LHFG : Annual Report 2010 thai

Page 1



สารบัญ

4

5

5

20

6

สารจากประธานกรรมการ

2

ความเป็นมาของบริษัท

3

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัท

4

ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ

5

คณะกรรมการบริษัท

6

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

15

โครงสร้างเงินทุน

20

โครงสร้างองค์กร

24

โครงสร้างการจัดการ

24

24

30

ปัจจัยความเสี่ยง

30

คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

36

การกำ�กับดูแลกิจการ

42

การควบคุมภายใน

51

รายการระหว่างกัน

52

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

56

รายงานคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน

57

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน

58

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

61

งบการเงินประจำ�ปี 2553

62

42 Annual Report 2010

1


สารจากประธานกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2553 มีการขยายตัวในเกณฑ์ดี ตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 เป็นต้นมา โดยมีแรงขับเคลื่อนจากความต้องการ ของตลาดภายในประเทศ ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตฟื้นตัวขึ้น รวมถึงการขยายตัวจากการส่งออกและการท่องเที่ยว แม้จะมีปัจจัยลบ อยู่หลายประการ เช่น การปรับราคาขึ้นของน้ำ�มัน และปัญหาความ วุ่นวายทางการเมืองภายในประเทศในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553 อย่างไรก็ดี ภาคเอกชนปรับตัวได้ดีทำ�ให้ภาวะเศรษฐกิจฟื้น กลับมาได้อย่างรวดเร็ว

ทั้งนี้ บริษัทซึ่งดำ�เนินธุรกิจหลักโดยมีรายได้หลักจากบริษัทลูก ที่เป็นธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) มี ผลประกอบการเติบโตในอัตราที่ดี โดยผลการดำ�เนินงานของธนาคาร ปี 2553 ธนาคารมีสินทรัพย์รวม 62,363 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากสิ้นปี 2552 จำ�นวน 12,703 ล้านบาท หรือเติบโตประมาณ 25.6% และจากการ ทีธ่ นาคารมีนโยบายการให้สนิ เชือ่ ทีใ่ ห้ความสำ�คัญต่อคุณภาพของสินเชือ่ รวมทั้งการบริหารสินเชื่อด้อยคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารมี สินเชื่อด้อยคุณภาพ (Gross NPL) อยู่ที่ 1.46% และสินเชื่อด้อยคุณภาพ สุทธิ (Net NPL) อยูท่ ี่ 0.98% สำ�หรับผลการดำ�เนินงานของธนาคารเติบโต เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยมีกำ�ไรสุทธิ (ก่อนหักภาษี) อยู่ที่ 587 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 49.0% เมื่อเทียบกับปี 2552 เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2554 บริษัทได้ลงทุนในธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) เพ่ิมอีกจำ�นวน 4,500 ล้านบาท ทำ�ให้ธนาคารมีทุนชำ�ระแล้ว 10,000 ล้านบาท และมีเงินกองทุนชั้นที่ 1 มากกว่า 10,000 ล้านบาท ธนาคารจึงมีคุณสมบัติที่จะขอปรับฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์ ซึง่ ธนาคารอยูร่ ะหว่างดำ�เนินการจัดทำ�เอกสารเพือ่ ยืน่ ขออนุญาตปรับฐานะเป็นธนาคารพาณิชย์ตอ่ ธนาคารแห่งประเทศไทย อนึ่ง ในปี 2554 บริษัทมีแผนจะดำ�เนินการนำ�บริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย เมือ่ ปลายปี 2553 บริษทั ได้ยนื่ แบบคำ�ขออนุญาต แบบแสดงรายการข้อมูล และร่างหนังสือชีช้ วนสำ�หรับการเสนอขายหุน้ ที่ออกใหม่ต่อประชาชนต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แล้ว คณะกรรมการบริษัท ขอขอบคุณผู้ถือหุ้นทุกท่าน นักลงทุน ลูกค้าทุกกลุ่ม สถาบันการเงินทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงหน่วยงานราชการต่างๆ ท่ีได้ให้ความไว้วางใจและสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทด้วยดีเสมอมา บริษัทจะ มุง่ มัน่ พัฒนาโอกาสทางธุรกิจใหม่ พร้อมทัง้ นำ�เสนอผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินให้ครบวงจรมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า และมีความเชื่อมั่นว่าธนาคารจะเติบโตอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการประกอบธุรกิจภายใต้หลัก ธรรมาภิบาลและสร้างแนวทางธุรกิจทีเ่ หมาะสมและรับผิดชอบต่อสังคม เพือ่ ให้บริษทั เจริญเติบโตได้อย่างยัง่ ยืนตลอดไป

(นายอนันต์ อัศวโภคิน) ประธานกรรมการ

2

รายงานประจำ�ปี 2553


ความเป็ น มาของบริ ษ ท ั บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน) เป็ น บริ ษั ท โฮลดิ้ ง (Non-operating Holding Company) จัดตัง้ ขึน้ ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยเรือ่ งหลักเกณฑ์ การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม ที่กำ�หนดให้สถาบันการเงินปรับโครงสร้าง การถื อ หุ้ น ของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ การเงิ น ของตนเอง ให้ เ ป็ น ไปตาม หลักเกณฑ์การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม

บริษัท ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ด้วยทุน จดทะเบียนแรกเริ่มจำ�นวน 100,000 บาท โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อเป็นบริษัทใหญ่ของกลุ่มธุรกิจการเงิน ทั้งนี้ บริษัทไม่ทำ�ธุรกิจ ของตนเอง (Non - Operation Holding Company) แต่จะเข้าถือหุน้ ในบริษัทอื่นเพื่อการมีอำ�นาจควบคุมกิจการ เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2552 ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ อนุญาตให้บริษัท และธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งกลุ่มธุรกิจทางการเงิน โดยมีบริษัทเป็น บริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน และมีธนาคารเป็นบริษัทลูก ในกลุ่ม Solo Consolidation และมีบริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุนแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เป็นบริษัทลูกนอกกลุ่ม Solo Consolidation กล่าวคือ บริษัทจะต้องอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแล ของธนาคารแห่งประเทศไทย ตามทีก่ �ำ หนดในพระราชบัญญัตธิ รุ กิจ สถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2552 สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้อนุญาตให้บริษทั เสนอขาย หลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ตามแผนการปรับ โครงสร้างการถือหุ้น

เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2552 บริษัทได้ออกและเสนอขาย หุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทให้แก่ผู้ถือหุ้นของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) โดยเสนอขายเพือ่ แลกเปลีย่ นกับ หุน้ สามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ในอัตราแลกเปลี่ยน 1 ต่อ 1 และเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2552 บริษัท ได้ด�ำ เนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนทีอ่ อกเพือ่ แลกเปลีย่ นกับหุน้ สามัญ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) โดย ถือเสมือนว่าชำ�ระราคาค่าหุ้นแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งภายหลัง จากการปรับโครงสร้างการถือหุน้ ผูถ้ อื หุน้ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้ามาเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั แทน และบริษัทจึงเข้าถือหุ้นร้อยละ 99.99 ในธนาคาร เมือ่ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั มีเงินลงทุนในหุน้ สามัญ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 5,500 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.99 ของทุนชำ�ระแล้ว ของธนาคาร อนึ่ง ในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2554 บริษัทได้เรียก ชำ�ระค่าหุ้นเพิ่มทุน ทำ�ให้ ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 บริษัทมีทุน จดทะเบียนจำ�นวน 12,000,000,000 บาท และมีทนุ ชำ�ระแล้วจำ�นวน 9,928,025,532 บาท โดยบริษัทมีผู้ถือหุ้นใหญ่ 3 ราย ได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และคุณเพียงใจ หาญพาณิชย์ ซึ่งมีสัดส่วนการถือหุ้น ในบริษัทในอัตราร้อยละ 40.95 ร้อยละ 25.71 และร้อยละ 19.04 ตามลำ�ดับ

Annual Report 2010

3


ข้อมูลทับริษ่วัทไปเกี ่ยวกับ แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ชื่อย่อ

:

LHFG

เลขทะเบียนบริษัท

:

0107552000081

ประกอบธุรกิจ

:

ธุรกิจลงทุน

ที่อยู่สำ�นักงานใหญ่ :

โทรศัพท์ โทรสาร

: :

0-2359-0000, 0-2677-7111 0-2677-7223

ทุนจดทะเบียน

:

จำ�นวน 12,000,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 12,000,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

ทุนเรียกชำ�ระแล้ว

:

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวน 5,515,569,740 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 5,515,569,740 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

:

ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 จำ�นวน 9,928,025,532 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 9,928,025,532 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหุ้น

:

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เลขที่ 2/7 อาคารสถาบันวิทยาการตลาดทุน หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2596-9000 โทรสาร 0-2832-4994-6

ผู้สอบบัญชี

:

นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3734 นางสาวสุมาลี วีวราบัณฑิต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3970 นางสาวนงลักษณ์ พุ่มน้อย ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4172

โทรศัพท์ โทรสาร 4

เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

รายงานประจำ�ปี 2553

บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด 193/136-137 อาคารเลครัชดา ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

: 0-2264-0777 , 0-2661-9190 : 0-2264-0789-90 , 0-2661-9192


ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

รายการ

งบการเงินรวม ปี 2553

ปี 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ ปี 2553

ปี 2552

(ปรับปรุงใหม่)

งบดุล : ล้านบาท สินทรัพย์รวม 62,312.07 49,707.49 5,843.87 2,754.53 หนี้สินรวม 56,085.54 46,598.21 0.41 0.29 ส่วนของผู้ถือหุ้น 6,226.53 3,109.28 5,843.46 2,754.24 ทุนจดทะเบียน 12,000.00 7,500.00 12,000.00 7,500.00 ทุนชำ�ระแล้ว 5,515.57 2,757.78 5,515.57 2,757.78 งบกำ�ไรขาดทุน : ล้านบาท รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล 2,322.80 1,963.54 376.62 0.01 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 748.41 704.86 - 0.09 รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ 1,574.39 1,258.68 376.62 (0.07) หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (210.00) (259.50) - - รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิหลังหักหนี้สูญ 1,364.39 999.18 376.62 (0.07) และหนี้สงสัยจะสูญ ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย 883.18 773.90 3.82 3.47 กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ 408.12 272.72 372.80 (3.54) เทียบเป็นรายหุ้น : บาท กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 0.08 1.03 0.08 (0.15) เงินปันผลต่อหุ้น 0.01 0.01 0.01 0.00 มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น 1.13 1.13 1.06 1.00 อัตราส่วนทางการเงิน อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมเฉลี่ย (%) 0.73 0.58 8.67 (0.26) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (%) 8.74 9.31 8.67 (0.26) กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิต่อรายได้รวม (%) 24.35 19.15 98.99 n.a. เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (%) 18.20 12.31 101.93 n.a.

Annual Report 2010

5


คณะกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

6

รายงานประจำ�ปี 2553


คณะกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ

60 - ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - M.S. Industrial Engineering IIIinois Institute of Technology Chicago, USA. - ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Certification Program 52/2004 : IOD สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ช่วงเวลา 2552 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2547 - ปัจจุบัน 2547 - ปัจจุบัน 2545 - ปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน 2543 - ปัจจุบัน 2543 - ปัจจุบัน 2538 - ปัจจุบัน 2536 - ปัจจุบัน 2534 - ปัจจุบัน 2531 - ปัจจุบัน 2531 - ปัจจุบัน 2528 - ปัจจุบัน 2526 - ปัจจุบัน 2537 - 2553 2537 - 2552 มิ.ย. - ธ.ค. 2548 ส.ค. - ธ.ค. 2548

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ บจ. แอล แอนด์ เอช สาทร บมจ. บางกอก เชน ฮอสปิทอล บจ. แอล เอช เรียลแอสเตท บจ. แอล เอช แอสเซท กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์แอนด์เฮ้าส์ 2 บจ. พลาซ่าโฮเต็ล บจ. แปซิฟิค เรียลเอสเตท บจ. คิวเอช อินเตอร์เนชั่นแนล กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์แอนด์เฮ้าส์ 1 บจ. เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ บมจ. โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจ. สยามธานี เรียลเอสเตท บจ. บุญชัยโฮลดิ้ง บจ. แอตแลนติก เรียลเอสเตท บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บมจ. ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส์ บจ. เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้นท์ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บง. บุคคลัภย์ จำ�กัด (มหาชน)

Annual Report 2010

7


คณะกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการบริหาร

64 - M.S. in Business Ad., Fort Hays Kansas State University, Hay, Kansas USA. - วิทยาศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.388) - หลักสูตร Director Accreditation Program 4/2003 : IOD - หลักสูตร Director Certification Program 61/2005 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program 1/2010 : IOD สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ช่วงเวลา 2553 - ปัจจุบัน 2552 - ปัจจุบัน 2550 - ปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2546 - ปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน 2549 - 2552 2544 - 2552 2547 - 2548 2546 - 2547

8

รายงานประจำ�ปี 2553

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการ กำ�หนดค่าตอบแทนและกรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหาร ประธานคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน และกรรมการ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการตรวจสอบ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภท บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย บมจ. บ้านปู บจ. คิวเอช แมนเนทเม้นท์ บมจ. ควอลิตี้ เฮ้าส์ บจ. คิวเอช อินเตอร์เนชั่นแนล บมจ. ไออาร์พีซี บจ. เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้นท์ บมจ. ธนาคารกรุงไทย บมจ. ธนาคารกรุงไทย


คณะกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายไพโรจน์ เฮงสกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ

64 - Executive MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - เนติบัณฑิต - นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตรพัฒนาผู้ตรวจสอบ “Bank Examiner Course”, Federal Deposit Insurance Corporation, Washington DC., USA - หลักสูตร Senior Executive Program, สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Executive Program for Central Banker, Harvard University, BOT- Chaingmai - หลักสูตร Media and Public Relation, Ogilvy (Thailand) - หลักสูตร Director Certification Program 121/2009 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program 1/2010 : IOD สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) - 0.11 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ช่วงเวลา ตำ�แหน่ง 2552 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 2552 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ 2550 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ ก.ย. - ธ.ค.2552 กรรมการ 2549 - 2552 กรรมการ 2549 - 2550 ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายจัดการกองทุน 2543 - 2549 ผู้อำ�นวยการอาวุโส - สำ�นักงานภาคใต้ - ฝ่ายบริหารโครงการและทรัพย์สิน

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

บมจ.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บลจ. นครหลวงไทย บจ. บริหารสินทรัพย์กรุงเทพพาณิชย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย

Annual Report 2010

9


คณะกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

64 - MA (ECON) University of Texas at Austin, Texas, USA. - เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - นักบริหารระดับสูง สำ�นักงานข้าราชการพลเรือน (นบส.) - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. 388) - หลักสูตร Director Certification Program 25/2002 : IOD - หลักสูตร Audit Committee Program 7/2005 : IOD - หลักสูตร Role of The Compensation Committee 2/2007 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program 1/2010 : IOD สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) - 0.01 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ช่วงเวลา 2553 - ปัจจุบัน 2552 - ปัจจุบัน 2552 - ปัจจุบัน 2551 - ปัจจุบัน 2551 - ปัจจุบัน 2550 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2545 - ปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน 2548 - 2552 2546 - 2551 2545 - 2550 2545 - 2550 2547 - 2548 ส.ค.-ธ.ค.2548 10

รายงานประจำ�ปี 2553

ตำ�แหน่ง กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหาร ผู้อำ�นวยการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการรองผู้อำ�นวยการใหญ่ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภท บมจ. ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

บจ. เอเวอร์กรีน พลัส สถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลัง บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ บมจ. ไอ.จี.เอส บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย

มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำ�ปะหลังแห่งประเทศไทย บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ บจ. สมาร์ทคอลเลคเตอร์ คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจ. ปัญจพล เปเปอร์ อินดัสตรี้ บมจ. ปัญจพล พัลพ์ อินดัสตรี้ บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บง. บุคคลัภย์ จำ�กัด (มหาชน)


คณะกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายสุวิทย์ อุดมทรัพย์ กรรมการตรวจสอบ

64 - บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Advanced Management Program, Harvard University, Boston, USA. - หลักสูตร Director Accreditation Program 66/2007 : IOD - หลักสูตร Financial Institutions Governance Program 1/2010 : IOD สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) - ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี -

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ช่วงเวลา 2553 - ปัจจุบัน 2552 - ปัจจุบัน 2552 - ปัจจุบัน 2549 - ปัจจุบัน 2545 - 2552 2538 - 2549 2536 - 2549 2546 - 2548 2546 - 2548 2544 - 2548

ตำ�แหน่ง Director - Board of Supervisors กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภท Zheng Xin Bank Co.,Ltd. บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย บมจ. ไพลอน บมจ. ทรีนีตี้ วัฒนา บมจ. ธนาคารกรุงไทย AFC Merchant Bank, Singapore สภาธุรกิจไทย-จีน สภาธุรกิจไทย-ฮ่องกง บจ. ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย)

Annual Report 2010

11


คณะกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นางศศิธร พงศธร กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ 53

- MBA Nortre Dame de Namur University Ca., USA. - ปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Accreditation Program 28/2004 : IOD - หลักสูตร Director Certification Program 58/2005 : IOD สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) - 0.05 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี -

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ช่วงเวลา 2552 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน ก.ค. - ธ.ค.2548 2547 - 2548

12

รายงานประจำ�ปี 2553

ตำ�แหน่ง กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ รองกรรมการผู้จัดการ President

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย บมจ. ปิโก้ (ไทยแลนด์) บง. บุคคลัภย์ จำ�กัด (มหาชน) United Securities PCL.


คณะกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

นายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข กรรมการบริหาร และรองกรรมการผู้จัดการ 52

- บัญชีบัณฑิต สาขาต้นทุน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย - หลักสูตร Director Accreditation Program 73/2008 : IOD สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) - 0.93 ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี -

ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ช่วงเวลา 2552 - ปัจจุบัน 2548 - ปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน 2548 - 2549 2534 - 2548

ตำ�แหน่ง กรรมการบริหาร และรองกรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร และ รองกรรมการผู้จัดการ กลุ่มสนับสนุนธุรกิจ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ

ชื่อหน่วยงาน/บริษัท/ประเภท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย บจ. สยาม รีเทล ดีเวลลอปเม้นท์ บง. บุคคลัภย์ จำ�กัด (มหาชน) บมจ. เครดิตฟองซิเอร์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

Annual Report 2010

13


กลุ่มธุรกิจทางการเงิน

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

99.99 % ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน)

99.99 % บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด

14

รายงานประจำ�ปี 2553


ลักษณะการประกอบธุรกิจ 1. ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

1.1 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทโฮลดิ้งที่ไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง (Non-operating Holding Company) เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ตั้งขึ้นตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องหลักเกณฑ์การกำ�กับ แบบรวมกลุ่ม ซึ่งกำ�หนดให้สถาบันการเงินปรับโครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจการเงินของตนเอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การ กำ�กับแบบรวมกลุ่ม บริษัทตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ด้วยทุนจดทะเบียนแรกเริ่มจำ�นวน 100,000 บาท โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็น บริษัทใหญ่ของกลุ่มธุรกิจการเงิน มุ่งเน้นการเข้าถือหุ้นและควบคุมอำ�นาจในบริษัทอื่นมากกว่าเพื่อการลงทุน ดังนั้นผลประกอบการของ บริษัทจึงขึ้นอยู่กับรายได้ของบริษัทที่ลงทุน โดยวัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจของบริษัทโฮลดิ้ง มีดังนี้ 1) ลงทุนในตราสารทางการเงิน ทั้งตราสารหนี้ และตราสารทุนเพื่อแสวงหาผลตอบแทน 2) ทำ�ธุรกรรมกับบริษัทลูกในกลุ่มธุรกิจทางการเงินของตนเอง 3) บริหารเงินเพื่อตนเองหรือเพื่อกลุ่มธุรกิจทางการเงินของตนเอง 4) จัดหาเงินทุนโดยวิธีอื่นใดเพื่อใช้ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินรวมถึงการออกหุ้นกู้ 5) ประกอบธุรกิจอื่นใดตามที่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ภายหลังจากการปรับโครงสร้างการถือหุ้น ผู้ถือหุ้นของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้ามา เป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท แทน และบริ ษั ท จึ ง เข้ า มาถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 99.99 ในธนาคาร และเมื่ อ วั น ที่ 28 ตุ ล าคม 2552 ธนาคาร แห่งประเทศไทยได้อนุญาตให้บริษัทเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน และมีธนาคารเป็นบริษัทลูกในกลุ่ม Solo Consolidation และมีบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เป็นบริษัทลูกนอกกลุ่ม Solo Consolidation กล่าวคือ บริษัทจะอยู่ภายใต้ การกำ�กับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทยตามที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.2551

1.2 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ได้เปิดดำ�เนินกิจการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2548 โดยได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง ขอบเขตการประกอบธุรกิจและขอบเขตการทำ�ธุรกรรมของธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย1 กล่าวคือ ธนาคารจะสามารถให้บริการทางด้าน สินเชื่อได้เฉพาะลูกค้าที่เป็นประชาชนรายย่อยและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)2 เท่านั้น ในส่วนของบริการทางด้าน เงินฝากและบริการด้านอื่นๆ ธนาคารสามารถให้บริการกับทุกประเภทลูกค้า ทั้งนี้ ประชาชนรายย่อย หมายความถึง บุคคลธรรมดาทั่วไป โดยไม่จ�ำ กัดระดับรายได้ ซึง่ มีวตั ถุประสงค์ในการขอสินเชือ่ เพือ่ ประกอบอาชีพ/ธุรกิจ หรือเพือ่ การอุปโภคบริโภค หรือใช้จา่ ยส่วนบุคคล ส่วน นิยามของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กำ�หนดให้สอดคล้องกับคำ�จำ�กัดความของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่กำ�หนดโดย กระทรวงอุตสาหกรรมตามกฎกระทรวง เรื่อง กำ�หนดจำ�นวนการจ้างงานหรือมูลค่าสินทรัพย์ถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งพิจารณาความเป็น SMEs จากจำ�นวนการจ้างงานหรือมูลค่าสินทรัพย์ถาวรสุทธิซึ่งไม่รวมที่ดิน โดยถือตามจำ�นวนที่น้อยกว่าเป็นเกณฑ์ 1 ประชาชนรายย่อย หมายถึง บุคคลธรรมดาทั่วไป โดยไม่จำ�กัดระดับรายได้ ที่มีวัตถุประสงค์ในการขอสินเชื่อเพื่อประกอบอาชีพ ธุรกิจ หรือ เพื่อการอุปโภคบริโภค หรือใช้จ่ายส่วนบุคคล 2 วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ที่กำ�หนดโดยกระทรวงอุตสาหกรรมตามกฎกระทรวง เรื่อง กำ�หนดจำ�นวนการจ้างงานหรือมูลค่าสินทรัพย์ถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งจะพิจารณาความเป็น SMEs จากจำ�นวนการจ้างงาน หรือมูลค่าสินทรัพย์ถาวรสุทธิ ซึ่งไม่รวมที่ดิน Annual Report 2010

15


ตลอดระยะเวลาที่ธนาคารได้เปิดดำ�เนินงานมา ธนาคารได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยบริการของธนาคารสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1. บริการด้านเงินฝาก

ธนาคารให้บริการรับฝากเงินประเภทเงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ เงินฝากประจำ� เงินฝากปลอดภาษี และใบรับเงินฝากประจำ� 2. บริการด้านตั๋วแลกเงิน

ธนาคารให้บริการด้านตั๋วแลกเงินเพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้ที่มีความประสงค์จะออมเงินที่ได้รับอัตราผลตอบแทนที่สูงกว่าการ ฝากเงิน การออมด้วยวิธีนี้ ลูกค้าจะไม่ได้รับความคุ้มครองจากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก 3. บริการด้านสินเชื่อ

ธนาคารให้บริการสินเชื่อตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมออกเป็น 3 ประเภทหลักๆ คือ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อบุคคล และ สินเชื่อเพื่อธุรกิจ SMEs ซึ่งสินเชื่อแต่ละประเภทมีลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนี้ l สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย (Housing Loan) เป็นสินเชื่อเพื่อผู้ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัยใหม่และที่อยู่อาศัยมือสองทุกโครงการ และสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย รวมถึงการให้บริการสินเชื่อเพื่อชำ�ระหนี้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของสถาบันการเงินเดิม (Refinance) l สินเชื่อบุคคล (Personal Loan) เป็นสินเชื่อเพื่อนำ�ไปใช้จ่ ายในการจัดหาความสะดวกสบายในการใช้ชีวิตที่ทันสมัย โดย มีการผ่อนชำ�ระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายเดือนตามระยะเวลา เช่น สินเชื่อเพื่อการศึกษา สินเชื่อเพื่อการอุปโภค บริโภค สินเชื่อเพื่อการต่อเติมบ้าน และสินเชื่อสำ�หรับซื้อประกันชีวิตเพื่อคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ (Mortgage Reducing Term Assurance หรือ MRTA) l สินเชื่อเพื่อธุรกิจ SMEs เป็นสินเชื่อที่ใช้ในการดำ�เนินธุรกิจ มีทั้งสินเชื่อระยะสั้น และสินเชื่อระยะยาวที่เหมาะสมตามความ ต้องการของลูกค้า เพือ่ สนับสนุนการขยายกำ�ลังการผลิตหรือลงทุนใหม่ ทัง้ อาคาร โรงงาน เครือ่ งจักร และอุปกรณ์หรือใช้เป็น ทุนหมุนเวียนในกิจการ โดยธนาคารจะพิจารณาจัดรูปแบบของสินเชื่อ อัตราดอกเบี้ย ประเภทวงเงิน ระยะเวลาการชำ�ระคืน ที่เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย เช่น เงินกู้ระยะสั้น เงินกู้ระยะยาว เงินเบิกเกินบัญชี (Overdraft) บริการออกหนังสือ ค้ำ�ประกัน (Letter of Guarantee) และสินเชื่อแฟคเตอริ่ง (Factoring) เป็นต้น 4. บริการด้านอื่นๆ

16

เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของลูกค้า นอกจากบริการด้านต่างๆ ที่ได้กล่าวมาแล้ว ธนาคารยังมีบริการอื่นๆ ดังนี้ l บริการทางอิเล็คทรอนิคส์ ในปัจจุบันช่องทางการให้บริการของธนาคารคือ บัตรอิเล็กทรอนิคส์ (ATM), บริการรับชำ�ระ เงินผ่านเคาน์เตอร์ (Bill Payment), บริการตัดชำ�ระเงินค่าซื้อขายหลักทรัพย์โดยอัตโนมัติ (ATS), บริการชำ�ระเงินโดยการ หักบัญชี (Direct Debit), บริการโอนเงินเข้าบัญชีโดยอัตโนมัติ (Payroll) l บริการด้านการโอนเงิน ธนาคารให้บริการโอนเงินภายในประเทศ ซึ่งเป็นบริการที่อำ�นวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าในการ โอนเงินผ่านเคาน์เตอร์บริการ ไม่ว่าจะเป็นการโอนเงินภายในบัญชี การโอนเงินให้กับบุคคลอื่นภายในธนาคาร การโอนเงิน ต่างธนาคาร การโอนเงินรายย่อยระหว่างธนาคาร และบริการโอนเงินเพื่อบุคคลที่สามผ่านระบบ BAHTNET l บริการเป็นตัวแทนขายและรับซือ ้ คืนหน่วยลงทุน ให้กบั บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แอสเซท พลัส จำ�กัด บริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุน ซีไอเอ็มบี - พรินซิเพิล จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ฟินันซ่า จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน นครหลวงไทย จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน อยุธยา จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุนรวม ทหารไทย จำ�กัด และบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม ซีมโิ ก้ จำ�กัด ซึง่ มีกองทุนประเภทต่างๆ ทัง้ ตราสารหนี้ และตราสารทุน รวมถึงกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund หรือ RMF) และกองทุนรวมหุ้น ระยะยาว (Long Term Equity Fund หรือ LTF)

รายงานประจำ�ปี 2553


พิธีเปิดสาขา LH BANK - สาขาบางรัก บริการเป็นนายหน้าประกันชีวิตและประกันวินาศภัย ให้กับบริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำ�กัด และ บริษัท ไทยสมุทร ประกันชีวิต จำ�กัด นอกจากนี้ธนาคารให้บริการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ประกันวินาศภัยต่างๆ ให้แก่ลูกค้าของธนาคาร โดยมี ผลิตภัณฑ์ของบริษัท ไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย จำ�กัด บริษัท เทเวศประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท วิริยะประกันภัย จำ�กัด บริษัท จรัญประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทิพยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท เมืองไทยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) l บริการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน อาทิเช่น แคชเชียร์เช็ค และเช็คของขวัญ l บริการรับชำ�ระค่าสาธารณูปโภค และบัตรเครดิต ผ่านทางเคาน์เตอร์ธนาคาร (Counter Payment) และระบบหักบัญชี อัตโนมัติ (Direct Debit) โดยธนาคารให้บริการรับชำ�ระค่าสาธารณูปโภค ชำ�ระหนี้บัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล รวมถึง ค่าใช้จ่ายต่างๆ และค่าเบี้ยประกันชีวิต ทั้งนี้ธนาคารยังดำ�เนินการเป็นตัวแทนของ Counter Service ในการเป็นจุดรับชำ�ระ ค่าสินค้าและบริการ มากกว่า 500 บริการ l บริการเป็นผู้แนะนำ�ลูกค้าให้กับบริษัทหลักทรัพย์ฟินันเซีย-ไซรัส จำ�กัด (มหาชน) l บริการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บริการให้เช่าตู้นิรภัย การออกหนังสือค้ำ�ประกัน เป็นต้น l

นอกจากธนาคารจะมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่องแล้ว ธนาคารยังให้ความสำ�คัญกับการสร้างเครือข่าย การดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้บริการลูกค้าอย่างทั่วถึง โดยสาขาของธนาคาร (ไม่รวมสำ�นักลุมพินี) มีการเพิ่มขึ้นจาก 6 สาขาในปี 2549 เป็น 30 สาขา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ดังนี้ 30 30 20 20 10

22

14 6

0

2549

2550

2551

2552

2553

Annual Report 2010

17


ธนาคารมีเครือข่ายสาขาให้บริการรวม 30 สาขา (ไม่รวมสำ�นักลุมพินี) ดังนี้

สาขาในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

สาขาบิ๊กซี บางพลี สาขาฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต สาขาคิวเฮ้าส์ อโศก สาขาดิโอลด์สยาม สาขามาบุญครองเซ็นเตอร์ สาขาเดอะมอลล์ ท่าพระ สาขาสีลม สาขาคาร์ฟูร์ อ่อนนุช

สาขาโฮมโปร เพชรเกษม สาขาแฟชั่นไอส์แลนด์ สาขาเดอะมอลล์ บางแค สาขาเดอะมอลล์ บางกะปิ สาขาบิ๊กซี บางนา สาขาบิ๊กซี พระราม 2 สาขาโฮมโปรเอกมัย-รามอินทรา สาขาเดอะมอลล์ งามวงศ์วาน

สาขาเยาวราช สาขาบิ๊กซี รัตนาธิเบศร์ สาขาสำ�เพ็ง สาขาบางรัก สาขาทองหล่อ สาขาคลองถม สาขาสะพานควาย สาขาพรานนก

สาขาส่วนภูมิภาค

สาขาเชียงใหม่ สาขาบิ๊กซี หางดง สาขาโฮมโปร ชลบุรี สาขาศรีราชา สาขาภูเก็ต สาขาเทสโก้ โลตัส ภูเก็ต

3. โครงสร้างรายได้

บริษัทเป็นบริษัทโฮลดิ้งที่ไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง (Non-operating Holding Company) และมีบริษัทลูกเพียงบริษัทเดียว และเป็นบริษัทแกน คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ดังนั้นโครงสร้างรายได้ของบริษัท จึงเป็นเช่นเดียวกับ ของธนาคาร โครงสร้างรายได้ของธนาคาร จำ�แนกได้เป็น 2 ประเภท คือ

1) รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล (ก่อนหักหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ) ประกอบด้วย รายได้จากการให้สินเชื่อ และรายได้จาก การลงทุน โดยในงวดบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ธนาคารมีรายได้รวมดอกเบี้ยและเงินปันผลจำ�นวน 1,963.54 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 92.24 ของรายได้รวม และในงวดบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีรายได้รวมดอกเบี้ยและเงินปันผลจำ�นวน 2,322.80 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 95.82 ของรายได้รวม เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.30 จากรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลของปี 2552 2) รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย ประกอบด้วย กำ�ไรจากเงินลงทุน รายได้ค่าธรรมเนียมและค่าบริการ กำ�ไรจากการจำ�หน่ายทรัพย์สิน รอการขายและรายได้อื่น โดยในงวดบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ธนาคารมีรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยรวม 165.19 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 7.76 ของรายได้รวม และในงวดบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยจำ�นวน 101.41 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 4.18 ของรายได้รวม

18

รายงานประจำ�ปี 2553


4. เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ

ตลอดระยะเวลาการดำ�เนินกิจการของธนาคารทีผ่ า่ นมา ธนาคารได้มกี ารกำ�หนดแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจอย่างครบวงจรสำ�หรับ ระยะเวลา 3 ปีข้างหน้าและมีการทบทวนแผนการดำ�เนินงานอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

วิสัยทัศน์ และพันธกิจของธนาคาร วิสัยทัศน์ของธนาคาร คือ

“เราจะเป็นหนึ่งในธนาคารเอกชนที่เป็นผู้นำ�ทางด้านการสนับสนุนผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย” พันธกิจของธนาคาร คือ

(ก) มุ่งมั่นเป็นสถาบันการเงินที่มั่นคงและเชี่ยวชาญด้านอสังหาริมทรัพย์ (ข) ให้บริการทางการเงินอย่างมืออาชีพ (ค) เป็นสถาบันการเงินที่มีความโปร่งใส ยึดมั่นต่อการปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาลตามมาตรฐานสากล

เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารในปี 2554

ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ธนาคารได้ด�ำ เนินกิจการโดยดำ�รงนโยบายและกลยุทธ์เพือ่ มุง่ เน้นทีจ่ ะเป็นธนาคารทีน่ า่ เชือ่ ถือ มีบริการ ที่ดี และการกำ�กับกิจการที่ดี ธนาคารมีการพัฒนาการปฎิบัติงานและผลิตภัณฑ์อย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในการ แข่งขันระยะยาว และในปี 2554 ธนาคารได้ให้ความสำ�คัญกับการเตรียมความพร้อม เพื่อที่จะยกระดับจากธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย ไปสู่การเป็นธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบ รวมถึงการรักษาระดับความแข็งแกร่งของธนาคารเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาว Annual Report 2010

19


โครงสร้างเงินทุน

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

1. หลักทรัพย์ของบริษัท

1.1 หุ้นสามัญ บริษัทมีทุนจดทะเบียนจำ�นวน 12,000,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 12,000,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยเป็นหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชำ�ระแล้วจำ�นวน 5,515,569,740 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 5,515,569,740 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท บริษทั ได้เรียกชำ�ระค่าหุน้ สามัญเพ่มิ ทุน ในอัตรา 5 : 4 ทำ�ให้บริษทั มีทนุ ชำ�ระแล้ว ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 จำ�นวน 9,928,025,532 บาท 1.2 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ

1.2.1 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิชุดที่ 1 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ชุดที่ 1 (“ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ชุดที่ 1” หรือ “W1”) จำ�นวน 69,750,000 หน่วย จัดสรรให้แก่ กรรมการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 และแก่บุคคลที่บริษัท ได้จัดสรรให้เพิ่มเติม ซึ่งต่อมาเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 บริษัท ได้ปรับราคาการ ใช้สิทธิและจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญบริษัท โดย มีรายละเอียดของใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังต่อไปนี้

จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : 697,500,000 หน่วย ที่เสนอขาย ประเภทใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : ระบุชื่อผู้ถือ ห้ามโอนเปลี่ยนมือ ราคาเสนอขาย : ไม่มีราคาเสนอขาย (ศูนย์บาทต่อหน่วย) อายุใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : ไม่เกิน 5 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ วันกำ�หนดการใช้สิทธิ : (1) ในช่วงก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ให้ใช้สิทธิทุกๆ เดือนในวันที่ 30 ของทุกเดือน (2) ในช่วงหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เป็นต้นไป ให้ใช้สิทธิทุกๆ 3 เดือน ในวันที่ 30 ของเดือ มกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม (3) กำ�หนดใช้สิทธิครั้งสุดท้ายวันที่ 30 พฤศจิกายน 2557

20

รายงานประจำ�ปี 2553


ข้อจำ�กัดการใช้สิทธิ

: (1) ในช่วงก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิสามารถใช้สิทธิตามจำ�นวน ใบสำ�คัญแสดงสิทธิทไี่ ด้รบั การจัดสรรทัง้ หมดหรือบางส่วนในวันกำ�หนดการใช้สทิ ธิในคราวเดียว หรือหลายคราวก็ได้ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 (2) ในช่วงหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามจำ�นวนใบสำ�คัญ แสดงสิทธิทไี่ ด้รบั การจัดสรรทัง้ หมดหรือตามจำ�นวนทีเ่ หลืออยู่ (แล้วแต่กรณี) ได้ตอ่ เมือ่ หุน้ ของ บริษัทได้เข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้วตามช่วงเวลานับแต่วันที่หุ้นของ บริษัทซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยวันแรก และตามสัดส่วนดังนี้ l ในช่ ว งเดื อ นที่ 7 ถึ ง เดื อ นที่ 12 นั บ แต่ วั น แรกของการเข้ า ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิส่วนที่เหลืออยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 l ในช่วงเดือนที่ 13 ถึงเดือนที่ 18 นับแต่วันแรกของการเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิส่วนที่เหลืออยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 l ตั้งแต่เดือนที่ 19 นับแต่วันแรกของการเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นต้นไป ใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิในส่วนที่เหลือได้ทั้งหมด ราคาการใช้สิทธิ : ราคาหุ้นละ 1 บาท อัตราการใช้สิทธิ : ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น 1.2.2 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิชุดที่ 2 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ชุดที่ 2 (“ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ชุดที่ 2” หรือ “W2”) จำ�นวน 23,256,000 หน่วย จัดสรรให้แก่ผถู้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 3 ซึง่ ต่อมา เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 บริษัทได้ปรับราคาการใช้สิทธิและจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพื่อให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญบริษัท โดยมีรายละเอียดของใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังต่อไปนี้

จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : ที่เสนอขาย ประเภทใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : ราคาเสนอขาย : อายุใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : วันกำ�หนดการใช้สิทธิ : ข้อจำ�กัดการใช้สิทธิ :

232,560,000 หน่วย ระบุชื่อผู้ถือ ห้ามโอนเปลี่ยนมือ ไม่มีราคาเสนอขาย (ศูนย์บาทต่อหน่วย) ไม่เกิน 5 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (1) ทุก ๆ 3 เดือน ในวันที่ 30 ของเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม (2) กำ�หนดใช้สิทธิครั้งสุดท้ายวันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิสามารถใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ต่อเมื่อหุ้นของบริษัทฯได้เข้า ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ตามช่วงเวลานับแต่วันที่หุ้นของบริษัทซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยวันแรก และตามสัดส่วนดังนี้ l ในช่ ว งเดื อ นที่ 7 ถึ ง เดื อ นที่ 12 นั บ แต่ วั น แรกของการเข้ า ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิส่วนที่เหลืออยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 l ในช่วงเดือนที่ 13 ถึงเดือนที่ 18 นับแต่วันแรกของการเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิส่วนที่เหลืออยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 l ตั้งแต่เดือนที่ 19 นับแต่วันแรกของการเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นต้นไป ใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิในส่วนที่เหลือได้ทั้งหมด

Annual Report 2010

21


ราคาการใช้สิทธิ อัตราการใช้สิทธิ เงื่อนไขการใช้สิทธิ

: ราคาหุ้นละ 1 บาท : ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น (เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กำ�หนดไว้ในข้อกำ�หนดสิทธิฯ) : ในกรณีทผี่ ถู้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิสนิ้ สุดสภาพการเป็นพนักงานของธนาคาร ไม่วา่ ด้วยเหตุใด ซึง่ รวมถึง กรณีที่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิสิ้นสุดสภาพการเป็นพนักงานของธนาคารเนื่องจากเกษียณอายุ เสียชีวิต การลาออก การเลิกจ้างหรือให้ออกจากงานไม่ว่าด้วยสาเหตุใดๆ ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ดังกล่าวไม่สามารถใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (ที่ยังไม่ได้ใช้สิทธิ) ที่เหลืออยู่ได้อีกต่อไป โดย ให้ถือว่าใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังกล่าวเป็นอันถูกยกเลิกไปทันที ทั้งนี้ ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิจะต้อง ส่งมอบใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังกล่าวทั้งหมดคืนให้แก่บริษัท

1.3 ข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรือการบริหารงานของบริษัท และ

สาระสำ�คัญที่มีผลต่อการดำ�เนินงาน

- ไม่มี -

1.4 พันธะผูกพันเกี่ยวกับการออกหุ้นในอนาคต

- ไม่มี -

2. ผู้ถือหุ้น

2.1 ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 10 รายแรก มีดังนี้ ลำ�ดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

22

รายชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ นางพรรณทิพย์ เตชะไพบูลย์ นายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข นายอาชนัน อัศวโภคิน นายอนุพงษ์ อัศวโภคิน นางสินี ศิริสัมพันธ์ นายกำ�แหง หุ่นหิรัณย์สาย นายโชคชัย วลิตวรางค์กูร ผู้ถือหุ้นรายย่อย รวม

รายงานประจำ�ปี 2553

จำ�นวนหุ้น

สัดส่วน (ร้อยละ)

2,258,360,000 1,418,040,000 1,095,007,820 80,000,000 51,267,560 47,745,320 47,745,320 36,430,100 35,057,552 31,512,000 414,404,068 5,515,569,740

40.95 25.71 19.85 1.45 0.93 0.87 0.87 0.66 0.64 0.57 7.50 100.00


3. นโยบายการจ่ายเงินปันผล 3.1 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท

ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผล บริษัทจะคำ�นึงถึงผลประกอบการและผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว และจะพิจารณาจาก งบการเงินรวม ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจะเป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท ซึ่งสรุปสาระสำ�คัญคือ เงินปันผลให้แบ่งตามจำ�นวนหุ้น หุ้นละ เท่าๆ กัน โดยการจ่ายเงินปันผลต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการอาจจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็น ครั้งคราวได้เมื่อเห็นว่าบริษัทมีกำ�ไรสมควรพอที่จะทำ�เช่นนั้น และรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวถัดไป นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผลต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย และตามที่กฎหมายกำ�หนด 3.2 ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผล

ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเรื่องข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีของสถาบันการเงิน กำ�หนดให้สถาบันการเงิน ไม่ควรนำ�กำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงหรือไม่มีกระแสเงินสดรับจริง มาใช้ในการจ่ายเงินปันผล เช่น กำ�ไรที่เกิดจากการตีราคาหลักทรัพย์เพื่อค้า (Mark to Market) และกำ�ไรที่เกิดจากการโอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ทางการเงิน เป็นต้น หรือสถาบันการเงินไม่ควรนำ�กำ�ไรที่เกิดจาก การขายสินทรัพย์ทมี่ ไิ ด้มกี ารซือ้ ขายจริง ซึง่ มีผลทำ�ให้สถาบันการเงินมีก�ำ ไรสูงกว่าหรือขาดทุนต่�ำ กว่ากรณีปกติ มาใช้ในการจ่ายเงินปันผล เช่น กำ�ไรที่เกิดจากการขายทรัพย์สินรอการขายของสถาบันการเงินที่มีเงื่อนไขให้สถาบันการเงินสามารถซื้อคืนหรือมีสิทธิซื้อคืนทรัพย์สิน นั้นได้ในอนาคต นอกจากนี้ รายได้หลักของบริษัท คือเงินปันผลที่ได้รับจากบริษัทย่อย ซึ่งก็คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) และธนาคารจะต้องปฏิบตั ติ ามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย เรือ่ ง หลักเกณฑ์การจัดชัน้ และการกันเงินสำ�รองของสถาบัน การเงิน ที่กำ�หนดให้ในระหว่างเวลาที่สถาบันการเงินยังไม่ตัดสินทรัพย์ที่เสียหายออกจากบัญชี หรือกันสำ�รองสำ�หรับสินทรัพย์และภาระ ผูกพันที่อาจเสียหายและไม่เสียหายไม่ครบทั้งจำ�นวน ธนาคารจะจ่ายเงินปันผลหรือเงินตอบแทนอื่นใดแก่ผู้ถือหุ้นมิได้ 3.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย

รายได้หลักของบริษัทมาจากเงินปันผลของบริษัทย่อย ซึ่งได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) โดยคาดว่าบริษัทย่อยจะจ่ายเงินปันผลประจำ�ปีตามผลประกอบการ เพื่อให้บริษัทใหญ่มีรายได้เพียงพอในการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือ หุ้นของบริษัท ทั้งนี้ อัตราการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยขึ้นอยู่กับผลการดำ�เนินงาน กลยุทธ์ธุรกิจ ความจำ�เป็นในการใช้เงินเพื่อลงทุน ความเพียงพอของเงินทุนในระยะยาว รวมถึงภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจและการแข่งขัน คณะกรรมการบริษัทของบริษัทย่อย อาจพิจารณาการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ เมื่อเห็นว่าบริษัทมีผลกำ�ไร สมควรพอที่จะทำ�เช่นนั้น และรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวถัดไป 3.4 การจ่ายเงินปันผลของบริษัท

บริษัทจะจ่ายเงินปันผลได้ก็ต่อเมื่อบริษัทย่อยจ่ายเงินปันผลให้กับบริษัท

Annual Report 2010

23


โครงสร้ างองค์กร บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการผูัจัดการ รองกรรมการผู้จัดการ

โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท ซึ่ง คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยอีก 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ทัง้ นี้ คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยมีการแบ่งแยกหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบอย่างชัดเจน ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท (Board of Directors) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการ 7 ท่าน ดังนี้ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ กรรมการ 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการอิสระ 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการอิสระ 5. นายสุวิทย์ อุดมทรัพย์ กรรมการอิสระ 6. นางศศิธร พงศธร กรรมการ 7. นายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข กรรมการ นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัท

นายรัตน์ พานิชพันธ์, นางศศิธร พงศธร และนายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข กรรมการสองในสามคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสำ�คัญของบริษัท 24

รายงานประจำ�ปี 2553


ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท

ดําเนินกิจการของบริษัทดวยความซื่อสัตยสุจริต ระมัดระวังรักษาผลประโยชนขององคกรโดยรวม ไม่มีความขัดแย้งทาง ผลประโยชนของผูถือหุนกลุมใดหรือรายใด โดยมีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 1) ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทและของหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2) กําหนดทิศทางและเปาหมายเชิงกลยุทธในภาพรวมของบริษัท รวมทั้งพิจารณาอนุมัตินโยบายและทิศทางการดําเนินงาน ของบริษัทตามที่ฝายจัดการเสนอ และกํากับควบคุมดูแลใหฝายจัดการดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายที่ไดรับการอนุมัติ ไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุน 3) จัดใหมีบทบัญญัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของกรรมการ ผูบริหารและพนักงาน เพื่อเปน แนวทางปฏิบัติภายในองคกร 4) ติดตามการดําเนินกิจการของบริษัทตลอดเวลาเพื่อใหมั่นใจวากรรมการที่เปนผูบริหารและฝายจัดการดําเนินกิจการตาม กฎหมายและนโยบายที่วางไว 5) ดูแลใหเกิดความมั่นใจวาฝายจัดการมีความสามารถในการจัดการในงานของบริษัทซึ่งรวมถึงการแตงตั้งผูบริหารระดับสูง 6) ดําเนินการใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ 7) ดูแลใหฝายจัดการบอกกลาวเรื่องที่สําคัญของบริษัทตอคณะกรรมการ รวมถึงดูแลใหมีกระบวนการในการจัดสงข้อมูลเพื่อ ใหค ณะกรรมการไดร บั ขอ มูลจากฝายจัดการอย่างเพียงพอทีจ่ ะทําใหสามารถปฏิบตั ติ ามอํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ได้อยางสมบูรณ 8) ดูแลใหฝายจัดการของบริษัทมีการควบคุมทางดานการบริหารความเสี่ยง 9) พิจารณาอนุมัติบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการชุดยอยตางๆ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงในองคประกอบรวมทั้งการ เปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญตอการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดยอยที่ได้แตงตั้งขึ้น 10) ดูแลใหบริษัทกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการทำ�ธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวของกับบริษัท 11) ดูแลใหมีกระบวนการในการจัดสงรายงาน (Management Letter) จากผูสอบบัญชีภายนอกและขอคิดเห็นจากฝายจัดการ ของบริษัทตอคณะกรรมการภายในระยะเวลาที่เหมาะสม 12) จัดใหมีการถวงดุลอํานาจของฝายจัดการ และ/หรือ ผูถือหุนรายใหญใหอยูในระดับที่เหมาะสมโดยกำ�หนดให้มีสัดสวนหรือ จํานวนของกรรมการอิสระในคณะกรรมการบริษัทอย่างเหมาะสม 13) ให้กรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยกึ่งหนึ่งของจำ�นวนครั้งของการประชุมที่จัดขึ้นในแต่ละปี ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการท่านใด หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการ ท่านนั้นไม่มีอำ�นาจอนุมัติดำ�เนินการดังกล่าวกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ/หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยกำ�หนด องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท

จำ�นวนของกรรมการบริษัทเป็นไปตามที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นกำ�หนด โดยจะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่า 7 คน ทั้งนี้กรรมการบริษัท จะประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหารจำ�นวนไม่เกิน 1 ใน 3 และจำ�นวนของกรรมการอิสระจะต้องมีอย่างน้อย 3 คน หรืออย่างน้อย 1 ใน 3 แล้วแต่จำ�นวนใดจะสูงกว่า การแต่งตั้งกรรมการบริษัท

1. ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ ให้ถือปฏิบัติดังนี้ (ก) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง (ข) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดเลือกตั้งบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะ แบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (Non-cumulative Voting) Annual Report 2010

25


(ค) บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 2. การพ้นจากตำ�แหน่งของคณะกรรมการ (ก) การพ้นตำ�แหน่งตามวาระ - ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่งหนึ่งในสาม - กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้จบั สลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ถัดไป ให้กรรมการคนที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง - กรรมการผู้พ้นจากตำ�แหน่งนี้จะเลือกเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้ (ข) ตาย (ค) ลาออก (ง) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย (จ) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออกด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมและมีสิทธิออกเสียง (ช) ศาลมีคำ�สั่งให้ออก

3. ในกรณีทกี่ รรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคลหนึง่ ซึง่ มีคณุ สมบัติ และไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจำ�กัดเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระ ของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตำ�แหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระทีเ่ หลืออยูข่ อง กรรมการที่ตนแทน ทั้งนี้มติของคณะกรรมการดังกล่าวต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ 2. คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริหารประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการบริหาร 2. นางศศิธร พงศธร กรรมการบริหาร 3. นายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข กรรมการบริหาร นายวิเชียร อมรพูนชัย เลขานุการ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหารมีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) เสนอนโยบาย วางแผนกลยุทธ์ และทิศทางการดำ�เนินงานของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัทและดำ�เนินการให้เป็นไปตาม นโยบายที่ได้รับการอนุมัติ 2) พิจารณากลั่นกรองงานต่าง ๆ ก่อนเสนอคณะกรรมการบริษัท 3) บริหารจัดการองค์กรและพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพ 4) มอบหมายงานและประสานงานกับผูบ้ ริหารระดับล่างลงมา ควบคุมการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามแผนงานทีว่ างไว้ ติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อให้ผลงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานเพื่อหาข้อดี ข้อเสีย และ แนวทางในการแก้ไข 5) รายงานเรื่องที่มีนัยสำ�คัญของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท 6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ทัง้ นี้ ในกรณีทกี่ รรมการบริหารท่านใด หรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งมีสว่ นได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการ บริหารท่านนั้นไม่มีอำ�นาจอนุมัติดำ�เนินการดังกล่าวกับบริษัทหรือบริษัทย่อยตามข้อบังคับของบริษัท และตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด

26

รายงานประจำ�ปี 2553


3. คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายไพโรจน์ เฮงสกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสุวิทย์ อุดมทรัพย์ กรรมการตรวจสอบ นายรงค์ หิรัญพานิช เลขานุการ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) สอบทานใหบริษัทมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2) สอบทานและประเมินผลใหบริษัทมีระบบควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 3) สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4) พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งและเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท 5) พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษัท โดยเฉพาะในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนใหมีความถูกตองและครบถวน 6) จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท 7) รายงานการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการบริษัท 8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดวยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

4. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2. นายไพโรจน์ เฮงสกุล กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3. นายสุวิทย์ อุดมทรัพย์ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน นายเรืองศักดิ์ วิทวัสการเวช เลขานุการ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) กำ�หนดนโยบายต่างๆ ดังนี้ 1.1) นโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการสรรหากรรมการ หรือผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ตั้งแต่ตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการขึ้นไป 1.2) นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อนื่ ทีใ่ ห้แก่ กรรมการ หรือผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั เฉพาะตำ�แหน่ง กรรมการผู้จัดการขึ้นไป โดยต้องมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน โปร่งใส เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 2) คัดเลือก และเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อดำ�รงตำ�แหน่งต่างๆ ดังต่อไปนี้ เพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัท 2.1) กรรมการ (เพิ่มเติม / ทดแทน / ครบตามวาระ ) 2.2) ผู้บริหารระดับสูงตั้งแต่ตำ�แหน่งรองกรรมการผู้จัดการขึ้นไป 3) ดูแลให้กรรมการ หรือผู้บริหารระดับสูง ตั้งแต่ตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการขึ้นไปได้รับผลตอบแทน (ค่าตอบแทนในฐานะ กรรมการ / ค่าตอบแทนประจำ�ตำ�แหน่ง / ค่าเบี้ยประชุม) หรือเงิน Bonus ที่เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบที่มี ต่อบริษัท

Annual Report 2010

27


4) กำ�หนดแนวทางการประเมินผลงานของผูบ้ ริหารระดับสูงเฉพาะตำ�แหน่งกรรมการผูจ้ ดั การ เพือ่ ใช้พจิ ารณาปรับผลตอบแทน ประจำ�ปีโดยได้คำ�นึงถึงหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อบริษัท 5) พิจารณางบประมาณการขึ้นเงินเดือนประจำ�ปี หรืองบประมาณการจ่ายเงิน Bonus ประจำ�ปี หรือ ผลตอบแทนพิเศษอื่นๆ ที่บริษัทกำ�หนดให้พนักงานเพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัท 6) เปิดเผยรายงานการดำ�เนินงานของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท 7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย การสรรหากรรมการและผู้บริหาร การคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะมาดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการบริษทั เป็นไปตามแนวทางในการแต่งตัง้ กรรมการตามข้อบังคับของบริษทั โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เป็นผูพ้ จิ ารณาและนำ�เสนอรายชือ่ ต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณากลัน่ กรองบุคคล นั้นๆ ก่อนนำ�เสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาเลือกตั้ง สำ�หรับการแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารเฉพาะผูบ้ ริหารระดับสูง ได้แก่ กรรมการผูจ้ ดั การ (President) และรองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั กำ�หนด ให้คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นผู้คัดเลือก และเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม โดยคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนให้ความสำ�คัญกับการสรรหาบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ โดยคำ�นึงถึงจริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์และเสนอชื่อต่อคณะกรรมการบริษัท 5. คณะผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีผู้บริหาร รวม 2 ท่าน ดังนี้ 1. นางศศิธร พงศธร กรรมการผู้จัดการ 2. นายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข รองกรรมการผู้จัดการ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการ

1) ดำ�เนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายที่คณะกรรมการกำ�หนดไว้ 2) ติดตามและรายงานสภาวะ ฐานะของบริษัท เสนอแนะทางเลือกและกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายและสภาพตลาด 3) พิจารณาและกลั่นกรองการดำ�เนินงานทางธุรกิจ รวมทั้งมีอำ�นาจในการดำ�เนินธุรกิจใด ๆ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และนโยบาย 4) ดูแลและควบคุมการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ของบริษัท อาทิ การเงิน การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน งานด้าน ปฏิบัติการและงานด้านสนับสนุนต่างๆ และงานทรัพยากร 5) เป็นตัวแทนบริษัท ตลอดจนมีอำ�นาจมอบหมายในการติดต่อกับหน่วยงานราชการและหน่วยกำ�กับดูแลอื่น ๆ 6) ดูแลให้การสื่อความกับสาธารณชน ผู้ถือหุ้น ลูกค้า และพนักงาน เพื่อเสริมชื่อเสียงและภาพพจน์ที่ดีของบริษัท 7) ดูแลให้มีการกำ�กับกิจการที่ดี 8) ดำ�เนินการเรือ่ งอืน่ ใดทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยทีแ่ ต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั ทั้งนี้ในกรณีที่กรรมการผู้จัดการ หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการ ผูจ้ ดั การไม่มอี �ำ นาจอนุมตั ดิ �ำ เนินการดังกล่าวกับบริษทั หรือ บริษทั ย่อย ตามทีส่ �ำ นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยกำ�หนด ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ เนื่องจากกรรมการและผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการและผู้บริหารชุดเดียวกับของบริษัทย่อย คือ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งธนาคารได้มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการและผู้บริหารแล้ว ด้วยเหตุนี้ ในปี 2553 บริษัทจึงไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการและผู้บริหารของบริษัทอีก

28

รายงานประจำ�ปี 2553


การประชุมคณะกรรมการ บริษัทจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ และมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความจำ�เป็น โดยมีการกำ�หนด วาระชัดเจนล่วงหน้า และมีวาระการประชุมที่สำ�คัญ เช่น การพิจารณางบการเงินของบริษัทในแต่ละไตรมาส การพิจารณาติดตามผล การดำ�เนินงานของบริษัท ซึ่งบริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารก่อนการประชุมล่วงหน้าเพื่อให้ กรรมการมีเวลาในการพิจารณาศึกษาวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุม ทัง้ นีม้ กี ารจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อกั ษร และจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ และในปี 2553 มีการประชุมของ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ สรุปได้ดังนี้

ตารางแสดงการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ประจำ�ปี 2553

รายนามคณะกรรมการ

1. นายอนันต์ 2. นายรัตน์ 3. นายไพโรจน์ 4. นายอดุลย์ 5. นายสุวิทย์ 6. นางศศิธร 7. นายไพโรจน์

อัศวโภคิน พานิชพันธ์ เฮงสกุล วินัยแพทย์ อุดมทรัพย์ พงศธร ไพศาลศรีสมสุข

คณะกรรมการ บริษัท

คณะกรรมการ บริหาร

8 / 12 12 / 12 11 / 12 12 / 12 11 / 12 12 / 12 12 / 12

- 2 / 2 - - - 2 / 2 2 / 2

- - 5 / 5 5 / 5 5 / 5 - -

1/1 1/1 1/1 -

ตารางการถือหุ้นของคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ สรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน

2553 รายชื่อคณะกรรมการ

1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 3. นายไพโรจน์ เฮงสกุล 4. นายอดุลย์ วินัยแพทย์ 5. นายสุวิทย์ อุดมทรัพย์ 6. นางศศิธร พงศธร 7. นายไพโรจน์ ไพศาลศรีสมสุข

ตำ�แหน่ง

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ

2552

จำ�นวนหุ้นที่ถือ บริษัท บริษัทย่อย

จำ�นวนหุ้นที่ถือ บริษัท บริษัทย่อย

-ไม่มี- -ไม่มี- 0.11 0.01

-ไม่มี- -ไม่มี- -ไม่มี- -ไม่มี-

-ไม่มี- -ไม่มี- 0.11 0.02

-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-

-ไม่มี- 0.05 0.93

-ไม่มี- -ไม่มี- -ไม่มี-

0.18 0.10 2.38

-ไม่มี-ไม่มี-ไม่มี-

หมายเหตุ บริษัท หมายถึง บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษัทย่อย หมายถึง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน)

Annual Report 2010

29


ปัจจัยความเสี่ยง

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงินและเป็น บริษัทแม่ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้นของธนาคารที่ได้รับความ เห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย เนื่องจากบริษัทไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง ดังนั้นความเสี่ยงของบริษัทจึงมีความสัมพันธ์กับธนาคาร โดยตรงและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับธนาคารพาณิชย์อื่นๆ ในประเทศไทย ดังนั้นการบริหารความเสี่ยงของบริษัทและธนาคารจึงเป็น สิ่งจำ�เป็น และจะต้องสอดคล้องกับทิศทางธุรกิจธนาคารพาณิชย์ของประเทศไทย ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง บริษัทมีการควบคุมดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ โดยมีการกำ�หนดโครงสร้างและนโยบายในการบริหาร จัดการความเสีย่ งเป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน เพือ่ วัตถุประสงค์หลักในการป้องกันความเสีย่ งและการบริหารจัดการความเสีย่ ง รวมถึง การกำ�หนดแนวปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ภายใต้การกำ�กับของธนาคารแห่งประเทศไทย และสอดคล้องกับการกำ�กับตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี โดยคำ�นึงถึงการให้บริการทางการเงินแก่ลูกค้าเงินฝากและลูกค้าสินเชื่ออย่างมีความเป็นธรรม ถูกต้องและโปร่งใส รวมถึงการคำ�นึงถึง ผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นเป็นสำ�คัญ การทำ�ธุรกรรมแต่ละประเภทภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน จึงมีกระบวนการวิเคราะห์เพื่อบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่าง เหมาะสม เพียงพอ บริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินจะรายงานผลการปฏิบัติงานตามนโยบายอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือ เมื่อมี เหตุการณ์ทที่ �ำ ให้เกิดผลกระทบต่อความมัน่ คงของกลุม่ ธุรกิจ นอกจากนีม้ กี ารกำ�หนดบทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ชุดต่างๆ ในบริษัทด้วย บริษัทจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถือหุ้นในบริษัทอื่นและไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง (Non-Operation Holding Company) ดังนั้นความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับบริษัทจึงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน กล่าวคือ ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัท และ ความเสี่ยงของบริษัทย่อยที่บริษัทได้ไปลงทุน ซึ่งได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) 1. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจของบริษัท เนื่องจากบริษัทมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่อลงทุนในกิจการอื่นและไม่ได้ทำ�ธุรกิจของตนเอง ดังนั้นการตัดสินใจลงทุนในกิจการ ต่างๆ จึงมีความสำ�คัญมากต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทย่อย 1 แห่งคือ ธนาคาร 30

รายงานประจำ�ปี 2553


แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ดังนั้นผลการดำ�เนินงานของบริษัทจึงมีความสัมพันธ์โดยตรงกับผลการดำ�เนินงาน ของธนาคาร ซึ่งแม้ว่าธนาคารจะมีผลกำ�ไรจากการดำ�เนินงานในอดีต แต่บริษัทไม่สามารถรับประกันได้ว่า ธนาคารจะสามารถสร้างกำ�ไร ให้กับบริษัทได้อย่างต่อเนื่องในอนาคต เนื่องจากผลประกอบการของธนาคารขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ อาทิเช่น ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมทั้งใน และนอกประเทศ รวมถึงปัจจัยความเสี่ยงอื่นๆ อย่างไรก็ตาม บริษัทยังได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการเลือกบริษัทที่จะลงทุนในอนาคต โดยจะเน้นการลงทุนในธุรกิจที่ช่วย เสริมศักยภาพในการแข่งขันให้กับกลุ่มบริษัท การพิจารณาจากแนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรม การแข่งขันและศักยภาพในการ ทำ�กำ�ไรระยะยาวเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นของบริษัท รวมถึงการควบคุมความเสี่ยงแบบระมัดระวัง 2. ความเสี่ยงด้านการถือหุ้นของผู้ลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษัท จากการที่บริษัทเป็นบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน บริษัทจึงจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 โดยผู้ถือหลักทรัพย์ของบริษัทจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบดังนี้ l พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 มาตรา 17 ได้ระบุว่า ผู้ที่ถือหุ้นหรือมีไว้ซึ่งหุ้นของสถาบันการเงินไม่ว่า โดยทางตรงหรือทางอ้อม ตั้งแต่ร้อยละห้าขึ้นไปของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมด ต้องรายงานการถือหุ้นดังกล่าว ต่อธนาคารแห่งประเทศไทย l พระราชบัญญัตธ ิ รุ กิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 มาตรา 18 ได้ระบุวา่ ห้ามมิให้บคุ คลใดถือหุน้ หรือมีไว้ซงึ่ หุน้ ของสถาบันการ เงินแห่งใดแห่งหนึง่ เกินร้อยละสิบของจำ�นวนหุน้ ทีจ่ �ำ หน่ายได้แล้วทัง้ หมด เว้นแต่ได้รบั อนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย หรือเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำ�หนด l พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 มาตรา 19 ได้ระบุว่า บุคคลที่ถือหุ้นหรือมีไว้ซึ่งหุ้นเกินเกณฑ์ในมาตรา 18 ต้องนำ�หุน้ ในส่วนทีเ่ กินออกมาจำ�หน่ายแก่บคุ คลอืน่ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั หุน้ นัน้ มา เว้นแต่จะได้รบั การผ่อนผันจาก ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งจะผ่อนผันได้อีกไม่เกินเก้าสิบวัน หากผู้ถือหุ้นไม่จำ�หน่ายหุ้นในส่วนที่เกินภายในเวลาที่กำ�หนด ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจร้องขอต่อศาลให้มีคำ�สั่งให้ขายหุ้นในส่วนที่เกินดังกล่าวได้ และถ้าศาลเห็นว่าการถือหุ้นหรือ มีไว้ซึ่งหุ้นนั้นเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 18 ให้ศาลมีอำ�นาจสั่งให้ขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นก็ได้ ความเสี่ยงของบริษัทย่อย ซึ่งได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) การดำ�เนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์มีความเกี่ยวข้องโดยตรงต่อตลาดการเงินและสภาวะเศรษฐกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมในการดำ�เนินธุรกิจไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบของ ทางการ การปรับตัวของคู่แข่ง ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจธนาคารพาณิชย์เช่นกัน ทัง้ นี้ การบริหารความเสีย่ งทีส่ อดคล้องกับแนวทางของธนาคารแห่งประเทศไทยสามารถแบ่งออกเป็น 5 ด้านหลักๆ คือ ความเสีย่ ง ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) ความเสี่ยงด้านตลาด (Market Risk) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) และความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) โดยธนาคารมีนโยบายและกระบวนการปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยง รายละเอียดดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ หมายถึง ความเสีย่ งอันเกิดจากการกำ�หนดแผนกลยุทธ์ไม่เหมาะสม และการไม่สามารถปฏิบตั ติ ามแผน กลยุทธ์ที่กำ�หนดไว้ รวมไปถึงความไม่สอดคล้องระหว่างกลยุทธ์ นโยบาย เป้าหมาย โครงสร้างองค์กร การแข่งขัน และทรัพยากรของ องค์กรอันเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกธนาคาร ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อศักยภาพในการแข่งขัน รายได้ และ เงินกองทุนของธนาคาร 1.1 ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจและการแข่งขัน เนือ่ งด้วยความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจโดยรวมอาจมีผลกระทบต่อการเติบโตและคุณภาพของสินเชือ่ ธนาคารจึงได้จดั ทำ� แผนธุรกิจ งบประมาณประจำ�ปี การทำ�ประมาณการเงินกองทุน โดยผูบ้ ริหารแต่ละหน่วยงานมีสว่ นร่วมในการจัดทำ�แผนงานและประมาณ การต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และการควบคุมความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารได้อย่างเหมาะสมและ

Annual Report 2010

31


เปิดโอกาสให้ผบู้ ริหารของหน่วยงานต่างๆ แสดงความคิดเห็นและนำ�เสนอแผนต่อคณะกรรมการธนาคารเพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ ทัง้ นี้ ธนาคาร จะมีการทบทวนแผนกลยุทธ์ แผนธุรกิจและงบประมาณเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป โดยคณะกรรมการบริหารจะ เป็นผู้ติดตามผลการดำ�เนินงานของหน่วยงานต่างๆ เปรียบเทียบกับแผนงานประจำ�ปีที่กำ�หนดเป้าหมายไว้อย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อประเมิน ความสำ�เร็จของแผนกลยุทธ์ที่ได้วางไว้ 1.2 ความเสี่ยงจากความไม่เพียงพอของเงินกองทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีเงินกองทุนตามกฎหมายทั้งสิ้นจำ�นวน 5,880.20 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 จำ�นวน 5,618.99 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนต่อเงินกองทุนทั้งหมดร้อยละ 95.56 และมีเงินกองทุนชั้นที่ 2 จำ�นวน 261.21 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนต่อเงินกองทุนทั้งหมดร้อยละ 4.44 ซึ่งเป็นระดับที่เพียงพอต่อการดำ�เนินธุรกิจและสามารถรองรับการเติบโตภายใต้ สภาวะปกติและภาวะวิกฤตได้ สำ�หรับการวัดระดับความเพียงพอของเงินกองทุนของธนาคารโดยใช้อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (Capital Adequacy Ratio) ซึ่งเป็นอัตราส่วนที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสินทรัพย์เสี่ยงกับระดับเงินกองทุนคำ�นวณจากสินทรัพย์เสี่ยง ทั้งหมดต่อเงินกองทุนทั้งสิ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งหมดต่อสินทรัพย์เสี่ยงอยู่ที่ร้อยละ 17.64 ซึ่ง สูงกว่าอัตราเงินกองทุนขั้นต่ำ�ร้อยละ 8.50 ที่กำ�หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย 2. ความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) ความเสีย่ งด้านเครดิต หมายถึง ความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากการทีค่ สู่ ญั ญาไม่สามารถปฏิบตั ติ ามภาระทีต่ กลงไว้ รวมถึงโอกาสทีค่ คู่ า้ จะถูกปรับลดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิตและความเสี่ยงอันเกิดจากการที่คุณภาพของสินเชื่อ หรือเงินลงทุนเสื่อมลง และไม่สามารถปรับ ราคาเพื่อชดเชยความเสี่ยงที่เพิ่มได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อรายได้และเงินกองทุนของธนาคาร ทั้งนี้ความเสี่ยงด้านเครดิตเป็นความเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับเงินให้สินเชื่อที่เป็นธุรกรรมหลักของธนาคาร ทั้งในด้านเงินให้สินเชื่อที่เป็นสินทรัพย์ธนาคารและส่วนที่เป็นภาระผูกพัน เช่น การให้กู้ยืม และธุรกรรมที่เกิดจากการที่คู่สัญญามีภาระที่ตอ้ งส่งมอบสินทรัพย์หรือชำ�ระหนี้แก่ธนาคาร รวมทั้งธุรกรรมที่เกี่ยวกับเงินลงทุน รวมถึงโอกาสที่คู่ค้าจะถูกปรับลดอันดับความเสี่ยงด้านเครดิต และความเสียหายจากการตีราคามูลค่าตลาดของตราสารที่มีมูลค่าลดลง เครื่องมือบริหารความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารได้พัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการกลั่นกรองและแยกแยะระดับความเสี่ยงของลูกหนี้ ทั้งในกรณีที่ผู้กู้เป็นบุคคลธรรมดาหรือ นิติบุคคล เพื่อช่วยให้การอนุมัติสินเชื่อเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ l Credit Scoring Model เป็นเครื่องมือแยกแยะ และจัดระดับความเสี่ยงของผู้กู้ที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งตัวแบบที่ธนาคาร ใช้ประกอบการพิจารณาสินเชื่อในปัจจุบัน ได้รับการพัฒนาด้วยข้อมูลพื้นฐานทางสถิติของลูกค้าของธนาคาร ประกอบกับ ใช้ดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญ (Expert Base) l Credit Rating Model เป็นเครื่องมือที่ช่วยกลั่นกรอง และแยกแยะระดับความเสี่ยงของผู้กู้ที่เป็นนิติบุคคล ทั้งนี้ ธนาคารได้ตระหนักถึงระดับความแม่นยำ�และประสิทธิภาพของเครื่องมือดังกล่าวที่ธนาคารนำ�มาใช้ประกอบการพิจารณา อนุมตั สิ นิ เชือ่ โดยธนาคารมีการติดตามผลของการใช้ตวั แบบและวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้งานอย่างสม่�ำ เสมอ รวมถึงการพัฒนาปรับปรุง เครื่องมือวัดความเสี่ยงด้านเครดิตให้สามารถสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารได้อย่างต่อเนื่อง กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านเครดิต ธนาคารมีกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงให้มีการตรวจสอบและถ่วงดุลอำ�นาจซึ่งกันและกัน โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่ อย่างชัดเจนระหว่างเจ้าหน้าที่การตลาด เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ความเสี่ยงสินเชื่อ เจ้าหน้าที่ประเมินมูลค่าหลักประกัน เจ้าหน้าที่ดูแลบริหาร ความเสี่ยง และเจ้าหน้าที่สอบทานสินเชื่อ นอกจากนี้ ในกระบวนการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ ธนาคารมีหน่วยงานที่มีความเป็นอิสระ ได้แก่ สำ�นักพิจารณาความเสี่ยงสินเชื่อธุรกิจ และสำ�นักพิจารณาความเสี่ยงสินเชื่อรายย่อย ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบดูแล และให้ความเห็นเกี่ยวกับ ประเด็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการให้สินเชื่อสำ�หรับลูกค้าแต่ละราย เพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่าสินเชื่อที่ธนาคารจะอนุมัติได้รับการพิจารณา กลั่นกรองด้วยความระมัดระวัง การบริหารพอร์ตสินเชื่อ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับคุณภาพของลูกหนี้แยกตามประเภทธุรกิจและสัดส่วนการกระจุกตัวของสินเชื่อตามประเภทธุรกิจ ต่างๆที่อยู่ในพอร์ตสินเชื่อ ดังนั้น ธนาคารมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของพอร์ตสินเชื่อในมิติต่างๆ อาทิ คุณภาพของพอร์ตสินเชื่อ 32

รายงานประจำ�ปี 2553


แยกตามประเภทสินเชื่อและประเภทธุรกิจ สัดส่วนยอดหนี้ลูกหนี้รายใหญ่ 20 รายแรกต่อเงินกองทุนทั้งหมดของธนาคาร โดยพิจารณา เปรียบเทียบกับธนาคารพาณิชย์ทงั้ ระบบ เพือ่ ให้ทราบถึงคุณภาพของพอร์ตสินเชือ่ และแนวโน้มความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้สามารถ ระบุ ติดตามและควบคุมความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันสถานการณ์ 2.1 ความเสี่ยงจากการด้อยคุณภาพของสินเชื่อ ธนาคารได้กำ�หนดกระบวนการในการควบคุมสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ โดยเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารสินเชื่อ ตั้งแต่กระบวนการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อที่มีการปรับปรุงให้มีความเข้มงวดมากยิ่งขึ้น เช่น การกำ�หนดหลักเกณฑ์การพิจารณาสินเชื่อ รายย่อย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการพิจารณาสินเชื่อและหลีกเลี่ยงการใช้ดุลยพินิจของผู้ปฏิบัติงาน การกำ�หนดเงินดาวน์ขั้นต่ำ�สำ�หรับ ลูกค้าที่มีความเสี่ยงสูง การกำ�หนดมาตรฐานขั้นต่ำ�เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้กู้ในแต่ละด้านให้เข้มงวดมากขึ้น เพื่อช่วยลดความเสี่ยงจาก กระบวนการอนุมัติสินเชื่อ 3. ความเสี่ยงด้านตลาด (Market Risk) ความเสีย่ งด้านตลาด หมายถึง ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นไหวของอัตราดอกเบีย้ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ราคา ตราสารในตลาดเงินตลาดทุนที่มีผลกระทบต่อรายได้ของธนาคารและปริมาณเงินกองทุนของธนาคาร โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคา ความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ และความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ น โดยธนาคารมีนโยบายในการ ควบคุมและจัดการความเสี่ยงทุกประเภทให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเป็นไปตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงของธนาคาร 3.1 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา (Price Risk) ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาเป็นความเสี่ยงที่อาจได้รับความเสียหายอันสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และราคาของหลักทรัพย์ ซึ่งปัจจุบันธนาคารมีความเสี่ยงจากราคาอยู่ในระดับต่ำ� เนื่องจากธนาคารยังไม่มีนโยบายลงทุนในหลักทรัพย์ที่มี ความเสี่ยงสูง เช่น ตราสารอนุพันธ์ ธนาคารจึงยังไม่มีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพย์มากนัก

ทั้ ง นี้ ก ารลงทุ น ส่ ว นใหญ่ ข องธนาคารเป็ น การลงทุ น ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ดำ � รงเป็ น สิ น ทรั พ ย์ ส ภาพคล่ อ งตามที่ ธ นาคาร แห่งประเทศไทยกำ�หนด และเพื่อดำ�รงสภาพคล่องระหว่างวัน ธนาคารจึงเลือกการลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ำ� โดยส่วนใหญ่ เป็นการลงทุนในหลักทรัพย์ภาครัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิมีมูลค่ายุติธรรมจำ�นวน 14,475.40 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินลงทุนในหลักทรัพย์ รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจทั้งที่เป็นเงินลงทุนชั่วคราวและเงินลงทุนระยะยาวซึ่งมีมูลค่ายุติธรรมจำ�นวน 14,428.92 ล้านบาท ขณะที่เงินลงทุน ในตราสารหนี้ภาคเอกชนเป็นเงินลงทุนระยะยาวมีมูลค่ายุติธรรมจำ�นวน 41.68 ล้านบาท และตราสารทุนทั้งที่อยู่ในความต้องการของ ตลาดในประเทศและที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดในประเทศมีมูลค่ายุติธรรมจำ�นวน 4.80 ล้านบาท ในส่วนของแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านราคา เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคาร มีการใช้แบบจำ�ลองของ Value-at-Risk (VaR Model) เพื่อวัดผลขาดทุนสูงสุด ณ ระดับความเชื่อมั่นหนึ่งๆ หากถือครองหลักทรัพย์ ในช่วงระยะเวลาทีก่ �ำ หนด โดยธนาคารได้ใช้คา่ ความเสีย่ งทีค่ �ำ นวณได้เป็นแนวทางในการกำ�หนดระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ โดยธนาคาร มีนโยบายการทดสอบเครือ่ งมือ Value-at-Risk (VaR Model) ด้วยการทำ� Backtesting นอกจากนีธ้ นาคารมีการจำ�ลองเหตุการณ์อนื่ ๆ ทีอ่ าจ ส่งผลกระทบต่อการลดลงของราคาหลักทรัพย์ในตลาดอย่างรุนแรงเฉียบพลัน หรือการทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test) เพื่อให้ธนาคาร สามารถประเมินความเสียหายจากความเสี่ยงในกรณีที่อยู่ภายใต้เหตุการณ์ที่เลวร้ายที่สุดที่อาจจะเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อรายได้และ เงินกองทุนของธนาคาร 3.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งอาจจะทำ�ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่าตราสารทางการเงิน ความผันผวนต่อรายได้หรือมูลค่าของส่วนของผู้ถือหุ้นซึ่งอาจเกิดจากฐานะทั้งในและนอก งบดุล ทั้งนี้ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยเป็นผลมาจากการจัดโครงสร้างและลักษณะของรายการในสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ที่อ้างอิงอัตราดอกเบี้ยของธนาคารและความไม่สอดคล้องระหว่างระยะเวลาคงเหลือในการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ของรายการทางด้าน สินทรัพย์และหนี้สิน และรายการนอกงบดุล คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สินจะทำ�หน้าที่ควบคุมดูแลการบริหารความเสี่ยงจาก อัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากความแตกต่างของโครงสร้างอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว โดยจะทำ�การกำ�หนดโครงสร้างอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสมใน Annual Report 2010

33


แต่ละช่วงเวลา และควบคุมดูแลให้โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยเป็นไปตามที่กำ�หนดไว้ รวมทั้งควบคุมสัดส่วนของสินทรัพย์และหนี้สินที่มี ดอกเบี้ยในระยะเวลาครบกำ�หนดต่างๆให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ อย่างไรก็ดี ธนาคารได้ติดตามภาวะตลาด ภาวะดอกเบี้ย รวมทั้งจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงอัตรา ดอกเบี้ยของสินทรัพย์และหนี้สิน ซึ่งรวมถึงมีการจำ�ลองรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ เพื่อดูผลกระทบต่อรายได้ของธนาคารให้อยู่ภายใต้เพดาน ความเสี่ยงที่กำ�หนดตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดและอัตราดอกเบี้ย 3.3 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate Risk) ปัจจุบันธนาคารไม่มีทำ�ธุรกรรมและให้บริการเกี่ยวกับปัจจัยชำ�ระเงินต่างประเทศ ดังนั้น ธนาคารจึงไม่มีความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยนแต่อย่างใด 4. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง หมายถึง ความเสี่ยงที่ธนาคารไม่สามารถปฏิบัติตามภาระผูกพันในการชำ�ระเงินเมื่อครบกำ�หนด เนือ่ งจากไม่สามารถเปลีย่ นสินทรัพย์เป็นเงินสดหรือไม่สามารถจัดหาเงินได้อย่างเพียงพอตามความต้องการภายในระยะเวลาทีก่ �ำ หนดและ มีต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่งอาจทำ�ให้เกิดความเสียหายต่อธนาคารได้ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านสภาพคล่องมีทั้งภายในและภายนอก โดยปัจจัยภายในจะขึ้นอยู่กับโครงสร้างของสินทรัพย์และหนี้สิน และการสำ�รองสินทรัพย์สภาพคล่องเพื่อนำ�มาใช้รองรับความต้องการ ส่วนปัจจัยภายนอกขึ้นอยู่กับสภาพคล่องของตลาดและความเชื่อมั่นของผู้ฝากเงินเป็นหลัก

ธนาคารมีการวางแผนและบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องอย่างมีประสิทธิภาพให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการ ชำ�ระภาระผูกพันในปัจจุบันและในอนาคตได้ ประกอบกับธนาคารได้มีการออกผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อระดมทุนทั้งระยะสั้นและระยะยาวให้ สอดคล้องกับสภาวะตลาด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีสินทรัพย์สภาพคล่องจำ�นวน 19,744.96 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินสดจำ�นวน 428.89 ล้านบาท รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิจำ�นวน 5,191.22 ล้านบาท และเงินลงทุนสุทธิจำ�นวน 14,124.85 ล้านบาท ทำ�ให้ ธนาคารดำ�รงสินทรัพย์สภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 อยู่ที่ร้อยละ 72.91 ของเงินฝากรวม 5. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) ความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร หมายถึง ความเสีย่ งอันเกิดจากความผิดพลาด หรือความไม่เพียงพอของกระบวนการทำ�งาน บุคลากร ระบบงาน หรือระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือปัจจัยภายนอก อันเป็นผลให้เกิดความเสียหายทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการดำ�เนินงาน และภาพลักษณ์ของธนาคาร รวมไปถึงกระทบต่อความมั่นคงทางการเงินอีกด้วย ดังนั้น ธนาคารจึงได้ปรับปรุงกระบวนการทำ�งานและ ระบบควบคุมภายในให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ความผิดพลาดที่ผ่านมาเป็นข้อมูลในการปรับปรุง เพื่อกำ�หนดนโยบาย แผนการดำ�เนินงาน กระบวนการทำ�งาน และการควบคุมภายในให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ที่สำ�คัญเพื่อให้ธนาคารสามารถบริการลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง ธนาคารได้มีการจัดทำ�แผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทุกหน่วยงานของธนาคารได้มีส่วนร่วมในการดำ�เนินการจัดทำ�แผนนี้ และ ธนาคารได้มีการซักซ้อมการฟื้นฟูระบบคอมพิวเตอร์หลัก (Core Banking) ของธนาคารเป็นประจำ�ทุกปี ธนาคารมีการกำ�หนดกรอบนโยบายบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการอย่างชัดเจน รวมทั้งมีระบบควบคุมภายในที่ดี และมีการ จัดทำ�คู่มือปฏิบัติงานให้แก่พนักงานในทุกหน่วยงาน เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจในขั้นตอนการทำ�งาน และสามารถปฏิบัติงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โดยกำ�หนดให้มีกระบวนการวิเคราะห์เชิงธุรกิจ การประเมินความเสี่ยง และการติดตามความเสี่ยง เป็นต้น นอกจากนี้ ธนาคารได้มกี ารพัฒนากระบวนการตลอดจนเครือ่ งมือต่างๆ ทีใ่ ช้ในการบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร ซึง่ ธนาคารได้มกี ารจัดเก็บข้อมูล ความเสียหาย ทั้งที่เป็นความเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงิน และความเสียหายที่เป็นตัวเงิน ทั้งที่เสียหายแล้วหรือสามารถป้องกันได้ ซึ่งข้อมูล เหล่านี้ธนาคารจะเอาไปใช้ในการปรับปรุงและป้องกันความเสี่ยงไม่ให้เกิดขึ้นอีก นอกจากนี้ ธนาคารมีมาตรการ แผนงาน และเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการอื่นๆ เช่น แผนดำ�เนินงานธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan) เพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน อาทิเช่น วินาศภัย และภัยพิบัติต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น จนอาจ ทำ�ให้การดำ�เนินงานของธนาคารต้องหยุดชะงัก ธนาคารได้ทำ�การทดสอบ ประเมิน และปรับปรุงแผนดังกล่าวทุกๆ ปี เพื่อให้ธนาคาร สามารถดำ�เนินธุรกรรมหลักของธนาคารได้ในสภาวะฉุกเฉินอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ธนาคารยังได้ก�ำ หนดให้ทกุ หน่วยงานประเมิน ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการด้วยตนเอง (Risk Control Self-Assessment: RCSA) เพื่อระบุจุดที่มีความเสี่ยงในกระบวนการปฏิบัติงานใน

