อ ยละ 100 ส ำหรั บ ส่ ว นของยอดมู ลหนี้ ต ำมบั ญ ชี ที่ สู ง กว่ ำ มู ล ค่ ำ ปั จ จุ บั น ของ กระแสเงินสดที่คำดว่ำจะได้รับจำกลูกหนี้หรือมูลค่ำปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรจำหน่ำยหลักประกัน ทั้งนี้ อัตรำดอกเบี้ยคิดลด และระยะเวลำที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรจำหน่ำยหลักประกันที่ใช้ในกำรคำนวณมูลค่ำปัจจุบัน เป็นไปตำมหลักเกณฑ์ที่กำหนดโดย ธปท. นอกจำกนั้นแล้ว บริษัทย่อยตั้งค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มเติมจำกเกณฑ์ขั้นต่ำดังกล่ำวข้ำงต้นด้วยจำนวนเงินที่ คำดว่ำจะ เรียกเก็บจำกลูกหนี้ไม่ได้ โดยประเมินจำกควำมน่ำจะเป็นในกำรที่ลูกหนี้จะผิดนัดชำระ และส่วนสูญเสียที่อำจเกิดขึ้นหำก ลูกหนี้ผิดนัดชำระ ทั้งนี้กำรประเมินดังกล่ำวครอบคลุมถึงประสบกำรณ์ในกำรเรียกชำระจำกลูกหนี้ ประสบกำรณ์ในกำร ผิดนัดชำระหนี้ของลูกหนี้ และมูลค่ำหลักประกันประกอบในกำรพิจำรณำ ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ตั้งเพิ่ม (ลด) บันทึกบัญชีรับรู้เป็นค่ำเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ โดยถือเป็นค่ำใช้จ่ำยในแต่ละปี กำรตั ดจ ำหน่ำ ยลู ก หนี้ เ ป็ นหนี้ สูญ จะน ำไปลดค่ ำเผื่ อ หนี้ สงสั ยจะสู ญ ส่ ว นหนี้ สูญ ที่ได้ รั บ คืน จะบัน ทึ ก เป็ น รำยได้ ใ นปี ทีไ่ ด้รับคืน
172
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ธุรกิจหลักทรัพย์ บริษัทย่อยตั้งค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยกำรประเมินฐำนะของลูกหนี้แต่ละรำยโดยพิจำรณำควำมเสี่ยงในกำรเรียกชำระและ มูลค่ำของหลักทรัพย์ที่ใช้ค้ำประกัน และตั้งค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเมื่อหนี้นั้นมีหลักประกันไม่เพียงพอและ/หรือมีโอกำส ที่ได้รับชำระคืนไม่ครบ ทั้งนี้บริษัทย่อยถือพื้นฐำนกำรจัดชั้นหนี้และกำรตั้งสำรองตำมหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก)
(ข)
(ค)
มูลหนี้จัดชั้นสูญ หมำยถึง (1)
มูลหนี้ของลูกหนี้ที่ได้ติดตำมทวงถำมจนถึงที่สุดแล้ว แต่ไม่ได้รับกำรชำระหนี้ และบริษัทย่อยได้ดำเนินกำร จำหน่ำยหนี้สูญจำกบัญชีลูกหนี้ตำมกฎหมำยภำษีอำกรแล้ว
(2)
มูลหนี้ส่วนที่บริษัทย่อยได้ทำสัญญำปลดหนี้ให้
มูลหนี้จัดชั้นสงสัย หมำยถึง มูลหนี้เฉพำะส่วนที่สูงเกินกว่ำหลักประกันของลูกหนี้ที่เข้ำลักษณะดังนี้ (1)
ลูกหนี้ทั่วไป ลูกหนี้สถำบันกำรเงินที่มีปัญหำและลูกหนี้อื่นที่มีหลักประกันต่ำกว่ำมูลหนี้
(2)
ลูกหนี้ผ่อนชำระรำยที่มีงวดกำรชำระเงินไม่เกินทุกสำมเดือน ซึ่งค้ำงชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยตั้งแต่สำมเดือน ขึ้นไป
(3)
ลูกหนี้ผ่อนชำระรำยที่มีงวดกำรชำระเงินเกินกว่ำทุกสำมเดือน เว้นแต่มีหลักฐำนที่ชัดเจนและมีควำมเป็นไป ได้ค่อนข้ำงแน่ที่บริษัทย่อยจะได้รับชำระหนี้ทั้งหมด
มูลหนี้จัดชั้นต่ำกว่ำมำตรฐำน หมำยถึง มูลหนี้ส่วนที่ไม่สูงเกินกว่ำหลักประกันของลูกหนี้ที่เข้ำลักษณะตำม (ข)
โดยบริษัทย่อยตัดจำหน่ำยลูกหนี้จัดชั้นสูญออกจำกบัญชีเมื่อมีรำยกำร และตั้งค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตรำไม่ต่ำกว่ำ ร้อยละหนึ่งร้อยของมูลหนี้จัดชั้นสงสัยทั้งจำนวน ซึ่งเงื่อนไขดังกล่ำวข้ำงต้นเป็นไปตำมหลักเกณฑ์ที่กำหนดโดยสำนักงำน คณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ ตำมหนังสือที่ กธ. 33/2543 ลงวันที่ 25 สิงหำคม 2543 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมตำมหนังสือที่ กธ. 5/2544 ลงวันที่ 15 กุมภำพันธ์ 2544 ในกรณีที่บริษัทย่อยได้รับเงินคืนจำกลูกหนี้ที่ได้จำหน่ำยหนี้สูญไปแล้ว บริษัทย่อยจะบันทึกหนี้สูญได้รับคืนเป็นรำยได้ในปี ที่รับคืน 4.10 กำรปรับโครงสร้ำงหนี้ที่มีปัญหำและส่วนสูญเสียจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำรบันทึกรำยกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ที่มีปัญหำตำมหลักเกณฑ์ของ ธปท. โดยในกรณีกำรปรับโครงสร้ำงหนี้โดยกำรเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในกำรชำระหนี้ บริษัทย่อยจะคำนวณหำมูลค่ำปัจจุบันของ กระแสเงิ น สดที่ ค ำดว่ ำ จะได้ รั บ ช ำระหนี้ ใ นอนำคตตำมเงื่ อ นไขในสั ญ ญำปรั บ โครงสร้ ำ งหนี้ ข องลู ก หนี้ คิ ด ลด ด้วยอัตรำดอกเบี้ยตำมสัญญำเดิม และสำหรับกรณีกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ผ่ำนกระบวนกำรในชั้นศำล บริษัทย่อยจะคิดลด กระแสเงินสดจำกกำรจำหน่ำยหลักประกั นหรือกระแสเงิ นสดที่คำดว่ำจะได้รับชำระหนี้ในอนำคตด้ วยอัตรำดอกเบี้ ย ตำมสัญญำเดิม ส่วนของภำระหนี้คงค้ำงตำมบัญชีของลูกหนี้ที่สูงกว่ำมูลค่ำปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะได้รับ ในอนำคต จะถูกบันทึกเป็นค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ และถือเป็นค่ำใช้จ่ำยทั้งจำนวนในส่วนของกำไร หรือขำดทุน ณ วันที่มีกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ (เฉพำะส่วนของค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ที่คำนวณได้ ที่สูงกว่ำค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่มีอยู่เดิม) และภำยหลังกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ บริษัทย่อยจะทบทวนค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
173
ดังกล่ำวโดยใช้มลู ค่ำปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะได้รับตำมระยะเวลำที่เหลืออยู่ และปรับปรุงค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำ ดังกล่ำวกับบัญชีค่ำใช้จ่ำยหนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญ ในกรณีที่เป็นกำรปรับโครงสร้ำงหนี้โดยกำรรับโอนสินทรัพย์ชำระหนี้และ/หรือแปลงหนี้เป็นทุน บริษัทย่อยรับรู้ขำดทุนจำก กำรปรับโครงสร้ำงหนี้ในส่วนของกำไรหรือขำดทุนด้วยผลต่ำงของภำระหนี้คงค้ำงตำมบัญชีของลูกหนี้กับมูลค่ำยุติธรรมของ สินทรัพย์และ/หรือเงินลงทุนที่รับโอน (หลังจำกหักด้วยประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย) ทั้งนี้ สินทรัพย์ที่ได้รับโอนมำ จะบันทึกด้วยจำนวนที่ไม่สูงกว่ำยอดคงค้ำงตำมบัญชีของลูกหนี้บวกด้วยดอกเบี้ยที่บริษัทย่อยมีสิทธิ ได้รับตำมกฎหมำย ที่ยังไม่ได้บันทึกบัญชี ในกรณีที่เป็นกำรปรับโครงสร้ำงหนี้โดยกำรลดเงินต้นและ/หรือดอกเบี้ยค้ำงรับที่บันทึกในบัญชีจะรับรู้เป็นค่ำใช้จ่ำยทันที 4.11 ลูกหนี้/เจ้ำหนี้สำนักหักบัญชี ลูกหนี/้ เจ้ำหนี้สำนักหักบัญชี หมำยถึง ยอดดุลสุทธิลูกหนี้/เจ้ำหนี้สำนักหักบัญชีที่เกิดจำกกำรชำระรำคำซื้อขำยหลักทรัพย์ และสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ รวมถึงเงินที่ได้นำไปวำงเป็นประกันกับสำนักหักบัญชีในกำรทำธุรกรรมอนุพันธ์ 4.12 อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุน บริษัทฯบันทึกมูลค่ำเริ่มแรกของอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนในรำคำทุนซึ่งรวมต้นทุนกำรทำรำยกำรภำยหลัง จำกนั้น บริษัทฯจะบันทึกอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนด้วยรำคำทุนหักค่ำเสื่อมรำคำสะสมและค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) ค่ำเสื่อมรำคำของอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนคำนวณจำกรำคำทุนโดยวิธีเส้นตรงตำมอำยุกำรให้ประโยชน์โดยประมำณ 20 ปี ค่ำเสื่อมรำคำของอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนรับรู้เป็นค่ำใช้จ่ำยในส่วนของกำไรหรือขำดทุน บริษัทฯรับรู้ผลต่ำงระหว่ำงจำนวนเงินที่ได้รับสุทธิจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนกับมูลค่ำตำมบัญชีในส่วนของ กำไรหรือขำดทุนเมื่อบริษัทฯจำหน่ำย 4.13 ทรัพย์สินรอกำรขำย ทรัพย์สินรอกำรขำยแสดงตำมรำคำทุนหรือมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ รำคำทุน ได้แก่ มูลค่ำ ตำมบัญชีของมูลหนี้ของลูกหนี้ ณ วันที่บริษัทย่อยมีสิทธิในทรัพย์สินรอกำรขำยเพื่อรับชำระหนี้ มูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน อ้ำงอิงตำมรำคำประเมินล่ำสุดหักด้วยประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย ก ำไร (ขำดทุ น ) จำกกำรจ ำหน่ ำ ยทรั พ ย์ สิ น รอกำรขำยจะรั บ รู้ เ ป็ น รำยได้ (ค่ ำ ใช้ จ่ ำ ย) ในส่ ว นของก ำไรหรื อ ขำดทุ น เมื่อขำย ขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำจะรับรู้เป็นค่ำใช้จ่ำยในส่วนของกำไรหรือขำดทุน
174
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
4.14 ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์และค่ำเสื่อมรำคำ ที่ ดิ น แสดงมู ล ค่ ำ ตำมวิ ธี ร ำคำทุ น หั ก ค่ ำ เผื่ อ กำรด้ อ ยค่ ำ (ถ้ ำ มี ) อำคำร และอุ ป กรณ์ แ สดงมู ล ค่ ำ ตำมรำคำทุ น หักค่ำเสื่อมรำคำสะสมและค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) ค่ำเสื่อมรำคำคำนวณจำกรำคำทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตำมอำยุ กำรให้ประโยชน์โดยประมำณดังต่อไปนี้ อำคำร ส่วนปรับปรุงอำคำรเช่ำ เครื่องตกแต่งสำนักงำน เครื่องใช้สำนักงำน ยำนพำหนะ
-
20 3 และ 5 5 3 และ 5 5
ปี ปี ปี ปี ปี
ค่ำเสื่อมรำคำรับรูใ้ นส่วนของกำไรหรือขำดทุน ไม่มีกำรคิดค่ำเสื่อมรำคำสำหรับที่ดินและสินทรัพย์ระหว่ำงทำ บริษัทย่อยตัดรำยกำรที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ ออกจำกบัญชีเมื่อจำหน่ำยสินทรัพย์หรือคำดว่ำจะไม่ได้รับประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนำคตจำกกำรใช้หรือกำรจำหน่ำยสินทรัพย์ รำยกำรผลกำไรหรือขำดทุนจำกกำรจำหน่ำยจะรับรู้ในส่วน ของกำไรหรือขำดทุน เมื่อบริษัทย่อยตัดรำยกำรสินทรัพย์นั้นออกจำกบัญชี 4.15 สินทรัพย์ไม่มตี ัวตนและค่ำตัดจำหน่ำย บริษัทย่อยวัดมูลค่ำเริ่มแรกของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนด้วยรำคำทุน และภำยหลังกำรรับรู้รำยกำรครั้งแรกสินทรัพย์ไม่มีตัวตน แสดงมูลค่ำตำมรำคำทุนหักค่ำตัดจำหน่ำยสะสมและค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) บริ ษั ท ย่ อ ยตั ด จ ำหน่ ำ ยสิ น ทรั พ ย์ ไม่ มี ตั ว ตนที่ มี อ ำยุ ก ำรให้ ป ระโยชน์ จ ำกั ด อย่ ำ งมี ร ะบบตลอดอำยุ ก ำรให้ ป ระโยชน์ เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินกำรด้อยค่ำของสินทรัพย์ดังกล่ำวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่ำสินทรัพย์นั้นเกิดกำรด้อยค่ำ บริ ษัท ย่อ ยจะทบทวนระยะเวลำกำรตั ด จำหน่ ำ ยและวิธี กำรตั ด จำหน่ ำยของสิน ทรั พย์ ไม่ มี ตัว ตนดัง กล่ ำ วทุ กวั นสิ้ น ปี เป็นอย่ำงน้อย ค่ำตัดจำหน่ำยและขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำรับรู้เป็นค่ำใช้จ่ำยในส่วนของกำไรหรือขำดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอำยุกำรให้ประโยชน์จำกัด ได้แก่ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ และค่ำธรรมเนียมสมำชิก และใบอนุญำต ซึ่งมี อำยุกำรให้ ประโยชน์โดยประมำณ 5 ปี และ 10 ปี ตำมลำดั บ และไม่มี กำรคิ ดค่ ำตั ดจ ำหน่ำ ยสำหรับ คอมพิ วเตอร์ ซอฟท์แวร์ระหว่ำงพัฒนำ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอำยุกำรให้ประโยชน์ไม่ทรำบแน่นอน ได้แก่ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มำจำกกำรซื้อธุรกิจ ที่แสดงอยู่ ในงบกำรเงินรวม จะไม่มีกำรตัดจำหน่ำย แต่จะใช้วิธีกำรทดสอบกำรด้อยค่ำทุกปี ทั้งในระดับของแต่ละสินทรัพย์และใน ระดับของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
175
4.16 กำรด้อยค่ำของสินทรัพย์ ทุกวั นสิ้น รอบระยะเวลำรำยงำน บริษั ทฯและบริษัท ย่อยจะทำกำรประเมินกำรด้ อยค่ ำของสิน ทรัพ ย์หำกมีข้ อบ่ง ชี้ว่ ำ สินทรัพย์ดังกล่ำวอำจด้อยค่ำ บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ ในส่วนของกำไรหรือขำดทุน เมื่อมูลค่ำ ที่คำดว่ำจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่ำต่ำกว่ำมูลค่ำตำมบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนหมำยถึง มูลค่ำยุติธรรมหักต้นทุนในกำรขำยของสินทรัพย์หรือมูลค่ำจำกกำรใช้สินทรัพย์แล้วแต่รำคำใดจะสูงกว่ำ ในกำรประเมินมูลค่ำจำกกำรใช้สินทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยประมำณกำรกระแสเงินสดในอนำคตที่คำดว่ำจะได้รับจำก สินทรัพย์และคำนวณคิดลดเป็นมูลค่ำปัจจุบันโดยใช้อัตรำคิ ดลดก่อนภำษีที่สะท้อนถึงกำรประเมินควำมเสี่ยงในสภำพ ตลำดปัจจุบันของเงินสดตำมระยะเวลำและควำมเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพำะของสินทรัพย์ที่กำลังพิจำรณำอยู่ ในกำร ประเมินมูลค่ำยุติธรรมหักต้นทุนในกำรขำย บริษัทฯและบริษัทย่อยประเมินมูลค่ำซึ่งสะท้อนถึงจำนวนเงินที่ได้มำจำกกำร จ ำหน่ ำ ยสิ น ทรั พ ย์ หั ก ด้ ว ยต้ น ทุ น ในกำรจ ำหน่ ำ ย โดยกำรจ ำหน่ ำ ยนั้ น ผู้ ซื้ อ กั บ ผู้ ข ำยมี ค วำมรอบรู้ แ ละเต็ ม ใจในกำร แลกเปลี่ยนและสำมำรถต่อรองรำคำกันได้อย่ำงเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีควำมเกี่ยวข้องกัน 4.17 เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ หมำยถึง ภำระของบริษัทย่อยจำกกำรประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ และ ธุรกิจสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำที่มีต่อบุคคลภำยนอก เช่น ยอดดุลสุทธิเจ้ำหนี้ลูกค้ำทีซ่ ื้อหลักทรัพย์ด้วยเงินสด เป็นต้น 4.18 ประมำณกำรหนี้สิน บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยจะบั น ทึ ก ประมำณกำรหนี้ สิน ไว้ ใ นบั ญ ชี เ มื่ อ ภำระผู ก พั น ซึ่ ง เป็ น ผลมำจำกเหตุ ก ำรณ์ ใ นอดี ต ได้เ กิดขึ้ นแล้ ว และมี ควำมเป็ นไปได้ค่ อนข้ ำงแน่นอนว่ำ บริษั ทฯและบริษัท ย่อยจะเสียทรัพยำกรเชิง เศรษฐกิ จไปเพื่ อ ปลดเปลื้องภำระผูกพันนั้น และสำมำรถประมำณมูลค่ำภำระผูกพันนั้นได้อย่ำงน่ำเชื่อถือ 4.19 ผลประโยชน์ของพนักงำน (ก)
ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงำน บริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่ำจ้ำง โบนัสและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่ำใช้จ่ำยเมื่อเกิดรำยกำร
(ข)
ผลประโยชน์หลังออกจำกงำนของพนักงำน โครงกำรสมทบเงิน บริษัทย่อยและพนักงำนได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุ นสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงำนจ่ำยสะสมและเงินที่ บริษัทย่อยจ่ำยสมทบให้เป็นรำยเดือน สินทรัพย์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกจำกสินทรัพย์ของบริษัทย่อย เงินที่บริษัทย่อยจ่ำยสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่ำใช้จ่ำยในปีที่เกิดรำยกำร โครงกำรผลประโยชน์ บริษัทย่อยมีภำระสำหรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ำยให้แก่พนักงำนเมื่อออกจำกงำนตำมกฎหมำยแรงงำน ซึ่งบริษัทย่อย ถือว่ำเงินชดเชยดังกล่ำวเป็นโครงกำรผลประโยชน์
176
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
บริษัทย่อยคำนวณหนี้สินตำมโครงกำรผลประโยชน์โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมำณกำรไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยนักคณิตศำสตร์ประกันภัยที่เป็นผู้เชี่ยวชำญอิสระหรือคำนวณหนี้สินดังกล่ำวโดยวิธีคิดลด ตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัยโดยผู้บริหำรของบริษัทย่อย ผลกำไรหรือขำดทุ นจำกกำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรซึ่ งคำนวณตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภั ยสำหรับโครงกำร ผลประโยชน์จะรับรู้ในส่วนของกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และปรับกับกำไรสะสมโดยตรง 4.20 ตรำสำรอนุพันธ์ บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำรเข้ำทำรำยกำรเกี่ยวกับเครื่องมือทำงกำรเงินที่เป็นตรำสำรอนุพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อกำรบริหำรควำมเสี่ยง (Banking book) ของบริษัทย่อยโดยจะบันทึกเป็นรำยกำรนอกงบกำรเงินและแสดงมูลค่ำด้วย วิธีคงค้ำง โดยองค์ประกอบที่เป็นเงินตรำต่ำงประเทศจะถูกแปลงค่ำด้วยอัตรำแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน ในลักษณะเดียวกับรำยกำรที่มีกำรป้องกันควำมเสี่ยง โดยกำไรขำดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจำกกำรแปลงค่ำเงินตรำต่ำงประเทศ จะถูกบันทึกในส่วนของกำไรหรือขำดทุน และองค์ประกอบที่เป็นอัตรำดอกเบี้ยจะถูกบันทึกตำมเกณฑ์คงค้ำงเช่นเดียวกับ สินทรัพย์หรือหนีส้ ินที่ถูกป้องกันควำมเสี่ยงถือเป็นส่วนหนึ่งของดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจ่ำยตลอดอำยุของสัญญำ 4.21 เงินตรำต่ำงประเทศ บริษัทฯและบริษัทย่อยแสดงงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรเป็นสกุลเงินบำท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในกำร ดำเนินงำนของบริษัทฯและบริษัทย่อย รำยกำรต่ำง ๆ ของแต่ละกิจกำรที่รวมอยู่ในงบกำรเงินรวมวัดมูลค่ำด้วยสกุลเงิน ที่ใช้ในกำรดำเนินงำนของแต่ละกิจกำรนั้น รำยกำรที่เป็นเงินตรำต่ำงประเทศซึ่งเกิดขึ้นในระหว่ำงปีแปลงค่ำเป็นเงินบำทโดยใช้อัตรำแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรำยกำร สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตรำต่ำงประเทศและภำระผูกพันที่มียอดคงเหลือ ณ วันที่ในงบกำรเงิน ได้แปลงค่ำเป็นเงินบำทโดยใช้อัตรำแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน กำไรหรือขำดทุนที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงในอัตรำแลกเปลี่ยน จะรับรู้เป็นรำยได้หรือค่ำใช้จ่ำยในส่วนของกำไรหรือ ขำดทุน โดยแสดงรวมอยู่ในกำไร (ขำดทุน) สุทธิจำกธุรกรรมเพื่อค้ำและปริวรรตเงินตรำต่ำงประเทศ 4.22 ภำษีเงินได้ ภำษีเงินได้ประกอบด้วยภำษีเงินได้ปัจจุบันและภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (ก)
ภำษีเงินได้ปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภำษีเงินได้ปัจจุบันตำมจำนวนที่คำดว่ำจะจ่ำยให้กับหน่วยงำนจัดเก็บภำษีของรัฐ โดยคำนวณจำกกำไรทำงภำษีตำมหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมำยภำษีอำกร
(ข) ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภำษีเงินได้รอตัดบัญชีของผลแตกต่ำงชั่วครำวระหว่ำงรำคำตำมบัญชีของสินทรัพย์ และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำนกับฐำนภำษีของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้น โดยใช้อัตรำภำษี ที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีของผลแตกต่ำงชั่วครำวที่ต้องเสียภำษีทุกรำยกำร แต่รับรู้ สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีสำหรับผลแตกต่ำงชั่วครำวที่ใช้หักภำษี รวมทั้งผลขำดทุนทำงภำษีที่ยังไม่ได้ใช้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
177
ประโยชน์ ใ นจำนวนเท่ ำ ที่ มีค วำมเป็ น ไปได้ ค่ อนข้ ำ งแน่ ที่ บ ริ ษัท ฯและบริ ษั ทย่ อ ยจะมี ก ำไรทำงภำษี ใ นอนำคต เพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จำกผลแตกต่ำงชั่วครำวที่ใช้หักภำษีและผลขำดทุนทำงภำษีที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์นั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนมูลค่ำตำมบัญชีของสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน และจะทำกำรปรับลดมูลค่ำตำมบัญชีดังกล่ำว หำกมีควำมเป็นไปได้ค่อนข้ำงแน่ว่ำบริษัทฯและบริษัทย่อยจะไม่มี กำไรทำงภำษีเพียงพอต่อกำรนำสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีทั้งหมดหรือบำงส่วนมำใช้ประโยชน์ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกภำษีเงินได้รอตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของเจ้ำของหำกภำษีที่เกิดขึ้นเกี่ ยวข้องกับ รำยกำรที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของเจ้ำของ 4.23 สัญญำเช่ำระยะยำว สัญญำเช่ำที่ควำมเสี่ยงและผลตอบแทนของควำมเป็นเจ้ำของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กับบริษัทย่อยในฐำนะผู้เช่ำถือเป็น สั ญ ญำเช่ ำ ด ำเนิ น งำน จ ำนวนเงิ น ที่ จ่ ำ ยตำมสั ญ ญำเช่ ำ ด ำเนิ น งำนรั บ รู้ เ ป็ น ค่ ำ ใช้ จ่ ำ ยในส่ ว นของก ำไรหรื อ ขำดทุ น ตำมวิธีเส้นตรงตลอดอำยุของสัญญำเช่ำ 4.24 กำรวัดมูลค่ำยุติธรรม มูลค่ำยุติธรรม หมำยถึง รำคำที่คำดว่ำจะได้รับจำกจำกกำรขำยสินทรัพย์หรือเป็นรำคำที่จะต้องจ่ำยเพื่อโอนหนี้สินให้ผู้อื่น โดยรำยกำรดังกล่ำวเป็นรำยกำรที่เกิดขึ้นในสภำพปกติระหว่ำงผู้ซื้อและผู้ขำย (ผู้ร่วมในตลำด) ณ วันที่วัดมูลค่ำ บริษัทฯ และบริษัทย่อยใช้รำคำเสนอซื้อขำยในตลำดที่มีสภำพคล่องในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินซึ่งมำตรฐำน กำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เกี่ยวข้องกำหนดให้ต้องวัดมูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรม ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีตลำดที่มีสภำพคล่อง สำหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่มีลักษณะเดียวกันหรือไม่สำมำรถหำรำคำเสนอซื้อขำยในตลำดที่มีสภำพคล่องได้ บริษัทฯและ บริษัทย่อยจะประมำณมูลค่ำยุติธรรมโดยใช้เทคนิคกำรประเมินมูลค่ำที่เหมำะสมกับแต่ละสถำนกำรณ์ และพยำยำมใช้ ข้อมูลที่สำมำรถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่จะวัดมูลค่ำยุติธรรมนั้นให้มำกที่สุด ลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรมที่ใช้วัดมูลค่ำและเปิดเผยมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินในงบกำรเงิน แบ่งออกเป็น สำมระดับตำมประเภทของข้อมูลที่นำมำใช้ในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1
ใช้ข้อมูลรำคำเสนอซื้อขำยของสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่ำงเดียวกันในตลำดที่มีสภำพคล่อง
ระดับ 2
ใช้ข้อมูลอื่นที่สำมำรถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ไม่ว่ำจะเป็นข้อมูลทำงตรงหรือทำงอ้อม
ระดับ 3
ใช้ข้อมูลที่ไม่สำมำรถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนำคตที่กิจกำรประมำณขึ้น
ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประเมินควำมจำเป็นในกำรโอนรำยกำรระหว่ำงลำดับชั้นของ มูลค่ำยุติธรรมสำหรับสินทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำนที่มีกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมแบบเกิดขึ้น ประจำ 4.25 รำยกำรธุรกิจกับบุคคลหรือกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน หมำยถึง บุคคลหรือกิจกำรที่มีอำนำจควบคุมบริษัทฯและบริษัทย่อย หรือถูกควบคุมโดย บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่ว่ำจะเป็นโดยทำงตรงหรือทำงอ้อม หรืออยู่ภำยใต้กำรควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯและบริษัทย่อย นอกจำกนี้ บุคคลหรือกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันยังหมำยรวมถึงบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทำงตรงหรือทำงอ้อมซึ่งมีอิทธิพล อย่ำงเป็นสำระสำคัญต่อบริษัทฯและบริษัทย่อย ผู้บริหำรสำคัญ กรรมกำรหรือพนักงำนของบริษัทฯและบริษัทย่อยที่มี อำนำจในกำรวำงแผนและควบคุมกำรดำเนินงำนของบริ ษัทฯและบริษัทย่ อย ตลอดทั้งสมำชิก ในครอบครัวที่ใ กล้ชิ ด 178
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
กับบุคคลดังกล่ำว และกิจกำรที่บุคคลดังกล่ำวมีอำนำจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่ำงเป็นสำระสำคัญไม่ว่ำโดยทำงตรงหรือ ทำงอ้อม 5.
