PF: Annual Report 2015

Page 1



02

รายงานประจำ�ปี 2558

สารจาก คณะกรรมการ ปี 2558 เป็นอีกปีหนึ่งที่สร้างความท้าทายให้กับ ผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สถานการณ์ตลาด ทีอ่ ยูอ่ าศัยไม่ได้ฟน้ื ตัวอย่างทีค่ าด ยังคงได้รบั ผลกระทบ ต่อเนือ่ งจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ภาวะหนีค้ รัวเรือน ที่ยังอยู่ในระดับสูง ความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อ ของธนาคารพาณิชย์อตั ราการปฏิเสธการให้สนิ เชือ่ ยังคง อยู่ที่ระดับ 20-30% ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลง ต่อเนือ่ งส่งผลให้ผบู้ ริโภคส่วนใหญ่ชะลอการตัดสินใจ และ ราคาทีด่ นิ ทีป่ รับตัวสูงขึน้ มาก ส่งผลให้การเปิดตัวโครงการ ที่อยู่อาศัยใหม่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลในปี 2558 ลดลง 10% จากปีก่อน โดยลดลงทั้งสินค้าแนวราบและ คอนโด อย่างไรก็ดี แนวราบทีช่ ะลอตัวลงในครึง่ แรกของ ปีเริม่ ปรับตัวดีขนึ้ ในช่วงปลายปี โดยได้รบั ปัจจัยบวกจาก มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจภาคอสังหาฯ จากทางภาครัฐ รวมถึงการขยายตัวของชุมชนชานเมืองและการคมนาคม ที่สะดวกมากขึ้น และจากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ท�ำให้บริษัท ชะลอการเปิดโครงการ โดยโครงการทีเ่ ปิดใหม่จะเป็นในส่วน ของแนวราบทัง้ หมด 14 โครงการมูลค่า 14,765 ล้านบาท ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนต่อขยายของโครงการเดิมตามแนว รถไฟฟ้า ส่งผลให้ยอดขายลดลง 8% มาอยูท่ รี่ ะดับ 11,000 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนบ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ 65% และ คอนโดมิเนียม 35% ตามล�ำดับ ขณะที่รายได้จากธุรกิจ บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม ลดลง 11% มาอยูท่ รี่ ะดับ 10,285 ล้านบาท โดยเป็นรายได้จากธุรกิจ บ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ 6,624 ล้านบาทเพิม่ ขึน้ 5.6% จาก คอนโดมิเนียม 3,160 ล้านบาทลดลง 13.8% นอกจาก นีบ้ ริษทั ยังมีรายได้จากการขายทีด่ นิ มูลค่า 501 ล้านบาท และจากธุรกิจโรงแรม 1,524 ล้านบาท ท�ำให้ยอดรายได้ รวมทัง้ หมดของบริษทั อยูท่ รี่ ะดับ 12,034 ล้านบาท คิดเป็น อัตราการเติบโตลดลง 3 % เมื่อเทียบกับปี 2556 อีกทั้ง บริษทั ได้เข้าซือ้ บมจ. ไทย พร็อพเพอร์ตี้ (TPROP) และ มีกำ� ไรจากการซือ้ ขายในราคาต�ำ่ กว่ามูลค่ายุตธิ รรมจ�ำนวน 530 ล้านบาท อัตราก�ำไรสุทธิอยูท่ รี่ ะดับ 3% ลดลงเล็กน้อย จากระดับ 3.2% ในปี 2557

ดร.ธวัชชัย  นาคะตะ ประธานกรรมการบริษัท

ในขณะเดียวกัน คณะกรรมการก็ได้ด�ำเนินการเพื่อ เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กบั บริษทั อย่างต่อเนือ่ ง ก้าวส�ำคัญ คือความส�ำเร็จในการเข้าซือ้ กิจการ บมจ. ไทย พร็อพเพอร์ตี้ (TPROP) และ บมจ. แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ (GRAND) ทีเ่ ป็นจุดเริม่ ต้นในการเสริมความ แข็งแกร่งของฐานะทางการเงินของบริษทั โดยเพิม่ ความมัน่ คง ของกระแสรายได้จากธุรกิจอาคารส�ำนักงานให้เช่าและโรงแรม ลดความเสี่ยงจากการพึ่งพารายได้จากธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง นอกจากนี้ ยังส่งผลให้มีสดั ส่วนของมูลค่าสินทรัพย์และราย ได้ให้มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น ทั้งโครงการแนวราบ คอนโดมิเนียม คอนโดกลางใจเมือง ส�ำนักงานให้เช่า และ โรงแรม ในส่วนของผลิตภัณฑ์ก็ได้เปิดตัวแบบบ้านใหม่ ล่าสุดพร้อมกัน 12 แบบ ส�ำหรับทุกเซกเมนต์ ราคาตั้งแต่ 3.39-60 ล้านบาท ทั้งแบรนด์ เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ, เพอร์เฟค เพลส และ เพอร์เฟค พาร์ค ตอบรับไลฟ์สไตล์ ลูกค้าคนรุน่ ใหม่ดว้ ยรูปแบบทันสมัย เน้นความสะดวกสบาย ในการอยู่อาศัย อีกทั้งเสริมความแข็งแกร่งด้วยการสร้าง ความร่วมมือทางธุรกิจกับพันธมิตร เช่น กับ AIS ร่วมสร้าง “Perfect Digital Village” วางรากฐานโครงข่าย Internet ผ่าน Fiber Optic ภายในที่พักอาศัย และกับ SCG น�ำ นวัตกรรม SCG Active Airflow ปรับใช้ให้เป็นมาตรฐานของ บ้านรุน่ ใหม่ ในส่วนของแผนพัฒนาโรงแรมในประเทศญีป่ นุ่ “Kiroro Resort” ก็ ไ ด้ มี การน� ำ เชนโรงแรมระดับโลก “Starwood Hotels and Resorts” เข้ามาบริหารภายใต้ แบรนด์ “Sheraton” และเปิดตัว “Sheraton Hokkaido Kiroro Resort”


03

นายชายนิด  อรรถญาณสกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ส�ำหรับแผนการด�ำเนินงานในปี 2559 คณะกรรมการ ยังคงมีนโยบายที่จะด�ำเนินการต่อเนื่องในเรื่องการเติบโต ของรายได้และเพิม่ ความสามารถในการท�ำก�ำไร ในส่วนของ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ บริษัทตั้งเป้ายอดขายไว้ที่ 16,000 ล้านบาท เป็นโครงการแนวราบ 9,000 ล้านบาท และ คอนโดมิเนียมอีก 7,000 ล้านบาท มีแผนเปิดตัวโครงการใหม่ 17 โครงการ รวมมูลค่า 24,041 ล้านบาท ซึ่งยังคงเน้น โครงการแนวราบ เป็นบ้านเดีย่ วและทาวน์เฮ้าส์ 12 โครงการ มูลค่า 16,814 ล้านบาท และคอนโดมิเนียม 5 โครงการ มูลค่า 7,200 ล้านบาท มีความร่วมมือกับพันธมิตรทาง ธุรกิจใหม่ ได้แก่ การเปิด Too Fast to Sleep ร้านกาแฟ คอนเซปท์ ใหม่แห่งใหม่ ส�ำหรับนักศึกษาและหนุ่มสาว ย่านศาลายา ที่โครงการ “ไอคอนโด ศาลายา เดอะแคมปัส” เพือ่ ตอบรับกับความต้องการในเชิงไลฟ์สไตล์ของกลุม่ ลูกค้า มีแผนพัฒนาธุรกิจโรงแรมอย่างชัดเจน ส�ำหรับธุรกิจโรงแรม ในประเทศญี่ ปุ ่ น มี แ ผนที่ จ ะเปิ ด ตั ว “Kiroro Tribute Portfolio” โดยการบริหารของกลุม่ “Starwood Hotels and Resorts” และแผนจัดวางโครงสร้างการลงทุนที่ชัดเจนใน ธุรกิจโรงแรมภายใต้ GRAND โดยวางเป้าหมายการเป็น บริษทั บริหารโรงแรมชัน้ น�ำ มีแผนขยายการลงทุนเพิม่ ขึน้ ทัง้ จ�ำนวนโรงแรมและห้องพัก นอกจากนีย้ งั จะมีการพัฒนา

โครงการใหม่ๆ อาทิ โครงการแบบมิกซ์ยสู เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย และโรงแรมหรือรีสอร์ท, โครงการพักอาศัยประเภท Hotels & Branded Residences, โครงการพักอาศัยส�ำหรับ คนวัยเกษียณโดยเน้นกลุ่มต่างชาติ และที่พักวันหยุด แบบไทม์แชร์ (Time Share) เป็นต้น และมีแผนจัดพอร์ต การลงทุนในธุรกิจโรงแรม ด้วยการจัดตั้งเป็นกองทรัสต์ เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REIT) อีกทั้ง บริษัท ยังมีนโยบายในการบริหารจัดการต้นทุนทางการเงิน เพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานเพื่อปรับเรตติ้งของ บริษัทให้ดีขึ้น สุดท้ายนี้ ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ขอ ขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น ลูกค้าผู้มีอุปการคุณ นักลงทุน คู่ค้า พันธมิตร ตลอดจน สถาบันการเงิน ที่ได้ให้การ สนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ด้วยดีมาโดยตลอด รวมถึงผู้บริหารและพนักงานทุกคนที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความอดทนและทุ่มเท ตลอดปีที่ผ่านมา

(ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) ประธานกรรมการบริษัท

(นายชายนิด อรรถญาณสกุล) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร


04

รายงานประจำ�ปี 2558

ข้อมูลทางการเงิน

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน)

(หน่วย : ล้านบาท) ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขายและรอการพัฒนา สินค้าคงเหลือ หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ผลการด�ำเนินงาน รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน, กิจการโรงแรมและค่าเช่าและบริการ รายได้รวม ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรสุทธิ อัตราส่วนทางการเงิน อัตราก�ำไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม(%) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (เท่า) ข้อมูลต่อหุ้น ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น(เฉพาะกิจการ) (บาท) เงินปันผล (บาท) มูลค่าตามบัญชี (บาท)

2556

2557

30,668 16,927 34 22,022 8,646

31,406 17,525 35 22,434 8,972

11,011 11,229 3,646 41

12,444 12,785 3,915 403

0.37 0.48 0.15 2.55 2.11

3.15 4.56 1.3 2.47 1.55

-0.02 1.49

0.06 0.044 1.54

2558

43,277 21,659 42 29,614 13,663 12,033 12,905 3,655 267 2.07 2.17 2.86 2.17 2.14 0.047 0.030 1.43


05 ข้อมูลทั่วไปของบริษัท และบริษัทย่อย

ชื่อบริษัท

ข้อมูลบริษัท : บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อภาษาอังกฤษ ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ เลขทะเบียนบริษัท Home Page โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว

: Property Perfect Public Company Limited : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0107536001231 : www.pf.co.th : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2247-3328 : หุ้นสามัญ 7,667,826,432 หุ้น : 1 บาท : 7,667,826,432 บาท


06

รายงานประจำ�ปี 2558

ข้อมูลนิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ 10% ขึ้นไป - บริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่บริษัทถือหุ้นโดยตรง ชื่อบริษัท : บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2246-0733 : หุ้นสามัญ 120,000,000 หุ้น : 10 บาท : 1,200,000,000 บาท : 100 %

ชื่อบริษัท

: บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2246-0733 : หุ้นสามัญ 10,000,000 หุ้น : 100 บาท : 1,000,000,000 บาท : 100 %

ชื่อบริษัท

: บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2246-0733 : หุ้นสามัญ 10,000,000 หุ้น : 100 บาท : 1,000,000,000 บาท : 100 %

ชื่อบริษัท

: บริษัท เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2246-0733 : หุ้นสามัญ 2,000,000 หุ้น : 100 บาท : 200,000,000 บาท : 100 %


07 ชื่อบริษัท

: บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2645-0024 : หุ้นสามัญ 2,490,585,084 หุ้น : 1.05 บาท : 2,615,114,338.20 บาท : 94.98 %

ชื่อบริษัท

: Property Perfect International Pte.Ltd.

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: ลงทุนและพัฒนาธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศ : 1 Raffles Place, #28-02 One Raffles Place, Singapore 048616 : หุ้นสามัญ 1 หุ้น : 1 เหรียญสิงค์โปร์ (SGD) : 1 เหรียญสิงค์โปร์ (SGD) : 100 %

ชื่อบริษัท

: บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: บริหารสโมสร : 100/52 อาคารว่องวานิช บี ชัน้ 19 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2645-1409 : หุ้นสามัญ 500,000 หุ้น : 100 บาท : 50,000,000 บาท : 100 %

ชื่อบริษัท

: บริษัท ยู แอนด์ ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: ธุรกิจก่อสร้าง : 100/89 อาคารว่องวานิช ชัน้ 27 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2246-2093-6 : 0-2246-2020 : หุ้นสามัญ 1,000,000 หุ้น : 100 บาท : 100,000,000 บาท : 100 %


08

รายงานประจำ�ปี 2558

ชื่อบริษัท

: บริษัท ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: ธุรกิจอพาร์ทเมนท์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2246-0733 : หุ้นสามัญ 13,250 หุ้น : 100 บาท : 1,325,000 บาท (1,000 หุ้น เรียกช�ำระหุ้นละ 100 บาท และ 49,000 หุ้น เรียกช�ำระหุ้นละ 25 บาท) : 100 %

ชื่อบริษัท

: บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิตและประกอบติดตั้งโครงสร้างระบบชิ้นส่วนส�ำเร็จรูปอาคาร : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 10 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2246-0733 : หุ้นสามัญ 250,000 หุ้น : 10 บาท : 2,500,000 บาท (เรียกช�ำระแล้วร้อยละ 25) : 51 % (บริษทั เซ็นเตอร์ ออฟ สแตนดาร์ด พรีคาสท์ จ�ำกัด ถือหุน้ ใน บจ. เพอร์เฟค พรีแฟบ อีกร้อยละ 49)

ชื่อบริษัท

: บริษัท รามอินทรา มอลล์ จ�ำกัด (เดิมชื่อ บริษัท มารียา สตัฟฟ์ จ�ำกัด)

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2246-0733 : หุ้นสามัญ 3,500,000 หุ้น : 100 บาท : 350,000,000 บาท : 100 %

ชื่อบริษัท

: บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : 2922/305-306 อาคารชาญอิสระทาวเวอร์ 2 ชั้น 29 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว : หุ้นสามัญ 3,193,185,471 หุ้น มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว : 3,193,185,471 บาท สัดส่วนการถือหุ้น : 89.67%


09 ชื่อบริษัท

: บริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : หุ้นสามัญ 200,000,000 หุ้น : 10 บาท : 200,000,000 บาท : 65%

- บริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นโดยอ้อม ชื่อบริษัท : บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด (บริษัทย่อยของ บมจ.วีรีเทล)

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ : 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 : 0-2245-6640-8, 0-2247-7500-4 : 0-2645-0024 : หุ้นสามัญ 5,000,000 หุ้น : 100 บาท : 500,000,000 บาท : 94.98 %

ชื่อบริษัท

: Kiroro Resort Holdings Co., Ltd. (เดิมชื่อ Share Group Co.,Ltd.) (บริษัทย่อยของ Property Perfect International Pte.Ltd.)

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจโรงแรมในประเทศญี่ปุ่น : ITO ONE TEN Building 2F 5-1 Nishi 4-chome Kita 7-jo Kita-ku, Sapporo, Hokkaido, Japan : หุ้นสามัญ 326,256 หุ้น : 1,800,853,640 เยน : 95.61%

ชื่อบริษัท

: Kabushiki Kaisha Kiroro Associates Co.,Ltd. (บริษัทย่อยของ Share Group Co.,Ltd.)

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: บริหารลานสกี : 128-1 Tokiwa, Akaigawa-mura, Yoichigun,Hokkaido, Japan : หุ้นสามัญ 610 หุ้น : 60,000,000 เยน : 95.61%


10

รายงานประจำ�ปี 2558

ชื่อบริษัท

: Kabushiki Kaisha Kiroro Hotels Co., Ltd. (บริษัทย่อยของ Kiroro Resort Holdings Co., Ltd.)

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: พัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจโรงแรมในประเทศญี่ปุ่น : ITO ONE TEN Building 2F 5-1 Nishi 4-chome Kita 7-jo Kita-ku, Sapporo, Hokkaido, Japan : หุ้นสามัญ 116,520 หุ้น : 752,173,640 เยน : 95.61%

ชื่อบริษัท

: บริษัท แปซิฟิค เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น

: ประกอบธุรกิจให้เช่าอาคารส�ำนักงาน : 140 อาคาร วัน แปซิฟิค เพลส ชั้นเอ็ม ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ : หุ้นสามัญ 600,000,000 หุ้น : 600,000,000 บาท : 100%

ชื่อบริษัท

: บริษัท เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง

: ประกอบธุรกิจเพื่อการลงทุน : 2922/305-306 อาคารชาญอิสระทาวเวอร์ 2 ชั้น 29 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว : หุ้นสามัญ 5,000,000 หุ้น มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว : 5,000,000 บาท สัดส่วนการถือหุ้น : 100% ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ ที่ตั้ง

: บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)

: ประกอบธุรกิจโรงแรม ให้เช่าสถานประกอบการศูนย์การค้าและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : เลขที่ 388 อาคารเอ็กเชน ทาวเวอร์ ชั้น 32 ห้องเลขที่ 3203-4 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว : หุ้นสามัญ 2,889,039,237 หุ้น มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว : 2,889,039,237 บาท สัดส่วนการถือหุ้นทางอ้อม : 40.62% สัดส่วนการถือหุ้นทางตรง : 1.70%


11 ข้อมูลส�ำคัญอื่น

ผู้สอบบัญชี

สถาบันการเงิน ที่ติดต่อประจ�ำ

ที่ปรึกษากฎหมาย นายทะเบียนหลักทรัพย์

ประเมินราคาที่ดิน

นายศุภชัย ปัญญวัฒโน นางสาวทิพวัลย์ นานานุวัฒน์ นายกฤษดา เลิศวนา บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด (เดิมชื่อบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด) เลขที่ 193/136-137 อาคารเลครัชดา คอมเพล็กซ์ ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777, 0-2661-6190 โทรสาร 0-264-0790, 0-2661-9192 ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) 35 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ธนาคารธนชาต จ�ำกัด (มหาชน) 1101 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 บริษัท วีระวงค์, ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จ�ำกัด 540 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2264-8000 โทรสาร 0-2657-2222 บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2359-1200-1 โทรสาร 0-2359-1259 บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จ�ำกัด 10 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2295-3905 โทรสาร 0-2295-1154 บริษัท บรูค เรียลเอสเตท จ�ำกัด ชั้นที่ 20 ห้อง 2005-6, อาคารเดอะมิลเลนเนีย ทาวเวอร์ เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2652-6300 โทรสาร 0-2652-6399 บริษัท ไทยประเมินราคา ลินส์ ฟิลลิปส์ จ�ำกัด 121/47-48 อาคารอาร์เอสทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2641-2128-32 โทรสาร 0-2641-2134 บริษัท เอส.แอล.สแตนดาร์ด แอพไพรซัล จ�ำกัด 114 ถนนรัตนอุทิศ ซอย 19 ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ สงขลา 90110 โทรศัพท์ 0-7435-9130 โทรสาร 0-7435-9130 บริษัท เวลท์ แอพไพรซัล จ�ำกัด 11/277 หมู่บ้านธันธวัช 5 ซอยวัชรพล 1/9 แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ 0-2948-0928-9, 0-2948-2258 โทรสาร 0-2948-2259 บริษัท ไนท์แฟรงค์ ชาร์เตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 65/192 ชัน้ 23 อาคารช�ำนาญเพ็ญชาติ บิสเนส เซ็นเตอร์ ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2643-8223 โทรสาร 0-2643-8224


12

รายงานประจำ�ปี 2558

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2528 โดยกลุ่มผู้บริหารหมู่บ้านจัดสรรมณียา ด้วยทุนจดทะเบียนเริม่ แรกจ�ำนวน 300,000 บาท ต่อมาในวันที่ 19 ตุลาคม 2536 บริษทั ได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษทั มหาชน จ�ำกัด และวันที่ 1 มิถุนายน 2536 บริษัทได้นำ� หลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในหมวดอสังหาริมทรัพย์ จากผลของวิกฤตการณ์ทางการเงินและเศรษฐกิจของประเทศและผลกระทบจากการประกาศลอยตัวค่าเงินบาทเมือ่ ปี 2540 เป็นต้นมา ได้สง่ ผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษทั อย่างรุนแรงและต่อเนือ่ ง ท�ำให้บริษทั ขาดสภาพคล่องทางการเงิน และเข้าสูห่ มวดบริษทั จดทะเบียนทีอ่ ยูร่ ะหว่างฟืน้ ฟูการด�ำเนินงาน (REHABCO Sector) จนกระทัง่ เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2544 เจ้าหนีข้ องบริษทั จ�ำนวน 3 ราย ได้ยื่นค�ำร้องขอฟื้นฟูกิจการของบริษัทต่อศาลล้มละลายกลางและในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2544 ศาลล้มละลายกลางได้มีค�ำสั่งให้ฟื้นฟู กิจการของบริษัทพร้อมทั้งแต่งตั้งให้ บริษัท เอเชียน อินเตอร์เนชั่นแนล แพลนเนอร์ส จ�ำกัด เป็นผู้ท�ำแผนของบริษัท ซึ่งต่อมา เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2544 ศาลล้มละลายกลางได้มีคำ� สั่งเห็นชอบต่อแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัท และบริษัทได้กลับเข้าซื้อขายในหมวด บริษัทจดทะเบียนที่อยู่ระหว่างฟื้นฟูการด�ำเนินงานในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2544 และได้ย้ายกลับเข้าซื้อขายในหมวดอสังหาริมทรัพย์ ตั้งแต่วันที่ 19 มิถุนายน 2545 ภายหลังจากที่บริษัทสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในการฟื้นฟูกิจการและปรับโครงสร้างหนี้ได้ครบถ้วนและได้ยื่นค�ำขอออกจาก กระบวนการฟื้นฟูกิจการต่อศาล ส่งผลให้ในวันที่ 12 เมษายน 2547 ศาลล้มละลายกลางได้มีค�ำสั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการซึ่งเป็นผลให้ อ�ำนาจในการจัดการกลับคืนสูผ่ บู้ ริหารเดิมของบริษทั บริษทั ได้ทยอยช�ำระหนี้ให้แก่เจ้าหนีต้ ามแผนฟืน้ ฟูเรือ่ ยมาจนปลดภาระหนีท้ งั้ หมด ในปี 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 7,900,000,000 บาท คิดเป็นหุ้นสามัญ 7,900,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท และทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 7,667,826,432 บาท คิดเป็นหุ้นสามัญ 7,667,826,432 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท


13 เหตุการณ์สำ�คัญในช่วง 4 ปี ปี 2555 : • ลงทุนในประเทศญีป่ นุ่ โดยการน�ำบริษทั ย่อยคือ Property Perfect International เข้าลงทุนโดยการเข้าเป็นผูถ้ อื หุน้ ใน Share Group (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น Kiroro Resort Holdings) ในสัดส่วนร้อยละ 69.01 ซื้อทรัพย์สินคือ โครงการคิโรโระ รีสอร์ท ซึ่งตั้งอยู่ ณ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งรายละเอียดของทรัพย์สิน ประกอบด้วย ที่ดินประมาณ 292 ไร่ โรงแรม จ�ำนวน 2 โรงแรม รวม 422 ห้อง รวมถึงทรัพย์สินในการประกอบกิจการโรงแรม เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเล่นสกี • บริษัทช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติมให้แก่ บจ. ยูแอนด์ ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ อีกหุ้นละ 50 บาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 100,000,000 บาท บริษัทยังคงถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 • ลงทุนในหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของ บมจ. วีรเี ทล ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยจ�ำนวน 363,912,024 หุน้ ในราคาเสนอขายหุน้ ละ 1.10 บาท รวมเป็นเงิน 400,303,226.40 บาท ซึ่งท�ำให้บริษัทถือหุ้นใน บมจ. วีรีเทล รวมทั้งสิ้น 727,824,048 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 91.05 ปี 2556 : • คณะกรรมการบริษทั มีมติซอื้ ทรัพย์สนิ ทัง้ หมดคืนจากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟคทีร่ าคา 505,000,000 บาท และกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟคได้จดทะเบียนเลิกกองทุนในเดือนมีนาคม • จัดตัง้ บริษทั ย่อยชือ่ บจ. เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ โดยมีทนุ จดทะเบียนและทุนทีเ่ รียกช�ำระแล้ว 200,000,000 บาท แบ่งออกเป็น หุ้นสามัญจ�ำนวน 2,000,000 หุ้นมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 • เพิ่มทุนจดทะเบียนใน บมจ. วีรีเทล ตามสัดส่วนจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถือ (Right Offering) ในอัตราส่วน 8 หุ้นเดิม ต่อ 5 หุน้ ใหม่ ในราคา 1.10 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 500,400,000 บาท ท�ำให้บริษทั ถือหุน้ ใน บมจ. วีรเี ทล เท่ากับ ร้อยละ 93.31 • เพิม่ ทุนจดทะเบียนใน บจ. ยูนลิ อฟท์ เซอร์วสิ ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย อีกจ�ำนวน 4,900,000 บาท จากทุนจดทะเบียนและเรียกช�ำระแล้ว เดิม 100,000 บาท โดยเรียกช�ำระในอัตราร้อยละ 25 คิดเป็นเงิน 1,225,000 บาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนและเรียกช�ำระแล้ว มูลค่า 1,325,000 บาท • ลงทุนใน บจ. มารียา สตัฟฟ์ ซึง่ มีสทิ ธิการเช่าในทีด่ นิ บริเวณ เขตบางกะปิ ด้วยวิธกี ารซือ้ หุน้ สามัญ ทัง้ หมดในราคา 350,000,000 บาท ท�ำให้ บจ. มารียา สตัฟฟ์ เป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น บจ. รามอินทรา มอลล์) • จัดตัง้ และร่วมลงทุนในกองทุนอสังหาริมทรัพย์ยนู ลิ อฟท์ ซึง่ รับโอนกรรมสิทธ์ในหอพักใกล้กบั มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) จากบริษทั โดยกองทุนอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์มีทุนจดทะเบียนทั้งหมด 515,000,000 บาท แบ่งเป็นจ�ำนวนหุ้น 51,500,000 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 10 บาท ปี 2557 : • บมจ. วีรีเทลได้ลดทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและช�ำระแล้วจาก 6,337,678,570 บาท (หุ้นสามัญ 1,267,535,714 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 5 บาท) เป็น 1,330,912,499.70 บาท โดยการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญจากหุ้นละ 5 บาท เป็นหุ้นละ 1.05 บาท และน�ำทุนที่ลดลงจ�ำนวน 5,006,766,070.30 บาท ไปลดส่วนต�่ำกว่ามูลค่าหุ้นและชดเชยขาดทุนสะสมของ วีรีเทลตามล�ำดับ และได้เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,330,912,499.70 บาทเป็นจ�ำนวน 4,761,824,999.40 บาท (หุ้นสามัญ 4,535,071,428 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.05 บาท) • Property Perfect International ได้มกี ารแปลงหนี้ใน Share Group เป็นทุนโดยการเพิม่ ทุนจดทะเบียนของ Share Group จ�ำนวน 500,000,000 เยน แบ่งเป็นจ�ำนวนหุ้น 100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 5,000 เยน และน�ำหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวเสนอขายให้แก่ Property Perfect International แล้ว Share Group จึงน�ำเงินที่ได้จากการเพิม่ ทุนดังกล่าวกลับไปช�ำระหนี้ให้แก่ Property Perfect International ท�ำให้ปจั จุบนั Property Perfect International ถือหุน้ ใน Share Group คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 95.61 (เดือนพฤศจิกายน 2557 Share Group เปลี่ยนชื่อเป็น Kiroro Resort Holdings)


14

รายงานประจำ�ปี 2558

• ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2557 ได้มีมติอนุมัติการเข้าซื้อกิจการบมจ. ไทย พร็อพเพอร์ตี้ และบมจ. แกรนด์ แอสเสทตามแผนการเข้าซื้อกิจการ รวมทั้งอนุมัติการด�ำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอันได้แก่ การเพิ่มทุนและ การจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนของบริษัทเพื่อเป็นสิ่งตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นของกับบมจ. ไทย พร็อพเพอร์ตี้ และบมจ. แกรนด์ แอสเสท ที่ตอบรับค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ • เพิ่มทุนจดทะเบียน บจ. เพอร์เฟค สปอร์ต คลับ จ�ำนวน 45,000,000 บาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนทั้งหมด 50,000,000 บาท และมีทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 25,000,000 บาท • ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 ได้มมี ติจำ� หน่ายหุน้ สามัญทัง้ หมดของบริษทั ทีถ่ อื อยู่ใน บมจ. กรุงเทพ บ้านและทีด่ นิ ให้แก่บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินการส�ำหรับการซือ้ ขายหุน้ ดังกล่าว จ�ำเป็นต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ ในวันที่ 9 ธันวาคม 2557 ปี 2558 : • ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2558 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 มีมติดังนี้ - ได้มีมติอนุมัติให้บริษัทเปลี่ยนแปลงวิธีการช�ำระค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) (“ไทยพร็อพ”) ที่ตอบรับบริษัทถึงการเข้าซื้อกิจการของไทยพร็อพ ด้วยวิธีการท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของ ไทยพร็อพ โดยบริษัทจะช�ำระค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นของไทยพร็อพที่ตอบรับค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ดังกล่าวเป็นตัวเงิน ในอัตราหุ้นละ 0.57 บาทเพียงวิธีเดียวเท่านั้น - ได้มีมติอนุมัติให้บริษัทเปลี่ยนแปลงวิธีการช�ำระค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) (“แกรนด์แอสเสท”) ที่ตอบรับบริษัทถึงการเข้าซื้อหลักทรัพย์ของแกรนด์แอสเสทด้วยวิธีการ ท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของแกรนด์แอสเสท โดยบริษัทจะช�ำระค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นของแกรนด์แอสเสท ที่ตอบรับค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ดังกล่าวเป็นตัวเงินในอัตราหุ้นละ 1.29 บาทเพียงวิธีเดียวเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากที่ประชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ ของ แกรนด์ แอสเสท ได้อนุมตั ิให้จา่ ยเงินปันผลเป็นหุน้ ในอัตรา 20 หุน้ เดิมต่อ 1 หุน้ ปันผล ดังนัน้ ราคาในการ เข้าท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ของหุ้นแกรนด์ แอสเสท จึงเปลี่ยนเป็นหุ้นละ 1.29 บาท - ได้มมี ติเป็นเอกฉันท์อนุมตั ใิ ห้ลดทุนจดทะเบียนของบริษทั จากทุนจดทะเบียนเดิม 10,737,610,610 บาท ให้เหลือทุนจดทะเบียน 5,960,980,722 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญจ�ำนวน 5,960,980,722 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท ด้วยการตัดหุน้ สามัญ จดทะเบียนที่สำ� รองไว้เพื่อรองรับการท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) รวมทัง้ หุน้ สามัญที่ได้สำ� รองไว้เพือ่ รองรับการปรับสิทธิ ให้แก่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ครั้งที่ 1/2555 (PF-W3) รวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 4,776,629,888 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท - ได้มมี ติให้เพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั จากทุนจดทะเบียนเดิม 5,960,980,722 บาท ให้เป็นทุนจดทะเบียน 7,900,000,000 บาท กล่าวคือ ให้เพิ่มทุนจดทะเบียนขึ้นอีก 1,939,019,278 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่เป็นจ�ำนวน 1,939,019,278 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท - ได้มีมติอนุมัติให้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท จ�ำนวน ไม่เกิน 1,928,031,552 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ออกจัดสรรและเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ตามสัดส่วนจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Rights Offering) ในอัตราจัดสรร 3 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่ (ในกรณีที่มีเศษหุ้นจากการค�ำนวณให้ปัดทิ้ง) ในราคาเสนอขาย หุน้ ละ 1 บาท และให้นำ� หุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่ จ�ำนวนไม่เกิน 10,987,726 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท ส�ำรองไว้เพือ่ รองรับ การปรับสิทธิให้แก่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ครั้งที่ 1/2555 (PF-W3) ปัจจุบนั บริษทั ได้ออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน จ�ำนวน 1,806,495,077 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 1,806,495,077 บาท และมีการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W3) จ�ำนวน 78,379,700 บาท


15 • จัดตัง้ เงินลงทุนในการร่วมการค้า ในนามชือ่ บริษทั ดาราฮาร์เบอร์ จ�ำกัด โดยมีทนุ จดทะเบียนและทุนทีเ่ รียกช�ำระแล้ว 400,000,000 บาท ทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว จ�ำนวน 200,000,000 บาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 65 • เพิ่มทุนจดทะเบียนใน บมจ. วีรีเทล ตามสัดส่วนจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) ในอัตราส่วน 1 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นใหม่ ในราคาหุ้นละ 1.10 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 1,300,985,485.80 บาท ท�ำให้บริษัทถือหุ้นใน บมจ. วีรีเทล เท่ากับ ร้อยละ 94.98

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท

บริษทั และบริษทั ย่อย ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทพัฒนาทีด่ นิ และก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยโดยเน้นการพัฒนาโครงการ หมู่บ้านจัดสรร และโครงการอาคารชุด ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเป็นหลัก โดยโครงสร้างการลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 2) กลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อเช่าและโรงแรม 3) กลุ่มธุรกิจค้าปลีก 4) กลุ่มธุรกิจก่อสร้าง 5) กลุ่มธุรกิจบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีดังนี้

หมายเหตุ : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์

กลุ่มธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เพื่อเช่า และโรงแรม

กลุ่มธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

กลุ่มธุรกิจ ค้าปลีก

กลุ่มธุรกิจ ก่อสร้าง

กลุ่มธุรกิจ บริการ

95% บมจ. วีรีเทล

100.00% บจ. ยูแอนด์ ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ

100.00% บจ. เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ

100.00% บจ. เอสเตท เพอร์เฟ็คท์

100.00% บจ. เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์

51.00% บจ. เพอร์เฟค พรีแฟบ

100.00% บจ. ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส (ประเทศไทย)

100.00% บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเม้นท์ กรุงเทพ

100.00% บจ. รามอินทรา มอลล์

89.7% บมจ.ไทย พร็อพเพอร์ตี้

บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

100.00% บจ. เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ 100.00% บจ. เชียงใหม่ ดีเวลลอปเม้นท์​์ 65.00% บจ. ดาราฮาร์เบอร์จำ�กัด

100% บจ.แปซิฟิค เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์ • อาคารวัน แปซิฟิค เพลส • อาคารทูแปซิฟิค เพลส

100% Property Perfect International

100% บจ.เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง 33.12%

7.5%

บมจ.แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ต้ี

100% Grande Equity Development

95.6% Kiroro Resort Holding 100% Kabushiki Kaisha Kiroro Associates

100% Kabushiki Kaisha Kiroro Hotels

1.7%

• โรงแรมเดอะ เวสทิน แกรนด์ สุขุมวิท • โรงแรมไฮแอท รีเจนซี่ กรุงเทพ สุขุมวิท • โครงการ ไฮด์ สุขุมวิท 11 และไฮด์ สุขุมวิท 13 คอนโดมิเนียม 100% Honor Business

100% Owendelle

• โรงแรมเชอราตัน หัวหิน รีสอร์ท แอนด์ สปา

• โรงแรมเชอราตัน หัวหิน ปราณบุรี วิลล่า


16

รายงานประจำ�ปี 2558

กลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

บริษทั และบริษทั ย่อย ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพือ่ ขายเป็นหลัก เป็นโครงการเพือ่ อยูอ่ าศัยประเภทบ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัท”) ประกอบธุรกิจพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยประเภทบ้านจัดสรร ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทและบริษัทย่อยมีโครงการที่อยู่ระหว่างการเปิดขายรวม 56 โครงการ มูลค่าโครงการคงเหลือรวมทั้งสิ้น 34,541.31 ล้านบาท

หมายเหตุ : ไม่รวมโครงการของ บริษัท แกรนด์ แอสเสท แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำ�กัด (บริษัทย่อย) บจ. เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ ตั้งอยู่เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อปี 2537 เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ในท�ำเลต่างๆ ที่มี ศักยภาพ ปัจจุบนั บจ. เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ มีทนุ จดทะเบียน 1,200 ล้านบาท โดยมีมติคณะกรรมการบริษทั ให้เพิม่ ทุนจากทุนจดทะเบียนเดิม 1,000 ล้านบาท เป็น 1,200 ล้านบาท เมื่อเดือน มกราคม 2553 โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จำ� นวน 20 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 1,200 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บจ.เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ มีโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการเปิดขาย 8 โครงการ มูลค่าโครงการคงเหลือรวมทัง้ สิน้ 6,633.84 ล้านบาท กรรมการของ เอสเตทฯ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา กรรมการ 2. นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร กรรมการ 3. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ 4. นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ กรรมการ 5. นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์ กรรมการ


17 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำ�กัด (บริษัทย่อย) บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ ตัง้ อยูท่ เี่ ลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อ ปี 2550 เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทคอนโดมิเนียมเพื่อการอยู่อาศัยเป็นหลัก ปัจจุบัน บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ มีทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 1,000 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 นอกจากมุง่ เน้นการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมภายใต้แบรนด์ ไอคอนโด (iCondo) เพือ่ การขายแล้ว บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ ยังได้พฒ ั นาโครงการอาคารพักอาศัยเพือ่ การเช่าระดับพรีเมีย่ มภายใต้แบรนด์ ยูนลิ อฟท์ (Uniloft) เนือ่ งจากเน้นการให้เช่ากับ นักศึกษาเป็นหลัก ทีต่ งั้ โครงการส่วนใหญ่จงึ ใกล้กบั มหาวิทยาลัยทีม่ ชี อื่ เสียง ปัจจุบนั บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ พัฒนาโครงการ เพื่อเช่า 2 โครงการ มูลค่ารวม 1,000 ล้านบาท ประกอบด้วยโครงการยูนิลอฟท์ ใกล้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ และ โครงการยูนลิ อฟท์ ใกล้มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม ทัง้ นี้ในช่วงปลายปี 2556 บริษทั ได้ขายโครงการยูนลิ อฟท์ ศาลายา ให้กบั กองทุนอสังหาริมทรัพย์ยนู ลิ อฟท์ และมีแผนทีจ่ ะขายโครงการยูนลิ อฟท์ เชียงใหม่ให้กบั ทรัสต์เพือ่ การลงทุน (REIT) อสังหาริมทรัพย์ ดังกล่าวเพิ่มเติมในอนาคต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บจ.ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ มีโครงการที่เปิดขายรวม 10 โครงการ คิดเป็นมูลค่าโครงการ คงเหลือรวม 3,804.91 ล้านบาท ซึ่งจากการวิจัยความตัองการที่อยู่อาศัยใกล้สถาบันการศึกษาพบว่ามีการเติบโตอย่างมีนัยส�ำคัญ บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จึงมีแผนเปิดขายคอนโดมิเนียมอีก 1 โครงการ ได้แก่ ไอคอนโด ศาลายา2 มูลค่ารวมกว่า 1,400 ล้านบาท กรรมการของ บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 5 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา กรรมการ 2. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ 3. นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ กรรมการ 4. นายสุเมธ สุวจนกรณ์ กรรมการ 5. นายนันทชาติ กลีบพิพัฒน์ กรรมการ บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จำ�กัด (บริษัทย่อย) บจ. เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ มีทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ อยูอ่ าศัยแนวราบทีเ่ ป็นโครงการขนาดเล็ก ตัง้ อยู่ในท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพ โดยมีกลุม่ เป้าหมายเป็นลูกค้าทีก่ �ำลังเริม่ สร้างครอบครัว มีความ ต้องการบ้านเดี่ยวหรือทาวน์เฮ้าส์ในระดับราคา 1.7- 4.0 ล้านบาท และในระหว่างปี 2557 บจ.เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ ได้ขยายการพัฒนาโครงการไปยังจังหวัดเชียงใหม่ เนือ่ งจากเล็งเห็นศักยภาพ และการเติบโตของความต้องการที่อยู่อาศัย โดยใช้ชื่อโครงการเพอร์เฟค เพลส เชียงใหม่ ซึ่งมีมูลค่าโครงการกว่า 938 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บจ.เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ มีโครงการ ทีเ่ ปิดขายอยู่ 6 โครงการ คิดเป็นมูลค่าคงเหลือรวม 2,192.78 ล้านบาท กรรมการของ บจ. เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 4 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา กรรมการ 2. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ 3. นายสรรเพชร สุขเกษม กรรมการ 4. นายพรชัย เกตุเล็ก กรรมการ


18

รายงานประจำ�ปี 2558

บริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จำ�กัด (เงินทุนร่วมค้า) บจ. ดาราฮาร์เบอร์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ มีทนุ จดทะเบียน 400 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 65 โดยร่วมทุนกับบริษัทในกลุ่ม Fatima เพือ่ พัฒนาโครงการ ในรูปแบบ Shopping Center, อาคารพักอาศัย เช่น เซอร์วสิ อพาร์ทเม้นท์ เป็นต้น ในท�ำเลทีด่ นิ ติดถนนสุขมุ วิท อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยในปัจจุบนั บจ. ดาราฮาร์เบอร์ ยังไม่ได้เริ่มพัฒนาโครงการ กรรมการของ บจ. ดาราฮาร์เบอร์ ณ วันที่ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 7 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ 2. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา กรรมการ 3. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี กรรมการ 4. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ 5. นายแสงชัย อภิชาติธนพัฒน์ กรรมการ 6. นายสิทธิศักดิ์ อภิชาติธนพัฒน์ กรรมการ 7. นางพรทิพา พฤฒิศาสตร์ กรรมการ บริษัท เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) บจ. เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ มีทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นช่องทางของบริษัทในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ส�ำหรับ การอยูอ่ าศัยในรูปแบบของการขายและเช่า โดยจะเน้นการพัฒนาโครงการแนวราบในบริเวณจังหวัดเชียงใหม่เป็นหลัก ปัจจุบนั บจ. เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ ยังไม่ได้เริ่มพัฒนาโครงการ กรรมการของ บจ. เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ ณ วันที่ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 4 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา กรรมการ 2. นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต กรรมการ 3. นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์ กรรมการ 4. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ


19 กลุ่มธุรกิจอาคารสำ�นักงานให้เช่าและโรงแรม บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อย) บมจ.ไทย พร็อพเพอร์ตี้ ตั้งอยู่เลขที่ 2922/305-306 อาคารชาญอิสระทาวเวอร์ 2 ชั้น 29 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ประกอบธุรกิจส�ำนักงานให้เช่าและ ธุรกิจโรงแรม โดยธุรกิจโรงแรมผ่านบริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน บมจ.ไทย พร็อพเพอร์ตี้ มีทุนจดทะเบียน 3,353,702,060 บาท ทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 3,193,185,471 บาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 89.67 (โดยบริษัทได้เข้าท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ของไทยพร็อพ ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2558 จนถึง วันที่ 5 มิถุนายน 2558 ซึ่งวันที่ 9 มิถุนายน 2558 บริษัทได้รายงานผลการท�ำเสนอซื้อหุ้นของไทยพร็อพ แก่สำ� นักงาน ก.ล.ต. โดย บริษัทได้รับซื้อหุ้นไว้ทั้งสิ้น 2,863,274,022 หุ้น ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 89.67) กรรมการของ บมจ.ไทย พร็อพเพอร์ตี้ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 5 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. ดร.พิจิตต รัตตกุล กรรมการ 2. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี กรรมการ 3. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ 4. นายประสงค์ วรารัตนกุล กรรมการ 5. นายลิขิต สมนวลตาด กรรมการ บริษัท แปซิฟิค เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (บริษัทย่อยของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน)) บริษัท แปซิฟิค เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด ตั้งอยู่เลขที่ 140 อาคาร วัน แปซิฟิค เพลส ชั้นเอ็ม ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 จดทะเบียนเป็นบริษทั มหาชนจ�ำกัด เมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2531 ปัจจุบนั มีทนุ จดทะเบียน 600 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 600 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นผ่าน บมจ.ไทย พร็อพเพอร์ตี้ เป็นสัดส่วนร้อยละ 100 โดยด�ำเนินธุรกิจให้เช่าอาคารส�ำนักงานจ�ำนวน 2 อาคาร ได้แก่ อาคารวัน แปซิฟิค เพลส ตั้งอยู่เลขที่ 140 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 มีพนื้ ทีส่ ำ� นักงานให้เช่าสุทธิ 16,035 ตรม. มีอตั ราผูเ้ ช่าพืน้ ทีส่ ำ� นักงาน 96.3% มีอตั รา ค่าเช่าพืน้ ทีส่ ำ� นักงานเฉลีย่ 502 บาท/ตรม. มีจำ� นวน 19 ชัน้ มีทจี่ อดรถ จ�ำนวน 241 คัน โดยมีบมจ. วีรเี ทล เป็นผูบ้ ริหารอาคาร และอาคารทูแปซิฟคิ เพลส ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 142 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 มีพนื้ ทีส่ ำ� นักงานให้เช่าสุทธิ 21,548 ตรม. มีอัตราผู้เช่าพื้นที่สำ� นักงาน 99.2% มีอัตราค่าเช่าพื้นที่สำ� นักงานเฉลี่ย 526 บาท/ตรม. มีจ�ำนวน 30 ชั้น มีที่จอดรถ จ�ำนวน 368 คัน โดยมีบมจ.วีรีเทล เป็นผู้บริหารอาคาร กรรมการของ บจ.แปซิฟิค เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 3 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. ดร.พิจิตต รัตตกุล กรรมการ 2. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี กรรมการ 3. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ


20

รายงานประจำ�ปี 2558

บริษัท เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง จำ�กัด (บริษัทย่อยของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน)) บริษัท เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด ตั้งอยู่เลขที่ 2922/305-306 อาคารชาญอิสระทาวเวอร์ 2 ชั้น 29 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด เมื่อวันที่ 29 พฤศจิการยน พ.ศ. 2553 ปัจจุบัน บริษัท เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด มีทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 5 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นผ่าน บมจ.ไทย พร็อพเพอร์ตี้ เป็นสัดส่วนร้อยละ 100 กรรมการของ บจ.เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 3 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. ดร.พิจิตต รัตตกุล กรรมการ 2. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี กรรมการ 3. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อยของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน)) บมจ.แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ ตั้งอยู่เลขที่ 388 อาคารเอ็กเชน ทาวเวอร์ ชั้น 32 ห้องเลขที่ 3203-4 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด เมื่อวันที่ 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบัน บมจ.แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ มีทนุ จดทะเบียน 2,889,040,000 บาท ทุนจดทะเบียนเรียกช�ำระแล้ว 2,889,039,237 บาท บริษัทถือหุ้นผ่าน บมจ.ไทย พร็อพเพอร์ตี้ เป็นสัดส่วนร้อยละ 40.62 และถือโดยตรงเป็นสัดส่วน 1.70 (โดยบริษัทได้เข้าท�ำค�ำเสนอซื้อ หลักทรัพย์ของแกรนด์ แอสเสท ตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน 2558จนถึงวันที่ 22 กรกฏาคม 2558 ทั้งนี้ในวันที่ 23 กรกฏาคม 2558 บริษัทได้รายงานผลการเสนอซื้อหุ้นของแกรนด์ แอสเสท แก่ส�ำนักงาน ก.ล.ต. โดยบริษัทรับซื้อหุ้นไว้ทั้งสิ้น 49,099,819 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 1.70) บมจ.แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ ด�ำเนินธุรกิจด้านการโรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และปัจจุบันมี โรงแรมที่เปิดด�ำเนินการแล้ว 3 แห่ง และมีโรงแรมที่อยู่ในระหว่างการก่อสร้างอีก 1 แห่ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ โรงแรมที่เปิดด�ำเนินการแล้ว 1. โรงแรมเดอะ เวสทิน แกรนด์ สุขุมวิท ที่ตั้ง ซอยสุขุมวิท 19 กรุงเทพฯ เป็นโรงแรมระดับ 5 ดาว มีจำ� นวนชั้น 25 ชั้น มีจ�ำนวนห้องพัก 363 ห้อง 2. โรงแรมเชอราตัน หัวหิน รีสอร์ท แอนด์ สปา ทีต่ งั้ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงแรมระดับ 5 ดาว มีจำ� นวนชัน้ 2 ชัน้ และมีจ�ำนวนห้องพัก 240 ห้อง 3. โรงแรมเชอราตัน หัวหิน ปราณบุรี วิลล่า ทีต่ งั้ อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ เป็นโรงแรมระดับ 5 ดาว มีจำ� นวนชัน้ 1 ชั้น มีจ�ำนวนห้องพักแบบพูลวิลล่า 53 หลัง โรงแรมที่อยู่ระหว่างก่อสร้าง ได้แก่ โรงแรมไฮแอท รีเจนซี่ กรุงเทพ สุขุมวิท เป็นโรงแรมระดับ 4 ดาว ที่ตั้ง ซอยสุขุมวิท 13 มีจ�ำนวนชั้น 30 ชั้น มีจ�ำนวนห้องพัก 273 ห้อง คอนโดมิเนียมที่เปิดขายแล้ว 1. โครงการ ไฮด์ คอนโดมิเนียม ที่ตั้ง ซอยสุขุมวิท 13 มูลค่าโครงการ 5,258 ล้านบาท มีจ�ำนวนชั้น 40 ชั้นและมีจ�ำนวน ห้องพัก 454 ห้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีมูลค่าคงเหลือ 652 ล้านบาท 2. โครงการ ไฮด์ สุขุมวิท 11 ตั้งอยู่เลขที่ 155/1 ซอยสุขุมวิท 11 มูลค่าโครงการ 4,281 ล้านบาท มีจ�ำนวนชั้น 39 ชั้นและมี จ�ำนวน 478 ห้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีมูลค่าคงเหลือ 2,362 ล้านบาท


21

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บมจ.แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ มีโครงการ ที่เปิดขายอยู่ 4 โครงการ คิดเป็น มูลค่าคงเหลือรวม 3,088.56 ล้านบาท (สามารถศึกษารายละเอียดโครงการของบริษัทย่อยเพิ่มเติมในส่วนลักษณะการประกอบ ธุรกิจ ตารางผลิตภัณฑ์แยกตามโครงการปัจจุบัน) กรรมการของ บมจ.แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 11 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายวัชรกิติ วัชโรทัย ประธานกรรมการ 2. นายวิชัย ทองแตง ประธานกรรมการบริหารและกรรมการ 3. ดร.พิจิตต รัตตกุล กรรมการ 4. นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ 5. นางสาววิลาวัณย์ เหลืองนาคทองดี กรรมการ 6. นายสุรเดช นฤหล้า กรรมการ 7. นายอมรินทร์ นฤหล้า กรรมการ 8. นางพรศิริ มโนหาญ กรรมการอิสระ 9. นายพรชัย กิตติปัญญางาม กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 10. นายวัฒนา สุทธิพินิจธรรม กรรมการอิสระและกรรมการตรจสอบ 11. นายอมฤทธิ์ ปั้นศิริ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

Property Perfect International Pte. Ltd. (บริษัทย่อย) Property Perfect International ตั้งอยู่เลขที่ 80 Raffles Place, #266-01 UOB Plaza 1, Singapore 048624 ได้รับการก่อตั้ง เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2555 โดยมีทุนจดทะเบียนและทุนที่เรียกช�ำระแล้ว 1 เหรียญสิงคโปร์ (SGD) Property Perfect International มีวัตถุประสงค์เพื่อลงทุนและพัฒนาธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศ บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนช�ำระแล้ว Property Perfect International ถือหุ้นใน Kiroro Resort Holdings คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 95.61 กรรมการของ Property Perfect International ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 4 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายพิชัย รัตตกุล ประธานกรรมการ 2. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ กรรมการ 3. นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ 4. Mr.Krishnaveni d/o Sandanam กรรมการ


22

รายงานประจำ�ปี 2558

Kiroro Resort Holdings Co., Ltd. (เดิมชื่อ Share Group Co., Ltd.) (บริษัทย่อยของ Property Perfect International Pte. Ltd.) Kiroro Resort Holdings (เปลี่ยนชื่อจาก Share Group ในเดือนพฤศจิกายน 2557) ตั้งอยู่เลขที่ ITO ONE TEN Building 2F 5-1 Nishi 4-chome Kita 7-jo Kita-ku Sapporo, Hokkaido, Japan เป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายของประเทศญีป่ นุ่ เพือ่ ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจโรงแรมในประเทศญีป่ นุ่ โดยทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2555 เมือ่ วันที่ 27 สิงหาคม 2555 มีมติให้ Kiroro Resort Holdings เข้าลงทุนโดยซื้อหุ้นสามัญและรับโอนสิทธิเรียกร้องใน Kabushiki Kaisha Kiroro Associates โดยซื้อหุ้นทั้งหมดจาก Mitsui Fudosan Resort Co., Ltd. ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของจ�ำนวนหุ้นที่ออกและจ�ำหน่ายได้ แล้วทั้งหมดในราคา 1 เยน คิดเป็นเงินบาทประมาณ 0.4050 บาท (อัตราแลกเปลี่ยน 100 เยน = 40.50 บาท) และ รับซื้อสิทธิเรียก ร้องในหนี้เงินให้กู้ยืมแก่ Kabushiki Kaisha Kiroro Associates จาก Mitsui Fudosan Co., Ltd. จ�ำนวน 1,300.6 ล้านเยน คิดเป็นเงิน ไทยประมาณ 526.7 ล้านบาท ในราคา 160 ล้านเยน คิดเป็นเงินบาทประมาณ 64.8 ล้านบาท และมีมติให้ Kiroro Resort Holdings ซื้อทรัพย์สินโครงการคิโรโระ รีสอร์ทจาก Mitsui Fudosan Resort Co., Ltd. ซึ่งประกอบไปด้วยที่ดินจ�ำนวน 292 ไร่ อาคารโรงแรม 2 อาคาร (ห้องพัก 422 ห้อง) ทรัพย์สินและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการการเล่นสกีจาก Mitsui Fudosan Resort Co., Ltd. ในราคา 1,039.99 ล้านเยน หรือ ประมาณ 425.2 ล้านบาท รวมเป็นราคาซื้อขาย1,200 ล้านเยน หรือประมาณ 490 ล้านบาท และ ภาษีจากการโอนทรัพย์สินอีก 700 ล้านเยน หรือประมาณ 280 ล้านบาท รวมเป็นราคาทรัพย์สินทั้งสิ้น 1,900 ล้านเยน หรือ ประมาณ 770 ล้านบาท มีการเพิ่มทุนจดทะเบียน ใน Kiroro Resort Holdings เมื่อเดือนมีนาคม ปี 2557 จ�ำนวน 500 ล้านเยน โดยแบ่งเป็นหุ้นจ�ำนวน 100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 5,000 เยน เสนอขายให้แก่ Property Perfect International เพื่อน�ำไปช�ำระหนี้เงินกู้ยืมจาก Property Perfect International ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ถือหุน้ ท�ำให้ Property Perfect International ถือหุน้ ใน Kiroro Resort Holdings เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 95.61 เดือนสิงหาคม ปี 2558 ได้เพิ่มทุนจ�ำนวน 2,500 ล้านเยน โดยวิธีให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นเดิม จ�ำนวน 2,500 ล้านเยน ซึ่งเรียกช�ำระ ทุนจดทะเบียนบางส่วนในเดือนกันยายน ปีเดียวกัน จ�ำนวน 1,048.68 ล้านเยน คิดเป็นหุน้ จ�ำนวน 209,736 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5,000 เยน เพื่อน�ำไปใช้ในการปรับปรุงโรมแรมตามมาตรฐานของบริษัท Starwood Hotel and Resorts Worldwide, Inc. ซึ่งจะเปลี่ยนชื่อเป็น “Sheraton Hokkaido Kiroro Resort” และ “The Kiroro, a Tribute Portfolio Hotel, Hokkaido” ซึ่งบริษัท Property Perfect International ได้ใช้สิทธิตามสิทธิของผู้ถือหุ้นเดิม ท�ำให้ยังคงสัดส่วนการถือหุ้นใน Kiroro Resort เท่าเดิมคือ สัดส่วน 95.61 ปัจจุบันทุนที่เรียกช�ำระแล้วของ Kiroro Resort Holdings มีจำ� นวน 1,800,853,640 เยน แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 326,256 หุ้น กรรมการของ Kiroro Resort Holdings ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 7 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายพิชัย รัตตกุล ประธานกรรมการ 2. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ กรรมการ 3. นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ 4. นายออยบุนอัน กรรมการ 5. นายฮาจิเมะ โมริ กรรมการ 6. นายโยชิโร อิโตะ กรรมการ 7. นายเออิโสะ โมริตะ กรรมการ


23 Kabushiki Kaisha Kiroro Associates Co., Ltd. (บริษัทย่อยของ Kiroro Resort Holdings Co., Ltd.) Kabushiki Kaisha Kiroro Associates ตั้งอยู่เลขที่ 128-1 Tokiwa, Akaigawa-mura, Yoichigun, Hokkaido, Japan โดยเป็น บริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายของประเทศญี่ปุ่น เพื่อประกอบธุรกิจลานสกี ปัจจุบันทุนที่เรียกช�ำระแล้วของ Kabushiki Kaisha Kiroro Associates มีจ�ำนวน 60 ล้านเยน โดยแบ่งเป็นหุ้นสามัญ 610 หุ้น หลังจากปรับโครงสร้างการลงทุนโดย Kiroro Resort Holdings (รายละเอียดตามข้อมูลบริษัท Kiroro Resort Holdings ข้างต้น) ท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้นเป็นของ Kiroro Resort Holdings คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100 กรรมการของ Kabushiki Kaisha Kiroro Associates ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายชายนิด อรรถญาณสกุล ประธานกรรมการ 2. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ กรรมการ 3. นายเอียน แม็คคินซี่ กรรมการ Kabushiki Kaisha Kiroro Hotels Co., Ltd. (บริษัทย่อยของ Kiroro Resort Holdings Co., Ltd.) Kabushiki Kaisha Kiroro Hotels ตั้งอยู่เลขที่ 128-1 Tokiwa, Akaigawa-mura, Yoichigun, Hokkaido, Japan ได้รับการก่อตั้ง เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2558 โดยเป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายของประเทศญี่ปุ่น เพื่อประกอบธุรกิจบริหารโรงแรม เป็นการแยกการด�ำเนินงานธุรกิจโรงแรมออกจากธุรกิจสกีทยี่ งั คงด�ำเนินธุรกิจโดย Kabushiki Kaisha Kiroro Associates เนือ่ งจากการ เข้ามาบริหารโรงแรมโดยกลุ่ม Starwood ซึ่งมีระบบบัญชี ค่าตอบแทนพนักงาน และอื่นๆ ที่แตกต่าง ปัจจุบันทุนที่เรียกช�ำระแล้วของ Kabushiki Kaisha Kiroro Hotels มีจ�ำนวน 1,800,853,640 เยน โดยแบ่งเป็นหุ้นสามัญ 326,256 หุ้น สัดส่วนการถือหุ้นของ Kiroro Resort Holdings คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 95.61% กรรมการของ Kabushiki Kaisha Kiroro Hotels ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจ�ำนวน 2 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายเออิโสะ โมริตะ กรรมการ 2. นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ


24

รายงานประจำ�ปี 2558

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ (กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์) เดือนตุลาคม 2556 บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียนได้ขาย ทรัพย์สินในโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา ซึ่งตั้งอยู่ที่ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มูลค่ารวม 514 ล้านบาทให้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยนู ลิ อฟท์ทบี่ ริหารจัดการโดยบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม วรรณ จ�ำกัด โดยมีรายละเอียดทรัพย์สนิ ดังนี้ (1) ที่ดินที่เป็นที่ตั้งของโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา โฉนดเลขที่ 15781 (2) อาคารและสิ่งปลูกสร้างโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา (3) ระบบสาธารณูปโภค งานระบบ เฟอร์นเิ จอร์ วัสดุ และอุปกรณ์ทเี่ กีย่ วเนือ่ งและจ�ำเป็นต่อการใช้ประโยชน์ในโครงการยูนลิ อฟท์ ศาลายา กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยนู ลิ อฟท์เป็นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ประเภทไม่รบั ซือ้ คืนหน่วยลงทุนและไม่กำ� หนดอายุโครงการ มีทุนจดทะเบียน 515 ล้านบาท แบ่งเป็นจ�ำนวนหุ้น 51,500,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 10 บาทโดยกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ จดทะเบียนเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 ปัจจุบนั บริษทั ได้ลงทุนหน่วยลงทุน คิดเป็นจ�ำนวน 10,051,200 หน่วย หรือคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 19.52 ของทุนจดทะเบียนทัง้ หมด ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยนู ลิ อฟท์

กลุ่มธุรกิจค้าปลีก บริษัท วีรีเทล จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อย) บมจ. วีรีเทล ตั้งอยู่เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ เดิมชื่อ บริษทั ไดโดมอน กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) จดทะเบียนเป็นบริษทั มหาชนจ�ำกัด เมือ่ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2544 และถือหุน้ สามัญร้อยละ 99.99 ของ บจ. เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช้อปปิ้ง มอลล์ ซึ่งด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทศูนย์การค้า อาคารส�ำนักงาน และ พื้นที่เชิงพาณิชย์ ปัจจุบัน บมจ.วีรีเทล มีทุนจดทะเบียน 4,761,824,999.40 บาท และ ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 2,615,114,338.20 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญ 2,490,585,084 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.05 บาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 94.98 บมจ.วีรเี ทล ได้เปิดโครงการศูนย์การค้าแบบเปิด (Open Shopping Complex) แล้ว ในรูปแบบของศูนย์การค้าชุมชน (Community Mall) โซนตะวันตกของกรุงเทพมหานคร ภายใต้แบรนด์ เมโทร เวสต์ทาวน์ คณะกรรมการของบมจ. วีรีเทล ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 8 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการ 2. นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ และรองประธานกรรมการ และรักษาการประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร 3. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี กรรมการ 4. นายกัมพล ตติยกวี กรรมการ 5. นายเชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ 6. นายไชยกร บุญลพาภัธร์ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 7. นายประสงค์ วรารัตนกุล กรรมการ 8. นายวีระยุค พันธุเพชร กรรมการ

หมายเหตุ : โดยนายสมศักดิ์ โตรักษา ได้ลาออกจากการกรรมการ


25 บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด (บริษัทย่อยของบริษัท วีรีเทล จำ�กัด (มหาชน)) บจ. เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ช็อปปิง้ มอลล์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตั้งขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อบริหารและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ให้เช่าประเภทศูนย์การค้าและ อาคารส�ำนักงานให้เช่า บจ. เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ เป็นเจ้าของที่ดินและสิทธิการเช่าบริเวณถนนรัชดาภิเษกฝั่งตะวันออกบางส่วน ซึ่งมีแผนที่ จะพัฒนาโครงการเป็นศูนย์การค้าแบบปิดและอาคารส�ำนักงานให้เช่า และต่อมาในเดือนสิงหาคม 2555 ได้เป็นเจ้าของสิทธิการเช่า บริเวณถนนรัชดาภิเษกฝัง่ ตะวันตก (ฝัง่ ตรงกันข้าม) โดยมีแผนพัฒนาเป็นศูนย์การค้าแบบปิด (Closed Shopping Center) เช่นเดียวกัน ปัจจุบัน บจ. เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ อยู่ระหว่างการวางแผนก่อสร้างศูนย์การค้าแบบปิดภายใต้ชื่อ โครงการบางกอก มิดทาวน์ (เฟส 1) บนถนนรัชดาภิเษกฝั่งตะวันตก ต่อเนื่องจากการเข้าท�ำสัญญาเช่าช่วงที่ดินบนถนนรัชดาภิเษกฝั่งตะวันตก โดย ลักษณะของโครงการจะเป็นอาคารศูนย์การค้าแบบปิด 8 ชั้นบนพื้นที่ก่อสร้างกว่า 150,000 ตารางเมตร ภายในโครงการมีร้านค้าต่างๆ อาทิเช่น เสื้อผ้า แฟชั่น ร้านอาหาร สินค้าไลฟ์สไตล์ ธนาคาร และสินค้าต่างๆ กรรมการของบจ. เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 5 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ 2. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี กรรมการ 3. นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต กรรมการ 4. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการ 5. นางสาววิลาวัณย์ เหลืองนาคทองดี กรรมการ บริษัท รามอินทรา มอลล์ จำ�กัด (เดิมชื่อ บริษัท มารียา สตัฟฟ์ จำ�กัด) (บริษัทย่อย) บจ. รามอินทรา มอลล์ ก่อตั้งเมื่อปี 2547 ภายใต้ชื่อ บจ. มารียา สตัฟฟ์ โดยในเดือนสิงหาคม 2556 บริษัทได้เข้าลงทุนด้วย วิธกี ารซือ้ หุน้ สามัญทัง้ หมดของบจ. มารียา สตัฟฟ์ จากผูถ้ อื หุน้ เดิมในราคา 350 ล้านบาท ท�ำให้บริษทั เป็นผูถ้ อื หุน้ ในบจ. มารียา สตัฟฟ์ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ทัง้ นีผ้ ถู้ อื หุน้ เดิมของบจ. มารียา สตัฟฟ์ ไม่มคี วามเกีย่ วข้องใดๆ กับบริษทั และการเข้าซือ้ หุน้ ของ บจ. มารียา สตัฟฟ์ เพื่อต้องการน�ำสิทธิการเช่าในที่ดิน บริเวณต�ำบลคลองกุ่ม อ�ำเภอบางกะปิ กรุงเทพมหานคร เนื้อที่ประมาณ 34 ไร่ ซึ่งมี ระยะเวลาเช่าตามสัญญาเช่าอายุ 30 ปี เริ่มตั้งแต่ 9 เมษายน 2556 ถึง 31 มีนาคม 2586 มาพัฒนาเป็นศูนย์การค้าซึ่งปัจจุบันอยู่ ระหว่างการศึกษาและพิจารณาการลงทุน ในเดือนสิงหาคม 2557 บจ. มารียา สตัฟฟ์ ได้ต่ออายุสัญญาสิทธิการเช่าฉบับดังกล่าวเพิ่มอีก 3 ปี ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2586 ถึง 31 มีนาคม 2589 รวมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น บจ. รามอินทรา มอลล์ ในเดือนกันยายน 2557 บจ. รามอินทรา มอลล์ ตั้งอยู่เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ปัจจุบัน บจ. รามอินทรา มอลล์ มีทุนจดทะเบียน 350 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 กรรมการของ บจ. รามอินทรา มอลล์ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 2 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ 2. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี กรรมการ


26

รายงานประจำ�ปี 2558

กลุ่มธุรกิจก่อสร้าง บริษัท ยูแอนด์ ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จำ�กัด (บริษัทย่อย) บจ. ยูแอนด์ ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 100/89 อาคารว่องวานิช ชั้น 27 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อเดือน เมษายน 2554 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท ทุนเรียกช�ำระแล้ว 100 ล้านบาท บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 วัตถุประสงค์เพื่อท�ำธุรกิจ รับเหมาก่อสร้างและพัฒนา บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ และ คอนโดมิเนียม ให้เฉพาะกลุ่มบริษัท เป็นการรับงานก่อสร้างจากกลุม่ บริษทั ซึง่ เป็นเจ้าของโครงการโดยตรง เพือ่ เพิม่ ความคล่องตัวในการบริหารงานก่อสร้าง เน้นการจัดการ เรือ่ งการบริหารจัดการห่วงโซ่อปุ ทานและ การหาบริษทั ผูร้ บั เหมารายย่อยเพือ่ เป็นการควบคุมต้นทุนการก่อสร้าง และระยะเวลาก่อสร้าง รวมถึง การควบคุมปริมาณ และ คุณภาพในการก่อสร้าง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรรมการของ บจ. ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชั่น ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 กรุงเทพ มีจำ� นวน 4 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายสมบัติ บวรสมบัติ กรรมการ 2. นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร กรรมการ 3. นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์ กรรมการ 4. นายพิพัฒน์ นิตยโกศล กรรมการ

หมายเหตุ : โดยนายมานิต ยุคเกษมวงศ์ หมดวาระจากการเป็นกรรมการ เนื่องจากถึงแก่อนิจกรรม

บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จำ�กัด (บริษัทย่อย) บจ. เพอร์เฟค พรีแฟบ ตั้งอยู่เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 10 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อเดือนมิถุนายน 2554 มีทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท ทุนเรียกช�ำระแล้ว 2.5 ล้านบาทเป็นบริษัทร่วมทุน โดยบริษัทถือหุ้น ร้อยละ 51 และ บริษัท เซ็นเตอร์ ออฟ สแตนดาร์ด พรีคาสท์ จ�ำกัด ผู้ร่วมทุนซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ และเคยเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วน ส�ำเร็จรูปในการสร้างบ้านให้กับกลุ่มบริษัทมานานกว่า 5 ปี และไม่มีความเกี่ยวข้องใดๆ กับบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 49 วัตถุประสงค์เพื่อด�ำเนินการผลิต และ ประกอบติดตั้ง โครงสร้าง ระบบชิ้นส่วน ส�ำเร็จรูป ซึ่งเป็นส่วนประกอบของ บ้านพักอาศัย ทาวน์เฮ้าส์ และ รั้วโครงการ ชิ้นส่วนส�ำหรับคอนโดมิเนียม โดยน�ำระบบโรงงานมาใช้ เพื่อลดปัญหาแรงงานขาดแคลน ซึ่งบริษัทจะได้ รับประโยชน์ ในด้านความช�ำนาญเฉพาะด้านและเทคโนโลยีพรีแฟบจากบริษทั ร่วมทุนแห่งนี้ ปัจจุบนั ได้ดำ� เนินการผลิตชิน้ ส่วนส�ำเร็จรูป ให้กับโครงการของบริษัทโดยมีก�ำลังการผลิต ประมาณ 500 หลังต่อปี กรรมการของ บจ.เพอร์เฟค พรีแฟบ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 7 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ กรรมการ 2. นายวรศักดิ์ จักราปิยะนันท์ กรรมการ 3. นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์ กรรมการ 4. นายรุ่งโรจน์ สิงหถนัด กรรมการ 5. นายวิชยา วัฒนานุกิจ กรรมการ 6. นายภูวิทย์ แพงสุข กรรมการ 7. นายคงศักดิ์ แก้วสุริยธ�ำรง กรรมการ


27 กลุ่มธุรกิจบริการ บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จำ�กัด (บริษัทย่อย) บจ. เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ ตั้งอยู่เลขที่ 100/52 อาคารว่องวานิช บี ชั้น 19 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อ เดือนกุมภาพันธ์ 2547 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 50 ล้านบาท ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 50 ล้านบาท โดย บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 บจ. เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ ประกอบธุรกิจบริหารพื้นที่สโมสรในโครงการต่างๆของบริษัทและบริษัทย่อย กรรมการของบจ. เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 4 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการ 2. นายนันทชาติ กลีบพิพัฒน์ กรรมการ 3. นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์ กรรมการ 4. นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร กรรมการ บริษัท ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำ�กัด (บริษัทย่อย) บจ. ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส ตั้งอยู่ที่เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อเดือน กรกฎาคม 2554 ทุนจดทะเบียน 100,000 บาท โดยมีบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในสัดส่วนร้อยละ 100 ต่อมา ในเดือน สิงหาคม 2556 ได้มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 5,000,000 บาท โดยเรียกช�ำระร้อยละ 25 ของจ�ำนวนทุนที่เพิ่ม หรือคิดเป็น 1,225,000 บาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนและเรียกช�ำระแล้วมูลค่า 1,325,000 บาท ปัจจุบัน บจ. ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส เป็นผู้บริหารและ จัดการโครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภทให้เช่าต่าง ๆ ของกลุ่มบริษัท กรรมการของบจ. ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส ณ วันที่ 31 มกราคม 2559 มีจำ� นวน 5 ท่าน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ ต�ำแหน่ง 1. นายศรัณยู อรรถญาณสกุล กรรมการ 2. นายณัฐพล สืบอ�ำ่ กรรมการ 3. นายปฐมภพ อินทร์บ�ำรุง กรรมการ 4. นายเชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ กรรมการ 5. นายเจมส์ สตีเวนสัน วอร์บอยส์ กรรมการ


28

รายงานประจำ�ปี 2558

โครงสร้าง การจัดการ ปัจจุบนั โครงสร้างการจัดการของบริษทั ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยทีข่ นึ้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษทั ทั้งสิ้น 4 ชุด

1. คณะกรรมการบริษัท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่าน จ�ำนวนครัง้ ทีม่ กี ารประชุมทัง้ สิน้ รวม 8 ครัง้ ตามรายละเอียด ดังนี้ ล�ำดับ

รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการ กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2 นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการ 3 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการ 4 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการ 5 นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา กรรมการ 6 นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต กรรมการ 7 นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ 8 นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ 9 นายเอกมล คีรีวัฒน์ กรรมการ กรรมการอิสระ 10 นายบรรลือ ฉันทาดิศัย กรรมการ กรรมการอิสระ 11 นายมานิตย์ สุธาพร กรรมการ กรรมการอิสระ 12 ศจ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ โดยมี นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท

จ�ำนวนครัง้ การประชุม การเข้าร่วมการประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการ

8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8

8 8 8 8 8 2 2 8 5 6 8 5 8

หมายเหตุ 1. ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2558 ในวันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 มีมติอนุมัติ เลือกตั้งให้นายวิทยา เนติวิวัฒน์ ซึ่งเป็นกรรมการ ที่ออกจากต�ำแหน่งตามก�ำหนดวาระในครั้งนี้ กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัทฯใหม่อีกวาระหนึ่ง 2. ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2558 ในวันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 มีมติอนุมตั ิ เลือกตัง้ ให้นายเอกกมล คีรวี ฒ ั น์ นายบรรลือ ฉันทาดิศยั และนายมานิตย์ สุธาพร เข้าเป็นกรรมการและกรรมการอิสระของบริษทั ฯ แทนต�ำแหน่งกรรมการทีค่ รบวาระของนายวีระยุค พันธุเพชร นายออย บูน อัน และดร.สมศักดิ์ โตรักษา 3. ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2558 ในวันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม 2558 มีมติอนุมัติเลือกตั้งให้ นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต และ นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ เข้าเป็นกรรมการบริษัท แทนกรรมการที่ลาออกของ นายกฤช ฟอลเล็ต และ ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทประกอบด้วย (1) ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ลงลายมือชือ่ ร่วมกับ นายชายนิด อรรถญาณสกุล และ นายไพรัตน์ เสนาจักร์ นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา นายวงศกรณ์ ประสิทธิว์ ภิ าต นายวิชาญ ศิรเิ วชวราวุธ กรรมการสองในหกคนนี้ ลงลายมือชือ่ ร่วมกันและประทับตราส�ำคัญของ บริษทั


29 (2) นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา หรือ นายวงศกรณ์ ประสิทธิว์ ภิ าต หรือ นายวิชาญ ศิรเิ วชวราวุธ ลงลายมือชือ่ และประทับตราส�ำคัญ ของบริษัท ดังต่อไปนี้ (1) กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานราชการในสังกัดกระทรวงพาณิชย์ (2) กรมสรรพากรและหน่วยงานราชการในสังกัดกรมสรรพากร (3) กรมที่ดินและหน่วยงานราชการในสังกัดกรมที่ดิน (4) กรมโยธาธิการและผังเมืองและหน่วยงานราชการในสังกัดกรมโยธาธิการและผังเมือง (5) กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาและหน่วยงานราชการในสังกัดกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา (6) เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนต�ำบล (7) หน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานเอกชนใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการให้บริการน�ำ้ ประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ไปรษณีย์ และอินเตอร์เน็ต ในเรือ่ งการยืน่ ขออนุญาตต่างๆ การโอนสิทธิและรับโอนสิทธิ การวางเงินหรือการขอรับเงินประกันคืน การโอนและการรับโอนเงินประกันคืนเกี่ยวกับน�้ำประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ไปรษณีย์ และอินเตอร์เน็ต ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือที่ประชุมคณะกรรมการอาจก�ำหนดชื่อกรรมการผู้มีอำ� นาจลงนามผูกพันบริษัทพร้อมประทับตราส�ำคัญของ บริษัทได้ อำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั เป็นผูม้ อี ำ� นาจหน้าที่ในการตัดสินใจ และดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติประชุมผู้ถือหุ้น และกฎหมาย เว้นแต่การตัดสินใจหรือการด�ำเนินงานในเรื่องที่ตามกฎหมาย ประกาศ และข้อก�ำหนดของคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก�ำหนดให้ต้องรับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือ หุน้ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั จะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ก่อนจึงจะด�ำเนินการได้ โดยทีข่ อ้ บังคับของบริษทั ได้ให้อำ� นาจคณะ กรรมการบริษัทแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร เพื่อท�ำหน้าที่ควบคุมการดูแลกิจการรายวันของบริษัทให้เป็นไปตามแนวนโยบายและงบ ประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทและกิจการอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายซึ่ง ได้แก่ การอนุมัติการด�ำเนิน งานตามขอบเขตอ�ำนาจทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้ให้ไว้ และการกลัน่ กรองเรือ่ งใดๆ ทีอ่ ยูน่ อกเหนือขอบเขตอ�ำนาจของตนเพือ่ เข้าสูก่ าร พิจารณาของคณะกรรมการบริษทั นอกจากนี้ ข้อบังคับได้ให้อ�ำนาจคณะกรรมการบริษทั มีสทิ ธิแต่งตัง้ เจ้าหน้าที่ หรือคณะท�ำงานอืน่ ๆ เพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการในการบริหารงานได้ด้วย

2. ผู้บริหาร

ผูบ้ ริหารของบริษทั ณ วันที่ 31ธันวาคม 2558 ตามนิยามในประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มีจ�ำนวน 8 ท่าน มีดังนี้ ชื่อสกุล ต�ำแหน่ง 1. นายชายนิด อรรถญาณสกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เลขานุการบริษัท 3. นางสาววิลาวัณย์ เหลืองนาคทองดี ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 4. นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฎิบัติการ 1 5. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฎิบัติการ 2 6. นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาธุรกิจ 7. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา ประธานเจ้าหน้าทีก่ ลุม่ การเงิน และรักษาการประธานเจ้าหน้าทีก่ ลุม่ สนับสนุน 8. นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มการเงิน


30

รายงานประจำ�ปี 2558

โครงสร้างการจัดการของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษัท

ประธานคณะที่ปรึกษา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO)

ส�ำนักตรวจสอบภายใน คณะที่ปรึกษา CEO

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

กลุ่มปฏิบัติการ 1

กลุ่มปฏิบัติการ 2

กลุ่มพัฒนาธุรกิจ

ประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มปฏิบัติการ 1

ประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มปฏิบัติการ 2

ประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มพัฒนาธุรกิจ

รองประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มปฏิบัติการ 1

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มปฏิบัติการ 2

รองประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มพัฒนาธุรกิจ

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มปฏิบัติการ 1

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มพัฒนาธุรกิจ

สายงานบริหารงานก่อสร้าง กลุ่มปฏิบัติการ 1

สายงานบริหารงานก่อสร้าง กลุ่มปฏิบัติการ 2

สายงานวางแผนโครงการ และการตลาดแนวราบ

สายงานนิติกรรม และโอนกรรมสิทธิ์

สายงานบริหารโครงการ โซน 6

สายงานพัฒนาโครงการ คอนโดมิเนียม

สายงานบริหารโครงการ โซน 1

สายงานบริหารโครงการ โซน 7

สายงานการตลาดคอนโดมิเนียม

สายงานบริหารโครงการ โซน 2

สายงานบริหารโครงการ โซน 8

สายงานออกแบบ

สายงานบริหารโครงการ โซน 3

บริษัท ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จ�ำกัด (U&I)

สายงานโฆษณา

สายงานบริหารโครงการ โซน 4

สายงานประชาสัมพันธ์ และสื่อสารองค์กร

สายงานบริหารโครงการ โซน 5

สายงานบริหารงานขาย

บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด


31 คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา เลขานุการบริษัท ส�ำนักกฎหมาย ส�ำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

Oversea Business Development

กลุ่มการเงิน

กลุ่มสนับสนุน

ประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มการเงิน

รักษาการประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มสนับสนุน

รองประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มการเงิน

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มสนับสนุน

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มการเงิน สายงานการเงิน และบริหารเงิน

สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

สายงานบัญชี

สายงานบริหารกองทุน และหุ้นกู้

สายงานงบประมาณ

สายงานลงทุนสัมพันธ์ และวิจัยพัฒนา สายงานทรัพยากรมนุษย์ สายงานบริหารงานกลาง บริษัท ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด


32

รายงานประจำ�ปี 2558

3. เลขานุการบริษัท

ตามข้อก�ำหนดในมาตรา 89/15 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ก�ำหนดให้คณะกรรมการ ต้องจัดให้มีเลขานุการบริษัทรับผิดชอบในนามของบริษัทหรือคณะกรรมการด�ำเนินการ โดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2551 ได้มีมติแต่งตั้งเลขานุการบริษัท คือนายปราโมทย์ เริ่มยินดี ทั้งนี้ คุณสมบัติของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเลขานุการบริษัท ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1) จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ (ก) ทะเบียนกรรมการ (ข) หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงานประจ�ำปีของบริษัท (ค) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2) เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร และส่งส�ำเนารายงานดังกล่าวให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายในเจ็ดวันท�ำการนับแต่วันที่บริษัทได้รับรายงานนั้น 3) จัดท�ำระบบการเก็บรักษาเอกสารและหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับการแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้ รวมทัง้ ดูแลให้มกี ารเก็บรักษาเอกสาร หรือหลักฐานดังกล่าวให้ถกู ต้องครบถ้วนและสามารถตรวจสอบได้ในระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่าห้าปีนบั แต่วนั ทีม่ กี ารจัดท�ำเอกสาร หรือข้อมูลดังกล่าว การเก็บรักษาเอกสารและหลักฐานข้างต้น ให้หมายความรวมถึงการเก็บรักษาด้วยระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบอื่นใดที่ สามารถเรียกดูได้โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ (1) การให้ข้อมูลประกอบการขอมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น (2) งบการเงินและรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัท หรือรายงานอื่นใดที่ต้องเปิดเผยตาม มาตรา 56 มาตรา 57 มาตรา 58 หรือ มาตรา 199 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (3) ความเห็นของบริษัทเมื่อมีผู้ทำ� ค�ำเสนอซื้อหุ้นของบริษัทจากผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป (4) การให้ข้อมูลหรือรายงานอื่นใดเกี่ยวกับกิจการที่บริษัทจัดท�ำขึ้นเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ถือหุ้นหรือประชาชนทั่วไป ตามที่ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนก�ำหนด 4) ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนดต่อไป 5) ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั มติคณะกรรมการ ตลอดจนมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และไม่กระท�ำการใดอันเป็นการขัดหรือแย้ง กับประโยชน์ของบริษัทอย่างมีนัยส�ำคัญ 6) ต้องปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบและความระมัดระวังเยีย่ งวิญญูชนผูป้ ระกอบธุรกิจเช่นนัน้ จะพึงกระท�ำภายใต้สถานการณ์ อย่างเดียวกัน โดย (1) การตัดสินใจได้กระท�ำไปด้วยความเชื่อโดยสุจริตและสมเหตุสมผลว่าเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นส�ำคัญ (2) การตัดสินใจได้กระท�ำบนพื้นฐานข้อมูลที่เชื่อโดยสุจริตว่าเพียงพอ และ (3) การตัดสินใจได้กระท�ำไปโดยตนไม่มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในเรื่องที่ตัดสินใจนั้น ในกรณีทเี่ ลขานุการบริษทั พ้นจากต�ำแหน่งไม่อาจปฏิบตั หิ น้าที่ได้ ให้คณะกรรมการแต่งตัง้ เลขานุการบริษทั คนใหม่ภายในเก้าสิบวัน นับแต่วนั ทีเ่ ลขานุการบริษทั คนเดิมพ้นจากต�ำแหน่งหรือไม่อาจปฏิบตั หิ น้าที่ได้ และมอบหมายให้นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา ปฏิบตั หิ น้าที่ แทนในช่วงเวลาดังกล่าว


33 4. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 4.1 ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน บริษทั มีคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ โดยมีขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการพิจารณา นโยบายและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ และที่ปรึกษาของบริษัท รวมทั้ง ก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี การปรับเงินเดือนประจ�ำปี การปรับเงินเดือนระหว่างปี ผลประโยชน์อื่นอันเป็นการตอบแทนการท�ำงาน ของฝ่ายบริษทั และพนักงานทุกระดับ และพิจารณาระเบียบการจ้างงาน ระเบียบการท�ำงาน และพิจารณาเกณฑ์การลงโทษให้เหมาะสม และเป็นธรรมต่อพนักงานบริษัท (ก) ค่าตอบแทนกรรมการ บริษัทมีการจ่ายค่าตอบแทนในรูปของเบี้ยประชุมและค่าบ�ำเหน็จกรรมการ ซึ่งแปรตามผลการด�ำเนินงานของบริษัท ให้แก่ กรรมการแต่ละราย ดังนี้ ค่าตอบแทนกรรมการ (ล้านบาท) เบี้ยประชุม ณ 31 ธันวาคม 2558

รายชือ่ กรรมการ

ดร.ธวัชชัย นาคะตะ นายวีระยุค พันธุเพชร *

ต�ำแหน่ง

คณะ คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เงิน บริษทั ตรวจสอบ สรรหา บริหาร บ�ำเน็จ และ ความเสีย่ ง พิจารณา ค่าตอบแทน

ประธานกรรมการ/ประธานคณะกรรมการบริหาร 1.60 รองประธานกรรมการ/ประธานคณะกรรมการสรรหา 0.84 และพิจารณาค่าตอบแทน นายชายนิด อรรถญาณสกุล กรรมการบริษัท/รองประธานคณะกรรมการบริหาร/ 0.84 ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ดร.สมศักดิ์ โตรักษา * กรรมการบริษัท/กรรมการตรวจสอบ 0.70 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย * กรรมการบริษัท/กรรมการตรวจสอบ/ 0.50 กรรมการบริหารความเสี่ยง นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร 0.84 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการบริษัท/กรรมการสรรหาและ 0.84 พิจารณาค่าตอบแทน นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา กรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร 0.84 นายออย บูน อัน กรรมการบริษัท/กรรมการสรรหาและ 0.84 พิจารณาค่าตอบแทน นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา * กรรมการบริษทั /ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 0.84 นายกฤช ฟอลเล็ต * กรรมการบริษทั /ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 0.84 ศจ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ * กรรมการบริษทั /ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 0.30 นายบุญเลี่ยม เหลืองนาคทองดี กรรมการบริหารความเสี่ยง นายเชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ กรรมการบริหารความเสี่ยง นายเอกมล คีรีวัฒน์ กรรมการบริษัท นายบรรลือ ฉันทาดิศัย กรรมการบริษัท/กรรมการตรวจสอบ นายมานิตย์ สุธาพร กรรมการบริษัท/กรรมการตรวจสอบ นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต กรรมการบริษัท นาย วิชาญ ศิริเวชวราวุธ กรรมการบริษัท รวม 9.78

0.70 0.14

-

0.05

-

0.35

-

-

-

0.05 0.20

0.09 0.09

-

0.09

0.35 0.35

-

0.08

-

0.35 0.10

-

0.03 0.03

-

0.35 0.15 0.20 0.20 0.25 0.25 0.55 0.55 4.19

0.15 0.15 0.25 0.15 0.88

0.19

0.15 0.25 0.24 0.18 0.91

หมายเหตุ: (นอกเหนือจากค่าตอบแทนในรูปของเบีย้ ประชุมในฐานะกรรมการบริษทั กรรมการบริษทั บางคนจะได้รับค่าตอบแทนในรูปเงินเดือนในฐานะที่ เป็นผู้บริหารและกรรมการบริหารของบริษัท) * กรรมการอิสระ


34

รายงานประจำ�ปี 2558

(ข) ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริหารและผู้บริหาร มีรายละเอียดดังนี้ ในปี 2557 บริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนประกอบด้วยเงินเดือนและโบนัส ให้กับกรรมการบริหารและผู้บริหาร* จ�ำนวน 10 ราย รวมทั้งสิ้น 47.22 ล้านบาท และ 9.20 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยในปี 2558 บริษทั ได้จา่ ยค่าตอบแทนประกอบด้วยเงินเดือน และโบนัสให้กบั กรรมการบริหารและผูบ้ ริหาร* จ�ำนวน 10 ราย รวมทั้งสิ้น 45.31 ล้านบาท

หมายเหตุ * เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับการเปิดเผยค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหารในอดีต ค�ำว่า “ผู้บริหาร” ในที่นี้รวมถึงผู้จัดการ ฝ่ายบัญชีหรือการเงินด้วย

4.2 ค่าตอบแทนอื่น ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ -ไม่มี ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร สวัสดิการ เงินประกันสังคม และเงินสบทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพที่บริษัทและพนักงานจ่ายเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตรา ร้อยละ 3 ถึง 10 ของเงินเดือน ซึ่งใน ปี 2558 บริษัทได้จ่ายเงินตอบแทนในส่วนนี้ส�ำหรับกรรมการบริหารและผู้บริหาร* จ�ำนวน 10 ราย รวมทั้งสิ้น 4.96 ล้านบาท


35 5. บุคลากร 5.1 จำ�นวนพนักงาน ณ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั และบริษทั ย่อย มีจำ� นวนพนักงานทัง้ สิน้ 975 คน โดยบริษทั มีพนักงานแบ่งตามแต่ละสายงานได้ดงั นี้ สังกัด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

จ�ำนวนพนักงาน (คน) 31-ธ.ค.-58

ส�ำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงานวางแผนโครงการและการตลาดแนวราบ สายงานพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียม สายงานการตลาดคอนโดมิเนียม สายงานบริหารงานขาย สายงานออกแบบ สายงานบริหารงานก่อสร้างกลุ่มปฏิบัติการ 1 สายงานบริหารงานก่อสร้างกลุ่มปฏิบัติการ 2 สายงานโฆษณา สายงานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร สายงานบัญชี ส�ำนักตรวจสอบภายใน สายงานนิติกรรมและโอนกรรมสิทธิ์ สายงานการเงินและบริหารเงิน ส�ำนักงบประมาณ สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ สายงานบริหารกองทุนและหุ้นกู้ สายงานลงทุนสัมพันธ์และวิจัยพัฒนา สายงานทรัพยากรมนุษย์ สายงานบริหารงานกลาง สายงานบริหารโครงการ โซน 1 - 8 บริษัทรับเหมา (U & I) บริหารสโมสร (PSC) กรรมการบริหาร ที่ปรึกษา CEO และเลขาฯ Perfect Service บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด รวม

ทั้งนี้ ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมาบริษัทไม่เคยมีปัญหากฎหมายเกี่ยวกับข้อพิพาทด้านแรงงานแต่อย่างใด

23 16 22 17 76 16 22 37 16 10 31 2 63 25 6 9 28 4 8 22 407 42 36 1 5 3 18 10 975


36

รายงานประจำ�ปี 2558

5.2 ค่าตอบแทนพนักงาน บริษทั มีคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ โดยมีขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ในการพิจารณา นโยบายและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ และที่ปรึกษาของบริษัท รวมทั้ง ก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี การปรับเงินเดือนประจ�ำปี การปรับเงินเดือนระหว่างปี ผลประโยชน์อื่นอันเป็นการตอบแทนการท�ำงาน ของฝ่ายบริษทั และพนักงานทุกระดับ และพิจารณาระเบียบการจ้างงาน ระเบียบการท�ำงาน และพิจารณาเกณฑ์การลงโทษให้เหมาะสม และเป็นธรรมต่อพนักงานบริษัท ค่าตอบแทนรวมของบุคลากร (ไม่รวมผู้บริหาร) ของบริษัทประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส สวัสดิการ ล่วงเวลา เบี้ยเลี้ยง และเงิน สมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ในปี 2558 จ�ำนวน 650 ล้านบาท 5.3 นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริษทั เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของบุคลากร โดยมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาบุคลากรในบริษทั อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ เพิม่ พูนความรูค้ วามสามารถ และทักษะการปฏิบตั งิ านให้เหมาะสมกับบทบาทความรับผิดชอบตามหน้าทีง่ านให้สามารถผลิตผลงานคุณภาพแก่ลกู ค้ารวมถึงสร้างการ ขายและการบริการที่เป็นมาตรฐาน ดังนั้น บริษัทจึงได้กำ� หนดนโยบายการพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับสายอาชีพและเหมาะสมกับ ระดับต�ำแหน่งของพนักงาน มีการฝึกอบรมให้สอดรับกับแนวทางและแผนงาน การด�ำเนินธุรกิจทั้งในแผนงานระยะสั้น-ระยะยาว และ ได้มกี ารน�ำระบบ Competency มาใช้พฒ ั นาทักษะความรูค้ วามสามารถให้กบั บุคลากรในองค์กรโดยเน้นการพัฒนาทีเ่ หมาะสมรายบุคคล มีการก�ำหนดหลักสูตรฝึกอบรมพนักงานทีช่ ดั เจนและเป็นหมวดหมู่ ด�ำเนินการวิเคราะห์ความต้องการการฝึกอบรมโดยรวบรวมข้อมูล จากแต่ละภาคส่วน เช่น สมรรถนะทีพ่ นักงานควรจะต้องมีตามต�ำแหน่งงาน (Job Competency), ค�ำอธิบายลักษณะงาน (Job Description), สายอาชีพ (Career Path) โดยค�ำนึงถึงแผนงานและนโยบายของบริษทั , การเปลีย่ นแปลงทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม นวัตกรรมใหม่ๆ ที่ส่งผลต่อธุรกิจ รวมถึงความจ�ำเป็นในแต่ละช่วงเวลาการท�ำงาน โดยพนักงานแต่ละระดับในหน้าที่งานต่างๆ จะได้รับการพัฒนาในรูป แบบหลากหลาย ทั้งการฝึกอบรมภายใน การฝึกอบรมภายนอก และการสอนงาน (Coaching) ทั้งนี้แผนการฝึกอบรม ได้ถูกก�ำหนดให้สอดคล้องกับเป้าหมายการท�ำงานประจ�ำปีของบริษัท โดยวิธีการฝึกอบรมจะถูกก�ำหนด ให้เหมาะสมกับโครงสร้างหลักสูตร มีทงั้ ภาคทฤษฎี การฝึกภาคปฏิบตั ิ และการท�ำงานภาคสนามทีต่ อ้ งลงมือปฏิบตั จิ ริงโดยการควบคุม ของหัวหน้างาน (On the job training) การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทักษะความรู้ ความช�ำนาญระหว่างทีมงาน นอกจากนี้ บริษัทยัง จัดให้มีการประชุมร่วมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหาอุปสรรคในการท�ำงานอยู่เป็นประจ�ำ เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา และ ก�ำหนดวิธีการปฏิบัติงานและการบริการลูกค้าให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ให้เกิดขึ้นในบริษัท โดยใน ปี 2558 บริษัทได้มีโครงการพัฒนาพนักงาน อาทิ 1. การพัฒนาทักษะด้านการบริหารจัดการ บริษัทให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาพนักงานเพื่อเตรียมความพร้อมขึ้นสู่ต�ำแหน่งงานระดับหัวหน้างาน และระดับบริหาร โดยได้จัดหลักสูตรเกี่ยวกับทักษะการจัดการเป็นประจ�ำทุกปี 2. การสร้างความเป็นทีมงาน บริษทั เล็งเห็นคุณค่าเรือ่ งการท�ำงานร่วมกันของพนักงาน การท�ำงานทีมอย่างสร้างสรรค์ ทัง้ ในและระหว่างหน่วยงาน เพือ่ ให้ เกิดประสิทธิภาพในงานส่วนรวม จึงได้จดั หลักสูตร Perfect Team ให้พนักงานในหลายหน่วยงานได้มโี อกาสพบปะ ท�ำกิจกรรม ร่วมกัน เป็นการสร้างความสัมพันธ์และความสามัคคีระหว่างหน่วยงาน 3. การพัฒนาพนักงานให้ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามข้อก�ำหนดของ ระบบ ISO 9001:2008 บริษทั ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของลูกค้า โดยมุง่ มัน่ ทีจ่ ะส่งมอบสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพเสมอมา จึงได้มกี ารควบคุมดูแลกระบวนการ ผลิตทุกขั้นตอนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำ� หนดและได้น�ำระบบบริหารคุณภาพ ISO9001 เข้ามาประยุกต์ใช้ในการบริหาร ในแต่ละภาคส่วน จึงท�ำให้สามารถส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าและเป็นไปตามกฎหมาย และข้อบังคับทางราชการทีเ่ กีย่ วข้อง โดยได้มกี ารอบรมพนักงานทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องให้เข้าใจระบบคุณภาพ กระบวนการ และขัน้ ตอนในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายในการส่งมอบสินค้าคุณภาพให้แก่ลกู ค้าของบริษทั ทัง้ นี้ได้มกี ารคัดเลือก พนักงานที่มีความรู้ความสามารถโดดเด่นเข้ารับการฝึกอบรมเพิ่มเติมเพื่อท�ำหน้าที่ Internal Audit โดยมีหน้าที่หลักในการ ตรวจสอบภายในเพื่อให้มั่นใจว่าแต่ละฝ่ายหรือสายงานสามารถปฏิบัติงานได้บรรลุเป้าหมายตามที่ก�ำหนด