34

รายงานประจำ�ปี 2553


หน่วยงานของตน รวมทัง้ ประเมินว่ามาตรการควบคุมภายในทีม่ อี ยูน่ นั้ เพียงพอและเหมาะสมเพียงใดในการควบคุมความเสีย่ งนัน้ ๆ รวมถึงการ นำ�ข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผล และจัดทำ�ดัชนีชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicators) เพื่อใช้ในการติดตามความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทัง้ นี้ ธนาคารได้มกี ารพัฒนาบุคลากรอยูเ่ สมอเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทำ�งานของพนักงาน โดยจัดส่งพนักงานเข้ารับการอบรม สัมมนาจากผูจ้ ดั สัมมนาภายนอก และมีการจัดอบรมสัมมนาภายในให้แก่พนักงาน โดยเชิญวิทยากรทีม่ คี วามชำ�นาญจากหน่วยงานภายใน ของธนาคาร รวมทั้งวิทยากรผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญจากภายนอกมาให้ความรู้เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพูนทักษะในการปฏิบัติงานของพนักงาน 5.1 ผลกระทบจากพระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครองเงินฝาก เนื่องด้วยพระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครองเงินฝาก ซึ่งมีผลบังคับใช้ในเดือน สิงหาคม 2551 และทยอยลดการค้ำ�ประกันเงินฝาก ลงเหลือเพียง 1 ล้านบาทต่อรายต่อสถาบันการเงิน ภายในปี 2555 พระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครองเงินฝาก และพระราชกฤษฎีกากำ�หนดจำ�นวนเงินฝากดังกล่าว มีการกำ�หนดวงเงินคุ้มครอง ต่อรายต่อสถาบันการเงินที่ชัดเจน ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจของสถาบันการเงิน กล่าวคือ ธนาคาร จะไม่ได้เป็นสถานที่รับฝากเงินที่รัฐบาลให้ความคุ้มครองเต็มจำ�นวนในทัศนะของผู้ฝากอีกต่อไป ซึ่งปัจจุบันผู้ฝากได้รับความคุ้มครองแบบ เต็มจำ�นวนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยจากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก และอาจส่งผลให้มีการโยกย้ายเงินฝากจากธนาคารหนึ่งไปสู่อีกธนาคาร หนึ่ง อีกทั้งยังอาจมีการโยกย้ายเงินฝากจากระบบธนาคารพาณิชย์ไปยังช่องทางการลงทุนอื่นๆ ส่งผลให้มีการแข่งขันในด้านผลิตภัณฑ์ เงินฝากที่สูงขึ้น อย่างไรก็ดี เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ธนาคารได้พัฒนาผลิตภัณฑ์เงินฝากและเครื่องมือทางการเงิน ให้มีความหลากหลายมากขึ้นเพื่อเพิ่มทางเลือกให้แก่ลูกค้า และตอบโจทย์พฤติกรรมหรือความต้องการในการออมเงินของลูกค้าที่อาจ แตกต่างและซับซ้อนขึน้ กว่าเดิม รวมทัง้ การจัดตัง้ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด ทัง้ นี้ เพือ่ รักษาฐานลูกค้าเดิม และเพือ่ ให้มศี กั ยภาพในการสร้าง หรือขยายฐานลูกค้าใหม่ตอ่ ไปในอนาคต รวมถึงการเพิม่ ช่องทางการให้บริการลูกค้าโดยการขยายสาขา ของธนาคารอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการดำ�เนินงานของธนาคารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ธนาคารมีสถานะทางการเงินที่เข้มแข็งมั่นคง Annual Report 2010

35


คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

บริษัท แอล เอช ไฟแนนเชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ตามแผนการ ปรับโครงสร้างการถือหุ้นของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) บริษัทเป็นบริษัทแม่ในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ประกอบธุรกิจการถือหุ้นในบริษัทอื่นโดยไม่ได้ทำ�ธุรกิจ ของตนเอง (Non-Operating Holding Company) ซึ่งปัจจุบันถือหุ้นในธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 ของทุนที่ชำ�ระแล้วทั้งหมด ดังนั้นธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จึงเป็น บริษัทแกน ซึ่งผลการดำ�เนินงานหลักของบริษัท จึงมาจากผลการดำ�เนินงานของธนาคาร ในการวิเคราะห์ฐานะ การเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย จึงนำ�งบการเงินของธนาคารก่อนการปรับโครงสร้างการ ถือหุ้นมาแสดงเพื่อใช้ประกอบการเปรียบเทียบ ทั้งนี้ งบการเงินที่ใช้ในการวิเคราะห์แบ่งตามช่วงเวลาการปรับ โครงสร้างการถือหุ้นของธนาคารได้ดังนี้

l

ก่อนปรับโครงสร้างการถือหุ้น - งบการเงินของธนาคารสำ�หรับปี 2551 หลังปรับโครงสร้างการถือหุ้น - งบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อยสำ�หรับปี 2552 - ปี 2553

l

ภาพรวมผลการดำ�เนินงานของบริษทั และบริษทั ย่อย

ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2553 มีการขยายตัวในเกณฑ์ดีตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 เป็นต้นมา โดยมีแรง ขับเคลื่อนจากความต้องการของตลาดภายในประเทศ ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตฟื้นตัวขึ้นรวมถึงการ ขยายตัวจากการส่งออกและการท่องเทีย่ ว แม้จะมีปจั จัยลบอยูห่ ลายประการ เช่น การปรับราคาขึน้ ของน้�ำ มัน และ ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองภายในประเทศในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553 อย่างไรก็ดี ภาคเอกชน ปรับตัวได้ดีทำ�ให้ภาวะเศรษฐกิจฟื้นกลับมาได้อย่างรวดเร็ว

36

รายงานประจำ�ปี 2553


การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน

ภาพรวมผลการดำ�เนินงานในปี 2551 - ปี 2553 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิจากผลการดำ�เนินงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 240.19 ล้านบาท ในปี 2551 เพิ่มขึ้นเป็น 272.72 ล้านบาท ในปี 2552 และ 408.12 ล้านบาท ในปี 2553 สาเหตุหลักมาจากรายได้ดอกเบี้ยและ เงินปันผลสุทธิที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเงินให้สินเชื่อ และการเปลี่ยนแปลงของส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยจากร้อยละ 2.41 ในปี 2551 เป็ น ร้ อ ยละ 2.80 ในปี 2552 และร้ อ ยละ 2.73 ในปี 2553 ประกอบกั บ การเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งของฐานลู ก ค้ า เงิ น ฝาก ซึ่ ง ในช่วงเวลาดังกล่าว ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้นด้วยเช่นกัน ถึงแม้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะเพิ่มขึ้น แต่ยังเพิ่มในอัตราส่วน ที่น้อยกว่ารายได้ที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้บริษัทและบริษัทย่อยมีกำ�ไรสุทธิสูงขึ้น รายได้ดอกเบีย้ และเงินปันผลสุทธิ

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากจำ�นวน 951.90 ล้านบาทในปี 2551 เป็นจำ�นวน 1,258.68 ล้านบาท และ 1,574.39 ล้านบาท ในปี 2552 และปี 2553 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 32.23 และ 25.08 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนตามลำ�ดับ โดยมี สาเหตุหลักมาจากค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ ทีล่ ดลงตามอัตราดอกเบีย้ ในตลาดทีล่ ดลงอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2550 โดยอัตราส่วนค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ ต่อรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลลดลงจากร้อยละ 53.79 ในปี 2551 เหลือร้อยละ 35.90 และร้อยละ 32.22 ในปี 2552 และปี 2553 ตาม ลำ�ดับ ตารางแสดงรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ

(หน่วย : ล้านบาท) หลังการปรับโครงสร้าง งบการเงินรวม LHFG ปี 2553 ปี 2552

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลรวม ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยรวม รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยรวมต่อรายได้ดอกเบี้ย และเงินปันผลรวม

2,322.80 748.41 1,574.39 32.22%

1,963.54 704.86 1,258.68 35.90%

ก่อนการปรับโครงสร้าง งบการเงินธนาคาร ปี 2551

2,060.06 1,108.16 951.90 53.79%

รายได้ดอกเบีย้ และเงินปันผลสุทธิหลังหักหนีส้ ญ ู และหนีส้ งสัยจะสูญ

บริษัทย่อยได้มีการตั้งหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญแต่ละปี โดยอ้างอิงตามหลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย และประเมินฐานะลูกหนี้จากประสบการณ์ในการพิจารณาความเสี่ยงด้านเครดิต รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิหลังหักหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากจำ�นวน 855.30 ล้านบาทในปี 2551 เป็นจำ�นวน 999.18 ล้านบาท และ 1,364.39 ล้านบาท ในปี 2552 และ ปี 2553 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 16.82 และ 36.55 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีกอ่ น ตามลำ�ดับ เนือ่ งจากรายได้ดอกเบีย้ และเงินปันผลสุทธิทเี่ พิม่ สูงขึน้ กว่ามูลค่าการตัง้ หนีส้ ญู และหนีส้ งสัยจะสูญ ทัง้ นี้ บริษทั ย่อยได้ ตั้งสำ�รองหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญจำ�นวน 96.60 ล้านบาทในปี 2551 และเพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวน 259.50 ล้านบาท และ 210.00 ล้านบาท ในปี 2552 และ 2553 ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ ในปี 2552 และปี 2553 บริษทั ย่อยได้มกี ารตัง้ สำ�รองทัว่ ไปเพิม่ ขึน้ จำ�นวน 122.70 ล้านบาท และ 160.56 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เพื่อให้ธนาคารเมีเงินสำ�รองเพื่อรองรับความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในระดับที่เพียงพอ รายได้ทม่ี ใิ ช่ดอกเบีย้

รายได้ทมี่ ใิ ช่ดอกเบีย้ ประกอบด้วยกำ�ไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุน ค่าธรรมเนียมและค่าบริการอืน่ ๆ กำ�ไรจากการจำ�หน่ายทรัพย์สนิ รอการขาย และรายได้อื่น Annual Report 2010

37


รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจากจำ�นวน 78.01 ล้านบาทในปี 2551 เป็นจำ�นวน 165.19 ล้านบาทในปี 2552 และลดลงเป็นจำ�นวน 101.41 ล้านบาท ในปี 2553 สาเหตุการเปลี่ยนแปลงมาจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน จากขาดทุนจำ�นวน 6.24 ล้านบาทในปี 2551 เป็นกำ�ไร จำ�นวน 90.36 ล้านบาท และ 10.31 ล้านบาทในปี 2552 และ ในปี 2553 ตามลำ�ดับ ค่าใช้จา่ ยทีม่ ใิ ช่ดอกเบีย้

ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ยประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าตอบแทนกรรมการ เงินสมทบกองทุนคุ้มครองเงินฝาก และค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเพิ่มขึ้นจาก 693.12 ล้านบาทในปี 2551 เป็น 773.90 ล้านบาท และ 883.18 ล้านบาทในปี 2552 และปี 2553 ตามลำ�ดับ โดยส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับพนักงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากการขยาย สาขา จาก 20 สาขา ในปี 2551 เป็น 30 สาขา ในปี 2553

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีพนักงานจำ�นวน 2 คน

อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ยจะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง บริษัทและบริษัทย่อยยังสามารถควบคุมสัดส่วนค่าใช้จ่าย ที่มิใช่ดอกเบี้ยต่อรายได้รวมได้เป็นอย่างดี โดยสัดส่วนดังกล่าวลดลงอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ 67.30 ในปี 2551 เป็นร้อยละ 54.35 และ ร้อยละ 52.70 ในปี 2552 และ ปี 2553 ตามลำ�ดับ กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหนีส้ ญ ู และหนีส้ งสัยจะสูญ กำ�ไรสุทธิและอัตรากำ�ไรสุทธิ

บริษัทและบริษัทย่อยมีกำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 336.79 ล้านบาท ในปี 2551 เพิ่มขึ้นเป็น 649.97 ล้านบาท และ 792.61 ล้านบาท ในปี 2552 และ ปี 2553 ตามลำ�ดับ หรือคิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 92.99 และร้อยละ 21.95 ตามลำ�ดับ เช่นเดียวกับอัตรากำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหนี้สงสัยจะสูญต่อรายได้รวม เพิ่มขึ้นจาก 32.70 ในปี 2551 เป็น 45.65 และ 47.30 ล้านบาท ในปี 2552 และ ปี 2553 ตามลำ�ดับ สาเหตุหลักมาจากรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิที่เพิ่มขึ้น ตามการขยายตัวของเงินให้สินเชื่อ และการเปลี่ยนแปลงของส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยของเงินให้สินเชื่อ เช่นเดียวกับกำ�ไรสุทธิที่เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องจาก 240.19 ล้านบาท ในปี 2551 เป็น 272.72 ล้านบาท และ 408.12 ล้านบาท ในปี 2552 และ ปี 2553 ตามลำ�ดับ หรือคิดเป็น เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.54 และ ร้อยละ 49.65 ตามลำ�ดับ ในขณะที่อัตรากำ�ไรสุทธิลดลงจากร้อยละ 23.32 ในปี 2551 เป็นร้อยละ 19.15 ใน ปี 2552 สาเหตุหลักเกิดจาก ในปี 2551 ธนาคารไม่มีภาระภาษี เนื่องจากมีผลประโยชน์ทางภาษีในปีก่อนๆ ในขณะที่ปี 2552 ค่าใช้จ่าย ทางภาษีจำ�นวน 117.75 ล้านบาท และจากรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิที่เพิ่มสูงขึ้นค่อนข้างมากในปี 2553 ส่งผลให้อัตรากำ�ไรสุทธิ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 24.35 การวิเคราะห์ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม

สินทรัพย์หลักของบริษัทและบริษัทย่อย ประกอบด้วย เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ-สุทธิ คิดเป็นประมาณร้อยละ 68 - 72 ของสินทรัพย์รวม รองลงมาได้แก่ เงินลงทุน-สุทธิ คิดเป็นประมาณร้อยละ 18 - 23 ของสินทรัพย์รวม โดยสินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องจากจำ�นวน 49,707.49 ล้านบาท ในปี 2552 เป็น 62,312.07 ล้านบาท ในปี 2553 เงินให้สนิ เชือ่

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับจำ�นวน 42,559.42 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2552 ที่มีจำ�นวน 35,662.60 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.36 โดยเงินให้สินเชื่อส่วนใหญ่เป็นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 67.49 ของ เงินให้สินเชื่อทั้งหมด

38

รายงานประจำ�ปี 2553


(หน่วย : ล้านบาท)

หลังการปรับโครงสร้าง

ก่อนการปรับโครงสร้าง

เงินให้สินเชื่อแยกตามภาคธุรกิจ

งบการเงินรวม LHFG

งบการเงินธนาคาร

ปี 2553

สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ การสาธารณูปโภคและบริการ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง การเกษตรและเหมืองแร่ อื่นๆ รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ

ปี 2552 ล้านบาท

ปี 2551

ล้านบาท

ร้อยละ

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

28,723.49 4,329.35 4,556.87 3,165.85 12.39 1,771.45 42,559.42

67.49 26,365.48 73.93 25,154.43 78.40 10.17 4,091.66 11.47 3,511.18 10.94 10.71 1,976.90 5.54 1,464.57 4.56 7.44 1,943.99 5.45 926.29 2.89 0.03 4.43 0.01 0.00 4.16 1,280.14 3.59 1,026.71 3.20 100.00 35,662.60 100.00 32,083.18 100.00

การตัง้ สำ�รองค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำ�นวน 414.52 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2552 ที่มีจำ�นวน 262.73 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 57.77 และค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้จำ�นวน 53.49 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2552 ที่มีจำ�นวน 46.31 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.51 สินเชือ่ ด้อยคุณภาพ

ในปี 2553 ธนาคารมีสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ จำ�นวน 689.02 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.46 ของเงินให้สินเชื่อทั้งสิ้น โดย เพิ่มขึ้นจากปี 2552 ที่มีจำ�นวน 435.26 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 58.30 อัตราส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อสินเชื่อรวมในปี 2553 เท่ากับร้อยละ 1.46 ของสินเชื่อทั้งหมด โดยเพิ่มขึ้นจากปี 2552 ที่มีจำ�นวนร้อยละ 1.14 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิแสดงด้วยมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวน 14,129.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก สิ้นปี 2552 ที่มีจำ�นวน 10,313.31 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 37 เงินลงทุนมีการกระจุกตัวอยู่ในหลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ทงั้ หมดของธนาคารได้ตงั้ สำ�รองค่าเผือ่ การปรับมูลค่าของหลักทรัพย์และค่าเผือ่ การด้อยค่าของหลักทรัพย์อย่างเพียง พอและเป็นไปตามมาตรฐานบัญชี ตารางแสดงเงินลงทุนตามระยะเวลาและประเภทการลงทุนแสดงด้วยมูลค่าตามบัญชี

เงินลงทุนชั่วคราว หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ

หลังปรับโครงสร้าง

ก่อนปรับโครงสร้าง

งบการเงินรวม LHFG ณ 31 ธันวาคม 2553 ณ 31 ธันวาคม 2552

งบการเงินธนาคาร ณ 31 ธันวาคม 2551

ล้านบาท

ล้านบาท

ร้อยละ

1,990.50 49.98 1.58 2,042.06

25.03 0.63 0.02 25.68

77.28 - - 77.28

ร้อยละ

0.55 - - 0.55

ล้านบาท

271.61 140.61 0.00 412.22

ร้อยละ

2.64 1.36 - 4.00

Annual Report 2010

39


หลังปรับโครงสร้าง

ก่อนปรับโครงสร้าง

งบการเงินรวม LHFG ณ 31 ธันวาคม 2553 ณ 31 ธันวาคม 2552

งบการเงินธนาคาร ณ 31 ธันวาคม 2551

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

14,007.58 40.00

99.14 0.28

9,856.29 40.00

95.57 0.39

5,905.99 0.00

74.26 -

เงินลงทุนระยะยาว หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการ ของตลาดในประเทศ เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ เงินลงทุนสุทธิ

4.80 0.03 14,052.38 99.45 14,129.65 100.00

4.80 0.05 9,901.09 96.00 10,313.31 100.00

4.80 0.06 5,910.79 74.32 7,952.85 100.00

หนีส้ นิ รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีหนี้สินรวม 56,085.54 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2552 ที่มีจำ�นวน 46,598.21 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 16.91 สำ�หรับหนี้สินหลักประกอบด้วย เงินรับฝากคิดเป็นประมาณร้อยละ 48 - 77 ของหนี้สินรวม รองลงมาได้แก่ เงินกู้ยืม และ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน คิดเป็นประมาณร้อยละ 8 - 31 และประมาณร้อยละ 9 - 20 ของหนี้สินรวม ตามลำ�ดับ

ตารางแสดงหนี้สินแยกตามประเภทหนี้สิน

หลังปรับโครงสร้าง

ก่อนปรับโครงสร้าง

หนี้สิน

งบการเงินรวม LHFG 31 ธ.ค. 2553 31 ธ.ค. 2552

งบการเงินธนาคาร 31 ธ.ค. 2551

เงิ นรับฝาก-สุทธิ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม อื่นๆ รวมหนี้สิน

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

27,082.43 10,985.19 123.27 17,434.94 459.71 56,085.54

48.29 19.59 0.22 31.09 0.82 100.00

31,721.74 68.08 4,261.94 9.15 164.88 0.35 10,216.42 21.92 233.24 0.50 46,598.21 100.00

ล้านบาท

ร้อยละ

31,955.12 77.06 5,444.26 13.13 52.28 0.13 3,717.86 8.97 296.51 0.72 41,466.03 100.00

ส่วนของผูถ้ อื หุน้

บริษัทได้จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท และบริษัทย่อยเท่ากับ 3,109.28 ล้านบาท ในปี 2552 และเท่ากับ 6,226.53 ล้านบาท ในปี 2553 ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย การเพิ่มทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วจำ�นวน 2,757.79 ล้านบาท และผลกำ�ไรสะสมเพิ่มขึ้นจำ�นวน 366.75 ล้านบาท ภาระผูกพันนอกงบดุล

ภาระผูกพันนอกงบดุลเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยมีสาเหตุหลักจากการเพิม่ ขึน้ ของวงเงินเบิกเกินบัญชีทลี่ กู ค้ายังไม่ได้มกี ารเบิกใช้ เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะ ในปี 2552 และ ในปี 2553 เพิ่มขึ้นจำ�นวน 343.17 ล้านบาท และ 671.28 ล้านบาท ตามลำ�ดับ หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 90.84 และ 93.11 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาก่อนหน้า ตามลำ�ดับ 40

รายงานประจำ�ปี 2553


ตารางแสดงภาระผูกพันนอกงบดุล

หลังปรับโครงสร้าง

ก่อนปรับโครงสร้าง

ภาระผูกพันนอกงบดุล

งบการเงินรวม LHFG 31 ธ.ค. 2553 31 ธ.ค. 2552

งบการเงินธนาคาร 31 ธ.ค. 2551

ล้านบาท

การรับอาวัลตั๋วเงิน การค้ำ�ประกันอื่น วงเงินเบิกเกินบัญชีที่ลูกค้ายังไม่ได้เบิกใช้ รวมภาระผูกพันนอกงบดุล

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

- - 3.02 0.20 963.28 40.90 745.03 50.72 1,392.21 59.10 720.93 49.08 2,355.49 100.00 1,468.98 100.00

ล้านบาท

ร้อยละ

1.76 0.20 479.11 55.80 377.76 44.00 858.63 100.00

ความเพียงพอของเงินกองทุนและการดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสีย่ ง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารดำ�รงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับร้อยละ 17.64 สูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ�ของ ธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งกำ�หนดไว้ที่ร้อยละ 8.50 และเพิ่มขึ้นจากปี 2552 ซึ่งดำ�รงเงินกองทุนที่ร้อยละ 11.88 เนื่องจากธนาคารมีการ เพิ่มทุนชำ�ระแล้ว ในขณะที่อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยงของธนาคาร เท่ากับร้อยละ 16.85 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ�ของ ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนดไว้ที่ร้อยละ 4.25 ประกอบกับเป็นผลมาจากธนาคารได้ปรับเปลี่ยนวิธีการคำ�นวณการดำ�รงอัตราส่วน เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงตามหลักเกณฑ์ Basel II

ตารางแสดงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง

หลังปรับโครงสร้าง

ก่อนปรับโครงสร้าง

งบการเงินรวม LHFG ณ 31 ธันวาคม 2553 ณ 31 ธันวาคม 2552

งบการเงินธนาคาร ณ 31 ธันวาคม 2551

ล้านบาท

ล้านบาท

เงินกองทุนชั้นที่ 1 ธนาคาร 5,618.98 อัตราขั้นตํ่าตามกฎหมาย ส่วนต่าง เงินกองทุนทั้งหมด ธนาคาร 5,880.19 อัตราขั้นตํ่าตามกฎหมาย ส่วนต่าง

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ร้อยละ

16.85 2,689.28 4.25 12.60

11.30 2,502.10 4.25 7.05

13.55 4.25 9.30

17.64 2,826.64 8.50 9.14

11.88 2,556.01 8.50 3.38

13.84 8.50 5.34

Annual Report 2010

41


การกำ�กับดูแลกิจการ

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและความเชื่อมั่นให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุนและผูท้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่าย ซึง่ เป็นปัจจัยพืน้ ฐานทีส่ �ำ คัญในการดำ�เนินงานของบริษทั ให้มปี ระสิทธิภาพ โปร่งใส และน่าเชือ่ ถือ รวมทัง้ ยังสนับสนุนให้มกี ารบริหารจัดการด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ซึง่ นำ�ไปสูก่ ารเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน การเพิม่ มูลค่าในกิจการ ความมั่นคงและการเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน รวมทั้งให้ความสำ�คัญต่อระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม มีจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ ดูแลมิให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอรวมทั้งคำ�นึงถึงความเสี่ยงและวิธีบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ดังนั้นในการบริหารกิจการ และการดำ�เนินงานให้เหมาะสมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) จึงเป็น เรื่องที่บริษัทให้ความสำ�คัญอย่างมากว่าเป็นสิ่งที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงอยู่ของบริษัท โดยนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทได้ยึดหลัก 4 ประการเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเป็นรากฐานของการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจ ได้แก่ 1. ความโปร่งใส (Transparency) 2. ความซื่อสัตย์ (Integrity) 3. ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ (Accountability) 4. ความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness) หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท มีภารกิจและความรับผิดชอบตามที่ระบุไว้ในกฎหมายและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยคณะกรรมการบริษัท เชือ่ มัน่ ว่ากระบวนการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ จี ะเป็นหัวใจทีน่ �ำ ไปสูค่ วามสำ�เร็จและบรรลุเป้าหมายสูงสุดของบริษทั อันได้แก่ การเพิม่ มูลค่าสูงสุด ให้แก่ผู้ถือหุ้น ขณะเดียวกันจะช่วยทำ�ให้มั่นใจว่าธุรกิจและกิจการของบริษัทสามารถแข่งขันได้ดีภายใต้การดำ�เนินงานอย่างมีจรรยาบรรณ และเป็นไปตามกฎหมาย 42

รายงานประจำ�ปี 2553


1. คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการขึน้ เป็นลายลักษณ์อกั ษรและถือปฏิบตั โิ ดยเคร่งครัด ดังนี้

(1) สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย

บริษทั ตระหนักถึงสิทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ โดยผูถ้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิในการได้รบั ข้อมูลอย่างเพียงพอและ ทันเวลา มีสิทธิในการออกเสียง รวมทั้งมีสิทธิที่จะได้รับการดูแลอย่างเป็นธรรม เช่น ความสะดวกในการเข้าประชุม ของผู้ถือหุ้น l บริษัทจัดให้มีการอำ�นวยความสะดวกในกระบวนการจัดประชุมผู้ถือหุ้นและจัดสรรเวลา สำ�หรับการประชุมอย่าง เหมาะสม ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสแสดงความเห็นและตั้งคำ�ถามโดยเท่าเทียมกัน l ในการประชุมผูถ ้ อื หุน้ บริษทั จะจัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้อมทัง้ ข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ ให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 7 วันทำ�การอย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีเวลา ศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด และบริษัทได้เพิ่มทางเลือกให้กับผู้ถือหุ้นโดยให้กรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบอำ�นาจจาก ผู้ถือหุ้นในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ นอกจากนี้ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิในการลงคะแนนเสียงในการ ประชุมผู้ถือหุ้นในวาระต่างๆ ได้ เช่น การเลือกตั้งกรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี เป็นต้น โดยบริษัทจะแจ้งวิธีการ ให้ทราบล่วงหน้า l คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ พนักงานและผูบ้ ริหารของบริษทั หรือผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอกบริษทั ได้แก่ คูแ่ ข่ง ภาครัฐและหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยบริษทั มีนโยบายในการปฏิบตั งิ านให้มคี วามโปร่งใสและมีการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี รวมถึงการสนับสนุนให้เกิดการ ร่วมมือระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้เสียในการสร้างสรรค์ประโยชน์ระหว่างกันและดูแลให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้เสียได้รับ การคุ้มครองและปฏิบัติด้วยดี โดยได้ให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม l

(2) คณะกรรมการ โครงสร้างการจัดการ บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และความเป็นอิสระ

บริษัทได้กำ�หนดโครงสร้างของคณะกรรมการบริษัทไว้ให้มีจำ�นวนที่เหมาะสมและพอเพียง ประกอบด้วยกรรมการ ที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารและกรรมการที่เป็นอิสระ โดยให้เป็นไปตามสัดส่วนอย่างยุติธรรมและ เหมาะสม โดยความเห็นชอบจากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และเพือ่ ความเป็นอิสระของประธานกรรมการและเป็นการแบ่งแยก อำ�นาจหน้าที่ในการกำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแล และการบริหารงานประจำ�ออกจากกัน จึงกำ�หนดให้ประธาน กรรมการบริษทั ประธานกรรมการบริหาร และประธานกรรมการตรวจสอบไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจ้ ดั การ โดยมีการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ระหว่างกันอย่างชัดเจนไม่ให้คนใดคนหนึ่งมีอำ�นาจโดยไม่จำ�กัด l บริ ษั ท มี ก ารกระจายอำ � นาจในการบริ ห ารงานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ค วามโปร่ ง ใสในการบริ ห ารจั ด การ โดย คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และอาจพิจารณา เพิ่มคณะกรรมการย่อยชุดอื่นๆ ตามที่เห็นสมควร เพื่อช่วยในการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท และปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท l คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการอิสระที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างหรือพนักงานที่ได้รับเงินเดือนจากบริษัท และ มีความเป็นอิสระจากกลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั รวมทัง้ สามารถดูแลผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ รายย่อยได้ มีจ�ำ นวน อย่างน้อย 3 คน หรืออย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งคณะ แล้วแต่จำ�นวนใดจะสูงกว่า l คณะกรรมการบริษัทมีส่วนร่วมในการกำ�หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจและงบประมาณของ บริษัทเป็นประจำ�ทุกปี l คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญในการกำ�หนดนโยบาย การพิจารณา ระเบียบวิธีปฏิบัติให้มีการควบคุมดูแลและ ป้องกันรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างกัน โดยจะพิจารณา ขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีเหตุมผี ลและเป็นอิสระภายในกรอบ จริยธรรมที่ดี ตามหลักเกณฑ์ของหน่วยงานต่างๆ ที่กำ�กับดูแลบริษัท l คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่เข้าร่วมประชุมทุกครั้ง ซึ่งบริษัทได้กำ�หนดไว้ล่วงหน้าเป็นประจำ�ทุกเดือน และอาจ มีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจำ�เป็น ทั้งนี้ เพื่อกำ�กับดูแลให้ฝ่ายจัดการดำ�เนินธุรกิจเป็นไปตามแผนธุรกิจ ที่กำ�หนดอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนพิจารณาทบทวนกลยุทธ์และเป้าหมายให้มีความสอดคล้อง กับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยบริษัทได้เปิดเผยจำ�นวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมไว้ในรายงานประจำ�ปี l

Annual Report 2010

43


l l

(3) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส l

l

คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของบริษทั ต่อผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุน และสาธารณชนทัว่ ไปด้วยความ โปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอและทันเวลา และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อทำ�หน้าที่ในการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน กรรมการผู้จัดการและกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ทัง้ นีใ้ นการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการจะต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปี

(4) การควบคุมและบริหารความเสี่ยง l

l

คณะกรรมการบริษัท และฝ่ายจัดการ มีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน คณะกรรมการบริษทั จะจัดให้มรี ะบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในและมาตรการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระ สิทธิภาพ รวมทั้งมีการติดตามการดำ�เนินการในเรื่องดังกล่าวอย่างสม่ำ�เสมอ

คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาระบบบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ก�ำ กับดูแลของ ธนาคารแห่งประเทศไทยทีอ่ อกมาตรการต่าง ๆ เพือ่ ให้สถาบันการเงินมีการพัฒนาระบบบริหารความเสีย่ งให้ดยี ง่ิ ขึน้ และ มีมาตรฐานในระดับสากล เช่น การดำ�เนินงานตามหลักเกณฑ์ IAS 39 Basel II และ ICCAP เป็นต้น คณะกรรมการบริษทั มีบทบาทความรับผิดชอบในการจัดให้มรี ะบบบริหารความเสีย่ งและระบบการควบคุมภายใน เพือ่ หลีกเลี่ยงหรือลดความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย และภาพพจน์ของบริษัท เพื่อให้ม่นั ใจว่ามีการปฏิบัติตาม กฎหมายและกฎระเบียบของทางการ

(5) จริยธรรมธุรกิจ l

l

บริษทั ยึดมัน่ ในการดำ�เนินธุรกิจอย่างโปร่งใสและสุจริต โดยเป็นไปตามข้อบังคับของบริษทั ประกาศ ข้อบังคับอืน่ ๆ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนยังมีหน้าที่ในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของ บริษทั เพือ่ ปลูกฝังจิตสำ�นึกในการปฏิบตั งิ านอย่างมีจริยธรรม รวมทัง้ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามภารกิจ ของบริษัทด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและเที่ยงธรรม ทั้งการปฏิบัติต่อบริษัทและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สาธารณชนและ สังคม โดยบริษทั ได้ตดิ ต่อสือ่ สารกับพนักงานอย่างสม่�ำ เสมอ เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกคนได้รบั ทราบและยึดถือ เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ และติดตามการปฏิบตั ติ ามแนวทางดังกล่าว รวมถึงกำ�หนดบทลงโทษทางวินยั ด้วย บริษทั ได้จดั ทำ�จรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ ขึน้ เป็นลายลักษณ์อกั ษร ได้แก่ จรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจของบริษทั จริยธรรมของกรรมการ และจริยธรรมของพนักงาน เพือ่ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ

คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชี โดยบริษัทได้จัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้อมทั้งข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ ให้ผู้ถือหุ้นทุกรายทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม ไม่น้อยกว่า 7 วันทำ�การอย่างเท่าเทียมกัน และหากเป็นการประชุมที่มีวาระที่มีความสำ�คัญบริษัทได้จัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้อมทั้ง ข้อมูลประกอบการประชุมให้ผู้ถือหุ้นทุกรายทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 14 วันทำ�การ ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีเวลา ศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด และบริษทั ได้เพิม่ ทางเลือกให้กบั ผูถ้ อื หุน้ โดยให้กรรมการอิสระเป็นผูร้ บั มอบอำ�นาจจากผูถ้ อื หุน้ ในกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ นอกจากนีผ้ ถู้ อื หุน้ สามารถใช้สทิ ธิในการลงคะแนนเสียงในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ในวาระต่างๆ ได้ เช่น การเลือกตัง้ กรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี เป็นต้น ก่อนเริ่มการประชุมแต่ละวาระจะมีการชี้แจงกติกา รวมถึงวิธีนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่ลงมติในแต่ละวาระอย่างชัดเจน ใน ระหว่างการประชุมจะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้แสดงความคิดเห็นและตั้งคำ�ถามใดๆ ต่อที่ประชุมเพื่อตรวจสอบการดำ�เนินงานของบริษัท สอบถาม แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งมีการตอบข้อซักถามในทุกประเด็น และบริษัทได้มีการจดบันทึก รายงานการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ในภายหลัง บริษัทได้อำ�นวยความสะดวกในการประชุมผู้ถือหุ้น โดยจัดกระบวนการประชุมไม่ยุ่งยากซับซ้อน โดยประธานในที่ประชุม จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิในการตรวจสอบการดำ�เนินงานของบริษัท สอบถามและแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ อย่าง เท่าเทียมกัน และบริษัทได้จัดทำ�บันทึกรายงานการประชุมที่มีสาระสำ�คัญให้ครบถ้วน 44

รายงานประจำ�ปี 2553


หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงสิทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเป็นธรรม เพือ่ ปกป้องสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของ ผู้ถือหุ้น 1. คณะกรรมการบริษัท สนับสนุนให้ผ้ถู ือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถใช้สิทธิออกเสียงโดยมอบฉันทะ ให้ผอู้ น่ื มาประชุมและออกเสียงแทน โดยบริษทั ได้เสนอชือ่ กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เพือ่ เป็นทางเลือกในการมอบฉันทะ ให้เข้าประชุมและใช้สทิ ธิออกเสียงแทนผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั ได้น�ำ ส่งหนังสือมอบฉันทะให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ทุกราย 2. ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั หรือการประชุมผูถ้ อื หุน้ หากคณะกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร หรือผูถ้ อื หุน้ ทีม่ สี ว่ นได้เสีย ในวาระใด จะต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียของตนและผู้ท่ีเกี่ยวข้องให้ท่ีประชุมทราบ และจะไม่มีสิทธิออกเสียง ในวาระดังกล่าวนั้น เพื่อให้ท่ปี ระชุมสามารถพิจารณาธุรกรรมของบริษัทที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์และสามารถ ตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั โดยรวม 3. ผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร จะไม่เพิม่ วาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จ�ำ เป็น โดยเฉพาะในวาระสำ�คัญที่ ผูถ้ อื หุน้ ต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ 4. คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเป็นอย่างยิง่ 5. การอำ�นวยความสะดวก และกำ�หนดวิธกี ารให้แก่ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยในการเสนอเพิม่ วาระการประชุม และเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้า ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ นัน้ ขณะนีบ้ ริษทั ยังมิได้ด�ำ เนินการ หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษทั เป็นบริษทั แม่ของกลุม่ ธุรกิจทางการเงิน ซึง่ เป็นสถาบันการเงินทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจให้เป็นแหล่งระดมเงินทุนของประเทศ บริษัทจึงมีหน้าที่ปกป้องผลประโยชน์ของประชาชนผู้ฝากเงินและผลประโยชน์ของลูกค้าที่มาใช้บริการ บริษัทจะต้องรักษาไว้ซึ่งชื่อเสียง เกียรติประวัตแิ ละภาพพจน์อนั ดีในการเป็นบริษทั ทีม่ คี ณุ ภาพ ยึดมัน่ ความโปร่งใส ความซือ่ สัตย์และความรับผิดชอบอันเป็นการสร้างความ เชือ่ มัน่ ต่อผูล้ งทุนในระบบสถาบันการเงิน นอกจากนี้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนยังมีหน้าทีใ่ นการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณของ บริษทั เพือ่ ปลูกฝังจิตสำ�นึกในการปฏิบตั งิ านอย่างมีจริยธรรม รวมทัง้ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามภารกิจของบริษทั ด้วยความ ซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม ทั้งการปฏิบัติต่อบริษัท ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สาธารณชนและสังคม ทัง้ นี้ บริษทั ได้ใช้จรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ จริยธรรมของกรรมการ และจริยธรรมพนักงานของบริษทั เพือ่ ใช้ยดึ ถือและปฏิบตั ิ ไว้ดังนี้ 1. จรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจของบริษทั 2. จริยธรรมของกรรมการ 3. จริยธรรมของพนักงาน 1. จรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจของบริษทั บริษทั มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะดำ�เนินธุรกิจอย่างโปร่งใสและสุจริต โดยเป็นไปตามข้อบังคับของบริษทั กฎหมาย ประกาศ และข้อบังคับ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้หลักการที่ยึดมั่นขององค์กร ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริตโปร่งใส มีคุณธรรมและมีความรับผิดชอบ ทั้งนี้ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินการและยึดถือในหลักการต่อไปนี้

1.1 ลูกค้า บริษทั มุง่ ให้ลกู ค้าได้รบั ประโยชน์และความพึงพอใจอย่างสูงสุด โดยเอาใจใส่ปกป้องผลประโยชน์ของลูกค้า ให้บริการด้วยความ เป็นธรรม รวมถึงดูแลรักษาข้อมูลต่าง ๆ ของลูกค้าไว้เป็นความลับ 1.2 ผู้ถือหุ้น บริษัทมุ่งให้มีการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส สร้างผลตอบแทนที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้น โดยดำ�เนินการให้มีผล ประกอบการที่ดีอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน และระบบบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ 1.3 พนักงาน บริษัทถือว่าพนักงานของบริษัททุกคนเป็นสมบัติที่มีค่า บริษัทมุ่งพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่องและส่งเสริมพนักงานให้มีโอกาส ในความก้าวหน้าและความมั่นคง ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมตามความรู้ความสามารถและผลการปฏิบัติงาน Annual Report 2010

