สารบัญ 2 4 6 7 9 11 13 22 24 26 30 31 35 41
สารจากคณะกรรมการ ข้อมูลบริษัท ข้อมูลทางการเงิน ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ การเปลี่ยนแปลงในปีที่ผ่านมา การจัดการ คณะกรรมการบริษัท ผังองค์กร ข้อมูลโครงการ แผนที่โครงการ การตลาด และการแข่งขัน แนวโน้มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ปี 2552 ข้อมูลอื่น ๆ
46 ประวัติผู้บริหารและผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท 50 รายละเอียดการดำรงตำแหน่งของกรรมการ 52 ค่าตอบแทนผู้บริหาร 54 การกำกับดูแลกิจการ 60 บุคคลอ้างอิงอื่น ๆ 61 รายการระหว่างกัน 65 ปัจจัยความเสี่ยง 68 คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน 79 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 80 งบการเงิน 88 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 119 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 120 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ปี 2551 122 แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของผู้สอบบัญชี
สารจากคณะกรรมการบริษัท
ปัญหาวิกฤตทางการเงินในสหรัฐฯ ได้ลุกลามส่งผลกระทบ ไปทั่วโลก และยังไม่มีแนวโน้มที่จะปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้เศรษฐกิจ โลกเข้าสู่สภาวะการชะลอตัวอย่างรุนแรง ซึ่งมีผลสะท้อนให้ราคา น้ำมัน ราคาโภคภัณฑ์ ตลอดจนราคาวัสดุก่อสร้างต่างๆ ปรับตัวลด ลงอย่างรวดเร็ว สำหรับประเทศไทยนั้นในปี 2551 ได้รับผลกระทบ เช่นกัน นอกจากปัจจัยภายนอกแล้วยังต้องเผชิญกับปัจจัยภายใน ได้แก่ ปัญหาของความขัดแย้งทางการเมือง ซึ่งกระทบต่อความเชื่อ มั่นเป็นอย่างมาก แต่สำหรับภาคอสังหาริมทรัพย์ รัฐบาลมีมาตรการกระตุ้น ภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยการลดหย่อนค่าธรรมเนียมการโอน ค่ า จดจำนอง และภาษี ธ ุ ร กิ จ เฉพาะ เป็ น เวลา 1 ปี เริ ่ ม จาก 28 มีนาคม 2551 ซึ่งได้ช่วยกระตุ้นการซื้อที่อยู่อาศัย ประกอบกับ แนวโน้ ม อั ต ราดอกเบี ้ ย ที ่ ล ดลง การปรั บ ตั ว ของผู ้ ป ระกอบการ ในการนำเสนอสิ น ค้ า ที ่ ต รงกั บ ความต้ อ งการของลูกค้า ทำให้
ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ มีผลประกอบการอยูใ่ นเกณฑ์ดี ซึ่งปรากฎให้ เห็นจากยอดขายและรายได้ของหลายบริษัท โดยเฉพาะบริษัทที ่
จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีอัตราการเติบโต เป็ น อย่ า งมาก บริ ษ ั ท พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ะดั บ แนวหน้ า มี ผลการดำเนินงาน ณ สิ้นปี 2551 เพิ่มขึ้นสูงสุด นับเป็นการสร้าง สถิติใหม่ ทั้งยอดขาย รายได้ และกำไรสุทธิ ปี 2551 บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริ ษ ั ท ย่ อ ย มี ย อดรั บ รู ้ ร ายได้ จ ากการขายบ้ า นพร้ อ มที ่ ด ิ น จำนวน 5,420.14 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 71.90 ของรายได้ จากการขายรวม ในขณะที่รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุด พักอาศัย เท่ากับ 2,109.46 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27.98 ที่เหลือเป็นรายได้จากการขายที่ดิน การเพิ่มขึ้นของรายได้จากการ ขายรวมคิดเป็นร้อยละ 20.31 จากปี 2550 ทั้งนี้เกิดจากการมีสินค้า
รายงานประจำปี 2550
ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า ในทำเลที่ตั้งในแนวรถไฟฟ้า และ จากการลดลงของภาษี ธ ุ ร กิ จ เฉพาะ และค่ า ธรรมเนี ย มการโอน ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการขายลดลง กำไรสุทธิของบริษัทจึงเพิ่มขึ้น จาก 411.61 ล้านบาทในปี 2550 เป็น 802.57 ล้านบาท คิดเป็น อัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 94.98 คิดเป็นกำไรต่อหุ้นที่เพิ่มขึ้นจาก 0.52 เป็ น 1.02 บาท คณะกรรมการบริ ษ ั ท จึ ง ได้ น ำเสนอให้ ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น พิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผลในอั ต ราหุ ้ น ละ 0.36 บาท เพิ ่ ม ขึ ้ น จาก ปี 2551 ที่จ่ายในอัตราหุ้นละ 0.24 บาท โครงการ เดอะเมทโทร พระราม 9 เป็นโครงการใหม่ในรูป แบบของทาวน์โฮม 3 ชั้น ในแนว Airport Link บริษัทได้ใช้แบรนด์ ใหม่ คือ “เดอะ เมทโทร” ด้วยความได้เปรียบเรื่องที่ตั้งและรูปแบบ ของสินค้า ทำให้ยอดขายของโครงการนี้ ประสบความสำเร็จเป็น อย่างมาก จากการเปิดตัวในเดือนสิงหาคม และคาดว่าปี 2552 โครงการทาวน์โฮมในแนวรถไฟฟ้านี้ จะยังคงได้รับความนิยมอย่าง ต่ อ เนื ่ อ ง บริ ษ ั ท จึ ง มี น โยบายที ่ จ ะเปิ ด โครงการ “เดอะ เมทโทร สาทร” ขึ้นอีก 1 โครงการในช่วงต้นปี 2552 การที่ทาวน์โฮมได้รับ ความนิยม เนื่องจากระดับราคาจะใกล้เคียงกับห้องชุดพักอาศัย ประกอบกับสถานที่ตั้งใกล้แนวรถไฟฟ้า เดินทางสะดวก การที่ บริ ษ ั ท หั น มาเน้ น การขายทาวน์ โ ฮมแนวรถไฟฟ้ า เนื ่ อ งจากเป็ น โครงการที่สามารถรับรู้รายได้ภายในปีนี้ ในขณะที่โครงการห้องชุด พักอาศัยต้องใช้เวลานานกว่าในการรับรู้รายได้ บริษัทให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง จากการ ได้รับรางวัลโครงการที่มีสิ่งแวดล้อมดีเด่นถึง 3 ปีติดต่อกัน และ สำหรับปีที่ผ่านมา บริษัทได้รับรางวัลบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงาน ดีเด่น จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวง
พลังงาน ประเภทแบบบ้าน 7 รางวัล ประเภทโครงการ 3 รางวัล รวม 10 รางวัล นอกจากนี้ บริษัทยังเน้นการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างซึ่ง คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในเครือซิเมนต์ ไทย หรือ SCG ด้วย แม้ปนี ด้ี วู า่ น่าจะเป็นโอกาสดีสำหรับผูท้ ต่ี อ้ งการซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ซึง่ ได้รบั ผลประโยชน์จากมาตรการกระตุน้ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ทั้งใน รูปของค่าลดหย่อนภาษีทั้งจากดอกเบี้ยและเงินต้นที่เพิ่มขึ้น และ นโยบายการลงทุนระบบการขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ รวมทั้งแนว โน้มอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง ต้นทุนค่าก่อสร้างของผู้ประกอบการที่ลด ลง น่าจะกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจในการซื้อที่อยู่อาศัยมากขึ้น ซึ่ง บริษัทได้เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการกลับมาของผู้บริโภคไว้ เรียบร้อยแล้ว อย่ า งไรก็ ต ามบริ ษ ั ท คงต้ อ งใช้ ค วามระมั ด ระวั ง ในการ ดำเนินธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นด้านการบริหารสถานะทางการเงินให้เข้ม แข็ง แม้อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนรวมของบริษัท ณ สิ้นปี 2551 อยู่ที่ ระดับ 0.93 เท่า บริษัทยังได้เตรียมความพร้อมในการเสริมสภาพ คล่องทางการเงินด้วยการวางแผนระดมทุนโดยการออกหุ้นกู้ในปีนี้ จำนวนประมาณ 1,000 ล้ า นบาท ซึ ่ ง เท่ า กั บ เป็ น การเสริ ม เงิ น ทุนสำรองเพื่อรองรับการขยายโครงการในอนาคตอีกทางหนึ่งด้วย การระดมทุนในการเสนอขายหุ้นกู้จะสามารถทดแทนการกู้เงินจาก สถาบันการเงินซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยที่สงู กว่า ส่งผลให้อัตราส่วนหนี้สิน ต่อทุนรวมของบริษัทจะอยู่ในระดับต่ำกว่า 1 เท่า สำหรับการผลิต นั้นจะมีการนำระบบการผลิตที่สามารถลดระยะเวลาในการก่อสร้าง ลง ทำให้สามารถบริหารจัดการสินค้าคงเหลือได้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้บริษัทยังมีแผนที่จะควบคุมค่าใช้จ่ายในการ
ขายและบริหารให้ลดลงสู่ระดับเดียวกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมให้ ได้ เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในด้านต่างๆ ซึ่งจะส่งผล ให้บริษัทสามารถมีการเติบโตและมีผลประกอบการที่ดี คณะกรรมการบริษัทใคร่ขอขอบคุณผู้ถือหุ้น สถาบันการ เงิน และ คู่ค้า ทุกท่าน ที่ได้มอบความไว้วางใจต่อบริษัท แม้ปี 2552 การดำเนินธุรกิจจะกระทำด้วยความระมัดระวัง แต่บริษัทคาดว่าจะ ยังคงได้รับความไว้วางใจจากทุกท่านอย่างต่อเนื่อง และสำหรับ พนักงาน แม้จะเกิดวิกฤตด้านแรงงานในหลายอุตสาหกรรม แต่ บริษัทจะยังคงให้ความสำคัญต่อพนักงานเช่นเดิม และคาดหวังว่า บริษัทคงจะได้รับการทุ่มเททั้งแรงกายและแรงใจในการทำงานจาก พนักงานทุกท่าน เพือ่ ช่วยให้บริษทั ฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ ในครัง้ นีไ้ ปได้ ดร. ธวัชชัย นาคะตะ นายชายนิด โง้วศิริมณี ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ข้อมูลบริษัท ชื่อ ที่ตั้งสำนักงาน ประเภทธุรกิจ จำนวนหุ้นที่เรียกชำระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ มูลค่าที่เรียกชำระแล้ว
รายงานประจำปี 2550
: : : : : :
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพ ฯ โทรศัพท์ 02-245-6640-7 โทรสาร 02- 247-3328 พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 787,721,620 หุ้น 6 บาท 4,726,329,720 บาท
การลงทุนในบริษัทอื่น ชื่อและที่ตั้ง ทุนจดทะเบียน จำนวนทุนที่เรียก (ล้านบาท) ชำระแล้ว (ล้านบาท) บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) 2,230 1,780 เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 21 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพ ฯ โทรศัพท์ 02 - 645-0960-3 โทรสาร 02 – 645-0380 บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด 1,000 1,000 เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02 – 245-6640-7 โทรสาร 02 – 645-1976 บริษัท เรียล เซอร์วิส จำกัด 40 40 เลขที่ 100/9 ซอยท่าอิฐ ถนนรัตนาธิเบศร์ นนทบุรี โทรศัพท์ 02-594-4001-5 โทรสาร 02-594-4021 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ 1 1 เซอร์วิสเซส จำกัด เลขที่ 100/52 อาคารว่องวานิช บี ชั้น 19 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02- 645–1406-8 โทรสาร 02– 645–1409 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด 1 1 เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02 – 245-6640-7 โทรสาร 02 – 645-1976 บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด 1 1 เลขที่ 1 - 7 อาคารซิลลิค เฮ้าส์ ชั้น 3 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ
สัดส่วน การลงทุน 20.22%
ประเภทธุรกิจ พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
100.00%
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
19.00%
บริการซ่อมแซม บำรุงบ้านพักอาศัย
99.94%
บริหาร สถานออกกำลังกาย และสโมสร
99.94%
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
60.00%
พัฒนา อสังหาริมทรัพย์
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
ข้อมูลทางการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2551 2551 2550 2549 ฐานะการเงิน หน่วย : ล้านบาท สินทรัพย์รวม 12,933 11,525 11,951 12,127 ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขายและพัฒนา 10,792 8,670 9,405 9,574 หนี้สินรวม 6,230 5,203 6,233 6,777 ส่วนของผู้ถือหุ้น 6,703 6,322 5,718 5,349 ผลการดำเนินงาน รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน 7,538 6,834 5,713 3,815 รายได้รวม 7,618 6,935 5,778 3,877 กำไรขั้นต้น 31.42% 31.09% 29.57% 30.55% กำไรสุทธิ 803 798 369 (10) อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำไร(ขาดทุน)สุทธิต่อรายได้รวม 10.54% 11.51% 6.38% (0.26%) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 12.55% 13.26% 6.66% (0.18%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม 6.21% 6.80% 3.06% (0.08%) อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน 3.86 4.19 2.56 3.10 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องต่อหนี้สินหมุนเวียน 0.20 0.25 0.24 0.14 ข้อมูลต่อหุ้น หน่วย : บาท กำไรสุทธิต่อหุ้น 1.02 1.01 0.47 (0.01) เงินปันผล 0.36 0.36 0.24 - มูลค่าตามบัญชี 8.03 8.51 7.26 6.84
รายงานประจำปี 2550
ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัทและบริษัทย่อยดำเนินธุรกิจพัฒนาที่ดินและสร้าง ที ่ อ ยู ่ อ าศั ย ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคเป็ น หลั ก โครงการของบริ ษ ั ท และบริ ษ ั ท ย่อยจะพัฒนาเป็นที่พักอาศัยประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์ เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม เน้นการพัฒนาโครงการจัดสรรในเขต กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล บริษัทและบริษัทย่อยจะมีแนว นโยบายในการบริหารงานและว่าจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างบ้านตาม แบบที่กำหนด ดำเนินการควบคุมการก่อสร้างโดยกำหนดมาตรฐาน วัสดุก่อสร้าง จัดส่งวิศวกรและสถาปนิกของบริษัทเข้าไปตรวจสอบ ควบคุมการก่อสร้างทุกขั้นตอนเพื่อให้กระบวนการก่อสร้างเป็นไป ตามมาตรฐานการก่อสร้างเพื่อให้ได้คุณภาพออกมาดีที่สุด ในการพิจารณาเปิดโครงการ บริษัทและบริษัทย่อยจะมีการ ทำวิจัยเพื่อรับทราบความต้องการของผู้บริโภคที่แท้จริงในแต่ละ ทำเลที่ตั้งโครงการของบริษัทและบริษัทย่อย ทั้งในเรื่องของกลุ่ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย ประเภทแบบบ้ า นและราคาที ่ เ หมาะสม ทุ ก โครงการของบริษัทจะต้องผ่านการพิจารณาอย่างรอบคอบจากฝ่าย งานที่เกี่ยวข้องโดยการจัดทำการศึกษาความเป็นไปได้ นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทย่อยยังให้ความสำคัญกับการออกแบบบ้านโดย บริษัทมีฝ่ายออกแบบคอยติดตามพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อนำมา พัฒนาแบบบ้านให้ตรงกับความต้องการและวิถีชีวิตของลูกค้าเป้า หมาย จากแนวทางของบริษัทดังกล่าว ทำให้บริษัทได้รับรางวัล บ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงาน จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน กระทรวงแรงงาน โดยในปี 2550 บริษัทมีแบบบ้าน
3 แบบที่ได้รับรางวัล และสำหรับปี 2551 บริษัทได้รับรางวัลบ้าน จั ด สรรอนุ ร ั ก ษ์ พ ลั ง งานดี เ ด่ น ถึ ง 10 รางวั ล จาก 7 แบบบ้ า น เป็นการสร้างความแตกต่างให้ผู้บริโภคได้สัมผัสความเปลี่ยนแปลง ที่ลงตัวในแต่ละโครงการ เพื่อให้ผู้บริโภคได้พิจารณาให้ตรงตาม ความต้องการของขนาดครอบครัวและงบประมาณ ได้เลือกตาม ความพอใจ โดยพิจารณาถึงความคุ้มค่าด้วยราคาที่เหมาะสม บริษัทและบริษัทย่อย เน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้สามารถ ตอบสนองความต้องการและสภาพการแข่งขัน โดยบริษัทให้ความ สำคัญโดยพิจารณาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค ดังนี้ ทำเลที่ตั้ง (Location) โครงการส่วนใหญ่ของบริษัท ตั้งอยู่ในทำเล ที ่ ด ี ม ี ศ ั ก ยภาพการเติ บ โตสู ง อยู ่ ใ กล้ แ นวรถไฟฟ้ า หรื อ ถนนสาย สำคั ญ โดยกระจายอยู ่ ร อบกรุ ง เทพมหานคร และปริ ม ณฑล สามารถเดินทางเข้าสู่ใจกลางเมืองได้สะดวก คุณภาพ (Quality) บริษัทเน้นคุณภาพของสินค้า โดยเริ่มตั้งแต่ การคัดเลือกวัสดุคุณภาพ อาทิ การใช้สินค้าในเครือซิเมนต์ไทย (SCG) และเน้นการคัดเลือกผู้รับเหมาที่มีประสบการณ์ ตลอดจนนำ เทคโนโลยีการก่อสร้างสมัยใหม่มาใช้ เพื่อให้มั่นใจในคุณภาพของ สินค้า บริษัทมีการตรวจสอบคุณภาพสินค้า (QC) ทั้งในระหว่าง ก่อสร้าง และก่อนส่งมอบ หรือจำหน่ายให้ลูกค้า จากวิศวกรและทีม งานควบคุมคุณภาพของบริษัท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
รูปแบบผลิตภัณฑ์ ปัจจุบันความต้องการของลูกค้ามีหลากหลาย จึงมีผลิตภัณฑ์หลายประเภทให้ลูกค้าเลือกตามความต้องการ ดังนี้ 1) บ้านเดี่ยว 2) บ้านแฝด 3) ทาวน์เฮ้าส์ / ทาวน์โฮม 4) คอนโดมิเนียม การออกแบบ (Design) บริษัทเน้นการออกแบบบ้านให้สวยงาม เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย เปี่ยมด้วยประโยชน์ ใช้สอย สอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิตของลูกค้าเป้าหมาย อาทิ บ้านในสวน สวนในบ้าน บ้านคนเมือง บ้านแนวคิดใหม่ ไม่สิ้น เปลืองพลังงานไฟฟ้า และในปี 2551 บริษัทได้พัฒนานวัตกรรมใหม่ โดยเพิ่ม Green Room เพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในบ้าน โดยแบบบ้าน ของบริษัท ได้รับรางวัลบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานจากกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน รวม 3 แบบบ้านในปี 2550 และ 10 รางวัล จาก 7 แบบบ้าน ในปี 2551 สำหรับบ้านในโครงการที่บริษัทและบริษัทในเครือนำเสนอ ขายให้แก่ลูกค้ามี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) บ้านสร้างเสร็จก่อนขาย บริษัทจะทำการสร้างบ้านให้ เสร็จก่อนนำมาขายให้ลูกค้า โดยลูกค้าสามารถทำการโอนและเข้า อยู่บ้านได้ภายในเวลา 1 เดือน 2) บ้านระหว่างสร้าง บริษัทจะดำเนินการสร้างบ้านก่อน โดยวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า เพื่อเลือกแบบบ้านที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าแล้วทำการสร้าง เพื่อให้เหมาะ กับลูกค้าที่ต้องการเวลาในการผ่อนดาวน์ หรือต้องการบ้านที่พร้อม อยู่อาศัยในอีกหลายเดือนข้างหน้า
3) บ้ า นสั่ ง สร้ า ง ในปี 2550 บริ ษ ั ท ได้ ด ำเนิ น การออก โปรแกรม Perfect Customization นวัตกรรมใหม่ของการเลือก ซื้อที่อยู่อาศัย เป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่ลูกค้าที่สามารถเลือก แบบบ้าน จำนวนห้อง สไตล์บ้าน (Euro Metro Nature) สีบ้าน วอลล์ เปเปอร์ ฯลฯ
โครงสร้างรายได้รวมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์หลัก จำแนกตามผลิตภัณฑ์
รายได้หลักของบริษัทมาจากรายได้จากการขายบ้านพร้อม ที ่ ด ิ น โดยโครงการของกลุ ่ ม บริ ษ ั ท จะเน้ น บ้ า นเดี ่ ย ว เป็ น หลั ก โครงสร้างรายได้ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาของบริษัท ปรากฏดังนี้ (ข้อมูล ตามตาราง) ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา บริษัทมีรายได้จากการขายบ้าน พร้อมที่ดิน จากงบการเงินรวมของบริษัทในปี 2549 ถึงปี 2551 คิด เป็นร้อยละ 98.7 ร้อยละ 74.3 และร้อยละ 71.2 ของรายได้รวม และ ในปี 2550 - 2551 บริษัทยังมีรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุด พักอาศัย คิดเป็นร้อยละ 23.2 และร้อยละ 27.7 ของรายได้รวม นอกจากนี ้ ต ามงบกำไรขาดทุ น รวมยั ง มี ส ่ ว นแบ่ ง กำไร(ขาดทุ น ) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ซึ่งแสดงไว้ถัดจากค่าใช้จ่ายทางการเงิน จำนวน 8 ล้านบาท 12 ล้านบาท และ (23) ล้านบาท ในปี 2551 2550 และ 2549 โครงสร้างรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินจำแนกตาม ผลิตภัณฑ์ และรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย จำแนกตามผลิตภัณฑ์ มีรายละเอียดดังนี้
2551 ล้านบาท % รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รายได้จากการขายที่ดินรอพัฒนา รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ รายได้จากการรับเงินจอง โอนกลับค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่า ของต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ อื่น ๆ รายได้รวม
รายงานประจำปี 2550
งบการเงินรวม 2550 ล้านบาท %
2549 ล้านบาท %
5,420.1 2,109.5 8.6 1.6 14.5
71.2% 27.7% 0.1% - 0.2%
4,697.1 1,469.5 99.3 1.4 11.6
74.3% 23.2% 1.6% - 0.2%
4,477.3 - -
98.7% - -
5.0 7.8
0.1% 0.2%
- 63.3 7,617.6
- 0.8% 100.0%
- 42.6 6,321.5
- 0.7% 100.0%
- 43.7 4,533.8
- 1.0% 100.0%
โครงสร้างรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน จำแนกตามผลิตภัณฑ์ ชื่อโครงการ ลักษณะ ปี 2551 ปี 2550 ปี 2549 โครงการ ล้าน % ล้าน % ล้าน % บาท บาท บาท แบรนด์ “เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ” มณียา มาสเตอร์พีช SDH - - 76 2% 333 7% มณียา มาสเตอร์พีช เอ็กซ์คลูซีฟโซน SDH - - 101 2% 33 1% เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช เอกมัย รามอินทรา SDH 412 7.6% 845 18% 833 19% เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช รัตนาธิเบศร์- ราชพฤกษ์ SDH 407 7.5% 147 3% - - แบรนด์ “เพอร์เฟค เพลส” เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ SDH/Land - - 22 0% 162 4% เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ - ราชพฤกษ์ SDH 504 9.3% 292 6% 214 5% เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง 1,2,3 SDH/Land - - 8 0% 8 0% เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง (เลคไซด์โฮม) SDH 9 0.2% - - - - เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง – สุวรรณภูมิ (โคโลเนียลโซน) SDH 224 4.1% - - 119 3% เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง–สุวรรณภูมิ (การ์เด้นโซน) SDH - - 26 1% 110 2% เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง–สุวรรณภูมิ (ไพรเวทโซน) SDH 612 11.3% 223 5% 328 7% เพอร์เฟค เพลส พระราม 5 – ราชพฤกษ์ SDH 486 9.0% 461 10% 419 9% เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77-สุวรรณภูมิ ** SDH 638 11.8% 553 12% 662 15% แบรนด์ “มณีรินทร์” และ “เพอร์เฟค พาร์ค” มณีรินทร์ เลค & พาร์ค ราชพฤกษ์-ติวานนท์ SDH/Land 300 5.5% 377 8% 323 7% มณีรินทร์ เอ็กซ์คลูซีฟ รังสิต SDH 4 0.1% - - 4 0% มณีรินทร์ เลค & ลากูน SDH/Land - - - - 5 0% มณีรินทร์ พาร์ค รังสิต SDH 6 0.1% 93 2% 203 5% มณีรินทร์ พาร์ค รัตนาธิเบศร์ SDH 10 0.2% 51 1% 104 2% มณีรินทร์ พาร์ค 2 รังสิต SDH 145 2.7% 135 3% - - เพอร์เฟค พาร์ค รัตนาธิเบศร์ - ราชพฤกษ์ SDH - - 158 3% 341 8% เพอร์เฟค พาร์ค รามคำแหง - สุวรรณภูมิ SDH 146 2.7% 243 5% 272 6% เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5 - บางใหญ่ SDH 684 12.6% 462 10% - - เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ ** SDH 67 1.2% - - - - อื่นๆ นันทนาการ์เด้น รังสิต TH 3 0.1% - - 4 0% แบรนด์ “เดอะวิลล่า” และ “เดอะ เมทโทร” เดอะวิลล่า รัตนาธิเบศร์ - ราชพฤกษ์ TH 590 10.9% 424 9% - - เดอะ เมทโทร พระราม 9 TH 173 3.2% - - - - 5,420 100% 4,697 100% 4,477 100% รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รวม หมายเหตุ : SDH = บ้านเดี่ยว, TH = ทาวน์เฮ้าส์, Land = ที่ดินเปล่า ** พัฒนาโครงการในนาม บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด ซึ่งบริษัทถือหุ้นอยู่ 100 % รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินที่ปรากฏในงบการเงิน รวมของบริษัท เป็นรายได้รวมจากโครงการที่ดำเนินงานภายใต้ บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำนวน 4,715 ล้านบาท 4,144 ล้าน
บาทและ 3,815 ล้านบาท ในปี 2551,2550 และ 2549 ตามลำดับ และเป็นรายได้จากบริษัทย่อย จำนวน 705 ล้านบาท 553 ล้านบาท และ 662 ล้านบาท ในปี 2551, 2550 และ 2549
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
โครงสร้างรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย จำแนกตามผลิตภัณฑ์ ชื่อโครงการ ลักษณะ ปี 2551 โครงการ ล้าน % บาท แบรนด์ “เมโทร พาร์ค” เมโทร พาร์ค สาทร CONDO 2,109 100% รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รวม 2,109 100%
ปี 2550 ล้าน % บาท 1,470 100% 1,470 100%
ปี 2549 ล้าน % บาท - -
- -
รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยที่ปรากฏในงบการเงินรวมของบริษัท ในปี 2551 และ 2550 เป็นรายได้รวมจาก โครงการที่ดำเนินงานภายใต้ บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำนวน 2,109 ล้านบาท และจำนวน 1,470 ล้านบาท
10
รายงานประจำปี 2550
การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมา จากผลวิ ก ฤติ ก ารณ์ ท างเศรษฐกิ จ ของประเทศในช่ ว งปี 2540 บริ ษ ั ท ประสบปั ญ หาทางการดำเนิ น ธุ ร กิ จ เช่ น เดี ย วกั บ ผู ้ ประกอบพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อื่นๆ ในประเทศ โดยในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2544 ศาลล้มละลายกลางได้มีคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ และ ในวันที่ 2 ตุลาคม 2544 ศาลล้มละลายกลางได้มีคำสั่งเห็นชอบกับ แผนฟื้นฟูกิจการของบริษัทและมีบริษัท เอเชียน อินเตอร์เนชั่นแนล แพลนเนอร์ ส จำกั ด เป็ น ผู ้ จ ั ด ทำและผู ้ บ ริ ห ารแผน ทั ้ ง นี ้ บ ริ ษ ั ท สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในการฟื้นฟูกิจการและปรับโครงสร้าง หนี้ได้อย่างครบถ้วนและได้ยื่นคำขอออกจากกระบวนการฟื้นฟู กิจการต่อศาล ส่งผลให้ในวันที่ 12 เมษายน 2547 ศาลล้มละลาย กลางได้มีคำสั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ เป็นผลให้อำนาจในการ จัดการกลับคืนสู่ผู้บริหารเดิมของบริษัท บริษัทได้ดำเนินการจ่ายชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการมา โดยตลอด จนถึงปัจจุบันบริษัทยังคงเหลือหนี้คงค้างอยู่เพียง 127 ล้านบาท ซี่งอยู่ระหว่างดำเนินการเพื่อชำระหนี้ให้เจ้าหนี้สามารถ รับชำระหนี้จากบริษัทได้
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
การแปลงแปลงช่วงระหว่างปี 2547-2549 • บริษัทได้ดำเนินการออกและเสนอขายหุ้นกู้มีประกันระบุชื่อ ผู้ถือและมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้เสนอขายต่อ สถาบันการเงินและ ประชาชนทั่วไปรวม 3 ชุดในปี 2547 รวมการเสนอขายหุ้นกู้ 1,550 ล้านบาท และในปี 2549 เสนอขายหุ้นกู้ 450 ล้าน บาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเงินที่ได้จากการเสนอขาย ไปชำระคื น เงิ น กู ้ ร ะยะสั ้ น และการซื ้ อ ที ่ ด ิ น เพื ่ อ พั ฒ นา โครงการและขยายการดำเนินธุรกิจของบริษัท บริษัทได้ ดำเนินการตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นออกหุ้นกู้ดังกล่าว และ ปฏิบัติตามข้อกำหนดและเงื่อนไข ซึ่งปัจจุบันบริษัทได้ ดำเนินการไถ่ถอนตามเงื่อนไขการชำระคืนหุ้นกู้ครบถ้วน แล้ว • บริษัทลงทุนเพิ่มในบริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด โดย การซื้อหุ้นสามัญออกใหม่ของเอสเตท ฯ จำนวน 5 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 50 ล้านบาท ใน ฐานะที่บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของเอสเตท ฯ เพื่อเป็นการ รักษาสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทตามมติที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2548 • เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 บริษัทฯได้ออกและเสนอ ขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจำนวน 200,000 หน่วย มู ล ค่ า หน่ ว ยละ 100 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯมู ล ค่ า รวม 20 ล้ า น
เหรียญสหรัฐฯ ให้กับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง ตามที่ได้ รั บ อนุ ม ั ต ิ จ ากที ่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น เมื ่ อ วั น ที ่ 19 กันยายน 2548 (รายละเอียดปรากฏในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ข้อ 23)
ปี 2550 : ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 1/2550 วั น ที่ 18 มกราคม 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี ้ • มีมติให้บริษัทลงทุนตามสัดส่วนเดิมในหุ้นสามัญเพิ่มทุน ของบริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) โดย เป็ น การรั ก ษาสั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ตามเดิ ม ของบริ ษ ั ท ใน บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) เพื่อเป็น การรักษาสิทธิและประโยชน์ของบริษัท • มีมติให้จัดตั้งบริษัทย่อย ชื่อบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด และมีมติเป็นเอกฉันท์ให้กรรมการบริษัทไป ดำเนินการออกหุ้นกู้ เพื่อเป็นค่าซื้อที่ดินในวงเงินไม่เกิน 462,150,000 บาท ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 7/2550 วั น ที่ 14 สิงหาคม 2550 มีมติอนุมัติดังนี้ • มีมติอนุมัติให้มีการจัดตั้งกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ โดย อนุ ม ั ต ิ ใ ห้ ข ายทรั พ ย์ ส ิ น ของบริ ษ ั ท ให้ ก องทุ น รวม อสังหาริมทรัพย์มีไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท และอนุมัติให้ บริษัทเข้าร่วมลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ในวงเงิน ไม่เกินกว่าที่สำนักงานกลต.กำหนดไว้และอนุมัติให้บริษัท เข้ า ทำสั ญ ญาอั น เกี ่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ ส ิ น ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 8/2550 วั น ที่ 24 กันยายน 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี ้ • มี ม ติ เ ป็ น เอกฉั น ท์ ใ ห้ บ ริ ษ ั ท เข้ า ร่ ว มลงทุ น กั บ บริ ษ ั ท ใน ประเทศหรื อ บริ ษ ั ท ต่ า งประเทศในการพั ฒ นาโครงการ ศูนย์การค้าในสิทธิการเช่าของบริษัท และบริษัทร่วมทุนจะ มีชื่อว่า “เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์” ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 9/2550 วั น ที่ 14 พฤศจิกายน 2550 มีมติอนุมัติ ดังนี ้ • มี ม ติ ร ั บ ทราบมติ ท ี ่ ป ระชุ ม บมจ.กรุ ง เทพบ้ า นและที ่ ด ิ น (บริษัทร่วม) ออกหุ้นกู้แปลงสภาพชนิดระบุชื่อผู้ถือ มีอายุ 5 ปี มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท จำนวนหุ้นกู้ไม่เกิน 623,250 หน่วย คิดเป็นเงินไม่เกิน 623.250 ล้านบาท โดยขายให้แก่ นักลงทุนเฉพาะเจาะจง และ/หรือ เป็นการขายให้แก่นัก ลงทุนตามประกาศ ก.ล.ต. เท่านั้น
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
11
ปี 2551 : ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2551 วันที่ 22 มกราคม 2551 มีมติอนุมัติดังนี ้ • บริ ษ ั ท ได้ ล งนามในสั ญ ญา Shareholders Undertaking Agreement ระหว่าง บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2551 ในฐานะผู้ถือหุ้นหลัก ใน บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) ร่วมกับ ผู้ถือหุ้นหลัก อีก 2 ราย โดยสาระสำคัญในสัญญากำหนด ให้ผู้ถือหุ้นหลักยอมรับให้มีตัวแทนในคณะกรรมการบริษัท กรุงเทพบ้านภายหลังจากที่ ได้เข้าซื้อหุ้นกู้แล้ว • รับทราบมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่1/2551 วันที่ 14 มกราคม 2551 ของบริ ษ ั ท กรุ ง เทพบ้ า น จำกั ด มหาชน (บริษัทร่วม) ขอเปลี่ยนแปลงมติการออกหุ้นกู้แปลงสภาพ ของที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 1/2550 ที่ได้อนุมัติให้ออกหุ้นกู้ เป็นเงินบาท โดยขอเปลี่ยนแปลงเป็นการออกหุ้นกู้ในสกุล ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาแทนโดยจะถือเอาอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ออกหุ้นกู้ • มีมติให้จำนำหุ้นสามัญจำนวน9,994 หุ้นของบริษัทไบรท์ ดี เวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด จำนำเป็นหลักประกันการ ออกหุ้นกู้วงเงินไม่เกิน 462,15000บาท ให้กับธนาคารแห่ง หนึ่งในฐานะผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้เพื่อเป็นหลักประกันการออก หุ้นกู้ของบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด • มีมติให้บริษัทเข้าร่วมลงทุนกับบริษัทในประเทศหรือต่าง ประเทศในการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าในสิทธิการเช่า ถนนรั ช ดาภิ เ ษก ในอั ต ราไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 60 ของทุ น จด ทะเบียน ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2551 วันที่ 30 เมษายน 2551 • มีมติให้จัดสรรเงินกำไรสุทธิในปี 2550 ส่วนหนึ่งจำนวน 18,500,000 บาทเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย • มีมติอนุมัติจ่ายเงินปันผลสำหรับผลการดำเนินงานประจำปี 2550 ให้ แ ก่ ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น ในอั ต ราหุ ้ น ละ 0.24 บาท รวมเป็ น เงินปันผลที่ต้องจ่ายทั้งสิ้น 189,044,404.80 บาท โดยให้ผู้ ถือหุ้นที่มีรายชื่อปรากฏอยู่ในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 12 พฤษภาคม 2551 เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินปันผลและบริษัท จะจ่ายเงินปันผลภายในวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 • มีมติอนุมัติให้บริษัทออกและเสนอขายหุ้นกู้ภายในวงเงิน ไม่เกิน 2,000 ล้านบาท (รายละเอียดปรากฏตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงินหัวข้อ 21) โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อซื้อที่ดินพัฒนาโครงการ 2. เพื่อชำระหนี้ที่มีต้นทุนทางการเงินสูง 3. เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียน
12
รายงานประจำปี 2550
ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 3/2551 วั น ที่ 14 พฤษภาคม 2551 มีมติอนุมัติดังนี ้ • มีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติให้บริษัทเข้าร่วมลงทุนในกองทุน รวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึ่ง (กองทุนรวมสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ควอลิตี้ ฮอสพิตทอลลิตี้ ) เป็น จำนวน 20 ล้านบาท ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2551 วันที่ 20 มิถนุ ายน 2551 • มีมติให้ยกเลิกการออกและเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพเป็น หุน้ สามัญในส่วนทีเ่ หลือจำนวน 15 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ตามที่เคยได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของ บริษัทครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 เนื่องจาก ตามประกาศของสำนักงาน ก.ล.ต.บริษัทจะต้องออกและ เสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ ได้ ร ั บ อนุ ม ั ต ิ จ ากสำนั ก งาน ก.ล.ต ซึ ่ ง เลยกำหนดระยะ เวลาแล้ว • มีมติอนุมัติยกเลิกการออกและจัดสรรหุ้นสามัญจำนวน 39,000,000 หุ้นที่ได้สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิซื้อหุ้น สามัญของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่บริษัทออกและเสนอ ขายให้แก่กรรมการและหรือพนักงานของบริษัท และให้ ยกเลิ ก การออกและจั ด สรรหุ ้ น สามั ญ บางส่ ว นจำนวน 65,000,000 หุ ้ น ที ่ ส ำรองไว้ เ พื ่ อ รองรั บ การใช้ ส ิ ท ธิ แ ปลง สภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ และให้บริษัทลดทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม 6,213,565,176 บาท ให้เหลือทุนจด ทะเบี ย น 5,589,565,176 บาท แบ่ ง ออกเป็ น หุ ้ น สามั ญ จำนวน 931,594,196 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท โดย วิธีตัดหุ้นสามัญที่ยังมิได้ออกจำหน่าย 104,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท รวม 624,000,000 บาท • มีมติอนุมัติให้บริษัทออกและเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพ เป็นหุ้นสามัญในวงเงินไม่เกิน 30 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบเท่าเงินบาทไทยเป็นจำนวนไม่เกิน 1,000 ล้าน บาท อัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปีและราคาแปลง สภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 110 ของราคาปิดเฉลี่ยของหุ้นแต่ ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 6.50 บาท • มีมติอนุมัติให้บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนเดิม 5,589,565,176 บาท เป็ น 6,552,000,000 บาท แบ่ ง ออกเป็ น หุ ้ น สามั ญ จำนวน 1,092,000,000 หุ้นโดยเป็นการออกหุ้นสามัญใหม่ จำนวน 160,405,804 หุ้นมูลค่าที่ตราไว้ 6 บาทเพื่อรองรับ การใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ
การจัดการ โครงสร้างการจัดการ ปัจจุบัน โครงสร้างการจัดการของบริษัท ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัท 1 คณะ และคณะอนุกรรมการ 5 คณะ ได้แก่ คณะ กรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และทรัพยากรมนุษย์ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รวม 6 ชุด ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ (ก) คณะกรรมการบริษัท (ข) คณะกรรมการตรวจสอบ (ค) คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท (ง) คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ (จ) คณะกรรมการบริหาร (ฉ) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยแต่ละคณะจะมี ขอบเขต อำนาจ หน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ (ก) คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ประกอบด้วย ลำดับ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง 1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการ 2 นายชายนิด โง้วศิริมณี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 3 ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ ** ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ 4 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ 5 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการ 6 นายเดวิด ไบร์ ฟาน ออฟเพน กรรมการ 7 นายออย บูน อัน * กรรมการ 8 นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา * ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ 9 นายวีระยุค พันธุเพชร กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ 10 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 11 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ โดยมี นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท หมายเหตุ * ได้รับการแต่งตั้ง ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ** ลาออกเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2552 เพื่อไปดำรงตำแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการบริษัทมีมติแต่งตั้งนางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา เป็นกรรมการใหม่ทดแทน ณ วันที่ 19 มกราคม 2552 กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทประกอบด้วย 1) ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ลงลายมือชื่อร่วมกับนายชายนิด โง้วศิริมณี และประทับตราสำคัญของบริษัท 2) ดร.ธวัชชัย นาคะตะ หรือนายชายนิด โง้วศิริมณี ลงลายมือชื่อร่วมกับดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ หรือนาย ไพรัตน์ เสนาจักร์ หรือนางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา รวมเป็นสองคน และประทับตราสำคัญของบริษัท ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจ และดูแลการดำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อ บังคับ มติประชุมผู้ถือหุ้น และกฎหมาย เว้นแต่การตัดสินใจหรือการดำเนินงานในเรื่องที่ตามกฎหมาย ประกาศ และข้อกำหนดของ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กำหนดให้ต้องรับการอนุมัติจากที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนจึงจะดำเนินการได้ โดยที่ข้อบังคับของบริษัทได้ ให้อำนาจคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร เพื่อทำหน้าที่ควบคุมการดูแลกิจการรายวันของบริษัทให้เป็นไปตาม บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
13
แนวนโยบายและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และกิจการอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ซึ่งได้แก่ การอนุมัติการดำเนินงานตามขอบเขตอำนาจที่คณะกรรมการบริษัทได้ให้ไว้ และการกลั่นกรองเรื่องใด ๆ ที่อยู่นอกเหนือขอบเขต อำนาจของตนเพื่อเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้ ข้อบังคับได้ให้อำนาจคณะกรรมการบริษัท มีสิทธิแต่งตั้ง เจ้าหน้าที่ หรือคณะทำงานอื่น ๆ เพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการในการบริหารงานได้ด้วย
(ข) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 คน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง 1 นายวีระยุค พันธุเพชร ประธานกรรมการตรวจสอบ 2 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการตรวจสอบ 3 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการตรวจสอบ โดยมี นางสาวดวงพร เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. กำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัท ให้มีการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นของ บริษัท 2. ดำเนินการให้เป็นที่มั่นใจว่า กรรมการบริหารและผู้บริหารของบริษัทได้บริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วนและมีมาตรฐาน 3. ดูแลรายงานทางการเงินของบริษัทให้ตรงต่อความเป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอและเชื่อถือได้ ตลอดจนมีการเปิดเผยข้อมูลที่ ครบถ้วนและเพียงพอโดยการประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบจัดทำรายงานทางการเงิน ทั้ง รายไตรมาสและประจำปี หรือตามที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือคณะกรรมการบริหารร้องขอ 4. ดูแลให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยการสอบทานร่วมกับผู้ตรวจสอบภายในและผู้ สอบบัญชี 5. พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีและกำหนดค่าตอบแทน แล้วเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดย คำนึงถึงความน่าเชื่อถือ ความเพียงพอของทรัพยากรบุคคล ปริมาณการสอบบัญชีของสำนักงานตรวจสอบบัญชี รวมถึง ประสบการณ์ของบุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ทำการตรวจสอบบัญชีบริษัท
14
รายงานประจำปี 2550
6. 7. 8.
