สารบัญ สารจากประธานกรรมการ ความเป็นมาของบริษัท ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ คณะกรรมการบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการจัดการ ปัจจัยความเสี่ยง รายงานคณะกรรมการบริหาร การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล สารจากกรรมการผู้จัดการ รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน 1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม 3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน 5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม 6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม 8. การจัดการสิ่งแวดล้อม 9. นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรม จากการดำ�เนินความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินประจำ�ปี และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อมูลอ้างอิง ทำ�เนียบสาขาของธนาคาร
2 4 6 8 10 19 39 42 42 56 71 72 104 105 106 114 147 147 150 151 157 162 169
162
174
การจัดการสิ่งแวดล้อม
การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม
2
สารจากประธาน กรรมการ
4
ความเป็นมาของบริษัท
169
176 179 185 186
19
ลักษณะการประกอบ ธุรกิจ
187 188 193 292 293
176
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง รายงานประจำ�ปี 2559
1
สารจากประธานกรรมการ
2
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
“
ปี 2559 บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีการขยายตัวในหลายด้าน โดยเฉพาะบริษัทมีผลการดำ�เนินงานกำ�ไรสุทธิ 2,696 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อนร้อยละ 63.3
”
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2559 เติบโตสูงกว่าทีค่ าดการณ์ เล็กน้อย จากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลที่ออกมา อย่างต่อเนือ่ ง การใช้จา่ ยและการลงทุนภาครัฐ รวมถึงปัจจัยบวก ที่ผลักดันยอดขายรถยนต์ที่ปรับตัวสูงขึ้น และภาคการท่องเที่ยว ที่ยังเป็นตัวขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจ ซึ่งเศรษฐกิจไทยยังคง ได้รบั ผลกระทบจากภาคการส่งออกทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการฟืน้ ตัว ทีเ่ ปราะบางของเศรษฐกิจโลก และการลงทุนภาคเอกชนทีย่ งั ฟืน้ ตัว ไม่เต็มที่รวมถึงภาระหนี้ภาคครัวเรือนที่สูงทำ�ให้อำ�นาจซื้อของ ภาคครัวเรือนลดลง ปี 2559 บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) มีการขยายตัวในหลายด้าน โดย เฉพาะบริษัทมีผลการดำ�เนินงานกำ�ไรสุทธิ 2,696 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อนร้อยละ 63.3 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีสินทรัพย์รวม 209,695 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อน ร้อยละ 5.9 มีเงินให้สินเชื่อรวม 157,494 ล้านบาท เติบโตจาก ปีก่อนร้อยละ 5.7 และมีคณุ ภาพสินเชือ่ จัดอยูใ่ นเกณฑ์ดี มีสนิ เชือ่ ด้อยคุณภาพ (NPL) อยู่ที่ร้อยละ 1.76 ของเงินให้สินเชื่อรวม ปี 2559 ธนาคารได้พฒ ั นาบริการ เพิม่ สินค้าและบริการ เพื่อให้ลูกค้าได้รับบริการที่สะดวกรวดเร็วและมีความพึงพอใจ รวมทั้งการปรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มาเป็นส่วนหนึ่ง ของการให้บริการเพือ่ รองรับสังคมดิจติ อล การออกแอพพลิเคชัน่ บนโทรศัพท์มือถือที่เรียกว่า LH Bank M Choice Application ที่สามารถทำ�ธุรกรรมทางการเงินได้สะดวกรวดเร็ว สามารถ เช็คยอดเงิน โอนเงิน เติมเงิน ชำ�ระค่าสินค้าและบริการ ดูกองทุน รวมถึงการค้นหาสาขาและตู้เอทีเอ็มของธนาคาร ซึ่งสามารถใช้ บริการได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด มีผลการดำ�เนินงาน กำ�ไรสุทธิ 74.2 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อน ร้อยละ 199.5 มีกองทุนภายใต้การบริหารจัดการ คิดเป็นมูลค่า สินทรัพย์สุทธิทั้งสิ้น 64,276 ล้านบาท เติบโตจากปีก่อนร้อยละ 28.9 มีสว่ นแบ่งทางการตลาด (Market share) เท่ากับร้อยละ 1.38 อยู่อันดับที่ 10 จาก 22 บริษัท
บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีผลการดำ�เนินงานกำ�ไรสุทธิ 105.7 ล้านบาทเติบโตจากปีก่อน ร้อยละ 642.4 บริษัทได้ทำ�การตลาดร่วมกับธนาคารแลนด ์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดำ � เนิ น โครงการ Banker-to-Broker หรื อ โครงการส่ ง เสริ ม ช่องทางการลงทุนผ่านสาขาธนาคาร เพือ่ เป็นการขยายฐานลูกค้า และให้นักลงทุนสามารถเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านสาขา ของ LH Bank ที่มีอยู่ทั่วประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี ดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม มีความรับผิดชอบ และรักษาผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สังคมโดยรวม รวมทั้งการบริหารจัดการด้วยความซื่อสัตย์สุจ ริตอันนำ �ไปสู่ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและเป็นรากฐานของ การเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งมี เ สถี ย รภาพและยั่ ง ยื น ในปี 2559 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเมินผล การกำ � กั บ ดูแลกิจการที่ดีโดยบริษัทได้รับจำ�นวนตราสัญลักษณ์ 5 ดวง จัดอยูใ่ นเกณฑ์ “ดีเลิศ” และบริษทั ได้รบั การคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจ ด้านสิง่ แวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) หรือทีเ่ รียกว่า กลุม่ หลักทรัพย์ ESG100 โดยสถาบันไทยพัฒน์ บริษทั ขอขอบคุณลูกค้า ผูถ้ อื หุน้ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ พนักงาน สถาบันการเงินภาครัฐ และเอกชน รวมถึงหน่วยงาน ราชการต่างๆ ที่ให้ความไว้วางใจและสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ด้วยดีเสมอมา
(นายอนันต์ อัศวโภคิน) ประธานกรรมการ รายงานประจำ�ปี 2559
3
ความเป็นมาของบริษัท
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้ง จัดตั้งขึ้นตามประกาศธนาคาร แห่งประเทศไทยที่กำ�หนดให้สถาบันการเงินปรับโครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจทางการเงินของตนเองให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม
2552 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด
(มหาชน) ตั ้ ง ขึ ้ น เมื ่ อวั น ที ่ 22 เมษายน 2552 ด้ ว ย ทุ น จดทะเบียนแรกเริ่ม จำ�นวน 100,000 บาท โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพือ่ เป็นบริษทั แม่ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ทัง้ นี้ บริษทั ไม่ท�ำ ธุรกิจของตนเอง (Non -Operating Holding Company) แต่จะเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่นเพื่อการมีอำ�นาจ ควบคุมกิจการ เมื่อวั น ที่ 19 มิ ถุนายน 2552 บริ ษัท ได้ ย่ืน ขออนุ ญ าตจั ด ตั้ ง กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ต่ อ ธนาคาร แห่ ง ประเทศไทย และเมื่ อวั น ที่ 28 ตุ ลาคม 2552 ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยได้ อ นุ ญ าตให้ บ ริ ษั ท และ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้ง กลุ่มธุรกิจทางการเงิน โดยมีบริษัทเป็นบริษัทแม่ของ กลุม่ ธุรกิจทางการเงิน และมีธนาคารเป็นบริษทั ลูกในกลุม่ Solo Consolidation และมี บ ริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เป็นบริษทั ลูกนอก กลุม่ Solo Consolidation กล่าวคือ บริษทั จะต้องอยูภ่ ายใต้ การกำ � กั บ ดู แ ลของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ตามที่ กำ�หนดในพระราชบัญญัตธิ รุ กิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551
4
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
เ มื่ อวั น ที่ 1 0 มิ ถุ นา ย น 2 5 5 2 บ ริ ษั ท ไ ด้ ปรั บ โครงสร้ า งการถื อ หุ้ น เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามแผนการ จัดตั้งกลุ่มธุรกิจทางการเงินที่ได้รับอนุญาตจากธนาคาร แห่งประเทศไทย และเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2552 สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้อนุญาตให้บริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุน้ โดยเมื่ อวั น ที่ 1 ธั นวาคม 2552 บริ ษั ท ได้ อ อกและ เสนอขายหุ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของบริ ษั ท ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) โดย เสนอขายเพือ่ แลกเปลีย่ นกับหุน้ สามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ในอัตราแลกเปลี่ยน 1 ต่อ1และ เมือ่ วันที่ 9ธันวาคม 2552 บริษทั ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนทีอ่ อก เพือ่ แลกเปลีย่ นกับหุน้ สามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) โดยถือเสมือนว่าชำ�ระราคาค่าหุน้ แล้วกับ กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งภายหลังจากการปรับโครงสร้าง การถือหุน้ ผูถ้ อื หุน้ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้ามาเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั แทน และบริษทั เข้าถือหุ้นร้อยละ 99.99 ในธนาคาร
2554 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รบั หุน้ สามัญ
ข อ ง บ ริ ษั ท เ ป็ น ห ลั ก ท รั พ ย์ จ ด ท ะ เ บี ย น แ ล ะ เริ่ ม ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 โดยใช้อักษรย่อในการ ซื้อขายหลักทรัพย์ว่า LHBANK
2559
เมื่ อ วั น ที่ 1 มี นาคม 2559 บริ ษั ท ได้ ป รั บ โครงสร้ า งกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น บริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) โดยบริษัทได้เข้า ซื้อหุ้นสามัญของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด จำ�นวน 2,999,995 หุ้น คิดเป็น ร้ อ ยละ 99.99 ของทุ น ที่ อ อกและเรี ย กชำ � ระแล้ ว จากธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2557 บริษัทได้เข้าซื้อ หุน้ สามัญของบริษทั หลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์เนชัน่ แนล (ประเทศไทย)จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ99.80ของทุนทีช่ �ำ ระแล้ว และซื้อหุ้นบริษัท ซีไอเอ็มบี แอ็ดไวเซอรี่ (ประเทศไทย) จำ�กัด ผ่านบริษทั หลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์เนชัน่ แนล (ประเทศไทย) จำ � กั ด (มหาชน) ร้ อ ยละ 99.99 ของ ทุนทีช่ �ำ ระแล้ว และเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2557 ธนาคาร แห่งประเทศไทยได้อนุญาตให้ทง้ั 2 บริษทั อยู่ในกลุม่ ธุรกิจ ทางการเงิน การเข้าซือ้ หุน้ ทัง้ 2 บริษทั ดังกล่าว เพือ่ เป็น การขยายการทำ�ธุรกรรมด้านการเงินของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด(มหาชน) ในด้านการ ซื้อขายหลักทรัพย์ และที่ปรึกษาทางการเงิน และต่อมา ได้เปลีย่ นชือ่ บริษทั ทัง้ 2 แห่ง โดยชือ่ ว่าบริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด รายงานประจำ�ปี 2559 5
2557
ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
อักษรย่อหลักทรัพย์ LHBANK เลขทะเบียนบริษัท 0107552000081 ประเภทธุรกิจ ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company) ลงทุนในบริษัทย่อย 3 แห่ง คือ 1. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 3. บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เว็บไซต์ www.lhfg.co.th ปีที่ก่อตั้ง 2552 วันแรกที่ซื้อขายหุ้น 10 พฤษภาคม 2554 ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 ทุนจดทะเบียน จำ�นวน 13,638,705,250 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ จำ�นวน 13,638,705,250 หุ้น ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 13,638,699,252 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ จำ�นวน 13,638,699,252 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นสามัญหุ้นละ 1 บาท หุ้นบุริมสิทธิ ไม่มี รอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 31 ธันวาคม ติดต่อ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ 0 2359 0000, 0 2677 7111 โทรสาร 0 2677 7223 เลขานุการบริษัท โทรศัพท์ 0 2359 0000 ต่อ 2020, 2019, 2021, 2024 E-mail : presidentoffice@lhbank.co.th ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทเพิ่มเติมได้จาก แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท www.lhfg.co.th
6
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการตรวจสอบ : นายไพโรจน์ เฮงสกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 08 1990 7448 E-mail : phairojh@lhbank.co.th นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 08 1834 0104 E-mail : adulv@lhbank.co.th นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการตรวจสอบ โทรศัพท์ 08 5485 4269 E-mail : somsaka@lhbank.co.th ผู้สอบบัญชี : นางสาวรัตนา จาละ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3734 และ/หรือ : นางสาวสมใจ คุณปสุต ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4499 และ/หรือ : นางสาวรัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4951 : บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2264 0777 โทรสาร : 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ : www.ey.com/th
บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น จี,1,5,6,32 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 14 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท 0105551006645 ทุนจดทะเบียน จำ�นวน 300,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 300,000,000 บาท โทรศัพท์ 0 2286 3484 , 0 2679 2155 โทรสาร 0 2286 3585 , 0 2679 2150 เว็บไซต์ www.lhfund.co.th ผู้สอบบัญชี บริษทั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2264 0777 โทรสาร : 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ : www.ey.com/th
เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ ผู้สอบบัญชี
0107548000234 จำ�นวน 20,000,000,000 บาท จำ�นวน 14,000,000,000 บาท 0 2359 0000 , 0 2677 7111 0 2677 7223 www.lhbank.co.th บริษทั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2264 0777 โทรสาร : 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ : www.ey.com/th
บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชัน้ M, 10
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 10 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท 0105545029400 ทุนจดทะเบียน จำ�นวน 20,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 20,000,000 บาท โทรศัพท์ 0 2352 5100 โทรสาร 0 2286 2681 2
ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท 0107542000038 ทุนจดทะเบียน จำ�นวน 637,215,030 บาท ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวน 637,215,030 บาท โทรศัพท์ 0 2352 5100 โทรสาร 0 2286 2681-2 เว็บไซต์ www.lhsec.co.th ผู้สอบบัญชี บริษทั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2264 0777 โทรสาร : 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ : www.ey.com/th
ผู้สอบบัญชี
บริษทั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0 2264 0777 โทรสาร : 0 2264 0789-90 เว็บไซต์ : www.ey.com/th
รายงานประจำ�ปี 2559
7
ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำ คัญ รายการ งบแสดงฐานะการเงิน : ล้านบาท สินทรัพย์รวม เงินให้สินเชื่อ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินเชื่อด้อยคุณภาพ (Gross NPLs) เงินรับฝาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม หนี้สินรวม ส่วนของเจ้าของ ทุนจดทะเบียน ทุนออกจำ�หน่ายและทุนชำ�ระแล้ว งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ : ล้านบาท รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย รายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิ เทียบเป็นรายหุ้น : บาท กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน อัตราเงินปันผลต่อหุ้น มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น อัตราส่วนทางการเงิน (%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เฉลี่ย (ROA) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (ROE) รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยต่อรายได้รวม ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ยต่อรายได้รวม อัตราการจ่ายเงินปันผล หมายเหตุ
8
/1
2559
งบการเงินรวม 2558
2557
212,147 141,070 3,102 2,766 149,097 20,327 191,831 20,316 13,639 13,639
199,667 133,097 2,564 2,815 137,064 21,664 181,716 17,951 13,639 13,639
164,970 115,634 2,145 2,519 122,632 1,000 148,684 16,286 13,200 13,199
8,810 (3,971) 4,839 2,128 6,967 (2,602) (1,025) 3,340 2,696
8,494 (4,128) 4,366 1,177 5,543 (2,400) (1,089) 2,054 1,652
7,455 (4,073) 3,382 865 4,247 (2,045) (710) 1,492 1,201
0.1977 0.0520 1.4896
0.1211 0.0330 1.3162
0.0892 0.0370/1 1.2339
1.31 14.09 30.54 37.34 70.39
0.91 9.65 21.23 43.29 44.42
0.77 7.67 20.36 48.16 58.88
หมายถึง ในปี 2557 บริษัทจ่ายเงินปันผลประจำ�ปีเป็นหุ้นสามัญในอัตรา 30 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปันผล และเงินสดปันผลในอัตราหุ้นละ 0.0037 บาท บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
สินทรัพยรวม
เงินใหสินเชื่อ
(ลานบาท) 250,000
212,147
199,667
(ลานบาท) 150,000
164,970
150,000
100,000
50,000
50,000
2559
0
2558
2557
0
เงินรับฝากและตราสารหน�้ที่ออกและเงินกูยืม (ลานบาท) 200,000
169,424
2559
2558
2557
8,000
158,728
6,967
123,632
50,000
4,000
2559
2558
2557
0
กำไรสุทธิ
4,247
2559
2558
2557
(ลานบาท) 30,000 20,000
1,652 1,201
1,000
2559
5,543
สวนของเจาของ
2,696
2,000
0
115,634
(ลานบาท)
6,000
(ลานบาท) 3,000
133,097
รายไดจากการดำเนินงาน
100,000
0
141,070
2558
2557
20,316
17,951
16,286
2558
2557
10,000
0
2559
รายงานประจำ�ปี 2559
9
คณะกรรมการบริษัท นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ 66 - M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - M.S. Industrial Engineering, Illinois Institute of Technology, Chicago, USA - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 52/2004 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง: - ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ปี 2559 ถือโดย บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 4,634,761,967 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 33.982 - ปี 2558 ถือโดย บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 4,634,761,967 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 33.982 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4 แห่ง ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ 2538 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ 2528 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 2531 - เม.ย. 2556 กรรมการผู้จัดการ 2526 - ปัจจุบัน กรรมการ 2548 - มี.ค. 2554 ประธานกรรมการ 2537 - ก.พ. 2553 ประธานกรรมการ ส.ค. - ธ.ค. 2548 ประธานกรรมการ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 13 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง 2548 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2536 - ปัจจุบัน กรรมการ 2533 - ปัจจุบัน กรรมการ 2531 - ปัจจุบัน กรรมการ 2529 - ปัจจุบัน กรรมการ 2523 - ปัจจุบัน กรรมการ 2548 - ม.ค. 2558 กรรมการ 2534 - ส.ค. 2557 กรรมการ 2544 - มี.ค. 2553 กรรมการ 2537 - ธ.ค. 2552 กรรมการ มิ.ย. - ธ.ค. 2548 ประธานกรรมการ
10
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บมจ. บางกอก เชน ฮอสปิทอล บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส์ บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ บจ. แอล เอช เรียลแอสเตท บจ. แอล เอช แอสเซท กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 2 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 1 บจ. เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ บจ. คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล บจ. สยามธานี เรียลเอสเตท บจ. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ บจ. แอตแลนติก เรียลเอสเตท บจ. แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล บจ. พลาซ่า โฮเต็ล บจ. แอล แอนด์ เอช สาทร บจ. บุญชัยโฮลดิ้ง บจ. คิว-คอน อิสเทอร์น บจ. เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้นท์ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการบริหาร 69 - M.S. in Business Ad., Fort Hays Kansas State University, Hays, Kansas USA - วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.388) - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 4/2003 : IOD - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 61/2005 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 1/2010 : IOD - หลักสูตร Corporate Governance For Capital Market Intermediaries (CGI) 14/2016 : IOD จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง: - ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร เม.ย. 2559 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ เม.ย. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ พ.ค. 2548 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน เม.ย. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ 2544 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ส.ค. 2544 - ธ.ค. 2557 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ ต.ค. 2549 - เม.ย. 2552 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ ก.พ. - ธ.ค. 2548 กรรมการ พ.ค. 2547 - ธ.ค. 2548 กรรมการบริหาร เม.ย. 2546 - เม.ย. 2547 กรรมการตรวจสอบ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ธ.ค. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ต.ค. 2553 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ธ.ค. 2548 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร ม.ค. 2546 - ธ.ค. 2557 กรรมการ ส.ค. 2544 - ธ.ค. 2557 กรรมการ 2549 - 2551 กรรมการ 2545 - 2551 ประธานกรรมการ ส.ค. 2544 - ธ.ค. 2552 กรรมการ 2543 - 2548 ประธานกรรมการ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. บ้านปู
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บมจ. ไออาร์พีซี บมจ. ทิพยประกันภัย บมจ. ธนาคารกรุงไทย ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. คิว.เอช. แมแนจเม้นท์ บจ. คิว.เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจ. เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้นท์ บจ. ยูไนเต็ด แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วิส
รายงานประจำ�ปี 2559
11
นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาล 69 - Executive M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - เนติบัณฑิต - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตรพัฒนาผู้ตรวจสอบ “Bank Examiner Course”, Federal Deposit Insurance Corporation, Washington DC., USA - หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Executive Program for Central Banker, Harvard University, BOT - Chiangmai - หลักสูตร Media and Public Relations, Ogilvy (Thailand) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP)121/2009 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 1/2010 : IOD จำ�นวนการถือหุน้ ทางตรง: - ปี 2559 = 5,606,797 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.041 - ปี 2558 = 6,606,797 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.048 จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการบรรษัทภิบาล เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ เม.ย. 2552 - เม.ย. 2554 กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ก.พ. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ 2550 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ ก.ย. - ธ.ค. 2552 กรรมการ 2549 - พ.ค. 2552 กรรมการ 2549 - 2550 ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายจัดการกองทุน 2543 - 2549 ผู้อำ�นวยการอาวุโส - สำ�นักงานภาคใต้ - ฝ่ายบริหารโครงการและทรัพย์สิน
12
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บจ. หลักทรัพย์ นครหลวงไทย บจ. บริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย
นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการตรวจสอบ อายุ (ปี): 70 คุณวุฒิทางการศึกษา: - M.A. (Econ) University of Texas at Austin, Texas, USA - เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - นักบริหารระดับสูง สำ�นักงานข้าราชการพลเรือน (นบส.) - ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ. 388) - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 14 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 25/2002 : IOD - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 7/2005 : IOD - หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) 2/2007 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 1/2010 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง: - ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง พ.ค. 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ ม.ค. 2555 - เม.ย. 2559 ประธานกรรมการบริหาร ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และกรรมการตรวจสอบ พ.ค. 2558 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา ธ.ค. 2553 - เม.ย. 2558 กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ก.ค. 2551 - เม.ย. 2558 ประธานกรรมการตรวจสอบ ส.ค. 2544 - เม.ย. 2558 กรรมการอิสระ ก.ค. 2551 - ธ.ค. 2553 ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ส.ค. - ธ.ค. 2548 กรรมการตรวจสอบ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ก.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการบรรษัทภิบาล ธ.ค. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และกรรมการตรวจสอบ 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ 2545 - 2557 กรรมการรองผู้อำ�นวยการใหญ่ ต.ค. 2557 - มิ.ย. 2559 กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ 2551 - ต.ค. 2556 ผู้อำ�นวยการ มี.ค. - ก.ค. 2553 กรรมการ 2548 - ธ.ค. 2552 กรรมการ 2546 - 2551 กรรมการ 2545 - 2550 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ 2545 - 2550 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ มิ.ย. 2547 - ธ.ค. 2548 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์
บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. เอเวอร์กรีน พลัส บมจ. ไอ.จี.เอส. บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลังแห่งประเทศไทย (TTDI) บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ สถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลัง (ห้วยบง) บจ. ไทยแอร์ไลน์ โฮลดิ้ง บจ. สมาร์ทคอลเลคเตอร์ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจ. ปัญจพล เปเปอร์ อินดัสตรี้ บมจ. ปัญจพล พัลพ์ อินดัสตรี้ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ รายงานประจำ�ปี 2559
13
นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ (ปี): 64 คุณวุฒิทางการศึกษา: - M.B.A. New York University, USA - พาณิชยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 157/2012 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง: - ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการบรรษัทภิบาล ต.ค. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2546 - ก.ย. 2555 กรรมการและกรรมการบริหาร ต.ค. 2548 - ก.ย. 2555 รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส พ.ย. 2543 - ต.ค. 2548 รองกรรมการผู้จัดการ เม.ย. 2543 - ต.ค. 2543 รองกรรมการผู้จัดการ และรักษาการในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ ต.ค. 2541 - เม.ย. 2543 รองกรรมการผู้จัดการ พ.ย. 2537 - ต.ค. 2541 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
14
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย ธนาคารอาคารสงเคราะห์
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 58 - M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. 2549) - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 25/2004 : IOD - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 53/2005 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 2/2011 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง: - ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง พ.ค. 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน พ.ค. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ (ปฏิบัติการ) 2535 - ปัจจุบัน กรรมการ 2545 - เม.ย. 2556 กรรมการบริหาร และรองกรรมการผู้จัดการ สายปฏิบัติการ 2534 - พ.ค. 2544 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2537 - ปัจจุบัน กรรมการ 2537 - มี.ค. 2554 กรรมการ ส.ค. - ธ.ค. 2548 กรรมการ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 17 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ธ.ค. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ 2536 - ปัจจุบัน กรรมการ 2534 - ปัจจุบัน กรรมการ 2531 - ปัจจุบัน กรรมการ 2529 - ปัจจุบัน กรรมการ 2544 - มี.ค. 2553 กรรมการ 2537 - ธ.ค. 2552 กรรมการ 2537 - ธ.ค. 2552 กรรมการ มิ.ย. - ธ.ค. 2548 กรรมการ 2538 - 2547 กรรมการ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส์ บมจ. บางกอก เชน ฮอสปิทอล บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ Land and Houses USA, INC บจ. ภูเก็ต ฟิวเจอร์ แพลน บจ. ดับเบิ้ลทรี บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แอล เอช เรียลเอสเตท บจ. แอล เอช แอสเซท กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 2 บมจ. เมืองใหม่ กัตทรี กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 1 บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธ บจ. แอล เอช เมืองใหม่ บจ. สยามธานี เรียลเอสเตท บจ. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ บจ. แอตแลนติก เรียลเอสเตท บจ. แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล บจ. คิว-คอน อิสเทอร์น บจ. สระบุรี เวชกิจ บจ. ศรีบุรินทร์การแพทย์ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บลจ. แอสเซท พลัส รายงานประจำ�ปี 2559
15
นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการบริหาร 59 - M.B.A. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 8/2001 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง: - ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ปี 2559 ถือโดยคู่สมรส จำ�นวน 2,700,066 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.020 - ปี 2558 ถือโดยคู่สมรส จำ�นวน 2,700,066 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.020 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา ส.ค. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ และกรรมการบริหาร มิ.ย. 2550 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร พ.ค. 2544 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 5 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ก.ย. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ มี.ค. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ และกรรมการบริหาร ก.ค. 2555 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ก.ค. 2554 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ พ.ค. 2548 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ ก.ค. 2559 - ม.ค. 2560 กรรมการ
16
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บจ. ดีซี เซอร์วิส เซ็นเตอร์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. เมกา โฮม เซ็นเตอร์ Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD บจ. มาร์เก็ต วิลเลจ บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
นางสุวรรณา พุทธประสาท กรรมการ 61 - M.B.A. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 29/2004 : IOD - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 85/2007 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 3/2011 : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง: - ไม่มี จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง เม.ย. 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ พ.ค. 2554 - เม.ย. 2555 กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ 2543 - เม.ย. 2559 รองกรรมการผู้จัดการ กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง และเลขานุการบริษัท ส.ค. - ธ.ค. 2548 กรรมการ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 13 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ก.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ พ.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ พ.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ก.พ. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ ม.ค. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ มิ.ย. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ ม.ค. 2556 - ก.พ. 2558 กรรมการ ม.ค. 2556 - ก.พ. 2558 กรรมการ ม.ค. 2556 - ก.พ. 2558 กรรมการ ส.ค. 2556 - ธ.ค. 2557 กรรมการ 2548 - ก.พ. 2555 กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2535 - 2548 กรรมการ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บจ. กัสโต้ วิลเลจ บจ. แอล แอนด์ เอช รีเทล แมเนจเม้นท์ บจ. แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล บจ. พร็อพเพอร์ตี้ โฮสท บจ. คาซ่า วิลล์ (ชลบุรี 2554) บจ. เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี้ บจ. แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ บจ. คิว.เฮ้าส์ พรีคาสท์ บจ. แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ บจ. คิว.เอช. แมเนจเม้นท์ บจ. คาซ่า วิลล์ บจ. เดอะ คอนฟิเด้นซ์ บจ. คิว.เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล บจ. คาซ่า วิลล์ (ประจวบคีรีขันธ์ 2554) บจ. คาซ่า วิลล์ (เพชรบุรี 2553) บจ. คาซ่า วิลล์ (ระยอง 2553) บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ รายงานประจำ�ปี 2559
17
นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 59 - M.B.A. Nortre Dame de Namur University, California, USA - ปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 12 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 28/2004 : IOD - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 58/2005 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 3/2011 : IOD - หลักสูตร Corporate Governance For Capital Market Intermediaries (CGI) 17/2016 (English Program) : IOD จำ�นวนการถือหุ้นทางตรง: - ปี 2559 = 1,356,522 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.010 - ปี 2558 = 1,216,592 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.009 จำ�นวนการถือหุน้ ทางอ้อม: - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: - ไม่มี ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา:
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง เม.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง พ.ย. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน ก.ค. - ธ.ค. 2548 รองกรรมการผู้จัดการ ม.ค. 2547 - พ.ค. 2548 กรรมการผู้อำ�นวยการ พ.ย. 2541 - ก.ค. 2542 Chief Financial Officer ก.ย. 2526 - ก.ค. 2541 ผู้อำ�นวยการอาวุโสโครงการพิเศษ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ธ.ค. 2559 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ ธ.ค. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ส.ค. 2555 - ส.ค. 2557 กรรมการ อนุกรรมการก่อสร้างอาคาร อนุกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ และอนุกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เม.ย. 2543 - ธ.ค. 2546 ผู้อำ�นวยการอาวุโส
18
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. ปิโก (ไทยแลนด์) บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ บมจ. หลักทรัพย์ ยูไนเต็ด บมจ. เดอะโคเจเนอเรชั่น บมจ. เงินทุนหลักทรัพย์ ธนสยาม ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บจ. ยูไนเต็ด แอ็ดไวเซอรี่ เซอร์วิส
ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) เป็ น บริ ษั ท โฮลดิ้ ง และเป็ น บริ ษั ท แม่ ข อง กลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจโดยการเข้าถือหุน้ ใน บริษทั อืน่ โดยไม่ได้ท�ำ ธุรกิจของตนเอง (Non – operating Holding Company) แต่จะเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่นเพื่อ
การมีอำ�นาจควบคุมกิจการ ดังนั้นการประกอบธุรกิจของ บริษทั จึงแบ่งตามลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั ย่อย ทีม่ คี วามหลากหลายในด้านบริการทางการเงินรูปแบบต่างๆ ที่ตอบสนองความต้องการทางด้านการเงินให้แก่ลูกค้า อย่างครบวงจร
1. โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุ : บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : มารดา ของ นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) : บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด
Securities
: บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด รายงานประจำ�ปี 2559
19
ก า ร ดำ � เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษั ท ใ น ก ลุ่ ม ธุรกิจทางการเงิน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) แบ่งการดำ�เนินงานในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ออกเป็น 5 กลุ่มธุรกิจ ดังนี้ - ธุรกิจการลงทุน คือ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) - ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) - ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น คื อ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด - ธุรกิจหลักทรัพย์ คือ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) - ธุ ร กิ จ ที่ ป รึ ก ษาทางการเงิ น คื อ บริษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ธุรกิจการลงทุน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษทั โฮลดิง้ ทีไ่ ม่ได้ประกอบธุรกิจของตนเอง (Non-operating Holding Company) โดยเป็นบริษัทแม่ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจการเข้าถือหุ้น ในบริ ษั ท อื่ น ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ถื อ หุ้ น บริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุรกิจทางการเงิน ดังนี้ - ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนทีช่ �ำ ระแล้วทัง้ หมด - บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.80 ของทุนที่ ชำ�ระแล้วทั้งหมด - บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด
20
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ดังนั้นธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด จึงเป็นบริษัทแกน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ ค่ า นิ ย มองค์ กรและ เป้าหมายในการดำ�เนินงานของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพือ่ เป็นการกำ�หนดทิศทางและเป้าหมายทีเ่ ป็น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ของทั้ ง กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น กอรปกับธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทแกนและเป็นธุรกิจหลักของกลุ่ม บริษัทจึง ได้ยึดถือวิสัยทัศน์และพันธกิจของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มาเป็นตัวกำ�หนดภาพความมุง่ หวัง สูงสุดที่องค์กรต้องการจะบรรลุตามวิสัยทัศน์ สำ�หรับ พันธกิจจะเป็นการกำ�หนดภารกิจและหลักปฏิบตั ทิ อี่ งค์กร จะยึดถือในการดำ�เนินธุรกิจส่งถึงค่านิยมองค์กร คือ หลักการร่วมกันที่ผู้บริหารและพนักงานจะนำ�มาใช้ใน การดำ�เนินงานให้บรรลุเป้าหมาย คณะกรรมการธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ � กั ด (มหาชน) ได้ กำ � หนดวิ สั ย ทั ศ น์ และพั น ธกิ จ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ การกำ � หนด แผนกลยุทธ์เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจเป็นไปตามเป้าหมาย ทีก่ �ำ หนด รวมทัง้ ได้ทบทวนความเหมาะสมของวิสยั ทัศน์ และพันธกิจทุกปี ปี 2559 คณะกรรมการธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ทบทวนวิสัยทัศน์ และ พันธกิจ ดังนี้
• ค่านิยมองค์กร การพัฒนาเชิงความรูน้ อกจากองค์ความรูท้ ี่ สนับสนุนการทำ�งานแล้ว ในด้านพฤติกรรมการทำ�งานและ การอยู่ร่วมกัน ธนาคารมีแนวทางในการสร้างค่านิยม องค์ กรเพื่ อ ให้ พ นั ก งานมี ค วามรู้ ความเข้ า ใจ และ มี พ ฤติ ก รรมที่ อ ยู่ บ นค่ า นิ ย มเดี ย วกั น ผ่ า นกระบวน การสื่ อสาร การเรียนรู้ และการทำ � งาน บนค่านิยม PRO-AcTIVE เพื่ อ ให้ พ นั ก งานทุ ก คนได้ ร่ ว มเติ บ โต ไปพร้อมกับธนาคารอย่างยั่งยืน PRO-AcTIVE คือ ค่านิยมของธนาคาร เพื่อหล่อหลอมพนักงานให้ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ โดย สะท้ อ นผ่ า นพฤติ ก รรมการทำ � งาน การอยู่ ร่ ว มกั น การปฏิบัติต่อลูกค้าตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
Integrity
I – Integrity : “สุจริต มีจริยธรรม โปร่งใส”
ธนาคารส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานด้วย ความซื่อสัตย์ต่อธนาคาร อาชีพ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถดำ�รงตนเป็นแบบอย่างที่ดี ในทุกกระบวนการ ของการทำ�งาน ปฏิบตั งิ านด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีความยุติธรรม
Visioning
V – Visioning : “คิดนอกกรอบ มองกว้างไกล ยึดมั่นในเป้าหมาย”
ธนาคารส่งเสริมให้การทำ�งานมีแบบแผน กำ�หนดเป้าหมายการทำ�งานได้อย่างชัดเจนทั้งระยะสั้น และระยะยาว สามารถปฏิบัติตามแผนงานที่กำ�หนดโดย PROfessional PRO – Professional : “พัฒนาศักยภาพ มีการติดตาม ประเมินผล เพือ่ พัฒนาปรับปรุงข้อบกพร่อง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ง า น เ ชิ ง รุ ก พ ร้ อ ม รั บ โดยยึดมัน่ ในหลักการ มีความคิดสร้างสรรค์ และคำ�นึงถึง ผลประโยชน์ ข องธนาคาร และความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การเปลี่ยนแปลง” ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระยะยาว ธนาคารส่งเสริมให้พนักงานมีความสามารถ Excellence Service E – Excellence Service : “ใจรักบริการ ในระดับความเป็นมืออาชีพ รอบรู้ในงานและระบบงาน ให้เกียรติ จิตอาสา” มุ่งพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เคร่งครัดในกฎระเบียบ มี ก ารสร้ า งสรรค์ ง านในเชิ ง รุ ก ยื ด หยุ่ น และพร้ อ ม ธนาคารส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีคา่ นิยม เปลี่ยนแปลงรูปแบบวิธีการทำ�งานให้มีความเป็นปัจจุบัน ในด้ า นการให้ บ ริ การที่ เ ป็ น เลิ ศ สามารถให้ บ ริ การที่ เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าอยู่เสมอ สร้างความประทับใจให้แก่ลูกค้าทั้งภายในและภายนอก Accountability Ac – Accountability : “รับผิดชอบใน ด้วยความทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจ มีจิตอาสาในการให้ ความช่วยเหลือแก่เพือ่ นพนักงาน หน่วยงาน และธนาคาร ทุกมิติ ยึดมั่นสัจจะ ใฝ่สำ�เร็จ” สนับสนุนให้พนักงานสามารถให้ค�ำ แนะนำ�ทีเ่ ป็นประโยชน์ ธนาคารส่ ง เสริ ม ความมี จิ ต วิ ญ ญาณ แก่ลกู ค้า และมุง่ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการโดยคำ�นึงถึง ความเป็ น เจ้ า ขององค์ กร มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในงาน ลูกค้าเป็นสำ�คัญ มุ่งทำ�งานให้ลุล่วงตรงตามกำ�หนดเวลา มีสัจจะ ปฏิบัติ • ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ ตามคำ�มัน่ สัญญา โดยมองเป้าหมายและความสำ�เร็จตาม บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป วิสัยทัศน์และพันธกิจของธนาคารเป็นสำ�คัญ จำ�กัด (มหาชน) Teamwork บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด T – Teamwork : “เปิดใจแก่กัน ทำ�งาน (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้งและเป็นบริษัทแม่ของกลุ่ม เป็นทีม มุ่งสู่เป้าหมายร่วม” ธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจโดยการเข้าถือหุ้นใน ธนาคารส่งเสริมให้พนักงานเสนอความคิดเห็น บริษทั อืน่ โดยไม่ได้ท�ำ ธุรกิจของตนเอง (Non – operating ทีเ่ ป็นประโยชน์ รับฟัง ยอมรับความคิดเห็นซึง่ กันและกัน Holding Company) แต่จะเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่นเพื่อ การมีอ�ำ นาจควบคุมกิจการ ประสานแนวคิดเพื่อความสำ�เร็จของทีมและธนาคาร รายงานประจำ�ปี 2559
21
วัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจของบริษทั มีดงั นี้ 1. ลงทุ น ในตราสารทางการเงิ น ทั้ ง ตราสารหนี้ แ ละตราสารทุ น เพื่ อ แสวงหาผลตอบแทน 2. ทำ�ธุรกรรมกับบริษัทลูกในกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินของตนเอง 3. บริหารเงินเพือ่ ตนเองหรือเพือ่ กลุม่ ธุรกิจ ทางการเงินของตนเอง 4. จั ด หาเงิ น ทุ น โดยวิ ธี อื่ น ใดเพื่ อ ใช้ ใ น การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทและบริษัท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น รวมถึ ง การออกหุ้นกู้ 5. ประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ใดตามที่ ไ ด้ รั บ อนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย • เ ป้ า ห ม า ย ใ น ก า ร ดำ � เ นิ น ง า น ข อ ง กลุ่มธุรกิจทางการเงิน เป้ า หมายการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ได้ก�ำ หนด กลยุ ท ธ์ ใ ห้ เ ป็ น กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น เพื่ อ ทำ � ธุ ร กิ จ ทางการเงินที่ครบวงจร ปัจจุบันกลุ่มธุรกิจทางการเงิน มีผลิตภัณฑ์ทางการเงินและบริการต่างๆ ที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทั้งด้านเงินฝาก เงินให้สินเชื่อ กองทุน หลักทรัพย์ ที่ปรึกษาทางการเงิน และบริการต่างๆ เช่น บริการเป็นนายหน้าประกันชีวิต บริการรับชำ�ระค่าสินค้าและบริการ บริการรับชำ�ระภาษี ของกรมสรรพากร บริการแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต บริการ Cash Management เป็ น ต้ น รวมทั้ ง การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ การ และ การพั ฒ นาระบบสารสนเทศเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การให้บริการทีร่ วดเร็วและตรงต่อความต้องการของลูกค้า นอกจากเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจแล้ว กลุ่มธุรกิจทางการเงินได้ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนิน ธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การป้องกัน การจ่ายเงินเพือ่ การคอร์รปั ชัน่ การเสริมสร้างระบบบริหาร ความเสี่ยงที่ครอบคลุม รวมถึงการดำ�เนินธุรกิจด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเมื่อเดือนตุลาคม 2557 บริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ได้ แ ก่ บริ ษั ท แอล เอช ไฟแนนซ์ เ ชี ย ล กรุ๊ ป จำ � กั ด (มหาชน)
22
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ได้ รั บ การรั บ รองเป็ น สมาชิ ก แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตจากคณะกรรมการ แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า น การทุจริต สำ�หรับบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้าร่วมลงนามประกาศเจตนารมณ์ แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต และอยู่ระหว่างดำ�เนินการขอรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต 2.2 ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เปิดดำ�เนินกิจการอย่างเป็นทางการเมือ่ วันที่ 19 ธันวาคม 2548 โดยได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยให้ ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2554 กระทรวง การคลั ง โดยคำ � แนะนำ � ของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย อนุญาตให้ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ปรับฐานะจากธนาคารพาณิชย์เพือ่ รายย่อยเป็น ธนาคารพาณิชย์ โดยใช้ชอื่ ว่า ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และได้ดำ�เนินการธนาคารพาณิชย์ เต็มรูปแบบเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2554 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทย่อยของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และเป็นบริษัทแกน ธนาคารได้กำ�หนด แผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจสำ�หรับระยะเวลา 3 ปีขา้ งหน้า ตามวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ ที่ ว างไว้ โ ดยพิ จ ารณาถึ ง สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจ และ การเมื อ งทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ นอกจากนี้ ได้พิจารณาถึงปัจจัยภายในอื่นๆ เช่น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ความเสี่ยง ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ และประเด็น สำ�คัญต่างๆ ที่ต้องปฎิบัติ โดยผู้บริหารจะนำ�ปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาเพื่อกำ�หนดแนวทาง ขององค์กรในแต่ละปี และมีการทบทวนแผนการดำ�เนินงาน อย่างสม่ำ�เสมอเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์และสิ่งแวดล้อม ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
จัดอันดับความน่าเชื่อถือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รบั การจัดอันดับเครดิตองค์กรโดยบริษทั ทริสเรทติง้ จำ�กัด อยู่ที่ระดับ “A-” (Single A Minus) และอันดับเครดิต ตราสารหนี้ ป ระเภทหุ้น กู้ด้อ ยสิทธิลักษณะคล้ ายทุนที่ นั บ เ ป็ น เ งิ น ก อ ง ทุ น ชั้ น ที่ 2 ที่ ร ะ ดั บ “ B B B ” (Triple B Straight) โดยมีผล “เครดิตพินิจ” (Credit Alert) แนวโน้ม “Positive” หรือ “บวก” แสดงให้เห็นถึงสถานะ ทางธุรกิจและการเงินของธนาคารทีด่ ขี น้ึ อย่างต่อเนือ่ ง รวมถึง การมีคุณภาพสินทรัพย์ที่ดีและมีเงินทุนที่แข็งแกร่ง
ผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคาร ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของลูกค้า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ บ ริ ก า ร ข อ ง ธ น า ค า ร ส า ม า ร ถ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
1. บริการด้านเงินฝาก เป็ น การให้ บ ริ ก ารด้ า นเงิ น ฝากสำ � หรั บ กลุ่มลูกค้าทั้งประเภทบุคคลธรรมดา นิติบุคคลทั่วไป นิตบิ คุ คลทีไ่ ม่แสวงหากำ�ไร หน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ กองทุน และสหกรณ์ และสถาบันการเงินในประเทศ เครือข่ายสาขาของธนาคาร ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) โดยให้บริการรับฝากเงินประเภทต่างๆ อาทิเช่น ได้สร้างเครือข่ายสาขาเพื่อให้บริการแก่ลูกค้าอย่างทั่วถึง กลยุทธ์การขยายสาขาภูมภิ าคของธนาคารส่วนใหญ่เป็นสาขา • เงินฝากออมทรัพย์ - เ งิ น ฝ า ก อ อ ม ท รั พ ย์ ที่ เ พิ่ ม ค่ า ด้ ว ย ที่เปิดใน HomePro ซึ่งธนาคารได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับ บริษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) ทีจ่ ะขยายสาขา อัตราดอกเบี้ยที่สูง สามารถฝาก ถอน เมื่อใดก็ได้ตามที่ ในทุกจังหวัดที่มี HomePro ตั้งอยู่ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ ต้องการทำ�ให้มีความคล่องตัวและดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นทุกวัน การขยายสาขาของธนาคารเพื่อให้มีจุดบริการครอบคลุม - เงินฝากออมทรัพย์ธรุ กิจคุม้ ค่า (Biz Saving) ทุ ก พื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศและเป็ น การขยายฐานลู ก ค้ า สำ�หรับลูกค้านิติบุคคล อัตราดอกเบี้ยสูง พร้อมรับโบนัส พิเศษ + 0.10% จากอัตราดอกเบีย้ ปกติ เมือ่ มียอดเงินฝาก ปัจจุบันธนาคารมี 133 สาขา แบ่งตามภูมิภาคดังนี้ • กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 64 สาขา คงเหลือเฉลี่ยต่อเดือนไม่ต่ำ�กว่า 1 ล้านบาท กำ�หนดจ่าย 10 สาขา ด อ ก เ บี้ ย ร า ย เ ดื อ น เ ห ม าะ สำ � ห รั บ ใ ช้ เ ป็ น บั ญ ชี • ภาคกลาง • ภาคเหนือ 7 สาขา ประกอบธุรกิจควบคู่กับบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร - เ งิ น ฝ า ก อ อ ม ท รั พ ย์ คุ้ ม ค ร อ ง ชี วิ ต • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 19 สาขา 11 สาขา สำ�หรับลูกค้าบุคคล อายุตั้งแต่ 15 ปี ถึง 70 ปี ที่มอบ • ภาคตะวันออก • ภาคตะวันตก 7 สาขา ความคุม้ ครองสูงสุด 25 เท่าของยอดเงินฝากคงเหลือกรณี 15 สาขา เสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทวั่ โลก 24 ชัว่ โมง เริม่ ต้นฝากขัน้ ต่�ำ • ภาคใต้ เพียง 1,000 บาท ยิ่งฝากมากยิ่งคุ้มครองมาก ไม่ต้อง จำ�นวนสาขาธนาคารทีข่ ยายในแต่ละปี (สาขา) ตรวจสุขภาพ ไม่ต้องจ่ายค่าเบี้ยประกัน • เงินฝากไม่ประจำ� เป็นเงินฝากออมทรัพย์ 133 126 สาขา ประเภทหนึ่งที่ให้ดอกเบี้ยสูง โดยทุกขณะต้องมีเงินฝาก 117 คงหลือในบัญชีไม่ต่ำ�กว่า 5,000 บาท สามารถฝาก ถอน 100 เมื่อใดก็ได้ตามที่ต้องการทำ�ให้มีความคล่องตัว • เงินฝากกระแสรายวัน เป็นบัญชีเงินฝาก ที่เพิ่มความคล่องตัวให้กับธุรกิจ รับดอกเบี้ยเพิ่มพูน ทุกวัน สะดวกกับการเบิกถอน ไม่วา่ จะเป็นการจ่ายผ่านเช็ค หรือถอนผ่านบัตรเอทีเอ็ม 2559 2558 2557 2556 ป
รายงานประจำ�ปี 2559
23
• เงินฝากประจำ� และใบรับเงินฝากประจำ� (FDR) เป็นเงินฝากทีส่ ร้างหลักประกันทีม่ นั่ คงในอนาคต มีร ะยะเวลาการฝากให้เลือ กตามความต้อ งการ และ จ่ายคืนเมื่อครบกำ�หนด • เงิ น ฝากปลอดภาษี เป็ น การฝากเงิ น รายเดือนด้วยจำ�นวนเงินเท่าๆ กันทุกเดือน โดยมีระยะเวลา ตามที่ธนาคารกำ�หนด เช่น 24 เดือน 36 เดือน และ มีจำ�นวนเงินฝากรวมกันตลอดระยะเวลาการฝากไม่เกิน 600,000 บาท
กลยุทธ์การแข่งขันด้านเงินฝาก ธนาคารได้พัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ เงินฝากใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นความหลากหลาย เหมาะสมกับอาชีพและฐานะการเงินของลูกค้ากลุ่มต่างๆ เพือ่ เป็นทางเลือกในการออมและตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าที่แตกต่างอย่างทั่วถึง โดยให้ผลตอบแทนใน อัตราที่จูงใจ ควบคู่กับสิทธิประโยชน์ด้านต่างๆ ซึ่งเป็น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น รวมทั้ ง การจัดกิจกรรมสันทนาการต่างๆ เพือ่ ตอบแทนลูกค้าและ เป็ น การรั ก ษาฐานลู ก ค้ า เงิ น ฝากซึ่ ง ได้ รั บ การตอบรั บ จากลูกค้าเป็นอย่างดี สาขาของธนาคารเป็นช่องทางที่ช่วยในการ ขยายฐานลูกค้าเงินฝาก และเป็นช่องทางในการให้บริการ ลูกค้าในการทำ�ธุรกรรมต่างๆ รวมทั้งให้คำ�แนะนำ�เพื่อให้ ลูกค้าได้รับความสะดวกและมีความพึงพอใจ ธนาคาร ได้จดั แคมเปญและโปรโมชัน่ ใหม่ๆ และการสร้างความสัมพันธ์ กับลูกค้าที่มุ่งเน้นตอบสนองความต้องการของลูกค้า เพือ่ เป็นการดึงดูดและเพิม่ จำ�นวนลูกค้าให้มาใช้บริการกับ ธนาคารเพิ่มมากขึ้น และเป็นการสร้างโอกาสในการ นำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ (Cross-selling) เพื่อขยายฐานรายได้ค่าธรรมเนียม การกำ�หนดอัตราดอกเบีย้ ธนาคารจะพิจารณา จากปัจจัยภายในและภายนอกที่อาจมีผลกระทบ เช่น ต้นทุนของธนาคาร แนวโน้มอัตราดอกเบี้ย ทิศทาง เศรษฐกิ จ และสภาวะการแข่ ง ขั น การระดมเงิ น ฝาก เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ ธนาคารไม่ ไ ด้ เ น้ น การแข่ ง ขั น ด้ า น อัตราดอกเบีย้ เป็นหลัก แต่จะเน้นการบริการและการนำ�เสนอ ผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม
24
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2. บริการด้านสินเชื่อ ธนาคารจำ�แนกบริการด้านสินเชือ่ ออกเป็น 3 ภาคธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ สิ น เชื่ อ เพื่ อ ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) สินเชือ่ เพือ่ ธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs & SSME) และสินเชือ่ เพือ่ รายย่อย (Retail) ดังนี้ 1. บริ ก ารสิ น เชื่ อ เพื่ อ ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) เป็ น บริ ก ารสิ น เชื่ อ แก่ ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น ธุรกิจขนาดใหญ่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเงินทุน ในการประกอบธุรกิจหรือใช้เสริมสภาพคล่องหมุนเวียน ในกิจการ สนับสนุนการขยายกำ�ลังการผลิตหรือลงทุน ทั้งอาคาร โรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณ์ มีทั้งสินเชื่อ ระยะสั้น และสินเชื่อระยะยาวที่มีความเหมาะสมตาม ประเภทธุรกิจและความต้องการของลูกค้า 2. สินเชือ่ เพือ่ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME) เป็ น บริ ก ารสิ น เชื่ อ แก่ ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เงิ น ทุ น ในการประกอบธุ ร กิ จ หรื อ ใช้ เ สริ ม สภาพคล่องหมุนเวียนในกิจการ สนับสนุนการขยายกำ�ลัง การผลิตหรือลงทุนทั้งอาคาร โรงงาน เครื่องจักรและ อุ ป กรณ์ มี ท้ั ง สิ น เชื่ อ ระยะสั้ น และสิ น เชื่ อ ระยะยาว ที่มีความเหมาะสมตามประเภทธุรกิจตามความต้องการ ของลูกค้า ประเภทสินเชื่อแบ่งตามวัตถุประสงค์ของ การกู้ยืม ดังนี้ - สินเชื่อระยะสั้น เป็นบริการสินเชื่อเพื่อเสริมสภาพคล่อง และบริหารกระแสเงินสด ที่สามารถเบิกใช้และชำ�ระคืน ได้ภายในวงเงินทีก่ �ำ หนดตลอดระยะเวลาการกู้ อายุวงเงิน ไม่เกิน 1 ปี เช่น Overdraft (O/D) เงินกู้ระยะสั้น Short Term Loan - สินเชื่อระยะยาว เป็นบริการสินเชื่อเพื่อการพัฒนาธุรกิจ ระยะปานกลางและระยะยาวที่มีวัตถุประสงค์การใช้เงินกู้ ทีช่ ดั เจน และกำ�หนดระยะเวลาการชำ�ระคืนสอดคล้องกับ ความคืบหน้าของโครงการหรือกระแสเงินสดของโครงการ หรือของกิจการ เพือ่ สนับสนุนผูป้ ระกอบการในการลงทุน ในโครงการต่างๆ เช่น การขยายกิจการ สร้างโรงงาน/
อาคารสำ�นักงาน การซื้อสินทรัพย์ถาวร อาทิ เครื่องจักร ยานพาหนะ และลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เช่น ซื้อที่ดิน เพื่อสร้างโรงงาน ซื้อบ้านพักรับรอง - สินเชื่อแฟคตอริ่ง เป็นบริการทางการเงินอีกรูปแบบหนึ่ง เพือ่ เป็นเงินทุนหมุนเวียน ช่วยเพิม่ สภาพคล่องทางการเงิน ให้แก่ผปู้ ระกอบการ โดยการโอนสิทธิการรับเงินจากลูกหนี้ ให้ธนาคารหลังจากผู้ประกอบการได้ส่งสินค้า / ให้บริการ กับลูกค้า (ลูกหนี)้ เรียบร้อยแล้ว โดยส่งเอกสารทางการค้า อาทิ ใบอินวอยส์ ใบสั่งซื้อ ใบส่งของ ใบวางบิล และ ใบเสร็จรับเงินมายังธนาคารก็จะได้รับเงินตามอัตราส่วน ที่ตกลงกัน โดยไม่ต้องมีหลักทรัพย์อื่นค้ำ�ประกัน เช่น ได้ รั บ เงิ น ร้ อ ยละ 70 - 80 ของใบอิ นวอยส์ ใบสั่ ง ซื้ อ ใบส่งของ ใบวางบิล และใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น และเมื่อ ลู ก หนี้ ก ารค้ า จ่ า ยชำ � ระหนี้ ใ ห้ ธ นาคารเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ธนาคารจะจ่ายเงินค่าสินค้าส่วนที่เหลือให้แก่ลูกค้า - สินเชื่อเช่าซื้อ - เพื่อการพาณิชย์ เป็นบริการสินเชือ่ รถยนต์เพือ่ การพาณิชย์ สำ�หรับผู้ประกอบการธุรกิจโลจิสติกส์ ธุรกิจบริการรถเช่า และอื่นๆ - บริการออกหนังสือค้�ำ ประกัน อาวัล และ รับรองตั๋วเงิน เป็ น บริ ก ารออกหนั ง สื อ ค้ำ � ประกั น อาวั ล และรั บ รองตั๋ ว เงิ น สำ � หรั บ ลู ก ค้ า ที่ ต้ อ งการ ใช้วางหนังสือค้ำ�ประกันให้กับหน่วยงานผู้ว่าจ้างหรือ การยื่นประมูลงาน เช่น 1. หนังสือค้�ำ ประกันการยืน่ ซองประกวดราคา หรือยื่นซองประมูล (Bid Bond / Tender Guarantee) 2. หนังสือค้�ำ ประกันการปฏิบตั ติ ามสัญญา หรือสัญญาค้ำ�ประกันผลงาน (Performance Bond) 3. หนังสือค้�ำ ประกันการชำ�ระเงินล่วงหน้า (Advance Payment Guarantee / Security) และ หนังสือค้ำ�ประกันการเบิกเงินประกันผลงาน (Retention Guarantee) - บริการให้ค�ำ ปรึกษาและบริการอืน่ ๆ ด้านสินเชือ่ เป็นบริการให้คำ�ปรึกษาและบริการอื่นๆ ด้านสินเชื่อที่ครบวงจร เช่น บริการให้ค�ำ ปรึกษาด้านโครงสร้าง ทางการเงิน การเป็นผูจ้ ดั หาเงินกูร้ ว่ ม (Syndicated Loan) ตัวแทนสินเชือ่ (Facility Agent) และตัวแทนหลักประกัน (Security Agent)
3. สินเชื่อรายย่อย (Retail) เป็นบริการสินเชื่อกับกลุ่มลูกค้ารายย่อย ที่เป็นบุคคลธรรมดา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการอุปโภค บริโภคเป็นหลัก โดยแบ่งประเภทสินเชือ่ ตามวัตถุประสงค์ ของการกู้ยืม ดังนี้ • สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย - สินเชื่อบ้านแสนสบาย เป็นบริการ สินเชือ่ สำ�หรับผูท้ ต่ี อ้ งการซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยใหม่และทีอ่ ยูอ่ าศัย มือสองทุกโครงการ และสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย - สินเชือ่ Refinance เป็นบริการสินเชือ่ เพือ่ ชำ�ระหนีส้ นิ เชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของสถาบันการเงินเดิม สามารถขอวงเงิ น เพิ่ ม สำ � หรั บ การต่ อ เติ ม ตกแต่ ง ซื้อเฟอร์นิเจอร์ ด้วยเงื่อนไขพิเศษ • สินเชือ่ อเนกประสงค์ เป็นบริการสินเชือ่ โดยนำ�ที่อยู่อาศัยปลอดภาระ เช่น บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ หรื อ บ้ า นแฝดมาเป็ น หลั ก ประกั น เพื่ อ นำ � เงิ น ไปใช้ ในเรื่องต่างๆ เช่น เพื่อซ่อมแซม ต่อเติมที่อยู่อาศัย ใช้ในการประกอบธุรกิจ หรือ ใช้จา่ ยในวัตถุประสงค์อ่นื ๆ ตามต้องการ • สินเชื่อบุคคล เป็นบริการสินเชื่อ เพือ่ นำ�ไปใช้จา่ ยในการจัดหาความสะดวกสบายในการใช้ชวี ติ ทีท่ นั สมัย เช่น สินเชือ่ เพื่อการอุปโภคบริโภค และสินเชือ่ สำ�หรับซื้อประกันชีวิตเพื่อคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ เป็นต้น • สินเชื่อเพื่อการศึกษา เป็นบริการ สินเชือ่ เพือ่ รองรับค่าใช้จา่ ยด้านการศึกษา ทัง้ ทีอ่ ยูใ่ นหลักสูตร ภาคบังคับ หรือการศึกษาเพื่อหาประสบการณ์เพิ่มพูน มูลค่าให้กบั ตนเอง สามารถใช้ได้กบั การศึกษาทุกระดับชัน้ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรระยะสั้นไปถึงระดับปริญญาเอก ทั้งสถาบันการศึกษาในประเทศและต่างประเทศ กลยุทธ์การแข่งขันบริการด้านสินเชื่อ ธนาคารแบ่ ง ลู ก ค้ า ออกเป็ น กลุ่ ม เพื่ อ ให้ สามารถเข้าถึงความต้องการ โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ความสัมพันธ์อันดีกับกลุ่มลูกค้าทุกกลุ่มอย่างต่อเนื่อง และนำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินทีค่ รบวงจร เพือ่ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุม่ ได้ อ ย่ า งชั ด เจน โดยจะพิ จ ารณาจั ด รู ป แบบสิ น เชื่ อ อัตราดอกเบี้ย ประเภทวงเงิน ระยะเวลาการชำ�ระคืน ที่เหมาะสมกับประเภทธุรกิจของลูกค้าแต่ละรายและ มีกระบวนการพิจารณาสินเชื่อที่รวดเร็ว รายงานประจำ�ปี 2559
25
เพือ่ ขยายฐานลูกค้า SMEs ธนาคารเน้นกลยุทธ์ การขยายสิ น เชื่ อ แก่ ลู ก ค้ า เดิ ม ที่ มี ป ระวั ติ การชำ � ระดี เพือ่ เพิม่ โอกาสทางธุรกิจและรักษาฐานลูกค้าเดิมให้อยูก่ บั ธนาคารอย่างยาวนาน สำ�หรับฐานลูกค้าใหม่ธนาคาร ตัง้ เป้าขยายสินเชือ่ ไปทีก่ ลุม่ ลูกค้าเป้าหมายทีม่ ฐี านะการเงินดี และใช้กลยุทธ์ให้สาขาของธนาคารทัง้ ในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล รวมถึงภูมภิ าคทัว่ ประเทศเป็นผูแ้ นะนำ�สินเชือ่ รวมทั้งให้ลูกค้าเดิมแนะนำ�บริการสินเชื่อของธนาคาร ไปยังเพือ่ น หรือคูค่ า้ ทางธุรกิจให้มาใช้บริการสินเชือ่ ของธนาคาร กลยุ ท ธ์ การปล่ อ ยสิ น เชื่ อ เพื่ อ ที่ อ ยู่ อาศั ย ธนาคารใช้ ก ลยุ ท ธ์ ใ นการเข้ า ถึ ง กลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย ด้วยการขยายสาขาไปในพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพในด้านสินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยพร้อมกับการลงพืน้ ทีข่ องพนักงานการตลาด ของธนาคาร โดยจะเน้นลูกค้าในโครงการบนทำ�เลที่มี ศั ก ยภาพและโครงการบ้ า นที่ มี คุ ณ ภาพและสามารถ ขายต่อได้ในราคาดี และกลยุทธ์ทางการตลาดที่สำ�คัญ ของธนาคาร ได้แก่ การบริการที่ดีมีคุณภาพและรวดเร็ว รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ประกอบการและ พนักงานขายของโครงการที่อยู่อาศัยและการจัดรายการ ส่งเสริมการขายตามวาระพิเศษ 3. บริการด้านอิเล็กทรอนิกส์ บริ การด้ า นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ ป็ น บริ ก ารที่ ธนาคารให้ความสำ�คัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากปัจจุบัน ประเทศไทยและสังคมไทยกำ�ลังเข้าสู่ยุคดิจิตอล ดังนั้น การทำ�ธุรกรรมหรือบริการ จากนี้ไปจะเน้นเรื่องดิจิตอล เ ป็ น ห ลั ก ธ นา ค า ร ไ ด้ พั ฒ นา แ ล ะ เ พิ่ ม บ ริ ก า ร ด้า นอิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์อ ย่า งต่อ เนื่อ ง เพื่อ รองรับการทำ� ธุรกรรมทางการเงินในยุคดิจิตอล เช่น - บริการตู้ ATM เป็นบริการถอนเงินสด โอนเงินภายในธนาคาร โอนเงินต่างธนาคาร ชำ�ระค่าสินค้า และบริการ โดยตูเ้ อทีเอ็มของธนาคารสามารถรับบัตรเอทีเอ็ม ทุกธนาคาร รวมถึงบัตร JCB (Japan Credit Bureau) และบัตร UPI (Union Pay International) เพื่อให้บริการ แก่ นั ก ธุ ร กิ จ นั ก ท่ อ งเที่ ย วให้ ส ามารถถอนเงิ น สด เป็นสกุลเงินบาทได้ ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2559 ธนาคาร มีตู้เอทีเอ็ม จำ�นวน 203 เครื่อง เพิ่มขึ้นจากปี 2558 จำ�นวน 13 เครื่อง
26
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
- บริ ก ารธนาคารทางอิ น เตอร์ เ น็ ต (LH Bank Speedy) เป็นบริการทีช่ ว่ ยอำ�นวยความสะดวก ในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินทีส่ ามารถทำ�ธุรกรรมได้ทกุ วัน ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา และมี ร ะบบรั ก ษาความปลอดภั ย แบบ Double Security ทีท่ �ำ ให้การทำ�ธุรกรรมทางการเงิน มีความมัน่ ใจ มีเมนูใช้งานง่าย สามารถทำ�รายการโอนเงิน ภายในธนาคาร และโอนเงินต่างธนาคาร ชำ�ระค่าสินค้า และบริการ ชำ�ระสินเชือ่ ตรวจสอบสถานะเช็ค หรืออายัดเช็ค ดูกองทุนทีซ่ อ้ื ผ่านธนาคาร ตรวจสอบสถานะบัญชี ค้นหาทีต่ ง้ั สาขาของธนาคาร และเพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยเมือ่ ทำ�ธุรกรรม ธนาคารจะส่ง SMS แจ้งผลการทำ�ธุรกรรมให้ลกู ค้าทราบทุกครัง้ ที่มีการทำ�รายการในทันที
- บริการโอนเงิน เป็นบริการทีอ่ �ำ นวยความสะดวก ให้แก่ลูกค้าที่สามารถโอนเงินภายในบัญชี โอนเงินให้กับ บุคคลอืน่ ภายในธนาคาร โอนเงินต่างธนาคาร โอนเงินรายย่อย อัตโนมัติ (ATS) และโอนเงินรายใหญ่ระหว่างธนาคาร (BAHTNET)
• บริการโอนเงินผ่านเคาน์เตอร์สาขาของ ธนาคารไปยั ง บั ญ ชี ต่ า งธนาคาร (Counter-ORFT) เป็นบริการทีล่ กู ค้าสามารถทำ�รายการผ่านเคาน์เตอร์สาขา ของธนาคารได้ทกุ สาขา ซึง่ มีความสะดวก รวดเร็ว ซึง่ สามารถ โอนเงินเข้าบัญชีผรู้ บั โอนทีม่ บี ญั ชีกบั ธนาคารอืน่ ได้ทกุ ธนาคาร • บริการฝากเงินผ่านเครื่องรับฝากเงินสด อัตโนมัติ (LH Bank CDM) เป็นบริการฝากเงินโดยไม่ตอ้ งใช้ • บริการทางการเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ บัตร ATM ไม่ตอ้ งใช้สมุดคูฝ่ าก ฝากได้ทกุ วัน ทุกเวลา และ (Mobile Banking) เป็นบริการที่สามารถทำ�ธุรกรรม สามารถฝากเงินเข้าบัญชีภายในธนาคารหรือ ต่างธนาคาร ทางการเงินได้สะดวก รวดเร็ว ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านโทรศัพท์มือถือ โดยไม่มีข้อจำ�กัดด้านเครือข่าย ไม่ต้องเปลี่ยนซิม
• บริการ Cash Management เป็นบริการ ทางการเงินสำ�หรับธุรกิจทีส่ ะดวก รวดเร็ว ลดงานเอกสาร ลดต้นทุนการบริหาร เพิม่ ประสิทธิภาพในการจัดการธุรกิจ อย่างลงตัว ได้แก่ 1. บริ ก ารจ่ า ยเงิ น เดื อ นพนั ก งาน โดยทำ�รายการโอนเงินที่มีจำ�นวนรายการมากๆ ด้วยการ ส่งคำ�สั่งเพียงครั้งเดียว 2. บริ การโอนเงิ น รายย่ อ ยต่ า งธนาคาร (Bulk Payment) โดยทำ � รายการโอนที่ มี จำ � นวน รายการมากๆ ด้วยการส่งคำ�สั่งเพียงครั้งเดียว 3. บริการตัวแทนรับชำ�ระค่าสินค้าและ บริการผ่านธนาคาร (Bill Payment) 4. บริการตัดบัญชี/โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝาก อัตโนมัติ (Direct Debit / Direct Credit)
• บริการ SMS Alert เป็นบริการส่งข้อความ SMS แจ้ ง เตื อ นเมื่ อ มี เ งิ น เข้ า ออกผ่ า นบั ญ ชี เ งิ น ฝาก ของลูกค้าผ่านทางโทรศัพท์มอื ถือ ทำ�ให้รสู้ ถานะของบัญชี เพื่ อ เพิ่ ม ความมั่ น ใจในการทำ � ธุ ร กรรมทางการเงิ น มากยิ่งขึ้น โดยสามารถเลือกวงเงินแจ้งเตือนได้ตั้งแต่ 500 บาทขึน้ ไป เพียงลงทะเบียนสมัครใช้บริการ LH Bank SMS Alert ที่ ส าขาธนาคาร หรื อ Call Center 0 2359 0000 หรือ ที่ตู้ ATM ของธนาคาร
• บริการรับชำ�ระภาษีกับกรมสรรพากร เพื่ออำ�นวยความสะดวกและเพิ่มช่องทาง การให้บริการแก่ลกู ค้าและประชาชนทัว่ ไปในการชำ�ระภาษี ผ่านช่องทางต่างๆ อาทิ ผ่านเครือข่ายสาขาของ LH Bank ผ่ า นตู้ ATM LH Bank หรื อ ผ่ า นบริ ก ารธนาคาร ทางอินเตอร์เน็ต LH Bank Speedy
รายงานประจำ�ปี 2559
27
• บริการ LH Bank PromptPay (พร้อมเพย์) เป็นบริการรับ-โอนเงินรูปแบบใหม่ โดยการผูกบัญชีเงินฝาก ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กับหมายเลขบัตรประชาชน หรือหมายเลขโทรศัพท์มอื ถือ ก็สามารถรับ-โอนเงินได้งา่ ยๆ โดยไม่ต้องใช้เลขที่บัญชีเงินฝาก
ประโยชน์ที่ได้รับจากบริการพร้อมเพย์ สะดวก รวดเร็ว - สามารถโอนเงิ น ให้ ผู้ รั บ เงิ น ที่ อ ยู่ ธนาคารเดียวกันหรือต่างธนาคารได้ทวั่ ประเทศ ได้สะดวก โดยใช้เพียงหมายเลขโทรศัพท์มือถือ หรือเลขประจำ�ตัว ประชาชนของผู้รับเงิน - สามารถรับเงินจากภาครัฐเข้าบัญชีได้ โดยตรงด้วยเลขประจำ�ตัวประชาชน ปลอดภัย - ลดความเสี่ ย งจากการพกพาเงิ น สด ส่งมอบเงินสดและสามารถตรวจสอบรายการโอนเงินได้ ประหยัด - ค่าธรรมเนียมการใช้บริการต่ำ� เพิ่มความคุ้มค่าและสิทธิประโยชน์ต่างๆ เมื่ อ สมั ค รใช้ บ ริ ก ารพร้ อ มเพย์ คู่ กั บ บั ญ ชี เ งิ น ฝาก ออมทรัพย์/ บัญชีกระแสรายวันของ LH Bank จะได้รับ สิทธิประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นดังนี้ 1. ประหยัด บัตร ATM LH Bank กดฟรีทว่ ั ไทย ผ่านตู้ ATM LH Bank ไม่จ�ำ กัดจำ�นวนครัง้ และกดฟรีทว่ั ไทย ผ่านตู้ ATM ธนาคารอื่น 6 รายการ/เดือน 2. สะดวก ใช้บริการได้ทกุ วัน ทุกที่ ทุกเวลาด้วย บริการอินเตอร์เน็ตแบงก์กิ้ง (LH Bank Speedy) และ บริการแอพพลิเคชั่นบนมือถือ (LH Bank M Choice) 3. คุม้ ค่า รับดอกเบีย้ สูง และสามารถเบิกถอน เมื่อไหร่ก็ได้ 4. คุม้ ครอง ฟรีประกันอุบตั เิ หตุกรณีเสียชีวติ ไม่ ต้ อ งจ่ า ยค่ า เบี้ ย ประกั น ไม่ ต้ อ งตรวจสุ ข ภาพ ให้ความคุ้มครองสูงสุด 25 เท่าของยอดเงินฝากคงเหลือ
28
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
4. บริการด้านอื่นๆ • บริการด้านประกัน มีผลิตภัณฑ์ประกัน ให้เลือกหลายแบบตามความต้องการของลูกค้า ทัง้ ประกันชีวติ และประกันวินาศภัย โดยมีผลิตภัณฑ์ของบริษทั ประกันต่างๆ ให้เลือก ดังนี้ • บริการเป็นนายหน้าประกันชีวิต ให้กับ - บริษทั เมืองไทยประกันชีวติ จำ�กัด (มหาชน) - บริษทั ไทยสมุทรประกันชีวติ จำ�กัด(มหาชน) - บริษัท เอ ไอ เอ จำ�กัด • บริการเป็นนายหน้าประกันวินาศภัย ให้กับ -บริษทั ชับบ์สามัคคีประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) - บริษทั จรัญประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) - บริษทั สินมัน่ คงประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) - บริ ษั ท กรุ ง ไทยพานิ ช ประกั น ภั ย จำ�กัด (มหาชน) - บริษทั ทิพยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) - บริษทั วิรยิ ะประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) • บริการซือ้ ขายหน่วยลงทุน ธนาคารเป็น ผู้ ส นั บ สนุ น การขายและรั บ ซื้ อ คื น หน่ ว ยลงทุ น ให้ กั บ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ต่ า งๆ ซึ่ ง มี ก องทุ น ประเภทต่างๆ ทัง้ ตราสารหนีแ้ ละตราสารทุน กองทุนรวม เพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund หรือ RMF) และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund หรือ LTF) ดังนี้ - บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (LH FUND) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น แอสเซท พลัส จำ�กัด (ASP) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ซีไอเอ็มบี-พรินซิเพิล จำ�กัด (CPAM) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น เอ็มเอฟซี จำ�กัด (MFC) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ไทยพาณิชย์ จำ�กัด (SCBAM) -บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด (ONEAM) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น กรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) (KTAM)
-บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ทหารไทย จำ�กัด (TMBAM) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น โซลาริส จำ�กัด (S-FUND) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น กรุงศรี จำ�กัด (KSAM) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ภัทร จำ�กัด (PHATRA) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ยูโอบี(ประเทศไทย) จำ�กัด (UOBAM) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ทิสโก้ จำ�กัด (TISCO) -บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น กสิกรไทย จำ�กัด (KASSET) • บริการ LH Bank Privilege Banking เป็นบริการทางการเงินรูปแบบใหม่ดว้ ยบริการเหนือระดับ เอกสิทธิส์ �ำ หรับลูกค้าระดับพรีเมีย่ ม ด้วยสิทธิประโยชน์ตา่ งๆ อาทิ บริการให้ค�ำ ปรึกษาและวางแผนด้านการเงิน ช่วยดูแล และบริหารเงินในพอร์ตอย่างมีประสิทธิภาพ บริการช่วยเหลือ ฉุกเฉินบนท้องถนนและภายในบ้าน
• บริการฝาก-ถอน ไม่ต้องเขียนสลิป เป็นบริการทีเ่ พิม่ ความสะดวกให้กบั ลูกค้าทีเ่ ข้ามาใช้บริการ ที่สาขาเพียงลูกค้าแจ้งความประสงค์ ฝาก-ถอน เงินสด กับพนักงานพนักงานจะทำ�รายการและจัดทำ�สลิปให้ลกู ค้าลงนาม • บริการรับคำ�ขอตรวจเครดิตบูโรผ่าน เคาน์เตอร์ธนาคาร เป็นบริการทีอ่ �ำ นวยความสะดวกให้แก่ ลู ก ค้ า และประชาชนทั่ ว ไปที่ ต้ อ งการตรวจสอบข้ อ มู ล เครดิตของตนเอง โดยสามารถใช้บริการได้ที่เคาน์เตอร์ ของธนาคารได้ทุกสาขาทั่วประเทศ
• บริการทางการเงินบนรถตู้เคลื่อนที่ เปรียบเสมือนสาขาเคลือ่ นทีข่ องธนาคาร เพือ่ เพิม่ ช่องทาง การให้บริการทางการเงินแก่ลูกค้าตามจุดต่างๆ โดย ธุรกรรมทางการเงินที่ให้บริการ ได้แก่ บริการเปิดบัญชี เงินฝาก บริการรับฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงิน รับชำ�ระ ค่าสินค้าและบริการ
• บริการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน อาทิ แคชเชียร์เช็ค และเช็คของขวัญ • บริการรับชำ�ระค่าสินค้าและบริการ อาทิ ค่าสาธารณูปโภค ค่าบัตรเครดิต ค่าเบี้ยประกันชีวิต และค่ า ใช้ จ่ า ยต่ า งๆ รวมถึ ง ระบบหั ก บั ญ ชี อั ต โนมั ติ ซึ่งธนาคารเป็นตัวแทนของเคาน์เตอร์เซอร์วิส (Counter Service) และทรูมันนี่ (True Money) ในการเป็นจุดรับ ชำ�ระค่าสินค้าและบริการมากกว่า 500 บริการ • บริการเป็นผู้แนะนำ�ลูกค้าให้บริษัท หลักทรัพย์ อาทิ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ ฟินนั เซีย-ไซรัส จำ�กัด (มหาชน) และบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ ยู โ อบี เคย์ เ ฮี ย น (ประเทศไทย) จำ�กัด • บริการเป็นผูแ้ นะนำ�กองทุนส่วนบุคคล ให้บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จำ�กัด (มหาชน) • บริการอืน่ ๆ เช่น บริการให้เช่าตูน้ ริ ภัย ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อโอกาสหรือข้อจำ�กัด ในการประกอบธุรกิจ ฐานลูกค้าอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ในกลุม่ บริ ษั ท แลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ � กั ด (มหาชน) และบริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้นำ� ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องประเทศเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การปล่ อ ยสิ น เชื่ อ ของธนาคารโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง สินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย รวมไปถึงเป็นโอกาสในการนำ�เสนอ รายงานประจำ�ปี 2559
29
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ การทางการเงิ น อื่ น ๆ ให้ กั บ ลู ก ค้ า ดังกล่าว นอกจากนี้ ธนาคารยังมีโอกาสในการปล่อยสินเชือ่ เพือ่ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้กบั บริษทั คูค่ า้ ต่างๆ ของบริษัทในกลุ่มบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) เป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจ การขยายบริการด้านสินเชื่อไปยังลูกค้า กลุม่ ใหม่ๆ การขยายฐานลูกค้าเงินฝาก การเพิม่ ช่องทาง การให้ บ ริ ก าร เพื่ อ ขยายฐานรายได้ ค่ า ธรรมเนี ย ม การให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรูแ้ ละ ความชำ�นาญในผลิตภัณฑ์ทางการเงิน รวมทั้งพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า และพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อช่วยให้การทำ�งาน รวดเร็วและมุ่งสู่การเป็น Digital Banking ธนาคารได้ ให้บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต และได้ตอ่ ยอดพัฒนาเป็น รู ป แบบแอพพลิ เ คชั่ น เพื่ อ ทำ � ธุ ร กรรมทางการเงิ น บนโทรศัพท์มือถือ รวมทั้งการทำ�การตลาดผ่าน Social Media เช่น Line Facebook และ Youtube เพือ่ เพิม่ ช่องทาง การสื่อสารเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น นอกจากเป้าหมายการขยายฐานด้านธุรกิจแล้ว ธนาคารได้ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินกิจการตามหลัก การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี การป้องกันการจ่ายเงินเพือ่ การคอร์รปั ชัน่ การเสริมสร้างระบบบริหารความเสีย่ งทีค่ รอบคลุม รวมถึง การดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเมือ่ เดือน ตุลาคม 2557 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต 2.3 ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ประกอบธุรกิจจัดการกองทุนรวม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพื่อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ และกองทุนส่วนบุคคล บริษทั วางแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจเพือ่ ให้สอดคล้องกับ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ ของบริ ษั ท และมี ก ารติ ด ตาม ทบทวนแผนการดำ � เนิ น งานอย่ า งสม่ำ � เสมอเพื่ อ ให้
30
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ทันต่อสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง อยูต่ ลอดเวลา รวมทัง้ ได้ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินกิจการ ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี การป้องกันการจ่ายเงิน เพือ่ การคอร์รัปชั่น การเสริมสร้างระบบบริหารความเสี่ยง ทีค่ รอบคลุม รวมถึงการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมและเมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม 2557 บริ ษั ท ได้ รั บ การรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต บริษัทได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจ ประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ แบบ ค 1.1 ประเภทการจัดการกองทุนรวม 1.2 ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล 1.3 ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขาย หลักทรัพย์ที่เป็นหน่วยลงทุน 1.4 ประเภทการค้ า หลั ก ทรั พ ย์ ที่ เ ป็ น หน่วยลงทุน 1.5 ประเภทการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ ที่เป็นหน่วยลงทุน 1.6 ประเภทการเป็นที่ปรึกษาการลงทุน 1.7 ประเภทการจัดการเงินร่วมลงทุน 2. ใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ สั ญ ญา ซื้อขายล่วงหน้า 2.1 ประเภทการเป็ น ผู้ จั ด การเงิ น ทุ น สัญญาซื้อขายล่วงหน้า 2.2 ประเภทการเป็ น ที่ ป รึ ก ษาสั ญ ญา ซื้อขายล่วงหน้า 3. การเป็นผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ 4. การเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ วิสัยทัศน์ (Vision) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด จะเป็นบริษทั ทีม่ มี าตรฐานประกอบธุรกิจ โดยคำ�นึงถึงหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยมุง่ เน้นให้มี การปฏิบัติงานที่คำ�นึงและรักษาผลประโยชน์ที่เหมาะสม ที่สุดให้แก่ลูกค้าภายใต้หลักความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) และหลักความระมัดระวัง (Duty of Care)
พันธกิจ (Mission) เป็นธุรกิจทีช่ ว่ ยเสริมศักยภาพในการแข่งขันให้แก่ กลุม่ ธุรกิจทางการเงินในการให้บริการทางการเงินเพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าทัง้ ในวัตถุประสงค์ของการออมและ การลงทุนเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจของ กลุม่ บริษทั ให้มบี ริการทีห่ ลากหลายขึน้ และเพือ่ เป็นทางเลือก ให้แก่ผสู้ นใจลงทุนโดยการลงทุนผ่านกองทุนรวม กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ กองทุน สำ�รองเลีย้ งชีพ และกองทุนส่วนบุคคล ซึง่ มีผบู้ ริหารจัดการ ลงทุนทีเ่ ป็นมืออาชีพดูแลจัดการลงทุนให้ เป็นบริษทั จัดการ ทีส่ ร้างผลตอบแทนให้เป็นทีพ่ อใจทัง้ แก่ผถู้ อื หน่วยและผูถ้ อื หุน้ ของกิจการ ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ให้ความสำ�คัญและเน้นการทำ�ตลาด ให้มคี วามหลากหลาย เพือ่ ให้ครอบคลุมทุกระดับความต้องการ และทุ ก กลุ่ ม ของผู้ ล งทุ น และเสนอขายหน่ ว ยลงทุ น ผ่านช่องทางการจัดจำ�หน่วยหลายช่องทาง ได้แก่ สาขา ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ ผูส้ นับสนุนการขายหรือรับซือ้ คืนหน่วยลงทุนอืน่ รวมทัง้ การจัดให้มีบุคลากรที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำ�หนด ควบคุ ม ดู แ ลให้ พ นั ก งานปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย และ กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด โดยลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ มีดังนี้ • กองทุนรวม เป็นบริการจัดการกองทุนรวม โดยเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผูล้ งทุนทัว่ ไป ผูล้ งทุนสถาบัน โดยพิจารณาจากความต้องการของผู้ลงทุน บริษัทเน้น วิธกี ารจัดการลงทุนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ การลงทุนอย่างสม่�ำ เสมอ รวมถึงการบริหารความเสีย่ ง ในการลงทุน และรายงานสภาพตลาดการลงทุน และความเสีย่ ง ในการลงทุนให้ผู้ลงทุนทราบอย่างสม่ำ�เสมอ • กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เป็นบริการจัดการ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทเ่ี น้นการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทีม่ รี ายได้ประจำ� เช่น อาคารสำ�นักงาน เซอร์วสิ อพาร์ทเม้นท์ โดยรายได้สุทธิที่เกิดจากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์จะ ถู ก ส่ ง ไ ป ใ ห้ ผู้ ล ง ทุ น ใ น รู ป เ งิ น ปั น ผ ล ร ว ม ถึ ง การรายงานข้อมูลมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม อย่างสม่�ำ เสมอ และจัดทำ�รายงานประจำ�ปีสง่ ให้ผถู้ อื หน่วย
• กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ เป็นบริการจัดการลงทุน ให้แก่กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ซึ่งจัดตั้งโดยความสมัครใจ ของบริษทั นายจ้างทีต่ อ้ งการออมเงินเพือ่ เป็นสวัสดิการให้แก่ พนักงาน และให้พนักงานออมเงินเข้ากองทุนอีกส่วนหนึง่ เมือ่ ออกจากงานหรือเกษียณอายุ สมาชิกจะได้รบั สิทธิประโยชน์ ทางภาษี ซึง่ บริษทั จะนำ�เงินดังกล่าวไปลงทุนให้เหมาะสมกับ ภาวะการลงทุนในแต่ละช่วงเวลาเพือ่ ให้เงินออมมีผลประโยชน์ สะสมให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสมและพอเพียงสำ�หรับ การดำ�รงชีวติ ภายหลังเกษียณหรือพ้นสภาพการเป็นพนักงาน ซึง่ กองทุนมีทง้ั รูปแบบที่ให้พนักงานตัดสินใจเลือกนโยบาย การลงทุนเองให้เหมาะกับความต้องการและความเสี่ยง ทีย่ อมรับได้ หรือแบบทีค่ ณะกรรมการกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ เป็นผูเ้ ลือก โดยบริษทั มีการจัดทำ�รายงานสรุปยอดเงินลงทุน และประเมินผลตอบแทนให้แก่พนักงาน และบริษทั นายจ้าง อย่างสม่ำ�เสมอ • กองทุนส่วนบุคคล เป็นบริการจัดการลงทุน แก่ผลู้ งทุนทัง้ บุคคลธรรมดา และนิตบิ คุ คล การจัดการกองทุน ส่วนบุคคล ซึ่งครอบคลุมการจัดการลงทุนในหลักทรัพย์ ประเภทต่างๆ เช่น พันธบัตร หุน้ กู้ หุน้ ทุน และหน่วยลงทุน โดยพิจารณาจากระดับความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมกับลูกค้าและมีการ จัดทำ�รายงานสรุปและประเมินผลให้แก่ลกู ค้าอย่างสม่�ำ เสมอ • ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เป็นบริการ ในฐานะผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ซึ่ ง สามารถลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ด้ ห ลากหลาย ประเภทมากขึ้น รวมถึงอสังหาริมทรัพย์ ในต่างประเทศ ผู้ จั ด การกองทรั ส ต์ จ ะลงทุ น และบริ ห ารจั ด การทรั ส ต์ โดยมุ่งสร้างผลประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตลอดจนมี ก ารรายงานข้ อ มู ล มู ล ค่ า สิ น ทรั พ ย์ สุ ท ธิ อย่ า งสม่ำ � เสมอ และจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หน่ ว ยทรั ส ต์ เ ป็ น ประจำ�ทุกปี • ทรัสตีของทรัสต์เพือ่ การลทุนในอสังหาริมทรัพย์ เป็ น บริ การในฐานะทรั ส ตี ข องทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ใน อสังหาริมทรัพย์ ซึง่ จะควบคุมดูแลการบริหารงานกองทรัสต์ ของผู้ จั ด การกองทรั ส ต์ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามสั ญ ญา ก่อตั้งทรัสต์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเพื่อประโยชน์สูงสุด ของผู้ถือหน่วยทรัสต์
รายงานประจำ�ปี 2559
31
มูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิภายใต้การบริหารจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีกองทุนรวม ภายใต้การบริหารจัดการทัง้ สิน้ จำ�นวน 55 กองทุน เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 4 กองทุน เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน และมีมูลค่าสินทรัพย์สุทธิทั้งสิ้น 64,276.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 14,418.1 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.92 เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน กองทุนรวม ภายใต้การบริหารจัดการประกอบด้วย - กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และทรัสต์ เพื่ อ การลงทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ 27,252.3 ล้านบาท - กองทุนรวมตราสารหนี้ 26,145.8 ล้านบาท - กองทุนรวมตราสารทุน 975.7 ล้านบาท - กองทุนแบบผสม 3,209.6 ล้านบาท - กองทุน Fund of Property Fund 6,692.7 ล้านบาท บริษทั มีสว่ นแบ่งการตลาดอยูท่ รี่ อ้ ยละ 1.38 อยู่อันดับที่ 10 จาก 22 บริษัท ทั้ ง นี้ หากรวมกองทุ น ส่ ว นบุ ค คล และ กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ บริษทั มีมลู ค่าทรัพย์สนิ สุทธิทงั้ สิน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 70,142.0 ล้านบาท โดยมาจากกองทุนส่วนบุคคล 3,568.7 ล้านบาท และ กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ 2,297.1 ล้านบาท ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อโอกาสหรือข้อจำ�กัด ในการประกอบธุรกิจ ปี 2559 การฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศยังมีความเปราะบาง ถึงแม้วา่ การลงทุน ในประเทศจะได้รบั ปัจจัยหนุนจากปัญหาการเมืองทีค่ ลีค่ ลายลง และแรงสนับสนุนจากการบริโภคและการลงทุนของภาครัฐก็ตาม แต่ในภาพรวมนักลงทุนยังคงมีความระมัดระวังต่อการลงทุน มากพอสมควร ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ การลงทุ น และ การชลอการออกและเสนอขายกองทุนใหม่ของบริษัท โดยบริษทั ได้ปรับแผนการดำ�เนินงานและกลยุทธ์การลงทุน ให้เข้ากับสถานการณ์ และความต้องการลงทุนของนักลงทุน ซึง่ ทำ�ให้บริษทั สามารถขยายขนาดกองทุนได้อย่างต่อเนือ่ ง และมีอตั ราการขยายตัวสูงกว่าการขยายตัวโดยรวมของตลาด
32
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ ปี 2560 บริษัทจะเพิ่มส่วนแบ่งการตลาด ในการบริหารกองทุนรวม ได้แก่กองทุนรวม กองทุนส่วนบุคคล กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ ทรัสต์เพือ่ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และการให้ บ ริ การเป็ น ทรั ส ตี ข องทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในอสังหาริมทรัพย์ และบริษัทจะเพิ่มบริการ เช่น ธุรกิจ การเป็นนายทะเบียนของกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ และธุรกิจ การเป็นตัวแทนขายหน่วยลงทุน เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทมีเป้าหมายเพิ่มช่องทางการจำ�หน่ายหน่วยลงทุน ของกองทุนรวมผ่านธนาคารพาณิชย์ที่เป็นผู้สนับสนุน การขาย (Open Architecture) ทีม่ นี โยบายเปิดกว้างในการ นำ�เสนอกองทุนรวมของบริษทั จัดการอืน่ ๆ เสนอขายให้กบั ลูกค้าของธนาคาร และเพิ่มช่องทางให้ลูกค้าผู้ถือหน่วย สามารถทำ�รายการซือ้ และขายคืนหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ผ่านระบบอินเตอร์เนต (Internet Trading) เพื่อ เป็ น การอำ�นวยความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งาน และให้ ลู ก ค้ า สามารถเข้ า ถึ ง กองทุ น รวมภายใต้ การบริหารจัดการของบริษทั ได้งา่ ยขึน้ 2.4 ธุรกิจหลักทรัพย์ บริ ษัท หลั ก ทรั พ ย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เปิดให้บริการธุรกิจหลักทรัพย์ ภายใต้ชอ่ื ย่อ “LHS” โดยเป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมายเลข 5 และได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจดังนี้ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ แบบ ก 1) การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ 2) การค้าหลักทรัพย์ 3) การจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ 4) การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน 5) การจัดการกองทุนรวม 6) การจัดการกองทุนส่วนบุคคล 7) กิจการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ 8) การจัดการเงินร่วมทุน ใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ สั ญ ญาซื้ อ ขาย ล่วงหน้า แบบ ส-1 1) การเป็นตัวแทนซือ้ ขายสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า 2) การเป็นผู้คา้ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า 3) การเป็นทีป่ รึกษาสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า 4) การเป็นผูจ้ ดั การเงินทุนสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า
ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษทั • ธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ บริษทั ให้บริการนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์ กับลูกค้าบุคคลธรรมดา ลูกค้านิตบิ คุ คล และลูกค้าสถาบัน โดยลูกค้าสามารถเลือกเปิดบัญชีได้ทง้ั ประเภทบัญชีเงินสด (Cash Account) บัญชีเงินฝาก (Cash Balance Account) และบัญชีเงินกูย้ มื เพือ่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ (Credit Balance Account) และสามารถเลือกช่องทางการซือ้ ขายได้ 2 ช่องทาง คือ การซื้อขายผ่านผู้แนะนำ�การลงทุน และการซื้อขาย ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (Internet Trading) หรือระบบ PROMPT TRADE ทีบ่ ริษทั ได้พฒั นาขึน้ เพือ่ อำ�นวยความสะดวก ให้แก่ลูกค้า ซึ่งลูกค้าสามารถติดตามข่าวสารการลงทุน การเคลือ่ นไหวของราคาหลักทรัพย์ และส่งคำ�สัง่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ ได้ทกุ ที่ ทุกเวลาผ่านคอมพิวเตอร์ Tablet หรือ Smart Phone ระบบ PROMPT TRADE เป็นระบบการส่งคำ�สัง่ ซื้อขายหลักทรัพย์ที่บริษัทได้พัฒนาขึ้นจากระบบต่างๆ ทีไ่ ด้รบั ความนิยมในแวดวงผูล้ งทุนอย่างระบบ eFin Trade+ และ Streaming โดยบริษทั ได้เพิม่ เครือ่ งมือสนับสนุนการลงทุน เครื่องมือวิเคราะห์ทางเทคนิคและบริการข้อมูลข่าวสาร การลงทุนแบบพร้อมสรรพ เพื่อให้ลูกค้ามีความสะดวก มีข้อมูลที่เพียงพอต่อการตัดสินใจในการลงทุน บริษทั มีนโยบายรับลูกค้าและกำ�หนดวงเงิน ซื้อขายหลักทรัพย์ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 1. บุคคลธรรมดา พิจารณาจากฐานะการเงิน อาชีพ อายุ ทีม่ าของรายได้ ความรูค้ วามเข้าใจในการลงทุน ในหลักทรัพย์ และความสามารถในการรับความเสี่ยง 2. นิตบิ คุ คล พิจารณาจากประเภทธุรกิจ แหล่ง ทีม่ าของรายได้ ผลการดำ�เนินงาน ความมัน่ คงทางการเงิน ภาระหนี้สิน กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้บริหารของกิจการ วัตถุประสงค์ในการลงทุน ความสามารถในการรับความเสีย่ ง ในการเปิดบัญชีซอ้ื ขายหลักทรัพย์ บริษทั ได้รบั ความร่วมมือจากลูกค้าในการให้ขอ้ มูลเพือ่ จัดทำ� KYC และ Suitability Test เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของทางการ
(ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทสำ�นักหักบัญชี (ประเทศไทย) จำ�กัด ปัจจุบันบริษัทให้บริการซื้อขาย ตราสารอนุพันธ์ ดังนี้ • สัญญาฟิวเจอร์สของดัชนี SET50 (SET50 Index Futures) • สัญญาออปชั่นของดัชนี SET50 (SET50 Index Options) • สัญญาฟิวเจอร์สทีอ่ า้ งอิงกับหุน้ สามัญ รายตัว (Single Stock Futures) • สัญญาฟิวเจอร์สที่อา้ งอิงกับทองคำ� (Gold Futures) • สั ญ ญาฟิ ว เจอร์ ส ที่ อ้ า งอิ ง กั บ ราคา น้�ำ มันดิบ Brent (Brent Crude Oil Futures) • สั ญ ญ า ฟิ ว เ จ อ ร์ ส ที่ อ้ า ง อิ ง กั บ อัตราดอกเบีย้ (Interest Rate Futures) • สั ญ ญ า ฟิ ว เ จ อ ร์ ส ที่ อ้ า ง อิ ง กั บ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราระหว่างประเทศ (Currency Futures) • สั ญ ญาฟิ ว เจอร์ ส ที่ อ้ า งอิ ง กั บ ดั ช นี หมวดธุ ร กิ จ ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย (Sector Futures) • สัญญาฟิวเจอร์สที่อ้างอิงกับยางแผ่น รมควันชั้น 3 (RSS3 Futures)
• ธุ ร กิ จ การจั ด จำ � หน่ า ยและรั บ ประกั น การจำ�หน่ายหลักทรัพย์ บริษัทให้บริการจัดจำ�หน่ายและรับประกัน การจำ�หน่ายหลักทรัพย์ ให้กับบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ ที่ ป ระสงค์ จ ะเสนอขายหลั ก ทรั พ ย์ ป ระเภทต่ า งๆ ทัง้ ตราสารหนี้ ตราสารทุน รวมทัง้ การเสนอขายหุน้ สามัญ เพิม่ ทุนให้แก่ประชาชนทัว่ ไป (PO) และการเสนอขายหุน้ สามัญ เพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม (RO) ปี 2559 บริษทั ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นผูร้ ว่ ม จัดจำ�หน่ายและรับประกันการจำ�หน่าย (Co-underwriter) • ธุรกิจตัวแทนนายหน้าซือ้ ขายสัญญาล่วงหน้า หุน้ สามัญเพิม่ ทุนบริษทั บ้านปู พาวเวอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทได้รับใบอนุญาตเพื่อประกอบกิจการ จำ�นวน 10,000,000 หุน้ มูลค่ารวม 210 ล้านบาท ระหว่าง การเป็ น ตั ว แทนซื้ อ ขายสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า วันที่ 18 - 20 ตุลาคม 2559 จากสำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ ได้เข้าเป็นสมาชิกประเภทตัวแทน ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้ากับบริษัทตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า รายงานประจำ�ปี 2559
33
• ธุ ร กิ จ ตั ว แทนสนั บ สนุ น การขายและ รับซื้อคืนหน่วยลงทุน ธุ ร กิ จ ตั ว แทนสนั บ สนุ น การขายและ รับซือ้ คืนหน่วยลงทุน เป็นบริการด้านการบริหารทรัพย์สนิ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากลูกค้า โดยจะกำ�หนดกรอบการลงทุน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของลูกค้าแต่ละราย เพื่อให้ สอดคล้ อ งกั บ ความเสี่ ย งที่ ย อมรั บ ได้ ผ่ า นการลงทุ น ในกองทุ น รวม บริ ษั ท มี ก องทุ น หลากหลายประเภท จากบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนชัน้ นำ�ต่างๆ ให้ลกู ค้า เลือกลงทุน ซึ่งลูกค้าจะได้รับการดูแลและรับคำ�ปรึกษา จากเจ้าหน้าที่ผู้มีประสบการณ์ และมีความเชี่ยวชาญ ด้านการวางแผนการลงทุนและการวางแผนภาษี การให้บริการ ของบริษทั จะคำ�นึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของลูกค้าเป็นสำ�คัญ และให้ความสำ�คัญในเรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการควบคุมข้อมูลภายในเพือ่ มิให้เกิดความได้เปรียบ เสียเปรียบในการลงทุนของบริษทั และการลงทุนของลูกค้า ปั จ จุ บั น บริ ษั ท เปิ ด ให้ บ ริ การธุ ร กิ จ ตั ว แทนสนั บ สนุ น การขายและรับซื้อคืนหน่วยลงทุน 2 ประเภทบัญชี ได้แก่ 1. บั ญ ชี แ บบไม่ เ ปิ ด เผยชื่ อ หรื อ Omnibus Account บัญชีซื้อขายหน่วยลงทุนแบบไม่เปิดเผย ชื่ อ ผู้ ถื อ หน่ ว ยลงทุ น เป็ น บั ญ ชี ที่ เ พิ่ ม ความสะดวกใน การทำ�ธุรกรรมให้กับลูกค้า บริษัทมีระบบการซื้อขาย ที่เชื่อมโยงข้อมูลกับทุกบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทีบ่ ริษทั เป็นตัวแทนฯ ลูกค้าเพียงเปิดบัญชีกบั บริษทั ครัง้ เดียว ก็สามารถทำ�รายการซื้อขายหน่วยลงทุนของทุกบริษัท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ได้ ช่ ว ยลดความยุ่ ง ยาก ในการจัดเตรียมเอกสาร การติดต่อซือ้ ขาย และทำ�ให้ลกู ค้า สามารถบริหารพอร์ตการลงทุนได้ง่ายขึ้น 2. บัญชีแบบเปิดเผยชือ่ หรือ Selling Agent Account บั ญ ชี ซื้ อ ขายหน่ ว ยลงทุ น แบบเปิ ด เผย ชื่ อ ผู้ ถื อ หน่ ว ยลงทุ น เป็ น บั ญ ชี ที่ เ หมาะสำ � หรั บ ลู ก ค้ า ทีต่ อ้ งการซือ้ ขายกองทุนรวมหุน้ ระยะยาว (LTF) กองทุนรวม เพือ่ การเลีย้ งชีพ (RMF) และกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ซึง่ กองทุนเหล่านี้มีข้อกำ�หนดให้ลูกค้าต้องทำ�การลงทุน แบบเปิดเผยชือ่ ผูล้ งทุนเท่านัน้ โดยบัญชีลกั ษณะนีจ้ ะมีขอ้ จำ�กัด ที่ลูกค้าต้องเปิดบัญชีตรงกับบริษัทจัดการทุกๆ บริษัท ที่ต้องการลงทุน ซึ่งใช้เวลาและมีความยุ่งยากกับการ เปิดบัญชีหลายครั้ง
34
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
• ธุรกิจการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ บริ การยื ม และให้ ยื ม หลั ก ทรั พ ย์ (SBL) มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ลู ก ค้ า สามารถยื ม หลั ก ทรั พ ย์ เพือ่ ทำ�การขายชอร์ตผ่านบัญชีแคชบาลานซ์ (Cash Balance) ที่ มี อ ยู่ กั บ บริ ษั ท ได้ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยอนุญาตให้ขายชอร์ตได้เฉพาะหลักทรัพย์ ที่อยู่ ในดัชนี SET100 และหลักทรัพย์ที่อยู่ ในรายชื่อ ที่อนุญาต และหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ETF เท่านั้น บริ ษัท มี น โยบายให้ บ ริ ก ารยื ม และให้ ยืม หลั ก ทรั พ ย์ ใ นลั ก ษณะแบบผู้ กระทำ � การ (Principle) โดยจะทำ�ธุรกรรม SBL กับลูกค้ารายย่อย และลูกค้าสถาบัน และหลักทรัพย์ทบ่ี ริษทั ให้ยมื หรือยืมในบัญชี SBL จะเป็น หลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง มี Market Capitalization สูง มีปจั จัยพืน้ ฐานดีและอยู่ในกลุ่ม SET50 ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อโอกาสหรือข้อจำ�กัด ในการประกอบธุรกิจ 1. ภาวะเศรษฐกิจไทย ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2560 มีแนวโน้มขยายตัว ที่ร้อยละ 3.4 โดยได้รับแรงส่งจากการใช้จ่ายภาครัฐที่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะการลงทุนโครงสร้าง พืน้ ฐานด้านคมนาคมทีค่ าดว่าจะเริม่ ดำ�เนินการในช่วงครึง่ หลัง ของปี 2560 อาทิ โครงการรถไฟรางคู่ และรถไฟฟ้า ในเขตเมืองประกอบกับแนวโน้มรายได้ภาคการเกษตร ที่จะปรับตัวดีข้ึนตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ในตลาดโลก ซึ่งจะเป็นแรงสนับสนุนให้การบริโภคภาคเอกชนฟื้นตัว นอกจากนี้ เศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ เริม่ มีแนวโน้มขยายตัวดีขน้ึ ประกอบกั บ ค่ า เงิ น บาทมี แ นวโน้ ม อ่ อ นค่ า ต่ อ เนื่ อ ง ซึ่งจะส่งผลดีตอ่ ปริมาณคำ�สัง่ ซือ้ สินค้าส่งออก ขณะทีก่ าร ส่งออกบริการคาดว่ายังขยายตัวต่อเนือ่ งตามการขยายตัว ของจำ � นวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งประเทศ สำ � หรั บ ด้ า นเสถี ย รภาพภายในประเทศคาดว่ า อั ต ราเงิ น เฟ้ อ ปี 2560 จะอยูท่ รี่ อ้ ยละ 2.1 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 1.6 – 2.6) ปรับตัวสูงขึ้นจากปี 2559 ตามแนวโน้ม ราคาน้�ำ มันในตลาดโลกทีม่ ที ศิ ทางเพิม่ ขึน้ และการอ่อนค่า ของเงินบาท (ที่มา : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ)
2. ปัจจัยจากตลาดต่างประเทศ ปี 2560 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund หรือ IMF) คงตัวเลขคาดการณ์ การเติบโตของเศรษฐกิจโลกทีร่ ะดับร้อยละ 3.4 โดยหลักๆ ได้แรงหนุนจากการฟื้นตัวของประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ เช่น รัสเซีย และบราซิล แต่ IMF ปรับลดอัตราการขยายตัว ของสหรัฐอเมริกาลงร้อยละ 0.3 สู่ระดับร้อยละ 2.2 โดยเชื่อว่าเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะถูกกระทบจากการ แข็งค่าของค่าเงินดอลลาร์ การใช้จา่ ยด้านทุนทีอ่ อ่ นแอ และ การเปลีย่ นแปลงนโยบายหลักๆ อันเป็นผลจากการเลือกตัง้ ประธานาธิบดีทผ่ ี า่ นมา ในปี 2559 IMF คาดการณ์อตั รา การขยายตัวของจีนทีร่ ะดับร้อยละ 6.2 ขณะที่คาดการณ์วา่ เศรษฐกิจญีป่ นุ่ จะมีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย โดยได้รบั แรงหนุนจากมาตรการกระตุน้ ด้านการคลัง รวมทัง้ จากการ ใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ยติดลบของธนาคารกลางญี่ปุ่น ขณะเดียวกัน IMF คาดการณ์อตั ราการขยายตัวของอินเดีย ทีร่ ะดับร้อยละ 7.6 และระบุวา่ อินเดียเป็นประเทศที่มีการ ขยายตัวสูงทีส่ ดุ ในบรรดาประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของโลก ซึง่ เชือ่ ว่าจะเป็นผลบวกต่อเศรษฐกิจและตลาดทุนของไทย 3. การเติ บ โตของระบบเทคโนโลยี กั บ ธุรกิจการเงิน จากการส่งเสริมของรัฐบาลตามนโยบาย เศรษฐกิจและสังคมดิจตอล (Digital Economy หรือ DE) ผลั ก ดัน ให้ มีระบบเศรษฐกิจและสัง คมที่ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารเป็นกลไกสำ�คัญในการขับเคลือ่ น การปฏิรปู กระบวนการผลิตและการดำ�เนินธุรกิจ ซึง่ จะส่งผลให้ ภาคธุรกิจการเงินเติบโต เนือ่ งจากนักลงทุนสามารถเข้าถึง ข้อมูลด้านการลงทุนได้งา่ ย สามารถทำ�ธุรกรรมทางการเงิน ได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา ส่งผลให้การซือ้ ขายหลักทรัพย์ผา่ นระบบ อินเตอร์เน็ตเป็นตลาดที่น่าสนใจ และมีแนวโน้มเติบโต อย่างต่อเนื่อง 4. ปัจจัยอื่นๆ ปัจจัยจากภัยธรรมชาติ ได้แก่ ฝนแล้ง น้�ำ ท่วม แ ผ่ น ดิ น ไ ห ว ห รื อ ภั ย พิ บั ติ ต่ า ง ๆ ค วา ม ไ ม่ ส ง บ ภายในประเทศ หรื อ การเปลี่ ย นแปลงกฎเกณฑ์ แ ละ กฎหมายที่เกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจ อาจส่งผลกระทบต่อ ภาวะเศรษฐกิจ และอาจมีผลต่อผลประกอบการของธุรกิจ
เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจปี 2560 บริษทั ยังคงให้ความสำ�คัญกับการรักษาฐาน ลูกค้าเดิมควบคู่ไปกับการขยายฐานลูกค้าใหม่ โดยเน้น การพัฒนาการให้บริการ การลงทุนในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาบุคลากร การขยายสาขาให้ครอบคลุมมากขึน้ และ การจัดกิจกรรมส่งเสริมตลาดอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ 1. การพัฒนาระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ ของบริ ษั ท เพื่ อ ให้ ร ะบบการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ มีประสิทธิภาพ มีความปลอดภัยสูง มีความสะดวกในการใช้งาน และรองรับการก้าวเข้าสู่ยุค Digital Economy รวมทั้ง บริษทั ได้รว่ มกับธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เปิ ด ให้ บ ริ การเปิ ด บั ญ ชี ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ผ่ า นระบบ Online : LH Bank Speedy เพิม่ ความสะดวกในการเข้าถึง การลงทุนด้วยการเชือ่ มต่อบัญชีไปยังระบบซือ้ ขายหลักทรัพย์ และอนุพันธ์ผ่านอินเตอร์เน็ตบนระบบ Prompt Trade ของบริษัทโดยไม่ต้อง Log-in อีกครั้ง (Single Sign-On) 2. การขยายขอบเขตการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่อลดการพึ่งพิงรายได้จากธุรกิจหลัก (Diversification Strategy) โดยการขยายธุ ร กิ จ จะพิ จ ารณาโอกาส ในการสร้างรายได้ ผลกำ�ไร และความเสี่ยง 3. การขยายสาขาให้ครอบคลุมทุกภูมิภาค เพื่อเพิ่มศักยภาพในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย 4. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพือ่ เพิม่ ความรู้ และเพิ่มทักษะการทำ�งานของพนักงาน เพื่อให้ลูกค้า ได้รับบริการที่มีประสิทธิภาพ 5. การออกบูธแนะนำ�ผลิตภัณฑ์และบริการ ของบริ ษั ท เช่ น การออกบู ธ ในงาน Money Expo งาน SET in the city หรื อ งาน SET-TFEX Digital Investor Fair เป็ น ต้ น และการจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม การตลาดอย่างต่อเนื่อง 2.5 ธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน บริษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด บริษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด ประกอบธุรกิจให้บริการทีป่ รึกษาทางการเงินแบบครบวงจร ทัง้ การเสนอขายหลักทรัพย์ให้กบั ประชาชน การนำ�บริษทั เข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย การควบรวมกิจการ การประเมินมูลค่าหุน้ การจัดหาแหล่งเงินกู้ การปรับโครงสร้างหนี้ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ และการให้ค�ำ ปรึกษาทางการเงิน รายงานประจำ�ปี 2559
35
3. โครงสร้างรายได้ 3.1 โครงสร้างรายได้ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน สายธุรกิจหลักได้ 5 สายธุรกิจ คือ สายธุรกิจการลงทุน จำ�แนกตามสายธุรกิจ โครงสร้างรายได้ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ สายธุรกิจหลักทรัพย์จัดการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) กองทุน สายธุรกิจหลักทรัพย์ และสายธุรกิจที่ปรึกษา ปี 2559 ปี 2558 และปี 2557 สามารถจำ�แนกตาม ทางการเงิน มีรายละเอียดดังนี้ ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินจำ�แนกตามสายธุรกิจ โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินจำ�แนกตามสายธุรกิจ รายได้ดอกเบี้ย สายธุรกิจการลงทุน สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ สายธุรกิจหลักทรัพย์ จัดการกองทุน สายธุรกิจหลักทรัพย์ สายธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน รวมรายได้ดอกเบี้ย รวมค่าใช้จา่ ยดอกเบี้ย รวมรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการ สายธุรกิจธนาคารพาณิชย์ สายธุรกิจหลักทรัพย์ จัดการกองทุน สายธุรกิจหลักทรัพย์ สายธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน รวมรายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการ รวมค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการสุทธิ รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน หมายเหตุ
LHFG/1 LH Bank/2 LH Fund/3 LH Securities/4 LH Advisory/5
36
ดำ�เนินการ โดย
งบการเงินรวม สัดส่วน การถือหุ้น 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 ของบริษัท จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ)
LHFG/1 LH Bank/2 LH Fund/3
0.07 0.03 99.99 8,786.66 126.12 8,479.82 99.99 0.03 0.02
LH Securities/4 LH Advisory/5
99.80 99.99
LH Bank LH Fund
99.99 99.99
LH Securities LH Advisory
99.80 99.99
: บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) : ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด : บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) : บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
0.01 152.97 7,454.75 -
175.54 -
23.27 0.33 14.02 0.25 0.32 8,810.03 126.45 8,493.89 153.22 7,455.08 (3,971.04) (57.00) (4,127.46) (74.45) (4,073.15) 4,838.99 69.45 4,366.43 78.77 3,381.93
0.01 175.55 (95.91) 79.64
276.25 268.12
3.96 3.85
268.32 131.94
92.50 1.33 55.32 636.87 9.14 455.58 (126.27) (1.81) (106.20) 510.60 7.33 349.38 1,617.47 23.22 827.61 6,967.06 100.00 5,543.42
4.84 2.38
198.72 94.34
4.68 2.22
1.00 3.70 8.22 296.76 (1.92) (80.54) 6.30 216.22 14.93 648.54 100.00 4,246.69
0.09 6.99 (1.90) 5.09 15.27 100.00
3.2 โครงสร้างรายได้ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน จำ�แนกตามประเภทรายได้ ปี 2559 ปี 2558 และปี 2557 จำ�แนกตามประเภทรายได้ โครงสร้างรายได้ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน หลั ก เป็ น 3 ประเภท คื อ รายได้ ด อกเบี้ ย รายได้ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ค่าธรรมเนียมและบริการ และรายได้อน่ื มีรายละเอียดดังนี้ ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินจำ�แนกตามประเภทรายได้ โครงสร้างรายได้ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน จำ�แนกตามประเภทรายได้
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน จำ�นวน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ)