45


1.4 พันธมิตรและคู่แข่งทางการค้า บริษัทปฏิบัติต่อพันธมิตรและคู่แข่งทางการค้าอย่างเป็นธรรมและรักษาความลับภายใต้หลักเกณฑ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวม ทั้งไม่แสวงหาข้อมูลของพันธมิตรและคู่แข่งทางการค้าอย่างไม่สุจริตและไม่เป็นธรรม 1.5 เจ้าหนี้และคู่ค้า บริษัทยึดมั่นในความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ให้ไว้ต่อเจ้าหนี้และคู่ค้าทุกประเภทโดยอยู่ภายใต้เงื่อนไข รวมทั้ง หลักเกณฑ์และที่กฎหมายกำ�หนด 1.6 สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทยึดมั่นในการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ระมัดระวังในการพิจารณาดำ�เนินการใดๆ ใน เรื่องที่กระทบต่อความรู้สึกของสาธารณชน และส่งเสริมพนักงานให้มีจิตสำ�นึกและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม 1.7 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษทั ยึดมัน่ ในการดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงประโยชน์สงู สุดของลูกค้าและของบริษทั โดยบริษทั จะควบคุมดูแลและให้ความสำ�คัญ เกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการระหว่างกันทีไ่ ม่เหมาะสมซึง่ บริษทั มีนโยบายใน การทำ�รายการระหว่างกันโดยยึดถือปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับลูกค้าทัว่ ไป ด้วยนโยบายการกำ�หนดราคาทีเ่ ป็นธรรม และเป็นไปตามเงือ่ นไขการค้า ทั่วไปที่สามารถแข่งขันกับบริษัท หรือสถาบันทางการเงินอื่นๆ ได้ โดยผ่านกระบวนการพิจารณาอนุมัติที่ชัดเจน โปร่งใส ยุติธรรม เป็นไป ตามหลักการการกำ�กับกิจการที่ดี และถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทกำ�หนด 1.8 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร บริษัทให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของบริษัทที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทั่วถึงและทันเวลา ทั้งรายงาน ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทั่วไป โดยได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไปได้รับทราบผ่านช่องทางต่างๆ ของบริษัท ทั้งนี้ เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.9 การกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทยึดมั่นในการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งบริษัทจะให้ความร่วมมือต่อองค์กรที่กำ�กับดูแลบริษัท โดย บริษัทจะรายงานข้อมูลต่อองค์กรที่กำ�กับดูแลอย่างถูกต้อง ครบถ้วนทันเวลา 2. จริยธรรมของกรรมการ เนือ่ งจากคณะกรรมการบริษทั เป็นผูท้ มี่ บี ทบาทสำ�คัญในฐานะผูน้ �ำ ทีจ่ ะนำ�พาองค์กรไปสูค่ วามสำ�เร็จ โดยเป็นผูก้ �ำ หนดแนวนโยบาย และชี้นำ�พฤติกรรมของบุคลากรในบริษัทไปในทิศทางที่ถูกต้อง ดังนั้น คณะกรรมการจึงยึดหลักการและวิธีปฏิบัติดังต่อไปนี้ ในการปฏิบัติ หน้าที่กรรมการที่ดีภายใต้กรอบคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีสำ�หรับผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของบริษัท

2.1 หน้าที่จัดการกิจการ 1. กำ�กับดูแลการดำ�เนินกิจการของบริษทั ให้เป็นไปโดยไม่เสีย่ งต่อความมัน่ คงของบริษทั จนเกินควร 2. ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส มีคณุ ธรรมและยุตธิ รรม เพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ ในการตัดสินใจและกระทำ�การใด ๆ มีการคำ�นึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั และจะไม่เลือกปฏิบตั หิ รือละเว้นปฏิบตั กิ บั บุคคลใดบุคคลหนึง่ เป็นการเฉพาะโดยยึด หลักความเสมอภาค 3. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างมืออาชีพด้วยความรูค้ วามชำ�นาญ ความมุง่ มัน่ และด้วยความระมัดระวัง รวมถึงมีการประยุกต์ใช้ความรูแ้ ละ ทักษะในการจัดการบริษทั อย่างเต็มความรูค้ วามสามารถ 4. ไม่หาประโยชน์สว่ นตนและผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง โดยนำ�สารสนเทศภายในทีย่ งั ไม่เปิดเผยหรือทีเ่ ป็นความลับไปใช้หรือนำ�ไปเปิดเผยกับ บุคคลภายนอกหรือกระทำ�การอันก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ทง้ั โดยเจตนา และไม่เจตนาต่อบุคคลทีส่ าม และจะ ไม่ใช้ขอ้ มูลทีไ่ ด้รบั จากตำ�แหน่งหน้าทีก่ ารงานเพือ่ ผลประโยชน์ทางการเงินส่วนตน และจะไม่ใช้ขอ้ มูลนัน้ เพือ่ ประโยชน์ทางการ เงินของผูอ้ น่ื 5. กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กฎระเบียบ และแนวนโยบายของทางการ รวมทัง้ กำ�กับ ดูแลมิให้มกี ารปิดบังข้อมูลทีเ่ ป็นข้อเท็จจริง และจัดให้มกี ารรายงานสารสนเทศทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และสม่�ำ เสมอ 6. ดำ�เนินการตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ 46

รายงานประจำ�ปี 2553


2.2 ความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้น ลูกค้า เจ้าหนี้ คู่ค้า และพนักงาน 1. กรรมการมีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เช่น ในเรือ่ งเกีย่ วกับการเปิดเผยสารสนเทศ วิธกี ารปฏิบตั ทิ างบัญชี การใช้สารสนเทศ ภายใน และความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 2. ปกป้องผลประโยชน์ของลูกค้าตลอดเวลา เอาใจใส่และรับผิดชอบสูงสุดต่อลูกค้าเกีย่ วกับการให้บริการ นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ทด่ี ี มีคณุ ภาพและดูแลรักษามาตรฐานนัน้ 3. ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี ไม่ทำ�ลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้า รวมทั้งไม่แสวงหาข้อมูลของ คูแ่ ข่งทางการค้าอย่างไม่สจุ ริตและไม่เป็นธรรม 4. ดูแลให้มคี วามเท่าเทียมกันในโอกาสของการจ้างงานและหลักการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพนักงานและทำ�ให้มน่ั ใจได้วา่ พนักงาน มีความรูค้ วามชำ�นาญทีจ่ �ำ เป็นสำ�หรับการดำ�เนินงานในธุรกิจ 2.3 ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 1. ดำ�เนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม 2. ระมัดระวังและเอาใจใส่ในการดำ�เนินการใด ๆ ทีจ่ ะมีผลกระทบต่อสาธารณชน 3. ส่งเสริมให้มจี ติ สำ�นึกและความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม 3. จริยธรรมของพนักงาน แบ่งออกเป็น 4 หมวด ดังต่อไปนี้ หมวดที่ 1 ความซื่อสัตย์ สุจริต และหลักคุณธรรม (Integrity) ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นคุณสมบัติพื้นฐานที่สำ�คัญของเจ้าหน้าที่และผู้บริหารทุกระดับของบริษัท เจ้าหน้าที่และผู้บริหารทุกระดับ มีโอกาสให้คณุ ให้โทษกับลูกค้า มีโอกาสสร้างความเสียหายแก่ลกู ค้า เพือ่ นร่วมงาน ผูถ้ อื หุน้ และระบบการเงิน ตลอดจนสังคมโดยส่วนรวม ดังนัน้ เพือ่ ให้ลกู ค้า ผูถ้ อื หุน้ และผูก้ �ำ กับดูแลให้ความไว้วางใจและเชือ่ ถือ พนักงานเจ้าหน้าทีแ่ ละผูบ้ ริหารทุกคนจะต้องมีความซือ่ สัตย์สจุ ริต จิตใจมั่นคงและมีคุณธรรม ปฏิบัติหน้าที่โดยยุติธรรม ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ต้องยึดถือความสบายใจและ ประโยชน์ของลูกค้า ตลอดจนประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง หมวดที่ 2 การรักษาความลับภายในบริษัท (Confidentiality) ในกิจการของบริษัท การเก็บความลับ หมายถึง การรักษาข้อมูลสำ�คัญทุกชนิดของบริษัท ข้อมูลสำ�คัญเหล่านี้รวมถึง l ข้อมูลทางการเงิน l ข้อมูลเกีย ่ วกับทรัพย์สนิ ของบริษทั l ข้อมูลเกีย ่ วกับการบริหารระบบภายในของบริษทั ซึง่ รวมถึงสถิตติ วั เลขและรายงานต่าง ๆ l ข้อมูลพนักงานของบริษท ั ทัง้ อดีตและปัจจุบนั l ข้อมูลเกีย ่ วกับคูค่ า้ ของบริษทั l ข้อมูลเกีย ่ วกับการติดต่อธุรกิจกับทางรัฐบาลหรือตัวแทน

การรักษาความลับภายในบริษัท เป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับธุรกิจการเงิน ซึ่งประกอบด้วยบริษัทที่ทำ�ธุรกิจต่อเนื่องกัน เนื่องจากลักษณะของงานทำ�ให้รู้ความลับของลูกค้า ซึ่งถ้าหากนำ�มาเปิดเผยอาจจะเป็นผลเสียต่อลูกค้าหรือผู้อื่น ดังนั้นจึงมีแนวในการ ปฏิบตั ิ เพือ่ เป็นแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดการเสือ่ มเสียชือ่ เสียง หรือความเสียหายต่อบริษทั ทีพ่ นักงานสังกัดอยู่ หรือต่อลูกค้าและสาธารณชน หมวดที่ 3 จรรยาบรรณวิชาชีพ (Professionalism) คณะกรรมการบริษัท ได้ให้ความสำ�คัญในการสร้างสามัญสำ�นึกของผู้บริหาร และพนักงานเจ้าหน้าที่ทุกระดับของบริษัทให้ ประพฤติอยูใ่ นกรอบวิธปี ฏิบตั ทิ เี่ หมาะสมโดยให้ค�ำ นึงถึงหลักคุณธรรม จริยธรรมและความยุตธิ รรมอันจะส่งผลให้เกิดภาพพจน์ทดี่ ตี อ่ ธุรกิจ บริษัทโดยรวม

Annual Report 2010

47


หมวดที่ 4 การปฏิบัติต่อสังคม (Service to Community)

พนักงานของบริษัทมีความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีความสามัคคีและความเป็นน้ำ�หนึ่งใจเดียวกัน ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีมีความรับผิดชอบต่อท้องถิ่นที่บริษัทตั้งอยู่ ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม รวมถึงไม่ประพฤติ ตนให้เสื่อมเสีย อันอาจมีผลกระทบต่อภาพพจน์ของตนเองและชื่อเสียงของบริษัท รวมทั้งใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ทั้งในรูปเงินทุนและ พลังงาน หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายการดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และเปิดเผยข้อมูล ทั้งข้อมูลทางการ เงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินของบริษัท ต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และสาธารณชนทั่วไป รวมทั้งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านช่องทางที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชื่อถือ 1. บริษทั ได้ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยสารเทศของบริษทั เช่น งบการเงิน รายงานประจำ�ปีและสารสนเทศอืน่ ๆ ด้วยความมัน่ ใจ ว่า ได้เปิดเผยสารสนเทศทีส่ �ำ คัญครบถ้วน และถูกต้อง โปร่งใส ทัว่ ถึง และทันเวลา รวมทัง้ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง กลุ่มต่างๆ ได้รับข้อมูลข่าวสารของบริษัทอย่างเท่าเทียมกัน และไม่นำ�สารสนเทศภายในของบริษัทที่ยังไม่ได้เปิดเผย หรือ ที่เป็นความลับไปใช้ หรือนำ�ไปเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเสมอภาคในการรับรู้ข่าวสารของบริษัท อย่างเท่าเทียมกัน โดยปัจจุบนั บริษทั อยูร่ ะหว่างการพัฒนา Website เพือ่ เป็นช่องทางในการเผยแพร่ขอ้ มูลของบริษทั และมี ช่องทางในการติดต่อกับบริษทั ได้ท่ี โทร. 02-359-0000 ต่อ 2011, 2013, 2019, 2020 ทัง้ นี้ ได้ก�ำ หนดบทบาทของผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ดังนี้ 1.1 กรรมการมีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เช่น ในเรือ่ งเกีย่ วกับการเปิดเผยสารสนเทศ วิธปี ฏิบตั ทิ างบัญชี การใช้สารสนเทศ ภายใน และความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 1.2 ปกป้องผลประโยชน์ของลูกค้าตลอดเวลา เอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้าเกี่ยวกับการให้บริการ 1.3 ประพฤติปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี ไม่ทำ�ลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้า รวมทั้งไม่แสวงหาข้อมูล ของคู่แข่งทางการค้าอย่างไม่สุจริตและไม่เป็นธรรม 1.4 ดูแลให้มีความเท่าเทียมกันในโอกาสของการจ้างงานและหลักการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน และทำ�ให้มั่นใจได้ว่า พนักงานมีความรู้ความชำ�นาญที่จำ�เป็นสำ�หรับการดำ�เนินงานในธุรกิจ

2. คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญในด้านคุณภาพงบการเงินด้วยการให้มีการสอบทานข้อมูลทางการเงิน และจัดให้มีการ เปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญเพิ่มเติมอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงินและคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ เพื่อประโยชน์ ของผูถ้ อื หุน้ และบุคคลทัว่ ไปในการใช้งบการเงิน 3. คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มกี ารรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่องบการเงินของบริษทั และสารสนเทศทางการ เงิน โดยแสดงควบคู่กับรายงานของผู้สอบบัญชีในรายงานประจำ�ปี งบการเงินของบริษัทได้จัดทำ�ตามมาตรฐานการบัญชี ทีร่ บั รองทัว่ ไป และเลือกใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม่�ำ เสมอ ในการนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระและกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารเป็นผูด้ แู ลเกีย่ วกับคุณภาพของรายงาน งบการเงินโดยตรงด้วย 4. คณะกรรมการบริษทั ได้เปิดเผยบทบาทและหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ไว้ในรายงาน ประจำ�ปี หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

1. โครงสร้างคณะกรรมการบริษทั 1.1 คณะกรรมการบริษัท มีจำ�นวน 7 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการอิสระที่ไม่เป็นผู้บริหาร 3 ท่าน 1.2 คณะกรรมการบริษทั ยังมิได้ก�ำ หนดจำ�นวนบริษทั ทีก่ รรมการแต่ละคนจะไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษทั อืน่ อย่างไร ก็ดี ธนาคารแห่งประเทศไทยได้มีหลักเกณฑ์การไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทอื่นของกรรมการบริษัทเพื่อให้ กรรมการแต่ละท่านมีเวลาเพียงพอในการบริหารงานของบริษัท ซึ่งกรรมการบริษัทได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว และคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง นายวิเชียร อมรพูนชัย เป็นเลขานุการบริษัท 48

รายงานประจำ�ปี 2553


1.3 ประธานกรรมการบริษทั ประธานกรรมการบริหาร และประธานกรรมการตรวจสอบ ไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการ ผู้จัดการ เพื่อความเป็นอิสระและเป็นการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ในการกำ�หนดนโยบาย การกำ�กับดูแลและการ บริหารงานประจำ�ออกจากกัน โดยมีการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ระหว่างกันอย่างชัดเจนไม่ให้คนใดคนหนึ่งมีอำ�นาจ โดยไม่จำ�กัด

2. คณะกรรมการชุดย่อย 2.1 คณะกรรมการบริษัท มีการกระจายอำ�นาจในการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใสในการบริหารจัดการ โดยจัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ จำ�นวน 3 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อช่วยศึกษารายละเอียดและกลั่นกรองงาน เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระ หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และทำ�ให้บริษัทมีคณะกรรมการพิจารณาในเรื่องต่างๆ เฉพาะด้าน และสอดคล้อง กับหลักการกำ�กับดูและกิจการที่ดี 2.2 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ เพื่อ ความโปร่งใสและเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ 3. บทบาท หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 กำ�หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริษัทเป็นประจำ�ทุกปี รวมทั้งจัดให้มี การประชุมคณะกรรมการบริษัทเป็นประจำ�เพื่อกำ�กับดูแลให้ฝ่ายจัดการดำ�เนินธุรกิจเป็นไปตามแผนธุรกิจที่กำ�หนด อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนทบทวนกลยุทธ์และเป้าหมายให้มคี วามสอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั 3.2 กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ และบทบัญญัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติภายในองค์กร 3.3 ให้ความสำ�คัญต่อรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และจะพิจารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างรอบคอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีเหตุมีผลและเป็นอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชน์ของบริษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็นสำ�คัญ โดยจะมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ เช่น รายการที่เกี่ยวโยงกันได้กำ�หนดราคาและ เงื่อนไขเสมือนทำ�รายการกับบุคคลภายนอก นอกจากนี้ บริษัทมีนโยบายให้พนักงานปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริตใจ และเป็นธรรมมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายย่อยและกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ ไม่หาประโยชน์ใส่ตน และ ผู้ที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง หรือกระทำ�ใดๆ อันก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการแสวงหา ผลประโยชน์จากการใช้ข้อมูลภายในของบริษัท ซึ่งบริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อการกำ�กับดูแลไม่ให้ผู้บริหารนำ�ข้อมูล ภายในของบริษัทไปหาประโยชน์ จึงกำ�หนดให้กรรมการแจ้งบริษัทโดยไม่ชักช้า เมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้ (ก) มีสว่ นได้เสียไม่วา่ โดยตรงหรือโดยอ้อมในสัญญาใดๆ ทีบ่ ริษทั ทำ�ขึน้ โดยระบุขอ้ เท็จจริงเกีย่ วกับลักษณะของสัญญา ชื่อของคู่สัญญา และส่วนได้เสียของกรรมการในสัญญานั้น (ข) ถือหุ้นหรือหุ้นกู้ในบริษัท หรือบริษัทในเครือ โดยระบุจำ�นวนทั้งหมดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 3.4 ให้ความสำ�คัญต่อระบบการควบคุมภายในทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติงาน มีการควบคุมดูแลการใช้ทรัพย์สิน ของบริษทั ให้เกิดประโยชน์และมีการแบ่งแยกหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านเพือ่ ให้เกิดการถ่วงดุลและการตรวจสอบระหว่างกันอย่าง เหมาะสม รวมถึงการให้ความสำ�คัญต่อระบบการบริหารความเสี่ยง ซึ่งจัดให้มีนโยบายการบริหารความเสี่ยงโดยรวม ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน 4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริษัทได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ โดยกำ�หนดการประชุมคณะกรรมการไว้เป็นการ ล่วงหน้าเป็นประจำ�ทุกเดือน สำ�หรับรอบระยะเวลา 1 ปี และจะมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจำ�เป็น โดย บริษัทได้แจ้งกำ�หนดการดังกล่าวให้กรรมการทุกท่านทราบล่วงหน้า เพื่อให้สามารถจัดเวลาและเข้า ร่วมประชุมได้ ซึ่งคณะกรรมการบริษัททุกท่านให้ความสำ�คัญโดยการเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง ทั้งนี้ จะมีการกำ�หนดวาระที่ชัดเจนไว้ ล่วงหน้า และมีวาระการประชุมที่สำ�คัญ เช่น การพิจารณางบการเงินของบริษัทในแต่ละไตรมาส การพิจารณาติดตาม ผลการดำ�เนินงานของบริษัท ซึ่งบริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารให้แก่ Annual Report 2010

49


กรรมการล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้กรรมการมีเวลาในการพิจารณาศึกษาวาระการประชุมและ เอกสารประกอบการประชุม และปกติการประชุมแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง ทั้งนี้ บริษัทจัดให้มีการ จดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัทไว้ เพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ 4.2 ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ประธานคณะกรรมการบริษทั ได้จดั สรรเวลาไว้อย่างเพียงพอทีก่ รรมการจะอภิปราย ปัญหาสำ�คัญกันอย่างรอบคอบโดยทัว่ กัน และในการพิจารณาบางวาระ กรรมการผูจ้ ดั การได้เชิญผูบ้ ริหารเข้าร่วมประชุม เพือ่ ให้สารสนเทศ รายละเอียดเพิม่ เติมในฐานะทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งทีน่ �ำ เสนอโดยตรง ทัง้ นี้ ในการประชุมคณะกรรมการ บริษัท จะมีวาระพิจารณาติดตามผลการดำ�เนินงาน โดยคณะกรรมการบริษัทสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่าง เปิดเผยและเป็นอิสระ มีการบันทึกรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการ รับรองจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้กรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้

5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการโดยรวม รวมทั้งการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้วยตนเอง โดยได้เริ่มทำ�การประเมินในปี 2552 6. ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนขึน้ โดยมีกรรมการอิสระเป็นประธาน เพือ่ ทำ�หน้าที่ ในการกำ�หนดนโยบาย วิธีการ และหลักเกณฑ์การกำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ ที่เป็นธรรมและสมเหตุ สมผล โปร่งใส เชื่อมโยงกับผลการดำ�เนินงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของแต่ละท่าน ให้อยู่ในระดับเดียวกับอุตสาหกรรม และสูง เพียงพอทีจ่ ะดูแลรักษากรรมการทีม่ คี ณุ สมบัตทิ ตี่ อ้ งการ โดยการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการดังกล่าวจะต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นของบริษัท และได้เปิดเผยจำ�นวนค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจำ�ปี 7. การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริหาร คณะกรรมการบริษทั ได้สนับสนุนให้กรรมการและผูบ้ ริหาร ได้มกี ารพัฒนาความรูโ้ ดยการให้ได้รบั การอบรม สัมมนา จากสถาบัน ภายนอกและภายในบริษัท 8. การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายใน คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดหลักเกณฑ์ในการรักษาความลับภายในของบริษทั ไว้ในหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ทัง้ นี้ เพือ่ ความ เท่าเทียมกันในการรับรูข้ อ้ มูล และเพือ่ ป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ ประโยชน์ของกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน ซึง่ รวมถึงคูส่ มรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และเพื่อเป็นการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Good Governance) บริษัทได้มีการกำ�หนดนโยบายการดูแลการใช้ข้อมูล ภายในไว้ดังนี้ 1. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท ซึ่งรวมถึง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะที่ทราบข้อมูลที่มี สาระสำ�คัญและงบการเงินของบริษัทซึ่งยังมิได้เปิดเผยแก่สาธารณชนทั่วไป ทำ�การเผยแพร่หรือเปิดเผยแก่บุคคลอื่นทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงาน รวมทั้งมิให้มีการล่วงรู้ข้อมูลระหว่างส่วนงานเพื่อป้องกันการนำ�ข้อมูลภายในที่มีสาระสำ�คัญซึ่งยังมิได้เปิดเผยแก่ สาธารณชนทัว่ ไป ไปเปิดเผยก่อนเวลาอันควรเว้นแต่สว่ นงานนัน้ จำ�เป็นต้องรับทราบโดยหน้าทีแ่ ละให้ดแู ลข้อมูลดังกล่าว เช่นเดียวกับ หน่วยงานเจ้าของข้อมูล ทัง้ นี้ ไม่รวมถึงการให้ขอ้ มูลแก่หน่วยงานราชการทีก่ �ำ กับดูแล ซึง่ ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ซึง่ รวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ทีท่ ราบข้อมูลทีส่ �ำ คัญ และงบการเงินของบริษทั ทำ�การ ซือ้ ขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วง 7 วันก่อนการเปิดเผยงบการเงินให้แก่สาธารณชน ทราบ ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี บริษัทจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชี ให้แก่บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด ซึ่งเป็นสำ�นักงานสอบบัญชีของบริษัท สำ�หรับรอบปีบัญชี 2553 เป็นจำ�นวนเงินรวม 640,000 บาท

50

รายงานประจำ�ปี 2553


การควบคุ ม ภายใน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีบ่ ริหารจัดการเพือ่ ให้การทำ�ธุรกรรมภายในและภายนอก กลุม่ ธุรกิจการเงินมีการดำ�เนินงานให้มคี วามเสีย่ งอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ มีการควบคุมภายใน กลุ่มที่เพียงพอ โดยบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงินจะต้องรายงานการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่ม ต่อคณะกรรมการบริษัท บริษัทดำ�เนินธุรกิจภายใต้กรอบการควบคุมตามนโยบาย ระเบียบ และวิธีปฏิบัติ ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งทำ�ให้มั่นใจได้ว่าบริษัทสามารถบริหารงานได้ตามนโยบายที่กำ�หนด ตลอดจนกำ�หนดโครงสร้าง หน้าที่รับผิดชอบของคณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่อให้สามารถ ดำ�เนินงานตามวัตถุประสงค์ การรายงานผลการดำ�เนินงานของบริษัทในกลุ่มธุรกิจต่อคณะกรรมการบริษัทได้ กระทำ�ขึ้นอย่างสม่ำ�เสมอ พร้อมกันกับการรายงานแนวโน้มในการดำ�เนินการ การประมาณ การ และผลการดำ�เนินการเมื่อเทียบกับเป้าหมายและการดำ�เนินการในงวดปีบัญชีก่อนหน้านี้ โดยมีการติดตามความคืบหน้าอย่างใกล้ชิด สำ�หรับข้อมูลทางการเงินของบริษัทได้จัดทำ�ขึ้น ตามนโยบายทางบัญชีที่เหมาะสมอย่างสม่ำ�เสมอ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงิน พิจารณาผลปฏิบตั งิ านของผูส้ อบบัญชี ในปีที่ผ่านมา และพิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบได้เชิญผูต้ รวจสอบบัญชีอสิ ระมานำ�เสนอประเด็นสำ�คัญ ทีผ่ ตู้ รวจสอบบัญชีอสิ ระดังกล่าวเห็นว่าเกีย่ วข้องกับสภาวะแวดล้อมด้านการควบคุมภายในและ งบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย

Annual Report 2010

51


รายการระหว่ า งกั น บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน หมายถึง ธุรกรรมหรือธุรกิจทีค่ ล้ายคลึง หรือแข่งขันกัน หรือความเกีย่ วข้องอืน่ ใดทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยการพิจารณาทำ�รายการระหว่างกันที่บริษัทมีกับบุคคล/บริษัทที่มี ความเกี่ยวข้องทั้งหมด บริษัทจะถือปฏิบัติตามนโยบาย และเงื่อนไขการค้าตามปกติธุรกิจ ซึ่งจะเป็นไปตามกระบวนการที่กำ�หนดไว้อย่าง เหมาะสม โปร่งใส และถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำ�หนด โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดที่บริษัทและผู้ถือหุ้นจะได้รับเป็นสำ�คัญ ในระหว่างปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อย ซึ่งได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) มีการเข้า ทำ�รายการธุรกิจทีส่ �ำ คัญกับบุคคลและบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน โดยรายการระหว่างกันดังกล่าวเป็นไปตามเงือ่ นไขทางการค้าและเกณฑ์ทตี่ กลง กันระหว่างบริษัทบริษัทย่อย และบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจ โดยไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งได้เปิดเผยอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ข้อ 33 โดยรายละเอียดของรายการดังกล่าวเป็นดังนี้

เงินให้สินเชื่อ เงินรับฝาก เงินกู้ยืมและภาระผูกพันที่ให้แก่บุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันมียอดคงค้าง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553

ลักษณะความสัมพันธ์ เงินให้

สินเชื่อ

1. บริษัทและบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้นของ บริษัทที่ถือหุ้นบริษัทเกินกว่า ร้อยละ 10 ขึ้นไป 2. บริษัทย่อยของบริษัท 3. บริษัทย่อยของบริษัทย่อย 4. บริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1.) 5. บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1.) 6. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมการ ของบริษัท และบริษัทย่อย

52

รายงานประจำ�ปี 2553

ดอกเบี้ย เงินมัดจำ� ค่าใช้จ่าย หนี้สิน ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่าย ค้างรับ การเช่า จ่าย เงินรับฝาก เงินกู้ยืม จ่ายคืนเมื่อ ค้างจ่าย ค้างจ่าย สำ�นักงาน ล่วงหน้า ทวงถาม

เจ้าหนี้ อื่น

-

-

0.24

-

735.78

800.00

45.54

0.28

0.17

0.45

- - -

- - -

- - -

- - -

- - 380.22

- - -

- - 18.37

- - -

- - 0.01

-

-

-

10.29

-

170.30 1,315.05

0.03

0.60

0.41

0.03

-

-

0.90

0.18

-

-

0.01

-

8.09

-


(หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553

ลักษณะความสัมพันธ์ เงินให้

สินเชื่อ

7. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ - ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1.) 8. บริษทั ทีถ่ กู ควบคุมโดยบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง - กับบริษัทและบริษัทย่อย 9. บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 51.34

ดอกเบี้ย เงินมัดจำ� ค่าใช้จ่าย หนี้สิน ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่าย ค้างรับ การเช่า จ่าย เงินรับฝาก เงินกู้ยืม จ่ายคืนเมื่อ ค้างจ่าย ค้างจ่าย สำ�นักงาน ล่วงหน้า ทวงถาม

เจ้าหนี้ อื่น

-

-

-

145.19

25.000

-

0.09

-

-

-

-

-

0.65

-

-

0.01

-

-

0.01

-

-

603.85

170.07

-

0.80

-

0.01

หมายเหตุ ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 33. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน

รายได้และค่าใช้จ่าย

รายได้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัทบริษัทย่อย และบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 สามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

มูลค่า รายการ

นโยบายการกำ�หนดราคา

1. บริษัทและบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้น รายได้ดอกเบี้ย -ไม่มี- ของบริษัทที่ถือหุ้นบริษัท ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 9.26 เกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไป ค่าเช่าสำ�นักงาน และค่าบริการ 2.03 2. บริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายได้ดอกเบี้ย 0.01 ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1.) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 4.91 ค่าเช่าสำ�นักงาน และค่าบริการ 0.21

ตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา

3. บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 7.20 ของบริษัท (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1.) ค่าเช่าสำ�นักงาน และค่าบริการ 48.68

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป

4. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมการ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 0.27 ของบริษัทและบริษัทย่อย ค่าเช่าสำ�นักงาน และค่าบริการ 3.41

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา

5. บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้น ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 1.01 รายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1.)

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป

ตามอัตราทีบ่ ริษทั ย่อยคิดกับลูกค้าทัว่ ไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา

ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา

Annual Report 2010

53


(หน่วย : ล้านบาท)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

มูลค่า รายการ

6. บริษัทที่ถูกควบคุมโดยบุคคลที่ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 0.01 เกี่ยวข้องกับบริษัทและบริษัทย่อย 7. บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รายได้ดอกเบี้ย 1.03 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 6.56

นโยบายการกำ�หนดราคา

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้า ทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝาก ทั่วไป

หมายเหตุ ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 33. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผลของรายการ

บริษัทและบริษัทย่อย เข้าทำ�รายการระหว่างกันด้วยความระมัดระวัง โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัท บริษัทย่อย และผู้ถือหุ้นเป็นสำ�คัญ การทำ�รายการระหว่างกันของบริษัทและบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทุกรายการเป็นรายการตาม ธุรกิจปกติ หรือเป็นรายการที่มีความจำ�เป็นและมีความสมเหตุสมผลเพื่อสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษัทและบริษัทย่อย โดยเงื่อนไขต่างๆ ของรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น จะถูกกำ�หนดให้เป็นไปตามเงื่อนไขการค้าปกติและเป็นไปตามราคาตลาด และดำ�เนินการเช่นเดียวกับ ที่ปฏิบัติกับลูกค้าทั่วไปที่มีลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน มาตรการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน

ในกรณีที่เกิดรายการระหว่างกันจะคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของบริษัทและบริษัทย่อยเป็นสำ�คัญ โดยผ่านขั้นตอนการพิจารณา ตามระเบียบปฏิบัติของบริษัทและบริษัทย่อย และผ่านคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท และบริษัทย่อยร่วมพิจารณาถึงผลกระทบ และให้มีการกำ�หนดราคาเป็นไปอย่างเหมาะสมตามเงื่อนไขการค้าปกติ เสมือนการทำ�รายการ กับบุคคลภายนอก ทั้งนี้ บริษัทได้มีการขออนุมัติในหลักการเกี่ยวกับข้อตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไปในการทำ�ธุรกรรม ระหว่างบริษัทและบริษัทย่อยกับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ดังนี้ “บริษัทและบริษัทย่อย อาจมีรายการระหว่าง กันในอนาคต บริษัทจึงขออนุมัติในหลักการให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการทำ�ธุรกรรมดังกล่าว หากธุรกรรมเหล่านั้นมีข้อตกลงทาง การค้าในลักษณะเดียวกับทีว่ ญิ ญูชนจะพึงกระทำ�กับคูส่ ญั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำ�นาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพล ในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริษัทจะจัดทำ�รายงานสรุปการทำ�ธุรกรรม เพื่อรายงาน ในการประชุมคณะกรรมการ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมีความประสงค์” ในกรณีที่กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กรรมการที่มีส่วนได้เสียผู้นั้นไม่มีอำ�นาจในการอนุมัติ รายการดังกล่าวกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยกำ�หนด นอกจากนี้ รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตกับบุคคลที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสียใดๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะให้ความเห็นเกี่ยวกับความจำ�เป็นและความเหมาะสมของรายการนั้น ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มี ความชำ�นาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นใดๆ บริษัทจะให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือผู้ตรวจสอบบัญชีของบริษัทเป็นผู้ให้ ความเห็นเพื่อใช้ในการตัดสินใจบริษัทและบริษัทย่อยหรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทั้งนี้บริษัทและบริษัทย่อยจะเปิดเผยรายการระหว่างกัน ที่สำ�คัญไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทและบริษัทย่อย

54

รายงานประจำ�ปี 2553


นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต

บริษทั และบริษทั ย่อย มีนโยบายในการทำ�รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั และในอนาคตทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ กับบุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ง โดยถือปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับลูกค้าทัว่ ไป ด้วยนโยบายการกำ�หนดราคาทีเ่ ป็นธรรม และเป็นไปตามเงือ่ นไขการค้าทัว่ ไปทีส่ ามารถ แข่งขันกับสถาบันการเงินอื่นๆ ได้ โดยผ่านกระบวนการพิจารณาอนุมัติที่ชัดเจน โปร่งใส ยุติธรรม เป็นไปตามหลักการกำ�กับกิจการ ที่ดี ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทและบริษัทย่อยกำ�หนด และต้องเป็นไปตามอำ�นาจอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้น คณะกรรมการบริษัทจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฏหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการเปิดเผย ข้อมูลการทำ�รายการเกี่ยวโยงและการได้มาหรือจำ�หน่ายทรัพย์สินที่สำ�คัญของบริษัท

Annual Report 2010

55


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายไพโรจน์ เฮงสกุล ประธานกรรมการตรวจสอบ 2 นายอดุลย์ วินัยแพทย์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสุวิทย์ อุดมทรัพย์ กรรมการตรวจสอบ

ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้จัดการประชุม 5 ครั้ง ในการประชุมได้มีการพิจารณาเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้

l สอบทานงบการเงินรายไตรมาส ซึ่งตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ก่อนที่จะนำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ l พิจารณาเสนอแนะการแต่งตั้งพร้อมทั้งกำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีภายนอกต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา l พิจารณาผลการปฏิบต ั งิ านของผูส้ อบบัญชีภายนอกในการทำ�หน้าทีใ่ นปีทผี่ า่ นมา และพิจารณาเสนอแนะการแต่งตัง้ พร้อมทัง้ กำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีภายนอกต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่างบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินของบริษัทพอเพียง และถูกต้องตามที่ควรรวมทั้งเป็นไปตามมาตรฐานบัญชีทั่วไป

(นายไพโรจน์ เฮงสกุล) ประธานกรรมการตรวจสอบ

56

รายงานประจำ�ปี 2553


รายงานคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่ นายอดุลย์ วินัยแพทย์ เป็นประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน นายไพโรจน์ เฮงสกุล และนายสุวิทย์ อุดมทรัพย์ เป็นกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยทุกท่านไม่ได้เป็นผู้บริหารของบริษัท และประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ ทัง้ นีใ้ นระหว่างปี 2553 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้มกี ารประชุมจำ�นวน 1 ครัง้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีหน้าทีใ่ นการสรรหาบุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม ในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ บริษทั และผูบ้ ริหารระดับสูงตัง้ แต่รองกรรมการผูจ้ ดั การขึน้ ไป กำ�หนดค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารระดับสูงตัง้ แต่กรรมการ ผู้จัดการขึ้นไป กำ�หนดแนวทางการประเมินผลงานของกรรมการผู้จัดการ พิจารณางบประมาณการขึ้นเงินเดือนและงบประมาณการจ่าย โบนัสประจำ�ปี รวมถึงผลตอบแทนอื่นๆ ที่บริษัทกำ�หนดให้พนักงานเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ในการสรรหากรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารระดับสูงได้พจิ ารณาโดยคำ�นึงถึงคุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ ความเชีย่ วชาญทีห่ ลากหลายและภาวะผูน้ �ำ ตลอดจนวิสยั ทัศน์และทัศนคติทดี่ ตี อ่ องค์กร อันเป็นประโยชน์ตอ่ การดำ�เนินกิจการของบริษทั รวมทั้งยังต้องคำ�นึงถึงขนาด โครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทที่เหมาะสม เพื่อส่งเสริมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและ ให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสอดคล้องกับข้อกำ�หนดของทางการและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ปี 2553 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้มกี ารพิจารณากำ�หนดกรอบของค่าตอบแทนและค่าเบีย้ ประชุมสำ�หรับ คณะกรรมการบริษัท รวมถึงคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนต่อ คณะกรรมการบริษทั โดยกรอบของค่าตอบแทนและค่าเบีย้ ประชุมดังกล่าวกำ�หนดขึน้ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางการนำ�ค่าตอบแทนและค่าเบีย้ ประชุม ของกรรมการมาใช้ตอ่ ไปในวาระทีผ่ ลประกอบการของบริษทั ดีขนึ้ ซึง่ ได้ผ่านการพิจารณาและได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั แล้ว

(นายอดุลย์ วินัยแพทย์) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

Annual Report 2010

57


งานเสวนา “ทิศทางเศรษฐกิจไทย ปีกระต่ายทอง 2554” จัดโดย ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) เมื่อวันพุธที่ 2 มีนาคม 2554 ณ โรงแรม อินเตอร์ คอนติเนนตัล เพลินจิต โดยมีผู้ร่วมเสวนา • คุณเกริก วณิกกุล รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย • ดร.ก้องเกียรติ โอภาสวงการ ประธานกรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์ เอเซียพลัส จำ�กัด (มหาชน) • คุณอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) 58

รายงานประจำ�ปี 2553


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี ที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ รวมทั้งมี การเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษทั ได้ จัดให้มีและดำ�รงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายใน เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่า การบันทึก ข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วนและเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ในการนี้คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบด้วย กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏ ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่าบริษัทมีระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม และ เพียงพอต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

(นายอนันต์ อัศวโภคิน) ประธานกรรมการ

Annual Report 2010

59


60

รายงานประจำ�ปี 2553


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้น บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และงบกำ�ไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น รวมและงบกระแสเงินสดรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ ได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็น ผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงิน ดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อ ให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการ ทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชี ทีก่ จิ การใช้และประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผูจ้ ดั ทำ�ขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสม ของการแสดงรายการที่นำ�เสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการ แสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสดสำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินดังกล่าวข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อที่ 7 ว่าในปี 2553 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ โดยได้นำ�มาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ มาถือปฏิบัติก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ ทั้งนี้บริษัทฯและบริษัทย่อย ได้ทำ�การปรับย้อนหลังงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่นำ�มาแสดงเปรียบเทียบซึ่งข้าพเจ้าได้ตรวจสอบและเห็นชอบกับการปรับย้อนหลังดังกล่าว งบการเงินรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ งบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับงวดตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ได้ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่นในสำ�นักงานเดียวกันกับข้าพเจ้า ตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งได้แสดง ความเห็นไว้อย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีท่านดังกล่าวลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 แต่ให้ข้อสังเกตในเรื่อง การบันทึกบัญชีเงินลงทุนในธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ในงบการเงินเฉพาะกิจการและเกณฑ์ในการจัดทำ� งบการเงินรวมของบริษัทฯ ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้น งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่แสดงเปรียบเทียบเป็นส่วนหนึ่งของ งบการเงินที่ผู้สอบบัญชีท่านดังกล่าวได้ตรวจสอบและเสนอรายงานไว้แล้ว

(นงลักษณ์ พุ่มน้อย) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4172

บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด กรุงเทพฯ: 21 กุมภาพันธ์ 2554

Annual Report 2010

61


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย: บาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 (ปรับปรุงใหม่)

สินทรัพย์ เงินสด 428,892,483 324,164,689 2,944 102,307 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 8, 33.2 ในประเทศ มีดอกเบี้ย 4,672,161,977 2,698,759,925 337,459,159 75,709,535 ไม่มีดอกเบี้ย 474,157,788 581,379,625 6,259,685 24,221,504 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ 5,146,319,765 3,280,139,550 343,718,844 99,931,039 เงินลงทุน เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ 9.1 77,276,100 412,223,184 - - เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ 9.1 14,052,377,280 9,901,086,332 - - เงินลงทุนในบริษัทย่อย 9.3 - - 5,499,999,000 2,654,499,000 เงินลงทุน - สุทธิ 14,129,653,380 10,313,309,516 5,499,999,000 2,654,499,000 เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ 10 เงินให้สินเชื่อ 10.1, 33.2, 33.3 42,497,807,522 35,604,203,996 - - ดอกเบี้ยค้างรับ 10.1, 33.2 61,609,879 58,391,878 - - รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ 42,559,417,401 35,662,595,874 - - หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 11 (414,523,735) (262,733,695) - - ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการ ปรับโครงสร้างหนี้ 12 (53,488,837) (46,305,655) - - เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ 42,091,404,829 35,353,556,524 - - ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์ - สุทธิ 13 121,737,509 123,058,025 - - สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ 14 74,566,360 77,140,194 - - ตั๋วเงินรับ - สุทธิ 15 40,206,853 38,614,330 - - สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 28 88,702,242 47,363,789 - - สินทรัพย์อื่น - สุทธิ 17, 33.2 190,582,614 150,140,280 146,310 159 รวมสินทรัพย์ 62,312,066,035 49,707,486,897 5,843,867,098 2,754,532,505 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

62

รายงานประจำ�ปี 2553


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย: บาท) หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 (ปรับปรุงใหม่)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินรับฝาก 19 เงินรับฝากที่เป็นเงินบาท 33.2, 33.3 27,082,425,988 31,721,735,993 - - เงินรับฝากที่เป็นเงินตราต่างประเทศ - - - - เงินรับฝาก 27,082,425,988 31,721,735,993 - - รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 20 ในประเทศ มีดอกเบี้ย 10,969,304,115 4,251,173,848 - - ไม่มีดอกเบี้ย 15,886,232 10,766,700 - - รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 10,985,190,347 4,261,940,548 - - หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม 33.2 123,274,490 164,879,825 - - เงินกู้ยืม 21, 33.2, 33.3 เงินกู้ยืมระยะสั้น 16,857,429,412 10,205,418,003 - - เงินกู้ยืมระยะยาว 577,506,768 11,000,000 - - เงินกู้ยืม 17,434,936,180 10,216,418,003 - - ดอกเบี้ยค้างจ่าย 33.2 137,174,315 94,417,560 - - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 33.2 103,703,345 40,968,386 407,250 290,668 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 28 2,784,239 5,906,340 - - หนี้สินอื่น 22, 33.2 216,047,798 91,943,758 193 1,780 รวมหนี้สิน 56,085,536,702 46,598,210,413 407,443 292,448

