บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
สารบัญ สารจากคณะกรรมการ ข้อมูลบริษัท ข้อมูลทางการเงิน ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ การเปลี่ยนแปลงในปีที่ผ่านมา การจัดการ ผังการจัดองค์กร ข้อมูลโครงการ แผนที่ โครงการ การตลาดและการแข่งขัน แนวโน้มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ปี 2551 ข้อมูลอื่น ๆ ประวัติผู้บริหารและผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท รายละเอียดเกี่ยวกับการดำรงตำแหน่ง ค่าตอบแทนผู้บริหาร การกำกับดูแลกิจการ บุคคลอ้างอิงอื่นๆ รายการระหว่างกัน ปัจจัยความเสี่ยง คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน รายงานของผู้สอบบัญชี งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ปี 2550 แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วน
2 4 6 7 9 11 17 24 26 29 30 36 40 47 50 52 54 60 61 65 68 80 81 89 125 126 128
รายงานประจำปี 2550
สารจากคณะกรรมการบริษัท การปรับตัวขึ้นของราคาน้ำมันดิบในช่วงปลายปี 2550 จนเกือบถึงระดับ 100 ดอลลาร์ ต่อบาร์เรล รวมถึงวิกฤตสินเชื่อที่อยู่อาศัยประเภทด้อยคุณภาพ (Sub Prime) ได้ส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจของอเมริกาและทัว่ โลกอย่างหลีกเลีย่ งไม่ ได้ โดยเฉพาะในภาคธุรกิจการเงินและธนาคาร การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนอย่างเสรี ส่งผลกระทบในเชิงลบต่อทุกประเทศรวมถึงประเทศไทยด้วย ส่งผลให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2550 มีการขยายตัวไม่ถึงร้อยละ 5 ประกอบกับการ รอคอยการเลือกตั้งที่จะจัดให้มีขึ้นในช่วงปลายปี เราจึงไม่เห็นการขยายงานหรือการลงทุนใหม่ๆ ทั้งจากภาครัฐและเอกชนตลอดปีที่ผ่านมา บริษัทได้มีการปรับนโยบายในการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ โดยการชะลอการเปิดโครงการใหม่ จากเดิมที่คาดว่าจะมีการเปิดโครงการแนวราบใหม่จำนวน 5 โครงการ เป็นเปิดโครงการใหม่ เพียง 2 โครงการ เท่านั้น ได้แก่ โครงการ เพอร์เฟค มาสเตอร์ พีซ รัตนาธิเบศร์ และ โครงการ มณีรินทร์ พาร์ค รังสิต เฟส 2 สำหรับโครงการเก่า ได้มีการ เร่งงานก่อสร้าง เพื่อให้สามารถส่งมอบและรับรู้รายได้ ให้เร็วขึ้น โดยเฉพาะในโครงการที่มีการ ขายไปแล้ว ได้แก่ โครงการอาคารชุด - เมโทร พาร์ค สาทร และ โครงการทาวน์เฮ้าส์ - เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์ จากการเร่งการก่อสร้าง ส่งผลให้ปี 2550 บริษัทมีรายได้จากการขายบ้าน พร้อมที่ดินเพิ่มขึ้น จาก 4,477 ล้านบาทในปี 2549 เป็น 6,266 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 และ กำไรสุ ท ธิ เพิ่ ม ขึ้ น จาก 12 ล้ า นบาท ในปี 2549 เป็ น 412 ล้ า นบาทในปี 2550 ทำให้ สามารถเสนอการจ่ายเงินปันผลได้ ในอัตราหุ้นละ 0.24 บาท ปีทผี่ า่ นมา บริษทั ได้รบั รางวัลโครงการทีม่ กี ารจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น (EIA Monitoring Awards) ติดต่อกันเป็นปีที่ 3 นับเป็นการตอกย้ำนโยบายที่บริษัทจะเดินหน้าเพื่อคุณภาพชีวิต ที่ดีของผู้อยู่อาศัย โดยในปี 2550 บริษัทได้ทำแคมเปญ ทะเลสาบ 7 แห่งในโครงการของบริษัท (7 Lakes Story) ซึ่งเป็นการเน้นให้ลูกค้ากลุ่มเป้าหมายรับทราบถึงจุดเด่นของโครงการของ บริษัทที่เหนือกว่าคู่แข่ง นอกจากนี้ บริษัทจะเน้นเรื่องการสร้างแบรนด์ เพื่อทำให้กลุ่มลูกค้า เป้าหมายรับรู้ว่า บ้านทุกหลังในโครงการของ พร็ อ พเพอร์ ตี้ เพอร์ เ ฟค จะเป็ น บ้ า นที่ มี คุณภาพท่ามกลางสิง่ แวดล้อมทีด่ ี นอกจากนี้ ยังมีการเปิดคลับเฮ้าส์ริมทะเลสาบแห่งใหม่ ใน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการ เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77 และโครงการเพอร์เฟค เพลส พระราม 5 – ราชพฤกษ์ ทำให้บริษัทมี คลับเฮ้าส์ขนาดใหญ่ริมทะเลสาบรวมทั้งหมด 6 แห่ ง ในอนาคตบริ ษั ท ยั ง มี น โยบายที่ จ ะ เพิ่มจำนวนทะเลสาบในโครงการและคลับ เฮ้าส์ริมทะเลสาบให้มากขึ้นอีก
2
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
สำหรับฐานะการเงินรวมของบริษัทนั้น ในสิ้นปี 2550 บริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนลด ลงเหลือ 1.12 เท่า โดยมีการชำระคืนหุ้นกู้ ไม่มีหลักประกัน จำนวน 800 ล้านบาท และต้นปี บริษัทได้จ่ายชำระหุ้นกู้ ไม่มีหลักประกันชุดสุดท้ายจำนวน 450 ล้านบาทเมื่อต้นปี 2551 ที่ผ่านมา เป็นผลให้บริษัทไม่มีหนี้จากหุ้นกู้มีหลักประกันคงค้าง สำหรับหนี้สินที่เหลืออยู่ส่วนใหญ่เป็นหนี้เงิน กู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เพื่อใช้ ในการพัฒนาโครงการ นอกจากนี้ บริษัทได้จัดตั้ง และ เสนอขายหน่วยลงทุนกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ได้สำเร็จในเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2551 นับว่าเป็นก้าวแรกในการนำเครื่องมือทางการเงินใหม่ๆ มาใช้ ในการหาแหล่ง เงินทุนเพิ่มเติมให้บริษัท สำหรับปี 2551 ธุรกิจบ้านเดี่ยวน่าจะปรับตัวดีขึ้น จากการที่ผู้ประกอบการรายใหญ่ ได้ ประกาศปรับราคาขายบ้านขึ้นประมาณร้อยละ 5 เนื่องจากต้นทุนการก่อสร้างมีการปรับตัวสูงขึ้น ประกอบกับผู้ประกอบการหลายราย ได้หันไปให้ความสำคัญในการพัฒนาโครงการอาคารชุดมาก ขึ้น ทำให้บ้านเดี่ยวในแนวราบมี อุ ป ทานที่ ล ดลง ซึ่ ง น่ า จะส่ ง ผลดี ต่ อ บริ ษั ท ที่ ยั ง เน้ น การขาย โครงการแนวราบอยู่อย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้จาก การพัฒนาแบบบ้านใหม่ รวมถึงฟังก์ชั่นใหม่ๆ ได้แก่ Green Room ที่จะได้มีการนำออกจำหน่ายในช่วงต้นปี 2551 อย่างไรก็ตาม เพื่อเป็นการ เพิ่มรายได้อีกทางหนึ่ง บริษัทมีนโยบายที่จะเพิ่มการพัฒนาโครงการ อาคารชุดพักอาศัยในแนว รถไฟฟ้าขึ้นอีก 1 โครงการในปี 2551 การดำเนินธุรกิจภายใต้รัฐบาลชุดใหม่ คงทำให้ผู้บริโ ภคและผู้ประกอบการเริ่มมีความ หวังในทางที่ดีขึ้น การออกนโยบายกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์ โดยการลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ จาก เดิมที่กำหนไว้ที่อัตราร้อยละ 3 เป็นอัตราร้อยละ 0.1 เฉพาะการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ ได้กระทำภายใน 1 ปี นับจากวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ และลดการ เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนการโอนและค่าจดทะเบียนการจำนองอสังหาริมทรัพย์และ ห้องชุด โดยให้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนการโอนและค่าจดทะเบียนการจำนองอสังหาริมทรัพย์ร้อย ละ 0.01 ซึ่งนโยบายการลดภาษีดังกล่าวน่าจะส่งผลดีทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการดำเนิน ธุรกิจของบริษัท สนับสนุนให้มีการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์มีมากขึ้นและทำให้การประกอบธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ฟื้นตัวเร็วขึ้น คณะกรรมการบริษัท มีความพอใจในผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา ทั้งรายได้และกำไรที่ มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น และ ตระหนักว่าผลของความสำเร็จดังกล่าวจะเกิดขึ้นไม่ ได้ ถ้าปราศจาก ความร่วมมืออันดีจาก พนักงาน ผู้ถือหุ้น ธนาคาร รวมถึงคู่ค้าทางธุรกิจ คณะกรรมการจึงหวัง เป็นอย่างยิ่งว่า คงจะได้รับความไว้วางใจ และ ความร่วมมือด้วยดีจากทุกท่านต่อไป จึงขอ ขอบคุณ มา ณ ที่นี้ ดร. ธวัชชัย นาคะตะ นายชายนิด โง้วศิริมณี ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
รายงานประจำปี 2550
ข้อมูลบริษัท ชื่อ ที่ตั้งสำนักงาน ประเภทธุรกิจ จำนวนหุ้นที่เรียกชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกชำระแล้ว
: : : : : :
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพ ฯ โทรศัพท์ 02-245-6640-7 โทรสาร 02- 247-3328 พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 787,685,020 หุ้น 6 บาท 4,726,110,120 บาท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
การลงทุนในบริษัทอื่น ™◊ËÕ·≈–∑’˵—Èß
บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 21 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพ ฯ โทรศัพท์ 02-645-0960-3 โทรสาร 02-645-0380 บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-245-6640-7 โทรสาร 02-645-1976 บริษัท เรียล เซอร์วิส จำกัด เลขที่ 100/9 ซอยท่าอิฐ ถนนรัตนาธิเบศร์ นนทบุรี โทรศัพท์ 02-594-4001-5 โทรสาร 02-594-4021 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด เลขที่ 100/52 อาคารว่องวานิช บี ชั้น 19 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-645-1406-8 โทรสาร 02-645-1409 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-245-6640-7 โทรสาร 02-645-1976 บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด เลขที่ 184/117 อาคารฟอรั่ม ทาวเวอร์ ชั้น 20 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ
∑ÿπ®¥∑–‡∫’¬π (≈â“π∫“∑)
®”π«π∑ÿπ —¥ à«π ∑’ˇ√’¬°™”√–·≈â« °“√≈ß∑ÿπ (≈â“π∫“∑)
ª√–‡¿∑∏ÿ√°‘®
2,230.00
1,780.00
20.22% พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
1,000.00
1,000.00
100.00% พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
40.00
19.00% บริการซ่อมแซมบำรุง บ้านพักอาศัย
1.00
99.94% บริหารสถาน ออกกำลังกายและสโมสร
1.00
1.00
99.94% พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
1.00
1.00
60.00% พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
40.00 1.00
5
รายงานประจำปี 2550
ข้อมูลทางการเงิน
ß∫°“√‡ß‘π√«¡ 2550 ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม 12,911 ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขายและพัฒนา 10,972 หนี้สินรวม 6,824 ส่วนของผู้ถือหุ้น 6,087 ผลการดำเนินงาน รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน 6,266 รายได้รวม 6,333 กำไรขั้นต้น 29.85% กำไรสุทธิ 412 อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำไร(ขาดทุน)สุทธิต่อรายได้รวม 6.50% อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 7.00% อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม 3.16% อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน 3.02 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องต่อหนี้สินหมุนเวียน 0.24 ข้อมูลต่อหุ้น กำไรสุทธิต่อหุ้น 0.52 เงินปันผล 0.24 มูลค่าตามบัญชี 7.73
6
หน่วย : ล้านบาท ß∫°“√‡ß‘π‡©æ“–¢Õß∫√‘…—∑ 2550 2549 2548 11,951 9,405 6,233 5,718 5,713 5,778 29.57% 369 6.38% 6.66% 3.06% 2.54 0.24 0.47 0.24 7.26
12,127 13,414 9,574 9,832 6,777 7,476 5,349 5,937 3,815 4,149 3,877 5,185 30.55% 34.09% (10 ) 1,093 (0.26% ) 21.07% (0.18% ) 19.74% (0.08% ) 8.68% 3.10 3.50 0.14 0.26 หน่วย : บาท (0.01 ) 1.40 - 0.35 6.84 7.59
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัทและบริษัทย่อย ดำเนินธุรกิจพัฒนาที่ดินและสร้างที่อยู่อาศัยให้ผู้บริโภคเป็นหลัก โดยโครงการของบริษัทและ บริษัทย่อยจะพัฒนาเป็นที่พักอาศัยประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม เน้นการพัฒนาโครงการ จัดสรรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยทั้งบริษัทและบริษัทย่อยจะมีแนวนโยบายในการบริหารงานและว่าจ้าง ผู้รับเหมาก่อสร้างบ้านตามแบบที่กำหนด ดำเนินการควบคุมการก่อสร้างโดยกำหนดมาตรฐานวัสดุก่อสร้าง จัดส่งวิศวกร และสถาปนิกของบริษัทเข้าไปตรวจสอบควบคุมการก่อสร้างทุกขั้นตอนเพื่อให้กระบวนการก่อสร้างเป็นไปตามมาตรฐานการ ก่อสร้างเพื่อให้ ได้คุณภาพออกมาดีที่สุด ในการออกแบบบ้านบริษัทมีฝ่ายออกแบบคอยติดตามการพัฒนาการนวัตกรรม ใหม่ๆ เพื่อนำมาพัฒนาแบบบ้านให้ตรงตามโปรเจ็ค คอนเซ็ปท์ และสร้างความแตกต่างเพื่อให้ผู้บริโ ภคได้สัมผัสความ เปลี่ยนแปลงที่ลงตัวในแต่ละโครงการอย่างต่อเนื่อง จากแบบมาตรฐานกว่า 100 แบบ การพัฒนาแบบบ้านของบริษัท เน้น ถึงความสวยงามที่สอดคล้องกับบรรยากาศของแต่ละโครงการ การจัดพื้นที่ ใช้สอยแต่ละแบบที่แตกต่างกันเพื่อให้ผู้บริโภค ได้พิจารณาตามความต้องการของขนาดครอบครัวและงบประมาณ เพื่อให้ลูกค้าได้เลือกตามความพอใจ โดยพิจารณาถึง ความคุ้มค่าด้วยราคาที่เหมาะสม บริษัทและบริษัทย่อย เน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการและสภาพการแข่งขัน โดยบริษัท ให้ความสำคัญโดยพิจารณาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค ดังนี้ ë ทำเล (Location) โครงการของบริษัทจะตั้งอยู่บนทำเลที่มีศักยภาพ โดยอยู่ ใกล้แนวรถไฟฟ้าหรือแนวถนนตัด ใหม่สายสำคัญ รวมทั้งการขยายโครงการออกไปในทำเลใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถครอบคลุมตลาดตามการแบ่ง ส่วนทางภูมิศาสตร์ ตามความต้องการและกำลังซื้อของลูกค้า ë คุณภาพ (Quality) บริษัทเน้นการพิจารณาคัดเลือกผู้รับเหมา มีระบบการตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพสินค้าทั้ง ในระหว่างก่อสร้าง ภายหลังก่อสร้างเสร็จก่อนส่งมอบ หรือจำหน่ายให้แก่ลูกค้า ë รูปแบบบ้าน (Design) บริษัทเน้นการออกแบบบ้านให้สวยงาม เปีòยมด้วยประโยชน์ใช้สอย สอดคล้องกับความ ต้องการ วิถีการใช้ชีวิตของลูกค้าเป้าหมาย อาทิ บ้านในสวน สวนในบ้าน บ้านคนเมือง บ้านแนวคิดใหม่ ไม่สิ้น เปลืองพลังงานไฟฟ้า โดยในปี 2550 ที่ผ่านมา แบบบ้าน 3 แบบของบริษัท ได้รับรางวัลบ้านจัดสรรอนุรักษ์ พลังงานจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
7
รายงานประจำปี 2550
สำหรับบ้านในโครงการที่บริษัทและบริษัทในเครือนำ เสนอขายให้แก่ลูกค้ามี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) บ้านสร้างเสร็จก่อนขาย บริษัทจะทำการสร้างบ้าน ให้เสร็จก่อนนำมาขายให้ลูกค้า โดยลูกค้าสามารถ ทำการโอนและเข้าอยู่บ้านได้ภายในเวลา 1 เดือน 2) บ้านระหว่างสร้าง บริษัทจะดำเนินการสร้างบ้าน ก่ อ นโดยวิ เ คราะห์ ค วามต้ อ งการของลู ก ค้ า เพื่ อ เลือกแบบบ้านที่สามารถตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าแล้วทำการสร้าง เพื่อให้เหมาะกับลูกค้า ที่ต้องการเวลาในการผ่อนดาวน์ หรือต้องการบ้าน ที่พร้อมอยู่อาศัยในอีกหลายเดือนข้างหน้า 3) บ้านสั่งสร้าง ในปี 2550 บริษัทได้ดำเนินการออกโปรแกรม Perfect Customization นวัตกรรมใหม่ของการ เลือกซื้อที่อยู่อาศัย เป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่ลูกค้าที่สามารถเลือกแบบบ้าน จำนวนห้อง สไตล์บ้าน (Euro Metro Nature) สีบ้าน วอลเปเปอร์ ฯลฯ ใน ปี 2551 บริษัทเตรียมเปิดโครงการใหม่ เป็นโครงการบ้านเดี่ยว 5 โครงการ มูลค่ารวม 9,130 ล้านบาท และ โครงการคอนโดมิเนียม 1 โครงการ มูลค่า 4,000 ล้านบาท บริษัทยังคงพัฒนาการขายโครงการแนวราบและการพัฒนา แบบบ้านใหม่ฟังก์ชั่นใหม่ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการผู้บริโ ภค บริษัทได้พัฒนานวัตกรรมใหม่ โดยเพิ่ม Green Room เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์อย่างลงตัว ซึ่งจะมีการนำออกจำหน่ายในช่วงต้นปี 2551
8
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ จำแนกตามผลิตภัณฑ์ โครงสร้างรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน จำแนกตามผลิตภัณฑ์ ชื่อโครงการ ลักษณะ ปี 2550 ปี 2549 ปี 2548 โครงการ ล้านบาท % ล้านบาท % ล้านบาท %
แบรนด์ “มาสเตอร์พีซ”
มณียา มาสเตอร์พีช มณียา มาสเตอร์พีช เอ็กซ์คลูซีฟโซน เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช เอกมัย-รามอินทรา เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช รัตนาธิเบศร์- ราชพฤกษ์
SDH SDH SDH SDH
76 101 845 147
2% 2% 18% 3%
333 33 833 -
7% 1% 19% -
375 - 547 -
8% - 11% -
เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ - ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง 1,2,3 เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง (เลคไซด์โฮม) เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง–สุวรรณภูมิ (โคโลเนียลโซน) เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง–สุวรรณภูมิ (การ์เด้นโซน) เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง–สุวรรณภูมิ (เดอะ ไพรเวท โซน) เพอร์เฟค เพลส พระราม 5 – ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิม 77–สุวรรณภูมิ **
SDH/Land SDH SDH/Land SDH
22 292 8 -
- 6% - -
162 214 8 -
4% 5% 0% -
496 46 20 105
10% 1% 1% 2%
SDH
-
-
119
3%
189
4%
SDH
26
1%
110
2%
515
10%
SDH SDH SDH
223 461 553
5% 10% 12%
328 419 662
7% 9% 15%
148 362 781
3% 7% 16%
มณีรินทร์ เลค & พาร์ค ติวานนท์ วงแหวน มณีรินทร์ เอ็กซ์คลูซีฟ รังสิต มณีรินทร์ เลค & ลากูน มณีรินทร์ พาร์ค รังสิต มณีรินทร์ พาร์ค รัตนาธิเบศร์ มณีรินทร์ พาร์ค 2 รังสิต
SDH/Land SDH SDH/ Land SDH SDH SDH
377 - - 93 51 135
8% - - 2% 1% 3%
323 4 5 203 104 -
7% 0% 0% 5% 2% -
337 - - 435 407 -
7% - - 9% 8% -
เพอร์เฟค พาร์ค รัตนาธิเบศร์- ราชพฤกษ์ เพอร์เฟค พาร์ค รามคำแหง- สุวรรณภูมิ เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5–บางใหญ่
SDH SDH SDH
158 243 462
3% 5% 10%
341 272
8% 6%
69 98
1% 2%
นันทนาการ์เด้น รังสิต
TH
-
-
4
0%
1
-
เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ TH รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รวม
424 4,697
9% 100%
- 4,477
- 100%
- 4,931
- 100%
แบรนด์ “เพอร์เฟค เพลส”
แบรนด์ “มณีรินทร์”
แบรนด์ “เพอร์เฟค พาร์ค”
อื่นๆ แบรนด์ “เดอะ วิลล่า” หมายเหตุ : SDH = บ้านเดี่ยว TH = ทาวน์เฮาส์ Land = ที่ดินเปล่า ** พัฒนาโครงการในนาม บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด ซึ่งบริษัทถือหุ้นอยู่ 100 %
รายงานประจำปี 2550
รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินที่ปรากฏในงบการเงินรวมของบริษัท เป็นรายได้รวมจากโครงการที่ดำเนินงานภายใต้ บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำนวน 4,144 ล้านบาท 3,815 ล้านบาท และ 4,150 ล้านบาท ในปี 2550 2549 และ 2548 ตามลำดับ และเป็นรายได้จากบริษัทย่อย จำนวน 553 ล้านบาท 662 ล้านบาท และ 781 ล้านบาท ในปี 2550 2549 และ 2548 โครงสร้างรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย จำแนกตามผลิตภัณฑ์
ชื่อโครงการ
ลักษณะ ปี 2550 โครงการ ล้านบาท % เมโทร พาร์ค เมโทร พาร์ค สาทร CONDO 1,470 100% รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รวม 1,470 100%
ปี 2549 ล้านบาท % - - - -
ปี 2548 ล้านบาท % - - - -
รายได้ จ ากการขายหน่ ว ยในอาคารชุ ด พั ก อาศั ย ที่ ป รากฏในงบการเงิ น รวมของบริ ษั ท เป็ น รายได้ ร วมจากโครงการที่ ด ำเนิ น งานภายใต้ บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ทั้งจำนวน 1,470 ล้านบาท
10
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมา จากผลวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศในช่วงปี 2540 บริษัทประสบปัญหาทางการดำเนินธุรกิจเช่นเดียวกับผู้ ประกอบพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อื่นๆ ในประเทศ โดยในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2544 ศาลล้มละลายกลางได้มีคำสั่งให้ฟื้นฟู กิจการ และในวันที่ 2 ตุลาคม 2544 ศาลล้มละลายกลางได้มีคำสั่งเห็นชอบกับแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัทและมีบริษัท เอเชียน อินเตอร์เนชั่นแนล แพลนเนอร์ส จำกัด เป็นผู้จัดทำและผู้บริหารแผน ทั้งนี้บริษัทสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในการ ฟื้นฟูกิจการและปรับโครงสร้างหนี้ ได้อย่างครบถ้วนและได้ยื่นคำขอออกจากกระบวนการฟื้นฟูกิจการต่อศาล ส่งผลให้ ในวัน ที่ 12 เมษายน 2547 ศาลล้มละลายกลางได้มีคำสั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ เป็นผลให้อำนาจในการจัดการกลับคืนสู่ผู้บริหาร เดิมของบริษัท การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ปี 2547 : ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2547 วันที่ 24 พฤษภาคม 2547 มีมติอนุมัติดังนี้ • ลดทุนจดทะเบียนจากทุนจดทะเบียนเดิม 12,000 ล้านบาท ให้เหลือทุนจดทะเบียน 7,200 ล้านบาท โดยการลดมูลค่าหุ้นสามัญของบริษัท จากเดิมหุ้นละ 10 บาท ให้เหลือมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท ซึ่ง ทำให้ทุนชำระแล้วของบริษัทลดลงจากเดิม 7,793.94 ล้านบาท เหลือทุนชำระแล้วจำนวน 4,676.36 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำนวน 779.39 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท เพื่อนำทุนชำระ แล้วที่ลดลงจำนวน 3,117.58 ล้านบาท ไปล้างผลขาดทุนสะสมที่มีอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 จำนวน 3,812,62 ล้านบาท ทำให้บริษัทมีผลขาดทุนสะสมคงเหลือจำนวน 695.04 ล้านบาท • ให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้มีประกันภายในวงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท เสนอขายประชาชนทั่วไป และ/หรือ ผู้ลงทุนประเภทสถาบัน โดยบริษัทได้เสนอขายหุ้นกู้มีประกันครั้งที่ 1/2547 ชุดที่ 1 จำนวน 450 ล้านบาท, หุ้นกู้มีประกันครั้งที่ 1/2547 ชุดที่ 2 จำนวน 750 ล้านบาท และหุ้นกู้มีประกันครั้งที่ 2/ 2547 ชุดที่ 1 จำนวน 350 ล้านบาท รวมการเสนอขายหุ้นกู้ของบริษัทแล้วทั้งสิ้น 1,550 ล้านบาท โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเงินที่ ได้จากการเสนอขายไปชำระคืนเงินกู้ระยะสั้น และการซื้อที่ดินเพื่อพัฒนา โครงการ และขยายการดำเนินธุรกิจของบริษัท
11
รายงานประจำปี 2550
ปี 2548
2
: ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2548 วันที่ 2 มีนาคม 2548 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • การลงทุ น เพิ่ ม ในบริ ษั ท เอสเตท เพอร์ เ ฟ็ ค ท์ จำกั ด โดยการซื้ อ หุ้ น สามั ญ ออกใหม่ ข อง เอสเตทฯ จำนวน 5 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 50 ล้านบาท เพื่อนำเงินที่ ได้จากการ เพิ่มทุนไปดำเนินการเร่งงานก่อสร้างโครงการที่ถนนสุขุมวิท 77 เพื่อให้ทันกับการเปิดใช้สนามบินแห่ง ชาติสุวรรณภูมิ และในฐานะที่บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ เอสเตท ฯ ที่ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวทั้ง จำนวน เพื่อเป็นการรักษาสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท : ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น วันที่ 7 เมษายน 2548 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • ให้ยกเลิกใบสำคัญแสดงสิทธิที่คงเหลือจากการออกใบสำคัญแสดงสิทธิ เพื่อจัดสรรให้แก่เจ้าหนี้ ไม่มี ประกันตามแผนฟื้นฟูกิจการ โดยบริษัทได้ออกและจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัทให้แก่เจ้าหนี้ ไม่มีประกันทุกรายจำนวน 53 ล้านหน่วย โดยไม่คิดมูลค่า ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิหุ้นละ 0.01 บาท ทั้งนี้ ในการจัดสรรใบ สำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว ปรากฏว่า เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งยกคำร้องการขอรับชำระหนี้ของ เจ้าหนี้บางส่วน ทำให้บริษัทจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่เจ้าหนี้ ไม่มีประกันตามที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ ทรัพย์มีคำสั่งเห็นชอบได้เพียงจำนวน 50.93 ล้านหน่วย จึงทำให้มี ใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังมิได้จัดสรร คงเหลืออยู่จำนวน 2.07 ล้านหน่วย ซึ่งที่ประชุมมีมติให้ยกเลิกใบสำคัญแสดงสิทธิที่คงเหลือจากการ จัดสรรดังกล่าวทั้งจำนวน • ลดทุนจดทะเบียนของบริษัท จากทุนจดทะเบียนเดิม 7,200 ล้านบาท ให้เหลือทุนจดทะเบียน 4,779.57 ล้านบาท โดยการตัดหุ้นสามัญจดทะเบียนที่ยังมิได้ออกจำหน่ายจำนวน 403.41 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 6 บาท รวม 2,420.43 ล้านบาท ซึ่งเป็นทุนจดทะเบียนที่บริษัทได้สำรองไว้เพื่อรองรับใบสำคัญ แสดงสิทธิที่มิได้มีการจัดสรร และที่สำรองไว้เพื่อรองรับการแปลงหนี้เป็นทุนของเจ้าหนี้ ไม่มีประกันที่ ได้ถูกระงับสิทธิเรียกร้อง • ให้ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทจำนวน 39 ล้านหน่วย โดยไม่คิด มูลค่าให้แก่กรรมการ และ/หรือ พนักงานของบริษัทตามโครงการ ESOP ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย สามารถซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ราคาใช้สิทธิหุ้นละ 6 บาท โดยให้คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณา รายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับการออกและการจัดสรรในใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะออกในครั้งนี้ โดยปฏิบัติให้ เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง และให้กรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทสามารถแก้ ไขราย ละเอียดและเงื่อนไขของใบสำคัญแสดงสิทธิได้ • เพิ่มทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม 4,779.57 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียน 5,013.57 ล้านบาท กล่าวคือ เพิ่มทุนจดทะเบียนจำนวน 234 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จำนวน 39 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท และนำหุ้นสามัญที่ออกใหม่ทั้งจำนวนนี้สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิซื้อ หุ้นสามัญของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่บริษัทจะออกและเสนอขายให้แก่กรรมการ และ/หรือ พนักงาน ของบริษัทตามโครงการ ESOP
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
: ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2548 วันที่ 19 กันยายน 2548 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • ให้ อ อกและเสนอขายหุ้ น กู้ แ ปลงสภาพเป็ น หุ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ในวงเงิ น ไม่ เ กิ น 35 ล้ า นเหรี ย ญ สหรัฐอเมริกา หรือเทียบเท่าเงินบาทไทยเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 1,480 ล้านบาท ประเภท : หุ้นกู้แปลงสภาพประเภทไม่มีหลักประกัน ซึ่งให้สิทธิผู้ถือหุ้นกู้ที่จะแปลงสภาพ หุ้นกู้สามัญของบริษัท จำนวนเงินต้น : วงเงินไม่เกิน 35 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบเท่าเงินบาทไทย เป็นจำนวนเงินไม่เกิน 1,480 ล้านบาท มูลค่าต่อหน่วย : 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา อัตราดอกเบี้ย : ไม่เกินร้อยละ 4 ต่อปี ขึ้นอยู่กับสภาวะตลาด ซึ่งบริษัทจะกำหนดอัตราดอกเบี้ย ที่แน่นอนก่อนวันทำการเสนอขาย ราคาแปลงสภาพ : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 120 ของราคาปิดเฉลี่ยของหุ้นบริษัทในระหว่าง 7-15 วัน ทำการติดต่อกันก่อนวันเสนอขาย กำหนดเวลาการใช้สทิ ธิแปลงสภาพ : ผูถ้ อื หุน้ กูส้ ามารถใช้สทิ ธิแปลงสภาพได้ตามเงือ่ นไขทีจ่ ะกำหนดต่อไป อายุหุ้นกู้แปลงสภาพ : ไม่เกิน 5 ปี การเสนอขาย : เสนอขายต่อผู้ลงทุนประเภทสถาบันต่างประเทศหรือ ผู้ลงทุนประเภทสถาบันในประเทศ โดยอนุมัติให้คณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการบริหารมีอำนาจพิจารณากำหนดและแก้ ไขราคา เสนอขาย มูลค่าต่อหน่วย อัตราดอกเบี้ย เงื่อนไขและรายละเอียดอื่นๆของหุ้นกู้แปลงสภาพ ตาม พิจารณาเห็นสมควร รวมทั้งมีอำนาจดำเนินการต่างๆที่จำเป็นต่อการออกและเสนอขายหุ้นกู้แปลง สภาพดังกล่าว • ที่ประชุมมีมติให้บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม 5,013.57 ล้านบาท เป็นทุนจด ทะเบียน 6,213.57 ล้านบาท กล่าวคือ ให้เพิ่มทุนจดทะเบียนขึ้นอีก 1,200 ล้านบาท โดยการออกหุ้น สามัญใหม่จำนวน 200 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท และให้นำหุ้นสามัญที่ออกใหม่ทั้งจำนวน สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ และยังให้แก้ ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์ สนธิข้อ 4 เกี่ยวกับการเพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจดทะเบียน • เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 บริษัทได้ดำเนินการตามมติที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 1/2548 วันที่ 19 กันยายน 2548 โดยสรุปคือ บริษัทเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพจำนวน 20 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ให้ แก่ Pyrite International Finance Limited (“Pyrite”) เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 ในราคาแปลง สภาพ หุ้นละ 6.25 บาท โดยมีเงื่อนไขในการชำระดอกเบี้ยและคืนเงินกู้ ในส่วนที่ ไม่ ได้ ใช้สิทธิแปลง สภาพเป็ น เงิ น สกุ ล สหรั ฐ ในอั ต ราเดี ย วกั บ วั น ที่ บ ริ ษั ท ได้ รั บ เงิ น ค่ า หุ้ น กู้ แ ปลงสภาพ คื อ 1 เหรี ย ญ สหรัฐอเมริกา เท่ากับ 41.15 บาท ซึ่งการกำหนดเงื่อนไขการชำระดอกเบี้ยและการคืนเงินกู้ ในอัตรา
รายงานประจำปี 2550
เดียวกับที่บริษัทได้รับเงิน เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศใน การออกหุ้นกู้แปลงสภาพเป็นเงินสกุลต่างประเทศ (ดูรายละเอียดโครงสร้างเงินทุน) หลังจากที่บริษัทได้ ขายหุน้ กูแ้ ปลงสภาพให้ Pyrite แล้ว บริษทั ยังคงมีหนุ้ กูแ้ ปลงสภาพเหลืออีก 15 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 7/2548 วันที่ 1 ธันวาคม 2548 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • แต่งตั้งให้นาย คา เคย์ ยิบ (Mr. Ka Kay Yip) เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการของบริษัทแทนนายตำรา โง้วศิริมณี กรรมการที่ถึงแก่กรรม โดยเป็นตัวแทนจาก Pyrite International Finance Limited ซึ่ง ได้ลงทุนในหุ้นกู้แปลงสภาพตามที่กำหนดไว้ ในเงื่อนไขของผู้ลงทุนหุ้นกู้แปลงสภาพไม่ด้อยสิทธิ
ปี 2549 : ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น วันที่ 28 เมษายน 2549 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • มีมติอนุมัติรับรองการดำเนินการปรับลดส่วนต่ำมูลค่าหุ้นตามความเห็นและแนวปฏิบัติของสภาวิชาชีพ บัญชีและสำนัก ก.ล.ต. • ตามที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2547 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2547 มีมติลดทุน โดยการลด มูลค่าหุน้ จากเดิมมูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 บาท ให้เหลือมูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 6 บาท และให้นำทุนชำระแล้ว ทีล่ ดลงทัง้ จำนวนไปล้างผลขาดทุนสะสมทีม่ อี ยู่ โดยมิได้ ไปล้างส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุน้ แต่เนือ่ งจากปัจจุบนั สภาวิชาชีพบัญชี ได้กำหนดวิธีการบันทึกบัญชี ในกรณีการลดทุนเพื่อล้างผลขาดทุนสะสมว่า บริษัทจะ ต้องนำทุนทีล่ ดไปหักลบส่วนต่ำกว่าทุนก่อน หลังจากนัน้ จึงจะสามารถไปหักลบกับขาดทุนสะสมได้ ดังนัน้ บริษทั จึงจำเป็นต้องปรับปรุงรายการในงบการเงินสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2548 ให้เป็นไปตามความเห็น และแนวปฏิบัติของสภาวิชาชีพบัญชีและสำนักงาน ก.ล.ต. โดยบริษัทได้นำทุนชำระแล้วที่ลดลงจำนวน 3,121,441.776 บาท ไปปรับลดส่วนต่ำมูลค่าหุ้นจำนวน 346,583,259.81 บาท แล้วจึงนำทุนชำระแล้ว ที่เหลือไปล้างผลขาดทุนสะสมที่มีอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 จำนวน 3,812,615,553.75 บาท จึง ทำให้บริษัทมีผลขาดทุนสะสมคงเหลือจำนวน 1,037,757,037.56 บาท • มีมติให้จัดสรรเงินสำรองตามกฎหมายจำนวน 60 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผลสำหรับผลการดำเนินงาน ปี 2548 ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.35 บาท โดยรวมเป็นเงินปันผลที่จะต้องจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นทั้งสิ้น 273.88 ล้านบาท คิดเป็นอัตราผลตอบแทนประมาณ 6% โดยให้ผถู้ อื หุน้ ทีม่ รี ายชือ่ ปรากฏในสมุดทะเบียน ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2549 เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินปันผล โดยจ่ายภายในวันที่ 28 พฤษภาคม 2549 • ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์เลือกตั้งให้นางวนิดา ไวยาวัจมัย นายวิชัย สิงห์วิชา นายสมศักดิ์ โตรักษา และนายวิทยา เนติวิวัฒน์ ซึ่งเป็นกรรมการที่ต้องออกจากตำแหน่งตามวาระในครั้งนี้ กลับเข้าดำรง ตำแหน่งกรรมการของบริษัทใหม่อีกวาระ • มีมติเป็นเอกฉันท์แต่งตั้งให้ บริษัท เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด โดยนายรุทธ เชาวนะกวี ผู้สอบบัญชี
รับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3247 และ/หรือนายณรงค์ พันตาวงษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3315 และ/หรือนายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3930 และ/หรือนางสาว ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3844 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจำปี 2549 ต่ออีกวาระหนึ่ง โดยมีมติอนุมัติค่าตอบแทนให้ผู้สอบบัญชีภายในวงเงินไม่เกิน 1,515,000 บาท : ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2549 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2549 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทครั้งที่ 1/2549 มีมติให้บริษัทออกและ เสนอขายหุ้นกู้มีประกันและไม่ด้อยสิทธิภายในวงเงินไม่กิน 1,200 ล้านบาทโดยมีรายละเอียดดังนี้
14
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ปี 2550
ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้ น กู้ มี ป ระกั น ไม่ ด้ อ ยสิ ท ธิ ชนิ ด ทยอยคื น เงิ น ต้ น ครั้ ง เดี ย วเมื่ อ ครบกำหนด ไถ่ถอนมีหรือไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ก็ ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ความเหมาะสมของสภาวะตลาดในขณะที่ออกและเสนอขายหุ้นกู้ ในแต่ละครั้ง มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : ไม่เกิน 1,200ล้านบาท (หนึ่งพันสองร้อยล้านบาท) วิธีเสนอขาย : เสนอขายในประเทศต่อประชาชนทัว่ ไป และ/หรือนักลงทุนประเภท สถาบันและ/หรือนักลงทุนเฉพาะเจาะจงทั้งหมดหรือบางส่วน ทั้ง นักลงทุนต่างประเทศ ซึ่งอาจแบ่งการเสนอขายเป็นครั้งเดียวหรือ หลายครั้งก็ ได้ อัตราดอกเบีย้ : ขึน้ อยูก่ บั สภาวะตลาดในขณะทีอ่ อกและเสนอขายหุน้ กู้ ในแต่ละครัง้ อายุ : ไม่เกิน 3 ปีนับจากวันที่ออกหุ้นกู้ เงื่อนไขอื่นๆ และข้อจำกัดของหุ้นกู้อนุมัติให้คณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการบริหารมีอำนาจ พิจารณากำหนดและแก้ ไข ราคาเสนอขาย มูลค่าต่อหน่วย อัตราดอกเบี้ย เงื่อนไขและรายละเอียดอื่นๆ ของหุ้นกู้มีประกันไม่ด้อยสิทธิ ตามพิจารณาเห็นสมควร รวมทั้งมีอำนาจดำเนินการต่างๆ ที่จำเป็นต่อ การออกและเสนอขายหุน้ กูม้ ปี ระกันไม่ดอ้ ยสิทธิดงั กล่าว (เนือ่ งจากเงือ่ นไขทางการเงินบริษทั จึงไม่สามารถ ดำเนินการได้ ในรอบระยะเวลาที่ผ่านมา) : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2550 วันที่ 18 มกราคม 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • มี ม ติ ใ ห้ บ ริ ษั ท ลงทุ น ตามสั ด ส่ ว นเดิ ม ในหุ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของบริ ษั ท กรุ ง เทพบ้ า นและที่ ดิ น จำกั ด (มหาชน) โดยเป็นการรักษาสัดส่วนการถือหุ้นตามเดิมของบริษัทในบริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) เพื่อเป็นการรักษาสิทธิและประโยชน์ของบริษัท (รายละเอียดตามรายการระหว่างกัน) : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2550 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • มีมติรบั ทราบการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี โดยเปลีย่ นวิธกี ารบันทึกบัญชีเงินลงทุน จากวิธสี ว่ นได้เสีย (Equity Method) เป็นวิธีต้นทุน (Cost Method) ทั้งนี้ เป็นไปตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 26/2549 เรื่อง การปฏิบัติตามวิธีการบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 เรื่อง งบการเงินรวม และการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย (แก้ ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1) โดยให้มีผลการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ รอบบัญชีปี 2550 เป็นต้นไป (หมายเหตุประกอบงบการเงิน) • ที่ประชุมมีมติรับทราบการถอนแบบคำขออนุญาตและแบบแสดงรายการข้อมูลการออกและจัดสรรใบ สำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ และหุ้นที่ออกใหม่ เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงสิทธิแก่กรรมการและ พนักงานของบริษัทต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2550 วันที่ 2 เมษายน 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • มีมติแต่งตัง้ ให้นาย เดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน (Mr. David Bryce Van Oppen) สัญชาติอเมริกนั เชือ้ สาย เบลเยี่ยม ดำรงตำแหน่งกรรมการของบริษัท แทนนาย คา เคย์ ยิบ (Mr. Ka Kay Yip) ที่ลาออกไป : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2550 วันที่ 30 เมษายน 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • มีมติเป็นเอกฉันท์แต่งตัง้ ให้ นายวีระยุค พันธุเพชร ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ แทน ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ที่ ได้ลาออก • มีมติเป็นเอกฉันท์ให้จัดตั้งบริษัทย่อยชื่อ บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด ตามเงื่อนไขของ Lehman Brothers ผู้ ให้การสนับสนุนทางการเงิน และมีมติเป็นเอกฉันท์ให้กรรมการบริษทั ไปดำเนินการ ออกหุน้ กู้ให้กบั Lehman Brothers เพือ่ เป็นค่าซือ้ ทีด่ นิ บนถนนรัชดาภิเษก ในวงเงินไม่เกิน 462,150,000 บาท
15
รายงานประจำปี 2550
16
: ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2550 วันที่ 14 พฤษภาคม 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ขายทีด่ นิ บางส่วนของโครงการพัฒนาการให้แก่ บริษทั ฟาร์อสี ต์ แสตมฟอร์ด อินเตอร์ เนชั่นแนล จำกัด และอนุมัติให้บริษัทจัดซื้อที่ดินจาก บริษัท บางกอกแลนด์ จำกัด (มหาชน) • มีมติเป็นเอกฉันท์เกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท โดยพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการหลังหักสำรองตามกฎหมาย ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผลให้นำปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้มาพิจารณาประกอบ เช่น ฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษัท โดยถือเป็นนโยบายการจ่าย เงินปันผลของบริษัทย่อยด้วย : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 7/2550 วันที่ 14 สิงหาคม 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติให้มีการจัดตั้งกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ โดยอนุมัติให้ขายทรัพย์สิน ของบริษัทให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์มี ไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท และอนุมัติให้บริษัทเข้าร่วมลงทุน ในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ในวงเงินไม่เกินกว่าที่สำนักงานกลต.กำหนดไว้และอนุมัติให้บริษัทเข้าทำ สัญญาอันเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพย์สินของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2550 วันที่ 24 กันยายน 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • มีมติเป็นเอกฉันท์ให้บริษทั จำหน่ายทรัพย์สนิ ของบริษทั ทีเ่ ป็นสิทธิการเช่าบนทีด่ นิ บริเวณถนนรัชดาภิเษก จำนวน 5 โฉนด เนื้อที่รวม 11 ไร่ 1 งาน 40.1 ตารางวา ในราคาไม่ต่ำกว่า 200 ล้านบาท • มีมติเป็นเอกฉันท์ให้บริษทั เข้าร่วมลงทุนกับบริษทั ในประเทศหรือบริษทั ต่างประเทศในการพัฒนาโครงการ ศูนย์การค้าในสิทธิการเช่าบนที่ดินบริเวณถนนรัชดาภิเษก และบริษัทร่วมทุนจะมีชื่อว่า “เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์” : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 9/2550 วันที่ 14 พฤศจิกายน 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • มีมติรับทราบมติที่ประชุม บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน (บริษัทร่วม) ออกหุ้นกู้แปลงสภาพชนิดระบุชื่อ ผู้ถือ มีอายุ 5 ปี มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท จำนวนหุ้นกู้ ไม่เกิน 623,250 หน่วย คิดเป็นเงินไม่เกิน 623.250 ล้านบาท โดยขายให้แก่นักลงทุนเฉพาะเจาะจง และ/หรือ เป็นการขายให้แก่นักลงทุนตาม ประกาศ ก.ล.ต. เท่านั้น โดยที่ประชุมมีมติมอบหมายให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นตัวแทนเพื่อ ขอขยายระยะเวลาการใช้สทิ ธิแปลงสภาพหุน้ กูเ้ ป็นหุน้ สามัญของผูถ้ อื หุน้ จากเดิม “ผูถ้ อื หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ จะสามารถใช้สิทธิได้เมื่อครบ 1 ปี นับจากวันออกหุ้นกู้แปลงสภาพ” โดยให้เจรจาเป็น “อย่างน้อย 2 ปี นับจากวันออกหุ้นกู้แปลงสภาพ” รวมทั้งเป็นตัวแทนบริษัทมีอำนาจในการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ รวมถึง การออกเสียงลงมติเห็นชอบให้ บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน แก้ ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิเรื่องการ เพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 45 ล้านหุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ ตามมติออก หุ้นกู้แปลงสภาพข้างต้น และมอบหมายให้เป็นตัวแทนในการเข้าเจรจาและตกลงใดๆ รวมถึงการลงนาม และการแก้ ไขเพิ่มเติมข้อตกลงในสัญญา Shareholders Undertaking Agreement ในการออกหุ้นกู้ แปลงสภาพของ บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน ข้างต้น • มีมติเป็นเอกฉันท์ให้จัดตั้งกองทุนส่วนบุคคล เพื่อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในกองทุนอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ซึ่งมีขนาดกองทุนไม่เกิน 70 ล้านบาท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
การจัดการ ตั้งแต่วันที่ศาลมีคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการของบริษัท และแต่งตั้งผู้ทำแผนเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2544 บรรดาอำนาจ หน้าที่ ในการจัดการกิจการและทรัพย์สินของบริษัทและสิทธิตามกฎหมายของผู้ถือหุ้นของบริษัท ยกเว้นสิทธิที่จะได้รับ เงินปันผล ตกแก่ผู้ทำแผนตามมาตรา 90/25 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 ต่อมาเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2544 เมื่อศาลได้มีคำสั่งเห็นชอบด้วยแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัท โดยมีบริษัท เอเชียน อินเตอร์เนชั่นแนล แพลนเนอร์ส จำกัด เป็นผู้บริหารแผน บรรดาสิทธิและอำนาจหน้าที่ของผู้ทำแผนตกเป็นของผู้บริหารแผนตามมาตรา 90/59 แห่ง พระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 ผู้บริหารแผนได้ ได้ดำเนินการต่างๆ โดยปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ ในแผน ฟื้นฟูกิจการได้อย่างครบถ้วน บริษัทจึงยื่นคำขอออกจากขบวนการฟื้นฟูกิจการต่อศาล วันที่ 12 เมษายน 2547 ศาล ล้มละลายกลางได้มีคำสั่งให้ยกเลิกการฟื้นฟูกิจการของบริษัท อำนาจหน้าที่ ในการจัดการและทรัพย์สินของบริษัทจึงกลับคืน สู่ผู้บริหารเดิม โครงสร้างการจัดการ ปัจจุบัน โครงสร้างการจัดการของบริษัท ประกอบด้วยคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ รวม 5 คณะ ได้แก่ (ก) คณะกรรมการบริษัท (ข) คณะกรรมการตรวจสอบ (ค) คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท (ง) คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ (จ) คณะกรรมการบริหาร โดยแต่ละคณะจะมี ขอบเขต อำนาจ หน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ (ก) คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ประกอบด้วย
ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการ 2 นายชายนิด โง้วศิริมณี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 3 นางวนิดา ไวยาวัจมัย * กรรมการ 4 นายวิชัย สิงห์วิชา * กรรมการ 5 ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ กรรมการ 6 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการ 7 นางพาณีพรรณ ทิสาพงศ์ * กรรมการ 8 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี **** กรรมการ 9 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการ 10 นายคา เคย์ ยิบ * กรรมการ 11 นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน ** กรรมการ 12 นายวีระยุค พันธุเพชร *** กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ 13 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 14 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ โดยมี นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท หมายเหตุ * กรรมการลาออก ** ได้รับการแต่งตั้งแทน นาย คา เคย์ ยิบ ที่ลาออก ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2550 *** ได้รับการแต่งตั้ง ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 **** ครบกำหนดออกตามวาระ และสละสิทธิ์ ไม่รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการอีก 17
รายงานประจำปี 2550
กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทประกอบด้วย 1) ดร.ธวัชชัย นาคะตะ นายชายนิด โง้วศิริมณี ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการสองใน สี่คนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำคัญของบริษัท ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู้ มี อ ำนาจหน้ า ที่ ใ นการตั ด สิ น ใจ และดู แ ลการดำเนิ น งานของบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปตาม วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติประชุมผู้ถือหุ้น และกฎหมาย เว้นแต่การตัดสินใจหรือการดำเนินงานในเรื่องที่ตามกฎหมาย ประกาศ และข้อกำหนดของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กำหนดให้ต้องรับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนจึงจะ ดำเนินการได้ โดยที่ข้อบังคับของบริษัทได้ ให้อำนาจคณะกรรมการบริษัท แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร เพื่อทำหน้าที่ควบคุม การดูแลกิจการรายวันของบริษัทให้เป็นไปตามแนวนโยบายและงบประมาณที่ ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และ กิจการอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายซึ่งได้แก่ การอนุมัติการดำเนินงานตามขอบเขตอำนาจที่คณะกรรมการ บริษัทได้ ให้ ไว้ และการกลั่นกรองเรื่องใด ๆ ที่อยู่นอกเหนือขอบเขตอำนาจของตนเพื่อเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการ บริษัท นอกจากนี้ ข้อบังคับได้ ให้อำนาจคณะกรรมการบริษัท มีสิทธิแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ หรือคณะทำงานอื่น ๆ เพื่อช่วยเหลือ คณะกรรมการในการบริหารงานได้ด้วย (ข) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 นายวีระยุค พันธุเพชร * ประธานกรรมการตรวจสอบ 2 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการตรวจสอบ 3 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการตรวจสอบ โดยมี นางสาวดวงพร เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ: * ได้รับการแต่งตั้งแทน ดร.ธวัชชัย นาคะตะตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. กำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัท ให้มีการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และรับผิดชอบต่อผู้ถือ หุ้นของบริษัท
18
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
2. ดำเนินการให้เป็นที่มั่นใจว่า กรรมการบริหาร และผู้บริหารของบริษัทได้บริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายของ บริษัทอย่างถูกต้อง ครบถ้วนและมีมาตรฐาน 3. ดูแลรายงานทางการเงินของบริษัทให้ตรงต่อความเป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอและเชื่อถือได้ ตลอดจนมีการเปิด เผยข้อมูลที่ครบถ้วนและเพียงพอโดยการประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบจัดทำ รายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาสและประจำปี หรือตามที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือคณะกรรมการ บริหารร้องขอ 4. ดูแลให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยการสอบทานร่วมกับผู้ตรวจสอบ ภายในและผู้สอบบัญชี 5. พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีและกำหนดค่าตอบแทน แล้วเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ ถือหุ้น โดยคำนึงถึงความน่าเชื่อถือ ความเพียงพอของทรัพยากรบุคคล ปริมาณการสอบบัญชีของสำนักงาน ตรวจสอบบัญชี รวมถึงประสบการณ์ของบุคลากรที่ ได้รับมอบหมายให้ทำการตรวจสอบบัญชีบริษัท 6. ดูแลให้บริษัทปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 7. ดูแลไม่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยการสอบทานการทำรายการระหว่างกันของบุคคลที่เกี่ยวข้อง กัน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี รวมถึงพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยว โยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน 8. จัดทำรายงานการกำกับดูแลของคณะกรรมการตรวจสอบและเปิดเผยไว้ ในรายงานประจำปีของบริษัท โดยใน รายงานดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ •. ความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดทำและการเปิดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงินของบริษัทถึงความถูกต้อง ครบถ้วนและเชื่อถือได้ • ความเห็นถึงความพอเพียงของระบบการควบคุมภายในของบริษัท • เหตุผลที่เชื่อว่าผู้สอบบัญชีของบริษัทมีความเหมาะสมที่จะได้รับแต่งตั้งต่อไปอีกวาระหนึ่ง • ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • รายงานอื่นใดที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 9. พิจารณาแผนงานการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน 10. สอบทานหลักฐานการตรวจสอบภายใน หากพบหรือสันนิษฐานว่าอาจมีการทุจริตเกิดขึ้น ตลอดจนถึงความ บกพร่องหรือไม่เพียงพอของระบบการควบคุมภายในและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา 11. พิจารณาผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน ข้อเสนอแนะของผู้สอบบัญชี รวมถึงวิธีการติดตามผล
รายงานประจำปี 2550
12. คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจตรวจสอบ สอบทาน รวมทัง้ เชิญกรรมการบริหาร ผูบ้ ริหารทีเ่ กีย่ วข้อง ทีป่ รึกษา และผู้สอบบัญชี มาเข้าร่วมประชุมเพื่อรับทราบข้อมูลอันเป็นประโยชน์ รวมถึงแสวงหาความเห็นที่เป็นอิสระ จากที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใด เมื่อเห็นว่าจำเป็นด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท เพื่อให้การปฏิบัติงานภายใต้หน้าที่ รับผิดชอบสำเร็จลุล่วงด้วยดี 13. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมาย เช่น การทบทวนนโยบายการบริหารทางการเงินและ ความเสี่ยง ทบทวนการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางธุรกิจของผู้บริหาร ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี หรือเท่ากับวาระที่คงเหลือในคณะกรรมการ บริษัท และจะแต่งตั้งใหม่ โดยคณะกรรมการบริษัทเมื่อครบกำหนดวาระ คุณสมบัติกรรมการอิสระ คุณสมบัติกรรมการอิสระเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กจ. 12/2543 เรื่องการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ และเป็นไปตามคุณสมบัติกรรมการตรวจสอบตามข้อบังคับ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ค) คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาชือ่ บุคคลเพือ่ เสนอเป็นกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีจำนวน 3 ท่าน ดังนี ้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ 2 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการสรรหาฯ 3 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการสรรหาฯ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการของบริษัท 1. คัดเลือกและสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมในการเป็นกรรมการบริษัทเพื่อเสนอชื่อผู้ ได้รับการคัดเลือกต่อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และหรือนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขอมติแต่งตั้งต่อไป 2. การพิจารณาคัดสรรบุคคลดังกล่าว คณะกรรมการจะต้องพิจารณาถึงคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ รวมทั้ง ประสบการณ์ทเี่ กีย่ วข้องในการเป็นกรรมการบริษทั ซึง่ หัวข้อในการคัดสรรดังกล่าว จะต้องมีสว่ นทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อการดำเนินกิจการของบริษทั นอกจากนี้ คณะกรรมการยังต้องพิจารณาถึงคุณสมบัตขิ องผูท้ จี่ ะถูกเสนอชือ่ ดังกล่าว จะต้องไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ คณะกรรมการจะต้องพิจารณาถึงคุณสมบัตขิ องผูท้ ี่ จะเสนอชื่อเป็นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบเป็นพิเศษ 3. ในการคัดสรรผู้เข้าเสนอชื่อในตำแหน่งกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบนั้น คณะกรรมการสรรหาจะต้อง คำนึงถึง - ผู้ ได้รับการคัดเลือกต้องถือหุ้นของบริษัท บริษัทร่วม บริษัทในเครือ หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกันไม่เกินร้อยละ 5 ของทุนชำระแล้วของแต่ละบริษทั ทัง้ นี้ การนับจำนวนหุน้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เช่น คูส่ มรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วย - ผู้ ได้รับการเสนอชื่อต้องไม่ใช่ผู้เกี่ยวข้องหรือเป็นญาติสนิทของผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท - ผู้รับการคัดเลือกต้องไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงิน และการ บริหารของบริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 20
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
4. ผู้ ได้ รั บ การคั ด สรรสามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ แ ละแสดงความเห็ น หรื อ รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านตามหน้ า ที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมายได้ โดยอิสระ และไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท รวมทั้ง ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือ ญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว การนำเสนอชื่อผู้ ได้รับการคัดสรรเพื่อเสนอชื่อให้เป็นกรรมการบริษัทต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทนั้น คณะกรรมการ สรรหาฯ ต้องดำเนินการคัดสรรและเสนอชื่อบุคคลเพียงเท่าที่จำเป็นจะต้องแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทเท่านั้น เว้นแต่คณะกรรม การสรรหาฯ ไม่สามารถพิจารณาและตกลงกันในคณะกรรมการสรรหาฯ ได้ ไม่วา่ เหตุใด ๆ ก็ตาม คณะกรรมการสรรหาฯ จึงสามารถ นำเสนอชื่อผู้อยู่ ในข่ายการคัดสรรทั้งหมดต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาและมีมติเลือกผู้ ได้รับการ คัดสรรเอง (ง) คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีจำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ 2 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ 3 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ 1. พิจารณานโยบายและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนสำหรับประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการ และทีป่ รึกษา ของบริษัท 2. พิจารณากำหนดค่าตอบแทนประจำปี การปรับเงินเดือนประจำปี รวมทัง้ การปรับเงินเดือนระหว่างปี รวมทัง้ ผลประโยชน์ อื่นอันเป็นการตอบแทนการทำงานของฝ่ายบริษัทและพนักงานทุกระดับ 3. พิ จ ารณาระเบียบการจ้างงาน ระเบียบการทำงาน และพิ จ ารณาเกณฑ์ ก ารลงโทษให้ เ หมาะสมและเป็ น ธรรมต่อ พนักงานบริษัท 4. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ รับผิดชอบโดยตรงต่อคณะกรรมการบริษัท และมีหน้าที่ชี้แจง ตอบคำถามเกี่ยวกับค่าตอบแทนพนักงานทุกระดับในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท (จ) คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีจำนวน 10 ท่าน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 นายชายนิด โง้วศิริมณี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี กรรมการบริหาร และเลขานุการคณะกรรมการบริหาร 3 นางวนิดา ไวยาวัจมัย กรรมการบริหาร 4 นายวิชัย สิงห์วิชา กรรมการบริหาร 5 นางพาณีพรรณ ทิสาพงศ์ * กรรมการบริหาร 6 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการบริหาร 7 ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ กรรมการบริหาร 8 นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา กรรมการบริหาร 9 นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ กรรมการบริหาร 10 นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร กรรมการบริหาร
หมายเหตุ: * นางพาณีพรรณ ทิสาพงศ์ ลาออก เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2550
21
รายงานประจำปี 2550
ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. บริหารงานในเรื่องเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจปกติของบริษัทภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริษัท และภายในขอบเขต ของกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับของบริษัท 2. พิจารณาการจัดสรรงบประมาณประจำปี เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 3. พิจารณากลั่นกรองโครงการลงทุนต่าง ๆ ของบริษัท เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 4. พิจารณาและอนุมตั กิ ารกูเ้ งินหรือขอสินเชือ่ จากสถาบันการเงิน รวมตลอดถึงการชำระหรือใช้จา่ ยเงินเพือ่ ธุรกรรมปกติของ บริษทั เช่น การใช้จา่ ยเงินเพือ่ ลงทุน การจัดซือ้ ทีด่ นิ และใช้จา่ ยเพือ่ ดำเนินงานต่างๆ ภายในวงเงินไม่เกิน 100,000,000 บาท (หนึ่งร้อยล้านบาท) 5. จัดทำ เสนอแนะ และกำหนดนโยบายธุรกิจ รวมทั้งกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท 6. พิจารณาและอนุมัติแผนการตลาด แผนการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 7. ประเมินผลการดำเนินงานของบริษัท ทั้งในด้านการจัดการบริหารทรัพย์สิน และการบริหารการเงินเพื่อให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 8. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ การมอบหมายอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำนาจ หรือมอบอำนาจช่วงทีท่ ำให้กรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอำนาจจากกรรมการบริหาร สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมี ความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ ในประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือ บริษัทย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นลักษณะการดำเนินธุรกรรมการค้าปกติทั่วไป ของบริ ษั ท ที่ เ ป็ น ไปตามนโยบายและหลั ก เกณฑ์ ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ได้ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ไ ว้ ซึ่ ง เป็ น ไปตามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาปรับผังบริหารองค์กรเพือ่ ความเหมาะสมกับสภาวะการณ์ในปัจจุบนั และได้กำหนด ตำแหน่ง ขอบเขต อำนาจหน้าที่ใหม่ โดยมี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นผู้มีหน้าที่จัดการและรับผิดชอบฝ่ายจัดการทั้งหมด
22
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของฝ่ายจัดการของบริษัท มีอำนาจหน้าที่อนุโลมตามอำนาจหน้าที ่
ของกรรมการผู้จัดการ โดยมีหน้าที่ดำเนินการและรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัท และ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในกิจการดังต่อไปนี้ 1. กำหนดนโยบาย ทิศทาง และกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจของบริษัท 2. กำหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอำนาจของหน่วยงานภายในบริษทั ทีข่ นึ้ ตรงต่อฝ่ายจัดการ เพือ่ เสนอขอความเห็นชอบ ต่อคณะกรรมการบริษัท 3. บริหารงานในเรื่องเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจปกติของบริษัทภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริษัท และภายในขอบเขต ของกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับของบริษัท โดยให้คำนึงถึงหลักธรรมาภิบาล 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้การมอบหมายอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหารนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำนาจ หรือ มอบอำนาจช่วง ที่ทำให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือผู้รับมอบอำนาจจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สามารถอนุมัติรายการ ที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ ในประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อนื่ ใดกับบริษทั หรือบริษทั ย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นลักษณะการดำเนินธุรกรรม การค้าปกติทั่วไปของบริษัท ที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติไว้ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
23
รายงานประจำปี 2550
ผังการจัดองค์กร
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการสรรหาฯ คณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน เลขานุการบริษัท
คณะกรรมการบริหาร
ฝÉายกฎหมาย
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
ประธานเจ้าหน้าที่ฝÉายปØิบัติการ
ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝÉายปØิบัติการ สายงานบริหารงานกลาง และทรัพยากรมนุษย์ สายงานนิติกรรมและ โอนกรรมสิทธิÏ
ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝÉายปØิบัติการ สายงานบริหาร งานก่อสร้าง สายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ และควบคุมคุณภาพ สายงานออกแบบ สายงานบริหาร โครงการ โซน 1 สายงานบริหาร โครงการ โซน 2 สายงานบริหาร โครงการ โซน 3 สายงานบริหาร โครงการ โซน 4 สายงานบริหาร โครงการ โซน 5
2
สายงานบริหารงานขาย สายงานบริการและ ลูกค้าสัมพันธ์
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ประธานคณะที่ปรึกษา คณะกรรมการตรวจสอบ สำนักตรวจสอบภายใน
สำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
ประธานเจ้าหน้าที่ฝÉายพัฒนาธุรกิจ
ประธานเจ้าหน้าที่ฝÉายการเงิน
ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝÉายพัฒนาธุรกิจ
ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝÉายการเงิน
สายงานวิจัยและ พัฒนาธุรกิจ
สายงานโ¶ษณา
สายงานการเงินและ บริหารเงิน
สายงานวางแผน โครงการ
สายงานประชาสัมพันธ์และ สื่อสารองค์กร
สายงานบัญชี
สายงานนักลงทุนสัมพันธ์ และสารสนเทศ
สำนักงบประมาณ สายงานบริหารกองทุน อสังหาริมทรัพย์
25
รายงานประจำปี 2550
ข้อมูลโครงการ โครงการของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 1. โครงการ มณีรินทร์ พาร์ค รัตนาธิเบศร์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2547-2551 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 189 จำนวนยูนิตคงเหลือ 3 มูลค่าโครงการคงเหลือ 16 ล้านบาท 2. โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q3/2548-2556 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 1,215 จำนวนยูนิตคงเหลือ 1,092 มูลค่าโครงการคงเหลือ 4,260 ล้านบาท 3. โครงการ เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q4/2549-2553 ผลิตภัณฑ์ TH , DH จำนวนยูนิตทั้งหมด 1,427 จำนวนยูนิตคงเหลือ 1,199 มูลค่าโครงการคงเหลือ 2,783 ล้านบาท 4. โครงการเพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q1/2550-2555 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 361 จำนวนยูนิตคงเหลือ 346 มูลค่าโครงการคงเหลือ 3,229 ล้านบาท 5. โครงการมณีรินทร์ พาร์ค รังสิต ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2547-2551 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 222 จำนวนยูนิตคงเหลือ 3 มูลค่าโครงการคงเหลือ 10 ล้านบาท 6. โครงการมณีรินทร์ พาร์ค รังสิต (16 ไร่) ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q1/2550-2551 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 98 จำนวนยูนิตคงเหลือ 54 มูลค่าโครงการคงเหลือ 153 ล้านบาท 7. โครงการมณีรินทร์ เลค&พาร์ค ติวานนท์-วงแหวน ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2544-2551 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 699 จำนวนยูนิตคงเหลือ 268 มูลค่าโครงการคงเหลือ 1,168 ล้านบาท
26
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
8. โครงการเพอร์เฟค เพลส พระราม5-ราชพฤกษ์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2551 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 306 จำนวนยูนิตคงเหลือ 98 มูลค่าโครงการคงเหลือ 572 ล้านบาท
9. โครงการเพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5-บางใหญ่ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q4/2549-2553 ผลิตภัณฑ์ SDH, DH จำนวนยูนิตทั้งหมด 1,945 จำนวนยูนิตคงเหลือ 1,700 มูลค่าโครงการคงเหลือ 5,091 ล้านบาท 10. โครงการเพอร์เฟค เพลส รามคำแหง-สุวรรณภูมิ (ไพรเวท โซน) ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2552 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 301 จำนวนยูนิตคงเหลือ 185 มูลค่าโครงการคงเหลือ 984 ล้านบาท 11. โครงการเพอร์เฟค พาร์ค รามคำแหง-สุวรรณภูมิ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2551 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 198 จำนวนยูนิตคงเหลือ 39 มูลค่าโครงการคงเหลือ 188 ล้านบาท 12. โครงการเพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77-สุวรรณภูมิ** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2547-2553 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 1,102 จำนวนยูนิตคงเหลือ 331 มูลค่าโครงการคงเหลือ 1,690 ล้านบาท 13. โครงการเพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ เอกมัย-รามอินทรา (Ultimate Zone) ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2547-2551 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 240 จำนวนยูนิตคงเหลือ 95 มูลค่าโครงการคงเหลือ 1,154 ล้านบาท 14. โครงการเมโทร พาร์ค สาทร ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2554 ผลิตภัณฑ์ CD จำนวนยูนิตทั้งหมด 4,369 จำนวนยูนิตคงเหลือ 3,458 มูลค่าโครงการคงเหลือ 7,242 ล้านบาท
27
รายงานประจำปี 2550
โครงการใหม่ในปี 2551 1. โครงการเพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q4/2551-2553 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 443 จำนวนยูนิตคงเหลือ 443 มูลค่าโครงการคงเหลือ 2,300 ล้านบาท 2. โครงการเพอร์เฟค เพลส รามคำแหง (เดอะ เลคโซน) ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q4/2551-2552 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 114 จำนวนยูนิตคงเหลือ 114 มูลค่าโครงการคงเหลือ 830 ล้านบาท 3. โครงการเพอร์เฟค พาร์ค ร่มเกล้า เฟส 1** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q2/2551-2552 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 194 จำนวนยูนิตคงเหลือ 194 มูลค่าโครงการคงเหลือ 730 ล้านบาท 4. โครงการเพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ พัฒนาการ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q4/2551-2556 ผลิตภัณฑ์ SDH จำนวนยูนิตทั้งหมด 342 จำนวนยูนิตคงเหลือ 342 มูลค่าโครงการคงเหลือ 3,200 ล้านบาท 5. โครงการเดอะ วิลล่า พัฒนาการ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q3/2551-2554 ผลิตภัณฑ์ TH จำนวนยูนิตทั้งหมด 599 จำนวนยูนิตคงเหลือ 599 มูลค่าโครงการคงเหลือ 2,070 ล้านบาท 6. โครงการเมโทร พาร์ค รัชดา*** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q2/2551-2553 ผลิตภัณฑ์ CD จำนวนยูนิตทั้งหมด 1,200 จำนวนยูนิตคงเหลือ 1,200 มูลค่าโครงการคงเหลือ 4,000 ล้านบาท หมายเหตุ มูลค่าโครงการคงเหลือหักจากยอดโอน ณ 31 ธันวาคม 2550 ** โครงการบริษัทย่อย (บจก.เอสเตท เพอร์เฟ็คท์) *** โครงการบริษัทย่อย (บจก. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ) SDH = บ้านเดี่ยว TH = ทาวน์เฮ้าส์ CD = คอนโดมิเนียม
28
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
แผนที่โครงการ
2
รายงานประจำปี 2550
การตลาดและการแข่งขัน การตลาด และการแข่งขัน
การตลาด (1) กลยุทธ์การตลาด บริษัทได้กำหนดกลยุทธ์การตลาด โดยพิจารณาจากจุดแข็งและสภาพแวดล้อมการแข่งขัน เศรษฐกิจ สังคม โดยมีการใช้ กลยุทธ์การตลาด ดังนี้ • ผลิตภัณฑ์ (Product) บริษทั เน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพือ่ สามารถตอบสนองความต้องการและสภาพการแข่งขัน โดยพิจารณา ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค ดังนี้ - ทำเล (Location) โครงการของบริษัท ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ ในทำเลศักยภาพที่มีการเติบโตสูง โดยอยู่ ใกล้แนวรถไฟฟ้า แนวถนนตัดใหม่สายสำคัญ ซึ่งเมื่อลูกค้าเปรียบเทียบกับโครงการคู่แข่ง จะเห็นว่าโครงการของบริษัทมีทำเลที่ดีกว่า มีศักยภาพการเติบโตสูง เดินทางสะดวก อาทิ : โครงการในโซนตะวันตกของบริษัท อยู่ ใกล้สถานีรถไฟฟ้าสายสีม่วง(บางซื่อ-บางใหญ่) รถไฟฟ้าสายสีแดง (บางซื่อ-ตลิ่งชัน) ถนนราชพฤกษ์ สะพานพระราม 4 (ข้ามแยกปากเกร็ด) เชื่อมต่อถนนแจ้งวัฒนะ : โครงการในโซนสุวรรณภูมิ ใกล้สถานีรถไฟฟ้าด่วนท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Link) : โครงการเมโทร พาร์ค สาทร ใกล้สถานีรถไฟฟ้าสายสีเขียว (BTS-ส่วนต่อขยาย) และสถานีรถไฟฟ้าสายสีนำ้ เงิน (บางซื่อ-ท่าพระ) นอกจากนี้ บริษัทยังมีการขยายโครงการออกไปในทำเลใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถครอบคลุมตลาดตามการแบ่งส่วน ทางภูมิศาสตร์ ความต้องการและกำลังซื้อของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น - คุณภาพ (Quality) บริษทั เน้นการพิจารณาคัดเลือกผูร้ บั เหมาทีม่ ปี ระสบการณ์ในการก่อสร้างมีการบริหารจัดการทีด่ ี ตลอดจนมีการนำเทคโนโลยี ในการก่อสร้างและวัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพมาใช้ เพื่อให้ลูกค้ามั่นใจได้ ในคุณภาพบ้าน และโครงการของบริษัท ทั้งนี้บริษัทได้มีระบบการตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพสินค้าทั้งในระหว่างก่อสร้าง ภายหลัง ก่อสร้างเสร็จก่อนส่งมอบ หรือจำหน่ายให้แก่ลูกค้า - รูปแบบบ้าน (Design) บริษทั เน้นการออกแบบบ้านให้สวยงาม เปียò มด้วยประโยชน์ใช้สอย สอดคล้องกับความต้องการ วิถีการใช้ชีวิตของลูกค้าเป้าหมาย สภาพภูมิอากาศของประเทศไทย โดยผสมผสานทีมงานออกแบบภายใน และ บริษัทสถาปนิกชั้นนำจากภายนอก เพื่อความสมบูรณ์และลงตัว โดยบ้านของบริษัทได้รับการตอบรับจากกลุ่มลูกค้า เป้าหมายอย่างดี อาทิ บ้านในสวน สวนในบ้าน บ้านคนเมือง บ้านแนวคิดใหม่
0
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
นอกจากนั้นบริษัทได้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมและคำนึงถึงความต้องการของ ลูกค้าทีต่ อ้ งการบ้านทีอ่ ยูส่ บาย ไม่สนิ้ เปลืองพลังงานไฟฟ้าอย่างไม่จำเป็น ทำให้ ในปี 2550 ทีผ่ า่ นมา แบบบ้าน 3 แบบ ของบริษทั ได้รบั รางวัลบ้านจัดสรรอนุรกั ษ์พลังงานจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน สำหรับบ้านในโครงการที่บริษัทและบริษัทย่อยนำเสนอขายให้แก่ลูกค้ามี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) บ้านสร้างเสร็จก่อนขาย บริษัทจะทำการสร้างบ้านให้เสร็จก่อนนำมาขายให้ลูกค้า ซึ่งเหมาะกับลูกค้าที่ต้องการ บ้านที่สามารถเข้าอยู่ ได้เร็ว ได้เห็นบ้านที่เสร็จสมบูรณ์ก่อนตัดสินใจซื้อ โดยลูกค้าสามารถทำการโอนและเข้าอยู่ บ้านได้ภายในเวลา 1 เดือน 2) บ้านระหว่างสร้าง บริษัทจะดำเนินการสร้างบ้านก่อนโดยวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า เพื่อเลือกแบบบ้านที่ สามารถตอบสนองความต้องการของลู ก ค้ า แล้ ว ทำการสร้ า ง เพื่ อ ให้ เ หมาะกั บ ลู ก ค้ า ที่ ต้ อ งการเวลาในการ ผ่อนดาวน์ หรือต้องการบ้านที่พร้อมอยู่อาศัยในอีกหลายเดือนข้างหน้า 3) บ้านสั่งสร้าง ในปี 2550 บริษัทเห็นความต้องการของลูกค้าบางส่วนที่มีพฤติกรรมต้องการบ้านที่เหมาะกับ Life Style และขนาดครอบครัวของตัวเอง จึงได้ดำเนินการออกโปรแกรม Perfect Customization นวัตกรรมใหม่ ของการเลือกซื้อที่อยู่อาศัย เป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่ลูกค้าที่สามารถเลือกแบบบ้าน จำนวนห้อง สไตล์บ้าน (Euro Metro Nature) สีบ้าน วอลเปเปอร์ ฯลฯ เพื่อให้ลูกค้าได้บ้านที่ลงตัวกับความต้องการของตนเองมาก ที่สุด อันเป็นการเปิดตลาดใหม่ ไปยังกลุ่มลูกค้าที่ต้องการบ้านในรูปแบบเฉพาะตรงความต้องการ ด้วยแนวการ ตลาดดังกล่าว ทำให้บริษัทสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ต้องการระยะเวลาเข้าอยู่ที่ต่างกันได้ดีขึ้น - รูปแบบโครงการและสิ่งแวดล้อม (Project Landscape & Environment) นอกจากบ้าน บริษัทยังเน้นการออกแบบและจัดการสภาพแวดล้อมในโครงการระบบสาธารณูปโภค ระบบรักษา ความปลอดภัย และการบริการหลังการขาย เพื่อให้ลูกค้าได้สังคมที่ดี เพิ่มมูลค่าให้บ้านในโครงการ ซึ่งจากแนวทาง ดังกล่าว ทำให้ โครงการของบริษัท ได้รับรางวัลโครงการที่มีการบริหารและการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น หรือ EIA Monitoring Awards จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถึง 3 ปีซ้อน คือ ปี 2548 ปี 2549 และปี 2550 โดยมี โครงการที่ ได้รับรางวัลทั้งหมด 3 โครงการ คือ โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ โครงการ เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง เฟส 1 และโครงการเพอร์เฟค เพลส รามคำแหง เฟส 2 และ 3 นอกจากนั้นบริษัทได้จัดให้มีสวนสาธารณะ ทะเลสาบ พร้อมด้วยคลับเฮ้าส์ขนาดใหญ่ที่สมบูรณ์แบบ โดยร่วมกับ พันธมิตรธุรกิจในบริเวณคลับเฮ้าส์ของแต่ละโครงการ อาทิ Black Canyon, Clark Hatch, KPN, V Shop ร้าน หนังสือดอกหญ้า ซึ่งเป็นการสร้างความแตกต่างที่เป็นจุดเด่นเหนือคู่แข่ง ทำให้ลูกค้าในโครงการของบริษัทมีความ เป็นอยู่ที่ดีเหนือกว่าโครงการอื่นๆ
รายงานประจำปี 2550
• ด้านราคา (Price) บริษัทมีนโยบายในการตั้งราคาตามความเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ ความต้องการของตลาด และสภาพการ แข่งขัน โดยพิจารณาร่วมกับปัจจัยด้านต้นทุน ทำเล รูปแบบโครงการ เงื่อนไขการตลาด เปรียบเทียบกับคู่แข่ง ซึ่งมี หลายแนวทาง เช่น การตั้งราคาขายสูงกว่าคู่แข่ง แต่ โครงการของบริษัทมีการออกแบบที่ดีกว่า มีสภาพแวดล้อมและ สิ่งอำนวยความสะดวกดีกว่า รวมถึงการแสวงหาตลาดใหม่ๆ ที่ยังไม่มีผู้ประกอบการในธุรกิจจัดทำสินค้าเพื่อตอบสนอง ความต้องการ ซึ่งทำให้บริษัทมีผลการดำเนินการที่ดี เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกัน บริษัทจึงมี โครงการหลายรูปแบบ และหลายระดับราคา โดยมีสินค้าตั้งแต่ระดับราคา 1.5 ล้านบาทขึ้นไปจนถึงโครงการหรูระดับ ราคา 7-20 ล้านบาท ตารางแสดงระดับราคาบ้านแบ่งตามแบรนด์ ระดับราคาบ้าน (MB.)