รายได้ดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ 6,473.30 92.91 6,268.21 113.07 5,544.03 1,666.09 23.92 1,470.96 26.54 1,476.58 เงินลงทุนในตราสารหนี้ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 586.12 8.41 633.09 11.42 298.85 การให้เช่าซื้อ 84.41 1.21 121.58 2.19 135.62 อื่นๆ 0.11 0.05 รวมรายได้ดอกเบี้ย 8,810.03 126.45 8,493.89 153.22 7,455.08 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย (2,464.44) (35.37) (2,776.29) (50.08) (3,169.65) เงินรับฝาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม (536.70) (7.70) (383.92) (6.93) (1.12) รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (206.00) (2.96) (274.42) (4.95) (314.65) เงินนำ�ส่งสถาบันคุ้มครองเงินฝากและ (761.97) (10.94) (691.93) (12.48) (587.73) ธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ (1.93) (0.03) (0.90) (0.01) รวมค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย (3,971.04) (57.00) (4,127.46) (74.45) (4,073.15) รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ 4,838.99 69.45 4,366.43 78.77 3,381.93 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่ารับรอง รับอาวัล และการค้ำ�ประกัน 46.05 0.66 43.50 0.79 40.58 ค่าธรรมเนียมรับนายหน้า 237.86 3.41 212.47 3.83 93.00 อื่นๆ 352.96 5.07 199.61 3.60 163.18 รวมรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ 636.87 9.14 455.58 8.22 296.76 ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ (56.68) (0.81) (50.71) (0.91) (41.69) ค่าธรรมเนียมและบริการ (69.59) (1.00) (55.49) (1.00) (38.85) อื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ (126.27) (1.81) (106.20) (1.91) (80.54) รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ 510.60 7.33 349.38 6.30 216.22 รายได้อื่น กำ�ไรจากเงินลงทุน 1,188.49 17.06 673.39 12.15 491.42 0.58 0.01 2.17 0.04 1.21 กำ�ไรจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 428.40 6.15 152.05 2.74 155.91 รายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ รวมรายได้อื่น 1,617.47 23.22 827.61 14.93 648.54 รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน 6,967.06 100.00 5,543.42 100.00 4,246.69
รายงานประจำ�ปี 2559
130.55 34.77 7.04 3.19 175.55 (74.64) (0.03) (7.41) (13.84) (95.91) 79.64 0.96 2.19 3.84 6.99 (0.98) (0.91) (1.90) 5.09 11.57 0.03 3.67 15.27 100.00
37
1. รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ ด อกเบี้ ย ประกอบด้ ว ย รายได้ จากเงินให้สินเชื่อ รายได้จากเงินลงทุนในตราสารหนี้ รายได้จากรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน รายได้ จากการให้เช่าซื้อและรายได้ดอกเบี้ยอื่นๆ โดยในปี 2559 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้ดอกเบี้ยจำ�นวน 8,810.03 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558 จำ�นวน 316.14 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.72 รายได้ดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นมา จากการเพิ่มขึ้นของรายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อและ รายได้ดอกเบีย้ จากเงินลงทุนในตราสารหนี้ ซึง่ เพิม่ ขึน้ ตาม การขยายตัวของเงินให้สนิ เชือ่ และการลงทุนเพิม่ ในเงินลงทุน ประเภทตราสารหนี้ของบริษัทย่อย ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ ประกอบด้วย ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ จากเงินรับฝาก ตราสารหนีท้ อ่ี อกและเงินกูย้ มื รายการระหว่าง ธนาคารและตลาดเงิน เงินนำ�ส่งสถาบันคุ้มครองเงินฝาก และธนาคารแห่งประเทศไทย และค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยอื่นๆ โดยในปี 2559 บริษัทและบริษัทย่อยมีคา่ ใช้จา่ ยดอกเบี้ย จำ � นวน 3,971.04 ล้ า นบาท ลดลงจากปี 2558 จำ�นวน 156.42 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 3.79 เป็ น การลดลงจากการลดลงของค่ า ใช้ จ่ า ยดอกเบี้ ย จากเงินรับฝากเป็นหลัก เนื่องจากในปี 2559 มีแนวโน้ม ของอัตราดอกเบี้ยที่ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน รายได้ดอกเบีย้ สุทธิจ�ำ นวน 4,838.99 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 69.45 ของรายได้รวมจากการดำ�เนินงาน รายได้ดอกเบีย้ สุทธิเพิม่ ขึน้ จากปี 2558 และ 2557 เท่ากับ 472.56 ล้านบาท และ 1,457.06 ล้านบาท ตามลำ�ดับ รายได้ดอกเบีย้ สุทธิเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตามการขยายตัว ของบริษัทย่อย
38
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2. รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ส่วนมาก มาจากค่าธรรมเนียมการอำ�นวยสินเชื่อ ซึ่งประกอบด้วย รายได้ ค่ารับรอง อาวัลและการค้�ำ ประกัน และมาจากธุรกิจ หลักทรัพย์และธุรกิจหลักทรัพย์จดั การกองทุน ซึง่ ประกอบด้วย ค่านายหน้าจากการซื้อขายหลักทรัพย์ ค่าธรรมเนียม การจัดการกองทุนรวม ค่าธรรมเนียมนายทะเบียนกองทุน และค่าธรรมเนียมจากการเป็นตัวแทนจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ และบริการทางการเงินต่างๆ เป็นต้น โดยในปี 2559 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ จำ�นวน 636.87 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558 จำ�นวน 181.29 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.79 ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการจำ�นวน 126.27 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2558 จำ�นวน 20.07 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.90 รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการสุทธิจ�ำ นวน 510.60 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.33 ของรายได้รวมจาก การดำ�เนินงาน รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการสุทธิเพิม่ ขึน้ จากปี 2558 เท่ากับ 161.22 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 46.14 3. รายได้อื่น รายได้อนื่ ประกอบด้วย กำ�ไรจากเงินลงทุน กำ�ไรจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ และรายได้ จากการดำ � เนิ น งานอื่ น ๆ โดยในปี 2559 บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้อน่ื จำ�นวน 1,617.47 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2558 จำ�นวน 789.86 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 95.44 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากบริษัทย่อยมีกำ�ไร จากการขายเงินลงทุนที่เพิ่มสูงขึ้น 515.10 ล้านบาท
ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 1. หลักทรัพย์ของบริษัท 1.1
หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว ดังนี้ ทุนจดทะเบียน : 13,638,705,250 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : 13,638,699,252 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายและชำ�ระแล้ว จำ�นวน 13,638,699,252 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
1.2 ข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์หรือการบริหารงานของ บริษัทและสาระสำ�คัญที่มีผลต่อการดำ�เนินงาน - ไม่มี 1.3 พันธะผูกพันเกี่ยวกับการออกหุ้นในอนาคต - ไม่มี 2. โครงสร้างการถือหุ้น 2.1 ผู้ถือหุ้นสามัญสูงสุด 10 รายแรก รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 10 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียน เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2559 มีดังนี้ ลำ�ดับที่ รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 3. นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ 4. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด 5. นายอภิเชษฐ์ ศรีวัฒนประภา 6. กลุ่มตระกูลอัศวโภคิน 7. นายวิโรจน์ อึ้งไพบูลย์ 8. นายสำ�เริง มนูญผล 9. นายอัยยวัฒน์ ศรีวัฒนประภา 10. นายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข รวมการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ผู้ถือหุ้นรายย่อยอื่น รวม
จำ�นวนหุ้น 4,634,761,967 2,910,199,375 2,210,050,479 461,357,609 200,000,000 198,682,177 184,010,134 149,000,089 86,000,000 68,000,098 11,102,061,928 2,536,637,324 13,638,699,252
รายงานประจำ�ปี 2559
ร้อยละ 33.982 21.338 16.204 3.383 1.466 1.457 1.349 1.092 0.631 0.499 81.401 18.599 100.000
39
3. นโยบายการจ่ายเงินปันผล
3.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย
3.1 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลบริษัทจะคำ�นึงถึง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว และจะพิจารณาจากงบการเงินรวม ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับ ของบริษัท ซึ่งสรุปสาระสำ�คัญคือ เงินปันผลให้แบ่งตาม จำ�นวนหุน้ หุน้ ละเท่าๆ กัน โดยการจ่ายเงินปันผลต้องได้รบั อนุ มั ติ จากที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น คณะกรรมการอาจจ่ า ย เงิ น ปั น ผลระหว่ างกาลให้แก่ผู้ถือ หุ้น เป็น ครั้ง คราวได้ เมือ่ เห็นว่าบริษทั มีก�ำ ไรสมควรพอทีจ่ ะทำ�เช่นนัน้ และรายงาน ให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบในการประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผลต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคาร แห่งประเทศไทยและตามที่กฎหมายกำ�หนด
3.3.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลธนาคารจะคำ�นึง ถึงผลประกอบการและผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับ ของธนาคาร ซึ่งสรุปสาระสำ�คัญคือ เงินปันผล ให้แบ่ง ตามจำ�นวนหุ้น หุ้นละเท่าๆ กัน โดยการจ่ายเงินปันผล ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการอาจ พิจารณาการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็น ครั้ ง คราวได้ เมื่ อ เห็ นว่ า ธนาคารมี กำ � ไรสมควรพอที่ จะทำ � เช่ น นั้ น และรายงานให้ ที่ ป ระชุ ม ผู้ถือหุ้นทราบใน การประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ายเงิ น ปั น ผล ต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย และตามที่กฎหมายกำ�หนด
3.2 ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผล ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเรือ่ งข้อกำ�หนด เกี่ยวกับการบันทึกบัญชีของสถาบันการเงินกำ�หนดให้ สถาบันการเงินไม่ควรนำ�กำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงหรือไม่มี กระแสเงินสดรับจริงมาใช้ในการจ่ายเงินปันผล เช่น กำ�ไร ทีเ่ กิดจากการตีราคาหลักทรัพย์เพือ่ ค้า (Mark to Market) และกำ�ไรทีเ่ กิดจากการโอนเปลีย่ นประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน เป็นต้น หรือสถาบันการเงินไม่ควรนำ�กำ�ไรที่เกิดจาก การขายสินทรัพย์ทม่ี ไิ ด้มกี ารซือ้ ขายจริง ซึง่ มีผลทำ�ให้สถาบัน การเงินมีก�ำ ไรสูงกว่าหรือขาดทุนต่�ำ กว่ากรณีปกติมาใช้ในการ จ่ายเงินปันผล เช่น กำ�ไรทีเ่ กิดจากการขายทรัพย์สนิ รอการขาย ของสถาบันการเงินที่มีเงื่อนไขให้สถาบันการเงินสามารถ ซื้อคืนหรือมีสิทธิซื้อคืนทรัพย์สินนั้นได้ในอนาคต
3.3.2 บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด
นอกจากนี้ รายได้หลักของบริษทั คือเงินปันผลที่ ได้รับจากบริษัทย่อย ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด สำ�หรับธนาคารจะต้องปฏิบตั ติ ามประกาศ ของธนาคารแห่งประเทศไทย เรือ่ ง หลักเกณฑ์การจัดชัน้ และการกันเงินสำ�รองของสถาบันการเงิน ทีก่ �ำ หนดให้ใน ระหว่างเวลาทีส่ ถาบันการเงินยังไม่ตดั สินทรัพย์ทเ่ี สียหาย ออกจากบัญชี หรือยังกันเงินสำ�รอง สำ�หรับสินทรัพย์และ ภาระผูกพันทีอ่ าจเสียหายและไม่เสียหายไม่ครบทัง้ จำ�นวน จะจ่ายเงินปันผลหรือเงินตอบแทนอื่นใดแก่ผู้ถือหุ้นมิได้
40
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(มหาชน) ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลบริษัทจะคำ�นึงถึง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว และจะพิจารณาจากงบการเงินรวม ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับ ของบริษัท ซึ่งสรุปสาระสำ�คัญ คือ เงินปันผลให้แบ่งตาม จำ�นวนหุ้น หุ้นละเท่า ๆ กัน โดยการจ่ายเงินปันผลต้อง ได้ รับ อนุ มัติจากที่ป ระชุ ม ผู้ถือ หุ้น คณะกรรมการอาจ พิจารณาการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผ้ถู ือหุ้นเป็น ครั้งคราวได้ เมื่อเห็นว่าบริษัทมีกำ�ไรสมควรพอที่จะทำ� เช่ น นั้น และรายงานให้ ท่ีป ระชุ ม ผู้ถือ หุ้น ทราบในการ ประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผลต้องเป็น ไปตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด 3.3.3 บริษ ัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลบริษัทจะคำ�นึงถึง ผลประกอบการและผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับ ของบริษทั ซึง่ สรุปสาระสำ�คัญ คือ การจ่ายเงินปันผลทุกคราว บริษัทต้องจัดสรรเงินไว้เป็นทุนสำ�รองอย่างน้อยหนึ่ง ในยี่สิบของเงินกำ�ไรสุทธิซ่งึ บริษัททำ�มาหาได้จากกิจการ ของบริษทั จนกว่าสำ�รองนัน้ จะมีจ�ำ นวนถึงหนึ่งในสิบของ จำ�นวนทุนของบริษัทหรือมากกว่านั้น
4. จำ�นวนและชนิดหุ้นที่บริษัทถือหุ้นในบริษัทอื่นหรือบริษัทเอกชน ตั้งแต่ร้อยละสิบขึ้นไป และไม่เกินร้อยละห้าสิบ - ไม่มี 5. จำ�นวนและชนิดหุ้นที่บริษัทถือหุ้นในบริษัทอื่นหรือบริษัทเอกชน ตั้งแต่ร้อยละห้าสิบขึ้นไป ชื่อบริษัท : ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น จี,1,5,6,32 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0107548000234 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 20,000,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 14,000,000,000 บาท มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ : 10 บาท ชนิดของหุน้ ทัง้ หมด : ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 1,400,000,000 หุ้น หุ้นบุริมสิทธิ -ไม่มีและที่ออกจำ�หน่าย โทรศัพท์ : 0 2359 0000 , 0 2677 7111 โทรสาร : 0 2677 7223 เว็บไซต์ : www.lhbank.co.th ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ ธนาคาร ได้แก่ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จำ�นวน 1,399,999,900 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ชื่อบริษัท : บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชัน้ M, 10 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0107542000038 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 637,215,030 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 637,215,030 บาท มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ : 1 บาท ชนิดของหุน้ ทัง้ หมด : ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 637,215,030 หุ้น และที่ออกจำ�หน่าย หุ้นบุริมสิทธิ -ไม่มีโทรศัพท์ : 0 2352 5100 โทรสาร : 0 2286 2681-2 เว็บไซต์ : www.lhsec.co.th
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ได้แก่ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 99.80 ของทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว แบ่งเป็นหุน้ สามัญ จำ�นวน 635,925,646 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท
ชือ่ บริษทั : บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชัน้ 14 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เลขทะเบียนบริษัท : 0105551006645 ทุนจดทะเบียน : จำ�นวน 300,000,000 บาท ทุนชำ�ระแล้ว : จำ�นวน 300,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ : 100 บาท ชนิดของหุน้ ทัง้ หมด : ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 3,000,000 หุ้น และที่ออกจำ�หน่าย หุ้นบุริมสิทธิ -ไม่มีโทรศัพท์ : 0 2286 3484, 0 2679 2155 โทรสาร : 0 2286 3585 เว็บไซต์ : www.lhfund.co.th ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ได้แก่ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จำ�นวน 2,999,995 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท
รายงานประจำ�ปี 2559
41
โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการสรรหา และกำหนดคาตอบแทน
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
กรรมการผูจัดการ
โครงสร้างการจัดการ
บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) 1. คณะกรรมการบริษัท (Board of Directors) เป็ น บริ ษั ท โฮลดิ้ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ของตนเอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษทั (Non-operating Holding Company) โดยเป็นบริษทั แม่ของ กลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจการเข้าถือหุน้ ในบริษทั อืน่ ประกอบด้วยกรรมการ 9 ท่าน ดังนี้ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ ปัจจุบันบริษัทถือหุ้นบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ดังนี้ 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ กรรมการ - ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการอิสระ ร้อยละ 99.99 ของทุนทีช่ �ำ ระแล้วทัง้ หมด 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ - บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด 5. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการอิสระ (มหาชน)ร้ อ ยละ 99.80 ของทุ น ที่ 6. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการ ชำ�ระแล้วทั้งหมด 7. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ - บ ริ ษั ท ห ลั ก ท รั พ ย์ จั ด กา ร ก อ ง ทุ น 8. นางสุวรรณา พุทธประสาท กรรมการ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ร้อยละ 99.99 กรรมการ 9. นางศศิธร พงศธร ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการบริษทั โครงสร้างการจัดการของบริษัท แอล เอช กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัท ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย นายรัตน์ พานิชพันธ์ นางศศิธร พงศธร คณะกรรมการบริษัท ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง คณะกรรมการชุดย่อยอีก 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร และนายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการสองในสามคนนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำ�คัญของบริษัท คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั และ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย มี ก ารแบ่ ง แยกหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน ดังนี้
42
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ดําเนินกิจการของบริษทั ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ระมั ด ระวั ง รั ก ษาผลประโยชน์ ข ององค์ ก รโดยรวม ไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นกลุ่มใด หรือรายใด โดยมีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 1) ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทและ ของหน่วยงานภายนอกทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจน มติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2) กําหนดทิศทางและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ในภาพรวมของบริษัท รวมทั้งพิจารณา อนุมตั นิ โยบายและทิศทางการดําเนินงาน ของบริษัทตามที่ฝ่ายจัดการเสนอ และ กํากับควบคุมดูแลให้ฝา่ ยจัดการดําเนินการ ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับการอนุมัติ ไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท และผู้ถือหุ้น 3) จัดให้มีบทบัญญัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณ และจริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของ กรรมการ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติภายในองค์กร 4)ติ ด ตามการดําเนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ตลอดเวลาเพือ่ ให้มนั่ ใจว่ากรรมการทีเ่ ป็น ผู้บริหารและฝ่ายจัดการดําเนินกิจการ ตามกฎหมายและนโยบายที่วางไว้ 5)ดู แ ลให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจว่ า ฝ่ า ยจั ด การ มีความสามารถในการจัดการในงานของบริษทั ซึ่งรวมถึงการแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูง 6)ดําเนินการให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 7)ดูแลให้ฝา่ ยจัดการบอกกล่าวเรือ่ งทีส่ ําคัญของ บริษัทต่อคณะกรรมการ รวมถึงดูแลให้มี กระบวนการในการจัดส่งข้อมูลเพื่อให้ คณะกรรมการ ได้รบั ข้อมูลจากฝ่ายจัดการ อย่างเพียงพอทีจ่ ะทําให้สามารถปฏิบตั ติ าม อํานาจหน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบ ได้อย่างสมบูรณ์
8)ดูแลให้ฝา่ ยจัดการของบริษทั มีการควบคุม ทางด้านการบริหารความเสี่ยง 9) พิ จ ารณาอนุ มั ติ บ ทบาทหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ตลอดจน การเปลี่ ย นแปลงในองค์ ป ระกอบ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญต่อ การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการชุดย่อย ที่ได้แต่งตั้งขึ้น 10) ดูแลให้บริษัทกําหนดนโยบายเกี่ยวกับ การทำ�ธุรกรรมกับบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั 11) ดูแลให้มกี ระบวนการในการจัดส่งรายงาน (Management Letter) จากผู้สอบบัญชี ภายนอกและข้อคิดเห็นจากฝ่ายจัดการ ของบริ ษั ท ต่ อ คณะกรรมการภายใน ระยะเวลาที่เหมาะสม 12)จัดให้มกี ารถ่วงดุลอํานาจของฝ่ายจัดการ และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสมโดยกำ�หนดให้มีสัดส่วนหรือ จํานวนของกรรมการอิสระในคณะกรรมการ บริษัทอย่างเหมาะสม 13) ในการพิจารณาอนุมตั เิ รือ่ งใดๆ องค์ประชุม ต้ อ งมี กรรมการไม่ น้ อ ยกว่ า 2 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด 14) ให้กรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยกึง่ หนึง่ ของจำ�นวนครั้งของการประชุมที่จัดขึ้น ในแต่ละปี
ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการท่านใด หรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ กรรมการท่านนัน้ ไม่มอี �ำ นาจอนุมตั กิ าร ดำ�เนินการดั ง กล่ า วกั บ บริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ตามที่ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด
รายงานประจำ�ปี 2559
43
ขอบเขตอำ�นาจอนุมตั ขิ องคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั มีขอบเขตอำ�นาจอนุมตั ิ ในเรื่องต่างๆ พอสรุปได้ ดังนี้ - พิจารณางานด้านบริหาร - พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ผนงาน กลยุ ท ธ์ ในการดำ�เนินธุรกิจ - พิจารณาอนุมัติงบประมาณประจำ�ปี - พิจารณาอนุมัติวิสัยทัศน์ และพันธกิจ - พิจารณาอนุมตั เิ รือ่ งต่างๆ ในงานการบริหาร การตัดสินใจ - พิจารณางานด้านปฏิบัติการ - พิจารณาอนุมัตินโยบายต่างๆ - พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารขออนุ ญ าตต่ อ หน่วยงานราชการ - พิ จ ารณาอนุ มั ติ เ รื่ อ งต่ า งๆ ตามที่ พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัดกำ�หนด อนึ่ ง การพิ จ ารณาอนุ มั ติ เ รื่ อ งใดๆ ของคณะกรรมการบริษัท จะมีกรรมการร่วมพิจารณา ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด
บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ
บทบาทหน้ า ที่ ข องประธานกรรมการ มีหน้าที่นอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น ดังนี้ - ทำ�หน้าทีป่ ระธานในทีป่ ระชุมคณะกรรมการ - ลงคะแนนเสียงชี้ขาด ในกรณีที่ประชุม คณะกรรมการมี ก ารลงคะแนนเสี ย ง 2 ข้างเท่ากัน - เป็นผู้เรียกประชุมคณะกรรมการ - ทำ�หน้าที่ประธานในที่ประชุมผู้ถือหุ้น
3. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการบริหาร 4. นางศศิธร พงศธร กรรมการบริหาร นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการ ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร มีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) เสนอนโยบาย วางแผนกลยุทธ์ และ ทิศทางการดำ�เนินงานของบริษัทต่อ คณะกรรมการบริ ษั ท และดำ � เนิ น การ ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รบั การอนุมตั ิ 2) พจิ ารณากลัน่ กรองงานต่างๆ ก่อนเสนอ คณะกรรมการบริษัท 3) บริหารจัดการองค์กรและพัฒนาองค์กร ให้มปี ระสิทธิภาพ 4) มอบหมายงานและประสานงานกั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ ล่ า งลงมา ควบคุ ม การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน ที่ ว างไว้ ติ ด ตามและประเมิ น ผล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น เ พื่ อ ใ ห้ ผ ล ง า น มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งวิเคราะห์ ผลการปฏิบัติงาน เพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และแนวทางในการแก้ไข 5) รายงานเรือ่ งทีม่ นี ยั สำ�คัญของบริษทั ต่อ คณะกรรมการบริษัท 6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ บริษัทมอบหมาย
ทัง้ นี้ ในกรณีทกี่ รรมการบริหารท่านใด หรือ บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสียหรือมีความขัดแย้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริหาร ทางผลประโยชน์ กรรมการบริหารท่านนั้นไม่มีอำ�นาจ อนุมัติการดำ�เนินการดังกล่าวกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ดังนี้ ตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท และตามที่ สำ � นั ก งาน 1. นายรัตน์ พานิชพันธ์ คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ประธานกรรมการบริหาร และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด 2.นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการบริหาร 2. คณะกรรมการบริหาร
44
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
3. คณะกรรมการตรวจสอบ
4. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายไพโรจน์ เฮงสกุล/1 ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี/1 กรรมการตรวจสอบ นางสาวชุติมา บุญมี เลขานุการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 2. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการบรรษัทภิบาล 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการบรรษัทภิบาล นางสาวชุติมา บุญมี เลขานุการ
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ มีขอบเขตอำ�นาจ หน้าที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) สอบทานให้บริษทั มีการรายงานทางการเงิน อย่างถูกต้องและเพียงพอ 2) สอบทานและประเมินผลให้บริษทั มีระบบ ควบคุมภายใน (Internal Control) และ การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 3) สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4) พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งและ เสนอคาตอบแทนผูส อบบัญชีของบริษทั 5) พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัท โดยเฉพาะในกรณี ที่ เ กิ ด รายการ ที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ความขั ด แย ง ทางผลประโยชน ใหมีความถูกตองและครบถวน 6) จดั ทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผย ไวในรายงานประจําปของบริษัท 7) รายงานการปฏิบตั งิ านตอคณะกรรมการบริษทั 8) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ด้ ว ยความเห็ น ชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บรรษัทภิบาล คณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ ซึง่ ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ดังนี้ 1) กำ�หนดและทบทวนนโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี 2) ก�ำ หนดและทบทวนนโยบายการป้องกัน การจ่ายเงินเพื่อการคอร์รัปชั่น 3) ดูแลให้มีการปฏิบัติเป็นไปตามนโยบาย รวมทั้งให้ข้อแนะนำ�และการสนับสนุน ที่ จำ � เป็ น แก่ ผู้ ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ให้ บรรลุแผนงาน 4) ประเมินผลภายในด้วยเกณฑ์บรรษัทภิบาล เพื่อกำ�หนดประเด็นที่ควรปรับปรุง 5) เป็ น ตั ว แทนบริ ษั ท ในการสื่ อ สารและ การดำ�เนินกิจกรรมด้านบรรษัทภิบาล การป้องกันการจ่ายเงินเพือ่ การคอร์รปั ชัน่ ทัง้ กับผูบ้ ริหาร พนักงาน และหน่วยงาน ภายนอก 6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ บริษทั มอบหมายด้วยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบรรษัทภิบาล
หมายเหตุ
/1
เป็นกรรมการที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2559
45
5. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน สุนทรจิตต์เจริญ 2. นายนพร กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน นายเรืองศักดิ์ วิทวัสการเวช เลขานุการ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึง่ ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ บริษัท ดังนี้ 1) กำ�หนดนโยบายต่างๆ ดังนี้ 1.1 นโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการ ในการสรรหากรรมการ หรื อ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ตั้งแต่ ตำ�แหน่งรองกรรมการผูจ้ ดั การขึน้ ไป 1.2 นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนและ ผลประโยชน์อื่นที่ให้แก่ กรรมการ หรือผู้บริหารระดับสูงของบริษัท เฉพาะตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ ขึน้ ไป โดยต้องมีหลักเกณฑ์ทช่ี ดั เจน โปร่งใส เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณาอนุมัติ 2 คัดเลือกและเสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัติ เหมาะสม เพื่ อ ดำ � รงตำ � แหน่ ง ต่ า งๆ ดังต่อไปนี้ เพือ่ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษทั 2.1 กรรมการ (เพิ่มเติม / ทดแทน / ครบตามวาระ) 2.2 ผู้บริหารระดับสูงตั้งแต่ตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการขึ้นไป
46
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
3) ดูแลให้กรรมการหรือผู้บริหารระดับสูง ตัง้ แต่ต�ำ แหน่งกรรมการผูจ้ ดั การขึน้ ไป ได้ รั บ ผลตอบแทน (ค่ า ตอบแทนใน ฐานะกรรมการ / ค่าตอบแทนประจำ�ตำ�แหน่ง/ ค่าเบีย้ ประชุม) หรือเงิน Bonus ทีเ่ หมาะสม กับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ บริษทั 4) กำ�หนดแนวทางการประเมินผลงานของ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เฉพาะตำ � แหน่ ง กรรมการผู้จัดการ เพื่อใช้พิจารณาปรับ ผลตอบแทนประจำ�ปีโ ดยได้คำ�นึงถึง หน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อบริษัท 5) พิจารณางบประมาณการขึ้นเงินเดือน ประจำ�ปีหรืองบประมาณการจ่ายเงิน Bonus ประจำ�ปีหรือผลตอบแทนพิเศษอื่นๆ ทีบ่ ริษทั กำ�หนดให้พนักงานเพือ่ นำ�เสนอ คณะกรรมการบริษัท 6) เปิดเผยรายงานการดำ�เนินงานของ คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษทั 7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ บริษัทมอบหมาย หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการ กรรมการอิสระ และผู้บริหารของบริษัท 1. การสรรหากรรมการและกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จะพิจารณาคัดเลือกและกลัน่ กรองบุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม รวมถึงมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านต่างๆ มีความเข้าใจเพียงพอด้านการธนาคาร การเงิน รวมถึงเศรษฐกิจ กฎหมาย และอืน่ ๆ โดยคำ�นึงถึงความจำ�เป็นขององค์กร และ การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ทัง้ นี้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนจะรับฟังข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้นรายย่อยซึ่ง เสนอชือ่ บุคคลที่ควรได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการหรือ กรรมการอิสระของบริษัทด้วย ทั้งนี้ บริษัทเปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็น กรรมการในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นตามหลักเกณฑ์ ทีบ่ ริษทั กำ�หนด รายละเอียดแสดงไว้ในรายงานการพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืน หัวข้อ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี
ค ณ ะ กร ร ม กา ร ส ร ร ห า แ ล ะ กำ � ห น ด ค่าตอบแทนจะเสนอให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาแต่งตัง้ กรรมการและ/หรือกรรมการอิสระแทน กรณีที่ตำ�แหน่ง กรรมการบริษทั ว่างลง เพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออก ตามวาระหรือเพื่อพิจารณาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อ เลื อ กตั้ ง กรรมการและ/หรื อ กรรมการอิ ส ระในกรณี ที่ กรรมการพ้นตำ�แหน่งตามวาระหรือเลือกตัง้ กรรมการใหม่ เพิ่ ม เติ ม โดยหลั ก เกณฑ์ ใ นการเลื อ กตั้ ง และถอดถอน กรรมการ เป็นดังนี้ - องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท จำ�นวนของกรรมการบริษทั เป็นไปตามทีท่ ป่ี ระชุม ผู้ถือหุ้นกำ�หนด โดยมีจำ�นวนไม่น้อยกว่า 5 คน ทั้งนี้ กรรมการบริษัทจะประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จำ�นวนไม่เกิน 1 ใน 3 และจำ�นวนของกรรมการอิสระ จะต้ อ งมี อ ย่ า งน้ อ ย 3 คน หรื อ อย่ า งน้ อ ย 1 ใน 3 แล้วแต่จำ�นวนใดจะสูงกว่า - การเลือกตั้งกรรมการบริษัท 1. ในการลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการ ให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังนี้ (ก) ผู้ ถื อ หุ้ น คนหนึ่ ง มี ค ะแนนเสี ย ง เท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง (ข) ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะใช้คะแนนเสียง ทีม่ อี ยูท่ ง้ั หมดเลือกตัง้ บุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการก็ ได้ ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคน เป็นกรรมการจะแบ่งคะแนนเสียง ให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (Non-Cumulative Voting) (ค) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุด ตามลำ�ดับลงมาเป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการ ที่ จ ะพึ ง มี ห รื อ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ในครั้ ง นั้ น ในกรณี ที่ บุ ค คลซึ่ ง ได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง ในลำ � ดั บ ถั ด ลงมามี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั น เกินจำ�นวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ในครั้ ง นั้ น ให้ ผูเ้ ป็นประธาน เป็นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด
2. การพ้นจากตำ�แหน่งของกรรมการ (ก) การพ้นตำ�แหน่งตามวาระ - ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี ทุ ก ครั้ ง ให้ ก รรมการ ออกจากตำ�แหน่งหนึ่งในสาม - กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากตำ�แหน่ง ในปี แ รกและปี ท่ี ส องภายหลั ง จดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้จบั สลาก กันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ถั ด ไปให้ ก รรมการคนที่ อ ยู่ ในตำ � แหน่ ง นานที่ สุ ด นั้ น เป็ น ผู้ออกจากตำ�แหน่ง - กรรมการผู้ พ้ น จากตำ � แหน่ ง นี้ จะเลือกเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้ (ข) ตาย (ค) ลาออก (ง) ขาดคุ ณ สมบั ติ หรื อ มี ลั ก ษณะ ต้องห้ามตามกฎหมาย (จ) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออกด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าประชุมและ มีสทิ ธิออกเสียงและมีหน้ ุ นับรวมกันได้ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนหุ้น ที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมและ มีสิทธิออกเสียง (ฉ) ศาลมีคำ�สั่งให้ออก 3. ในกรณีที่กรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคลหนึง่ ซึง่ มีคณุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วย บริษัทมหาชนจำ�กัดเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุม คณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการ จะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการ แทนดั ง กล่ า วจะอยู่ ใ นตำ � แหน่ ง กรรมการได้ เ พี ย งเท่ า วาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน ทั้งนี้มติของ คณะกรรมการดังกล่าวต้องประกอบด้วยคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนกรรมการที่เหลืออยู่
รายงานประจำ�ปี 2559
47
- วิธีการคัดเลือกกรรมการ การสรรหาบุคคลทีจ่ ะมาดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ เป็นไปตามแนวทางในการแต่งตั้งกรรมการตามข้อบังคับ ของบริษัท แบ่งเป็น 2 กรณี กรณี ที่ 1 การแต่ ง ตั้ ง กรรมการใหม่ อันเนื่องจากการออกตามวาระ คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรอง บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม รวมถึงมีความรูค้ วามสามารถ มี ป ระสบการณ์ ใ นด้ า นต่ า งๆ ตลอดจนมี ค วามเข้ า ใจ ด้านการเงิน การธนาคาร เศรษฐกิจ กฎหมาย โดยคำ�นึงถึง ความจำ�เป็นขององค์กรและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและ นำ�เสนอรายชือ่ ต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณากลัน่ กรอง บุคคลนัน้ ๆ ก่อนนำ�เสนอให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาเพือ่ อนุมตั ิ กรณีที่ 2 การแต่งตั้งกรรมการใหม่แทน กรรมการทีอ่ อกก่อนครบกำ�หนดวาระ คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรอง บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม รวมถึงมีความรูค้ วามสามารถ มี ป ระสบการณ์ ใ นด้ า นต่ า งๆ ตลอดจนมี ค วามเข้ า ใจ ด้านการเงิน การธนาคาร เศรษฐกิจ กฎหมาย โดยคำ�นึงถึง ความจำ�เป็นขององค์กรและการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ทัง้ นี้ เพือ่ นำ�เสนอรายชือ่ ต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 2. การสรรหาผู้บริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จะพิจารณาคัดเลือกและกลัน่ กรองบุคคลทีม่ คี วามสามารถ และคุณสมบัตทิ เี่ หมาะสม โดยคำ�นึงถึงจริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์ เพื่อดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูง ได้แก่ กรรมการผูจ้ ดั การ โดยมีปจั จัยเบือ้ งต้นทีใ่ ช้ประกอบการพิจารณา ได้แก่ คุณสมบัติ ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ ในสายงานด้านการเงิน ผูท้ ี่ได้รบั คัดเลือกให้ด�ำ รงตำ�แหน่ง ควรมี แ นวคิ ด และวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการบริ ห ารจั ด การใน แนวทางเดียวกับคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้การดำ�เนินงาน ขององค์ กรประสบผลสำ � เร็ จ ลุ ล่ ว งตามเป้ า หมายซึ่ ง ผูบ้ ริหารสูงสุดและคณะกรรมการบริษทั จะต้องมีความไว้วางใจ ซึ่งกันและกันตลอดจนมีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะเสนอ ชื่อบุคคลที่ ได้รับการคัดเลือกต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาแต่งตั้งต่อไป กรณีผบ้ ู ริหารในตำ�แหน่งอืน่ ๆ กรรมการผูจ้ ดั การ จะเป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติเพื่อพิจารณาอนุมัติแต่งตั้ง
48
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
คุณสมบัติของกรรมการอิสระ
การสรรหาและแต่งตัง้ บุคคลเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการอิสระนั้น บุคคลดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติของ กรรมการอิสระตามทีบ่ ริษทั กำ�หนด และสอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิ ของนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ เข้มกว่าทีก่ �ำ หนด ในประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนและประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระ มีรายละเอียดดังนี้ คุณสมบัตเิ ฉพาะของกรรมการอิสระ จะต้องไม่มี ธุรกิจหรือการงานทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั อันอาจมีผลกระทบ ต่อการตัดสินใจโดยอิสระของตน โดยมีคุณสมบัติดังนี้ (1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุน้ ที่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งทั้ ง หมดของบริ ษั ท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิ ติ บุ ค คลที่ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง ทั้ ง นี้ ให้นับรวม การถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้อง ของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษา ที่ ไ ด้ เ งิ น เดื อ นประจำ � หรื อ ผู้ มี อำ � นาจ ควบคุมของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรื อ นิ ติ บุ ค คล ที่ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง เว้ น แต่ จ ะได้ พ้ น จากการมี ลั ก ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อน วันที่ยื่นขออนุญาต (3) ไม่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท าง สายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตาม กฎหมายในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้องและบุตร รวมทั้งคู่สมรส ของบุตรของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผูม้ อี �ำ นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็นผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ไม่เป็นผู้เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของ ผู้บริหารระดับสูงหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท
(4) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้ง ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรือ ผู้ บ ริ ห ารของผู้ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท าง ธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริ ษั ท ร่ ว ม หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการ มีลักษณะดังกล่าวมาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า ส อ ง ปี ก่ อ น วั น ที่ ยื่ น ข อ อ นุ ญ า ต ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึ ง การทำ � รายการทางการค้ า ที่ กระทำ � เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่ า หรื อ ให้ เ ช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรื อ การให้ ห รื อ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กย้ ู มื ค้�ำ ประกัน การให้สนิ ทรัพย์ เป็นหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึงพฤติการณ์อน่ ื ทำ�นองเดียวกัน ซึง่ เป็น ผลให้ผขู้ ออนุญาตหรือคูส่ ญั ญา มีภาระหนี้ ที่ ต้ อ งชำ � ระต่ อ อี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ตั้ ง แต่ ร้อยละสามของสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิของ ผูข้ ออนุญาตหรือตัง้ แต่ยส่ี บิ ล้านบาทขึน้ ไป แล้ ว แต่ จำ � นวนใดจะต่ำ � กว่ า ทั้ ง นี้ การคำ�นวณภาระหนีด้ งั กล่าวให้เป็นไปตาม วิ ธี ก ารคำ � นวณมู ล ค่ า ของรายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ กำ � กั บ ตลาดทุ นว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ ใ น การทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันโดยอนุโลม แต่ ใ นการพิ จารณาภาระหนี้ ดั ง กล่ า ว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง หนึง่ ปีกอ่ นวันทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจ กับบุคคลเดียวกัน (5)ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง และ ไม่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่ง
ไม่ ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือ หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่ จะได้ พ้ น จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า ว มาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า สองปี ก่ อ นวั น ที่ ยื่นขออนุญาต (6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ ใดๆ ซึ่ ง รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารเป็ น ที่ ปรึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการ เกินกว่าสองล้านบาท ต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริ ษั ท ร่ ว ม หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ความขัดแย้ง ทัง้ นี้ ในกรณีทผ่ี ใู้ ห้บริการ ทางวิชาชีพเป็นนิตบิ คุ คล ให้รวมถึงการเป็น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ กรรมการซึ่ ง ไม่ ใ ช่ กรรมการอิ ส ระ ผู้บริหารหรือหุ้นส่วน ผูจ้ ดั การของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า สองปี ก่ อ นวั น ที่ ยื่นขออนุญาต (7) ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็น ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั (8) ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ �ำ ให้ไม่สามารถให้ ความเห็ น อย่ า งเป็ น อิ ส ระเกี่ ย วกั บ การดำ�เนินงานของบริษทั ภายหลังได้รบั การแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มี ลักษณะดังกล่าวข้างต้นแล้ว กรรมการอิสระ อาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สินใจในการดำ�เนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อย ลำ � ดั บ เดี ย วกั น หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่อาจ มีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบ ขององค์คณะ (Collective Decision) ได้
รายงานประจำ�ปี 2559
49
6. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการ 6 ท่าน ดังนี้ 1. กรรมการผู้จัดการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการจากธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. รองกรรมการผู้จัดการ ทุกกลุ่ม กรรมการบริหารความเสี่ยง 3. ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง 4. ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการจากบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 5. กรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานธุรกิจและการตลาด กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการจากบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด 6. ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง ผูอ้ �ำ นวยการอาวุโสฝ่ายบริหารความเสีย่ ง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เลขานุการ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้
50
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
1) ก�ำ หนดนโยบายและแนวทางการบริหาร ความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่ อ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ห าร/ คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาใน เรื่องของการบริหารความเสี่ยงโดยรวม ซึง่ ต้องครอบคลุมถึงความเสีย่ งประเภท ต่ า งๆ ที่ สำ � คั ญ เช่ น ความเสี่ ย ง ด้ า นเครดิ ต ความเสี่ ย งด้ า นตลาด ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยง ด้ า นปฏิ บั ติ ก ารและความเสี่ ย งที่ มี ผลกระทบต่ อ ชื่ อ เสี ย งของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิน เป็นต้น 2) วางกลยุ ท ธ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบาย การบริหารความเสีย่ ง โดยสามารถประเมิน ติดตามและดูแลปริมาณความเสีย่ งของ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่เหมาะสม 3) ทบทวนความเพียงพอของนโยบายและ ระบบการบริหารความเสีย่ ง โดยรวมถึง ความมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของระบบและ การปฏิบัติตามนโยบายที่กำ�หนด 4) ควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล การบริหารความเสีย่ ง และดูแลให้บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ดำ�เนินการตาม นโยบายการบริหารความเสี่ยงที่บริษัท กำ � หนดและปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด 5) รายงานต่อคณะกรรมการต่างๆ อย่างน้อย ปีละครั้ง หรือเมื่อมีการเปลีย่ นแปลงของ ปัจจัยความเสีย่ งต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อ การบริหารความเสีย่ งอย่างมีนยั สำ�คัญใน เรือ่ งสถานะความเสีย่ งและการเปลีย่ นแปลง ต่ า งๆ ที่ มี ผ ลต่ อ ระดั บ ความเสี่ ย ง ที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) เพื่อสร้าง ความมัน่ ใจว่าคณะกรรมการต่างๆ ได้รบั ทราบและตระหนักถึงปัจจัยต่างๆ ทีอ่ าจ ส่ ง ผลกระทบอย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ต่ อ ฐานะความเสีย่ งของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน
การประชุมคณะกรรมการบริษัท ในปี 2559 มีการประชุมของคณะกรรมการบริษทั บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด และคณะกรรมการชุดย่อย โดยมีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุม (มหาชน) จัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการบริษทั อย่างสม่�ำ เสมอ ของกรรมการแต่ละท่าน ประกอบด้วย จำ�นวนครัง้ ของการ โดยมีการกำ�หนดวาระชัดเจนล่วงหน้าและมีวาระการ ประชุ ม และจำ � นวนครั้ง ที่กรรมการแต่ ล ะท่ า นได้ เ ข้ า ประชุมที่สำ�คัญ เช่น การพิจารณางบการเงินของบริษทั ใน ร่วมประชุม สรุปดังตารางด้านล่างนี้ แต่ละไตรมาส การติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัท การติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัทในกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิน ซึ่งบริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อม ระเบียบวาระการประชุมและเอกสารก่อนการประชุม ล่วงหน้าเพือ่ ให้กรรมการมีเวลาในการพิจารณาศึกษาข้อมูล และมีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและ จั ด เก็ บ รายงานการประชุ ม ที่ ผ่ า นการรั บ รองจาก คณะกรรมการบริษัทเพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ ตารางแสดงการเข้าร่วมประชุมของกรรมการ ประจำ�ปี 2559 จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม รายนามกรรมการ
จำ�นวนการประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ 5. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี 6. นายคุณวุฒ ิ ธรรมพรหมกุล 7. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ 8. นางสุวรรณา พุทธประสาท 9. นางศศิธร พงศธร 10. นางสุธารทิพย์ พิสิฐบัณฑูรย์/1 11. นายธานี ผลาวงศ์/2 12. นายกานต์ อรรถธรรมสุนทร/3 13. นางระวีวรรณ วัธนานุกิจ/4
หมายเหตุ
คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท บริหาร ตรวจสอบ บรรษัทภิบาล
15 14 15 15 15 14 14 14 13 15 -
24 24 19 24 23 -
12 12 12 12 -
2 2 2 2 -
คณะกรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและ บริหาร กำ�หนด ความเสี่ยง ค่าตอบแทน
1 1 1 1 -
4 4 4 4 -
/1
รองกรรมการผู้จัดการ กลุ่มสินเชื่อ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) /3 กรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานธุรกิจและการตลาด บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยง ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 และไม่มีการจัดประชุม /4 ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เข้าดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 และไม่มีการจัดประชุม /2
รายงานประจำ�ปี 2559
51
7. คณะผู้บริหาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีผู้บริหารจำ�นวน 1 ท่าน ดังนี้ รายชื่อผู้บริหาร
ตำ�แหน่ง ในบริษัท
1. นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง
หมายเหตุ
บริษัท บริษัทย่อย/1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3 บริษัทย่อย/4
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/1
กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง
ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/2
ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/3
กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร
ตำ�แหน่ง ที่ได้รับมอบหมาย ในบริษัทย่อย/4
กรรมการ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด
7) ดูแลให้มีการกำ�กับกิจการที่ดี ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของ 8) ด�ำ เนินการเรือ่ งอืน่ ใดทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก กรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการ 1) ด�ำ เนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตามนโยบาย ชุดย่อยทีแ่ ต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั กลยุทธ์ และเป้าหมายทีค่ ณะกรรมการ ทัง้ นี้ ในกรณีทกี่ รรมการผูจ้ ดั การหรือบุคคล กำ�หนดไว้ 2) ตดิ ตามและรายงานสภาวะฐานะของบริษทั ที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้ง เสนอแนะทางเลื อ กและกลยุ ท ธ์ ที่ ทางผลประโยชน์ กรรมการผูจ้ ดั การไม่มอี �ำ นาจอนุมตั ดิ �ำ เนินการ สอดคล้องกับนโยบายและสภาพตลาด ดั ง กล่ า วกั บ บริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ตามที่ สำ � นั ก งาน 3) พิจารณาและกลั่นกรองการดำ�เนินงาน คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ทางธุรกิจ รวมทัง้ มีอ�ำ นาจในการดำ�เนิน และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด ธุรกิจใดๆ เพือ่ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 8. เลขานุการบริษัท และนโยบาย 4) ดแู ลและควบคุมการปฏิบตั งิ านด้านต่างๆ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ไ ด้ แ ต่ ง ตั้ ง ของบริษัท อาทิ การเงิน การบริหาร ความเสี่ย ง การควบคุ ม ภายในงาน นายวิเชียร อมรพูนชัย ผู้ช่วยสายงาน สำ�นักกรรมการ ด้านปฏิบัติการและงานด้านสนับสนุน ผู้จัดการ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2552 ต่างๆ และงานทรัพยากร 5) เป็ น ตั ว แทนบริ ษั ท ตลอดจนมี อำ � นาจ เพือ่ ทำ�หน้าทีเ่ ลขานุการบริษทั ตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด โดย มอบหมายในการติดต่อกับหน่วยงาน คณะกรรมการบริษทั ได้สง่ เสริมและสนับสนุนให้เลขานุการ บริษัทได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง ราชการและหน่วยกำ�กับดูแลอื่นๆ 6) ดู แ ลให้ ก ารสื่ อ ความกั บ สาธารณชน ทั้ ง ด้ า นกฎหมาย การบั ญ ชี หรื อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า และพนักงาน เพื่อเสริม เลขานุการบริษัท ชื่อเสียงและภาพพจน์ที่ดีของบริษัท
52
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของเลขานุการบริษทั 1. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสาร ดังต่อไปนี้ 1.1 ทะเบียนกรรมการ 1.2 หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจำ�ปีของบริษัท 1.3 หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็ บ รั ก ษารายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร 2.1 กรรมการและผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ “ ร า ย ง า น กา ร มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ” (หมายถึง กรรมการ และผู้บริหาร มีหน้าที่รายงานการมีส่วนได้เสีย ของตนและผูเ้ กีย่ วข้องให้บริษทั ทราบ) 2.2 เลขานุ ก ารบริ ษั ท จั ด ส่ ง สำ � เนา รายงานให้ประธานกรรมการและ ประธานกรรมการตรวจสอบ ทราบภายในเจ็ดวันทำ�การนับแต่ วันที่ได้รับรายงานนั้น 2.3 จัดให้มีระบบการเก็บรักษาเอกสาร และหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้อง และครบถ้วน และสามารถตรวจสอบ ได้ ภายในระยะเวลาไม่ น้ อ ยกว่ า ห้าปีนบั แต่วนั ทีม่ กี ารจัดทำ�เอกสาร หรือข้อมูลดังกล่าว 3. ดำ�เนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด 9. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร นโยบายกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการและ ผู้บริหาร การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัท กำ�หนดโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งผ่านการพิจารณาและ นำ�เสนอโดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนดังกล่าวจะต้องมีจำ�นวนและส่วนประกอบที่ สามารถดึงดูดกรรมการทีม่ คี วามสามารถและมีความสำ�คัญ ต่อการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการได้ และจะหลีกเลีย่ ง การจ่ายค่าตอบแทนทีม่ ากเกินความจำ�เป็น ในการกำ�หนด
ค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการจะพิจารณาตามหลักปฎิบัติ โดยทั่วไปในอุตสาหกรรม ซึ่งพิจารณาจากประสบการณ์ ทำ�งาน ความรู้ ความสามารถ ความตัง้ ใจและทุม่ เท รวมทัง้ คุณประโยชน์ตา่ งๆ ทีก่ รรมการแต่ละคนสามารถทำ�ให้กบั บริ ษั ท ได้ แ ละเปรี ย บเที ย บกั บ บริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทีอ่ ยู่ในอุตสาหกรรมและ ธุรกิจที่มีข นาดใกล้เคียงกัน รวมถึงได้เทียบเคียงกับ ค่าเฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียน จากรายงานผลสำ�รวจ อัตราค่าตอบแทนกรรมการบริษทั จดทะเบียนของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การกำ � หนดค่ า ตอบแทนจะต้ อ งได้ รั บ การอนุมตั ติ ามลำ�ดับอำ�นาจ เพือ่ หลีกเลีย่ งความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์และเพื่อความโปร่งใส เช่น ผู้ถือหุ้นอนุมัติ ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมี คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทนเป็ น ผู้พิจารณาความเหมาะสม ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทกำ�หนดโดย ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในรูปของตัวเงิน ได้แก่ ค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุม นอกจากนี้ ได้ผ่านการพิจารณาให้ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท โดยการนำ�เสนอ จากคณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน ซึง่ ค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการจะกำ�หนดไว้อย่างชัดเจน และโปร่งใสตามหลักปฏิบัติโดยทั่วไปในอุตสาหกรรม โดยพิจารณาจากประสบการณ์ท�ำ งาน ความรู้ ความสามารถ สอดคล้องกับบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ ในการกำ � กั บ การทำ � งานของบริ ษั ท และคำ � นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น ค่าตอบแทนกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2559 มี ม ติ อ นุ มั ติ กำ � หนดค่ าตอบแทนรายเดื อ นและค่ า เบี้ ย ประชุมกรรมการ ดังนี้
รายงานประจำ�ปี 2559
53
ตารางแสดงอัตราค่าตอบแทนกรรมการ ประจำ�ปี 2559 และ 2558 ตำ�แหน่ง
ค่าตอบแทน กรรมการ (ต่อเดือน)
2559 ประธาน 60,000 กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 40,000 กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 40,000
ค่าเบี้ยประชุม (ต่อครั้ง)
คณะกรรมการ คณะกรรมการ สรรหาและกำ �หนด บรรษัทภิบาล ค่าตอบแทน 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 2559 2558 60,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 40,000 25,000 25,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 40,000 คณะกรรมการ บริษัท
คณะกรรมการ บริหาร
ค่าบำ�เหน็จกรรมการ ค่าบำ�เหน็จกรรมการบริษัท กำ�หนดโดย ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในรูปของตัวเงิน ซึง่ ได้ผา่ นการพิจารณาให้ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท โดยการนำ�เสนอ จากคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และ ในปี 2559 ได้ก�ำ หนดค่าบำ�เหน็จ รวมทัง้ สิน้ 5.0 ล้านบาท ค่าตอบแทนผู้บริหาร - ไม่มี ค่าตอบแทนอื่น ค่าตอบแทนอืน่ หรือ ผลประโยชน์ตอบแทนอืน่ หมายถึง หุ้น หุ้นกู้ รวมทั้งสิทธิประโยชน์อื่นๆ ทั้งที่
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน นอกเหนือจากผลประโยชน์ ที่พึงได้รับตามปกติ ซึ่งได้แก่ เงินเดือน เบี้ยประชุม ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ - ไม่มี ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร - ไม่มี ค่าตอบแทนกรรมการและค่าบำ�เหน็จกรรมการ ในปี 2559 บริ ษั ท ได้ จ่ า ยค่ า ตอบแทน กรรมการ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ค่ า ตอบแทนรายเดื อ น ค่าเบีย้ ประชุม และ ค่าบำ�เหน็จ รวมทัง้ สิน้ 14,770,000 บาท ดังตารางด้านล่างนี้
ตารางแสดงค่าตอบแทน และค่าบำ�เหน็จของกรรมการบริษัท ประจำ�ปี 2559 และ 2558 2559 รายนามกรรมการ
วันที่เริ่มเป็น กรรมการบริษัท
1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ 5. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี 6. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ 7. นางสุวรรณา พุทธประสาท 8. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 9. นางศศิธร พงศธร รวม
22 เม.ย. 2552 22 เม.ย. 2552 22 เม.ย. 2552 22 เม.ย. 2552 9 ต.ค. 2557 3 พ.ค. 2554 3 พ.ค. 2554 14 ส.ค. 2556 22 เม.ย. 2552
หมายเหตุ
54
/1
ค่าตอบแทน/ เบี้ยประชุม/ ค่าบำ�เหน็จ (บาท) 1,899,473.68 2,046,315.79 1,716,315.79 1,656,315.79 1,611,315.79 1,791,315.79 1,306,315.79 1,736,315.79 1,006,315.79 14,770,000.00
2558
โบนัส (บาท)
ผลประโยชน์ ตอบแทนอื่น/1 (บาท)
-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-
ค่าตอบแทน/ เบี้ยประชุม/ ค่าบำ�เหน็จ (บาท) 1,080,000 1,500,000 1,115,000 1,110,000 1,060,000 1,240,000 780,000 1,080,000 480,000 9,445,000
ผลประโยชน์ตอบแทนอื่น หมายถึง หุ้น หุ้นกู้ รวมทั้งสิทธิประโยชน์อื่นๆ ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน นอกเหนือจากผลประโยชน์ที่พึงได้รับตามปกติ ซึ่งได้แก่ เงินเดือน เบี้ยประชุม
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ผลประโยชน์ โบนัส ตอบแทนอื ่น/1 (บาท) (บาท) -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-
รายงานประจำ�ปี 2559
55
บริษัทย่อย/1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3
8. นางสุวรรณา พุทธประสาท 9. นางศศิธร พงศธร
หมายเหตุ บริษัท
ประธานกรรมการ
ตำ�แหน่ง
-ไม่มี-
-ไม่มี-
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
2,700,066 หุ้น ร้อยละ 0.020 ถือโดย คู่สมรส กรรมการ -ไม่มีกรรมการบริหาร 1,356,522 หุ้น กรรมการผู้จัดการ ร้อยละ 0.010 ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง (เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 11.50)
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ 5. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล 6. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการบริหาร กรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 7. นายคุณวุฒ ิ ธรรมพรหมกุล กรรมการบริหาร
2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล
1. นายอนันต์ อัศวโภคิน
รายนามกรรมการ
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
2,700,066 หุ้น ร้อยละ 0.020 ถือโดย คู่สมรส -ไม่มี1,216,592 หุ้น ร้อยละ 0.009
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
-ไม่มี-
31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนการถือหลักทรัพย์ จำ�นวนการถือหลักทรัพย์ /1 /2 /3 บริษัท บริษัทย่อย/1 บริษัทย่อย/2 บริษัทย่อย/3 บริษัท บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย 4,634,761,967 หุ้น -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี4,634,761,967 หุ้น -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มีร้อยละ 33.982 ร้อยละ 33.982 ถือโดย บมจ. ถือโดย บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี5,606,797 หุ้น -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี6,606,797 หุ้น -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มีร้อยละ 0.041 ร้อยละ 0.048 (ลดลง ร้อยละ 15.14) -ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-
ตารางแสดงจำ�นวนและสัดส่วนการถือหุน้ ของกรรมการบริษทั ทีถ่ อื ในบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 31 ธันวาคม 2558
ปัจจัยความเสี่ยง บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้งและเป็นบริษัทแม่ของกลุ่ม ธุรกิจทางการเงินประกอบธุรกิจโดยการเข้าถือหุ้นใน บริษัทอื่น โดยไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง (Non-operating Holding Company) แต่จะเข้าถือหุ้น ในบริษัทอื่นเพื่อ การมีอำ�นาจควบคุมกิจการ บริษัทจัดตั้งขึ้นตามประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทยที่กำ�หนดให้สถาบันการเงิน ปรับโครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจทางการเงินของ ตนเองให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม การประกอบธุรกิจของบริษัทแบ่งตามลักษณะ การประกอบธุรกิจของบริษัทย่อย ซึ่งแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ประเภทธุรกิจ ได้แก่ 1. ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2. ธุรกิจหลักทรัพย์จดั การกองทุน ได้แก่ บริษทั หลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด 3. ธุรกิจหลักทรัพย์ ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ การกำ�หนดกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ในอนาคต โดยคำ�นึงถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 4. ธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน ได้แก่ บริษัท ดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ดังนี้ 1. นโยบายการบริหารความเสีย่ งของกลุม่ ธุรกิจ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด ทางการเงิน มีวตั ถุประสงค์เพือ่ กำ�หนดมาตรฐานในการระบุ ประเมิน ควบคุม ติดตาม และรายงานความเสีย่ งทีส่ �ำ คัญ ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหาร ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เพือ่ เป็นการสร้างกระบวนการ ความเสีย่ งและการควบคุมความเสีย่ งอย่างเป็นระบบและ บริหารความเสี่ยง ที่เป็นระเบียบแบบแผนและเหมาะสม มีประสิทธิภาพ บริษัทได้กำ�หนดโครงสร้างและกำ�หนด กั บ ความเสี่ ย งในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของแต่ ล ะบริ ษั ท ใน นโยบายการบริหารความเสีย่ งเป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่าง กลุ่มธุรกิจทางการเงิน 2. นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งในการทำ � ชัดเจน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและบริหารจัดการ ความเสี่ยงรวมถึงกำ�หนดแนวปฏิบัติที่สอดคล้องตาม ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เป็นแนวทางการ กำ�กับดูแลการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน กฎเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงินมี ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มีการควบคุมภายใน นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการบริหารความเสี่ยง มีวัตถุประสงค์ ที่เพียงพอ ซึ่งได้ให้บริษัทภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อใช้กำ�กับดูแลการทำ�ธุรกรรมภายในและภายนอก รายงานการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ให้ มี ค วามเสี่ ย งอยู่ ใ นระดั บ ที่ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้ ยอมรับได้ มีการควบคุมภายในที่ดีและมีประสิทธิภาพ รับทราบระดับความเสีย่ งทีก่ ลุม่ ธุรกิจทางการเงินเผชิญอยู่ โดยการทำ � ธุ ร กรรมจะมี กระบวนการวิ เ คราะห์ ปั จ จั ย และเพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ การดำ�เนินธุรกิจอยูภ่ ายใต้ขอบเขต ความเสี่ยงด้านต่างๆ เพือ่ บริหารความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ความเสี่ยงที่กำ�หนดไว้ อย่างเพียงพอและเหมาะสม มีการทบทวนนโยบายอย่างสม่�ำ เสมอ ให้ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆ และมี
56
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
3. นโยบายการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เป็นมาตรฐานขั้นต่ำ�ที่บริษัท และบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินต้องมีความพร้อม ในการตอบสนองต่ อ เหตุ การณ์ วิ ก ฤตที่ อาจก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ทรั พ ยากรบุ ค คล สิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ ความปลอดภั ย ของสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจ ว่าบริษัทและบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินสามารถ บริหารจัดการเหตุการณ์วิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง สามารถจำ�กัดผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ต่อธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ หรือบริการอันเนื่องมาจากการหยุดชะงักของธุรกิจ 4. นโยบายการเปิดเผยข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุน ของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น เป็ น การเปิ ด เผยข้ อ มู ล การดำ�รงเงินกองทุนและการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ เงินกองทุน ระดับความเสีย่ ง กระบวนการประเมินความเสีย่ ง และความเพียงพอของเงินกองทุน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและ ผู้ที่มีส่วนได้เสียใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการ ทำ�ธุรกรรมทางการเงินกับบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน
โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง
กลุม่ ธุรกิจทางการเงินได้ก�ำ หนดโครงสร้างองค์กร ให้สามารถบริหารจัดการความเสีย่ งทีส่ อดคล้องกับระดับ ความเสีย่ ง ทีย่ อมรับได้และสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีและการควบคุมภายในที่ดี ดังนี้
1. คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีก่ �ำ หนดนโยบาย และแผนกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน และกำ�หนดนโยบายการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ รวมถึงการ ทำ�ธุรกรรมภายในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน การบริหารความ ต่อเนื่องทางธุรกิจของกลุ่มธุรกิจทางการเงินและกำ�หนด ให้มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอเหมาะสม ดูแล ให้บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินปฏิบัติตามนโยบาย การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลการทำ�ธุรกรรม ภายในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด 2. คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่เสนอนโยบาย และแผนกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจต่อคณะกรรมการบริษทั ดูแลการปฎิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน ประเมินผล การปฏิบัติงาน รวมทั้งวิเคราะห์เพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และ แนวทางแก้ไข 3. คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่สอบทาน ให้ ก ลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น มี ก ารรายงานทางการเงิ น ทีค่ รบถ้วนเพียงพอและเปิดเผยข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และสอดคล้องตามกฎระเบียบ ของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย รวมถึ ง สอบทานให้ กลุม่ ธุรกิจทางการเงินมีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม มีการกำ�กับดูแลและติดตามการปฏิบัติตามแนวนโยบาย ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน 4. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีหน้าที่กำ�หนด นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี นโยบายป้องกันการจ่ายเงิน เพื่อการคอร์รัปชั่น และดูแลให้มีการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกล่าว เป็นตัวแทนบริษทั ในการสือ่ สารและดำ�เนินกิจกรรม ด้านบรรษัทภิบาล 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่ ควบคุ ม ติ ด ตาม และดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงินดำ�เนินการตามนโยบายการบริหารความเสีย่ งทีไ่ ด้ กำ�หนดไว้ รวมถึงประเมินผลการบริหารความเสี่ยงของ กลุม่ ธุรกิจทางการเงินและรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั 6. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าที่คัดเลือกกรรมการ หรือผู้บริหารระดับสูง เสนอ แนวทางการจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อ่นื ใดของ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย พิจารณา กรอบโครงสร้างค่าตอบแทน การขึ้นเงินเดือนและโบนัส ประจำ�ปีของผู้บริหารระดับสูงและพนักงาน พิจารณา นโยบาย แนวทางและวิธีการจัดทำ�แผนสืบทอดตำ�แหน่ง ผู้บริหารเพื่อความต่อเนื่องในการบริหาร รายงานประจำ�ปี 2559
57
• การรายงานการถื อ หุ้ น ต่ อ ธนาคาร ความเสี่ยงของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป แห่งประเทศไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัทจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถือหุ้นใน บริษทั อืน่ และไม่ได้ท�ำ ธุรกิจของตนเอง ดังนัน้ ความเสีย่ ง ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับบริษทั สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. ความเสีย่ งจากการประกอบธุรกิจของบริษทั 2. ความเสี่ ย งจากการประกอบธุ ร กิ จ ของ บริษัทย่อยของบริษัท ได้แก่ 2.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2.2 บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 2.3 บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด
1. ความเสีย่ งจากการประกอบธุรกิจของบริษทั
เนื่องจากบริษัทมีวัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งเพื่อ ลงทุนในกิจการอื่นและไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง ดังนั้น การตัดสินใจลงทุนในกิจการต่างๆ จึงมีความสำ�คัญต่อ ผลการดำ�เนินงานของบริษัท บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการเลื อ ก บริษัทที่จะลงทุนในอนาคต โดยเน้นลงทุนในธุรกิจที่ช่วย เสริมศักยภาพ ในการแข่งขันให้กบั กลุม่ ธุรกิจทางการเงิน โดยพิจารณาจากแนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรม การแข่ ง ขั น และศั ก ยภาพในการทำ � กำ � ไรระยะยาว รวมถึงความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง 1.1 ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคา ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคา คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบีย้ และราคาของหลักทรัพย์ ซึง่ จะมีผลทำ�ให้เกิดความผันผวนต่อ รายได้ของบริษทั หรือการเเปลีย่ นแปลง ในมูลค่าปัจจุบนั ของ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินของบริษัท 1.2 ความเสี่ยงจากการถือหุ้นของผู้ลงทุน ในหลักทรัพย์ของบริษัท ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ต้องปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ การถือหุ้น ซึ่งอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบัน การเงิน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีสาระสำ�คัญ ดังนี้
58
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ผู้ ท่ี ถื อ หุ้ น หรื อ มี ไ ว้ ซ่ึ ง หุ้ น ของสถาบั น การเงินทั้งทางตรงหรือทางอ้อมตั้งแต่ร้อยละห้าขึ้นไป ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดต้องรายงาน การถือหุน้ ต่อธนาคารแห่งประเทศไทย (อ้างอิงตามมาตรา 17) • การห้ า มหรื อ จำ � กั ด ปริ ม าณการ ถือครองหุ้น ห้ า มบุ ค คลใดถื อ หุ้ น หรื อ มี ไ ว้ ซึ่ ง หุ้ น ของ สถาบันการเงินแห่งใดแห่งหนึ่งเกินร้อยละสิบของจำ�นวน หุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย (อ้างอิงตามมาตรา 18) • การนำ�หุ้นส่วนเกินออกจำ�หน่ายหรือ การขายทอดตลาด บุ ค คลที่ ถื อ หุ้ น หรื อ มี ไ ว้ ซึ่ ง หุ้ น เกิ น กว่ า ที่ กำ�หนดตามมาตรา 18 ต้องนำ�หุ้นในส่วนที่เกินออกมา จำ�หน่ายภายในเก้าสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั หุน้ นัน้ มา หาก ผูถ้ อื หุน้ ไม่จ�ำ หน่ายหุน้ ในส่วนทีเ่ กินภายในเวลาทีก่ �ำ หนด หรือตามเวลาทีไ่ ด้รบั การผ่อนผัน ธนาคารแห่งประเทศไทย อาจร้องขอต่อศาลให้มคี �ำ สัง่ ให้ขายทอดตลาดหรือขายโดย วิธีอื่นก็ได้ (อ้างอิงตามมาตรา 19) 1.3 ความเสี่ยงจากความไม่เพียงพอของ เงินกองทุน การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแล เงินกองทุนภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ตามหลักการของ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) ซึ่งครอบคลุมเรื่องการดำ�รงเงินกองทุนและการบริหาร ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องสำ�หรับกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพือ่ กำ�กับดูแลทัง้ ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยกำ�หนด ให้กลุ่มธุรกิจทางการเงินต้องดำ�รงเงินกองทุนเพิ่มขึ้นให้ เพียงพอรองรับความเสียหายทีอ่ าจเพิม่ ขึน้ ทัง้ ในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต อีกทั้งเป็นการเพิ่มความแข็งแกร่งของ ฐานเงินกองทุนและกำ�หนดกรอบในการบริหารความเสีย่ ง ด้านสภาพคล่องให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การกำ�กับดูแลเงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ Basel III ได้ก�ำ หนดให้กลุม่ ธุรกิจทางการเงินดำ�รงอัตราส่วน เงินกองทุนทัง้ สิน้ ต่อสินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ ไม่ต�ำ่ กว่าร้อยละ 8.5 แบ่งเป็นอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง ทั้งสิ้นไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 6 และอัตราส่วนเงินกองทุน ชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 4.5
นอกจากนี้ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยได้ กำ�หนดให้กลุ่มธุรกิจทางการเงินดำ�รงเงินกองทุนส่วนเพิ่ม (Capital Buffer) เพื่อรองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤต (Conservation Buffer) เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ โดย กำ�หนดให้ดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วน ของเจ้าของเพิ่มเติมจากการดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุน ขัน้ ต่�ำ อีกเกินกว่าร้อยละ 2.5 ของสินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ โดย ให้ทยอยดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนส่วนเพิ่มอีกมากกว่า ร้อยละ 0.625 ในแต่ละปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559 จนครบมากกว่าร้อยละ 2.5 ในวันที่ 1 มกราคม 2562 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มธุรกิจ ทางการเงินมีอตั ราส่วนเงินกองทุนทัง้ สิน้ ต่อสินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ อยู่ท่ีร้อยละ 13.95 อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อ สินทรัพย์เสีย่ งอยูท่ รี่ อ้ ยละ 10.58 และอัตราส่วนเงินกองทุน ชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ ร้ อ ยละ 10.58 ซึ่ ง เป็ น อั ต ราส่ ว นที่ สู ง กว่ า อั ต ราส่ ว น เงินกองทุนขั้นต่ำ�ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด เงินกองทุนตามกฎหมายภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ทั้งสิ้น จำ�นวน 23,049.90 ล้านบาท แบ่งเป็น เงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ทีเ่ ป็นส่วนของเจ้าของจำ�นวน 17,485.88 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 75.86 ของเงินกองทุน ทัง้ สิน้ และมีเงินกองทุนชัน้ ที่ 2 จำ�นวน 5,564.02 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 24.14 ของเงินกองทุนทั้งสิ้น ซึ่งเป็น ระดับที่เพียงพอต่อการดำ�เนินธุรกิจและสามารถรองรับ การเติบโตภายใต้ภาวะปกติและภาวะวิกฤตได้ 1.4 ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานทางการ บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินมีหน้าทีป่ ฏิบตั ิ ตามนโยบาย กฎระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และหลั ก เกณฑ์ ต่างๆ ทีท่ างการกำ�หนด ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน และหน่วยงานทางการทีเ่ กีย่ วข้อง 1.5 ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ความเสีย่ งด้านชือ่ เสียง หมายถึง ความเสีย่ ง ที่ อ าจเกิ ด จากการที่ บ ริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ดำ�เนินธุรกิจ หรือการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎเกณฑ์ ของทางการโดยไม่เจตนา ซึง่ อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อชื่อเสียงของบริษัทและกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ตั้งแต่ การมีภาพลักษณ์ ในทางลบ การถูกเผยแพร่ในสื่อต่างๆ
ทั้งในวงจำ�กัดและวงกว้าง การถูกร้องเรียน การถูกฟ้อง ร้องดำ�เนินคดี หากปัญหาเกิดขึ้นกับบริษัทใดบริษัทหนึ่ง ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน อาจส่งผลกระทบไปยังบริษทั อืน่ ๆ ในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัทได้กำ�หนดกรอบการบริหารจัดการ ความเสีย่ งด้านชือ่ เสียง โดยกำ�หนดให้บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจ ทางการเงิน มีการรายงานสถานะความเสี่ยงหรือการ เปลี่ยนแปลงใดๆ ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านชื่อเสียง เพือ่ ให้มกี ารติดตามและจัดการความเสีย่ งได้อย่างทันกาล
2. ความเสี่ยงจากการประกอบกิจการของ บริษัทย่อยของบริษัท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีบริษัทย่อย 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ดังนั้น ผลการดำ�เนินงานของบริษัทจึงมี ความสัมพันธ์โดยตรงกับผลการดำ�เนินงานของบริษทั ย่อย แม้ว่าจะมีผลกำ�ไรจากการดำ�เนินงานในอดีตแต่บริษัท ไม่สามารถรับประกันได้ว่าบริษัทย่อยจะสามารถสร้าง กำ�ไรให้กับบริษัทได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผลประกอบ การขึ้นอยู่กับปัจจัยความเสี่ยงภายในกิจการและปัจจัย ความเสี่ยงภายนอกเป็นสำ�คัญ
2.1 ความเสีย่ งจากธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อย)
ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ วางกรอบและกลยุ ท ธ์ ใ นการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ มี การ เติบโตบนพื้นฐานการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ควบคู่กับการสร้างผลตอบแทนที่ยั่งยืน ธนาคารมีการ ควบคุมดูแลการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ มีการ กำ�หนดโครงสร้างและนโยบายการบริหารความเสี่ยงเป็น ลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน เพื่อวัตถุประสงค์หลักใน การป้องกันความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยข้อมูล ความเสีย่ งและความเพียงพอของเงินกองทุนต่อสาธารณะ ซึ่งเป็นไปตามหลักการและแนวปฏิบัติต ามกฎเกณฑ์ ภายใต้การกำ�กับของธนาคารแห่งประเทศไทย รายงานประจำ�ปี 2559
59
นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการบริหารความเสีย่ ง มีวตั ถุประสงค์ เพื่อใช้กำ�กับดูแลการทำ�ธุรกรรมของธนาคารและเป็น แนวทางในการบริหารความเสี่ยงต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ โดยการ ทำ�ธุรกรรมแต่ละประเภทจะมีกระบวนการวิเคราะห์เพื่อ บริหารความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยมีคณะกรรมการชุดต่างๆ ของธนาคารเป็นผูก้ �ำ กับดูแลให้หน่วยงานภายในธนาคาร ดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหาร ความเสี่ยง ดังนี้ 1. นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง ด้านเครดิต ธนาคารได้ก�ำ หนดนโยบายการบริหารความเสีย่ ง ด้ านเครดิ ต และหลักเกณฑ์การพิจารณาสิน เชื่อเพื่ อ ควบคุม ป้องกันและลดทอนความเสี่ยงอันอาจจะเกิด ขึ้นจากธุรกรรมการให้สินเชื่อ เพื่อให้เกิดความสมดุล ระหว่ า งความเสี่ ย งในการให้ สิ น เชื่ อ กั บ ผลตอบแทน ทีไ่ ด้รบั โดยกำ�หนดนโยบายให้มเี ป้าหมายและกระบวนการ ทีม่ คี วามเหมาะสมกับความเสีย่ งของสินเชือ่ แต่ละประเภท เพื่อกำ�หนดเป้าหมายที่ชัดเจนในการปฏิบัติงาน และมี ความยื ด หยุ่ น ในการปรั บ ปรุ ง นโยบายภายใต้ ร ะดั บ ความเสี่ยงต่างๆ ที่ยอมรับได้ 2. นโยบายการบริหารความเสีย่ งด้านตลาด และสภาพคล่อง เป็นแนวทางในการบริหารการลงทุนใน หลั ก ทรั พ ย์ และการบริหารสภาพคล่อ งให้เหมาะสม สามารถรองรับการจ่ายคืนหนี้สินและภาระผูกพันที่จะ ถึงกำ�หนดชำ�ระ การรักษาระดับรายได้จากดอกเบี้ยสุทธิ ให้ เ ป็ น ไปตามเป้ า หมาย รวมทั้ ง พั ฒ นากระบวนการ ในการบริหารความเสี่ยงและติดตามสถานะความเสี่ยง ด้านตลาดอย่างต่อเนือ่ ง การดูแลให้โครงสร้างสินทรัพย์และ หนี้สินมีความเหมาะสม มีแหล่งเงินทุนหรือสินทรัพย์ ที่ พ ร้ อ มจะเปลี่ ย นเป็ น เงิ น สดได้ เ พี ย งพอเพี่ อ รองรั บ ความเสี่ ย งในภาวะปกติ แ ละภาวะวิ ก ฤตภายใต้ ร ะดั บ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 3. นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง ด้านปฏิบัติการ ธนาคารได้กำ�หนดนโยบายการบริหาร ความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก ารที่ ค รอบคลุ ม การบริ ห าร ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้บริการจาก บุคคลภายนอก การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ การจัดทำ�แผน การดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง และการรายงานเหตุการณ์
60
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ความเสียหายจากการปฏิบตั งิ านซึง่ สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิ ของธนาคารแห่งประเทศไทย และ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) 4. นโยบายการประเมินความเสี่ยงและ ความเพียงพอของเงินกองทุนและนโยบายการทดสอบ ภาวะวิกฤต เป็นแนวทางเพื่อให้ธนาคารดูแลเงินกองทุน ให้เพียงพอที่จะรองรับความเสี่ยงทั้งในภาวะปกติและ ภาวะวิกฤต โดยนโยบายได้เน้นถึงขัน้ ตอน กระบวนการบริหาร ความเสีย่ งและการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน ทีเ่ ป็นระบบ เพือ่ รักษาระดับเงินกองทุนให้เพียงพอสำ�หรับ ปัจจุบันและอนาคต 5. นโยบายการเปิดเผยข้อมูลการดำ�รง เงินกองทุนและการบริหารความเสี่ยง เป็นแนวทางการ เปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับการดำ�รงเงินกองทุนและการบริหาร ความเสี่ยง ได้แก่ ข้อมูลโครงสร้างเงินกองทุนและความ เพียงพอของเงินกองทุน ตลอดจนกระบวนการบริหาร ความเสี่ยงด้านต่างๆ เพื่อให้นักลงทุน ผู้ถือหุ้นและผู้ที่ มีส่วนได้เสียได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน สามารถใช้ เป็นข้อมูลในการตัดสินใจทำ�ธุรกรรมกับธนาคาร โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง ธนาคารมีโครงสร้างองค์กรทีส่ ามารถบริหาร จัดการความเสีย่ งและสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีและการควบคุมภายในที่ดี ดังนี้ 1. คณะกรรมการธนาคาร มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ในการดูแลให้ฝา่ ยจัดการมีการกำ�หนดนโยบาย กระบวนการ และการควบคุมด้านการบริหารความเสี่ยงประเภทต่างๆ และอนุมตั นิ โยบายดังกล่าว รวมทัง้ ทบทวนกลยุทธ์ และ นโยบายอย่างสม่ำ�เสมอ 2. คณะกรรมการบริหาร มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ เสนอนโยบายและแผนกลยุ ท ธ์ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ต่ อ คณะกรรมการธนาคาร ดูแลการปฎิบตั งิ านให้เป็นไปตาม แผนงาน ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ วิเคราะห์เพือ่ หาข้อดี ข้อเสีย และแนวทางแก้ไข 3. คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ในการติดตามดูแลให้มนั่ ใจว่านโยบายและระบบการบริหาร ความเสี่ยงได้นำ�ไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลต่อองค์กร
4. คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีหน้าที่ รับผิดชอบกำ�หนดนโยบายและวางกลยุทธ์การบริหาร ความเสี่ยงซึ่งครอบคลุมความเสี่ยงประเภทต่างๆ ตาม ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด รวมทั้งมีการประเมิน ติดตามและดูแลการปฏิบัติตามนโยบาย 5. คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนีส้ นิ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการบริหารและเสนอแนะการบริหาร สภาพคล่อง ประเมิน ติดตาม และจัดทำ�แผนการบริหาร ความเสี่ ย งด้ า นตลาดและอั ต ราดอกเบี้ ย ความเสี่ ย ง ด้านสภาพคล่อง รวมถึงกำ�หนดแผนการลงทุนและดูแลให้มี การปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนงาน 6. คณะอนุ กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง ด้านปฏิบตั กิ าร มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการกำ�หนดนโยบาย การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการและนโยบายต่างๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ควบคุ ม ดู แ ลความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ การ การปฏิบตั ติ ามกรอบการบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร และแผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง รวมถึง พิจารณากำ�หนดแนวทางแก้ไขที่เหมาะสมกรณีพบข้อ บกพร่อง รายงานสถานะความเสี่ยง การเปลี่ยนแปลง สถานะความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก ารที่ มี นั ย สำ � คั ญ ต่ อ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง นอกจากนี้ ธนาคารได้จดั ให้มคี ณะกรรมการ ชุดต่างๆ เพือ่ กำ�กับดูแลและควบคุมความเสีย่ งเฉพาะด้าน เช่น คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการ สิ น เชื่ อ คณะกรรมการพั ฒ นาสิ น เชื่ อ เป็ น ต้ น โดยมี ฝ่ายบริหารความเสี่ยงเป็นหน่วยงานดูแลการบริหาร ความเสี่ยงในภาพรวมของธนาคารและรายงานตรงต่อ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และมีฝา่ ยตรวจสอบ ทำ�หน้าที่ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน การ สอบทานความถูกต้องเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน และการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของทางการ และ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ปัจจัยความเสี่ยง การดำ�เนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์มีความ เกี่ยวข้องโดยตรงต่อตลาดเงินและภาวะเศรษฐกิจทั้งใน ประเทศและต่างประเทศซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมในการดำ�เนินธุรกิจไม่วา่ จะเป็น เรื่องการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบของทางการ การปรับ ตัวของคู่แข่ง การชุมนุมทางการเมืองล้วนเป็นปัจจัยที่ ส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์เช่นกัน
การบริหารความเสีย่ งทีส่ อดคล้องกับแนวทาง ของธนาคารแห่งประเทศไทย แบ่งออกเป็น 5 ด้านหลักๆ คื อ ความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ ความเสี่ ย งด้ า นเครดิ ต ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องและ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ธนาคารมีนโยบายและกระบวนการปฏิบัติ ในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ หมายถึง ความเสีย่ ง อันเกิดจากการกำ�หนดแผนกลยุทธ์ ไม่เหมาะสมและการ ไม่สามารถปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ที่กำ�หนดไว้ รวมถึง ความไม่สอดคล้องระหว่างกลยุทธ์ นโยบาย เป้าหมาย โครงสร้างองค์กร การแข่งขัน และทรัพยากรขององค์กร อันเป็นผลมาจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ซึง่ อาจ ส่งผลกระทบต่อศักยภาพในการแข่งขัน รายได้ และ เงินกองทุนของธนาคาร 1.1 ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของ ภาวะเศรษฐกิจและการแข่งขัน ความไม่ แ น่ น อนของภาวะเศรษฐกิ จ อาจมีผลกระทบต่อการเติบโตของธุรกิจและคุณภาพสินเชือ่ ธนาคารจึ ง ได้ จั ด ทำ � แผนธุ ร กิ จ งบประมาณประจำ � ปี การทำ�ประมาณการเงินกองทุน โดยผูบ้ ริหารแต่ละหน่วยงาน มี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด ทำ � และแสดงความคิ ด เห็ น โดย แผนธุรกิจและงบประมาณ ได้น�ำ เสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร เพื่อพิจารณาอนุมัติ และมีการทบทวนทุกครึ่งปี เพื่อให้ สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมี คณะกรรมการบริหารเป็นผู้ติดตามผลการดำ�เนินงาน เปรียบเทียบกับแผนธุรกิจอย่างสม่ำ�เสมอ 1.2 ความเสี่ยงจากความไม่เพียงพอของ เงินกองทุน การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแล เงินกองทุนภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ตามหลักการ ของ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) ซึง่ ครอบคลุมเรือ่ งการดำ�รงเงินกองทุนและการบริหาร ความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง ที่กำ�กับดูแลทั้งในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพและกำ�หนดให้ธนาคารต้องดำ�รงเงินกองทุน เพิม่ ขึน้ ให้เพียงพอทีจ่ ะรองรับความเสียหายทีอ่ าจเพิม่ ขึน้ ทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต รวมทั้งเพื่อเพิ่มความ แข็งแกร่งของเงินกองทุน รายงานประจำ�ปี 2559
61
การกำ�กับดูแลเงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ Basel III ได้ก�ำ หนดให้ธนาคารต้องดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุน ทัง้ สิน้ ทัง้ สินต่อสินทรัพย์เสีย่ งทัง้ สิน้ ไม่ต�ำ่ กว่าร้อยละ 8.50 โดยแบ่งเป็นอัตราส่วนเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสีย่ ง ทั้งสิ้นไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 6.00 และอัตราส่วนเงินกองทุน ชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 4.50 นอกจากนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ กำ�หนดให้ธนาคารพาณิชย์ดำ�รงเงินกองทุนส่วนเพิ่ม (Capital Buffer) เพื่อรองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤต (Conservation Buffer) โดยกำ�หนดให้ธนาคารพาณิชย์ ดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ทีเ่ ป็นส่วนของเจ้าของ เพิ่ ม เติ ม จากการดำ � รงอั ต ราส่ ว นเงิ น กองทุ น ขั้ น ต่ำ � อีกเกินกว่าร้อยละ 2.5 ของสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น โดยให้ ทยอยดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนส่วนเพิ่มอีกมากกว่า ร้อยละ 0.625 ในแต่ละปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559 จนครบมากกว่าร้อยละ 2.5 ในวันที่ 1 มกราคม 2562 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ธนาคารดำ�รง อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 13.75 อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ ที่ร้อยละ 10.24 และอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็น ส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 10.24 ซึ่ง เป็นอัตราส่วนที่สูงกว่าอัตราส่วนเงินกองทุนขั้นต่ำ�ตามที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด ธนาคารมีเงินกองทุนตามกฎหมายภายใต้ หลักเกณฑ์ Basel III ทัง้ สิน้ จำ�นวน 22,330.75 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ทีเ่ ป็นส่วนของเจ้าของจำ�นวน 16,628.92 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 74.47 ของ เงินกองทุนทัง้ สิน้ และมีเงินกองทุนชัน้ ที่ 2 จำ�นวน 5,701.82 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 25.53 ของเงินกองทุนทัง้ สิน้ ซึ่งเป็นระดับที่เพียงพอต่อการดำ�เนินธุรกิจและสนับสนุน การเติ บ โตของธุ ร กิ จ ให้ เ ป็ น ไปตามเป้ า หมายภายใต้ ภาวะปกติและภาวะวิกฤตทีอ่ าจเกิดขึน้ จากความไม่แน่นอน ทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ธนาคารได้ มี ก ารประเมิ น ความเสีย่ งและความเพียงพอของเงินกองทุน (ICAAP) เพือ่ รองรับความเสีย่ งประเภทต่างๆ ตามหลักเกณฑ์การกำ�กับ ดูแลเงินกองทุนตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด ทำ�ให้มั่นใจว่าธนาคารสามารถบริหารจัดการเงินกองทุน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีฐานะเงินกองทุนที่แข็งแกร่ง
62
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
สามารถรองรับความเสี่ยงต่างๆ ได้ ทั้งในภาวะปกติและ ภาวะวิกฤต และมีเงินกองทุนทีเ่ พียงพอรองรับการขยายตัว ของธุรกิจ 2. ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสีย่ งด้านเครดิต หมายถึง ความเสีย่ ง ที่เกิดขึ้นจากการที่ลูกหนี้หรือคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติ ตามสัญญาในการชำ�ระหนี้คืน หรือความเสี่ยงที่เกิดจาก โอกาสที่ลูกหนี้หรือคู่ค้าอาจไม่สามารถชำ�ระหนี้คืนได้ จนเป็นเหตุให้ลูกหนี้ถูกปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือลง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อฐานะเงินกองทุนและรายได้ของ ธนาคาร โดยมีสาเหตุจากปัจจัยความเสี่ยงภายนอก เช่น การเปลีย่ นแปลงด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ เป็นต้น และจากปัจจัยความเสีย่ งภายใน เช่น การขาดการกำ�กับดูแลควบคุม การขาดการติดตามให้ ลูกหนีป้ ฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและสัญญา กระบวนการพิจารณา สินเชือ่ และการสอบทานสินเชือ่ ไม่มปี ระสิทธิภาพ เป็นต้น โดยธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงด้านเครดิต ได้แก่ ธุรกรรมการให้สินเชื่อและคล้ายการให้สินเชื่อ ธุรกรรม ที่คู่สัญญามีภาระที่ต้องส่งมอบสินทรัพย์หรือชำ�ระหนี้แก่ ธนาคาร ธุรกรรมที่เกี่ยวกับการลงทุนในตราสารหนี้ เครื่องมือบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารได้ พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการ กลัน่ กรองและแยกแยะระดับความเสีย่ งของลูกหนี้ ทัง้ กรณี ลู ก หนี้ เ ป็ น บุ ค คลธรรมดาหรื อ นิ ติ บุ ค คล เพื่ อ ช่ ว ยให้ การอนุมัติสินเชื่อน่าเชื่อถือและมีประสิทธิภาพ ดังนี้ • Credit Scoring Model เป็นเครื่องมือ แยกแยะและจัดระดับความเสี่ยงของ ลูกหนี้ที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งตัวแบบ ที่ใช้ประกอบการพิจารณาสินเชื่อได้รับ การพัฒนาด้วยข้อมูลพื้นฐานทางสถิติ ของลูกหนี้ของธนาคาร ประกอบกับใช้ ดุลยพินจิ ของผูเ้ ชีย่ วชาญ (Expert Base) • Credit Rating Model เป็นเครื่องมือ ที่ ช่ ว ยกลั่ น กรองและแยกแยะระดั บ ความเสี่ยงของลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคล ธนาคารตระหนั ก ถึ ง ระดั บ ความ แม่นยำ�และประสิทธิภาพของเครือ่ งมือ ดังกล่าวทีธ่ นาคารนำ�มาใช้ประกอบการ
พิจารณาอนุมัติสินเชื่อ โดยธนาคารมี การติดตามผลของการใช้ตัวแบบและ วิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้งานอย่าง สม่ำ � เสมอ รวมถึ ง พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง เครื่องมือวัดความเสี่ยงด้านเครดิตให้ สามารถสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ ธนาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านเครดิต
กระบวนการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง
ธนาคารมี ก ระบวนการบริ ห ารจั ด การ ความเสีย่ งด้านเครดิต โดยมีการตรวจสอบและถ่วงดุลอำ�นาจ ซึ่งกันและกัน มีการแบ่งแยกหน้าที่อย่างชัดเจนระหว่าง เจ้าหน้าทีก่ ารตลาด เจ้าหน้าทีพ่ จิ ารณาความเสีย่ งสินเชือ่ เจ้าหน้าทีป่ ระเมินราคาหลักประกันและเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร ในกระบวนการพิจารณาอนุมตั สิ นิ เชือ่ ธนาคารมีหน่วยงานที่ มีความเป็นอิสระ ได้แก่ สำ�นักพิจารณาความเสีย่ งสินเชือ่ ธุรกิจและสำ�นักพิจารณาความเสี่ยงสินเชื่อรายย่อย ซึ่ง มีหน้าที่ ให้ความเห็นเกี่ยวกับประเด็นความเสี่ยงที่อาจ เกิดขึน้ จากการให้สนิ เชือ่ ของลูกค้าแต่ละราย เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า สิ น เชื่ อ ที่ จ ะอนุ มั ติ ไ ด้ รั บ การพิ จารณากลั่ น กรองด้ ว ย ความระมัดระวัง รวมทั้งมีหน่วยงานสอบทานสินเชื่อที่มี ความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่สอบทานความถูกต้องของ สินเชื่อที่ผ่านการอนุมัติ มีการติดตามการปฏิบัติตาม เงื่อนไขสินเชื่อ การสร้างความเข้าใจ และอบรมเพื่อ เสริมความรู้ด้านสินเชื่อให้เจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทำ�การตลาดสินเชื่อให้ได้สินเชื่อที่มี คุณภาพ การบริหารพอร์ตสินเชื่อ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับคุณภาพลูกหนี้ ตามประเภทธุรกิจและสัดส่วนการกระจุกตัวของสินเชื่อ ดั ง นั้ น ธนาคารมี ก ารติ ด ตามการเปลี่ ย นแปลงของ พอร์ตสินเชือ่ ในมิตติ า่ งๆ อาทิ คุณภาพของพอร์ตสินเชือ่ แยกตามประเภทสินเชือ่ และประเภทธุรกิจ สัดส่วนยอดหนี้ ลูกหนี้รายใหญ่ 20 รายแรกต่อเงินกองทุนทั้งหมดของ ธนาคาร เพื่อให้ทราบถึงคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อและ แนวโน้มความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ความเสี่ยงด้านเครดิต ประกอบด้วย 2.1 ความเสีย่ งจากการด้อยคุณภาพของสินเชือ่ การเพิ่มขึ้นของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ เป็นความเสี่ยงที่สำ�คัญของธนาคาร ทำ�ให้ธนาคารต้อง กั น เงิ น สำ � รองสำ � หรั บ ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความสามารถในการทำ � กำ � ไรและ ความเพียงพอของเงินกองทุน อย่างไรก็ตาม ธนาคารได้ กำ�หนดกระบวนการควบคุมสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ โดยเน้นเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารสินเชื่อ ตั้งแต่ กระบวนการพิจารณาอนุมตั สิ นิ เชือ่ ทีม่ คี วามเข้มงวด เช่น การกำ � หนดหลั ก เกณฑ์ การพิ จารณาสิ น เชื่ อ รายย่ อ ย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการพิจารณาสินเชื่อและหลีกเลี่ยง การใช้ดลุ ยพินจิ ของผูป้ ฏิบตั งิ าน การกำ�หนดเงินดาวน์ขน้ั ต่�ำ ของสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยสำ�หรับลูกค้าที่มีความเสี่ยงสูง การกำ�หนดมาตรฐานขั้นต่ำ�เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้กู้ใน แต่ละด้าน นอกจากนี้ ธนาคารได้ปรับปรุงและพัฒนา เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการกลั่ น กรองและแยกแยะระดั บ ความเสีย่ งของลูกหนี้ เพือ่ ช่วยลดความเสีย่ งจากกระบวนการ อนุมัติสินเชื่อ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการจัดการหนี้ ทีเ่ ริม่ จะมีปญั หา หรือหนีท้ มี่ ปี ญั หา โดยจัดให้มหี น่วยงาน ที่ทำ�หน้าที่ติดตามหนี้โดยเฉพาะ 2.2 ความเสีย่ งจากการกระจุกตัวของสินเชือ่ ธนาคารตระหนั ก ถึ ง ความเสี่ ย งจากการ กระจุกตัวของสินเชื่อในหลายมิติทั้งเรื่องการกระจุกตัว ของลูกหนีร้ ายใหญ่ และการกระจุกตัวของลูกหนี้ในแต่ละ ภาคธุรกิจ ธนาคารได้ก�ำ หนดเพดานความเสีย่ งและระดับ การแจ้งเตือน เพื่อควบคุมไม่ให้เกิดการกระจุกตัวของ สินเชื่ออย่างมีนัยสำ�คัญ และรายงานให้คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงรับทราบอย่างสม่ำ�เสมอ 2.3 ความเสี่ยงจากการด้อยค่าของมูลค่า หลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์ เงินให้สินเชื่อของธนาคาร ส่วนใหญ่เป็น เงินให้สนิ เชือ่ ทีม่ หี ลักประกัน คิดเป็นร้อยละ 53.22 ของเงินให้ สินเชื่อทั้งสิ้น โดยมีหลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์ คิดเป็นร้อยละ 92.09 ของหลักประกันทั้งสิ้น ซึ่งเมื่อเกิด เหตุการณ์ที่ทำ�ให้ตลาดอสังหาริมทรัพย์ซบเซาอาจทำ�ให้ มีความเสี่ยงจากการที่อสังหาริมทรัพย์ท่ีเป็นหลักประกัน มีมลู ค่าลดลง ธนาคารจึงมีการบริหารความเสีย่ งจากการ ด้อยค่าของมูลค่าหลักประกัน โดยการกำ�หนดนโยบาย เกี่ยวกับการประเมินราคาหลักประกัน ซึ่งกำ�หนดให้มี รายงานประจำ�ปี 2559
63
การทบทวนราคาประเมินหลักประกันเป็นประจำ�ตามระยะ เวลาของการจัดชั้นสินทรัพย์ ได้แก่ สินทรัพย์จัดชั้นปกติ สินทรัพย์จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ สินทรัพย์จัดชั้นต่ำ� กว่ามาตรฐาน สินทรัพย์จดั ชัน้ สงสัย และสินทรัพย์จดั ชัน้ สงสัยจะสูญ รวมทัง้ ทบทวนราคาประเมินอสังหาริมทรัพย์ ทีไ่ ด้มาจากการชำ�ระหนี้หรือซื้อจากการขายทอดตลาด โดยระยะเวลาการทบทวนราคาจะเป็นไปตามประกาศธนาคาร แห่งประเทศไทย ทั้งนี้เพื่อสะท้อนมูลค่าที่แท้จริงของ หลักประกันตามสภาวะปัจจุบัน 3. ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสีย่ งด้านตลาด หมายถึง ความเสีย่ งที่ เกิดจากการเคลือ่ นไหวของอัตราดอกเบีย้ อัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศ ราคาตราสารในตลาดเงินตลาดทุนที่ มีผลกระทบต่อรายได้และปริมาณเงินกองทุน โดยแบ่งออก เป็น 3 ประเภท ได้แก่ ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ของราคา ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยง ด้านอัตราแลกเปลี่ยน โดยธนาคารมีนโยบายการควบคุม และจัดการความเสีย่ งทุกประเภทให้อยู่ในระดับทีเ่ หมาะสม และเป็นไปตามนโยบายการบริหารความเสีย่ งของธนาคาร 3.1 ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคา ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา เป็นความเสีย่ งทีอ่ าจได้รบั ความเสียหายอันสืบเนือ่ งมาจาก การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและราคาของหลักทรัพย์ ซึง่ ปัจจุบนั ธนาคารมีความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของ ราคาอยู่ในระดับต่�ำ เนือ่ งจากธนาคารไม่มนี โยบายลงทุนใน หลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ตราสารอนุพันธ์ การลงทุ น ส่ ว นใหญ่ ข องธนาคารเป็ น การลงทุนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำ�รงเป็นสินทรัพย์สภาพ คล่องตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด ธนาคารจึง เลือกลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ำ� โดยส่วนใหญ่ เป็นการลงทุนในหลักทรัพย์ภาครัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 มู ล ค่ า เงินลงทุนสุทธิจ�ำ นวน 49,978 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินลงทุน เผือ่ ขายซึง่ มีมลู ค่ายุตธิ รรม จำ�นวน 4,169 ล้านบาท และ ตราสารหนี้ ที่ จ ะถื อ จนครบกำ � หนด จำ � นวน 45,804 ล้านบาท นอกจากนี้ ยังมีเงินลงทุนทั่วไปที่เป็นตราสาร ทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด จำ�นวน 5 ล้านบาท แนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านราคา เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารมี ก ารใช้ แ บบจำ � ลองของ Value-at-Risk
64
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(VaR Model) เพือ่ วัดผลขาดทุนสูงสุด ณ ระดับความเชือ่ มัน่ หนึง่ ๆ หากถือครองหลักทรัพย์ในช่วงระยะเวลาทีก่ �ำ หนด โดยธนาคารได้ใช้คา่ ความเสีย่ งทีค่ �ำ นวณได้เป็นแนวทางใน การกำ�หนดระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ นอกจากนีธ้ นาคาร มีการจำ�ลองเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อการ ลดลงของราคาหลักทรัพย์อย่างรุนแรงเฉียบพลัน หรือ การทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test) เพือ่ สามารถประเมิน ความเสียหายจากความเสีย่ งในกรณีทอี่ ยูภ่ ายใต้ภาวะวิกฤต 3.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ ย งจากอั ต ราดอกเบี้ ย หมายถึ ง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย ในตลาดซึ่งอาจจะทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่า ตราสารทางการเงิน ความผันผวนต่อรายได้หรือมูลค่า ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ซึง่ อาจเกิดจากฐานะทัง้ ในและนอก งบดุล ทัง้ นีค้ วามเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ เป็นผลมาจากการ จัดโครงสร้างและลักษณะของรายการในสินทรัพย์ หนีส้ นิ และส่วนของผู้ถือหุ้นที่อ้างอิงอัตราดอกเบี้ยของธนาคาร และความไม่สอดคล้องระหว่างระยะเวลาคงเหลือในการ กำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ของรายการทางด้านสินทรัพย์ และหนี้ สิ น และรายการนอกงบดุ ล โดยธนาคารได้ แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทำ�หน้าที่ ควบคุมดูแลการบริหารความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ กิด จากความแตกต่างของโครงสร้างอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว โดยจะกำ�หนดโครงสร้างอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ หมาะสมในแต่ละ ช่วงเวลาและดูแลให้โครงสร้างอัตราดอกเบีย้ เป็นไปตามที่ กำ�หนด รวมทัง้ ควบคุมสัดส่วนของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ที่ มีดอกเบี้ยในระยะเวลาครบกำ�หนดต่างๆ ให้อยู่ในระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ธนาคารได้ตดิ ตามภาวะตลาด ภาวะดอกเบีย้ รวมทั้ ง จั ด ทำ � รายงานการวิ เ คราะห์ ร ะยะเวลา การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยของสินทรัพย์และหนี้สิน ซึง่ รวมถึงการจำ�ลองรายได้ดอกเบีย้ สุทธิเพือ่ ดูผลกระทบต่อ รายได้ของธนาคารให้อยูภ่ ายใต้เพดานความเสีย่ งทีก่ �ำ หนด 3.3 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ธนาคารมี บ ริ ก ารแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่างประเทศ (Currency Exchange) เป็นเงินไทย (Baht) ทัง้ ประเภทรับซื้อ (Buy) และขาย (Sell) โดยธนาคารได้ กำ � หนดการดำ � รงฐานะเงิ น ตราต่ า งประเทศคงเหลื อ ณ สิ้นวัน ไม่เกินกว่าจำ�นวนที่ได้รับอนุญาตจากธนาคาร แห่งประเทศไทย ดังนัน้ จึงมีความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ น อยู่ในระดับที่ไม่มีนัยสำ�คัญ
4. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง หมายถึ ง ความเสีย่ งทีธ่ นาคารไม่สามารถปฏิบตั ติ ามภาระผูกพันใน การชำ�ระเงินเมือ่ ครบกำ�หนด เนือ่ งจากไม่สามารถเปลีย่ น สินทรัพย์เป็นเงินสดหรือ ไม่สามารถจัดหาเงินได้อย่าง เพียงพอตามความต้องการภายในระยะเวลาที่กำ�หนด และมีต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่งอาจทำ�ให้เกิดความเสียหาย ต่อรายได้และเงินกองทุนของธนาคารได้ ปัจจัยทีก่ อ่ ให้เกิด ความเสีย่ งด้านสภาพคล่องมีทงั้ ภายในและภายนอก โดย ปัจจัยภายในจะขึ้นอยู่กับโครงสร้างของสินทรัพย์และ หนี้สินและการสำ�รองสินทรัพย์สภาพคล่องเพื่อนำ�มาใช้ รองรับความต้องการ ส่วนปัจจัยภายนอกขึน้ อยูก่ บั สภาพคล่อง ของตลาดและความเชือ่ มัน่ ของผูฝ้ ากเงินเป็นหลัก ธนาคาร มีเครื่องมือสำ�หรับวัด ติดตามความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และได้ กำ � หนดระดั บ การแจ้ ง เตื อ นที่ เ หมาะสม มีการทบทวนนโยบายและพัฒนาเครื่องมือและวิธีการวัด ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง การกำ�กับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทยและหลักการ บริหารความเสี่ยงสากล ธนาคารได้วางแผนและบริหารความเสี่ยง ด้านสภาพคล่องให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอ ต่อการชำ�ระภาระผูกพันในปัจจุบนั และในอนาคตประกอบ กับการออกผลิตภัณฑ์ ใหม่เพื่อระดมทุนทั้งระยะสั้นและ ระยะยาวให้สอดคล้องกับสภาวะตลาด 5. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร หมายถึ ง ความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายต่างๆ อันเนื่องมาจาก ความไม่เพียงพอหรือความบกพร่องของกระบวนการ ภายใน บุคลากรและระบบงานหรือมาจากเหตุการณ์ ภายนอก รวมถึงความเสี่ยงด้านกฎหมาย แต่ไม่รวม ความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ แ ละความเสี่ ย งด้ า นชื่ อ เสี ย ง ความเสี่ยงด้านปฎิบัติการเป็นความเสี่ยงที่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้และเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจธนาคาร ดังนั้น ธนาคารจึงมีการกำ�หนดกรอบนโยบายบริหารความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการอย่างชัดเจน รวมทั้ง มีระบบการควบคุม ภายในทีด่ แี ละมีการจัดทำ�คูม่ อื ปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้พนักงาน มีความเข้าใจขั้นตอนการทำ�งาน และสามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำ�หนดให้มีกระบวนการ วิเคราะห์เชิงธุรกิจ การประเมินความเสีย่ ง และการติดตาม ความเสี่ยง เป็นต้น