กำรใช้ดุลยพินิจและประมำณกำรทำงบัญชีที่สำคัญ ในกำรจัดทำงบกำรเงินตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฝ่ำยบริหำรจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและกำรประมำณกำร ในเรื่องที่มีควำมไม่แน่นอน กำรใช้ดุลยพินิจและกำรประมำณกำรดังกล่ำวนี้ส่งผลกระทบต่อจำนวนเงินที่แสดงในงบกำรเงิน และต่อข้อมูลที่แสดงในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอำจแตกต่ำงไปจำกจำนวนที่ ประมำณกำรไว้ กำรใช้ ดุลยพินิจและกำรประมำณกำรทำงบัญชีที่สำคัญมีดังต่อไปนี้
5.1
มูลค่ำยุติธรรมของเครื่องมือทำงกำรเงิน ในกำรประเมินมูลค่ำยุติธรรมของเครื่องมือทำงกำรเงินที่บันทึกในงบแสดงฐำนะกำรเงินหรือเปิดเผยในหมำยเหตุประกอบ งบกำรเงินที่ไม่มีกำรซื้อขำยในตลำดและไม่สำมำรถหำรำคำได้ในตลำดซื้อขำยคล่อง ฝ่ำยบริหำรต้องใช้ดุลยพินิจในกำร ประเมินมูลค่ำยุติธรรมของเครื่องมือทำงกำรเงินดังกล่ำว โดยใช้เทคนิคและแบบจำลองกำรประเมินมูลค่ำ ซึ่งตัวแปรที่ใช้ ในแบบจำลองได้มำจำกกำรเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลำด โดยคำนึงถึงควำมเสี่ ยงทำงด้ำนเครดิต สภำพคล่อง ข้อมูลควำมสัมพันธ์ และกำรเปลี่ยนแปลงของมูลค่ำของเครื่องมือทำงกำรเงินในระยะยำว กำรเปลี่ยนแปลงของสมมติฐำน ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ใช้ในกำรคำนวณ อำจมีผลกระทบต่อมูลค่ำยุติธรรมที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน และ กำรเปิดเผยลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรม
5.2
ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำของเงินลงทุน บริษัทฯและบริษัทย่อยพิจำรณำตั้งค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำของเงินลงทุน เมื่อมีข้อบ่งชี้ของกำรด้อยค่ำเกิดขึ้น โดยฝ่ำยบริหำร ได้ใช้ดุลยพินิจในกำรประมำณกำรผลขำดทุนโดยกำรวิเครำะห์สถำนะของเงินลงทุนแต่ละรำยกำร
5.3
ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อธุรกิจธนำคำรและเงินให้กู้ยืมแก่ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ เกิดจำกกำรปรับมูลค่ำของลูกหนี้จำกควำมเสี่ยงด้ำนเครดิตที่อำจเกิดขึ้น ฝ่ำยบริหำรได้ใช้หลักเกณฑ์กำรตั้งค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญของ ธปท. และ ก.ล.ต. แล้วแต่กรณี ซึ่งรวมถึงกำรใช้ดุลยพินิจในกำรประมำณกำรผลขำดทุนที่คำดว่ำจะ เกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้มีปัญหำในกำรจ่ำยชำระคืนหนี้เงินต้นและ/หรือดอกเบี้ย โดยใช้กำรวิเครำะห์สถำนะของลูกหนี้ ทั้งรำยตัว และรำยกลุ่ ม ควำมน่ ำ จะเป็ น ในกำรผิ ด นั ด ช ำระของลู ก หนี้ ส่ ว นสู ญ เสี ย ที่ อ ำจเกิ ด ขึ้ น หำกลู ก หนี้ ผิ ด นั ด ช ำระหนี้ ประสบกำรณ์ในกำรเรียกเก็บหนี้จำกลูกหนี้ มูลค่ำของหลักประกันและสภำวะเศรษฐกิจ
5.4
ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์และค่ำเสื่อมรำคำ ในกำรคำนวณค่ำเสื่อมรำคำของอำคำรและอุปกรณ์ ฝ่ำยบริหำรจำเป็นต้องทำกำรประมำณอำยุกำรให้ประโยชน์และมูลค่ำ คงเหลือเมื่อเลิกใช้งำนของอำคำรและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอำยุกำรให้ประโยชน์และมูลค่ำคงเหลือ ใหม่หำกมีกำร เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจำกนี้ ฝ่ำยบริหำรจำเป็นต้องสอบทำนกำรด้อยค่ำของที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ ในแต่ละช่วงเวลำและบันทึกขำดทุน จำกกำรด้อยค่ำหำกคำดว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนต่ำกว่ำมูลค่ำตำมบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในกำรนี้ฝ่ำยบริหำรจำเป็นต้อง ใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับกำรคำดกำรณ์รำยได้และค่ำใช้จ่ำยในอนำคต ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
179
5.5
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในกำรบันทึกและวัดมูลค่ำของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ได้มำ ตลอดจนกำรทดสอบกำรด้อยค่ำในภำยหลัง ฝ่ำยบริหำร จำเป็นต้องประมำณกำรกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะได้รับในอนำคตจำกสินทรัพย์ หรือ หน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งกำรเลือกอัตรำคิดลดที่เหมำะสมในกำรคำนวณหำมูลค่ำปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้น ๆ
5.6
สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีสำหรับผลแตกต่ำงชั่วครำวที่ใช้หักภำษีเมื่อมีควำมเป็นไปได้ ค่อนข้ำงแน่ว่ำบริษัทฯและบริษัทย่อยจะมีกำไรทำงภำษีในอนำคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จำกผลแตกต่ำงชั่วครำวและ ผลขำดทุนทำงภำษี นั้น ในกำรนี้ฝ่ำยบริหำรจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในกำรประมำณกำรว่ำบริษัทฯและบริษัทย่อยควรรับรู้ จำนวนสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีเป็นจำนวนเท่ำใด โดยพิจำรณำถึงจำนวนกำไรทำงภำษีที่คำดว่ำจะเกิดในอนำคต ในแต่ละช่วงเวลำ
5.7
ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงำน ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงำนประมำณขึ้นตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัย ซึ่งต้องอำศัย ข้อสมมติฐำน ต่ ำ งๆ ในกำรประมำณกำร เช่ น อั ต รำคิ ด ลด อั ต รำกำรขึ้ น เงิ น เดื อ นในอนำคต อั ต รำกำรลำออกของพนั ก งำน และ อัตรำกำรมรณะเป็นต้น โดยใช้ดุลยพินิจบนพื้นฐำนของข้อมูลที่ดีที่สุดในสภำวะปัจจุบัน
5.8
คดีฟ้องร้อง บริษัทย่อยมีหนี้สินที่อำจจะเกิดขึ้นจำกกำรถูกฟ้องร้องเรียกค่ำเสียหำย ซึ่งฝ่ำยบริหำรได้ใช้ดุลยพินิจในกำรประเมินผล ของคดีที่ถูกฟ้องร้องแล้วและได้บันทึกประมำณกำรหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำนสำหรับส่ วนที่คำดว่ำจะมี ควำมเสียหำยเกิดขึ้น
5.9
กำรรับรู้และตัดรำยกำรสินทรัพย์และหนี้สนิ ในกำรพิจำรณำกำรรับรู้หรือกำรตัดบัญชีสินทรัพย์และหนี้สิน ฝ่ำยบริหำรต้องใช้ดุลยพินิจในกำรพิจำรณำว่ำบริษัทฯและ บริษัทย่อยได้โอนหรือรับโอนควำมเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพ ย์และหนี้สินดังกล่ำวแล้วหรือไม่ โดยใช้ดุลยพินิจ บนพื้นฐำนของข้อมูลที่ดีที่สุดที่รับรู้ได้ในสภำวะปัจจุบัน
5.10 กำรประเมินกองทุนตำมนิยำมของกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ำงเฉพำะตัว ในกำรประเมินว่ำกองทุนที่บริษัทย่อยรับหน้ำที่บริหำรจัดกำรเข้ำนิยำมกำรเป็นกิจกำรซึ่ งมีโครงสร้ำงเฉพำะตัวหรือไม่ ฝ่ำยบริหำรได้ใช้ดุลยพินิจในกำรประเมินสิทธิของบุคคลอื่นในกำรออกเสียง และสิทธิอื่นใดที่มีลักษณะคล้ำยคลึงกัน ซึ่งรวมถึงสิทธิในกำรเปลี่ยนแปลงผู้จัดกำรกองทุนจำกบริษัทฯไปเป็นบริษัทอื่น สิทธิในกำรเลิกกองทุน หรือสิทธิในกำ ร ไถ่ถอนหน่วยลงทุน เพื่อประเมินว่ำสิทธิดังกล่ำวถือเป็นปัจจัยหลักในกำรกำหนดว่ำใครเป็นผู้ควบคุมกองทุนหรือไม่
180
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
6.
รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (สินทรัพย์) (หน่วย:พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 เมื่อทวงถำม มีระยะเวลำ ในประเทศ ธนำคำรแห่งประเทศไทย ธนำคำรพำณิชย์ สถำบันกำรเงินอื่น รวมในประเทศ บวก: ดอกเบี้ยค้ำงรับ หัก: ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมรำยกำรระหว่ำงธนำคำร และตลำดเงิน - สุทธิ
31 ธันวำคม 2557 เมื่อทวงถำม มีระยะเวลำ
รวม
รวม
1,525,088 - 1,525,088 107,234 1,600,000 1,707,234 6,163,285 8,430,000 14,593,285 7,795,607 10,030,000 17,825,607 4,726 8,924 13,650 (62,528) (100,300) (162,828)
1,407,790 222,613 2,168,000 3,798,403 768 (21,680)
- 1,407,790 222,613 9,429,500 11,597,500 9,429,500 13,227,903 4,487 5,255 (94,295) (115,975)
7,737,805
3,777,491
9,339,692 13,117,183
9,938,624 17,676,429
(หน่วย:พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 เมื่อทวงถำม มีระยะเวลำ ในประเทศ ธนำคำรพำณิชย์ รวมรำยกำรระหว่ำงธนำคำร และตลำดเงิน - สุทธิ
รวม
31 ธันวำคม 2557 เมื่อทวงถำม มีระยะเวลำ
รวม
230,202
-
230,202
1,024,099
-
1,024,099
230,202
-
230,202
1,024,099
-
1,024,099
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
181
7.
เงินลงทุน
7.1
จำแนกตำมกำรจัดประเภทของเงินลงทุน (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 2557
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 2557 เงินลงทุนเพือ่ ค้ำ - มูลค่ำยุติธรรม ตรำสำรทุนในควำมต้องกำรของตลำด ในประเทศ - หุ้นทุน รวมเงินลงทุนเพื่อค้ำ เงินลงทุนเผื่อขำย - มูลค่ำยุติธรรม ตรำสำรทุนในควำมต้องกำรของตลำด ในประเทศ - หุ้นทุน - หน่วยลงทุน หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขำย เงินลงทุนที่จะถือจนครบกำหนด - รำคำทุน/ รำคำทุนตัดจำหน่ำย หลักทรัพย์รัฐบำลและรัฐวิสำหกิจ ตรำสำรหนี้ภำคเอกชน ตรำสำรหนี้อื่น รวมเงินลงทุนที่จะถือจนครบกำหนด เงินลงทุนทัว่ ไป - รำคำทุน ตรำสำรทุนที่ไม่อยูใ่ นควำมต้องกำรของตลำด ในประเทศ - หุ้นทุน หัก: ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ เงินลงทุนทั่วไป - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ
182
12,251 12,251
-
-
-
179,735 1,965,731 207,491 2,352,957
1,638,636 76,737 1,715,373
418,101 80,165 498,266
326,591 326,591
22,073,899 17,399,344 5,350,963 44,824,206
15,386,439 15,262,823 1,350,410 31,999,672
150,800 150,800
-
13,569 (25) 13,544 47,202,958
13,654 (565) 13,089 33,728,134
649,066
326,591
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
7.2
จําแนกตามระยะเวลาคงเหลือของตราสารหนี้ (หนวย: พันบาท)
งบการเงินรวม
ไมเกิน 1 ป เงินลงทุนที่จะถือจนครบกําหนด หลักทรัพยรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน
31 ธันวาคม 2558
31 ธันวาคม 2557
ครบกําหนด
ครบกําหนด
1 - 5 ป
เกิน 5 ป
รวม
ไมเกิน 1 ป
1 - 5 ป
เกิน 5 ป
รวม
2,953,454 6,687,055 12,433,390 22,073,899 760,157 4,644,187 11,995,000 17,399,344 - 2,196,128 3,154,835 5,350,963
143,493 8,100,608 7,142,338 15,386,439 675,697 3,547,126 11,040,000 15,262,823 - 670,391 680,019 1,350,410
รวมเงินลงทุนที่จะถือจนครบกําหนด 3,713,611 13,527,370 27,583,225 44,824,206 3,713,611 13,527,370 27,583,225 44,824,206 รวมเงินลงทุนในตราสารหนี้
819,190 12,318,125 18,862,357 31,999,672
ตราสารหนี้อื่น
819,190 12,318,125 18,862,357 31,999,672 (หนวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 ครบกําหนด
เงินลงทุนทีจ่ ะถือจนครบกําหนด ตราสารหนี้ภาคเอกชน รวมเงินลงทุนที่จะถือจนครบกําหนด รวมเงินลงทุนในตราสารหนี้
31 ธันวาคม 2557 ครบกําหนด
ไมเกิน 1 ป
1 - 5 ป
เกิน 5 ป
รวม
-
-
150,800 150,800 150,800
150,800 150,800 150,800
ไมเกิน 1 ป -
1 - 5 ป
เกิน 5 ป
-
-
รวม
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
-
183
7.3
ส่วนเกิน (ต่ำกว่ำ) ทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 ส่วนเกิน (ต่ำกว่ำ) ทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย ประกอบด้วย (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 31 ธันวำคม 2558 2557 2558 2557
ส่วนเกินทุนจำกกำรโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ตรำสำรหนี้ รวม ส่วนต่ำกว่ำทุนจำกกำรโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ตรำสำรหนี้ รวม ส่วนเกินทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุน ตรำสำรทุน รวม ส่วนต่ำกว่ำทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุน ตรำสำรทุน รวม ส่วนเกิน (ต่ำกว่ำ) ทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผือ่ ขำย บวก : ภำษีเงินได้ ส่วนเกิน (ต่ำกว่ำ) ทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย - สุทธิจำกภำษีเงินได้
184
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
3,959 3,959
9,467 9,467
-
-
(8,093) (8,093)
(9,214) (9,214)
-
-
74,854 74,854
16,168 16,168
12,238 12,238
-
(92,106) (92,106) (21,386) 2,637
(104,807) (104,807) (88,386) 9,465
(1,989) (1,989) 10,249 -
(50,505) (50,505) (50,505) -
(18,749)
(78,921)
10,249
(50,505)
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 การเปลี่ยนแปลงในสวนเกิน (ต่ํากวา) ทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุน เผื่อขายมีดังนี้ งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2558
(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2557
ยอดยกมาตนป กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากการวัดมูลคา เงินลงทุนเผื่อขายในระหวางป กําไรจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน - สุทธิ (กําไร) ขาดทุนที่โอนไปรับรูในสวนของ กําไรหรือขาดทุน รวมกําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขาย หัก: ภาษีเงินได กําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขาย - สุทธิ จากภาษีเงินได
(78,921)
(84,021)
(50,505)
(57,082)
65,836 -
7,456 20,951
53,320 -
6,577 -
1,164 67,000 (6,828)
(23,187) 5,220 (120)
7,434 60,754 -
6,577 -
60,172
5,100
60,754
6,577
ยอดคงเหลือปลายป
(18,749)
(78,921)
10,249
(50,505)
7.4 เงินลงทุนในบริษัทที่มีปญหาเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน (หนวย: พันบาท)
งบการเงินรวม
จํานวนราย เงินลงทุนทัว่ ไป บริษัทที่รายงานของผูสอบ บัญชีระบุวาบริษทั มี ปญหาเกีย่ วกับการ ดําเนินงานตอเนือ่ ง
31 ธันวาคม 2558 มูลคา ราคาทุน ยุติธรรม
คาเผื่อการ ดอยคา จํานวนราย
31 ธันวาคม 2557 มูลคา ราคาทุน ยุติธรรม
คาเผื่อการ ดอยคา
1
25
-
25
1
25
-
25
1
25
-
25
1
25
-
25
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
185
8. เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยตำมที่แสดงอยู่ในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร มีรำยละเอียดดังต่อไปนี้
บริษัท บริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นโดยตรงโดยบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นโดยอ้อมผ่ำน บริษัทย่อย บริษัทหลักทรัพย์จัดกำรกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ แอดไวเซอรี่ จำกัด (1)
ทุนชำระแล้ว 31 ธันวำคม 2558 2557
สัดส่วนเงินลงทุน 31 ธันวำคม 2558 2557 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
(หน่วย: พันบำท) เงินปันผลรับ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
รำคำทุน 31 ธันวำคม 2558 2557
14,000,000
13,000,000
99.99
99.99
13,999,999
12,999,999
1,000,090
845,000
637,215
637,215
99.80
99.80
1,035,992 15,035,991
1,035,992 14,035,991
1,000,090
845,000
300,000 20,000
300,000 20,000
99.99 99.99
99.99 99.99
257,289(1) 6,802(1)
257,289(1) 6,802(1)
-
-
เนื่องจำกบริษัทดังกล่ำวถือหุ้นโดยบริษัทย่อยของบริษัทฯ ดังนั้น จำนวนดังกล่ำวเป็นมูลค่ำตำมบัญชีที่ แสดงในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรของบริษัทย่อย ของบริษัทฯ
เมื่อวันที่ 19 ตุลำคม 2558 ที่ประชุมคณะกรรมกำรบริษัทย่อย ครั้งที่ 10/2558 มีมติอนุมัติจัดสรรหุ้นสำมัญเพิ่มทุนจำนวน 100 ล้ำนหุ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 10 บำท เป็นเงิน 1,000 ล้ำนบำท ซึ่งบริษัทฯได้ชำระค่ำหุ้นเพิ่มทุนดังกล่ำวแก่บริษัทย่อย แล้วทั้งจำนวน 9.
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้ำงรับ
9.1
จำแนกตำมประเภทสินเชื่อ
2558 เงินเบิกเกินบัญชี เงินให้กู้ยืม ตั๋วเงิน ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำซือ้ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ หัก: รำยได้รอตัดบัญชี เงินให้สินเชื่อสุทธิจำกรำยได้รอตัดบัญชี บวก: ดอกเบี้ยค้ำงรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้ำงรับ หัก: ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบีย้ ค้ำงรับ - สุทธิ 186
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม
4,824,858 98,991,433 27,160,819 1,929,567 370,122 133,276,799 (179,447) 133,097,352 224,480 133,321,832 (2,555,273) (8,740) 130,757,819
(หน่วย: พันบำท) 2557
4,400,744 87,678,312 21,146,041 2,576,459 113,655 115,915,211 (281,516) 115,633,695 239,810 115,873,505 (2,137,826) (7,547) 113,728,132
9.2
จําแนกตามสกุลเงินและถิ่นที่อยูของลูกหนี้
(หนวย: พันบาท)
31 ธันวาคม 2558 ในประเทศ ตางประเทศ เงินบาท 9.3
งบการเงินรวม รวม
31 ธันวาคม 2557 ในประเทศ ตางประเทศ
- 133,097,352 115,633,695 - 133,097,352 115,633,695
133,097,352 133,097,352
รวม
- 115,633,695 - 115,633,695
จําแนกตามประเภทธุรกิจและการจัดชั้น
ปกติ 386,132 การเกษตรและเหมืองแร อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย 26,743,365 17,647,624 ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและกอสราง 33,697,857 การสาธารณูปโภคและบริการ 28,686,648 สินเชื่อเพื่อทีอ่ ยูอ าศัย 19,749,144 ตัวกลางทางการเงิน 2,397,868 อื่น ๆ เงินใหสินเชือ่ สุทธิจากรายไดรอตัด 129,308,638 บัญชี
กลาวถึง เปนพิเศษ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 ต่ํากวา มาตรฐาน สงสัย
100,393 185,462 243,855 410,235 34,118
92,607 6,890 68,786 169,936 8,864
89,561 870,121 286,219 207,401 17,964
974,063
347,083
1,471,266
(หนวย: พันบาท) สงสัย จะสูญ 364,834 137,643 127,879 338,513 27,433
รวม 386,132 27,390,760 18,847,740 34,424,596 29,812,733 19,749,144 2,486,247
996,302 133,097,352 (หนวย: พันบาท)
งบการเงินรวม
ปกติ การเกษตรและเหมืองแร 420,881 อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย 22,123,253 ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและกอสราง 14,161,535 การสาธารณูปโภคและบริการ 26,633,942 สินเชื่อเพื่อทีอ่ ยูอ าศัย 28,727,918 ตัวกลางทางการเงิน 16,932,134 อื่น ๆ 2,148,531 เงินใหสินเชือ่ สุทธิจากรายไดรอตัด 111,148,194 บัญชี
กลาวถึง เปนพิเศษ
31 ธันวาคม 2557 ต่ํากวา มาตรฐาน สงสัย
สงสัย จะสูญ
รวม
328,598 708,244 490,953 421,153 17,797
90,280 186,622 46,562 161,329 22,706
54,463 46,763 9,779 422,376 37,175
313,019 127,440 102,291 739,476 158,475
420,881 22,909,613 15,230,604 27,283,527 30,472,252 16,932,134 2,384,684
1,966,745
507,499
570,556
1,440,701
115,633,695
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
187
9.4 จําแนกตามประเภทการจัดชั้น (ก)
ธุรกิจธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ธนาคารฯ (บริษัทยอย) มีเงินใหสินเชื่อจัดชั้นและเงินสํารองที่เกี่ยวของ ตามเกณฑในประกาศ ธปท. ดังนี้ (หนวย: พันบาท)
เงินใหสินเชื่อ แกลูกหนี้ และดอกเบี้ย คางรับ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 ยอดสุทธิ อัตรารอยละ ที่ใชใน ขั้นต่ําที่ใชใน การตั้งคาเผื่อหนี้ การตั้งคาเผื่อหนี้ (1) สงสัยจะสูญ สงสัยจะสูญ (รอยละ)
สํารองอัตรารอยละขั้นต่ําตามเกณฑ ธปท. จัดชั้นปกติ 129,150,528 จัดชั้นกลาวถึงเปนพิเศษ 984,939 จัดชั้นต่ํากวามาตรฐาน 347,083 จัดชั้นสงสัย 1,471,266 จัดชั้นสงสัยจะสูญ 996,302 132,950,118 รวม สํารองรายตัวเพิ่มเติม สํารองทั่วไป
188
1 2 100 100 100
498,049 2,851 108,239 367,301 347,820 1,324,260 508,603 722,410 2,555,273
รวม (1)
49,804,924 142,554 108,239 367,301 347,820 50,770,838
คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ
ยอดสุทธิที่ใชในการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ยอดคงคางของเงินตนที่ไมรวมดอกเบี้ยคางรับหลังหักหลักประกันสําหรับลูกหนี้ จัดชั้นปกติ และกลาวถึงเปนพิเศษ และหมายถึงมูลหนี้หลังหักมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับจากลูกหนี้ หรือมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสด ที่คาดวาจะไดรับจากการจําหนายหลักประกัน สําหรับลูกหนี้จัดชั้นต่ํากวามาตรฐาน สงสัย และสงสัยจะสูญ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เงินให้สินเชื่อ แก่ลูกหนี้ และดอกเบี้ย ค้ำงรับ สำรองอัตรำร้อยละขั้นต่ำตำมเกณฑ์ ธปท. จัดชั้นปกติ 111,326,701 จัดชัน้ กล่ำวถึงเป็นพิเศษ 1,983,907 จัดชั้นต่ำกว่ำมำตรฐำน 507,499 จัดชั้นสงสัย 570,556 จัดชั้นสงสัยจะสูญ 1,371,006 115,759,669 รวม สำรองรำยตัวเพิ่มเติม สำรองทั่วไป รวม (1)
(ข)
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557 ยอดสุทธิ อัตรำร้อยละ ที่ใช้ใน ขั้นต่ำที่ใช้ใน กำรตั้งค่ำเผื่อหนี้ กำรตั้งค่ำเผื่อหนี้ (1) สงสัยจะสูญ สงสัยจะสูญ (ร้อยละ) 40,684,405 124,755 87,312 140,544 617,646 41,654,662
(หน่วย: พันบำท)
ค่ำเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ
1 2 100 100 100
406,844 2,495 87,312 140,544 617,646 1,254,841 380,000 433,290 2,068,131
ยอดสุทธิที่ใช้ในกำรตั้งค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมำยถึง ยอดคงค้ำงของเงินต้นที่ไม่รวมดอกเบี้ยค้ำงรับหลังหักหลักประกันสำหรับลูกหนี้ จัดชั้นปกติและกล่ำวถึงเป็นพิเศษ และหมำยถึงมูลหนี้หลังหักมูลค่ำปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะได้รับจำกลูกหนี้ หรือมูลค่ำ ปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรจำหน่ำยหลักประกัน สำหรับลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ำมำตรฐำน สงสัย และสงสัยจะสูญ
ธุรกิจหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ จำแนกลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และ ดอกเบี้ยค้ำงรับตำมประกำศของ ก.ล.ต. เรื่อง กำรจัดทำบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ด้อยคุณภำพของบริษัทหลักทรัพย์ ลงวันที่ 15 กุมภำพันธ์ 2544 ได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) 31 ธันวำคม 2558
งบกำรเงินรวม
31 ธันวำคม 2557
มูลค่ำสุทธิ มูลค่ำสุทธิ เงินให้สินเชื่อ ค่ำเผื่อหนี้ หลังหักค่ำ เงินให้สินเชื่อ ค่ำเผื่อหนี้ หลังหักค่ำ และดอกเบี้ย สงสัยจะสูญ เผื่อหนี้สงสัย และดอกเบี้ย สงสัยจะสูญ เผื่อหนี้สงสัย ค้ำงรับ ที่ตั้งไว้ จะสูญ ค้ำงรับ ทีต่ ั้งไว้ จะสูญ ลูกหนี้จัดชั้นปกติ ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ำมำตรฐำน ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ รวม
371,714 371,714
-
371,714 371,714
44,140 69,695 113,835
69,695 69,695
44,140 44,140
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
189
นอกจำกนี้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยดังกล่ำวมีลูกหนี้ที่ซื้อขำยหลักทรัพย์ด้วยเงินสดอีก จำนวน 32 ล้ำนบำท และ 16 ล้ำนบำท ตำมลำดับ ซึ่งแสดงไว้ในรำยกำร “สินทรัพย์อื่น” ในงบกำรเงินรวม ซึ่งลูกหนี้ ดังกล่ำวทั้งจำนวนจัดชั้นเป็นลูกหนี้ปกติตำมเกณฑ์ของ ก.ล.ต. 9.5
เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภำพ (ธุรกิจธนำคำร) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำรมีเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรำยได้ ดังนี้ งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม
เงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรำยได้ (พันบำท) คิดเป็นอัตรำร้อยละต่อยอดสินเชือ่ ทั้งหมด (1) (1)
2558
2557
2,814,651 1.89%
2,449,061 1.92%
ฐำนเงินต้นทั้งหมดรวมรำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงินที่เป็นเงินให้สินเชื่อ
เงินให้ สินเชื่ อแก่ลูกหนี้ ที่ไม่ก่ อให้เกิ ดรำยได้ คำนวณตำมเกณฑ์ที่ ประกำศโดย ธปท. ซึ่ งหมำยถึ ง สินเชื่อ จัด ชั้น ต่ำกว่ ำ มำตรฐำน สงสัยและสงสัยจะสูญ และไม่รวมสินเชื่อที่ค้ำงชำระที่ได้มีกำรทำสัญญำปรับโครงสร้ำงหนี้แล้วและเข้ำเงื่อนไข กำรจัดชั้นเป็นลูกหนี้ปกติหรือกล่ำวถึงเป็นพิเศษตำมเกณฑ์ ธปท. 9.6
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ระงับกำรรับรู้รำยได้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยมีเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ระงับกำรรับรู้รำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำง ดังนี้ งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558
2557
เงินให้สินเชื่อที่ระงับกำรรับรู้รำยได้ (พันบำท) ธุรกิจธนำคำร ธุรกิจหลักทรัพย์ รวม
2,853,721 2,853,721
2,525,798 69,695 2,595,493
คิดเป็นอัตรำร้อยละต่อยอดสินเชือ่ ทั้งหมด (1)
1.91%
2.04%
(1)
190
ฐำนเงินต้นทั้งหมดรวมรำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงินที่เป็นเงินให้สินเชื่อ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
9.7
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่มีปัญหำในกำรชำระหนี้หรือผิดนัดชำระหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยมีเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้ำงรับกับบริษัทและบุคคลที่มี ปัญหำในกำรชำระหนี้หรือผิดนัดชำระหนี้และได้ตั้งค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 จำนวนรำย บริษัทและบุคคลที่มีปัญหำใน กำรชำระหนี้หรือผิดนัดชำระหนี้
459
มูลหนี้ ตำมบัญชี
หลักประกัน
3,799,590
2,822,801
ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ/ ค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำ
826,696 (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557 จำนวนรำย บริษัทและบุคคลที่มีปัญหำใน กำรชำระหนี้หรือผิดนัดชำระหนี้
725
มูลหนี้ ตำมบัญชี
หลักประกัน
4,502,663
3,445,549
ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ/ ค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำ
923,487
บริษั ทย่ อยไม่ มีข้ อมูลเพี ยงพอจึง ไม่ได้เ ปิด เผยรำยกำรของบริษั ทที่ร ำยงำนของผู้สอบบั ญชี ระบุว่ ำบริ ษัท นั้น มีปั ญหำ เกี่ยวกับกำรดำเนินงำนต่อเนื่องของกิจกำร และบริษัทอื่นที่มิใช่บริษัทจดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ มี ผลกำรด ำเนิ น งำนและฐำนะกำรเงิ น เช่ น เดี ย วกั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ เ ข้ ำ ข่ ำ ยถู กเพิ กถอนจำกกำรเป็ นหลั กทรั พย์ จดทะเบียน อย่ำงไรก็ตำม บริษัทย่อยได้มีกำรพิจำรณำจัดชั้นและกันเงินสำรองสำหรับลูกหนี้เหล่ำนั้นตำมแนวทำงปฏิบัติ ของ ธปท. และ ก.ล.ต. แล้ว
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
191
9.8 กำรปรับโครงสร้ำงหนี้ที่มีปัญหำ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยได้ทำสัญญำปรับโครงสร้ำงหนี้กับลูกหนี้โดยสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท)
จำนวน รำย 82 82
กำรเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขกำรชำระหนี้ รวมลูกหนี้ปรับโครงสร้ำงหนี้ทั้งหมด (1)
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 ภำระหนี้ (เงินต้นบวกดอกเบี้ยค้ำงรับ) ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้ำงหนี้ โครงสร้ำงหนี้ 1,128,339 1,128,339
1,128,339 1,128,339
ส่วนสูญเสีย จำกกำรปรับ โครงสร้ำงหนี้(1) 9,429 9,429
ส่ว นสู ญ เสี ยจำกกำรปรั บโครงสร้ ำงหนี้ที่ แ สดงเป็น จำนวนก่อ นหั ก ค่ำ เผื่ อ หนี้ สงสัย จะสู ญ ที่ ได้ ตั้ งไว้แ ล้ วในบั ญ ชี ข องลูก หนี้ ที่มีปัญหำ ณ วันปรับโครงสร้ำงหนี้
(หน่วย: พันบำท)
จำนวน รำย กำรเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขกำรชำระหนี้ รวมลูกหนี้ปรับโครงสร้ำงหนี้ทั้งหมด (1)
192
87 87
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557 ภำระหนี้ (เงินต้นบวกดอกเบี้ยค้ำงรับ) ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้ำงหนี้ โครงสร้ำงหนี้ 1,386,431 1,386,431
1,386,431 1,386,431
ส่วนสูญเสีย จำกกำรปรับ โครงสร้ำงหนี้(1) 620 620
ส่ว นสู ญ เสี ยจำกกำรปรั บโครงสร้ ำงหนี้ที่ แ สดงเป็น จำนวนก่อ นหั ก ค่ำ เผื่ อ หนี้ สงสัย จะสู ญ ที่ ได้ ตั้ งไว้ แล้ วในบั ญ ชี ข องลูก หนี้ ที่มีปัญหำ ณ วันปรับโครงสร้ำงหนี้
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ลูกหนี้ที่ทำสัญญำปรับโครงสร้ำงหนี้สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 ตำมที่กล่ำวข้ำงต้น สำมำรถจำแนก ตำมระยะเวลำกำรผ่อนชำระตำมสัญญำปรับโครงสร้ำงหนี้ ได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 31 ธันวำคม 2557 ภำระหนี้ ภำระหนี้ ช่วงระยะเวลำกำรผ่อนชำระตำม หลังปรับ หลังปรับ สัญญำปรับโครงสร้ำงหนี้ จำนวนรำย โครงสร้ำงหนี้ จำนวนรำย โครงสร้ำงหนี้ ไม่เกิน 5 ปี 5 - 10 ปี 10 - 15 ปี เกินกว่ำ 15 ปี
6 27 10 39 82
รวม
124,886 401,117 439,511 162,825 1,128,339
8 31 7 41 87
425,910 483,867 333,245 143,409 1,386,431
ข้อมูลสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 ที่เกี่ยวข้องกับลูกหนี้ที่ได้มีกำรทำสัญญำปรับโครงสร้ำงหนี้แ ล้ว มีดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 ดอกเบี้ยที่รับรู้ในส่วนของกำไรหรือขำดทุน เงินสดที่รับชำระจำกลูกหนี้ ส่วนสูญเสียจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้
162,529 747,374 9,429
165,515 418,313 620
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยมีลูกหนี้ที่ปรับโครงสร้ำงหนี้ซึ่งมีภำระหนี้คงเหลือดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบำท) ลูกหนี้ทั้งหมด ลูกหนี้ที่ปรับโครงสร้ำงหนี้ ภำระหนี้ ภำระหนี้ จำนวนรำย (เงินต้นบวกดอกเบี้ย) จำนวนรำย (เงินต้นบวกดอกเบี้ย) 31 ธันวำคม 2558 31 ธันวำคม 2557
12,510 12,195
133,321,832 115,873,505
342 425
3,258,765 3,252,507
ณ วั น ที่ 31 ธั น วำคม 2558 และ 2557 บริ ษั ท ย่ อ ยไม่ มี ภำระผู ก พั น คงเหลื อที่ ตกลงให้ ลู กหนี้ กู้ ยื มเพิ่ ม เติ ม ภำยหลั ง กำรปรับโครงสร้ำงหนี้ รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
193
9.9
ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยมีลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำซื้อ โดยอำยุของสัญญำมีระยะเวลำ 2 ถึง 8 ปี และคิดดอกเบี้ยในอัตรำร้อยละคงที่ตำมที่ระบุในสัญญำ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 จำนวนเงินทีถ่ ึงกำหนดชำระตำมสัญญำ ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี ผลรวมของเงินลงทุนขั้นต้นตำมสัญญำเช่ำซื้อ หัก: รำยได้รอตัดบัญชี มูลค่ำปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำตำมสัญญำเช่ำซื้อ
796,365 (89,072) 707,293
1,104,003 (83,615) 1,020,388
29,199 (691) 28,508
รวม 1,929,567 (173,378) 1,756,189
หัก: ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำซื้อ - สุทธิ
(65,933) 1,690,256 (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557 จำนวนเงินทีถ่ ึงกำหนดชำระตำมสัญญำ ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี
ผลรวมของเงินลงทุนขั้นต้นตำมสัญญำเช่ำซื้อ หัก: รำยได้รอตัดบัญชี มูลค่ำปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำตำมสัญญำเช่ำซื้อ
843,538 (124,484) 719,054
หัก: ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำซื้อ - สุทธิ
194
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
1,643,152 (143,247) 1,499,905
89,769 (4,083) 85,686
รวม 2,576,459 (271,814) 2,304,645 (15,989) 2,288,656
10.
ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 สำรองอัตรำร้อยละขั้นต่ำตำมเกณฑ์ ธปท. ปกติ
กล่ำวถึง เป็นพิเศษ
ต่ำกว่ำ มำตรฐำน
สงสัย
สงสัย จะสูญ
สำรอง รำยตัว เพิ่มเติม
สำรอง ทั่วไป
รวม
ยอดต้นปี สำรองเพิ่มระหว่ำงปี หนี้สงสัยจะสูญโอนกลับ จำกกำรรับคืน หนี้สูญตัดบัญชี ลดลงจำกกำรขำยหนี้ โอนไปบัญชีค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำ จำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้
406,844 91,567
2,495 6,364
87,312 30,187
140,544 301,047
687,341 114,503
380,000 128,603
433,290 2,137,826 351,736 1,024,007
(362)
(6,008)
(9,260)
(5,205) (20,265) (348,648) (54,025) (100,171)
-
(5,205) - (368,913) (61,423) (231,249)
-
-
-
-
-
-
ยอดปลำยปี
498,049
2,851
108,239
367,301
347,820
508,603
(1,193)
(1,193)
722,410 2,555,273 (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2557 สำรองอัตรำร้อยละขั้นต่ำตำมเกณฑ์ ธปท. ปกติ
กล่ำวถึง เป็นพิเศษ
ต่ำกว่ำ มำตรฐำน
สงสัย
สงสัย จะสูญ
สำรอง รำยตัว เพิ่มเติม
สำรอง ทั่วไป
318,125 1,422,298 111,528 642,196
รวม
ยอดต้นปี สำรองเพิ่ม (ลด) ระหว่ำงปี ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของ บริษัทย่อยที่ซื้อมำในระหว่ำงปี โอนมำจำกบัญชีค่ำเผื่อกำรปรับ มูลค่ำจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้
348,079 58,765
3,404 (909)
138,080 (50,768)
228,364 (87,820)
386,246 231,400
380,000
-
-
-
-
69,695
-
-
69,695
-
-
-
-
-
-
3,637
3,637
ยอดปลำยปี
406,844
2,495
87,312
140,544
687,341
380,000
433,290 2,137,826
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
195
11.
ค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 ยอดต้นปี ตั้งเพิม่ ในระหว่ำงปี ลดลงในระหว่ำงปี ปรับปรุงรำยกำรในระหว่ำงปี ยอดปลำยปี 12.
7,547 9,429 (9,676) 1,440 8,740
11,184 620 (4,257) 7,547
กำรโอนขำยสินเชือ่ ด้อยคุณภำพ ในปี 2558 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำรได้ทำสัญญำซื้อขำยสินเชื่อด้อยคุณภำพ โดยบริษัทย่อยในฐำนะ “ผู้ขำย” ได้ขำย สินเชื่อด้อยคุณภำพไปจำนวน 2 ครั้ง ดังต่อไปนี้
ครั้งที่
เดือนที่ขำย
1 2
มิถุนำยน 2558 ธันวำคม 2558
มูลหนี้คงค้ำงตำมบัญชี (รวมสินทรัพย์อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง) 314 299 613
(หน่วย: ล้ำนบำท) รำคำขำย 194 180 374
ทั้งนี้ บริษัทย่อยได้รับชำระเงินครบถ้วนภำยใต้สัญญำซื้อขำยสินเชื่อด้อยคุณภำพดังกล่ำว ภำยใต้เงื่อนไขของสัญญำ ผู้ซื้อ อำจยกเลิกกำรโอนสินทรัพย์เฉพำะรำยได้ภำยในระยะเวลำไม่เกินเดือนมิถุนำยน 2559 (สำหรับกำรขำยครั้งที่ 1) และเดือน ธันวำคม 2559 (สำหรับกำรขำยครั้งที่ 2) หำกปรำกฏว่ำผู้ซื้อไม่สำมำรถรับโอนสิทธิในหนี้สิ นและหลักประกันของสินทรัพย์ รำยใดๆ เนื่องจำกไม่มีเอกสำรหลักฐำนแห่งหนี้ หลักประกันไม่มี หรือมีอยู่ไม่ครบถ้วน หรือหลักประกันถูกรอนสิทธิ หรือ ศำลไม่อนุญำตให้ผู้ซื้อเข้ำสวมสิทธิเป็นคู่ควำมแทนบริษัทย่อย โดยหำกมีกำรยกเลิกกำรโอนสินทรัพย์รำยใดแล้ว ผู้ซื้อจะ ได้รับเงินค่ำสินทรัพย์ตำมรำคำ ณ วันชำระรำคำ ส่วนบริษัทย่อยจะได้รับรำยรับที่ได้รับชำระหักด้วยค่ำ ใช้จ่ำยที่เกิดขึ้นใน ระหว่ ำงช่ว งเวลำยกเลิ ก กำรโอนสิ นทรัพ ย์ร ำยนั้ น ๆ อย่ ำ งไรก็ ตำม ผู้ ซื้อ ยัง มิได้มี ก ำรยกเลิ ก กำรโอนสิน ทรัพ ย์ร ำยใด จนถึงวันที่อนุมัติงบกำรเงินนี้
196
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
13.
อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มูลคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 แสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ อาคารสํานักงานใหเชา
ที่ดิน ราคาทุน 1 มกราคม 2557 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 คาเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2557 คาเสื่อมราคาสําหรับป 31 ธันวาคม 2557 คาเสื่อมราคาสําหรับป 31 ธันวาคม 2558 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2557 2558 มูลคายุติธรรม 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558
รวม
35,358 35,358 35,358
2,642 2,642 2,642
38,000 38,000 38,000
-
354 132 486 132 618
354 132 486 132 618
35,358
2,156
37,514
35,358
2,024
37,382 132 132
36,641 36,641
3,189 3,049
มูลคายุติธรรมประเมินโดยผูประเมินราคาอิสระโดยใชเกณฑราคาตลาดสําหรับที่ดินและอาคารสํานักงานใหเชา ที่ดินและอาคารสํานักงานดังกลาวไดนํามาใหบริษัทยอยเชา ดังนั้น ที่ดินและอาคารสํานักงานดังกลาว จึงแสดงไวในที่ดิน อาคารและอุปกรณในงบการเงินรวม
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
197
14.
ทรัพย์สินรอกำรขำย งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 1 มกรำคม 2558 ทรัพย์สินรอกำรขำย - อสังหำริมทรัพย์ ประเมินโดยบุคคลภำยนอก: รำคำทุน ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี ประเมินโดยบุคคลภำยใน: รำคำทุน ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี ทรัพย์สินรอกำรขำย
เพิ่มขึ้น
(หน่วย: พันบำท)
31 ธันวำคม 2558
จำหน่ำย
11,268 11,268
10,205 10,205
-
21,473 21,473
41,541 41,541 52,809
46,605 46,605 56,810
(10,279) (10,279) (10,279)
77,867 77,867 99,340
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2557 1 มกรำคม 2557 ทรัพย์สินรอกำรขำย - อสังหำริมทรัพย์ ประเมินโดยบุคคลภำยนอก: รำคำทุน ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี ประเมินโดยบุคคลภำยใน: รำคำทุน ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี ทรัพย์สินรอกำรขำย
-
เพิ่มขึ้น -
(หน่วย: พันบำท)
31 ธันวำคม 2557
จำหน่ำย
11,268 11,268
-
11,268 11,268
49,264 49,264 60,532
(7,723) (7,723) (7,723)
41,541 41,541 52,809
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 ทรัพย์สินรอกำรขำยของบริษัทย่อยไม่ติดภำระผูกพันที่ บริษัทย่อยต้องให้สิทธิแก่ ลูกหนี้เดิมในกำรซื้อทรัพย์สินดังกล่ำวในรำคำที่กำหนดและภำยในเวลำที่กำหนดไว้หรือสิทธิที่ลูกหนี้เดิม สำมำรถซื้อก่อน บุคคลอื่น 198
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
15.
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์
รำคำทุน 1 มกรำคม 2557 ซื้อเพิ่ม ตัดจำหน่ำย/จำหน่ำย โอนเข้ำ (ออก) 31 ธันวำคม 2557 ซื้อเพิ่ม ตัดจำหน่ำย/จำหน่ำย โอนเข้ำ (ออก) 31 ธันวำคม 2558 ค่ำเสื่อมรำคำสะสม 1 มกรำคม 2557 ค่ำเสื่อมรำคำสะสม ส่วนที่ตัดจำหน่ำย/ จำหน่ำย ค่ำเสื่อมรำคำสำหรับปี 31 ธันวำคม 2557 ค่ำเสื่อมรำคำสะสม ส่วนที่ตัดจำหน่ำย/ จำหน่ำย ค่ำเสื่อมรำคำสำหรับปี โอนเข้ำ (ออก) 31 ธันวำคม 2558 มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี 31 ธันวำคม 2557 31 ธันวำคม 2558 ค่ำเสื่อมรำคำสำหรับปี 2557 2558
(หน่วย: พันบำท)
ที่ดิน
อำคำร
งบกำรเงินรวม ส่วน เครื่อง ปรับปรุง ตกแต่ง เครื่องใช้ อำคำรเช่ำ สำนักงำน สำนักงำน ยำนพำหนะ
75,947 75,947 75,947
12,853 12,853 12,853
331,179 72,418 (20,295) 5,826 389,128 24,585 (4,830) 9,617 418,500
115,634 21,715 (4,180) 22 133,191 12,015 (868) 609 144,947
431,105 89,597 (1,744) 249 519,207 83,148 (12,554) (412) 589,389
9,343 5,706 (6) 3,000 18,043 1,726 19,769
13,161 (9,097) 4,064 7,476 (11,540) -
976,061 202,597 (26,225) 1,152,433 127,224 (18,252) 1,261,405
-
809
158,294
63,582
253,966
5,128
-
481,779
-
643 1,452
(13,671) 59,007 203,630
(3,581) 18,441 78,442
(1,470) 65,650 318,146
1,871 6,999
-
(18,722) 145,612 608,669
-
643 2,095
(3,000) 65,720 91 266,441
(715) 20,281 98,008
(12,453) 79,962 (91) 385,564
3,298 10,297
-
(16,168) 169,904 762,405
75,947 75,947
11,401 10,758
185,498 152,059
54,749 46,939
201,061 203,825
11,044 9,472
4,064 -
543,764 499,000
สินทรัพย์ ระหว่ำงทำ
รวม
145,612 169,904
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยมีส่วนปรับปรุงอำคำรเช่ำ อุปกรณ์และยำนพำหนะจำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่ำเสื่อม รำคำหมดแล้วแต่ยังใช้งำนอยู่ รำคำทุนเดิมก่อนหักค่ำเสื่อมรำคำสะสมของสินทรัพย์ดังกล่ำวมีจำนวนรวม 318 ล้ำนบำท และ 275 ล้ำนบำท ตำมลำดับ
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
199
16.
สินทรัพย์ไม่มตี ัวตน
ค่ำธรรมเนียม สมำชิกและ ใบอนุญำต
งบกำรเงินรวม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่ได้มำ จำกกำรซื้อธุรกิจ
427,793 48,441 1,179 477,413 44,599 8,361 530,373
28,273 28,273 6,420 34,693
80,041 80,041 80,041
24,337 12,600 (1,179) 35,758 20,500 (8,361) 47,897
480,403 141,082 621,485 71,519 693,004
263,371 55,882 319,253 62,340 381,593
7,981 2,801 10,782 3,335 14,117
-
-
271,352 58,683 330,035 65,675 395,710
158,160
17,491
80,041
35,758
291,450
148,780
20,576
80,041
47,897
297,294
คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ รำคำทุน 1 มกรำคม 2557 ซื้อเพิ่ม โอนเข้ำ (ออก) 31 ธันวำคม 2557 ซื้อเพิ่ม โอนเข้ำ (ออก) 31 ธันวำคม 2558 ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม 1 มกรำคม 2557 ค่ำตัดจำหน่ำยสำหรับปี 31 ธันวำคม 2557 ค่ำตัดจำหน่ำยสำหรับปี 31 ธันวำคม 2558 มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี 31 ธันวำคม 2557 31 ธันวำคม 2558 ค่ำตัดจำหน่ำยสำหรับปี 2557 2558 อำยุตัดจำหน่ำยคงเหลือ (ปี)
(หน่วย: พันบำท) คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ ระหว่ำงพัฒนำ
รวม
58,683 65,675 0-5
2, 5 และ 9
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยมีคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์จำนวนหนึ่ง ซึ่งตัดค่ำตัดจำหน่ำยหมดแล้วแต่ยังใช้งำนอยู่ โดยมีรำคำทุนเดิมก่อนหักค่ำตัดจำหน่ำยสะสมเป็นจำนวน 208 ล้ำนบำท และ 180 ล้ำนบำท ตำมลำดับ
200
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
17.
สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีและภำษีเงินได้
17.1 สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ประกอบด้วยภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกิดจำกรำยกำรดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ส่วนเปลี่ยนแปลงภำษีเงินได้ รอตัดบัญชีสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวำคม 31 ธันวำคม 2558 2557 2558 2557 สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกิดจำก: ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - สำรองทั่วไป ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - สินทรัพย์อื่น ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำเงินลงทุน ดอกเบี้ยรับที่หยุดรับรู้รำยได้ ค่ำตัดจำหน่ำยของสินทรัพย์ ตัดจำหน่ำยหนี้สูญ ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงำน ส่วนลดจำกกำรปรับมูลค่ำตัว๋ เงินรับ สำรองวันลำพักร้อน ขำดทุนทำงภำษีที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ ขำดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรวัดมูลค่ำ เงินลงทุนเผื่อขำย สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนเปลี่ยนแปลงในภำษีเงินได้รอตัดบัญชี: รับรู้ในส่วนของกำไรหรือขำดทุน รับรู้ในส่วนของกำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รวม
144,482 6,304 2,640 10,481 2,271 11,505 16,020 1,200 -
85,658 5,693 2,640 6,469 5,148 11,671 13,549 2,524 2,375
58,824 611 4,012 (2,877) (166) 2,470 (2,375)
22,033 42 867 (4,365) (581) 2,261 (2) (5,152)
2,637 197,540
9,465 145,192
(6,828) 53,671
(120) 14,983
60,887 (7,216) 53,671
15,103 (120) 14,983
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยบำงแห่ง ไม่ได้บันทึกรับรู้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีจำกรำยกำร ผลแตกต่ำงชั่วครำวที่ใช้หักภำษี ได้ในอนำคตและขำดทุนทำงภำษีที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ จำนวนรวม 153 ล้ำนบำท และ 158 ล้ำนบำท ตำมลำดับ (งบกำรเงินเฉพำะบริษัทฯ: 88 ล้ำนบำท และ 130 ล้ำนบำท ตำมลำดับ) เป็นสินทรัพย์ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี เนื่องจำกบริษัทฯและบริษัทย่อยดังกล่ำวพิจำรณำแล้วเห็นว่ำมีควำมน่ำจะเป็นไม่ถึงระดับควำมเป็นไปได้ ค่อนข้ำงแน่ที่บริษัทฯและบริษัทย่อยนั้นจะมีกำไรทำงภำษีในอนำคตเพียงพอต่อกำรนำสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ดังกล่ำวมำใช้ประโยชน์ได้ก่อนที่ขำดทุนทำงภำษีดังกล่ำวจะทยอยสิ้นสุดระยะเวลำกำรให้ประโยชน์ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2563
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
201
17.2 ภาษีเงินได ค า ใช จ า ยภาษี เ งิ น ได สํ า หรั บ ป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 และ 2557 ที่ แ สดงอยู ใ นส ว นของกํ า ไรหรื อ ขาดทุ น ประกอบดวยรายการดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2557 ภาษีเงินไดปจจุบัน: ภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับป ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี: ภาษีเงินไดรอตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกตางชั่วคราวและ การกลับรายการผลแตกตางชั่วคราว คาใชจายภาษีเงินไดที่แสดงอยูในสวนของกําไรหรือขาดทุน
(463,336)
(305,361)
60,887 (402,449)
15,103 (290,258)
รายการกระทบยอดจํานวนเงินระหวางคาใชจายภาษีเงินไดกับผลคูณของกําไรทางบัญชีสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 กับอัตราภาษีเงินได สามารถแสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 2558 2557 กําไรทางบัญชีกอนคาใชจายภาษีเงินได อัตราภาษีเงินได ภาษีเงินไดคํานวณจากกําไรทางบัญชี ผลกระทบทางภาษีสําหรับ: รายไดที่ไดรับยกเวนภาษีเงินได คาใชจายที่มีสิทธิหักไดเพิ่มขึ้น คาใชจายตองหาม ขาดทุนทางภาษีสําหรับปที่ไมไดบันทึก เปนสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี กลับรายการภาษีเงินไดรอตัดบัญชีเนื่องจาก คาดวาไมไดใชประโยชน อื่น ๆ คาใชจายภาษีเงินไดที่แสดงอยูในสวนของกําไร หรือขาดทุน 202
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
2,054,162
1,491,645
1,013,134
830,275
20% (410,832)
20% (298,329)
20% (202,627)
20% (166,055)
12,299 2,397 (2,611)
13,783 2,747 (1,138)
203,477 (72)
172,014 193 (29)
(4,334)
(9,122)
(778)
(6,123)
632
(119) 1,920
-
-
(402,449)
(290,258)
-
-
จำนวนเงินภำษีเงินได้ที่รับรู้ในส่วนของกำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกีย่ วข้องกับ: กำไรจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย กำไรจำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัย
(6,828) (388) (7,216)
ภำษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในส่วนของกำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น 18.
สินทรัพย์อื่น งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 2557 เงินมัดจำและเงินประกัน ลูกหนี้จำกกำรขำยทอดตลำดทรัพย์สินรอกำรขำย ค่ำใช้จ่ำยรอตัดบัญชี บัญชีพักลูกหนี้ รำยได้ค้ำงรับ ลูกหนีซ้ ื้อขำยหลักทรัพย์ด้วยเงินสด ค่ำใช้จ่ำยจ่ำยล่วงหน้ำ กองทุนทดแทนควำมเสียหำยในระบบกำรชำระ รำคำและส่งมอบหลักทรัพย์ ลูกหนี้สำนักหักบัญชี เหรียญที่ระลึก ภำษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ำยรอเรียกคืน หลักทรัพย์เพื่อควำมมั่นคง ลูกหนี้กรมสรรพำกร อื่น ๆ รวม หัก: ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ/ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ สินทรัพย์อื่น - สุทธิ
(120) (120) (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 2557
75,309 61,328 55,206 45,364 33,328 32,054 31,545
69,441 54,693 94,025 27,918 16,839 16,334 26,868
1 1,532
1 1,510
27,133 25,886 15,029 7,502 5,049 1,328 7,725 423,786 (35,380) 388,406
25,259 7,775 14,381 6,039 5,091 6,312 10,216 381,191 (26,519) 354,672
1,533 1,533
1,511 1,511
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
203
19.
คุณภำพสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำรมีสินทรัพย์ที่จัดชั้นตำมเกณฑ์ ธปท. ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 รำยกำรระหว่ำง ธนำคำรและ เงินให้สินเชื่อ ตลำดเงินและ และดอกเบี้ย ดอกเบี้ยค้ำงรับ เงินลงทุน ค้ำงรับ สินทรัพย์อื่น รวม กำรจัดชั้นสินทรัพย์ ปกติ 16,206,911 129,150,528 145,357,439 กล่ำวถึงเป็นพิเศษ 984,939 984,939 ต่ำกว่ำมำตรฐำน 347,083 347,083 สงสัย 1,471,266 1,471,266 สงสัยจะสูญ 50,665 996,302 34,970 1,081,937 รวม 16,206,911 50,665 132,950,118 34,970 149,242,664 (หน่วย: พันบำท)
กำรจัดชั้นสินทรัพย์ ปกติ กล่ำวถึงเป็นพิเศษ ต่ำกว่ำมำตรฐำน สงสัย สงสัยจะสูญ รวม
204
รำยกำรระหว่ำง ธนำคำรและ ตลำดเงินและ ดอกเบี้ยค้ำงรับ 11,602,752 11,602,752
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557
เงินลงทุน
เงินให้สินเชื่อ และดอกเบี้ย ค้ำงรับ
สินทรัพย์อื่น
36,031 36,031
111,326,701 1,983,907 507,499 570,556 1,371,006 115,759,669
26,109 26,109
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
รวม 122,929,453 1,983,907 507,499 570,556 1,433,146 127,424,561
20.
เงินรับฝำก
20.1 จำแนกตำมประเภทเงินรับฝำก
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม
2558 จ่ำยคืนเมื่อทวงถำม ออมทรัพย์ เงินรับฝำกประเภทจ่ำยคืนเมื่อสิ้นระยะเวลำ ใบรับเงินฝำกประจำ รวมเงินรับฝำก
2557
5,678,018 51,651,496 41,212,825 38,521,981 137,064,320
5,034,067 49,628,940 30,684,678 37,284,217 122,631,902
20.2 จำแนกตำมสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของผู้ฝำก งบกำรเงินรวม
31 ธันวำคม 2558 ในประเทศ ต่ำงประเทศ
21.