37

4. การพัฒนาทักษะด้านการขาย บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะขยายงานโดยมีการเปิดโครงการใหม่ๆ หลายโครงการในแต่ละปี และได้ให้ความส�ำคัญกับพนักงานขาย ซึง่ เป็นผูท้ จี่ ะให้ขอ้ มูลและบริการลูกค้า จึงได้มกี ารจัดอบรมทักษะการขาย และการบริการให้กบั พนักงานขายทุกคนของบริษทั และเพือ่ ให้การบริการของพนักงานขายเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน ประทับใจลูกค้า บริษทั จึงได้เริม่ ด�ำเนินการ สร้างมาตรฐาน การบริการในแบบเฉพาะของบริษทั ขึน้ โดยใช้เอกลักษณ์ Service Signature มาตัง้ แต่ปี 2556 โดยในปี 2558 บริษทั ได้จดั จ้าง บริษทั ทีป่ รึกษาทีม่ ปี ระสบการณ์ในการพัฒนาทีมขายให้กบั บริษทั ซึง่ เป็นบริษทั ชัน้ น�ำของโลกจากประเทศญีป่ นุ่ เข้ามาวิเคราะห์ แนะน�ำและพัฒนาทีมงานขาย และกระบวนการขายสินค้าเพื่อให้มีประสิทธิภาพและสามารถเพิ่มยอดขายได้มากขึ้น

การฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพพนักงาน บริษัท ให้ความส�ำคัญกับการฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานทุกต�ำแหน่งงานให้พร้อมที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนเองอย่าง สมบูรณ์ ครบถ้วน ตามความจ�ำเป็นอย่างสม�ำ่ เสมอ จึงได้จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรม (PF Training Center) เริ่มตั้งแต่การเตรียมความพร้อม ในการท�ำงานของพนักงานใหม่ การอบรมตามหน้าที่งาน การอบรมทักษะการใช้เครื่องมือในการท�ำงาน รวมถึงการพัฒนาศักยภาพ พนักงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการเลื่อนต�ำแหน่ง เพื่อให้มั่นใจได้ว่าพนักงานจะสามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เต็มความ สามารถ โดยหลักสูตรที่บริษัทได้จัดเตรียมไว้ส�ำหรับพนักงานทุกคน แบ่งประเภทได้ดังนี้ 1. หลักสูตรมาตรฐานเพื่อการปฏิบัติงาน (Standard) 2. หลักสูตรด้านการบริหารจัดการ (Management) 3. หลักสูตรด้านการท�ำงานเป็นทีม (Team Work) 4. หลักสูตรด้านการก่อสร้าง (Construction) 5. หลักสูตรด้านการออกแบบ (Design) 6. หลักสูตรด้านการขาย (Sale) 7. หลักสูตรด้านคุณภาพ (Quality) 8. หลักสูตรด้านบริการหลังการขาย (After Sale Service) ในปี 2557 และ ในปี 2558 ที่ผ่านมาบริษัท ได้จัดหลักสูตรฝึกอบรมภายใน (In-House Training) จ�ำนวน 28 หลักสูตร จ�ำนวน 767 คน รวมทั้งส่งพนักงานไปฝึกอบรมกับสถาบันภายนอก (Public Training) จ�ำนวน 32 หลักสูตร จ�ำนวน 43 คน ดังนั้นจ�ำนวนรวม หลักสูตรทั้งสิ้น 60 หลักสูตร จ�ำนวนรวมผู้เข้าอบรมทั้งสิ้น 810 คน


38

รายงานประจำ�ปี 2558

คณะกรรมการบริษัท

2

1

4

1. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ

ประธานกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบริหาร

2. นายชายนิด อรรถญาณสกุล

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รองประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริษัท

3

3. นายไพรัตน์ เสนาจักร์

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

6

4. นายวิทยา เนติวิวัฒน์

กรรมการบริษัท ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

5. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มการเงิน

6. นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาธุรกิจ

5


39 7. นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 1

8. นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

9. นายเอกมล คีรีวัฒน์

7

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ

10. นายบรรลือ ฉันทาดิศัย

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

9

11. นายมานิตย์ สุธาพร

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

8

12. ศาสตราจารย์ ดร.สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

13. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี

11

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท

10

13

12


40

รายงานประจำ�ปี 2558

นโยบาย และภาพรวมการประกอบธุรกิจ

วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หรือ กลยุทธ์ของบริษัท/กลุ่ม วิสัยทัศน์ ในการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทมีวิสัยทัศน์ในการด�ำเนินธุรกิจ คือ เป็นผู้น�ำด้านอสังหาริมทรัพย์ที่มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่งในการสร้างความสุขและ ความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าในทุกช่วงชีวิต รวมถึงชุมชน พันธมิตร ผู้ถือหุ้น ตลอดจนพนักงานโดยเน้นคุณภาพชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่ สมบูรณ์แบบ ภารกิจที่ต้องดำ�เนินการ 1. สร้างสรรค์-พัฒนาสินค้าและบริการทีท่ นั สมัย ในท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพ ตอบสนองแนวคิดใหม่ๆ ของการใช้ชวี ติ อย่างทันเวลาและต่อเนือ่ ง 2. สร้าง-พัฒนาความมั่นคงของฐานะทางการเงินเพื่อให้ตอบรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในส่วนขององค์กรและผู้มีส่วนได้เสีย อย่างครบครัน 3. สร้าง-พัฒนาการบริหารจัดการที่เป็นเลิศโดยทีมบุคคลากรมืออาชีพภายใต้ระบบการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง 4. สร้าง-พัฒนาความสุข ความพึงพอใจในสินค้าและบริการ ด้วยสิ่งแวดล้อมที่ดีกว่า คุณภาพชีวิตที่เหนือกว่า และตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าในทุกช่วงชีวิต 5. สร้าง-พัฒนาชื่อเสียงและความภาคภูมิใจด้วยการด�ำเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบ มีจรรยาบรรณ และค�ำนึงถึงผลประโยชน์และ ผลกระทบในทุกส่วนของสังคมที่เกี่ยวข้อง


41 บริษทั ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยประเภทบ้านเดีย่ ว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม เพื่อขายเป็นหลัก โดยบริษัทมีนโยบายในการบริหารงานและว่าจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างที่อยู่อาศัยตามแบบที่กำ� หนด และมีการควบคุม การก่อสร้างโดยการจัดส่งวิศวกรและสถาปนิกของบริษัทเข้าไปตรวจสอบคุณภาพในทุกขั้นตอน บริษัทยังมีบริษัทย่อยในธุรกิจก่อสร้าง เพือ่ รับงานก่อสร้างและด�ำเนินการพัฒนาโครงการให้กบั เฉพาะกลุม่ บริษทั เป็นหลัก นอกเหนือจากการว่าจ้างบริษทั ก่อสร้างจากภายนอก เพื่อเป็นการลดต้นทุนในการก่อสร้างอีกทางหนึ่ง นอกจากนั้นบริษทั ยังมีบริษทั ย่อยเพื่อพัฒนาและบริหารโครงการศูนย์การค้า อาคาร ส�ำนักงาน พื้นที่เชิงพาณิชย์ ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจโรงแรมและการลงทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศ เป้าหมายการด�ำเนินงานในธุรกิจหลักของบริษทั คือ การมอบบ้านทีม่ คี วามสุขและการอยูอ่ าศัยทีส่ มบูรณ์แบบภายใต้แนวความคิด HAPPY LIVING ให้กบั ลูกค้าโดยยึดหลักด�ำเนินงานอย่างมีจริยธรรม ให้ความส�ำคัญต่อสิง่ แวดล้อม และรับผิดชอบต่อสังคมและผูถ้ อื หุน้ การด�ำเนินนโยบายต่างๆ บริษัทให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาโครงการ เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม คือ การสร้างความสุขแก่ผู้อยู่อาศัย ในทุกรายละเอียด เพื่อให้ได้รับความพอใจสูงสุด ทั้งท�ำเลที่ตั้งโครงการ และรูปแบบโครงการ โดยเน้นที่คุณภาพสินค้าและคุณภาพการ อยู่อาศัย ตั้งแต่การออกแบบที่สวยงามมีความลงตัวและเกิดประโยชน์ใช้สอยสูงสุดในทุกแบบบ้านและทุกรูปแบบโครงการ ตลอดจน การเพิ่มความร่มรื่นภายในโครงการด้วยต้นไม้ ทะเลสาบ และการจัดสวนภายในโครงการเพื่อสร้างบรรยากาศธรรมชาติ การจัดให้มี สโมสรส่วนกลางและบริการต่างๆ ส�ำหรับบริการผู้อยู่อาศัย อีกทั้งดูแลความปลอดภัยของผู้อยู่อาศัยโดยมีระบบโทรทัศน์วงจรปิดในจุด ที่ส�ำคัญและมีพนักงานรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมงตั้งแต่ประตูทางเข้า รวมทั้งจัดให้มีกิจกรรมสร้างความบันเทิงช่วงวันหยุด และเทศกาลต่างๆ เพื่อให้เกิดสังคมและมิตรภาพระหว่างเพื่อนบ้านภายในโครงการ ทั้งนี้บริษัทใส่ใจและทุ่มเทในการพัฒนาโครงการที่ มีคุณภาพและมุ่งเน้นเสริมสร้างความสุขในการพักอาศัยท�ำให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทและบริษัทย่อยได้รับการยอมรับด้วยดีตลอดมา บริษัทยังคงมุ่งมั่นในการพัฒนาโครงการที่มีคุณภาพให้แก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัทซึ่งครอบคลุมทุกกลุ่มอายุ ในทุกท�ำเล โดยปัจจุบนั บริษทั ได้พฒ ั นาโครงการทัง้ บ้านแฝด บ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียมตัง้ แต่ระดับราคา 1 ล้านบาทถึง 150 ล้านบาท ในหลากหลายท�ำเล เพื่อการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายให้ได้มากที่สุดและสร้างความภูมิใจในการอยู่อาศัยในโครงการของกลุ่มบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ทัง้ นีบ้ ริษทั เชือ่ ในการบริหารจัดการว่า การมีคณุ ภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อมทีด่ ี ย่อมสร้างสังคมทีด่ แี ละเพิม่ คนดี ให้กับสังคมต่อไป


42

รายงานประจำ�ปี 2558

ข้อมูลโครงการ โครงการของ บริษทั พร็อพเพอร์ต้ี เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ 31 ธันวาคม 2558

แบรนด์ “เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ” 1. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.ไทรม้า อ.เมือง จ.นนทบุรี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2550-2562 บ้านเดี่ยว 4,784 ล้านบาท

2. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รามคำ�แหง (โซน Exclusive)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2554-2558 บ้านเดี่ยว 301 ล้านบาท

3. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รังสิต

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

อ.เมือง จ.ปทุมธานี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2554-2559 บ้านเดี่ยว 590 ล้านบาท

4. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช 1-3 สุขุมวิท 77

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.สุขุมวิท กทม. บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2555-2558 บ้านเดี่ยว 3,060 ล้านบาท


43 แบรนด์ “เพอร์เฟค เพลส” 5. เพอร์เฟค เพลส รามคำ�แหง - สุวรรณภูมิ 2

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2554-2558 บ้านเดี่ยว 1,542 ล้านบาท

6. เพอร์เฟค เพลส รามคำ�แหง - สุวรรณภูมิ (Lake Zone 2)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2558-2559 บ้านเดี่ยว 123 ล้านบาท

7. เพอร์เฟค เพลส 2-3 รัตนาธิเบศร์ - ราชพฤกษ์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2550-2558 บ้านเดี่ยว 4,207 ล้านบาท

8. เพอร์เฟค เพลส 2 ราชพฤกษ์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2556-2562 บ้านเดี่ยว 504 ล้านบาท

9. เพอร์เฟค เพลส 3 ราชพฤกษ์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2558 บ้านเดี่ยว 575 ล้านบาท

10. เพอร์เฟค เพลส 4 ราชพฤกษ์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2562 บ้านเดี่ยว 1,222 ล้านบาท


44

รายงานประจำ�ปี 2558

11. เพอร์เฟค เพลส รังสิต

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

อ.เมือง จ.ปทุมธานี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2554-2558 บ้านเดี่ยว 675 ล้านบาท

12. เพอร์เฟค เพลส พัฒนาการ ศรีนครินทร์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.พัฒนาการ เขตประเวศ กทม. บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2556-2558 บ้านเดี่ยว 973 ล้านบาท

13. เพอร์เฟค เพลส เอ็กซ์คลูซีฟ โซน ราชพฤกษ์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2558 บ้านเดี่ยว 81 ล้านบาท

14. เพอร์เฟค เพลส แจ้งวัฒนะ

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.แจ้งวัฒนะ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2556-2562 บ้านเดี่ยว 1,287 ล้านบาท

15. เพอร์เฟค เพลส รังสิต 2

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

อ.เมือง จ.ปทุมธานี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2554-2562 บ้านเดี่ยว 660 ล้านบาท

16. เพอร์เฟค เพลส รามคำ�แหง - สุวรรณภูมิ 3

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2554-2558 บ้านเดี่ยว 1,829 ล้านบาท


45 17. เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77 สุวรรณภูมิ เฟส 3-6

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.คลองราชาเทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2550-2558 บ้านเดี่ยว 5,758 ล้านบาท

18. เพอร์เฟค เพลส เชียงใหม่

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.สันผีเสื้อ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด 2557-2560 บ้านเดี่ยว 949 ล้านบาท

19. เพอร์เฟค เพลส รามคำ�แหง - สุวรรณภูมิ (Masterpiece Zone 2)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2558-2562 บ้านเดี่ยว 90 ล้านบาท

แบรนด์ “มณีรินทร์ / เพอร์เฟค พาร์ค” 20. เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5 บางใหญ่

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางแม่นาง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2549-2560 บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 6,197 ล้านบาท

21. เพอร์เฟค พาร์ค รังสิต

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

อ.เมือง จ.ปทุมธานี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2553-2558 บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 691 ล้านบาท

22. มณีรินทร์ เลค & พาร์ค ราชพฤกษ์ ติวานนท์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางคูวัด อ.เมือง จ.นนทบุรี บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2546-2557 บ้านเดี่ยว , บ้านแฝด 3,093 ล้านบาท


46

รายงานประจำ�ปี 2558

23. เพอร์เฟค พาร์ค ราชพฤกษ์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2562 บ้านเดี่ยว 951 ล้านบาท

24. เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ (ร่มเกล้า) (1-4) (EX)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2550-2558 บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 3,415 ล้านบาท

25. เพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางบัวทอง จ.นนทบุรี บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด 2553-2559 บ้านเดี่ยว 1,599 ล้านบาท

26. เพอร์เฟค พาร์ค บางนา

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

อ.บางเสาธง จ. สมุทรปราการ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2558-2562 บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 529 ล้านบาท

แบรนด์ “เดอะ วิลล่า / โมดิ วิลล่า / เดอะ เมทโทร” 27. เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.ท่าอิฐ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2549-2558 ทาวน์เฮ้าส์ , บ้านแฝด 3,657 ล้านบาท

28. โมดิ วิลล่า ชัยพฤกษ์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.พิมลราช อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2558-2561 ทาวน์เฮ้าส์, บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 595 ล้านบาท


47 29. โมดิ วิลล่า ทาวน์โฮม ชัยพฤกษ์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.พิมลราช อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2558-2561 ทาวน์เฮ้าส์ 405 ล้านบาท

30. เดอะ เมทโทร รามคำ�แหง-วงแหวน

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

เขตสะพานสูง กทม. บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2556-2558 ทาวน์เฮ้าส์ 733 ล้านบาท

31. เดอะ เมทโทร พัฒนาการ-ศรีนครินทร์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ. พัฒนาการ เขตประเวศ กทม. บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2556-2558 ทาวน์เฮ้าส์ 678 ล้านบาท

32. เดอะ เมทโทร รัตนาธิเบศร์

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.ท่าอิฐ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2558-2562 ทาวน์เฮ้าส์ 1,208 ล้านบาท

33. โมดิ วิลล่า ปิ่นเกล้า-วงแหวน

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.ศาลากลาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2555-2559 ทาวน์เฮ้าส์, บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 1,537 ล้านบาท

34. โมดิ วิลล่า ทาวน์โฮม ลาดกระบัง

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.คลองหลวงแพ่ง อ.เมือง จ. ฉะเชิงเทรา บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2555-2559 ทาวน์เฮ้าส์ 1,028 ล้านบาท


48

รายงานประจำ�ปี 2558

35. โมดิ วิลล่า ทาวน์ โฮม บางนา

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

อ.บางเสาธง จ. สมุทรปราการ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2556-2560 ทาวน์เฮ้าส์ 1,069 ล้านบาท

36. โมดิ วิลล่า บางนา

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

อ.บางเสาธง จ. สมุทรปราการ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2556-2559 บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 618 ล้านบาท

37. โมดิ วิลล่า ทาวน์ โฮม เพชรเกษม 69

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ. เพชรเกษม กทม. บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด 2558-2561 ทาวน์เฮ้าส์ 740 ล้านบาท

38. โมดิ วิลล่า ลาดกระบัง-สุวรรณภูมิ

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.คลองหลวงแพ่ง อ.เมือง จ. ฉะเชิงเทรา บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด 2555-2559 บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 598 ล้านบาท

39. โมดิ วิลล่า บางบัวทอง

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางบัวทอง จ.นนทบุรี บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด 2556-2559 ทาวน์เฮ้าส์, บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด 1,183 ล้านบาท

40. โมดิ บีซทาวน์ (อาคารพาณิชย์ บางบัวทอง)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.บางบัวทอง จ.นนทบุรี บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด 2558-2562 อาคารพาณิชย์ 8,971 ล้านบาท


49 แบรนด์ “เมโทร พาร์ค / เมโทร สกาย / เดอะสกาย / เมโทร ลักซ์ / เบลล่า คอสต้า” 41. เมโทร พาร์ค สาทร เฟส 3

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

แขวงบางเบ้า เขตภาษีเจริญ กทม. บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2550-2558 คอนโดมิเนียม 3,691 ล้านบาท

42. เมโทร ลักซ์ พหลโยธิน (เมโทร สกาย พหลโยธิน)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.สุทธิสารวินิจฉัย กทม. บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2559 คอนโดมิเนียม 810 ล้านบาท

43. เดอะ สกาย สุขุมวิท (เมโทร สกาย สุขุมวิท)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.สุขุมวิท กทม. บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2555-2558 คอนโดมิเนียม 3,800 ล้านบาท

44. เมโทร สกาย ประชาชื่น

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.ประชาชื่น กทม. บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2560 คอนโดมิเนียม 3,500 ล้านบาท

45. เมโทร ลักซ์ ริเวอร์ ฟร้อนท์ (เมโทร ริเวอร์ ฟร้อนท์)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.รัตนาธิเบศร์ อ.เมือง จ.นนทบุรี บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2559 คอนโดมิเนียม 1,717 ล้านบาท

46. เบลล่า คอสต้า

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ต.ปากน�ำ้ ปราณ อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2558 คอนโดมิเนียม 1,824 ล้านบาท


50

รายงานประจำ�ปี 2558

47. เมโทร ลักซ์ พระราม 4

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.พระราม 4 เขตคลองเตย กทม. บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 2557-2559 คอนโดมิเนียม 1,500 ล้านบาท

48. เมโทร ลักซ์ รัชดา (เมโทร สกาย รัชดา)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.รัชดาภิเษก กทม. บริษัท ไบร์ท ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2557-2559 คอนโดมิเนียม 1,835 ล้านบาท

49. เมโทร ลักซ์ เกษตร (เมโทร สกาย เกษตร)

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.ประเสริฐมนูกิจ กทม. บริษัท ไบร์ท ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2557-2559 คอนโดมิเนียม 1,600 ล้านบาท

แบรนด์ “ไอคอนโด” 50. ไอคอนโด งามวงศ์วาน 1

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.ดวงมณี จ.นนทบุรี บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2554-2557 คอนโดมิเนียม 525 ล้านบาท

51. ไอคอนโด สุขาภิบาล 2

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.สุขาภิบาล เขตบึงกุ่ม กทม. บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2554-2558 คอนโดมิเนียม 1,009 ล้านบาท

52. ไอคอนโด สุขุมวิท 105

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.สุขุมวิท 105 (ซ.ลาซาล) กทม. บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2554-2558 คอนโดมิเนียม 2,166 ล้านบาท


51 53. ไอคอนโด สุขุมวิท 103

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.สุขุมวิท 103 เขตบางนา กทม. บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2554-2558 คอนโดมิเนียม 1,547 ล้านบาท

54. ไอคอนโด งามวงศ์วาน 2

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.ดวงมณี จ.นนทบุรี บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2555-2558 คอนโดมิเนียม 606 ล้านบาท

55. ไอคอนโด ศาลายา

ทีต่ งั้ ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.ศาลายา-นครชัยศรี ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2555-2557 คอนโดมิเนียม 943 ล้านบาท

56. ไอคอนโด เพชรเกษม 39

ที่ตั้ง ด�ำเนินการโดย ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าโครงการทั้งหมด

ถ.เพชรเกษม กทม. บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 2555-2558 คอนโดมิเนียม 598 ล้านบาท


52

รายงานประจำ�ปี 2558

แผนที่ โครงการ

�. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์ �. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รามคำแหง (โซน Exclusive) �. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รังสิต �. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช สุขุมวิท �� �. เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง-สุวรรณภูมิ � �. เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง-สุวรรณภูมิ (Lake Zone �) �. เพอร์เฟค เพลส �-� รัตนาธิเบศร์ �. เพอร์เฟค เพลส � ราชพฤกษ์ �. เพอร์เฟค เพลส � ราชพฤกษ์ ��. เพอร์เฟค เพลส � ราชพฤกษ์ ��. เพอร์เฟค เพลส รังสิต ��. เพอร์เฟค เพลส พัฒนาการ-ศรีนครินทร์ ��. เพอร์เฟค เพลส เอ็กซ์คลูซีฟโซน ราชพฤกษ์ ��. เพอร์เฟค เพลส แจ้งวัฒนะ ��. เพอร์เฟค เพลส รังสิต � ��. เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง-สุวรรณภูมิ � ��. เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท ��-สุวรรณภูมิ เฟส �-� ��. เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง-สุวรรณภูมิ (Masterpiece Zone �) ��. เพอร์เฟค พาร์ค พระราม �-บางใหญ่ ��. เพอร์เฟค พาร์ค รังสิต ��. มณีรินทร์ เลค&พาร์ค ราชพฤกษ์-ติวานนท์ ��. เพอร์เฟค พาร์ค ราชพฤกษ์ ��. เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ ��. เพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง ��. เพอร์เฟค พาร์ค บางนา ��. เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์ ��. โมดิ วิลล่า ชัยพฤกษ์

��. โมดิ วิลล่า ทาวน์โฮม ชัยพฤกษ์ ��. เดอะ เมทโทร รามคำแหง-วงแหวน ��. เดอะ เมทโทร พัฒนาการ-ศรีนครินทร์ ��. เดอะ เมทโทร รัตนาธิเบศร์ ��. โมดิ วิลล่า ปิ�นเกล้า-วงแหวน ��. โมดิ วิลล่า ทาวน์โฮม ลาดกระบัง ��. โมดิ วิลล่า ทาวน์โฮม บางนา ��. โมดิ วิลล่า บางนา ��. โมดิ วิลล่า ลาดกระบัง-สุวรรณภูมิ ��. โมดิ วิลล่า ทาวน์โฮม เพชรเกษม �� ��. โมดิ วิลล่า บางบัวทอง ��. โมดิ บีซทาวน์ อาคารพาณิชย์ บางบัวทอง ��. เมโทร พาร์ค สาทร เฟส � ��. เมโทร ลักซ์ พหลโยธิน ��. เดอะ สกาย สุขุมวิท ��. เมโทร สกาย ประชาชื�น ��. เมโทร ลักซ์ ริเวอร์ฟร้อนท์ ��. เมโทร ลักซ์ เอกมัย-พระราม � ��. เมโทร ลักซ์ รัชดา ��. เมโทร ลักซ์ เกษตร ��. ไอคอนโด งามวงศ์วาน � ��. ไอคอนโด สุขาภิบาล � ��. ไอคอนโด สุขุมวิท ��� ��. ไอคอนโด สุขุมวิท ��� ��. ไอคอนโด งามวงศ์วาน � ��. ไอคอนโด ศาลายา ��. ไอคอนโด เพชรเกษม ��


53 ลักษณะผลิตภัณฑ์ หรือบริการ โครงสร้างรายได้รวมการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์หลักจำ�แนกตามผลิตภัณฑ์ รายได้หลักของบริษัทมาจากรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน โดยโครงการของกลุ่มบริษัทจะเน้น ในแนวราบ เช่น บ้านเดี่ยว และทาวน์เฮ้าส์ เป็นหลัก โครงสร้างรายได้ในช่วง 3 ปี มีรายละเอียดดังนี้

รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รายได้จากการขายที่ดินรอพัฒนา รายได้จากการประกอบโรงแรม รายได้ค่าเช่าและบริการ รายได้อื่น ก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม รายได้จากการต่อรองราคาซื้อ อื่นๆ รายได้รวม

ปี 2558 ล้านบาท

6,624.4 3,159.6 501.4 1,523.6 224.7 530.0 83.0 7.6 251.0 12,905.3

%

งบการเงินรวม ปี 2557 ล้านบาท %

51.3% 6,275.6 24.5% 3,667.1 3.9% 1,628.7 11.8% 844.7 1.7% 28.4 4.1% 0.6% 26.7 0.1% 6.6 0.0% 77.3 0.0% 1.9% 230.2 100.0% 12,785.3

2556 ล้านบาท

49.1% 6,836.5 28.7% 2,626.4 12.7% 529.5 6.6% 1,018.4 0.2% 0.0% 0.2% 19.2 0.1% 0.6% 1.8% 198.7 100.0% 11,228.7

%

60.9% 23.4% 4.7% 9.1% 0.0% 0.0% 0.2% 0.0% 0.0% 0.0% 1.8% 100.0%

ตามงบการเงินรวมของบริษัทในปี 2556 - 2558 บริษัทมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน ร้อยละ 60.9 ร้อยละ 49.1 และ ร้อยละ 51.3 ของรายได้รวมรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ร้อยละ 23.4 ร้อยละ 28.7 และร้อยละ 24.5 ของรายได้รวม รายได้จากการขายที่ดินรอการพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 4.7 ร้อยละ 12.7 และร้อยละ 3.9 ของรายได้รวม บริษัทมีรายได้จากการประกอบ กิจการโรงแรม จ�ำนวน 1,018.4 ล้านบาท จ�ำนวน 844.7 ล้านบาท และจ�ำนวน 1,523.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.1 ร้อยละ 6.6 และ ร้อยละ 11.8 นอกจากนี้ ตามงบก�ำไรขาดทุนรวม ยังมีส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในริษัทร่วมซึ่ง แสดงรายการไว้ก่อนรายการ “ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้” 59.8 ล้านบาท และร้อยละ 60.0 ล้านบาท ในปี 2556 ถึงปี 2557 ตามล�ำดับ


54

รายงานประจำ�ปี 2558

โครงสร้างรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน จำ�แนกตามผลิตภัณฑ์ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน จากโครงการต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้ พัฒนา ลักษณะ โครงการโดย โครงการ

ชื่อโครงการ

แบรนด์ “เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ” มณียา มาสเตอร์พีช เอ็กซ์คลูซีฟโซน เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช เอกมัย-รามอินทรา เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช พระราม 9 เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช รามค�ำแหง เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช รังสิต เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช 2 รังสิต เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช สุขุมวิท 77 แบรนด์ “เพอร์เฟค เพลส” เพอร์เฟค เพลส เฟส 1 รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส เฟส 2 รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส 3 รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ (เดอะ ไพรเวท โซน) เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ (โคโลเนียล) เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ (เอ็กซ์คลูซีฟ โซน) เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ (เดอะ เลค โซน) เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ (เดอะ เลค โซน 2) เพอร์เฟค เพลส 2 รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ 3 เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส 2 ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส 3 ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ (เอ็กซ์คลูซีฟ โซน) เพอร์เฟค เพลส รังสิต เพอร์เฟค เพลส 2 รังสิต เพอร์เฟค เพลส แจ้งวัฒนะ เพอร์เฟค เพลส พัฒนาการ-ศรีนครินทร์

ปี 2558

ปี 2557

ปี 2556

ล้านบาท

%

ล้านบาท

%

ล้านบาท

%

26.7 294.4 30.0 141.1 180.9 390.2 76.2

0.4% 0.0% 4.4% 0.0% 0.0% 0.0% 0.5% 2.1% 2.7% 0.0% 5.9% 1.2%

40.5 282.9 16.4 173.4 338.4 333.5 452.5 -

0.6% 4.5% 0.3% 2.8% 5.4% 0.0% 5.3% 0.0% 7.2% 0.0%

8.0 197.2 378.5 253.2 243.7 267.0 131.3 495.6 6.7 575.3 -

0.1% 2.9% 5.5% 3.7% 3.6% 3.9% 1.9% 0.0% 7.2% 0.1% 8.4% 0.0%

PF PF PF PF PF PF PF PF EP PF PF PF

SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH

PF

SDH

- 0.0%

12.4 0.2%

93.1 1.4%

PF

SDH

25.6 0.4%

67.1 1.1%

75.0 1.1%

PF

SDH

31.7 0.5%

79.6 1.3%

6.7 0.1%

PF

SDH

- 0.0%

- 0.0%

- 0.0%

PF PF PF PF PF PF PF PF PF PF PF

SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH

93.4 157.6 89.3 50.0 20.5 439.1 163.0 22.3 360.2 555.4

1.4% 2.4% 1.3% 0.8% 0.3% 6.6% 0.0% 2.5% 0.3% 5.4% 8.4%

226.7 244.7 82.2 52.3 112.1 288.5 297.6

0.0% 3.6% 0.0% 3.9% 1.3% 0.8% 1.8% 0.0% 4.6% 4.7%

278.2 96.4 232.5 126.5 76.1 -

0.0% 4.1% 0.0% 1.4% 3.4% 0.0% 0.0% 1.9% 0.0% 1.1% 0.0%


55 พัฒนา ลักษณะ โครงการโดย โครงการ

ชื่อโครงการ

เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77-สุวรรณภูมิ EP เพอร์เฟค เพลส เชียงใหม่ RN 9 เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ (มาสเตอร์พีซ โซน 2) (M2) RN 9 แบรนด์ “มณีรินทร์” “เพอร์เฟค พาร์ค” มณีรินทร์ เลค & พาร์ค ราชพฤกษ์-ติวานนท์ PF มณีรินทร์ พาร์ค 2 รังสิต PF เพอร์เฟค พาร์ค รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ PF เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5-บางใหญ่ PF เพอร์เฟค พาร์ค รังสิต PF เพอร์เฟค พาร์ค ราชพฤกษ์ PF เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ EP เพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง RN 9 เพอร์เฟค พาร์ค บางนา BD แบรนด์ “เดอะ วิลล่า” “เดอะ เมทโทร” “โมดิ วิลล่า” เดอะวิลล่า รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ PF เดอะ เมทโทร พระราม 9 PF เดอะ เมทโทร สาทร PF เดอะ เมทโทร รามค�ำแหง PF เดอะ เมทโทร พัฒนาการ-ศรีนครินทร์ PF เดอะ เมทโทร รัตนาธิเบศร์ PF โมดิวิลล่า ชัยพฤกษ์ PF โมดิวิลล่า ทาวน์โฮม ชัยพฤกษ์ PF เดอะวิลล่า รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ EP เดอะวิลล่า รามอินทรา-วงแหวน EP เดอะวิลล่า บางบัวทอง RN 9 โมดิวิลล่าทาวน์โฮม ลาดกระบัง EP โมดิวิลล่า ลาดกระบัง สุวรรณภูมิ RN 9 โมดิวิลล่า ปิ่นเกล้า-วงแหวน EP โมดิวิลล่า บางนา EP โมดิวิลล่า (ทาวน์โฮม) บางนา EP โมดิวิลล่า บางบัวทอง RN 9 โมดิวิลล่า (ทาวน์โฮม) เพชรเกษม 69 EP อื่นๆ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รวม

ปี 2558 ล้านบาท

SDH SDH SDH SDH/Land SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH SDH TH TH TH/Land TH TH TH TH TH, SDH TH TH TH TH SDH TH, SDH SDH TH TH, SDH TH

ปี 2557 %

ล้านบาท

ปี 2556 %

ล้านบาท

%

458.8 6.9% 345.7 5.5% 432.0 63.5 1.0% 17.5 0.3% -

6.3% 0.0%

72.8 5.2 461.5 100.3 126.0 234.2 233.0 4.6

1.5% 0.0% 0.0% 7.5% 2.4% 0.0% 6.5% 4.1% 0.0%

1.1% 0.1% 0.0% 0.0% 7.0% 1.5% 1.9% 3.5% 3.5% 0.1%

202.8 3.1% 3.6 0.1% 3.0 0.0% 336.1 5.1% 200.0 3.0% 35.2 0.5% 30.4 0.5% 17.7 0.3% 0.0% 0.0% - 0.0% 114.1 1.7% 95.1 1.4% 166.7 2.5% 49.6 0.7% 127.5 1.9% 230.6 3.5% 70.2 1.1% 34.6 0.6% 6,624.4 100.0%

33.9 403.8 179.9 286.3 183.3

0.5% 0.0% 0.0% 6.4% 2.9% 0.0% 4.6% 2.9% 0.0%

105.1 514.2 166.0 447.0 281.9

381.9 6.1% 358.5 5.2% 5.4 0.1% - 0.0% - 0.0% - 0.0% 128.5 2.0% 60.7 0.9% 253.3 4.0% 95.3 1.4% - 0.0% - 0.0% - 0.0% - 0.0% - 0.0% - 0.0% 4.0 0.1% 4.7 0.1% 3.4 0.1% 36.8 0.5% 4.7 0.1% 140.7 2.1% 84.6 1.3% 86.5 1.3% 91.1 1.5% 83.8 1.2% 273.5 4.4% 214.1 3.1% 58.0 0.9% 7.2 0.1% 88.0 1.4% - 0.0% 334.3 5.3% 193.1 2.8% 0.0% 0.0% 13.8 0.3% 6,275.6 100.0% 6,836.6 100.0%


56

รายงานประจำ�ปี 2558

หมายเหตุ : PF = บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) BD = บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด SDH = บ้านเดี่ยว, Land = ที่ดินเปล่า,

EP RN 9 TH Shop

= บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด = บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด = ทาวน์เฮาส์, = อาคารพาณิชย์

รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินที่ปรากฏในงบการเงินรวมของบริษัทในปี 2556 ถึง ปี 2558 เป็นรายได้รวมจากโครงการที่ ด�ำเนินงานภายใต้บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำนวน 4,345.2 ล้านบาท จ�ำนวน 4,167.8 ล้านบาท และ จ�ำนวน 4,512.5 ล้านบาท และเป็นรายได้จากบริษัทย่อย จ�ำนวน 2,491.4 ล้านบาท จ�ำนวน 2,107.8 ล้านบาท และ จ�ำนวน 2,111.9 ล้านบาท ตามล�ำดับ โครงสร้างรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย จำ�แนกตามผลิตภัณฑ์ พัฒนา ลักษณะ โครงการโดย โครงการ

ชื่อโครงการ

“เมโทร พาร์ค” “เดอะ สกาย” “เมโทร สกาย” เมโทร พาร์ค สาทร PF เดอะ สกาย สุขุมวิท PF เมโทร สกาย รัชดา BD “ไอคอนโด” ไอคอนโด งามวงศ์วาน BD ไอคอนโด สุขุมวิท 105 BD ไอคอนโด สุขาภิบาล 2 BD ไอคอนโด สุขุมวิท 103 BD ไอคอนโด เกษตร BD ไอคอนโด งามวงศ์วาน 2 BD ไอคอนโด เพชรเกษม 39 BD ไอคอนโด ศาลายา BD “ไฮด์” ไฮด์ สุขุมวิท GRAND “ยูนิลอฟท์” ยูนิลอฟท์ ศาลายา BD รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รวม

ปี 2558 ล้านบาท

ปี 2557 % ล้านบาท

CONDO 251.9 8.0% CONDO 1,009.1 31.9% CONDO 0.0% CONDO 9.2 0.3% CONDO 522.8 16.5% CONDO 96.9 3.1% CONDO 170.5 5.4% CONDO 5.4 0.2% CONDO 188.0 5.9% CONDO 136.3 4.3% CONDO 518.0 16.4% CONDO 251.5 8.0%

369.4 79.9 625.3 514.8 869.7 290.5 234.2 435.0 248.4 -

ปี 2556 % ล้านบาท

10.1% 0.0% 2.2% 17.1% 14.0% 23.7% 7.9% 6.4% 11.9% 6.8% 0.0% 0.0%

334.7 3.7 431.4 446.1 396.1 500.4 514.0

%

12.7% 0.1% 16.4% 17.0% 15.1% 19.1% 0.0% 0.0% 0.0% 0.0% 0.0% 19.6%

3,159.6 100.0% 3,667.1 100.0% 2,626.4 100.0%

หมายเหตุ : PF = บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) GRAND = บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)

BD = บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด CONDO = คอนโดมิเนียม

รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยที่ปรากฏในงบการเงินรวมของบริษัท ในปี 2556 ถึง ปี 2558 เป็นรายได้รวมจาก โครงการทีด่ ำ� เนินงาน ภายใต้ บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำนวน จ�ำนวน 334.7 ล้านบาท 369.4 ล้านบาท และ 1,261.0 ล้านบาท ตามล�ำดับ และเป็นรายได้จากบริษัทย่อย จ�ำนวน 2,291.7 ล้านบาท และจ�ำนวน 3,297.7 ล้านบาท และ 1,898.6 ตามล�ำดับ


57 ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ

บริษทั และบริษทั ย่อย ด�ำเนินการพัฒนาโครงการทีพ่ กั อาศัย ภายใต้แบรนด์ตา่ งๆ ตามสายผลิตภัณฑ์ทหี่ ลากหลาย เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่แตกต่างกัน ครอบคลุมทุกระดับราคา โดยเน้นท�ำเลที่ตั้งที่มีศักยภาพสูง ใกล้แนวรถไฟฟ้า ในแหล่งชุมชนใกล้มหาวิทยาลัย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงโครงการในต่างจังหวัดที่มีศักยภาพและเติบโตสูงได้แก่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ (หัวหิน) และจ.เชียงใหม่ ซึ่งปัจจุบันสามารถแบ่งประเภทผลิตภัณฑ์ได้ ดังนี้ คือ 1. บ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ บริษทั และบริษทั ย่อย ด�ำเนินการพัฒนา เพือ่ ตอบสนองความต้องการของกลุม่ ลูกค้าทีแ่ ตกต่างกัน ในแต่ละท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพตาม ความเหมาะสมในระดับราคา ตั้งแต่ 1.9 - 60.0 ล้านบาท ภายใต้แบรนด์ต่างๆ ตามรายละเอียดดังนี้ บ้านเดี่ยวและบ้านแฝด

โครงการ: เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช ระดับราคา: 9.0 - 60.0 ล้านบาท

โครงการ: เพอร์เฟค เพลส ระดับราคา: 5.0 - 9.0 ล้านบาท

โครงการ: เพอร์เฟค พาร์ค ระดับราคา: 3.0 - 5.0 ล้านบาท

โครงการ: โมดิ วิลล่า ระดับราคา: 3.0 - 4.0 ล้านบาท

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ เซ็นจูรี รัตนาธิเบศร์ เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ เลคไซด์ รังสิต เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รามค�ำแหง เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ สุขุมวิท 77-สุวรรณภูมิ ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส รังสิต เพอร์เฟค เพลส รังสิต 2 เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ 2 เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ 3 เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท77-สุวรรณภูมิ เพอร์เฟค เพลส แจ้งวัฒนะ เพอร์เฟค เพลส พัฒนาการ-ศรีนครินทร์ เพอร์เฟค เพลส เมืองเชียงใหม่ ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5-บางใหญ่ เพอร์เฟค พาร์ค รังสิต เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ เพอร์เฟค พาร์ค ราชพฤกษ์ ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: โมดิ วิลล่า ลาดกระบัง-สุวรรณภูมิ โมดิ วิลล่า บางนา


58

รายงานประจำ�ปี 2558

ทาวน์เฮ้าส์

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เดอะ เมทโทร รามค�ำแหง-วงแหวน เดอะ เมทโทร พัฒนาการ-ศรีนครินทร์ เดอะเมทโทร รัตนาธิเบศร์

โครงการ: เดอะ เมทโทร ระดับราคา: 2.7 - 5.0 ล้านบาท

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: โมดิ วิลล่า(ทาวน์โฮม) ลาดกระบัง-สุวรรณภูมิ โมดิ วิลล่า(ทาวน์โฮม) บางนา โครงการ: โมดิ วิลล่า (ทาวน์โฮม) โมดิ วิลล่า(ทาวน์โฮม) เพชรเกษม69 ระดับราคา: 1.9 - 3.0 ล้านบาท โมดิ วิลล่า(ทาวน์โฮม) ปิ่นเกล้า-วงแหวน โมดิ วิลล่า(ทาวน์โฮม) บางบัวทอง ปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อย ได้เปิดโครงการในท�ำเลใหม่และขยายเฟสเพิ่มเติมในโครงการท�ำเลเดิม รวม 14 โครงการ มูลค่า โครงการรวมกว่า 14,765 ล้านบาท บนท�ำเล ราชพฤกษ์ รัตนาธิเบศร์ รังสิต รามค�ำแหง อ่อนนุช ร่มเกล้า บางนา เพชรเกษม และ ชัยพฤกษ์ตัดใหม่ 2. คอนโดมิเนียม บริษทั และบริษทั ย่อย ด�ำเนินการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมภายใต้แบรนด์ตา่ งๆ โดยมีผลิตภัณฑ์ทหี่ ลากหลายทัง้ คอนโดมิเนียม ไม่เกิน 8 ชั้น (Low Rise) และคอนโดมิเนียมสูงเกิน 8 ชั้น (High Rise) เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่เป็นคน รุ่นใหม่ โดยมีราคาครอบคลุมตั้งแต่ 1.0 ล้านบาท ถึง 150.0 ล้านบาท โดยบริษัทและบริษัทย่อยจะเน้นเลือกท�ำเลที่ตั้งที่มีศักยภาพสูง ใกล้แนวรถไฟฟ้า อยู่ใกล้แหล่งชุมชน สามารถสัญจรไปมาได้สะดวก ซึ่งปัจจุบันสามารถแบ่งรายละเอียดโครงการตามแบรนด์ได้ดังนี้ คอนโดมิเนียม

โครงการ: ไฮด์ ระดับราคา: 5.36 - 150.0 ล้านบาท

โครงการ: เดอะ สกาย ระดับราคา: 2.8 - 11.0 ล้านบาท

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: โครงการไฮด์ สุขุมวิท โครงการไฮด์ สุขุมวิท 11

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เดอะ สกาย สุขุมวิท


59 คอนโดมิเนียม

โครงการ: เมโทร สกาย ระดับราคา: 1.9 - 5.0 ล้านบาท

โครงการ: เมโทร ลักซ์ ระดับราคา: 1.8 - 5.4 ล้านบาท

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เมโทร สกาย ประชาชื่น

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เมโทร ลักซ์ ริเวอร์ ฟร้อนท์ เมโทร ลักซ์ พระราม 4 เมโทร ลักซ์ พหลโยธิน (เมโทร สกาย พหลโยธิน) เมโทร ลักซ์ เกษตร เมโทร ลักซ์ รัชดา (เดอะ สกาย รัชดา) ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เดอะ เลค สาทร

โครงการ: เดอะ เลค ระดับราคา: 1.5 ล้านบาท (เริ่มต้น)

โครงการ: ไอคอนโด ระดับราคา: 1.4 - 2.4 ล้านบาท

โครงการ: เบลล่า คอสตา ระดับราคา: 2.95 ล้านบาท (เริ่มต้น)

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: ไอคอนโด งามวงศ์วาน 1 ไอคอนโด งามวงศ์วาน 2 ไอคอนโด สุขาภิบาล 2 ไอคอนโด สุขุมวิท 103 ไอคอนโด สุขุมวิท 105 ไอคอนโด เพชรเกษม 39 ไอคอนโอ ศาลายา ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: เบลล่า คอสตา หัวหิน


60

รายงานประจำ�ปี 2558

ในปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อยได้เปิดโครงการคอนโดมิเนียม 1 โครงการ มูลค่ารวม 4,281 ล้านบาท คือโครงการ The Hyde สุขุมวิท 11 ในการพิจารณาเปิดโครงการของบริษัทและบริษัทย่อยจะมีการท�ำวิจัยเพื่อรับทราบความต้องการของผู้บริโภคที่แท้จริงในแต่ละ ท�ำเลทีต่ งั้ โครงการทัง้ ในเรือ่ งของกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย ประเภทแบบบ้านและราคาทีเ่ หมาะสม โดยทุกๆ โครงการจะต้องผ่านการพิจารณา อย่างรอบคอบจากฝ่ายงานที่เกี่ยวข้องโดยการจัดท�ำการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการบนท�ำเลที่มีศักยภาพ โดยมุ่งเน้น ที่จะพัฒนาที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพ มีการออกแบบที่ดี ตลอดจนมีสภาพแวดล้อมที่ดีเหมาะแก่การอยู่อาศัย รวมทั้งการให้บริการที่ดี ทั้งก่อนและหลังการขาย โดยภายหลังจากส่งมอบบ้านให้ลูกค้าแล้ว บริษัทและบริษัทย่อยยังคงสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าในการ รับประกันบ้านเป็นระยะเวลา 1 ปี นับจากวันโอนกรรมสิทธิ์โดยบริษัทมีแผนกบริการภายหลังการขาย (Perfect Service) ซึ่งท�ำหน้าที่ ดูแลและบริการลูกค้าที่บริษัทและบริษัทย่อยได้ท�ำการส่งมอบบ้านแล้วทั้งในระยะรับประกันและนอกระยะเวลารับประกันโดยค�ำนึงถึง ความรวดเร็วในการให้บริการและสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยการคัดสรรบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ความซื่อสัตย์และมี พื้นฐานของการให้บริการจากการฝึกอบรมทั้งเรื่องความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ นอกจากนี้ บริษทั และบริษทั ย่อยยังจัดให้มกี ารจัดการ ด้านการบริหารชุมชน พืน้ ทีพ่ กั ผ่อน ตลอดจนสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆ ในโครงการของกลุม่ บริษทั จนกระทัง่ ได้ดำ� เนินการก่อสร้างโครงการจนแล้วเสร็จ เพือ่ ส่งมอบให้คณะกรรมการหมูบ่ า้ น หรือคณะกรรมการ นิติบุคคลเพื่อดูแลต่อไป 3. ธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ท บริษัทฯ เน้นการลงทุนในโรงแรมระดับ 4 - 5 ดาว โดย เป็นผู้ลงทุนในการพัฒนาทรัพย์สินและจัดจ้าง บริษัทผู้บริหารโรงแรมที่ มีประสบการณ์และมีเครือข่ายทั่วโลกมาบริหารทรัพย์สินนั้นๆ โดยปัจจุบันบริษัทฯ ได้จัดจ้างกลุ่มบริษัท Starwood Hotels & Resorts Worldwide, Inc. และ Hyatt International Corporation เป็นผู้บริหารโรงแรมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ในการลงทุนในธุรกิจโรงแรม บริษัทฯ จะเลือกลงทุนในสถานที่ที่สะดวกในการเดินทางและอยู่ในย่านธุรกิจ ของกรุงเทพฯ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีนโยบายกระจายความเสี่ยง ของการลงทุนในธุรกิจโรงแรมไปยังต่างจังหวัด โดยเลือกท�ำเลที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยว มีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่แตกต่าง หลากหลาย อีกทั้งบริษัทได้ด�ำเนินธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทในต่างประเทศ ปัจจุบันบริษัทเป็นเจ้าของ คิโรโระ รีสอร์ท (Kiroro Resort )ซึ่งตั้ง อยู่ที่หมู่บ้านอะไคงาว่า บนเกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น อยู่บนเนื้อที่กว่า 292 ไร่ ประกอบไปด้วยอาคารโรงแรมระดับ 4 ดาวจ�ำนวน 2 อาคาร มีห้องพักรวมกัน 422 ห้อง โดยแบ่งเป็นห้องพักมาตรฐานขนาด 22 ตารางเมตร จนไปถึงห้องสวีทขนาด 149 ตารางเมตร โครงการคิโรโระ รีสอร์ท (Kiroro Resort )มีอตั ราการเข้าพักเฉลีย่ ในปี 2558เท่ากับร้อยละ 60.2 จุดเด่นของคิโรโระคือการเป็นสกีรสี อร์ท ทีม่ คี ณ ุ ภาพของหิมะทีด่ ที สี่ ดุ แห่งหนึง่ ในประเทศญีป่ นุ่ ตัวโครงการตัง้ อยูท่ า่ มกลางภูมปิ ระเทศทีส่ วยงามเหมาะส�ำหรับการท่องเทีย่ วเชิง ธรรมชาติในทุกฤดูกาล รวมทั้งหมู่บ้านอะไคงาว่าซึ่งเป็นที่ตั้งของโครงการได้รับการจัดอันดับเป็นหมู่บ้านที่มีความสวยงามเป็นล�ำดับ 2 ของญี่ปุ่น มีการให้บริการสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ อย่างครบครันแก่ลูกค้า อาทิเช่น ห้องประชุมสัมมนา ห้องอาหารและบาร์ บ่อน�ำ้ พุรอ้ น สระว่ายน�ำ้ ร้านจ�ำหน่ายสินค้าและของฝาก พืน้ ทีส่ นั ทนาการ เป็นต้น ปัจจุบนั อยูภ่ ายใต้การบริหารจัดการโดยเชนโรงแรม ระดับโลก กลุ่ม Starwood Hotels and Resorts ภายใต้แบรนด์ “Sheraton” และ “Tribute Portfolio” ขณะที่ด้านสกีรีสอร์ท ก็มีความ ร่วมมือกับ NZ Ski ผู้ให้บริการด้านสกีชั้นน�ำจากประเทศนิวซีแลนด์ในด้านการตลาด บุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และ ระบบบริหารจัดการระดับมาตรฐานโลก


61 โรงแรม

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: โรงแรมเดอะ เวสทิน แกรนด์ สุขุมวิท (ค่าห้องพักเฉลี่ย : 3,746 บาทต่อห้องต่อคืน

โรงแรมเชอราตัน หัวหิน รีสอร์ท แอนด์ สปา (ค่าห้องพักเฉลี่ย : 3,792 บาทต่อห้องต่อคืน)

โรงแรมเชอราตัน หัวหิน ปราณบุรี วิลล่า (ค่าห้องพักเฉลี่ย : 6,301 บาทต่อห้องต่อคืน)

โรงแรมไฮแอท รีเจนซี่ กรุงเทพ สุขุมวิท (อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง)

โครงการสกีรีสอร์ท คิโรโระ


62

รายงานประจำ�ปี 2558

4. อาคารสำ�นักงานให้เช่า บริษัทและบริษัทย่อยได้ด�ำเนินธุรกิจอาคารส�ำนักงานให้เช่า ปัจจุบันเป็นเจ้าของอาคารวัน และทู แปซิฟิค เพลส ที่มีศักยภาพใน การแข่งขันที่สูงอันเนื่องมาจาก ท�ำเลที่ตั้งอยู่ใกล้กับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส นานา ซึ่งเป็นย่านธุรกิจและมีความสะดวกในการคมนาคม, อัตราค่าเช่าถูกกว่าอาคารอื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง, อาคารและอุปกรณ์ได้รับการบ�ำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพดี และบริหารจัดการอาคาร โดยมืออาชีพได้แก่ บริษัท โจนส์ แลง ลาซาลล์ แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด อย่างไรก็ตาม เนื่องจากยังมีพื้นที่อาคารส�ำนักงาน (Supply) คงเหลืออยู่ในตลาด ประกอบกับมีพื้นที่เพิ่มจากอาคารส�ำนักงานที่เพิ่งสร้างเสร็จเข้ามาในตลาด จึงมีผลท�ำให้อัตราค่าเช่าพื้นที่ยังไม่ สามารถปรับตัวขึ้นได้ มากนัก ดังนั้นบริษัทยังคงมีแนวโน้มที่จะบริหารจัดการพื้นที่อาคารส�ำนักงานให้เช่าของบริษัทที่มีอยู่เดิมให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดต่อรายได้และผลก�ำไรของบริษัทต่อไป อาคารส�ำนักงานให้เช่า

ตัวอย่างโครงการในปัจจุบัน: อาคาร วัน แปซิฟิค เพลส (อัตราค่าเช่าเฉลี่ย 502 บาทต่อตารางเมตร) อาคาร ทู แปซิฟิค เพลส (อัตราค่าเช่าเฉลี่ย 526 บาทต่อตารางเมตร) 5. ธุรกิจค้าปลีก บริษัทและบริษัทย่อยมีแผนเบื้องต้นที่จะพัฒนาโครงการศูนย์การค้า อาคารส�ำนักงาน และพื้นที่เชิงพาณิชย์โดยแบ่งออกเป็น 2 ช่วงซึ่งช่วงแรก (ระยะ 1-2 ปี) จะเป็นการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าแบบเปิดในรูปแบบของศูนย์การค้าชุมชน และต่อมาจะพัฒนา โครงการศูนย์การค้าแบบปิด และอาคารส�ำนักงานให้เช่า ปัจจุบัน บมจ.วีรีเทล (บริษัทย่อย) ได้พัฒนาและเปิดศูนย์การค้าชุมชน เมโทร เวสต์ ทาวน์ ที่ถนนกัลปพฤกษ์ ในปี 2558 ได้จัดตั้งบริษัทร่วมทุน บริษัท ดาราฮาร์เบอร์ กับบริษัทในกลุ่ม Fatima เพื่อพัฒนา โครงการ Mixed-use shopping center และอาคารพักอาศัย ที่อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาและออกแบบ นอกจากนี้ยังมีแผนที่จะเปิดโครงการศูนย์การค้าแบบปิดขนาดใหญ่บนถนนรัชดาภิเษก


63

การตลาด และภาวะการแข่งขัน การตลาด และภาวะการแข่งขันธุรกิจที่อยู่อาศัย การตลาด

กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ การออกแบบบ้าน (Product) • บ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ (Low Rise Residential Units) บริษทั และบริษทั ย่อยได้มกี ารพัฒนาการออกแบบทีอ่ ยูอ่ าศัยโดยน�ำข้อมูลจากงานส�ำรวจและวิจยั ความต้องการและความพึง พอใจของผูบ้ ริโภค รวมทัง้ การเปลีย่ นแปลงและการแข่งขันของตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยเพือ่ น�ำมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุม่ ได้ดขี นึ้ และพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของบริษทั ให้สงู ขึน้ ทัง้ นีบ้ ริษทั และบริษทั ย่อย ได้มีการพัฒนารูปแบบบ้านในแบบต่างๆ ตามประเภทของโครงการทั้งบ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ซึ่งยังคงเน้นการ ออกแบบบ้านให้มคี วามสวยงาม ค�ำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย สอดคล้องกับความต้องการตามแบบวิถชี วี ติ และเหมาะสมกับลักษณะ สภาพภูมอิ ากาศของประเทศไทย โดยทีมงานออกแบบหลักของบริษทั เป็นทีมงานทีม่ ปี ระสบการณ์สงู ในการออกแบบทีอ่ ยูอ่ าศัย อีกทั้งยังมีการปรับปรุงแบบเพิ่มเติมร่วมกับบริษัทสถาปนิกชั้นน�ำจากภายนอกเพื่อสรรสร้างแบบนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดมา โดยในปีนี้บริษัทและบริษัทย่อยได้มีการพัฒนาแบบบ้านซีรีส์ใหม่ Urbanista Collection 2015 ที่มีรูปลักษณ์ที่ทันสมัยขึ้น ตอบรับการใช้สอยของลูกค้าได้ลงตัวมากขึน้ และท�ำการตลาดในภาพลักษณ์ที่ใหม่ขนึ้ โดยยังคงคอนเซ็ปต์การออกแบบ พืน้ ที่ ใช้สอย และฟังก์ชั่นแบบเดิม ที่ได้รับการตอบสนองที่ดีจากผู้บริโภค แบ่งออกเป็น 2 Series ได้แก่


64

รายงานประจำ�ปี 2558

• City Life Series บ้านแบบใหม่สำ� หรับกลุ่มเป้าหมายแบรนด์ เพอร์เฟค พาร์ค • Smart Life Series บ้านแบบใหม่สำ� หรับกลุ่มเป้าหมายแบรนด์ เพอร์เฟค เพลส โดยบ้าน Urbanista Collection 2015 นี้ เป็นแบบบ้านที่พัฒนาการออกแบบให้รองรับทุกการใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่โดดเด่น ด้วยดีไซน์ Natural Modern Style พร้อมฟังก์ชั่นหลากหลายที่ลงตัว กับการออกแบบ Flexible Space ให้ปรับเปลี่ยน ฟังก์ชั่นได้ตามไลฟ์สไตล์ครบครันทุกฟังก์ชั่นใช้สอย ดังนี้ Sky Terrace ฟังก์ชนั่ ใหม่สดุ พิเศษ จาก Urbanista Collection 2015 สร้างสรรค์เป็นมุมพักผ่อนส่วนตัวจากห้องนอน สัมผัสธรรมชาติ บนระเบียงกว้าง ปรับเปลี่ยนเป็นมุมจิบกาแฟยามเช้า มุมอ่านหนังสือเงียบๆ รับลมชมวิวธรรมชาติได้อย่างสบายใจ Dining Room ดีไซน์พเิ ศษเปิดรับวิวสวนสวย เชือ่ มต่อ Pantry เพือ่ ความสะดวกสบายในการเตรียมอาหารหรือจัดปาร์ตเี้ ล็กๆ เพื่อต้อนรับแขกคนพิเศษ โดยไร้กลิ่นอาหารมารบกวนบรรยากาศสบายๆ ในห้องนั่งเล่น Window Corner ในห้องนอน เปิดมุมมองธรรมชาติอย่างใกล้ชดิ พร้อมด้วยระเบียงกว้าง 2 ด้าน เพือ่ การพักผ่อนทีส่ มบูรณ์ แบบพร้อม Walk-in Closet จัดสรรเป็นสัดส่วน ขยายพื้นที่ให้ห้องนอนเพื่อกิจกรรมอื่นๆ ได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นส่วนอ่านหนังสือ หรือนั่งเล่นชมโทรทัศน์ Working Area เพิ่มมุมพิเศษจัดเป็นห้องท�ำงาน เพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ใหม่ ให้ความเป็นส่วนตัว และเป็น สัดส่วนมากขึ้น • คอนโดมิเนียม บริษทั และบริษทั ย่อยได้มกี ารพัฒนาการออกแบบคอนโดมิเนียมโดยแยกประเภทโครงการออกเป็น 2 กลุม่ คือ คอนโดมิเนียม ประเภทที่มีความสูงไม่เกิน 8 ชั้น (Low Rise) และ คอนโดมิเนียมประเภทที่มีความสูงเกินกว่า 8 ชั้น (High Rise) โดยใช้ ชือ่ แบรนด์ทแี่ ตกต่างกันตามรูปแบบโครงการและกลุม่ ของลูกค้าเป้าหมาย บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญกับการออกแบบโครงการ เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ประโยชน์สูงสุดของพื้นที่ใช้สอยในโครงการทั้งหมด ทั้งส่วนที่เป็นพื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ภายในห้องชุดพักอาศัย ตลอดจนภาพลักษณ์ของโครงการจะต้องมีความสวยทันสมัย โดดเด่น และสะท้อนแนว ความคิดการใช้ชีวิตของคนในเมืองได้เป็นอย่างดี คุณภาพของสินค้าและบริการ (Quality and Service) บริษทั และบริษทั ย่อยมีการบริหารจัดการควบคุมการก่อสร้างบ้านและทาวน์เฮ้าส์โดยจัดจ้างผูร้ บั เหมาทีม่ ปี ระสบการณ์เคยท�ำงาน ร่วมกับบริษัทหรือมีผลงานในอดีตที่น่าเชื่อถือให้ดำ� เนินการก่อสร้างตามแบบที่บริษัทก�ำหนด ด้วยวัสดุก่อสร้างที่มีคุณภาพดีและ มีการควบคุมตรวจสอบทีเ่ หมาะสมเพือ่ ให้ผรู้ บั เหมาสามารถส่งมอบโครงการได้ตามก�ำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ ส�ำหรับการจัดจ้าง ผูร้ บั เหมาหลักบริษทั ยังเปิดโอกาสให้ผรู้ บั เหมาน�ำเสนอและพิจารณาทางเลือกร่วมกันกับบริษทั ถึงวิธกี ารก่อสร้าง อาทิเช่น พิจารณา ทางเลือกระหว่างวิธกี ารก่อสร้างดังเดิม (Conventional System) หรือ การก่อสร้างส�ำเร็จรูป (Prefabrication หรือ Precast System) เพื่อให้ได้งานคุณภาพในงบประมาณที่บริษัทก�ำหนด


65

อย่างไรก็ตาม บริษทั ได้เล็งเห็นถึงปัญหางานก่อสร้างทีอ่ าจเกิดขึน้ เช่น การขาดแคลนแรงงานก่อสร้าง ต้นทุนวัสดุกอ่ สร้างเพิม่ สูงขึน้ และระยะเวลาการส่งมอบทีล่ ดลง บริษทั และบริษทั ย่อยจึงลงทุนขยายก�ำลังการผลิตบ้านแบบส�ำเร็จรูป (Prefabrication) และน�ำระบบ Tunnel Formwork1 มาใช้เพือ่ แก้ปญั หาข้างต้น ท�ำให้ในปัจจุบนั บริษทั สามารถลดระยะเวลาก่อสร้างจากเดิม 6 - 8 เดือน เหลือเพียง 4 - 5 เดือนส�ำหรับโครงการที่มีการน�ำเทคโนโลยีดังกล่าวมาปรับใช้ บริษัทยังให้ความส�ำคัญด้านคุณภาพของวัสดุที่น�ำมาใช้ใน การก่อสร้างโดยการใช้ผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างหลักจาก บริษัท เอสซีจี ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จ�ำกัด เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจ ในความคงทนแข็งแรงและสวยงาม ทัง้ นีบ้ ริษทั และบริษทั ย่อยมีการบริหารต้นทุนการซือ้ สินค้าและวัตถุดบิ หลักโดยการเจรจาสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมากเพือ่ เพิม่ อ�ำนาจการต่อรองและช่วยให้บริษทั สามารถก�ำหนดและค�ำนวณต้นทุนการพัฒนาโครงการได้ถกู ต้องมากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้บริษัทและบริษัทย่อยได้เป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับ บริษัท เอสซีจี ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จ�ำกัด โดยร่วมกันก่อสร้างบ้าน นวัตกรรมใหม่โดยใช้ระบบโมดูลาร์ Modular 2 บนทีด่ นิ ภายในโครงการของบริษทั และบริษทั ย่อย ภายใต้ชอื่ โครงการ “SCG HEIM Innovative House” ซึ่งเป็นการก่อสร้างบ้านที่มุ่งเน้นเรื่องความสวยงาม ความปลอดภัยและความคุ้มค่าด้วยการน�ำเทคโนโลยี สมัยใหม่มาใช้ในทุกขัน้ ตอนของการก่อสร้าง รวมถึงการเลือกใช้วสั ดุคณุ ภาพสูง และการตรวจสอบคุณภาพทีแ่ ม่นย�ำเพือ่ เป็นอีกหนึง่ ทางเลือกให้กับลูกค้าที่ให้ความสนใจกับบ้านนวัตกรรมใหม่โดยน�ำมาเริ่มใช้กับโครงการบ้านระดับพรีเมี่ยมเป็นหลัก หมายเหตุ 1 ระบบ Tunnel Formwork เป็นระบบก่อสร้างที่ใช้แบบหล่อเป็นรูปอุโมงค์ เพื่อท�ำการติดตั้งแบบหล่อเป็นห้องหรือเป็นแถวและเทคอนกรีตผนัง รับน�้ำหนักและพื้นพร้อมกันอย่างต่อเนื่อง 2 ระบบโมดูลาร์ เป็นนวัตกรรมการสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยส�ำเร็จรูปโครงสร้างเหล็กทีม่ กี ารวางแผนการก่อสร้างทัง้ แบบและวัสดุมาจากโรงงานโดยการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในออกแบบเพื่อช่วยค�ำนวณขนาดชิ้นส่วนวัสดุและจ�ำนวนเพื่อน�ำมาสร้างที่อยู่อาศัยที่มีความแข็งแรงทนต่อสภาวะ แผ่นดินไหว น�้ำท่วม และภัยพิบัติต่างๆ

การน�ำเสนอขายบ้านพร้อมทีด่ นิ ของบริษทั และบริษทั ย่อยนัน้ จะน�ำเสนอในรูปแบบของบ้านสร้างเสร็จก่อนขาย หรือบ้านพร้อมอยู่ โดยเป็นการสร้างบ้านตามแบบที่ก�ำหนดให้เสร็จก่อนน�ำมาเปิดขายให้กับลูกค้า ซึ่งตอบโจทย์ลูกค้าที่ต้องการบ้านที่สามารถเข้า อยู่ได้ทันที ได้เห็นบ้านที่เสร็จสมบูรณ์ก่อนตัดสินใจซื้อ โดยลูกค้าสามารถท�ำการโอนกรรมสิทธิ์และเข้าอยู่ได้ภายในระยะเวลา ไม่เกิน 1 เดือนหลังจากจองซื้อ ส�ำหรับโครงการคอนโดมิเนียม บริษทั และบริษทั ย่อยได้มกี ารขยายงานโดยในอนาคตจะด�ำเนินการก่อสร้างเพิม่ มากขึน้ ตลอดจน ให้ความส�ำคัญในทุกขั้นตอนตั้งแต่การคัดเลือกผู้รับเหมาที่น่าเชื่อถือ มีความพร้อมในการลงทุน และมีประสบการณ์ยาวนาน โดยบริษัทและบริษัทย่อยจะจัดให้มีทีมประสานงานอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้บริษัทและบริษัทย่อยยังได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษา (Construction Management) ทีม่ ปี ระสบการณ์ดา้ นอาคารสูงเพือ่ ก�ำกับดูแลการก่อสร้างให้เป็นไปตามหลักวิศวกรรมศาสตร์และ มาตรฐานทั้งด้านคุณภาพ ระยะเวลาการก่อสร้างและความปลอดภัย ในช่วงระยะเวลา 2- 3 ปีที่ผ่านมา ส�ำหรับโครงการ คอนโดมิเนียม บริษัทและบริษัทย่อยได้เลือกใช้บริษัท อิตาเลียนไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท แสงฟ้าก่อสร้าง จ�ำกัด ซึ่งเป็น บริษัทที่มีชื่อเสียงและมีระดับมาตรฐานการก่อสร้าง เป็นบริษัทผู้รับเหมาหลัก โดยในระหว่างการก่อสร้างโครงการ บริษัทจะมี ทีมงานวิศวกร และผู้ควบคุมงานก่อสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐานทุกขั้นตอน มีหน่วยงานควบคุมมาตรฐานกลางและวิศวกร ทีป่ รึกษาทีจ่ ะคอยดูแลรักษามาตรฐานการก่อสร้างของทุกโครงการ มีการจัดฝึกอบรมและดูงานให้กบั ทัง้ ทีมงานวิศวกร ผูค้ วบคุม การก่อสร้างของบริษัท และของผู้รับเหมา มีการจัดท�ำคู่มือการก่อสร้าง และขั้นตอนการตรวจสอบงานก่อสร้างให้กับทีมงานของ บริษัทและผู้รับเหมา


66

รายงานประจำ�ปี 2558

รูปแบบโครงการและสิ่งแวดล้อม (Environment Impact Assessment) นอกจากแบบบ้านที่สวยงาม และการก�ำหนดแบ่งพื้นที่ใช้สอยให้คุ้มค่าคุ้มราคาอย่างเหมาะสมแล้ว บริษัทยังเน้นการออกแบบ พื้นที่ส่วนกลางของโครงการ การจัดการดูแลสภาพแวดล้อม การวางระบบสาธารณูปโภค ระบบรักษาความปลอดภัยภายใน โครงการ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และการบริการหลังการขาย เพื่อให้ลูกค้าผู้อยู่อาศัยได้รับประโยชน์อย่างสูงสุด รวมทั้งให้ความ ส�ำคัญกับการจัดกิจกรรมตามเทศกาลส�ำคัญต่าง ๆ เพือ่ ให้ลกู ค้าได้ทำ� กิจกรรมร่วมกับครอบครัวและเพือ่ นบ้านเพือ่ การมีปฏิสมั พันธ์ ทีด่ ตี อ่ กันอย่างสม�ำ่ เสมอ จากแนวทางดังกล่าวท�ำให้โครงการของบริษทั ได้รบั รางวัลโครงการทีม่ กี ารบริหารและการจัดการสภาพ แวดล้อมดีเด่น หรือ EIA Monitoring Awards จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน - ระหว่าง ปี 2548 ถึง 2550 โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์, โครงการเพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง เฟส 1 - ระหว่าง ปี 2549 ถึง 2551 โครงการเพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง เฟส 2 และ เฟส 3 - ปี 2551 บริษทั ได้รบั รางวัลจากการประกวด “โครงการบ้านจัดสรรอนุรกั ษ์พลังงานดีเด่น” จัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ซึ่งมอบรางวัลให้แก่แบบบ้านและโครงการจัดสรร ที่มีความใส่ใจในเรื่องของการ อนุรักษ์พลังงาน ทั้งการออกแบบ การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ การวางผัง ตลอดจนมีการบริหารจัดการที่ดี โดยบริษัทได้รับ รางวัลในประเภทต่างๆ รวม 10 รางวัล ได้แก่ • รางวัลประเภท บ้านเดีย่ วขนาดเล็ก พืน้ ที่ใช้สอยไม่เกิน 200 ตารางเมตร จ�ำนวน 3 รางวัล จาก โครงการ เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ และ โครงการ เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77-สุวรรณภูมิ • รางวัลประเภท บ้านเดี่ยวขนาดกลาง พื้นที่ใช้สอย 200-300 ตารางเมตร จ�ำนวน 2 รางวัลจาก โครงการ เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์ • รางวัลประเภท บ้านแถว (ทาวน์เฮ้าส์) พืน้ ที่ใช้สอยไม่เกิน 120 ตารางเมตร จ�ำนวน 1 รางวัล จาก โครงการ เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์ รางวัลประเภท บ้านแถว (ทาวน์เฮ้าส์) พื้นที่ใช้สอยมากกว่า 120 ตารางเมตร จ�ำนวน 1 รางวัล จาก โครงการ เดอะ เมทโทร พระราม 9 • รางวัลประเภท โครงการจัดสรรขนาดเล็ก จ�ำนวนแปลงย่อยไม่เกิน 99 แปลง จาก โครงการ มณีรินทร์ พาร์ค 2 รังสิต • รางวัลประเภท โครงการจัดสรรขนาดกลาง จ�ำนวนแปลงย่อยตัง้ แต่ 100-299 แปลง จาก โครงการ เพอร์เฟค มาสเตอร์พซี เอกมัย-รามอินทรา • รางวัลประเภท โครงการจัดสรรขนาดใหญ่ จ�ำนวนแปลงย่อยตั้งแต่ 300 แปลงขึ้นไปจาก โครงการ เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77-สุวรรณภูมิ - ปี 2555 โครงการเพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์ ได้รับรางวัล Thailand Property Awards 2012 สาขาผู้พัฒนา โครงการบ้านยอดเยี่ยม และโครงการ เพอร์เฟค เพลส รังสิต ได้รับรางวัลโล่ประกาศเกียรติคุณ “โครงการอสังหาริมทรัพย์ ดีเด่นภาคเอกชน ประเภทบ้านเดี่ยว ประจ�ำปี 2555” - ปี 2557 รางวัลประเภท โครงการประกวดบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น จาก โครงการ เพอร์เฟค เพลส แจ้งวัฒนะและ โครงการเพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รังสิต การจัดให้มพี นื้ ทีส่ วนสาธารณะ ทะเลสาบ พร้อมด้วยสโมสรขนาดใหญ่ทสี่ มบูรณ์แบบโดยร่วมกับพันธมิตรธุรกิจ อาทิ ร้านอาหาร, ศูนย์ออกก�ำลังกาย Fitness Center ร้านสะดวกซือ้ 7Eleven ร้านกาแฟ True Coffee เพือ่ ให้บริการภายในอาคารสโมสร ซึง่ เป็นการ สร้างความแตกต่างที่เป็นจุดเด่นเหนือคู่แข่ง และเป็นการส่งเสริมสังคมที่อบอุ่น แนวคิดดังกล่าวจึงเป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ใช้ ประโยชน์ได้จริง ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้โครงการต่าง ๆ ของบริษทั และบริษทั ย่อยเป็นทีย่ อมรับจากลูกค้าจนกลายเป็นจุดแข็ง ของบริษัทตราบถึงวันนี้


67

กลยุทธ์ด้านราคา (Price) บริษทั และบริษทั ย่อยมีนโยบายในการตัง้ ราคาเพือ่ สร้างแรงจูงใจและความคุม้ ค่าตามลักษณะสินค้า เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ และสภาพการแข่งขัน ส�ำหรับทั้งโครงการบ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม โดยพิจารณาร่วมกับปัจจัยด้าน ต้นทุน ท�ำเล รูปแบบโครงการ เงื่อนไขการตลาด ตลอดจนพิจารณาเปรียบเทียบกับคู่แข่ง อาทิเช่น การตั้งราคาขายใกล้เคียงกับ คู่แข่ง แต่เพิ่มคุณค่าด้านสภาพแวดล้อมและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ดีกว่า เป็นต้น ทั้งนี้บริษัทและบริษัทย่อยมีการพัฒนาโครงการหลายรูปแบบ และหลายระดับราคาโดยแบ่งเป็น บ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ มีโครงการตั้งแต่ระดับราคา 1.7 ล้านบาทขึ้นไปจนถึงโครงการหรูระดับราคา 40 ล้านบาท ครอบคลุมความต้องการซื้อในทุกๆ กลุ่มเป้าหมาย คอนโดมิเนียม มีโครงการตั้งแต่ระดับราคา 1 ล้านบาทขึ้นไปจนถึงโครงการระดับราคา 150 ล้านบาท


68

รายงานประจำ�ปี 2558

ตารางแสดงระดับราคาผลิตภัณฑ์แบ่งตามแบรนด์ ประเภท

1.0 – 2.0

ระดับราคาผลิตภัณฑ์ (หน่วย : ล้านบาท) 2.0 – 3.0 3.0 – 4.0 4.0 – 5.0 5.0 – 9.0

สูงกว่า 9.0

9.0 - 60 ล้านบาทขึ้นไป

(บ้านเดี่ยว และบ้านแฝด)

5.0 - 9.0 ล้านบาท 3.0 - 5.0 ล้านบาท

3.0 - 4.0 ล้านบาท

2.7 - 5.0 ล้านบาท

(ทาวน์เฮ้าส์) 1.9 - 3.0 ล้านบาท

5.36 - 150.0 ล้านบาท 2.8 - 11 ล้านบาท 2.95 - 8.0 ล้านบาท

(คอนโดมิเนียม) 1.8 - 5.4 ล้านบาท 1.9 - 5.0 ล้านบาท

1.5 - 3.0 ล้านบาท

1.4 - 2.4 ล้านบาท


69

กลยุทธ์ด้านทำ�เลที่ตั้ง (Place) ท�ำเล (Location) โครงการของบริษทั และบริษทั ย่อยส่วนใหญ่จะตัง้ อยู่ในท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพในการเติบโตสูง เดินทางสะดวก โดยอยู่ใกล้แนวรถไฟฟ้า หรือแนวถนนตัดใหม่สายส�ำคัญ อาทิ • โซนเหนือและตะวันตก โครงการจะตั้งอยู่ใกล้แนวรถไฟฟ้าสายสีม่วง(บางซื่อ-บางใหญ่)ที่เริ่มทดสอบเดินรถในวันที่ 5 ธ.ค.58 และคาดว่าจะเปิดใช้ บริการในปี 2559 รถไฟฟ้าสายสีแดง (บางซือ่ -รังสิต) รถไฟฟ้าสายสีชมพู (แคราย-มีนบุร)ี บนถนนสายหลักอาทิ ถนนราชพฤกษ์ ถนนชัยพฤกษ์ ถนนรัตนาธิเบศร์ ถนนกาญจนาภิเษก ถนนสะพานนนทบุร-ี บางบัวทอง ถนนรังสิต-ปทุมธานี พร้อมเส้นทาง เชื่อมต่อสู่ท�ำเลส�ำคัญ ได้แก่ สะพานพระราม 4 (ข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา) และถนนเชื่อมต่อ ถนนราชพฤกษ์-กาญจนาภิเษก ทีเ่ ชือ่ มท�ำเลจากถนนแจ้งวัฒนะสูถ่ นนกาญจนาภิเษก รวมถึงมอเตอร์เวย์สายตะวันตกเชือ่ มต่อ บางใหญ่-บ้านโป่ง-กาญจนบุรี ถนนราชพฤกษ์มกี ารขยายช่องจราจรจาก 6 ช่องจราจรเป็น 10 ช่องจราจร นอกจากนีย้ งั เดินทางสะดวกด้วยทางด่วนขัน้ ที่ 2 และทางด่วนสายใหม่ศรีรชั -วงแหวนรอบนอก และใกล้แหล่งช้อปปิง้ ทีเ่ ป็นศูนย์กลางขนาดใหญ่แห่งใหม่ ได้แก่ ห้างเซ็นทรัล เวสต์เกต-บางใหญ่, ห้างเซ็นทรัล-แจ้งวัฒนะ, ห้างเซ็นทรัล-รัตนาธิเบศร์, ห้างฟิวเจอร์พาร์ค-รังสิต, ห้าง Zpell รังสิต, ศูนย์การค้าคริสตัล พีทีที ถ.ชัยพฤกษ์, ศูนย์การค้าเดอะคริสตัล ราชพฤกษ์ • โซนตะวันออก โครงการจะตัง้ อยู่ใกล้แนวรถไฟฟ้า Airport Rail Link รถไฟฟ้าสายสีชมพู (แคราย - มีนบุร)ี ซึง่ มีการคาดการณ์วา่ จะสามารถ เปิดให้ใช้บริการได้ในปี 2560 รถไฟฟ้าสายสีส้ม (ตลิ่งชัน - มีนบุรี) ในท�ำเลใกล้สนามบินสุวรรณภูมิ บนถนนสายหลัก อาทิ ถนนรามค�ำแหง ถนนสุขุมวิท77 ถนนร่มเกล้า พร้อมเดินทางสะดวกมากขึ้นด้วยถนนมอเตอร์เวย์ที่เชื่อมต่อจากกลางเมือง สู่ภาคตะวันออก-ชลบุรี-พัทยา และถนนวงแหวนรอบนอก (ฝั่งตะวันออก) ที่เชื่อมต่อพื้นที่โซนเหนือและใต้ของกรุงเทพฯ • โซนในเมือง โครงการจะตั้งอยู่ในพื้นที่เขตศูนย์กลางธุรกิจ ได้แก่ ถนนมอเตอร์เวย์ แนวรถไฟฟ้า Airport Rail Link แนวรถไฟฟ้ายกระดับ BTS และแนวรถไฟฟ้าใต้ดนิ MRT ในเส้นทางทัง้ ทีเ่ ปิดให้บริการแล้วในปัจจุบนั และเส้นทางทีก่ ำ� ลังจะเปิดให้บริการในอนาคต โดยโครงการส่วนใหญ่จะพัฒนาเป็นโครงการบ้านเดี่ยวระดับบน (เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ) ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชั้น (เดอะ เมทโทร) และคอนโดมิเนียม (ไฮด์, เมโทร พาร์ค, เมโทร สกาย, ไอคอนโด) เป็นหลัก • โซนต่างจังหวัด บริษัทและบริษัทย่อย ได้ขยายโครงการออกไปในท�ำเลต่างจังหวัด โดยมุ่งเน้นไปที่จังหวัดที่มีศักยภาพในการเติบโตของ ตลาดที่อยู่อาศัยสูง ซึ่งมีการเปิดโครงการใหม่ 2 โครงการ คือ โครงการเพอร์เฟค เพลส เมืองเชียงใหม่ เป็นโครงการบ้าน เดี่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ บนท�ำเลใกล้เมือง และโครงการ เบลลา คอสต้า หัวหิน เป็นคอนโดมิเนียมติดทะเล ริมชายหาด เขาเต่าที่มีความสวยงาม ในจังหวัดหัวหิน


70

รายงานประจำ�ปี 2558

กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการขาย (Promotion) การโฆษณาประชาสัมพันธ์ (Advertising & PR) บริษทั และบริษทั ย่อยมีนโยบายในการท�ำการตลาดโดยใช้สอื่ แบบผสมผสานส�ำหรับทัง้ โครงการบ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม โดยพิจารณาตามความเหมาะสมในการเลือกใช้สอื่ ต่างๆ เช่น สือ่ หนังสือพิมพ์ สือ่ โทรทัศน์ สือ่ วิทยุ ป้ายโฆษณากลางแจ้ง (Billboard) จดหมายแผ่นพับ (Direct Mail) ฯลฯ ปัจจุบันได้พัฒนาการใช้สื่อในรูปแบบของบูรณาการ (Integrated Communication) เป็น ลักษณะสือ่ มวลชน (Mass Media) ซึง่ เป็นการโฆษณาทีส่ ามารถสือ่ ไปถึงลูกค้ากลุม่ เป้าหมายได้หลายโครงการส่งผลให้ตน้ ทุนการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ลดลง ผสานกับการสือ่ สารการตลาดทางตรง (Direct Marketing) โดยคัดเลือกรูปแบบการใช้สอื่ ให้เหมาะสม กับลักษณะกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมการตลาด และการท�ำการตลาดแบบการ บริหารลูกค้าสัมพันธ์โดยเน้นการดูแล บริการกลุ่มลูกค้าที่อาศัยในโครงการต่างๆ ของบริษัทและมีการจัดกิจกรรมเพื่อเป็นการ ขอบคุณลูกค้าทีอ่ าศัยอยูใ่ นโครงการต่างๆ ของบริษทั ทีแ่ นะน�ำเพือ่ นให้มาซือ้ โครงการบ้านหรือคอนโดมิเนียมของบริษทั ซึง่ เป็นการขยาย ช่องทางในการเข้าถึงลูกค้าและช่วยให้บริษทั สามารถเข้าถึงกลุม่ เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและมีตน้ ทุนต�ำ่ จากการวางกลยุทธ์ การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี ท�ำให้ในปัจจุบนั อัตราส่วนการตัดสินใจซือ้ สินค้าของบริษทั และบริษทั ย่อย ผ่านการแนะน�ำจากเพื่อนและญาติพี่น้องให้มาซื้อโครงการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญตามล�ำดับ ทั้งนี้ จากการที่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายในปัจจุบันมีการเปิดรับเทคโนโลยีมากขึ้น บริษัทและบริษัทย่อย จึงมีนโยบายเชิงรุกด้านการ สือ่ สารการตลาดผ่านสือ่ ออนไลน์ โดยจัดสรรงบประมาณส�ำหรับสือ่ ออนไลน์ในสัดส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ นอกเหนือจากเว็บไซต์แล้ว ยังมีการ ใช้โปรแกรมเพื่อช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล (Search Engine) และ การโฆษณาด้วยแบนเนอร์บนเว็บไซต์เพื่อสร้างการรับรู้ รวม ถึงการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าแบบเฉพาะเจาะจง ตลอดจนการใช้สื่อแบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ อาทิ เช่น เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ และอินสตาแกรม ในการน�ำเสนอภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรเพื่อสร้างความเชื่อมั่น รวมถึงการใช้สื่อผ่าน โทรศัพท์มือถือและโปรแกรมแอพพลิเคชั่นต่างๆ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว บริษัท และบริษทั ย่อยยังมีกจิ กรรมการตลาดเฉพาะกับกลุม่ ลูกค้าทีเ่ ข้ามาชมข้อมูลบนเว็บไซต์ของบริษทั มากขึน้ ด้วยการให้ลกู ค้าลงทะเบียน และนัดหมายเยี่ยมชมโครงการ ตลอดจนการมอบสิทธิพิเศษให้กับลูกค้าที่เข้ามาลงทะเบียน และเพิ่มช่องทางการสื่อสารที่เป็น ลักษณะการท�ำงานตอบโต้ (Interactive Multimedia) ซึง่ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี ท�ำให้การเก็บข้อมูลและติดตามลูกค้าเป็นไป อย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น


71

บริษทั และบริษทั ย่อย พิจารณาเลือกใช้กลยุทธ์การส่งเสริมการขายทีเ่ หมาะสมกับกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายทีม่ คี วามต้องการทีแ่ ตกต่างกัน เพือ่ กระตุน้ การตัดสินใจของลูกค้าทีห่ ลากหลาย โดยค�ำนึงถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจในแต่ละช่วงเวลา อาทิ ข้อเสนอพิเศษ ส�ำหรับลูกค้าที่ต้องการบ้านพร้อมอยู่ ด้วยเงื่อนไขทางการเงิน โดยร่วมกับสถาบันการเงินชั้นน�ำ เสนอเงื่อนไขพิเศษ เช่น สินเชื่อ ดอกเบีย้ ต�ำ่ การขยายระยะเวลากู้ การผ่อนแบบขัน้ บันได เป็นต้น การร่วมมือกับบริษทั ผูผ้ ลิตเฟอร์นเิ จอร์ชนั้ น�ำ ให้ออกแบบตกแต่ง เฟอร์นเิ จอร์ภายในบ้าน เพือ่ ให้ลกู ค้าได้บา้ นพร้อมเฟอร์นเิ จอร์ในราคาพิเศษ เป็นการอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ลกู ค้า และลดภาระ การจัดหามัณฑนากรเพื่อมาออกแบบตกแต่งบ้านรวมถึงการจัดหาสินเชื่อ ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าสินเชื่อที่อยู่อาศัย การสร้างตราสินค้า บริษัทและบริษัทย่อยได้มีแนวความคิดการพัฒนาตราสินค้าของบริษัทโดยการเน้นรูปแบบการอยู่อาศัยที่แตกต่างจากคู่แข่งขัน โดยปัจจุบนั บริษทั ได้พฒ ั นากลยุทธ์การสร้างตราสินค้าของบริษทั ภายใต้แนวความคิด มาตรฐานความสุขในการอยูอ่ าศัย (Happy Living) โดยค�ำนึงถึงความสุขในการใช้ชีวิตภายในโครงการของบริษัท • คุณภาพ คือ ความสุขที่ได้เป็นเจ้าของทีอ่ ยูอ่ าศัยคุณภาพสูง บริษทั มุง่ เน้นการพัฒนาโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยคุณภาพสูงโดยเริม่ ตั้งแต่กระบวนการออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญที่ได้ค�ำนึงถึงการใช้ประโยชน์สูงสุดของพื้นที่ มีความสวยงามทันสมัย เลือกใช้ วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพ ตลอดจนการน�ำเทคโนโลยีการก่อสร้างสมัยใหม่มาใช้กับกระบวนการก่อสร้าง ซึ่งช่วยท�ำให้เกิด ความรวดเร็วในการผลิต และได้คุณภาพที่เป็นมาตรฐานในทุกโครงการ รวมทั้งก�ำหนดให้มีการตรวจเช็คความเรียบร้อยใน ขั้นตอนสุดท้ายก่อนการโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ลูกค้า ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยได้น�ำระบบมาตรฐานอุตสาหกรรม ISO 9001-2008 ซึ่งเป็นมาตรฐานระดับสากลส�ำหรับ ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) ที่เกี่ยวกับการจัดการทางด้านคุณภาพและการประกันคุณภาพ โดย เริ่มน�ำระบบบริหารคุณภาพดังกล่าวเข้ามาใช้กับระบบการก่อสร้างส�ำหรับโครงการแนวราบของบริษัทและบริษัทย่อยโดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า • ความปลอดภัย คือ ความสุขจากความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เนื่องจากบริษัทเข้าใจความต้องการของผู้บริโภค ที่ต้องการอยู่อาศัยในโครงการที่มีระบบรักษาความปลอดภัยสูงสุด บริษัทจึงได้มีการร่วมมือกับบริษัท ไทยซีคอมพิทักษ์กิจ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทรักษาความปลอดภัยชั้นน�ำจากประเทศญี่ปุ่นเพื่อให้บริการรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง ตั้งแต่ ทางเข้าโครงการ ซุม้ ประตู ป้อมยาม พืน้ ทีภ่ ายในโครงการ ตลอดจนภายในตัวบ้านด้วยระบบรักษาความปลอดภัยทีไ่ ด้มาตรฐาน • การตอบสนองรูปแบบการใช้ชีวิต คือ ความสุขในการอยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมและสังคมที่สามารถตอบสนองรูปแบบการใช้ ชีวิตของคนในยุคปัจจุบัน โดยบริษัทส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในโครงการบ้านและคอนโดของบริษัท อาทิเช่น การออกแบบพืน้ ทีส่ ว่ นกลางให้กว้างขวาง จัดให้มสี งิ่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน เช่น สโมสรหมูบ่ า้ นขนาดใหญ่ พืน้ ทีส่ ำ� หรับ ออกก�ำลังกาย ฟิตเนส สระว่ายน�ำ้ ห้องแอโรบิค ร้านค้าและบริการต่างๆ ตลอดจนการจัดให้มพี นื้ ทีส่ ว่ นกลางทีส่ ามารถใช้พกั ผ่อน สังสรรค์ และท�ำกิจกรรมส�ำหรับครอบครัวได้หลากหลาย โดยไม่จำ� เป็นต้องเดินทางออกไปหาภายนอกโครงการ • พื้นที่สีเขียว คือ ความสุขในการอยู่อาศัยในสถานที่ที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่ดี บริษัทจึงได้ออกแบบ พื้นที่ส่วนกลางให้มีทั้งสวนพักผ่อน และทะเลสาบขนาดใหญ่ ซึ่งช่วยให้ความร่มรื่นเย็นสบายและอากาศบริสุทธิ์ รวมไปถึง การเลือกใช้วสั ดุทชี่ ว่ ยประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เช่น หลังคาบ้านที่ไม่เก็บกักความร้อน เชิงชายแบบระบาย ความร้อน กระจกเขียวตัดแสง แผ่นฝ้ากันความร้อน ตลอดจนการใช้วัสดุทดแทนธรรมชาติ เพื่อช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้พื้นไม้ลามิเนตซึ่งเป็นวัสดุสังเคราะห์ที่แข็งแรงแต่สวยงามเหมือนไม้จริง การใช้วงกบอลูมิเนียมที่มีทั้งความทนทาน และสวยงาม เป็นต้น บริษัทเชื่อว่าการสร้างแบรนด์ที่ดีต้องเกิดจากประสบการณ์ของลูกค้าอันน�ำไปสู่ความมั่นคงของภาพพจน์บริษัท ดังนั้นบริษัทจึง ได้ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพของงานก่อสร้าง การออกแบบและวางผังโครงการที่ดี การจัดการสภาพแวดล้อมภายในโครงการ ระบบสาธารณูปโภค และระบบรักษาความปลอดภัย อีกทั้งยังได้มีการจัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์สำ� หรับลูกค้าที่อยู่อาศัยใน โครงการ ท�ำให้เกิดเป็นสังคมที่มีคุณภาพ อบอุ่น และเป็นสุขส่งผลให้เกิดการบอกต่อกันของลูกค้าที่อยากให้เพื่อน/ ญาติเข้ามา อยู่ร่วมเป็นสังคมเดียวกัน


72

รายงานประจำ�ปี 2558

ลักษณะลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย โครงการบ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์เฮาส์ ประเภท

บ้านเดี่ยว

แบรนด์

ลักษณะกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

ราคาขาย ต่อหน่วย/1

กลุ่มเป้าหมาย: 9.0 - 60.0 เจ้าของธุรกิจขนาดกลาง-ใหญ่ ผู้บริหารระดับสูงในองค์กร ล้านบาท งานบริการเฉพาะทาง อาทิ แพทย์เฉพาะทาง นักบิน ช่วงอายุ: 40 - 55 ปี ระดับการศึกษา: ปริญญาโทขึ้นไป รายได้ส่วนตัวต่อเดือน: 200,000 บาทขึ้นไป รายได้รวมครอบครัวต่อเดือน: 300,000 บาทขึ้นไป จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว: 4 - 6 คน 5.0 - 9.0 กลุ่มเป้าหมาย: ล้านบาท เจ้าของธุรกิจ SME ผู้บริหารระดับกลาง งานบริการเฉพาะทาง อาทิ แพทย์ทั่วไป วิศวกร สถาปนิก ช่วงอายุ: 35 - 45 ปี ระดับการศึกษา: ปริญญาตรีขึ้นไป รายได้ส่วนตัวต่อเดือน: 50,000 - 100,000 บาท รายได้รวมครอบครัวต่อเดือน: 100,000 - 200,000 บาท จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว: 3 - 4 คน 3.0 - 5.0 กลุ่มเป้าหมาย: พนักงานบริษทั ระดับผูจ้ ดั การขึน้ ไป ผูบ้ ริหารระดับกลาง วิศวกร สถาปนิก ล้านบาท ช่วงอายุ: 30 - 40 ปี ระดับการศึกษา: ปริญญาตรีขึ้นไป รายได้ส่วนตัวต่อเดือน: 30,000 - 50,000 บาท รายได้รวมครอบครัวต่อเดือน: 60,000 - 100,000 บาท จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว: 3 - 4 คน กลุ่มเป้าหมาย: 3.0 - 4.0 พนักงานบริษัทระดับผู้จัดการ เจ้าของธุรกิจขนาดเล็ก ล้านบาท ช่วงอายุ: 30 - 40 ปี ระดับการศึกษา: ปริญญาตรีขึ้นไป รายได้ส่วนตัวต่อเดือน: 25,000 - 50,000 บาท รายได้รวมครอบครัวต่อเดือน: 50,000 - 100,000 บาท จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว: 2 - 4 คน