ธนาคารได้ พั ฒ นากระบวนการตลอดจน เครือ่ งมือต่างๆ ที่ใช้ในการบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูลเหตุการณ์ผิดปกติ (Incident Report) เพือ่ จัดเก็บข้อมูลความเสียหายทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงินและ ไม่เป็นตัวเงิน รวมถึงความเสียหายทีส่ ามารถป้องกันได้ ตลอด จนข้อมูลเหตุการณ์ผดิ ปกติอนื่ ๆ ซึง่ ข้อมูลเหล่านีธ้ นาคารจะ นำ�ไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบตั งิ านและกำ�หนด แนวทางการควบคุมเพื่อให้โอกาสเกิดความเสี่ยงลดลง ธนาคารกำ � หนดให้ ทุ ก หน่ ว ยงานทำ � การ ประเมินความเสี่ยงด้านปฏิบัติการด้วยตนเอง (Risk and Control Self Assessment: RCSA) โดยการระบุจุดที่มี ความเสีย่ งในกระบวนการปฏิบตั งิ านในหน่วยงานของตน รวมทัง้ ประเมินว่ามาตรการควบคุมภายในทีม่ อี ยูเ่ พียงพอและ เหมาะสมเพียงใด และได้น�ำ ข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผล และจัดทำ�ดัชนีชวี้ ดั ความเสีย่ ง (Key Risk Indicators) เพือ่ ใช้ในการติดตามความเสี่ยงที่เกิดขึ้น รวมทั้งจัดให้มี การประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตโดยเริม่ จากหน่วยงาน ทีม่ โี อกาสในการทุจริตจากการปฏิบตั งิ านสูง เพือ่ เป็นข้อมูล ในการกำ�หนดแนวทางป้องกันและจัดการความเสี่ยงจาก การทุจริต ธนาคารได้กำ�หนดนโยบายการใช้บริการ จากบุคคลภายนอกและนโยบายการออกผลิตภัณฑ์ ใหม่ โดยกำ�หนดให้หน่วยงานทีป่ ระสงค์จะใช้บริการจากบุคคล ภายนอก หรือออกผลิตภัณฑ์ ใหม่ต้องศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลและประเมินความเสีย่ ง ความคุม้ ค่าของผลิตภัณฑ์ ที่จะออกใหม่ โดยมีฝ่ายบริหารความเสี่ยงพิจารณาให้ ความเห็ น ก่ อ นการใช้ บ ริ การจากบุ ค คลภายนอกหรื อ การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ธนาคารจั ด ให้ มี แ ผนรองรั บ การดำ � เนิ น ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan) เพื่อ รองรั บ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ส ถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น อาทิ วินาศภัย และภัยพิบัติต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้ สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องหรือลดเวลาการหยุด ชะงักการดำ�เนินงานของธนาคารให้อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ ซึ่งทุกหน่วยงานของธนาคารมีส่วนร่วมในการจัดทำ�และ ได้ปรับปรุงแผนดังกล่าวทุกปี รวมถึงได้มีการทดสอบ ซั ก ซ้ อ มการฟื้ น ฟู ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ และทดสอบ การปฏิบัติงาน ในธุรกรรมงานสำ�คัญเป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ ให้มน่ั ใจว่าธนาคารสามารถดำ�เนินธุรกิจภายใต้ภาวะวิกฤต ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รายงานประจำ�ปี 2559
65
ธนาคารมีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน โดยได้พัฒนาช่องทาง การสือ่ สารให้ความรูเ้ กีย่ วกับการบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั ิ การในรูปแบบระบบการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (E-Leaning) เพือ่ ให้ผู้บริหารและพนักงานมีความเข้าใจและตระหนักถึง ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ รวมทั้งจัดส่งพนักงานเข้ารับ การอบรมสัมมนาจากผู้จัดสัมมนาภายนอกและจัดอบรม สัมมนาภายใน โดยเชิญวิทยากรทีม่ คี วามชำ�นาญจากหน่วยงาน ภายในของธนาคาร รวมทั้ ง วิ ท ยากรผู้ มี ค วามรู้ ความเชีย่ วชาญจากภายนอกมาให้ความรูเ้ พือ่ เพิม่ พูนทักษะ ในการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างสม่ำ�เสมอ
2.2 ความเสี่ ย งจากบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (บริษทั ย่อย)
ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ประกอบธุรกิจการจัดการกองทุน ซึ่ง เป็นธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการเข้าไปจัดการเงินและทรัพย์สนิ ของผู้ อื่ น ซึ่ ง อาจพบกั บ ความเสี่ ย งด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยง ด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์ บริษัทจึงได้วางกรอบและกลยุทธ์ ในการ ดำ�เนินธุรกิจให้มกี ารเติบโตบนพืน้ ฐานการบริหารความเสีย่ งทีม่ ี ประสิทธิภาพควบคูก่ บั การสร้างผลตอบแทนทีม่ น่ั คงให้กบั ผู้ ถื อ หน่ ว ยลงทุ น บริ ษั ท มี น โยบายและหลั ก ปฏิ บั ติ ด้านการบริหารความเสี่ยง กำ�หนดโครงสร้างและกรอบ การบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้การบริหารความเสีย่ งเป็นไป อย่างมีระบบ สามารถดูแลและควบคุมความเสีย่ งทีส่ �ำ คัญ ได้อย่างเพียงพอและเหมาะสมกับลักษณะการดำ�เนินธุรกิจ นโยบายบริหารความเสี่ยง นโยบายบริหารความเสี่ยงมีวัตถุประสงค์ เพื่ อสร้ า งวั ฒนธรรมการบริห ารความเสี่ยงที่เข้มแข็ง และชั ด เจนโดยมี กระบวนการที่เ ป็ น ระเบี ย บแบบแผน มีการกำ�หนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน เพื่อให้มีระบบ การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ประกอบด้วย การระบุ ความเสีย่ ง การเลือกเครือ่ งมือและแบบจำ�ลอง ในการประเมิน ความเสี่ยง การกำ�หนดเพดานความเสี่ยง การควบคุม ความเสี่ ย ง การติ ด ตาม และรายงานความเสี่ ย ง เพือ่ ป้องกันมิให้เกิดความสูญเสียทีอ่ าจเกิดขึน้ จากความไม่ แน่นอนของเหตุการณ์ต่างๆ รวมถึงเป็นเครื่องมือให้
66
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ผูบ้ ริหารสามารถนำ�ข้อมูลไปประกอบการตัดสินใจบริหาร จัดการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการดำ�เนินงานและกองทุน ภายใต้การบริหารจัดการ โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง บริษัทมีโครงสร้างองค์กรที่สามารถบริหาร ความเสี่ยง ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่กำ�หนด นโยบาย หลักการ และโครงสร้างองค์กรในการบริหาร ความเสีย่ งให้มปี ระสิทธิภาพและเหมาะสม สอดคล้องกับ การดำ�เนินงานของบริษัท รวมทั้งติดตามการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารความเสี่ยงของบริษัท 2. คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าทีก่ �ำ กับ ดูแล ติดตามความเสีย่ งและเชือ่ มโยงกับการควบคุมภายใน ให้เป็นไปตามกฎระเบียบของทางการ และคำ�สัง่ ของบริษทั 3. คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีหน้าที่ กำ�หนดกรอบกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติ และติดตาม การปฏิบตั งิ านการบริหารความเสีย่ ง ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ และนโยบายการบริหารความเสีย่ งทีค่ ณะกรรมการบริษทั กำ�หนดไว้ รวมทั้งรายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ 4. คณะกรรมการลงทุน มีหน้าที่วางกรอบ หรือกลยุทธ์ในการจัดการลงทุน นโยบายการลงทุน และ แผนการลงทุนของกองทุน อนุมัติหลักทรัพย์ท่ีลงทุน และกำ�กับดูแล ติดตามผลการลงทุนให้เป็นไปตามกรอบ นโยบาย จรรยาบรรณ การจัดการลงทุน กฎ ระเบียบ ที่กำ�หนดไว้ 5. คณะกรรมการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลการลงทุ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ก อ ง ท รั ส ต์ เ พื่ อ ล ง ทุ น ใ น อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ แ ล ะ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ กำ�หนดหลักเกณฑ์ทเี่ กีย่ วข้อง กับการจัดการลงทุน อนุมัติการคัดเลือกอสังหาริมทรัพย์ ทีก่ องทรัสต์จะลงทุน และติดตาม ประเมินผลการดำ�เนิน งานของกองทุน นอกจากนี้ บริษัทได้จัดให้มีคณะกรรมการ ชุดต่างๆ เพื่อกำ�กับดูแลและควบคุมความเสี่ยงเฉพาะ ด้าน อาทิ คณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการพัฒนา ธุรกิจ เป็นต้น รวมถึงมีฝา่ ยบริหารความเสีย่ ง รับผิดชอบ ด้านการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมการพัฒนาเครื่อง มื อ ที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น ติ ด ตาม และจั ด ทำ � รายงาน ความเสี่ยงด้านต่างๆ เพือ่ ควบคุมความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับที่
ยอมรับได้ และรายงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการลงทุน และคณะกรรมการบริษทั และมีฝา่ ยกำ�กับ ดูแลการปฏิบัติงาน ทำ�หน้าที่ควบคุมดูแลและตรวจสอบ การปฏิบัติงานด้านการจัดการลงทุน และงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ประกาศ หรือกฎหมาย และ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ปัจจัยความเสี่ยง บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ดำ�เนินธุรกิจบริหารจัดการกองทุน มีความเกีย่ วข้องโดยตรงต่อตลาดเงินและภาวะเศรษฐกิจ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็ว นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมในการดำ�เนินธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบของทางการ การชุมนุมทางการเมืองล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ การดำ�เนินธุรกิจจัดการกองทุน การบริหารความเสีย่ งแบ่งออกเป็น 5 ด้านหลัก คือ ความเสีย่ งด้านตลาด ความเสีย่ งด้านเครดิต ความเสีย่ ง ด้ า นสภาพคล่ อ ง ความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร และ ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ บริษทั มีนโยบายและกระบวนการ ปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสีย่ งด้านตลาด หมายถึง ความไม่แน่นอน ของมู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น ของกองทุ น ที่ เ กิ ด จากความ ผันผวนของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ราคาหลักทรัพย์ในตลาด ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงในการลงทุน ของกองทุ น ที่บ ริ ษัท บริ ห ารจั ด การ โดยการกระจาย การถือครองสินทรัพย์หลายประเภท (การสร้าง Investment Portfolio) และกำ�หนดอัตราส่วนการลงทุนในสินทรัพย์ แต่ละประเภท เพื่อลดความเสี่ยงในการลงทุน มีการ ประเมินค่าความเสี่ยงด้านตลาด (VAR, Beta, Duration, Tracking Error) การกำ�หนดเพดานความเสี่ยง โดยมี ฝ่ายบริหารความเสี่ยง ติดตามและรายงานความเสี่ยง เป็นรายวัน มีการทดสอบความถูกต้องของ Model และ การทดสอบภาวะวิกฤตด้านตลาดอย่างสม่ำ�เสมอ
2. ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสีย่ งด้านเครดิต หมายถึง ความเสีย่ ง ทีอ่ าจเกิดขึน้ เนือ่ งจากการผิดสัญญาของบริษทั คูค่ า้ ตราสาร/ ผูอ้ อกตราสาร (Counterparty Risk) ความเสีย่ งประเภทนี้ เกิดขึน้ เมือ่ กองทุนนำ�เงินไปลงทุนในตราสารการเงิน เมือ่ ถึงเวลาครบกำ�หนดชำ�ระเงิน ผู้ออกตราสารการเงินไม่ สามารถชำ�ระเงินคืนให้แก่กองทุนได้ บริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงด้านเครดิต อย่างเข้มงวด อาทิ การกำ�หนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก หลักทรัพย์ทจี่ ะลงทุนอย่างระมัดระวัง โดยใช้วธิ ี Top-Down Approach และ Bottom-Up Approach การกำ�หนดเกณฑ์ คัดเลือกบริษัทคู่คา้ โดยใช้เกณฑ์เชิงคุณภาพ และอันดับ ความน่าเชื่อถือ การกำ�หนดเครดิตขั้นต่ำ�ในการลงทุน (Minimum Acceptable Credit)ทัง้ ตราสารหนี้ และตราสารทุน และการกำ�หนดวงเงิน (Credit Risk Limit) โดยอ้างอิงจาก หลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนดโดยทางการ และกำ�หนดเพิม่ เติมโดย บริษัท แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ 1) ผลรวมวงเงิ น ของทุ ก กองทุ น ภายใต้ การจัดการของบริษัท 2) วงเงินของแต่ละกองทุน 3. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง หมายถึง ความเสีย่ ง ทีเ่ กิดจากกองทุนไม่สามารถดำ�รงสภาพคล่องได้เพียงพอ ต่อการไถ่ถอนหน่วยลงทุน รวมทั้งความเสี่ยงที่เกิดขึ้น จากการที่ ก องทุ น ไม่ ส ามารถขายหลั ก ทรั พ ย์ หรื อ เลิกสัญญาซื้อขายล่วงหน้าได้ในราคาตลาด เนื่องจาก ขาดสภาพคล่อง หรือเกิดวิกฤตการณ์ใดๆ เพื่อให้มั่นใจว่ากองทุนภายใต้การบริหาร จัดการของบริษทั สามารถดำ�รงสภาพคล่องได้อย่างเพียงพอ บริ ษั ท ได้ ติ ด ตามพฤติ กรรมการไถ่ ถ อนหน่ ว ยลงทุ น อย่างสม่ำ�เสมอ และดำ�รงสภาพคล่องของกองทุนที่เน้น การลงทุ น ในตราสารหน้ี ต ามเกณฑ์ ข องสำ � นั ก งาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 4. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร หมายถึง ความเสีย่ ง ที่จะเกิดความเสียหายอันเนื่องมาจากการขาดการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ี หรือขาดธรรมาภิบาล และขาดการควบคุม รายงานประจำ�ปี 2559
67
ที่ดี โดยอาจเกี่ยวข้องกับกระบวนการปฏิบัติงานภายใน คน ระบบงาน หรือเหตุการณ์ภายนอก ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อรายได้และกำ�ไร บริ ษั ท ได้ พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ที่ ใ ช้ ใ น การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ได้แก่ การจัดเก็บ ข้อมูลเหตุการณ์ผิดปกติ (Incident Report) ซึ่งระบุ รายละเอียดรวมถึงแนวทางการแก้ไขและป้องกันเพื่อ ไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำ�อีก การจัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร รวมถึงการลงทุนด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งสามารถลดโอกาสการเกิดความเสี่ยงได้ บริษัทจัดให้มีแผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan) เพื่อรองรับ การดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ภายใต้สถานการณ์ฉกุ เฉิน อาทิ วินาศภัย และภัยพิบัติต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้บริษัท สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องหรือลดเวลาการหยุด ชะงักการดำ�เนินงานของบริษัทให้อยู่ในระดับที่ยอมรับ ได้ ซึ่งมีการทดสอบแผนเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทสามารถดำ�เนินธุรกิจภายใต้ภาวะวิกฤตต่างๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ความเสีย่ งด้านกฎหมาย เป็นส่วนหนึง่ ของ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ หมายถึง ความเสี่ยงที่บริษัท จะได้รับความเสียหาย เมื่อดำ�เนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับกฎหมายไม่รอบคอบ รัดกุม หรือบกพร่อง เช่น การจัดทำ�สัญญาต่างๆ ไม่มีระบบการตรวจสอบว่าบริษัท คู่คา้ ตราสารเป็นผู้ที่มีอำ�นาจลงนามจริง หรือมีตัวตนจริง หรือไม่ เป็นต้น และความเสี่ยงอาจเกิดจากการประกอบ ธุรกิจที่บริษัทหรือเจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่ทางการกำ�หนด โดยบริษัทให้ความสำ�คัญ และกำ�หนดแนวทางบริหารความเสีย่ งเป็นการเฉพาะ อาทิ การร่างและจัดทำ�สัญญามาตรฐาน หรือบันทึกข้อตกลงต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจ จะต้องผ่านการตรวจสอบโดย นักกฎหมายหรือที่ปรึกษากฎหมาย และฝ่ายกำ�กับและ ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านก่อนทีจ่ ะนำ�มาใช้งานจริง มีการ กำ�หนดขัน้ ตอนการเปิดบัญชีซอื้ ขายหน่วยลงทุน โดยลูกค้า ต้องมีเอกสารประกอบการพิจารณาทีค่ รบถ้วน รวมถึงการ ดูแลให้พนักงานปฏิบตั งิ านตามคูม่ อื การปฏิบตั งิ าน กฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ รวมถึงจรรยาบรรที่เกี่ยวข้อง กับการประกอบธุรกิจจัดการกองทุนโดยเคร่งครัด
68
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
5. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ หมายถึง ความเสีย่ ง ที่เกิดจากการกำ�หนดแผนกลยุทธ์ แผนดำ�เนินงานและ การนำ�ไปปฏิบัติไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับปัจจัย ภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก อันส่งผลกระทบต่อ รายได้ เงินกองทุน หรือการดำ�รงอยู่ของกิจการ บริษัทมีแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์ ได้แก่ การมีกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ที่มีความรู้ และมีประสบการณ์ที่เหมาะสม เป็นอิสระ มีการวางนโยบาย แผนกลยุทธ์ทชี่ ดั เจนและมีประสิทธิภาพ การมีบุคลากรที่มีคุณภาพและมีการฝึกอบรมที่เพียงพอ มีระบบการบริหารความเสี่ยง และการได้รับข้อมูลต่างๆ อย่ า งเพี ย งพอ โดยแผนธุ ร กิ จ และงบประมาณได้ นำ � เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ และมี การทบทวนเป็นประจำ�ทุกครึ่งปี เพื่อให้สอดคล้องกับ ภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป
2.3 ความเสี่ ย งจากบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อย)
ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ภายใต้ชื่อย่อ “LHS” โดยเป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมายเลข 5 บริษัทได้วางกรอบและกลยุทธ์ในการดำ�เนิน ธุรกิจให้มีการเติบโตบนพื้นฐานการบริหารความเสี่ยง ที่มีประสิทธิภาพควบคู่กับการสร้างผลตอบแทนที่ยั่งยืน ให้กบั บริษทั บริษทั มีการควบคุมดูแลการบริหารความเสีย่ ง อย่างเป็นระบบ มีการกำ�หนดโครงสร้างและนโยบาย การบริหารความเสี่ยงเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน เพื่ อวั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ในการป้ อ งกั น ความเสี่ ย งและ การบริหารความเสีย่ งอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ดำ�เนิน ธุรกิจที่สอดคล้องกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการบริหารความเสีย่ ง มีวตั ถุประสงค์ เพื่อกำ�หนดนโยบายพื้นฐานและกระบวนการควบคุม การบริหารความเสี่ยง ควบคุมกิจกรรมและกระบวนการ ดำ�เนินงานต่างๆ เพื่อให้กระบวนการบริหารความเสี่ยง มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ลดมูลเหตุและโอกาส ที่อาจทำ�ให้บริษัทได้รับความเสียหาย ปัจจุบันบริษัท
จัดกลุ่มความเสี่ยงตามแนวทางกำ�กับดูแลของสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง 2. ความเสีย่ งด้านความรัดกุมของโครงสร้าง ระบบ และวิธีการปฏิบัติงานในภาพรวม 3. ความเสีย่ งด้านปฏิบตั งิ านในเรือ่ งการติดต่อ กับลูกค้า 4. ความเสีย่ งด้านโครงสร้างและการจัดการ ที่รัดกุม สำ�หรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ความเสี่ยงด้านเครดิต 6. ความเสี่ยงด้านการตลาด 7. ความเสี่ยงด้านกฎหมาย
หลักทรัพย์
1. ความเสี่ย งจากการแข่ ง ขั น ในธุ ร กิ จ
ตั้ง แต่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ได้ประกาศใช้วธิ กี ารคิดค่าธรรมเนียมแบบต่อรองอย่างเสรี พร้อมกับการเปิดเสรีใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ส่งผลให้ธุรกิจหลักทรัพย์มีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น รายได้จากธุรกิจมีแนวโน้มลดลง แม้มูลค่าการซื้อขาย หลักทรัพย์จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น หากบริษัทไม่สามารถรักษา คุณภาพการให้บริการทีด่ ี อาจทำ�ให้สญู เสียส่วนแบ่งการตลาด บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความเสี่ ย งดั ง กล่ า ว จึงได้เตรียมความพร้อมในการแข่งขัน โดยกำ�หนดกลยุทธ์ ที่มุ่งเน้นการขยายฐานลูกค้าแบบยั่งยืนผ่านช่องทางที่มี ประสิทธิภาพของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ การพัฒนาบุคลากรให้มคี วามพร้อมในการแข่งขัน ตลอด จนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีเพื่อให้ลูกค้าสามารถทำ� รายการซือ้ ขายได้อย่างสะดวกและปลอดภัย รวมทัง้ การนำ� เทคโนโลยีมาใช้ในการดำ�เนินงานทุกมิติ ทัง้ การปฏิบตั งิ าน และการบริการ เพือ่ ตอบสนองและอำ�นวยความสะดวกแก่ ลูกค้า ลดขัน้ ตอนทีซ่ บั ซ้อน เพิม่ ประสิทธิภาพการให้บริการ
โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง บริษัทมีโครงสร้างองค์กรที่สามารถบริหาร จัดการความเสีย่ ง และสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่ดูแลให้ ฝ่ายจัดการมีการกำ�หนดนโยบาย กระบวนการ และ การควบคุมด้านการบริหารความเสีย่ ง และอนุมตั นิ โยบาย 2. ความเสีย่ งด้านการกระจายตัวของฐานลูกค้า ดังกล่าว รวมทั้งทบทวนกลยุทธ์ และนโยบายอย่าง บริษัทมีการกระจายตัวของฐานลูกค้า โดย สม่ำ�เสมอ 2. คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง มีหน้าที่ มีแผนขยายฐานลูกค้าทั้งลูกค้ารายย่อย ลูกค้าสถาบัน กำ�หนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้องกับ และพัฒนาระบบการส่งคำ�สัง่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ผา่ นระบบ อินเตอร์เนต และขยายฐานลูกค้าที่ต้องการส่งคำ�สั่งด้วย แผนธุรกิจ และกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ตัวเองให้มีสัดส่วนมากขึ้น ปัจจัยความเสี่ยง 3. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการพึ่งพิงบุคลากร บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ต้ อ งพึ่ ง พิ ง (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจหลักทรัพย์ มีความเกี่ยวข้อง โดยตรงต่อตลาดเงินและภาวะเศรษฐกิจทัง้ ในประเทศและ บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มีประสบการณ์ ต่างประเทศซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ และมีใบอนุญาตในการทำ�หน้าที่เป็นผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน สภาพแวดล้ อ มในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ไม่ ว่ า จะเป็ น เพื่อให้คำ�แนะนำ�การซื้อขายหลักทรัพย์อย่างเหมาะสม การเปลีย่ นแปลงกฎระเบียบของทางการ การเปลีย่ นแปลง เจ้าหน้าที่การตลาดมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเปิดบัญชี ด้ า นระบบเทคโนโลยี ล้ ว นเป็ น ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลกระทบ การทำ � ธุ ร กรรมซื้ อ ขายของลู ก ค้ า ดั ง นั้ น เจ้ า หน้ า ที่ ต่อการดำ�เนินธุรกิจ โดยความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 8 ด้าน การตลาดจึงถือเป็นกำ�ลังหลักของธุรกิจหลักทรัพย์ บริษทั จึงให้ความสำ�คัญในการสรรหาเจ้าหน้าที่การตลาดที่มี หลักๆ ดังนี้ ความรู้ และประสบการณ์ และมีการสร้างทีมเจ้าหน้าที่ การตลาดรุน่ ใหม่ เพือ่ รองรับการเติบโตของธุรกิจ รวมทัง้ เน้นการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีภายในองค์กรเพือ่ สนับสนุน การทำ�งานร่วมกันลดปัญหาการเปลี่ยนงาน รายงานประจำ�ปี 2559
69
หลักทรัพย์
4. ความเสี่ยงในธุรกรรมการจัดจำ�หน่าย
เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากการไม่สามารถ กระจายหรือเสนอขายหลักทรัพย์ท่ีจัดจำ�หน่ายได้ตาม จำ�นวนทีร่ บั ประกัน ซึง่ อาจเกิดจากราคาเสนอขายไม่เหมาะสม หรือความผันผวนของสภาวะตลาด อัตราดอกเบี้ย และ อัตราแลกเปลี่ยน ทำ�ให้บริษัทต้องรับหลักทรัพย์ท่ีเหลือ จากการจัดจำ�หน่ายเข้าบัญชีเงินลงทุน บริษัทจึงกำ�หนด แนวทางป้องกันความเสี่ยงโดยทำ�การวิเคราะห์ และ ตรวจสอบลักษณะธุรกิจ ผลการดำ�เนินงานและแนวโน้ม การดำ�เนินธุรกิจในอนาคตของบริษทั ผูอ้ อกหลักทรัพย์ รวมถึง ความสนใจของนั ก ลงทุ น และความต้ อ งการที่ จ ะซื้ อ หลั ก ทรั พ ย์ เพื่ อ นำ � ข้ อ มู ล มาประกอบการตั ด สิ น ใจ ในการพิ จ ารณารั บ เป็ น ผู้ จั ด จำ � หน่ า ยและรั บ ประกั น การจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ 5. ความเสี่ ย งจากหนี้ ส งสั ย จะสู ญ และ หนี้สูญของลูกหนี้หลักทรัพย์ ความเสี่ยงจากหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ เป็นความเสีย่ งทีเ่ กิดจากลูกค้าทีซ่ อื้ หลักทรัพย์ดว้ ยเงินสด แต่ไม่สามารถชำ�ระเงินได้ภายในระยะเวลาทีก่ �ำ หนด รวมถึง ลูกค้าทีก่ ยู้ มื เงินเพือ่ ซือ้ หลักทรัพย์จากบัญชีเครดิตบาลานซ์ บริษัทควบคุมความเสี่ยงโดยการพิจารณา กำ�หนดวงเงินทีจ่ ะให้กบั ลูกค้าหรือคูส่ ญั ญาแต่ละรายอย่าง เหมาะสมตามฐานะการเงิน และมีการทบทวนฐานะการเงิน และการใช้วงเงินอย่างใกล้ชดิ สำ�หรับลูกค้าประเภทบัญชี เครดิตบาลานซ์ บริษัทได้กำ�หนดนโยบายการให้กู้ยืม เพื่อซื้อหลักทรัพย์ เพื่อให้ปริมาณการกู้ยืมอยู่ ในระดับ ทีก่ �ำ หนดและเหมาะสมกับสภาวะตลาดในขณะนัน้ โดยการ กำ�หนดวงเงินให้กยู้ มื ของลูกค้าแต่ละรายจะสอดคล้องกับ ฐานะการเงินของลูกค้า และไม่เกินร้อยละ 20 ของ เงินกองทุนของบริษัท และเมื่อรวมกันทุกรายแล้วต้องมี อัตราส่วนเงินให้กู้ยืมต่อเงินกองทุนโดยยอดหนี้ทั้งหมด ไม่เกิน 5 เท่าของเงินกองทุน รวมทั้งควบคุมไม่ ให้ ซือ้ หลักทรัพย์กระจุกตัวในหลักทรัพย์ใดหลักทรัพย์หนึง่ มาก จนเกินไป
70
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
6. ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย การเปลี่ ย นแปลงนโยบาย ระเบี ย บ ข้อบังคับ และกฎหมาย เช่น การเปลีย่ นแปลงหลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิ บั ติ การเปลี่ ย นแปลงด้ า นระบบ การซือ้ ขาย การเปลีย่ นแปลงอัตราค่าธรรมเนียม และอืน่ ๆ อาจส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงานของบริษัท บริษทั ได้บริหารจัดการความเสีย่ ง โดยมีการ ติดตามการเปลีย่ นแปลงนโยบายของหน่วยงานกำ�กับดูแล อย่างใกล้ชิด รวมทั้งการส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมเพื่อ ร่วมแสดงความคิดเห็นกับหน่วยงานต่างๆ และหน่วยงาน ด้านการกำ�กับการดูแลของบริษทั จะแจ้งการเปลีย่ นแปลง ดังกล่าวให้บริษัทและพนักงานรับทราบเพื่อเตรียมการ รองรับการเปลี่ยนแปลง 7. ความเสี่ยงด้านการลงทุนในหลักทรัพย์ และผลตอบแทน เป็ น ความเสี่ ย งที่ บ ริ ษั ท อาจไม่ ไ ด้ รั บ ผลตอบแทนจากเงินลงทุนของบริษัทตามที่คาดการณ์ ไว้ บริษัทจึงกำ�หนดให้มีแนวทางและนโยบายการลงทุน ที่ชัดเจน ครอบคลุมทั้งประเภทตราสารทุนและตราสาร หนี้ พร้อมทัง้ กำ�หนดระดับความเสีย่ งของพอร์ตการลงทุน ที่ยอมรับได้ และจำ�กัดผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้น บริษทั ได้บริหารจัดการความเสีย่ ง โดยมีการ ทบทวนนโยบายการลงทุนอย่างสม่�ำ เสมอ เพือ่ ให้สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาด 8. ความเสี่ยงจากการไม่สามารถดำ�เนิน ธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง เหตุ ก ารณ์ ช่ ว งภาวะวิ ก ฤตต่ า งๆ เช่ น ภัยธรรมชาติ การชุมนุมทางการเมือง เหตุการณ์จลาจล อาจเป็ น เหตุ ใ ห้ บ ริ ษั ท ไม่ ส ามารถให้ บ ริ การลู ก ค้ า ได้ ดังนั้นเพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทสามารถให้บริการได้อย่าง ต่อเนื่องเมื่อเผชิญภาวะวิกฤต บริษัทจึงได้จัดทำ�แผน ความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Contingency Plan - BCP) ซึ่งมีการซักซ้อมและมีการทดสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั งิ านได้ตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเกิดภาวะวิกฤต
รายงานคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 4 ท่าน ดังนี้
1. นายรัตน์ 2. นายนพร 3. นายคุณวุฒ ิ 4. นางศศิธร
พานิชพันธ์ สุนทรจิตต์เจริญ ธรรมพรหมกุล พงศธร
โดยมีนายวิเชียร อมรพูนชัย
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การ ทำ�หน้าทีเ่ ลขานุการ
คณะกรรมการบริหาร ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต ความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท โดยในปี 2559 คณะกรรมการบริหารได้จัดให้มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง และได้รายงาน ผลการประชุมและความคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัททราบทุกครั้ง ดังนี้
• เสนอแผนกลยุทธ์ และทิศทางการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2559 และแผน 3 ปีของบริษัท ต่อคณะกรรมการบริษัทและดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับการอนุมัติ • มอบหมายงานและประสานงานกับผู้บริหารเพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปตามแผนกลยุทธ์ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานเพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และแนวทางในการแก้ไข • พิจารณากลั่นกรองงานต่างๆ ก่อนเสนอคณะกรรมการบริษัท • ประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการเสนอคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน
(นายรัตน์ พานิชพันธ)์ ประธานกรรมการบริหาร
รายงานประจำ�ปี 2559
71
การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้งที่ไม่ได้ประกอบธุรกิจของ ตนเอง (Non-operating Holding Company) จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 บริษัทเป็นบริษัทแม่ของ กลุ่มธุรกิจทางการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ประกอบธุรกิจ การเข้าถือหุ้นในบริษัทอื่นโดยไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง ปัจจุบันบริษัทถือหุ้นบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ดังนี้ - ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ� กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ช�ำ ระ แล้วทั้งหมด - บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.80 ของทุนที่ชำ�ระ แล้วทั้งหมด - บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ร้อยละ 99.99 ของ ทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด ดังนั้น ผลการดำ�เนินงานของบริษัทจะมา จากผลการดำ�เนินงานของบริษัทแกน ได้แก่ ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจปี 2559 และแนวโน้มภาวะ เศรษฐกิจปี 2560 ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจปี 2559
นอกจากนีเ้ ป็นผลมาจากธนาคารพาณิชย์ได้เพิม่ ความระมัดระวัง การปล่อยสินเชือ่ หลังจากมีแนวโน้มทีค่ ณุ ภาพสินเชือ่ ด้อยลง เพิม่ ขึน้ โดยสัดส่วนสินเชือ่ ที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้ตอ่ สินเชือ่ รวม (NPL ratio) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.55 ณ สิ้นปี 2558 มาอยู่ ท่ี ร้ อ ยละ 2.83 ณ สิ้ น ปี 2559 อย่ า งไร ก็ตาม ระบบธนาคารพาณิชย์ไทยยังมีเสถียรภาพ เนือ่ งจาก มีเงินสำ�รองและเงินกองทุนอยู่ในระดับสูงทีส่ ามารถรองรับ การเพิ่มขึ้นของสินเชื่อที่มีคุณภาพด้อยลงได้ แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจปี 2560 ปี 2560 คาดว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัว ร้อยละ 3.0 - 4.0 ใกล้เคียงกับปีกอ่ น โดยมีปจั จัยสนันสนุน ดังนี้ 1. การใช้จ่ายภาครัฐที่มีแนวโน้มขยายตัว ต่อเนือ่ งจากความต่อเนือ่ งของการลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐาน และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม 2. การบริโภคภาคครัวเรือนมีแนวโน้มขยาย ตัวเนือ่ งจากรายได้ครัวเรือนทีค่ อ่ ยๆ ฟืน้ ตัวตามรายรับทีเ่ กีย่ ว เนือ่ งกับภาคการส่งออกและรายได้เกษตรกรทีป่ รับตัวดีขนึ้ 3. การส่งออกมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างช้าๆ ในขณะทีป่ จั จัยเสีย่ งทีส่ �ำ คัญต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ในปี 2560 ได้แก่ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่ยังคง เปราะบางและความไม่แน่นอนของการดำ�เนินนโยบาย ทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศอุตสาหกรรมหลัก ซึง่ จะส่งผลให้ตลาดการเงินโลกผันผวนและอาจกระทบต่อ ภาคเศรษฐกิจไทย แนวโน้มอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ คาดว่า ผลการดำ�เนินงานจะดีขึ้นตามการขยายตัวของสินเชื่อ ที่ ได้รับผลดีจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี จากที่ ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ ยั ง มี แ ผนระดมทุ น ผ่ า นหุ้ น กู้ และยังมีความเสีย่ งจากปัญหาสินเชือ่ ด้อยคุณภาพ โดยเฉพาะ ความกังวลต่อกลุ่มสินเชื่อ SMEs ที่ได้รับผลกระทบจาก การส่งออกทีห่ ดตัวในระยะก่อน ประกอบกับกำ�ลังซือ้ ของ ภาคครัวเรือนทีย่ งั เปราะบางและความเชือ่ มัน่ ในการลงทุน ของภาคเอกชนที่อยู่ในระดับต่ำ� อาจกดดันให้กำ�ไรของ กลุ่มธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นได้ไม่มากนัก
ปี 2559 เศรษฐกิจไทยขยายตัวดีขึ้นจาก ปีก่อนจากภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัวได้ดีในช่วงครึ่งปีแรก จากการฟืน้ ตัวของการบริโภคภาคเอกชน การใช้จา่ ยภาครัฐ ทัง้ การบริโภคภาครัฐและการลงทุนภาครัฐทีข่ ยายตัวได้ดี ต่อเนือ่ งและยังคงเป็นแรงขับเคลือ่ นทีส่ �ำ คัญของเศรษฐกิจไทย อย่างไรก็ดี ภาคการท่องเทีย่ วทีเ่ ป็นแรงขับเคลือ่ นหลักของ เศรษฐกิจไทยขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงเนื่องจากได้รับ ผลกระทบจากการปราบปรามทัวร์ผิดกฎหมาย สำ�หรับภาคการธนาคารปี 2559 เงินให้สนิ เชือ่ ขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลงจากปีกอ่ น ทัง้ สินเชือ่ ธุรกิจและ ทีม่ า : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ สินเชือ่ อุปโภคบริโภค ซึง่ เป็นผลจากความต้องการสินเชือ่ และธนาคารแห่งประเทศไทย ทีช่ ะลอตัวท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจทีฟ่ นื้ ตัวอย่างค่อยเป็น ค่ อ ยไป โดยเฉพาะการลงทุ น ภาคเอกชนที่ ฟื้ น ตั ว ช้ า
72
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ผลการดำ�เนินงานจำ�แนกตามกลุ่มธุรกิจ 1. กลุ่มธุรกิจลงทุน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีผลการดำ�เนินงาน ดังนี้ อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทำ�กำ�ไร (PROFITABILITY RATIO) อัตรากำ�ไรขัน้ ต้น อัตรากำ�ไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถอื หุ้น อัตราดอกเบี้ยรับ อัตราดอกเบี้ยจ่าย ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน (EFFICIENCY RATIO) อัตรารายได้ดอกเบี้ยสุทธิต่อสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราการหมุนของสินทรัพย์ อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (FINANCIAL RATIO) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น อัตราส่วนเงินให้กู้ต่อเงินกู้ยืม อัตราส่วนเงินให้กู้ต่อเงินรับฝาก อัตราส่วนเงินฝากต่อหนี้สินรวม อัตราการจ่ายเงินปันผล อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตราส่วนคุณภาพสินทรัพย์ (ASSET QUALITY RATIO) อัตราส่วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม อัตราส่วนเงินให้สินเชื่อที่หยุดรับรู้รายได้ต่อสินเชื่อรวม อัตราส่วนดอกเบี้ยค้างรับต่อสินเชื่อรวม ข้อมูลต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น
2559
2558
2557
% % % % % % %
47.34 38.70 14.09 4.34 2.10 2.24 6.51
43.39 29.80 9.65 4.86 2.56 2.30 5.61
33.81 28.29 7.67 5.06 3.00 2.06 5.98
% % เท่า
2.35 1.31 0.03
2.39 0.91 0.03
2.15 0.77 0.03
เท่า % % % % %
9.44 83.36 94.77 77.72 70.39 13.947
10.12 83.90 97.27 75.43 44.42 14.29
9.13 93.64 94.49 82.48 58.88 n/a
% % %
2.19 1.79 0.16
1.92 1.91 0.17
1.85 2.04 0.21
(บาท) (บาท)
1.4896 0.1977
1.3162 0.1211
1.2339 0.0892
รายงานประจำ�ปี 2559
73
ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของบริษัท และบริษัทย่อยเป็นการเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงาน ประจำ�ปี 2559 เปรียบเทียบกับผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2558 ปี 2559 มีกำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ จำ�นวน 3,340.54 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 1,286.38 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 62.62 เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยเมื่อ หักค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ 644.10 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัท มีกำ�ไรสุทธิจำ�นวน 2,696.44 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 1,044.73 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 63.25 เมือ่ เทียบกับ ปี 2558 การเพิ่มขึ้นของกำ�ไรสุทธิเป็นผลมาจากรายได้ ดอกเบีย้ สุทธิทเ่ี พิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.82 และรายได้คา่ ธรรมเนียม และบริการสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 46.14 ตามการขยายตัว ของสินเชือ่ ทุกภาคส่วนและผลตอบแทนจากการจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินต่างๆ บริษทั และบริษทั ย่อย
มีกำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหนี้สญู และหนี้สงสัยจะสูญ จำ�นวน 4,365.54 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 1,221.77 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.86 เมื่อเทียบกับปี 2558 อัตรากำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหนีส้ งสัย จะสูญต่อรายได้รวมปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ 62.66 เพิ่มขึ้น จากปี 2558 ที่อยู่ที่ร้อยละ 56.71 เป็นผลมาจากรายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากการ ขยายตัวของสินเชื่อและผลตอบแทนจากการเป็นตัวแทน จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน รวมถึงรายได้เงินปันผล และกำ�ไรจากการบริหารเงินลงทุนของบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจ ทางการเงิน กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานปี 2559 เท่ากับ 0.1977 บาทต่อหุ้น เทียบกับปี 2558 ที่เท่ากับ 0.1211 บาทต่อหุ้น และอัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ 14.09 และปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 9.65
ตารางแสดงผลการดำ�เนินงาน งบการเงินรวม ผลการดำ�เนินงาน รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไรสำ�หรับปี กำ�ไรต่อหุ้น (EPS) (บาท) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) (%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA) (%)
74
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2559
2558
2557
จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 4,838.99 4,366.43 3,381.93 510.60 349.38 216.22 1,617.47 827.61 648.54 6,967.06 5,543.42 4,246.69 (2,601.52) (2,399.65) (2,045.05) 4,365.54 3,143.77 2,201.64 (1,025.00) (1,089.61) (710.00) 3,340.54 2,054.16 1,491.64 (644.10) (402.45) (290.25) 2,696.44 1,651.71 1,201.39 0.1977 0.1211 0.0892 14.09 9.65 7.67 1.31 0.91 0.77
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 472.56 10.82 161.22 46.14 789.86 95.44 1,423.64 25.68 201.87 8.41 1,221.77 38.86 (64.61) (5.93) 1,286.38 62.62 241.65 60.04 1,044.73 63.25
1.1 โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงาน โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงาน ของบริษัทและบริษัทย่อย ปี 2559 2558 และ 2557 มีรายละเอียดดังนี้ รายได้จากการดำ�เนินงาน ปี 2559 มีรายได้จากการดำ�เนินงาน จำ�นวน 6,967.06 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 1,423.64 ล้านบาท หรือเพิ่มขึน้ ร้อยละ 25.68 เมื่อเทียบกับปี 2558 เป็นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้ดอกเบีย้ สุทธิ รายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไรจากเงินลงทุน และราย ได้เงินปันผล ในขณะทีป่ ี 2559 มีคา่ ใช้จา่ ยดอกเบีย้ จำ�นวน 3,971.04 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 156.42 ล้านบาท หรือ ลดลงร้อยละ 3.79 เมื่อเทียบกับปี 2558 ตามรายละเอียด ดังนี้ ตารางแสดงรายได้จากการดำ�เนินงาน
รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ดอกเบี้ยสุทธิมีจำ�นวน 4,838.99 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 472.56 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.82 เมื่อเทียบกับปี 2558 เป็นผลมาจากรายได้ ดอกเบี้ยจากเงินลงทุนในตราสารหนี้และเงินให้สินเชื่อ ที่เพิ่มขึ้น ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ มีจ�ำ นวน 3,971.04 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 156.42 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 3.79 เมื่อเทียบกับปี 2558 สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ในการบริหารต้นทุนที่ดีและความสามารถในการสร้าง รายได้ของสินทรัพย์ที่มีประสิทธิภาพ
งบการเงินรวม รายได้จากการดำ�เนินงาน รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไรจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรรตเงินตราต่างประเทศ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน
2559
2558
จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ล้านบาท) 8,810.03 8,493.89 (3,971.04) (4,127.46) 4,838.99 4,366.43 636.87 455.58 (126.27) (106.20) 510.60 349.38 0.58 2.17 1,188.49 673.39 396.62 126.15 31.78 25.90 1,617.47 827.61 6,967.06 5,543.42
2557 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 7,455.08 (4,073.15) 3,381.93 296.76 (80.54) 216.22 1.21 491.42 131.68 24.23 648.54 4,246.69
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 316.14 3.72 (156.42) (3.79) 472.56 10.82 181.29 39.79 20.07 18.90 161.22 46.14 (1.59) (73.27) 515.10 76.49 270.47 214.40 5.88 22.70 789.86 95.44 1,423.64 25.68
รายงานประจำ�ปี 2559
75
รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ที่มิ ใช่ดอกเบี้ยสุทธิ ประกอบด้วย รายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มและบริ การสุ ท ธิ และรายได้ อื่ น (ซึ่งประกอบด้วย กำ�ไรจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรต เงินตราต่างประเทศ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผลและ รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น) รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยสุทธิ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากจำ�นวน 1,176.99 ล้านบาท ในปี 2558 เป็นจำ�นวน 2,128.07 ล้านบาท ในปี 2559 เพิ่มขึ้นจำ�นวน 951.08 ล้านบาท - รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มและบริ การสุ ท ธิ มีจ�ำ นวน 510.60 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 161.22 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 46.14 เมื่อเทียบกับปี 2558 เป็นผล มาจากการส่งเสริมการขายเพือ่ เพิม่ จำ�นวนผูฝ้ ากเงินรายย่อย การเพิ่มขึ้นของค่านายหน้าจากการซื้อขายหลักทรัพย์ ค่าธรรมเนียมจากการจัดการกองทุน และค่าธรรมเนียม
จากการเป็นตัวแทนจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเงินต่างๆ อาทิ บริการเป็นนายหน้าประกันชีวิต และบริการเป็น ผู้สนับสนุนการขายและรับซื้อหน่วยลงทุน เป็นต้น - รายได้อื่น รายได้อื่นจำ�นวน 1,617.47 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 789.86 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 95.44 เมื่อเทียบกับปี 2558 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการ เพิ่มขึ้นของกำ�ไรจากเงินลงทุนและรายได้เงินปันผล ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น ปี 2559 ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นมี จำ�นวน 2,601.52 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 201.87 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.41 เมื่อเทียบกับปี 2558 ส่วนใหญ่ เป็นการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายของบริษัทย่อยที่เกี่ยวกับ พนักงานที่มีจ�ำ นวนมากขึ้นเพื่อรองรับการขยายธุรกิจ
ตารางแสดงค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น งบการเงินรวม ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและโฆษณา ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น อัตราส่วนค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นต่อรายได้รวม จากการดำ�เนินงาน
76
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2559
2558
จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ล้านบาท) 1,310.50 1,160.95 32.38 24.23 710.04 704.60 220.64 218.42 105.48 96.16 70.42 69.17 152.06 126.12 2,601.52 2,399.65 37.34% 43.29%
2557 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 960.97 11.42 629.29 193.51 83.89 58.75 107.22 2,045.05 48.16%
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 149.55 12.88 8.15 33.64 5.44 0.77 2.22 1.02 9.32 9.69 1.25 1.81 25.94 20.57 201.87 8.41
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่ า ใช้ จ่ า ยเกี่ ย วกั บ พนั ก งานมี จำ � นวน 1,310.50 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 149.55 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.88 เมื่อเทียบกับปี 2558 เป็นผล มาจากการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน เงินโบนัสประจำ�ปี และ การเพิม่ ขึน้ ของจำ�นวนพนักงานเพือ่ รองรับการขยายธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มธุรกิจ ทางการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มีพนักงานรวมทั้งสิ้น 1,850 ราย เพิ่มขึ้นจำ�นวน 63 ราย หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.53 เมื่อเทียบกับปี 2558 ซึ่งประกอบด้วย - ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีพนักงานจำ�นวน 1,692 ราย เพิ่มขึ้นจำ�นวน 39 ราย เมื่อเทียบกับปี 2558 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้น ตามปริมาณสาขาที่เพิ่มขึ้นจากปี 2558 จำ�นวน 7 สาขา เป็น 133 สาขา ณ สิ้นปี 2559 - บริษัทหลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีพนักงานจำ�นวน 98 ราย เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 10 ราย เมื่อเทียบกับปี 2558 - บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด มีพนักงานจำ�นวน 60 ราย เพิ่มขึ้น จำ�นวน 14 ราย เมื่อเทียบกับปี 2558 กลุ่มธุรกิจทางการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด รวมทั้งสิ้น
- ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และ อุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และ อุปกรณ์มีจำ�นวน 710.04 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 5.44 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.77 เมื่อเทียบกับปี 2558 เป็นผลมาจากการขยายสาขาของบริษทั ย่อยและค่าใช้จา่ ย เกี่ยวกับ ATM - ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จา่ ยอืน่ มีจ�ำ นวน 152.06 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 25.94 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 20.57 เมื่อเทียบกับปี 2558
31 ธันวาคม 2559 1,692 98 60 1,850
จำ�นวนพนักงาน (ราย) 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 1,653 1,524 88 48 46 35 2 1,787 1,609
รายงานประจำ�ปี 2559
77
เงินลงทุนสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินลงทุนใน การวิเคราะห์ฐานะการเงิน หลั ก ทรั พ ย์ สุ ท ธิ แ สดงด้ ว ยมู ล ค่ า ตามบั ญ ชี มี จำ � นวน บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษัท 52,675.77 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 5,472.81 ล้านบาท และบริษทั ย่อย เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 11.59 เมือ่ เทียบกับปี 2558 ส่วนใหญ่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เป็นการเพิ่มขึ้นจากการลงทุนในตราสารหนี้ที่ถือจนครบ กำ�หนด สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพย์รวม มีจำ�นวน 212,147.18 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 12,480.41 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.25 เมื่อเทียบกับปี 2558 สินทรัพย์หลักประกอบด้วยเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ย ค้างรับ-สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 65.14 ของสินทรัพย์รวม รองลงมาได้แก่ เงินลงทุน-สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 24.83 ของ สินทรัพย์รวม ตารางแสดงสินทรัพย์รวม 1.2 ความสามารถในการบริหารสินทรัพย์
สินทรัพย์รวม สินทรัพย์ เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน- สุทธิ เงินลงทุน-สุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก รายได้รอตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผือ่ การปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ ทรัพย์สินรอการขาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน-สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน สินทรัพย์อื่น-สุทธิ รวมสินทรัพย์
78
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงินรวม การเปลี่ยนแปลง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) 2559 2558 2557 จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 2,109.18 17,326.43 52,675.77
2,242.59 17,676.43 47,202.96
2,503.97 13,117.18 33,728.13
(133.41) (350.00) 5,472.81
(5.95) (1.98) 11.59
141,162.07 231.19 141,393.26 (91.77) (3,086.28) (15.23) 138,199.98 107.32 403.90 302.39 263.47 295.84 462.90 212,147.18
133,276.80 224.48 133,501.28 (179.45) (2,555.27) (8.74) 130,757.82 99.34 499.00 297.29 197.54 305.40 388.40 199,666.77
115,915.21 239.81 116,155.02 (281.52) (2,137.82) (7.55) 113,728.13 52.81 543.77 291.45 145.19 345.39 514.28 164,970.30
7,885.27 6.71 7,891.98 (87.68) 531.01 6.49 7,442.16 7.98 (95.10) 5.10 65.93 (9.56) 74.50 12,480.41
5.92 2.99 5.91 (48.86) 20.78 74.26 5.69 8.03 (19.06) 1.72 33.38 (3.13) 19.18 6.25
ตารางแสดงเงินลงทุนแยกประเภทการลงทุนแสดงด้วยมูลค่าตามบัญชี เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนเพื่อค้า ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ รวมเงินลงทุนเพื่อค้า เงินลงทุนเผื่อขาย ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขาย ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้อื่น รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด เงินลงทุนทั่วไป - ราคาทุน ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดในประเทศ หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมเงินลงทุนทั่วไป - ราคาทุน เงินลงทุน - สุทธิ
งบการเงินรวม การเปลี่ยนแปลง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) 2559 2558 2557 จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 0.08 0.08
12.25 12.25
6,636.59 222.09 6,858.68
2,145.47 207.49 2,352.96
18,313.43 22,417.36 5,072.68 45,803.47 13.57 (0.03) 13.54 52,675.77
-
(12.17) (12.17)
(99.35) (99.35)
4,491.12 14.60 4,505.72
209.33 7.04 191.49
22,073.90 17,399.35 5,350.96 44,824.21
15,386.44 (3,760.47) 15,262.82 5,018.01 1,350.41 (278.28) 31,999.67 979.26
(17.04) 28.84 (5.20) 2.18
13.57 (0.03) 13.54 47,202.96
13.66 (0.57) 13.09 33,728.13
1,638.64 76.73 1,715.37
5,472.81
11.59
หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 หนีส้ นิ รวมมีจ�ำ นวน เป็ น เงิ น รั บ ฝากและตราสารหนี้ ที่ อ อกและเงิ น กู้ ยื ม 191,831.54 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 10,115.62 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 77.72 และ 10.60 ของหนี้สินรวม หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.57 เมื่อเทียบกับปี 2558 ส่วนใหญ่ ตามลำ�ดับ
รายงานประจำ�ปี 2559
79
ตารางแสดงหนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน หนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม อื่นๆ รวมหนี้สิน
31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 149,097.14 20,009.85 75.99 20,327.49 2,321.07 191,831.54
ส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ส่วนของเจ้าของ มีจำ�นวน 20,315.64 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 2,364.79 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 13.17 เมือ่ เทียบกับปี 2558 ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจากกำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงานในปี 2559 จำ�นวน 2,696.44 ล้านบาท
1.3 ความเพียงพอของเงินทุน
แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โครงสร้าง เงินทุนตามงบการเงินรวม ประกอบด้วยหนี้สินจำ�นวน 191,831.54 ล้ า นบาท และส่ ว นของเจ้ า ของจำ � นวน 20,315.64 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของเจ้าของ เท่ากับ 9.44 เท่า โดยองค์ประกอบของแหล่งเงินทุน ด้านหนี้สิน ได้แก่ เงินฝาก คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 70.28 ของแหล่งเงินทุน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน สัด ส่ ว นร้ อยละ 9.43 ตราสารหนี้ที่อ อกและเงินกู้ยืม สัดส่วนร้อยละ 9.58 และอื่นๆ สัดส่วนร้อยละ 1.13 ขณะที่ส่วนของเจ้าของ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 9.58
80
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ล้านบาท) 137,064.32 122,631.90 20,638.56 23,171.16 176.52 109.95 21,663.97 1,000.00 2,172.55 1,770.94 181,715.92 148,683.95
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 12,032.82 (628.71) (100.53) (1,336.48) 148.52 10,115.62
สัดส่วน (ร้อยละ) 8.78 (3.05) (56.95) (6.17) 6.84 5.57
ความสั ม พั น ธ์ ข องแหล่ ง ที่ ม าและ ใช้ไปของเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินให้สนิ เชือ่ (ก่อนหักรายได้รอตัดบัญชี) จำ�นวน 141,162.07 ล้านบาท โดยมีอัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินรับฝากของธนาคาร คิดเป็นร้อยละ 94.77 สำ�หรับสภาพคล่องทีเ่ หลือ ธนาคาร ได้น�ำ ไปลงทุนในสินทรัพย์สภาพคล่องต่างๆ เช่น รายการ ระหว่างธนาคารและตลาดเงินและเงินลงทุนในหลักทรัพย์ แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุนที่สำ�คัญ สามารถแบ่งตามระยะเวลาครบกำ�หนดตามสัญญาโดย เงินรับฝากทีม่ อี ายุนอ้ ยกว่า 1 ปี จำ�นวน 141,756.14 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 95.08 ของเงินรับฝากทั้งหมด ขณะที่ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่มีอายุน้อยกว่า 1 ปี จำ�นวน 62,856.32 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.53 ของเงินให้ สินเชื่อทั้งหมด ส่วนเงินรับฝากที่มีอายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน 7,341.00 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.92 ของ เงินรับฝากทั้งหมด ขณะที่เงินให้สินเชื่อที่มีอายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน 77,965.12 ล้านบาท หรือร้อยละ 55.23 ของ เงินให้สินเชื่อทั้งหมด
ตารางแสดงแหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน เงินรับฝาก ระยะเวลา น้อยกว่า 1 ปี มากกว่า 1 ปี ไม่มีกำ�หนด รวม
31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 141,756.14 95.08 7,341.00 4.92 149,097.14 100.00
31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 129,078.24 94.17 7,986.08 5.83 137,064.32 100.00
1.4 การเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีเงินสด จำ�นวน 2,109.18 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 133.41 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยมีเงินสดสุทธิได้มาและใช้ไปใน กิจกรรมต่างๆ ดังนี้ - เงิ น สดสุ ท ธิ ไ ด้ ม าจากกิ จ กรรม ดำ�เนินงานจำ�นวน 2,500.61 ล้านบาท ซึง่ เกิดจากกำ�ไรจากการดำ�เนินงาน ก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้ สิ น ดำ � เนิ น งาน จำ � นวน 488.13 ล้านบาท และการเปลีย่ นแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน ที่ สำ � คั ญ ได้ แ ก่ เงิ น ให้ สิ น เชื่ อ แก่ ลู ก หนี้ เ พิ่ ม ขึ้ น 8,507.32 ล้านบาท รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน (สินทรัพย์) ลดลง 357.60 ล้านบาท เงินรับฝากเพิม่ ขึน้ 12,032.83 ล้านบาท และตราสารหนี้ ที่ออกและเงินกู้ยืมระยะสั้นลดลง 1,349.48 ล้านบาท
เงินให้สินเชื่อ 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 62,856.32 44.53 49,125.24 36.86 77,965.12 55.23 83,781.44 62.86 340.63 0.24 370.12 0.28 141,162.07 100.00 133,276.80 100.00
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จำ � นวน 2,196.95 ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่ ม าจากการลงทุ น ใน เงิ น ลงทุ น เผื่ อ ขายสุ ท ธิ จำ � นวน 3,964.73 ล้านบาท เงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรม จัดหาเงินจำ�นวน 437.07 ล้านบาท ซึง่ เกิดจากการจ่ายเงินปันผลจำ�นวน 450.07 ล้านบาท
1.5 ความเพียงพอของสภาพคล่อง สินทรัพย์สภาพคล่อง ประกอบด้วย เงิ น สด รายงานระหว่ า งธนาคารและตลาดเงิ น สุ ท ธิ (สินทรัพย์) และเงินลงทุนสุทธิ สินทรัพย์สภาพคล่อง เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจาก 53,156.00 ล้านบาท ในปี 2558 เป็น 57,020.33 ล้านบาท ในปี 2559 เพิ่มขึ้นจำ�นวน 3,864.33 ล้านบาท
รายการ สินทรัพย์รวม เงินรับฝาก เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (สุทธิรายได้รอตัดบัญชี) สินทรัพย์สภาพคล่อง เงินให้สินเชื่อ/เงินรับฝาก (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/สินทรัพย์รวม (%) สินทรัพย์สภาพคล่อง/เงินรับฝาก (%)
31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 212,147.18 199,666.77 149,097.15 137,064.32 141,070.30 133,097.35 57,020.33 53,156.00 94.77 97.27 26.88 26.62 38.24 38.78 รายงานประจำ�ปี 2559
81
ระบบธนาคารพาณิชย์เผชิญกับปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิด รายได้ (NPL) ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะจากลูกหนี้สินเชื่อ ธุรกิจ SME และสินเชือ่ รายย่อย ส่งผลให้ก�ำ ไรสุทธิชะลอตัว จากการตั้ ง สำ � รองค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ เพื่ อ รองรั บ หนีด้ อ้ ยคุณภาพทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมทัง้ ระบบธนาคารพาณิชย์เน้น การให้สนิ เชือ่ อย่างรัดกุมและให้ความสำ�คัญกับการเติบโต ของสินเชื่ออย่างระมัดระวังมากขึ้น ด้ า นการระดมเงิ น ฝาก ธนาคารต่ า งๆ แข่งขันออกผลิตภัณฑ์เงินฝาก และมีการกู้ยืมเพิ่มขึ้น ทัง้ รูปแบบการออกหุน้ กูด้ อ้ ยสิทธิ การออกหุน้ กูใ้ นประเทศ และต่างประเทศ ความสามารถในการทำ�กำ�ไรอยู่ในเกณฑ์ดี โดยกำ�ไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากปีก่อน แม้เงินให้สินเชื่อเติบโต ไม่มากนัก เนื่องจากธนาคารพาณิชย์เน้นบริหารจัดการ ต้นทุนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งต้นทุนดอกเบี้ยและ ต้นทุนบริหารจัดการ ส่งผลให้ก�ำ ไรสุทธิของระบบธนาคาร 2. ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ พาณิชย์ ในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 เมื่อเทียบกับ ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของ ปี 2558 โดยกำ�ไรจากการดำ�เนินงานขยายตัวร้อยละ 4.2 จากปี 2558 ธนาคารพาณิชย์ปี 2559 และแนวโน้มปี 2560 1.6 ปั จ จั ย ที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ ผลการ ดำ�เนินงานในอนาคต ปั จ จั ย ที่ อ าจมี ผ ลต่ อ การดำ � เนิ น งานใน อนาคต มีปจั จัยหลักคือ แนวโน้มการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจไทย ซึ่ ง ยั ง อยู่ ใ นภาวะเปราะบาง โดยมี ส าเหตุ ม าจาก สถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัวช้า ความผันผวนใน ตลาดเงิน ตลาดทุน ประกอบกับกำ�ลังซื้อภายในประเทศ ที่ยังไม่แข็งแรงนัก รวมถึงครัวเรือนในภาคเกษตรที่ได้รับ ผลกระทบทัง้ จากปัญหาราคาสินค้าตกต่�ำ และวิกฤติภยั แล้ง ซึ่ ง จะส่ ง ผลต่ อ เนื่ อ งมายั ง ความต้ อ งการสิ น เชื่ อ และ คุณภาพสินเชื่อ และอาจส่งผลให้รายได้ดอกเบี้ยรับของ ระบบธนาคารพาณิ ช ย์ ล ดลง รวมทั้ ง ปั ญ หาหนี้ ด้อยคุณภาพในระดับสูงจะทำ�ให้ตอ้ งมีการตัง้ สำ�รองหนีส้ งสัย จะสูญมากขึ้น
ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของ ธนาคารพาณิชย์ปี 2559 ปี 2559 ภาพรวมอุตสาหกรรมธนาคาร พาณิชย์ยงั คงชะลอตัวต่อเนือ่ งจากปีกอ่ น โดยเงินให้สนิ เชือ่ ขยายตัวเพียงร้อยละ 2.1 จากสิ้นปีก่อน และปี 2559
82
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลเปรียบเทียบของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) กับระบบธนาคารพาณิชย์ ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2559 (หน่วย : ล้านบาท) 2559 ระบบธนาคารพาณิชย์ สินทรัพย์ สินเชื่อ เงินฝาก ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) สินทรัพย์ สินเชื่อ เงินฝาก ส่วนแบ่งตลาดของ LH BANK สินทรัพย์ (%) สินเชื่อ (%) เงินฝาก (%)
2558
อัตราการเติบโต (ต่อปี) 2559 2558
2557
อัตราการเติบโต (ต่อปี) เฉลีย่ ย้อนหลัง 2 ปี
15,941,608 11,150,111 11,392,320
15,546,336 10,924,682 11,222,823
14,790,545 10,342,155 10,907,489
2.5% 2.1% 1.5%
5.1% 5.6% 2.9%
3.8% 3.8% 2.2%
209,695 141,145 149,639
198,039 132,727 137,300
164,818 116,020 123,662
5.9% 6.3% 9.0%
20.2% 14.4% 11.0%
12.8% 10.3% 10.0%
1.32 1.27 1.31
1.27 1.21 1.22
1.11 1.12 1.13
-
-
-
ที่มา ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย, ธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศ 15 แห่ง
แนวโน้มภาวะธุรกิจและการแข่งขันของ ได้ปดิ สาขา หรือชะลอการเปิดสาขา รวมทัง้ การลดจำ�นวน ธนาคารพาณิชย์ในปี 2560 พนักงานสาขา เพือ่ เป็นการลดต้นทุนการดำ�เนินงานส่วนหนึง่ และสอดคล้องกับการพัฒนาระบบธนาคารเข้าสู่ธนาคาร จากการคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจ ดิจิตอล (Digital Banking) ที่เริ่มมีบทบาทสูงเพราะ หรือ GDP ของไทยปี 2560 ของคณะกรรมการพัฒนา มีความสะดวก สามารถทำ�ธุรกรรมได้ทกุ ที่ ทุกเวลา รวดเร็ว เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือสภาพัฒน์ อยู่ที่ร้อยละ กว่าการทำ�ธุรกรรมผ่านสาขา 3.0-4.0 หรือมีค่ากลางราวร้อยละ 3.5 แสดงถึงเศรษฐกิจ ที่ฟื้นตัวอย่างช้าๆ แต่ปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ การวิเคราะห์ภาวะธุรกิจธนาคารพาณิชย์ หรือ NPL ในปี 2559 ยังค่อนข้างสูง ซึ่งเป็นเรื่องสำ�คัญที่ ที่มีผลต่อการดำ�เนินงาน ธนาคารพาณิชย์คำ�นึงถึงการปล่อยสินเชื่อในปี 2560 อย่างไรก็ตาม จากการคาดการณ์การเติบโตของสินเชื่อ ระบบธนาคารพาณิ ช ย์ มี ก ารแข่ ง ขั น ของธนาคารพาณิชย์หลายแห่ง คาดว่าสินเชื่อในระบบ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างการเงิ น เพื่ อ สร้ า งฐานลู ก ค้ า ให้ ธนาคารพาณิชย์จะสามารถเติบโตเฉลีย่ ร้อยละ 3.0 เท่ากับ เพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะฐานลูกค้ารายย่อย เพือ่ รองรับการลด การเติบโตของ GDP การคุม้ ครองเงินฝากจากไม่เกิน 25 ล้านบาทเหลือไม่เกิน ระบบธนาคารพาณิชย์ ให้ความสำ�คัญกับ 1 ล้านบาท ที่จะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 11 สิงหาคม การควบคุ ม ต้ น ทุ น การดำ � เนิ น งานต่ อ รายได้ ร วม 2563 การเน้ น สร้ า งรายได้ ใ นทุ ก ส่ ว นทั้ ง รายได้ จาก (Cost-to-Income Ratio) โดยในปี 2559 หลายธนาคาร ดอกเบี้ ย รั บ และรายได้ ที่ มิ ใ ช่ ด อกเบี้ ย และรายได้ รายงานประจำ�ปี 2559
83
ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น เพิ่มขึ้น ค่าธรรมเนียม การควบคุมต้นทุนการดำ�เนินงานอย่าง มีประสิทธิภาพ รวมทัง้ การเร่งพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ เข้าสู่ จำ�นวน 122.68 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.55 เมื่อ เทียบกับปี 2558 เนื่องจากการขยายสาขาของธนาคาร การเป็น Digital Banking ให้เต็มรูปแบบมากที่สุด และการเพิม่ ขึน้ ของจำ�นวนพนักงาน ทำ�ให้คา่ ใช้จา่ ยเกีย่ วกับ พนักงานและค่าใช้จ่ายอื่นเพิ่มสูงขึ้น ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน ธนาคารได้ตั้งสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญลดลง การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของธนาคาร จำ�นวน 64.61 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 5.93 เมือ่ เทียบกับ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นการเปรียบเทียบ ปี 2558 อัตรากำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหนีส้ งสัย ผลการดำ � เนิ น งานประจำ � ปี 2559 เปรี ย บเที ย บกั บ จะสูญต่อรายได้รวมปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ 63.96 เพิ่มขึ้น ผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2558 ปี 2559 มีกำ�ไรจำ�นวน 2,502.30 ล้านบาท จากปี 2558 ที่อยู่ที่ร้อยละ 58.51 เนื่องจากการเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น 871.64 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.45 เมื่อ ของรายได้ จ ากการดำ � เนิ น งานและค่ า ใช้ จ่ า ยจาก เทียบกับปี 2558 การเพิม่ ขึน้ เป็นผลมาจากรายได้ดอกเบีย้ การดำ�เนินงานอืน่ ซึง่ มีทศิ ทางไปในทางเดียวกัน โดยการ สุทธิที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.37 ตามการขยายตัวของสินเชื่อ เพิ่มขึ้นของรายได้จากการดำ�เนินงานมีสัดส่วนสูงกว่า ทุกภาคส่วน และรายได้อื่น(ซึ่งประกอบด้วย กำ�ไรจาก ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่นร้อยละ 15.96 กำ�ไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานปี 2559 เท่ากับ 1.79 บาท ธุรกรรมเพือ่ ค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ กำ�ไรจาก เงินลงทุน รายได้เงินปันผลและรายได้จากการดำ�เนินงานอืน่ ) ต่อหุ้น เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อนที่มีจำ�นวน 1.24 บาท ต่อหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ เพิ่มขึ้นร้อยละ 81.95 14.93 และอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ 1.23 ตารางแสดงผลการดำ�เนินงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลการดำ�เนินงาน รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไรสำ�หรับปี กำ�ไรต่อหุน้ (EPS)(บาท) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE)(%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA)(%)
84
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2559
2558
2557
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,838.04 261.15 1,375.10 6,474.29 (2,333.27) 4,141.02 (1,025.00) 3,116.02 (613.72) 2,502.30 1.79 14.93 1.23
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,344.06 228.28 755.75 5,328.09 (2,210.59) 3,117.50 (1,089.61) 2,027.89 (397.23) 1,630.66 1.24 10.74 0.90
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 3,382.45 155.68 609.71 4,147.84 (1,949.50) 2,198.34 (710.00) 1,488.34 (285.20) 1,203.14 0.95 8.63 0.77
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 493.98 11.37 32.87 14.40 619.35 81.95 1,146.20 21.51 122.68 5.55 1,023.52 32.83 (64.61) (5.93) 1,088.13 53.66 216.49 54.50 871.64 53.45
2.1 โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงาน
รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ
โครงสร้างรายได้จากการดำ�เนินงาน ปี 2559 มี ร ายได้ ด อกเบี้ ย สุ ท ธิ จำ � นวน ของธนาคาร มีรายละเอียดดังนี้ 4,838.04 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 493.98 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.37 เมื่อเทียบกับปี 2558 เป็นผล รายได้จากการดำ�เนินงาน มาจากรายได้ดอกเบีย้ จากเงินให้สนิ เชือ่ ตามการขยายตัว ในปี 2559 มีรายได้จากการดำ�เนินงาน ของเงิ น ให้ สิ น เชื่ อ และรายได้ ด อกเบี้ ย จากเงิ น ลงทุ น จำ�นวน 6,474.29 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,146.20 ล้านบาท ในตราสารหนี้ตามการลงทุนที่เพิ่มขึ้น หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 21.51 เมือ่ เทียบกับปี 2558 ส่วนใหญ่ ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ มีจ�ำ นวน 3,978.29 ล้านบาท เป็นการเพิ่มขึ้นจากรายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อตาม ลดลงจำ�นวน 162.83 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 3.93 การขยายตัวของเงินให้สินเชื่อและกำ�ไรจากเงินลงทุน ซึง่ สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนทีด่ ี สามารถจำ�แนกรายละเอียดได้ตามตารางต่อไปนี้ และความสามารถในการสร้างรายได้ของสินทรัพย์อย่าง มีประสิทธิภาพ ตารางแสดงรายได้จากการดำ�เนินงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ รายได้จากการดำ�เนินงาน รายได้ดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เงินลงทุนในตราสารหนี้ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน การให้เช่าซื้อ รวมรายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน
2559
2558
2557
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
6,459.89 1,664.67 607.36 84.41 8,816.33 (3,978.29) 4,838.04 336.90 (75.75) 261.15 1,135.62 210.63 28.85 1,375.10 6,474.29
6,259.57 1,470.79 633.24 121.58 8,485.18 (4,141.12) 4,344.06 294.96 (66.68) 228.28 659.74 78.08 17.93 755.75 5,328.09
5,570.29 1,476.58 298.51 135.62 7,481.00 (4,098.55) 3,382.45 207.22 (51.54) 155.68 485.59 100.54 23.58 609.71 4,147.84
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 200.32 193.88 (25.88) (37.17) 331.15 (162.83) 493.98 41.94 9.07 32.87 475.88 132.55 10.92 619.35 1,146.20
รายงานประจำ�ปี 2559
3.20 13.18 (4.09) (30.57) 3.90 (3.93) 11.37 14.22 13.60 14.40 72.13 169.76 60.90 81.95 21.51
85
รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย
รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย ประกอบด้วยรายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิและรายได้อื่น (ซึ่งประกอบ ด้วยกำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล และรายได้จาก การดำ�เนินงานอื่น) ปี 2559 ธนาคารมีรายได้ที่มิ ใช่ ดอกเบี้ยจำ�นวน 1,636.25 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 652.22 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 66.28 เมือ่ เทียบกับ ปี 2558 โดยมีรายละเอียดดังนี้
เมือ่ เทียบกับ ปี 2558 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ของกำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้ดอกเบีย้ สุทธิหลังหักหนีส้ ญู หนีส้ งสัย จะสูญและขาดทุนจากการด้อยค่า
ธนาคารได้ตั้งสำ�รองหนี้สูญและหนี้สงสัย จะสูญแต่ละปีเป็นไปตามหลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดของ ธนาคารแห่งประเทศไทยและการประเมินคุณภาพลูกหนี้ จากประสบการณ์ ปี 2559 รายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญ - รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ และขาดทุ น จากการด้ อ ยค่ า มี จำ � นวน จำ�นวน 261.15 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 32.87 ล้านบาท 3,813.04 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 558.59 ล้านบาท หรือ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.40 เมื่อเทียบกับปี 2558 เป็นผล เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.16 เมื่อเทียบกับปี 2558 มาจากการส่งเสริมการขายเพือ่ เพิม่ จำ�นวนผูฝ้ ากเงินรายย่อย หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจาก การกระตุ้นการใช้บัตร ATM LH Bank ที่สามารถกดเงิน ผ่านตู้ ATM ของ LH Bank ทุกตู้ทั่วไทยโดยไม่เสีย การด้อยค่า ปี 2559 ธนาคารมีหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ ค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมจากการจัดการกองทุน และ ค่าธรรมเนียมจากการเป็นตัวแทนจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ และขาดทุนจากการด้อยค่าจำ�นวน 1,025.00 ล้านบาท ทางการเงินต่างๆ อาทิ เช่น บริการด้านประกัน บริการ ลดลงจำ�นวน 64.61 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 5.93 เมือ่ เป็นนายหน้าประกันชีวิต และบริการเป็นผู้สนับสนุน เทียบกับปี 2558 โดยสัดส่วนเงินสำ�รองที่มีต่อเงินสำ�รอง พึ ง กั น ตามเกณฑ์ ข องธนาคารแห่ ง ประเทศไทยอยู่ ที่ การขายและรับซื้อหน่วยลงทุน เป็นต้น ร้อยละ 185.50 ในปี 2559 และอยู่ที่ร้อยละ 180.42 ในปี 2558 - รายได้อื่น รายได้อื่นจำ�นวน 1,375.10 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 619.35 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 81.95 ตารางแสดงรายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ หลังหักหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และ ขาดทุนจากการด้อยค่า รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า รายได้ดอกเบี้ยสุทธิหลังหักหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า เงินสำ�รองที่มีต่อเงินสำ�รองพึงกัน (%)
86
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559
2558
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,838.04 (1,025.00)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 4,344.06 (1,089.61)
3,813.04 185.50
3,254.45 180.42
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ 2557 ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 3,382.45 493.98 11.37 (710.00) (64.61) (5.93) 2,672.45 157.35
558.59
17.16
ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่นๆ
ค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินงานอืน่ ๆ ประกอบด้วย ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จา่ ย เกีย่ วกับอาคาร สถานทีแ่ ละอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าใช้จา่ ย ส่งเสริมการขายและโฆษณา ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มี ตัวตนและค่าใช้จ่ายอื่น โดยปี 2559 ธนาคารมีค่าใช้จ่าย ในการดำ�เนินงานอืน่ จำ�นวน 2,333.27 ล้านบาท เพิม่ ขึน้
จำ�นวน 122.68 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.55 เมื่อ เทียบกับปี 2558 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับพนักงาน เนื่องจากการขยายสาขาเพิ่มขึ้นจาก ปี 2558 จำ�นวน 7 สาขา เป็น 133 สาขา ณ สิ้นปี 2559 โดยอัตราส่วนค่าใช้จา่ ยจากการดำ�เนินงานอืน่ ต่อรายได้รวม ปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ 36.04 ลดลงจากปี 2558 ที่อยู่ ที่ร้อยละ 41.49 ตามรายละเอียด ดังนี้
ตารางแสดงค่าใช้จา่ ยจากการดำ�เนินงานอื่น งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าใช้จา่ ยจากการดำ�เนินงานอื่น
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและโฆษณา ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่น อัตราส่วนค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานต่อรายได้รวม จากการดำ�เนินงาน (%)
2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,159.31 15.31 659.97 219.73 90.12 63.09 125.74 2,333.27 36.04
2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 1,056.99 13.75 667.22 217.06 92.23 59.03 104.31 2,210.59 41.49
2557 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 912.14 1.50 610.34 192.20 80.19 55.78 97.35 1,949.50 47.00
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 102.32 9.68 1.56 11.35 (7.25) (1.09) 2.67 1.23 (2.11) (2.29) 4.06 6.88 21.43 20.54 122.68 5.55
2.2 ความสามารถในการบริหารสินทรัพย์
การวิเคราะห์ฐานะการเงิน บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของธนาคาร เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
รายงานประจำ�ปี 2559
87
ตารางแสดงสินทรัพย์รวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์รวม สินทรัพย์ เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน- สุทธิ เงินลงทุน-สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก รายได้รอตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ ทรัพย์สินรอการขาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน-สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน สินทรัพย์อื่น-สุทธิ รวมสินทรัพย์
2559
2558
2557
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
2,109.13 17,961.03 49,978.12 -
2,242.56 17,742.12 45,965.02 257.29
2,503.96 13,083.09 33,180.41 257.29
141,236.44 229.43 141,465.87 (91.77) (3,078.63) (15.23) 138,280.24 107.32 317.88 180.24 263.45 295.84 201.72 209,694.97
132,906.68 222.89 133,129.57 (179.45) (2,555.27) (8.74) 130,386.11 99.34 409.04 181.27 190.71 305.40 259.97 198,038.83
116,301.56 239.68 116,541.24 (281.52) (2,068.13) (7.55) 114,184.04 52.81 462.65 183.94 133.44 345.39 431.16 164,818.18
สินทรัพย์รวม
สินทรัพย์หลัก ประกอบด้วยเงินให้สินเชื่อ แก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ คิดเป็นร้อยละ 65.94 ของสิ น ทรั พ ย์ ร วม รองลงมาได้ แ ก่ เงิ น ลงทุ น -สุ ท ธิ คิดเป็นร้อยละ 23.83 ของสินทรัพย์รวม โดยสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจ�ำ นวน 209,694.97 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 11,656.14 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.89 เมือ่ เทียบกับปี 2558 โดยส่วนใหญ่มาจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินให้สนิ เชือ่ และดอกเบีย้ ค้างรับ-สุทธิ และเงินลงทุน-สุทธิ
88
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (133.43) (5.95) 218.91 1.23 4,013.10 8.73 (257.29) (100.00) 8,329.76 6.54 8,336.30 (87.68) 523.36 6.49 7,894.13 7.98 (91.16) (1.03) 72.74 (9.56) (58.25) 11,656.14
6.27 2.93 6.26 (48.86) 20.48 74.26 6.05 8.03 (22.29) (0.57) 38.14 (3.13) (22.41) 5.89
เงินให้สินเชื่อ
เงินให้สนิ เชือ่ จำ�แนกตามภาคธุรกิจสามารถ แบ่งออกเป็นเงินให้สนิ เชือ่ ธุรกิจขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) เงินให้สนิ เชือ่ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME) และเงินให้สนิ เชือ่ เพือ่ รายย่อย (Retail) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีเงินให้สนิ เชือ่ สุทธิ จากรายได้รอตัดบัญชี (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) จำ�นวน 157,493.84 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 8,483.82 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.69 เมือ่ เทียบกับปี 2558
โดยส่วนใหญ่เป็นสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ การสาธารณูปโภคและบริการ และสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 64.08 รองลงมาเป็ น สิ น เชื่ อ เพื่ อ รายย่ อ ยคิ ด เป็ น คิดเป็นร้อยละ 24.18 และร้อยละ 18.50 ของเงินให้ ร้อยละ 19.77 ของเงินให้สินเชื่อทั้งหมดและหากจำ�แนก สินเชื่อทั้งหมด ตามลำ�ดับ ตามประเภทเงินให้สนิ เชือ่ พบว่าส่วนใหญ่เป็นสินเชือ่ เพือ่ ตารางแสดงเงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามภาคธุรกิจ (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามภาคธุรกิจ สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ (Big Corporate & Corporate) สินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs & SSME) สินเชื่อเพื่อรายย่อย (Retail) รวมเงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี บวก : ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับสุทธิจาก รายได้รอตัดบัญชี
2559
2558
2557
จำ�นวนเงิน ร้อยละ จำ�นวนเงิน ร้อยละ จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 100,920.01 64.08 90,053.21 60.43 69,774.26 25,441.42 16.15
27,143.71
18.22
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) ร้อยละ จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 54.67 10,866.80 12.07
25,486.31 19.97 (1,702.29)
31,132.41 19.77 31,813.10 21.35 32,356.97 25.36 157,493.84 100.00 149,010.02 100.00 127,617.54 100.00 243.64 236.52 244.93 157,737.48 149,246.54 127,862.47
(680.69) 8,483.82 7.12 8,490.94
(6.27) (2.14) 5.69 3.01 5.69
ตารางแสดงรายละเอียดเงินให้สินเชื่อจำ�แนกตามประเภทเงินให้สินเชื่อ (รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินให้สินเชื่อ จำ�แนกตามประเภทเงินให้สินเชื่อ
2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 29,134.89 อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ 27,844.63 การสาธารณูปโภคและบริการ 38,074.24 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง 20,789.91 การเกษตรและเหมืองแร่ 488.40 ตัวกลางทางการเงิน 23,877.22 สหกรณ์ออมทรัพย์ 15,229.17 อื่นๆ 2,055.38 รวมเงินให้สนิ เชือ่ สุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี 157,493.84
ร้อยละ
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ 2558 2557 ปี 2558) เพิม่ ขึน้ (ลดลง) จำ�นวนเงิน ร้อยละ จำ�นวนเงิน ร้อยละ จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ)
18.50 29,812.73 17.68 27,390.76 24.18 34,424.60 13.20 18,847.74 0.31 386.13 15.16 21,938.64 9.67 14,093.29 1.30 2,116.13 100.00 149,010.02
20.01 18.38 23.10 12.65 0.26 14.72 9.46 1.42 100.00
30,472.25 23.88 (677.84) 22,909.61 17.95 453.87 27,283.53 21.38 3,649.64 15,230.61 11.93 1,942.17 420.88 0.33 102.27 19,001.13 14.89 1,938.58 10,028.50 7.86 1,135.88 2,271.03 1.78 (60.75) 127,617.54 100.00 8,483.82
รายงานประจำ�ปี 2559
(2.27) 1.66 10.60 10.30 26.49 8.84 8.06 (2.87) 5.69
89
คุณภาพสินทรัพย์
ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพย์ จัดชัน้ ประกอบด้วย รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน และดอกเบีย้ ค้างรับ เงินลงทุน เงินให้สนิ เชือ่ และดอกเบีย้ ค้ า งรั บ และสิ น ทรั พ ย์ อื่ น โดยจั ด ชั้ น ตามหลั ก เกณฑ์ ทีก่ �ำ หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย มีรายละเอียดดังนี้
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญจำ�นวน 3,078.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 523.36 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 20.48 เมือ่ เทียบกับ ปี 2558 ซึ่งสอดคล้องกับการเติบโตของสินเชื่อและเพื่อ รองรับความไม่แน่นอนทีอ่ าจเกิดขึน้ จากสภาวะเศรษฐกิจ ภายในประเทศ อัตราส่วนค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญต่อสินเชือ่ รวมอยู่ที่ร้อยละ 2.19 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ที่อยู่ที่ร้อยละ 1.93 อัตราส่วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อเงินให้สินเชื่อ ด้อยคุณภาพ (LLR/NPL) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 98.12 เป็นร้อยละ 119.62
ตารางแสดงการจัดชั้นสินทรัพย์แยกตามประเภทสินทรัพย์ งบการเงินเฉพาะกิจการ การจัดชัน้ สินทรัพย์แยกตามประเภทสินทรัพย์ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินและดอกเบี้ยค้างรับ - ปกติ เงินลงทุน - สงสัยจะสูญ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - ปกติ - กล่าวถึงเป็นพิเศษ - ต่ำ�กว่ามาตรฐาน - สงสัย - สงสัยจะสูญ สินทรัพย์อื่น - สงสัยจะสูญ รวม
90
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2559
2558
2557
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
16,363.39
16,296.41
11,602.75
66.98
0.41
71.72
50.66
36.03
21.06
41.57
137,462.17 1,146.01 912.01 621.85 1,232.06
129,150.53 984.94 347.08 1,471.27 996.30
111,826.75 1,983.91 507.50 570.55 1,371.01
8,311.64 161.07 564.93 (849.42) 235.76
6.44 16.35 162.77 (57.73) 23.66
51.17 157,860.38
34.97 149,332.16
26.11 127,924.61
16.20 8,528.22
46.33 5.71
ตารางแสดงค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำ�แนกตามการจัดชั้นของลูกหนี้ (ไม่รวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน) งบการเงินเฉพาะกิจการ การเปลี่ยนแปลง เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ 2559 2558 (ปี 2559 เปรียบเทียบกับปี และดอกเบี้ยค้างรับ เงิ น ให้ ส น ิ เชื อ ่ แก่ ล ก ู หนี ้ ค่ า เผื อ ่ หนี ส ้ งสั ย จะสู ญ เงิ น ให้ ส น ิ เชื อ ่ แก่ ล ก ู หนี ้ ค่ า เผื อ ่ หนี ส ้ งสั ย จะสู ญ 2558) เพิ ม่ ขึน้ (ลดลง) และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และดอกเบี ย ้ ค้ า งรั บ และดอกเบี ย ้ ค้ า งรั บ จำ�แนกตามการจัดชั้น ของลูกหนี้ จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) จัดชั้นปกติ 137,462.17 97.23 812.38 26.39 129,150.53 97.14 498.05 19.49 314.33 63.11 จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ 1,146.01 0.81 168.48 5.47 984.94 0.74 2.85 0.11 165.63 5,811.58 จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน 912.00 0.65 202.31 6.57 347.08 0.26 108.24 4.24 94.07 86.91 จัดชั้นสงสัย 621.85 0.44 49.61 1.61 1,471.27 1.11 367.30 14.37 (317.69) (86.49) จัดชั้นสงสัยจะสูญ 1,232.06 0.87 320.92 10.42 996.30 0.75 347.82 13.61 (26.90) (7.73) รวม 141,374.09 100.00 1,553.70 50.47 132,950.12 100.00 1,324.26 51.82 229.44 17.33 571.54 18.56 508.60 19.91 62.94 12.38 เงินสำ�รองรายตัวเพิ่มเติม เงินสำ�รองทั่วไป 953.39 30.97 722.41 28.27 230.98 31.97 รวม 141,374.09 100.00 3,078.63 100.00 132,950.12 100.00 2,555.27 100.00 523.36 20.48
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีเงินให้สินเชื่อแยกตามอายุลูกหนี้ที่คา้ งชำ�ระตามกำ�หนดระยะเวลา ดังนี้
ตารางแสดงเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้จำ�แนกตามวันที่ครบกำ�หนด งบการเงินเฉพาะกิจการ
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ 2559 2558 2557 ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ) /1 ครบกำ�หนดเมื่อทวงถาม 15,843.04 10,379.04 8,514.33 5,464.00 52.64 ครบกำ�หนดไม่เกิน 3 เดือน 27,454.52 21,378.84 19,771.29 6,075.68 28.42 ครบกำ�หนด 3 - 12 เดือน 19,973.76 17,367.36 14,633.22 2,606.40 15.01 77,965.12 83,781.44 73,382.72 (5,816.32) (6.94) ครบกำ�หนด มากกว่า 1 ปี รวม 141,236.44 132,906.68 116,301.56 8,329.76 6.27 /1 หมายเหตุ หมายถึง เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ครบกำ�หนดเมื่อทวงถามรวมจำ�นวนเงินคงค้างตามสัญญาของลูกหนี้รายที่ผิดนัดชำ�ระและ เป็นเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
รายงานประจำ�ปี 2559
91
ค่าเผือ่ การปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้
หนี้สินรวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ธนาคารมีหนีส้ นิ ธนาคารตัง้ ค่าเผือ่ การปรับมูลค่าจากการปรับ โครงสร้างหนีจ้ �ำ นวน 15.23 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 6.49 รวมจำ � นวน 192,197.09 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จำ � นวน ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 74.26 เมื่อเทียบกับปี 2558 10,171.17 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.59 เมือ่ เทียบกับ ปี 2558 โดยส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของเงินรับฝาก สินเชื่อด้อยคุณภาพ เงินรับฝาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีเงินรับฝาก ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2559 มี สิ น เชื่ อ ด้อยคุณภาพ (Gross) จำ�นวน 2,765.92 ล้านบาท ลดลง รวมจำ�นวน 149,639.50 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 12,339.40 จำ�นวน 48.73 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.73 เมือ่ เทียบกับ ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.99 เมื่อเทียบกับปี 2558 ปี 2558 อัตราส่วนสินเชื่อด้อยคุณภาพต่อสินเชื่อรวม โดยส่วนใหญ่เป็นการเพิม่ ขึน้ ของเงินฝากประเภทออมทรัพย์ คิดเป็นร้อยละ 1.76 ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2558 ที่คิดเป็น ร้อยละ 1.89 สินเชือ่ ด้อยคุณภาพ (Net) จำ�นวน 2,188.44 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.39 ของสินเชือ่ รวมหลังหักสำ�รอง ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของสินเชื่อด้อยคุณภาพ ตารางแสดงหนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน งบการเงินเฉพาะกิจการ หนี้สินจำ�แนกตามประเภทหนี้สิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม อื่นๆ รวมหนี้สิน
92
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2559
2558
2557
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 149,639.50 20,053.83 75.99 20,464.66 1,963.11 192,197.09
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 137,300.10 20,665.87 176.52 21,814.06 2,069.37 182,025.92
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 123,661.96 23,956.61 109.95 1,000.00 1,725.48 150,454.00
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 12,339.40 8.99 (612.04) (2.96) (100.53) (56.95) (1,349.40) (6.19) (106.26) (5.13) 10,171.17 5.59
ตารางแสดงเงินรับฝากจำ�แนกตามประเภทเงินรับฝาก งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินรับฝากจำ�แนกตามประเภทเงินรับฝาก จ่ายคืนเมื่อทวงถาม ออมทรัพย์ เงินรับฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา ใบรับเงินฝากประจำ� รวมเงินรับฝาก
ส่วนของเจ้าของ
2559
2558
2557
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 5,061.09 65,119.72 50,648.23 28,810.46 149,639.50
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 5,678.02 51,887.27 41,212.83 38,521.98 137,300.10
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 5,034.06 50,659.00 30,684.68 37,284.22 123,661.96
เงินทุน
การเปลี่ยนแปลง (ปี 2559 เปรียบเทียบกับ ปี 2558) เพิ่มขึ้น (ลดลง) จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (616.93) (10.87) 13,232.45 25.50 9,435.40 22.89 (9,711.52) (25.21) 12,339.40 8.99
ความสัมพันธ์ของแหล่งที่มาและใช้ไปของ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีส่วนของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีเงินให้สินเชื่อ เจ้าของจำ�นวน 17,497.88 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 1,484.97 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.27 เมือ่ เทียบกับ แก่ลกู หนี้ (ก่อนหักรายได้รอตัดบัญชี) จำ�นวน 141,236.44 ล้านบาท โดยมีอตั ราส่วนของเงินให้สนิ เชือ่ ต่อเงินรับฝาก ปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 94.48 สำ�หรับส่วนของสภาพคล่องทีเ่ หลือ ธนาคารได้น�ำ ไปลงทุนในสินทรัพย์สภาพคล่องต่างๆ อาทิ 2.3 ความเพียงพอของเงินทุน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน และ เงินให้สินเชื่อ แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน แหล่ ง ที่ ม าและใช้ ไ ปของเงิ น ทุ น ที่ สำ � คั ญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โครงสร้างเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สามารถแบ่งตามระยะเวลา ตามงบการเงินเฉพาะกิจการ ประกอบด้วยหนี้สินจำ�นวน ครบกำ�หนดตามสัญญา โดยเงินรับฝากที่มีอายุน้อยกว่า 192,197.09 ล้านบาท และส่วนของเจ้าของจำ�นวน 1 ปี จำ�นวน 142,298.50 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 95.09 17,497.88 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของ ของเงินรับฝากทัง้ หมด ขณะทีเ่ งินให้สนิ เชือ่ ทีม่ อี ายุนอ้ ยกว่า ผู้ถือหุ้นเท่ากับ 10.98 เท่า โดยองค์ประกอบของแหล่ง 1 ปี จำ�นวน 63,271.32 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.80 เงินทุนด้านหนี้สิน ได้แก่ เงินฝากรวมคิดเป็นสัดส่วน ส่วนเงินรับฝากที่มีอายุมากกว่า 1 ปี จำ�นวน 7,341.00 ร้อยละ 71.36 ของแหล่งเงินทุน รายการระหว่างธนาคาร ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.91 ขณะทีเ่ งินให้สนิ เชือ่ ทีม่ อี ายุ และตลาดเงินมีสดั ส่วนร้อยละ 9.56 ตราสารหนีท้ อ่ี อกและ มากกว่า 1 ปี จำ�นวน 77,965.12 ล้านบาท หรือคิดเป็น เงินกู้ยืมสัดส่วนร้อยละ 9.76 หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ร้อยละ 55.20 และอื่นๆ ร้อยละ 0.97 ขณะที่ส่วนของเจ้าของคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 8.35
รายงานประจำ�ปี 2559
93
ตารางแสดงแหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน เงินให้สินเชื่อ
เงินรับฝาก ระยะเวลา น้อยกว่า1 ปี มากกว่า1 ปี รวม
2559 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) 142,298.50 95.09 7,341.00 4.91 149,639.50 100.00
2558 2559 2558 จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 129,314.01 94.18 63,271.32 44.80 49,125.24 36.96 7,986.09 5.82 77,965.12 55.20 83,781.44 63.04 137,300.10 100.00 141,236.44 100.00 132,906.68 100.00
2.4 การเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสด เงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจ�ำ นวน 2,109.13 ล้านบาท ลดลงจำ�นวน 133.43 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยมีเงินสดสุทธิได้มาและใช้ไป ในกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ - เงิ น สดสุ ท ธิ ไ ด้ ม าจากกิ จ กรรม ดำ�เนินงาน จำ�นวน 1,737.38 ล้านบาท เกิดจากกำ�ไรจากการดำ�เนินงาน ก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้ สิ น ดำ � เนิ น งานจำ � นวน 504.63 ล้านบาท และการเปลีย่ นแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน ที่สำ�คัญ ได้แก่ เงินให้สินเชื่อแก่ ลูกหนี้เพิ่มขึ้น 8,922.32 ล้านบาท ตราสารหนีท้ อ่ี อกและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ ลดลง 1,349.40 ล้านบาท และ เงินรับฝากเพิม่ ขึน้ 12,339.40 ล้านบาท
รายการ สินทรัพย์รวม เงินรับฝาก เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (สุทธิรายได้รอตัดบัญชี) สินทรัพย์สภาพคล่อง เงินให้สินเชื่อ/เงินรับฝาก สินทรัพย์สภาพคล่อง/สินทรัพย์รวม สินทรัพย์สภาพคล่อง/เงินรับฝาก
94
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
% % %
- เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จำ�นวน 938.41 ล้านบาท ส่วนใหญ่ มาจากการลงทุ น ในเงิ น ลงทุ น เผื่ อ ขายสุ ท ธิ จำ� นวน 2,872.32 ล้ า นบาท และมี เ งิ น สดรั บ จาก ดอกเบี้ ย ของเงิ น ลงทุ น จำ � นวน 1,756.00 ล้านบาท - เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน จำ�นวน 932.40 ล้านบาท เกิดจาก การจ่ายเงินปันผลทัง้ จำ�นวน 2.5 ความเพียงพอของสภาพคล่อง สินทรัพย์สภาพคล่อง ประกอบด้วย เงิ น สด รายการระหว่ า งธนาคารและตลาดเงิ น สุ ท ธิ (สินทรัพย์) และเงินลงทุนสุทธิ สินทรัพย์สภาพคล่องเพิ่ม ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจากจำ�นวน 51,983.72 ล้านบาท ในปี 2558 เป็นจำ�นวน 54,957.23 ล้านบาท ในปี 2559 เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 2,973.51 ล้านบาท
31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 209,694.97 149,639.50 141,144.67 54,957.23 94.48 26.21 36.73
31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) 198,038.83 137,300.10 132,727.23 51,983.72 96.83 26.25 37.86
ที่นับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 2 ที่ระดับ “BBB” (Triple B Straight) โดยผล “เครดิ ต พิ นิ จ ” (Credit Alert) ธนาคารต้องดำ�รงเงินฝากเฉลี่ยแล้ว แนวโน้ม “Positive” หรือ “บวก” แสดงให้เห็นถึงสถานะ ไม่ต�ำ่ กว่าร้อยละ 1.00 ของยอดเงินรับฝากและเงินกูย้ มื เฉลีย่ ทางธุรกิจและการเงินของธนาคารที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด ในกรณี รวมถึงการมีคณุ ภาพสินทรัพย์ทดี่ แี ละมีเงินทุนทีแ่ ข็งแกร่ง ที่ธนาคารมีเงินสดที่ศูนย์เงินสด ธนาคารอาจนำ�เงินสด 2.7 ความเพียงพอของเงินกองทุนและ ที่ศูนย์เงินสดมานับรวมได้เฉลี่ยแล้วไม่เกินร้อยละ 0.20 การดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ของยอดเงินรับฝากและเงินกู้ยืมเฉลี่ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราส่วน ที่ศูนย์เงินสด และเงินรับฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย เงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับร้อยละ 13.750 รวมจำ�นวน 2,386.17 ล้านบาท สู ง กว่ า เกณฑ์ ขั้ น ต่ำ � ของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ซึ่งกำ�หนดไว้ที่ร้อยละ 9.125 และลดลงจาก ณ วันที่ การจัดอันดับเครดิต 31 ธันวาคม 2558 ที่มีอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) สินทรัพย์เสี่ยงที่ร้อยละ 14.01 อัตราส่วนเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสีย่ ง ได้รับการจัดอันดับเครดิตองค์กรโดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด อยูท่ รี่ ะดับ “A-” (Single A Minus) และอันดับเครดิต เท่ากับร้อยละ 10.239 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ขนั้ ต่�ำ ของธนาคาร ตราสารหนี้ ป ระเภทหุ้ น กู้ ด้ อ ยสิ ท ธิ ลั ก ษณะคล้ า ยทุ น แห่งประเทศไทยที่กำ�หนดไว้ที่ร้อยละ 6.625
2.6 อัตราการดำ�รงเงินฝาก
ตารางแสดงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง 31 ธันวาคม 2559 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
31 ธันวาคม 2558 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
31 ธันวาคม 2557 จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ล้านบาท) (ร้อยละ)
เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย * ส่วนต่าง
16,628.92
10.239 5.125 5.114
15,202.82
10.18 4.50 5.68
13,895.82
11.32 4.50 6.82
เงินกองทุนชั้นที่ 1 ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย * ส่วนต่าง
16,628.92
10.239 6.625 3.614
15,202.82
10.18 6.00 4.18
13,895.82
11.32 6.00 5.32
เงินกองทุนทั้งหมด ธนาคาร อัตราขั้นต่ำ�ตามกฎหมาย * ส่วนต่าง
22,330.75
อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง
13.750 20,936.11 14.01 15,231.93 12.41 9.125 8.50 8.50 4.625 5.51 3.91 หมายเหตุ * หมายถึง อัตราส่วนเงินกองทุนส่วนเพิม่ เพือ่ รองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤต (Conservation Buffer) กำ�หนดให้ธนาคารพาณิชย์ ดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของเพิ่มเติมจากการดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนขั้นต่ำ�อีก ในอัตราร้อยละ 0.625 ต่อปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นไป จนครบอัตราร้อยละ 2.50 ในปี 2562
รายงานประจำ�ปี 2559
95
2.8 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำ�เนิน เฉลีย่ ของธุรกิจหลักทรัพย์ในปี 2559 ลดลงเหลือร้อยละ 12 จากร้อยละ 18 ในปี 2553 นอกจากนี้ ยังมีการดึงตัว งานในอนาคต เจ้าหน้าทีก่ ารตลาดระหว่างกันทำ�ให้ตน้ ทุนการดำ�เนินงาน ปัจจัยทีอ่ าจมีผลต่อการดำ�เนินงานในอนาคต เพิ่มขึ้น ดังนั้นรายได้และกำ�ไรเฉลี่ยของอุตสาหกรรม มีปัจจัยหลักคือ แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทย จึงมีแนวโน้มลดลงแม้มีมูลค่าการซื้อขายเพิ่มขึ้น ทำ�ให้ ซึง่ ยังอยู่ในภาวะเปราะบาง โดยมีสาเหตุมาจากสถานการณ์ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ มี ก ารปรั บ รู ป แบบการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ เศรษฐกิจโลกทีฟ่ น้ื ตัวช้า ความผันผวนในตลาดเงิน ตลาดทุน ไปสูย่ คุ Digital Economics เพือ่ ลดต้นทุนการดำ�เนินงาน ประกอบกับกำ�ลังซื้อภายในประเทศที่ยังไม่แข็งแรงนัก มีการปรับโครงสร้างธุรกิจเพื่อเพิ่มรายได้อื่นๆ รวมถึง รวมถึงครัวเรือนในภาคเกษตรที่ได้รับผลกระทบทั้งจาก การพัฒนาคุณภาพข้อมูลการวิเคราะห์หลักทรัพย์ ให้มี ปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ�และวิกฤตภัยแล้ง ซึ่งจะส่งผล ประสิทธิภาพ และการนำ�เสนอบทวิเคราะห์เพือ่ ตอบสนอง ต่อเนือ่ งมายังความต้องการสินเชือ่ และคุณภาพสินเชือ่ และ ความต้องการของลูกค้าทีห่ นั มาให้ความสำ�คัญกับการซือ้ ขาย อาจส่งผลให้รายได้ดอกเบีย้ รับของระบบธนาคารพาณิชย์ ผ่านระบบ Digital มากขึ้น ลดลง รวมทั้งปัญหาหนี้ด้อยคุณภาพในระดับสูงจะทำ�ให้ แนวโน้มภาวะธุรกิจและการแข่งขันของ ต้องมีการตั้งสำ�รองหนี้สงสัยจะสูญมากขึ้น ธุรกิจหลักทรัพย์ปี 2560 3. ธุรกิจหลักทรัพย์ ปี 2560 บริษทั คาดว่าการแข่งขันของธุรกิจ ภาพรวมและแนวโน้ ม ภาวะธุ ร กิ จ และ หลักทรัพย์ยงั มีความรุนแรงต่อเนือ่ ง ซึง่ จะมีการใช้กลยุทธ์ ด้านราคาที่เข้มข้น และอาจส่งผลให้อัตราค่าคอมมิชชั่น การแข่งขันของธุรกิจหลักทรัพย์ เฉลี่ยของบริษัทหลักทรัพย์ปรับลดลงอีก ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของ การวิ เ คราะห์ ภ าวะธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ ธุรกิจหลักทรัพย์ปี 2559 ที่มีผลต่อการดำ�เนินงาน 1. ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ จ ะมี ก ารแข่ ง ขั น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเติบโต แม้ได้รบั ผลกระทบจากหลายปัจจัยทัง้ ภายในและภายนอก ที่รุนแรงมาก ดังนั้น บริษัทจึงมีมาตรการเพื่อรองรับ แต่ด้วยพื้นฐานประเทศที่แข็งแกร่งภายใต้การขับเคลื่อน การแข่งขัน ดังนี้ จากนโยบายรัฐ และศักยภาพของบริษัทจดทะเบียนไทย 1.1 เร่งขยายฐานลูกค้า ทีป่ รับตัวรับสถานการณ์ได้เป็นอย่างดี ทำ�ให้ตลาดหลักทรัพย์ 1.2 ขยายขอบเขตการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ แห่งประเทศไทย มีการเติบโตทีด่ แี ละโดดเด่นเมือ่ เทียบกับ เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการพึง่ พิงรายได้ ภูมิภาค ดัชนี SET Index ปิดที่ 1,542.94 จุด สร้างผล จากธุรกิจหลัก (Diversification ตอบแทนเติบโตร้อยละ 19.79 และมีสภาพคล่องสูงเป็น Strategy) อันดับหนึง่ ในภูมภิ าคติดต่อกันเป็นปีที่ 5 อยูท่ ี่ 52,525.65 1.3 ขยายสาขาทีค่ รอบคลุมทุกภูมภิ าค ล้านบาทต่อวัน โดยมีผู้ลงทุนต่างชาติกลับมาซื้อสุทธิ ซึ่ ง สามารถเข้ า ถึ ง กลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้าหมายได้ มูลค่า 78,545.98 ล้านบาท การแข่งขันของธุรกิจหลักทรัพย์มคี วามรุนแรง 1.4 การพัฒนาระบบเทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ อย่างต่อเนือ่ ง โดยปัจจัยกระทบหลักยังเป็นการแข่งขันด้านราคา ความได้ เ ปรี ย บด้ า นการแข่ ง ขั น โดยนับตั้งแต่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกาศ ด้านการให้บริการ เปิดเสรีคา่ ธรรมเนียมนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์ตง้ั แต่ปี 2553 1.5 การพัฒนาคุณภาพงานวิเคราะห์ การแข่งขันของธุรกิจหลักทรัพย์มคี วามรุนแรงมากขึน้ เรือ่ ยๆ หลักทรัพย์ ให้มีความครอบคลุม และกดดันให้ค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และตรงกั บ ความต้องการของลูกค้า
96
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2. การเปลีย่ นรูปแบบโครงสร้างการดำ�เนินธุรกิจ ปัจจุบันโครงสร้างรายได้ของธุรกิจหลักทรัพย์ โดยรวม เริ่ ม มี ก ารขยายตั ว ของรายได้ ใ นส่ ว นอื่ น ๆ มากขึ้ น แม้รายได้หลักยังมาจากธุรกิจนายหน้า ตารางแสดง Revenue of Securities Industry
ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน
การวิ เ คราะห์ ผ ลการดำ � เนิ น งานของ บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษทั ย่อย เป็นการเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานประจำ� ปี 2559 เปรียบเทียบกับผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2558 % (Unit : THB Million) 2556 2557 2558 Change ปี 2559 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิ จำ�นวน 105.99 (YOY) ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 125.82 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ Brokerage - Securities 32,749 28,381 25,588 -9.8% ปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 634.49 การเพิ่มขึ้นเป็นผล Brokerage - Derivatives 2,290 1,721 1,933 12.30% มาจากรายได้รวมที่เพิ่มขึ้น Underwriting 1,626 1,327 1,755 32.10% ค่าใช้จา่ ยรวมปี 2559 มีจ�ำ นวน 177.30 ล้านบาท Financial Advisory 546 734 785 7.00% เพิม ่ ขึน้ จำ�นวน 63.58 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2558 หรือ Gains on Trading - Securities -442 920 -1,209 -340.50% เพิม ่ ขึน้ ร้อยละ 55.91 เนือ่ งจากค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงาน Gains on Trading - Derivatives 4,546 2,398 2,733 14.00% และค่ า ใช้ จ่ า ยเกี่ ย วกั บ การดำ � เนิ น งานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตาม Interest and Dividend 3,144 3,171 3,260 2.80% การเติบโตของธุรกิจ อัตรากำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงานปี 2559 Others 5,628 5,978 7,377 15.40% Source: ASCO อยู่ที่ร้อยละ 35.69 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 ที่อยู่ ทีร่ อ้ ยละ 21.12 เนือ่ งจากรายได้จากการดำ�เนินงานเพิม่ ขึน้ 3. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กำ�ไรสุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐานปี 2559 เท่ากับ เพือ่ รองรับยุค Fin Tech ซึง่ คาดว่าจะเกิดการเปลีย่ นแปลง 0.17 บาทต่ อ หุ้ น เพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2558 วิธีการลงทุนอย่างมีนัยสำ�คัญ และในระยะต่อไปน่าจะ ที่เท่ากับ 0.03 บาทต่อหุ้น มีส่วนช่วยให้ภาคธุรกิจการเงินเติบโตได้ค่อนข้างดี โดย ปัจจุบนั คนไทยกว่า 38 ล้านคน สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โครงสร้างรายได้รวม และมีผใู้ ช้งาน social media ผ่านโทรศัพท์มอื ถือ 34 ล้านคน ซึง่ เทคโนโลยีทส่ี มั พันธ์กบั อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นส่วนหนึง่ • รายได้รวม ในชีวติ ประจำ�วัน มีสนิ ค้าและบริการรูปแบบใหม่ๆ เกิดขึน้ รายได้ ร วมประกอบด้ ว ยรายได้ แทบจะทุกอุตสาหกรรม มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ค่านายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์และค่านายหน้าซือ้ ขายสัญญา ดังนัน้ การลงทุนในระบบซือ้ ขายหุน้ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า รายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มและบริ ก าร จึงเป็นปัจจัยหลักสำ�หรับธุรกิจนี้ กำ�ไร (ขาดทุน) จากการซื้อขายหลักทรัพย์ ดอกเบี้ยและ 4. การเปลี่ ย นแปลงนโยบาย ระเบี ย บ เงินปันผล ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์และ ข้อบังคับ และกฎหมายต่างๆ ซึ่งธุรกิจหลักทรัพย์เป็น รายได้อน่ื ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการโอนหุน้ ซึง่ รายได้หลัก ธุ ร กิ จ ที่ มี การควบคุ ม อย่ า งเข้ ม งวดโดยกฎหมายและ มาจากธุรกิจการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ และ ข้ อ กำ � หนดจากภาครั ฐ และหน่ ว ยงานกำ � กั บ ดู แ ล ซึ่ ง การเป็นนายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประกอบด้วยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ ปี 2559 มีรายได้คา่ นายหน้ารวม 91.31 และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ล้านบาท โดยค่านายหน้าเป็นของลูกค้ารายย่อยประมาณ เป็นต้น ร้อยละ 95 ของปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท และเป็นของลูกค้ารายใหญ่และลูกค้าสถาบันประมาณ ร้อยละ 5
รายงานประจำ�ปี 2559
97
รายได้ ร วมจำ � นวน 296.96 ล้ า นบาท เพิ่มขึ้น 203.07 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2558 หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 216.28 เนื่องจากบริษัทมีการขยายสาขา ทำ�ให้มลี กู ค้ามากขึน้ การส่งเสริมการขาย และทีส่ �ำ คัญคือ ความเชือ่ มโยงกันของกลุม่ ธุรกิจทางการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ โดยการนำ�ผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัทในกลุ่มมานำ� เสนอร่วมกันซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี
การวิเคราะห์ฐานะการเงิน บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เป็นการเปรียบเทียบฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
• สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีสินทรัพย์ รวมจำ�นวน 2,088.81 ล้านบาท สินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็น • รายได้คา่ นายหน้า รายได้ ค่ า นายหน้ า จากการซื้ อ ขาย เงิ น ลงทุ น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 68.85 ของสิ น ทรั พ ย์ ร วม หลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าจำ�นวน 91.31 ล้านบาท สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น 1,024.61 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ เพิ่มขึ้น 37.53 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2558 หรือ ปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 96.28 เพิ่มขึ้นร้อยละ 69.78 • ลู ก หนี้ ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญา • รายได้ทน่ี อกเหนือจากรายได้คา่ นายหน้า ซื้อขายล่วงหน้าสุทธิ รายได้ทน่ี อกเหนือจากรายได้คา่ นายหน้า ลูกหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขาย ได้แก่ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ กำ�ไร(ขาดทุน) ล่วงหน้าสุทธิ (บวกดอกเบีย้ ค้างรับ) จำ�นวน 443.55 ล้านบาท จากการซือ้ ขายหลักทรัพย์ ดอกเบีย้ และเงินปันผล ดอกเบีย้ เพิม่ ขึน้ 35.77 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2558 หรือเพิม่ ขึน้ เงินกู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์ และรายได้อื่นๆ มีจำ�นวน ร้อยละ 8.77 ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขาย 1.88 , 70.91 , 107.63 , 21.77 และ 3.46 ล้านบาท ล่วงหน้าสุทธิ ประกอบด้วย ลู ก หนี้ ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ด้ ว ยเงิ น สด ตามลำ�ดับ จำ�นวน 101.12 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 22.80 ของลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ โครงสร้างค่าใช้จ่ายรวม ลู ก หนี้ เ งิ น ให้ กู้ ยื ม เพื่ อ ซื้ อ หลั ก ทรั พ ย์ จำ�นวน 342.43 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 77.20 • ค่าใช้จา่ ยรวม ค่าใช้จา่ ยรวมจำ�นวน 177.30 ล้านบาท ของลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ เพิม่ ขึน้ 63.58 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2558 หรือเพิม่ ขึน้ • เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ ร้อยละ 55.91 เป็นการเพิ่มขึ้นจากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ พนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ เงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ สุ ท ธิ จำ � นวน 1,438.14 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 937.35 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับ และค่าใช้จา่ ยอื่น เนื่องจากธุรกิจขยายตัวเพิ่มขึ้น ปี 2558 หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 187.18 เงิ น ลงทุ น ในหลักทรัพย์ประกอบด้วย เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพือ่ ค้า • หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ บริ ษั ท ใช้ ห ลั ก เกณฑ์ ก ารตั้ ง ค่ า เผื่ อ จำ�นวน 0.07 ล้านบาท เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย หนีส้ งสัยจะสูญของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ จำ � นวน 1,429.78 ล้ า นบาท และเงิ น ลงทุ น ทั่ ว ไป และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ประกอบกั บ ดุ ล ยพิ นิ จ ใน จำ�นวน 8.29 ล้านบาท การประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ มีปัญหาในการจ่ายชำ�ระคืน โดยการวิเคราะห์สถานะของ ลูกหนีแ้ ต่ละราย ความน่าจะเป็นของการผิดนัดและมูลค่า ของหลักทรัพย์ที่ใช้ค้ำ�ประกัน ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ไม่มีลูกหนี้ที่ต้องตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