(หน่วย: พันบำท)
31 ธันวำคม 2557 ในประเทศ ต่ำงประเทศ
รวม
137,064,320 - 137,064,320 122,631,902 เงินบำท 137,064,320 - 137,064,320 122,631,902 รวม รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนีส้ ิน)
ในประเทศ: ธนำคำรแห่งประเทศไทย ธนำคำรพำณิชย์ สถำบันกำรเงินเฉพำะกิจ สถำบันกำรเงินอื่น รวมรำยกำรระหว่ำง ธนำคำรและตลำดเงิน
ในประเทศ: ธนำคำรพำณิชย์ รวมรำยกำรระหว่ำง ธนำคำรและตลำดเงิน
31 ธันวำคม 2558 เมื่อทวงถำม มีระยะเวลำ
รวม
-
122,631,902 122,631,902 (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม
31 ธันวำคม 2557 เมื่อทวงถำม มีระยะเวลำ
รวม
รวม
8,952 2,059,484
5,322,595 1,001,000 7,696,982 4,549,543
5,322,595 1,009,952 7,696,982 6,609,027
9 4,543,745
6,169,344 3,001,000 3,570,050 5,887,013
6,169,344 3,001,009 3,570,050 10,430,758
2,068,436
18,570,120
20,638,556
4,543,754
18,627,407
23,171,161
31 ธันวำคม 2558 เมื่อทวงถำม มีระยะเวลำ
(หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
31 ธันวำคม 2557 เมื่อทวงถำม มีระยะเวลำ
รวม
รวม
-
-
-
-
500,000
500,000
-
-
-
-
500,000
500,000
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
205
22.
หนี้สินตรำสำรอนุพนั ธ์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 มูลค่ำตำมบัญชีและจำนวนเงินตำมสัญญำของตรำสำรอนุพันธ์เพื่อป้องกันควำมเสี่ยง (บัญชีเพื่อ กำรธนำคำร) ของบริษัทย่อย แบ่งตำมประเภทควำมเสี่ยงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 มูลค่ำตำมบัญชี จำนวนเงิน ประเภทควำมเสี่ยง สินทรัพย์ หนี้สิน ตำมสัญญำ * อัตรำแลกเปลี่ยนและอัตรำดอกเบี้ย 5,395 1,154,835 ตรำสำรอนุพันธ์เพื่อกำรธนำคำร 5,395 1,154,835 รวม * เปิดเผยเฉพำะกรณีที่บริษัทย่อยมีภำระต้องจ่ำยชำระ ตรำสำรอนุ พั นธ์ เพื่ อป้ องกั นควำมเสี่ ยง (บั ญชี เพื่ อกำรธนำคำร) เป็ นภำระผู กพั นตำมสั ญญำล่ วงหน้ ำที่ มิ ได้ มี ไว้ เพื่ อค้ ำ ซึ่งวัดมูลค่ำด้วยวิธีคงค้ำง โดยผลกำไร (ขำดทุน) จำกอัตรำแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน แสดงเป็นสินทรัพย์ ตรำสำรอนุพันธ์/หนี้สินตรำสำรอนุพันธ์ สำหรับดอกเบี้ยค้ำงรับ/ค้ำงจ่ำยตำมสัญญำจะบันทึกเป็นลูกหนี้และเจ้ำหนี้ตำมสัญญำ โดยแสดงเป็นส่วนหนึ่งของดอกเบี้ยค้ำงรับจำกเงินลงทุน/ดอกเบี้ยค้ำงจ่ำยแล้วแต่กรณี
23.
ตรำสำรหนีท้ ี่ออกและเงินกู้ยืม (หน่วย: พันบำท)
อัตรำ ดอกเบี้ย ต่อปี ตั๋วแลกเงิน 1.40%-1.90% (1) ตรำสำรหนีด้ ้อยสิทธิ 5.125% รวม หัก: ค่ำใช้จ่ำยรอตัดบัญชี ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม - สุทธิ (1)
206
ปีที่ ครบ กำหนด 2559 2568
งบกำรเงินรวม
31 ธันวำคม 2558 ใน ประเทศ 17,820,500 3,849,200 21,669,700 (5,732) 21,663,968
ต่ำง ประเทศ -
รวม 17,820,500 3,849,200 21,669,700 (5,732) 21,663,968
อัตรำ ปีที่ ดอกเบี้ย ครบ ต่อปี กำหนด 2.75%
2558
31 ธันวำคม 2557 ใน ประเทศ 1,000,000 1,000,000 1,000,000
นับเป็นส่วนหนึ่งของเงินกองทุนชั้นที่ 2 โดยคำนวณตำมเงื่อนไขเกณฑ์กำรนับเงินกองทุนของธนำคำรแห่งประเทศไทย
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ต่ำง ประเทศ -
รวม 1,000,000 1,000,000 1,000,000
23.1 ตรำสำรหนี้ด้อยสิทธิ เมื่อวันที่ 21 พฤษภำคม 2558 บริษัทย่อยได้ออกตรำสำรหนี้ด้อยสิทธิ ครั้งที่ 1/2558 เพื่อนับเป็นเงินกองทุน ชั้นที่ 2 จำนวน 4 ล้ำนหน่วย มูลค่ำที่ตรำไว้ 1,000 บำทต่อหน่วย คิดเป็นมูลค่ำรวมทั้งสิ้น 4,000 ล้ำนบำท มีอำยุ 10 ปี ครบกำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2568 อัตรำดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.125 ต่อปี ชำระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน ในเดือนกุมภำพันธ์ พฤษภำคม สิงหำคม และ พฤศจิกำยน ของทุกปี ทั้งนี้ บริษัทย่อยสำมำรถใช้สิทธิไถ่ถอนตรำสำรหนี้ด้อยสิทธิก่อนวันครบกำหนดไถ่ถอนได้ภำยหลัง ที่ตรำสำรหนี้ด้อยสิทธิครบรอบ 5 ปี นับแต่วันออกตรำสำรหรือภำยใต้เงื่อนไขที่กำหนด 24.
ประมำณกำรหนี้สนิ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 ประมำณกำร หนี้สิน ผลประโยชน์ ของพนักงำน ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 เพิ่มขึ้นในระหว่ำงปี ลดลงในระหว่ำงปี ลดลงจำกกำรจ่ำยชำระ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558
68,312 14,015 (808) 81,519
ประมำณกำร รื้อถอน 5,669 (15) 5,654
ประมำณกำร หนี้สินอื่น
รวม
120 120
73,981 14,135 (15) (808) 87,293 (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2557 ประมำณกำร หนี้สิน ผลประโยชน์ ของพนักงำน ณ วันที่ 1 มกรำคม 2557 เพิ่มขึ้นในระหว่ำงปี ลดลงจำกกำรจ่ำยชำระ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557
56,439 14,588 (2,715) 68,312
ประมำณกำร รื้อถอน 5,669 5,669
ประมำณกำร หนี้สินอื่น
รวม -
56,439 20,257 (2,715) 73,981
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
207
24.1 ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงำน รำยกำรเคลื่อนไหวประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงำนซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงำนเมื่อออกจำกงำนแสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 ยอดคงเหลือต้นปี ต้นทุนบริกำรในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบีย้ (กำไร) ขำดทุนจำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัย: ส่วนที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐำนด้ำนประชำกรศำสตร์ ส่วนที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐำนทำงกำรเงิน ส่วนที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงอืน่ ผลประโยชน์จ่ำยในระหว่ำงปี ยอดคงเหลือปลำยปี
68,312 13,926 1,932
56,439 12,336 2,252
(9,266) 5,293 2,130 (808) 81,519
(2,715) 68,312
ค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยำวของพนักงำนที่รวมอยู่ในส่วนของกำไรหรือขำดทุนแสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 ต้นทุนบริกำรในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบีย้ รวมค่ำใช้จำ่ ยผลประโยชน์ของพนักงำน
13,926 1,932 15,858
12,336 2,252 14,588
ณ วั น ที่ 31 ธั น วำคม 2558 บริ ษั ท ย่ อ ยคำดว่ ำ จะจ่ ำ ยช ำระผลประโยชน์ ร ะยะยำวของพนั ก งำนภำยใน 1 ปี ข้ำงหน้ำ เป็นจำนวนประมำณ 1.7 ล้ำนบำท ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยมีระยะเวลำเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในกำรจ่ำยชำระผลประโยชน์ระยะยำวของ พนักงำนประมำณ 9 - 10 ปี และ 10 ปี ตำมลำดับ
208
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
สมมติฐำนหลักที่ใช้ในกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัยของพนักงำน ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้ งบกำรเงินรวม
อัตรำกำรขึ้นเงินเดือนในอนำคต อัตรำกำรลำออก อัตรำคิดลด
2558 (ร้อยละต่อปี)
2557 (ร้อยละต่อปี)
4 - 5.5 0 - 30 2.51 และ 3
4-5 0 - 25 3.8, 4.02 และ 5
ผลกระทบของกำรเปลี่ยนแปลงสมมติฐำนที่สำคัญต่อมูลค่ำปัจจุบันของภำระผูกพันตำมโครงกำรผลประโยชน์ของพนักงำน (ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงำน) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ผลกระทบต่อประมำณกำรหนี้สิน ผลประโยชน์ของพนักงำน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เพิ่มขึ้น 0.5% ลดลง 0.5%
สมมติฐำนทีส่ ำคัญ อัตรำกำรขึ้นเงินเดือนในอนำคต อัตรำคิดลด 25.
4,350 (3,789)
(4,073) 4,081
เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อขำยหลักทรัพย์ งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 2557 เจ้ำหนีจ้ ำกกำรซื้อหลักทรัพย์ เงินรับล่วงหน้ำค่ำจองซื้อหน่วยลงทุน รวมเจ้ำหนี้จำกกำรซือ้ ขำยหลักทรัพย์
18,186 18,186
10,673 10,673
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 2557 4,013 4,013
-
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
209
26.
หนี้สนิ อื่น งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 2557 บัญชีพักเจ้ำหนี้ เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ เจ้ำหนี้สำนักหักบัญชี เจ้ำหนีค้ ่ำซื้ออุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินมัดจำ เจ้ำหนีก้ รมสรรพำกร อื่น ๆ รวม
27.
177,035 51,983 7,688 7,418 6,602 5,663 1,448 257,837
165,160 14,352 9,996 3,373 6,693 381 5,015 204,970
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 2557 445 300 745
267 300 6 573
ทุนเรือนหุ้น
27.1 กำรเพิ่ม/ลดทุนจดทะเบียน เมื่อวันที่ 21 เมษำยน 2557 ที่ประชุมสำมัญผู้ถือหุ้นประจำปีของบริษัทฯมีมติอนุมัติเรื่องสำคัญดังต่อไปนี้ (1)
อนุมัติจัดสรรหุ้นสำมัญเพิ่มทุนจำนวน 423,993,555 หุ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท เป็นเงิน 423,993,555 บำท เสนอขำยให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯตำมสัดส่วนจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรำยถืออยู่ในอัตรำส่วน 30 หุ้นสำมัญเดิม มีสิทธิซื้อหุ้นสำมัญเพิ่มทุนใหม่ได้ 1 หุ้น ในรำคำเสนอขำยหุ้นละ 1 บำท
(2)
อนุมัติลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจำนวน 600,000,000 หุ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท ทำให้ทุนจดทะเบียนของ บริ ษัทฯจำกเดิม 13,375,273,610 บำท เป็ นทุ นจดทะเบียนใหม่ 12,775,273,610 บำท โดยกำรตั ดหุ้ น ที่ยั งมิ ได้ ออกจำหน่ำยที่เป็นผลมำจำกกำรยกเลิกโครงกำรจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิชุดที่ 3
(3)
อนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจำนวน 424,326,286 หุ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท ทำให้ทุนจดทะเบียน ของบริษัทฯจำกเดิม 12,775,273,610 บำท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่ 13,199,599,896 บำท เพื่อรองรับกำรเพิ่มทุน และกำรแปลงสภำพใบสำคัญแสดงสิทธิ ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 จำกกำรปรับสิทธิ
เมื่อวันที่ 24 เมษำยน 2558 ที่ประชุมสำมัญผู้ถือหุ้นประจำปีของบริษัทฯมีมติอนุมัติเรื่องสำคัญดังต่อไปนี้ (1)
(2)
210
อนุมัติลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจำนวน 852,880 หุ้น มูลค่ำตรำไว้หุ้นละ 1 บำท ทำให้ทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จำกเดิมจำนวน 13,199,599,896 บำท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่จำนวน 13,198,747,016 บำท โดยกำรตัดหุ้นที่ยัง มิได้ออกจำหน่ำย อนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯจำนวน 439,958,234 หุ้น มูลค่ำตรำไว้หุ้นละ 1 บำท ทำให้ทุนจดทะเบียนจำกเดิม จำนวน 13,198,747,016 บำท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่จำนวน 13,638,705,250 บำท เพื่อรองรับกำรจ่ำยหุ้นปันผล
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
27.2 กำรกระทบยอดทุนเรือนหุ้น ในวันที่ 6 มิถุนำยน 2557 บริษัทฯได้รับเงินค่ำหุ้นเพิ่มทุนจำกกำรให้สิทธิของผู้ถือหุ้นเดิมจำนวน 423,993,555 หุ้น คิดเป็น จำนวนเงิน 423,993,555 บำท และมีค่ำใช้จ่ำยค่ำธรรมเนียมที่ปรึกษำทำงกำรเงินจำนวน 963,000 บำท (แสดงสุทธิจำก ส่ว นเกิ นมู ลค่ำ หุ้ น) และบริ ษั ทฯได้จ ดทะเบี ย นเพิ่ มทุ น ออกจำหน่ำ ยและชำระแล้ว ต่ อกระทรวงพำณิ ช ย์แ ล้ วเมื่ อวั น ที่ 9 มิถุนำยน 2557 นอกจำกนี้ ในระหว่ำงปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2557 มีผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสำมัญชุดที่ 1 และชุดที่ 2 ใช้สิทธิซื้อ หุ้นสำมัญของบริษัทฯ จำนวน 59,202,499 หุ้น ซึ่งบริษัทฯได้รับเงินค่ำหุ้นเพิ่มทุนจำกกำรใช้สิทธิดังกล่ำวจำนวน 59,202,499 บำท และบริษัทฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนออกจำหน่ำยและชำระแล้วต่อกระทรวงพำณิชย์แล้ว งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 จำนวนหุ้น หุ้นสำมัญจดทะเบียน หุ้นสำมัญ ณ วันต้นปี บวก: เพิ่มทุนจดทะเบียนระหว่ำงปี หัก: ลดทุนจดทะเบียนระหว่ำงปี หุ้นสำมัญ ณ วันสิ้นปี หุ้นสำมัญที่ออกจำหน่ำยและชำระแล้ว หุ้นสำมัญ ณ วันต้นปี บวก: ออกหุ้นสำมัญจำกกำรใช้สิทธิใน ใบสำคัญแสดงสิทธิ - อัตรำกำรใช้สิทธิ 1: 1.0437 - อัตรำกำรใช้สิทธิ 1: 1.0500 ออกหุ้นสำมัญใหม่เพิ่มทุน ออกหุ้นปันผล (หมำยเหตุ 29) หุ้นสำมัญ ณ วันสิ้นปี
28.
2557 บำท
จำนวนหุ้น
บำท
13,199,599,896 13,199,599,896 13,375,273,610 13,375,273,610 439,958,234 439,958,234 424,326,286 424,326,286 (852,880) (852,880) (600,000,000) (600,000,000) 13,638,705,250 13,638,705,250 13,199,599,896 13,199,599,896 13,198,747,016 13,198,747,016 12,715,550,962 12,715,550,962
439,952,236
439,952,236
4,255,684 54,946,815 423,993,555 -
4,255,684 54,946,815 423,993,555 -
13,638,699,252 13,638,699,252 13,198,747,016 13,198,747,016
สำรองตำมกฎหมำย ภำยใต้บทบัญญัติของมำตรำ 116 แห่งพระรำชบัญญัติบริษัทมหำชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรกำไรสุทธิ ประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่ำร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยขำดทุนสะสมยกมำ (ถ้ำมี) จนกว่ำ ทุ น สำรองนี้ จ ะมี จ ำนวนไม่ น้ อ ยกว่ ำ ร้ อ ยละ 10 ของทุ น จดทะเบี ย น ทุ น สำรองตำมกฎหมำยนี้ ไ ม่ สำมำรถน ำไปจ่ ำ ย เงินปันผลได้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
211
29.
กำรจ่ำยปันผล เมื่อวันที่ 21 เมษำยน 2557 ที่ประชุมสำมัญผู้ถือหุ้นประจำปีของบริษัทฯ มีมติอนุมัติจ่ำยเงินปันผลจำกผลกำรดำเนินงำน ประจำปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2556 ในอัตรำ 0.0333 บำทต่อหุ้น รวมเป็นเงิน 424 ล้ำนบำท ซึ่งบริษัทฯได้จ่ำยเงินปันผลแล้ว ในวันที่ 14 พฤษภำคม 2557 เมื่อวันที่ 24 เมษำยน 2558 ที่ประชุมสำมัญผู้ถือหุ้นประจำปีของบริษัทฯ มีมติอนุมัติจ่ำยเงินปันผลจำกผลกำรดำเนินงำน ประจำปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2557 โดยจ่ำยปันผลเป็นหุ้นสำมัญ จำนวน 439,952,236 หุ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตรำกำรจ่ำย 1 หุ้นปันผลต่อ 30 หุ้นที่ถืออยู่เดิม หรือคิดเป็นอัตรำกำรจ่ำยเงินปันผลเท่ำกับ 0.0333 บำท ต่อหุ้น และจ่ำยปันผลเป็น เงิน สดในอัตรำหุ้น ละ 0.0037 บำท หรือคิด เป็น จำนวน 48.8 ล้ำ นบำท โดยบริษั ทฯได้จ่ำ ย เงินปันผลและออกหุ้นปันผลแล้วเมื่อวันที่ 21 พฤษภำคม 2558
30.
เงินกองทุนทีต่ ้องดำรงไว้ตำมกฎหมำย วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริษัทฯในกำรบริหำรทุน คือ กำรดำรงไว้ซึ่งควำมสำมำรถในกำรดำเนินงำนอย่ำงต่อเนื่องของบริษัทฯ และกำรดำรงเงินกองทุนตำมกฎหมำยตำมพระรำชบัญญัติธุรกิจสถำบันกำรเงิน พ.ศ. 2551 ของบริษัทย่อย (“ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์”) ที่ประกอบธุรกิจธนำคำร โดย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 เงินกองทุนของบริษัทย่อย ประกอบด้วย (หน่วย: พันบำท) 31 ธันวำคม 2558 2557 เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้ำของ ทุนที่ออกและชำระเต็มมูลค่ำแล้ว 14,000,000 13,000,000 สำรองตำมกฎหมำย 347,800 266,200 กำไรสุทธิคงเหลือหลังกำรจัดสรร 1,112,242 814,305 ส่วนเกิน (ต่ำกว่ำ) ทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุน ในตรำสำรทุนประเภทเงินลงทุนเผื่อขำย 5,991 (14,461) หัก: สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (190,708) (133,436) (72,508) (36,788) หัก: สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 15,202,817 13,895,820 รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้ำของ 15,202,817 13,895,820 รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 เงินกองทุนชั้นที่ 2 ตรำสำรหนี้ด้อยสิทธิ 4,000,000 1,733,288 1,336,109 เงินสำรองสำหรับสินทรัพย์จัดชั้นปกติและสำรองทัว่ ไป 5,733,288 1,336,109 รวมเงินกองทุนชั้นที่ 2 20,936,105 15,231,929 รวมเงินกองทุนตำมกฎหมำยทั้งสิ้น
212
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
31 ธันวำคม 2558 ธนำคำร แลนด์ อัตรำขั้นต่ำ แอนด์ เฮ้ำส์ ตำมกฎหมำย อัตรำส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้ำของ ต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตรำส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตรำส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยง
10.18 10.18 14.01
(หน่วย: ร้อยละ) 31 ธันวำคม 2557 ธนำคำร แลนด์ อัตรำขั้นต่ำ แอนด์ เฮ้ำส์ ตำมกฎหมำย
4.50 6.00 8.50
11.32 11.32 12.41
4.50 6.00 8.50
รำยละเอียดกำรดำรงเงินกองทุนสำหรับกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงินตำมหลักเกณฑ์ Basel III โดย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 เงินกองทุนสำหรับกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงิน ประกอบด้วย (หน่วย: พันบำท) 31 ธันวำคม 2558 2557 เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้ำของ ทุนที่ออกและชำระเต็มมูลค่ำแล้ว ส่วนเกินมูลค่ำหุ้นสำมัญ สำรองตำมกฎหมำย กำไรสุทธิคงเหลือหลังกำรจัดสรร กำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสะสม รำยกำรหักจำกเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้ำของ รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้ำของ รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 เงินกองทุนชั้นที่ 2 ตรำสำรหนี้ด้อยสิทธิ เงินสำรองสำหรับสินทรัพย์จัดชั้นปกติและสำรองทัว่ ไป รวมเงินกองทุนชั้นที่ 2
13,638,699 642,556 528,700 1,638,684 (15,441) (364,458) 16,068,740 16,068,740
13,198,747 642,556 396,400 1,027,984 (79,123) (203,482) 14,983,082 14,983,082
3,849,200 1,733,288 5,582,488 21,651,228
1,336,109 1,336,109 16,319,191
รวมเงินกองทุนตำมกฎหมำยทั้งสิ้น
อัตรำส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้ำของ ต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตรำส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตรำส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยง
31 ธันวำคม 2558 กลุ่มธุรกิจทำง อัตรำขั้นต่ำ กำรเงิน ตำมกฎหมำย 10.61 10.61 14.29
4.50 6.00 8.50
(หน่วย: ร้อยละ) 31 ธันวำคม 2557 กลุ่มธุรกิจทำง อัตรำขั้นต่ำ กำรเงิน ตำมกฎหมำย 12.16 12.16 13.24
4.50 6.00 8.50
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
213
นอกจำกนี้ เพื่อให้เป็นไปตำมประกำศธนำคำรแห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์กำรกำกับแบบรวมกลุ่ม บริษัทฯได้เปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับกำรดำรงเงินกองทุนสำหรับกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงินฯ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 ไว้ใน Website ของบริษัทฯ www.lhfg.co.th แล้วเมื่อวันที่ 30 เมษำยน 2558 และจะเปิดเผยข้อมูลกำรดำรงเงินกองทุนสำหรับกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 ภำยในเดือนเมษำยน 2559 31.
รำยได้ดอกเบี้ย งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุนในตรำสำรหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ กำรให้เช่ำซื้อ อื่น ๆ รวมรำยได้ดอกเบี้ย
32.
633,094 1,470,957 6,268,213 121,582 47 8,493,893
298,849 1,476,577 5,544,033 135,619 7,455,078
3,757 4,850 8,607
6,880 6,880
ค่ำใช้จ่ำยดอกเบี้ย งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินนำส่งสถำบันคุม้ ครองเงินฝำกและ ธนำคำรแห่งประเทศไทย ตรำสำรหนี้ที่ออก - หุ้นกู้ด้อยสิทธิ เงินกูย้ ืม อื่น ๆ รวมค่ำใช้จำ่ ยดอกเบี้ย
214
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
2,776,291 274,417
3,169,650 314,647
5,082
28,132
691,926
587,732
-
-
121,824 262,101 905 4,127,464
1,121 4,073,150
5,082
28,132
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
33.
รำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร
รำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร กำรรับรอง รับอำวัล และกำรค้ำประกัน ค่ำธรรมเนียมรับนำยหน้ำ อื่น ๆ รวมรำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร ค่ำใช้จ่ำยค่ำธรรมเนียมและบริกำร ค่ำธรรมเนียมและบริกำร อื่น ๆ รวมค่ำใช้จำ่ ยค่ำธรรมเนียมและบริกำร รำยได้คำ่ ธรรมเนียมและบริกำรสุทธิ (ขำดทุน) 34.
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
43,503 212,473 199,607 455,583
40,577 92,998 163,182 296,757
-
-
50,716 55,487 106,203 349,380
41,691 38,844 80,535 216,222
7,843 7,843 (7,843)
7,801 7,801 (7,801)
กำไรจำกเงินลงทุน
กำไรจำกกำรขำย: เงินลงทุนเผื่อขำย เงินลงทุนที่จะถือจนครบกำหนด เงินลงทุนทั่วไป รวมกำไรจำกเงินลงทุน
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 25,210 647,726 456 673,392
46,179 445,240 491,419
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 2,500 22 2,522
3,209 3,209
ในระหว่ำงปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 บริษัทฯมีกำรขำยเงินลงทุนที่จะถือจนครบกำหนด โดยมีรำคำทุนตัดจำหน่ำย และรำคำขำยใกล้เคียงกันโดยจำนวนประมำณ 5 ล้ำนบำท ในระหว่ ำ งปี สิ้น สุ ด วั น ที่ 31 ธัน วำคม 2558 และ 2557 บริ ษัท ย่ อ ยมี ก ำรขำยเงิ น ลงทุ นที่ จ ะถื อ จนครบก ำหนดตำมที่ คณะกรรมกำรบริษัทย่อยมีมติให้ควำมเห็นชอบ โดยมีรำคำทุนตัดจำหน่ำยจำนวน 9,679 ล้ำนบำท และ 11,544 ล้ำนบำท ตำมลำดับ และมีกำไรสุทธิที่เกิดขึ้นจำกกำรขำยจำนวน 648 ล้ำนบำท และ 445 ล้ำนบำท ตำมลำดับ 35.
ค่ำตอบแทนกรรมกำร ค่ ำ ตอบแทนกรรมกำรนี้ เ ป็ น ผลประโยชน์ ที่ จ่ ำ ยให้ แ ก่ ก รรมกำรของบริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยตำมมำตรำ 90 ของพระรำชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหำชนจ ำกั ด โดยไม่ ร วมเงิ น เดื อ นและผลประโยชน์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่ จ่ ำ ยให้ กั บ กรรมกำรซึ่ ง ดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหำรของบริษัทฯและบริษัทย่อยด้วย
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
215
36.
หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
หนี้สูญและหนีส้ งสัยจะสูญ (โอนกลับ) เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ (1) รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน สินทรัพย์อื่น รวมหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ (1)
37.
1,024,007 46,853 18,754 1,089,614
642,196 67,591 213 710,000
สุทธิจำกขำดทุนจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้
องค์ประกอบของกำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอืน่ องค์ประกอบของกำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 ประกอบด้วย
(ก) รำยกำรที่จะถูกบันทึกในส่วนของกำไรหรือขำดทุน ในภำยหลัง: กำไรจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจำกกำรวัดมูลค่ำ เงินลงทุนในระหว่ำงปี กำไรจำกกำรโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน - สุทธิ (กำไร) ขำดทุนที่โอนไปรับรู้ในส่วนของกำไร หรือขำดทุนเนื่องจำก - ขำยเงินลงทุนเผื่อขำย - ขำยเงินลงทุนเผื่อขำยที่รับโอนมำจำกกำร เปลี่ยนประเภทเงินลงทุน - ตัดจำหน่ำยส่วนเกินทุนจำกกำรโอนเปลี่ยน ประเภทเงินลงทุน กำไรจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย หัก: ภำษีเงินได้ กำไรจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย - สุทธิ จำกภำษีเงินได้ (ข) รำยกำรที่จะไม่ถูกบันทึกในส่วนของกำไร หรือขำดทุนในภำยหลัง: กำไรจำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ ประกันภัย หัก: ภำษีเงินได้ กำไรจำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ ประกันภัย - สุทธิจำกภำษีเงินได้ กำไรเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี
216
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
65,836 -
7,456 20,951
53,320 -
6,577 -
5,551
45,926
7,434
-
(3,231)
(64,646)
-
-
(1,156) 67,000 (6,828)
(4,467) 5,220 (120)
60,754 -
6,577 -
60,172
5,100
60,754
6,577
1,843 (388)
-
-
-
1,455 61,627
5,100
60,754
6,577
38.