73 ประเภท

แบรนด์

ลักษณะกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย: พนักงานบริษัทระดับผู้จัดการขึ้นไป เจ้าของธุรกิจ SME ช่วงอายุ: 30 - 40 ปี ระดับการศึกษา: ปริญญาตรีขึ้นไป รายได้ส่วนตัวต่อเดือน: 50,000 - 100,000 บาท รายได้รวมครอบครัวต่อเดือน: 80,000 - 150,000 บาท จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว: 3 - 4 คน กลุ่มเป้าหมาย: พนักงานบริษัทระดับผู้ช่วยผู้จัดการ ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ช่วงอายุ: 30 - 35 ปี ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี รายได้ส่วนตัวต่อเดือน: 20,000 - 40,000 บาท รายได้รวมครอบครัวต่อเดือน: 40,000 - 80,000 บาท จ�ำนวนสมาชิกในครอบครัว: 2 - 3 คน

ทาวน์เฮ้าส์

ราคาขาย ต่อหน่วย/1

2.7 - 5.0 ล้านบาท

1.9 - 3.0 ล้านบาท

โครงการคอนโดมิเนียม ประเภท

คอนโดมิเนียม HIGH RISE

แบรนด์

ลักษณะกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

ตัวอย่างกล่มุ ลูกค้า ผูบ้ ริหารระดับสูง เจ้าของกิจการ นักธุรกิจชาวต่างชาติ กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ตั้งแต่ 200,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป ตัวอย่างกล่มุ ลูกค้า ผูบ้ ริหารระดับสูง เจ้าของกิจการ นักธุรกิจชาวต่างชาติ กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ตั้งแต่ 150,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป ตัวอย่างกล่มุ ลูกค้า ผู้บริหารระดับสูง เจ้าของกิจการ กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ตั้งแต่ 120,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป

ราคาขาย ต่อหน่วย/1

200,000 - 310,000 100,000 - 141,000 70,000 - 106,000


74

รายงานประจำ�ปี 2558

ประเภท

คอนโดมิเนียม LOW RISE

แบรนด์

ลักษณะกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

ตัวอย่างกลุ่มลูกค้า ผู้บริหารระดับกลาง-สูง เจ้าของกิจการ กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ระหว่าง 50,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป ตัวอย่างกลุ่มลูกค้า พนักงานบริษัทระดับต้น-กลาง กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ระหว่าง 25,000 - 50,000 บาทต่อเดือน ตัวอย่างกลุ่มลูกค้า ผูบ้ ริหารระดับสูง เจ้าของกิจการ นักธุรกิจชาวต่างชาติ กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ระหว่าง 150,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป ตัวอย่างกลุ่มลูกค้า พนักงานบริษัทระดับต้น-กลาง กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ระหว่าง 25,000 ถึง 55,000 บาทต่อเดือน

ราคาขาย ต่อหน่วย/1

75,000 - 120,000/2 47,500 - 58,000 78,000 - 110,000 51,300 - 66,300

หมายเหตุ /1 ราคาขายเฉลี่ยโดยประมาณเดือนธันวาคม 2558 /2 ราคาเปิดตัวโครงการโดยประมาณ ทัง้ นี้โครงการเมโทร ลักซ์ บางส่วนถูกปรับเปลีย่ นรายละเอียดโครงการมาจากโครงการ เมโทร สกาย / เดอะ สกาย

การเพิม่ ผลิตภัณฑ์บา้ น ทาวน์เฮ้าส์และคอนโดมิเนียมให้ครอบคลุมทุกระดับราคาท�ำให้บริษทั สามารถตอบสนองกับความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างกว้างขวางขึน้ ซึง่ เป็นการเพิม่ โอกาสทางการตลาดให้กบั บริษทั รวมทัง้ ช่วยให้บริษทั สามารถน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ ให้แก่กลุ่มลูกค้ากลุ่มใหม่ สามารถเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด และลดการพึ่งพากลุ่มลูกค้าเพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

การจำ�หน่ายและช่องทางการจำ�หน่าย บริษทั และบริษทั ย่อยเป็นผูจ้ ำ� หน่ายบ้านเดีย่ ว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียมผ่านส�ำนักงานขายทีต่ งั้ อยู่ในโครงการแต่ละ โครงการ ทัง้ นีบ้ ริษทั ได้จดั ให้มกี ารฝึกอบรมเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ของบริษทั ให้แก่ทมี งานขายอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้พนักงาน ขายสามารถให้ค�ำแนะน�ำ ตอบข้อซักถาม น�ำเสนอข้อเด่น และสร้างความมั่นใจให้แก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้ บริษัทได้พัฒนาเว็บไซต์ของบริษัท www.pf.co.th ให้มีความสวยงาม สามารถเข้าถึงและสืบค้นข้อมูลได้ง่าย และมีรายละเอียด เกี่ยวกับโครงการต่างๆ ของบริษัทอย่างครบถ้วน เพื่อใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์และใช้เป็นช่องทางในการติดต่อกับกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมายอีกช่องทางหนึ่ง


75 ภาวะการแข่งขันธุรกิจที่อยู่อาศัย

ภาพรวมภาวะการแข่งขันของตลาดอสังหาริมทรัพย์เป็นการแข่งขันของผูป้ ระกอบการรายใหญ่มากขึน้ จากสถานการณ์ทงั้ ทางด้าน ต้นทุนการพัฒนาทีป่ รับตัวสูงขึน้ และการให้สนิ เชือ่ ส�ำหรับผูป้ ระกอบการทีเ่ ข้มงวดมากขึน้ รวมทัง้ สถานการณ์การขายทีย่ งั ไม่ฟน้ื ตัวมากนัก ส่งผลให้ผู้ประกอบการรายใหญ่มีความได้เปรียบทั้งในด้านการลงทุน การผลิต และการตลาด รวมทั้งได้รับความเชื่อถือจากผู้บริโภค สามารถเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดได้มากขึ้น ชดเชยกับสถานการณ์ตลาดที่ยังคงชะลอตัว ส�ำหรับกลยุทธ์ดา้ นผลิตภัณฑ์ ผูป้ ระกอบการยังให้ความส�ำคัญกับทีอ่ ยูอ่ าศัยหรือโครงการอสังหาริมทรัพย์ในท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพสูง โดยเน้นการเปิดโครงการในกลุ่มสินค้าระดับบนมากขึ้น ขณะที่สถานการณ์ด้านก�ำลังซื้อที่ชะลอตัวจากสภาวะเศรษฐกิจและอัตราส่วน หนีส้ นิ ครัวเรือนทีย่ งั คงอยู่ในระดับสูง รวมทัง้ ต้นทุนราคาทีด่ นิ ทีข่ ยับตัวสูงขึน้ มาก ส่งผลให้การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ยากขึน้ กลุ่มสินค้าหลักจึงขยับระดับราคาสูงขึ้น ด้านการตลาด ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังชะลอการใช้จ่ายทั้งการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ เนื่องจากประเมินว่าสถานการณ์ยัง ไม่มคี วามคุม้ ค่าในการใช้จา่ ยในด้านนี้ แต่เน้นไปทีก่ ารขยายตลาดให้ครอบคลุมลูกค้าทุกกลุม่ และปรับเปลีย่ นให้ทนั กับสถานการณ์ปจั จุบนั ให้รวดเร็วยิง่ ขึน้ เพือ่ รักษาและเพิม่ สัดส่วนทางการตลาดของตนเอง โดยเน้นไปท�ำการตลาดออนไลน์และกิจกรรมการตลาดแบบแคมเปญ ขององค์กร รวมทั้งพยายามพัฒนาด้านภาพลักษณ์และคุณภาพสินค้าและการบริการเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอีกด้วย ทั้งนี้ผู้ประกอบการยังคงหลีกเลี่ยงการแข่งขันทางด้านราคา เพื่อรักษาอัตราการท�ำก�ำไรไว้ในสถานการณ์ที่ต้นทุนปรับตัวสูงขึ้น แต่ราคามีแนวโน้มทีจ่ ะปรับตัวสูงขึน้ อีกตามต้นทุนการผลิต หากตลาดและก�ำลังซือ้ ฟืน้ ตัว อีกทัง้ ผูป้ ระกอบการมีการปรับปรุงขนาดและ การใช้ประโยชน์พื้นที่ใช้สอยให้ดีขึ้นและลดต้นทุนที่ไม่จ�ำเป็นลง เน้นใช้ประโยชน์พื้นที่ใช้สอยให้คุ้มค่าทุกตารางนิ้ว เพื่อช่วยให้ลูกค้ามี ความสามารถซื้อสินค้าในขนาดและประโยชน์ใช้สอยที่ต้องการได้ ประกอบกับการพัฒนาด้านกระบวนการและเทคโนโลยีการก่อสร้าง ด้วยการใช้ระบบการผลิตแบบส�ำเร็จรูปมากขึ้น เพื่อให้เกิดการประหยัดต้นทุนและก่อสร้างได้เร็วขึ้น ซึ่งจะช่วยตอบสนองต่อความ ต้องการและการเปลีย่ นแปลงของตลาดได้ดขี นึ้ รวมทัง้ ลดความเสีย่ งจากความผันผวนของต้นทุนและสถานการณ์แวดล้อมต่างๆ เหล่านี้ ถือเป็นสิ่งที่จะสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้


76

รายงานประจำ�ปี 2558

ภาวะอุตสาหกรรมและแนวโน้มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

สถานการณ์ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2558 ได้รับผลกระทบจากหลายปัจจัยได้แก่ การชะลอตัวของเศรษฐกิจ ภาวะหนี้ครัวเรือนที่ยัง อยู่ในระดับสูง ความระมัดระวังในการปล่อยสินเชือ่ ของธนาคาร ความเชือ่ มัน่ ของผูบ้ ริโภคลดลงต่อเนือ่ งและราคาทีด่ นิ ทีป่ รับตัวสูงขึน้ มาก ส่งผลให้ที่อยู่อาศัยเปิดขายใหม่มีจำ� นวนหน่วยที่ลดลงทั้งที่อยู่อาศัยแนวราบและคอนโด แต่มูลค่าที่อยู่อาศัยเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากสินค้า ทีเ่ ปิดขายใหม่สว่ นใหญ่เป็นสินค้าระดับไฮเอนด์มากขึน้ โดยเฉพาะคอนโดทีม่ กี ารพัฒนาสินค้าในย่านใจกลางเมืองและริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา จ�ำนวนมาก ขณะที่คอนโดระดับราคาต�่ำกว่าล้านบาท ก็มีการเติบโตขึ้นเล็กน้อยแต่จะอยู่ในท�ำเลชานเมืองที่เป็นท�ำเลใหม่มีคู่แข่งน้อย ซึ่งราคาที่ดินยังไม่สูงมากนัก ส่วนสินค้าแนวราบที่ชะลอตัวลงในครึ่งแรกของปีเริ่มปรับตัวดีขึ้นในช่วงปลายปี โดยได้รับปัจจัยบวกจาก มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจภาคอสังหาฯจากทางภาครัฐ รวมถึงการขยายตัวของชุมชนชานเมืองและการคมนาคมที่สะดวกมากขึ้นมา โดยสินค้าแนวราบที่เปิดขายใหม่เพิ่มขึ้นมากเป็นบ้านเดี่ยวระดับไฮเอนด์และทาวน์เฮ้าส์ระดับราคา 1-2 ล้านบาท อย่างไรก็ตามในภาพรวมผูป้ ระกอบการยังคงชะลอการเปิดโครงการใหม่และเน้นการขายและโอนกรรมสิทธิเ์ พือ่ ระบายสินค้าคงเหลือ ซึง่ น่าจะส่งผลให้ตลาดมีความสมดุลมากขึน้ ดังนัน้ หากความเชือ่ มัน่ และก�ำลังซือ้ ของผูบ้ ริโภคฟืน้ ตัว ตลาดน่าจะกลับมาฟืน้ ตัวได้ โดย ปัจจัยสนับสนุนยังคงมาจากการขยายตัวของโครงข่ายรถไฟฟ้า การเติบโตของชุมชนชานเมือง และการปรับตัวของผู้ประกอบในการ ตอบสนองความต้องการและก�ำลังซื้อของผู้บริโภค โดยการเปิดตัวโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยใหม่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลในปี 2558 ลดลง 10% จากปีกอ่ น โดยลดลงทัง้ สินค้าแนวราบ และคอนโด แบ่งเป็น สินค้าแนวราบลดลง 16% และคอนโดลดลง 5% แต่มูลค่าเพิ่มขึ้น 20% จากปีก่อน โดยเพิ่มขึ้นทั้งสินค้าแนวราบ และคอนโด แบ่งเป็น สินค้าแนวราบเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย 3% และคอนโดเพิม่ ขึน้ ถึง 37% ส่วนจ�ำนวนการโอนกรรมสิทธิท์ อี่ ยูอ่ าศัยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลในปี 2558 เพิ่มขึ้น 13% แต่มูลค่าการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยลดลง 9% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา ส�ำหรับจ�ำนวนที่อยู่อาศัยจดทะเบียนสร้างเสร็จในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลใน ปี 2558 ลดลง 9% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา แนวโน้มตลาดที่อยู่อาศัยปี 2559 คาดว่าจะทยอยฟื้นตัวดีขึ้นกว่าปีก่อน ซึ่งปัจจัยสนับสนุนหลักจะมาจากภาครัฐ เช่น การลงทุน โครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐมีความคืบหน้าชัดเจนขึ้นรวมถึงการเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีม่วง คาดว่าจะส่งผลในการช่วยดูดซับ คอนโดได้จำ� นวนมาก และมาตราการการกระตุน้ เศรษฐกิจภาคอสังหาฯจากภาครัฐทีต่ อ่ เนือ่ งจากปลายปีทแี่ ล้ว จะช่วยให้สนิ ค้าแนวราบ ยังคงฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ภาพรวมเศรษฐกิจยังค่อยๆฟื้นตัวอย่างช้าๆ อัตราดอกเบี้ยและราคาน�้ำมันที่ทรงตัวในระดับต�ำ่ จะส่งผลให้แนวโน้มความเชือ่ มัน่ ของผูบ้ ริโภคเริม่ ปรับตัวดีขนึ้ อย่างไรก็ตามภาวะหนีค้ รัวเรือนทีส่ งู ขึน้ และความระมัดระวังในการปล่อย สินเชื่อของธนาคาร จะส่งผลกระทบต่อความต้องการซื้อและก�ำลังซื้อของผู้บริโภค และเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อยอดขายและยอดรับรู้รายได้ ของผู้ประกอบการ


77 การตลาดและภาวะการแข่งขันธุรกิจอาคารสำ�นักงานให้เช่า

การตลาด กลยุทธ์การตลาดของอาคารส�ำนักงานอาคารวัน แปซิฟิค เพลส และ ทู แปซิฟิค เพลส ซึ่งถือว่ามีศักยภาพในการแข่งขันที่สูง อันเนื่องมาจาก ท�ำเลตั้งอยู่ใกล้กับสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส นานา ซึง่ เป็นย่านธุรกิจและมีความสะดวกในการคมนาคม ยังคงวางต�ำแหน่ง ทางการตลาดให้อตั ราค่าเช่าถูกกว่าอาคารอืน่ ๆ ในบริเวณใกล้เคียงเล็กน้อยโดยมุง่ เน้นทีอ่ ตั ราการเช่า อีกทัง้ ให้ความส�ำคัญกับการบ�ำรุง รักษาอาคารและอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพดี ภาวะการแข่งขันธุรกิจอาคารสำ�นักงานให้เช่า ตลาดอาคารส�ำนักงานให้เช่าในกทม.ปี 2558 ยังคงมีอุปทานอยู่จ�ำกัดโดยมีพื้นที่ส�ำนักงานเปิดใหม่ประมาณ 156,000 ตร.ม. ใกล้เคียงกับปีทแี่ ล้วเนือ่ งจากไม่มพี นื้ ทีอ่ าคารส�ำนักงานให้เช่าใหม่เข้าสูต่ ลาดมากนัก ขณะทีม่ คี วามต้องการเช่าเพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ งจากปี 2557 จากสถานการณ์การเมืองทีส่ งบขึน้ และความต้องการพืน้ ทีส่ ำ� นักงานทัง้ บริษทั ต่างชาติและบริษทั ไทยมีมากขึน้ ส่งผลให้อาคารส�ำนักงาน ในกรุงเทพฯ มีอัตราการเช่าสูงที่สุดในรอบหลายปีที่ผ่านมาและค่าเช่ามีการปรับขึ้นต่อเนื่องในช่วง 12 ปีที่ผ่านมา สรุปในปี 2559 ตลาดอาคารส�ำนักงานให้เช่าใน กทม.ยังเป็นตลาดของผูใ้ ห้เช่าจากอุปทานทีม่ อี อกมาน้อยเฉลีย่ 50,000 - 200,000 ตร.ม./ปี ขณะที่ความต้องการพื้นที่ส�ำนักงานเพิ่มขึ้นทุกปีเฉลี่ย 200,000 ตร.ม./ปี ทั้งนี้มาจากการขยายพื้นที่เดิมของบริษัทและพื้นที่ใหม่ จากบริษัทต่างชาติที่เพิ่งเข้ามาตั้งฐานในไทย ส่งผลให้อัตราพื้นที่ว่างลดลง อีกทั้งค่าเช่ามีโอกาสปรับตัวสูงขึ้นโดยเฉลี่ยประมาณ 5% นอกจากนี้อาคารส�ำนักงานที่เป็นอาคารเก่ามีเพียง 14% ของพื้นที่สำ� นักงานใหม่ที่มีอายุน้อยกว่า 10 ปี และส่วนใหญ่อาคารเก่าที่อยู่ ในท�ำเลทีด่ แี ละมีผเู้ ช่ารายใหม่จะมีผเู้ ช่าเกือบเต็มแล้ว จึงไม่คอ่ ยได้รบั ผลกระทบต่อ พืน้ ทีเ่ ช่าส�ำนักงานใหม่ๆ ทีจ่ ะเข้ามาในตลาดมากนัก


78

รายงานประจำ�ปี 2558

การตลาดและภาวะการแข่งขันธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยว

การตลาด กลยุทธ์การตลาดของธุรกิจโรงแรม บริษทั และบริษทั ย่อยยังคงมุง่ เน้นการลงทุนในโรงแรมระดับ 4 - 5 ดาว โดยบริษทั เป็นผูล้ งทุน ในการพัฒนาทรัพย์สินหรือเข้าซื้อกิจการ(Acquisition) ของโรงแรมอื่นที่เปิดด�ำเนินการอยู่แล้ว ในท�ำเลที่มีการเดินทางสะดวกและอยู่ ในย่านธุรกิจ หรือสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว มีกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายทีแ่ ตกต่างหลากหลาย ทัง้ นีบ้ ริษทั ได้พฒ ั นาโครงการและด�ำเนินกิจกรรมการตลาด โดยค�ำนึงความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและการแข่งขัน รวมทั้งมาตรฐานและความต้องการของผู้บริหารโรงแรมของบริษัทฯ ซึ่งได้ จัดจ้างบริษัทผู้บริหารโรงแรมที่มีประสบการณ์และมีเครือข่ายทั่วโลกมาบริหารทรัพย์สินนั้นๆ ภาวะการแข่งขันธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยว ธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยวปี 2558 ปรับตัวดีขึ้น โดยมีจำ� นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 29.88 ล้านคน ขยายตัว 20.44% จากช่วงเวลาเดียวกันปีกอ่ น และอัตราการเข้าพักโรงแรมเฉลีย่ อยูท่ ี่ 73.4% เติบโตขึน้ 13.6% เมือ่ เทียบกับปีกอ่ น โดยในเดือนธันวาคม 2558 มีอัตราการเข้าพักสูงสุดถึง 77.4% สูงที่สุดในรอบ 2 ทศวรรษของธุรกิจโรงแรมไทย เป็นผลมาจากการขยายตัวของนักท่องเที่ยว เกือบทุกภูมิภาค โดยเฉพาะภูมิภาคเอเชียตะวันออก เช่น จีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน และอาเซียน รวมถึงนักท่องเที่ยวต่างชาติ เริ่มกลับมามีความเชื่อมั่นประกอบกับภาครัฐได้มีการสนับสนุนและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวผ่านการจัดงานต่างๆ เช่น งานไทย เที่ยวไทย เป็นต้น ซึ่งเป็นการกระตุ้นนักท่องเที่ยวให้ตัดสินใจได้ง่ายขึ้น รวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวอื่นๆ ทั้งของภาครัฐและ ภาคเอกชน เช่น เพิ่มการลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา/นิติบุคคลในปีภาษี 2558 จากค่าใช้จ่ายการท่องเที่ยว เป็นต้น สรุปธุรกิจโรงแรมและการท่องเทีย่ วยังมีแนวโน้มทีจ่ ะขยายตัวต่อเนือ่ งในปี 2559 โดยคาดว่าจะมีนกั ท่องเทีย่ วชาวต่างชาติมาท่อง เที่ยวในไทยประมาณ 32.54 - 34.02 ล้านคน เพิ่มขึ้นระหว่าง 9% - 14% จากปีก่อน กอปรกับแรงหนุนจากการท�ำกิจกรรมการตลาด อย่างต่อเนื่องของหน่วยงานภาครัฐ รวมถึงการที่รัฐบาลได้ยุทธศาสตร์ให้ไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางน�้ำ หรือ Marina Hub ของภูมิภาคอาเซียน โดยตลาดภูมิภาคเอเชียตะวันออกยังเป็นตลาดหลักในการผลักดันการเติบโตของตลาดท่องเที่ยวไทย โดยเฉพาะ ตลาดนักท่องเที่ยวจีน


79

การตลาดและภาวะการแข่งขันธุรกิจค้าปลีก

การตลาด กลยุทธ์การตลาดเพือ่ พัฒนาศูนย์การค้าให้เป็นทีร่ จู้ กั มีความมัน่ คงในการด�ำเนินธุรกิจ ด้วยรูปแบบกลยุทธ์การพัฒนาศูนย์การค้า ระดับภูมิภาค และศูนย์การค้าชุมชนในท�ำเลที่มีศักยภาพสูง และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าและการแข่งขันในแต่ละ ท�ำเลได้อย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดของแต่ละท�ำเล บริษัทจะพัฒนาโครงการศูนย์การค้าในรูปแบบ ศูนย์การค้าแบบเปิด (Open Shopping Complex) และ ศูนย์การค้าชุมชน (Community Mall) รวมทั้งโครงการศูนย์การค้าแบบปิด (Closed Shopping Complex) ตามความเหมาะทางการตลาดในแต่ละท�ำเล เช่น ท�ำเลใกล้แหล่งชุมชนที่พักอาศัย ท�ำเลใกล้รถไฟฟ้า ย่านธุรกิจการค้า โดยมีร้านค้าและการบริการที่ดึงดูดก�ำลังซื้อในแต่ละท�ำเล ภาวะการแข่งขันธุรกิจค้าปลีก ตลาดธุรกิจค้าปลีกในปี 2558 เติบโตขึ้นเล็กน้อยประมาณ 3% จากปีก่อน ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากสภาวะเศรษฐกิจที่ยังไม่ฟื้นตัว แต่ช่วงปลายปีหลังจากที่ภาครัฐออกมาตรการช็อปช่วยชาติให้ผู้บริโภคสามารถน�ำใบเสร็จไปออกใบก�ำกับภาษีเพื่อใช้ลดหย่อนภาษีได้ ส่งผลให้ธุรกิจค้าปลีกเริ่มปรับตัวดีขึ้น นอกจากนี้พื้นที่ค้าปลีกที่เปิดใหม่ในปีนี้มีจ�ำนวนมากทั้งในกรุงเทพฯและพื้นที่โดยรอบประมาณ 894,020 ตร.ม. ท�ำให้มีพื้นที่ค้าปลีกทั้งหมดประมาณ 7.81 ล้านตร.ม. โดยปัจจัยหลักมาจากมีศูนย์การค้าขนาดใหญ่หลายโครงการมี ก�ำหนดเปิดขายปีนี้ และอัตราการเช่าพื้นที่ค้าปลีกที่สูง ส่งผลให้ค่าเช่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดว่าธุรกิจค้าปลีกในปี 2559 ยังคงเติบโตขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อน และประเทศไทยยังมีศักยภาพในการขยายตัวได้อีกมากใน อนาคต รวมถึงอัตราค่าเช่าเฉลีย่ ยังสามารถปรับตัวสูงขึน้ ได้อกี โดยเฉพาะย่านใจกลางกรุงเทพฯ เนือ่ งจากเป็นย่านส�ำคัญทางเศรษฐกิจ ของกรุงเทพฯและยังเป็นท�ำเลที่ได้รบั ความนิยมและยังมีความต้องการเช่าพืน้ ทีจ่ ากแบรนด์ระดับ Luxury ของต่างชาติ ส่วนต่างจังหวัด และรอบนอกกรุงเทพฯ เชื่อว่าจะเริ่มปรับตัวดีขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจที่เริ่มมีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้น


80

รายงานประจำ�ปี 2558

ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 1. จำ�นวนทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว ณ สิ้นงวดบัญชี

ทุนจดทะเบียน มูลค่า (บาท) จ�ำนวน (หุ้น) ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว มูลค่า (บาท) จ�ำนวน (หุ้น) - มูลค่าที่ตราไว้ (บาทต่อหุ้น)

31 ธ.ค. 2555

31 ธ.ค. 2556

31 ธ.ค. 2557

31 ธ.ค. 2558

5,961,161,256 5,961,161,256

5,961,161,256 5,961,161,256

10,737,610,610 10,737,610,610

7,900,000,000 7,900,000,000

5,641,047,963 5,641,047,963 1.00

5,782,930,655 5,782,930,655 1.00

5,782,951,655 5,782,951,655 1.00

7,667,826,432 7,667,826,432 1.00

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั มีทนุ ทีอ่ อกและช�ำระแล้วเพิม่ ขึน้ เป็นจ�ำนวนเงิน 5,641,047,963 บาท (หุน้ สามัญ 5,641,047,963 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนข้างต้นจ�ำนวน 787,730,720 บาท (787,730,720 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท) และจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W2) ในเดือนมิถนุ ายนและพฤศจิกายน 2555 จ�ำนวน 52,928,322 บาท (หุน้ สามัญ 52,928,322 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท) และจากการ ใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญ (PF-W3) ในเดือนกันยายน 2555 จ�ำนวน 73,932,601 บาท (หุน้ สามัญ 73,932,601 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท) ซึ่งบริษัทได้ด�ำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2555 วันที่ 6 กรกฎาคม 2555 และวันที่ 12 ตุลาคม 2555 ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนจ�ำนวน 5,961,161,256 บาท (หุน้ สามัญ 5,961,161,256 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท) โดยมีทุนที่ออกและช�ำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 5,782,930,655 บาท (หุ้นสามัญ 5,782,930,655 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1.00 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W3) จ�ำนวน 141,882,692 บาท (หุ้นสามัญ 141,882,692 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ซึ่งบริษัทได้ดำ� เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวกับ กระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556 และ 9 กรกฎาคม 2556 ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2557 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2557 ได้มีมติ ดังนี้ 1. ลดทุนจดทะเบียนของบริษทั จากทุนจดทะเบียนเดิม 5,961,161,256 บาท (หุน้ สามัญ 5,961,161,256 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้ หุ้นละ 1.00 บาท) ให้เหลือทุนจดทะเบียน 5,960,980,722 บาท (หุ้นสามัญ 5,960,980,722 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1.00 บาท) โดยวิธกี ารตัดหุน้ สามัญจดทะเบียนทีส่ �ำรองไว้เพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ทีอ่ อกและ จัดสรรให้แก่เจ้าหนีต้ ามแผนฟืน้ ฟูกจิ การ (PF-W2) ทีห่ มดอายุแล้วจ�ำนวน 180,534 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท รวมเป็น 180,534 บาท 2. เพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั จากทุนจดทะเบียนเดิม 5,960,980,722 บาท (หุน้ สามัญ5,960,980,722 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้ หุ้นละ 1.00 บาท) ให้เป็นทุนจดทะเบียน 10,737,610,610 บาท (หุน้ สามัญ 10,737,610,610 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1.00 บาท) โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 4,776,629,888 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท เพื่อช�ำระเป็นค่าตอบแทนให้แก่ ผู้ถือหุ้นของ บมจ. ไทย พร็อพเพอร์ตี้ และผู้ถือหุ้นของ บมจ. แกรนด์ แอสเสท ที่ตอบรับค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ของบริษัท รวมทั้งส�ำรองไว้เพื่อรองรับการปรับสิทธิให้แก่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทครั้งที่ 1/2555 (PF-W3) โดยมี รายละเอียดดังนี้


81 2.1 หุน้ สามัญเพิม่ ทุนจ�ำนวน 1,596,592,736 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท ส�ำรองไว้เพือ่ รองรับการท�ำค�ำเสนอซือ้ หลักทรัพย์ ทั้งหมดของ บมจ. ไทย พร็อพเพอร์ตี้ 2.2 หุน้ สามัญเพิม่ ทุนจ�ำนวน 3,161,773,631 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท ส�ำรองไว้เพือ่ รองรับการท�ำค�ำเสนอซือ้ หลักทรัพย์ ทั้งหมดของ บมจ. แกรนด์ แอสเสท 2.3 หุ้นสามัญที่ออกใหม่จ�ำนวน 18,263,521 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท ส�ำรองไว้เพื่อรองรับการปรับสิทธิให้แก่ผู้ถือ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทครั้งที่ 1/2555 (PF-W3) ทั้งนี้บริษัทได้ด�ำเนินการจดทะเบียนและเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 ณ วันที่ 31ธันวาคม 2557 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 10,737,610,610 บาท (หุ้นสามัญ10,737,610,610 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1.00 บาท) โดยมีทุนที่ออกและช�ำระแล้วเป็นจ�ำนวนเงิน 5,782,951,655 บาท (หุ้นสามัญ 5,782,951,655 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุน้ ละ 1.00 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญ (PF-W3) จ�ำนวน 21,000 บาท (หุน้ สามัญ 21,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท) ซึง่ บริษทั ได้ดำ� เนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์ เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม 2557 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2558 บริษัทมีทุนจดทะเบียนไม่เปลี่ยนแปลง จ�ำนวน 10,737,610,610 บาท (หุ้นสามัญ 10,737,610,610 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท) โดยมีทุนที่ออกและช�ำระแล้วเป็นจ�ำนวนเงิน 5,782,951,655 บาท (หุ้นสามัญ 5,782,951,655 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท) ณ วันที่ 23 เมษายน 2558 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2558 ได้มีมติ ดังนี้ 1. ลดทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 4,776,629,888 หุน้ มูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 10,737,610,610 บาท เป็น 5,960,980,722 บาท โดยการตัดหุ้นสามัญที่ส�ำรองไว้เพื่อรองรับท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของไทยพร็อพและ แกรนด์ แอสเสท รวมถึงหุน้ สามัญที่ได้สำ� รองไว้เพือ่ รองรับการปรับสิทธิให้แก่ผถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของ บริษัท (PF-W3) 2. เพิ่มทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 1,939,019,278 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจ�ำนวน 5,960,980,722 บาท เป็นจ�ำนวน 7,900,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 1,939,019,278 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 3. อนุมัติให้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวนไม่เกิน 1,928,031,552 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้น เดิมตามสัดส่วนจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) ในอัตราจัดสรร 3 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่และก�ำหนด ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ราคา 1 บาท และหุ้นสามัญจ�ำนวนไม่เกิน 10,987,726 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ส�ำรองไว้เพื่อรองรับการปรับสิทธิให้แก่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท (PW-W3) โดยเศษของหุ้น ให้ปดั ทิง้ ปัจจุบนั บริษทั ได้ออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุนดังกล่าวจ�ำนวน 1,806,495,077 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 1,806,495,077 บาท ทั้งนี้ บริษัทได้ด�ำเนินการจดทะเบียนลดทุนและเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 7 และ 8 พฤษภาคม 2558 ตามล�ำดับ และได้ด�ำเนินจากจดทะเบียนการเพิ่มทุนที่ออกช�ำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีทุนที่ออกช�ำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 7,667,826,432 บาท (หุ้นสามัญ 7,667,826,432 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการออกหุ้นสามัญ จ�ำนวน 1,806,495,077 บาท และการใช้สิทธิตาม ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญ (PF-W3) จ�ำนวน 78,379,700 บาท บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการจดทะเบียนการเพิม่ ทุนทีอ่ อกและช�ำระ แล้วกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2558 24 มิถุนายน 2558 และ 24 กรกฎาคม 2558


82

รายงานประจำ�ปี 2558

2. ผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 7,900,000,000บาท (หุ้นสามัญ 7,900,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท) โดยมีทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้วจ�ำนวน 7,667,826,432 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 7,667,826,432 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท โดยรายชื่อผู้ถือหุ้น 10 รายแรก มีดังนี้ ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรก

บริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด /1 นายชายนิด อรรถญาณสกุล JAPAN ASIA GROUP LIMITED /2 HOTEL MANAGEMENT AND LEISURE LIMITED นางสุมาลี อ่องจริต นางสาวศจี ลิปิสุนทร กองทุนเปิด บัวหลวงหุ้นระยะยาว นางสาววิภา สุทธิยุทธ์ นายเด่นชัย ปิ่นกาญจนไพบูลย์ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว โดย บลจ. บัวหลวง จ�ำกัด

จำ�นวน (หุ้น)

ร้อยละ

1,091,668,441 580,159,675 387,016,825 353,374,176 306,309,165 211,200,000 177,289,866 168,707,986 167,666,666

14.24 7.57 5.05 4.61 3.99 2.75 2.31 2.20 2.19

160,366,666

2.09

ข้อมูลจาก บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หมายเหตุ 1/ บริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด มีผู้ถือหุ้นใหญ่คือ บริษัท รีสอร์ท โฮลดิ้ง จ�ำกัด ซึ่งถือหุ้นอยู่ร้อยละ 100.00 โดยบริษัท รีสอร์ท โฮลดิ้ง จ�ำกัด มีผู้ถือหุ้นใหญ่ 3 รายได้แก่ 1) Wahkit Finance Limited ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ ถือหุ้นร้อยละ 45.00 โดยบริษัทได้รับแจ้งจากผู้บริหาร ของบริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด ว่าผู้ถือหุ้นใหญ่ทางอ้อม (Wahkit Finance Limited) ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับ JAPAN ASIA GROUP LIMITED และ/หรือ บริษัท ส�ำนักกฎหมายนทีอินเตอร์แนทชั่นแนล จ�ำกัด แต่อย่างใด 2) นายเมธี ตันมานะตระกูล ถือหุ้นร้อยละ 45.00 และ 3) นายชัยวัฒน์ อัศวินทรางกูร ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 10.00 ทั้งนี้ นายชัยวัฒน์ อัศวินทรางกูร และนายเมธี ตันมานะตระกูล เป็นกรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม ผูกพันในบริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท และบริษัท รีสอร์ท โฮลดิ้ง จ�ำกัด อย่างไรก็ตาม บริษัทและบริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด ไม่มีความสัมพันธ์กันในลักษณะของการมีผู้ถือหุ้นใหญ่กลุ่มเดียวกัน การมีกรรมการหรือเจ้าหน้าที่บริหารร่วมกัน และการมีความสัมพันธ์ในลักษณะ nominee account นอกจากนี้ กรรมการและผู้บริหารของบริษัทก็ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับ Wahkit Finance Limited บริษัท รีสอร์ท โฮลดิ้ง จ�ำกัด และ บริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด ในฐานะกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมแต่อย่างใด (นอกจากนี้ยังมีนางวิภา ตันมานะตระกูล ถือหุ้นในบริษัทในนามส่วนตัว จ�ำนวน 523,200 ซึ่งไม่ได้รวมอยู่ในการถือหุ้นของบริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด) 2/ JAPAN ASIA GROUP LIMITED ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท เนื่องจากเป็นเจ้าหนี้บริษัทตามแผนฟื้นฟูกิจการ และได้ดำ� เนินการแปลงหนี้เป็นทุน ตามขั้นตอนในแผนฟื้นฟูกิจการ โดย JAPAN ASIA GROUP LIMITED เป็นบริษัทจดทะเบียนในหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน ซึ่งอยู่ภายใต้อาณานิคมของ สหราชอาณาจักร ประกอบธุรกิจด้านการเงิน และลงทุนในธุรกิจต่างๆ ทัง้ นี้ กฎหมายของหมูเ่ กาะบริตชิ เวอร์จนิ ไม่ได้อนุญาตให้บคุ คลภายนอกขอทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียนในส่วนทีเ่ กี่ยวกับผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน และผลการด�ำเนินงาน โดยจะทราบเพียงแต่กรรมการทีม่ ีอ�ำนาจกระท�ำการแทน JAPAN ASIA GROUP LIMITED คือ STAR MARK ENTERPRISES LIMITED และจากการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถือหุ้นใหญ่จาก JAPAN ASIA GROUP LIMITED บริษัทได้ทราบว่า ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (Ultimate Shareholder) คือ นางไว ชิง ชุง (Mrs. Wai Ching Chung) ซึ่งมีภูมิลำ� เนาอยู่ใน เขตปกครองพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน ทัง้ นี้ บริษทั และ JAPAN ASIA GROUP LIMITED ไม่มคี วามสัมพันธ์กนั ในลักษณะของการมีผถู้ อื หุน้ ใหญ่ กลุ่มเดียวกัน การมีกรรมการหรือเจ้าหน้าทีบ่ ริหารร่วมกัน และการมีความสัมพันธ์ในลักษณะ nominee account นอกจากนี้ กรรมการและผู้บริหารของ บริษัทก็ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับ JAPAN ASIA GROUP LIMITED ในฐานะกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมแต่อย่างใด


83 3. การออกหลักทรัพย์อื่น 3.1 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (ก) ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทที่ออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม โดยไม่คิดมูลค่า ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจ�ำปี 2554 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2554 มีมติอนุมัติให้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม โดยไม่คิดค่าตอบแทน ในอัตราส่วน 2 หุ้นสามัญใหม่ที่จะเสนอขายให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิม (รายละเอียดตาม ข้อ 7.1) ต่อ 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ รายละเอียดของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ มีดังนี้ จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ที่ออก 393,865,360 หน่วย อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 3 ปี นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ วันที่ใช้สิทธิ วันท�ำการสุดท้ายของทุกไตรมาส นับแต่วันออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ราคาใช้สิทธิต่อ 1 หุ้นสามัญ 1 บาท อัตราส่วนการใช้สิทธิ 1 : 1 ใบส�ำคัญแสดงสิทธิต่อหุ้นสามัญ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W3) ได้ท�ำการจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมที่ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทเป็นจ�ำนวน 393,865,295 หน่วย และได้ยื่นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2555 และเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2555 โดยวันออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิคือวันที่ 18 กรกฎาคม 2555 และวันครบก�ำหนดอายุ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิคือวันที่ 18 กรกฎาคม 2558 ในเดือนมีนาคม 2556 บริษัทได้รับเงินล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจ�ำนวน 41,750,492 หน่วย (หุน้ สามัญ 41,750,492 หุน้ ราคาหุน้ ละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 41,750,492 บาท) ซึง่ บริษทั ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุน จากการใช้สิทธิดังกล่าวจ�ำนวน 41,750,492 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556 ในเดือนมิถุนายน 2556 บริษัทได้รับเงินล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจ�ำนวน 100,132,200 หน่วย (หุ้นสามัญ 100,132,200 หุ้น ราคาหุ้นละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 100,132,200 บาท) ซึ่งบริษัทได้จดทะเบียน เพิ่มทุนจากการใช้สิทธิดังกล่าวจ�ำนวน 100,132,200 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2556 และ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2556 บริษัทคงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ได้มีการใช้สิทธิจำ� นวน 178,050,002 หน่วย ในเดือนกันยายน 2556 ไม่มผี มู้ าใช้สทิ ธิทำ� ให้บริษทั คงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิทยี่ งั ไม่ได้มกี ารใช้สทิ ธิจำ� นวน 178,050,002 หน่วย ในเดือนธันวาคม 2556 ไม่มผี มู้ าใช้สทิ ธิทำ� ให้บริษทั คงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิทยี่ งั ไม่ได้มกี ารใช้สทิ ธิจำ� นวน 178,050,002 หน่วย ในเดือนมีนาคม 2557 ไม่มผี มู้ าใช้สทิ ธิทำ� ให้บริษทั คงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิทยี่ งั ไม่ได้มกี ารใช้สทิ ธิจำ� นวน 178,050,002 หน่วย ในเดือนมิถนุ ายน 2557 ไม่มผี มู้ าใช้สทิ ธิทำ� ให้บริษทั คงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิทยี่ งั ไม่ได้มกี ารใช้สทิ ธิจำ� นวน 178,050,002 หน่วย ในเดือนกันยายน 2557 บริษัทได้รับเงินล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจ�ำนวน 21,000 หน่วย (หุ้นสามัญ 21,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 1.00 บาท รวมเป็นเงิน 21,000 บาท) บริษัทคงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ที่ยังไม่ได้มีการใช้สิทธิจำ� นวน 178,029,002 หน่วย ในเดือนธันวาคม 2557 ไม่มผี มู้ าใช้สทิ ธิทำ� ให้บริษทั คงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิทยี่ งั ไม่ได้มกี ารใช้สทิ ธิจำ� นวน 178,029,002 หน่วย ในเดือนมีนาคม 2558 บริษัทได้รับเงินล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W3) จ�ำนวน 1,143,000 หน่วย (หุ้นสามัญ 1,143,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 1.00 บาท รวมเป็นเงิน 1,143,000 บาท) ต่อมาเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 ซึ่งเป็นวันใช้สิทธิครั้งสุดท้าย บริษัทได้รับเงินล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะ ซือ้ หุน้ สามัญ (PF-W3) จ�ำนวน 77,236,700 หน่วย (หุน้ สามัญ 77,236,700 หุน้ ราคาหุน้ ละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 77,236,700 บาท) ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (PF-W3) จ�ำนวน 99,649,302 หน่วย ได้สิ้นสภาพลง ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2558


84

รายงานประจำ�ปี 2558

ช่วงเวลา

กันยายน 2555 ธันวาคม 2555 มีนาคม 2556 มิถุนายน 2556 กันยายน 2556 ธันวาคม 2556 มีนาคม 2557 มิถุนายน 2557 กันยายน 2557 ธันวาคม 2557 มีนาคม 2558 มิถุนายน 2558 กรกฎาคม 2558

จ�ำนวนใช้สิทธิ (หน่วย)

จ�ำนวนคงเหลือ (หน่วย)

73,932,601 41,750,492 100,132,200 21,000 1,143,000 77,236,700

319,932,694 319,932,694 278,182,202 178,050,002 178,050,002 178,050,002 178,050,002 178,050,002 178,029,002 178,029,002 176,886,002 176,886,002 99,649,302

3.2 หุ้นกู้ หุ้นกู้ของบริษัทที่ยังไม่ได้ไถ่ถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (ก) หุ้นกู้ไม่มีประกัน ครั้งที่ 1/2557 โดยมีรายละเอียดส�ำคัญดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2557 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2559 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 2,200,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 2,200 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 1 สิงหาคม 2557 อายุ : อายุ 1 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 5.80 ต่อปี การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นทั้งจ�ำนวน ในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ : อันดับเครดิต BB+ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ผู้แทนผู้ถือหุ้น : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน)


85

(ข) หุ้นกู้ไม่มีประกัน ครั้งที่ 2/2557 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2557 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2559 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 2,400,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 2,400 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 1 ตุลาคม 2557 อายุ : อายุ 2 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 1 ตุลาคม 2559 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 5.90 ต่อปี การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นทั้งจ�ำนวน ในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ : อันดับเครดิต BB+ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน)

(ค) หุ้นกู้ไม่มีประกัน ครั้งที่ 1/2558 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2558 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2560 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 2,400,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 2,400 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 12 มีนาคม 2558 อายุ : อายุ 2 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 12 กันยายน 2560 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 5.50 ต่อปี การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นทั้งจ�ำนวน ในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ : อันดับเครดิต BB+ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน)


86

รายงานประจำ�ปี 2558

(ง) หุ้นกู้ไม่มีประกัน ครั้งที่ 2/2558 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2558 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2560 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 2,500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 2,500 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 21 พฤษภาคม 2558 อายุ : อายุ 2 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 5.20 ต่อปี การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นทั้งจ�ำนวน ในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ : อันดับเครดิต BB+ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) (จ) หุ้นกู้ไม่มีประกัน ครั้งที่ 3/2558 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2558 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2561 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 3,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 3,000 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 20 สิงหาคม 2558 อายุ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 20 สิงหาคม 2561 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 5.15 ต่อปี การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นทั้งจ�ำนวน ในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ : อันดับเครดิต BB+ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน)


87 (ฉ) หุ้นกู้ไม่มีประกัน ครั้งที่ 4/2558 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 4/2558 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2560 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 110,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 110 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายต่อผู้ลงทุนไม่เกิน 10 ราย ภายในรอบระยะเวลา 4 เดือน วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 22 ตุลาคม 2558 อายุ : อายุ 2 ปี 14 วัน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 5 พฤศจิกายน 2560 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 4.25 ต่อปี การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นทั้งจ�ำนวน ในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ : อันดับเครดิต BB+ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) (ช) หุ้นกู้ไม่มีประกัน ครั้งที่ 5/2558 โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 5/2558 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2563 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 3,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 3,000 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 อายุ : อายุ 3 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 5 พฤษภาคม 2562 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 5.50 ต่อปี การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นทั้งจ�ำนวน ในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ : อันดับเครดิต BB+ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน)

รวมมูลค่าหุ้นกู้ที่ยังไม่ก�ำหนดไถ่ถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวน 15,610 ล้านบาท


88

รายงานประจำ�ปี 2558

3.3 ตั๋วเงิน (ตั๋วแลกเงิน และตั๋วสัญญาใช้เงิน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทและบริษัทย่อยมียอดเจ้าหนี้ตั๋วแลกเงินจ�ำนวน 2,456.40 ล้านบาท โดยตั๋วแลกเงินดังกล่าว มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.10 – 4.90 ต่อปี และจะครบก�ำหนดช�ำระภายในเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั และบริษทั ย่อยมียอดเจ้าหนีต้ วั๋ สัญญาใช้เงินจ�ำนวน 372.02 ล้านบาท โดยตัว๋ สัญญาใช้เงินดังกล่าว มีอัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เบิกเกินบัญชีขั้นต�ำ่ (MOR) และจะครบก�ำหนดช�ำระภายในเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม 2559 ทั้งนี้ ตั๋วสัญญาใช้เงินมีการค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของบริษัทย่อย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ ค�้ำประกันเงินกู้บ้างส่วนของบริษัทย่อย

4. นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทและบริษัทย่อย ได้มมี ติการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2550 เกีย่ วกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั จากเดิมทีม่ นี โยบายการจ่าย เงินปันผลในอัตราร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นจะต้องได้รับมติเห็นชอบ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นส�ำคัญ คณะกรรมการบริษัทได้มีมติก�ำหนดนโยบายการจ่ายเงินปันผลภายหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายวิธี การบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม จากวิธีส่วนได้เสีย (Equity Method) มาเป็นวิธีการบันทึกต้นทุน (Cost Method) ตาม นโยบายเดิม คือ บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต�่ำกว่า ร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการ หลังหักส�ำรองตามกฎหมาย โดยให้พิจารณาฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงาน ของบริษัท เป็นส่วนประกอบในการพิจารณาด้วย บริษัทย่อยมีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ตำ�่ กว่า ร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการหลังหัก ส�ำรองตามกฎหมาย โดยให้พจิ ารณาฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปัจจัยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการบริหารงานของบริษทั เป็นส่วนประกอบในการพิจารณาด้วย ประวัติการจ่ายเงินปันผลตามรอบปีผลประกอบการของบริษัทมีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ

อัตราก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)1/ อัตราเงินปันผลต่อหุ้น (บาท)2/ อัตราการจ่ายเงินปันผล (%)3/ หมายเหตุ

2554

2555 (ปรับปรุง)

0.0700 0.04 57.16

0.06976 0.033 91.83

2556

(0.02679) -

2557

2558

0.06353 0.044 63.25

0.04752 0.03 86.14

1/ อัตราก�ำไรสุทธิต่อหุ้น อ้างอิงมาจากก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี 2/ อัตราเงินปันผลต่อหุ้น อ้างอิงมาจากอัตราเงินปันผลต่อหุ้นตามรอบปีผลประกอบการที่บริษัทแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3/ อัตราการจ่ายเงินปันผล ค�ำนวณมาจากเงินปันผลจ่ายตามรอบปีผลประกอบการหารด้วยก�ำไรสุทธิ


อายุ (ปี)

คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร

1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ 68 ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ 0.171% Audit Committee Program (ACP) ประธานกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบริหาร 13/2006 ; Director Accreditation กรรมการผู้มีอ�ำนาจ Program (DAP) 52/2006 ; ลงนามผูกพันบริษัท สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) 2 นายชายนิด อรรถญาณสกุล 61 นิติศาสตร์บัณฑิต 5.664% ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนติบัณฑิตไทย ส�ำนักอบรมศึกษา รองประธาน กฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา คณะกรรมการบริหาร กรรมการผู้มีอ�ำนาจ Director Accreditation Program ลงนามผูกพันบริษัท (DAP) 114/2015 ในวันที่ 26 มกราคม 2558 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ

ตำ�แหน่ง

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท น�ำ้ ตาลครบุรี จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

ปี 2528 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) รองประธานคณะกรรมการบริหาร บริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด / ปี 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด/ ปี 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2545 - ส.ค. 2557 กรรมการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด / ปี 2542 - ปัจจุบัน กรรมการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ปี 2538 - ต.ค. 2553 กรรมการ บริษทั ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ [เดิมชือ่ บริษทั รัตนการเคหะ จ�ำกัด (มหาชน)]

ปี 2535 - ปัจจุบัน ปี 2551 - ปัจจุบัน ปี 2553 - ปัจจุบัน ปี 2554 - ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

รายละเอียดของกรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูม้ อี �ำ นาจควบคุม และเลขานุการบริษทั

89


1/

61

อายุ (ปี)

4 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ 66 กรรมการ, กรรมการบริหาร ที่ปรึกษาประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้มีอ�ำนาจ ลงนามผูกพันบริษัท

3 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการที่ไม่ได้เป็น ผู้บริหาร กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

1.420%

MINI MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0.000 % บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Director Certification Program (DCP)74/2006, Director Accreditation Program (DAP) 30/2004; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

ปริญญาโท กฎหมาย มหาวิทยาลัยยอร์ช วอชิงตัน, USA นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Director Accreditation Program (DAP)77/2009; สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร ตำ�แหน่ง

ปี 2547 - มิ.ย. 2557 กรรมการสรรหาฯ/กรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนฯ ปี 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ/กรรมการบริหาร ที่ปรึกษาประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ปี 2539 - ปี 2553 กรรมการ/กรรมการบริหาร/ รองประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ

มิ.ย. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน1/ ปี 2547 - ปัจจุบัน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร (Non Executive Director) ปี 2529 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์วิทยา จ�ำกัด/กฎหมาย บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

90 รายงานประจำ�ปี 2558


5 นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา3/ กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

66

อายุ (ปี)

นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เนติบัณฑิตไทย ส�ำนักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา Director Accreditation Program (DAP) 114/2015; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

คุณวุฒิทางการศึกษา

0.000 %

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร ตำ�แหน่ง

ปัจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบ3/ ปี 2552 - พ.ค. 2558 กรรมการ/กรรมการอิสระ/ ประธานคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง2/ ปี 2553 - มิ.ย. 2557 กรรมการสรรหาฯ ปี 2539 - ปี 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปี 2537 - ปี 2539 ผู้จัดการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายสินเชื่อพาณิชยกรรม และฝ่ายสินเชื่อก่อสร้าง ปี 2535 - ปี 2537 ผูจ้ ดั การฝ่ายสินเชือ่ พาณิชยกรรม ปี 2534 - ปี 2535 ผู้จัดการฝ่ายสินเชื่อ อุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ปี 2533 - ปี 2534 ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน)

ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

91


อายุ (ปี)

คุณวุฒิทางการศึกษา

6 นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒั นา 1/ 54 Master of Science in Finance, 0.000 % กรรมการ/ University of Houston - Clear Lake, USA. กรรมการบริหาร/ วิทยาศาสตร์บัณฑิต เศรษฐศาสตร์รักษาการประธานเจ้าหน้าที่ บริหารธุรกิจการเงิน กลุ่มสนับสนุน/ กรรมการผู้มีอ�ำนาจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ลงนามผูกพันบริษัท/ Director Certification Program (DCP) 126/2009 ; สมาคมส่งเสริม ประธานเจ้าหน้าที่ สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กลุ่มการเงิน

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร

กรรมการ/กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน1/ กรรมการ/กรรมการบริหารและ เลขานุการคณะกรรมการบริหาร / รักษาการประธานเจ้าหน้าที่ กลุม่ สนับสนุน/ประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มการเงิน กรรมการ/กรรมการบริหารและ เลขานุการคณะกรรมการ บริหาร/ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้อ�ำนวยการสายงาน ลงทุนสัมพันธ์และสารสนเทศ หัวหน้าฝ่ายวิจัย ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการตลาดรายย่อย

ตำ�แหน่ง

ปี 2541 - ปี 2542 ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

ปี 2543 - ปี 2546 ปี 2542 - ปี 2543

ปี 2546 - ปี 2550

ปี 2551 - ปี 2553

ปี 2554 - ปัจจุบัน

ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

บริษัทหลักทรัพย์ บีฟิท จ�ำกัด/หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บีโอเอ จ�ำกัด/หลักทรัพย์ ธนาคาร เอเชีย จ�ำกัด (มหาชน) / สถาบันการเงิน

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

92 รายงานประจำ�ปี 2558


62

อายุ (ปี)

คุณวุฒิทางการศึกษา

นิตศิ าสตร์บณั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.806% เนติบัณฑิตไทย ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมาย ธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Director Certification Program (DCP) 69/2006, Director Accreditation Program (DAP) 43/2005 Finance for Non-Finance Director ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) 0.000% 8 นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ 55 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการบริหาร วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต ประธานเจ้าหน้าที่ 1/ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มปฏิบัติการ

7 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เลขานุการบริษัท

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร

กรรมการบริหาร

บริษทั บ้านแพนเอ็นจิเนียริง่ แอนด์โฮลดิง้ จ�ำกัด บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ปี 2536

ปี 2537 - ปี 2540 กรรมการบริหาร

ปี 2557- ปัจจุบัน กรรมการบริหาร/ประธาน เจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 1 ปี 2554 - ปี 2557 กรรมการบริหาร/ รักษาการประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มปฏิบัติการ 1/รองประธาน เจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 1 ปี 2546 - ปี 2553 ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ ปี 2538 - ปี 2546 กรรมการผู้จัดการ ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) คณะบุคคล ส�ำนักงานกฎหมายธรรมาทิตย์ / กฎหมาย บริษัทเงินทุน ทรัพย์ธำ� รง จ�ำกัด / สถาบันการเงิน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ศรีนคร จ�ำกัด / สถาบันการเงิน

ตำ�แหน่ง

ปี 2541 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท ปี 2535 - ปัจจุบัน หุ้นส่วนผูจ้ ัดการ

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

93


9 นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มปฏิบัติการ 2/

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

49

อายุ (ปี)

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต 0.000 % สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร วิทยาเขตลาดกระบัง

คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร ตำ�แหน่ง

ปี 2557- ปัจจุบัน กรรมการบริหาร/ประธาน เจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 2 ปี 2553 - ปี 2557 กรรมการบริหาร/รักษาการ ประธานเจ้าหน้าทีก่ ลุม่ ปฏิบตั ิ การ 2/รองประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มปฏิบัติการ 2 ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ/ประธาน เจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 2 ปี 2553 - ปี 2557 กรรมการ/รักษาการประธาน เจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 2/ รองประธานเจ้าหน้าที่ กลุม่ ปฏิบตั กิ าร 2 ปี 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ/รักษาการประธาน เจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 2/ รองประธานเจ้าหน้าที่ กลุม่ ปฏิบตั กิ าร 2 ปี 2552 - ปี 2553 กรรมการบริหาร/ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ปี 2551 - ปี 2552 ผู้อ�ำนวยการสายงานวิจัย และพัฒนา ปี 2557 - ปัจจุบัน ผู้ก�ำกับดูแล

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

บริษทั ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชัน่ กรุงเทพ จ�ำกัด

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด

บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด

บริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

94 รายงานประจำ�ปี 2558


อายุ (ปี)

คุณวุฒิทางการศึกษา

11 นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา 52 รองประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มการเงิน

0.000%

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 0.050 % มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

10 นายวงศกรณ์ ประสิทธิว์ ภิ าต 55 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการบริหาร สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต ประธานเจ้าหน้าที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มพัฒนาธุรกิจ/ หลักสูตรบริหารอสังหาริมทรัพย์ (RECU รุ่นที่ 10) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร ตำ�แหน่ง

ปี 2557 - ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าทีก่ ลุม่ การเงิน ปี 2553 - ปี 2557 ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าที่ กลุม่ การเงิน ปี 2556 - ปี 2557 กรรมการบริษัท ปี 2548 - ปี 2552 ผู้อ�ำนวยการสายงานบัญชี

ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร/ประธาน เจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาธุรกิจ ปี 2554 - ปี 2557 กรรมการบริหาร/รักษาการ ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนา ธุรกิจ/รองประธานเจ้าหน้าที่ กลุ่มพัฒนาธุรกิจ ปี 2551 - ปี 2553 ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ ปี 2536 - ปี 2550 ผู้อ�ำนวยการสายงานออกแบบ ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

95


อายุ (ปี)

12 ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ 43 สุวรรณสวัสดิ์2/ กรรมการ กรรมการอิสระ

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

ปริญญาเอก วิศวกรรมโยธาและ 0.000 % สิ่งแวดล้อม Massachusetts Institute of Technology (MIT), USA ปริญญาโท นโยบายเทคโนโลยี Massachusetts Institute of Technology (MIT), USA. ปริญญาโท วิศวกรรมโยธาและ สิ่งแวดล้อม The University of Wisconsin-Madison, USA. วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สถาบัน เทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Audit Committee Program (ACP) 27/2009 ; Director Certification Program (DCP) 105/2008 ; สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้าน พัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมการลงทุน (รุ่น 1) สถาบันธุรกิจและอุตสาหกรรม หลักสูตรกลยุทธ์การบริหารธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ (รุ่น 43) หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (รุ่น 13) หลักสูตรธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนา อุดมศึกษา (รุน่ 9) สถาบันคลังสมองของชาติ Executive Development Program (รุ่น 11) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร ตำ�แหน่ง

ปี 2553 - ปี 2557 ปี 2552 - ปี 2553

ปี 2555 - ปี 2556

ปี 2554 - ปัจจุบัน

ปัจจุบัน

นายกวิศกรรมสถาน แห่งประเทศไทย กรรมการนโยบายส่งเสริม การลงทุน ประธานกรรมการ การเคหะแห่งชาติ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประธานคณะกรรมการติดตาม การด�ำเนินงานโครงการระบบ ขนส่งทางรถไฟ Airport Rail Link

ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง2/ ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการอิสระ อธิการบดี ปัจจุบัน

ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร บริษัทเดินรถไฟฟ้า (Airport Rail Link)

การเคหะแห่งชาติ

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

96 รายงานประจำ�ปี 2558


อายุ (ปี)

70

65

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

13 นายเอกมล คีรีวัฒน์

14 นายบรรลือ ฉันทาดิศัย

0.000 % ปริญญาโท MBA University of Chicago Business School, U.S.A. ปริญญาตรี B.Sc., Massachusetts Institute of Technology, U.S.A. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 15 Director Certification Program (DCP) ปี 2544 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ปริญญาโท การเงิน 0.000 % มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยดาร์ทเมาท์ สหรัฐอเมริกา Director Certificate Program (DCP) ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร ตำ�แหน่ง

รองผู้ว่าการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ

ปี 2553-เม.ย.2558 กรรมการอิสระและประธาน กรรมการตรวจสอบ

ปี 2533 - 2538 ปัจจุบัน ปัจจุบัน

ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ปี 2548 - ม.ค.58 ประธานกรรมการและ กรรมการอิสระ ปี 2551 - 2554 ประธานกรรมการการและ กรรมการอิสระ ปี 2540 - 2543 กรรมการ ปี 2535 - 2538 เลขาธิการ

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ธนาคารแห่งประเทศไทย บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เครดิตฟองซิเอร์ ลินน์ ฟิลลิปส์ มอร์ทเก็จ จ�ำกัด บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทหลักทรัพย์ ซีมิโก้ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เค.ซี. พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

97


คุณวุฒิทางการศึกษา

61 ปริญญาโท นิติศาสตร์มหาบัณฑิต 0.000 % จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราช อาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 399 หลักสูตรนักบริหารระดับสูง: ผู้น�ำที่มี วิสยั ทัศน์และคุณธรรม ส�ำนักงาน ก.พ. Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 134/2553 หลักสูตรการบริหารการจัดการด้าน ความมั่นคงขั้นสูง (สวปอ.มส.) รุ่นที่ 2 สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ในพระบรมราชูปถัมภ์ หลักสูตรนักบริหารระดับสูง “ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม” รุ่นที่ 1

อายุ (ปี) ตำ�แหน่ง

กรรมการอิสระ ปัจจุบัน ที่ปรึกษากฎหมาย ปัจจุบัน ปี 2553-เม.ย. 2558 รองกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ สายกฎหมาย

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด(มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

หมายเหตุ : 1/ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2558 วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 มีมติอนุมัติให้มีการจัดสรรรายชื่อกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยที่ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัท โดยได้จัดสรรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ชุดใหม่โดยมีนายวิทยา เนติวิวัฒน์ และนางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 เป็นต้นไป 2/ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2558 วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 มีมติอนุมัติให้มีการจัดสรรรายชื่อกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยที่ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัท โดยได้จัดสรรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ชุดใหม่โดยมีศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ เป็นประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง แทนนางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 เป็นต้นไป 3/ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2558 วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 มีมติอนุมัติให้มีการจัดสรรรายชื่อกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยที่ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัท โดยได้จัดสรรคณะกรรมการตรวจสอบ ชุดใหม่โดยมี นายบรรลือ ฉันทาดิศัย, นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา และนายมานิตย์ สุธาพร หน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท (เปิดเผยไว้ในส่วน-การจัดการและการก�ำกับดูแลกิจการ หัวข้อที่ 3 เลขานุการบริษัท)

15 นายมานิตย์ สุธาพร

ชื่อ - สกุล / ตำ�แหน่ง

สัดส่วน ความสัมพันธ์ การถือหุ้น ทางครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง (%) ผู้บริหาร

98 รายงานประจำ�ปี 2558


หมายเหตุ : PF BD CD Center Point P-PREFAB PPI KA Dara x xx xxx *

X, XXX /, //, /// /, //, /// / /, //, /// *, / * @ /,//, /// //, /// /,//, /// //, /// *, / * * * ///

PF

บริษัท

/

/ /

/ /

BD

/

EP

/

/

R9

/ /

/

CD

หมายถึง บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำกัด หมายถึง บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด หมายถึง บริษัท เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด หมายถึง บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด หมายถึง บริษัท เพอร์เฟค ฟรีแฟบ จ�ำกัด หมายถึง Property Perfect International Pte.Ltd. หมายถึง Kabushiki Kaisha Kiroro Associates Co.,Ltd. หมายถึง บริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จ�ำกัด หมายถึง ประธานกรรมการ หมายถึง รองประธานกรรมการ หมายถึง ประธานกรรมการบริหาร หมายถึง กรรมการอิสระ

1. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ 2. นายชายนิด อรรถญาณสกุล 3. นายไพรัตน์ เสนาจักร์ 4. นายวิทยา เนติวิวัฒน์ 5. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา 6. นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา 7. นายกฤช ฟอลเล็ต 8. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี 9. นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ 10. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ 11. นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต 12. นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา 13. ศาสตราจารย์ ดร.สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์ 14. นายเอกมล คีรีวัฒน์ 15. นายบรรลือ ฉันทาดิศัย 16. นายมานิตย์ สุธาพร 17. นางสาววิลาวัณย์ เหลืองนาคทองดี

รายชื่อกรรมการ

รายชื่อบริษัท

/

X /

WR

/

/

RM

/

/

/ /

/ /

/ x

P-PREFAB PSC PPI KRH KA

/

KH

/

/

/

/

TPROP GRAND

EP หมายถึง บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด R9 หมายถึง บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด WR หมายถึง บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน) RM หมายถึง บริษัท รามอินทรา มอลล์ จ�ำกัด (เดิมชื่อ บริษัท มารียา สตัฟฟ์ จ�ำกัด) PSC หมายถึง บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด KRH หมายถึง Kiroro Resort Holdings Co., Ltd. (เดิมชื่อ Share Group Co.,Ltd.) KH หมายถึง Kabushiki Kaisha Kiroro Hotels Co., Ltd. / หมายถึง กรรมการ // หมายถึง กรรมการบริหาร /// หมายถึง ผู้บริหาร @ หมายถึง เลขานุการบริษัท.

/ /

/

/

Center Point

บริษัทย่อย

รายละเอียดการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) ในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

/

/

/

/

Dara

99


1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21.

ดร.ธวัชชัย นาคะตะ นายชายนิด อรรถญาณสกุล นายพิชัย รัตตกุล นายไพรัตน์ เสนาจักร์ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา นายสุเมธ สุวัจนกรณ์ นายนันทชาติ กลีบพิพัฒน์ นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร นายเจษฎ์ เจษฎ์ปิยะวงศ์ นายฮาจิเมะ โมริ นายเออิโสะ โมริตะ นายโยชิโระ อิโตะ นายกัมพล ตติยกวี นายเชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ นายไชยกร บุญลพาภัธร์ นายประสงค์ วรารัตนกุล

รายชื่อกรรมการ

รายชื่อบริษัท

/

/ /

/ /

EP

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

/ / /

/ /

BD

/

/

R9

/

/

/ /

/

CD

/ * , XXX * , /// /

/

X /

WR

บริษัทย่อย

/ / / /

/ /

/

/

/

/ /

/

/

/

/ / X

/ / / /

/ / X

/

/ X

/

/ /

/ /

/ /

/

Center Point RM U&I P-PREFAB PSC Uniloft PPI KRH KA KH TPROP PED METRO GRAND

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษทั ย่อย

/

/ /

/

Dara

100 รายงานประจำ�ปี 2558


22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47.

นายพรชัย เกตุเล็ก นายสรรเพชร สุขเกษม นายสมบัติ บวรสมบัติ นายวรศักดิ์ จักราปิยะนันท์ นายวิชยา วัฒนานุกิจ นายภูวิทย์ แพงสุข นายคงศักดิ์ แก้วสุริยธ�ำรง นายเจมส์ สตีเวนสัน วอร์บอยส์ นายศรัณยู อรรถญาณสกุล นายณัฐพล สืบอ�่ำ นายปฐมภพ อินทร์บ�ำรุง นายเอียน แม็คคินซี่ นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์ นายรุ่งโรจน์ สิงหถนัด นายวีระยุค พันธุเพชร นายสมศักดิ์ โตรักษา นางสาววิลาวัณย์ เหลืองนาคทองดี ดร.พิจิตต รัตตกุล นายลิขิต สมนวลตาด นายวัชรกิติ วัชโรทัย นายวิชัย ทองแตง นายสุรเดช นฤหล้า นายอมรินทร์ นฤหล้า นางพรศิริ มโนหาญ นายพรชัย กิตติปัญญางาม นายวัฒนา สุทธิพินิจธรรม

รายชื่อกรรมการ

รายชื่อบริษัท

EP

BD

/ /

R9

/

CD

/ /

WR

/

/

/ /

/ / / / / / / / /

/ /

/

/

/ / / / / / /

/ /

Center Point RM U&I P-PREFAB PSC Uniloft PPI KRH KA KH TPROP PED METRO GRAND

บริษัทย่อย Dara

101


นายอมฤทธิ์ ปั้นศิริ นายพิพัฒน์ นิตยโกศล Mr.Krishnaveni d/o Sandanam นายแสงชัย อภิชาติธนพัฒน์ นายสิทธิศักดิ์ อภิชาติธนพัฒน์ นายพรทิพา พฤติศาสตร์

EP

BD

R9

CD

WR

/ /

/

Center Point RM U&I P-PREFAB PSC Uniloft PPI KRH KA KH TPROP PED METRO GRAND

บริษัทย่อย

หมายเหตุ : EP หมายถึง บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด Uniloft หมายถึง บริษัท ยูนิลอฟท์เซอร์วิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด Center Point หมายถึง บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด R 9 หมายถึง บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด KRH หมายถึง Kiroro Resort Holdings Co., Ltd. (เดิมชื่อ Share Group Co., Ltd.) U&I หมายถึง บริษัท ยู แอนด์ ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จ�ำกัด WR หมายถึง บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน) PSC หมายถึง บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด RM หมายถึง บริษัท รามอินทรา มอลล์ จ�ำกัด (เดิม ชื่อ บริษัท มารียา สตัฟฟ์ จ�ำกัด) BD หมายถึง บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด PPI หมายถึง Property Perfect International Pte. Ltd. P-PREFAB หมายถึง บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด TPROP หมายถึง บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) GRAND หมายถึง บริษัท แกรนด์ เอสเตท โฮเทลล์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) CD หมายถึง บริษัท เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด PED หมายถึง บริษัท แปซิฟิค เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด KA หมายถึง Kabushiki Kaisha Kiroro Associates Co.,Ltd. METRO หมายถึง บริษัท เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด KH หมายถึง Kabushiki Kiroro Hotels co.,Ltd. Dara หมายถึง ดาราฮาร์เบอร์ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) X หมายถึง ประธานกรรมการ / หมายถึง กรรมการ * หมายถึง กรรมการอิสระ XX หมายถึง ประธานกรรมการบริหาร // หมายถึง กรรมการบริหาร XXX หมายถึง ประธานกรรมการตรวจสอบ /// หมายถึง กรรมการตรวจสอบ

48. 49. 50. 51. 52. 53.

รายชื่อกรรมการ

รายชื่อบริษัท

/ / /

Dara

102 รายงานประจำ�ปี 2558


103 การกำ�กับดูแลกิจการ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเพิ่มความโปร่งใส เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของบริษัท เพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเพิ่มคุณค่าให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาวภายใต้จริยธรรม ทีด่ ี รวมทัง้ ยังค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ และสังคมโดยรวม บริษทั ได้นำ� แนวทางการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั จดทะเบียนในประเทศไทย ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งสอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการของ OECD (OECD Principles of Corporate Governance) มาใช้เป็นหลักในการด�ำเนินงาน โดยมีองค์ประกอบในการพิจารณา คือ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทตระหนักและให้ความส�ำคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น ซึ่งสิทธิพื้นฐานที่ผู้ถือหุ้นได้รับโดยเท่าเทียมตามที่ก�ำหนดไว้ใน ข้อบังคับของบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าประชุม และออกเสียงลงคะแนนแทน สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนเพื่อแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการเป็นรายบุคคล สิทธิในการออกเสียง ลงคะแนน ในกิจการต่างๆ ที่ส�ำคัญ สิทธิในการรับเงินปันผล สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและซักถามในการประชุมผู้ถือหุ้น และสิทธิ ที่จะได้รับสารสนเทศอย่างเพียงพอและทันเวลา คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง ภายในระยะเวลาไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบบัญชี และกรณีมคี วามจ�ำเป็นต้องเสนอวาระเป็นพิเศษในเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ เกีย่ วกับกฎหมาย ข้อก�ำหนดทีบ่ งั คับ ที่ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นต่อไป ในการจัดการประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยบริษัทจะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมที่มี รายละเอียดวาระการประชุม พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ หนังสือมอบฉันทะตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด และรายชือ่ ของกรรมการอิสระ พร้อมทั้งค�ำแนะน�ำในการมอบฉันทะ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกที่จะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ ประชุมให้ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลทันเวลาและมีเวลาเพียงพอในการ พิจารณาและตัดสินใจลงคะแนนในวันประชุม หรือท�ำการมอบฉันทะให้กรรมการอิสระเป็นผู้เข้าร่วมประชุมแทน และยังได้ประกาศ ลงหนังสือพิมพ์รายวันติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วันและก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน นอกจากนี้ บริษัทยังได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ ก�ำหนดการจัดประชุมผู้ถือหุ้น และวาระการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษัทก่อนการประชุม 30 วัน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นหรือ นักลงทุนสามารถส่งค�ำถามล่วงหน้าได้ก่อนวันประชุม ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ นัน้ คณะกรรมการบริษทั ได้อำ� นวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเต็มที่ และ ละเว้นการกระท�ำใดๆ ที่เป็นการจ�ำกัดโอกาสในการเข้าประชุมของผู้ถือหุ้น และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามและแสดงความคิดเห็น ในการประชุมอย่างอิสระ หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทให้ความส�ำคัญในการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยคณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการโดย ค�ำนึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น และปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งได้ด�ำเนินการต่างๆ ดังนี้ จัดให้มกี ระบวนการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพเป็นไปตามข้อบังคับของบริษทั และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและตัง้ ค�ำถามในทีป่ ระชุมโดยจัดสรรเวลาให้อย่าง เพียงพอ จัดให้มกี ารพิจารณาและลงมติเลือกตัง้ กรรมการเป็นรายบุคคล และพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ รวมทัง้ แต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี และอนุมัติค่าสอบบัญชี และวาระอื่นตามที่กำ� หนดในหนังสือเชิญประชุม


104

รายงานประจำ�ปี 2558

จัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงส�ำหรับทุกวาระ ก�ำหนดให้ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารมิท�ำการเพิ่มวาระในที่ประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการพิจารณาวาระต่างๆ อย่างเพียงพอและเหมาะสม ส�ำหรับผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ หรือบุคคลใดๆ เข้าประชุมและ ลงคะแนนเสียงแทน โดยบริษัทได้จัดเตรียมหนังสือมอบฉันทะในรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนดทิศทางการลงคะแนน เสียงได้ มีการบันทึกรายงานการประชุมอย่างครบถ้วน ซึง่ ประกอบด้วยข้อมูลสาระส�ำคัญ ได้แก่ มติทปี่ ระชุมและผลการลงคะแนนเสียง ค�ำถาม ค�ำชี้แจงและความคิดเห็นของที่ประชุม ก�ำหนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ของกรรมการและผู้บริหารโดยการแจ้งให้ทราบถึงบทบาท ภาระหน้าทีท่ ตี่ อ้ งรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะซึง่ ถือหลักทรัพย์ของบริษทั และรับทราบการจัดท�ำรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ ต่อคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ปี 2535 ภายใน 3 วันท�ำการหลังจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ ก�ำหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยได้ถือ ปฏิบัติตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ใช้บังคับการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างเคร่งครัด เพื่อประโยชน์ ต่อผูถ้ อื หุน้ โดยรวมอย่าง เท่าเทียมกัน นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ รับทราบรายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกันและรายการทีม่ คี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึง่ ได้มกี ารพิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ และได้ปฏิบตั ิ ตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนด หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษทั ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ภายนอก ได้แก่ ลูกค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ (ผู้จ�ำหน่ายสินค้าหรือผู้รับเหมาก่อสร้าง) ภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสังคม และสิ่งแวดล้อม โดยบริษัทได้พยายามด�ำเนินนโยบาย เพื่อให้เกิดความยุติธรรมและเหมาะสมกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนี้ (ทั้งนี้ รายละเอียดเพิ่มเติมจะอยู่ในส่วนของ ความรับผิดชอบต่อสังคม Corporate Social Responsibilities : CSR ) ผู้ถือหุ้น บริษัทจะดูแลรักษาการลงทุนของผู้ถือหุ้นให้ได้ผลตอบแทนอย่างเหมาะสมและยุติธรรม ตลอดจนมุ่งเน้นปรับปรุงและพัฒนาระบบงาน ของบริษทั เพือ่ ความเจริญเติบโตและยัง่ ยืนของบริษทั รวมถึงบริษทั ค�ำนึงถึงความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกราย อย่างถูกต้องครบถ้วนทันเวลา โดยผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การแจ้งข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และการแจ้งข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท การประกาศทางหนังสือพิมพ์ การจัดท�ำ Press Release หรือการจัดส่งจดหมายเป็น ลายลักษณ์อักษร พนักงานบริษัท บริษัทได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของพนักงานซึ่งเป็นพลังขับเคลื่อนที่ส�ำคัญขององค์กรในการประกอบธุรกิจ จึงได้มีความมุ่งมั่นที่จะ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทกับพนักงานให้เกิดความผูกพัน ความสามัคคี ผ่านกิจกรรมต่างๆ มีการก�ำหนดนโยบาย ในการพัฒนาพนักงาน การบริหารผลตอบแทนและสวัสดิการอย่างเป็นรูปธรรม ซึง่ บริษทั มีการบริหารค่าตอบแทนอย่างเป็นธรรมโดยได้ แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเพื่อท�ำหน้าที่พิจารณาก�ำหนดการจ่ายผลตอบแทน การพิจารณาการปรับเลื่อนต�ำแหน่งให้ พนักงานอย่างเหมาะสมตามความสามารถของแต่ละบุคคลและเป็นธรรมเป็นไปตามแผนเส้นทางความก้าวหน้าสายอาชีพ (Career path) และให้การดูแลสวัสดิการพนักงานและสิทธิที่ควรพึงได้รับอย่างชัดเจนเพื่อให้บุคลากรมีความสุขทั้งทางร่างกายและจิตใจอันจะ ส่งผลให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพ


105 ลูกค้า บริษัทให้ความส�ำคัญในการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและบริการที่มีมาตรฐานเพื่อความพึงพอใจของลูกค้า นอกจากนี้ยังให้ความส�ำคัญ เรือ่ งจรรยาบรรณในการปฏิบตั ิ โดยเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า ให้บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีมาตรฐาน รวมทัง้ การแก้ปญั หาทีล่ กู ค้า ร้องเรียนหรือให้ข้อเสนอแนะต่อบริษัทโดยเร็วที่สุด รวมถึงการให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการกับลูกค้าที่ถูกต้องไม่กล่าวอ้าง เกินความเป็นจริง และความสะดวกในการติดต่อหรือร้องเรียนเกี่ยวกับคุณภาพสินค้า คู่แข่ง บริษทั ปฏิบตั ติ ามกรอบกติกาของการแข่งขันโดยยึดมัน่ การด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรมและโปร่งใสภายใต้กรอบของกฏหมาย โดย สนับสนุนการส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและไม่รว่ มท�ำสัญญาการค้าหรือข้อตกลงทีท่ ำ� ให้เกิดผลให้เกิดการแข่งขันทีไ่ ม่เป็นธรรม หรือผูกขาดทางการค้า และตั้งอยู่บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมต่อทั้งสองฝ่าย รวมถึงไม่แสวงหาหรือละเมิดข้อมูล ที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสมเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท และไม่ท ําลาย ชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางเสื่อมเสียโดยปราศจากข้อมูลความจริง เจ้าหนี้ บริษทั ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไข สัญญา ข้อตกลงทีม่ ตี อ่ เจ้าหนีส้ ถาบันการเงิน และผูถ้ อื หุน้ กูท้ กุ รายอย่างเคร่งครัด มีการรายงานฐานะทางการเงิน ของบริษทั แก่เจ้าหนี้ อย่างถูกต้อง ตรงเวลา มีความรับผิดชอบ โปร่งใส ไม่ปกปิดข้อมูลหรือข้อเท็จจริงอันจะท�ำให้เจ้าหนีเ้ กิดความเสียหาย บริษัทได้ออกหุ้นกู้ตามข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ปฏิบัติตามนโยบายและมติของที่ประชุม ผู้ถือหุ้นอย่างเคร่งครัด หากไม่สามารถปฏิบัติตามข้อผูกพันในสัญญาจะรีบแจ้งหรือเปิดเผยข้อมูลเพื่อพิจารณาร่วมกันในการแก้ไข ปัญหาและป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ผู้จ�ำหน่ายสินค้า การจัดหาผู้จ�ำหน่ายสินค้า บริษัทจะแจ้งกติกา โอกาส เวลา ข้อมูล และตัวเลขที่ชัดเจนถูกต้อง และถือปฏิบัติต่อผู้จ�ำหน่ายสินค้า ทีเ่ ข้าร่วมประกวดราคาอย่างทัดเทียมกัน ด�ำเนินการจัดหาอย่างโปร่งใส ยุตธิ รรม และซือ่ สัตย์ และไม่ให้มอี ทิ ธิพลใดๆ ที่ไม่ชอบแทรกแซง ได้ รวมถึงการรักษาข้อมูลต่างๆ ที่ได้รบั จากผูเ้ สนอราคา หรือผูร้ ว่ มประกวดราคาแต่ละรายให้เป็นความลับ ไม่เปิดเผยตัวเลข ราคาหรือ ข้อมูลทางเทคนิคที่ได้รบั จากรายใดรายหนึง่ ให้กบั รายอืน่ เพือ่ หวังผลประโยชน์ในระยะสัน้ และระมัดระวังผูท้ ที่ ำ� ตัวเป็นนายหน้าหาข้อมูล ด�ำเนินการจัดหา โดยมีการด�ำเนินงานภายใต้ข้อก�ำหนด ISO 9001:2008 เช่น วิธีการคัดเลือกผู้จ�ำหน่ายสินค้า วิธีการสอบราคา วิธีการพิเศษ และการประเมินผู้จ�ำหน่ายสินค้า ผู้รับเหมา การจัดหาผู้รับเหมาบริษัทจะด�ำเนินการคัดเลือกผู้รับเหมาที่มีคุณภาพผลงานถึงเกณฑ์ที่บริษัทก�ำหนด และมีผลงานที่ผ่านมาเป็นที่ ยอมรับโดยทัว่ ไป ตลอดจนมีศกั ยภาพด้านการเงิน ด�ำเนินการจัดหาอย่างโปร่งใส ยุตธิ รรม และซือ่ สัตย์ และไม่ให้มอี ทิ ธิพลใดๆ ที่ไม่ชอบ แทรกแซงได้ โดยผู้รับเหมาทุกรายต้องผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการจัดหากลางของบริษัท บริษัทจะว่าจ้างผู้รับเหมาในราคาที่ เป็นธรรม โดยมีการด�ำเนินงานภายใต้ขอ้ ก�ำหนด ISO 9001:2008 เช่น วิธกี ารคัดเลือกผูร้ บั เหมา วิธกี ารประกวดราคา การจัดท�ำราคากลาง และการประเมินผู้รับเหมา หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษทั ให้ความส�ำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส โดยมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอแก่ผเู้ กีย่ วข้องทุกฝ่าย พร้อมทั้งดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ครบถ้วนและทันเวลา และทุกฝ่ายสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน ส�ำหรับการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินที่สำ� คัญนั้น บริษัทได้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอในงบการเงิน โดยการเปิดเผยเป็นไปตาม หลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ และเผยแพร่ผา่ นระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริษทั ซึง่ งบการเงิน ดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบ/สอบทานและให้ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และผ่านความเห็นชอบจากคณะ กรรมการตรวจสอบก่อนเปิดเผยต่อผูถ้ อื หุน้ โดยคณะกรรมการบริษทั ได้เปิดเผยรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงินในรายงานประจ�ำปีด้วย


106

รายงานประจำ�ปี 2558

ในการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญของบริษัท ทั้งรายงานทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน บริษัทได้เผยแพร่ตามช่องทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และยังได้เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษทั เพือ่ ให้ผสู้ นใจทัว่ ไปได้รบั ทราบข้อมูลของบริษทั ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนทั่วถึง เท่าเทียม โปร่งใส และทันการณ์ ทั้งนี้ บริษัทได้จัดตั้งฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และสารสนเทศเพื่อท�ำหน้าที่ติดต่อสื่อสาร และเผยแพร่ขอ้ มูลของบริษทั ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ได้อย่างถูกต้อง เท่าเทียม และทันเวลา โดยผู้ลงทุนสามารถติดต่อขอทราบข้อมูลบริษัทได้ที่ฝ่ายลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0-2247-7500 โทรสาร 0-2247-7399 อีเมล์ ir@pf.co.th หรือที่ www.pf.co.th/ir คณะกรรมการบริษัทได้เปิดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย รวมทั้งจ�ำนวนครั้งที่กรรมการ แต่ละท่านเข้าร่วมประชุมไว้ภายใต้หัวข้อ “การจัดการ” และมีการเปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ไว้ภายใต้หัวข้อ “ค่าตอบแทนกรรมการ” บริษัทได้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่เกี่ยวกับการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษทั จดทะเบียน หรือการได้มาและจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ของบริษทั จดทะเบียน แล้วแต่กรณี รวมทัง้ ก�ำหนดนโยบายและวิธกี าร ดูแลไม่ให้ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องน�ำข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน ทัง้ ในระดับบริหารและระดับปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการก�ำหนดการด�ำเนินการ ของผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูบ้ ริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน ส�ำหรับการตรวจสอบภายในได้มกี ารจัดตัง้ ส�ำนักตรวจสอบภายในขึน้ เฉพาะ เพือ่ รับผิดชอบช่วยตรวจสอบการปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพ ทัง้ นี้ หน่วยงานตรวจสอบภายในจะรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อ คณะกรรมการตรวจสอบ หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างคณะกรรมการ บริษัทก�ำหนดให้มีกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�ำนวนรวมของคณะกรรมการบริษัท แต่ไม่น้อยกว่า 3 คน โดยปัจจุบันบริษัท มีคณะกรรมการที่มีประสบการณ์และมีความรู้ ความสามารถจ�ำนวน 12 คน ประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (Executive Director) จ�ำนวน 6 คน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร (Non-Executive Director) จ�ำนวน 1 คน กรรมการอิสระ (Independent Director) จ�ำนวน 5 คน ทั้งนี้ ประธานกรรมการมิได้เป็นบุคคลเดียวกันกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายก�ำกับ ดูแล และการบริหารงานประจ�ำ คณะกรรมการของบริษัททุกคน มีความเป็นอิสระอย่างเต็มที่ ในการแสดงความคิดเห็น บริษัทให้ความส�ำคัญกับความเห็นของ คณะกรรมการอิสระมาก ในกรณีทกี่ รรมการอิสระมีขอ้ ท้วงติงหรือไม่เห็นด้วยในเรือ่ งใด จะต้องน�ำเรือ่ งกลับไปพิจารณาทบทวนอีกครัง้ หนึง่ เพื่อหาข้อสรุปที่ชัดเจนโปร่งใสในเรื่องนั้นๆ คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดคุณสมบัติของบุคคลที่จะด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการอิสระตามกรอบขั้นต�่ำของนิยามกรรมการอิสระ ที่ประกาศโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่ง ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอำ� นาจควบคุมของ ผูข้ ออนุญาต เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวันทีย่ นื่ ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ทัง้ นี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษา ของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของผู้ขออนุญาต


107 3. ไม่เป็นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็น บิดามารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตรของผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็นผูบ้ ริหาร หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ขออนุญาตหรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยบริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุม ของบริษทั ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาต ต่อส�ำนักงาน 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษทั และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมหรือหุน้ ส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูข้ ออนุญาตสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่ง ได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่ จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั หรือบริษทั ย่อยหรือไม่เป็นหุน้ ส่วน ทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุน้ เกิน ร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท ปัจจุบนั โครงสร้างการจัดการของบริษทั ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อยทีข่ นึ้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษทั 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งหมด 5 คณะ (รายละเอียดคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับรายชื่อ หน้าที่ความรับผิดชอบ ได้เปิดเผยในส่วนโครงสร้างการจัดการ และ คณะกรรมการชุดย่อย ในส่วนของการก�ำกับดูแลกิจการ) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย บุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ มีประสบการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจและมีความเข้าใจในบทบาท หน้าทีท่ ตี่ อ้ งรับผิดชอบเป็นอย่างดี ท�ำให้การปฏิบตั งิ านเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษทั ได้มสี ว่ นร่วมในการก�ำหนด วิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษทั เพือ่ ให้ฝา่ ยจัดการด�ำเนินงานตามนโยบายและแผนทีก่ ำ� หนด ไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเพิ่มความโปร่งใส เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของบริษัท และเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จึงได้จัดให้มีนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการเป็น ลายลักษณ์อกั ษร และมีการทบทวนอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ เพือ่ ให้นโยบายมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม แนวทางการด�ำเนินธุรกิจ และเป็นสากลมากยิ่งขึ้น อีกทั้ง ยังได้จัดท�ำคู่มือจริยธรรมธุรกิจ (Code of Conduct) เพื่อให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติของพนักงาน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี


108

รายงานประจำ�ปี 2558

นอกจากนั้น เพื่อป้องกันการท�ำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการระหว่างกัน คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการต่างๆ เพือ่ แบ่งแยกอ�ำนาจอย่างชัดเจน รวมทัง้ ได้ก�ำหนดนโยบาย ระเบียบปฏิบตั ิ และ กระบวนการในการอนุมตั ริ ายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้ผบู้ ริหาร พนักงาน และผูท้ เี่ กีย่ วข้องได้ยดึ ถือปฏิบตั ิในเรือ่ งต่างๆ ได้แก่ หลักเกณฑ์การอนุมัติรายการ การท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน การใช้ข้อมูลภายใน การเปิดเผยข้อมูล อีกทั้ง คณะกรรมการบริษัท ยังได้ก�ำหนดให้ฝ่ายบริหารประเมินความเสี่ยงของกิจการ และก�ำหนดมาตรการป้องกันและจัดการความเสี่ยงและรายงานให้ทราบเป็น ประจ�ำ ซึ่งรวมถึงความเสี่ยงที่มีผลต่อการด�ำเนินงานของบริษัทตามที่ระบุไว้ในหัวข้อ “ปัจจัยความเสี่ยง” การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการประชุมทุกไตรมาสหรือมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความจ�ำเป็น โดยมีการก�ำหนดวาระการ ประชุมไว้ชัดเจนและล่วงหน้า เพื่อพิจารณาผลการด�ำเนินงานในแต่ละไตรมาสและติดตามความคืบหน้าการด�ำเนินงาน โดยประธาน กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะร่วมกันพิจารณาเรื่องที่ส�ำคัญและน�ำเข้าสู่วาระการประชุม นอกจากนั้น กรรมการแต่ละท่าน มีความเป็นอิสระที่จะเสนอเรื่องเข้าสู่วาระการประชุมได้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั แต่ละครัง้ ประธานกรรมการได้จดั สรรเวลาอย่างเพียงพอและมากพอในการพิจารณาวาระการประชุม และได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร จัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ พร้อมให้ คณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ ทั้งนี้ รายละเอียดการประชุมคณะกรรมการบริษัทเปิดเผยในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” และคณะกรรมการชุดย่อยเปิดเผยในหัวข้อ คณะกรรมการชุดย่อย) การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการที่เป็นผู้บริหารมีการประเมินผลงานในส่วนที่ตนเองรับผิดชอบรายไตรมาสและประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท โดยน�ำเสนอเปรียบเทียบในช่วงเวลาที่ผ่านมา ค่าตอบแทน บริษัทได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ เพื่อพิจารณานโยบายและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา จ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ และทีป่ รึกษาของบริษทั และพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี การปรับเงินเดือน ประจ�ำปี รวมทั้งการปรับเงินเดือนระหว่างปี รวมทั้งผลประโยชน์อื่นอันเป็นการตอบแทนการท�ำงานของฝ่ายบริษัทและพนักงาน ทุกระดับ โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์ ภาระหน้าที่ และขอบเขตความรับผิดชอบ และเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นที่อยู่ในระดับและ อุตสาหกรรมเดียวกัน (รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการตามหัวข้อ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร) การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทได้ให้ความส�ำคัญในการพัฒนากรรมการและผู้บริหารเพื่อการสืบทอดการบริหารในอนาคต บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญด้าน บุคลากรระดับผูบ้ ริหาร โดยจัดอบรมหลักสูตร “การบริหารจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์” โดยมีเนือ้ หาของหลักสูตร ประกอบด้วยความรู้ ทางด้านอสังหาริมทรัพย์ กฎหมาย การเงิน บัญชี และการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ฯลฯ เพือ่ ให้ผบู้ ริหารระดับสูงของบริษทั ได้เรียนรูเ้ ตรียมพร้อม ในการเป็นกรรมการในอนาคต และในส่วนของกรรมการบริษัทก็ได้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทยที่จัดขึ้นส�ำหรับการพัฒนาและให้การสนับสนุนกรรมการบริษัท เพื่อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีไปปฏิบัติในองค์กร การก�ำกับดูแลงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษทั มีนโยบายส่งตัวแทน เข้าร่วมเป็นกรรมการ และผูบ้ ริหาร เพือ่ ควบคุมและก�ำหนดนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ย่อยและ บริษัทร่วม ซึ่งได้ตระหนักและให้ความส�ำคัญในหลักการก�ำกับการดูแลกิจการที่ดี โดยเน้นความโปร่งใสของการด�ำเนินธุรกิจ ตามหลัก ธรรมาภิบาล


109 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษทั มีนโยบายห้ามกรรมการและผูบ้ ริหารน�ำข้อมูลภายในของบริษทั ซึง่ ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปเปิดเผยเพือ่ แสวงหาผลประโยชน์ ส่วนตนหรือเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม นอกจากนี้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทที่ได้รับข้อมูล ทางการเงินของบริษทั ต้องไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในระยะเวลา 1 เดือน ก่อนเปิดเผยสูส่ าธารณะ โดยบริษทั ได้แจ้งให้กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ข้างต้นหลีกเลีย่ งการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ก่อนทีง่ บการเงินจะเปิดเผยสูส่ าธารณะรวมทัง้ ได้แจ้งให้ กรรมการและผูบ้ ริหารเข้าใจถึงภาระหน้าที่ในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริษทั ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้บริษัทได้ก�ำหนดบทลงโทษทางวินัยต่อพนักงานของบริษัทที่กระท�ำการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับหรือประกาศของบริษัท ซึ่งระบุไว้ ในระเบียบข้อบังคับในการปฏิบัติงานของพนักงาน


บริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด ให้กยู้ มื เงิน (EP) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ ขายทีด่ ิน พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