98
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมลงทุน • ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี ลูกหนีส้ �ำ นักหักบัญชีจ�ำ นวน 74.50 ล้านบาท ทัง้ สิน้ 745.86 ล้านบาท ซึง่ แหล่งที่ใช้ไปของกระแสเงินสด จากกิจกรรมการลงทุน คือ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุน เผื่อขาย 697.32 ล้านบาท เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุน • อุปกรณ์สุทธิ อุปกรณ์สุทธิจำ�นวน 37.69 ล้านบาท เผื่อขาย 1,433.87 ล้านบาท เงินสดจ่ายซื้อส่วนปรับปรุง อาคารเช่าและอุปกรณ์ 4.97 ล้านบาท และเงินสดจ่ายซื้อ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน 4.34 ล้านบาท • สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์อื่น จำ�นวน 41.88 ล้านบาท กระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน ทัง้ สิน้ 675.50 ล้านบาท ซึง่ แหล่งที่ได้มาของกระแสเงินสด จากกิจกรรมจัดหาเงิน คือ เงินสดรับจากการกูย้ มื เงินจาก • หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีหนีส้ นิ รวม สถาบันการเงิน 7,287.00 ล้านบาท และเงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื จำ�นวน 971.08 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 809.90 ล้านบาท จากสถาบันการเงิน 6,611.50 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2558 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 502.47 หนีส้ นิ บริษทั ดำ�รงเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ ส่วนใหญ่เป็นเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน และเจ้าหนีธ้ รุ กิจ (NCR) สูงกว่าร้อยละ 7 ซึ่งเป็นอัตราขั้นต่ำ�ตามเกณฑ์ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ การดำ � รงเงิ น กองทุ น สภาพคล่ อ งสุ ท ธิ ที่ สำ � นั ก งาน คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ 78.78 และ 14.78 ของหนี้สินรวมตามลำ�ดับ กำ�หนด แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีสภาพคล่องที่เพียงพอใน การดำ�เนินธุรกิจ โดยในปี 2559 บริษทั มีระดับเงินกองทุน • เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน มีเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน จำ�นวน สภาพคล่องสุทธิอยู่ ในช่วงร้อยละ 42.98-441.83 ซึ่ง อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิอาจเปลี่ยนแปลง 765.00 ล้านบาท จากปัจจัยต่างๆ เช่น ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ • เจ้ า หนี้ ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญา การรับประกันการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ เป็นต้น ซื้อขายล่วงหน้า • แหล่งที่มาของเงินกองทุน มีเจ้าหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทและ ล่วงหน้าจำ�นวน 143.48 ล้านบาท บริษทั ย่อยมีแหล่งทีม่ าของเงินกองทุนจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ 1,117.72 ล้านบาท โดยอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของ • ส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีส่วนของ ผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ ณ วันที่ เจ้าของจำ�นวน 1,117.72 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 214.70 ล้านบาท 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 0.18 เท่า และ 0.87 เท่า ตามลำ�ดับ โดยหนี้ สิ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เงิ น กู้ ยื ม จากสถาบั น การเงิ น เมื่อเทียบกับปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.78 เจ้ า หนี้ ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า ซึ่ ง เปลี่ ย นแปลงตามปริ ม าณการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ความเพียงพอของเงินทุน ในสามวันทำ�การสุดท้ายของแต่ละงวดบัญชี • สภาพคล่อง ปี 2 5 5 9 บ ริ ษั ท แ ล ะ บ ริ ษั ท ย่ อ ย มีกระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานทั้งสิ้น ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานในอนาคต ปัจจัยที่อาจมีผลกระทบต่อการดำ�เนินงาน 84.70 ล้านบาท โดยมาจากกำ�ไรก่อนค่าใช้จา่ ย ภาษีเงินได้ และการเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญา ในอนาคต ยังเป็นปัจจัยจากการแข่งขันในธุรกิจหลักทรัพย์ ที่ มี ก ารแข่ ง ขั น ด้ า นราคาที่ รุ น แรง ซึ่ ง กดดั น ให้ ซื้อขายล่วงหน้า รายงานประจำ�ปี 2559
99
ค่ า ธรรมเนี ย มนายหน้ า ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ข องธุ ร กิ จ หลักทรัพย์ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาปรับตัวลดลงจนเหลือ ร้อยละ 12 ในปี 2559 จากร้อยละ 18 ในปี 2553 ถึงแม้ มีมลู ค่าการซือ้ ขายเพิม่ ขึน้ มีการดึงตัวเจ้าหน้าทีก่ ารตลาด ระหว่างกันทำ�ให้ต้นทุนการดำ�เนินงานของธุรกิจเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ บริษทั มีแผนลงทุนเพือ่ พัฒนาระบบเทคโนโลยี เพื่อรองรับยุค FinTech และรองรับการเปลี่ยนแปลงของ นโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายต่างๆ ซึ่ง ต้องใช้เงินลงทุนเพิ่มขึ้น
4. ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน
การลงทุนในตราสารหนี้ไปตราสารทุนมากขึน้ นอกจากนี้ การลงทุนในตราสารหนี้จะมีการปรับลดความเสี่ยงจาก การลงทุนตราสารหนีท้ ไ่ี ม่ได้รบั การจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือ (Unrated bonds) เป็นตราสารหนี้ที่ได้รับการจัดอันดับ (Investment grade) มากขึน้ ในด้านการแข่งขันจะแข่งกัน พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ส ามารถตอบสนองความต้ อ งการ ในด้ า นผลตอบแทนที่ ป รั บ ระดั บ ความเสี่ ย งแล้ ว (Risk adjusted return) มากขึ้น การวิเคราะห์ภาวะธุรกิจหลักทรัพย์จัดการ กองทุนที่มีผลต่อการดำ�เนินงาน
ธุรกิจจัดการกองทุนรวม ต้องเผชิญกับ ภาพรวมภาวะธุรกิจและการแข่งขันของ ความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ และอัตราผลตอบแทนใน ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุนในปี 2559 ตลาดเงิน ตลาดทุน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และ ปี 2559 ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุนมี ต้องบริหารจัดการให้ผถู้ อื หน่วยได้รบั ผลตอบแทนในอัตรา มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ ทั้งสิ้นจำ�นวน 4.6 ล้านล้านบาท ทีเ่ หมาะสมในระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ ภายใต้แรงกดดัน เติบโตร้อยละ 14.42 เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยแบ่งเป็น จากความคาดหวังของผูถ้ อื หน่วย และเทคโนโลยีสารสนเทศ กองทุนตราสารหนี้ร้อยละ 54 กองทุนตราสารทุนร้อยละ ทีม่ กี ารพัฒนาอย่างรวดเร็ว บริษทั จึงเตรียมความพร้อม ดังนี้ 1. ค้นหาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทจ่ี ะตอบสนอง 25 และกองทุนผสมร้อยละ 6 สำ�หรับประเภทกองทุนทีไ่ ด้รบั ความนิยมจากผู้ลงทุน ได้แก่ กองทุนรวมตราสารหนี้ ความต้องการของลูกค้า โดยเน้นการกระจายความเสี่ยง ภายในประเทศทั้งแบบระยะกลางและระยะยาว และ ในการบริหารจัดการทรัพย์สนิ (Asset Allocation) เพือ่ ให้ กองทุนรวมแบบผสมทัง้ ทีล่ งทุนในประเทศและต่างประเทศ ได้ผลิตภัณฑ์ทใ่ี ห้ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมกับระดับความเสีย่ ง 2. พั ฒ นาและเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ซึง่ แสดงให้เห็นถึงระดับความกังวลต่อความเสีย่ งทีย่ งั มีอยู่ ทำ�งานโดยใช้เทคโนโลยี อันได้แก่ การซื้อขายผ่านระบบ ของผู้ลงทุน อินเทอร์เนต เป็นต้น ตลอดจนการบริหารช่องทางการ แนวโน้มภาวะธุรกิจและการแข่งขันของ จำ�หน่ายให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุนในปี 2560 ภาพรวมผลการดำ�เนินงาน การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของบริษัท จากการทีแ่ นวโน้มเศรษฐกิจโลกเติบโตดีขนึ้ อั ต ราเงิ น เฟ้ อ มี ทิ ศ ทางปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น แนวโน้ ม หลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด อัตราดอกเบีย้ โลกปรับตัวสูงขึน้ ซึง่ จากข้อมูลในอดีตพบว่า เป็นการเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2559 ช่วงอัตราดอกเบี้ยขาขึ้นการลงทุนในตราสารทุนน่าจะให้ เปรียบเทียบกับผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2558 ดังนี้ ปี 2559 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิ จำ�นวน 74.20 ผลตอบแทนจากการลงทุนดีกว่าการลงทุนในตราสารหนี้ ดังนั้นในปี 2560 ภาพรวมแนวโน้มภาวะธุรกิจหลักทรัพย์ ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 49.43 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ จั ด การกองทุ น น่ า จะเติ บ โตจากกองทุ น ที่ มี น โยบาย 199.53 เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจาก การลงทุนในตราสารทุนทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ รายได้คา่ ธรรมเนียมจากจำ�นวนกองทุนและมูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิ เป็นหลัก ในขณะทีภ่ าพรวมการลงทุนในตราสารหนีเ้ ชือ่ ว่า ของกองทุนภายใต้การบริหารจัดการที่เพิ่มขึ้น ค่าใช้จา่ ยรวมปี 2559 มีจ�ำ นวน 206.19 ล้านบาท มูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิกองทุนประเภทตราสารหนีม้ แี นวโน้ม ปรับตัวลดลงเนือ่ งจากมีจ�ำ นวนเงินลงทุนส่วนหนึง่ ย้ายจาก เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 93.88 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2558 หรือ
100
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 83.58 เนือ่ งจากค่าธรรมเนียมและบริการจ่าย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน เพิ่มขึ้นตามการเติบโตของ จำ�นวนกองทุนที่จัดการ อัตรากำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงานปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ 24.97 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 ที่อยู่ ที่ร้อยละ 17.40 เนื่องจากรายได้เพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่ มากกว่าค่าใช้จา่ ยที่เพิ่มขึ้น กำ�ไรสุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐานปี 2559 เท่ากับ 24.73 บาทต่อหุ้น เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 ที่เท่ากับ 8.26 บาทต่อหุ้น
• หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ บริษทั ไม่มีหนี้สงสัยจะสูญ
การวิเคราะห์ฐานะการเงิน
บทวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เป็นการเปรียบเทียบ ฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
• สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีสินทรัพย์ โครงสร้างรายได้รวม รวมจำ�นวน 533.98 ล้านบาท สินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็น เงิ น ลงทุ น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 59.53 ของสิ น ทรั พ ย์ ร วม • รายได้รวม รายได้รวมประกอบด้วยรายได้คา่ ธรรมเนียม สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น 196.48 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ และบริการ ซึง่ เป็นรายได้สว่ นใหญ่ของบริษทั คิดเป็นร้อยละ ปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 58.21 90.24 ของรายได้รวม รายได้อน่ื ๆ อีกประมาณร้อยละ 9.76 • มูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิภายใต้การบริหารจัดการ ประกอบด้วย กำ�ไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน ดอกเบี้ยและ เงินปันผล โดยรายได้ส่วนนี้จะมาจากการบริหารจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีกองทุน เงินลงทุนของบริษัท ซึ่งบริษัทได้มอบหมายให้บริษัท รวมภายใต้การบริหารจัดการทั้งสิ้นจำ�นวน 55 กองทุน หลักทรัพย์แห่งหนึง่ เป็นผูจ้ ดั การกองทุนส่วนบุคคลดังกล่าว เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 4 กองทุน เมือ่ เทียบกับงวดเดียวกันของปีกอ่ น และมีมูลค่าสินทรัพย์สุทธิทั้งสิ้น 64,276.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำ�นวน 14,418.1 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ • รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการ จำ�นวน 28.92 เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน กองทุนรวม 268.12 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 135.36 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ภายใต้การบริหารจัดการ ประกอบด้วย ร้อยละ 101.95 เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน โดย • กองทุ น รวมอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และ ค่าธรรมเนียมส่วนใหญ่มาจากการจัดการกองทุนรวมและ ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ นายทะเบียนกองทุนรวม คิดเป็นร้อยละ 76.92 ของรายได้ 27,252.3 ล้านบาท ค่าธรรมเนียมและบริการทัง้ หมด เนือ่ งจากจำ�นวนกองทุนรวม • กองทุนรวมตราสารหนี้ และมูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิของกองทุนรวมเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 26,145.8 ล้านบาท • กองทุนรวมตราสารทุน 975.7 ล้านบาท โครงสร้างค่าใช้จา่ ยรวม • กองทุนแบบผสม 3,209.6 ล้านบาท • ค่าใช้จา่ ย ค่าใช้จา่ ยรวมจำ�นวน 206.19 ล้านบาท • กองทุน Fund of Property Fund เพิม่ ขึน้ 93.88 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2558 หรือเพิม่ ขึน้ 6,692.7 ล้านบาท บริษทั มีสว่ นแบ่งการตลาดอยูท่ รี่ อ้ ยละ 1.38 ร้อยละ 83.58 เป็นการเพิ่มขึ้นจากค่าธรรมเนียมและ บริการจ่าย ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงาน ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับ อยู่อันดับที่ 10 จาก 22 บริษัท ทั้ ง นี้ หากรวมกองทุ น ส่ ว นบุ ค คล และ อาคารสถานทีแ่ ละอุปกรณ์ ค่าใช้จา่ ยส่งเสริมการขายและ โฆษณาและค่ า ใช้ จ่ า ยอื่ น เนื่ อ งจากจำ � นวนกองทุ น กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ บริษทั มีมลู ค่าทรัพย์สนิ สุทธิทงั้ สิน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 70,142.0 ล้านบาท ที่บริหารจัดการขยายตัวเพิ่มขึ้น รายงานประจำ�ปี 2559
101
• เงินรับล่วงหน้าค่าจองซื้อหน่วยลงทุน โดยมาจากกองทุนส่วนบุคคล 3,568.7 ล้านบาท และ เงินรับล่วงหน้าค่าจองซื้อหน่วยลงทุน กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ 2,297.1 ล้านบาท จำ�นวน 112.26 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 93.44 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 496.49 เมื่อเทียบกับปี 2558 • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงิ น สดและรายการเที ย บเท่ า เงิ น สด • ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย จำ�นวน 145.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 101.07 ล้านบาท เมื่อ ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย จำ�นวน 13.69 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 228.36 โดยส่วนใหญ่ เป็นเงินรับล่วงหน้าค่าจองซื้อหน่วยลงทุน • ส่วนของเจ้าของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีส่วนของ • เงินลงทุน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ จำ�นวน 317.90 ล้านบาท เจ้าของ จำ�นวน 396.14 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 91.71 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 79.01 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2558 หรือเพิม่ ขึน้ เมื่อเทียบกับปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.13 ร้อยละ 33.07 เงินลงทุน - สุทธิ ประกอบด้วย ตราสารทุน ความเพียงพอของเงินทุน ในความต้องการของตลาดในประเทศ ประเภทหุน้ ทุนและ หน่วยลงทุน ซึ่งได้มอบหมายการจัดการเงินลงทุนให้แก่ • สภาพคล่อง บริษทั หลักทรัพย์แห่งหนึง่ เป็นผูจ้ ดั การกองทุนส่วนบุคคล ปี 2559 บริษทั มีกระแสเงินสดสุทธิได้มา ดังกล่าว จากกิจกรรมดำ�เนินงานทั้งสิ้นจำ�นวน 148.39 ล้านบาท • ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์สทุ ธิ โดยมาจากกำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้และเงินรับล่วง ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์สทุ ธิ หน้าค่าจองซื้อหน่วยลงทุน กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมลงทุน จำ�นวน 11.08 ล้านบาท ทัง้ สิน้ จำ�นวน 47.32 ล้านบาท ซึง่ แหล่งทีใ่ ช้ไปของกระแสเงินสด จากกิจกรรมการลงทุน คือ เงินสดรับจากการจำ�หน่าย • สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน - สุทธิ จำ�นวน เงินลงทุนเผือ่ ขาย จำ�นวน 257.96 ล้านบาท เงินสดจ่ายซือ้ เงินลงทุนเผือ่ ขาย จำ�นวน 305.62 ล้านบาท เงินสดรับเงินปันผล 19.25 ล้านบาท จากเงินลงทุน จำ�นวน 18.49 ล้านบาท เงินสดจ่ายซือ้ ส่วนปรับปรุง อาคารเช่าและอุปกรณ์ จำ�นวน 6.23 ล้านบาท และเงินสด • ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า จำ�นวน 8.48 ล้านบาท จ่ายซือ้ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน จำ�นวน 11.92 ล้านบาท บริษทั มีสว่ นของผูถ้ อื หุน้ จำ�นวน 396.14 ล้านบาท สามารถดำ�รงความเพียงพอของเงินกองทุนได้ • สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์อื่น จำ�นวน 9.90 ล้านบาท สู ง กว่ า เกณฑ์ ข องสำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามประกาศคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 13/2548 • หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีหนีส้ นิ รวม เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการดำ�รงความเพียงพอของ จำ�นวน 137.84 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 104.77 ล้านบาท เมื่อ เงินกองทุนและการทำ�ประกันภัยความรับผิดของบริษัท เทียบกับปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 316.81 หนี้สิน จัดการ ซึง่ ระบุให้บริษทั จัดการทีม่ มี ลู ค่าทรัพย์สนิ สุทธิของ ส่วนใหญ่เป็นเงินรับล่วงหน้าค่าจองซื้อหน่วยลงทุน และ ทุกกองทุนรวมซึง่ อยูภ่ ายใต้การจัดการมากกว่าสองหมืน่ ห้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย คิดเป็นร้อยละ 81.44 และ 9.93 ของ พั น ล้ า นบาทจะต้ อ งมี ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท จัดการกองทุนรวมต่�ำ ไม่กว่าสองร้อยยี่สิบล้านบาท หนี้สินรวม ตามลำ�ดับ
102
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
• แหล่งที่มาของเงินกองทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัท มีแหล่งทีม่ าของเงินกองทุนจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ จำ�นวน 396.14 ล้านบาท ซึง่ ประกอบด้วยทุนจดทะเบียนออกจำ�หน่ายและ ชำ�ระแล้วจำ�นวน 300 ล้านบาท และกำ�ไรสะสมจำ�นวน 91.69 ล้านบาท ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การดำ � เนิ น งาน ในอนาคต สำ�หรับกองทุนตราสารหนี้นั้น ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อการออกกองทุนตราสารหนี้ ในระยะสั้น มาจากการผิดนัดชำ�ระหนี้ตั๋วบีอีของบริษัทจดทะเบียน หลายแห่งทำ�ให้มลู ค่าทรัพย์สนิ สุทธิกองทุนตราสารหนีล้ ดลง ประกอบกับแนวโน้มอัตราดอกเบี้ยปรับตัวสูงขึ้น ทำ�ให้ นักลงทุนระมัดระวังการลงทุนในกองทุนทีล่ งทุนในตราสารหนี้ ที่ไม่ได้รบั การจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือ (Unrated bonds)
และ/หรือตราสารหนี้ที่มีอันดับความน่าเชื่อถือต่ำ�กว่า Investment grade และทำ�ให้มลู ค่าทรัพย์สนิ สุทธิกองทุน ตราสารหนี้ปรับตัวลดลง อย่างไรก็ตามในระยะปานกลาง ถึงระยะยาวการลงทุนในกองทุนตราสารหนีร้ ะยะสัน้ น่าจะ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ส่วนหนึ่ง ในส่ ว นของการลงทุ น ในตราสารทุ น มีความน่าสนใจจากการคาดผลการดำ�เนินงานของบริษัท จดทะเบียนทีค่ าดว่าจะเติบโตต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ตามยังคง มีความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ เช่น เศรษฐกิจอาจไม่เติบโตตามคาด และความเสีย่ งจากปัจจัย ต่างประเทศ เช่น นโยบายต่างๆ ของประธานาธิบดี คนใหม่ของสหรัฐอเมริกา อาจส่งผลต่อเศรษฐกิจโลก และ อาจส่งผลให้ดชั นีตลาดหลักทรัพย์มคี วามผันผวนมากขึน้
รายงานประจำ�ปี 2559
103
รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบรรษัทภิบาล บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินยั แพทย์ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล 2. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการบรรษัทภิบาล 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการบรรษัทภิบาล โดยมีนางสาวชุตมิ า บุญมี ทำ�หน้าทีเ่ ลขานุการ คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล ได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามขอบเขตความรั บ ผิ ด ชอบที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ น ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ในปี 2559มีการจัดประชุม คณะกรรมการบรรษัทภิบาล รวม 2 ครั้ง และรายงานผลการประชุมต่อคณะกรรมการบริษัท สรุปสาระสำ�คัญ ดังนี้ • พิ จ ารณาทบทวนนโยบายการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การท่ี ดี ใ ห้ มีค วามเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ แนวทางของหน่วยงานทางการทีก่ �ำ กับดูแลบริษทั ในฐานะบริษทั จดทะเบียน เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ว่า บริษทั ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ มีความโปร่งใส ซือ่ สัตย์สจุ ริต และปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย อย่างเท่าเทียมกัน • พิจารณาทบทวนนโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้กรรมการ ผูบ้ ริหารของบริษทั ยึดถือเป็นแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการห้ามให้หรือรับของขวัญ ของกำ�นัล การเลีย้ ง รับรองและผลประโยชน์ สินบนและสิ่งจูงใจ การบริจาคเพื่อการกุศลและการให้เงินสนับสนุน กิจกรรมและการมีส่วนร่วมทางการเมือง การรับแจ้งข้อมูลหรือข้อร้องเรียน • พิจารณาทบทวนนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เพื่อให้ บริษัทเติบโตอย่างยั่งยืน • พิจารณาให้ความเห็นชอบนโยบายการแจ้งเบาะแสและการร้องเรียน (Whistleblower Policy) เพื่อให้ความคุ้มครองผู้ที่ให้ความร่วมมือกับบริษัทในการแจ้งเบาะแสและร้องเรียน เพื่อให้ เชื่อมั่นว่าการกระทำ�ดังกล่าวจะไม่ทำ�ให้ผู้แจ้งได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายหรือไม่ได้รับ ความเป็นธรรม • เป็นตัวแทนบริษทั ในการสือ่ สาร ดูแลและส่งเสริมให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และนโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่มิชอบ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ เพือ่ ทำ�ให้บริษทั เติบโตอย่างยัง่ ยืน และสร้างความเชือ่ มัน่ แก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ซึ่งบริษัทมั่นใจว่าการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีจะช่วยเพิ่มมูลค่าแก่ผู้ถือหุ้น
104
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(นายอดุลย์ วินัยแพทย์) ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล
สารจากกรรมการผู้จัดการ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ยึดมั่นในการประกอบธุรกิจตามหลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีควบคู่ไปกับการยึดมั่นในจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ อันเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี นทุกกระบวนการดำ�เนินธุรกิจ โดยทุกบริบทของการปฏิบตั งิ านต้องมีมาตรฐาน ซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ รวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมด้านอืน่ ๆ อาทิ การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น การเคารพสิทธิมนุษยชน การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ความรับผิดชอบต่อ ผูบ้ ริโภค การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม การจัดการสิง่ แวดล้อม และนวัตกรรมจากการดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม รวมทั้งการนำ�พาบริษัทให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืนที่นำ�มาซึ่งการที่บริษัทได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) จากสถาบันไทยพัฒน์ ทั้งนี้ บริษัทได้จัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2559 ควบคู่กับรายงานประจำ�ปี 2559 เพื่อสื่อสารการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมต่อกลุ่ม ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม บริษทั ได้สง่ เสริมการให้ความรูด้ า้ นการสร้างวินยั ทางการเงิน โดยการนำ�ความรู้ ความเชีย่ วชาญและ ทักษะของภาคธนาคาร ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทมาสร้าง ประโยชน์แก่ชมุ ชนและสังคมเพือ่ ให้รจู้ กั การเก็บออม โดยเข้าร่วมกับชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย และสภาองค์การพัฒนา เด็กและเยาวชนในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (สอ.ดย.) ในการจัดทำ�โครงการ รู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2557 เพื่อให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการทางการเงินส่วนบุคคลและ ปลูกฝังวินัยทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการพัฒนาธุรกิจ อย่างยัง่ ยืนนีจ้ ะเป็นช่องทางหนึง่ ทีแ่ สดงให้เห็นถึงความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะมีสว่ นร่วมในการผลักดันและสนับสนุนการดำ�เนินงาน ด้านการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น คู่ค้า ลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และพนักงาน ที่ให้การสนับสนุนการดำ�เนินงานของบริษัทด้วยดีเสมอมา บริษัทจะสานต่อเจตนารมณ์และยึดมั่นในความรับผิดชอบ ต่อสังคมเพื่อการเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืนต่อไป
(นางศศิธร พงศธร) กรรมการผู้จัดการ
รายงานประจำ�ปี 2559
105
รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด การพัฒนาอย่างยั่งยืน และนำ�ไปสู่การพัฒนาสังคมและ (มหาชน) มีเจตนารมณ์ในการดำ�เนินธุรกิจตามหลักการ ประเทศให้เกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง กำ�กับดูแลกิจการทีด่ คี วบคูไ่ ปกับการดำ�เนินการด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมโดยยึดมั่นในหลักจรรยาบรรณและ จริยธรรมธุรกิจ และการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ตอบสนอง ต่อความพึงพอใจอย่างเท่าเทียมกันของผู้มีส่วนได้เสียใน ทุกมิติ ด้วยตระหนักว่าบริษทั จะเติบโตอย่างยัง่ ยืนและมัน่ คงด้วย การดำ�เนินธุรกิจอย่างมีวิสัยทัศน์ มีความสามารถในการ บริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ ให้ บ รรลุ ผ ลสำ � เร็ จ ตามพั น ธกิ จ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีสว่ นร่วมในการดำ�เนินการด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม ซึง่ ส่งผลต่อการสร้างมูลค่าทีด่ ี แก่องค์กรและผูถ้ อื หุน้ รวมถึงการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ ผู้ถือหุ้น
ตราสัญลักษณ์ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ความรับผิดชอบต่อสังคม ถือเป็นหนึ่งใน หลักปฏิบัติที่บริษัทได้ให้ความสำ�คัญ เพราะเล็งเห็นถึง ความสำ�คัญของคำ�ว่า “การพึ่งพิง” เนื่องจากทุกธุรกิจ ล้วนมีประชาชนหรือคนในสังคมเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ในการนำ�เสนอสินค้าและบริการ ดังนั้นไม่ว่าจะพัฒนา องค์ กรไปในทิ ศ ทางใดก็ ย่ อ มต้ อ งมี ค นในสั ง คมเป็ น ผู้สนับสนุนไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ซึ่งการกำ�หนดนโยบาย และแนวทางปฏิบัติดังกล่าวจะเป็นแนวทางให้บุคลากรใน องค์กรยึดถือปฏิบัติ บริษทั ได้ด�ำ เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ประกอบด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการหลัก ของการดำ�เนินธุรกิจ (CSR-in-Process) และนอกกระบวนการ หลักของการดำ�เนินธุรกิจ (CSR-after-Process) โดย มุง่ เน้นให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกระดับเข้ามามีสว่ นร่วม มีจิตอาสา เพื่อปลูกฝังให้มีจิตสำ�นึกในความรับผิดชอบ ต่อสังคม อีกทั้งยังเป็นการสร้างรากฐานที่เข้มแข็งของ
106
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษั ท มี ค วามมุ่ ง มั่ น ในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ คี วบคูไ่ ปกับการดำ�เนินการ ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมซึ่ ง ถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ใน การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ด้ า น การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีในทุกกระบวนการดำ�เนินธุรกิจ โดยทุกบริบทของการปฏิบตั งิ านต้องมีมาตรฐาน ซือ่ สัตย์ สุ จ ริ ต โปร่ ง ใส และสามารถตรวจสอบได้ และจาก การดำ�เนินงานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ส่งผลให้ บริ ษั ท ได้ รั บ การคั ด เลื อ กให้ เ ป็ น 1 ใน 100 บริ ษั ท จดทะเบียนที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจด้าน สิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) หรือที่เรียกว่ากลุ่ม หลักทรัพย์ ESG100 โดยสถาบันไทยพัฒน์ บริษัทมีความมุ่งมั่นในการดำ�เนินกิจการ ภายใต้ ห ลั ก การของกฎหมาย ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต มีคณ ุ ธรรม เป็นไปตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี มีจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ ทั้งระดับกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน การสนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรม โครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต รวมถึงการกำ�หนดให้มีนโยบายการป้องกัน การหาผลประโยชน์ ใ นหน้าที่ โ ดยมิช อบ การกำ�หนด แนวปฏิบตั เิ พือ่ เป็นแนวทางให้แก่คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ได้รับทราบและถือปฏิบัติ โดยเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557 บริษัทได้รับประกาศนียบัตรการรับรอง
เป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อ ต่อสังคม โดยมีประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการ ต้านการทุจริตจากสมาคมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ทำ�หน้าที่เป็นตัวแทนองค์กรในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ การพัฒนาอย่างยั่งยืน มีคณะกรรมการบรรษัทภิบาล การดำ � เนิ น การด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมใน ทำ�หน้าทีด่ แู ลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม พิจารณาให้ขอ้ เสนอแนะและติดตามการดำ�เนินงานตามแผน กระบวนการหลัก (CSR-in-Process) การดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และรายงานต่อ ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการ คณะกรรมการบริษัท และมีกรรมการผู้จัดการ ทำ�หน้าที่ หลัก (CSR-in-Process) หมายถึง การดำ�เนินธุรกิจอย่างมี ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การดำ � เนิ น งานให้ เ ป็ น ไปตาม ความรับผิดชอบต่อสังคมโดยการนำ�แนวปฏิบตั ติ ามนโยบาย แนวทางที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด คณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคมตามหลักมาตรฐานทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศมาปรับใช้เพือ่ พัฒนาต่อยอดให้เกิดนวัตกรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ทางธุรกิจจนกลายเป็นกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการทำ�งาน ตามแนวทางของสถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตลอดจนมาตรฐานการบริการต่างๆ Social Responsibility Institute) สำ�นักงานคณะกรรมการ เพือ่ จุดประสงค์หลักในการลดผลกระทบด้านลบทีอ่ าจเกิดขึน้ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ กับผู้มีส่วนได้เสียระหว่างกระบวนการทำ�งาน รวมถึง แห่งประเทศไทย เพือ่ ให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารและพนักงาน การสร้างจิตสำ�นึกความรับผิดชอบต่อสังคมให้เกิดขึ้น ทุกระดับยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ โดยมีการทบทวน กับกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกระดับจนก่อให้เกิด เป็นประจำ�ทุกปี ความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ หมายถึง ทัศนคติร่วมกันของทุกคนในองค์กร และเพื่อแสดงถึง ความมุ่งมั่นในการเป็นสถาบันการเงินที่มีความแข็งแกร่ง การประกอบกิจการด้วยความดูแลใส่ใจต่อผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิ จ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งมี คุ ณ ธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคมสูงสุด จริยธรรม และจรรยาบรรณ ตลอดจนมีธรรมาภิบาลเป็น การดำ � เนิ น การด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมนอก เครื่องกำ�กับให้การดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ เป็นไปได้ด้วย ความซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส และยุตธิ รรม มีความตระหนัก กระบวนการหลัก (CSR-after-Process) ถึงผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ความรับผิดชอบต่อสังคมนอกกระบวนการหลัก โดยพร้อมจะแก้ไขเพื่อลดผลกระทบดังกล่าวกับการนำ� (CSR-after-Process) หมายถึง กิจกรรมทีด่ �ำ เนินการนอกเหนือ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการ ให้เกิด จากการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยการเข้าไปมีบทบาทในการสนับสนุน การดำ�เนินกิจการเป็นการสร้างความสำ�เร็จและประโยชน์สขุ กิจกรรมเพือ่ สังคมตามวาระและโอกาสต่างๆ โดยมุง่ หวังให้เกิด รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทุกเวทีการค้า ประโยชน์สงู สุดต่อสังคมและชุมชน ทัง้ ในหน่วยงานภาครัฐและ ซึง่ จะเป็นผลดีต่อความยั่งยืนของกิจการ ผู้มีส่วนได้เสีย เอกชน อันนำ�ไปสู่การสร้างรากฐานที่เข้มแข็งของสังคม เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง และประเทศอย่างยั่งยืน นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจ แนวทางการดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม อย่างยั่งยืน คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การดำ�เนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้เกิด การปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรมในทุกกระบวนการดำ�เนินธุรกิจ เพือ่ ให้บริษทั เติบโตอย่างยัง่ ยืนและเพือ่ ให้พนักงานทุกระดับ เข้ามามีสว่ นร่วม โดยยึดมัน่ ในจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด ปลูกฝังให้มจี ติ สำ�นึกในการปฏิบตั งิ านอย่างมีความรับผิดชอบ
บริษัทตระหนักถึงการดำ�เนินธุรกิจภายใต้ ความรับผิดชอบต่อสังคมซึ่งจะทำ�ให้ธุรกิจมีความยั่งยืน โดยให้ความสำ�คัญต่อการดูแลผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณธรรม จริยธรรมและ จรรยาบรรณ การดำ�เนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใสและยุติธรรม ตระหนักถึงผลกระทบทางลบต่อ รายงานประจำ�ปี 2559
107
เศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม บริษทั จึงกำ�หนดนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน เพื่อให้กรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติ 9 ด้าน ดังนี้ 1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม 3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน 5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม 6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม 8. การจัดการสิ่งแวดล้อม 9. นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรม จากการดำ�เนินความรับผิดชอบต่อสังคม รายละเอียดของนโยบายความรับผิดชอบ ต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน บริษทั ได้เปิดเผย ไว้ที่เว็บไซต์ของบริษัท (www.lhfg.co.th) แนวทางการจัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทให้ความสำ�คัญในการจัดทำ�รายงาน การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืนมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเป็นส่วนหนึง่ ในรายงานประจำ�ปี เพื่อสื่อสารให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ได้ทราบถึงแนวนโยบาย แนวทางการบริหารจัดการ และ ผลการดำ � เนิ น งานด้านความรับผิดชอบต่อ สัง คมและ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งชั ด เจน ภายใต้ กรอบการรายงาน ตามแนวทางของสถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility Institute) สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยขอบเขตเนื้อหาของรายงานจะเป็น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัท ซึ่งได้จาก การเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่ายงานทีร่ บั ผิดชอบโดยตรง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2559 บริ ษั ท ได้ นำ � เสนอเนื้ อ หาการรายงาน การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนนี้ ซึ่งได้ผ่านการวิเคราะห์ ความต้องการของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายในและกลุ่ม ผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก และนำ�มาจัดเป็นประเด็นหลักทีม่ ี ความสำ�คัญและมีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจตามแนว ปฏิ บั ติ ข องนโยบายความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยมีขั้นตอน ดังนี้
108
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย บริษทั ให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกกลุม่ โดยได้จดั ทำ�กระบวนการและขัน้ ตอนเพือ่ วิเคราะห์ ความต้องการของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ ภายในและภายนอก ผ่านการจัดกิจกรรมรูปแบบต่างๆ รวมถึงช่องทางการสือ่ สาร ต่างๆ โดยกำ�หนดความถี่ในการดำ�เนินงานทีช่ ดั เจน อาทิ การจัดประชุม การสำ�รวจความผูกพันของพนักงานทีม่ ตี อ่ บริษทั เพื่อนำ�ข้อมูลมาใช้ในการกำ�หนดแนวปฏิบัติท่ีสอดคล้อง กับแนวปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และ นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืน ทั้งนี้ การระบุและคัดเลือกผู้มีส่วนได้เสีย จะพิจารณาจากการให้ความสำ�คัญกับผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ และผลกระทบของการดำ�เนินธุรกิจต่อผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม แนวปฎิบัติต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย บริ ษั ท กำ � หนดแนวทางการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้มีส่วนได้เสียไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในจรรยาบรรณ การดำ�เนินธุรกิจ และจรรยาบรรณของพนักงาน บริษทั ให้ ความสำ � คั ญ ต่ อ สิ ท ธิ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม โดย การแบ่งกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียออกเป็น 2 กลุม่ เพือ่ ให้ทราบ ถึงความต้องการและสามารถตอบสนองต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย แต่ ล ะกลุ่ ม ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง รวมถึ ง การส่ ง เสริ ม การ มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ได้แก่ 1. ก ลุ่ ม ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ภายใน ได้ แ ก่ คณะกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารและพนักงาน 2. กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า ชุมชนสิง่ แวดล้อมและสังคม คูค่ า้ คูแ่ ข่ง และเจ้าหนี้ ลูกคา ผูถือหุน
เจาหน�้ คณะกรรมการบริษัท
พนักงาน คูแขง
คูคา
ชุมชน สิ�งแวดลอม สังคม
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย
1. ผู้ถือหุ้น
วิเคราะห์ความต้องการ
แนวปฏิบัติที่ดำ�เนินการตามนโยบาย
กระบวนการดำ�เนินการ
- ผลตอบแทนที่เหมาะสม - ดำ�เนินธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแล จากการลงทุนในหุ้นของบริษัท กิจการที่ดี - ผลการดำ�เนินงานดี ภายใต้ความเสี่ยงที่เหมาะสม - ดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส มีความเป็นธรรม สามารถ ตรวจสอบได้
2. คณะกรรมการบริษทั - ดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใสตาม หลักบรรษัทภิบาล เพือ่ ให้องค์กร เติบโตอย่างยั่งยืน - ปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ อย่างเป็นธรรม - การประเมินผลการปฏิบัติงาน เพือ่ นำ�ผลการประเมินมาปรับปรุง การทำ�งาน
- ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละ 1 ครั้ง - แถลงข่าวต่อสือ่ มวลชน และจัดประชุม นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ปีละ 3 ครั้ง - การเข้าพบเพือ่ ให้ขอ้ มูลแบบตัวต่อตัว จำ�นวน 3 ครั้ง - นำ�เสนอข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อการรับรู้ข้อมูลอย่างเท่าเทียม และมีความโปร่งใส - รับข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียน ผ่านช่องทางที่บริษัทกำ�หนด - เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เสนอเรื่องที่มีความสำ�คัญและ เป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินกิจการ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท และ เผยแพร่ผ่านตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เพื่อพิจารณาบรรจุ เป็นวาระในการประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ โดยให้สทิ ธิในเรือ่ งดังต่อไปนี้ 1. การเสนอวาระการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ 2.การเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมเพื่อเข้ารับการเลือกตั้ง เป็นกรรมการ 3. การเสนอคำ�ถามล่วงหน้า - ดำ�เนินธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแล - ประชุมคณะกรรมการบริษัท เป็น กิจการที่ดี ประจำ�ทุกเดือน - ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน ทันเวลา - มีส่วนร่วมในการกำ�กับดูแลกิจการ - ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ กรรมการ และธุรกิจของบริษัท - การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ - การประเมินตนเองของคณะกรรมการ บริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ทุกคณะ โดยการประเมินตนเองของ กรรมการเป็นรายคณะและเป็น รายบุคคล ซึ่งเป็นการประเมิน ตนเองเรื่องการปฏิบัติตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อนำ�ผล การประเมินมาปรับปรุงการทำ�งาน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รายงานประจำ�ปี 2559
109
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย
3. พนักงาน
110
วิเคราะห์ความต้องการ
แนวปฏิบัติที่ดำ�เนินการตามนโยบาย
- การให้ผลตอบแทน มีต�ำ แหน่งงาน - การจ้างงานทีป่ ลอดจากการเลือกปฏิบตั ิ และสวัสดิการที่เหมาะสม ไม่น�ำ ความแตกต่างด้านเชือ้ ชาติ สีผวิ - การจัดสถานทีท่ �ำ งานให้สะอาด เพศ ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง ถูกสุขอนามัย และ อายุมาเป็นปัจจัยใน การพิจารณา มีความปลอดภัย และตัดสินการจ้างงาน - การจัดอบรม สัมมนาเพื่อ - ส่งเสริมการจ้างงานสำ�หรับกลุม่ แรงงาน พัฒนาความรู้และศักยภาพ ทีม่ สี ถานะเปราะบาง เช่น การเปิดโอกาส ให้มีการจ้างงานคนพิการ - พัฒนาพนักงานเพื่อฝึกฝนทักษะและ เพิ่มพูนศักยภาพ โดยเปิดโอกาสให้ พนักงานมีการเรียนรูแ้ ละเลือ่ นตำ�แหน่ง เพื่อความก้าวหน้าในการทำ�งาน - ไม่ปลดหรือเลิกจ้างพนักงานอันเป็น การตัดสินใจของผู้แทนฝ่ายบริหาร แต่เพียงฝ่ายเดียว หรือการตัดสินใจ นั้นอยู่บนฐานของการเลือกปฏิบัติ - สนับสนุนและเคารพในการปกป้อง สิทธิมนุษยชนโดยไม่สนับสนุนการใช้ แรงงานบังคับ ตลอดจนส่งเสริมให้ พนักงานมีดุลยภาพในการใช้ชีวิต ระหว่างชีวติ การทำ�งานและชีวติ ส่วนตัว - เคารพสิทธิในการแสดงความคิดเห็น ของพนักงาน ซึ่งครอบคลุมถึงการมี อิสระในการให้ความเห็นโดยปราศจาก การแทรกแซง การได้รับข้อมูลหรือ ความเห็นผ่านสือ่ ต่างๆ รวมทัง้ จัดให้มี ช่องทางการสื่อสารเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นของพนักงาน - มีเงื่อนไขการจ้างงานที่เป็นธรรม พนักงานได้รบั ค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสม ตามศักยภาพ หรือตามข้อตกลงร่วม ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง โดย พิจารณาตามมาตรฐานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานการครองชีพทีค่ วรจะเป็น - จัดสภาพที่ทำ�งานที่เหมาะสมให้ พนักงานทำ�งานได้อย่างปลอดภัยและมี ศักดิ์ศรี โดยพนักงานสามารถ ทำ�งานได้เต็มศักยภาพและแบ่งเวลา ให้แก่ครอบครัวได้
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
กระบวนการดำ�เนินการ
- จัดกิจกรรมต้อนรับพนักงานใหม่ ในวันแรกของการทำ�งาน - ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ - ส่งเสริมให้พนักงานมีคา่ นิยม PRO-AcTIVE - การพัฒนาศักยภาพพนักงาน โดย จัดให้มีการเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะ แก่พนักงานในทุกระดับ รวมทั้งเพิ่ม ช่องการเรียนรู้ผ่านระบบ Intranet ซึง่ พนักงานสามารถเรียนรูผ้ า่ นช่องทาง ดังกล่าวได้ตลอดเวลา - แผนพัฒนาเพื่อทดแทนตำ�แหน่ง ผู้บริหารและตำ�แหน่งสำ�คัญ - กิจกรรมเพื่อสื่อสารและเสริมสร้าง ความเป็นทีม - สำ�รวจการจ่ายผลตอบแทนของ ตลาดอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อนำ�มา พิจารณาปรับปรุงให้ใกล้เคียง ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมหรือ มาตรฐานการครองชีพที่ควรจะเป็น - จัดให้มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ รับฟังข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะ - ปกป้อง ไม่กลั่นแกล้งหรือลงโทษ ทางวินัยกับพนักงานที่มี การรายงานอย่างสุจริตต่อผู้บริหาร หรือหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับ การกระทำ�ที่ไม่ถูกต้องที่เกิดขึ้น ภายในบริษัท - จัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมใน การทำ�งาน เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย และแผนความปลอดภัย และสุขอาชีวอนามัยให้พนักงาน มีความปลอดภัยขณะทำ�งาน - จ้างคนพิการให้มีโอกาสประกอบ อาชีพ เพื่อดำ�รงอยู่ในสังคมด้วย ความภาคภูมิใจ
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย
วิเคราะห์ความต้องการ
3. พนักงาน (ต่อ)
4. ลูกค้า
แนวปฏิบัติที่ด�ำ เนินการตามนโยบาย
กระบวนการดำ�เนินการ
- ปกป้อง ไม่กลั่นแกล้งหรือลงโทษ ทางวินัยกับพนักงานที่มีการรายงาน อย่างสุจริตต่อผูบ้ ริหารหรือหน่วยงาน ของรัฐเกีย่ วกับการกระทำ�ที่ไม่ถกู ต้อง - จัดทำ�นโยบายความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยในสถานประกอบการ รวมถึงวิเคราะห์และหามาตรการเพื่อ ควบคุมความเสีย่ งด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทำ�งาน - ความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ที่ หลากหลาย ครบครัน มีคณุ ภาพ และบริการที่เป็นเลิศ - ความพร้อมในการรับฟังและ ตอบสนองต่อความต้องการ ของลูกค้า - การรักษาความลับของลูกค้า - ความเท่าเทียมกันของลูกค้า แต่ละกลุ่ม
- มุ่งเน้นการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่ สามารถตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า รวมถึงการพัฒนา ศักยภาพของพนักงานให้สามารถ นำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่ ตอบโจทย์ลูกค้าในทุกด้าน ตลอดจน การกำ�หนดเรื่องการรักษาความลับ ของลูกค้าเป็นหนึ่งในจรรยาบรรณ ของพนักงานทีต่ อ้ งปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด และมีการสื่อสารไปยังพนักงาน อย่างสม่ำ�เสมอ
- ทำ�ความเข้าใจลูกค้า การพบปะ ลูกค้าเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ - จัดกิจกรรม/ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ที่ชัดเจน - รับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นต่างๆ เพื่อนำ�มาปรับปรุงแก้ไข - คิดค้น และสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และบริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของลูกค้า - เผยแพร่ข้อมูลผลิตภัณฑ์และ บริการที่ครบถ้วนตามความเป็น จริง เพื่อประกอบการตัดสินใจของ ผู้บริโภค และเผยแพร่ผ่านช่องทาง ที่หลากหลาย ง่ายแก่การเข้าถึง ของลูกค้า - ให้ความช่วยเหลือ และตอบข้อ ซักถามของลูกค้า เพื่อให้เกิดความ เข้าใจในผลิตภัณฑ์และบริการ - รับข้อร้องเรียน และจัดการข้อร้องเรียน ภายในระยะเวลาที่กำ�หนด
รายงานประจำ�ปี 2559
111
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย
วิเคราะห์ความต้องการ
5. ชุมชนสิ่งแวดล้อม - สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน และสังคม - การส่งเสริมและพัฒนา การเรียนรู้ - การส่งเสริมและสนับสนุน นโยบายภาครัฐ - ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
112
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
แนวปฏิบัติที่ดำ�เนินการตามนโยบาย
กระบวนการดำ�เนินการ
- ดำ�เนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมควบคู่ ไปกับการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคม - สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ และส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วม - ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา รวมทั้งมีส่วนร่วมดำ�เนินการเพื่อ ปรับปรุงคุณภาพและการเข้าถึง การศึกษา - ส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่ เหมาะสม วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และศาสนา - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ ด้วยการตระหนักถึง ขีดความสามารถในการใช้ทรัพยากร ให้เกิดความคุ้มค่า - จัดทำ�แผนฉุกเฉินให้เหมาะสมเพื่อ ลดความสูญเสีย - เปิดกว้าง และอำ�นวยประโยชน์ให้ ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถแสดงความคิด สร้างสรรค์ ซึ่งเป็นรากฐานของ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม อันจะทำ�ให้เกิดความต่อเนื่องของ การสร้างนวัตกรรม - ส่งเสริมและร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสีย เช่น คู่ค้า เพื่อพัฒนานวัตกรรม และการเผยแพร่นวัตกรรมดังกล่าว - สำ�รวจกระบวนการประกอบธุรกิจอยู่ เสมอว่า ก่อให้เกิดความเสี่ยง หรือมี ผลกระทบทางลบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อมหรือไม่ และหากมีความเสีย่ ง หรือมีผลกระทบทางลบจะแก้ไขในทันที
- สำ�รวจความต้องการของชุมชน และสังคม และให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในการดำ�เนินกิจกรรม - ให้การสนับสนุนกิจกรรมทาง วัฒนธรรมที่เหมาะสม วัฒนธรรม ท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และ ศาสนา - จัดทำ�แผนฉุกเฉินที่เหมาะสมเพื่อ รองรับความสูญเสีย และเสียหาย กับสิ่งแวดล้อม - ทำ�โครงการ Green Office ลด การใช้พลังงานไฟฟ้า และกระดาษ เปลี่ยนเครื่องใช้สำ�นักงานที่มี คุณสมบัติรักษาสิ่งแวดล้อม - การร่วมพัฒนาการเรียนรู้ของ เยาวชนผ่านโครงการรู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจโดยการพัฒนา บุคลากรของบริษัทเพื่อเป็น วิทยากรในการให้ความรู้ทางการ เงินแก่เยาวชน - ตอบรับนโยบายช่วยเหลือ ผู้ประกอบการ SMEs ของ กระทรวงการคลังผ่านการเข้าร่วม โครงการสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ย ต่�ำ เพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ SMEs - โครงการคอมพิวเตอร์มือสองให้ น้องผู้ด้อยโอกาส - ให้ความช่วยเหลือ การบริจาค สิ่งของและเงิน การผ่อนปรนการ ชำ�ระหนี้ ลดค่างวดสินเชื่อ การให้ สินเชื่อเพิ่ม สำ�หรับลูกค้า หรือผู้ที่ ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย
วิเคราะห์ความต้องการ
แนวปฏิบัติที่ดำ�เนินการตามนโยบาย
กระบวนการดำ�เนินการ
6. คู่ค้า
- ทำ�ธุรกิจด้วยความโปร่งใส - Facility and Process Sharing: ส่งต่อลูกค้าในกลุ่ม การเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ - Information Sharing: การแลกเปลี่ยนข้อมูล การทำ�ธุรกิจ - Network Extension: การขยาย เครือข่ายไปกับพันธมิตร
7. คู่แข่ง
- ดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส - ปฏิบตั ติ ามกรอบกติกาการแข่งขันทีด่ ี - กำ�หนดเงื่อนไขในการแข่งขันที่ เป็นธรรม และไม่ใช้วิธีการที่ไม่สุจริต เป็นธรรมร่วมกัน
8. เจ้าหนี้
- จ่ายดอกเบี้ยและชำ�ระคืน ตามกำ�หนด - มีการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง
- ปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการค้าและ - พบปะคู่ค้า ปฏิบัติตามสัญญา - ทำ�การตลาดร่วมกับคู่ค้าของ - สร้างพันธมิตรกับลูกค้าที่มีศักยภาพ กลุม่ การเงิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ - มีความเป็นธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ - สร้างพันธมิตรกับลูกค้าเพื่อลูกค้า - ไม่กีดกันคู่ค้า แนะนำ�ลูกค้ารายอื่นมาใช้บริการ - รับข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน - จัดตั้งคณะกรรมการจัดซื้อ เพื่อดูแล การจัดซื้อให้มีความเหมาะสม
- ปฏิบัติตามสัญญา หรือเงื่อนไขต่างๆ - ปฏิบัติตามสัญญา หรือเงื่อนไข ตามข้อตกลง และหน้าที่ที่พึงมี ต่างๆ ตามข้อตกลง และหน้าท่ี ที่พึงมี - รับข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน
การกำ�หนดประเด็นสำ�คัญที่สอดคล้องกับความรับผิด ชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษทั จะพิจารณาจากประเด็น ข้อคิดเห็น คำ�แนะนำ� สิง่ ทีค่ าดหวังในการดำ�เนินงาน ซึง่ ได้จากการวิเคราะห์ความต้องการ ของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ ภายในและภายนอก ความสอดคล้อง กับแนวปฏิบัติตามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืนและการดำ�เนินการของบริษทั ต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียร่วมด้วย เพื่อประกอบการจัดทำ� รายงานการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน
การตรวจสอบคุณภาพของรายงาน เนื้อหาที่ได้นำ�เสนอในรายงานการพัฒนา ธุรกิจอย่างยัง่ ยืน และเว็บไซต์ของบริษทั ได้ผา่ นการตรวจสอบ สอบทาน จากหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบของบริษทั มีความถูกต้อง สมบู ร ณ์ และสอดคล้ อ งกั บ แนวปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน
รายงานประจำ�ปี 2559
113
1.การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) มีความมุง่ มัน่ ในการดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลัก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ป็ น แนวทางควบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น โดยให้ ความสำ�คัญกับการสร้างวัฒนธรรมบรรษัทภิบาลในองค์กร การมี จ รรยาบรรณในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ สร้ า ง ความสามารถในการแข่งขัน และความเชือ่ มัน่ แก่ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอันเป็น ปัจจัยพื้นฐานที่สำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทให้มี ประสิทธิภาพ โปร่งใส และน่าเชื่อถือ รวมทั้งสนับสนุนให้ มีการบริหารจัดการด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต การเพิม่ มูลค่า ในกิจการ ความมัน่ คงและการเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ และยั่งยืน รวมทั้งให้ความสำ�คัญต่อระบบการควบคุม ภายในและการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่ า งเท่ า เที ย มกั น และเป็ น ธรรม มีจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ ดูแลมิให้เกิดปัญหาความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ รวมทัง้ คำ�นึงถึงความเสีย่ งและการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการ ชุดย่อยเพือ่ ช่วยกำ�กับดูแลการดำ�เนินกิจการในด้านต่างๆ ของบริษัทอย่างใกล้ชิด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน และ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ คณะกรรมการชุดย่อย แต่ละคณะจะดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตาม วิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนงานในการดำ�เนินธุรกิจและ การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยได้ก�ำ หนดบทบาทและหน้าที่ ความรับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อกั ษรไว้อย่างชัดเจน ซึง่ การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท มี ห ลั ก สำ � คั ญ ซึ่ ง คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนใช้ยึด เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ตามหลัก 4 ประการ ดังนี้ 1. Transparency : ความโปร่ ง ใสใน การดำ � เนิ น งาน และการเปิ ด เผย ข้ อ มู ล แ ก่ ผู้ ที่ เกี่ยวข้อง
114
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2. Integrity : 3. Accountability : 4. Competitiveness :
ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ต่อผลการปฏิบัติ งานตามหน้าที่ ความสามารถใน การแข่งขัน
บริษทั มีความมุง่ มัน่ ในการนำ�หลักการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีมาใช้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสม กับสภาพแวดล้อม โครงสร้าง และความจำ�เป็นขององค์กร ส่งผลให้บริษทั ได้รบั คะแนนจากโครงการสำ�รวจการกำ�กับ ดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนประจำ�ปี 2559 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2016) อยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” โดยสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ทัง้ นี้ บริษทั ได้น�ำ เสนอรายงานผลการประเมินให้คณะกรรมการ บรรษัทภิบาลของบริษัทรับทราบ เพื่อพิจารณาข้อเสนอ แนะและนำ�ไปพัฒนาและปรับปรุงการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ของบริษัทให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ บริษัทตระหนักถึงการคำ�นึงถึง สิทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ ทุกกลุม่ ตลอดจน ความตั้งใจที่จะให้ผู้ถือหุ้นได้มีส่วนร่วมในการดูแลบริษัท อย่างแท้จริงและการส่งเสริมให้มกี ลไกถ่วงดุลและตรวจสอบ ส่งผลให้บริษทั ได้รบั ผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ในระดับ “ดีเยี่ยม และ สมควรเป็นตัวอย่าง” โดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียน และสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งบริษัทได้รับ คะแนนเต็ม 100 คะแนนต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 นับตั้งแต่ ปี 2556 โดยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2559 บริษัทได้รับ รางวัล “Investors’ Choice Awards” จากโครงการประเมิน คุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีของบริษัท จดทะเบียนที่ให้ความสำ�คัญด้านการเปิดเผยข้อมูลและ การให้ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น
ห ม ว ด ที่ 5 ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท (Responsibilities of the Board) รายละเอี ย ดของนโยบายการกำ � กั บ ดู แ ล กิ จ การที่ ดี บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยไว้ ที่ เ ว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท (www.lhfg.co.th)
บริษทั ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลโดย 1.1 นโยบายการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี คำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม การพบปะสื่อมวลชนและ (Good Corporate Governance Policy) นักวิเคราะห์หลักทรัพย์เพือ่ รายงานผลการดำ�เนินงานของบริษทั บริษทั กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และตอบข้อซักถาม การเปิดเผยข้อมูลในแบบแสดงข้อมูล (Good Corporate Governance Policy) ขึ้ น เป็ น ประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี หนังสือนัดประชุม ลายลักษณ์อกั ษรโดยอ้างอิงจากหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ผูถ้ อื หุน้ รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ และการวิเคราะห์และ ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด คำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ บริษทั ได้ด�ำ เนินการตามกระบวนการประชุม ประกอบด้ ว ยหลั ก การและแนวปฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อให้คณะกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพ ผู้บริหาร และพนักงานยึดถือเป็นแนวในการปฏิบัติงาน การประชุมผูถ้ อื หุน้ และดำ�เนินการด้านการกำ�กับดูแลกิจการ และมั่ น ใจว่ า บริษัทดำ �เนิน ธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ตามหลักเกณฑ์ของการประเมินการกำ�กับดูแลกิจการ มีความโปร่งใสและปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั จดทะเบียนของสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทยและของ สนันสนุนให้มีการบริหารจัดการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1.2 คณะกรรมการชุดย่อย บริษัทได้ทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีเป็นประจำ�ทุกปี โดยได้รับการอนุมัติจากที่ โครงสร้างการจัดการของบริษัท แอล เอช ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่16 ธันวาคม 2559 ซึ่ ง นโยบายการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ประกอบด้ ว ย ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย หลักการและแนวปฏิบตั ทิ เ่ี กีย่ วกับการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษัท ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง เพื่อให้คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงานยึดถือ คณะกรรมการชุดย่อยอีก 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 5 หมวด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน และ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง โดยคณะกรรมการบริษทั Shareholders) หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่าง และคณะกรรมการชุดย่อย มีการแบ่งแยกหน้าที่และ เท่ า เที ย มกั น (Equitable ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน Treatment of Shareholders) ห มวดที่ 3 บทบาทของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย (Role of Stakeholders) หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความ โปร่ง ใส (Disclosure and Transparency) รายงานประจำ�ปี 2559
115
รายละเอียดของคณะกรรมการชุดย่อย และ ขอบเขตอำ � นาจหน้ า ที่ บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยไว้ ที่ หั ว ข้ อ โครงสร้างการจัดการ รายละเอียดของกรรมการตรวจสอบที่มี ความรู้ แ ละประสบการณ์ ใ นการสอบทานงบการเงิ น บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยไว้ ที่ หั ว ข้ อ โครงสร้ า งการจั ด การ ข้อ 3. คณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการอิสระ กรณีต�ำ แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอน่ื นอกจากถึงคราวออกตามวาระหรือเพือ่ พิจารณาเสนอต่อ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ เลือกตัง้ กรรมการและ/หรือกรรมการ อิสระในกรณีทก่ี รรมการพ้นตำ�แหน่งตามวาระหรือเลือกตัง้ กรรมการใหม่เพิ่มเติม รายละเอียดหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการ บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่หัวข้อ โครงสร้างการจัดการ
หลักเกณฑ์การสรรหาผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั 1.3 การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณา ผู้บริหารระดับสูงสุด คั ด เลื อ กและกลั่ น กรองบุ ค คลที่ มี ค วามสามารถและ ค ณ ะ กร ร ม กา ร ส ร ร ห า แ ล ะ กำ � ห น ด มีคุณสมบัติที่เหมาะสม โดยคำ�นึงถึงจริยธรรม คุณธรรม ค่าตอบแทนจะพิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่มี ความซื่อสัตย์ เพื่อดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูง ได้แก่ คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสม มี ค วามรู้ ความสามารถ และ กรรมการผู้จัดการ โดยมีปัจจัยเบื้องต้นที่ ใช้ประกอบ ประสบการณ์ในด้านต่างๆ มีความเข้าใจเพียงพอในธุรกิจ การพิจารณา ได้แก่ คุณสมบัติ ความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ ของบริษทั รวมถึงเศรษฐกิจ กฎหมาย และอืน่ ๆ โดยคำ�นึงถึง การทำ�งาน มีแนวคิดและวิสยั ทัศน์ในการบริหารจัดการใน ความจำ�เป็นขององค์กรและการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ทัง้ นี้ ทิศทางเดียวกับคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้การดำ�เนินงาน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะรับฟัง ประสบผลสำ�เร็จลุลว่ งตามเป้าหมาย โดยคณะกรรมการสรรหา ข้อเสนอแนะของผูถ้ อื หุน้ รายย่อยซึง่ เสนอชือ่ บุคคลทีค่ วร และกำ�หนดค่าตอบแทนจะเสนอชือ่ บุคคลทีไ่ ด้รบั การคัดเลือก ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการหรือกรรมการอิสระของ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาแต่งตั้ง บริษัท ซึ่งบริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคล 1.4 การกำ � กั บ ดู แ ลการดำ � เนิ น งานของ เพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการในการประชุม บริษัทย่อยและบริษัทร่วม สามัญผู้ถือหุ้นตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทกำ�หนด บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นบริษทั แม่ของกลุม่ ธุรกิจ ทางการเงินเนื่องจากบริษัทไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง การดูแลด้านการควบคุมภายในบริษัทได้มอบหมายให้ ฝ่ า ยตรวจสอบและสำ � นั ก กำ � กั บ ธนาคารของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผูด้ แู ลและรายงาน การปฎิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายในต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอโดยมี นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการบริษทั เป็นผูด้ แู ลและ ประสานงานระหว่างบริษัทกับฝ่ายตรวจสอบ และสำ�นัก กำ�กับธนาคาร ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทใน 2. การสรรหากรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงสุด กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ซึ่งได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการของบริษัท เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะเสนอให้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแต่งตั้งกรรมการและ/หรือ 1. กรรมการอิสระ หลักเกณฑ์การสรรหาและแต่งตั้งบุคคล เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ บุคคลดังกล่าวต้องมี คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการอิ ส ระตามที่ บ ริ ษั ท กำ � หนด ซึ่ ง เข้มกว่าที่กำ�หนดโดยประกาศคณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุน และสอดคล้องกับแนวปฏิบตั ขิ องนโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี รายละเอียดหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการ อิสระ และคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระ บริษทั ได้เปิดเผย ไว้ทห่ี วั ข้อ โครงสร้างการจัดการข้อ 1. การสรรหากรรมการ และกรรมการอิสระ
116
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด บริษทั ดูแลให้บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ดั ง กล่ า วมี ข้อ บั ง คั บ ในเรื่อ งการทำ � รายการเกี่ย วโยงกั น มีการรายงานผลการดำ�เนินงาน มีการบริหารธุรกิจทีเ่ ป็นไป ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี มีการจัดเก็บข้อมูลและ การบันทึกบัญชีทเ่ี ป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของ บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ได้ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มั่นใจว่าได้ ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ โปร่งใส และปฏิบัติต่อ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน มีการบริหารจัดการด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต
1.6 การแต่งตั้งและกำ�หนดค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชี
การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี รวมถึงการกำ�หนด ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีในแต่ละปี คณะกรรมการ ตรวจสอบจะพิจารณาคุณสมบัติและการปฏิบัติงานของ ผู้ ส อบบั ญ ชี เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ เสนอ ขออนุมตั ติ อ่ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทัง้ นี้ รายชือ่ บริษทั ผูส้ อบบัญชี ที่จะเสนอเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท จะต้องได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย บริ ษั ท มี น โยบายใช้ บ ริ ษั ท ผู้ ส อบบั ญ ชี รายเดียวกับทุกบริษัทในกลุ่มการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ซึ่งปัจจุบันได้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ค่ า ตอบแทนผู้ ส อบบั ญ ชี ป ระจำ � ปี 2559 1.5 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน เปรียบเทียบกับปี 2558 ของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล บริษทั ได้ก�ำ หนดนโยบายการดูแลการใช้ขอ้ มูล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ดังนี้ ภายในเพือ่ เป็นหลักเกณฑ์ในการรักษาความลับของบริษทั 1. ค่ า ตอบแทนผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท เพื่อความเท่าเทียมกันในการรับรู้ข้อมูลและเพื่อป้องกัน การใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ ประโยชน์ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และพนั ก งานซึ่ ง รวมถึ ง คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ยั ง ไม่ บริษทั จ่ายค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีและค่าตรวจสอบ บรรลุนิติภาวะและเพื่อเป็นการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รายละเอียดนโยบายการดูแลการใช้ข้อมูล อื่นๆ ให้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ ภายใน บริษัทได้เปิดเผยไว้ที่หัวข้อที่ 1.7 การปฏิบัติตาม หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน ข้อ 3. การป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน
1.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2559 และ 2558 ค่าตอบแทนการสอบบัญชี การเปลี่ยนแปลง (บาท) เพิ่มขึ้น (ลดลง) ขอบเขตงาน 2559 2558 จำ�นวน(บาท) ร้อยละ 1. ค่าธรรมเนียมการสอบทาน สำ�หรับ - ไตรมาสที่หนึ่ง สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 130,000 120,000 10,000 8.33 - ไตรมาสที่สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 130,000 120,000 10,000 8.33 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบ สำ�หรับ - งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 270,000 255,000 15,000 5.88 - งวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 270,000 255,000 15,000 5.88 รวมทั้งสิ้น 800,000 750,000 50,000 6.66 1.2 ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มีรายงานประจำ�ปี 2559
117
2. ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทย่อย 2.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีและค่าตรวจสอบอืน่ ๆ ให้แก่ บริษทั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ 2.1.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2559 และ 2558 ค่าตอบแทนการสอบบัญชี การเปลี่ยนแปลง (บาท) เพิ่มขึ้น (ลดลง) ขอบเขตงาน 2559 2558 จำ�นวน(บาท) ร้อยละ 1. ค่าธรรมเนียมการสอบทาน • ไตรมาสที่ หนึ่ง สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 650,000 600,000 50,000 8.33 • ไตรมาสที่ สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 650,000 600,000 50,000 8.33 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบ • งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 1,400,000 1,375,000 25,000 1.82 • งวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 1,400,000 1,375,000 25,000 1.82 3. ค่าสอบทานระบบให้บริการโอนเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ 220,000 220,000 รวมทั้งสิ้น* 4,320,000 4,170,000 150,000 3.60 หมายเหตุ - เดิมปี 2558 มีคา่ สอบทานการประเมินประสิทธิภาพฝ่ายตรวจสอบจำ�นวน 220,000 บาท เนื่องจากปี 2559 ไม่ต้องสอบทาน จึงไม่นำ�มาแสดง - *ค่าธรรมเนียมดังกล่าวของธนาคารไม่รวมค่าสอบทานผลประโยชน์พนักงานที่สอบทาน โดยผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่จะเบิกจากธนาคารตามจ่ายจริงประมาณ 200,000 บาท
2.1.2 ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มี2.2 บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีและค่าตรวจสอบอืน่ ๆ ให้แก่ บริษทั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้
2.2.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2559 และ 2558 ค่าตอบแทนการสอบบัญชี การเปลี่ยนแปลง (บาท) เพิ่มขึ้น (ลดลง) ขอบเขตงาน 2559 2558 จำ�นวน(บาท) ร้อยละ 1. ค่าธรรมเนียมการสอบทานสำ�หรับ - ไตรมาสที่หนึ่ง สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 35,000 30,000 5,000 16.67 - ไตรมาสที่สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 35,000 30,000 5,000 16.67 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบ สำ�หรับ - งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 180,000 165,000 15,000 9.09 - งวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 180,000 165,000 15,000 9.09 รวมทั้งสิ้น 430,000 390,000 40,000 10.26
118
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2.2.2 ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มี 2.3 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด บริษัทจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีและค่าตรวจสอบอื่นๆ ให้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ดังนี้ 2.3.1 ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจำ�ปี 2559 และ 2558 ค่าตอบแทนการสอบบัญชี การเปลี่ยนแปลง (บาท) เพิ่มขึ้น (ลดลง) ขอบเขตงาน ร้อยละ 2559 2558 จำ�นวน(บาท) 1. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบงบการเงินสำ�หรับ 16,000 16,000 • ไตรมาสที่หนึ่ง สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม/1 /1 16,000 16,000 • ไตรมาสที่สาม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2. ค่าธรรมเนียมการตรวจสอบงบการเงินสำ�หรับ • งวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 174,000 174,000 • งวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 174,000 174,000 รวมทั้งสิ้น 380,000 380,000 /1 หมายเหตุ เป็นค่าธรรมเนียมตามขอบเขตงานสอบทานเพือ่ วัตถุประสงค์ในการรายงานการสอบทานต่องบการเงินรวมระหว่างกาลของ
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) โดยไม่มกี ารออกรายงานการสอบทานสำ�หรับบริษทั เนือ่ งจากขอบเขตการสอบทาน เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าวมีขอบเขตที่แตกต่างกันในสาระสำ�คัญ
2.3.2 ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มี-
1.7 การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกำ � กั บ ดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงบทบาท และหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการเสริ ม สร้ า งให้ เ กิ ด การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจของ บริษทั เจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืน บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่ ง ใส เป็ น ธรรม ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ตามแนวทางทีต่ ลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยกำ�หนดครบทุกเรื่อง ดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of Shareholders) ไม่กระทำ�การใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือ ริดรอนสิทธิของผูถ้ อื หุน้ และส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายได้ ใช้สิทธิพื้นฐานตามที่กฎหมายกำ�หนด
1. •
การคุ้มครองสิทธิของผู้ถือหุ้น บ ริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของ สิทธิข้นั พื้นฐานต่างๆ ของผู้ถือหุ้นโดย การรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ทุกกลุ่มอย่างเสมอภาคและส่งเสริมให้ ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มใช้สิทธิของตนรวมถึง ผู้ถือหุ้นสถาบัน โดยครอบคลุมสิทธิ ขนั้ พืน้ ฐานตามกฎหมาย ได้แก่ สิทธิใน การซือ้ ขายหรือโอนหลักทรัพย์ทต่ี นถืออยู่ สทิ ธิในการมีสว่ นแบ่งในกำ�ไรของบริษทั สิทธิ ในการรับเงินปันผล สิทธิ ในการ มอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าประชุมและ ออกเสียงลงคะแนนแทน สิทธิในการเข้าร่วม ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อใช้สิทธิออกเสียงใน ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ แต่งตัง้ และถอดถอน กรรมการ การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการ ก ารแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละกำ � หนด คา่ ตอบแทนผูส้ อบบัญชี สิทธิในการแสดง ความคิดเห็นและซักถามในการประชุม ผู้ถือหุ้น และสิทธิที่จะได้รับสารสนเทศ อย่างเพียงพอและทันเวลาผ่านช่องทาง ที่เข้าถึงได้ง่ายและในเวลาที่เหมาะสม รายงานประจำ�ปี 2559
119
• คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญต่อ สิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็น ผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน ได้แก่ กรรมการบริษทั ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทหรือ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ภายนอกบริ ษั ท ได้ แ ก่ ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่ม คู่แข่ง ภาครัฐ และ หน่วยงานอื่นๆ โดยบริษัทมีนโยบายใน การปฏิบตั งิ านทีม่ คี วามโปร่งใส มีการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี รวมถึงสนับสนุนให้เกิด ความร่วมมือระหว่างบริษทั กับผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในการสร้างสรรค์ประโยชน์ระหว่างกัน และดูแลให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้เสียได้รับ การคุ้มครองและปฏิบัติด้วยดี • คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความสำ�คัญต่อ การเปิดเผยข้อมูลและข่าวสารทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส โดยเปิด เผยบนเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ได้ แ ก่ www.lhfg.co.th เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่มได้รับทราบอย่างทั่วถึง ซึ่งมี 2 ภาษาได้แก่ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ ง่ า ย เ ช่ น รายงานงบการเงิน การวิเคราะห์และ คำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ จดหมายข่าว ถึงผูถ้ อื หุน้ กิจกรรมเพือ่ สังคม แบบแสดง รายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) หนังสือ เชิญประชุมผู้ถือหุ้น และกิจกรรมต่างๆ ของบริษัท • บริษัทส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิของตน อย่างเต็มที่ โดยการอำ�นวยความสะดวก และจัดหาช่องทางให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ใช้สทิ ธิในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียง ลงคะแนนได้อย่างเต็มที่ไม่ยุ่งยาก และ ไม่กระทำ�การที่จะเป็นการจำ�กัดโอกาส ในการเข้ า ร่ ว มประชุ ม และออกเสี ย ง ลงมติและมีวิธีการให้ผู้ถือหุ้นออกเสียง ลงคะแนนที่มีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก เช่น การให้ข้อ มูล สำ�คัญผ่านเว็บไซต์ของ บริษัท การมอบหมายให้เ ลขานุการ บริษทั ทำ�หน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้
120
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
โดยตรง การเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ เสนอ วาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ และเสนอบุคคล เพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการ และการอำ � นวยความสะดวกในการ เข้าประชุมผู้ถือหุ้น เป็นต้น • บ ริ ษั ท ไ ด้ เ ผ ย แ พ ร่ ม ติ ที่ ป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2559 เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งมีมติ กำ�หนดให้จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 ในวันที่ 25 เมษายน 2559 โดยได้แจ้งวาระการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ทั้ ง ฉบั บ ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ ผ่ า นช่ อ งทางการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตัง้ แต่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 และเปิดเผย เอกสารการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ผู้ถือหุ้น ทราบผ่านช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ในเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ตั้ ง แต่ วั น ที่ 17 มีนาคม 2559 2. การประชุมผู้ถือหุ้น • ก่อนประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อเป็น การส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้น ทุกกลุ่มรวมถึงผู้ถือหุ้นประเภทสถาบัน ให้ความสำ�คัญกับการเข้าร่วมประชุม บริษทั ได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ ผู้ถือหุ้นในรูปแบบหนังสือ โดยจัดส่ง พร้อมรายงานประจำ�ปีในรูปแบบ CD-ROM ล่ ว งหน้ า ไม่ น้ อ ยกว่ า 7 วั น ก่ อ น วันประชุมผูถ้ อื หุน้ ตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด ซึ่งหนังสือเชิญประชุมได้ระบุวัน เวลา สถานที่ประชุม เอกสารประกอบการ ประชุมในแต่ละวาระ ข้อบังคับบริษัท เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือ มอบฉันทะตามแบบทีก่ ระทรวงพาณิชย์ กำ � หนด พร้ อ มทั้ ง แผนที่ ส ถานที่ จั ด ประชุม โดยแนบไปกับหนังสือเชิญประชุม กรณี ต้ อ งการมอบฉั น ทะสามารถใช้
หนังสือมอบฉันทะที่แนบไปกับหนังสือ เชิญประชุมและสามารถระบุความเห็น ในการลงคะแนนเสียงได้ ระเบียบวาระ การประชุมจะระบุชดั เจนว่าเป็นเรือ่ งเสนอ เพื่อรับทราบ หรือเพื่อพิจารณาอนุมัติ พร้อมด้วยข้อเท็จจริง เหตุผล ความเห็น ทีเ่ พียงพอและชัดเจนของคณะกรรมการ บริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ประกอบการพิจารณาตัดสินใจ ใช้สทิ ธิออกเสียง และได้เปิดเผยไว้บนเว็บไซต์ ของบริษทั (www.lhfg.co.th) ล่วงหน้า 30 วันก่อนวันประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้ รับทราบข้อมูล และมีเวลาศึกษาข้อมูล ประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอ ซึ่งเป็นข้อมูลเดียวกับที่บริษัทจัดส่งให้ ผูถ้ อื หุน้ ในรูปแบบเอกสาร บริษทั ได้ประกาศ คำ�บอกกล่าวเรียกประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ในหนังสือพิมพ์รายวันฉบับภาษาไทย ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน และก่อน วันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน รวมทั้งได้ ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม และเอกสาร ประกอบการประชุมฉบับภาษาอังกฤษ เพือ่ ประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ และ เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั พร้อมกับ หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบ การประชุมฉบับภาษาไทย • ในการจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น นอกจาก การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีซึ่ง ต้องจัดภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุด รอบปีบัญชีแล้ว คณะกรรมการบริษัท อาจเรียกประชุมวิสามัญในวัน เวลา และ สถานทีท่ ค่ี ณะกรรมการกำ�หนด นอกจากนี้ ผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 5 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้ ทั้งหมดหรือผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 25 คน ซึง่ มีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 10 ของจำ�นวนหุน้ ทีจ่ �ำ หน่ายได้ทงั้ หมดอาจ เข้าชื่อกันทำ�หนังสือให้คณะกรรมการ เรี ย กประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น การประชุ ม วิสามัญได้ และหนังสือร้องขอจะต้อง
ระบุถงึ วัตถุประสงค์ของการเรียกประชุม ไว้ให้ชัดเจน เมื่อมีคำ�ร้องขอเช่นว่านั้น คณะกรรมการจะต้องกำ�หนดวัน เวลา และสถานที่ ที่ จ ะประชุ ม ไม่ ช้ า กว่ า 1 เดือนนับจากวันที่ได้รบั หนังสือร้องขอ • บริษัทสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น ทุกกลุม่ รวมถึงผูถ้ อื หุน้ ประเภทสถาบัน เข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ เนือ่ งจากผูถ้ อื หุน้ มีสิทธิในความเป็นเจ้าของบริษัทผ่าน การแต่งตั้งกรรมการบริษัทให้ทำ�หน้าที่ แทนตนและมีสทิ ธิในการตัดสินใจเกีย่ วกับ การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญของบริษัท • บริ ษั ท คำ � นึ ง ถึ ง สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ตาม แนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดย ปฏิบตั ติ ามแนวทางการประเมินคุณภาพ การจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ (AGM Checklist) ของสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
3. การดำ�เนินการในวันประชุมผู้ถือหุ้น • บริษทั ได้จดั ทำ�แบบฟอร์มการลงทะเบียน โดยแนบไปพร้อมกับหนังสือเชิญประชุม ผู้ถือหุ้นเพื่ออำ�นวยความสะดวกให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ ในการลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม • บริษัทได้ดำ�เนินการเพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่จะ เข้าร่วมประชุมได้รบั ความสะดวกและรวดเร็ว ซึ่งเริ่มตั้งแต่ข้ันตอนการเตรียมข้อมูล ผูเ้ ข้าร่วมประชุม การลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม การประมวลผลการลงคะแนนรายวาระ และการรายงานสรุปผลการประชุมผูถ้ อื หุน้ รายงานประจำ�ปี 2559
121
• การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2559 บริษทั ได้เสนอชือ่ กรรมการอิสระ พร้ อ มประวั ติ ใ ห้ ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณา มอบฉั น ทะจำ � นวน 2 ท่ า น ได้ แ ก่ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน โดยบริษทั ได้แนบหนังสือ มอบฉันทะแบบ ข. และแบบ ค. ซึ่ง ผู้ถือหุ้นสามารถกำ�หนดทิศทางการ ลงคะแนนเสียงได้ และได้สง่ ให้ผถู้ อื หุน้ พร้อมกับหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถดาวน์ โหลดหนังสือ มอบฉันทะประเภทอื่นได้จากเว็บไซต์ ของบริ ษั ท ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ จั ด ทำ � เป็ น 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ • การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2559 กรรมการบริษทั เข้าร่วมประชุมครบ ทัง้ 9 ท่าน และมีผบู้ ริหารระดับสูงของ บริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น ได้ เข้าร่วมการประชุมด้วย • บริษัทจัดให้มีบุคคลที่เป็นอิสระ ได้แก่ • การเข้าประชุมผู้ถือหุ้น ผูส้ อบบัญชี และทีป่ รึกษากฎหมาย เพือ่ • บริ ษั ท จั ด ให้ มี เ จ้ า หน้ า ที่ ต รวจสอบ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นคนกลางในการสังเกตการณ์ เอกสารของผูถ้ อื หุน้ หรือผูร้ บั มอบฉันทะ ให้การประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นไปอย่างโปร่งใส ที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุม ตามที่ได้แจ้ง ถูกต้องตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษทั ไว้ในหนังสือเชิญประชุมเพือ่ รักษาสิทธิ • การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามและ และความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น แสดงความคิดเห็น และผู้ ถื อ หุ้ น สามารถลงทะเบี ย น เข้าประชุมล่วงหน้าได้กอ่ นการประชุม อย่างเพียงพอและได้อ�ำ นวยความสะดวก • ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั เปิดโอกาส ให้ผถ้ ู อื หุน้ โดยบริษทั ได้น�ำ ระบบคอมพิวเตอร์ ให้ผู้ถือหุ้นส่งคำ�ถามล่วงหน้าผ่านทาง มาใช้ในการลงทะเบียนพร้อมทัง้ จัดพิมพ์ เว็บไซต์ของบริษัท www.lhfg.co.th บัตรลงคะแนนในแต่ละวาระให้ผถู้ อื หุน้ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ถงึ เลขานุการ ทำ � ให้ ก ารลงทะเบี ย นเป็ น ไปด้ ว ย บริษทั ที่ presidentoffice@lhbank.co.th ความเรียบร้อย รวดเร็วและถูกต้อง เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทชี้แจงใน • ในระหว่ า งการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น วันประชุม • ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธานทีป่ ระชุม สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมเพือ่ ใช้ สิ ท ธิ อ อกเสี ย งในวาระที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ได้จัดสรรเวลาที่เหมาะสมและส่งเสริม ให้ ผู้ ถื อ หุ้ นมี โ อกาสเท่ า เที ย มกั น ใน ลงคะแนนได้ การแสดงความคิดเห็นหรือสอบถาม
• ในวันประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นสามารถ ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ล่วงหน้า ก่อนเวลาประชุมประมาณ 2 ชัว่ โมง โดย บริษทั ได้อ�ำ นวยความสะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ ก่อนการประชุม อาทิ จัดเตรียมสถานที่ และเจ้ า หน้ า ที่ ต้ อ นรั บ เพื่ อ ให้ ก าร ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น และผู้รับมอบฉันทะสะดวกรวดเร็ว • บริ ษั ท ได้ นำ � ระบบคอมพิ ว เตอร์ ม าใช้ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้การประชุม ดำ � เนิ น ไปอย่ า งรวดเร็ ว ถู ก ต้ อ งและ แม่นยำ� เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วมประชุม ได้รับความสะดวกตั้งแต่ขั้นตอนการ ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม การจัดพิมพ์ บั ต รลงคะแนน การประมวลผล การลงคะแนนตามรายวาระ และการรายงาน สรุปผลการประชุมผู้ถือหุ้น • บริษัทจัดให้มีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบการ นับคะแนนเสียงตลอดการประชุม
122
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
• บริษทั จะดำ�เนินการอย่างดีทส่ี ดุ เพือ่ ให้ กรรมการทุกท่าน ผูบ้ ริหารระดับสูงของ บริษทั และบริษทั ย่อย รวมทัง้ ผูส้ อบบัญชี เข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ชีแ้ จงข้อซักถาม โดยกรรมการจะอธิบายและชีแ้ จงเหตุผล อย่างตรงประเด็นจนเป็นทีก่ ระจ่าง และ จดบันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบ ได้ในภายหลัง • การดำ�เนินการประชุมและออกเสียงลงคะแนน • ก่อนเริม่ การประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธานที่ ประชุ ม จะกล่ า วต้ อ นรั บ และเปิ ด การประชุมโดยมีการแจ้งจำ�นวนและ สัดส่วนผู้ถือหุ้น และผู้รับมอบฉันทะ ทีเ่ ข้าร่วมประชุม และชีแ้ จงกติกาและ สิทธิในการลงคะแนนเสียงที่ต้องการ ในแต่ละวาระ วิธกี ารออกเสียงลงคะแนน และการนับคะแนน • การดำ�เนินการประชุมผู้ถือหุ้น • บริ ษั ท ได้ อำ � นวยความสะดวกใน กระบวนการจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ให้ เป็ น ไปอย่ า งถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย และข้ อ กำ � หนดที่ เ กี่ ย วข้ อ งและเป็ น ไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี • บริษัทจัดสรรเวลาสำ�หรับการประชุม อย่างเหมาะสม โดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ จะพิจารณาระเบียบวาระการประชุม ตามลำ � ดั บ ที่ กำ � หนดไว้ ใ นหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม เว้ น แต่ ที่ ป ระชุ ม จะมี มติ ใ ห้ เ ปลี่ ย นลำ � ดั บ ระเบี ย บวาระ ด้ ว ยคะแนนเสี ย งไม่ น้ อ ยกว่ า สอง ใ น ส า ม ข อ ง จำ � นว น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มาประชุ ม หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง มี หุ้ น นั บ รวมกั น ได้ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า หนึ่ ง ใน สามของจำ � นวนหุ้ น ที่ จำ � หน่ า ยได้ ทั้ ง หมดขอให้ ที่ ป ระชุ ม พิ จ ารณา เรื่ อ งอื่ น นอกจากที่ กำ � หนดไว้ ใ น หนังสือเชิญประชุม
• บริ ษั ท ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น มี โ อกาส สอบถาม แสดงความคิดเห็นหรือ ข้ อ เสนอแนะ โดยกรรมการและ ผู้ บ ริ ห ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ชี้ แ จงและ ตอบคำ�ถาม • การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ดำ�เนินไปด้วยความเรียบร้อย เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัทโดย เรี ย งตามวาระที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นหนั ง สื อ เชิญประชุม ไม่มีการเพิ่มหรือสลับ ลำ�ดับวาระการประชุมหรือเปลีย่ นแปลง ข้อมูลสำ�คัญโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้น ทราบล่วงหน้า • วิธีการออกเสียงลงคะแนน • บริ ษั ท ใช้ บั ต รลงคะแนนเพื่ อ การ ลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระ โดยเฉพาะ วาระการแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการ ที่ต้องออกตามวาระ ผู้ถือหุ้นได้ออก เสี ย งลงคะแนนแต่ ง ตั้ ง กรรมการ เป็นรายบุคคล • การออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระ ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมด้วยตนเองหรือ ผู้รับมอบฉันทะให้มาร่วมประชุมมี สิทธิออกเสียง 1 เสียงต่อ 1 หุ้น โดย เฉพาะวาระการแต่งตัง้ กรรมการแทน กรรมการที่ต้องออกตามวาระจะมี การออกเสี ย งลงคะแนนแยกเป็ น รายบุคคลและเพื่อปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน บริษัทได้นำ�บัตร ลงคะแนนมาใช้ในทุกวาระและเมื่อ เสร็จสิน้ การตรวจนับคะแนนจะประกาศผล การลงคะแนนในแต่ละวาระต่อท่ปี ระชุม ผู้ถือหุ้นโดยระบุผลการลงคะแนนเสียง ของผูถ้ อื หุน้ ทีล่ งมติเห็นด้วยไม่เห็นด้วย งดออกเสียงและบัตรเสีย • ภายหลังการประชุมผู้ถือหุ้น • บริษัทได้เผยแพร่มติที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 และผลการลง คะแนนแต่ละวาระทั้งฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษภายในวันประชุม รายงานประจำ�ปี 2559
123
ผู้ถือหุ้นคือวันที่ 25 เมษายน 2559 ผ่านช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายในระยะเวลาที่ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยกำ�หนด และเผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั www.lhfg.co.th • บริษทั จัดทำ�รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยบันทึกรายงานการประชุมอย่างครบถ้วน ประกอบด้วย ข้อมูลสำ�คัญ ได้แก่ รายชือ่ กรรมการทีเ่ ข้าร่วมประชุมและกรรมการ ที่ลาประชุม มติที่ประชุม ผลการ ลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระโดยแบ่ง เป็นจำ�นวนเสียงทีเ่ ห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และบัตรเสีย คำ�ถามและ คำ�ชี้แจง ความคิดเห็นของที่ประชุม • บริษทั จัดให้มกี ารบันทึกภาพการประชุม ผู้ถือหุ้นในลักษณะสื่อวีดิทัศน์ และ ได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท • บริษัทส่งสำ�เนารายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ต่อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แ ล ะ กร ม พั ฒ นา ธุ ร กิ จ ก า ร ค้ า กระทรวงพาณิชย์ ภายในระยะเวลา 14 วัน นับจากวันประชุมผูถ้ อื หุน้ และ เผยแพร่รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2559 พร้อมแจ้งข่าว ผ่านช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมวดที่ 2 การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเท่ าเที ย มกั น (Equitable Treatment of Shareholders) บริษัทดูแลผู้ถือหุ้นให้ได้รับการปฏิบัติและ ปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม รวมทั้งมาตรการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือการใช้ข้อมูลภายในเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ ให้แก่ ตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ
124
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
1. การให้ข้อมูลก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น • บริษัทจัดทำ�หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น เพือ่ แจ้งกำ�หนดการประชุม ระเบียบวาระ การประชุม และเอกสารประกอบการประชุม ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ โดย กำ�หนดวาระการประชุมผู้ถือหุ้นไว้เป็น เรือ่ งๆ อย่างชัดเจนว่าเป็นเรือ่ งทีจ่ ะเสนอ เพือ่ ทราบ เพือ่ อนุมตั ิ หรือเพือ่ พิจารณา ร วมทั้ ง ความเห็ น ของคณะกรรมการ ข้อเท็จจริง และเหตุผลของแต่ละวาระ ทีเ่ สนอไว้ให้ชดั เจนเพียงพอต่อการตัดสินใจ และเปิดเผยให้ทราบเป็นการทัว่ ไปล่วงหน้า ก่อนการประชุม โดยแจ้งผ่านช่องทาง การเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและเผยแพร่ข้อมูลใน เว็บไซต์ของบริษัทเพื่อเปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นได้มีเวลาศึกษาล่วงหน้าก่อน การประชุมอย่างเพียงพอ รวมทัง้ บริษทั ได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสาร ประกอบการประชุมให้แก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ตามที่กฎหมายกำ�หนด และบริษัทได้ ประกาศบอกกล่าวการนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ ทางหนังสือพิมพ์เป็นเวลา 3 วันติดต่อกัน ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน ทั้งนี้ รายละเอียดที่ปรากฎบนเว็บไซต์ และเอกสารทีจ่ ดั ส่งให้ผถู้ อื หุน้ เป็นข้อมูล เดียวกัน ประกอบด้วย 1. หนังสือเชิญประชุม พร้อมคำ�อธิบาย เหตุผลประกอบวาระการประชุม และ ความเห็นของคณะกรรมการ 2. รายงานประจำ�ปีในรูปแบบ CD-ROM 3. ประวัตขิ องกรรมการทีอ่ อกจากตำ�แหน่ง ตามวาระและเสนอให้ผถู้ อื หุน้ เลือกตัง้ เข้า ดำ�รงตำ�แหน่งอีกวาระหนึ่ง 4. คำ�ชีแ้ จงวิธกี ารลงทะเบียนและการแสดง เอกสารก่อนเข้าประชุม การมอบฉันทะ และการออกเสี ย งลงคะแนนและ การนับผลการลงคะแนนเสียง
5. ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท เฉพาะส่ ว นที่ เกี่ยวข้องกับการประชุมผู้ถือหุ้น 6. หนังสือมอบฉันทะ แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. 7. ประวัติของกรรมการอิสระเพื่อเป็น ผูร้ บั มอบฉันทะเข้าประชุมแทนผูถ้ อื หุน้ 8. นิยามกรรมการอิสระ 9. แผนที่แสดงสถานที่ประชุมผู้ถือหุ้น 10. แบบฟอร์มขอรับรายงานประจำ�ปีแบบ รูปเล่มหนังสือ • บริษทั เผยแพร่มติทป่ี ระชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้ง ที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งมีมติกำ�หนดให้ จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ในวันที่ 25 เมษายน 2559 โดย ได้แจ้งวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ทั้ ง ฉบั บ ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ ผ่ า นช่ อ งทางการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 และเปิดเผย เอกสารการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ผู้ถือหุ้น ทราบผ่านช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และใน เว็บไซต์ของบริษทั ตัง้ แต่วนั ที่17 มีนาคม 2559 • บริษทั ได้จดั ทำ�หนังสือมอบฉันทะตามที่ กฎหมายกำ�หนด ในรูปแบบที่ผู้ถือหุ้น สามารถกำ�หนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ • ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทได้อำ�นวย ความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ โดยการเสนอชือ่ กรรมการอิ ส ระเป็ น ผู้ รั บ มอบฉั น ทะ จำ�นวน 2 ท่าน พร้อมประวัติให้ผู้ถือหุ้น พิจารณาเป็นทางเลือกในการมอบฉันทะ • บริ ษั ท ได้ แ จ้ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบถึ ง กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ที่ใช้ในการประชุม โดย ในหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น มี รายละเอียดหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการ เข้าร่วมประชุม ขัน้ ตอนการออกเสียงลงมติ รวมถึงสิทธิการออกเสียงลงคะแนนและ การนับผลการลงคะแนนเสียง
2. การคุ้มครองสิทธิของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย • คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงสิทธิ และความเท่ า เที ย มกั น ของผู้ ถื อ หุ้ น ทุกรายและปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายย่อย บุคคลธรรมดา หรือสถาบัน ผูถ้ อื หุน้ ไทย หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ ด้วยความเป็นธรรม เสมอภาคเท่าเทียมกัน ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั ข้อมูลที่สำ�คัญของบริษัทอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ในเวลาเดียวกันเพื่อปกป้อง สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น • บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยเป็นโอกาสสำ�คัญทีผ่ ถู้ อื หุน้ จะสามารถ ใช้สทิ ธิเพือ่ มีสว่ นร่วมในการพิจารณาตัดสินใจ ในเรือ่ งสำ�คัญต่างๆ ของกิจการ ซึง่ บริษทั ได้ อำ�นวยความสะดวกในเรื่องต่างๆ ดังนี้ - การเปิดโอกาสให้ผถู้ ือหุน้ และผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยเสนอคำ�ถาม วาระการประชุม สามัญผู้ถือหุ้น และบุคคลเพื่อรับการ พิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ บริษทั เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ซึง่ มีสัดส่วนการถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.01 ของหุน้ ทีจ่ �ำ หน่ายแล้วทัง้ หมดของบริษทั โดยอาจเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายเดี ย วหรื อ หลายรายรวมกัน เสนอคำ�ถาม เสนอเรือ่ งที่ เห็นว่าสำ�คัญเป็นประโยชน์ตอ่ การดำ�เนิน ธุรกิจและควรบรรจุเป็นระเบียบวาระใน การประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ และเสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถและคุณสมบัติ ทีเ่ หมาะสมเพือ่ เข้ารับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการมายังบริษัท โดยกำ�หนด ช่วงเวลาการเปิดรับเรื่องเป็นระยะเวลา 3 เดือนก่อน วันสิน้ สุดรอบบัญชี และเผยแพร่ หลักเกณฑ์และรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง ไว้ บ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท พร้ อ มทั้ ง เผยแพร่ขอ้ ความเรียนเชิญผูถ้ อื หุน้ ผ่าน ช่ อ งทางการเผยแพร่ ข้ อ มู ล ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถส่งข้อเสนอมายังบริษทั ผ่านช่อง ทางทีบ่ ริษทั กำ�หนด ได้แก่ เว็บไซต์ของ บริษัท (www.lhfg.co.th) จดหมาย รายงานประจำ�ปี 2559
125
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ถึ ง เลขานุ ก ารบริ ษั ท (presidentoffice@lhbank.co.th) จดหมายถึงเลขานุการบริษัท หรือทาง โทรสารที่หมายเลข 0 2677 7223 สำ�หรับข้อเสนอเกีย่ วกับบุคคล เพื่ อ เข้ ารั บ การพิ จารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและ กำ � หนดค่ า ตอบแทนจะพิ จารณาและ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อเสนอ ผูถ้ อื หุน้ สำ�หรับเรือ่ งทีไ่ ม่ผา่ นความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริ ษั ท และ/หรื อ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษทั จะแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบพร้อมชีแ้ จง เหตุผลในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บนเว็บไซต์ ของบริ ษั ท หรื อ ช่องทางการเผยแพร่ ข้อมูลอืน่ ทีเ่ หมาะสม ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 บริษัทได้เผยแพร่และ แจ้งเรือ่ งการเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย เสนอเรื่องต่างๆ และเสนอชื่อบุคคลที่มี คุณสมบัตเิ หมาะสมเพือ่ รับการพิจารณา เลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการเมื่ อ วั น ที่ 21 กันยายน 2558 โดยกำ�หนดช่วงเวลาเปิด รับเรื่องตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 31 ธันวาคม 2558 และเมือ่ วันที่ 25 มกราคม 2559 บริษัทได้รายงานผลการให้สิทธิ ผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอเรือ่ งเพือ่ พิจารณา บรรจุเป็นวาระการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั • บริษทั จะไม่เพิม่ วาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ที่ ไ ม่ ไ ด้ แ จ้ ง เป็ น การล่ ว งหน้ า โดย ไม่จ�ำ เป็น โดยเฉพาะวาระสำ�คัญทีผ่ ถู้ อื หุน้ ต้ อ งใช้ เ วลาในการศึ ก ษาข้ อ มู ล ก่ อ น การตัดสินใจ 3. การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน • คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความสำ�คัญ ของการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ ข้อมูลภายใน โดยได้กำ�หนดนโยบาย การดู แ ลการใช้ ข้ อ มู ล ภายในเป็ น ลายลักษณ์อักษรเพื่อเป็นหลักเกณฑ์ใน
126
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
การดูแลการรักษาความลับของบริษทั เพือ่ ความเท่าเทียมกันในการรับรูข้ อ้ มูลและ เพื่ อ ป้ อ งกั น การใช้ ข้ อ มู ล ภายในเพื่ อ ประโยชน์ของกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงาน รวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่ บรรลุนิติภาวะและเพื่อเป็นการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี โดยนโยบายการดูแล การใช้ข้อมูลภายใน มีดังนี้ 1. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของบริษทั ซึง่ รวมถึงคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ทีท่ ราบ ข้อมูลทีม่ สี าระสำ�คัญและงบการเงิน ของบริ ษั ท ซึ่ ง ยั ง มิ ไ ด้ เ ปิ ด เผยแก่ สาธารณชน ทำ�การเผยแพร่หรือเปิดเผย แก่บุคคลอื่นทั้งภายในและภายนอก หน่วยงาน รวมทั้งมิให้มีการล่วงรู้ ข้อมูลระหว่างส่วนงานเพื่อป้องกัน การนำ�ข้อมูลภายในที่มีสาระสำ�คัญ ซึ่งยังมิได้เปิดเผยแก่สาธารณชนไป เปิ ด เผยก่ อ นเวลาอั น ควรเว้ น แต่ ส่วนงานนั้นจำ�เป็นต้องรับทราบโดย หน้าทีแ่ ละให้ดแู ลข้อมูลดังกล่าวเช่น เดียวกับหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ทัง้ นี้ไม่รวมถึงการให้ขอ้ มูลแก่ หน่วยงานราชการที่กำ�กับดูแลซึ่ง ได้ แ ก่ ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทย สำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2. ห้ามมิ ให้กรรมการ ผู้บริหารและ พนักงานของบริษทั ซึง่ รวมถึงคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ทีท่ ราบ ข้อมูลที่สำ�คัญและงบการเงินของ บริษทั ทำ�การซือ้ ขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วง 7 วันก่อน การเปิดเผยงบการเงินให้แก่สาธารณชน • บริ ษั ท ได้ กำ � หนดแนวทางการปฏิ บั ติ งานของพนักงานให้ปฎิบัติหน้าที่ด้วย ความซือ่ สัตย์สจุ ริตยุตธิ รรม ปฎิบตั ติ าม กฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ และไม่ให้ ความสำ�คัญต่อผลประโยชน์สว่ นตนเหนือ ความรับผิดชอบที่มีต่อบริษัท
4. การมีส่วนได้เสียของกรรมการ • บริษัทกำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร สูงสุดหรือผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหาร 4 รายแรกนับต่อจากผูบ้ ริหารสูงสุดลงมา และผู้ ซึ่ ง ดำ � รงตำ � แหน่ ง ระดั บ บริ ห าร รายที่ 4 ทุกราย รวมถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง สูงกว่าหรือเทียบเท่าผู้จัดการฝ่ายบัญชี และการเงินรวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ต้องรายงานการถือครอง หลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ต่ อ สำ � นั ก งาน คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ภายใน 30 วันนับจาก วั น ที่ ดำ � รงตำ � แหน่ ง และรายงานการ เปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ ภายใน 3 วัน ทำ�การนับจากวันที่มี การเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ กรรมการ และ ผู้ บ ริ ห ารจะต้ อ งนำ � ส่ ง รายงานการมี ส่วนได้เสียของตนหรือบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน กับผูบ้ ริหารบริษทั หรือบริษทั ย่อยให้เป็น ไปตามระเบียบของบริษทั เพือ่ ให้สอดคล้อง กับกฎเกณฑ์ของสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 5. การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงการดำ�เนิน ธุรกิจทีต่ อ้ งสร้างความน่าเชือ่ ถือ ความไว้วางใจ และคำ�นึงถึงประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ และ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ รวมถึงการปกป้อง ผลประโยชน์มิให้เกิดความเสียหายและ ส่งผลกระทบต่อชือ่ เสียงและภาพลักษณ์ ของบริษัท โดยนโยบายการป้องกัน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์เพือ่ ใช้เป็น แนวทางในการปฏิบัติงาน มีดังนี้ หลักการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 1. การทำ�ธุรกรรมของบริษัทจะต้องขจัด ปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างรอบคอบ มีเหตุผล และเป็นอิสระ ภายในกรอบจริยธรรมทีด่ ี เพือ่ ประโยชน์ ของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ และผูท้ เ่ ี กีย่ วข้องทุกกลุม่