2
SDH
TH
CD
1.0-2.0
2.1-3.0
3.1-4.0
4.1-5.0
5.1-7.0
7.1 UP
• ด้านโ¶ษณาและช่องทางการจัดจำหน่าย (Advertising & Place) บริษัทใช้รูปแบบของการสื่อสารในรูปแบบบูรณาการ (Integrated Communication) โดยการใช้สื่อ Mass Media ผสานกับการใช้ Direct Marketing โดยคัดเลือกรูปแบบการใช้สื่อให้เหมาะสมกับลักษณะกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และ แคมเปญ นั้นๆ นอกจากนั้นเพื่อให้สื่อมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง บริษัทใช้การโฆษณาในลักษณะที่ โฆษณาครัง้ เดียว สามารถสื่อไปถึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมายหลายๆ โครงการ ส่งผลให้ต้นทุนลดลง ประกอบกับการที่บริษัทใช้รูปแบบสื่อ สารใหม่ๆ อาทิ Internet การจัดกิจกรรมการตลาด และการ ทำการตลาดแบบ Customer Relationship Management โดยเน้นการดูแล บริการกลุ่มลูกค้าที่อาศัยในโครงการต่างๆ ของบริษัท และมีการจัดแคมเปญ Perfect Friend Club เพื่อเป็นการขอบคุณลูกค้าที่อาศัยอยู่ ในโครงการต่างๆ ของ บริษัท ที่แนะนำเพื่อนมาซื้อบ้านของบริษัท เป็นการขยาย ช่องทางในการเข้าถึงลูกค้าทำให้บริษัทสามารถเข้าถึงกลุ่ม เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและมีต้นทุนต่ำ • ด้านการส่งเสริมการขาย (Promotion) บริษัทเลือกใช้กลยุทธ์การส่งเสริมการขายที่เหมาะสม สำหรับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ซึ่งมีความต้องการที่แตกต่างกัน เพื่อกระตุ้นการตัดสินใจของลูกค้า โดยคำนึงถึงปัจจัยในด้าน
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ความต้องการของลูกค้า สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจใน แต่ละช่วงเวลา อาทิ ข้อเสนอพิเศษสำหรับลูกค้าที่ต้องการ บ้านพร้อมอยู่ ด้วยเงื่อนไขการชำระเงิน ร่วมกับสถาบัน
การเงินจัดเงื่อนไขการเงินในรูปแบบพิเศษ เช่น สินเชื่อดอก เบี้ยต่ำ การขยายระยะเวลากู้ การผ่ อ นแบบขั้ น บั น ได เป็ น ต้ น นอกจากนั้ น บริ ษั ท ยั ง ได้ ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต เฟอร์นิเจอร์ชั้นนำ ออกแบบตกแต่งเฟอร์นิเจอร์ในบ้าน เพื่อ ให้ลูกค้าได้บ้านพร้อมตกแต่งในราคาพิเศษ เป็นการอำนวย ความสะดวกแก่ลูกค้า และลดภาระในการจัดหามัณฑนากร มาตกแต่ ง บ้ า นและจั ด หาสิ น เชื่ อ เพื่ อ มาตกแต่ ง บ้ า นซึ่ ง มี อัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าสินเชื่อบ้าน รวมถึงร่วมกับพันธมิตร ต่ า งๆ เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ บ้ า น และอำนวยความ สะดวกให้แก่ลูกค้า
(2) กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ บริษัทได้มีการสร้างแบรนด์ เพื่อก่อให้เกิดภาพพจน์ที่ดี ตอบสนองต่อความคาดหวังของลูกค้า รวมถึงสื่อถึงแนวความคิด และรูปแบบของโครงการไปถึงลูกค้า ทัง้ นี้ โครงการของบริษทั อยู่ใกล้แนวรถไฟฟ้า ใกล้ถนนตัดใหม่สายสำคัญ ใกล้ทางด่วน และอยู่ ในทำเลที่มีศักยภาพการเจริญเติบโตสูงจึงเหมาะกับลูกค้าที่ต้องการคุณภาพชีวิตที่ดี แนวความคิ ด “บ้ า นคนเมื อ ง” จึ ง ถู ก นำมาใช้ เ พื่ อ สื่ อ ถึ ง มาตรฐานที่ เ หนื อ กว่ า ด้ ว ยความสะดวกของทำเล โดยบ้ า นใน ทุกโครงการจะอยูภ่ ายใต้ชอื่ “เพอร์เฟคโฮม” เพือ่ บ่งบอกถึงมาตรฐานบ้านของบริษทั สำหรับโครงการต่างๆ ของบริษทั ได้แบ่งออก เป็น 5 ชื่อ เพื่อสื่อถึงแนวความคิด รูปแบบโครงการและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ดังนี้ 1. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ - เป็นโครงการขายบ้านพร้อมที่ดินประเภทบ้านเดี่ยว ในระดับราคา 7 ล้านบาทขึ้นไป เน้นกลุ่มลูกค้าระดับบน 2. เพอร์เฟค เพลส - เป็นโครงการบ้านพร้อมที่ดินประเภทบ้านเดี่ยว ในระดับราคา 3.5-7 ล้านบาท เน้นกลุ่มลูกค้าระดับกลาง 3. เพอร์เฟค พาร์ค - เป็นโครงการบ้านพร้อมที่ดินประเภทบ้านเดี่ยว และมีบ้านแฝดแนวคิดใหม่ เฉพาะในทำเลที่มีความต้องการของ ลูกค้าในระดับราคา 2.5-5 ล้านบาท เน้นกลุ่มลูกค้าระดับเริ่มครอบครัวหรือลูกค้าที่ต้องการบ้านที่ใหญ่ขึ้น 4. เดอะ วิลล่า - เป็นโครงการทาวน์เฮ้าส์ และบ้านแฝดแนวคิดใหม่ สำหรับครอบครัวเริ่มต้น ในระดับราคา 1.7- 3 ล้านบาท 5. เมโทร พาร์ค - โครงการคอนโดมิเนียม ทีส่ ามารถเดินทางได้สะดวกด้วยรถไฟฟ้า ในรูปแบบคอนโดกลางสวนระดับราคา 1.2-3 ล้านบาท เน้นการขยายตลาดไปสู่กลุ่มลูกค้าที่ทำงานหรืออาศัยอยู่ ในเมือง บริษัทเชื่อว่าการสร้างแบรนด์ที่ดีต้องเกิดจากประสบการณ์ของลูกค้า อันนำไปสู่ความมั่นคงของภาพพจน์บริษัท ดังนั้น
33
รายงานประจำปี 2550
บริษัทจึงได้เน้นคุณภาพงานก่อสร้าง การออกแบบและวางผังโครงการที่ดี การจัดสภาพแวดล้อมภายในโครงการ ระบบ สาธารณูปโภค และระบบรักษาความปลอดภัย และบริษัทยังได้มีการจัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์สำหรับลูกค้าที่อยู่อาศัย ในโครงการ ทำให้สังคมในโครงการเป็นสังคมที่อบอุ่น ผู้อาศัยในหมู่บ้านอยู่ร่วมกันในโครงการอย่างเป็นสุข ทำให้ลูกค้ามีชุมชน และสังคมที่ดี ทำให้เกิดผลของการบอกต่อกันของลูกค้า เป็นการสร้างแบรนด์อย่างยั่งยืนผ่านประสบการณ์ของลูกค้าที่อาศัยอยู่ ในโครงการของบริษัท
ë กลุ่มเป้าหมาย (Target Group) บริษัทมีการขยายโครงการเพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าในแต่ละทำเล แต่ละระดับราคาสินค้าที่แตกต่างกัน เพือ่ ให้ครอบคลุมตลาดทัง้ ในด้านกำลังซือ้ งบประมาณ รูปแบบสินค้า และทำเลทีแ่ ตกต่างกัน โดยแบ่งส่วนตลาดออกเป็น Segmentation ทั้งในด้าน Demographic Geographic และ Psychographic ภาวะการแข่งขัน (Competitive) บริษัทเน้นการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เฉพาะด้านที่อยู่อาศัย โดยมีทั้งบ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม ซึ่ง สามารถแบ่งตามทำเลที่ตั้งได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 โครงการที่มีทำเลดีมาก อยู่ในเขตเมือง (อยู่ในรัศมี ไม่เกิน 15 กม.) ในปี 2548 บริษัทได้เปิดโครงการคอนโดมิเนียม ที่สามารถเดินทางเข้าถึงได้สะดวกด้วยรถไฟฟ้าสายสีเขียว ส่วนต่อขยาย โดยใช้ชื่อ เมโทร พาร์ค ระดับราคา 1 – 3 ล้านบาท เป็นการขยายตลาดใหม่ โดยได้รับการตอบรับ จากตลาดอย่างดี ทั้งนี้บริษัทมี โครงการที่จะทำสินค้าประเภทนี้ เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้ากลุ่มนี้ ในทำเล อื่นๆ อีกด้วย บริษัทเชื่อว่าผลกระทบจากราคาน้ำมันที่ยังคงมีอยู่ต่อเนื่อง และยังไม่มีแนวโน้มที่จะหยุดนิ่ง อย่างไร ก็ตามราคาน้ำมันในปัจจุบันก็เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ความต้องการคอนโดมิเนียมที่อยู่ ใกล้ระบบขนส่งสาธารณะ ยังเป็นความต้องการของผู้บริโภคอยู่ โดยบริษัทเชื่อว่าการแข่งขันจะรุนแรงขึ้นในปี 2551 กลุ่มที่ 2 โครงการที่มีทำเลดี ใกล้เมือง (อยู่ในรัศมี 15-20 กม.)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ในกลุ่มนี้ปัจจุบันมีการแข่งขันด้านการเปิดโครงการใหม่ๆ ในทำเลใกล้เมืองมากขึ้น เนื่องจากที่ดินที่อยู่ ใกล้เมือง หรือในทำเลที่ดีจะมีต้นทุนสูงตามการตัดถนนสายใหม่ ซึ่งทำให้ที่ดินบริเวณใกล้เคียง สามารถพัฒนาเป็นโครงการ บ้านจัดสรรได้อาทิ ถนนพระราม 5 ถนนอ่อนนุช ถนนสาทรตัดใหม่ และถนนเอกมัย-รามอินทรา ปัจจุบันพฤติกรรม การซื้อบ้านของผู้บริโภคจะเน้นซื้อบ้านสร้างเสร็จพร้อมอยู่ เป็นบ้านคุณภาพ ตั้งอยู่ ในทำเลที่ดี ซึ่งโครงการส่วนใหญ่ ของบริษัทจัดอยู่ ในกลุ่มนี้ จึงได้รับการตอบรับที่ดีจากลูกค้า กลุ่มลูกค้าเป้าหมายจะเป็นกลุ่มชนชั้นกลางจนถึงชนชั้น กลางค่อนข้างสูง ราคาจะอยู่ระดับประมาณ 5-8 ล้านบาท กลุ่มที่ 3 โครงการย่านชานเมือง (รัศมี 20-30 กม.) ในกลุ่มนี้มีการแข่งขันสูง เนื่องจากบริเวณย่านชานเมืองจะมีราคาที่ดินไม่สูงมากนัก ทำให้มีผู้ประกอบการ หลายรายมั ก กระจุ ก ตั ว อยู่ ใ นรัศ มี 20-30 กม. ส่ ง ผลให้ มี ป ริ ม าณสิ น ค้ า เสนอขาย (Supply) มากกว่ า ปริ มาณ ความต้องการซื้อ (Demand) ทำให้มีการแข่งขันสูง เกิดภาวะสงครามราคา ทำให้ราคาขายค่อนข้างต่ำ ส่งผลให้ ผู้ประกอบการมีกำไรต่ำตามไปด้วย โครงการของบริษัทบางส่วนจัดอยู่ ในกลุ่มนี้ กลุ่มที่ 4 โครงการทำเลไม่ดีหรือออกนอกเมือง ในอดีตอาจจะมีลูกค้าเลือกซื้อที่ดินในทำเลไม่ดีหรืออยู่นอกเมือง เพราะมีต้นทุนต่ำมากและหวังว่าในอนาคต มูลค่าบ้านและที่ดินจะปรับตัวสูงขึ้นเมื่อความเจริญมาถึง แต่ ในปัจจุบันลูกค้าส่วนใหญ่มักไม่เลือกซื้อเนื่องจาก การเดินทางที่ ไม่สะดวกและค่าใช้จ่ายในการเดินทางสูง จึงทำให้ โครงการเหล่านี้มักมีปัญหาในการขาย
บริษัทมีการพิจารณาเลือกทำเลเป็นส่วนสำคัญหนึ่งในการกำหนดกลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน
5
รายงานประจำปี 2550
แนวโน้มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ปี 2551 แนวโน้มด้านอุปสงค์ ในปี 2551 มีปัจจัยด้านบวกที่สำคัญ คือ ความเชื่อมั่นผู้บริโ ภคที่น่าจะปรับตัวดีขึ้น หลังจาก สถานการณ์ทางการเมืองเริ่มมีเสถียรภาพมากขึ้น และนโยบายผลักดันการลงทุนในระบบสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ (Mega Project) น่าจะส่งผลดีต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ และการขยายตัวของความต้องการที่อยู่อาศัยในทำเลที่ระบบคมนาคม รองรับในอนาคต อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยด้านลบต่อกำลังซื้อของผู้บริโภคในปีนี้คือ อัตราเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ขณะที่ เศรษฐกิจยังไม่ขยายตัวอย่างชัดเจน ซึ่งน่าจะส่งผลให้ผู้บริโภคยังคงจัดสรรงบประมาณในการใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง เศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สี่ขยายตัวร้อยละ 5.7 สูงกว่าเฉลี่ยร้อยละ 4.4 ในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี
20 15 10 5 0 -5 -10
Seasonally Adj. GDP (qq.% annuallised) GDP (YOY.%)
-15 -20
2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550
รูปที่ 1
GDP ปี 2550 ขยายตัวร้อยละ 4.8 คาดว่าปี 2551 จะขยายตัวประมาณร้อยละ 4.5-5.5 จากการบริโภคและ การลงทุนของภาครัฐ และเอกชนที่น่าจะสูงขึ้น จากที่ค่อนข้างทรงตัวในปีที่ผ่านมา ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโ ภค
รูปที่ 2
36
ความเชื่อมั่นผู้บริโภค ปรับตัวสูงจากความชัดเจนด้านสถานการณ์การเมือง ที่มา: ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
แรงกดดันเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นช่วงปลายปี
20 10 8 6 4 2 0 -2
2545
รูปที่ 3
2546
2547
2548
2549
2550
2551
อัตราเงินเฟ้อปี 2551 มีแนวโน้มสูงขึ้นจากการปรับราคาขึ้นสินค้าอุปโภคบริโภค และ แรงกดดันจากราคาน้ำมัน ที่มา: กระทรวงพาณิชย์
อย่างไรก็ตามจะเห็นได้ว่าไม่ว่าสภาพเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไรความต้องการที่อยู่อาศัยยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แต่อาจมีการเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกซื้อที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับกำลังซื้อและพฤติกรรมการใช้ชีวิตของตัวผู้บริโภคใน ขณะนั้น เช่น การลดงบประมาณในการซื้อที่อยู่อาศัยลง ซึ่งมีผลให้อุปสงค์ของที่อยู่อาศัยประเภทที่มีขนาดเล็กมีมากขึ้น เช่น อาคารชุด บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ ซึ่งหากดูในรายละเอียดจะพบว่าแม้ว่ายอดจดทะเบียนที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จ ปี 2550 ที่ปรับตัวลดลงจากปี 2549 เล็กน้อย แต่ผลประกอบการของผู้ประกอบการรายใหญ่หลายบริษัทปรับตัวดีขึ้นอย่าง ชัดเจน เนื่องจากมีความได้เปรียบทางได้ธุรกิจและความสามารถในการปรับตัวทางธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ความต้องการของผู้บริโภคและสถานการณ์การแข่งขันได้มากกว่าผู้ประกอบการรายย่อย ซึ่งแนวโน้มเช่นนี้น่าจะชัดเจนขึ้น ไปอีกในปี 2551 นี้
37
รายงานประจำปี 2550
จำนวนที่อยู่อาศัยจดทะเบียนเพิ่ม ใน กทม. และปริมณฑล ปี 2540-11 เดือนแรก 2550 (แบ่งตามประเภทที่อยู่อาศัย)
รูปที่ 4
จำนวนที่อยู่อาศัยจดทะเบียนเพิ่มในกทม. และ ปริมณฑล ปี 2540 - 11 เดือนแรก ปี 2550 (แบ่งตามประเภทที่อยู่อาศัย) ที่มา: ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
สำหรับในส่วนของอุปทานในปี 2551 หลังจากตลาดมีการปรับตัวในปีที่ผ่านมา โดยเน้นการเปิดโครงการสินค้า ระดับล่างซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีในทุกประเภทสินค้า และน่าจะยังคงกลุ่มสินค้าที่มีความต้องการมากที่สุดในปีนี้ แต่อย่างไร ก็ตามสินค้าในกลุ่มก็มีแนวโน้มการแข่งขันที่สูงขึ้น เนื่องจากมีปริมาณสินค้ามากขึ้น ส่วนโครงการทำเลใจกลางเมือง เช่น ทาวน์เฮ้าส์และซิตี้คอนโด จะสามารถพัฒนาโครงการได้ยากขึ้นเนื่องจากราคาที่ดินในเมืองขยับสูงขึ้นมาก ประกอบกับ เงื่อนไขทางกฎหมายที่มีแนวโน้มเข้มงวดขึ้น ขณะที่บ้านเดี่ยวราคาระดับบนในทำเลที่มีการคมนาคมที่สะดวกซึ่งมีสินค้าคง เหลือค่อนข้างน้อยก็เป็นกลุ่มสินค้าที่ยังมีความต้องการในตลาดค่อนข้างสูง และมีอัตราการขายที่ดี เปรียบเทียบปริมาณหน่วยเปิดขายแยกตามประเภทสินค้า
รูปที่ 5
38
เปรียบเทียบปริมาณหน่วยเปิดขายใหม่แต่ละประเภท ปี 2549 กับ 2550 ที่มา: บริษัท Agency for Real Estate Affairs
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
เปรียบเทียบปริมาณหน่วยเปิดขายใหม่แต่ละระดับราคา ปี 2549 กับ 2550
รูปที่ 6
เปรียบเทียบปริมาณหน่วยเปิดขายใหม่แต่ละระดับราคา ปี 2549 กับ 2550 ที่มา: บริษัท Agency for Real Estate Affairs
แนวโน้มการแข่งขันทางราคาน่าจะลดลง เนื่องจากราคาต้นทุนการก่อสร้างและราคาที่ดินปรับตัวสูงขึ้นอย่างมีนัย สำคัญ น่าจะส่งผลให้ผู้ประกอบการหันไปแข่งขันทางด้านการออกแบบ ด้านคุณภาพการผลิต และการควบคุมต้นทุน รวม ทั้งการสร้างภาพลักษณ์และจุดขายของโครงการ รวมทั้งภาพลักษณ์ของผู้ประกอบการ เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่ง ขัน และรักษาระดับการทำกำไรไว้ ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ปี 2543 ถึง ม.ค. 2551
รูปที่ 7
แนวโน้มราคาวัสดุก่อสร้างปรับตัวสูงขึ้น ที่มา: กระทรวงพาณิชย์
39
รายงานประจำปี 2550
ข้อมูลอื่น ๆ โครงสร้างเงินทุน 1.
40
หลักทรัพย์ของบริษัท (1) หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 6,213,565,176 บาท เป็นหุ้นสามัญ 1,035,594,196 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท และทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 4,724,947,164 บาท เป็นหุ้นสามัญ 787,491,194 หุ้น โดย พัฒนาการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาปรากฏดังนี้ ณ สิ้นงวดบัญชี 2550 2549 2548 2547 ทุนจดทะเบียน - มูลค่า (บาท) 6,213,565,176 6,213,565,176 6,213,565,176 7,200,000,000 /1 - จำนวน (หุ้น) 1,035,594,196 1,035,594,196 1,035,594,196 1,200,000,000 ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว - มูลค่า (บาท) 4,724,947,164 4,695,334,290 4,695,210,150 4,682,162,664 /1 - จำนวน (หุ้น) 787,491,194 782,555,715 782,535,025 780,360,444 หมายเหตุ : 1/ ณ วั น ที่ 13 ธั น วาคม 2547 บริ ษั ท มี ทุ น จดทะเบี ย น 7,200,000,000 บาท เป็ น หุ้ น สามั ญ 1,200,000,000 หุ้น และทุนชำระแล้ว 4,682,162,664 บาท เป็นหุ้นสามัญ 780,360,444 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้
หุ้นละ 6 บาท โดยเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2547 บริษัทได้ดำเนินการลดมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัท จากเดิมหุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 6 บาท ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2547 และมติที่ประชุม
สามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำปี 2549 เพื่อนำทุนชำระแล้วที่ลดลงจำนวน 3,121,441,776 บาท ไปลดส่วนต่ำกว่า มูลค่าหุ้น 346,583,260 บาท และส่วนที่เหลือไปล้างผลขาดทุนสะสมที่มีอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 จำนวน 3,812,615,554 บาท ส่งผลให้บริษัทมีผลขาดทุนสะสมคงเหลือจำนวน 1,037,757,038 บาท เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2548 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำปี 2548 ได้มีมติอนุมัติให้ดำเนินการลด ทุนจดทะเบียนของบริษทั จากทุนจดทะเบียนเดิม 7,200,000,000 บาท ให้เหลือทุนจดทะเบียน 4,779,565,176 บาท โดยวิธีตัดหุ้นสามัญจดทะเบียนที่ยังมิได้นำออกจำหน่ายจำนวน 403,405,804 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท รวม 2,420,434,824 บาท ออก ซึ่งเป็นทุนจดทะเบียนที่บริษัทได้สำรองไว้เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงสิทธิที่มิได้มีการ จัดสรร และที่สำรองไว้เพื่อรองรับการแปลงหนี้เป็นทุนของเจ้าหนี้ ไม่มีประกันที่ ได้ถูกระงับสิทธิเรียกร้อง นอกจากนี้ ทีป่ ระชุมยังมีมติให้เพิม่ ทุนจดทะเบียนจากทุนจดทะเบียนเดิม 4,779,565,176 บาท เป็นทุนจดทะเบียน 5,013,565,176 บาท กล่าวคือ ให้เพิ่มทุนจดทะเบียนขึ้นอีก 234,000,000 บาท โดยเป็นการออกหุ้นสามัญใหม่จำนวน 39,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท และให้นำหุ้นสามัญที่ออกใหม่ทั้งจำนวนนี้สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ ของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่บริษัทจะออกและเสนอขายให้แก่กรรมการ และ/หรือ พนักงานของบริษัทตาม โครงการ ESOP
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 อนุมัติให้บริษัท เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 5,013,565,176 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 835,594,196 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) เป็น 6,213,565,176 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 1,035,594,196 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลง สภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ บริษัทได้ดำเนินการจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการเพิ่มทุนดังกล่าวเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2548 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริษัทมีทุนที่เรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,695,210,150 บาท (หุ้นสามัญ 782,535,025 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดง สิ ท ธิ ใ นเดื อ นธั น วาคม 2547 และมิ ถุ น ายน 2548 เป็ น จำนวนเงิ น รวม 13,047,486 บาท (หุ้ น สามั ญ จำนวน 2,174,581 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สทิ ธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าว เมือ่ วันที่ 12 มกราคม 2548 และ 7 กรกฎาคม 2548 ตามลำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทมีทุนที่เรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,695,334,290 บาท (หุ้นสามัญ 782,555,715 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดง สิทธิในเดือนมิถุนายน 2549 เป็นจำนวนเงินรวม 124,140 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 20,690 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีทุนที่เรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,724,947,164 บาท (หุ้นสามัญ 787,491,194 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดง สิ ท ธิ ใ นเดื อ นธั น วาคม 2549 และมิ ถุ น ายน 2550 เป็ น จำนวนเงิ น รวม 29,612,874 บาท (หุ้ น สามั ญ จำนวน 4,935,479 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทด้ดำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สิทธิ ตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2550 และ 11 กรกฎาคม 2550 ตามลำดับ ต่อมาเมือ่ วันที่ 8 มกราคม 2551 บริษทั ได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลีย่ นแปลงทุนชำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สทิ ธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 1,162,956 บาท (หุน้ สามัญจำนวน 193,826 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 6 บาท) เมือ่ เดือนธันวาคม 2550 ทำให้บริษทั มีทนุ ทีเ่ รียกชำระแล้วเพิม่ ขึน้ เป็นจำนวนเงิน 4,726,110,120 บาท และมีหนุ้ สามัญ 787,685,020 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท
(2) ใบสำคัญแสดงสิทธิ ตามแผนฟื้ น ฟู กิ จ การ บริ ษั ท ต้ อ งดำเนิ น การออกใบสำคั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ให้ แ ก่ เ จ้ า หนี ้
ไม่มีประกันในอัตราหนี้ 1,000 บาท ต่อใบสำคัญแสดงสิทธิ 7 หน่วย โดยไม่คิดมูลค่า ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มี สิ ท ธิ ซื้ อ หุ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ได้ 1 หุ้ น ในราคาใช้ สิ ท ธิ หุ้ น ละ 0.01 บาท โดยได้ รั บ อนุ ญ าตจากสำนั ก งาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้เสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 53 ล้านหน่วย โดยไม่คดิ มูลค่า ใบสำคัญแสดงสิทธิมีอายุ 10 ปี นับจากวันที่ 7 พฤศจิกายน 2545 ซึ่งเป็นวันออกใบสำคัญแสดงสิทธิ และมี กำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิทุกวันสุดท้ายของไตรมาส 2 และไตรมาส 4 ของปี โดยเริ่มจากไตรมาส 4 ปี 2545
41
รายงานประจำปี 2550
ทั้งนี้ ในการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว ปรากฎว่า เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำสั่งยกคำร้องการ ขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้บางส่วน ทำให้บริษัทจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่เจ้าหนี้ ไม่มีประกันตามที่เจ้าพนักงาน พิทักษ์ทรัพย์มี คำสั่งเห็นชอบได้เพียงจำนวน 50.93 ล้านหน่วย จึงทำให้มี ใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังมิได้จัดสรรคง เหลืออยู่จำนวน 2.07 ล้านหน่วยซึ่งที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2548 มีมติอนุมัติให้ยกเลิกใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่คงเหลือจากการจัดสรรดังกล่าวทั้งจำนวน โดยปัจจุบันบริษัทคงเหลือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ ได้มีการใช้สิทธิ จำนวน 8,909,176 หน่วย ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำปี 2548 มีมติอนุมัติออกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัทให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทในวงจำกัด (ESOP) โดยไม่คิดมูลค่าจำนวน 39,000,000 หน่วย โดยผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวมีสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทในอัตราส่วนใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย ต่อหุ้นสามัญ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 6 บาท โดยจะต้องใช้สิทธิภายใน 5 ปี นับแต่วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ ซึ่ง ขณะนี้บริษัทยังไม่ ได้ดำเนินการออกใบสำคัญแสดงสิทธิแต่อย่างใด เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2549 ที่ประชุมกรรมการบริษัทมีมติให้ยกเลิกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของบริษัทที่จะออกให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทในวงจำกัด (ESOP) เป็นจำนวน 1,900,000 หน่วย และต่อมาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติรับทราบการถอนแบบคำขออนุญาต และแบบแสดงรายการข้อมูลการออกและจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทที่จะออกให้แก่ กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทในวงจำกัด (ESOP) เป็นจำนวน 37,100,000 หน่วย รวมเป็นยกเลิก 2 ครั้ง รวม 39,000,000 หน่วย เท่ากับจำนวนที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำปี 2548 ได้อนุมัติไว้
(3) หุ้นกู้ รายละเอียดหุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
42
หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2547 ชุดที่ 3 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2549 รวม หัก : ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึงกำหนดภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี
(หน่วย : พันบาท) 2550
2549
- 450,000 450,000 (450,000 )* -
350,000 450,000 800,000 (350,000 ) 450,000
* ครบกำหนดชำระวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 ซึ่งบริษัทได้ดำเนินการไถ่ถอนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว รายละเอียดหุ้นกู้ ที่ผ่านมาบริษัทได้ดำเนินการไถ่ถอนหุ้นกู้มีประกัน ตามกำหนดไถ่ถอน โดยล่าสุด เมื่อ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 บริษัทไถ่ถอนหุ้นกู้ชุดสุดท้าย ตามรายละเอียดข้างล่าง ทำให้ปัจจุบันบริษัทไม่มีภาระหนี้สินผูกพันเกี่ยว กับหุ้นกู้
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ก.
หุ้นกู้มีประกัน ครั้งที่ 2/2547 ชุดที่ 1* วันที่ออกหุ้นกู้ : 23 สิงหาคม 2547 ชนิดของหุ้นกู้ : หุ้นกู้มีประกัน ระบุชื่อผู้ถือและมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ เสนอขายต่อ : สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไป จำนวนหุ้นกู้ : 350,000 หน่วย ราคาหุ้นกู้ต่อหน่วย : 1,000 บาท อายุหุ้นกู้ : 2 ปี 6 เดือน นับแต่วันที่ออกหุ้นกู้ คือ วันที่ 23 สิงหาคม 2547 อัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 6 เดือน ประเภทบุคคลธรรมดาของ ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) บวกร้อยละ 3.65 ต่อปี การชำระดอกเบี้ย : ปีละ 2 ครั้ง ทุก 6 เดือน นับจากวันออกหุ้นกู้ ตลอดอายุหุ้นกู้ ชำระครั้งแรกวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2548 การไถ่ถอนหุ้นกู้ : 23 กุมภาพันธ์ 2550 การชำระคืนเงินต้น : ชำระคืนเงินต้นทั้งจำนวน ในวันครบกำหนดไถ่ถอน เงื่อนไขอื่น ๆ : ดำรงอัตราส่วนทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันต่อมูลค่ารวมของหุ้นกู ้
ที่ยังมิได้ ไถ่ถอน เท่ากับ 1.5 : 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : BB+ (tha) โดยบริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2550 * บริษัทได้ดำเนินการไถ่ถอนตามกำหนด เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2550 แล้ว ข. หุ้นกู้มีประกัน ครั้งที่ 1/2549 * วันที่ออกหุ้นกู้ : 9 กุมภาพันธ์ 2549 ชนิดของหุ้นกู้ : หุ้นกู้มีประกัน ระบุชื่อผู้ถือและมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ เสนอขายต่อ : สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไป จำนวนหุ้นกู้ : 450,000 หน่วย ราคาหุ้นกู้ต่อหน่วย : 1,000 บาท อายุหุ้นกู้ : 2 ปี นับแต่วันที่ออกหุ้นกู้ คือ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2549 อัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ : ร้อยละ 6.65 ต่อปี การชำระดอกเบี้ย : ปีละ 2 ครั้ง ทุก 6 เดือนตลอดอายุหุ้นกู้ ชำระครั้งแรก วันที่ 31 สิงหาคม 2549 การไถ่ถอนหุ้นกู้ : 8 กุมภาพันธ์ 2551 การชำระคืนเงินต้น : จ่ายคืนเงินต้นเมื่อครบกำหนดไถ่ถอน เงื่อนไขอื่น ๆ : ดำรงอัตราส่วนทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันต่อมูลค่ารวมของหุ้นกู้ “ ที่ยังมิได้ ไถ่ถอน เท่ากับ1.5 : 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ : BBB (tha) โดยบริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2550 * บริษัทได้ดำเนินการไถ่ถอนตามกำหนด เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 แล้ว
(4). หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ หุ้นกู้แปลงสภาพ ครั้งที่ 1/2548 วันที่ออกหุ้นกู้ : 25 พฤศจิกายน 2548 ชนิดของหุ้นกู้ : หุ้นกู้แปลงสภาพ ระบุชื่อผู้ถือ ไม่มีประกันและไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้
43
รายงานประจำปี 2550
เสนอขายต่อ
44
: ผู้ลงทุนประเภทสถาบันต่างประเทศเฉพาะเจาะจงเป็นเงินสกุลเหรียญสหรัฐอเมริกา (U.S. Dollars) ทัง้ นี้ ผูล้ งทุนสถาบันต่างประเทศเป็นผูร้ บั ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น ทั้งหมด (Fully Hedged at all cost by Investors) จำนวนหุ้นกู้ : 200,000 หน่วย ราคาหุ้นกู้ต่อหน่วย : 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา อายุหุ้นกู้ : 5 ปี นับแต่วันที่ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ คือ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 3.50 ต่อปี การชำระดอกเบี้ย : ทุกวันที่ 25 กุมภาพันธ์, 25 พฤษภาคม, 25 สิงหาคม และ 25 พฤศจิกายนของทุกปี ตลอดอายุของหุ้นกู้ ซึ่งจะมีการจ่ายดอกเบี้ยครั้งแรกในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2549 การชำระคืนเงินต้น : เฉพาะหุ้นกู้ส่วนที่ ไม่ ได้ ใช้สิทธิแปลงสภาพ ให้ชำระคืนเป็นเงินสกุลเหรียญ สหรัฐอเมริกา พร้อมส่วนที่เกินจากมูลค่าที่ตราไว้ ในอัตราร้อยละ 31.60 ของมูลค่า
ที่ตราไว้ โดยจำนวนเงินที่ชำระคืนข้างต้น ให้ยึดอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้ ณ วันที่ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ ราคาแปลงสภาพ : หุ้นละ 6.25 บาท ระยะเวลาการใช้สิทธิ : ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นกู้ 18 เดือน จนถึงวันที่แปลงสภาพ ครบกำหนด ไถ่ถอนหุ้นกู้ แต่การใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้แต่ละครั้ง จะต้องมีมูลค่าไม่ต่ำกว่า 1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ข้อบังคับกำหนดแปลงสภาพ : บริษัทมีสิทธิเรียกให้ ผู้ถือหุ้นกู้ ใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญได้เป็นจำนวน 1 ใน 3 ของจำนวนหุ้นกู้แปลงสภาพที่ผู้ถือหุ้นได้รับจัดสรรในครั้งแรก เมื่อ 1. ปริมาณการซื้อขายหุ้นสามัญของบริษัทถัวเฉลี่ยในช่วง 45 วันทำการซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก่อนวันที่บริษัทเรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ ใช้สิทธิแปลง สภาพสูงเกินกว่า 10 ล้านหุ้น และ 2. ราคาปิดถัวเฉลี่ยของหุ้นสามัญของบริษัทที่ทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทยในช่วง 60 วันทำการก่อนวันที่บริษัทเรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ ใช้สิทธิ แปลงสภาพ และราคาปิดในช่วง 5 วันทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ก่อนวันที่บริษัทเรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ ใช้สิทธิแปลงสภาพสูงเกินกว่า - ร้อยละ 130 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ สำหรับปีที่ 1-2 - ร้อยละ 150 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ สำหรับปีที่ 3 - ร้อยละ 175 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ สำหรับปีที่ 4-5 หลังจากนั้น บริษัทสามารถบังคับให้ผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญได้
อีกครั้งละ 1 ใน 3 ของจำนวนหุ้นกู้แปลงสภาพที่ผู้ถือหุ้นกู้ ได้รับการจัดสรรใน ครั้งแรก โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1. ผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพที่ถูกบังคับแปลงสภาพในครั้งก่อนได้จำหน่ายหุ้นสามัญที่เกิด จากการใช้สิทธิแปลงสภาพในครั้งก่อนทั้งจำนวนแล้ว หรือ 2. หลังจากที่บริษัทได้เรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ ใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญครั้งก่อนได้ ไม่น้อยกว่า 60 วันทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ปริมาณการซื้อขายหุ้นสามัญและราคาปิดถัวเฉลี่ยของหุ้นสามัญจะต้องเป็น ไปตามเงื่อนไข 1. และ 2. ข้างต้น เงื่อนไขของผู้ถือหุ้นกู้ : ผู้ลงทุนสถาบันต่างประเทศเฉพาะเจาะจงที่ ได้ซื้อ และชำระเงินหุ้นกู้เป็นจำนวนตั้ง แต่ 20 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาขึ้นไป บริษัทจะจัดให้มีการประชุมเพื่อแต่งตั้งให้ บุคคลที่ผู้ลงทุนต่างประเทศให้ความเห็นชอบเข้าเป็นกรรมการบริษัทจำนวน 1 ท่าน บริษัทได้บันทึกสำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ ไม่ ได้ ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ โดยแยก แสดงเป็นรายการต่างหากไว้ ในงบดุล
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
2.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นของบริษัทที่ถือหุ้นสูงสุด 10 อันดับแรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ปรากฏดังนี้ ลำดับ รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรก จำนวนหุ้น (หุ้น) ร้อยละ 1 บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผู้ฝาก 465,254,792 59.07 /1 84,776,944 10.76 2 บริษัท แจแปนเอเชีย กรุ๊ป จำกัด 3 Thailand Securities Depository Company Limited For Depositors 67,918,752 8.6 /2 47,589,227 6.04 4 บริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จำกัด /3 37,018,928 4.70 5 บริษัท สำนักกฎหมายนทีอินเตอร์แนทชั่นแนล จำกัด 6 Japan Asia Group Limited 12,467,224 1.58 7 น.ส.สุมาลี หวังประกอบสุข 11,385,000 1.45 8 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี 11,385,000 1.45 9 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ 10,580,000 1.34 10 บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) 9,200,000 1.17 ข้อมูลจาก : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หมายเหตุ : /1 บริษัทแจแปนเอเชีย กรุ๊ป จำกัด ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท เนื่องจากเป็นเจ้าหนี้บริษัทตามแผน ฟื้นฟูกิจการ และได้ดำเนินการแปลงหนี้เป็นทุนตามขั้นตอนในแผนฟื้นฟูกิจการ /2 บริษัทเอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จำกัด ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท เนื่องจากเป็นเจ้าหนี้บริษัทตามแผน ฟื้นฟูกิจการ และได้ดำเนินการแปลงหนี้เป็นทุนตามขั้นตอนในแผนฟื้นฟูกิจการ /3 บริษทั สำนักกฎหมายนทีอนิ เตอร์แนทชัน่ แนล จำกัด ได้เข้ามาเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ในฐานะตัวแทนเจ้าหนี้ ทีม่ สี ทิ ธิโดยชอบตามแผนฟืน้ ฟูกจิ การของบริษทั เนือ่ งจาก ตามแผนฟืน้ ฟูกจิ การของบริษทั ได้มเี งือ่ นไขทีบ่ ริษทั ปฏิบัติก่อนการยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ (การออกจากแผนฟื้นฟู) ว่าบริษัทจะต้องดำเนินการออกหุ้นสามัญ ให้กบั เจ้าหนีท้ มี่ สี ทิ ธิแปลงหนีเ้ ป็นทุนให้ครบถ้วนก่อนการขอยกเลิกการฟืน้ ฟูกจิ การ ปรากฏว่ามีเจ้าหนีร้ ายหนึง่ ตาม แผนฟืน้ ฟูกจิ การ ซึง่ มีสทิ ธิแปลงหนีเ้ ป็นทุน และมีสทิ ธิจะได้รบั หุน้ สามัญของบริษทั เพือ่ ชำระหนี้ โดยมีผู้ โต้แย้ง ว่าได้รับโอนสิทธิเรียกร้องจากเจ้าหนี้ดังกล่าวรวม 2 ราย คือ บริษัท โลเวส พาร์ทเนอร์ อินเวสเม้นท์ จำกัด และ บริษัท กลอรี่บาย แอสโซซิเอทส์ จำกัด และได้ยื่นคำร้องต่อศาลล้มละลายกลาง เพื่อขอให้วินิจฉัย รับรองสิทธิของตน บริษทั จึงตกลงให้บริษทั สำนักกฎหมายนทีอนิ เตอร์แนทชัน่ แนล จำกัด เป็นตัวแทนผูถ้ อื หุน้ แทนเจ้าหนีท้ แี่ ท้จริง และกำหนดให้สำนักกฎหมายนทีฯ นำหุน้ ที่ได้รบั แทนเจ้าหนี้ ไปวางไว้ตอ่ สำนักงานวางทรัพย์ โดยได้แจ้งเจตนาต่อเจ้าพนักงานวางทรัพย์ว่า เมื่อศาลล้มละลายกลางได้มีคำวินิจฉัยว่าหุ้นดังกล่าวเป็นสิทธิ เรียกร้องของผู้เรียกร้องรายใดอันชอบด้วยกฎหมายแล้ว ก็ ให้เจ้าพนักงานวางทรัพย์ส่งมอบหุ้นให้ผู้เรียกร้อง รายนั้น ๆ โดย บริษัท สำนักกฎหมายนทีอินเตอร์แนทชั่นแนล จำกัด ประกอบธุรกิจให้บริการทางกฎหมาย รับจ้างว่าความและรับจ้างทำบัญชี
45
รายงานประจำปี 2550
3.