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

Annual Report 2010

63


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย: บาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 (ปรับปรุงใหม่)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน 23 หุน้ สามัญ 12,000,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (2552: หุน้ สามัญ 750,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 10 บาท) 12,000,000,000 7,500,000,000 12,000,000,000 7,500,000,000 ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว 23 หุน้ สามัญ 5,515,569,740 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (2552: หุน้ สามัญ 275,778,487 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 10 บาท) 5,515,569,740 2,757,784,870 5,515,569,740 2,757,784,870 ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน 9.4 6,496,558 13,781,460 - - กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำ�รองตามกฎหมาย 25 119,035,000 79,635,000 18,700,000 - ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม) 585,426,820 258,074,050 309,189,915 (3,544,813) ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 6,226,528,118 3,109,275,380 5,843,459,655 2,754,240,057 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย 1,215 1,104 - - รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 6,226,529,333 3,109,276,484 5,843,459,655 2,754,240,057 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 62,312,066,035 49,707,486,897 5,843,867,098 2,754,532,505 รายการนอกงบดุล - ภาระผูกพันทั้งสิ้น 31.1 การรับอาวัลตั๋วเงิน - 3,020,000 - - ภาระผูกพันอื่น 2,355,493,245 1,465,956,915 - -

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

64

รายงานประจำ�ปี 2553


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำ�ไรขาดทุน

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สำ�หรับรอบระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 22 เมษายน 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 ถึง 31 ธันวาคม 2552 (ปรับปรุงใหม่)

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล

33.1 เงินให้สินเชื่อ 1,715,561,862 1,608,668,708 - - รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 77,227,823 16,654,717 1,529,478 15,874 เงินลงทุน 530,010,829 338,215,785 375,087,393 รวมรายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล 2,322,800,514 1,963,539,210 376,616,871 15,874 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 33.1 เงินรับฝาก 459,210,485 552,700,620 - - รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 94,055,901 84,454,059 - - เงินกู้ยืมระยะสั้น 189,776,984 67,504,842 - 86,689 เงินกู้ยืมระยะยาว 5,366,951 195,491 - - รวมค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 748,410,321 704,855,012 - 86,689 รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ 1,574,390,193 1,258,684,198 376,616,871 (70,815) หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (210,000,000) (259,500,000) - - รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิหลังหักหนี้สงสัยจะสูญ 1,364,390,193 999,184,198 376,616,871 (70,815) รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย กำ�ไรจากเงินลงทุน 9.5 10,314,374 90,357,731 - - ค่าธรรมเนียมและบริการ - อื่นๆ 87,253,268 69,797,760 - - กำ�ไรจากการจำ�หน่ายทรัพย์สินรอการขาย - 57,791 - - รายได้อื่น 3,838,863 4,979,661 - - รวมรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย 101,406,505 165,192,943 - -

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

Annual Report 2010

65


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำ�ไรขาดทุน (ต่อ)

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สำ�หรับรอบระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 22 เมษายน 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 ถึง 31 ธันวาคม 2552 (ปรับปรุงใหม่)

ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน 353,238,453 308,789,437 - - ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ 33.1 251,498,808 217,231,530 - - ค่าภาษีอากร 59,269,739 54,985,321 171 - ค่าธรรมเนียมและบริการ 34,680,882 34,988,682 3,106,326 3,176,794 ค่าตอบแทนกรรมการ 27 5,261,000 4,230,000 - - เงินสมทบกองทุนคุ้มครองเงินฝาก 122,759,040 109,828,526 - - ค่าใช้จ่ายอื่น 56,474,128 43,850,248 708,873 297,204 รวมค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย 883,182,050 773,903,744 3,815,370 3,473,998 กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 582,614,648 390,473,397 372,801,501 (3,544,813) ภาษีเงินได้ 28 (174,495,025) (117,752,624) - - กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ 408,119,623 272,720,773 372,801,501 (3,544,813) การแบ่งปันกำ�ไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 408,119,543 272,720,669 372,801,501 (3,544,813) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย 80 104 408,119,623 272,720,773 กำ�ไรต่อหุ้น 29 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (บาทต่อหุน้ ) 0.08 1.03 0.08 (0.15) จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (หุ้น) 4,835,567,991 265,665,323 4,835,567,991 24,341,996 กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิสว่ นทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (บาทต่อหุน้ ) 0.08 1.03 0.08 (0.15) จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (หุ้น) 4,835,567,991 265,665,323 4,835,567,991 24,341,996

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

66

รายงานประจำ�ปี 2553


Annual Report 2010

67

หมายเหตุ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ปรับปรุงใหม่ การเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุนในระหว่างปี 9.4 ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น กำ�ไรสุทธิ รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำ�หรับปี เพิ่มทุนหุ้นสามัญ 23 โอนกำ�ไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร เป็นสำ�รองตามกฎหมาย 25 เงินปันผลจ่าย 30 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

13,781,460 (7,284,902) (7,284,902) - (7,284,902) - - - - 6,496,558

2,757,784,870 - - - - 2,757,784,870 - - - 5,515,569,740

39,400,000 - - 119,035,000

79,635,000 - - - - -

(39,400,000) (41,366,773) - 585,426,820

258,074,050 - - 408,119,543 408,119,543 -

ทุนที่ออก จากการเปลี่ยนแปลง จัดสรรแล้ว - และชำ�ระแล้ว มูลค่าเงินลงทุน สำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ กำ�ไรสะสม ส่วนเกินทุน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

- (41,366,773) - 6,226,528,118

3,109,275,380 (7,284,902) (7,284,902) 408,119,543 400,834,641 2,757,784,870

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ

- - 31 1,215

1,104 - - 80 80 -

ส่วนของ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ของบริษัทย่อย

(41,366,773) 31 6,226,529,333

3,109,276,484 (7,284,902) (7,284,902) 408,119,623 400,834,721 2,757,784,870

รวม

(หน่วย : บาท)


68

รายงานประจำ�ปี 2553

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2551 - ตามทีร่ ายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการปรับภาษีเงินได้ 7 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - ปรับปรุงใหม่ การเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุนในระหว่างปี 9.4 ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น กำ�ไรสุทธิ - ปรับปรุงใหม่ รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำ�หรับปี เพิ่มทุนหุ้นสามัญ โอนกำ�ไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรรเป็นสำ�รองตามกฎหมาย 25 เงินปันผลจ่าย 9.3 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ปรับปรุงใหม่

หมายเหตุ

140,113,701 (42,034,110) 98,079,591 (84,298,131) (84,298,131) - (84,298,131) - - - - 13,781,460

2,654,500,000 - 2,654,500,000 - - - - 103,284,870 - - - 2,757,784,870

79,635,000

- - - - - - 79,635,000 - -

- -

258,074,050

91,533,381 - - 272,720,669 272,720,669 - (79,635,000) (26,545,000) -

(44,855,143) 136,388,524

ทุนที่ออก จากการเปลี่ยนแปลง จัดสรรแล้ว - ยังไม่ได้จัดสรร และชำ�ระแล้ว มูลค่าเงินลงทุน สำ�รองตามกฎหมาย (ขาดทุนสะสม)

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ กำ�ไรสะสม (ขาดทุนสะสม) ส่วนเกินทุน

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

3,109,275,380

2,844,112,972 (84,298,131) (84,298,131) 272,720,669 188,422,538 103,284,870 - (26,545,000) -

2,749,758,558 94,354,414

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ

1,104

- - - 104 104 - - - 1,000

- -

ส่วนของ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ของบริษัทย่อย

3,109,276,484

2,844,112,972 (84,298,131) (84,298,131) 272,720,773 188,422,642 103,284,870 (26,545,000) 1,000

2,749,758,558 94,354,414

รวม

(หน่วย : บาท)


Annual Report 2010

69

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

- - - -

2,757,784,870 (3,544,813) 2,754,240,057

- - (3,544,813) (3,544,813)

- 2,757,784,870 - 2,757,784,870

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 22 เมษายน 2552 ออกหุ้นสามัญ 23 ขาดทุนสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

รวม

(41,366,773) 5,843,459,655

ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม)

(18,700,000) (41,366,773) 309,189,915

จัดสรรแล้ว - สำ�รองตามกฎหมาย

2,754,240,057 372,801,501 372,801,501 2,757,784,870

ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและชำ�ระแล้ว

(3,544,813) 372,801,501 372,801,501 -

หมายเหตุ

(หน่วย : บาท)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2,757,784,870 - กำ�ไรสุทธิ รวมรายได้ทั้งสิ้นที่รับรู้ระหว่างปี - - เพิ่มทุนหุ้นสามัญ 23 2,757,784,870 - โอนกำ�ไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร เป็นสำ�รองตามกฎหมาย 25 - 18,700,000 เงินปันผลจ่าย 30 - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 5,515,569,740 18,700,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ กำ�ไรสะสม (ขาดทุนสะสม)

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และสำ�หรับรอบระยเวลาตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สำ�หรับรอบระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 22 เมษายน 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 ถึง 31 ธันวาคม 2552 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 582,614,648 390,473,397 372,801,501 (3,544,813) รายการปรับกระทบกำ�ไรก่อนภาษีเงินได้เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย 98,771,721 87,751,207 - - หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ 210,000,000 259,500,000 - - กำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน (10,314,374) (90,359,011) - - ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน - 1,280 - - กำ�ไรจากการจำ�หน่ายทรัพย์สินรอการขาย - (57,791) - - กำ�ไรจากการจำ�หน่าย/ตัดจำ�หน่ายอุปกรณ์ (11,971) (7,015) - - ตัดจำ�หน่ายรายได้/รายจ่ายรอตัดบัญชี (1,473,901) 508,512 - - ตัดจำ�หน่ายส่วนลดจากการปรับมูลค่าตั๋วเงินรับ เป็นรายได้ดอกเบี้ย (1,592,523) (2,507,620) - - ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิ่มขึ้น 62,237,609 17,947,411 116,582 290,668 กำ�ไร(ขาดทุน)จากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน 940,231,209 663,250,370 372,918,083 (3,254,145)

สินทรัพย์ดำ�เนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (1,907,574,508) 446,873,046 (243,787,805) (99,931,039) เงินให้สินเชื่อ (6,893,603,526) (3,948,212,815) - - ตั๋วเงินรับ - 134,514,440 - - สินทรัพย์อื่น (26,516,713) (1,405,640) (72,514) (159) หนี้สินดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินรับฝาก (4,639,310,005) (233,381,578) - - รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 6,733,249,799 (1,182,317,075) - - หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม (41,605,335) 112,601,956 - - เงินกู้ยืม 7,218,518,177 6,498,554,659 - - หนี้สินอื่น 36,576,696 (23,590,589) (1,587) 1,780

เงินสดได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล เงินสดรับจากดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย เงินสดจ่ายดอกเบี้ย เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน

1,419,965,794 2,466,886,774

(2,322,800,514) (1,963,539,210) 1,785,211,181 1,630,608,197 748,410,321 704,855,012 (705,653,566) (775,331,200) (112,780,166) (4,590,613) 812,353,050 2,058,888,960

129,056,177 (103,183,563)

(376,616,871) - 1,470,386 - - - - - (14,545) - (246,104,853) (103,183,563)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

70

รายงานประจำ�ปี 2553


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด (ต่อ)

หมายเหตุ

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สำ�หรับรอบระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 22 เมษายน 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 ถึง 31 ธันวาคม 2552 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

เงินสดรับจากการขายหลักทรัพย์เผื่อขาย 312,079,665 1,753,952,839 - - เงินสดรับจากตราสารหนี้ที่ถือจนครบกำ�หนด 63,230,000 211,500,000 - - เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนทั่วไป - 413,491 - - เงินสดรับจากดอกเบี้ยของเงินลงทุน 541,522,532 346,052,521 - - เงินปันผลรับจากเงินลงทุน 376,800 842,300 375,087,393 - ลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย (20,386,461) (303,444,548) - - ลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด (4,207,060,549) (4,060,461,307) - - ลงทุนในบริษัทย่อย (16,284,172) - (2,845,500,000) - เงินสดจ่ายซื้ออุปกรณ์ (57,870,322) (33,171,321) - - เงินสดรับจากการจำ�หน่ายอุปกรณ์ 280,655 77,886 - - เงินสดจ่ายเพื่อการได้มาสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (39,931,394) (16,684,649) - - เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (3,424,043,246) (2,100,922,788) (2,470,412,607) - กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายเงินปันผล 30 (41,366,773) (26,545,000) (41,366,773) - จ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย (107) - - - เงินสดรับจากการเพิ่มทุนหุ้นสามัญ 2,757,784,870 103,285,870 2,757,784,870 103,285,870 เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน 2,716,417,990 76,740,870 2,716,418,097 103,285,870 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ 104,727,794 34,707,042 (99,363) 102,307 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด 324,164,689 289,457,647 102,307 - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายงวด 428,892,483 324,164,689 2,944 102,307 ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระแสเงินสด รายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับเงินสด การซื้อทรัพย์สินโดยการก่อหนี้สิน 15,978,559 9,590,049 - - ออกหลักทรัพย์เพื่อแลกเปลี่ยนหุ้นสามัญของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้นภายใต้การควบคุมเดียวกัน - - - 2,654,499,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

Annual Report 2010

71


บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

1. ข้อมูลบริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ได้จดทะเบียนจัดตั้งขึ้น เป็นบริษัทมหาชนจำ�กัดตามกฎหมายไทยเพื่อประกอบธุรกิจการลงทุน ทั้งนี้ บริษัทฯได้จัดตั้งขึ้นเพื่อลงทุนในธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) (“ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์”) ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุน้ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯมีเงินลงทุนในหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ในอัตราร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกจำ�หน่ายและเรียกชำ�ระแล้วของธนาคารดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯมีผู้ถือหุ้นใหญ่ 3 ราย ซึ่งได้แก่ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) และคุณเพียงใจ หาญพาณิชย์ โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯในอัตราร้อยละ 40.95 ร้อยละ 25.71 และร้อยละ 19.04 ตามลำ�ดับ บริษัทฯ มีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 5 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

2. การปรับโครงสร้างการถือหุ้นธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) เพือ่ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตธิ รุ กิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 และประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สนส.66/2551 เรื่อง หลักเกณฑ์การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2551 บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ได้จัด ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรกเท่ากับ 100,000 บาท เพื่อเป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน และเป็นบริษัทแม่ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2552 ธนาคารแห่งประเทศไทยได้มีหนังสืออนุญาตให้บริษัทฯ และธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จัด ตั้งกลุ่มธุรกิจทางการเงิน โดยมีบริษัทฯ เป็นบริษัทใหญ่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2552 สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ได้มีหนังสืออนุญาตให้ บริษัทฯ เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่และใบสำ�คัญแสดงสิทธิได้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2552 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของบริษัทฯชุดที่ 1 และใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 2 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (ก) ออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯจำ�นวน 265,450,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ราคาเสนอขาย หุ้นละ 10 บาท โดยเสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ในเวลานั้นเพื่อแลกเปลี่ยนกับหุ้นสามัญของ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ในอัตราแลกเปลี่ยน 1 ต่อ 1 (ข) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 จำ�นวน 69,750,000 หน่วย ราคาเสนอขาย หน่วยละ 0 บาท โดยเสนอขายให้แก่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ชุดที่ 1 และ ชุดที่ 2 เพื่อ ทดแทนใบสำ�คัญแสดงสิทธิชุดที่ 1 และชุดที่ 2 ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ที่ได้ยกเลิกและเสนอขายให้แก่บุคคลอื่น เพิ่มเติมอีกจำ�นวน 5 ท่าน และกรรมการของบริษัทฯอีกจำ�นวน 2 ท่าน (ค) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 2 จำ�นวน 23,256,000 หน่วย ราคาเสนอขาย หน่วยละ 0 บาท โดยเสนอขายให้แก่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ชุดที่ 3 เพื่อทดแทนใบสำ�คัญ แสดงสิทธิชุดที่ 3 ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ที่ได้ยกเลิก 72

รายงานประจำ�ปี 2553


เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2552 บริษัทฯได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 2,654,499,000 บาท (หุ้นสามัญ 265,449,900 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท) ตามที่ได้ออกและเสนอขายตาม (ก) ข้างต้นกับกระทรวงพาณิชย์ และถือว่าการ ปรับโครงสร้างการถือหุ้นแล้วเสร็จในวันดังกล่าว

3. เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงิน 3.1 เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงิน

งบการเงินนี้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และอ้างอิงตาม หลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย (“ธปท.”) และการแสดงรายการในงบการเงินได้ท�ำ ขึน้ เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อกำ�หนด ของประกาศ ธปท. เรือ่ ง “การจัดทำ�และการประกาศงบการเงินของธนาคารพาณิชย์และบริษทั โฮลดิง้ ทีเ่ ป็นบริษทั แม่ของกลุม่ ธุรกิจ ทางการเงิน” ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2551 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปล มาจากงบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 5 เรื่อง นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ 3.2 เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงินรวม

(ก) ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 2 บริษทั ฯและธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ได้ด�ำ เนินการตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุน้ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) (“ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์”) โดยบริษัทฯได้ออกและเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัท (ได้แก่ หุ้นสามัญ และใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญ) ซึ่งมีราคาเสนอขายหุ้นสามัญเท่ากับ 10 บาทต่อหุ้นและราคาเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิเท่ากับ 0.00 บาทต่อหน่วยโดยออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพื่อแลกเปลี่ยนกับหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ในอัตรา แลกเปลี่ยนเท่ากับ 1 ต่อ 1 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2552 บริษัทได้รับหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�นวนทั้งสิ้น 265,449,900 หุ้น คิดเป็นจำ�นวนเงินประมาณ 2,654,499,000 บาท และบริษัทฯได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนเพื่อ แลกเปลี่ยนกับหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ตามที่ได้กล่าวข้างต้นแล้ว ทำ�ให้บริษัทฯถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ของทุนชำ�ระแล้วของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ดังนั้นแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้นดังกล่าวสำ�เร็จตาม ข้อกำ�หนดที่ได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทย ด้วยเหตุนี้ บริษัทฯได้บันทึกบัญชีเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�นวน 2,654.5 ล้านบาทในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บริษัทได้จัดทำ� งบการเงินรวมโดยรวมงบการเงินและผลการดำ�เนินงานของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ และแสดงรายการในส่วนของผูถ้ อื หุน้ เสมือนว่าได้มีการรวมกิจการตั้งแต่ต้นปี 2552 เนื่องจากการปรับโครงสร้างการถือหุ้นครั้งนี้ถือเป็นการรวมกิจการภายใต้ การควบคุมเดียวกัน โดยถือเสมือนว่าบริษัท เป็นบริษัทใหญ่ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ มาตั้งแต่ต้นปี 2552 แล้ว (ข) งบการเงินรวมของกลุ่มบริษัทภายหลังจากการปรับโครงสร้างการถือหุ้นจัดทำ�ขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท และ บริษัทย่อย โดยบริษัทย่อยมีข้อมูลโดยสรุปดังต่อไปนี้

จัดตั้งขึ้นใน ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ประเทศ บริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นโดยตรง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ธุรกิจการธนาคาร ไทย บริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นโดยอ้อม (ถือหุ้นโดยบริษัทย่อย) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ไทย แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (เดิมชื่อ ประเภทจัดการ “บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กองทุน ยูไนเต็ด จำ�กัด”)

ร้อยละของรายได้ที่รวม อยู่ในรายได้รวม อัตราร้อยละ ร้อยละของสินทรัพย์ที่รวม ของการถือหุ้น อยู่ในสินทรัพย์รวม สำ�หรับปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 2553 2552 ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

99.99

99.99

100

100

100

100

99.99

-

-

-

-

-

Annual Report 2010

73


(ค) (ง) (จ) (ฉ)

เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553 ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทย่อย”) ได้เข้าซื้อหุ้นสามัญ ของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ยูไนเต็ด จำ�กัดในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมดจากบริษัทหลักทรัพย์ ยูไนเต็ด จำ�กัด (มหาชน) และกลุ่มผู้ถือหุ้นรายย่อยเดิมในราคารวมประมาณ 16 ล้านบาท และต่อมาบริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุน ยูไนเต็ด จำ�กัด ได้จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด มีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 59 ล้านบาท เป็น 100 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 410,000 หุ้น ในมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท คิดเป็นเงินรวม 41 ล้านบาท ซึ่งบริษัทย่อยได้เข้าซื้อหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าว ทำ�ให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทย่อยมีเงินลงทุนในบริษัทดังกล่าวในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทดังกล่าว รวมประมาณ 57 ล้านบาท บริษทั ฯนำ�งบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดทำ�งบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้มา (วันทีบ่ ริษทั ฯมีอ�ำ นาจในการควบคุม บริษัทย่อย) จนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น งบการเงินของบริษทั ย่อยได้จดั ทำ�ขึน้ โดยมีรอบระยะเวลาบัญชีและใช้นโยบายการบัญชีทสี่ �ำ คัญเช่นเดียวกันกับของบริษทั ฯ ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย คือ จำ�นวนกำ�ไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และ แสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุลรวม

3.3 งบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัทฯได้จัดทำ�งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยตามวิธีราคาทุน

4. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ ในระหว่างปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ตามที่ระบุ ข้างล่างนี้ (ก มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 (เว้นแต่แม่บทการ บัญชีซึ่งมีผลบังคับใช้ทันที) แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) การนำ�เสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) สินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) สัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) รายได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) ต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่ เงินเฟ้อรุนแรง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า 74

รายงานประจำ�ปี 2553


มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15

กำ�ไรต่อหุ้น งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ การรวมธุรกิจ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำ�เนินงานที่ยกเลิก การสำ�รวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์

(ข) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) การบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ฝ่ายบริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อยเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชีข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงินสำ�หรับปีที่เริ่ม ใช้มาตรฐานดังกล่าวยกเว้น (ก) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ ซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อยได้บันทึกบัญชีภาษีเงินได้ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับดังกล่าวในปี 2553 และถือเป็นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีดังกล่าวก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ตามที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 7 และ (ข) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์ของพนักงาน ซึ่งฝ่ายบริหารคาดว่าจะมีผลกระทบอย่างมีสาระสำ�คัญต่อ งบการเงินในปีที่บริษัทฯและบริษัทย่อยนำ�มาตรฐานการบัญชีดังกล่าวมาถือปฏิบัติ โดยมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำ�หนด ให้กจิ การรับรูผ้ ลประโยชน์ทใี่ ห้กบั พนักงานเป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ กิจการได้รบั บริการจ้างงานจากพนักงานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ กิจการจะต้องประเมินและบันทึกหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงานเนื่องจากเกษียณอายุ โดยใช้การคำ�นวณตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึง่ ในปัจจุบนั บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูผ้ ลประโยชน์ทใี่ ห้กบั พนักงานดังกล่าวเมือ่ เกิดรายการ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวในปี 2554 จะมีผลกระทบอย่างมีสาระสำ�คัญต่องบการเงินสำ�หรับปี 2554 โดย จะมีผลทำ�ให้กำ�ไรสะสมยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมลดลงเป็น จำ�นวนเงินประมาณ 25 ล้านบาท (สุทธิจากภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้อง)

5. นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ 5.1 การรับรู้รายได้

(ก) ดอกเบี้ยและส่วนลดรับจากเงินให้สินเชื่อ บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจการธนาคารรับรู้รายได้ดอกเบี้ยและส่วนลดรับจากเงินให้สินเชื่อตามเกณฑ์คงค้างจากยอด เงินต้นที่ค้างชำ�ระ โดยจะหยุดรับรู้รายได้ดอกเบี้ยตามเกณฑ์คงค้างสำ�หรับ (ก) เงินให้สินเชื่อที่ผิดนัดชำ�ระเงินต้นหรือ ดอกเบี้ยเกินกำ�หนดสามเดือนนับจากวันครบกำ�หนดชำ�ระ (ข) เงินให้สินเชื่อที่ค้างชำ�ระไม่เกิน 3 เดือน แต่ถูกจัดชั้นเป็น สินทรัพย์จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ และ (ค) เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้แฟคตอริ่งที่ผิดนัดชำ�ระนับแต่วันที่ ครบกำ�หนด โดยจะรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์เงินสดและจะกลับรายการดอกเบี้ยค้างรับจากสินเชื่อที่ผิดนัดชำ�ระดังกล่าว ทีไ่ ด้บนั ทึกบัญชีเป็นรายได้แล้วนัน้ ออกจากบัญชี เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย เว้นแต่ดอกเบีย้ Annual Report 2010

75


ค้างรับที่เกิดก่อนประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยลงวันที่ 31 มีนาคม 2541 บริษัทย่อยจะไม่ยกเลิกรายการดอกเบี้ย ค้างรับที่ได้บันทึกไว้แล้ว บริษทั ย่อยรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ สำ�หรับลูกหนีภ้ ายหลังการปรับโครงสร้างหนีใ้ หม่ตามเกณฑ์ คงค้างเช่นเดียวกับเงินให้สนิ เชือ่ ทีก่ ล่าวข้างต้น ยกเว้นหนีต้ ามสัญญาปรับโครงสร้างหนีท้ อี่ ยูร่ ะหว่างการติดตามผลการปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการปรับโครงสร้าง หนี้ใหม่ ซึ่งจะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์เงินสดจนกว่าลูกหนี้จะปฏิบัติตามเงื่อนไขการปรับโครงสร้างหนี้ติดต่อกันไม่น้อยกว่า สามเดือนหรือสามงวดการชำ�ระเงินแล้วแต่ระยะเวลาใดจะนานกว่า ในกรณีที่ดอกเบี้ยหรือส่วนลดได้คิดรวมอยู่ในตั๋วเงินหรือเงินให้สินเชื่อแล้ว ดอกเบี้ยหรือส่วนลดดังกล่าวจะตั้งพักไว้และ ตัดจำ�หน่ายเป็นรายได้เฉลี่ยเท่าๆ กันตลอดอายุของตั๋วเงิน หรือระยะเวลาของเงินให้สินเชื่อนั้น (ข) ดอกเบี้ยและเงินปันผลจากเงินลงทุน ดอกเบีย้ จากเงินลงทุนถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลจากเงินลงทุนจะถือเป็นรายได้เมือ่ มีสทิ ธิในการรับเงินปันผล (ค) กำ�ไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุน กำ�ไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนถือเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่าย ณ วันที่ที่เกิดรายการ (ง) ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าธรรมเนียมถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง ค่าบริการรับรูเ้ ป็นรายได้เมือ่ ได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาตามขัน้ ความสำ�เร็จ ของงาน 5.2 การรับรู้ค่าใช้จ่าย

(ก) ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบีย้ จ่ายถือเป็นค่าใช้จา่ ยตามเกณฑ์คงค้าง ในกรณีทดี่ อกเบีย้ ได้คดิ รวมอยูใ่ นตัว๋ เงินจ่ายแล้ว ดอกเบีย้ นัน้ จะบันทึกเป็น ดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชีและจะตัดจำ�หน่ายเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยเท่าๆ กันตลอดอายุของตั๋วเงินนั้น (ข) ค่าใช้จ่ายอื่น บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้เกณฑ์คงค้างในการรับรู้ค่าใช้จ่าย 5.3 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง รายการ “เงินสด” ที่แสดงอยู่ในงบดุลซึ่งประกอบไปด้วยเงินสดในมือ และ เช็คระหว่างเรียกเก็บ 5.4 หลักทรัพย์ซื้อโดยมีสัญญาขายคืน/หลักทรัพย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืน

บริษัทย่อยมีการทำ�สัญญาซื้อหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายคืนหรือมีการทำ�สัญญาขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาซื้อคืนโดย มีการกำ�หนดวันเวลา และราคาทีแ่ น่นอนในอนาคต จำ�นวนเงินทีจ่ า่ ยสำ�หรับหลักทรัพย์ซอื้ โดยมีสญั ญาขายคืนในอนาคตแสดงเป็น สินทรัพย์ภายใต้บญั ชี “รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน” ด้านสินทรัพย์ในงบดุล โดยหลักทรัพย์ภายใต้สญั ญาขายคืนถือเป็น หลักประกัน ในขณะที่หลักทรัพย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืนในอนาคตแสดงเป็นหนี้สินภายใต้บัญชี “รายการระหว่างธนาคารและ ตลาดเงิน” ด้านหนี้สินในงบดุลด้วยจำ�นวนเงินที่ได้รับมาจากการขายหลักทรัพย์ดังกล่าว ผลต่างระหว่างราคาซือ้ และราคาขายจะถูกรับรูต้ ามเกณฑ์คงค้างตามระยะเวลาของรายการซึง่ แสดงรวมอยูใ่ นดอกเบีย้ รับ หรือดอกเบี้ยจ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน 5.5 เงินลงทุน

เงินลงทุนชั่วคราว หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการตั้งใจจะถือไว้ไม่เกิน 1 ปี เงินลงทุนชั่วคราว รวมถึง หลักทรัพย์เผื่อขาย และตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนดที่มีวันครบกำ�หนดภายใน 1 ปีนับจากวันที่ในงบดุล

76

รายงานประจำ�ปี 2553


เงินลงทุนระยะยาว หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการตั้งใจจะถือไว้เกิน 1 ปี เงินลงทุนระยะยาว รวมถึงหลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนดที่มีระยะเวลาครบกำ�หนดชำ�ระเกิน 1 ปีนับจากวันที่ในงบดุล และเงินลงทุนทั่วไป เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ทั้งที่ถือไว้เป็นเงินลงทุนชั่วคราวและระยะยาว แสดงตามมูลค่ายุติธรรม บริษัทย่อยบันทึก การเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของหลักทรัพย์ดงั กล่าวเป็นรายการต่างหากในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และจะบันทึกเป็นกำ�ไรหรือขาดทุน ในงบกำ�ไรขาดทุนเมื่อได้จำ�หน่ายหลักทรัพย์นั้นออกไป เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนดแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุนตัดจำ�หน่าย บริษัทย่อยตัดบัญชีส่วนเกิน/ส่วน ต่ำ�กว่ามูลค่าตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึ่งจำ�นวนที่ตัดจำ�หน่ายนี้จะแสดงเป็นรายการปรับลด/เพิ่มกับรายได้ดอกเบี้ย เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดซึ่งถือเป็นเงินลงทุนทั่วไปแสดงมูลค่าตามราคาทุนสุทธิจาก ค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน ในกรณีทมี่ กี ารโอนเปลีย่ นประเภทเงินลงทุน บริษทั ย่อยจะปรับเปลีย่ นราคาของเงินลงทุนใหม่โดยใช้มลู ค่ายุตธิ รรม ณ วันที่ โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนได้บันทึกเป็นรายการกำ�ไรหรือขาดทุน ในงบกำ�ไรขาดทุนหรือแสดงเป็นส่วนเกินทุนหรือส่วนต่�ำ กว่าทุนซึง่ แสดงแยกต่างหากในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และทยอยตัดจำ�หน่ายตลอด อายุที่เหลือของตราสารหนี้แล้วแต่ประเภทเงินลงทุนที่ถูกโอนและ/หรือประเภทเงินลงทุนที่โอนเปลี่ยน มูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด คำ�นวณจากราคาเสนอซื้อหลังสุด ณ สิ้นวันทำ�การสุดท้ายของปี ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มูลค่ายุติธรรมของตราสารหนี้คำ�นวณจากอัตราผลตอบแทนของสมาคมตลาดตราสาร หนี้ไทย และมูลค่ายุติธรรมของหน่วยลงทุนคำ�นวณจากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุน ณ วันที่ในงบดุล บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่า (ถ้ามี) ของเงินลงทุนในงบกำ�ไรขาดทุน บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักในการคำ�นวณต้นทุนของเงินลงทุนเมื่อมีการขาย 5.6 เงินให้สินเชื่อ

บริษัทย่อยแสดงเงินให้สินเชื่อเฉพาะยอดเงินต้นไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ ยกเว้นเงินเบิกเกินบัญชีแสดงด้วยยอดเงินต้นรวม ดอกเบี้ย รายได้รอการตัดบัญชีและส่วนลดรับล่วงหน้าของเงินให้สินเชื่อที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้แสดงเป็นรายการหักจากเงินให้ สินเชื่อ 5.7 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

บริษัทย่อยตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยอ้างอิงตามหลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดของธนาคารแห่งประเทศไทย (“ธปท.”) และ ปรับปรุงเพิม่ เติมโดยการประเมินฐานะลูกหนีจ้ ากประสบการณ์ในการพิจารณาความเสีย่ งด้านเครดิตและมูลค่าหลักประกันประกอบ สำ�หรับลูกหนีท้ จี่ ดั ชัน้ ปกติ (รวมลูกหนีท้ ผี่ า่ นการปรับโครงสร้างหนี)้ และลูกหนีจ้ ดั ชัน้ กล่าวถึงเป็นพิเศษ บริษทั ย่อยกันสำ�รอง ในอัตราไม่ต�่ำ กว่าร้อยละ 1 และ 2 ตามลำ�ดับของยอดหนีเ้ งินต้นคงค้าง (ไม่รวมดอกเบีย้ ) หลังหักหลักประกันตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนด โดย ธปท. สำ�หรับลูกหนี้ด้อยคุณภาพ ซึ่งได้แก่เงินให้สินเชื่อที่จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย และจัดชั้นสงสัยจะสูญ บริษัทย่อย บันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราร้อยละ 100 สำ�หรับส่วนต่างของยอดมูลหนี้ตามบัญชีที่สูงกว่า มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้หรือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่าย หลักประกันตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนดโดยธปท. ทัง้ นี้ อัตราดอกเบีย้ คิดลด และระยะเวลาทีค่ าดว่าจะได้รบั จากการจำ�หน่ายหลักประกัน ที่ใช้ในการคำ�นวณมูลค่าปัจจุบันเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดโดย ธปท. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ตั้งเพิ่มบันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายในแต่ละปี การตัดจำ�หน่ายลูกหนี้เป็นหนี้สูญจะนำ�ไปลดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ส่วนหนี้สูญที่ได้รับคืนจะบันทึกเป็นรายได้ในงบกำ�ไรขาดทุน ในปีที่ได้รับคืน

Annual Report 2010

77


5.8 การปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหาและส่วนสูญเสียจากการปรับโครงสร้างหนี้

บริษัทย่อยบันทึกรายการและส่วนสูญเสียที่เกี่ยวข้องกับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหาโดยอ้างอิงตามหลักเกณฑ์ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ในกรณีการปรับโครงสร้างหนี้โดยการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการชำ�ระหนี้ บริษัทย่อยจะคำ�นวณมูลค่าปัจจุบันของกระแส เงินสดที่คาดว่าจะได้รับชำ�ระหนี้ในอนาคตตามเงื่อนไขในสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยตามสัญญา เดิม ส่วนของภาระหนีค้ งค้างตามบัญชีของลูกหนีท้ สี่ งู กว่ามูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดทีค่ าดว่าจะได้รบั ในอนาคต จะถูกบันทึก เป็นค่าเผือ่ การปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ และถือเป็นค่าใช้จา่ ยทัง้ จำ�นวนในงบกำ�ไรขาดทุน ณ วันทีม่ กี ารปรับโครงสร้าง หนี้เฉพาะส่วนของค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ที่คำ�นวณได้ที่สูงกว่าค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่มีอยู่เดิม ในกรณีการปรับปรุงโครงสร้างหนีซ้ งึ่ ผ่านกระบวนการในชัน้ ศาล บริษทั ย่อยจะคำ�นวณกระแสเงินสดคิดลดจากการจำ�หน่าย หลักประกันหรือกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับชำ�ระหนี้ในอนาคตด้วยอัตราดอกเบี้ยตามสัญญาเดิม ส่วนของภาระหนี้คงค้างตาม บัญชีของลูกหนี้ที่สูงกว่ามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจะถูกบันทึกเป็นค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการ ปรับโครงสร้างหนี้และถือเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำ�นวนในงบกำ�ไรขาดทุน ณ วันที่มีการปรับโครงสร้างหนี้เฉพาะส่วนของค่าเผื่อการปรับ มูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ที่คำ�นวณได้ที่สูงกว่าค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่มีอยู่เดิม ในกรณีที่เป็นการโอนทรัพย์ชำ�ระหนี้และ/หรือแปลงหนี้เป็นทุน บริษัทย่อยรับรู้กำ�ไรขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ ในงบกำ�ไรขาดทุนด้วยส่วนของภาระหนีค้ งค้างตามบัญชีของลูกหนีท้ สี่ งู กว่าราคายุตธิ รรมของสินทรัพย์และ/หรือเงินลงทุนทีร่ บั โอน เพือ่ ชำ�ระหนี้ (หลังจากหักด้วยประมาณการค่าใช้จา่ ย) ทัง้ นี้ สินทรัพย์ทไี่ ด้รบั โอนมาจะบันทึกด้วยจำ�นวนทีไ่ ม่สงู กว่ายอดคงค้างตาม บัญชีของมูลหนี้บวกด้วยดอกเบี้ยที่บริษัทย่อยซึ่งเป็นเจ้าหนี้มีสิทธิได้รับตามกฎหมายที่ยังไม่ได้บันทึกบัญชี ในกรณีที่เป็นการปรับโครงสร้างหนี้โดยการลดเงินต้นและ/หรือดอกเบี้ยค้างรับที่เคยรับรู้เป็นรายได้ บริษัทย่อยจะรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายทันที 5.9 ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์/ค่าเสื่อมราคา

ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์แสดงตามราคาทุนหลังหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่อม ราคาของส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์คำ�นวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณ ดังต่อไปนี้ ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า - 5 ปี เครื่องตกแต่งสำ�นักงาน - 5 ปี เครื่องใช้สำ�นักงาน - 5 ปี ยานพาหนะ - 5 ปี ค่าเสื่อมราคาของส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์ได้แสดงรวมอยู่ในงบกำ�ไรขาดทุน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำ�หรับส่วนปรับปรุงอาคารเช่าระหว่างก่อสร้าง 5.10 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน/ค่าตัดจำ�หน่าย

บริษทั และบริษทั ย่อยวัดมูลค่าเริม่ แรกของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนด้วยราคาทุน และภายหลังการรับรูร้ ายการครัง้ แรกสินทรัพย์ ไม่มตี วั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสมและค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) บริษทั ย่อยตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน ที่มีอายุการให้ประโยชน์จำ�กัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทและบริษัทย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจำ�หน่ายและวิธีการตัด จำ�หน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำ�หน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำ�กัดของบริษัทฯและบริษัทย่อยได้แก่ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ ซึ่งมีอายุการ ให้ประโยชน์โดยประมาณ 5 ปี และไม่มีการคิดค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ระหว่างการพัฒนา 5.11 การด้อยค่าของสินทรัพย์

ทุกวันที่ในงบดุลบริษัทฯและบริษัทย่อยจะทำ�การประเมินการด้อยค่าของส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์ และ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนของบริษัทย่อย หากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่า 78

รายงานประจำ�ปี 2553


ในงบกำ�ไรขาดทุนเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่า จะได้รับคืนหมายถึง มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทและบริษัทย่อยประเมินมูลค่า ซึ่งสะท้อนถึงจำ�นวนเงินที่บริษัท และ บริษทั ย่อยสามารถจะได้มาจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนในการจำ�หน่าย โดยการจำ�หน่ายนัน้ ผูซ้ อื้ กับผูข้ ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผูท้ ไี่ ม่มคี วามเกีย่ วข้องกัน ในการประเมิน มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์บริษัทฯและบริษัทย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่บริษัทฯและบริษัทย่อยคาดว่าจะได้รับ จากสินทรัพย์และคำ�นวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาด ปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กำ�ลังพิจารณาอยู่ 5.12 ผลประโยชน์พนักงาน

บริษัทและบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคม และกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพเป็น ค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 5.13 ภาษีเงินได้

บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำ�นวณจากกำ�ไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร (ก) ภาษีเงินได้ตามแบบแสดงรายการ บริษัทและบริษัทย่อยคำ�นวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำ�ไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดในกฎหมายภาษีอากร (ข) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกสินทรัพย์/หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีซึ่งคิดคำ�นวณขึ้นจากผลแตกต่างชั่วคราว ณ วันที่ ในงบดุล ระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์หรือหนี้สินกับราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หรือหนี้สินนั้น โดยจะรับรู้เป็นรายได้ภาษีหรือ ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จา่ ยภาษีเมือ่ รายได้สามารถรับรูเ้ ป็นรายได้แล้วตามกฎหมายภาษีอากรหรือค่าใช้จา่ ยทีบ่ นั ทึกไว้ได้เกิดขึน้ จริงและ ถือหักเป็นค่าใช้จ่ายได้แล้วตามกฎหมายภาษีอากร บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีหากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัท และ บริษทั ย่อยจะมีก�ำ ไรทางภาษีจากการดำ�เนินงานในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะนำ�สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีนนั้ มาใช้ประโยชน์ได้ บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกหนี้สินภาษีเงินได้สำ�หรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ต้องเสียภาษีทุกรายการ สินทรัพย์/หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคำ�นวณขึ้นด้วยอัตราภาษีที่บริษัทและบริษัทย่อยคาดว่าจะได้รับประโยชน์ จากสินทรัพย์ภาษีเงินได้หรือจะต้องจ่ายชำ�ระหนี้สินภาษีเงินได้ ทั้งนี้อัตราภาษีต้องเป็นไปตามกฎหมายภาษีอากรที่มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ในงบดุล บริษัทและบริษัทย่อยจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้อง กับรายการที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น บริษทั และบริษทั ย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ ทุกวันทีใ่ นงบดุล และจะปรับลด มูลค่าตามบัญชีดังกล่าวเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทและบริษัทย่อยจะไม่มีกำ�ไรทางภาษีเพียงพอต่อการนำ�สินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ 5.14 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทและบริษัทย่อย หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำ�นาจควบคุมบริษัท และ บริษัทย่อย หรือถูกควบคุมโดยบริษัทและบริษัทย่อยไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน กับบริษัทฯและบริษัทย่อย นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันยังหมายรวมถึงบริษทั ร่วมและบุคคลซึง่ มีอทิ ธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญไม่วา่ จะเป็น โดยทางตรงหรือทางอ้อมกับบริษัทและบริษัทย่อย กรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทและบริษัทย่อยที่มีอำ�นาจในการวางแผน และควบคุมการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อยตลอดทั้งสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลดังกล่าวและกิจการที่บุคคล ดังกล่าวมีอำ�นาจควบคุมหรือมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม Annual Report 2010