เป็ น สำ � คั ญ จึ ง กำ � หนดให้ กรรมการ ผู้บ ริ ห าร ที่มีผ ลประโยชน์ เ กี่ย วข้ อ ง กับการทำ�ธุรกรรมของบริษัท จะต้อง ไม่มสี ว่ นร่วมในการพิจารณาหรืออนุมตั ิ ธุรกรรมดังกล่าว 2. การทำ�ธุรกรรมระหว่างบริษทั และบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินเดียวกัน จะต้องมี เงื่ อ นไข หรื อ ข้ อ กำ � หนดที่ เ ป็ น ปกติ เหมื อ นกั บ การทำ � ธุ ร กรรมกั บ บุ ค คล ทั่วไปที่มีความเสี่ยงในระดับเดียวกัน และเป็ น ไปตามนโยบาย ระเบี ย บ หลักเกณฑ์และที่กฎหมายกำ�หนด 3. การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน และการ ทำ�ธุรกรรมกับกิจการที่มีผลประโยชน์ เกี่ยวข้อง รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล จะต้องเป็นไปตามระเบียบ หลักเกณฑ์ และที่กฎหมายกำ�หนด 4. กรรมการ ผู้บริหาร จะต้องปฏิบัติตาม นโยบายการดูแลการใช้ข้อมูลภายในที่ กำ�หนดอย่างเคร่งครัด 5. กรรมการ ผู้บริหาร ต้องเปิดเผยข้อมูล ทีเ่ กีย่ วข้องกับการทำ�ธุรกรรม กับบริษทั ในกลุ่มธุรกิจทางการเงินเดียวกันอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ เพื่อประโยชน์ ใน การตัดสินใจหรือการพิจารณาอนุมัติ การทำ�ธุรกรรมของบริษทั หรือบริษทั ใน กลุ่มธุรกิจทางการเงินเดียวกัน 6. การซื้อขายหลักทรัพย์ต้องเป็นไปตาม ระเบียบว่าด้วยการซื้อขายหลักทรัพย์ ของบริษัท แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการป้องกันความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ จึงกำ�หนดแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. กำ�หนดมาตรการป้องกันไม่ให้มีการใช้ ข้อมูลไปใช้ในทางมิชอบ 2. กำ � หนดระเบี ย บปฏิ บั ติ ป้ อ งกั น การ มีพฤติกรรมทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ รายงานประจำ�ปี 2559
127
3. กำ�หนดมาตรการติดตาม ควบคุม และ ตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการ • บริ ษั ท มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล การทำ � รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ตามหลักเกณฑ์ ทีส่ �ำ นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุนกำ�หนด โดยเปิดเผยไว้ใน แบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจำ � ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี และ เปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันต่อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย รวมถึ ง การเปิ ด เผยข้ อ มู ล รายการ ระหว่างกันในหมายเหตุประกอบงบการเงิน อนึ่ง ในปี 2559 บริษัทไม่มี การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่าย ต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล การทำ � รายการ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทหรือ การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ กำ � หนดให้ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้น ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในวาระใดให้ เ ปิ ด เผย ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียของตนและ ผู้ที่เกี่ยวข้องให้ท่ีประชุมทราบโดยไม่ ชักช้ าและไม่มีสิทธิอ อกเสียงในวาระ ดั ง กล่ า วเพื่ อ ให้ ที่ ป ระชุ ม สามารถ พิจารณาธุรกรรมที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์และสามารถตัดสินใจ เพื่อประโยชน์ของบริษัท หมวดที่ 3 บทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย (Role of Stakeholders) บริษัทให้ความสำ�คัญและคำ�นึงถึงสิทธิของ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่กระทำ�การใดๆ ทีเ่ ป็นการละเมิด สิ ท ธิ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย และส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ความ รับผิดชอบระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
128
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
1. การกำ � หนดนโยบายการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้มีส่วนได้เสีย • บริษัทเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินซึ่งเป็นสถาบันการเงิน ที่ ได้รับความไว้วางใจให้เป็นแหล่ง ระดมเงิ น ทุ น ของประเทศ บริ ษั ท จึงมีหน้าที่ปกป้องผลประโยชน์ของ ประชาชนผู้ฝากเงินและผลประโยชน์ ของลูกค้าทีม่ าใช้บริการ บริษทั จะต้อง รักษาไว้ซงึ่ ชือ่ เสียง เกียรติประวัตแิ ละ ภาพพจน์อันดีในการเป็นบริษัทที่มี คุ ณ ภาพ ยึ ด มั่ น ความโปร่ ง ใส ความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ อั น เป็ น การสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ต่ อ ผู้ลงทุนในระบบสถาบันการเงินและ ปลูกฝังจิตสำ�นึกในการปฏิบัติงาน อย่างมีจริยธรรม รวมทั้งยึดถือเป็น แนวทางในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต าม ภารกิจของบริษัทด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และ เทีย่ งธรรม ทัง้ การปฏิบตั ิ ต่อบริษัท ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สาธารณชนและสังคม • บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของ บริ ษั ท ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น นั ก ลงทุ น และ สาธารณชนทัว่ ไป อย่างถูกต้องครบถ้วน ทั่วถึง และทันเวลาและเป็นไปตาม กฎหมายและระเบี ย บต่ า งๆ ที่ เกีย่ วข้อง รวมทัง้ ให้ความร่วมมือต่อ องค์กรทีก่ �ำ กับดูแล โดยรายงานข้อมูล อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา • บริษัทได้กำ�หนดนโยบายการกำ�กับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เพื่ อ สนั บ สนุ น การบริหารจัดการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ถูกต้อง โปร่งใส มีประสิทธิภาพ สามารถเพิม่ คุณค่าและมูลค่ากิจการ ในระยะยาว รวมถึงความมั่นคงและ การเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ และยั่ ง ยื น และได้ เ ผยแพร่ ไ ว้ บ น เว็บไซต์ของบริษทั แบ่งเป็น 5 หมวดได้แก่
หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of Shareholders) หมวดที่ 2 การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่าง เท่าเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders) หมวดที่ 3 บทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย (Role of Stakeholders) หมวดที่ 4 การเปิ ด เผยข้ อ มู ล และ ความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) หมวดที่ 5 ความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริ ษั ท (Responsibilities of the Board) • จรรยาบรรณและจริยธรรม บริษัทได้กำ�หนดจรรยาบรรณ และจริยธรรมขึน้ เป็นลายลักษณ์อกั ษร เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ พนักงานและผูบ้ ริหาร หรือผูม้ สี ว่ นได้เสีย ภายนอก ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า คูค่ า้ คูแ่ ข่ง ภาครัฐ และหน่วยงานอื่นๆ และปฏิบัติงาน ด้วยความโปร่งใส รวมถึงสนับสนุนให้เกิด การร่วมมือระหว่างบริษทั กับผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในการสร้างสรรค์ประโยชน์ระหว่างกันและ ดู แ ลให้ มั่ น ใจว่ า ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ได้ รั บ การ คุ้มครองและปฏิบัติด้วยดี ดังนี้ 1. จรรยาบรรณและจริยธรรม ธุรกิจของบริษัท 2. จริยธรรมของกรรมการ 3. จริยธรรมของพนักงาน
ผลิตภัณฑ์และบริการที่ดี มีคุณภาพ ให้บริการด้วยความเป็นธรรม รวมถึง ดูแลรักษาข้อมูลต่างๆ ของลูกค้าไว้เป็น ความลับ 2. ผู้ถือหุ้น บริ ษั ท มุ่ ง ให้ มี การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า ง มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สร้างผลตอบแทน ที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้น โดยดำ�เนินการ ให้มีผลประกอบการที่ดีอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งมีระบบการควบคุมภายในและ การตรวจสอบภายใน รวมทั้ ง ระบบ การบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ 3. พนักงาน บริษัทถือว่าพนักงานของบริษัททุกคน เป็นสมบัตทิ ม่ี คี า่ บริษทั มุง่ พัฒนาพนักงาน อย่างต่อเนือ่ งและส่งเสริมพนักงานให้มี โอกาสในความก้าวหน้าและความมัน่ คง ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมตามความรู้ ความสามารถและผลการปฏิบัติงาน
4. พันธมิตรและคู่แข่งทางการค้า บริษทั ปฏิบตั ติ อ่ พันธมิตรและคูแ่ ข่งทางการค้า อย่างเป็นธรรมและรักษาความลับภายใต้ หลักเกณฑ์และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ ไม่แสวงหาข้อมูลของพันธมิตรและคูแ่ ข่ง ทางการค้าอย่างไม่สจุ ริตและไม่เป็นธรรม 5. เจ้าหนี้และคู่ค้า บริษทั ยึดมัน่ ในความซือ่ สัตย์ตอ่ การปฏิบตั ิ ตามเงื่อนไขที่ให้ไว้ต่อเจ้าหนี้และคู่ค้า โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไข หลักเกณฑ์และ 1. จรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจของบริษทั ที่กฎหมายกำ�หนด
บริษทั มุง่ มัน่ ทีจ่ ะดำ�เนินการภายใต้หลักการ ทีย่ ดึ มัน่ ขององค์กร ได้แก่ ความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีคณ ุ ธรรม และมีความรับผิดชอบ ทั้งนี้กรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานทุกคนจะมุง่ มัน่ ทีจ่ ะดำ�เนินการและยึดถือในหลักการ ต่อไปนี้ 1. ลูกค้า บริษัทมุ่งให้ลูกค้าได้รับประโยชน์และ ความพึงพอใจอย่างสูงสุด โดยเอาใจใส่ ปกป้องผลประโยชน์ของลูกค้า นำ�เสนอ
6. สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทยึดมั่นในการดำ�เนินธุรกิจอย่างมี ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ระมัดระวังในการพิจารณาดำ�เนินการใดๆ ในเรื่ อ งที่ ก ระทบต่ อ ความรู้ สึ ก ของ สาธารณชน และส่งเสริมพนักงานให้มี จิตสำ�นึกและความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม รายงานประจำ�ปี 2559
129
7. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริ ษั ท ยึ ด มั่ น ในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ โดย คำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของลูกค้าและ ของบริษทั โดยบริษทั จะควบคุมดูแลและ ให้ความสำ�คัญเกี่ยวกับรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการ ที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการระหว่างกันที่ ไม่เหมาะสม ซึ่งรายการที่เกี่ยวโยงกัน ได้กำ�หนดราคาและเงื่อนไขเสมือนทำ� รายการกับบุคคลภายนอก 8. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร บริษัทให้ความสำ� คัญต่อ การเปิดเผย ข้ อ มู ล ข่ า วสารของบริ ษั ท ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น นั ก ลงทุ น และสาธารณชนทั่วไปอย่าง ถูกต้องครบถ้วนทัว่ ถึงและทันเวลา รวมทัง้ เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 9. การกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทยึดมั่นในการปฏิบัติตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี รวมทัง้ ให้ความร่วมมือ ต่อองค์กรทีก่ �ำ กับดูแลบริษทั โดยบริษทั จะรายงานข้อมูลต่อองค์กรทีก่ ำ�กับดูแล อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา
2. จริยธรรมของกรรมการ
คณะกรรมการบริษทั เป็นผูท้ มี่ บี ทบาทสำ�คัญ ในฐานะผู้นำ�ที่จะนำ�พาองค์กรไปสู่ความสำ�เร็จ โดยเป็น ผู้กำ � หนดนโยบายและชี้นำ� พฤติกรรมของบุคลากรใน บริษัทไปในทิศทางที่ถูกต้อง ปฏิบัติหน้าที่กรรมการที่ดี ภายใต้กรอบคุณธรรมและจริยธรรมเพือ่ เป็นแบบอย่างทีด่ ี สำ � หรั บ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ กระดั บ ของบริ ษั ท คณะกรรมการบริษัทได้ยึดหลักการและวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 หน้าที่จัดการกิจการ • กำ�กับดูแลการดำ�เนินกิจการของ บริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปโดยไม่ เ สี่ ย งต่ อ ความมั่นคงของบริษัทจนเกินควร • ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส มีคุณธรรมและยุติธรรม
130
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
• • • •
เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการตัดสินใจและ กระทำ � การใดๆ มี ก ารคำ � นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทและ จะไม่เลือกปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติ กั บ บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง เป็ น การ เฉพาะโดยยึดหลักความเสมอภาค ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างมืออาชีพด้วยความรู้ ความชำ�นาญ ความมุง่ มัน่ และด้วย ความระมัดระวัง รวมถึงมีการประยุกต์ ใช้ความรู้และทักษะในการจัดการ บริษทั อย่างเต็มความรูค้ วามสามารถ ไม่ ห าประโยชน์ ส่ ว นตนและผู้ ที่ เกี่ยวข้องโดยนำ�สารสนเทศภายใน ที่ยังไม่เปิดเผยหรือที่เป็นความลับ ไปใช้ หรือนำ�ไปเปิดเผยกับบุคคล ภายนอกหรือกระทำ�การอันก่อให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทัง้ โดยเจตนาและไม่เจตนาต่อบุคคล ที่สามและไม่ ใช้ข้อมูลที่ ได้รับจาก ตำ � แหน่ ง หน้ า ที่ ก ารงานเพื่ อ ผลประโยชน์ส่วนตนและจะไม่ ใช้ ข้อมูลนั้นเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎระเบียบ และแนวนโยบายของ ทางการ รวมทั้งกำ�กับดูแลมิให้มี การปิดบังข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง และจัดให้มีการรายงานสารสนเทศ ที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และ สม่�ำ เสมอ ดำ � เนิ น การตามกฎหมายและ ข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดำ�เนินธุรกิจ
2.2 ความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า เจ้าหนี้ คู่ค้า และพนักงาน • กรรมการ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผูถ้ อื หุน้ เช่น การเปิดเผยสารสนเทศ วิธกี ารปฏิบตั ทิ างบัญชี การใช้สารสนเทศ ภายในและความขัดแย้งทางผลประโยชน์
• ปกป้ อ งผลประโยชน์ ข องลู ก ค้ า เอาใจใส่และรับผิดชอบสูงสุดต่อลูกค้า • ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกา ของการแข่ ง ขั น ที่ ดี ไม่ ทำ � ลาย ชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้า รวมทัง้ ไม่ แ สวงหาข้ อ มู ล ของคู่ แ ข่ ง ทาง การค้าอย่างไม่สจุ ริตและไม่เป็นธรรม • ดู แ ลให้ มี ค วามเท่ า เที ย มกั น ใน โอกาสของการจ้างงานและหลักการ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานและ ทำ�ให้มั่นใจได้ว่าพนักงานมีความรู้ ความชำ � นาญที่ จำ � เป็ น สำ � หรั บ การดำ�เนินงานในธุรกิจ 2.3 ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม • ดำ�เนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม • ระมัดระวังและเอาใจใส่ในการดำ�เนินการ ใดๆ ทีจ่ ะมีผลกระทบต่อสาธารณชน • ส่งเสริมให้มจี ติ สำ�นึกและความรับผิด ชอบต่อสิ่งแวดล้อม
3. จริยธรรมของพนักงาน
แบ่งออกเป็น 4 หมวด ดังต่อไปนี้
หมวดที่ 2 การรักษาความลับภายในบริษทั (Confidentiality) ในกิจการของบริษัทการเก็บความลับ หมายถึง การรักษาข้อมูลสำ�คัญทุกชนิดของบริษทั ข้อมูลสำ�คัญ เหล่านี้รวมถึง - ข้อมูลทางการเงิน - ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินของบริษัท - ข้อมูลเกีย่ วกับการบริหารระบบภายในของ บริษทั ซึง่ รวมถึงสถิตติ วั เลขและรายงานต่างๆ - ขอ้ มูลพนักงานของบริษทั ทัง้ อดีตและปัจจุบนั - ข้อมูลเกี่ยวกับคู่ค้าของบริษัท - ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อธุรกิจกับทาง รัฐบาลหรือตัวแทน การรั ก ษาความลั บ ภายในบริ ษั ท เป็ น สิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับธุรกิจการเงิน ซึ่งประกอบด้วย บริษทั ทีท่ �ำ ธุรกิจต่อเนือ่ งกันบางครัง้ เนือ่ งจากลักษณะของ งานทำ�ให้รู้ความลับของลูกค้า ซึ่งหากนำ�มาเปิดเผยอาจ จะเป็นผลเสียต่อลูกค้าหรือผู้อื่น ดังนั้นจึงมีแนวทางใน การปฏิบตั เิ พือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดการเสือ่ มเสียชือ่ เสียงหรือ ความเสียหายต่อบริษทั ทีพ่ นักงานสังกัดอยู่ หรือต่อลูกค้า และสาธารณชน หมวดที่ 3 จรรยาบรรณวิชาชีพ (Professionalism)
หมวดที่ 1 ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และ การสร้างสามัญสำ�นึกของผู้บริหารและ หลักคุณธรรม (Integrity) พนักงานทุกระดับของบริษัทให้ประพฤติอยู่ ในกรอบวิธี ความซือ่ สัตย์สจุ ริตเป็นคุณสมบัตพิ นื้ ฐานที่ ปฏิบัติที่เหมาะสมโดยคำ�นึงถึงหลักคุณธรรม จริยธรรม สำ � คั ญ ของพนั ก งานและผู้ บ ริ ห ารทุ กระดั บ ของบริ ษั ท และความยุติธรรมอันจะส่งผลให้เกิดภาพพจน์ที่ดีต่อ พนักงานและผู้บริหารทุกระดับมีโอกาสให้คุณให้โทษกับ บริษัทโดยรวม ลูกค้า มีโอกาสสร้างความเสียหายแก่ลกู ค้า เพือ่ นร่วมงาน หมวดที่ 4 การปฏิบัติต่อสังคม ผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนสังคมโดยรวม ดังนัน้ เพือ่ ให้ลกู ค้า ผูถ้ อื หุน้ (Service to Community) และผู้กำ�กับดูแลให้ความไว้วางใจและเชื่อถือ พนักงาน และผู้บริหารต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต จิตใจมั่นคงและ การดำ�เนินธุรกิจบริษทั มิได้จ�ำ กัดอยูเ่ พียง มีคณุ ธรรม ปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยยุตธิ รรม ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ยึดถือความสบายใจและ ในแวดวงของเพื่อนร่วมอาชีพอุตสาหกรรมและลูกค้า ประโยชน์ของลูกค้า ตลอดจนประโยชน์ของส่วนรวมเป็นทีต่ ง้ั เท่านั้น ในฐานะที่เป็นบุคคลและนิติบุคคลในสังคมของ
รายงานประจำ�ปี 2559
131
ประเทศพึงมีจิตสำ�นึกและความตระหนักต่อการอำ�นวย ประโยชน์ต่อสังคม ทั้งด้านการดำ�เนินธุรกิจหรือส่วนตัว • นโยบายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส บริษทั ได้ก�ำ หนดนโยบายคุม้ ครองผูแ้ จ้ง เบาะแส เพื่อให้ความคุ้มครองผู้ที่ ให้ ความร่วมมือกับบริษทั ในการแจ้งเบาะแส เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าการกระทำ� ดังกล่าวจะไม่ท�ำ ให้ผแู้ จ้งได้รบั ความเดือดร้อน หรือเสียหายหรือไม่ได้รบั ความเป็นธรรม เพือ่ เป็นการคุม้ ครองสิทธิของผูร้ อ้ งเรียน และให้ ข้ อ มู ล บริ ษั ท จะปกปิ ด ข้ อ มู ล ผู้แจ้งเบาะแส หรือ ผู้ให้ข้อมูลและเก็บ ข้ อ มู ล เป็ น ความลั บ โดยจำ � กั ด ให้ มี การรับรู้เฉพาะผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ และหากพบว่ามีการนำ�ข้อมูลดังกล่าว ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์หรือเปิดเผยโดย ไม่เหมาะสมจะถือว่ากระทำ�ผิดวินยั ของบริษทั • การรับแจ้งข้อมูลหรือข้อร้องเรียน บริษัทจัดให้มีช่องทางที่หลากหลายใน การให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย สามารถแสดง ความคิดเห็น ร้องเรียน หรือเสนอเรื่อง สำ�คัญอืน่ ๆ ได้โดยตรงต่อกรรมการอิสระ และให้เลขานุการบริษทั ดูแลงานนักลงทุน สัมพันธ์ รับผิดชอบการรับความคิดเห็น ข้ อ ร้ อ งเรี ย นต่ า งๆ จากผู้ ถื อ หุ้ น และ นักลงทุน และคัดกรองและรายงานเรือ่ ง ที่ มี ค วามสำ � คั ญ ไปยั ง หน่ ว ยงานที่ เกีย่ วข้องเพือ่ ดำ�เนินการแก้ไขและ/หรือ รายงานไปยังคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาตามความเหมาะสม โดย คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานไป ยังคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ • การร้องเรียนผ่านกรรมการอิสระ บริษัทมีช่องทางให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ลูกค้า และบุคคลทัว่ ไปสามารถร้องเรียน ผ่ า นกรรมการอิ ส ระของบริ ษั ท ซึ่ ง มีจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่
132
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
นายไพโรจน์ เฮงสกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ Email : phairojh@lhbank.co.th โทรศัพท์ 08 1990 7448 นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ Email : adulv@lhbank.co.th โทรศัพท์ 08 1834 0104 นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการตรวจสอบ Email : somsaka@lhbank.co.th โทรศัพท์ 08 5485 4269 ผ่านเว็บไซต์ของบริษัทที่ www.lhfg.co.th Email ที่ presidentoffice@lhbank.co.th • นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อ การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสังคมซึ่งจะ ทำ � ให้ ธุ ร กิ จ มี ค วามยั่ ง ยื น โดยให้ ความสำ�คัญต่อการดูแลผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม อย่างมี คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ ตลอดจนมีธรรมาภิบาล การดำ�เนินธุรกิจ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใสและ ยุติธรรม ตระหนักถึงผลกระทบทางลบ ต่อเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม บริ ษั ท จึ ง กำ � หนดนโยบายความ รับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจ อย่ า งยั่ ง ยื น เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร ตามแนวทางของสถาบันธุรกิจเพือ่ สังคม (Corporate Social Responsibility institute) สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย บริษัทเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของคำ�ว่า “การพึ่งพิง” เนื่องจากทุกธุรกิจล้วนมี
ประชาชนหรื อ คนในสั ง คมเป็ น กลุ่ ม เป้าหมายหลักในการนำ�เสนอสินค้าและ บริ ก าร ดั ง นั้ น ไม่ ว่ า องค์ กรธุ ร กิ จ จะ พัฒนาองค์กรไปในทิศทางใดก็ยอ่ มต้อง มี ค นในสั ง คมเป็ น ผู้ ส นั บ สนุ น ซึ่ ง การกำ�หนดนโยบายและแนวทางปฏิบตั ิ ดังกล่าวจะเป็นแนวทางให้บุคลากรใน องค์กรยึดถือปฏิบตั ิ ทัง้ ความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมในกระบวนการหลั ก ของ การดำ�เนินธุรกิจ (CSR-in-Process) แ ล ะ น อ ก กร ะ บ ว น กา ร ห ลั ก ข อ ง การดำ�เนินธุรกิจ (CSR-after-Process) และมุ่งเน้นให้ผู้บริหาร และพนักงาน ทุกระดับเข้ามามีสว่ นร่วม มีจติ อาสาเพือ่ ปลู ก ฝั ง ให้ มี จิ ต สำ � นึ ก ในความรั บ ผิ ด ชอบต่อสังคม นโยบายความรับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ประกอบด้วยหลักการและแนวปฏิบัติ เพื่อให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และ พนักงานทุกระดับยึดถือเป็นแนวทางใน การปฏิบัติ 9 ด้าน ดังนี้ 1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. การประกอบกิ จ การด้ ว ย ความเป็นธรรม 3. การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่น 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน 5. การปฏิบตั ติ อ่ แรงงานอย่าง เป็นธรรม 6. ความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค 7. การร่วมพัฒนาชุมชนและ สังคม 8. การจัดการสิ่งแวดล้อม 9. นวัตกรรมและการเผยแพร่ นวัตกรรมจากการดำ�เนินงาน ทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม
• นโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ ในหน้าที่โดยมิชอบ บริ ษั ท กำ � หนดนโยบายการป้ อ งกั น การหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบ เพื่ อ ให้ ก รรมการและพนั ก งานรั บ รู้ ถึงหน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการต่อต้าน การทุ จ ริ ต ประกอบธุ ร กิ จ ตามหลั ก คุณธรรม จริยรรมและดำ�เนินธุรกิจด้วย หลักการในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ • นโยบายความปลอดภัยและสุขอนามัย ในสถานที่ทำ�งาน บริษัทกำ�หนดนโยบายความปลอดภัย และสุขอนามัยในสถานที่ทำ�งาน และ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ มใน การทำ � งาน เพื่ อ เป็ น กลไกในการ ขับเคลื่อนนโยบายให้บรรลุผลสำ�เร็จ • การปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเป็นธรรม - บริ ษั ท มี ร ะบบค่ า ตอบแทนและ สวัสดิการทีเ่ หมาะสม และมีการจัดตัง้ กองทุ น สำ � รองเลี้ ย งชี พ เพื่ อ ให้ พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี - บริษัทไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนและ ระมัดระวังดำ�เนินการใดๆ ทีก่ ระทบต่อ ความรู้สึกของสาธารณชน • การปฏิ บั ติ ต่ อ คู่ ค้ า คู่ แ ข่ ง เจ้ า หนี้ อย่างเป็นธรรม บริษทั ได้สง่ เสริมให้ปฏิบตั ติ อ่ คูค่ า้ คูแ่ ข่ง เจ้าหนีอ้ ย่างเป็นธรรม ทัง้ ในด้านต้นทุน และผลตอบแทน เช่ น การจั ด ซื้ อ การจัดจ้าง การกำ�หนดระยะเวลาส่งมอบ ที่เพียงพอ สัญญาการค้าที่ ไม่เอารัด เอาเปรียบ และไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับ กิจกรรมใดๆ อันเป็นการละเมิดทรัพย์สนิ และการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญา รวมทัง้ การชำ � ระค่ า การใช้ ห รื อ การได้ ม าซึ่ ง ทรัพย์สินอย่างเป็นธรรมและตรงเวลา
รายงานประจำ�ปี 2559
133
• การเปิดเผยการปฏิบตั ติ ามนโยบายและ การจัดทำ�รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม - บริษัทเปิดเผยการปฎิบัติตามนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคมเพือ่ การพัฒนา ธุรกิจอย่างยัง่ ยืนในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี และเว็บไซต์ของบริษัท รวมถึงส่งเสริม การมีสว่ นร่วมของพนักงานในการปฏิบตั ิ ตามนโยบายเพื่อปลูกฝังจิตสำ�นึกกับ การรับผิดชอบต่อสังคม - บริษัทจัดทำ�รายงานการพัฒนาธุรกิจ อย่างยัง่ ยืนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี และ เว็บไซต์ของบริษทั หมวดที่ 4 ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล แ ล ะ ความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) บริษัทให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยข้อมูล สำ�คัญของบริษัท ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ ข้อมูลทางการเงินให้มีความครบถ้วน ทันเวลา โปร่งใส ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกัน และน่าเชื่อถือ 1. การเปิดเผยข้อมูลทางการเงินและข้อมูล ที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน • บริษทั เปิดเผยข้อมูลข่าวสารทีส่ �ำ คัญ ของบริษทั ต่อผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุน และ สาธารณชนทัว่ ไป ด้วยความโปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้ง เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ผ่านช่องทาง ต่ า งๆ ที่ ส ะดวกต่ อ การค้ น หา สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย และเท่ า เที ย มกั น และปรั บ ปรุ ง ข้อมูลเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ดังนี้
134
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
1. เว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท (www. lhfg.co.th) ซึ่งมี 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ข่าวประชาสัมพันธ์ 3.การจั ด ประชุ ม นั ก วิ เ คราะห์ หลักทรัพย์ 4. การจัดแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน และการส่งข่าวให้แก่สื่อมวลชน 5. ช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเผยแพร่ ข้ อ มู ล อาทิ งบการเงินของบริษทั การวิเคราะห์ และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ รายงานประจำ � ปี แบบแสดง ร า ย ง า น ข้ อ มู ล ป ร ะ จำ � ปี (แบบ 56-1) เอกสารแจ้งมติที่ ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เอกสารแจ้งมติท่ปี ระชุมผู้ถอื หุ้น และข่าวสารอื่นๆ 6. เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง สำ � นั ก ง า น คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ โดย เผยแพร่ ข้ อ มู ล อาทิ ข้ อ มู ล แบบรายงานการเปลี่ยนแปลง การถือหลักทรัพย์ของผู้บริหาร (แบบ 59-2) ข้ อ มู ล รายชื่ อ กรรมการและผูบ้ ริหาร งบการเงิน รายงานประจำ�ปี และแบบแสดง รายงานข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) เป็นต้น 7. การจัดส่งหนังสือให้แก่ผู้ถือหุ้น ทางไปรษณีย์ 8.การประกาศข้อมูลทางหนังสือพิมพ์ • คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญใน ด้านคุณภาพงบการเงินและการเปิดเผย ข้อมูลทางการเงินทีส่ �ำ คัญอย่างเพียงพอ โดยเปิดเผยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึ่งงบการเงินได้ผ่านการสอบทาน หรือ ผ่ า นการตรวจสอบจากผู้ ส อบบั ญ ชี รับอนุญาต และผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริษทั ก่อนเปิดเผย รวมทัง้ บริษทั ได้เปิด เผยรายงานความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริษทั ต่อรายงานทางการเงิน ในรายงานประจำ�ปี นอกจากนี้ บริษัทได้เปิดเผย งบการเงินรายไตรมาสก่อนการสอบทาน และก่อนการตรวจสอบ และรายงาน การเปิดเผยข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุน (Pillar III) ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน เพือ่ ให้ผลู้ งทุนได้รบั ทราบข้อมูลและรับทราบ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ กับฐานะการเงิน ซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุนและ บุคคลทัว่ ไป • บริษทั ได้เผยแพร่รายงานประจำ�ปี 2558 ภายใน 120 วัน นับตัง้ แต่วนั สิน้ สุดรอบปี บั ญ ชี โดยเผยแพร่ ผ่า นเว็ บ ไซต์ ข อง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2559 และผ่านเว็บไซต์ ของบริษทั • บริษทั ได้เผยแพร่รายงานการประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 ไว้บนเว็บไซต์ของ บริษทั เมือ่ วันที่ 9 พฤษภาคม 2559 พร้อม แจ้งข่าวผ่านช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มูล ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทมีช่องทางการเผยแพร่ ข้อมูลและติดต่อสือ่ สาร ดังนี้ ทีอ่ ยู่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชัน้ 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท :์ 0 2359 0000 ต่อ 2019, 2020, 2021, 2024 โทรสาร : 0 2677 7223 อีเมล์ : presidentoffice@lhbank.co.th เว็บไซต์ : www.lhfg.co.th
• การกำ�หนดค่าสอบบัญชีประจำ�ปีได้ผา่ น ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษั ท โดย คณะกรรมการบริษัทได้เสนอขออนุมัติ การกำ � หนดค่ า สอบบั ญ ชี ป ระจำ � ปี ต่ อ ผู้ถือหุ้น และได้เปิดเผยไว้ในแบบแสดง รายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และ รายงานประจำ�ปี • ค ณ ะ กร ร ม กา ร บ ริ ษั ท ไ ด้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทนเพื่อทำ�หน้าที่สรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่ กรรมการ และกรรมการผู้จัดการไว้อย่างชัดเจน และโปร่งใส สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ ความรั บ ผิ ด ชอบ ทั้ ง นี้ การกำ � หนด ค่ า ตอบแทนกรรมการจะต้ อ งได้ รั บ การอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น และ เปิ ด เผยไว้ ใ นรายงานประจำ � ปี แ ละ แบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจำ � ปี (แบบ 56-1) • ค ณะกรรมกา รบริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี การรายงานความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการต่องบการเงินของบริษัท และสารสนเทศทางการเงิน โดยแสดง ควบคู่ กั บ รายงานของผู้ ส อบบั ญ ชี ใ น รายงานประจำ�ปี งบการเงินของบริษัท ได้ จั ด ทำ � ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน และเลือกใช้นโยบายบัญชีท่ี เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ • บริษทั จัดทำ�รายงานต่างๆ เพือ่ เผยแพร่ ต่อสาธารณชนบนพื้นฐานของความ เป็นธรรมและง่ายต่อการเข้าใจ โดย มีการอธิบายถึงผลการดำ�เนินงานและ เหตุการณ์สำ�คัญในรอบปีให้ผู้ถือหุ้นได้ รับทราบ และมีการประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน ซึง่ ประเมิน โดยฝ่ายตรวจสอบของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็น บริษทั ย่อยของบริษทั โดยมีคณะกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทเป็นผู้สอบทาน รายงานประจำ�ปี 2559
135
• คณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบทำ�หน้าทีส่ อบทาน รายงานทางการเงิ น ของบริ ษั ท และ บริษัทย่อยให้มีการจัดทำ�อย่างถูกต้อง ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ • บริษทั ได้เปิดเผยรายงานคณะกรรมการบริหาร รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล รายงานคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน และรายงานของ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ในรายงานประจำ�ปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และได้เปิดเผยรายชือ่ และ อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย จำ�นวนครั้ง ของการประชุม จำ�นวนครั้งที่กรรมการ แต่ละท่านเข้าร่วมประชุม ค่าตอบแทน กรรมการ รวมถึ ง ข้ อ มู ล กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ใน รายงานประจำ�ปีและบนเว็บไซต์ของบริษทั • บริษัทแจ้งรายละเอียดการประชุมและ เอกสารการประชุมผู้ถือหุ้น โดยจัดทำ� เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และ เปิดเผยให้นักลงทุนทราบล่วงหน้าก่อน การประชุม โดยแจ้งผ่านช่องทางการ เผยแพร่ ข้ อ มู ล ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยและผ่านเว็บไซต์ของ บริษัท เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีเวลา ศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้า อย่างเพียงพอ นอกจากนี้ บริษัทได้ ลงประกาศบอกกล่ า วการนั ด ประชุ ม ผูถ้ อื หุน้ ทางหนังสือพิมพ์เป็นเวลา 3 วัน ติ ด ต่ อ กั น ล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุ ม ไม่น้อยกว่า 3 วัน โดยรายละเอียดวาระ การประชุ ม ระบุ ชั ด เจนว่ า เป็ น เรื่ อ งที่ จะเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือ เพื่อพิจารณา รวมทั้งความเห็นของ คณะกรรมการในเรือ่ งดังกล่าว
136
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
• บริ ษั ท แจ้ ง มติ ท่ี ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ผ่ า น ช่ อ งทางการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทันทีภายใน วันประชุมหรือช่วงเวลาก่อนเปิดการซือ้ ขาย หลักทรัพย์รอบเช้าอย่างน้อย 1 ชั่วโมง ของวันทำ�การถัดไป เพื่อให้นักลงทุน ทราบโดยทั่ ว กั น และจั ด ทำ � รายงาน การประชุมที่มีสาระสำ�คัญครบถ้วน ซึ่ง บริษทั จะเผยแพร่รายงานการประชุมใน เว็บไซต์ของบริษทั และนำ�ส่งตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยภายใน 14 วันนับจาก วันประชุมผู้ถือหุ้น การประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปี 2559 บริษทั ได้แจ้งมติทปี่ ระชุม ผ่ า นช่ อ งทางการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน วันประชุม และเผยแพร่รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้น ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2559 ซึง่ สอดคล้องกับระยะเวลาทีก่ �ำ หนด 2. งานนักลงทุนสัมพันธ์ • บริษัทมอบหมายให้เลขานุการบริษัท ทำ�หน้าทีน่ กั ลงทุนสัมพันธ์เพือ่ ทำ�หน้าที่ เผยแพร่ ข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ทั้ ง ข้ อ มู ล ทางการเงินและข้อมูลทัว่ ไปให้แก่ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และ หน่ ว ยงานกำ � กั บ ดู แ ลที่เ กี่ย วข้ อ งผ่ า น ช่องทางต่างๆ ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ในหั ว ข้ อ “นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ” เพื่ อ ให้ ผู้ ส นใจ สามารถศึ ก ษาข้ อ มู ล ได้ โ ดยสะดวก นอกจากนี้ ได้จัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่ และชี้แจงข้อมูล รวมถึงเปิดโอกาสให้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมซักถามข้อมูลอย่าง โปร่งใสโดยมีผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วม การชี้ แ จง ในปี 2559 บริ ษั ท ได้ จัดกิจกรรมเกีย่ วกับงานนักลงทุนสัมพันธ์ ดังนี้
และข้อบังคับของบริษทั ซึง่ เป็นจำ�นวน ที่เหมาะสมกับธุรกิจของบริษัท โดย บริ ษั ท ได้ กำ � หนดโครงสร้ า งของ คณะกรรมการบริษัทไว้ให้มีจำ�นวนที่ เหมาะสม และสอดคล้องกับประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทย และประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน กรรมการ 1. จั ด กิ จ กรรม Analyst Meeting บริษัทปัจจุบันประกอบด้วย จำ�นวน 3 ครั้ง มีนักวิเคราะห์จาก 1. กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร จำ�นวน 1 ท่าน บริษัทหลักทรัพย์ต่างๆ เข้าร่วม 2. กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร จำ�นวน 5 ท่าน 3. กรรมการอิสระ จำ�นวน 3 ท่าน ประมาณ 20-35 รายต่อครั้ง 2. การเข้าพบเพือ่ ให้ขอ้ มูลแบบตัวต่อตัว (One-on-One Meeting) จำ�นวน โครงสร้างคณะกรรมการบริษทั เป็นไปตามสัดส่วนอย่างยุติธรรมและ 3 ครั้ง 3. การจั ด แถลงข่ า วต่ อ สื่ อ มวลชน เหมาะสม และเพื่อความเป็นอิสระของ (Press Conference) จำ � นวน ประธานกรรมการและเป็นการแบ่งแยก 3 ครั้ ง มี สื่ อ มวลชนเข้ า ร่ ว ม อำ � นาจหน้ า ที่ ใ นการกำ � หนดนโยบาย การกำ�กับดูแลและการบริหารงานประจำ� ประมาณ 30-40 สื่อต่อครั้ง 4 . ก า ร ส่ ง ข่ า ว ใ ห้ สื่ อ ม ว ล ช น ออกจากกัน จึงกำ�หนดให้ประธานกรรมการ การสั ม ภาษณ์ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง บริษัท ประธานกรรมการบริหาร และ ประธานกรรมการตรวจสอบไม่ เ ป็ น จำ�นวนหลายครั้ง บุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจ้ ดั การ โดย มีการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ระหว่างกัน หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท อย่างชัดเจนไม่ให้คนใดคนหนึง่ มีอ�ำ นาจ (Responsibilities of the Board) โดยไม่จ�ำ กัด เพือ่ ให้เกิดการถ่วงดุลและ คณะกรรมการบริษัทเป็นหัวใจสำ�คัญของ สอบทานการบริหารงาน • กรรมการบริษัทได้รับการคัดเลือก โดย การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิใน สาขาต่างๆ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ มีประสบการณ์ มีภาวะผูน้ �ำ พิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ มีวิสัยทัศน์ มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ อุทิศเวลา ความเชี่ ย วชาญ ความซื่ อ สั ต ย์ และปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และ ความสามารถที่เป็นประโยชน์กับบริษัท ซื่อสัตย์สุจริตเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น ความสามารถในการให้ความเห็นที่เป็น อิสระและมีความเข้าใจในธุรกิจของกลุม่ 1. โครงสร้าง องค์ประกอบ และคุณสมบัติ ธุรกิจทางการเงินและไม่กดี กันในเรือ่ งเพศ • คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดคุณสมบัติ ของคณะกรรมการบริษัท • คณะกรรมการบริษัท มีจำ�นวน 9 ท่าน กรรมการอิสระของบริษัทที่สอดคล้อง ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ กับแนวปฏิบัติของนโยบายการกำ�กับ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็น ดูแลกิจการทีด่ ี และเข้มกว่าทีก่ �ำ หนดใน ประโยชน์ตอ่ บริษทั การเลือกตัง้ กรรมการ ประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน เป็ น ไปตามมติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารตามกฎหมาย โดยคณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย รายงานประจำ�ปี 2559
137
กรรมการอิ ส ระจำ � นวนอย่ า งน้ อ ย 3 ท่าน หรืออย่างน้อย 1 ใน 3 ของ จำ�นวนกรรมการทั้งคณะแล้วแต่จำ�นวน ใดจะสูงกว่า โดยกรรมการอิสระต้องเป็น กรรมการทีไ่ ม่ได้เป็นลูกจ้างหรือพนักงาน ทีไ่ ด้รบั เงินเดือนจากบริษทั และมีความเป็น อิ ส ระจากกลุ่ ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ข อง บริษทั รวมทัง้ สามารถดูแลผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นรายย่อยได้ รายละเอียดคุณสมบัตกิ รรมการอิสระ บริษทั ได้เปิดเผยไว้ทห่ี วั ข้อ โครงสร้างการจัดการ เรือ่ ง คุณสมบัติ ของกรรมการอิสระ • คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติแผนงาน และงบประมาณประจำ�ปี รวมทัง้ กลยุทธ์ การดำ�เนินธุรกิจของบริษทั โดยแผนงาน ได้ มี การทบทวนเป็ น ประจำ � ทุ ก ครึ่ ง ปี นอกจากนีค้ ณะกรรมการบริษทั มีหน้าที่ กำ � กั บ ดู แ ลให้ ก ารบริ ห ารงานของ ฝ่ า ยจั ด การเป็ น ไปตามกลยุ ท ธ์ แ ละ แผนงานทีก่ �ำ หนด โดยคำ�นึงถึงประโยชน์ สูงสุดของบริษทั เป็นสำ�คัญ ซึง่ จะติดตาม การบริหารงานเป็นประจำ�ทุกเดือน เพือ่ ให้มั่นใจว่ากลยุทธ์ ได้ถูกนำ�ไปปฏิบัติ อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมาย และแผนงานที่กำ�หนด • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ กำ � หนด แนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ จำ � นวนบริ ษั ท ที่ กรรมการแต่ละท่านรวมถึงกรรมการ ผูจ้ ดั การจะไปดำ�รงตำ�แหน่งในบริษทั อืน่ ไม่เกิน 5 บริษทั จดทะเบียน เพือ่ ให้มนั่ ใจ ว่ากรรมการสามารถทุม่ เทเวลาการปฏิบตั ิ หน้าที่ในบริษัทได้อย่างเพียงพอ โดย แนวปฏิ บั ติ ดั ง กล่ า วได้ กำ � หนดไว้ ใ น นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั และรายละเอียดข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบริษทั ได้เปิดเผยไว้ในรายงาน ประจำ�ปีหัวข้อ คณะกรรมการบริษัท
138
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
รายละเอี ย ดข้ อ มู ล การดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท อื่ น บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยไว้ ที่ หั ว ข้ อ คณะกรรมการบริษัท เรื่อง การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ การดำ � รงตำ � แหน่ ง ในบริ ษั ท ที่ ไ ม่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทย • คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ กำ � หนดวาระ การดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการเป็น ไปตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด ข้อบังคับของบริษัท โดยในการประชุม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี ทุ ก คราว ให้ กรรมการออกจากตำ�แหน่งจำ�นวนหนึ่ง ในสามของจำ�นวนกรรมการ ถ้าจำ�นวน กรรมการที่ จ ะออกแบ่ ง เป็ น สามส่ ว น ไม่ได้ ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้เคียงที่สุด กับส่วนหนึ่งในสาม ทั้งนี้ ให้กรรมการ ซึ่งอยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้นออกจาก ตำ � แหน่ ง ก่ อ น และถ้ า ตกลงกั น ใน เรื่องของการออกจากแหน่งไม่ได้ ให้ใช้ วิธีจับฉลาก โดยกรรมการซึ่งพ้นจาก ตำ�แหน่งอาจได้รับเลือกตั้งใหม่ได้ • กรรมการท่ า นใดหรื อ บุ ค คลที่ อ าจ มี ค วามขั ด แย้ ง มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการ ท่านนัน้ ไม่มอี �ำ นาจอนุมตั กิ ารดำ�เนินการ กับบริษทั หรือบริษทั ย่อยตามทีส่ �ำ นักงาน คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ / ห รื อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด • กรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ ร ายงานการ ซือ้ ขายหลักทรัพย์และการเปลีย่ นแปลง การถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทต่อ คณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการชุดย่อย • คณะกรรมการบริ ษั ท มี การกระจาย อำ�นาจการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และมีความโปร่งใสในการบริหารจัดการ โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อช่วยศึกษา
3. เลขานุการบริษัท • ค ณ ะ กร ร ม กา ร บ ริ ษั ท ไ ด้ แ ต่ ง ตั้ ง นายวิเชียร อมรพูนชัย ผู้ช่วยสายงาน สำ�นักกรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็น เ ล ข า นุ ก า ร บ ริ ษั ท ตั้ ง แ ต่ วั น ที่ 15 พฤษภาคม 2552 เพื่อทำ�หน้าที่ เลขานุการบริษทั ตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด โดยคณะกรรมการบริษทั ได้สง่ เสริมและ สนับสนุน ให้เลขานุการบริษทั ได้รบั การ ฝึกอบรมและพัฒนาความรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง ทั้ ง ด้ า นกฎหมาย การบั ญ ชี หรื อ การปฏิบัติหน้าที่เลขานุการบริษัท โดย ทัง้ นี้ ประธานกรรมการตรวจสอบ มีข้อมูลประวัติ ดังนี้ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล และ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ เพื่อ ความโปร่งใสและเป็นอิสระในการปฏิบตั ิ หน้าที่ โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่และ ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน
รายละเอี ย ดและกลั่ น กรองงานเพื่ อ เป็ น การแบ่ ง เบาภาระหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการบริษทั และทำ�ให้บริษทั มี คณะกรรมการพิ จ ารณาเรื่ อ งต่ า งๆ เฉพาะด้ า น คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยมี 5 คณะ ได้แก่ 1. คณะกรรมการบริหาร 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล 4. คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทน 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
รายละเอียดคณะกรรมการชุดย่อย บริษัท ได้เปิดเผยไว้ที่ โครงสร้างการจัดการ พร้อมรายละเอียด ขอบเขตอำ � นาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย แต่ละคณะ
รายงานประจำ�ปี 2559
139
ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา:
นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการบริษัท 55 - บัญชีบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร - ประกาศนียบัตรวิชาชีพผู้ตรวจสอบภายใน (CPIA) - หลักสูตร Modern Managers Program จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Company Secretary Program 32/2009 : IOD - หลักสูตร Effective Minute Taking 17/2010 : IOD - หลักสูตร Company Reporting Program 17/2017 : IOD - หลักสูตร Corporate Secretary Development Program สมาคมบริษัทจดทะเบียน - 0.003 - ไม่มี -
สัดส่วนการถือหุน้ (ร้อยละ) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง พ.ค. 2552 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท ธ.ค. 2541 - ธ.ค. 2548 ผู้อำ�นวยการฝ่ายตรวจสอบ การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง เม.ย. 2559 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยสายงาน สำ�นักกรรมการผู้จัดการ มี.ค. 2551 - ปัจจุบัน เลขานุการธนาคาร พ.ย. 2553 - มี.ค. 2559 ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ ส.ค. 2549 - ต.ค. 2553 ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ รักษาการผู้อำ�นวยการสำ�นักกำ�กับธนาคาร ธ.ค. 2548 - ก.ค. 2549 ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้จัดการและกำ�กับธนาคาร รักษาการผู้อำ�นวยการฝ่ายตรวจสอบ มี.ค. 2557 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ และเลขานุการบริษัท
หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของเลขานุการบริษทั 1. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสาร ดังนี้ 1.1 จัดทำ�ทะเบียนกรรมการ 1.2 หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจำ�ปีของบริษัท 1.3 หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็ บ รั ก ษารายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร 2.1 กรรมการและผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ “รายงานการมีสว่ นได้เสีย” (หมายถึง กรรมการ และผู้บริหาร มีหน้าที่ รายงานการมีส่วนได้เสียของตน และผู้เกี่ยวข้องให้บริษัททราบ)
140
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. เงินทุน บุคคลัภย์ ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
บมจ. หลักทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่
2.2 จัดส่งสำ�เนารายงานให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ ทราบภายในเจ็ดวันทำ�การนับแต่ วันที่ได้รับรายงานนั้น 2.3 จัดให้มีระบบการเก็บรักษาเอกสาร และหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้อง และครบถ้วน และสามารถตรวจสอบ ได้ ภายในระยะเวลาไม่ น้ อ ยกว่ า ห้าปีนบั แต่วนั ทีม่ กี ารจัดทำ�เอกสาร หรือข้อมูลดังกล่าว 3. ด�ำ เนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุนประกาศกำ�หนด
4. การประชุมคณะกรรมการ • บริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท แ ล ะ คณะกรรมการชุดย่อยอย่างสม่�ำ เสมอ โดยกำ � หนดการประชุ ม เป็ น การ ล่วงหน้าสำ�หรับรอบระยะเวลา 1 ปี และจะมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติม ตามความจำ�เป็น โดยบริษทั ได้แจ้ง กำ�หนดการดังกล่าวให้กรรมการ ทุ ก ท่ า นทราบล่ ว งหน้ า เพื่ อ ให้ สามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ สำ � ห รั บ ว า ร ะ ก า ร ป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการบริษทั จะกำ�หนดโดย ประธานกรรมการ โดยประธาน กรรมการบริหาร และกรรมการ ผู้จัดการ ร่วมกันพิจารณากำ�หนด เรื่ อ งที่ จ ะบรรจุ เ ข้ า เป็ น วาระ การประชุมผ่านเลขานุการบริษัท ซึ่งจะมีวาระการประชุมที่กำ�หนด วาระที่ ชั ด เจนไว้ ล่ ว งหน้ า และมี วาระการประชุ ม ที่ สำ � คั ญ เช่ น การพิจารณางบการเงินแต่ละไตรมาส ผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ใน กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ทั้งนี้ ใน การประชุมคณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัทได้จัดส่งหนังสือ เชิ ญ ประชุ ม พร้ อ มระเบี ย บวาระ การประชุ ม และเอกสารให้ แ ก่ กรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุม อย่างน้อย 7 วันเพื่อให้กรรมการมี เวลาศึ ก ษาวาระการประชุ ม และ เอกสารประกอบการประชุมและ ปกติ การประชุ ม แต่ ล ะครั้ ง จะใช้ เวลาประมาณ 2 - 2.30 ชั่วโมง บริษัทได้จดบันทึกการประชุมเป็น ลายลักษณ์อักษรครอบคลุมสาระ สำ�คัญอย่างครบถ้วนแล้วเสร็จใน เวลาทีเ่ หมาะสม และจัดเก็บรายงาน การประชุมที่ผ่านการรับรองจาก
คณะกรรมการบริษัท และเอกสาร ประกอบการประชุมอย่างเป็นระบบ พร้ อ มให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท และ ผูเ้ กีย่ วข้องสามารถตรวจสอบได้ และ สะดวกในการสืบค้นอ้างอิง • ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการได้จดั สรรเวลาอย่าง เพียงพอที่กรรมการจะอภิปรายเรื่อง ที่มีความสำ�คัญ และในการพิจารณา บางวาระกรรมการผู้จัดการได้เชิญ ผูบ้ ริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุม เพือ่ ให้รายละเอียดข้อมูลเพิม่ เติมในฐานะ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งทีน่ �ำ เสนอโดยตรง • การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท องค์ประชุมต้องมีจำ�นวนไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด ตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท และ การวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ถือเสียงข้างมาก ในกรณีทค่ี ะแนนเสียง เท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออก เสี ย งเพิ่ ม ขึ้ น อี ก หนึ่ ง เสี ย งเป็ น เสียงชี้ขาด • การประชุมคณะกรรมการบริษทั กรรมการ ที่มีส่วนได้เสียในเรื่องใดต้องไม่ร่วม พิ จ ารณาและไม่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง ลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ และมีการบันทึก การมีสว่ นได้เสียดังกล่าวไว้ในมติของ เรื่องนั้นๆ ในรายงานการประชุม • คณะกรรมการสามารถขอความเห็น จากที่ ป รึ ก ษาอิ ส ระหรื อ ผู้ ป ระกอบ วิชาชีพภายนอกได้ในกรณีที่จำ�เป็น โดยถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัท • กรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารได้ จั ด ประชุมระหว่างกันได้โดยไม่มกี รรมการ ผูจ้ ดั การเข้าร่วมประชุม เพือ่ อภิปราย ประเด็นหรือปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับ การจั ด การที่ อ ยู่ ใ นความสนใจและ หาแนวทางพัฒนาปรับปรุง หรือให้ ข้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ รายงานประจำ�ปี 2559
141
การให้คะแนน แบบประเมินได้ก�ำ หนดระดับ ฝ่ายจัดการ และแจ้งมติและสรุปข้อคิดเห็น ที่ ไ ด้ รั บ จากการประชุ ม ให้ กรรมการ คะแนนเพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการสามารถเปรี ย บเที ย บ ผลการประเมิ น ในแต่ ล ะหั ว ข้ อ และเปรี ย บเที ย บ ผู้จัดการรับทราบ ผลการประเมินของแต่ละปีได้ โดยความหมายของการให้ 5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คะแนนมีดังนี้ คณะกรรมการได้ประเมินตนเองเพือ่ ช่วยให้ 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หรือไม่มีการ มีการพิจารณาทบทวนผลงาน ปัญหาและอุปสรรคในปีที่ ดำ�เนินการในเรื่องนั้น ผ่ า นมาและเพื่ อ ให้ การทำ � งานมี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น 1 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการใน เพราะทราบถึงความรับผิดชอบของตนได้ชัดเจนขึ้น ซึ่ง เรื่องนั้นเล็กน้อย การประเมินตนเองเป็นเครื่องมือสำ�คัญในการประเมิน 2 = เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการใน ความเหมาะสมของโครงสร้างคณะกรรมการและประสิทธิภาพ เรื่องนั้นพอสมควร ในการปฏิบตั หิ น้าที่ โดยผลการประเมินและข้อคิดเห็นของ 3 = เห็ น ด้ ว ยค่ อ นข้ า งมาก หรื อ มี กรรมการได้น�ำ ไปใช้เพือ่ การปรับปรุงการปฏิบตั หิ น้าทีข่ อง การดำ�เนินการในเรื่องนั้นดี คณะกรรมการ และของกรรมการในแต่ละปี โดยแบบที่ใช้ 4 = เห็นด้วยอย่างมาก หรือมีการดำ�เนิน การในเรื่องนั้นอย่างดีเยี่ยม ในการประเมินได้ใช้แบบตัวอย่างของตลาดหลักทรัพย์ วิธีการประเมินและผลการประเมิน ในการ แห่งประเทศไทย และนำ�มาปรับปรุงเพิม่ เติมเพือ่ ให้ครอบคลุม การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการและสอดคล้องกับ ประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ลักษณะและสภาพแวดล้อมการประกอบธุรกิจของบริษัท แต่ละคณะกรรมการได้ร่วมกันประเมินโดยการให้คะแนน ในแต่ละข้อ ซึ่งผลการประเมินตนเองทั้งคณะประจำ�ปี ซึ่งบริษัทได้ทำ�การประเมินตนเอง ดังนี้ - การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 2559 หัวข้อที่ทำ�การประเมินส่วนใหญ่ได้คะแนนระดับ 4 บริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยทัง้ คณะ 5.2 การประเมินตนเองของกรรมการบริษทั - การประเมินตนเองของกรรมการบริษัท และกรรมการชุดย่อยเป็นรายบุคคล และกรรมการชุดย่อยเป็นรายบุคคล แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อได้แก่ - การประเมินตนเองเรื่องการปฏิบัติตาม 1. โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง หลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี โดย คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล และ คณะกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของกรรมการ 5.1 การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท การให้คะแนน ในแบบประเมินได้กำ�หนด และคณะกรรมการชุดย่อยทัง้ คณะ แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 6 หัวข้อได้แก่ ระดับคะแนนเพือ่ ให้กรรมการสามารถเปรียบเทียบผลการ 1. โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ ประเมินในแต่ละหัวข้อและเปรียบเทียบผลการประเมิน 2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของ ของแต่ละปีได้ โดยความหมายของการให้คะแนนมีดังนี้ 0 = ไม่ เ ห็ น ด้ ว ยอย่ า งยิ่ ง หรื อ ไม่ มี คณะกรรมการ การดำ�เนินการในเรื่องนั้น 3. การประชุมคณะกรรมการ 1 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการ 4. การทำ�หน้าที่ของกรรมการ ในเรื่องนั้นเล็กน้อย 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ 6. การพั ฒ นาตนเองของกรรมการและ 2 = เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการใน เรื่องนั้นพอสมควร การพัฒนาผู้บริหาร
142
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
3 = เห็ น ด้ ว ยค่ อ นข้ า งมาก หรื อ มีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นดี 4 = เห็ น ด้ ว ยอย่ า งมาก หรื อ มี ก ารดำ � เนิ น การในเรื่ อ งนั้ น อย่างดีเยี่ยม วิ ธี ก ารประเมิ น และผลการประเมิ น เลขานุ ก ารบริ ษั ท ได้ จั ด ส่ ง แบบประเมิ น ตนเองเป็ น รายบุคคลให้กรรมการแต่ละท่านทำ�การประเมินตนเอง ตามคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่กรรมการดำ�รงตำ�แหน่ง และเมือ่ กรรมการประเมินตนเองเรียบร้อยแล้วได้น�ำ ส่งให้ เลขานุการบริษัทรวบรวม และนำ�ผลการประเมินแจ้งให้ คณะกรรมการบริษทั รับทราบ โดยภาพรวมผลการประเมิน ตนเองของกรรมการเป็ น รายบุ ค คลประจำ � ปี 2559 หัวข้อที่ทำ�การประเมินส่วนใหญ่ได้คะแนนระดับ 4 5.3 การประเมินตนเองเรือ่ งการปฏิบตั ติ าม หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มกี ารประเมิน ตนเองเรื่องการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเป็นเครื่องมือให้คณะกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการ ของบริษทั ประเมินตนเองว่าบริษทั ปฏิบตั หิ รือยังไม่ปฏิบตั ิ ในเรือ่ งใด และเพือ่ ใหบริษทั สามารถเปิดเผยข้อมูลได้อย่าง ครบถ้วน โดยคณะกรรมการบริษทั ได้วเิ คราะห์ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ ข้อควรสังเกตต่างๆ เพื่อนำ�มาปฏิบัติให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมการดำ�เนินธุรกิจ ดังนี้ แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 4 หัวข้อได้แก่ 1. สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น และการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 2. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 4. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การให้คะแนน ในแบบประเมินไม่ได้ก�ำ หนด ระดับคะแนนแต่ได้กำ�หนดในแต่ละหัวข้อได้ปฏิบัติแล้ว หรือไม่ ดังนี้ • หากได้ ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามแล้ ว ให้ท�ำ เครือ่ งหมายถูก (√) ในช่อง “ใช่” • หากยั ง ไม่ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ห รื อ ปฏิ บั ติ ยั ง ไม่ ครบถ้วน ให้ทำ�เครื่องหมายถูก (√) ในช่อง “ไม่ใช่”
วิธกี ารประเมินและผลการประเมิน ในการประชุม คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ได้ ร่ ว มกั น ประเมิ น โดยผลการประเมิ น ตนเองเรื่ อ ง การปฏิบตั ติ ามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ประจำ�ปี 2559 หัวข้อที่ทำ�การประเมินส่วนใหญ่อยู่ในช่อง “ใช่” 6. หลักเกณฑ์การประเมินผลงานประจำ�ปี ของกรรมการผู้จัดการ คณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายให้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน พิจารณาแนวทางการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของกรรมการผูจ้ ดั การ รวมถึงกำ�หนดผลตอบแทน และโบนัส สำ�หรับการปฏิบัติงานประจำ�ปี โดยคำ�นึงถึงหน้าทีค่ วามรับผิดชอบต่อบริษทั ในการประเมิ น ผลงานประจำ � ปี ข อง กรรมการผูจ้ ดั การ คณะกรรมการบริหารโดย ประธานกรรมการบริ ห ารได้ ป ระเมิ น ผล การปฏิบตั งิ านตามแนวทางของคณะกรรมการ สรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทน โดยมี ตัวชีว้ ดั ทีส่ อดคล้องกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และ เป้าหมายระยะยาวของบริษัท การคำ�นึงถึง หน้าที่ความรับผิดชอบ ความสำ�เร็จตาม เป้าหมาย และพิจารณาสถานการณ์และ สภาวะธุรกิจในขณะนั้นร่วมด้วย ซึ่งแบบ การประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ ตั ว ชี้ วั ด การปฏิ บั ติ ง านด้ า นการเงิ น (Financial KPI) และตัวชีว้ ดั การปฏิบตั งิ าน ด้านที่ไม่ใช่การเงิน (Non-Financial KPI) ประธานกรรมการบริหาร ได้ประเมินผล งานประจำ�ปีของกรรมการผู้จัดการ และ ได้ นำ � เสนอผลการประเมิ น ต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพือ่ พิจารณากำ�หนดผลตอบแทนและโบนัส และเมื่อคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนพิจารณาประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของกรรมการผูจ้ ดั การแล้ว ได้น�ำ ผลการประเมิน เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณาอนุมัติ
รายงานประจำ�ปี 2559
143
7. ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร • คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทน มีกรรมการอิสระเป็น ประธาน ทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบาย วิธีการ และหลักเกณฑ์การกำ�หนด ค่ า ตอบแทนให้ แ ก่ กรรมการ และ กรรมการผูจ้ ดั การทีเ่ ป็นธรรมสมเหตุ สมผล โปร่ ง ใส เชื่ อ มโยงกั บ ผลการดำ�เนินงานของบริษทั และผลการ ปฏิ บัติง านให้ อ ยู่ ใ นระดั บ เดี ย วกั บ อุ ต สาหกรรมและสู ง เพี ย งพอที่ จ ะ ดูแลรักษากรรมการ • ค่าตอบแทนกรรมการกำ�หนดโดยที่ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ในรู ป แบบของ ค่ า ตอบแทนที่ เ ป็ น ตั ว เงิ น และ ค่าตอบแทนอืน่ ซึง่ ผ่านการพิจารณา และนำ�เสนอจากคณะกรรมการสรรหา และกำ � หนดค่ า ตอบแทน ในการ กำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณาตาม หลักปฏิบตั โิ ดยทัว่ ไปในอุตสาหกรรม โดยพิจารณาจากประสบการณ์ท�ำ งาน ความรู้ ค วามสามารถ หน้ า ที่ ความรับผิดชอบ รวมทัง้ คุณประโยชน์ ที่ กรรมการทำ � ให้ กั บ บริ ษั ท และ เทียบเคียงกับบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ อยู่ ใ นอุ ต สาหกรรมและธุ ร กิ จ ที่ ใกล้เคียงกัน รวมถึงได้เทียบเคียงกับ ค่าเฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียน จาก รายงานผลสำ�รวจอัตราค่าตอบแทน กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย นของ สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริ ษั ท ไทย และบริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผย อัตราค่าตอบแทนกรรมการทีไ่ ด้รบั การ อนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2559 และเปิดเผย ค่าตอบแทนและค่าตอบแทนอื่นของ กรรมการประจำ � ปี 2559 ไว้ ใ น รายงานประจำ�ปี
144
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการที่ได้รับ การอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น และจำ�นวนค่าตอบแทน และค่ า ตอบแทนอื่ น ของกรรมการ ได้ เ ปิ ด เผยไว้ ที่ โครงสร้างการจัดการ ข้อ 9. ค่าตอบแทนกรรมการและ ผู้บริหาร 8. การพัฒนากรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน • บริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ ในการเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ อง คณะกรรมการบริษัท โดยบริษัทมี นโยบายส่งเสริมให้กรรมการบริษัท ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ปฏิบัติงาน ด้านสนับสนุนงาน เลขานุการบริษัท การกำ�กับการปฏิบัติงาน การตรวจ สอบภายใน การกำ�กับดูแลกิจการของ บริษทั ให้เข้าร่วมสัมมนาจากสถาบัน ภายนอกและภายในบริ ษั ท เพื่ อ เป็นการส่งเสริม พัฒนาทักษะ เพิม่ พูน ความรู้ ความสามารถอย่างสม่�ำ เสมอ เพือ่ รองรับการเจริญเติบโตทางธุรกิจ ทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว อาทิ การเข้ารับการอบรมหลักสูตรต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย เป็นต้น โดยในปี 2559 กรรมการบริษัทที่ เข้าอบรมหรือสัมมนา เช่น
รายชื่อกรรมการ 1. นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการบริหาร
-
2. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาล 3. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ 4. นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
หลักสูตรที่อบรม/สัมมนา สัมมนา “Corporate Governance For Capital Market Intermediaries (CGI)” 14/2016 ผู้จัด สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย วันที่ 16-17 สิงหาคม 2559 อาคารสปอร์ตคลับเฮ้าส์ สโมสรราชพฤกษ์ สัมมนา มิติใหม่ของนโยบายเศรษฐกิจในยุคแห่งข้อมูล ผู้จัด ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 15-16 กันยายน 2559 ห้อง Bangkok Convention โรงแรม Centara Grand at Central World สัมมนา CG Forum 3/2016 “ทุจริตในองค์กร ภัยมืดที่ป้องกันและ ควบคุมได้” ผู้จัด ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย วันที่ 24 สิงหาคม 2559 หอประชุมศาสตราจารย์สังเวียนอินทรวิชัย ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย สัมมนา “Corporate Governance For Capital Market Intermediaries (CGI)”(English Program) 17/2016 ผู้จัด สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย วันที่ 24-25 พฤศจิกายน 2559 ห้อง Suriyanchandra โรงแรมอนันตรา สยาม
รายงานประจำ�ปี 2559
145
9. การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ • เมือ่ มีการแต่งตัง้ กรรมการใหม่ บริษทั ได้จัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการที่ ได้รับการแต่งตั้งใหม่ โดยจัดให้มี การบรรยายสรุปวิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลการดำ � เนิ น งาน กลยุ ท ธ์ แ ละ เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ รวมทั้ง ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั โดยประธานกรรมการบริหาร กรรมการ ผูจ้ ดั การและผูบ้ ริหารระดับสูง พร้อม จัดทำ�เอกสารต่างๆ ทีเ่ ป็นข้อมูลของ บริษทั ที่ใช้ในการศึกษาเพิม่ เติม เช่น หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง กับการประกอบธุรกิจ รายงานประจำ�ปี และข้อมูลต่างๆ ของบริษัท
คือ การขับเคลือ่ นผลงานด้วยวิสยั ทัศน์ และกลยุทธ์ (Visionary Leadership) การปลุกพลังความเป็นผู้นำ�และใช้ให้ เหมาะกับสถานการณ์ (Leadership Role & Situational Leadership) การเป็นผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลง (Change Leadership) การเป็นผู้นำ�การบริหาร และพั ฒ นาคน (Management & Developing People)
11. การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน • คณะกรรมการบริ ษั ท ส่ ง เสริ ม และ ให้ความสำ�คัญกับการควบคุมภายใน ของบริษทั ในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ - สภาพแวดล้อม - การควบคุมภายในองค์กร - การประเมินความเสี่ยง 10. แผนพัฒนาเพื่อทดแทนตำ�แหน่ง - กิจกรรมการควบคุมการปฎิบัติงาน ผู้บริหารและตำ�แหน่งสำ�คัญ • เพื่อเป็นการเตรียมองค์กรให้พร้อม ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล สำ � หรั บ งานในตำ � แหน่ ง สำ � คั ญ ๆ - ระบบการติดตามและประเมินผล ในอนาคต บริษัทได้มีการพัฒนาผู้ที่ จะสืบทอดตำ�แหน่งโดยการส่งผูบ้ ริหาร เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท มี ร ะบบ เข้ารับการอบรมหลักสูตรสำ�หรับผูบ้ ริหาร การควบคุมภายในอย่างเพียงพอและ ระดั บ สู ง การเข้ า ร่ ว มประชุ ม เหมาะสมทีจ่ ะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ในการดำ�เนินธุรกิจทีก่ �ำ หนดไว้ภายใต้ จัดการ การมอบหมายให้เป็นตัวแทน การกำ�กับดูแลและการควบคุมภายในทีด่ ี บริษัทในการดำ�เนินการต่างๆ เพื่อ 12. การบริหารความเสี่ยง ให้ ก ารดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ เป็ น ไปอย่ า ง • คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำ�คัญกับ ราบรืน่ และต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ ว่ า บริ ษั ท เตรี ย มความพร้ อ มของ การบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร โดย บุคลากรในการดำ�รงตำ�แหน่งงาน กระบวนการบริหารความเสีย่ งประกอบ ที่มีความสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจ ด้วยขัน้ ตอนหลักๆ คือ การระบุความเสีย่ ง การประเมินความเสีย่ ง การติดตามและ ของบริษัท • บริษทั ได้ท�ำ โครงการพัฒนาศักยภาพ ควบคุมความเสี่ยง และการรายงาน ผู้ บ ริ ห า ร ( M a n a g e m e n t ความเสีย่ ง และมีการพิจารณาทบทวน Development Program) เป็ น ความเพียงพอของระบบการบริหาร การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ พัฒนา ความเสี่ ย งและประสิ ท ธิ ผ ลของ ผู้ บ ริ ห ารตามแผนพั ฒ นาผู้ นำ � การจัดการความเสี่ยงอย่างสม่ำ�เสมอ ในอนาคต โดยมีการเรียนรู้ใน 4 มิติ
146
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ กำ � หนดไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเพื่ อ ให้ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ ยึดถือเป็น แนวปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายและก่อให้เกิด ความเป็นธรรมในการดำ�เนินธุรกิจไม่เห็นแก่ผลประโยชน์อน่ื รวมทัง้ หลีกเลีย่ งการดำ�เนินการทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัท ลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสีย บริ ษั ท เชื่ อ มั่ นว่ า การประกอบธุ ร กิ จ ด้ ว ย ความเป็นธรรมย่อมก่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้เกี่ยวข้อง อันจะส่งผลดีต่อกิจการในระยะยาว บริษัทได้ดำ�เนินการ ตามแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม เพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ซึง่ ได้ด�ำ เนินกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับกฎหมาย และการแข่งขันที่เป็นธรรม ตลอดจนให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ เช่น ส่งเสริม ให้พนักงานให้ความสำ�คัญกับการปฏิบัติตามกฎหมาย สนับสนุนให้มกี ารแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบของกฎหมาย ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักถึงการรักษาความลับทางการค้า ไม่ แ สวงหาข้ อ มู ล ของพั น ธมิ ต รและคู่ แ ข่ ง ทางการค้ า อย่างไม่สุจริต บริษทั ได้สง่ เสริมการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย อย่างเป็นธรรมทั้งในด้านต้นทุนและผลตอบแทน เช่น การจัดซือ้ จัดจ้าง การกำ�หนดระยะเวลาส่งมอบทีเ่ พียงพอ และสัญญาการค้าที่ไม่เอารัดเอาเปรียบ และไม่เข้าไป เกีย่ วข้องกับกิจกรรมใดๆ อันเป็นการละเมิดทรัพย์สนิ และ การละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญา รวมทัง้ ชำ�ระค่าการใช้หรือ ได้มาซึง่ ทรัพย์สนิ อย่างเป็นธรรม เช่น การชำ�ระเงินให้แก่ เจ้าหนี้ตรงตามงวดการจ่ายประจำ�เดือน
บริษทั ได้ก�ำ หนดวิธปี ฏิบตั ใิ นการจัดซือ้ จัดจ้าง และการรับบริการต่างๆ เพื่อให้ได้สินค้าหรือบริการที่มี คุณภาพและราคาทีเ่ หมาะสม โดยได้ก�ำ หนดกระบวนการ จัดซื้อจัดจ้าง และการรับบริการต่างๆ เป็น 3 วิธี ได้แก่ วิธตี กลงราคา วิธสี อบราคา และวิธปี ระกวดราคา ซึง่ การ จะใช้วิธี ใดขึ้นอยู่กับวงเงินที่จะดำ�เนินการในแต่ละครั้ง สำ � หรั บ การคั ด เลื อ กผู้ จำ � หน่ า ยสิ น ค้ า หรื อ ผู้ ใ ห้ บ ริ การ เพือ่ ให้มคี วามเป็นธรรมและมีความเท่าเทียมกัน บริษทั ได้ กำ�หนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกจากความมัน่ คงของกิจการ คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์และบริการและราคา โดยมี คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้พิจารณา
3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะดำ�เนินกิจการภายใต้หลักการ ของกฎหมาย ความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีคณ ุ ธรรม เป็นไปตาม แนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มีจรรยาบรรณและ จริยธรรมธุรกิจ ทั้งระดับกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน โดยสนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการแนวร่วมปฏิบตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เพื่อจรรโลง ไว้ซึ่งชื่อเสียงจริยธรรมของบริษัท รวมถึงกำ�หนดให้มี นโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าทีโ่ ดยมิชอบ เพื่อเป็นแนวทางให้แก่ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ของบริษัทรับทราบและถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ดังนี้ บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัท อนุมัตินโยบายการ ป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าทีโ่ ดยมิชอบและรับผิดชอบ ให้การดำ�เนินกิจการของบริษัทเป็นไปด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทโดยรวม คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ดูแลและส่งเสริม การปฏิบตั ติ ามนโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่ โดยมิชอบ รวมทัง้ ให้มกี ารสือ่ สารไปยังบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจ ทางการเงินของบริษัท
รายงานประจำ�ปี 2559
147
แนวทางการปฏิบัติ
บริษทั ให้ความสำ�คัญในการป้องกันมิให้เกิด การแสวงหาผลประโยชน์ ในหน้าที่ โดยมิชอบ สำ�หรับ ตนเองหรือผู้อื่นในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ 1. หา้ มให้หรือรับของขวัญ ของกำ�นัล รวมถึง ผลประโยชน์อื่นใด เพื่อจูงใจให้เกิดการ ปฏิบัติหรือละเว้นจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบหรืออาจทำ�ให้เกิดการยินยอม ผ่อนปรนในข้อตกลงทางธุรกิจทีไ่ ม่เหมาะสม และให้ถอื ปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ทก่ี �ำ หนดไว้ ในจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจของ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานบริษัท 2. ห้ามให้หรือรับสินบน และสิง่ จูงใจในรูปแบบ ใดๆ ทัง้ สิน้ และห้ามมอบหมายให้ผอู้ นื่ ให้หรือรับสินบนและสิง่ จูงใจแทนตนเอง 3. การบริจาคเพื่อการกุศลและการให้เงิน สนับสนุนต้องเป็นไปอย่างโปร่งใสไม่ขดั ต่อ กฏหมายและศีลธรรม 4. บริษทั จะไม่น�ำ เงินทุนหรือทรัพยากรของ บริษทั ไปใช้สนับสนุนทางการเมืองให้แก่ ผู้ ส มั ค รแข่ ง ขั น เป็ น นั ก การเมื อ งหรื อ พรรคการเมืองใด เพื่อการรณรงค์ทาง การเมืองหรือการดำ�เนินกิจกรรมทาง การเมือง ยกเว้นการให้ความสนับสนุนนัน้ ได้รบั อนุญาตตามกฏหมายและสนับสนุน ประชาธิปไตยโดยรวม โดยต้องได้รบั อนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริษทั ก่อนการดำ�เนินการ 5. จัดให้มีการกำ�กับดูแลการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัทภายใต้การควบคุมที่ดี มีการ ประเมินความเสีย่ งทีม่ นี ยั สำ�คัญ มีกจิ กรรม การควบคุมทีม่ ปี ระสิทธิผลและแบ่งแยก หน้าทีก่ ารทำ�งานทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ จัดให้ มีระบบสารสนเทศ ทีเ่ พียงพอน่าเชือ่ ถือ และติดตาม ประเมินผลการควบคุมภายใน อย่างสม่ำ�เสมอ 6. จัดให้มชี อ่ งทางการรับแจ้งข้อมูล ข้อเสนอแนะ หรือข้อร้องเรียน ผ่านกรรมการอิสระของ บริษทั ผ่านเว็บไซต์ของบริษทั www.lhfg.co.th หรือ Email : presidentoffice@lhbank.co.th
148
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ได้ลงนามเป็นแนวร่วมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เพือ่ แสดงเจตนารมณ์ในการต่อต้านการทุจริต และดำ�เนิน ธุรกิจด้วยหลักการในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ โดย มีความตกลง ดังนี้ 1.จะจัดให้มกี ารประเมินความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง กับการทุจริตภายในบริษทั รวมถึงการนำ�นโยบายการต่อต้าน การทุจริต แผนการกำ�กับการปฏิบตั งิ านและแผนการตรวจสอบ ไปปฏิบัติและจัดให้มีคู่มือในการดำ�เนินธุรกิจแก่ผู้บริหาร และพนักงาน - นโยบายนีห้ า้ มการให้สนิ บนในทุกรูปแบบ ในทุกกิจกรรมทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมและ ต้องแน่ใจว่าการบริจาคเพือ่ การกุศลและ บริจาคให้แก่พรรคการเมือง การให้ของขวัญ ทางธุรกิจ การสปอนเซอร์ กิจกรรมใดๆ ต้องโปร่งใสและไม่มเี จตนาเพือ่ โน้มน้าว ให้เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐ / เอกชนดำ�เนินการ ไม่เหมาะสม - นโยบายเหล่านีจ้ ะถูกประกาศและเผยแพร่ ในองค์กรในรูปของ “จรรยาบรรณธุรกิจ” เพือ่ เป็นแนวทางให้ผบู้ ริหารและพนักงาน บริษัทปฏิบัติตนอย่างมีจริยธรรมและ รับผิดชอบในทุกโอกาส พร้อมกำ�หนด บทลงโทษ หากไม่ปฏิบัติตาม - จัดให้มกี ารอบรมแก่พนักงานบริษทั เพือ่ ส่งเสริมความซือ่ สัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ติ ามหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ รวมถึงสื่อสารให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของ บริษทั ในการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ดี ของธุรกิจ - จัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้พนักงานมีการปฏิบัติ ที่ ไ ม่ เ หมาะสม และยกระดั บ ค่ า นิ ย ม ความซือ่ สัตย์ สุจริตและความรับผิดชอบ ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร - จัดให้มกี ลไกการรายงานสถานะทางการเงิน ที่โปร่งใสและถูกต้อง - จัดให้มีช่องทางในการสื่อสาร เพื่อให้ พนักงานบริษัทและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถแจ้งเบาะแสอันควรสงสัย โดย
มัน่ ใจได้วา่ จะได้รบั การคุม้ ครองและมีการ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่ตรวจสอบ ทุกเบาะแสที่มีการแจ้ง 2. จะเปิดเผยและแลกเปลีย่ นนโยบายภายใน ประสบการณ์ แนวปฏิบตั ทิ ด่ี แี ละแนวทาง ความสำ�เร็จในการสนับสนุนให้เกิดการทำ� รายการทางธุรกิจอย่างมีคณุ ธรรม ถูกต้อง และโปร่งใสในประเทศไทย - สนับสนุนให้มีการริเริ่มโครงการระดับ ประเทศ เพือ่ สร้างเงือ่ นไขในการแข่งขัน การดำ�เนินธุรกิจทีเ่ ป็นธรรม โปร่งใส รวมถึง ให้มั่นใจว่ามีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - จะมีสว่ นร่วมในการเสวนาและร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในการประชุมต่างๆ เพือ่ สร้างความเข้าใจในข้อกังวลและปัญหาที่ เกิดขึ้นในปัจจุบันที่มีผลต่อธุรกิจเอกชน เกีย่ วกับความซือ่ สัตย์ สุจริตและความโปร่งใส ในการดำ�เนินธุรกิจ 3. จะร่วมมือกับบริษทั ในอุตสาหกรรมเดียวกัน คู่คา้ และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ โดย สร้างแนวร่วมปฏิบัติและการเข้าร่วมใน กิจกรรมร่วมต่อต้านการทุจริต - จะร่วมแบ่งปันแนวปฏิบัติที่ดีและกรอบ ความคิด เพือ่ มุง่ หวังให้ทกุ องค์กรทีเ่ ป็น แนวร่วมได้นำ�ไปใช้ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตามโครงการ - จะเข้าร่วม Integrity Pacts กับองค์กรอืน่ และหน่วยงานภาครัฐ ในการประมูลและ จั ด ซื้ อ สิ่ ง ของวั ต ถุ ดิ บ อุ ป กรณ์ แ ละ การก่อสร้าง - จะร่วมมือและร่วมคิด เพือ่ พัฒนาจรรยาบรรณ ธุรกิจทีส่ ามารถใช้ได้กบั ทุกองค์กร และเป็นที่ ยอมรับจากทุกองค์กรทีเ่ ข้าร่วมโครงการ - จะร่วมสร้างมาตรการและระบบตรวจสอบ เพือ่ ส่งเสริมความโปร่งใส ซือ่ สัตย์ สุจริต ในการประกอบธุรกิจ - จะร่วมมือกับภาคประชาสังคมและสือ่ ใน การสร้างจิตสำ�นึกและการให้การศึกษา แก่สาธารณะ เพือ่ เปลีย่ นค่านิยมไปสูก่ าร ต่อต้านและประณามการทุจริตในทุกรูปแบบ
- จะสนับสนุนการพัฒนาโครงการตรวจสอบ และรับรองการปฏิบตั ติ ามโครงการ พร้อมทัง้ มีการจัดฝึกอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ให้ คำ � ปรึ ก ษาและผู้ต รวจสอบ เพื่อ เป็ น แนวทางให้กบั บริษทั ทีเ่ ข้าร่วมโครงการใน การดำ�เนินธุรกิจตามหลักจริยธรรม และ ยกระดับกระบวนการนีใ้ ห้อยูใ่ นวัฒนธรรม องค์กร เพื่อส่งเสริมความยั่งยืนของ โครงการแนวร่วมปฏิบตั นิ ต้ี อ่ ไป - ยินดีให้มีการตรวจสอบและรับรองโดย คณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ใิ นการต่อต้าน การทุจริตในภาคเอกชนไทยทุก 3 ปี เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557 บริษัทได้รับ ประกาศนียบัตรการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต จากสมาคม สถาบันกรรมการบริษัทไทย คณะกรรมการบริษัท จัดให้มีนโยบายการ แจ้งเบาะแสและการร้องเรียน (Whistleblower Policy) เพื่อเป็นช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถแจ้งเบาะแส เกีย่ วกับการทำ�ผิดกฎหมาย ทุจริตหรือคอร์รปั ชัน่ ผ่านช่องทาง ทีบ่ ริษทั กำ�หนด และ ให้ความคุม้ ครองสิทธิของผูแ้ จ้งเบาะแส และบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องให้ได้รบั ความเป็นธรรม และจัดให้มี นโยบายการป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้าที่โดยมิชอบ เพือ่ ให้พนักงานยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน มีการ ทบทวนนโยบายเป็นประจำ�ทุกปี และเผยแพร่นโยบายบน เว็บไซต์ของบริษัทและช่องทางการสื่อสารภายในบริษัท บริษทั เชือ่ มัน่ ว่านโยบายการป้องกันการหา ผลประโยชน์ ในหน้าที่โดยมิชอบ เป็นกรอบและทิศทาง ของการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน และเป็นแนวทางต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ซึง่ สะท้อนความมุง่ มัน่ และความทุม่ เททีส่ �ำ คัญ ของการเป็นองค์กรที่โปร่งใส และปราศจากการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดย บริษัทมุ่งหวังให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้ความร่วมมือและ ให้การสนับสนุนด้วยดี รวมถึงให้ความสำ�คัญต่อการปฏิบตั ิ ตามนโยบายของผู้บริหาร พนักงานอย่างเคร่งครัด
รายงานประจำ�ปี 2559
149
นอกจากนี้ บริษัทได้ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ในกิจกรรมต่อต้านการทุจริต อาทิเช่น กิจกรรมงานวันต่อต้าน คอร์รัปชั่นแห่งชาติ 2559 “กรรมสนองโกง” เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2559 ณ บริเวณท้องสนามหลวง เพือ่ ร่วมแสดง พลั ง ครั้ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นวั น ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น และ ร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของการ “เปิดไฟไล่โกง” ขับไล่คนโกงชาติ ให้หมดไปจากแผ่นดิน โดยพร้อมเพรียงกันทั่วประเทศ
4. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) ให้ความสำ�คัญกับการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง ไม่วา่ จะเป็นพนักงาน ชุมชน และสังคมรอบข้างด้วยความยุตธิ รรม มีความเสมอภาค เคารพต่อชีวติ และศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ ของทุกคน การสร้างมนุษยสัมพันธ์ทด่ี ี ไม่ละเมิดสิทธิขน้ั พืน้ ฐาน และระมัดระวังการพิจารณาดำ�เนินการใดๆ ทีจ่ ะกระทบต่อ ความรูส้ กึ ของสาธารณชน ซึง่ เป็นรากฐานของการบริหาร และพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต่ อ พนักงานทุกระดับ ดูแลให้พนักงานได้รบั ผลตอบแทนและ สวัสดิการทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรม พัฒนาศักยภาพของ พนักงานเพื่อความก้าวหน้าในวิชาชีพและสนับสนุนการ มีสว่ นร่วมของพนักงาน รวมทัง้ การเปิดช่องทางในการรับ เรือ่ งร้องเรียน ร้องทุกข์และการรายงานการกระทำ�ทีไ่ ม่ถกู ต้อง จากพนักงานในหลายช่องทาง ซึง่ พนักงานสามารถเสนอ ความคิดเห็น รายงานหรือร้องเรียนเรือ่ งทีเ่ ห็นว่าไม่เป็นธรรม
ทุจริต หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องผ่านผู้บังคับบัญชา หรือ ผ่านช่องทางอื่นๆ โดยบริษัทได้กำ�หนดขั้นตอนการรับ เรือ่ งร้องเรียนและร้องทุกข์ทม่ี คี วามเป็นอิสระในการตรวจสอบ และการตั ด สิ น ใจโดยคำ � นึ ง ถึ ง ผลลั พ ธ์ ที่ อ อกมาและ การเยียวยาใดๆ เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชนและส่งเสริม เปิดโอกาสให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น หากมีการกระทำ�ของกิจการหรือบุคลากรในกิจการทีอ่ าจเป็น การละเมิดสิทธิมนุษยชน เพือ่ ประโยชน์ในการสะท้อนปัญหา และหาแนวทางแก้ไข นอกจากนี้ บริษัทได้สนับสนุน และเคารพ การปกป้ อ งศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ นมนุ ษ ย์ โดยไม่ มี การใช้ แรงงานบังคับ และการใช้แรงงานเด็ก ซึง่ ส่งผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก การเคารพในสิทธิมนุษยชนเป็นแนวปฏิบัติ ขัน้ พืน้ ฐานทีบ่ ริษทั ให้ความสำ�คัญ โดยกำ�หนดแนวทางปฏิบตั ิ อาทิเช่น • การจัดจำ�นวนวันลา และวันหยุดต่างๆ ตามที่กฎหมายกำ�หนด หรือมากกว่าที่ กฎหมายกำ�หนดในบางประเภทของวันหยุด เพื่อให้พนักงานสามารถวางแผนการ ใช้ ชี วิ ต การทำ � งาน และชี วิ ต ส่ ว นตั ว ได้อย่างสมดุล • การกำ�หนดหลักเกณฑ์การสอบสวนและ การลงโทษทางวินยั ไว้อย่างชัดเจน เพือ่ ให้การลงโทษเป็นไปด้วย ความยุติธรรม และมีแนวปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน • การสนับสนุนให้แต่ละหน่วยงานจัดกิจกรรม เพือ่ เสริมสร้างความเป็นทีม (Staff Activity)
ผู้บริหาร และพนักงานจัดกิจกรรม Staff Activity ที่จังหวัดปราจีนบุรี
150
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ในประเทศ ตลอดจนให้การสนับสนุนการดำ�เนินการ ด้านทรัพยากรบุคคลเชิงรุกเพื่อให้การปฏิบัติงานของ ทุกหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ และมุง่ มัน่ พัฒนาให้พนักงานได้รบั การเพิม่ พูนภูมปิ ญั ญาและคุณภาพชีวติ ในการทำ�งานทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ ง โดยคำ�นึงถึงหลักการปฏิบตั ติ อ่ พนักงานอย่างเป็นธรรมและหลักสิทธิมนุษยชน เพือ่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืน ธนาคารให้ความสำ�คัญ กับการดูแลพนักงานในด้านต่างๆ ด้วยเชือ่ มัน่ ว่า การพัฒนา ทักษะ ความสามารถ การสร้างแรงจูงใจในการทำ�งาน การสร้าง สภาพแวดล้อมทีด่ ี สุขชีวอนามัยทีด่ ี และการให้สวัสดิการทีด่ ี จะช่วยให้พนักงานมีความพร้อมในการปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเต็ม ศักยภาพ อันจะส่งผลต่อลูกค้าตลอดจนผู้มีส่วนได้เสีย บุคลากรของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ณ 31 ธันวาคม 2559 มีทั้งสิ้น 1,692 คน ผู้บริหาร และพนักงานจัดกิจกรรม Staff Activity ที่จังหวัดสมุทรสงคราม
5. การปฏิบตั ติ อ่ แรงงานอย่างเป็นธรรม ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ให้ความสำ�คัญกับการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยกำ�หนด เป็นพันธกิจในการพัฒนาและสนับสนุนระบบการบริหาร ทรัพยากรบุคคลทั้งในเชิงความรู้และผลประโยชน์ของ พนักงาน ธนาคารได้จดั ตัง้ คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (Human Resources Development Committee) เพื่อ ให้ การบริ ห ารและการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลเป็ น ไป อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ของธนาคาร หลักสำ�คัญในการบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ธนาคารมุ่ง มั่น พั ฒ นาการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรบุคคลด้วยนวัตกรรมเทียบเท่าองค์กรชั้นนำ�
รายงานประจำ�ปี 2559
151
การสรรหาพนักงาน ธนาคารมีนโยบายการสรรหาบุคลากรทีม่ งุ่ เน้น คั ด เลื อ กบุ ค ลากรบนพื้ น ฐานของความสามารถและ การมี คุ ณ สมบั ติ ที่ เ หมาะสมกั บ ตำ � แหน่ ง งาน รวมถึ ง สอดคล้องกับค่านิยมของธนาคาร “PRO-AcTIVE” โดย มีช่องทางการสรรหาบุคลากร ได้แก่ การจัดกิจกรรมและ การเพิม่ ช่องทางทีส่ ามารถเข้าถึงผูส้ มัครกลุม่ เป้าหมายอย่าง หลากหลาย อาทิ กิจกรรม “Toward Success Together Day” กิจกรรม “Mobile Recruitment” กิจกรรม “Friend get Friends” ความเท่าเทียมและความหลากหลาย รวมถึง การประชาสัมพันธ์การรับสมัครงานผ่านช่องทาง Social Media อาทิ LINE และ Facebook เพื่อเข้าถึง ด หลั ก ปฏิ บั ติ กั บ พนั ก งาน กลุม่ ผูส้ มัคร รวมถึงการรับสมัครผ่านเว็บไซต์ของธนาคาร อย่างเป็นธรรม ธนาคารยึ อันได้แก่ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายแรงงาน และ หลักสิทธิมนุษยชน ไม่เลือกปฏิบตั อิ นั เนือ่ งมาจากความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติ สีผิว เพศ ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง การถูกถอนสัญชาติ หรือพืน้ เพทางสังคม หรือการเลือกปฏิบตั ิ ในรูปแบบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและ ภายนอก ไม่ใช้แรงงานทีผ่ ดิ กฎหมายและไม่ใช้แรงงานเด็ก ซึ่งแนวทางปฏิบัติดังกล่าวครอบคลุมพนักงานทุกคน ทุกระดับตั้งแต่ผู้บริหารจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการ รวมถึงเปิดโอกาสให้ผู้พิการเข้าร่วมงานกับธนาคาร การจ้างงานผู้พิการ ธนาคารได้ส่งเสริมให้เกิดการสร้างโอกาส และรายได้ส�ำ หรับผูพ้ กิ าร โดยได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริม การคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าร่วมงาน และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้นโดยสมาคม โดยมีการจ้างเหมาคนพิการเพื่อทำ�งานให้ การคัดเลือกบุคคลเพือ่ เข้าทำ�งานกับธนาคาร ธนาคารไทย งหวัดต่างๆ รวมถึงการจ้างผูพ้ กิ าร นอกจากการพิจารณาในด้านความรูค้ วามสามารถ และเกณฑ์ กัเป็บนสภากาชาดไทยตามจั พนักงานของธนาคาร การพิจารณาหลักทีธ่ นาคารกำ�หนด ธนาคารได้ตระหนักถึง ความสำ�คัญในการคัดเลือกบุคลากรที่มีความเชื่อและ ค่ า นิ ย มที่ ส อดคล้ อ งไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ ธนาคาร ธนาคารได้ จั ด ให้ ผู้ ส มั ค รทำ � แบบทดสอบพฤติ กรรมที่ พัฒนาข้อสอบจากค่านิยม PRO-AcTIVE และนำ�ผลการทดสอบ มาเป็นส่วนหนึง่ ในการคัดเลือกบุคลากรเข้าร่วมงานกับธนาคาร เพื่อให้ได้บุคลากรที่เหมาะกับหน่วยงานและธนาคาร
152
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
การเติบโตอย่างมั่นคงด้วยการสร้างคน
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
ธนาคารได้ส่งเสริมและพัฒนาให้พนักงาน มีคา่ นิยม PRO-AcTIVE ซึง่ เป็นค่านิยมหลักเดียวกัน โดย ใช้แผนแม่บทการส่งเสริมค่านิยมด้วยการสร้างการรับรู้ สร้างทัศนะคติ (Perception Attitude) ผ่านช่องทางการสือ่ สาร กิจกรรม การปฏิบตั ิ ด้วยพฤติกรรมบนพืน้ ฐานความเชือ่ เดียวกัน (Practice Believe & Individual Mindsets) การเกิดเป็นพฤติกรรมกลุ่มและค่านิยมร่วมในองค์กร (Group Habit Norm & Corporate Value) ซึ่งธนาคาร ได้ ส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย มแก่ พ นั ก งานเข้ า ใหม่ แ ละพนั ก งาน ปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง
ธนาคารใช้ระบบตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicator หรื อ KPI) เพื่ อ วัดประสิทธิภาพการทำ�งานของพนักงานทุกระดับ และ ใช้ ตั ว ชี้ วั ด ประเมิ น พฤติ ก รรมตามค่ า นิ ย มองค์ ก ร PRO-AcTIVE ผ่านระบบประเมินผลการปฏิบัติง าน (Performance Appraisal System : PAS)
กิจกรรม Welcome Newcomer กิจกรรมต้อนรับพนักงานใหม่ในวันแรกของ การทำ�งานผ่านกิจกรรม Welcome Newcomer มีวตั ถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้สึกดีๆ ของพนักงานใหม่ รวมถึงเป็น การสร้างการรับรูเ้ กีย่ วกับค่านิยมองค์กร การใช้ชวี ติ ประจำ�วัน ภายในธนาคาร อาทิ การได้รจู้ กั เพือ่ นร่วมงาน การแนะนำ� ร้านอาหารบริเวณใกล้เคียงกับสถานที่ทำ�งาน เพื่อให้ พนักงานใหม่มคี วามเข้าใจและตระหนักถึงความสำ�คัญอัน จะนำ�ไปสูก่ ารปรับใช้ในชีวิตการทำ�งาน กิจกรรมส่งเสริมค่านิยมองค์กรในหลักสูตรปฐมนิเทศ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างค่านิยมองค์กรร่วม กับการจัดหลักสูตรปฐมนิเทศในรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านบทบาทสมมติ (Action Learning)
การพัฒนาศักยภาพพนักงาน ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากร และการเรียนรู้ของพนักงานในทุกระดับ ได้แก่ ผู้บริหาร ระดับสูง (Executive) ผู้บริหาร (Management) ผู้บริหาร ระดับกลาง (Middle Management) หัวหน้างาน (Supervisor) เจ้าหน้าที่ (Officer) โดยส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพให้มี ความรู้ ความสามารถ และทักษะให้สอดคล้องกับภาระหน้าที่ ตามตำ�แหน่ง พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้พนักงานได้พัฒนา ความสามารถให้เต็มศักยภาพทัง้ การพัฒนาตนเอง การฝึกอบรม ในรูปแบบต่างๆ โดยหลักการพัฒนาทรัพยากรบุคคลยังเป็น สาระสำ�คัญในการพิจารณาความก้าวหน้า (Career Path) ของพนักงาน ั นาศักยภาพพนักงานโดยการ ธนาคารได้พฒ จั ด ให้ มี ก ารเรี ย นรู้ ต ามแผนการฝึ ก อบรมประจำ � ปี ซึ่งประกอบด้วยประเภทการเรียนรู้ ดังนี้ 1. Functional Program 2. Compliance Program 3. Work System Program 4. Leadership Development Program 5. Event & Meeting โดยเป็นแผนการเรียนรู้เริ่มตั้งแต่พนักงาน เริ่มปฏิบัติงานกับธนาคารในวันแรกจนกระทั่งผ่านพ้น ระยะการทดลองงาน รวมถึงการพัฒนาความรู้ ทักษะ ความสามารถและ Soft Skill ต่างๆ ที่มีความสำ�คัญและ จำ�เป็นต่อการทำ�งานในตำ�แหน่งต่างๆ เช่น หลักสูตรมาตรฐาน การบริหารกิจการสาขาตามตำ�แหน่งต่างๆ หลักสูตรมาตรฐาน สินเชื่อที่เป็นพื้นฐานความรู้ของพนักงาน
รายงานประจำ�ปี 2559
153
นอกจากนีย้ งั มีหลักสูตรพัฒนาผูบ้ ริหาร ซึง่ อยู่ในหมวดหมู่การเรียนรู้ Leadership development Program ได้แก่ 1. Supervisory Development Program 2. Management Development Program 3. Executive Development Program ทัง้ 3 หลักสูตรเป็นหลักสูตรพัฒนาพนักงาน ตั้งแต่ระดับหัวหน้างานและผู้บริหาร โดยเริ่มตั้งแต่ระดับ ผูจ้ ดั การแผนก ผูจ้ ดั การส่วน รองผูอ้ �ำ นวยการ ผูอ้ �ำ นวยการ จนถึงผู้บริหารระดับสูง โดยรูปแบบการเรียนรู้จะเป็น แบบผสมผสาน คือ Lecture, Workshop, Best Practice, Problem Based, Company Case และ Discussion นอกจากนี้ได้สง่ เสริมการเรียนรูว้ ธิ อี นื่ ๆ อีก เช่น Keynote Speaker, Company Visit, Self-Initiative Program ทั้งหมดจะถูกออกแบบเป็นวิธีการเรียนภายในหลักสูตร เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีที่หลากหลายและ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้มากที่สุด แผนสืบทอดตำ�แหน่ง ธนาคารได้เตรียมความพร้อมในการจัดเตรียม แผนสืบทอดผู้บริหาร (Succession Plan) โดยในปี 2559 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้อนุมัติ นโยบาย และวิธกี ารจัดทำ�แผนสืบทอดตำ�แหน่ง ครอบคลุม การกำ�หนดหลักเกณฑ์ แนวทาง วิธกี าร
154
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
การสื่อสารและการสร้างความภาคภูมิใจในองค์กร ธนาคารให้ความสำ�คัญในการสื่อสารและ การสร้างความภาคภูมิใจในองค์กร โดยจัดให้มีสื่อและ ช่องทางในการสือ่ สารภายในองค์กรทีห่ ลากหลาย เพือ่ ให้ มัน่ ใจว่าพนักงานได้รบั รูแ้ ละเพือ่ แลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสาร ภายในองค์กรได้อย่างทัว่ ถึง นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพือ่ สร้างความมีสว่ นร่วม สร้างความภาคภูมใิ จ และเสริมสร้าง บรรยากาศในการทำ�งานที่ดีภายในองค์กร ธนาคารถือว่าการสือ่ สารเป็นปัจจัยสำ�คัญใน การขับเคลือ่ นองค์กร การหล่อหลอม และสร้างการมีสว่ นร่วม ในการสร้างองค์กรให้ยง่ั ยืน และได้จดั ทำ�กลยุทธ์และแผน การสื่ อ สาร โดยมี ค วามหลากหลายครอบคลุ ม ทั้ ง การสื่อสารภายใน และภายนอกองค์กร (ดังภาพ)
สร้างการตระหนักรู้ผ่านช่องทางการสื่อสาร ธนาคารได้ให้ความสำ�คัญในการดูแลและ พัฒนาศักยภาพพนักงานผ่านการสื่อสารภายในองค์กร โดยใช้ชอ่ งทางการสือ่ สารทีห่ ลากหลายเพือ่ อำ�นวยความสะดวก ในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและสร้างการสือ่ สารทีต่ อ่ เนือ่ ง ดังนัน้ การสร้างการตระหนักรูจ้ งึ ใช้แนวทางการบริหารเนือ้ หา และช่องทางการสือ่ สาร (Content & Channel Management) เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ในการสร้างการรับรูแ้ ละสร้างทัศนคติ ในค่านิยมร่วมกัน โดยแบ่งตามประเภทของสือ่ เป็น 2 แบบ คือ สื่อออนไลน์ และสื่อออฟไลน์ ดังนี้ 1. สื่อออนไลน์ ได้แก่ LH Bank People Intranet, LH Bank People Voice, LH Bank People TV, Line, Facebook เป็นต้น • LH Bank People Intranet : เป็นแหล่ง ข้อมูลข่าวสารทีพ่ นักงานสามารถเข้าถึงได้ มีทงั้ ความรูท้ วั่ ไป ข่าวสารประชาสัมพันธ์ ต่ า งๆ นอกจากนี้ ยั ง เป็ น แหล่ ง รวม ความคิดเห็นของพนักงานในการแสดง ความคิดเห็นเรือ่ งต่างๆ เพือ่ นำ�มาวิเคราะห์ และพัฒนาต่อไป อาทิ การกด Like, Comment, Vote • LH Bank People Voice: รายการวิทยุ เพื่ อ สื่ อ สารภายในองค์ ก รให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ของพนักงาน โดยส่งเสริมให้พนักงาน ได้มสี ว่ นร่วมในการเป็นผูด้ �ำ เนินรายการ • Social Media: Line, Facebook เป็นอีก หนึ่งช่องทางของการสื่อสารเกี่ยวกับ การรับสมัครงาน และข้อมูลข่าวสารต่างๆ ภายในธนาคาร ซึง่ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ ทีด่ ีให้คนภายนอกได้รจู้ กั องค์กรมากขึน้
2. สื่อออฟไลน์ ได้แก่ กิจกรรมที่สื่อสาร เสริมสร้างความภาคภูมใิ จ ความมีสว่ นร่วม ความสัมพันธ์ระหว่างธนาคารและพนักงาน อาทิ กิจกรรม Zone Visit, Staff Activity, กิจกรรมมอบเข็มเกียรติคุณอายุง าน ครบ 10 ปี เป็นต้น • Zone Visit: เป็นกิจกรรมทีม่ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ สือ่ สารทิศทางนโยบายของธนาคาร และเป็นการกระชับความสัมพันธ์ระหว่าง พนักงานทีป่ ฏิบตั งิ านประจำ�อยูใ่ นสาขาต่างๆ ทั่วประเทศ อีกทั้งเป็นการเสริมสร้าง คุณภาพชีวติ ให้แก่พนักงาน (Care & Share) นับว่าเป็นอีกหนึง่ ช่องทางทีส่ ามารถเข้าถึง กลุ่มพนักงานได้ง่ายที่สุด
รายงานประจำ�ปี 2559
155
• Staff Activities : เป็นกิจกรรมที่เป็น นโยบายของธนาคาร เพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนให้หน่วยงานทำ�กิจกรรมร่วมกัน เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ เสริมสร้างความผูกพัน ความสามัคคี • การมอบเข็ ม เกี ย รติ คุ ณ ปฏิ บั ติ ง าน ครบ 10 ปี: เพื่อเป็นการเสริมสร้าง ข วั ญ และกำ � ลั ง ใจแก่ พ นั ก งาน และ แ สดงความยิ น ดี กั บ พนั ก งานที่ ร่ ว ม เติบโตไปกับธนาคาร
คุณภาพชีวิตที่ดี เพือ่ สร้างคุณภาพชีวติ ทีด่ แี ก่พนักงาน ธนาคาร ได้ ใ ห้ ค่ า ตอบแทนและสวั ส ดิ การที่ เ หมาะสม รวมทั้ ง ดูแลสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำ�งานที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้พนักงานมีความสุขในการทำ�งาน สุขภาพที่ดี
เพือ่ สร้างสุขภาพทีด่ ี ธนาคารได้จดั กิจกรรม และบริการต่างๆ เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพที่ดี อาทิเช่น • การตรวจสุขภาพประจำ�ปี และการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ • จัดให้มหี อ้ งพยาบาลทีเ่ ปิดให้บริการทุกวัน ในวันและเวลาทำ�การ โดยมีพยาบาล วิ ช าชี พ ประจำ � อยู่ ที่ ห้ อ งพยาบาล เพือ่ ให้การปฐมพยาบาลพนักงานยามเจ็บป่วย เบือ้ งต้น ซึง่ ในห้องพยาบาลจะมีเตียงพัก Digital Handbook เพื่อให้พนักงานนอนพักชั่วคราวเมื่อ มีอาการป่วยเล็กน้อย และมีอุปกรณ์ ธนาคารได้จดั ทำ�คูม่ อื พนักงาน ประกอบด้วย การปฐมพยาบาล วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร มาตรฐานการบริการ • การปรับปรุงสวัสดิการให้เหมาะสมกับ และจรรยาบรรณธุรกิจในรูปแบบ Digital Handbook สถานการณ์ปจั จุบนั รวมทัง้ ด้านสุขภาพ และความปลอดภัยของพนักงาน Digital Learning ธนาคารได้พฒั นาช่องทาง และพัฒนาหลักสูตร การเรียนรูเ้ พือ่ ให้พนักงานเรียนรูผ้ า่ นระบบ Digital Learning อาทิ หลักสูตร All about LH Bank หลักสูตร We are LH Bank หลักสูตร Risk Management หลักสูตร Compliance หลักสูตร Product & Service หลักสูตร IT Security หลักสูตร IT Helpdesk หลักสูตร Internal Control และหลักสูตรผู้แนะนำ�การลงทุน เป็นต้น สำ�หรับหลักสูตร We are LH Bank เป็น หัวข้อการเรียนรู้เกี่ยวกับค่านิยม PRO-AcTIVE และ ได้ก�ำ หนดให้พนักงานทุกคนได้เรียนรูเ้ พือ่ เป็นแนวทางให้ สามารถนำ�ไปปฏิบัติเป็นพฤติกรรมในการทำ�งาน และ พนักงานทดลองงานทุกคนต้องเข้าเรียนและผ่านการทดสอบ Pre-test, Post-test ก่อนได้รับการบรรจุเป็นพนักงาน
156
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
สุขภาพใจที่ดี ธนาคารได้จดั กิจกรรมเพือ่ สร้างความรูส้ กึ ทีด่ ี ให้กับพนักงาน โดยมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพใจที่ดี ดังนี้ • กิจกรรม Welcome Newcomers เพื่อ เป็นการต้อนรับและสร้างความรู้สึกที่ดี ให้แก่พนักงานใหม่ • แบบสอบถาม How are you สำ�หรับ พนักงานระหว่างช่วงทดลองงาน เพื่อ รับทราบความรู้สึกและความคิดเห็นที่ มีต่องาน สภาพแวดล้อมในการทำ�งาน และองค์กร • กิจกรรม Zone visit โดยมีวัตถุประสงค์ คือ Share & Care เพือ่ สอบถามความเป็นอยู่ ของพนักงานสาขาและสิ่งที่ต้องการให้ สำ�นักงานใหญ่สนับสนุน ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ดี สวัสดิการที่ดีเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อขวัญและ กำ�ลังใจในการทำ�งาน ธนาคารสร้างระบบค่าตอบแทนและ สวัสดิการที่เหมาะสมและเป็นธรรม เพื่อให้พนักงานมี คุณภาพชีวิตที่ดี โดยธนาคารให้สวัสดิการต่างๆ ดังนี้ • เครื่องแบบพนักงาน • กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ • การรักษาพยาบาล ทันตกรรม และ การตรวจสุขภาพ • ประกันชีวิตและประกันสุขภาพกลุ่ม • สินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย และสินเชือ่ รถยนต์ สภาพแวดล้อมที่ดีและความปลอดภัยในการทำ�งาน ธนาคารให้ความสำ�คัญในการสร้างสภาพ แวดล้อมในการทำ�งานทีด่ ี เพือ่ ให้พนักงานมีความปลอดภัย ในการทำ�งาน ธนาคารได้ตงั้ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อมในการทำ�งาน (SHE : Safety Healthy Environment) เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อน นโยบายและแผนความปลอดภัยและสุขชีวอนามัยให้ พนักงานมีความปลอดภัยขณะทำ�งาน ดังนี้
• การสือ่ สารให้ความรูแ้ ละสร้างความเข้าใจ เกีย่ วกับความปลอดภัยในสถานทีท่ �ำ งาน ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ • การซ้อมหนีไฟประจำ�ปี • การจัดตัง้ SHE Hotline เพือ่ รับแจ้งเหตุ ความไม่ปลอดภัยต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ พร้อม ดำ�เนินการประสานงานกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อทำ�การช่วยเหลือ • CARE Project กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ในด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน ธนาคาร ได้ มี ก ารจั ด ตั ว แทนหน่ ว ยงานในการเป็ น ผู้ นำ � หนี ไ ฟ มีการฝึกซ้อม อบรมผู้นำ�หนีไฟ การติดตั้งผังทางหนีไฟ นอกจากนี้ ธนาคารได้จัดให้มีการสื่อสารด้านสุขภาพและ ความปลอดภัย รวมถึงการจัดทำ�คู่มือเพื่อให้พนักงาน ได้ศกึ ษาทำ�ความเข้าใจและรับทราบข้อมูลสวัสดิการต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์แก่ตนเองและครอบครัว มีการสื่อสาร กระตุ้นเตือนเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจส่งผลต่อสุขภาพและ ความปลอดภัยในช่วงเวลาทีเ่ กิดเหตุการณ์หรือภาวะไม่ปกติ ตลอดจนช่วงระยะเวลาวันหยุดประเพณีมีวันหยุดติดต่อ กันหลายวัน
6. ความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค เนื่องจากธุรกิจการเงินเป็นธุรกิจที่อิงกับ ภาวะเศรษฐกิจการเงินของประเทศ จึงทำ�ให้ผลกระทบ ของการดำ�เนินธุรกิจสามารถส่งผลต่อการขับเคลื่อน เศรษฐกิจและการลงทุนต่างๆ ในวงกว้างกว่าธุรกิจประเภทอืน่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) จึงกำ�หนด มาตรฐานการดำ�เนินงานของธนาคารให้มีประสิทธิภาพ ควบคู่ ไ ปกั บ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมโดยเฉพาะ ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคที่ถือเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่ธนาคารให้ความสำ�คัญเป็นอันดับต้นๆ
รายงานประจำ�ปี 2559
157
ธนาคารคำ � นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ แ ละ สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าเป็นสำ�คัญ โดยนำ�เสนอ ผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพและสามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าในทุกระดับ มีการพัฒนาด้านต่างๆ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความคล่ อ งตั ว ในการใช้ บ ริ การของลู ก ค้ า มี การนำ � เสนอข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ การที่ ชัดเจน ถูกต้องแม่นยำ�เพื่อลูกค้าสามารถใช้ประกอบ การตัดสินใจ รวมทัง้ มีชอ่ งทางการค้นหาข้อมูลผลิตภัณฑ์ ที่หลากหลายและสามารถเข้าถึงได้ง่าย เพื่อให้ลูกค้า สามารถเข้าถึงข้อมูลเพือ่ ศึกษารายละเอียดผลิตภัณฑ์หรือ รายการส่งเสริมการขายที่สนใจ สิทธิของผู้บริโภค 1. สิทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
ธนาคารได้ ป ระกาศสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานของ ผู้บริโภคเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับรู้ถึงสิทธิที่พึงได้รับจากการ ใช้บริการของธนาคารผ่านช่องทางเว็บไซต์ของธนาคาร ดังนี้
ผลิตภัณฑ์
บุคลากรหรือกระบวนการ
• ผู้บริโภคต้องได้รับชี้แจงถึงความแตกต่างระหว่าง ผลิตภัณฑ์หลักของธนาคารพาณิชย์ กับผลิตภัณฑ์ ด้านหลักทรัพย์และประกันภัยที่ชัดเจน • ผู้บริโภคต้องได้รับข้อมูลรายละเอียดผลิตภัณฑ์ ความเสี่ยง เงื่อนไข ผลตอบแทน เช่น ในรูปแบบ ของ APR (Annual Percentage Rate) หรือ IRR (Internal Rate Return) และสมมติฐานที่เกี่ยวข้อง • ผู้บริโภคต้องได้รับข้อมูลการโฆษณาหรือการใช้สื่อ ทางการตลาดในการส่งเสริมการขายอย่างถูกต้อง และเหมาะสม
• ผู้บริโภคต้องได้รับเอกสารสรุปข้อมูลลำ�คัญ ประกอบการเสนอขายผลิตภัณฑ์ด้านหลักทรัพย์ และด้านประกันภัย (Fact Sheet) ที่ระบุลักษณะ พิเศษและความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์ด้วยถ้อยคำ�ที่ กระชับเข้าใจง่าย ตามรูปแบบของสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย เพื่อประกอบ การตัดสินใจในการซื้อผลิตภัณฑ์์
2. สิทธิที่จะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์และ บริการทางการเงินได้อย่างอิสระ
3. สิทธิที่จะร้องเรียนเพื่อ ความเป็นธรรม
4. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณา ค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย
158
สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภค
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
• ผู้บริโภคมีสิทธิตัดสินใจลงทุนอย่างอิสระและ สามารถปฏิเสธการซื้อผลิตภัณฑ์ด้านหลักทรัพย์ และด้านประกันภัยได้ • ผู้บริโภคมีสิทธิปฏิเสธการซื้อผลิตภัณฑ์ด้าน หลักทรัพย์และด้านประกันภัยควบคูก่ บั ผลิตภัณฑ์ ของธนาคารพาณิชย์ และธนาคารพาณิชย์ต้องให้ สิทธิแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้อหรือไม่ซื้อ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว • ผู้บริโภคมีสิทธิให้คำ�ยินยอมหรือปฏิเสธการ เปิดเผยข้อมูล ตามเอกสารหนังสือให้ความยินยอม ซึ่งแยกออกจากสัญญาการซื้อผลิตภัณฑ์ • ผู้บริโภคมีสิทธิร้องเรียนทุกสาขาของธนาคาร พาณิชย์ที่ขายผลิตภัณฑ์ด้านหลักทรัพย์และ ด้านประกันภัย (Point of Sale) โดยต้องได้รบั หลักฐานว่าธนาคารพาณิชย์ได้รับเรื่อง ร้องเรียนแล้ว • ผู้บริโภคสามารถสอบถามข้อมูลเพื่อให้เกิด ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์จากศูนย์ข้อมูล ผู้บริโภค (Call Center) ของธนาคารผู้ขาย • ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับการชดเชยตามความ เหมาะสม หากพิสูจน์แล้วว่าธนาคารพาณิชย์ ไม่ได้ปฏิบัติตามแนวนโยบายการขาย ผลิตภัณฑ์ที่ดี โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้ผู้บริโภคได้รับความเสียหาย
การปฏิบัติต่อผู้บริโภค ธนาคารได้ด�ำ เนินการด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมในกระบวนการหลัก (CSR-in-Process) มาอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยการยึดแนวปฏิบตั ติ ามนโยบายความรับผิดชอบ ต่อสังคมเพือ่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืนของธนาคาร และ พัฒนาต่อยอดให้เกิดนวัตกรรมทางธุรกิจจนกลายเป็นกิจกรรม ทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการทำ�งาน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตลอดจน มาตรฐานการบริการต่างๆ ทัง้ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ลดผลกระทบ ด้านลบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้เสียของธนาคารใน ทุกมิติควบคู่ไปกับการสร้างจิตสำ�นึกและทัศนคติท่ีดีใน ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมให้ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง องค์ กรตั้ ง แต่ คณะกรรมการธนาคาร ผู้บริหารและพนักงาน ธนาคารได้พัฒนากระบวนการทำ�งานตาม นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืน โดยกำ�หนดระเบียบและคู่มือปฏิบัติงานที่ เป็นมาตรฐาน เน้นการแบ่งแยกหน้าที่ของพนักงานใน แต่ละหน่วยงานอย่างเหมาะสม มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน ที่ชัดเจน มีระบบงานที่รวดเร็ว มีความถูกต้องแม่นยำ� มีการควบคุมการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การจัดเก็บหลักฐานการทำ�รายการและเอกสารสำ�คัญเกีย่ วกับ การให้บริการไว้ในทีป่ ลอดภัย มีระบบงานทีท่ �ำ ให้พนักงาน และหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องมีความเข้าใจทีถ่ กู ต้องตรงกัน ช่วยลดข้อผิดพลาด สามารถตรวจสอบ ติดตามและ ประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อผลประโยชน์ สูงสุดของลูกค้าผู้รับบริการเป็นสำ�คัญ อาทิเช่น - การดู แ ลบั ญ ชี เ งิ น ฝากออมทรั พ ย์ แ ละ บัญชีเงินฝากกระแสรายวันที่ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว ติดต่อกันเกินกว่า 1 ปี ธนาคารจะแจ้งยอดเงินคงเหลือ และเงื่อนไขการตัดชำ�ระค่าบริการรักษาบัญชี ให้ลูกค้า รับทราบล่วงหน้า 30 วัน - การติดตามทวงหนีแ้ ละบริหารหนี้ ผูต้ ดิ ตามหนี้ ต้องแสดงตัวต่อลูกค้าโดยแจ้งชื่อและวัตถุประสงค์ ใน การติดต่อให้ลูกค้าได้รับทราบอย่างถูกต้องเหมาะสมและ ในกรณีทผ่ี ตู้ ดิ ตามหนีต้ ดิ ต่อกับลูกค้าโดยตรง (Face to Face) ต้องแสดงเอกสาร ซึง่ แสดงให้เห็นว่าตนได้รบั อนุญาตจาก ธนาคารให้ติดตามทวงถามหนี้แทนด้วย รวมทั้งธนาคาร ได้กำ�หนดเวลาและความถี่ ในการติดตามทวงถามหนี้ ที่เหมาะสมไม่รบกวนช่วงเวลาที่เป็นส่วนตัว ดังนี้
• วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 8.00-20.00 น. • วันหยุดราชการ เวลา 8.00-18.00 น. - การเผยแพร่ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ครบถ้วนตามความเป็นจริงเพื่อประกอบการตัดสินใจ ของผู้บริโภค ไม่บิดเบือน แสดงรายละเอียดเงื่อนไขที่ เข้าใจง่าย ไม่สร้างความสับสน มีการเปิดเผยข้อตกลงและ เงื่อนไขการให้บริการให้ลูกค้าทราบและมีวิธีปฏิบัติ ใน การให้ลูกค้าแสดงการยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขก่อน การตัดสินใจใช้บริการ - การเผยแพร่ประกาศอัตราดอกเบี้ยและ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ล่วงหน้าก่อนทีจ่ ะมีการเปลีย่ นแปลง เพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ทราบประกอบการตัดสินใจในการใช้บริการ ซึ่งการเผยแพร่จะกระทำ�โดยการติดประกาศที่ทุกสาขา ผ่านเว็บไซต์ของธนาคาร www.lhbank.co.th ซึ่งใน ประกาศจะระบุอตั ราดอกเบีย้ ตามวงเงินและประเภทลูกค้า รายละเอียดและเงือ่ นไขของผลิตภัณฑ์นน้ั ๆ ไว้อย่างชัดเจน เพื่อลูกค้าสามารถใช้ประกอบการตัดสินใจได้เป็นอย่างดี ธนาคารมีชอ่ งทางการสือ่ สารทีห่ ลากหลาย สามารถเข้าถึงได้งา่ ยเพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ข้อมูลข่าวสารสามารถ ดูรายละเอียดของผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคารได้ อย่างสะดวกรวดเร็วและทั่วถึง ซึ่งช่องทางการเผยแพร่ ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคาร แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ • สื่อ Off-Line ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ประเภท ต่างๆ ที่อยู่ตามสาขาของธนาคารและ สื่ อ ภ า ย น อ ก ร ว ม ถึ ง จ ด ห ม า ย Direct mail ที่ส่งตรงถึงลูกค้า • สือ่ On-Line ได้แก่ สือ่ ผ่านช่องทางตู้ ATM , LCD , Website , Line , Facebook , Youtube , วิทยุ , โทรทัศน์ รวมถึง บริการแจ้งเตือนความเคลื่อนไหวของ การทำ�รายการ “SMS Alert” ธนาคารจัดให้มพี นักงานทีม่ คี วามรูเ้ กีย่ วกับ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารเพื่ อ สามารถให้ ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและลดการติดขัดในการใช้บริการเพือ่ สร้างความพึงพอใจให้แก่ลกู ค้า โดยธนาคารมีหน่วยงานทีเ่ ป็น Call Center ที่ ใ ห้ บ ริ การปรึ ก ษาตลอด 24 ชั่ ว โมง โทร. 0 2359 0000
รายงานประจำ�ปี 2559
159
ธนาคารจัดให้มชี อ่ งทางการรับเรือ่ งร้องเรียน แนะนำ� ติชม โดยมีหน่วยงานทีเ่ ป็นอิสระในการรับข้อร้องเรียน และดำ�เนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน มีการจัดเก็บ ข้ อ มู ล เพื่ อ นำ � มาพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านและ การให้บริการให้ดียิ่งขึ้น โดยธนาคารได้เปิดช่องทาง การรับเรื่องเรียนหลายช่องทาง ได้แก่ • สำ�นักงานใหญ่ / สาขาของธนาคาร • ทางโทรศัพท์ Contact Center โทร. 0 2359 0000 • Website: www.lhbank.co.th • Official Facebook Fanpage
ลูกค้าด้วยวิธีการที่ได้มาตรฐาน มีกระบวนการเก็บข้อมูล ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน และโปร่งใส โดยธนาคารจะนำ�ข้อมูลที่ ได้รับมาใช้ใน การพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคาร ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่มได้ อย่างถูกต้อง และเพื่อเพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้า
การวิจัยและวัดระดับความพึงพอใจของลูกค้า