46
กรณีผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าวที่ถือหุ้นในบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด (NVDR) ผู้ถือหุ้น NVDR ดังกล่าวจะมี สิทธิได้รับประโยชน์เช่นเดียวกับผู้ถือหุ้น แต่จะไม่มีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น (เว้นแต่กรณี การใช้สทิ ธิการออกเสียงเพือ่ ลงมติเพือ่ การเพิกถอนหุน้ ออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย) ทัง้ นี้ ในการตรวจสอบจำนวนหุน้ ทีถ่ กู ออกเป็น NVDR นัน้ สามารถตรวจสอบได้จากเว็บไซด์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ www.set.or.th
รายงานการกระจายการถือหุ้นตามสัญชาติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 นิติบุคคล บุคคลธรรมดา ผู้ถือหุ้น ราย หุ้น % ราย จำนวนหุ้น % ราย จำนวนหุ้น % สัญชาติไทย 229 620,974,296 78.84 14 572,033,687 72.62 215 48,940,609 6.22 สัญชาติต่างด้าว 8 166,710,724 21.16 3 165,162,920 20.97 5 1,547,804 0.19 รวม 237 787,685,020 100.00 17 737,196,607 93.59 220 50,488,413 6.41 ข้อมูลจาก : บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด นโยบายจ่ายเงินปันผลของบริษัทและบริษัทย่อย ได้มีมติการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2550 เกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท คือบริษัทมี นโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการหลังหักสำรอง ตามกฎหมาย ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผลให้นำปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้มาพิจารณาประกอบ เช่น ฐานะการเงิน สภาพคล่อง การ ขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษัท เป็นส่วนประกอบในการพิจารณาด้วย บริษัทย่อยมีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักสำรองตาม กฎหมาย โดยการพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้นำปัจจัยต่าง ๆ เช่น ฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษัท มาใช้ ในการพิจารณาด้วย
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ประวัติผู้บริหารผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท อายุ ชื่อ - สกุล / ตำแหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา (ปี)
สัดส่วน ความสัมพันธ์ ทาง ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การถือหุ้น ครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง ช่วงเวลา ตำแหน่ง (%) ผู้บริหาร
ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ
1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนฯ
61
ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ 0.00096 % Audit Committee Program (ACP) 13/2006 Director Accreditation Program (DAP) 52/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ปี 2535 - ปัจจุบัน ปี 2538 - ปัจจุบัน ปี 2538 - ปัจจุบัน ปี 2527 - ปี 2538 ปี 2521 - ปี 2527
ประธานกรรมการบริษัท/ ประธานกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนฯ กรรมการผู้จัดการ วุฒิวิศวกร วย.736 วิศวกรที่ปรึกษา/ กรรมการผู้จัดการ หัวหน้าหน่วยวิจัย กองก่อสร้าง
บริษัท ซีด้า จำกัด/ รับออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย บริษัท ซีด้า จำกัด
2 นายชายนิด โง้วศิริมณี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ
54
นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา
0.850%
ปี 2528 - ปัจจุบัน ปี 2545 - ปัจจุบัน ปี 2542 - ปัจจุบัน ปี 2538 - ปัจจุบัน
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน)/ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด/ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน)/พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ [เดิมชื่อ บริษัท รัตนการเคหะ จำกัด (มหาชน)]
3 นายวีระยุค พันธุเพชร กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ
62
ปริญญาโท วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน สถาบันฝึกอบรมกองทุนการเงินระหว่างประเทศ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี., USA ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการพัฒนาตลาดหลักทรัพย์ สำนักงานกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี., USA ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการพัฒนาผู้บริหาร มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด, USA
%
ปี 2550 - ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปี 2548 - ปี 2549 ปี 2547 ปี 2543 - ปี 2547 ปี 2541 - ปี 2543 ปี 2539 - ปี 2543 ปี 2537 - ปี 2541 ปี 2537 ปี 2532 ปี 2529
กรรมการ/กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ ข้าราชการบำนาญ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำ ด้านการค้าระหว่างประเทศ หัวหน้าสำนักงานผู้แทน การค้าไทย ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายราชการประจำ ผู้ตรวจราชการ/ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ/ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านเงินกู้ ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) สังกัดสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
4 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาฯ
57
ปริญญาโท นิติศาสตร์บัณฑิต 0.000 % มหาวิทยาลัยรามคำแหง Audit Committee Program (ACP) 13/2006 Director Accreditation Program (DAP) 52/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)
ปี 2541 - ปัจจุบัน ปี 2536 - ปัจจุบัน
กรรมการ/กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหาฯ กรรมการผู้จัดการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
ปริญญาโท กฎหมาย มหาวิทยาลัยยอร์ช วอชิงตัน, USA นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี 2547 - ปัจจุบัน ปี 2529 - ปัจจุบัน
กรรมการ/กรรมการสรรหาฯ และ กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนฯ กรรมการผู้จัดการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
5 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ 54 กรรมการ กรรมการสรรหาฯ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ
1.352 %
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย
สำนักงานผู้แทนการค้าไทย สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง/สำนักงาน กองทุนรวมวายุภักษ์ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง/ สำนักอำนวยการจัดประชุม ประจำปีสภาผู้ว่าการธนาคาร พัฒนาเอเชียครั้งที่ 33 สำนักงานกองทุนให้ความช่วยเหลือ พัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพือ่ นบ้าน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองนโยบายการออมและการลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองนโยบายตลาดทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองนโยบายกองนโยบายการเงิน และสถาบันการเงิน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
บริษัทสำนักกฎหมาย สมศักดิ์ โตรักษา จำกัด/กฎหมาย
บริษัท สำนักงานกฎหมาย บรรจงแอนด์วิทยา จำกัด/กฎหมาย
47
รายงานประจำปี 2550
อายุ ชื่อ - สกุล / ตำแหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา (ปี) 6 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย 50 กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ 7 นางวนิดา ไวยาวัจมัย 54 กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ 8 นางพาณีพรรณ ทิสาพงศ์ 54 กรรมการ กรรมการบริหาร 9 นาย คา เคย์ ยิบ 43 กรรมการ 10 นาย เดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน 42 กรรมการ 11 นายวิชัย สิงห์วิชา 53 กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
48
สัดส่วน ความสัมพันธ์ ทาง ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การถือหุ้น ครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง ช่วงเวลา ตำแหน่ง (%) ผู้บริหาร
ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ
Ph.D., International Management, 0.000% Walden University, Naples, Florida U.S.A. A.C.A. Certificate, American Accreditation Council for Accountancy, U.S.A. M.B.A., Management, The University of Sarasota-Sarasota Florida, U.S.A. B.A., Accountancy & Management, Eckerd College-St. Petersburg, U.S.A. Audit Committee Program (ACP) 10/2005, Director Accreditation Program (DAP) 48/2005, Director Certification Program ( DCP) 70/2006, The Role of the Chairman Program (RCP) 14/2006, Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS) 7/2007 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ปี 2548 - ปัจจุบัน ปี 2551 - ปัจจุบัน ปี 2550 - ปัจจุบัน ปี 2550 - ปัจจุบัน ปี 2549 - ปัจจุบัน ปี 2548 - ปัจจุบัน ปี 2547 - ปัจจุบัน ปี 2544 - ปัจจุบัน ปี 2544 - ปัจจุบัน ปี 2540 - ปัจจุบัน ปี 2545 - ปี 2546 ปี 2541 - ปี 2545
กรรมการ/กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ และกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนฯ กรรมการ/กรรมการตรวจสอบ Vice Chairman/ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ/กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร/ อนุกรรมการสำนักงานหักบัญชี กรรมการ ในคณะอนุกรรมการ บริหารการลงทุน กรรมการ ในคณะกรรมการ สายงานเศรษฐกิจ คณบดี คณะบริหารธุรกิจ กรรมการผู้จัดการ/ ประธานเจ้าหน้าที่ - บริหาร President & CEO
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
ปริญญาตรี บัญชี 0.026 % จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Director Accreditation Program (DAP) 50/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
ปี 2531 - ปัจจุบัน ปี 2528 - ปี 2531
กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ หัวหน้าส่วนบัญชี/ ผู้จัดการ ฝ่ายตรวจสอบ และวางแผน
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
ปริญญาโท Mass Communication 0.026 % College of Journalism City University, England Director Accreditation Program (DAP) 50/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ปี 2532 - ปัจจุบัน
กรรมการ/กรรมการบริหาร
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
A.B. degree, magna cum laude, Harvard University
0.000 %
ปี 2548 - ปัจจุบัน ปี 2541 - ปัจจุบัน
กรรมการ A senior partner
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) GEMS, a private equity management company with around US $ 650 Million under management for investment in Asia.
ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ นานาชาติ และ 0.000 % การศึกษาเอเชีย, มหาวิทยาลัย ฮอปกิ้นส์ ศิลปศาสตร์บัณฑิต ด้านความสัมพันธ์นานาชาติ วิทยาลัยโพโนมา
ปี 2550 - ปัจจุบัน ปี 2541 - ปัจจุบัน ปี 2538 - ปี 2541 ปี 2536 - ปี 2538 ปี 2531 - ปี 2534
กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ/ ผู้จัดการฝ่ายลงทุน นักวิเคราะห์การเงินอาวุโส ผู้จัดการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัท เจนเนอรัล เอ็นเตอร์ ไพรซ์ แมเนจเม้นท์ เซอร์วิส (ฮ่องกง) จำกัด บริษัท ลาซาร์ด เอเชีย (ฮ่องกง) จำกัด/บริษัท ลาซาร์ด เอเชีย อินเวสเม้นท์ แมเนจเม้นท์ จำกัด บริษัท สมิท บาร์นี่ อินช์ บริษัท ซันมาร์ ชิปปิ้ง
ปริญญาโท บริหารธุรกิจ 0.026 % มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Direct Certificate Program (DCP) 74/2006, Direct Accreditation Program (DAP) 54/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ปี 2531 - ปัจจุบัน
กรรมการบริหาร และ ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จำกัด (มหาชน) บริษัท ไอเอฟเอส แคปปิตอล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำกัด (มหาชน) บริษัท เอื้อวิทยา จำกัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จำกัด ในคณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตร ล่วงหน้าแห่งประเทศไทย กองทุนประกันสังคม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์/ มหาวิทยาลัย บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส ไทยทนุ จำกัด/หลักทรัพย์
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธนานันต์ จำกัด/สถาบันการเงิน
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
อายุ ชื่อ - สกุล / ตำแหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา (ปี)
สัดส่วน ความสัมพันธ์ ทาง ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง การถือหุ้น ครอบครัว ในบริษัท ระหว่าง ช่วงเวลา ตำแหน่ง (%) ผู้บริหาร
ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ
12 ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ 46 ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ 0.019 % ปี 2545 - ปัจจุบัน กรรมการ/กรรมการบริหาร และ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด กรรมการ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐ โอไฮโอ, USA. ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ (มหาชน) กรรมการบริหาร Director Certification Program (DCP) 74/2006, ปี 2543 - ปี 2545 กรรมการบริหาร บริษัท บางกอกรับเบอร์ จำกัด ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ Director Accreditation Program (DAP) 30/2004 ; (มหาชน)/รับจ้างผลิตรองเท้า สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ” กรรมการผู้จัดการ บริษัท สหรัตนนคร จำกัด/ นิคมอุตสาหกรรม ” กรรมการผู้จัดการ บริษัท จารุพลพัฒนา จำกัด/ ธุรกิจบันเทิง ” กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไม้เขียวชบาแดง จำกัด/ ธุรกิจบันเทิง 13 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ 59 MINI MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0.000 % ปี 2539 - ปัจจุบัน กรรมการ/กรรมการบริหาร บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด กรรมการ บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ (มหาชน) กรรมการบริหาร Director Certification Program (DCP) 74/2006, ฝ่ายปฏิบัติการ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ Director Accreditation Program (DAP) 30/2004 ; ฝ่ายปฏิบัติการ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 14 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี 54 นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.454 % ปี 2541 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร และ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด กรรมการบริหาร เนติบัณฑิตไทย เลขานุการบริษัท (มหาชน) เลขานุการบริษัท ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายธุรกิจ ปี 2535 - ปัจจุบัน หุ้นส่วนผู้จัดการ คณะบุคคล สำนักงานกฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ธรรมาทิตย์/กฎหมาย Director Certification Program (DCP ) 69/2006 ปี 2537 - ปี 2540 กรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทรัพย์ธำรง จำกัด/ Director Accreditation Program (DAP) 43/2005 สถาบันการเงิน Finance for Non-Finance Director ; ปี 2536 กรรมการบริหาร บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ศรีนคร สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) จำกัด/สถาบันการเงิน 15 นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ 49 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ 0.000 % ปี 2545 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร/ผู้อำนวยการ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด กรรมการบริหาร Roosevelt University, USA. (มหาชน) ผู้อำนวยการ ปี 2539 - ปี 2543 ผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท โรงแรมชายทะเล จำกัด/ สายการเงินและบริหารเงิน โรงแรม 16 นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา 44 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัญชีบัณฑิต 0.126 % ปี 2539 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร/ผู้อำนวยการ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด กรรมการบริหาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองผู้อำนวยการ (มหาชน) ผู้อำนวยการ สายงานบัญชี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้ช่วยผู้อำนวยการ โครงการ เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ ผู้จัดการอาวุโส - ฝ่ายบริหารเงิน - สายงานการเงิน ผู้จัดการอาวุโส - ฝ่ายบริหารเงิน - สายงานการบัญชี 17 นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร 50 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ 0.000 % ปี 2547 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร/ผู้อำนวยการ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด กรรมการบริหาร สาขาการเงินการธนาคาร (มหาชน) ผู้อำนวยการ สำนักงบประมาณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปี 2544 - ปี 2547 ผู้อำนวยการ/กรรมการบริหาร บริษัท เอเชียน อินเตอร์เนชั่นแนล ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาบัญชี กิจการภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ แพลนเนอร์ส จำกัด/ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่ปรึกษาการเงิน และเป็นผู้ทำแผน อบรมหลักสูตรการบริหารสถาบัน และ/หรือผู้บริหารแผนตาม วิศวกรรมการสถานแห่งประเทศไทย พรบ. ล้มละลาย อบรมหลักสูตรผู้บริหารชั้นสูง สถาบัน เดอะบอสส์ บริษัท เอเชียน แคปปติตอล แอ็ดไวเซอร์ส จำกัด (มหาชน) ที่ปรึกษากฎหมาย การเงิน การบัญชี การตลาด พาณิชยกรรม และ อุตสาหกรรม หมายเหตุ - ลำดับที่ 7 นางวนิดา ไวยาวัจมัย ลาออกจากกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2550 - ลำดับที่ 8 นางพาณีพรรณ ทิสาพงศ์ ลาออกจากกรรมการบริษัทและกรรมการบริหาร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2550 - ลำดับที่ 9 นาย คา เคย์ ยิบ ลาออกจากกรรมการบริษัท และแต่งตั้ง นาย เดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน ดำรงตำแหน่งแทน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2550 - ลำดับที่ 11 นายวิชัย สิงห์วิชา ลาออกจากกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2550 - ลำดับที่ 14 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี พ้นจากตำแหน่งตามวาระ และสละสิทธิ์ ไม่รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัทต่อไป
49
รายงานประจำปี 2550
รายละเอียดการดำรงตำแหน่ง
ของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ ในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รายชื่อบริษัทย่อย / รายชื่อกรรมการ บริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทอื่น บริษัทย่อย PF PSS ESTPF KL REAL Bright Center Point 1. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ X, / 2. นายชายนิด โง้วศิริมณี /, // / / / / / 3. นายวิชัย สิงห์วิชา** // 4. นายวีระยุค พันธุเพชร *, / 5. ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ /, // / 6. นายไพรัตน์ เสนาจักร์ /, // 7. นางวนิดา ไวยาวัจมัย** // 8. นางพาณีพรรณ ทิสาพงศ์*** / , // 9. นายคา เคย์ ยิบ** / 10. นายสมศักดิ์ โตรักษา *, / 11. ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย *, / 12. นายวิทยา เนติวิวัฒน์ / 13. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี** // / 14. นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน / 15. นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ // 16. นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา // 17. นายกฤตภาส พงศ์ภัควัตร // 18. นางสาวรัศมี เมธาวิกุล / 19. นางสาวสุรีย์พร พิพัฒนวัฒนพงษ์ / 20. นายธงชัย ปิยสันติวงศ์ / 21. นางธนิดา สุรธำรงค์ / 22. นายพิจิตต รัตตกุล / 23. นางอุไรวรรณ ภัทรกานต์ / 24. นายธงชัย คุณากรปรมัตถ์ / 25. นางสาววิลาวัณย์ เหลืองนาคทองดี / 26. นายประสงค์ วรารัตนกุล / 27. นายเกรียงไกร จิวานันทต์ / 28. นายโก๊ะ ยอง เชน / 29. นายลิม อี้ เซ็ง / 30. นายชาน คิน ฟาย / 31. นายชัยณรงค์ เงินโสภา / 32. นายภูริชญ์ ประภาวดี /
50
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุ :
1.
PF PSS ESTPF KL REAL Bright Center Point
หมายถึง บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) หมายถึง บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด หมายถึง บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด หมายถึง บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) หมายถึง บริษัท เรียลเซอร์วิส จำกัด หมายถึง บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด หมายถึง บริษัท เซ็นเตอร์ พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด
2. X * / //
หมายถึง ประธานกรรมการ หมายถึง กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการ หมายถึง กรรมการบริหาร
3. ** ***
ห มายถึง ลาออกจากกรรมการบริษัท (บมจ.พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค) หมายถึง ลาออกจากกรรมการบริษัท และกรรมการบริหาร
4. ปัจจุบัน REAL หยุดประกอบธุรกิจแล้ว
51
รายงานประจำปี 2550
ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน
ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ในระหว่างปี 2550 มีคา่ ตอบแทนในรูปของเบีย้ ประชุมสำหรับกรรมการ 13 ท่าน จำนวนทัง้ สิน้ 4,980,000 บาท และมีค่าตอบแทนในรูปของเบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ ในปี 2550 รวม 4 ท่าน เท่ากับ 630,000 บาท (หมายเหตุ: นอกเหนือจากค่าตอบแทนในรูปของเบี้ยประชุมในฐานะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัทบางท่านจะได้รับค่าตอบแทน ในรูปเงินเดือนในฐานะที่เป็นผู้บริหารและกรรมการบริหารของบริษัท) ค่าตอบแทนฐานะกรรมการบริษัท ประจำปี 2550
ชื่อ
52
กรรมการตรวจสอบ
ครั้ง ดร.ธวัชชัย นาคะตะ** 3 นายสมศักดิ์ โตรักษา* 7 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย*,** 7 นายชายนิด โง้วศิริมณี นางวนิดา ไวยาวัจมัย*** นายวิชัย สิงห์วิชา*** ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ นางพาณีพรรณ ทิสาพงศ์*** นายไพรัตน์ เสนาจักร์ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี**** นายวิทยา เนติวัฒน์** นายวีระยุค พันธุเพชร* 4 นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน รวม หมายเหตุ:
จำนวนเงิน
กรรมการบริษัท ครั้ง
150,000 8 140,000 8 140,000 8 7 6 6 7 5 7 3 5 200,000 5 4 630,000
จำนวนเงิน
รวม ครั้ง
จำนวนเงิน
800,000 11 400,000 15 400,000 15 350,000 7 300,000 6 300,000 6 350,000 7 250,000 5 350,000 7 150,000 3 250,000 5 250,000 9 200,000 4 4,350,000
950,000 540,000 540,000 350,000 300,000 300,000 350,000 250,000 350,000 150,000 250,000 450,000 200,000 4,980,000
1. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ลาออกจากการเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และได้แต่งตั้ง นายวีระยุค พันธุเพชร เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 * กรรมการตรวจสอบ,กรรมการที่เป็นอิสระ ** กรรมการพิจาณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ *** กรรมการลาออก **** ครบกำหนดออกตามวาระ และสละสิทธิ์ ไม่รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการอีก
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ในปี 2550 รวม 9 คน เท่ากับ 35.12 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ จำนวนคน จำนวนเงิน (ล้านบาท) เงินเดือน 9 29.91 อื่น ๆ 9 5.21 รวม 9 35.12 รายละเอียดค่าตอบแทนพนักงานในปี 2550 มีดังนี้ ลักษณะผลตอบแทน จำนวน (ล้านบาท) เงินเดือน 203.77 อื่นๆ 49.64 รวม 253.41 จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รวมทั้งสิ้น 438 คน แยกเป็น ผู้บริหาร 9 คน ฝ่ายสำนักงาน 208 คน ฝ่ายการตลาดและบริหารโครงการ 221 คน รวม 438 คน
53
รายงานประจำปี 2550
การกำกับดูแลกิจการ บริษัทได้ ให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลกิจการ เพื่อให้มีการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส และเพิ่มความสามารถในการ แข่งขัน เพิ่มคุณค่าให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาวภายใต้จริยธรรมที่ดี รวมทั้งยังคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่นและสังคมโดยรวม บริษัทได้ ปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี 15 ข้อ ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กำหนด โดยมีรายละเอียดแต่ละ ข้อดังนี้ 1. นโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี เนือ่ งจากเป็นแนวทางในการดำเนินธุรกิจ ที่ทำให้บริษัทมีระบบการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และเป็นส่วนสำคัญในการส่งเสริมกิจการของบริษัทให้มีการเติบโต อย่างยัง่ ยืน คณะกรรมบริษทั มีความมุง่ มัน่ และตัง้ ใจทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามหลักการดังกล่าวด้วยความโปร่งใส เพือ่ เพิม่ ความเชือ่ มัน่ ให้กับผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยได้กำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของบริษัท ให้ความสำคัญ ต่อระบบการควบคุม และการตรวจสอบภายใน กำกับดูแลฝ่ายบริหารให้ดำเนินการตามนโยบายอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ ประโยชน์ในระยะยาวของผู้ถือหุ้นภายใต้กรอบข้อกำหนดของกฎหมายและจริยธรรมทางธุรกิจ 2. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทได้ ให้ความสำคัญเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันดังนี้ สิทธิในการได้รับข้อมูลของบริษัท ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ผู้ถือหุ้นจะได้รับหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งรายละเอียดข้อมูลประกอบการ ประชุมตามวาระต่างๆ เป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันประชุม ซึ่งในแต่ละวาระจะมีความเห็นของคณะ กรรมการประกอบ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลทันเวลาและเพียงพอในการตัดสินใจสำหรับการประชุม ในปี 2551 ผู้ถือหุ้นจะได้รับหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งรายละเอียดข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระ ต่างๆ เป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันประชุม นอกจากนี้บริษัทได้มีการแจ้งกำหนดการจัดประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น และวาระการประชุมต่อกรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ซึ่งปรากฏ ในข่าวของบริษัทบนเว็บไซท์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และบนเว็บไซท์ของบริษัทก่อนการประชุม 30 วันเพื่อเปิดโอกาส ให้ผู้ถือหุ้นหรือนักลงทุนสามารถติดต่อสอบถามได้ สิทธิในการออกเสียง ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิเข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเท่าเทียมกันตามข้อบังคับของบริษัท นอกจากนี้ บริษัทได้เพิ่มทางเลือกให้กับผู้ถือหุ้น โดยจัดเตรียมหนังสือมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมแทน หรือให้กับกรรมการ อิสระเป็นผูร้ บั มอบฉันทะจากผูถ้ อื หุน้ ในกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถระบุมติออกเสียง ในแต่ละวาระเพื่อให้ผู้รับมอบฉันทะปฏิบัติตาม และมีการบันทึกรายงานการประชุมถูกต้องครบถ้วน เพื่อให้ผู้ถือหุ้น สามารถตรวจสอบได้ สิทธิที่จะได้รับการดูแลอย่างเป็นธรรม ผู้ถือหุ้นจะได้รับการดูแลอย่างเท่าเทียมกันในสิทธิต่างๆ ที่ผู้ถือหุ้นพึงมีและพึงได้
54
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
3.
สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย บริษทั ได้ตระหนักถึงความสำคัญของผูม้ สี ว่ นได้เสียไม่วา่ จะเป็น ลูกค้า คูแ่ ข่ง เจ้าหนี้ ผูจ้ ำหน่าย สินค้าหรือผูร้ บั เหมา ก่อสร้าง ชุมชนและสังคม รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ พนักงานบริษัท โดยบริษัทได้พยายามดำเนินนโยบาย เพื่อให้เกิดความ ยุติรรมและเหมาะสมกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนี้ ผู้ถือหุ้น บริษัทคำนึงถึงความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลสำคัญต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างถูกต้องครบถ้วนทันเวลา โดย ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การแจ้งข้อมูลผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และการแจ้งข้อมูล ผ่านทางเว็บไซด์ของบริษัท การประกาศทางหนังสือพิมพ์ การจัดทำ Press Release หรือการจัดส่งจดหมายเป็น ลายลักษณ์อักษร ลูกค้า นอกจากให้ความสำคัญในการก่อสร้างบ้านทีม่ คี ณ ุ ภาพ บริษทั ยังให้ความสำคัญเรือ่ งจรรยาบรรณในการปฏิบตั ิ โดยเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า ให้บริการที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน รวมทั้งการแก้ปัญหาที่ลูกค้าร้องเรียน หรือให้ข้อเสนอแนะต่อบริษัทโดยเร็วที่สุด พนักงานบริษัท บริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าทีพ่ จิ ารณากำหนดการจ่ายผลตอบแทนให้กบั พนักงาน อย่างเหมาะสม และจัดทำคูม่ อื ให้กบั พนักงานทุกคนทีป่ ฏิบตั งิ านกับบริษทั เพือ่ ให้ทราบถึงนโยบายสวัสดิการทีพ่ นักงาน พึงได้รับอย่างชัดเจน และมีการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเพื่อพนักงาน รวมถึงการปรับเลื่อนตำแหน่งอย่างมีขั้น มีตอนในการพิจารณาเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายอย่างยุติธรรม เจ้าหนี ้ ผู้จำหน่าย สินค้า บริษัทมีรอบระยะเวลาการวางบิลและจ่ายเช็ค หลังการส่งมอบงาน/ตรวจรับงานที่ชัดเจน โดยแจ้งผู้รับเหมาตั้งแต่ก่อนรับงาน โดยดำเนินการจ่ายเป็นไปตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ให้กับเจ้าหนี้ ผู้รับเหมา บริษัทมีหลักการพิจารณาคัดเลือกผู้รับเหมาเพื่อให้ ได้คุณสมบัติในการรับเหมางานของบริษัท ที่มี ประสิทธิภาพ และเสมอภาคโดยบริษัทพิจารณากำหนดราคายุติธรรมเป็นราคากลางเปรียบเทียบราคาตลาดทั่วไป โดยมีระดับราคาบางรายการที่สูงกว่าราคาจัดจ้างตลาดบ้าง แต่ก็รักษาอัตราเฉลี่ยตามระดับราคาตลาด และยังมี การพิจารณาถึงความยากง่ายของสภาพการทำงานในการกำหนดราคาด้วยในกรณีพิเศษที่มีความจำเป็นในบางครั้ง โดยจะมีคณะอนุกรรมการจัดจ้างแต่ละคณะเป็นผู้พิจารณาตามความเหมาะสม โดยพิจารณาถึงวัตถุประสงค์และ ความสำเร็จในการจัดซือ้ จัดจ้างที่ โปร่งใส นอกจากนี้ การกำหนดงวดงาน การแบ่งงวดงานค่าก่อสร้างอย่างเป็นธรรม การตรวจรับงาน การวางบิล มีการกำหนดอย่างชัดเจนในการทำสัญญากับผู้รับเหมาเพื่อให้มีการปฏิบัติอย่าง เท่าเทียมกัน รวมทั้งกำหนดการจ่ายเงินตรงตามระเบียบบริษัท เพื่อให้ผู้รับเหมามีความมั่นใจและเติบโตไปพร้อมๆ กับบริษัท คู่แข่งขัน บริษัทดำเนินนโยบายตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี หลีกเลี่ยงวิธีการไม่สุจริต เพื่อทำลายคู่แข่ง 55
รายงานประจำปี 2550
4.
5.
สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทตระหนักถึงคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่สังคม วัฒนธรรมไทย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมเป็นสาระสำคัญใน การพัฒนาที่ดินของบริษัท ทุกโครงการของบริษัทจะมีการออกแบบโดยมิได้เพียงพิจารณาตามข้อกำหนดของ พรบ. จัดสรรและกฎระเบียบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่บริษัทจะมองถึงคุณภาพความเป็นอยู่ของสังคมที่จะเกิดขึ้นจาก การพัฒนาของบริษัท การให้พื้นที่ส่วนกลางมากกว่าข้อกำหนดของกฎหมายเพื่อให้ โครงการมีความสมบูรณ์ ทั้ง ต้นไม้ สถานที่พักผ่อนออกกำลังกาย สนามกีฬาสำหรับลูกบ้าน นอกจากนี้เพื่อเป็นการร่วมรับผิดชอบสังคมบริษัทได้ ร่วมกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมความเจริญท้องถิ่นโดยราดยางถนน (บางส่วน) บน ถ.ประชาอุทิศเพื่อให้การจราจรใน ชุมชนคล่องตัวมากขึน้ มอบทุนการศึกษาให้นกั เรียน สร้างศาลาทีพ่ กั ผู้ โดยสารให้กบั ชุมชนรวมถึงการร่วมจัดกิจกรรม บริจาคอุปกรณ์เครื่องเขียน อุปกรณ์เครื่องกีฬา และอื่นๆ ให้นักเรียนโรงเรียนต่างจังหวัด ซึ่งบริษัทได้ ให้ความสำคัญ กิจกรรมที่เป็นสาธารณะประโยชน์ และพิจารณาดำเนินการตามความเหมาะสม
การประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทมีนโยบายในการดำเนินการประชุมอย่างโปร่งใสและเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดง ความคิดเห็นและตั้งคำถามในที่ประชุมโดยจัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้บริษัทยังกำหนดให้กรรมการ บริษัทรวมถึงกรรมการอิสระและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตอบข้อซักถามในที่ประชุม อีกทั้งมีการ บันทึกข้อซักถามและข้อคิดเห็นที่สำคัญไว้ ในรายงานการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ตรวจสอบได้ภายหลัง ภาวะผู้นำและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยผูท้ มี่ ปี ระสบการณ์ มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาบริษทั โดยคณะกรรมการ บริษัทมีหน้าที่กำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของบริษัทและกำกับควบคุมดูแลให้ฝ่ายบริหารดำเนินการให้เป็นไป ตามนโยบายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ บริษัทยังได้มีการกำหนดระบบการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ คณะ กรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและผู้บริหารของบริษัทอย่างชัดเจน รวมทั้งสำนักตรวจสอบภายในของบริษัทได้มี การตรวจสอบและมีการติดตามการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ และนำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบ ทุกครั้ง
6. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหารได้พิจารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งของผลประโยชน์อย่างรอบคอบ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตอย่างมีเหตุมีผลและเป็นอิสระภายใต้กรอบ จริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชน์ของบริษัทโดยรวมเป็น สำคัญ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหาร บริษัทกำหนดให้บุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการเข้าทำรายการใด ๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์กับบริษัท งดให้ความเห็นและงดออกเสียงลงมติในรายการดังกล่าว นอกจากนี้ บริษัทได้มีการกำหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือ รายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยได้ถือปฏิบัติตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ ใช้บังคับการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน อย่างเคร่งครัด เพื่อประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นโดยรวมอย่าง เท่าเทียมกัน
56
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบรายการที่เกี่ยวโยงกันและรายการ ที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งได้มีการพิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ และได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนดในรายงานและเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวทุกไตรมาสอย่างเคร่งครัด รวมทั้งได้มีการ เปิดเผยไว้ ในรายงานประจำปีและแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ด้วย
ทั้งนี้ บริษัทมีนโยบายห้ามกรรมการและผู้บริหารนำข้อมูลภายในของบริษัทซึ่งยังไม่ เปิดเผยต่อสาธารณชนไป เปิดเผยเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม นอกจากนี้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทที่ ได้รับข้อมูลทางการเงินของบริษัทต้องไม่ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในระยะเวลา 1 เดือนก่อนเปิดเผยสู่สาธารณะ โดยบริษัทได้แจ้งให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทข้างต้นหลีกเลี่ยงการ ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทก่อนที่งบการเงินจะเปิดเผยสู่สาธารณะ รวมทั้งได้แจ้งให้กรรมการและผู้บริหารเข้าใจถึงภาระ หน้าที่ในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริษทั ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ตอ่ สำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยบริษัทได้กำหนดบทลงโทษทางวินัยต่อพนักงานของบริษัทที่กระทำการฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับหรือประกาศของบริษัท ซึ่งระบุไว้ ในระเบียบข้อบังคับในการปฏิบัติงานของพนักงาน 7. จริยธรรมธุรกิจ บริษทั ได้จดั ทำข้อกำหนดและถือปฏิบตั เิ กีย่ วกับจริยธรรมธุรกิจหรือจรรยาบรรณ (Code of Ethics) ของบริษทั เพือ่ ให้ กรรมการและพนักงานทุกคนได้รบั ทราบ ยึดถือ เข้าใจถึงมาตรฐานการปฏิบตั ติ นตามทีบ่ ริษทั และผูถ้ อื หุน้ คาดหวัง และใช้เป็น แนวทางประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้องในการประกอบธุรกิจ 8. การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร บริษทั กำหนดให้มกี รรมการอิสระอย่างน้อย 3 ท่าน โดยปัจจุบนั บริษทั มีคณะกรรมการทีม่ ปี ระสบการณ์และมีความรู้ ความสามารถจำนวน 9 ท่าน ประกอบด้วย - กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (Executive Director) จำนวน 4 ท่าน - กรรมการที่ ไม่ ได้เป็นผู้บริหาร(Non-Executive Director) จำนวน 2 ท่าน - กรรมการอิสระ (Independent Director) จำนวน 3 ท่าน คณะกรรมการของบริษัททุกท่าน มีความเป็นอิสระอย่างเต็มที่ ในการแสดงความคิดเห็น ปัจจุบันมีกรรมการที่เป็น อิสระรวม 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด บริษัทให้ความสำคัญกับความเห็นของ คณะกรรมการอิสระมาก ในกรณีที่ กรรมการอิสระมีข้อท้วงติงหรือไม่เห็นด้วยในเรื่องใด จะต้องนำเรื่องกลับไปพิจารณาทบทวนอีกครั้งหนึ่ง เพื่อหาข้อสรุปที่ ชัดเจนโปร่งใสในเรื่องนั้นๆ 9. การรวมหรือแยกตำแหน่ง บริษัท ได้มีมติปรับผังองค์กรโดยแบ่งแยกส่วนงานหลักออกเป็น 3 ฝ่าย (ตามผังองค์กร หน้า 23) เพื่อให้มีความ เหมาะสมกับสภาวะการในปัจจุบันโดยให้รวมสายงานในฝ่ายจัดการเข้าด้วยกันและแบ่งเป็น 3 ฝ่าย ดังนี้ - ฝ่ายปฏิบัติการ มีประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด - ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ มีประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด - ฝ่ายการเงิน มีประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด
57
รายงานประจำปี 2550
ในการปรับโครงสร้างองค์กรครั้งนี้ ได้มีการกำหนดขอบเขตอำนาจของฝ่ายบริหารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจนและ เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นประกาศคำสั่งประธานกรรมการให้ถือปฏิบัติ นับแต่วันประกาศเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2550 โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบออกจากกันโดยเด็ดขาดระหว่างการอนุมัติ การบันทึกรายการทางบัญชีและการ ดูแลทรัพย์สิน เพื่อเป็นการตรวจสอบซึ่งกันและกันได้
10. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริษัทมีคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการบริษัทที่ ไม่เป็นผู้บริหาร สามารถทำหน้าที่อย่างโปร่งใสในการพิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารระดับสูงเพื่อ เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการโดยคณะกรรมการเป็นผู้อนุมัติค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง ส่วนค่าตอบแทนของ กรรมการ คณะกรรมการจะต้องนำเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้อนุมัติ การพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ : คณะกรรมการบริษัทกำหนดค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส และสู ง เพี ย งพอที่ จ ะดู แ ลและรั ก ษากรรมการที่ มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ต้ อ งการ กรรมการที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ เ ป็ น กรรมการตรวจสอบจะได้รับค่าตอบแทนเพิ่มตามปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น การพิจารณาค่าตอบแทนผู้บริหาร : ค่าตอบแทนผู้บริหารกำหนดตามแนวโน้มของอัตราค่าจ้างในตลาดธุรกิจที่มี ขนาดใกล้เคียงกับบริษัทไปตามหลักการและนโยบายที่บริษัทเชื่อมโยงกับผลการดำเนินงานของบริษัทและผลการ ปฏิบัติงานของผู้บริหารแต่ละท่าน 11. การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดให้มีการประชุมทุกไตรมาสหรือตามประธานกรรมการบริษัทสั่งการเพื่อพิจารณา ผลการดำเนินงานในแต่ละไตรมาสและติดตามความคืบหน้าการดำเนินงาน โดยประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร จะร่วมพิจารณาเรื่องสำคัญเข้าวาระการประชุม กรรมการแต่ละท่านมีความเป็นอิสระที่จะเสนอเรื่องเข้าสู่วาระการประชุม ในปี 2550 มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้เชิญผู้อำนวยการ ฝ่ายต่างๆ ทีร่ บั ผิดชอบเข้าชีแ้ จงผลการดำเนินและแสดงแผนงาน ในทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และตอบคำถามประเด็น ข้อสงสัยของคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งการรับการชี้แนะนโยบายสำคัญที่เกี่ยวข้อง ตามข้อบังคับของบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในกรณีประธานกรรมการไม่อยู่ ในที่ประชุม หรือไม่สามารถปฏิบัติตามหน้าที่ ได้ ถ้า มีรองประธานกรรมการหนึ่งคน ให้รองประธานกรรมการเป็นประธาน ถ้ามีรองประธานกรรมการหลายคน ให้กรรมการซึ่ง มาประชุมเลือกรองประธานกรรมการ คนใดคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าไม่มีรองประธานกรรมการหรือมี แต่ ไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ ได้ ให้กรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ ประชุม ให้ถือเสียงข้างมาก บริษัทได้ ให้ความสำคัญในการพัฒนากรรมการและผู้บริหารเพื่อการสืบทอดการบริหารในอนาคต บริษัทตระหนักถึง ความสำคัญด้านบุคลากรระดับผู้บริหาร โดยจัดอบรมหลักสูตร “การบริหารจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์” โดยมีเนื้อหาของ หลักสูตร ประกอบด้วยความรู้ทางด้านอสังหาริมทรัพย์ กฎหมาย การเงิน บัญชี และการกำกับดูแลกิจการที่ดี ฯลฯ เพื่อให้
ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทได้เรียนรู้เตรียมพร้อมในการเป็นกรรมการในอนาคต และในส่วนของกรรมการบริษัทก็ ได้
เข้าร่วมอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ทีจ่ ดั ขึน้ สำหรับการพัฒนาและให้การสนับสนุน กรรมการบริษัท เพื่อการกำกับดูแลกิจการที่ดีไปปฏิบัติในองค์กร
58
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
สำหรับปี 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้กำหนดวันประชุมคณะกรรมการบริษัทเป็นประจำทุกไตรมาส เพื่อ พิจารณารับรองงบการเงินประจำปีและประจำไตรมาส ที่จำเป็นล่วงหน้า รวม 4 ครั้ง มีรายละเอียดดังนี้