9. 10. 11. 12. 13.
ดู แ ลให้ บ ริ ษ ั ท ปฏิ บ ั ต ิ ต ามข้ อ กำหนดของกฎหมาย สำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยการสอบทานการทำรายการระหว่างกันของบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน และ ประสานงานกับผู้สอบบัญชี รวมถึงพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน จัดทำรายงานการกำกับดูแลของคณะกรรมการตรวจสอบและเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัท โดยในรายงาน ดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ • ความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดทำและการเปิดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงินของบริษัทถึงความถูกต้องครบถ้วน และเชื่อถือได้ • ความเห็นถึงความพอเพียงของระบบการควบคุมภายในของบริษัท • เหตุผลที่เชื่อว่าผู้สอบบัญชีของบริษัทมีความเหมาะสมที่จะได้รับแต่งตั้งต่อไปอีกวาระหนึ่ง • ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • รายงานอื่นใดที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท พิจารณาแผนงานการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน สอบทานหลักฐานการตรวจสอบภายใน หากพบหรือสันนิษฐานว่าอาจมีการทุจริตเกิดขึ้น ตลอดจนถึงความบกพร่องหรือไม่ เพียงพอของระบบการควบคุมภายในและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา พิจารณาผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน ข้อเสนอแนะของผู้สอบบัญชี รวมถึงวิธีการติดตามผล คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจตรวจสอบ สอบทาน รวมทั้งเชิญกรรมการบริหาร ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง ที่ปรึกษา และ ผู้สอบบัญชี มาเข้าร่วมประชุมเพื่อรับทราบข้อมูลอันเป็นประโยชน์ รวมถึงแสวงหาความเห็นที่เป็นอิสระจากที่ปรึกษาทาง วิชาชีพอื่นใด เมื่อเห็นว่าจำเป็นด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท เพื่อให้การปฏิบัติงานภายใต้หน้าที่รับผิดชอบสำเร็จลุล่วงด้วยดี ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมาย เช่น การทบทวนนโยบายการบริหารทางการเงินและความเสี่ยง ทบทวนการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางธุรกิจของผู้บริหาร
ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี หรือเท่ากับวาระที่คงเหลือในคณะกรรมการบริษัท และ จะแต่งตั้งใหม่โดยคณะกรรมการบริษัทเมื่อครบกำหนดวาระ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
15
คุณสมบัติกรรมการอิสระ คุณสมบัติกรรมการอิสระเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรื่องการขออนุญาตและ การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ และเป็นไปตามคุณสมบัติกรรมการตรวจสอบตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการ ก.ล.ต. ได้มีมติให้ปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียนใหม่ โดยจะกำหนดให้มีผลตั้งแต่การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีที่จะจัดขึ้นในปี 2552 เป็นต้นไป แต่เพื่อให้บริษัทมีหลักธรรมาภิบาลที่ดี ฝ่ายบริหารจึงได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมคุณสมบัติกรรมการอิสระให้สอดคล้องกับหลัก เกณฑ์ใหม่ของคณะกรรมการ ก.ล.ต.
(ค) คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวน 3 คน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อกรรมการ ตำแหน่ง 1 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ 2 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการสรรหาฯ 3 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการสรรหาฯ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการของบริษัท 1. คัดเลือกและสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมในการเป็นกรรมการบริษัทเพื่อเสนอชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกต่อที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัท และหรือนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขอมติแต่งตั้งต่อไป 2. การพิจารณาคัดเลือกและสรรหาบุคคลดังกล่าว คณะกรรมการจะต้องพิจารณาถึงคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ รวมทั้ง ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องในการเป็นกรรมการบริษัท ซึ่งหัวข้อในการคัดสรรดังกล่าว จะต้องมีส่วนที่เป็นประโยชน์ต่อการ ดำเนินกิจการของบริษัท นอกจากนี้ คณะกรรมการยังต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติของผู้ที่จะถูกเสนอชื่อดังกล่าว จะต้องไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คณะกรรมการจะต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติของผู้ที่จะเสนอชื่อเป็น กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบเป็นพิเศษ 3. ในการคัดสรรผู้เข้าเสนอชื่อในตำแหน่งกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบนั้น คณะกรรมการสรรหาจะต้องคำนึงถึง (ก) ผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกต้องถือหุน้ ของบริษทั บริษทั ร่วม บริษทั ในเครือ บริษทั ย่อย หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันไม่เกินร้อยละ 1 ของทุนชำระแล้วของแต่ละบริษัท ทั้งนี้ การนับจำนวนหุ้นให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น คู่สมรส บุตรที่ ยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วย
16
รายงานประจำปี 2550
(ข) (ค)
4.
ผู้ได้รับการเสนอชื่อต้องไม่ใช่ผู้เกี่ยวข้องหรือเป็นญาติสนิทของผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ผู้รับการคัดเลือกต้องไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงิน และการบริหาร ของบริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ง) ผู้ได้รับการเสนอชื่อต้องไม่ใช่ผู้ที่มีความสัมพันธ์กับบริษัท และบริษัทที่เกี่ยวข้องในลักษณะที่มีส่วนได้เสีย หรือได้ผล ประโยชน์ในด้านการเงิน หรือการบริหารงาน ทั้งในปัจจุบันและช่วง 2 ปี ก่อนเป็นกรรมการอิสระ โดยลักษณะความ สัมพันธ์ดังกล่าว เช่น • เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำหรือผู้มีอำนาจ ควบคุม • เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพ เช่น เป็นผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน หรือผู้ประเมินราคา ทรัพย์สิน • เป็นผู้มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ เช่น ซื้อ/ขายสินค้าหรือบริการซื้อขายสินทรัพย์ ให้/รับความช่วยเหลือทางการ เงิน เป็นต้น (จ) ในกรณีที่ผู้ได้รับการเสนอชื่อดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการอิสระของบริษัทอื่นในกลุ่ม จะต้องเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว และค่าตอบแทนที่ได้รับจากบริษัทนั้นด้วย (ฉ) ผู้ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ไม่ได้เป็นกรรมการใด ๆ ในบริษัทอื่นในกลุ่มที่เป็น บริษัทจดทะเบียน (ช) บริษัทจดทะเบียนต้องแจ้งตลาดหลักทรัพย์ฯ ทันทีที่กรรมการตรวจสอบลาออกหรือถูกให้ออกก่อนครบวาระ ผู้ได้รับการคัดสรรสามารถปฏิบัติหน้าที่และแสดงความเห็นหรือรายงาน ผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ได้รับมอบหมายได้โดย อิสระ และไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของ บุคคลดังกล่าว
ทั้งนี้ การมอบหมายอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหานั้น จะต้องไม่มีลักษณะเป็นการมอบ อำนาจหรือมอบอำนาจช่วงที่ทำให้กรรมการสรรหา หรือผู้รับมอบอำนาจจากกรรมการสรรหาสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทหรือบริษัทย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามธุรกิจปกติที่มีการกำหนดขอบเขต ชัดเจน การนำเสนอชื่อผู้ได้รับการคัดสรรเพื่อเสนอชื่อให้เป็นกรรมการบริษัทต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทนั้น คณะกรรมการ สรรหาต้องดำเนินการคัดสรรและเสนอชื่อบุคคลเพียงเท่าที่จำเป็นจะต้องแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทเท่านั้น เว้นแต่คณะกรรมการ สรรหาไม่สามารถพิจารณาและตกลงกันในคณะกรรมการสรรหาได้ไม่ว่าเหตุใด ๆ ก็ตาม คณะกรรมการสรรหาจึงสามารถนำเสนอ ชื่อผู้อยู่ในข่ายการคัดสรรทั้งหมดต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาและมีมติเลือกผู้ได้รับการคัดสรรเอง
(ง) คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวน 3 คน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ 2 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ 3 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ 1. พิจารณานโยบายและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนสำหรับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ และที่ปรึกษา ของบริษัท 2. พิจารณากำหนดค่าตอบแทนประจำปี การปรับเงินเดือนประจำปี การปรับเงินเดือนระหว่างปี รวมทั้งผลประโยชน์อื่นอัน เป็นการตอบแทนการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ของบริษัทและพนักงานทุกระดับ 3. พิจารณาระเบียบการจ้างงาน ระเบียบการทำงาน และพิจารณาเกณฑ์การลงโทษให้เหมาะสมและเป็นธรรมต่อพนักงานบริษทั บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
17
4.
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์รับผิดชอบโดยตรงต่อคณะกรรมการบริษัท และมีหน้าที่ชี้แจง ตอบ คำถามเกี่ยวกับค่าตอบแทนพนักงานทุกระดับในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท
ทั้งนี้ การมอบหมายอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์นั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำนาจหรือมอบอำนาจช่วงที่ทำให้กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ หรือผู้รับมอบ อำนาจจากกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่ นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่น ใดกับบริษัทหรือบริษัทย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามปกติธุรกิจที่มีการกำหนดขอบเขตชัดเจน
(จ) คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวน 5 คน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ * ประธานคณะกรรมการบริหาร 2 นายชายนิด โง้วศิริมณี รองประธานคณะกรรมการบริหาร 3 ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ ** กรรมการบริหาร 4 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการบริหาร 5 นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา * กรรมการบริหาร และเลขานุการคณะกรรมการบริหาร หมายเหตุ: * ได้รับการแต่งตั้งตามมติคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2551 ** ลาออกเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2552 เพื่อไปดำรงตำแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. บริหารงานในเรื่องเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจปกติของบริษัทภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริษัท และภายในขอบเขตของ กฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับของบริษัท 2. แต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงเพื่อให้บริหารงานของบริษัท 3. พิจารณาการจัดสรรงบประมาณประจำปี เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 4. พิจารณากลั่นกรองโครงการลงทุนต่าง ๆ ของบริษัทเพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 5. พิจารณาและอนุมัติการกู้เงินหรือขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน รวมตลอดถึงการชำระหรือใช้จ่ายเงินเพื่อธุรกรรมปกติของ บริษัท เช่น การใช้จ่ายเงินเพื่อลงทุน การจัดซื้อที่ดินและใช้จ่ายเพื่อดำเนินงานต่าง ๆ ภายในวงเงินไม่เกิน 100,000,000 บาท (หนึ่งร้อยล้านบาท) ทั้งนี้ให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 6. จัดทำ เสนอแนะ และกำหนดนโยบายธุรกิจ รวมทั้งกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท 7. พิจารณาและอนุมัติแผนการตลาด แผนการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 8. ประเมินผลการดำเนินงานของบริษัท ทั้งในด้านการจัดการบริหารทรัพย์สิน และการบริหารการเงินเพื่อให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 9. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ การมอบหมายอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารนั้นจะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอำนาจ หรือมอบอำนาจช่วงที่ทำให้กรรมการบริหาร หรือผู้รับมอบอำนาจจากกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัด แย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นลักษณะการดำเนินธุรกรรมการค้าปกติ ทั่วไปของบริษัท ที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติไว้ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
18
รายงานประจำปี 2550
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นหัวหน้าของฝ่ายบริหาร มีหน้าที่ดำเนินการและรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้นในกิจการดังนี้ 1. กำหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจของบริษัท 2. กำหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอำนาจของหน่วยงานภายในบริษัท เพื่อเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการบริษัท 3. บริหารงานในเรื่องเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจปกติของบริษัท ภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริษัท และภายในขอบเขต ของกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับของบริษัท 4. แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการ ที่ปรึกษา กรรมการอื่นใด เพื่อให้คำปรึกษาในการบริหารงานของบริษัท 5. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้การมอบหมายอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหารนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบ อำนาจ หรือ มอบอำนาจช่วง ที่ทำให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือผู้รับมอบอำนาจจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สามารถอนุมัติ รายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วน ได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นลักษณะการ ดำเนินธุรกรรมการค้าปกติทั่วไปของบริษัท ที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติไว้ ซึ่งเป็น ไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย
(ฉ) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2551 ปัจจุบันคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงประกอบด้วยคณะกรรมการจำนวน 4 คน ดังนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง 1 นายบุญเลี่ยม เหลืองนาคทองดี ประธานคณะกรรมการ 2 นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ กรรมการบริหารความเสี่ยง 3 นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา กรรมการบริหารความเสี่ยง 4 ดร.ธีรธร ธาราไชย กรรมการบริหารความเสี่ยง และ เลขานุการ หมายเหตุ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้รับการแต่งตั้งตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2552
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
19
20
ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. สอบทานและนำเสนอนโยบายการบริหารความเสี่ยง และความเสี่ยงที่ยอมรับได้ให้แก่คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา อนุมัติ 2. กำกับดูแลการพัฒนาและการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 3. สอบทานรายงานการบริหารความเสี่ยงเพื่อติดตามความเสี่ยงที่สำคัญและดำเนินการให้มั่นใจได้ว่าองค์กรมีการจัดการ ความเสี่ยงอย่างเพียงพอและเหมาะสม 4. นำเสนอความเสี่ยงในภาพรวมของบริษัท รวมถึงความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน เพื่อการจัดการความเสี่ยงด้าน ต่าง ๆ ที่สำคัญให้กับคณะกรรมการบริษัท 5. ให้คำแนะนำกับบริษัทในด้านงานบริหารความเสี่ยง และการพิจารณาแก้ไขข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการ บริหารความเสี่ยง 6. ให้มีอำนาจแต่งตั้งคณะทำงานประเมินและติดตามความเสี่ยงของบริษัท 7. เรื่องอื่น ๆ เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย เลขานุการบริษัท ตามข้อกำหนดในมาตรา 89/15 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 กำหนดให้คณะ กรรมการต้องจัดให้มีเลขานุการบริษัทรับผิดชอบในนามของบริษัทหรือคณะกรรมการดำเนินการ โดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2551 ได้มีมติแต่งตั้งเลขานุการบริษัท คือ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี ขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1. จัดทำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ (ก) ทะเบียนกรรมการ (ข) หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจำปีของบริษัท (ค) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร และส่งสำเนารายงานดังกล่าวให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายในเจ็ดวันทำการนับแต่วันที่บริษัทได้รับรายงานนั้น 3. จัดทำระบบการเก็บรักษาเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้ รวมทั้งดูแลให้มีการเก็บรักษา เอกสารหรือหลักฐานดังกล่าวให้ถูกต้องครบถ้วนและสามารถตรวจสอบได้ในระยะเวลาไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันที่มีการจัด ทำเอกสารหรือข้อมูลดังกล่าว การเก็บรักษาเอกสารและหลักฐานข้างต้น ให้หมายความรวมถึงการเก็บรักษาด้วยระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบอื่นใดที่ สามารถเรียกดูได้โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ (1) การให้ข้อมูลประกอบการขอมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น (2) งบการเงินและรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัท หรือรายงานอื่นใดที่ต้องเปิดเผยตาม มาตรา 56 มาตรา 57 มาตรา 58 หรือ มาตรา 199 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (3) ความเห็นของบริษัทเมื่อมีผู้ทำคำเสนอซื้อหุ้นของบริษัทจากผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป (4) การให้ข้อมูลหรือรายงานอื่นใดเกี่ยวกับกิจการที่บริษัทจัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ถือหุ้นหรือประชาชนทั่วไป ตามที่คณะ กรรมการกำกับตลาดทุนกำหนด 4. ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนดต่อไป 5. ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติคณะกรรมการ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และไม่กระทำการใดอันเป็นการขัดหรือ แย้งกับประโยชน์ของบริษัทอย่างมีนัยสำคัญ 6. ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและความระมัดระวังเยี่ยงวิญญูชนผู้ประกอบธุรกิจเช่นนั้นจะพึงกระทำภายใต้ สถานการณ์อย่างเดียวกัน โดย (1) การตัดสินใจได้กระทำไปด้วยความเชื่อโดยสุจริตและสมเหตุสมผลว่าเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นสำคัญ (2) การตัดสินใจได้กระทำบนพื้นฐานข้อมูลที่เชื่อโดยสุจริตว่าเพียงพอ และ (3) การตัดสินใจได้กระทำไปโดยตนไม่มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในเรื่องที่ตัดสินใจนั้น
รายงานประจำปี 2550
ในกรณีที่เลขานุการบริษัทพ้นจากตำแหน่งไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งเลขานุการบริษัทคนใหม่ภายใน เก้าสิบวันนับแต่วันที่เลขานุการบริษัทคนเดิมพ้นจากตำแหน่งหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ และมอบหมายให้นางสาวศิริรัตน์ วงศ์ วัฒนา ปฏิบัติหน้าที่แทนในช่วงเวลาดังกล่าว การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริษัทมีคณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการสรรหา จะคัดเลือกและสรรหาบุคคล ที่มีความเหมาะสมในการเป็นกรรมการบริษัทเพื่อเสนอชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และหรือนำเสนอต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขอมติแต่งตั้งต่อไป โดยคณะกรรมการจะต้องพิจารณาถึงคุณวุฒิ ความรู้ความสามารถ รวมทั้งประสบการณ์ที่ เกี่ยวข้องในการเป็นกรรมการบริษัท ซึ่งหัวข้อในการคัดสรรดังกล่าว จะต้องมีส่วนที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินกิจการของบริษัท (รายละเอียดตามขอบเขต อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท ) องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับของบริษัท คณะกรรมการของบริษัทประกอบด้วยกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน และประกอบด้วย กรรมการ 3 ประเภท 1. กรรมการที่เป็นอิสระ( INDEPENDENT DIRECTOR ) ต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการหรืออย่างน้อยต้องมีไม่น้อยกว่า 3 คน 2. กรรมการที่มีอำนาจบริหาร (EXECUTIVE DIRECTOR) 3. กรรมการที่ไม่มีอำนาจบริหาร (NON- EXECUTIVE DIRECTOR) กรรมการจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเลือกตั้งกรรมการ โดยให้นับว่าผู้ถือหุ้นมีคะแนนเสียงเท่ากับ หนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง และผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงของตนที่มีอยู่ทั้งหมดเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็น กรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการให้ใช้เสียงข้างมาก หากมีคะแนนเสียงเท่ากันให้ผู้เป็นประธานที่ประชุมเป็นผู้ออก เสียงชี้ขาด ในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสาม ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 ห้ามมิให้กรรมการประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือเป็นหุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือเข้าเป็นกรรมการในนิติบุคคลอื่นที่ประกอบกิจการ อันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท เว้นแต่จะแจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง กรรมการต้องแจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า หากมีส่วนได้เสียในสัญญาที่ทำกับบริษัทหรือเข้าถือหุ้น หรือหุ้นกู้เพิ่มขึ้นหรือ ลดลงในบริษัทหรือบริษัทในเครือ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
21
คณะกรรมการบริษัท
ดร.ธวัชชัย นาคะตะ
นายชายนิด โง้วศิริมณี
ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหาร ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท
นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา นายเดวิด ไบร์ ฟาน ออฟเพน กรรมการ
22
รายงานประจำปี 2550
กรรมการ
นายไพรัตน์ เสนาจักร
กรรมการ กรรมการบริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท
นายออย บูน อัน กรรมการ
นายวีระยุค พันธุเพชร
ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย
นายวิทยา เนติวิวัฒน์
นายสมศักดิ์ โตรักษา
นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา
นายปราโมทย์ เริ่มยินดี
กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ
กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาฯ
กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ
กรรมการ กรรมการบริหารและเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท
กรรมการ กรรมการสรรหาฯ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ
เลขานุการคณะกรรมการบริษัท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
23
ผังองค์กร
ประธานคณะที่ปรึกษา
คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการสรรหา
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
สำนักตรวจสอบภายใน
24
ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน
ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน
รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน
ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
สายงานการเงินและบริหารเงิน
สายงานนักลงทุนสัมพันธ์ และสารสนเทศ
สายงานวิจัยและพัฒนาธุรกิจ
สายงานบัญชี
สายงานพัฒนาธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์
สายงานวางแผนโครงการ
สำนักงบประมาณ
สายงานประชาสัมพันธ์และ สื่อสารองค์กร
สายงานโฆษณา
รายงานประจำปี 2550
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เลขานุการบริษัท ฝ่ายกฎหมาย สายงานทรัพยากรมนุษย์ สำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ สายงานออกแบบ
สายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ และควบคุมคุณภาพ
สายงานบริหารงานกลาง สายงานบริหารโครงการ โซน 1 สายงานนิติกรรมและ โอนกรรมสิทธิ ์
สายงานบริหารโครงการ โซน 2
สายงานบริหารงานขาย สายงานบริหารโครงการ โซน 3 สายงานบริการและลูกค้าสัมพันธ์ สายงานบริหารโครงการ โซน 4 สายงานบริหารงานก่อสร้าง สายงานบริหารโครงการ โซน 5 บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
25
ข้อมูลโครงการ โครงการของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 1. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์ เฟส 1-2 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2550-2553 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 144 มูลค่าโครงการทั้งหมด 1,434 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 86 มูลค่าโครงการคงเหลือ 860 ล้านบาท 2. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ เอกมัย-รามอินทรา ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2547-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 231 มูลค่าโครงการทั้งหมด 3,445 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 32 มูลค่าโครงการคงเหลือ 414 ล้านบาท 3. เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 395 มูลค่าโครงการทั้งหมด 1,708 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 143 มูลค่าโครงการคงเหลือ 632 ล้านบาท 4. เพอร์เฟค เพลส พระราม 5-ราชพฤกษ์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 306 มูลค่าโครงการทั้งหมด 1,777 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 7 มูลค่าโครงการคงเหลือ 39 ล้านบาท 5. เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง-สุวรรณภูมิ (Private Zone) ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 302 มูลค่าโครงการทั้งหมด 1,659 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 57 มูลค่าโครงการคงเหลือ 268 ล้านบาท 6. เพอร์เฟค พาร์ค รามคำแหง – สุวรรณภูมิ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 198 มูลค่าโครงการทั้งหมด 777 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 3 มูลค่าโครงการคงเหลือ 13 ล้านบาท 26
รายงานประจำปี 2550
7. เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5-บางใหญ่ เฟส 1-4 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2549-2554 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว , บ้านแฝด จำนวนยูนิตทั้งหมด 1,198 มูลค่าโครงการทั้งหมด 3,642 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 791 มูลค่าโครงการคงเหลือ 2,389 ล้านบาท 8. มณีรินทร์ เลค& พาร์ค ราชพฤกษ์-ติวานนท์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2544-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 702 มูลค่าโครงการทั้งหมด 3,012 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 190 มูลค่าโครงการคงเหลือ 806 ล้านบาท 9. มณีรินทร์ พาร์ค รังสิต เฟส 2 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2550-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 98 มูลค่าโครงการทั้งหมด 297 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 5 มูลค่าโครงการคงเหลือ 14 ล้านบาท 10. เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2549-2554 ผลิตภัณฑ์ ทาวน์เฮ้าส์ , บ้านแฝด จำนวนยูนิตทั้งหมด 1,427 มูลค่าโครงการทั้งหมด 3,295 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 906 มูลค่าโครงการคงเหลือ 2,220 ล้านบาท 11. เมโทร พาร์ค สาทร เฟส 1 – 3 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2548-2555 ผลิตภัณฑ์ คอนโดมิเนียม จำนวนยูนิตทั้งหมด 4,625 มูลค่าโครงการทั้งหมด 8,778 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 2,201 มูลค่าโครงการคงเหลือ 4,414 ล้านบาท 12. เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77 – สุวรรณภูมิ (เฟส 1-4) * ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2547-2554 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 1,069 มูลค่าโครงการทั้งหมด 5,825 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 568 มูลค่าโครงการคงเหลือ 2,925 ล้านบาท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
27
13. เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ * ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2550-2553 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 194 มูลค่าโครงการทั้งหมด 826 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 171 มูลค่าโครงการคงเหลือ 723 ล้านบาท 14. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รามคำแหง เฟส1/1 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2551-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 6 มูลค่าโครงการทั้งหมด 152 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 6 มูลค่าโครงการคงเหลือ 152 ล้านบาท 15. เดอะ เมทโทร พระราม 9 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2551-2554 ผลิตภัณฑ์ ทาวน์เฮ้าส์ จำนวนยูนิตทั้งหมด 562 มูลค่าโครงการทั้งหมด 2,050 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 472 มูลค่าโครงการคงเหลือ 1,700 ล้านบาท 16. เมโทร สกาย รัชดา เฟส1 ** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2552-2553 ผลิตภัณฑ์ คอนโดมิเนียม จำนวนยูนิตทั้งหมด 441 มูลค่าโครงการทั้งหมด 1,111 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 367 มูลค่าโครงการคงเหลือ 911 ล้านบาท 17. เมโทร สกาย สุขุมวิท เฟส1 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ 2552-2554 ผลิตภัณฑ์ คอนโดมิเนียม จำนวนยูนิตทั้งหมด 588 มูลค่าโครงการทั้งหมด 1,637 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 570 มูลค่าโครงการคงเหลือ 1,593 ล้านบาท
28
รายงานประจำปี 2550
โครงการใหม่ ในปี 2552
1. เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ เฟส 1 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q4/2551-2554 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 402 มูลค่าโครงการทั้งหมด 1,964 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 402 มูลค่าโครงการคงเหลือ 1,964 ล้านบาท 2. เดอะ เมทโทร สาทร ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q1/2552-2553 ผลิตภัณฑ์ ทาวน์เฮ้าส์ จำนวนยูนิตทั้งหมด 321 มูลค่าโครงการทั้งหมด 1,272 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 321 มูลค่าโครงการคงเหลือ 1,272 ล้านบาท 3. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ พระราม 9 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q3/2551-2557 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 319 มูลค่าโครงการทั้งหมด 3,270 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 319 มูลค่าโครงการคงเหลือ 3,270 ล้านบาท 4. เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง สุวรรณภูมิ (เดอะ เลค โซน) ระยะเวลาพัฒนาโครงการ Q4/2551-2552 ผลิตภัณฑ์ บ้านเดี่ยว จำนวนยูนิตทั้งหมด 114 มูลค่าโครงการทั้งหมด 820 ล้านบาท จำนวนยูนิต คงเหลือ 114 มูลค่าโครงการคงเหลือ 820 ล้านบาท
หมายเหตุ มูลค่าโครงการคงเหลือหักจากยอดโอนและยอดขายค้างโอน ณ 31 ธันวาคม 2551 * โครงการบริษัทย่อย (บจก.เอสเตท เพอร์เฟ็คท์) ** โครงการบริษัทย่อย (บจก. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
29
แผนที่โครงการ
30
รายงานประจำปี 2550