เงินให้กู้ยืม 1 ม.ค. กู้เพิ่มระหว่างงวด (ช�ำระคืนระหว่างงวด) 31 ธ.ค. ดอกเบี้ยรับ 1 ม.ค. ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด (รับช�ำระระหว่างงวด) 31 ธ.ค. รายได้จากการขายที่ดิน ต้นทุนที่ดิน

ลักษณะรายการ

1.1 รายการระหว่างกันของ PF กับบริษัทย่อย

1. รายการระหว่างกันของบริษัทในกลุ่ม PF

รายการระหว่างกัน

2.95 28.07 (30.07) 0.95 0.17 0.50

1.32 12.57 (10.94) 2.95 0.11 0.02

บริษัทฯ ให้ EP ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ ร้อยละ 100 กู้ยืมเงิน เพื่อน�ำไปจัดซื้อที่ดินพัฒนาโครงการ และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการ คิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษทั ย่อย โดยอัตรา ดอกเบี้ยก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ซึ่งเท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่คิดจากบริษัทย่อยอื่นๆ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

15.58 29.43 (43.69) 1.32 - บริษัทฯ ขายที่ดินซึ่งเป็นถนนภายในโครงการที่บริษัทฯ เป็นผู้พัฒนาโครงการ - ให้แก่ EP เพื่อวัตถุประสงค์การถือกรรมสิทธิ์รวมแทนบริษัทฯ ท�ำให้บริษัทฯ ในฐานะผู้พัฒนาโครงการไม่ต้องจดทะเบียนยกถนนในโครงการให้เป็นทาง สาธารณประโยชน์ ทั้งนี้ การโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินบางส่วนภายในโครงการให้แก่ นิติบุคคลอื่นเป็นธรรมเนียมการปฏิบัติโดยทั่วไปของผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ซึง่ เป็น ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปของผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 2) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการก�ำหนดราคาร่วมกัน

246.20 410.27 1,101.58 608.00 155.00 235.00 (219.93) (319.07) (926.31) 634.27 246.20 410.27

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

110 รายงานประจำ�ปี 2558


บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด (EP) (ต่อ)

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

รายได้อื่น ลูกหนี้ รายได้อื่น วงเงิน

ค่าตกแต่ง บ้านตัวอย่าง

ขายสินค้า

ค�้ำประกัน

-

3,997.92 3,178.20

0.01

0.13 0.13

-

10.18 0.06 -

-

-

-

28.55

2.18

ลูกหนี้

รายได้จากการ บริหารจัดการ ลูกหนี้

6.10

รายได้จากการ บริหารจัดการ

รับจ้างบริหาร งานขายและ จัดการทั่วไป

รับจ้างพัฒนา โครงการ

ลักษณะรายการ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

- บริษทั ฯ รับจ้างพัฒนาโครงการต่างๆ ให้แก่ EP โดยเรียกเก็บค่าบริการในอัตราเท่ากัน ทุกเดือน ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน - บริษัทฯ รับจ้างบริหารงานขายและจัดการทั่วไปให้แก่ EP โดยเรียกเก็บค่าบริการ ในอัตราเท่ากันทุกเดือน - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน - บริษัทฯ ว่าจ้างผู้รับเหมาให้ติดตั้งผ้าม่านและโคมไฟบ้านตัวอย่างในโครงการของ EP และเรียกเก็บเงินจาก EP ในราคาเท่ากับราคาทุน ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน - บริษัทฯ ขายสินค้าให้แก่ EP เพื่อให้ EP ใช้เป็นของแถมให้แก่ลูกค้า ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน 3,944.64 บริษทั ฯ เข้าท�ำสัญญาค�ำ้ ประกันเงินกูย้ มื ของบริษทั ย่อยกับสถาบันการเงินโดยไม่คดิ ค่าธรรมเนียม ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทย่อย เนื่องจากมีความจ�ำเป็นจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในการขอรับการ สนับสนุนวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

111


ลักษณะรายการ

ค่าน�ำ้ ประปา /ไฟฟ้า

รายได้อื่น ลูกหนี้

เงินให้กู้ยืม บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ ให้กู้ยืมเงิน กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) 1 ม.ค. ความสัมพันธ์ : กู้เพิ่มระหว่างงวด PF ถือหุ้นร้อยละ 100 (ช�ำระคืนระหว่างงวด) ผู้บริหารของ PF 31 ธ.ค. (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ ดอกเบี้ยรับ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ 1 ม.ค. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด เป็นกรรมการ (รับช�ำระระหว่างงวด) 31 ธ.ค. ให้เช่าพื้นที่ รายได้ค่าเช่า ลูกหนี้

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

0.22 0.04

5.75 95.25 (76.86) 24.14 0.69 0.12

0.19 -

5.03 91.67 (90.95) 5.75 0.69 0.93

บริษัทฯให้ BD ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นอยู่ ร้อยละ 100 กู้ยืมเงินเพื่อน�ำ ไปจัดซื้อที่ดิน พัฒนาโครงการ และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดดอกเบี้ย ในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทย่อย โดยอัตรา ดอกเบีย้ ก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลีย่ ของบริษทั ฯ + ร้อยละ 0.25 ซึง่ เท่ากับ อัตราดอกเบี้ยที่คิดจากบริษัทย่อยอื่นๆ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

19.79 81.13 (95.89) 5.03 0.12 บริษัทฯให้ BD เช่าพื้นที่หอพักเพื่อใช้เป็นส�ำนักงานขายโครงการอื่นๆ ของ BD ที่ 0.14 ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง (ศาลายา) เนื่องจาก BD ได้ขายหอพักให้แก่กองทุน อสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ และบริษัทฯได้เข้าท�ำสัญญาเช่าเหมาด�ำเนินงานกับ กองทุนดังกล่าว ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) อัตราค่าเช่าที่กำ� หนดร่วมกันเป็นราคาที่เทียบเคียงได้กับอัตราตลาด 0.02 บริษทั ฯเรียกเก็บค่าน�้ำประปา/ไฟฟ้าของส�ำนักงานของ BD ในราคาเท่ากับราคาทุน - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน

1,683.56 1,712.61 1,206.71 295.00 270.00 1,090.00 (273.14) (299.05) (584.10) 1,705.42 1,683.56 1,712.61

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

112 รายงานประจำ�ปี 2558


ลูกหนี้

เจ้าหนี้

ทดรองจ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินงาน

-

1.50

0.04

ลูกหนี้

ทดรองจ่าย ค่าที่ดิน

1.14

รายได้อื่น

ลักษณะรายการ

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ ให้เช่าพื้นที่ กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) (ต่อ)

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

-

1.50

-

0.83

0.95

1.50

-

-

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

BD ทดรองจ่ายค่าใช้จ่ายการส่งเสริมการขายให้แก่บริษัทฯ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นจริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน

บริษทั ฯ โอนเงินทดรองจ่ายค่าทีด่ นิ ให้เป็นของ BD เพือ่ ให้ BD เป็นผูพ้ ฒ ั นาโครงการ บนทีด่ นิ แปลงดังกล่าว และเพือ่ ให้เป็นไปตามเงือ่ นไขของสถาบันการเงินผูส้ นับสนุน เงินกู้ยืมของโครงการในขณะนั้น โดยโอนในราคาเท่ากับราคาทุน ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย และ เป็นไปตามเงื่อนไขของสถาบันทางการเงินผู้สนับสนุนเงินกู้ยืมของโครงการ 2) ราคาเท่ากับราคาทุน

บริษทั ฯ ให้ BD เช่าพืน้ ทีห่ อพักเพือ่ จัดโปรโมชัน่ อยูฟ่ รี เพือ่ ส่งเสริมการขายโครงการอืน่ ของ BD ที่ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง (ศาลายา) ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) อัตราค่าเช่าที่กำ� หนดร่วมกันเป็นราคาที่เทียบเคียงได้กับอัตราตลาด

เหตุผลและความจ�ำเป็น

113


รายได้จากการ บริหารจัดการ ลูกหนี้ วงเงิน

รับจ้างบริหาร งานขายและ จัดการทั่วไป

ค�้ำประกัน

-

16.15 3,887.86 4,170.76

-

-

0.74 45.28

-

-

-

2.06

0.01

ลูกหนี้ รายได้จากการ บริหารจัดการ ลูกหนี้

0.62

รายได้อื่น

ลักษณะรายการ

รับจ้างพัฒนา โครงการ

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ ขายสินค้า กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) (ต่อ)

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

เหตุผลและความจ�ำเป็น

- บริษัทฯ ขายสินค้าให้แก่ BD เพื่อให้ BD ใช้เป็นของแถมให้แก่ลูกค้า ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน - บริษทั ฯ รับจ้างพัฒนาโครงการต่างๆ ให้แก่ BD โดยเรียกเก็บค่าบริการในอัตราเท่ากัน ทุกเดือน - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน - บริษัทฯ รับจ้างบริหารงานขายและจัดการทั่วไปให้แก่ BD โดยเรียกเก็บค่าบริการ ในอัตราเท่ากันทุกเดือน - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน 5,819.74 บริษทั ฯ เข้าท�ำสัญญาค�ำ้ ประกันเงินกูย้ มื ของบริษทั ย่อยกับสถาบันการเงินโดยไม่คดิ ค่าธรรมเนียม ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทย่อย เนื่องจากมีความจ�ำเป็นจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในการขอรับการ สนับสนุนวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

114 รายงานประจำ�ปี 2558


ลักษณะรายการ

บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ให้กู้ยืมเงิน เงินให้กู้ยืม ไนน์ จ�ำกัด (R9) 1 ม.ค. ความสัมพันธ์ : กู้เพิ่มระหว่างงวด PF ถือหุ้นร้อยละ 100 (ช�ำระคืนระหว่างงวด) ผู้บริหารของ PF 31 ธ.ค. (นายพรสวัสดิ์ ดอกเบี้ยรับ เกษจุฬาศรีโรจน์ 1 ม.ค. นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา) ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด เป็นกรรมการ (รับช�ำระระหว่างงวด) พนักงานของ PF 31 ธ.ค. (นายพรชัย เกตุเล็ก นายสรรเพชร สุขเกษม) กู้ยมื เงิน เจ้าหนี้เงินกูย้ ืม เป็นกรรมการ 1 ม.ค. 175.00 กู้เพิ่มระหว่างงวด 197.00 (ช�ำระคืนระหว่างงวด) (202.00) 31 ธ.ค. 170.00 ดอกเบี้ยจ่าย 1 ม.ค. 5.37 ดอกเบี้ยจ่ายระหว่างงวด 11.19 (จ่ายช�ำระระหว่างงวด) (16.24) 31 ธ.ค. 0.32

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

4.98 4.68 (9.65) 0.01 -

0.01 0.05 (0.06) 175.00 175.00 5.37 5.37

5.17 144.42 - 191.10 (5.17) (330.35) 5.17

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

บริษทั ฯ กูย้ มื เงินจาก R9 ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 100 เพือ่ ใช้ เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลีย่ ของ R9 + ร้อยละ 0.25 ต่อปี ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย โดยอัตราดอกเบี้ยก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของ R9 + ร้อยละ 0.25

บริษัทฯ ให้ R9 ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ ร้อยละ 100 กู้ยืมเงินเพื่อ น�ำไปจัดซือ้ ทีด่ นิ พัฒนาโครงการ และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทย่อย โดยอัตรา ดอกเบีย้ ก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลีย่ ของบริษทั + ร้อยละ 0.25 ซึง่ เท่ากับ อัตราดอกเบี้ยที่คิดจากบริษัทย่อยอื่นๆ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

115


บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด (R9) (ต่อ)

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

รายได้จากการ ขายที่ดิน ต้นทุนที่ดิน รายได้อื่น รายได้จากการ บริหารจัดการ ลูกหนี้ รายได้จากการ บริหารจัดการ ลูกหนี้ วงเงิน

ขายที่ดิน

ขายสินค้า

รับจ้างพัฒนา โครงการ

รับจ้างบริหาร งานขายและ จัดการทั่วไป

ค�้ำประกัน

ลักษณะรายการ

-

7.43

1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน

- บริษทั ฯ รับจ้างบริหารงานขายและจัดการทัว่ ไปให้แก่ R9 โดยเรียกเก็บค่าบริการ ในอัตราเท่ากันทุกเดือน - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ

- บริษัทฯ รับจ้างพัฒนาโครงการต่างๆ ให้แก่ R9 โดยเรียกเก็บค่าบริการ ในอัตราเท่ากันทุกเดือน - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่กำ� หนดร่วมกัน

รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน

28.10 บริษัทฯ ขายที่ดินให้แก่ R9 ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 100 เพื่อให้ R9 น�ำไปใช้ในการพัฒนาโครงการ 14.39 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย โดย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการก�ำหนดราคาร่วมกัน - บริษัทฯ ขายสินค้าให้แก่ R9 เพื่อให้ R9 ใช้เป็นของแถมให้แก่ลูกค้า ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

932.97 1,739.28 2,026.78 บริษัทเข้าท�ำสัญญาค�้ำประกันเงินกู้ยืมของบริษัทย่อยกับสถาบันการเงิน โดยไม่คิดค่าธรรมเนียม ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษทั ย่อย เนือ่ งจากมีความจ�ำเป็นจะต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขในการขอรับ การสนับสนุนวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ

-

-

1.22 20.83

-

3.42

-

-

0.01

-

-

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

116 รายงานประจำ�ปี 2558


ลักษณะรายการ

บริษทั เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ ให้กู้ยืมเงิน เงินให้กู้ยืม 1 ม.ค. จ�ำกัด (CD) กู้เพิ่มระหว่างงวด ความสัมพันธ์ : (ช�ำระคืนระหว่างงวด) PF ถือหุ้นร้อยละ 100 31 ธ.ค. ผู้บริหารของ PF ดอกเบี้ยรับ (นายวงศกรณ์ ประสิทธิว์ ภิ าต 1 ม.ค. นายพรสวัสดิ์ ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด เกษจุฬาศรีโรจน์ (รับช�ำระระหว่างงวด) นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา) 31 ธ.ค. เป็นกรรมการ กู้ยมื เงิน เจ้าหนี้เงินกูย้ ืม พนักงานของ EP 1 ม.ค. (นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์ กู้เพิ่มระหว่างงวด เป็นกรรมการ (ช�ำระคืนระหว่างงวด) 31 ธ.ค. ดอกเบี้ยจ่าย 1 ม.ค. ดอกเบีย้ จ่ายระหว่างงวด (จ่ายช�ำระระหว่างงวด) 31 ธ.ค. ค�้ำประกัน วงเงิน

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

17.33 17.33 0.29 0.29 75.00 (75.00) 0.35 3.62 (3.97) 119.60

17.33 133.00 150.33 0.29 3.19 3.48 -

บริษัทฯ กู้ยืมเงินจาก CD ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 100 เพื่อใช้ เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของ CD + ร้อยละ 0.25 ต่อปี ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย โดยอัตราดอกเบี้ยก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของ CD + ร้อยละ 0.25

บริษัทฯ ให้ CD ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ ร้อยละ 100 กู้ยืมเงินเพื่อ น�ำไปจัดซือ้ ทีด่ นิ พัฒนาโครงการ และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทย่อย โดยอัตรา ดอกเบีย้ ก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลีย่ ของบริษทั ฯ + ร้อยละ 0.25 ซึง่ เท่ากับ อัตราดอกเบี้ยที่คิดจากบริษัทย่อยอื่นๆ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

0.35 0.35 119.60 บริษทั ฯ เข้าท�ำสัญญาค�ำ้ ประกันเงินกูย้ มื ของบริษทั ย่อยกับสถาบันการเงินโดยไม่คดิ ค่าธรรมเนียม ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทย่อย เนื่องจากมีความจ�ำเป็นจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในการขอรับการ สนับสนุนวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ

75.00 75.00

1.42 (1.42) -

37.70 (37.70) -

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

117


ลักษณะรายการ

หมายเหตุ * กรรมการบริหารความเสี่ยง ** ประเมินโดยบริษัท บรูค เรียลเอสเตท จ�ำกัด ลว. 8 กุมภาพันธ์ 2556

ค่าน�้ำ ประปา/ ไฟฟ้า ค�้ำประกัน

0.10 0.05 223.00

รายได้อื่น ลูกหนี้ วงเงิน

บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด ให้กยู้ มื เงิน เงินให้กู้ยืม 1 ม.ค. 774.99 (มหาชน) (WR) กู้เพิ่มระหว่างงวด 245.00 ความสัมพันธ์ : (ช�ำระคืนระหว่างงวด) (1,019.99) PF ถือหุ้นร้อยละ 94.97 31 ธ.ค. ประธานกรรมการของ PF ดอกเบี้ยรับ (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) 1 ม.ค. 32.67 เป็นกรรมการ ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด 40.27 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (รับช�ำระระหว่างงวด) (72.94) ของ PF 31 ธ.ค. (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) ขายทีด่ ิน รายได้จากการขาย เป็นกรรมการ ที่ดิน ผู้บริหารของ PF ต้นทุนที่ดิน (นายปราโมทย์ เริ่มยินดี) เป็นกรรมการ เช่าพื้นที่ ค่าเช่า 0.10 กรรมการชุดย่อย* ของ PF เงินประกัน 0.29 (นายเชิดศักดิ์ กูเ้ กียรตินนั ท์) เจ้าหนี้ 0.10 เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

บริษัทฯ ให้ WR ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 100 กู้ยืมเงินเพื่อ น�ำไปจัดซือ้ ทีด่ นิ พัฒนาโครงการ และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทย่อย โดยอัตรา ดอกเบี้ยก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ซึ่ง เท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่คิดจากบริษัทย่อยอื่นๆ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

3.24 0.12 29.43 13.32 - (10.20) 32.67 3.24 - 41.96** บริษทั ฯ ขายทีด่ นิ ให้แก่ WR เพือ่ ให้ WR น�ำไปใช้ในการพัฒนาโครงการศูนย์การค้า ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - 27.67 รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย และราคา ที่ซื้อขายระหว่างกันเป็นราคาที่อ้างอิงจากราคาประเมินของผู้ประเมินราคาอิสระ - บริษัทฯ เช่าพื้นที่ศูนย์การค้าของ WR เพื่อใช้เป็นส�ำนักงานขายโครงการของ - บริษัทฯ ที่ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ 2) ราคาและเงื่อนไขเป็นเช่นเดียวกับบุคคลภายนอก - บริษัทฯเรียกเก็บค่าน�ำ้ ประปา/ไฟฟ้าของส�ำนักงาน WR ในราคาเท่ากับราคาทุน - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน 223.00 223.00 บริษทั ฯ เข้าท�ำสัญญาค�ำ้ ประกันเงินกูย้ มื ของบริษทั ย่อยกับสถาบันการเงินโดยไม่คดิ ค่าธรรมเนียม ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทย่อย เนื่องจากมีความจ�ำเป็นจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในการขอรับการ สนับสนุนวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ

411.09 30.00 363.90 411.00 - (29.91) 774.99 411.09

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

118 รายงานประจำ�ปี 2558


Property Perfect International Pte.Ltd (PPI) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้น ร้อยละ 100 ประธานกรรมการของ PF (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ ที่ปรึกษาของ PF (นายพิชัย รัตตกุล) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

ทดรองจ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินงาน

ให้กู้ยืมเงิน

ลูกหนี้

3.00

-

เงินให้กู้ยืม 1 ม.ค. 1,013.16 857.16 กู้เพิ่มระหว่างงวด 301.48 340.80 (ช�ำระคืนระหว่างงวด) - (184.80) 31 ธ.ค. 1,314.64 1,013.16 ดอกเบี้ยรับ 1 ม.ค. 48.41 12.54 ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด 46.23 35.87 (รับช�ำระระหว่างงวด) 31 ธ.ค. 94.64 48.41

ลักษณะรายการ

-

1.73 37.90 (27.09) 12.54

737.66 119.50 857.16

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

บริษัทฯ ให้ PPI ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ ร้อยละ 100 กู้ยืมเงิน เพื่อน�ำไปลงทุนต่อใน KRH เพื่อซื้อโครงการสกีรีสอร์ทคิโรโระในประเทศญี่ปุ่น และให้ PPI ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเป็น ขั้นบันไดดังต่อไปนี้ ปี 2555 คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.00 ตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นไปคิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ย ของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 บริษทั ฯ ก�ำหนดอัตราดอกเบีย้ ในปีแรกต�ำ่ และเพิม่ ขึน้ ในปีหลัง เนือ่ งจากโรงแรม และสกีรสี อร์ทจะมีผลขาดทุนในช่วงแรกเพราะจ�ำเป็นต้องรอการปรับปรุงทรัพย์สนิ โดยจะมีรายได้จากค่าเช่าเข้ามาเสริมในปีหลัง ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินตามสัญญาทีต่ กลงร่วมกัน และการก�ำหนดอัตราดอกเบีย้ ขัน้ บันไดเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทย่อย บริษัทฯ ทดรองจ่ายค่าที่ปรึกษาโรงแรมและสกีรีสอร์ทให้แก่ PPI เนื่องจาก ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้นในประเทศไทย ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นจริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน

เหตุผลและความจ�ำเป็น

119


บริษทั เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (PSC) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 กรรมการของ PF (นายไพรัตน์ เสนาจักร์) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภคั วัตร) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ BD (นายนันทชาติ กลีบพิพัฒน์) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

รายได้จากการ ขายที่ดิน ต้นทุนที่ดิน

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร เจ้าหนี้การค้า

รายได้อื่น ลูกหนี้

ค่าใช้จ่าย ในการขาย เจ้าหนี้

รายได้ค่าเช่า ลูกหนี้

ขายที่ดิน

ว่าจ้างให้ บริหาร สโมสร

ค่าน�้ำประปา/ ไฟฟ้า

ซื้อสินค้า

ให้เช่าพื้นที่

ลักษณะรายการ

-

-

0.01 0.05 0.01

-

0.09

-

-

0.18 0.11

3.88

-

0.06

-

-

0.06

เหตุผลและความจ�ำเป็น

0.60 บริษัทฯ ขายที่ดินซึ่งเป็นถนนภายในโครงการที่บริษัทฯ เป็นผู้พัฒนาโครงการให้แก่ PSC เพื่อวัตถุประสงค์การถือกรรมสิทธิ์รวมแทนบริษัทฯ ท�ำให้บริษัทฯ ในฐานะ ั นาโครงการไม่ตอ้ งจดทะเบียนยกถนนในโครงการให้เป็นทางสาธารณะประโยชน์ 0.20 ผูพ้ ฒ ทัง้ นี้ การโอนกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ บางส่วนภายในโครงการให้แก่นติ บิ คุ คลอืน่ เป็นธรรมเนียม การปฏิบัติโดยทั่วไปของผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อประโยชน์ ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งเป็น ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปของผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ 2) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการก�ำหนดราคาร่วมกัน 15.62 บริษัทฯว่าจ้างให้ PSC เป็นผู้บริหารงานสโมสรในโครงการของบริษัทฯ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 2.77 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกันโดยพิจารณาจากต้นทุนบวกก�ำไร - บริษทั ฯ เรียกเก็บค่าน�ำ้ ประปา/ไฟฟ้าของส�ำนักงานของ PSC ในราคาเท่ากับราคาทุน - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน - บริษัทฯ ซื้อสินค้าจาก PSC เพื่อใช้เป็นของแถมให้แก่ลูกค้าของบริษัทฯ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ 2) ราคาและเงื่อนไขเป็นเช่นเดียวกับบุคคลภายนอก - บริษทั ฯ ให้ PSC เช่าพืน้ ทีส่ โมสรในโครงการของบริษทั ฯเพือ่ ใช้เป็นสถานประกอบการ - ร้านเซเว่น-อีเลฟเว่น ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) ราคาและเงื่อนไขเป็นเช่นเดียวกับบุคคลภายนอก

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

120 รายงานประจำ�ปี 2558


รายได้อื่น ลูกหนี้

เงินให้กู้ยืม 1 ม.ค. กู้เพิ่มระหว่างงวด (ช�ำระคืนระหว่างงวด) 31 ธ.ค. ดอกเบี้ยรับ 1 ม.ค. ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด (รับช�ำระระหว่างงวด) 31 ธ.ค. มูลค่าสัญญา ต้นทุนค่าก่อสร้าง เงินจ่ายล่วงหน้า ผู้รับเหมา เจ้าหนี้การค้า

ลักษณะรายการ

ค่าน�้ำประปา/ ไฟฟ้า

บริษัท ยูแอนด์ ไอ ให้กู้ยืมเงิน คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จ�ำกัด (U&I) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายพิพัฒน์ นิตยโกศล) เป็นกรรมการ ว่าจ้าง ก่อสร้าง บ้าน

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

-

6.46 0.03 0.03

2.08 2.08 5.91 5.71 -

2.08 5.72 (7.70) 0.10 38.09 32.03 -

0.17 0.09

100.00 100.00

100.00 (10.00) 90.00

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

- บริษัทว่าจ้าง U&I ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อรับจ้างก่อสร้างบ้านและอาคารชุดให้แก่ - บริษทั ฯและบริษัทย่อยในการก่อสร้างบ้านของบริษัทฯ - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ - 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน โดยพิจารณาจากต้นทุนบวก ก�ำไร - บริษัทฯ เรียกเก็บค่าน�ำ้ ประปา/ไฟฟ้าของส�ำนักงานของ U&I ในราคาเท่ากับ - ราคาทุน ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน

-

บริษัทฯ ให้ U&I ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นอยู่ ร้อยละ 100 กู้ยืมเงิน เพือ่ น�ำไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุนทางการ เงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ต่อปี ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษทั ย่อย โดยอัตรา ดอกเบี้ยก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ซึ่งเท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่คิดจากบริษัทย่อยอื่นๆ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

121


ลักษณะรายการ

ค่าน�้ำประปา/ ไฟฟ้า

รายได้อื่น

ให้กู้ยืมเงิน เงินให้กู้ยืม บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด (P-PREFAB) 1 ม.ค. ความสัมพันธ์ : กู้เพิ่มระหว่างงวด PF ถือหุ้นร้อยละ 51 (ช�ำระคืนระหว่างงวด) ผู้บริหารของ PF 31 ธ.ค. (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ) ดอกเบี้ยรับ เป็นกรรมการ 1 ม.ค. พนักงานของ PF ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด (ดร.วรศักดิ์ จักราปิยะนันท์ (รับช�ำระระหว่างงวด) นายรุ่งโรจน์ สิงหถนัดกิจ 31 ธ.ค. นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์) เป็นกรรมการ มูลค่าสัญญา ว่าจ้างผลิต และประกอบ ต้นทุนค่าก่อสร้าง ติดตั้ง เงินจ่ายล่วงหน้า โครงสร้าง ผู้รับเหมา ระบบชิ้นส่วน เจ้าหนี้การค้า ส�ำเร็จรูปบ้าน

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

0.06

12.12

-

3.53 3.08 6.61 3.17 15.34 -

6.61 3.24 (9.13) 0.72 90.32 88.01 0.02

0.01

60.00 60.00

60.00 (10.00) 50.00

บริษทั ฯ ให้ P-PREFAB ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 51 กูย้ มื เงินเพื่อน�ำไปใช้ขยายงาน และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดดอกเบี้ย ในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษทั ย่อย โดยอัตรา ดอกเบีย้ ก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลีย่ ของบริษทั ฯ + ร้อยละ 0.25 ซึง่ เท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่คิดจากบริษัทย่อยอื่นๆ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

- บริษทั ฯ เรียกเก็บค่าน�ำ้ ประปา/ไฟฟ้าของส�ำนักงาน P-PREFAB ในราคาเท่ากับ ราคาทุน ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีการตกลงราคาระหว่างกันในราคาทุน

0.70 2.83 3.53 83.40 บริษัทฯ ได้ว่าจ้าง P-PREFAB เพื่อผลิตและประกอบ ติดตั้งโครงสร้างระบบ 67.74 ชิ้นส่วนส�ำเร็จรูปบ้านเพื่อน�ำไปใช้ก่อสร้างบ้านในโครงการของบริษัทฯ 0.01 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ 22.27 2) ราคาทีเ่ รียกเก็บระหว่างกันเป็นราคาทีก่ ำ� หนดร่วมกันและเทียบเคียงได้กบั อัตราตลาด

40.00 20.00 60.00

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

122 รายงานประจำ�ปี 2558


หมายเหตุ * เดิมชื่อ Share Group Co., Ltd.

บริษัทย่อยที่ PF ถือหุ้นทางอ้อม Kiroro Resort Holdings Co., Ltd.* (KRH) ความสัมพันธ์ : PPI ถือหุ้นร้อยละ 97.27 PF ถือหุ้น PPI ร้อยละ 100 ประธานกรรมการของ PF (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นกรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ ที่ปรึกษาของ PF (นายพิชัย รัตตกุล) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

ลูกหนี้

เงินให้กู้ยืม 1 ม.ค. กู้เพิ่มระหว่างงวด (ช�ำระคืนระหว่างงวด) 31 ธ.ค. ดอกเบี้ยรับ 1 ม.ค. ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด (รับช�ำระระหว่างงวด) 31 ธ.ค.

ทดรองจ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินงาน

ให้กู้ยืมเงิน

ลักษณะรายการ

-

1.31 1.31

9.16

200.00 200.00

27.83

เหตุผลและความจ�ำเป็น

10.67 บริษทั ฯ ทดรองจ่ายค่าใช้จา่ ยด�ำเนินงานให้แก่ KRH ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ที่บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมผ่าน PPI อยู่ ร้อยละ 97.27 อาทิ ค่าใช้จ่าย เดินทาง ค่าประชาสัมพันธ์ ฯลฯ เนื่องจากค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้นใน ประเทศไทย ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการทีเ่ กิดขึน้ จริงและเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน บริษทั ฯ ให้ KRH ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ผ่าน PPI ร้อยละ 97.27 - กู้ยืมเงินเพื่อน�ำไปใช้ในการปรับปรุงโรงแรม โดยมีการคิดดอกเบี้ยใน - อัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ + ร้อยละ 0.25 - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทย่อย โดยอัตราดอกเบีย้ ก�ำหนดจากต้นทุนทางการเงินถัวเฉลีย่ ของบริษทั ฯ + ร้อยละ 0.25 ซึ่งเท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่คิดจากบริษัทย่อยอื่นๆ -

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

123


Kabushiki Kaisha Kiroro Associates Co., Ltd. (KA) ความสัมพันธ์ : KRH ถือหุ้นร้อยละ 100 PPI ถือหุ้น KRH ร้อยละ 97.27 PF ถือหุ้น PPI ร้อยละ 100 ประธานกรรมการของ PF (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) (GRAND) ความสัมพันธ์ : MPH ถือหุ้นร้อยละ 35.53 TPROP ถือหุ้น MPH ร้อยละ 100 และ ถือหุ้น GRAND ร้อยละ 5.09 PF ถือหุ้น TPROP ร้อยละ 89.67 และ ถือหุ้น GRAND ร้อยละ 1.70 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ ผู้บริหารของ PF (นายปราโมทย์ เริ่มยินดี) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

ลูกหนี้

ค่าใช้จ่ายในการขาย เจ้าหนี้

ทดรองจ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินงาน

ซื้อสินค้า

ลักษณะรายการ

0.10 0.03

0.90

-

4.17

-

0.24

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

บริษทั ฯ ซือ้ สินค้าจาก GRAND เพือ่ ใช้เป็นของแถมให้แก่ ลูกค้า ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ 2) ราคาและเงื่อนไขเป็นเช่นเดียวกับบุคคลภายนอก

บริษทั ฯ ทดรองจ่ายค่าใช้จา่ ยด�ำเนินงานให้แก่ KA ซึง่ เป็น บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมผ่าน PPI และ KRH อยูร่ อ้ ยละ 97.27 อาทิ ค่าใช้จา่ ยเดินทาง ค่าประชาสัมพันธ์ ฯลฯ เนื่องจากค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้นในประเทศไทย ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นจริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน

เหตุผลและความจ�ำเป็น

124 รายงานประจำ�ปี 2558


ราคาขาย เงินจอง เงินดาวน์ และเงินโอน

ราคาขาย เงินจอง เงินดาวน์ และเงินโอน

จองซื้อหน่วย ในอาคารชุด พักอาศัย

จองซื้อหน่วย ในอาคารชุด พักอาศัย

นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ (นายวิชาญฯ) ความสัมพันธ์ : ผู้บริหารของ PF

นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ* (นางสาวสุพีร์ฯ) ความสัมพันธ์ : อดีตผู้บริหารของ PF

* ลาออก มกราคม 2558

1 ม.ค. เบิกระหว่างงวด (เคลียร์ระหว่างงวด) 31 ธ.ค.

ลักษณะรายการ

เงินทดรองจ่าย ค่าที่ดิน

บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน นายปราโมทย์ เริ่มยินดี (นายปราโมทย์ฯ) ความสัมพันธ์ : ผู้บริหารของ PF

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

-

3.25

0.01 119.62 (119.63) -

-

3.39 0.14

2.62 (2.61) 0.01

บริษัทฯ ทดรองจ่ายเงินให้แก่นายปราโมทย์ฯ เพื่อรวบรวมซื้อที่ดินบริเวณถนน ชัยพฤกษ์ให้แก่บริษัทฯ เพื่อใช้ในการพัฒนาโครงการ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และได้รับ การอนุมัติจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร - จองซือ้ หน่วยในอาคารชุดพักอาศัยโครงการ เดอะสกาย สุขมุ วิท จ�ำนวน 1 ห้อง - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปตามระเบียบสวัสดิการการให้สว่ นลดส�ำหรับพนักงานของ บริษัทฯ -

เหตุผลและความจ�ำเป็น

1.48 จองซื้อหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยโครงการ เมโทร พาร์ค สาทร เฟส 3 จ�ำนวน 1.48 1 ห้อง ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปตามระเบียบสวัสดิการการให้สว่ นลดส�ำหรับพนักงานของ บริษัทฯ

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

1.2 รายการระหว่างกันที่บุคคลและนิติบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกันทำ�กับ PF

125


* ลาออก กุมภาพันธ์ 2558

45.40 31.11 11.91 9.15

-

0.40

10.80

มูลค่าสัญญา ต้นทุนค่าก่อสร้าง เงินจ่ายล่วงหน้า เจ้าหนี้การค้า

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร

ลักษณะรายการ

นิติบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เซ็นเตอร์ ออฟ สแตนดาร์ด ว่าจ้างผลิตและ พรีคาสท์ จ�ำกัด (CSP) ประกอบติดตั้ง ความสัมพันธ์ : โครงสร้างระบบ CSP ถือหุ้น P-PREFAB ร้อยละ 49 ชิ้นส่วน PF ถือหุ้น P-PREFAB ร้อยละ 51 ส�ำเร็จรูปบ้าน ไม่มบี คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งของ PF ถือหุ้นหรือเป็นกรรมการ ค่าที่ปรึกษา บริษัท ส�ำนักงานกฎหมายบรรจง กฎหมาย แอนด์วิทยา จ�ำกัด (บ.ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงฯ) ความสัมพันธ์ : เป็นนิตบิ คุ คลที่ นายวิทยา เนติววิ ฒ ั น์ กรรมการของ PF เป็นกรรมการและ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษทั ฟินเนทีฟ จ�ำกัด (บ.ฟินเนทีฟฯ) ค่าที่ปรึกษา ทางการเงิน ความสัมพันธ์ : เป็นนิติบุคคลที่ นายเจษฎ์ เจษฎ์ปิยะวงศ์ อดีตกรรมการของ KRH* เป็น กรรมการและผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ค่าบริการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

-

2.57

0.06

0.22 14.39 0.95

บริษัทฯ ได้ว่าจ้าง CSP เพื่อผลิต ประกอบ และติดตั้งโครงสร้างระบบ ชิ้นส่วนส�ำเร็จรูปบ้านเพื่อน�ำไปใข้ก่อสร้างบ้านในโครงการของบริษัทฯ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ 2) ราคาที่เรียกเก็บระหว่างกันเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน และเทียบเคียง ได้กับอัตราตลาด

เหตุผลและความจ�ำเป็น

2.11 บริษัทฯ ว่าจ้างที่ปรึกษาทางการเงินที่มีความช�ำนาญเฉพาะเรื่อง เพื่อให้ ค�ำปรึกษาติดต่อเจรจากับผูล้ งทุนต่างประเทศ และประสานงานเรือ่ งการลงทุน ในต่างประเทศของบริษัทฯ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ 2) ราคาที่เรียกเก็บระหว่างกันเป็นไปตามสัญญาว่าจ้าง - บริษัทฯ ว่าจ้าง บ.ฟินเนทีฟฯ ให้หาผู้ซื้อและเจรจากับผู้ซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) ที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ โดย บ.ฟินเนทีฟฯ คิดค่าบริการในอัตราร้อยละของมูลค่าการจ�ำหน่ายหุ้น ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ 2) ราคาที่เรียกเก็บระหว่างกันเป็นไปตามสัญญาว่าจ้าง

- บริษัทฯ ว่าจ้างที่ปรึกษากฎหมายที่มีความช�ำนาญเฉพาะเรื่องเพื่อให้ ค�ำปรึกษาทางกฎหมายรวมถึงการช่วยเหลือตรวจสอบเอกสารจดทะเบียน และเอกสารที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

0.08 1.26 14.47 2.12

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

126 รายงานประจำ�ปี 2558


รายการระหว่างบริษัทย่อยกับบริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน) (WR) จ�ำกัด (EP) ความสัมพันธ์ : ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 94.97 PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ประธานกรรมการของ PF ผู้บริหารของ PF (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นกรรมการ (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ PF นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) ผู้บริหารของ PF เป็นกรรมการ (นายปราโมทย์ เริ่มยินดี) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF กรรมการชุดย่อย* ของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร) (นายเชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์) เป็นกรรมการ เป็นกรรมการ หมายเหตุ * กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (PSC) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 กรรมการของ PF (นายไพรัตน์ เสนาจักร์) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ BD (นายนันทชาติ กลีบพัฒน์) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

1.3 รายการระหว่างกันของบริษัทย่อย

EP ว่าจ้าง ค่าใช้จ่าย PSC ในการบริหาร ให้บริหาร สโมสร ในโครงการ ของ EP

EP ให้ WR ค่าเช่ารับล่วงหน้า เช่าที่ดิน รายได้ค่าเช่า ลูกหนี้

ลักษณะรายการ

-

55.03 6.79 7.61

0.72

56.95 6.79 5.24

เหตุผลและความจ�ำเป็น

2.26 EP ว่าจ้างให้ PSC เป็นผู้บริหารงาน สโมสรในโครงการของ EP ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อ สนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของ EP 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนด ร่วมกันโดยพิจารณาจากต้นทุน บวกก�ำไร

58.87 EP ให้ WR เช่าที่ดินขนาดเนื้อที่ 4.00 16 ไร่ 2 งาน 29 ตารางวา ที่ตั้งอยู่ 2.87 บริเวณถนนสุขุมวิทเป็นระยะเวลา 30 ปี เพื่อให้ WR น�ำไปใช้ในการ พัฒนาโครงการศูนย์การค้า ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อ สนับสนุนธุรกิจของ WR 2) อัตราค่าเช่าเป็นราคาที่ก�ำหนด ร่วมกัน

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

127


บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด (EP) (ต่อ)

บริษัท ยูแอนด์ ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จ�ำกัด (U&I) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายพิพัฒน์ นิตยโกศล) เป็นกรรมการ บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด (P-PREFAB) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 51 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (ดร.วรศักดิ์ จักราปิยะนันท์ นายรุ่งโรจน์ สิงหถนัดกิจ นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

มูลค่าสัญญา ต้นทุนค่าก่อสร้าง บ้าน เงินจ่ายล่วงหน้า ผู้รับเหมา เจ้าหนี้การค้า

มูลค่าสัญญา ต้นทุนค่าก่อสร้าง เงินจ่ายล่วงหน้า ผู้รับเหมา เจ้าหนี้การค้า

EP ว่าจ้าง U&I ก่อสร้างบ้าน

EP ว่าจ้าง P-PREFAB ผลิตและประกอบ ติดตั้งโครงสร้าง ระบบชิ้นส่วน ส�ำเร็จรูปบ้าน

ลักษณะรายการ

3.27

0.15

2.48

3.36

21.42 16.98 0.03

0.48

0.12

25.21 29.62 -

30.86 19.40

32.95 43.78

เหตุผลและความจ�ำเป็น

- EP ได้วา่ จ้าง P-PREFAB เพือ่ ผลิตและประกอบ - ติดตั้งโครงสร้างระบบชิ้นส่วนส�ำเร็จรูปบ้านเพื่อ - น�ำไปใช้ก่อสร้างบ้านในโครงการของ EP ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการ ด�ำเนินธุรกิจของ EP 2) ราคาทีเ่ รียกเก็บระหว่างกันเป็นราคาทีก่ ำ� หนด ร่วมกันและเทียบเคียงได้กับอัตราตลาด

16.46 EP ว่าจ้าง U&I ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อรับจ้างก่อสร้าง 31.94 บ้านและอาคารชุดให้แก่บริษัทฯและบริษัทย่อย ในการก่อสร้างบ้านของ EP 0.80 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดั ง กล่ า วเป็ น ไปเพื่ อ สนั บ สนุ น การ ด�ำเนินธุรกิจของ EP 7.02 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน โดยพิจารณาจากต้นทุนบวกก�ำไร

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

128 รายงานประจำ�ปี 2558


บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ

บริษทั เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด (R9) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (นายพรชัย เกตุเล็ก นายสรรเพชร สุขเกษม) เป็นกรรมการ บริษทั เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (CD) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายวงศกรณ์ ประสิทธิว์ ภิ าต นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

เงินให้กู้ยืม 1 ม.ค. กู้เพิ่มระหว่างงวด 53.65 (ช�ำระคืนระหว่างงวด) (53.65) 31 ธ.ค. ดอกเบี้ยรับ 1 ม.ค. ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด 0.13 (รับช�ำระระหว่างงวด) (0.13) 31 ธ.ค. เงินให้กู้ยืม 1 ม.ค. กู้เพิ่มระหว่างงวด 119.60 (ช�ำระคืนระหว่างงวด) (119.60) 31 ธ.ค. ดอกเบี้ยรับ 1 ม.ค. ดอกเบี้ยรับระหว่างงวด 1.72 (รับช�ำระระหว่างงวด) (1.72) 31 ธ.ค. -

BD ให้ R9 กู้ยืมเงิน

BD ให้ CD กู้ยืมเงิน

ลักษณะรายการ

-

-

-

-

-

-

-

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

BD ช�ำระหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงินของ CD ซึ่งเป็นไปตาม เงือ่ นไขของสถาบันการเงินผูใ้ ห้ BD กูย้ มื เงินทีก่ ำ� หนด ให้ BD น�ำเงินจากการปลอดห้องชุดทีเ่ หลือไปช�ำระหนี้ ตั๋วสัญญาใช้เงิน โดยมีการคิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุน ทางการเงินถัวเฉลี่ยของ BD + ร้อยละ 0.25 ต่อปี ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ระหว่างบริษัทย่อย โดยอัตราดอกเบี้ยก� ำหนดจาก ต้นทุนทางการเงินของ BD

BD ช�ำระหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงินของ R9 ซึ่งเป็นไปตาม เงือ่ นไขของสถาบันการเงินผูใ้ ห้ BD กูย้ มื เงินทีก่ ำ� หนด ให้ BD น�ำเงินจากการปลอดห้องชุดทีเ่ หลือไปช�ำระหนี้ ตั๋วสัญญาใช้เงิน โดยมีการคิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุน ทางการเงินถัวเฉลี่ยของ BD + ร้อยละ 0.25 ต่อปี ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ระหว่างบริษัทย่อย โดยอัตราดอกเบี้ยก� ำหนดจาก ต้นทุนทางการเงินของ BD

เหตุผลและความจ�ำเป็น

129


บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) (ต่อ)

บริษัท ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จ�ำกัด (U&I) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัต นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายพิพัฒน์ นิตยโกศล) เป็นกรรมการ บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (PSC) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 กรรมการของ PF (นายไพรัตน์ เสนาจักร์) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ BD (นายนันทชาติ กลีบพิพัฒน์) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

ซื้อสินค้า

ค่าใช้จ่ายในการขาย เจ้าหนี้

BD ว่าจ้าง มูลค่าสัญญา U&I ก่อสร้าง ต้นทุนค่าก่อสร้าง อาคารชุด เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา เจ้าหนี้การค้า

ลักษณะรายการ

0.01

103.17 482.02 7.12 42.83

-

426.99 119.07 184.66 77.36

BD ว่าจ้าง U&I ซึง่ จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ รับจ้างก่อสร้าง บ้านและอาคารชุดให้แก่บริษทั ฯและบริษทั ย่อย ในการก่อสร้างอาคารชุดของ BD ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการ ด�ำเนินธุรกิจของ BD 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน โดยพิจารณาจากต้นทุนบวกก�ำไร

เหตุผลและความจ�ำเป็น

- BD ซื้อสินค้าจาก PSC เพื่อใช้เป็นของแถมให้ - แก่ลกู ค้าของ BD ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนการ ด�ำเนินธุรกิจของ BD 2) ราคาและเงื่อนไขเป็นเช่นเดียวกับบุคคล ภายนอก

805.18 132.57 9.45 37.40

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

130 รายงานประจำ�ปี 2558


บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด (R9) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายพรสวัดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (นายพรชัย เกตุเล็ก นายสรรเพชร สุขเกษม) เป็นกรรมการ

ลักษณะรายการ

บริษทั เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด (P-PREFAB) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 51 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (ดร.วรศักดิ์ จักราปิยะนันท์ นายรุ่งโรจน์ สิงหถนัดกิจ นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์) เป็นกรรมการ

มูลค่าสัญญา R9 ว่าจ้าง P-PREFAB ต้นทุนค่าก่อสร้าง ผลิตและประกอบ ติดตั้งโครงสร้าง ระบบชิ้นส่วน ส�ำเร็จรูปบ้าน

บริษทั เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (PSC) R9 ว่าจ้าง PSC ค่าใช้จ่าย ความสัมพันธ์ : ให้บริหารสโมสร ในการบริหาร PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ในโครงการ เจ้าหนี้การค้า กรรมการของ PF ของ R9 (นายไพรัตน์ เสนาจักร์) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ BD (นายนันทชาติ กลีบพิพฒ ั น์) เป็นกรรมการ บริษัท ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จ�ำกัด R9 ว่าจ้าง U&I มูลค่าสัญญา (U&I) ก่อสร้างบ้าน ต้นทุน ความสัมพันธ์ : ค่าก่อสร้าง PF ถือหุ้นร้อยละ 100 เงินจ่ายล่วงหน้า พนักงานของ PF ผู้รับเหมา (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร เจ้าหนี้การค้า นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายพิพัฒน์ นิตยโกศล) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

6.55 4.63 3.75

18.87 20.09 1.36

-

-

-

-

0.30

-

เหตุผลและความจ�ำเป็น

10.67 R9 ได้วา่ จ้าง P-PREFAB เพือ่ ผลิต ประกอบ 10.67 และติดตัง้ โครงสร้างระบบชิน้ ส่วนส�ำเร็จรูป บ้านเพื่อน�ำไปใช้ก่อสร้างบ้านในโครงการ ของ R9 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุน การด�ำเนินธุรกิจของ R9 2) ราคาที่เรียกเก็บระหว่างกันเป็นราคาที่ ก�ำหนดร่วมกันและเทียบเคียงได้กับ อัตราตลาด

15.70 R9 ว่าจ้าง U&I ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อรับจ้าง 17.02 ก่อสร้างบ้านและอาคารชุดให้แก่บริษัทฯ และบริษทั ย่อยในการก่อสร้างบ้านของ R9 - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุน ำเนินธุรกิจของ R9 - 2) อัการด� ตราค่าบริการเป็นราคาทีก่ ำ� หนดร่วมกัน โดยพิจารณาจากต้นทุนบวกก�ำไร

0.90 R9 ว่าจ้างให้ PSC เป็นผูบ้ ริหารงานสโมสร ในโครงการของ R9 0.11 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุน การด�ำเนินธุรกิจของ R9 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาทีก่ ำ� หนดร่วมกัน โดยพิจารณาจากต้นทุนบวกก�ำไร

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

131


ลักษณะรายการ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

Property Perfect International Pte. Ltd. (PPI) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ประธานกรรมการของ PF (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ ที่ปรึกษาของ PF (นายพิชัย รัตตกุล) เป็นกรรมการ

เงินให้กู้ยืม Kiroro Resort Holdings PPI ให้ PPI ให้ KRH กูย้ มื เงินเพือ่ น�ำไปลงทุนในโครงการสกีรสี อร์ทคิโรโระ Co., Ltd. ** (KRH) KRH 1 ม.ค. 795.62 794.42 694.42 และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเป็น กู้ยืมเงิน กู้เพิ่มระหว่างงวด ความสัมพันธ์ : - 186.00 100.00 ขั้นบันไดดังต่อไปนี้ PPI ถือหุ้น (ช�ำระคืนระหว่างงวด) - (184.80)* - ปี 2555 คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.00 ร้อยละ 97.27 31 ธ.ค. 795.62 795.62 794.42 ตัง้ แต่ปี 2556 เป็นต้นไป คิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุนทางการเงิน PF ถือหุ้น PPI ถัวเฉลี่ยของ PF + ร้อยละ 0.25 ดอกเบี้ยรับ ร้อยละ 100 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1 ม.ค. 48.28 12.41 1.57 ประธานกรรมการ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินเพือ่ ซือ้ กิจการ ดอกเบี ย ้ รั บ ระหว่ า งงวด 46.23 35.87 37.90 ของ PF โรงแรมในต่างประเทศ และการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยขั้นบันได (รั บ ช� ำ ระระหว่ า งงวด) (27.06) (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย 31 ธ.ค. 94.51 48.28 12.41 เป็นกรรมการ เมือ่ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2557 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2557 ได้มมี ติรบั ทราบการแปลงหนี้ใน KRH เป็นทุนโดยการเพิม่ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารของ PF ทุนจดทะเบียนของ KRH จ�ำนวน 500 ล้านเยน แบ่งเป็นจ�ำนวนหุ้น (นายชายนิด 100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 5,000 เยน ก่อนน�ำหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าว อรรถญาณสกุล) เสนอขายให้แก่ PPI แล้ว KRH จึงน�ำเงินที่ได้จากการเพิม่ ทุนกลับไป เป็นกรรมการ ช�ำระหนี้ให้แก่ PPI ที่ปรึกษาของ PF 1) ราคาต่อหุ้นที่ ใช้ก�ำหนดการแปลงหนี้เป็นทุนและเงื่อนไขที่ (นายพิชัย รัตตกุล) บริษทั ฯและผูถ้ อื หุน้ รายอืน่ ๆ ใน KRH ได้ตกลงกันสะท้อนให้เห็น เป็นกรรมการ หมายเหตุ ถึงการเจรจาต่อรอง ซึ่งเป็นไปตามอ�ำนาจต่อรองทางการค้าที่ * รวมการแปลงหนีเ้ งินให้กยู้ มื ของ ปราศจากอิทธิพลในการทีค่ สู่ ญั ญาอีกฝ่ายมีสถานะเป็นบุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ง (Arm’s length basis) PPI เป็ น หุ ้ น สามั ญ ของ KRH หมายเหตุ จ�ำนวน 500 ล้านเยน (ประมาณ ** เดิ ม ชื่ อ Share Group 2) ราคาต่อหุน้ ที่ใช้ในการแปลงหนีเ้ ป็นทุนเป็นราคาส่วนลดจากราคา Co., Ltd 154.80 ล้านบาท) ลงทุนถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ และต�่ำกว่าทุนช�ำระแล้วของ KRH ก่อนการท�ำธุรกรรม รายได้อื่น 3.23 - PPI เรียกเก็บค่าที่ปรึกษาโรงแรมและสกีรีสอร์ทจาก KRH PPI คิดค่า - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ ที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 3.23 จาก KRH 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นจริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

132 รายงานประจำ�ปี 2558


หมายเหตุ * เดิมชื่อ Share Group Co., Ltd.

Kiroro Resort Holdings Co., Ltd.* (KRH) ความสัมพันธ์ : PPI ถือหุ้นร้อยละ 97.27 PF ถือหุ้น PPI ร้อยละ 100 ประธานกรรมการของ PF (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ ที่ปรึกษาของ PF (นายพิชัย รัตตกุล) เป็นกรรมการ

Kabushiki Kaisha Kiroro Associates Co., Ltd. (KA) ความสัมพันธ์ : KRH ถือหุ้นร้อยละ 100 PPI ถือหุ้น KRH ร้อยละ 97.27 PF ถือหุ้น PPI ร้อยละ 100 ประธานกรรมการของ PF (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

3.79

20.27

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร เจ้าหนี้ ลูกหนี้

เจ้าหนี้

ค่าใช้บริการ

KRH ทดรอง จ่ายค่าใช้จ่าย ด�ำเนินงาน ให้แก่ KA KA ทดรอง จ่ายค่าใช้จ่าย ด�ำเนินงาน ให้แก่ KRH

0.16

0.20

53.91

0.72

40.89

55.64

93.52 110.73 5.91

รายได้ค่าเช่า ลูกหนี้

KRH ให้ KA เช่าทรัพย์สิน

319.08 253.30 11.83 10.54 33.32 19.02

เงินให้กู้ยืม ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ

KRH ให้ KA กู้ยืมเงิน

ลักษณะรายการ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

96.73 KRH ให้ KA กู้ยืมเงินเพื่อน�ำไปใช้เป็น 8.94 เงินทุนหมุนเวียนโดยมีการคิดอัตราดอกเบี้ย 11.02 ในอัตราร้อยละ 2.00 ต่อปี ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือ ทางการเงินแก่ KA 113.60 KRH ให้ KA เช่าทรัพย์สินเพื่อใช้ในการประกอบ 19.72 ธุรกิจโรงแรม ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อการด�ำเนินธุรกิจ ของ KA 2) อัตราค่าเช่าเป็นอัตราที่ก�ำหนดร่วมกัน 19.55 KRH ใช้บริการโรงแรมของ KA ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 0.44 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุน การด�ำเนินธุรกิจของ KRH 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน 1.89 KRH ทดรองจ่ายค่าใช้จ่ายด�ำเนินงานให้แก่ KA ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นจริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน 3.29 KA ทดรองจ่ายค่าใช้จ่ายด�ำเนินงานให้แก่ KRH ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นจริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

133


Kiroro Resort Holdings Co., Ltd. (KRH) (ต่อ)

Kiroro Hotel Co., Ltd (KH) ความสัมพันธ์ : KRH ถือหุ้นร้อยละ 100 PPI ถือหุ้น KRH ร้อยละ 97.27 PF ถือหุ้น PPI ร้อยละ 100 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

เงินให้กู้ยืม ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ รายได้ค่าเช่า ลูกหนี้ ค่าใช้จ่ายในการ บริหาร เจ้าหนี้

KRH ให้ KH กู้ยืมเงิน

KRH ให้ KH เช่าทรัพย์สิน

ค่าใช้บริการ

KH ทดรองจ่าย ค่าใช้จ่าย ด�ำเนินงานให้แก่ KRH

ลักษณะรายการ

10.69

0.94

14.17 -

23.97 0.04 0.04

-

-

-

-

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

- KRH ให้ KH กู้ยืมเงินเพื่อน�ำไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนโดยมีการ - คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2 ต่อปี - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ KH - KRH ให้ KH เช่าทรัพย์สินเพื่อใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม - ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อการด�ำเนินธุรกิจของ KH 2) อัตราค่าเช่าเป็นอัตราที่ก�ำหนดร่วมกัน - KRH ใช้บริการโรงแรมของ KH ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของ KRH 2) อัตราค่าบริการเป็นราคาที่ก�ำหนดร่วมกัน - KH ทดรองจ่ายค่าใช้ด�ำเนินงานให้แก่ KRH ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวรายการที่เกิดขึ้นจริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน

เหตุผลและความจ�ำเป็น

134 รายงานประจำ�ปี 2558


บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ (นายวิชาญฯ) ความสัมพันธ์ : ผู้บริหารของ PF

ลักษณะรายการ

จองซื้อหน่วย ในอาคารชุด พักอาศัย ของ BD

ราคาขาย เงินจอง

ลักษณะรายการ

-

-

27.31

31.26

-

4.78 0.01

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

Kiroro Hotel Co., Ltd (KH) KA ทดรองจ่ายค่าใช้จ่าย ลูกหนี้ ความสัมพันธ์ : ด�ำเนินงานให้แก่ KH KRH ถือหุ้นร้อยละ 100 PPI ถือหุ้น KRH ร้อยละ 97.27 PF ถือหุ้น PPI ร้อยละ 100 KH ทดรองจ่ายค่าใช้จ่าย เจ้าหนี้ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของ PF ด�ำเนินงานให้แก่ KA (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ

1.4 รายการระหว่างกันที่บุคคลและนิติบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกันทำ�กับบริษัทย่อย

Kabushiki Kaisha Kiroro Associates Co., Ltd. (KA) ความสัมพันธ์ : KRH ถือหุ้นร้อยละ 100 PPI ถือหุ้น KRH ร้อยละ 97.27 PF ถือหุ้น PPI ร้อยละ 100 ประธานกรรมการของ PF (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) เป็นกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

เหตุผลและความจ�ำเป็น

- จองซื้อหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยโครงการ เมโทร - ลักซ์ รัชดา จ�ำนวน 1 ห้อง ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปตามระเบียบสวัสดิการการให้ ส่วนลดส�ำหรับพนักงานของบริษัทฯ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

- KA ทดรองจ่ายค่าใช้ด�ำเนินงานให้แก่ KH ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการทีเ่ กิดขึน้ จริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน - KH ทดรองจ่ายค่าใช้ดำ� เนินงานให้แก่ KA ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าวเป็นรายการทีเ่ กิดขึน้ จริง 2) จ�ำนวนที่เรียกเก็บเท่ากับราคาทุน

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

135


บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ

นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ (นายพรสวัสดิ์ฯ) ความสัมพันธ์ : ผู้บริหารของ PF

ดร.บุญทิวา โง้วศิริมณี (ดร.บุญทิวาฯ) ความสัมพันธ์ : น้องสาวของ ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการของ PF และเป็นพนักงานของ PF

นางสาวพรจันทร์ เกษจุฬาศรีโรจน์ (นางสาวพรจันทร์ฯ) ความสัมพันธ์ : พี่สาวของ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ ผู้บริหารของ PF

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

จองซื้อหน่วย ในอาคารชุด พักอาศัย ของ BD

ราคาขาย เงินโอน

-

0.23

ให้เช่าพื้นที่ รายได้ค่าเช่า

-

ราคาขาย เงินจอง เงินดาวน์ และเงินโอน -

-

ราคาขาย เงินโอน

ราคาขาย เงินโอน

จองซื้อหน่วย ในอาคารชุด พักอาศัย ของ BD

จองซื้อหน่วย ในอาคารชุด พักอาศัย ของ BD

ลักษณะรายการ

-

0.27

-

1.83

-

เหตุผลและความจ�ำเป็น

- จองซื้อหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยโครงการ ไอ คอนโด 1.74 สุขาภิบาล 2 จ�ำนวน 1 ห้อง ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปตามระเบียบสวัสดิการการให้สว่ นลด ส�ำหรับพนักงานของบริษัทฯ - จองซื้อหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยโครงการ ไอ คอนโด 0.03 เพชรเกษม 39 จ�ำนวน 1 ห้อง ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปตามระเบียบสวัสดิการการให้สว่ นลด ส�ำหรับพนักงานของบริษัทฯ - จองซื้อหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยโครงการ ไอ คอนโด 2.77 สุขาภิบาล 2 จ�ำนวน 2 ห้อง ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปตามระเบียบสวัสดิการการให้สว่ นลด ส�ำหรับพนักงานของบริษัทฯ 0.07 ดร.บุญทิวาฯให้ BD เช่าพื้นที่ห้องชุดโครงการ ไอ คอนโด สุขาภิบาล 2 เพื่อใช้เป็นส�ำนักงานขายโครงการของ BD ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดังกล่าว BD และ ดร.บุญทิวาฯ ก�ำหนดราคา ร่วมกันและจัดท�ำสัญญาเช่าเป็นลายลักษณ์อักษร 2) อัตราค่าเช่าและเงื่อนไขการเช่าใกล้เคียงกับอัตราตลาด - จองซื้อหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยโครงการ ไอ คอนโด 1.06 งามวงศ์วาน จ�ำนวน 1 ห้อง ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวมีราคาและเงือ่ นไขใกล้เคียงกับบุคคลภายนอก

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

136 รายงานประจำ�ปี 2558


บริษัท เซ็นเตอร์ ออฟ สแตนดาร์ด พรีคาสท์ จ�ำกัด (CSP) ความสัมพันธ์ : CSP ถือหุ้น P-PREFAB ร้อยละ 49 PF ถือหุ้น P-PREFAB ร้อยละ 51 ไม่มบี คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งของ PF ถือหุ้นหรือเป็นกรรมการ

บริษัท ส�ำนักงานกฎหมายบรรจง แอนด์วิทยา จ�ำกัด (บ.ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงฯ) ความสัมพันธ์ : เป็นนิติบุคคลที่ นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการของ PF เป็นกรรมการและ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ บริษัท ส�ำนักงานกฎหมายบรรจง กรุงเทพ จ�ำกัด (BD) แอนด์วิทยา จ�ำกัด ความสัมพันธ์ : (บ.ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงฯ) PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ความสัมพันธ์ : ผู้บริหารของ PF เป็นนิติบุคคลที่ นายวิทยา เนติวิวัฒน์ (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ กรรมการของ PF เป็นกรรมการและ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ

นิติบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด (EP) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร

ค่าที่ปรึกษา กฎหมาย

มูลค่าสัญญา ต้นทุนค่าก่อสร้าง เงินจ่ายล่วงหน้า ผู้รับเหมา เจ้าหนี้การค้า

ค่าที่ปรึกษา กฎหมาย

EP ว่าจ้าง CSP ให้ผลิตและ ประกอบติดตั้ง ระบบชิ้นส่วน ส�ำเร็จรูปบ้าน

ลักษณะรายการ

-

-

-

3.53

1.74

-

11.11 6.13 0.02

7.01 9.96 -

เหตุผลและความจ�ำเป็น

0.44 EP ได้ว่าจ้าง CSP เพื่อผลิต ประกอบ และ 0.40 ติดตั้งโครงสร้างระบบชิ้นส่วนส�ำเร็จรูปบ้าน 0.01 เพื่อน�ำไปใช้ก่อสร้างบ้านในโครงการของ EP ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 0.70 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ การด�ำเนินธุรกิจ ของ EP 2) ราคาที่เรียกเก็บระหว่างกันเป็นราคาที่ ก�ำหนดร่วมกัน และเทียบเคียงได้กบั อัตรา ตลาด 0.04 EP ว่าจ้างทีป่ รึกษากฎหมายทีม่ คี วามช�ำนาญ เฉพาะเรือ่ งเพือ่ ให้คำ� ปรึกษาทางกฎหมายรวมถึง การช่วยเหลือตรวจสอบเอกสารจดทะเบียน และเอกสารที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของ EP ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อการด�ำเนินงาน ของ EP 0.06 BD ว่าจ้างทีป่ รึกษากฎหมายทีม่ คี วามช�ำนาญ เฉพาะเรือ่ งเพือ่ ให้คำ� ปรึกษาทางกฎหมายรวมถึง การช่วยเหลือตรวจสอบเอกสารจดทะเบียน และเอกสารที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของ BD ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ การด�ำเนินงานของ BD

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

137


บริษัท เซ็นเตอร์ ออฟ สแตนดาร์ด พรีคาสท์ จ�ำกัด (CSP) ความสัมพันธ์ : CSP ถือหุ้น P-PREFAB ร้อยละ 49 PF ถือหุ้น P-PREFABร้อยละ 51 ไม่มีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งของ PF ถือหุ้นหรือเป็นกรรมการ

บริษทั ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์ วิทยา จ�ำกัด (บ.ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงฯ) ความสัมพันธ์ : เป็นนิติบุคคลที่ นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการ ของ PF เป็นกรรมการและ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษทั เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (PSC) บริษทั ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์ ความสัมพันธ์ : วิทยา จ�ำกัด PF ถือหุ้นร้อยละ 100 (บ.ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงฯ) กรรมการของ PF ความสัมพันธ์ : (นายไพรัตน์ เสนาจักร์) เป็นกรรมการ เป็นนิติบุคคลที่ พนักงานของ PF นายวิทยา เนติวิวัฒน์ (นายกฤตภาส พงศ์ภคั วัตร) เป็นกรรมการ กรรมการของ PF เป็นกรรมการ พนักงานของ EP และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (นายวสันต์ ศรีรัตนพงษ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ BD (นายนันทชาติ กลีบพิพัฒน์) เป็นกรรมการ

บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด (R9) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF (นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ พนักงานของ PF (นายพรชัย เกตุเล็ก นายสรรเพชร สุขเกษม) เป็นกรรมการ

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร

ค่าที่ปรึกษา กฎหมาย

ค่าที่ปรึกษา กฎหมาย

R9 ว่าจ้าง CSP มูลค่าสัญญา ให้ผลิตและ ต้นทุนค่าก่อสร้าง ประกอบติดตั้ง เงินจ่ายล่วงหน้า ระบบชิ้นส่วน ผูร้ ับเหมา ส�ำเร็จรูปบ้าน เจ้าหนี้การค้า

ลักษณะรายการ

-

-

-

-

-

-

-

-

เหตุผลและความจ�ำเป็น

0.03 R9 ว่าจ้างที่ปรึกษากฎหมายที่มีความ ช�ำนาญเฉพาะเรือ่ งเพือ่ ให้คำ� ปรึกษาทาง กฎหมายรวมถึงการช่วยเหลือตรวจสอบ เอกสารจดทะเบียนและเอกสารทีเ่ กีย่ วกับ การด�ำเนินงานของ R9 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ การด�ำเนินงาน ของ R9 0.01 PSC ว่าจ้างทีป่ รึกษากฎหมายทีม่ คี วาม ช�ำนาญเฉพาะเรือ่ งเพือ่ ให้คำ� ปรึกษาทาง กฎหมายรวมถึงการช่วยเหลือตรวจสอบ เอกสารจดทะเบียนและเอกสารทีเ่ กีย่ วกับ การด�ำเนินงานของ PSC ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อการด�ำเนินงาน ของ PSC

- R9 ได้ว่าจ้าง CSP เพื่อผลิต ประกอบ 0.32 และติดตั้งโครงสร้างระบบชิ้นส่วน - ส�ำเร็จรูปบ้านเพื่อน�ำไปใช้ก่อสร้างบ้าน ในโครงการของ R9 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - 1) รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ การด�ำเนิน ธุรกิจของ R9 2) ราคาทีเ่ รียกเก็บระหว่างกันเป็นราคา ทีก่ ำ� หนดร่วมกันและเทียบเคียงได้กบั อัตราตลาด

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

138 รายงานประจำ�ปี 2558


หมายเหตุ * กรรมการบริหารความเสี่ยง

บริษัท ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (UNILOFT) ความสัมพันธ์ : PF ถือหุ้นร้อยละ 100 พนักงานของ PF (นายศรัณยู อรรถญาณสกุล นายณัฐพล สืบอ�่ำ นายเจมส์ สตีเวนสัน วอร์บอยส์) เป็น กรรมการ กรรมการชุดย่อย* ของ PF (นายเชิดศักดิ์ กูเ้ กียรตินนั ท์) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายปฐมภพ อินทร์บ�ำรุง) เป็นกรรมการ

บริษัท ส�ำนักงานกฎหมายบรรจง แอนด์วิทยา จ�ำกัด (บ.ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงฯ) ความสัมพันธ์ : เป็นนิติบุคคลที่ นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการของ PF เป็นกรรมการและ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่

บริษัท ยูแอนด์ ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ บริษทั สมาร์ทธิง้ ค์ จ�ำกัด (บ.สมาร์ทธิง้ ค์ฯ) จ�ำกัด (U&I) ความสัมพันธ์ : ความสัมพันธ์ : เป็นนิตบิ คุ คลที่ นางอรสา ศิรเิ วชวราวุธ ภรรยาของ นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ผู้บริหารของ PF เป็นเจ้าของกิจการ พนักงานของ PF (นายกฤตภาส พงศ์ภคั วัตร นายประกิต ฤกษ์ปรีดาพงศ์) เป็นกรรมการ พนักงานของ EP (นายพิพฒั น์ นิตยโกศล) เป็นกรรมการ บริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จ�ำกัด (บ.ควีน โฟรเซ่นฯ) ความสัมพันธ์ : เป็นนิติบุคคลที่นางสาวกรรณิการ์ อรรถญาณสกุล ภรรยาของ นายชายนิด อรรถญาณสกุล ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ของ PF เป็น กรรมการและผู้ถือหุ้นรายใหญ่

นิติบุคคล/ความสัมพันธ์

ค่าที่ปรึกษา กฎหมาย

ค่าใช้จ่าย ในการบริหาร

-

-

U&I รับจ้าง มูลค่าสัญญา 114.32 ก่อสร้างอาคาร รายได้รับจ้าง 7.93 ห้องเย็น ก่อสร้าง เงินรับล่วงหน้า 16.03 ลูกหนี้ 25.12 -

-

-

ค่าให้บริการ ในการจัดท�ำ ใบอนุญาต ท�ำงานของ แรงงาน ต่างด้าว

ค่าใช้จ่าย เบ็ดเตล็ด

ลักษณะรายการ

เหตุผลและความจ�ำเป็น

0.07

UNILOFT ว่าจ้างที่ปรึกษากฎหมาย ที่มีความช�ำนาญเฉพาะเรื่องเพื่อให้ค�ำ ปรึกษาทางกฎหมายรวมถึงการช่วยเหลือ ตรวจสอบเอกสารจดทะเบี ย นและ เอกสารที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของ UNILOFT ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ การด�ำเนินงาน ของ UNILOFT

0.06 U&I ว่าจ้างบ.สมาร์ทธิง้ ค์ฯ ซึง่ ประกอบ ธุรกิจทีป่ รึกษาด้านแรงงานให้ดำ� เนินการ ขอใบอนุ ญ าตท� ำ งานจากหน่ ว ยงาน ราชการให้แก่แรงงานต่างด้าว ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ 1) รายการดั งกล่ าวเป็ น ไปเพื่ อการ ด�ำเนินงานของ U&I 2) ราคาทีเ่ รียกเก็บระหว่างกันใกล้เคียง กับราคาตลาด - U&I รับจ้างก่อสร้างอาคารห้องเย็นให้แก่ - บ.ควีน โฟรเซ่นฯ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - อัตราค่าบริการเป็นราคาทีก่ ำ� หนดร่วมกัน โดยพิจารณาจากต้นทุนบวกก�ำไร -

ขนาดรายการ (ล้านบาท) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556

139


PF ถือหุ้นร้อยละ 19 พนักงานของ PF (นายสรรเพชร สุขเกษม นายชัยณรงค์ เงินโสภา) เป็นกรรมการ

PF ถือหุ้นร้อยละ 65 ประธานเจ้าที่บริหารของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ ผู้บริหารของ PF (นายปราโมทย์ เริ่มยินดี นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา) เป็นกรรมการ

PF ถือหุ้นร้อยละ 100 ประธานเจ้าที่บริหารของ PF (นายชายนิด อรรถญาณสกุล) เป็นกรรมการ ผู้บริหารของ PF (นายปราโมทย์ เริ่มยินดี) เป็นกรรมการ

ความสัมพันธ์

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

รายการระหว่างกัน

รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ดอกเบี้ยรับ รายได้ค่าบริหาร รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ค่าบริการจ่าย 6 -

25

งบการเงินรวม 2558 2557

-

25 -

-

30 39

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

ราคาตามสัญญาซึ่งใกล้เคียงกับราคาที่ขายให้กับบุคคลภายนอก อัตราตามสัญญา

ร้อยละ 9 - 10 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 12 เดือน อัตราตามสัญญา

นโยบายการก�ำหนดราคา

ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

2. รายการระหว่างกันของบริษัทในกลุ่ม TPROP

บริษัทร่วม บริษัท เรียล เซอร์วิส จ�ำกัด (RS)

บริษัทควบคุมร่วมกัน บริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จ�ำกัด

* เดิมชื่อ บริษัท มารียา สตัฟฟ์ จ�ำกัด ซึ่งบริษัทฯเข้าลงทุนในเดือนสิงหาคม 2556

บริษัทย่อย บริษัท รามอินทรา มอลล์ จ�ำกัด (RM)

นิติบุคคล

1.5 ข้อมูลบริษทั ย่อย บริษทั ควบคุมร่วมกัน และบริษทั ร่วมทีไ่ ม่มรี ายการระหว่างกัน กับบริษทั ฯและบริษทั ย่อยตัง้ แต่ปี 2556 ถึงปี 2558

140 รายงานประจำ�ปี 2558


141

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯบริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558 2557

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน) รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัญจะสูญ รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน – สุทธิ เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รวมเจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

-

30 30 30

120,417 120,417 120,417

142,255 142,255 (2,849) 139,406

4,574 4,574

-

-

-

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทย่อย ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) ยอดคงเหลือ ในระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

บริษัท เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด 1) บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) 2) รวม

691,939

9,728

-

701,667

157,800 849,739

14,202 23,930

-

172,002 873,669

1) มีก�ำหนดช�ำระคืนในวันที่ 1 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 12 เดือน และไม่มีหลักประกัน 2) มีกำ� หนดช�ำระคืนในวันที่ 1 มกราคม 2559 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 9 ต่อปี และไม่มีหลักประกัน

เงินให้กู้ยืมระยะยาวและดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทย่อย ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืมระยะยาวและดอกเบี้ยค้างรับระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมระยะยาว และดอกเบี้ยค้างรับดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

Scenery Peak Limited 3)

98,142

ในระหว่างปี เพิ่มขึ้น ลดลง

1,183

(24,757)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

74,568

3) มีก�ำหนดช�ำระคืนเป็นรายเดือนตามจ�ำนวนที่ระบุไว้ในสัญญา โดยเริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2554 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปี หรือตามที่ ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย และไม่มีหลักประกัน


142

รายงานประจำ�ปี 2558

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่กรรมการ และผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 2558 2557

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

53 1 54

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

52 1 53

11 11

11 11

3. รายการระหว่างกันของบริษัทในกลุ่ม GRAND

ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อยและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็น ไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

2558

2557

รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้ค่าบริหาร ดอกเบีย้ รับ ดอกเบีย้ จ่าย

-

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ดอกเบีย้ จ่าย

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

2558

2557

-

7 105 5

7 88 6

-

6

-

6

14

15

14

15

นโยบายการก�ำหนดราคา

ราคาตามสัญญา ร้อยละ 7.40 - 10.25 ต่อปี THBFIX (12 เดือน) บวก ร้อยละ 0.25 ต่อปี ราคาตามสัญญาซึ่งใกล้ เคียงกับ ราคาที่ขายให้ บุคคลภายนอก ร้อยละ 9 - 10 ต่อปี


143

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อยและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน) รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557

2558

2557

-

63 63

8 8

1,628 29 1,657

-

-

-

83 83

ในระหว่างปี 2558 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทย่อย เงินให้กู้ยืมระยะยาวและดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทย่อย และเงินกู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างจ่ายแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

งบการเงินรวม เงินกู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างจ่าย แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) 4 งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับ จากบริษัทย่อย บริษัท ฮอนเนอร์ บิวซิเนส จ�ำกัด 1 เงินให้กู้ยืมระยะยาวและดอกเบี้ยค้างรับ จากบริษัทย่อย บริษัท ฮอนเนอร์ บิวซิเนส จ�ำกัด 2 เงินกู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างจ่าย แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั แกรนด์ อีควิตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด 3 บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) 4 รวม

157,800

ในระหว่างปี เพิ่มขึ้น ลดลง

-

172,002

499,116

910,552 (121,713)

1,287,955

686,399

124,686 (811,085)

-

266,845 157,800 424,645

14,202

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

10,789 14,202 24,991

(7,876) (7,876)

269,758 172,002 441,760

1. มีกำ� หนดช�ำระคืนเมื่อทวงถาม อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 9.25 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงกับ MLR และไม่มีหลักประกัน 2. มีกำ� หนดช�ำระคืนเป็นรายเดือน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2554 ถึงเดือนธันวาคม 2563 อัตราดอกเบี้ย อ้างอิงกับ MLR และ ไม่มหี ลักประกัน ในระหว่างปี 2558 บริษทั ฯได้จดั ประเภทเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ย่อยเป็นเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่บริษทั ย่อย 3. มีกำ� หนดช�ำระคืนเมื่อทวงถาม อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 12 เดือนบวกร้อยละ 0.25 ต่อปี และไม่มีหลักประกัน 4. มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 9 ต่อปี และไม่มีหลักประกัน มีกำ� หนดช�ำระคืนในวันที่ 1 มกราคม 2559


144

รายงานประจำ�ปี 2558

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริษัทฯมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่กรรมการและผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

2558

2557

42 1 43

42 1 43

ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้รบั ค�ำชีแ้ จงจากผูส้ อบบัญชีภายนอกของบริษทั ฯ ว่า ธุรกิจกับกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เป็นไปตามเงือ่ นไข ทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามปกติทั่วไปของธุรกิจ ซึ่งประกอบด้วยการเบิก-จ่ายคืนเงินกู้ยืม ดอกเบี้ย รับ-จ่ายเงินกูย้ มื การบริหารจัดการ การใช้บริการโรงแรมและบริการด้านอาหารและเครือ่ งดืม่ และค่าใช้จา่ ยต่างๆ ระหว่างบริษทั ฯ และบริษัทย่อย รวมถึงการกู้เงินระหว่างบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน และมีความเห็นว่ารายการระหว่างกันดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นนโยบายของบริษัทฯ ที่จะสนับสนุนให้บริษัทที่เกี่ยวข้องมาใช้บริการของโรงแรมมากยิ่งขึ้น ถือเป็นการประชาสัมพันธ์ แนะน�ำโรงแรมให้เป็นทีร่ จู้ กั แก่บคุ คลภายนอกเพือ่ มาใช้บริการในอนาคตทางหนึง่ ทัง้ นี้ รายการดังกล่าวเป็นไปตามแนวทางการค้า ปกติทั่วไปของธุรกิจ มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน การท�ำรายการระหว่างกันเป็นการให้บริการตามลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เป็นไปตามเงือ่ นไขทางการค้า ปกติ และเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ เป็นส�ำคัญ โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือผูบ้ ริหาร หรือเจ้าหน้าทีผ่ รู้ บั ผิดชอบได้อนุมตั ิ การท�ำรายการตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ที่มีอยู่ และเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ โดยรายการที่กรรมการ หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสีย หรือ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อนั ใดกับบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ให้บคุ คลนัน้ ๆ ไม่มสี ทิ ธิออกเสียงอนุมตั กิ ารท�ำรายการนัน้ ๆ ทั้งนี้ ในข้อบังคับของบริษัทฯ ได้มีการก�ำหนดในเรื่องการเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันและการได้มาจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของ บริษัทฯ ไว้แล้ว

นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต บริษทั ฯ คาดว่ารายการระหว่างกันบางรายการข้างต้น ยังคงเกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในอนาคต เนือ่ งจากรายการระหว่างกันดังกล่าว เป็นรายการทางการค้าปกติของบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ยังเป็นผูม้ หี น้าทีพ่ จิ ารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ


145 4. รายการระหว่างกันของบริษัทในกลุ่ม WR บริษทั ได้กำ� หนดมาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารท�ำรายการระหว่างกันในระเบียบปฏิบตั ิให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารและ การเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนดให้บริษัทจดทะเบียนถือปฏิบัติ โดยสามารถดูรายละเอียดของข้อมูลรายการระหว่างกันตามหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ข้อ 6 ดังนี้ . รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงือ่ นไขทางการค้าและเกณฑ์ตามทีต่ กลงกันระหว่างบริษทั ฯและบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันเหล่านัน้ ซึง่ เป็นไปตามปกติธรุ กิจ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการกำ�หนดราคา 2558 2557 2558 2557

รายการธุรกิจกับบริษัทใหญ่ ดอกเบี้ยจ่าย รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ดอกเบี้ยรับ รายการธุรกิจกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการบริหารอาคาร ค่าเช่าจ่าย ค่าที่ปรึกษา

40,268 29,422 40,268

29,422 ร้อยละ 5.02 - 5.84 ต่อปี

-

- 57,745

44,314 ร้อยละ 5.02 - 5.84 ต่อปี

21,997 4,873 1,200

- 21,997 4,873 4,873 1,200 1,200

- ตามอัตราที่ระบุในสัญญา 4,873 ตามอัตราที่ระบุในสัญญา 1,200 ตามอัตราที่ระบุในสัญญา

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558 2557

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน) รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทใหญ่ รวมเจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

198 4,574 4,772 307 307

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

32,672 32,672

198 135,629 4,574 140,401 307 307

77,884 77,884 32,672 32,672


146

รายงานประจำ�ปี 2558

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืมระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และการเคลื่อนไหวของเงินให้ กู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

เงินให้กู้ยืม บริษทั เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ช็อปปิง้ มอลล์ จ�ำกัด รวม

108,000 108,000

-

1,056,492 1,056,492

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงค้างของเงินกู้ยืมระหว่างบริษัทฯและบริษัทใหญ่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืม ดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) เงินกู้ยืม

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) รวม

948,492 948,492

งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ ณ วันที่ ระหว่างปี ระหว่างปี 31 ธันวาคม 2558

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ระหว่างปี ระหว่างปี 31 ธันวาคม 2558

774,994 774,994

245,000 (1,019,994) 245,000 (1,019,994)

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษทั ฯ มีคา่ ใช้จา่ ยผลประโยชน์ระยะสัน้ ที่จ่ายให้แก่กรรมการและผู้บริหารจ�ำนวน 1.2 ล้านบาท (2557: 0.7 ล้านบาท)

-


147 ปัจจัยความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ

ความเสี่ยงจากภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้นของตลาดที่อยู่อาศัย ปัจจุบนั การแข่งขันในตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยยังเป็นลักษณะการแข่งขันระหว่างผูป้ ระกอบการรายใหญ่ซงึ่ เป็นผลมาจากการทีผ่ ปู้ ระกอบการ รายใหญ่มคี วามสามารถในการปรับตัวตามสภาวะทีต่ ลาดมีความผันผวนสูง รวมถึงการทีผ่ ปู้ ระกอบการรายใหญ่มศี กั ยภาพการลงทุน ที่สูงกว่า และสามารถระดมทุนได้หลายช่องทางเนื่องจากได้รับความเชื่อมั่นจากนักลงทุนและสถาบันการเงิน ภาวะการแข่งขัน ในปัจจุบนั จึงเป็นการแข่งขันของผูป้ ระกอบการรายใหญ่ทลี่ ว้ นมีศกั ยภาพในการลงทุน บริษทั ได้ตระหนักถึงปัจจัยความเสีย่ งนี้ จึงให้ ความส�ำคัญในส่วนของงานวิจยั และพัฒนาเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถของการแข่งขัน รวมถึงเน้นให้มกี ารศึกษาลูกค้ากลุม่ เป้าหมาย อย่างละเอียดและส�ำรวจตลาดถึงความต้องการด้านต่างๆ โดยบริษัทได้ให้ความส�ำคัญในการพิจารณาท�ำเลที่ตั้งโครงการรูปแบบ โครงการ แบบบ้าน แบบคอนโดมิเนียม พืน้ ที่ใช้สอย ความคุม้ ค่า การก�ำหนดราคาแบ่งกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายอย่างชัดเจน นอกจากนี้ บริษัทได้ด�ำเนินนโยบายทางการเงินร่วมกับสถาบันการเงินเพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพด้านก�ำลังซื้อและลดภาระการผ่อนช�ำระของ ผู้บริโภคซึ่งสามารถช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันระหว่างบริษัทกับผู้ประกอบการรายใหญ่อื่นๆ ได้ ความเสี่ยงจากการสร้างบ้านก่อนขาย และการจัดหาเงินทุนเพื่อพัฒนาโครงการของบริษัท การทีบ่ ริษทั มีนโยบายทีจ่ ะสร้างบ้านและทาวน์เฮ้าส์กอ่ นการขายจะส่งผลให้บริษทั ต้องใช้เงินทุนล่วงหน้าในการก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย สูงมากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากไม่ได้รับเงินจากลูกค้ามาเป็นเงินทุนหมุนเวียนในระหว่างการก่อสร้างรวมทั้งความไม่แน่นอนของ ปัจจัยทีอ่ าจส่งผลต่อการตัดสินใจซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย อาทิเช่น (1) ความเชือ่ มัน่ ในการบริโภคและก�ำลังซือ้ ของ ผู้บริโภคซึ่งเปลี่ยนแปลงตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยและเศรษฐกิจโลก (2) อัตราดอกเบี้ยที่อยู่อาศัยและนโยบาย การปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ และ (3) การสนับสนุนจากภาครัฐ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อก�ำลังซื้อและการตัดสินใจซื้อ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย บริษทั จึงมีความเสีย่ งจากการทีส่ ร้างบ้านก่อนขายเสร็จแล้วไม่สามารถขายบ้านทีส่ ร้างเสร็จได้ อันจะส่งผลให้บริษทั มีภาระต้นทุนสินค้าคงเหลือในปริมาณสูง ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องและความสามารถในการสร้างก�ำไร ของบริษัท บริษัทได้ตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าวจึงได้กำ� หนดให้มีมาตรการต่างๆ ดังนี้ 1. บริษัทได้ก�ำหนดให้มีการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคโดยส�ำรวจความคิดเห็นของลูกค้าที่เข้าชมโครงการในด้านงบประมาณ ราคาทีพ่ กั อาศัย แบบทีพ่ กั อาศัย ขนาดทีด่ นิ เป็นต้น รวมทัง้ ใช้ขอ้ มูลการขายโครงการในอดีตในการวิเคราะห์ความต้องการ ของลูกค้า เนื่องจากบริษัทเป็นผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่ และอยู่ในอุตสาหกรรมมานานเป็นระยะเวลา มากกว่า 30 ปี จึงมีความได้เปรียบทั้งในด้านข้อมูลทางการตลาด ความรู้ ประสบการณ์และความเข้าใจในความต้องการ ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างดี 2. ส�ำหรับแต่ละโครงการ บริษทั จะแบ่งแผนงานก่อสร้างบ้าน และ/หรือ ทาวน์เฮ้าส์ออกเป็นเฟสย่อยๆ และจะทยอยว่าจ้างผูร้ บั เหมา ให้ด�ำเนินการก่อสร้างบ้านตามที่บริษัทได้วางแผนงานไว้ โดยบริษัทให้ความส�ำคัญในการพิจารณาการวางแผนการก่อสร้าง และสัง่ สร้าง โดยพิจารณาสัง่ สร้างบ้านให้เหมาะสมกับการขายโดยมีการก�ำหนดสินค้าคงเหลือขัน้ ต�ำ่ (Minimum Stock) และ พิจารณาสั่งสร้างเพื่อให้มีค่าเฉลี่ยของสินค้าคงเหลือในแต่ละช่วงเวลาเป็นไปตามที่บริษัทก�ำหนดไว้ เพื่อให้มีบ้านพร้อมอยู่ และมีบ้านระหว่างการก่อสร้างในจ�ำนวนที่เหมาะสม ในกรณีที่ยอดขายไม่เป็นไปตามประมาณการ บริษัทจะสามารถปรับ แผนการก่อสร้างได้อย่างรวดเร็ว หรือในกรณีที่ความต้องการของกลุ่มลูกค้ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยส�ำคัญ บริษัทก็จะ สามารถปรับรูปแบบและขนาดของบ้านและทาวน์เฮาส์ให้ตรงกับความต้องการที่เปลี่ยนไปได้ หรือในกรณีที่ความสามารถ ในการซื้อของกลุ่มลูกค้าเปลี่ยนไป บริษัทก็จะสามารถปรับขนาดพื้นที่บ้านให้มีราคาขายต่อหน่วยที่เหมาะสมกับก�ำลังซื้อ ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้เช่นเดียวกัน


148

รายงานประจำ�ปี 2558

3. ส�ำหรับการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียม แม้ว่าบริษัทจะได้รับเงินทุนบางส่วนจากเงินค่างวดของลูกค้าและสามารถน�ำมา ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน การพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมก็ยงั จ�ำเป็นทีต่ อ้ งใช้เงินลงทุนค่อนข้างมากโดยบริษทั ได้ให้ความ ส�ำคัญในการบริหารเงินลงทุน โดยจัดแบ่งรูปแบบคอนโดมิเนียมเป็น 2 ประเภท คือ คอนโดมิเนียมประเภทสูงไม่เกิน 8 ชั้น (Low Rise) และคอนโดมิเนียมประเภทสูงเกิน 8 ชั้น (High Rise) ซึ่งระยะเวลาการก่อสร้างของคอนโดมิเนียม Low Rise จะอยู่ ที่ 12 ถึง 14 เดือน ส่วนการก่อสร้างคอนโดมิเนียม High Rise จะอยู่ที่ 18 ถึง 24 เดือน บริษัทได้มีการวางแผนจัด สัดส่วนระหว่างโครงการประเภท Low Rise และ High Rise ให้เหมาะสมต่อการบริหารงานก่อสร้างและสอดคล้องกับการขาย การรับรู้รายได้ และการจัดหาเงินสนับสนุนจากสถาบันการเงิน 4. บริษทั มีแผนการจัดหาแหล่งเงินทุนทีช่ ดั เจนส�ำหรับแต่ละโครงการ ซึง่ ในอดีตการเปิดขายโครงการต่าง ๆ ของบริษทั ก็ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้บริโภคมาโดยตลอด ท�ำให้บริษัทและบริษัทย่อยได้รับพิจารณาอนุมัติเงินกู้ยืมระยะยาวเพื่อ สนับสนุนการพัฒนาโครงการจากสถาบันการเงินที่มั่นใจในศักยภาพของโครงการ ตลอดจนความต้องการเงินทุนหมุนเวียน ที่เพิ่มสูงขึ้นจากการพัฒนาโครงการใหม่ไม่ได้ก่อให้เกิดปัญหาในการช�ำระหนี้คืนให้แก่เจ้าหนี้ของบริษัท เนื่องจากบริษัท สามารถน�ำเงิน (ก�ำไร) ที่ได้รับจากจากการโอนขายบ้านและที่ดินในโครงการอื่นๆ มาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนประกอบด้วย (พิจารณาเพิ่มเติมในหัวข้อความเสี่ยงจากการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ความสามารถในการช�ำระหนี้) ความเสี่ยงจากปัญหาด้านการเมืองและภาวะเศรษฐกิจ ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองและการชะลอตัวทางเศรษฐกิจส่งผลให้กำ� ลังซือ้ ของผูบ้ ริโภคลดต�ำ่ ลงและธนาคารพาณิชย์ เข้มงวดมากขึน้ ในการอนุมตั สิ นิ เชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ส่งผลกระทบต่อความต้องการอสังหาริมทรัพย์เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของผูบ้ ริโภค ซึง่ ส่งผลโดยตรงต่อการขายและการโอนกรรมสิทธิ์ของโครงการอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ และเมื่อค�ำนึงถึงประเด็นที่กล่าวมาแล้วข้างต้น บริษัทได้มีการวางแผนและปรับกลยุทธ์เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจและ สถานการณ์ทางการเมืองในช่วงนั้นๆ อาทิเช่น บริษัทให้ความส�ำคัญกับการเปิดโครงการ การซื้อที่ดินใหม่ การก่อสร้าง และ การบริหารกระแสเงินสดของบริษัทโดยจะพัฒนาโครงการให้สอดคล้องกับสภาวะในช่วงดังกล่าว เช่น บริษัทจะวางแผนก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับอัตราการขายเพื่อมิให้มีสินค้าคงเหลือมากเกินไป และจะชะลอการเปิดโครงการรวมถึงการซื้อที่ดินใหม่ เพื่อจะ บริหารกระแสเงินสดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนจากสถานการณ์ทางการเมืองและภาวะเศรษฐกิจ รวมทั้งการบริหารต้นทุน และการท�ำการตลาดเพื่อกระตุ้นยอดขายและรายได้ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ทุกประเภทของบริษัท ความเสี่ยงจากการทรุดโทรมหรือล้าสมัยของบ้าน ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียมคงเหลือ บริษทั และบริษทั ย่อยได้มกี ารก�ำหนดราคาขายและระยะเวลาขายโครงการแต่ละโครงการไว้ลว่ งหน้าซึง่ จะสอดคล้องกับการก่อสร้าง ส�ำหรับแต่ละโครงการ ทัง้ นีห้ ากบริษทั ไม่สามารถขายได้ตามทีค่ าดการณ์ไว้กจ็ ะส่งผลให้บริษทั และบริษทั ย่อยมีจำ� นวนหน่วยของ โครงการบ้าน ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียมคงเหลือ และอาจท�ำให้บริษัทและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงกับบ้าน ทาวน์เฮ้าส์ หรือ คอนโดมิเนียมที่การออกแบบล้าสมัยหรือทรุดโทรมซึ่งก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายในการตกแต่ง ซ่อมแซม บ�ำรุงรักษาเพื่อให้อยู่ในสภาพ ที่สวยงาม หรืออาจท�ำให้ต้องขายในราคาต�ำ่ กว่าต้นทุนในที่สุด อย่างไรก็ดี บริษทั มีความมัน่ ใจว่าโครงการบ้าน ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียมของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะได้รบั การตอบรับเป็น อย่างดีจากลูกค้าเนื่องจากโครงการของกลุ่มบริษัทมีจุดขายที่น่าสนใจและมีการก�ำหนดแผนการขายที่เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้า เป้าหมาย ประกอบกับโครงการตั้งอยู่ในท�ำเลที่ดี ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ ท�ำให้ที่ผ่านมากลุ่มบริษัทสามารถขายโครงการและ รับรู้รายได้ใกล้เคียงกับประมาณการที่วางไว้ หรือในกรณีที่บริษัทมีความต้องการที่จะกระตุ้นยอดขายส�ำหรับบางโครงการ บริษัท ก็จะมีการปรับกลยุทธ์การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และเพิ่มโปรโมชั่นการขาย อาทิเช่น การพิจารณาลดราคาส�ำหรับยูนิตสุดท้าย การส่งเสริมการขายผ่านพนักงานขายประจ�ำโครงการ การให้ข้อเสนอหรือของแถมเพิ่มเติม เป็นต้น