กำไรต่อหุน้ กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำนคำนวณโดยหำรกำไรสำหรับ ปีส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ (ไม่รวมกำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจำนวนถัวเฉลี่ ยถ่ว งน้ำหนั กของหุ้ นสำมัญที่ ออกในระหว่ำ งปี และได้ ปรั บปรุ งเพิ่ มเติมด้ วยจำนวนหุ้ นปั นผลที่ไ ด้ มีกำรประกำศจ่ำยตำมที่กล่ำวไว้ในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินข้อที่ 29 โดยถือเสมือนว่ำกำรออกหุ้นปันผลได้เกิดขึ้ น ตั้งแต่วันเริ่มต้นของปีแรกที่เสนอรำยงำน กำไรต่อหุ้นปรับลดคำนวณโดยหำรกำไรสำหรับ ปีส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัท ฯ (ไม่รวมกำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยผลรวมของ (ก) จำนวนหุ้ นสำมัญ ถัวเฉลี่ ยถ่วงน้ำหนักที่อ อกอยู่ใ นระหว่ำ งปีและได้ ปรับ ปรุงเพิ่ม เติมด้ ว ยจำนวน หุ้นปันผลที่ได้มีกำรประกำศจ่ำยตำมที่กล่ำวไว้ในหมำยเหตุ ประกอบงบกำรเงินข้อที่ 29 โดยถือเสมือนว่ำกำรออกหุ้นปันผล ได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันเริ่มต้นของปีแรกที่เสนอรำยงำน และ (ข) จำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสำมัญที่บริษัทฯอำจต้องออก เพื่อแปลงหุ้ นสำมัญเทียบเท่ำปรับ ลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสำมัญ โดยสมมติว่ำได้มีกำรแปลงเป็นหุ้นสำมัญ ณ วันต้นปี หรือ ณ วันออกหุ้นสำมัญเทียบเท่ำ กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำนและกำไรต่อหุ้นปรับลด แสดงกำรคำนวณได้ดังนี้
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน กำไรสำหรับปีส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ผลกระทบของหุ้นสำมัญ เทียบเท่ำปรับลด ใบสำคัญแสดงสิทธิ กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสำหรับปีส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นสำมัญสมมติวำ่ มีกำรใช้สิทธิซื้อหุ้นสำมัญ จำกใบสำคัญแสดงสิทธิ
กำไรสำหรับปี 2558 2557 พันบำท พันบำท
1,651,713
งบกำรเงินรวม จำนวนหุ้นสำมัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2558 2557 พันหุ้น พันหุ้น
1,201,387
13,638,699 13,466,655
-
8,198
1,201,387
13,474,853
กำไรต่อหุ้น 2558 2557 บำท บำท
0.1211
0.0892
0.0892
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
217
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน กำไรสำหรับปีส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ผลกระทบของหุ้นสำมัญ เทียบเท่ำปรับลด
กำไรสำหรับปี 2558 2557 พันบำท พันบำท
1,013,134
ใบสำคัญแสดงสิทธิ กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสำหรับปีส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นสำมัญสมมติวำ่ มีกำรใช้สิทธิซื้อหุ้นสำมัญ จำกใบสำคัญแสดงสิทธิ 39.
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร จำนวนหุ้นสำมัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2558 2557 พันหุ้น พันหุ้น
830,275
13,638,699 13,466,655
-
8,198
830,275
13,474,853
กำไรต่อหุ้น 2558 2557 บำท บำท
0.0743
0.0617
0.0616
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทย่อยและพนักงำนของบริษัทย่อยได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นภำยใต้กำรอนุมัติจำกกระทรวงกำรคลัง ตำมพระรำชบั ญ ญั ติ ก องทุ น ส ำรองเลี้ ย งชี พ พ.ศ. 2530 ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเงิ น ที่ พ นั ก งำนจ่ ำ ยสะสมเป็ น รำยเดื อ น ในอัตรำร้อยละ 3 - 7 ของเงินเดือน และเงินที่บริษัทย่อยจ่ำยสมทบให้ในอัตรำเดียวกัน โดยจะจ่ำยให้แก่พนักงำนในกรณี ที่ อ อกจำกงำนตำมระเบี ย บว่ ำ ด้ ว ยกองทุ น ฯ ในระหว่ ำ งปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วำคม 2558 และ 2557 บริ ษั ท ย่ อ ย ได้จ่ำยเงินสมทบเข้ำกองทุนฯ เป็นจำนวน 32.1 ล้ำนบำท และ 26.7 ล้ำนบำท ตำมลำดับ
40.
ภำระผูกพันและหนี้สนิ ทีอ่ ำจจะเกิดขึน้
40.1 ภำระผูกพัน
31 ธันวำคม 2558 เงินตรำ เงินบำท ต่ำงประเทศ กำรรับอำวัลตั๋วเงิน กำรค้ำประกันอื่น วงเงินเบิกเกินบัญชีที่ลูกค้ำ ยังไม่ได้เบิกใช้ ภำระผูกพันอื่น รวม 218
งบกำรเงินรวม รวม 119,458 4,334,089
31 ธันวำคม 2557 เงินตรำ เงินบำท ต่ำงประเทศ
119,458 4,334,089
-
5,009,803 15,201,722 24,665,072
- 5,009,803 4,493,311 - 15,201,722 10,734,671 - 24,665,072 17,992,991
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
(หน่วย: พันบำท)
246,713 2,518,296
-
รวม 246,713 2,518,296
- 4,493,311 - 10,734,671 - 17,992,991
40.2 ภำระผูกพันตำมสัญญำระยะยำว (ก)
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยได้ทำสัญญำเช่ำและบริกำรระยะยำวสำหรับอำคำรสำนักงำน อุปกรณ์ และยำนพำหนะ โดยมีอำยุสัญญำระหว่ำง 1 ถึง 9 ปี โดยบริษัทย่อยมีจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ำยค่ำเช่ำและค่ำบริกำร ในอนำคตทั้งสิ้นดังนี้ (หน่วย: ล้ำนบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 2557 จ่ำยชำระ: ภำยใน 1 ปี 332 297 มำกกว่ำ 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 353 341 มำกกว่ำ 5 ปี 16 30 ณ วั นที่ 31 ธั น วำคม 2558 และ 2557 ภำระผู กพั น ของบริ ษั ทย่ อยข้ ำงต้ นรวมภำระผู กพั นตำมสั ญญำเช่ ำและ สัญญำบริกำรที่ทำกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจำนวนเงินรวมประมำณ 212 ล้ำนบำท และ 245 ล้ำนบำท ตำมลำดับ
(ข)
บริษั ทย่ อยสำมแห่ง มีภำระผูก พัน ตำมสัญ ญำจ้ำงที่ป รึกษำเพื่อติ ดตั้ งและพั ฒนำระบบคอมพิว เตอร์กั บบริษั ท หลำยแห่ง ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 คงเหลือจำนวนที่บริษัทย่อยจะต้องจ่ำยภำยใต้สัญญำดังกล่ำวอีก จำนวน 27 ล้ำนบำท และ 10 ล้ำนบำท ตำมลำดับ นอกจำกนี้ บริษัทย่อยมีภำระผูกพันตำมสัญญำอนุญำตให้ใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยบริษัทย่อยจะต้องจ่ำยค่ำบำรุงรักษำเป็นรำยปี โดยตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป จ่ำยปีละ 1.6 ล้ำนบำทต่อปี สัญญำดังกล่ำวมีผลบังคับต่อเนื่องจนกว่ำบริษัทย่อยจะบอกเลิกสัญญำ หรือฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งผิดเงื่อนไข ตำมที่ระบุไว้ในสัญญำ
(ค)
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีภำระผูกพันตำมสัญญำอนุญำตให้ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่บริษัทย่อยได้เข้ำทำสัญญำในปี 2557 โดยบริษัทย่อยจะต้ องจ่ำยค่ำบริกำรเป็นจำนวนเงิน 3.1 ล้ำนบำทต่อปี เป็นระยะเวลำ 5 ปี และมีค่ำบำรุงรักษำอีกจำนวน 2.9 ล้ำนบำทต่อปี โดยในปีแรกให้จ่ำยตำมสัดส่วนนับจำก วันที่เริ่มใช้งำน
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
219
40.3 ภำระผูกพันเกี่ยวกับสัญญำให้บริกำร ณ วั นที่ 31 ธั นวำคม 2558 และ 2557 บริ ษัท ย่อยมีภำระที่ต้อ งน ำส่ง เงิน ค่ำ ธรรมเนี ยมกำรประกอบกิจ กำรตำมที่ได้รั บ ใบอนุญำตต่อสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ ซึ่งประกอบด้วยค่ำธรรมเนียมดังต่อไปนี้ -
ค่ ำ ธรรมเนี ย มกำรบริ ห ำรจั ด กำรกองทุ น ในอั ต รำที่ ก ำหนด โดยค ำนวณจำกมู ล ค่ ำ ทรั พ ย์ สิ น สุ ท ธิ ภ ำยใต้ กำรบริหำรจัดกำร ณ สิ้นวันทำกำรสุดท้ำยของเดือนถัวเฉลี่ย
-
ค่ำธรรมเนียมกำรเป็นนำยทะเบียนคิดค่ำธรรมเนียมในอัตรำร้อยละ 1 ของรำยได้ค่ำธรรมเนียมกำรเป็นนำยทะเบียน
ทั้งนี้ ค่ำธรรมเนียมดังกล่ำวกำหนดขั้นต่ำ 500,000 บำทต่อปี 40.4 ภำระผูกพันโครงกำรสะสมหุ้นสำหรับพนักงำน เมื่อวันที่ 21 ตุลำคม 2556 ที่ประชุมคณะกรรมกำรของบริษัทย่อย ครั้งที่ 11/2556 มีมติอนุมัติโครงกำรสะสมหุ้นสำหรับ พนักงำน (Employee Joint Investment Program หรือ EJIP) โดยมีรำยละเอียดดังนี้ ระยะเวลำโครงกำร พนักงำนทีม่ ีสิทธิเข้ำร่วมโครงกำร
รูปแบบโครงกำร
กำหนดกำรซื้อหุ้นเข้ำโครงกำร เงื่อนไขกำรถือครองหลักทรัพย์
ตั้งแต่วันที่ 1 มกรำคม 2557 ถึง 31 ธันวำคม 2561 รวมระยะเวลำ 5 ปี ผู้ บ ริ ห ำรของธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ ำ ส์ จ ำกั ด (มหำชน) ระดั บ ผู้ ช่ ว ย ผู้อำนวยกำรฝ่ำย/สำนัก หรือเทียบเท่ำขึ้นไป ที่ผ่ำนกำรทดลองงำนและ ปลดรักษำกำรแล้ว เงิ น ส่ ว นที่ พ นั ก งำนจ่ ำ ยเพื่ อ เข้ ำ ร่ ว มโครงกำร: อั ต รำไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 5 ของฐำนเงินเดือนพนักงำน เงินส่วนที่บริษัทย่อยจ่ำยสมทบให้พนักงำนทีเ่ ข้ำร่วมโครงกำร: อัตรำร้อยละ 5 ของฐำนเงินเดือนพนักงำน ทุกเดือน ปีที่ 1 - 3 ไม่สำมำรถขำยได้ทั้งจำนวน ครบ 3 ปี สำมำรถขำยหุ้นได้ 25% ของจำนวนหุ้นสะสมที่มีอยู่ ครบ 4 ปี สำมำรถขำยหุ้นได้ 50% ของจำนวนหุ้นสะสมที่มีอยู่ ครบ 5 ปี สำมำรถขำยหุ้นได้ทงั้ จำนวน กำรลำออกจำกโครงกำรทุกกรณี สำมำรถขำยหุ้นได้ทันที
โครงกำรสะสมหุ้นสำหรับพนักงำนนี้ได้รับควำมเห็นชอบจำกสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 7 มกรำคม 2557 ซึ่งบริษัทย่อยได้จ่ำยสมทบเงินให้กับสมำชิกในโครงกำรและรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของค่ำใช้จ่ำย เกี่ยวกับพนักงำน ในระหว่ำงปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 เป็นจำนวนเงินประมำณ 7.4 ล้ำนบำท และ 6.7 ล้ำนบำท ตำมลำดับ
220
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
40.5 ภำระผูกพันที่เกิดจำกกำรซื้อบริษัทย่อย ในเดือนมกรำคม 2557 บริษัทฯได้เข้ำทำสัญญำซื้อขำยหุ้นบริษัทหลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด (มหำชน) ซึ่งต่อมำจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน)” (บริษัทย่อย) จำก CIMB Securities International Pte. Ltd. และผู้ถือหุ้นอื่นในกลุ่ม CIMB ภำยใต้สัญญำดังกล่ำว บริษัทฯมีภำระผูกพัน ตำมสัญญำที่จะต้อ งจ่ำยค่ำหุ้ นเพิ่ม เติมในอนำคตในอัตรำร้อยละ 50 ของผลประโยชน์ที่บริษัทย่อยดังกล่ำวจะได้รั บ ในฐำนะกำรเป็นสมำชิกตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลำดหลักทรัพย์ฯ”) ในกรณีที่มีกำรแปรรูปตลำดหลักทรัพย์ฯ เป็นบริษัทมหำชน (Demutualisation) ซึ่งวิธีกำรคำนวณผลประโยชน์ในแต่ละรูปแบบได้มีกำรกำหนดไว้แล้วในสัญญำ พร้อมทั้งระยะเวลำในกำรจ่ำยชำระ 40.6 คดีฟ้องร้อง ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยมีหนี้สินที่อำจจะเกิดขึ้นจำกกำรถูกฟ้องร้องเรียกค่ำเสียหำยในหลำยคดี โดยคดีดังกล่ำวมีทุนทรัพย์รวมจำนวน 36 ล้ำนบำท และ 38 ล้ำนบำท ตำมลำดับ ซึ่งผลของคดีดังกล่ำวยังไม่เป็นที่สิ้นสุด ฝ่ำยบริหำรของบริษัทย่อยได้ใช้ดุลยพินิจในกำรประเมินผลของคดีที่ถูกฟ้องร้องและเชื่อมั่นว่ำจะไม่มีควำมเสียหำยที่มี นัยสำคัญเกิดขึ้นจึงไม่ได้บันทึกหนี้สินที่อำจจะเกิดขึ้นดังกล่ำว 41.
รำยกำรธุรกิจกับกิจกำร/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรำยกำรธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รวมทั้งรำยกำรที่เกี่ยวข้องกับกรรมกำร ผู้บริหำรหรือบุคคลผู้มีตำแหน่งเทียบเท่ำ รวมถึงกิจกำรที่บุคคลหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่ำวที่มีอำนำจในกำรจัดกำร หรือกิจกำรที่บริษัทฯและบริษัทย่อยหรือกรรมกำรหรือผู้บริหำร รวมถึง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่ำวถือหุ้นรวมกันเกินกว่ำ ร้อยละ 10 ขึ้นไปของทุนที่ชำระแล้วของกิจกำรนั้น ลักษณะควำมสัมพันธ์สำมำรถแบ่งได้ดังนี้ 1.
บริษัทย่อยทำงตรงและทำงอ้อมของบริษัทฯ ได้แก่ 1.1 1.2 1.3 1.4
2.
ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดกำรกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ แอดไวเซอรี่ จำกัด
บริษัทและบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเกินกว่ำร้อยละ 10 ขึ้นไป (“ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่”) ได้แก่ 2.1 2.2 2.3
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) คุณเพียงใจ หำญพำณิชย์
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
221
3.
บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 3.1 บริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตำมข้อ 2 ข้ำงต้น) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย -
222
บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จำกัด บริษัท คิว. เอช. แมเนจเม้นท์ จำกัด บริษัท คิว. เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ (ระยอง 2553) จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ (เพชรบุรี 2553) จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ (ชลบุรี 2554) จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ (ประจวบคีรีขันธ์ 2554) จำกัด บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล จำกัด บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ โฮสท จำกัด บริษัท กัสโต้ วิลเลจ จำกัด บริษัท คิว.เฮ้ำส์ พรีคำสท์ จำกัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ นอร์ธอีส จำกัด บริษัท แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ จำกัด บริษัท แอล แอนด์ เอช รีเทล แมเนจเมนท์ จำกัด บริษัท เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี้ จำกัด บริษัท สยำมธำนี พร๊อบเพอร์ตี้ จำกัด บริษัท สยำมธำนี เรียลเอสเตท จำกัด
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
3.2 บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตำมข้อ 2 ข้ำงต้น) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย -
บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน) บริษัท เอเซียแอสเซท แอดไวเซอรี่ จำกัด บริษัท ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดักส์ จำกัด (มหำชน) กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ - II กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ควอลิตี้ เฮ้ำส์ กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำ ควอลิตี้ เฮ้ำส์ โฮเทล แอนด์ เรซิเดนซ์ บริษัท แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ จำกัด บริษัท เมกำ โฮม เซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท มำร์เก็ต วิลเลจ จำกัด
3.3 บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมกำรของบริษัทฯและบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย -
บริษัท สยำม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำกัด บริษัท ไทยบรรจุภัณฑ์และกำรพิมพ์ จำกัด (มหำชน) บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) บริษัท บ้ำนปู จำกัด (มหำชน) บริษัท ดีซี เซอร์วิส เซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท น้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด (มหำชน) บริษัท โรงงำนน้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด บริษัท อรไอย์ริณ จำกัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
223
3.4 บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตำมข้อ 2 ข้ำงต้น) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและ บริษัทย่อย ประกอบด้วย -
บริษัท เคหะอุตสำหกรรม จำกัด บริษัท เมย์แลนด์ จำกัด บริษัท เอ.เอ.พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด บริษัท นอร์ธเทอร์น เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท บี.ซี.เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท ประชำชื่น เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท สุรัสยำ จำกัด
-
บริษัท อรรถชำติ จำกัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท ดำหรำ จำกัด บริษัท ปทุมธำนี เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท เอ แอนด์ พี แอสโซซิเอท จำกัด บริษัท ออทัมแลนด์ จำกัด กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ บริษัท แมนดำริน โฮเต็ล จำกัด (มหำชน)
3.5 บริษัทที่ถูกควบคุมโดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯและบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย - บริษัท พรพลทรัพย์เจริญ จำกัด - บริษัท เอ.เอ.พร็อพเพอร์ตี้ (เชียงใหม่) จำกัด - บริษทั เอพี (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน)
224
4.
กรรมกำรและผู้ บ ริ ห ำร หมำยถึ ง กรรมกำรบริ ษั ท ฯ ผู้ บ ริ ห ำรระดั บ กรรมกำรผู้ จั ดกำร รองกรรมกำรผู้ จั ด กำร ผู้ช่วยกรรมกำรผู้จัดกำร หัวหน้ำสำยงำนและผู้ช่วยสำยงำน
5.
บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน หมำยถึง กรรมกำรของบริษัทย่อย กรรมกำรของผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตำม ข้อ 2 ข้ำงต้น) และบุคคลใกล้ชิดของบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน และกรรมกำรและผู้บริหำร
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
41.1 รำยกำรที่เกิดขึ้นในระหว่ำงปี ในระหว่ำงปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรำยกำรธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รำยกำรธุรกิจดังกล่ำวเป็นไป ตำมเงื่อนไขทำงกำรค้ำและเกณฑ์ที่ตกลงกันระหว่ำงบริษัทฯ บริษัทย่อย บุคคลและกิจกำรที่เกี่ย วข้องกันเหล่ำนั้น ซึ่งเป็นไป ตำมปกติธุรกิจ โดยสำมำรถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 รำยได้ดอกเบี้ย บริษัทย่อยของบริษัทฯ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
-
-
8,573
6,873
บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
145,792
120,786
-
-
กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
452 1,640 147,884
390 2,454 123,630
8,573
6,873
37,809
37,562
-
-
37,809
37,562
-
-
11,376 11,376
11,376 11,376
1,000,090 1,000,090
845,000 845,000
-
-
1,320 1,320
1,220 1,220
ค่ำใช้จ่ำยดอกเบี้ย บริษัทย่อยของบริษัทฯ
-
-
5,082
28,131
ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน กรรมกำรและผู้บริหำร
33,359 47,599 7,760
35,409 35,127 8,222
-
-
บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
13,156
13,619
-
-
101,874
92,377
5,082
28,131
รำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
รำยได้เงินปันผล บริษัทย่อยของบริษัทฯ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รำยได้จำกกำรดำเนินงำนอื่น บริษัทย่อยของบริษัทฯ
นโยบำยกำรกำหนดรำคำ ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยจ่ำยให้ผู้ฝำกทัว่ ไป และตำมเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้ำทั่วไป และตำมเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้ำทั่วไป ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้ำทั่วไป
คิดเป็นอัตรำร้อยละจำกมูลค่ำสินทรัพย์ สุทธิของกองทุนที่บริษัทย่อยบริหำร จัดกำร
ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยประกำศจ่ำย ตำมที่ประกำศจ่ำยโดยกองทุนฯ
ตำมอัตรำที่ระบุไว้ในสัญญำ
ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้ำทั่วไป และตำมอัตรำที่ระบุในสัญญำ ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยจ่ำยให้ผู้ฝำกทัว่ ไป ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยจ่ำยให้ผู้ฝำกทัว่ ไป ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยจ่ำยให้ผู้ฝำกทัว่ ไป และตำมเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยจ่ำยให้ผู้ฝำกทัว่ ไป และตำมเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
225
ค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนอื่น ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557
36,198 98,126
17,788 77,704
25
29
134,324
95,492
25
29
-
-
20 20
76 76
-
2,900 2,900
-
-
ค่ำใช้จ่ำยค่ำธรรมเนียมและ บริกำร บริษัทย่อยของบริษัทฯ ซื้อสินทรัพย์ - รถยนต์ ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่
(หน่วย: พันบำท)
นโยบำยกำรกำหนดรำคำ ตำมอัตรำที่ระบุไว้ในสัญญำ ตำมอัตรำที่ระบุไว้ในสัญญำและตำม อัตรำที่คิดกับลูกค้ำทั่วไป
ตำมอัตรำที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้ำทั่วไป ตำมรำคำตลำด
41.2 ยอดคงค้ำงระหว่ำงกัน ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ยอดคงเหลือของรำยกำรที่บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกับบุคคลและกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันที่มีสำระสำคัญ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 มีดังนี้
เงินลงทุน - รำคำทุน บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ตรำสำรหนี้ภำคเอกชน - บริษัท บ้ำนปู จำกัด (มหำชน) ตรำสำรหนี้ภำคเอกชน - บริษัท เอพี (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) ตรำสำรทุน - กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำ ควอลิตี้ เฮ้ำส์ โฮเทล แอนด์ เรซิเดนซ์ ตรำสำรทุน - กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ ดอกเบี้ยค้ำงรับจำกเงินลงทุน บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท บ้ำนปู จำกัด (มหำชน) บริษัท เอพี (ไทยแลนด์) จำกัด (มหำชน) เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท โรงงำนน้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
226
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 2557
2,065,000 67,200
2,850,000 225,000 67,200
91,462 2,223,662
91,462 3,233,662
31,201 31,201
67,441 3,039 70,480
1,015,008 10,436 51,507 1,076,951
15,513 34,455 49,968
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 2557
ดอกเบี้ยค้ำงรับจำกเงินให้สนิ เชื่อแก่ลกู หนี้ บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน บริษัท โรงงำนน้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน สินทรัพย์อื่น ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ บริษัท ควอลิตี้ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ควอลิตี้ เฮ้ำส์ บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ เงินรับฝำก ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) คุณเพียงใจ หำญพำณิชย์ บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จำกัด บริษัท คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ (ชลบุรี 2554) จำกัด บริษัท กัสโต้ วิลเลจ จำกัด บริษัท แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ จำกัด บริษัท เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี้ จำกัด บริษัท สยำมธำนี เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน) บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำกัด กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ - II กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ควอลิตี้ เฮ้ำส์ บริษัท เมกำ โฮม เซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท ไทยบรรจุภัณฑ์และกำรพิมพ์ จำกัด (มหำชน) บริษัท เคหะอุตสำหกรรม จำกัด บริษัท เมย์แลนด์ จำกัด
171 6 38 215
17 42 59
8,432
6,319
15,924 16,993 41,349
17,467 11,200 34,986
3,770,343 938,234 4,719
2,855,781 380,499 13,281
227,267 65,808 36,330 1,146,975 527,362 33,934 301,605 51,651 25,967 97,186 1,887,379 69,489 241,039 54,814 87,809 368,102 44,432
69,395 54,770 82,986 97,675 169,081 18,599 196,597 11,580 30,207 10,327 1,929,232 33,432 75,252 181,356 25,525 62,809 102,400 73,688
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
227
เงินรับฝำก (ต่อ) บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน บริษัท ปทุมธำนี เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท เอ แอนด์ พี แอสโซซิเอท จำกัด กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ บริษัท แก้วเจ้ำจอม จำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ตรำสำรหนีท้ ี่ออกและเงินกู้ยืม บริษทั /บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้ำงจ่ำย ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) คุณเพียงใจ หำญพำณิชย์ บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สนิ อื่น ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ บริษัท ควอลิตี้ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษทั /บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ภำระผูกพัน - หนังสือค้ำประกันธนำคำร บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ควอลิตี้ เฮ้ำส์ บริษัท โรงงำนน้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด
228
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 2557 68,175 68,958 16,713 202,646 482,502 823,850 11,643,289
67,142 41,255 38,015 33,109 157,093 304,740 714,538 7,830,364
20,000 7,500 27,500
-
5,096 30 31
6,781 79
4,696 243 2,352 12,448
5,394 225 2,340 14,819
252
210
3,078 3,330
1,154 1,364
21,186 51,800 72,986
21,186 21,186
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 2557
รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (สินทรัพย์) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) เงินลงทุน - รำคำทุน บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) ดอกเบี้ยค้ำงรับจำกเงินลงทุน บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนีส้ ิน) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) ดอกเบี้ยค้ำงจ่ำยจำกรำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนี้สนิ ) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อหลักทรัพย์ บริษัทย่อยของบริษัทฯ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) หนี้สนิ อื่น บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน)
230,202 230,202
1,024,099 1,024,099
150,800 150,800
-
868 868
-
-
500,000 500,000
-
48 48
4,013 4,013
-
300 300
300 300
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
229
41.3 รำยกำรเคลื่อนไหวของรำยกำรกับบุคคลและกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน รำยกำรเคลื่ อนไหวของเงินให้สินเชื่อแก่ ลูกหนี้ เงิ นรั บฝำก รำยกำรระหว่ ำงธนำคำรและตลำดเงิน (สิน ทรัพ ย์) รำยกำร ระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนี้สิน) และตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืมกับบุคคลและกิจกำรที่ เกี่ยวข้องกันสำหรับ ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 มีดังนี้ งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 ยอดยกมำ ต้นปี เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท บ้ำนปู จำกัด (มหำชน) บริษัท โรงงำนน้ำตำลบุรีรัมย์ จำกัด กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับฝำก ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) คุณเพียงใจ หำญพำณิชย์ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จำกัด บริษัท คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด บริษทั แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ จำกัด บริษัท คำซ่ำ วิลล์ (ชลบุรี 2554) จำกัด บริษัท กัสโต้ วิลเลจ จำกัด บริษัท แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ จำกัด บริษัท เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี้ จำกัด บริษัท สยำมธำนี เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน) บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำกัด กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ - II กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ ควอลิตี้ เฮ้ำส์ บริษัท เมกำ โฮม เซ็นเตอร์ จำกัด
230
เพิ่มขึ้น
ลดลง
(หน่วย: พันบำท)
ยอดคงเหลือ ปลำยปี
15,513 34,455 49,968
1,200,000 3,246,168 91 38,133 4,484,392
(1,200,000) (2,231,160) (5,168) (21,081) (3,457,409)
1,015,008 10,436 51,507 1,076,951
2,855,781 380,499 13,281
112,371,161 66,323,605 27,900
(111,456,599) (65,765,870) (36,462)
3,770,343 938,234 4,719
69,395 54,770 82,986 97,675 169,081 18,599 196,597 11,580 30,207 10,327 1,929,232 33,432 75,252
4,793,756 233,187 422,256 1,852,846 20,468,463 2,535,116 6,020,086 1,018,451 871,078 197,552 108,701,811 384,884 168
(4,635,884) (222,149) (468,912) (803,546) (20,110,182) (2,519,781) (5,915,078) (978,380) (875,318) (110,693) (108,743,664) (348,827) (75,420)
227,267 65,808 36,330 1,146,975 527,362 33,934 301,605 51,651 25,967 97,186 1,887,379 69,489 -
181,356
1,784,232
(1,724,549)
241,039
25,525
7,211,783
(7,182,494)
54,814
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 ยอดยกมำ ต้นปี เงินรับฝำก (ต่อ) บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไทยบรรจุภัณฑ์และกำรพิมพ์ จำกัด (มหำชน) บริษัท เคหะอุตสำหกรรม จำกัด บริษัท เมย์แลนด์ จำกัด บริษัท ปทุมธำนี เรียลเอสเตท จำกัด บริษัท เอ แอนด์ พี แอสโซซิเอท จำกัด กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำ แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ บริษัท แก้วเจ้ำจอม จำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
ยอดคงเหลือ ปลำยปี
เพิ่มขึ้น
ลดลง
62,809 102,400 73,688 67,142 41,255 38,015
489,492 292,159 2,176,980 140,364 151,302 185,575
(464,492) (26,457) (2,206,236) (139,331) (123,599) (206,877)
87,809 368,102 44,432 68,175 68,958 16,713
33,109 157,093 304,740 714,538
406 6,452,914 6,785,024
(33,515) (6,407,361) (6,607,262)
202,646 482,502
2,242,577
(2,133,265)
823,850
7,830,364
354,135,128
(350,322,203)
11,643,289
-
20,000 7,500
-
20,000 7,500
-
27,500
-
27,500
ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน กรรมกำรและผู้บริหำร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558
รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (สินทรัพย์) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนี้สิน) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน)
ยอดยกมำ ต้นปี
ยอดคงเหลือ ปลำยปี
เพิ่มขึ้น
ลดลง
1,024,099
1,214,411
(2,008,308)
230,202
1,024,099
1,214,411
(2,008,308)
230,202
500,000
-
(500,000)
-
500,000
-
(500,000)
-
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
231
41.4 ผลตอบแทนของกรรมกำรและผู้บริหำร ในระหว่ ำ งปี สิ้นสุ ดวั นที่ 31 ธั นวำคม 2558 และ 2557 ค่ ำ ใช้ จ่ ำ ยผลตอบแทนของกรรมกำรและผู้ บ ริ ห ำรของบริ ษั ท ฯ และบริษัทย่อยที่รับรู้ในส่วนของกำไรหรือขำดทุนแยกประเภทได้ดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน รวม
130 7 137
92 6 98
(หน่วย: ล้ำนบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 2557 9 9
8 8
ทั้ ง นี้ กรรมกำรและผู้ บ ริ ห ำรของบริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ย หมำยถึ ง กรรมกำรและ ผู้ บริ ห ำรระดั บ กรรมกำรผู้ จั ดกำร รองกรรมกำรผู้จัดกำร ผู้ช่วยกรรมกำรผู้จัดกำร หัวหน้ำสำยงำนและผู้ช่วยสำยงำน 42.