การตลาด และการแข่งขัน 1) บ้านเดี่ยว 2) บ้านแฝด 3) ทาวน์เฮ้าส์ / ทาวน์โฮม กลยุทธ์การตลาด 4) คอนโดมิเนียม บริษัทได้กำหนดกลยุทธ์การตลาด โดยพิจารณาจากสภาพ ทั้งนี้การมีประเภทผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย จะสามารถ แวดล้อม สภาพการแข่งขัน เศรษฐกิจ สังคม และจุดแข็งของบริษัท รองรั บ ความต้ อ งการที ่ แ ตกต่ า งกั น ของลู ก ค้ า แต่ ล ะกลุ ่ ม ได้ โดยกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด ดังนี้ ครอบคลุมขึ้น 1. ผลิตภัณฑ์ ( Product ) • การออกแบบ (Design) บริษัทเน้นการออกแบบบ้านให้ บริษัทเน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการ และสภาพการแข่งขัน โดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ สวยงาม โดยรูปแบบภายนอก นอกจากจะต้องสวยงามแล้ว ยังต้อง เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย การออกแบบพื้นที่ ที่มีผลต่อการตัดสินใจ ของผู้บริโภค ดังนี้ • ทำเลที่ตั้ง (Location) โครงการส่วนใหญ่ของบริษัทตั้ง ใช้สอยในบ้านต้องเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการและ อยู่ในทำเลที่ดีมีศักยภาพการเติบโตสูง อยู่ใกล้แนวรถไฟฟ้าหรือ วิถีชีวิตของลูกค้าเป้าหมาย จากแนวทางของบริษัทดังกล่าว ทำให้ ถนนสายสำคัญ โดยกระจายอยูร่ อบกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล บริษัทได้รับรางวัลบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงาน จากกรมพัฒนา พลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงแรงงาน โดยในปี สามารถเดินทางเข้าสู่ใจกลางเมืองได้สะดวก อาทิ • โครงการโซนตะวันตกของบริษัทอยู่ใกล้รถไฟฟ้าสาย 2550 บริษัทมีแบบบ้าน 3 แบบที่ได้รับรางวัล และสำหรับปี 2551 สี ม ่ ว ง (บางใหญ่ – บางซื ่ อ ) รถไฟฟ้ า สายสี แ ดง บริษัทได้รับรางวัล บ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น ถึง 10 รางวัล (บางซื่อ – ตลิ่งชัน) ถนนราชพฤกษ์ ถนนชัยพฤกษ์ จาก 7 แบบบ้าน และ 3 โครงการ ดังนี้ (เชื่อมต่อถนนราชพฤกษ์ กับ ถนนแจ้งวัฒนะ) เป็นต้น • แบบบ้าน Carina Euro • โครงการโซนสุ ว รรณภู ม ิ ใกล้ ส ถานี ร ถไฟฟ้ า ด่ ว น โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู ม ิ (Airport Link) ถนน รางวัล ระดับดีเด่น ประเภท อาคารบ้านเดีย่ วขนาดเล็ก รามคำแหง (สุ ข าภิ บ าล 3) ถนนสุ ข ุ ม วิ ท 77 ถนน พื้นที่ใช้สอยไม่เกิน 200 ตารางเมตร วงแหวนรอบนอก เป็นต้น • แบบบ้าน Patio Nature • โครงการโซนใจกลางเมือง หรืออยู่ในรัศมีไม่เกิน 10 โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ กิโลเมตรจากใจกลางเมือง ส่วนใหญ่จะเป็นโครงการ รางวัล ระดับดี ประเภท อาคารบ้านเดี่ยวขนาดเล็ก คอนโดมิเนียม โดยอยู่ใกล้สถานีรถไฟฟ้ามหานคร, พื้นที่ใช้สอยไม่เกิน 200 ตารางเมตร สถานีรถไฟฟ้าสายสีเขียว (BTS – ส่วนต่อขยาย) และ • แบบบ้าน Polar สถานีรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (บางซื่อ – ท่าพระ) โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ รางวัล ระดับดี ประเภท อาคารบ้านเดี่ยวขนาดเล็ก • คุณภาพ (Quality) บริษัทเน้นคุณภาพของสินค้า โดย พื้นที่ใช้สอยไม่เกิน 200 ตารางเมตร เริ ่ ม ตั ้ ง แต่ ก ารคั ด เลือกวัสดุคุณภาพ อาทิ การใช้สินค้าในเครือ • แบบบ้าน เอกอัมพร ซี เ มนต์ ไ ทย (SCG) และยั ง เน้ น การคั ด เลื อ กผู ้ ร ั บ เหมาที ่ ม ี โครงการเพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์ ประสบการณ์ ใ นการก่ อ สร้ า ง ตลอดจนมี ก ารนำเทคโนโลยี ก าร รางวัล ระดับดีเด่น ประเภท อาคารบ้านเดีย่ วขนาดกลาง ก่อสร้างสมัยใหม่มาใช้ เพื่อให้มั่นใจในคุณภาพของสินค้า บริษัทมี พื้นที่ใช้สอย 200-300 ตารางเมตร การตรวจสอบ คุณภาพของสินค้า (QC) ทั้งในระหว่างการก่อสร้าง • แบบบ้าน เอกอินทรา และก่อนการส่งมอบ หรือจำหน่ายให้กับลูกค้า จากวิศวกร และ โครงการเพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์ ทีมงานควบคุมคุณภาพของบริษัท รางวัล ระดับดี ประเภท อาคารบ้านเดี่ยวขนาดกลาง พื้นที่ใช้สอย 200-300 ตารางเมตร • รูปแบบผลิตภัณฑ์ ปัจจุบันความต้องการของลูกค้ามี • แบบบ้าน METRO อยู่หลากหลาย เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ โครงการเดอะวิลล่า รัตนาธิเบศร์ ลูกค้าที่แตกต่างกัน บริษัทจึงมีผลิตภัณฑ์หลายประเภท เพื่อให้ รางวัล ระดับชมเชย ประเภท บ้านแถว (ทาวน์เฮ้าส์) ลูกค้าได้เลือกตามความต้องการ ดังนี้ พื้นที่ใช้สอยไม่เกิน 120 ตารางเมตร
การตลาด
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
31
• แบบบ้าน EURO โครงการเดอะเมทโทร พระราม 9 รางวัล ระดับชมเชย ประเภท บ้านแถว (ทาวน์เฮ้าส์) พืน้ ทีใ่ ช้สอยมากกว่า 120 ตารางเมตร • โครงการ มณีรนิ ทร์ พาร์ค 2 รังสิต รางวัล ระดับดีเด่น ประเภท โครงการจัดสรรขนาดเล็ก จำนวนแปลงย่อยไม่เกิน 99 แปลง • โครงการ เพอร์เฟค มาสเตอร์พซี เอกมัย-รามอินทรา รางวัล ระดับดี ประเภท โครงการจัดสรรขนาดกลาง จำนวนแปลงย่อยตัง้ แต่ 100-299 แปลง • โครงการ เพอร์เฟค เพลส สุขมุ วิท77-สุวรรณภูมิ รางวัล ระดับดี ประเภท โครงการจัดสรรขนาดใหญ่ จำนวนแปลงย่อยตัง้ แต่ 300 แปลงขึน้ ไป
• รูปแบบโครงการ และสิ่งแวดล้อม (Project Landscape & Environment) นอกจากแบบบ้านบริษัทยังเน้นการออกแบบและจัดการ สภาพแวดล้อมในโครงการ ระบบสาธารณูปโภค ระบบรักษาความ ปลอดภัย และการบริการหลังการขาย เพือ่ ให้ลกู ค้าได้สงั คมทีด่ ี เพิม่ มูลค่าให้บา้ นในโครงการ ซึง่ จากแนวทางดังกล่าว ทำให้โครงการของ บริษทั ได้รบั รางวัลโครงการทีม่ กี ารบริหารและจัดการสภาพแวดล้อมดี เด่น หรือ EIA Monitoring Awards จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ถึง 3 ปีซอ้ น คือ ปี 2548 ปี 2549 และปี 2550 โดยมี โครงการที่ได้รับรางวัลทั้งหมด 3 โครงการ คือ โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ โครงการเพอร์เฟค เพลส รามคำแหง เฟส 1 และ โครงการเพอร์เฟค เพลส รามคำแหง เฟส 2 และเฟส 3
ตารางแสดงระดั บราคาบ้านแบ่งตามแบรนด์ ระดับราคาบ้าน (ล้านบาท) 1.0-2.0 บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ดอนโดมิเนียม
32
รายงานประจำปี 2550
2.1-3.0
นอกจากนั ้ น บริ ษ ั ท ได้ จ ั ด ให้ ม ี ส วนสาธารณะ ทะเลสาบ พร้ อ มด้ ว ยคลั บ เฮ้ า ส์ ข นาดใหญ่ ท ี ่ ส มบรู ณ ์ แ บบ และร้ า นค้ า ใน บริเวณคลับเฮ้าส์เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้อาศัยในโครงการ โดยร่วมกับพันธมิตรธุรกิจในบริเวณคลับเฮ้าส์ของแต่ละโครงการ อาทิ Black Canyon, Clark Hatch, KPN, V Shop ร้ า นหนั ง สื อ ดอกหญ้า ซึ่งเป็นการสร้างความแตกต่างที่เป็นจุดเด่นเหนือคู่แข่ง ทำให้ ลู ก ค้ า ในโครงการของบริ ษ ั ท มี ค วามเป็ น อยู ่ ท ี ่ ด ี เ หนื อ กว่ า โครงการอื่น ๆ บริ ษ ั ท เน้ น การสร้ า งแบรนด์ โดยผ่ า นกลยุ ท ธ์ ท างด้ า น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ซึ ่ ง เน้ น ไปที ่ ป ระสบการณ์ ท ี ่ ด ี ข องลู ก ค้ า ที ่ ม ี ต ่ อ บ้ า น โครงการและบริการของบริษัทซึ่งจะนำไปสู่ความมั่นคงทางด้าน ภาพพจน์ที่ยั่งยืน ทำให้เกิดผลของการบอกต่อกันของลูกค้า 2. ด้านราคา (Price) บริษัทมีนโยบายในการตั้งราคาตามความเหมาะสมกับ สภาวะเศรษฐกิจ ความต้องการของตลาด และสภาพการแข่งขัน โดยพิ จ ารณาร่ ว มกั บ ปั จ จั ย ด้ า นต้ น ทุ น ทำเล รู ป แบบโครงการ เงื่อนไขการตลาด เปรียบเทียบกับคู่แข่ง ซึ่งมีหลายแนวทาง เช่น การตั้งราคาขายสูงกว่าคู่แข่ง แต่โครงการของบริษัทมีการออกแบบ ที่ดีกว่า มีสภาพแวดล้อม และสิ่งอำนวยความสะดวกที่ดีกว่า รวม ถึงการแสวงหาตลาดใหม่ๆ ที่ยังไม่มีผู้ประกอบการในธุรกิจจัดทำ สินค้าเพื่อตอบสนองได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า ทำให้ บริษัทมีผลการดำเนินการที่ดี บริษัทจึงมีโครงการหลายรูปแบบ และหลายระดับราคา โดยมีสินค้าตั้งแต่ระดับราคา 1.5 ล้านบาท ขึ้นไป จนถึงโครงการหรูระดับราคา 7 – 20 ล้านบาท เพื่อตอบ สนองความต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกัน ดังนี้
3.1-4.0
4.1-5.0
5.1-7.0
7.1 ขึ้นไป
3. ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย แม้ว่าการแสวงหาข่าวสารของลูกค้าจะมาจากสื่อที่หลาก หลาย แต่การแวะเยี่ยมชมโครงการ เพื่อชมบ้านตัวอย่าง ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบโครงการ ยังเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับลูกค้าในการพิจารณา เปรียบเทียบก่อนตัดสินใจ ดังนั้นช่องทางหลักยังเป็นการตัดสินใจที่ สำนักงานขายโครงการ อย่างไรก็ตาม บ้านนับเป็นสินค้าที่มูลค่าสูง ที่ลูกค้าต้อง พิจารณาไตร่ตรองก่อนตัดสินใจซื้อ ซึ่งบางรายอาจสอบถามจาก เพื่อน ญาติ ดังนั้นจากความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อบ้าน และ โครงการของบริษัทจึงทำให้เกิดการขายจากการบอกต่อๆ กันของผู้ อยู่อาศัยในโครงการของบริษัท ดังนั้น เพื่อเป็นการขอบคุณลูกค้า ที่แนะนำเพื่อนมาซื้อบ้าน ของบริษัท และยังเป็นการขยายช่องทางในการเข้าถึงลูกค้าที่มี ประสิทธิภาพสูง บริษัทจึงมีการจัดแคมเปญ Perfect Friend Club โดยในปี 2551 ที่ผ่านมามีการซื้อจากการแนะนำของลูกค้าบริษัทได้ รับการตอบรับอย่างดีมาก 4. ด้านการโฆษณา และส่งเสริมการขาย 4.1 ด้านการโฆษณา ปั จ จุ บ ั น พฤติ ก รรมของลู ก ค้ า มี ก ารเปลี ่ ย นแปลง และมี ความซับซ้อนมากขึ้น การรับข่าวสาร และการแสวงหาข่าวสาร มี ความแตกต่างกัน ดังนั้นบริษัทจึงมีการใช้สื่อผสมผสาน โดยมีการ วิเคราะห์ วิจัยพฤติกรรมของลูกค้า เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลสูงสุด นอกจากนี้บริษัทยังมีการใช้สื่อเพื่อสร้างภาพพจน์ และ สร้างแบรนด์ รวมถึงสร้างความรับรู้ในด้านรูปแบบโครงการและ กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1) เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ เป็นโครงการบ้านพร้อมที่ดินประเภทบ้านเดี่ยว ใน ระดับราคา 7 ล้านบาทขึ้นไป เน้นกลุ่มลูกค้าระดับบน 2) เพอร์เฟค เพลส เป็นโครงการบ้านพร้อมที่ดินประเภทบ้านเดี่ยว ใน ระดับราคา 3.5-7 ล้านบาท เน้นกลุ่มลูกค้าระดับกลาง 3) เพอร์เฟค พาร์ค เป็นโครงการบ้านพร้อมที่ดินประเภทบ้านเดี่ยว และมีบ้านแฝดแนวคิดใหม่ เฉพาะในทำเลที่มีความ ต้องการของลูกค้าในระดับต้นราคา 2.5-5 ล้านบาท เน้น กลุ่มลูกค้าระดับเริ่มต้นครอบครัว หรือลูกค้าที่ต้องการ บ้านที่ใหญ่ขึ้น
4) เดอะ วิลล่า เป็นโครงการทาวน์เฮ้าส์ และบ้านแฝดแนวคิดใหม่ สำหรับครอบครัวเริ่มต้น ในระดับราคา 1.7-3 ล้านบาท 5) เดอะ เมทโทร เป็นโครงการ ทาวน์โฮม 3 ชั้น ในระดับราคา 3 – 5 ล้านบาท โดยเน้นคุณภาพ การออกแบบ และวัสดุเหนือ มาตรฐาน ในทำเลใกล้เมือง ใกล้รถไฟฟ้า 6) เมโทร พาร์ค โครงการคอนโดมิ เ นี ย ม ที ่ ส ามารถเดิ น ทางได้ สะดวกด้วยรถไฟฟ้า ในรูปแบบคอนโดกลางสวนระดับ ราคา 1.2-3 ล้ า นบาท เน้ น การขยายตลาดไปสู ่ ก ลุ ่ ม ลูกค้าที่ทำงานหรืออาศัยอยู่ในเมือง 7) เมโทร สกาย โครงการคอนโดมิเนียม ที่ตั้งอยู่ใจกลางเมือง และ อยู่ใกล้สถานีรถไฟฟ้าโดยเน้นกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ คอนโดมิเนียมใจกลางเมือง และต้องการที่อยู่อาศัยที่ ใกล้สถานีรถไฟฟ้า โดยมีระดับราคา 2-5 ล้านบาท
4.2 ด้านการส่งเสริมการขาย บริษัทเลือกกลยุทธ์การส่งเสริมการขายที่เหมาะกับลูกค้า เป้าหมายที่มีความต้องการแตกต่างกัน เพื่อกระตุ้นการตัดสินใจ ของลูกค้า อาทิ ร่วมกับสถาบันการเงิน ที่เป็นพันธมิตรธุรกิจ ใน การนำข้อเสนออัตราดอกเบี้ย หรืออัตราเงินผ่อนพิเศษกว่าที่มีใน ท้องตลาด หรือร่วมกับพันธมิตรในส่วนของผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ชั้นนำ ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ที่ตกแต่งภายในบ้าน เพื่อลดภาระในการจัดหา มัณฑนากร และเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ลูกค้า ที่จะได้ บ้านพร้อมตกแต่งในราคาพิเศษ เป็นต้น 5. ด้านการบริการ การบริการถือเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของลูกค้าในการ ตัดสินใจเลือก บริษัทมีหน่วยงานที่ช่วยจัดหาสินเชื่อ และอัตราดอก เบี้ยพิเศษจากสถาบันการเงิน สำหรับลูกค้าที่ประสงค์จะขอสินเชื่อ จากสถาบันการเงินในการซื้อบ้าน และมีหน่วยงานบริการหลังการ ขาย ซึ่งจะเข้าไปช่วยดูแลบ้านภายหลังการขาย ที่เรียกว่า Perfect Service รวมถึงมีทีมงานบริหารโครงการที่เข้าไปบริการจัดการ ดูแล ด้ า นการรั ก ษาความปลอดภั ย , สาธารณู ป โภค, สโมสร รวมถึ ง เข้าไปจัดกิจกรรมในโครงการ เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีให้แก่ผู้อยู่ อาศัยในโครงการเพื่อให้เกิดสังคมคุณภาพ ซึ่งเป็นจุดที่บริษัทให้ ความสำคัญ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
33
บริษัทคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ โดยนอกจากผู้ซื้อได้รับบ้านของ ตลาดอสังหาริมทรัพย์ในปีที่ผ่านมาชะลอตัวลง เนื่องมา บริษัทที่มีคุณภาพทั้งการออกแบบและการก่อสร้าง ยังเน้นที่จะทำ โครงการที่เพียบพร้อมด้วยสิ่งอำนวยความสะดวก มีสภาพแวดล้อม จากปัจจัยหลายแนวทาง คือ 1) ความไม่แน่นอนทางการเมือง ปี 2551 ที่ผ่านมานับ ที่ดีเหมาะแก่การอยู่อาศัยจึงทำให้โครงการของบริษัทได้รับรางวัล เป็นปีที่มีเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองค่อนข้าง สิ ่ ง แวดล้ อ มดี เ ด่ น (EIA Monitoring Awards) จากกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถึง 3 ปี คือ ปี 2548 ปี 2549 รุนแรง 2) ราคาน้ำมันที่ปรับเพิ่มสูงขึ้นมากส่งผลต่อต้นทุนการ และปี 2550 โดยมีโครงการที่ได้รับรางวัล คือ โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ โครงการเพอร์เฟค เพลส รามคำแหง เฟส 1 ก่อสร้าง 3) ผู ้ บ ริ โ ภคขาดความเชื ่ อ มั ่ น อั น เนื ่ อ งมาจากปั ญ หา เฟส 2 และเฟส 3 รวมถึงเมื่อปี 2551 ที่ผ่านมาโครงการเพอร์เฟค การเมือง ภาวะเศรษฐกิจ ภาระค่าครองชีพที่สูงขึ้น เพลส รามคำแหง เฟส 2 ได้รางวัลระดับยอดเยี่ยม 1 โครงการ และ และความกั ง วลจากผลกระทบของเศรษฐกิ จ ของ ยังได้รับรางวัลบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น จากกรมพัฒนา ประเทศสหรัฐอเมริกาและกลุ่มยุโรป ที่จะมีต่อประเทศ พลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ซึ่งเป็น เครื่องยืนยันถึงความตั้งใจของบริษัทที่จะทำบ้านและโครงการที่ดี ไทย แต่อย่างไรก็ตาม บ้านนับเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่สำหรับการ ให้แก่ลูกค้า ดำรงชีวิต และอสังหาริมทรัพย์นับเป็นธุรกิจที่มีผลกระทบต่อระบบ โครงการคอนโดมิเนียม เศรษฐกิจ รัฐบาลยังคงพยายามกระตุ้นให้เศรษฐกิจของประเทศ คอนโดมิเนียม เป็นสินค้าที่มีความต้องการสูง โดยเฉพาะ ไทยมี ก ารเติ บ โต จึ ง มี ม าตรการการสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม ภาค เมื ่ อ เกิ ด ปั ญ หาวิ ก ฤตการณ์ ร าคาน้ ำ มั น สู ง ในปี ท ี ่ ผ ่ า นมา ทำให้ อสังหาริมทรัพย์ อันได้แก่ 1) มาตรการการลดหย่อนค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์ คอนโดมิเนียมเป็นทางเลือกของผู้ที่ต้องการอยู่อาศัย หรือผู้ที่ทำงาน ในเมือง ซึ่งจะลดทั้งค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทาง ในปี 2548 จาก 2% เหลือ 0.01 % 2) มาตรการการลดหย่อนค่าธรรมเนียมการจดจำนอง บริษัทได้เปิดโครงการ เมโทร พาร์ค สาทร ในระดับราคา 1-3 ล้าน บาท ซึ่งสามารถเดินทางเข้าเมืองด้วยรถไฟฟ้าสายสีเขียว (ส่วนต่อ จาก 1% เหลือ 0.01 % 3) มาตรการการลดภาษีธุรกิจเฉพาะ จาก 3.3 % เหลือ ขยาย) ซึ่งมีผลตอบรับจากตลาดอย่างดียิ่ง คอนโดมิเนียมที่ดำเนินการโดยบริษัท นอกจากจะมีทำเลที่ 0.11 % ทั้งนี้ ผู้ประกอบการในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ต้องมีความ สามารถเดินทางสะดวกแล้ว ยังเป็นทำเลที่อยู่ใกล้สถานีรถไฟฟ้า ซึ่ง สามารถในการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นมือ สามารถรองรับไลฟ์สไตล์การอยู่อาศัยของคนเมือง นอกจากนั้นจาก อาชีพ สามารถบริหารกิจการ และมองความต้องการของตลาดได้ แนวทางของบริษัทที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมโครงการที่ดีทำให้ ถูกต้อง แม่นยำ มีความแข็งแกร่งทางด้านเงินทุน และสามารถ โครงการคอนโดมิเนียมของบริษัท ซึ่งนอกจากมีทำเลที่ตั้งโครงการที่ ดีแล้ว ยังมีสภาพแวดล้อมส่วนกลางที่ดี ร่มรื่น โดยบริษัทได้เปิด บริหารจัดการต้นทุนการก่อสร้างที่ดี จึงจะสามารถอยู่รอดได้ ในปี 2551 จำนวนผู้ประกอบการในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มี คอนโดมิเนียม เมโทร พาร์ค สาทร เฟส 3 ซึ่งมีสระว่ายน้ำ และ จำนวนลดน้อยลง แต่บริษัทยังคงสามารถขยายตัว เนื่องจากมีการ ทะเลสาบขนาดใหญ่ ทำให้ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากตลาด ดั ง นั ้ น จึ ง กล่ า วได้ ว ่ า นอกจากทำเลและสิ น ค้ า ที ่ ด ี แ ล้ ว ปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น บริ ษ ั ท ยั ง เลื อ กการดำเนิ น การออกแบบผั ง โครงการให้ ม ี ส ภาพ แวดล้อมที่ดี เป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ในการแข่งขัน โครงการบ้าน (บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์) พฤติ ก รรมของผู ้ บ ริ โ ภคในการตั ด สิ น ใจซื ้ อ บ้ า นมี ค วาม ซั บ ซ้ อ นมากขึ ้ น มี ก ารหาข้ อ มู ล และพิ จ ารณารายละเอี ย ดก่ อ น ตัดสินใจมากขึ้น ดังนั้น โครงการที่นำเสนอสินค้าได้ตรงใจทั้งด้าน ทำเล รูปแบบ สิ่งอำนวยความสะดวก และสภาพแวดล้อมโครงการ จึงมีความได้เปรียบทางด้านการแข่งขัน ประกอบกับความวิตก กังวลกับสภาวะเศรษฐกิจ จึงทำให้ผู้ซื้อบ้านมักพิจารณาเลือกจาก โครงการที่ดำเนินการโดยผู้ประกอบการที่มีชื่อเสียง และเลือกบ้าน พร้อมอยู่เพื่อลดความเสี่ยงที่จะไม่ได้บ้านที่สร้างเสร็จ หากเกิด ปัญหากับผู้ประกอบการ และให้ทันกับมาตรการการสนับสนุนด้าน อสังหาริมทรัพย์จากภาครัฐ
สภาพการแข่งขัน
34
รายงานประจำปี 2550
แนวโน้มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ปี 2552 สำหรับประเทศไทยปี 2552 น่าจะเป็นปีที่วิกฤตการณ์การ เงินโลกส่งผลกระทบรุนแรงมากที่สุด แต่จากการที่ไทยสามารถผ่าน พ้นวิกฤตทางการเมืองมาได้ระดับหนึ่ง ส่งผลให้กลไกภาครัฐกลับ มาทำงานได้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการใช้จ่ายหรือการลงทุน ซึ่งน่าจะ เป็นส่วนสำคัญในการช่วยให้เศรษฐกิจไทยสามารถผ่านพ้นวิกฤตไป ได้ดีขึ้น จากการที่ผู้บริโภคและภาคธุรกิจมีความเชื่อมั่นมากขึ้น สำหรับภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้รับผลประโยชน์จากมาตรการ กระตุ ้ น ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และนโยบายการลงทุ น ระบบ
ผู้บริโภค และอาจสร้างแรงจูงใจในการซื้อที่อยู่อาศัยโดยเฉพาะใน ทำเลที่ระบบคมนาคมรองรับในอนาคต รวมทั้งน่าจะเป็นช่วงเวลาที่ เหมาะสมสำหรับการซื้อเพื่อเป็นทรัพย์สินหรือซื้อเพื่อลงทุน อย่างไร ก็ตามยังมีปัจจัยด้านลบ คือสภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ส่งผล กระทบต่อความมั่นคงของรายได้ผู้บริโภคเกิดการชะลอการซื้อที่อยู่ อาศัย หรือผู้บริโภคไม่สามารถขออนุมัติสินเชื่อได้ ส่งผลให้โครงการ ที่อยู่อาศัยที่มีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยตรง ประสบปัญหาได้
รูปที่ 1 GDP ปี 2550 น่าจะขยายตัวร้อยละ 3.0 และคาดว่าปี 2551 จะขยายตัวประมาณร้อยละ 0.0- 2.0 จากการบริโภคและการลงทุน ของภาครัฐเป็นหลัก ขณะที่ภาคการส่งออกที่มีสัดส่วนใน GDP อยู่สูงน่าจะหดตัวอย่างมาก ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ณ ธันวาคม 2551
การขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ รวมทั้งแนวโน้มอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง น่าจะกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจในการซื้อที่อยู่อาศัยมากขึ้น ดังนั้นการ บริ ห ารสถานะทางการเงิ น ที ่ เ ข้ ม แข็ ง และการ วิ เ คราะห์ ค วาม ต้องการของผู้บริโภคได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งมีการพัฒนาความ สามารถทางการผลิตและการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ จะมี บทบาทอย่างยิ่งในสภาวะที่อุปสงค์บางส่วนน่าจะชะลอตัวจากผล กระทบทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดีอุปทานในตลาดน่าจะชะลอตัวลง ด้วย เนื่องจากผู้ประกอบการต้องเผชิญกับความเสี่ยงสภาพคล่อง ทางการเงินและการหาแหล่งเงินทุน แนวโน้ ม ด้ า นอุ ป สงค์ ในปี 2552 มี ป ั จ จั ย ด้ า นบวกที ่ สำคัญ คือ ความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่น่าจะปรับตัวดีขึ้น หลังจาก สถานการณ์ทางการเมืองเริ่มมีเสถียรภาพมากขึ้น มาตรการกระตุ้น ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และนโยบายผลั ก ดั น การลงทุ น ในระบบ สาธารณูปโภคขนาดใหญ่ (Mega Project) รวมทั้งแนวโน้มอัตราดอก เบี้ยและเงินเฟ้อที่ลดลง น่าจะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจและกำลังซื้อของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
35
รูปที่ 2 ความเชื่อมั่นผู้บริโภค ปรับตัวสูงหลังจากสถานการณ์การเมืองเริ่มคลี่คลาย ที่มา: ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย อย่างไรก็ตามความต้องการที่อยู่อาศัยยังคงมีอยู่อย่างต่อ เนื่อง เนื่องจากปัจจัยหลักของการซื้อที่อยู่อาศัยคือการย้ายถิ่นฐาน และการแยกครอบครัว แต่อาจมีการเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกซื้อ
ที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับกำลังซื้อและพฤติกรรมการใช้ชีวิตของตัว ผู้บริโภคในขณะนั้น เช่น การลดงบประมาณในการซื้อที่อยู่อาศัย ลงตามกำลังซื้อ หรือ การที่ขนาดครอบครัวเล็กลง หรือ แต่งงานช้า ลง หรือ ต้องการการเดินทางที่สะดวกรวดเร็ว ปัจจัยทั้งหมดนี้มีผล ให้ อ ุ ป สงค์ ข องที ่ อ ยู่อาศัยประเภทที่มีขนาดเล็ก เช่น อาคารชุด บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ มีมากขึ้น ขณะที่บ้านเดี่ยวยังเป็นที่อยู่อาศัยในอุดมคติของคนส่วน ใหญ่ รวมทั้งเหมาะกับการอยู่อาศัยเป็นครอบครัว เพื่อคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งผลให้บ้านเดี่ยวจึงยังมีความต้องการอย่าง ต่อเนื่องแม้ว่าจะอยู่ในทำเลที่ไกลกว่า โดยการพัฒนาโครงการ อาศัยการขยายตัวของเส้นทางคมนาคมเป็นหลัก และบ้านเดี่ยว ชานเมือง น่าจะได้รับผลดีขึ้นบ้างจากราคาน้ำมันที่ลดลง เมื่อ เทียบกับช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังมีอุปสงค์อีกส่วนที่เกิดจากการซื้อที่อยู่อาศัย เพื่อเป็นทรัพย์สินหรือเพื่อการลงทุน ซึ่งแนวโน้มเงินเฟ้อ อัตราดอก เบี้ย ผลประโยชน์ทางภาษี การลดค่าธรรมเนียมต่างๆ รวมทั้งแนว โน้มราคาที่อยู่อาศัยในปีนี้ น่าจะส่งผลให้เกิดการซื้อที่อยู่อาศัยเพื่อ เป็นทรัพย์สินหรือเพื่อการลงทุนมากขึ้นในกลุ่มที่อยู่อาศัยที่สร้าง เสร็จพร้อมอยู่ในปีนี้ ขณะที่ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจน่าจะส่งผลให้ผู้ ซื้อบางส่วนกำลังซื้อลดลง หรือชะลอการตัดสินใจออกไป ส่งผลให้ ภาพรวมด้านอุปสงค์อาจจะชะลอตัว จากข้อมูลยอดจดทะเบียนที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จ ปี 2551 น่า จะเติบโตขึ้นจากปี 2550 เล็กน้อย มีโครงการอาคารชุดสร้างเสร็จ 36
รายงานประจำปี 2550
รูปที่ 3 จำนวนที่อยู่อาศัยจดทะเบียนเพิ่ม ในกทม. และ ปริมณฑล ปี 2538 - 11 เดือนแรก 2551 (แบ่งตามประเภทที่อยู่อาศัย) ที่มา: ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก ส่วนที่อยู่อาศัยแนวราบยังคงชะลอตัวลง ขณะ ที่ผลประกอบการของผู้ประกอบการรายใหญ่หลายบริษัทปรับตัวดี ขึ ้ น อย่ า งชั ด เจน แม้ ว ่ า ในปี 2551 ในประเทศไทยจะประสบ วิกฤตการณ์หลายอย่าง แสดงให้เห็นว่าผู้ประกอบการรายใหญ่มี ความได้เปรียบทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นความมั่นคงทางการเงิน หรือ ความสามารถในการปรั บ ตั ว ทางธุ ร กิ จ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การ เปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้บริโภคและสถานการณ์การแข่งขัน รวมทั้งได้รับความไว้ใจจากผู้บริโภคมากกว่าผู้ประกอบการรายย่อย ซึ่งแนวโน้มเช่นนี้น่าจะชัดเจนขึ้นไปอีกในปี 2552 นี้ สำหรับในส่วนของอุปทาน ในปี 2551 ตลาดมีการปรับตัว อีกครั้งโดยอาคารชุดเปิดขายลดลงถึง 30% หลังจากมีการเปิดตัว อาคารชุดเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากภาวะ ต้นทุนที่สูงขึ้นอย่างมาก ขณะที่ความต้องการและกำลังซื้อชะลอตัว จากราคาที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วและสภาวะทางเศรษฐกิจ อุปทาน เพิ่มขึ้นจำนวนมาก ทั้งจากหน่วยเปิดขายใหม่และมีหน่วยสร้าง เสร็จส่วนหนึ่งที่ถูกนำมาขายใหม่ ส่งผลให้ในปีนี้ หน่วยเปิดขาย ใหม่น่าจะมีแนวโน้มลดลงและมีการแข่งขันที่สูงขึ้น เนื่องจากมี ปริ ม าณสิ น ค้ า สร้ า งเสร็ จ และระหว่ า งก่ อ สร้ า งจำนวนมาก และ สามารถพัฒนาโครงการได้ยากขึ้นเนื่องจากราคาที่ดินในเมืองขยับ สูงขึ้นมาก เช่นเดียวกับโครงการทาวน์เฮ้าส์ใกล้เมืองซึ่งจะพัฒนาได้ ยากขึ้นและราคาเริ่มสูงกว่าบ้านเดี่ยวชานเมือง ประกอบกับราคา น้ำมันที่เริ่มถูกลง น่าจะส่งผลให้บ้านเดี่ยวหรือทาวน์เฮ้าส์ชานเมือง มีการพัฒนาโครงการมากขึ้น ขณะที่บ้านเดี่ยวราคาระดับบนใน ทำเลที่มีการคมนาคมที่สะดวกน่าจะเป็นกลุ่มที่อยู่อาศัยที่มีการ พัฒนาโครงการมากขึน้ เช่นกัน เนือ่ งจากมีสนิ ค้าคงเหลือค่อนข้างน้อย และกลุม่ ผูซ้ อ้ื สามารถได้รบั ผลประโยชน์จากภาษีสงู กว่ากลุม่ อืน่
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
37
รูปที่ 4 เปรียบเทียบปริมาณหน่วยเปิดขายใหม่แต่ละประเภท ปี 2550 กับ 2551 ที่มา: บริษัท Agency for Real Estate Affairs
รูปที่ 5 เปรียบเทียบปริมาณหน่วยเปิดขายใหม่แต่ละระดับราคา ปี 2550 กับ 2551 ที่มา: บริษัท Agency for Real Estate Affairs
รูปที่ 6 ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างปรับตัวลดลง ที่มา: กระทรวงพาณิชย์
38
รายงานประจำปี 2550
แนวโน้มการแข่งขันทางราคาน่าจะยังคงอยู่ แต่จะมีแนว โน้มลดลงหลังจากผู้ประกอบการรายใหญ่สามารถควบคุมปริมาณ สินค้าคงเหลือให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมได้แล้ว ซึ่งจะส่งผลให้ที่สุด แล้ ว ผู ้ ป ระกอบการจะหั น ไปแข่ ง ขั น ทางด้ า นการออกแบบ ด้ า น คุณภาพการผลิต และการควบคุมต้นทุนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด รวมทั้งการ สร้างภาพลักษณ์และจุดขายของโครงการ รวมทั้งการสร้างภาพ
ลักษณ์ของผู้ประกอบการ เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน และรักษาระดับการทำกำไรไว้ ขณะที่แนวโน้มต้นทุนการก่อสร้างใน ปีนี้น่าจะต่ำกว่าปีที่ผ่านมา รวมทั้งยังคงมีผลประโยชน์ด้านภาษี น่า จะส่งผลให้ผลประกอบการยังคงมีแนวโน้มอัตราการทำกำไรที่ค่อน ข้างดี แม้ว่าอาจจะไม่สามารถขยับราคาขึ้นได้ เนื่องจากกำลังซื้อ ชะลอตัว
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
39
ข้อมูลอื่น ๆ โครงสร้างเงินทุน
1. หลักทรัพย์ของบริษัท (1) หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 6,552,000,000 บาท เป็นหุ้นสามัญ 1,092,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้น ละ 6 บาท และทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 4,726,329,720 บาท เป็นหุ้นสามัญ 787,721,620 หุ้น โดยพัฒนาการเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาปรากฏดังนี้ ณ สิ้นงวดบัญชี ทุนจดทะเบียน • มูลค่า (บาท) • จำนวน (หุ้น) ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว • มูลค่า (บาท) • จำนวน (หุ้น)
2551
2550
2549
2548
6,552,000,000 1,092,000,000
6,213,565,176 1,035,594,196
6,213,565,176 1,035,594,196
6,213,565,176 1,035,594,196
4,726,329,720 787,721,620
4,724,947,164 787,491,194
4,695,334,290 782,555,715
4,695,210,150 782,535,025
หมายเหตุ : เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2548 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำปี 2548 ได้มีมติอนุมัติให้ดำเนินการลดทุน จดทะเบียนของบริษัท จากทุนจดทะเบียนเดิม 7,200,000,000 บาท ให้เหลือทุนจดทะเบียน 4,779,565,176 บาท โดยวิธีตัดหุ้นสามัญ จดทะเบียนที่ยังมิได้นำออกจำหน่ายจำนวน 403,405,804 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท รวม 2,420,434,824 บาท ออก ซึ่งเป็นทุน จดทะเบียนที่บริษัทได้สำรองไว้เพื่อรองรับใบสำคัญแสดงสิทธิที่มิได้มีการจัดสรร และที่สำรองไว้เพื่อรองรับการแปลงหนี้เป็นทุนของ เจ้ า หนี ้ ไ ม่ ม ี ป ระกั น ที ่ ไ ด้ ถู ก ระงั บ สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ ง นอกจากนี ้ ท ี ่ ป ระชุ ม ยั ง มี ม ติ ใ ห้ เ พิ ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นจากทุ น จดทะเบี ย นเดิ ม 4,779,565,176 บาท เป็นทุนจดทะเบียน 5,013,565,176 บาท กล่าวคือ ให้เพิ่มทุนจดทะเบียนขึ้นอีก 234,000,000 บาท โดยเป็นการ ออกหุ้นสามัญใหม่จำนวน 39,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท และให้นำหุ้นสามัญที่ออกใหม่ทั้งจำนวนนี้สำรองไว้เพื่อ รองรับการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่บริษัทจะออกและเสนอขายให้แก่กรรมการ และ/หรือ พนักงานของ บริษัทตามโครงการ ESOP ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 อนุมัติให้บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียน จากเดิม 5,013,565,176 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 835,594,196 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) เป็น 6,213,565,176 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 1,035,594,196 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ บริษัทได้ดำเนินการจดทะเบียนกับ กระทรวงพาณิชย์ สำหรับการเพิ่มทุนดังกล่าวเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2548 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริษัทมีทุนที่เรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,695,210,150 บาท (หุ้นสามัญ 782,535,025 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิในเดือนธันวาคม 2547 และมิถุนายน 2548 เป็นจำนวนเงินรวม 13,047,486 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 2,174,581 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทได้ดำเนินการจดทะเบียน เปลี่ยนแปลงทุนชำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2548 และ 7 กรกฎาคม 2548 ตามลำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทมีทุนที่เรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,695,334,290 บาท (หุ้นสามัญ 782,555,715 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิในเดือนมิถุนายน 2549 เป็นจำนวน เงินรวม 124,140 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 20,690 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทได้ดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชำระแล้ว กับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2549
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
41
42