79


6. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญ ในการจัดทำ�งบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการ ในเรือ่ งทีม่ คี วามไม่แน่นอนซึง่ อาจมีผลกระทบต่อจำ�นวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและข้อมูลทีเ่ ปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญ มีดังต่อไปนี้ 6.1 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน

ในการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินทีไ่ ม่มกี ารซือ้ ขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ในตลาดซือ้ ขาย คล่อง ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้หลักเกณฑ์และแบบจำ�ลอง การประเมินมูลค่าที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในการคำ�นวณมาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยคำ�นึง ถึงสภาพคล่อง และข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว 6.2 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับเกิดจากการปรับมูลค่าของเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ จากความเสี่ยงด้านเครดิตที่อาจเกิดขึ้น ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากเงินให้ สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับเมื่อลูกหนี้มีปัญหาในการจ่ายชำ�ระคืนหนี้เงินต้นและ/หรือดอกเบี้ย โดยใช้การวิเคราะห์สถานะของ ลูกหนี้รายตัว ประวัติการชำ�ระหนี้ของลูกหนี้ ประสบการณ์ในการเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้ในอดีต มูลค่าของหลักประกันและสภาวะ เศรษฐกิจแวดล้อมในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การใช้ประมาณการและข้อสมมติฐานที่แตกต่างกัน อาจมีผลต่อจำ�นวนค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ดังนั้นการปรับปรุงค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอาจมีขึ้นได้ในอนาคต 6.3 ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยพิจารณาค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุนในตราสารทุนทีจ่ ดั ประเภทเผือ่ ขาย เมือ่ พบว่ามูลค่ายุตธิ รรม ของเงินลงทุนดังกล่าวลดลงอย่างมีสาระสำ�คัญ และเป็นระยะเวลานาน หรือมีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่า ซึ่งความมีสาระสำ�คัญ และ ระยะเวลานั้น ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร 6.4 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน

ในการบันทึกและวัดมูลค่าเริม่ แรกและการพิจารณาการด้อยค่าของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนนัน้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องประมาณ กระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์หรือหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลด ที่เหมาะสมในการคำ�นวณหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ 6.5 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในบัญชี เมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะมีกำ�ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ภาษีเงินได้นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้อง ประมาณการว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยควรรับรูจ้ �ำ นวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นจำ�นวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจำ�นวน กำ�ไรที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา 6.6 การประเมินความเสี่ยงและผลประโยชน์

ในการพิจารณาการรับรู้หรือการตัดบัญชีสินทรัพย์และหนี้สิน ฝ่ายบริหารใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาและประเมินความ เสี่ยงและผลประโยชน์ ถึงแม้ว่าฝ่ายบริหารจะได้ใช้ดุลยพินิจและข้อมูลที่ดีที่สุดในสภาวะปัจจุบันในการประเมินความเสี่ยงและ ผลประโยชน์ ความเสี่ยงและผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจริงนั้นอาจแตกต่างไปจากที่ประมาณไว้

80

รายงานประจำ�ปี 2553


7. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ ในปี 2553 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้นำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้ มาถือปฏิบัติก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชีดงั กล่าวกำ�หนดให้กจิ การระบุผลแตกต่างชัว่ คราวทีเ่ กิดจากความแตกต่างของมูลค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ ระหว่าง เกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากรเพือ่ รับรูผ้ ลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนด ทัง้ นี้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกผลจากการเปลีย่ นนโยบายการบัญชีดงั กล่าวโดยปรับปรุงกับกำ�ไรสะสมต้นปี 2552 โดยถือเสมือน ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยได้บันทึกสินทรัพย์/หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีมาโดยตลอด และแสดงไว้ในหัวข้อ “ผลสะสมจากการ ปรับปรุงภาษีเงินได้” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น ผลกระทบของรายการปรับปรุงที่มีต่องบการเงินรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น 47 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น 6 ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุนลดลง 6 กำ�ไรสะสม - ยังไม่ได้จัดสรรเพิ่มขึ้น 47 งบกำ�ไรขาดทุนรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น 89 กำ�ไรสุทธิลดลง 89 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง (บาทต่อหุ้น) 0.34 กำ�ไรต่อหุ้นปรับลดลดลง (บาทต่อหุ้น) 0.34 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ดังกล่าวข้างต้นไม่มีผลกระทบต่องบการเงินเฉพาะกิจการ

8. รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์)

ในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินอื่น รวมในประเทศ บวก: ดอกเบี้ยค้างรับ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน - สุทธิ

31 ธันวาคม 2553 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา รวม

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา

รวม

324,810,345 - 324,810,345 472,877,194 2,540,000,000 3,012,877,194 149,395,165 - 149,395,165 108,502,431 - 108,502,431 - 4,717,012,160 4,717,012,160 341 160,000,000 160,000,341 474,205,510 4,717,012,160 5,191,217,670 581,379,966 2,700,000,000 3,281,379,966 - 2,162,216 2,162,216 - 359,584 359,584 - (47,060,121) (47,060,121) - (1,600,000) (1,600,000) 474,205,510 4,672,114,255 5,146,319,765 581,379,966 2,698,759,584 3,280,139,550

Annual Report 2010

81


(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31 ธันวาคม 2553 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา รวม

ในประเทศ ธนาคารพาณิชย์ รายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน

31 ธันวาคม 2552 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา

รวม

6,709,890

337,008,954

343,718,844

99,931,039

-

99,931,039

6,709,890

337,008,954

343,718,844

99,931,039

-

99,931,039

9. เงินลงทุน 9.1 จำ�แนกตามประเภทของเงินลงทุน

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน/ ราคาทุน/ ราคาตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

เงินลงทุนชั่วคราว หลักทรัพย์เผื่อขาย

หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน รวม บวก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด - ภายใน 1 ปี หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด - ภายใน 1 ปี เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ

เงินลงทุนระยะยาว ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด

หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ บวก: ส่วนเกินทุนจากการโอนเปลี่ยนประเภท เงินลงทุนคงเหลือ รวมหลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด

82

รายงานประจำ�ปี 2553

34,153,794 - 34,153,794 3,148,744 37,302,538

37,302,538 - 37,302,538 - 37,302,538

196,322,138 140,188,731 336,510,869 12,304,534 348,815,403

208,208,064 140,607,339 348,815,403 348,815,403

39,973,562 39,973,562 77,276,100

40,037,929 40,037,929 77,340,467

63,407,781 63,407,781 412,223,184

64,948,487 64,948,487 413,763,890

14,001,445,226 14,351,575,896 9,848,903,067 9,876,126,076 6,132,054 - 7,383,265 14,007,577,280 14,351,575,896 9,856,286,332 9,876,126,076 40,000,000 41,683,548 40,000,000 38,431,188 14,047,577,280 14,393,259,444 9,896,286,332 9,914,557,264


(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน/ ราคาทุน/ ราคาตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

เงินลงทุนทั่วไป ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด ในประเทศ หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุนทั่วไป - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ

5,365,310 5,365,310 (565,310) (565,310) 4,800,000 4,800,000 14,052,377,280 9,901,086,332

9.2 จำ�แนกตามระยะเวลาคงเหลือของตราสารหนี้

(หน่วย: บาท)

เงินลงทุนเผือ่ ขาย หลักทรัพย์รฐั บาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนีภ้ าคเอกชน รวม บวก: ค่าเผือ่ การปรับมูลค่า เงินลงทุนเผือ่ ขาย - สุทธิ ตราสารหนีท้ จ่ี ะถือจนครบกำ�หนด หลักทรัพย์รฐั บาล และรัฐวิสาหกิจ บวก: ส่วนเกินทุนจากการ โอนเปลีย่ นประเภทเงินลงทุน รวมหลักทรัพย์รฐั บาล และรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนีภ้ าคเอกชน รวมตราสารหนีท้ จ่ี ะถือ จนครบกำ�หนด รวมตราสารหนี ้

งบการเงินรวม

1 ปี

- - - - -

31 ธันวาคม 2553 ครบกำ�หนดภายใน 1 ปี - 5 ปี เกิน 5 ปี

14,153,794 - 14,153,794 411,925 14,565,719

20,000,000 - 20,000,000 2,736,819 22,736,819

รวม

31 ธันวาคม 2552 ครบกำ�หนดภายใน 1 ปี - 5 ปี เกิน 5 ปี

1 ปี

34,153,794 - - 140,188,731 34,153,794 140,188,731 3,148,744 418,608 37,302,538 140,607,339

รวม

- 196,322,138 196,322,138 - - 140,188,731 - 196,322,138 336,510,869 - 11,885,926 12,304,534 - 208,208,064 348,815,403

39,973,562 3,971,610,551 10,029,834,675 14,041,418,788 63,407,781 2,376,214,156 7,472,688,911 9,912,310,848 -

1,448,300

4,683,754

6,132,054

-

2,105,800

5,277,465

7,383,265

39,973,562 3,973,058,851 10,034,518,429 14,047,550,842 63,407,781 2,378,319,956 7,477,966,376 9,919,694,113 - - 40,000,000 40,000,000 - - 40,000,000 40,000,000 39,973,562 3,973,058,851 10,074,518,429 14,087,550,842 63,407,781 2,378,319,956 7,517,966,376 9,959,694,113 39,973,562 3,987,624,570 10,097,255,248 14,124,853,380 204,015,120 2,378,319,956 7,726,174,440 10,308,509,516

Annual Report 2010

83


9.3 เงินลงทุนในบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ทุนเรียกชำ�ระแล้ว 31 ธันวาคม บริษทั

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน)

สัดส่วนเงินลงทุน 31 ธันวาคม

2553

2552

2553 ร้อยละ

2552 ร้อยละ

5,500

2,654.5

99.99

99.99

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2553 2552

5,500

(หน่วย: ล้านบาท)

2,654.5

เงินปันผลทีบ่ ริษทั ฯ รับระหว่างปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

375

ในเดือนสิงหาคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อยมีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำ�เนินงานงวดบัญชีครึ่งปีแรกของปี 2552 ในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท รวมเป็นเงินปันผลจ่าย 26,545,000 บาท อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ไม่ได้รับรู้รายได้เงินปันผลดังกล่าวเนื่องจากเงินปันผลถูกประกาศและจ่ายก่อนที่บริษัทฯ เข้าถือหุ้นบริษัทย่อยตามแผนการปรับ โครงสร้างการถือหุ้น เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารของบริษัทย่อยครั้งที่ 6/2553 มีมติให้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน จำ�นวน 284,550,000 หุน้ มูลค่าตราไว้หนุ้ ละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 2,845,500,000 บาท ให้แก่บริษทั ฯ ซึง่ เป็นผูถ้ อื หุน้ ในอัตราร้อยละ 99.99 ของทุนที่ออกจำ�หน่ายและเรียกชำ�ระแล้วของบริษัทย่อย และให้เรียกชำ�ระค่าหุ้นเพิ่มทุนในวันที่ 7 เมษายน 2553 ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้จ่ายชำ�ระเงินค่าหุ้นเพิ่มทุนในวันดังกล่าวแล้ว และบริษัทย่อยได้จดทะเบียนเพิ่มทุนชำ�ระแล้วต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อ วันที่ 8 เมษายน 2553 9.4 ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 (ปรับปรุงใหม่) ยอดคงเหลือต้นปี 19,687,800 140,113,701 เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ 1,427,655 4,171,983 ลดลงจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ (158,595) (27,025,043) ลดลงโดยการรับรู้เป็นรายได้จากการครบกำ�หนดของเงินลงทุน (418,608) ตัดจำ�หน่ายส่วนเกินทุนที่เกิดจากการโอนเปลี่ยนประเภท เงินลงทุนโดยการรับรู้เป็นรายได้ในงบกำ�ไรขาดทุน (1,251,212) (1,251,211) โอนไปบัญชีกำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน (10,006,243) (96,321,630) ยอดคงเหลือปลายปี 9,280,797 19,687,800 หัก: ผลกระทบจากหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ในอัตราภาษีร้อยละ 30 (2,784,239) (5,906,340) ยอดคงเหลือปลายปี - สุทธิ 6,496,558 13,781,460

84

รายงานประจำ�ปี 2553


9.5 กำ�ไรจากเงินลงทุน

กำ�ไรจากเงินลงทุนสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สามารถแบ่งประเภทได้ดังต่อไปนี้

งบการเงินรวม

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

(หน่วย: บาท)

กำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุน กำ�ไรจากเงินลงทุน

10,314,374 - 10,314,374

90,359,011 (1,280) 90,357,731

9.6 เงินลงทุนในบริษัทที่มีปัญหาเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

จำ�นวนราย

เงินลงทุนทัว่ ไป บริษทั ทีร่ ายงานของผูส้ อบบัญชี ระบุวา่ บริษทั มีปญั หาเกีย่ วกับ การดำ�เนินงานต่อเนือ่ ง

2 2

31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 มูลค่ายุติธรรม/ มูลค่ายุติธรรม/ ราคาตาม ค่าเผื่อ ราคาตาม ค่าเผื่อ ราคาทุน บัญชี การด้อยค่า จำ�นวนราย ราคาทุน บัญชี การด้อยค่า

480,515 480,515

- -

480,515 480,515

2 2

480,515 480,515

- 480,515 - 480,515

9.7 เงินลงทุนในตราสารทุนทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยถือหุน้ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 10 ขึน้ ไปของทุนชำ�ระแล้ว แต่ไม่เข้าข่ายเป็นเงินลงทุน ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีเงินลงทุนในบริษัทหรือกองทุนใด ๆ ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไปของทุนชำ�ระแล้วที่ไม่เข้าข่ายเป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม 9.8 เงินลงทุนที่มีภาระผูกพัน

9.8.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ย่อยได้น�ำ พันธบัตรรัฐวิสาหกิจจำ�นวนรวมประมาณ 2,663.2 ล้านบาท (มูลค่าตามหน้าตัว๋ ) วางเป็นประกันการขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาซื้อคืนกับธนาคารพาณิชย์ 2 แห่ง (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ และ บริษทั ย่อย ไม่มกี ารนำ�พันธบัตรรัฐบาลและพันธบัตรรัฐวิสาหกิจใดๆ วางเป็นประกันการขายหลักทรัพย์โดยมีสญั ญาซือ้ คืน) 9.8.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีภาระผูกพันตามสัญญาขายคืน ใดๆ ในตราสารทุนหรือ ตราสารหนี้ที่ได้รับจากการปรับโครงสร้างหนี้

Annual Report 2010

85


10. เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ 10.1 จำ�แนกตามประเภทสินเชื่อ

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

เงินให้กู้ยืม เงินเบิกเกินบัญชี ตั๋วเงิน รวมเงินให้สินเชื่อ บวก: ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ

35,910,527,461 1,547,640,147 5,039,639,914 42,497,807,522 61,609,879 42,559,417,401 (414,523,735) (53,488,837) 42,091,404,829

30,065,152,408 992,516,244 4,546,535,344 35,604,203,996 58,391,878 35,662,595,874 (262,733,695) (46,305,655) 35,353,556,524

10.2 จำ�แนกตามระยะเวลาที่เหลือของสัญญาการให้สินเชื่อ

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

ไม่เกิน 1 ปี (1) เกิน 1 ปี รวม บวก: ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ (1)

9,968,580,182 32,529,227,340 42,497,807,522 61,609,879 42,559,417,401

8,355,086,090 27,249,117,906 35,604,203,996 58,391,878 35,662,595,874

รวมสัญญาที่ไม่มีกำ�หนดระยะเวลาและ/หรือสัญญาที่ครบกำ�หนดแล้ว

10.3 จำ�แนกตามสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของลูกหนี้

31 ธันวาคม 2553

ในประเทศ

เงินบาท บวก: ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อและ ดอกเบี้ยค้างรับ

86

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

รายงานประจำ�ปี 2553

ต่างประเทศ

31 ธันวาคม 2552 รวม

ในประเทศ

ต่างประเทศ

รวม

42,497,807,522 61,609,879

- 42,497,807,522 35,604,203,996 - 61,609,879 58,391,878

- 35,604,203,996 - 58,391,878

42,559,417,401

- 42,559,417,401 35,662,595,874

- 35,662,595,874


10.4 จำ�แนกตามประเภทธุรกิจและการจัดชั้น

งบการเงินรวม

31 ธันวาคม 2553 ปกติ

กล่าวถึง เป็นพิเศษ

การเกษตรและเหมืองแร่ 12,392,904 - อุตสาหกรรมการผลิต และการพาณิชย์ 4,204,851,649 58,049,072 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง 3,147,450,465 6,696,187 การสาธารณูปโภคและบริการ 4,527,750,655 5,427,720 สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย 27,505,089,237 648,275,455 อื่นๆ 1,732,524,795 21,893,480 รวมเงินให้สินเชื่อ และดอกเบี้ยค้างรับ 41,130,059,705 740,341,914

ตำ�่กว่า มาตรฐาน

สงสัย

-

การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิต และการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย

4,431,061

-

377,990,718 233,324,442 42,559,417,401

ตำ�่กว่า มาตรฐาน

(หน่วย: บาท)

สงสัย

สงสัย จะสูญ

-

-

3,815,742,276 261,115,540 14,241,418 1,937,113,533 6,506,562 - 1,912,593,505 26,429,389 866,665 25,415,215,837 575,978,784 112,085,999

558,168 106,848 14,571,584

1,258,782,944 13,422,253

12,392,904

77,700,622

31 ธันวาคม 2552 กล่าวถึง เป็นพิเศษ

-

47,159,288 15,065,383 4,329,352,489 674,573 5,373,041 3,165,854,466 - 23,692,375 4,556,870,750 323,924,283 181,775,413 28,723,493,438 6,232,574 7,418,230 1,771,453,354

ปกติ

รวม

4,227,097 5,660,200 - 64,429,050 3,384,275

งบการเงินรวม

สงสัย จะสูญ

-

อื่นๆ รวมเงินให้สินเชื่อ และดอกเบี้ยค้างรับ

(หน่วย: บาท)

989,846

รวม

-

4,431,061

- 4,091,657,402 268,037 1,943,994,980 22,437,813 1,976,898,956

235,259,083 26,935,752 26,365,475,455 3,191,753 3,751,224 1,280,138,020

34,343,879,156 883,452,528 128,183,928 253,687,436 53,392,826 35,662,595,874

Annual Report 2010

87


10.5 จำ�แนกตามประเภทการจัดชั้นตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552 ค่าเผื่อหนี้ เงินให้ สงสัยจะ เงินให้ สินเชื่อและ มูลหนี้ อัตราขั้นตํ่า สูญตามที่ สินเชื่อและ มูลหนี้ อัตราขั้นตํ่า ดอกเบี้ย หลังหัก ที่ใช้ในการ ตั้งไว้โดย ดอกเบี้ย หลังหัก ที่ใช้ในการ ค้างรับ หลักประกัน (1) ตั้งค่าเผื่อ บริษัทย่อย ค้างรับ หลักประกัน (1) ตั้งค่าเผื่อ

บาท บาท ร้อยละ จัดชัน้ ปกติ 41,130,059,705 5,729,799,331 1 จัดชัน้ กล่าวถึงเป็นพิเศษ 740,341,914 20,340,098 2 จัดชัน้ ตา่ํ กว่ามาตรฐาน 77,700,622 26,834,514 100 จัดชัน้ สงสัย 377,990,718 124,650,720 100 จัดชัน้ สงสัยจะสูญ 233,324,442 76,135,715 100 รวม 42,559,417,401 5,977,760,378 สำ�รองรายตัวเพิม่ เติม สำ�รองทัว่ ไป รวม

บาท บาท บาท ร้อยละ 57,297,975 34,343,879,156 5,234,141,307 1 406,802 883,452,528 24,015,405 2 (2) 24,456,271 128,183,928 42,429,252 100 108,022,844(2) 253,687,436 75,628,378 100 67,485,406(2) 53,392,826 14,938,173 100 257,669,298 35,662,595,874 5,391,152,515 - 156,854,437 414,523,735

ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะ สูญตามที่ ตั้งไว้โดย บริษัทย่อย

บาท 52,341,388 480,308 39,783,291(2) 66,380,892(2) 14,938,173 173,924,052 50,072,565 38,737,078 262,733,695

(1) มูลหนี้หลังหักหลักประกัน

หมายถึง มูลหนี้หลังหักมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้หรือมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลักประกันแล้วแต่กรณี (2) บริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จำ�นวนรวมประมาณ 28 ล้านบาท และ 12 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ของลูกหนี้จัดชั้นดังกล่าวในรายการบัญชี “ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้” เนื่องจากค่าเผื่อจำ�นวน ดังกล่าวเป็นของลูกหนี้ที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ 10.6 สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ดังนี้

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

เงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (บาท) คิดเป็นอัตราร้อยละต่อยอดสินเชื่อทั้งหมด (1)

689,015,782 1.46

435,264,190 1.14

(1) ฐานเงินต้นทั้งหมดรวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินที่เป็นเงินให้สินเชื่อ

เงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ซึ่งคำ�นวณตามเกณฑ์ที่ประกาศโดยธนาคาร แห่งประเทศไทย โดยกำ�หนดให้เงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หมายถึง สินเชื่อจัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน สงสัยและสงสัยจะสูญ และไม่รวมสินเชื่อที่ค้างชำ�ระที่ได้มีการทำ�สัญญาปรับโครงสร้างหนี้แล้วและเข้าเงื่อนไขการจัดชั้นเป็นลูกหนี้ปกติหรือกล่าวถึงเป็น พิเศษตามเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย

88

รายงานประจำ�ปี 2553


10.7 สินเชื่อที่ระงับการรับรู้รายได้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีเงินให้สินเชื่อที่ระงับการรับรู้รายได้ดังนี้

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

เงินให้สินเชื่อที่ระงับการรับรู้รายได้ (บาท) คิดเป็นอัตราร้อยละต่อยอดสินเชื่อทั้งหมด (1) (1)

731,615,341 1.55

483,141,408 1.26

ฐานเงินต้นทั้งหมดรวมรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินที่เป็นเงินให้สินเชื่อ

10.8 รายได้รอตัดบัญชี

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีรายได้รอตัดบัญชีที่แสดงหักจากเงินให้สินเชื่อดังต่อไปนี้

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

รายได้รอตัดบัญชี

15,331,386

16,666,801

10.9 ลูกหนี้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับกับบริษัทและบุคคลที่มีปัญหาเกี่ยว กับฐานะการเงิน และ/หรือผลการดำ�เนินงานและได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553

จำ�นวนราย

บริษัทและบุคคลที่มีปัญหาใน การชำ�ระหนี้หรือผิดนัดชำ�ระหนี้

377

มูลหนี้ ตามบัญชี

หลักประกัน

1,429,357,696 1,177,291,770

ค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ

241,593,560 (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552

จำ�นวนราย

บริษัทและบุคคลที่มีปัญหาใน การชำ�ระหนี้หรือผิดนัดชำ�ระหนี้

281

มูลหนี้ ตามบัญชี

หลักประกัน

1,318,716,718 1,157,494,217

ค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ

170,973,482

Annual Report 2010

89


บริษทั ย่อยไม่มขี อ้ มูลเพียงพอจึงไม่ได้เปิดเผยรายการของบริษทั ทีร่ ายงานของผูส้ อบบัญชีระบุวา่ บริษทั นัน้ มีปญั หาเกีย่ วกับ การดำ�เนินงานต่อเนื่องของกิจการ และบริษัทอื่นที่มิใช่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีผลการดำ�เนินงาน และฐานะการเงินเช่นเดียวกับบริษัทจดทะเบียนที่เข้าข่ายถูกเพิกถอนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจากการเป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียน อย่างไรก็ตาม ลูกหนีเ้ หล่านัน้ บริษทั ย่อยได้มกี ารพิจารณาจัดชัน้ และกันเงินสำ�รองตามแนวทางปฏิบัตขิ องธนาคารแห่ง ประเทศไทยแล้ว 10.10 การปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยได้ทำ�สัญญาปรับโครงสร้างหนี้กับลูกหนี้โดยมีจำ�นวนรายและ ภาระหนี้คงค้าง (รวมดอกเบี้ยค้างรับตามบัญชี) ก่อนการปรับโครงสร้างหนี้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

จำ�นวนราย

ลูกหนี้ที่ได้ทำ�สัญญาปรับโครงสร้างหนี้

123

ภาระหนี้ก่อนปรับ โครงสร้างหนี้ จำ�นวนราย

520,179,282

ภาระหนี้ก่อนปรับ โครงสร้างหนี้

151

891,170,881

ลูกหนี้ที่ได้รับการปรับโครงสร้างหนี้ตามที่กล่าวข้างต้นสามารถจำ�แนกตามวิธีการปรับโครงสร้างหนี้โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท)

จำ�นวน ราย

การเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขการชำ�ระหนี ้ รวมลูกหนี้ปรับโครงสร้างหนี้ ทั้งหมดระหว่างปี เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ย ค้างรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ภาระหนี ้ ชนิดของ

ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้

สินทรัพย์ ที่รับโอน

ขาดทุนจาก ส่วนสูญเสีย มูลค่า การปรับ จากการปรับ ยุติธรรม โครงสร้างหนี้ (1) โครงสร้างหนี้

123

520,179,282 520,179,282

-

-

24,479,473

123

520,179,282 520,179,282

-

-

24,479,473

9,441 42,559,417,401

(1) ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างที่แสดงเป็นจำ�นวนก่อนหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ได้ตั้งไว้แล้วในบัญชีของลูกหนี้ที่มีปัญหา

ปรับโครงสร้างหนี้

90

รายงานประจำ�ปี 2553

ณ วัน


(หน่วย: บาท)

จำ�นวน ราย

การเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขการชำ�ระหนี ้ รวมลูกหนีป้ รับโครงสร้างหนีท้ ง้ั หมด ระหว่างปี เงินให้สนิ เชือ่ และดอกเบีย้ ค้างรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ภาระหนี ้ ชนิดของ

ก่อนปรับ หลังปรับ โครงสร้างหนี้ โครงสร้างหนี้

ขาดทุนจาก ส่วนสูญเสีย มูลค่า การปรับ จากการปรับ ยุติธรรม โครงสร้างหนี้ (1) โครงสร้างหนี้

สินทรัพย์ ที่รับโอน

151

891,170,881

891,170,881

-

-

46,509,060

151

891,170,881

891,170,881

-

-

46,509,060

8,627 35,662,595,874

(1) ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างที่แสดงเป็นจำ�นวนก่อนหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ได้ตั้งไว้แล้วในบัญชีของลูกหนี้ที่มีปัญหา

ปรับโครงสร้างหนี้

ณ วัน

ลูกหนีท้ ไี่ ด้รบั การปรับโครงสร้างหนีโ้ ดยวิธเี ปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขการชำ�ระหนีแ้ ละการปรับหนีใ้ นหลายลักษณะในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ตามทีก่ ล่าวข้างต้นสามารถจำ�แนกระยะเวลาการผ่อนชำ�ระตามสัญญาปรับโครงสร้างหนีไ้ ด้ดงั ต่อไปนี้

งบการเงินรวม

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

2552 ภาระหนี้

ช่วงระยะเวลาการผ่อนชำ�ระตาม สัญญาการปรับโครงสร้างหนี้ จำ�นวนราย

ไม่เกิน 5 ปี 5 - 10 ปี 10 - 15 ปี เกินกว่า 15 ปี รวมลูกหนี้ปรับโครงสร้างหนี้ทั้งหมด

2 28 10 83 123

ภาระหนี้

ก่อนปรับ โครงสร้างหนี้

หลังปรับ โครงสร้างหนี้

จำ�นวนราย

ก่อนปรับ โครงสร้างหนี้

3 105 73 339 520

3 105 73 339 520

6 38 5 102 151

63 163 252 413 891

63 163 252 413 891

ข้อมูลสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ที่เกี่ยวข้องกับลูกหนี้ที่ผ่านการปรับโครงสร้างหนี้แล้วมีดังนี้

งบการเงินรวม

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

2553 เงินต้น

เงินสดที่รับชำ�ระจากลูกหนี้

92,669,002

หลังปรับ โครงสร้างหนี้

(หน่วย: บาท)

2552 ดอกเบี้ย

เงินต้น

ดอกเบี้ย

68,071,408

61,692,401

54,496,893

Annual Report 2010

91


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีลูกหนี้ปรับโครงสร้างหนี้ซึ่งมีภาระหนี้คงเหลือดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท)

ลูกหนี้ปรับโครงสร้างหนี้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ลูกหนี้ปรับโครงสร้างหนี้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552

จำ�นวนราย

ภาระหนี้ (1)

294 200

1,481,455,104 1,119,969,054

(1) ไม่รวมเงินทดรองจ่าย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยไม่มีภาระผูกพันคงเหลือที่ตกลงให้ลูกหนี้กู้ยืมเพิ่มเติมภายหลังการ ปรับโครงสร้างหนี้

11. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

งบการเงินรวม

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

ชั้นปกติ

ยอดต้นปี 52,341,388 สำ�รองเพิม่ (ลด) ระหว่างปี 4,956,587 โอนไปบัญชีคา่ เผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สำ�หรับรายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน - โอนมาจาก (โอนไป) บัญชีคา่ เผือ่ การปรับมูลค่าจากการปรับ โครงสร้างหนี ้ - โอนไปค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สำ�หรับสินทรัพย์อน่ื - ยอดปลายปี 57,297,975

ชั้นกล่าวถึง ชั้นต่ำ�กว่า เป็นพิเศษ มาตรฐาน

ชั้นสงสัย

480,308 39,783,291 66,380,892 (73,506) (15,594,737) 49,022,342 -

-

-

267,717

- 406,802

ชั้นสงสัย สำ�รองราย จะสูญ ตัวเพิ่มเติม สำ�รองทั่วไป

(7,380,390)

รวม

14,938,173 61,197,542

50,072,565 38,737,078 262,733,695 (50,072,565) 160,564,337 210,000,000

-

- (45,460,121) (45,460,121)

-

- - 24,456,271 108,022,844

(8,650,309)

-

- 67,485,406

- (5,566,657) (5,566,657) - 156,854,437 414,523,735

8,579,800 (7,183,182)

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

ชั้นปกติ

ยอดต้นปี 51,151,033 สำ�รองเพิม่ (ลด) ระหว่างปี 1,190,355 โอนไปบัญชีคา่ เผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สำ�หรับรายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน - โอนไปบัญชีคา่ เผือ่ การปรับมูลค่า จากการปรับโครงสร้างหนี ้ - หนีส้ ญู ตัดจำ�หน่ายในระหว่างปี ลูกหนีท้ ย่ี งั ไม่ได้ด�ำ เนินการตามกฎหมาย -

92

(หน่วย: บาท)

รายงานประจำ�ปี 2553

ชั้นกล่าวถึง ชั้นต่ำ�กว่า เป็นพิเศษ มาตรฐาน

ชั้นสงสัย

565,371 12,339,701 145,179,753 (85,063) 30,695,994 97,782,689 - - -

-

-

(2,645,960) (9,247,486)

ชั้นสงสัย สำ�รองราย จะสูญ ตัวเพิ่มเติม สำ�รองทั่วไป

130,762,572 20,583,115

รวม

63,441,544 - 403,439,974 (13,368,979) 122,701,889 259,500,000

-

-

-

- (32,997,869) (44,891,315)

(606,444) (36,701,046) (17,704,232)

-

(800,000)

(800,000)

- (55,011,722)


(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

ชั้นปกติ

ลูกหนีท้ อ่ี ยูร่ ะหว่าง การดำ�เนินการตามกฎหมาย ลดลงจากการขายหนี ้ โอนมาจากค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สำ�หรับสินทรัพย์อน่ื ยอดปลายปี

ชั้นกล่าวถึง ชั้นต่ำ�กว่า เป็นพิเศษ มาตรฐาน

- -

- -

- 52,341,388

- 480,308

ชั้นสงสัย

ชั้นสงสัย สำ�รองราย จะสูญ ตัวเพิ่มเติม สำ�รองทั่วไป

- - (6,418,464) - (130,633,018) (112,284,818) - - 39,783,291 66,380,892

- - (6,418,464) - (53,376,409) (296,294,245)

- 14,938,173

- 50,072,565

3,209,467 3,209,467 38,737,078 262,733,695

12. ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

ยอดต้นปี ตั้งเพิ่มในระหว่างปี ตัดจำ�หน่ายในระหว่างปี ยอดปลายปี

46,305,655 24,479,473 (17,296,291) 53,488,837

13. ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์

รวม

ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า

เครื่องตกแต่ง สำ�นักงาน

1,414,340 46,509,060 (1,617,745) 46,305,655 (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม เครื่องใช้ สำ�นักงาน

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 88,473,049 38,440,111 163,483,163 เพิ่มขึ้นเนื่องจากการซื้อ บริษัทย่อยในระหว่างปี 275,095 251,142 436,956 ซื้อเพิ่ม 12,324,446 9,409,366 27,222,664 จำ�หน่าย/ตัดจำ�หน่าย (155,492) (251,142) (163,623) โอนเข้า 10,418,964 - - โอนออก - - - 31 ธันวาคม 2553 111,336,062 47,849,477 190,979,160 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 51,614,436 21,756,773 96,581,512 เพิ่มขึ้นเนื่องจากการซื้อ บริษัทย่อยในระหว่างปี 135,099 124,142 343,175 ค่าเสื่อมราคาสะสม ส่วนที่จำ�หน่าย/ตัดจำ�หน่าย (79,971) (127,857) (103,496)

ยานพาหนะ

ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า ระหว่าง ก่อสร้าง

5,690,300 1,215,000

รวม

297,301,623

- - 963,193 - 10,961,033 59,917,509 - - (570,257) - - 10,418,964 - (10,418,964) (10,418,964) 5,690,300 1,757,069 357,612,068 4,290,877

-

174,243,598

-

-

602,416

-

-

(311,324)

Annual Report 2010

93


(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า

เครื่องตกแต่ง สำ�นักงาน

เครื่องใช้ สำ�นักงาน

ยานพาหนะ

ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า ระหว่าง ก่อสร้าง

ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 18,991,472 8,345,783 32,864,555 1,138,059 - 31 ธันวาคม 2553 70,661,036 30,098,841 129,685,746 5,428,936 - มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 36,858,613 16,683,338 66,901,651 1,399,423 1,215,000 31 ธันวาคม 2553 40,675,026 17,750,636 61,293,414 261,364 1,757,069 ค่าเสือ่ มราคาสำ�หรับปี สิน้ สุดวันที ่ 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553

รวม

61,339,869 235,874,559 123,058,025 121,737,509 55,182,162 61,339,869

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์จำ�นวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคา หมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่าทุนเดิมก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำ�นวนรวมประมาณ 107 ล้านบาท และ 5.9 ล้านบาท ตามลำ�ดับ

14. สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้นเนื่องจากการซื้อบริษัทย่อยในระหว่างปี ซื้อเพิ่ม จำ�หน่าย โอนเข้า โอนออก 31 ธันวาคม 2553 ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้นเนื่องจากการซื้อบริษัทย่อยในระหว่างปี ค่าตัดจำ�หน่ายสะสมส่วนที่จำ�หน่าย ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี 31 ธันวาคม 2553 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553

94

รายงานประจำ�ปี 2553

คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ ระหว่างพัฒนา

(หน่วย: บาท) รวม

174,794,666 4,982,785 27,121,620 (20,700) 1,182,821 - 208,061,192

1,065,292 - 5,047,608 - - (1,182,821) 4,930,079

175,859,958 4,982,785 32,169,228 (20,700) 1,182,821 (1,182,821) 212,991,271

98,719,764 2,284,243 (10,948) 37,431,852 138,424,911

- - - - -

98,719,764 2,284,243 (10,948) 37,431,852 138,424,911

76,074,902 69,636,281

1,065,292 4,930,079

77,140,194 74,566,360


คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ ระหว่างพัฒนา

ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 อายุตัดจำ�หน่ายคงเหลือ (ปี) 0 - 5 -

(หน่วย: บาท) รวม

32,569,045 37,431,852

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทย่อยมีคอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์จำ�นวนหนึ่งซึ่งตัดจำ�หน่ายหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่า ทุนเดิมก่อนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสมเป็นจำ�นวนเงินประมาณ 80 ล้านบาท

15. ตั๋วเงินรับ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2550 บริษัทย่อยได้รับชำ�ระราคาจากการโอนขายทรัพย์สินรอการขายให้กับบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำ�กัด (“บสก.”) เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินจำ�นวนรวม 175 ล้านบาท ที่ออกโดย บสก. ประเภทเปลี่ยนมือได้ ตั๋วสัญญา ใช้เงินดังกล่าวมีอายุ 2 - 7 ปี และไม่มีดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีตั๋วสัญญาใช้เงินของ บสก. โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

31 ธันวาคม 2553 ครบกำ�หนดชำ�ระ

28 กุมภาพันธ์ 2554 18 กรกฎาคม 2554 28 กุมภาพันธ์ 2557

มูลค่าหน้าตั๋ว

25,698,365 13,090,000 1,896,192 40,684,557

31 ธันวาคม 2552

มูลค่าสุทธิตามบัญชี มูลค่าหน้าตั๋ว มูลค่าสุทธิตามบัญชี

25,530,330 13,004,408 1,672,115 40,206,853

25,698,365 13,090,000 1,896,192 40,684,557

24,522,120 12,490,855 1,601,355 38,614,330

16. การโอนขายสินเชื่อด้อยคุณภาพให้แก่บริษัท บริหารสินทรัพย์กรุงเทพพาณิชย์ จำ�กัด เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2552 และวันที่ 9 ธันวาคม 2552 บริษัทย่อยได้ทำ�สัญญาซื้อขายสินเชื่อด้อยคุณภาพ ซึ่งมีมูลค่า คงค้างตามบัญชี (รวมสินทรัพย์อื่นที่เกี่ยวข้อง) จำ�นวนประมาณ 357 ล้านบาท และ 428 ล้านบาท ตามลำ�ดับ กับบริษัท บริหาร สินทรัพย์กรุงเทพพาณิชย์ จำ�กัด (“บสก.”) ซึง่ เป็นผูเ้ สนอราคาซือ้ สินทรัพย์จากบริษทั ย่อยในราคาสูงสุดจากการประกวดราคา ทัง้ นี้ การโอนสินเชื่อด้อยคุณภาพและหลักประกันเป็นไปตามพระราชกำ�หนดบริษัทบริหารสินทรัพย์ พ.ศ.2541 โดย บสก.ได้ชำ�ระราคา จำ�นวน 218 ล้านบาท และ 263 ล้านบาท ให้แก่บริษัทย่อยแล้วเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 และวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ตามลำ�ดับ ภายใต้เงื่อนไขของสัญญา บสก.อาจยกเลิกการโอนสินทรัพย์เฉพาะรายได้เมื่อปรากฏว่า บสก. ไม่สามารถรับโอนสิทธิใน หนี้สินและหลักประกันของสินทรัพย์รายใดๆ เนื่องจากไม่มีเอกสารหลักฐานแห่งหนี้ หลักประกันไม่มี หรือมีอยู่ไม่ครบถ้วน หรือ หลักประกันถูกรอนสิทธิ หรือศาลไม่อนุญาตให้ บสก.เข้าสวมสิทธิเป็นคูค่ วามแทนบริษทั ย่อยภายในระยะเวลาไม่เกินวันที่ 7 เมษายน 2553 และวันที่ 9 ธันวาคม 2553 ของแต่ละสัญญาตามลำ�ดับ โดยหากมีการยกเลิกการโอนสินทรัพย์รายใดแล้ว บสก.จะได้รับเงิน ค่าสินทรัพย์ตามราคา ณ วันชำ�ระราคา ส่วนบริษัทย่อยจะได้รับรายรับที่ได้รับชำ�ระในระหว่างช่วงกำ�หนดเวลายกเลิกการโอนหัก ด้วยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในระยะเวลาก่อนการยกเลิกการโอนสินทรัพย์รายนั้นๆ ทั้งนี้จนถึงวันที่ครบกำ�หนด บสก.มิได้มีการยกเลิก การโอนสินทรัพย์รายใดๆ ที่รับซื้อจากบริษัทย่อย

Annual Report 2010

95


17. สินทรัพย์อื่น

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

ดอกเบี้ยค้างรับจากเงินลงทุน เงินมัดจำ�และเงินประกัน เงินทดรองจ่าย บัญชีพักลูกหนี้ ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าธรรมเนียมค้างรับ เงินวางประกัน - ธุรกรรมสัญญาซื้อคืนภาคเอกชน เช็ครอเรียกเก็บ บัญชีพักลูกหนี้จากการขายทอดตลาด อื่นๆ รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ/ค่าเผื่อการด้อยค่า สินทรัพย์อื่น - สุทธิ

127,789,838 23,099,510 21,430,244 8,693,414 5,148,503 4,145,345 2,513,600 1,007,751 - - 5,685,609 199,513,814 (8,931,200) 190,582,614

103,977,598 20,444,191 3,079,334 5,092,057 6,116,452 3,775,076 6,168,873 4,337,641 152,991,222 (2,850,942) 150,140,280 (หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

ดอกเบี้ยค้างรับ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย รวม

59,092 72,514 14,704 146,310

159 159

18. คุณภาพสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีสินทรัพย์ที่จัดชั้นตามเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทยดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

31 ธันวาคม 2553

การจัดชั้นสินทรัพย์ ปกติ กล่าวถึงเป็นพิเศษ ตํ่ากว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ รวม 96

รายงานประจำ�ปี 2553

เงินลงทุน

เงินให้สินเชื่อและ ดอกเบี้ยค้างรับ

- 41,130,059,705 - 740,341,914 - 77,700,622 - 377,990,718 565,310 233,324,442 565,310 42,559,417,401

สินทรัพย์อื่น

รวม

- 41,130,059,705 - 740,341,914 - 77,700,622 - 377,990,718 8,417,599 242,307,351 8,417,599 42,568,400,310


(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552

เงินลงทุน

การจัดชั้นสินทรัพย์ ปกติ กล่าวถึงเป็นพิเศษ ตํ่ากว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ รวม

- - - - 565,310 565,310

เงินให้สินเชื่อและ ดอกเบี้ยค้างรับ

สินทรัพย์อื่น

34,343,879,156 883,452,528 128,183,928 253,687,436 53,392,826 35,662,595,874

รวม

- 34,343,879,156 - 883,452,528 - 128,183,928 - 253,687,436 2,850,942 56,809,078 2,850,942 35,666,012,126