ส่วนได้เสียในกองทุนที่เป็นกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ำงเฉพำะตัว บริษัทย่อยรับหน้ำที่เป็นผู้จัดกำรกองทุนให้แก่กองทุนเพื่อกำรลงทุนจำนวนหนึ่ง ซึ่งเข้ ำนิยำมของกิจกำรที่มีโครงสร้ำง เฉพำะตัว บริษัทย่อยมีส่วนได้เสียในกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ำงเฉพำะตัวจำกกำรรับค่ำธรรมเนียมกำรบริหำรจัดกำรจำกกองทุน ดังกล่ำว ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 ข้อมูลทำงกำรเงินจำกรำยงำนทำงกำรเงินล่ำสุดของกองทุนที่อยู่ภำยใต้กำรบริหำรจัดกำรของ บริษัทย่อยซึ่งเข้ำนิยำมของกิจกำรที่มีโครงสร้ำงเฉพำะตัว แสดงมูลค่ำสินทรัพย์สุทธิของกองทุนจำนวนรวมประมำณ 23,403 ล้ำนบำท ส่วนได้เสียของบริษัทย่อยในกองทุนดังกล่ำวแสดงได้ดังนี้
ลูกหนี้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร เงินฝำกธนำคำร
(หน่วย: ล้ำนบำท) 31 ธันวำคม 2558 8 377 (หน่วย: ล้ำนบำท) สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวำคม 2558
รำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร - กำรจัดกำรกองทุนรวม รำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร – ค่ำนำยหน้ำจำกกำรซื้อขำยหลักทรัพย์ ค่ำใช้จ่ำยดอกเบี้ย ควำมเสี่ยงสูงสุดที่บริษัทย่อยอำจจะได้รับมีมูลค่ำเท่ำกับส่วนได้เสียที่แสดงไว้ข้ำงต้น 232
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
85 1 3
43.
สวนงานดําเนินงาน บริษัทฯและบริษัทยอยดําเนินกิจการใน 4 สวนงานหลัก คือ ธุรกิจการลงทุน ธุรกิจการธนาคาร ธุรกิจการจัดการกองทุน และธุรกิจอื่น (ซึ่งประกอบดวยธุรกิจหลักทรัพยและธุรกิจใหคําปรึกษา) และดําเนินธุรกิจในสวนงานทางภูมิศาสตรหลัก ในประเทศไทย โดยในสวนของบริษัทยอยที่ประกอบธุรกิจธนาคารเพื่อวัตถุประสงคในการบริหารงาน คณะกรรมการบริหาร ของบริษัทยอยเปนผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงาน ไดมีการแบงสวนงานหลักออกเปนสวนงานการใหสินเชื่อ (เพื่อที่อยูอาศัยและรายยอย และสวนงานการใหสินเชื่ออื่น) และสวนงานอื่น คณะกรรมการบริหารสอบทานผลการดําเนินงานของแตละหนวยธุรกิจแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงคในการตัดสินใจเกี่ยวกับ การจัดสรรทรัพยากรและการประเมินผลการปฏิบัติงาน บริษัทฯและบริษัทยอยประเมินผลการปฏิบัติงานของสวนงาน โดยพิจารณาจากกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานและสินทรัพยรวมซึ่งวัดมูลคาโดยใชเกณฑเดียวกับที่ใชในการวัดผล กําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานในงบการเงิน นอกจากนี้ การบันทึกบัญชีสําหรับรายการระหวางสวนงานที่รายงาน เปนไป ในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีสําหรับรายการธุรกิจกับบุคคลภายนอก ขอมูลสวนงานดําเนินงานของบริษัทฯและบริษัทยอยมีดังตอไปนี้
ธุรกิจการ ลงทุน รายไดดอกเบี้ยที่รับจากลูกคา ภายนอก รายไดดอกเบี้ยที่รับระหวางสวนงาน
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธุรกิจการธนาคาร สวนงานการใหสินเชื่อ ธุรกิจการ เพื่อที่อยูอาศัย จัดการ และรายยอย สินเชื่ออื่น สวนงานอื่น รวมสวนงาน กองทุน
(หนวย: พันบาท)
ธุรกิจอื่น
รายการตัด บัญชี ระหวางกัน
รวม
34
1,486,208
5,518,702
1,474,906
8,479,816
21
14,022
-
8,493,893
8,573
-
5,359
-
5,359
233
5,718
(19,883)
-
4,344,057
254
18,547
46
4,366,429
228,280
93,436
41,399
(5,892)
349,380
รายไดดอกเบี้ยสุทธิ 3,525 รายไดคาธรรมเนียมและบริการสุทธิ (ขาดทุน) (7,843) กําไรสุทธิจากธุรกรรมเพื่อคาและ ปริวรรตเงินตราตางประเทศ กําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน 2,522 รายไดเงินปนผล 1,026,437 รายไดจากการดําเนินงานอื่น 1,320 คาใชจายจากการดําเนินงานอื่น (12,827) หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุน จากการดอยคา คาใชจายภาษีเงินได 1,013,134 กําไร (ขาดทุน) สําหรับป
1,903 269 2,172 659,739 (2,330) 6,820 6,641 673,392 78,082 11,253 10,471 (1,000,090) 126,153 16,031 387 9,478 (1,320) 25,896 (2,210,590) (73,115) (108,333) 5,219 (2,399,646) (1,089,614) (397,232) 1,630,656
(5,217) 24,668
(21,349)
- (1,089,614) - (402,449) (995,396) 1,651,713
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
233
ธุรกิจการ ลงทุน รายไดดอกเบี้ยที่รับจากลูกคา ภายนอก รายไดดอกเบี้ยที่รับระหวางสวนงาน รายไดดอกเบี้ยสุทธิ (ขาดทุน) รายไดคาธรรมเนียมและบริการสุทธิ (ขาดทุน) กําไรสุทธิจากธุรกรรมเพื่อคาและ ปริวรรตเงินตราตางประเทศ กําไรจากเงินลงทุน รายไดเงินปนผล รายไดจากการดําเนินงานอื่น คาใชจายจากการดําเนินงานอื่น หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุน จากการดอยคา คาใชจายภาษีเงินได กําไร (ขาดทุน) สําหรับป
7 6,873
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ธุรกิจการธนาคาร สวนงานการใหสินเชื่อ ธุรกิจการ เพื่อที่อยูอาศัย จัดการ และรายยอย สินเชื่ออื่น สวนงานอื่น รวมสวนงาน กองทุน 1,534,091 -
4,442,768 26,260
1,477,887 -
เงินสด รายการระหวางธนาคารและ ตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้และ ดอกเบี้ยคางรับ - สุทธิ สินทรัพยอื่น สินทรัพยรวม เงินรับฝาก รายการระหวางธนาคารและ ตลาดเงิน ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกูยืม หนี้สินอื่น หนี้สินรวม
234
รายการตัด บัญชี ระหวางกัน
ธุรกิจอื่น
รวม
7,454,746 26,260
2 203
323 20,253
- 7,455,078 (53,589) -
(21,252)
3,382,454
205
20,521
- 3,381,928
(7,801)
155,679
70,767
(1,573)
536 485,591 1,135 100,535 8,393 23,043 144 (1,949,505) (51,318)
2 16 870 1,048 (33,229)
1,206 1,468 491,419 (845,000) 131,686 (1,226) 24,229 1,664 (2,045,045)
(119) (12,464)
- (710,000) - (290,258) (843,944) 1,201,387
668 3,209 866,888 1,220 (12,657) 830,275
(710,000) (285,196) 1,203,137
ธุรกิจการธนาคาร สวนงานการใหสินเชื่อ
เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้/รายการ ระหวางธนาคารและตลาดเงิน
(หนวย: พันบาท)
ธุรกิจการ เพื่อที่อยูอาศัย และรายยอย ลงทุน -
สินเชื่ออื่น
216,222
(หนวย: พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
สวนงาน อื่น
31,246,682 117,763,333
(4,943) 24,383
(850)
รวม สวนงาน
ธุรกิจการ จัดการ กองทุน ธุรกิจอื่น
รายการตัดบัญชี ระหวางกัน
รวม
- 149,010,015
-
370,122
(89,500)
149,290,637
8
2,242,561
-
20
-
2,242,589
230,202 649,066 15,035,991
17,742,126 45,965,016 257,289
44,278 238,887 -
12,415 (352,592) 500,789 (150,800) 6,802 (15,300,082)
17,676,429 47,202,958 -
39,783 15,955,050
130,386,105 1,445,732 198,038,829
54,342 337,507
371,714 179,249 67,872 1,070,989 (15,735,602)
130,757,819 1,786,978 199,666,773
-
137,300,095
-
-
(235,775)
137,064,320
5,800 5,800
20,665,872 21,814,064 2,245,888 182,025,919
33,074 33,074
89,500 71,490 160,990
(116,816) (150,096) (7,178) (509,865)
20,638,556 21,663,968 2,349,074 181,715,918
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้/รำยกำร ระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและ ตลำดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้และ ดอกเบี้ยค้ำงรับ - สุทธิ สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์รวม เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและ ตลำดเงิน ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกูย้ ืม หนี้สินอื่น หนี้สินรวม
(หน่วย: พันบำท)
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 ธุรกิจกำรธนำคำร ส่วนงำนกำรให้สินเชื่อ เพื่อที่อยู่ ธุรกิจกำร อำศัยและ ส่วนงำน รวม จัดกำร รำยย่อย สินเชื่ออื่น อื่น ส่วนงำน กองทุน
ธุรกิจกำร ลงทุน
- 31,766,860 95,850,680
รำยกำรตัด บัญชี ระหว่ำงกัน
ธุรกิจอื่น
- 127,617,540
-
113,655
4
2,503,960
4
5
1,024,099 326,591 14,035,991
13,083,091 33,180,414 257,289
39,025 15,425,710
รวม
(500,000) 127,231,195 -
2,503,973
48,767 198,313 -
779,077 (1,817,851) 22,816 6,802 (14,300,082)
13,117,183 33,728,134 -
114,184,040 1,609,385 164,818,179
40,276 287,360
44,141 (500,049) 113,728,132 128,750 75,448 1,892,884 981,591 (16,542,534) 164,970,306
-
123,661,962
-
- (1,030,060) 122,631,902
500,000 1,508 501,508
23,956,609 1,000,000 1,835,426 150,453,997
18,295 18,295
- (1,285,448) 23,171,161 1,000,000 28,897 (3,238) 1,880,888 28,897 (2,318,746) 148,683,951
บริษัทฯและบริษัทย่อยดำเนินธุรกิจในเขตภูมิศำสตร์เดียวกันในประเทศไทย ดังนั้น รำยได้ กำไรและสินทรัพย์ที่แสดงอยู่ใน งบกำรเงิน จึงถือเป็นกำรรำยงำนตำมเขตภูมิศำสตร์แล้ว นอกจำกนี้ ในระหว่ำงปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีรำยได้จำกลูกค้ำรำยใดที่มีมูลค่ำมำกกว่ำหรือเท่ำกับร้อยละ 10 ของรำยได้รวม 44.
เครื่องมือทำงกำรเงิน เครื่ อ งมื อ ทำงกำรเงิ น หมำยถึ ง สั ญ ญำใด ๆ ที่ ท ำให้ สิ น ทรั พ ย์ ท ำงกำรเงิ น ของกิ จ กำรหนึ่ ง และหนี้ สิ น ทำงกำรเงิ น หรือตรำสำรทุนของอีกกิจกำรหนึ่งเพิ่มขึ้น เครื่องมือทำงกำรเงินที่สำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตำมที่นิยำมอยู่ในมำตรฐำนกำรบัญชีฉบับที่ 107 “กำรแสดงรำยกำร และกำรเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทำงกำรเงิน ” ประกอบด้วย เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน เงิ นให้ สิน เชื่ อ แก่ ลู ก หนี้ ลู ก หนี้ จ ำกกำรขำยหลั ก ทรั พ ย์ เงิ นรั บฝำก หนี้ สิ นจ่ ำยคื นเมื่ อทวงถำม หนี้ สินตรำสำรอนุ พั นธ์ ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อหลักทรัพย์ และเจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ นโยบำยกำรบริหำรควำมเสี่ยงของบริษัทฯและบริษัทย่อยโดยส่วนใหญ่จะเน้นนโยบำยกำรบริหำรควำมเสี่ยงของธนำคำรฯ ที่เป็นบริษัทย่อย โดยธนำคำรฯมี กำรจั ดกำรและควบคุมดูแลควำมเสี่ยงต่ำง ๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งนโยบำย กำรบริหำรควำมเสี่ยงของธนำคำรฯนั้นได้มีกำรทบทวนเป็นประจำทุกปี เพื่อให้สำมำรถสะท้อนถึงกำรเปลี่ยนแปลงของ สภำพแวดล้อม และควำมเสี่ยงที่เกิดจำกปัจจัยภำยในและปัจจัยภำยนอก ดังนี้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
235
44.1 ควำมเสี่ยงด้ำนเครดิต ควำมเสี่ยงด้ำนเครดิต (Credit risk) คือ ควำมเสี่ยงจำกโอกำสที่ควำมน่ำจะเป็นที่ลูกหนี้หรือคู่สัญญำ (Counterparty) ไม่สำมำรถ ปฏิบัติตำมภำระที่ตกลงไว้ รวมถึงโอกำสที่คู่ค้ำจะถูกปรับลดอันดับควำมเสี่ยงด้ำนเครดิตและควำมเสี่ยงอันเกิดจำกกำร ที่คุณภำพของสินเชื่อหรื อเงิน ลงทุน เสื่อ มสถำนะลง และไม่สำมำรถปรับรำคำเพื่อชดเชยควำมเสี่ยงที่เพิ่ม ได้ ซึ่ งอำจ ส่งผลกระทบต่อรำยได้และเงินกองทุนของบริษัทย่อย ควำมเสี่ยงด้ำนเครดิต ถื อเป็ นควำมเสี่ ยงที่มี ควำมสำคัญ มำกต่อธุร กิจสถำบันกำรเงิ น โดยเฉพำะอย่ ำงยิ่ง ควำมเสี่ย ง ด้ำนกำรให้สินเชื่อซึ่งเป็นธุรกรรมหลักของบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำร ทั้งในด้ำนของเงินให้สินเชื่อและภำระผูกพัน โดยควำมเสี่ยงสูงสุดที่บริษัทย่อยอำจได้รับควำมเสียหำยจำกกำรให้สินเชื่อ คือ มูลค่ำตำมบัญชี ของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ รวมกับภำระผูกพันอันเกี่ยวเนื่องจำกกำรค้ำประกัน อำวัล หรืออื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ำยกัน บริษัทย่อยได้มีกำรบริหำรควำมเสี่ยงด้ำนกำรให้สินเชื่อ โดยกำรกำหนดหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำสินเชื่อ เพื่อควบคุม ป้องกันและลดทอนควำมเสี่ยงอันอำจจะเกิดขึ้นจำกกำรให้สินเชื่อ โดยหลักกำรให้สินเชื่อต้องพิจำรณำจำกเงื่อนไขต่ำงๆ อำทิ พื้นที่เป้ำหมำยในกำรให้สินเชื่อ ประเภทธุรกิจ ลักษณะสินเชื่อ กิจกรรม กำรกำหนดขอบเขตวงเงินให้กู้ยืมต่อรำย เพื่อลดควำมเสี่ยงในกำรกระจุกตัวของสินเชื่อ หลักทรัพย์ค้ำประกันเพื่อใช้ในกำรปรับลดควำมเสี่ยงด้ำนกำรให้สินเชื่อและ บุคคลหรือนิติบุคคลที่บริษัทย่อยไม่ให้กำรสนับสนุน นอกจำกนี้ บริษัทย่อยมีกระบวนกำรบริหำรควำมเสี่ยงด้ำนกำรให้ สินเชื่อที่สำคัญ ได้แก่ (1)
กำรระบุควำมเสี่ยง (Risk Identification) บริษัทย่อยพิจำรณำจำกปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวลูกหนี้ ธุรกิจของลูกหนี้/คู่สัญญำ และปัจจัยภำยนอกที่มีผลกระทบ ในทำงลบต่อรำยได้และกำรดำเนินธุรกิจของลูกหนี้/คู่สัญญำ รวมทั้งมีกำรติดตำมกำรเปลี่ยนแปลงของคุณภำพ สิ น เชื่ อ และแนวโน้ ม กำรค้ ำ งช ำระ ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ เ ห็ น ภำพของคุ ณ ภำพสิ น ทรั พ ย์ แ ละควำมเสี่ ย งด้ ำ น เครดิ ต ได้ บริษัทย่อยยังจัดให้มีกำรสอบทำนกำรจัดระดับควำมเสี่ยงของลูกหนี้ และสอบทำนควำมสอดคล้องกับปัจจัยเสี่ยง ที่กำหนด
(2)
กำรวัดควำมเสี่ยง (Risk Measurement) บริษัทย่ อยจัดให้มีเครื่ องมือเพื่อช่วยพิจำรณำกลั่น กรองคุ ณภำพสิ นเชื่อ ประกอบด้วย Credit Rating Model ใช้ในกำรจัดอันดับเครดิตสำหรับลูกค้ำนิติบุคคล และ Credit Scoring Model ใช้ในกำรจัดอันดับเครดิตสำหรับ ลูกค้ำบุคคลธรรมดำ ซึ่งได้รับกำรพัฒนำโดยฝ่ำยบริหำรควำมเสี่ยง เพื่อลดกำรพึ่งพิงกำรใช้ดุลยพินิจของผู้อนุมัติ ในกระบวนกำรพิจำรณำอนุมัติสินเชื่อ
236
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
(3)
กำรติดตำมดูแลควำมเสี่ยง (Risk Monitoring and Reporting) บริษัทย่อยจัดให้มีกระบวนกำรติดตำมดูแลควำมเสี่ยงด้ำนเครดิตที่ทำให้ทรำบถึงปริมำณและระดับควำมเสี่ยง ของลูก หนี้อ ย่ำ งต่อเนื่องเป็นปัจจุบัน โดยกำหนดให้มีกำรทบทวนวงเงินและกำรติดต่อเยี่ยมเยียนลูกหนี้ทุกปี อย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมถึงกำรประเมินมูลค่ำหลักทรัพย์ที่ใช้ค้ำประกันทั้งในด้ำนมูลค่ำและสภำพคล่อง พร้อมทั้ง รำยงำนสถำนะและกำรปฏิบัติตำมเงื่อนไขของลูกหนี้ต่อผู้บริหำรระดับสูงอย่ำงสม่ำเสมอ
(4) กำรควบคุมและลดควำมเสี่ยง (Risk Control and Mitigation) บริษัทย่อยมีกำรกำหนดระดับกำรกระจุกตัวสูงสุดของเงินให้สินเชื่อทั้งในระดับภำคธุ รกิจ/อุตสำหกรรม (Industry Limit) และระดับลูกค้ำ เพื่อควบคุมไม่ให้บริษัทย่อยมีควำมเสี่ยงด้ำนกำรให้สินเชื่อในภำคธุรกิจหนึ่งๆ หรือลูกค้ำ รำยใดรำยหนึ่ ง มำกเกิ นไป ซึ่ ง หำกระดับ ควำมเสี่ ย งถึ งระดับ ที่ กำหนด หน่ วยงำนต้ องมี กำรสื บ สวนหำสำเหตุ ถึงควำมผิดปกติดังกล่ำว เพื่อดำเนินกำรให้ระดับควำมเสี่ยงลดลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ นอกจำกนี้ บริษัทย่อย ยัง จั ด ให้ มีก ระบวนกำรควบคุ ม ภำยในและกำรตรวจสอบเพื่ อ ให้ก ำรจั ด กำรควำมเสี่ ย งเป็น ไปตำมกรอบและ กระบวนกำรที่บริษัทย่อยกำหนด นอกจำกนี้ บริษัทย่อยที่ดำเนินธุรกิจธนำคำรยังดำเนินกำรให้มีกำรทดสอบภำวะวิกฤต (Stress Testing) ที่ครอบคลุม ควำมเสี่ยงด้ำนกำรให้สินเชื่ออย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อคำดกำรณ์ควำมเสียหำยที่อำจจะเกิดขึ้นของลูกหนี้หรือคู่สัญญำแต่ละรำย และเครดิตประเภทต่ำง ๆ ภำยในพอร์ต และนำผลกระทบของกำรเสื่อมคุณภำพสินเชื่อในพอร์ตสินเชื่อของลูกหนี้มำพิจำรณำ ว่ำมีผลกระทบต่อควำมเพียงพอของเงินกองทุนและกำรกันสำรองค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่มีอยู่ เพื่อให้บริษัทย่อยสำมำรถ ดำเนินกำรจัดกำรควำมเสี่ยงที่อำจเกิดขึ้นได้อย่ำงทันกำล ส่วนบริษัทย่อยที่ดำเนินธุรกิจหลักทรัพย์ ฝ่ำยบริหำรของบริษัทย่อยควบคุมควำมเสี่ ยงนี้โดยกำรกำหนดให้มีนโยบำยและ วิธีกำรในกำรควบคุมสินเชื่อที่เหมำะสม จำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทย่อยอำจต้องสูญเสียจำกควำมเสี่ยงด้ำนกำรให้สินเชื่อ คือมูลค่ำตำมบัญชีของลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำตำมที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐำนะกำรเงินของบริษัทย่อย 44.2 ควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงของรำคำตลำด ควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงของรำคำตลำด หมำยถึง ควำมเสี่ยงที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอำจได้รับควำมเสียหำย เนื่องมำจำกกำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำของสินทรัพย์ หนี้สินและภำระผูกพัน อันเกิดจำกควำมผันผวนของอัตรำดอกเบี้ย รำคำตรำสำรทุน รำคำสินค้ำโภคภัณฑ์ และอัตรำแลกเปลี่ยน โดยบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำรให้บริกำรแลกเปลี่ยน เงินตรำต่ำงประเทศ (Currency Exchange) เป็นเงินไทย (Baht) ทั้งประเภทรับซื้อ (Buy) และขำย (Sell) และบริษัทย่อย ได้ มี ก ำรก ำหนดให้ ก ำรด ำรงฐำนะเงิ น ตรำต่ ำ งประเทศคงเหลื อ ณ สิ้ น วั น ไม่ เ กิ น กว่ ำ จ ำนวนที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ ำตจำก ธนำคำรแห่งประเทศไทย ควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงของรำคำตลำดของบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย ควำมเสี่ยง ด้ำนอัตรำดอกเบี้ย ควำมเสี่ยงด้ำนอัตรำแลกเปลี่ยนและควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงรำคำตลำดของตรำสำรทุน
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
237
(ก)
ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งอาจจะทําให เกิดการเปลี่ยนแปลงต อมูลค าตราสารทางการเงิ น ความผันผวนต อ รายได ห รือ มู ลคา ของสิ น ทรัพ ย แ ละหนี้ สิน ทางการเงิน ทั้งนี้ ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยเปนผลมาจากการจัดโครงสรางและลักษณะของรายการในสินทรัพย หนี้สินและสวนของเจาของ และความไมสอดคลองระหวางระยะเวลาคงเหลือในการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม ของรายการทางดานสินทรัพยและหนี้สิน บริษัทฯและบริษัทยอยมีโครงสรางของสินทรัพยสวนใหญเปนรายการเงินฝากสถาบันการเงิน เงินใหสินเชื่อแกลูกหนี้ และเงิ น ลงทุ น ในตราสารหนี้ ที่ จ ะถื อ จนครบกํ า หนด ส ว นโครงสร า งหนี้ สิ น ส ว นใหญ เ ป น รายการเงิ น รั บ ฝาก จากประชาชนโดยรายการหลั ก ดั ง กล า วอาจจะได รั บ ผลกระทบจากอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ซึ่ ง เมื่ อ อัตราดอกเบี้ยมีความผันผวน บริษัทฯและบริษัทยอยก็มีความเสี่ยงที่จะไดรับผลกระทบตอรายได รายจาย และ/หรือ มูลคาทางเศรษฐกิจ (มูลคาของสวนของเจาของ) ดวย ซึ่งความเสี่ยงหลักเกิดจากธุรกรรมและยอดคงคางของบริษัทยอย ดังนั้น บริ ษัทย อ ยจึง ตองมีการบริหารความเสี่ยงด านอั ตราดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อการธนาคารเพื่อลดผลกระทบ ที่เกิดขึ้น สําหรับความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคาร (Banking Book) เปนความเสี่ยงที่ทําใหรายไดหรือ เงินกองทุนของบริษัทยอยไดรับผลกระทบในทางลบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยของรายการสินทรัพย หนี้สิน และรายการภาระผูกพันทั้งหมดที่มีความออนไหวตออัตราดอกเบี้ย (Rate Sensitive Items) ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจาก ความแตกตางของอายุคงเหลือ (Maturity Mismatch) และความสามารถในการปรั บอัตราดอกเบี้ยครั้ งตอไป (Repricing Risk) ของรายการสินทรัพยและหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงินของบริษัทยอย โดยความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคารของบริษัทยอย มีลักษณะของความเสี่ยง เปนดังนี้ (1)
ความเสี่ยงจากชวงเวลาในการเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Repricing Risk) เกิ ด จากความไม ส มดุ ล ระหว า งสิ น ทรั พ ย แ ละหนี้ สิ น ซึ่ ง มี ร อบระยะเวลาการปรั บ อั ต ราดอกเบี้ ย หรือการครบกําหนดสัญญาไมตรงกัน
(2)
ความเสี่ยงจากผลตางอัตราดอกเบี้ยอางอิง (Basis Risk) เกิดจากการที่อัตราดอกเบี้ยอางอิงของสินทรัพยและอัตราดอกเบี้ยอางอิงของหนี้สินมีการเปลี่ยนแปลงโดย ไมสอดคลองกัน
(3)
ความเสี่ยงจากสิทธิแฝง (Option Risk) บริษัทยอยมีความเสี่ยงจากสิทธิแฝงในนิติกรรมสัญ ญาทางการเงินของบริษัทยอยไมวาดานลูกหนี้หรื อ เจาหนี้ที่ใหสิทธิคูสัญญาของบริษัทยอยเปลี่ยนแปลงแผนการชําระเงินหรือไถถอนเงินไปจากแผนการเดิม เมื่ออัตราดอกเบี้ยในตลาดมีการเปลี่ยนแปลง ผูถือสิทธิดังกลาวมักจะใชสิทธิเมื่ออยูในฐานะเสียเปรียบ ตามแผนการชําระเงินเดิม อันจะทําใหตนทุนดอกเบี้ย อัตราผลตอบแทน หรือรายไดดอกเบี้ยสุทธิ รวมทั้ง โครงสรางสินทรัพยและหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงินเปลี่ยนแปลงไปในทางดอยลง
238
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
บริษัทย่อยดังกล่ำวมีเครื่องมือที่ใช้ในกำรวัดและประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัตรำดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อกำรธนำคำร เพื่ อ วิ เ ครำะห์ ผลกระทบต่ อ ควำมเสี่ ย งด้ ำ นอั ต รำดอกเบี้ ย โดยบริ ษั ท ย่ อ ยได้ ก ำหนดระดั บ เพดำนควำมเสี่ ย ง เพื่อควบคุมควำมเสี่ยงไม่ให้เกิ นกว่ำระดับเพดำนที่กำหนดไว้ และรำยงำนต่อคณะกรรมกำรบริหำรสิ นทรัพย์และ หนี้สินให้ทรำบถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นเป็นงวดรำยเดือน นอกจำกนี้ บริ ษั ท ย่ อ ยดั ง กล่ ำ วมี ก ำรทดสอบภำวะวิ ก ฤตด้ ำ นอั ต รำดอกเบี้ ย ในบั ญ ชี เ พื่ อกำรธนำคำร ซึ่ ง เป็ น กำรประเมินควำมเสี่ยงที่อำจเกิดขึ้นในภำวะวิกฤต โดยใช้สถำนกำรณ์จำลองของ ธปท. และ/หรือสถำนกำรณ์ จำลองที่บริษัทย่อยกำหนดขึ้นเองตำมควำมเหมำะสม โดยมีกำรรำยงำนผลกระทบจำกกำรทดสอบภำวะวิกฤตต่อ คณะกรรมกำรบริหำรควำมเสี่ยงเป็นรำยไตรมำส สินทรัพย์ทำงกำรเงินและหนี้สินทำงกำรเงิ น จำแนกตำมประเภทอัตรำดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 จำแนกได้ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ (1) หนี้สนิ ทำงกำรเงิน เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน หนี้สินจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม หนี้สินตรำสำรอนุพันธ์ ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกูย้ ืม เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ (1)
มีอัตรำดอกเบีย้ ปรับขึ้นลง อ้ำงอิงตำม มีอัตรำดอกเบีย้ คงที่ อัตรำตลำด
ไม่มีดอกเบี้ย
รวม
3,003 1,154,835 73,576,006
16,193,285 43,669,371 56,881,006
2,242,589 1,629,319 2,378,777 2,819,787
2,242,589 17,825,607 47,202,983 133,276,799
55,944,791 1,247,785 -
80,934,805 19,365,120 21,669,700 -
184,724 25,651 176,517 5,395 51,983
137,064,320 20,638,556 176,517 5,395 21,669,700 51,983
ในกรณีที่สัญญำเงินให้กู้ยืมได้กำหนดให้จ่ำยดอกเบี้ยทั้งอัตรำคงที่ในช่วงระยะเวลำหนึ่งและจ่ำยอัตรำดอกเบี้ยปรับขึ้นลงอ้ำงอิงตำม อัตรำตลำดในอีกช่ วงระยะเวลำหนึ่ ง บริษัทย่อยจัดประเภทเงินให้ กู้ยืมจำนวนคงค้ ำงทั้ งสัญญำตำมประเภทดอกเบี้ยที่ บริษัทย่อยคิ ด ณ ขณะนั้น นอกจำกนี้ เงินให้สินเชื่อที่ไม่มีดอกเบี้ยรวมลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรำยได้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
239
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ (1) ลูกหนี้จำกกำรขำยหลักทรัพย์ หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน หนี้สินจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ (1)
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557
มีอัตรำดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้ำงอิงตำม อัตรำตลำด
มีอัตรำดอกเบี้ย คงที่
ไม่มีดอกเบี้ย
24,639 59,262,196 -
11,597,500 31,999,672 54,126,589 -
2,503,973 1,605,764 1,729,027 2,526,426 159,604
2,503,973 13,227,903 33,728,699 115,915,211 159,604
52,984,422 1,041,854 -
69,510,369 22,110,407 1,000,000 -
137,111 18,900 109,952 14,352
122,631,902 23,171,161 109,952 1,000,000 14,352
รวม
ในกรณีที่สัญญำเงินให้กู้ยืมได้กำหนดให้จ่ำยดอกเบี้ยทั้งอัตรำคงที่ในช่วงระยะเวลำหนึ่งและจ่ำยอัตรำดอกเบี้ยปรับขึ้นลง อ้ำงอิงตำมอัตรำตลำด ในอีกช่ วงระยะเวลำหนึ่ ง บริ ษัทย่อยจั ดประเภทเงินให้ กู้ยื มจ ำนวนคงค้ำงทั้งสั ญญำตำมประเภทดอกเบี้ยที่ บริษั ทย่ อยคิด ณ ขณะนั้ น นอกจำกนี้ เงินให้สินเชื่อที่ไม่มีดอกเบี้ยรวมลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรำยได้
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน หนี้สินทำงกำรเงิน เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อหลักทรัพย์
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน หนี้สินทำงกำรเงิน รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน 240