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีทุนที่เรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,724,947,164 บาท (หุ้นสามัญ 787,491,194 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิในเดือนธันวาคม 2549 และเดือน มิถุนายน 2550 เป็นจำนวนเงินรวม 29,612,874 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 4,935,479 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทได้ดำเนินการจด ทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2550 และ 11 กรกฎาคม 2550 ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 อนุมัติให้ลดทุนจดทะเบียนของบริษัท จากเดิม เป็น 5,589,565,176 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 931,594,196 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 6 บาท) โดยการตัดหุ้นสามัญที่ยังไม่ได้ ออกจำหน่ายจำนวน 104,000,000 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 6 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 624 ล้านบาท ซึ่งสำรองไว้เพื่อรองรับการใช้ สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทจำนวน 39,000,000 หุ้นและการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ จำนวน 65,000,000 หุ้น ที่มีมติอนุมัติให้ยกเลิก ซึ่งบริษัทได้จดทะเบียนการลดทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2551 และอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 6,552,000,000 บาท (หุ้นสามัญ 1,092,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท) เพื่อ รองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 ข) บริษัทได้จดทะเบียนการ เพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2551 ณ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีทุนที่เรียกชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,726,329,720 บาท (หุ้นสามัญ 787,721,620 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิในเดือนธันวาคม 2550 และเดือน มิถุนายน 2551 เป็นจำนวนเงินรวม 1,382,556 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 230,426 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทได้ดำเนินการจด ทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2551 และ 8 กรกฎาคม 2551 (2) ใบสำคัญแสดงสิทธิ ตามแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทต้องดำเนินการออกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทให้แก่เจ้าหนี้ไม่มีประกันใน อัตราหนี้ 1,000 บาท ต่อใบสำคัญแสดงสิทธิ 7 หน่วย โดยไม่คิดมูลค่า ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิหุ้นละ 0.01 บาท โดยได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้ เสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 53 ล้านหน่วย โดยไม่คิดมูลค่า ใบสำคัญแสดงสิทธิมีอายุ 10 ปี นับจากวันที่ 7 พฤศจิกายน 2545 ซึ่งเป็นวันออกใบสำคัญแสดงสิทธิ และมีกำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิทุกวันสุดท้ายของไตรมาส 2 และไตรมาส 4 ของปี โดย เริ่มจากไตรมาส 4 ปี 2545 ทั้งนี้ ในการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว มียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 8,909,176 หน่วย ใช้สิทธิ ในระหว่างปี 2551 จำนวน 36,600 หน่วย โดยปัจจุบันบริษัทคงเหลือใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ได้มีการใช้สิทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 8,872,576 หน่วย ในเดือนธันวาคม 2550 และมิถุนายน 2551 บริษัทฯได้รับเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจำนวน 230,426 หุ้น ราคาหุ้นละ 0.01 บาท รวมเป็นเงิน 2,304 บาท บริษัทฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจากการใช้ สิทธิดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 1,382,556 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2551 และ 8 กรกฎาคม 2551 ทำให้ส่วนต่ำ กว่ามูลค่าหุ้นเพิ่มขึ้นรวมเป็นจำนวนทั้งสิ้น 44,093,444 บาท เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2551 ได้มีมติเห็นชอบให้ยกเลิกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญของบริษัทฯที่จะออกให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทฯในวงจำกัด (ESOP) เป็นจำนวน 39,000,000 หน่วย (3)
หุ้นกู้ รายละเอียดหุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
รายงานประจำปี 2550
(หน่วย : พันบาท) 2551 - 450,000 450,000 (450,000)* -
หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2547 ชุดที่ 3 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2549 รวม หัก : ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึงกำหนดภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี * ครบกำหนดชำระวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 ซึ่งบริษัทได้ดำเนินการไถ่ถอนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว (4). หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ หุ้นกู้แปลงสภาพ ครั้งที่ 1/2548 วันที่ออกหุ้นกู้ : 25 พฤศจิกายน 2548 ชนิดของหุ้นกู้ : หุ้นกู้แปลงสภาพ ระบุชื่อผู้ถือ ไม่มีประกันและไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ เสนอขายต่อ : ผู ้ ล งทุ น ประเภทสถาบั น ต่ า งประเทศเฉพาะเจาะจงเป็ น เงิ น สกุ ล เหรี ย ญ สหรัฐอเมริกา (U.S. Dollars) ทั้งนี้ ผู้ลงทุนสถาบันต่างประเทศเป็นผู้รับความ เสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมด (Fully Hedged at all cost by Investors) จำนวนหุ้นกู้ : 200,000 หน่วย ราคาหุ้นกู้ต่อหน่วย : 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา อายุหุ้นกู้ : 5 ปี นับแต่วันที่ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ คือ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 3.50 ต่อปี การชำระดอกเบี้ย : ทุกวันที่ 25 กุมภาพันธ์, 25 พฤษภาคม, 25 สิงหาคม และ 25 พฤศจิกายนของ ทุ ก ปี ต ลอดอายุ ข องหุ ้ น กู ้ ซึ ่ ง จะมี ก ารจ่ า ยดอกเบี ้ ย ครั ้ ง แรกในวั น ที ่ 25 กุมภาพันธ์ 2549 การชำระคืนเงินต้น : เฉพาะหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ ให้ชำระคืนเป็นเงินสกุลเหรียญ สหรัฐอเมริกา พร้อมส่วนที่เกินจากมูลค่าที่ตราไว้ในอัตราร้อยละ 31.60 ของ มูลค่าที่ตราไว้ โดยจำนวนเงินที่ชำระคืนข้างต้น ให้ยึดอัตราแลกเปลี่ยนที่ กำหนดไว้ ณ วันที่ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ ราคาแปลงสภาพ : หุ้นละ 6.25 บาท ระยะเวลาการใช้สิทธิแปลงสภาพ : ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นกู้ 18 เดือน จนถึงวันที่แปลงสภาพครบกำหนด ไถ่ถอนหุ้นกู้ แต่การใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้แต่ละครั้ง จะต้องมีมูลค่าไม่ต่ำ กว่า 1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ข้อบังคับกำหนดแปลงสภาพ : บริษัทมีสิทธิเรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ ใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญได้เป็น จำนวน 1 ใน 3 ของจำนวนหุ้นกู้แปลงสภาพที่ผู้ถือหุ้นได้รับจัดสรรในครั้งแรก เมื่อ 1. ปริมาณการซื้อขายหุ้นสามัญของบริษัทถัวเฉลี่ยในช่วง 45 วันทำการซื้อ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก่อนวันที่บริษัทเรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ ใช้สิทธิแปลงสภาพสูงเกินกว่า 10 ล้านหุ้น และ 2. ราคาปิ ด ถั ว เฉลี ่ ย ของหุ ้ น สามั ญ ของบริ ษ ั ท ที ่ ท ำการซื ้ อ ขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในช่วง 60 วันทำการก่อนวันที่บริษัท เรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ใช้สิทธิแปลงสภาพ และราคาปิดในช่วง 5 วันทำการซื้อ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก่อนวันที่บริษัทเรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ ใช้สิทธิแปลงสภาพสูงเกินกว่า
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
43
- - -
เงื่อนไขของผู้ถือหุ้นกู้
44
ร้อยละ 130 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ สำหรับปี ที่ 1-2 ร้อยละ 150 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ สำหรับปี ที่ 3 ร้อยละ 175 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ สำหรับปีที่ 4-5 หลังจากนั้น บริษัทสามารถบังคับให้ผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพหุ้นกู้เป็น หุ้นสามัญได้อีกครั้งละ 1 ใน 3 ของจำนวนหุ้นกู้แปลงสภาพที่ผู้ถือหุ้น กู้ได้รับการจัดสรรในครั้งแรก โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1. ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น กู ้ แ ปลงสภาพที ่ ถู ก บั ง คั บ แปลงสภาพในครั ้ ง ก่ อ นได้ จำหน่ายหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิแปลงสภาพในครั้งก่อนทั้ง จำนวนแล้ว หรือ 2. หลังจากที่บริษัทได้เรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้น สามั ญ ครั ้ ง ก่ อ นได้ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า 60 วั น ทำการซื ้ อ ขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ปริมาณการซื้อขายหุ้นสามัญและราคาปิดถัวเฉลี่ยของหุ้น สามัญจะต้องเป็นไปตามเงื่อนไข 1. และ 2. ข้างต้น : ผู้ลงทุนสถาบันต่างประเทศเฉพาะเจาะจงที่ได้ซื้อ และชำระเงินหุ้นกู้เป็น จำนวนตั้งแต่ 20 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาขึ้นไป บริษัทจะจัดให้มีการประชุม เพื่อแต่งตั้งให้บุคคลที่ผู้ลงทุนต่างประเทศให้ความเห็นชอบเข้าเป็นกรรมการ บริษัทจำนวน 1 ท่าน
บริษัทได้บันทึกสำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ (หมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 25) 2.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
รายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นของบริษัทที่ถือหุ้นสูงสุด 10 อันดับแรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ปรากฏดังนี้ ลำดับ รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรก จำนวนหุ้น (หุ้น) ร้อยละ 1 บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผู้ฝาก 496,593,489 63.04 84,776,944 10.76 2 บริษัท แจแปนเอเชีย กรุ๊ป จำกัด /1 3 Thailand Securities Depository Company Limited For Depositors 46,898,002 5.95 /2 45,910,827 5.83 4 บริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จำกัด /3 5 บริษัท สำนักกฎหมายนทีอินเตอร์แนทชั่นแนล จำกัด 37,018,928 4.70 6 Japan Asia Group Limited 12,467,224 1.58 7 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี 11,385,000 1.45 8 น.ส.สุมาลี หวังประกอบสุข 11,385,000 1.45 9 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ 10,580,000 1.34 10 บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) 9,200,000 1.17 ข้อมูลจาก: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หมายเหตุ : /1 บริษัทแจแปนเอเชีย กรุ๊ป จำกัด ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท เนื่องจากเป็นเจ้าหนี้บริษัทตามแผนฟื้นฟูกิจการ และได้ ดำเนินการแปลงหนี้เป็นทุนตามขั้นตอนในแผนฟื้นฟูกิจการ /2 บริษัทเอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จำกัด ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท เนื่องจากเป็นเจ้าหนี้บริษัทตามแผนฟื้นฟูกิจการ และ ได้ดำเนินการแปลงหนี้เป็นทุนตามขั้นตอนในแผนฟื้นฟูกิจการ /3 บริษัท สำนักกฎหมายนทีอินเตอร์แนทชั่นแนล จำกัด ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท ในฐานะตัวแทนเจ้าหนี้ที่มีสิทธิโดย ชอบตามแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัท
รายงานประจำปี 2550
กรณีผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าวที่ถือหุ้นในบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด (NVDR) ผู้ถือหุ้น NVDR ดังกล่าวจะมีสิทธิได้ รับประโยชน์เช่นเดียวกับผู้ถือหุ้น แต่จะไม่มีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น (เว้นแต่กรณีการใช้สิทธิการออกเสียง เพื่อลงมติเพื่อการเพิกถอนหุ้นออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ) ทั้งนี้ในการตรวจ สอบจำนวนหุ้นที่ถูกออกเป็น NVDR นั้น สามารถตรวจสอบได้จากเว็บไซท์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ www.set.or.th
รายงานการกระจายการถือหุ้นตามสัญชาติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 นิติบุคคล ผู้ถือหุ้น ราย หุ้น % ราย จำนวนหุ้น % สัญชาติไทย 229 620,974,296 78.84 14 572,033,687 72.62 สัญชาติต่างด้าว 8 166,710,724 21.16 3 165,162,920 20.97 รวม 237 787,685,020 100.00 17 737,196,607 93.59
ราย 215 5 220
บุคคลธรรมดา จำนวนหุ้น 48,940,609 1,547,804 50,488,413
% 6.22 0.19 6.41
ข้อมูลจาก : บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 3. นโยบายจ่ายเงินปันผลของบริษัทและบริษัทย่อย ได้มีมติการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2550 เกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท จากเดิมที่มีนโยบาย การจ่ายเงินปันผลในอัตราร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นจะต้องได้รับ มติ เ ห็ น ชอบจากที ่ ป ระชุ ม ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น เป็ น สำคั ญ คณะกรรมการบริ ษ ั ท ได้ ม ี ม ติ ก ำหนดนโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลภายหลั ง การ เปลี่ยนแปลงนโยบายวิธีการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม จากวิธีส่วนได้เสีย ( Equity Method ) มาเป็นวิธีการบันทึก ต้นทุน(Cost Method ) ตามนโยบายเดิม คือ บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิ ของงบการเงินเฉพาะกิจการหลังหักสำรองตามกฎหมาย โดยให้พิจารณาฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษัท เป็นส่วนประกอบในการพิจารณาด้วย บริษัทย่อยมีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการหลัง หักสำรองตามกฎหมาย โดยให้พิจารณาฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงาน ของบริษัท เป็นส่วนประกอบในการพิจารณาด้วย
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
45
ประวัติผู้บริหารผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท ชื่อ – สกุล / ตำแหน่ง
1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร ประธานคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนฯ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ผูกพันบริษัท
อายุ (ปี)
62
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดส่วน ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว การ ระหว่าง ถือหุ้นใน บริษัท (%) ผู้บริหาร
ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่วงเวลา
ตำแหน่ง
ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภท ธุรกิจ
• ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ • Audit Committee Program (ACP) 13/2006 ; Director Accreditation Program (DAP) 52/2006 ; สมาคมส่งเสริม สถาบั น กรรมการบริ ษ ั ท ไทย (IOD)
0.00096 %
ปี 2535 – ปัจจุบัน ปี 2549 - ปัจจุบัน ปี 2538 - ปี 2549 ปี 2538 - ปัจจุบัน ปี 2527 – ปี 2538 ปี 2521 – ปี 2527
ประธานกรรมการบริษัท/ ประธานกรรมการบริหาร/ ประธานคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนฯ ประธานกรรมการ กรรมการผู้จัดการ วุฒิวิศวกร วย.736 วิศวกรทีป่ รึกษา/กรรมการผูจ้ ดั การ หัวหน้าหน่วยวิจัย กองก่อสร้าง
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัท ซีด้า จำกัด บริษัท ซีด้า จำกัด สภาวิศวกร บริษัท ซีด้า จำกัด กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย
2 นายชายนิด โง้วศิริมณี 55 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รองประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ผูกพันบริษัท
• นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา
0.850%
ปี 2528 – ปัจจุบัน ปี 2545 – ปัจจุบัน ปี 2542 – ปัจจุบัน ปี 2538 – ปัจจุบัน
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ รองประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ [เดิมชื่อ บริษัท รัตนการเคหะ จำกัด (มหาชน)]
3 นายวีระยุค พันธุเพชร 63 กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ
• • • • •
ปี 2550 – ปัจจุบัน ปัจจุบัน ปี 2548 – ปี 2549 ปี 2547 ปี 2543 – ปี 2547 ปี 2541 – ปี 2543 ปี 2539 – ปี 2543 ปี 2537 – ปี 2541 ปี 2537 ปี 2532 ปี 2529 ปี 2522 – ปี 2523 ปี 2515
กรรมการ,/กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ ข้าราชการบำนาญ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี หัวหน้า ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ผู้ตรวจราชการ / ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ / ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านเงินกู้ ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ ผู ้ ช ่ ว ยกรรมการบริ ห ารประจำ ประเทศในกลุ่ม SEA Group วิทยากรโท / หัวหน้าฝ่าย
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำ ด้านการค้าระหว่างประเทศ สำนักงานผู้แทนการค้าไทย ฝ่ายราชการประจำ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง / สำนักงาน กองทุนรวมวายุภักษ์ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง / สำนักอำนวยการจัดประชุมประจำปี สภาผู้ว่าการธนาคารพัฒนาเอเชีย ครั้งที่ 33 สำนั ก งานกองทุ น ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ พัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองนโยบายการออมและการลงทุ น สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองนโยบายตลาดทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองนโยบายกองนโยบายการเงินและ สถาบันการเงิน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ธนาคารโลก กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ประจำกองควบคุมธนาคารและ การออมสิน / ภาษีสรรพสามิต กองนโยบายภาษี สำนักงานเศรษฐกิจ การคลัง
ปริญญาโท วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการวิเคราะห์นโยบาย ทางการเงิน สถาบันฝึกอบรมกองทุน การเงินระหว่างประเทศ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี., USA ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการพัฒนาตลาดหลักทรัพย์ สำนักงานกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี., USA ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการพัฒนาผู้บริหาร มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด, USA
46
รายงานประจำปี 2550
ชื่อ – สกุล / ตำแหน่ง
4 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาฯ
อายุ (ปี)
58
คุณวุฒิทางการศึกษา
ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง
สัดส่วน ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว การ ระหว่าง ถือหุ้นใน บริษัท (%) ผู้บริหาร
ช่วงเวลา
ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภท ธุรกิจ
ตำแหน่ง
ปี 2541 – ปัจจุบัน ปี 2536 – ปัจจุบัน
5 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ 55 กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการสรรหาฯ กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนฯ
• • •
ปริญญาโท กฎหมาย มหาวิทยาลัยยอร์ช วอชิงตัน,USA นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Director Accreditation program(DAP)77/2005; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย(IOD)
1.352 %
ปี 2547 – ปัจจุบัน ปี 2529 – ปัจจุบัน
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการสรรหาฯ/ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ กรรมการผู้จัดการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัท สำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์ วิทยา จำกัด / กฎหมาย
6 นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน 43 ออฟเพน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
• •
ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ นานาชาติ และการศึกษา เอเชีย, มหาวิทยาลัย ฮอปกิ้นส์ ศิลปศาสตร์บัณฑิต ด้านความสัมพันธ์นานาชาติ วิทยาลัยโพโนมา
0.000 %
ปี 2550 – ปัจจุบัน ปี 2541 – ปัจจุบัน ปี 2538 – ปี 2541 ปี 2536 – ปี 2538 ปี 2531 – ปี 2534
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการ ประธานกรรมการ / ผู้จัดการฝ่ายลงทุน นักวิเคราะห์การเงินอาวุโส ผู้จัดการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัท เจนเนอรัล เอ็นเตอร์ไพรซ์ แมเนจเม้นท์ เซอร์วิส(ฮ่องกง) จำกัด บริษัท ลาซาร์ด เอเชีย (ฮ่องกง) จำกัด / บริษัท ลาซาร์ด เอเชีย อินเวสเม้นท์ แมเนจเม้นท์ จำกัด บริษัท สมิท บาร์นี่ อินช์ บริษัท ซันมาร์ ชิปปิ้ง
• • • • •
Ph.D., International Management, Walden University, Naples, Florida U.S.A. A.C.A. Certificate, American Accreditation Council for Accountancy, U.S.A. M.B.A., Management, The University of SarasotaSarasota Florida, U.S.A B.A., Accountancy & Management, Eckerd College-St. Petersburg, U.S.A. Audit Committee Program(ACP) 10/2005, Director Accreditation Program(DAP) 48/2005, Director Certification Program (RCP) 14/2006, Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS) 7/2007; สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
0.000 %
ปี 2548 – ปัจจุบัน ปี 2551 – ปัจจุบัน ปี 2550 – ปัจจุบัน ปี 2550 – ปัจจุบัน ปี 2549 – ปัจจุบัน ปี 2548 – ปัจจุบัน ปี 2547 – ปัจจุบัน ปี 2544 – ปัจจุบัน ปี 2544 – ปัจจุบัน ปี 2540 – ปัจจุบัน ปี 2545 – ปี 2546 ปี 2541 – ปี 2545
กรรมการ / กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ / ประธาน คณะกรรมการสรรหาฯ และ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ Vice Chairman / ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร / อนุกรรมการสำนักงานหักบัญชี กรรมการ ในคณะอนุกรรมการ บริหารการลงทุน กรรมการ ในคณะกรรมการ สายงานเศรษฐกิจ คณบดี คณะบริหารธุรกิจ กรรมการผู้จัดการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จำกัด (มหาชน) บริษัท ไอเอฟเอส แคปปิตอล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำกัด (มหาชน) บริษัท เอื้อวิทยา จำกัด(มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จำกัด ในคณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตร ล่วงหน้าแห่งประเทศไทย กองทุนประกันสังคม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ / มหาวิทยาลัย บริษทั หลักทรัพย์ ดีบเี อส ไทยทนุ จำกัด/ หลักทรัพย์
7 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย 51 กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการ สรรหาฯ กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนฯ
กรรมการ/กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหาฯ กรรมการผู้จัดการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัทสำนักกฎหมายสมศักดิ์ โตรักษา จำกัด / กฎหมาย
• ปริญญาโท นิติศาสตร์ 0.0000 % มหาวิทยาลัยรามคำแหง • Audit Committee Program (ACP) 13/2006 Director Certificate Program (DAP) 52/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
47
ชื่อ – สกุล / ตำแหน่ง
อายุ (ปี)
8 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการ กรรมการบริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ผูกพันบริษัท
60
9 ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ
47
คุณวุฒิทางการศึกษา • • •
MINI MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Director Certification Program(DCP)74/2006, Director Accreditation Program(DAP)30/2004; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
0.000 %
• •
ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐ โอไฮโอ, USA. Director Certification Program (DCP) 74/2006, Director Accreditation Program (DAP) 30/2004 ; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
0.019 %
ปริญญาโท การเงิน มหาวิทยาลัยฮุสตัน - เครียเลค, เท็กซัส, USA ปริญญาตรีวทิ ยาศาสตร์บณ ั ฑิต เศรษฐศาสตร์และ บริหารธุรกิจ - การเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
10 นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา 48 กรรมการ กรรมการบริหารและ เลขานุการคณะ กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ กรรมการผู้มีอำนาจลงนาม ผูกพันบริษัท
• •
48
รายงานประจำปี 2550
ช่วงเวลา
ตำแหน่ง
ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภท ธุรกิจ
ปี 2539 – ปัจจุบัน กรรมการ / กรรมการบริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
ปี 2545 – ปี 2551 ปี 2543 – ปี 2545 ปี 2543 – ปี 2545 ปี 2543 – ปี 2545 ปี 2543 – ปี 2545
กรรมการ / กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัท บางกอกรับเบอร์ จำกัด (มหาชน) / รับจ้างผลิตรองเท้า บริษัท สหรัตนนคร จำกัด / นิคมอุตสาหกรรม บริษัท จารุพลพัฒนา จำกัด / ธุรกิจบันเทิง บริษัท ไม้เขียวชบาแดง จำกัด / ธุรกิจบันเทิง
0.000 %
ปี 2546 – ปัจจุบัน ปี 2543 – ปี 2546 ปี 2542 – ปี 2543 ปี 2541 – ปี 2542 ส.ค. – ต.ค. 2541 ม.ค. – ก.พ. 2541 ปี 2535 – ปี 2540 ปี 2530 – ปี 2535
กรรมการ / ผู้ช่วยประธาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ กรรมการบริหารและเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร หัวหน้าฝ่ายวิจัย ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด รายย่อย ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่าย ผู้จัดการพิเศษ ที่ปรึกษาผู้จัดการพิเศษ ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายวิจัย ผู้จัดการอาวุโส
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) ฝ่ายวิจัย / บริษัทหลักทรัพย์ บีฟิท จำกัด ฝ่ายการตลาด / บริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุนรวม บีโอเอ จำกัด ฝ่ายบริหารจัดการกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ /ธนาคาร เอเชีย จำกัด (มหาชน) บริษัทเงินทุน ธนสินธ์ จำกัด บริษัท สินบัวหลวง จำกัด(มหาชน) ฝ่ายวิจัย / บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ เอสซีเอฟ จำกัด (มหาชน) ฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ / บริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ ธนชาติ จำกัด
0.000 %
ปี 2551 - ปัจจุบัน ปี 2550 – ปัจจุบัน ปี 2547 – ปี 2550 ปี 2546 – ปี 2547 ปี 2541 – ปี 2546 ปี 2532 - ปี 2541
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร Financial & Management Consultancy Managing Director Executive Director Group Vice Chairman / President Executive Director Chief Executive Officer
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) East Alliance Assets Limited (“EAAL”) Depfa Investment Bank Ltd., Standard Bank Group and the Group Subsidiary Standard Bank Asia Ltd., TCC Group of Companies London Forfaiting Company PLC (“LFC”) LFC’s Asian operation
11 นายออย บูน อัน 51 • Bachelor of Business Administration กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร National University of Singapore
ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง
สัดส่วน ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว การ ระหว่าง ถือหุ้นใน บริษัท (%) ผู้บริหาร
ชื่อ – สกุล / ตำแหน่ง
อายุ (ปี)
ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง
สัดส่วน ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว การ ระหว่าง ถือหุ้นใน บริษัท (%) ผู้บริหาร
คุณวุฒิทางการศึกษา
ช่วงเวลา
ตำแหน่ง
ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภท ธุรกิจ
12 นายวิชัย สิงห์วิชา ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
54
• • •
ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Direct Certificate Program (DCP) 74/2006, Direct Accreditation Program (DAP) 54/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
0.026 %
ปี 2531 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนา บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด ธุรกิจ (มหาชน)
13 นางวนิดา ไวยาวัจมัย รองประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ
55
• •
ปริญญาตรี บัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Director Accreditation Program (DAP) 50/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
0.026 %
ปี 2531 – ปัจจุบัน รองประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ ปี 2528 – ปี 2531 หัวหน้าส่วนบัญชี / ผู้จัดการ ฝ่ายตรวจสอบและวางแผน
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธนานันต์ จำกัด / สถาบันการเงิน
14 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เลขานุการบริษัท
55
• • • •
นิติศาสตร์บัณฑิต 1.454 % จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนติบัณฑิตไทย ประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง กฎหมายธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Director Certification Program (DCP ) 69/2006 Director Accreditation Program (DAP) 43/2005 Finance for Non-Finance Director ; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
ปี 2541 – ปัจจุบัน ปี 2535 – ปัจจุบัน ปี 2537 – ปี 2540 ปี 2536
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) คณะบุคคล สำนักงานกฎหมาย ธรรมาทิตย์ / กฎหมาย บริษัทเงินทุน ทรัพย์ธำรง จำกัด / สถาบันการเงิน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ศรีนคร จำกัด/ สถาบันการเงิน
15 นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายการเงิน กรรมการบริหารความเสี่ยง
50
16 นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา 45 ผู้อำนวยการสายงานบัญชี กรรมการบริหารความเสี่ยง
เลขานุการบริษัท หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร
• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Roosevelt University, USA.
0.000 %
ปี 2545 – ปัจจุบัน ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายการเงิน ปี 2539 – ปี 2543 กรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
0.126 %
ปี 2539 – ปัจจุบัน ผูอ้ ำนวยการ / บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด กรรมการบริหารความเสีย่ ง (มหาชน) ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการ โครงการ เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ ผูจ้ ดั การอาวุโส – ฝ่ายบริหารเงิน – สายงานการเงิน ผูจ้ ดั การอาวุโส – ฝ่ายบริหารเงิน – สายงานการบัญชี
• •
หมายเหตุ - ลำดับที่ 1 ดร.ธวัชชัย นาคะตะ - ลำดับที่ 10 นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา - ลำดับที่ 11 นาย ออย บูนอัน - ลำดับที่ 14 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) บริษัท โรงแรมชายทะเล จำกัด / โรงแรม
ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหาร เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2551 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารและเลขานุการคณะกรรมการบริหาร เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2551 ได้รับการแต่งตั้งตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเลขานุการบริษัทตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2551
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
49
รายละเอียดการดำรงตำแหน่งของกรรมการ ผู้บริหารและผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 รายชื่อบริษัทย่อย
รายชื่อกรรมการ
1. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ 2. นายชายนิด โง้วศิริมณี 3. นายวีระยุค พันธุเพชร 4. ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ 5. นายไพรัตน์ เสนาจักร์ 6. นายสมศักดิ์ โตรักษา 7. ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย 8. นายวิทยา เนติวิวัฒน์ 9. นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน 10. นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา 11. นายออย บูน อัน 12. นายปราโมทย์ เริ่มยินดี 13. นางสาวรัศมี เมธาวิกุล 14. นางสาวสุรีย์พร พิพัฒนวัฒนพงษ์ 15. นายธงชัย ปิยสันติวงศ์ 16. นางธนิดา สุรธำรงค์ 17. นางสาวกันยะรัตน์ กฤษณเทวินทร์ 18. ดร.พิจิตต รัตตกุล 19. นางอุไรวรรณ ภัทรกานต์ 20. นายธงชัย คุณากรปรมัตถ์ 21. นางสาววิลาวัณย์ เหลืองนาคทองดี 22. นายประสงค์ วรารัตนกุล 23. นายเกรียงไกร จิวานันต์ 24. นายเซียง ฟุค เซ็ง 25. นายโก๊ะ ยอง เชน 26. นายลิม อี้ เซ็ง 27. นายชาน คิน ฟาย 28. นายอรรถพงศ์ พรธิติ 29. นางอัญชลี ชวนิชย์ 30. นายภูริชญ์ ประภาวดี 31. นายชัยณรงค์ เงินโสภา
50
รายงานประจำปี 2550
บริษัท PF
X, XX /, // *, / /, // /, // *, / *, / / / /, // / @
บริษัทย่อย Bright Center Point
PSS
ESTPF
/
/
/
/ / / /
/
บริษัทร่วม บริษัทอื่น
/
KL
REAL
/
/
/
/
X /, // /, // /, // *, / / / / / / / /
/
หมายเหตุ : 1. 2. 3.