149 2. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการผลิต

ความเสี่ยงจากความผันผวนของต้นทุนในการก่อสร้าง เนือ่ งจากวัสดุกอ่ สร้างเป็นวัตถุดบิ หลักในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงของราคาต้นทุนวัสดุกอ่ สร้าง อย่างมีนยั ส�ำคัญ อาจส่งผลให้บริษทั มีความเสีย่ งจากต้นทุนการก่อสร้างทีผ่ นั ผวน ซึง่ บริษทั ได้มกี ารบริหารจัดการการเพิม่ ขึน้ ของ ต้นทุนในการก่อสร้างบ้านแนวราบมาอย่างต่อเนือ่ งโดย ส�ำหรับโครงการบ้านเดีย่ วและทาวน์เฮ้าส์ บริษทั มีมาตรการในการควบคุม และลดความเสี่ยงอันเกิดจากความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างโดยจัดซื้อวัสดุก่อสร้างบางรายการจากผู้ผลิตโดยตรง จัดให้มี การประกวดราคา เพือ่ เปรียบเทียบคุณภาพ การทดสอบคุณภาพวัสดุ ราคาตลาด เลือกราคาทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ การหาวัสดุทดแทน เป็นต้น เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการผันผวนของราคาวัสดุกอ่ สร้าง และยังได้รบั ประโยชน์จากการสัง่ ซือ้ วัสดุกอ่ สร้างในปริมาณมาก (Economies of Scale) รวมทัง้ ได้ใช้วธิ เี ดียวกันนี้ในการจัดซือ้ วัสดุกอ่ สร้างหลายรายการส�ำหรับโครงการคอนโดมิเนียมด้วยเช่นกัน อาทิเช่น กระเบื้อง สุขภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศ ฯลฯ ท�ำให้บริษัทมีอำ� นาจต่อรองกับผู้ผลิตในการก�ำหนดราคามากขึ้น นอกจากนี้บริษัทจัดให้มีหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ดูแลการเปลี่ยนแปลงของราคาวัสดุก่อสร้างเป็นมาตรการรองรับราคาวัสดุก่อสร้าง ที่ผันผวนเพื่อให้มีการติดตามและควบคุมต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย ความเสี่ยงจากการขาดแคลนผู้รับเหมาและแรงงาน บริษทั ให้ความส�ำคัญกับผูร้ บั เหมาทีร่ ว่ มงานกับบริษทั โดยบริษทั มีเกณฑ์การคัดเลือกผูร้ บั เหมาและมีขนั้ ตอนประเมินความสามารถ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพมีผลงานในอดีตทีน่ า่ เชือ่ ถือและน�ำมาจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลส�ำหรับการคัดเลือกผูร้ บั เหมาก่อสร้างในโครงการต่างๆ ของบริษัทฯและบริษัทย่อย โดยบริษัทมีนโยบายให้การสนับสนุนมีการวางระบบการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) เพื่อช่วยสนับสนุนด้านการจัดหาวัตถุดิบให้แก่ผู้รับเหมา การให้ความรู้ผู้รับเหมา รวมทั้งการพิจารณาการจัดชั้น คุณภาพของผู้รับเหมาที่มีคุณภาพตามผลงาน ตลอดจนมีการปรับราคาค่าก่อสร้างตามสภาวะตลาดและวัสดุก่อสร้างที่เพิ่มขึ้น อันเป็นผลกระทบจากอัตราค่าจ้างแรงงานขั้นต�่ำโดยการพิจารณาอย่างเป็นธรรม และมีมาตรฐานการตรวจสอบให้เป็นไปตาม เกณฑ์ที่กำ� หนด อีกทั้งมีการพิจารณาจ�ำนวนงานที่จะจัดจ้างผู้รับเหมาแต่ละรายอย่างโปร่งใส มีการจ่ายเงินตรงต่อเวลา และยัง เปิดกว้างรับผู้รับเหมาใหม่เข้ามาร่วมงานกับบริษัทโดยจะพิจารณาศักยภาพและคุณสมบัติของผู้รับเหมาใหม่ซึ่งเป็นการเตรียม ความพร้อมเพื่อรองรับการขยายงานและการเติบโตของบริษัทในอนาคต สิ่งเหล่านี้ได้สร้างบรรยากาศของความร่วมมือระหว่าง ผู้รับเหมากับบริษัทท�ำให้บริษัทมีความสัมพันธ์อันดีกับผู้รับเหมาที่บริษัทร่วมงานด้วยมาโดยตลอด ปัจจุบนั บริษทั ฯและบริษทั ย่อยท�ำสัญญาว่าจ้างผูร้ บั เหมาก่อสร้างทัง้ ขนาดกลางและขนาดเล็กจ�ำนวนรวมมากกว่า 100 ราย โดยมีการ ก�ำหนดคุณสมบัติผู้รับเหมาและราคาก่อนที่จะมีการตกลงท�ำสัญญาและก�ำหนดระยะเวลาการส่งมอบงานที่ชัดเจน ท�ำให้บริษัท ไม่มีความจ�ำเป็นต้องพึ่งพิงผู้รับเหมารายใดรายหนึ่ง ในขณะเดียวกันเพือ่ ป้องกันการเกิดภาวะการขาดแคลนแรงงาน บริษทั ได้นำ� แนวคิดการก่อสร้างบ้านแบบส�ำเร็จรูป (Prefabrication) หรือการก่อสร้างแบบพรีคาสท์ (Precast Construction) มาใช้โดยเพิ่มสัดส่วนการก่อสร้างบ้านแบบส�ำเร็จรูปเพื่อลดระยะเวลา การก่อสร้าง ทัง้ นีก้ ารก่อสร้างแบบพรีคาสท์จะใช้ผนังและชิน้ งานส�ำเร็จรูปซึง่ ผลิตจากโรงงานมาประกอบท�ำให้บริษทั ลดการพึง่ พา แรงงานที่มีฝีมือลงไปได้ บริษัทได้จัดตั้ง บจ. เพอร์เฟค พรีแฟบ ตั้งแต่ปี 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อด�ำเนินการผลิต ประกอบ และติดตั้งโครงสร้างระบบชิ้นส่วนส�ำเร็จรูป ซึ่งเป็นส่วนประกอบของบ้านพักอาศัย ทาวน์เฮ้าส์และรั้วโครงการ ตลอดจนชิ้นส่วน ส�ำเร็จรูปส�ำหรับโครงการคอนโดมิเนียม ปัจจุบัน บจ. เพอร์เฟค พรีแฟบ ได้ดำ� เนินการผลิตชิ้นส่วนส�ำเร็จรูปให้กับโครงการของ บริษัทแล้วโดยมีก�ำลังการผลิตประมาณ 500 หลังต่อปี นอกจากนีบ้ ริษัทได้จัดตั้ง บจ. ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อท�ำธุรกิจ รับเหมาก่อสร้าง บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ และ คอนโดมิเนียม Low Rise ให้เฉพาะกลุ่มบริษัท เป็นการรับงานก่อสร้างจากกลุ่มบริษัทซึ่งเป็นเจ้าของโครงการโดยตรง ซึ่งช่วยให้บริษัทสามารถควบคุมต้นทุนและระยะเวลา ก่อสร้าง รวมถึงการควบคุมปริมาณคุณภาพในการก่อสร้าง และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนผู้รับเหมาที่มีคุณภาพ


150

รายงานประจำ�ปี 2558

3. ความเสี่ยงด้านการบริหาร การจัดการ

ความเสี่ยงจากการค้�ำ ประกันบริษัทย่อย บริษัทได้มีการค�้ำประกันวงเงินกู้ยืมให้แก่บริษัทย่อย วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เท่ากับ 9,191.7 ล้านบาท ทัง้ นีบ้ ริษทั อาจมีความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการค�ำ้ ประกันให้แก่บริษทั ย่อยดังกล่าว หากบริษทั ย่อยไม่สามารถช�ำระหนีเ้ งินต้นและดอกเบีย้ ให้กับเจ้าหนี้อื่นใดที่บริษัทได้เข้าไปค�้ำประกันเงินกู้ยืมได้ตามก�ำหนด อย่างไรก็ตามบริษัทย่อยดังกล่าวต้องจัดหาเงินกู้ยืมและ วงเงินสินเชื่อเพื่อวัตถุประสงค์ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งเป็นการประกอบธุรกิจหลักของบริษัทย่อย โดยบริษัทมี การก�ำหนดนโยบายในการควบคุมดูแลการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ย่อยอย่างใกล้ชดิ ซึง่ จะท�ำให้บริษทั ย่อยมีผลก�ำไรจากผลประกอบการ และกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานเพียงพอทีจ่ ะช�ำระคืนหนีเ้ งินกูย้ มื ดังนัน้ ความเสีย่ งจากการทีบ่ ริษทั ให้การค�ำ้ ประกันเงินกูย้ มื แก่บริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับค่อนข้างต�่ำ

4. ความเสี่ยงด้านการเงิน

ความเสี่ยงจากการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ความสามารถในการชำ�ระหนี้ การเติบโตของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ต้องใช้เงินทุนในการด�ำเนินธุรกิจเป็นจ�ำนวนมาก บริษัทได้ด�ำเนินนโยบายเพิ่มสภาพคล่อง ในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ด้วยการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับธนาคารพาณิชย์หลายแห่ง โดยทุกโครงการของบริษทั ทีด่ ำ� เนินการ ในปัจจุบันล้วนได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการเงิน โดยบริษัทจะพิจารณาเปรียบเทียบข้อเสนอที่มีต้นทุนเหมาะสมที่สุด และ บริษัทยังได้ใช้การระดมทุนเพื่อบริหารสภาพคล่องโดยการออกหุ้นกู้ทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่เหมาะสมกับความต้องการใช้เงิน เพื่อน�ำมาพัฒนาโครงการและการขยายกิจการ (รายละเอียดตามข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น) การออกหุ้นกู้ดังกล่าวได้รับการ ตอบรับจากตลาดเป็นอย่างดี เนื่องด้วยชื่อเสียงและประสบการณ์ดำ� เนินธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีหนี้สินหมุนเวียนตามงบแสดงฐานะการเงินจ�ำนวน 11,964.832 ล้านบาท โดยมีรายการ ที่ส�ำคัญ ได้แก่ ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี จ�ำนวน 10,970 ล้านบาท ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายใน 1 ปี จ�ำนวน 5,709.49 ล้านบาท รวมถึงเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น จ�ำนวน 2,792.05 ล้านบาท ส�ำหรับเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินนั้น บริษัทจะช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวให้แก่สถาบันการเงินตามระยะเวลาการโอน กรรมสิทธิ์ของแต่ละโครงการ โดย ณ วันที่ 31 กันยายน 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีโครงการที่เปิดขายในปัจจุบันมีมูลค่า โครงการคงเหลือเท่ากับ 75,168.18 ล้านบาท (สามารถศึกษารายละเอียดโครงการของบริษทั และบริษทั ย่อยเพิม่ เติมในส่วนลักษณะ การประกอบธุรกิจ ตารางผลิตภัณฑ์แยกตามโครงการปัจจุบนั ) อีกทัง้ เมือ่ พิจารณาถึงเงินกูย้ มื ระยะยาวตามสัญญาเงินกูท้ ยี่ งั ไม่ได้ เบิกใช้ของบริษทั และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558 ทีม่ วี งเงินคงเหลือทีส่ ามารถเบิกใช้ได้อกี จ�ำนวน 11,687.34 ล้านบาท ซึ่งสามารถน�ำมาใช้เป็นแหล่งเงินทุนส�ำรองส�ำหรับบริษัทและบริษัทย่อยอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้ ในการช�ำระคืนหนี้หุ้นกู้ที่ครบก�ำหนด รวมถึงเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินนั้น ที่ผ่านมาบริษัทจะใช้เงินทุนหมุนเวียนจากการด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงการออกหุ้นกู้ ชุดใหม่ ซึ่งที่ผ่านมาบริษัทสามารถช�ำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ทุกรายได้ตามก�ำหนด และสามารถที่จะด�ำรงอัตราส่วนทางการเงิน ที่ส�ำคัญได้ตามเงื่อนไขของการออกหุ้นกู้และการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงิน ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย จากการที่บริษัทต้องมีการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใช้เป็นเงินทุนในการพัฒนาโครงการและด�ำเนินงาน ดังนั้น อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินจึงมีผลกระทบที่ส�ำคัญต่อต้นทุนทางการเงินของบริษัท ถึงแม้ว่าการกู้ยืมเงินดังกล่าวของบริษัทจะคิด ในอัตราดอกเบี้ยลอยตัวก็ตาม แต่เป็นการคิดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในระดับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต�่ำ (MLR) หรือต�่ำกว่านั้น นอกจากนีบ้ ริษทั ได้มมี าตรการลดความเสีย่ งของอัตราดอกเบีย้ ทีม่ คี วามผันผวน โดยการออกหุน้ กูร้ ะยะยาวทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงที่ เพื่อน�ำไปช�ำระคืนเงินกู้ยืมเดิมบางส่วนที่คิดเป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัวและมีต้นทุนดอกเบี้ยที่สูงกว่า รวมถึงการออกตั๋วแลกเงิน ระยะสั้นที่มีอัตราดอกเบี้ยต�่ำ เพื่อให้สามารถควบคุมต้นทุนอัตราดอกเบี้ยของบริษัทให้อยู่ในระดับเหมาะสม


151

ส�ำหรับความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อการซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคนั้น มีผลกระทบเพียงเล็กน้อย เนื่องจากการกู้ซื้อบ้าน เป็นการกู้ยืมระยะยาว การปรับขึ้นลงของอัตราดอกเบี้ยจึงส่งผลต่อยอดผ่อนช�ำระรายเดือนไม่มากนัก อีกทั้งผู้บริโภคได้มีการ ช�ำระเงินดาวน์ไปแล้วส่วนหนึ่ง นอกจากนี้ บริษัทก็สามารถจัดข้อเสนอพิเศษด้านอัตราดอกเบี้ยร่วมกับธนาคารพาณิชย์ อีกทั้ง การมีสนิ ค้าหลายระดับราคาซึง่ เน้นทีก่ ำ� ลังซือ้ จริงของผูอ้ ยูอ่ าศัยจริงเป็นหลัก ก็เป็นส่วนทีช่ ว่ ยลดผลกระทบของความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ยที่มีต่อผู้ซื้อด้วย ทั้งนี้ บริษัทมีภาระหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตามงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวน 11,007.95 ล้านบาท แต่อย่างไรก็ตาม ภาระหนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ดังกล่าว ส่วนใหญ่จะเป็นหุน้ กู้ และตัว๋ แลกเงินระยะสัน้ ทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงที่ ซึง่ หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบ หากอัตราดอกเบีย้ เพิม่ ขึน้ คือเงินกูป้ ระเภท Project Finance ซึง่ มีจำ� นวน 5,709.49 ล้านบาท โดยถ้าอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 บริษัทจะมีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นประมาณ 57 ล้านบาท

ความเสี่ยงเนื่องจากการที่ต้องดำ�รงอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2.0: 1 จากการที่บริษัทมีความเสี่ยงจากการด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2.0:1 ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ขณะนี้ บริษทั ได้มกี ารบริหารจัดการหนีส้ นิ และสามารถลดอัตราส่วนดังกล่าวลง โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีอตั ราส่วนหนีส้ นิ สุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 1.58:1 * จํานวนรวมของหนี้สินสุทธิ หมายถึง หนี้สินรวมตามที่ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงินรวมที่ได้ตรวจสอบหรือสอบทานโดย ผู้สอบบัญชีแล้ว โดยเป็นหนี้สินรวมที่มีภาระดอกเบี้ย หรือตกอยู่ภายใต้ส่วนลด ซึ่งรวมถึงภาระผูกพันทางการเงินและ ส่วนของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการที่บริษัทเข้าค�้ำประกัน อาวัล หรือก่อภาระผูกพันอื่นในลักษณะเดียวกันให้แก่บุคคลใดๆ หรือนิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่บริษัทย่อยของบริษัท

ความเสี่ยงจากการเช่าเหมาโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา จากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ (UNIPF) เนื่องจากบริษัทเป็นผู้บริหารและผู้เช่าเหมาโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา จากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ (UNIPF) โดย ได้ท�ำสัญญาเช่าเหมาในรูปแบบของค่าเช่าคงที่จำ� นวน 43.50 ล้านบาทต่อปี ส�ำหรับช่วงเวลา 3 ปีแรก (ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2556 ถึง 2559) และกองทุนรวมมีสิทธิพิจารณาขยายระยะเวลาการเช่าได้อีก 1 ปี จึงมีความเสี่ยงในกรณีที่รายได้ของโครงการ คลาดเคลื่อนต�่ำกว่าที่ประมาณการไว้ซึ่งจะท�ำให้บริษัทมีภาระค่าใช้จ่ายที่ต้องช�ำระค่าเช่าเพื่อให้เป็นไปตามสัญญาเช่าเหมา ทั้งนี้ บริษัทได้ป้องกันความเสี่ยงจากขาดทุนในการจ่ายค่าเช่าเหมาให้กับกองทุนรวมในอนาคตโดยฝ่ายบริหารได้มีการประเมินและ ตัง้ ส�ำรองการขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่าจ�ำนวน 45.30 ล้านบาท ในปี 2556 ซึง่ เป็นระดับทีเ่ หมาะสมและได้รบั ความเห็นชอบ จากบริษัทผู้สอบบัญชีแล้ว โดยในปี 2557 บริษทั ได้ตงั้ ส�ำรองการขาดทุนเพิม่ เติม จ�ำนวน 24.03 ล้านบาท จากการทีม่ อี ตั ราเข้าพักต�ำ่ กว่าที่ได้ประมาณการณ์ไว้ และในปี 2558 บริษัทสามารถบริหารโครงการให้มีผลด�ำเนินงานดีขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2557 และคาดว่าผลการด�ำเนินงานจะดีขึ้น ต่อเนื่อง จึงไม่จ�ำเป็นที่จะต้องเพิ่มการตั้งส�ำรองการขาดทุน

5. ความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจภายหลังจากการซื้อกิจการเป็นผลสำ�เร็จ

ความเสีย่ งจากลักษณะการด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภททีแ่ ตกต่างกันระหว่างบริษทั และ บมจ. ไทย พร็อพเพอร์ตี้ และ บมจ. แกรนด์ แอสเสท จากการทีธ่ รุ กิจหลักของบริษทั คือ การเป็นผูพ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์ทงั้ ในส่วนการพัฒนาทีด่ นิ และก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย แนวราบและ แนวสูงเพือ่ ขาย ในขณะทีธ่ รุ กิจหลักของ บมจ. ไทย พร็อพเพอร์ตี้ และ บมจ. แกรนด์ แอสเสท คือ ธุรกิจลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ อันได้แก่ ธุรกิจอาคารส�ำนักงานให้เช่าและธุรกิจโรงแรมซึง่ เป็นประเภทอสังหาริมทรัพย์ทมี่ ลี กั ษณะและความเสีย่ งในการด�ำเนินงาน ที่แตกต่างกันออกไป ท�ำให้ผลการด�ำเนินงานโดยรวมของบริษัทภายหลังจากการซื้อกิจการขึ้นอยู่กับความผันผวนทางเศรษฐกิจ และความต้องการอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบต่างๆ ทีห่ ลากหลาย ตลอดจนความสามารถในการแข่งขันของกลุม่ บริษทั กับผูป้ ระกอบการ รายอื่นๆ ที่มีความเชี่ยวชาญในประเภทธุรกิจอสังหาริมทรัพย์นั้นๆ อย่างไรก็ตาม ภายหลังการเข้าซื้อกิจการแล้วเสร็จ กลุ่มบริษัทมีแผนจะจัดโครงสร้างการบริหารจัดการธุรกิจของกลุ่มบริษัทใหม่


152

รายงานประจำ�ปี 2558

โดยก�ำหนดให้บริษทั เป็นแกนน�ำหลักในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เพือ่ ขายทัง้ โครงการแนวราบและแนวสูง บมจ. วีรเี ทล เป็นแกนหลักในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภทศูนย์การค้าและส�ำนักงานให้เช่า และ บมจ. แกรนด์ แอสเสท จะเป็น แกนน�ำหลักในการประกอบธุรกิจพัฒนาและประกอบกิจการโรงแรมส�ำหรับโครงการที่ด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบันและโครงการใหม่ ในอนาคต ซึง่ การจัดกลุม่ ธุรกิจอย่างชัดเจนจะท�ำให้แต่ละสายธุรกิจของกลุม่ บริษทั มีการด�ำเนินงานต่อเนือ่ งกัน อีกทัง้ เป็นการเพิม่ ศักยภาพของทีมผูบ้ ริหารและพนักงาน และเป็นการมุง่ เน้นการด�ำเนินธุรกิจทีต่ นเองมีความช�ำนาญและเป็นการใช้ศกั ยภาพเชิงบวก ของทุกองค์กรภายใต้กลุ่มบริษัท

ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจโรงแรมที่เพิ่มขึ้น ภายหลังจากการรวมกิจการเป็นผลส�ำเร็จ บริษัทจะมีบริษัทในเครือที่ประกอบธุรกิจโรงแรมระดับ 4-5 ดาว จึงท�ำให้บริษัทอาจมี ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจโรงแรมที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ความเสี่ยงจากความผันผวนของรายได้และก�ำไรจากธุรกิจโรงแรม ซึง่ อาจได้รบั ผลกระทบจากสภาพการแข่งขันระหว่างผูป้ ระกอบการโรงแรมเพือ่ ช่วงชิงส่วนแบ่งตลาด รวมถึงปัจจัยภายนอกต่างๆ ที่จะมีผลกระทบกับทรัพย์สินและการด�ำเนินงานของธุรกิจโรงแรม เช่น ภัยธรรมชาติต่างๆ การก่อการร้าย หรือความไม่สงบ ทางการเมือง ซึ่งเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้า โดยเหตุการณ์เหล่านี้หากเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้จำ� นวนนักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้ามาในประเทศลดลงอย่างมาก และส่งผลกระทบโดยตรงต่อรายได้ และก�ำไรของธุรกิจโรงแรม


153 การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ประเมินระบบการควบคุม ภายในของบริษัทฯ โดยใช้แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในที่ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ก�ำหนด (ปรับปรุงตาม COSO Internal Control – Integrated Framework ปี 2556) ซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบของระบบการควบคุมภายใน 5 ด้าน ได้แก่ การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสีย่ ง การควบคุมการปฏิบตั งิ าน ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล และระบบการติดตาม ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ฯ เห็นว่าบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม และจัดให้มบี คุ ลากรเพือ่ ด�ำเนินการในเรือ่ ง ดังกล่าวอย่างเพียงพอ รวมถึงมีการติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ ป้องกันทรัพย์สินจากการน�ำไปใช้โดยมิชอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. การควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) 1) องค์กรแสดงถึงความยึดมั่นในคุณค่าของความซื่อตรง (Integrity) และจริยธรรม คณะกรรมการและผู้บริหารก�ำหนดแนวทาง และปฏิบัติโดยยึดถือหลักความซื่อตรงและการรักษาจรรยาบรรณในการด�ำเนินงาน ซึ่งครอบคลุมการปฏิบัติหน้าที่ประจ�ำวัน การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ รวมถึงการปฏิบัติต่อคู่ค้า ลูกค้า และบุคคลภายนอก บริษัทฯ จัดท�ำข้อก�ำหนดจริยธรรม (code of conduct) ห้ามฝ่ายบริหารและพนักงานปฏิบัติตนในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ฯ ห้ามพนักงานเรียกร้องทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อนื่ ใดจากคูค่ า้ ผูร้ บั เหมา หรือผูเ้ กีย่ วข้องอืน่ ๆ ห้ามใช้ทรัพย์สินหรือแอบอ้างชื่อของบริษัทฯ รวมถึงใช้อ�ำนาจหน้าที่เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว หรือรวมถึงห้ามคอร์รัปชั่น และก�ำหนดบทลงโทษหากมีการฝ่าฝืนข้อก�ำหนดดังกล่าว และสือ่ สารข้อก�ำหนดและบทลงโทษให้ฝา่ ยบริหารและพนักงานทุกระดับ รับทราบ 2) คณะกรรมการมีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร และทำ�หน้าที่กำ�กับดูแล (Oversight) และพัฒนาบุคลากรและกระบวนการควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำกับดูแลให้บริษัทฯ ก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจที่ชัดเจน วัดผลได้เป็นรูปธรรม และมีความเป็น ไปได้ในทางปฏิบตั ิ และก�ำกับดูแลให้บริษทั ฯ ก�ำหนดบทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารให้ถกู ต้องตามกฎหมาย กฎบัตร ซึ่งครอบคลุมบทบาทส�ำคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้รับผิดชอบต่อรายงาน ทางการเงิน โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระที่มีความรู้ความสามารถ น่าเชื่อถือ มีความเป็นอิสระในการ ปฏิบัติหน้าที่อย่างแท้จริง ในจ�ำนวนที่เหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำกับดูแลการพัฒนาบุคลากรและกระบวนการควบคุมภายในของบริษัทฯ ให้เหมาะสม 3) ฝ่ายบริหารได้จัดให้มีโครงสร้างองค์กรที่กระชับ การกำ�หนดอำ�นาจในการสั่งการและความรับผิดชอบที่เหมาะสม เพือ่ ให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ภายใต้การกำ�กับดูแล (Oversight) ของคณะกรรมการบริษัทฯ บริษทั ฯ จัดให้มโี ครงสร้างองค์กรทีส่ นับสนุนการบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริษทั ฯ และจัดให้มกี ารควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ การแบ่งแยกหน้าที่ในส่วนงานที่ส�ำคัญซึ่งท�ำให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างกัน มีส�ำนักตรวจสอบภายในขึ้นตรงกับ คณะกรรมการตรวจสอบ และมีสายการรายงานที่ชัดเจน นอกจากนี้ ผูบ้ ริหารระดับสูงก�ำหนดสายการรายงานในบริษทั ฯ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมเกีย่ วกับอ�ำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ และการสือ่ สารข้อมูล มีการก�ำหนด มอบหมาย และจ�ำกัดอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมระหว่างคณะกรรมการ บริษัทฯ คณะกรรมการบริหาร ผู้บริหาร และพนักงาน


154

รายงานประจำ�ปี 2558

4) องค์กรแสดงถึงความมุ่งมั่นในการจูงใจ พัฒนาและรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ บริษัทฯ มีนโยบายและวิธีการปฏิบัติเพื่อจัดหา พัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสม และมีกระบวนการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน การให้แรงจูงใจต่อบุคลากรที่มีผลการปฏิบัติงานดี รวมถึงสื่อสารกระบวนการเหล่านี้ให้ผู้บริหารและ พนักงานทราบ บริษทั ฯ จัดให้มกี ารฝึกอบรมพนักงานอย่างเหมาะสมเพียงพอ รวมถึงมีกระบวนการแก้ไขปัญหาหรือเตรียมพร้อม การขาดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ 5) องค์กรกำ�หนดให้บคุ ลากรมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการควบคุมภายในเพือ่ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กร คณะกรรมการและผู้บริหารมีกระบวนการและการสื่อสารเชิงบังคับให้บุคลากรทุกคนมีความรับผิดชอบต่อการควบคุมภายใน และจัดให้มีการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการปฏิบัติในกรณีที่จ�ำเป็น มีการก�ำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่เหมาะสมสอดคล้อง หลักจริยธรรมและวัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ การให้แรงจูงใจเชือ่ มโยงกับความส�ำเร็จของหน้าที่ในการปฏิบตั ติ ามการควบคุมภายใน

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 1) องค์กรกำ�หนดวัตถุประสงค์ไว้อย่างชัดเจนเพียงพอ เพื่อให้สามารถระบุและประเมินความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป เหมาะสมกับธุรกิจ และเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วนถูกต้อง คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงมีการสื่อสารนโยบายการบริหารความเสี่ยงให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนรับทราบและถือปฏิบัติ 2) องค์กรระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงตามกรอบที่กำ�หนดอันอาจมีผลกระทบ ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ไว้อย่างครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร บริษัทฯ ระบุความเสี่ยงในภาพรวมที่อาจมีผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจในระดับองค์กร หน่วยธุรกิจ ตลอดจนฝ่ายงาน มีการ วิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งที่เกิดจากปัจจัยภายในและภายนอกองค์กร รวมถึงความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ การด�ำเนินงาน การรายงาน การปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยพิจารณาโอกาสเกิดเหตุการณ์ (Likelihood) และผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ (Impact) 3) องค์กรได้พิจารณาความเสี่ยงจากการทุจริต ในการประเมินความเสี่ยงของแต่ละหน่วยงานภายใน ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร บริษัทฯ มีการประเมินโอกาสที่จะเกิดการทุจริตขึ้น มีการทบทวนเป้าหมายการปฏิบัติงานอย่างรอบคอบว่ามีความเป็นไปได้ ผลตอบแทนที่ให้สมเหตุสมผลและไม่สง่ เสริมให้พนักงานกระท�ำการไม่เหมาะสม รวมถึงคณะกรรมการตรวจสอบได้สอบถามผูบ้ ริหาร เกี่ยวกับโอกาสในการเกิดทุจริตและมาตรการที่บริษัทฯ ด�ำเนินการเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงในเรื่องดังกล่าว 4) องค์กรสามารถระบุและประเมินความเปลี่ยนแปลงที่อาจมีผลกระทบต่อระบบการควบคุมภายใน บริษทั ฯ ประเมินการเปลีย่ นแปลงปัจจัยภายนอกองค์กรและการเปลีย่ นแปลงรูปแบบการท�ำธุรกิจทีอ่ าจมีผลกระทบต่อการด�ำเนิน ธุรกิจ การควบคุมภายใน และรายงานทางการเงิน และก�ำหนดมาตรการรองรับอย่างเพียงพอ

3. การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities) 1) องค์กรมีมาตรการควบคุมที่ช่วยลดความเสี่ยงที่จะไม่บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มาตรการควบคุมของบริษทั ฯ มีความเหมาะสมกับความเสีย่ งขององค์กร และมีมาตรการการควบคุมภายในทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร ครอบคลุมกระบวนการต่างๆ อย่างเหมาะสม อาทิ นโยบายและระเบียบวิธปี ฏิบตั งิ านเกีย่ วกับธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซือ้ และ การบริหารทั่วไป มีการก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และล�ำดับชั้นการอนุมัติของผู้บริหารในแต่ละระดับอย่างชัดเจน รัดกุม เพื่อป้องกันการทุจริต มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบด้านอนุมัติ บันทึกบัญชี และดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน เพื่อให้สามารถ ตรวจสอบซึ่งกันและกันได้


155 2) องค์กรเลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมทั่วไปด้วยระบบเทคโนโลยี เพื่อช่วยสนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค์ บริษัทฯ ก�ำหนดความเกี่ยวข้องกันระหว่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการปฏิบัติงานและการควบคุมทั่วไปของระบบ สารสนเทศ และก�ำหนดการควบคุมของโครงสร้างพื้นฐานและความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม มีการพัฒนาและบ�ำรุงรักษาระบบสารสนเทศ 3) องค์กรจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมผ่านทางนโยบาย ซึ่งได้กำ�หนดสิ่งที่คาดหวังและขั้นตอนการปฏิบัติ เพื่อให้นโยบายที่กำ�หนดไว้นั้นสามารถนำ�ไปสู่การปฏิบัติได้ บริษทั ฯ มีนโยบายทีร่ ดั กุมเพือ่ ติดตามให้การท�ำธุรกรรมของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการ และผูบ้ ริหาร หรือผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับบุคคลดังกล่าว ต้องผ่านขัน้ ตอนการอนุมตั ทิ กี่ ำ� หนด การพิจารณาอนุมตั ธิ รุ กรรมกระท�ำโดยผูท้ ไี่ ม่มสี ว่ นได้เสียในธุรกรรมและค�ำนึงถึงประโยชน์สงู สุด ของบริษทั ฯ เป็นส�ำคัญ โดยถือเสมือนเป็นรายการทีก่ ระท�ำกับบุคคลภายนอก (at arms’ length basis) มีกระบวนการติดตามดูแล การด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

4 ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication) 1) องค์กรมีขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วข้องและมีคณ ุ ภาพ เพือ่ สนับสนุนให้การควบคุมภายในสามารถดำ�เนินไปได้ตามทีก่ �ำ หนดไว้ บริษทั ฯ ด�ำเนินการเพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ มีขอ้ มูลทีส่ ำ� คัญอย่างเพียงพอส�ำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจ และได้รบั หนังสือ นัดประชุมและเอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อยภายในระยะเวลาทีก่ ฎหมายก�ำหนด รายงานการประชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ มีรายละเอียดตามควร เพือ่ ให้สามารถตรวจสอบย้อนหลังเกีย่ วกับความเหมาะสมในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ บริษัทฯ แต่ละราย และจัดเก็บเอกสารส�ำคัญไว้อย่างครบถ้วน 2) องค์กรสื่อสารข้อมูลภายในองค์กร ซึ่งรวมถึงวัตถุประสงค์และความรับผิดชอบต่อการควบคุมภายในที่จ�ำ เป็น ต่อการสนับสนุนให้การควบคุมภายในสามารถดำ�เนินไปได้ตามที่วางไว้ บริษทั ฯ มีกระบวนการสือ่ สารข้อมูลภายในอย่างมีประสิทธิภาพและมีชอ่ งทางการสือ่ สารทีเ่ หมาะสม มีการรายงานข้อมูลทีส่ �ำคัญ ถึงคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ และคณะกรรมการบริษัทฯ สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศที่จ�ำเป็นต่อการปฏิบัติงาน หรือสอบทานรายการต่างๆ ตามที่ต้องการ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีช่องทางการสื่อสารพิเศษหรือช่องทางลับเพื่อให้บุคคลภายใน บริษัทฯ สามารถแจ้งข้อมูลหรือเบาะแสเกี่ยวกับการฉ้อฉลหรือทุจริตภายในบริษัทฯ ได้อย่างปลอดภัย 3) องค์กรได้สื่อสารกับหน่วยงานภายนอก เกี่ยวกับประเด็นที่อาจมีผลกระทบต่อการควบคุมภายใน บริษัทฯ มีกระบวนการสื่อสารข้อมูลกับผู้มีส่วนได้เสียภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีฝ่ายลงทุนสัมพันธ์เพื่อให้ข้อมูล แก่นักลงทุน

5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) 1) องค์กรติดตามและประเมินผลการควบคุมภายในเพื่อให้มั่นใจได้ว่าการควบคุมภายใน ยังดำ�เนินไปอย่างครบถ้วน เหมาะสม บริษัทฯ มีการกระบวนการติดตามการปฏิบัติตามจริยธรรมทางธุรกิจและข้อก�ำหนดห้ามฝ่ายบริหารและพนักงานปฏิบัติตน ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดการขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยผู้บังคับบัญชาของแต่ละส่วนงานและส�ำนักตรวจสอบภายใน ติดตาม และประเมินผลระบบการควบคุมภายในโดยส�ำนักตรวจสอบภายในซึง่ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ส่งเสริมให้ผตู้ รวจสอบ ภายในปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพตรวจสอบภายใน (International Standard for The Professional Practice of Internal Auditing, IIA)


156

รายงานประจำ�ปี 2558

2) องค์กรประเมินและสื่อสารข้อบกพร่องของการควบคุมภายในอย่างทันเวลาต่อบุคคลที่รับผิดชอบ ซึ่งรวมถึงผู้บริหารระดับสูงและคณะกรรมการตามความเหมาะสม บริษทั ฯ ประเมินผลและสือ่ สารข้อบกพร่องของการควบคุมภายใน และด�ำเนินการติดตามแก้ไขอย่างทันท่วงที กรณีเกิดเหตุการณ์ หรือสงสัยว่ามีเหตุการณ์ทุจริตอย่างร้ายแรง ฝ่าฝืนกฎหมาย หรือการกระท�ำที่ผิดปกติอื่น ฝ่ายบริหารจะรายงานต่อคณะกรรมการ บริษทั ฯ ทันที รวมถึงการรายงานข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญและแนวทางแก้ไขปัญหาต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ตรวจสอบภายในเวลาอันควร ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ สอดคล้องกับความเห็นของคณะกรรมการ บริษัทฯ รวมถึงการแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทฯ โดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คือ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ก็มิได้ระบุข้อบกพร่องของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระส�ำคัญ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปีผู้สอบบัญชีมีรายงานข้อสังเกตเกี่ยวกับการควบคุมภายในของบริษัทฯ บางประการต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการควบคุมภายในให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ซึง่ ข้อสังเกตส�ำคัญๆ ได้แก่ บริษัทฯ มีเงินทดรองจ่ายค่าซื้อที่ดินคงค้างเป็นเวลานาน และประมาณการต้นทุนโครงการรับเหมาก่อสร้างของบริษัทย่อย มีความแตกต่างจากต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงมาก บริษทั ฯ ก�ำหนดให้มหี น่วยงานตรวจสอบภายใน ขึน้ ตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีนางสาวดวงพร เริม่ ยินดี ด�ำรงต�ำแหน่ง ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักตรวจสอบภายใน ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าเป็นผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ และมีความเหมาะสมที่ จะปฏิบัติหน้าที่หัวหน้างานตรวจสอบภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และบริษทั ฯ มีขอ้ บังคับก�ำหนดให้การแต่งตัง้ ถอดถอน และโยกย้ายผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ


157 ความรับผิดชอบต่อสังคม 1. นโยบายภาพรวม

นโยบายและการกำ�กับดูแล บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย และ ให้เช่า โดยมีนโยบายให้ความส�ำคัญต่อการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ค�ำนึงถึงมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งผู้บริโภค ผู้ถือหุ้น พนักงาน และคู่ค้า ตลอดจนชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องด้วยหลักบรรษัทภิบาล และด�ำเนินธุรกิจด้วยความ รับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม (Public & Environment) โดยตระหนักถึงการปฏิบัติตามมาตรฐานต่างๆ อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยยึดถือหลัก 3 ประการ ได้แก่ 1. ความซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบต่อหน้าที่ (Integrity and Accountability) โดยมีความเป็นมืออาชีพ (Professionalism) ของบุคลากรทุกระดับ 2. การด�ำเนินงานที่โปร่งใส (Transparency) มีระบบการควบคุมภายในที่ดี (Good Internal Control System) โดยมีความ โปร่งใสในการด�ำเนินงาน 3. การสร้างคุณค่าระยะยาวต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ (Creation of long-term value to all Stakeholders) โดยการปฏิบัติ อย่างเสมอภาคและเป็นที่เชื่อถือของผู้ที่มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ (Fiduciary Duties towards Stakeholders)

บทบาทของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ทุกคนจะต้องมีภาวะผู้น�ำและสามารถควบคุมการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย สามารถสร้างผลตอบแทนที่เป็นธรรมให้แก่ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ คณะกรรมการบริษัท จะร่วมกับฝ่ายบริหาร ก�ำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และค่านิยม (Value) ของบริษัทให้มีขึ้นเพื่อให้ทุกคนปฏิบัติตาม กรรมการบริษัทฯ ต้องเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบด้านจริยธรรมและตามกฎหมายต่อบริษัท และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความระมัดระวัง ซือ่ สัตย์สจุ ริต และแสดงความเห็นของตนอย่างเป็นอิสระ รวมทัง้ มีบทบาทในการปรับปรุงแนวทางการด�ำเนินงาน ของบริษัท ให้เป็นไปตามหลักการบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม พร้อมแนวปฏิบัติของบริษัทใหม่ โดย เพิม่ เติมเรือ่ งจริยธรรมขององค์กร และแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ดี า้ น CSR (CSR Best Practices) ในส่วนการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม (Social and Environmental Responsibility) เพื่อให้สอดคล้องแนวปฏิบัติที่ดีด้านการประกอบธุรกิจ เพื่อสังคม รวมถึงแนวปฏิบัติที่ดีด้าน CSR (CSR Best Practices) ของบริษัทจดทะเบียนกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างตาม แนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

วิสัยทัศน์ในการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทมีวิสัยทัศน์ในการด�ำเนินธุรกิจ คือ เป็นผู้น�ำด้านอสังหาริมทรัพย์ที่มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่งในการสร้างความสุขและ ความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าในทุกช่วงชีวิต รวมถึงชุมชน พันธมิตร ผู้ถือหุ้น ตลอดจนพนักงานโดยเน้นคุณภาพชีวิตในสิ่งแวดล้อม ที่สมบูรณ์แบบ

ภารกิจที่ต้องดำ�เนินการ 1. สร้างสรรค์-พัฒนาสินค้าและบริการที่ทันสมัย ในท�ำเลที่มีศักยภาพ ตอบสนองแนวคิดใหม่ๆ ของการใช้ชีวิตอย่างทันเวลา และต่อเนื่อง 2. สร้าง-พัฒนาความมั่นคงของฐานะทางการเงินเพื่อให้ตอบรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในส่วนขององค์กรและผู้มีส่วน ได้เสียอย่างครบครัน


158

รายงานประจำ�ปี 2558

3. สร้าง-พัฒนาการบริหารจัดการทีเ่ ป็นเลิศโดยทีมบุคคลากรมืออาชีพภายใต้ระบบการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นมาตรฐานอย่างต่อเนือ่ ง 4. สร้าง-พัฒนาความสุข ความพึงพอใจในสินค้าและบริการ ด้วยสิ่งแวดล้อมที่ดีกว่า คุณภาพชีวิตที่เหนือกว่า และตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าในทุกช่วงชีวิต 5. สร้าง-พัฒนาชือ่ เสียงและความภาคภูมิใจด้วยการด�ำเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบ มีจรรยาบรรณ และค�ำนึงถึงผลประโยชน์และ ผลกระทบในทุกส่วนของสังคมที่เกี่ยวข้อง

บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทได้ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจในการพัฒนาโครงการต่างๆ จะต้องเกี่ยวข้องกับหรือ มีผลกระทบหลายภาคส่วนทั้งทางด้านผู้มีส่วนได้เสียและชุมชนรอบๆ โครงการ โดยบริษัทได้มีการศึกษาและวิเคราะห์ รวมถึง จัดท�ำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมส�ำหรับโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รวมถึงบริษทั ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญ ของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงานบริษัท และผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ลูกค้า, คู่แข่ง, เจ้าหนี้ (สถาบันการเงิน ผู้ถือหุ้นกู้), คู่ค้า (ผู้จ�ำหน่ายสินค้า ผู้รับเหมาก่อสร้าง และพันธมิตรทางธุรกิจ), ภาครัฐ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยบริษัทได้พยายามด�ำเนินนโยบาย เพื่อให้เกิดความ ยุติธรรม และเหมาะสมกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนี้ ผู้ถือหุ้น บริษทั จะดูแลรักษาการลงทุนของผูถ้ อื หุน้ ให้ได้ผลตอบแทนอย่างเหมาะสมและยุตธิ รรม ตลอดจนมุง่ เน้นปรับปรุงและพัฒนาระบบงาน ของบริษัทเพื่อความเจริญเติบโตและยั่งยืนของบริษัท รวมถึงบริษัทค�ำนึงถึงความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญต่อผู้ถือหุ้น ทุกรายอย่างถูกต้องครบถ้วนทันเวลา โดยผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การแจ้งข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และการแจ้งข้อมูลผ่านทางเว็บไซด์ของบริษัท การประกาศทางหนังสือพิมพ์ การจัดท�ำ Press Release หรือ การจัดส่งจดหมายเป็นลายลักษณ์อักษร พนักงานบริษัท บริษัทได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของพนักงานซึ่งเป็นพลังขับเคลื่อนที่สำ� คัญขององค์กรในการประกอบธุรกิจ จึงได้มีความมุ่งมั่น ที่จะเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทกับพนักงานให้เกิดความผูกพัน ความสามัคคี ผ่านกิจกรรมต่างๆ มีการก�ำหนด นโยบายในการพัฒนาพนักงาน การบริหารผลตอบแทนและสวัสดิการอย่างเป็นรูปธรรม มีการด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ ง โดยบริษทั ให้การฝึกอบรมและพัฒนา ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ตลอดจนเสริมสร้างทัศนคติทดี่ ีให้กบั บุคลากรผ่านกระบวนการและเครือ่ งมือ ทีเ่ หมาะสมซึง่ ทางบริษทั ได้คดั สรรให้เหมาะกับบุคลากรในทุกภาคส่วนซึง่ ก�ำหนดเป็นแผนการฝึกอบรมประจ�ำปี และได้ดำ� เนินงาน ตลอดทั้งปี มีการจัดปฐมนิเทศพนักงานให้กับพนักงานใหม่เป็นประจ�ำทุกเดือน เพื่อให้ความรู้ เสริมสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับระเบียบปฏิบัติตลอดจนวัฒนธรรมองค์กรสามารถปรับตัวเข้าสู่การท�ำงานได้อย่างรวดเร็ว เมือ่ พนักงานใหม่เข้ามาเริม่ งานจะได้รบั การฝึกอบรมให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในหน้าที่ (Job Description) และเรียนรูก้ ระบวนการท�ำงาน ในระหว่างปฏิบตั งิ าน (On the job training : OJT) มีการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงานเพือ่ เป็นการ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ข้อมูลอื่นๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้อง บริษัทมุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์เพื่อความราบรื่นในการด�ำเนินงานโดยมีกิจกรรม Team Building เพื่อเสริมสร้างให้พนักงาน ในหน่วยงานต่างๆ ได้ทำ� ความรู้จักกันระหว่างหน่วยงาน เกิดความผูกพัน ส่งผลให้การประสานงานภายในองค์กรมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ก�ำหนดให้มีการจัดขึ้นในทุกๆ ปี และมีกิจกรรมอื่น เช่น งานปีใหม่ เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารและพนักงาน ได้ท�ำกิจกรรมร่วมกัน บริษทั มีการบริหารค่าตอบแทนอย่างเป็นธรรมโดยได้แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเพือ่ ท�ำหน้าทีพ่ จิ ารณาก�ำหนดการ จ่ายผลตอบแทน การพิจารณาการปรับเลือ่ นต�ำแหน่งให้พนักงานอย่างเหมาะสมตามความสามารถของแต่ละบุคคลและเป็นธรรม เป็นไปตามแผนเส้นทางความก้าวหน้าสายอาชีพ (Career path)


159

ให้การดูแลสวัสดิการพนักงานและสิทธิที่ควรพึงได้รับอย่างชัดเจนเพื่อให้บุคลากรมีความสุขทั้งทางร่างกายและจิตใจอันจะส่ง ผลให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพ ได้แก่ วันหยุดตามประเพณี /ประกันสังคม/กองทุนเงินทดแทน/สิทธิในการลาป่วย ลากิจ ลาพักร้อน ลาคลอด ลาอุปสมบท ลาเพือ่ ท�ำหมัน ลาเพือ่ เข้ารับการฝึกทหาร ลาเพือ่ ฝึกอบรม/ประกันสุขภาพ/ประกันชีวติ / ค่ารักษาพยาบาลในกรณีผปู้ ว่ ยนอก/กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ/ทุนการศึกษา นอกจากนีย้ งั ให้สว่ นลดพิเศษส�ำหรับพนักงานทีต่ อ้ งการ ซื้อที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองกับทางโครงการของบริษัท และเปิดโอกาสให้พนักงานมีสิทธิในการเข้าไปใช้ Sport Club ของแต่ละ โครงการ เพื่อออกก�ำลังกายเสริมสร้างสมรรถภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ บริษทั ได้เปิดโอกาสให้ทงั้ ผูบ้ ริหารและพนักงานซึง่ เป็นผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียได้แลกเปลีย่ นและน�ำเสนอความคิดเห็นผ่านช่องทางการ สือ่ สารองค์กร เช่น ระบบ Intranet วารสารภายใน เพือ่ สร้างความเข้าใจอันดีในทุกภาคส่วน มีการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารซึง่ พนักงาน สามารถน�ำเสนอและแลกเปลี่ยนแนวคิดในการท�ำงานและพัฒนาองค์กรกับผู้บริหารได้โดยตรงซึ่งถือเป็นการสื่อสารสองทาง (Two-Way Communication) ที่ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดี เนื่องจากข้อมูลที่ทุกภาคส่วนได้รับถือเป็นข้อมูลในระดับปฐมภูมิ สามารถสื่อสารและสร้างความเข้าใจโดยตรงและครบถ้วน ทั้งนี้ในอนาคตอันใกล้บริษัทจะปรับปรุง เพิ่มกิจกรรม ช่องทางในการแลกเปลี่ยนแนวคิด รวมถึงช่องทางในการรับข้อเสนอต่างๆ มากยิ่งขึ้นเพื่อให้สามารถเข้าถึงบุคลากรที่อยู่ตามโครงการต่างๆ ที่อาจไม่สามารถเข้าถึงสื่อหลักที่ได้ดำ� เนินการอยู่แล้ว เพื่อให้ บุคลากรก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจในภาวะที่มีการแข่งขันสูง เช่น สื่อบุคคล ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องก�ำหนดแผนงาน Visit Site ในทุกเดือนเพื่อเข้าไปรับข้อเสนอแนะต่างๆ ตลอดจนเข้าไป น�ำเสนอข้อมูลต่างๆ ให้บุคลากรแต่ละโครงการมีความรู้ ความเข้าใจที่ทันสมัยอยู่เสมอ เช่น ข้อมูลการปรับปรุงระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ข่าวสารขององค์กร แนวโน้มเศรษฐกิจ สังคม ข้อกฎหมายในช่วงเวลานั้นๆ เพื่อที่จะสามารถปรับตัวให้ทัน กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง สื่อสารองค์กรผ่านกิจกรรมพิเศษต่างๆ ที่ทางหน่วยงานด้านทรัพยากรมนุษย์มีการก�ำหนดแผนงานประจ�ำปี โดยผ่านสื่อ Social Network ในรูปแบบกิจกรรมต่างๆ ที่ทำ� ให้เกิดความร่วมมือกันมากยิ่งขึ้น สือ่ สารผ่านกิจกรรมเพือ่ สังคม โดยในอนาคตบริษทั ได้กำ� หนดแผนงานทีส่ ง่ เสริมให้พนักงานได้มโี อกาสท�ำกิจกรรมเพือ่ สังคม มากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ จึงถือเป็นโอกาสอันดีในการทีท่ กุ คนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมจะได้แลกเปลีย่ นข่าวสารข้อมูลในการพัฒนาองค์กร พัฒนางานที่รับผิดชอบได้ดียิ่งขึ้น การเพิ่มโอกาสในการศึกษาต่อของพนักงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท เพื่อให้ได้น�ำความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ที่ได้รับมาพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพิม่ เครือ่ งมือในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มากขึน้ นอกเหนือจากการฝึกอบรมภายในห้องเรียน หรือฝึกอบรมภายในบริษทั ให้มีโอกาสได้ไปศึกษาประสบการณ์ความรู้เพื่อเรียนรู้เทคโนโลยี นวัตกรรรม เครื่องมือ เทคนิค วิธีการในการท�ำงานใหม่ๆ เพื่อน�ำองค์ความรู้มาเชื่อมโยงและบูรณาการกับประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ ปรับปรุงรูปแบบการบริหารค่าตอบแทนให้ทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อให้รองรับกับภาวะเศรษฐกิจ ค่าครองชีพ อัตราเงินเฟ้อที่มี การเปลี่ยนแปลง ให้บุคลากรสามารถครองชีพได้อย่างเพียงพอ ปรับปรุงสวัสดิการต่างๆ ให้มีความเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ สังคม ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปเพื่อให้เกิดความสมดุลย์ ระหว่างชีวิตกับการท�ำงาน (work-life balance) ลูกค้า บริษัทให้ความส�ำคัญในการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและบริการที่มีมาตรฐานเพื่อความพึงพอใจของลูกค้า นอกจากนี้ยังให้ความ ส�ำคัญเรื่องจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานโดยเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า ให้บริการต่อลูกค้าอย่างมีคุณภาพ และมีมาตรฐาน อีกทั้งการแก้ปัญหาที่ลูกค้าร้องเรียนหรือให้ข้อเสนอแนะต่อบริษัทโดยเร็วที่สุด รวมถึงการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์และบริการกับลูกค้าทีถ่ กู ต้องไม่กล่าวอ้างเกินความเป็นจริง และความสะดวกในการติดต่อหรือร้องเรียนเกีย่ วกับคุณภาพ สินค้าและการบริการ โดยแบ่งประเภทของลูกค้าออกเป็นดังนี้


160

รายงานประจำ�ปี 2558

ลูกค้าที่เข้ามาเยี่ยมชมโครงการ บริษัทได้ให้ความส�ำคัญกับลูกค้าที่เข้ามาเยี่ยมชมโครงการ โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ และผลิตภัณฑ์ ความก้าวหน้าของโครงการ รวมทั้งนวัตกรรมหรือสิ่งใหม่ๆ ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้าที่เข้าเยี่ยมชม โครงการ รวมถึงการติดตามให้ข้อมูลเพิ่มเติมและเชิญชวนลูกค้าที่เคยเข้ามาเยี่ยมชมโครงการ เมื่อทางบริษัทจัดกิจกรรม หรืองานเปิดตัวโครงการใหม่ๆ ในช่องทางการสื่อสารที่ไม่รบกวนลูกค้าจนเกินไป เช่น SMS หรือ E-mail เป็นต้น ลูกค้าที่เป็นลูกบ้านของโครงการ บริษัทให้ความส�ำคัญกับลูกค้าที่ซื้อสินค้าในโครงการโดยการดูแลให้ค�ำปรึกษาตั้งแต่ การซือ้ สินค้า เช่น การให้คำ� ปรึกษาต่างๆ ในกระบวนการซือ้ และการกูธ้ นาคาร เป็นต้น จนถึงการส่งมอบสินค้า โดยบริษทั จะแจ้ง ความคืบหน้าด้านต่างๆ ของสินค้า รวมถึงการให้ค�ำปรึกษาเรื่องการการโอนกรรมสิทธิ์บ้านและอาคารชุด กรณีที่บริษัท ไม่สามารถท�ำการขายหรือส่งมอบได้ตามข้อตกลงต้องแจ้งให้ลกู ค้าทราบและเจรจาเปลีย่ นแปลงข้อตกลงร่วมกัน หากลูกค้า มีความต้องการใดๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม บริษทั จะหาแนวทางเพือ่ ให้ลกู ค้าพึงพอใจและเกิดประโยชน์สงู สุดกับส่วนรวม นอกจากนี้บริษทั ยังค�ำนึงถึงการดูแลสมาชิกลูกบ้านในทุกโครงการและสร้างสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกัน จึงตะหนักถึงการสร้างสังคม คุณภาพภายใต้แนวคิด Happy Living จึงได้จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่องตามแผนงานที่วางไว้ในแต่ละปี เพื่อเน้นถึงการ สร้างชุมชนทีน่ า่ อยูโ่ ดยค�ำนึงถึงคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ใส่ใจในการให้ขอ้ มูลข่าวสารอันเป็นประโยชน์โดยการประสานงานกันในแต่ละ โครงการด้วยทีมงานที่ได้รับการอบรมและให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อลูกบ้านทั้งทางการอยู่อาศัยและการบริการ งานกิจกรรม ถือเป็นส่วนส�ำคัญส่วนหนึ่งที่ท�ำให้ลูกบ้านและโครงการได้มีโอกาสอันดีในการร่วมมือและพบปะกันเพื่อสร้างกิจกรรมดีๆ การให้ข่าวสารถือเป็นหลักส�ำคัญที่บริษัทจะต้องให้ข้อมูลได้อย่างทั่วถึงและถูกต้องเพี่อให้ลูกบ้านทราบถึงการด�ำเนินงานต่างๆ แต่ด้วยนโยบายที่บริษัทยึดหลักถึงการดูแลเอาใจใส่ลูกบ้านด้วยดีมาตลอดเรายังเปิดช่องทางให้ลูกบ้านได้มีโอกาสในการแนะน�ำ แลกเปลีย่ นความคิด หรือแจ้งความประสงค์ เพือ่ ให้ทางบริษทั ได้พฒ ั นาการจัดการให้ดยี งิ่ ขึน้ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจและได้พฒ ั นา องค์กรอย่างยั่งยืนต่อไป คู่แข่ง บริษทั ปฏิบตั ติ ามกรอบกติกาของการแข่งขันโดยยึดมัน่ การด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรมและโปร่งใสภายใต้กรอบของกฎหมาย โดยสนับสนุนการส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและไม่รว่ มท�ำสัญญาการค้าหรือข้อตกลง ทีท่ ำ� ให้เกิดผลให้เกิดการแข่งขัน ที่ไม่เป็นธรรมหรือผูกขาดทางการค้า และตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการได้รบั ผลตอบแทนทีเ่ ป็นธรรมต่อทัง้ สองฝ่าย รวมถึงไม่แสวงหา หรือละเมิดข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยวิธกี ารที่ไม่สจุ ริตหรือไม่เหมาะสมเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัท และไม่ทําลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางเสื่อมเสียโดยปราศจากข้อมูลความจริง เจ้าหนี้ บริษัทปฏิบัติตามเงื่อนไข สัญญา ข้อตกลงที่มีต่อเจ้าหนี้สถาบันการเงิน และผู้ถือหุ้นกู้ทุกรายอย่างเคร่งครัด มีการรายงานฐานะ ทางการเงินของบริษทั แก่เจ้าหนีอ้ ย่างถูกต้อง ตรงเวลา มีความรับผิดชอบ โปร่งใส ไม่ปกปิดข้อมูลหรือข้อเท็จจริงอันจะท�ำให้เจ้าหนี้ เกิดความเสียหาย บริษทั ได้ออกหุน้ กูต้ ามข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ปฏิบตั ติ ามนโยบาย และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างเคร่งครัด หากไม่สามารถปฏิบัติตามข้อผูกพันในสัญญา จะรีบแจ้งหรือเปิดเผยข้อมูลเพื่อ พิจารณาร่วมกันในการแก้ไขปัญหาและป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น โดยแบ่งประเภทของเจ้าหนี้ออกเป็นดังนี้ คูค่ า้ บริษทั มีการสอบถามถึงข้อมูลของสินค้าทีจ่ ะจัดจ้าง จัดซือ้ ในส่วนราคา, ผลิตภัณฑ์ทอี่ อกใหม่และข้อมูลต่างๆ ทุกครัง้ ทีม่ กี ารออกใบสัง่ ซือ้ หรือใบสัง่ จ้างและร่วมกิจกรรมกับคูค่ า้ ทุกครัง้ โดยในขณะนีส้ ถานะความสัมพันธ์อยู่ในเกณฑ์ราบรืน่ และ คาดว่าบริษัทและคู่ค้ายังคงด�ำเนินความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและยังคงใช้สินค้าและบริการต่อไปในอนาคต คู่สัญญา บริษัทมีการสอบถามถึงการด�ำเนินงาน ความพร้อมหน้างาน รวมถึงสอบถามถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นกับ งานทุกครั้งที่มีการออกสัญญาจ้างและเมื่อได้รับข้อร้องเรียน โดยในขณะนี้สถานะความสัมพันธ์อยู่ในเกณฑ์ราบรื่นและ คาดว่าบริษัทและคู่สัญญายังคงด�ำเนินความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและยังคงใช้บริการต่อไปในอนาคต


161

ผู้จ�ำหน่ายสินค้า การจัดหาผู้จ�ำหน่ายสินค้า บริษัทจะแจ้งกติกา โอกาส เวลา ข้อมูล และตัวเลขที่ชัดเจนถูกต้อง โดยถือปฏิบัติต่อผู้จำ� หน่ายสินค้า ที่เข้าร่วมประกวดราคาอย่างทัดเทียมกัน ด�ำเนินการจัดหาอย่างโปร่งใส ยุติธรรม ซื่อสัตย์ และไม่ให้มีอิทธิพลใดๆ ที่ไม่ชอบ แทรกแซงได้ รวมถึงการรักษาข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับจากผู้เสนอราคา หรือผู้ร่วมประกวดราคาแต่ละรายให้เป็นความลับไม่เปิดเผย ตัวเลข ราคาหรือข้อมูลทางเทคนิคที่ได้รับจากรายใดรายหนึ่งให้กับรายอื่นเพื่อหวังผลประโยชน์ในระยะสั้น และระมัดระวังผู้ที่ ท�ำตัวเป็นนายหน้าหาข้อมูล ด�ำเนินการจัดหา โดยมีการด�ำเนินงานตามระเบียบคณะอนุกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของบริษัทภายใต้ ข้อก�ำหนด ISO 9001 : 2008 ดังนี้ วิธีการคัดเลือกผู้จ�ำหน่ายสินค้า บริษัทได้แต่งตั้งคณะท�ำงานพิจารณาจัดซื้อ จัดจ้าง และด�ำเนินการสรรหาผู้จ�ำหน่ายสินค้า รวมทั้งการรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการพิจารณา เช่น หลักฐานการจดทะเบียนนิติบุคคล ใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ใบรับรองคุณภาพ รายละเอียดสินค้าที่ขาย เงื่อนไขการช�ำระเงิน เป็นต้น เพื่อไว้เป็นฐานข้อมูลของบริษัท วิธีการสอบราคา คณะท�ำงานจัดซื้อจัดจ้างด�ำเนินการตรวจสอบรายการที่ขอซื้อ ต้องเป็นรายการที่มีในระบบข้อมูลการยืน ราคาของผูจ้ ำ� หน่ายสินค้า หากไม่มีในระบบให้ดำ� เนินการคัดเลือกเปรียบเทียบผูข้ ายโดยตรวจสอบคุณสมบัตขิ องวัสดุให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ในมาตรฐานคุณสมบัติวัตถุดิบ โดยต้องท�ำการเปรียบเทียบราคาอย่างน้อย 3 ราย วิธกี ารพิเศษ คณะท�ำงานจัดซือ้ จัดจ้างด�ำเนินการตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของเอกสาร การแจ้งการจัดหา หรือติดต่อ ประสานงานกับตัวแทนที่จ�ำหน่ายสินค้าให้รับแบบและ/หรือเงื่อนไขเพื่อท�ำการเสนอราคา เมื่อผู้จำ� หน่ายสินค้าท�ำการเสนอ ราคาเรียบร้อยแล้ว ให้คณะท�ำงานจัดซือ้ จัดจ้างด�ำเนินการต่อรองราคาและเปรียบเทียบงบประมาณ เมือ่ ได้ขอ้ สรุปเรียบร้อย แล้วจึงด�ำเนินการยื่นขออนุมัติจัดจ้างและยื่นขออนุมัติการสั่งซื้อตามขั้นตอนแบบฟอร์มที่บริษัทก�ำหนด การประเมินผู้จ�ำหน่ายสินค้า บริษัทจะมีฝ่ายธุรการก่อสร้างและผู้ควบคุมงานร่วมกันท�ำการประเมินผู้จ�ำหน่ายสินค้า โดย ท�ำการประเมินหลังจากการส่งมอบสินค้าที่สั่งซื้อ และสรุปผลการประเมินทุกๆ 6 เดือน นอกจากนีบ้ ริษทั ยังมีการประชุมหรือโทรศัพท์สอบถามเพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับผูจ้ ำ� หน่ายสินค้าทุกๆ 3 เดือน ในเรือ่ งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง เช่น เทคโนโลยีหรือวัสดุใหม่ๆ เทคนิคหรือขั้นตอนในการท�ำงาน ปัญหาที่เกิดขึ้นและวิธีการแก้ไขในงาน ก่อสร้าง เป็นต้น ผู้รับเหมา การจัดหาผู้รับเหมาบริษัทจะด�ำเนินการคัดเลือกผู้รับเหมาที่มีคุณภาพผลงานถึงเกณฑ์ที่บริษัทก�ำหนด และมีผลงานที่ผ่านมา เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ตลอดจนมีศักยภาพด้านการเงิน ด�ำเนินการจัดหาอย่างโปร่งใส ยุติธรรม และซื่อสัตย์ และไม่ให้มี อิทธิพลใดๆ ที่ไม่ชอบแทรกแซงได้ โดยผูร้ บั เหมาทุกรายต้องผ่านการอนุมตั จิ ากคณะกรรมการจัดหากลางของบริษทั บริษทั จะว่าจ้าง ผู้รับเหมาในราคาที่เป็นธรรม โดยมีการด�ำเนินงานตามระเบียบคณะอนุกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของบริษัทภายใต้ข้อก�ำหนด ISO 9001:2008 ดังนี้ วิธีการคัดเลือกผู้รับเหมา บริษัทได้มีคณะท�ำงานด�ำเนินการสรรหาผู้รับเหมา และรวบรวมข้อมูลในการพิจารณา เช่น ทุนจดทะเบียนหรือสินเชื่อที่ได้รับจากธนาคาร จ�ำนวนบุคลากรประจ�ำบริษัท ผลงานย้อนหลัง 2 ปี วงเงินขีดความสามารถ รับงาน เป็นต้น เพื่อเก็บไว้เป็นฐานข้อมูลของบริษัท วิธกี ารประกวดราคา คณะท�ำงานด�ำเนินการส่งหนังสือเชิญชวน/ประกาศผูร้ บั เหมาเข้าประกวดราคาโดยแนบข้อก�ำหนดและ รายละเอียดประกอบการประกวดราคา ในการคัดเลือกผู้รับเหมาเพื่อเชิญเสนอราคา ต้องไม่น้อยกว่า 3 ราย หากกรณี ยื่นเชิญเสนอราคาแล้วผู้รับจ้างแสดงเจตจ�ำนงไม่ขอเข้าร่วมประกวดราคา ซึ่งส่งผลให้มีจำ� นวนผู้เข้าประกวดราคาน้อยกว่า 3 ราย การตัดสินใจจะด�ำเนินการต่อหรือแจ้งเชิญผู้รับเหมาเข้าประกวดราคาเพิ่มเติม ให้เป็นไปตามดุลพินิจของบริษัท การจัดท�ำราคากลาง คณะท�ำงานท�ำการค�ำนวณราคามูลค่าปริมาณงานก่อสร้างตามแบบคูณด้วยราคาต่อหน่วยของค่าวัสดุ และค่าแรง เมือ่ จัดท�ำมาตรฐานราคากลางเรียบร้อยให้ทำ� การขออนุมตั จิ ากคณะอนุกรรมการจัดซือ้ จัดจ้าง ราคากลางที่ได้รบั อนุมัติต้องท�ำการทบทวนมาตรฐานราคาปีละ 2 ครั้ง


162

รายงานประจำ�ปี 2558

การประเมินผูร้ บั เหมา บริษทั จะมีคณะท�ำงานท�ำการประเมินผูร้ บั เหมา โดยท�ำการประเมินหลังจากการส่งมอบงวดงาน และ สรุปผลการประเมินทุกๆ 6 เดือน นอกจากนี้บริษัทยังมีการประชุมหรือโทรศัพท์สอบถามเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้รับเหมาทุกๆ 3 เดือน ในเรื่องต่างๆ ที่ เกี่ยวกับการก่อสร้าง เช่น เทคโนโลยีหรือวัสดุใหม่ๆ การใช้แรงงานต่างด้าว เทคนิคหรือขั้นตอนในการท�ำงาน ปัญหาที่เกิดขึ้น และวิธีการแก้ไขในงานก่อสร้าง เป็นต้น

2. ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการหลักของกิจการ (CSR in Process)

บริษทั มีการก�ำหนดวิสยั ทัศน์และพันธกิจทีช่ ดั เจน ในการด�ำเนินงานโดยตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการหลัก ของกิจการ มีการเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ ในกระบวนการด�ำเนินธุรกิจควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม และค�ำนึงถึงผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มที่เข้ามามีส่วนร่วมกับการด�ำเนินงานของบริษัทในมิติต่างๆ

2.1 การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม การแข่งขันที่เป็นธรรม บริษัทปฏิบัติตามกรอบกติกาของการแข่งขันโดยยึดมั่นการด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรมและ โปร่งใสภายใต้กรอบของกฎหมาย โดยสนับสนุนการส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและไม่รว่ มท�ำสัญญาการค้าหรือ ข้อตกลง ทีท่ ำ� ให้เกิดผลให้เกิดการแข่งขันทีไ่ ม่เป็นธรรมหรือผูกขาดทางการค้า และตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการได้รบั ผลตอบแทน ทีเ่ ป็นธรรมต่อทัง้ สองฝ่าย รวมถึงไม่แสวงหาหรือละเมิดข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยวิธกี ารที่ไม่สจุ ริตหรือ ไม่เหมาะสมเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั และไม่ทาํ ลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทาง เสื่อมเสียโดยปราศจากข้อมูลความจริง โดยมีแนวทางปฏิบัติดังนี้ 1. หลีกเลีย่ งการด�ำเนินการทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือหากพบว่ามีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เกิดขึ้น ก็ควรจัดให้มีกระบวนการไกล่เกลี่ยที่เป็นธรรมและมีการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญอย่างครบถ้วน 2. ส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและเป็นธรรม หลีกเลีย่ งพฤติกรรมการเล่นพรรคเล่นพวกหรือร่วมสมคบคิดกัน 3. ไม่สนับสนุนการด�ำเนินการที่มีลักษณะเป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ 4. ไม่โฆษณาชวนเชื่อหรือข้อความอันเป็นเท็จอันอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดและเสียหายต่อผู้บริโภค การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมในห่วงโซ่ธรุ กิจ บริษทั ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็น ผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ลูกค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ (ผู้จ�ำหน่ายสินค้า หรือผูร้ บั เหมาก่อสร้าง) ภาครัฐและหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนสังคม และสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั ได้พยายามด�ำเนิน นโยบาย เพื่อให้เกิดความยุติรรมและเหมาะสมกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม 2.2 การต่อต้านการทุจริต นโยบายต่อต้านการทุจริต บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะด�ำเนินงานด้วยความโปร่งใสมีคณ ุ ธรรม ภายใต้ขอ้ ก�ำหนดของกฎหมายและ จริยธรรมทางธุรกิจ และมีการด�ำเนินการเพื่อป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตและคอร์รัปชั่น ดังนี้ 1. บริษัทก�ำหนดแนวปฏิบัติให้พนักงานถือปฏิบัติต่อผู้รับเหมาทุกรายอย่างเท่าเทียม โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ที่เป็นธรรม ทั้งสองฝ่ายตามข้อตกลงทางการค้าที่ท�ำระหว่างกัน และมิให้กระท�ำการหรือยกเว้นกระท�ำการใดๆ ที่เป็นการ เอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้รับเหมา หากฝ่าฝืนบริษัทจะถือเป็นความผิดร้ายแรงและลงโทษสถานหนัก 2. บริษทั ได้สอื่ สารนโยบายไปทัง้ ระดับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ให้ดำ� เนินการด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต อยูภ่ ายใต้ กฎหมายโดยเคร่งครัด และยึดถือจริยธรรมของบริษัท 3. มอบหมายให้สายงานทรัพยากรมนุษย์ ส�ำนักเลขานุการบริษัท และส�ำนักตรวจสอบภายใน ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาแก่ พนักงานเพื่อป้องกันการกระท�ำความผิดโดยไม่เจตนา 4. บริษัทจัดให้มีช่องทางการรายงานการพบเห็นพฤติกรรมที่อาจเกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชั่นภายในบริษัท


163

รวมถึงบริษทั ได้จดั ตัง้ ส�ำนักตรวจสอบภายใน เพือ่ รับผิดชอบตรวจสอบการปฏิบตั งิ านภายในองค์กรให้เป็นไปตามกฏระเบียบ หลักเกณฑ์ ทีบ่ ริษทั ก�ำหนด ซึง่ ครอบคลุมการจัดซือ้ จัดจ้าง และแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการจัดซือ้ จัดจ้าง เพือ่ พิจารณารายการจัดซือ้ จัดจ้างเพือ่ ให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรม

2.3 การเคารพสิทธิมนุษยชน นโยบายและแนวปฏิบัติในหน่วยงาน การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทต้องอาศัยบุคลากรจากหลายภาคส่วนด้วยกัน ได้แก่ 1. พนักงานบริษัท ได้แก่ พนักงานประจ�ำ พนักงานทดลองงาน พนักงานสัญญาจ้าง พนักงานรายวัน 2. ผู้รับเหมาช่วง (Subcontractor) 3. คู่ค้า/ผู้รับจ้างก่อสร้าง รวมถึงคนงานของคู่ค้า/ผู้รับจ้าง บริษัทได้ค�ำนึงถึงความส�ำคัญของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด การด�ำเนินธุรกิจจึงตั้งอยู่บนรากฐานการเคารพสิทธิมนุษยชนและความ เป็นมนุษย์ มีการปฏิบัติต่อพนักงานขององค์กร พนักงานรับเหมาช่วง รวมถึงคู่ค้าและอื่นๆ อย่างมีศักดิ์ศรี เป็นธรรม เสมอภาค และมีมนุษยธรรม ปฏิบัติต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดอย่างเท่าเทียมกัน ไม่มีการเหยียดหยามเชื้อชาติ เพศ ศาสนา สีผิว วัฒนธรรม ความพิการ เคารพในความแตกต่างระหว่างบุคคล เคารพในสิทธิและหน้าที่ของแต่ละบุคคล เคารพในความคิดเห็น ที่แตกต่างทางด้านการเมือง สังคม ความเชื่อ ศาสนา และวัฒนธรรม บริษัทไม่ให้การสนับสนุนการละเมิดสิทธิมนุษยชน การใช้แรงงานเด็ก การใช้แรงงานผิดกฎหมาย กระบวนการการค้ามนุษย์ การน�ำเข้าแรงงานต่างด้าวที่ผิดกฎหมาย ทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้นในการด�ำเนินงานต่างๆ บริษัทได้ยึดข้อก�ำหนดทาง กฎหมายเป็นแนวทางในการปฏิบัติ นอกจากนี้ทางบริษัทยังได้รับความร่วมมือจากบุคลากรภายในองค์กรในทุกๆ หน่วยงาน คอยสอดส่อง ดูแล เพือ่ ไม่ให้มกี ารละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึน้ จากผลการด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมาบริษทั ได้รบั ความร่วมมือเป็นอย่างดี การเปิดประชาคมอาเซียน (AEC) จะส่งผลให้มีการไหลเข้าของแรงงานต่างชาติเข้าสู่ประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ทางบริษทั ได้มกี ารเตรียมความพร้อมเพือ่ เสริมสร้างความรูใ้ ห้กบั พนักงานและบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องรวมถึงผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย ให้เกิดเข้าใจในระเบียบและข้อปฏิบตั ริ วมถึงข้อกฎหมายต่างๆ ทีม่ กี ารก�ำหนดไว้เดิมรวมถึงทีม่ กี ารปรับปรุงเพิม่ เติม เช่น พ.ร.บ./กฎกระทรวง/ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงงานต่างด้าว พ.ร.บ./กฎกระทรวง/ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการก�ำหนดงานและอาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวท�ำ อาชีพที่เปิดเสรีเมื่อมีการเปิดประชาคมอาเซียน (AEC) เพื่อให้เกิดความเข้าใจสามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามกฎหมายก�ำหนด มาตรการที่ส�ำคัญเกี่ยวกับสิทธิของแรงงาน บริษัทจัดให้มีระบบการท�ำงานที่ปลอดภัยส�ำหรับผู้ท�ำงานและส่งเสริมให้ เกิดสภาพแวดล้อมในการท�ำงานทีเ่ หมาะสม ถูกสุขอนามัยเพือ่ ผูท้ ำ� งานมีสขุ ภาพอนามัยอันดีมคี วามปลอดภัยในชีวติ และร่างกาย เป็นการสร้างความสุขในการท�ำงาน โดยได้กำ� หนดเป็นนโยบายดังนี้ ก�ำหนดเวลาการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและเป็นไปตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ก�ำหนดระยะเวลาการท�ำงานล่วงเวลา/การท�ำงานกะ/การท�ำงานในวันหยุด อย่างเหมาะสมโดยได้รบั ค่าแรงในการท�ำงาน อย่างเป็นธรรมและถูกต้องตามกฎหมาย ก�ำหนดให้พนักงานมีสิทธิการลาเพื่อให้สามารถลาหยุดได้ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน มีการจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการเพื่อเป็นองค์กรไตรภาคีในการก�ำหนดนโยบาย แนวทาง และมาตรการด้านสวัสดิการแรงงาน


164

รายงานประจำ�ปี 2558

มีการจัดอุปกรณ์ เครือ่ งมือในการท�ำงานทีเ่ สริมสร้างความปลอดภัยในการท�ำงานแก่พนักงานในส่วนงานก่อสร้าง เช่น จัดให้มีรองเท้า Safety/หมวก Safety ในขณะท�ำงาน มีการฝึกอบรมหลักสูตรด้านความปลอดภัยในการท�ำงานเพือ่ เสริมสร้างความรู้ ทักษะ วิธกี ารในการท�ำงานเพือ่ ให้เกิด ความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สิน 2.4 การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม การจ้างงานและแรงงานสัมพันธ์ บริษัทมีนโยบายการว่าจ้างอย่างเป็นธรรมโดยมีการก�ำหนดโครงสร้างเงินเดือนที่เหมาะสมกับต�ำแหน่ง/ลักษณะงาน/หน้าที่ ความรับผิดชอบรวมถึงประสบการณ์เดิมของพนักงานแต่ละคน นอกจากนีท้ างบริษทั ยังได้แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อท�ำหน้าที่พิจารณา ก�ำหนดการจ่ายผลตอบแทนให้กับพนักงานและก�ำหนดขั้นตอนพิจารณาปรับเลื่อนต�ำแหน่งให้เกิดความ เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย ในด้านแรงงานสัมพันธ์ทางบริษทั ได้มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการเข้ามาท�ำหน้าทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ในการ ก�ำหนดนโยบาย แนวทาง และมาตรการด้านสวัสดิการแรงงาน ทัง้ นี้ได้จดั สวัสดิการต่างๆ ส�ำหรับพนักงานทีพ่ งึ ได้รบั อย่างชัดเจน เช่น วันหยุดตามประเพณี/ประกันสังคม/กองทุนเงินทดแทน/สิทธิในการลาป่วย ลากิจ ลาพักร้อน ลาคลอด ลาอุปสมบท ลาเพื่อ ท�ำหมัน ลาเพื่อเข้ารับการฝึกทหาร ลาเพื่อฝึกอบรม/ประกันสุขภาพ/ประกันชีวิต/ค่ารักษาพยาบาลในกรณีผู้ป่วยนอก/กองทุน ส�ำรองเลีย้ งชีพ เมือ่ พนักงานใหม่เข้ามาเริม่ งานจะมีการปฐมนิเทศเพือ่ สร้างความเข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับสิทธิและสวัสดิการทีพ่ งึ ได้รบั ตลอดจนแนะน�ำข้อมูลต่างๆ เพือ่ ให้พนักงานใหม่สามารถปรับตัวเข้ากับองค์กรได้อย่างรวดเร็วทีส่ ดุ ส�ำหรับพนักงานทีป่ ฏิบตั งิ าน ในส่วนต่างๆ ทางบริษทั ได้จดั ฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้างความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ให้กบั พนักงานตามความเหมาะสมของต�ำแหน่ง หน้าที่และลักษณะงานเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล บรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนด นอกจากนี้ ระหว่างการปฏิบตั งิ านทางบริษทั ฯ ยังได้มกี ารสือ่ สารข้อความ ข่าวสาร กิจกรรมภายในต่างๆ ภายในองค์กรผ่านช่องทาง Intranet และยังเปิดโอกาสให้พนักงานเสนอความคิดเห็นโดยบริษทั ยินดีรบั ฟังข้อเสนอแนะจากทางพนักงานเพือ่ ปรับปรุงค่าจ้าง สวัสดิการ สภาพการท�ำงานให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตในการท�ำงานที่ดีขึ้น 2.5 ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค บริษทั มุง่ มัน่ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ให้ได้คณ ุ ภาพ โดยมุง่ เน้นในส่วนงานออกแบบ การควบคุมงานก่อสร้างให้ตรงตามมาตรฐาน เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า ซึ่งได้ยึดถือแนวทางภายใต้ข้อก�ำหนดมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 และมีขอบข่าย ครอบคลุมการด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทพัฒนาทีด่ นิ และก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยโดยเน้นการพัฒนาโครงการหมูบ่ า้ น จัดสรรและโครงการอาคารชุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลการออกแบบก่อสร้างการด�ำเนินการควบคุมงานก่อสร้าง ควบคุมผู้รับเหมาเครื่องมือเครื่องจักรกระบวนการขายจัดซื้อจัดจ้างการควบคุมคุณภาพจนถึงกระบวนการส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ ลูกค้าและการบริการหลังการขาย เพื่อให้ลูกค้าได้รับสินค้าและบริการที่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน ซึง่ การด�ำเนินงานของบริษทั ตามนโยบายได้กำ� หนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานตามมาตราฐาน ISO 9001 : 2008 ดังนี้ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ มีหน้าที่ฝึกอบรมพนักงานได้ตามแผนงานประจ�ำปีที่กำ� หนด ฝ่ายบริหารงานก่อสร้าง มีหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพการจัดหาและสั่งจ้างผู้รับเหมา หรือผู้รับจ้างรวมทั้งควบคุมต้นทุนและ เวลาในการก่อสร้าง ฝ่ายบริหารงานขาย มีหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพงานขาย ฝ่ายออกแบบ มีหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุม แจกจ่ายแบบก่อสร้าง และลดความผิดพลาดของแบบ ฝ่ายบริหารโครงการ มีหน้าที่ส่งมอบบ้านได้ตรงตามระยะเวลาที่ก�ำหนด ลดความผิดพลาดในการก่อสร้าง และสร้างความ พึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า


165

ฝ่ายส�ำนักงานโครงการ มีหน้าที่ให้บริการสาธารณูปโภค, สาธารณูปการในโครงการ ฝ่าย PF Service มีหน้าที่บริการงานซ่อมและส่งมอบงานซ่อมที่มีคุณภาพให้กับลูกค้า ซึ่งบริษัทได้ผ่านการรับรองมาตราฐาน ISO 9001 : 2008 ในส่วนของโครงการบ้านจัดสรรแนวราบเมื่อวันที่ 9 ธ.ค. 2556 มีอายุ 3 ปี และจะมีการตรวจประเมินทบทวนระบบทุก 1 ปี (surveillance audit) โดยในอนาคตจะมีการขยายมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 ไปยังส่วนอื่น ๆ ของบริษัทต่อไป นอกจากนี้บริษัทยังได้เตรียมความพร้อมส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 ไปเป็นมาตรฐาน ISO 9001 : 2015 ในอนาคตอีกด้วย ทั้งนี้บริษัทยังมุ่งเน้นการพัฒนาสินค้าและบริการให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามที่ระบุถึงในส่วน ลักษณะการประกอบธุรกิจ หัวข้อ คุณภาพของสินค้าและบริการ (Quality and Service) ในช่วงวิกฤตการณ์อทุ กภัย ปี พ.ศ. 2554 ทางฝ่ายบริหารงานก่อสร้างก็ได้มกี ารเข้าไปช่วยเหลือพนักงานและลูกบ้านทีป่ ระสบภัย น�้ำท่วม จัดหาที่พักอาศัยชั่วคราว ให้ความช่วยเหลือในการเคลื่อนย้ายทรัพย์สิน สนับสนุนเครื่องอุปโภค บริโภคที่จำ� เป็นต่อการ ด�ำรงชีวิตในช่วงที่ประสบภัย และซ่อมแซมปรับปรุงสภาพบ้านในโครงการที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยอย่างเต็มก�ำลังความ สามารถ ปี พ.ศ. 2557 ทางฝ่ายบริหารงานก่อสร้างมีโครงการทีจ่ ดั กิจกรรมโดยเชิญ supplier ทีเ่ ป็นคูค่ า้ ของบริษทั มาเป็นตัวแทนให้ความรู้ เกี่ยวกับตัวสินค้าแก่ลูกบ้านโครงการในเครือ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และมีการจ�ำหน่ายสินค้าในราคา ถูกกว่าราคาท้องตลาด เพื่อลดค่าใช้จ่ายของลูกบ้านในสภาวะที่ค่าครองชีพสูง อีกทั้งยังมีการสาธิตวิธีการซ่อมแซมบ้านโดยวิธี D.I.Y. เพื่อให้ลูกบ้านสามารถน�ำไปปรับใช้ซ่อมแซมบ้านได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้บริษัทยังให้ความส�ำคัญเรื่องจรรยาบรรณในการปฏิบัติ โดยเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกบ้าน ในการให้บริการที่มี คุณภาพและมีมาตรฐานหลังการขายสินค้า เพื่อความพึงพอใจของลูกบ้าน รวมทั้งการเปิดช่องทางให้ลูกบ้านได้มีโอกาสในการ แนะน�ำ แลกเปลี่ยนความคิด แจ้งความประสงค์และปัญหาต่างๆ ในโครงการ เพื่อให้ทางบริษัทได้พัฒนารูปแบบการจัดการให้ดี ยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจและได้พัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืนต่อไป

2.6 การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัทให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งกับเรื่องการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยให้ความส�ำคัญกับการบริหารและการจัดการสภาพแวดล้อม ภายในโครงการและพื้นที่ชุมชนโดยรอบโครงการ ซึ่งมีผลต่อการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งส�ำหรับผู้อยู่อาศัยในโครงการและ ชุนชนโดยรอบตลอดจนสาธารณชน โดยได้มีการศึกษาและวิเคราะห์ รวมถึงจัดท�ำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมส�ำหรับโครงการ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งบริษัทยังมีความใส่ใจในเรื่องของการอนุรักษ์พลังงาน ตั้งแต่กระบวนการด้านการ ออกแบบและการเลือกใช้วสั ดุในการก่อสร้างให้เหมาะสมและเป็นมิตรกับสภาพแวดล้อม เพือ่ ให้เกิดคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และช่วยลด การใช้พลังงานภายในอาคารได้ เช่น การออกแบบโดยเน้นหลักการอนุรักษ์พลังงาน และการเป็นพันธมิตรกับ SCG โดยน�ำ ผลิตภัณฑ์วสั ดุกอ่ สร้างบางส่วนมาใช้ในโครงการ เช่น หลังคานวัตกรรมบ้านเย็น, กระเบือ้ งซีแพคโมเนีย ทีม่ รี ะบบระบายความร้อน ใต้หลังคา, เชิงชายแบบระบายความร้อน เป็นต้น จากแนวทางดังกล่าว ท�ำให้โครงการของบริษัทได้รับรางวัลต่างๆ ตามที่ระบุถึงในส่วน ลักษณะการประกอบธุรกิจ หัวข้อ รูปแบบ โครงการและสิ่งแวดล้อม (Environment Impact Assessment) ในปี 2558 ซึ่งเป็นโอกาสที่ด�ำเนินงานมาครบรอบ 30 ปี บริษัทยังได้ตอกย�้ำแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อม โดยการน�ำเสนอบ้าน “Eco Cool” นวัตกรรมการอยู่อาศัยที่ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยแนวคิดการออกแบบ Eco Design บวกกับการ เลือกใช้วสั ดุกนั ความร้อนและวัสดุทดแทนวัสดุธรรมชาติ ตลอดจนความร่วมมือกับ “SCG” ในการน�ำเทคโนโลยี Active AIRflow™ มาใช้ ซึ่งช่วยลดความร้อน และเพิ่มการระบายความร้อนออกจากตัวบ้าน ท�ำให้อยู่สบายและช่วยประหยัดพลังงานจากการใช้ เครื่องปรับอากาศได้ถึงปีละ 16-20%


166

รายงานประจำ�ปี 2558

นอกจากนั้น ยังมีการพัฒนาพื้นที่ส่วนกลาง ได้แก่ อาทิ เลนจักรยานสีเขียว หรือ Green Bike Lane พร้อมที่จอดภายในโครงการ เพือ่ จัดสรรการใช้ถนนร่วมกันอย่างปลอดภัย โดยด�ำเนินการแห่งแรกในโครงการ เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5 - บางใหญ่ ตลอดเส้นทาง Green Bike Lane มีการติดตั้งเครื่องหมายสัญลักษณ์ทางจักรยานรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย โดยบริษัทจะเดินหน้า จัดท�ำ Green Bike Lane อย่างต่อเนื่องเพิ่มเติมในโครงการอื่นๆ

2 7 การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริษทั มีนโยบายในการด�ำเนินกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคมอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ การให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา คุณภาพชีวิตของชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกับโครงการต่างๆ ของบริษัทเป็นประจ�ำและสม�่ำเสมอ ในปี 2558 บริษัทได้ด�ำเนินงาน ด้านการพัฒนาชุมชนและสังคมในโครงการต่างๆ ประกอบด้วย การด�ำเนินงานด้านรักษาสภาพแวดล้อม อาทิเช่น การตรวจเช็คอุปกรณ์บ่อบ�ำบัดในโครงการต่างๆ ทุกเดือน และจัดจ้าง บริษัทเข้าตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ ทุก 6 เดือน เพื่อตรวจสอบน�ำ้ ในบ่อบ�ำบัดว่าไม่มีมลพิษ ก่อนระบายออก การสร้างและซ่อมแซมสาธารณูปโภค อาทิเช่น การปรับปรุงผิวจราจรถนนซอยสามวัง เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ อยู่อาศัยในโครงการ และชุมชนใกล้เคียงโครงการเพอร์เฟค พาร์ค ชัยพฤกษ์ การด�ำเนินงานด้านสุขอนามัยชุมชน อาทิเช่น การจัดให้มโี ครงการ “ขยะรีไซเคิล” ในโครงการเพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหงสุวรรณภูมิ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส ภายใต้แนวคิดเปลีย่ นขยะให้กลายเป็นเงิน เพือ่ ลดปริมาณขยะภายในบ้านและชุมชน ร่วมกับ เทศบาลบางบัวทอง ท�ำการพ่นจ�ำกัดยุงลายในโครงการโมดิ วิลล่า บางบัวทอง เพื่อช่วยป้องกันโรคติดต่อ และเพื่อสุขภาพ ที่ดีในการอยู่อาศัย การติดตัง้ โครงข่ายดิจทิ ลั ภายในโครงการ เนือ่ งจากความนิยมใช้งานอินเทอร์เน็ตของคนไทยเพิม่ มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง และ กลายเป็นหนึง่ ในสาธารณูปโภคพืน้ ฐานในการอยูอ่ าศัย และยังสามารถใช้เพือ่ เพิม่ ความสะดวกสบายในชีวติ ประจ�ำวันได้ดว้ ย ในปี 2558 บริษัทได้มีความร่วมมือกับ “AIS” ผู้น�ำด้านโทรคมนาคม ในการพัฒนา “Perfect Digital Village” ท�ำให้โครงการ ของ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค เป็นรายแรกของเมืองไทย ที่มีบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านโครงข่ายใยแก้วน�ำแสง ไปถึงบ้านและคอนโดมิเนียม พร้อมทัง้ ยังมีบริการฟรี Super Wifi หรือ Wifi ให้ใช้ได้ฟรีในพืน้ ทีส่ ว่ นกลางของโครงการอีกด้วย 2.8 การเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำ�เนินความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ได้นำ� แนวคิด CSR มาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินงาน โดยการพัฒนาความรูท้ เี่ กิดจากประสบการณ์การด�ำเนินงานด้านต่างๆ มาปรับใช้ สร้างสรรค์นวัตกรรมทีส่ ามารถสร้างประโยชน์ทงั้ ต่อธุรกิจและสังคมควบคูก่ นั ไป เช่น การวางแผนธุรกิจและการพัฒนา โครงการ ตลอดจนการด�ำเนินการ ที่ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม อันเกิดจากประสบการณ์หรือการน�ำเทคโนโลยี มาใช้ในการลดผลกระทบและรองรับปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งการเปิดเผยนวัตกรรมที่ค้นพบในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการรายอื่นในธุรกิจได้ปฏิบัติตาม เช่น นวัตกรรมการป้องกันน�้ำท่วมส�ำหรับโครงการบ้านจัดสรรและจัดท�ำคูม่ อื ส�ำหรับขั้นตอนและวิธีการดูแลและฟืน้ ฟูสภาพบ้าน หลังน�้ำท่วม ในช่วงหลังน�ำ้ ท่วมปลายปี 2554 เริม่ ใช้นวัตกรรมพลังงานทดแทน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์จากแผง Solar cell และพลังงานลมจากกังหันลม เพือ่ ลดการใช้ พลังงานในพืน้ ทีส่ ว่ นกลางและพืน้ ทีส่ ำ� นักงานขาย โดยมีโครงการ เพอร์เฟค เพลส แจ้งวัฒนะ เป็นโครงการน�ำร่องและจะน�ำ รูปแบบการใช้พลังงานทดแทนมาใช้ในโครงการอื่นๆ ของบริษัทต่อไป การอนุรักษ์พลังงานตามแนวทาง Green Environment (Happy with Friendly Environment) คือ ความสุขในการอยู่อาศัย ในบ้านที่ใกล้ชดิ กับธรรมชาติ ท่ามกลางสิง่ แวดล้อมทีด่ ี ด้วยพืน้ ทีส่ ว่ นกลางที่ให้มากกว่า ทัง้ สวนพักผ่อน และทะเลสาบกว้าง ให้ความร่มรื่นเย็นชุ่มชื่นและอากาศบริสุทธิ์ รวมไปถึงการเลือกใช้วัสดุที่ช่วยประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น หลังคานวัตกรรมบ้านเย็น ของ SCG, กระเบื้องซีแพคโมเนีย ที่มีระบบระบายความร้อนใต้หลังคา, เชิงชายแบบระบาย ความร้อน, กระจกเขียวตัดแสง, แผ่นฝ้ายิปซั่มแบบมีฟรอยด์กันความร้อน ตลอดจนการใช้วัสดุทดแทนธรรมชาติ เพื่อช่วย รักษาสิง่ แวดล้อม เช่น การใช้พนื้ ไม้ลามิเนต ทีแ่ ข็งแรงแต่สวยงามเหมือนไม้จริง การใช้วงกบอลูมเิ นียม ทีม่ ที งั้ ความทนทาน และสวยงาม เป็นต้น


167 3. ความรับผิดชอบต่อสังคมนอกกระบวนการ (CSR after Process)

บริษัทตระหนัก ดีถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่พึงมีต่อสังคมนอกกระบวนหลักของกิจ การโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสนับสนุนโครงการและกิจกรรมเพือ่ สาธารณประโยชน์ และมีการต่อยอดกิจกรรมให้เกิดความต่อเนือ่ ง ด้วยความมุง่ หวังทีจ่ ะมีสว่ น ในการช่วยเหลือพัฒนา และตอบแทนให้กับสังคมมีกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ โดยมีการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องตลอดทัง้ ปี ทัง้ นีก้ ารด�ำเนินงานในปี 2558 บริษทั ยังคงสานต่อกิจกรรมตอบแทนสังคมในรูปแบบของการแบ่งปันและกิจกรรมด้านสิง่ แวดล้อม ไม่ว่าจะเป็น “Perfect Happy Giving” กิจกรรมที่จัดขึ้นอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการให้ความสนับสนุน สภากาชาดไทย ด้วยการเป็นจุดรับบริจาคโลหิต ทัง้ นี้ บริษทั ได้จดั กิจกรรมรับบริจาคโลหิตขึน้ ตลอดปี 2558 โดยเปิดรับบริจาคโลหิต ตามคลับเฮ้าส์ในโครงการต่างๆ ซึ่งมีทั้งสมาชิกในโครงการของบริษัท และโครงการใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรม “ถุงผ้าความดี” อีกหนึ่งกิจกรรมเพื่อการให้ที่พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จัดขึ้น โดยสมาชิกในโครงการต่างๆ ตลอดจนพนักงานในบริษัท ได้ร่วมกัน ส่งมอบเสือ้ ผ้า เครื่องแต่งกายสภาพดี และสิ่งของต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ให้แก่ “มูลนิธิกระจกเงา” เพือ่ ส่งต่อให้ผพู้ กั อาศัยในสถาน สงเคราะห์คนไร้ที่พึ่ง 13 แห่ง ทั่วประเทศไทย กิจกรรม “อิ่มบุญ อิ่มสุข” ที่นอกเหนือจากการร่วมตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง พระสงฆ์ และฟังธรรมแล้ว บริษัทยังได้เปิดรับบริจาคสิ่งของรีไซเคิลจากสมาชิกโครงการ เพื่อมอบให้กับมูลนิธิสวนแก้ว โดย พระพยอม กัลยาโณ ตลอดจนยังมีการบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือมูลนิธิองค์กรการกุศลและสถาบันการศึกษาต่างๆ เช่น การร่วม บริจาคให้กับมูลนิธิสงเคราะห์เด็ก คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (Foundation for Underprivilleged Children & Elderly FFUCE) การบริจาคเงินเพื่อสนับสนุนการศึกษาของเยาวชนให้กับมูลนิธิหัวใจเบิกบาน (Happy Heart Foundation) การสนับสนุนกิจกรรม ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การสนับสนุนทุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี้ ยังมีส่วนร่วมในการท�ำนุบ�ำรุงศาสนา ด้วยการร่วมบริจาคเพื่อสร้างและซ่อมแซมศาสนาสถานในจังหวัดต่างๆ อาทิ เชียงใหม่ มุกดาหาร สระบุรี อ่างทอง เป็นต้น ส�ำหรับกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมนั้น บริษัทตระหนักดีถึงความส�ำคัญของการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม จึงได้จัดกิจกรรมเพื่อมี ส่วนร่วมในการรักษาป่าไม้ให้คงความอุดมสมบูรณ์ต่อไปกับกิจกรรม “Green@Heart ณ หัวหิน” ด้วยการเชิญชวนสมาชิก ในโครงการไปร่วมกันปลูกป่า ปล่อยปู ฟื้นฟูชีวิตริมชายหาด ณ วนอุทยานปราณบุรี อ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พร้อมกันนี้ ยังมีกจิ กรรมเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว ด้วยการเชิญชวนสมาชิกในโครงการต่างๆ ร่วมกันปลูกต้นไม้ กับกิจกรรม “Green@Heart คนเมืองหัวใจสีเขียว” โดยการมอบกล้าไม้ให้แก่สมาชิกในโครงการต่างๆ อาทิ เพอร์เฟค มาสเตอร์พชี สุขมุ วิท 77, เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง, เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูม,ิ เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5 - บางใหญ่, เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์, เพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง, โมดิ วิลล่า ปิ่นเกล้า, เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์, โมดิ วิลล่า ลาดกระบัง และ เพอร์เฟค เพลส รังสิต เพื่อน�ำไป ปลูกในบริเวณบ้าน