19. เงินรับฝาก 19.1 จำ�แนกตามประเภทเงินรับฝาก

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

จ่ายคืนเมื่อทวงถาม ออมทรัพย์ เงินรับฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา - ไม่เกิน 1 ปี - เกิน 1 ปี รวมเงินรับฝาก

1,377,459,921 9,863,741,154

1,984,800,323 9,010,550,085

6,992,957,097 8,848,267,816 27,082,425,988

13,371,074,294 7,355,311,291 31,721,735,993

19.2 จำ�แนกตามระยะเวลาที่เหลือของเงินรับฝาก

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

ไม่เกิน 1 ปี* เกิน 1 ปี รวม

23,653,795,357 3,428,630,631 27,082,425,988

25,523,983,103 6,197,752,890 31,721,735,993

* รวมสัญญาที่ครบกำ�หนดแล้ว 19.3 จำ�แนกตามสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของผู้ฝาก

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 ในประเทศ ต่างประเทศ

เงินบาท รวม

27,082,425,988 27,082,425,988

รวม

31 ธันวาคม 2552 ในประเทศ ต่างประเทศ

- 27,082,425,988 31,721,735,993 - 27,082,425,988 31,721,735,993

รวม

- 31,721,735,993 - 31,721,735,993

Annual Report 2010

97


20. รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (หนี้สิน)

31 ธันวาคม 2553 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา

ในประเทศ:

ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์ และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ สถาบันการเงินอื่น รวมรายการระหว่างธนาคาร และตลาดเงิน

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม รวม

416,752,433 4,530,000,000 4,946,752,433

31 ธันวาคม 2552 เมื่อทวงถาม มีระยะเวลา

11,818,104

-

รวม

11,818,104

2,055,302,220 2,687,563,574 4,742,865,794 1,386,570,942 2,037,843,821 3,424,414,763 204,594,190 1,090,977,930 1,295,572,120 152,650,354 673,057,327 825,707,681 2,676,648,843 8,308,541,504 10,985,190,347 1,551,039,400 2,710,901,148 4,261,940,548

21. เงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีเงินกู้ยืมเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินและตั๋วแลกเงินโดยสามารถ สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: บาท)

ออกให้แก่

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย ครบกำ�หนด ต่อปี จำ�นวนเงิน ครบกำ�หนด ต่อปี

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภายใน 1 ปี 1.25% - 2.00% บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน เมื่อทวงถาม 0.75% - 1.00% ภายใน 1 ปี 1.55% - 2.00% เกิน 1 ปี 3.00% กองทุน ภายใน 1 ปี 1.85% - 2.20% เกิน 1 ปี 3.00% บริษัทจำ�กัด เมื่อทวงถาม 1.25% - 1.30% ภายใน 1 ปี 1.00% - 2.25% เกิน 1 ปี 2.50% - 3.05% นิติบุคคลอื่น เมื่อทวงถาม 1.25% ภายใน 1 ปี 1.55% - 2.00% บุคคลธรรมดา เมื่อทวงถาม 1.00% - 1.65% ภายใน 1 ปี 1.13% - 2.30% เกิน 1 ปี 2.50% - 3.05% สถาบันไม่หวังผลกำ�ไร เมื่อทวงถาม - ภายใน 1 ปี 2.00%-2.10% รวม

98

รายงานประจำ�ปี 2553

2,140,048,860 ภายใน 1 ปี 1.00% - 1.25% 11,381,746 เมื่อทวงถาม - 148,196,331 ภายใน 1 ปี 1.50% - 1.60% 10,500,000 เกิน 1 ปี - 880,183,280 ภายใน 1 ปี 1.60% - 1.65% 3,100,000 เกิน 1 ปี - 238,005,994 เมื่อทวงถาม 0.75% - 1.25% 4,687,758,159 ภายใน 1 ปี 1.00% - 1.75% 5,000,000 เกิน 1 ปี - 2,513,309 เมื่อทวงถาม - 51,316,549 ภายใน 1 ปี 1.40% 20,606,592 เมื่อทวงถาม 0.75% - 1.25% 8,457,418,592 ภายใน 1 ปี 1.00% - 1.93% 558,906,768 เกิน 1 ปี 1.93% - 2.30% - เมื่อทวงถาม 1.10% 220,000,000 ภายใน 1 ปี 1.65% 17,434,936,180

จำ�นวนเงิน

2,128,000,000 8,304,164 194,000,000 1,124,020,139 1,703,800,664 2,463,297 166,754,870 4,843,074,869 11,000,000 30,000,000 5,000,000 10,216,418,003


22. หนี้สินอื่น

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

ภาษีค้างจ่าย บัญชีพักเจ้าหนี้ รายได้รับล่วงหน้า เจ้าหนี้ค่าซื้ออุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินรับวางประกัน - ธุรกรรมสัญญาซื้อคืนภาคเอกชน เงินมัดจำ�ค่าตู้นิรภัย อื่นๆ รวม

147,196,527 19,868,007 17,540,947 15,978,559 7,216,382 3,927,000 4,320,376 216,047,798

39,742,079 23,929,149 10,262,876 9,590,049 3,498,000 4,921,605 91,943,758 (หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

ภาษีค้างจ่าย รวม

193 193

1,780 1,780

23. ทุนเรือนหุ้น

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวนหุ้น บาท

หุ้นสามัญจดทะเบียน หุ้นสามัญ ณ วันต้นปี บวก: ผลจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าตราไว้ต่อหุ้นจากเดิม หุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท หัก: ลดทุนจดทะเบียนระหว่างปี บวก: เพิ่มทุนจดทะเบียนระหว่างปี หุ้นสามัญ ณ วันสิ้นปี

หุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายและชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ ณ วันต้นปี บวก: ผลจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าตราไว้ต่อหุ้นจากเดิม หุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท บวก: ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนระหว่างปี หุ้นสามัญ ณ วันสิ้นปี

750,000,000

7,500,000,000

6,750,000,000 (1,343,088,080) 5,843,088,080 12,000,000,000

(1,343,088,080) 5,843,088,080 12,000,000,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวนหุ้น บาท

275,778,487

2,757,784,870

2,482,006,383 2,757,784,870 5,515,569,740

2,757,784,870 5,515,569,740 Annual Report 2010

99


งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับรอบระยะเวลาตัง้ แต่วนั ที่ 22 เมษายน 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำ�นวนหุ้น บาท

หุ้นสามัญจดทะเบียน หุ้นสามัญ ณ วันต้นงวด จดทะเบียนเพิ่มทุนระหว่างงวด หุ้นสามัญ ณ วันสิ้นงวด หุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายและชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ ณ วันต้นงวด ออกหุ้นสามัญขายให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ครั้งแรก ออกหุ้นสามัญเพื่อแลกเปลี่ยนกับหุ้นสามัญของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) (ดูหมายเหตุ 2) ออกหุ้นสามัญขายให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ออกหุ้นสามัญขายให้แก่กรรมการบริษัทฯ ออกหุ้นสามัญตามการใช้สิทธิของผู้ถือใบสำ�คัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ หุ้นสามัญ ณ วันสิ้นงวด

- 750,000,000 750,000,000

7,500,000,000 7,500,000,000

- 10,000

100,000

265,449,900 2,649,205 100,000

2,654,499,000 26,492,050 1,000,000

7,569,382 275,778,487

75,693,820 2,757,784,870

เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2552 บริษัทฯจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์จากเดิม 100,000 บาท (จำ�นวน 10,000 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท) เป็น 5,733,000,000 บาท (จำ�นวน 573,300,000 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท) เมือ่ วันที่ 18 กันยายน 2552 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 2/2552 ได้มมี ติยกเลิกมติทปี่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2552 ที่ประชุมเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 เฉพาะวาระที่ 2 เรื่องการอนุมัติการเพิ่มทุนและการออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ทีจ่ ะซือ้ หุน้ สามัญ และได้มมี ติอนุมตั กิ ารลดทุนจดทะเบียน การเพิม่ ทุนจดทะเบียน การจัดสรรหุน้ เพิม่ ทุนและการออกและเสนอขาย ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯเป็นดังนี้ 1. ลดทุนจดทะเบียนจำ�นวน 5,732,900,000 บาท โดยวิธีตัดหุ้นจดทะเบียนที่ยังไม่ได้จำ�หน่ายจำ�นวน 573,290,000 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 10 บาท เป็นเงินรวม 5,732,900,000 บาท คงเหลือทุนจดทะเบียนจำ�นวน 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท เป็น เงินรวม 100,000 บาท 2. เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 100,000 บาท เป็น 7,500,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 749,990,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงินรวม 7,499,900,000 บาท 3. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 265,450,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงินรวม 2,654,500,000 บาท เพื่อ เสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) โดยการแลกหุ้นสามัญของ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ในอัตราส่วน 1:1 โดยให้ถือเสมือนว่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน ดังกล่าวได้รับชำ�ระเงินค่าหุ้นเต็มมูลค่าแล้ว ทั้งนี้เพื่อเป็นการปรับโครงสร้างการถือหุ้นของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) และเป็นไปตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 และประกาศธนาคาร แห่งประเทศไทยที่เกี่ยวข้อง ผู้ที่ได้รับการจัดสรรทุกคนเป็นผู้ถือหุ้นของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน)ที่ปรากฏชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของธนาคารดังกล่าว ณ วันที่ 15 กันยายน 2552 และจะได้รับการจัดสรร หุ้นในสัดส่วนเท่ากับจำ�นวนหุ้นของธนาคารดังกล่าวที่มีอยู่ก่อนแล้ว โดยราคาหุ้นที่เสนอขายต่อกรรมการบริษัท และ ผู้ถือหุ้นใหญ่ เท่ากับราคาหุ้นที่เสนอขายต่อผู้ถือหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) รายอื่นๆ ดังนั้น ราคาเสนอขายดังกล่าวจึงไม่ต่ำ�กว่าราคาหุ้นที่เสนอขายต่อประชาชนทั่วไป รายละเอียดการจัดสรร มีดังต่อไปนี้

100

รายงานประจำ�ปี 2553


3.1 จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 5,411,760 หุ้น ให้แก่กรรมการบริษัทฯจำ�นวน 3 ท่าน 3.2 จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 99,200 หุ้น ให้แก่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯจำ�นวน 2 ท่าน 3.3 จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 259,939,040 หุ้น ซึ่งไม่รวมถึงรายชื่อผู้ถือหุ้นที่เป็นกรรมการบริษัทฯตามข้อ 3.1 และผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ตามข้อ 3.2 ทั้งนี้การเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯตามที่กล่าวไว้ในข้อ 3.2 บริษัทฯ ต้องได้รับการ ผ่อนผันจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“ก.ล.ต.”) ซึง่ บริษทั ฯได้รบั การผ่อนผันจาก ก.ล.ต. แล้ว 4. จัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯจำ�นวน 2,654,600 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงินรวม 26,546,000 บาท โดยจัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทภายหลังจาก ที่ได้ ดำ�เนินการตามข้อ 3 ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว ในอัตราส่วน 100 หุ้น มีสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้จำ�นวน 1 หุ้น (100:1) ในราคาหุ้นละ 10 บาทและให้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯจำ�นวน 15 ท่านที่มีหุ้น อยูจ่ �ำ นวน 10,000 หุน้ ในอัตราส่วน 100 หุน้ มีสทิ ธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนได้จ�ำ นวน 1 หุน้ (100:1) ในราคาหุน้ ละ 10 บาท 5. จัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่กรรมการบริษัทฯ 2 ท่าน จำ�นวนรวม 100,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงินรวม 1,000,000 บาท 6. ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯจำ�นวน 93,006,000 หน่วย โดยมีราคาเสนอขาย หน่วยละ 0 บาท (ศูนย์บาทต่อหน่วย) และอัตราการใช้สิทธิ คือ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 10 บาท ทั้งนี้ราคาใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทที่จัดสรรต่อกรรมการ และ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯเป็นราคาเดียวกันกับราคาใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯที่เสนอขายต่อ รายอื่นๆ ที่ได้รับการจัดสรรใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ดังนั้นราคาใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่เสนอขาย ต่อกรรมการ และผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทในครั้งนี้จึงไม่ต่ำ�กว่าราคาใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่เสนอขายต่อประชาชนทั่วไป ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯแบ่งออกเป็น 2 ชุด ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ 6.1 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ชุดที่ 1 (W1) จำ�นวน 69,750,000 หน่วย มีรายละเอียดการจัดสรร ดังนี้ (ก) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 (W1) จำ�นวน 21,600,000 หน่วย ให้แก่กรรมการบริษัท ซึ่งเป็นผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 4 ท่าน (ข) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื้อหุ้นสามัญของบริษทั ฯชุดที่ 1 (W1) จำ�นวน 818,550 หน่วย ให้แก่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ซึ่งเป็นผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 2 ท่าน (ค) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 (W1) จำ�นวน 26,631,450 หน่วย ให้แก่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 ดังปรากฏรายชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 15 กันยายน 2552 ซึ่งไม่รวมถึงรายชื่อที่เป็น กรรมการบริษัท ตามข้อ (ก) และผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ตามข้อ (ข) ในอัตราส่วนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 1 หรือชุดที่ 2 จำ�นวน 1 หน่วยต่อใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ชุดที่ 1 จำ�นวน 1 หน่วย (ง) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 (W1) จำ�นวน 19,800,000 หน่วย ให้แก่บุคคลเพิ่มเติมจำ�นวน 5 ท่าน (จ) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 (W1) จำ�นวน 900,000 หน่วย ให้แก่กรรมการบริษัทฯเพิ่มเติมจำ�นวน 2 ท่าน ทั้งนี้การเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทให้แก่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ตามที่กล่าวไว้ใน ข้อ 6.1 (ข) บริษัทต้องได้รับการผ่อนผันจาก ก.ล.ต. ซึ่งบริษัทฯ ได้รับการผ่อนผันจาก ก.ล.ต. แล้ว

Annual Report 2010

101


6.2 ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 2 (W2) จำ�นวน 23,256,000 หน่วย ให้แก่ ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 3 ดังปรากฏรายชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 15 กันยายน 2552 ในอัตราส่วนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 3 จำ�นวน 1 หน่วยต่อใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ชุดที่ 2 จำ�นวน 1 หน่วย โดยมีรายละเอียดการจัดสรรดังนี้ (ก) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 2 (W2) จำ�นวน 2,728,100 หน่วย ให้แก่กรรมการบริษัทฯ ซึ่งเป็นผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 2 ท่าน (ข) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 2 (W2) จำ�นวน 681,600 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ซึ่งเป็นผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 3 ท่าน (ค) ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 2 (W2) จำ�นวน 19,846,300 หน่วย ให้แก่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 3 รายอืน่ ๆ ดังปรากฏรายชือ่ ในสมุดทะเบียนผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 15 กันยายน 2552 ซึ่งไม่รวมถึงกรรมการบริษัทฯ ตาม ข้อ 6.2 (ก) และผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯตามข้อ 6.2 (ข) ในอัตราส่วนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 3 จำ�นวน 1 หน่วยต่อใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 2 จำ�นวน 1 หน่วย ทั้งนี้การเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯให้แก่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯตามที่กล่าวไว้ ในข้อ 6.2 (ข) บริษัทต้องได้รับการผ่อนผันจาก ก.ล.ต. ซึ่งบริษัทฯได้รับการผ่อนผันจาก ก.ล.ต. แล้ว 7. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 93,006,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงิน 930,060,000 บาท เพื่อรองรับการ ใช้สิทธิของผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 7.1 จัดสรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำ�นวน 69,750,000 หุน้ เพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิของผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญ ของบริษัทฯชุดที่ 1 (W1) จำ�นวน 69,750,000 หน่วย 7.2 จัดสรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำ�นวน 23,256,000 หุน้ เพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิของผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญ ของบริษัทชุดที่ 2 (W2) จำ�นวน 23,256,000 หน่วย 8. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 278,779,400 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงิน 2,787,794,000 บาท ให้กับ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯภายหลังจากที่ได้ดำ�เนินการตามข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 และข้อ 7 แล้วในอัตราส่วน 1 หุ้นสามัญ มีสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ 1 หุ้น (1:1) ในราคาหุ้นละ 10 บาท 9. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 110,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงินรวม 1,100,000,000 บาท เพื่อ รองรับการออกขายให้กับประชาชนทั่วไป เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2552 บริษัทฯได้ดำ�เนินการจดทะเบียนลดทุนจำ�นวน 5,732,900,000 บาท คงเหลือทุนจดทะเบียน จำ�นวน 100,000 บาท (10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) และต่อมาในวันที่ 5 ตุลาคม 2552 บริษัทฯได้ดำ�เนินการจดทะเบียน เพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์จากเดิม 100,000 บาท เป็น 7,500,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 749,990,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงินรวม 7,499,900,000 บาท เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 6/2552 รับทราบการกำ�หนดวันที่จัดสรรหุ้นสามัญ เพิ่มทุนของบริษัท วันที่เรียกชำ�ระค่าหุ้นเพิ่มทุน และวันที่สามารถใช้สิทธิใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญชุดที่ 1 ดังต่อไปนี้ 1. กำ�หนดให้วันที่ 1 ธันวาคม 2552 เป็นวันที่จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 265,450,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงิน 2,654,500,000 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ตาม รายชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 15 กันยายน 2552 เพื่อแลกเปลี่ยนหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ในอัตราส่วน 1:1 โดยถือว่า การแลกเปลี่ยนดังกล่าวเป็นการชำ�ระค่าหุ้นเพิ่มทุน 102

รายงานประจำ�ปี 2553


2.

กำ�หนดให้วันที่ 1 ธันวาคม 2552 เป็นวันที่จัดสรรใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯให้แก่ผู้ถือใบสำ�คัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 และชุดที่ 3 บุคคลที่บริษัทได้จัดสรรใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ให้เพิ่มเติมจำ�นวน 5 ท่านและกรรมการบริษัท ที่ได้รับการจัดสรรใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทเพิ่มเติมอีก 2 ท่าน รวม 73,206,000 หน่วย ประกอบด้วย ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 จำ�นวน 49,950,000 หน่วย และใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญของบริษัทชุดที่ 2 จำ�นวน 23,256,000 หน่วย โดยมีราคาเสนอขายเท่ากับ 0 บาท (ศูนย์บาทต่อหน่วย) และ มีอัตราการใช้สิทธิคือ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคา 10 บาท 3. กำ�หนดให้วันที่ 1 ธันวาคม 2552 เป็นวันจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯจำ�นวน 2,654,600 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงิน 26,546,000 บาท โดยจัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท ตามรายชื่อในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2552 (ไม่นับรวมกรรมการบริษัทฯ 2 ท่านที่ได้รับ การจัดสรรหุ้นสามัญเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2552) ในอัตราส่วน 100 หุ้น มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนได้ 1 หุ้น (100:1) ในราคาหุ้นละ 10 บาท 4. กำ�หนดให้วันที่ 1 ธันวาคม 2552 เป็นวันที่จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่กรรมการบริษัทฯจำ�นวน 2 ท่าน รวม 100,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงิน 1,000,000 บาท 5. กำ�หนดให้วันที่ 16 - 17 ธันวาคม 2552 เป็นวันที่เรียกชำ�ระค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ได้จัดสรรให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ จำ�นวน 2,654,600 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงิน 26,546,000 บาท และเรียกชำ�ระค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน ที่ได้จัดสรรให้กับกรรมการบริษัทฯ 2 ท่านรวม 100,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นเงิน 1,000,000 บาท 6. กำ�หนดให้วันที่ 23 - 25 ธันวาคม 2552 เป็นวันที่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 สามารถ ใช้สิทธิ ในปี 2552 บริษทั ฯได้รบั ชำ�ระค่าหุน้ จำ�นวน 2,654,499,000 บาทจากการนำ�หุน้ สามัญทีถ่ อื อยูใ่ นธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพือ่ รายย่อย จำ�กัด (มหาชน) มาชำ�ระเป็นค่าหุน้ เพิม่ ทุนตามทีก่ ล่าวข้างต้น และได้รบั ชำ�ระเงินค่าหุน้ จากการเพิม่ ทุนทีไ่ ด้จดั สรรให้ กับผู้ถือหุ้น กรรมการของบริษัทฯ และจากการใช้สิทธิใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 เป็นจำ�นวนเงินรวม 103,185,870 บาท ทำ�ให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯมีหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชำ�ระแล้วจำ�นวน 2,757,784,870 บาท (275,778,487 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) และมีใบสำ�คัญแสดงสิทธิ โดยมีรายละเอียดตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อที่ 24 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2553 มีมติอนุมัติเกี่ยวกับหุ้นสามัญและใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ดังต่อไปนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัทฯ จากเดิมมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาทเป็นมูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท โดยมีผลทำ�ให้หุ้นสามัญของบริษัทมีจำ�นวน 7,500,000,000 หุ้น (จากเดิม 750,000,000 หุ้น) และจำ�นวน ทุนจดทะเบียนของบริษัทจะยังคงเป็นจำ�นวนเท่าเดิมคือ 7,500 ล้านบาท บริษัทฯได้จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงมูลค่า ที่ตราไว้ดังกล่าวในวันที่ 27 มกราคม 2553 2. การปรับราคาใช้สิทธิและการปรับจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 และชุดที่ 2 เพื่อให้ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญบริษัทฯจากมูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็นมูลค่าหุ้น ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น โดยปรับราคาใช้สิทธิและจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัทชุดที่ 1 และชุดที่ 2 เป็นดังนี้ 2.1 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทชุดที่ 1 จากเดิม จำ�นวน 69,750,000 หน่วย ปรับเป็นจำ�นวน 697,500,000 หน่วย และราคาใช้สิทธิจากเดิมใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ในราคาหุ้นละ 10 บาท ปรับเป็นใช้สิทธิซื้อ หุ้นสามัญได้ในราคาหุ้นละ 1 บาท 2.2 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทชุดที่ 2 จากเดิมจำ�นวน 23,256,000 หน่วย ปรับเป็นจำ�นวน 232,560,000 หน่วย และราคาใช้สิทธิจากเดิมใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ในราคาหุ้นละ 10 บาท ปรับเป็นใช้สิทธิซื้อ หุ้นสามัญได้ในราคาหุ้นละ 1 บาท

Annual Report 2010

103


เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 2/2553 มีมติอนุมัติเกี่ยวกับการกำ�หนดรายชื่อ ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนและผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับเงินปันผลระหว่างกาลครั้งที่ 1 ดังต่อไปนี้ 1. กำ�หนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 278,779,400 หุ้นในวันที่ 15 มีนาคม 2553 และ กำ�หนดวันเรียกชำ�ระค่าหุ้นเพิ่มทุนในระหว่างวันที่ 29 - 31 มีนาคม 2553 และวันที่ 1 เมษายน 2553 2. ในปี 2553 บริษัทฯมีแผนที่จะจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลเมื่อบริษัทฯมีผลการดำ�เนินงานเป็นกำ�ไรสุทธิ และกำ�หนดรายชื่อ ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับเงินปันผลระหว่างกาลครั้งที่ 1 ในวันที่ 15 มีนาคม 2553 ทั้งนี้หุ้นสามัญที่ได้รับจากการจัดสรร จากการเพิ่มทุนตามข้อ 1 ข้างต้นไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผลระหว่างกาลครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 29 มีนาคม 2553 - 1 เมษายน 2553 บริษัทฯได้รับชำ�ระเงินค่าหุ้นเพิ่มทุนตามที่กล่าวไว้ข้างต้นจำ�นวน 2,757,784,870 บาท และบริษัทฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนชำ�ระแล้วจำ�นวนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2553 มีมติอนุมัติเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลระหว่าง กาล การลดทุนจดทะเบียน และการเพิ่มทุนจดทะเบียน ดังนี้ 1. อนุมัติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล จากผลการดำ�เนินงานสิ้นสุดวันที่ 30 เมษายน 2553 ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียน รายชื่อผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2553 ในอัตราหุ้นละ 0.015 บาท รวมเป็นเงิน 41,366,773.05 บาท โดยกำ�หนด จ่ายเงินปันผลในวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 2. ให้ความเห็นชอบการลดทุนจดทะเบียนโดยการตัดหุ้นสามัญที่ยังมิได้นำ�ออกจำ�หน่ายจำ�นวน 1,343,088,080 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 1,343,088,080 บาท ทำ�ให้ทุนจดทะเบียนของบริษัทฯลดลงจากเดิม 7,500,000,000 หุ้น คิดเป็นเงิน 7,500,000,000 บาท คงเหลือ 6,156,911,920 หุ้น คิดเป็นเงิน 6,156,911,920 บาท 3. ให้ความเห็นชอบการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ ขึ้นอีกจำ�นวน 5,843,088,080 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 5,843,088,080 บาท ทำ�ให้บริษัทฯมีทุนจดทะเบียนเป็น 12,000,000,000 หุ้น เป็นเงิน 12,000,000,000 บาท เพื่อรองรับการจัดสรรดังต่อไปนี้ 3.1 จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 1,800,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 1,800,000,000 บาท เพื่อ รองรับการออกขายให้กับประชาชนทั่วไป 3.2 จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 4,043,088,080 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 4,043,088,080 บาท เพื่อ รองรับการออกขายให้กับผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจำ�นวน ไม่เกิน 35 ราย ทั้งนี้การลดทุนและการเพิ่มทุนจดทะเบียนดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 การลดทุนและการที่บริษัทฯจะนำ�เงินที่ได้รับจากการเพิ่มทุนไปลงทุนเพิ่มในธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯได้จดทะเบียน ลดทุนจดทะเบียนและเพิ่มทุนจดทะเบียนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์ในวันที่ 2 มิถุนายน 2553 และ3 มิถุนายน 2553 ตามลำ�ดับ เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่10/2553 ได้มีมติให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการจัดสรร หุ้นสามัญเพิ่มทุนดังต่อไปนี้ 1. ให้ความเห็นชอบยกเลิกมติการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2553 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 และที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 ดังต่อไปนี้ 1.1 ยกเลิกการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน จำ�นวน 641,342,180 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 641,342,180 บาท เพื่อรองรับการแปลงสภาพใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (ก) ยกเลิกการจัดสรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำ�นวน 423,806,180 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท เป็นเงิน 423,806,180 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 1 (W 1) (ข) ยกเลิกการจัดสรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำ�นวน 217,536,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท เป็นเงิน 217,536,000 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯชุดที่ 2 (W 2) 1.2 ยกเลิกการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน จำ�นวน 1,800,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 1,800,000,000 บาท เพื่อรองรับการออกขายให้กับประชาชนทั่วไป 104

รายงานประจำ�ปี 2553


1.3 ยกเลิกการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน จำ�นวน 4,043,088,080 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 4,043,088,080 บาท เพื่อรองรับการออกขายให้กับผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจำ�นวนไม่เกิน 35 ราย 2. ให้ความเห็นชอบการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 6,484,430,260 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 6,484,430,260 บาท ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1 จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 628,871,180 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 628,871,180 บาท เพื่อ รองรับการแปลงสภาพใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ดังต่อไปนี้ (ก) จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 423,806,180 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 423,806,180 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทชุดที่ 1 (W 1) (ข) จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 205,065,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 205,065,000 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทชุดที่ 2 (W 2) 2.2 ให้ความเห็นชอบการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 4,412,455,792หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 4,412,455,792 บาท เพื่อเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญเดิม มีสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่ได้ 4 หุ้น (5:4) ในราคาหุ้นละ 1 บาท 2.3 ให้ความเห็นชอบจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 1,443,103,288 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 1,443,103,288 บาท เพื่อรองรับการออกขายให้กับประชาชนทั่วไป ทั้งนี้เรื่องดังกล่าวตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10 ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 3/2553 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2553

24. ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 ได้มีมติอนุมัติการออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญจำ�นวน 73,206,000 หน่วย และที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2552 ได้มีมติยกเลิกมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯครั้งที่ 1/2552 เฉพาะเรื่องการอนุมัติการออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญจำ�นวน 73,206,000 หน่วย และได้มีมติอนุมัติใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจำ�นวน 93,006,000 หน่วย เพื่อจัดสรร ให้แก่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ตามแผนการปรับ โครงสร้างการถือหุ้นของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อที่ 2 ต่อมาในวันที่ 22 มกราคม 2553 บริษัทได้ปรับราคาการใช้สิทธิและจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญบริษัท ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 23 โดยใบสำ�คัญแสดงสิทธิของบริษัทฯที่ออกแต่ละชุดมีรายละเอียดต่อไปนี้ 24.1 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิชุดที่ 1

เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2552 บริษัทได้ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ชุดที่ 1 (“ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ชุดที่ 1” หรือ “W1”) จำ�นวน 69,750,000 หน่วย ให้แก่ กรรมการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 และแก่บุคคลที่บริษัทได้จัดสรรให้เพิ่มเติม ซึง่ ต่อมาในวันที่ 22 มกราคม 2553 บริษทั ได้ปรับราคาการใช้สทิ ธิและจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญเพือ่ ให้สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญบริษัทตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 รายละเอียด ของใบสำ�คัญแสดงสิทธิมีดังต่อไปนี้ จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ที่เสนอขาย : 697,500,000 หน่วย ประเภทใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : ระบุชื่อผู้ถือ ห้ามโอนเปลี่ยนมือ ราคาเสนอขาย : ไม่มีราคาเสนอขาย (ศูนย์บาทต่อหน่วย) อายุใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : ไม่เกิน 5 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ วันกำ�หนดการใช้สิทธิ : (1) ในช่วงก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ให้ใช้สิทธิทุกๆ เดือนในวันที่ 30 ของทุกเดือน (2) ในช่วงหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เป็นต้นไป ให้ใช้สิทธิทุกๆ 3 เดือน ในวันที่ 30 ของเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม Annual Report 2010

105


(3) กำ�หนดใช้สิทธิครั้งสุดท้ายวันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 ข้อจำ�กัดการใช้สิทธิ : (1) ในช่วงก่อนวันที่31 ธันวาคม2552 ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามจำ�นวน ใบสำ�คัญแสดงสิทธิทไี่ ด้รบั การจัดสรรทัง้ หมดหรือบางส่วนในวันกำ�หนดการใช้สทิ ธิ ในคราวเดียว หรือหลายคราวก็ได้ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 : (2) ในช่วงหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิสามารถใช้สิทธิตาม จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมดหรือตามจำ�นวนที่เหลืออยู่ (แล้ ว แต่ ก รณี ) ได้ ต่ อ เมื่ อ หุ้ น ของบริ ษั ท ได้ เ ข้ า ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทยแล้ ว ตามช่ ว งเวลานั บ แต่ วั น ที่ หุ้ น ของบริ ษั ท ซื้ อ ขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยวันแรก และตามสัดส่วนดังนี้ l ในช่ ว งเดื อ นที่ 7 ถึ ง เดื อ นที่ 12 นั บ แต่ วั น แรกของการเข้ า ซื้ อ ขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวน ใบสำ�คัญแสดงสิทธิส่วนที่เหลืออยู่ l ในช่ ว งเดื อ นที่ 13 ถึ ง เดื อ นที่ 18 นั บ แต่ วั น แรกของการเข้ า ซื้ อ ขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวน ใบสำ�คัญแสดงสิทธิส่วนที่เหลืออยู่ l ตั้ ง แต่ เ ดื อ นที่ 19 นั บ แต่ วั น แรกของการเข้ า ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย เป็นต้นไป ใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิในส่วนที่เหลือ ได้ทั้งหมด ราคาการใช้สิทธิ : ราคาหุ้นละ 1 บาท อัตราการใช้สิทธิ : ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น 24.2 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิชุดที่ 2

เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2552 บริษัทฯได้ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ชุดที่ 2 (“ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ชุดที่ 2” หรือ “W2”) จำ�นวน 23,256,000 หน่วย จัดสรรให้แก่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) ชุดที่ 3 ซึ่งต่อมาในวันที่ 22 มกราคม 2553 บริษัทฯได้ปรับราคาการใช้สิทธิและจำ�นวน ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญบริษัทฯ ตามที่ได้กล่าว ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 รายละเอียดของใบสำ�คัญแสดงสิทธิมีดังต่อไปนี้ จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : 232,560,000 หน่วย ที่เสนอขาย ประเภทใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : ระบุชื่อผู้ถือ ห้ามโอนเปลี่ยนมือ ราคาเสนอขาย : ไม่มีราคาเสนอขาย (ศูนย์บาทต่อหน่วย) อายุใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : ไม่เกิน 5 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ วันกำ�หนดการใช้สิทธิ : (1) ทุก ๆ 3 เดือน ในวันที่ 30 ของเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม (2) กำ�หนดใช้สิทธิครั้งสุดท้ายวันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 ข้อจำ�กัดการใช้สิทธิ : ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิสามารถใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ต่อเมื่อหุ้นของ บริษทั ฯ ได้เข้าซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ตามช่วงเวลานับแต่วนั ที่ หุน้ ของบริษทั ฯซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยวันแรก และตามสัดส่วนดังนี้ ข้อจำ�กัดการใช้สิทธิ (ต่อ) : l ในช่วงเดือนที่ 7 ถึงเดือนที่ 12 นับแต่วนั แรกของการเข้าซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยใช้สทิ ธิได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิทไี่ ด้รบั การจัดสรรทั้งหมด l ในช่วงเดือนที่ 13 ถึงเดือนที่ 18 นับแต่วนั แรกของการเข้าซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยใช้สทิ ธิได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิทไี่ ด้รบั การจัดสรรทั้งหมด 106

รายงานประจำ�ปี 2553


l ตั้ ง แต่ เ ดื อ นที่ 19 นั บ แต่ วั น แรกของการเข้ า ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยเป็นต้นไป ใช้สทิ ธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิในส่วนทีเ่ หลือได้ทงั้ หมด ราคาการใช้สิทธิ : ราคาหุ้นละ 1 บาท อัตราการใช้สิทธิ : ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น (เว้นแต่จะมีการปรับสิทธิ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำ�หนดไว้ในข้อกำ�หนดสิทธิฯ)

การเปลี่ยนแปลงในระหว่างระหว่างปีของใบสำ�คัญแสดงสิทธิแสดงตามรายละเอียดได้ดังนี้

(หน่วย: หน่วย)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญ ที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของ บริษัทฯ ชุดที่ 1 ของ บริษัทฯ ชุดที่ 2 รวม

จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ณ วันต้นปี บวก: ผลจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าตราไว้ต่อหุ้น จากเดิมหุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท หัก: พนักงานลาออกระหว่างปี จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ณ วันสิ้นปี

42,380,618

21,956,400

64,337,018

381,425,562 - 423,806,180

197,607,600 (15,408,000) 204,156,000

579,033,162 (15,408,000) 627,962,180

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(หน่วย: หน่วย)

ส ำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญ ที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของ บริษัทฯ ชุดที่ 1 ของ บริษัทฯ ชุดที่ 2 รวม

จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ณ วันต้นงวด บวก: ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ออกในระหว่างงวด หัก: การสละสิทธิในการใช้สิทธิ หัก: พนักงานลาออกระหว่างงวด หัก: ใช้สิทธิแปลงสภาพระหว่างงวด จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ณ วันสิ้นงวด

- 69,750,000 (19,800,000) - (7,569,382) 42,380,618

- 23,256,000 - (1,299,600) - 21,956,400

93,006,000 (19,800,000) (1,299,600) (7,569,382) 64,337,018

25. สำ�รองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษัทต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ� ปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนเงินสำ�รองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหักด้วยขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำ�รองนี้ จะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำ�รองตามกฎหมายนี้ไม่สามารถนำ�ไปจ่ายเงินปันผลได้ ในระหว่างปี 2553 บริษัทฯได้จัดสรรกำ�ไรสุทธิจำ�นวน 18,700,000 บาท ไปเป็นสำ�รองตามกฎหมาย ในระหว่างปี 2553 และ 2552 บริษัทย่อยได้จัดสรรกำ�ไรสุทธิสำ�หรับปีจำ�นวน 20,700,000 บาทและ 79,635,000 บาท ตามลำ�ดับ ไปเป็นสำ�รองตามกฎหมาย

Annual Report 2010

107


26. เงินกองทุนที่ต้องดำ�รงไว้ตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ในการบริหารทุนของกลุ่มบริษัทฯ คือ การดำ�รงไว้ซึ่งความสามารถในการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง และ การดำ�รงเงินกองทุนตามกฎหมายตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 เงินกองทุนที่ต้องดำ�รงไว้ตามกฎหมายของ บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจการธนาคาร มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: บาท)

เงินกองทุนชั้นที่ 1 ทุนที่ออกและชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว ทุนสำ�รองตามกฎหมาย กำ�ไร (ขาดทุน) สะสม รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 เงินกองทุนชั้นที่ 2 เงินสำ�รองสำ�หรับสินทรัพย์จัดชั้นปกติ และสำ�รองทั่วไป รวมเงินกองทุนชั้นที่ 2 รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 และ 2 หัก: ส่วนตํ่ากว่าทุนจากการตีราคาตราสารทุนประเภทเผื่อขาย รวมเงินกองทุนตามกฎหมาย

31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552

5,500,000,000 100,335,000 18,648,980 5,618,983,980

2,654,500,000 79,635,000 (44,855,143) 2,689,279,857

261,212,533 261,212,533 5,880,196,513 - 5,880,196,513

137,356,230 137,356,230 2,826,636,087 2,826,636,087

อัตราส่วนการดำ�รงเงินกองทุนของธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทย่อย”) ตามที่ ได้รายงานไว้ต่อธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังต่อไปนี้

31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552

ธนาคาร แลนด์ แอนด์ อัตราขั้นตํ่า เฮ้าส์ ตามกฎหมาย

ธนาคาร แลนด์ แอนด์ อัตราขั้นตํ่า เฮ้าส์ ตามกฎหมาย

เงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนทั้งหมดต่อสินทรัพย์เสี่ยง

16.85% 17.64%

4.25% 8.50%

11.30% 11.88%

4.25% 8.50%

นอกจากนีเ้ พือ่ ให้เป็นไปตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรือ่ งการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับการดำ�รงเงินกองทุนสำ�หรับ ธนาคารพาณิชย์ (Basel II Pillar III) บริษัทย่อยได้ทำ�การเปิดเผยข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุนและข้อมูลความเสี่ยงของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 30 มิถุนายน 2553 ไว้ใน Website ของบริษัทย่อยที่ www.lhbank.co.th เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2553 และ 18 ตุลาคม 2553 ตามลำ�ดับ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทำ�การเปิดเผยข้อมูลการดำ�รงเงินกองทุนและข้อมูลความเสี่ยง ของบริษัท และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ใน Website ของบริษัทฯ ที่ www.lhfg.co.th และของบริษัทย่อยภายใน วันที่ 30 เมษายน 2554

27. ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการนีเ้ ป็นผลประโยชน์ทจี่ า่ ยให้แก่กรรมการของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ�กัด โดยไม่รวมเงินเดือนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องที่จ่ายให้กับกรรมการซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งเป็นผู้บริหารของบริษัท และบริษัทย่อยด้วย

108

รายงานประจำ�ปี 2553


28. ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ของบริษัทย่อยสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท)

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้คำ�นวณจากกำ�ไรสุทธิทางภาษีสำ�หรับปี บวก (หัก) : ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง (เพิ่มขึ้น) สุทธิจาก รายการที่มีผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ - สุทธิ

215,833,478

28,727,889

(41,338,453) 174,495,025

89,024,735 117,752,624

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ กิดจากรายการทีบ่ นั ทึกโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2553 2552 (ปรับปรุงใหม่)

ภาษีเงินได้จากส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน

2,784,239

5,906,340

รายการกระทบยอดจำ�นวนเงินระหว่างค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้กบั ผลคูณของกำ�ไรทางบัญชีกบั อัตราภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสรุป ได้ดังนี้ (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

กำ�ไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้คำ�นวณในอัตราร้อยละ 30 ผลกระทบทางภาษีของรายได้สุทธิที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำ�มาเสีย ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่อยู่ในงบกำ�ไรขาดทุน

586,959,853 176,087,956

394,018,210 118,205,463

(1,592,931) 174,495,025

(452,839) 117,752,624

Annual Report 2010

109


ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - สำ�รองทั่วไป ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - สำ�รองสินทรัพย์อื่น ดอกเบี้ยรับที่หยุดรับรู้รายได้ ค่าเสื่อมราคา/ค่าตัดจำ�หน่ายของสินทรัพย์ ตัดจำ�หน่ายหนี้สูญ ใช้ประโยชน์ขาดทุนทางภาษี ส่วนลดจากการปรับมูลค่าตั๋วเงินรับ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

2552

ส่วนเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์/หนี้สิน ภาษีเงินได้ ที่แสดง ในงบกำ�ไรขาดทุนรวม สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553

2552

(ปรับปรุงใหม่)

47,056,331 2,525,280 1,751,057 18,148,724 19,077,539 - 143,311 88,702,242

11,621,124 855,283 1,083,560 14,066,359 19,116,395 - 621,068 47,363,789

2,784,239 2,784,239

5,906,340 5,906,340

35,435,207 (7,411,339) 1,669,997 855,283 667,497 (1,046,156) 4,082,365 14,066,359 (38,856) 18,527,008 - (113,263,604) (477,757) (752,286) 41,338,453 (89,024,735) - -

-

29. กำ�ไรต่อหุ้น กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำ�นวณโดยหารกำ�ไรสุทธิด้วยจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี ภายหลังการปรับจำ�นวนหุ้นสามัญที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้จากมูลค่าหุ้นละ 10 บาท เป็นมูลค่าหุ้นละ 1 บาท โดยการปรับปรุงจำ�นวนหุ้นสามัญดังกล่าวถือเสมือนว่ามูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญมีมูลค่าหุ้นละ 1 บาท มาโดยตลอด กำ�ไรต่อหุ้นปรับลดคำ�นวณโดยหารกำ�ไรสุทธิด้วยผลรวมของจำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักที่ออกอยู่ในระหว่างปี กับจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสามัญ (ภายหลังการปรับปรุงจำ�นวนหุ้นสามัญที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้เช่นเดียวกับการคำ�นวณกำ�ไรต่อหุ้น ขั้นพื้นฐาน) โดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า จำ�นวนหุ้นสามัญเทียบเท่าที่ คำ�นวณได้เท่ากับศูนย์ เนื่องจากในสภาวะปัจจุบันฝ่ายบริหารของบริษัทฯพิจารณาว่าราคาใช้สิทธิมีมูลค่าโดยประมาณไม่แตกต่าง กับมูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญของบริษัทฯอย่างเป็นสาระสำ�คัญ ดังนั้นกำ�ไรต่อหุ้นปรับลดจึงแสดงเท่ากับกำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 30. เงินปันผลจ่าย เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2553 มีมติอนุมัติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจาก ผลการดำ�เนินงานสิ้นสุดวันที่ 30 เมษายน 2553 ให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มีชื่อในสมุดทะเบียนรายชื่อผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2553 ในอัตราหุ้นละ 0.015 บาท รวมเป็นเงิน 41,366,773 บาท บริษัทฯจ่ายเงินปันผลในวันที่ 14 พฤษภาคม 2553

110

รายงานประจำ�ปี 2553


31. ภาระผูกพัน 31.1 ภาระผูกพันนอกงบดุล

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม เงินบาท

การรับอาวัลตั๋วเงิน การคํ้าประกันอื่น วงเงินเบิกเกินบัญชีที่ลูกค้า ยังไม่ได้เบิกใช้ รวม

- 963,282,621 1,392,210,624 2,355,493,245

31 ธันวาคม 2553 เงินตรา ต่างประเทศ

- -

รวม

- 963,282,621

31 ธันวาคม 2552 เงินตรา ต่างประเทศ

เงินบาท

3,020,000 745,027,904

- -

- 1,392,210,624 720,929,011 - 2,355,493,245 1,468,976,915

รวม

3,020,000 745,027,904

- 720,929,011 - 1,468,976,915

31.2 ภาระผูกพันตามสัญญาระยะยาว

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยได้ทำ�สัญญาเช่าระยะยาวสำ�หรับอาคารสำ�นักงาน อุปกรณ์และ ยานพาหนะและสัญญาบริการโดยบริษัทย่อยจะต้องจ่ายค่าเช่าและค่าบริการในอนาคตดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

2554 2555 เป็นต้นไป

ปี

31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552

102 157

51 14

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ภาระผูกพันของบริษัทย่อยข้างต้นรวมภาระผูกพันตามสัญญาเช่าและสัญญาบริการ ที่ทำ�กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันจำ�นวนเงินรวมประมาณ 62 ล้านบาท และ 73 ล้านบาท ตามลำ�ดับ 31.3 ภาระผูกพันอื่นๆ

(ก) บริษัทย่อยได้เข้าทำ�สัญญาจ้างที่ปรึกษาเพื่อการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์และสัญญาติดตั้งและพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ กับบริษัทหลายแห่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ2552 คงเหลือจำ�นวนที่ทางบริษัทย่อยจะต้องจ่ายภายใต้สัญญา ดังกล่าวอีกจำ�นวนเงินประมาณ 18 ล้านบาท และ 10.7 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทย่อยของบริษัทย่อยมีภาระต้องจ่ายค่าธรรมเนียมการประกอบธุรกิจการจัดการกองทุน ให้กับสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในอัตราร้อยละ 1 ของรายได้จากการประกอบธุรกิจ จัดการกองทุนข้างต้น ค่าธรรมเนียมดังกล่าวกำ�หนดจำ�นวนขั้นต่ำ� 500,000 บาท ต่อปี และกำ�หนดสูงสุดไม่เกิน 5,000,000 บาท ต่อปี

32. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ บริษัทย่อยและพนักงานของบริษัทย่อยได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพขึ้นภายใต้การอนุมัติจากกระทรวงการคลัง ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 - 7 ของเงินเดือนพนักงานและเงินทีบ่ ริษทั ย่อยจ่ายสมทบให้ในอัตราเดียวกันและจะจ่ายให้แก่พนักงานในกรณีทอี่ อกจากงานตามระเบียบ ว่าด้วยกองทุนของบริษัทย่อย กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนลแอสชัวรันส์ จำ�กัดสำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพเป็นจำ�นวนประมาณ 11,106,559 บาท และ 9,017,112 บาท ตามลำ�ดับ

Annual Report 2010

111


33. รายการธุรกิจกับกิจการ/บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รวมทั้งรายการที่เกี่ยวข้องกับกรรมการ พนักงานชั้นบริหารตั้งแต่ระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไปหรือบุคคลผู้มีตำ�แหน่งเทียบเท่ารวมถึงกิจการที่บุคคลหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับ บุคคลดังกล่าวที่มีอำ�นาจในการจัดการ หรือแก่กิจการที่บริษัทฯหรือกรรมการหรือพนักงานชั้นบริหารตั้งแต่ระดับผู้อำ�นวยการฝ่าย ขึ้นไปรวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไปของทุนที่ชำ�ระแล้วของกิจการนั้น ลักษณะความสัมพันธ์สามารถแบ่งได้ดังนี้

112

1.