PF PSS ESTPF KL REAL Bright Center Point X XX * / // @
หมายถึง บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) หมายถึง บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด หมายถึง บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด หมายถึง บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) หมายถึง บริษัท เรียลเซอร์วิส จำกัด หมายถึง บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด หมายถึง บริษัท เซ็นเตอร์ พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด หมายถึง ประธานกรรมการบริษัท และประธานกรรมการบริหาร หมายถึง ประธานกรรมการบริหาร หมายถึง กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการ หมายถึง กรรมการบริหาร หมายถึง เลขานุการบริษัท
ปัจจุบัน REAL หยุดประกอบธุรกิจแล้ว
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
51
ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท ในปี 2551 บริษัทมีการจ่ายค่าตอบแทนในรูปของเบี้ยประชุมสำหรับคณะกรรมการบริษัท 11 คน จำนวนทั้งสิ้น 2,700,000 บาท คณะกรรมการตรวจสอบ 3 คน จำนวน 710,000 บาท คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 3 คน จำนวน 90,000 บาท และค่าบำเหน็จ 10,000,000 บาท (หมายเหตุ: นอกเหนือจากค่าตอบแทนในรูปของเบี้ยประชุมในฐานะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัทบางท่านจะได้รับค่าตอบแทนในรูปเงินเดือน ในฐานะที่เป็นผู้บริหารและกรรมการบริหารของบริษัท) ค่าตอบแทนในรูปของเบี้ยประชุมและค่าบำเหน็จของกรรมการบริษัท กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และกรรมการตรวจสอบ ประจำปี 2551
2551 ชื่อ-นามสกุล กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการพิจารณา ค่าบำเหน็จ รวม ค่าตอบแทน ครั้ง จำนวนเงิน ครั้ง จำนวนเงิน ครั้ง จำนวนเงิน จำนวนเงิน ครั้ง จำนวนเงิน
ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ** นายสมศักดิ์ โตรักษา * 8 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย *,** 8 นายชายนิด โง้วศิริมณี นางวนิดา ไวยาวัจมัย *** นายวิชัย สิงห์วิชา *** ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ นางพาณีพรรณ ทิสาพงศ์ *** นายไพรัตน์ เสนาจักร์ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี **** นายวิทยา เนติวิวัฒน์ ** นายวีระยุค พันธุเพชร * 8 น.ส.ศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา # นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน นายออย บูน อัน รวม หมายเหตุ:
52
5 180,000 5 180,000 5 5 5 5 5 350,000 5 3 3 3 710,000
500,000 1 50,000 937,500 6 1,487,500 250,000 937,500 13 1,367,500 250,000 1 20,000 937,500 14 1,387,500 250,000 937,500 5 1,187,500 729,167 729,167 729,167 729,167 250,000 937,500 5 1,187,500 520,833 520,833 250,000 937,500 5 1,187,500 312,500 312,500 250,000 1 20,000 937,500 6 1,207,500 250,000 625,000 13 1,225,000 150,000 3 150,000 150,000 520,833 3 670,833 150,000 3 150,000 2,700,000 90,000 10,000,000 13,500,000
* กรรมการตรวจสอบ, กรรมการที่เป็นอิสระ ** กรรมการพิจาณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ *** กรรมการลาออก **** ครบกำหนดออกตามวาระ และสละสิทธิ์ไม่รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการอีก # ได้รับการแต่งตั้งตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551
รายงานประจำปี 2550
ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ในปี 2551 รวม 10 คน เท่ากับ 39.59 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ จำนวนคน จำนวนเงิน (ล้านบาท) เงินเดือน 10 29.29 อื่น ๆ 10 10.30 รวม 10 39.59 รายละเอียดค่าตอบแทนพนักงานในปี 2551 มีดังนี้ ลักษณะผลตอบแทน จำนวน (ล้านบาท) เงินเดือน 237.05 อื่น ๆ 68.20 รวม 305.25 จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 481 คน แยกเป็น ผู้บริหาร 10 คน ฝ่ายสำนักงาน 218 คน ฝ่ายการตลาดและบริหารโครงการ 253 คน รวม 481 คน
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
53
การกำกับดูแลกิจการ บริษัทได้ให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลกิจการ เพื่อให้มีการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส และเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มคุณค่าให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาวภายใต้จริยธรรมที่ดี รวมทั้งยังคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่นและสังคมโดยรวม บริษัทได้ปฏิบัติตามหลัก การกำกับดูแลกิจการที่ดี 5 หมวด ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น • ในการจัดการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทจะจัดให้มีสถานที่ที่ประชุมอยู่ในทำเลที่มีการคมนาคมสะดวกอันจะทำให้ผู้ถือหุ้น สามารถเดินทางมาร่วมประชุมได้โดยไม่ลำบาก และก่อนการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ผู้ถือหุ้นจะได้รับหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้ง รายละเอียดข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ เป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 14 วันก่อนวันประชุม ซึ่งในแต่ละวาระจะมี ความเห็นของคณะกรรมการประกอบ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลทันเวลาและเพียงพอในการตัดสินใจลงคะแนนในวันประชุม นอกจากนี้บริษัทยังได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกำหนดการจัดประชุมผู้ถือหุ้น และวาระการประชุมโดยผ่านทางเว็บไซด์ของบริษัทก่อน การประชุม 30 วันเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นหรือนักลงทุนสามารถส่งคำถามล่วงหน้าได้ก่อนวันประชุม ในด้านของสิทธิในการเข้าประชุม คณะกรรมการบริษัทได้อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นในการเข้าร่วมประชุมและ ออกเสียงอย่างเต็มที่ และละเว้นการกระทำใดๆ ที่เป็นการจำกัดโอกาสเข้าประชุมของผู้ถือหุ้น และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามและ แสดงข้อคิดเห็นในการประชุมอย่างอิสระ โดยบริษัทจะจัดให้มีผู้ที่เกี่ยวข้องตอบคำถามของผู้ถือหุ้นทุกข้อและครบถ้วนในประเด็น สำคัญที่มีข้อซักถาม บริษัทจะจัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงในทุกวาระของการประชุมและโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวาระการเลือกตั้ง กรรมการ บริษัทจะจัดให้มีการออกเสียงเลือกตั้งเป็นรายบุคคล ซึ่งบริษัทจะใช้ระบบ Barcode ช่วยในการลงทะเบียน และ/หรือการ นับคะแนนเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นและเพื่อความรวดเร็ว ภายหลังวันประชุม บริษัทจะแจ้งมติของที่ประชุม และจัดทำรายงานการประชุมที่มีสาระสำคัญ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ตรวจสอบได้ และจะเผยแพร่รายงานการประชุมต่อผู้ถือหุ้นในเวลาที่เหมาะสม และบริษัทจะแจ้งมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นผ่านระบบ ข่าวของตลาดหลักทรัพย์อย่างช้าภายในวันทำการถัดไป ส่วนข้อมูลที่บริษัทจัดทำอย่างน้อยจะต้องมีรายชื่อกรรมการและผู้บริหารที่ เข้าร่วมประชุม ผลของมติและผลของการลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระ รวมทั้งบันทึกประเด็นที่ผู้ถือหุ้นได้ซักถามและการชี้แจงของ บริษัทโดยสรุป และบริษัทจะดำเนินการจัดส่งรายงานการประชุมต่อตลาดหลักทรัพย์ และเผยแพร่รายงานบนเว็บไซท์ของบริษัท ภายใน 14 วันนับแต่วันประชุม ในปี 2552 ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั หนังสือเชิญประชุมพร้อมทัง้ รายละเอียดข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ เป็นการล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่า 14 วันก่อนวันประชุม นอกจากนีบ้ ริษทั ได้มกี ารแจ้งกำหนดการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ และวาระการประชุม ต่อกรรมการ และผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2552 ซึ่งปรากฏในข่าวของบริษัทบนเว็บไซท์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และบน เว็บไซท์ของบริษัทก่อนการประชุม 30 วันเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นหรือนักลงทุนสามารถติดต่อสอบถามได้ หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน • ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิเข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเท่าเทียมกันตามข้อบังคับของบริษัท และบริษัทได้เสนอทางเลือกให้ กับผู้ถือหุ้น โดยจัดเตรียมหนังสือมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมแทน หรือให้กับกรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือหุ้นในกรณี ที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถระบุมติออกเสียงในแต่ละวาระเพื่อให้ผู้รับมอบฉันทะปฏิบัติตาม และมี การบันทึกรายงานการประชุมถูกต้องครบถ้วน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ • บริษัทมีนโยบายในการดำเนินการประชุมอย่างโปร่งใสและเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความ คิดเห็นและตั้งคำถามในที่ประชุมโดยจัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสมเพียงพอ นอกจากนี้บริษัทยังกำหนดให้กรรมการบริษัทรวมถึง กรรมการอิสระและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตอบข้อซักถามในที่ประชุม อีกทั้งมีการบันทึกข้อซักถามและข้อคิด เห็นที่สำคัญไว้ในรายงานการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ภายหลัง • ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารไม่มีการเพิ่มวาระการประชุมที่ไม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จำเป็น โดยเฉพาะวาระสำคัญที่ผู้ถือ หุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ
54
รายงานประจำปี 2550
• บริษัทได้มีการกำหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือรายการที่เกี่ยวโยง กัน โดยได้ถือปฏิบัติตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ใช้บังคับการทำรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างเคร่งครัด เพื่อ ประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นโดยรวมอย่างเท่าเทียมกัน นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อ รับทราบ รายการที่เกี่ยวโยงกันและรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งได้มีการพิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ และได้ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด
หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทได้ตระหนักถึงความสำคัญของผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าจะเป็น ลูกค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ ผู้จำหน่าย สินค้าหรือผู้รับเหมา ก่อสร้าง ชุมชนและสังคม รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ พนักงานบริษัท โดยบริษัทได้พยายามดำเนินนโยบาย เพื่อให้เกิดความยุติรรม และเหมาะสมกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนี้ ผู้ถือหุ้น บริษัทคำนึงถึงความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลสำคัญต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างถูกต้องครบถ้วนทันเวลา โดยผ่านช่องทาง ต่างๆ เช่น การแจ้งข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และการแจ้งข้อมูลผ่านทางเว็บไซท์ของบริษัท การประกาศทางหนังสือพิมพ์ การจัดทำ Press Release หรือการจัดส่งจดหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ลูกค้า นอกจากให้ความสำคัญในการก่อสร้างบ้านที่มีคุณภาพ บริษัทยังให้ความสำคัญเรื่องจรรยาบรรณในการปฏิบัติ โดยเอาใจ ใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า ให้บริการที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน รวมทั้งการแก้ปัญหาที่ลูกค้าร้องเรียนหรือให้ข้อเสนอแนะต่อบริษัท โดยเร็วที่สุด พนักงานบริษัท บริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่พิจารณากำหนดการจ่ายผลตอบแทนให้กับพนักงานอย่าง เหมาะสม และจัดทำคู่มือให้กับพนักงานทุกคนที่ปฏิบัติงานกับบริษัท เพื่อให้ทราบถึงนโยบายสวัสดิการที่พนักงานพึงได้รับอย่าง ชัดเจน และมีการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเพื่อพนักงาน รวมถึงการปรับเลื่อนตำแหน่งอย่างมีขั้นมีตอนในการพิจารณาเพื่อให้ เกิดความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายอย่างยุติธรรม เจ้าหนี้ ผูจ้ ำหน่าย สินค้า บริษทั มีรอบระยะเวลาการวางบิลและจ่ายเช็ค หลังการส่งมอบงาน/ตรวจรับงานทีช่ ดั เจนโดยแจ้งผูร้ บั เหมา ตั้งแต่ก่อนรับงาน โดยดำเนินการจ่ายเป็นไปตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับเจ้าหนี้ ผู้รับเหมา บริษัทมีหลักการพิจารณาคัดเลือกผู้รับเหมาเพื่อให้ได้คุณสมบัติในการรับเหมางานของบริษัทที่มีประสิทธิภาพ และเสมอภาค โดยบริษัทพิจารณากำหนดราคายุติธรรมเป็นราคากลางเปรียบเทียบราคาตลาดทั่วไป โดยมีระดับราคาบางรายการที่ สูงกว่าราคาจัดจ้างตลาดบ้าง แต่ก็รักษาอัตราเฉลี่ยตามระดับราคาตลาด และยังมีการพิจารณาถึงความยากง่ายของสภาพการ ทำงานในการกำหนดราคาด้วยในกรณีพิเศษที่มีความจำเป็นในบางครั้ง โดยจะมีคณะอนุกรรมการจัดจ้างแต่ละคณะเป็นผู้พิจารณา ตามความเหมาะสม โดยพิจารณาถึงวัตถุประสงค์และความสำเร็จในการจัดซื้อจัดจ้างที่โปร่งใส นอกจากนี้ การกำหนดงวดงาน การแบ่งงวดงานค่าก่อสร้างอย่างเป็นธรรม การตรวจรับงาน การวางบิล มีการกำหนดอย่างชัดเจนในการทำสัญญากับผู้รับเหมา เพื่อให้มีการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน รวมทั้งกำหนดการจ่ายเงินตรงตามระเบียบบริษัท เพื่อให้ผู้รับเหมามีความมั่นใจและเติบโตไป พร้อมๆ กับบริษัท คู่แข่งขัน บริษัทดำเนินนโยบายตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี หลีกเลี่ยงวิธีการไม่สุจริต เพื่อทำลายคู่แข่ง
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
55
สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทตระหนักถึงคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ สังคม วัฒนธรรมไทย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมเป็นสาระสำคัญในการพัฒนาที่ดิน ของบริษัท ทุกโครงการของบริษัทจะมีการออกแบบโดยมิได้เพียงพิจารณาตามข้อกำหนดของ พรบ.จัดสรรและกฎระเบียบของหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง แต่บริษัทจะมองถึงคุณภาพความเป็นอยู่ของสังคมที่จะเกิดขึ้นจากการพัฒนาของบริษัท การให้พื้นที่ส่วนกลางมาก กว่าข้อกำหนดของกฎหมายเพื่อให้โครงการมีความสมบูรณ์ ทั้งต้นไม้ สถานที่พักผ่อนออกกำลังกาย สนามกีฬาสำหรับลูกบ้าน นอกจากนี้เพื่อเป็นการร่วมรับผิดชอบสังคมบริษัทได้ร่วมกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมความเจริญท้องถิ่นโดยราดยางถนน(บางส่วน) บน ถ.ประชาอุทิศเพื่อให้การจราจรในชุมชนคล่องตัวมากขึ้น มอบทุนการศึกษาให้นักเรียน สร้างศาลาที่พักผู้โดยสารให้กับชุมชนรวมถึง การร่วมจัดกิจกรรมบริจาคอุปกรณ์เครื่องเขียน อุปกรณ์เครื่องกีฬา และอื่นๆ ให้นักเรียนโรงเรียนต่างจังหวัด ซึ่งบริษัทได้ให้ความ สำคัญกิจกรรมที่เป็นสาธารณะประโยชน์ และพิจารณาดำเนินการตามความเหมาะสม
หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส • คณะกรรมการบริษัทให้ความสำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสียกับบริษัท เกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส น่าเชื่อถือ ทั่วถึง และทันเวลา ทั้งรายงานข้อมูลทางการเงิน รายงานประจำปี (แบบ 56-1) แบบแสดงรายการข้อมูล และข้อมูลทั่วไป ตลอดจนข้อมูลสำคัญโดยได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ เพื่อให้ผู้ลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้สนใจโดยทั่วไปได้รับทราบโดยผ่านช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย www.set.or.th และ เว็บไซท์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ www.sec.or.th ตามเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์และ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์กำหนดไว้ นอกจากนี้ข้อมูลสารสนเทศต่างๆที่บริษัทได้เผยแพร่ต่อสาธารณชนและผู้มีส่วน ได้เสียแล้ว จะนำมาเผยแพร่รวมไว้ในเว็บไซท์ของบริษัท www.pf.co.th ด้วย โดยมีการปรับปรุงข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ใช้ สามารถรับข้อมูลข่าวสารได้ทันต่อเหตุการณ์ เข้าถึงได้สะดวก และได้รับประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้ บริษัทได้จัดตั้งฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ สายงานนักลงทุนสัมพันธ์และสารสนเทศ เพื่อรับผิดชอบงานเกี่ยวกับการให้บริการข้อมูล และการเปิดเผยสารสนเทศที่สำคัญของบริษัท โดยติดต่อได้ที่นายสันติรักษ์ บุลยเลิศ โทร. 0-2247-7500 โทรสาร 0-2247-7399 Email: santirak@pf.co.th หรือที่ http://www. pf.co.th/ir ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหารได้พิจารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งของผลประโยชน์อย่างรอบคอบ ด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริตอย่างมีเหตุมีผลและเป็นอิสระภายใต้กรอบ จริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชน์ของบริษัทโดยรวมเป็นสำคัญ ดังนั้น เพื่อให้ เกิดความโปร่งใสและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน ทั้งนี้ การมอบหมายอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบได้กำหนดให้ บุคคลที่ได้รับมอบอำนาจต้องไม่อนุมัติรายการใดๆ ที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้เสีย หรืออาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • บริษัทได้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่เกี่ยวกับการทำรายการที่ เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน หรือการได้มาและจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียน แล้วแต่กรณี รวมทั้งกำหนด นโยบายและวิธีการดูแลไม่ให้ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน • บริษัทได้ให้ความสำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน ทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ มีการ กำหนดการดำเนินการของผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน สำหรับการตรวจสอบภายในได้มีการจัดตั้ง สำนักตรวจสอบภายในขึ้นเฉพาะ เพื่อรับผิดชอบช่วยตรวจสอบการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ หน่วยงานตรวจสอบภายใน จะรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ • บริษัทได้เปิดเผยบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ไว้ภายใต้หัวข้อการ จัดการแล้ว และเปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนของคณะกรรมการไว้ภายใต้หวั ข้อค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหารด้วย
56
รายงานประจำปี 2550
หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างคณะกรรมการ • บริษัทกำหนดให้มีกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน โดยปัจจุบันบริษัทมีคณะกรรมการที่มีประสบการณ์และมีความรู้ ความ สามารถจำนวน 11 คน ประกอบด้วย - กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (Executive Director) จำนวน 5 คน - กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร (Non-Executive Director) จำนวน 3 คน - กรรมการอิสระ (Independent Director) จำนวน 3 คน หมายเหตุ : ณ วันที่ 19 มกราคม 2552 กรรมการที่เป็นผู้บริหารมีจำนวน 4 คน และกรรมการอิสระมีจำนวน 4 คน เนื่องจากมี กรรมการที่เป็นผู้บริหารบางท่านลาออก และได้มีมติคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งกรรมการใหม่ และกรรมการอิสระทดแทนตำแหน่ง ที่ว่าง • ประธานกรรมการ ไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกันกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ในการกำหนดนโยบาย กำกับดูแล และการบริหารงานประจำ • คณะกรรมการของบริษัททุกคน มีความเป็นอิสระอย่างเต็มที่ในการแสดงความคิดเห็น บริษัทให้ความสำคัญกับความเห็น ของคณะกรรมการอิสระมาก ในกรณีที่กรรมการอิสระมีข้อท้วงติงหรือไม่เห็นด้วยในเรื่องใด จะต้องนำเรื่องกลับไปพิจารณาทบทวน อีกครั้งหนึ่ง เพื่อหาข้อสรุปที่ชัดเจนโปร่งใสในเรื่องนั้นๆ • บริษัทได้กำหนดคุณสมบัติของบุคคลที่จะดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการอิสระ ซึ่งเท่ากับข้อกำหนดขั้นต่ำของก.ล.ต. หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนดดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง (นับรวมบุคคลที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 258 ตามกฎหมายหลักทรัพย์) 2. ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน รวมทั้งไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ หรือเป็นผู้มีอำนาจ ควบคุมของบริษัท หรือบริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยต้องไม่มีผลประโยชน์หรือ ส่วนได้เสียในลักษณะดังกล่าว 3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงินและการ บริหารงานของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในลักษณะที่จะทำให้ขาดความเป็น อิสระ 4. ไม่เป็นญาติสนิทกับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และ ไม่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทน เพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการและผู้ถือหุ้นรายใหญ่ คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อช่วยในการกำกับดูแลกิจการของบริษัทและเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงาน บริษัทได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ซึ่ง กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจนจำนวน 5 คณะ ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 2 คณะกรรมการบริหาร 3. คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท 4. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ และ 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยคณะกรรมการชุดย่อยได้ถูกตั้งขึ้นเพื่อการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะจะทำหน้าที่พิจารณาอย่าง โปร่งใส
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
57
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ • คณะกรรมการบริษัทได้มีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัท เพื่อให้ฝ่ายจัดการดำเนินงานตามนโยบายและแผนที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีนโยบายการกำกับดูแลกิจการ และมีการทบทวนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • เพื่อส่งเสริมหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทได้จัดทำจรรยาบรรณพนักงาน (Code of Conduct) เพื่อให้เป็นแนวทางใน การปฏิบัติของพนักงานในแนวทางเดียวกัน • คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดมาตรการในการขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีการแต่งตั้งอนุกรรมการต่างๆ เพื่อ แบ่งแยกอำนาจหน้าที่ชัดเจน ทั้งนี้ได้กำหนดนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ และกระบวนการในการอนุมัติรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ให้ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องได้ยึดถือปฏิบัติในเรื่องต่างๆ ได้แก่ หลักเกณฑ์การอนุมัติรายการ การทำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน การใช้ข้อมูลภายใน การเปิดเผยข้อมูล • คณะกรรมการบริษทั ได้กำหนดให้ฝา่ ยบริหารประเมินความเสีย่ งของกิจการ และกำหนดมาตรการป้องกันและจัดการความเสีย่ ง และรายงานให้ทราบเป็นประจำ ซึง่ รวมถึงความเสีย่ งทีม่ ผี ลต่อการดำเนินงานของบริษทั ตามทีร่ ะบุไว้ในส่วนที่ 2 เรือ่ งปัจจัยความเสีย่ ง การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดให้มีการประชุมทุกไตรมาสหรือตามประธานกรรมการบริษัทสั่งการเพื่อพิจารณาผลการดำเนินงานใน แต่ละไตรมาสและติดตามความคืบหน้าการดำเนินงาน โดยประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะร่วมพิจารณาเรื่องสำคัญเข้า วาระการประชุม กรรมการแต่ละคนมีความเป็นอิสระที่จะเสนอเรื่องเข้าสู่วาระการประชุม การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการที่เป็นผู้บริหารมีการประเมินผลงานในส่วนที่ตนเองรับผิดชอบรายไตรมาสและประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัทโดยนำเสนอเปรียบเทียบในช่วงเวลาที่ผ่านมา ค่าตอบแทน บริษัทได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ เพื่อพิจารณานโยบายและหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาจ่ายค่าตอบแทนสำหรับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ และที่ปรึกษาของบริษัท และพิจารณากำหนดค่าตอบแทนประจำปี การปรับเงินเดือนประจำปี รวมทั้งการปรับเงินเดือนระหว่างปี รวมทั้งผลประโยชน์อื่นอันเป็นการตอบแทนการทำงานของฝ่ายบริษัทและพนัก งานทุกระดับ โดยคำนึงถึงประสบการณ์ ภาระหน้าที่ และขอบเขตความรับผิดชอบ และเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นที่อยู่ในระดับเดียวกับ อุตสาหกรรมเดียวกัน (รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการตามหัวข้อ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร) การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทได้ให้ความสำคัญในการพัฒนากรรมการและผู้บริหารเพื่อการสืบทอดการบริหารในอนาคต บริษัทตระหนักถึงความสำคัญ ด้านบุคลากรระดับผู้บริหาร โดยจัดอบรมหลักสูตร “การบริหารจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์” โดยมีเนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วยความรู้ ทางด้านอสังหาริมทรัพย์ กฎหมาย การเงิน บัญชี และการกำกับดูแลกิจการที่ดี ฯลฯ เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทได้เรียนรู้เตรียม พร้อมในการเป็นกรรมการในอนาคต และในส่วนของกรรมการบริษัทก็ได้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทยที่จัดขึ้นสำหรับการพัฒนาและให้การสนับสนุนกรรมการบริษัท เพื่อการกำกับดูแลกิจการที่ดีไปปฏิบัติในองค์กร การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีนโยบายห้ามกรรมการและผู้บริหารนำข้อมูลภายในของบริษัทซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปเปิดเผยเพื่อแสวงหาผล ประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม นอกจากนี้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทที่ได้รับ ข้อมูลทางการเงินของบริษัทต้องไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในระยะเวลา 1 เดือนก่อนเปิดเผยสู่สาธารณะ โดยบริษัทได้แจ้งให้ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทข้างต้นหลีกเลี่ยงการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทก่อนที่งบการเงินจะเปิดเผยสู่สาธารณะ รวมทั้ง ได้แจ้งให้กรรมการและผู้บริหารเข้าใจถึงภาระหน้าที่ในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริษัท ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการถือหลัก ทรัพย์ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 58
รายงานประจำปี 2550
ทั้งนี้บริษัทได้กำหนดบทลงโทษทางวินัยต่อพนักงานของบริษัทที่กระทำการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับหรือประกาศของบริษัท ซึ่งระบุไว้ ในระเบียบข้อบังคับในการปฏิบัติงานของพนักงาน บุคลากร จำนวนพนักงาน บริษัทมีพนักงานแบ่งตามแต่ละสายงานได้ดังนี้ สังกัด จำนวนพนักงาน (คน) จำนวนพนักงาน (คน) 31-ธ.ค.-50 31-ธ.ค.-51 1 กรรมการและที่ปรึกษา 9 10 2 สำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 10 11 3 สายงานวางแผนโครงการ 19 16 4 สายงานออกแบบ 16 17 5 สายงานบริหารงานก่อสร้าง 15 15 6 สายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์และควบคุมคุณภาพ 6 9 7 สายงานโฆษณา 12 13 8 สายงานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร 6 5 9 สายงานบัญชี 11 14 10 สำนักตรวจสอบภายใน 3 3 11 สายงานนิติกรรมและโอนกรรมสิทธิ์ 43 45 12 สายงานบริหารงานขาย 1 7 13 สายงานการเงินและบริหารเงิน 14 16 14 สำนักงบประมาณ 5 5 15 สายงานลงทุนสัมพันธ์และสารสนเทศ 9 8 16 สายงานพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 0 1 17 สายงานวิจัยและพัฒนาธุรกิจ 3 5 18 สายงานทรัพยากรมนุษย์ 6 6 19 สายงานบริหารงานกลาง 21 21 20 สายงานบริการและลูกค้าสัมพันธ์ 12 20 21 สายงานบริหารโครงการ โซน 1 - 5 217 234 รวม 438 481 ทั้งนี้ ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมาบริษัทไม่เคยมีปัญหากฎหมายเกี่ยวกับข้อพิพาทด้านแรงงานแต่อย่างใด ค่าตอบแทนพนักงาน ค่าตอบแทนรวมของบุคลากร (ไม่รวมผู้บริหาร) ของบริษัทประกอบดัวย เงินเดือน โบนัส สวัสดิการ ล่วงเวลา เบี้ยเลี้ยง และเงิน สมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ รวมทั้งสิ้นในปี 2550 และปี 2551 จำนวน 253.41 ล้านบาท และ 305.25 ล้านบาท ตามลำดับ นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริษัทเล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาบุคลากร ดังนั้นนโยบายการพัฒนาบุคลากรของบริษัทจึงถือเป็นหนึ่งความตั้งใจที่บริษัท แสดงความมุ่งมั่นต่อการให้ความสำคัญด้านบุคลากร แนวทางต่างๆ ในการจัดการการเรียนรู้ในองค์กรจึงเกิดขึ้นเพื่อส่งเสริมและเพิ่มพูนการ พัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงานให้มีศักยภาพ สามารถปฏิบัติหน้าที่การงานได้อย่างมีประสิทธิภาพอันจะนำสู่การสร้างสรรค์ คุณภาพผลิตภัณฑ์ของบริษัทสู่สังคมต่อไป
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
59
บุคคลอ้างอิงอื่นๆ
60
ผู้บริหารแผน
บริษัท เอเชียน อินเตอร์เนชั่นแนล แพลนเนอร์ส จำกัด เลขที่ 195 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ชั้น 19 ห้อง 1907 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทร. 0–2670–1144 โทรสาร 0–2670–1152
ผู้สอบบัญชี
นายณรงค์ พันตาวงษ์ นายรุทธ เชาวนะกวี นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เลขที่ 193/136-137 อาคารเลครัชดา คอมเพล็กซ์ ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0–2264–0777, 0–2661–6190 โทรสาร 0–264–0790, 0–2661–9192
ที่ปรึกษากฎหมาย
บริษัท สำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์วิทยา จำกัด 33/35, 33/39-40 อาคารวอลล์สตรีท ทาวน์เวอร์ ชั้น 9 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0-2236-2334 โทรสาร 0-2236-3916
นายทะเบียนหลักทรัพย์
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2359-1200-1 โทรสาร 0-2359-1259
รายงานประจำปี 2550
รายการระหว่างกันกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วม 1.
รายการระหว่างกันกับบริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด (“เอสเตท”) ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของเอสเตท โดยถือในสัดส่วน 100% - เพอร์เฟคและเอสเตท มีกรรมการร่วมกันจำนวน 1 คน คือ นายชายนิด โง้วศิริมณี - ผู้บริหารของเพอร์เฟคเป็นกรรมการของเอสเตทฯ 1 คน คือ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ
ให้กู้ยืมเงิน
ค้ำประกัน
จำนองทรัพย์สิน
ปี 2551 หมายเหตุ (ล้านบาท) ลูกหนี้ 298.71 เพอร์เฟคให้เอสเตทกู้ยืมเงินโดยมีตั๋วสัญญาใช้เงิน ดอกเบี้ยรับ 24.54 เป็นหลักฐานการเบิกเงินกู้ คิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุน ดอกเบี้ยค้างรับ 3.27 ทางการเงินถัวเฉลี่ยของเพอร์เฟคบวก 1.5% เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบ มีมติเห็นชอบให้เอสเตทกู้ยืมเงินเพื่อนำไป พั ฒ นาโครงการและขยายงาน ตามแผนงานของ เอสเตทฯในวงเงิ น 190 ล้ า นบาท โดยคิ ด ดอกเบี ้ ย ใน อัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของเพอร์เฟคบวก 1% วงเงิน 843 เพอร์เฟคเข้าทำสัญญาค้ำประกันเงินกู้ยืมระหว่าง เอสเตทกับสถาบันการเงินโดยไม่คิดค่าธรรมเนียมดังนี้ เงิ น กู ้ ค ก.ร่ ม เกล้ า วงเงิ น 377 ล้ า นบาท เงิ น กู ้ ค ก. เพอร์เฟค เพลส วงเงิน 422 ล้านบาท เงินกู้เพื่อเงิน ทุนหมุนเวียน วงเงิน 44 ล้านบาท เพอร์เฟคจำนองที่ดินรอการพัฒนาจำนวน 2-3-21 ไร่ เป็นหลักประกันเงินกู้ยืมระหว่างเอสเตทกับสถาบันการ เงิน หากมีการปลอดจำนองหลักประกันเมื่อขายได้จะ ถือว่าเพอร์เฟคได้ชำระหนี้แทนเอสเตทไปก่อน เมื ่ อ วั น ที ่ 27 กุ ม ภาพั น ธ์ 2552 ที ่ ป ระชุ ม คณะ กรรมการตรวจสอบมมี ม ติ เ ห็ น ชอบให้ บ ริ ษ ั ท นำที ่ ด ิ น เปล่าตีตราจัดสรรจำนวน 66 โฉนด เนื้อที่รวม 3-2-7.1 ไร่ ไปใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ยืมของเอสเตทกับสถาบันการ เงิน
ความเห็นกรรมการตรวจสอบ การให้กู้ยืมดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จำเป็นเนื่องจากเป็นการนำไปพัฒนาโครงการและขยายงานตาม แผนงานของเอสเตท และเพอร์เฟคจำเป็นต้องค้ำประกันเนื่องจากถืออยู่ 100%
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
61
2.
รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ
ปี 2551 (ล้านบาท) ลูกหนี้ 100.29 ดอกเบี้ยรับ 4.61 ดอกเบี้ยค้างรับ 4.61 เงินทดรองจ่าย 1.50
ให้กู้ยืมเงินและเงินทดรองจ่าย
รับชำระเงินดาวน์แทน
เจ้าหนี้
2.89
ค้ำประกัน
วงเงิน
462
จำนองทรัพย์สิน
924
3.