4. แนวทางการป้องกันการมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับคอร์รัปชั่น

บริษัทมีนโยบายที่จะด�ำเนินงานด้วยความโปร่งใสมีคุณธรรม ภายใต้ข้อก�ำหนดของกฎหมายและจริยธรรมทางธุรกิจ โดยบริษัท ก�ำหนดหลักการในจริยธรรมทางธุรกิจห้ามพนักงานเรียกร้องทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อนื่ ใดจากคูค่ า้ ผูร้ บั เหมา หรือผูเ้ กีย่ วข้องอืน่ ๆ ห้ามใช้ทรัพย์สนิ หรือแอบอ้างชือ่ ของบริษทั รวมถึงใช้อ�ำนาจหน้าทีเ่ พือ่ แสวงหาผลประโยชน์สว่ นตัว ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคน ควรหลีกเลีย่ งการรับของก�ำนัลจากคูค่ า้ ผูร้ บั เหมา เว้นแต่ของขวัญตามเทศกาลประเพณีทมี่ มี ลู ค่าตามสมควรไม่สงู กว่าปกติทวั่ ไป ทั้งนี้องค์กรได้พิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิดการทุจริต ในการประเมินความเสี่ยงที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร มีการทบทวน เป้าหมายการปฏิบัติงานอย่างรอบคอบว่ามีความเป็นไปได้ ผลตอบแทนที่ให้สมเหตุสมผลและไม่ส่งเสริมให้พนักงานกระท�ำการ ไม่เหมาะสม รวมถึงคณะกรรมการตรวจสอบได้สอบถามผู้บริหารเกี่ยวกับโอกาสในการเกิดทุจริตและมาตราการที่บริษัทด�ำเนิน การเพื่อป้องกันเรื่องดังกล่าว


168

รายงานประจำ�ปี 2558

แนวปฏิบัติตามนโยบายการป้องกันการมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับคอร์รัปชั่น บริษัทก�ำหนดแนวปฏิบัติให้พนักงานถือปฏิบัติต่อผู้รับเหมาทุกรายอย่างเท่าเทียม โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย ตามข้อตกลงทางการค้าที่ท�ำระหว่างกัน และมิให้กระท�ำการหรือยกเว้นกระท�ำการใดๆ ที่เป็นการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้รับเหมา หากฝ่าฝืนบริษัทจะถือเป็นความผิดร้ายแรงและลงโทษสถานหนัก และมีการด�ำเนินการเพื่อป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ ทุจริตและคอร์รัปชั่น ดังนี้ บริษทั ได้สอื่ สารนโยบายไปทัง้ ระดับกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน ให้ดำ� เนินการด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต อยูภ่ ายใต้กฎหมาย โดยเคร่งครัด และยึดถือจริยธรรมของบริษัท มอบหมายให้สายงานทรัพยากรมนุษย์ ส�ำนักเลขานุการบริษทั และส�ำนักตรวจสอบภายใน ให้คำ� แนะน�ำปรึกษาแก่พนักงาน เพื่อป้องกันการกระท�ำความผิดโดยไม่เจตนา บริษัทจัดให้มีช่องทางการรายงานการพบเห็นพฤติกรรมที่อาจเกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชั่นภายในบริษัท การให้ความร่วมมือกับผูต้ รวจสอบภายในและผูต้ รวจสอบจากภายนอก บุคลากรทุกระดับจะต้องให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่ รวมทั้งให้ข้อมูลที่สมบูรณ์ต่อส�ำนักตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีของบริษัท ซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบและประเมินขั้นตอน กระบวนการ ตลอดจนระบบการควบคุมภายในว่ามีอยูเ่ พียงพอมีประสิทธิผล สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์

การติดตามผลและประเมินผลตามนโยบายการป้องกันการมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับคอร์รัปชั่น บริษัทมีการติดตามและประเมินผลตามนโยบายต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชั่น ซึง่ หน่วยงานที่มหี น้าทีต่ รวจสอบการก�ำกับดูแล กิจการของบริษัทอยู่เสมอ ได้แก่ ส�ำนักตรวจสอบภายใน ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ และเลขานุการบริษัทฯ บริษัทคาดหมายให้ทุกคน รายงานโดยสุจริตถึงการปฏิบัติที่ขัดหรือสงสัยว่าจะขัดต่อหลักการฯ ต่อผู้บังคับบัญชาโดยตรง หรือในกรณีที่ไม่อาจรายงานต่อ ผู้บังคับบัญชาได้อาจขอค�ำปรึกษาจากเลขานุการบริษัทฯ ส�ำนักตรวจสอบภายใน หรือฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ โดยข้อมูลที่ให้นั้น จะถือปฏิบัติเป็นความลับ ทั้งนี้ผู้บังคับบัญชาเองก็มีภาระหน้าที่ต้องสอดส่องและแนะน�ำผู้ใต้บังคับบัญชาตามล�ำดับชั้น ให้ปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับนโยบายและจรรยาบรรณที่บริษัทได้กำ� หนดไว้ในหลักการฯ อย่างสม�่ำเสมอ


169 คำ�วิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ 1. ภาพรวมของกลุ่มบริษัท

รายได้และธุรกิจของกลุ่มบริษัทสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ดังต่อไปนี้

(1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจหลักที่ท�ำรายได้ให้กลุ่มบริษัท โดยกลุ่มบริษัทด�ำเนินการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ภายใต้แบรนด์ต่างๆ โดยสามารถแบ่งตามลักษณะโครงการออกเป็น 3 ประเภทย่อย ดังนี้ บ้านเดี่ยว บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ (โครงการแนวราบ): กลุ่มบริษัทด�ำเนินการพัฒนาโครงการบ้านและทาวน์เฮ้าส์ ภายใต้ แบรนด์ตา่ งๆ อาทิ โครงการเฟอร์เฟค มาสเตอร์พซี โครงการเฟอร์เฟค เพลส โครงการเพอร์เฟค พาร์ค โครงการโมดิ วิลล่า โครงการเดอะ เมทโทร และ โครงการโมดิ วิลล่า (ทาวน์โฮม) อาคารชุด (โครงการแนวสูง): กลุ่มบริษัทมีการด�ำเนินการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมทั้งประเภทโครงการที่สูงไม่เกิน 8 ชัน้ (Low Rise) และโครงการคอนโดมิเนียมทีส่ งู เกิน 8 ชัน้ (High Rise) โดยจะเน้นเลือกท�ำเลทีต่ งั้ ทีม่ ศี กั ยภาพสูง ใกล้แนว รถไฟฟ้า อยู่ใกล้แหล่งชุมชน และสามารถสัญจรไปมาได้สะดวก โดยปัจจุบนั กลุม่ บริษทั มีการพัฒนาอาคารชุดภายใต้แบรนด์ ต่างๆ อาทิเช่น โครงการเดอะ สกาย โครงการเมโทร สกาย โครงการเมโทร ริเวอร์ฟร้อนท์ โครงการเดอะ เลค โครงการ เมโทร พาร์ค โครงการไอคอนโด โครงการเบลล่า คอสตา และโครงการยูนิลอฟท์ ทีด่ นิ รอการพัฒนา: กลุม่ บริษทั มีนโยบายซือ้ ทีด่ นิ มาเพือ่ พัฒนาโครงการและไม่ได้มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ การเก็งก�ำไรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว อย่างไรก็ตาม บริษัทอาจพิจารณาขายที่ดินรอการพัฒนาที่ไม่มีศักยภาพที่จะน�ำมาพัฒนาเป็นโครงการ อสังหาริมทรัพย์หรือทีด่ นิ บริเวณรอบข้างโครงการปัจจุบนั แต่มที �ำเลทีต่ งั้ ที่ไม่ตรงกับทิศทางหรือแผนการพัฒนาโครงการใน อนาคตของกลุ่มบริษัทเนื่องจากรูปของที่ดินอาจจะไม่เหมาะสมหรือไม่มีความคุ้มค่าในเชิงพาณิชย์ให้แก่บุคคลภายนอกที่ สนใจ (2) ธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ท ในไตรมาส 4 ปี 2555 กลุ่มบริษัทมีการเข้าลงทุนในโครงการสกีรีสอร์ทคิโรโระ ซึ่งตั้งอยู่ที่หมู่บ้านอะไคงาว่า บนเกาะฮอกไกโด ประเทศญีป่ นุ่ จุดเด่นของโครงการคิโรโระคือการเป็นสกีรสี อร์ททีม่ คี ณ ุ ภาพของหิมะทีด่ ที สี่ ดุ แห่งหนึง่ ในประเทศญีป่ นุ่ ตัวโครงการ ตั้งอยู่ท่ามกลางภูมิประเทศที่สวยงามเหมาะส�ำหรับการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติในทุกฤดูกาล รวมทั้งหมู่บ้านอะไคงาว่าซึ่งเป็น ที่ตั้งของโครงการได้รับการจัดอันดับเป็นหมู่บ้านที่มีความสวยงามเป็นล�ำดับ 2 ของญี่ปุ่น ในไตรมาสที่ 2 ปี 2558 บริษัทได้ท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีระยะ เวลาเสนอซื้อตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2558 ถึงวันที่ 5 มิถุนายน 2558 โดยเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาเสนอซื้อ บริษัทได้ซื้อหุ้นสามัญ เป็นจ�ำนวนรวม 2,863,274,022 หุ้น ในราคาหุ้นละ 0.57 บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 89.67 ของหุ้นที่จำ� หน่ายได้แล้วทั้งหมด ของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) รวมมูลค่าซื้อขายรวมทั้งสิ้น 1,632.1 ล้านบาท โดยบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประกอบธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจโรงแรม และอาคารส�ำนักงานให้เช่า รวมถึงมีโครงการ คอนโดมิเนียมเพื่อขายจ�ำนวน 2 โครงการ (3) ธุรกิจค้าปลีก ปัจจุบัน กลุ่มบริษัทอยู่ระหว่างการพัฒนาโครงการศูนย์การค้า อาคารส�ำนักงาน และพื้นที่เชิงพาณิชย์หลายโครงการ


170

รายงานประจำ�ปี 2558

2. การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานและฐานะการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย 2.1 การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย ภาพรวมผลการด�ำเนินงานที่ผา่ นมา ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปิดโครงการใหม่เพื่อรองรับการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของตลาดอสังหาริมทรัพย์ ในประเทศไทย โดยในปี 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้รายได้ทั้งสิ้น 9,269.72 ล้านบาท แบ่งเป็นรายได้จากธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์จำ� นวน 8,817.99 ล้านบาท เนือ่ งจากการเริม่ ฟืน้ ตัวของอุปสงค์ทอี่ ยูอ่ าศัยนับตัง้ แต่ไตรมาส 2 ของปี 2555 เป็นต้น มาประกอบกับบริษัทได้มีการเปิดตัวโครงการบ้านแนวราบโครงการใหม่ อาทิเช่น โครงการ เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รามค�ำแหง/ รังสิต โครงการโมดิ วิลล่า ลาดกระบัง และปิน่ เกล้า-วงแหวน เป็นต้น รวมทัง้ สามารถรับรูร้ ายได้สำ� หรับทัง้ ปีจากการโอนกรรมสิทธิ์ ของโครงการเมโทร สกาย รัชดา รวมทัง้ มีรายได้จากการขายทีด่ นิ รอการพัฒนาจ�ำนวน 147.86 ล้านบาท เพิม่ เข้ามา นอกจากนี้ บริษัทรับรู้รายได้จากการประกอบกิจการสกีรีสอร์ทคิโรโระ ซึ่งบริษัทเข้าลงทุนช่วงไตรมาส 4 จ�ำนวน 275.66 ล้านบาท และมี รายได้อื่นๆ จ�ำนวน 176.07 ล้านบาท บริษัทฯและบริษัทย่อยมีต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จ�ำนวน 5,629.01 ล้านบาท และ ต้นทุนการประกอบกิจการโรงแรมจ�ำนวน 191.35 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้นเท่ากับร้อยละ 36.16 และ ร้อยละ 30.58 ตามล�ำดับ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารรวมกันเท่ากับ 2,539.51 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายทางการเงิน 527.32 ล้านบาท ท�ำให้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำ� ไรสุทธิรวมทั้งสิ้น 202.72 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิ ร้อยละ 2.19 ของรายได้รวม ในปี 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้รายได้ทั้งสิ้น 11,228.77 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตจากปี 2555 ร้อยละ 21.13 โดย แบ่งเป็นรายได้จากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จำ� นวน 9,992.42 ล้านบาท แม้วา่ ในระหว่างปีบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะมีการพัฒนา ส่วนต่อขยายและเปิดโครงการแนวราบใหม่หลายโครงการ แต่บริษัทฯและบริษัทย่อยสามารถรับรู้รายได้จากการขายบ้านพร้อม ที่ดินจ�ำนวน 6,836.47 ล้านบาท ลดลง 653.02 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8.72 จากปี 2555 แม้ว่ารายได้ 9 เดือนแรกของ ปีนเี้ พิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 72.01 ล้านบาท ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากปัญหาการชุมนุมทางการเมืองซึง่ ส่งผลให้ธรุ กิจอสังหาริมทรัพย์ในไตรมาส 4 ชะลอตัวลง ท�ำให้บริษัทต้องชะลอการสร้างและส่งมอบบ้านตามอุปสงค์ที่ลดลงจนส่งผลให้รายได้ในไตรมาสสุดท้ายของปี 2556 ลดลงเป็นจ�ำนวน 725.03 ล้านบาท เมือ่ เทียบไตรมาสเดียวกันของปี 2555 อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปี 2556 โครงการคอนโดมิเนียม ของบริษัทย่อยมีการเริ่มโอนกรรมสิทธิ์ท�ำให้สามารถรับรู้รายได้จากโครงการไอคอนโดเพิ่มอีก 4 โครงการ ส่งผลให้สามารถรับรู้ รายได้จากโครงการคอนโดมิเนียมรวมทั้งปีจ�ำนวนทั้งสิ้น 6 โครงการ และมีรายได้จากการขายโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา ให้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ยูนลิ อฟท์เข้ามาเพิม่ เติม ท�ำให้รายได้จากโครงการแนวสูงเพิม่ ขึน้ รวมทัง้ สิน้ 1,445.80 ล้านบาท และ มีรายได้จากการขายทีด่ นิ รอการพัฒนาทีเ่ พิม่ ขึน้ จ�ำนวน 381.64 ล้านบาท มาชดเชย ท�ำให้รายได้จากการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยรวมเพิม่ สูงขึน้ จากปี 2555 เท่ากับ 1,174.42 ล้านบาท และสัดส่วนรายได้จากโครงการคอนโดมิเนียมเพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 23.39 ของรายได้รวม ในขณะทีร่ ายได้จากโครงการแนวราบลดลงเหลือ ร้อยละ 60.88 และสัดส่วนรายได้จากการขายทีด่ นิ รอการพัฒนา เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 4.72 ในปี 2556 บริษัทมีรายได้จากการประกอบกิจการโรงแรมจ�ำนวน 1,018.43 ล้านบาท และรายได้อื่นๆ จ�ำนวน 217.92 ล้านบาท บริษัทฯและบริษัทย่อยมีต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จ�ำนวน 6,728.99 ล้านบาท และต้นทุนการ ประกอบกิจการโรงแรมจ�ำนวน 636.21 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้นเท่ากับ ร้อยละ 32.66 และร้อยละ 37.53 ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการบริหารในปี 2556 เท่ากับ 1,875.63 ล้านบาท โดยค่าใช้จ่าย ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและผลประโยชน์ของพนักงานที่เพิ่มขึ้นจากการเตรียมบุคลากรเพื่อรองรับโครงการที่จะ ขยายตัวในอนาคตและค่าใช้จา่ ยการบริหารกิจการโรงแรมในประเทศญีป่ นุ่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ค่าใช้จา่ ยในการขาย 1,183.59 ล้านบาท และ ค่าใช้จ่ายทางการเงินจ�ำนวน 706.36 ล้านบาท ท�ำให้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำ� ไรสุทธิ รวมทั้งสิ้น 41.42 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิร้อยละ 0.37


171

ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้รวมจ�ำนวน 12,785.35 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นรายได้จากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ จ�ำนวน 11,571.39 ล้านบาท แม้ว่าในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2557 ตลาดที่อยู่อาศัยจะได้รับผลกระทบต่อเนื่องจากเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมือง บริษทั ฯและบริษทั ย่อยยังสามารถรับรูร้ ายได้จากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 โดยมี รายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ ินลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 560.91 ล้านบาท แต่บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายได้เพิ่มขึน้ จากการ โอนกรรมสิทธิ์โครงการคอนโดมิเนียมและรายได้จากการขายทีด่ นิ รอการพัฒนาจ�ำนวน 1,040.68 ล้านบาท และ 1,099.20 ล้านบาท มาชดเชยจึงท�ำให้รายได้จากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยรวมเพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปี 2556 เท่ากับ 1,578.97 ล้านบาท นอกจากนี้ บริษัทมีรายได้จากการประกอบกิจการโรงแรมจ�ำนวน 844.71 ล้านบาท และรายได้อื่นๆ จ�ำนวน 369.25 ล้านบาท บริษัทฯและบริษัทย่อยมีต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จ�ำนวน 7,833.77 ล้านบาท และต้นทุนการประกอบกิจการโรงแรม จ�ำนวน 650.59 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้นเท่ากับ ร้อยละ 32.30 และ ร้อยละ 22.98 ตามล�ำดับ บริษัทฯและบริษัทย่อย มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารรวมเท่ากับ 3,069.22 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายทางการเงิน 611.25 ล้านบาท และมีก�ำไรสุทธิ รวมทั้งสิ้น 402.26 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิร้อยละ 3.15 ส�ำหรับปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายได้รวมจ�ำนวน 12,905.29 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นรายได้จากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ จ�ำนวน 10,285.39 ล้านบาท รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรมจ�ำนวน 1,523.62 ล้านบาท รายได้ค่าเช่าและบริการ 224.70 ล้านบาท ก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม 529.96 ล้านบาท และรายได้อื่นๆ จ�ำนวน 341.62 ล้านบาท บริษัทฯและบริษัทย่อยมีต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จ�ำนวน 7,105.76 ล้านบาท ต้นทุนการประกอบกิจการโรงแรมจ�ำนวน 1,067.85 ล้านบาท และต้นทุนการให้เช่าและบริการ 204.75 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้นเท่ากับ ร้อยละ 30.91 ร้อยละ 29.91 และ ร้อยละ 8.88 ตามล�ำดับ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีกำ� ไรสุทธิรวมทัง้ สิน้ 267.01 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิ ร้อยละ 2.07 การขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ระหว่างไตรมาส 4 ปี 2556 บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ ได้ขายทรัพย์สินในโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา ซึ่งตั้งอยู่ที่ต�ำบล ศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มูลค่ารวม 514.00 ล้านบาท ให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ โดย บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ ได้โอนกรรมสิทธิ์ทั้งหมดในทรัพย์สินให้แก่กองทุนรวม ทั้งนี้ บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มี นโยบายหรือสิทธิในการซือ้ อสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวกลับคืนในอนาคต บริษทั จึงรับรูร้ ายได้และต้นทุนจากการขายทรัพย์สนิ โครงการ ยูนิลอฟท์ ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยแสดงเป็นส่วนหนึ่งของรายได้และต้นทุนจากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยใน งบการเงินรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากบริษัทได้ท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานกับกองทุน เป็นระยะเวลา 3 ปี ในอัตราค่าเช่าคงทีป่ ลี ะ 43.50 ล้านบาท และให้สทิ ธิแก่กองทุนในการขยายระยะเวลาการเช่าได้อกี 1 ปี บริษทั จึงได้บันทึกส�ำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่าเป็นจ�ำนวน 45.31 ล้านบาท ส�ำหรับงบการเงินปี 2556 และได้บันทึก ปรับปรุงประมาณการหนี้สินเพิ่มเติมส�ำหรับงบการปี 2557 อีกจ�ำนวน 24.03 ล้านบาท รายได้ ระหว่างปี 2556 ถึง 2558 รายได้หลักของบริษัทฯและบริษัทย่อยมาจากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ซึ่งประกอบด้วยรายได้จาก การขายบ้านพร้อมทีด่ นิ รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย และรายได้จากการขายทีด่ นิ รอการพัฒนา อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯและบริษทั ย่อยเริม่ มีรายได้จากการประกอบธุรกิจโรงแรมซึง่ เป็นผลจากการลงทุนในโครงการสกีรสี อร์ทคิโรโระในไตรมาส 4 ปี 2555 และในเดือนมิถุนายนของปี 2558 จากการเข้าซื้อกิจการของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งกลุ่มบริษัท มีกจิ การโรงแรมอยู่ 3 แห่ง ทีเ่ ปิดด�ำเนินการอยูค่ อื โรงแรมเดอะเวสทิน แกรนด์ สุขมุ วิท โรงแรมเชอราตัน หัวหิน รีสอร์ท แอนด์สปา และโรงแรมเชอราตัน หัวหิน ปราณบุรี วิลล่า และก�ำลังก่อสร้างอีก 1 แห่ง คือ โรงแรมไฮแอท รีเจนซี่ กรุงเทพ สุขมุ วิท นอกจากนี้ บริษัทฯและบริษัทย่อยยังมีรายได้อื่นๆ อาทิเช่น ดอกเบี้ยรับ รายได้จากการริบเงินจอง ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ รายได้ค่า บริการสาธารณะหลังโอน รายได้เบ็ดเตล็ด รายได้ค่าสาธารณูปโภค และอื่น ๆ


172

รายงานประจำ�ปี 2558

งบการเงินรวม 2556 ล้านบาท

รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน 6,836.47 รายได้จากการขายอาคารชุด 2,626.44 รายได้จากการขายที่ดิน 529.50 รายได้จากการประกอบโรงแรม 1,018.43 รายได้ค่าเช่าและบริการ ก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่า ยุติธรรม รายได้อื่น 217.92 รายได้รวม 11,228.77

2557 ร้อยละ

ล้านบาท

60.88 23.39 4.72 9.07 -

6,275.56 3,667.12 1,628.71 844.71 28.45 -

1.94 340.80 100.00 12,785.35

2558 ร้อยละ

49.08 28.68 12.74 6.61 0.22 -

ล้านบาท

ร้อยละ

6,624.37 3,159.60 501.42 1,523.62 224.70 529.96

51.33 24.48 3.88 11.81 1.74 4.11

2.67 341.62 100.00 12,905.29

2.65 100.00

* รายได้อื่นๆ อาทิเช่น ดอกเบี้ยรับ รายได้จากการริบเงินจอง รายได้ค่าบริการสาธารณะ รายได้เบ็ดเตล็ด รายได้ค่าสาธารณูปโภค ก�ำไรจากการขายเงินลงทุน และอื่น ๆ

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกรายการขายบ้านพร้อมที่ดินและรายการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยเป็นรายได้ในงบก�ำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์แก่ผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน ปี 2556 แม้ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะมีการพัฒนาส่วนต่อขยายและเปิดโครงการใหม่หลายโครงการ อาทิเช่น โครงการ เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์/แจ้งวัฒนะ โครงการเดอะ เมทโทร รามค�ำแหง-วงแหวน/พัฒนาการ-ศรีนครินทร์ เป็นต้น แต่ บริษัทฯและบริษัทย่อยสามารถรับรู้รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินได้เพียง 6,836.47 ล้านบาท ลดลง 653.02 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8.72 จากปี 2555 ทั้งที่รายได้ 9 เดือนแรกของปีนี้เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 72.01 ล้านบาท แต่จากปัญหาการ ชุมนุมทางการเมืองซึ่งส่งผลให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในไตรมาส 4 ชะลอตัวลง ท�ำให้บริษัทต้องชะลอการสร้างและส่งมอบ บ้านตามอุปสงค์ที่ลดลงจนส่งผลให้รายได้ในไตรมาสสุดท้ายของปี 2556 ลดลงเป็นจ�ำนวน 725.03 ล้านบาท เมื่อเทียบ ไตรมาสเดียวกันของปี 2555 ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินจ�ำนวน 6,275.56 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 49.08 ของรายได้ทงั้ หมด อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองทีส่ ง่ ผลต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ไตรมาส 4 ปี 2556 จนถึงไตรมาส 2 ปี 2557 และการมุ่งเน้นตลาดคอนโดมิเนียมจึงท�ำให้รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินส�ำหรับปี 2557 ลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 560.91 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 8.20 ส�ำหรับปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ จ�ำนวน 6,624.37 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 51.33 ของรายได้ทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 348.81 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.56 รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ในปี 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยจ�ำนวน 2,626.44 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,445.80 ล้านบาท จากปี 2555 คิดเป็นร้อยละ 122.46 โดยบริษัทมีการรับรู้รายได้เพิ่มจากโครงการไอคอนโด 4 โครงการ และรายได้จากการขายโครงการยูนิลอฟท์ ให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ จ�ำนวน 514.00 ล้านบาท ท�ำให้ ในปี 2556 มีโครงการคอนโดมิเนียมที่รับรู้รายได้รวม 6 โครงการ และโครงการยูนิลอฟท์ 1 โครงการ เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ที่มีการรับรู้รายได้จากโครงการคอนโดมิเนียมเพียง 2 โครงการ


173

ส�ำหรับปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยจ�ำนวน 3,667.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปี 2556 จ�ำนวน 1,040.68 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 39.62 เนื่องมาจากการรับรู้รายได้เพิ่มจากโครงการไอคอนโด จาก 4 โครงการในปี 2556 เป็น 7 โครงการในปี 2557 ท�ำให้ปี 2557 มีโครงการคอนโดมิเนียมที่รับรู้รายได้รวมทั้งสิ้น 9 โครงการ ในขณะที่ปี 2556 มีเพียง 7 โครงการ ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยจ�ำนวน 3,159.60 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 24.48 ของรายได้ทั้งหมด ลดลงจากปี 2557 จ�ำนวน 507.52 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 13.84 เนื่องมาจากการ ชลอตัวของภาวะเศรษฐกิจ และความกังวลในเรื่องของภาระหนี้ภาคครัวเรือน รายได้จากการขายที่ดิน ในปี 2556 รายได้จากการขายที่ดินมีจำ� นวน 529.50 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 381.64 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2555 ซึ่ง คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 258.10 และปี 2557 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายได้จากการขายทีด่ นิ จ�ำนวน 1,628.71 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 เท่ากับ 1,099.20 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 207.59 โดยบริษทั ได้มกี ารขายทีด่ นิ บริเวณถนนสุขมุ วิท 103 ให้แก่บริษัทผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึ่งเพื่อน�ำไปพัฒนาเป็นโครงการศูนย์การค้าปลีก ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายที่ดินจ�ำนวน 501.42 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 3.88 ของรายได้ ทั้งหมด ลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปี 2557 จ�ำนวน 1,127.29 ล้านบาท เนื่องจากในปี 2557 บริษัทได้มีการขายที่ดิน บริเวณถนนสุขมุ วิท 103 มีมลู ค่า 1,700 ล้านบาท ให้แก่บริษทั ผูพ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึง่ เพือ่ น�ำไปพัฒนาเป็นโครงการ ศูนย์การค้าปลีก รายได้จากการประกอบธุรกิจโรงแรม ในไตรมาส 4 ของปี 2555 บริษทั ย่อยของบริษทั ได้เข้าลงทุนในบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในประเทศญีป่ นุ่ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ประกอบ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจโรงแรมในประเทศญี่ปุ่น บริษัทจึงได้รวมงบแสดงฐานะการเงินของบริษัทดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตั้งแต่วันที่ลงทุน (5 ตุลาคม 2555) จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เข้าในงบการเงิน รวมของบริษัท ในปี 2555 บริษัทบันทึกรายได้จากการประกอบกิจการโรงแรมตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี 2555 จ�ำนวน 275.66 ล้านบาท และ 1,018.43 ล้านบาทในปี 2556 (เต็มปี) และปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้จากกิจการโรงแรมจ�ำนวน 844.71 ล้านบาท ลดลงจาก ปี 2556 เท่ากับ 173.72 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 17.06 เนื่องจากบริษัทย่อยได้มีการปิดบางส่วนของอาคารที่พักอาศัยเพื่อ ปรับปรุงซ่อมแซมในระหว่างเดือนพฤษภาคม จนถึงเดือนธันวาคม 2557 ซึ่งเป็นช่วง Low Season ในรอบปี 2558 รายได้จากกิจการโรงแรมในต่างประเทศมีจำ� นวน 919.25 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 74.54 ล้านบาท จากปีก่อนคิดเป็น ร้อยละ 8.82 และในเดือนมิถุนายน ของปี 2558 จากการเข้าซื้อกิจการของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งกลุ่ม บริษัทมีกิจการโรงแรมอยู่ 3 แห่ง ที่เปิดด�ำเนินการอยู่คือ โรงแรมเดอะเวสทิน แกรนด์ สุขุมวิท โรงแรมเชอราตัน หัวหิน รีสอร์ท แอนด์สปา และโรงแรมเชอราตัน หัวหิน ปราณบุรี วิลล่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงรับรู้รายได้กิจการโรงแรมจากรายการดังกล่าว จ�ำนวน 604.36 ล้านบาท ท�ำให้ในรอบปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายได้จากกิจการโรงแรมจ�ำนวน 1,523.62 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 678.91 ล้านบาท รายได้คา่ เช่าและบริการ ในเดือนมิถุนายน ของปี 2558 จากการเข้าซือ้ กิจการของบริษทั ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ มีรายได้คา่ เช่าและบริการ จากอาคารส�ำนักงานแปซิฟิค 1 และ 2 โดยในปี 2558 บริษัทรับรู้รายได้ดังกล่าวจ�ำนวน 162.01 ล้านบาท ส่วนที่เหลือจ�ำนวน 62.69 ล้านบาท เป็นรายได้ค่าเช่า จากโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา และโครงการ เมโทร เวสท์ ทาวน์


174

รายงานประจำ�ปี 2558

ต้นทุน ค่าใช้จ่าย และก�ำไร ต้นทุนการขาย (ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์) ในการค�ำนวณหาต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งเป็นต้นทุนหลักของบริษัทและบริษัทย่อยนั้น สามารถท�ำได้โดยการแบ่งสรรต้นทุนการพัฒนาทั้งหมดที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โดยค�ำนึงถึงต้นทุนที่แท้จริงประกอบด้วย) ให้กับบ้าน พร้อมที่ดินที่ขายได้และหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยตามเกณฑ์พื้นที่ที่ขายแล้วจึงรับรู้เป็นต้นทุนขายในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เมื่อรับรู้รายได้จากการขายแล้ว ระหว่างปี 2556 ถึง 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีต้นทุนจากการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์รวมทั้งสิ้นเท่ากับ 6,728.99 ล้านบาท 7,833.77 ล้านบาท และ 7,105.75 ล้านบาท ตามล�ำดับ งบการเงินรวม 2556 ล้านบาท

ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุด ต้นทุนการขายที่ดิน รวม

4,557.15 1,915.27 256.57 6,728.99

2557 ร้อยละ

67.72 28.46 3.81 100.00

ล้านบาท

4,085.59 2,659.90 1,088.28 7,833.77

2558 ร้อยละ

52.15 33.95 13.89 100.00

ล้านบาท

4,409.30 2,361.81 334.64 7,105.75

ร้อยละ

62.05 33.24 4.71 100.00

ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน ต้นทุนการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ จะแสดงตามราคาทุนสุทธิจากค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากการลดลงของมูลค่าโครงการ โดยต้นทุน การพัฒนาประกอบด้วย ค่าที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าออกแบบ ค่าสาธารณูปโภค ค่าก่อสร้าง ต้นทุนการกู้ยืม ฯลฯ ในปี 2556 ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินเท่ากับ 4,557.15 ล้านบาท ลดลงจากปี 2555 จ�ำนวน 190.93 ล้านบาท ซึ่ง สอดคล้องกับการลดลงของรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขายเท่ากับ ร้อยละ 66.66 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2555 ส�ำหรับปี 2557 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีตน้ ทุนการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ จ�ำนวน 4,085.59 ล้านบาท ลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 471.56 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 10.35 ซึง่ สอดคล้องกับการลดลงของรายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ ในช่วงดังกล่าว โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขายเท่ากับร้อยละ 65.10 ลดลงเล็กน้อยจากปี 2556 ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินจ�ำนวน 4,409.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 323.71 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.92 ซึ่งสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน ในช่วงเวลาดังกล่าว ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ในปี 2556 บริษัทมีต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยเท่ากับ 1,915.27 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 จ�ำนวน 1,137.25 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 146.17 โดยต้นทุนการขายอาคารชุดในปี 2556 คิดเป็นร้อยละ 28.46 ของต้นทุน ขายทัง้ หมด อัตราต้นทุนขายเปรียบเทียบกับรายได้จากการขายคอนโดมิเนียมในปี 2556 เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 72.92 เนือ่ งจาก โครงการไอคอนโดทีเ่ ริม่ รับรูร้ ายได้ในช่วงไตรมาส 2 มีตน้ ทุนการพัฒนาโครงการเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากค่าวัสดุกอ่ สร้าง และค่าแรง ทีป่ รับตัวเพิม่ สูงขึน้ กว่าโครงการเมโทร พาร์ค สาทร และโครงการเมโทร สกาย รัชดาทีพ่ ฒ ั นาแล้วเสร็จในช่วงปี 2554-2555


175

ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยจ�ำนวน 2,659.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปี 2556 จ�ำนวน 744.63 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 38.88 ซึง่ สอดคล้องกับการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุด พักอาศัยในช่วงดังกล่าว โดยอัตราต้นทุนขายเปรียบเทียบกับรายได้จากการขายคอนโดมิเนียมของปี 2557 เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 72.53 ซึ่งเป็นผลมาจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาปัจจัยการผลิตต่างๆ อาทิเช่น ราคาที่ดิน ค่าจ้างแรงงาน ราคา วัสดุก่อสร้าง ฯลฯ ส�ำหรับปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีตน้ ทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยจ�ำนวน 2,361.81 ล้านบาท ลดลงจากปี 2557 จ�ำนวน 298.09 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.21 ซึ่งสอดคล้องกับการลดลงของรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพัก อาศัยในช่วงดังกล่าว ต้นทุนการขายที่ดิน ในปี 2556 บริษัทมีต้นทุนการขายที่ดินเท่ากับ 256.57 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปี 2555 เท่ากับ 153.65 ล้านบาทหรือคิดเป็น ร้อยละ 149.29 อย่างไรก็ตาม สัดส่วนต้นทุนการขายที่ดินเปรียบเทียบกับรายได้จากการขายที่ดินในปี 2556 ลดลงเหลือ ร้อยละ 48.45 ในปี 2557 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีตน้ ทุนการขายทีด่ นิ เท่ากับ 1,088.28 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 เท่ากับ 831.71 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 324.17 เนือ่ งจากในระหว่างเดือนสิงหาคม 2557 บริษทั ได้มกี ารขายทีด่ นิ บริเวณถนนสุขมุ วิท 103 ให้แก่ บริษัทผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึ่งเพื่อน�ำไปพัฒนาเป็นโครงการศูนย์การค้าปลีก ส�ำหรับปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนการขายที่ดินเท่ากับ 334.64 ล้านบาทลดลง 753.64 ล้านบาทจากปีก่อน เนื่องจากในรอบปี 2558 บริษัทมีรายได้จากการขายที่ดินลดลง ก�ำไรขั้นต้น และ อัตราก�ำไรขั้นต้นจากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บ้านเดี่ยวและทาวน์เฮ้าส์

ก�ำไรขั้นต้น (ล้านบาท) อัตราก�ำไรขั้นต้น (ร้อยละ)

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

2,279.32 33.34

2,189.97 34.90

2,215.07 33.44

ในปี 2556 มีอตั ราก�ำไรขัน้ ต้นจากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ ลดลงเป็นร้อยละ 33.34 จากปี 2555 ทีม่ อี ตั ราก�ำไรขัน้ ต้นร้อยละ 36.60 จากการที่ โครงการที่มีอัตราก�ำไรขั้นต้นสูงมีการที่รับรู้รายได้ลดลงเนื่องจากใกล้ปิดโครงการ อีกทั้งบ้านในกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ที่บริษัทได้ซื้อคืนมามีอัตราก�ำไรขั้นต้นต�ำ่ กว่าโครงการบ้านและทาวน์เฮาส์ที่บริษัทและ บริษัทย่อยพัฒนาใหม่จึงส่งผลให้อัตราก�ำไรขั้นต้นของที่อยู่อาศัยในแนวราบโดยรวมลดลง และปี 2557 บริษัทและบริษัทย่อยมี อัตราก�ำไรขัน้ ต้นจากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ ร้อยละ 34.90 เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจากอัตราก�ำไรขัน้ ต้นของงวดเดียวกันส�ำหรับปี 2556 อย่างไรก็ตาม แนวโน้มต้นทุนการด�ำเนินธุรกิจที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นมายังคงเป็นปัจจัยที่ท้าทาย ส�ำหรับบริษัทฯและบริษัทย่อยที่จ�ำเป็นต้องด�ำเนินกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อให้สามารถรักษาระดับอัตราก�ำไรขั้นต้นไว้ให้ได้ใน ระยะยาว โดยปัจจัยทีม่ ผี ลต่อต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั และบริษทั ย่อยทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ราคาทีด่ นิ ค่าจ้าง แรงงาน ราคาวัสดุก่อสร้าง และแนวโน้มราคาพลังงานที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ส�ำหรับปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีอตั ราก�ำไรขัน้ ต้นจากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ ร้อยละ 33.44 ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 34.90 ในปี 2557 อาคารชุด

ก�ำไรขั้นต้น (ล้านบาท) อัตราก�ำไรขั้นต้น (ร้อยละ) จ�ำนวนโครงการที่มีการรับรู้รายได้

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

711.17 27.08 7 โครงการ

1,007.22 27.47 9 โครงการ

797.79 25.25 11 โครงการ


176

รายงานประจำ�ปี 2558

ในปี 2556 อัตราก�ำไรขั้นต้นจากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยลดลงจาก ร้อยละ 34.10 ในปี 2555 เป็นร้อยละ 27.08 เป็น ผลจากการที่โครงการใหม่ทเี่ ริม่ รับรูร้ ายได้ในช่วงปลายไตรมาส 2 มีอตั ราก�ำไรขัน้ ต้นทีต่ ำ�่ กว่าโครงการเดิมทีร่ บั รูร้ ายได้ในปี 2555 เนือ่ งจากต้นทุนการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียม เช่น ค่าวัสดุกอ่ สร้าง และค่าแรงทีป่ รับตัวเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจึงท�ำให้อตั รา ก�ำไรขั้นต้นของโครงการใหม่โดยรวมปรับตัวลดลง ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอัตราก�ำไรขั้นต้นคิดเป็นร้อยละ 27.47 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2556 อย่างไรก็ตาม ภาวะ การแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการรายใหญ่ที่ต่างเร่งเปิดตัวโครงการใหม่ในช่วงจังหวะที่ตลาดอสังหาริมทรัพย์แนวสูงยังมีปัจจัย สนับสนุนการเติบโตและต้นทุนการพัฒนาโครงการทีป่ รับตัวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งยังคงเป็นปัจจัยทีท่ า้ ทายความสามารถของบริษทั ฯ และบริษัทย่อยที่จะด�ำเนินกลยุทธ์ทางการตลาดส�ำหรับโครงการแนวสูง รวมถึงการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาปรับใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและช่วยลดต้นทุนการก่อสร้างซึ่งจะช่วยให้บริษัทฯและบริษัทย่อยสามารถรักษาอัตราก�ำไรขั้นต้นในระดับทีส่ ามารถ แข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่นๆ ในระยะยาวได้ ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอัตราก�ำไรขั้นต้นคิดเป็นร้อยละ 25.25 ลดลงจาก ร้อยละ 27.47 ในปี 2557 ที่ดินรอการพัฒนา

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ก�ำไรขั้นต้น (ล้านบาท) อัตราก�ำไรขั้นต้น (ร้อยละ)

272.94 51.55

540.43 33.18

166.77 33.26

อัตราก�ำไรขั้นต้นในปี 2556 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญเป็นร้อยละ 51.55 และส�ำหรับปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอัตราก�ำไร ขั้นต้นจากการขายที่ดินเท่ากับ ร้อยละ 33.18 ส�ำหรับปี 2558 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราก�ำไรขั้นต้นคิดเป็น ร้อยละ 33.26 ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการขายหลักของบริษัทฯและบริษัทย่อยประกอบด้วยค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์และค่าใช้จ่ายทางการตลาด และ ค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ในปี 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายรวม 1,183.60 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 95.32 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 8.76 จากปี 2555 อย่างไรก็ตาม ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์และค่าใช้จ่ายทางการตลาดในปี 2556 ลดลง 6.03 ล้านบาท ขณะที่ภาษี ธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 50.28 ล้านบาท สอดคล้องกับการที่รายได้จากการโอนเพิ่มขึ้น และค่าใช้จ่าย ในการขายของธุรกิจโรงแรมเพิ่มขึ้น 63.23 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการขายส�ำหรับปี 2556 คิดเป็น ร้อยละ 10.75 ของรายได้ ทั้งหมดจากการขายโครงการอสังหาริมทรัพย์และรายได้จากธุรกิจโรงแรม ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายเท่ากับ 1,216.59 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากค่าใช้จ่ายในการขายของปี 2556 เท่ากับ 32.99 ล้านบาท ทัง้ นีค้ า่ ใช้จา่ ยในการขายทีเ่ พิม่ ขึน้ ส่วนใหญ่จะเป็นค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วกับภาษีธรุ กิจเฉพาะและค่าธรรมเนียม การโอนทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามยอดโอนกรรมสิทธิ์โดยเพิม่ ขึน้ 76.12 ล้านบาท จากปี 2556 ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์และค่าใช้จา่ ยทางการ ตลาดลดลง 32.25 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายในการขายของธุรกิจโรงแรมลดลง 15.41 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม เมื่อคิดเป็นสัดส่วน ต่อรายได้ทั้งหมด (ไม่รวมรายได้อื่น) ค่าใช้จ่ายในการขายส�ำหรับปี 2557 คิดเป็น ร้อยละ 9.78 ในขณะที่ค่าใช้จ่ายในการขาย ส�ำหรับปี 2556 คิดเป็น ร้อยละ 10.75 ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษทั ย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายเท่ากับ 1,302.19 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.82 ของรายได้ทงั้ หมด (ไม่รวมรายได้อื่น) เพิ่มขึ้น 85.60 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2557 โดยส่วนหนึ่งมาจากค่าโฆษณาที่เพิ่มขึ้น 42.77 ล้านบาท และ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการโอนที่ลดลงตามยอดโอนกรรมสิทธิ์โดยลดลง 95.60 ล้านบาท จาก ปี 2557 และเพิ่มขึ้นจากค่าใช้จ่ายในการขายของกลุ่มบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) ที่บริษัทได้ซื้อกิจการมาเมื่อ เดือนมิถุนายน 2558 จ�ำนวน 130.05 ล้านบาท


177

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จา่ ยในการบริหารประกอบด้วยเงินเดือน ค่าใช้จา่ ยสาธารณูปโภค ค่าธรรมเนียม ค่าเสือ่ มราคา และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ในปี 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการบริหารเท่ากับ 1,875.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 457.15 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่ มาจากค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับเงินเดือนและผลประโยชน์ของพนักงานทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการเตรียมบุคลากรเพือ่ รองรับโครงการทีจ่ ะขยายตัว ในอนาคตท�ำให้มคี า่ ใช้จา่ ยเงินเดือนและผลประโยชน์ของพนักงานในปี 2556 เพิม่ ขึน้ จากปี 2555 เท่ากับ 77.79 ล้านบาท ค่าใช้จา่ ย ในการบริหารโครงการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้นตามการขยายงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย ตลอดจนค่าใช้จ่ายการบริหาร กิจการโรงแรมทีเ่ พิม่ ขึน้ จากปี 2555 จ�ำนวน 262.40 ล้านบาท ท�ำให้ภาพรวมของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีคา่ ใช้จา่ ยในการบริหาร คิดเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นจาก 2555 โดยคิดเป็น ร้อยละ 17.03 ของรายได้จากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจโรงแรม ส�ำหรับปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการบริหารเท่ากับ 1,852.64 ล้านบาท ลดลงจากค่าใช้จ่ายในการบริหาร ส�ำหรับปี 2556 เท่ากับ 22.99 ล้านบาท และเมื่อคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ทั้งหมด (ไม่รวมรายได้อื่น) ค่าใช้จ่ายในการบริหารของ ปี 2557 คิดเป็น ร้อยละ 14.92 โดยมีสดั ส่วนลดลงจากปี 2556 โดยค่าใช้จา่ ยการบริหารของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพิม่ ขึน้ 50.68 ล้านบาท จาก 1,475.53 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2556 เป็น 1,526.21 ล้านบาท ในปี 2557 อย่างไรก็ตาม ค่าใช้จ่ายในการบริหารของธุรกิจ โรงแรมของปี 2557 ลดลง 73.66 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทมีการปิดบางส่วนของโรงแรมเพื่อปรับปรุงซ่อมแซมในระหว่าง เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนธันวาคม 2557 ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการบริหารเท่ากับ 2,308.00 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 27.55 ของรายได้ ทัง้ หมด (ไม่รวมรายได้อนื่ ) เพิม่ ขึน้ 477.56 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2557 โดยส่วนหนึง่ มาจากการทีบ่ ริษทั มีการพัฒนาโครงการ มากขึน้ ท�ำให้มคี า่ ใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารโครงการเพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 61.28 ล้านบาท ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น จ�ำนวน 55.23 ล้านบาท นอกจากนั้นยังมีค่าใช้จ่ายบริหารที่เพิ่มขึ้นจากกลุ่มบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) ที่บริษัทได้ซื้อ กิจการมาเมื่อเดือนมิถุนายน 2558 จ�ำนวน 312.84 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายอื่น ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ และขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่า เมื่อปี 2551 บริษัทได้ขายบ้านพร้อมที่ดินจ�ำนวน 64 หลัง มูลค่ารวม 510.00 ล้านบาท ให้กับกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ตามที่ระบุไว้ในสัญญาดังกล่าว บริษัทตกลงรับประกันรายได้ขั้นต�่ำของกองทุน (รายได้จากการเช่า และค่าบริการก่อนหักค่าใช้จา่ ย) เป็นจ�ำนวนเงิน 55.00 ล้านบาทต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ซึง่ จะสิน้ สุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดยในปี 2555 บริษัทบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำจ�ำนวน 32.76 ล้านบาท เนื่องจาก รายได้ค่าเช่าของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ต�ำ่ กว่าที่ประมาณการไว้ และการรับประกันรายได้ ขั้นต�่ำของกองทุนนี้ (รายได้จากการเช่าและค่าบริการก่อนหักค่าใช้จ่าย) เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2556 บจ.ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ ได้ขายหอพักให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ โดยได้รับค่าตอบแทนเป็นจ�ำนวนเงิน 514.00 ล้านบาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2556 บริษัทได้เข้าลงทุนในกองทุนดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงิน 100.50 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนการลงทุน ร้อยละ 19.52 และได้เข้า ท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานกับกองทุนดังกล่าวเป็นระยะเวลา 3 ปี ในอัตราค่าเช่าคงที่ปีละ 43.50 ล้านบาท และให้สิทธิแก่ กองทุนในการขยายระยะเวลาการเช่าได้อีก 1 ปี โดยมีค่าเช่าและเงื่อนไขเช่นเดียวกันกับการเช่าในระยะเวลา 3 ปีแรก ทั้งนี้ บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีนโยบายและสิทธิในการซื้ออสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวกลับคืนในอนาคต ดังนั้น รายได้และต้นทุน จากการขายอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวจึงถูกรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี 2556 อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหาร ได้ประเมินเนื้อหาสาระของสัญญาเช่าด�ำเนินงานข้างต้นเป็นการประกันรายได้ค่าเช่าให้กับกองทุนตลอดอายุรวม 4 ปี ซึ่ง ถือเป็นสัญญาทีส่ ร้างภาระให้กบั บริษทั ในอนาคต ดังนัน้ ฝ่ายบริหารจึงได้ประมาณมูลค่าทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ของค่าใช้จา่ ยในการ รับประกันค่าเช่าตามมูลค่าปัจจุบนั ของผลแตกต่างของประมาณการรายได้จากการให้เช่าหอพักกับรายย่อย กับค่าเช่าเหมาจ่าย ที่ท�ำสัญญาไว้กับกองทุน ตลอดอายุรวม 4 ปี ซึ่งค�ำนวณขึ้นโดยใช้ข้อสมมติฐานที่เหมาะสมกับสถานการณ์และผลประกอบ การในปัจจุบันของหอพัก บริษัทจึงได้บันทึกส�ำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่าเป็นจ�ำนวน 45.31 ล้านบาท โดย แยกแสดงเป็นรายการต่างหากภายใต้หวั ข้อขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่าในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี 2556


178

รายงานประจำ�ปี 2558

ปี 2557 บริษัทได้ปรับปรุงประมาณการหนี้สินส�ำหรับการรับประกันค่าเช่า โดยได้ปรับปรุงสมมติฐานต่างๆ ในการประมาณการ หนีส้ นิ ดังกล่าวซึง่ ประกอบไปด้วย อัตราค่าเช่า อัตราการเข้าพัก และอัตราคิดลด และบันทึกส�ำรองเผือ่ ผลขาดทุนจากการรับประกัน ค่าเช่าเพิ่มเติมจ�ำนวน 24.03 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2558 บริษัทไม่มีการบันทึกค่าใช้จ่ายขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�ำ่ แต่อย่างใด ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ในระหว่าง ปี 2556 ถึงปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายทางการเงินจ�ำนวน 706.36 ล้านบาท 611.25 ล้านบาท และ 635.28 ล้านบาทตามล�ำดับ ค่าใช้จ่ายทางการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อยประกอบไปด้วยดอกเบี้ยจ่าย และ ค่าธรรมเนียมทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายระหว่างปี 2556 ถึง 2558 เท่ากับ 637.60 ล้านบาท 545.97 ล้านบาท และ 606.20 ล้านบาทตามล�ำดับ ภาระ ดอกเบี้ยจ่ายในปี 2556 เพิ่มขึ้นจากการที่บริษัทมีการลงทุนในที่ดินและสิทธิการเช่าที่ดินเพื่อรองรับการพัฒนาโครงการ ในแนวราบและแนวสูงต่างๆ ในอนาคตจึงท�ำให้บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระในการกูย้ มื เงินเพิม่ ขึน้ และส่งผลให้ภาระดอกเบีย้ จ่ายของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยเพิม่ สูงขึน้ ตามล�ำดับ และในปี 2557 ภาระดอกเบีย้ จ่ายเป็นผลมาจากภาระการกูย้ มื ทีเ่ พิม่ ขึน้ เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยได้มีการขยายงานอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาที่ผ่านมา ค่าธรรมเนียมทางการเงินในปี 2556 ถึง 2558 เท่ากับ 68.76 ล้านบาท 65.28 ล้านบาท และ 29.08 ล้านบาท ตามล�ำดับ ค่าธรรมเนียมทางการเงินในปี 2556 มาจากการที่บริษัทได้มีการออกหุ้นกู้ทั้งหมด 4 รุ่น ในเดือนเมษายน พฤษภาคม มิถุนายน และพฤศจิกายน ตามล�ำดับ จึงท�ำให้ค่าธรรมเนียมทางการเงินที่เกี่ยวข้องสูงตามไปด้วยโดยเพิ่มขึ้นจากปี 2555 จ�ำนวน 5.58 ล้านบาท คิดเป็น 68.76 ล้านบาท และในปี 2557 บริษทั ได้มกี ารเสนอขายหุน้ กูท้ งั้ หมด 3 รุน่ ในเดือนกรกฎาคม กันยายน และธันวาคม โดยค่าธรรมเนียมทางการเงินในปี 2557 ลดลงจากปี 2556 จ�ำนวน 3.48 ล้านบาท และในปี 2558 บริษทั ได้มกี ารเสนอขายหุน้ กูท้ งั้ หมด 5 รุน่ ในเดือนมีนาคม พฤษภาคม สิงหาคม ตุลาคม และพฤศจิกายน โดยค่าธรรมเนียม ทางการเงินในปี 2558 ลดลงจากปี 2557 จ�ำนวน 36.20 ล้านบาท จากการที่ในปีนี้บริษัทออกหุ้นกู้ประเภทไม่มีหลักประกัน ในขณะทีป่ กี อ่ นเป็นการออกหุน้ กูป้ ระเภทมีหลักประกันบางส่วนโดยหนังสือค�ำ้ ประกันของธนาคาร ท�ำให้ปนี ี้ไม่มคี า่ ธรรมเนียม หนังสือค�้ำประกัน ภาษีเงินได้ การค�ำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบด้วย 1) ภาษีที่ค�ำนวณได้จากก�ำไรทางภาษี 2) รายการปรับปรุง อาทิเช่น รายการ ปรับปรุงค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ของปีกอ่ น ผลกระทบต่อภาษีเงินได้จากค่าใช้จา่ ยที่ไม่สามารถน�ำมาหักภาษีได้ ฯลฯ ก่อนแสดง เป็นภาษีเงินได้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของปีนั้นๆ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลระหว่างปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับ 57.56 ล้านบาท 254.32 ล้านบาท และ 12.64 ล้านบาท ตามล�ำดับ ธุรกิจโรงแรม ในไตรมาส 4 ปี 2555 บริษัทได้ลงทุนในกิจการโรงแรมที่ประเทศญี่ปุ่น โดยถือหุ้นอยู่ ร้อยละ 69.01 กิจการดังกล่าวมีรายได้ 275.66 ล้านบาท และรายได้อนื่ 46.08 ล้านบาท มีกำ� ไรขัน้ ต้น 84.31 ล้านบาท แต่มคี า่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนินงาน 168.94 ล้านบาท และยังมีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจ�ำนวน 94.69 ล้านบาท จึงท�ำให้มีผลขาดทุนรวม 133.35 ล้านบาท โดยคิดเป็นส่วนของ บริษัท 80.92 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม การขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนนั้นเกิดจากการเข้าลงทุนในกิจการโรงแรมในสกุลเงินเยน ญี่ปุ่นซึ่งมีการอ่อนค่าลงอย่างมากในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2555 ทั้งนี้ บริษัทย่อยดังกล่าวได้ด�ำเนินการป้องกันความเสี่ยง โดยการเข้าท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากับธนาคารพาณิชย์แล้วในปลายปี 2555 ในรอบปี 2556 ธุรกิจโรงแรมดังกล่าวมีรายได้ 1,018.43 ล้านบาท และรายได้อนื่ 4.74 ล้านบาท โดยมีกำ� ไรขัน้ ต้น 382.22 ล้านบาท แต่ มีคา่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนินงาน 508.07 ล้านบาท ดอกเบีย้ จ่าย 37.90 ล้านบาท จึงท�ำให้มผี ลขาดทุนสุทธิหลังภาษีจำ� นวน 152.89 ล้านบาท โดยคิดเป็นส่วนของบริษัท 112.33 ล้านบาท


179

ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายได้จากกิจการโรงแรม 844.71 ล้านบาท คิดเป็นก�ำไรขั้นต้นจ�ำนวน 194.12 ล้านบาท และ มีผลขาดทุนสุทธิ 212.49 ล้านบาท โดยไตรมาส 1 ธุรกิจโรงแรมมีผลก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 65.23 ล้านบาท แต่ในไตรมาส 2 3 และ 4 ธุรกิจโรงแรมมีผลขาดทุนสุทธิ 50.48 ล้านบาท 116.70 ล้านบาท และ 110.54 ล้านบาท ตามล�ำดับ เนื่องจากบริษัทย่อยได้มี การปิดบางส่วนของอาคารที่พักอาศัยเพื่อปรับปรุงซ่อมแซมในระหว่างเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนธันวาคม 2557 ซึ่งเป็นช่วง Low Season ส�ำหรับผลขาดทุนสุทธิจ�ำนวน 212.49 ล้านบาท แบ่งเป็นส่วนของบริษัทรับรู้ขาดทุนส�ำหรับปี 2557 เท่ากับ 223.24 ล้านบาท เนื่องจากในเดือนมีนาคม 2557 บริษัทได้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 69.01 เป็นร้อยละ 95.61 ส�ำหรับปี 2558 รายได้จากกิจการโรงแรมในต่างประเทศ ซึ่งได้แก่ โครงการสกีรีสอร์ทคิโรโระ ในประเทศญี่ปุ่น มีจ�ำนวน 919.25 ล้านบาท โดยมีก�ำไรขั้นต้นเท่ากับ 260.00 ล้านบาท นอกจากนั้นในเดือนมิถุนายน ของปี 2558 บริษัทได้เข้าซื้อกิจการ ของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งกลุ่มบริษัทดังกล่าวมีกิจการโรงแรมอยู่ 3 แห่ง ที่เปิดด�ำเนินการอยู่คือ โรงแรม เดอะเวสทิน แกรนด์ สุขุมวิท โรงแรมเชอราตัน หัวหิน รีสอร์ท แอนด์สปา และโรงแรมเชอราตัน หัวหิน ปราณบุรี วิลล่า บริษัท จึงเริม่ รับรูผ้ ลประกอบการของกลุม่ บริษทั ดังกล่าวตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายน 2558 โดยมีรายได้จากกิจการโรงแรมจ�ำนวน 604.36 ล้านบาท และมีก�ำไรขั้นต้นเท่ากับ 195.77 ล้านบาท ก�ำไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) ก�ำไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ภาษีเงินได้และค่าเสือ่ มราคา ค�ำนวณจากก�ำไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินและภาษีเงินได้บวกกลับ ด้วยค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย ระหว่างปี 2556 ถึงปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมี EBITDA เท่ากับ 956.66 ล้านบาท 1,414.52 ล้านบาท และ 1,349.78 ล้านบาท ตามล�ำดับ คิดเป็นอัตราก�ำไรร้อยละ 8.52 ร้อยละ 11.06 และร้อยละ 10.46 ของรายได้รวมตามล�ำดับ ในปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมี EBITDA เท่ากับ 1,349.783 ล้านบาท โดยมีจำ� นวนลดลงจากปี 2557 เท่ากับ 64.74 ล้านบาท ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากรายการก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม (ผลจากการที่บริษัทได้เข้าซื้อกิจการของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)) จ�ำนวน 529.96 ล้านบาท และลดลงจากทีใ่ นปี 2557 มีรายการขายทีด่ นิ มูลค่า 1,628.71 ล้านบาท โดยมีก�ำไรขั้นต้น 540.43 ล้านบาท ก�ำไรสุทธิ และอัตราก�ำไรสุทธิ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิในปี 2556 ถึงปี 2558 ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) ก�ำไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนทีเ่ ป็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ย่อย อัตราก�ำไรสุทธิ (ร้อยละ)

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

41.42 82.93 (41.51) 0.37

402.73 399.27 3.46 3.15

267.01 360.74 (93.73) 2.07

ใน ปี 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำ� ไรสุทธิเท่ากับ 41.42 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนจ�ำนวน 161.30 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 79.57 แม้วา่ ก�ำไรขัน้ ต้นของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จะเพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 74.46 ล้านบาท เนือ่ งจากบริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีรายได้รวมเพิม่ ขึน้ แต่กม็ อี ตั ราก�ำไรขัน้ ต้นลดลง อีกทัง้ ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารทีเ่ พิม่ ขึน้ จ�ำนวน 519.71 ล้านบาท ขาดทุน จากการรับประกันค่าเช่า 45.31 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายทางการเงินที่เพิ่มขึ้น 179.04 ล้านบาท ขณะที่ธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศ ซึง่ บริษทั ลงทุนในไตรมาส 4 ของปี 2555 มีผลขาดทุนในปี 2556 จ�ำนวน 152.89 ล้านเพิม่ ขึน้ จากปี 2555 จ�ำนวน 19.54 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2557 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีกำ� ไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินและภาษีเงินได้จำ� นวน 1,268.31ล้านบาท และมีกำ� ไรสุทธิ เท่ากับ 402.73 ล้านบาท โดยก�ำไรสุทธิของบริษัทฯและบริษัทย่อยเพิ่มขึ้นจากปี 2556 จ�ำนวน 361.31 ล้านบาท หรือคิดเป็นการ เพิ่มขึ้นร้อยละ 871.17


180

รายงานประจำ�ปี 2558

ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิเท่ากับ 267.01 ล้านบาท ลดลงจากปี 2557 จ�ำนวน 135.73 ล้านบาท หรือ คิดเป็นการลดลง ร้อยละ 33.70 โดยสาเหตุหลักมาจากการลดลงของรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ท�ำให้ก�ำไร ขัน้ ต้นลดลง 209.43 ล้านบาท การลดลงของรายได้จากการขายทีด่ นิ ท�ำให้กำ� ไรขัน้ ต้นลดลง จ�ำนวน 373.65 ล้านบาท อย่างไรก็ดี ในปี 2558 บริษทั มีรายได้จากการประกอบกิจการโรงแรมเพิม่ ขึน้ จากปี 2557 จ�ำนวน 678.91 ล้านบาท มาอยูท่ ี่ 1,523.62 ล้านบาท มีก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น 261.65 ล้านบาท และมีรายการก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม (เกิดจากการที่บริษัทได้เข้า ซือ้ กิจการของบริษทั ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)) จ�ำนวน 529.96 ล้านบาท ค่าใช้จา่ ยขายและบริหารเพิม่ ขึน้ 563.16 ล้านบาท อัตราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น ใน ปี 2556 - ปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอัตราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ ร้อยละ 0.48 ร้อยละ 4.586 และ 2.36 ตามล�ำดับ อัตราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้นที่เปลี่ยนแปลงสอดคล้องกับก�ำไรสุทธิในช่วงดังกล่าว ตลอดจนจ�ำนวนทุนที่ออก และช�ำระแล้วที่เพิ่มขึ้นจากการที่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนและการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท ในระหว่างปี 2556 ถึง 2558 ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอัตราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับร้อยละ 2.36 (หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินรวม

ก�ำไรสุทธิ ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

41.42 5,782.93 8,632.69 0.48

402.73 5,782.95 8,971.60 4.58

267.01 7,667.83 13,663.50 2.36

2.2 การวิเคราะห์ฐานะการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ตารางแสดงฐานะการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย (หน่วย : ล้านบาท) ณ 31 ธันวาคม 2556 ณ 31 ธันวาคม 2557 (ปรับปรุง) ณ 31 ธันวาคม 2558

สินทรัพย์

หนี้สิน

ส่วนของผู้ถือหุ้น

30,671.62 31,406.16 43,277.02

22,039.33 22,434.57 29,613.52

8,632.30 8,971.60 13,663.50

สินทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวม ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 เท่ากับ 30,671.62 ล้านบาท 31,406.16 ล้านบาท และ 43,277.02 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีสินทรัพย์รวมระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 4,492.48 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา การเติบโตร้อยละ 17.16 และระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิ่มขึ้น 734.54 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 2.39 สาเหตุ ที่มูลค่าสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัทมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเวลา 3 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากการที่บริษัทมีการด�ำเนินการ พัฒนาโครงการจ�ำนวนหลายโครงการ ไม่ว่าจะเป็นโครงการบ้าน โครงการทาวน์เฮ้าส์ และโครงการอาคารชุด และยังมีการจัดซื้อ ที่ดินเพื่อน�ำมาพัฒนาโครงการเพิ่มเติม เพื่อรองรับการขยายตัวในตลาดอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับโครงการ คอนโดมิเนียมและทาว์นเฮ้าส์ นอกจากนี้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยยังมีการลงทุนในอาคารชุดพักอาศัยให้เช่าภายใต้แบรนด์ ยูนลิ อฟท์ และเข้าท�ำสัญญาสิทธิการเช่าทีด่ นิ เพือ่ น�ำไปพัฒนาโครงการศูนย์การค้าและพืน้ ทีเ่ ชิงพาณิชย์ให้เช่า รวมถึงได้มกี ารลงทุนในธุรกิจ โรงแรมในประเทศญี่ปุ่นในช่วงไตรมาส 4 ปี 2555


181

วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 43,277.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 11,870.86 ล้านบาท เมื่อ เทียบกับมูลค่า ณ สิน้ ปี 2557 เนือ่ งมาจากการเพิม่ ขึน้ ของต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ จากการทีม่ กี ารเปิดโครงการ ใหม่เพิม่ ขึน้ และจากการทีบ่ ริษทั ได้เข้าซือ้ กิจการของ บริษทั ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ท�ำให้มสี นิ ทรัพย์ ต่างๆ เพิ่มขึ้น (กรุณาดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 12) ทั้งนี้ โครงสร้างสินทรัพย์ณ 31 ธันวาคม 2558 มีรายการเรียงตาม มูลค่าสินทรัพย์ดังนี้ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์จ�ำนวน 21,659.51 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 50.05 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จำ� นวน 5,436.05 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.56 ที่ดินรอการพัฒนามูลค่า 5,895.88 ล้านบาท และ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินมูลค่า 677.99 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนรวมกันเท่ากับ ร้อยละ 15.19 เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดจ�ำนวน 3,040.54 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 7.03 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน 2,286.87 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 5.28 และสิทธิการเช่าจ�ำนวน 2,150.60 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 4.97 ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนาโครงการจะถูกบันทึกอยู่ในรายการต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ใน งบแสดงฐานะการเงิน และจะรับรู้เป็นต้นทุนการขายอสังหาริมทรัพย์ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ณ สิน้ ปี 2556 ถึงสิน้ ปี 2558 จ�ำนวนทัง้ สิน้ 16,926.78 ล้านบาท 17,524.61 ล้านบาท และ 21,659.51 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ระหว่างปี 2556 ถึง ปี 2557 เพิ่มขึ้น 597.82 ล้านบาท และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 4,134.90 ล้านบาท ทั้งนี้ สัดส่วนต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ต่อสินทรัพย์รวมปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับ ร้อยละ 55.19 ร้อยละ 55.80 และร้อยละ 50.05 ตามล�ำดับ การปรับตัวเพิ่มขึ้นของต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี 2558 มีสาเหตุมาจากการที่บริษัทและ บริษัทย่อยมีการน�ำที่ดินมาพัฒนาเพื่อเปิดโครงการใหม่ๆ เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับกับการขยายตัวของเป้าขายและเป้าการรับรู้รายได้ ของกลุ่มบริษัท นอกจากนั้นเมื่อเดือนมิถุนายน 2558 บริษัทได้ซื้อกิจการของกลุ่มบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์จ�ำนวน 1,650.11 ล้านบาท สามารถพิจารณารายละเอียดรายโครงการในส่วนทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ หัวข้อทรัพย์สินที่มีไว้เพื่อขาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 1,048.49 ล้านบาท 963.20 ล้านบาท และ 5,463.05 ตามล�ำดับ โดยมีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 ลดลง 85.30 ล้านบาท และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 4,472.85 ล้านบาท ในปี 2558 ที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่มาจากเมื่อเดือนมิถุนายน 2558 บริษัท ได้ซื้อกิจการของกลุ่มบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)โดยมีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจ�ำนวน 4,163.08 ล้านบาท สัดส่วนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต่อสินทรัพย์รวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 3.42 ร้อยละ 3.07 และร้อยละ 12.56 ตามล�ำดับ สามารถพิจารณารายละเอียดที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในส่วนทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ หัวข้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนา ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิประกอบด้วยต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ต้นทุนงานก่อสร้าง และดอกเบี้ยส่วนที่ถือเป็นต้นทุน หักด้วยต้นทุนที่โอนไปเป็นต้นทุนขาย ที่ดินที่โอนเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้และเพื่อการจ่ายช�ำระหนี้ตามแผนฟื้นฟู และค่าเผื่อ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินรอการพัฒนา ทีด่ นิ รอการพัฒนาสุทธิของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ณ สิน้ ปี 2556 ถึงสิน้ ปี 2558 มีจำ� นวนทัง้ สิน้ 6,062.24 ล้านบาท 4,453.05 ล้านบาท และ 5,895.88 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีที่ดินรอการพัฒนาสุทธิระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 ลดลง 1,609.19 ล้านบาท และ ระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 1,442.83 ล้านบาท สัดส่วนที่ดินรอการพัฒนาสุทธิต่อสินทรัพย์รวมในปี 2556 ถึง 2558 เท่ากับ ร้อยละ 19.76 ร้อยละ 14.18 และร้อยละ 13.62 ตามล�ำดับ โดยสาเหตุสำ� คัญที่ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิลดลง เนื่องมาจาก ในปี 2556 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีการขายทีด่ นิ มูลค่า 529.50 ล้านบาท และมีการโอนทีด่ นิ รอการพัฒนาไปเป็นต้นทุนการพัฒนา


182

รายงานประจำ�ปี 2558

โครงการอสังหาริมทรัพย์ จ�ำนวน 2,149.66 ล้านบาท และในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการขายที่ดินรอการพัฒนามูลค่า 1,700.00 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในปี 2558 บริษทั ได้มกี ารลงทุนเพิม่ เติมเพือ่ ให้ครอบคลุมท�ำเลต่างๆ ทัง้ นี้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อย จะพิจารณาโอนรายการที่ดินรอการพัฒนาไปบันทึกเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ก็ต่อเมื่อได้เริ่มมีการพัฒนา โครงการแล้ว อาทิเช่น การเริ่มปรับปรุงพื้นที่ หรือการก�ำหนดผังการจัดสรร เป็นต้น ทั้งนี้ ตั้งแต่ปี 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อย ได้มีการลงทุนในที่ดินเพื่อรองรับการขยายตัวไปในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ทั้งในแนวราบและแนวสูง สามารถพิจารณารายละเอียดที่ดินรอการพัฒนาในส่วนทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ หัวข้อที่ดินรอการพัฒนา เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าที่ดิน หมายถึง เงินมัดจ�ำค่าที่ดินที่บริษัทจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของที่ดินหรือทดรองจ่ายให้กับตัวกลางในการ รวบรวมที่ดิน เมื่อได้รับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินเรียบร้อยแล้ว จึงจะย้ายไปบันทึกเป็นต้นทุนค่าพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ หรือ ที่ดินรอการพัฒนา เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ณ สิน้ ปี 2556 ถึงสิน้ ปี 2558 มีจำ� นวนทัง้ สิน้ 660.13 ล้านบาท 444.64 ล้านบาท และ 677.99 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิ่มขึ้น 215.49 ล้านบาท และ ระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 233.36 ล้านบาท สัดส่วนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินต่อสินทรัพย์รวมปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับ ร้อยละ 2.15 ร้อยละ 1.42 และร้อยละ 1.57 ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายละเอียดเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน ดังต่อไปนี้ เงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของที่ดินหลายรายตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน ซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อยและตัวแทนในการ รวบรวมซื้อที่ดินลงนามร่วมกับเจ้าของที่ดิน คิดเป็นจ�ำนวน 480.99 ล้านบาท เงินจ่ายล่วงหน้าให้กบั ตัวแทนในการรวบรวมซือ้ ทีด่ นิ และอยู่ในระหว่างการลงนามในสัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ กับเจ้าของทีด่ นิ จ�ำนวน 197.00 ล้านบาท อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ในปี 2556 บริษัทย่อยของบริษัทเริ่มมีนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ให้เช่า จึงมีการ โอนต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์และที่ดินรอการพัฒนาบางส่วนมาพัฒนาโครงการ โดยอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุนของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 967.14 ล้านบาท 1,540.39 ล้านบาท และ 2,286.87 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิ่มขึ้น 573.25 ล้านบาท และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 746.47 ล้านบาทสัดส่วนอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนต่อสินทรัพย์รวมปี 2556 ถึง ปี 2558 เท่ากับ ร้อยละ 3.15 ร้อยละ 4.90 และร้อยละ 5.28 ตามล�ำดับ สามารถพิจารณารายละเอียดอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนในส่วนทรัพย์สนิ ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ หัวข้ออสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน สิทธิการเช่า สิทธิการเช่าของบริษัทและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 1,289.40 ล้านบาท 1,313.11 ล้านบาท และ 2,150.60 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีสิทธิการเช่าระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิ่มขึ้น 23.71 ล้านบาท และระหว่างปี 2557 ถึง ปี 2558 เพิ่มขึ้น 837.50 ล้านบาท สัดส่วนสิทธิการเช่าต่อสินทรัพย์รวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 4.20 ร้อยละ 4.18 และร้อยละ 4.97 ตามล�ำดับ สาเหตุทมี่ ลู ค่ารายการสิทธิการเช่ามีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในช่วงเวลา 3 ปีทผี่ า่ นมาเกิดจากการทีบ่ ริษทั ย่อย ได้เข้าท�ำสัญญาเช่าที่ดินหลายฉบับเพื่อใช้ในการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ให้เช่า นอกจากนั้นในปี 2558 เมื่อเดือนมิถุนายน 2558 บริษัทได้ซื้อกิจการของกลุ่มบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีสิทธิการเช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจ�ำนวน 884.04 ล้านบาท สามารถพิจารณารายละเอียดสิทธิการเช่าในส่วนทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ หัวข้อ สิทธิการเช่า


183

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มีมูลค่าเท่ากับ 1,235.22 ล้านบาท 2,490.53 ล้านบาท และ 3,040.54 บาท ตามล�ำดับ โดยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิม่ ขึน้ 1,255.31 ล้านบาท ซึง่ เป็นกระแสเงินสดรับจากกิจกรรมการลงทุนระหว่างปี 2557 และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิม่ ขึน้ 550.01 ล้านบาท ซึ่งมาจากกระแสเงินสดรับจากกิจกรรมจัดหาเงิน สัดส่วนเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต่อสินทรัพย์รวม ในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 4.03 ร้อยละ 7.935 และร้อยละ 7.03 ตามล�ำดับ สามารถพิจารณารายละเอียดการเปลี่ยนแปลงของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในหัวข้อการวิเคราะห์กระแสเงินสดของ บริษัทฯและบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทร่วมของบริษัทฯและบริษัทย่อยเป็นเงินลงทุนใน บมจ. กรุงเทพบ้านและที่ดิน ซึ่งประกอบธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ โดยบริษทั มีสดั ส่วนเงินลงทุนร้อยละ 20.22 อย่างไรก็ตาม ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 ได้มมี ติจำ� หน่ายหุน้ สามัญทัง้ หมดของบริษทั ทีถ่ อื อยู่ใน บมจ. กรุงเทพบ้านและทีด่ นิ ให้แก่บริษทั แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) และเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2557 บริษัทได้ขายหุ้นสามัญดังกล่าวให้แก่บริษัท แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) และบันทึกก�ำไรจากการขายหุน้ สามัญดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงิน 77.30 ล้านบาท ทัง้ นี้ ณ สิน้ ปี 2555 และสิน้ ปี 2556 บัญชีเงินลงทุนในบริษทั ร่วมตามวิธสี ว่ นได้เสียมีมลู ค่าเท่ากับ 522.93 ล้านบาท และ 582.72 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีเงินลงทุนในบริษัทร่วมระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 59.79 ล้านบาท สัดส่วนเงินลงทุนในบริษัทร่วมต่อ สินทรัพย์รวมในปี 2555 ถึงปี 2556 เท่ากับ ร้อยละ 2.00 และร้อยละ 1.90 ตามล�ำดับ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูร้ ายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย และทีด่ นิ เมือ่ มีการโอนกรรมสิทธิ์ ให้แก่ผู้ซื้อ ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกเงินดาวน์หรือเงินค่างวดที่ได้รับจากลูกค้าเป็นหนี้สินในรายการเงินมัดจ�ำ และเงินรับล่วงหน้าของลูกค้า ส�ำหรับลูกค้าทีร่ บั โอนกรรมสิทธิ์ไปแล้วแต่ยงั ช�ำระเงินไม่ครบถ้วนจะบันทึกเป็นรายการลูกหนี้ การค้า บริษัทฯและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มูลค่าเท่ากับ 12.05 ล้านบาท 6.77 ล้านบาท และ 4.06 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีลูกหนี้การค้าในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 ลดลง 5.27 ล้านบาท และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 ลดลง 2.71 ล้านบาท สัดส่วนลูกหนี้การค้าในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ต่อสินทรัพย์รวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับ ร้อยละ 0.04 ร้อยละ 0.02 และร้อยละ 0.01 ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ตั้งส�ำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จ�ำนวน 4.06 ล้านบาท ท�ำให้ยอดลูกหนี้การค้าในธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์สุทธิเท่ากับ ไม่มี ธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศ บริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าในธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศ ณ สิ้นปี 2556 และสิ้นปี 2558 มูลค่าเท่ากับ 122.43 ล้านบาท 120.09 ล้านบาท และ 108.38 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยลูกหนี้ธุรกิจการค้าโรงแรมระหว่างปี 2556 และ 2557 ลดลง 2.34 ล้านบาท และลูกหนี้การค้าธุรกิจโรงแรมระหว่างปี 2557 และ 2558 ลดลง 11.71 ล้านบาท สัดส่วนลูกหนี้การค้า ในธุรกิจโรงแรมต่อสินทรัพย์รวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 0.40 ร้อยละ 0.38 และร้อยละ 0.25 ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าในธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศจ�ำนวน 38.44 ล้านบาท ที่ยังไม่ถึง ก�ำหนดช�ำระ นอกจากนั้นเป็นลูกหนี้ที่ค้างช�ำระไม่เกิน 3 เดือน


184

รายงานประจำ�ปี 2558

ธุรกิจโรงแรม อาคารส�ำนักงานให้เช่าและศูนย์การค้าในประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าในธุรกิจโรงแรม อาคารส�ำนักงานให้เช่าและศูนย์การค้าในประเทศ เท่ากับ 130.95 ล้านบาท โดยคิดเป็นสัดส่วนต่อสินทรัพย์รวมเท่ากับ ร้อยละ 0.30 โดยมีลูกหนี้จำ� นวน 73.43 ล้านบาท ทีค่ า้ งช�ำระมากกว่า 6 เดือน นอกจากนัน้ เป็นลูกหนีท้ คี่ า้ งช�ำระไม่เกิน 6 เดือน และได้ตงั้ ส�ำรองค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญจ�ำนวน 74.75 ล้านบาท ท�ำให้มียอดลูกหนี้คงเหลือสุทธิ 56.20 ล้านบาท ลูกหนี้อื่น บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีลกู หนีอ้ นื่ ณ สิน้ ปี 2556 ถึงสิน้ ปี 2558 มูลค่าเท่ากับ 64.81 ล้านบาท 66.75 ล้านบาท และ 84.09 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยลูกหนีอ้ นื่ ระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิม่ ขึน้ 1.94 ล้านบาท และระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิม่ ขึน้ 17.34 ล้านบาท สัดส่วนลูกหนี้อื่นต่อสินทรัพย์รวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 0.21 ร้อยละ 0.21 และร้อยละ 0.19 ตามล�ำดับ ลูกหนี้ค่าที่ดิน (ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดิน) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีลูกหนี้ค่าที่ดิน ณ สิ้นปี 2555 ถึงสิ้นปี 2557 มูลค่าเท่ากับ 15.48 ล้านบาท 200.66 ล้านบาท และ 955.74 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยลูกหนี้ค่าที่ดินระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 185.19 ล้านบาท และระหว่างปี 2556 ถึง ปี 2557 เพิ่มขึ้น 755.08 ล้านบาท สัดส่วนลูกหนี้ค่าที่ดินต่อสินทรัพย์รวมในปี 2555 ถึงปี 2557 เท่ากับ ร้อยละ 0.06 ร้อยละ 0.65 และร้อยละ 3.05 ตามล�ำดับ สาเหตุหลักที่ลูกหนี้ค่าที่ดินมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นเกิดจากการที่บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการ ขายที่ดินรอการพัฒนาในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายละเอียดลูกหนี้ค่าที่ดินดังต่อไปนี้ 1) ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดินของบริษัทจ�ำนวน 15.00 ล้านบาท โดยในระหว่างปี 2557 บริษัทได้รับช�ำระจากลูกหนี้เป็น จ�ำนวนเงิน 12.55 ล้านบาท และต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 บริษทั ได้รบั ช�ำระค่าทีด่ นิ คงเหลือทัง้ หมดจากลูกหนีเ้ รียบร้อยแล้ว 2) ลูกหนีต้ วั๋ สัญญาใช้เงิน - ค่าทีด่ นิ (อาวัลโดยธนาคาร) ของบริษทั จ�ำนวน 1,000.00 ล้านบาท ครบก�ำหนดช�ำระในเดือนธันวาคม 2558 โดยบริษทั บันทึกตัว๋ สัญญาใช้เงินโดยคิดลดด้วยอัตราดอกเบีย้ เงินกูถ้ วั เฉลีย่ ของบริษทั ลูกหนีด้ งั กล่าวแสดงมูลค่าทีจ่ ะ ได้รับในอนาคตสุทธิจากรายได้ดอกเบี้ยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้เท่ากับ 940.74 ล้านบาท และในเดือนธันวาคม 2558 บริษัท ได้รับช�ำระตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 1,000.00 ล้านบาท เรียบร้อยแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มียอดคงค้างลูกหนี้ค่าที่ดิน หนี้สิน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนี้สินรวม ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 เท่ากับ 22,039.33 ล้านบาท 22,434.57 ล้านบาท และ 29,613.52 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยหนี้สินรวมระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 4,476.73 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโต ร้อยละ 25.52 ในระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิ่มขึ้น 395.24 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 1.79 และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 7,178.95 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 32.00 สัดส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิน้ ปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 71.86 ร้อยละ 71.43 และร้อยละ 68.43 ตามล�ำดับ โดยมีรายการเปลีย่ นแปลงหนีส้ นิ ทีส่ ำ� คัญระหว่าง ปี 2558 ดังนี้ 1. เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเนื่องจากเงินกู้ยืมระยะยาว จ�ำนวน 2,013.37 ล้านบาท หุ้นกู้ จ�ำนวน 1,991.28 ล้านบาท เจ้าหนี้ ตัว๋ แลกเงิน จ�ำนวน 1,820.17 ล้านบาท เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ จ�ำนวน 682.70 ล้านบาท เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้า จากลูกค้า จ�ำนวน 482.20 ล้านบาท และหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี จ�ำนวน 342.07 ล้านบาท 2. เปลี่ยนแปลงลดลงเนื่องจาก เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน จ�ำนวน 352.38 ล้านบาท และเจ้าหนี้ค่าสิทธิการเช่า จ�ำนวน 10.00 ล้านบาท


185

อนึ่ง โครงสร้างหนี้สินของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วย หุ้นกู้คิดเป็น ร้อยละ 52.58 เงินกู้ยืม ระยะยาวคิดเป็น ร้อยละ 21.30 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นคิดเป็น ร้อยละ 10.04 เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาแลกเงินคิดเป็น ร้อยละ 8.29 เจ้าหนีต้ วั๋ สัญญาใช้เงินคิดเป็น ร้อยละ 1.26 เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าคิดเป็น ร้อยละ 2.36 และเจ้าหนีค้ า่ สิทธิการเช่า ร้อยละ 0.03 หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีคิดเป็น ร้อยละ 1.52 หนี้สินหมุนเวียนอื่นคิดเป็น ร้อยละ 0.87 และหนี้ไม่สินหมุนเวียน อื่นคิดเป็น ร้อยละ 1.75 โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม ร้อยละ 31 ธันวาคม 2557 ร้อยละ ร้อยละ 31 ธันวาคม 2556 หนี้สินรวม (ปรับปรุงใหม่) หนี้สินรวม 31 ธันวาคม 2558 หนี้สินรวม

หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงิ น มั ด จ� ำ และเงิ น รั บ ล่ ว งหน้ า จากลูกค้า เจ้าหนี้ค่าสิทธิการเช่า หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้ไม่สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินรวม

11,248.07 6,611.88 2,618.26 512.49

51.04 30.00 11.88 2.33

13,578.72 4,293.61 2,289.35 636.24 724.40

60.53 19.14 10.20 2.84 3.23

15,570.00 6,306.98 2,972.05 2,456.41 372.02

52.58 21.30 10.04 8.29 1.26

340.96 1.55 285.37 1.29 229.07 1.04 193.23 0.88 22,039.33 100.00

217.01 20.00 108.83 338.35 228.06 22,434.57

0.97 0.09 0.49 1.51 1.01 100.00

699.21 10.00 450.90 257.66 518.29 29,613.52

2.36 0.03 1.52 0.87 1.75 100.00

หุ้นกู้ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหุ้นกู้ ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มูลค่าเท่ากับ 11,248.07 ล้านบาท 13,578.72 ล้านบาท และ 15,570.00 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยหุ้นกู้ระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 1,547.22 ล้านบาท ในระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิ่มขึ้น 2,330.64 ล้านบาท และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 1,991.29 ล้านบาทมูลค่าหุ้นกู้คิดเป็นสัดส่วนต่อหนี้สินรวม ในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับ ร้อยละ 51.04 ร้อยละ 60.53 และร้อยละ 52.58 ตามล�ำดับ การปรับตัวขึ้นของมูลค่าหุ้นกู้ในระยะ เวลาสามปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากการที่บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการลงทุนในโครงการใหม่เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งโครงการบ้านและ คอนโดมิเนียมท�ำให้จ�ำเป็นต้องหาแหล่งเงินทุนมาเพื่อด�ำเนินธุรกิจเพิ่มมากขึ้น หุ้นกู้ทั้งหมดออกโดยบริษัททั้งจ�ำนวนโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อน�ำไปใช้ในการพัฒนาโครงการในอนาคต เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ และช�ำระคืนหนี้สินเดิม


186

รายงานประจำ�ปี 2558

รายละเอียดของหุ้นกู้ที่ยังไม่ครบก�ำหนดไถ่ถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีดังต่อไปนี้ มูลค่า ตามบัญชี (ล้านบาท)

หุน้ กูช้ นิดไม่มหี ลักประกันออกครัง้ ที่ 1/2557 มูลค่า 2,200 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.80 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน หุน้ กูช้ นิดไม่มหี ลักประกันออกครัง้ ที่ 2/2557 มูลค่า 2,400 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.90 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน หุน้ กูช้ นิดไม่มหี ลักประกันออกครัง้ ที่ 1/2558 มูลค่า 2,400 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.50 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน หุน้ กูช้ นิดไม่มหี ลักประกันออกครัง้ ที่ 2/2558 มูลค่า 2,500 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.20 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน หุน้ กูช้ นิดไม่มหี ลักประกันออกครัง้ ที่ 3/2558 มูลค่า 3,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.15 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน หุน้ กูช้ นิดไม่มหี ลักประกันออกครัง้ ที่ 4/2558 มูลค่า 110 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.25 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน หุน้ กูช้ นิดไม่มหี ลักประกันออกครัง้ ที่ 5/2558 มูลค่า 3,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.50ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน รวม หมายเหตุ 1

วันออก หุ้นกู้

วัน ครบกำ�หนด ไถ่ถอน

เงื่อนไข

2,200.00

1 สิงหาคม 2557

ด�ำรงสัดส่วนหนี้สินรวมสุทธิ 1 1 กุมภาพันธ์ ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2559 2.0 เท่า

2,400.00

1 ตุลาคม 2557

ด�ำรงสัดส่วนหนี้สินรวมสุทธิ 1 1 ตุลาคม 2559 ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2.0 เท่า

12 มีนาคม 2558

ด�ำรงสัดส่วนหนี้สินรวมสุทธิ 1 12 กันยายน ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2560 2.0 เท่า

2,392.70

ด�ำรงสัดส่วนหนี้สินรวมสุทธิ 1 21 พฤษภาคม 21 พฤศจิกายน 2,491.60 ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2558 2560 2.0 เท่า 20 สิงหาคม 2,988.34 2558

ด�ำรงสัดส่วนหนี้สินรวมสุทธิ 1 20 สิงหาคม ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2561 2.0 เท่า

22 ตุลาคม 2558

ด�ำรงสัดส่วนหนี้สินรวมสุทธิ 1 5 พฤศจิกายน ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2560 2.0 เท่า

109.68

ด�ำรงสัดส่วนหนี้สินรวมสุทธิ 1 5 พฤศจิกายน 5 พฤษภาคม 2,987.68 ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2558 2562 2.0 เท่า 15,570.00

“จ�ำนวนรวมของหนีส้ นิ สุทธิ” หมายถึง หนีส้ นิ รวมตามทีป่ รากฏในงบแสดงฐานะการเงินรวมทีม่ ภี าระดอกเบีย้ หรือตกอยูภ่ ายใต้สว่ นลด ซึง่ รวมถึง ภาระผูกพันทางการเงินและส่วนของหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการทีผ่ อู้ อกหุน้ กูเ้ ข้าค�ำ้ ประกัน อาวัล หรือก่อภาระผูกพันอืน่ ในลักษณะเดียวกันให้แก่ บุคคลใดๆ หรือนิตบิ คุ คลอืน่ ซึง่ ไม่ได้รวมอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินรวมแต่เปิดเผยอยู่ในหมายเหตุประกอบงบแสดงฐานะการเงินรวม แต่ไม่รวม ถึงหนี้อันเกี่ยวข้องกับการขอออกหนังสือค�้ำประกันจากสถาบันการเงินเพื่อวางเป็นประกันในการจัดสรรที่ดิน หรือสาธารณูปโภค หรือการอื่นใด ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้หักด้วยเงินสดและรายการที่เทียบเท่าเงินสดตามที่ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงินรวม โดยรวมถึงบัญชีเงินฝากของผู้ออกหุ้นกู้ ซึง่ ผูอ้ อกหุน้ กูน้ ำ� ไปเป็นหลักประกันไว้กบั บุคคลใดๆ ทัง้ นีเ้ พือ่ ป้องกันข้อสงสัยในการตีความหนีส้ นิ ดังกล่าวนี้ไม่รวมถึง เจ้าหนีก้ ารค้า เงินรับล่วงหน้า หรือหนี้ใดๆ ที่ไม่มีภาระดอกเบี้ย


187

เงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทฯและบริษัทย่อยมีเงินกู้ระยะยาว ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มูลค่าเท่ากับ 6,611.88 ล้านบาท 4,293.61 ล้านบาท และ 6,306.98 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยเงินกู้ยืมระยะยาวระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 1,454.85 ล้านบาท ในระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 ลดลง 2,318.26 ล้านบาทและระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 2,013.36 ล้านบาท มูลค่าเงินกู้ระยะยาวคิดเป็น สัดส่วนต่อหนี้สินรวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 30.02 ร้อยละ 19.14 และร้อยละ 21.30 ตามล�ำดับ เงินกู้ยืมระยะงาน เหล่านี้มีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำมาพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินกู้ยืมระยะยาวแบ่งเป็นเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีเท่ากับ 597.48 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะยาวสุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีเท่ากับ 5,709.50 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

เงินกู้ยืมระยะยาว หัก : ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี เงินกู้ยืมระยะยาว (สุทธิ)

31 ธันวาคม 2556

31 ธันวาคม 2557

31 ธันวาคม 2558

6,611.88 (747.17) 5,864.71

4,293.61 (747.14) 3,546.47

6,306.98 (597.48) 5,709.50

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีมลู ค่าเจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ ณ สิน้ ปี 2556 ถึงสิน้ ปี 2558 จ�ำนวน 2,664.60 ล้านบาท 2,289.35 ล้านบาท และ 2,972.05 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 1,127.63 ล้านบาท ระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 ลดลง 375.25 ล้านบาทบาท และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 682.70 ล้านบาท มูลค่า เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ คิดเป็นสัดส่วนต่อหนีส้ นิ รวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 12.10 ร้อยละ 10.20 และร้อยละ 10.04 ตามล�ำดับ เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีรายการเจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน ณ สิ้นปี 2555 และสิ้นปี 2556 อย่างไรก็ตาม ณ สิ้นปี 2557และปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีเจ้าหนี้ตั๋วแลกเงินมูลค่าเท่ากับ 636.24 ล้านบาท และ 2,456.40 ล้านบาทตามล�ำดับ และคิดเป็นสัดส่วน ต่อหนี้สินรวมเท่ากับร้อยละ 2.84 และร้อยละ 8.29 ตามล�ำดับทั้งนี้ ตั๋วแลกเงินดังกล่าวมีวันครบก�ำหนดช�ำระในไตรมาสที่ 1 -2 ของปี 2559 เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีเจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มูลค่าเท่ากับ 512.49 ล้านบาท 724.40 ล้านบาท และ 372.02 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยเจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงินระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 ลดลง 36.57 ล้านบาท ระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 เพิ่มขึ้น 211.91 ล้านบาท และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 ลดลง 352.38 ล้านบาท มูลค่าเจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน คิดเป็นสัดส่วนต่อหนี้สินรวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 2.33 ร้อยละ 3.23 และร้อยละ 1.26 ตามล�ำดับ ทั้งนี้ ตั๋วสัญญา ใช้เงินดังกล่าวมีวันครบก�ำหนดช�ำระระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม 2559 เจ้าหนี้ค่าสิทธิการเช่า บริษัทฯและบริษัทย่อยมีเจ้าหนี้ค่าสิทธิการเช่า ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิ้นปี 2558 มูลค่าเท่ากับ 285.37 ล้านบาท 20.00 ล้านบาท และ 10.00 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยเจ้าหนี้ค่าสิทธิการเช่าระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 245.37 ล้านบาท ระหว่างปี 2556 ถึงปี 2557 ลดลง 265.37 ล้านบาท และระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 ลดลง 10.0 ล้านบาท การเปลี่ยนแปลงมูลค่าเจ้าหนี้สิทธิ การเช่าระหว่างปี 2555 ถึงปี 2557 เนื่องมาจากในปี 2556 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้เข้าท�ำสัญญาสิทธิการเช่าเพิ่มเติมและได้ออก