ครั้งที่ 1 เพื่อพิจารณางบการเงินประจำปี 2550 ซึ่งต้องจัดการประชุมภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 ครั้งที่ 2 เพือ่ พิจารณางบการเงินระหว่างกาลประจำไตรมาสที่ 1/2551 ซึง่ จะต้องจัดประชุมภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2551 ครั้งที่ 3 เพื่อพิจารณางบการเงินระหว่างกาลประจำไตรมาสที่ 2/2551 ซึ่งจะต้องจัดประชุมภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2551 ครั้งที่ 4 เพือ่ พิจารณางบการเงินระหว่างกาลประจำไตรมาสที่ 3/2551 ซึง่ จะต้องจัดประชุมภายในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 เพื่อให้คณะกรรมการสามารถกำหนดแผนการทำงาน และนอกเหนือจากการนัดประชุมล่วงหน้าดังกล่าว ประธาน อาจขอให้เรียกประชุมคณะกรรมการเพิ่มเติมเมื่อมีความจำเป็นของฝ่ายจัดการได้ 12. คณะอนุกรรมการ บริษัทได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อช่วยในการกำกับดูแลกิจการของบริษัทและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ดำเนินงาน ซึ่งกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ ไว้อย่างชัดเจนจำนวน 4 คณะ ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะ กรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท และคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และทรัพยากรมนุษย์ โดยคณะกรรมการชุดย่อยได้ถูกตั้งขึ้นเพื่อการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ จะทำหน้า ที่พิจารณาอย่างโปร่งใส 13. ระบบควบคุมและตรวจสอบภายใน บริษัทได้ ให้ความสำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน ทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ มีการ กำหนดการดำเนินการของผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน สำหรับการตรวจสอบภายในได้มกี ารจัดตัง้ สำนักตรวจสอบภายในขึน้ เฉพาะ เพือ่ รับผิดชอบช่วยตรวจสอบการปฏิบตั งิ าน ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ หน่วยงานตรวจสอบภายในจะรายงานผลการ ตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 14. รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นตัวแทนของคณะกรรมการบริษัท ทำหน้าที่กำกับ ดูแลกระบวนการจัดทำและเปิดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน เพื่อ พิจารณาความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน การจัดทำงบการเงินให้ตรงต่อความเป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้ และมีประสิทธิภาพ 15. ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน คณะกรรมการบริษัทให้ความสำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสียกับ บริษัทเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส น่าเชื่อถือ ทั่วถึง และทันเวลา ทั้งรายงานข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทั่วไป ตลอดจนข้อมูลสำคัญ โดยได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ เพื่อให้ผู้ลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้สนใจโดยทั่วไปได้รับทราบ โดยผ่านช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ บริษัทได้จัดตั้งฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ สายงานนักลงทุนสัมพันธ์และสารสนเทศ เพือ่ รับผิดชอบงานเกีย่ วกับการให้บริการข้อมูล และการเปิดเผยสารสนเทศทีส่ ำคัญ ของบริษทั โดยติดต่อได้ทนี่ างสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา โทร. 0-2247-7106 โทรสาร 0-2247-3328 E-mail: sirirat@pf.co.th หรือที่ http://www. pf.co.th/ir
59
รายงานประจำปี 2550
บุคคลอ้างอิงอื่นๆ ผู้บริหารแผน ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย นายทะเบียนหลักทรัพย์
60
บริษัท เอเชียน อินเตอร์เนชั่นแนล แพลนเนอร์ส จำกัด เลขที่ 195 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ชั้น 19 ห้อง 1907 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0–2670–1144 โทรสาร 0–2670–1152 นายณรงค์ พันตาวงษ์ นายรุทธ เชาวนะกวี นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เลขที่ 193/136-137 อาคารเลครัชดา คอมเพล็กซ์ ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0–2264–0777, 0–2661–6190 โทรสาร 0–264–0790, 0–2661–9192 บริษัท สำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์วิทยา จำกัด 33/35, 33/39-40 อาคารวอลล์สตรีท ทาวน์เวอร์ ชั้น 9 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0-2236-2334 โทรสาร 0-2236-3916 บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2359-1200-1 โทรสาร 0-2359-1259
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
รายการระหว่างกันกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วม
1. รายการระหว่างกันกับบริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด (“เอสเตท”)
ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของเอสเตท โดยถือในสัดส่วน 100% - เพอร์เฟค และเอสเตท มีกรรมการร่วมกันจำนวน 1 คน คือ นายชายนิด โง้วศิริมณี - ผู้บริหารของเพอร์เฟคเป็นกรรมการของเอสเตท 1 คน คือ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี
รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ ให้กู้ยืมเงิน
รายการ ลูกหนี้ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ
ค้ำประกัน
วงเงิน
ปี 2550 (ล้านบาท) หมายเหตุ 241.45 เพอร์เฟคให้เอสเตทกู้ยืมเงินโดยมีตั๋วสัญญาใช้เงิน 13.08 เป็นหลักฐานการเบิกเงินกู้บางส่วน คิดดอกเบี้ยใน 1.25 อัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของเพอร์เฟคบวก 1.5% เมื่ อ วั น ที่ 25 กุ ม ภาพั น ธ์ 2551 ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบมีมติเห็นชอบให้เพอร์เฟค อนุมัติให้เอสเตทกู้ยืมเงินเพื่อนำไปพัฒนาโครงการ และจั ด ซื้ อ ที่ ดิ น เพิ่ ม เติ ม ในวงเงิ น 160 ล้ า นบาท โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ย ของเพอร์เฟคบวก 1.5% 1,441
เพอร์เฟคเข้าทำสัญญาค้ำประกันเงินกู้ยืมระหว่าง เอสเตทกับสถาบันการเงินโดยไม่คิดค่าธรรมเนียม ดังนี้ เงินกู้ โครงการร่มเกล้า วงเงิน 434 ล้านบาท เงินกู้ โครงการเพอร์เฟค เพลส วงเงิน 967 ล้านบาท เงินกู้เพื่อเงินทุนหมุนเวียน วงเงิน 40 ล้านบาท
จำนองทรัพย์สิน
ความเห็นกรรมการตรวจสอบ
เพอร์เฟคจำนองทีด่ นิ รอการพัฒนาจำนวน 2-3-21 ไร่ และทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างในโครงการของเพอร์เฟค จำนวนรวม 1-3-4.5 ไร่ เป็นหลักประกันเงินกู้ยืม ระหว่างเอสเตทกับสถาบันการเงิน หากมีการปลอด จำนองหลักประกันเมื่อขายได้จะถือว่าเพอร์เฟคได้ ชำระหนี้แทนเอสเตทไปก่อน
การให้กู้ยืมดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทาง การเงิ น ที่ จ ำเป็ น เนื่ อ งจากเป็ น การนำไปพั ฒ นา โครงการ และขยายงานตามแผนงานของเอสเตท และเพอร์เฟค จำเป็นต้องค้ำประกันเนือ่ งจากถืออยู่ 100%
61
รายงานประจำปี 2550
2. รายการระหว่างกันกับบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด (“ไบรท์”)
ลักษณะความสัมพันธ์
รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ
- เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของไบรท์ โดยถือในสัดส่วน 99.94% - เพอร์เฟค และไบรท์ มีกรรมการร่วมกันจำนวน 2 คน ได้แก่ นายชายนิด โง้วศิริมณี และ ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์
รายการ
ปี 2550 (ล้านบาท)
ลงทุนในหุ้นสามัญ
เงินลงทุนในบริษัทย่อย
เงินทดรองจ่าย ลูกหนี้ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ
เงินทดรองจ่ายและ ให้กู้ยืมเงิน
ความเห็นกรรมการตรวจสอบ
1
หมายเหตุ เพอร์เฟคจัดตั้งไบรท์เพื่อให้เป็นผู้ดำเนินการพัฒนา โครงการรัชดาภิเษกตามเงือ่ นไขของสถาบันการเงิน ผู้ ให้สินเชื่อ โดยเข้าลงทุนในหุ้นสามัญของไบรท์ จำนวน 9,994 หุน้ ในราคาทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท รวมเป็นเงิน 999,400 บาท
81.50 4.36 0.01 0.01
เพอร์เฟคทดรองจ่ายค่าที่ดินและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ โครงการให้แก่ ไบรท์ และอนุมัติให้ ไบรท์กู้ยืมเงิน เพื่อเตรียมเปิดโครงการในวงเงิน 61.30 ล้านบาท โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ย ของเพอร์เฟคบวก 1.5%
การลงทุนดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขของสถาบัน การเงิ น ผู้ ใ ห้ สิ น เชื่ อ และการทดรองจ่ า ยและให้
กู้ยืมเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จำเป็น เนื่องจากเป็นการนำไปพัฒนาโครงการและขยาย งาน ตามแผนงานของไบรท์
3. รายการระหว่างกันกับบริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด (“แซทเทลไลท์”)
ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของแซทเทลไลท์ โดยถือในสัดส่วน 99.94% - เพอร์เฟคส่งผู้บริหารของบริษัทเข้าเป็นกรรมการของแซทเทลไลท์ จำนวน 4 คน ได้แก่ นส.รัศมี เมธาวิกลุ นายธงชัย ปิยสันติวงศ์ นส.สุรยี พ์ ร พิพฒ ั นวัฒนพงษ์ และ นางธนิดา สุรธำรงค์ รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ รายการ ปี 2550 (ล้านบาท) หมายเหตุ ว่าจ้างบริหารสโมสร ค่าใช้จ่าย 8.40 เพอร์เฟคว่าจ้างแซทเทลไลท์บริหารสโมสรของบริษทั เจ้าหนี้ 0.98 ในอัตราเดือนละ 120,000 บาท/โครงการ ความเห็นกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นรายการค้าตามปกติของธุรกิจ ซึ่งบริษัททั้งสองกำหนดราคาร่วมกัน
62
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
4. รายการระหว่างกันกับบริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด (“เซ็นเตอร์พ้อยท์”)
ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของเซ็นเตอร์พ้อยท์ โดยถือในสัดส่วน 59.95% - เพอร์เฟคและเซ็นเตอร์พ้อยท์ มีกรรมการร่วมกันจำนวน 1 คน คือ นายชายนิด โง้วศิริมณี รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ รายการ ปี 2550 (ล้านบาท) หมายเหตุ ลงทุนในหุ้นสามัญ เงินลงทุนในบริษัทย่อย 0.6 เพอร์ เ ฟคลงทุ น ในหุ้ น สามั ญ ของเซ็ น เตอร์ พ้ อ ยท์ จำนวน 5,995 หุน้ ในราคาทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท รวมเป็นเงิน 599,500 บาท รับเงินมัดจำ เจ้าหนี้อื่น 80 เพอร์ เ ฟคทำสั ญ ญาโอนสิ ท ธิ ก ารเช่ า ที่ ดิ น เนื้ อ ที่ 7-3-62.1 ไร่ ให้แก่เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ในราคา 200 ล้าน บาท โดยได้รับเงินมัดจำจำนวน 80 ล้านบาท ความเห็นกรรมการตรวจสอบ การลงทุนดังกล่าวเพื่อเป็นการพัฒนาบุคลากรของ บริ ษั ท ให้ มี ป ระสบการณ์ ใ นการพั ฒ นาโครงการ ศูนย์การค้า และการทำสัญญาโอนสิทธิการเช่าดัง กล่าวเป็นรายการค้าตามปกติของธุรกิจซึ่งบริษัททั้ง สองกำหนดราคาร่วมกันซึ่งไม่ต่ำกว่าราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดยผู้ประเมินอิสระจำนวน 2 ราย
5. รายการระหว่างกันกับบริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) (“กรุงเทพบ้าน”)
ลักษณะความสัมพันธ์์
- เพอร์เฟคเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่รายหนึง่ ของกรุงเทพบ้าน โดยถือในสัดส่วน 20.22% - เพอร์เฟคและกรุงเทพบ้าน มีกรรมการร่วมกันจำนวน 1 คน คือ นายชายนิด โง้วศิริมณี
รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ ดอกเบี้ยรับ
รายการ ดอกเบี้ยรับ
ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน
เงินลงทุนในบริษัทร่วม
60
ค้ำประกัน
เพอร์ เ ฟคซื้ อ หุ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของกรุ ง เทพบ้ า น จำนวน 5,999,994 หุ้น ในราคาที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 60 ล้านบาท เพื่อรักษาสัดส่วน การถือหุ้นเดิมของบริษัท
วงเงิน
30
เพอร์เฟคเข้าทำสัญญาค้ำประกันเงินกู้ยืมระหว่าง กรุ ง เทพบ้ า นกั บ สถาบั น การเงิ น โดยไม่ คิ ด ค่ า ธรรมเนียม
ปี 2550 (ล้านบาท) หมายเหตุ 0.45 เพอร์เฟคคิดดอกเบี้ยจากกรุงเทพบ้านเนื่องจากการ ผิ ด นั ด ชำระหนี้ เ งิ น ให้ กู้ ยื ม ในอั ต รา 15% ต่ อ ปี อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปี 2550 กรุงเทพบ้านได้ ชำระหนี้ครบถ้วนแล้ว
63
รายงานประจำปี 2550
ความเห็นกรรมการตรวจสอบ
การคิดดอกเบี้ยเป็นไปตามข้อตกลงระหว่างกันของ ทั้งสองบริษัท การลงทุนดังกล่าวเพื่อรักษาสิทธิและ ประโยชน์ของบริษัท และการค้ำประกันเป็นการให้ ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทย่อย (ขณะนั้น เพอร์เฟคถืออยู่ 99.93%) อย่างไรก็ตาม ภาระค้ำ ประกันดังกล่าวยังมีอยู่ถึงปัจจุบันเนื่องจากเจ้าหนี้ ไม่ยินยอมให้ปลดการค้ำประกัน
6. รายการระหว่างกันกับบริษัท เรียลเซอร์วิส จำกัด (“เรียลเซอร์วิส”)
ลักษณะความสัมพันธ์
รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ ดอกเบี้ยรับ
- เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของเรียลเซอร์วิส โดยถือในสัดส่วน 19% - พนักงานของเพอร์เฟคเป็นกรรมการของเรียลเซอร์วิส 1 คน ได้แก่ นายชัยณรงค์ เงินโสภา - ผู้บริหารของเพอร์เฟคถือหุ้นในเรียลเซอร์วิสรวมกัน 38% ได้แก่ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรี โรจน์ นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา นายฐิติ อินทร์กลิ่นพันธุ์ และนายสมคิด ชิดตระกูล - ผู้บริหารของกรุงเทพบ้านถือหุ้นในเรียลเซอร์วิสฯ 5% ได้แก่ นายทศพร จิระเกียรติดีกุล
รายการ
ดอกเบี้ยรับ
ความเห็นกรรมการตรวจสอบ
64
ปี 2550 (ล้านบาท) 0.12
หมายเหตุ เพอร์เฟคคิดดอกเบี้ยจากเรียลเซอร์วิสเนื่องจาก การผิดนัดชำระหนี้เงินให้กู้ยืมในอัตรา 15% ต่อปี อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปี 2550 เรียลเซอร์วิสได้ ชำระหนี้ครบถ้วนแล้ว การคิดดอกเบี้ยเป็นไปตามข้อตกลงระหว่างกันของ ทั้งสองบริษัท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ปัจจัยความเสี่ยง 1.
2.
ปัจจัยที่อาจทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ลงทุนหรือได้รับผลกระทบต่อผู้ออกหลักทรัพย์ มีดังนี้ ความเสี่ยงจากความต้องการเงินทุนหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้นจากการสร้างบ้านพร้อมอยู ่ บริษัทยังคงนโยบายสร้างบ้านพร้อมอยู่ เพื่อสร้างความมั่นใจในการซื้อบ้านและตอบสนองความต้องการของลูกค้า ว่าจะได้รับการส่งมอบบ้านได้ตามสัญญา แต่จะดำเนินการควบคู่ ไปกับการสร้างบ้านก่อนขาย (บ้านระหว่างก่อสร้าง) ที่มี แบบก่อสร้างและต้นทุนทีแ่ น่นอน โดยบริษทั มีการกำหนดปริมาณก่อสร้างบ้านพร้อมอยู่ เพือ่ รองรับการขายในจำนวนทีเ่ หมาะสม โดยพิจารณาถึงปริมาณการขายถัวเฉลี่ย (Moving Average) และปริมาณการสั่งสร้าง เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภค มากกว่าปริมาณการสร้างบ้านพร้อมอยู่ของบริษัท/หรือไม่ตรงตามความต้องการของลูกค้า ณ เวลานั้น บริษัทจึงจำเป็นต้อง เปิดโอกาสให้ลูกค้าได้รับความพอใจสูงสุด ในขณะเดียวกันบริษัทได้เริ่มการขายบ้านระหว่างก่อสร้างในโครงการที่มีศักยภาพ ซึ่งก็ ได้รับการตอบรับที่ดี อันเนื่องจากความเชื่อถือชื่อเสียงบริษัทที่เชื่อมั่นว่าจะได้รับการส่งมอบบ้านตามสัญญา บริษัท
ลดความเสี่ยงในการหาแหล่งเงินทุนหมุนเวียนจากการเปิดขายล่วงหน้า (Presale) โครงการใหม่ พร้อมขายบ้านพร้อมอยู่ ทำให้ ได้รับพิจารณาอนุมัติเงินสนับสนุนโครงการจากสถาบันการเงินที่มั่นใจในศักยภาพของโครงการที่มียอดขายจาก ผู้บริโภคล่วงหน้า ช่วยลดความเสี่ยงจากการสร้างแล้วขายไม่ ได้ ขณะเดียวกันบริษัทได้นำเทคนิคการก่อสร้างบ้านสำเร็จรูป ระบบผนังรับน้ำหนัก (Load Bearing Wall) และ ระบบเสา-คาน (Rigid Frame or Skeleton) ซึ่งทำให้ลดระยะเวลาใน การก่อสร้างบ้าน และสามารถควบคุมคุณภาพของวัสดุได้ดีกว่าเพราะไม่ต้องพึ่งฝีมือแรงงานมาก จะช่วยลดระยะเวลา ก่อสร้างบ้านจากเดิมที่ ใช้เวลาประมาณ 6-8 เดือน ลงเหลือประมาณ 4-5 เดือน ซึ่งจะทำให้สามารถบริหารสต็อกสินค้า อย่างมีประสิทธิภาพในจำนวนที่เหมาะสม บริษทั ยังมีความต้องการเงินทุนหมุนเวียนทีเ่ พิม่ สูงขึน้ จากการขยายตัวของธุรกิจ แต่สถาบันการเงินก็จะลดความเสีย่ ง จากการขายล่วงหน้า (Presale) ทำให้สามารถรับชำระหนี้ ได้เร็วขึ้นและทำให้ต้นทุนบริษัทลดลง ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการ ชำระหนี้คืนให้แก่เจ้าหนี้ของบริษัท เนื่องจากบริษัทใช้เงินทุนหมุนเวียนดังกล่าวจากการโอนขายบ้านและที่ดินในโครงการ ต่างๆ ซึ่งมีระยะเวลาพัฒนาโครงการและระยะเวลาการขายที่แตกต่างกัน ช่วยให้บริษัทสามารถบริหารเงินทุนหมุนเวียนได้ โดยบริษัท ยังได้ป้องกันความเสี่ยงโดยการใช้วงเงินกู้ที่ ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการเงินเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียน สำรองเพิ่มเติมอีกทางหนึ่ง ความเสี่ยงจากการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นของต้นทุนในการก่อสร้าง และการขาดแคลนผู้รับเหมา สภาวะการขยายตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และภาคอุตสาหกรรมก่อสร้าง โครงการ Mega Project ภาครัฐบาล การปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องของระดับราคาน้ำมันในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ส่งผลให้ราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงาน ในการก่อสร้างปรับตัวเพิ่มสูง ก่อให้เกิดผลกระทบต่อต้นทุนในการดำเนินธุรกิจของบริษัท และภาคอุตสาหกรรม ก่อสร้าง ราคาวัสดุก่อสร้างเดือนพฤศจิกายน 2550 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนตุลาคมร้อยละ 1.5 (ตุลาคม เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9) เป็นการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง สาเหตุสำคัญมาจากการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาในหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์ร้อยละ 4.1 และหมวด วัสดุก่อสร้างอื่นๆร้อยละ 0.7 เป็นผลมาจากต้นทุนการผลิต คือราคาวัตถุดิบสูงขึ้น ราคาวัสดุก่อสร้างเฉลี่ยเดือนมกราคม พฤศจิกายน 2550 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2549 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.7 ทีส่ ำคัญคือ หมวดสุขภัณฑ์รอ้ ยละ 10.3 หมวดเหล็ก และผลิตภัณฑ์เหล็กร้อยละ 9.6 หมวดอุปกรณ์ ไฟฟ้าและประปาร้อยละ 4.4 เป็นผลให้ ใน ปี 2551 นี้ผู้ประกอบการรายใหญ่ ประกาศปรับราคาขายบ้านจากสาเหตุต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามที่ ได้รับผลกระทบ บริษัทได้ ให้ความสำคัญกับการลดความเสี่ยง ของความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงาน โดยการปรับกลยุทธ์ในการสร้างบ้านเป็นการสร้างบ้านพร้อมอยู่และ บ้านสร้างก่อนขายทดแทนบ้านสั่งสร้าง จึงเป็นผลทำให้บริษัททราบแผนการก่อสร้างล่วงหน้า สามารถต่อรองราคาและ ควบคุมต้นทุนวัสดุก่อสร้างได้ระดับหนึ่ง รวมทั้งทำให้บริษัททราบต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นก่อนการขาย ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งใน การบริหารความเสี่ยง อย่างไรก็ตามบริษัทยังพิจารณาการปรับราคาตามสภาวะความเป็นจริงให้ผู้รับเหมาที่ ได้รับผลกระทบ จากต้นทุนที่สูงเกินกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมที่ตั้งไว้เป็นเกณฑ์ นอกจากนี้บริษัทได้มีนโยบายเกี่ยวกับการสั่งซื้อวัสดุก่อสร้าง ที่สำคัญ เช่น เสาเข็ม หรือหลังคา เป็นต้น โดยบริษัทจะเป็นผู้จัดหาวัสดุก่อสร้างเพื่อใช้สำหรับโครงการทั้งหมดของบริษัท และบริษัทย่อยเอง ทำให้บริษัทมีอำนาจในการต่อรองราคาและกำหนดเงื่อนไขการส่งมอบ 65
รายงานประจำปี 2550
3.
4.
66
สำหรับความเสี่ยงในการขาดแคลนผู้รับเหมางานที่อาจเกิดขึ้นนั้น บริษัทให้ความสำคัญกับการบริหารงานก่อสร้าง โดยบริษทั ได้วา่ จ้างผูร้ บั เหมาก่อสร้างทัง้ ขนาดกลางและขนาดเล็กมีจำนวนรวมมากกว่า 100 ราย โดยมีการกำหนดคุณสมบัติ ผู้รับเหมาและราคาก่อนที่จะมีการตกลงทำสัญญาและกำหนดระยะเวลาการส่งมอบงานที่ชัดเจน รวมทั้งมีการบริหาร ปริมาณงานก่อสร้างให้แก่ผู้รับเหมาอย่างเหมาะสม และสม่ำเสมอ นอกจากนี้บริษัทยังได้สร้าง Supply Chain เพื่อช่วย สนับสนุนด้านวัตถุดิบให้แก่ผู้รับเหมา การให้ความรู้ผู้รับเหมารวมทั้งการพิจารณาการจัดชั้นคุณภาพของผู้รับเหมา ให้แก่ ผู้รับเหมาที่มีคุณภาพตามผลงาน การปรับราคาค่าก่อสร้างตามสภาวะตลาดและวัสดุก่อสร้างที่เพิ่มขึ้น โดยการพิจารณา อย่างเป็นธรรม โดยมีมาตรฐานการตรวจสอบให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด การสร้างบรรยากาศของความร่วมมือระหว่าง ผู้รับเหมากับบริษัท ความเสี่ยงจากการค้ำประกันหนี้สินแก่บริษัทร่วม และบริษัทย่อย บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) (บริษัทร่วม) บริษัทได้เข้าค้ำประกันหนี้เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินของบริษัทร่วมแห่งหนึ่ง คือ บริษัท กรุงเทพบ้านและ ทีด่ นิ จำกัด (มหาชน) โดยมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 30 ล้านบาท (รายละเอียดปรากฏตาม ส่วนรายการระหว่างกัน) ซึ่งปัจจุบันบริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) ยังมิได้มีการผิดนัดชำระหนี้ ดังกล่าว บริษทั จึงยังไม่มคี วามรับผิดชอบต่อเจ้าหนีก้ ลุม่ นี้ ซึง่ เป็นเจ้าหนีอ้ กี กลุม่ หนึง่ ตามที่ ได้ระบุไว้ ในแผนฟืน้ ฟูกจิ การ อย่างไรก็ตามหากหนี้ที่บริษัทได้เข้าไปค้ำประกันไว้ดังกล่าวเกิดการผิดนัดชำระ ซึ่งตามแผนฟื้นฟูกิจการได้จัดกลุ่ม
เจ้าหนี้ดังกล่าวเป็นเจ้าหนี้กลุ่มที่ 11 บริษัทมีภาระจะต้องชำระหนี้ดังกล่าว โดยชำระเป็นเงินสดจำนวนร้อยละ 8 ของจำนวนหนี้เงินต้นที่ผิดนัด ส่วนที่เหลือจำนวนร้อยละ 92 จะถูกแปลงสภาพหนี้เป็นทุน และจะต้องจัดสรรใบ สำคัญแสดงสิทธิแบบให้เปล่าตามที่กำหนดไว้ ในแผนฟื้นฟูกิจการด้วย อย่างไรก็ตาม บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) ได้ทำการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ดังกล่าวกับ สถาบันการเงินที่เป็นเจ้าหนี้รายดังกล่าว ซึ่งเงื่อนไขในการจ่ายชำระหนี้คืนนั้นเอื้อประโยชน์ให้กับบริษัท กรุงเทพ บ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) เพื่อให้สามารถชำระคืนหนี้ ได้ ปัจจุบันบริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) อยู่ระหว่างพัฒนาโครงการบ้านจัดสรรซึ่งมี โครงการที่ ดำเนินการอยู่ ในปี 2550 จำนวน 8 โครงการ มีมูลค่าโครงการคงเหลือรวม 10,095 ล้านบาท (รายละเอียดปรากฏ ในลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ) และมี โครงการใหม่จำนวน 2 โครงการ ในปี 2551 มูลค่ารวม 2,418 ล้านบาท ใน ช่วงที่ผ่านมาบริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) ยังมิได้มีการผิดนัดชำระหนี้ดังกล่าวแต่อย่างใด ทำให้ ความเสี่ยงของบริษัทในการค้ำประกันหนี้สินของบริษัทร่วมนี้คงอยู่ ในระดับต่ำ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด (บริษัท ย่อย) (“เอสเตทฯ”) บริษัทเข้าค้ำประกันวงเงินกู้รวม 1,441 ล้านบาท (รายละเอียด รายการระหว่างกัน) ในระหว่างปี 2549 มี มติกรรมการบริษัทให้เข้าค้ำประกันวงเงินกู้ โครงการบริษัทย่อย 2 โครงการ (บริษัท ถือหุ้นร้อยละ 100) บริษัทเข้าทำสัญญาค้ำประกันวงเงินกู้ โครงการร่มเกล้า จำนวน 434 ล้านบาท และวงเงินกู้ โครงการ เพอร์เฟคเพลส สุขุมวิท 77 จำนวน 967 ล้านบาทกับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง (รายละเอียด รายการระหว่างกัน) และค้ำประกันเงินกู้เพื่อเงินทุนหมุนเวียน วงเงิน 40 ล้านบาท โดยการเข้าค้ำประกันนี้เป็นการให้ความช่วยเหลือ ทางการเงินที่จำเป็น เนื่องจากเป็นการนำไปพัฒนาโครงการและขยายงานตามแผนงานของเอสเตทฯ บริษัทจำเป็น ต้องค้ำประกันเนื่องจากถือหุ้นอยู่ 100% ขณะนี้ โครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการดำเนินการพัฒนา โดยปี 2551 โครงการเพอร์เฟคเพลส สุขุมวิท 77 มีมูลค่าโครงการคงเหลือรวม 1,690 ล้านบาทและโครงการ ร่มเกล้า เฟส 1 มี มูลค่าโครงการรวม 730 ล้านบาท ซึ่งคาดว่าจะเปิดการขายในไตรมาส 2 ปี 2551 บริษัทเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ ราคา และศักยภาพของทำเล ที่อยู่ใกล้สนามบินสุวรรณภูมิ จะได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี ความเสี่ยงจากภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้นของตลาดที่อยู่อาศัย ตามที่รัฐบาลแสดงความชัดเจนในการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านภาคอุตสาหกรรม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการออก มาตรการกระตุน้ อสังหาริมทรัพย์ ไม่วา่ จะเป็นมาตรการลดภาษีธรุ กิจเฉพาะ ลดหย่อนค่าธรรมเนียมโอนที่ โอนภายในปี 2551 นี้ เป็นผลให้สภาวะการแข่งขันในปี 2551 รุนแรงขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการรายใหญ่ เพื่อรองรับความต้องการของ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
5.
6.
ผู้บริโ ภคในปีนี้ ตั้งแต่ปลายปี 2549 ที่ผ่านมาบริษัทได้ปรับกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ เพื่อให้สอดคล้องสภาพเศรษฐกิจ ภาวะ ราคาน้ำมัน เพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโ ภคตั้งแต่ระดับราคา 1.5 - 20 ล้านบาทขึ้นไป โดยแบ่งลักษณะผลิตภัณฑ์ ตามแบรนด์ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเลือกได้ตามความต้องการของผู้บริโภค โดยทุกทำเลของโครงการจะอยู่ ใกล้ระบบขนส่ง มวลชนที่เกิดขึ้นแล้ว/และจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ทำให้สามารถรองรับความต้องการของผู้บริโ ภคในทุกกลุ่มลูกค้า (Segmentation) และทุกทำเล โดยบริษัทยังคงเน้นสภาพแวดล้อมภายในโครงการที่บริษัทได้ลงทุนเพื่อให้เกิดบรรยากาศ อันร่มรื่นภายในโครงการโดยมีรางวัลจากการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น (EIA Monitoring Award) ติดต่อกัน เป็นปีที่ 3 การพัฒนาอย่างต่อเนื่องของบริษัทตั้งแต่ปี 2549 ทำให้บริษัทมีความมั่นใจในศักยภาพและความพร้อม เพื่อรองรับ มาตรการกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล นอกจากนี้ผลประกอบการของบริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จาการขายบ้าน พร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุด รวม 4,477 ล้านบาท และ 6,266 ล้านบาท ในปี 2549 และ 2550 ตามลำดับ คิดเป็น อัตราการเติบโตรวมร้อยละ 39.95 และมี Backlog ยกมาปี 2551 จำนวน 3,255.7 ล้านบาท บริษัทจึงมีความเชื่อมั่นความ สามารถในการแข่งขันด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ความเสี่ยงจากการที่ทางการออก กฏหมายเอสโครว์ แอคเคานท์ (Escrow Account) ตามที่คณะรัฐมนตรี ได้เห็นชอบร่างพ.ร.บ. การจัดการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา หรือ Escrow Account พรบ. ดังกล่าวคาดว่าจะมีการประกาศและมีผลบังคับใช้ภายในปี 2551 นี้ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อผู้ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในด้านเงินทุนหมุนเวียน เนือ่ งจากไม่สามารถนำเงินดาวน์ผอ่ นชำระของลูกค้ามาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนได้จนกว่าจะดำเนิน การก่อสร้างแล้วเสร็จ และได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่กำกับดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา บริษัทจึงจะได้รับเงินที่ ลูกค้าผ่อนมาทั้งหมดรวมงวดเดียวเมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จ ย่อมทำให้เกิดความเสี่ยงด้านเงินทุนหมุนเวียน ในกรณีที่บริษัท เลือกดำเนินการตามกฎหมายดังกล่าว จากการที่บริษัทดำเนินนโยบายขายบ้านพร้อมอยู่ ตั้งแต่ปี 2549 เป็นผลให้บริษัทใช้สัดส่วนเงินทุนหมุนเวียนที่ ได้รับ จากเงินดาวน์ของลูกค้าเป็นสัดส่วนต่ำเมือ่ เทียบกับเงินทุนหมุนเวียนทีบ่ ริษทั ได้จากแหล่งอืน่ ๆ ทัง้ เงินกูร้ ะยะสัน้ และระยะยาว ในรูปของเงินกู้ โครงการ รวมทั้งการใช้เครื่องมือทางการเงินในการบริหารต้นทุนทางการเงิน และการควบคุมปริมาณการ ก่อสร้างให้สอดคล้องกับกระแสเงินสดของบริษัท กับปริมาณการขายและปริมาณสต็อก อย่างไรก็ตามบริษัทได้ตระหนักถึง ความจำเป็นเพื่อรักษา สภาพคล่องในการดำเนินงาน ในปี 2551 บริษทั ได้เตรียมการขอมติอนุมตั อิ อกหุน้ กูม้ หี ลักประกันต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญ ประจำปี ในวงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท เพื่อรองรับการเติบโตของบริษัทและลดความเสี่ยงจากการขาดเงินทุนหมุนเวียน (ปัจจุบันบริษัทไม่มีภาระ จ่ายชำระคืนหุ้นกู้แล้ว) ความเสี่ยงจากแผนปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน ของสำนักงานนโยบายและ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการพัฒนาที่อยู่ อาศัยได้มีมติกำหนดใหม่ส่งผลกระทบเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาโครงการอาคารสูงที่พักอาศัย และโครงการบ้านเดี่ยวหรือ ทาวน์เฮ้าส์ที่มีขนาดใหญ่กว่า 100 ไร่ หรือ 500 หน่วย การพัฒนาโครงการของบริษัท ตั้งแต่การจัดวางผังโครงการ รูปแบบโครงการ จะดำเนินการภายใต้ข้อกำหนด พ.ร.บ.จัดสรร นโยบายปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยการพัฒนาโครงการของ บริษัท จะดำเนินการขออนุญาตจัดสรรและจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อให้คณะกรรมการผู้ชำนาญ การพิจารณารายงานจนกว่าจะได้รับอนุมัติก่อนดำเนินการพัฒนาทุกครั้ง ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาบริษัทได้ ให้ความสำคัญเชิงนโยบายในการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ดี เพื่อให้บรรยากาศการ อยู่อาศัยที่ร่มรื่น มีทะเลสาบ เพื่อการพักผ่อน การดูแลสวนส่วนกลางมีการปรับปรุงให้ความสวยงามเพื่อให้ลูกบ้านสามารถ ใช้ประโยชน์ร่วมกัน รวมทั้งการวางผังที่มีพื้นที่ส่วนกลางมากกว่าข้อกำหนด พรบ. จัดสรร เป็นผลให้ บริษัทได้รับรางวัลจาก การจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น (EIA Monitoring Awards) ติดต่อกัน เป็นปีที่ 3 จากการปฏิบัติเชิงนโยบายดังกล่าวและ การให้ความร่วมมือในทางปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ทำให้ความเสี่ยงที่เกิดจากมติข้อกำหนดใหม่ที่รัดกุมมากขึ้นยังไม่มีผลกระทบ กับโครงการปัจจุบัน แต่อาจมีผลกระทบต่อโครงการในอนาคตบ้างในเรื่องของการล่าช้าและมูลค่าของโครงการ
67
รายงานประจำปี 2550
คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินรวมของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ในปี 2548-2550 เป็นดังนี้
การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ
ในระหว่างปี 2550 บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมใน งบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุนตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งกำหนดให้เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในกิจการที่มีการควบคุมร่วมกันและเงินลงทุนในบริษัท ร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการต้องแสดงตามวิธีราคาทุน ในการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว บริษทั ได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการปีกอ่ นทีน่ ำมาแสดงเปรียบเทียบ เสมือนว่าบริษัทได้ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุนมาโดยตลอด การ เปลี่ยนแปลงนี้ทำให้บริษัทมีกำไรสุทธิในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ลดลง เป็นจำนวน 42.8 ล้านบาท (0.05 บาทต่อหุ้น) และ 21.9 ล้านบาท (0.03 บาทต่อหุ้น) ตามลำดับ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชีดังกล่าวได้แสดงไว้ ในหัวข้อ “ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการแล้ว ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว มีผลกระทบเฉพาะต่อรายการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการเท่านั้น ไม่ ได้มีผลกระทบต่องบการเงินรวมแต่อย่างใด
ภาพรวมผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานของบริษัท ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมามีการชะลอตัวลงในปี 2549 และพลิกฟื้นขึ้นมาในปี 2550 โดยบริษัทและ บริษัทย่อยได้เปิดโครงการเพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภค ในปี 2548 จำนวน 5 โครงการโดยในจำนวนนี้มี 1 โครงการซึ่ง พัฒนาเป็น Low rise condominium ในปี 2549 จำนวน 3 โครงการโดยในจำนวนนี้มี 1 โครงการซึ่งพัฒนาเป็น ทาวน์เฮ้าส์ และ ในปี 2550 มีการเปิดโครงการใหม่ 2 โครงการ และเปิดเฟสใหม่ ในโครงการเดิมจำนวน 3 โครงการ ปัจจุบันบริษัทและบริษัทย่อยมี โครงการที่ดำเนินการอยู่ทั้งสิ้นรวม 13 โครงการ
ผลการดำเนินงานรวม - งบการเงินรวม •
68
รายได้จากการขาย บริษัทจะบันทึกรายการขายบ้านพร้อมที่ดินและรายการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยเป็นรายได้ ในงบกำไรขาดทุน เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์แก่ผู้ซื้อแล้ว
-
ในปี 2548 บริษัทและบริษัทย่อย มีรายได้จากการขายแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน ถือว่าเป็นรายได้หลักของบริษัท โดยบริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการ ขายบ้านพร้อมที่ดินในปี 2548 เท่ากับ 4,931.89 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 97.62 ของรายได้จากการขายรวม ปรับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.52 เมื่อเทียบกับในงวดเดียวกันของปีก่อนซึ่งเท่ากับ 4,126.49 ล้านบาท เป็นผลมาจากการเปิดตัว โครงการใหม่ของบริษัทในปี 2548 จำนวน 5 โครงการ ซึ่งเน้นกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซื้อทั้งในระดับกลาง ระดับล่าง จนถึงระดับสูง และจากการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2547 จนถึงปัจจุบันเพื่อตอกย้ำชื่อของบริษัทให้ อยู่ ในความทรงจำของลูกค้า รวมทั้งการเน้นรูปแบบการขายบ้านพร้อมอยู่ที่มีรูปแบบที่หลากหลาย การเลือกสรร ทำเลที่ตั้งโครงการ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ประกอบกับความต้องการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่องของ ผู้บริโภค
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
-
•
รายได้จากการขายที่ดินรอการพัฒนา รายได้จากการขายทีด่ นิ รอการพัฒนา เท่ากับ 120.00 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.38 ของรายได้จากการขายรวม โดยมาจากการการขายที่ดินรอการพัฒนาบางแปลง เนื่องจากบริษัทไม่มีแผนการในอนาคตที่จะพัฒนาที่ดินแปลงดัง กล่าว ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทจึงได้อนุมัติการขายที่ดินแปลงดังกล่าวตามราคาประเมินของผู้ประเมินราคาอิสระ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติม จากหมายเหตุประกอบงบการเงิน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2548 ข้อ 10 เรื่อง ที่ดินรอการ พัฒนา)
ในปี 2549 บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ เท่ากับ 4,477.29 ล้านบาท ลดลง คิดเป็นร้อยละ 9.22 จากปี 2548 ซึง่ มีรายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ เท่ากับ 4,931.89 ล้านบาท ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว ลง อันเป็นผลจากอัตราดอกเบี้ยและราคาน้ำมันที่สูงขึ้น และความไม่แน่นอนทางการเมือง และจากการที่บริษัทมีการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการขายในบางโครงการจากการขายบ้านพร้อมอยู่เป็นการขายบ้านสั่งสร้าง ทำให้ระยะเวลาการโอน กรรมสิทธิ์นานขึ้นเช่น โครงการเพอร์เฟคพาร์ค พระราม 5-บางใหญ่ และโครงการ เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์-ราชพฤกษ์ สำหรับปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินจำนวน 4,697.13 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 219.85 ล้านบาท จากปี 2549 และในปี 2550 นี้บริษัทยังมีรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยในโครงการ เมโทร พาร์ค สาทร จำนวน 1,469.49 ล้านบาท ซึ่งโครงการนี้เปิดขายในปลายปี 2548 และได้เริ่มโอนกรรมสิทธิ์หน่วยใน อาคารชุดพักอาศัยให้แก่ลูกค้าตั้งแต่ ไตรมาสที่ 1 ของปี 2550 นอกจากนั้น บริษัทยังมีรายได้จากการขายที่ดิน จำนวน 99.31 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 1.58 ของรายได้จาก การขายรวม ดังนั้นรายได้จากการขายในปี 2550 นี้จึงมีจำนวนรวมเท่ากับ 6,265.93 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2549 เป็น จำนวน 1,788.64 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 39.95 ทั้งนี้ รายได้จากการขายของบริษัทและบริษัทย่อยในปี 2548 - ปี 2550 แยกตามรายโครงการ สามารถดูได้จาก ตารางโครงสร้างรายได้รวมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์หลักจำแนกตามผลิตภัณฑ์ (ในส่วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ ข้อ 2.3) ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้นจากการดำเนินงาน ในการคำนวณหาต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งเป็นต้นทุนหลักของบริษัทและ บริษัทย่อยนั้น ได้ทำการแบ่งสรรต้นทุนการพัฒนาทั้งหมดที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โดยได้คำนึงถึงต้นทุนที่แท้จริงด้วย) ให้กับบ้าน พร้อมที่ดินที่ขายได้และหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยตามเกณฑ์พื้นที่ที่ขาย แล้วจึงรับรู้เป็นต้นทุนขายในงบกำไรขาดทุนเมื่อ รับรู้รายได้จากขายเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ ต้นทุนการพัฒนาข้างต้นจะแสดงตามราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลค่าโครงการ โดย ต้นทุนการพัฒนาประกอบด้วย ต้นทุนที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง และดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง -
ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อยในปี 2548 ประกอบด้วย ต้นทุนหลัก ได้แก่ ต้นทุนในการขายบ้านพร้อมที่ดิน ซึ่งเท่ากับ 3,227.83 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี ก่อนจำนวน 662.43 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราส่วนเพิ่มร้อยละ 25.82 ซึ่งจะเห็นว่าเป็นการเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูง กว่าอัตราการเพิ่มของยอดขายซึ่งปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.52 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากค่าวัสดุก่อสร้าง เริ่มมีการปรับตัวสูงขึ้น
69
รายงานประจำปี 2550
-
ในปี 2549 ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อย เท่ากับ 3,093.99 ล้านบาท ลดลงจากปี 2548 จำนวน 133.83 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.15 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 69.10 ซึ่งสูงกว่าปีก่อน ซึ่งเท่ากับร้อยละ 65.45 - -
•
70
ต้ น ทุนที่ดินรอการพัฒนา เท่ากับ 120.00 ล้านบาท ซึ่งเป็นต้นทุนในการขายที่ดินรอการพัฒนาซึ่งบริษัทไม่มี โครงการที่จะพัฒนาที่ดินดังกล่าว โดยต้นทุนดังกล่าวเป็นราคาที่ประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระที่ ได้รับอนุญาต จากสำนักงาน กลต. ซึ่งราคาดังกล่าวต่ำกว่ามูลค่าต้นทุนที่ดินเดิม แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทได้มีการตั้งสำรองเผื่อการ ลดลงของมูลค่าสินทรัพย์ ไว้แล้ว
สำหรับปี 2550 ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อย แบ่งเป็น ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน เท่ากับ 3,297.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2549 จำนวน 203.31 ล้านบาท หรือคิด เป็นร้อยละ 6.57 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 70.20 ซึ่งสูงกว่าปีก่อนซึ่งเท่ากับ ร้อยละ 1.59 ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เท่ากับ 1,041.59 ล้านบาท โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จาก การขาย เท่ากับร้อยละ 70.88
- ต้นทุนการขายทีด่ นิ เท่ากับ 56.58 ล้านบาท โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 56.97 เมื่อพิจารณากำไรขั้นต้นจากการดำเนินงานปกติ พบว่า บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตรากำไรขั้นต้นในปี 2548 มีอัตรา กำไรขั้นต้นจากการขายบ้านพร้อมที่ดินเท่ากับร้อยละ 34.55 ส่วนในปี 2549 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตรากำไรขั้นต้นเท่ากับ ร้อยละ 30.90 ลดลงจากปี 2548 ที่มีอัตรากำไรขั้นต้นจากการขายบ้านพร้อมที่ดินเท่ากับร้อยละ 34.55 เนื่องมาจากภาวะ การแข่งขันทีร่ นุ แรง และผลกระทบจากการโอนกลับรายการค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของโครงการ และการโอนกลับ รายการค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินรอพัฒนา ในปี 2548 (ตามรายละเอียด ในหัวข้อรายได้อื่น ในปี 2548) ทำให้ต้นทุนที่ดินและค่าพัฒนาที่ดินสูงขึ้น สำหรับปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตรากำไรขั้นต้นจากการขายบ้านพร้อมที่ดินเท่ากับร้อยละ 29.80 ลดลงจาก ปี 2549 ซึ่งมีอัตรากำไรขั้นต้นเท่ากับร้อยละ 30.90 เนื่องจากต้นทุนที่สูงขึ้น แต่บริษัทไม่ ได้มีการปรับราคาขายเพิ่มขึ้น ใน ส่วนอัตรากำไรขั้นต้นจากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยเท่ากับร้อยละ 29.12 รายได้อื่น ในปี 2548 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้อื่นเท่ากับ 736.70 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจาก - การโอนกลับค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินรอพัฒนา จำนวน 70.90 ล้านบาท ซึ่งบริษัทได้ขายออกไปใน ไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 โดยราคาประเมินจากผู้ประเมินราคาอิสระสูงกว่ามูลค่าตามบัญชี ณ 31 ธันวาคม 2547 ตามจำนวนดังกล่าว และในปี 2548 บริษัทและบริษัทย่อยได้จัดให้มีการประเมินมูลค่ายุติธรรมของ “ที่ดินรอ การพัฒนา” ใหม่ โดยผู้ประเมินอิสระผลของการประเมินราคาปรากฏว่ามูลค่ายุติธรรมมีมูลค่าสูงกว่ามูลค่าสุทธิตาม บัญชีจำนวน 100.68 ล้านบาท บริษัทจึงได้ โอนกลับรายการข้างต้นเป็นรายได้อื่นในงบกำไรขาดทุน - การโอนกลับค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของโครงการ ในปี 2548 บริษัทและบริษัทย่อยได้จัดให้มีการประเมิน มูลค่ายุติธรรมของ “ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์” ใหม่ โดยผู้ประเมินอิสระผลของการประเมินราคา ปรากฏว่ามูลค่ายุติธรรมมีมูลค่าสูงกว่ามูลค่าสุทธิตามบัญชีจำนวน 467.41 ล้านบาท บริษัทจึงได้ โอนกลับรายการ ข้างต้นเป็นรายได้อื่นในงบกำไรขาดทุน
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
- •
•
การโอนกลับกำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้รอตัดบัญชี จำนวน 49.11 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทได้จ่ายคืนหนี้ตาม แผนฟื้นฟูในส่วนของเจ้าหนี้มีประกันได้เร็วกว่าที่บริษัทได้ประมาณการไว้
ส่วนปี 2549 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้อื่นเท่ากับ 56.52 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจากค่าสาธารณูปโภคของ โครงการ ค่าบริหารสโมสร จากการริบเงินจอง
สำหรับปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้อื่นเท่ากับ 67.31 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจากค่าสาธารณูปโภคของ โครงการ ค่าบริหารสโมสร จากการริบเงินจอง และส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารในปี 2548 เท่ากับ 1,043.39 ล้านบาท สูงขึ้นจากปี 2547 จำนวน 209.97 ล้านบาท คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 25.19 ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งมาจากบริ ษั ท มี ก ารเตรี ย มการเพื่ อ เปิ ด โครงการเพิ่ ม ขึ้ น ในปี นี้ ร วม 6 โครงการและได้มีการประชาสัมพันธ์ในสื่อต่างๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อกระตุ้นยอดขายและตอกย้ำแบรนด์ของบริษัทต่อกลุ่ม
ผู้บริโภค จึงทำให้มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่รายได้จากโครงการดังกล่าว ได้เริ่มทะยอยเข้ามาใน ช่วงปลายไตรมาสที่ 3 ของปี 2548 และต่อเนื่องมาถึงปี 2549 ในปี 2549 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 1,087.76 ล้านบาท สูงขึ้นจากปี 2548 จำนวน 44.37 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.25 สำหรับปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 1,286.33 ล้านบาท สูงขึ้นจากปี 2549 จำนวน 198.57 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.26 เนื่องจากในปีนี้รายได้จากการขายมีจำนวนรวม เท่ากับ 6,265.93 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2549 เป็นจำนวน 1,788.64 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 39.95 ทำให้ค่าใช้จ่ายเกี่ยว กับภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนเพิ่มขึ้น กำไรสุทธิ บริษัทและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิ ในปี 2548 ถึงปี 2550 ดังนี้ กำไรสุทธิ
ปี 2550 411.61
ปี 2549 (ปรับปรุงใหม่) 11.99
(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2548 1,092.64
ในปี 2548 บริษทั และบริษทั ย่อยมีกำไรสุทธิ เท่ากับ 1,092.64 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2547จำนวน 77.12 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.59 โดยเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการขายและรายได้อื่น อนึ่ง ในกรณีท ี่