บริษัทและบุคคลที่เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯที่ถือหุ้นบริษัทฯเกินกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไปได้แก่ 1.1 บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 1.2 บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 1.3 คุณเพียงใจ หาญพาณิชย์

2.

บริษัทย่อยของบริษัทฯ ซึ่งได้แก่ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน)

3.

บริษัทย่อยของบริษัทย่อย ซึ่งได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด

4.

บริษัทย่อยของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1 ข้างต้น) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อยประกอบด้วย 4.1 บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จำ�กัด 4.2 บริษัท คิว. เอช. แมเนจเม้นท์ จำ�กัด 4.3 บริษัท คิว. เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 4.4 บริษัท แอลเอช แอสเซท จำ�กัด 4.5 บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด 4.6 บริษัท แอล แอนด์ เอช สาทร จำ�กัด 4.7 บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำ�กัด 4.8 บริษัท คาซ่า วิลล์ จำ�กัด 4.9 บริษัท คาซ่า วิลล์ (ระยอง 2553) จำ�กัด 4.10 บริษัท คาซ่า วิลล์ (เพชรบุรี 2553) จำ�กัด 4.11 บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำ�กัด 4.12 บริษัท แปซิฟิค เรียลเอสเตท จำ�กัด

5.

บริษัทร่วมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1 ข้างต้น) ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อยประกอบด้วย 5.1 บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) 5.2 บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จำ�กัด 5.3 บริษัท เอเซียแอสเซท แอดไวเซอรี่ จำ�กัด 5.4 บริษัท ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดักส์ จำ�กัด (มหาชน) 5.5 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 5.6 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์

6.

บริษัทที่เกี่ยวข้องกับกรรมการของบริษัทฯและบริษัทย่อย ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อยประกอบด้วย 6.1 บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด 6.2 บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) 6.3 บริษัท แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ จำ�กัด 6.4 บริษัท ไอเดีย ฟิตติ้ง จำ�กัด

รายงานประจำ�ปี 2553


7.

บริษัทที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1 ข้างต้น) และมีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ประกอบด้วย 7.1 บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จำ�กัด 7.2 บริษัท เมย์แลนด์ จำ�กัด 7.3 บริษัท เอ.เอ.พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด 7.4 บริษัท นอร์ธเทอร์น เรียลเอสเตท จำ�กัด 7.5 บริษัท บี.ซี.เรียลเอสเตท จำ�กัด 7.6 บริษัท ประชาชื่น เรียลเอสเตท จำ�กัด 7.7 บริษัท สุรัสยา จำ�กัด 7.8 บริษัท อรรถชาติ จำ�กัด 7.9 บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เรียลเอสเตท จำ�กัด 7.10 บริษัท ดาหรา จำ�กัด 7.11 บริษัท ปทุมธานี เรียลเอสเตท จำ�กัด

8.

บริษัทที่ถูกควบคุมโดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯและบริษัทย่อย ที่มีธุรกรรมกับบริษัทฯและบริษัทย่อยประกอบด้วย 8.1 บริษัท พรพลทรัพย์เจริญ จำ�กัด

9.

บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 9.1 กรรมการของบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน และพนักงานระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไปของบริษัทย่อย 9.2 กรรมการและบุคคลใกล้ชิดของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (ผู้ถือหุ้นตามข้อ 1 ข้างต้น) และบุคคลใกล้ชิดของ บริษัทย่อย

33.1 รายการที่เกิดขึ้นในระหว่างปี

ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าว เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อย และบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่ง เป็นไปตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

รายได้ดอกเบี้ย บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แปซิฟิค เรียลเอสเตท จำ�กัด บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จำ�กัด บริษัท คิว. เอช. แมเนจเม้นท์ จำ�กัด บริษัท คิว. เอช. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท แอลเอช แอสเซท จำ�กัด

นโยบายการกำ�หนดราคา

- 2,959 1,030,711 1,033,670

2,547,867 - 1,291,082 3,838,949

ตามเงื่อนไขในหนังสือชี้ชวน ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยคิดกับลูกค้าทั่วไป

3,227,770 5,962,167 74,358 61,955 363,164 796,255 134,901

6,111,226 5,117,316 150,289 142,152 153,189 898,825 735,226

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป Annual Report 2010

113


(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย (ต่อ) บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด บริษัท แอล แอนด์ เอช สาทร จำ�กัด บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท คาซ่า วิลล์ จำ�กัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (ระยอง 2553) จำ�กัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (เพชรบุรี 2553) จำ�กัด บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท แปซิฟิค เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จำ�กัด บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำ�กัด บริษัท ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดักส์ จำ�กัด (มหาชน) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ควอลีตี้ เฮ้าส์ บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แอล แอนด์ เอช แมเนจเม้นท์ จำ�กัด บริษัท ไอเดีย ฟิตติ้ง จำ�กัด บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จำ�กัด

114

8,250 57 74,743 1,837,483 14,044 13,431 191,497 1,416,817 5,628,726 473,928 81,786 44,380

8,641 93 108,878 963,636 - - 179,767 965,526 1,447,020 216,769 117,533 49,425

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราทีบ่ ริษทั ย่อยจ่ายให้ผฝู้ ากทัว่ ไป

883,081 83,839 161,321 100,367 4,182 1,532 66,867

814,447 - 596,926 323,183 2,278 - 88,050

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย (ต่อ) บริษัท เมย์แลนด์ จำ�กัด บริษัท เอ.เอ.พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด บริษัท นอร์ธเทอร์น เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท บี.ซี.เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท ประชาชื่น เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท สุรัสยา จำ�กัด บริษัท อรรถชาติ จำ�กัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท ดาหรา จำ�กัด บริษัท ปทุมธานี เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท พรพลทรัพย์เจริญ จำ�กัด รายงานประจำ�ปี 2553

นโยบายการกำ�หนดราคา

537,812 6,843 13,220 766 1,118 24 6,319 35,434 3,522 338,769 11,170

427,078 3,476 - - - - - - - 297,103 43,325

(หน่วย: บาท) นโยบายการกำ�หนดราคา

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป


งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

กรรมการและพนักงานระดับ ผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ค่าเช่าสำ�นักงานและค่าบริการ บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท คิว.เอช.แมเนจเม้นท์ จำ�กัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จำ�กัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์ บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย: บาท) นโยบายการกำ�หนดราคา

2,460,129 4,098,987 29,221,014

3,092,084 2,366,868 25,420,329

2,032,362 214,000

525,698 256,800

ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา

2,398,556 18,720 46,266,734 2,397,860 1,007,405 54,335,637

2,323,569 - 46,004,495 1,994,454 - 51,105,016

ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับรอบระยะเวลา

ตั้งแต่วันที่ 22 สำ�หรับปีสิ้นสุด เมษายน 2552 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552

ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป

(หน่วย: บาท)

นโยบายการกำ�หนดราคา

ดอกเบี้ยรับ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) 1,529,478 15,874 ตามอัตราที่บริษัทย่อยจ่ายให้ผู้ฝากทั่วไป 1,529,478 15,874 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) - 34,313 อัตราดอกเบี้ยร้อยละของเงินให้กู้ยืม ประเภทเบิกเกินบัญชีขั้นตํ่าสำ�หรับ ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MOR) ลบด้วย ร้อยละ 1.0 ต่อปี บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) - 52,376 อัตราดอกเบี้ยร้อยละของเงินให้กู้ยืม ประเภทเบิกเกินบัญชีขั้นตํ่าสำ�หรับ ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MOR) ลบด้วย ร้อยละ 1.0 ต่อปี - 86,689

ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายสำ�หรับเงินเดือน โบนัส ค่าเบี้ยประชุม และ เงินบำ�เหน็จของกรรมการและผู้บริหารเป็นจำ�นวนเงินรวม 38 ล้านบาท และ 33.6 ล้านบาท ตามลำ�ดับ Annual Report 2010

115


33.2 ยอดคงค้างระหว่างกัน ณ วันที่ในงบดุล

ยอดคงเหลือของรายการที่บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

เงินให้สินเชื่อ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552

51,338,318 51,338,318

26,853,019 26,853,019

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

ดอกเบี้ยค้างรับ (ของเงินให้สินเชื่อ) บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจำ�การเช่าสำ�นักงาน บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์ บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด เงินรับฝาก บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จำ�กัด บริษัท คิว.เอช.แมเนจเม้นท์ จำ�กัด บริษัท คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท แอลเอช แอสเซท จำ�กัด บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด บริษัท แอล แอนด์ เอช สาทร จำ�กัด บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท คาซ่า วิลล์ จำ�กัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (ระยอง 2553) จำ�กัด บริษัท คาซ่า วิลล์ (เพชรบุรี 2553) จำ�กัด บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท แปซิฟิค เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จำ�กัด บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำ�กัด บริษัท ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่นโปรดักส์ จำ�กัด (มหาชน) 116

รายงานประจำ�ปี 2553

31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552

14,731 14,731

13,671 13,671

237,033 314,363 9,978,036 904,693 11,434,125

237,033 293,312 9,951,511 904,693 11,386,549

176,785 176,785

-

317,024,622 414,964,345 3,788,634 40,539,176 15,706,979 36,998,880 34,523,971 4,249,212 11,432 17,868,078 199,335,355 890,765 1,450,753 17,154,590 11,489,908 1,574,649 62,181,724 12,348,977 224,423

333,950,254 415,907,465 4,588,646 168,022 49,919,375 30,357,989 24,484,732 3,425,132 11,476 17,379,342 190,043,397 4,281,895 5,696,039 2,976,592 697,142 13,005,828 427,217


(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

เงินรับฝาก (ต่อ) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์ บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ จำ�กัด บริษัท ไอเดีย ฟิตติ้ง จำ�กัด บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จำ�กัด บริษัท เมย์แลนด์ จำ�กัด บริษัท เอ.เอ.พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด บริษัท นอร์ธเทอร์น เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท บี.ซี. เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท ประชาชื่น เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท สุรัสยา จำ�กัด บริษัท อรรถชาติ จำ�กัด บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท ดาหรา จำ�กัด บริษัท ปทุมธานี เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท พรพลทรัพย์เจริญ จำ�กัด กรรมการและพนักงานระดับ ผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืม บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท แปซิฟิค เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จำ�กัด บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จำ�กัด กรรมการและพนักงานระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552

67,389,900 26,583,378 313,188 311,512 2,494,703 4,973,117 3,450,431 67,789,704 1,811,548 1,761,027 147,342 218,775 5,532 1,683,858 17,640,660 1,810,006 48,868,922 646,069 298,578,340 305,275,519 2,044,080,004

66,506,194 432,348 310,842 1,848,787 3,440,430 103,216,209 1,841,473 38,911,418 747,328 427,387,266 204,881,403 1,946,844,241

800,000,000 - - 1,195,000,000 120,048,860 - - 25,000,000 124,293,278 45,784,799 2,310,126,937

960,000,000 60,000,000 340,000,000 675,000,000 48,000,000 45,000,000 8,304,164 2,136,304,164

Annual Report 2010

117


(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ บริษัท แอล เอช แอสเซท จำ�กัด บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท คาซ่า วิลล์ จำ�กัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์ ดอกเบี้ยค้างจ่าย บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท แปซิฟิค เรียลเอสเตท จำ�กัด บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จำ�กัด บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำ�กัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จำ�กัด บริษัท ดาหรา จำ�กัด บริษัท พรพลทรัพย์เจริญ จำ�กัด กรรมการและพนักงานระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

31 ธันวาคม 2552

45,534,952 4,633 9,930,005 8,440,000 - 26,525 63,936,115

30,350,000 4,633 3,390,000 18,840,000 52,584,633

251,712 30,185 - - 435,822 31,246 2,544 129,472 - - 93,058 3,516 14,478 135,724 661,645 1,789,402

268,493 16,690 7,233 42,055 212,602 13,557 130,097 24,842 16,336 26,192 4,728 166,197 141,031 1,070,053 (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท คิว.เอช.แมเนจเม้นท์ จำ�กัด บริษัทโฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์ บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด เจ้าหนี้อื่น บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์ กรรมการและพนักงานระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป

118

31 ธันวาคม 2553

รายงานประจำ�ปี 2553

31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552

172,270 17,120 21,000 392,764 8,500 611,654

21,400 414,635 375 436,410

451,540 32,040 4,935 488,515

451,540 451,540


(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) สินทรัพย์อื่น (ดอกเบี้ยค้างรับ) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน)

31 ธันวาคม 2553

31 ธันวาคม 2552

343,718,844 343,718,844

99,931,039 99,931,039

59,092 59,092

-

33.3 รายการเคลื่อนไหวของเงินให้สินเชื่อ เงินรับฝากและเงินกู้ยืมกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

รายการเคลื่อนไหวของเงินให้สินเชื่อ เงินรับฝากและเงินกู้ยืมกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีดังนี้ (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น ลดลง 31 ธันวาคม 2553

เงินให้สินเชื่อ บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 26,853,019 52,987,398 (28,502,099) 51,338,318 26,853,019 52,987,398 (28,502,099) 51,338,318 เงินรับฝาก บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 333,950,254 41,388,831,015 (41,405,756,647) 317,024,622 บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 415,907,465 56,917,268,734 (56,918,211,854) 414,964,345 นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ 4,588,646 16,268,178 (17,068,190) 3,788,634 บริษัท เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จำ�กัด 168,022 3,958,684,752 (3,918,313,598) 40,539,176 บริษัท คิว.เอช.แมเนจเม้นท์ จำ�กัด 49,919,375 337,775,902 (371,988,298) 15,706,979 บริษัท คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 30,357,989 1,059,488,690 (1,052,847,799) 36,998,880 บริษัท แอลเอช แอสเซท จำ�กัด 24,484,732 2,321,209,823 (2,311,170,584) 34,523,971 บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด 3,425,132 20,998,003 (20,173,923) 4,249,212 บริษัท แอล แอนด์ เอช สาทร จำ�กัด 11,476 57 (101) 11,432 บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำ�กัด 17,379,342 641,022,300 (640,533,564) 17,868,078 บริษัท คาซ่า วิลล์ จำ�กัด 190,043,397 26,298,915,735 (26,289,623,777) 199,335,355 บริษัท คาซ่า วิลล์ (ระยอง 2553) จำ�กัด - 210,287,848 (209,397,083) 890,765 บริษัท คาซ่า วิลล์ (เพชรบุรี 2553) จำ�กัด - 257,950,031 (256,499,278) 1,450,753 บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำ�กัด 4,281,895 465,269,347 (452,396,652) 17,154,590 บริษัท แปซิฟิค เรียลเอสเตท จำ�กัด 5,696,039 1,667,009,040 (1,661,215,171) 11,489,908 บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) 2,976,592 1,617,904,637 (1,619,306,580) 1,574,649 บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จำ�กัด 697,142 1,125,558,577 (1,064,073,995) 62,181,724 บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำ�กัด 13,005,828 192,096,863 (192,753,714) 12,348,977 บริษัท ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดักส์ จำ�กัด (มหาชน) 427,217 127,197,850 (127,400,644) 224,423 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 66,506,194 135,241,517 (134,357,811) 67,389,900 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์ - 253,455,896 (226,872,518) 26,583,378 บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด 432,348 430,311,799 (430,430,959) 313,188

Annual Report 2010

119


(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น ลดลง 31 ธันวาคม 2553

เงินรับฝาก (ต่อ) บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) 310,842 778 (108) 311,512 บริษัท แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ จำ�กัด 1,848,787 20,724,168 (20,078,252) 2,494,703 บริษัท ไอเดีย ฟิตติ้ง จำ�กัด - 5,012,032 (38,915) 4,973,117 บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จำ�กัด 3,440,430 10,001 - 3,450,431 บริษัท เมย์แลนด์ จำ�กัด 103,216,209 1,767,051,437 (1,802,477,942) 67,789,704 บริษัท เอ.เอ. พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด 1,841,473 6,843 (36,768) 1,811,548 บริษัท นอร์ธเทอร์น เรียลเอสเตท จำ�กัด - 1,795,399 (34,372) 1,761,027 บริษัท บี.ซี. เรียลเอสเตท จำ�กัด - 159,550 (12,208) 147,342 บริษัท ประชาชื่น เรียลเอสเตท จำ�กัด - 230,336 (11,561) 218,775 บริษัท สุรัสยา จำ�กัด - 18,426 (12,894) 5,532 บริษัท อรรถชาติ จำ�กัด - 1,695,421 (11,563) 1,683,858 บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เรียลเอสเตท จำ�กัด - 18,634,185 (993,525) 17,640,660 บริษัท ดาหรา จำ�กัด - 1,810,006 - 1,810,006 บริษัท ปทุมธานี เรียลเอสเตท จำ�กัด 38,911,418 10,807,725 (850,221) 48,868,922 บริษัท พรพลทรัพย์เจริญ จำ�กัด 747,328 1,775,721 (1,876,980) 646,069 กรรมการและพนักงานระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป 427,387,266 2,242,795,881 (2,371,604,807) 298,578,340 บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 204,881,403 847,736,410 (747,342,294) 305,275,519 1,946,844,241 144,363,010,913 (144,265,775,150) 2,044,080,004

120

รายงานประจำ�ปี 2553


(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น ลดลง 31 ธันวาคม 2553

เงินกู้ยืม บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) 960,000,000 8,312,017,534 (8,472,017,534) 800,000,000 บริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) - 18,283,484,384 (18,283,484,384) คุณเพียงใจ หาญพาณิชย์ - 3,060,654 (3,060,654) บริษัท คิว.เอช.แมเนจเม้นท์ จำ�กัด - 160,049,863 (160,049,863) บริษัท คิว.เอช.อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด - 620,381,918 (620,381,918) บริษัท คาซ่า วิลล์ จำ�กัด - 2,630,969,315 (2,630,969,315) บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำ�กัด 60,000,000 340,132,712 (400,132,712) บริษัท แปซิฟิค เรียลเอสเตท จำ�กัด 340,000,000 2,801,233,219 (3,141,233,219) บริษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) 675,000,000 23,708,471,103 (23,188,471,103) 1,195,000,000 บริษัท บางกอก เชน ฮอสปิทอล จำ�กัด - 1,210,260,118 (1,090,211,258) 120,048,860 บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด 48,000,000 266,163,000 (314,163,000) บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) 45,000,000 235,115,925 (280,115,925) บริษัท เคหะอุตสาหกรรม จำ�กัด - 25,000,000 - 25,000,000 กรรมการและพนักงานระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป 8,304,164 191,609,062 (75,619,948) 124,293,278 บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน - 108,168,298 (62,383,499) 45,784,799 2,136,304,164 62,443,332,073 (61,932,500,346) 2,310,126,937

(หน่วย: บาท)

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น ลดลง 31 ธันวาคม 2553

99,931,039 99,931,039

9,625,809,678 (9,382,021,873) 343,718,844 9,625,809,678 (9,382,021,873) 343,718,844

Annual Report 2010

121


34. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยดำ�เนินกิจการใน 3 ส่วนงานหลัก คือ ธุรกิจการลงทุน ธุรกิจการธนาคาร และธุรกิจจัดการกองทุน และดำ�เนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมศิ าสตร์เดียวคือในประเทศไทย ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท)

รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลสุทธิ หลังหักหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ รายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายที่มิใช่ดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

ธุรกิจการ ลงทุน

376,617 - (3,815) - 372,802

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธุรกิจ ธุรกิจจัดการ รายการ ธนาคาร กองทุน ตัดบัญชี

งบการเงิน รวม

1,362,769 101,315 (877,124) (174,495) 412,465

1,364,390 101,407 (883,182) (174,495) 408,120

92 94 (2,245) - (2,059)

(375,088) (2) 2 - (375,088)

(หน่วย: พันบาท)

ธุรกิจการ ลงทุน

เงินสด 3 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 343,719 เงินลงทุน - สุทธิ 5,499,999 เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ - ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าและอุปกรณ์ - สุทธิ - สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ - ตั๋วเงินรับ - สุทธิ - สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สินทรัพย์อื่น 146 สินทรัพย์รวม 5,843,867

122

รายงานประจำ�ปี 2553

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธุรกิจ ธุรกิจจัดการ รายการ ธนาคาร กองทุน ตัดบัญชี

428,886 5,146,259 14,186,942 42,091,405 119,615 72,128 40,207 88,702 189,339 62,363,484

3 51,892 - - 2,123 2,438 - - 1,156 57,612

งบการเงิน รวม

- 428,892 (395,550) 5,146,320 (5,557,288) 14,129,653 - 42,091,405 - 121,738 - 74,566 - 40,207 - 88,702 (58) 190,583 (5,952,896) 62,312,066


35. การเปิดเผยข้อมูลเครื่องมือทางการเงิน เครือ่ งมือทางการเงินหมายถึงสัญญาใด ๆ ทีท่ �ำ ให้สนิ ทรัพย์ทางการเงินของกิจการหนึง่ และหนีส้ นิ ทางการเงินหรือตราสาร ทุนของอีกกิจการหนึ่งเพิ่มขึ้น 35.1 ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ

ความเสี่ยงด้านสินเชื่อคือความเสี่ยงที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจได้รับความเสียหายอันสืบเนื่องมาจากการที่ลูกค้าหรือ คู่สัญญาของบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่สามารถปฏิบัติตามหรือจงใจไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือข้อตกลงที่ระบุไว้ในสัญญาได้ มูลค่าสูงสุดของความเสีย่ งด้านสินเชือ่ คือมูลค่าตามบัญชีของเครือ่ งมือทางการเงินหักด้วยสำ�รองเผือ่ ผลขาดทุนตามทีแ่ สดง ไว้ในงบดุล และความเสี่ยงของภาระผูกพันนอกงบดุลซึ่งเกิดจากการค้ำ�ประกันการกู้ยืมและค้ำ�ประกันอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันนอกงบดุลซึง่ วิเคราะห์ตามระยะเวลาครบกำ�หนด ของสัญญานับจากวันที่ในงบดุลได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

นับจาก 31 ธันวาคม 2553 มากกว่า ไม่เกิน 1 ปี 1 ปี รวม (1)

การรับอาวัลตั๋วเงิน การคํ้าประกันอื่นๆ วงเงินเบิกเกินบัญชี ที่ลูกค้ายังไม่ได้ใช้ (1)

นับจาก 31 ธันวาคม 2552 ไม่เกิน มากกว่า 1 ปี 1 ปี รวม (1)

- 698,620

- 264,663

- 963,283

3,020 666,210

- 78,818

3,020 745,028

1,392,211

-

1,392,211

720,929

-

720,929

รวมสัญญาที่ไม่มีระยะเวลาครบกำ�หนด

35.2 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาด

ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาดหมายถึงความเสี่ยงที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยอาจได้รับความเสียหาย อันสืบเนือ่ งมาจากการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ และราคาของหลักทรัพย์ซงึ่ ส่งผลกระทบต่อฐานะการลงทุนและการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ดังนัน้ ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคาตลาดจึงประกอบไปด้วยความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ และความเสีย่ ง จากการเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของตราสารทุน (ก) ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย

ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยคือความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งอาจจะทำ�ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงต่อมูลค่าตราสารทางการเงิน ความผันผวนต่อรายได้หรือมูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน ทั้งนี้ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยเป็นผลมาจากการจัดโครงสร้างและลักษณะของรายการในสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของ ผู้ถือหุ้น และความไม่สอดคล้องระหว่างระยะเวลาคงเหลือในการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ของรายการทางด้านสินทรัพย์ และหนี้สิน

Annual Report 2010

123


สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน จำ�แนกตามประเภทอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จำ�แนกได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 รายการ

มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้างอิงตาม อัตราตลาด

มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่

- 48 - 38,128,566 -

- 4,717,012 14,124,854 3,637,626 -

428,892 428,892 474,158 5,191,218 5,365 14,130,219 731,615(1) 42,497,807 40,207 40,207

10,909,831 308,762 - -

16,154,611 10,660,542 - 17,434,936

17,984 27,082,426 15,886 10,985,190 123,274 123,274 - 17,434,936

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อ ตั๋วเงินรับ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม (1)

เป็นเงินให้สินเชื่อที่บริษัทย่อยระงับการรับรู้รายได้

124

รวม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553

รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อ ตั๋วเงินรับ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม (1)

ไม่มีดอกเบี้ย

เป็นเงินให้สินเชื่อที่บริษัทย่อยระงับการรับรู้รายได้

รายงานประจำ�ปี 2553

มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้างอิงตาม อัตราตลาด

มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่

- 1 - 31,435,324 -

- 2,700,000 10,308,510 3,685,738 -

324,165 324,165 581,379 3,281,380 5,365 10,313,875 483,142(1) 35,604,204 38,614 38,614

10,154,205 339,272 - -

21,554,001 3,911,902 - 10,216,418

13,530 31,721,736 10,767 4,261,941 164,880 164,880 - 10,216,418

ไม่มีดอกเบี้ย

รวม


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้างอิงตาม อัตราตลาด

มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่

- 450

- 337,009

ไม่มีดอกเบี้ย

3 6,260

รวม

3 343,719

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 รายการ

มีอัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง อ้างอิงตาม อัตราตลาด

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่

- 75,709

ไม่มีดอกเบี้ย

- -

102 24,222

รวม

102 99,931

เครือ่ งมือทางการเงินที่มอี ัตราดอกเบี้ยคงที่มีวนั ที่มีการกำ�หนดอัตราใหม่หรือวันครบกำ�หนด (แล้วแต่วนั ใดจะถึงก่อน) นับจากวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม นับจาก 31 ธันวาคม 2553

ระยะเวลาการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกำ�หนด

รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สนิ เชือ่

เมื่อ ทวงถาม

0 - 3 เดือน

3 - 12 เดือน

- - 8,329

4,717,012 39,974 3,122,606

- - 337,540

เงินรับฝาก 727,933 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 2,352,000 เงินกูย้ มื 272,508

5,445,734 7,931,784 12,926,373

6,810,237 375,158 3,658,548

หนี้สินทางการเงิน

1 - 5 ปี

เกิน 5 ปี

รวม

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

- - 4,717,012 3.00 - 3.25 3,987,625 10,097,255 14,124,854 2.80 - 7.11 127,903 41,248 3,637,626 1.50 - 10.13 3,170,707 1,600 577,507

- 16,154,611 0.75 - 4.25 - 10,660,542 0.75 - 3.00 - 17,434,936 0.75 - 3.05

Annual Report 2010

125


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม นับจาก 31 ธันวาคม 2552

ระยะเวลาการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกำ�หนด

เมื่อ ทวงถาม

0 - 3 เดือน

- - 32,529

2,700,000 120,458 2,898,540

เงินรับฝาก 1,133,692 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน 1,201,001 เงินกูย้ มื 1,320,775

10,465,761 2,412,901 8,465,335

รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สนิ เชือ่

หนี้สินทางการเงิน

3 - 12 เดือน

1 - 5 ปี

เกิน 5 ปี

รวม

- 83,557 699,109

- 2,378,320 30,453

- 2,700,000 1.11 - 3.00 7,726,175 10,308,510 3.48 - 7.11 25,107 3,685,738 1.50 - 10.00

3,835,069 278,000 419,308

6,119,479 20,000 11,000

- 21,554,001 0.75 - 4.25 - 3,911,902 0.75 - 2.50 - 10,216,418 0.75 - 2.30

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ นับจาก 31 ธันวาคม 2553

ระยะเวลาการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่หรือวันครบกำ�หนด

รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน

รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

126

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

รายงานประจำ�ปี 2553

เมื่อ ทวงถาม

-

0 - 3 เดือน

337,009

3 - 12 เดือน

1 - 5 ปี

เกิน 5 ปี

-

-

-

รวม

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

337,009

1.6


นอกจากนี้ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์/หนี้สินทางการเงินที่ก่อให้เกิดรายได้/ค่าใช้จ่ายตามลำ�ดับ ยอดคงเหลือ ถัวเฉลี่ยที่คำ�นวณโดยถัวเฉลี่ยจากยอดคงเหลือในระหว่างปีของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินและผลตอบแทนเฉลี่ยของดอกเบี้ย และเงินปันผลสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

2553

สินทรัพย์ทางการเงินที่ก่อให้เกิดรายได้ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงินที่ก่อให้เกิดค่าใช้จ่าย เงินฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินกู้ยืม

ยอด คงเหลือ ถัวเฉลี่ย

2552 ดอกเบี้ย และ เงินปันผล

ยอด คงเหลือ ถัวเฉลี่ย

ดอกเบี้ย และ เงินปันผล

อัตรา เฉลี่ย (ร้อยละ)

2,953,544 12,054,121 39,048,608

77,228 530,011 1,715,562

2.61 4.39 4.39

866,568 16,655 7,304,356 338,216 32,304,064 1,608,669

1.92 4.63 4.98

29,717,415 6,624,857 12,972,281

459,210 94,056 195,144

1.55 1.42 1.52

27,311,977 6,519,395 4,183,456

2.02 1.30 1.62

552,716 84,454 67,614

อัตรา เฉลี่ย (ร้อยละ)

(ข) ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของตราสารทุน ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของตราสารทุนคือความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของราคาของตราสาร ทุนหรือหุน้ ทุน ซึง่ อาจจะทำ�ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงต่อมูลค่าของสินทรัพย์ประเภทเงินลงทุน ความผันผวนต่อรายได้หรือมูลค่าของ สินทรัพย์ทางการเงิน มูลค่าสูงสุดของความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงราคาตลาดของตราสารทุนคือมูลค่าตามบัญชีของตราสารทุนหลังปรับปรุง ด้วยค่าเผื่อการปรับมูลค่าและค่าเผื่อการด้อยค่า

Annual Report 2010

127


35.3 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง

ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องคือความเสี่ยงที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจได้รับความเสียหายอันสืบเนื่องมาจากการที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่สามารถเปลี่ยนสินทรัพย์เป็นเงินสดและ/หรือไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้เพียงพอตามความต้องการและทัน ต่อเวลาที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจะต้องนำ�ไปชำ�ระภาระผูกพันได้เมื่อครบกำ�หนด วันที่ที่ครบกำ�หนดของเครื่องมือทางการเงินนับจากวันที่ในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม นับจาก 31 ธันวาคม 2553 รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อ ตั๋วเงินรับ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม

เมื่อ ทวงถาม

428,892 474,206 - 2,491,188 -

ไม่เกิน 3 เดือน

3-12 เดือน

มากกว่า 1 ปี

- - - 4,717,012 - - 39,974 - 14,084,880 4,881,582 2,595,810 32,529,227 25,530 13,005 1,672

11,253,643 5,492,100 6,908,052 2,676,648 7,931,784 375,158 123,274 - - 272,508 12,926,373 3,658,548

3,428,631 1,600 - 577,507

ไม่มี กำ�หนด

- - 5,365 - -

428,892 5,191,218 14,130,219 42,497,807 40,207

- - - -

27,082,426 10,985,190 123,274 17,434,936

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

นับจาก 31 ธันวาคม 2552

รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุน เงินให้สินเชื่อ ตั๋วเงินรับ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม

128

รวม

รายงานประจำ�ปี 2553

เมื่อ ทวงถาม

324,165 581,380 - 1,905,320 -

ไม่เกิน 3 เดือน

3-12 เดือน

มากกว่า 1 ปี

- - - 2,700,000 - - 120,458 83,557 10,104,495 4,161,004 2,288,762 27,249,118 - - 38,614

11,011,958 10,505,859 1,551,040 2,412,901 164,880 - 1,320,775 8,465,335

4,006,166 278,000 - 419,308

6,197,753 20,000 - 11,000

ไม่มี กำ�หนด

รวม

- - 5,365 - -

324,165 3,281,380 10,313,875 35,604,204 38,614

- - - -

31,721,736 4,261,941 164,880 10,216,418


(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

นับจาก 31 ธันวาคม 2553

รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

เมื่อ ทวงถาม

3 6,710

ไม่เกิน 3 เดือน

- 337,009

3-12 เดือน

มากกว่า 1 ปี

- -

- -

ไม่มี กำ�หนด

- -

3 343,719

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

นับจาก 31 ธันวาคม 2552

รวม

รายการ

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

เมื่อ ทวงถาม

102 99,931

ไม่เกิน 3 เดือน

- -

3-12 เดือน

- -

มากกว่า 1 ปี

- -

ไม่มี กำ�หนด

- -

รวม

102 99,931

35.4 มูลค่ายุติธรรม

มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำ�นวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และ เต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้มกี ารประมาณการมูลค่ายุตธิ รรม ของเครื่องมือทางการเงินตามหลักเกณฑ์ดังนี้ เงินสดและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณของเงินสด และของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินประมาณเท่ากับราคาตามบัญชี เนื่องจากมีระยะเวลาครบกำ�หนดระยะสั้นและมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงตลาดปัจจุบัน เงินลงทุน มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนคิดคำ�นวณตามหลักเกณฑ์การแสดงมูลค่าของเงินลงทุน ยกเว้นมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด คำ�นวณโดยใช้อัตราผลตอบแทนของสมาคมตราสารหนี้ไทย เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ มูลค่ายุติธรรมของเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับประมาณเท่ากับราคาตามบัญชี ซึ่งคิดคำ�นวณตามหลักเกณฑ์แสดง มูลค่าที่ระบุไว้ในนโยบายการบัญชีของบริษัทฯและบริษัทย่อย ถึงแม้วา่ เงินให้สนิ เชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยจะมีการคิดดอกเบีย้ ในอัตราทีต่ �่ำ ในช่วงสองปีแรกของสัญญา ซึง่ อาจทำ�ให้มลู ค่ายุตธิ รรม ของสินเชื่อดังกล่าวจะมีจำ�นวนต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชี ผู้บริหารของบริษัทย่อยคาดว่าผลแตกต่างนั้นไม่เป็นจำ�นวนเงินที่เป็นสาระ สำ�คัญ ดังนั้นจึงประมาณการว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับมีจำ�นวนเท่ากับราคาตามบัญชี ตั๋วเงินรับ มูลค่ายุติธรรมของตั๋วเงินรับประมาณการจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากตั๋วสัญญาใช้เงิน ซึ่งคิดลดด้วยอัตราผลตอบแทนของเงินลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลไทยที่มีอายุใกล้เคียงกัน

Annual Report 2010

129


เงินกู้ยืมและเงินรับฝาก มูลค่ายุตธิ รรมของเงินกูย้ มื และเงินรับฝากประมาณเท่ากับราคาตามบัญชี เนือ่ งจากอัตราดอกเบีย้ ใกล้เคียงกับอัตราตลาด ปัจจุบัน หรือมีระยะเวลาครบกำ�หนดระยะสั้น หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถามประมาณเท่ากับราคาตามบัญชี เนื่องจากมีระยะเวลาครบกำ�หนดระยะสั้น มูลค่าที่ปรากฏในงบการเงินและมูลค่ายุติธรรมสำ�หรับเครื่องมือทางการเงินแต่ละประเภท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายูติธรรม

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน - สุทธิ เงินลงทุน - สุทธิ เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ ตั๋วเงินรับ - สุทธิ

428,892 5,146,320 14,129,653 42,091,405 40,207

428,892 5,146,320 14,475,400 42,091,405(1) 40,207

31 ธันวาคม 2552 มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

324,165 324,165 3,280,140 3,280,140 10,313,310 10,333,121 35,353,557 35,353,557(1) 38,614 38,614

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินกู้ยืม (1)

มูลค่าตามบัญชี

มูลค่ายูติธรรม

27,082,426 10,985,190 123,274 17,434,936

27,082,426 10,985,190 123,274 17,434,936

มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

31,721,736 4,261,941 164,880 10,216,418

ถึงแม้วา่ เงินให้สนิ เชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยจะมีการคิดดอกเบีย้ ในอัตราทีต่ �่ำ ในช่วงสองปีแรกของสัญญา ซึง่ อาจทำ�ให้มลู ค่ายุตธิ รรม ของสินเชือ่ ดังกล่าวจะมีจ�ำ นวนต่�ำ กว่ามูลค่าตามบัญชี ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยคาดว่าผลแตกต่างนัน้ ไม่เป็นจำ�นวน เงินที่เป็นสาระสำ�คัญ ดังนั้นจึงประมาณการว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินให้สินเชื่อมีจำ�นวนเท่ากับมูลค่าตามบัญชี

(หน่วย: พันบาท)

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน

130

31,721,736 4,261,941 164,880 10,216,418

รายงานประจำ�ปี 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 มูลค่าตามบัญชี

มูลค่ายูติธรรม

3 343,719

3 343,719

มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม

102 99,931

102 99,931


36. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน ตามที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 3/2553 วันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 ได้มีมติอนุมัติจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน จำ�นวน 4,412,455,792 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นเงิน 4,412,455,792 บาท เสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในอัตราส่วน 5 หุ้นสามัญ เดิมมีสิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่ได้ 4 หุ้น (5:4) ในราคาเสนอขายหุ้นละ 1 บาท และบริษัทฯได้กำ�หนดวันจองซื้อและ ชำ�ระเงินระหว่างวันที่ 1 - 4 กุมภาพันธ์ 2554 ซึ่งผู้ถือหุ้นได้จองซื้อหุ้นครบทั้งจำ�นวนตามที่บริษัทฯได้จัดสรร บริษัทฯได้จดทะเบียน เพิ่มทุนชำ�ระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 ทำ�ให้บริษัทฯมีทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกชำ�ระแล้วเป็น จำ�นวน 9,928,025,532 บาท นับแต่วันดังกล่าว 37. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการของบริษัทฯเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554

Annual Report 2010

131




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.