188

รายงานประจำ�ปี 2558

ตั๋วสัญญาใช้เงินอาวัลโดยธนาคาร มูลค่า 255.37 ล้านบาท ครบก�ำหนดช�ำระเดือนกรกฎาคม 2557 เพื่อช�ำระค่าโอนสิทธิการเช่า ดังกล่าว ทั้งนี้ มูลค่าเจ้าหนี้ค่าสิทธิการเช่าคิดเป็นสัดส่วนต่อหนี้สินรวมในปี 2556 ถึงปี 2558 เท่ากับร้อยละ 1.29 ร้อยละ 0.09 และร้อยละ 0.03 ตามล�ำดับ ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีสว่ นของผูถ้ อื หุน้ ณ 31 ธันวาคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2558 เท่ากับ 8,646.39 ล้านบาท 8,971.60 ล้านบาท และ 13,663.50 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยส่วนของผู้ถือหุ้นระหว่างปี 2555 ถึงปี 2556 เพิ่มขึ้น 15.75 ล้านบาท และระหว่าง ปี 2556 ถึงปี 2557 ลดลง 325.21 ล้านบาท ระหว่างปี 2557 ถึงปี 2558 เพิ่มขึ้น 4,691.60 ล้านบาท สัดส่วนส่วนของผู้ถือหุ้น ต่อสินทรัพย์รวม ณ 31 ธันวาคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2558 คิดเป็น ร้อยละ 28.19 ร้อยละ 28.57 และร้อยละ 31.57 ตาม ล�ำดับ รายละเอียดการเปลี่ยนแปลงของส่วนผู้ถือหุ้นในแต่ละปีมีดังต่อไปนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เท่ากับ 8,646.39 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 15.75 ล้านบาท จากวันที่ 31 ธันวาคม 2555 (ปรับปรุง) คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 0.18 โดยการเปลีย่ นแปลงส่วนใหญ่มาจากการแปลงสภาพ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (PF-W3) จ�ำนวน 141.88 ล้านหุ้นในราคาหุ้นละ 1 บาท เป็นเงินรวม 141.88 ล้านบาท ผลก�ำไร สุทธิในปี 2556 จ�ำนวน 41.42 ล้านบาท เงินเพิ่มทุนในบริษัทย่อยของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม จ�ำนวน 14.65 ล้านบาท หักด้วยเงินปันผลจ่ายจ�ำนวน 187.52 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ปรับปรุงใหม่) ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ที่ปรับปรุงใหม่ เท่ากับ 8,971.60 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 38.73 ล้านบาท เป็นผลจากการทีม่ าตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรือ่ งผลประโยชน์พนักงาน ได้ก�ำหนดให้กจิ การ ต้องรับรู้รายการก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยทันทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในขณะที่ มาตรฐานฉบับเดิมอนุญาตให้กิจการเลือกรับรู้รายการดังกล่าวทันทีในก�ำไรขาดทุน หรือในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือทยอย รับรู้ในก�ำไรขาดทุนก็ได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงการรับรู้รายการก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยในงวด ปัจจุบนั จากการทยอยรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุนไปเป็นรับรูท้ นั ทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และได้ทำ� การปรับปรุงรายการของงวดปัจจุบนั และ ปรับย้อนหลังงบการเงินงวดก่อนที่น�ำมาแสดงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบเสมือนว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยใช้นโยบายบัญชีนี้มา ตัง้ แต่แรกผลสะสมของการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าวแสดงได้ปรับลดก�ำไรสะสมทีย่ งั ไม่จดั สรรลดลง 38.73 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เท่ากับ 13,663.50 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 4, 691.91 ล้านบาท จากวันที่ 31 ธันวาคม 2557 การเปลี่ยนแปลงเกิดจาก การเพิ่มทุน 1,806.50 ล้านบาท การแปลงสภาพใบส�ำคัญแสดงสิทธิ PF-W3 จ�ำนวน 78.38 ล้านบาท การเพิ่มขึ้นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย 2,654.72 ล้านบาทการ รับรู้ผลก�ำไรสุทธิส�ำหรับงวดและก�ำไรเบ็ดเสร็จอื่นจ�ำนวน 360.92 ล้านบาท และก�ำไรในส่วนก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจ�ำนวน 45.87 ล้านบาท หักด้วยการจ่ายเงินปันผล 254.48 ล้านบาท


189

โครงสร้างส่วนของผู้ถือหุ้น ประกอบด้วย

(หน่วย: ล้านบาท)

ทุนที่เรียกช�ำระ ส่วนต�่ำกว่ามูลค่าหุ้น เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น ก�ำไรสะสมที่จัดสรรส�ำรองตามกฏหมาย ก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร ส่วนเกิน (ต�่ำกว่า)ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ผลต่างที่เกิดจากการแลกหุ้นของบริษัทย่อย ส่วนต�่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทย่อย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและบริษัทย่อย

2556

2557 ปรับปรุงใหม่

2558

5,782.93 (73.52) 241.60 2,721.75 (2.50) (46.09) (10.87) 15.80 17.29 8,646.39

5,782.95 (73.52) 260.60 3,062.81 (5.96) (46.09) (49.76) (17.37) 57.94 8,971.60

7, 667.82 (73.52) 274.60 3,155.25 (6.88) (46.09) (52.87) 32.54 2,712.65 13,663.50

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W3) ในเดือนกรกฎาคม 2555 บริษัทได้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W3) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ที่ได้จองซื้อหุ้นสามัญ เพิ่มทุนโดยไม่คิดมูลค่าในอัตราส่วน 2 หุ้นสามัญใหม่ได้ 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิรวมใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออกจ�ำนวน 393,865,295 หน่วย อัตราการใช้สิทธิ 1 ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ สามารถแปลงเป็นหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในอัตราหุ้นละ 1.00 บาท ก�ำหนดระยะเวลาการใช้สทิ ธิทกุ วันท�ำการสุดท้ายของทุกไตรมาส อายุ 3 ปีนบั ตัง้ แต่วนั ทีอ่ อกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ โดยมีรายละเอียด การใช้สิทธิดังนี้ ช่วงเวลา

จ�ำนวนใช้สิทธิ (หน่วย)

จ�ำนวนคงเหลือ (หน่วย)

กันยายน 2555 ธันวาคม 2555 มีนาคม 2556 มิถุนายน 2556 กันยายน 2556 ธันวาคม 2556 มีนาคม 2557 มิถุนายน 2557 กันยายน 2557 ธันวาคม 2557 มีนาคม 2558 มิถุนายน 2558 กรกฎาคม 2558

73,932,601 41,750,492 100,132,200 21,000 1,143,000 77,236,700

319,932,694 319,932,694 278,182,202 178,050,002 178,050,002 178,050,002 178,050,002 178,050,002 178,029,002 178,029,002 176,886,002 176,886,002 99,649,302

เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2558 ซึ่งเป็นวันใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ได้มีผู้มาใช้สิทธิการแปลงสภาพใบส�ำคัญแสดงสิทธิ PF-W3 จ�ำนวน 77,236,700 หน่วย และใบส�ำคัญแสดงสิทธิ PF-W3 จ�ำนวน 99,649,302 หน่วย ได้สิ้นสภาพลง ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2558


190

รายงานประจำ�ปี 2558

ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯและบริษัทย่อยมีแนวโน้มลดลงโดยในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา โดย ณ สิ้นปี 2556 ถึงสิน้ ปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีอตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 2.55 เท่า 2.50 เท่า และ 2.17 เท่า ตามล�ำดับ การปรับตัวลดลงของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นมีสาเหตุหลักจากการที่ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการ ช�ำระหนี้เงินกู้ยืมระยะยาวบางส่วน และมีส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจากการรับรู้ผลก�ำไรระหว่างปี ท�ำให้อัตราส่วนหนี้สินต่อ ส่วนของผู้ถือหุ้นปรับตัวดีขึ้น และในปี 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วน ของผู้ถือหุ้นปรับตัวดีขึ้นโดยลดลงมาเหลือ 2.17 เท่า โดยมีผลมาจากการที่บริษัทมีการเพิ่มทุน และการเข้าซื้อกิจการของ บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)

2.3 การวิเคราะห์กระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทย่อย งบกระแสเงินสดระหว่างปี 2556 ถึงปี 2558 งบการเงินรวม

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) กระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น (ลดลง)

(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

(1,032.15) (1,578.58) 2,877.29 8.40 274.96

(425.14) 1,115.10 564.54 0.82 1,255.31

(625.58) (3,912.66) 5,094.33 (6.08) 550.01

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ในปี 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมการด�ำเนินงานเป็นลบเท่ากับ 1,032.15 ล้านบาท เนื่องจาก มีการพัฒนาโครงการมากขึ้น รวมทั้งการเริ่มงานก่อสร้างคอนโดมิเนียมใหม่อีก 5 โครงการและการพัฒนาศูนย์การค้า นอกจากนัน้ ยังมีการซือ้ บ้านจากกองทุนอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำนวน 64 หลัง มูลค่ารวม 505.00 ล้านบาท ในไตรมาส 1 ของปี 2556 เพื่อน�ำมาขายด้วย ส�ำหรับปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงานติดลบเท่ากับ 425.14 ล้านบาท โดยบริษัทฯ และบริษทั ย่อยมีกระแสเงินสดใช้ไปจากการด�ำเนินงานทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ลูกหนีต้ วั๋ สัญญาใช้เงินค่าทีด่ นิ จากการขายทีด่ นิ เพิม่ ขึน้ 755.08 ล้านบาท จ่ายดอกเบี้ย 1,150.15 ล้านบาท และจ่ายช�ำระเจ้าหนี้การค้า 278.67 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงานติดลบเท่ากับ 625.58 ล้านบาท ส่วนหนึ่งเป็น ผลมาจากการเพิ่มขึ้นของต้นทุนพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์จากการที่บริษัทมีการขยายตัวและเปิดโครงการใหม่ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2556 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนติดลบเท่ากับ 1,578.58 ล้านบาท โดยมีกิจกรรมเพื่อ การลงทุนเป็นเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินและการซื้อที่ดินรอการพัฒนารวมทั้งสิทธิการเช่ารวม 800.11 ล้านบาท เงินสด จ่ายสุทธิจากการลงทุนในบริษทั ย่อย 349.73 ล้านบาท (ซือ้ หุน้ ร้อยละ 100 ของ บจ. มารียา สตัฟฟ์ (ภายหลังเปลีย่ นชือ่ เป็น บจ. รามอินทรา มอลล์) ซึ่งถือกรรมสิทธิ์ในสิทธิการเช่าที่ดิน 30 ปี บริเวณถนนรามอินทรา 69) เงินฝากติดภาระค�ำ้ ประกัน เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 244.86 ล้านบาท และอาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้นสุทธิจำ� นวน 129.02 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในปี 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนเป็นบวกเท่ากับ 1,115.10 ล้านบาท เนือ่ งจากบริษทั ได้รบั เงินจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (บมจ. กรุงเทพบ้านและทีด่ นิ ) จ�ำนวน 720.00 ล้านบาท รวมทัง้ มี เงินสดรับจากการขายที่ดินที่รอการพัฒนาจ�ำนวน 1,035.36 ล้านบาท


191

ส�ำหรับปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนติดลบเท่ากับ 3,912.66 ล้านบาท รายการส่วนใหญ่ คือการที่บริษัทได้ลงทุนในการเข้าซื้อกิจการของบริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 2,863,274,022 หุ้น ใน ราคาหุ้นละ 0.57 บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 89.67 ของหุ้นที่จำ� หน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทดังกล่าว คิดเป็นราคาซื้อ รวม 1,632.1 ล้านบาท โดยคิดเป็นเงินจ่ายสุทธิจ�ำนวน 1,306.37 ล้านบาท และการซื้อหุ้นของบริษัทแกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 49,099,819 หุ้น ในราคาหุ้นละ 1.29 บาท คิดเป็นเงินลงทุน 63.34 ล้านบาท ลงทุนในการร่วมค้า 130.0 ล้านบาท การจัดซื้อที่ดินรอการพัฒนาเพื่อรองรับโครงการต่างๆ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย โดยมีมูลค่าเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินและการซื้อที่ดินรอการพัฒนารวม 1,807.16 ล้านบาท และจัดซื้อ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจ�ำนวน 184.84 ล้านบาท รวมทั้งอาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 652.28 ล้านบาท และ เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกันและข้อจ�ำกัดในการใช้ลดลง 239.34 ล้านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เมือ่ พิจารณากระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในระหว่างปี 2556 ถึง 2558 นัน้ เป็นกระแสเงินสดได้มาในกิจกรรมด้าน การเงิน โดยปี 2556 เป็นกระแสเงินสดได้มาในกิจกรรมด้านการเงินจ�ำนวน 2,877.29 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ หุน้ สามัญ เพิ่มขึ้นจากการแปลงสภาพใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (PF-W3) จ�ำนวน 141.88 ล้านบาท เงินเพิ่มทุนในบริษัทย่อยของส่วน ได้เสียที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุมจ�ำนวน 14.65 ล้านบาท เงินกูย้ มื เพิม่ ขึน้ สุทธิจำ� นวน 1,454.85 ล้านบาท หุน้ กูเ้ พิม่ ขึน้ สุทธิจำ� นวน 1,500.00 ล้านบาท ขณะที่ตั๋วสัญญาใช้เงินลดลงสุทธิจ�ำนวน 36.57 ล้านบาท และเงินปันผลจ่ายจ�ำนวน 187.52 ล้านบาท ในปี 2557 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินเป็นบวกเท่ากับ 564.54 ล้านบาท โดยเป็นการจ่ายคืน เงินกูย้ มื ระยะยาวสุทธิ 2,318.26 ล้านบาท กระแสเงินสดรับจากหุน้ กูส้ ทุ ธิ 2,300.00 ล้านบาท และกระแสเงินสดรับจากเจ้าหนี้ ตั๋วสัญญาใช้เงินและเจ้าหนี้ตั๋วแลกเงินที่เพิ่มขึ้นสุทธิ 582.78 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินเป็นบวกเท่ากับ 5,094.33 ล้านบาท โดยเป็นการ เพิม่ ทุน 1,806.50 ล้านบาท การแปลงสภาพใบส�ำคัญแสดงสิทธิ PF-W3 จ�ำนวน 78.38 ล้านบาท และเงินเพิม่ ทุนของบริษทั ย่อย ในส่วนที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมจ�ำนวน 58.17 ล้านบาท มีหุ้นกู้เพิ่มขึ้นสุทธิจำ� นวน 1,962.15 ล้านบาท เงินกู้ยืมเพิ่มขึ้นสุทธิ จ�ำนวน 937.80 ล้านบาท และเจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงินและเจ้าหนี้ตั๋วแลกเงินรวมเพิ่มขึ้นสุทธิจ�ำนวน 1,004.21 ล้านบาท ช�ำระคืนหนี้ระยะสั้น 500 ล้านบาท และการจ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 252.88 ล้านบาท ประวัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างปี 2552 ถึงปัจจุบัน ผลการดำ�เนินงาน

ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557

จำ�นวนเงินปันผลต่อ หุ้น(บาท)

จำ�นวนเงินรวม (ล้านบาท)

0.250 0.330 0.040 0.033

196.90 259.92 189.05 187.53 งดจ่ายเงินปันผล 254.48

0.044

วันที่จ่ายเงินปันผล

27 พฤษภาคม 2553 27 พฤษภาคม 2554 25 พฤษภาคม 2555 23 พฤษภาคม 2556 19 พฤษภาคม 2558


192

รายงานประจำ�ปี 2558

2.4 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นดังต่อไปนี้ ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ก) บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาทีเ่ กีย่ วข้องกับการก่อสร้าง ออกแบบ และค่าทีป่ รึกษาโครงการบ้าน พร้อมที่ดิน คอนโดมิเนียม และอาคารโรงแรม การปรับปรุงอาคารส�ำนักงาน และการซื้อคอนโดมิเนียมและอุปกรณ์ เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 5,429.8 ล้านบาท ข) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่เกี่ยวข้องกับการซื้อที่ดินเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 2,427.52 ล้านบาท ค) บริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 12.8 ล้านบาท ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าด�ำเนินงานและบริการ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานและบริการที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดิน คอนโดมิเนียม รถยนต์ ป้าย โฆษณา พื้นที่ส�ำนักงาน และสัญญาบริการต่างๆ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 5 ปี สัญญาดังกล่าวเป็น สัญญาที่บอกเลิกไม่ได้ และมีจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายในอนาคต ดังนี้

จ่ายช�ำระภายใน

31 ธันวาคม 2558

31 ธันวาคม 2557

ภายใน 1 ปี 2 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี

170.3 ล้านบาท และ 2.9 ล้านเยน 349.4 ล้านบาท และ 4.3 ล้านเยน 2,348.5 ล้านบาท

140.2 ล้านบาท และ 3.2 ล้านเยน 292.7 ล้านบาท และ 7.2 ล้านเยน 2,337.1 ล้านบาท

ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาให้บริการ ประเภทสัญญา

บริษัทฯ 1. สัญญาที่ปรึกษาทางการเงิน 2. สัญญาที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัทย่อย 1. สัญญาการบริหารจัดการโรงแรม 2. สัญญาบริการด้านเทคนิค 3. สัญญาการบริหารจัดการโรงแรม 4. สัญญาการบริหารจัดการโรงแรม 5. สัญญาซื้อผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 6. สัญญาที่ปรึกษาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ 7. สัญญาการบริหารจัดการโรงแรม

คู่สัญญา

อัตราค่าบริการ

เริ่ม

สิ้นสุด

บริษัทในประเทศ บริษัทในประเทศ

ข) ข)

2556 2558

ตามที่ตกลงร่วมกัน 2559

บริษทั ย่อยและบริษทั ในต่างประเทศ บริษทั ย่อยและบริษทั ในต่างประเทศ บริษทั ย่อยและบริษทั ในต่างประเทศ บริษทั ย่อยและบริษทั ในต่างประเทศแห่งหนึง่ บริษทั ย่อยและบริษทั ในประเทศแห่งหนึ่ง บริษัทในประเทศ

ก)

2547

2561

ข)

2555

2559

บริษทั ในต่างประเทศ

ก) ก)

20 ปี นับจาก วันที่เริ่มด�ำเนิน กิจการโรงแรม วันเริม่ ด�ำเนินกิจการ 2550 2560

ข)

2549

2559

ข)

2556

2559

ก)

2558

2573

ก) อัตราร้อยละของรายได้และของยอดรายได้หักค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงานโรงแรม ข) อัตราที่ระบุในสัญญา


193

นอกจากนี้ บริษัทย่อยได้ท�ำสัญญาที่เกี่ยวข้องกับการรับบริการบ�ำรุงรักษาลิฟท์ ค�ำปรึกษา และบริการอื่นๆ กับบริษัทที่ไม่ เกี่ยวข้องกันอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทย่อยมีจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายช�ำระภายใน 1 ปี ภายใต้สัญญาให้บริการระยะยาวเป็น จ�ำนวน 19 ล้านบาท ภาระหนี้ค�้ำประกันอื่น ก) บริษทั มีภาระค�ำ้ ประกันหนี้ให้แก่บริษทั ย่อยรวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 9,041.7 ล้านบาท ประกอบด้วย บจ. เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำนวน 3,997.9 ล้านบาท บจ.ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำนวน 3,887.8 ล้านบาท บจ. เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำนวน 933.0 ล้านบาท และ บมจ. วีรีเทล จ�ำนวน 223.0 ล้านบาท โดยบริษัทยังไม่มีความรับผิดชอบต่อหนี้สิน ดังกล่าวนี้เนื่องจากบริษัทย่อยยังไม่ได้มีการผิดนัดช�ำระหนี้แต่อย่างใด ข) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนังสือค�้ำประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯและบริษัทย่อย ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

งานสาธารณูปโภค หุ้นกู้

2558

2557

928.7 -

610.5 3,000.0

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

564.2 -

323.7 3,000.0

ค) บริษทั ย่อยมีภาระค�ำ้ ประกันให้แก่ลกู ค้าโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์หลายรายซึง่ ในจ�ำนวนนี้ บริษทั ย่อยถูกฟ้องร้องให้ ช�ำระหนี้ในฐานะผู้คำ�้ ประกันของลูกค้าในวงเงินรวม 2.7 ล้านบาท โดยศาลมีคำ� พิพากษาให้บริษัทย่อยและลูกค้าช�ำระ เป็นจ�ำนวน 2.7 ล้านบาท บริษทั ย่อยไม่ได้บนั ทึกส�ำรองภาระหนีไ้ ว้ เนือ่ งจากบริษทั ย่อยเชือ่ ว่าจะไม่มผี ลเสียหายอย่างเป็น สาระส�ำคัญ สัญญาเช่าด�ำเนินงานกับกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ บริษัทได้เข้าท�ำสัญญาเช่าเหมาด�ำเนินงานกับกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ โดยบริษัทจะช�ำระค่าเช่าคงที่ปีละ 43.50 ล้านบาท เป็นระยะเวลา 3 ปี และให้สิทธิแก่รวมอสังหาริมทรัพย์ยูนิลอฟท์ ในการขยายระยะเวลาการเช่าได้อีก 1 ปี โดยมีค่าเช่าและเงื่อนไขเช่นเดียวกับการเช่าในระยะเวลา 3 ปีแรก อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารได้ประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะ เกิดขึน้ ของค่าใช้จา่ ยในการรับประกันค่าเช่าตามมูลค่าปัจจุบนั ของผลแตกต่างของประมาณการรายได้ของโครงการยูนลิ อฟท์ ศาลายา จากการให้เช่าหอพักกับรายย่อย กับค่าเช่าเหมาจ่ายทีท่ �ำสัญญาไว้กบั กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ยนู ลิ อฟท์ ตลอดอายุ รวม 4 ปี ซึง่ ค�ำนวณขึน้ โดยใช้ขอ้ สมมติฐานทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์และผลประกอบการในปัจจุบนั ของโครงการยูนลิ อฟท์ ศาลายา บริษทั จึงได้บนั ทึกส�ำรองเผือ่ ผลขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่าในประมาณการหนีส้ นิ เป็นจ�ำนวน 45.31 ล้านบาท ภาระผูกพันการรับประกันดังกล่าวจึงถูกรับรูเ้ ป็นรายการค่าใช้จา่ ยและหนีส้ นิ ในงบการเงินรวมประจ�ำปี 2556 ของบริษทั แล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทได้ปรับปรุงประมาณการหนี้สินส�ำหรับการรับประกันค่าเช่า โดยบริษัทได้ปรับปรุง ข้อสมมติฐานต่างๆ ในการประมาณการหนี้สินดังกล่าวซึ่งประกอบไปด้วย อัตราค่าเช่า อัตราการเข้าพัก และอัตราคิดลด ฝ่ายบริหารของบริษทั เชือ่ ว่าสมมติฐานดังกล่าวมีความเหมาะสมในสถานการณ์ปจั จุบนั และได้บนั ทึกประมาณการหนีส้ นิ ดังกล่าว เพิ่มเติมเป็นจ�ำนวน 24.03 ล้านบาท โดยแยกแสดงเป็นรายการต่างหากภายใต้หัวข้อ “ขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่า” ในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับปี 2557 อย่างไรก็ตาม หากรายได้ของโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายา ที่เกิดขึ้นจริงใน อนาคตแตกต่างจากประมาณการรายได้ที่จัดท�ำขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ บริษัทอาจจ�ำเป็นต้องบันทึกส�ำรองเผื่อผลขาดทุนการ การรับประกันค่าเช่าเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับภาระการรับประกันค่าเช่าที่เพิ่มสูงขึ้นได้ ในปี 2558 รายได้ของโครงการยูนิลอฟท์ ศาลายาที่เกิดขึ้นจริงได้ดีกว่าประมาณการรายได้ที่จัดท�ำไว้ ท�ำให้บริษัทไม่จำ� เป็น ต้องบันทึกส�ำรองเผื่อผลขาดทุนการการรับประกันค่าเช่าเพิ่มขึ้น


194

รายงานประจำ�ปี 2558

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน)

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วยงบแสดง ฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและ งบกระแสเงินสดรวม ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทสี่ ำ� คัญและหมายเหตุเรือ่ งอืน่ ๆ และได้ตรวจสอบ งบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการ เงินและรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารตรวจสอบเพือ่ ให้ได้มาซึง่ หลักฐานการสอบบัญชีเกีย่ วกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณา การควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามทีค่ วรของกิจการ เพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบ ทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบ รวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีทจี่ ดั ท�ำขึน้ โดย ผูบ้ ริหาร รวมทัง้ การประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าหลักฐานการสอบบัญชีทขี่ า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสม เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสด ส�ำหรับปี สิน้ สุดวันเดียวกันของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตดังนี้ ก) หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 12.1.1 เกี่ยวกับการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทฯได้ด�ำเนินการให้มีการวัดมูลค่า ยุตธิ รรมของสินทรัพย์ทรี่ ะบุได้ที่ได้มาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มา ณ วันทีซ่ อื้ กิจการ และรับรูก้ ำ� ไรจากการซือ้ ในราคาต�ำ่ กว่ามูลค่า ยุติธรรมเป็นจ�ำนวนเงิน 530 ล้านบาท ข) หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38.5 ช) เกี่ยวกับคดีความระหว่างบริษัทย่อยแห่งหนึ่งกับเจ้าของที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของ โรงแรมแห่งหนึ่งของบริษัทย่อย อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทฯ ได้พิจารณาหนี้สินที่อาจจะ เกิดขึ้นจากคดีความดังกล่าว โดยได้รับความเห็นจากทนายความ ซึ่งบริษัทฯ เชื่อว่าบริษัทย่อยจะไม่มีภาระหนี้สินที่เป็น สาระส�ำคัญที่ต้องชดเชยความเสียหายต่อผู้ฟ้องร้องจากผลของคดีดังกล่าว

ทั้งนี้ ข้าพเจ้ามิได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่อกรณีนี้แต่อย่างใด

กฤษดา เลิศวนา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4958 บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2559


195 งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 หมายเหตุ (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 7 ลูกหนี้กรมสรรพากร ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดิน 8 สินค้าคงเหลือ 9 ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ 10 เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกันและ ข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 เงินมัดจ�ำการซื้อหุ้นสามัญและสินทรัพย์ ในบริษัทอื่น 11 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 12 เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในการร่วมค้า 14 เงินลงทุนระยะยาวอื่น 15 ที่ดินรอการพัฒนา 16 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน 17 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 18 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 19 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน 20 สิทธิการเช่า 21 เงินค่าประกันความเสียหาย 22 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 33 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

3,040,543,409 2,490,533,916 1,878,554,977 2,078,520,940 257,810,392 191,431,070 596,732,266 146,490,646 62,001,268 955,740,220 955,740,220 42,033,699 35,079,151 21,659,508,681 17,524,605,564 13,187,854,571 10,806,817,419 11,858,808 14,397,249 11,928,812 14,389,949 366,997,611 336,545,595 222,121,272 298,739,541 130,296,647 102,650,547 32,373,347 30,234,128 25,571,050,515 21,650,983,312 15,929,565,245 14,330,932,843 85,035,740 -

288,247,275 -

42,568,088 4,144,663,670

250,696,630 3,895,248,025

50,000,000 - 7,245,436,171 4,224,045,726 128,184,460 130,000,000 101,119,472 106,496,676 101,119,472 106,496,676 5,895,883,003 4,453,051,267 4,330,710,228 3,444,793,098 677,993,811 444,637,314 537,800,000 370,057,389 2,286,868,667 1,540,394,214 5,436,046,175 963,199,365 89,523,925 195,800,087 56,223,939 7,040,458 7,719,512 3,980,569 2,150,604,606 1,313,107,573 33,606,487 36,817,582 34,000,000 406,108,536 400,918,810 184,202,559 189,433,095 397,902,380 238,085,444 222,046,695 151,008,593 17,705,970,789 9,755,178,396 17,069,396,807 12,868,377,470 43,277,021,304 31,406,161,708 32,998,962,052 27,199,310,313


196

รายงานประจำ�ปี 2558

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 หมายเหตุ (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าสิทธิการเช่า ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าสิทธิการเช่า สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุน้ กู้ - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รายได้ค่าสิทธิการเช่ารับล่วงหน้า หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

23 24

372,022,000 2,972,054,694

724,401,242 2,289,349,862

189,745,000 1,738,202,246

380,547,608 1,253,177,716

25 6 26

10,000,000 2,456,401,330 4,600,000,000

10,000,000 636,237,037 8,978,715,230

1,307,408,035 170,000,000 4,600,000,000

636,237,037 175,000,000 8,978,715,230

27

597,481,323 747,144,814 699,213,129 217,013,978 8,757,781 55,096,234 248,901,749 283,252,512 11,964,832,006 13,941,210,909

26 10,970,001,297 27 28 33

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

504,183,014 381,763,635 246,175,845 152,514,825 30,722,232 84,114,454 96,583,520 8,839,828,594 12,085,261,803

10,000,000 4,600,000,000 10,970,001,297

4,600,000,000

5,709,497,038 3,546,469,166 2,908,587,506 2,151,494,094 240,540,768 169,858,556 151,203,736 134,557,755 450,899,764 108,824,517 93,739,293 39,724,812 41,234,881 39,724,812 184,007,465 18,477,647 12,176,467 18,354,384 17,648,685,625 8,493,354,698 14,083,203,887 6,944,131,045 29,613,517,631 22,434,565,607 22,923,032,481 19,029,392,848


197 งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 หมายเหตุ (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 29 ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 7,900,000,000 หุ้น (31 ธันวาคม 2557: หุ้นสามัญ 10,737,610,610 หุ้น และ 1 มกราคม 2557: หุน้ สามัญ 5,961,161,256 หุน้ ) มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ 7,667,826,432 หุ้น (31 ธันวาคม 2557: หุ้นสามัญ 5,782,951,655 หุ้น และ 1 มกราคม 2557: หุ้นสามัญ 5,782,930,655 หุ้น) มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส่วนต�ำ่ กว่ามูลค่าหุ้น ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย 31 ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทย่อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

7,900,000,000 10,737,610,610

7,900,000,000 10,737,610,610

7,667,826,432 (73,524,495)

7,667,826,432 (73,524,495)

5,782,951,655 (73,524,495)

260,600,000 274,600,000 3,062,810,930 2,213,912,715 (119,177,152) (6,885,081) 8,913,660,938 10,075,929,571

260,600,000 2,205,848,596 (5,958,291) 8,169,917,465

274,600,000 3,155,252,421 (73,304,627) 10,950,849,731

5,782,951,655 (73,524,495)

2,712,653,942 57,935,163 13,663,503,673 8,971,596,101 10,075,929,571 8,169,917,465 43,277,021,304 31,406,161,708 32,998,962,052 27,199,310,313


198

รายงานประจำ�ปี 2558

งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

รายได้ รายได้จากการขายบ้านและที่ดิน รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รายได้จากการขายที่ดิน รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม รายได้ค่าเช่าและบริการ รายได้อื่น ก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม 12.1.1 ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้จากการบริหารจัดการ 6 ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม 13 อื่น ๆ รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนการขายบ้านและที่ดิน ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ต้นทุนการขายที่ดิน ต้นทุนการประกอบกิจการโรงแรม ต้นทุนการให้เช่าและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวมค่าใช้จ่าย ก�ำไรก่อนส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนใน บริษัทร่วมและการร่วมค้า ค่าใช้จ่ายทางการเงิน และค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 13 ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า 14 ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 33 ก�ำไรส�ำหรับปี หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557 (ปรับปรุงใหม่)

2558

2557 (ปรับปรุงใหม่)

6,624,373,034 3,159,597,336 501,420,200 1,523,618,553 224,700,719

6,275,563,226 3,667,121,096 1,628,706,329 844,709,904 28,449,354

4,512,460,580 1,261,066,747 501,420,200 35,621,672

4,167,770,745 369,413,331 1,628,206,329 23,692,512

529,954,652 82,989,764 26,735,156 7,630,422 6,599,618 77,303,334 251,005,833 230,163,476 12,905,290,513 12,785,351,493

301,741,141 407,630,422 106,236,000 111,223,082 7,237,399,844

196,787,513 6,599,618 360,000,040 106,991,259 6,859,461,347

4,409,302,956 4,085,591,485 2,361,807,826 2,659,897,379 334,645,734 1,088,280,532 1,067,850,064 650,593,209 204,752,841 45,637,426 1,302,187,487 1,216,588,170 2,308,000,124 1,830,436,396 11,988,547,032 11,577,024,597

3,015,548,149 1,099,300,392 334,645,734 42,032,450 685,180,076 1,085,946,031 6,262,652,832

2,710,763,068 259,025,168 1,088,280,532 44,009,121 658,353,767 989,948,315 5,750,379,971

916,743,481 (1,815,540)

1,208,326,896 59,978,121 -

974,747,012 -

1,109,081,376 -

914,927,941 (635,278,155) 279,649,786 (12,640,918) 267,008,868

1,268,305,017 (611,251,240) 657,053,777 (254,318,933) 402,734,844

974,747,012 (689,185,639) 285,561,373 (9,013,191) 276,548,182

1,109,081,376 (629,420,641) 479,660,735 (112,263,005) 367,397,730


199 งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557 (ปรับปรุงใหม่)

2558

2557 (ปรับปรุงใหม่)

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: รายการทีจ่ ะถูกบันทึกในส่วนของก�ำไรขาดทุน ในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลีย่ นจากการแปลงค่างบการเงิน ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิจากภาษีเงินได้ รายการที่จะถูกบันทึกในส่วนของก�ำไรขาดทุน ในภายหลัง - สุทธิจากภาษีเงินได้

51,058,317

(34,876,202)

-

-

(926,790)

(3,462,307)

(926,790)

(3,462,307)

50,131,527

(38,338,509)

(926,790)

(3,462,307)

รายการที่จะไม่ถูกบันทึกในส่วนของก�ำไรขาดทุน ในภายหลัง ผลก�ำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย - สุทธิจากภาษีเงินได้ รายการที่จะไม่ถูกบันทึกในส่วนของก�ำไรขาดทุน ในภายหลัง - สุทธิจากภาษีเงินได้ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี

183,902

(25,117,925)

-

(24,465,525)

183,902 50,315,429

(25,117,925) (63,456,434)

(926,790)

(24,465,525) (27,927,832)

317,324,297

339,278,410

275,621,392

339,469,898

360,741,652

399,271,007

276,548,182

367,397,730

(93,732,784) 267,008,868

3,463,837 402,734,844

409,911,186

337,514,295

275,621,392

339,469,898

(92,586,889) 317,324,297

1,764,115 339,278,410

0.06199

0.06904

0.04752

0.06353

0.06185

0.06858

0.04742

0.06310

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทย่อย การแบ่งปันก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนทีเ่ ป็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียที่ไม่มอี �ำนาจควบคุมของ บริษัทย่อย ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ

34

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


200

รายงานประจำ�ปี 2558

งบกระแสเงินสด

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2558 กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดก�ำไรก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าตัดจ�ำหน่าย ตัดจ�ำหน่ายค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้ ตัดจ�ำหน่ายภาษีหัก ณ ที่จ่ายและลูกหนี้กรมสรรพากร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง รายได้รับล่วงหน้าค่าสิทธิการเช่าตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนชั่วคราว ในหลักทรัพย์เพื่อค้า ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม รายการปรับลดราคาทุนให้เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ (โอนกลับ) โอนกลับค่าเผื่อการด้อยค่าของที่ดินรอการพัฒนา ขาดทุนจากการด้อยค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขาดทุน (ก�ำไร) จากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ ก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม เงินปันผลรับ ส�ำรองค่าเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่า (โอนกลับ) ส�ำรองการรับประกันโครงการอสังหาริมทรัพย์ ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขาย เงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และ หนี้สินด�ำเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557 (ปรับปรุงใหม่)

2558

2557 (ปรับปรุงใหม่)

279,649,786

657,053,777

285,561,373

479,660,735

1,815,540 434,854,742 8,580,539 54,629,660 29,136,468 4,905,054 (15,199,977)

(59,978,122) 146,219,776 1,952,600 45,290,061 30,642,787 39,148,520 (4,194,963)

32,549,052 1,910,000 36,218,693 29,136,468 (3,428,646)

40,786,324 1,952,600 26,290,070 30,642,787 (4,194,963)

72,141 2,550,000 11,941,225 (5,091,566) 36,047,101 22,274,296 (529,954,652) (7,630,422) (4,142,038) 973,215 24,754,661

(95,688) (77,303,335) (24,219,774) (21,551,132) 1,486,714 (6,599,618) 24,031,269 31,623,916

72,141 2,550,000 10,098,470 (5,256,566) 36,047,101 19,370,657 (407,630,422) (4,142,038) 14,558,170

(95,688) (360,000,040) (24,166,832) (21,551,132) (739,036) (6,599,618) 24,031,269 28,397,184

(5,923,257) (82,989,764) 606,195,668

(26,850,779) (26,735,156) 545,968,296

(301,741,141) 654,695,125

(196,787,513) 564,137,697

867,448,420

1,275,889,149

400,568,437

581,763,844


201 งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2558 สินทรัพย์ดำ� เนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดิน ลูกหนี้กรมสรรพากร สินค้าคงเหลือ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยรับ รับคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมด�ำเนินงาน

2557 (ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558

2557 (ปรับปรุงใหม่)

18,590,501 1,015,000,000 (23,377,734) (214,628) (1,267,955,773) 44,859,264 (34,732,834) (21,980,899)

55,195,965 (755,076,220) (763,075) 764,751,225 (33,578,704) (54,174,936) 145,794

(25,581,818) 1,015,000,000 (1,346,952,024) 79,079,406 25,084,295 (71,038,101)

38,848,641 (928,190,220) (713,960,758) (154,996,940) (33,703,258) 884,893

(101,352,389) 263,214,441 (195,450,005) 148,026,547 712,074,911 (1,169,545,062) (191,841,170) 23,729,984 (625,581,337)

(354,541,628) (123,944,935) 63,436,319 (20,737,298) 816,601,656 (1,150,146,612) (161,697,050) 15,814,706 54,282,946 (425,144,354)

69,761,830 93,661,020 (12,469,066) 4,990,646 232,104,625 (1,005,389,506) (97,787,538) 19,208,473 (851,863,946)

148,629,166 66,946,586 42,941,935 1,283,694 (949,552,417) (958,427,612) (64,292,287) 7,494,298 54,282,946 (1,910,495,072)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารทีม่ ภี าระค�ำ้ ประกันและข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ลดลง (เพิม่ ขึน้ ) 239,345,508 เงินให้กยู้ มื แก่บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันเพิม่ ขึน้ เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันลดลง ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ 7,630,422 เงินสดจ่ายสุทธิจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย (1,369,712,147) เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในการร่วมค้า (130,000,000) เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่นเพิ่มขึ้น (16,931,283) 18,600,000 เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดินรอการพัฒนาลดลง (เพิ่มขึ้น) (1,365,349,971) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้น (184,843,882) (441,810,623) เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเพิ่มขึ้น สิทธิการเช่าเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น (652,279,021) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเพิ่มขึ้น (28,122,487) เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ 10,815,333 เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน (3,912,658,151)

23,004,570 6,599,618 719,999,280 1,035,355,977 (407,256,676) (134,688,226) (6,194,128) (122,360,701) (2,018,801) 2,656,127 1,115,097,040

208,128,542 (1,782,481,821) 1,533,066,175 196,703,088 7,630,422 (3,021,390,445) (130,000,000) (16,931,283) 18,600,000 (872,292,080) (342,128,812) (27,483,587) (5,239,307) (4,233,819,108)

(225,209,870) (1,236,738,465) 808,085,933 101,943,058 6,599,618 (20,000,000) 719,999,280 1,055,202,158 (107,013,864) (10,437,329) (732,000) 764,348 1,092,462,867

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


202

รายงานประจำ�ปี 2558

งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จ่ายคืนเจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าสิทธิการเช่า เงินสดรับจากเจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน จ่ายคืนเจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว จ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดรับจากหุ้นกู้ จ่ายคืนหุ้นกู้ เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการออกหุ้นเพิ่มทุน เงินสดรับจากส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในการออก จ�ำหน่ายหุ้นสามัญของบริษัทย่อย เงินสดรับจากการใช้สิทธิใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายปี ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม่ใช่เงินสด โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์และที่ดินรอการพัฒนา โอนที่ดินรอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โอนทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์เป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ สิทธิการเช่าตัดจ�ำหน่ายเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนเพิม่ ขึน้ จากการบันทึกค่าเช่าทีด่ นิ ค้างจ่าย บันทึกหักกลบเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินกับเงินกู้ยืม จากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างจ่าย โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินให้บริษัทย่อย ซื้ออุปกรณ์โดยยังไม่ได้จ่ายช�ำระ ซื้อที่ดินโดยยังไม่ได้จ่ายช�ำระ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557 (ปรับปรุงใหม่)

2558

2557 (ปรับปรุงใหม่)

778,892,529 (1,331,271,771) (10,000,000) 4,806,591,735 (3,240,000,000) 4,719,732,241 (3,781,934,230) 10,962,149,600 (9,000,000,000) (500,000,000) 1,806,495,077

2,634,218,262 (2,422,307,020) (265,368,000) 1,166,237,037 (530,000,000) 2,258,347,307 (4,576,612,199) 8,518,500,000 (6,218,500,000) -

319,658,752 (510,461,360) 3,647,860,074 (3,040,000,000) 3,506,876,151 (2,627,363,360) 10,962,149,600 (9,000,000,000) 197,000,000 (202,000,000) 1,806,495,077

1,186,150,000 (993,402,392) 1,166,237,037 (530,000,000) 1,240,490,423 (2,449,716,500) 8,518,500,000 (6,218,500,000) 175,000,000 -

58,174,550 78,379,700 (252,877,543) 5,094,331,888 (6,082,907) 550,009,493 2,490,533,916 3,040,543,409

21,000 564,536,387 824,858 1,255,313,931 1,235,219,985 2,490,533,916

78,379,700 (252,877,543) 4,885,717,091 (199,965,963) 2,078,520,940 1,878,554,977

21,000 2,094,779,568 1,276,747,363 801,773,577 2,078,520,940

208,454,126 429,391,527 53,394,050 27,029,644 59,778,115

338,453,334 698,277,554 2,893,805 27,609,011 61,488,336

174,386,201 478,932,318 50,504,396 -

134,611,600 593,379,044 -

26,888,815 385,960,000

11,724,926 -

385,960,000

89,261,250 -


19,000,000 -

-

-

(19,000,000)

374,153,082

(25,117,925)

260,600,000 3,062,810,930

-

(73,524,495)

(14,088,431)

241,600,000 2,707,657,848 - 399,271,007

-

241,600,000 2,721,746,279

ส�ำรอง ตามกฏหมาย ยังไม่ได้จัดสรร

ก�ำไรสะสม

-

(73,524,495) -

-

(73,524,495)

ส่วนต�่ำกว่า มูลค่าหุ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 - ตามที่รายงานไว้เดิม 5,782,930,655 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์ ของพนักงาน (หมายเหตุ 3) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 - หลังการปรับปรุง 5,782,930,655 ก�ำไรส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น ส�ำรองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 31) หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 29) 21,000 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสีย ในความเป็นเจ้าของในบริษัทย่อย (หมายเหตุ 12.2.1) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 5,782,951,655

ทุนเรือนหุ้นที่ ออกและ ช�ำระแล้ว

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

(5,958,291)

-

-

(3,462,307)

(3,462,307)

(2,495,984) -

-

(2,495,984)

(17,371,516)

-

-

(33,176,480)

(33,176,480)

15,804,964 -

-

15,804,964

(46,091,945)

-

-

-

-

(46,091,945) -

-

(46,091,945)

(14,088,431)

-

-

(36,638,787)

(36,638,787)

21,000

-

337,514,295

(61,756,712)

(43,656,136) 8,615,007,872 - 399,271,007

-

(43,656,136) 8,629,096,303

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ

(38,882,229) (38,882,229) (38,882,229) (49,755,400) (119,177,152) 8,913,660,938

-

-

-

-

(10,873,171) -

-

(10,873,171)

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่วนต�ำ่ กว่าทุน ส่วนต�่ำกว่า ผลต่างจาก จากการ ทุนจากการ การแปลงค่า ผลต่างที่ เปลี่ยนแปลง รวม เปลี่ยนแปลง งบการเงิน เกิดจากการ สัดส่วน องค์ประกอบอืน่ มูลค่า ที่เป็นเงินตรา แลกหุ้น การถือหุ้น ของส่วนของ เงินลงทุน ต่างประเทศ ของบริษัทย่อย ในบริษัทย่อย ผู้ถือหุ้น

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น

(14,088,431)

21,000

-

339,278,410

(63,456,434)

38,882,229 57,935,163 8,971,596,101

-

-

1,764,115

(1,699,722)

17,288,819 8,632,296,691 3,463,837 402,734,844

-

17,288,819 8,646,385,122

ส่วนของ ผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม ของบริษัทย่อย

(หน่วย: บาท)

203


(73,524,495) -

(73,524,495) -

-

(73,524,495)

5,782,951,655

-

5,782,951,655 -

1,806,495,077

78,379,700

-

-

7,667,826,432

ส่วนต�่ำกว่า มูลค่าหุ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์ ของพนักงาน (หมายเหตุ 3) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 - หลังการปรับปรุง ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น ส�ำรองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 31) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 37) ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 29) หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 29) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทย่อย (หมายเหตุ 12.1.1) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสีย ในความเป็นเจ้าของในบริษัทย่อย (หมายเหตุ 12.1.2) ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทย่อย (หมายเหตุ 12.2.1) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และช�ำระแล้ว

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

(38,732,391)

-

-

-

274,600,000 3,155,252,421

-

-

-

14,000,000 (14,000,000) - (254,484,063) -

260,600,000 3,062,810,930 - 360,741,652 183,902 - 360,925,554

-

260,600,000 3,101,543,321

ส�ำรอง ตามกฏหมาย ยังไม่ได้จัดสรร

ก�ำไรสะสม

(6,885,081)

-

-

-

-

(5,958,291) (926,790) (926,790)

-

(5,958,291)

32,540,906

-

-

-

-

(17,371,516) 49,912,422 49,912,422

-

(17,371,516)

(46,091,945)

-

-

-

-

(46,091,945) -

-

(46,091,945)

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ

-

(38,732,391)

(52,868,507)

(3,113,107)

-

-

-

(38,732,391)

-

78,379,700

- (254,484,063) - 1,806,495,077

57,935,163 8,971,596,101 (93,732,784) 267,008,868 1,145,895 50,315,429 (92,586,889) 317,324,297

-

(3,113,107)

47,481,928

44,368,821

- 2,686,018,011 2,686,018,011

78,379,700

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น

57,935,163 9,010,328,492

ส่วนของ ผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม ของบริษัทย่อย

(หน่วย: บาท)

- 13,805,729 13,805,729 (73,304,627) 10,950,849,731 2,712,653,942 13,663,503,673

(3,113,107)

-

-

- (254,484,063) - 1,806,495,077

(49,755,400) (119,177,152) 8,913,660,938 - 360,741,652 - 48,985,632 49,169,534 - 48,985,632 409,911,186

-

(49,755,400) (119,177,152) 8,952,393,329

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่วนต�ำ่ กว่าทุน ส่วนต�่ำกว่า ผลต่างจาก จากการ ทุนจากการ การแปลงค่า ผลต่างที่ เปลี่ยนแปลง รวม เปลี่ยนแปลง งบการเงิน เกิดจากการ สัดส่วน องค์ประกอบอืน่ มูลค่า ที่เป็นเงินตรา แลกหุ้น การถือหุ้น ของส่วนของ เงินลงทุน ต่างประเทศ ของบริษัทย่อย ในบริษัทย่อย ผู้ถือหุ้น

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

204 รายงานประจำ�ปี 2558


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ ผลประโยชน์ของพนักงาน (หมายเหตุ 3) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 - หลังการปรับปรุง ก�ำไรส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น ส�ำรองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 31) หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 29) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

(73,524,495) (73,524,495) (73,524,495)

5,782,930,655 21,000 5,782,951,655

ส่วนต�่ำกว่า มูลค่าหุ้น

5,782,930,655

ทุนเรือนหุ้นที่ออกและ ช�ำระแล้ว

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

ยังไม่ได้จัดสรร

260,600,000 2,205,848,596

19,000,000 (19,000,000)

- (12,052,818) 241,600,000 1,881,916,391 - 367,397,730 - (24,465,525) - 342,932,205

241,600,000 1,893,969,209

ส�ำรอง ตามกฏหมาย

ก�ำไรสะสม

(5,958,291)

-

(2,495,984) (3,462,307) (3,462,307)

(2,495,984)

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

21,000 (5,958,291) 8,169,917,465

-

- (12,052,818) (2,495,984) 7,830,426,567 - 367,397,730 (3,462,307) (27,927,832) (3,462,307) 339,469,898

(2,495,984) 7,842,479,385

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวม ส่วนต�่ำกว่าทุนจาก องค์ประกอบอื่น การเปลี่ยนแปลง ของ มูลค่าเงินลงทุน ส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(หน่วย: บาท)

205


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ ผลประโยชน์ของพนักงาน (หมายเหตุ 3) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 - หลังการปรับปรุง ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น ส�ำรองตามกฏหมาย (หมายเหตุ 31) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 37) ออกหุ้นสามัญเพิ่ม.ทุน (หมายเหตุ 29) หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 29) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

- (36,081,213) 260,600,000 2,205,848,596 - 276,548,182 - 276,548,182 14,000,000 (14,000,000) - (254,484,063) 274,600,000 2,213,912,715

-

1,806,495,077 78,379,700 7,667,826,432 (73,524,495)

ยังไม่ได้จัดสรร

5,782,951,655 (73,524,495) -

ส�ำรอง ตามกฏหมาย

260,600,000 2,241,929,809

ส่วนต�่ำกว่า มูลค่าหุ้น

ก�ำไรสะสม

(6,885,081)

-

(5,958,291) (926,790) (926,790)

(5,958,291)

(254,484,063) 1,806,495,077

(36,081,213) 8,169,917,465 276,548,182 (926,790) 275,621,392

8,205,998,678

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)

78,379,700 (6,885,081) 10,075,929,571

-

(5,958,291) (926,790) (926,790)

(5,958,291)

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวม ส่วนต�่ำกว่าทุนจากการ องค์ประกอบอื่น เปลี่ยนแปลงมูลค่าเงิน ของ ลงทุน ส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

5,782,951,655 (73,524,495)

ทุนเรือนหุ้นที่ออกและ ช�ำระแล้ว

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

206 รายงานประจำ�ปี 2558


207 หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

1. ข้อมูลทั่วไป

บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เป็นบริษทั มหาชนซึง่ จัดตัง้ และมีภมู ลิ ำ� เนาในประเทศไทย ธุรกิจหลัก ของบริษัทฯ คือ การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่ตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯ อยู่ที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ

2. เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงิน 2.1 งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีก่ ำ� หนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการ ในงบการเงินตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรง บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน)

ลักษณะธุรกิจ

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภท ศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด บริหารสโมสร บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชัน่ กรุงเทพ จ�ำกัด ธุรกิจก่อสร้าง บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด ผลิตและประกอบติดตั้งโครงสร้าง ระบบชิ้นส่วนส�ำเร็จรูปอาคาร บริษัท ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ธุรกิจอพาร์ทเมนท์ Property Perfect International Pte. Ltd. ลงทุนในโครงการต่างประเทศ บริษัท เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท รามอินทรา มอลล์ จ�ำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศ

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น 2558 2557

ร้อยละ

ร้อยละ

ไทย ไทย

89.67 94.97

93.31

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 51.00

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 51.00

ไทย สิงคโปร์ ไทย ไทย

100.00 100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00 100.00


208

รายงานประจำ�ปี 2558

ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือผ่านบริษทั ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) (“ไทยพร็อพ”) บริษัท บางกอก เซ็นเตอร์พอยท์ จ�ำกัด บริหารจัดการพื้นที่เพื่อขาย และ/หรือให้เช่า บริษทั แปซิฟคิ เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด ให้เช่าอาคารและให้บริการ Scenery Peak Limited ลงทุนในบริษัทอื่น

จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศ

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น 2558 2557

ร้อยละ

ร้อยละ

100.00

-

ไทย 100.00 บริติช 100.00 เวอร์จิ้น ไอร์แลนด์ ไทย 100.00

-

40.62

-

100.00 100.00

-

100.00

-

ไทย

บริษัท เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด ลงทุนในบริษัทอื่น บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือผ่านไทยพร็อพและบริษัท เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด ไทย บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ การโรงแรม ให้เช่าสถานประกอบการ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) ศูนย์การค้าและการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ (ถือโดยบริษัทฯ ร้อยละ 1.70) บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือผ่านบริษทั แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ฮอนเนอร์ บิวซิเนส จ�ำกัด โรงแรม ไทย บริษัท แกรนด์ อีควิตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด หยุดด�ำเนินการชั่วคราว ไทย บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือผ่านบริษัท ฮอนเนอร์ บิวซิเนส จ�ำกัด บริษัท โอเวนเดล จ�ำกัด ให้เช่าช่วงสิทธิการเช่าโรงแรม ไทย บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือผ่านบริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภท ไทย ศูนย์การค้าและพืน้ ทีเ่ ชิงพาณิชย์ บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือผ่าน Property Perfect International Pte. Ltd. Kiroro Resort Holdings Co., Ltd. เจ้าของโรงแรม ญี่ปุ่น Kabushiki Kaisha Kiroro Associates Co., Ltd. บริหารจัดการสกี ญี่ปุ่น Kiroro Hotels Co., Ltd. บริหารจัดการโรงแรม ญี่ปุ่น

-

100.00 100.00 95.61 95.61 95.61

95.61 95.61 -

ข) บริษัทฯและบริษัทย่อยจะถือว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรือบริษัทย่อยได้ หากบริษัทฯ มีสิทธิได้รับหรือมีส่วน ได้เสียในผลตอบแทนของกิจการที่เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อ�ำนาจในการสั่งการกิจกรรมที่ส่งผลกระทบอย่างมี นัยส�ำคัญต่อจ�ำนวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ค) บริษทั ฯ น�ำงบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ มีอำ� นาจในการควบคุมบริษทั ย่อย จนถึงวันที่บริษัทฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ง) งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สำ� คัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ จ) สินทรัพย์และหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้งในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือน ผลต่างซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ฉ) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระส�ำคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว


209 ช) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม คือ จ�ำนวนก�ำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้ เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของก�ำไรขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบแสดงฐานะ การเงินรวม ซ) งบการเงินรวมของบริษทั แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย (บริษทั ฮอนเนอร์ บิวซิเนส จ�ำกัด บริษัท แกรนด์ อีควิตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด และบริษัท โอเวนเดล จ�ำกัด) ซึ่งไทยพร็อพมีอัตรา การถือหุน้ ไม่ถงึ ร้อยละ 50 ได้ถกู น�ำมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมนี้ เนือ่ งจากไทยพร็อพเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ เี สียงส่วนใหญ่ และสามารถสั่งการกิจกรรมที่ส�ำคัญของบริษัทดังกล่าวได้ อีกทั้งผู้ถือหุ้นรายอื่นเป็นผู้ถือหุ้นรายย่อยๆ เท่านั้น 2.3 บริษัทฯ จัดท�ำงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อย การร่วมค้าและบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน

3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่

ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้นำ� มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2557) และฉบับใหม่ที่ออกโดย สภาวิชาชีพบัญชี ซึ่งมีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการ รายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงถ้อยค�ำและค�ำศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบตั ิ ทางการบัญชีกับผู้ใช้มาตรฐาน การน�ำมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบัตินี้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็น สาระส�ำคัญต่องบการเงินของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินตามทีก่ ล่าวข้างต้น บางฉบับมีการเปลี่ยนแปลงหลักการส�ำคัญซึ่งประกอบด้วยมาตรฐานดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 งบการเงินรวม ฉบับที่ 11 การร่วมการงาน ฉบับที่ 12 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น ฉบับที่ 13 การวัดมูลค่ายุติธรรม

ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยเชือ่ ว่า มาตรฐานการรายงานทางการเงินข้างต้นไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญ ต่องบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย ยกเว้นมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานฉบับปรับปรุงนีก้ ำ� หนดให้กจิ การต้องรับรูร้ ายการก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ทันทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในขณะที่มาตรฐานฉบับเดิมอนุญาตให้กิจการเลือกรับรู้รายการดังกล่าวทันทีในก�ำไร ขาดทุน หรือในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือทยอยรับรู้ในก�ำไรขาดทุนก็ได้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้เปลีย่ นแปลงการรับรูร้ ายการก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ในปีปจั จุบนั จากการทยอยรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุนไปเป็นรับรูท้ นั ทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และได้ทำ� การปรับปรุงรายการ ของปีปัจจุบันและปรับย้อนหลังงบการเงินปีก่อนที่น�ำมาแสดงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบเสมือนว่าบริษัทฯและบริษัทย่อย ใช้นโยบายบัญชีนี้มาตั้งแต่แรก ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวแสดงเป็นรายการแยกต่างหาก ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


210

รายงานประจำ�ปี 2558

จ�ำนวนเงินของรายการปรับปรุงที่มีผลกระทบต่อรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ มีดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 1 มกราคม 2557 2557

งบแสดงฐานะการเงิน ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานเพิ่มขึ้น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ก�ำไรสะสมยังไม่จัดสรรลดลง

48.4 9.7 38.7

17.6 3.5 14.1

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 1 มกราคม 2557 2557

45.1 9.0 36.1

15.1 3.0 12.1 (หน่วย: ล้านบาท)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

25.1

24.5

การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อส่วนของก�ำไรขาดทุน ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับใช้ในอนาคต ในระหว่างปีปจั จุบนั สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2558) และฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบัติทางบัญชี จ�ำนวนหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใช้สำ� หรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยเชือ่ ว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับปรับปรุงและฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบัติทางบัญชีดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินเมื่อน�ำมา ถือปฏิบัติ

4. นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ 4.1 การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายบ้านและที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดิน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้รายได้จากการขายบ้านและที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดินเมื่อมีการโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนที่มีนัยส�ำคัญให้กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม รายได้จากกิจการโรงแรมส่วนใหญ่ประกอบด้วยรายได้ค่าห้องพัก ค่าขายอาหารและเครื่องดื่ม และบริการที่เกี่ยวข้องอื่น และ จะบันทึกเป็นรายได้ตามราคาในใบแจ้งหนี้ (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ส�ำหรับค่าสินค้าที่ได้ขายและค่าบริการที่ได้ให้บริการแล้ว หลังจากหักส่วนลด


211 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8

รายได้จากการให้เช่าและให้บริการ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูค้ า่ เช่าเป็นรายได้ดว้ ยวิธเี ส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า และรับรูร้ ายได้คา่ บริการเมือ่ ได้ให้บริการแล้ว บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ค่าสิทธิการเช่ารับล่วงหน้าเป็นรายได้ในจ�ำนวนที่เท่าๆ กันตลอดระยะเวลาของสัญญาเช่า ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯและบริษัทย่อยมีสิทธิในการรับเงินปันผล ต้นทุนการขายบ้านและที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ในการค�ำนวณหาต้นทุนการขายบ้านและทีด่ นิ /หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ทำ� การแบ่งสรรต้นทุนการพัฒนา ทั้งหมดที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โดยค�ำนึงถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงด้วย) ให้กับบ้านและที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ที่ขายได้ ตามเกณฑ์พื้นที่ที่ขาย แล้วจึงรับรู้เป็นต้นทุนขายในส่วนของก�ำไรขาดทุน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึง่ ถึงก�ำหนด จ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ ลูกหนี้ ลูกหนี้แสดงมูลค่าตามจ�ำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญส�ำหรับผลขาดทุน โดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์ อายุหนี้ สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงมูลค่าตามเกณฑ์ราคาทุน (วิธีเข้าก่อน - ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แสดงตามราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประกอบด้วยต้นทุนที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง ค่าเช่าที่ดินและดอกเบี้ย ที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ี่ใช้ในการได้มาหรือการก่อสร้างสินทรัพย์ทตี่ อ้ งใช้ระยะเวลานานในการท�ำให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้หรือ ขาย ได้ถกู น�ำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนั้ จะอยู่ในสภาพพร้อมทีจ่ ะใช้ได้ตามทีม่ งุ่ ประสงค์ ส่วนต้นทุน การกู้ยืมอื่นถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมนั้น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกมูลค่าเริม่ แรกของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนในราคาทุนซึง่ รวมต้นทุนการท�ำรายการ หลังจากนัน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสมและค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนค�ำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ 30 ปี ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมอยู่ในส่วนของก�ำไรขาดทุน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนระหว่างก่อสร้าง


212

รายงานประจำ�ปี 2558

4.9 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์แสดงตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ค�ำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ ดังต่อไปนี้ อาคารส�ำนักงานและสโมสร 5 ปี ถึง 20 ปี อาคารโรงแรม 5 ปี ถึง 47 ปี และตามอายุสัญญาเช่าคงเหลือ ส่วนปรับปรุงอาคารโรงแรม 2 ปี ถึง 30 ปี และตามอายุสัญญาเช่าคงเหลือ เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้สำ� นักงานและโรงแรม 2 ปี ถึง 20 ปี เครื่องมือและอุปกรณ์ 2 ปี ถึง 5 ปี ยานพาหนะ 2 ปี ถึง 8 ปี อื่นๆ 2 ปี ถึง 18 ปี

ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในส่วนของก�ำไรขาดทุน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯและบริษทั ย่อยตัดรายการทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมือ่ จ�ำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ จะรับรู้ ในส่วนของก�ำไรขาดทุนเมื่อบริษัทฯและบริษัทย่อยตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี 4.10 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) บริษัทฯและบริษัทย่อยตัดจ�ำหน่ายซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์อย่างมีระบบตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ 1-20 ปี และจะ ประเมินการด้อยค่าของซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์เมือ่ มีขอ้ บ่งชีว้ า่ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์เกิดการด้อยค่า บริษทั ฯและบริษทั ย่อย จะทบทวนระยะเวลาการตัดจ�ำหน่ายและวิธีการตัดจ�ำหน่ายของซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจ�ำหน่าย รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรขาดทุน 4.11 สิทธิการเช่าและค่าตัดจำ�หน่าย สิทธิการเช่าแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าตัดจ�ำหน่ายของสิทธิการเช่าค�ำนวณจากราคาทุนของสิทธิการเช่าโดยใช้วิธีเส้นตรงตามอายุสัญญาเช่า ค่าตัดจ�ำหน่ายรวมอยู่ในส่วนของก�ำไรขาดทุนและถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนโครงการส�ำหรับโครงการที่อยู่ระหว่างพัฒนา 4.12 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าแสดงตามมูลค่ายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์บันทึกในส่วน ของก�ำไรขาดทุน ข) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขายแสดงตามมูลค่ายุตธิ รรม การเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของหลักทรัพย์ดงั กล่าวบันทึก ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และจะบันทึกในส่วนของก�ำไรขาดทุนเมื่อได้จำ� หน่ายหลักทรัพย์นั้นออกไป ค) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทัว่ ไปซึง่ แสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเผือ่ การ ด้อยค่า (ถ้ามี) ง) เงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย


213 จ) เงินลงทุนในบริษัทย่อย การร่วมค้าและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุนสุทธิ จากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) มูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าและหลักทรัพย์เผื่อขาย) ค�ำนวณจาก ราคาเสนอซื้อหลังสุด ณ สิ้นวันท�ำการสุดท้ายของปีและมูลค่ายุติธรรมของหน่วยลงทุนค�ำนวณจากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของ หน่วยลงทุน บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักในการค�ำนวณต้นทุนของเงินลงทุน ในกรณีที่มีการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนจากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง บริษัทฯและบริษัทย่อยจะปรับมูลค่าของ เงินลงทุนดังกล่าวใหม่โดยใช้มลู ค่ายุตธิ รรม ณ วันที่โอนเปลีย่ นประเภทเงินลงทุน ผลแตกต่างระหว่างราคาตามบัญชีและมูลค่า ยุติธรรม ณ วันที่โอนจะบันทึกในส่วนของก�ำไรขาดทุนหรือแสดงเป็นองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นแล้วแต่ประเภทของ เงินลงทุนที่มีการโอนเปลี่ยน เมื่อมีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับกับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในส่วนของ ก�ำไรขาดทุน 4.13 การรวมธุรกิจ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกบัญชีสำ� หรับการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบตั ติ ามวิธซี อื้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อย (ผูซ้ อื้ ) วัดมูลค่าต้นทุน การซื้อธุรกิจด้วยผลรวมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ซึ่งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ และจ�ำนวนของส่วนของผู้ที่ไม่มี อ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ ในการรวมธุรกิจแต่ละครั้ง ผู้ซื้อจะวัดมูลค่าส่วนของผู้ที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม (ถ้ามี) ในผู้ถูกซื้อด้วย มูลค่ายุติธรรมหรือมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือโดยผู้ที่ไม่มีอำ� นาจควบคุมนั้น บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับการซือ้ ธุรกิจเป็นค่าใช้จา่ ยในงวดทีต่ น้ ทุนดังกล่าวเกิดขึน้ และเมือ่ ได้รบั บริการ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยมในราคาทุน ซึ่งเท่ากับต้นทุนการรวมธุรกิจส่วนที่สูงกว่ามูลค่า ยุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิที่ได้มา หากมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิที่ได้มาสูงกว่าต้นทุนการรวมธุรกิจ บริษทั ฯและบริษทั ย่อย จะรับรู้ส่วนที่สูงกว่านี้เป็นก�ำไรในส่วนของก�ำไรขาดทุนทันที 4.14 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯและบริษทั ย่อย หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี ำ� นาจควบคุมบริษทั ฯและบริษทั ย่อย หรือถูกบริษัทฯและบริษัทย่อยควบคุมไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯและ บริษัทย่อย นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อม ซึง่ ท�ำให้มอี ทิ ธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ผูบ้ ริหารส�ำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ที่มีอำ� นาจในการวางแผนและควบคุมการด�ำเนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย 4.15 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็น สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเี่ ช่าหรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิ ของจ�ำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มลู ค่าใดจะต�ำ่ กว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จา่ ยทางการเงินจะบันทึก เป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของก�ำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญา เช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่าหรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะต�่ำกว่า สัญญาเช่าทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ทคี่ วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็น สัญญาเช่าด�ำเนินงาน จ�ำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรง ตลอดอายุของสัญญาเช่า


214

รายงานประจำ�ปี 2558

4.16 เงินตราต่างประเทศ บริษัทฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รายการต่างๆ ของแต่ละกิจการที่รวมอยู่ในงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของแต่ละกิจการนั้น รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็น ตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในส่วนของก�ำไรขาดทุน ผลต่างของอัตราแลกเปลีย่ นทีเ่ กิดจากรายการทีเ่ ป็นตัวเงินซึง่ ถือได้วา่ เป็นส่วนหนึง่ ของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานในต่างประเทศ ของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จะรับรูผ้ ลต่างของอัตราแลกเปลีย่ นไว้แยกต่างหากในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ในงบการเงินรวมและจะจัด ประเภทจากส่วนของเจ้าของไปก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อมีการจ�ำหน่ายเงินลงทุนสุทธิดังกล่าว 4.17 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะท�ำการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ของบริษัทฯและบริษัทย่อย หากมีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูข้ าดทุนจากการด้อยค่าเมือ่ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน ของสินทรัพย์มีมูลค่าต�ำ่ กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุน ในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ บริษทั ฯ และบริษัทย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์และค�ำนวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่ก�ำลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯ ใช้แบบ จ�ำลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจ�ำนวนเงินที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจ�ำหน่าย สินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนในการจ�ำหน่าย โดยการจ�ำหน่ายนัน้ ผูซ้ อื้ กับผูข้ ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถ ต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของก�ำไรขาดทุน หากในการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ มีขอ้ บ่งชีท้ แี่ สดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทรี่ บั รูใ้ นงวดก่อน ได้หมดไปหรือลดลง บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ โดยรับรู้ไปยังส่วน ของก�ำไรขาดทุนทันที 4.18 ผลประโยชน์พนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯและบริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและ เงินที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของ บริษัทฯและบริษัทย่อย เงินที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระส�ำหรับเงินชดเชยทีต่ อ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึง่ บริษทั ฯและ บริษัทย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานส�ำหรับพนักงาน


215

บริษัทฯและบริษัทย่อยค�ำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระและฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยในต่างประเทศได้ทำ� การ ประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยส�ำหรับโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน จะรับรู้ทันทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรือ่ ง ผลประโยชน์ของพนักงาน เป็นครัง้ แรกในปี 2554 บริษทั ฯและบริษทั ย่อย เลือกรับรูห้ นีส้ นิ ในช่วงการเปลีย่ นแปลงทีม่ ากกว่าหนีส้ นิ ทีร่ บั รู้ ณ วันเดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิม โดยบันทึกเป็นค่าใช้จา่ ย ตามวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 5 ปี นับจากวันที่น�ำมาตรฐานการบัญชีนี้มาถือปฏิบัติ 4.19 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ประมาณการหนี้สินเมื่อมีภาระผูกพันในปัจจุบันซึ่งเกิดจากเหตุการณ์ในอดีตและมีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่นอนทีบ่ ริษทั ฯ จะสูญเสียทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพือ่ จ่ายช�ำระภาระผูกพันดังกล่าวและสามารถประมาณ มูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 4.20 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปจั จุบนั ตามจ�ำนวนทีค่ าดว่าจะจ่ายให้กบั หน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยค�ำนวณจาก ก�ำไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ โดยใช้อตั ราภาษีทมี่ ผี ลบังคับใช้ ณ วันสิน้ รอบ ระยะเวลารายงาน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูห้ นีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวทีต่ อ้ งเสียภาษีทกุ รายการ แต่รบั รูส้ นิ ทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ในจ�ำนวนเท่าที่มี ความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่ทบี่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะมีกำ� ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราว ที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้นั้น บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะ ท�ำการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดังกล่าว หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะไม่มีก�ำไรทางภาษีเพียง พอต่อการน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ หากภาษีทเี่ กิดขึน้ เกีย่ วข้องกับรายการ ที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น 4.21 ตราสารอนุพันธ์ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าแสดงไว้ในงบการเงินตามมูลค่ายุตธิ รรม ก�ำไรขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงจากการแปลงค่า เงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกในส่วนของก�ำไรขาดทุน


216

รายงานประจำ�ปี 2558

4.22 การวัดมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะได้รับจากการขายสินทรัพย์หรือเป็นราคาที่จะต้องจ่ายเพื่อโอนหนี้สินให้ผู้อื่น โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย (ผู้ร่วมในตลาด) ณ วันที่วัดมูลค่า บริษัทฯและ บริษทั ย่อยใช้ราคาเสนอซือ้ ขายในตลาดทีม่ สี ภาพคล่องในการวัดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ซึง่ มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่เกี่ยวข้องก�ำหนดให้ต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีตลาดที่มีสภาพคล่องส�ำหรับสินทรัพย์ หรือหนีส้ นิ ทีม่ ลี กั ษณะเดียวกันหรือไม่สามารถหาราคาเสนอซือ้ ขายในตลาดทีม่ สี ภาพคล่องได้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะประมาณ มูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ที่ เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด ล�ำดับชัน้ ของมูลค่ายุตธิ รรมที่ใช้วดั มูลค่าและเปิดเผยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ในงบการเงินแบ่งออกเป็นสามระดับ ตามประเภทของข้อมูลที่น�ำมาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1 ใช้ข้อมูลราคาเสนอซื้อขายของสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง ระดับ 2 ใช้ข้อมูลอื่นที่สามารถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางตรงหรือทางอ้อม ระดับ 3 ใช้ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประเมินความจ�ำเป็นในการโอนรายการระหว่างล�ำดับชั้นของมูลค่า ยุติธรรมส�ำหรับสินทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัดมูลค่ายุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจ�ำ

5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญ

ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่อง ที่มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและ ต่อข้อมูลทีแ่ สดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจแตกต่างไปจากจ�ำนวนทีป่ ระมาณการไว้ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการที่สำ� คัญมีดังนี้ การรวมงบการเงินของบริษัทย่อยที่กลุ่มบริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ฝ่ายบริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อยพิจารณาว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยมีอำ� นาจควบคุมในบริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ถึงแม้ว่าบริษัทย่อยจะถือหุ้นและมีสิทธิออกเสียงในบริษัทดังกล่าว ในสัดส่วนร้อยละ 40.62 (บริษทั ฯ ถือโดยตรงร้อยละ 1.70) ซึง่ เป็นสัดส่วนทีน่ อ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ทัง้ นี้ เนือ่ งจากบริษทั ฯและบริษทั ย่อย เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ เี สียงส่วนใหญ่และสามารถสัง่ การกิจกรรมทีส่ ำ� คัญของบริษทั ดังกล่าวได้ อีกทัง้ ผูถ้ อื หุน้ รายอืน่ เป็นผูถ้ อื หุน้ รายย่อยๆ เท่านั้น ดังนั้น บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย จึงถือเป็นบริษัทย่อย ของกลุ่มกิจการและต้องน�ำมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอ�ำนาจควบคุมในกิจการ ดังกล่าว การรวมธุรกิจ ในการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุได้ ซึ่งได้มา ณ วันซื้อหุ้นของบริษัทย่อย ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการก�ำหนดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ หนีส้ นิ และหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ดังกล่าวโดยใช้หลักเกณฑ์ แบบจ�ำลองของการประเมินมูลค่า ข้อมูล ข้อสมมติตา่ งๆ การประมาณการ รายงานของผูป้ ระเมินราคาอิสระและความเห็นจาก ทนายความ สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการ ประเมินเงือ่ นไขและรายละเอียดของสัญญาเพือ่ พิจารณาว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้โอนหรือรับโอนความเสีย่ งและผลประโยชน์ ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่


217

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่า จะเกิดขึน้ จากลูกหนี้แต่ละราย โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนีท้ คี่ งค้างและสภาวะเศรษฐกิจทีเ่ ป็นอยู่ ในขณะนั้น เป็นต้น มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินทีบ่ นั ทึกในงบแสดงฐานะการเงิน ที่ไม่มกี ารซือ้ ขายในตลาดและไม่สามารถ หาราคาได้ในตลาดซื้อขายคล่อง ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้เทคนิคและแบบจ�ำลองการประเมินมูลค่า ซึง่ ตัวแปรที่ใช้ในแบบจ�ำลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรทีม่ อี ยู่ในตลาด โดยค�ำนึงถึงความเสีย่ งทางด้านเครดิต (ทัง้ ของธนาคารฯ และคูส่ ญั ญา) สภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลีย่ นแปลง ของมูลค่าของเครือ่ งมือทางการเงินในระยะยาว การเปลีย่ นแปลงของสมมติฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับตัวแปรที่ใช้ในการค�ำนวณ อาจมี ผลกระทบต่อมูลค่ายุติธรรมที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน และการเปิดเผยล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายและเงินลงทุนทั่วไปเมื่อมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญและเป็นระยะเวลานานหรือเมื่อมีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่า การที่จะสรุปว่า เงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญหรือเป็นระยะเวลานานหรือไม่นั้นจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนและค่าเสื่อมราคา ในการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องท�ำการประมาณ อายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมือ่ เลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน และต้องทบทวน อายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือหากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในแต่ละ ช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนต�ำ่ กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั้ ในการนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น การประมาณต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ในการรับรูร้ ายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยต้องประมาณต้นทุนทัง้ หมดทีจ่ ะใช้ในการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ ซึง่ ประกอบด้วย ต้นทุนทีด่ นิ ต้นทุนการพัฒนาทีด่ นิ ต้นทุนค่าออกแบบและก่อสร้าง และต้นทุนการกูย้ มื เพือ่ ใช้ ในการก่อสร้างโครงการ ฝ่ายบริหารได้ประมาณการต้นทุนดังกล่าวขึน้ จากประสบการณ์ในการประกอบธุรกิจและจะทบทวนการ ประมาณการดังกล่าวเป็นระยะๆ หรือเมื่อต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงแตกต่างจากประมาณการอย่างมีสาระส�ำคัญ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทย่อย จะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสำ� หรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและขาดทุนทางภาษี ที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะมีก�ำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จาก ผลแตกต่างชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องประมาณการว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยควรรับรู้จ�ำนวน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นจ�ำนวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจ�ำนวนก�ำไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละ ช่วงเวลา ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งต้องอาศัย ข้อสมมติฐานต่างๆ ในการประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตรา การเปลี่ยนแปลงในจ�ำนวนพนักงาน เป็นต้น


218

รายงานประจำ�ปี 2558

คดีฟ้องร้อง บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึง่ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมินผล ของคดีที่ถูกฟ้องร้องแล้วและเชื่อมั่นว่าจะไม่มีความเสียหายเกิดขึ้นจึงไม่ได้บันทึกประมาณการหนี้สินดังกล่าว ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน

6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไป ตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 2558 2557

รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้จากการบริหารจัดการ ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ (หมายเหตุ 12.1.3 และ 12.1.4) รายได้อื่น ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายในการบริหารสโมสร ค่ารับเหมาก่อสร้างบ้านในโครงการ รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง ค่ารับเหมาก่อสร้างบ้านในโครงการ ค่าที่ปรึกษา

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

-

-

106 223 400

175 -

-

-

4 11 120

2 9 4 21

15 41 11

6 4

31 11

2

นโยบายการก�ำหนดราคา

ตามสัญญา ตามต้นทุนการกู้ยืม ตามอัตราที่ประกาศจ่าย ตามสัญญา ตามต้นทุนการกู้ยืม ตามสัญญา ตามสัญญา ตามสัญญา ตามสัญญา ตามสัญญา

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 7) บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (ผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย) รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (ผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย) รวมเงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 24) บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (ผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557

2558

2557

9,139 9,139

-

596,732 596,732

114,531 114,531

11,859 11,859

14,397 14,397

11,929 11,929

14,390 14,390

10,890

4,474

18,244 9,150

5,424 948


219 (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

10,890

4,474

27,394

6,372

เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงค้างของเงินให้กยู้ มื และเงินกูย้ มื ระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และการเคลือ่ นไหว ของเงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินให้กู้ยืมระยะยาว

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

เพิ่มขึ้น ระหว่างปี

ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษัท ไบร์ท ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษทั ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชัน่ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด Property Perfect International Pte. Ltd. บริษัท เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด Kiroro Resort Holding Co.,Ltd. รวม

774,994 246,199 1,683,560 100,000 60,000 1,013,165 17,330 3,895,248

245,000 608,000 295,000 301,482 133,000 200,000 1,782,482

(1,019,994) (219,931) (273,141) (10,000) (10,000) (1,533,066)

634,268 1,705,419 90,000 50,000 1,314,647 150,330 200,000 4,144,664 (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินกู้ยืมระยะสั้น

บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด รวม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

เพิ่มขึ้น ระหว่างปี

ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

175,000 175,000

197,000 197,000

(202,000) (202,000)

170,000 170,000

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีคา่ ใช้จา่ ยผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่กรรมการ และผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

144 7 151

84 8 92

72 5 77

56 7 63


220

รายงานประจำ�ปี 2558

ภาระค�้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีภาระจากการค�้ำประกันให้กับบริษัทย่อยในกลุ่มบริษัทตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 38.4 ก)

7. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจาก วันที่ถึงก�ำหนดช�ำระได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558

ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ รวมลูกหนี้การค้า, สุทธิ ลูกหนี้อื่น เงินทดรอง - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินปันผลค้างรับ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น, สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557

2558

2557

9,139

-

-

-

9,139

-

-

-

82,684

968

-

-

82,204 1,014 1,811 75,683 243,396 (78,817) 164,579 173,718

121,125 109 519 4,142 126,863 (2,183) 124,680 124,680

4,063 4,063 (4,063) -

4,113 4,113 (2,153) 1,960 1,960

5,924 78,168 84,092

26,851 39,900 66,751

33,229 125,342 38,161 400,000 596,732

14,829 98,772 930 30,000 144,531

257,810

191,431

596,732

146,491


221 8. ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดิน

ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดินมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

2558 ลูกหนีต้ วั๋ สัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดิน หัก: รายได้ดอกเบี้ยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ ลูกหนีต้ วั๋ สัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดินสุทธิ

2557

-

1,015,000

-

(59,260) 955,740

เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2557 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ลงนามในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับบริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ในราคา 1,700.0 ล้านบาท ซึง่ ได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ดังกล่าวเรียบร้อยแล้วและได้รบั ช�ำระเงินเป็นจ�ำนวน 700.0 ล้านบาท และตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 1,000.0 ล้านบาท โดยบริษัทฯ ได้รับตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 2 ฉบับ ฉบับละ 500.0 ล้านบาท บริษัทฯ บันทึกตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวนรวม 1,000.0 ล้านบาท คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ และแสดง ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าวตามมูลค่าที่จะได้รับในอนาคตสุทธิจากรายได้ดอกเบี้ยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ ในระหว่างปี บริษทั ฯ บันทึกรายได้ดอกเบีย้ จากรายการดังกล่าวจ�ำนวน 59.3 ล้านบาท ในส่วนของก�ำไรขาดทุน (2557: 14.3 ล้านบาท) ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้รับช�ำระค่าที่ดินทั้งหมดจากบริษัทข้างต้นเป็นจ�ำนวน 1,000.0 ล้านบาท และได้รับช�ำระค่าที่ดินจ�ำนวน 15.0 ล้านบาท จากบริษัทอีกแห่งหนึ่งเรียบร้อยแล้ว

9. สินค้าคงเหลือ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนให้ เป็นมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั

ราคาทุน

อาหารและเครื่องดื่ม สินค้าอื่นและวัสดุสิ้นเปลือง รวม

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

2558

2557

2558

2557

2558

2557

8,143 36,218 44,361

7,600 29,082 36,682

(2,327) (2,327)

(64) (1,539) (1,603)

8,143 33,891 42,034

7,536 27,543 35,079


222

รายงานประจำ�ปี 2558

10. ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558

ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่พัฒนาแล้ว ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างระหว่างพัฒนา รวม หัก: รายการปรับลดราคาทุนให้เป็นมูลค่าสุทธิ ที่จะได้รับ สุทธิ ต้นทุนการกู้ยืม อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุน (ร้อยละ) จดจ� ำ นองเพื่ อ เป็ น หลั ก ประกั นวงเงิ น สิ น เชื่ อ การค�้ำประกันและหุ้นกู้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557

2558

2557

6,049,894 15,673,725 21,723,619

4,148,850 13,427,925 17,576,775

3,751,355 9,498,241 13,249,596

1,754,228 9,104,233 10,858,461

(64,110) 21,659,509 572,483

(52,169) 17,524,606 464,353

(61,741) 13,187,855 441,701

(51,644) 10,806,817 339,260

3.85 - 6.78

4.70 - 7.38

5.26 - 5.51

4.70 - 7.38

15,968,621

13,937,281

9,404,126

8,075,306

รายการปรับลดราคาทุนให้เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ (โอนกลับ) แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

เพิ่มขึ้น โอนกลับ สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

15.4 (3.4) 12.0

9.4 (33.6) (24.2)

13.5 (3.4) 10.1

9.4 (33.5) (24.1)

ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวรวมห้องชุดของบริษทั ย่อยซึง่ มีมลู ค่าสุทธิตามบัญชีเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 11 ล้านบาท ที่เจ้าพนักงานบังคับคดีนำ� ยึด

11. เงินมัดจำ�การซื้อหุ้นสามัญและสินทรัพย์ ในบริษัทอื่น (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

เงินมัดจ�ำการซื้อหุ้นสามัญ เงินมัดจ�ำการซื้อสินทรัพย์ หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า สุทธิ

2558

2557

89,000 110,400 199,400 (149,400) 50,000

-


223 11.1 เงินมัดจำ�การซื้อหุ้นสามัญ เมือ่ วันที่ 31 พฤษภาคม 2553 บริษทั ย่อยได้ทำ� บันทึกข้อตกลงจะซือ้ จะขายหุน้ ของบริษทั แห่งหนึง่ เพือ่ ซือ้ หุน้ ของบริษทั ดังกล่าว และได้ช�ำระเงินมัดจ�ำการซื้อหุ้นจ�ำนวน 89 ล้านบาท ให้กับผู้ขายแล้ว ต่อมา เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556 บริษัทย่อยได้ ท�ำบันทึกข้อตกลงในการโอนสิทธิเรียกร้องเพื่อโอนสิทธิในการซื้อหุ้นของบริษัทดังกล่าวให้กับผู้รับโอนในราคา 105 ล้านบาท บริษทั ย่อยได้รบั เงินมัดจ�ำจากผูร้ บั โอนแล้วจ�ำนวน 10 ล้านบาท โดยผูซ้ อื้ ยังไม่ได้ชำ� ระเงินค่าโอนสิทธิสว่ นทีเ่ หลือให้แก่บริษทั ย่อย แม้ว่าจะได้รับการขยายระยะเวลาการช�ำระเงินหลายครั้งแล้วก็ตาม ในระหว่างปี บริษทั ย่อยได้ยกเลิกสัญญาดังกล่าวกับผูซ้ อื้ รายเดิมพร้อมกับริบเงินมัดจ�ำจ�ำนวน 10 ล้านบาท และได้โอนสิทธิดงั กล่าว ให้แก่ผู้ซื้อรายใหม่ในราคา 85 ล้านบาท โดยบริษัทย่อยได้รับเงินมัดจ�ำจากผู้ซื้อรายใหม่แล้วจ�ำนวน 10 ล้านบาท และจะได้รับ ช�ำระส่วนทีเ่ หลือภายในเดือนมีนาคม 2558 ต่อมา เมือ่ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 บริษทั ย่อยได้รบั เงินมัดจ�ำจากผูซ้ อื้ รายใหม่เพิม่ เติม จ�ำนวน 30 ล้านบาท 11.2 เงินมัดจำ�การซื้อสินทรัพย์ ยอดคงเหลือรวมเงินมัดจ�ำการซือ้ ห้องชุดจ�ำนวน 71 ห้อง ในอาคารชุดแห่งหนึง่ ในราคา 560 ล้านบาท ตามสัญญาจะซือ้ จะขาย ห้องชุดกับบริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 บริษัทย่อยได้ช�ำระเงินมัดจ�ำจ�ำนวน 100 ล้านบาท ให้กับผู้ขายแล้วในวันที่ท�ำสัญญา ปัจจุบัน บริษัทย่อยยังไม่ได้รับโอนกรรมสิทธิ์และช�ำระราคาส่วนที่เหลือ ณ วันทีบ่ ริษทั ฯ ซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ย่อย ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 12.1.1 ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ ร่วมกับฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยได้พิจารณาการโอนสิทธิ์ในข้อ 11.1 และเงินมัดจ�ำการซื้อสินทรัพย์ในข้อ 11.2 ดังกล่าวใหม่ อีกครั้งหนึ่ง และมีความเห็นว่าบริษัทย่อยสมควรที่จะขอยกเลิกการโอนสิทธิ์ดังกล่าวตามข้อ 11.1 และริบเงินมัดจ�ำ พร้อมทั้ง ระงับการด�ำเนินการใดๆ กับโครงการตามข้อ 11.2 เป็นการชัว่ คราว เพือ่ ความรอบคอบ ฝ่ายบริหารของบริษทั ย่อยจึงได้บนั ทึก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินมัดจ�ำดังกล่าวตามข้อ 11.1 (สุทธิจากเงินรับจากคู่สัญญา) และข้อ 11.2 ไว้เต็มจ�ำนวน

12. เงินลงทุนในบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) บริษัท

บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด บริษัท ยูแอนด์ไอ คอนสตรัคชั่น กรุงเทพ จ�ำกัด บริษัท เพอร์เฟค พรีแฟบ จ�ำกัด บริษัท ยูนิลอฟท์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด Property Perfect International Pte. Ltd. บริษัท เชียงใหม่ ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด บริษัท รามอินทรา มอลล์ จ�ำกัด รวม

ทุนเรียกช�ำระแล้ว 2558 2557

ราคาทุน 2558

2557

3,193,185

-

1,632,066

-

2,889,039 2,615,114 1,200,000 1,000,000 1,000,000 50,000 100,000 2,500 1,325 200,000 350,000

1,330,913 1,200,000 1,000,000 1,000,000 25,000 100,000 2,500 1,325 200,000 350,000

63,339 2,601,973 738,459 999,999 507,000 50,000 100,000 1,275 1,325 200,000 350,000 7,245,436

1,300,988 738,459 999,999 507,000 25,000 100,000 1,275 1,325 200,000 350,000 4,224,046


224

รายงานประจำ�ปี 2558

รายละเอียดของบริษัทย่อยซึ่งมีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุมที่มีสาระส�ำคัญ มีดังนี้

บริษัท

สัดส่วนที่ถือโดย ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม

2558

(ร้อยละ)

บริษทั แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) 61.881

2557

ขาดทุนที่แบ่งให้กับส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในบริษัทย่อย ในระหว่างงวด

ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม ในบริษัทย่อยสะสม

2558

2557

2558

2557

(ร้อยละ)

-

2,528

-

872

-

1

ค�ำนวณจากบริษทั ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อยถือหุน้ ร้อยละ 40.62 และบริษทั ฯถือหุน้ ร้อยละ 1.70 ในบริษทั แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) 2 ส�ำหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่มี ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมที่มีสาระส�ำคัญ ซึ่งเป็นข้อมูลก่อนการตัดรายการระหว่างกัน มีรายละเอียดดังนี้ สรุปรายการฐานะทางการเงิน (หน่วย: ล้านบาท) 2558

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน

2,242 5,129 1,961 1,324

สรุปรายการก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย: ล้านบาท) ส�ำหรับรอบระยะเวลาตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถนุ ายน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558

รายได้ ขาดทุน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

882 (141) (141)

สรุปรายการกระแสเงินสด (หน่วย: ล้านบาท) ส�ำหรับรอบระยะเวลาตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถนุ ายน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ

153 (133) 104 124


225 12.1 บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรง 12.1.1 บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) (“ไทยพร็อพ”) และ บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) (“แกรนด์แอสเสท”) เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติให้บริษัทฯถอนแบบค�ำขออนุญาตและแบบ แสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ได้ยื่นต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ อนุมัติให้เปลี่ยนแปลงวิธีการช�ำระสิ่งตอบแทนในการเข้าซื้อกิจการของไทยพร็อพและแกรนด์แอสเสท ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 บริษัทฯ ได้ท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมด ของไทยพร็อพ โดยมีระยะเวลาเสนอซื้อตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2558 ถึงวันที่ 5 มิถุนายน 2558 เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาเสนอซื้อ บริษัทฯ ได้ซื้อหุ้นสามัญเป็นจ�ำนวนรวม 2,863,274,022 หุ้น ในราคาหุ้นละ 0.57 บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 89.67 ของหุ้น ที่จำ� หน่ายได้แล้วทั้งหมดของไทยพร็อพ เป็นราคาซื้อขายรวมทั้งสิ้น 1,632.1 ล้านบาท ไทยพร็อพเป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิล�ำเนาในประเทศไทย ธุรกิจหลักของไทยพร็อพคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ หลักทรัพย์ของไทยพร็อพเป็นหลักทรัพย์ในกลุม่ บริษทั จดทะเบียนทีแ่ ก้ไขการด�ำเนินงานไม่ได้ตามก�ำหนด (Non-Performing Group) ทัง้ นี้ เนือ่ งจากการเข้าซือ้ กิจการของไทยพร็อพเป็นผลส�ำเร็จ บริษทั ฯ มีอำ� นาจควบคุมอย่างมีนยั ส�ำคัญใน แกรนด์แอสเสท ซึง่ เป็น บริษทั ย่อยของไทยพร็อพ (ไทยพร็อพถือหุน้ โดยตรงจ�ำนวนร้อยละ 5.09 และถือผ่านบริษทั เมโทร พรีเมียร์ โฮลดิง้ จ�ำกัด ซึง่ เป็น บริษัทย่อยของไทยพร็อพจ�ำนวนร้อยละ 35.53) ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนที่ ทจ. 12/2554 เรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบง�ำกิจการ (Chain Principle) บริษัทฯ จึงได้ท�ำค�ำเสนอซื้อหลักทรัพย์ ทั้งหมดของแกรนด์แอสเสท โดยมีระยะเวลาเสนอซื้อตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน 2558 ถึงวันที่ 22 กรกฎาคม 2558 เมื่อสิ้นสุด ระยะเวลาเสนอซื้อ บริษัทฯ ได้ซื้อหุ้นสามัญเป็นจ�ำนวนรวม 49,099,819 หุ้น ในราคาหุ้นละ 1.29 บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.70 ของหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของแกรนด์แอสเสท เป็นราคาซื้อขายรวมทั้งสิ้น 63.3 ล้านบาท ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ รวมการซื้อหุ้นสามัญของแกรนด์แอสเสทในการค�ำนวณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิตามสัดส่วนของบริษัทฯ ที่ลงทุน ในไทยพร็อพและแกรนด์แอสเสท ซึ่งรวมถึงได้รวมค�ำนวณสิ่งตอบแทนที่โอนให้ของการซื้อหุ้นสามัญของแกรนด์แอสเสทเป็น ส่วนหนึ่งของสิ่งตอบแทนรวมที่โอนให้ส�ำหรับการซื้อกิจการในครั้งนี้ จากการซื้อหุ้นดังกล่าวมีผลท�ำให้บริษัทฯ มีอำ� นาจในการควบคุมในไทยพร็อพและบริษัทย่อย ตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน 2558 อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้ประเมินว่า สินทรัพย์และหนี้สินของไทยพร็อพ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2558 และวันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ไม่แตกต่างกันอย่างมีสาระส�ำคัญ บริษัทฯ จึงถือเสมือนว่า ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 เป็นวันที่ได้อ�ำนาจการควบคุมในไทยพร็อพและบริษัทย่อย และจะเริ่มรวมผลการด�ำเนินงานของไทยพร็อพและบริษัทย่อยใน งบการเงินรวมของบริษัทฯ ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2558 เป็นต้นไป บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการให้มีการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา ณ วันที่ซื้อกิจการ โดยการ วัดมูลค่ายุติธรรมนี้ได้เสร็จสมบูรณ์แล้ว


226

รายงานประจำ�ปี 2558

มูลค่ายุติธรรมและมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 มีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) สินทรัพย์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กรมสรรพากร ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกันและข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ เงินมัดจ�ำการซื้อหุ้นสามัญและสินทรัพย์ในบริษัทอื่น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิทธิการเช่า สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ หนี้สิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย เงินมัดจ�ำรับ หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุทธิจากส่วนที่ ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี รายได้ค่าสิทธิการเช่ารับล่วงหน้า ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน สินทรัพย์สุทธิ หัก: ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุมตามสัดส่วน มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิตามสัดส่วนของบริษัทฯ