ไม่รวมรายการเหล่านี้คือ รายได้อื่นที่มาจากการโอนกลับค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของต้นทุนพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ จำนวน 467.41 ล้านบาท การโอนกลับค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินรอการพัฒนา จำนวน 171.58 ล้านบาท จากการโอนกลับกำไรจากการปรับโครงสร้างหนีร้ อตัดบัญชี จำนวน 49.11 ล้านบาท และค่าเผือ่ ผลขาดทุน จากการด้อยค่าของสินทรัพย์จำนวน 32.90 ล้านบาท จะทำให้บริษทั และบริษทั ย่อยมีกำไรในปี 2548 เท่ากับ 437.45 ล้านบาท ในปี 2549 บริษัทและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิ เท่ากับ 11.99 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนจำนวน 1,080.64 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราลดลงร้อยละ 98.90 โดยเป็นผลจากรายได้จากการขายและรายได้อื่นลดลง อนึ่ง ในกรณีที่ ไม่รวมรายการ การโอนกลับค่าเผื่อต่างๆ ดังที่กล่าวไว้ ในวรรคก่อน กำไรในปี 2548 เท่ากับ 437.45 ล้านบาท ซึ่งเมื่อพิจารณากำไรสุทธิใน ปี 2549 เมื่อเทียบกับปี 2548 โดยไม่รวมรายการดังกล่าวจะลดลง 425.46 ล้านบาท ทั้งนี้เนื่องมาจาก รายได้จากการขาย ที่ลดลง รวมทั้งภาวการณ์แข่งขันที่รุนแรงทำให้อัตรากำไรขั้นต้นลดลงด้วย 71
รายงานประจำปี 2550
สำหรับปี 2550 บริษทั และบริษทั ย่อยมีกำไรสุทธิ เท่ากับ 411.61 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นจำนวน 399.61 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3,332.34 โดยเป็นผลจากรายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ นอกจากนัน้ ในปีนยี้ งั มีการรับรูร้ ายได้ จากการโอนกรรมสิทธิ์หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย และรายไดจากการขายที่ดินอีกด้วย ในขณะที่อัตรากำไรขั้นต้นของรายได้ จากการขายบ้านพร้อมที่ดินลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 30.90 เป็น ร้อยละ 29.80
ฐานะการเงิน
ภาพรวมฐานะการเงิน ตารางแสดงฐานะการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ณ 31 ธันวาคม 2550 ณ 31 ธันวาคม 2549 ณ 31 ธันวาคม 2548
•
สินทรัพย์ 12,911.03 13,176.13 13,861.16
หนี้สิน 6,823.84 7,500.54 7,923.73
(หน่วย :ล้านบาท) ส่วนของผู้ถือหุ้น 6,087.19 5,675.59 5,937.43
สินทรัพย์ บริษทั และบริษทั ย่อยมีสนิ ทรัพย์รวมเท่ากับ 13,861.16 ล้านบาท 13,176.13 ล้านบาทและ 12,911.03 ล้านบาท ในปี 2548 ถึง 2550 ตามลำดับ คิดเป็นสินทรัพย์ทลี่ ดลงในปี 2549จำนวน 685.03 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 4.94 จาก ณ สิน้ ปี 2548 อันเนื่องมาจากเงินสดที่ลดลง และการโอนต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ไปเป็นต้นทุนขายสำหรับปี 2550 สินทรัพย์ลดลงจำนวน 265.10 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 2.01 จากการโอนต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ไปเป็นต้นทุนขาย หากพิ จ ารณาโครงสร้ า งสิ น ทรั พ ย์ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2550 อั น ดั บ หนึ่ ง ได้ แ ก่ ต้ น ทุ น การพั ฒ นาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ จำนวน 7,991.85 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 61.90 ของสินทรัพย์รวม อันดับทีส่ องและสามได้แก่ ทีด่ นิ รอการพัฒนาสุทธิจำนวน 2,979.84 ล้านบาท และเงินลงทุนในบริษัทร่วมจำนวน 401.45 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนร้อยละ 23.08 และ ร้อยละ 3.11 ตามลำดับ โดยโครงสร้างของสินทรัพย์ดังกล่าว สอดคล้องกับรูปแบบการดำเนินธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย โดยมีรายละเอียดดังนี้ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ บริษัท - งบเดี่ยว บริษัทย่อย รวม *
2550 6,425.48 80.40% 1,566.37 19.60% 7,991.85 100.00%
2549 6,531.99 81.48% 1,484.20 18.52% 8,016.19 100.00%
(หน่วย : ล้านบาท) 2548 6,442.29 84.48% 1,183.18 15.52% 7,625.47 100.00%
หมายเหตุ * ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2548 ถึง 2550 - ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ของบริษัท (งบเดี่ยว) มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเนื่องมาจากบริษัทมีการ พัฒนาโครงการและการโอนขายในมูลค่าที่สัมพันธ์กัน ทั้งนี้ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ปี 2550 จำนวน 6,425.48 ล้านบาท เป็นมูลค่าสุทธิจากค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของโครงการ จำนวน 60.58 ล้านบาท ซึ่งเป็นค่าเผื่อที่เกิดจากการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีเมื่อต้นทุนทางบัญชีมีมูลค่าสูงกว่าราคาประเมินจาก ผู้ประเมินราคาอิสระ 72
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
-
ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทย่อย เป็นรายการของเอสเตทฯ ซึ่งมี โครงการที่อยู่ ในระหว่าง พัฒนาจำนวน 2 โครงการ โดยต้นทุนฯ ปี 2550 เท่ากับ 1,566.32 ล้านบาท เป็นมูลค่าสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุน จากการลดมูลค่าของโครงการ จำนวน 9.86 ล้านบาท
ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิ บริษัท - งบเดี่ยว บริษัทย่อย รวม *
2550 2,979.84 100.00% - - 2,979.84 100.00%
2549 3,042.35 100.00% - - 3,042.35 100.00%
(หน่วย : ล้านบาท) 2548 3,389.87 92.63% 269.70 7.37% 3,659.57 100.00%
หมายเหตุ * ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิ ตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2548 ถึง 2550 - ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิของบริษัท (งบเดี่ยว) ประกอบด้วยต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ต้นทุนงานก่อสร้าง ดอกเบีย้ ส่วนทีถ่ อื เป็นต้นทุน หักด้วยต้นทุนที่ โอนไปเป็นต้นทุนขาย ทีด่ นิ ที่ โอนเพือ่ การปรับโครงสร้างหนีแ้ ละเพือ่ การ จ่ายชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟู และค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินรอการพัฒนาในปี 2549 มีรายการ ดังกล่าวจำนวน 127.35 ล้านบาท (รายละเอียดเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 12) อนึ่ง บริษัทและบริษัทย่อย จะพิจารณาโอนรายการที่ดินรอการพัฒนาไปบันทึกเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ ก็ต่อเมื่อได้เริ่มมีการพัฒนาโครงการแล้ว อาทิเช่น การเริ่มปรับปรุงพื้นที่ การกำหนดผังการจัดสรร เป็นต้น
เงินลงทุนในบริษัทร่วม
เงินลงทุนใน บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำนวน 300 ล้านบาทในปี 2548 คิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทใน บมจ. กรุงเทพบ้านและที่ดิน ร้อยละ 20 (ณ 31 ธันวาคม 2548 ทุนที่ออกและชำระแล้วของ บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน เท่ากับ 1,500 ล้านบาท) และเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติอนุมัติให้บริษัทซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบมจ. กรุงเทพบ้านและที่ดิน เป็นจำนวน 6,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 60 ล้านบาท เพื่อเป็นการรักษา สัดส่วนการถือหุ้นเดิมของบริษัท เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน ครั้งที่ 1/2550 ได้มีมติอนุมัติการ ลดทุนจดทะเบียน จากเดิมจำนวน 2,100,000,000 บาท ลงเหลือจำนวน 1,780,000,000 บาท โดยการตัดหุ้นสามัญที่ยังมิได้นำ ออกจำหน่ายจำนวน 32,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท คิดเป็นจำนวนเงิน 320,000,000 บาท นอกจากนี้ ได้มีมติ อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทร่วมอีกจำนวน 450,000,000 บาท ทำให้ทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 1,780,000,000 บาท เพิ่มขึ้นเป็นทุนจดทะเบียนใหม่จำนวน 2,230,000,000 บาท โดยการออกเป็นหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำนวน 45,000,000 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพของหุ้นกู้แปลงสภาพตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 35 ตามงบการเงินรวมบริษทั บันทึกส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) ตามวิธสี ว่ นได้เสีย และรับรูเ้ ป็นรายได้ (ค่าใช้จา่ ย) ในงบกำไรขาดทุน จำนวน 3.99 ล้าน (23.37 ล้านบาท) และ 11.75 ล้านบาท ในปี 2548 - 2550 ตามลำดับ บัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธีส่วน ได้เสียในงบการเงินรวม ในปี 2548 - 2550 มีมูลค่า 353.06 ล้านบาท 326.69 ล้านบาทและ 401.45 ล้านบาทตามลำดับ
73
รายงานประจำปี 2550
ภาระหนี้ค้ำประกันอื่น
บริษัทมีภาระค้ำประกันหนี้ ให้แก่บริษัทย่อยคือ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด จำนวน1,441 ล้านบาทและบริษัทร่วม คือ บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) จำนวน 30 ล้านบาทกับสถาบันการเงินด้วย ซึ่งบริษัทยังไม่มีความรับผิดชอบต่อเจ้า หนี้กลุ่มนี้ เนื่องจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าวยังมิได้มีการผิดนัดชำระหนี้ • คุณภาพของสินทรัพย์ บริษัทใช้นโยบายรับรู้รายได้เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์บ้าน ดังนั้น บริษัทจะบันทึกเงินดาวน์หรือเงินค่างวดที่ ได้รับจาก ลูกค้าเป็นหนีส้ นิ ในรายการเงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าของลูกค้า สำหรับเงินทีถ่ งึ กำหนดชำระแล้วแต่ลกู ค้ายังไม่ ได้ชำระเงิน จะบันทึกเป็นรายการลูกหนี้การค้า นอกจากนี้ แม้ว่าบริษัทจะมีนโยบายขายบ้านพร้อมอยู่ แต่ยังคงมีลูกค้าบางกลุ่มได้มีความประสงค์ที่จะซื้อบ้านที่อยู่ ในระหว่างก่อสร้าง บริษทั จึงได้ขายบ้านทีอ่ ยู่ในระหว่างก่อสร้างให้แก่ลกู ค้ากลุม่ ดังกล่าวพร้อมกับให้ลกู ค้าผ่อนชำระเงินดาวน์ กับบริษัท และบันทึกเป็นลูกหนี้การค้า ทั้งนี้ส่วนใหญ่ลูกหนี้กลุ่มนี้จะมีระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี โดยในปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าค้างชำระจำนวน 43.252 ล้านบาท และได้ตั้งสำรองค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญสำหรับลูกหนี้ที่ค้างเกินกว่า 12 เดือน จำนวน 9.794 ล้านบาท ทำให้ยอดลูกหนี้การค้าสุทธิของบริษัทและ บริษัทย่อย เท่ากับ 33.45 ล้านบาทซึ่งบริษัทเชื่อว่าจำนวนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ ได้บันทึกไว้ ในบัญชีมีความเพียงพอใน สถานการณ์ปัจจุบัน โดยลูกหนี้การค้าของบริษัทและบริษัทย่อย แบ่งเป็น 2 ประเภท • ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด เป็นลูกหนี้ที่เกิดจากการค้างชำระค่างวดของบ้าน ซึ่งยังอยู่ระหว่างก่อสร้างและผ่อนจ่ายชำระค่างวด โดยลูกหนี้ค้าง ชำระค่างวดมีจำนวน 25.42 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 58.796 ของลูกหนี้ค้างชำระทั้งหมด • ลูกหนี้ค้างชำระค่าโอน เกิดจากการที่ลูกค้าชำระเงินไม่ครบถ้วนในวันโอนกรรมสิทธิ์ คิดเป็นร้อยละ 41.21 อย่างไรก็ตาม สัดส่วนลูกหนี้ค้าง ชำระของบริษัท จำนวน 17.83 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.14 ของสินทรัพย์รวม ซึ่งเป็นสัดส่วนถือว่าไม่มี นัยสำคัญ และได้มีการตั้งสำรองไว้แล้วจำนวน 9.79 ล้านบาท สำหรับลูกหนี้ที่ค้างชำระตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไปบริษัทได้ติดตามทวงถามหนี้จากลูกหนี้กลุ่มดังกล่าวอย่างต่อเนื่องและ บางกรณีอยู่ ในระหว่างการฟ้องร้องให้ชำระหนี้ ทั้งนี้บริษัท เชื่อว่าจำนวนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ ได้บันทึกไว้ ในบัญชีมีความ เพียงพอในสถานการณ์ปัจจุบัน • สภาพคล่อง งบกระแสเงินสดสำหรับปี 2548 - ปี 2550 มีดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) รายการ ปี 2550 ปี 2549 (ปรับปรุงใหม่) ปี 2548 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน 1,322.87 1,024.20 1,041.29 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน (386.13 ) (314.47 ) (1,258.73 ) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (825.43 ) (899.79 ) 368.54 กระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น (ลดลง) 111.31 (190.06 ) 151.10 74
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
บริษทั และบริษทั ย่อย มีกระแสเงินสดสุทธิเป็นบวกเท่ากับ 151.10 ล้านบาท ในปี 2548 โดยส่วนใหญ่มาจากเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน การขายหุน้ กูม้ ปี ระกัน และจากการขายหุน้ กู้ ไม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพ ส่วนในปี 2549 บริษทั และบริษทั ย่อย มีกระแสเงินสดสุทธิติดลบเท่ากับ 190.06 ล้านบาท ทั้งที่มีกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานเป็นบวกเนื่องมาจากการ ชำระคืนหุ้นกู้ และการจ่ายเงินปันผล สำหรับปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดสุทธิเป็นบวกเท่ากับ 111.31 ล้านบาท จากการที่มีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานเป็นบวกถึง 1,382 ล้านบาท สำหรับกระแสเงินสดจากการกิจกรรมลงทุนติดลบมาโดยตลอด เท่ากับ 1,258.73 ล้านบาท 315.79 ล้านบาทและ 386.13 ล้านบาทในปี 2548 - 2550 ตามลำดับ ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทได้ลงทุนในการจัดซื้อที่ดินรอการพัฒนาเพิ่ม เพื่อ รองรับโครงการต่างๆ ของบริษัท โดยในปี 2548 ส่วนใหญ่มาจาก เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน จำนวน 308.18 ล้านบาท และการซื้อที่ดินรอการพัฒนาเพิ่มเติม 902.05 ล้านบาท ขณะที่ ในปี 2549 บริษัทและบริษัทย่อยมีกิจกรรมในการลงทุนจาก เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินและการซื้อที่ดินรอการพัฒนารวม 243.10 ล้านบาท และในปี 2550 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน และการซื้อที่ดินรอการพัฒนารวม 88.86 ล้านบาท เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน 225.28 ล้านบาทนอกจากนั้น ในปี 2550 บริษัทได้ลงทุนเพิ่มในกรุงเทพบ้านฯ จำนวน 60 ล้านบาท เพื่อเป็นการรักษาสัดส่วนการถือหุ้น เมื่อพิจารณากระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2548 เท่ากับ 368.54 ล้านบาท โดยแหล่งที่มาของเงินทุนที่ สำคัญในปี 2548 มาจากการขายหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจำนวน 823 ล้านบาท ขณะที่ ในปี 2549 เป็นกระแสเงินสด ใช้ ไปในกิจกรรมด้านการเงินคือ การชำระคืนหนี้สุทธิจำนวน 625.90 ล้านบาทและการจ่ายเงินปันผล 273.89 ล้านบาท และในปี 2550 เป็นกระแสเงินสดใช้ ไปในกิจกรรมด้านการเงินคือ การชำระคืนหนี้สุทธิจำนวน 475.42 ล้านบาทและการ ไถ่ถอนหุ้นกู้ 350.0 ล้านบาท บริษัทได้มีการจ่ายเงินปันผลสำหรับผลการดำเนินงานประจำปี 2548 ให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.35 บาท เป็น จำนวนเงิน 273.9 ล้านบาท เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 แหล่งที่มาของเงินทุน • หนี้สิน ในปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อย มีหนี้สินรวมเท่ากับ 6,823.84 ล้านบาท (โดยแบ่งเป็นหนี้สินของบริษัท 6,232.52 ล้านบาท และบริษทั ย่อย 591.32 ล้านบาท) ลดลงจำนวน 676.71 ล้านบาท จากปี 2549 โดยเป็นการลดลง จากการชำระคืนหุ้นกู้ จำนวน 350 ล้านบาท และคืนเงินกู้ยืมสุทธิ 472.27 ล้านบาท และเจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 130 ล้านบาทจากเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าเพิ่มขึ้น 176 ล้านบาท อนึ่ง โครงสร้างหนี้สินของบริษัทและบริษัทย่อย ในปี 2550 ประกอบด้วย เงินกู้ยืมระยะยาว คิดเป็นร้อยละ 51.40 ของหนีส้ นิ รวม เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ คิดเป็นร้อยละ 4.86 หุน้ กู้ ไม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพ คิดเป็น ร้อยละ 11.81 หุ้นกู้ คิดเป็นร้อยละ 6.59 และ เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู คิดเป็นร้อยละ 9.50 โดยมีรายละเอียดดังนี้ - เงินกู้ยืมระยะยาว ในปี 2550 เท่ากับ 4,507.55 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นเงินกู้ยืมของบริษัทจำนวน 3,006.96 ล้านบาท (ครบกำหนดชำระภายในหนึง่ ปี จำนวน 458.13 ล้านบาท) และเงินกูย้ มื ของบริษทั ย่อยจำนวน 500.59 ล้านบาท (ครบกำหนดชำระภายในหนึ่งปี จำนวน 4.87 ล้านบาท) โดยนำมาใช้ ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ และจัดซื้อที่ดินเพื่อใช้ ในการพัฒนาโครงการในอนาคต โดยมีรายละเอียดเงินกู้ยืมดังนี้
75
รายงานประจำปี 2550
76
เฉพาะบริษัท บริษัทย่อย
เงินกู้ยืมระยะยาว 3,006.96 หัก : ส่วนที่ถึงกำหนดชำระ ภายใน 1 ปี 458.13 เงินกู้ยืมระยะยาว (สุทธิ) 2,548.83 -
31 ธันวาคม 2550 รวม
(หน่วย : ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2549 เฉพาะบริษัท บริษัทย่อย
รวม
500.59 3,507.55 3,468.49
640.42 4,108.91
4.87 463.00 940.89 495.72 3,044.55 2,527.60
0.00 940.89 640.42 3,168.02
นอกจากนี้ บริษทั ได้คำ้ ประกันเงินกูย้ มื ธนาคารและสถาบันการเงินให้แก่บริษทั ร่วมในวงเงิน 30 ล้านบาท และบริษัทย่อยในวงเงิน 1,441 ล้านบาท เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น ในปี 2550 เท่ากับ 331.64 ล้านบาท โดยเป็นเงินกู้ยืมของบริษัทจำนวน 306.64 ล้านบาทและ บริษัทย่อยจำนวน 25 .0 ล้านบาท ประกอบด้วย ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นกับสถาบันการเงิน เท่ากับ 266.64 ล้านบาท เงินเบิกเกินบัญชี 30 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทอื่น 10.0 ล้านบาท - หุ้นกู ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เท่ากับ 450 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วย - หุ้นกู้ประเภทมีประกัน และกำหนดชำระคืนเงินต้นทั้งจำนวนในวันที่ครบกำหนดไถ่ถอน จำนวน 850 ล้านบาท โดยบริษัทมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเงินไปซื้อที่ดินเพื่อขยายโครงการ และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ โดยมีรายละเอียดหุ้นกู้ดังนี้ รุ่น มูลค่า วันออกหุ้นกู้ วันครบกำหนด เงื่อนไข (ล้านบาท) ไถ่ถอน หุ้นกู้ครั้งที่ 1/2549 ชุดที่ 1 450.00 9 ก.พ.2549 8 ก.พ.2551 ดำรงสัดส่วนทรัพย์สิน ที่เป็นหลักประกันต่อ มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่ ยังไม่ ได้ ไถ่ถอน เท่ากับ 1.5 : 1 ดำรงสัดส่วนหนี้สินรวม ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 1.75 เท่า รวม 450.00 เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 บริษัทได้ ไถ่ถอนหุ้นกู้ดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
-
หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อชำระคืนเงินกู้ยืม และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ โดยมีรายละเอียดหุ้นกู้ ดังนี้ รุ่น มูลค่า วันออกหุ้นกู้ วันครบกำหนด เงื่อนไข (ล้านบาท) ไถ่ถอน หุน้ กู้ ไม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพ 823.00 25 พ.ย. 2548 25 พ.ย. 2553 อัตราแปลงสภาพ 1 หุน้ กู ้ (จำนวน 200,000 หน่วย ต่อ 658.4 หุ้นสามัญ มูลค่าหน่วยละ หรือ คิดเป็นราคาหุ้นละ 100 เหรียญสหรัฐฯ) 6.25 บาท หุ้นกู้ที่ ไม่ ได้ ใช้สิทธิ แปลงสภาพจะชำระคืน เป็นจำนวน 131.60 เหรียญสหรัฐฯ ต่อหน่วย กำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ไว้ที่ 41.15 บาท ต่อเหรียญสหรัฐฯ ต้องแต่งตั้งให้บุคคลที่ ผู้ลงทุนต่างประเทศให้ ความเห็นชอบเข้าเป็น กรรมการของบริษัท จำนวน 1 ท่าน
-
หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ ครั้งที่ 1/2548 (เฉพาะส่วนที่เป็นหนี้สิน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีมูลค่า 805.88 ล้านบาท (ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 บริษัทได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ แปลงสภาพมูลค่ารวม 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ทั้งนี้ ในการบันทึกบัญชีของหุ้นกู้แปลงสภาพใน งบดุล จะแบ่งเป็นสองส่วนคือ ส่วนที่เป็นหนี้สินและส่วนที่เป็นทุน ดังนี้ • •
-
หุ้ น กู้ แ ปลงสภาพ-องค์ ป ระกอบที่ เ ป็ น หนี้ สิ น คำนวณจากกระแสเงิ น สดของเงิ น ต้ น และ ดอกเบี้ยที่จ่ายในอนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยในตลาดขณะนั้น หุ้นกู้แปลงสภาพ-องค์ประกอบที่เป็นทุน บันทึกโดยหักตามบัญชีของหนี้สินจากมูลค่าทั้งสิ้น ของหุ้นกู้แปลงสภาพ โดยผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของหนี้สินดังกล่าวและมูลค่าหน้าตั๋ว ของหุ้นกู้แปลงสภาพจะตัดจำหน่ายตามอายุของหุ้นกู้แปลงสภาพ
เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู ฯ ภายหลังจากการออกจากกระบวนการฟื้นฟูกิจการ เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูในปี 2550 คงเหลือ จำนวน 648.41 ล้านบาท ประกอบด้วย เจ้าหนี้มีประกัน 132 ล้านบาท เจ้าหนี้ ไม่มีประกัน 516 ล้านบาท และเจ้าหนี้ผู้ซื้อบ้านและที่ดิน 0.1 ล้านบาท โดยมีเงื่อนไขการจ่ายชำระและการจ่าย ดอกเบี้ยดังนี้
77
รายงานประจำปี 2550
•
•
78
ประเภท ยอดคงค้าง การชำระเงินต้น อัตราดอกเบี้ย (ล้านบาท) ปี % เจ้าหนี้มีประกัน 132.00 จากกระแสเงินสดส่วนที่เกิน 2547-2548 3% MLR กว่า 250 ล้านบาท ณ 2549 ไม่เกิน 10% วันสิ้นไตรมาส เป็นต้นไป เจ้าหนี้ ไม่มีประกัน 516.00 จากกระแสเงินสดส่วนที่เกิน 2547-2548 1% MLR กว่า 250 ล้านบาท ณ 2549 ไม่เกิน 10% วันสิน้ ไตรมาส เป็นต้นไป เจ้าหนี้ผู้ซื้อบ้าน 0.01 ดำเนินการจ่ายชำระทั้งหมด - - และที่ดิน แล้ว หากแต่เจ้าหนี้บางราย ยังมิได้มารับชำระ รวม 648.41
ตามที่ระบุไว้ ในแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทจะต้องชำระคืนเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูฯ ดังกล่าวภายในเดือน ตุลาคม 2551
ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและบริษัทย่อย ในปี 2550 เท่ากับ 6,087.20 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 411.61 ล้านบาท จากปี 2549 ซึ่งมาจากผลกำไรสุทธิประจำปี 2550 ทั้งจำนวน โดยโครงสร้างส่วนของผู้ถือหุ้น ประกอบด้วย ทุนจดทะเบียนที่เรียกชำระแล้ว 4,724.95 ล้านบาท มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 6 บาท ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น 42.71 ล้านบาท เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น 0.002 ล้านบาท หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิ แปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นทุน 23.54 ล้านบาท และกำไรสะสม 1,381.43 ล้านบาท ทั้งนี้ ในปี 2550 บริษัทยังคงมี ใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกสำหรับเจ้าหนี้ ไม่มีประกันยังไม่มีการใช้สิทธิอีก 8.91 ล้านหน่วย อัตราการใช้สิทธิ 1 ใบสำคัญแสดงสิทธิ สามารถแปลงเป็นหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.01 บาท กำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิทุกวันสุดท้ายของไตรมาสที่ 2 และ 4 ของปี อายุ 10 ปี เริ่มจากไตรมาสที่ 4 ของปี 2545 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2548 เท่ากับ 1.33 เท่า และเท่ากับสำหรับ อัตราส่วน 1.32 เท่า ในปี 2549 และลดลงเป็น 1.12 เท่าในปี 2550 เป็นผลจาการที่หนี้สินรวมลดลง และส่วนของผู้ถือหุ้นที่เพิ่มขึ้นโดย ตลอด
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
โครงการในอนาคต บริษัทและบริษัทย่อยมี โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่จะเปิดเพิ่มนอกเหนือจากโครงการที่ปรากฏในรายละเอียด โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในปัจจุบันของบริษัท โดยบริษัทมีแผนเปิดโครงการใหม่ 6 โครงการ มีมูลค่าโครงการรวม 13,130 ล้านบาท ดังนี้ ชื่อโครงการ ที่ตั้ง ลักษณะ มูลค่าโครงการ ระยะเวลาพัฒนา โครงการ โครงการ โครงการ พื้นที่ จำนวน มูลค่า (ไร่) (ยูนิต) (ล้านบาท) 1 เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ บางรักน้อย SDH 111.3 443 2,300 Q4/2551-2553 2 เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง รามคำแหง SDH 38 114 830 Q4/2551-2552 (The Lake Zone) 3 เพอร์เฟค พาร์ค ร่มเกล้า เฟส 1** ร่มเกล้า SDH 42 194 730 Q2/2551-2552 4 เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ พัฒนาการ พัฒนาการ SDH 147.9 342 3,200 Q4/2551-2556 5 เดอะ วิลล่า พัฒนาการ พัฒนาการ TH 51.55 599 2,070 Q3/2551-2554 6 เมโทร พาร์ค รัชดา*** รัชดา CD 11.5 1,200 4,000 Q2/2551-2553 รวมทั้งสิ้น 2,892 13,130 หมายเหตุ ** โครงการบริษัทย่อย (บจก.เอสเตท เพอร์เฟ็คท์) *** โครงการบริษัทย่อย (บจก.ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ) SDH = บ้านเดี่ยว , TH= ทาวน์เฮ้าส์ , CD=คอนโดมิเนียม
ปัจจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลต่อการดำเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต
การเติบโตของบริษัทและบริษัทย่อยยังคงขึ้นอยู่กับการได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการเงิน รวมทั้งนโยบายการเงิน ต่างๆ ของภาครัฐ ก็มีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย การดำเนินธุรกิจของบริษทั และบริษทั ย่อย มีความต้องการเงินลงทุนสูงตัง้ แต่เริม่ การจัดหาทีด่ นิ ลงทุนพัฒนาทีด่ นิ ดำเนินการ ขออนุญาตจัดสรร ขออนุญาตสิ่งแวดล้อม และเริ่มการก่อสร้างบ้านจนบ้านแล้วเสร็จ โดยปัจจุบันบริษัทมีรอบระยะเวลาการขาย สินค้า เฉลีย่ 902.16 วัน ซึง่ มีความจำเป็นต้องใช้เงินลงทุนสูงในการดำเนินการพัฒนาทีด่ นิ และก่อสร้างบ้าน ก่อนทีจ่ ะมีรายรับ ดังนัน้ นอกจากเงินลงทุนในส่วนผู้ถือหุ้น แล้ว ความต้องการเงินทุนหมุนเวียนระยะยาวจากสถาบันการเงิน ,การใช้เครื่องมือทางการเงิน ต่างๆ เพื่อลดต้นทุนทางการเงิน รวมถึงการมีพันธมิตรร่วมลงทุน มีความจำเป็น และจะส่งผลต่อการเติบโตของบริษัทอย่างมีนัย
79
รายงานประจำปี 2550
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
บาท) (หน่(หน่ วยวย:: บาท) ข้ า พเจ้ า ได้ ต รวจสอบงบดุ ล รวม ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2550 และ 2549 งบกำไรขาดทุ น รวม งบแสดงการเปลี ย ่ นแปลง งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ บปีสนิ้ สุ ดวันเดีย2550 วกันของแต่ละปี2549 ของบริษทั พร็อ2550 พเพอร์ตี้ เพอร์เ2549 ฟค จำกัด ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบกระแสเงินสดรวมสำหรัหมายเหตุ ใหม่) ด้วย (มหาชน) และบริษทั ย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค (ปรั จำกับดปรุง(มหาชน) เช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็น ผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิบัติงานเพื่อให้ ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญซึ่ง ผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดสำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 4 ในปี 2550 บริษัทฯ ได้เปลี่ยนนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน โดยบริษัทฯได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน เพื่อสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว ศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3930 บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 28 กุมภาพันธ์ 2551
80
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บาท) (หน่(หน่ วยวย:: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2550 2549 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื่น ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ ลูกหนี้ค่าที่ดิน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สิทธิการเช่า - สุทธิ สิทธิการเช่ารอการขาย - สุทธิ สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อื่น ๆ รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
424,055,579 6 33,452,438 7 7,991,847,276 32,916,874 5,440,132 14,448,799 8,502,161,098 8 226,123,159 28 - 28 - 9 35,358,000 10 - 11 401,445,870 4,985,944 12 2,979,837,101 13 151,462,635 14 400,999,621 15 60,630,512 16 60,717,672 61,287,159 26,025,297 4,408,872,970 12,911,034,068
312,742,938 33,779,857 8,016,191,069 70,393,200 9,244,664 9,404,544 8,451,756,272 840,659 - 67,415,253 - - 329,694,862 4,802,024 3,042,351,674 730,081,570 364,229,267 62,523,935 60,717,672 39,027,390 22,692,258 4,724,376,564 13,176,132,836
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่) 397,595,597 32,530,838 6,425,477,543 32,916,874 5,440,132 11,387,981 6,905,348,965 226,123,159 81,500,000 247,074,412 35,358,000 541,057,356 359,999,240 4,985,944 2,979,837,101 22,000,000 346,394,876 60,630,512 60,717,672 57,329,685 22,151,078 5,045,159,035 11,950,508,000
271,119,989 31,923,101 6,531,990,915 70,393,200 9,244,664 5,211,319 6,919,883,188 840,659 - 166,442,291 - 539,458,456 299,999,300 4,802,024 3,042,351,674 629,118,935 339,629,000 62,523,935 60,717,672 38,658,509 22,252,403 5,206,794,858 12,126,678,046
81
รายงานประจำปี 2550
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบดุล (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บาท) (หน่(หน่ วยวย:: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2550 2549 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมจากบริษัทอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินทดรองจากกรรมการ เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ดอกเบี้ยค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย อื่น ๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู หุ้นกู้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นหนี้สิน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจากสัญญาเช่าช่วง สำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ ไม่ ได้ ใช้สิทธิแปลงสภาพ รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
82
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่)
17 321,640,578 280,405,548 306,640,578 280,405,548 18 10,000,000 - - - 420,035,595 290,128,748 374,910,923 244,995,542 28 - - 80,977,279 1,738,380 28 80,000,000 - - - 6 218,593,293 280,634,844 216,462,138 265,999,802 19 648,410,232 - 648,410,232 - 20 450,000,000 350,000,000 450,000,000 350,000,000 22 462,996,251 940,891,581 458,126,231 940,891,581 4,686,147 5,254,476 4,686,147 5,254,476 33,716,874 43,071,532 33,145,704 42,716,886 116,819,145 69,643,170 104,665,102 59,292,517 50,051,663 55,497,701 43,330,291 41,583,465 2,816,949,778 2,315,527,600 2,721,354,625 2,232,878,197 19 - 648,410,232 - 648,410,232 20 - 450,000,000 - 450,000,000 21 805,881,396 802,735,788 805,881,396 802,735,788 22 3,044,557,322 3,168,021,930 2,548,833,016 2,527,597,078 1,506,534 61,076,419 21 93,864,720 4,006,886,391 6,823,836,169
6,238,792 1,506,534 6,238,792 63,077,400 61,076,419 63,077,400 46,532,744 93,864,720 46,532,744 5,185,016,886 3,511,162,085 4,544,592,034 7,500,544,486 6,232,516,710 6,777,470,231
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบดุล (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บาท) (หน่(หน่ วยวย:: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2550 2549 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,035,594,196 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 787,491,194 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท (2549 : หุ้นสามัญ 782,555,715 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นทุน กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย ยังไม่ ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
23 6,213,565,176 4,724,947,164 24 (42,713,192 ) 24 1,938 21 23,535,270 25 119,100,000 1,262,326,719 6,087,197,899 12,911,034,068
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่)
6,213,565,176 6,213,565,176 6,213,565,176 4,695,334,290 4,724,947,164 4,695,334,290 (13,149,673 ) (42,713,192 ) (13,149,673 ) 48,563 1,938 48,563 23,535,270 23,535,270 23,535,270 100,600,000 119,100,000 100,600,000 869,219,900 893,120,110 542,839,365 5,675,588,350 5,717,991,290 5,349,207,815 13,176,132,836 11,950,508,000 12,126,678,046
83
รายงานประจำปี 2550
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บาท) (หน่(หน่ วยวย:: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2550 2549 รายได้ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รายได้จากการขายที่ดิน รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ รายได้จากการริบเงินจอง ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม อื่น ๆ รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ต้นทุนการขายที่ดิน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม รวมค่าใช้จ่าย กำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้นิติบุคคล ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคล กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับปี กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
84
11 11 29 30
4,697,134,755 1,469,487,994 99,307,500 1,416,397 11,569,861 11,751,068 42,574,214 6,333,241,789 3,297,303,001 1,041,594,307 56,578,584 1,286,329,040 - 5,681,804,932 651,436,857 (225,442,622 ) (14,387,416 ) 411,606,819 0.523 0.517
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่)
4,477,287,835 - - 4,986,643 7,858,840 - 43,677,400 4,533,810,718 3,093,994,393 - - 1,087,757,637 23,371,114 4,205,123,144 328,687,574 (293,228,680 ) (23,465,991 ) 11,992,903 0.015 0.015
4,144,223,090 1,469,487,994 99,307,500 14,422,223 10,831,098 - 39,840,560 5,778,112,465 2,925,647,867 1,041,594,307 56,578,584 1,167,957,082 - 5,191,777,840 586,334,625 (217,553,880 ) - 368,780,745 0.468 0.463
3,815,290,328 - - 19,184,352 7,219,925 - 35,363,171 3,877,057,776 2,649,707,305 - - 965,142,984 - 3,614,850,289 262,207,487 (272,159,359 ) - (9,951,872 ) (0.013 )
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บาท) (หน่(หน่ วยวย:: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2550 2549 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับปี ปรับกระทบกำไร (ขาดทุน) สุทธิเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ส่วนแบ่งขาดทุน (กำไร) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าตัดจำหน่าย ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ตัดจำหน่าย สำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ ไม่ ใช้สิทธิแปลงสภาพ รายได้รับล่วงหน้าค่าสิทธิการเช่าตัดบัญชี กลับรายการหนี้สิน ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน (โอนกลับ) หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ค่าที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ดอกเบี้ยค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ดอกเบี้ยค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่)
411,606,819 11,992,903 368,780,745 (11,751,068 ) 23,371,114 - 48,074,143 42,819,181 45,000,227 15,439,378 10,732,356 14,988,262 3,145,608 3,023,633 3,145,608 47,331,977 43,094,256 47,331,977 (3,431,112 ) (3,778,646 ) (3,431,112 ) - (8,727,575 ) - 4,080,000 - 4,080,000 (183,920 ) 25,022 (183,920 ) 1,803,299 3,430,650 1,803,299 6,707,888 711,927 6,618,373 522,823,012 126,694,821 488,133,459 (1,475,880 ) (3,281,076 ) (2,411,036 ) (35,358,000 ) - (35,358,000 ) 732,298,717 792,287,636 750,468,296 37,476,326 (51,538,087 ) 37,476,326 (22,259,769 ) 6,414,049 (18,671,178 ) (11,634,846 ) (14,589,526 ) (11,183,729 ) 9,025,933 (4,523,894 ) 12,417,850 (5,044,255 ) 9,168,662 (6,176,662 ) (3,333,040 ) (4,264,887 ) 101,323 129,906,847 49,975,008 129,915,380 - - 79,238,899 (62,041,551 ) 175,994,785 (49,537,664 ) (9,354,658 ) (14,486,766 ) (9,571,181 ) 41,845,126 (43,653,584 ) 47,234,599 1,322,873,962 1,024,197,141 1,412,076,682
(9,951,872) - 40,718,852 10,732,356 3,023,633 43,094,256 (3,778,646 ) (8,727,575 ) - 25,022 1,930,650 711,927 77,778,603 (5,099,701 ) - 823,611,642 (51,538,087 ) 4,305,194 (14,589,526 ) 9,682,751 8,283,610 (4,829,360 ) 37,034,591 621,594 168,435,982 (14,711,053 ) (45,076,476 ) 993,909,764
85
รายงานประจำปี 2550
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บาท) (หน่(หน่ วยวย:: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2550 2549 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกันเพิ่มขึ้น เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น ที่ดินรอการพัฒนาเพิ่มขึ้น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น เงินสดรับจากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกู้ยืมจากบริษัทอื่นเพิ่มขึ้น เงินทดรองจากกรรมการเพิ่มขึ้น เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น (ลดลง) หุ้นกู้ลดลง หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินลดลง เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายปี ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม เงินสดจ่ายในระหว่างปี ดอกเบี้ยจ่าย (รวมดอกเบี้ยจ่ายที่บันทึกเป็นต้นทุน) ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย รายการที่ ไม่ใช่เงินสด โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเป็นต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์และที่ดินรอการพัฒนา โอนที่ดินรอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โอนต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเป็นเงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน โอนเงินทดรองจ่ายบริษัทอื่นเป็นที่ดินรอการพัฒนา หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
86
(225,282,500 ) (500,000 ) - - 58,389,320 28,000,000 - - (59,999,940 ) - (26,368,888 ) (131,187,037 ) (62,500,000 ) (111,915,000 ) (71,578,306 ) (98,887,379 ) 1,204,487 17,350 (386,135,827 ) (314,472,066 ) (208,764,970 ) 55,397,407 10,000,000 - 80,000,000 - (351,359,938 ) 74,000,335 (350,000,000 ) (750,000,000 ) (5,300,586 ) (5,293,475 ) - (273,887,259 ) (825,425,494 ) (899,782,992 ) 111,312,641 (190,057,917 ) 312,742,938 502,800,855 424,055,579 312,742,938 433,678,576 457,112,556 83,565,525 59,273,495 637,038,935 232,937,531 89,718,461 1,023,934,892 17,967,472 - 40,000,000 - - 183,500,566
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่) (225,282,500 ) (41,500,000 ) (93,049,970 ) (1,598,900 ) (59,999,940 ) (26,368,888 ) (10,000,000 ) (38,410,396 ) 1,204,487 (495,006,107 ) (223,764,970 ) - - (211,529,411 ) (350,000,000 ) (5,300,586 ) - (790,594,967 ) 126,475,608 271,119,989 397,595,597 389,820,080 57,331,130 573,038,935 89,718,461 17,967,472 40,000,000 -
(500,000 ) 1,278,344 223,963,151 - - (146,387,039 ) (44,915,000 ) (85,194,639 ) 17,350 (51,737,833 ) 55,397,407 - - (180,236,558 ) (750,000,000 ) (5,293,475 ) (273,887,259 ) (1,154,019,885 ) (211,847,954 ) 482,967,943 271,119,989 414,376,810 38,658,508 216,237,531 754,234,892 - - 183,500,566
งบการเงินรวม หมายเหตุ 2550 2549
(หน่วย: บาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
(13,025,740 ) - (123,933 ) - - - (13,149,673 ) (13,149,673 ) - (29,563,519 ) - - (42,713,192 )
4,695,210,150 - 124,140 - - - 4,695,334,290 4,695,334,290 - 29,612,874 - - 4,724,947,164
(49,355 ) - - 1,938
(207 ) - - - 48,563 48,563 2,730
- 48,770
- - - 23,535,270
- - - - 23,535,270 23,535,270 -
23,535,270 -
- 18,500,000 - 119,100,000
- - 600,000 - 100,600,000 100,600,000 -
100,000,000 -
5,675,588,350 2,730
- (273,887,259 ) - 11,992,903 5,675,588,350
5,937,433,936 48,770
- - (18,500,000 ) - 411,606,819 411,606,819 1,262,326,719 6,087,197,899
- (273,887,259 ) (600,000 ) 11,992,903 869,219,900 869,219,900 -
1,131,714,256 -
งบการเงินรวม ทุนเรือนหุ้น หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิ กำไรสะสม ที่ออก ส่วนต่ำกว่า เงินรับล่วงหน้า แปลงสภาพ - สำรอง และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น ค่าหุ้น องค์ประกอบที่เป็นทุน ตามกฎหมาย ยังไม่ ได้จัดสรร รวม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิ เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) สำรองตามกฎหมายเพิ่มขึ้น กำไรสุทธิสำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิ สำรองตามกฎหมายเพิ่มขึ้น กำไรสุทธิสำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
บาท) (หน่(หน่ วยวย:: บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 (ปรับปรุงใหม่)
87
88
(หน่วย: บาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนเรือนหุ้น หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิ กำไรสะสม ที่ออก ส่วนต่ำกว่า เงินรับล่วงหน้า แปลงสภาพ - สำรอง และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น ค่าหุ้น องค์ประกอบที่เป็นทุน ตามกฎหมาย ยังไม่ ได้จัดสรร รวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 - ตามที่รายงานไว้เดิม 4,695,210,150 (13,025,740 ) - 23,535,270 100,000,000 1,131,714,256 5,937,433,936 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม (หมายเหตุ 4) - - - - - (304,435,760 ) (304,435,760 ) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 - หลังการปรับปรุง 4,695,210,150 (13,025,740 ) - 23,535,270 100,000,000 827,278,496 5,632,998,176 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น - - 48,770 - - - 48,770 หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิ 124,140 (123,933 ) (207 ) - - - - เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) - - - - - (273,887,259 ) (273,887,259 ) สำรองตามกฎหมายเพิ่มขึ้น - - - - 600,000 (600,000 ) - ขาดทุนสุทธิสำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) - - - - - (9,951,872 ) (9,951,872 ) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - หลังการปรับปรุง 4,695,334,290 (13,149,673 ) 48,563 23,535,270 100,600,000 542,839,365 5,349,207,815 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - ตามที่รายงานไว้เดิม 4,695,334,290 (13,149,673 ) 48,563 23,535,270 100,600,000 869,219,900 5,675,588,350 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม (หมายเหตุ 4) - - - - - (326,380,535 ) (326,380,535 ) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 - หลังการปรับปรุง 4,695,334,290 (13,149,673 ) 48,563 23,535,270 100,600,000 542,839,365 5,349,207,815 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น - - 2,730 - - - 2,730 หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิ ตามใบสำคัญแสดงสิทธิ 29,612,874 (29,563,519 ) (49,355 ) - - - - สำรองตามกฎหมายเพิ่มขึ้น - - - - 18,500,000 (18,500,000 ) - กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - 368,780,745 368,780,745 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 4,724,947,164 (42,713,192 ) 1,938 23,535,270 119,100,000 893,120,110 5,717,991,290