62
รายการระหว่างกันกับบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพฯ จำกัด (“ไบรท์”) ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของไบรท์ โดยถือในสัดส่วน 99.94% - เพอร์เฟคและไบรท์ มีกรรมการร่วมกันจำนวน 1 คน ได้แก่ นายชายนิด โง้วศิริมณี หมายเหตุ เพอร์เฟคโอนเงินทดรองจ่ายค่าที่ดินและค่าใช้จ่าย เกี ่ ย วกั บ คก.รั ช ดาภิ เ ษก ให้ เ ป็ น ของไบรท์ เพื ่ อ ให้ สอดคล้องกับเงื่อนไขของสถาบันการเงินผู้ให้สินเชื่อที่ให้ เพอร์ เ ฟคจั ด ตั ้ ง ไบรท์ เ พื ่ อ ให้ เ ป็ น ผู ้ ด ำเนิ น การพั ฒ นา คก.รัชดาภิเษก ทำให้ไบรท์เป็นลูกหนี้เงินให้กู้ยืมของ เพอร์เฟค และให้ไบรท์กู้ยืมเงินเพื่อนำไปพัฒนาคก.เพิ่ม เติม โดยมีตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นหลักฐานการเบิกเงินกู้ คิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของเพ อร์เฟค บวก 1.5% เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบมี ม ติ เ ห็ น ชอบให้ ไ บรท์ กู ้ ย ื ม เงิ น เพื ่ อ นำไป พัฒนาโครงการและขยายงานตามแผนงานของไบรท์ใน วงเงิน 110 ล้านบาท โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุน ทางการเงินถัวเฉลี่ยของเพอร์เฟคบวก 1% เพอร์เฟครับชำระเงินดาวน์ที่ชำระด้วยบัตรเครดิตแทน ไบรท์ เ นื ่ อ งจากไบรท์ ไ ม่ ส ามารถเปิ ด บั ญ ชี เ งิ น ฝาก ธนาคารสำหรับรายการดังกล่าวได้ เพอร์เฟคเข้าทำสัญญาค้ำประกันหุ้นกู้ของไบรท์ที่ออก ให้กับสถาบันการเงินโดยไม่คิดค่าธรรมเนียม เพอร์เฟคจำนองที่ดินรอการพัฒนาจำนวน 85-2-70.6 ไร่ (พร้อมสิ่งปลูกสร้าง) เป็นหลักประกันหุ้นกู้ของไบรท์
ความเห็นกรรมการตรวจสอบ การให้กู้ยืมดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จำเป็นเนื่องจากเป็นการนำไปพัฒนาโครงการและขยายงานตาม แผนงานของไบรท์ และเพอร์เฟคจำเป็นต้องค้ำประกันเนื่องจากถืออยู่ 99.94% รายการระหว่างกันกับบริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด (“แซทเทลไลท์”) ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของแซทเทลไลท์ โดยถือในสัดส่วน 99.94% - เพอร์เฟคส่งผู้บริหารของบริษัทเข้าเป็นกรรมการของแซทเทลไลท์ จำนวน 4 คน ได้แก่ นส.รัศมี เมธาวิกุล นายธงชัย ปิยสันติวงศ์ นส.สุรีย์พร พิพัฒนวัฒนพงษ์ และนางธนิดา สุรธำรงค์
รายงานประจำปี 2550
รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ
4.
ว่าจ้างบริหารสโมสร
ค่าใช้จ่าย เจ้าหนี้
ปี 2551 หมายเหตุ (ล้านบาท) 10.46 เพอร์เฟคว่าจ้างแซทเทลไลท์เพื่อให้บริหารสโมสรและ สนามกอล์ฟในโครงการของบริษัท ดังนี้ 1.07 • บริหารสโมสร ในอัตราเดือนละ 120,000 บาท/ โครงการ ตั้งแต่มกราคม-มิถุนายน 2551 และปรับเพิ่ม เป็นอัตราเดือนละ 138,000 บาท/โครงการ ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2551 เป็นต้นไป • บริหารสนามกอล์ฟ ในอัตราเดือนละ 50,000/ โครงการ ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2551 และให้แซทเท ลไลท์เรียกเก็บค่าบริการในการจัดหาเจ้าหน้าที่ไว้ให้ บริการตามค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง
ความเห็นกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นรายการค้าตามปกติของธุรกิจซึ่งบริษัททั้งสองกำหนดราคาร่วมกัน
รายการระหว่างกันกับบริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด (“เซ็นเตอร์พ้อยท์”) ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของเซ็นเตอร์พ้อยท์ โดยถือในสัดส่วน 59.95% - เพอร์เฟคและเซ็นเตอร์พ้อยท์ มีกรรมการร่วมกันจำนวน 1 คน คือ นายชายนิด โง้วศิริมณี รายละเอียดรายการ ลักษณะรายการ ปี 2551 หมายเหตุ (ล้านบาท) รับเงินมัดจำ เจ้าหนี้อื่น 80 เพอร์เฟคทำสัญญาโอนสิทธิการเช่าที่ดินเนื้อที่ 7-362.1 ไร่ ให้แก่เซ็นเตอร์พ้อยท์ในราคา 200 ล้านบาท โดย ได้รับเงินมัดจำจำนวน 80 ล้านบาท
5.
ให้กู้ยืมเงิน
ลูกหนี้ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ
5.10 เพอร์เฟคให้เซ็นเตอร์พ้อยท์กู้ยืมเงิน คิดดอกเบี้ยใน 0.06 อัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของเพอร์เฟคบวก 1.5% 0.06
ความเห็นกรรมการตรวจสอบ การทำสัญญาโอนสิทธิการเช่าดังกล่าวเป็นรายการค้าตามปกติของธุรกิจซึ่งบริษัททั้งสองกำหนดราคาร่วมกันซึ่งไม่ต่ำกว่า ราคาประเมินซึ่งประเมินโดยผู้ประเมินอิสระจำนวน 2 ราย และการให้กู้ยืมดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จำเป็น เนื่องจากเป็นการนำไปพัฒนาโครงการและขยายงานตามแผนงานของเซ็นเตอร์พ้อยท์ รายการระหว่างกันกับบริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) (“กรุงเทพบ้าน”) ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่รายหนึ่งของกรุงเทพบ้าน โดยถือในสัดส่วน 20.22% - เพอร์เฟคและกรุงเทพบ้าน มีกรรมการร่วมกันจำนวน 1 คน คือ นายชายนิด โง้วศิริมณี ในระหว่างปีไม่มีรายการระหว่างกัน
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
63
6.
64
รายการระหว่างกันกับบริษัท เรียลเซอร์วิส จำกัด (“เรียลเซอร์วิส”) ลักษณะความสัมพันธ์ - เพอร์เฟคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของเรียลเซอร์วิส โดยถือในสัดส่วน 19% - พนักงานของเพอร์เฟคเป็นกรรมการของเรียลเซอร์วิส 1 คน ได้แก่ นายชัยณรงค์ เงินโสภา - ผู้บริหารของเพอร์เฟคถือหุ้นในเรียลเซอร์วิสรวมกัน 38% ได้แก่ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา นายฐิติ อินทร์กลิ่นพันธุ์ และนายสมคิด ชิดตระกูล - ผู้บริหารของกรุงเทพบ้านถือหุ้นในเรียลเซอร์วิสฯ 5% ได้แก่ นายทศพร จิระเกียรติดีกุล ในระหว่างปีไม่มีรายการระหว่างกัน
รายงานประจำปี 2550
ปัจจัยความเสี่ยง ปัจจัยที่อาจทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ลงทุนหรือได้รับผลกระทบต่อผู้ออกหลักทรัพย์ มีดังนี้ 1.1 ความเสี่ยงจากการรักษาระดับเงินทุนหมุนเวียนที่เหมาะสมจากการสร้างบ้านพร้อมอยู่ จากการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจทางการเงินในสหรัฐอเมริกาลุกลามไปทั่วภูมิภาคต่างๆ ของโลก และผู้บริโภคที่ต้องการที่อยู่ อาศัยขาดความเชื่อมั่นในความมั่นคงทางด้านรายได้และความเชื่อมั่นในส่วนของผู้ประกอบการ ทำให้ความต้องการของผู้บริโภค ชะลอในการซื้อที่อยู่อาศัยออกไปซึ่งคาดว่าแนวโน้มดังกล่าวจะมีอยู่ประมาณ 1-2 ปี ดังนั้น บริษัทยังคงวางนโยบายสร้างบ้านพร้อม อยู่ เพื่อสร้างความมั่นใจในการซื้อบ้านและตอบสนองความต้องการของลูกค้าว่าจะได้รับการส่งมอบบ้านได้ตามสัญญา เพื่อรักษา ระดับเงินทุนหมุนเวียนให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม บริษัทจึงได้มีการพิจารณาติดตามปริมาณการขายถัวเฉลี่ย (Moving Average) อย่างใกล้ชิดเพื่อรักษาระดับปริมาณการก่อสร้างควบคุมและบริหาร Safety Stocks ให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมตามยอดขายและ การยกเลิก นอกจากนี้บริษัทยังพิจารณาเพิ่มสัดส่วนการก่อสร้างบ้านสำเร็จรูประบบผนังรับน้ำหนัก (Load Bearing Wall) และ ระบบ เสา-คาน (Rigid Frame or Skeleton) มากขึ้น ซึ่งสามารถลดระยะเวลาการก่อสร้างบ้านลงได้ มีผลทำให้รอบการหมุนเวียนของกระแส เงินสดเพิ่มมากขึ้น ทำให้สามารถบริหารเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังทำให้บริษัทสามารถบริหารสต๊อกสินค้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพขึ้น สำหรับโครงการที่เปิดใหม่ บริษัทยังคงดำเนินนโยบายขายล่วงหน้า (Presale) ซึ่งสามารถลดความเสี่ยงให้กับสถาบันการเงิน จากการทำ Presale ทำให้บริษัทสามารถรับชำระหนี้ได้เร็วขึ้นและทำให้ต้นทุนบริษัทลดลง ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการชำระหนี้คืนให้ แก่เจ้าหนี้ของบริษัท เนื่องจากบริษัทใช้เงินทุนหมุนเวียนดังกล่าวจากการโอนขายบ้านและที่ดินในโครงการต่าง ๆ ซึ่งมีระยะเวลา พัฒนาโครงการและระยะเวลาการขายที่แตกต่างกัน ช่วยให้บริษัทสามารถบริหารเงินทุนหมุนเวียนได้ นอกจากนี้บริษัท ยังได้ ป้องกันความเสี่ยงโดยการใช้วงเงินกู้ที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการเงินเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนสำรองเพิ่มเติมอีกทางหนึ่ง 1.2 ความเสี่ยงจากการค้ำประกันหนี้สินแก่บริษัทร่วม และบริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด (บริษัท ย่อย) (“เอสเตทฯ”) บริษัทเข้าค้ำประกันวงเงินกู้รวม 799 ล้านบาท (รายละเอียดตามรายการระหว่างกัน) ในระหว่างปี 2551 และค้ำประกันเงินกู้ เพื่อเงินทุนหมุนเวียน วงเงิน 44 ล้านบาท โดยการเข้าค้ำประกันนี้เป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จำเป็น เนื่องจากเป็นการ นำไปพัฒนาโครงการและขยายงานตามแผนงานของเอสเตทฯ บริษัทจำเป็นต้องค้ำประกันเนื่องจากถือหุ้นอยู่ 100% ขณะนี้ โครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการดำเนินการพัฒนา โดยปี 2551 โครงการเพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77 มีมูลค่าโครงการคงเหลือรวม 1,690 ล้านบาท และโครงการเพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ เฟส 1 มีมูลค่าโครงการรวม 730 ล้านบาท ซึ่งเปิดการขายในไตรมาส 3 ปี 2551 บริษัทเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ ราคา และศักยภาพของทำเลที่อยู่ใกล้สนามบินสุวรรณภูมิ จะได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด (บริษัทย่อย) (“ไบรท์”) บริษัทเข้าค้ำประกันวงเงินกู้รวม 462 ล้านบาท (รายละเอียดตามรายการระหว่างกัน) ในระหว่างปี 2551 โดยการเข้าค้ำ ประกันนี้เป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จำเป็น เนื่องจากเป็นการนำไปซื้อที่ดินและดำเนินการเบื้องต้นเพื่อเตรียมการขาย บริษัทจำเป็นต้องค้ำประกันเนื่องจากถือหุ้นอยู่ 99.94% ขณะนี้โครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการดำเนินการขาย 1.3 ความเสี่ยงจากการแข่งขันของตลาดที่อยู่อาศัยในสภาวะการชะลอตัว จากสภาวะการชะลอตัวด้านความต้องการตลาดที่อยู่อาศัยของผู้บริโภค ที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจ Sub Prime ในอเมริกา ตั้งแต่ปลายปี 2550 ซึ่งมีผลกระทบต่อเนื่องกับเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจนกลายเป็นวิกฤตการเงินอย่างรุนแรงในช่วงปลายปี 2551 และต้นปี 2552 ที่ได้รุกลามมาทั่วภูมิภาคทั้งยุโรปและเอเซียรวมถึงประเทศไทย สถานการณ์การเมืองภายในประเทศที่ยังมีความขัด แย้ง ซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบต่อเนื่องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1- 2 ปี โดยคาดการณ์ว่าการเติบโตของประเทศไทยในปี 2552 อาจ
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
65
ติดลบ ซึ่งส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค จากสาเหตุดังกล่าวก่อให้เกิดสภาวะการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการที่มีสินค้า พร้อมอยู่มาก จำเป็นต้องเร่งระบายสินค้าออกเพื่อรักษาสภาพคล่องและต้นทุนทางการเงิน ถึงแม้ว่าต้นทุนค่าก่อสร้างในช่วงที่ผ่าน มาสูงกว่าปกติจากราคาน้ำมันที่ขึ้นสูงสุดในช่วงกลางปี 2551 เป็นผลให้เกิดสภาวะการแข่งขันด้านราคาต่อเนื่องในปี 2552 ทั้ง ผู้ประกอบการรายเล็ก และรายใหญ่ จนกว่าจะสามารถรักษาระดับสต็อกบ้านให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมได้ ตั้งแต่ปลายปี 2550 ที่ผ่านมาบริษัทได้ปรับกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ เพื่อให้สอดคล้องสภาพเศรษฐกิจดังกล่าว บริษัทได้แบ่ง ลักษณะผลิตภัณฑ์ตามแบรนด์ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเลือกได้ตามความต้องการของผู้บริโภค โดยทุกทำเลของโครงการจะอยู่ใกล้ ระบบขนส่งมวลชนที่เกิดขึ้นแล้วและจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ ทำให้สามารถรองรับความต้องการของผู้บริโภคในทุกกลุ่มลูกค้า (Segmentation) และทุกทำเล โดยบริษัทยังคงเน้นสภาพแวดล้อมภายในโครงการที่บริษัทได้ลงทุนเพื่อให้เกิดบรรยากาศอันร่มรื่น ภายในโครงการ รวมทั้งสร้างชุมชนและบรรยากาศการอยู่ร่วมกันแบบสังคมไทย โดยมีการจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อให้ลูกบ้านได้มีการ สันทนาการและทำความรู้จักซึ่งกันและกันเพื่อเป็นสังคม ครอบครัวเดียวกันภายในหมู่บ้าน นอกจากนี้รัฐบาลแสดงความชัดเจนในการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านภาคอุตสาหกรรม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการออก มาตรการกระตุน้ อสังหาริมทรัพย์ ไม่วา่ จะเป็นมาตรการลดภาษีธรุ กิจเฉพาะ ลดหย่อนค่าธรรมเนียมโอน และให้ผซู้ อ้ื บ้านใหม่ในปี 2552 สามารถนำเงินดาวน์เป็นค่าลดหย่อนภาษีเงินได้ ภายในปี 2552 นี้ ซึง่ สามารถช่วยกระตุน้ การตัดสินใจของผูบ้ ริโภคได้อย่างมาก บริษัทเชื่อว่าการเตรียมพร้อมและการพัฒนาคุณภาพและการบริการที่ดีเลิศอย่างต่อเนื่องจะสามารถทำให้บริษัทสามารถ ผ่านวิกฤตเศรษฐกิจนี้ได้
1.4 ความเสี่ยงจากการที่รัฐบาลออกกฏหมายเอสโครว์ แอคเคานท์ (Escrow Account) พ.ร.บ. การจัดการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา หรือ Escrow Account ได้มีการประกาศและบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 21 พฤษภาคม 2551 ซึ่งจะมีผลกระทบต่อผู้ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในด้านเงินทุนหมุนเวียน เนื่องจากไม่สามารถนำเงินดาวน์ ผ่อนชำระของลูกค้ามาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนได้จนกว่าจะดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ และได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่กำกับ ดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา บริษัทจึงจะได้รับเงินที่ลูกค้าผ่อนมาทั้งหมดรวมงวดเดียวเมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จ ย่อมทำให้เกิดความ เสี่ยงด้านเงินทุนหมุนเวียนในกรณีบริษัทเลือกดำเนินการตามกฎหมายดังกล่าว จากการที่บริษัทดำเนินนโยบายขายบ้านพร้อมอยู่ และบ้านระหว่างก่อสร้างตั้งแต่ปี 2549 เป็นผลให้บริษัทใช้สัดส่วนเงิน ทุนหมุนเวียนที่ได้รับจากเงินดาวน์ของลูกค้าเป็นสัดส่วนต่ำเมื่อเทียบกับเงินทุนหมุนเวียนที่บริษัทได้จากแหล่งอื่นๆ ทั้งเงินกู้ระยะสั้น และระยะยาวในรูปของเงินกู้โครงการ รวมทั้งการใช้เครื่องมือทางการเงินในการบริหารต้นทุนทางการเงิน และการควบคุมปริมาณ การก่อสร้างให้สอดคล้องกับกระแสเงินสดของบริษัท กับปริมาณการขายและปริมาณสต็อก ซึ่งเป็นการดำเนินธุรกิจปกติของบริษัท อย่างไรก็ตามบริษัทได้ตระหนักถึงความจำเป็นเพื่อรักษาสภาพคล่องในการดำเนินงาน 1.5 ความเสี่ยงจากมาตรการกฏหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดินด้านสิ่งแวดล้อมใหม่ ในปี 2552 สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้มีมาตรการใหม่เพื่อควบคุมสิ่งแวดล้อมโครงการจัดสรรมากกว่าเดิม โดยกำหนดให้การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย หรือเพื่อ ประกอบการพาณิชย์ ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดินที่มีจำนวนที่ดินแปลงย่อยตั้งแต่ 250 แปลง (เดิม 500 แปลงขึ้นไป) หรือ เนื้อที่เกินกว่า 100 ไร่ขึ้นไปต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณา รายงานจนกว่าจะได้รับอนุมัติ ก่อนดำเนินการพัฒนาทุกครั้ง ซึ่งมาตรการใหม่นี้ จะมีผลทำให้ผู้ประกอบการรายที่จัดสรรที่ดิน เกิน 250 แปลง ต้องมีต้นทุนเพิ่มขึ้น ระยะเวลาการทำงานเพิ่มขึ้น และต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามข้อปฏิบัติ และกฏหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ด้วย
66
รายงานประจำปี 2550
การพัฒนาโครงการของบริษัท ตั้งแต่การจัดวางผังโครงการ รูปแบบโครงการ จะดำเนินการภายใต้ข้อกำหนด พ.ร.บ.จัดสรร นโยบายปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยการพัฒนาโครงการของบริษัทจะดำเนินการขอ อนุญาตจัดสรรและจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานจนกว่าจะ ได้รับอนุมัติ ก่อนดำเนินการพัฒนาทุกครั้ง
จากการปฏิบัติเชิงนโยบายดังกล่าวและการให้ความร่วมมือในทางปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ทำให้ความเสี่ยงที่เกิดจากมติข้อ กำหนดใหม่ที่รัดกุมมากขึ้นยังไม่มีผลกระทบกับโครงการปัจจุบัน แต่อาจมีผลกระทบต่อโครงการในอนาคตบ้างในเรื่องของการล่าช้า และมูลค่าของโครงการ ซึ่งบริษัทได้จัดเตรียมมาตรการเพื่อรองรับในแผนการทำงานเพื่อให้มีผลกระทบน้อยที่สุด
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
67
คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินรวมของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ในปี 2549-2551 เป็นดังนี้ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหว่างปี 2550 บริษัทฯได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงิน เฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุนตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการ ซึ่งกำหนดให้เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในกิจการที่มีการควบคุมร่วมกันและเงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ ต้องแสดงตามวิธีราคาทุน ในการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว บริษัทฯได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการปีก่อนที่นำมาแสดงเปรียบเทียบ เสมือนว่าบริษัทฯได้ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุนมาโดยตลอด การเปลี่ยนแปลง นี้ทำให้บริษัทฯมีกำไรสุทธิในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ลดลงเป็นจำนวน 42.8 ล้าน บาท (0.05 บาทต่อหุ้น) และ 21.9 ล้านบาท (0.03 บาทต่อหุ้น) ตามลำดับ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวได้แสดง ไว้ในหัวข้อ “ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม” ในงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการแล้ว ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว มีผลกระทบเฉพาะต่อรายการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัท ร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการเท่านั้น ไม่ได้มีผลกระทบต่องบการเงินรวมแต่อย่างใด การจัดตั้งบริษัทย่อย ในปี 2550 บริษัทได้จัดตั้งบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเม้นท์ กรุงเทพ จำกัด ซึ่งมีทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท เพื่อบริหารพัฒนาโครงการ เมโทร สกาย รัชดา โดยปัจจุบันบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 99.94 ของทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว นอกจากนั้นบริษัทยังได้ร่วมทุน กับบริษัท ทิมเบอร์ไลน์ อินเวสเม้นท์ส พีทีอี แอลทีดี จำกัด จากประเทศสิงคโปร์ ซึ่งมีความเชี่ยวชาญทางด้านศูนย์การค้า จัดตั้งบริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด โดยมีทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท และบริษัทถือหุ้นร้อยละ 59.95 ของทุนจดทะเบียนและเรียกชำระแล้ว วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งบริษัทดังกล่าว เพื่อบริหารพัฒนาโครงการด้านศูนย์การค้าอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ เช่น ศูนย์การค้า และ อาคารสำนักงาน เป็นต้น ภาพรวมผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานของบริษัท ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมามีการชะลอตัวลงในปี 2549 และพลิกฟื้นขึ้นมาในปี 2550 โดยบริษัทและบริษัท ย่อยได้เปิดโครงการเพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภคในปี 2549 จำนวน 3 โครงการ โดยในจำนวนนี้มี 1 โครงการซึ่งพัฒนาเป็น ทาวน์ เฮ้าส์ ในปี 2550 มีการเปิดโครงการใหม่ 2 โครงการ และเปิดเฟสใหม่ในโครงการเดิมจำนวน 3 โครงการ และในปี 2551 มีการเปิดโครงการ ใหม่ 4 โครงการ เป็นบ้านเดี่ยว 1 โครงการ ทาวน์เฮ้าส์ 1 โครงการ และคอนโดมิเนียม 2 โครงการ นอกจากนั้นยังเปิดเฟสใหม่ในโครงการ เดิมจำนวน 2 โครงการเป็นบ้านเดี่ยว แบรนด์เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ ปัจจุบันบริษัทและบริษัทย่อยมีโครงการที่ดำเนินการอยู่ทั้งสิ้นรวม 17 โครงการ ผลการดำเนินงานรวม - งบการเงินรวม • รายได้จากการขาย บริษัทจะบันทึกรายการขายบ้านพร้อมที่ดินและรายการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยเป็นรายได้ในงบกำไร ขาดทุนเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์แก่ผู้ซื้อแล้ว ปี 2549 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินเท่ากับ 4,477.29 ล้านบาท ลดลงคิดเป็นร้อยละ 9.22 จากปี 2548 ซึ่งมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินเท่ากับ 4,931.89 ล้านบาท ทั้งนี้เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ลง อันเป็นผลจากอัตราดอกเบี้ยและราคาน้ำมันที่สูงขึ้น และความไม่แน่นอนทางการเมือง และจากการที่บริษัทมีการปรับ เปลี่ยนรูปแบบการขายในบางโครงการจากการขายบ้านพร้อมอยู่เป็นการขายบ้านสั่งสร้าง ทำให้ระยะเวลาการโอน กรรมสิทธิ์นานขึ้นเช่น โครงการเพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5-บางใหญ่ และโครงการ เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์
68
รายงานประจำปี 2550
•
ในปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินจำนวน 4,697.13 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 219.85 ล้านบาทจากปี 2549 และในปี 2550 นี้บริษัทยังมีรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยในโครงการเมโทร พาร์ค สาทรจำนวน 1,469.49 ล้านบาท ซึ่งโครงการนี้เปิดขายในปลายปี 2548 และได้เริ่มโอนกรรมสิทธิ์หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ให้แก่ลูกค้าตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ของปี 2550 นอกจากนั้น บริษัทยังมีรายได้จากการขายที่ดินจำนวน 99.31 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 1.58 ของรายได้จากการ ขายรวม ดังนั้นรายได้จากการขายในปี 2550 นี้จึงมีจำนวนรวมเท่ากับ 6,265.93 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2549 เป็นจำนวน 1,788.64 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 39.95 สำหรับปี 2551 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินจำนวน 5,420.14 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 723.01 ล้านบาทจากปี 2550 โดยส่วนหนึ่งมาจากการขายบ้านพร้อมที่ดินจำนวน 74 หลัง มูลค่ารวม 510 ล้านบาท ให้กับกองทุน รวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค และมีรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยในโครงการเมโทร พาร์ค สาทรจำนวน 2,109.46 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 639.97 ล้านบาทจากปี 2550 ซึ่งเป็นผลจากบริษัทเริ่มโอนอาคารชุดพักอาศัยใน โครงการเมโทร พาร์ค สาทร เฟส 2 ได้ในปลายปี 2550 ทั้งนี้ รายได้จากการขายของบริษัทและบริษัทย่อยในปี 2549 -ปี 2551 แยกตามรายโครงการ สามารถดูได้จาก ตารางโครงสร้างรายได้รวมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์หลักจำแนกตามผลิตภัณฑ์ (ในส่วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ ข้อ 2.3) ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้นจากการดำเนินงาน ในการคำนวณหาต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งเป็นต้นทุนหลักของบริษัทและ บริษัทย่อยนั้น ได้ทำการแบ่งสรรต้นทุนการพัฒนาทั้งหมดที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โดยได้คำนึงถึงต้นทุนที่แท้จริงด้วย) ให้กับบ้าน พร้อมที่ดินที่ขายได้และหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยตามเกณฑ์พื้นที่ที่ขาย แล้วจึงรับรู้เป็นต้นทุนขายในงบกำไรขาดทุนเมื่อ รับรู้รายได้จากขายแล้ว ทั้งนี้ ต้นทุนการพัฒนาข้างต้นจะแสดงตามราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลค่าโครงการ โดย ต้นทุนการพัฒนาประกอบด้วย ต้นทุนที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง และดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อยในปี 2549 เท่ากับ 3,093.99 ล้านบาท ลดลงจากปี 2548 จำนวน 133.83 ล้าน บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.15 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 69.10 ซึ่งสูงกว่าปีก่อนซึ่ง เท่ากับร้อยละ 65.45 ในปี 2550 ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อย แบ่งเป็น • ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน เท่ากับ 3,297.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2549 จำนวน 203.31 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 6.57 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 70.20 ซึ่งสูงกว่าปี2549 ซึ่งเท่ากับ ร้อยละ 69.10 • ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เท่ากับ 1,041.59 ล้านบาท โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จาก การขาย เท่ากับร้อยละ 70.88 • ต้นทุนการขายที่ดิน เท่ากับ 56.58 ล้านบาท โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 56.97 • • • •
สำหรับปี 2551 ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อย มีรายละเอียดดังนี้ ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน เท่ากับ 3,767.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จำนวน 470.62 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 14.27 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 69.52 ซึ่งต่ำกว่าปี 2550 ซึ่งเท่ากับ ร้อยละ 70.20 ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เท่ากับ 1,395.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จำนวน 353.82 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 33.97 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 66.15 ซึ่งต่ำกว่าปี 2550 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 70.88 ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินและต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยที่เพิ่มขึ้น เนื่องมาจากรายได้ที่สูงขึ้น และเมื่อพิจารณาสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขายจะลดลงจากปีก่อน เป็นผลจากการปรับราคาขาย เพิ่มขึ้นในตอนต้นปี 2551 ต้นทุนการขายที่ดิน เท่ากับ 6.59 ล้านบาท ลดลงจำนวน 49.99 ล้านบาทจากปีก่อน โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับ รายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 76.24 ซึ่งสูงกว่าปีก่อน ซึ่งเท่ากับร้อยละ 56.97
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
69
• •
•
70
เมื่อพิจารณากำไรขั้นต้นจากการดำเนินงานปกติ พบว่า บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตรากำไรขั้นต้นในปี 2549 เท่ากับร้อยละ 30.90 ลดลงจากปี 2548 ที่มีอัตรากำไรขั้นต้นจากการขายบ้านพร้อมที่ดินเท่ากับร้อยละ 34.55 เนื่อง มาจากภาวะการแข่งขันที่รุนแรง และผลกระทบจากการโอนกลับรายการค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของ โครงการ และการโอนกลับรายการค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินรอพัฒนาในปี 2548 สำหรับปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตรากำไรขั้นต้นจากการขายบ้านพร้อมที่ดินเท่ากับร้อยละ 29.80 ลด ลงจากปี 2549 ซึ่งมีอัตรากำไรขั้นต้นเท่ากับร้อยละ 30.90 เนื่องจากต้นทุนที่สูงขึ้น แต่บริษัทไม่ได้มีการปรับราคาขาย เพิ่มขึ้น ในส่วนอัตรากำไรขั้นต้นจากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยเท่ากับร้อยละ 29.12 ส่วนปี 2551 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตรากำไรขั้นต้นสูงขึ้นทั้งจากการขายบ้านพร้อมที่ดินและจากการขาย หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งเท่ากับร้อยละ 30.48 และ ร้อยละ 33.85 ตามลำดับ โดยเป็นผลมาจากการปรับราคา ขายบ้านในต้นปี 2551 และการปรับราคาขายอาคารชุดพักอาศัยในเฟส 2 เพิ่มขึ้นในปลายปี 2550
รายได้อื่น ในปี 2549 ปี 2550 และปี 2551 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้อื่นเท่ากับ 56.52 ล้านบาท 55.56 ล้านบาท และ 79.37 ล้านบาทตามลำดับ โดยส่วนใหญ่มาจากค่าสาธารณูปโภคของโครงการ ค่าบริหารสโมสร จากการริบเงินจอง ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ในปี 2549 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 1,087.76 ล้านบาท สูงขึ้นจากปี 2548 จำนวน 44.37 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.25 ส่วนหนึ่งเนื่องจากในปลายปี 2548 บริษัทมีการออกหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ มูลค่า 823 ล้านบาท และมีเงื่อนไขว่าสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพจะชำระคืนเงินต้นพร้อมส่วนเกินจากมูลค่าที่ตราไว้ ในอัตราร้อยละ 31.60 บริษัทจึงได้บันทึกสำรองหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ โดยแสดงเป็นรายการต่างหากในงบดุล และบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารในงบกำไรขาดทุน สำหรับปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 1,286.33 ล้านบาท สูงขึ้นจากปี 2549 จำนวน 198.57 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.26 เนื่องจากในปีนี้รายได้จากการขายมีจำนวนรวมเท่ากับ 6,265.93 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2549 เป็นจำนวน 1,788.64 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 39.95 ทำให้ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับภาษี ธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนเพิ่มขึ้น และในปี 2551 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 1,244.10 ล้านบาท สูงขึ้นจำนวน 12.83 ล้านบาทจากปี 2550 (ปี 2550 เท่ากับ 1,231.27 ล้านบาท) คิดเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.04 เนื่องจากในปีนี้มี มาตรการกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์ของรัฐ ในการลดภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนจากร้อยละ 3.3 และ ร้อยละ 2 คง เหลือร้อยละ 0.11 และร้อยละ 0.01 ตามลำดับ ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมจึงเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารของปี 2550 ทีแสดงในงบการเงินเปรียบเทียบกับปี 2551 ลดลงจากเดิม 55.06 ล้านบาท เนื่องจากการนำเสนองบการเงินปี 2551 ได้แสดงค่าใช้จ่ายสำรองหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของ หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้แปลงสภาพตัดจำหน่าย (จำนวน 50.48ล้านบาทในปี 2550 และ 55.25 ล้าน บาทในปี 2551) และค่าธรรมเนียมทางการเงิน แสดงรวมอยู่ในหมวดค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายอื่น ในปี 2551 บริษัทได้ขายบ้านพร้อมที่ดินจำนวน 74 หลัง มูลค่ารวม 510 ล้านบาท ให้กับกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ตามที่ระบุไว้ในสัญญาดังกล่าว บริษัทฯตกลงรับประกันรายได้ขั้นต่ำของกองทุนฯ (รายได้จากการ เช่าและค่าบริการก่อนหักค่าใช้จ่าย) เป็นจำนวนเงิน 55 ล้านบาทต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดยมีกำหนดชำระภายในวันที่ 31 กรกฎาคม และ 31 มกราคม ของทุกปี ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา อย่างไรก็ตามการรับประกันรายได้ขั้นต่ำขึ้นอยู่กับสัดส่วนของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่คงเหลือต่อมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่ กองทุนฯลงทุนครั้งแรก โดยคำนวณมูลค่าอสังหาริมทรัพย์จากการประเมินค่าทรัพย์สินเพื่อลงทุนครั้งแรกโดยบริษัทประเมิน ราคา บริษัทฯได้ประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของค่าใช้จ่ายในการรับประกันรายได้ขั้นต่ำดังกล่าวตามมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่บริษัทฯต้องชำระให้แก่กองทุนฯทั้งสิ้นเป็นจำนวนเงิน 73.8 ล้านบาท และบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายโดยแยก แสดงเป็นรายการต่างหากภายใต้หัวข้อ “ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ”ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551
รายงานประจำปี 2550
•
•
ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ประกอบด้วย ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายสำรองหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลง สภาพ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้แปลงสภาพตัดจำหน่าย และค่าธรรมเนียมทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่าย ในปี 2549 - 2551 เท่ากับ 293.23 ล้านบาท 225.44 ล้านบาท และ192.29 ล้านบาทตามลำดับ ค่าใช้จ่ายสำรองหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ แปลงสภาพตัดจำหน่าย ในปี 2550 - 2551 เท่ากับ 50.48 ล้านบาท และ 55.25 ล้านบาทตามลำดับ (ในปี 2549 จำนวน 46.12 ล้านบาท แสดงเป็นค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร) ค่าธรรมเนียมทางการเงินในปี 2550 - 2551 เท่ากับ 4.59 ล้านบาท และ 24.50 ล้านบาทตามลำดับ (ในปี 2549 จำนวน 6.86 ล้านบาท แสดงเป็นค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร) กำไรสุทธิ บริษัทและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิ ในปี 2549 ถึงปี 2551 ดังนี้
(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2549 11.99
ปี 2551 ปี 2550 กำไรสุทธิ 802.57 411.61 ในปี 2549 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิ เท่ากับ 11.99 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนจำนวน 1,080.64 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราลดลงร้อยละ 98.90 โดยเป็นผลจากรายได้จากการขายและรายได้อื่นลดลง อนึ่ง ในกรณีที่ไม่รวมรายการ การโอนกลับค่าเผื่อต่างๆ ดังที่กล่าวไว้ในวรรคก่อน กำไรในปี 2548 เท่ากับ 437.45 ล้านบาท ซึ่งเมื่อพิจารณากำไรสุทธิในปี 2549 เมื่อเทียบกับปี 2548 โดยไม่รวมรายการดังกล่าวจะลดลง 425.46 ล้านบาท ทั้งนี้เนื่องมาจากรายได้จากการขายที่ลด ลง รวมทั้งภาวะการแข่งขันที่รุนแรงทำให้อัตรากำไรขั้นต้นลดลงด้วย สำหรับปี 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิ เท่ากับ 411.61 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจำนวน 399.61 ล้าน บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3,332.34 โดยเป็นผลจากรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินที่เพิ่มขึ้น นอกจากนั้นในปีนี้ยังมีการรับ รู้รายได้จากการโอนกรรมสิทธิหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย และรายได้จากการขายที่ดินอีกด้วย ในขณะที่อัตรากำไรขั้นต้น ของรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 30.90 เป็น ร้อยละ 29.80 ในปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิ เท่ากับ 802.57 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจำนวน 390.96 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 94.99 โดยเป็นผลจากรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยที่เพิ่มขึ้น อีกทั้ง ยังมีอัตรากำไรขั้นต้นที่สูงขึ้นด้วย นอกจากนั้นยังได้รับประโยชน์จากมาตรการกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์ของรัฐ ในการลดภาษี ธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนจากร้อยละ 3.3 และร้อยละ 2 คงเหลือร้อยละ 0.11 และร้อยละ 0.01 ตามลำดับ อีกทั้ง อัตราดอกเบี้ยที่ลดลงในครึ่งปีหลังของปี 2551 ฐานะการเงิน • ภาพรวมฐานะการเงิน ตารางแสดงฐานะการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (หน่วย : ล้านบาท) สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น 31 ธันวาคม 2551 12,932.87 6,229.64 6,703.23 31 ธันวาคม 2550 12,911.03 6,823.84 6,087.19 31 ธันวาคม 2549 13,176.13 7,500.54 5,675.59 • สินทรัพย์ บริษัทและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 13,176.13 ล้านบาท 12,911.03 ล้านบาท และ 12,932.87 ล้านบาท ในปี 2549 ถึง 2551 ตามลำดับ ในปี 2550 สินทรัพย์ลดลงจำนวน 265.10 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 2.01 จากการโอนต้นทุนการ พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ไปเป็นต้นทุนขาย และในปี 2551 สินทรัพย์เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจำนวน 21.84 ล้านบาท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
71
หากพิ จ ารณาโครงสร้ า งสิ น ทรั พ ย์ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2551 อั น ดั บ หนึ ่ ง ได้ แ ก่ ต้ น ทุ น การพั ฒ นาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ จำนวน 8,931.08 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 69.06 ของสินทรัพย์รวม อันดับที่สองได้แก่ ที่ดินรอการ พัฒนาสุทธิจำนวน1,860.37 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนร้อยละ 14.38 ของสินทรัพย์รวม อันดับที่สามและสี่ได้แก่ เงินจ่ายล่วง หน้าค่าซื้อที่ดินจำนวน 476.16 ล้านบาท และเงินลงทุนในบริษัทร่วมจำนวน 416.74 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนร้อยละ 3.68 และ ร้อยละ 3.22 ตามลำดับ โดยโครงสร้างของสินทรัพย์ดังกล่าว สอดคล้องกับรูปแบบการดำเนินธุรกิจของบริษัทและ บริษัทย่อย โดยมีรายละเอียดดังนี้
ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์
บริษัท – งบเดี่ยว บริษัทย่อย รวม *
72
2550 6,425.48 80.40% 1,566.37 19.60% 7,991.85 100.00%
หมายเหตุ * ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2549 ถึง 2551 •
•
2551 7,085.15 79.33% 1,845.93 20.67% 8,931.08 100.00%
(หน่วย : ล้านบาท) 2549 6,531.99 81.48% 1,484.20 18.52% 8,016.19 100.00%
ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ของบริษัท (งบเดี่ยว) มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยในปี 2549 – 2550 เนื่อง มาจากบริษัทมีการพัฒนาโครงการและการโอนขายในมูลค่าที่สัมพันธ์กัน แต่ในปี 2551 เพิ่มขึ้นจำนวน 659.67 ล้าน บาท เนื่องมาจากบริษัทมีการพัฒนาและขยายโครงการจำนวน 4 โครงการ ทั้งนี้ ต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ ปี 2551 จำนวน 7,085.15 ล้านบาท เป็นมูลค่าสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของ โครงการ จำนวน 75.54 ล้านบาท ซึ่งเป็นค่าเผื่อที่เกิดจากการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีเมื่อต้นทุนทาง บัญชีมีมูลค่าสูงกว่าราคาประเมินจากผู้ประเมินราคาอิสระ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทย่อยมีรายละเอียดดังนี้ • บริษทั เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด ซึง่ มีโครงการทีอ่ ยูใ่ นระหว่างพัฒนาจำนวน 2 โครงการ โดยต้นทุนฯ ปี 2551 เท่ากับ 1,333.99 ล้านบาท เป็นมูลค่าสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของโครงการ จำนวน 9.106 ล้านบาท • บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด ซึ่งมีโครงการที่อยู่ในระหว่างพัฒนาจำนวน 1 โครงการ โดย ต้นทุนฯ ปี 2551 เท่ากับ 510.39 ล้านบาท • บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด โดยต้นทุนฯ ปี 2551 เท่ากับ 1.55 ล้านบาท
ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิ 2550 2,979.84 100.00% - - 2,979.84 100.00%
บริษัท – งบเดี่ยว บริษัทย่อย รวม *
หมายเหตุ * ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิ ตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2549 ถึง 2551 •
รายงานประจำปี 2550
2551 1,585.30 85.21% 275.07 14.79% 1,860.37 100.00%
(หน่วย : ล้านบาท) 2549 3,042.35 100.00% - - 3,042.35 100.00%
ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิของบริษัทและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2549-2551จำนวน 3,042.35 ล้านบาท 2,979.84 ล้านบาท และ1,860.37 ล้านบาท ตามลำดับ ประกอบด้วยต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ต้นทุนงานก่อสร้าง ดอกเบี้ย ส่วนที่ถือเป็นต้นทุน หักด้วยต้นทุนที่โอนไปเป็นต้นทุนขาย ที่ดินที่โอนเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้และเพื่อการจ่าย ชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟู และค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินรอการพัฒนา ในปี 2549 และปี2550 มีค่าเผื่อ การด้อยค่าของที่ดินรอการพัฒนาจำนวน 127.35 ล้านบาท และในปี 2551 มีจำนวน 103.99 ล้านบาท และตั้งแต่ปี
2550 ที่ดินรอการพัฒนามียอดลดลงโดยตลอด เนื่องจากบริษัทมีการนำที่ดินรอการพัฒนาไปพัฒนาโครงการ อีกทั้ง การซื้อที่ดินใหม่ก็มีจำนวนลดลง อนึ่ง บริษัทและบริษัทย่อย จะพิจารณาโอนรายการที่ดินรอการพัฒนาไปบันทึก เป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ก็ต่อเมื่อได้เริ่มมีการพัฒนาโครงการแล้ว อาทิเช่น การเริ่มปรับปรุง พื้นที่ การกำหนดผังการจัดสรร เป็นต้น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน
บริษัท – งบเดี่ยว บริษัทย่อย รวม *
2551 388.90 81.67% 87.26 18.33% 476.16 100.00%
2550 22.00 14.53% 129.46 85.47% 151.46 100.00%
(หน่วย : ล้านบาท) 2549 629.12 86.17% 100.96 13.83% 730.08 100.00%
เงินจ่ายล่วงหน้าค่าที่ดิน หมายถึง เงินมัดจำค่าที่ดินที่บริษัทจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของที่ดินหรือทดรองจ่ายให้กับตัวกลางใน การรวบรวมที่ดิน เมื่อได้รับโอนกรรมสิทธิที่ดินเรียบร้อยแล้ว จึงจะย้ายไปบันทึกเป็นต้นทุนค่าพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ หรือที่ ดินรอการพัฒนา สำหรับเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินของบริษัทและบริษัทย่อย ณ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 476.16 ล้านบาท ประกอบด้วย • เงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของที่ดินหลายรายตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน ซึ่งบริษัทและบริษัทย่อยได้มอบหมายให้ ตัวกลางในการรวบรวมซื้อที่ดินลงนามร่วมกับเจ้าของที่ดิน คิดเป็นจำนวน 459.5 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นรายการของ บริษัทจำนวน 373.7 ล้านบาท และบริษัทย่อยจำนวน 85.8 ล้านบาท • เงินจ่ายล่วงหน้าให้กับตัวกลางในการรวบรวมซื้อที่ดินและอยู่ในระหว่างการลงนามในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับ เจ้าของที่ดิน จำนวน 16.7 ล้านบาท โดยเป็นรายการของบริษัท จำนวน 15.2 ล้านบาท และบริษัทย่อยจำนวน 1.5 ล้าน บาท สำหรับเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินของบริษัทและบริษัทย่อย ประกอบด้วย เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินที่จ่ายให้แก่เจ้าของ ที่ดิน และตัวกลางในการรวบรวมซื้อที่ดิน ทั้งนี้ มูลค่าของสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินของบริษัทและบริษัทย่อย ณ 31 ธันวาคม 2549-2551 เท่ากับ 1,285.9 ล้านบาท 637 ล้านบาท และ 1,699.6 ล้านบาท ตามลำดับ เงินลงทุนในบริษัทร่วม บริษัทฯได้รับรู้ส่วนแบ่งผลกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม หลังจากปรับปรุงกำไรของบริษัทร่วม เนื่องจากผลแตกต่างของ นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการรับรู้รายได้หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เงินลงทุนใน บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำนวน 300 ล้านบาทในปี 2548 คิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯใน บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน ร้อยละ 20 (ณ 31 ธันวาคม 2548 ทุนที่ออกและชำระแล้วของ บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน เท่ากับ 1,500 ล้านบาท) และเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯได้มีมติอนุมัติให้บริษัทฯซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน เป็นจำนวน 6,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 60 ล้านบาท เพื่อเป็นการรักษา สัดส่วนการถือหุ้นเดิมของบริษัท เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นบมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน ครั้งที่ 1/2550 ได้มีมติอนุมัติการลดทุน จดทะเบียน จากเดิมจำนวน 2,100,000,000 บาท ลงเหลือจำนวน 1,780,000,000 บาท โดยการตัดหุ้นสามัญที่ยังมิได้นำออก จำหน่ายจำนวน 32,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท คิดเป็นจำนวนเงิน 320,000,000 บาท นอกจากนี้ได้มีมติอนุมัติการ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทร่วมอีกจำนวน 450,000,000 บาท ทำให้ทุนจดทะเบียนเดิมจำนวน 1,780,000,000 บาท เพิ่มขึ้นเป็นทุน จดทะเบียนใหม่จำนวน 2,230,000,000 บาท โดยการออกเป็นหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำนวน 45,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพของหุ้นกู้แปลงสภาพ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2551 กรุงเทพบ้านฯได้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ ชนิดระบุชื่อผู้ถือและไม่มีหลักประกัน ระยะเวลา 5 ปี จำนวน 188,806 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา มูลค่ารวม 18,880,600 เหรียญสหรัฐอเมริกา ให้แก่บริษัทต่าง ประเทศแห่งหนึ่ง ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของกรุงเทพบ้านฯครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 ตาม เงื่อนไขของหุ้นกู้แปลงสภาพ จะทำการจ่ายดอกเบี้ยเฉพาะในปีที่กรุงเทพบ้านฯ มีการประกาศจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยจะ ทำการจ่ายดอกเบี้ยทุก 6 เดือนในอัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปีหรือในอัตราเงินปันผลตอบแทนตามเงื่อนไขของหุ้นกู้แปลง
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
73
สภาพ (แล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า) หุ้นกู้แปลงสภาพนี้ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 31 มกราคม 2556 โดยเริ่มใช้สิทธิแปลงสภาพได้ทุก 3 เดือน ภายหลังจากการนำหุ้นของกรุงเทพบ้านฯเข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ หรือครบรอบ 1 ปี นับแต่วันออกหุ้นกู้แปลงสภาพ (แล้วแต่ระยะเวลาใดจะถึงก่อน) ที่ราคาแปลง สภาพ 13.85 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ โดยมูลค่าการไถ่ถอนหุ้นกู้แปลงสภาพที่คงค้างต่อหน่วยเท่ากับ 1.311651 เท่าของมูลค่าที่ตราไว้ ของหุ้นกู้แปลงสภาพต่อหน่วยที่เทียบเท่ากับเงินบาท ในกรณีที่กรุงเทพบ้านฯไม่มีการชำระดอกเบี้ยแก่ผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพ ทั้งนี้ มูลค่าการไถ่ถอนดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับการจ่ายดอกเบี้ยในระหว่างอายุของหุ้นกู้แปลงสภาพ ตามงบการเงินรวมบริษัทบันทึกส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) ตามวิธีส่วนได้เสีย และรับรู้เป็นรายได้(ค่าใช้จ่าย) ในงบกำไรขาดทุน จำนวน (23.37 ล้านบาท) 11.75 ล้านบาท และ 7.82 ล้านบาทในปี 2549 – 2551 ตามลำดับ บัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธีส่วน ได้เสียในงบการเงินรวม ในปี 2549 – 2551 มีมูลค่า 326.69 ล้านบาท 401.45 ล้านบาทและ 416.74 ล้านบาทตามลำดับ ภาระหนี้ค้ำประกันอื่น บริษัทมีภาระค้ำประกันหนี้ให้แก่บริษัทย่อยคือ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด จำนวน 842.74 ล้านบาทและบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด จำนวน 462.15 ล้านบาทกับสถาบันการเงินด้วย ซึ่งบริษัทยังไม่มีความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้กลุ่มนี้ เนื่องจากบริษัทย่อยดังกล่าวยังมิได้มีการผิดนัดชำระหนี้
คุณภาพของสินทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดินเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ให้ แก่ผู้ซื้อ ดังนั้น บริษัทจะบันทึกเงินดาวน์หรือเงินค่างวดที่ได้รับจากลูกค้าเป็นหนี้สิน ในรายการเงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าของ ลูกค้า สำหรับเงินที่ถึงกำหนดชำระแล้วแต่ลูกค้ายังไม่ได้ชำระเงิน จะบันทึกเป็นรายการลูกหนี้การค้า นอกจากนี้ แม้ว่าบริษัทจะมีนโยบายขายบ้านพร้อมอยู่ แต่ยังคงมีลูกค้าบางกลุ่มได้มีความประสงค์ที่จะซื้อบ้านที่อยู่ใน ระหว่างก่อสร้าง บริษัทจึงได้ขายบ้านที่อยู่ในระหว่างก่อสร้างให้แก่ลูกค้ากลุ่มดังกล่าวพร้อมกับให้ลูกค้าผ่อนชำระเงินดาวน์กับ บริษัท และบันทึกเป็นลูกหนี้การค้า ทั้งนี้ส่วนใหญ่ลูกหนี้กลุ่มนี้จะมีระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี โดยในปี 2551 บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าค้างชำระจำนวน 44.09 ล้านบาท และได้ตั้งสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สำหรับลูกหนี้ที่ค้างเกินกว่า 12 เดือน จำนวน 10.29 ล้านบาท ทำให้ยอดลูกหนี้การค้าสุทธิของบริษัทและบริษัทย่อย เท่ากับ 33.80 ล้านบาทซึ่งบริษัทเชื่อว่าจำนวนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ได้บันทึกไว้ในบัญชีมีความเพียงพอในสถานการณ์ปัจจุบัน โดยลูกหนี้การ ค้าของบริษัทและบริษัทย่อย แบ่งเป็น 2 ประเภท • ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด เป็นลูกหนี้ที่เกิดจากการค้างชำระค่างวดของบ้าน ซึ่งยังอยู่ระหว่างก่อสร้างและผ่อนจ่ายชำระค่างวด โดยลูกหนี้ค้าง ชำระค่างวดมีจำนวน 29.01 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 65.79 ของลูกหนี้ค้างชำระทั้งหมด • ลูกหนี้ค้างชำระค่าโอน เกิดจากการที่ลูกค้าชำระเงินไม่ครบถ้วนในวันโอนกรรมสิทธิ์ คิดเป็นร้อยละ 34.21 อย่างไรก็ตาม สัดส่วนลูกหนี้ค้าง ชำระของบริษัท จำนวน 15.08 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.12 ของสินทรัพย์รวม ซึ่งเป็นสัดส่วนถือว่าไม่มีนัย สำคัญ และได้มีการตั้งสำรองไว้แล้วจำนวน 10.29 ล้านบาท สำหรับลูกหนี้ที่ค้างชำระตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป บริษัทได้ติดตามทวงถามหนี้จากลูกหนี้กลุ่มดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง และบาง กรณีอยู่ในระหว่างการฟ้องร้องให้ชำระหนี้ ทั้งนี้บริษัท เชื่อว่าจำนวนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ได้บันทึกไว้ในบัญชีมีความเพียงพอใน สถานการณ์ปัจจุบัน • สภาพคล่อง งบกระแสเงินสดสำหรับปี 2549 – ปี 2551 มีดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) รายการ ปี 2551 ปี 2550 ปี 2549 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน 1,328.99 1,265.06 1,024.20 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน (412.87) (333.62) (314.47) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (885.13) (820.13) (899.79) กระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น (ลดลง) 30.99 111.31 (190.06)
74
รายงานประจำปี 2550
บริษัทและบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดสุทธิเป็นลบเท่ากับ 190.06 ล้านบาท ในปี 2549 ทั้งที่มีกระแสเงินสดจากกิจกรรม ดำเนินงานเป็นบวกเนื่องมาจากการชำระคืนหุ้นกู้ และการจ่ายเงินปันผล สำหรับปี 2550 บริษัทและบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดสุทธิ เป็นบวกเท่ากับ 111.31 ล้านบาท จากการที่มีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานเป็นบวกถึง 1,265.06 ล้านบาท สำหรับกระแสเงินสดจากการกิจกรรมลงทุนติดลบมาโดยตลอด เท่ากับ 314.47 ล้านบาท 333.62 ล้านบาทและ 412.87 ล้าน บาทในปี 2549 – 2551 ตามลำดับ ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทได้ลงทุนในการจัดซื้อที่ดินรอการพัฒนาเพิ่ม เพื่อรองรับโครงการต่าง ๆ ของ บริษัท โดยในปี 2549 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกิจกรรมในการลงทุนจากเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินและการซื้อที่ดินรอการพัฒนา รวม 243.10 ล้านบาท และในปี 2550 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินและการซื้อที่ดินรอการพัฒนารวม 45.26 ล้านบาท เงินฝากที่ติด ภาระค้ำประกัน 225.28 ล้านบาท นอกจากนั้น ในปี 2550 บริษัทได้ลงทุนเพิ่มในกรุงเทพบ้านฯ จำนวน 60 ล้านบาท เพื่อเป็นการ รักษาสัดส่วนการถือหุ้น ส่วนในปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกิจกรรมในการลงทุนจากเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินและการซื้อที่ ดินรอการพัฒนารวม 502.88 ล้านบาท และมีการลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค เป็นจำนวนเงิน ประมาณ 32.5 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.24 ของมูลค่าหน่วยลงทุน และกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้ ฮอสพิทอลลิตี้ เป็นจำนวนเงินประมาณ 20.0 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.1 ของมูลค่าหน่วยลงทุน ขณะที่เงินฝากที่ติดภาระ ค้ำประกันลดลง 217.27 ล้านบาท เมื่อพิจารณากระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2549 เป็นกระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมด้านการเงินคือ การชำระคืน หนี้สุทธิจำนวน 625.90 ล้านบาทและการจ่ายเงินปันผล 273.89 ล้านบาท และในปี 2550 เป็นกระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมด้านการ เงินคือ การชำระคืนหนี้สุทธิจำนวน 470.13 ล้านบาทและการไถ่ถอนหุ้นกู้ 350.0 ล้านบาท สำหรับปี 2551 เป็นกระแสเงินสดใช้ไปใน กิจกรรมด้านการเงินคือ การชำระคืนหนี้สุทธิจำนวน 696.12 ล้านบาทและการจ่ายเงินปันผล 189.01 ล้านบาท บริษัทได้มีการจ่ายเงินปันผลสำหรับผลการดำเนินงานประจำปี 2550 ให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.24 บาท เป็นจำนวน เงิน 189.01 ล้านบาท เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551
แหล่งที่มาของเงินทุน หนี้สิน ในปี 2551 บริษัทและบริษัทย่อย มีหนี้สินรวมเท่ากับ 6,229.64 ล้านบาท (โดยแบ่งเป็นหนี้สินของบริษัท 5,203.20 ล้านบาท และบริษัทย่อย 1,026.44 ล้านบาท) ลดลงจำนวน 594.20 ล้านบาท จากปี 2550 โดยเป็นการลดลงจากการชำระคืนเจ้าหนี้ตามแผน ฟื้นฟูกิจการจำนวน 382.78 และคืนเงินกู้ยืม-สุทธิ 325.48 ล้านบาท และเพิ่มขึ้นในเจ้าหนี้การค้าจำนวน 53 ล้านบาท จากเงินรับล่วง หน้าจากลูกค้าจำนวน 106 ล้านบาท สำรองหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจำนวน 51.98 ล้านบาท และสำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำจำนวน 40.42 ล้านบาท อนึ่ง โครงสร้างหนี้สินของบริษัทและบริษัทย่อย ในปี 2551 ประกอบด้วย เงินกู้ยืมระยะยาว คิดเป็นร้อยละ 47.43 ของหนี้สิน รวม เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น คิดเป็นร้อยละ 8.98 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ คิดเป็นร้อยละ 12.99 หุ้นกู้ คิดเป็น ร้อยละ 7.42 และ เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู คิดเป็นร้อยละ 4.26 โดยมีรายละเอียดดังนี้ • เงินกู้ยืมระยะยาว ในปี 2551 เท่ากับ 2,954.44 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นเงินกู้ยืมของบริษัทจำนวน 2,564.97 ล้านบาท (ครบกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี จำนวน228.88 ล้านบาท) และเงินกู้ยืมของบริษัทย่อยจำนวน 389.47 ล้านบาท (ครบกำหนดชำระภายในหนึ่งปี จำนวน 4.22 ล้านบาท) โดยนำมาใช้ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ และจัดซื้อที่ดินเพื่อใช้ในการพัฒนาโครงการใน อนาคต โดยมีรายละเอียดเงินกู้ยืมดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2551 31 ธันวาคม 2550 เฉพาะ บริษัท รวม เฉพาะ บริษัท รวม บริษัท ย่อย บริษัท ย่อย เงินกู้ยืมระยะยาว 2,564.97 389.47 2,954.44 3,006.96 500.59 3,507.55 หัก : ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี 228.88 4.22 233.10 458.13 4.87 463.00 เงินกู้ยืมระยะยาว (สุทธิ) 2,336.09 385.25 2,721.34 2,548.83 495.72 3,044.55 นอกจากนี้ บริษัทได้ค้ำประกันเงินกู้ยืมธนาคารและสถาบันการเงินและหุ้นกู้ให้แก่บริษัทย่อยในวงเงิน 1,304.9 ล้านบาท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
75
• •
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น ในปี 2551 เท่ากับ 559.27 ล้านบาท โดยเป็นเงินกู้ยืมของบริษัทจำนวน 508.00 ล้านบาทและบริษัทย่อยจำนวน 51.27 ล้านบาท ประกอบด้วย ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นกับสถาบันการเงินเท่ากับ 528.27 ล้านบาท และเงินกู้ยืม จากบุคคลอื่น 31.0 ล้านบาท หุ้นกู้ประเภทมีประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มียอดคงค้าง หุ้นกู้ประเภทมีประกัน และกำหนดชำระคืนเงินต้นทั้งจำนวน ในวันที่ครบ กำหนดไถ่ถอน จำนวน 462.15 ล้านบาท ซึ่งออกโดยบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัดซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษัท (บริษัทถือสัดส่วนร้อยละ 100) โดยบริษัทมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเงินไปซื้อที่ดินบริเวณถนนรัชดาภิเษก(ช่วงสุทธิสาร – ห้วยขวาง) โดยมีรายละเอียดหุ้นกู้ดังนี้
มูลค่า วันออกหุ้นกู้ วันครบกำหนด เงื่อนไข (ล้านบาท) ไถ่ถอน หุ้นกู้มีประกัน 462.15 18 ส.ค.2551 28 พ.ย.2551 - ดำรงสัดส่วนมูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่ยังไม่ได้ไถ่ถอน ต่อทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน ไม่เกินร้อยละ 65 รวม 462.15 - ผู้ค้ำประกัน(บริษัท)ดำรงสัดส่วนหนี้สินทางการเงิน สุทธิรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2.00 เท่า เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2551 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด (“ไบรท์ฯ”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้มีประกันจำนวน 462,150 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 462,150,000 บาท ให้กับ สถาบันการเงินแห่งหนึ่งตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของไบรท์ฯเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2550 หุ้นกู้ดัง กล่าวมีกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่างในอัตราร้อยละ 5.55256 ต่อปี และค้ำประกันโดยบริษัทฯและการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯและไบรท์ฯและ การจำนำหุ้นสามัญของไบรท์ฯที่ถือโดยบริษัทฯ ต่อมาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ไบรท์ฯได้ทำสัญญาแก้ไขรายละเอียดของหุ้นกู้กับสถาบันการเงินดังกล่าว โดย มีกำหนดไถ่ถอนพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายงวดและจะต้องชำระทั้งหมดภายในเดือนพฤษภาคม 2552 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่างในอัตราร้อยละ 8.55256 ต่อปี • หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อชำระคืนเงินกู้ยืม และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ โดยมีรายละเอียดหุ้นกู้ดังนี้ รุ่น มูลค่า วันออกหุ้นกู้ วันครบกำหนด เงื่อนไข (ล้านบาท) ไถ่ถอน หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ 823.00 25 พ.ย. 2548 25 พ.ย. 2553 - อัตราแปลงสภาพ 1 หุน้ กูต้ อ่ 658.4 หุน้ สามัญ (จำนวน 200,000 หน่วย คิดเป็นราคาหุ้นละ 6.25 บาท มูลค่าหน่วยละ - หุ้นกู้ที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพจะชำระคืน 100 เหรียญสหรัฐฯ) เป็นจำนวน 131.60 เหรียญสหรัฐฯ ต่อหน่วย กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้ที่ 41.15 บาท ต่อเหรียญสหรัฐฯ - ต้องแต่งตั้งให้บุคคลที่ผู้ลงทุนต่างประเทศ ให้ความเห็นชอบเข้าเป็นกรรมการของ บริษัท จำนวน 1 ท่าน
76
รายงานประจำปี 2550
•
หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ ครั้งที่ 1/2548 (เฉพาะส่วนที่เป็นหนี้สิน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีมูลค่า 809.15 ล้านบาท (ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 บริษัทได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพมูลค่ารวม 20 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ) ทั้งนี้ ในการบันทึกบัญชีของหุ้นกู้แปลงสภาพในงบดุล จะแบ่งเป็นสองส่วนคือ ส่วนที่เป็นหนี้สินและ ส่วนที่เป็นทุน ดังนี้ • หุ้นกู้แปลงสภาพ-องค์ประกอบที่เป็นหนี้สิน คำนวณจากกระแสเงินสดของเงินต้นและดอกเบี้ยที่จ่ายในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยในตลาดขณะนั้น • หุ้นกู้แปลงสภาพ-องค์ประกอบที่เป็นทุน บันทึกโดยหักตามบัญชีของหนี้สินจากมูลค่าทั้งสิ้นของหุ้นกู้แปลง สภาพ โดยผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของหนี้สินดังกล่าวและมูลค่าหน้าตั๋วของหุ้นกู้แปลงสภาพจะตัด จำหน่ายตามอายุของหุ้นกู้แปลงสภาพ
เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู ฯ ภายหลังจากการออกจากกระบวนการฟื้นฟูกิจการ เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูในปี 2550 คงเหลือจำนวน 648.41 ล้านบาท ประกอบด้วย เจ้าหนี้มีประกัน 132 ล้านบาท เจ้าหนี้ไม่มีประกัน 516 ล้านบาท และเจ้าหนี้ผู้ซื้อบ้านและที่ดิน 0.1 ล้านบาท โดยมี เงื่อนไขการจ่ายชำระและการจ่ายดอกเบี้ยดังนี้ ประเภท ยอดคงค้าง การชำระเงินต้น อัตราดอกเบี้ย (ล้านบาท) ปี % เจ้าหนี้มีประกัน 132 - จากกระแสเงินสดส่วนที่เกินกว่า 250 ล้านบาท 2547-2548 3% ณ วันสิ้นไตรมาส 2549 เป็นต้นไป MLR ไม่เกิน 10% เจ้าหนี้ไม่มีประกัน 516 - จากกระแสเงินสดส่วนที่เกินกว่า 250 ล้านบาท 2547-2548 1% ณ วันสิ้นไตรมาส 2549 เป็นต้นไป MLR ไม่เกิน 10% เจ้าหนี้ผู้ซื้อบ้าน 0.01 - ดำเนินการจ่ายชำระทั้งหมดแล้ว หากแต่เจ้าหนี้บางราย - - และที่ดิน ยังมิได้มารับชำระ รวม 648.41 ตามที่ระบุไว้ในแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทจะต้องชำระคืนเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูฯ ดังกล่าวภายในเดือน ตุลาคม 2551 ในระหว่างปี 2551 บริษัทฯได้ดำเนินการจ่ายชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู แต่มีเจ้าหนี้ที่สามารถรับชำระหนี้ได้ใน ระหว่างปีเป็นจำนวนเงิน 383 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 บริษัทได้จ่ายชำระหนี้เพิ่มเติมให้กับเจ้าหนี้อีกเป็น จำนวนเงิน 138 ล้านบาท สำหรับเจ้าหนี้ส่วนที่เหลือจำนวนเงิน 127 ล้านบาท อยู่ในระหว่างการดำเนินการเพื่อให้เจ้าหนี้สามารถรับ ชำระหนี้จากบริษัทฯได้ ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและบริษัทย่อยในปี 2551 เท่ากับ 6,703.23 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 616.03 ล้านบาท จากปี 2550 ซึ่งมาจากผลกำไรสุทธิประจำปี 2551 โดยโครงสร้างส่วนของผู้ถือหุ้น ประกอบด้วย ทุนจดทะเบียนที่เรียกชำระแล้ว 4,726.33 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 6 บาท ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น 44.09 ล้านบาท หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ – องค์ประกอบที่เป็นทุน 31.01 ล้านบาท (เป็นของบริษัท 23.54 ล้านบาท และเป็นของบริษัทร่วม 7.47 ล้านบาท) กำไรสะสม 1,996.96 ล้านบาท และส่วนผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย (1.58) ล้านบาท ทั้งนี้ในปี 2551 บริษัทยังคงมีใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกสำหรับเจ้าหนี้ไม่มีประกันยังไม่มีการใช้สิทธิอีก 8.87 ล้านหน่วย อัตราการใช้สิทธิ 1 ใบสำคัญแสดงสิทธิ สามารถแปลงเป็นหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.01 บาท กำหนดระยะเวลาการใช้ สิทธิทุกวันสุดท้ายของไตรมาสที่ 2 และ 4 ของปี อายุ 10 ปี เริ่มจากไตรมาสที่ 4 ของปี 2545
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
77
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2549 เท่ากับ 1.32 เท่า และลดลงเป็น 1.12 เท่าในปี 2550 เท่าในปี 2550 และ เหลือ 0.93 เท่าในปี 2551 เป็นผลจาการที่หนี้สินรวมลดลง และส่วนของผู้ถือหุ้นที่เพิ่มขึ้นโดยตลอด
โครงการในอนาคต บริษัทและบริษัทย่อยมีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่จะเปิดเพิ่มนอกเหนือจากโครงการที่ปรากฏในรายละเอียดโครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ในปัจจุบันของบริษัท โดยบริษัทมีแผนเปิดโครงการใหม่ 4 โครงการ มีมูลค่าโครงการรวม 7,326 ล้านบาท ดังนี้ ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ ลักษณะ มูลค่าโครงการ ระยะเวลา โครงการ พื้นที่(ไร่) จำนวน มูลค่า พัฒนา (ยูนิต) (ล้านบาท) โครงการ 1 เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ เฟส 1 ถ.ราชพฤกษ์ SDH 86 402 1,964 Q4/2551-2554 2 เดอะ เมทโทร สาทร ถ.กัลปพฤกษ์ TH 30 321 1,272 Q1/2552-2553 (สาทรตัดใหม่) 3 เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ พระราม 9 ถ.พัฒนาการ- SDH 148 319 3,270 Q3/2551-2557 มอเตอร์เวย์ 4 เพอร์เฟค เพลส รามคำแหง - ถ.รามคำแหง SDH 38 114 820 Q4/2551-2552 สุวรรณภูมิ (เดอะ เลค โซน) รวมทั้งสิ้น 1,156 7,326 หมายเหตุ SDH = บ้านเดี่ยว , TH= ทาวน์เฮ้าส์ ปัจจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลต่อการดำเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต ด้านรายได้ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากสภาวะเศรษฐกิจของประเทศโดยตรง หากเศรษฐกิจของ ประเทศชะลอตัว ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ก็ชะลอตัวตามทันที ดังนั้น บริษัทและบริษัทย่อยจะมีการปรับกลยุทธ์ในการขายอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่ จะสามารถแข่งขันกับคู่แข่งในตลาดได้ และรักษาระดับอัตราการเติบโตด้านยอดขายและโอนให้อยู่ในระดับสูงกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม ด้านต้นทุนสินค้า ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จะมีต้นทุนประกอบด้วย ที่ดิน ก่อสร้างบ้าน และ สาธารณูปโภคต่างๆ เพื่อให้บริษัทและ บริษัทย่อยมีต้นทุนสินค้าที่ต่ำกว่าคู่แข่งขัน บริษัทและบริษัทย่อยได้มีการพิจารณาอย่างรอบคอบในการเลือกลงทุนในที่ดิน การลงทุนในด้าน สาธารณูปโภคอย่างเหมาะสม อีกทั้งมีการพัฒนาด้านการก่อสร้างบ้านให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นอยู่ตลอดเวลา โดยให้มีต้นทุนที่ต่ำลง ด้านเงินลงทุนและเงินทุนหมุนเวียน การดำเนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อยมีความต้องการเงินลงทุนสูง ตั้งแต่เริ่มการจัดหา ที่ดิน ลงทุนพัฒนาที่ดิน ดำเนินการขออนุญาตจัดสรร ขออนุญาตสิ่งแวดล้อม และเริ่มการก่อสร้างบ้านจนบ้านแล้วเสร็จ โดยปัจจุบันบริษัทมี รอบระยะเวลาการขายสินค้าเฉลี่ย 589.20 วัน ซึ่งมีความจำเป็นต้องใช้เงินลงทุนสูงในการดำเนินการพัฒนาที่ดินและก่อสร้างบ้าน ก่อนที่จะ มีรายรับ ดังนั้นนอกจากเงินลงทุนในส่วนผู้ถือหุ้นแล้ว ความต้องการเงินทุนหมุนเวียนระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงิน การใช้เครื่อง มือทางการเงินต่างๆ เพื่อลดต้นทุนทางการเงิน รวมถึงการมีพันธมิตรร่วมลงทุน มีความจำเป็นและจะส่งผลต่อการเติบโตของบริษัทอย่างมี นัย โดยจะรักษาสัดส่วนหนี้สินต่อทุนในระดับที่ดีกว่าค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม นโยบายภาครัฐ ในปีที่ผ่านมาถึงแม้ผู้บริโภคจะขาดความเชื่อมั่นในการใช้จ่าย แต่มาตรการลดหย่อนภาษีต่างๆ ก็สามารถช่วย กระตุ้นยอดขายในภาคอุตสาหกรรมพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ให้ผ่านวิกฤตมาได้ การต่ออายุมาตรการภาษีในปี 2552 และมาตรการเพิ่มใน การนำเงินต้นที่ผ่อนชำระมาลดหย่อนภาษีได้ มีส่วนสำคัญอย่างเป็นนัย ที่จะช่วยให้อุตสาหกรรมพัฒนาอสังหาริมทรัพย์สามารถผ่านวิกฤต ในปี 2552 ได้อีกครั้ง ในปีที่ผ่านมาผลกระทบจากความขัดแย้งทางการเมืองทำให้ประเทศไทยขาดความเชื่อถือจากต่างประเทศ ส่งผลการลงทุนและการ ขยายงานภาคเอกชนถูกชะลอลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งมีผลกระทบต่อการดำเนินงานในทุกภาคอุตสาหกรรม
78
รายงานประจำปี 2550
รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
(หน่วย: บาท) ข้ า พเจ้ า ได้ ต รวจสอบงบดุ ล รวม ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2551 งบกำไรขาดทุ น รวม งบแสดงการเปลี ย ่ นแปลงส่ ว ถ้ อื งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกินของผู จการ ยวกันของบริ ษทั 2551 พร็อพเพอร์ต้ี เพอร์ (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย หุน้ รวมและงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสน้ิ สุดวันเดี หมายเหตุ 2550 เฟค จำกัด 2551 2520 และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั พร็อพเพอร์ต้ี เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึง่ ผูบ้ ริหารของกิจการ เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความ เห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า งบการเงินรวมของบริษทั พร็อพเพอร์ต้ี เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีท่านอื่นในสำนักงานเดียวกันกับข้าพเจ้า ซึ่งได้แสดงความเห็นไว้ อย่างไม่มีเงื่อนไข แต่ได้ให้ข้อสังเกตเกี่ยวกับการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษทั ร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธสี ว่ นได้เสียเป็นวิธรี าคาทุนตามรายงานลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจ สอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมิน ความเหมาะสมของหลักการบัญชีทก่ี จิ การใช้และประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ป็นสาระสำคัญซึง่ ผูบ้ ริหารเป็นผู้ จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการ ตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยและเฉพาะของบริษัท พร็อพเพอร์ต้ี เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ศิราภรณ์ เอือ้ อนันต์กลุ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3844 บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 27 กุมภาพันธ์ 2552
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
79
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2520
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 455,045,559 424,055,579 428,606,931 397,595,597 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 7 33,803,010 33,452,438 30,188,260 32,530,838 ลูกหนี้ค่าที่ดิน 8 35,358,000 - 35,358,000 - ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ - สุทธิ 9 8,931,082,106 7,991,847,276 7,085,145,739 6,425,477,543 สิทธิการเช่ารอการขาย - สุทธิ 18 60,717,672 60,717,672 60,717,672 60,717,672 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ 44,745,733 32,916,874 42,216,371 32,916,874 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 14,679,752 5,440,132 14,679,752 5,440,132 อื่น ๆ 15,683,741 14,448,799 12,105,102 11,387,981 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 9,591,115,573 8,562,878,770 7,709,017,827 6,966,066,637 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน 10 8,857,942 226,123,159 8,857,942 226,123,159 เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 6 - - 1,500,000 81,500,000 เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ 6 - - 412,052,946 247,074,412 ลูกหนี้ค่าที่ดิน 8 - 35,358,000 - 35,358,000 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 11 - - 541,057,356 541,057,356 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 12 416,738,479 401,445,870 359,999,240 359,999,240 เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ 13 51,695,442 4,985,944 51,695,442 4,985,944 ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ 14 1,860,368,585 2,979,837,101 1,585,301,544 2,979,837,101 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน 15 476,159,648 151,462,635 388,904,213 22,000,000 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 16 400,586,425 400,999,621 347,716,575 346,394,876 สิทธิการเช่า - สุทธิ 17 58,849,072 60,630,512 58,849,072 60,630,512 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 40,932,044 61,287,159 36,715,792 57,329,685 อื่น ๆ 27,569,334 26,025,297 23,379,946 22,151,078 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 3,341,756,971 4,348,155,298 3,816,030,068 4,984,441,363 รวมสินทรัพย์ 12,932,872,544 12,911,034,068 11,525,047,895 11,950,508,000
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
80
รายงานประจำปี 2550
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบดุล (ต่อ)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2520
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 19 528,268,062 321,640,578 508,000,000 306,640,578 เจ้าหนี้การค้า 472,883,812 420,035,595 402,828,046 374,910,923 เงินกู้ยืมจากบุคคล/บริษัทอื่น 20 31,000,000 10,000,000 - - หุ้นกู้ 21 462,150,000 450,000,000 - 450,000,000 เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู 22 265,633,156 648,410,232 265,633,156 648,410,232 ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 24 233,096,097 462,996,251 228,880,399 458,126,231 เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 6 - - 83,954,452 80,977,279 เงินทดรองจากกรรมการ 6 80,000,000 80,000,000 - - เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า 7 112,235,496 218,593,293 103,684,414 216,462,138 ประมาณการหนี้สินระยะสั้น 25 26,483,178 - 26,483,178 - หนี้สินหมุนเวียนอื่น ดอกเบี้ยค้างจ่าย 22,933,411 33,716,874 17,406,514 33,145,704 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 193,251,857 116,819,145 150,017,814 104,665,102 อื่น ๆ 53,720,080 56,244,344 53,568,664 49,522,972 รวมหนี้สินหมุนเวียน 2,481,655,149 2,818,456,312 1,840,456,637 2,722,861,159 หนี้สินไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นหนี้สิน 23 809,153,899 805,881,396 809,153,899 805,881,396 เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 24 2,721,339,526 3,044,557,322 2,336,094,030 2,548,833,016 เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจากสัญญาเช่าช่วง 57,712,083 61,076,419 57,712,083 61,076,419 ประมาณการหนี้สินระยะยาว 25 159,782,083 93,864,720 159,782,083 93,864,720 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 3,747,987,591 4,005,379,857 3,362,742,095 3,509,655,551 รวมหนี้สิน 6,229,642,740 6,823,836,169 5,203,198,732 6,232,516,710
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
81
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบดุล (ต่อ)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2520