1. ประเภทบริการ 1. ให้บริการเฉพาะเปิดบัญชีเงินฝาก, ฝาก/ถอนเงินจากบัญชีเงินฝาก และ ปิดบัญชีเงินฝาก 2. เปิดบัญชีเงินฝากได้เฉพาะประเภท ออมทรัพย์ และฝากประจำ� 3. ถอนเงินฝากและการปิดบัญชีเงินฝาก ได้เฉพาะสาขาเจ้าของบัญชี
การเปิดบัญชีสำ�หรับผู้พิการทางสายตา
ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการเข้าถึงบริการ ทางการเงินของประชาชนทุกกลุม่ อย่างทัว่ ถึง โดยธนาคาร ได้เปิดให้บริการแก่ผู้พิการทางสายตาให้สามารถเข้าถึง ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการดูแลข้อมูลที่ บริการทางการเงินได้เหมือนกับคนปกติ ดังนี้ เป็นความลับของลูกค้าโดยไม่น�ำ ข้อมูลของลูกค้าไปเปิดเผย เว้นแต่ได้รบั ความยินยอมจากลูกค้าเป็นลายลักษณ์อกั ษร
ธนาคารคำ�นึงถึงความพึงพอใจสูงสุดของ ลูกค้าผู้ใช้ผลิตภัณฑ์และบริการ เพื่อให้ได้รับผลิตภัณฑ์ และบริการทีเ่ ป็นธรรม มีคณุ ภาพ ธนาคารได้ให้หน่วยงาน ภายนอกทีม่ ปี ระสบการณ์ท�ำ การวิจยั ความพึงพอใจของลูกค้า และการรับรู้ของประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับ BRAND และ ผลิตภัณฑ์ของธนาคาร เพื่อวัดระดับความพึงพอใจของ
160
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2. เงื่อนไขในการให้บริการ 1. การลงนามในเอกสารการขอใช้บริการ และเงือ่ นไขการสัง่ จ่าย โดยการประทับ ลายนิ้วมือแทนการลงนาม 2. การดำ�เนินการแทนผูพ้ กิ ารทางสายตา 2.1 กรอกเอกสารการขอใช้บริการ 2.2 อ่านรายการทีข่ อใช้บริการ รวมทัง้ ข้อตกลงและเงือ่ นไขในการใช้บริการ 2.3 ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร หรือตรวจนับเงินสด 2.4 ลงนามในฐานะพยานในเอกสาร การขอใช้ บ ริ ก ารและเงื่ อ นไข การสั่งจ่าย โดย 2.4.1 กรณีผู้พิการทางสายตา มี ญ าติ ห รื อ บุ ค คลที่ ไ ว้ วางใจมาด้วย - พยานคนที่ 1 เป็นญาติ หรื อ บุ ค คลที่ ผู้ พิ ก าร ทางสายตาไว้วางใจ - พยานคนที่ 2 เป็น พนักงานสาขาผูใ้ ห้บริการ 2.4.2 กรณีผู้พิการทางสายตา ไม่ มี ญ าติ ห รื อ บุ ค คล ที่ไว้วางใจมาด้วย - พยานคนที่ 1 เป็น พนั ก งานสาขาคนที่ อ่านเอกสารให้ผู้พิการ ทางสายตา - พยานคนที่ 2 เป็น พนั ก งานสาขาคนที่ ก ร อ ก เ อ ก ส า ร ใ ห้ ผู้พิการทางสายตา 3. ผู้ดำ�เนินการแทนผู้พิการทางสายตา 3.1 กรณีผพู้ กิ ารทางสายตามีญาติหรือ บุคคลที่ไว้วางใจมาด้วย • ให้ญาติหรือบุคคลที่ผู้พิการทาง สายตาไว้วางใจดำ�เนินการ 3.2 กรณีผู้พิการทางสายตาไม่มีญาติ หรือบุคคลที่ไว้วางใจมาด้วย
• ให้ พ นั ก งานสาขาดำ � เนิ น การ โดยผู้กรอกเอกสารและผู้อ่าน เอกสารหรื อ ข้ อ ตกลงและ เงื่ อ นไขในการใช้ บ ริ ก าร เป็นคนละคนกัน การเข้าร่วมโครงการเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารศูนย์บาท ตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนตามแผน ยุทธศาสตร์ National e-Payment เห็นชอบให้จดั ทำ�โครงการ บูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคมและการจ่ายเงิน สวัสดิการสังคมทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น ธนาคารเห็นถึงความสำ�คัญต่อความรับผิดชอบ ต่อผูบ้ ริโภค จึงได้เข้าร่วมโครงการเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร ศูนย์บาท สำ�หรับการจ่ายเงินสวัสดิการสังคมและเงินอื่น ในลักษณะเดียวกันกับกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง โดยธนาคารให้บริการเปิดบัญชีเงินฝากด้วยจำ�นวนเงิน ขั้นต่ำ�ศูนย์บาท และยกเว้นค่าธรรมเนียมการรักษาบัญชี ในการเปิดบัญชีสำ�หรับผู้มีสิทธิในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. ผู้มีสิทธิรับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดู เด็กแรกเกิด 2. ผู้มีสิทธิรับเงินค่าป่วยการอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน (อสม.) 3. ผู้มีสิทธิรับเบี้ยความพิการ 4. ผู้มีสิทธิรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ กระบวนการหาข้ อ ยุ ติ แ ละการแจ้ ง ผลให้ ผู้ ร้ อ งเรี ย น รับทราบตามมาตรฐานการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) ตามที่ ส มาคมธนาคารไทยได้ ร่ ว มกั บ ธนาคารพาณิชย์ก�ำ หนดมาตรฐานการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) เพือ่ กำ�หนดระยะเวลาดำ�เนินการ ของบริการทางการเงินต่างๆ สำ�หรับลูกค้าบุคคลธรรมดา รายย่อย โดยครอบคลุมบริการด้านสินเชื่อ ด้านเงินฝาก ด้านบัตรอิเล็กทรอนิกส์ และด้านบริการทั่วไป เพื่อเป็น การยกระดับมาตรฐานการให้บริการทางการเงิน ตลอดจน กำ�หนดมาตรฐานในการรับและดูแลเรื่องร้องเรียนของ ลูกค้าซึ่งจะเป็นการช่วยลดเรื่องร้องเรียน รายงานประจำ�ปี 2559
161
ธนาคารได้กำ�หนดมาตรฐานการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) ซึ่งเป็นความมุ่งมั่น ของธนาคารที่ จ ะให้ บ ริ การอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพและ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าได้รับ บริการที่สะดวก รวดเร็ว และทราบถึงการดำ�เนินงานของ ธนาคาร ซึ่งมาตรฐานการให้บริการดังกล่าวได้คำ�นึงถึง ความต้องการและครบถ้วนของข้อเท็จจริงและ/หรือข้อมูล รวมถึงความร่วมมือของลูกค้า ทั้งนี้ธนาคารได้เผยแพร่มาตรฐานการให้ บริการ (Service Level Agreement : SLA) ไว้บนเว็บไซต์ ของธนาคาร www.lhbank.co.th ประกอบด้วยบริการ ทางการเงิน 5 ด้าน ดังนี้ 1. ดา้ นการรับและดูแลเรือ่ งร้องเรียน ได้แก่ - การยื น ยั น การรั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น ผ่านช่องทางการร้องเรียนต่างๆ - การแจ้งข้อยุติหรือความคืบหน้าใน การดำ�เนินการเพือ่ แก้ไขเรือ่ งร้องเรียน สำ�หรับทุกช่องทางการร้องเรียน 2. ดา้ นสินเชือ่ สำ�หรับลูกค้าบุคคลธรรมดา รายย่อย ได้แก่ - การไถ่ถอนหลักประกัน - การโอนกรรมสิทธิ์ให้ผเู้ ช่าซือ้ รถยนต์/ รถจักรยานยนต์เมือ่ ชำ�ระหนีเ้ สร็จสิน้ - การพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ก า ร อ อ ก ห นั ง สื อ ยื น ยั น ก า ร ชำ�ระหนี้เสร็จสิ้น - การขอตรวจสอบสถานะบัญชีสนิ เชือ่ 3. ด้านเงินฝาก ได้แก่ - การทำ � ธุ ร กรรมฝาก/ถอนเงิ น สด ผ่านเครื่อง ATM/CDM กรณีภายใน ธนาคารเดียวกัน และกรณีตา่ งธนาคาร แต่เกิดข้อผิดพลาด ไม่ได้รบั เงินหรือ ยอดเงินไม่ตรงกับที่ทำ�รายการ - การทำ�ธุรกรรมโอนเงินผ่านช่องทาง อิเล็กทรอนิกส์ ATM/CDM/Internet/ Mobile Banking แต่เกิดข้อผิดพลาด ระบบขัดข้องไม่ได้รับเงิน - การขอตรวจสอบรายการโอนเงิ น ผิดบัญชี กรณีภายในธนาคารเดียวกัน และกรณีต่างธนาคาร
162
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
4. ด้านบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ - การอายัดบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ บัตรเอทีเอ็มและบัตรเดบิต - การทักท้วงการชำ�ระเงินของผูถ้ อื บัตรเดบิต 5. ด้านบริการทั่วไป ได้แก่ - การขอข้อมูลประเภทต่างๆ สำ�หรับ ลูกค้าบุคคลธรรมดารายย่อย เกีย่ วกับ การคำ�นวณดอกเบี้ยสินเชื่อ/เช่าซื้อ สำ�หรับข้อมูลย้อนหลังไม่เกิน 12 เดือน และรายการเดินบัญชีเงินฝาก (Bank Statement) สำ�หรับข้อมูลย้อนหลัง ไม่เกิน 6 เดือน
7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) และธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีเจตนารมณ์ ทีจ่ ะดำ�เนินธุรกิจควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คม โดยยึ ด มั่ น ในหลั ก จริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ และ การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี การดำ�เนินกิจกรรมเพือ่ สังคมจะ มุง่ เน้นการมีสว่ นร่วมของพนักงานด้วยจิตอาสา เพือ่ ปลูกฝัง จิตสำ�นึกกับการรับผิดชอบต่อสังคม ธนาคารได้เข้าไปมีบทบาทในการสนับสนุน กิจกรรมเพื่อสังคมตามวาระและโอกาสต่างๆ โดยมุ่งหวัง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคมและชุมชนและดำ�เนิน กิจกรรมต่างๆ ทีส่ ร้างสรรค์ อำ�นวยประโยชน์และสนับสนุน กิ จ กรรมของหน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน รวมทั้ ง การบริจาคหนังสือหรือน้�ำ ดืม่ แก่องค์กรสาธารณกุศลต่างๆ การดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสังคมเพื่อช่วยเหลือและส่งเสริม คุณภาพชีวิตของเยาวชนและสังคมไทยด้วยมุ่งหวังว่า จะร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของการส่งเสริมสังคมไทยให้เข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างรากฐานสังคมของประเทศให้ยั่งยืน กิจกรรมเพื่อสังคมที่ดำ�เนินการแบ่งออก เป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านการศึกษา 2. ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 3. ด้านศิลปวัฒนธรรม
- เพื่ อ เพิ่ ม กำ � ลั ง ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ที่ มี คุณภาพและมีศักยภาพให้แก่สังคม - เพื่อดำ�เนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ การศึกษานับเป็นพื้นฐานของความสำ�เร็จ ในทุกๆ ด้าน ธนาคารจึงให้ความสำ�คัญของการส่งเสริม ตอบแทนและช่ ว ยเหลื อ สั ง คมและ ด้านการศึกษา การพัฒนาความรู้ ความสามารถและ ประเทศชาติโดยรวม คุณภาพของเยาวชนไทยมาอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ การให้ผบู้ ริหาร ลักษณะของทุนการศึกษา และพนักงานมีสว่ นร่วมในการบริจาคหนังสือเพือ่ ส่งเสริม - เป็นทุนทีใ่ ห้กบั นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ความรู้ให้แก่ผู้ต้องขังในโครงการ “ส่งหนังสือ สื่อความรู้ สู่ กรมราชทั ณ ฑ์ ” อี ก ทั้ ง ธนาคารได้ จั ด ทำ � โครงการ ตอนต้นและตอนปลาย ที่มีผลการเรียน สะสมดีเด่นและมีความประพฤติดี “LH Bank สนับสนุนทุนการศึกษาทั่วประเทศ” - แบ่งพืน้ ที่ให้ทนุ การศึกษาผ่านเครือข่าย สาขาของธนาคาร 6 ภูมิภาค - แบ่งจำ�นวนโรงเรียน 2 โรงเรียน/ 1 โซน ระดั บ ชั้ น ม.1-ม.6 ชั้ น ละ 1 ทุ น รวมจำ�นวน 12 โรงเรียน ทุนการศึกษา 72 ทุน
1. ด้านการศึกษา
LH Bank มอบหนังสือให้แก่กรมราชทัณฑ์ เพื่อใช้เป็นสื่อ การเรียนรู้และพัฒนาตนเองของผู้ต้องขัง
• โครงการ “LH Bank สนับสนุนทุนการศึกษา” ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำ�คัญของการศึกษาและการพัฒนาเยาวชน ทีจ่ ะเป็นกำ�ลังหลักและแรงขับเคลือ่ นทีส่ �ำ คัญของประเทศ ในระยะยาว ธนาคารจึงดำ�เนินโครงการ LH Bank สนับสนุน ทุนการศึกษา จำ�นวน 72 ทุนทัว่ ประเทศ เพือ่ เยาวชนทีเ่ รียนดี มีความสามารถ มีความมุ่งมั่นที่จะศึกษาต่อในระดับชั้น ที่ สู ง ขึ้ น แต่ ข าดแคลนทุ น ทรั พ ย์ ไ ด้ มี โ อกาสศึ ก ษาต่ อ เพือ่ เป็นการปลูกฝังค่านิยมให้เยาวชนเห็นคุณค่าและความสำ�คัญ ของการศึกษา อีกทั้งเป็นการเพิ่มทรัพยากรมนุษย์ที่มี คุณภาพอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ในการดำ�เนินการ - เพือ่ สร้างโอกาสทางการศึกษา ให้กบั เยาวชน ทีเ่ รียนดี มีความสามารถ มีความประพฤติดี แต่ยากจน - เพือ่ ปลูกฝังค่านิยมให้เยาวชนเห็นคุณค่า และความสำ�คัญของการศึกษา
คุณสมบัติของผู้ที่ได้รับทุนการศึกษา - มีภูมิลำ�เนาอยู่ในประเทศไทย - อายุตั้งแต่ 11 ปี - 18 ปีบริบูรณ์ - เป็นผูด้ อ้ ยโอกาสเนือ่ งจากครอบครัวยากจน หรือขาดบุพการีโดยอยู่ในอุปการะของ บุคคลอื่นซึ่งผู้มีอุปการะมีฐานะยากจน หรือเป็นผูท้ อี่ ยู่ในความดูแลอุปถัมภ์ของ สถานสงเคราะห์หรือมูลนิธิต่างๆ - เป็นผูม้ คี วามประพฤติดอี ยูใ่ นระเบียบวินยั ธนาคารให้เครือข่ายสาขาของธนาคารทีอ่ ยู่ ในพื้นที่ 6 ภูมิภาคทั่วประเทศ สรรหาโรงเรีย นและ เด็กนักเรียนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและตรงตามเงื่อนไข ที่จะได้รับทุนการศึกษาและได้คัดเลือกโรงเรียนดังนี้ - โรงเรียนบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี - โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (น้อมเกล้า) นนทบุรี จังหวัดนนทบุรี - โรงเรียนบางกะปิ จังหวัดกรุงเทพมหานคร - โรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ - โรงเรียนกัลยาณวัตร จังหวัดขอนแก่น - วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด - โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี - โรงเรียนโพธิสมั พันธ์ทพิ ยาคาร จังหวัดชลบุรี รายงานประจำ�ปี 2559
163
- โรงเรียนสตรีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต - โรงเรียนวัฒนโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ - โรงเรียน อบจ.เมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต - โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน1) จังหวัดลำ�ปาง
โรงเรียนอนุบาลแม่เมาะ (ชุมชน1) จังหวัดลำ�ปาง
โรงเรียนกัลยาณวัตร จังหวัดขอนแก่น
โรงเรียน อบจ.เมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
โรงเรียนโพธิสัมพันธ์ทิพยาคาร จังหวัดชลบุรี
2. ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ธนาคารสนับสนุนโครงการที่ช่วยส่งเสริม ด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมมาอย่างต่อเนือ่ ง การร่วมสนับสนุน กิจกรรมกับสมาคมหรือมูลนิธติ า่ งๆ โดยการเปิดรับบริจาค เงินผ่านตู้ ATM และผ่านเคาน์เตอร์ LH Bank ทุกสาขา ทั่วประเทศ การเชิญชวนผู้บริหาร พนักงานธนาคาร และ ลูกค้า ร่วมบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ รวมไปถึงการร่วมกิจกรรมสนับสนุนการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ เพื่ อ กระตุ้ น ให้ สั ง คมไทยร่ ว มมื อ กั น ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ
164
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
• ด้านสังคม ธนาคารเปิดรับบริจาคเงินผ่านตู้เอทีเอ็มให้ กับองค์กรสาธารณะต่างๆ เช่น โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ และมูลนิธิส่งเสริมอาชีพคนตาบอด มูลนิธิพระครูบาน้อย เขมปัญโญ เป็นต้น
การเข้ า ร่ ว มโครงการสนั บ สนุ น สิ น เชื่ อ ดอกเบี้ ย ต่ำ � เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชือ่ ดอกเบีย้ ต่�ำ เพือ่ ช่วยเหลือ ผูป้ ระกอบการ SMEs เพือ่ เพิม่ โอกาสผูป้ ระกอบการ SMEs สามารถเข้าถึงสินเชื่อมากขึ้น ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศ การลงทุน และสร้างเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ ในประเทศ
การออกมาตรการช่วยเหลือลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจาก อุทกภัยน้ำ�ท่วมในพื้นที่ภาคใต้ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีความห่วงใยประชาชนและลูกค้าธนาคารที่อยู่ในพื้นที่ ประสบภัยน้ำ�ท่วมในหลายจังหวัดของภาคใต้ ธนาคารจึง ได้ให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ แก่ผู้ประสบภัย อาทิ การเชิญชวนผู้บริหาร พนักงาน และลูกค้าผู้มีอุปการคุณ ร่วมบริจาคเงิน การมอบน้ำ�ดื่มเพื่อนำ�ไปช่วยเหลือและ บรรเทาความเดือนร้อนแก่ผู้ประสบภัย อีกทั้งธนาคารได้ ออกมาตรการช่วยเหลือลูกค้าทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ เช่น การเพิม่ วงเงินสินเชือ่ การยืดระยะเวลาหรือการปรับลดจำ�นวนเงิน ผ่อนชำ�ระ มาตราการช่วยเหลือของธนาคารในครั้งนี้ จะช่วยบรรเทาความเดือดร้อนให้กบั ลูกค้าได้ในระดับหนึง่ พอสรุปได้ดังนี้
• ด้านสิ่งแวดล้อม การเข้าร่วมโครงการปล่อยกู้เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ อนุรักษ์พลังงาน ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับกระทรวงพลังงาน ลงนามข้อตกลงความร่วมมือ โครงการปล่อยกูเ้ งินทุนหมุนเวียนเพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน เพื่อลดการนำ�เข้าพลังงานในระยะยาว และทำ�ให้เกิด การใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่งการสนับสนุนโครงการในครั้งนี้ ยึดหลักความยั่งยืน เป็นสำ�คัญ กลุ่มลูกค้ารายย่อย 1) พกั ชำ�ระเงินต้นสูงสุดนาน 12 เดือน หรือ ขยายระยะเวลาการผ่ อ นชำ � ระสู ง สุ ด 12 เดือน และปรับลดอัตราการผ่อนชำ�ระ 2) ให้วงเงินสินเชื่อ O/D ระยะเวลา 5 ปี และไม่ต้องชำ�ระเงินต้นสูงสุด 6 เดือน โดยปีที่ 1 อัตราดอกเบี้ย MLR-1% ปี ที่ 2-5 อัตราดอกเบี้ย MLR เพื่อนำ�ไป ปรับปรุง ฟื้นฟูที่อยู่อาศัย หรือสถาน ประกอบการ รายงานประจำ�ปี 2559
165
กลุ่มลูกค้าธุรกิจ 1) พักชำ�ระหนี้เงินต้นนานสูงสุด 12 เดือน หรือขยายระยะเวลาการผ่อนชำ�ระหนี้ สู ง สู ด 12 เดื อ น และปรั บ ลดอั ต รา การผ่อนชำ�ระ
สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี (สอ.ดย.) ในการจัดทำ�โครงการ รู้เก็บ รู้ใช้ สบายใจ อย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมาเพือ่ ให้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการทางการเงินส่วนบุคคลและปลูกฝัง วินัยทางการเงินให้แก่แกนนำ�นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสถาบันการศึกษาในจังหวัดนครปฐม และได้รว่ มมือกับ
LH Bank บริจาคน้ำ�ดื่มช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยภาคใต้
LH Bank บริจาคเงินเพื่อนำ�ไปช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยภาคใต้
• ด้านกิจกรรมรวมพลังจิตอาสาเพื่อพัฒนาสังคม
LH Bank ร่วมบริจาคโลหิตกับสภากาชาดไทย
2) เพิม่ วงเงินสินเชือ่ O/D 20% ของวงเงิน เดิมไม่เกิน 10 ล้านบาท เพือ่ เสริมสภาพ คล่องในการดำ�เนินธุรกิจให้วงเงินสินเชือ่ เพื่อปรับปรุง ฟื้นฟูธุรกิจ ระยะเวลา 3 ปี ดอกเบีย้ ปีแรก 5% ปีท่ี 2-3 MLR-1% และไม่ตอ้ งชำ�ระเงินต้นสูงสุด 6 เดือน
LH Bank ร่วมกับ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ และ กระทรวงการคลัง จัดทำ�โครงการบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยยากไร้และจัดซื้อ อุปกรณ์ทางการแพทย์
ภาคี อื่ น ได้ แ ก่ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ศู น ย์ คุ้ ม ครองผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารทางการเงิ น ธนาคาร แห่งประเทศไทย (ศคง.) สำ�นักงานป้องกันและปราบปราม การทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ (ป.ป.ช.) และเครื อ ข่ า ยเพื่ อ น กระบวนกร เพื่ อ ร่ ว มกั น สร้ า งความเปลี่ ย นแปลงที่ ดี • การส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของ เชิงทัศนคติและพฤติกรรมให้เกิดกับเยาวชนกลุม่ เป้าหมาย
เยาวชนไทย ธนาคารเล็งเห็นถึงเยาวชนไทยคืออนาคต ของชาติและจะทำ�อย่างไรให้เยาวชนเป็นคนเก่งและเป็นคนดี ธนาคารจึงได้รว่ มกับชมรม CSR สมาคมธนาคารไทย และ สภาองค์การพัฒนาเด็กและเยาวชนในพระบรมราชูปถัมภ์
166
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ผลสำ�เร็จการดำ�เนินโครงการ (1) พัฒนาทักษะการให้ความรู้ทางการเงิน แก่เยาวชนในหลักสูตร “4 รูส้ คู่ วามมัง่ คัง่ ” ให้กบั วิทยากรของธนาคารสมาชิกสมาคม ธนาคารไทยทัง้ 15 แห่ง ได้ 84 คน และ สร้างวิทยากร 10 คนให้เป็นผู้ถา่ ยทอด ความรู้ เ รื่ อ งภั ย ทางการเงิ น ซึ่ ง เป็ น หลักสูตรของ ศคง. (2) ให้ความรู้ด้านการวางแผนทางการเงิน ส่วนบุคคล ส่งเสริมวินยั ทางการเงิน และ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม เรื่องการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ อย่างบูรณาการ แก่แกนนำ�นักศึกษาระดับปริญญาตรี จำ�นวน 312 คน และอาจารย์ผู้ดูแล นักศึกษา 35 คน ในสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 7 แห่งในจังหวัดนครปฐม (3) แ กนนำ � นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า รั บ การอบรม จำ�นวน 191 คน พัฒนาศักยภาพตนเอง เป็นผูเ้ ผยพร่ความรูแ้ ละคุณธรรมทีไ่ ด้รบั การปลูกฝังจากโครงการ (Peer Educator) ไปสู่เพื่อนนักศึกษาและชุมชนรอบข้าง ผ่านการทำ�กิจกรรมขยายผล 25 กิจกรรม (4) พัฒนาคู่มือแกนนำ�นักศึกษาให้มีความ เหมาะสมสำ�หรับแกนนำ�นักศึกษานำ�ไป ใช้เผยแพร่ความรู้และคุณธรรม (5) พั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งภาค การธนาคารกับสถาบันการศึกษาและ ชุ ม ชนรอบข้ า งในจั ง หวั ด นครปฐม ให้ดขี นึ้ ผ่านการดำ�เนินโครงการดังกล่าว (6) ให้ความรู้กับนักเรียนระดับประถมและ มัธยมศึกษา ที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกับ สาขาธนาคาร
ในการปลูกฝังความรูด้ า้ นการวางแผนทางการเงิน การสร้างวินยั ทางการเงิน และคุณธรรมเรือ่ งการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ อย่ า งบู ร ณาการให้ กั บ สั ง คมตั้ ง แต่ ร ะดั บ เยาวชนเพื่ อ ร่วมสร้างรากฐานทางเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืนให้กับ สังคมในอนาคต เพือ่ เป็นการรณรงค์เสริมสร้างวินยั ทางการเงิน ให้แก่เยาวชนที่เป็นแกนนำ�จากมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อ พัฒนาศักยภาพแกนนำ�ให้มบี ทบาทในการรณรงค์เผยแพร่ ด้านวินยั ทางการเงิน อันเป็นการนำ�ความรู้ ความเชีย่ วชาญ และทักษะของภาคธนาคาร ในการสร้างประโยชน์แก่ ชุมชนและสังคมเพื่อตอบสนองเจตนารมย์ของธนาคารที่ เล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการสร้างทุนทางปัญญาให้กับ สังคมเพื่อพัฒนาสังคมให้เป็นสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ในฐานะสมาชิกของชมรม CSR สมาคมธนาคารไทยได้ ให้ ค วามร่ ว มมื อ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในการดำ � เนิ น โครงการ รู้ เ ก็ บ รู้ ใ ช้ สบายใจ ด้ ว ยตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ
รายงานประจำ�ปี 2559
167
• โครงการส่งเสริมการดำ�เนินธุรกิจที่เป็น มิตรกับผู้สูงอายุ ในอีก 5 ปี ข้างหน้าประเทศไทยกำ�ลังจะก้าว เข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุโดยสมบูรณ์ (Complete Aged Society) โดยจะมีประชากรผู้สูงอายุจำ�นวน 1 ใน 5 ของประชากร ทั้งหมด ซึ่งนอกจากจำ�นวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นแล้วปัจจัย ด้านเศรษฐกิจสังคม ทีเ่ ปลีย่ นไปมีสว่ นทำ�ให้ภาคธุรกิจต้อง ปรับเปลีย่ นกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจเพือ่ ให้สามารถเข้าถึง ความต้องการและพฤติกรรมการบริโภคและการใช้ชีวิต ของกลุ่มผู้สูงอายุในอนาคต บริ ษั ท เล็ ง เห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการ เปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า ว จึ ง เข้ า ร่ ว มโครงการส่ ง เสริ ม การดำ�เนินธุรกิจทีเ่ ป็นมิตรกับผูส้ งู อายุกบั สถาบันไทยพัฒน์ กรมกิจการผูส้ งู อายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษย์ และภาคเอกชนในการขับเคลื่อนธุรกิจที่เป็น มิตรกับผูส้ งู อายุ (Age-Friendly Business) ภายใต้รปู แบบ CSR-in-process และ Social Enterprise โดยเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2559 บริษัทเข้ารับมอบเกียรติบัตรการ เข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่ายธุรกิจที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ (AGE-FRIENDLY BUSINESS) จากกรมกิจการผูส้ งู อายุ ที่ ร่ ว มกั บ สถาบั น ไทยพั ฒ น์ และมู ล นิ ธิ บู ร ณะชนบท แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
• โครงการส่งเสริมการดำ�เนินธุรกิจที่เป็นมิตร กับผู้สูงอายุ ดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์และบริการสำ�หรับผู้สูงอายุ ธนาคารเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของ การเปลี่ยนแปลงในการที่ประเทศไทยกำ�ลังจะก้าวเข้าสู่ สังคมผูส้ งู อายุโดยสมบูรณ์ ธนาคารเข้าใจในความต้องการ และพฤติกรรมการบริโภคและการใช้ชวี ติ ของกลุม่ ผูส้ งู อายุ ในอนาคต จึงได้ออกผลิตภัณฑ์เงินฝาก เช่น
168
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
- เงิ น ฝากออมทรั พ ย์ คุ้ ม ครองชี วิ ต สำ�หรับลูกค้าบุคคล อายุตง้ั แต่ 15 ปี ถึง 70 ปี ทีม่ อบความ คุ้มครองสูงสุด 25 เท่าของยอดเงินฝากคงเหลือกรณี เสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทวั่ โลก 24 ชัว่ โมง เริม่ ต้นฝากขัน้ ต่�ำ เพียง 1,000 บาท ยิ่งฝากมากยิ่งคุ้มครองมาก ไม่ต้อง ตรวจสุขภาพ ไม่ต้องจ่ายค่าเบี้ยประกัน 2. การจ้างงานพนักงานที่เกษียณอายุ บริษทั ได้ก�ำ หนดแนวทางการบริหารจัดการ บุคคลเพือ่ รองรับสังคมผูส้ งู อายุ โดยได้ก�ำ หนดหลักเกณฑ์ การจ้างงานพนักงานทีเ่ กษียณอายุเพือ่ ให้ปฏิบตั หิ น้าที่ใน ตำ�แหน่งสำ�คัญ ทั้งนี้เพื่อเป็นการเพิ่มอาชีพให้บุคลากรที่ เกษียณอายุแล้วสามารถกลับมาทำ�งานได้อีก อีกทั้งยัง เป็นการทดแทนการขาดแคลนแรงงานอีกด้วย 3. การจ้างผู้สูงอายุเพื่อเป็นวิทยากร ธนาคารได้จัดกิจกรรม My Bank My Love โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ลูกค้าและธนาคารอย่างต่อเนื่อง โดยนำ�เสนอกิจกรรมที่ มีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อลูกค้า ทั้งนี้ ธนาคารได้จ้าง ผูส้ งู อายุทมี่ คี วามเชีย่ วชาญในแขนงต่างๆ มาเป็นวิทยากร เพือ่ ถ่ายทอดความรูแ้ ก่ลกู ค้าธนาคาร ส่งผลให้ลกู ค้าทีม่ า เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำ�ความรู้ที่ ได้รับไปประกอบ อาชีพ อาทิ กิจกรรมทำ�สบู่หอม กิจกรรมทำ�น้ำ�ปรุง กิจกรรมจัดดอกไม้ กิจกรรมเย็บปักถักร้อย กิจกรรมปัน้ ดิน กิจกรรมทำ�ยาดมสมุนไพร เป็นต้น
3. ด้านศิลปวัฒนธรรม ธนาคารได้จัดกิจกรรมตามประเพณีต่างๆ กิ จ กรรมงานวั น เด็ ก เพื่ อ เสริ ม สร้ า งและส่ ง เสริ ม ร่วมกับประชาชนในพืน้ ทีท่ ธ่ี นาคารให้บริการอยู่ อาทิ การ ขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรมร่วมกับชุมชน สนับสนุนกิจกรรมเนื่องในเทศกาลตรุษจีน การสนับสนุน โดยรอบสาขาของธนาคาร
LH Bank พืน้ ทีเ่ ยาวราช ร่วมกิจกรรมงานเทศกาลตรุษจีน โดยมอบส้มมงคลให้กับลูกค้าของธนาคาร
8. การจัดการสิง่ แวดล้อม LH Bank สนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก ณ ห้องสมุดเพื่อ การเรียนรู้ สวนลุมพินี
LH Bank สนับสนุนกิจกรรมวันเด็ก ณ โรงเรียนวัดดิสานุการาม
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำ�คัญของปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยเห็น ว่าการดำ�เนินกิจการต่างๆ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เมือ่ เวลาผ่านไปผลกระทบดังกล่าว ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม และเป็นสาเหตุที่ ก่อให้เกิดมหันตภัยทางธรรมชาติ ซึง่ ทำ�ให้เกิดความสูญเสีย อย่างมหาศาล ธนาคารได้ดำ�เนินมาตรการหลายประการ เพื่ อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการมี ส่ ว นร่ ว มลดปั ญ หามลพิ ษ เพือ่ ช่วยรักษาสิง่ แวดล้อม โดยได้มกี ารรณรงค์การประหยัด พลังงานภายในองค์กรและประหยัดการใช้กระดาษ โครงการ GREEN OFFICE การดำ � เนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆ ของธนาคาร ล้วนต้องใช้ทรัพยากร พลังงาน และก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งขยะและน้ำ�เสีย ธนาคารจึงมีส่วนใน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศอันเป็นสาเหตุ ของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change) และปรากฏการณ์โลกร้อน (Global Warming) ที่กำ�ลัง กลายเป็นวิกฤติดา้ นสิง่ แวดล้อมทีส่ �ำ คัญ และมีผลกระทบ อย่างกว้างขวางทั้งในประเทศและทั่วโลก
รายงานประจำ�ปี 2559
169
ธนาคารได้เห็นความสำ�คัญของการบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี จึงได้มอบหมายให้คณะกรรมการ ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มใน การทำ�งาน ทำ�การศึกษาและพัฒนาแนวปฏิบตั ติ า่ งๆ เพือ่ จัดทำ�โครงการ Green Office ต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2555 โดย สร้างความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการทรัพยากร พลังงานและสิ่งแวดล้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดย มีเป้าหมายให้เกิดการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างคุม้ ค่า มีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับมาตรฐานสำ�นักงานให้เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น และรณรงค์ ให้พนักงาน มีส่วนร่วมในการลดปริมาณการใช้พลังงาน ลดปริมาณ การปล่อยมลภาวะเสียสู่สาธารณะ การดำ�เนินโครงการ GREEN OFFICE 1. เลือกใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 2. ใช้พลังงานแสงสว่างจากธรรมชาติให้ เกิดประโยชน์ 3. การจัดวาง Layout ของสำ�นักงาน 4. ส่งเสริมกิจกรรม 5 ส. 5. ก ารตรวจวั ด ค่ า มาตรฐานแสงสว่ า ง ภายในสำ�นักงาน 6. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในสำ�นักงาน การบริหารจัดการพลังงาน ธนาคารได้บริหารจัดการพลังงานอย่างต่อ เนื่อง ทั้งไฟฟ้าและน้ำ�ประปา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่า มีประสิทธิภาพ อาทิเช่น - การปรับปรุงอาคารสำ�นักงาน อุปกรณ์ สำ�นักงานทีม่ งุ่ ใส่ใจสิง่ แวดล้อม และมุง่ เน้น การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ลดมลภาวะ ลดการใช้พลังงานและลดค่าใช้จ่าย - การลดจำ�นวนอุปกรณ์สำ�นักงานที่เป็น เทคโนโลยี รุ่ น เก่ า และเป็ น อุ ป กรณ์ ที่ สามารถใช้ได้เฉพาะด้าน (Single Function) ทีม่ อี ยูเ่ ดิมลง โดยเปลีย่ นไปใช้เทคโนโลยี ใหม่ๆ ที่ช่วยลดมลภาวะและช่วยลด การใช้พลังงาน ซึ่งจากการดำ�เนินการ โครงการต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2555 ส่งผลให้ สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและ ประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ยอื่ น ๆ ได้ เช่ น
170
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ค่าใช้จา่ ยกระดาษ ค่าใช้จา่ ยในการจัดหา อุ ป กรณ์ สำ � นั ก งานและค่ า ใช้ จ่ า ยใน การซ่อมบำ�รุง รวมทั้งประหยัดพื้นที่ใน การจัดวางอุปกรณ์สำ�นักงาน - ธนาคารเลือกใช้หลอดไฟแบบหลอดผอม ประหยัดพลังงาน หลอดไฟ LED และ หลอดไฟที่ มี วั ต ต์ พ อเหมาะกั บ พื้ น ที่ ขนาดของสายไฟที่เหมาะสม การเลือก ใช้สีโทนอ่อนตกแต่งอาคาร และใช้แสง จากธรรมชาติให้มากที่สุด และเลือกใช้ หัวก็อกน้ำ�ที่ประหยัดน้ำ�
อย่างไรก็ดีปี 2559 ต่อเนื่องถึงปี 2560 ธนาคารมีโครงการเปลีย่ นการใช้หลอดไฟจากหลอดผอม มาเป็ น หลอดไฟ LED ซึ่งจะช่วยลดการใช้พลังงานอีก ประมาณร้อยละ 25 และลดความร้อนจากการแผ่กระจายของ รังสีความร้อนลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับหลอดผอม สำ�หรับโครงการที่ได้ด�ำ เนินการแล้วในปี 2559 ได้แก่ การ เปลี่ยนไฟป้ายหน้าอาคารสำ�นักงานใหญ่ และโครงการ ทีจ่ ะดำ�เนินการในปี 2560 ได้แก่ การเปลีย่ นเป็นหลอดไฟ LED ภายในพื้นที่สำ�นักงานใหญ่ของธนาคาร
ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า ปี 2559 ทั้ ง สิ้ น 1,849,692 หน่วย(kWh) เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 ที่ใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น 1,322,054 หน่วย (kWh) หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 39.91 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปี 2559 มีการใช้ห้องประชุม และพื้นที่อเนกประสงค์ เพื่อ จัดอบรมสัมมนาและทำ�กิจกรรมต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างมาก
ปริมาณการใชไฟฟา (หน�วย) 1,849,692 1,386,123
1,322,054 1,150,900
2559
2558
2557
1,302,955
2556
2555
ปริมาณการใช้น้ำ�ประปา ปริมาณการใช้น้ำ�ประปาปี 2559 ทั้งสิ้น 18,390 ลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 ที่ใช้ น้ำ�ประปาทั้งสิ้น 13,586 ลูกบาศก์เมตร หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 35.36 ปริมาณการใช้น�ำ้ ประปาเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากปี 2559 มีการใช้หอ้ งประชุมและพืน้ ทีอ่ เนกประสงค์ เพือ่ จัดสัมมนา และทำ�กิจกรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
ปริมาณการใชน้ำประปา (ลูกบาศกเมตร) 18,390 13,586
2559
2558
9,399
10,037
10,676
2557
2556
2555 รายงานประจำ�ปี 2559
171
การเปลีย่ นรูปแบบแฟ้มหนังสือเชิญประชุม คณะกรรมการชุดต่างๆ เป็นการบันทึกข้อมูลลงใน iPad ธนาคารเปลี่ยนวิธีการทำ�เอกสารประกอบ การประชุมคณะกรรมมการชุดต่างๆ อาทิ คณะกรรมการ ธนาคาร คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน จากการพิมพ์หนังสือเชิญประชุมและ เอกสารประกอบการประชุมในรูปแบบกระดาษ เปลีย่ นเป็น การบันทึกข้อมูลลงใน iPad ทำ�ให้ปริมาณการใช้กระดาษ ลดลงประมาณเดือนละ 5,000 แผ่น
2. วัดแบบค่าเฉลี่ยของพื้นที่ทั่วไป เป็น การตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างใน บริเวณพื้นที่ทั่วไป เช่น ทางเดิน และ บริเวณพื้นที่ทำ�งาน ผลลัพธ์จากการดำ�เนินโครงการตรวจวัด ความเข้มของแสงสว่างสถานที่ทำ�งาน จากการตรวจวัด ความเข้มของแสงสว่างในหน่วยของลักซ์ (Lux) โดย ทำ�การตรวจวัดตามสภาพความเป็นจริง พบว่าความเข้ม ของแสงสว่างในสถานทีท่ �ำ งานทุกพืน้ ทีข่ องธนาคารเพียงพอ และเป็นไปตามมาตรฐานกล่าวคือ ค่ามาตรฐานอยู่ที่ ไม่น้อยและมากกว่า 400 Lux
ปริมาณการใชกระดาษ (รีม) 21,210
15,680 14,325
14,313
13,780
2559 2558 2557 2556 2555 โครงการบริหารจัดการ Pool Printer โครงการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างสถานที่ทำ�งาน ธนาคารเปลีย่ นรูปแบบการใช้งานของ Printer ธนาคารให้ ค วามสำ � คั ญ ถึ ง อั น ตรายของ แสงสว่างซึ่งมีผลกระทบต่อพนักงาน ในกรณีแสงสว่าง จากเดิมฝ่ายงานต่างๆ ใช้ Printer แบบ Single Function น้อยหรือมากเกินไปจะมีผลเสียต่อนัยน์ตา ทำ�ให้การหยิบจับ เปลี่ยนเป็นแบบ Multi Function (4 in 1) โดยจัดวางให้ เครือ่ งมืออุปกรณ์อาจผิดพลาดทำ�ให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ รวมทัง้ เป็น Pool เพื่อให้ฝ่ายงานต่างๆ ได้ใช้ร่วมกัน ทำ�ให้ ก่อให้เกิดผลทางจิตใจ คือ อาจเบื่อหน่ายในการทำ�งาน ประหยัดปริมาณการใช้ไฟฟ้าและประหยัดพื้นที่ใช้สอย และประสิทธิภาพในการทำ�งานลดลง ตั้งแต่ปี 2557 ธนาคารได้ดำ�เนินโครงการ ปริมาณการใช้กระดาษ ปริมาณการใช้กระดาษปี 2559 จำ�นวน ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างทุกพืน้ ที่ในสำ�นักงาน เพือ่ ดูแลให้พื้นที่ทำ�งานมีแสงสว่างเพียงพอ และจะตรวจวัด 14,325 รีม เพิ่มขึ้นจากปี 2558 จำ�นวน 12 รีม หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.08 ค่าความเข้มของแสงสว่างทุก 3 ปี ขั้นตอนการวัดผลและเก็บข้อมูล 1. วดั ทีจ่ ดุ ทำ�งาน เป็นการตรวจวัดความเข้ม ของแสงสว่างบริเวณทีล่ กู จ้างต้องทำ�งาน โดยใช้ ส ายตาเฉพาะจุ ด หรื อ ต้ อ งใช้ สายตาอยู่กับที่ในการทำ�งาน
172
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
กิจกรรม 5 ส. ธนาคารได้ทำ�กิจกรรม 5 ส. ได้แก่ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และ สร้างนิสยั ซึง่ เป็นกิจกรรม ที่ทำ�ให้สถานที่ทำ�งานและสภาพแวดล้อมการทำ�งาน
สะอาด บุ ค ลากรมี สุ ข ภาพกายและสุ ข ภาพจิ ต ที่ ดี ล ด ก า ร สิ้ น เ ป ลื อ ง ท รั พ ย า กร แ ล ะ ง บ ป ร ะ ม า ณ เพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน โดยกิจกรรม 5 ส. ได้รับ ความร่วมมือจากพนักงานเป็นอย่างดี และธนาคารได้ ดำ�เนินโครงการอย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์จากกิจกรรม 5 ส. 1. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการ สะสาง - ขจัดความสิ้นเปลืองของทรัพยากร - มีพื้นที่ใช้สอยเพิ่มขึ้น - ที่ทำ�งานดูกว้างและโล่ง สะอาดตา ทำ�ให้พนักงานมีสุขภาพจิตที่ดี 2. ผลที่ได้รบั จากขัน้ ตอนการทำ�ให้ สะดวก - ขจัดการค้นหาที่เกิดขึ้นอยู่บ่อยๆ - เพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน - เป็นภาพพจน์ที่ดีของธนาคาร 3. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการทำ�ให้ สะอาด - มีสภาพแวดล้อมที่ดี น่าทำ�งาน - ขจัดความสิ้นเปลืองของทรัพยากร - เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือเครื่องใช้ ลดปัญหาการขัดข้องหรือเสียบ่อย ของอุปกรณ์สำ�นักงาน 4. ผ ลที่ ไ ด้ รั บ จากขั้ น ตอนการทำ � ให้ ถู ก สุขลักษณะ - สถานทีท่ �ำ งานเป็นระเบียบ เรียบร้อย น่าทำ�งาน - สุขภาพที่ดีของพนักงานทั้งร่างกาย และจิตใจ 5. ผลที่ได้รับจากขั้นตอนการ สร้างนิสัย - พนักงานมีทัศนคติที่ดีในการทำ�งาน - ลูกค้าได้รับบริการที่มีคุณภาพ และ สะดวกรวดเร็ว
LH BANK ATM ร่วมลดภาวะโลกร้อน ธนาคารได้มสี ว่ นร่วมในการลดภาวะโลกร้อน โดยเพิ่มทางเลือกให้ลูกค้าที่จะไม่พิมพ์ ใบบันทึกรายการ จากการใช้บริการเครือ่ ง ATM เพือ่ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และช่วยลดภาวะโลกร้อน ผ่านเครือ่ งเอทีเอ็มของธนาคาร ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ธนาคารมีเครื่องเอทีเอ็ม จำ�นวน 203 เครื่อง รวมทั้งลดการใช้กระแสไฟฟ้าของ เครื่องเอทีเอ็มที่อยู่ในห้างสรรพสินค้า โดยปรับลดเวลา เปิด-ปิดระบบไฟฟ้าและแสงสว่างตามเวลาเปิด-ปิดของ ห้างสรรพสินค้า การสือ่ สารเพือ่ รณรงค์ดา้ นความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม ธนาคารได้มุ่งเน้นการสร้างจิตสำ�นึก และ จุ ด ประกายการสร้ า งความมี ส่ ว นร่ ว มในการประหยั ด พลังงานและรักษ์สิ่งแวดล้อม ผ่านช่องทางการสื่อสาร ภายในธนาคารผ่าน Intranet : LH BANK People : คอลัมน์ Pro Eco ซึ่งมีเนื้อหาสาระให้พนักงานสามารถ นำ�กลับไปปฏิบัติได้จริง ทั้งที่บ้านและที่ทำ�งาน อาทิ - ประหยัดน้ำ�ด้วยวิธีง่ายๆ ประหยัดได้ หลายลิตร - 10 วิธีลดจำ�นวนขยะ - ประหยัดพลังงานใกล้ตัวง่ายๆ ฉบับ ชาว Office - วิธีประหยัดน้ำ�สู้วิกฤตภัยแล้ง ขอให้ ตระหนักแต่อย่าตระหนก - ทิ ช ชู่ กั บ เรื่ อ งต้ อ งรู้ ก่ อ นเลื อ กใช้ ตอนทิ ช ชู่ จ ากเยื่ อ กระดาษรี ไ ซเคิ ล ทางเลือกใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
รายงานประจำ�ปี 2559
173
9. นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรม ส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิตประจำ�วัน สามารถให้บริการ อย่างไร้ขอ้ จำ�กัดไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งสถานที่ เวลา ด้วยรูปแบบ จากการดำ�เนินความรับผิดชอบต่อสังคม และมาตรฐานความปลอดภัยเช่นเดียวกันกับการทำ� ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีความมุ่งมั่นในการคิดค้นให้เกิดนวัตกรรมที่สามารถ สร้างประโยชน์ต่อธุรกิจและสังคมไปพร้อมๆ กัน รวมทั้ง ได้สง่ เสริมให้มกี ารพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงิน อย่างต่อเนื่อง เพื่ออำ�นวยความสะดวกและตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า อีกทัง้ เป็นการรองรับกับโลกยุคใหม่ ที่ กำ � ลั ง ขั บ เคลื่ อ นสู่ ก ารปฏิ รู ป เชิ ง ดิ จิ ต อล (Digital Transformation) และนโยบายของรัฐบาลในการดำ�เนิน แผนงานสู่ Digital Economy ซึ่งธนาคารได้ตระหนักถึง ความสำ�คัญนี้ จึงส่งเสริมให้มีการพัฒนานวัตกรรมของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ การทางการเงิ น ในรู ป แบบดิ จิ ต อล เพือ่ ช่วยลูกค้าประหยัดเวลาการเดินทาง ลดค่าใช้จา่ ยและ สะดวกต่อการใช้บริการ
ธุรกรรมผ่านสาขาธนาคาร
บริการธนาคารทางอินเตอร์เน็ต (LH Bank Speedy) เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการทำ�ธุรกรรม ทางการเงินที่สามารถทำ�ธุรกรรมได้ทุกวัน ทุกที่ ทุกเวลา และมีระบบรักษาความปลอดภัยแบบ Double Security ที่ทำ�ให้การทำ�ธุรกรรมทางการเงินมีความมั่นใจ มีเมนูใช้ งานง่ า ย สามารถทำ � รายการโอนเงิ น ภายในธนาคาร โอนเงินต่างธนาคาร ชำ�ระค่าสินค้าและบริการ ชำ�ระสินเชือ่ ตรวจสอบสถานะเช็คหรืออายัดเช็ค รวมถึงตรวจสอบ สถานะทางบัญชี และธนาคารจะส่ง SMS แจ้งผลการ ทำ�ธุรกรรมให้ลูกค้าทราบทุกครั้งที่มีการทำ�รายการผ่าน โทรศัพท์มือถือ
บริการบัตร ATM Chip Card และบัตร Debit Chip Card เป็นบัตรที่มีความปลอดภัยด้วยการใช้ Chip Card ในการบันทึกข้อมูล เพิม่ ความมัน่ ใจในการทำ� ธุ ร กรรมทางการเงิ น บั ต ร ATM Chip Card และ บัตร Debit Chip Card เป็นบัตรทีช่ ว่ ยอำ�นวยความสะดวก ในการทำ�ธุรกรรมทางการเงินที่สามารถทำ�ธุรกรรมได้ ทุกวันตลอด 24 ชัว่ โมง และ บริการของบัตรสามารถถอนเงิน บริการฝาก-ถอน เงินสดทีส่ าขาของธนาคาร โอนเงิน ชำ�ระสินเชื่อ ชำ�ระค่าสินค้าและบริการ เป็นต้น โดยไม่ ต้อ งเขี ย นสลิ ป เป็ น อี ก หนึ่ง บริ ก ารที่ช่ว ยเพิ่ม ความสะดวกให้กบั ลูกค้าให้สามารถทำ�ธุรกรรมได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ บริการบัตร Debit ร่วมกับ UnionPay บริ ก ารทางการเงิ น ผ่ า นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ (LH Bank International เป็ น บั ต รที่ เ พิ่ ม ความสะดวกในการ M Choice) เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการทำ�ธุรกรรม ทำ�ธุรกรรมทางการเงินขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง กล่าวคือ ทางการเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ ซึ่งปัจจุบันเสมือนเป็น
บริ ก ารทางการเงิ น บนรถตู้ เ คลื่ อ นที่ ทีเ่ ปรียบเสมือนสาขาเคลือ่ นทีเ่ ป็นการเพิม่ ช่องทางการให้ บริการทางการเงินแก่ลูกค้าตามจุดต่างๆ เพื่ออำ�นวย ความสะดวกให้ลูกค้า ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายใน การเดินทางไปทำ�ธุรกรรมที่สาขา
174
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
บัตร Debit LH Bank ได้รว่ มกับ UnionPay International ทำ�ให้สามารถนำ�ไปใช้ในต่างประเทศได้ โดยใช้บริการ ผ่านตู้ ATM และ ร้านค้าสมาชิก UnionPay International ที่ให้บริการในหลายประเทศทั่วโลก ภายใต้สัญลักษณ์
ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ธนาคารได้ ประชาสัมพันธ์และสือ่ สารให้ลกู ค้าได้รบั ทราบข้อมูลอย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทั้งต่อลูกค้าและสังคม ธนาคารได้เปิดกว้างและสนับสนุนให้มกี ารคิดค้น สร้ า งสรรค์ และพั ฒ นานวั ต กรรมใหม่ ๆ อั น จะทำ � ให้ เกิดความต่อเนือ่ งของการสร้างนวัตกรรมจากภายในธนาคาร ภายใต้การพัฒนานวัตกรรมอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม รวมถึงสำ�รวจกระบวนการประกอบธุรกิจอยู่เสมอว่าได้ ก่อให้เกิดความเสีย่ งหรือมีผลกระทบทางลบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อมหรือไม่ และหากมีความเสีย่ งหรือมีผลกระทบ ทางลบธนาคารจะรีบดำ�เนินการแก้ไขโดยทันที
บริการ LH Bank PromptPay (พร้อมเพย์) เป็นบริการรับ-โอนเงินรูปแบบใหม่ เพือ่ ลดการพกพาเงินสด โดยการผูกบัญชีเงินฝากของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กับหมายเลขบัตรประชาชนหรือหมายเลขโทรศัพท์มอื ถือ ก็สามารถรับ-โอนเงินได้ง่ายๆ เพียงใช้หมายเลขบัตร ประชาชน หรือหมายเลขโทรศัพท์มือถือ โดยไม่ต้องใช้ เลขทีบ่ ญั ชีเงินฝาก ธนาคารให้บริการ LH Bank PromptPay ผ่าน 4 ช่องทาง ได้แก่ 1. โทรศัพท์มือถือ (LH Bank M Choice) 2. อินเตอร์เน็ตแบงกิ้ง (LH Bank Speedy) 3. ตู้ ATM LH Bank 4. สาขาของธนาคาร
รายงานประจำ�ปี 2559
175
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น บริ ษั ท แม่ ข องกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิน และเป็นบริษัทแม่ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ตามแผนการปรับ โครงสร้างการถือหุ้นที่ได้รับความเห็นชอบจากธนาคาร แห่งประเทศไทย บริษัทไม่ได้ดำ�เนินธุรกิจของตนเอง ดังนั้น การดูแลด้านการควบคุมภายใน บริษัทได้มอบหมายให้ สายงานควบคุมของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผูด้ แู ลและรายงานการปฎิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วกับ การควบคุมภายในต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั อย่างสม่�ำ เสมอ โดยมีนายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการบริษทั เป็นผูด้ แู ลและประสานงานระหว่างบริษทั กับสายงานควบคุม ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีบ่ ริหารจัดการ เพื่ อให้ การทำ � ธุ ร กรรมภายในและภายนอกกลุ่มธุรกิจ ทางการเงินมีการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินได้รายงานการทำ�ธุรกรรมภายในกลุม่ ต่อ คณะกรรมการบริษัท บริษัทดำ�เนินธุรกิจภายใต้กรอบ นโยบาย ระเบียบและวิธีปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษร ทำ�ให้มั่นใจได้ว่าบริษัทบริหารงานตามนโยบายที่กำ�หนด ตลอดจนการกำ�หนดโครงสร้างหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของ คณะกรรมการชุดต่างๆ ที่มีความเหมาะสมเพื่อสามารถ ดำ�เนินงานได้ตามวัตถุประสงค์ การรายงานผลการดำ�เนินงานของบริษัท ในกลุม่ ธุรกิจทางการเงินต่อคณะกรรมการบริษทั ได้กระทำ�ขึน้ อย่างสม่�ำ เสมอพร้อมกับการรายงานแนวโน้ม การประมาณการ และผลการดำ�เนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย คณะกรรมการตรวจสอบ มีบทบาทหน้าที่ ในการเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี โดยพิจารณาถึงคุณสมบัติ และการปฏิบตั งิ านของผูส้ อบบัญชี เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทในแต่และปี รวมถึงค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี เพื่อ เสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งได้สอบทาน งบการเงิน ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบได้เชิญ ผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมเพื่อให้นำ�เสนอประเด็นสำ�คัญ ที่เห็นว่าเกี่ยวข้องกับสภาวะแวดล้อมด้านการควบคุม ภายในและงบการเงินของบริษัท ผู้สอบบัญชีของบริษัท ได้แก่ บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบ
176
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงิ น ปี 2559 ได้ เ สนอรายงานการตรวจสอบ งบการเงินแบบไม่มเี งือ่ นไข นอกจากนี้ การปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการตรวจสอบ ครอบคลุมถึงการพิจารณาคุณสมบัติ และความเหมาะสมของผู้ทำ�หน้าที่หัวหน้างานตรวจสอบ ซึง่ ผ่านการพิจารณากลัน่ กรองจากฝ่ายจัดการ การแต่งตัง้ ถอดถอนและโยกย้ า ยหั ว หน้ า งานตรวจสอบจะได้ รั บ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ได้ระบุไว้ใน กฏบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ การตรวจสอบและการติดตามการปฏิบตั งิ าน โดยสายงานควบคุมของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานซึ่งรายงาน ตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ การตรวจสอบและ การติดตามการปฏิบัติงานได้เน้นความเสี่ยงครอบคลุม การปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ์ แ ละระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของ ทางการ นโยบาย ระเบียบปฏิบตั ิ กระบวนการปฏิบตั แิ ละ จรรยาบรรณในการปฏิบตั งิ าน โดยมีฝา่ ยตรวจสอบ สำ�นัก ตรวจสอบระบบสารสนเทศ สำ�นักกำ�กับธนาคาร และ สำ � นั ก สอบทานการปฏิ บั ติ ง านด้ า นระบบสารสนเทศ ทำ�หน้าที่หลักในการควบคุมภายใน ดังนี้ • ฝ่ายตรวจสอบและสำ�นักตรวจสอบระบบ สารสนเทศ มีหน้าทีต่ รวจสอบและประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน ตรวจสอบและติดตามดูแล การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ กระบวนการปฏิบตั งิ านและจรรยาบรรณในการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ ข้อกำ�หนดตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับของ ทางการ ตรวจสอบระบบการควบคุมภายใน เพือ่ ประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน และความ เหมาะสมของการจัดการความเสีย่ ง ประเมินประสิทธิภาพ ของการบริหารทรัพยากรและประเมินความถูกต้องและ ความน่าเชือ่ ถือของข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลลูกค้า และ กำ�หนดมาตรการป้องกันการนำ�ข้อมูลลูกค้าไปใช้ในทาง ทีไ่ ม่เหมาะสม พร้อมทัง้ เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงการ ปฏิบตั งิ าน และรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ
• สำ�นักกำ�กับธนาคารและสำ�นักสอบทาน การปฏิบัติงานด้านระบบสารสนเทศ มีหน้าทีก่ �ำ กับดูแลการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตาม กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับของทางการที่เกี่ยวข้อง วางระบบการกำ�กับการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามมาตรฐาน สากล สอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และรายงาน ผลการกำ�กับและสอบทานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั อย่างสม่�ำ เสมอ พร้อมทัง้ ติดตาม กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของทางการที่มีการแก้ไข ปรับปรุง
งานในความรับผิดชอบของหัวหน้าผู้กำ�กับดูแลสายงาน ควบคุม ประกอบด้วย 1. งานด้านสอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ 2. งานด้ า นสอบทานการปฏิ บั ติ ต าม กฎเกณฑ์ด้านระบบสารสนเทศ 3. งานด้านสอบทานสินเชื่อ 4. งานด้านตรวจสอบ 5. งานด้านตรวจสอบระบบสารสนเทศ 6. งานด้านตรวจสอบพิเศษและทุจริต
ประวัติหัวหน้าผู้กำ�กับดูแลสายงานควบคุม ชื่อ-สกุล: ตำ�แหน่ง: อายุ (ปี): คุณวุฒิทางการศึกษา: ประวัติการฝึกอบรม
นางสาวชุติมา บุญมี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานควบคุม 64 - พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ปริญญาโท มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - ปัจจัยความสำ�เร็จและแนวทางในการยกระดับมาตรฐานด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในประชาคมอาเซียน : National Institute of Development Administration - Thailand’s 5th National Conference on Collective Action Against Corruption “Tackling Corruption through Public - Private Collaboration” : IOD - Anti - Corruption for Executive Program 4/2012 : IOD - หลักสูตรการกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านสำ�หรับผูร้ บั ผิดชอบสูงสุดในหน่วยงานกำ�กับดูแล การปฏิบตั งิ าน ตามหลักเกณฑ์ส�ำ นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รุน่ ที่ 1/2556 และปี 2558 โดยสมาคมธนาคารไทย - Leadership Program for Managers : CC Knowledge Base Co., Ltd. - Compliance Officer : คณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Certificate to Pacific Rim International Conference The Anti - Money Laundering Office On Money Laundering and Financial Crime : สำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน - Risk Management for Financial Institutions โดยสถาบันคีนนั แห่งเอเชีย - Best Practices in Credit Risk Management & Operational Risk Management : Price Waterhouse Coopers (PwC) - ไม่มี - ไม่มี -
สัดส่วนการถือหุน้ (ร้อยละ) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร: ประสบการณ์ทำ�งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง: การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ไม่มี) ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง เม.ย. 2545 - ต.ค. 2553 ผู้จัดการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายกำ�กับการปฏิบัติงาน การดำ�รงตำ�แหน่งปัจจุบันในบริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1 แห่ง ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง ส.ค. 2556 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานควบคุม มี.ค. 2555 - ส.ค. 2556 ผู้ช่วยสายงานควบคุม พ.ย. 2553 - ก.พ. 2555 ผู้อำ�นวยการสำ�นักอาวุโส สำ�นักกำ�กับธนาคาร
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารนครหลวงไทย ชื่อหน่วยงาน/บริษัท บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
รายงานประจำ�ปี 2559
177
- เสนอผลการตรวจสอบต่อหน่วยงาน ผูร้ บั การตรวจ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหาร ระดับสูง คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริษทั ตามความเหมาะสม - พัฒนาศักยภาพผูต้ รวจสอบให้มคี วามรู้ ความสามารถตามการเปลีย่ นแปลงของ สภาวะเศรษฐกิจสังคม - จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของผู้ตรวจสอบทุกระดับ - ให้คำ�ปรึกษา ข้อคิดเห็นและคำ�แนะนำ� แนวทางในการปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บ คำ�สั่ง และการควบคุมภายใน - ปฏิบตั งิ านต่างๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบงานด้ า นตรวจสอบและ จากคณะกรรมการตรวจสอบ งานด้านตรวจสอบระบบสารสนเทศ - ก�ำ หนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบงานด้านตรวจสอบพิเศษและ ของการตรวจสอบพร้อมทั้ง วางแผน ทุจริต - กำ�หนดให้มกี าร Monitor ธุรกรรมทีผ่ ดิ ปกติ การตรวจสอบ - เสนอผลการวิ เ คราะห์ ง านตรวจสอบ - จัดทำ�และปรับปรุงคู่มือการตรวจสอบ - บริหารงานด้านตรวจสอบ งานด้านตรวจสอบ พิเศษต่อกรรมการผู้จัดการเพื่อทราบ ระบบสารสนเทศ และกำ � กั บ ดู แ ล และประสานงานกับหน่วยงานภายใน การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ บริษัทเพื่อหาแนวทางให้มีการปฏิบัติ - สอบทานการอนุมตั แิ นวทางการตรวจสอบ งานได้อย่างถูกต้องครบถ้วน - เ ส น อ ผ ล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ พิ เ ศ ษ (Audit Program) ประเมินความเพียงพอ และความมีประสิทธิภาพของระบบการ พร้ อ มเอกสารหลั ก ฐานต่ อ กรรมการ ควบคุมภายในเพื่อลดความเสี่ยงและ ผู้จัดการ ผู้บริหารระดับสูงและรายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ คุณภาพของการปฏิบัติงาน - ติดตามความคืบหน้างานตรวจสอบพิเศษ - ประเมินความเชือ่ ถือได้ และความถูกต้อง ของข้ อ มู ล ทางการเงิ น และข้ อ มู ล จำ � นวนพนั ก งานในหน่ ว ยงานตรวจสอบของธนาคาร ด้านปฏิบัติการ - พิจารณาการปฏิบตั งิ านต่างๆ ให้เป็นไป แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด(มหาชน) จำ�นวนพนักงานทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีผ่ ตู้ รวจสอบ ตามนโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ แผนงาน และระเบี ย บปฏิ บั ติ ง าน จำ�นวน 29 คน เป็นผู้ตรวจสอบทั่วไปและสาขาจำ�นวน กฎหมายและระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของ 20 คน และผู้ตรวจสอบระบบสนเทศจำ�นวน 9 คน ทางการที่เกี่ยวข้อง - ก�ำ หนดแนวทางมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน แ ล ะ ส อ บ ท า น ว่ า ผู้ ต ร ว จ ส อ บ ได้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานทีก่ �ำ หนด รวมทัง้ ควบคุมแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ
หน้าที่และความรับผิดชอบงานสอบทานการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ และงานสอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ด้านระบบสารสนเทศ - กำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านของหน่วยงาน ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามแนวปฏิบัติของหน่วยงานทางการ ที่กำ�กับดูแล สอดคล้องกับ BIS April 2005 , FATF 40+9 Recommendations และ BOT : IT Best Practice Phase I และ Phase II - พั ฒ นาระบบบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า น การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
178
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกัน หมายถึง ธุรกรรมหรือ ธุรกิจทีค่ ล้ายคลึง หรือแข่งขันกัน หรือความเกีย่ วข้องอืน่ ใด ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่าง บริษัทกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง การทำ�รายการระหว่างกันที่ บริษทั มีกบั บุคคล/บริษทั ทีม่ คี วามเกีย่ วข้องทัง้ หมด บริษทั จะถือปฏิบัติตามนโยบาย และเงื่อนไขการค้าตามปกติ ธุรกิจ ซึ่งจะเป็นไปตามกระบวนการที่กำ�หนดไว้อย่าง เหมาะสม โปร่งใส และถูกต้องตามเกณฑ์ทก่ี �ำ หนด โดยคำ�นึง ถึงประโยชน์สูงสุดทีบ่ ริษทั และผูถ้ ือหุน้ จะได้รบั เป็นสำ�คัญ นโยบายการบริหารความเสี่ยงในการทำ�ธุรกรรมของ กลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำ�ธุรกรรม ระหว่างกันของบริษัทภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน และ ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับกิจการที่มี ผลประโยชน์เกีย่ วข้อง บริษทั ได้จดั ทำ�นโยบายการบริหาร ความเสีย่ งในการทำ�ธุรกรรมภายในกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และทบทวนเป็น ประจำ�ทุกปี โดยนโยบายครอบคลุมการบริหารความเสีย่ ง สำ�หรับการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ซึ่ง ควบคุ ม การทำ � ธุ ร กรรมประเภทต่ า งๆ ที่ สำ � คั ญ และ นโยบายดังกล่าว ได้ก�ำ หนดให้การทำ�ธุรกรรมใดๆ ระหว่างกัน ภายในกลุ่มต้องไม่มีเงื่อนไขหรือข้อกำ�หนดใดๆ ที่เป็น สาระสำ�คัญที่ต่างจากการค้าปกติทั่วไปที่มีความเสี่ยง ระดับเดียวกัน ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผลของรายการ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย เข้ า ทำ � รายการ ระหว่างกันด้วยความระมัดระวัง โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ สูงสุดของบริษัท บริษัทย่อย และผู้ถือหุ้นเป็นสำ�คัญ การทำ�รายการระหว่างกันของบริษัทและบริษัทย่อยกับ บุคคลที่มีความขัดแย้งทุกรายการ เป็นรายการตามธุรกิจ ปกติ หรือเป็นรายการทีม่ ีความจำ�เป็นและมีความสมเหตุ สมผลเพื่อสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษัทและบริษัทย่อย โดยเงื่อนไขต่างๆ ของรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นจะ ถูกกำ�หนดให้เป็นไปตามเงือ่ นไขการค้าปกติและเป็นไปตาม ราคาตลาด และดำ�เนินการเช่นเดียวกับที่ปฏิบัติกับลูกค้า ทั่วไปที่มีลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
การปฎิบัติงาน และขั้นตอนการอนุมัติ บริษทั ปฏิบตั ติ ามระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และประกาศคณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และรายการ ทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกรรมการ หรือผูบ้ ริหารทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับรายการทีอ่ าจก่อให้เกิด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ต้ อ งไม่ มี ส่ ว นร่ ว มใน การพิจารณาตัดสินใจรายการดังกล่าว และเลขานุการ ที่ประชุมได้จดความเกี่ยวข้องของกรรมการหรือผู้บริหาร เป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรายงานการประชุม ในกรณีทเี่ กิดรายการระหว่างกันจะคำ�นึงถึง ผลประโยชน์ของบริษัทและบริษัทย่อยและผู้ถือหุ้นเป็น สำ�คัญ โดยผ่านขั้นตอนการพิจารณาตามระเบียบปฏิบัติ ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย และผ่ า นคณะกรรมการ ทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นี้ บริษทั ได้มกี ารขออนุมตั ใิ นหลักการเกีย่ วกับ ข้อตกลงทางการค้าทีม่ เี งือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไปในการทำ� ธุรกรรมระหว่างบริษทั และบริษทั ย่อยกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ดังนี้ “บริษทั และบริษทั ย่อย อาจมีรายการระหว่างกันในอนาคต บริษัทจึงขออนุมัติ ในหลักการให้ฝา่ ยจัดการสามารถอนุมตั กิ ารทำ�ธุรกรรมดังกล่าว หากธุรกรรมเหล่านัน้ มีขอ้ ตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับ ที่วิญญูชนจะพึงกระทำ�กับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์ เดียวกัน ด้วยอำ�นาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพล ในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคล ที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริษัทจะจัดทำ�รายงานสรุป การทำ�ธุรกรรม เพื่อรายงานในการประชุมคณะกรรมการ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมีความประสงค์” นอกจากนี้ รายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคตกับบุคคลทีม่ คี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือ มีสว่ นได้เสียใดๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะให้ความเห็น เกีย่ วกับความจำ�เป็นและความเหมาะสมของรายการนัน้ ใน กรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบ ไม่มีความชำ�นาญในการ พิจารณารายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ ใดๆ บริษทั จะให้ ผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระหรือผูต้ รวจสอบบัญชีของบริษทั เป็นผูใ้ ห้ ความเห็นเพื่อใช้ในการตัดสินใจตามแต่กรณี และเมื่อ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นรายการระหว่างกัน แล้ว จะนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ ด้วยมติที่เป็นเอกฉันท์ และจะเปิดเผยรายการระหว่างกัน ที่ สำ � คั ญ ไว้ ใ นหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ที่ ไ ด้ รั บ การตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี รายงานประจำ�ปี 2559
179
นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต บริษัทและบริษัทย่อย มีนโยบายในการทำ� รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั และในอนาคตทีค่ าดว่า จะเกิดขึน้ กับบุคคลทีม่ คี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดย ถือปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับลูกค้าทัว่ ไป ด้วยนโยบายการกำ�หนด ราคา ที่เป็นธรรม และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไปที่ สามารถแข่งขันกับสถาบันการเงินอื่นๆ ได้ โดยผ่าน กระบวนการพิจารณาอนุมัติท่ชี ัดเจน โปร่งใส ยุติธรรม เป็ น ไปตามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ถู ก ต้ อ ง ตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนด และเป็นไปตามอำ�นาจอนุมัติ การทำ�รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคตนัน้ คณะกรรมการบริษทั จะต้องปฏิบตั ิให้เป็นไปตามกฏหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำ � สั่ ง หรื อ ข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย รวมถึงการปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดเกีย่ วกับ การเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการเกี่ยวโยงและการได้มา หรือจำ�หน่ายทรัพย์สินที่สำ�คัญของบริษัท
ปี 2559 บริษทั ไม่มกี ารทำ�รายการกับบุคคล ทีเ่ กีย่ วโยงกันทีม่ ขี นาดรายการอันมีนยั สำ�คัญทีต่ อ้ งเปิดเผย ข้ อ มู ล ตามเกณฑ์ ก ารพิ จารณาของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย รายการธุรกิจกับกิจการ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ปี 2559 บริษัทและบริษัทย่อย มีรายการ ธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รายการ ธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ ที่ตกลงกันระหว่างบริษัท บริษัทย่อย บุคคลและกิจการ ที่เกีย่ วข้องกันเหล่านัน้ เป็นไปตามปกติธรุ กิจ ซึง่ ได้เปิดเผย อยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษทั และบริษทั ย่อย ข้อ 41. โดยมีรายละเอียดของรายการดังกล่าวดังนี้
รายการที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2559 ในระหว่างปี 2559 บริษัทและบริษัทย่อย มีรายการธุรกิจทีส่ �ำ คัญกับบุคคลและบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและ เกณฑ์ท่ีตกลงกันระหว่างบริษัท บริษัทย่อย บุคคลและ บริษัทที่เกี่ยวข้องเหล่านั้น เป็นไปตามปกติธุรกิจ โดย การเปิดเผยข้อมูล บริ ษั ท จะเปิ ด เผยข้ อ มู ล การทำ � รายการ สามารถสรุปได้ดังนี้ ระหว่างกัน รายการที่เกี่ยวโยงกันตามหลักเกณฑ์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไว้ในรายงานประจำ�ปี (หน่วย : ล้านบาท)
ลักษณะความสัมพันธ์
/1
1. บริษัทย่อยทางตรงและทางอ้อมของบริษัท ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด 2. บริษัทและบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทเกินกว่า ร้อยละ 10 ขึ้นไป (“ผู้ถือหุ้นรายใหญ่”) 3. บริษทั ย่อยของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั (ผูถ้ อื หุน้ ตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทและบริษัทย่อย
180
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ลักษณะของรายการ
-ไม่มี-
ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น
งบการเงินรวม มูลค่า นโยบายการกำ�หนดราคา รายการ
-ไม่มี-
24.97 40.43 20.05 0.43
-ไม่มี-
ตามอัตราทีบ่ ริษทั ย่อยจ่ายให้ผฝู้ ากทัว่ ไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราทีบ่ ริษทั ย่อยจ่ายให้ผฝู้ ากทัว่ ไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญาและตาม อัตราที่คิดกับลูกค้าทั่วไป
(หน่วย : ล้านบาท)
ลักษณะความสัมพันธ์
/1
ลักษณะของรายการ
4. บริษทั ร่วมของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั (ผูถ้ อื หุน้ รายได้ค่าธรรมเนียมและ ตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทและบริษัทย่อย ค่าบริการ รายได้เงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น 5. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมการของบริษัทและ รายได้ดอกเบี้ย บริษทั ย่อย และมีธรุ กรรมกับบริษทั และบริษทั ย่อย รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการ รายได้เงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น 6. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทและ บริษัทย่อย
รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการ รายได้เงินปันผล ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
7. บริษัทที่ถูกควบคุมโดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย และบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัทและ บริษัทย่อย 8. กรรมการและผู้บริหาร รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 9. บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน หมายเหตุ
/1
รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
งบการเงินรวม มูลค่า นโยบายการกำ�หนดราคา รายการ 30.26 คิดเป็นอัตราร้อยละจากมูลค่า สินทรัพย์สทุ ธิของกองทุนทีบ่ ริษทั ย่อย บริหารจัดการ 5.24 ตามที่ประกาศจ่ายโดยกองทุนฯ 19.49 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ ผู้ฝากทั่วไป 87.57 ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญาและตาม อัตราที่คิดกับลูกค้าทั่วไป 134.00 ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้า ทัว่ ไปและตามเงือ่ นไขในหนังสือชีช้ วน 2.10 คิดเป็นอัตราร้อยละจากมูลค่าสินทรัพย์ สุทธิของกองทุนที่บริษัทย่อยบริหาร จัดการ 9.22 ตามที่ประกาศจ่ายโดยกองทุนฯ 2.53 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป 14.14 ตามอัตราที่ระบุในสัญญาและตาม อัตราที่คิดกับลูกค้าทั่วไป 9.05 คิดเป็นอัตราร้อยละจากมูลค่า สินทรัพย์สุทธิของกองทุน ที่บริษัทย่อยบริหารจัดการ 6.87 ตามที่ประกาศจ่ายโดยกองทุนฯ 9.83 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป 0.05 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป 0.45 ตามอัตราทีบ่ ริษทั ย่อยคิดกับลูกค้าทัว่ ไป 10.26 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทัว่ ไปและตามเงือ่ นไขในหนังสือชีช้ วน 1.48 ตามอัตราทีบ่ ริษทั ย่อยคิดกับลูกค้าทัว่ ไป 13.24 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทัว่ ไปและตามเงือ่ นไขในหนังสือชีช้ วน
หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41. รายการธุรกิจกับกิจการ/ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
รายงานประจำ�ปี 2559
181
(หน่วย : ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่า ลักษณะความสัมพันธ์ ลักษณะของรายการ นโยบายการกำ�หนดราคา รายการ 1. บริษัทย่อยของบริษัท ซึ่งได้แก่ รายได้ดอกเบี้ย 8.18 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) ทัว่ ไปและตามเงือ่ นไขในหนังสือชีช้ วน รายได้เงินปันผล 932.40 ตามอัตราที่บริษัทย่อยประกาศจ่าย รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น 1.32 ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 8.32 ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้า ทั่วไป ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและ 0.13 ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้า บริการ ทั่วไป 2. บริษทั ร่วมของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั (ผูถ้ อื หุน้ ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น 0.05 ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญาและตาม ตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทและบริษัทย่อย อัตราที่คิดกับลูกค้าทั่วไป 3. บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับกรรมการของบริษทั และบริษทั ย่อย รายได้เงินปันผล 1.54 ตามทีป่ ระกาศจ่ายโดยกองทุน และมีธรุ กรรมกับบริษทั และบริษทั ย่อย /1
หมายเหตุ
/1
หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41. รายการธุรกิจกับกิจการ/ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
ยอดคงค้างระหว่างกัน ยอดคงเหลือของรายการที่บริษัทและบริษัทย่อยมีกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระสำ�คัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีดังต่อไปนี้ (หน่วย : ล้านบาท)
182
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
-
ภาระผูกพัน หนังสือค้ำำประกันธนาคาร
-
หนี้สินอื่น
-
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
-
ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
-
เงินรับฝาก
ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน
1. บริษทั ย่อยทางตรงและทางอ้อม ของบริษัท ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด
ดอกเบี้ยค้างรับ จากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ สินทรัพย์อื่น
ลักษณะความสัมพันธ์/1
เงินลงทุน - ราคาทุน
งบการเงินรวม
-
-
-
-
-
(หน่วย : ล้านบาท)
ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
-
-
8.35
1,597.30
-
0.03 0.20
-
-
-
-
-
1.57
2,148.82
-
0.75 0.01
-
67.20
-
-
-
23.35
2,794.39
-
1.07 0.93 21.18
219.52
-
1.41 2.00 199.25
1,146.78
-
2.35
5. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมการ ของบริษัทและบริษัทย่อยและ มีธุรกรรมกับบริษัทและ บริษัทย่อย 1,641.22 15.81 1,389.60 0.86 5.51 6. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท (ผู้ถือหุ้น ตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับ บริษัทและบริษัทย่อย 91.46 0.77 7. บริษัทที่ถูกควบคุมโดยบุคคลที่ เกีย่ วข้องกับบริษทั และบริษทั ย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัทและ บริษัทย่อย 8. กรรมการและผู้บริหาร 8.11 9. บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 33.20 0.01 รวม 1,799.88 15.81 1,430.91 0.87 39.55 หมายเหตุ
/1
6.89 755.32 28.00 1,015.78 12.50 9,684.80 40.50
-
ภาระผูกพัน หนังสือค้ำำ ประกันธนาคาร
เงินรับฝาก
-
หนี้สินอื่น
สินทรัพย์อื่น
-
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
ดอกเบี้ยค้างรับ จากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
3. บริษทั ย่อยของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั (ผูถ้ อื หุน้ ตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทและ บริษัทย่อย 4. บริษทั ร่วมของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั (ผูถ้ อื หุน้ ตามข้อ 2.) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทและ บริษัทย่อย
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
2. บริษทั และบุคคลทีเ่ ป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษัทเกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไป (“ผู้ถือหุ้นรายใหญ่”)
ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน
ลักษณะความสัมพันธ์/1
เงินลงทุน - ราคาทุน
งบการเงินรวม
-
- 1.62 0.03 1.77 9.00 3.17 220.43
หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41. รายการธุรกิจกับกิจการ/ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
รายงานประจำ�ปี 2559
183
(หน่วย : ล้านบาท)
ดอกเบี้ยค้างจ่ายจากรายการ ธนาคารและตลาดเงิน (หนี้สิน)
เจ้าหนี้จากการซื้อหลักทรัพย์
หนี้สินอื่น
ภาระผูกพัน หนังสือค้ำำ ประกันธนาคาร
-
-
415.00
0.03
-
0.30
-
-
-
-
415.00
0.03
-
-
0.79
-
-
-
รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน (หนี้สิน)
ดอกเบี้ยค้างรับ จากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
31.96 536.98 169.76
0.79
ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน
536.98 137.80
-
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
1. บริษทั ย่อยทางตรงและทางอ้อม ของบริษัท ได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด และบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จำ�กัด 2. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมการ ของบริษัทและบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัทและ บริษัทย่อย รวม
เงินลงทุน - ราคาทุน
ลักษณะความสัมพันธ์/1
รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน (สินทรัพย์)
งบการเงินรวม
0.30
หมายเหตุ /1 หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 41. รายการธุรกิจกับกิจการ/ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
184
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ
จำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายไพโรจน์ เฮงสกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการตรวจสอบ โดยมีนางสาวชุติมา บุญมี ทำ�หน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามขอบเขต ความรับผิดชอบทีร่ ะบุไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง นี้ ปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ จั ด ประชุ ม รวมทั้ ง สิ้ น 12 ครั้ ง และได้ รายงานผลการประชุม พร้อมให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัททราบทุกครั้ง เพื่อให้มีการดำ�เนินการในเรื่องที่เห็นสมควร สรุปสาระสำ�คัญดังนี้ • รายงานทางการเงิน สอบทานงบการเงินประจำ�ไตรมาส ประจำ�งวดครึง่ ปี และประจำ�ปีของบริษทั ทีจ่ ดั ทำ�ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน เพื่อพิจารณาความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลความเพียงพอของการเปิดเผยข้อมูลตลอดจน ผลการตรวจสอบความเสี่ยงที่สำ�คัญ นอกจากนี้ ได้พิจารณาผลประกอบการของบริษัทเป็นประจำ�ทุกเดือน และจัดให้มีการประชุมกับผู้สอบบัญชี เพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่และ การแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชี รวมทั้งผู้สอบบัญชีได้รายงานประเด็นที่พบจากการตรวจสอบต่อ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาในทุกประเด็นแล้ว • การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน สอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยพิจารณาจากรายงานการตรวจสอบภายในและ รายงานของผูส้ อบบัญชี เพือ่ ประเมินความเพียงพอเหมาะสมและความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน • การกำ�กับดูแลการปฏิบัติตามกฏเกณฑ์ สอบทานการดำ�เนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั รวมถึงนโยบายการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ (Compliance Policy) ทีบ่ ริษทั กำ�หนดเป็นพืน้ ฐานและแนวทางให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนถือปฏิบตั ิ • ผู้สอบบัญชีภายนอก พิจารณาคุณสมบัติและการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทในการแต่งตั้ง ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ในแต่ละปี รวมถึงค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี เพือ่ เสนอขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทัง้ นี้ รายชือ่ ผูส้ อบบัญชีทจี่ ะเสนอเพือ่ พิจารณาแต่งตัง้ เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั จะต้องเป็นผูส้ อบบัญชีที่ได้รบั ความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย ปี 2559 ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ได้แก่ บริษทั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบงบการเงินปี 2559 ได้เสนอรายงานผลการตรวจสอบงบการเงินแบบไม่มีเงื่อนไข • รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีความโปร่งใส สมเหตุสมผลและปกป้อง ผลประโยชน์ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงินและผูถ้ อื หุน้ และพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั โดยเฉพาะกรณี ที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน ในการดำ � เนิ น งานตามบทบาทหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายโดยรวม คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ นว่ า รายงานทางการเงินของบริษทั มีการจัดทำ�อย่างถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และมีการเปิดเผยข้อมูลเหมาะสมและเพียงพอ ผู้ ส อบบั ญ ชี ภายนอกที่ ทำ � หน้ า ที่ ต รวจสอบงบการเงิ น ของบริ ษั ท มี ค วามเป็ น อิ ส ระและปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ยี่ ย งผู้ ป ระกอบวิ ช าชี พ บริษทั มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะกับการดำ�เนินธุรกิจ มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง กับการดำ�เนินธุรกิจ (นายไพโรจน์ เฮงสกุล) ประธานกรรมการตรวจสอบ รายงานประจำ�ปี 2559
185
รายงานคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ซึง่ ประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่ 1. นายอดุลย์ วินยั แพทย์ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3. นายสมศักดิ์ อัศวโภคี กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมีนายเรืองศักดิ์ วิทวัสการเวช
ทำ�หน้าทีเ่ ลขานุการ
กรรมการทุกท่านไม่ได้เป็นผูบ้ ริหารของบริษทั และประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เป็นกรรมการอิสระ ปี 2559 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้มีการประชุมจำ�นวน 1 ครั้ง โดยกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เข้าร่วมประชุมครบทุกท่าน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้มีการ พิจารณาวาระหลักๆ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ได้แก่ • การสรรหากรรมการทีค่ รบวาระ • การทบทวนหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ให้มหี น้าที่ เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม ได้แก่ การเสนอแนะวิธีการประเมินผลการทำ�งานของกรรมการบริษัทและคณะกรรมการบริษัท • การกำ�หนดกรอบค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม และเงินบำ�เหน็จ สำ�หรับคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น • การพิจารณาหลักการจัดสรรเงินบำ�เหน็จกรรมการ
(นายอดุลย์ วินยั แพทย์) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
186
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงิน เฉพาะบริษัท งบการเงินรวมของบริษัท รวมถึงสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฎในรายงานประจำ�ปี งบการเงิน ดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติ อย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญเกี่ยวกับนโยบายการบัญชี และ เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงินอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นประโยชน์ ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีและดำ�รงรักษาไว้ซึ่งระบบบริหารความเสี่ยงและการควบคุม ภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลเพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วน และ เพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ เป็นกรรมการอิสระ ดูแลรับผิดชอบ เกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปี งบการเงินของบริษทั ได้รบั การตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตจากบริษทั สำ�นักงาน อวี าย จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชี ในการตรวจสอบบริษัทได้ให้การสนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถ ตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินโดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏใน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปี คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ ในระดับที่มี ความเหมาะสม เพียงพอ และสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชือ่ ถือได้ของงบการเงินเฉพาะบริษทั วันที่ 31 ธันวาคม 2559
(นายอนันต์ อัศวโภคิน) ประธานกรรมการ
(นางศศิธร พงศธร) กรรมการผูจ้ ดั การ
รายงานประจำ�ปี 2559
187
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบกำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของเจ้าของรวม และงบกระแสเงินสดรวมสำ�หรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน และ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม รวมถึง หมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทสี่ �ำ คัญ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และผลการดำ�เนินงาน และกระแสเงินสดสำ�หรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกันของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะของ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ ในส่วนของความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็น อิสระจากกลุม่ บริษทั ตามข้อกำ�หนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีทกี่ �ำ หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณอืน่ ๆ ตามทีร่ ะบุในข้อกำ�หนดนัน้ ด้วย ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าหลักฐานการสอบบัญชีทขี่ า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสมเพือ่ ใช้เป็น เกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ที่มีนัยสำ�คัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของ ข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการเงินสำ�หรับงวดปัจจุบนั ข้าพเจ้าได้น�ำ เรือ่ งเหล่านีม้ าพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบ งบการเงินโดยรวม และในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสำ�หรับ เรื่องเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้ในส่วนของความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้ด้วย การปฏิบัติ งานของข้าพเจ้าได้รวมวิธกี ารตรวจสอบทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ตอบสนองต่อการประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้อมูลที่ ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมวิธีการตรวจสอบ สำ�หรับเรื่องเหล่านี้ด้วย ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม
188
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธีการตรวจสอบสำ�หรับแต่ละเรื่องมีดังต่อไปนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 10 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริษัทมีเงินให้ สินเชื่อแก่ลูกหนี้จำ�นวน 141,162 ล้านบาท (คิดเป็นอัตราร้อยละ 66.5 ของยอดสินทรัพย์รวม) และ ค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญจำ�นวน 3,086 ล้านบาท ซึ่งเป็นจำ�นวนที่มีนัยสำ�คัญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้บันทึก โดยการประมาณผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้มีปัญหาในการจ่ายชำ�ระคืนและพิจารณาถึงช่วงเวลาที่ควร จะรั บ รู้ ป ระมาณการผลขาดทุ น ดั ง กล่ า ว โดยอ้ า งอิ ง ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ กำ � หนดโดยธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ซึง่ ต้องอาศัยข้อสมมติหลายประการ ดังนัน้ ผูบ้ ริหารจำ�เป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ อย่างสูงในการพิจารณาข้อสมมติดงั กล่าว ข้าพเจ้าจึงให้ความสำ�คัญกับการตรวจสอบความเพียงพอของค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบความเพียงพอของค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ โดย 1. ทำ�ความเข้าใจกระบวนการบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของกลุ่มบริษัท 2. ประเมินและทดสอบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ซึ่งได้แก่ การรับชำ�ระหนีข้ อง เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลกู หนี้ การจัดชัน้ หนี้ การประเมินมูลค่าหลักประกัน การกำ�หนด ข้อสมมติ และการคำ�นวณค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ โดยการสอบถามและสุ่มทดสอบการปฏิบัติตาม การควบคุมที่กลุ่มบริษัทได้ออกแบบไว้ที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 3. สุ่มทดสอบข้อมูลที่ใช้ในการคำ�นวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญกับแหล่งที่มาของข้อมูลเหล่านั้น 4. เปรียบเทียบข้อสมมติที่กลุ่มบริษัทใช้กับข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงในอดีต สอบทานความสม่ำ�เสมอใน การประยุกต์ใช้ขอ้ สมมติดงั กล่าว และพิจารณาวิธกี ารทีก่ ลุม่ บริษทั เลือกใช้ในการประมาณการค่าเผือ่ หนี้ สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้สินเชื่อแต่ละประเภท 5. สอบทานข้อมูลเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และทดสอบการจัดชั้นเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ณ วันสิ้น รอบระยะเวลารายงาน 6. ประเมินค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่คำ�นวณโดยผู้บริหารโดย 6.1 สำ�หรับเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่กลุ่มบริษัทพิจารณาการกันสำ�รองเป็นรายลูกหนี้ ข้าพเจ้าได้ สุ่มทดสอบสถานะคงค้างของลูกหนี้ การจัดชั้นหนี้และมูลค่าหลักประกันที่ใช้ในการคำ�นวณ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและทดสอบ การคำ�นวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กลุ่มบริษัทกำ�หนด 6.2 สำ�หรับการกันสำ�รองเป็นกลุม่ ลูกหนี้ (Collective Approach) ข้าพเจ้าได้สมุ่ ทดสอบการคำ�นวณอัตรา ค่าความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้จะผิดนัดชำ�ระหนี้ (Probability of default) และอัตราร้อยละของ ความเสียหาย ที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำ�ระหนี้ต่อยอดหนี้ (Loss given default) และ ทดสอบการคำ�นวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดังกล่าว 7. วิเคราะห์เปรียบเทียบการเคลือ่ นไหวของค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญในภาพรวมอันเกิดจากการเปลีย่ นแปลง การจัดชั้นการเปลี่ยนแปลงยอดเงินต้นคงค้างและการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักประกัน
รายงานประจำ�ปี 2559
189
การรับรู้รายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อ กลุม่ บริษทั มีนโยบายการรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ จากเงินให้สนิ เชือ่ ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อที่ 4.1 (ก) โดยกลุ่มบริษัทมีรายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อที่รับรู้ในปี 2559 จำ�นวน 6,558 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา ร้อยละ 74 ของยอดรวมรายได้ดอกเบี้ย กลุ่มบริษัทมีลูกหนี้เงินให้สินเชื่อจำ�นวนมากราย โดยสามารถแบ่งกลุ่มเป็น ลูกค้ารายย่อย ลูกค้า รายใหญ่และลูกค้าขนาดกลาง สัญญาเงินให้สินเชื่อมีหลากหลายประเภทและมีเงื่อนไขการรับรู้ รายได้ที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทรับรู้รายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อโดยอาศัยการประมวลผลโดยระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงให้ความสนใจกับการตรวจสอบรายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อ ว่าได้รับรู้ด้วยมูลค่าถูกต้องตามที่ควรจะเป็น ข้าพเจ้าได้ประเมินและทดสอบการปฏิบตั งิ านของการควบคุมทีอ่ อกแบบโดยกลุม่ บริษทั ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับบันทึกรายการการปล่อยสินเชื่อ การรับชำ�ระเงินจากลูกหนี้เงินให้สินเชื่อและ การรับรู้และ การหยุดรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ จากเงินให้สนิ เชือ่ และข้าพเจ้าได้สมุ่ ทดสอบการรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ ว่าเป็นไปตามเงือ่ นไข ที่ระบุไว้ในสัญญา และสอดคล้องกับนโยบายการรับรู้รายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อของกลุ่มบริษัท นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ทำ�การวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูล บัญชีรายได้ดอกเบี้ย และสุ่มทดสอบรายการปรับปรุงบัญชีที่สำ�คัญที่ ทำ�ผ่านใบสำ�คัญทั่วไป ข้อมูลอื่น ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่รวมอยู่ในรายงานประจำ�ปีของกลุ่มบริษัท (แต่ไม่รวมถึงงบการเงินและรายงานของผูส้ อบบัญชีทแี่ สดงอยู่ในรายงานนัน้ ) ซึง่ คาดว่าจะถูกจัดเตรียมให้กบั ข้าพเจ้า ภายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ข้อสรุปในลักษณะ การให้ความเชื่อมั่นในรูปแบบใดๆต่อข้อมูลอื่นนั้น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอืน่ นัน้ มีความขัดแย้งที่มีสาระสำ�คัญกับงบการเงินหรือกับความรู้ที่ ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้าหรือไม่ หรือ ปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ เมือ่ ข้าพเจ้าได้อา่ นรายงานประจำ�ปีของกลุม่ บริษทั ตามทีก่ ล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้วา่ มีการแสดง ข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญ ข้าพเจ้าจะสือ่ สารเรือ่ งดังกล่าวให้ผมู้ หี น้าที่ในการกำ�กับดูแลทราบเพือ่ ให้ มีการดำ�เนินการแก้ไข ที่เหมาะสมต่อไป ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลต่องบการเงิน ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำ�และนำ�เสนองบการเงินเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพื่อให้ สามารถจัดทำ�งบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริต หรือข้อผิดพลาด ในการจัดทำ�งบการเงิน ผูบ้ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม่ บริษทั ในการดำ�เนินงาน ต่อเนือ่ ง การเปิดเผยเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการดำ�เนินงานต่อเนือ่ งในกรณีทม่ี เี รือ่ งดังกล่าว และการใช้เกณฑ์ การบัญชีส�ำ หรับ กิจการทีด่ �ำ เนินงานต่อเนือ่ งเว้นแต่ผบู้ ริหารมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเลิกกลุม่ บริษทั หรือหยุดดำ�เนินงานหรือไม่สามารถดำ�เนินงาน ต่อเนื่องอีกต่อไปได้ ผูม้ หี น้าทีใ่ นการกำ�กับดูแล มีหน้าทีใ่ นการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทำ�รายงานทางการเงินของกลุม่ บริษทั
190
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวม ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อ มัน่ ในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบ ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อ ผิดพลาดและถือว่ามีสาระสำ�คัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือ ทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ งผูป้ ระกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ด้วย • ระบุและประเมินความเสีย่ งทีอ่ าจมีการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อ ตอบสนองต่อความเสีย่ งเหล่านัน้ และ ได้หลักฐานการสอบบัญชีทเ่ี พียงพอและเหมาะสมเพือ่ เป็นเกณฑ์ ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญ ซึง่ เป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเสีย่ งทีเ่ กิดจากข้อผิดพลาด เนือ่ งจากการทุจริตอาจเกีย่ วกับ การสมรูร้ ว่ มคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตัง้ ใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูล ที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน • ทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการ ตรวจสอบ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมี ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณ การทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดทำ� • สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ�หรับกิจการที่ดำ�เนินงานต่อเนื่องของ ผู้บริหาร และสรุปจากหลักฐานการสอบบัญชีท่ีได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญที่เกี่ยวกับ เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสำ�คัญต่อความสามารถของกลุ่ม บริษัทในการดำ�เนินงานต่อเนื่องหรือไม่ หากข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญ ข้าพเจ้าจะต้องให้ขอ้ สังเกตไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง ในงบการเงิ น หรื อ หากเห็ นว่ า การเปิ ด เผยดั ง กล่ า วไม่ เ พี ย งพอ ข้ า พเจ้ า จะแสดงความเห็ น ที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึ้นอยู่กับหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงาน ของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุม่ บริษัทต้องหยุดการดำ�เนินงานต่อเนื่องได้ • ประเมินการนำ�เสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่างบการเงินแสดงรายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามที่ ควรหรือไม่
รายงานประจำ�ปี 2559
191
• รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอย่างเพียงพอเกีย่ วกับข้อมูลทางการเงินของกิจการ หรือของกิจกรรมทางธุรกิจภายในกลุม่ บริษทั เพือ่ แสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบ ต่อการกำ�หนดแนวทางการควบคุมดูแล และการปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเป็น ผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ ได้วางแผนไว้ ประเด็น ทีม่ นี ยั สำ�คัญทีพ่ บจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องทีม่ นี ยั สำ�คัญในระบบการควบคุมภายใน ซึ่งข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คำ�รับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดจรรยาบรรณที่ เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระและได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ ในการกำ�กับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมดตลอดจน เรือ่ งอืน่ ซึง่ ข้าพเจ้าเชือ่ ว่ามีเหตุผลทีบ่ คุ คลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการ ที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็นอิสระ จากเรื่องทั้งหลายที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยสำ�คัญ ที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินในงวดปัจจุบันและกำ�หนดเป็นเรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่อง เหล่านี้ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อสาธารณะ หรือ ในสถานการณ์ทย่ี ากทีจ่ ะเกิดขึน้ ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสือ่ สารเรือ่ งดังกล่าว ในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทำ� ดังกล่าวสามารถคาดการณ์ ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ที่ผู้มีส่วนได้เสีย สาธารณะจะได้จากการสื่อสารดังกล่าว ผู้สอบบัญชีที่รับผิดชอบงานสอบบัญชีและการนำ�เสนอรายงานฉบับนี้คือ รัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์
รัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4951 บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด กรุงเทพฯ: 20 กุมภาพันธ์ 2560
192
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559
193
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2559
2558
2559
2558
สินทรัพย์ เงินสด
2,109,177
2,242,589
1
8
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ
6
17,326,434
17,676,429
536,976
230,202
สินทรัพย์ตราสารอนุพนั ธ์
7
2,858
-
-
-
เงินลงทุน - สุทธิ
8
52,675,772
47,202,958
1,079,415
649,066
เงินลงทุนในบริษทั ย่อย
9
-
-
15,361,408
15,035,991
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ
10 141,162,067
133,276,799
-
-
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก: รายได้รอตัดบัญชี
231,194
224,480
-
-
141,393,261
133,501,279
-
-
(91,770)
(179,447)
-
-
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
11
(3,086,277)
(2,555,273)
-
-
ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้
12
(15,232)
(8,740)
-
-
138,199,982
130,757,819
-
-
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ
14
-
-
37,249
37,382
ทรัพย์สินรอการขาย - สุทธิ
15
107,322
99,340
-
-
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ
16
403,900
499,000
-
-
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ
17
302,393
297,294
-
-
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
18.1
263,466
197,540
-
-
295,841
305,398
793
868
ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน ลูกหนี้ซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสด สินทรัพย์อื่น - สุทธิ
19
รวมสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
194
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
96,002
32,054
-
-
364,036
356,352
10,789
1,533
212,147,183
199,666,773
17,026,631
15,955,050
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2559
2558
2559
2558
เงินรับฝาก
21
149,097,146
137,064,320
-
-
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
22
20,009,851
20,638,556
415,000
-
75,991
176,517
-
-
หนี้สินและส่วนของเจ้ำของ
หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพนั ธ์
7
-
5,395
-
-
ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม - สุทธิ
23
20,327,489
21,663,968
-
-
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
600,284
818,440
31
-
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
483,162
420,637
911
928
106,868
87,293
-
-
ภาษีค้างจ่าย
ประมาณการหนี้สิน
341,176
288,831
120
114
รายได้รับล่วงหน้า
235,876
275,308
-
-
24
เจ้าหนี้จากการซื้อขายหลักทรัพย์
25
112,260
18,816
-
4,013
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
18.1
43,826
-
22,667
-
23,723
7,688
-
-
เจ้าหนี้สานักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ หนี้สินอื่น
143,479
51,983
-
-
230,415
198,166
825
745
191,831,546
181,715,918
439,554
5,800
13,638,705
13,638,705
13,638,705
13,638,705
13,638,699
13,638,699
13,638,699
13,638,699
642,556
642,556
642,556
642,556
8.3
99,584
(18,749)
90,669
10,249
28
709,590
528,700
231,300
180,900
5,225,206
3,159,648
1,983,853
1,476,846
20,315,635
17,950,854
16,587,077
15,949,250
2
1
-
-
20,315,637
17,950,855
16,587,077
15,949,250
212,147,183
199,666,773
17,026,631
15,955,050
26
รวมหนี้สิน ส่วนของเจ้ำของ ทุนเรือนหุ้น
27
ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 13,638,705,250 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนออกจาหน่ายและชาระแล้ว หุ้นสามัญ 13,638,699,252 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ ส่วนเกิน (ต่ากว่า) ทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย - สุทธิจากภาษีเงินได้ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษทั ฯ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมของบริษทั ย่อย รวมส่วนของเจ้ำของ รวมหนี้สินและส่วนของเจ้ำของ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2559
195
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 งบการเงินรวม หมายเหตุ
(หน่วย: พันบาท ยกเว้นกาไรต่อหุ้นแสดงเป็นบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
กำไรหรือขำดทุน: รายได้ดอกเบี้ย
31
8,810,031
8,493,893
8,250
8,607
ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
32
(3,971,037)
(4,127,464)
(8,323)
(5,082)
4,838,994
4,366,429
(73)
3,525
รำยได้ (ค่ำใช้จ่ำย) ดอกเบีย้ สุทธิ รายได้คา่ ธรรมเนียมและบริการ
33
636,870
455,583
-
-
ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ
33
(126,270)
(106,203)
(7,481)
(7,843)
510,600
349,380
(7,481)
(7,843)
580
2,172
-
-
รำยได้ (ค่ำใช้จ่ำย) ค่ำธรรมเนียมและบริกำรสุทธิ กาไรจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ กาไรจากเงินลงทุน
34
รายได้เงินปันผล รายได้จากการดาเนินงานอื่น รวมรำยได้จำกกำรดำเนินงำน
1,188,489
673,392
36,763
2,522
396,624
126,153
994,498
1,026,437
31,778
25,896
1,328
1,320
6,967,065
5,543,422
1,025,035
1,025,961
ค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนอื่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน
39
1,310,496
1,160,953
-
-
ค่าตอบแทนกรรมการ
35
32,381
24,224
14,770
9,445
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์
710,043
704,601
133
132
ค่าภาษีอากร
220,645
218,416
4
366
ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและโฆษณา
105,485
96,155
1,024
1,085
ค่าตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน
70,417
69,174
-
-
152,059
126,123
1,624
1,799
2,601,526
2,399,646
17,555
12,827
1,025,000
1,089,614
-
-
3,340,539
2,054,162
1,007,480
1,013,134
(644,101)
(402,449)
-
-
2,696,438
1,651,713
1,007,480
1,013,134
กาไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย - สุทธิจากภาษีเงินได้
118,333
60,172
80,420
60,754
รวมรายการที่จะถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง
118,333
60,172
80,420
60,754
84
1,455
-
-
84
1,455
-
-
ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนอื่น หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ
36
กำไรก่อนค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
18.2
กำไรสำหรับปี กำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น:
37
รายการที่จะถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง:
รายการที่จะไม่ถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง: กาไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย - สุทธิจากภาษีเงินได้ รวมรายการที่จะไม่ถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง กำไรเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี
118,417
61,627
80,420
60,754
กำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี
2,814,855
1,713,340
1,087,900
1,073,888
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
196
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 งบการเงินรวม หมายเหตุ
(หน่วย: พันบาท ยกเว้นกาไรต่อหุ้นแสดงเป็นบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2559
2558
2559
2558
2,696,437
1,651,713
1,007,480
1,013,134
1
-
2,696,438
1,651,713
2,814,854
1,713,340
1,087,900
1,073,888
0.0739
0.0743
กำรแบ่งปันกำไรสำหรับปี: ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมของบริษัทย่อย
กำรแบ่งปันกำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี: ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมของบริษัทย่อย
กำไรต่อหุ้นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ:
1
-
2,814,855
1,713,340
0.1977
0.1211
38
กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาทต่อหุ้น) กาไรสาหรับปีสว่ นที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2559
197
198
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2559 การจ่ายปันผลเป็นเงินสด จัดสรรเป็นสารองตามกฎหมาย กาไรสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 การจ่ายปันผลเป็นหุ้นสามัญ การจ่ายปันผลเป็นเงินสด จัดสรรเป็นสารองตามกฎหมาย กาไรสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558
29 28
29 29 28
หมายเหตุ
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้ำของ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ 642,556 642,556 642,556 642,556
ทุนออกจาหน่าย และชาระแล้ว 13,198,747 439,952 13,638,699 13,638,699 13,638,699
ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ
(18,749) 118,333 118,333 99,584
(78,921) 60,172 60,172 (18,749) 528,700 180,890 709,590
396,400 132,300 528,700 3,159,648 (450,073) (180,890) 2,696,437 84 2,696,521 5,225,206
2,127,572 (439,952) (48,840) (132,300) 1,651,713 1,455 1,653,168 3,159,648
องค์ประกอบอื่น ของส่วนของเจ้าของ - ส่วนเกิน (ต่ากว่า) ทุน กาไรสะสม จากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื่อขาย จัดสรรแล้ว สุทธิจากภาษีเงินได้ สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร
งบการเงินรวม
17,950,854 (450,073) 2,696,437 118,417 2,814,854 20,315,635
16,286,354 (48,840) 1,651,713 61,627 1,713,340 17,950,854
รวมส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นบริษัทฯ
ส่วนได้เสียที่ไม่มี อานาจควบคุม ของบริษัทย่อย
1 1 1 2
1 1
17,950,855 (450,073) 2,696,438 118,417 2,814,855 20,315,637
16,286,355 (48,840) 1,651,713 61,627 1,713,340 17,950,855
รวม
(หน่วย: พันบาท)
รายงานประจำ�ปี 2559
199
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2559 การจ่ายปันผลเป็นเงินสด จัดสรรเป็นสารองตามกฎหมาย กาไรสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 การจ่ายปันผลเป็นหุ้นสามัญ การจ่ายปันผลเป็นเงินสด จัดสรรเป็นสารองตามกฎหมาย กาไรสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้ำของ (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558
29 28
29 29 28
หมายเหตุ 642,556 642,556 642,556 642,556
13,638,699 13,638,699
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ
13,198,747 439,952 13,638,699
ทุนออกจาหน่าย และชาระแล้ว
10,249 80,420 80,420 90,669
(50,505) 60,754 60,754 10,249
กาไรสะสม
180,900 50,400 231,300
130,200 50,700 180,900
จัดสรรแล้ว สารองตามกฎหมาย
งบการเงินเฉพาะกิจการ องค์ประกอบอื่น ของส่วนของเจ้าของ - ส่วนเกิน (ต่ากว่า) ทุน จากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื่อขาย สุทธิจากภาษีเงินได้
1,476,846 (450,073) (50,400) 1,007,480 1,007,480 1,983,853
1,003,204 (439,952) (48,840) (50,700) 1,013,134 1,013,134 1,476,846
ยังไม่ได้จัดสรร
15,949,250 (450,073) 1,007,480 80,420 1,087,900 16,587,077
14,924,202 (48,840) 1,013,134 60,754 1,073,888 15,949,250
รวม
(หน่วย: พันบาท)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม 2559
2558
2559
2558
3,340,539
2,054,162
1,007,480
1,013,134
234,886
235,953
133
492
1,025,000
1,089,614
-
-
กระแสเงินสดจำกกิจกรรมดำเนินงำน กาไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบกาไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดาเนินงาน ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย หนีส้ ูญ หนีส้ งสัยจะสูญและขาดทุนจากการด้อยค่า หนีส้ ูญได้รับคืน
-
(5,205)
-
-
24,138
15,858
-
-
(103)
1,664
-
-
(กาไร) ขาดทุนจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ
(14)
1,960
-
-
ขาดทุนจากการโอนเปลีย่ นประเภทเงินลงทุน
827
-
-
-
สารองผลประโยชน์ของพนักงาน (กาไร) ขาดทุนจากการจาหน่าย/ตัดจาหน่ายทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์
กาไรจากการขายเงินลงทุน
(1,188,489)
(673,392)
(36,763)
(2,522)
(รายได้) ค่าใช้จ่ายดอกเบีย้ สุทธิ
(4,838,994)
(4,366,429)
73
(3,525)
รายได้เงินปันผล
(396,624)
(126,153)
(994,498)
(1,026,437)
เงินสดรับจากดอกเบีย้
7,091,101
7,137,122
941
3,757
เงินสดจ่ายดอกเบีย้
(4,156,238)
(3,982,105)
(8,292)
(5,130)
(647,900)
(435,491)
(764)
(360)
488,129
947,558
(31,690)
(20,591)
357,596
(4,597,704)
(306,774)
793,897
208
(14,210)
-
-
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้
(8,507,316)
(17,837,393)
-
-
ลูกหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์
29,491
(320,956)
-
-
เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ กำไร (ขำดทุน) จำกกำรดำเนินงำนก่อนกำรเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงำน สินทรัพย์ดาเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนเพื่อค้า
ทรัพย์สินรอการขาย
19,627
48,000
-
-
สินทรัพย์อื่น
(86,888)
107,732
(8,493)
(22)
12,032,826
14,432,418
-
-
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
(628,705)
(2,532,605)
415,000
(500,000)
หนีส้ ินจ่ายคืนเมือ่ ทวงถาม
(100,526)
66,565
-
-
(1,349,479)
16,814,768
-
-
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
29,741
26,982
(16)
125
ประมาณการหนีส้ ิน
(4,683)
(688)
-
-
หนีส้ ินดาเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินรับฝาก
ตราสารหนีท้ อี่ อกและเงินกูย้ ืมระยะสัน้
เจ้าหนีจ้ ากการซื้อขายหลักทรัพย์ หนีส้ ินอื่น เงินสดสุทธิได้มำจำกกิจกรรมดำเนินงำน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
200
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
93,444
8,143
-
-
127,145
61,171
85
202
2,500,610
7,209,781
68,112
273,611
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม 2559
2558
2559
2558
กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนเผือ่ ขาย
6,257,890
1,758,780
375,917
40,342
14,691,327
11,144,154
13,690
5,022
1,756,068
1,577,088
7,384
3,982
396,624
126,153
994,498
1,026,437
ลงทุนในเงินลงทุนเผือ่ ขาย
(10,222,619)
(2,296,996)
(684,118)
(144,750)
ลงทุนในเงินลงทุนทีจ่ ะถือจนครบกาหนด
(14,955,000)
(23,385,041)
-
(155,800)
-
-
(325,417)
(1,000,000)
1,057
376
-
-
(66,584)
(126,725)
-
-
เงินสดรับจากเงินลงทุนทีถ่ ือจนครบกาหนด เงินสดรับจากดอกเบีย้ ของเงินลงทุน เงินสดรับเงินปันผลจากเงินลงทุน
ลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดรับจากการจาหน่ายอุปกรณ์ เงินสดจ่ายซื้อส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดสุทธิได้มำจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน
(55,712)
(69,314)
-
-
(2,196,949)
(11,271,525)
381,954
(224,767)
13,000
3,849,200
-
-
กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน ตราสารหนีท้ อี่ อกและเงินกูย้ ืมระยะยาว จ่ายเงินปันผล
(450,073)
(48,840)
(450,073)
(48,840)
เงินสดสุทธิได้มำจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหำเงิน
(437,073)
3,800,360
(450,073)
(48,840)
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุทธิ
(133,412)
(261,384)
(7)
4
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ณ วันที่ 1 มกรำคม
2,242,589
2,503,973
8
4
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวำคม
2,109,177
2,242,589
1
8
การซื้อทรัพย์สินโดยการก่อหนีส้ ิน
31,067
7,264
-
-
รับโอนทรัพย์สินรอการขายจากลูกหนีเ้ พื่อชาระหนี้
27,609
94,531
-
-
หนีส้ ูญตัดบัญชี
76,111
370,383
-
-
เงินให้สินเชื่อลดจากการยกหนีใ้ ห้
29,084
-
-
-
-
439,952
-
439,952
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระแสเงินสด รายการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับเงินสด:
การออกหุน้ ปันผล หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2559
201
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหำชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 1.