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายงานประจำปี 2550
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 1. ข้อมูลทั่วไป
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนและมีภูมิลำเนาใน ประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือ การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนอยู่ที่ 100/1 อาคาร วรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ
2. เกณฑ์ ในการจัดทำงบการเงิน
2.1 งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการ แสดงรายการในงบการเงินได้ทำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินนี้ ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ ได้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ จัดตั้งขึ้น อัตราร้อยละ ในประเทศ ของการถือหุ้น 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ไทย 100.00 100.00 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริหารสโมสร ไทย 99.94 99.94 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ไทย 99.94 - บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ไทย 59.95 -
ข)
ร้อยละของสินทรัพย์ที่รวมอยู่ ร้อยละของรายได้ที่รวมอยู่ ในสินทรัพย์รวม ในรายได้รวมสำหรับปีสิ้นสุด ชื่อบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ รัอยละ ร้อยละ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด 13.08 12.56 8.78 14.67 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด 0.04 0.04 0.01 0.13 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด 0.73 - - - บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด - - - -
ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำคัญได้ตัดออกจาก งบการเงินรวมนี้แล้ว
89
รายงานประจำปี 2550
ค) ง) จ)
ยอดเงินลงทุนในบริษัทย่อยในบัญชีของบริษัทฯ ได้ตัดกับส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติจัดตั้งบริษัท ไบรท์ ดี เ วลลอปเมนท์ กรุ ง เทพ จำกั ด ซึ่ ง ดำเนิ น ธุ ร กิ จ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และมี ทุ น จดทะเบี ย น 1 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) เมื่ อ วั น ที่ 24 กั น ยายน 2550 ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ มี ม ติ อ นุ มั ติ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และมีทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท)
2.3 บริษัทฯ ได้จัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อย และ บริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน
3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชี ใหม่
สภาวิชาชีพบัญชี ได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี โดยให้ ใช้มาตรฐานการบัญชี ใหม่ดังต่อไปนี้ ก) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เงินลงทุนในบริษัทร่วม ฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชีข้างต้นให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 เป็นต้นไป ในปีปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุน ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44, 45 และ 46 ฉบับปรับปรุงใหม่ ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 ข) มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) สัญญาเช่า ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) สินค้าคงเหลือ ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ต้นทุนการกู้ยืม ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) การนำเสนองบการเงิน ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 51 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน
90
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
มาตรฐานการบัญชีข้างต้นให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าว จะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีที่เริ่มใช้
4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการ
ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯ ได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษทั ร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธสี ว่ นได้เสียเป็นวิธรี าคาทุนตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งกำหนดให้เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงิน ลงทุนในกิจการที่มีการควบคุมร่วมกันและเงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการต้องแสดงตาม วิธีราคาทุน ในการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว บริษทั ฯ ได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการปีกอ่ นทีน่ ำ มาแสดงเปรียบเทียบเสมือนว่าบริษทั ฯ ได้ถอื ปฏิบตั เิ กีย่ วกับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม ตามวิธีราคาทุนมาโดยตลอด การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้บริษัทฯ มีกำไรสุทธิในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ลดลงเป็นจำนวน 42.8 ล้านบาท (0.05 บาทต่อหุ้น) และ 21.9 ล้านบาท (0.03 บาทต่อหุ้น) ตามลำดับ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว ได้แสดงไว้ ในหัวข้อ “ผลสะสมจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษัทร่วม” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการแล้ว ทัง้ นีก้ ารเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าว มีผลกระทบเฉพาะต่อรายการบัญชีทเี่ กีย่ วข้องกับเงินลงทุน ในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการเท่านัน้ ไม่ ได้มผี ลกระทบต่องบการเงินรวมแต่อย่างใด
5. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ
5.1 การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ผู้ซื้อ รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย บริษัทฯ รับรู้รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ผู้ซื้อ รายได้จากการขายที่ดิน บริษัทฯ รับรู้รายได้จากการขายที่ดินเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ผู้ซื้อ 5.2 ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ในการคำนวณหาต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้ทำการแบ่งสรรต้นทุนการพัฒนาทั้งหมดที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โดยคำนึงถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงด้วย) ให้กับ บ้านพร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยที่ขายได้ตามเกณฑ์พื้นที่ที่ขาย แล้วจึงรับรู้เป็นต้นทุนขายใน งบกำไรขาดทุน 91
รายงานประจำปี 2550
5.3 ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แสดงตามราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดลง ของมูลค่าโครงการ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประกอบด้วยต้นทุนที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้างและ ดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง 5.4 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายความรวมถึงเงินสดและเงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสัน้ ที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งถึงกำหนดจ่ายคืนในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน นับจากวันที่ ได้มาและไม่มีข้อจำกัดใน การเบิกใช้ 5.5 ลูกหนี้การค้า ลูกหนีก้ ารค้าแสดงตามมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สำหรับ ผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ ไม่ ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์ การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุลูกหนี้ 5.6 ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็นต้นทุน ดอกเบีย้ จ่ายทีเ่ กิดจากการกูย้ มื เพือ่ ใช้ ในระหว่างการก่อสร้างโครงการต่างๆ ถือเป็นส่วนหนึง่ ของราคาทุน ของโครงการและจะหยุดบันทึกเมื่อโครงการเสร็จพร้อมขายหรือเริ่มมีการโอนกรรมสิทธิ์ ให้แก่ผู้ซื้อหรือ โครงการหยุดชะงักลงจนกว่าจะมีการดำเนินการพัฒนาต่อไป 5.7 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ จะถูกบันทึกเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนทีด่ นิ เมือ่ ทีด่ นิ เหล่านัน้ ได้ถกู โอนกรรมสิทธิ์ เป็นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย 5.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุการใช้งาน โดยประมาณดังต่อไปนี้ อาคารสำนักงานและสโมสร 20 ปี เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้สำนักงานและสโมสร 5 ปี ยานพาหนะ 5 ปี อื่นๆ 5 ปี ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง 92
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
5.9 สิทธิการเช่าและค่าตัดจำหน่าย/สิทธิการเช่ารอการขาย สิทธิการเช่าแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสม ค่าตัดจำหน่ายของสิทธิการเช่าคำนวณจากราคา ของสิทธิการเช่าโดยใช้วิธีเส้นตรงตามอายุสัญญาเช่า ค่าตัดจำหน่ายรวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน สิทธิการเช่ารอการขายแสดงตามราคาทุนหรือราคาที่คาดว่าจะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า 5.10 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย ข) เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทีแ่ สดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธรี าคาทุน ค) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ ไม่อยู่ ในความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทั่วไปซึ่งแสดงในราคาทุน สุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) 5.11 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูก ควบคุมโดยบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็น สาระสำคัญกับบริษัทฯ ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจในการวางแผนและ ควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ 5.12 สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ ได้ โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำกว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึก ในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอด อายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า 5.13 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพแสดงองค์ประกอบที่เป็นหนี้สินและทุนแยกจากกันในงบดุล บริษัทฯ จึงได้ แยกแสดงองค์ประกอบดังกล่าว โดยกำหนดราคาตามบัญชีของหนี้สินจากการคำนวณจากกระแสเงินสดของ เงินต้นและดอกเบีย้ ทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบีย้ ในตลาดทีเ่ ป็นอยู่ในขณะนัน้ และกำหนดราคา
93
รายงานประจำปี 2550
ตามบัญชีของตราสารทุน โดยหักราคาตามบัญชีของหนี้สินจากมูลค่าทั้งสิ้นของหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของหนี้สินดังกล่าวข้างต้นและมูลค่าหน้าตั๋วของหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ จะตัดจำหน่ายตามอายุของหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ
5.14 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันที่ ในงบดุล บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะทำการประเมินว่ามีข้อบ่งชี้ซึ่งแสดงว่าสินทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษทั ย่อยด้อยค่าลงหรือไม่ หากมีขอ้ บ่งชีข้ องการด้อยค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทำการประมาณมูลค่า ทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์ และหากพบว่าราคาตามบัญชีของสินทรัพย์นนั้ มีมลู ค่าสูงกว่ามูลค่าทีค่ าดว่า จะได้รับคืน บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะลดมูลค่าของสินทรัพย์นั้นลงให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน และ รับรูผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ในงบกำไรขาดทุน (มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์หมายถึง ราคาขายสุทธิหรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์นั้นแล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า) 5.15 ผลประโยชน์พนักงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุน สำรองเลี้ยงชีพเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 5.16 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้ประมาณการหนี้สินเมื่อมีภาระผูกพันในปัจจุบันซึ่งเกิดจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะสูญเสียทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจ เพื่อจ่ายชำระภาระผูกพันดังกล่าวและสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 5.17 ภาษีเงินได้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร 5.18 การใช้ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางสถานการณ์ฝ่ายบริหารอาจต้องใช้การ ประมาณและการตั้งสมมติฐาน ซึ่งมีผลกระทบต่อจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ด้วยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณไว้
6. ลูกหนี้การค้า / เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า
94
ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีรายละเอียดดังนี้
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
(หน่วย: บาท)
จำนวนเงินตามที่ ได้ทำสัญญา จะซื้อจะขายแล้ว ร้อยละของยอดขายรวมของโครงการ ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ หัก : เงินรับชำระแล้ว ลูกหนี้ค่างวดที่ค้างชำระ หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ค่างวดที่ค้างชำระสุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549
43,029,830,434 36,981,949,458 40,745,527,612 35,259,727,701 75.94 67.06 78.47 66.18 39,763,341,634 33,658,760,436 37,562,946,793 31,998,773,373 (39,720,095,897 ) (33,613,939,463 ) (37,520,622,656 ) (31,955,809,156 ) 43,245,737 44,820,973 42,324,137 42,964,217 (9,793,299 ) (11,041,116 ) (9,793,299 ) (11,041,116 ) 33,452,438 33,779,857 32,530,838 31,923,101
เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: บาท)
งบการเงินรวม 2550 2549
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 2550 2549 ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ 39,763,341,634 33,658,760,436 37,562,946,793 31,998,773,373 หัก : การรับรู้รายได้ (39,544,748,341 ) (33,378,125,592 ) (37,346,484,655 ) (31,732,773,571 ) เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า 218,593,293 280,634,844 216,462,138 265,999,802
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าแยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจาก วันที่ถึงกำหนดชำระได้ดังนี้ (หน่วย: บาท) ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด ลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันโอน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
น้อยกว่า 3 เดือน 14,295,874 250,000 14,545,874 - 14,545,874
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม 2,785,974 6,632,500 1,706,200 25,420,548 3,306,250 900,000 13,368,939 17,825,189 6,092,224 7,532,500 15,075,139 43,245,737 - - (9,793,299 ) (9,793,299 ) 6,092,224 7,532,500 5,281,840 33,452,438
95
รายงานประจำปี 2550
(หน่วย: บาท)
ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด ลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันโอน รวม หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
น้อยกว่า 3 เดือน 13,301,730 3,930,000 17,231,730 - 17,231,730
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม 2,837,126 6,985,502 2,769,600 25,893,958 - 1,600,000 13,397,015 18,927,015 2,837,126 8,585,502 16,166,615 44,820,973 - - (11,041,116 ) (11,041,116 ) 2,837,126 8,585,502 5,125,499 33,779,857
(หน่วย: บาท)
ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด ลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันโอน รวม หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
น้อยกว่า 3 เดือน 13,574,274 250,000 13,824,274 - 13,824,274
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม 2,585,974 6,632,500 1,706,200 24,498,948 3,306,250 900,000 13,368,939 17,825,189 5,892,224 7,532,500 15,075,139 42,324,137 - - (9,793,299 ) (9,793,299 ) 5,892,224 7,532,500 5,281,840 32,530,838
(หน่วย: บาท)
ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด ลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันโอน รวม หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
96
น้อยกว่า 3 เดือน 12,058,600 3,400,000 15,458,600 - 15,458,600
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม 2,753,500 6,985,502 2,769,600 24,567,202 - 1,600,000 13,397,015 18,397,015 2,753,500 8,585,502 16,166,615 42,964,217 - - (11,041,116 ) (11,041,116 ) 2,753,500 8,585,502 5,125,499 31,923,101
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
7. ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ (หน่วย: บาท)
งบการเงินรวม 2550 2549 ต้นทุนที่ดิน 12,234,645,693 11,386,760,898 ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน 6,039,730,810 5,513,646,475 ต้นทุนงานก่อสร้าง 15,707,542,608 12,989,927,926 ดอกเบี้ยที่ถือเป็นต้นทุน 4,049,126,282 3,816,335,330 รวม 38,031,045,393 33,706,670,629 หัก : จำนวนสะสมที่ โอนเป็นต้นทุนขาย (28,444,569,946 ) (24,087,392,160 ) ที่ดินที่ โอนเพื่อการจ่ายชำระหนี้ ตามแผนฟื้นฟู (1,524,192,396 ) (1,524,192,396 ) 8,062,283,051 8,095,086,073 หัก : ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดลง ของมูลค่าโครงการ (70,435,775 ) (78,895,004 ) ต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ - สุทธิ 7,991,847,276 8,016,191,069
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 10,876,038,709 10,189,758,528 5,545,654,222 5,114,206,251 14,771,007,345 12,214,790,120 3,794,964,591 3,598,359,916 34,987,664,867 31,117,114,815 (26,977,416,877 ) (22,991,894,223 ) (1,524,192,396 ) (1,524,192,396 ) 6,486,055,594 6,601,028,196 (60,578,051 )
(69,037,281 )
6,425,477,543 6,531,990,915
บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ น ำที่ ดิ น และสิ่ ง ปลู ก สร้ า งในโครงการซึ่ ง มี มู ล ค่ า สุ ท ธิ ต ามบั ญ ชี ณ วั น ที่ 31 ธันวาคม 2550 เป็นจำนวนเงินประมาณ 6,537.8 ล้านบาท (2549 : 6,569.8 ล้านบาท) ไปจดจำนองไว้กับ
สถาบันการเงินเพื่อเป็นหลักประกันเงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาว และค้ำประกันงานสาธารณูปโภค
8. เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน
ยอดคงเหลือนี้ คือเงินฝากประจำซึ่งบริษัทฯ ได้นำไปค้ำประกันวงเงินสินเชื่อ
ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ขายที่ดินให้กับบริษัทแห่งหนึ่งมูลค่าประมาณ 88.4 ล้านบาท โดย บริษัทฯ ได้รับชำระเงินแล้วเป็นจำนวน 53.0 ล้านบาท สำหรับค่าที่ดินส่วนที่เหลือ บริษัทฯ จะได้รับชำระ เป็นรายงวด โดยจะครบกำหนดชำระภายในเดือนมิถุนายน 2552
9. ลูกหนี้ค่าที่ดิน
97
รายงานประจำปี 2550
10. เงินลงทุนในบริษัทย่อย (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ทุนเรียกชำระแล้ว ราคาทุน 2550 2549 2550 2549 (ล้าน) (ล้าน) บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด 1,000 1,000 538,459,056 538,459,056 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด 1 1 999,400 999,400 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด 1 - 999,400 - บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด 1 - 599,500 - รวม 541,057,356 539,458,456
11. เงินลงทุนในบริษัทร่วม
11.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม
งบการเงินรวม บริษัท ลักษณะ จัดตั้งขึ้น สัดส่วนเงินลงทุน มูลค่าตามบัญชี ธุรกิจ ในประเทศ ตามวิธีส่วนได้เสีย 2550 2549 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ
บริษัท กรุงเทพบ้าน พัฒนา ไทย และที่ดิน จำกัด อสังหาริมทรัพย์ (มหาชน) รวม
(หน่วย: บาท) ส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมในระหว่างปี 2550 2549
20.22
20.00 401,445,870 329,694,862 11,751,068 (23,371,114)
401,445,870 329,694,862 11,751,068 (23,371,114)
(หน่วย: บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ลักษณะธุรกิจ จัดตั้งขึ้น สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน ในประเทศ 2550 2549 2550 2549 ร้อยละ ร้อยละ
98
บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) รวม
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
ไทย
20.22
20.00
359,999,240 299,999,300 359,999,240 299,999,300
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
11.2 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วม
(หน่วย: ล้านบาท)
บริษัท
ทุนเรียกชำระ สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม รายได้รวมสำหรับ กำไร (ขาดทุน) ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 ปีสิ้นสุดวันที่ 31 สุทธิ สำหรับ ธันวาคม ธันวาคม ธันวาคม ธันวาคม ปีสิ้นสุดวันที่ 31 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549 2550 2549
1,780 1,500 5,871 5,311 3,043 3,460 1,035 660
บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน)
57 (113)
บริษทั ฯ ได้รบั รูส้ ว่ นแบ่งผลกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม หลังจากปรับปรุงกำไรของบริษทั ร่วม เนือ่ งจาก ผลแตกต่างของนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการรับรู้รายได้หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เมือ่ วันที่ 18 มกราคม 2550 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ ซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุน ของบริษัทร่วมเป็นจำนวน 6,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 60 ล้านบาท เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นบริษัทร่วมครั้งที่ 1/2550 ได้มีมติอนุมัติการลด ทุนจดทะเบียน จากเดิมจำนวน 2,100,000,000 บาท ลงเหลือจำนวน 1,780,000,000 บาท โดยการตัดหุ้น สามัญที่ยังมิได้นำออกจำหน่ายจำนวน 32,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท คิดเป็นจำนวนเงิน 320,000,000 บาท นอกจากนี้ ได้มีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทร่วมอีกจำนวน 450,000,000 บาท ทำให้ทุน จดทะเบียนเดิมจำนวน 1,780,000,000 บาท เพิ่มขึ้นเป็นทุนจดทะเบียนใหม่จำนวน 2,230,000,000 บาท โดยการออกเป็นหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำนวน 45,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เพื่อรองรับการใช้ สิทธิแปลงสภาพของหุ้นกู้แปลงสภาพตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 35
12. ที่ดินรอการพัฒนา
(หน่วย: บาท) ต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ต้นทุนงานก่อสร้าง ดอกเบี้ยที่ถือเป็นต้นทุน รวม หัก : จำนวนสะสมที่ โอนเป็นต้นทุนขาย ที่ดินที่ โอนเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ ที่ดินที่ โอนเพื่อการจ่ายชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟู หัก : ค่าเผื่อการด้อยค่าของโครงการ ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ
งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 4,520,242,787 4,565,869,911 182,667,940 118,647,838 17,449,523 17,449,523 627,467,380 661,617,598 5,347,827,630 5,363,584,870 (548,576,325 ) (501,818,992 ) (1,540,946,166 ) (1,540,946,166 ) (151,117,368 ) (151,117,368 ) 3,107,187,771 3,169,702,344 (127,350,670 ) (127,350,670 ) 2,979,837,101 3,042,351,674
99
รายงานประจำปี 2550
บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้จดจำนองทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างซึง่ มีมลู ค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เป็นจำนวนเงินประมาณ 2,057.9 ล้านบาท (2549: 1,910.8 ล้านบาท) เป็นหลักประกันเงินกูย้ มื ระยะสัน้ หุน้ กู้ เงินกูย้ มื ระยะยาวและค้ำประกันงานสาธารณูปโภค
13. เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้นในระหว่างปี รับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินในระหว่างปี หัก: ริบเงินจ่ายล่วงหน้า ปรับปรุงเป็นเงินทดรองแก่บริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2550 2549 730,081,570 851,104,101 62,500,000 111,915,000 (637,038,935 ) (232,937,531 ) 155,542,635 730,081,570 (4,080,000 ) - 151,462,635 730,081,570 - - 151,462,635 730,081,570
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 629,118,935 800,441,466 10,000,000 44,915,000 (573,038,935 ) (216,237,531 ) 66,080,000 629,118,935 (4,080,000 ) - 62,000,000 629,118,935 (40,000,000 ) - 22,000,000 629,118,935
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินที่ลงนามเรียบร้อยแล้วเป็น จำนวนเงินประมาณ 637.0 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ : 74.5 ล้านบาท) ยอดคงเหลือของเงินจ่ายล่วงหน้าซื้อที่ดินจำนวนเงินประมาณ 135.4 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 9.4 ล้านบาท) เป็นเงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของทีด่ นิ หลายรายตามสัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ ซึง่ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้มอบหมายให้ตัวกลางในการรวบรวมซื้อที่ดินลงนามร่วมกับเจ้าของที่ดินเหล่านั้น สำหรับเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ ส่วนทีเ่ หลือจำนวนเงินประมาณ 16.1 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 12.6 ล้านบาท) เป็นเงินที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จ่ายล่วงหน้าให้กับตัวกลางในการรวบรวมซื้อที่ดินและอยู่ ใน ระหว่างการลงนามในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับเจ้าของที่ดิน ในปี 2549 บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ตัวกลางลงนามในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับเจ้าของที่ดิน และได้จ่าย เงินล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเป็นจำนวน 40 ล้านบาทให้กับเจ้าของที่ดิน ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัทย่อย ขึ้นใหม่เพื่อพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์บนที่ดินดังกล่าว ดังนั้นบริษัทฯ จึงปรับปรุงเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน ดังกล่าวเป็นเงินทดรองแก่บริษัทย่อย
100
(หน่วย: บาท)
งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง อาคาร และเครื่องใช้ สำนักงาน สำนักงาน งานระหว่าง ที่ดิน และสโมสร และสโมสร ยานพาหนะ ก่อสร้าง อื่นๆ รวม ราคาทุน 31 ธันวาคม 2549 47,091,355 205,940,125 110,740,032 36,088,789 44,495,608 37,881,624 482,237,533 ซื้อเพิ่ม - 12,903 14,654,866 32,362 56,092,375 785,800 71,578,306 โอนมาจากต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ 17,967,472 - - - - - 17,967,472 จำหน่าย - (7,372,665 ) (179,168 ) (3,135,000 ) - - (10,686,833 ) โอนเข้า (ออก) - 66,223,865 6,909,026 - (75,774,746 ) 2,641,855 - 31 ธันวาคม 2550 65,058,827 264,804,228 132,124,756 32,986,151 24,813,237 41,309,279 561,096,478 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2549 - 26,925,302 50,278,651 17,079,136 - 23,725,177 118,008,266 ค่าเสื่อมราคา - 11,084,822 22,535,672 6,103,993 - 5,138,562 44,863,049 ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จำหน่าย - (1,086,341 ) (58,040 ) (1,630,077 ) - - (2,774,458 ) 31 ธันวาคม 2550 - 36,923,783 72,756,283 21,553,052 - 28,863,739 160,096,857 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2549 47,091,355 179,014,823 60,461,381 19,009,653 44,495,608 14,156,447 364,229,267 31 ธันวาคม 2550 65,058,827 227,880,445 59,368,473 11,433,099 24,813,237 12,445,540 400,999,621 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปีซึ่งรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 2549 39,608,087 2550 44,863,049
14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
101
102
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแต่ง อาคาร และเครื่องใช้ สำนักงาน สำนักงาน งานระหว่าง ที่ดิน และสโมสร และสโมสร ยานพาหนะ ก่อสร้าง อื่นๆ รวม ราคาทุน 31 ธันวาคม 2549 47,091,355 197,612,797 104,729,124 34,664,589 31,984,779 30,100,959 446,183,603 ซื้อเพิ่ม - 12,903 11,733,199 32,362 25,852,552 779,380 38,410,396 โอนมาจากต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ 17,967,472 - - - - - 17,967,472 จำหน่าย - (7,372,664 ) (56,168 ) (3,135,000 ) - - (10,563,832 ) โอนเข้า (ออก) - 33,026,139 - - (35,667,995 ) 2,641,856 - 31 ธันวาคม 2550 65,058,827 223,279,175 116,406,155 31,561,951 22,169,336 33,522,195 491,997,639 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2549 - 25,617,669 47,101,291 16,745,874 - 17,089,769 106,554,603 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี - 10,101,301 21,294,578 5,819,153 - 4,574,101 41,789,133 ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จำหน่าย - (1,086,341 ) (24,555 ) (1,630,077 ) - - (2,740,973 ) 31 ธันวาคม 2550 - 34,632,629 68,371,314 20,934,950 - 21,663,870 145,602,763 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2549 47,091,355 171,995,128 57,627,833 17,918,715 31,984,779 13,011,190 339,629,000 31 ธันวาคม 2550 65,058,827 188,646,546 48,034,841 10,627,001 22,169,336 11,858,325 346,394,876 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปีซึ่งรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 2549 37,507,758 2550 41,789,133
(หน่วย: บาท)
รายงานประจำปี 2550
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ มีอาคารและอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยัง ใช้งานอยู่ ราคาทุนของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 30.7 ล้านบาท (2549: 16.2 ล้านบาท) (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: 23.7 ล้านบาท (2549: 9.2 ล้านบาท)) บริษัทฯ ได้นำที่ดินมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 22.2 ล้านบาท (2549: 22.2 ล้านบาท) ไปจดจำนองไว้กับสถาบันการเงินเพื่อค้ำประกันเงินกู้ยืมระยะยาว
15. สิทธิการเช่า
สิทธิการเช่า - ราคาทุน
หัก : ค่าตัดจำหน่ายสะสม หัก : ค่าเผื่อการด้อยค่า โอนเป็นสิทธิการเช่ารอการขาย - สุทธิ สุทธิ ค่าตัดจำหน่ายที่รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 343,879,241 (32,687,160 ) 311,192,081 (189,843,897 ) 121,348,184 (60,717,672 ) 60,630,512 3,211,094
342,561,569 (29,476,065 ) 313,085,504 (189,843,897 ) 123,241,607 (60,717,672 ) 62,523,935 3,211,094
ยอดคงเหลือดังกล่าวประกอบด้วยสิทธิการเช่าจำนวนประมาณ 4 ไร่ ซึ่งบริษัทฯ ได้นำไปให้เช่าช่วงกับ ผู้เช่าช่วงรายอื่นโดยมีอายุสัญญาเช่าช่วงตามอายุสัญญาเช่าที่ดินที่เหลืออยู่ โดยผู้เช่าช่วงได้จ่ายชำระค่าเช่าล่วงหน้า จำนวนหนึ่งและจ่ายชำระค่าเช่ารายปีตามอัตราที่กำหนดในสัญญา บริษัทฯ รับรู้ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าจากผู้เช่าช่วง เป็นรายได้ตามอายุของสัญญาให้เช่าช่วง
16. สิทธิการเช่ารอการขาย
เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ ได้ทำสัญญาโอนสิทธิการเช่าที่ดินให้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็น
จำนวนเงิน 200 ล้านบาท โดยชำระ ณ วันทำสัญญาเป็นจำนวน 80 ล้านบาท ส่วนที่เหลือบริษัทย่อยดังกล่าว จะชำระให้แก่บริษัทฯ ภายในวันจดทะเบียนโอนสิทธิการเช่า ซึ่งกำหนดไว้ ไม่เกินวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ต่อมาเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 บริษัทฯ ได้ทำสัญญาแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญาโอนสิทธิการเช่าที่ดินดังกล่าว โดยบริษัทย่อยจะชำระเงินส่วนที่เหลือให้แก่บริษัทฯ ภายในวันจดทะเบียนโอนสิทธิการเช่า ซึ่งกำหนดไว้ ไม่เกินวันที่ 30 มิถุนายน 2551
103
รายงานประจำปี 2550
17. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ประกอบด้วย (หน่วย: ล้านบาท)
อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี) เงินเบิกเกินบัญชี MOR เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน” MMR, MLR, MLR-1 รวม
งบการเงินรวม 2550 2549 30 30 292 250 322
280
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 30 30 277 250 307
280
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินค้ำประกันโดยบริษัทฯ กรรมการของบริษัทฯ และ การจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ สัญญากู้ยืมส่วนใหญ่ ได้ระบุข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
18. เงินกู้ยืมจากบริษัทอื่น
เงินกู้ยืมดังกล่าว มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6.0 ต่อปี และมีกำหนดชำระคืนภายในเดือนมกราคม 2551
19. เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู เจ้าหนี้เงินจองและเงินมัดจำ
เจ้าหนี้มีประกัน เจ้าหนี้ ไม่มีประกัน หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี สุทธิ
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 144 132,335 515,931 648,410 (648,410 ) -
144 132,335 515,931 648,410 - 648,410
ตามที่ระบุไว้ ในแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทฯ จะสามารถชำระคืนเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูดังกล่าว ภายในเดือน ตุลาคม 2551 โดยมีอัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูบางส่วนจำนวนเงินประมาณ 422.4 ล้านบาท เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ และจำนวนเงิน ประมาณ 8.9 ล้านบาท เป็นผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทฯ
104
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
20. หุ้นกู้ หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2547 ชุดที่ 3 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2549 รวม หัก : ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึงกำหนดภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 - 350,000 450,000 450,000 450,000 800,000 (450,000 ) (350,000 ) - 450,000
หุ้นกู้ดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2547 ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้ 1) หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2547 ชุดที่ 3 บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้ชนิดมีหลักประกัน เสนอขายให้แก่สถาบันการเงินและประชาชนทั่วไป จำนวน 350,000 หน่วย ราคาตามมูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 350 ล้านบาท ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้ ไถ่ถอนหุ้นกู้ดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว 2) หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2549 บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้ชนิดมี ห ลั ก ประกั น เสนอขายให้ แ ก่ ส ถาบั น การเงิ น และประชาชนทั่ ว ไปจำนวน 450,000 หน่วย ราคาตามมูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 450 ล้านบาท อายุ 2 ปี มีกำหนดไถ่ถอน ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 กำหนดจ่ายดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 6.65 ต่อปี ปีละสองครั้ง นับจากวันออกหุ้นตลอดอายุหุ้นกู้ และมีเงื่อนไขเกี่ยวกับการดำรงอัตราส่วนของหนี้สินต่อทุน อัตราการ จ่ายเงินปันผล และสัดส่วนมูลค่าหลักประกันต่อมูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่บริษัทฯ ต้องปฏิบัติตาม เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 บริษัทฯ ได้ ไถ่ถอนหุ้นกู้ดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว บริษัทฯ ได้จดจำนองที่ดินบางส่วนของบริษัทฯ เพื่อเป็นหลักประกันหุ้นกู้ตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 12
105
รายงานประจำปี 2550
เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2549 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2549 ได้มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ ออกและ เสนอขายหุ้นกู้ภายในวงเงินไม่เกิน 1,200 ล้านบาท หุ้นกู้ดังกล่าวเป็นหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิ มีหลักประกันชนิดทยอยคืนเงินต้น หรือคืนเงินต้นครั้งเดียวเมื่อครบกำหนดไถ่ถอน มีอายุไม่เกิน 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ เสนอขายในประเทศต่อประชาชน ทั่วไป และ/หรือนักลงทุนประเภทสถาบัน และ/หรือนักลงทุนเฉพาะเจาะจงทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งอาจแบ่งเป็นการเสนอ ขายเป็นครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ ได้ ซึ่งขณะนี้บริษัทฯ ยังไม่ ได้ดำเนินการออกและเสนอขายหุ้นกู้แต่อย่างใด เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2550 ได้มีมติให้บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด (“ไบรท์ฯ”) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ออกและเสนอขายหุน้ กูม้ ปี ระกันให้กบั นักลงทุนต่างประเทศรายหนึง่ ภายในวงเงินรวมไม่เกิน 462,150,000 บาท อายุ 12 เดือน นับจากวันออกหุ้นกู้ โดยมีอัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย
เงินกูย้ มื ขัน้ ต่ำ (MLR) และค้ำประกันโดยบริษทั ฯ และการจดจำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษทั ฯ และไบรท์ฯ และการจำนำหุ้นสามัญของไบรท์ฯ ปัจจุบนั ไบรท์ฯ ได้รบั อนุมตั ใิ ห้เสนอขายหุน้ กูด้ งั กล่าวจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ตาม ไบรท์ฯยังไม่ ได้ดำเนินการออกและเสนอขายหุ้นกู้แต่อย่างใด
21. หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ
เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจำนวน 200,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 100 เหรียญสหรัฐฯ มูลค่ารวม 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ให้กับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง ตามที่ ได้รับอนุมัติ จากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 โดยเริ่มใช้สิทธิแปลงสภาพได้ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2550 และจะครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 หุ้นกู้ดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.50 ต่อปี โดยใช้อัตรา แปลงสภาพ 1 หุ้นกู้ต่อ 658.4 หุ้นสามัญ หรือคิดเป็นราคาหุ้นละ 6.25 บาท สำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ ไม่ ได้ ใช้สิทธิแปลงสภาพจะ ชำระคืนเป็นจำนวน 131.60 เหรียญสหรัฐฯ ต่อหน่วย โดยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้ที่ 41.15 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ซึ่ง บริษัทฯ ได้บันทึกสำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ ไม่ ได้ ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ โดยแยกแสดง เป็นรายการต่างหากไว้ ในงบดุล หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพมีข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ
106
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
22. เงินกู้ยืมระยะยาว
บริษัทฯ เงินกู้ยืมระยะยาวประกอบด้วย เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ 3 แห่ง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) วงเงิน 1,000 ล้านบาท 2) วงเงิน 793 ล้านบาท 3) วงเงิน 660 ล้านบาท 4) วงเงิน 515 ล้านบาท
ยอดคงเหลือ อัตราดอกเบี้ยต่อปี 2550 2549 (ล้านบาท) - 177.9 - 365.5
141.2 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 263.7 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 196.7 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 331.8 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR)
เงื่อนไข หลักประกันเงินกู้ยืม การชำระคืนเงินต้น ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 60 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กับธนาคาร ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 65 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายใน เดือนมิถุนายน 2551 ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 70 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กับธนาคาร ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 65 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายใน เดือนกุมภาพันธ์ 2553
ค้ำประกันโดยกรรมการของ บริษทั ฯ และการจดจำนอง ที่ ดิ น พร้ อ มสิ่ ง ปลู ก สร้ า ง ในโครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ ค้ำประกันโดยการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ ค้ำประกันโดยกรรมการของ บริษทั ฯ และการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ ค้ำประกันโดยกรรมการของ บริษทั ฯ และการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ
107
รายงานประจำปี 2550
5) วงเงิน 1,200 ล้านบาท 6) วงเงิน 275 ล้านบาท 7) วงเงิน 742 ล้านบาท 8) วงเงิน 1,070 ล้านบาท
108
ยอดคงเหลือ อัตราดอกเบี้ยต่อปี 2550 2549 (ล้านบาท) 464.1 - 452.8 95.2
638.9 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 58.4 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 634.9 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 663.6 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR)
เงื่อนไข หลักประกันเงินกู้ยืม การชำระคืนเงินต้น ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 60 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กบั ธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายใน เดือนเมษายน 2554 ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 65 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กับธนาคาร ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 85 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กบั ธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายใน เดือนมิถุนายน 2552 ชำระคื น เมื่ อ มี ก ารปลอด จ ำ น อ ง ค อ น โ ด มิ เ นี ย ม แต่ละห้องในอัตราร้อยละ 80 ของราคาขาย และ ชำระคืนส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมด ภายในเดื อ นพฤษภาคม 2552
ค้ำประกันโดยบริษทั อืน่ และ การจดจำนองที่ ดิ น ของ บริ ษั ท อื่ น และที่ ดิ น พร้ อ ม สิ่ ง ปลู ก สร้ า งในโครงการ ของบางส่ ว นของบริ ษั ท ฯ และหุ้ น ของบริ ษั ท ฯ ที่ ถื อ โดยผู้ถือหุ้นรายหนึ่ง ค้ำประกันโดยกรรมการของ บริษัทฯ และการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ ค้ำประกันโดยกรรมการของ บริษัทฯ และการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ ค้ำประกันโดยการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