มูลค่ายุติธรรม

มูลค่าตามบัญชี

325,693 87,627 38,624 1,730,988 127,751 36,134 50,000 453,244 4,112,849 953,124 21,368 79,573 8,016,975

325,693 87,627 38,624 1,387,788 127,751 36,134 50,000 287,222 3,402,552 505,284 21,368 79,573 6,349,616

200,000 237,103 198,310 500,000 61,250 24,763 218,985 117,629

200,000 237,103 198,310 500,000 61,250 24,763 218,985 117,629

1,014,316 61,067 57,188 405,165 9,821 3,105,597 4,911,378 (2,686,018) 2,225,360

1,014,316 61,067 57,188 71,693 9,821 2,772,125 3,577,491


227

ผลประกอบการของไทยพร็อพและบริษัทย่อย ส�ำหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม 604,364 รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย 251,467 รายได้ค่าเช่าและบริการ 162,008 รายได้อื่น 22,339 ต้นทุนการประกอบกิจการโรงแรม (357,261) ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย (124,845) ต้นทุนการให้เช่าและบริการ (134,348) ค่าใช้จ่ายในการขาย (130,052) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (313,535) ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (33,496) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (289) ขาดทุนส�ำหรับงวด (53,648)

รายละเอียดการซื้อกิจการมีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) สิ่งตอบแทนที่โอนให้ (1) หัก: มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิตามสัดส่วนของบริษัทฯ (1) ก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม (1)

1,695,405 (2,225,360) (529,955)

รวมการซื้อหุ้นสามัญของแกรนด์แอสเสท

(หน่วย: พันบาท)

เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย

1,695,405

หัก: เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทย่อย ณ วันซื้อ

(325,693)

เงินสดจ่ายสุทธิจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย

1,369,712

ก่อนที่บริษัทฯ จะบันทึกก�ำไรจากการซื้อในราคาต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม บริษัทฯ ได้ท�ำการประเมินความถูกต้องของการระบุ สินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา โดยพิจารณาการระบุสินทรัพย์ที่ได้มาจากรายงานของผู้ประเมินราคาอิสระ 2 แห่ง และ พิจารณาหนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากคดีความ โดยได้รบั ความเห็นจากทนายความ ซึง่ บริษทั ฯ เชือ่ ว่าบริษทั ย่อยจะไม่มภี าระหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญทีจ่ ะเกิดขึน้ จากผลของคดีความ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าในการวัดมูลค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ ได้มกี ารพิจารณาข้อมูลทีม่ อี ยู่ ทัง้ หมด ณ วันทีซ่ อื้ อย่างเหมาะสม ดังนัน้ บริษทั ฯได้บนั ทึกก�ำไรจากการซือ้ ในราคาต�ำ่ กว่ามูลค่ายุตธิ รรมจ�ำนวน 530 ล้านบาท ในส่วนของก�ำไรขาดทุน ทั้งนี้ การซื้อหุ้นสามัญของไทยพร็อพในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรมเกิดขึ้นได้ เนื่องจากไทยพร็อพ อยูภ่ ายใต้กลุม่ บริษทั จดทะเบียนทีเ่ ข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนอันเนือ่ งมาจากปัญหาฐานะการเงินและการด�ำเนินงาน (Non Compliance and Non Performing Group: NC & NPG) ดังนั้น หุ้นของไทยพร็อพจึงอาจไม่มีสภาพคล่องในการซื้อขาย หากไทยพร็อพ ไม่สามารถน�ำหลักทรัพย์กลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ในอนาคต


228

รายงานประจำ�ปี 2558

12.1.2 บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน) (“วีรีเทล”) เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2558 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีของวีรีเทลได้มีมติที่สำ� คัญดังต่อไปนี้ ก) อนุมัติจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนของวีรีเทล จ�ำนวน 1,267,535,714 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.05 บาท โดยจัดสรร ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นเดิมถืออยู่ (Right Offering) ในอัตราจัดสรร 1 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ ในราคาเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนทีร่ าคา 1.10 บาท ต่อมาเมือ่ วันที่ 6 สิงหาคม 2558 วีรเี ทลได้กำ� หนดวันก�ำหนดรายชือ่ ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (Record Date) เป็นวันที่ 24 สิงหาคม 2558 และให้รวบรวมรายชื่อผู้ถือหุ้น โดยวิธีปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้น ในวันที่ 25 สิงหาคม 2558 ต่อมา วีรีเทลได้รับค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวเป็นจ�ำนวน 1,345,354,307 บาท (หุ้นสามัญ 1,223,049,370 หุ้น ราคา หุ้นละ 1.10 บาท) บริษัทฯ ได้ลงทุนเพิ่มเติมในหุ้นสามัญเพิ่มทุนของวีรีเทลเป็นจ�ำนวนเงินรวม 1,300,985,485.80 บาท (หุ้นสามัญ 1,182,714,078 หุ้น ราคาหุ้นละ 1.10 บาท) ตามสัดส่วนที่ถืออยู่เดิม อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นอื่นไม่ได้ซื้อหุ้น เพิ่มทุนดังกล่าวตามสัดส่วนที่ถืออยู่เดิม ท�ำให้สัดส่วนการลงทุนของบริษัทฯในวีรีเทลเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 93.31เป็นร้อย ละ 94.97 บริษัทฯได้บันทึกผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในวีรีเทลไว้ในองค์ประกอบอื่นภายใต้ส่วน ของผู้ถือหุ้นในงบการเงินรวม โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) เงินสดรับจากผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมส�ำหรับค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนของวีรีเทล 44,369 หัก ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของวีรีเทลที่ถูกปรับปรุง (47,482) ส่วนต�่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในวีรีเทล (3,113)

หุน้ สามัญเพิม่ ทุนส่วนทีเ่ หลืออีกจ�ำนวน 44,486,344 หุน้ วีรเี ทลอยูร่ ะหว่างการจัดสรรให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม (Right offering) และ/หรือ ให้แก่บุคคลในวงจ�ำกัด (Private Placement) เพื่อให้เป็นไปตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของวีรีเทล ข) อนุมัติจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนของวีรีเทล จ�ำนวน 2,000,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.05 บาท โดยจัดสรรให้ แก่บุคคลในวงจ�ำกัด (Private Placement) โดยบุคคลดังกล่าวจะไม่เป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับวีรีเทล โดยจะเสนอขาย เป็นคราวเดียวหรือแบ่งเป็นส่วนๆ เพือ่ เสนอขายเป็นคราวๆ ในราคาเสนอขายไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาด ปัจจุบนั วีรีเทลอยู่ระหว่างการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าว 12.1.3 บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด (“เอสเตท”) เมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2558 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการของเอสเตทได้มมี ติอนุมตั ิให้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาลจากผลการด�ำเนินงาน ในอดีตให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 300 ล้านบาท (อัตราหุ้นละ 2.50 บาท) เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2559 เอสเตท ได้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว 12.1.4 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (“ไบรท์”) เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการของไบรท์ได้มีมติอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลการด�ำเนินงาน ในอดีตให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 100 ล้านบาท (อัตราหุ้นละ 10 บาท) เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2559 ไบรท์ ได้จ่าย เงินปันผลดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว 12.1.5 บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (“เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ”) เมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม 2558 เพอร์เฟค สปอร์ตคลับได้เรียกช�ำระค่าหุน้ สามัญส่วนทีเ่ หลือ (ร้อยละ 55.56) เป็นจ�ำนวน 25 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 450,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) บริษัทฯ ได้ช�ำระค่าหุ้นดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว


229 12.2 บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้อม 12.2.1 Kiroro Resort Holdings Co., Ltd. (“KRH”) (ถือโดย Property Perfect International Pte. Ltd. (“PPI”)) ในเดือนมีนาคม 2557 PPI ได้ลงทุนเพิ่มเติมในหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ KRH เป็นจ�ำนวนเงิน 500 ล้านเยน (หุ้นสามัญจ�ำนวน 100,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5,000 เยน) โดยหักกลบกับเงินกูย้ มื ของ PPI ท�ำให้สดั ส่วน การลงทุนของ PPI ใน KRH เพิม่ ขึน้ จาก ร้อยละ 69.01 เป็นร้อยละ 95.61 บริษทั ฯ ได้บนั ทึกผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสัดส่วนการถือหุน้ ใน KRH จ�ำนวน 126.4 ล้านเยน (เทียบเท่า 38.9 ล้านบาท) ไว้ในองค์ประกอบอื่นภายใต้ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการของ KRH ได้มีมติที่สำ� คัญดังต่อไปนี้ ก) จัดตั้ง Kiroro Hotels Co., Ltd. เพื่อประกอบธุรกิจโรงแรม โดยมีทุนจดทะเบียน 30 ล้านเยน KRH มีสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 100 ในบริษัทดังกล่าว บริษัทดังกล่าวได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทแล้วในวันที่ 19 สิงหาคม 2558 ข) อนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 2,500 ล้านเยน โดยเรียกช�ำระครั้งแรกเป็นจ�ำนวนเงิน 1,048.7 ล้านเยน PPI และ ผู้ถือหุ้นอื่นได้ลงทุนเพิ่มเติมในหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ KRH ตามสัดส่วนที่ถืออยู่เดิม ท�ำให้สัดส่วนการลงทุนของ PPI ใน KRH ไม่เปลี่ยนแปลง และมีสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 95.61 ต่อมาในเดือนมกราคม 2559 PPI ได้ลงทุนเพิ่มเติมในหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ KRH ตามสัดส่วนที่ถืออยู่เดิมเป็นจ�ำนวนเงิน 499.1 ล้านเยน ตามมติทกี่ ล่าวไว้ในข้อ ข) และได้ลงทุนเพิม่ เติมในหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของ KRH เป็นจ�ำนวนเงิน 500.0 ล้านเยน (หุ้นสามัญจ�ำนวน 100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 5,000 เยน) โดยหักกลบกับเงินกู้ยืมของ PPI ท�ำให้สัดส่วนการลงทุนของ PPI ใน KRH เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 95.61 เป็นร้อยละ 97.27 13. เงินลงทุนในบริษัทร่วม เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ ได้ขายหุ้นของบริษัทร่วมให้กับบริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งและบันทึกก�ำไรจากการ ขายหุน้ เป็นจ�ำนวนเงิน 77.3 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 360.0 ล้านบาท) โดยแยกแสดงเป็นรายการต่างหากอยูภ่ ายใต้ หัวข้อ “ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม” ในส่วนของก�ำไรขาดทุนส�ำหรับปี 2557 บริษัทฯ บันทึกส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมในส่วนของก�ำไรขาดทุนรวมส�ำหรับปี 2557 (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 จนถึงวันที่ 12 ธันวาคม 2557) เป็นจ�ำนวนเงิน 60.0 ล้านบาท 14. เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในการร่วมค้าซึ่งเป็นเงินลงทุนในกิจการที่บริษัทฯและบริษัทอื่นควบคุมร่วมกันมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) กิจการที่ควบคุมร่วมกัน

บริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จ�ำกัด

งบการเงินรวม มูลค่าตามบัญชีตามวิธีส่วนได้เสีย 2558 2557

128,184

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน 2558 2557

130,000

-

เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติให้สัตยาบันร่วมลงทุนในบริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จ�ำกัด เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยมีทุนจดทะเบียน 400 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 40,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 10 บาท (เรียกช�ำระแล้วร้อยละ 50)) บริษัทดังกล่าวได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทแล้วในวันที่ 7 กันยายน 2558 และบริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 65 ในบริษัทดังกล่าว บริษทั ฯ บันทึกส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้าในส่วนของก�ำไรขาดทุนรวมส�ำหรับปี 2558 (ตัง้ แต่วนั ที่ 7 กันยายน 2558 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558) เป็นจ�ำนวนเงิน 1.8 ล้านบาท


230

รายงานประจำ�ปี 2558

15. เงินลงทุนระยะยาวอื่น (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ หัก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า เงินลงทุนทั่วไป ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดในประเทศ หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ

2558

2557

108,000 (8,606) 99,394

109,670 (7,448) 102,222

4,275 (2,550) 1,725 101,119

4,275 -

4,275 106,497

16. ที่ดินรอการพัฒนา

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ที่ดินรอการพัฒนา หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ จดจ� ำ นองเพื่ อ เป็ น หลั ก ประกั นวงเงิ น สิ น เชื่ อ การค�้ำประกันและหุ้นกู้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

5,962,925 (67,042) 5,895,883

4,525,184 (72,133) 4,453,051

4,393,257 (62,547) 4,330,710

3,512,596 (67,803) 3,444,793

982,801

2,179,154

391,020

1,377,359

ค่าเผื่อการด้อยค่า (โอนกลับ) แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

เพิ่มขึ้น โอนกลับ สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

0.2 (5.3) (5.1)

0.9 (22.5) (21.6)

(5.3) (5.3)

0.9 (22.5) (21.6)


231 17. เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ ตามสัญญาจะซือ้ จะขายที่ดิน(1) เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินให้กับตัวแทนใน การรวบรวมซื้อที่ดิน รวม (1) มูลค่าสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

480,994

335,302

342,800

260,722

197,000 677,994 2,908,513

109,335 444,637 2,851,014

195,000 537,800 2,023,016

109,335 370,057 2,415,259

18. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ศูนย์การค้าและพื้นที่ เชิงพาณิชย์ให้เช่า

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558: ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557: ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ

อาคารส�ำนักงานให้เช่า

ศูนย์การค้าและพื้นที่ เชิงพาณิชย์ระหว่าง พัฒนา

795,538 (11,443) 784,095

402,654 (64,301) 338,353

1,164,421

2,362,613 (75,744) 2,286,869

476,898 (249)

-

1,063,745 1,063,745

1,540,643 (249) 1,540,394

476,649

1,164,421

รวม

-


232

รายงานประจำ�ปี 2558

การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนส�ำหรับปี 2558 และ 2557 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

มูลค่าตามบัญชีต้นปี เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทย่อย ซื้อสินทรัพย์ รับโอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิทธิการเช่าตัดจ�ำหน่ายที่ถือเป็นต้นทุน ต้นทุนการกู้ยืม(1) เพิ่มขึ้นจากการบันทึกค่าเช่าที่ดินค้างจ่าย ค่าเสื่อมราคา มูลค่าตามบัญชีปลายปี

2558 1,540,394 453,244 184,844 343 27,030 96,730

2557 967,145 407,257 27,609 77,144

59,779

61,488

(75,495)

(249)

2,286,869

1,540,394

(1)อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนร้อยละ 4.77 ถึง 10.48 ต่อปี

มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ให้เช่า1 อาคารส�ำนักงานให้เช่า2

2558 863,000 541,562

2557 659,740 -

1 รวมมูลค่ายุติธรรมของสิทธิการเช่าซึ่งมีมูลค่าสุทธิตามบัญชีเท่ากับ 107.7 ล้านบาท (2557: 111.4 ล้านบาท) 2

รวมมูลค่ายุติธรรมของสิทธิการเช่าซึ่งมีมูลค่าสุทธิตามบัญชีเท่ากับ 113.3 ล้านบาท

มูลค่ายุติธรรมดังกล่าวประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้เกณฑ์วิธีพิจารณาจากรายได้ (Income Approach) ส�ำหรับ ศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ให้เช่าและอาคารส�ำนักงานให้เช่า ข้อสมมติฐานหลักที่ใช้ในการประเมินราคาศูนย์การค้าและ พื้นที่เชิงพาณิชย์และอาคารส�ำนักงานให้เช่าดังกล่าวประกอบด้วย อัตราผลตอบแทน อัตราเงินเฟ้อ อัตราพื้นที่ว่างระยะยาว และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า โครงการศูนย์การค้าและพื้นที่เชิงพาณิชย์ ให้เช่าที่อยู่ระหว่างพัฒนา บริษัทย่อยคาดว่าจะสามารถประมาณมูลค่ายุติธรรม ได้อย่างน่าเชื่อถือเมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จ บริษัทย่อยได้นำ� อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนมูลค่าสุทธิตามบัญชี จ�ำนวนประมาณ 322.6 ล้านบาท (2557: 459.0 ล้านบาท) ไปค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อที่ได้รับจากสถาบันการเงิน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนของบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ตัง้ อยูบ่ นทีด่ นิ เช่าซึง่ มีคดีความอยู่ ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 38.5 ช)


ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2557 เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทย่อย ต้นทุนการกู้ยืม ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) โอนไปต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ ลงทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2558

19. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

294,102 294,102 (23,991) (79,586) 190,525

142,364 (5,838) 136,526 796,371 (14,014) -

(41,291)

3,837 881,429

ที่ดิน

อาคาร ส�ำนักงาน และสโมสร

29,615 2,529,813

-

357,963 1,633 (44,825) 314,771 1,978,762 179,825 (5,175) 32,015

อาคารโรงแรม

13,584 392,301

-

145,059 17,774 (322) (18,129) 144,382 95,625 70,384 (2,585) 70,911

ส่วนปรับปรุง อาคาร โรงแรม

25,380 894,237

-

540,674 51,549 (9,215) 907 (34,397) 549,518 205,619 220,177 (168,335) 61,878

193,264

-

206,484 1,164 (6,720) 200,928 4,024 (12,052) 364

งบการเงินรวม เครื่องตกแต่งและ เครื่องใช้ส�ำนักงาน เครื่องมือและ และโรงแรม อุปกรณ์

1,820 94,738

-

63,328 2,192 (6,499) (2,579) 56,442 15,726 28,559 (7,809) -

ยานพาหนะ

(343) 4,580 1,065,287

(142)

22,708 30,092 (907) (2,778) 49,115 1,007,585 12,273 163,144 (170,925)

งานระหว่าง ก่อสร้าง

1,969 52,009

-

3,092 17,957 (411) 20,638 13,161 13,056 (2,572) 5,757

อื่น ๆ

(343) 80,785 6,293,603

(121,019)

1,775,774 122,361 (22,756) (108,957) 1,766,422 4,112,849 12,273 679,169 (236,533) -

รวม

(หน่วย: พันบาท)

233


อาคารโรงแรม

ส่วนปรับปรุง อาคาร โรงแรม

ค่าเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2557 200,748 18,527 18,218 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 19,124 14,773 14,797 ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จ�ำหน่าย โอนไปต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน (3,960) (3,905) 31 ธันวาคม 2557 219,872 29,340 29,110 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 10,197 85,283 34,625 ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จ�ำหน่าย (18,700) (357) (1,107) โอนไปต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ (70,372) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 3,659 3,613 31 ธันวาคม 2558 140,997 117,925 66,241 ค่าเผื่อการด้อยค่า 1 มกราคม 2557 5,396 3,704 31 ธันวาคม 2557 5,396 3,704 เพิ่มขึ้น 35,037 699 31 ธันวาคม 2558 40,433 4,403 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2557 131,130 70,526 285,431 115,272 31 ธันวาคม 2558 840,996 45,125 2,411,888 326,060 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 2557 (45.9 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขาย ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2558 (190.0 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขาย ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร)

ที่ดิน

อาคาร ส�ำนักงาน และสโมสร

71,755 25,991 (3,482) 2,888 97,152 25,813 (12,028) 2,747 113,684 103,776 79,580

353,046 46,704 (8,671) 6 (23,501) 367,584 96,612 (161,783) 16,738 319,151 311 311 181,934 574,775

งบการเงินรวม เครื่องตกแต่งและ เครื่องใช้ส�ำนักงาน เครื่องมือและ และโรงแรม อุปกรณ์

7,577 45,410

-

1,639 49,328

(2,450) 48,865 6,068 (7,244)

54,703 3,072 (6,460)

ยานพาหนะ

-

-

-

-

49,115 1,065,287

งานระหว่าง ก่อสร้าง

18,438 46,925

-

403 5,084

(292) 2,200 5,055 (2,574)

1,183 1,309 -

อื่น ๆ

125,770 263,653

963,199 5,436,046

9,100 9,100 36,047 45,147

(67,625) 26,052 812,410

2,894 (34,108) 794,123 263,653 (203,793)

718,180 125,770 (18,613)

รวม

(หน่วย: พันบาท)

234 รายงานประจำ�ปี 2558


ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) 31 ธันวาคม 2557 ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) โอนไปต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จ�ำหน่าย โอนไปต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ 31 ธันวาคม 2558 251,215 251,215 (23,389) (79,586) 148,240 175,083 15,173 190,256 6,166 (18,098) (70,373) 107,951

95,738 95,738 (14,014) (41,291) 40,433 -

ที่ดิน

อาคารส�ำนักงาน และสโมสร

128,711 19,856 (75) 148,492 20,001 (79,397) 89,096

182,544 9,318 (99) 907 192,670 15,574 (79,461) 7,208 135,991 27,056 1,245 (4,424) 23,877 1,168 (175) 24,870

31,113 602 (4,425) 27,290 360 (175) 27,475

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแต่งและ เครื่องใช้ส�ำนักงาน ยานพาหนะ

-

390 517 (907) 8,373 (7,208) 1,165

งานระหว่าง ก่อสร้าง

19,163 262 19,425 503 (3,671) 16,257

20,037 20,037 3,177 (3,673) 19,541

อื่น ๆ

350,013 36,536 (4,499) 382,050 27,838 (101,341) (70,373) 238,174

581,037 10,437 (4,524) 586,950 27,484 (120,712) (120,877) 372,845

รวม

(หน่วย: พันบาท)

235


3,704 3,704 699 4,403 57,255 35,886

5,396 5,396 35,037 40,433 90,342 -

44,178 46,584

311 311 3,413 2,605

1,165

-

งานระหว่าง ก่อสร้าง

612 3,284

อื่น ๆ

36,536 27,838

195,800 89,524

9,100 9,100 36,047 45,147

รวม

ในระหว่างปี บริษัทย่อยได้รวมต้นทุนการกู้ยืมเข้าเป็นต้นทุนของโครงการแห่งหนึ่งของบริษัทย่อย โดยค�ำนวณจากอัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนซึ่งเป็นอัตราถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของเงินกู้ในอัตรา ร้อยละ 3.850 ถึง 7.125 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ย่อยมียอดคงเหลือของยานพาหนะและอุปกรณ์ซงึ่ ได้มาภายใต้สญั ญาเช่าซือ้ และสัญญาเช่าทางการเงิน โดยมีมลู ค่าสุทธิตามบัญชีเป็นจ�ำนวนเงิน 38 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จำ� นวนหนึง่ ซึง่ ตัดค่าเสือ่ มราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีกอ่ นหักค่าเสือ่ มราคาสะสมและค่าเผือ่ การด้อยค่า ของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจ�ำนวนเงินประมาณ 1,142.3 ล้านบาท (2557: 416.6 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 112.5 ล้านบาท (2557: 208.6 ล้านบาท))

ค่าเผื่อการด้อยค่า 1 มกราคม 2557 31 ธันวาคม 2557 เพิ่มขึ้น 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปีซึ่งรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2557 2558

ที่ดิน

อาคารส�ำนักงาน และสโมสร

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแต่งและ เครื่องใช้ส�ำนักงาน ยานพาหนะ

(หน่วย: พันบาท)

236 รายงานประจำ�ปี 2558


237

บริษัทย่อยได้นำ� ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างไปค�ำ้ ประกันวงเงินสินเชื่อที่ได้รับจากสถาบันการเงินสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

2558

2557

3,431.5

-

อาคารโรงแรมของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ดินเช่าซึ่งมีคดีความอยู่ ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 38.5 ช)

20. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ (หน่วย: พันบาท) ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื้อเพิ่ม ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2557 เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทย่อย ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2558 ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2557 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับส่วนที่จ�ำหน่าย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 2557 (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2558 (งบการเงินรวม: 4.4 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขาย ส่วนที่เหลือ รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร (งบการเงินเฉพาะกิจการ: รวมอยู่ ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร))

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

13,282 2,019 (862) 14,439 27,261 28,122 (2,903) 1,475 68,394

7,531 732 8,263 5,240 13,503

5,225 2,593 (419) 7,399 7,111 (2,554) 214 12,170

3,243 1,039 4,282 1,501 5,783

7,040 56,224

3,981 7,720

2,593

1,039

7,111

1,501


238

รายงานประจำ�ปี 2558

21. สิทธิการเช่า (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื้อเพิ่ม รับโอนจากเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน 31 ธันวาคม 2557 เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทย่อย 31 ธันวาคม 2558 ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2557 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2558 ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 2557 2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ

1,569,324 6,194 62,730 1,638,248 953,124 2,591,372

92,000 92,000 92,000

90,079 45,217 135,296 115,627 250,923

51,971 3,211 55,182 3,211 58,393

189,844 189,844

-

1,313,108 2,150,605

36,818 33,607

45,217 115,627

3,211 3,211

ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปีที่บันทึกอยู่ในงบการเงินแสดงรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

27.0 58.5 30.1

27.6 17.6

3.2

3.2

115.6

45.2

3.2

3.2


ระยะเวลาการเช่า

คู่สัญญา

บุคคลธรรมดา บริษัทแห่งหนึ่ง

วันที่ในสัญญา

8 เมษายน 2553 23 สิงหาคม 2555

26 ปี 8 เดือน 30 ปี

อายุสัญญาเช่า

8 เมษายน 2553 ถึง 31 ธันวาคม 2579 1 มกราคม 2558 ถึง 31 ธันวาคม 2587

ระยะเวลาการเช่า

ค่าเช่าตลอดอายุ สัญญาเช่า

(ล้านบาท) 249.6 1,785.0

(ล้านบาท) 129.0 740.5

ก)

(ล้านบาท) 378.6 2,525.5

จ�ำนวนเงินทั้งสิ้นตาม สัญญาเช่า

(ล้านบาท) 141.2 33.3

หมายเหตุ

(ล้านบาท) 63.0

จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น ตามสัญญาเช่า

จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น ตามสัญญาเช่า

ค่าตอบแทนการเช่า

บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด

(ล้านบาท) 113.7 23.8

(ล้านบาท) 27.5 9.5

ค่าเช่าตลอดอายุ สัญญาเช่า

(ล้านบาท) 36.0

(ล้านบาท) 27.0

ค่าตอบแทนการเช่า

ค่าเช่าตลอดอายุ สัญญาเช่า

ค่าตอบแทนการเช่า

ก) ตามที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าที่ดิน จะไม่มีการเรียกเก็บค่าเช่าระหว่างระยะเวลาก่อสร้าง 2 ปี นับตั้งแต่ 1 เมษายน 2556 ถึง 31 มีนาคม 2558

1 เมษายน 2558 ถึง 31 มีนาคม 2588 1 มิถนุ ายน 2556 ถึง 31 พฤษภาคม 2586

ระยะเวลาการเช่า

1 สิงหาคม 2539 ถึง 1 สิงหาคม 2569

อายุ สัญญาเช่า

30 ปี

อายุสัญญาเช่า

22 พฤษภาคม 2556 ส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ 30 ปี 30 พฤษภาคม 2556 บุคคลธรรมดา 30 ปี

วันที่ในสัญญา

คู่สัญญา

บุคคลธรรมดา

23 กรกฎาคม 2540

บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน)

คู่สัญญา

วันที่ในสัญญา

สิทธิการเช่ามีรายละเอียดดังนี้ บริษัทฯ

239


คู่สัญญา

33 ปี 30 ปี

อายุสัญญาเช่า

9 เมษายน 2556 ถึง 31 มีนาคม 2589 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 มกราคม 2590

ระยะเวลาการเช่า

คณะบุคคล

17 เมษายน 2535

30 ปี

อายุสัญญาเช่า

บริษัทแห่งหนึ่ง

30 พฤศจิกายน 2531

คู่สัญญา

กระทรวงการคลัง

วันที่ในสัญญา

2 พฤศจิกายน 2548

บริษัท โอเวนเดล จ�ำกัด

คู่สัญญา

วันที่ในสัญญา

บริษัท แปซิฟิค เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด

27 ปี 2 เดือน

อายุสัญญาเช่า

30 ปี

อายุสัญญาเช่า

11 สิงหาคม 2548 ถึง 7 พฤศจิกายน 2575

ระยะเวลาการเช่า

ค่าเช่าตลอดอายุ สัญญาเช่า

(ล้านบาท) 120.0

ค่าตอบแทนการเช่า

(ล้านบาท) 499.4

(ล้านบาท) -

(ล้านบาท) 75.4

(ล้านบาท) 187.8

ค่าเช่าตลอดอายุ สัญญาเช่า

(ล้านบาท) 102.0

(ล้านบาท) 85.8

จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น ตามสัญญาเช่า

529.4 205.1

(ล้านบาท)

ง)

หมายเหตุ

ข) ค)

หมายเหตุ

(ล้านบาท) 619.4

จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น ตามสัญญาเช่า

(ล้านบาท) 75.4

จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น ตามสัญญาเช่า

จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น ตามสัญญาเช่า

ค่าตอบแทนการเช่า

ค่าเช่าตลอดอายุ สัญญาเช่า

ค่าตอบแทนการเช่า

1 กุมภาพันธ์ 2532 ถึง 31 มกราคม 2562

ระยะเวลาการเช่า

17 เมษายน 2535 ถึง 16 เมษายน 2565

ระยะเวลาการเช่า

ง) สิทธิการเช่าบนที่ดินซึ่งมีคดีความอยู่ ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38.5 ช)

คู่สัญญา

วันที่ในสัญญา

บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)

302.4 172.1

(ล้านบาท)

(ล้านบาท) 227.0 33.0

ค่าเช่าตลอดอายุ สัญญาเช่า

ค่าตอบแทน การเช่า

ข) ตามที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าที่ดิน จะไม่มีการเรียกเก็บค่าเช่าระหว่างระยะเวลาก่อสร้าง 2 ปี นับตั้งแต่ 9 เมษายน 2556 ถึง 31 มีนาคม 2558 ค) ตามที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าที่ดิน จะไม่มีการเรียกเก็บค่าเช่าระหว่างระยะเวลาก่อสร้างนับตั้งแต่ 24 กันยายน 2557 ถึง 31 มกราคม 2560

9 เมษายน 2556 และ 26 สิงหาคม 2557 (ขยายอายุ) บุคคลธรรมดา 24 กันยายน 2557 บุคคลธรรมดา

วันที่ในสัญญา

บริษัท รามอินทรา มอลล์ จ�ำกัด

240 รายงานประจำ�ปี 2558


241 22. เงินค่าประกันความเสียหาย

ในเดือนตุลาคม 2547 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้เข้าท�ำสัญญารับประกันความเสียหายอันอาจจะเกิดขึน้ กับอาคารโรงแรมของกิจการ ที่ไม่เกีย่ วข้องกันแห่งหนึง่ จากการก่อสร้างโครงการของบริษทั ย่อยดังกล่าว และจ่ายเงินประกันความเสียหายให้กบั บริษทั ดังกล่าว เป็นจ�ำนวนเงิน 170 ล้านบาท จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทย่อยได้รับเงินค่าประกันความเสียหายบางส่วนจ�ำนวน 136 ล้านบาท (2557: 124 ล้านบาท) คืนจากบริษัทดังกล่าว

23. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

บริษัทฯ เงินกู้ยืมระยะสั้นมีอัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เบิกเกินบัญชีขั้นต�่ำ (MOR) และจะครบก�ำหนดช�ำระภายใน เดือนพฤษภาคม 2559 และค�ำ้ ประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของบริษัทฯ บริษัทย่อย เงินกู้ยืมระยะสั้นมีอัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เบิกเกินบัญชีขั้นต�่ำ (MOR) และจะครบก�ำหนดช�ำระภายใน เดือนมีนาคมและพฤษภาคม 2559 และค�้ำประกันโดยบริษัทฯ และการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของบริษัทย่อย

24. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม

เจ้าหนี้การค้า - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ค่าที่ดิน เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน ดอกเบี้ยค้างจ่าย - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

10,890 1,440,207 385,960 10,963 164,200 90,824 786,376 82,635 2,972,055

4,474 1,518,060 10,479 96,636 63,073 517,710 78,918 2,289,350

27,074 885,559 385,960 79,417 320 90,050 269,822 1,738,202

1,006 898,051 36,386 5,366 59,089 246,080 7,200 1,253,178

25. เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน

บริษัทฯ ตั๋วแลกเงินมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.10 - 4.50 ต่อปี และจะครบก�ำหนดช�ำระคืนภายในเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม 2559 โดยไม่มีหลักทรัพย์คำ�้ ประกัน บริษัทย่อย ตัว๋ แลกเงินมีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.78 - 4.90 ต่อปี และจะครบก�ำหนดช�ำระคืนภายในเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม 2559 โดยไม่มีหลักทรัพย์คำ�้ ประกัน


242

รายงานประจำ�ปี 2558

26. หุ้นกู้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ

หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2555 ชุดที่ 2 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2555 หุ้นกู้ระยะสั้นชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2557 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2556 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2557 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2557 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2558 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2558 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 3/2558 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 4/2558 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 5/2558 รวมหุ้นกู้ - สุทธิจากค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้ หัก: ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี

2558

2557

2,200,000 2,400,000 2,392,705 2,491,595 2,988,340 109,679 2,987,682 15,570,001 (4,600,000) 10,970,001

1,999,243 2,979,472 2,000,000 2,000,000 2,200,000 2,400,000 13,578,715 (8,978,715) 4,600,000

เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยครั้งที่ 1/2558 ได้มีมติอนุมัติให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ มูลค่ารวมของหุ้นกู้ : วงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท ชนิด : หุ้นกู้ทุกประเภทและทุกรูปแบบ สกุลเงิน : เงินบาท และ/หรือเงินสกุลต่างประเทศ อายุ : ไม่เกิน 5 ปี นับตั้งแต่วันออกหุ้นกู้ในแต่ละคราว การเสนอขาย : เสนอขายหุ้นกู้ในคราวเดียว และ/หรือหลายคราว และ/หรือเป็นโครงการ และ/หรือในลักษณะ หมุนเวียน โดยจะท�ำการเสนอขายหุน้ กูด้ งั กล่าวในประเทศ และ/หรือในต่างประเทศให้แก่ผลู้ งทุนทัว่ ไป และ/หรือผู้ลงทุนเฉพาะเจาะจง และ/หรือผู้ลงทุนสถาบันในประเทศ และ/หรือผู้ลงทุนสถาบันใน ต่างประเทศ และ/หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ในคราวเดียวเต็มจ�ำนวนหรือหลายคราว การไถ่ถอนก่อนก�ำหนด : ผู้ถือหุ้นกู้และบริษัทย่อยอาจมีหรือไม่มีสิทธิขอไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนก�ำหนด ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม ข้อตกลงและเงื่อนไขในการออกหุ้นกู้ในแต่ละคราว อัตราดอกเบี้ย : ขึน้ อยูก่ บั สภาวะตลาดในขณะทีอ่ อกและเสนอขายหุน้ กูห้ รือตามข้อตกลงและเงือ่ นไขของหุน้ กูท้ อี่ อก ในคราวนั้นๆ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทย่อยหรือผู้ที่ได้รับมอบอ�ำนาจมีอ�ำนาจในการก�ำหนดรายละเอียดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหุ้นกู้ ในส่วนที่ยังไม่ได้ก�ำหนดตามที่เห็นสมควร ต่อมา เมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 บริษทั ย่อยได้ออกขายหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิชนิดไม่มหี ลักประกันจ�ำนวน 700 ล้านบาท โดยมีอายุ 2 ปี 11 เดือน 28 วัน นับจากวันออกหุ้นกู้ และมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.70 ต่อปี และมีกำ� หนดช�ำระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน


2,200,000 2,400,000 2,400,000 2,500,000 3,000,000 110,000 3,000,000

หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2557 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2557 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2558 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2558 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 3/2558 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 4/2558 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 5/2558

1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000

มูลค่าที่ตราไว้ ต่อหน่วย (บาท)

2,200,000 2,400,000 2,400,000 2,500,000 3,000,000 110,000 3,000,000

มูลค่ารวม (พันบาท)

1 สิงหาคม 2557 1 ตุลาคม 2557 12 มีนาคม 2558 21 พฤษภาคม 2558 20 สิงหาคม 2558 22 ตุลาคม 2558 5 พฤศจิกายน 2558

วันออกตราสารหนี้

1.5 ปี 2 ปี 2.5 ปี 2.5 ปี 3 ปี 2 ปี 3.5 ปี

อายุของ ตราสารหนี้

1 กุมภาพันธ์ 2559 1 ตุลาคม 2559 12 กันยายน 2560 21 พฤศจิกายน 2560 20 สิงหาคม 2561 5 พฤศจิกายน 2560 5 พฤษภาคม 2562

วันครบก�ำหนด ไถ่ถอน

5.80 5.90 5.50 5.20 5.15 4.25 5.50

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

6,306,978 (597,481) 5,709,497

4,293,614 (747,145) 3,546,469

2557

3,412,771 (504,183) 2,908,588

2558

2557

2,533,258 (381,764) 2,151,494

งบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัทฯ เงินกู้ยืมระยะยาวประกอบด้วย 17 วงเงิน จากสถาบันการเงินในประเทศ 4 แห่ง โดยมีอัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต�ำ ่ (MLR) และมีเงื่อนไขในการช�ำระคืนเงินต้นไม่ต�่ำกว่า ร้อยละ 60 ถึง 80 ของราคาขายเมือ่ มีการปลอดจ�ำนองบ้านและทีด่ นิ และคอนโดมิเนียม และจะครบก�ำหนดช�ำระภายในเดือน มิถนุ ายน 2559 ถึง พฤศจิกายน 2563 เงินกูย้ มื ดังกล่าวค�ำ้ ประกัน โดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของบริษัทฯ

เงินกู้ยืมระยะยาว หัก: ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี

2558

งบการเงินรวม

(หน่วย: พันบาท)

ภายใต้สัญญาหุ้นกู้ บริษัทฯ ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการตามที่ระบุในสัญญา เช่น การด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นให้เป็นไปตามอัตราที่ก�ำหนดในสัญญา เป็นต้น

จ�ำนวนหน่วย

หุ้นกู้

ยอดคงเหลือของหุ้นกู้ดังกล่าวมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

27. เงินกู้ยืมระยะยาว

243


244

รายงานประจำ�ปี 2558

บริษัทย่อย เงินกูย้ มื ระยะยาวประกอบด้วย 16 วงเงิน จากสถาบันการเงินในประเทศ 5 แห่ง โดยมีอตั ราดอกเบีย้ อิงกับอัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ขั้นต�่ำ (MLR) (ยกเว้นเงินกู้ยืมจ�ำนวน 150 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ยคงที่) และมีเงื่อนไขในการช�ำระคืนเงินต้นไม่ต�่ำกว่า ร้อยละ 50 ถึง 77 ของราคาขายเมื่อมีการปลอดจ�ำนองบ้านและที่ดิน และคอนโดมิเนียมหรือช�ำระคืนเป็นรายเดือนตามที่ระบุ ไว้ในสัญญา และจะครบก�ำหนดช�ำระภายในเดือน มกราคม 2559 ถึง ธันวาคม 2567 เงินกูย้ มื ดังกล่าวค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและ บริษทั ย่อยตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38.4 ก) และการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างของบริษทั ย่อย และบางส่วนถูกค�้ำประกันโดยเงินฝากธนาคารของบริษัทย่อย ภายใต้สัญญาเงินกู้ บริษัทฯและบริษัทย่อยต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการตามที่ระบุใน สัญญา เช่น การด�ำรง อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นให้เป็นไปตามอัตราที่กำ� หนดในสัญญา เป็นต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีวงเงินกูย้ มื ระยะยาวตามสัญญาเงินกูท้ ยี่ งั มิได้เบิกใช้เป็นจ�ำนวน 13,773.6 ล้านบาท (2557: 9,856.1 ล้านบาท)

28. สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

จ�ำนวนเงินส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ต้นปี เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทย่อย ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี เพิ่มขึ้นจากการรับโอนพนักงาน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ขาดทุน (ก�ำไร) จากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย ส่วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติทาง การเงิน ส่วนที่เกิดจากการปรับปรุงจากประสบการณ์ ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ปลายปี หนี้สินในช่วงที่เปลี่ยนแปลงที่ยังไม่รับรู้ ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานปลายปี

งบการเงินรวม 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

184,580 57,188 18,235 6,520 (26,340) 634

140,732 11,095 4,913 (2,943) 895 (1,509)

145,845 10,861 3,697 (9,200) -

98,154 7,929 3,185 5,995 -

1,887 (2,164) 240,540 240,540

9,854 21,543 184,580 (14,722) 169,858

151,203 151,203

8,189 22,393 145,845 (11,288) 134,557


245

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่งรวมอยู่ในก�ำไรขาดทุนภายใต้ต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการขายและ บริหารแสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท)

ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย เพิ่มขึ้นจากการรับโอนพนักงาน หนี้สินในช่วงที่เปลี่ยนแปลงที่รับรู้ในปี รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของก�ำไรขาดทุน (1)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

18,235 6,520 -

11,095 4,913 895

10,861 3,697 -

7,929 3,185 5,995

-

14,721 31,624

14,558

11,287 28,396

24,755(1)

รวมอยู่ในต้นทุนขายเป็นจ�ำนวน 2.1 ล้านบาท

บริษัทฯและบริษัทย่อยคาดว่าจะจ่ายช�ำระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปีข้างหน้า เป็นจ�ำนวนประมาณ 25.0 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: จ�ำนวน 13.8 ล้านบาท) (2557: จ�ำนวน 16.7 ล้านบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ: จ�ำนวน 9.2 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ระยะเวลาเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักในการจ่ายช�ำระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานของบริษัทฯและ บริษทั ย่อยประมาณ 4 ปี 7 ปี 10 ปี และ 12 ปี (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 10 ปี) (2557: 10 ปี (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 10 ปี)) สมมติฐานที่สำ� คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือน

งบการเงินรวม 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ร้อยละต่อปี)

(ร้อยละต่อปี)

2.0 - 3.5 5.0 - 7.0

3.0, 3.5 5.0 - 7.0

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่ส�ำคัญต่อมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) อัตราคิดลด เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 ถึง 1.0 ลดลงร้อยละ 0.5 ถึง 1.0 อัตราการขึ้นเงินเดือน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 ลดลงร้อยละ 1.0

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(12.3) 13.3

(7.7) 8.3

30.4

19.7

(26.3)

(17.0)


246

รายงานประจำ�ปี 2558

29. ทุนเรือนหุ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯมีทุนที่ออกและช�ำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 5,782,951,655 บาท (หุ้นสามัญ 5,782,951,655 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W3) จ�ำนวน 21,000 บาท (หุ้นสามัญ 21,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2557 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีของบริษัทฯ ได้มีมติที่สำ� คัญดังต่อไปนี้ ก) อนุมัติการลดทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 4,776,629,888 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 10,737,610,610 บาท เป็น 5,960,980,722 บาท โดยการตัดหุ้นสามัญที่ส�ำรองไว้เพื่อรองรับการท�ำค�ำเสนอซื้อ หลักทรัพย์ทั้งหมดของไทยพร็อพและแกรนด์แอสเสท รวมถึงหุ้นสามัญที่ได้ส�ำรองไว้เพื่อรองรับการปรับสิทธิให้แก่ ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ (PF-W3) ข) อนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 1,939,019,278 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจ�ำนวน 5,960,980,722 บาท เป็นจ�ำนวน 7,900,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 1,939,019,278 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ค) อนุมัติให้การจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวนไม่เกิน 1,928,031,552 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยจัดสรรให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) ในอัตราจัดสรร 3 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ และก�ำหนดราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ราคา 1 บาท และหุ้นสามัญจ�ำนวนไม่เกิน 10,987,726 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ส�ำรองไว้เพือ่ รองรับการปรับสิทธิให้แก่ผถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ (PF-W3) โดยเศษของหุน้ ให้ปดั ทิง้ (ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวจ�ำนวน 1,806,495,077 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,806,495,077 บาท) บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการจดทะเบียนลดทุนและเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 7 และ 8 พฤษภาคม 2558 ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีทุนที่ออกและช�ำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 7,667,826,432 บาท (หุ้นสามัญ 7,667,826,432 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการออกหุ้นสามัญตามที่กล่าวไว้ในข้อ ค) จ�ำนวน 1,806,495,077 บาท และการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (PF-W3) จ�ำนวน 78,379,700 บาท บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการจดทะเบียนการเพิ่มทุนที่ออกและช�ำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2558 24 มิถุนายน 2558 และ 24 กรกฎาคม 2558

30. ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ

มติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2555 ได้มีมติอนุมัติให้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ เพิม่ ทุนของบริษทั ฯ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม (PF-W3) โดยไม่คดิ ค่าตอบแทนในอัตราส่วน 2 หุน้ สามัญใหม่ทจี่ ะเสนอขายให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม ต่อ 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ รายละเอียดของใบส�ำคัญแสดงสิทธิมีดังนี้ วันที่ออก 18 กรกฎาคม 2555 จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก (หน่วย) 393,865,295 อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 3 ปี นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ วันที่ใช้สิทธิ วันท�ำการสุดท้ายของทุกไตรมาส นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ราคาใช้สิทธิต่อ 1 หุ้นสามัญ (บาท) 1.00 อัตราส่วนการใช้สิทธิ (ใบส�ำคัญแสดงสิทธิต่อหุ้นสามัญ) 1:1


247

ยอดคงเหลือของจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (PF-W3) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ยอดคงเหลือต้นปี ใช้สิทธิในระหว่างปี หมดอายุในระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี

2558

2557

178,029,002 (78,379,700) (99,649,302)

178,050,002 (21,000) -

-

178,029,002

31. สำ�รองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปี ส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรอง นี้จะมีจำ� นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ส�ำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้

32. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558 2557

เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน 1,386,644 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 434,855 ค่าเช่าและบริการจ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงาน และบริการ 491,558 ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าใช้จ่ายในการโอน 381,495 ค่าใช้จ่ายทางการตลาด 781,485 ค่าใช้จ่ายในการบริหารโครงการ 337,380 การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ในระหว่างปี 12,111,009 การเปลี่ยนแปลงในโครงการอสังหาริมทรัพย์ (5,577,735) ค่าใช้จ่ายทางการเงิน 1,207,761

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

1,138,576 464,841 146,220 32,549 426,449 279,441 467,936 231,285 648,245 402,643 276,906 240,259 6,358,052 7,274,747 1,011,364 (3,266,954) 1,075,605 1,130,887

490,804 40,786 247,475 250,996 381,745 197,172 3,897,157 (178,348) 968,681

33. ภาษีเงินได้

ภาษีเงินได้สำ� หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สรุปได้ดังนี้

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

ภาษีเงินได้ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับปี รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปีก่อน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่างชั่วคราว และการกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

59,278 -

201,100 316

3,551 -

95,014 316

(46,637) 12,641

52,903 254,319

5,462 9,013

16,933 112,263


248

รายงานประจำ�ปี 2558

จ�ำนวนภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับส่วนประกอบแต่ละส่วนของก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับขาดทุน จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับขาดทุน (ก�ำไร) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

232

866

232

866

(46) 186

6,279 7,145

232

6,116 6,982

รายการกระทบยอดระหว่างก�ำไรทางบัญชีกับค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้มีดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)

ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 279,650 ภาษีเงินได้ค�ำนวณในอัตราภาษีเงินได้ของประเทศไทย ร้อยละ 20 55,930 รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปีก่อน ผลกระทบต่อภาษีเงินได้จากผลแตกต่างชั่วคราว (32,180) ผลกระทบต่อภาษีเงินได้จากผลแตกต่างชัว่ คราวที่ไม่ได้บนั ทึกบัญชี แต่น�ำมาใช้ประโยชน์ (10,815) ผลกระทบทางภาษีของค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถน�ำมาหักภาษีได้ 54,828 ผลกระทบทางภาษีของรายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี (108,963) ผลกระทบจากผลขาดทุนส�ำหรับปีตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ของบริษัท 72,016 ผลแตกต่างของอัตราภาษีเงินได้ที่ไม่เท่ากันของกลุ่มบริษัท (16,363) อื่น ๆ (1,812) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 12,641

657,054 131,411 316 20,656

285,561 57,112 -

479,661 95,932 316 3,507

(14,534) 83,451 (13,436)

33,427 (81,526)

13,828 (1,320)

75,917 (29,462) 254,319

9,013

112,263

อัตราภาษีทมี่ ผี ลบังคับใช้ ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงานของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยอยู่ในช่วงระหว่างร้อยละ 0 ถึงร้อยละ 35.03 (2557: ร้อยละ 0 ถึงร้อยละ 43.48)


249

ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รายการปรับลดราคาทุนของต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ให้เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับและค่าเผื่อ การด้อยค่าของสินทรัพย์ 37,388 ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 37,293 ส�ำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันค่าเช่า 4,000 ประมาณการเงินกองทุนนิติบุคคลค้างจ่าย 29,021 เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าและ ค่างวดที่ถึงก�ำหนดช�ำระตามสัญญา 7,099 ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ 126,256 ผลแตกต่างทางบัญชีและภาษีของต้นทุนการกู้ยืม 50,811 ผลแตกต่างทางบัญชีและภาษีของต้นทุนสโมสร 46,375 ส�ำรองการรับประกันโครงการอสังหาริมทรัพย์ 13,779 รายได้รอการตัดบัญชี 7,952 สินทรัพย์ภาษีเงินได้จากการตัดรายการระหว่างกัน 48,340 อื่นๆ 2,400 รวม 410,714 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ส่วนปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ ณ วันรวมธุรกิจ (450,807) ผลแตกต่างทางบัญชีและภาษีของอาคารโรงแรมและ ส่วนปรับปรุง (4,546) อื่น ๆ (152) รวม (455,505) สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสุทธิ (44,791) โดยแสดงเป็น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ 406,109 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ (450,900) สุทธิ (44,791)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)

31,210 35,599 7,893 21,360

33,146 30,241 4,000 23,448

24,968 26,911 7,893 15,899

31,561 132,686 57,395 46,994 16,800 21,164 1,533 404,195

50,811 39,286 982 2,289 184,203

57,395 40,625 14,209 1,533 189,433

(88,536)

-

-

(21,635) (1,930) (112,101) 292,094

184,203

189,433

400,919 (108,825) 292,094

184,203 184,203

189,433 189,433


250

รายงานประจำ�ปี 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยในประเทศไทยมีรายการผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและขาดทุนทาง ภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ จ�ำนวน 1,189.4 ล้านบาท (2557: 153.5 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 81.7 ล้านบาท (2557: 49.2 ล้านบาท)) และจ�ำนวน 4,445.3 ล้านเยน (2557: 3,883.6 ล้านเยน) ส�ำหรับบริษัทย่อยในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีฐานภาษีแตกต่าง กับฐานภาษีในประเทศไทย บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่ได้บันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีดังกล่าว เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยพิจารณาแล้วเห็นว่าอาจไม่มีก�ำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะน�ำผลแตกต่างชั่วคราวและขาดทุนทางภาษีที่ ยังไม่ได้ใช้ข้างต้นมาใช้ประโยชน์ได้ ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ของบริษัทย่อยในประเทศไทยมีจำ� นวนเงิน 747.7 ล้านบาท (2557: 100.0ล้านบาท) จะทยอย สิ้นสุดระยะเวลาการให้ประโยชน์ภายในปี 2563 และจ�ำนวน 4,445.3 ล้านเยน (2557: 3,883.6 ล้านเยน) ส�ำหรับบริษัทย่อยใน ประเทศญี่ปุ่นจะทยอยสิ้นสุดระยะเวลาการให้ประโยชน์ภายในปี 2567

34. กำ�ไรต่อหุ้น

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยหารก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี ก�ำไรต่อหุ้นปรับลดค�ำนวณโดยหารก�ำไรส�ำหรับปีทเี่ ป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ) ด้วยผลรวม ของจ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปีกับจ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯ อาจต้องออกเพือ่ แปลงหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทัง้ สิน้ ให้เป็นหุน้ สามัญ โดยสมมติวา่ ได้มกี ารแปลงเป็นหุน้ สามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและก�ำไรต่อหุ้นปรับลด แสดงการค�ำนวณได้ดังนี้ ก�ำไร 2558 พันบาท

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ผลกระทบของหุ้นสามัญ เทียบเท่าปรับลด ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ PF-W3 ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมุติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ

2557 พันบาท (ปรับปรุงใหม่)

360,742 360,742

งบการเงินรวม จ�ำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก 2558 2557 พันหุ้น พันหุ้น

399,271 5,819,660 5,782,936 -

12,420

ก�ำไรต่อหุ้น 2558 2557 บาท บาท (ปรับปรุงใหม่)

0.06199

0.06904

0.06185

0.06858

39,388

399,271 5,832,080 5,822,324


251 ก�ำไร 2558 พันบาท

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ ผลกระทบของหุ้นสามัญ เทียบเท่าปรับลด ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ PF-W3 ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมุติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ

2557 พันบาท (ปรับปรุงใหม่)

276,548 276,548

งบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก 2558 2557 พันหุ้น พันหุ้น

367,398 5,819,660 5,782,936 -

12,420

ก�ำไรต่อหุ้น 2558 2557 บาท บาท (ปรับปรุงใหม่)

0.04752

0.06353

0.04742

0.06310

39,388

367,398 5,832,080 5,822,324

35. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน

ข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงานที่น�ำเสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของบริษัทฯ ที่ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน ได้รับและสอบทานอย่างสม�่ำเสมอเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กับส่วนงานและประเมินผลการด�ำเนินงาน ของส่วนงาน ทั้งนี้ผู้มีอำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานของบริษัทคือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหารงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจัดโครงสร้างองค์กรเป็นหน่วยธุรกิจตามประเภทของผลิตภัณฑ์และ บริการ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีส่วนงานที่รายงานทั้งสิ้น 4 ส่วนงาน ดังนี้ ส่วนงานธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เป็นส่วนงานที่ด�ำเนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ประเภทบ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และ คอนโดมิเนียม ส่วนงานธุรกิจก่อสร้าง เป็นส่วนงานที่ดำ� เนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ส่วนงานธุรกิจให้เช่าและบริการ เป็นส่วนงานที่ด�ำเนินธุรกิจให้เช่าพื้นที่อาคารและพื้นที่เชิงพาณิชย์และบริหารสโมสรใน โครงการของกลุ่มบริษัท ส่วนงานธุรกิจโรงแรม เป็นส่วนงานที่ดำ� เนินธุรกิจโรงแรม การบันทึกบัญชีส�ำหรับรายการระหว่างส่วนงานที่รายงานเป็นไปในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีส�ำหรับรายการธุรกิจกับ บุคคลภายนอก


2557

รายได้จากภายนอก 10,286 11,571 รายได้ระหว่างส่วนงาน รายได้ทั้งสิ้น 10,286 11,571 ก�ำไร (ขาดทุน) จากการด�ำเนินงาน ตามส่วนงาน 3,228 3,789 รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน: ก�ำไรจากการซื้อในราคา ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม ดอกเบี้ยรับ ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากเงินลงทุน ในการร่วมค้า ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย ก�ำไรส�ำหรับปี

2558

ส่วนงานธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์

167 167 (32)

121

2557

15 648 663

2558

ส่วนงาน ธุรกิจก่อสร้าง

110

247 106 353

2558

(17)

28 5 33

2557

ส่วนงานธุรกิจให้เช่า และบริการ

685

1,526 1,526

2558

194

845 845

2557

ส่วนงาน ธุรกิจโรงแรม

ข้อมูลรายได้ ก�ำไรและขาดทุนของส่วนงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดังต่อไปนี้

(487)

(25) (754) (779)

2558

(20)

(172) (172)

2557

การตัดรายการบัญชี ระหว่างกัน

3,914 27 77 237 (1,217) (1,831) 60 (611) (254) (3) 399

530 83 244 (1,302) (2,295) (2) (635) (13) 94 361

12,444 12,444

2557

3,657

12,049 12,049

2558

งบการเงินรวม

(หน่วย: ล้านบาท)

252 รายงานประจำ�ปี 2558


253

ข้อมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ รายได้จากลูกค้าภายนอกก�ำหนดขึ้นตามสถานที่ตั้งของลูกค้า (หน่วย: พันบาท) รายได้จากลูกค้าภายนอก ไทย ญี่ปุ่น รวม สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ไม่รวมเครื่องมือทางการเงินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี) ไทย ญี่ปุ่น รวม

2558

2557

11,129,507 919,254 12,048,761

11,599,839 844,710 12,444,549

14,944,198 1,085,602 16,029,800

7,795,541 619,337 8,414,878

36. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

บริษทั ฯบริษทั ย่อยและพนักงานได้รว่ มกันจัดตัง้ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษทั ฯบริษทั ย่อยและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 ถึง 10 ของเงินเดือน กองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพนี้บริหารโดย บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จ�ำกัด บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนทิสโก้ จ�ำกัด และ บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบ ว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ในระหว่างปี 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูเ้ งินสมทบดังกล่าวเป็นค่าใช้จา่ ยจ�ำนวน 34.7 ล้านบาท (2557: 31.3 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 21.2 ล้านบาท (2557: 24.1 ล้านบาท))

37. เงินปันผล อนุมัติโดย

เงินปันผลประจ�ำปี ส�ำหรับปี 2557

เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น

254.4 ล้านบาท

0.044 บาท(1)

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558

38. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นดังต่อไปนี้ 38.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ก) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุนจ�ำนวนเงินประมาณ 5,419.8 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะ กิจการ: 2,034.8 ล้านบาท) (2557: 3,371.4 ล้านบาท และ 7.4 ล้านเยน (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 2,147.9 ล้านบาท)) ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง ออกแบบ และค่าที่ปรึกษาโครงการบ้านพร้อมที่ดิน คอนโดมิเนียม และอาคารโรงแรม การปรับปรุงอาคารส�ำนักงาน และการซื้อคอนโดมิเนียมและอุปกรณ์ ข) บริษทั ย่อยมีภาระผูกพันทีเ่ กีย่ วข้องกับการเช่าทีด่ นิ เพือ่ พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 12.8 ล้านบาท (2557: 12.8 ล้านบาท)


254

รายงานประจำ�ปี 2558

38.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำ�เนินงานและบริการ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้เข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานและบริการทีเ่ กีย่ วข้องกับการเช่าทีด่ นิ คอนโดมิเนียม รถยนต์ ป้ายโฆษณา พื้นที่ส�ำนักงาน และสัญญาบริการต่างๆ สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาที่บอกเลิกไม่ได้ นอกจากนี้ บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้เข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการเช่าทีด่ นิ เพือ่ ปลูกสร้างโรงแรมและศูนย์การค้า โดยมีก�ำหนดระยะเวลาเช่า 30 ปี และสามารถต่ออายุได้อีก 20 ปี ภายใต้เงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าดังกล่าว อย่างไรก็ตาม สัญญาเช่าที่ดินดังกล่าวมีคดีความอยู่ ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38.5 ช) บริษัทย่อยดังกล่าวได้เข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่าพื้นที่สำ� นักงาน โดยมีก�ำหนดระยะเวลา 3 ปี นับตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2557 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้เข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการเช่าทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ โดยมีกำ� หนดระยะเวลา 27 ปี และเมื่อครบก�ำหนดระยะเวลาเช่าดังกล่าว ผู้ให้เช่าจะไม่ต่ออายุสัญญาเช่าให้อีก บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีจำ� นวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตทัง้ สิน้ ภายใต้สญั ญาเช่าด�ำเนินงานและบริการทีบ่ อกเลิกไม่ได้ ดังนี้ งบการเงินรวม

จ่ายช�ำระภายใน: ภายใน 1 ปี 2 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี

2558

2557

170.3 ล้านบาท และ 2.9 ล้านเยน 349.4 ล้านบาท และ 4.3 ล้านเยน 2,348.5 ล้านบาท

140.2 ล้านบาท และ 3.2 ล้านเยน 292.7 ล้านบาท และ 7.2 ล้านเยน 2,337.1 ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

จ่ายช�ำระภายใน: ภายใน 1 ปี 2 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี

2558

2557

78.0 ล้านบาท 53.8 ล้านบาท 11.6 ล้านบาท

69.8 ล้านบาท 41.8 ล้านบาท 14.4 ล้านบาท

นอกจากนี้ บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากการให้เช่าช่วงที่บอกเลิกไม่ได้ ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

รับช�ำระภายใน 1 ปี 2 ถึง 3 ปี

2558

2557

193.8 185.5

-


255 38.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาให้บริการ อัตราค่า บริการ

เริ่ม

สิ้นสุด

บริษัทในประเทศ

ข)

2556

บริษัทในประเทศ

ข)

2558

ตามที่ตกลง ร่วมกัน 2559

ก)

2547

2561

ข)

2555

2559

ประเภทสัญญา

บริษัทฯ 1. สัญญาที่ปรึกษาทางการเงิน 2. สัญญาที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัทย่อย 1. สัญญาการบริหารจัดการโรงแรม 2. 3. 4. 5. 6.

คู่สัญญา

บริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ในต่างประเทศ สัญญาบริการด้านเทคนิค บริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ในต่างประเทศ สัญญาการบริหารจัดการโรงแรม บริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ในต่างประเทศ สัญญาการบริหารจัดการโรงแรม บริษทั ย่อยและบริษทั ใน ต่างประเทศแห่งหนึง่ สัญญาซื้อผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม บริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ในประเทศแห่งหนึ่ง สัญญาทีป่ รึกษาโครงการอสังหาริมทรัพย์ บริษัทในประเทศ

7. สัญญาการบริหารจัดการโรงแรม

บริษัทในต่างประเทศ

ก) ก)

วันที่เริ่มด�ำเนิน 20 ปี นับจาก กิจการโรงแรม วันเริม่ ด�ำเนินกิจการ 2550 2560

ข)

2549

2559

ข)

2556

2559

ก)

2558

2573

ก) อัตราร้อยละของรายได้และของยอดรายได้หักค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงานโรงแรม ข) อัตราที่ระบุในสัญญา นอกจากนี้ บริษัทย่อยได้ท�ำสัญญาที่เกี่ยวข้องกับการรับบริการบ�ำรุงรักษาลิฟท์ ค�ำปรึกษา และบริการอื่นๆ กับบริษัทที่ ไม่เกี่ยวข้องกันอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทย่อยมีจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายช�ำระภายใน 1 ปี ภายใต้สัญญาให้บริการระยะยาวเป็น จ�ำนวน 19.0 ล้านบาท 38.4 การค้�ำ ประกัน ก) บริษทั ฯและบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ค�ำ้ ประกันวงเงินกูแ้ ละวงเงินสินเชือ่ ให้แก่บริษทั ย่อยในกลุม่ บริษทั ในวงเงิน 9,191.7 ล้านบาท (2557: 9,430.8 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 9,041.7 ล้านบาท (2557: 9,430.8 ล้านบาท)) ข) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนังสือค�้ำประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯและบริษัทย่อย ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

งานสาธารณูปโภค หุ้นกู้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

928.7 -

610.5 3,000.0

564.2 -

323.7 3,000.0


256

รายงานประจำ�ปี 2558

ค) บริษัทย่อยมีภาระค�ำ้ ประกันให้แก่ลูกค้าโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์หลายรายซึ่งในจ�ำนวนนี้ บริษัทย่อยถูกฟ้องร้อง ให้ช�ำระหนี้ในฐานะผู้คำ�้ ประกันของลูกค้าในวงเงินรวม 2.7 ล้านบาท โดยศาลมีคำ� พิพากษาให้บริษัทย่อยและลูกค้าช�ำระ เป็นจ�ำนวน 2.7 ล้านบาท บริษทั ย่อยไม่ได้บนั ทึกส�ำรองภาระหนี้ไว้ เนือ่ งจากบริษทั ย่อยเชือ่ ว่าจะไม่มผี ลเสียหายอย่างเป็น สาระส�ำคัญ 38.5 คดีฟ้องร้อง คดีความ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีรายละเอียดดังนี้ ก) บริษัทฯ ถูกลูกบ้านในโครงการแห่งหนึ่งจ�ำนวน 88 รายฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากการผิดสัญญาเป็นจ�ำนวน 111.0 ล้านบาท โดยอ้างประเด็นว่าบริษัทฯฉ้อฉล และเรียกค่าเสื่อมของบ้านและที่ดิน ศาลชั้นต้นพิพากษาให้บริษัทฯ ชดเชยค่าเสียหายพร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ให้แก่โจทก์เป็นจ�ำนวน 7.2 ล้านบาท บริษัทฯอยู่ระหว่างยื่นอุทธรณ์ ค�ำพิพากษาของศาลชัน้ ต้น ปัจจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯเชือ่ ว่า จะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระส�ำคัญจากคดีความดังกล่าว บริษทั ฯ จึงไม่ได้ตงั้ ส�ำรองส�ำหรับผลเสียหายจากคดีความ ข) บริษัทฯ ถูกคณะกรรมการนิติบุคคลหมู่บ้าน และลูกบ้านในโครงการแห่งหนึ่งฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นจ�ำนวน 14.0 ล้านบาท โดยกล่าวหาว่าบริษทั ฯ น�ำทีด่ นิ สาธารณะประโยชน์ของโครงการดังกล่าวออกขาย ปัจจุบนั คดีอยูร่ ะหว่าง การพิจารณาของศาลชัน้ ต้น ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ เชือ่ ว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระส�ำคัญจากคดีความดังกล่าว บริษัทฯ จึงไม่ได้ตั้งส�ำรองส�ำหรับผลเสียหายจากคดีความ เนื่องจากโจทย์ไม่เข้าใจข้อเท็จจริง ซึ่งบริษัทฯ ได้ดำ� เนินการ ถูกต้องตามกฎหมาย ค) บริษทั ฯ ถูกลูกบ้านในโครงการแห่งหนึง่ ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นจ�ำนวน 6.2 ล้านบาทจากการทีต่ นได้รบั ความเสียหาย จากการที่บริษัทฯ ยินยอมให้ลูกบ้านในโครงการรายหนึ่ง (จ�ำเลยร่วม) ต่อเติมบ้าน ศาลชั้นต้นพิพากษาให้บริษัทฯ และ จ�ำเลยร่วมร่วมกันรับผิดชอบความเสียหายจ�ำนวน 0.2 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ปัจจุบัน คดีอยู่ระหว่าง การพิจารณาของศาลอุทธรณ์ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ เชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระส�ำคัญ จากคดีความดังกล่าว บริษัทฯ จึงไม่ได้ตั้งส�ำรองส�ำหรับผลเสียหายจากจากคดีความ ง) บริษัทฯ ถูกลูกบ้านในโครงการแห่งหนึ่งฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นจ�ำนวน 5.9 ล้านบาท โดยอ้างเหตุว่าบ้านของตน ซึ่งตั้งอยู่ในโครงการดังกล่าวถูกโจรกรรมทรัพย์สินไปเป็นจ�ำนวนมาก ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้บริษัทฯ ร่วมกันรับผิดกับ จ�ำเลยร่วมเป็นจ�ำนวน 3.2 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี บริษัทฯ ยื่นฎีกาและปัจจุบัน คดีอยู่ระหว่างการ พิจารณาของศาลฎีกา อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ เชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระส�ำคัญจาก คดีความดังกล่าว บริษทั ฯ จึงไม่ได้ตงั้ ส�ำรองส�ำหรับผลเสียหายจากคดีความ เนือ่ งจากทรัพย์สนิ เป็นของส่วนตัวของโจทย์ บริษัทฯ ไม่สามารถพิสูจน์จำ� นวนที่แน่นอนได้ จ) บริษัทฯ ถูกลูกบ้านในโครงการฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นจ�ำนวน 18.2 ล้านบาท ปัจจุบัน คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ของศาลชั้นต้น ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ เชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระส�ำคัญจากคดีความดังกล่าว ฉ) บริษทั ฯ ถูกกลุม่ ลูกบ้านในโครงการแห่งหนึง่ ยืน่ ฟ้องในประเด็นเรือ่ งทางออกของโครงการสูท่ างสาธารณะ ซึง่ ข้อเท็จจริง ในการขออนุญาตจัดสรร บริษทั ฯ ได้จดั ให้มที างออกด้านถนนพัฒนาการ แต่เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ลกู บ้าน บริษทั ฯ จึงขอเช่าที่ดินจากการรถไฟ เพื่อจัดให้มีทางออกล�ำลอง เพื่อสามารถเชื่อมกับทางด่วนกรุงเทพ-ชลบุรีสายใหม่ (มอเตอร์เวย์) อันเป็นทางออกนอกเหนือจากผังจัดสรร อย่างไรก็ตาม ลูกบ้านประสงค์จะให้บริษทั ฯ จัดการให้ถนนดังกล่าว เป็นทางออกถาวร ซึ่งบริษัทฯ ไม่สามารถท�ำได้ตามกฏหมาย ลูกบ้านจึงยื่นฟ้องเรียกร้องค่าเสียหายรวมเป็นจ�ำนวน 153 ล้านบาท ซึ่งจ�ำนวนเงินดังกล่าว มีมูลค่าเท่ากับหรือสูงกว่าราคาบ้านและที่ดินซึ่งลูกบ้านได้ซื้อจากบริษัทฯ ปัจจุบัน คดีอยู่ในระหว่างยืน่ ค�ำให้การต่อสูค้ ดี ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯเห็นว่าลูกบ้านดังกล่าวไม่ได้มผี ลเสียหายตามจ�ำนวนทีฟ่ อ้ ง และเชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระส�ำคัญจากคดีความดังกล่าว บริษัทฯ จึงไม่ได้ตั้งส�ำรองส�ำหรับผลเสียหาย จากคดีความ


257 ช) ในเดือนตุลาคม 2551 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)) ถูกฟ้องร้องจากเจ้าของที่ดินรายหนึ่ง โดยมีเนื้อหาหลักจากการที่โจทก์อ้างว่าบริษัทย่อยผิดสัญญาเช่าที่ดินที่ได้ตกลงไว้ กับโจทก์เป็นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสียหาย โดยโจทก์ขอยกเลิกสัญญาเช่าที่ดินดังกล่าว และฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย เป็นจ�ำนวนเงิน 79 ล้านบาท ต่อมา เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2553 ศาลจังหวัดพระโขนงได้อ่านค�ำพิพากษาในคดีดังกล่าว ที่โจทก์ฟ้องบริษัทย่อยเรื่องผิดสัญญาเช่าที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงแรมแห่งหนึ่งของบริษัทย่อย โดยศาลได้พิพากษาว่า บริษทั ย่อยปฏิบตั ผิ ดิ ข้อสัญญาของสัญญาเช่าทีด่ นิ ดังกล่าวอันเป็นเหตุให้โจทก์มสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญาเช่าทีด่ นิ โดยชอบด้วย กฎหมาย และให้อาคารโรงแรมดังกล่าวตกเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ตามสัญญาเช่าที่ดินโดยบริษัทย่อยไม่ต้องจ่ายเงิน ค่าเสียหายจ�ำนวน 79 ล้านบาทให้แก่โจทก์ และให้บริษัทย่อยด�ำเนินการจดทะเบียนยกเลิกการเช่าที่ดินตามสัญญาเช่า ที่ดินดังกล่าว รวมทั้งด�ำเนินการไถ่ถอนจ�ำนองอาคารโรงแรมดังกล่าวที่บริษัทย่อยได้จดทะเบียนจ�ำนองไว้กับธนาคารใน ประเทศแห่งหนึ่ง ต่อมา เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 บริษัทย่อยได้ยื่นอุทธรณ์คำ� พิพากษาของศาลชั้นต้นดังกล่าว และ ได้ยนื่ ค�ำร้องขอทุเลาการบังคับคดีตอ่ ศาลอุทธรณ์ เพือ่ ให้ระงับการบังคับคดีตามค�ำพิพากษาดังกล่าวข้างต้นไว้กอ่ นจนกว่า จะมีค�ำพิพากษาของศาลอุทธรณ์และศาลฎีกาเป็นที่สุด ต่อมา เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2553 โจทก์ได้ยื่นค�ำแก้อุทธรณ์ต่อ ศาลอุทธรณ์ นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2553 โจทก์ได้ยื่นอุทธรณ์คำ� พิพากษาของศาลชั้นต้นดังกล่าว โดยโจทก์ ได้ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเพิ่มเติมในอัตราวันละ 500,000 บาท นับแต่วันถัดจากที่ศาลมีคำ� พิพากษาจนกว่าบริษัทย่อย จะส่งมอบอาคารโรงแรมดังกล่าวให้แก่โจทก์ บริษัทย่อยได้ยื่นค�ำแก้อุทธรณ์ในประเด็นดังกล่าว ต่อศาลอุทธรณ์เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ส่วนค�ำร้องขอทุเลาการบังคับคดี ศาลได้มคี ำ� สัง่ เมือ่ วันที่ 21 ตุลาคม 2554 อนุญาตให้ทเุ ลาการบังคับคดี และห้ามบริษัทย่อยท�ำนิติกรรมใดๆ เกี่ยวกับอาคารโรงแรมดังกล่าวในระหว่างอุทธรณ์ ต่อมา เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2556 ศาลจังหวัดพระโขนงได้อา่ นค�ำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ ผลปรากฏว่า ศาลอุทธรณ์ได้มคี ำ� พิพากษากลับให้ยกฟ้อง โจทก์เป็นผลให้สัญญาเช่าที่ดินมีผลบังคับใช้ตามเดิมและบริษัทย่อยไม่ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายใดๆ ต่อโจทก์ ต่อมา เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2556 โจทก์ ได้ ยื่นฎีกาคัดค้านค�ำพิพากษาของศาลอุทธรณ์และเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2556 บริษัทย่อยได้ยื่นค�ำแก้ฎีกาต่อศาลฎีกา ปัจจุบัน คดีดังกล่าวอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา ฝ่ายบริหารของ บริษัทย่อยเชื่อว่าบริษัทย่อยจะไม่มีภาระหนี้สินที่เป็นสาระส�ำคัญที่ต้องชดเชยความเสียหายต่อผู้ฟ้องร้องจากผลของคดี ดังกล่าว ดังนั้นจึงยังไม่มีการตั้งส�ำรองส�ำหรับหนี้สินจากผลของคดีดังกล่าวไว้ในบัญชี นอกจากนี้ ณ วันที่ซื้อเงินลงทุน ในบริษัทย่อย บริษัทฯ ได้พิจารณาหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากคดีความดังกล่าว โดยได้รับความเห็นจากทนายความ ซึง่ บริษทั ฯ เชือ่ ว่าบริษทั ย่อยจะไม่มภี าระหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญทีต่ อ้ งชดเชยความเสียหายต่อผูฟ้ อ้ งร้องจากผลของคดี ดังกล่าวเช่นกัน ซ) บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท แกรนด์ อีควิตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด) มีคดีความที่ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจ�ำนวน 1 คดี โดยมีทนุ ทรัพย์รวมเป็นจ�ำนวนเงิน 47 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 18 ธันวาคม 2557 ศาลชัน้ ต้นได้มคี ำ� พิพากษาให้ยกฟ้อง โจทก์ ต่อมา เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2558 โจทก์ ได้ยื่นอุทธรณ์ค�ำพิพากษาของศาลชั้นต้นดังกล่าว ต่อมาเมื่อ วันที่ 21 กรกฎาคม 2558 บริษัทย่อยได้ยื่นค�ำขอแก้อุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ ปัจจุบัน คดีดังกล่าวอยู่ระหว่างการพิจารณา ของศาลอุทธรณ์


258

รายงานประจำ�ปี 2558

39. ลำ�ดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีสนิ ทรัพย์และหนีส้ นิ ทีว่ ดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรมหรือเปิดเผยมูลค่ายุตธิ รรม แยกแสดงตามล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

ระดับ 1

สินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารทุน ตราสารอนุพันธ์ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สินทรัพย์ที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน หนี้สินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม หุ้นกู้ (1)

ระดับ 2

รวม

ระดับ 3

99.4

-

-

99.4

-

5.9(1)

-

5.9

-

-

1,404.6

1,404.6

-

15,632.0

-

15,632.0

เทียบเท่า 19.8 ล้านเยน

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

สินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารทุน หนี้สินที่เปิดเผยมูลค่ายุติธรรม หุ้นกู้

รวม

ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

99.4

-

-

99.4

-

15,632.0

-

15,632.0

40. เครื่องมือทางการเงิน 40.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่ส�ำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการ และการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ สินทรัพย์ทางการเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกันและ ข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน

หนี้สินทางการเงิน

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว


259

บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวและมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ ลูกหนีต้ วั๋ สัญญาใช้เงิน - ค่าทีด่ นิ และเงินให้กยู้ มื ฝ่ายบริหารควบคุมความเสีย่ งนี้โดยการก�ำหนดให้มนี โยบายและวิธกี ารในการควบคุมสินเชือ่ ทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระส�ำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้การให้สินเชื่อของ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยไม่มกี ารกระจุกตัวเนือ่ งจากบริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีฐานของลูกค้าทีห่ ลากหลายและมีอยูจ่ ำ� นวนมากราย จ�ำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดินและเงินให้กู้ยืมที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงินลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน ค่าที่ดิน เงินให้กู้ยืม เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน หุ้นกู้และเงินกู้ยืม อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มี อัตราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตามอัตราตลาด หรือมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีซ่ งึ่ ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั ดังนัน้ ความเสีย่ งจาก อัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับต�ำ ่ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำ� คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และส�ำหรับสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มี อัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบก�ำหนด หรือวันที่มีการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการก�ำหนดอัตรา ดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ปี

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกันและ ข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง มากกว่า ตามราคา ไม่มีอัตรา 5 ปี ตลาด ดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

33.7 -

-

-

2,983.7 -

23.1 257.8 378.9

3,040.5 0.10 - 1.75 257.8 378.9 -

35.2 68.9

-

-

49.8 3,033.5

101.1 678.0 1,438.9

85.0 0.38 - 1.90 101.1 678.0 4,541.3

2,456.4 4,600.0 10,970.0 - 150.0

-

372.0 6,157.0

7,056.4 11,120.0

-

6,529.0

- 372.0 MOR 2,972.1 2,972.1 - 2,456.4 4.10 - 4.90 699.2 699.2 - 15,570.0 4.25 - 5.90 - 6,307.0 6.75 และ MLR 3,671.3 28,376.7


260

รายงานประจำ�ปี 2558

(หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ปี

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�ำ้ ประกัน และ ข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน หนี้สินทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้า จากลูกค้า หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ไม่มีอัตรา ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

มากกว่า 5 ปี

1.1 940.7 -

-

-

2,480.5 -

8.9 2,490.5 0.00 - 1.10 191.4 191.4 15.0 955.7 6.12 350.9 350.9 -

264.9 1,206.7

-

-

23.3 2,503.8

- 288.2 0.13 - 2.85 106.5 106.5 444.6 444.6 1,117.3 4,827.8

100.0

-

-

624.4

636.2

-

-

-

724.4 6.50 และ MOR 2,289.3 2,289.3 - 636.2 4.70 - 4.80

8,978.7 4,600.0 9,714.9 4,600.0

-

4,293.6 4,918.0

217.0 217.0 - 13,578.7 4.60 - 6.25 - 4,293.6 MLR 2,506.3 21,739.2

รวม

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

-


261 (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ปี

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกัน และ ข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้า จากลูกค้า หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

มากกว่า 5 ปี

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ไม่มีอัตรา ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

0.1 -

-

-

1,878.1 -

0.4 596.7 234.1

1,878.6 0.10 - 1.10 596.7 234.1 -

4.2 4.3

-

-

38.4 4,144.7 6,061.2

101.1 537.8 1,470.1

42.6 0.38 - 1.10 4,144.7 5.63 - 5.84 101.1 537.8 7,535.6

1,307.4

-

-

189.7 -

1,738.2 -

189.7 MOR 1,738.2 1,307.4 4.10 - 4.50

-

-

-

170.0

-

4,600.0 10,970.0 5,907.4 10,970.0

-

3,412.8 3,772.5

170.0

7.63

246.2 246.2 - 15,570.0 4.25 - 5.90 - 3,412.8 MLR 1,984.4 22,634.3


262

รายงานประจำ�ปี 2558

(หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ปี

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ค่าที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา เงินฝากธนาคารที่มีภาระค�้ำประกัน และ ข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจาก ลูกค้า หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว

มากกว่า 1 ถึง 5 ปี

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด

มากกว่า 5 ปี

ไม่มีอัตรา ดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

1.1 940.7 -

-

-

2,065.8 -

11.6 2,078.5 0.13 - 1.10 146.5 146.5 15.0 955.7 6.12 313.1 313.1 -

250.0 1,191.8

-

-

0.7 3,895.2 5,961.7

- 250.7 0.13 - 2.85 - 3,895.2 5.02 - 5.24 106.5 106.5 370.1 370.1 962.8 8,116.3

100.0

-

-

280.5

-

380.5

636.2

-

-

-

-

-

175.0

-

175.0

8,978.7 9,714.9

4,600.0 4,600.0

-

6.50 และ MOR - 1,253.2 1,253.2 - 636.2 4.70 - 4.80 7.38

- 152.5 152.5 - 13,578.7 4.60 - 6.25 2,533.3 - 2,533.3 MLR 2,988.8 1,405.7 18,709.4


263

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากการที่มีเงินลงทุนในบริษัทย่อยในต่างประเทศ ซึ่งบริษัทฯไม่ได้ทำ� สัญญาป้องกันความเสี่ยงไว้ นอกจากนี้ บริษัทย่อยได้ตกลงท�ำสัญญาซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพื่อเก็งก�ำไร ซึ่งมีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปี โดยมี รายละเอียดดังนี้ สกุลเงิน

จ�ำนวนที่ซื้อ (ล้าน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา ของจ�ำนวนที่ซื้อ (เยนต่อบาท)

บาท

367

3.2700

สกุลเงิน

จ�ำนวนที่ซื้อ (ล้าน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา ของจ�ำนวนที่ซื้อ (เยนต่อบาท)

บาท

722

3.3380 - 3.5850

วันครบก�ำหนดตามสัญญา

31 มีนาคม 2559

วันครบก�ำหนดตามสัญญา

30 กันยายน และ 28 ธันวาคม 2558

40.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อยมีมูลค่ายุติธรรมใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดง ฐานะการเงิน ยกเว้นรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่าตามบัญชี 2558 2557

หนี้สินทางการเงิน หุ้นกู้

15,570.0

มูลค่ายุติธรรม

13,578.7

2558

2557

15,632.0

13,642.6

มูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ของบริษัทย่อยในต่างประเทศ มีดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) . ตราสารอนุพันธ์ สัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า(1) (1)

เทียบเท่า 19.8 ล้านเยน (2557: 98.1 ล้านเยน)

2558

2557

มูลค่ายุติธรรม

มูลค่ายุติธรรม

ก�ำไร

ก�ำไร

5.9

26.9


264

รายงานประจำ�ปี 2558

บริษัทฯและบริษัทย่อยมีการประมาณการมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินตามหลักเกณฑ์ดังนี้ ก) สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีจ่ ะครบก�ำหนดในระยะเวลาอันสัน้ ได้แก่ เงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ เงินจ่ายล่วงหน้า และเงินให้กู้ยืมระยะสั้น เจ้าหนี้ เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้า และเงินกู้ยืมระยะสั้น แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ ตามมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ข) เงินลงทุนในตราสารทุน แสดงมูลค่ายุติธรรมตามราคาตลาด ค) หุ้นกู้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่แสดงมูลค่ายุติธรรมตามราคาตลาดของสมาคมตราสารหนี้ไทย ง) เงินกู้ยืมระยะยาวที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามมูลค่า ตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน จ) ตราสารอนุพันธ์ แสดงมูลค่ายุติธรรมซึ่งค�ำนวณโดยใช้เทคนิคการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคตและแบบจ�ำลองตาม ทฤษฎีในการประเมินมูลค่า ซึ่งข้อมูลที่น�ำมาใช้ในการประเมินมูลค่าส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ในตลาดที่ เกี่ยวข้อง เช่น อัตราแลกเปลี่ยนทันที อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของเงินตราต่างประเทศ และเส้นอัตราผลตอบแทนของ อัตราดอกเบี้ย เป็นต้น บริษัทย่อยได้ค�ำนึงถึงผลกระทบของความเสี่ยงด้านเครดิตของคู่สัญญาในการประมาณมูลค่า ยุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ ในระหว่างปี ไม่มีการโอนรายการระหว่างล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม

41. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ ในการบริหารจัดการทุนที่ส�ำคัญของบริษัทฯคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทุนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลุ่มบริษัทมีอัตราหนี้สิน ต่อทุนเท่ากับ 2.17:1 (2557: 2.50:1) และเฉพาะบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 2.28:1 (2557: 2.33:1)

42. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 42.1 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทย่อย (บริษัท วีรีเทล จ�ำกัด (มหาชน)) เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 ได้มีมติอนุมัติจัดตั้ง บริษัทร่วมทุนภายใต้ชื่อบริษัท ออลล์ ดิสเคาท์ จ�ำกัด เพื่อด�ำเนินธุรกิจค้าปลีกโดยมีทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท 42.2 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 ได้มีมติที่สำ� คัญดังต่อไปนี้ ก) อนุมัติให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ภายในวงเงินไม่เกิน 12,000 ล้านบาท มีอายุไม่เกิน 8 ปี นับจากวันออกหุ้นกู้ ข) อนุมัติให้เสนอจ่ายเงินปันผลจากผลการด�ำเนินงานของปี 2558 ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.03 บาท รวมเป็นเงิน 230 ล้านบาท ค) อนุมตั ิให้รว่ มลงทุนในบริษทั ที ยูทลิ ติ สี้ ์ จ�ำกัด ซึง่ ประกอบธุรกิจลงทุนในบริษทั และโครงการทีเ่ กีย่ วข้องกับสาธารณูปโภค พื้นฐาน โดยมีทุนจดทะเบียน 500 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 50,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท) และบริษัทฯ จะมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 40 ในบริษัทดังกล่าว

43. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559


265 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ต่อรายงานทางการเงิน งบการเงินของบริษัทพร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำ� หนดใน พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการในงบการเงินได้ทำ� ขึน้ เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนา ธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 รวมทั้งการปรับปรุงวิธีปฏิบัติตาม สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผูบ้ ริหาร เป็นผูด้ แู ลรับผิดชอบเกีย่ วกับ การรายงานทางการเงินว่า มีการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง มีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอ และทันเวลา รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายในก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏใน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�ำปี คณะกรรมการบริษัทรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัทพร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยที่ จัดท�ำขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน รายได้ ค่าใช้จ่ายและกระแสเงินสดรวมที่เป็นจริงและสมเหตุสมผล โดยได้จัด ให้มีการบันทึกบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอที่รักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายในการป้องกันการทุจริตและ การด�ำเนินงานที่ผิดปกติ และในการจัดท�ำรายงานทางการเงิน ได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่าง สม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้สะท้อนผลการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นจริงของบริษทั เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป รวมทัง้ ได้มกี ารเปิดเผย ข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึง่ ผูต้ รวจสอบบัญชีได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ในรายงานผู้สอบบัญชี

(ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) ประธานกรรมการบริษัท

(นายชายนิด อรรถญาณสกุล) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร


266

รายงานประจำ�ปี 2558

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2558 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ณ เดือนธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน ที่ได้รบั การแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ได้แก่ นายบรรลือ ฉันทาดิศยั นางเนือ้ นวล สวัสดิกลุ ณ อยุธยา และนายมานิตย์ สุธาพร ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ภายใต้ขอบเขตและหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยก�ำหนด และเป็นไปตามกฎบัตรที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ในการปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการตรวจสอบได้มุ่งเน้นในการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ให้ถูกต้องตามข้อก�ำหนดและ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง โปร่งใส ค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น ดูแลให้บริษัทฯ จัดท�ำรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องครบถ้วนและ เปิดเผยข้อมูลเพียงพอ ตลอดจนมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมเพียงพอ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ มีการประชุมร่วมกันทั้งปีจำ� นวน 9 ครั้ง สรุปสาระส�ำคัญของการปฏิบัติงานได้ดังนี ้ 1. การสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2558 ทีผ่ า่ นการสอบทานและตรวจสอบ โดยผู้สอบบัญชีเพื่อให้ความเห็นชอบก่อนน�ำเสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติงบการเงิน โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาข้อมูลงบการเงิน สอบถามผูส้ อบบัญชีและผูบ้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน ความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล รวมถึงมีการประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมเพือ่ ปรึกษาหารือกัน อย่างเป็นอิสระถึงประเด็นส�ำคัญๆ ของงบการเงินทุกครั้งที่มีวาระพิจารณางบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่างบการเงินของบริษัทฯ จัดท�ำขึ้นอย่างถูกต้องเหมาะสมเป็นไปตามหลักการบัญชี มีการเปิดเผยข้อมูลเพียงพอ 2. การสอบทานรายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานความเหมาะสมเพียงพอของระเบียบวิธปี ฏิบตั ิในการเข้าท�ำรายการระหว่างกันของบุคคล และนิติบุคคลที่เกี่ยวโยงของบริษัทฯ และสอบทานรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2558 ว่าการท�ำรายการเป็นไปตาม หลักเกณฑ์ขั้นตอนที่ก�ำหนด มีความจ�ำเป็นและสมเหตุสมผลในการเข้าท�ำรายการ และค�ำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าการท�ำรายการระหว่างกันเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทบี่ ริษทั ฯ ก�ำหนด รายการระหว่างกัน ที่เกิดขึ้นเป็นไปเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯและบริษทั ย่อย เป็นไปตามปกติทางการค้า รวมถึงมีการเปิดเผยข้อมูล อย่างถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตามข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง 3. การสอบทานระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง เพื่อประเมินความเหมาะสมและ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยประเมินประสิทธิผลการบริหารความเสีย่ งระดับองค์กร รับฟังการรายงานผลการบริหาร ความเสีย่ งจากคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ การก�ำหนดแนวทางการตรวจสอบตามความเสีย่ งของส�ำนัก ตรวจสอบภายใน พิจารณาผลการประเมินระบบการควบคุมภายในของส�ำนักตรวจสอบภายใน รวมถึงติดตามความคืบหน้า การด�ำเนินการของบริษัทฯ ตามข้อเสนอแนะของส�ำนักตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชี ผลการสอบทานไม่พบข้อบกพร่องในระบบการควบคุมภายในที่เป็นสาระส�ำคัญ โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในมีความเหมาะสมเพียงพอส�ำหรับการประกอบกิจการของบริษัทฯ


267

นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอให้บริษัทฯ ว่าจ้างบริษัท อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จ�ำกัด ผู้ประเมินอิสระ ให้ประเมินระบบการควบคุมภายใน ได้แก่ ระบบการจัดซื้อที่ดิน ระบบการควบคุมและติดตามการใช้จ่ายตามงบประมาณ และ ระบบจัดซื้อจัดจ้างงานก่อสร้าง ออกแบบ โฆษณาประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย และสินทรัพย์ถาวร เพื่อให้มั่นใจว่าระบบ การควบคุมภายในของบริษัทฯ มีประสิทธิผลและเป็นไปตามมาตรฐาน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีการติดตามความคืบหน้า ของโครงการเป็นระยะจนแล้วเสร็จสมบูรณ์ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา ซึ่งบริษัทฯ มีเรื่องส�ำคัญที่ควร ด�ำเนินการ ได้แก่ การจัดท�ำระเบียบจัดซื้อที่ดิน การปรับปรุงระเบียบจัดซื้อทั่วไปให้เป็นปัจจุบันและครอบคลุมข้อมูลส�ำคัญ การจัดท�ำคู่มือปฏิบัติงานด้านบัญชีการเงิน เป็นต้น และคณะกรรมการตรวจสอบได้มอบหมายให้สำ� นักตรวจสอบภายในติดตาม ความคืบหน้าการด�ำเนินการของบริษัทฯ ต่อไป 4. การสอบทานการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง จากการสอบทานคณะกรรมการตรวจสอบไม่พบข้อบ่งชี้ที่ทำ� ให้เชื่อว่าบริษัทฯ มีเจตนาที่จะละเว้นการไม่ปฏิบัติตาม หรือมี การด�ำเนินการใดๆ ที่ขัดแย้งกับข้อก�ำหนดของกฎหมาย 5. การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาภารกิจหลัก ขอบเขตการปฏิบัติงาน ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ ความเป็นอิสระ ในการปฏิบัติงานตรวจสอบ การจัดองค์กรและอัตราก�ำลัง โดยการสอบทานและอนุมัติแผนการตรวจสอบภายใน และการพัฒนา ความรู้ความสามารถของบุคคลากรส�ำนักตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ เป็นไปอย่างเป็นอิสระและ มีประสิทธิผล 6. การรายงานผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการตรวจสอบมีการรายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจ�ำทุกไตรมาสพร้อมทั้งได้เสนอ ความเห็นและข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ฝ่ายจัดการ ซึง่ ฝ่ายจัดการได้ดำ� เนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะอย่างเหมาะสม 7. การพิจารณา คัดเลือกผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี และก�ำหนดค่าตอบแทน เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาและเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่ออนุมัติแต่งตั้งเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจ�ำปี 2559 โดยพิจารณาจาก คุณสมบัติ ผลการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นสอดคล้องกับคณะกรรมการตรวจสอบ และ เสนอผู้ถือหุ้นแต่งตั้ง นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3930 นายกฤษดา เลิศวนา ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4958 นางชลรส สันติอศั วราภรณ์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตทะเบียนเลขที่ 4523 จากบริษทั ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามที่ได้รบั มอบหมายด้วยความรูแ้ ละความสามารถ ความระมัดระวังรอบคอบและมีอสิ ระ เพียงพอ โดยไม่มีข้อจ�ำกัดในการรับข้อมูลทั้งจากผู้บริหาร พนักงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง

(นายบรรลือ ฉันทาดิศัย) ประธานกรรมการตรวจสอบ 23 กุมภาพันธ์ 2559


268

รายงานประจำ�ปี 2558

แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทน ที่จ่ายให้แก่ผู้สอบบัญชี รอบปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 รายการที่

ชื่อบริษัทผู้จ่าย

ชื่อ

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 1 บริษัทย่อย 2 รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ค่าบริการอื่นๆ (Non-Audit-Fee) บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 3 บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 4 รวมค่าบริการอื่นๆ รวมทั้งสิ้น

ค่าตอบแทน

บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด

2,100,000 8,698,000 10,798,000

บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จ�ำกัด

1,100,000 963,000 2,063,000 12,861,000

ข้อมูลข้างต้น ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ทั้งนี้ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าไม่มีข้อมูลการให้บริการอื่นที่บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายให้ข้าพเจ้า ส�ำนักงาน สอบบัญชีที่ข้าพเจ้าและบุคคลหรือกิจการเกี่ยวข้องกับข้าพเจ้าและส�ำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าสังกัด ที่ข้าพเจ้าทราบและ ไม่มีการเปิดเผยไว้ข้างต้น ไ ม ่ ถู ก ต ้ อ ง ไ ม ่ ค ร บ ถ ้ ว น ก ล ่ า ว คื อ ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... . . ......................................………………………………………………………………………………………………… ……………………….......... เมือ่ ปรับปรุงข้อมูลข้างต้น(ถ้ามี) แล้วข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทัง้ หมดในแบบฟอร์มนี้ แสดงค่าตอบแทนสอบบัญชีและค่าบริการ อื่นที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจ่ายให้ข้าพเจ้า ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าสังกัดและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับข้าพเจ้าถูกต้อง ครบถ้วนแล้ว

ลงชื่อ

(นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน) บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด (เดิมชื่อบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด) ผู้สอบบัญชีของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.