ข้อมูลบริษทั ฯ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนจากัดตามกฎหมายไทยและ ประกอบธุ ร กิ จ การลงทุ น ในประเทศไทย โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ป็ น บริ ษั ท แม่ ข องกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทางการเงิ น และเป็ น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทฯมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯมีผู้ถือหุ้นใหญ่ 3 ราย ซึ่งได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) และ คุณเพียงใจ หาญพาณิชย์ โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯในอัตราร้อยละ 33.98 ร้อยละ 21.34 และร้อยละ 16.20 ตามลาดับ 2. เกณฑ์ในกำรจัดทำงบกำรเงิน 2.1 เกณฑ์ในกำรจัดทำงบกำรเงิน งบการเงินนี้จัดทาขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่กาหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และ อ้างอิงตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดโดยธนาคารแห่ งประเทศไทย (“ธปท.”) และการแสดงรายการในงบการเงิน นี้ได้ทาขึ้น เพื่อให้เป็นไปตามประกาศ ธปท. ที่ สนส. 21/2558 เรื่อง การจัดทาและการประกาศงบการเงินของธนาคารพาณิชย์และ บริษัทโฮลดิ้งที่เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2558 งบการเงิน นี ้ไ ด้จัด ท าขึ้น โดยใช้เ กณฑ์ร าคาทุน เดิม เว้น แต่จ ะได้เ ปิด เผยเป็น อย่า งอื่น ในหมายเหตุป ระกอบ งบการเงินข้อที่ 4 เรื่องสรุปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษ แปลมาจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ 2.2 เกณฑ์ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวม (ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดทาขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จากัด (มหาชน) และ บริษัทย่อยดังต่อไปนี้
ชื่อบริษัท
ลักษณะธุรกิจ
อัตราร้อยละของ การถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ร้อยละ ร้อยละ
ร้อยละของสินทรัพย์ที่รวมอยู่ ในสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ร้อยละ ร้อยละ
ร้อยละของรายได้ที่รวมอยู่ใน รายได้รวมสาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ร้อยละ ร้อยละ
บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยตรง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) ธุรกิจการธนาคาร 99.99 99.99 98.29 99.01 93.75 97.28 บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด ธุรกิจหลักทรัพย์ 99.80 99.80 0.98 0.52 2.67 0.97 (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ ธุรกิจหลักทรัพย์ 99.99 99.99 0.23 0.16 2.68 1.45 เฮ้าส์ จากัด (1) ประเภทจัดการ กองทุน บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยอ้อม บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จากัด ธุรกิจให้คาปรึกษา 99.99 99.99 ทางการเงิน (หยุดดาเนิน ธุรกิจชั่วคราว) (1) เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559 บริษัทฯได้มีการปรับโครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด จากเดิมถือโดยบริษั ทย่อย มาเป็นบริษัทฯถือหุ้นโดยตรงตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 9
202
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2.3
(ข)
บริษัทฯจะถือว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรือบริษัทย่อยได้ หากบริษัทฯมีสิทธิได้รับหรือมีส่วนได้เสีย ในผลตอบแทนของกิ จ การที่ เ ข้ า ไปลงทุ น และสามารถใช้ อ านาจในการสั่ ง ให้ ท ากิ จ กรรมที่ ส่ ง ผลกระทบ อย่างมีนัยสาคัญต่อจานวนเงินผลตอบแทนนั้นได้
(ค)
บริษัทฯนางบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดทางบการเงินรวมตั้งแต่วันที่บริษัทฯ มีอานาจในการ ควบคุมบริษัทย่อยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น
(ง)
งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทาขึ้นโดยมีรอบระยะเวลาบัญชีและใช้นโยบายการบัญชี ที่สาคัญเช่นเดียวกัน กับของบริษัทฯ
(จ)
ยอดคงค้างและรายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสาคัญได้ ถูก ตัดออกจากงบการเงิน รวมนี้แล้ว เงินลงทุนใน บริษัทย่อยในบัญชีของบริษัทฯได้ตัดกับส่วนของเจ้าของของบริษัทย่อยแล้ว
(ฉ)
ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม คือ จานวนกาไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อย ส่วนที่ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและส่วนของ เจ้าของในงบแสดงฐานะการเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บริษัทฯจัดทางบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยตามวิธีราคาทุน
3.
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่
3.1
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เริ่มมีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยได้นามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2558) และฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบัติทางบัญชี ที่ออกโดยสภาวิ ชาชีพบัญชี ซึ่งมีผลบังคับใช้สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2559 มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้ มีเนื้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นการ ปรับปรุงถ้อยคาและ คาศัพท์การตีความและการให้แนวปฏิบัติทางการบัญชีกับผู้ใช้มาตรฐาน การนามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่าวมาถือปฏิบัตินี้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสาคัญต่องบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย
3.2
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่จะมีผลบังคับในอนำคต ในระหว่างปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิ นฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2559) จานวนหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับ ใช้สาหรับงบการเงินที่ มี รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการ ปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่ เป็นการปรับปรุงถ้อยคาและคาศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบัติทางการบัญชีกับผู้ใช้มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร ของบริษัทฯและบริษัทย่อยเชื่อว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับปรับปรุง จะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสาคัญต่องบการเงินเมื่อนามาถือปฏิบัติ อย่างไรก็ตาม มาตรฐาน การรายงานทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงหลักการสาคัญ สรุปได้ดังต่อไปนี้
รายงานประจำ�ปี 2559
203
มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร มาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้กาหนดทางเลือกเพิ่มเติมสาหรับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยเงินลงทุนในการ ร่วมค้า และเงินลงทุนในบริษัทร่วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยเลือกบันทึ กตามวิธีส่วนได้เสียได้ ตามที่อธิบายไว้ใน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ทั้งนี้ กิจการต้องใช้วิธีการ บันทึกบัญชีเดียวกันสาหรับเงินลงทุนแต่ละประเภทและหากกิจการเลือกบันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสี ยใน งบการเงินเฉพาะกิจการ กิจการต้องปรับปรุงรายการดังกล่าวโดยวิธีปรับย้อนหลัง มาตรฐานฉบับดังกล่าวจะไม่มี ผลกระทบต่องบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย เนื่องจากฝ่ายบริหารได้พิจารณาแล้วว่าจะเลือกบันทึกเงินลงทุน ดังกล่าวตามวิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการตามเดิม 4.
สรุปนโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญ
4.1
กำรรับรู้รำยได้ (ก)
ดอกเบี้ยและส่วนลดรับจากเงินให้สินเชื่อ ธุรกิจธนาคาร บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคารรับรู้รายได้ดอกเบี้ยและส่วนลดรับจากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ตามเกณฑ์ คงค้างจากยอดเงินต้นที่ค้างชาระ โดยจะหยุดรับรู้รายได้ดอกเบี้ยตามเกณฑ์คงค้างสาหรับ (ก) เงินให้สินเชื่อ แก่ลูกหนี้ที่ผิดนัดชาระเงินต้นหรือดอกเบี้ยเกินกาหนดสามเดือนนับจากวันครบกาหนดชาระ (ข) เงินให้สินเชื่ อ แก่ลูกหนี้ที่ค้างชาระไม่เกินสามเดือน แต่ถูกจัดชั้นเป็นสินทรัพย์จัดชั้นต่ากว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ หรือ (ค) เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้แฟคตอริ่งที่ผิดนัดชาระนับแต่วันที่ครบกาหนด โดยจะรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์เงินสด และจะกลับรายการดอกเบี้ยค้างรับจากสินเชือ่ ที่ผิดนัดชาระดังกล่าวที่ได้บันทึกบัญชีเป็นรายได้แล้วนั้น ออกจาก บัญชี เพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดของ ธปท. การบันทึกรายได้ดอกเบี้ยรับหลังจากนั้นจะบันทึกตามเกณฑ์ เงินสดจนกว่าจะได้รับชาระหนี้ที่ค้างเกินกาหนดชาระดังกล่าวแล้ว บริษัทย่อยรับรู้รายได้ดอกเบี้ยจากสัญญาเช่าซื้อโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ตามระยะเวลาของสัญญาเช่าซื้อ บริษัทย่อยจะหยุดรับรู้รายได้เมื่อลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ผิดนัดและค้างชาระค่างวดเกินกว่าสามเดือนขึ้นไป นับจากวันครบกาหนดชาระ และจะกลับรายการรายได้รอตัดบัญชีที่ได้บันทึกเป็นรายได้แล้วนั้นออกจากบัญชี บริษัทย่อยรับรู้รายได้ดอกเบี้ยสาหรับลูกหนี้ภายหลังการปรับโครงสร้างหนี้ใหม่ตามเกณฑ์ คงค้างเช่นเดียวกับ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ก ล่าวข้ างต้น ยกเว้นหนี้ตามสัญญาปรับ โครงสร้า งหนี้ ที่อยู่ร ะหว่า งการติดตามผล การปฏิบัติตามเงื่อนไขการปรับโครงสร้างหนี้ใหม่ ซึ่งจะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์เงินสดจนกว่าลูกหนี้จะปฏิบัติตาม เงื่อนไขการปรับโครงสร้ างหนี้ติดต่อกันไม่น้อยกว่าสามเดือนหรือสามงวดการชาระเงินแล้วแต่ระยะเวลาใด จะนานกว่า ในกรณีที่ดอกเบี้ยหรือส่วนลดได้คิดรวมอยู่ในตั๋วเงินหรือเงินให้สินเชื่อแล้ว ดอกเบี้ยหรือส่วนลดดังกล่าวจะบันทึก เป็ นรายได้ร อตัด บัญ ชี และตั ด จาหน่ า ยเป็ นรายได้เ ฉลี่ ย เท่ าๆ กัน ตลอดอายุ ของตั๋ว เงิ น หรื อระยะเวลาของ เงินให้สินเชื่อนั้น ธุรกิจหลักทรัพย์ ดอกเบี้ยรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างซึ่งคานวณตามระยะเวลาของเงินให้กู้ยืม เว้นแต่มีความไม่แน่นอน ในการเรียกเก็บเงินต้นและดอกเบี้ย บริษัทย่อยจึงหยุดรับรู้รายได้ดอกเบี้ยดังกล่าวตามเกณฑ์คงค้าง
204
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
กรณีดังต่อไปนี้ถือว่ามีความไม่แน่นอนในการเรียกเก็บเงินต้นและดอกเบี้ย (1)
ลูกหนี้ทั่วไปที่มีหลักประกันต่ากว่ามูลหนี้
(2)
ลูกหนี้ผ่อนชาระรายที่มีงวดการชาระเงินไม่เกินทุกสามเดือน ซึ่งค้างชาระเงินต้นหรือดอกเบี้ยตั้งแต่ สามเดือนขึ้นไป
(3)
ลูกหนี้ผ่อนชาระรายที่มีงวดการชาระเงินเกินกว่าทุกสามเดือน เว้นแต่มีหลักฐานที่ชัดเจนและมีความ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริษัทย่อยจะได้รับชาระหนี้ทั้งหมด
(4)
ลูกหนี้สถาบันการเงินที่มีปัญหา
(5)
ลูกหนี้อื่นที่ค้างชาระดอกเบี้ยตั้งแต่สามเดือนขึ้นไป
เงื่อนไขดังกล่า วข้างต้น เป็นไปตามหลัก เกณฑ์ที่ กาหนดโดยสานั กงานคณะกรรมการกากั บหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ตามหนังสือที่ กธ. 5/2544 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2544 (ข)
ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าธรรมเนียมและบริการรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง โดยพิจารณาถึงขั้นความสาเร็จของงาน รายได้ ค่าธรรมเนียมการจัดการและค่าธรรมเนียมนายทะเบียนกองทุนรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง โดยคิดเป็น อัตราร้อยละของมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนที่บริษัทย่อยบริหารจัดการหรือตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา
(ค)
ค่านายหน้า บริษัทย่อยรับรู้ค่านายหน้าจากการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ถือเป็นรายได้ ณ วันที่เกิดรายการ
(ง)
กาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน กาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนรับรูเ้ ป็นรายได้หรือค่าใช้จ่าย ณ วันที่เกิดรายการ
(จ)
ดอกเบี้ยและเงินปันผล ดอกเบี้ยรับรูเ้ ป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับรูเ้ ป็นรายได้เมื่อสิทธิในการรับเงินปันผลเกิดขึ้น
4.2
กำรรับรู้ค่ำใช้จ่ำย (ก)
ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยจ่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง ในกรณีที่ดอกเบี้ยได้คิดรวมอยู่ในตั๋วเงินจ่ายแล้ว ดอกเบี้ยนั้น จะบันทึกเป็นดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชีและจะตัดจาหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยเท่าๆ กันตลอดอายุของตั๋วเงินนั้น
(ข)
(ค)
ค่านายหน้าและค่าใช้จ่ายทางตรงจากการให้เช่าซื้อ ค่านายหน้าและค่าใช้จ่ายทางตรงเมื่อเริ่มแรกที่เกิดขึ้นจากการให้เช่าซื้อ เช่น ค่านายหน้า จะปันส่วนทยอยรับรู้ตาม วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง โดยแสดงสุทธิจากรายได้ดอกเบี้ยจากการให้เช่าซื้อ ค่าธรรมเนียมและบริการและค่าใช้จ่ายอื่น ค่าธรรมเนียมและบริการและค่าใช้จ่ายอื่นรับรูเ้ ป็นค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง
รายงานประจำ�ปี 2559
205
4.3
4.4
4.5
4.6
กำรรับรู้และตัดบัญชีสินทรัพย์ของลูกค้ำ บริษัทย่อยบันทึกเงินที่ลูกค้าวางไว้กับบริษัทย่อยเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์บัญชีเงินสด การซื้อขายหลักทรัพย์ในระบบ เครดิตบาลานซ์ และการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเป็นสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทย่อยเพื่อประโยชน์ของการ ควบคุมภายใน และ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทย่อยได้ตัด รายการดังกล่าวในส่วนที่ไม่มีภาระค้าประกันออก ทั้งด้านสินทรัพย์และหนี้สิน โดยจะแสดงเฉพาะที่เป็นของบริษัทย่อยเท่านั้น เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง รายการ “เงินสด” ที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งประกอบไปด้วย เงินสดในมือ และเช็คระหว่างเรียกเก็บ หลักทรัพย์ซื้อโดยมีสัญญำขำยคืน/หลักทรัพย์ขำยโดยมีสัญญำซื้อคืน บริ ษั ท ย่ อ ยที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ธนาคารมี ก ารท าสั ญ ญาซื้ อ หลั ก ทรั พ ย์ โ ดยมี สัญ ญาขายคื น หรื อ มี ก ารท าสั ญ ญาขาย หลั ก ทรั พ ย์ โ ดยมี สัญ ญาซื้ อ คื นโดยมี ก ารก าหนดวั น เวลา และราคาที่ แน่ น อนในอนาคต จ านวนเงิน ที่ จ่ า ยสาห รั บ หลักทรัพย์ซื้อโดยมีสัญญาขายคืนในอนาคตแสดงเป็นสินทรัพย์ภายใต้บัญชี “รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน” ด้านสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงิน โดยหลักทรัพย์ภายใต้สัญญาขายคืนถือเป็นหลักประกัน ในขณะที่หลักทรัพย์ขาย โดยมีสัญญาซื้อคืนในอนาคตแสดงเป็นหนี้ สินภายใต้บัญชี “รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ” ด้านหนี้สินใน งบแสดงฐานะการเงิน ด้วยจานวนเงินที่ได้รับมาจากการขายหลักทรัพย์ดังกล่าว โดยหลักทรัพย์ภายใต้สัญญาซื้อคืน ถือเป็นหลักประกัน ผลต่างระหว่างราคาซื้อและราคาขายจะถูกรับรู้ตามระยะเวลาของรายการซึ่งแสดงรวมอยู่ในดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจ่าย แล้วแต่กรณี เงินลงทุน เงินลงทุนเพื่อค้าแสดงตามมูลค่ายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่าว จะรับรู้เป็นรายได้ หรือค่าใช้จ่ายในส่วนของกาไรหรือขาดทุน เงินลงทุนเผื่อขายแสดงตามมูลค่ายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่าวบันทึกในส่วนของ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และจะบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง เมื่อได้จาหน่ายเงินลงทุนนั้นออกไป เงินลงทุนที่จะถือจนครบกาหนดแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุนตัดจาหน่ายและหักด้วยค่าเผื่อการ ด้อยค่า (ถ้ามี) บริษัทย่อย ตัดบัญชีส่วนเกิน/รับรู้ส่วนต่ากว่ามูลค่าตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึ่งจานวนที่ตัดจาหน่ายนี้จะแสดงเป็น รายการปรับกับรายได้ดอกเบี้ย เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดจัดประเภทเป็นเงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิ จากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) มูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดคานวณจากราคาเสนอซื้อครั้งสุดท้าย ณ สิ้นวันทาการสุดท้าย ของรอบระยะเวลารายงานของตลาดหลั กทรั พย์ แห่ ง ประเทศไทย มู ลค่ า ยุ ติ ธ รรมของตราสารหนี้ ค านวณโดยใช้ อัตราผลตอบแทนที่ประกาศโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย และมูลค่ายุติธรรมของหน่วยลงทุน ที่มิใช่หลักทรัพย์ จดทะเบียนคานวณจากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยของกองทุน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่า (ถ้ามี) ของเงินลงทุนในส่วนของกาไรหรือขาดทุน
206
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ในกรณีที่มีการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนจากประเภทหนึ่งไปอีกประเภทหนึ่ง บริษัทฯและบริษัทย่อยจะปรับมูลค่าของ เงินลงทุนดังกล่าวใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนเปลี่ยนประเภท ผลแตกต่างระหว่างราคาตามบัญชีและมูลค่า ยุติธรรม ณ วันที่โอนจะบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนหรือ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น แล้วแต่ประเภทของเงินลงทุน ที่มีการโอนเปลี่ยน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกรายการซื้อขายเงินลงทุน ณ วันที่เกิดรายการ เมื่อมีการขายเงินลงทุน ผลต่างระหว่าง สิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับกับมูลค่าต้นทุนของเงินลงทุนจะถูกบันทึกในส่วนของกาไร หรือขาดทุน บริษัทฯและบริษัทย่อย ใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักในการคานวณต้นทุนของเงินลงทุนเมื่อมีการขาย 4.7
เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี)
4.8
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ธุรกิจธนาคาร เงินให้ สินเชื่ อแก่ลูกหนี้แสดงเฉพาะยอดเงินต้นไม่รวมดอกเบี้ยค้ างรับ ยกเว้นเงิ นเบิกเกินบั ญชีแสดงด้วยยอดเงินต้ น รวมดอกเบี้ย รายได้รอตัดบัญชีและส่วนลดรับล่วงหน้าของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้แสดงเป็น รายการหักจากเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อแสดงมูลค่าตามสัญญาเช่าซื้อคงค้างสุทธิจากยอดคงเหลือของรายได้ทางการเงินที่ยังไม่ถือ เป็นรายได้ ซึ่งแสดงสุทธิจากค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรกจากการให้เช่าซื้อรอตัดบัญชี ธุรกิจหลักทรัพย์ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หมายถึง ยอดสุทธิลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และลูกหนี้สัญญาซื้อขาย ล่วงหน้าบวกดอกเบี้ยค้างรับและหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ทั้งนี้ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ หมายถึง ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์โดยใช้หลักทรัพ ย์ที่ซื้อนั้นมาวางเป็นประกัน ลูกหนี้ทรัพย์สินวางประกัน อันได้แก่ เงินที่นาไปวางเป็นประกันกับเจ้าหนี้หุ้นยืม หรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และลูกหนี้อื่น อันได้แก่ ลูกหนี้ซื้อหลักทรัพย์ด้วยเงินสดที่ไม่สามารถชาระเงิน ได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด และลูกหนี้ที่อยู่ระหว่ าง ดาเนินคดี ประนอมหนี้หรือผ่อนชาระ เป็นต้น แต่ไม่รวมลูกหนี้ที่ซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสด
4.9
ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ธุรกิจธนาคาร บริษัทย่อยตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดโดย ธปท. โดยใช้อัตราร้อยละ ขั้นต่าตามที่กาหนดโดย ธปท. ตามการจัดชั้นลูกหนี้ดังต่อไปนี้ สาหรับลูกหนี้จัดชั้นปกติ (รวมลูกหนี้ที่ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้) และลูกหนี้จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษอัตราร้อยละขั้นต่า ตามที่กาหนดโดย ธปท. ได้แก่ อัตราร้อยละ 1 และ 2 ตามลาดับ ของยอดหนี้เงินต้นคงค้างสุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี (ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ) หลังหักมูลค่าหลักประกันที่คานวณตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดโดย ธปท. สาหรับลูกหนี้ด้อยคุณภาพ ซึ่งได้แก่ เงินให้สินเชื่อจัดชั้นต่ากว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย และจัดชั้นสงสัยจะสูญ อัตราขั้นต่า ตามที่กาหนดโดย ธปท. ได้แก่ อัตราร้อยละ 100 สาหรับส่วนของยอดมูลหนี้ตามบัญชีที่สูงกว่ามูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รั บจากลูกหนี้ หรือมู ลค่าปั จจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รั บจากการจ าหน่า ย
รายงานประจำ�ปี 2559
207
หลักประกัน ทั้งนี้ อัตราดอกเบี้ยคิดลด และระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับจากการจาหน่ายหลักประกั นที่ใช้ในการคานวณ มูลค่าปัจจุบันเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดโดย ธปท. นอกจากนั้นแล้ว บริษัทย่อยตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มเติมจากเกณฑ์ขั้นต่าดังกล่าวข้างต้นด้วยจานวนเงินที่คาดว่า จะเรี ย กเก็ บ จากลู ก หนี้ ไม่ ไ ด้ โดยประเมิ น จากความน่ า จะเป็ น ในการที่ ลูก หนี้ จ ะผิ ด นั ดช าระ และส่ ว นสู ญ เสี ย ที่ อาจเกิดขึ้นหากลูกหนี้ผิดนัดชาระ ทั้งนี้การประเมินดังกล่าวครอบคลุมถึงประสบการณ์ในการเรียกชาระจากลูกหนี้ ประสบการณ์ในการผิดนัดชาระหนี้ของลูกหนี้ และมูลค่าหลักประกันประกอบในการพิจารณา ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ตั้งเพิ่ม (ลด) บันทึกบัญชีรับรู้เป็นค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ โดยถือเป็นค่าใช้จ่ายในแต่ละปี การตัดจาหน่ายลูกหนี้เป็นหนี้สูญจะนาไปลดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยบริษัทย่อยพิจารณาตัดหนี้สูญออกจากบัญชี สาหรับลูกหนี้ที่บริษัทย่อยได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้วแต่ไม่ได้รั บการชาระหนี้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ ตามประกาศและหนังสือซักซ้อมความเข้าใจของธนาคารแห่งประเทศไทยเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การตัดลูกหนี้ออกจากบัญชี ส่วนหนี้สูญที่ได้รับคืนจะบันทึกเป็นรายได้ในปีที่ได้รับคืน ธุรกิจหลักทรัพย์ บริษัทย่อยตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยการประเมินฐานะของลูกหนี้แต่ละรายโดยพิจารณาความเสี่ยงในการเรียกชาระ และมูลค่าของหลักทรัพย์ที่ใช้ค้าประกัน และตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเมื่อหนี้นั้นมีหลักประกันไม่เพียงพอและ/หรือมีโอกาส ที่ได้รับชาระคืนไม่ครบ ทั้งนี้บริษัทย่อยถือพื้นฐานการจัดชั้นหนี้และการตั้งสารองตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก)
(ข)
(ค)
มูลหนี้จัดชั้นสูญ หมายถึง (1)
มูลหนี้ของลูกหนี้ที่ได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว แต่ไม่ได้รับการชาระหนี้ และบริษัทย่อยได้ดาเนินการ จาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ตามกฎหมายภาษีอากรแล้ว
(2)
มูลหนี้ส่วนที่บริษัทย่อยได้ทาสัญญาปลดหนี้ให้
มูลหนี้จัดชั้นสงสัย หมายถึง มูลหนี้เฉพาะส่วนที่สูงเกินกว่าหลักประกันของลูกหนี้ที่เข้าลักษณะดังนี้ (1)
ลูกหนี้ทั่วไป ลูกหนี้สถาบันการเงินที่มีปัญหาและลูกหนี้อื่นที่มีหลักประกันต่ากว่ามูลหนี้
(2)
ลูกหนี้ผ่อนชาระรายที่มีงวดการชาระเงินไม่เกินทุก สามเดือน ซึ่งค้างชาระเงินต้นหรือดอกเบี้ยตั้งแต่ สามเดือนขึ้นไป
(3)
ลูกหนี้ผ่อนชาระรายที่มีงวดการชาระเงินเกินกว่าทุกสามเดือน เว้นแต่มีหลักฐานที่ชัดเจนและมีความ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริษัทย่อยจะได้รับชาระหนี้ทั้งหมด
มูลหนี้จัดชั้นต่ากว่ามาตรฐาน หมายถึง มูลหนี้ส่วนที่ไม่สูงเกินกว่าหลักประกันของลูกหนี้ที่เข้าลักษณะตาม (ข)
โดยบริษัทย่อยตัดจาหน่ายลูกหนี้จัดชั้นสูญออกจากบัญชีเมื่อมีรายการ และตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราไม่ต่ากว่า ร้ อ ยละหนึ่ ง ร้ อ ยของมู ล หนี้ จั ด ชั้ น สงสั ย ทั้ ง จ านวน ซึ่ ง เงื่ อ นไขดั ง กล่ า วข้ า งต้ น เป็ น ไปตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ก าหนด โดยสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามหนังสือที่ กธ. 33/2543 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2543 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมตามหนังสือที่ กธ. 5/2544 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2544 ในกรณีที่บริษัทย่อยได้รับเงินคืนจากลูกหนี้ที่ได้จาหน่ายหนี้สูญไปแล้ว บริษัทย่อยจะบันทึกหนี้สูญได้รับคืนเป็นรายได้ ในปีที่รับคืน
208
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
4.10 กำรปรับโครงสร้ำงหนี้ที่มีปัญหำและส่วนสูญเสียจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคารบันทึกรายการที่เกี่ยวข้องกับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหาตามหลักเกณฑ์ของ ธปท. โดยในกรณีการปรับโครงสร้างหนี้โดยการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการชาระหนี้ บริษัทย่อยจะคานวณหามูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับชาระหนี้ในอนาคตตามเงื่อนไขในสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้คิดลด ด้วยอัตราดอกเบี้ยตามสัญญาเดิม และสาหรั บกรณีการปรับโครงสร้างหนี้ผ่านกระบวนการในชั้นศาล บริษัทย่อย จะคิ ด ลดกระแสเงิ นสดจากการจ าหน่ า ยหลั ก ประกัน หรื อ กระแสเงิ น สดที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ ช าระหนี้ ใ นอนาคตด้ ว ย อัตราดอกเบี้ยตามสัญญาเดิม ส่วนของภาระหนี้คงค้างตามบัญชีของลูกหนี้ที่สูงกว่ามูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสด ที่ คาดว่ าจะได้ รั บในอนาคต จะถู กบั นทึ กเป็ นค่ าเผื่ อการปรั บมู ลค่ าจากการปรั บโครงสร้ างหนี้ และถื อเป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ย ทั้งจานวนในส่วนของกาไรหรือขาดทุน ณ วันที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ (เฉพาะส่วนของค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการ ปรับโครงสร้างหนี้ ที่คานวณได้ที่สูงกว่าค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่มีอยู่เดิม) และภายหลังการปรับโครงสร้างหนี้ บริษัทย่อย จะทบทวนค่า เผื่ อการปรับ มูลค่ าดั งกล่า วโดยใช้มู ลค่า ปัจ จุบั น ของกระแสเงิน สดที่ คาดว่ าจะได้ รับ ตามระยะเวลา ที่เหลืออยู่ และปรับปรุง ค่าเผื่อการปรับมูลค่าดังกล่าวกับบัญชีค่าใช้จ่ายหนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญ ในกรณีที่เป็นการปรับโครงสร้างหนี้โดยการรับโอนสินทรัพย์ชาระหนี้และ/หรือแปลงหนี้เป็นทุน บริษัทย่อยรับรู้ขาดทุน จากการปรับโครงสร้างหนี้ในส่วนของกาไรหรือขาดทุนด้วยผลต่างของภาระหนี้คงค้างตามบัญชีของลูกหนี้กับ มูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และ/หรือเงินลงทุนที่รับโอน (หลังจากหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่ายในการขาย) ทั้งนี้ สินทรัพย์ ที่ได้รับโอนมาจะบันทึกด้วยจานวนที่ไม่สูงกว่ายอดคงค้างตามบัญชีของลูกหนี้บวกด้วยดอกเบี้ยที่บริษัทย่อยมีสิทธิได้รับ ตามกฎหมายที่ยังไม่ได้บันทึกบัญชี ในกรณีที่เป็นการปรับโครงสร้างหนี้โดยการลดเงินต้นและ/หรือดอกเบี้ยค้างรับที่บันทึกในบัญชีจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายทันที 4.11 ลูกหนี้/เจ้ำหนี้สำนักหักบัญชี ลูกหนี้ /เจ้ าหนี้ สานั กหัก บัญชี หมายถึง ยอดดุลสุทธิ ลูกหนี้ /เจ้ าหนี้ สานั กหัก บัญชี ที่เกิ ดจากการชาระราคาซื้ อขาย หลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า รวมถึงเงินที่ได้นาไปวางเป็นประกันกับสานักหักบัญชีในการทาธุรกรรมอนุพันธ์ 4.12 อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุน บริษัทฯบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่งรวมต้นทุนการทารายการภายหลัง จากนั้น บริษัทฯจะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่ า เสื่ อ มราคาของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น ค านวณจากราคาทุ น โดยวิ ธี เ ส้ น ตรงตามอายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ โดยประมาณ 20 ปี ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกาไรหรือขาดทุน บริษัท ฯรับรู้ ผลต่า งระหว่างจ านวนเงินที่ ได้รับ สุทธิจ ากการขายอสังหาริมทรัพย์ เ พื่อการลงทุ น กับมู ลค่าตามบัญ ชี ในส่วนของกาไรหรือขาดทุนเมื่อบริษัทฯจาหน่าย 4.13 ทรัพย์สินรอกำรขำย ทรัพย์ สินรอการขายแสดงตามราคาทุนหรื อมูลค่ าที่คาดว่าจะได้รับคืนแล้ วแต่ ราคาใดจะต่ากว่า ราคาทุน ได้ แก่ มูลค่ า ตามบัญชีของมูลหนี้ของลูกหนี้ ณ วันที่บริษัทย่อยมีสิทธิในทรัพย์สินรอการขายเพื่อรับ ชาระหนี้ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน อ้างอิงตามราคาประเมินล่าสุดหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่ายในการขาย กาไร (ขาดทุน) จากการจาหน่ายทรัพย์สินรอการขายจะรับรู้เป็นรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ในส่วนของกาไรหรือขาดทุนเมื่อขาย ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกาไรหรือขาดทุน
รายงานประจำ�ปี 2559
209
4.14 ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์และค่ำเสื่อมรำคำ ที่ดินแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุนหั กค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) อาคาร และอุปกรณ์แสดงมูลค่ าตามราคาทุ นหักค่ าเสื่อม ราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาคานวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุ การให้ประโยชน์โดยประมาณดังต่อไปนี้ อาคาร ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า เครื่องตกแต่งสานักงาน เครื่องใช้สานักงาน ยานพาหนะ
-
20 3 และ 5 5 3 และ 5 5
ปี ปี ปี ปี ปี
ค่าเสื่อมราคารับรูใ้ นส่วนของกาไรหรือขาดทุน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสาหรับที่ดินและสินทรัพย์ระหว่างทา บริษัทย่อยตัดรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ออกจากบัญชีเมื่อจาหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รับประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจาหน่ายสินทรัพย์ รายการผลกาไรหรือขาดทุนจากการจาหน่ายจะรับรู้ ในส่วนของกาไรหรือขาดทุน เมื่อบริษัทย่อยตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี 4.15 สินทรัพย์ไม่มตี ัวตนและค่ำตัดจำหน่ำย บริษัทย่อยวัดมูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนด้วยราคาทุน และภายหลังการรับรู้รายการครั้งแรกสินทรัพย์ไม่มีตัวตน แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) บริษัทย่อยตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จากัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ เชิ ง เศรษฐกิ จ ของสิ น ทรั พ ย์ นั้ น และจะประเมิ น การด้ อ ยค่ า ของสิ น ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า ว เมื่ อ มี ข้ อ บ่ ง ชี้ ว่ า สิ น ทรั พ ย์ นั้ น เกิดการด้อยค่า บริษัทย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจาหน่ายและวิธีการตัดจาหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าว ทุกวันสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจาหน่ายและขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกาไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จากัด ได้แก่ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ และค่าธรรมเนียมสมาชิก และใบอนุญาต ซึ่งมีอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ 5 ปี และ 10 ปี ตามลาดับ และไม่มีการคิดค่าตัดจาหน่ายสาหรับคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ระหว่างพัฒนา สินทรัพย์ไม่มีตัว ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ท ราบแน่นอน ได้ แก่ สินทรัพย์ไม่ มีตัวตนที่ได้มาจากการซื้อธุรกิจที่ แสดงอยู่ในงบการเงินรวม จะไม่มีการตัดจาหน่าย แต่จะใช้วิธีการทดสอบการด้อยค่าทุกปี ทั้งในระดับของแต่ละสินทรัพย์ และในระดับของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด 4.16 กำรด้อยค่ำของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทาการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์หากมีข้อบ่งชี้ว่ า สินทรัพย์ ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษั ทฯและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่ า ในส่วนของกาไรหรือขาดทุ น เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ากว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ คืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่คาดว่าจะได้รับ จากสินทรัพย์และคานวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึ งการประเมินความเสี่ยง ในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กาลังพิจารณา
210
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
อยู่ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯและบริษัทย่อยประเมินมูลค่าซึ่งสะท้อนถึงจานวนเงิน ที่ได้มาจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจาหน่าย โดยการจาหน่ายนั้นผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน 4.17 เจ้ำหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หมายถึง ภาระของบริษัทย่อยจากการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และ ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่มีต่อบุคคลภายนอก เช่น ยอดดุลสุทธิเจ้าหนี้ลูกค้าทีซ่ ื้อหลักทรัพย์ด้วยเงินสด เป็นต้น 4.18 ประมำณกำรหนี้สิน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต ได้ เกิ ดขึ้ นแล้ว และมี ความเป็ น ไปได้ ค่อ นข้ างแน่น อนว่า บริ ษัท ฯและบริษั ทย่ อยจะเสีย ทรั พยากรเชิ ง เศรษฐกิจ ไป เพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 4.19 ผลประโยชน์ของพนักงำน (ก) ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัสและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ (ข)
ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและ เงินที่บริ ษัทย่อยจ่ ายสมทบให้เป็น รายเดื อน สินทรัพย์ของกองทุน สารองเลี้ยงชีพ ได้แยกออกจากสินทรัพ ย์ ของบริษัทย่อย เงินที่บริษัทย่อยจ่ายสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์ บริษัทย่อยมีภาระสาหรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่งบริษัทย่อย ถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์ บริษัทย่อยคานวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่เป็นผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือคานวณหนี้สินดังกล่าวโดยวิธี คิดลดตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยโดยผู้บริหารของบริษัทย่อย ผลกาไรหรือขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการซึ่งคานวณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสาหรับโครงการ ผลประโยชน์จะรับรู้ในส่วนของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และปรับกับกาไรสะสมโดยตรง
4.20 ตรำสำรอนุพันธ์ บริ ษั ท ย่ อ ยที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ธนาคารเข้ า ท ารายการเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ที่ เ ป็ น ตราสารอนุ พั น ธ์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการบริหารความเสี่ยง (Banking book) ของบริษัทย่อยโดยจะบันทึกเป็นรายการนอกงบการเงินและ แสดงมู ล ค่ า ด้ ว ยวิ ธี ค งค้ า ง โดยองค์ ป ระกอบที่ เ ป็ น เงิ น ตราต่ า งประเทศจะถู ก แปลงค่ า ด้ ว ยอั ต ราแลกเปลี่ ย น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ในลักษณะเดียวกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง โดยกาไรขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น จากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศจะถู กบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุน และองค์ประกอบที่เป็นอัตราดอกเบี้ย จะถูกบันทึกตามเกณฑ์คงค้างเช่นเดียวกับสินทรัพย์หรือหนี้ สินที่ถูกป้องกันความเสี่ยงถือเป็นส่วนหนึ่งของดอกเบี้ยรับ หรือดอกเบี้ยจ่ายตลอดอายุของสัญญา รายงานประจำ�ปี 2559
211
4.21 เงินตรำต่ำงประเทศ บริษัทฯและบริษัทย่อยแสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการ ดาเนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการต่าง ๆ ของแต่ละกิจการที่รวมอยู่ในงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงิน ที่ใช้ในการดาเนินงานของแต่ละกิจการนั้น รายการที่ เป็น เงิ นตราต่างประเทศซึ่งเกิด ขึ้น ในระหว่า งปี แปลงค่ าเป็น เงิ นบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วั นที่ ที่ เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศและภาระผูกพันที่มียอดคงเหลือ ณ วันที่ ในงบการเงินได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กาไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน จะรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในส่วนของกาไรหรือ ขาดทุน โดยแสดงรวมอยู่ในกาไร (ขาดทุน) สุทธิจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 4.22 ภำษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ก)
ภาษีเงินได้ปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจานวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคานวณจากกาไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎหมายภาษีอากร
(ข) ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และ หนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สิน ที่เกี่ยวข้องนั้น โดยใช้อัตราภาษีที่มี ผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวที่ต้องเสียภาษีทุกรายการ แต่รับรู้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ ประโยชน์ในจานวนเท่ าที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจะมีกาไรทางภาษีในอนาคต เพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์นั้น บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีทุ กสิ้นรอบระยะเวลา รายงาน และจะทาการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดังกล่าว หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อย จะไม่มีกาไรทางภาษีเพียงพอต่อการนาสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกภาษีเงินได้รอตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของเจ้าของหากภาษี ที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้อง กับรายการที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของเจ้าของ 4.23 สัญญำเช่ำระยะยำว สัญญาเช่าที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กับบริษัทย่อยในฐานะผู้เช่า ถือเป็นสัญญาเช่าดาเนินงาน จานวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดาเนินงานรับรูเ้ ป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกาไรหรือขาดทุน ตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า
212
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
4.24 กำรวัดมูลค่ำยุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะได้รับจากการขายสินทรัพย์หรือเป็นราคาที่จะต้องจ่ายเพื่อโอนหนี้สินให้ผู้อื่น โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย (ผู้ร่วมในตลาด) ณ วันที่วัดมูลค่า บริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยใช้ ร าคาเสนอซื้ อ ขายในตลาดที่ มี ส ภาพคล่ อ งในการวั ด มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ซึ่งมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เ กี่ยวข้องกาหนดให้ต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีตลาด ที่ มี ส ภาพคล่ อ งส าหรั บ สิ น ทรั พ ย์ ห รื อ หนี้ สิ น ที่ มี ลั ก ษณะเดี ย วกั น หรื อ ไม่ ส ามารถหาราคาเสนอซื้ อ ขายในตลาด ที่มีสภาพคล่องได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิ คการประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับ แต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้น ให้มากที่สุด ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ใช้วัดมูลค่าและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สิน ในงบการเงินแบ่งออกเป็น สามระดับตามประเภทของข้อมูลที่นามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1
ใช้ข้อมูลราคาเสนอซื้อขายของสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง
ระดับ 2
ใช้ข้อมูลอื่นที่สามารถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางตรงหรือทางอ้อม
ระดับ 3
ใช้ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น
ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประเมินความจาเป็นในการโอนรายการระหว่างลาดับชั้นของ มูลค่ายุติธรรมสาหรับสินทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัดมูลค่ายุติธรรมแบบเกิดขึ้น ประจา 4.25 รำยกำรธุรกิจกับบุคคลหรือกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอานาจควบคุมบริษัทฯและบริษัทย่อย หรือถูกควบคุม โดยบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯและ บริษัทย่อย นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อมซึ่งมีอิทธิพล อย่างเป็นสาระสาคัญต่อบริษัทฯและบริษัทย่อย ผู้บริห ารสาคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยที่มี อานาจในการวางแผนและควบคุมการดาเนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย ตลอดทั้งสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับ บุคคลดังกล่าว และกิจการที่บุคคลดังกล่าวมีอานาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสาคัญไม่ว่าโดยทางตรงหรือ ทางอ้อม 5.
กำรใช้ดุลยพินิจและประมำณกำรทำงบัญชีที่สำคัญ ในการจัดทางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจาเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการ ในเรื่องที่มีความไม่แน่นอน การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ ส่งผลกระทบต่อจานวนเงินที่แสดงใน งบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจานวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการทางบัญชีที่สาคัญมีดังต่อไปนี้
รายงานประจำ�ปี 2559
213
5.1
มูลค่ำยุติธรรมของเครื่องมือทำงกำรเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่บันทึกในงบแสดงฐานะการเงินหรือเปิดเผยในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ในตลาดซื้อขายคล่อง ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้เทคนิคและแบบจาลองการประเมินมูลค่า ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในแบบจาลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยคานึงถึงความเสี่ยงทางด้านเครดิต สภาพคล่ อ ง ข้ อ มู ล ความสั ม พั น ธ์ และการเปลี่ ย นแปลงของมู ล ค่ า ของเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ในระยะยาว การเปลี่ยนแปลงของสมมติฐานที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ใช้ในการคานวณ อาจมีผลกระทบต่อมูลค่ายุติธรรมที่แสดงอยู่ ในงบแสดงฐานะการเงิน และการเปิดเผยลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม
5.2
ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำของเงินลงทุน บริษัทฯและบริษัทย่อยพิจารณาตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื่อมีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าเกิ ดขึ้น โดยฝ่ายบริหาร ได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนโดยการวิเคราะห์สถานะของเงินลงทุนแต่ละรายการ
5.3
ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อ ธุรกิจธนาคารและเงินให้กู้ยืมแก่ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้าเกิดจากการปรับมูลค่าของลูกหนี้จากความเสี่ยงด้านเครดิตที่อาจเกิดขึ้น ฝ่ายบริหารได้ใช้หลักเกณฑ์การตั้ง ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของ ธปท. และ ก.ล.ต. แล้วแต่กรณี ซึ่งรวมถึงการใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุน ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้มีปัญหาในการจ่ายชาระคืนหนี้เงินต้นและ/หรือดอกเบี้ย โดยใช้การวิเคราะห์สถานะของ ลูกหนี้ทั้งรายตัวและรายกลุ่ม ความน่าจะเป็นในการผิดนัดชาระของลูกหนี้ ส่วนสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นหากลูกหนี้ผิดนัด ชาระหนี้ ประสบการณ์ในการเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้ มูลค่าของหลักประกันและสภาวะเศรษฐกิจ
5.4
ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์และค่ำเสื่อมรำคำ ในการคานวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจาเป็นต้องทาการประมาณอายุการให้ประโยชน์และ มูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมี การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจาเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุน จากการด้อยค่ าหากคาดว่ ามู ลค่ าที่ คาดว่าจะได้ รับคืนต่ากว่ ามู ลค่ าตามบัญชี ของสิ นทรัพ ย์นั้ น ในการนี้ ฝ่า ยบริห าร จาเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคต ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น
5.5
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ได้มา ตลอดจนการทดสอบการด้อยค่าในภายหลัง ฝ่ายบริหาร จาเป็นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ หรือ หน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคานวณหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ
5.6
สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีเมื่อ มีความเป็น ไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะมีกาไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่าง ชั่วคราวและผลขาดทุนทางภาษี นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจาเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการว่าบริษัทฯและ บริษัทย่อยควรรับรู้จานวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตั ดบัญชีเป็นจานวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจานวนกาไรทางภาษี ที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา
214
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
5.7
ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงำน ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่างๆ ในการประมาณการ เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการลาออกของพนักงาน และอัตราการมรณะ เป็นต้น โดยใช้ดุลยพินิจบนพื้นฐานของข้อมูลที่ดีที่สุดในสภาวะปัจจุบัน
5.8
คดีฟ้องร้อง บริษัทย่อยมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินผล ของคดีที่ถูกฟ้องร้องแล้วและได้บันทึกประมาณการหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานสาหรับส่วนที่คาดว่าจะมี ความเสียหายเกิดขึ้น
5.9
กำรรับรู้และตัดรำยกำรสินทรัพย์และหนี้สนิ ในการพิจารณาการรับรู้หรือการตัดบัญชีสินทรัพย์และหนี้สิน ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาว่าบริษัทฯ และบริษั ทย่ อยได้โอนหรื อรั บโอนความเสี่ย งและผลประโยชน์ ใ นสิ นทรัพ ย์แ ละหนี้สินดั งกล่า วแล้ วหรือ ไม่ โดยใช้ ดุลยพินิจบนพื้นฐานของข้อมูลที่ดีที่สุดที่รับรู้ได้ในสภาวะปัจจุบัน
5.10 กำรประเมินกองทุนตำมนิยำมของกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ำงเฉพำะตัว ในการประเมินว่ากองทุนที่บริษัทย่อยรับหน้าที่บริหารจัดการเข้านิยามการเป็นกิจการซึ่งมีโครงสร้างเฉพาะตัวหรือไม่ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินสิทธิของบุคคลอื่นในการออกเสียง และสิทธิอื่นใดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ซึ่งรวมถึงสิทธิในการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทุนจากบริษัทฯไปเป็นบริษัทอื่น สิทธิในการเลิกกองทุน หรือสิทธิในการ ไถ่ถอนหน่วยลงทุน เพื่อประเมินว่าสิทธิดังกล่าวถือเป็นปัจจัยหลักในการกาหนดว่าใครเป็นผู้ควบคุมกองทุนหรือไม่ 6.
รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (สินทรัพย์)
ในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินอื่น รวมในประเทศ บวก: ดอกเบี้ยค้างรับ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน - สุทธิ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม
2559 มีระยะเวลา
รวม
1,562,923 320,916 3,975,000 5,858,839 4,987 (39,750)
11,609,172 11,609,172 9,278 (116,092)
1,562,923 320,916 15,584,172 17,468,011 14,265 (155,842)
5,824,076
11,502,358
17,326,434
เมื่อทวงถาม
(หน่วย: พันบาท)
2558 มีระยะเวลา
รวม
1,525,088 107,234 6,163,285 7,795,607 4,726 (62,528)
1,600,000 8,430,000 10,030,000 8,924 (100,300)
1,525,088 1,707,234 14,593,285 17,825,607 13,650 (162,828)
7,737,805
9,938,624
17,676,429
เมื่อทวงถาม
รายงานประจำ�ปี 2559
215
เมื่อทวงถาม
2559 มีระยะเวลา
536,976
-
536,976
-
ในประเทศ ธนาคารพาณิชย์ รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน - สุทธิ
7.
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม เมื่อทวงถาม
2558 มีระยะเวลา
536,976
230,202
-
230,202
536,976
230,202
-
230,202
รวม
รวม
สินทรัพย์/หนี้สินตรำสำรอนุพนั ธ์ ณ วั นที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 มู ลค่ าตามบั ญชี และจ านวนเงิ นตามสั ญญาของตราสารอนุ พั นธ์ เพื่ อป้ องกั น ความเสี่ยง (บัญชีเพื่อการธนาคาร) ของบริษัทย่อย แบ่งตามประเภทความเสี่ยงได้ดังนี้
ประเภทความเสี่ยง
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 มูลค่าตามบัญชี สินทรัพย์ หนี้สิน 2,858 2,858
อัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย รวม
-
(หน่วย: พันบาท) จานวนเงิน ตามสัญญา * 1,146,582 1,146,582
* เปิดเผยเฉพาะกรณีที่บริษัทย่อยมีภาระต้องจ่ายชาระ
ประเภทความเสี่ยง
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าตามบัญชี สินทรัพย์ หนี้สิน
อัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย รวม * เปิดเผยเฉพาะกรณีที่บริษัทย่อยมีภาระต้องจ่ายชาระ
-
5,395 5,395
(หน่วย: พันบาท) จานวนเงิน ตามสัญญา * 1,154,835 1,154,835
ตราสารอนุพันธ์เพื่อป้องกันความเสี่ยง (บัญชีเพื่อการธนาคาร) เป็นภาระผูกพั นตามสัญญาล่วงหน้าที่มิได้มีไว้ เพื่อค้ า ซึ่งวัดมูลค่าด้วยวิธีคงค้าง โดยองค์ประกอบที่เป็นอัตราแลกเปลี่ยนบริษัทย่อยรับรู้ ผลกาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในส่วนของกาไรหรือขาดทุนและ แสดงเป็นสินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ หรื อหนี้สินตราสารอนุ พั นธ์แล้ วแต่ กรณี สาหรับองค์ประกอบที่ เป็นอั ตราดอกเบี้ ยบริษั ทย่ อยรั บรู้ ดอกเบี้ยรั บหรื อจ่ าย ตามสัญญาตามงวดที่ถึงกาหนดชาระและบันทึกดอกเบี้ยค้างรับหรือค้างจ่ายโดยแสดงเป็นส่วนหนึ่งของดอกเบี้ยค้างรับ จากเงินลงทุนหรือดอกเบี้ยค้างจ่ายแล้วแต่กรณี
216
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
8.
เงินลงทุน
8.1
จำแนกตำมกำรจัดประเภทของเงินลงทุน
เงินลงทุนเพือ่ ค้ำ - มูลค่ำยุติธรรม ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ในประเทศ - หุ้นทุน รวมเงินลงทุนเพื่อค้า เงินลงทุนเผื่อขำย - มูลค่ำยุติธรรม ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ในประเทศ - หุ้นทุน - หน่วยลงทุน หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขาย เงินลงทุนที่จะถือจนครบกำหนด - รำคำทุน/ รำคำทุนตัดจำหน่ำย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้อื่น รวมเงินลงทุนที่จะถือจนครบกาหนด เงินลงทุนทัว่ ไป - รำคำทุน ตราสารทุนที่ไม่อยูใ่ นความต้องการของตลาด ในประเทศ - หุ้นทุน หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุนทั่วไป - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 2558
74 74
12,251 12,251
-
-
288,455 6,348,130 222,098 6,858,683
179,735 1,965,731 207,491 2,352,957
894,973 46,642 941,615
418,101 80,165 498,266
18,313,426 22,417,366 5,072,679 45,803,471
22,073,899 17,399,344 5,350,963 44,824,206
137,800 137,800
150,800 150,800
13,569 (25) 13,544 52,675,772
13,569 (25) 13,544 47,202,958
1,079,415
649,066
รายงานประจำ�ปี 2559
217
8.2
จำแนกตำมระยะเวลำคงเหลือของตรำสำรหนี้
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 ครบกาหนด ไม่เกิน 1 ปี
1 - 5 ปี
เกิน 5 ปี
2558 ครบกาหนด รวม
ไม่เกิน 1 ปี
1 - 5 ปี
เกิน 5 ปี
รวม
เงินลงทุนที่จะถือจนครบกำหนด หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ 1,551,094 9,591,900 7,170,432 18,313,426 2,953,454 6,687,055 12,433,390 22,073,899 ตราสารหนี้ภาคเอกชน 267,854 12,174,512 9,975,000 22,417,366 760,157 4,644,187 11,995,000 17,399,344 - 1,926,097 3,146,582 5,072,679 - 2,196,128 3,154,835 5,350,963 ตราสารหนี้อื่น รวมเงินลงทุนที่จะถือจนครบกาหนด 1,818,948 23,692,509 20,292,014 45,803,471 3,713,611 13,527,370 27,583,225 44,824,206 1,818,948 23,692,509 20,292,014 45,803,471 3,713,611 13,527,370 27,583,225 44,824,206 รวมเงินลงทุนในตรำสำรหนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 ครบกาหนด ไม่เกิน 1 ปี เงินลงทุนที่จะถือจนครบกำหนด ตราสารหนี้ภาคเอกชน รวมเงินลงทุนที่จะถือจนครบกาหนด รวมเงินลงทุนในตรำสำรหนี้
218
1 - 5 ปี -
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
-
2558 ครบกาหนด
เกิน 5 ปี
รวม
137,800 137,800 137,800
137,800 137,800 137,800
ไม่เกิน 1 ปี
1 - 5 ปี -
-
เกิน 5 ปี
รวม
150,800 150,800 150,800
150,800 150,800 150,800
8.3
ส่วนเกิน (ต่ำกว่ำ) ทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ส่วนเกิน (ต่ากว่า) ทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย ประกอบด้วย งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 ส่วนเกินทุนจำกกำรโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ตราสารหนี้ รวม ส่วนต่ำกว่ำทุนจำกกำรโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ตราสารหนี้ รวม ส่วนเกินทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุน ตราสารทุน รวม ส่วนต่ำกว่ำทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุน ตราสารทุน รวม ส่วนเกิน (ต่ากว่า) ทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย บวก (หัก): ภาษีเงินได้ ส่วนเกิน (ต่ำกว่ำ) ทุนจำกกำรวัดมูลค่ำเงินลงทุนเผื่อขำย - สุทธิจำกภำษีเงินได้
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 2558
1,474 1,474
3,959 3,959
-
-
(150,374) (150,374)
(8,093) (8,093)
-
-
374,424 374,424
74,854 74,854
116,491 116,491
12,238 12,238
(101,044) (101,044) 124,480 (24,896)
(92,106) (92,106) (21,386) 2,637
(3,155) (3,155) 113,336 (22,667)
(1,989) (1,989) 10,249 -
99,584
(18,749)
90,669
10,249
รายงานประจำ�ปี 2559
219
สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 การเปลี่ยนแปลงในส่วนเกิน (ต่ากว่า) ทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุน เผื่อขายมีดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ยอดยกมาต้นปี กาไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื่อขายในระหว่างปี (กาไร) ขาดทุนทีเ่ กิดขึ้นจริงจากการขายโอนไป รับรู้ในส่วนของกาไรหรือขาดทุน ขาดทุนจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ตัดจาหน่าย (ส่วนเกิน) ต่ากว่าทุนจากการ โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน รวมกาไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย หัก: ภาษีเงินได้ กาไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย - สุทธิ จากภาษีเงินได้ ยอดคงเหลือปลายปี
(18,749)
(78,921)
10,249
(50,505)
326,587
65,836
103,869
53,320
(29,247) (152,160)
2,320 -
(782) -
7,434 -
686 145,866 (27,533)
(1,156) 67,000 (6,828)
103,087 (22,667)
60,754 -
118,333 99,584
60,172 (18,749)
80,420 90,669
60,754 10,249
8.4 เงินลงทุนในบริษัทที่มีปัญหำเกี่ยวกับฐำนะกำรเงินและผลกำรดำเนินงำน
เงินลงทุนทั่วไป บริษัทที่รายงานของผู้สอบ บัญชีระบุว่าบริษัทมี ปัญหาเกี่ยวกับการ ดาเนินงานต่อเนื่อง
220
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม
2559
จานวน ราย
ราคาทุน
มูลค่า ยุติธรรม
1 1
25 25
-
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท)
ค่าเผื่อการ ด้อยค่า
25 25
2558
จานวน ราย
ราคาทุน
มูลค่า ยุติธรรม
1 1
25 25
-
ค่าเผื่อการ ด้อยค่า
25 25
8.5
เงินลงทุนที่มีภำระผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทย่อยได้นาพันธบัตรหลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจจานวนรวม 2,911 ล้านบาท (มูลค่าตามหน้าตั๋ว) วางเป็นประกันการขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาซื้อคืน (31 ธันวาคม 2558: ไม่มี)
8.6 กำรโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนเพื่อค้าไปเป็นเงินลงทุน เผื่อขาย โดยเงินลงทุนที่โอนเปลี่ยนมีมูลค่ายุติธรรมและมีราคาตามบัญชี ณ วันโอนเท่ากับ 11 ล้านบาท และ 12 ล้านบาท ตามล าดับ ทั้ งนี้ ผลต่ างระหว่างมู ลค่ายุติ ธรรมและราคา ณ วันที่โอนเปลี่ ยนประเภทจานวน 1 ล้ านบาท ได้บั นทึกไว้ เป็นขาดทุนจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนในส่วนของกาไรหรือขาดทุน ในระหว่า งปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธั นวาคม 2559 บริษัทย่อ ยอีกแห่ง หนึ่ง ได้โอนเปลี่ ยนประเภทเงินลงทุ นเผื่อขายประเภท พั นธบั ตรรั ฐบาลและรั ฐวิ สาหกิ จไปเป็ นเงิ นลงทุ นในตราสารหนี้ ที่ จะถื อจนครบก าหนดตามที่ คณะกรรมการบริ หาร ของบริษัทย่อยมีมติให้ความเห็นชอบ โดยเงินลงทุนที่โอนเปลี่ยนมีมูลค่ายุติธรรม ณ วั นโอนและราคาทุนเดิมเท่ากั บ 3,634 ล้านบาท และ 3,786 ล้านบาท ตามลาดับ ทั้งนี้ ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมและราคาทุน ณ วันที่โอนเปลี่ยน ประเภทจานวน 152 ล้านบาท ได้แสดงไว้เป็นส่วนต่ากว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุนในส่วนของเจ้าของ ซึ่งจะทยอยตัดจาหน่ายตลอดอายุที่เหลือของเงินลงทุนดังกล่าว 9.
เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
บริษัท บริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นโดยตรงโดยบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด บริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นโดยอ้อมผ่าน บริษัทย่อย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จากัด (1)
ทุนชาระแล้ว 31 ธันวาคม 2559 2558
(หน่วย: พันบาท) ราคาทุน 31 ธันวาคม 2559 2558
สัดส่วนเงินลงทุน 31 ธันวาคม 2559 2558 (ร้อยละ) (ร้อยละ)
14,000,000
14,000,000
99.99
99.99
13,999,999
13,999,999
637,215
637,215
99.80
99.80
1,035,992
1,035,992
300,000
-
99.99
325,417 15,361,408
15,035,991
20,000
300,000 20,000
99.99
-
257,289 (1) 6,802 (1)
-
99.99 99.99
6,262 (1)
เนื่องจากบริษัทดังกล่าวถือหุ้นโดยบริษัทย่อยของบริษัทฯ ดังนั้น จานวนดังกล่าวเป็นมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทย่อยของบริษัทฯ
รายงานประจำ�ปี 2559
221
เมื่อวันที่ 1 มีน าคม 2559 บริษัท ฯเข้าซื้อหุ้นสามัญของบริษั ทหลักทรัพย์จัด การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากั ด จานวน 2,999,995 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99 ของทุนออกจาหน่ายและชาระแล้วในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สุทธิของ บริษัทดังกล่าว ณ วันสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2559 คิดเป็นจานวน 325 ล้านบาท จากธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) การซื้อหุ้ นและการปรับ โครงสร้า งกลุ่ มธุ รกิจ ทางการเงินดั งกล่าวได้ รับอนุญ าตจากธนาคารแห่ งประเทศไทยแล้ ว ในวันที่ 18 มกราคม 2559 และได้รับอนุ ญาตจากสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในวันที่ 1 มีนาคม 2559 ข้อมูลทางการเงินของ บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด ที่จัดทาโดยฝ่ายบริหารของบริษัทย่อย ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2559 สรุปได้ดังนี้
สินทรัพย์ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ อุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น - สุทธิ รวมสินทรัพย์ หนี้สนิ ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย ประมาณการหนี้สิน ภาษีคา้ งจ่าย เจ้าหนีจ้ ากการซื้อขายหลักทรัพย์ หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ
222
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท) 29 กุมภาพันธ์ 2559 783,107 252,242 7,288 11,801 1,543 44,586 1,100,567 8,141 3,430 3,137 757,240 3,202 775,150 325,417
10.
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้ำงรับ
10.1 จำแนกตำมประเภทสินเชื่อ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 เงินเบิกเกินบัญชี เงินให้กู้ยืม ตั๋วเงิน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ หัก: รายได้รอตัดบัญชี เงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี บวก: ดอกเบีย้ ค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้และดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ
4,798,901 98,525,852 36,336,326 1,160,357 340,631 141,162,067 (91,770) 141,070,297 231,194 141,301,491 (3,086,277) (15,232) 138,199,982
4,824,858 98,991,433 27,160,819 1,929,567 370,122 133,276,799 (179,447) 133,097,352 224,480 133,321,832 (2,555,273) (8,740) 130,757,819
10.2 จำแนกตำมสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของลูกหนี้
ในประเทศ เงินบาท
141,070,297 141,070,297
2559 ต่างประเทศ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม รวม
ในประเทศ
- 141,070,297 133,097,352 - 141,070,297 133,097,352
(หน่วย: พันบาท) 2558 ต่างประเทศ
รวม
- 133,097,352 - 133,097,352
รายงานประจำ�ปี 2559
223
10.3 จำแนกตำมประเภทธุรกิจและกำรจัดชั้น (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 ปกติ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ตัวกลางทางการเงิน อื่น ๆ เงินให้สินเชือ่ สุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี
กล่าวถึง เป็นพิเศษ
ต่ากว่า มาตรฐาน
สงสัย
สงสัย จะสูญ
รวม
488,398 27,009,922 19,836,069 36,795,085 28,365,779 22,342,226 2,330,366
326,264 142,477 363,584 262,237 41,972
41,264 131,439 624,195 108,099 7,009
38,757 258,518 36,729 282,226 5,622
428,419 421,405 254,644 116,548 11,044
488,398 27,844,626 20,789,908 38,074,237 29,134,889 22,342,226 2,396,013
137,167,845
1,136,534
912,006
621,852
1,232,060
141,070,297 (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 ปกติ
กล่าวถึง เป็นพิเศษ
ต่ากว่า มาตรฐาน
สงสัย
สงสัย จะสูญ
รวม
การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ตัวกลางทางการเงิน อื่น ๆ
386,132 26,743,365 17,647,624 33,697,857 28,686,648 19,749,144 2,397,868
100,393 185,462 243,855 410,235 34,118
92,607 6,890 68,786 169,936 8,864
89,561 870,121 286,219 207,401 17,964
364,834 137,643 127,879 338,513 27,433
386,132 27,390,760 18,847,740 34,424,596 29,812,733 19,749,144 2,486,247
เงินให้สินเชือ่ สุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี
129,308,638
974,063
347,083
1,471,266
996,302
133,097,352
224
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
10.4 จำแนกตำมประเภทกำรจัดชั้น (ก)
ธุรกิจธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ธนาคารฯ (บริษัทย่อย) มีเงินให้สินเชื่อจัดชั้นและเงินสารองที่เกี่ยวข้อง ตามเกณฑ์ในประกาศ ธปท. ดังนี้
เงินให้สินเชื่อ แก่ลูกหนี้ และดอกเบี้ย ค้างรับ สารองอัตราร้อยละขั้นต่าตามเกณฑ์ ธปท. จัดชั้นปกติ 137,047,136 จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ 1,146,009 จัดชั้นต่ากว่ามาตรฐาน 912,006 จัดชั้นสงสัย 621,852 จัดชั้นสงสัยจะสูญ 1,232,060 140,959,063 รวม สารองรายตัวเพิ่มเติม สารองทั่วไป รวม (1)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 ยอดสุทธิ อัตราร้อยละ ที่ใช้ใน ขั้นต่าที่ใช้ใน การตัง้ ค่าเผื่อหนี้ การตัง้ ค่าเผื่อหนี้ (1) สงสัยจะสูญ สงสัยจะสูญ (ร้อยละ) 58,079,562 239,510 202,312 48,580 313,070 58,883,034
(หน่วย: พันบาท)
ค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ
1 2 100 100 100
808,224 168,479 202,312 49,614 320,919 1,549,548 571,544 965,185 3,086,277
ยอดสุทธิที่ใช้ในการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ยอดคงค้างของเงินต้นที่ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับหลังหักหลักประกันสาหรับลูกหนี้ จัดชั้นปกติและกล่าวถึงเป็นพิเศษ และหมายถึงมูลหนี้หลังหักมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้ หรือมูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจาหน่ายหลักประกัน สาหรับลูกหนี้จัดชั้นต่ากว่ามาตรฐาน สงสัย และสงสัยจะสูญ
รายงานประจำ�ปี 2559
225
เงินให้สินเชื่อ แก่ลูกหนี้ และดอกเบี้ย ค้างรับ สารองอัตราร้อยละขั้นต่าตามเกณฑ์ ธปท. จัดชั้นปกติ 129,150,528 จัดชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ 984,939 จัดชัน้ ต่ากว่ามาตรฐาน 347,083 จัดชั้นสงสัย 1,471,266 จัดชั้นสงสัยจะสูญ 996,302 132,950,118 รวม สารองรายตัวเพิ่มเติม สารองทั่วไป รวม (1)
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 ยอดสุทธิ อัตราร้อยละ ที่ใช้ใน ขั้นต่าที่ใช้ใน การตั้งค่าเผื่อหนี้ การตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ (1) สงสัยจะสูญ (ร้อยละ) 49,804,924 142,554 108,239 367,301 347,820 50,770,838
ค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ
1 2 100 100 100
498,049 2,851 108,239 367,301 347,820 1,324,260 508,603 722,410 2,555,273
ยอดสุทธิที่ใช้ในการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ยอดคงค้างของเงินต้นที่ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับหลังหักหลักประกันสาหรับลูกหนี้ จัดชั้นปกติและกล่าวถึงเป็นพิเศษ และหมายถึงมูลหนี้หลังหักมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้ หรือมูลค่า ปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจาหน่ายหลักประกัน สาหรับลูกหนี้จัดชั้นต่ากว่ามาตรฐาน สงสัย และสงสัยจะสูญ
(ข)
ธุรกิจหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์จาแนกลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และ ดอกเบี้ยค้างรับตามประกาศของ ก.ล.ต. เรื่อง การจัดทาบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ด้อยคุณภาพของบริษัทหลักทรัพย์ ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2544 ได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม
2559 เงินให้สินเชื่อ ค่าเผื่อหนี้ และดอกเบี้ย สงสัยจะสูญ ค้างรับ ทีต่ ั้งไว้ ลูกหนี้จัดชั้นปกติ รวม
342,428 342,428
-
2558
มูลค่าสุทธิ หลังหักค่า เงินให้สินเชื่อ ค่าเผื่อหนี้ เผื่อหนี้สงสัย และดอกเบี้ย สงสัยจะสูญ จะสูญ ค้างรับ ทีต่ ั้งไว้ 342,428 342,428
371,714 371,714
-
มูลค่าสุทธิ หลังหักค่า เผื่อหนี้สงสัย จะสูญ 371,714 371,714
นอกจากนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยดังกล่าวมีลูกหนี้ที่ซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสดอีก จานวน 96 ล้านบาท และ 32 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่งแสดงไว้ในรายการ “ลูกหนี้ซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสด” ในงบการเงินรวม และลูกหนี้ดังกล่าวทั้งจานวนจัดชั้นเป็นลูกหนี้ปกติตามเกณฑ์ของ ก.ล.ต.
226
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
10.5 เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภำพ (ธุรกิจธนำคำร) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคารมีเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ดังนี้
2559 เงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (พันบาท) คิดเป็นอัตราร้อยละต่อยอดสินเชือ่ ทั้งหมด (1)
(1)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม
2,765,918 1.76%
2558 2,814,651 1.89%
ฐานเงินต้นทั้งหมดรวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินที่เป็นเงินให้สินเชื่อ
เงิ นให้ สิ นเชื่ อแก่ ลู กหนี้ ที่ ไม่ ก่ อให้ เกิ ดรายได้ ค านวณตามเกณฑ์ ที่ ป ระกาศโดย ธปท. ซึ่ ง หมายถึ ง สิ น เชื่ อ จั ด ชั้ น ต่ากว่ามาตรฐาน สงสัยและสงสัยจะสูญ และไม่รวมสินเชื่อที่ค้างชาระที่ได้มีการทาสัญญาปรับโครงสร้างหนี้แล้วและ เข้าเงื่อนไขการจัดชั้นเป็นลูกหนี้ปกติหรือกล่าวถึงเป็นพิเศษตามเกณฑ์ ธปท. 10.6 เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ระงับกำรรับรู้รำยได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยมีเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ระงับการรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง ดังนี้
2559
เงินให้สินเชื่อที่ระงับการรับรู้รายได้ (พันบาท) ธุรกิจธนาคาร คิดเป็นอัตราร้อยละต่อยอดสินเชือ่ ทั้งหมด (1) (1)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม
2,796,969 1.79%
2558 2,853,721 1.91%
ฐานเงินต้นทั้งหมดรวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินที่เป็นเงินให้สินเชื่อ
10.7 เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่มีปัญหำในกำรชำระหนี้หรือผิดนัดชำระหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยมีเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ ยค้างรับกับบริษัท และบุคคล ที่มีปัญหาในการชาระหนี้หรือผิดนัดชาระหนี้และได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559
บริษัทและบุคคลที่มีปัญหาใน การชาระหนี้หรือผิดนัดชาระหนี้
จานวนราย
มูลหนี้ ตามบัญชี
หลักประกัน
306
3,911,927
3,098,981
(หน่วย: พันบาท) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ/ ค่าเผื่อการปรับมูลค่า
รายงานประจำ�ปี 2559
745,957
227
หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558
จานวนราย
มูลหนี้ ตามบัญชี
หลักประกัน
459
3,799,590
2,822,801
บริษัทและบุคคลที่มีปัญหาใน การชาระหนี้หรือผิดนัดชาระหนี้
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ/ ค่าเผื่อการปรับมูลค่า 826,696
บริษัทย่อยไม่มีข้อมูลเพียงพอจึงไม่ได้เปิดเผยรายการของบริษัทที่รายงานของผู้สอบบัญชีระบุว่าบริษัทนั้นมีปัญหา เกี่ยวกับการดาเนินงานต่อเนื่องของกิจการ และบริษัทอื่นที่มิใช่บริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ มี ผลการด าเนิ นงานและฐานะการเงิ นเช่ นเดี ยวกั บบริ ษั ทจดทะเบี ยนที่ เ ข้ า ข่ า ยถู กเพิ กถอนจากการเป็ นหลั กทรั พย์ จดทะเบียน อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยได้มีการพิจารณาจัดชั้ นและกันเงินสารองสาหรับลูกหนี้เหล่านั้นตามแนวทาง ปฏิบัติของ ธปท. และ ก.ล.ต. แล้ว 10.8 กำรปรับโครงสร้ำงหนี้ที่มีปัญหำ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยได้ทาสัญญาปรับโครงสร้างหนี้กับลูกหนี้โดยสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559
จานวน ราย การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการ ชาระหนี้ การโอนสินทรัพย์ และ/หรือ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไข การชาระหนี้ รวมลูกหนี้ปรับโครงสร้างหนี้ ทั้งหมด (1)
ภาระหนี้ (เงินต้นบวกดอกเบี้ยค้างรับ) ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้
69
2,173,622
2,173,622
1
41,062
12,322
70
2,214,684
2,185,944
ชนิดของ สินทรัพย์ ที่รับโอน
ที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้าง
มูลค่าของ สินทรัพย์ที่จะ รับโอนตาม สัญญา
ขาดทุน ส่วนสูญเสีย จากการลด จากการปรับ หนี้ตามสัญญา โครงสร้างหนี้ (1)
-
-
10,290
1,274
28,740
-
28,740
10,290
ส่วนสูญเสียจากการปรับโครงสร้างหนี้ที่แสดงเป็นจานวนก่อนหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ได้ตั้งไว้แล้วในบัญชีของลูกหนี้ที่มีปัญหา ณ วันปรับโครงสร้างหนี้
228
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท)
จานวน ราย 82 82
การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชาระหนี้ รวมลูกหนี้ปรับโครงสร้างหนี้ทั้งหมด (1)
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ภาระหนี้ (เงินต้นบวกดอกเบี้ยค้างรับ) ส่วนสูญเสีย ก่อนปรับ หลังปรับ จากการปรับ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้ (1) 1,128,339 1,128,339
1,128,339 1,128,339
9,429 9,429
ส่วนสูญเสียจากการปรับโครงสร้างหนี้ที่แสดงเป็นจานวนก่อนหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ได้ตั้งไว้แล้วในบัญชีของลูกหนี้ที่มีปั ญหา ณ วันปรับโครงสร้างหนี้
ลูกหนี้ที่ทาสัญญาปรับโครงสร้างหนี้สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ตามที่กล่าวข้างต้น สามารถ จาแนกตามระยะเวลาการผ่อนชาระตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ ได้ดังนี้
2559 ช่วงระยะเวลาการผ่อนชาระตาม สัญญาปรับโครงสร้างหนี้ ไม่เกิน 5 ปี 5 - 10 ปี 10 - 15 ปี เกินกว่า 15 ปี รวม
จานวนราย 17 36 3 14 70
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ภาระหนี้ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ 663,305 953,913 510,643 58,083 2,185,944
จานวนราย 6 27 10 39 82
(หน่วย: พันบาท)
2558
ภาระหนี้ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ 124,886 401,117 439,511 162,825 1,128,339
ข้อมูลสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ที่เกี่ยวข้องกับลูกหนี้ที่ได้มีการทาสัญญาปรับโครงสร้างหนี้แล้ว มีดังนี้
. รายงานประจำ�ปี 2559
229
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ดอกเบี้ยที่รับรู้ในส่วนของกาไรหรือขาดทุน เงินสดที่รับชาระจากลูกหนี้ ทรัพย์สินที่รับโอนจากลูกหนี้ ส่วนสูญเสียจากการปรับโครงสร้างหนี้ ขาดทุนจากการลดหนี้ตามสัญญา
139,859 780,586 1,274 10,290 28,740
162,529 747,374 9,429 -
ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 บริ ษั ท ย่ อ ยมี ลูก หนี้ ที่ ป รั บ โครงสร้ า งหนี้ ซึ่ ง มี ภาระหนี้ ค งเหลื อ ตามบั ญ ชี ดังต่อไปนี้ ลูกหนี้ทั้งหมด
31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2558
จานวนราย
ภาระหนี้ (เงินต้นบวกดอกเบี้ย ค้างรับ)
12,900 12,510
141,301,491 133,321,832
(หน่วย: พันบาท) ลูกหนี้ที่ปรับโครงสร้างหนี้ ภาระหนี้ (เงินต้นบวกดอกเบี้ย จานวนราย ค้างรับ) 287 342
3,622,176 3,258,765
ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2559 และ 2558 บริ ษั ทย่ อยไม่ มี ภาระผู กพั นคงเหลื อที่ ตกลงให้ ลู กหนี้ กู้ ยื มเพิ่ มเติ ม ภายหลั ง การปรับโครงสร้างหนี้ 10.9 ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยมีลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อโดยอายุของสัญญา มีระยะเวลา 2 ถึง 8 ปี และคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละคงที่ตามที่ระบุในสัญญา (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 จานวนเงินที่ถึงกาหนดชาระตามสัญญา ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี ผลรวมของเงินลงทุนขั้นต้นตามสัญญาเช่าซื้อ หัก: รายได้รอตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบันของจานวนเงินขั้นต่าตามสัญญาเช่าซื้อ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ - สุทธิ
230
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
581,128 (50,567) 530,561
579,187 (37,565) 541,622
42 42
รวม 1,160,357 (88,132) 1,072,225 (84,406) 987,819
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 จานวนเงินที่ถึงกาหนดชาระตามสัญญา ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี เกิน 5 ปี ผลรวมของเงินลงทุนขั้นต้นตามสัญญาเช่าซื้อ หัก: รายได้รอตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบันของจานวนเงินขั้นต่าตามสัญญาเช่าซื้อ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ - สุทธิ
11.
796,365 (89,072) 707,293
1,104,003 (83,615) 1,020,388
รวม
29,199 (691) 28,508
1,929,567 (173,378) 1,756,189 (65,933) 1,690,256
ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 สารองอัตราร้อยละขั้นต่าตามเกณฑ์ ธปท. สารอง กล่าวถึง ต่ากว่า สงสัย รายตัว เป็นพิเศษ มาตรฐาน สงสัย จะสูญ เพิ่มเติม
ปกติ ยอดต้นปี สารองเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี หนี้สูญตัดบัญชี ลดลงจากการขายหนี้ โอนไปบัญชีค่าเผื่อการปรับมูลค่า จากการปรับโครงสร้างหนี้ โอนไปบัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ในสินทรัพย์อื่น อื่น ๆ ยอดปลายปี
(หน่วย: พันบาท)
สารอง ทั่วไป
รวม
498,049 444,337 (134,162)
2,851 183,193 (17,565)
108,239 134,900 (3,072) (37,755)
367,301 (180,052) (52,804) (56,091)
347,820 120,723 (18,841) (116,494)
508,603 62,941 -
722,410 221,001 -
2,555,273 987,043 (74,717) (362,067)
-
-
-
(28,740)
-
-
21,774
(6,966)
808,224
168,479
202,312
49,614
(11,569) (720) 320,919
571,544
965,185
(11,569) (720) 3,086,277
รายงานประจำ�ปี 2559
231
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 สารองอัตราร้อยละขั้นต่าตามเกณฑ์ ธปท. สารอง กล่าวถึง ต่ากว่า สงสัย รายตัว เป็นพิเศษ มาตรฐาน สงสัย จะสูญ เพิ่มเติม
ปกติ ยอดต้นปี สารองเพิ่มระหว่างปี หนี้สงสัยจะสูญโอนกลับ จากการรับคืน หนี้สูญตัดบัญชี ลดลงจากการขายหนี้ โอนไปบัญชีค่าเผื่อการปรับมูลค่า จากการปรับโครงสร้างหนี้ โอนไปบัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ในสินทรัพย์อื่น ยอดปลายปี
12.
(หน่วย: พันบาท)
สารอง ทั่วไป
รวม
406,844 91,567
2,495 6,364
87,312 30,187
140,544 301,047
687,341 124,396
380,000 128,603
433,290 351,736
2,137,826 1,033,900
(362)
(6,008)
(9,260)
(20,265) (54,025)
(5,205) (348,648) (100,171)
-
(61,423)
(5,205) (368,913) (231,249)
-
-
-
-
-
-
(1,193)
(1,193)
498,049
2,851
108,239
367,301
(9,893) 347,820
508,603
722,410
(9,893) 2,555,273
ค่ำเผื่อกำรปรับมูลค่ำจำกกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ยอดต้นปี ตั้งเพิม่ ในระหว่างปี ลดลงในระหว่างปี ขาดทุนจากการลดหนี้ตามสัญญา ปรับปรุงรายการในระหว่างปี ยอดปลายปี
232
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
8,740 39,030 (6,866) (28,740) 3,068 15,232
7,547 9,429 (9,676) 1,440 8,740
13.
กำรโอนขำยสินเชือ่ ด้อยคุณภำพ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคารได้ทาสัญญาซื้อขายสินเชื่อด้อยคุณภาพ โดยบริษัทย่อยในฐานะ “ผู้ขาย” ได้ขายสินเชื่อด้อยคุณภาพสรุปได้ดังต่อไปนี้
ครั้งที่
เดือนที่ขาย
1 2
กันยายน ธันวาคม
สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลหนี้คงค้าง ตามบัญชี (รวมสินทรัพย์อื่น ที่เกี่ยวข้อง) ราคาขาย 534 519 1,053
391 288 679
(หน่วย: ล้านบาท)
สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มูลหนี้คงค้าง ตามบัญชี (รวมสินทรัพย์อื่น เดือนที่ขาย ที่เกี่ยวข้อง) มิถุนายน ธันวาคม
ราคาขาย
314 299 613
194 180 374
ทั้งนี้ บริษัทย่อยได้รับชาระเงินครบถ้วนภายใต้สัญญาซื้อขายสินเชื่ อด้อยคุณภาพดังกล่าว ภายใต้เงื่อนไขของสัญญา ผู้ซื้ออาจยกเลิกการโอนสินทรัพย์เฉพาะรายได้ภายในระยะเวลาไม่เกินเดือนกันยายน 2560 (สาหรับการขายครั้งที่ 1 ในปี 2559) และเดือนธันวาคม 2560 (สาหรับการขายครั้งที่ 2 ในปี 2559) หากปรากฏว่าผู้ซื้อไม่สามารถรับโอนสิทธิ ในหนี้สินและหลักประกันของสินทรัพย์รายใด ๆ เนื่องจากไม่มีเอกสารหลัก ฐานแห่งหนี้ หลักประกันไม่มี หรือมีอ ยู่ ไม่ครบถ้วน หรือหลักประกันถูกรอนสิทธิ หรือศาลไม่อนุญาตให้ผู้ซื้อเข้าสวมสิทธิเป็นคู่ความแทนบริษัทย่อย โดยหากมี การยกเลิกการโอนสินทรัพย์รายใดแล้ว ผู้ซื้อจะได้รับเงินค่าสินทรัพย์ตามราคา ณ วันชาระราคา ส่วนบริษัทย่อยจะได้รับ รายรับที่ได้รับชาระหักด้วยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในระหว่างช่วงเวลายกเลิกการโอนสินทรัพย์ รายนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม ผู้ซื้อยังมิได้มีการยกเลิกการโอนสินทรัพย์รายใดจนถึงวันที่อนุมัติงบการเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2559
233
14.
อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุน มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แสดงได้ดังนี้
รำคำทุน 1 มกราคม 2558 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2559 ค่ำเสื่อมรำคำสะสม 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี 31 ธันวาคม 2559
มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2559 ค่ำเสื่อมรำคำสำหรับปี 2558 2559 มูลค่ำยุติธรรม 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2559
งบการเงินเฉพาะกิจการ อาคารสานักงานให้เช่า
ที่ดิน
(หน่วย: พันบาท) รวม
35,358 35,358 35,358
2,642 2,642 2,642
38,000 38,000 38,000
-
486 132 618 133 751
486 132 618 133 751
35,358 35,358
2,024 1,891
37,382 37,249 132 133
36,641 36,640
3,049 3,248
มูลค่ายุติธรรมประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้เกณฑ์ราคาตลาดสาหรับที่ดินและอาคารสานักงานให้เช่า ที่ดินและอาคารสานักงานดังกล่าวได้นามาให้บริษัทย่อยเช่า ดังนั้นในงบการเงินรวมที่ดินและอาคารสานักงานดังกล่าว จึงแสดงไว้ในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
234
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
15.
ทรัพย์สินรอกำรขำย
ทรัพย์สินรอกำรขำย - อสังหำริมทรัพย์ ประเมินโดยบุคคลภายนอก: ราคาทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า มูลค่าสุทธิตามบัญชี ประเมินโดยบุคคลภายใน: ราคาทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า มูลค่าสุทธิตามบัญชี ทรัพย์สินรอการขาย - อสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์สินรอกำรขำย - สังหำริมทรัพย์ ประเมินโดยบุคคลภายนอก: ราคาทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า มูลค่าสุทธิตามบัญชี ทรัพย์สินรอการขาย - สังหาริมทรัพย์ รวมทรัพย์สินรอกำรขำย
ทรัพย์สินรอกำรขำย - อสังหำริมทรัพย์ ประเมินโดยบุคคลภายนอก: ราคาทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า มูลค่าสุทธิตามบัญชี ประเมินโดยบุคคลภายใน: ราคาทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า มูลค่าสุทธิตามบัญชี รวมทรัพย์สินรอกำรขำย
1 มกราคม 2559
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เปลี่ยน เพิ่มขึ้น จาหน่าย ผู้ประเมิน
31 ธันวาคม 2559
21,473 21,473
25,431 25,431
(4,007) (4,007)
(18,410) (18,410)
24,487 24,487
77,867 77,867 99,340
6,099 6,099 31,530
(23,101) (23,101) (27,108)
18,410 18,410 -
79,275 79,275 103,762
99,340
5,400 5,400 5,400 36,930
(1,840) (1,840) (1,840) (28,948)
-
3,560 3,560 3,560 107,322
1 มกราคม 2558 11,268 11,268 41,541 41,541 52,809
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เพิ่มขึ้น -
(หน่วย: พันบาท)
จาหน่าย
31 ธันวาคม 2558
10,205 10,205
-
21,473 21,473
46,605 46,605 56,810
(10,279) (10,279) (10,279)
77,867 77,867 99,340
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ทรัพย์สินรอการขายของบริษัทย่อยไม่ติดภาระผูกพันที่บริษัทย่อยต้องให้สิท ธิ แก่ลูกหนี้เดิมในการซื้อทรัพย์สินดังกล่าวในราคาที่กาหนดและภายในเวลาที่กาหนดไว้ หรือสิทธิที่ลูกหนี้เดิมสามารถ ซื้อก่อนบุคคลอื่น
รายงานประจำ�ปี 2559
235
16.
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์
รำคำทุน 1 มกราคม 2558 ซื้อเพิ่ม ตัดจาหน่าย/จาหน่าย โอนเข้า (ออก) 31 ธันวาคม 2558 ซื้อเพิ่ม ตัดจาหน่าย/จาหน่าย โอนเข้า (ออก) 31 ธันวาคม 2559 ค่ำเสื่อมรำคำสะสม 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่อมราคาสะสม ส่วนที่ตดั จาหน่าย/ จาหน่าย ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี โอนเข้า (ออก) 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่อมราคาสะสม ส่วนที่ตดั จาหน่าย/ จาหน่าย ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2559 ค่ำเสื่อมรำคำสำหรับปี 2558 2559
ส่วน ปรับปรุง อาคารเช่า
งบการเงินรวม เครื่อง ตกแต่ง เครื่องใช้ สานักงาน สานักงาน
(หน่วย: พันบาท) สินทรัพย์ ยานพาหนะ ระหว่างทา
ที่ดิน
อาคาร
รวม
75,947 75,947 75,947
12,853 12,853 12,853
389,128 24,585 (4,830) 9,617 418,500 16,576 (6,169) 5,834 434,741
133,191 12,015 (868) 609 144,947 9,010 (934) 204 153,227
519,207 83,148 (12,554) (412) 589,389 31,014 (14,308) 292 606,387
18,043 1,726 19,769 6,100 (4,656) 21,213
-
1,452
203,630
78,442
318,146
6,999
-
608,669
-
643 2,095
(3,000) 65,720 91 266,441
(715) 20,281 98,008
(12,453) 79,962 (91) 385,564
3,298 10,297
-
(16,168) 169,904 762,405
-
644 2,739
(5,021) 62,940 324,360
(858) 19,426 116,576
(14,160) 77,884 449,288
(4,656) 3,417 9,058
-
(24,695) 164,311 902,021
75,947 75,947
10,758 10,114
152,059 110,381
46,939 36,651
203,825 157,099
9,472 12,155
1,553
499,000 403,900
4,064 1,152,433 7,476 127,224 (18,252) (11,540) - 1,261,405 7,883 70,583 (26,067) (6,330) 1,553 1,305,921
169,904 164,311
ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2559 และ 2558 บริ ษั ทย่ อยมี ส่วนปรั บปรุ งอาคารเช่ า อุ ปกรณ์ และยานพาหนะจ านวนหนึ่ ง ซึ่งตัดค่าเสื่อ มราคาหมดแล้ว แต่ยัง ใช้ง านอยู ่ ราคาทุน เดิม ก่อ นหัก ค่า เสื่อ มราคาสะสมของสิน ทรัพ ย์ดัง กล่า ว มีจานวนรวม 468 ล้านบาท และ 318 ล้านบาท ตามลาดับ
236
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
17.
สินทรัพย์ไม่มตี ัวตน
คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ รำคำทุน 1 มกราคม 2558 ซื้อเพิ่ม โอนเข้า (ออก) 31 ธันวาคม 2558 ซื้อเพิ่ม โอนเข้า (ออก)
ค่าธรรมเนียม สมาชิกและ ใบอนุญาต
งบการเงินรวม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่ได้มา จากการซื้อธุรกิจ
(หน่วย: พันบาท) คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ ระหว่างพัฒนา
รวม
477,413 44,599 8,361
28,273 6,420 -
80,041 -
35,758 20,500 (8,361)
621,485 71,519 -
530,373 49,315 24,886
34,693 2,091 -
80,041 -
47,897 24,110 (24,886)
693,004 75,516 -
31 ธันวาคม 2559 ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม 1 มกราคม 2558 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี 31 ธันวาคม 2558 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี
604,574
36,784
80,041
47,121
768,520
319,253 62,340 381,593 66,846
10,782 3,335 14,117 3,571
-
-
330,035 65,675 395,710 70,417
31 ธันวาคม 2559 มูลค่ำสุทธิตำมบัญชี
448,439
17,688
-
-
466,127
31 ธันวาคม 2558
148,780
20,576
80,041
47,897
297,294
156,135
19,096
80,041
47,121
302,393
31 ธันวาคม 2559 ค่ำตัดจำหน่ำยสำหรับปี
65,675
2558 2559 อำยุตัดจำหน่ำยคงเหลือ (ปี)
70,417 0-5
1, 4, 8 และ 9
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยมีคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์จานวนหนึ่ง ซึ่งตัดค่าตัดจาหน่ายหมดแล้ว แต่ยังใช้งานอยู่ โดยมีราคาทุนเดิมก่อนหักค่าตัดจาหน่ายสะสมเป็นจานวน 257 ล้านบาท และ 208 ล้านบาท ตามลาดับ
รายงานประจำ�ปี 2559
237
18.
สินทรัพย์/หนีส้ ินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีและภำษีเงินได้
18.1 สินทรัพย์/หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนประกอบของสินทรัพย์/หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ประกอบด้วยภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกิดจากรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม ส่วนเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ รอตัดบัญชีสาหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 2559 2558 สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกิดจาก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - สารองทั่วไป ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - สินทรัพย์อื่น ค่าเผื่อการด้อยค่าเงินลงทุน ดอกเบี้ยรับที่หยุดรับรู้รายได้ ค่าตัดจาหน่ายของสินทรัพย์ ตัดจาหน่ายหนี้สูญ ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงาน สารองวันลาพักร้อน ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ ขาดทุนทางภาษีปีก่อนที่บันทึกรับรู้เป็นสินทรัพย์ ภาษีเงินได้ในระหว่างปี ขาดทุนทางภาษีที่นามาใช้ประโยชน์ ในระหว่างปี (กาไร) ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื่อขาย รวม แยกแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงิน: สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวม ส่วนเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้รอตัดบัญชี: รับรู้ในส่วนของกาไรหรือขาดทุน รับรู้ในส่วนของกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รวม
238
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
190,677 10,235 9,690 1,082 11,505 20,147 1,200 -
144,482 6,304 2,640 10,481 2,271 11,505 16,020 1,200 -
46,195 3,931 (2,640) (791) (1,189) 4,127 -
58,824 611 4,012 (2,877) (166) 2,470 (2,375)
-
-
6,501
-
-
-
(6,501)
-
(24,896) 219,640
2,637 197,540
(27,533) 22,100
(6,828) 53,671
263,466 (43,826) 219,640
197,540 197,540 49,654 (27,554) 22,100
60,887 (7,216) 53,671
(หน่วย: พันบาท)
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกิดจาก: กาไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย รวม แยกแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงิน: สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวม แยกแสดงรายการในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ: รับรู้ในส่วนของกาไรหรือขาดทุน รับรู้ในส่วนของกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รวม
งบการเฉพาะกิจการ ส่วนเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ รอตัดบัญชีสาหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 2559 2558 (22,667) (22,667)
-
(22,667) (22,667)
-
(22,667) (22,667)
-
(22,667) (22,667)
-
ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยบางแห่ ง ไม่ ได้ บั น ทึ ก รั บ รู้ ภาษี เ งิ น ได้ ร อตั ด บั ญ ชี จากรายการผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีได้ในอนาคตและขาดทุ นทางภาษีที่ยังไม่ได้ ใช้ประโยชน์ จานวนรวม 52 ล้านบาท และ 153 ล้านบาท ตามลาดับ (เฉพาะบริษัทฯ: 41 ล้านบาท และ 88 ล้านบาท ตามลาดับ) เป็นสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยดังกล่าวพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความน่าจะเป็นไม่ถึงระดับ ความเป็ นไปได้ค่ อนข้างแน่ที่ บริษั ทฯและบริษั ทย่อ ยนั้น จะมีกาไรทางภาษี ในอนาคตเพี ยงพอต่ อการนาสินทรัพ ย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ได้ก่อนที่ขาดทุนทางภาษีดังกล่าวจะทยอยสิ้นสุดระยะเวลาการให้ประโยชน์ ตั้งแต่ปี 2560 ถึง 2564
รายงานประจำ�ปี 2559
239
18.2 ภำษีเงินได้ ค่า ใช้ จ่ า ยภาษี เงิ น ได้ สาหรั บ ปีสิ้น สุ ด วั น ที่ 31 ธัน วาคม 2559 และ 2558 ที่ แ สดงอยู่ใ นส่ ว นของก าไรหรื อ ขาดทุ น ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท)
ภำษีเงินได้ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับปี ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่างชัว่ คราวและการกลับ รายการผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในส่วนของกาไรหรือขาดทุน
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (693,755)
(463,336)
49,654 (644,101)
60,887 (402,449)
รายการกระทบยอดจ านวนเงิ น ระหว่ า งค่ า ใช้ จ่ า ยภาษี เ งิ น ได้ กั บ ผลคู ณ ของก าไรทางบั ญ ชี ส าหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 กับอัตราภาษีเงินได้ สามารถแสดงได้ดังนี้ งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 กาไรทางบัญชีก่อนค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ อัตราภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้คานวณจากกาไรทางบัญชี ผลกระทบทางภาษีสาหรับ: รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ ค่าใช้จา่ ยที่มีสิทธิหกั ได้เพิ่มขึ้น ค่าใช้จา่ ยต้องห้าม ขาดทุนทางภาษีสาหรับปีที่ไม่ได้บันทึก เป็นสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ขาดทุนทางภาษีปีก่อนที่มิได้รับรูส้ ินทรัพย์ภาษีเงินได้ ในงวดก่อนแต่นามาใช้ประโยชน์ในระหว่างปี อื่น ๆ ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในส่วนของกาไรหรือ ขาดทุน
240
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
3,340,539 2,054,162 20% 20% (668,108) (410,832)
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 1,007,480 20% (201,496)
1,013,134 20% (202,627)
28,684 3,573 (3,523)
12,299 2,397 (2,611)
192,454 (1,000)
203,477 (72)
9,990
(4,334)
10,042
(778)
6,466 (21,183)
632
-
-
(644,101)
(402,449)
-
-
จานวนเงินภาษีเงินได้ที่รับรู้ในส่วนของกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกีย่ วข้องกับ: กาไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย กาไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในส่วนของกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น 19.
(27,533) (21) (27,554)
(6,828) (388) (7,216)
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 (22,667) (22,667)
-
สินทรัพย์อื่น งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 เงินมัดจาและเงินประกัน ลูกหนี้สานักหักบัญชี บัญชีพักลูกหนี้ ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า รายได้คา้ งรับ ค่าใช้จา่ ยรอตัดบัญชี กองทุนทดแทนความเสียหายในระบบการชาระ ราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ ลูกหนี้จากการขายทอดตลาดทรัพย์สินรอการขาย เหรียญที่ระลึก ภาษีเงินได้รอเรียกคืน หลักทรัพย์เพื่อความมั่นคง ลูกหนี้กรมสรรพากร อื่น ๆ รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ/ค่าเผื่อการด้อยค่า สินทรัพย์อื่น - สุทธิ
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 2558
84,127 74,499 62,425 41,017 32,576 28,913
75,309 25,886 45,364 31,545 33,328 55,206
1 8,461 1,563 -
1 1,532 -
28,781 20,244 19,891 8,037 5,017 2,935 7,157 415,619 (51,583) 364,036
27,133 61,328 15,029 7,502 5,049 1,328 7,725 391,732 (35,380) 356,352
764 10,789 10,789
1,533 1,533
รายงานประจำ�ปี 2559
241
20.
คุณภำพสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคารมีสินทรัพย์ที่จัดชั้นตามเกณฑ์ ธปท. ดังนี้
การจัดชั้นสินทรัพย์ ปกติ กล่าวถึงเป็นพิเศษ ต่ากว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ รวม
การจัดชั้นสินทรัพย์ ปกติ กล่าวถึงเป็นพิเศษ ต่ากว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ รวม
242
รายการระหว่าง ธนาคารและ ตลาดเงินและ ดอกเบี้ยค้างรับ 15,598,349 15,598,349
รายการระหว่าง ธนาคารและ ตลาดเงินและ ดอกเบี้ยค้างรับ 16,206,911 16,206,911
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559
เงินลงทุน 71,725 71,725
เงินให้สินเชื่อ แก่ลูกหนี้และ ดอกเบี้ยค้างรับ 137,047,136 1,146,009 912,006 621,852 1,232,060 140,959,063
สินทรัพย์อื่น 51,173 51,173
เงินลงทุน 50,665 50,665
129,150,528 984,939 347,083 1,471,266 996,302 132,950,118
152,645,485 1,146,009 912,006 621,852 1,354,958 156,680,310 (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 เงินให้สินเชื่อ แก่ลูกหนี้และ ดอกเบี้ยค้างรับ
รวม
สินทรัพย์อื่น 34,970 34,970
รวม 145,357,439 984,939 347,083 1,471,266 1,081,937 149,242,664
21.
เงินรับฝำก
21.1 จำแนกตำมประเภทเงินรับฝำก (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 จ่ายคืนเมื่อทวงถาม ออมทรัพย์ เงินรับฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา ใบรับเงินฝากประจา รวมเงินรับฝาก
5,061,089 64,577,369 50,648,233 28,810,455 149,097,146
5,678,018 51,651,496 41,212,825 38,521,981 137,064,320
21.2 จำแนกตำมสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของผู้ฝำก
31 ธันวาคม 2559 ในประเทศ ต่างประเทศ เงินบาท รวม 22.
149,097,146 149,097,146
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม
31 ธันวาคม 2558 ในประเทศ ต่างประเทศ
รวม
- 149,097,146 137,064,320 - 149,097,146 137,064,320
รวม
- 137,064,320 - 137,064,320
รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนีส้ ิน)
31 ธันวาคม 2559 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา ในประเทศ: ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สถาบันการเงินอื่น รวมรายการระหว่าง ธนาคารและตลาดเงิน
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม รวม
31 ธันวาคม 2558 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา
รวม
5 1,194,208
4,451,250 2,001,000 9,445,053 2,918,335
4,451,250 2,001,005 9,445,053 4,112,543
8,952 2,059,484
5,322,595 1,001,000 7,696,982 4,549,543
5,322,595 1,009,952 7,696,982 6,609,027
1,194,213
18,815,638
20,009,851
2,068,436
18,570,120
20,638,556
รายงานประจำ�ปี 2559
243
งบการเงินเฉพาะกิจการ
31 ธันวาคม 2559 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา ในประเทศ: ธนาคารพาณิชย์ รวมรายการระหว่าง ธนาคารและตลาดเงิน
23.
(หน่วย: พันบาท)
31 ธันวาคม 2558 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา
รวม
รวม
415,000
-
415,000
-
-
-
415,000
-
415,000
-
-
-
ตรำสำรหนีท้ ี่ออกและเงินกู้ยืม (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559
31 ธันวาคม 2558
อัตรา
ตั๋วแลกเงิน
อัตรา
ดอกเบี้ย
ปีที่ครบ
ใน
ต่าง
ต่อปี
กาหนด
ประเทศ
ประเทศ
1.50%-1.75% 2560
ตราสารหนี้ด้อยสิทธิ
(1)
14,064,151
-
รวม
ดอกเบี้ย
ปีที่ครบ
ใน
ต่าง
ต่อปี
กาหนด
ประเทศ
ประเทศ
2559
17,820,500
-
17,820,500
3,849,200
-
3,849,200
14,064,151 1.40%-1.90%
รวม
5.125%
2568
3,862,200
-
3,862,200
5.125%
2568
1.95%
2560
2,400,000
-
2,400,000
-
-
-
-
-
0%
2564
6,398
-
6,398
-
-
-
-
-
20,332,749
-
20,332,749
21,669,700
-
21,669,700
(5,260)
-
(5,260)
(5,732)
-
(5,732)
20,327,489
-
20,327,489
21,663,968
-
21,663,968
ตราสารหนี้ไม่ดอ้ ยสิทธิ และไม่มีประกัน เงินกู้ยืมจากกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน รวม หัก: ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม - สุทธิ (1)
นับเป็นส่วนหนึ่งของเงินกองทุนชัน้ ที่ 2 โดยคานวณตามเงื่อนไขเกณฑ์การนับเงินกองทุนของธนาคารแห่งประเทศไทย
23.1 ตรำสำรหนี้ด้อยสิทธิ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2558 บริษัทย่อยได้ออกตราสารหนี้ด้อยสิทธิ ครั้งที่ 1/2558 เพื่อนับเป็นเงินกองทุน ชั้นที่ 2 จ านวน 4 ล้ านหน่ ว ย มู ลค่ า ที่ ตราไว้ 1,000 บาทต่ อหน่ ว ย คิ ดเป็ น มู ลค่ ารวมทั้ งสิ้ น 4,000 ล้ า นบาท มี อ ายุ 10 ปี ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2568 อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.125 ต่อปี ชาระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน ในเดือนกุมภาพันธ์ พฤษภาคม สิ ง หาคม และพฤศจิ ก ายน ของทุ ก ปี ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ย่ อ ยสามารถใช้ สิ ท ธิ ไถ่ ถ อนตราสารหนี้ ด้ อ ยสิ ท ธิ ก่อนวันครบกาหนดไถ่ ถอนได้ภายหลังที่ตราสารหนี้ด้อยสิทธิครบรอบ 5 ปี นับแต่วันออกตราสารหรือภายใต้เงื่อนไข ที่กาหนด
244
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
24.
ประมำณกำรหนี้สนิ
ประมาณการ หนี้สินผลประโยชน์ ของพนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 เพิ่มขึ้นในระหว่างปี ลดลงจากการจ่ายชาระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
81,519 24,033 (4,683) 100,869
ประมาณการ หนี้สินผลประโยชน์ ของพนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 เพิ่มขึ้นในระหว่างปี ลดลงในระหว่างปี ลดลงจากการจ่ายชาระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
68,312 14,015 (808) 81,519
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ประมาณการ รื้อถอน 5,654 5,654
ประมาณการ หนี้สินอื่น
5,669 (15) 5,654
รวม
120 225 345
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประมาณการ รื้อถอน
(หน่วย: พันบาท)
87,293 24,258 (4,683) 106,868 (หน่วย: พันบาท)
ประมาณการ หนี้สินอื่น 120 120
รายงานประจำ�ปี 2559
รวม 73,981 14,135 (15) (808) 87,293
245
24.1 ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงำน รายการเคลื่อนไหวประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงานแสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานต้นปี ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบีย้ (กาไร) ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย: ส่วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐานด้านประชากรศาสตร์ ส่วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐานทางการเงิน ส่วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอืน่ ผลประโยชน์จ่ายในระหว่างปี ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ของพนักงานปลายปี
81,519 21,684 2,454
68,312 13,926 1,932
(137) 32 (4,683) 100,869
(9,266) 5,293 2,130 (808) 81,519
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงานทีร่ วมอยู่ในส่วนของกาไรหรือขาดทุนแสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบีย้ รวมค่าใช้จา่ ยผลประโยชน์ของพนักงาน
21,684 2,454 24,138
13,926 1,932 15,858
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยคาดว่าจะจ่ายชาระผลประโยชน์ของพนักงานภายใน 1 ปีข้างหน้า เป็นจานวนประมาณ 1.2 ล้านบาท และ 1.7 ล้านบาท ตามลาดับ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 บริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ะยะเวลาเฉลี่ ย ถ่ ว งน้ าหนั ก ในการจ่ า ยช าระผลประโยชน์ ของพนักงานประมาณ 9 - 10 ปี
246
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
สมมติฐานหลักที่ใช้ในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยของพนักงาน ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม
อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการลาออก อัตราคิดลด
2559 (ร้อยละต่อปี)
2558 (ร้อยละต่อปี)
4 - 5.5 0 - 30 2.65, 2.67 และ 3
4 - 5.5 0 - 30 2.51 และ 3
ผลกระทบของการเปลี่ ย นแปลงสมมติ ฐ านที่ ส าคั ญ ต่ อ ประมาณการหนี้ สิ น ผลประโยชน์ ข องพนั ก งาน ณ วั น ที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม
สมมติฐานที่สาคัญ อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราคิดลด 25.
2559 ผลกระทบต่อประมาณการหนี้สิน ผลประโยชน์ของพนักงาน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เพิ่มขึ้น 0.5% ลดลง 0.5% 5,527 (4,407)
2558 ผลกระทบต่อประมาณการหนี้สิน ผลประโยชน์ของพนักงาน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เพิ่มขึ้น 0.5% ลดลง 0.5%
(5,164) 4,745
4,350 (3,789)
(4,073) 4,081
เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อขำยหลักทรัพย์ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 เจ้าหนีจ้ ากการซื้อหลักทรัพย์ เงินรับล่วงหน้าค่าจองซื้อหน่วยลงทุน รวมเจ้าหนี้จากการซือ้ ขายหลักทรัพย์
112,260 112,260
18,816 18,816
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 2558 -
รายงานประจำ�ปี 2559
4,013 4,013
247
26.
หนี้สนิ อื่น งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 บัญชีพักเจ้าหนี้ เจ้าหนีค้ ่าซื้ออุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินมัดจา เจ้าหนีก้ รมสรรพากร อื่น ๆ รวมหนี้สินอื่น
27.
183,621 31,069 6,558 7,100 2,067 230,415
177,035 7,418 6,602 5,663 1,448 198,166
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 2558 525 300 825
445 300 745
ทุนเรือนหุ้น
27.1 กำรเพิ่ม/ลดทุนจดทะเบียน เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปีของบริษัทฯมีมติอนุมัติเรื่องสาคัญดังต่อไปนี้ (1)
อนุ มั ติ ลดทุ นจดทะเบี ยนของบริ ษั ทฯ จ านวน 852,880 หุ้ น มู ลค่ าตราไว้ หุ้ นละ 1 บาท ท าให้ ทุ นจดทะเบี ยน ของบริ ษั ทฯจากเดิ มจ านวน 13,199,599,896 บาท เป็ น ทุ น จดทะเบี ย นใหม่ จ านวน 13,198,747,016 บาท โดยการตัดหุ้นที่ยังมิได้ออกจาหน่าย
(2)
อนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จานวน 439,958,234 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทาให้ ทุนจดทะเบียนจากเดิม จานวน 13,198,747,016 บาท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่ จานวน 13,638,705,250 บาท เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปันผล
27.2 กำรกระทบยอดทุนเรือนหุ้น
หุ้นสามัญจดทะเบียน หุ้นสามัญ ณ วันต้นปี บวก: เพิ่มทุนจดทะเบียนระหว่างปี หัก: ลดทุนจดทะเบียนระหว่างปี หุ้นสามัญ ณ วันสิน้ ปี หุ้นสามัญที่ออกจาหน่ายและชาระแล้ว หุ้นสามัญ ณ วันต้นปี บวก: ออกหุ้นปันผล (หมายเหตุฯ ข้อที่ 29) หุ้นสามัญ ณ วันสิ้นปี
248
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 จานวนหุ้น บาท จานวนหุ้น
บาท
13,638,705,250 13,638,705,250
13,638,705,250 13,638,705,250
13,199,599,896 439,958,234 (852,880) 13,638,705,250
13,199,599,896 439,958,234 (852,880) 13,638,705,250
13,638,699,252 13,638,699,252
13,638,699,252 13,638,699,252
13,198,747,016 439,952,236 13,638,699,252
13,198,747,016 439,952,236 13,638,699,252
27.3 บันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับสัญญำจองซื้อหุ้น เมื่ อวั นที่ 29 มี น าคม 2559 บริ ษั ทฯได้ ลงนามในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงเกี่ ยวกั บ สั ญญาจองซื้ อ หุ้ น (“Memorandum of Understanding in Relation to Share Subscription Agreement” or “SSA MOU”) กับ CTBC Bank (“CTBC”) ในการหาพันธมิตรร่วมทุนและเพื่อเพิ่มศักยภาพการดาเนินธุรกิจของกลุ่มธุรกิจทางการเงินแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2559 บริษัทฯได้ลงนามในสัญญาจองซื้อหุ้น (“Share Subscription Agreement” or “SSA”) กับ CTBC โดยภายใต้ SSA บริ ษั ทฯได้ ตกลงที่ จะท าการออกและเสนอขายหุ้ นบริ ษั ทฯต่ อบุ คคลในวงจ ากั ด (Private Placement) โดยจะออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจานวน 7,544,961,342 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 35.6169 ของหุ้นที่จาหน่ายได้แล้ว ทั้งหมดของบริษัทฯแก่ CTBC ในราคาหุ้นละ 2.20 บาท ทั้งนี้ เมื่อดาเนินการตามข้อตกลงและเงื่อนไขเสร็จสิ้น CTBC จะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ในอัตราร้อยละ35.6169 ของหุ้นที่ จาหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งจะเป็นอัตราเดียวกันกับกลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่เดิม ซึ่งได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) และบริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) รวมกัน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯได้มีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการร่วมทุนกับ CTBC จากที่ กาหนดไว้เดิมวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เป็นวันที่ 30 กันยายน 2560 เพื่อมีความยืดหยุ่นของระยะเวลาดาเนินการต่างๆ เพื่อให้การร่วมทุนบรรลุผลสาเร็จ จนถึงวันที่อนุมัติงบการเงินนี้ยังอยู่ระหว่างการดาเนินการตามข้อตกลงและเงื่อนไข ที่ตกลงกัน 28. สำรองตำมกฎหมำย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต้องจัดสรรกาไรสุทธิ ประจาปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสารองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกาไรสุทธิประจาปี หักด้วยขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่า ทุนสารองนี้จะมีจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ทุนสารองตามกฎหมายนี้ไม่สามารถนาไปจ่ายเงินปันผลได้ 29.
กำรจ่ำยปันผล เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปีของบริษัทฯ มีมติอนุมัติจ่ายเงินปันผลจากผลการดาเนินงาน ประจาปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 โดยจ่ายปันผลเป็นหุ้นสามัญ จานวน 439,952,236 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราการจ่าย 1 หุ้นปันผลต่อ 30 หุ้น ที่ถืออยู่เดิม หรือคิดเป็นอัตราการจ่ายเงินปันผลเท่ากับ 0.0333 บาทต่อหุ้น และจ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.0037 บาท หรือคิดเป็นจานวน 48.8 ล้านบาท โดยบริษัทฯ ได้จ่ายเงินปันผลและออกหุ้นปันผลแล้วเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2558 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2559 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปีของบริษัทฯ มีมติอนุมัติจ่ายเงินปันผลจากผลการดาเนินงาน ประจาปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยจ่ายปันผลเป็นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.033 บาท หรือคิดเป็นจานวน 450.07 ล้านบาท โดยบริษัทฯได้จ่ายเงินปันผลแล้วเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2559
30.
เงินกองทุนทีต่ ้องดำรงไว้ตำมกฎหมำย วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริษัทฯในการบริหารทุน คือ การดารงไว้ซึ่งความสามารถในการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและ การดารงเงินกองทุนตามกฎหมายตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 เงินกองทุนของกลุ่มธุรกิจทางการเงินและของ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ประกอบด้วย
รายงานประจำ�ปี 2559
249
เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ ทุนที่ออกและชาระเต็มมูลค่าแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ สารองตามกฎหมาย กาไรสุทธิคงเหลือหลังการจัดสรร ส่วนเกิน (ต่ากว่า) ทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุน ประเภทเงินลงทุนเผื่อขาย หัก: ขาดทุนสุทธิจากการประมาณการหนี้สิน ผลประโยชน์ของพนักงาน หัก: สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หัก: สินทรัพย์ไม่มีตัวตน รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 เงินกองทุนชั้นที่ 2 ตราสารหนี้ด้อยสิทธิ เงินสารองสาหรับสินทรัพย์จัดชั้นปกติและ สารองทั่วไป รวมเงินกองทุนชั้นที่ 2 รวมเงินกองทุนตามกฎหมายทั้งสิ้น
อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ ต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้น ต่อสินทรัพย์เสี่ยง *
(หน่วย: พันบาท) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 31 ธันวาคม 2559 2558
กลุ่มธุรกิจทางการเงิน 31 ธันวาคม 2559 2558 13,638,699 642,556 709,590 2,709,573
13,638,699 642,556 528,700 1,638,779
14,000,000 473,000 2,490,646
14,000,000 347,800 1,112,242
218,705
(15,441)
36,869
5,991
(171) (219,640) (213,435) 17,485,877 17,485,877
(95) (197,540) (166,918) 16,068,740 16,068,740
(263,446) (108,146) 16,628,923 16,628,923
(190,708) (72,508) 15,202,817 15,202,817
3,862,200
3,849,200
4,000,000
4,000,000
1,701,823 5,564,023 23,049,900
1,733,288 5,582,488 21,651,228
1,701,823 5,701,823 22,330,746
1,733,288 5,733,288 20,936,105
31 ธันวาคม 2559 ธนาคาร อัตราขั้นต่า กลุ่มธุรกิจ แลนด์ และส่วนเพิ่ม ทางการเงิน แอนด์ เฮ้าส์ ตามกฎหมาย*
(หน่วย: ร้อยละ) 31 ธันวาคม 2558 ธนาคาร กลุ่มธุรกิจ แลนด์ อัตราขั้นต่า ทางการเงิน แอนด์ เฮ้าส์ ตามกฎหมาย
10.581
10.239
5.125
10.61
10.18
4.50
10.581
10.239
6.625
10.61
10.18
6.00
13.947
13.750
9.125
14.29
14.01
8.50
อัตราส่วนเงินกองทุนส่วนเพิ่ม เพื่อรองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤต (Conservation Buffer) กาหนดให้ธนาคารพาณิชย์ดารง อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของเพิ่มเติมจากการดารงอัตราส่วนเงินกองทุนขั้นต่าอีกในอัตราร้อยละ 0.625 ต่อปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นไป จนครบอัตราร้อยละ 2.50 ในปี 2562
250
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
นอกจากนี้ เพื่อให้เป็นไปตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์การกากับแบบรวมกลุ่ม บริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดารงเงินกองทุนสาหรับกลุ่มธุรกิจทางการเงินฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไว้ใน Website ของบริ ษัทฯ www.lhfg.co.th แล้ว เมื่อวั นที่ 29 เมษายน 2559 และจะเปิด เผยข้อ มูลการดารงเงินกองทุน สาหรั บ กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ภายในเดือนเมษายน 2560 31.