(หน่วย: พันบำท)
มีอัตรำดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้ำงอิงตำม อัตรำตลำด
(หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 มีอัตรำดอกเบี้ย คงที่
ไม่มีดอกเบี้ย
รวม
230,202 -
150,800
8 498,266
8 230,202 649,066
-
-
4,013
4,013
มีอัตรำดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้ำงอิงตำม อัตรำตลำด
(หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2557 มีอัตรำดอกเบี้ย คงที่
ไม่มีดอกเบี้ย
รวม
1,024,099 -
-
4 326,591
4 1,024,099 326,591
-
500,000
-
500,000
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เครื่องมือทำงกำรเงินที่มีอัตรำดอกเบี้ยคงที่มีวันที่มีกำรกำหนดอัตรำใหม่หรือวันครบกำหนด (แล้วแต่วันใดจะถึงก่อน) นับจำกวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 ดังนี้
(หน่วย: พันบำท)
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 ระยะเวลำกำรกำหนดอัตรำดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกำหนด เมื่อ 0-3 3 - 12 ทวงถำม เดือน เดือน 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี 6,163,285 8,990,000 420,035 2,328,774 21,404,036
4,149,880 25,859,098 44,190,802 795,000 8,168,909 4,004,556
ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกูย้ ืม (1)
(2)
1,040,000 3,293,576 8,402,696
- 10,606,500
13,527,370 26,428,390 23,491,231 1,254,269 6,735,025 5,323,672
1,072,983
-
3,849,200
7,214,000
รวม
อัตรำดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
16,193,285 43,669,371 56,881,006
1.40 - 5.00 2.80 - 5.79 3.00 - 6.38
80,934,805 1.00 - 3.00 19,365,120 0.01(1),0.1(2), 0.75 - 2.75 21,669,700 1.80 - 5.125
อัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 0.01 เป็นอัตรำดอกเบี้ยของยอดจำนวน 5,323 ล้ำนบำท ทีบ่ ริษัทย่อยได้รับเพื่อช่วยเหลือทำงกำรเงินแก่ผู้ที่ได้รับควำมเสียหำยจำก อุทกภัยปี 2554 อัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 0.1 เป็นอัตรำดอกเบี้ยของยอดจำนวน 3,197 ล้ำนบำท ที่บริษัทย่อยได้รับเพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้ประกอบกำรวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดย่อมที่ขำดสภำพคล่อง (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557 ระยะเวลำกำรกำหนดอัตรำดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกำหนด
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกูย้ ืม
เมื่อ ทวงถำม
0-3 เดือน
3 - 12 เดือน
2,888,000 4,650,000 4,020,000 338,394 480,796 1,636,346 18,996,584 11,105,377 3,898,287 27,825,483 35,206,968 3,483,000 10,300,478 2,153,555 - 1,000,000
1 - 5 ปี
เกิน 5 ปี
39,500 12,318,125 18,862,357 22,053,642 334,640 2,579,631 6,173,374 -
-
รวม
อัตรำดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
11,597,500 31,999,672 54,126,589
2.55 - 5.00 2.80 - 5.79 3.00 - 6.75
69,510,369 1.60 - 3.50 22,110,407 0.01(1)- 2.40 1,000,000 2.75
(1) เป็นอัตรำดอกเบี้ยของยอดจำนวน 6,169 ล้ำนบำท ทีบ่ ริษัทย่อยได้รับเพื่อช่วยเหลือทำงกำรเงินแก่ผู้ที่ได้รับควำมเสียหำยจำกอุทกภัยปี 2554
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
241
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินลงทุน
รำยกำร หนี้สินทำงกำรเงิน รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน
(หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 ระยะเวลำกำรกำหนดอัตรำดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกำหนด เมื่อ 0-3 3 - 12 ทวงถำม เดือน เดือน 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี -
-
-
-
รวม
150,800
500,000
-
-
150,800
5.125
(หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2557 ระยะเวลำกำรกำหนดอัตรำดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกำหนด เมื่อ 0-3 3 - 12 ทวงถำม เดือน เดือน 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี -
อัตรำดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
-
รวม
อัตรำดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
500,000
3.50
นอกจำกนี้ บริษัทย่อยซึ่งประกอบธุรกิจธนำคำรมีสินทรัพย์/หนี้สินทำงกำรเงินที่ก่อให้เกิดรำยได้/ค่ำใช้จ่ำย ยอดคงเหลือ ถัวเฉลี่ยที่ค ำนวณโดยถั วเฉลี่ยจำกยอดคงเหลื อในระหว่ำ งปีของสินทรัพย์และหนี้ สินทำงกำรเงินและอัต รำเฉลี่ยของ ดอกเบี้ยสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 เป็นดังนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ยอด คงเหลือ ถัวเฉลี่ย สินทรัพย์ทำงกำรเงินที่ก่อให้เกิดรำยได้ รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุนในตรำสำรหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ หนี้สินทำงกำรเงินที่ก่อให้เกิดค่ำใช้จ่ำย เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
(ข)
31 ธันวำคม 2558 รำยได้/ อัตรำ ค่ำใช้จ่ำย เฉลี่ย ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
ยอด คงเหลือ ถัวเฉลี่ย
31 ธันวำคม 2557 รำยได้/ อัตรำ ค่ำใช้จ่ำย เฉลี่ย ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
14,303,814 633,237 36,352,785 1,470,786 124,042,290 6,381,152
4.43 4.05 5.14
6,578,909 34,791,489 106,603,342
298,516 1,476,577 5,705,913
4.54 4.24 5.35
125,310,725 3,368,921 21,521,201 327,155 14,618,114 445,042
2.69 1.52 3.04
115,297,344 21,141,182 40,179
3,718,242 379,009 1,301
3.22 1.79 3.24
ควำมเสี่ยงด้ำนอัตรำแลกเปลี่ยน ควำมเสี่ยงด้ำนอัตรำแลกเปลี่ยน คือ ควำมเสี่ยงที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงของอัตรำแลกเปลี่ยน อันอำจมีผลให้ มูลค่ำของตรำสำรทำงกำรเงินเปลี่ยนแปลงไป หรือทำให้เกิดควำมผันผวนต่อรำยได้ หรือมูลค่ำของสินทรัพย์หรือ หนี้สินทำงกำรเงิน
242
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เนื่องจำกบริษัทย่อยมีธุรกรรมที่เกี่ยวกับกำรปริวรรตเงินตรำต่ำงประเทศทำให้มีควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงของ อัตรำแลกเปลี่ยน อย่ำงไรก็ตำม บริษัทย่อยมีนโยบำยในกำรป้องกันควำมเสี่ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนโดยกำรบริหำร จัดกำรสถำนะเงินตรำต่ำงประเทศสุทธิ และดำเนินกำรภำยใต้นโยบำยบริหำรควำมเสี่ยง ซึ่งอนุมัติโดยคณะกรรมกำร ของบริษัทย่อยภำยใต้เกณฑ์ที่กำหนดโดย ธปท.อย่ำงเคร่งครัด ฐำนะเงินตรำต่ำงประเทศของบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 มีดังนี้ (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558
ฐำนะเงินตรำต่ำงประเทศ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสด เงินลงทุน รวมสินทรัพย์
ดอลลำร์ สหรัฐฯ
ยูโร
138 1,154,835 1,154,973
เยน 86 86
หยวน
174 174
อื่น ๆ 3 3
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557
ฐำนะเงินตรำต่ำงประเทศ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสด รวมสินทรัพย์
ดอลลำร์ สหรัฐฯ 167 167
ยูโร
เยน
173 173
35 35 (หน่วย: พันบำท)
หยวน 84 84
อื่น ๆ -
181 181
นอกจำกนี้ บริษัทย่อยดังกล่ำวยังมีภำระผูกพันตำมสัญญำแลกเปลี่ยนอัตรำดอกเบี้ยต่ำงสกุลเงิน ที่ต้องจ่ำยหรือ รับชำระเป็นเงินตรำต่ำงประเทศ ที่บริษัทย่อยได้ทำเพื่อป้องกันควำมเสี่ยง (บัญชีเพื่อกำรธนำคำร) ดังนี้
สัญญำแลกเปลี่ยนอัตรำดอกเบี้ยต่ำงสกุลเงิน - สัญญำขำย
ดอลลำร์ สหรัฐฯ 1,154,835
(หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 ยูโร
เยน -
หยวน -
อื่น ๆ -
-
(ค) ควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงรำคำตลำดของตรำสำรทุน ควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงรำคำตลำดของตรำสำรทุนคือควำมเสี่ยงที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงของรำคำ ของตรำสำรทุนหรือหุ้นทุน ซึ่งอำจจะทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่ำของสินทรัพย์ประเภทเงินลงทุน ควำมผันผวน ต่อรำยได้หรือมูลค่ำของสินทรัพย์ทำงกำรเงิน มูลค่ำสู งสุดของควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ ยนแปลงรำคำตลำดของตรำสำรทุนคือมู ลค่ำตำมบัญชี ของเงิ นลงทุ น ในตรำสำรทุนตำมที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
243
44.3 ควำมเสี่ยงด้ำนสภำพคล่อง ควำมเสี่ ย งด้ ำ นสภำพคล่ อ ง หมำยถึ ง ควำมเสี่ ย งที่ บ ริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยจะไม่ สำมำรถปฏิ บั ติ ต ำมภำระผู ก พั น ได้ เมื่อครบกำหนด เนื่องจำกไม่สำมำรถเปลี่ยนสินทรัพย์เป็นเงินสดได้ทันหรือไม่สำมำรถจัดหำเงินทุนได้เพียงพอสำหรับ กำรดำเนินงำน จนทำให้เกิดควำมเสียหำยแก่บริษัทฯและบริษัทย่อย บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดกำรบริหำรควำมเสี่ยงด้ำนสภำพคล่องโดยเน้นกำรบริหำรควำมเสี่ยงของบริษัทย่อยที่ประกอบ ธุรกิจธนำคำรโดยได้มีกำรจัดทำรำยงำนสถำนะสภำพคล่องสุทธิหรือ Liquidity Gap โดยแบ่งกำรวิเครำะห์เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ รำยงำนฐำนะสภำพคล่องสุทธิตำมช่วงเวลำ (Contractual Liquidity Gap) และรำยงำนฐำนะสภำพคล่องสุทธิหลัง ปรับพฤติกรรม (Behavior Liquidity Gap) เพื่อวิเครำะห์ฐำนะสภำพคล่องสุทธิ ของบริษัทย่อยตำมแต่ละช่วงเวลำ และ พิจ ำรณำควำมเพีย งพอของกระแสเงิน สุท ธิต ลอดช่ว ง 1 ปี ข ้ำ งหน้ำ และได้ ก ำหนดให้ มี ก ำรประเมิ น ควำมเสี่ ย ง ด้ำนสภำพคล่องโดยพิจำรณำจำกยอดสะสมของฐำนะสภำพคล่องสุทธิที่ปรับอำยุคงเหลือตำมพฤติกรรมผู้ฝำกเงินให้อยู่ ในระดับที่เหมำะสมตำมที่บริษัทย่อยกำหนดไว้ นอกจำกนี้ บริษัทย่อยยังได้ติดตำมควำมเสี่ยงด้ำนสภำพคล่องตำมหลักเกณฑ์กำรดำรงสินทรัพย์สภำพคล่องเพื่อรองรับ สถำนกำรณ์ด้ำนสภำพคล่องที่มีควำมรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) ซึ่งกำหนดสมมติฐำนให้กระแสเงินสด ไหลเข้ำ-ออกที่อำจเกิดขึ้นสะท้อนตำมประเภทคู่สัญญำที่มีพฤติกรรมกำรถอนเงินที่แตกต่ำงกันและสะท้อนตำมประเภท ธุรกรรมทั้งที่อยู่ในและนอกงบแสดงฐำนะกำรเงินที่มีปัจจัยบ่งชี้ กระแสเงินสดไหลเข้ำ -ออกแตกต่ำงกัน รวมถึงสะท้อน โครงสร้ำงกลุ่มธุรกิจที่อำจทำให้ธนำคำรพำณิชย์ต้องเข้ำช่วยเหลือด้ำนสภำพคล่องในสถำนกำรณ์กระแสเงินไหลออก อย่ ำ งรุ น แรงและต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ย่ อ ยได้ ก ำหนดระดั บ เพดำนควำมเสี่ ย งเพื่ อ ติ ด ตำมดู แ ลระดั บ ควำมเสี่ ย ง ด้ำนสภำพคล่องให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และสำมำรถดำรงสินทรัพย์สภำพคล่องได้อย่ำงเหมำะสม และรองรับพฤติกรรม ทั้งด้ำนกระแสเงินเข้ำและออกที่อำจเปลี่ยนแปลงได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ทั้งนี้ บริษัทย่อยกำหนดให้มีกำรศึกษำผลกระทบต่อสภำพคล่องจำกกำรเปลี่ยนแปลงของปัจจั ยต่ำง ๆ ได้แก่ กำรไถ่ถอน เงินฝำกก่อนกำหนด กำรเปลี่ยนแปลงลักษณะกำรต่ออำยุ เงินฝำก (Roll over) เป็นต้น โดยได้กำหนดสถำนกำรณ์จำลอง ออกเป็นสถำนกำรณ์ปกติ (Normal Scenario) และสถำนกำรณ์วิกฤต (Stress Scenario) ซึ่งครอบคลุมถึงผลกระทบ ต่ อ กำรบริ ห ำรสภำพคล่ อ งของบริ ษั ท ย่ อ ยด้ ว ย โดยให้ ฝ่ ำ ยบริ ห ำรควำมเสี่ ย งเป็ น ผู้ ด ำเนิ น กำรและน ำเสนอต่ อ คณะกรรมกำรบริหำรสินทรัพย์และหนี้สิน เพื่อประเมินควำมต้องกำรสภำพคล่องในแต่ละกรณี และเป็นแนวทำงสำหรับ กำรจัดทำแผนรองรับเหตุกำรณ์ฉุกเฉินด้ำนสภำพคล่อง
244
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
วันที่ที่ครบกำหนดของเครื่องมือทำงกำรเงินนับจำกวันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 มีดังนี้ (หน่วย: พันบำท)
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ (1) หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน หนี้สินจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม หนี้สินตรำสำรอนุพันธ์ ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ (1)
เมื่อ ทวงถำม
ไม่เกิน 3 เดือน
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 3 - 12 มำกกว่ำ เดือน 1 ปี
ไม่มี กำหนด
รวม
2,242,589 - 2,242,589 7,795,607 8,990,000 1,040,000 - 17,825,607 - 420,035 3,293,576 41,110,595 2,378,777 47,202,983 10,379,034 21,378,839 17,367,361 83,781,443 370,122 133,276,799 57,329,514 26,423,161 45,325,560 7,986,085 2,068,436 8,168,909 4,004,556 6,396,655 176,517 5,395 - 10,606,500 7,214,000 3,849,200 -
- 137,064,320 - 20,638,556 - 176,517 5,395 - 21,669,700 51,983 51,983
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ครบกำหนดเมื่อทวงถำมรวมจำนวนเงินคงค้ำงตำมสัญญำของลูกหนี้รำยที่ผิดนัดชำระ และเป็นเงิ นให้สินเชื่อ ที่ไม่ก่อให้เกิดรำยได้ (หน่วย: พันบำท)
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ (1) ลูกหนี้จำกกำรขำยหลักทรัพย์ หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน หนี้สินจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ (1)
เมื่อ ทวงถำม
ไม่เกิน 3 เดือน
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2557 3 - 12 มำกกว่ำ เดือน 1 ปี
ไม่มี กำหนด
รวม
2,503,973 - 2,503,973 4,518,403 4,650,000 4,020,000 39,500 - 13,227,903 - 338,394 480,796 31,180,482 1,729,027 33,728,699 8,514,335 19,271,289 14,633,216 73,382,716 113,655 115,915,211 - 159,604 - 159,604 54,663,007 28,273,728 35,960,741 3,734,426 4,543,754 10,300,478 2,153,555 6,173,374 109,952 - 1,000,000 -
- 122,631,902 - 23,171,161 - 109,952 - 1,000,000 14,352 14,352
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ครบกำหนดเมื่อทวงถำมรวมจำนวนเงินคงค้ำงตำมสัญญำของลูกหนี้รำยที่ผิดนัดชำระ และเป็นเงินให้สินเชื่อ ที่ไม่ก่อให้เกิดรำยได้
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
245
(หน่วย: พันบำท)
เมื่อ ทวงถำม
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน หนี้สินทำงกำรเงิน เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อหลักทรัพย์
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 3 - 12 มำกกว่ำ เดือน 1 ปี
ไม่เกิน 3 เดือน
ไม่มี กำหนด
รวม
8 230,202 -
-
-
150,800
498,266
8 230,202 649,066
-
4,013
-
-
-
4,013
(หน่วย: พันบำท)
เมื่อ ทวงถำม
รำยกำร สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เงินลงทุน หนี้สินทำงกำรเงิน รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2557 3 - 12 มำกกว่ำ เดือน 1 ปี
ไม่เกิน 3 เดือน
4 1,024,099 -
-
-
-
-
500,000
-
-
ไม่มี กำหนด
รวม
4 - 1,024,099 326,591 326,591 -
500,000
นอกจำกนี้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนำคำรมีภำระผูกพันจำกกำรอำวัล ค้ำประกัน วงเงิ นเบิ กเกิ นบั ญชี ที่ ลู กค้ ำยั งไม่ ได้ ใช้ และภำระผู กพั นอื่ น ซึ่ ง จ ำแนกตำมระยะเวลำครบก ำหนดของสั ญญำนั บจำก วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำนได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 ไม่เกิน 1 ปี กำรรับอำวัลตั๋วเงิน กำรค้ำประกันอื่น ๆ วง เ งิ นเ บิ ก เ กิ น บั ญ ชี ที่ ลู ก ค้ ำ ยังไม่ได้ใช้ ภำระผูกพันอื่น (1)
246
มำกกว่ำ 1 ปี
119,458 3,420,098(1) 5,009,803 -
913,991 -
31 ธันวำคม 2557 รวม
ไม่เกิน 1 ปี
119,458 4,334,089 5,009,803
183,883 2,240,719(1) 4,493,311
15,201,722 15,201,722
มำกกว่ำ 1 ปี
-
62,830 277,577 -
รวม 246,713 2,518,296 4,493,311
10,734,671 10,734,671
ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 จำนวนเงินดังกล่ำวได้รวมสัญญำที่ไม่ระบุวันครบกำหนดจำนวน 1,092 ล้ำนบำท และ 826 ล้ำนบำท ตำมลำดับ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
45.
กำรวัดมูลค่ำยุติธรรมของเครือ่ งมือทำงกำรเงิน บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยใช้ วิ ธี ร ำคำตลำดในกำรวั ด มู ลค่ ำ ยุ ติ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิน ซึ่ ง มำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงิ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งก ำหนดให้ ต้ อ งวั ด มู ลค่ ำ ด้ ว ยมู ลค่ ำ ยุ ติ ธ รรม ยกเว้ น ในกรณี ที่ ไม่ มี ต ลำดที่ มี สภำพคล่ อ ง หรื อ ไม่ สำมำรถหำรำคำเสนอซื้ อ ขำยในตลำดที่ มี สภำพคล่ อ งได้ บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยจะใช้ วิ ธี ร ำคำทุ น หรื อ วิ ธี ร ำยได้ ในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินดังกล่ำวแทน
45.1 ลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรม ในกำรนำเทคนิคกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมมำใช้ กิจกำรจะต้องพยำยำมใช้ข้อมูลที่สำมำรถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หรือ หนี้สินที่จะวัดมูลค่ำยุติธรรมนั้นให้มำกที่สุด มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 13 เรื่อง มูลค่ำยุติธรรม กำหนด ลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรมออกเป็นสำมระดับตำมประเภทของข้อมูลที่นำมำใช้ในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1
ใช้ข้อมูลรำคำเสนอซื้อขำยของสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่ำงเดียวกันในตลำดที่มีสภำพคล่อง
ระดับ 2
ใช้ข้อมูลอื่นที่สำมำรถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ไม่ว่ำจะเป็นข้อมูลทำงตรงหรือทำงอ้อม
ระดับ 3
ใช้ข้อมูลที่ไม่สำมำรถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนำคตที่กิจกำรประมำณขึ้น
45.2 สินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงมูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรม ณ วั น ที่ 31 ธั น วำคม 2558 และ 2557 บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี สิ น ทรั พ ย์ ที่ แ สดงมู ล ค่ ำ ด้ ว ยมู ล ค่ ำ ยุ ติ ธ รรมแยก แสดงตำมลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรม ดังนี้
สินทรัพย์ที่แสดงมูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรม เงินลงทุนเพื่อค้ำ ตรำสำรทุนในควำมต้องกำรของ ตลำดในประเทศ รวมเงินลงทุนเพื่อค้ำ เงินลงทุนเผื่อขำย ตรำสำรทุนในควำมต้องกำรของ ตลำดในประเทศ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขำย
มูลค่ำ ตำมบัญชี
12,251 12,251
งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2558 มูลค่ำยุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
12,251 12,251
-
2,145,466 2,145,466 207,491 2,352,957 2,145,466
207,491 207,491
-
(หน่วย: พันบำท)
รวม
12,251 12,251
31 ธันวำคม 2557 มูลค่ำ มูลค่ำ ตำมบัญชี ยุติธรรม
-
-
- 2,145,466 1,638,636 1,638,636 - 207,491 76,737 76,737 - 2,352,957 1,715,373 1,715,373
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
247
สินทรัพย์ทแี่ สดงมูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรม เงินลงทุนเผื่อขำย ตรำสำรทุนในควำมต้องกำรของ ตลำดในประเทศ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขำย
มูลค่ำ ตำมบัญชี
418,101 80,165 498,266
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 มูลค่ำยุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
418,101 418,101
80,165 80,165
-
418,101 80,165 498,266
(หน่วย: พันบำท) 31 ธันวำคม 2557 มูลค่ำ มูลค่ำ ตำมบัญชี ยุติธรรม
326,591 326,591
326,591 326,591
ในระหว่ำงปีปัจจุบันไม่มีกำรโอนรำยกำรระหว่ำงลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรม 45.3 สินทรัพย์และหนี้สินทำงกำรเงินที่เปิดเผยมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 และ 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์และหนี้สินทำงกำรเงินที่แสดงมูลค่ำด้วยรำคำทุน และต้องเปิดเผยมูลค่ำยุติธรรม โดยแยกแสดงตำมลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรม ดังนี้ (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม
สินทรัพย์ทำงกำรเงินที่เปิดเผย มูลค่ำยุติธรรม เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ - สุทธิ ลูกหนี้จำกกำรขำยหลักทรัพย์ หนี้สินทำงกำรเงินที่เปิดเผย มูลค่ำยุติธรรม เงินรับฝำก รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน หนี้สินจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม หนี้สินตรำสำรอนุพันธ์ ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์
248
มูลค่ำ ตำมบัญชี
ระดับ 1
31 ธันวำคม 2558 มูลค่ำยุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3
2,242,589
2,242,589
-
17,662,779 44,837,750 130,533,339 -
รวม
31 ธันวำคม 2557 มูลค่ำ มูลค่ำ ตำมบัญชี ยุติธรรม
-
2,242,589
2,503,973
2,503,973
1,632,322 - 16,038,199 - 46,508,254 13,544 370,122 129,846,785 -
17,670,521 46,521,798 130,216,907 -
13,111,928 32,012,761 113,488,322 159,604
13,123,556 33,532,887 112,925,958 159,604
137,141,474 20,645,980 176,517 22,117 21,698,034 51,983
122,631,902 23,171,161 109,952 1,000,000 14,352
122,697,473 23,172,217 109,952 1,001,256 14,352
137,064,320 56,129,515 81,011,959 20,638,556 1,273,436 19,372,544 176,517 176,517 5,395 21,669,700 - 21,698,034 51,983 51,983
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
22,117 -
มูลค่ำ ตำมบัญชี สินทรัพย์ทำงกำรเงินที่เปิดเผย มูลค่ำยุติธรรม เงินสด รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ หนี้สินทำงกำรเงินที่เปิดเผย มูลค่ำยุติธรรม รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อหลักทรัพย์
(หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม 2558 มูลค่ำยุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
31 ธันวำคม 2557 มูลค่ำ ตำมบัญชี
มูลค่ำ ยุติธรรม
8
8
-
-
8
4
4
230,202 150,800
230,202 -
151,821
-
230,202 151,821
1,024,099 -
1,024,099 -
4,013
-
4,013
-
4,013
500,000 -
500,000 -
บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำรประมำณกำรมูลค่ำยุติธรรมระดับ 2 และระดับ 3 ของเครื่องมือทำงกำรเงินตำมหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก)
สินทรัพย์และหนี้สินทำงกำรเงินที่จะครบกำหนดในระยะเวลำอันสั้นหรือสินทรัพย์ทำงกำรเงินที่มี กำรคิดดอกเบี้ย ในอัตรำเทียบเคียงกับตลำด ได้แก่ เงินสด ลูกหนี้จำกกำรขำยหลักทรัพย์ หนี้สินจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม เจ้ำหนี้จำกกำร ซื้อหลักทรัพย์ และเจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ มูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินดังกล่ำวประมำณโดยเทียบเคียง กับมูลค่ำตำมบัญชี
(ข)
มูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในตรำสำรหนี้คำนวณโดยใช้อัตรำผลตอบแทนที่ประกำศโดยสมำคมตลำดตรำสำรหนี้ไทย
(ค)
มูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหน่วยลงทุนที่ไม่ใช่หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยคำนวณ โดยใช้มูลค่ำสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยที่ประกำศโดยผู้จัดกำรกองทุน
(ง)
เงินลงทุนในตรำสำรทุนที่ไม่อยู่ในควำมต้องกำรของตลำด คำนวณตำมหลักเกณฑ์กำรประเมินมูลค่ำที่เป็นที่ยอมรับ ทั่วไป
(จ)
มูลค่ำยุติธรรมของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และรำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (สินทรัพย์) ที่มีอัตรำดอกเบี้ย ปรั บ ตำมอั ต รำตลำด ประมำณโดยเที ย บเคี ย งกั บ มู ล ค่ ำ ตำมบั ญ ชี สุ ท ธิ ค่ ำ เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ และค่ ำ เผื่ อ กำรปรั บ มูลค่ ำ จำกกำรปรับ โครงสร้ำ งหนี้ เงิน ให้สิน เชื่อ แก่ลู ก หนี้ แ ละรำยกำรระหว่ำ งธนำคำรและตลำดเงิ น (สิ น ทรั พ ย์ ) ที่ มี อั ต รำดอกเบี้ ย คงที่ ค ำนวณจำกมู ล ค่ ำ ปั จ จุ บั น ของประมำณกำรกระแสเงิ น สด คิ ด ลดด้ ว ย อัตรำดอกเบี้ยของเงินให้สินเชื่อของบริษัทย่อยที่มีลักษณะคล้ำยกัน มูลค่ำยุติธรรมของเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิด รำยได้ คำนวณจำกมูลค่ำปัจจุบันของประมำณกำรกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรจำหน่ำยหลักประกัน คิดลดด้วยอัตรำดอกเบี้ยและภำยในระยะเวลำอ้ำงอิงประกำศ ธปท. เรื่องกำรกันเงินสำรอง
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
249
46.