9) วงเงิน 1,249 ล้านบาท 10) วงเงิน 130 ล้านบาท 11) วงเงิน 1,280 ล้านบาท
ยอดคงเหลือ อัตราดอกเบี้ยต่อปี 2550 2549 (ล้านบาท) 480.2 539.3 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 15.8 - อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 583.1 - อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR)
เงื่อนไข หลักประกันเงินกู้ยืม การชำระคืนเงินต้น วงเงินจำนวน 400 ล้าน บาท ชำระคื น เงิ น ต้ น ภายในเดื อ นสิ ง หาคม 2550 และวงเงิ น ส่ ว นที่ เหลื อ จำนวน 849 ล้ า น บาท ชำระคื น เมื่ อ มี ก าร ไถ่ ถ อนโฉนดที่ ดิ น พร้ อ ม บ้ า นทาวน์ เ ฮ้ า ส์ แ ต่ ล ะ หลั ง ในอั ต ราร้ อ ยละ 70 ของราคาขายและชำระ คื น ส่ ว นที่ เ หลื อ ทั้ ง หมด ภายในเดื อ นสิ ง หาคม 2554 ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดที่ดินในอัตราไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 70 ของราคา ขายในแต่ละแปลงโดยไม่ ต่ำกว่าจำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้ แ จ้ ง ไว้ กั บ ธนาคาร และชำระคืนส่วนที่เหลือ ทั้ ง ห ม ด ภ า ย ใ น เ ดื อ น เมษายน 2552 ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดที่ดินในอัตราไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 65 ของราคา ขายในแต่ละแปลงโดยไม่ ต่ำกว่าจำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้งไว้กับธนาคารและ ช ำ ร ะ คื น ส่ ว น ที่ เ ห ลื อ ทั้ ง ห ม ด ภ า ย ใ น เ ดื อ น กรกฎาคม 2553
ค้ำประกันโดยการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ ค้ ำ ประกั น โดยการจดจำ นองที่ ดิ น พร้ อ มสิ่ ง ปลู ก สร้างในโครงการบางส่วน ของบริษัทฯ ค้ำประกันโดยการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ
109
รายงานประจำปี 2550
12) วงเงิน 628 ล้านบาท 13) วงเงิน 430 ล้านบาท รวม หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี สุทธิ
110
ยอดคงเหลือ อัตราดอกเบี้ยต่อปี 2550 2549 (ล้านบาท)
212.7 - 159.6 - 3,006.9 3,468.5 (458.1) (940.9) 2,548.8 2,527.6
อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR)
เงื่อนไข หลักประกันเงินกู้ยืม การชำระคืนเงินต้น ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 75 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายใน เดือนพฤษภาคม 2554 ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดทีด่ นิ ในอัตราไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 75 ของราคาขาย ในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ่ กว่า จำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯ ได้แจ้ง ไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายใน เดือนเมษายน 2553
ค้ำประกันโดยกรรมการของ บริษทั ฯ และการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ ค้ำประกันโดยการจดจำนอง ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
บริษัทย่อย เงินกู้ยืมระยะยาวประกอบด้วยเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ 2 แห่ง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) วงเงิน 364 ล้านบาท 2) วงเงิน 887 ล้านบาท 3) วงเงิน 10 ล้านบาท รวม หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี สุทธิ
ยอดคงเหลือ อัตราดอกเบี้ยต่อปี 2550 2549 (ล้านบาท) 206.2 284.8 9.6 500.6 (4.9) 495.7
177.5 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) 462.9 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR) - อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตรา ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ ยื ม ขั้ น ต่ ำ (MLR)
640.4
เงื่อนไข หลักประกันเงินกู้ยืม การชำระคืนเงินต้น ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดที่ดินในอัตราไม่ต่ำ กว่า ร้อยละ 60 ของราคา ขายในแต่ละแปลงโดยไม่ ต่ำกว่าจำนวนเงินที่บริษัท ย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคาร และชำระคืนส่วนที่เหลือ ทั้ ง ห ม ด ภ า ย ใ น เ ดื อ น มีนาคม 2553 ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอน โฉนดที่ดินในอัตราไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 60 ของราคา ขายในแต่ละแปลงโดยไม่ ต่ำกว่าจำนวนเงินที่บริษัท ย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคาร และชำระคืนส่วนที่เหลือ ทั้ ง ห ม ด ภ า ย ใ น เ ดื อ น เมษายน 2553 ชำระคื น เงิ น ต้ น พร้ อ ม ดอกเบี้ ย เป็ น รายงวด จำนวนทั้ ง หมด 24 งวด โดยไม่ น้ อ ยกว่ า งวดละ 465,000 บาท และจะต้อง ชำระทั้งหมดภายในเดือน ธันวาคม 2552
ค้ำประกันโดยบริษทั ฯ และ กรรมการของบริ ษั ท ย่ อ ย และการจดจำนองที่ ดิ น พร้ อ มสิ่ ง ปลู ก สร้ า งใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทย่อย ค้ำประกันโดยบริษทั ฯ และ กรรมการของบริ ษั ท ย่ อ ย และการจดจำนองที่ ดิ น พร้ อ มสิ่ ง ปลู ก สร้ า งใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทย่อย ค้ำประกันโดยบริษทั ฯ และ กรรมการของบริ ษั ท ย่ อ ย และการจดจำนองที่ ดิ น พร้ อ มสิ่ ง ปลู ก สร้ า งใน โครงการบางส่ ว นของ บริษัทฯ
- 640.4
111
รายงานประจำปี 2550
ยอดคงเหลือของเงินกู้ยืมระยะยาวมีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้
เงินกู้ยืมระยะยาว หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งปี
งบการเงินรวม 2550 2549
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549
3,507.5 (463.0 )
4,108.9 (940.9 )
3,006.9 (458.1 )
3,468.5 (940.9 )
3,044.5
3,168.0
2,548.8
2,527.6
สัญญากู้ยืมเงินส่วนใหญ่ ได้ระบุข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีวงเงินกู้ยืมระยะยาวตามสัญญาเงินกู้ที่ยังมิได้เบิกใช้ เป็นจำนวน 3,003.5 ล้านบาท
23. ทุนเรือนหุ้น
วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ มีทุนที่ออกและชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,724,947,164 บาท (หุ้นสามัญ 787,491,194 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญ แสดงสิทธิในเดือนธันวาคม 2549 และ มิถุนายน 2550 เป็นจำนวนเงินรวม 29,612,874 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 4,935,479 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 6 บาท) บริษทั ฯ ได้ดำเนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สทิ ธิ ตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2550 และ 11 กรกฎาคม 2550 ต่อมาเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2551 บริษัทฯ ได้ดำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์สำหรับการ ใช้สทิ ธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 1,162,956 บาท (หุน้ สามัญจำนวน 193,826 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 6 บาท) ตามที่ กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 24
24. ใบสำคัญแสดงสิทธิ
จำนวน (หน่วย) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 9,182,202 ใช้สิทธิในระหว่างปี (273,026 ) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 8,909,176 ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิหุ้นละ 0.01 บาท และมีอายุ 10 ปี นับจากวันที่ 7 พฤศจิกายน 2545 และมีกำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิทุกวันสุดท้ายของไตรมาสที่ 2 และไตรมาสที่ 4 ของปี
112
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ในระหว่างปี 2549 และ 2550 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มมี ติเห็นชอบให้ยกเลิกใบสำคัญแสดงสิทธิที่ จะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ทีจ่ ะออกให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษทั ฯ ในวงจำกัด (ESOP) เป็นจำนวน 39,000,000 หน่วย ในเดือนธันวาคม 2549 และมิถุนายน 2550 บริษัทฯ ได้รับเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจำนวน 4,935,479 หุ้น ราคาหุ้นละ 0.01 บาท รวมเป็นเงิน 49,355 บาท บริษัทฯ ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 29,612,874 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อ
วั น ที่ 11 มกราคม 2550 และ 11 กรกฎาคม 2550 ทำให้ ส่ ว นต่ ำ กว่ า มู ล ค่ า หุ้ น เพิ่ ม ขึ้ น รวมเป็ น จำนวนทั้ ง สิ้ น 42,713,192 บาท ในเดือนธันวาคม 2550 บริษัทฯ ได้รับเงินล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุ้นสามัญจำนวน 193,826 หุ้น ราคาหุ้นละ 0.01 บาท รวมเป็นเงิน 1,938 บาท บริษัทฯ ได้จดทะเบียนเพิ่มทุน จากการใช้สิทธิดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 1,162,956 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2551
25. สำรองตามกฎหมาย
เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต้องจัดสรรกำไร สุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่ สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้
26. จำนวนและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน จำนวนพนักงาน ณ วันสิ้นปี (คน)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานสำหรับปี (ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2550 2549
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549
532 320.9
439 270.6
497 240.9
411 208.8
27. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
บริษัทฯ บริษัทย่อย และพนักงาน ได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ บริษัทย่อย และพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตรา ร้อยละ 3 ถึง 10 ของเงินเดือน กองทุนสำรองเลีย้ งชีพนีบ้ ริหารโดย บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ พนักงานนัน้ ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ในระหว่าง ปีปัจจุบัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็นจำนวนเงิน 13.3 ล้านบาท (2549: 12.0 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 11.5 ล้านบาท (2549: 10.9 ล้านบาท))
28. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ในระหว่างปี บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการ ธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ และบริษัทเหล่านั้น ซึ่งเป็นไป ตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ 113
รายงานประจำปี 2550
รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายในการบริหารสโมสร รายการธุรกิจกับบริษัทร่วม ดอกเบี้ยรับ
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 2550 2549 - - - - 0.5 4.5
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 13.1 14.3 8.4 10.8 0.5 4.5
นโยบายการกำหนดราคา
ร ้อยละ 7 ถึง 9 ต่อปี ตามสัญญา ร้อยละ 15 ต่อปี (อัตราผิดนัด)
ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2550 2549 เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด - - เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - - เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด - - บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด - - - - ดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด - - บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด - - - - เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทย่อย - - เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วม บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) - 56,091 - 56,091 ดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทร่วม บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) - 66,211 หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - (57,303 ) - 8,908 เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทร่วม - สุทธิ - 64,999
114
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 81,500 - 81,500 - 241,453 94,376 4,362 - 245,815 94,376 1,250 4,651 9 - 1,259 4,651 247,074 99,027 - 56,091 - 56,091 - 66,211 - (57,303 ) - 8,908 -
64,999
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม 2550 2549
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549
เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เรียลเซอร์วิส จำกัด - 2,298 - 2,298 - 2,298 - 2,298 ดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เรียลเซอร์วิส จำกัด - 2,612 - 2,612 หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - (2,494 ) - (2,494 ) - 118 - 118 เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับจากบริษัท ที่เกี่ยวข้องกัน- สุทธิ - 2,416 - 2,416 เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน และดอกเบี้ยค้างรับ - สุทธิ - 67,415 247,074 166,442 เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วสิ เซส จำกัด - - 977 1,738 บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด - - 80,000 - เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - - 80,977 1,738 เงินทดรองจากกรรมการ กรรมการ 80,000 - - - เงินทดรองจากกรรมการ 80,000 - - -
115
รายงานประจำปี 2550
ในระหว่ างปี 2550 เงิ นให้กู้ยืมแก่ บริษัทที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ ในระหว่างปี 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น ลดลง บริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด 94,376 150,600 (3,523) บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด - 4,362 - บริษัทร่วม บริษัท กรุงเทพบ้านและทีด่ นิ จำกัด (มหาชน) 56,091 - (56,091) บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เรียลเซอร์วิส จำกัด 2,298 - (2,298)
(หน่วย : พันบาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 241,453 4,362 - -
ภาระค้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯ มีภาระจากการค้ำประกันให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 32.3
29. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
บริษัทฯ ไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับปี เนื่องจากบริษัทฯ มีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปีก่อน
30. กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ หุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี กำไรต่อหุ้นปรับลดคำนวณโดยหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยผลรวมของจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ ออกอยู่ ในระหว่างปีกับจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯ อาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่า ปรับลดทัง้ สิน้ ให้เป็นหุน้ สามัญ โดยสมมติวา่ ได้มกี ารแปลงเป็นหุน้ สามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุน้ สามัญเทียบเท่า
116
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
การกระทบยอดระหว่างกำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและกำไรต่อหุ้นปรับลด แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: บาท)
งบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย กำไรสุทธิ ถ่วงน้ำหนัก (หุ้น) กำไรต่อหุ้น 2550 2549 2550 2549 2550 2549 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิ 411,606,819 11,992,903 787,454,478 782,585,426 0.523 0.015 ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 8,909,176 หน่วย (2549 : ใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 9,182,202 หน่วย) - - 9,114,330 13,898,640 กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมุติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ 411,606,819 11,992,903 796,568,808 796,484,066 0.517 0.015
(หน่วย: บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ถ่วงน้ำหนัก (หุ้น) กำไรต่อหุ้น 2550 2549 2550 2549 2550 2549
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 8,909,176 หน่วย (2549 : ใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 9,182,202 หน่วย) กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมุติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ
(ปรับปรุงใหม่)
368,780,745 (9,951,872) 787,454,478 782,585,426 - 9,114,330 368,780,745 796,568,808
0.468
(ปรับปรุงใหม่)
(0.013) 0.463
117
รายงานประจำปี 2550
เนื่ องจากหุ้น กู้ ไม่ ด้ อยสิท ธิ แ ปลงสภาพมี ผ ลทำให้ ก ำไรต่ อ หุ้ น ในงบการเงิ น รวมสำหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั นที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 และงบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่นำผลของหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพดังกล่าวมารวมคำนวณเพื่อหากำไรต่อหุ้นปรับลดในงบการเงิน รวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 และงบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 นอกจากนี้ ใบสำคัญแสดงสิทธิและหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพมีผลทำให้ขาดทุนต่อหุ้นในงบการเงินเฉพาะ กิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ลดลง ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่นำผลของใบสำคัญแสดงสิทธิและหุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพดังกล่าวมารวมคำนวณเพื่อหากำไรต่อหุ้นปรับลดในงบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2549
31. เงินปันผล
เงินปันผลที่ประกาศจ่ายในปี 2549 มีรายละเอียดดังนี้ อนุมัติโดย เงินปันผลจ่าย เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น เงินปันผลจ่ายจากกำไรสะสมของ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ปี 2548 เมื่อวันที่ 28 เมษายายน 2549 273.9 ล้านบาท 0.35 บาท
32. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
32.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ก) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาก่อสร้างโครงการบ้านพร้อมทีด่ นิ และคอนโดมิเนียม ที่ ได้ทำสัญญากับผู้รับเหมาไว้แล้วเป็นจำนวนเงินประมาณ 1,001.3 ล้านบาท ข) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันทีเ่ กีย่ วข้องกับการซือ้ ทีด่ นิ เป็นจำนวนเงินประมาณ 541.6 ล้านบาท ค) บริษัทฯ มีภาระผูกพันที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนเงิน ประมาณ 17.1 ล้านบาท ง) บริษัทฯ มีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาจ้างการให้บริการก่อสร้างโครงการบ้านพักอาศัยโดยใช้ระบบ ชิ้นส่วนสำเร็จรูปเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 300 หลัง ซึ่งถ้าบริษัทฯ มอบหมายให้ผู้รับเหมาทำการ ก่อสร้างบ้านเป็นจำนวนน้อยกว่า 300 หลัง บริษัทฯ ต้องจ่ายค่าชดเชยจำนวนหนึ่งตามที่ระบุไว้ ใน สัญญา 32.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำเนินงาน ก) บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าพื้นที่สำนักงาน ที่ดินและสัญญาบริการ ต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ล้านบาท จ่ายชำระภายใน 1 ปี 19.8 มากกว่า 1 ปี 15.5
118
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ข) บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าป้ายโฆษณาซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ล้านบาท จ่ายชำระภายใน 1 ปี 25.5 มากกว่า 1 ปี 1.5 32.3 การค้ำประกัน ก) บริษทั ฯ ค้ำประกันวงเงินกูแ้ ละวงเงินสินเชือ่ ให้แก่บริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ในวงเงิน 1,441 ล้านบาท และ 30 ล้านบาท ตามลำดับ ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนังสือค้ำประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนาม บริษัทฯ และบริษัทย่อยเหลืออยู่เป็นจำนวน 556.0 ล้านบาท ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติ บางประการตามปกติธรุ กิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วยหนังสือค้ำประกันเพือ่ ค้ำประกัน งานสาธารณูปโภคจำนวน 331.0 ล้านบาท และเพื่อค้ำประกันหุ้นกู้จำนวน 225.0 ล้านบาท
33. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน
บริษัทฯ และบริษัทย่อยดำเนินกิจการในส่วนงานหลักทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และ ดำเนินธุรกิจในส่วนงานหลักทางภูมิศาสตร์เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้น รายได้ กำไรและสินทรัพย์ทั้งหมดที่แสดง ในงบการเงินจึงเกี่ยวข้องกับส่วนงานทางธุรกิจและส่วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้
34. เครื่องมือทางการเงิน
34.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯ ตามที่นิยามอยู่ ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดง รายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้
สินทรัพย์ทางการเงิน • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • ลูกหนี้การค้า - สุทธิ • เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน • เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ • เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน • เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ • ลูกหนี้ค่าที่ดิน • เงินลงทุนในบริษัทย่อย • เงินลงทุนในบริษัทร่วม • เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ • เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน
หนี้สินทางการเงิน • เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน • เงินกู้ยืมจากบริษัทอื่น • เจ้าหนี้การค้า • เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน • เงินทดรองจากกรรมการ • เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า • เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู • หุ้นกู้ • หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ • เงินกู้ยืมระยะยาว • เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจากสัญญาเช่าช่วง
119
รายงานประจำปี 2550
120
บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวและมีนโยบายในการ บริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้า เงินทดรอง เงินให้กยู้ มื และลูกหนี้ค่าที่ดิน ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้ โดยการกำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุม
สินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจาก การให้สินเชื่อ นอกจากนี้การให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชือ่ คือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนีก้ ารค้า เงินทดรอง เงินให้กู้ยืมและลูกหนี้ค่าที่ดินที่แสดงอยู่ ในงบดุล ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินให้กู้ยืม เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมจากบริษัทอื่น เจ้าหนี้ตาม แผนฟื้นฟู หุ้นกู้ หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพและเงินกู้ยืมระยะยาว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และ หนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียง กับอัตราตลาดในปัจจุบัน ดังนั้นความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีส่ ำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีย้ และสำหรับสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีส่ ามารถแยกตามวันทีค่ รบกำหนด หรือวันที่ มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
(หน่วย: ล้านบาท)
งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ภายใน มากกว่า มากกว่า ปรับขึ้นลง ไม่มีอัตรา อัตรา 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคา ดอกเบี้ย รวม ดอกเบี้ย ตลาด (ร้อยละต่อปี) สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - - - 416.5 7.5 424.0 0.125% - 0.75% ลูกหนี้การค้า - สุทธิ - - - - 33.5 33.5 - เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ - - - - 32.9 32.9 - เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน 226.1 - - - - 226.1 0.125% - 2.25% ลูกหนี้ค่าที่ดิน - - - - 35.4 35.4 - เงินลงทุนในบริษัทร่วม - - - - 401.4 401.4 - เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ - - - - 5.0 5.0 - เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน - - - - 151.5 151.5 - 226.1 - - 416.5 667.2 1309.8 หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น MOR, MMR, จากสถาบันการเงิน - - - 321.6 - 321.6 MLR, MLR-1 เงินกู้ยืมจากบริษัทอื่น 10.0 - - - - 10.0 6.00% เจ้าหนี้การค้า - - - - 420.0 420.0 - เงินทดรองจากกรรมการ - - - - 80.0 80.0 - เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า - - - - 218.6 218.6 - เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู - - - 648.4 - 648.4 MLR หุ้นกู้ 450.0 - - - - 450.0 6.65% หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - 805.9 - - - 805.9 9.56% เงินกู้ยืมระยะยาว - - - 3,507.5 - 3,507.5 MLR เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจาก สัญญาเช่าช่วง - - - - 61.1 61.1 - 460.0 805.9 - 4,477.5 779.7 6,523.1
121
รายงานประจำปี 2550
(หน่วย: ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ภายใน มากกว่า มากกว่า ปรับขึ้นลง ไม่มีอัตรา อัตรา 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคา ดอกเบี้ย รวม ดอกเบี้ย ตลาด (ร้อยละต่อปี) สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - - - 391.7 5.9 397.6 0.125% - 0.75% ลูกหนี้การค้า - สุทธิ - - - - 32.5 32.5 - เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - - - - 81.5 81.5 - เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ - - - - 32.9 32.9 - เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน 226.1 - - - - 226.1 0.125% - 2.25% เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ - - - 247.1 - 247.1 8.03% - 8.69% ลูกหนี้ค่าที่ดิน - - - - 35.4 35.4 - เงินลงทุนในบริษัทย่อย - - - - 541.1 541.1 - เงินลงทุนในบริษัทร่วม - - - - 360.0 360.0 - เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ - - - - 5.0 5.0 - เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน - - - - 22.0 22.0 - 226.1 - - 638.8 1,116.3 1,981.2 หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น MOR, MMR, จากสถาบันการเงิน - - - 306.6 - 306.6 MLR เจ้าหนี้การค้า - - - - 374.9 374.9 - เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - - - - 81.0 81.0 - เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า - - - - 216.5 216.5 - เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู - - - 648.4 - 648.4 MLR หุ้นกู้ 450.0 - - - - 450.0 6.65% หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - 805.9 - - - 805.9 9.56% เงินกู้ยืมระยะยาว - - - 3,006.9 - 3,006.9 MLR เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจาก สัญญาเช่าช่วง - - - - 61.1 61.1 - 450.0 805.9 - 3,961.9 733.5 5,951.3
122
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
34.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจัดอยู่ ในประเภทระยะสั้น หรือมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมี ความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ ไม่มี ความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะ กำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม
35. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ในงบการเงิน
เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงินที่สำคัญมีรายละเอียดดังนี้ 1) เมือ่ วันที่ 21 มกราคม 2551 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค (“กองทุนฯ”) ได้จดทะเบียน ทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์กับสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยมีมลู ค่าหน่วยลงทุนเป็นจำนวน 520 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้ลงทุนในกองทุนฯ เป็นจำนวนเงิน 29.8 ล้านบาท (2,980,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 10 บาท) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.73 ของมูลค่าหน่วยลงทุน บริษัทฯ ได้ทำสัญญาขายอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯ ให้แก่กองทุนฯ ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551โดยได้รับ ค่าตอบแทนเป็นจำนวนเงิน 510 ล้านบาท ตามทีร่ ะบุในสัญญาดังกล่าว บริษทั ฯ ตกลงรับประกันรายได้ขนั้ ต่ำ ของกองทุนฯ (รายได้จากการเช่าและค่าบริการก่อนหักค่าใช้จ่าย) เป็นจำนวนเงิน 55 ล้านบาทต่อปี เป็น ระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 อย่างไรก็ตามการรับประกันรายได้ขั้นต่ำขึ้นอยู่ กับสัดส่วนของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่คงเหลือต่อมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนฯ ลงทุนครั้งแรก โดย คำนวณมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ จ ากการประเมิ น ค่ า ทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ ลงทุ น ครั้ ง แรกโดยบริ ษั ท ประเมิ นราคา นอกจากนี้ บริษัทฯ จะวางหนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัทฯ เพื่อค้ำประกันต่อกองทุนฯ อีกด้วย ทั้งนี้ บริษัทฯ ตกลงรับผิดชอบค่าใช้บริการสาธารณะและสาธารณูปโภคส่วนกลางของอสังหาริมทรัพย์ ของกองทุนฯ เป็นระยเวลา 3 ปี และบริษทั ฯ ยังได้รบั การแต่งตัง้ จากกองทุนฯให้เป็นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ ของกองทุนฯเป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2) เมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2551 บริษทั ร่วมได้ออกหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ ชนิดระบุชอื่ ผูถ้ อื และไม่มหี ลักประกัน ระยะเวลา 5 ปี จำนวน 188,806 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา มูลค่ารวม 18,880,600 เหรียญ สหรัฐอเมริกา ให้แก่บริษทั ต่างประเทศแห่งหนึง่ ตามที่ ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมวิสามัญ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ร่วม ครั้งที่ 1/2551เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 หุ้นกู้ดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปีหรืออัตราเงินปันผล ตอบแทนตามเงื่อนไขของหุ้นกู้แปลงสภาพ (แล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า) หุ้นกู้แปลงสภาพนี้ครบกำหนด ไถ่ถอนในวันที่ 31 มกราคม 2556 โดยเริ่มใช้สิทธิแปลงสภาพได้ทุก 3 เดือน ภายหลังจากการนำหุ้นของ
123
รายงานประจำปี 2550
3) 4)
บริษทั ร่วมเข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ หรือครบรอบ 1 ปี นับแต่วันออกหุ้นกู้แปลงสภาพ (แล้วแต่ระยะเวลาใดจะถึงก่อน) ที่ราคา แปลงสภาพ 13.85 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ โดยมูลค่าการไถ่ถอนหุ้นกู้แปลงสภาพที่คงค้างต่อหน่วยเท่ากับ 1.311651 เท่าของมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นกู้แปลงสภาพต่อหน่วยที่เทียบเท่ากับเงินบาท ในกรณีที่บริษัทร่วม ไม่มีการชำระดอกเบี้ยแก่ผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพ ทั้งนี้มูลค่าการไถ่ถอนดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่ กับการจ่ายดอกเบี้ยในระหว่างอายุของหุ้นกู้แปลงสภาพ อย่างไรก็ตาม บริษัทร่วมจะทำการจ่ายดอกเบี้ย เฉพาะในปีที่บริษัทร่วมมีการประกาศจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นโดยจะทำการจ่ายทุก 6 เดือน เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติเห็นชอบให้เสนอการจ่ายเงินปันผลจาก การดำเนินงานปี 2550 ให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.24 บาท รวมเป็นเงิน 189.0 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ ออกและเสนอขาย หุ้นกู้ภายในวงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท มีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ ปัจจุบันผู้บริหารของ บริษัทฯ อยู่ระหว่างการพิจารณารายละเอียดในการออกและเสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าว
36. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน
นอกจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 ซึ่งมีผลกระทบ ต่อกำไรสุทธิและส่วนของผู้ถือหุ้นตามที่ ได้รายงานไปแล้ว บริษัทฯ ได้มีการจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการใน งบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชี ในปีปัจจุบัน ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อกำไรสุทธิหรือส่วนของผู้ถือหุ้นนอกเหนือไปจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว
37. การอนุมัติงบการเงิน
124
งบการเงินนี้ ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน งบการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี ทีก่ ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการในงบการเงินได้ทำขึน้ เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อกำหนด ในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 รวมทัง้ การปรับปรุงวิธีปฏิบัติตามสภาวิชาชีพบัญชี ได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผูบ้ ริหาร เป็นผูด้ แู ลรับผิดชอบ เกี่ยวกับการรายงานทางการเงินว่า มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง มีการเปิดเผยข้อมูลใน งบการเงินอย่างเพียงพอและทันเวลา รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายในกำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน และความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ ในรายงานประจำปี คณะกรรมการบริษัท รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย ที่จัดทำขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน รายได้ ค่าใช้จ่ายและกระแสเงินสดรวมที่เป็นจริงและ สมเหตุสมผล โดยได้จัดให้มีการบันทึกบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอที่รักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน รวมทั้งมีระบบการควบคุม ภายในการป้องกันการทุจริตและการดำเนินงานที่ผิดปกติ และในการจัดทำรายงานทางการเงิน ได้มีการพิจารณาเลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สะท้อนผลการดำเนินงานที่เป็นจริงของบริษัทเป็นไปตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไปรวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่ง ผู้ตรวจสอบบัญชี ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ใน รายงานผู้สอบบัญชี (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) (นายชายนิด โง้วศิริมณี) ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
125
รายงานประจำปี 2550
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบปี 2550 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน โดยมี ดร.ธวัชชัย นาคะตะ เป็นประธาน ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย และ นายสมศักดิ์ โตรักษา เป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ได้ขอลาออกจากการเป็นประธานกรรมการตรวจสอบ โดยจะขอ รับตำแหน่งประธานกรรมการเพียงตำแหน่งเดียวเพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2550 ได้มีมติแต่งตั้งนายวีระยุค พันธุเพชร ให้ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการตรวจสอบ มีผลตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2550 ในรอบปี 2550 คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามขอบเขตความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ โดยได้จัดให้มีการประชุม 7 ครั้ง โดยเป็นการประชุมร่วมกับฝ่ายจัดการเพื่อให้ฝ่ายจัดการนำเสนอ ผลการดำเนินงาน การบริหารความเสี่ยง ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน โดยสามารถสรุปกิจกรรมที่สำคัญของคณะ กรรมการตรวจสอบได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจำปี และงบการเงินรวมของบริษทั ฯ ประจำปี 2550 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินร่วมกับผู้บริหารและผู้สอบบัญชีเพื่อให้มั่นใจได้ว่างบการเงินได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้อง เหมาะสม มีการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง ระบบบัญชีมคี วามถูกต้องน่าเชือ่ ถือ ดูแลให้ มีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอและทันเวลา เพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนและผู้ ใช้งบการเงินในการ ตัดสินใจลงทุน 2. สอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการประเมินความเสี่ยงของบริษัทฯ ให้ ความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรการในการจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ ในระดับองค์กร ประเมินปัจจัยความเสี่ยงของ ธุรกิจในภาพรวมเพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯ สามารถบริหารความเสี่ยงให้ลดลงอยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ และสามารถ บรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ 3. สอบทานการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้กำกับดูแลให้บริษัทฯมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ รวมถึงสอบทาน รายการทีม่ คี วามเกีย่ วโยงกันหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยแสดงความเห็นว่ารายการดังกล่าวได้ดำเนินการ อย่างสมเหตุสมผล คำนึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหุ้น เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเป็นรายการที่ดำเนินการตามเงื่อนไขทางธุรกิจ ปกติ 4. สอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุม ภายในทีเ่ หมาะสม มีการดำเนินงานเพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ของการควบคุมภายในในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการใช้ ท รั พ ยากร มี ร ะบบการป้ อ งกั น เพื่ อ ลดความผิ ด พลาด ความเสี ย หาย และการสิ้ น เปลื อ งจากการใช้ ทรัพยากรของบริษัทฯ รายงานทางการเงินมีความน่าเชื่อถือ ซึ่งผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ได้ ให้ความเห็นสอดคล้อง กันว่าผลการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ไม่พบข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระสำคัญทีจ่ ะกระทบต่อความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือของงบการเงินของบริษัทฯ
126
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
5.
6.
7. 8.
กำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงานตรวจสอบประจำปี ของสำนักตรวจสอบภายใน รับทราบรายงานผลการประเมินระบบการควบคุมภายในประจำปี 2550 ตามแผนงานที่ ได้รับอนุมัติไว้ กำกับดูแลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลเพียงพอกับ ระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป กำหนดภารกิจในการตรวจสอบเพือ่ มุง่ เน้น ในเชิงป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงมีการติดตามให้บริษัทฯ มีการดำเนินการแก้ ไขตามข้อเสนอแนะ ในรายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายในในประเด็นที่มีนัยสำคัญ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการ สื่อสารในด้านความสำคัญและบทบาทของคณะกรรมการตรวจสอบและหน่วยงานตรวจสอบภายในให้กับผู้บริหาร ทุ ก หน่ ว ยงานในบริ ษั ท ฯรั บ ทราบเพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจอั น ดี แ ละพั ฒ นาการปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบภายในให้ มี ประสิทธิผลยิ่งขึ้น สอบทานระบบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีการสอบทาน ผลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ เพี่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯ มีการปฏิบัติตามเป้าหมายที่วางไว้ และมีการปรับปรุงแก้ ไข การดำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และสนับสนุนให้บริษัทฯ กำหนดวิธีการวัดผลการ ปฏิบัติงานหรือตัวชี้วัดผลการดำเนินงานให้ชัดเจนยิ่งขึ้น รวมถึงสอบทานให้บริษัทฯมีการติดตามการปฏิบัติตามระบบ การควบคุมภายในอย่างต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการปฏิบัติงานตามปกติของฝ่ายบริหาร ตลอดจน ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง นำเสนอข้อมูลทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ทั้งจากภายในประเทศและต่างประเทศ และ ให้ขอ้ เสนอแนะแก่บริษทั ฯในด้านการเงิน ด้านการบัญชี ด้านกฎหมาย และด้านวิศวกรรม เพือ่ ให้บริษทั บรรลุเป้าหมาย ทางธุรกิจที่กำหนดไว้ พิจารณา คัดเลือกผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี โดยพิจารณาความเป็น อิสระของผู้สอบบัญชี ความเหมาะสมในการกำหนดค่าตอบแทน เพื่อให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในการ ขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นให้แต่งตั้ง บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผู้สอบบัญชี ประจำปี 2551
คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานผลการประชุมทุกครั้งให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบอยู่อย่างต่อเนื่องและ ขอเรียนให้ทราบว่าได้ปฏิบัติงานที่ ได้รับมอบหมายในฐานะคณะกรรมการตรวจสอบอย่างอิสระ ด้วยความรู้ ความสามารถ ตลอดจนได้ ให้ความเห็นต่างๆ แก่ทุกฝ่ายอย่างตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์ต่อบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นทุกราย และผู้มีส่วนได้เสีย อื่นๆ อย่างเหมาะสมแล้ว (นายวีระยุค พันธุเพชร) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 25 กุมภาพันธ์ 2551
27
รายงานประจำปี 2550
แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่ผู้สอบบัญชี รอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) รายการที่ ชื่อบริษัทผู้จ่าย 1 บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) 2 บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด 3 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด 4 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด 5 บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี
ชื่อผู้สอบบัญชี นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน
ค่าสอบบัญชี 1,550,000 450,000 50,000 50,000 10,000 2,110,000
ข้อมูลข้างต้น ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ทั้งนี้ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าไม่มีข้อมูลการให้บริการอื่นที่บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายให้ข้าพเจ้า สำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าและบุคคลหรือกิจการเกี่ยวข้องกับข้าพเจ้าและสำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าสังกัด ที่ข้าพเจ้า ทราบและไม่มีการเปิดเผยไว้ข้างต้น ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน กล่าวคือ เมื่อปรับปรุงข้อมูลข้างต้น(ถ้ามี) แล้ว ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทั้งหมดในแบบฟอร์มนี้ แสดงค่าตอบแทนสอบบัญชี และค่าบริการอื่นที่บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายให้ข้าพเจ้า สำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าสังกัดและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง กับข้าพเจ้าถูกต้องครบถ้วนแล้ว ลงชื่อ (นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน) บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ผู้สอบบัญชีของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
128