รำยได้ดอกเบี้ย งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนในตราสารหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ การให้เช่าซื้อ อื่น ๆ รวมรายได้ดอกเบี้ย
32.
586,120 1,666,087 6,473,296 84,416 112 8,810,031
633,094 1,470,957 6,268,213 121,582 47 8,493,893
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 941 7,309 8,250
3,757 4,850 8,607
ค่ำใช้จ่ำยดอกเบี้ย งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินนาส่งสถาบันคุม้ ครองเงินฝากและ ธนาคารแห่งประเทศไทย ตราสารหนี้ที่ออก - หุ้นกู้ด้อยสิทธิ - หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิและไม่มีประกัน เงินกูย้ ืม อื่น ๆ รวมค่าใช้จา่ ยดอกเบี้ย
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
2,464,437 206,000
2,776,291 274,417
8,323
5,082
761,966
691,926
-
-
198,794 28,080 309,824 1,936 3,971,037
121,824 262,101 905 4,127,464
8,323
5,082
รายงานประจำ�ปี 2559
251
33.
รำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร
รำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร การรับรอง รับอาวัล และการค้าประกัน ค่าธรรมเนียมรับนายหน้า อื่น ๆ รวมรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่ำใช้จ่ำยค่ำธรรมเนียมและบริกำร ค่าธรรมเนียมและบริการ อื่น ๆ รวมค่าใช้จา่ ยค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ (ค่าใช้จา่ ย) ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ 34.
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
46,048 237,863 352,959 636,870
43,503 212,473 199,607 455,583
-
-
56,677 69,593 126,270 510,600
50,716 55,487 106,203 349,380
7,481 7,481 (7,481)
7,843 7,843 (7,843)
กำไรจำกเงินลงทุน
กาไรจากการขาย: เงินลงทุนเผื่อขาย เงินลงทุนที่จะถือจนครบกาหนด เงินลงทุนทั่วไป รวมกาไรจากเงินลงทุน
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 311,784 876,705 1,188,489
25,210 647,726 456 673,392
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 36,073 690 36,763
2,500 22 2,522
ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯมีการขายเงินลงทุนที่จะถือจนครบกาหนด โดยมีราคาทุน ตัดจาหน่ายและราคาขายใกล้เคียงกันจานวนประมาณ 13 ล้านบาท และ 5 ล้านบาท ตามลาดับ ในระหว่ างปี สิ้ นสุ ดวั นที่ 31 ธั นวาคม 2559 และ 2558 บริ ษั ทย่ อยมี การขายเงิ นลงทุ นที่ จะถื อจนครบก าหนดตามที่ คณะกรรมการบริษัทย่อยมีมติให้ความเห็นชอบ โดยมีราคาทุนตัดจาหน่ายรวมจานวน 10,337 ล้านบาท และ 9,679 ล้านบาท ตามลาดับ และมีกาไรสุทธิที่เกิดขึ้นจากการขายเงินลงทุนดังกล่าวรวมจานวน 876 ล้านบาท และ 648 ล้านบาท ตามลาดับ 35.
ค่ำตอบแทนกรรมกำร ค่ า ตอบแทนกรรมการนี้ เ ป็ น ผลประโยชน์ ที่ จ่ า ยให้ แ ก่ ก รรมการของบริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยตามมาตรา 90 ของพระราชบั ญ ญั ติ บริ ษั ท มหาชนจากั ด โดยไม่ร วมเงิ น เดื อนและผลประโยชน์ที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่จ่ า ยให้กั บ กรรมการ ซึ่งดารงตาแหน่งเป็นผู้บริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อยด้วย
252
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
36.
หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (1) รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน สินทรัพย์อื่น รวมหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการด้อยค่า
(1)
37.
1,015,783 (6,986) 16,203 1,025,000
1,024,007 46,853 18,754 1,089,614
สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 จานวนดังกล่าวรวมขาดทุนจากการลดหนี้ตามสัญญาจานวน 28.7 ล้านบาท
องค์ประกอบของกำไร (ขำดทุน) เบ็ดเสร็จอืน่ องค์ประกอบของกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ประกอบด้วย
(ก) รายการที่จะถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุน ในภายหลัง: กาไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย กาไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจากการวัดมูลค่า เงินลงทุนในระหว่างปี ขาดทุนจากการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน (กาไร) ขาดทุนที่โอนไปรับรู้ในส่วนของกาไร หรือขาดทุนสาหรับปีเนื่องจาก - ขายเงินลงทุนเผื่อขาย - ขายเงินลงทุนเผื่อขายที่รบั โอนมาจากการ เปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ตัดจาหน่าย (ส่วนเกิน) ต่ากว่าทุนจากการ โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน รวมกาไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผือ่ ขาย หัก: ภาษีเงินได้ กาไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย – สุทธิจาก ภาษีเงินได้ (ข) รายการที่จะไม่ถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือ ขาดทุนในภายหลัง: กาไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย หัก: ภาษีเงินได้ กาไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย - สุทธิจากภาษีเงินได้ กาไรเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
326,587 (152,160)
65,836 -
103,869 -
53,320 -
(35,955)
5,551
(782)
7,434
6,708
(3,231)
-
-
686 145,866 (27,533)
(1,156) 67,000 (6,828)
103,087 (22,667)
60,754 -
118,333
60,172
80,420
60,754
105 (21)
1,843 (388)
-
-
84 118,417
1,455 61,627
80,420
60,754
รายงานประจำ�ปี 2559
253
38.
กำไรต่อหุน้ กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคานวณโดยหารกาไรสาหรับปีส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ (ไม่รวมกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักของหุ้นสามัญที่ออกในระหว่างปี และได้ปรับปรุงเพิ่มเติมด้วยจานวนหุ้นปันผลที่ได้ มีการประกาศจ่ายตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 29 โดยถือเสมือนว่าการออกหุ้นปันผลได้เกิดขึ้น ตั้งแต่วันเริ่มต้นของงวดแรกที่เสนอรายงาน กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน แสดงการคานวณได้ดังนี้
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน กาไรสาหรับปีส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน กาไรสาหรับปีส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 39.
กาไรสาหรับปี 2559 2558 พันบาท พันบาท 2,696,437
1,651,713
กาไรสาหรับปี 2559 2558 พันบาท พันบาท 1,007,480
1,013,134
งบการเงินรวม จานวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก 2559 2558 พันหุ้น พันหุ้น 13,638,699 13,638,699 งบการเงินเฉพาะกิจการ จานวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก 2559 2558 พันหุ้น พันหุ้น 13,638,699 13,638,699
กาไรต่อหุ้น 2559 2558 บาท บาท 0.1977
0.1211
กาไรต่อหุ้น 2559 2558 บาท บาท 0.0739
0.0743
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริ ษั ท ย่ อ ย และพนั ก งานของบริ ษั ท ย่ อ ยได้ ร่ ว มกั น จั ด ตั้ ง กองทุ น ส ารองเลี้ ย งชี พ ขึ้ น ภายใต้ ก ารอนุ มั ติ จ าก กระทรวงการคลังตามพระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสม เป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 - 15 ของเงินเดือน และเงินที่บริษัทย่อยจ่ายสมทบให้ในอัตราร้อยละ 3 - 7 ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับจานวนปีที่ทางาน โดยจะจ่ายให้แก่พนักงานในกรณีที่ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุน ฯ ในระหว่างปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนฯเป็นจานวน 37.0 ล้านบาท และ 32.1 ล้านบาท ตามลาดับ
254
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
40. ภำระผูกพันและหนี้สนิ ทีอ่ ำจจะเกิดขึน้ 40.1 ภำระผูกพัน 31 ธันวาคม 2559 เงินตรา เงินบาท ต่างประเทศ การรับอาวัลตั๋วเงิน 23,953 ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้าที่ ยังไม่ครบกาหนด 8,021 การค้าประกันอื่น 4,020,780 เล็ตเตอร์ออฟเครดิต 6,927 วงเงินเบิกเกินบัญชีที่ลูกค้า ยังไม่ได้เบิกใช้ 4,871,743 17,225,401 ภาระผูกพันอื่น รวม 26,156,825
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม
รวม
31 ธันวาคม 2558 เงินตรา เงินบาท ต่างประเทศ
รวม
-
23,953
119,458
-
119,458
-
8,021 4,020,780 6,927
4,334,089 -
-
4,334,089 -
-
4,871,743 17,225,401 26,156,825
5,009,803 15,201,722 24,665,072
-
5,009,803 15,201,722 24,665,072
40.2 ภำระผูกพันตำมสัญญำระยะยำว (ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยได้ทาสัญญาเช่าและบริการระยะยาวสาหรับอาคารสานักงาน อุปกรณ์และยานพาหนะ โดยมีอายุสัญญาระหว่าง 1 ถึง 9 ปี โดยบริษัทย่อยมีจานวนเงินขั้นต่าที่ต้องจ่ายค่าเช่า และค่าบริการในอนาคตทั้งสิ้นดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 จ่ายชาระ: ภายใน 1 ปี 315 332 มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 305 353 มากกว่า 5 ปี 8 16 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ภาระผูกพันของบริษัทย่อยข้างต้นรวมภาระผูกพันตามสัญญาเช่า และ สัญญาบริการที่ทากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจานวนเงินรวมประมาณ 130 ล้านบาท และ 212 ล้านบาท ตามลาดับ
รายงานประจำ�ปี 2559
255
(ข)
บริ ษั ท ย่ อ ยสามแห่ ง มี ภ าระผู ก พั น ตามสั ญ ญาจ้ า งที่ ป รึ ก ษาเพื่ อ ติ ด ตั้ ง และพั ฒ นาระบบคอมพิ วเตอร์ กั บ บริษัท หลายแห่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 คงเหลือจานวนที่บริษัทย่อยจะต้องจ่ายภายใต้สัญญาดังกล่าว อีกจานวน 20 ล้านบาท และ 27 ล้านบาท ตามลาดับ นอกจากนี้ บริษัทย่อยมีภาระผูกพันตามสัญญาอนุญาต ให้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยบริษัทย่อยจะต้องจ่ายค่าบารุงรักษาเป็นรายปี โดยตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป จ่ายปีละ 1.6 ล้านบาท ต่อปี สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับต่อเนื่องจนกว่าบริษัทย่อยจะบอกเลิกสัญญา หรือฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งผิดเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญา
(ค)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีภาระผูกพันตามสัญญาอนุญาตให้ใช้โปรแกรม คอมพิว เตอร์ ที่บ ริษั ทย่ อยได้ เข้ าท าสั ญญาในปี 2557 โดยบริ ษัท ย่อ ยจะต้ องจ่า ยค่ าบริก ารเป็ นจ านวนเงิ น 3.1 ล้านบาทต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี และมีค่าบารุงรักษาอีกจานวน 2.9 ล้านบาทต่อปี โดยในปีแรกให้จ่าย ตามสัดส่วนนับจากวันที่เริ่มใช้งาน
40.3 ภำระผูกพันเกี่ยวกับสัญญำให้บริกำร (ก)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์จัดการกองทุน มีภาระที่ต้องนาส่ง เงินค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการตามที่ได้รับใบอนุญาตต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งประกอบด้วยค่าธรรมเนียมดังต่อไปนี้ -
ค่ าธรรมเนี ยมการบริ หารจั ดการกองทุ นในอั ตราที่ ก าหนด โดยค านวณจากมู ลค่ าทรั พย์ สิ นสุ ทธิ ภายใต้ การบริหารจัดการ ณ สิ้นวันทาการสุดท้ายของเดือนถัวเฉลี่ย
-
ค่าธรรมเนียมการเป็นนายทะเบียนคิดค่าธรรมเนียมในอัตราร้อยละ 1 ของรายได้ค่าธรรมเนียมการเป็น นายทะเบียน
ทั้งนี้ ค่าธรรมเนียมดังกล่าวกาหนดขั้นต่า 500,000 บาทต่อปี (ข)
256
ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 บริ ษั ท ย่ อ ยอี ก แห่ ง หนึ่ ง ที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ มี ภ าระผู ก พั น ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ซึ่งต้องจ่ายให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด และบริษัท สานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จากัด เป็นจานวน คงที่ที่กาหนดไว้ บวกด้วยอัตราร้อยละของมูลค่าการซื้อขายและ/หรืออัตราร้อยละของมูลค่าการชาระและ รับชาระราคาหลักทรัพย์สุทธิเป็นรายเดือน นอกจากนี้ บริษัทย่อยดังกล่ าวมีภาระผูกพันค่าธรรมเนียมต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบธุรกิจสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้ากับบริษัทตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) บริษัท ศูนย์รับ ฝากหลั กทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด และบริษัท สานัก หักบัญชี (ประเทศไทย) จากัด เป็ น จานวนเงินคงที่ที่กาหนดไว้ บวกด้วยอัตราต่อสัญญาสาหรับการซื้อหรือ ขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและ/หรือ อัตราผันแปรตามที่กาหนดในสัญญา และมี ภาระผูกพันค่าธรรมเนียมการประกอบธุรกิจการเป็นนายหน้าซื้อ ขายหลักทรัพ ย์ การค้าหลั กทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุนและการจัดจาหน่ายหลักทรัพ ย์ โดยจะจ่า ย ค่าธรรมเนียมดังกล่าวให้กับสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งค่าธรรมเนียม การประกอบธุรกิจการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ คานวณจากมูลค่าซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ในอัตราร้อยละ 0.0007 - 0.0018 และสาหรับค่าธรรมเนียมการประกอบธุรกิจการค้าหลักทรัพย์และการจัด จาหน่ายหลักทรัพย์ กาหนดให้จ่ายในอัตราร้อยละ 1 ต่อปีของรายได้จากการประกอบธุรกิจหลักทรัพ ย์ข้างต้น ทั้งนี้ ค่าธรรมเนียมโดยรวมจะต้องไม่ต่ากว่า 500,000 บาทต่อปี
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
40.4 ภำระผูกพันโครงกำรสะสมหุ้นสำหรับพนักงำน เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อย ครั้งที่ 11/2556 มีมติอนุมัติโครงการสะสมหุ้นสาหรับ พนักงาน (Employee Joint Investment Program หรือ EJIP) โดยมีรายละเอียดดังนี้ ระยะเวลาโครงการ พนักงานทีม่ ีสิทธิเข้าร่วมโครงการ รูปแบบโครงการ
กาหนดการซื้อหุ้นเข้าโครงการ เงื่อนไขการถือครองหลักทรัพย์
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 ถึง 31 ธันวาคม 2561 รวมระยะเวลา 5 ปี ผู้ บ ริ ห ารของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ จ ากั ด (มหาชน) ระดั บ ผู้ ช่ ว ย ผู้อานวยการฝ่าย/สานัก หรือเที ยบเท่าขึ้นไป ที่ผ่านการทดลองงานและ ปลดรักษาการแล้ว เงิ น ส่ ว นที่ พ นั ก งานจ่ า ยเพื่ อ เข้ า ร่ ว มโครงการ: อั ต ราไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 5 ของ ฐานเงินเดือนพนักงาน เงินส่วนที่บริษัทย่อยจ่ายสมทบให้พนักงานที่เข้าร่วมโครงการ: อัตราร้อยละ 5 ของฐานเงินเดือนพนักงาน ทุกเดือน ปีที่ 1 - 3 ไม่สามารถขายได้ทั้งจานวน ครบ 3 ปี สามารถขายหุ้นได้ 25% ของจานวนหุ้นสะสมที่มีอยู่ ครบ 4 ปี สามารถขายหุ้นได้ 50% ของจานวนหุ้นสะสมที่มีอยู่ ครบ 5 ปี สามารถขายหุ้นได้ทั้งจานวน การลาออกจากโครงการทุกกรณี สามารถขายหุ้นได้ทันที
โครงการสะสมหุ้นสาหรับพนักงานนี้ได้รับความเห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2557 ซึ่งบริษัทย่อยได้จ่ายสมทบเงินให้กับสมาชิก ในโครงการและรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับพนักงานในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 เป็นจานวนเงินประมาณ 7.1 ล้านบาท และ 7.4 ล้านบาท ตามลาดับ 40.5 ภำระผูกพันที่เกิดจำกกำรซื้อบริษัทย่อย ในเดือนมกราคม 2557 บริษัทฯได้เข้าทาสัญญาซื้อขายหุ้นบริษัทหลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน)” (บริษัทย่อย) จาก CIMB Securities International Pte. Ltd. และผู้ถือหุ้นอื่นในกลุ่ม CIMB ภายใต้สัญญาดังกล่าว บริษัทฯมี ภาระผูกพันตามสัญญาที่จะต้องจ่ายค่าหุ้นเพิ่มเติมในอนาคตในอัตราร้อยละ 50 ของผลประโยชน์ที่บริษัทย่อยดังกล่าว จะได้ รับ ในฐานะการเป็ น สมาชิ กตลาดหลั กทรัพ ย์ แห่ งประเทศไทย (“ตลาดหลั กทรัพ ย์ ฯ ”) ในกรณีที่ มี การแปรรู ป ตลาดหลักทรัพย์ฯเป็นบริษัทมหาชน (Demutualisation) ซึ่งวิธีการคานวณผลประโยชน์ในแต่ละรูปแบบได้มีการกาหนด ไว้แล้วในสัญญาพร้อมทั้งระยะเวลาในการจ่ายชาระ 40.6 คดีฟ้องร้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยมีคดีความที่ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายในหลายคดี โดยมีทุนทรัพย์รวม จานวน 848 ล้านบาท และ 36 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่งผลของคดีดังกล่าว ยังไม่เป็นที่สิ้นสุด ฝ่ายบริหารของบริษัทย่อย ได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินผลของคดีที่ถูกฟ้องร้องและเชื่อมั่นว่าจะไม่มีความเสียหายที่มีนัยสาคัญเกิดขึ้น จึงไม่ได้ บันทึกหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นดังกล่าว
รายงานประจำ�ปี 2559
257
41.
รำยกำรธุรกิจกับกิจกำร/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สาคัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รวมทั้งรายการที่เกี่ยวข้องกับกรรมการ ผู้บริหารหรือบุคคลผู้มีตาแหน่งเทียบเท่า รวมถึงกิจการที่บุคคลหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวที่มีอานาจในการ จัดการ หรือกิจการที่บริษัทฯและบริษัทย่อยหรือกรรมการหรือ ผู้บริหาร รวมถึง ผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวถือหุ้น รวมกันเกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไปของทุนที่ชาระแล้วของกิจการนั้น ลักษณะความสัมพันธ์สามารถแบ่งได้ดังนี้ 1.
บริษัทย่อยทางตรงและทางอ้อมของบริษัทฯ ได้แก่ 1.1 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) 1.2 บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) 1.3 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด 1.4 บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จากัด (บริษัทย่อยของบริษัทตามข้อ 1.2 ข้างต้น) ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 9 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (“บลจ.”) เป็นบริษัทย่อยของธนาคารตามข้อ 1.1 ข้างต้น จนถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2559 และมีสถานะเป็นบริษัทย่อย ของบริษัทฯตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2559 เป็นต้นไป อย่างไรก็ดี เพื่อการเปรียบเทียบของข้อมูลรายการระหว่างกันกับ บลจ. ดังกล่าว จึงแสดงรายการในบรรทัดเดียวกันภายใต้หัวข้อ “บริษัทย่อยของบริษัทฯ” ในงบการเงินนี้
2.
บริษัทและบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไป (“ผู้ถือหุ้นรายใหญ่”) ได้แก่ 2.1 2.2 2.3
3.
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) คุณเพียงใจ หาญพาณิชย์
บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 3.1 บริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2 ข้างต้น) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย -
258
บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จากัด บริษัท คิว. เอช. แมเนจเม้นท์ จากัด บริษัท คิว. เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด บริษัท แอลเอช แอสเซท จากัด บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จากัด บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (ระยอง 2553) จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (เพชรบุรี 2553) จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (ชลบุรี 2554) จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (ประจวบคีรีขันธ์ 2554) จากัด บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จากัด บริษัท แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล จากัด
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
-
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ โฮสท จากัด บริษัท กัสโต้ วิลเลจ จากัด บริษัท คิว.เฮ้าส์ พรีคาสท์ จากัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส จากัด บริษัท แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ จากัด บริษัท แอล แอนด์ เอช รีเทล แมเนจเมนท์ จากัด บริษัท เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี้ จากัด บริษัท สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ จากัด บริษัท สยามธานี เรียลเอสเตท จากัด บริษัท ดับเบิ้ลทรี จากัด บริษัท ภูเก็ต ฟิวเจอร์แพลน จากัด บริษัท แอล เอช เมืองใหม่ จากัด
3.2 บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2 ข้างต้น) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย -
บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) บริษัท เอเซียแอสเซท แอดไวเซอรี่ จากัด บริษัท ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดักส์ จากัด (มหาชน) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ - II กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ควอลิตี้ เฮ้าส์ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า ควอลิตี้ เฮ้าส์ โฮเทล แอนด์ เรซิเดนซ์ บริษัท แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ จากัด บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด บริษัท มาร์เก็ต วิลเลจ จากัด
3.3 บริ ษั ทที่ เกี่ ยวข้ องกั บ กรรมการของบริ ษั ทฯและบริ ษั ทย่ อย และมี ธุ รกรรมกั บบริ ษั ทฯและบริ ษั ทย่ อ ย ประกอบด้วย -
บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จากัด บริษัท ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จากัด (มหาชน) บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน) บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) บริษัท ดีซี เซอร์วิส เซ็นเตอร์ จากัด บริษัท น้าตาลบุรีรัมย์ จากัด (มหาชน) บริษัท โรงงานน้าตาลบุรีรัมย์ จากัด บริษัท อรไอย์ริณ จากัด บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน) ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ แอล เอช โฮเทล
รายงานประจำ�ปี 2559
259
3.4 บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2 ข้างต้น) ที่ มีธุรกรรมกับบริษัทฯและ บริษัทย่อย ประกอบด้วย -
บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จากัด บริษัท เมย์แลนด์ จากัด บริษัท เอ.เอ.พร็อพเพอร์ตี้ จากัด บริษัท นอร์ธเทอร์น เรียลเอสเตท จากัด บริษัท บี.ซี.เรียลเอสเตท จากัด บริษัท ประชาชื่น เรียลเอสเตท จากัด บริษัท สุรัสยา จากัด บริษัท อรรถชาติ จากัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เรียลเอสเตท จากัด บริษัท ดาหรา จากัด บริษัท ปทุมธานี เรียลเอสเตท จากัด บริษัท เอ แอนด์ พี แอสโซซิเอท จากัด บริษัท ออทัมแลนด์ จากัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บริษัท แมนดาริน โฮเต็ล จากัด (มหาชน) บริษัท สยาม ซี. บริดจ์ จากัด
3.5 บริษัทที่ถูกควบคุมโดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯและบริษัทย่อย และมีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย - บริษัท พรพลทรัพย์เจริญ จากัด - บริษทั เอ.เอ. พร็อพเพอร์ตี้ (เชียงใหม่) จากัด 4.
กรรมการและผู้บริหาร หมายถึง กรรมการบริษัทฯ ผู้บริหารระดับกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ หัวหน้าสายงานและผู้ช่วยสายงาน
5.
บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน หมายถึง กรรมการของบริษัทย่อย กรรมการของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 2 ข้างต้น) และบุคคลใกล้ชิดของบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน และกรรมการและผู้บริหาร
260
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
41.1 รำยกำรที่เกิดขึ้นในระหว่ำงปี ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สาคัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อย บุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไป ตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 รำยได้ดอกเบี้ย บริษัทย่อยของบริษัทฯ
งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
-
-
8,181
8,573
บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
134,004
145,792
-
-
กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
446 1,475 135,925
452 1,640 147,884
8,181
8,573
41,410
37,809
-
-
41,410
37,809
-
-
21,330 21,330
11,376 11,376
932,400 1,544 933,944
-
-
1,320 1,320
รำยได้ค่ำธรรมเนียมและบริกำร บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
รำยได้เงินปันผล บริษัทย่อยของบริษัทฯ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รำยได้จำกกำรดำเนินงำนอื่น บริษัทย่อยของบริษัทฯ
(หน่วย: พันบาท)
นโยบายการกาหนดราคา ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป และตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป และตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป
คิดเป็นอัตราร้อยละจากมูลค่าสินทรัพย์ สุทธิของกองทุนที่บริษัทย่อยบริหาร จัดการ
1,000,090 ตามอัตราที่บริษัทย่อยประกาศจ่าย - ตามที่ประกาศจ่ายโดยกองทุนฯ 1,000,090 1,320 1,320
ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา
รายงานประจำ�ปี 2559
261
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
ค่ำใช้จ่ำยดอกเบี้ย บริษัทย่อยของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน กรรมการและผู้บริหาร
24,966 51,950 10,263
33,359 47,599 7,760
8,323 -
5,082 -
บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
13,236
13,156
-
-
100,415
101,874
8,323
5,082
40,433 102,136
36,198 98,126
46
25
142,569
134,324
46
25
-
-
126 126
20 20
ค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนอื่น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
ค่ำใช้จ่ำยค่ำธรรมเนียมและบริกำร บริษัทย่อยของบริษัทฯ
262
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท)
นโยบายการกาหนดราคา ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทัว่ ไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทัว่ ไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทัว่ ไป และตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทัว่ ไป และตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน
ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญาและตาม อัตราที่คิดกับลูกค้าทั่วไป
ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป
41.2 ยอดคงค้ำงระหว่ำงกัน ยอดคงเหลื อ ของรายการที่ บ ริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี กั บ บุ ค คลและกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ที่ มี ส าระส าคั ญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีดังนี้
เงินลงทุน - รำคำทุน บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ตราสารหนี้ภาคเอกชน - บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) ตราสารทุน - กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า ควอลิตี้ เฮ้าส์ โฮเทล แอนด์ เรซิเดนซ์ ตราสารทุน - ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ แอล เอช โฮเทล ตราสารทุน - กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ดอกเบี้ยค้ำงรับจำกเงินลงทุน บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท โรงงานน้าตาลบุรีรัมย์ จากัด บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน) กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้ำงรับจำกเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท โรงงานน้าตาลบุรีรัมย์ จากัด กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน สินทรัพย์อื่น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ควอลิตี้ เฮ้าส์ บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 1,435,000
2,065,000
67,200 206,213 91,462 1,799,875
67,200 91,462 2,223,662
15,806 15,806
31,201 31,201
1,389,600 1 8,107 33,205 1,430,913
1,015,008 10,436 51,507 1,076,951
861 4 9 874
171 6 38 215
8,348
8,432
16,130 15,067 39,545
15,924 16,993 41,349
รายงานประจำ�ปี 2559
263
เงินรับฝำก ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) คุณเพียงใจ หาญพาณิชย์ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จากัด บริษัท คิว.เอช.แมเนจเมนท์ จากัด บริษัท คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด บริษัท แอลเอช แอสเซท จากัด บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (ชลบุรี 2554) จากัด บริษัท กัสโต้ วิลเลจ จากัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส จากัด บริษัท แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ จากัด บริษัท เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี้ จากัด บริษัท สยามธานี พร็อบเพอร์ตี้ จากัด บริษัท สยามธานี เรียลเอสเตท จากัด บริษัท ดับเบิ้ลทรี จากัด บริษัท ภูเก็ต ฟิวเจอร์แพลน จากัด บริษัท แอล เอช เมืองใหม่ จากัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จากัด กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ควอลิตี้ เฮ้าส์ บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด บริษัท ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จากัด (มหาชน) บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน) บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จากัด บริษัท เมย์แลนด์ จากัด บริษัท ปทุมธานี เรียลเอสเตท จากัด บริษัท เอ แอนด์ พี แอสโซซิเอท จากัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
264
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 599,947 961,933 35,424
3,770,343 938,234 4,719
119,310 302,275 120,449 19,082 22,163 317,095 33,407 240,963 31,444 187,226 61,775 97,214 15,139 74,984 148,119 242,729 2,689,413 6,098 58,626 35,463 62,186 146,555 242,940 696,081 75,799 78,080 191,781 755,320 1,015,777 9,684,797
227,267 19,974 65,808 36,330 1,146,975 527,362 33,934 301,605 21,277 51,651 25,967 12,272 97,186 1,887,379 69,489 241,039 54,814 87,809 368,102 44,432 68,175 68,958 165,836 482,502 823,850 11,643,289
ตรำสำรหนีท้ ี่ออกและเงินกู้ยืม บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้ำงจ่ำย ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) คุณเพียงใจ หาญพาณิชย์ บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สนิ อื่น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน กรรมการและผู้บริหาร ภำระผูกพัน - หนังสือค้ำประกันธนำคำร บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ควอลิตี้ เฮ้าส์ บริษัท โรงงานน้าตาลบุรีรัมย์ จากัด บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 2558 28,000 12,500 40,500
20,000 7,500 27,500
28
5,096 30 31
5,582 1,623 1,765 8,998
4,696 243 2,352 12,448
203
252
2,943 27 3,173
3,078 3,330
21,186 1,800 197,448 220,434
21,186 51,800 72,986
รายงานประจำ�ปี 2559
265
รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (สินทรัพย์) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) เงินลงทุน - รำคำทุน บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัท/บุคคลที่เกีย่ วข้องกัน ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ แอล เอช โฮเทล ดอกเบี้ยค้ำงรับจำกเงินลงทุน บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนีส้ ิน) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) ดอกเบี้ยค้ำงจ่ำยจำกรำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนี้สนิ ) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อหลักทรัพย์ บริษัทย่อยของบริษัทฯ บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) หนี้สนิ อื่น บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน)
266
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 2558
536,976 536,976
230,202 230,202
137,800
150,800
31,958 169,758
150,800
793 793
868 868
415,000 415,000
-
31 31
-
-
4,013 4,013
300 300
300 300
41.3 รำยกำรเคลื่อนไหวของรำยกำรกับบุคคลและกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน รายการเคลื่อนไหวของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์) รายการ ระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (หนี้สิน) และตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืมกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรับ ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีดังนี้
เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) บริษัท โรงงานน้าตาลบุรีรัมย์ จากัด บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน) กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
ยอดยกมา ต้นปี 1,015,008 10,436 51,507 1,076,951
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เพิ่มขึ้น 3,800,000 1,555,470 14,245 9,612 96,375 5,475,702
ลดลง
(หน่วย: พันบาท) ยอดคงเหลือ ปลายปี
(3,800,000) (1,180,878) (14,244) (11,941) (114,677) (5,121,740)
1,389,600 1 8,107 33,205 1,430,913
เงินรับฝำก ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) คุณเพียงใจ หาญพาณิชย์ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จากัด บริษัท คิว. เอช. แมเนจเม้นท์ จากัด บริษัท คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด บริษัท แอลเอช แอสเซท จากัด บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ จากัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (ชลบุรี 2554) จากัด บริษัท กัสโต้ วิลเลจ จากัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส จากัด บริษัท แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ จากัด บริษัท เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี้ จากัด บริษัท สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ จากัด บริษัท สยามธานี เรียลเอสเตท จากัด บริษัท ดับเบิ้ลทรี จากัด บริษัท ภูเก็ต ฟิวเจอร์แพลน จากัด บริษัท แอล เอช เมืองใหม่ จากัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จากัด กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้ เฮ้าส์
3,770,343 938,234 4,719
99,101,133 52,134,777 57,141
(102,271,529) (52,111,078) (26,436)
599,947 961,933 35,424
227,267 19,974 65,808 36,330 1,146,975 527,362 33,934 301,605 21,277 51,651 25,967 12,272 97,186 1,887,379 69,489 241,039
8,561,284 491,217 366,014 257,332 1,926,994 37,589,243 4,917,507 8,475,054 541,394 2,061,912 852,636 470,677 129,537 241,251 439,360 242,736 120,845,085 151,994 2,450,911
(8,669,241) (208,916) (311,373) (274,580) (3,051,806) (37,799,510) (4,918,034) (8,535,696) (531,227) (1,926,337) (816,828) (385,735) (211,584) (166,267) (291,241) (7) (120,043,051) (215,385) (2,633,324)
119,310 302,275 120,449 19,082 22,163 317,095 33,407 240,963 31,444 187,226 61,775 97,214 15,139 74,984 148,119 242,729 2,689,413 6,098 58,626
รายงานประจำ�ปี 2559
267
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอดยกมา ต้นปี เงินรับฝำก (ต่อ) บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด บริษัท ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จากัด (มหาชน) บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน) บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จากัด บริษัท เมย์แลนด์ จากัด บริษัท ปทุมธานี เรียลเอสเตท จากัด บริษัท เอ แอนด์ พี แอสโซซิเอท จากัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ตรำสำรหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน กรรมการและผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
เพิ่มขึ้น
ลดลง
ยอดคงเหลือ ปลายปี
54,814 87,809 368,102 44,432 68,175 68,958 165,836 482,502 823,850
10,633,962 347,346 952,725 45,346 2,050,458 141,392 148,765 9,832,592 8,037,038 2,576,164
(10,653,313) (372,969) (806,170) (170,508) (1,398,809) (133,768) (139,643) (9,806,647) (7,764,220) (2,384,237)
35,463 62,186 146,555 242,940 696,081 75,799 78,080 191,781 755,320 1,015,777
11,643,289
377,070,977
(379,029,469)
9,684,797
20,000 7,500
8,000 5,000
-
28,000 12,500
27,500
13,000
-
40,500 (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอดยกมา ต้นปี รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (สินทรัพย์) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) รำยกำรระหว่ำงธนำคำรและตลำดเงิน (หนี้สิน) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน)
268
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
เพิ่มขึ้น
ลดลง
ยอดคงเหลือ ปลายปี
230,202
2,588,844
(2,282,070)
536,976
230,202
2,588,844
(2,282,070)
536,976
-
818,100
(403,100)
415,000
-
818,100
(403,100)
415,000
41.4 ผลตอบแทนของกรรมกำรและผู้บริหำร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ค่าใช้จ่ายผลตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อยที่รับรู้ในส่วนของกาไรหรือขาดทุนแยกประเภทได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558
งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม
161 14 175
130 7 137
10 10
9 9
ทั้ง นี้ กรรมการและผู้ บริ ห ารของบริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ย หมายถึ ง กรรมการและผู้ บริ หารระดั บกรรมการ ผู้ จั ดการ รองกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ หัวหน้าสายงานและผู้ช่วยสายงาน 42.
ส่วนได้เสียในกองทุนที่เป็นกิจกำรซึ่งมีโครงสร้ำงเฉพำะตัว บริษัทย่อยรับหน้าที่เป็นผู้จัดการกองทุนให้แก่กองทุนเพื่อการลงทุนจานวนหนึ่ง ซึ่งเข้านิยามของกิจการที่มีโครงสร้าง เฉพาะตั ว บริ ษัท ย่อ ยมี ส่ว นได้เ สีย ในกิจ การซึ่ งมี โครงสร้ างเฉพาะตั วจากการรั บค่ าธรรมเนีย มการบริ หารจั ดการ จากกองทุนดังกล่าว ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2559 และ 2558 ข้อ มู ลทางการเงิ น จากรายงานทางการเงิ น ล่ า สุด ของกองทุน ที่ อยู่ ภายใต้ การบริหารจัดการของบริษัทย่อยซึ่งเข้านิยามของกิจการที่มีโครงสร้างเฉพาะตัว แสดงมูลค่า สินทรัพย์สุทธิของกองทุน จานวนรวมประมาณ 37,024 ล้านบาท และ 23,403 ล้านบาท ตามลาดับ ส่วนได้เสียของบริษัทฯและบริษัทย่อยในกองทุนดังกล่าวแสดงได้ดังนี้ 31 ธันวาคม
2559 ลูกหนี้ค่าธรรมเนียมและบริการ เงินฝากธนาคาร
(หน่วย: ล้านบาท) 2558
16 -
8 377
(หน่วย: ล้านบาท) สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ - การจัดการกองทุนรวม รายได้ ค่ า ธรรมเนี ย มและบริ ก าร - ค่ า นายหน้ า จากการซื้ อ ขาย หลักทรัพย์ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
206
85
6 3
1 3
ความเสี่ยงสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจจะได้รับมีมูลค่าเท่ากับส่วนได้เสียที่แสดงไว้ข้างต้น รายงานประจำ�ปี 2559
269
43.
ข้อมูลส่วนงำนดำเนินงำน บริษัทฯและบริษัทย่อยดาเนินกิจการใน 4 ส่วนงานหลัก คือ ธุรกิจการลงทุน ธุรกิจการธนาคาร ธุรกิจการจัดการกองทุน และธุรกิจอื่น (ซึ่งประกอบด้วยธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจให้คาปรึกษา) และดาเนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมิศาสตร์หลัก ในประเทศไทย โดยในส่วนของบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคารเพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหารงาน คณะกรรมการ บริหารของบริษัทย่อยเป็นผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดาเนินงาน ได้มีการแบ่งส่วนงานหลักออกเป็นส่วนงาน การให้สินเชื่อ (เพื่อที่อยู่อาศัยและรายย่อย และสินเชื่ออื่น) และส่วนงานอื่น คณะกรรมการบริหารสอบทานผลการดาเนินงานของแต่ละหน่วยธุรกิจแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงค์ในการตัดสินใจ เกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรและการประเมินผลการปฏิบัติงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยประเมินผลการปฏิบัติงานของ ส่วนงานโดยพิจารณาจากกาไรหรือขาดทุนจากการดาเนินงานและสินทรัพย์รวมซึ่งวัดมูลค่าโดยใช้เกณฑ์เดียวกับที่ใช้ ในการวัดผลกาไรหรือขาดทุนจากการดาเนินงานในงบการเงิน นอกจากนี้ การบันทึกบัญชี สาหรับรายการระหว่าง ส่วนงานที่รายงานเป็นไปในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีสาหรับรายการธุรกิจกับบุคคลภายนอก ข้อมูลส่วนงานดาเนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยมีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ธุรกิจการธนาคาร ส่วนงานการให้สินเชื่อ ธุรกิจการ เพื่อที่อยู่อาศัย ลงทุน และรายย่อย
รายได้ดอกเบีย้ ที่รับจากลูกค้าภายนอก รายได้ดอกเบีย้ ที่รับระหว่างส่วนงาน รายได้ดอกเบีย้ สุทธิ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ค่าธรรมเนียมและ บริการสุทธิ กาไร (ขาดทุน) จากธุรกรรมเพื่อค้า และปริวรรตเงินตราต่างประเทศ กาไรจากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล รายได้จากการดาเนินงานอื่น ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานอื่น หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุน จากการด้อยค่า ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี
270
สินเชื่ออื่น
69
1,419,003
5,702,912
8,181
-
29,671
ธุรกิจการ จัดการ ส่วนงานอื่น รวมส่วนงาน กองทุน
รวม
36
23,270
-
8,810,031
29,671
200
733
(38,785)
-
(73)
4,838,038
139
815
75
4,838,994
(7,481)
261,157
177,325
76,998
2,601
510,600
36,763 994,498 1,328 (17,555)
1,369 1,135,620 210,634 27,477 (2,333,274)
9,247 18,491 1,015 (115,303)
(789) 71,155 105,401 3,278 (137,919)
580 (64,296) 1,188,489 (932,400) 396,624 (1,320) 31,778 2,525 (2,601,526)
-
(1,025,000) (613,718)
(16,718)
(13,665)
- (1,025,000) - (644,101)
1,007,480
2,502,303
74,196
105,274
(992,815) 2,696,438
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
1,664,741 8,786,656
ธุรกิจอื่น
รายการตัด บัญชี ระหว่างกัน
-
(หน่วย: พันบาท) สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธุรกิจการธนาคาร ส่วนงานการให้สินเชื่อ ธุรกิจการ เพื่อที่อยู่อาศัย ลงทุน และรายย่อย รายได้ดอกเบีย้ ที่รับจากลูกค้า ภายนอก
สินเชื่ออื่น
ธุรกิจการ จัดการ ส่วนงานอื่น รวมส่วนงาน กองทุน
รายการตัด บัญชี ระหว่างกัน
ธุรกิจอื่น
รวม
34
1,486,208
5,518,702
1,474,906
8,479,816
21
14,022
-
8,493,893
รายได้ดอกเบีย้ ที่รับระหว่างส่วนงาน
8,573
-
5,359
-
5,359
233
5,718
(19,883)
-
รายได้ดอกเบีย้ สุทธิ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ค่าธรรมเนียมและ บริการสุทธิ กาไรจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรต เงินตราต่างประเทศ กาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน รายได้เงินปันผล รายได้จากการดาเนินงานอื่น ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานอื่น หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุน จากการด้อยค่า
3,525
4,344,057
254
18,547
46
4,366,429
(7,843)
228,280
93,436
41,399
(5,892)
349,380
ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี
2,522 1,026,437 1,320 (12,827)
1,903 659,739 (2,330) 78,082 11,253 16,031 387 (2,210,590) (73,115)
269 2,172 6,820 6,641 673,392 10,471 (1,000,090) 126,153 9,478 (1,320) 25,896 (108,333) 5,219 (2,399,646)
-
(1,089,614) (397,232)
(5,217)
-
1,013,134
1,630,656
24,668
(21,349)
- (1,089,614) (402,449) (995,396)
รายงานประจำ�ปี 2559
1,651,713
271
(หน่วย: พันบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ธุรกิจการธนาคาร ส่วนงานการให้สินเชื่อ เพื่อที่อยู่ อาศัยและ รายย่อย
ธุรกิจการ ลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้/รายการ ระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
สินเชื่ออื่น
- 30,636,552 126,857,286
ธุรกิจการ ส่วนงาน จัดการ อื่น รวมส่วนงาน กองทุน
ธุรกิจอื่น
- 157,493,838
-
340,631
2,109,131
10
35
รายการตัด บัญชี ระหว่างกัน
รวม
(1,180,000) 156,654,469
เงินสด 1 รายการระหว่างธนาคารและ ตลาดเงิน - สุทธิ 536,976 เงินลงทุน - สุทธิ 1,079,415 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 15,361,408 เงินให้สินเชือ่ แก่ลกู หนี้และดอกเบี้ย ค้างรับ - สุทธิ 48,831 สินทรัพย์อื่น
138,280,235 1,366,457
17,026,631
209,694,970
533,984 2,095,066 (17,203,468) 212,147,183
เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 415,000 ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกูย้ ืม 24,554 หนี้สินอื่น
149,639,499 20,053,826 20,464,660 2,039,107
137,843
765,000 206,084
(542,353) 149,097,146 (1,223,975) 20,009,851 (137,171) 20,327,489 (10,528) 2,397,060
439,554
192,197,092
137,843
971,084
(1,914,027) 191,831,546
สินทรัพย์รวม
หนี้สินรวม
272
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
17,961,031 49,978,116 -
-
2,109,177
145,337 26,806 (1,343,716) 317,902 1,438,139 (137,800) 6,262 (15,367,670)
17,326,434 52,675,772 -
70,735
342,428 281,396
(422,681) 138,199,982 68,399 1,835,818
(หน่วย: พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธุรกิจการธนาคาร ส่วนงานการให้สนิ เชื่อ เพื่อที่อยู่ ธุรกิจการ
อาศัยและ
ลงทุน
รายย่อย
ส่วนงาน
จัดการ
บัญชี
กองทุน
ธุรกิจอืน่
ระหว่างกัน
- 149,010,015
-
370,122
(89,500)
149,290,637
8
2,242,561
-
20
-
2,242,589
230,202
17,742,126
44,278
12,415
(352,592)
17,676,429
649,066
45,965,016
238,887
500,789
(150,800)
47,202,958
15,035,991
257,289
-
6,802 (15,300,082)
-
-
130,386,105
-
371,714
-
130,757,819
สินทรัพย์อนื่
39,783
1,445,732
54,342
179,249
67,872
1,786,978
สินทรัพย์รวม
15,955,050
198,038,829
337,507 1,070,989 (15,735,602)
199,666,773
เงินรับฝาก
-
137,300,095
-
-
(235,775)
137,064,320
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
-
20,665,872
-
89,500
(116,816)
20,638,556
ตราสารหนี้ทอี่ อกและเงินกู้ยืม
-
21,814,064
-
-
(150,096)
21,663,968
หนี้สนิ อืน่
5,800
2,245,888
33,074
71,490
(7,178)
2,349,074
หนี้สนิ รวม
5,800
182,025,919
33,074
160,990
(509,865)
181,715,918
ธนาคารและตลาดเงิน เงินสด
- 31,246,682 117,763,333
อื่น
รายการตัด
รวมส่วนงาน
เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลูกหนี้/รายการระหว่าง
สินเชื่ออื่น
ธุรกิจการ
รวม
รายการระหว่างธนาคารและ ตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลูกหนี้และดอกเบี้ย ค้างรับ - สุทธิ
บริษัทฯและบริษัทย่อยดาเนินธุรกิจในเขตภูมิศาสตร์เดียวกันในประเทศไทย ดังนั้น รายได้ กาไรและสินทรัพย์ที่แสดงอยู่ ในงบการเงิน จึงถือเป็นการรายงานตามเขตภูมิศาสตร์แล้ว นอกจากนี้ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีรายได้จากลูกค้ารายใดที่มีมูลค่ามากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10 ของรายได้รวม 44.
เครื่องมือทำงกำรเงิน เครื่องมือทางการเงิน หมายถึง สัญญาใด ๆ ที่ทาให้สินทรัพย์ทางการเงินของกิจการหนึ่งและหนี้สินทางการเงินหรือ ตราสารทุนของอีกกิจการหนึ่งเพิ่มขึ้น
รายงานประจำ�ปี 2559
273
เครื่องมือทางการเงินที่สาคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดง รายการและการเปิดเผยข้อมูลสาหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน สินทรัพย์/หนี้สินตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ เงินรับฝาก หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ ทีอ่ อกและเงินกู้ยืม เจ้าหนี้จากการซื้อหลักทรัพย์และเจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ นโยบายการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯและบริษัทย่อย โดยส่วนใหญ่จะเน้นนโยบายการบริหารความเสี่ยงของธนาคารฯ ที่เป็นบริษัทย่อย โดยธนาคารฯมี การจัดการและควบคุมดูแลความเสี่ยงต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งนโยบาย การบริหารความเสี่ยงของธนาคารฯนั้นได้มีการทบทวนเป็นประจาทุกปี เพื่อให้สามารถสะท้อนถึงการเปลี่ ยนแปลง ของสภาพแวดล้อม และความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ดังนี้ 44.1 ควำมเสี่ยงด้ำนเครดิต ความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit risk) คือ ความเสี่ยงจากโอกาสที่ความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้หรือคู่สัญญา (Counterparty) ไม่สามารถปฏิบัติตามภาระที่ตกลงไว้ รวมถึงโอกาสที่คู่ค้าจะถูกปรับลดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิตและความเสี่ยงอันเกิดจาก การที่คุณภาพของสินเชื่อหรือเงินลงทุนเสื่อมสถานะลง และไม่สามารถปรับราคาเพื่อชดเชยความเสี่ยงที่เพิ่มได้ ซึ่งอาจส่ งผล กระทบต่อรายได้และเงินกองทุนของบริษัทย่อย ความเสี่ ยงด้านเครดิตถื อเป็นความเสี่ ยงที่มีความสาคั ญมากต่ อธุรกิจสถาบันการเงิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเสี่ย ง ด้ า นการให้ สิน เชื่ อ ซึ่ ง เป็ น ธุ ร กรรมหลั ก ของบริ ษั ท ย่ อ ยที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ธนาคาร ทั้ ง ในด้ า นของเงิ นให้ สิ นเชื่ อและ ภาระผู กพั น โดยความเสี่ ยงสู งสุ ดที่ บริ ษั ทย่ อยอาจได้ รั บความเสี ยหายจากการให้ สิ นเชื่ อ คื อ มู ลค่ าตามบั ญชี ของ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนีร้ วมกับภาระผูกพันอันเกี่ยวเนื่องจากการค้าประกัน อาวัล หรืออื่นๆ ที่มีลักษณะคล้ายกัน บริษัทย่อยได้มีการบริหารความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ โดยการกาหนดหลั กเกณฑ์การพิจารณาสินเชื่อเพื่อควบคุม ป้องกันและลดทอนความเสี่ยงอันอาจจะเกิดขึ้นจากการให้สินเชื่อ โดยหลักการให้ สินเชื่อต้องพิจารณาจากเงื่อนไขต่างๆ อาทิ พื้นที่เป้าหมายในการให้สินเชื่อ ประเภทธุรกิจ ลักษณะสินเชื่อ กิจกรรม การกาหนดขอบเขตวงเงินให้กู้ยืมต่อราย เพื่อลดความเสี่ยงในการกระจุกตัวของสินเชื่อ หลักทรัพย์ค้าประกันเพื่อใช้ในการปรับลดความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ และบุคคลหรือนิติบุคคลที่บริษัทย่อยไม่ให้การสนับสนุน นอกจากนี้บริษัทย่อยมีกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านการ ให้สินเชื่อที่สาคัญ ได้แก่ (ก)
การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) บริษัทย่อยพิจารณาจากปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวลูกหนี้ ธุรกิจของลูกหนี้/คู่สัญญา และปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบ ในทางลบต่อรายได้และการดาเนินธุรกิจของลูกหนี้/คู่สัญญา รวมทั้งมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพ สินเชื่อและแนวโน้มการค้างชาระ ซึ่งจะช่วยให้เห็นภาพของคุณภาพสินทรัพย์และความเสี่ยงด้านเครดิตได้ บริษัทย่อยยังจัดให้มีการสอบทานการจัดระดับความเสี่ยงของลูกหนี้ และสอบทานความสอดคล้องกับปัจจัย เสี่ยงที่กาหนด
(ข)
การวัดความเสี่ยง (Risk Measurement) บริษัทย่อยจัดให้มีเครื่องมือเพื่อช่วยพิจารณากลั่นกรองคุณภาพสินเชื่อ ประกอบด้วย Credit Rating Model ใช้ในการจัดอันดับเครดิตสาหรับลูกค้านิติบุคคล และ Credit Scoring Model ใช้ในการจัดอันดับเครดิตสาหรับ ลูกค้าบุคคลธรรมดา ซึ่งได้รับการพัฒนาโดยฝ่ายบริหารความเสี่ยง เพื่อลดการพึ่งพิงการใช้ดุลยพินิจของผู้อนุมัติ ในกระบวนการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ
274
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(ค)
การติดตามดูแลความเสี่ยง (Risk Monitoring and Reporting) บริษัทย่อยจัดให้มีกระบวนการติดตามดูแลความเสี่ยงด้านเครดิตที่ทาให้ทราบถึงปริมาณและระดับความเสี่ยง ของลูก หนี้อ ย่า งต่อเนื่องเป็นปัจจุบัน โดยกาหนดให้ มีการทบทวนวงเงินและการติดต่อเยี่ยมเยียนลูกหนี้ทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมถึงการประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ที่ใช้ค้าประกันทั้งในด้านมูลค่าและสภาพคล่อง พร้อมทั้งรายงานสถานะและการปฏิบัติตามเงื่อนไขของลูกหนี้ต่อผู้บริหารระดับสูงอย่างสม่าเสมอ
(ง)
การควบคุมและลดความเสี่ยง (Risk Control and Mitigation) บริ ษั ท ย่ อ ยมี ก ารก าหนดระดั บ การกระจุ ก ตั ว สู ง สุ ด ของเงิ น ให้ สิน เชื่ อ ทั้ ง ในระดั บ ภาคธุ ร กิ จ /อุ ต สาหกรรม (Industry Limit) และระดับลูกค้า เพื่อควบคุมไม่ให้บริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อในภาคธุรกิจหนึ่งๆ หรือลูกค้ารายใดรายหนึ่งมากเกินไป ซึ่งหากระดับความเสี่ยงถึงระดับที่กาหนด หน่วยงานต้องมีการสืบสวน หาสาเหตุถึงความผิดปกติดังกล่าว เพื่อดาเนินการให้ระดับความเสี่ยงลดลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ นอกจากนี้ บริ ษั ท ย่ อ ยยั ง จั ด ให้ มี ก ระบวนการควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบเพื่ อ ให้ ก ารจั ด การความเสี่ ย งเป็ น ไป ตามกรอบและกระบวนการที่บริษัทย่อยกาหนด
นอกจากนี้ บริษัทย่อยที่ดาเนินธุรกิจธนาคารยังดาเนินการให้มีการทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Testing) ที่ครอบคลุม ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่ออย่างน้อยปีละ 1 ครั้ ง เพื่ อคาดการณ์ความเสียหาย ที่ อาจจะเกิ ดขึ้นของลู กหนี้หรือคู่ สัญญา แต่ละรายและเครดิตประเภทต่าง ๆ ภายในพอร์ต และนาผลกระทบของการเสื่อมคุณภาพสินเชื่อในพอร์ตสินเชื่อของลูกหนี้ มาพิจารณาว่ามี ผลกระทบต่อความเพียงพอของเงินกองทุนและการกันสารองค่าเผื่อหนี้ สงสั ยจะสู ญที่มี อยู่ เพื่อให้ บริษัทย่อยสามารถดาเนินการจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันกาล ส่วนบริษัทย่อยที่ดาเนินธุรกิจหลักทรัพย์ ฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกาหนดให้มีนโยบายและ วิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม จานวนเงินสูงสุดที่บริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อคือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินของบริษัทย่อย 44.2 ควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงของรำคำตลำด ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาด หมายถึง ความเสี่ยงที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจได้รับความเสียหาย เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของสินทรัพย์ หนี้สินและภาระผูกพัน อันเกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ราคาตราสารทุน ราคาสิน ค้า โภคภั ณฑ์ และอั ตราแลกเปลี่ย น โดยบริ ษัท ย่อ ยที่ ประกอบธุ รกิ จธนาคารให้บ ริก าร แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Currency Exchange) เป็นเงินไทย (Baht) ทั้งประเภทรับซื้อ (Buy) และขาย (Sell) และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ มี ก ารก าหนดให้ ก ารด ารงฐานะเงิ น ตราต่ า งประเทศคงเหลื อ ณ สิ้ น วั น ไม่ เ กิ น กว่ า จ านวน ที่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาดของบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนและความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ราคาตลาดของตราสารทุน (ก)
ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งอาจจะทาให้ เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงต่ อ มู ลค่ า ตราสารทางการเงิ น ความผั น ผวนต่ อ รายได้ ห รื อ มู ล ค่ า ของสิ น ทรั พ ย์ แ ละ หนี้สินทางการเงิน ทั้งนี้ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยเป็นผลมาจากการจัดโครงสร้างและลักษณะของรายการ ในสินทรัพย์ หนี้สินและส่ วนของเจ้า ของ และความไม่สอดคล้องระหว่า งระยะเวลาคงเหลือในการกาหนด อัตราดอกเบี้ยใหม่ของรายการทางด้านสินทรัพย์และหนี้สิน
รายงานประจำ�ปี 2559
275
บริษัทฯและบริษัทย่อยมีโครงสร้างของสินทรัพย์ส่วนใหญ่เป็นรายการเงินฝากสถาบันการเงิน เงินให้สินเชื่อแก่ ลูกหนี้และเงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนด ส่วนโครงสร้างหนี้สินส่วนใหญ่เป็นรายการเงินรับฝาก จากประชาชน โดยรายการหลักดังกล่าวอาจจะได้รับผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเมื่อ อัตราดอกเบี้ยมีความผันผวน บริษัทฯ และบริษัทย่อยก็มีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบต่อ รายได้ รายจ่าย และ/หรือ มูลค่าทางเศรษฐกิจ (มูลค่าของส่วนของเจ้าของ) ด้วย ซึ่งความเสี่ยงหลักเกิดจากธุรกรรมและยอด คงค้ า งของบริ ษั ท ย่ อ ย ดั ง นั้ น บริ ษั ท ย่ อ ยจึ ง ต้ อ งมี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นอั ต ราดอกเบี้ ย ในบั ญ ชี เ พื่ อ การธนาคารเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้น สาหรับความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคาร (Banking Book) เป็นความเสี่ยงที่ทาให้รายได้ หรื อเงิน กองทุน ของบริษั ท ย่อ ยได้รั บผลกระทบในทางลบจากการเปลี่ย นแปลงอัต ราดอกเบี้ ยของรายการ สินทรัพย์ หนี้สิน และรายการภาระผูกพันทั้งหมดที่มีความอ่อนไหวต่ออัตราดอกเบี้ย (Rate Sensitive Items) ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากความแตกต่างของอายุคงเหลือ (Maturity Mismatch) และความสามารถในการปรับ อัตราดอกเบี้ย ครั้งต่ อไป (Repricing Risk) ของรายการสิน ทรัพย์ และหนี้ สินในงบแสดงฐานะการเงินของ บริษัทย่อย โดยความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคารของบริษัทย่อย มีลักษณะของความเสี่ยง เป็นดังนี้ (1)
(2)
(3)
ความเสี่ยงจากช่วงเวลาในการเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Repricing Risk) เกิดจากความไม่สมดุลระหว่างสินทรัพย์ และหนี้สิน ซึ่ง มีรอบระยะเวลาการปรับ อัตราดอกเบี้ ยหรื อ การครบกาหนดสัญญาไม่ตรงกัน ความเสี่ยงจากผลต่างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (Basis Risk) เกิดจากการที่อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของสินทรัพย์และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของหนี้สินมีการเปลี่ยนแปลง โดยไม่สอดคล้องกัน ความเสี่ยงจากสิทธิแฝง (Option Risk) บริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากสิทธิแฝงในนิติกรรมสัญญาทางการเงินของบริษัทย่อยไม่ว่าด้านลูกหนี้หรือ เจ้าหนี้ที่ให้สิทธิคู่สัญญาของบริษัทย่อยเปลี่ยนแปลงแผนการชาระเงินหรือไถ่ถอนเงินไปจากแผนการเดิม เมื่ออัตราดอกเบี้ยในตลาดมีการเปลี่ยนแปลง ผู้ถือสิทธิดังกล่าวมักจะใช้สิทธิเมื่ออยู่ในฐานะเสียเปรียบ ตามแผนการชาระเงินเดิม อันจะทาให้ต้นทุนดอกเบี้ย อัตราผลตอบแทน หรือรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รวมทั้ง โครงสร้างสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงินเปลี่ยนแปลงไปในทางด้อยลง
บริษัทย่อยดังกล่าวมีเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคาร เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบต่อความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย โดยบริษัทย่อยได้กาหนดระดับเพดานความเสี่ยง เพื่อควบคุมความเสี่ยงไม่ให้เกินกว่าระดับเพดานที่กาหนดไว้ และรายงานต่อคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และ หนี้สินให้ทราบถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นเป็นงวดรายเดือน นอกจากนี้ บริษัทย่อยดังกล่าวมีการทดสอบภาวะวิ กฤตด้านอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคาร ซึ่งเป็น การประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในภาวะวิกฤต โดยใช้สถานการณ์จาลองของ ธปท. และ/หรือสถานการณ์ จาลองที่บริษัทย่อยกาหนดขึ้นเองตามความเหมาะสม
276
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน จาแนกตามประเภทอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 จาแนกได้ดังนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559
รายการ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ (1) หนี้สนิ ทำงกำรเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกูย้ ืม เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ (1)
มีอัตราดอกเบีย้ ปรับขึ้นลง อ้างอิงตาม มีอัตราดอกเบีย้ อัตราตลาด คงที่
(หน่วย: พันบาท)
ไม่มีดอกเบี้ย
รวม
14,591 1,146,582 69,276,908
15,584,172 44,656,889 69,115,017
2,109,177 1,869,248 2,858 6,872,326 2,770,142
2,109,177 17,468,011 2,858 52,675,797 141,162,067
68,544,400 1,011,829 -
80,376,016 18,981,638 20,326,351 -
176,730 16,384 75,991 6,398 143,479
149,097,146 20,009,851 75,991 20,332,749 143,479
ในกรณี ที่ สั ญ ญาเงิน ให้ กู้ ยืม ได้ ก าหนดให้ จ่ า ยดอกเบี้ ยทั้ งอั ต ราคงที่ ใ นช่ว งระยะเวลาหนึ่ ง และจ่า ยอั ต ราดอกเบี้ย ปรับ ขึ้น ลง อ้างอิงตามอัตราตลาดในอีกช่วงระยะเวลาหนึ่ง บริษัทย่ อยจัดประเภทเงินให้ กู้ยืมจานวนคงค้ างทั้ งสั ญญาตามประเภทดอกเบี้ ยที่ บริษัทย่อยคิด ณ ขณะนั้น นอกจากนี้ เงินให้สินเชื่อที่ไม่มีดอกเบี้ยรวมลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
รายงานประจำ�ปี 2559
277
รายการ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (1) หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ (1)
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558
มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้างอิงตาม อัตราตลาด
มีอัตราดอกเบี้ย คงที่
ไม่มีดอกเบีย้
3,003 1,154,835 73,576,006
16,193,285 43,669,371 56,881,006
2,242,589 1,629,319 2,378,777 2,819,787
2,242,589 17,825,607 47,202,983 133,276,799
55,944,791 1,247,785 -
80,934,805 19,365,120 21,669,700 -
184,724 25,651 176,517 5,395 51,983
137,064,320 20,638,556 176,517 5,395 21,669,700 51,983
รวม
ในกรณีที่สัญญาเงินให้กู้ยืมได้กาหนดให้จ่ายดอกเบี้ยทั้งอัตราคงที่ในช่วงระยะเวลาหนึ่งและจ่ายอัตราดอกเบี้ยปรับขึ้นลง อ้างอิง ตามอั ต ราตลาดในอี กช่ ว งระยะเวลาหนึ่ ง บริ ษั ท ย่ อยจั ด ประเภทเงิ นให้ กู้ ยื มจ านวนคงค้ า งทั้ งสั ญ ญาตามประเภทดอกเบี้ ยที่ บริษัทย่อยคิด ณ ขณะนั้น นอกจากนี้ เงินให้สินเชื่อที่ไม่มีดอกเบี้ยรวมลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
รายการ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน หนี้สินทำงกำรเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
278
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559
มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้างอิงตาม อัตราตลาด
มีอัตราดอกเบี้ย คงที่
ไม่มีดอกเบี้ย
รวม
536,976 -
137,800
1 941,615
1 536,976 1,079,415
-
415,000
-
415,000
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558
มีอัตราดอกเบีย้ ปรับขึ้นลง อ้างอิงตาม มีอัตราดอกเบีย้ อัตราตลาด คงที่
รายการ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน หนี้สนิ ทำงกำรเงิน เจ้าหนีจ้ ากการซื้อหลักทรัพย์
ไม่มีดอกเบี้ย
รวม
230,202 -
150,800
8 498,266
8 230,202 649,066
-
-
4,013
4,013
เครื่องมือทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่มีวันที่มกี ารกาหนดอัตราใหม่หรือวันครบกาหนด (แล้วแต่วันใดจะถึงก่อน) นับจากวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกาหนด รายการ
เมื่อ
0-3
3 - 12
อัตราดอกเบี้ย
ทวงถาม
เดือน
เดือน
4,175,000
11,409,172
-
-
-
367,854
1,451,094
5,981,922
28,399,208
3,835,603 166,000
1 - 5 ปี
เกิน 5 ปี
รวม
(ร้อยละต่อปี)
-
15,584,172
2.05 - 4.30
23,692,509
19,145,432
44,656,889
1.83 - 5.35
15,711,233
17,767,347
1,255,307
69,115,017
2.73 - 5.68
27,998,126
42,188,801
6,353,486
-
80,376,016
0.80 - 3.00
10,886,084
6,226,883
426,326
1,276,345
18,981,638
0.01(1),0.1(2),
สินทรัพย์ทำงกำรเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลูกหนี้ หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
0.75 - 2.75 ตราสารหนี้ทอี่ อกและเงินกู้ยืม (1)
(2)
-
6,274,151
10,190,000
-
3,862,200
20,326,351
1.50 - 5.125
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.01 เป็นอัตราดอกเบี้ยของยอดจานวน 4,451 ล้านบาท ที่บริษัทย่อยได้รับเพื่อช่วยเหลือทางการเงินแก่ ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยปี 2554 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.1 เป็นอัตราดอกเบี้ยของยอดจานวน 3,466 ล้านบาท ที่บริษัทย่อยได้รับเพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ขาดสภาพคล่อง
รายงานประจำ�ปี 2559
279
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 ระยะเวลาการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกาหนด รายการ
เมื่อ
0-3
3 - 12
อัตราดอกเบี้ย
ทวงถาม
เดือน
เดือน
6,163,285
8,990,000
1,040,000
-
-
420,035
3,293,576
2,328,774
21,404,036
4,149,880 795,000
1 - 5 ปี
เกิน 5 ปี
รวม
(ร้อยละต่อปี)
-
16,193,285
1.40 - 5.00
13,527,370
26,428,390
43,669,371
2.80 - 5.79
8,402,696
23,491,231
1,254,269
56,881,006
3.00 - 6.38
25,859,098
44,190,802
6,735,025
-
80,934,805
1.00 - 3.00
8,168,909
4,004,556
5,323,672
1,072,983
19,365,120
0.01(1),0.1(2),
สินทรัพย์ทำงกำรเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลูกหนี้ หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
0.75 - 2.75 ตราสารหนี้ทอี่ อกและเงินกู้ยืม (1) (2)
-
10,606,500
7,214,000
-
3,849,200
21,669,700
1.80 - 5.125
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.01 เป็นอัตราดอกเบี้ยของยอดจานวน 5,323 ล้านบาท ที่บริษัทย่อยได้รับเพื่อช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหาย จากอุทกภัยปี 2554 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.1 เป็นอัตราดอกเบี้ยของยอดจานวน 3,197 ล้านบาท ที่บริษัทย่อยได้รับเพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมที่ขาดสภาพคล่อง (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกาหนด รายการ
สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินลงทุน หนี้สินทำงกำรเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
เมื่อ ทวงถาม
0-3 เดือน
3 - 12 เดือน
1 - 5 ปี
เกิน 5 ปี
รวม
อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
-
-
-
-
137,800
137,800
5.125
415,000
-
-
-
-
415,000
2.75
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 ระยะเวลาการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกาหนด รายการ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินลงทุน
280
เมื่อ ทวงถาม
0-3 เดือน -
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
3 - 12 เดือน -
1 - 5 ปี -
-
เกิน 5 ปี
รวม
150,800
150,800
อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี) 5.125
นอกจากนี้ บริษัทย่อยซึ่งประกอบธุรกิจธนาคารมีสินทรัพย์/หนี้สินทางการเงินที่ก่อให้เกิดรายได้/ค่าใช้จ่ายยอดคงเหลือ ถัวเฉลี่ยที่คานวณโดยถัวเฉลี่ยจากยอดคงเหลือในระหว่างปีของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินและอัตราเฉลี่ยของ ดอกเบี้ยสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 เป็นดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอด คงเหลือ ถัวเฉลี่ย สินทรัพย์ทำงกำรเงินที่ก่อให้เกิดรำยได้ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนในตราสารหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลกู หนี้ หนี้สินทำงกำรเงินที่ก่อให้เกิดค่ำใช้จ่ำย เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกูย้ ืม
(ข)
รายได้/ ค่าใช้จ่าย ดอกเบี้ย
2558 อัตรา เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี)
ยอด คงเหลือ ถัวเฉลี่ย
รายได้/ ค่าใช้จ่าย ดอกเบี้ย
อัตรา เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี)
15,300,554 46,644,251 141,178,835
607,357 1,664,666 6,544,304
3.97 3.57 4.64
14,303,814 36,352,785 124,042,290
633,237 1,470,786 6,381,152
4.43 4.05 5.14
147,250,628 18,607,682 23,470,346
3,117,058 226,568 634,663
2.12 1.22 2.70
125,310,725 21,521,201 14,618,114
3,368,921 327,155 445,042
2.69 1.52 3.04
ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนอันอาจมีผลให้ มูลค่าของตราสารทางการเงินเปลี่ยนแปลงไป หรือทาให้เกิดความผันผวนต่อรายได้ หรือมูลค่าของสินทรัพย์หรือ หนี้สินทางการเงิน เนื่องจากบริษัทย่อยมีธุรกรรมที่เกี่ยวกับการปริวรรตเงินตราต่างประเทศทาให้มีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ของอัตราแลกเปลี่ยน ปัจจุบันบริษัทย่อยมีการให้บริการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Currency Exchange) เป็นเงินไทย (Baht) ทั้งประเภทรับซื้อ (Buy) และขาย (Sell) แต่ทั้งนี้ บริษัทย่อยกาหนดให้การดารงฐานะเงินตรา ต่างประเทศคงเหลือ ณ สิ้นวันไม่เกินกว่าจานวนที่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ดังนั้น บริษัทย่อย จึงมีความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนอยู่ในระดับที่ไม่มีนัยสาคัญ
รายงานประจำ�ปี 2559
281
ฐานะเงินตราต่างประเทศของบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีดังนี้ (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 ดอลลาร์ สหรัฐฯ
ฐำนะเงินตรำต่ำงประเทศในงบแสดงฐำนะ กำรเงิน เงินสด 152 1,146,582 เงินลงทุน 1,146,734 รวมสินทรัพย์
ยูโร
เยน 52 52
หยวน 12 12
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 ดอลลาร์ สหรัฐฯ
ฐำนะเงินตรำต่ำงประเทศในงบแสดงฐำนะ กำรเงิน เงินสด 138 1,154,835 เงินลงทุน 1,154,973 รวมสินทรัพย์
ยูโร
เยน 86 86
อื่น ๆ
16 16
55 55
(หน่วย: พันบาท)
หยวน
174 174
อื่น ๆ 3 3
35 35
นอกจากนี้ บริษัทย่อยดังกล่าวยังมีภาระผูกพันตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยต่างสกุลเงิน ที่ต้องจ่ายหรือ รับชาระเป็นเงินตราต่างประเทศทีบ่ ริษัทย่อยได้ทาเพื่อป้องกันความเสี่ยง (บัญชีเพื่อการธนาคาร) ดังนี้
สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยต่างสกุลเงิน - สัญญาขาย
สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยต่างสกุลเงิน - สัญญาขาย
282
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ดอลลาร์ สหรัฐฯ
ยูโร
1,146,582
ดอลลาร์ สหรัฐฯ 1,154,835
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 เยน -
หยวน -
อื่น ๆ -
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 ยูโร
เยน -
หยวน -
-
อื่น ๆ -
-
(ค)
ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของตราสารทุน ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของตราสารทุน คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของราคา ของตราสารทุ น หรื อ หุ้น ทุ น ซึ่ งอาจจะท าให้ เ กิด การเปลี่ ย นแปลงต่ อมู ลค่ า ของสิน ทรัพ ย์ ประเภทเงิ น ลงทุ น ความผันผวนต่อรายได้หรือมูลค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน มูลค่าสูงสุดของความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของตราสารทุนคือมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน ในตราสารทุนตามที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน
44.3 ควำมเสี่ยงด้ำนสภำพคล่อง ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง หมายถึง ความเสี่ยงที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจะไม่สามารถปฏิบัติต ามภาระผูกพันได้ เมื่ อ ครบก าหนด เนื่ อ งจากไม่ สามารถเปลี่ ยนสิ น ทรั พ ย์ เป็ น เงิ น สดได้ ทั น หรื อ ไม่ สามารถจัด หาเงิ น ทุ นได้ เ พี ย งพอ สาหรับการดาเนินงาน จนทาให้เกิดความเสียหายแก่บริษัทฯและบริษัทย่อย บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องโดยเน้นการบริหารความเสี่ยงของบริษัทย่อ ย ที่ประกอบธุรกิจธนาคารโดยได้มีการจัดทารายงานสถานะสภาพคล่องสุทธิหรือ Liquidity Gap โดยแบ่งการวิเคราะห์ เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ รายงานฐานะสภาพคล่องสุทธิตามช่วงเวลา (Contractual Liquidity Gap) และรายงานฐานะสภาพ คล่องสุทธิหลังปรับพฤติกรรม (Behavior Liquidity Gap) เพื่อวิเคราะห์ฐานะสภาพคล่องสุทธิของบริษัทย่อยตามแต่ละ ช่วงเวลา และพิจารณาความเพียงพอของกระแสเงินสุท ธิต ลอดช่วง 1 ปี ข้า งหน้า และได้กาหนดให้มีการประเมิน ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องโดยพิจารณาจากยอดสะสมของฐานะสภาพคล่องสุทธิที่ปรั บอายุคงเหลือตามพฤติกรรม ผู้ฝากเงินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมตามที่บริษัทย่อยกาหนดไว้ ทั้งนี้ บริษัทย่อยกาหนดให้มีการศึกษาผลกระทบต่อสภาพคล่องจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่างๆ ได้แก่ การไถ่ถอน เงินฝากก่อนกาหนด การเปลี่ยนแปลงลักษณะการต่ออายุเงินฝาก (Roll over) เป็นต้น โดยได้กาหนดสถานการณ์จาลอง ออกเป็นสถานการณ์ปกติ (Normal Scenario) และสถานการณ์วิกฤต (Stress Scenario) ซึ่งครอบคลุมถึงผลกระทบ ต่ อ การบริ ห ารสภาพคล่ อ งของบริ ษั ท ย่ อ ยด้ ว ย โดยให้ ฝ่า ยบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ผู้ ด าเนิ น การและน าเสนอต่ อ คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน เพื่อประเมินความต้องการสภาพคล่องในแต่ละกรณี และเป็นแนวทางสาหรับ การจัดทาแผนรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสภาพคล่อง นอกจากนี้ บริษัทย่อยยังได้ติดตามความเสี่ยงด้านสภาพคล่องตามหลักเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องเพื่อรองรับ สถานการณ์ด้านสภาพคล่องที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio: LCR) ซึ่งกาหนดสมมติฐานให้กระแสเงินสด ไหลเข้ า -ออกที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น สะท้ อ นตามประเภทคู่ สั ญ ญา ที่ มี พ ฤติ ก รรมการถอนเงิ น ที่ แ ตกต่ า งกั น และสะท้ อ น ตามประเภทธุรกรรมทั้งที่อยู่ในและนอกงบแสดงฐานะการเงินที่มีปัจจัยบ่งชี้กระแสเงินสดไหลเข้า-ออกแตกต่างกัน รวมถึงสะท้อนโครงสร้างกลุ่มธุรกิจที่อาจทาให้ธนาคารพาณิชย์ต้องเข้าช่วยเหลือด้านสภาพคล่องในสถานการณ์กระแส เงิ น ไหลออกอย่ า งรุ น แรงและต่ อ เนื่ อง ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ย่ อ ยได้ ก าหนดระดั บ เพดานความเสี่ ย งเพื่อ ติ ด ตามดู แ ลระดั บ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และสามารถดารงสินทรัพย์สภาพคล่องได้อย่างเหมาะสม และ รองรับพฤติกรรมทั้งด้านกระแสเงินเข้าและออกที่อาจเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายงานประจำ�ปี 2559
283
วันที่ที่ครบกาหนดของเครื่องมือทางการเงินนับจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีดังนี้
รายการ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (1) หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์
เมื่อ ทวงถาม
ไม่เกิน 3 เดือน
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 3 - 12 มากกว่า เดือน 1 ปี
(หน่วย: พันบาท) ไม่มี กาหนด
รวม
2,109,177 - 2,109,177 6,058,839 11,409,172 - 17,468,011 2,858 2,858 - 367,854 1,451,094 43,984,523 6,872,326 52,675,797 15,428,040 27,454,522 19,973,758 77,965,116 340,631 141,162,067 69,638,458 28,610,989 43,506,697 7,341,002 1,194,213 10,886,084 6,226,883 1,702,671 75,991 - 6,274,151 10,190,000 3,868,598 -
- 149,097,146 - 20,009,851 75,991 - 20,332,749 143,479 143,479
(1)
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ครบกาหนดเมื่อทวงถามรวมจานวนเงิน คงค้างตามสัญญาของลูกหนี้รายที่ผิดนัดชาระ และเงินให้สินเชื่อ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 เมื่อ ไม่เกิน 3 - 12 มากกว่า ไม่มี รายการ ทวงถาม 3 เดือน เดือน 1 ปี กาหนด รวม สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด 2,242,589 - 2,242,589 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 7,795,607 8,990,000 1,040,000 - 17,825,607 เงินลงทุน - 420,035 3,293,576 41,110,595 2,378,777 47,202,983 เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (1) 10,379,034 21,378,839 17,367,361 83,781,443 370,122 133,276,799 หนี้สินทำงกำรเงิน เงินรับฝาก 57,329,514 26,423,161 45,325,560 7,986,085 - 137,064,320 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 2,068,436 8,168,909 4,004,556 6,396,655 - 20,638,556 หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม 176,517 - 176,517 หนี้สินตราสารอนุพันธ์ 5,395 5,395 ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม - 10,606,500 7,214,000 3,849,200 - 21,669,700 เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ 51,983 51,983 (1)
เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ที่ครบกาหนดเมื่อทวงถามรวมจานวนเงินคงค้างตามสัญญาของลู กหนี้รายที่ผิดนัดชาระ และเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
284
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
เมื่อ ทวงถาม
รายการ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน หนี้สินทำงกำรเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
ไม่เกิน 3 เดือน
1 536,976 -
-
-
137,800
415,000
-
-
-
เมื่อ ทวงถาม
รายการ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน หนี้สินทำงกำรเงิน เจ้าหนี้จากการซื้อหลักทรัพย์
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 3 - 12 มากกว่า เดือน 1 ปี
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 3 - 12 มากกว่า เดือน 1 ปี
ไม่เกิน 3 เดือน
(หน่วย: พันบาท) ไม่มี กาหนด
รวม
1 - 536,976 941,615 1,079,415 -
415,000
(หน่วย: พันบาท) ไม่มี กาหนด
รวม
8 230,202 -
-
-
150,800
498,266
8 230,202 649,066
-
4,013
-
-
-
4,013
นอกจากนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจธนาคารมีภาระผูกพันจากการอาวัล ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้าที่ยังไม่ครบกาหนด ค้าประกัน เล็ตเตอร์ออฟเครดิต วงเงินเบิกเกินบัญชีที่ลูกค้า ยังไม่ได้ใช้และภาระผูกพันอื่น ซึ่งจาแนกตามระยะเวลาครบกาหนดของสัญญานับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงานได้ ดังต่อไปนี้
ไม่เกิน 1 ปี การรับอาวัลตั๋วเงิน ภาระตามตั๋วแลกเงินค่าสินค้าเข้าที่ยัง ไม่ครบกาหนด การค้าประกันอื่น ๆ เล็ตเตอร์ออฟเครดิต วงเงินเบิกเกินบัญชีที่ลูกค้ายังไม่ได้ใช้ ภาระผูกพันอื่น (1)
23,953 8,021 3,678,406(1) 6,927 4,871,743 -
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม
2559 มากกว่า 1 ปี
รวม -
23,953
342,374 17,225,401
8,021 4,020,780 6,927 4,871,743 17,225,401
ไม่เกิน 1 ปี 119,458 3,420,098(1) 5,009,803 -
2558 มากกว่า 1 ปี
รวม -
119,458
913,991 15,201,722
4,334,089 5,009,803 15,201,722
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 จานวนเงินดังกล่าวได้รวมสัญญาที่ไม่ระบุวันครบกาหนดจานวน 1,241 ล้านบาท และ 1,092 ล้านบาท ตามลาดับ
รายงานประจำ�ปี 2559
285
45.
กำรวัดมูลค่ำยุติธรรมของเครือ่ งมือทำงกำรเงิน บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้วิธีราคาตลาดในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินซึ่ง มาตรฐาน การรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้องกาหนดให้ต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีตลาดที่มีสภาพคล่อง หรือไม่สามารถ หาราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะใช้วิธีราคาทุนหรือวิธีรายได้ในการวัดมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินดังกล่าวแทน 45.1 ลำดับชั้นของมูลค่ำยุติธรรม ในการนาเทคนิคการวัดมูลค่ายุติธรรมมาใช้ กิจการจะต้องพยายามใช้ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ หรือหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 เรื่อง มูลค่ายุติธรรม กาหนดลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมออกเป็นสามระดับตามประเภทของข้อมูลที่นามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1 ใช้ข้อมูลราคาเสนอซื้อขายของสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง ระดับ 2 ใช้ข้อมูลอื่นที่สามารถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางตรงหรือทางอ้อม ระดับ 3 ใช้ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น 45.2 สินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงมูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์ที่แสดงมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมแยกแสดง ตามลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ดังนี้
สินทรัพย์ที่แสดงมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนเพื่อค้า ตราสารทุนในความต้องการของ ตลาดในประเทศ รวมเงินลงทุนเพื่อค้า เงินลงทุนเผื่อขาย ตราสารทุนในความต้องการของ ตลาดในประเทศ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขาย
286
มูลค่า ตามบัญชี
ระดับ 1
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3
รวม
74 74
74 74
-
-
74 74
6,636,585 222,098 6,858,683
6,636,585 6,636,585
222,098 222,098
-
6,636,585 222,098 6,858,683
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
สินทรัพย์ที่แสดงมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรม เงินลงทุนเพื่อค้า ตราสารทุนในความต้องการของ ตลาดในประเทศ รวมเงินลงทุนเพื่อค้า เงินลงทุนเผื่อขาย ตราสารทุนในความต้องการของ ตลาดในประเทศ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขาย
สินทรัพย์ที่แสดงมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรม เงินลงทุนเผื่อขาย ตราสารทุนในความต้องการของ ตลาดในประเทศ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขาย
มูลค่า ตามบัญชี
ระดับ 1
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3
รวม
12,251 12,251
12,251 12,251
-
-
12,251 12,251
2,145,466 207,491 2,352,957
2,145,466 2,145,466
207,491 207,491
-
2,145,466 207,491 2,352,957
มูลค่า ตามบัญชี
894,973 46,642 941,615
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
894,973 894,973
46,642 46,642
รวม
-
รายงานประจำ�ปี 2559
894,973 46,642 941,615
287
สินทรัพย์ที่แสดงมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรม เงินลงทุนเผื่อขาย ตราสารทุนในความต้องการของ ตลาดในประเทศ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนเผื่อขาย
มูลค่า ตามบัญชี
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
418,101 80,165 498,266
418,101 418,101
80,165 80,165
รวม
-
418,101 80,165 498,266
ในระหว่างปีปัจจุบันไม่มีการโอนรายการระหว่างลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม 45.3 สินทรัพย์และหนี้สินทำงกำรเงินที่เปิดเผยมูลค่ำยุติธรรม ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี สิน ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิน ทางการเงิ น ที่ แ สดงมู ลค่ า ด้วยราคาทุนและต้องเปิดเผยมูลค่ายุติธรรม โดยแยกแสดงตามลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ดังนี้
มูลค่า ตามบัญชี สินทรัพย์ทางการเงินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม เงินสด 2,109,177 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ 17,312,169 สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ 2,858 เงินลงทุน - สุทธิ 45,817,015 เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ - สุทธิ 137,968,788 หนี้สินทางการเงินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม เงินรับฝาก 149,097,146 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 20,009,851 หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม 75,991 ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม 20,332,749 เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ 143,479
288
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ระดับ 1
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3
รวม
2,109,177 1,883,839 -
23,273 46,347,255 340,631
15,429,163 13,544 137,378,818
2,109,177 17,313,002 23,273 46,360,799 137,719,449
68,721,130 1,028,213 75,991 6,398 -
80,380,771 18,983,471 20,465,245 143,479
-
149,101,901 20,011,684 75,991 20,471,643 143,479
มูลค่า ตามบัญชี
สินทรัพย์ทางการเงินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม เงินสด 2,242,589 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ 17,662,779 เงินลงทุน - สุทธิ 44,837,750 เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ - สุทธิ 130,533,339 หนี้สินทางการเงินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม เงินรับฝาก 137,064,320 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 20,638,556 หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม 176,517 หนี้สินตราสารอนุพันธ์ 5,395 ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม 21,669,700 เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ 51,983
สินทรัพย์ทางการเงินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ หนี้สินทางการเงินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน
สินทรัพย์ทางการเงินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ หนี้สินทางการเงินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม เจ้าหนี้จากการซื้อหลักทรัพย์
มูลค่า ตามบัญชี
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3
ระดับ 1
รวม
2,242,589 1,632,322 -
46,508,254 370,122
16,038,199 13,544 129,846,785
2,242,589 17,670,521 46,521,798 130,216,907
56,129,515 1,273,436 176,517 -
81,011,959 19,372,544 22,117 21,698,034 51,983
-
137,141,474 20,645,980 176,517 22,117 21,698,034 51,983 (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3
ระดับ 1
รวม
1 536,976 137,800
1 536,976 -
142,707
-
1 536,976 142,707
415,000
415,031
-
-
415,031
มูลค่า ตามบัญชี
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3
ระดับ 1
รวม
8 230,202 150,800
8 230,202 -
151,821
-
8 230,202 151,821
4,013
-
4,013
-
4,013
รายงานประจำ�ปี 2559
289
บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการประมาณการมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่จะครบกาหนดในระยะเวลาอันสั้นหรือสินทรัพย์ทางการเงินที่มี การคิดดอกเบี้ย ในอัตราเทียบเคียงกับตลาด ได้แก่ เงินสด หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เจ้าหนี้จากการซื้อหลักทรัพย์ และเจ้าหนี้ ธุรกิจหลักทรัพย์ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินดังกล่าวประมาณโดยเทียบเคียงกับมูลค่าตามบัญชี (ข) มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารหนี้คานวณโดยใช้ผลตอบแทนที่ประกาศโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (ค) มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหน่วยลงทุนที่ไม่ใช่หลั กทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย คานวณโดยใช้มูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยที่ประกาศโดยผู้จัดการกองทุน (ง) เงิ น ลงทุ น ในตราสารทุ น ที่ ไ ม่ อ ยู่ ใ นความต้ อ งการของตลาด ค านวณตามหลั ก เกณฑ์ ก ารประเมิ น มู ล ค่ า ที่เป็นที่ยอมรับทั่วไป (จ) มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเงิ น ให้ สิ น เชื่ อ แก่ ลู ก หนี้ แ ละรายการระหว่ า งธนาคารและตลาดเงิ น (สิ น ทรั พ ย์ ) ที่ มี อัตราดอกเบี้ยปรับตามอัตราตลาด ประมาณโดยเทียบเคียงกับมูลค่าตามบัญชีสุทธิค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ มูลค่ายุติธรรมของเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และรายการระหว่าง ธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์) ที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่คานวณจากมูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแส เงินสดคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยของเงินให้สินเชื่อของบริษัทย่อยที่มีลักษณะคล้ายกัน มูลค่ายุติธรรมของเงินให้ สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ คานวณจากมูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการ จาหน่ายหลักประกันคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยและภายในระยะเวลาอ้างอิงประกาศ ธปท. เรื่องการกันเงินสารอง (ฉ) มูลค่ายุติธรรมของเงินรับฝากและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (หนี้สิน) ประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือมีอัตราดอกเบี้ยปรับตามอัตราตลาด ประมาณโดยเทียบเคียงกับมูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรมของเงินรับ ฝากและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (หนี้สิน) ที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ คานวณจากมูลค่าปัจจุบั นของ ประมาณการกระแสเงินสด คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยตามประกาศของบริษัทย่อยสาหรับตราสารที่มีลักษณะ คล้ายกัน (ช) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์/หนี้สินตราสารอนุพันธ์ประมาณโดยการใช้ราคายุติธรรมที่ได้จากธนาคารคู่ค้า (ซ) มูลค่ายุติ ธรรมของตราสารหนี้ที่ออกและเงิ นกู้ยืม ประเภทตราสารด้อ ยสิทธิ และไม่ด้อยสิทธิ คานวณมูลค่ า ยุติธรรมโดยใช้อัตราผลตอบแทนที่ประกาศโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย มูลค่ายุติธรรมของตราสารหนี้ ที่ออกและเงินกู้ยืมประเภทที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ คานวณจากมูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดจ่าย ในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยโดยประมาณในตลาดปัจจุบันสาหรับเงินกู้ยืมที่มีเงื่อนไขใกล้เคียงกัน 46.
กำรจัดประเภทรำยกำรใหม่ บริษัทฯได้จัดประเภทรายการบัญชีใหม่บางรายการเพื่อให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ทั้งนี้การจัดประเภทรายการบัญชีดังกล่าว
ไม่มีผลกระทบต่อกาไรสาหรับงวดหรือส่วนของเจ้าของตามที่เคยรายงานไว้ การจัดประเภทรายการบัญชีใหม่มีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ตามที่จัดประเภทใหม่ ตามที่เคยรายงานไว้ งบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้าหนี้สานักหักบัญชี 7,688 เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ 51,983 หนี้สินอื่น 198,166 257,837 257,837 257,837
290
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
47.
เหตุกำรณ์ภำยหลังรอบระยะเวลำรำยงำน เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติให้เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปีของบริษัทฯ เพื่ อพิ จารณาอนุ มั ติ จ่ ายเงิ นปั นผลประจ าปี 2559 จากผลการด าเนิ นงานส าหรั บปี สิ้ นสุ ดวั นที่ 31 ธั นวาคม 2559 โดยจ่ายเงินปันผลเป็นเงินสดในอัตรา 0.052 บาทต่อหุ้น คิดเป็นจานวนเงินรวมไม่เกิน 709.22 ล้านบาท
48.
กำรอนุมตั ิงบกำรเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการของบริษัทฯเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560
รายงานประจำ�ปี 2559
291
ข้อมูลอ้างอิง บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 0 2009 9000 0 2009 9991 0 2009 9999 www.set.or.th/tsd
นายทะเบียนหลักทรัพย์ ทีต่ ง้ั สำ�นักงาน โทรศัพท์ โทรสาร SET Contact center เว็บไซต์
: : : : : :
ผู้สอบบัญชี รายชื่อผู้สอบบัญชี
: บริษัท สำ�นักงาน อี วาย จำ�กัด : นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3734 และ/หรือ นางสาวสมใจ คุณปสุต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4499 และ/หรือ นางสาวรัชดา ยงสวัสดิ์วณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4951 : เลขที่ 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 : 0 2264 0777 : 0 2264 0789-90 : www.ey.com/th
ที่ตั้งสำ�นักงาน โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์
บริษัทที่ปรึกษาทางการเงิน : บริษัท ที่ปรึกษา เอเซีย พลัส จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขที่ 175 อาคารสาธรซิตี้ ชั้น 11 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0 2680 4000 โทรสาร : 0 2670 9291-2 เว็บไซต์ : www.asiaplus.co.th
292
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
ทำ�เนียบสาขาของธนาคาร เขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล สำ�นักลุมพินี สาขาคิวเฮ้าส์ อโศก สาขาคิวเฮ้าส์ สาทร สาขาทองหล่อ สาขาพาร์คเลน (เอกมัย) สาขาเทอร์มินอล 21 สาขาเวฟเพลส (เพลินจิต) สาขาสีลม สาขาบางรัก สาขาถนนจันทน์ สาขามาบุญครอง เซ็นเตอร์ สาขาประตูน้ำ� สาขาเยาวราช สาขาสำ�เพ็ง สาขาวงเวียน 22 กรกฎา สาขาคลองถม สาขาวรจักร สาขาโบ๊เบ๊ สาขาบางลำ�พู สาขาตลาดน้อย สาขาดิโอลด์สยาม สาขาปากคลองตลาด สาขาเสนา เฟสท์ (เจริญนคร)
สาขา
หมายเลขโทรศัพท์
(ชัน้ G อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพิน)ี
0 2359 0000 ต่อ 4801-4, 0 2677 7111 (ชั้น G อาคารคิวเฮ้าส์ อโศก) 0 2204 2515-7 (ชั้น G อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร) 0 2286 2646-7, 0 2105 3994 (ใกล้โชวรูม TSL) 0 2392 6053-5 (ชั้น 1 พาร์คเลน คอมมูนิตี้ มอลล์) 0 2381 6573-5, 0 2714 4182 (ชั้น LG ติดร้าน Booth) 0 2254 0045-7, 0 2108 0674 (ชั้น 2 อาคารเวฟเพลส (เพลินจิต)) 0 2254 4150-2, 0 2655 7128 (ใกล้สีลม คอมเพล็กซ์) 0 2235 8372-4 (ตรงข้ามโรบินสัน บางรัก) 0 2235 7050-3 (ปากซอยจันทน์ 18/8 ถนนจันทร์) 0 2212 8639-40, 0 2212 8634, 0 2673 0453 (ชั้น 4 Banking Zone) 0 2686 3930 (หลังโรงแรมอินทราสแควร์ ติดกับ Kbank) 0 2208 0860-2, 0 2656 3162 (ปากซอยเท็กซัส ฝั่งถนนเยาวราช) 0 2221 4600-2 (ถนนมังกร - ซอยวานิช 1) 0 2225 3552, 0 2225 3556-7, 0 2622 4938 (ซอยวัดพลับพลาไชย) 0 2223 4194-5, 0 2223 4280, 0 2623 0218 (ใกล้แยก เอส. เอ. บี.) 0 2223 2024-6 (หน้าตลาดวรจักร) 0 2221 6946-8, 0 2621 2026 (ทางเข้าโรงแรมปริ๊นเซส) 0 2280 9518, 0 2280 9530, 0 2280 9541, 0 2628 1356 (ถนนสิบสามห้าง) 0 2282 4712-4, 0 2629 4162 (ชั้น 1 อาคารณัฐภูมิ ถนนเจริญกรุง 0 2235 7463-5, 0 2639 6103 แยกทรงวาด) (ชั้น 1 ฝั่งถนนบูรพา) 0 2223 9866-8 (ตรงข้ามตลาดส่งเสริมเกษตรไทย) 0 2225 4932-4, 0 2623 7316 (ชั้น 1 เสนา เฟสท์ ถนนเจริญนคร) 0 2437 0038-40, 0 2108 9040 รายงานประจำ�ปี 2559
293
เขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ต่อ) สาขาสุขสวัสดิ์
สาขา
หมายเลขโทรศัพท์
(ตัง้ อยู่ในโครงการสุขนิเวศน์ 3 ปากซอยวัดครุนอก) (ตรงข้ามตลาดพรานนก) (ชั้น 2 ติดนิติพล คลินิก) (ชั้น G ใกล้กลูเม่ มาร์เก็ต) (ชั้น 2 ใกล้รา้ นไดโซะ)
0 2462 8364-6, 0 2819 2726
สาขาพรานนก สาขาแฟชั่น ไอส์แลนด์ สาขาเดอะ พรอมานาด สาขาเดอะ พาซิโอทาวน์ (รามคำ�แหง) สาขาเดอะ เซอร์เคิล ราชพฤกษ์ (ใกล้ Kids Park Zone) สาขาเสนานิคม (ตรงข้าม โรงพยาบาลเมโย)
294
สาขาสะพานควาย สาขาตลาดไท
(ฝั่งบิ๊กซี ใกล้สี่แยกสะพานควาย) (อยู่ใกล้ตลาดผลไม้รวม)
สาขาฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต สาขาสะพานใหม่ สาขาสมุทรปราการ สาขาบิ๊กซี พระราม 2
(ชั้น 2 Central Zone) (ตรงข้ามตลาดยิ่งเจริญ) (ถนนประโคนชัย) (ชัน้ 1 ใกล้ True Move)
สาขาบิ๊กซี บางนา สาขาบิ๊กซี บางพลี
(ชั้น 1 ติดร้าน Black Canyon) (ชั้น 1 Banking Zone)
สาขาบิ๊กซี อ่อนนุช สาขาบิ๊กซี ติวานนท์
(ชั้น 3 บริเวณ Food Court) (ชั้น 1 ติดกับธนาคารกรุงเทพ)
สาขาบิ๊กซี รัตนาธิเบศร์ สาขาเทสโก้ โลตัส พระราม 1 สาขาเทสโก้ โสตัส พระราม 4 สาขาเทสโก้ โลตัส บางนา-ตราด สาขาเทสโก้ โลตัส ศรีนครินทร์ สาขาโฮมโปร เพชรเกษม สาขาโฮมโปร สุวรรณภูมิ สาขาโฮมโปร เอกมัย-รามอินทรา
(ชั้น 1 บริเวณร้านทอง) (ชัน้ 3 ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส พระราม 1) (ชั้น 2 ทางขึ้นบันไดเลื่อน) (ชั้น 1 Zone Bank) (ชั้น 2 ใกล้โรงภาพยนตร์) (ชั้น 1 Plaza Zone ฝั่ง Home Pro) (ชั้น 3 Banking Zone) (ใกล้รา้ นก๋วยเตี๋ยวไก่ แม่ศรีเรือน)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
0 2411 1272-4, 0 2866 0314 0 2947 5588 0 2947 5056-8, 0 2130 4200 0 2111 3007-9 0 2863 8757-9, 0 2863 8762 0 2561 5577, 0 2561 2376, 0 2561 1957, 0 2941 1051 0 2278 1755-7, 0 2616 9407 0 2529 6162-3, 0 2529 6176-7, 0-2908-3420 0 2958 5271-3 0 2522 7088-91, 0 2971 1404 0 2389 1683-5, 0 2702 6721 0 2415 3737, 0 2415 3313 0 2415 5423, 0 2415 7236 0 2361 6324-6 0 2312 2626, 0 2312 2665 0 2312 2667 0 2331 6471-3, 0 2742 6800 0 2527 4551-2, 0 2527 4557, 0 2968 3932 0 2594 2578-80 0 2214 3568-70, 0 2612 4920 0-2249 5758-60, 0 2671 4697 0 2316 3184-6, 0 2752 8143 0 2175 7712-4, 0 2105 3995 0 2444 3045-7 0 2316 6701-3, 0 2002 1024 0 2514 9112-4
เขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ต่อ)
ภาคเหนือ
สาขา
หมายเลขโทรศัพท์
สาขาโฮมโปร ประชาชื่น
(ชั้น 1 โฮมโปร ประชาชื่น)
สาขาโฮมโปร พุทธมณฑล สาย 5 สาขาเมกาโฮม รังสิต สาขาเซ็นทรัล พระราม 9 สาขาเซ็นทรัล ปิ่นเกล้า สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ
(ชั้น 1 โฮมโปร พุทธมณฑล)
0 2589 6015, 0 2589 6071, 0 2589 6074, 0 2951 8353 0 2482 1286-7, 0 3410 9605
สาขาเดอะมอลล์ บางแค สาขาเดอะมอลล์ บางกะปิ สาขาเดอะมอลล์ งามวงศ์วาน สาขาซีคอน บางแค สาขาซีคอนสแควร์ สาขานครปฐม สาขาสมุทรสาคร
(ชั้น 3 Banking Zone) (ชั้น 2 เยื้องศูนย์ Nokia ฝั่ง Plaza) (ชั้น 1 ตรงข้าม DTAC ) (ชั้น 3 Banking Zone) (ชั้น 3 Banking Zone) (ถนนราชวิถี) (ตรงข้าม โรงเรียนมหาชัย คริสเตียน)
สาขาเซ็นทรัล แจ้งวัฒนะ สาขาโฮมโปร พระราม 3 สาขาเดอะ พาซิโอมอลล์ (ลาดกระบัง)
(ชั้น 4 ใกล้กับ True) (ชั้น 1 โฮมโปร พระราม 3) (ใกล้กับ McDonald’s)
สาขาโฮมโปร เชียงราย สาขาโฮมโปร แพร่ สาขาโฮมโปร ลำ�ปาง สาขาเทสโก้ โลตัส รวมโชค (เชียงใหม่)
(ชั้น 1 โฮมโปร เชียงราย) (ชั้น 1 โฮมโปร แพร่) (ชั้น 1 โฮมโปร ลำ�ปาง) (ชั้น 2 ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส รวมโชค)
สาขาบิ๊กซี หางดง สาขาตลาดวโรรส สาขาเชียงราย
(ชั้น 1 Banking Zone) (ปากทางเข้าตลาดวโรรส) (ถนนธนาลัย)
(ชั้น 1 ศูนย์การค้าเมกาโฮม รังสิต) (ชั้น 5 Banking Zone) (ชั้น 4 Banking Zone) (ชั้น B หน้า Supermarket)
0 2516 0971-2, 0 2105 3935 0 2160 3866-8 0 2433 1155, 0 2433 1352-3 0 2477 9525, 0 2477 9497, 0 2477 9540 0 2454 9204-6 0 2363 3489-91 0 2550 1287-9 0 2458 2846-9 0 2138 6180-2, 0 2721 9246 0 3427 1981-3, 0 3421 0143 0 3487 0737-9, 0 3487 0741, 0 3481 0877 0 2193 8130-2, 0 2024 8430 0 2164 4390-1, 0 2024 8959 0 2346 4211-3, 0 2024 8564
0 5360 4430-1, 0 5202 9835, 0 5453 1955-6, 0 5406 9505, 0 5481 1481-2, 0 5431 6228 0 5301 4124-5, 0 5301 4282-3, 0 5301 4154, 0 5301 4285, 0 5385 2027 0 5344 7855-7 0 5325 2223-5 0 5371 7873-6 รายงานประจำ�ปี 2559
295
เขตพื้นที่
สาขา
หมายเลขโทรศัพท์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาขาโฮมโปร ร้อยเอ็ด สาขาโฮมโปร สกลนคร
(ชั้น 1 โฮมโปร ร้อยเอ็ด) (ชั้น 1 โฮมโปร สกลนคร)
สาขาโฮมโปร เลย สาขาโฮมโปร อุบลราชธานี สาขาโฮมโปร ชัยภูมิ สาขาโฮมโปร บุรีรัมย์ สาขาโฮมโปร สุรินทร์ สาขาโฮมโปร เขาใหญ่ สาขาโฮมโปร นครราชสีมา (หัวทะเล) สาขาเมกาโฮม หนองคาย สาขาขอนแก่น
(ชั้น 1 เมกาโฮม หนองคาย) (ถนนศรีจันทร์)
สาขาเซ็นทรัล ขอนแก่น
ภาคกลาง
296
0 4351 6849-50, 0 4303 9805 0 4271 2862, 0 4271 2868, 0 4209 9705 (ชั้น 1 โฮมโปร เลย) 0 4284 5827-8, 0 4203 9805 (ชั้น 1 โฮมโปร อุบลราชธานี) 0 4534 4738-9, 0 4595 9715 (ชั้น 1 โฮมโปร ชัยภูมิ) 0 4405 1842-3, 0 4410 9705 (ชั้น 1 โฮมโปร บุรีรัมย์) 0 4469 0490-1, 0 4411 9805 (ชั้น 1 โฮมโปร สุรินทร์) 0 4451 9902-3 (ชั้น 1 โฮมโปร เขาใหญ่) 0 4492 9458-9, 0 4432 8033 (ชั้น 1 โฮมโปร นครราชสีมา (หัวทะเล)) 0 4492 0530-1
สาขาเซ็นทรัล อุดรธานี สาขาอุดรธานี
(ชั้น 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซ่า ขอนแก่น) (ชั้น 3 เซ็นทรัล อุดรธานี) (ใกล้หา้ แยกน้ำ�พุ)
สาขาโฮมโปร สระบุรี สาขาโฮมโปร ลพบุรี สาขาโฮมโปร สุพรรณบุรี สาขาบิ๊กซี อยุธยา
(ชั้น 1 โฮมโปร สระบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร ลพบุรี) (ถนนมาลัยแมน) (ชั้น 2 ศูนย์การค้าบิ๊กซี อยุธยา)
0 4299 0453-4, 0 4246 4229 0 4323 5244, 0 4323 5258, 0 4323 5260, 0 4324 5364, 0 4324 5366, 0 4324 5415 0 4328 8540-3
0 4213 6155-7, 0 4234 3341 0 4223 0280-2, 0 4223 0284, 0 4223 0286, 0 4234 3788, 0 4223 0308 สาขาอุบลราชธานี (ถนนชยางกูร) 0 4524 2584-6, 0 4526 2311 สาขาเดอะมอลล์ นครราชสีมา (ชั้น B ติดกับ TMB) 0 4439 3925-7, 0 4428 8118 สาขาปากช่อง (ตลาดปากช่อง) 0 4431 4882-4, 0 4408 1114 สาขาเมกาโฮม นครพนม (ชั้น 1 เมกาโฮม นครพนม) 0 4251 1981-2, 0 4219 9783 สาขาเทอร์มินอล 21 โคราช (ชั้น 2 ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช) 0 4449 8511-4
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
0 3622 4471-2, 0 3667 9715 0 3677 6095-6, 0 3668 9805 0 3552 2346-7, 0 3596 9605 0 3574 7133-4, 0 3595 9715
เขตพื้นที่
ภาคตะวันตก
ภาคตะวันออก
ภาคใต้
สาขา
หมายเลขโทรศัพท์
สาขาโฮมโปร สุโขทัย สาขาโฮมโปร นครสวรรค์ สาขาโฮมโปร เพชรบูรณ์ สาขาพิษณุโลก สาขานครสวรรค์ สาขาอยุธยาซิตี้พาร์ค
(ชั้น 1 โฮมโปร สุโขทัย) (ชั้น 1 โฮมโปร นครสวรรค์) (ชั้น 1 โฮมโปร เพชรบูรณ์) (ถนนบรมไตรโลกนาถ) (ถนนสวรรค์วิถี) (ชั้น 1 ตรงข้ามร้าน Boots)
0 5561 6631-2, 0 5562 0004 0 5637 1357-8, 0 5600 9735 0 5671 9541-2, 0 5602 9705 0 5525 8051-3, 0 5521 9033 0 5622 8521-3, 0 5631 1015 0 3580 1929-31
สาขาโฮมโปร กาญจนบุรี สาขาโฮมโปร สมุทรสงคราม สาขาโฮมโปร เพชรบุรี สาขาโฮมโปร ประจวบคีรีขันธ์ สาขาโรบินสัน ราชบุรี สาขาหัวหิน สาขาเมกาโฮม แม่สอด
(ชั้น 1 โฮมโปร กาญจนบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร สมุทรสงคราม) (ชั้น 1 โฮมโปร เพชรบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร ประจวบคีรีขันธ์) (ชัน้ 1 ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน ราชบุร)ี (ตรงข้ามแขวงการทางหัวหิน) (ชั้น 1 เมกาโฮม แม่สอด)
0 3460 2695-6, 0 3462 2043 0 3477 0898-9, 0 3472 3027 0 3247 4575-6, 0 3241 0062 0 3265 2151-2 0 3232 8025-7, 0 32310330 0 3251 3420-2 0 5550 6993-4
สาขาโฮมโปร ชลบุรี สาขาโฮมโปร ชลบุรี (อมตะ) สาขาโฮมโปร ฉะเชิงเทรา สาขาโฮมโปร จันทบุรี สาขาโฮมโปร ปราจีนบุรี สาขาเมกาโฮม บ่อวิน สาขาเมกาโฮม กบินทร์บุรี สาขาเมกาโฮม อรัญประเทศ สาขาศรีราชา สาขาบิ๊กซี พัทยากลาง สาขาระยอง
(ชั้น 2 โฮมโปร ชลบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร ชลบุรี (อมตะ)) (ชั้น 1 โฮมโปร ฉะเชิงเทรา) (ชั้น 1 โฮมโปร จันทบุรี) (ชั้น 1 โฮมโปร ปราจีนบุรี) (ชั้น 1 เมกาโฮม บ่อวิน) (ชั้น 1 เมกาโฮม กบินทร์บุรี) (ชั้น 1 เมกาโฮม อรัญประเทศ) (ถนนศรีราชานคร 2) (ชั้น 2 ติดร้าน 3BB) (ถนนสุขุมวิท ติดกับธนาคารยูโอบี)
0 3838 7924-6 0 3824 2052-4, 0 3304 6235 0 3851 3418-9, 0 3359 9515 0 3941 8112-3, 0 3960 9815 0 3748 2338-9, 0 3762 9755 0 3811 9168-9 0 3748 0314-5, 0 3720 2003 0 3724 7440-1, 0 3760 9824 0 3832 5693-5 0 3842 8946-8, 0 3836 0200 0 3861 9434-6, 0 3886 4486
สาขาโฮมโปร ภูเก็ต (ฉลอง) สาขาโฮมโปร ภูเก็ต (ถลาง) สาขาโฮมโปร ตรัง สาขาโฮมโปร พัทลุง
(ชั้น1 โฮมโปร ภูเก็ต (ฉลอง)) (ชั้น 1 โฮมโปร ภูเก็ต (ถลาง)) (ชั้น 1 โฮมโปร ตรัง) (ชั้น 1 โฮมโปร พัทลุง)
0 7638 4618-9, 0 7668 1135 0 7639 0430-1 0 7550 2276-7, 0 7582 9705 0 7460 3663, 0 7460 3667, 0 7462 1219 รายงานประจำ�ปี 2559
297
เขตพื้นที่
สาขา
หมายเลขโทรศัพท์
สาขาโฮมโปร ชุมพร สาขาเทสโก้ โลตัส สมุย สาขาเทสโก้ โลตัส ภูเก็ต สาขาภูเก็ต สาขาป่าตอง
(ชั้น 1 โฮมโปร ชุมพร) (ชั้น 1 ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส สมุย) (ชั้น G Banking Zone) (ถนนเทพกระษัตรี) (ปากซอย เดอะโรยัล พาราไดซ์)
สาขากระบี่
(ถนนมหาราช)
สาขานครศรีธรรมราช สาขาหาดใหญ่
(ถนนพัฒนาการคูขวาง) (ถนนนิพัทธ์อุทิศ 2)
สาขาบิ๊กซี หาดใหญ่ 2
(ชั้น 1 ศูนย์การค้า บิ๊กซี หาดใหญ่ 2)
สาขาเซ็นทรัล สุราษฎร์ธานี สาขาสมุย (ละไม)
(ชั้น 3 Banking Zone) (ถนนรอบเกาะ ตรงข้ามละไม รีสอร์ท)
0 7765 8893-4, 0 7797 9905 0 7743 0628-30, 0 7725 6091 0 7630 4113-5 0 7635 5305-9 0 7634 0770-1, 0 7634 0773, 0 7634 0775, 0 7634 0778, 0 7634 0801, 0 7629 2013 0 7562 0292-3, 0 7562 0377 0 7563 0027 0 7535 7617-9, 0 7531 7770, 0 7422 5622-3, 0 7422 5628 0 7435 0067 0 7455 5211, 0 7455 5281-2, 0 7434 4014 0 7760 2709-12 0 7745 8599, 0 7745 8600, 0 7795 4031, 0 7745 8640
ภาคใต้ (ต่อ)
298
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)