(ฉ)
มูลค่ำยุติธรรมของเงินรับฝำกและรำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนี้สิน) ประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม หรือ มีอัตรำดอกเบี้ยปรับตำมอัตรำตลำด ประมำณโดยเทียบเคียงกับมูลค่ำตำมบัญชี มูลค่ำยุติธรรมของเงินรับฝำกและ รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนี้สิน) ที่มีอัตรำดอกเบี้ยคงที่ คำนวณจำกมูลค่ำปัจจุบันของประมำณกำร กระแสเงินสด คิดลดด้วยอัตรำดอกเบี้ยตำมประกำศของบริษัทย่อยสำหรับตรำสำรที่มีลักษณะคล้ำยกัน
(ช)
มูลค่ำยุติธรรมของหนี้สินตรำสำรอนุพันธ์ประมำณโดยกำรใช้รำคำยุติธรรมที่ได้จำกธนำคำรคู่ค้ำ
(ซ)
มู ล ค่ ำ ยุ ติ ธ รรมของตรำสำรหนี้ ที่ อ อกและเงิ น กู้ ยื ม ประเภทตรำสำรด้ อ ยสิ ท ธิ ค ำนวณมู ล ค่ ำ ยุ ติ ธ รรมโดยใช้ อัตรำผลตอบแทนที่ประกำศโดยสมำคมตลำดตรำสำรหนี้ไทย มูลค่ำยุติธรรมของตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ประเภทที่มีอัตรำดอกเบี้ยคงที่ คำนวณจำกมูลค่ำปัจจุบันของประมำณกำรกระแสเงินสดจ่ำยในอนำคต คิดลดด้วย อัตรำดอกเบี้ยโดยประมำณในตลำดปัจจุบันสำหรับเงินกู้ยืมที่มีเงื่อนไขใกล้เคียงกัน
กำรจัดประเภทรำยกำรใหม่ บริษัทย่อยได้จัดประเภทรำยกำรบัญชีใหม่บำงรำยกำรเพื่อให้เหมำะสมยิ่งขึ้น ทั้งนี้กำรจัดประเภทรำยกำรบัญชีดังกล่ำว ไม่มีผลกระทบต่อกำไรสำหรับปีหรือส่วนของเจ้ำของตำมที่เคยรำยงำนไว้ กำรจัดประเภทรำยกำรบัญชีใหม่มีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบำท)
งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 ตำมทีจ่ ัดประเภทใหม่ ตำมทีเ่ คยรำยงำนไว้ งบแสดงฐำนะกำรเงิน ประมำณกำรหนี้สิน หนี้สินอื่น 47.
73,981 204,970 278,951
68,312 210,639 278,951
เหตุกำรณ์ภำยหลังรอบระยะเวลำรำยงำน
47.1 กำรจ่ำยเงินปันผลของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 25 กุมภำพันธ์ 2559 ที่ประชุมคณะกรรมกำรบริษัทฯ ได้มีมติให้เสนอต่อที่ประชุมสำมัญผู้ถือหุ้นประจำปีของบริษัทฯ เพื่ อพิ จำรณำอนุ มั ติ จ่ ำยเงิ นปั นผลประจ ำปี 2558 จำกผลกำรด ำเนิ นงำนส ำหรั บปี สิ้ นสุ ดวั นที่ 31 ธั นวำคม 2558 โดย จ่ำยเงินปันผลเป็นเงินสดในอัตรำ 0.033 บำทต่อหุ้น คิดเป็นจำนวนเงินรวมไม่เกิน 450.08 ล้ำนบำท
250
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
47.2 กำรปรับโครงสร้ำงกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงิน บริษัทฯมีแผนจะปรับโครงสร้ำงกลุ่ มธุรกิจทำงกำรเงินในไตรมำสที่ 1 ปี 2559 เพื่อให้กำรบริหำรกลุ่มธุรกิจทำงกำรเงิน มีประสิทธิภำพมำกขึ้น โดยบริษัทฯจะเข้ำซื้อหุ้นสำมัญของบริษัทหลักทรัพย์จัดกำรกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด จำนวน 2,999,995 หุ้ น คิด เป็ นร้ อยละ 99.99 ของหุ้น ที่จ ำหน่ำ ยและชำระแล้ ว ในรำคำตำมบั ญชี (Book Value) ของสินทรัพย์สุทธิของบริษัทดังกล่ำว ณ วันสิ้นเดือนก่อนวันทำรำยกำรซื้อจำกธนำคำรแลนด์ แอนด์ เฮ้ำส์ จำกัด (มหำชน) กำรซื้ อ หุ้ น และกำรปรั บ โครงสร้ ำ งกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทำงกำรเงิ น ดั ง กล่ ำ วได้ รั บ อนุ ญ ำตจำกธนำคำรแห่ ง ประเทศ ไทยแล้ ว ในวันที่ 18 มกรำคม 2559 และอยู่ระหว่ำงกำรพิจำรณำจำกสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ 48.
กำรอนุมตั ิงบกำรเงิน งบกำรเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมกำรของบริษัทฯเมื่อวันที่ 25 กุมภำพันธ์ 2559
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
251
ข้อมูลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ ที่ตั้งสำ�นักงาน โทรศัพท์
: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด : เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 : 0-2009-9000
โทรสาร
: 0-2009-9991
SET Contact Center
: 0-2009-9999
เว็บไซต์
: www.set.or.th/tsd
ผู้สอบบัญชี : บริษัท สำ�นักงาน อี วาย จำ�กัด รายชื่อผู้สอบบัญชี :
นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3734 และ/หรือ นางสาวสมใจ คุณปสุต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4499 และ/หรือ นางสาวรัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4951
ที่ตั้งสำ�นักงาน
: เลขที่ 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท์
: 0-2264-0777
โทรสาร
: 0-2264-0789-90
เว็บไซต์
: www.ey.com/th
บริษัทที่ปรึกษาทางการเงิน
: บริษัท ที่ปรึกษา เอเซีย พลัส จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขที่ 175 อาคารสาธรซิตี้ ชั้น 11 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120
252
โทรศัพท์
: 0-2680-4000
โทรสาร
: 0-2670-9291-2
เว็บไซต์
: www.asiaplus.co.th
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
ทำ�เนียบสาขาของธนาคาร เขตพื้นที่
สาขา
กรุงเทพมหานคร สำ�นักลุมพินี และปริมณฑล สาขาคิวเฮ้าส์ อโศก สาขาคิวเฮ้าส์ สาทร สาขาทองหล่อ สาขาพาร์คเลน (เอกมัย) สาขาเทอร์มินอล 21 สาขาเวฟเพลส (เพลินจิต) สาขาสีลม สาขาบางรัก สาขาถนนจันทน์
หมายเลขโทรศัพท์
(ชั้น G อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี) (ชั้น G อาคารคิวเฮ้าส์ อโศก) (ชั้น G อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร) (ใกล้โชวรูม TSL) (พาร์คเลน คอมมูนิตี้ มอลล์ ชั้น 1) (ชั้น LG ติดร้าน Booth) (เพลินจิต) (ใกล้สีลม คอมเพล็กซ์) (ตรงข้ามโรบินสัน บางรัก) (ปากซอยจันทน์ 18/8 ถนนจันทร์)
สาขามาบุญครอง เซ็นเตอร์ (ชั้น 4 Banking Zone) สาขาประตูน้ำ� (หลังโรงแรมอินทราสแควร์ ติดกับ Kbank) สาขาเยาวราช (ปากซอยเท็กซัส ฝั่งถนนเยาวราช) สาขาสำ�เพ็ง (ถนนมังกร - ซอยวานิช 1) สาขาวงเวียน 22 กรกฎา สาขาคลองถม สาขาวรจักร สาขาโบ๊เบ๊ สาขาบางลำ�พู สาขาตลาดน้อย สาขาดิโอลด์สยาม สาขาปากคลองตลาด สาขาเสนา เฟสท์ (เจริญนคร) สาขาสุขสวัสดิ์ สาขาพรานนก สาขาแฟชั่น ไอส์แลนด์ สาขาเดอะ พรอมานาด สาขาเดอะ พาซิโอทาวน์ (รามคำ�แหง)
0-2359-0000 ต่อ 4801-4, 0-2677-7111 0-2204-2515-7 0-2286-2646-7, 0-2105-3994 0-2392-6053-5 0-2381-6573-5, 0-2714-4182 0-2254-0045-7, 0-2108-0674 0-2254-4150-3, 0-2655-7128 0-2235-8372-4 0-2235-7050-3 0-2212-8639-41, 0-2212-8634, 0-2673-0453 0-2686-3930 0-2208-0860-2, 0-2656-3162
0-2221-4600-2 0-2225-3552, 0-2225-3556-7, 0-2622-4938 (ซอยวัดพลับพลาไชย) 0-2223-4194-5, 0-2223-4280, 0-2623-0218 (ใกล้แยก SAB) 0-2223-2024-6 (หน้าตลาด) 0-2221-6946-8, 0-2621-2026 (ทางเข้าโรงแรมปริ๊นเซส) 0-2280-9518, 0-2280-9530, 0-2280-9541, 0-2628-1356 (ถนนสิบสามห้าง) 0-2282-4712-4, 0-2629-4162 (อาคารณัฐภูมิ ชั้น 1 ถนนเจริญกรุง 0-2235-7463-5, 0-2639-6103 แยกทรงวาด) (ชั้น 1 ฝั่งถนนบูรพา) 0-2223-9866-8 (ตรงข้ามตลาดส่งเสริมเกษตรไทย) 0-2225-4932-4, 0-2623-7316 (ถนนเจริญนคร เสนา เฟสท์ ชั้น 1) 0-2437-0038-41, 0-2108-9040 (ตั้งอยู่ในโครงการสุขนิเวศน์ 3 ปากซอยวัดครุนอก) (ตรงข้ามตลาดพรานนก) (ชั้น 2 ติดนิติพล คลินิก) (ชั้น G ใกล้กลูเม่ มาร์เก็ต) (ใกล้ร้านไดโซะ ชั้น 2)
0-2462-8364-6, 0-2819-2726 0-2411-1272-4, 0-2866-0314 0-2974-5588 0-2947-5056-8, 0-2130-4200 0-2111-3007-9
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
253
เขตพื้นที่
สาขา
กรุงเทพมหานคร สาขาเดอะ เซอร์เคิล และปริมณฑล ราชพฤกษ์ (ต่อ) สาขาเสนานิคม
254
หมายเลขโทรศัพท์
(ใกล้ Kids Park Zone)
0-2863-8757-9, 0-2863-8762
(ตรงข้าม โรงพยาบาลเมโย)
0-2561-5577, 0-2561-2376, 0-2561-1957, 0-2941-1051 0-2278-1755-7, 0-2616-9407
สาขาสะพานควาย
(ฝั่งบิ๊กซี ใกล้สี่แยก)
สาขาตลาดไท
(อยู่ใกล้ตลาดผลไม้รวม)
สาขาฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต สาขาสะพานใหม่ สาขาสมุทรปราการ สาขาบิ๊กซี พระราม 2
(ชั้น 2 Central Zone) (ตรงข้ามตลาดยิ่งเจริญ) (ถนนประโคนชัย) (ชั้น 1 ใกล้ True Move)
สาขาบิ๊กซี บางนา สาขาบิ๊กซี บางพลี
(ชั้น 1 ติดร้าน Black Canyon) (ชั้น 1 Banking Zone)
สาขาบิ๊กซี อ่อนนุช สาขาบิ๊กซี ติวานนท์
(ชั้น 3 บริเวณ Food Court) (ชั้น 1 ติดกับธนาคารกรุงเทพ)
สาขาบิ๊กซี รัตนาธิเบศร์ สาขาเทสโก้ โลตัส พระราม 1 สาขาเทสโก้ โสตัส พระราม 4 สาขาเทสโก้ โลตัส บางนา-ตราด สาขาเทสโก้ โลตัส ศรีนครินทร์ สาขาโฮมโปร เพชรเกษม สาขาโฮมโปร สุวรรณภูมิ สาขาโฮมโปร เอกมัย-รามอินทรา สาขาโฮมโปร ประชาชื่น
(ชั้น 1 บริเวณร้านทอง) (ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส พระราม 1 ชั้น 3) (ชั้น 2 ทางขึ้นบันไดเลื่อน)
สาขาโฮมโปร พุทธมณฑล สาย 5 สาขาเมกาโฮม รังสิต สาขาเซ็นทรัล พระราม 9
(โฮมโปร พุทธมณฑล ชั้น 1)
0-2589-6015, 0-2589-6071, 0-2589-6074, 0-2951-8353 0-2482-1286-7, 034-109605
(ศูนย์การค้าเมกาโฮม รังสิต ชั้น 1) (ชั้น 5 Banking Zone)
0-2516-0971-2, 0-2105-3935 0-2160-3866-8
0-2529-6162-3, 0-2529-6176-7, 0-2908-3420 0-2958-5271-3 0-2522-7088-91, 0-2971-1404 0-2389-1683-5, 0-2702-6721 0-2415-3737, 0-2415-3313, 0-2415-5423, 0-2415-7236 0-2361-6324-6 0-2312-2626, 0-2312-2665, 0-2312-2667 0-2331-6471-3, 0-2742-6800 0-2527-4551-2, 0-2527-4557, 0-2968-3932 0-2594-2578-80 0-2214-3568-70, 0-2612-4920 0-2249-5758-60, 0-2671-4697
(ชั้น 1 Zone Bank)
0-2316-3184-6, 0-2752-8143
(ชั้น 2 ใกล้โรงภาพยนตร์)
0-2175-7712-4, 02-105-3995
(ชั้น 1 Plaza Zone ฝั่ง Home Pro) 0-2444-3045-7 (ชั้น 3 Zone Bank) 0-2316-6701-4, 0-2002-1024 (ใกล้ร้านก๋วยเตี๋ยวไก่ แม่ศรีเรือน) 0-2514-9112-4 (โฮมโปร ประชาชื่น ชั้น 1)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
เขตพื้นที่
สาขา
กรุงเทพมหานคร สาขาเซ็นทรัล ปิ่นเกล้า และปริมณฑล สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ (ต่อ) สาขาเดอะมอลล์ บางแค สาขาเดอะมอลล์ บางกะปิ สาขาเดอะมอลล์ งามวงศ์วาน สาขาซีคอน บางแค
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ
หมายเลขโทรศัพท์
(ชั้น 4 Banking Zone) (ชั้น B หน้า Supermarket)
0-2433-1155, 0-2433-1352-3 0-2477-9525, 0-2477-9497, 0-2477-9540 (ชั้น 3) 0-2454-9204-6 (ชั้น 2 เยื้องศูนย์ Nokia ฝั่ง Plaza) 0-2363-3489-91 (ชั้น 1 ตรงข้าม DTAC) 0-2550-1287-9
สาขาซีคอนสแควร์ สาขานครปฐม สาขาสมุทรสาคร
(ชั้น 3 Zone Bank ติดกับ ธนาคารไทยพาณิชย์ (ชั้น 3 Banking Zone) (ถนนราชวิถี) (ตรงข้าม โรงเรียนมหาชัย คริสเตียน)
สาขาเซ็นทรัล แจ้งวัฒนะ
(ชั้น 4 Banking Zone)
สาขาโฮมโปร เชียงราย สาขาโฮมโปร แพร่ สาขาโฮมโปร ลำ�ปาง สาขาเทสโก้ โลตัส รวมโชค (เชียงใหม่)
(ศูนย์การค้า โฮมโปร เชียงราย ชั้น 1) 053-604430-1, 052-029835 (โฮมโปร แพร่ ชั้น 1) 054-531955-6, 054-069505 (โฮมโปร ลำ�ปาง ชั้น 1) 054-811481-2, 054-316228 (ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส รวมโชค 053-014124-5, 053-014282-3, ชั้น 2) 053-014154, 053-014285, 053-852027 (ชั้น 1 Banking Zone) 053-447855-7 (ปากทางเข้าตลาด) 053-252223-5 (ถนนธนาลัย) 053-717873-6 (โฮมโปร ร้อยเอ็ด ชั้น 1) 043-516849-50, 043-039805 (โฮมโปร สกลนคร ชั้น 1) 042-712862, 042-712868, 042-099705 (โฮมโปร เลย ชั้น 1) 042-845827-8, 042-039805 (โฮมโปร อุบลราชธานี ชั้น 1) 045-344738-9, 045-959715 (โฮมโปร ชัยภูมิ ชั้น 1) 044-051842-3, 044-109705 (โฮมโปร บุรีรัมย์ ชั้น 1) 044-690490-1, 044-119805 (โฮมโปร สุรินทร์ ชั้น 1) 044-519902-3 (โฮมโปร เขาใหญ่ ชั้น 1) 044-929-458-9, 044-328-033, 044-313324-5 (โฮมโปร นครราชสีมา 044-920530-1 (หัวทะเล ชั้น 1)) (เมกาโฮม หนองคาย ชั้น 1) 042-990453-4, 042-464229 (ถนนศรีจันทร์) 043-235244, 043-235258, 043-235260, 043-245364, 043-245366, 043-245415
สาขาบิ๊กซี หางดง สาขาตลาดวโรรส สาขาเชียงราย สาขาโฮมโปร ร้อยเอ็ด สาขาโฮมโปร สกลนคร สาขาโฮมโปร สาขาโฮมโปร สาขาโฮมโปร สาขาโฮมโปร สาขาโฮมโปร สาขาโฮมโปร
เลย อุบลราชธานี ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ เขาใหญ่
สาขาโฮมโปร นครราชสีมา (หัวทะเล) สาขาเมกาโฮม หนองคาย สาขาขอนแก่น
0-2458-2846-9 0-2138-6180-2, 0-2721-9246 034-271981-3, 034-210143 034-870737-9, 034-870741, 034-810877 0-2193-8130-2, 0-2193-8133
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
255
เขตพื้นที่ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ (ต่อ)
ภาคกลาง
ภาคตะวันตก
ภาคตะวันออก
256
สาขาเซ็นทรัล ขอนแก่น สาขาเซ็นทรัล อุดรธานี สาขาอุดรธานี สาขาอุบลราชธานี สาขาเดอะมอลล์ นครราชสีมา สาขาโฮมโปร สระบุรี สาขาโฮมโปร ลพบุรี สาขาโฮมโปร สุพรรณบุรี สาขาบิ๊กซี อยุธยา สาขาโฮมโปร สุโขทัย สาขาโฮมโปร นครสวรรค์ สาขาโฮมโปร เพชรบูรณ์ สาขาพิษณุโลก สาขานครสวรรค์ สาขาโฮมโปร กาญจนบุรี สาขาโฮมโปร สมุทรสงคราม สาขาโฮมโปร เพชรบุรี สาขาโฮมโปร ประจวบคีรีขันธ์ สาขาโรบินสัน ราชบุรี
สาขา (ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซ่า ขอนแก่น ชั้น 2) (เซ็นทรัล อุดรธานี ชั้น 3) (ใกล้ห้าแยกน้ำ�พุฯ)
หมายเลขโทรศัพท์ 043-288540-3
(ถนนชยางกูร) (ชั้น B ติดกับ TMB)
042-136155-7, 042-343341 042-230280-2, 042-230284, 042-230286, 042-343788 045-242584-6, 045-262311 044-393925-7, 044-288118
(โฮมโปร สระบุรี ชั้น 1) (โฮมโปร ลพบุรี ชั้น 1) (ถนนมาลัยแมน) (ศูนย์การค้าบิ๊กซี อยุธยา ชั้น 2) (โฮมโปร สุโขทัย ชั้น 1) (โฮมโปร นครสวรรค์ ชั้น 1) (โฮมโปร เพชรบูรณ์ ชั้น 1) (ถนนบรมไตรโลกนาถ) (ถนนสวรรค์วิถี) (โฮมโปร กาญจนบุรี ชั้น 1) (โฮมโปร สมุทรสงคราม ชั้น 1) (โฮมโปร เพชรบุรี ชั้น 1) (โฮมโปร ประจวบคีรีขันธ์ ชั้น 1)
036-224471-2, 036-679715 036-776095-6, 036-689805 035-522-346-7, 035-969605 035-747133-4, 035-959715 055-616631-2, 055-620004 056-371357-8, 056-009735 056-719541-2, 056-029705 055-258051-3, 055-219033 056-228521-3, 056-311015 034-602695-6, 034-622043 034-770898-9, 034-723027 032-474-575-6, 032-410-062 032-652151-2
(ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน ราชบุรี ชั้น 1) สาขาหัวหิน (ตรงข้ามแขวงการทางหัวหิน) สาขาเมกาโฮม แม่สอด (เมกาโฮม แม่สอด ชั้น 1) สาขาโฮมโปร ชลบุรี (ชั้น 2 ฝั่ง Home Pro) สาขาโฮมโปร ชลบุรี (อมตะ) (โฮมโปร ชลบุรี (อมตะ) ชั้น 1) สาขาโฮมโปร ฉะเชิงเทรา (โฮมโปร ฉะเชิงเทรา ชั้น 1) สาขาโฮมโปร จันทบุรี (โฮมโปร จันทบุรี ชั้น 1) สาขาโฮมโปร ปราจีนบุรี (โฮมโปร ปราจีนบุรี ชั้น 1) สาขาเมกาโฮม บ่อวิน (เมกาโฮม บ่อวิน ชั้น 1) สาขาเมกาโฮม กบินทร์บุรี (เมกาโฮม กบินทร์บุรี ชั้น 1) สาขาเมกาโฮม อรัญประเทศ (เมกาโฮม อรัญประเทศ ชั้น 1) สาขาศรีราชา (ถนนศรีราชานคร 2) สาขาบิ๊กซี พัทยากลาง (ชั้น 2 ติดร้าน 3BB) สาขาระยอง (ถนนสุขุมวิท ติดกับธนาคารยูโอบี)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2558
032-328025-8, 032-310330 032-513420-2 055-506993-4 038-387924-6 038-242-052-4, 033-046-235 038-513418-9, 033-599515 039-418112-3, 039-609815 037-482338-9, 037-629755 038-119168-9 037-480-314-5, 037-202-003 037-247-440-1, 037-609-824 038-325693-5 038-428946-8, 038-360200 038-619434-6, 038-864486
เขตพื้นที่ ภาคใต้
สาขา สาขาโฮมโปร สาขาโฮมโปร สาขาโฮมโปร สาขาโฮมโปร
ภูเก็ต (ฉลอง) ภูเก็ต (ถลาง) ตรัง พัทลุง
หมายเลขโทรศัพท์
(โฮมโปร ภูเก็ต (ฉลอง) ชั้น1) (ชั้น 1) (โฮมโปร ตรัง ชั้น 1) (โฮมโปร พัทลุง ชั้น 1)
076-384618-9, 076-681135 076-390430-1 075-502276-7, 075-829705 074-603663, 074-603667, 074-621219 สาขาโฮมโปร ชุมพร (โฮมโปร ชุมพร ชั้น 1) 077-658893-4, 077-979905 สาขาเทสโก้ โลตัส สมุย (ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส สมุย ชั้น 1) 077-430628-31, 077-256-091 สาขาเทสโก้ โลตัส ภูเก็ต (Banking Zone) 076-304113-5 สาขาภูเก็ต (ถนนเทพกระษัตรี) 076-355305-9 สาขาป่าตอง (ปากซอย เดอะโรยัล พาราไดซ์) 076-340770-1, 076-340773, 076-340775, 076-340778, 076-3400801, 076-292013 สาขากระบี่ (ถนนมหาราช) 075-620292-3, 075-620377, 075-630027 สาขานครศรีธรรมราช (ถนนพัฒนาการคูขวาง) 075-357617-9, 075-317770 สาขาหาดใหญ่ (ถนนนิพัทธ์อุทิศ 2) 074-225622-3, 074-225628, 074-350067 สาขาบิ๊กซี หาดใหญ่ 2 (ศูนย์การค้า บิ๊กซี หาดใหญ่ 2 ชั้น 1) 074-555211, 074-555281-2, 074-344014 สาขาเซ็นทรัล สุราษฎร์ธานี (ชั้น 3 Zone Bank) 077-602709-11 สาขาสมุย (ละไม) (ถนนรอบเกาะตรงข้ามละไม รีสอร์ท) 077-458599, 077-458600, 077-954-031, 077-458640-1
รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
257
ตราสัญลักษณ์ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)