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 26 ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,092,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท (2550: หุ้นสามัญ 1,035,594,196 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) 6,552,000,000 6,213,565,176 6,552,000,000 6,213,565,176 ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 787,721,620 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท (2550: หุ้นสามัญ 787,491,194 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) 4,726,329,720 4,724,947,164 4,726,329,720 4,724,947,164 ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุ้น 27 (44,093,444) (42,713,192) (44,093,444) (42,713,192) เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น 27 - 1,938 - 1,938 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นทุน 23 31,011,986 23,535,270 23,535,270 23,535,270 ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส่วนต่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน (5,396,570) - (5,396,570) - กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย 28 159,100,000 119,100,000 159,100,000 119,100,000 ยังไม่ได้จัดสรร 1,837,858,815 1,262,326,719 1,462,374,187 893,120,110 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 6,704,810,507 6,087,197,899 6,321,849,163 5,717,991,290 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย (1,580,703) - - - รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 6,703,229,804 6,087,197,899 6,321,849,163 5,717,991,290 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 12,932,872,544 12,911,034,068 11,525,047,895 11,950,508,000
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
82
รายงานประจำปี 2550
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกำไรขาดทุน
สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2520
รายได้ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน 5,420,143,581 4,697,134,755 4,715,701,794 4,144,223,090 รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย 2,109,457,909 1,469,487,994 2,109,457,909 1,469,487,994 รายได้จากการขายที่ดิน 8,644,000 99,307,500 8,644,000 99,307,500 รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ 1,578,989 1,416,397 30,730,466 14,422,223 รายได้จากการริบเงินจอง 14,535,519 11,569,861 13,554,546 10,831,098 อื่น ๆ 63,252,281 42,574,214 56,410,041 39,840,560 รวมรายได้ 7,617,612,279 6,321,490,721 6,934,498,756 5,778,112,465 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน 3,767,924,462 3,297,303,001 3,307,202,035 2,925,647,867 ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย 1,395,411,661 1,041,594,307 1,395,411,661 1,041,594,307 ต้นทุนการขายที่ดิน 6,589,828 56,578,584 6,589,828 56,578,584 ค่าใช้จ่ายในการขาย 398,904,663 570,777,162 363,181,650 523,420,043 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 845,193,454 660,488,223 727,134,029 589,473,384 ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ 13 73,800,000 - 73,800,000 - รวมค่าใช้จ่าย 6,487,824,068 5,626,741,277 5,873,319,203 5,136,714,185 กำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล 1,129,788,211 694,749,444 1,061,179,553 641,398,280 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (272,035,651) (280,506,277) (231,064,340) (272,617,535) ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 7,815,893 11,751,068 - - กำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 865,568,453 425,994,235 830,115,213 368,780,745 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 30 (63,002,412) (14,387,416) (31,846,488) - กำไรสุทธิสำหรับปี 802,566,041 411,606,819 798,268,725 368,780,745 การแบ่งปันกำไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 804,546,744 411,606,819 798,268,725 368,780,745 ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย (1,980,703) - 802,566,041 411,606,819 กำไรต่อหุ้น 31 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 1.02 0.52 1.01 0.47 กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 0.96 0.52 0.95 0.46 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
83
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด
สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2520
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิก่อนภาษี 865,568,453 425,994,235 830,115,213 368,780,745 รายการปรับกระทบยอดกำไรสุทธิก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (7,815,893) (11,751,068) - - ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 67,761,368 48,074,143 58,976,422 45,000,227 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าตัดจำหน่าย 30,791,634 15,439,378 14,924,392 14,988,262 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ตัดจำหน่าย 3,272,503 3,145,608 3,272,503 3,145,608 สำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ใช้สิทธิแปลงสภาพ 51,976,915 47,331,977 51,976,915 47,331,977 รายได้รับล่วงหน้าค่าสิทธิการเช่าตัดบัญชี (4,334,204) (3,431,112) (4,334,204) (3,431,112) ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน (โอนกลับ) 352,082 (183,920) 352,082 (183,920) ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ 73,800,000 - 73,800,000 - ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ - 4,080,000 - 4,080,000 ขาดทุนจากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 6,630,452 6,707,888 6,630,452 6,618,373 หนี้สงสัยจะสูญ - 1,803,299 - 1,803,299 ดอกเบี้ยรับ (1,578,989) (1,416,397) (30,730,466) (14,422,223) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 192,290,335 225,442,622 171,712,724 217,553,880 กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และ หนี้สินดำเนินงาน 1,278,714,656 761,236,653 1,176,696,033 691,265,116 สินทรัพย์ดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้า (350,572) (1,475,880) 2,342,578 (2,411,036) ลูกหนี้ค่าที่ดิน - (35,358,000) - (35,358,000) ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ 524,638,582 888,078,762 970,895,636 870,062,063 เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา (11,828,859) 37,476,326 (9,299,497) 37,476,326 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า (40,031,254) (11,634,846) (24,164,012) (11,183,729) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (1,234,942) (4,761,024) (717,120) (5,710,727) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น (1,544,035) (3,333,040) (1,228,869) 101,323 หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า 52,848,217 129,906,847 27,917,124 129,915,380 เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - - 2,977,174 79,238,899 เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า (106,357,797) (62,041,551) (112,777,724) (49,537,664) สำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ (13,568,415) - (13,568,415) - หนี้สินหมุนเวียนอื่น 51,604,496 44,537,714 28,711,110 41,934,013 เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน 1,732,890,077 1,742,631,961 2,047,784,018 1,745,791,964 จ่ายดอกเบี้ย (365,347,351) (433,678,576) (320,856,507) (389,820,080) จ่ายภาษีเงินได้ (97,461,068) (83,565,525) (68,562,280) (57,331,130) ดอกเบี้ยรับ 1,578,989 1,416,397 1,529,626 889,081 รับคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 57,329,685 38,251,058 57,329,685 38,251,058 เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน 1,328,990,332 1,265,055,315 1,717,224,542 1,337,780,893 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 84
รายงานประจำปี 2550
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2520
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) 217,265,217 (225,282,500) 217,265,217 (225,282,500) เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันลดลง (เพิ่มขึ้น) - - 51,620,271 (41,500,000) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันลดลง (เพิ่มขึ้น) - 58,389,320 (129,911,998) (93,049,970) ดอกเบี้ยรับ - 8,908,052 22,522,811 25,385,194 เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น - - - (1,598,900) เงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น - (59,999,940) - (59,999,940) เงินลงทุนระยะยาวอื่นเพิ่มขึ้น (52,458,150) - (52,458,150) - ที่ดินรอการพัฒนาลดลง (เพิ่มขึ้น) (88,787,146) 17,241,121 (88,787,146) 17,241,121 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเพิ่มขึ้น (414,089,013) (62,500,000) (376,296,213) (10,000,000) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น (74,848,070) (71,578,306) (67,799,879) (38,410,396) เงินสดรับจากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 49,000 1,204,487 49,000 1,204,487 เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (412,868,162) (333,617,766) (423,796,087) (426,010,904) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) 206,627,484 (208,764,970) 201,359,422 (223,764,970) เงินกู้ยืมจากบุคคล/บริษัทอื่นเพิ่มขึ้น 21,000,000 10,000,000 - - เงินทดรองจากกรรมการเพิ่มขึ้น - 80,000,000 - - เงินกู้ยืมระยะยาวลดลง (553,117,950) (351,359,938) (441,984,819) (211,529,411) หุ้นกู้ลดลง (450,000,000) (350,000,000) (450,000,000) (350,000,000) ออกหุ้นกู้โดยบริษัทย่อย 462,150,000 - - - เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการลดลง (382,777,076) - (382,777,076) - เงินปันผลจ่าย (189,014,648) - (189,014,648) - เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (885,132,190) (820,124,908) (1,262,417,121) (785,294,381) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ 30,989,980 111,312,641 31,011,334 126,475,608 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด 424,055,579 312,742,938 397,595,597 271,119,989 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายงวด 455,045,559 424,055,579 428,606,931 397,595,597 ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม่ใช่เงินสด โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์และที่ดินรอการพัฒนา 89,392,000 637,038,935 9,392,000 573,038,935 โอนที่ดินรอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ 1,212,647,661 89,718,461 1,487,714,703 89,718,461 โอนต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - 17,967,472 - 17,967,472 โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเป็นเงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - 40,000,000 - 40,000,000 โอนเงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันเป็นเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - - 28,379,729 - หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
85
86
รายงานประจำปี 2550
งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ทุนเรือนหุ้น หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิ ส่วนต่ำกว่าทุนจาก กำไรสะสม รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ที่ออก ส่วนต่ำกว่า เงินรับล่วงหน้า แปลงสภาพ - การเปลี่ยนแปลง สำรอง ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยของ และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น ค่าหุ้น องค์ประกอบที่เป็นทุน มูลค่าเงินลงทุน ตามกฎหมาย ยังไม่ ได้จัดสรร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย รวม
(หน่วย: บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 4,695,334,290 (13,149,673) 48,563 23,535,270 - 100,600,000 869,219,900 5,675,588,350 - 5,675,588,350 กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - - 411,606,819 411,606,819 - 411,606,819 โอนกำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร เป็นสำรองตามกฏหมาย - - - - - 18,500,000 (18,500,000) - - - เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น - - 2,730 - - - - 2,730 - 2,730 หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิ ตามใบสำคัญแสดงสิทธิ 29,612,874 (29,563,519) (49,355) - - - - - - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 4,724,947,164 (42,713,192) 1,938 23,535,270 - 119,100,000 1,262,326,719 6,087,197,899 - 6,087,197,899 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 4,724,947,164 (42,713,192) 1,938 23,535,270 - 119,100,000 1,262,326,719 6,087,197,899 - 6,087,197,899 ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลขาดทุนที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - - - (5,396,570) - - (5,396,570) - (5,396,570) รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - - - (5,396,570) - - (5,396,570) - (5,396,570) กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับปี - - - - - - 804,546,744 804,546,744 (1,980,703) 802,566,041 รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี - - - - (5,396,570) - 804,546,744 799,150,174 (1,980,703) 797,169,471 เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 34) - - - - - - (189,014,648) (189,014,648) - (189,014,648) โอนกำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร เป็นสำรองตามกฏหมาย - - - - - 40,000,000 (40,000,000) - - - หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิ ตามใบสำคัญแสดงสิทธิ 1,382,556 (1,380,252) (1,938) - - - - 366 - 366 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นทุนเพิ่มขึ้น - - - 7,476,716 - - - 7,476,716 - 7,476,716 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ของบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น - - - - - - - - 400,000 400,000 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 4,726,329,720 (44,093,444) - 31,011,986 (5,396,570) 159,100,000 1,837,858,815 6,704,810,507 (1,580,703) 6,703,229,804
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2520
กำไรสะสม สำรอง ตามกฎหมาย ยังไม่ ได้จัดสรร รวม
(หน่วย: บาท)
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2551 2550
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 4,695,334,290 (13,149,673) 48,563 23,535,270 - 100,600,000 542,839,365 5,349,207,815 กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - - 368,780,745 368,780,745 โอนกำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็นสำรอง ตามกฏหมาย - - - - - 18,500,000 (18,500,000) - เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น - - 2,730 - - - - 2,730 หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิ 29,612,874 (29,563,519) (49,355) - - - - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 4,724,947,164 (42,713,192) 1,938 23,535,270 - 119,100,000 893,120,110 5,717,991,290 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 4,724,947,164 (42,713,192) 1,938 23,535,270 - 119,100,000 893,120,110 5,717,991,290 ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลขาดทุนที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - - - (5,396,570) - - (5,396,570) ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - - - (5,396,570) - - (5,396,570) กำไรสุทธิสำหรับปี - - - - - - 798,268,725 798,268,725 รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำหรับปี - - - - (5,396,570) - 798,268,725 792,872,155 เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 34) - - - - - - (189,014,648) (189,014,648) โอนกำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็นสำรอง ตามกฏหมาย - - - - - 40,000,000 (40,000,000) - หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1,382,556 (1,380,252) (1,938) - - - - 366 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 4,726,329,720 (44,093,444) - 23,535,270 (5,396,570) 159,100,000 1,462,374,187 6,321,849,163
งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนเรือนหุ้น หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิ ส่วนต่ำกว่าทุนจาก ที่ออก ส่วนต่ำกว่า เงินรับล่วงหน้า แปลงสภาพ - การเปลี่ยนแปลง และชำระแล้ว มูลค่าหุ้น ค่าหุ้น องค์ประกอบทีเ่ ป็นทุน มูลค่าเงินลงทุน
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2520
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
87
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550
1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 1.2
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนและมีภูมิลำเนาในประเทศไทย ธุรกิจ หลักของบริษัทฯ คือ การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนอยู่ที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ วิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาในช่วงปีที่ผ่านมาได้ส่งผลกระทบต่อสภาวะเศรษฐกิจโลกอย่าง รุนแรง โดยจะเห็นได้จากการลดลงอย่างมากของราคาหุ้นทั่วโลก ภาวะการตึงตัวของตลาดสินเชื่อรวมทั้งการกู้ยืมระหว่างธนาคาร การล้มละลายของสถาบันการเงินขนาดใหญ่ และความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลง วิกฤตการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบอย่างเป็น สาระสำคัญต่อแผนการดำเนินธุรกิจและการเงินรวมถึงมูลค่าของสินทรัพย์ของผู้ประกอบการในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก ถึง แม้ว่ารัฐบาลของประเทศต่าง ๆ ได้ใช้ความพยายามในการที่จะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ แต่ยังคงมีความไม่แน่นอนว่าสภาวะเศรษฐกิจ ของโลกจะกลับคืนสู่สภาวะปกติเมื่อใด งบการเงินนี้จัดทำบนพื้นฐานข้อเท็จจริงของสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และ ประมาณการและข้อสมมติฐานต่าง ๆ ที่บริษัทฯพิจารณาแล้วว่าเหมาะสมในสถานการณ์ปัจจุบัน อย่างไรก็ตามงบการเงินนี้อาจได้ รับผลกระทบในทางลบจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
2. เกณฑ์ ในการจัดทำงบการเงิน 2.1 2.2
88
งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการในงบการ เงินได้ทำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราช บัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมา จากงบการเงินฉบับภาษาไทยดังกล่าว งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ จัดตั้งขึ้น อัตราร้อยละ ในประเทศ ของการถือหุ้น 2551 2550 ร้อยละ ร้อยละ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ไทย 100.00 100.00 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริหารสโมสร ไทย 99.94 99.94 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ไทย 99.94 99.94 บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ไทย 59.95 59.95
รายงานประจำปี 2550
2.3
ชือ่ บริษทั
บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด
ร้อยละของสินทรัพย์ท ี่ ร้อยละของรายได้ทรี่ วมอยูใ่ น รวมอยูใ่ นสินทรัพย์รวม รายได้รวมสำหรับปีสนิ้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550 2551 2550 ร้อยละ ร้อยละ รัอยละ ร้อยละ 13.74 13.08 9.34 8.78 0.05 0.04 - 0.01 4.06 0.73 - - 0.02 - - -
ข) บริษัทฯนำงบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ได้มา (วันที่บริษัทฯมีอำนาจในการควบคุม บริษัทย่อย) จนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำขึ้นโดยมีรอบระยะเวลาบัญชีและใช้นโยบายการบัญชีที่สำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว จ) ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย คือ จำนวนกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และแสดง เป็นรายการแยกต่างหากในงบกำไรขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุลรวม บริษัทฯได้จัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน
3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชี ใหม่ 3.1
3.2
มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 ให้ใช้มาตรฐานการ บัญชีใหม่ดังต่อไปนี้ ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) สัญญาเช่า ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) สินค้าคงเหลือ ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ต้นทุนการกู้ยืม ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) การนำเสนองบการเงิน ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 51 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีข้างต้นถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 43 และฉบับที่ 49 ไม่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของ บริษัทฯ ส่วนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 ฉบับที่ 29 ฉบับที่ 31 ฉบับที่ 33 ฉบับที่ 35 ฉบับที่ 39 ฉบับที่ 41 และฉบับที่ 51 ไม่มีผล กระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีปัจจุบัน มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 ให้ใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ดังต่อไปนี้ ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การด้อยค่าของสินทรัพย์ ฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
89
มาตรฐานการบัญชีข้างต้นถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่อ งบการเงินสำหรับปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าว
4. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8
90
การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดิน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดินเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ให้ แก่ผู้ซื้อ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดิน ในการคำนวณหาต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดิน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ทำการแบ่งสรร ต้นทุนการพัฒนาทั้งหมดที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โดยคำนึงถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงด้วย) ให้กับบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุด พักอาศัย/ที่ดินที่ขายได้ตามเกณฑ์พื้นที่ที่ขาย แล้วจึงรับรู้เป็นต้นทุนขายในงบกำไรขาดทุน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายความรวมถึงเงินสดและเงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึงกำหนดจ่ายคืนในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน นับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจำกัดในการเบิกใช้ ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผล ขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการ วิเคราะห์อายุหนี้ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แสดงตามราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลค่าโครงการ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประกอบด้วยต้นทุนที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้างและดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมของเงินกู้ที่ใช้ในการจัดหาหรือก่อสร้างสินทรัพย์ที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการแปลงสภาพให้พร้อมใช้หรือ ขาย ได้ถูกนำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นั้นจะอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามที่มุ่งประสงค์ ส่วนต้นทุนการกู้ ยืมอื่นถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมนั้น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินจะถูกบันทึกเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนที่ดินเมื่อที่ดินเหล่านั้นได้ถูกโอนกรรมสิทธิ์เป็นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณ ดังต่อไปนี้
รายงานประจำปี 2550
4.9
อาคารสำนักงานและสโมสร เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้สำนักงานและสโมสร ยานพาหนะ อื่น ๆ
10 ปี และ 20 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี
ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง
สิทธิการเช่าและค่าตัดจำหน่าย / สิทธิการเช่ารอการขาย สิทธิการเช่าแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสม ค่าตัดจำหน่ายของสิทธิการเช่าคำนวณจากราคาทุนของสิทธิการ เช่าโดยใช้วิธีเส้นตรงตามอายุสัญญาเช่า ค่าตัดจำหน่ายรวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน สิทธิการเช่ารอการขายแสดงตามราคาทุนหรือราคาที่คาดว่าจะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า
4.10 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย ข) เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน ค) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายแสดงตามมูลค่ายุติธรรม บริษัทฯบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ดังกล่าวเป็นรายการ แยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้นจนกระทั่งจำหน่ายหลักทรัพย์ดังกล่าวออกไป จึงบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลค่านั้นในงบกำไร ขาดทุน ง) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทั่วไปซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) 4.11 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุม บริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดย บริษัทฯไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญกับบริษัทฯ ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ 4.12 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพแสดงองค์ประกอบที่เป็นหนี้สินและทุนแยกจากกันในงบดุล บริษัทฯจึงได้แยกแสดงองค์ ประกอบดังกล่าว โดยกำหนดราคาตามบัญชีของหนี้สินจากการคำนวณจากกระแสเงินสดของเงินต้นและดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายใน อนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยในตลาดที่เป็นอยู่ในขณะนั้น และกำหนดราคาตามบัญชีของตราสารทุน โดยหักราคาตามบัญชีของ หนี้สินจากมูลค่าทั้งสิ้นของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของหนี้สินดังกล่าวข้างต้นและมูลค่าหน้าตั๋ว ของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจะตัดจำหน่ายตามอายุของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ 4.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของบริษัทฯและบริษัท ย่อยหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการ ขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ บริษัทฯและ บริษัทย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์และคำนวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้ อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็น ลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กำลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้แบบ จำลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำนวนเงินที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจำหน่าย
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
91
สินทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจำหน่าย โดยการจำหน่ายนั้นผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อ รองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำไรขาดทุน
4.14 ผลประโยชน์พนักงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเป็นค่า ใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 4.15 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ประมาณการหนี้สินเมื่อมีภาระผูกพันในปัจจุบันซึ่งเกิดจากเหตุการณ์ในอดีตและมีความเป็นไป ได้ค่อนข้างแน่นอนที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจะสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื่อจ่ายชำระภาระผูกพันดังกล่าวและ สามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 4.16 ภาษีเงินได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร
5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ
92
ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการใน เรื่องที่มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและ ต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและ การประมาณการที่สำคัญมีดังนี้
สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผล ประโยชน์ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยคำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ใน ขณะนั้น เป็นต้น มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ในตลาดซื้อขาย คล่อง ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้เทคนิคและแบบจำลอง การประเมินมูลค่า ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในแบบจำลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยคำนึงถึงสภาพคล่อง ข้อมูล ความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว
รายงานประจำปี 2550
ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ บริษัทฯจะตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายและเงินลงทุนทั่วไปเมื่อฝ่ายบริหารใช้ดุลยพินิจในการ พิจารณาว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสำคัญและเป็นระยะเวลานาน การที่จะสรุปว่าเงินลงทุนดัง กล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสำคัญหรือเป็นระยะเวลานานหรือไม่นั้นจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา ในการคำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องทำการประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซาก เมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจาก การด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลย พินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น การประมาณต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ในการรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยต้องประมาณต้นทุนทั้งหมดที่จะใช้ในการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งประกอบด้วย ต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการปรับปรุงที่ดิน ต้นทุนค่าออกแบบและก่อสร้าง และต้นทุนการกู้ยืม เพื่อใช้ในการก่อสร้างโครงการ ฝ่ายบริหารได้ประมาณการต้นทุนดังกล่าวขึ้นจากประสบการณ์ในการประกอบธุรกิจและจะทบทวน การประมาณการดังกล่าวเป็นระยะ ๆ หรือเมื่อต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงแตกต่างจากประมาณการอย่างมีสาระสำคัญ สำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ ในการบันทึกสำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ ฝ่ายบริหารได้ประมาณการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้น สามัญของบริษัทฯจากอายุของหุ้นกู้แปลงสภาพ มูลค่าหุ้นของบริษัทฯในตลาดและสภาวะเศรษฐกิจในขณะนั้น โดยจะทบทวนการ ประมาณการดังกล่าวเมื่อสถานการณ์และข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไป สำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ ในการบันทึกสำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ ฝ่ายบริหารได้ประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของค่าใช้ จ่ายในการรับประกันรายได้ขั้นต่ำดังกล่าวตามมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่บริษัทฯต้องชำระให้แก่กองทุนฯซึ่งคำนวณขึ้นโดยใช้ ข้อสมมติฐานที่เหมาะสมกับสถานการณ์และผลการดำเนินงานในปัจจุบันของกองทุนฯ บริษัทฯจะทบทวนการประมาณการดังกล่าว เป็นระยะ ๆ เมื่อสถานการณ์และข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไป
6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดย สามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 นโยบายการกำหนดราคา รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ดอกเบี้ยรับ - - 29.2 13.1 ร้อยละ 8.34 ถึง 9.00 ต่อปี ค่าใช้จ่ายในการบริหารสโมสร - - 10.5 8.4 ตามสัญญา
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
93
เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด ดอกเบี้ยค้างรับ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
งบการเงินรวม 2551 2550 -
-
1,500
81,500
-
-
1,500
81,500
- - - - - - - - -
- - - -
298,713 100,294 5,100 404,107
241,453 4,362 - 245,815
- - - - -
3,271 4,616 59 7,946 412,053
1,250 9 - 1,259 247,074
- - - -
- - - -
1,065 80,000 2,889 83,954
977 80,000 - 80,977
80,000 80,000
- -
เงินทดรองจากกรรมการ กรรมการ 80,000 เงินทดรองจากกรรมการ 80,000 ในระหว่างปี 2551 เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่
1 มกราคม 2551
เพิ่มขึ้น
ลดลง
241,453 4,362 -
159,737 95,932 5,100
(102,477) - -
94
ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีรายละเอียดดังนี้
บริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด
รายงานประจำปี 2550
ในระหว่างปี
- -
(หน่วย: พันบาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 298,713 100,294 5,100
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายเงินเดือน โบนัส ค่าเบี้ยประชุมและเงินบำเหน็จให้แก่ กรรมการและผู้บริหาร เป็นจำนวนเงิน 66.9 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 53.1 ล้านบาท) (2550: 54.5 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 42.5 ล้านบาท)) ภาระค้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯมีภาระจากการค้ำประกันให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 35.4 ก)
7. ลูกหนี้การค้า / เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า
ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีรายละเอียดดังนี้
จำนวนเงินตามที่ได้ทำสัญญาจะซื้อจะขายแล้ว ร้อยละของยอดขายรวมของโครงการ ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ หัก: เงินรับชำระแล้ว ลูกหนี้ค่างวดที่ค้างชำระ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ค่างวดที่ค้างชำระสุทธิ
ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ หัก: การรับรู้รายได้ เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าแยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึงกำหนด ชำระได้ดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 น้อยกว่า ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3 เดือน 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด 15,035,892 5,369,818 6,108,500 2,496,200 29,010,410 ลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันโอน 3,740,000 50,000 50,000 11,245,899 15,085,899 รวม 18,775,892 5,419,818 6,158,500 13,742,099 44,096,309 หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - - - (10,293,299) (10,293,299) ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 18,775,892 5,419,818 6,158,500 3,448,800 33,803,010
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 49,187,840,012 43,029,830,434 45,984,494,128 40,745,527,612 65.60 75.94 68.11 78.47 47,195,229,327 39,763,341,634 44,283,972,772 37,562,946,793 (47,151,133,018) (39,720,095,897) (44,243,491,213) (37,520,622,656) 44,096,309 43,245,737 40,481,559 42,324,137 (10,293,299) (9,793,299) (10,293,299) (9,793,299) 33,803,010 33,452,438 30,188,260 32,530,838
เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีรายละเอียดดังนี้
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 47,195,229,327 39,763,341,634 44,283,972,772 37,562,946,793 (47,082,993,831) (39,544,748,341) (44,180,288,358) (37,346,484,655) 112,235,496 218,593,293 103,684,414 216,462,138
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
95
ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด ลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันโอน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด ลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันโอน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
ลูกหนี้ค้างชำระค่างวด ลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันโอน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
8. ลูกหนี้ค่าที่ดิน
96
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 น้อยกว่า ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3 เดือน 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน 14,295,874 2,785,974 6,632,500 1,706,200 250,000 3,306,250 900,000 13,368,939 14,545,874 6,092,224 7,532,500 15,075,139 - - - (9,793,299) 14,545,874 6,092,224 7,532,500 5,281,840
(หน่วย: บาท)
รวม 25,420,548 17,825,189 43,245,737 (9,793,299) 33,452,438 (หน่วย: บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 น้อยกว่า ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3 เดือน 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม 12,341,142 5,249,818 6,108,500 2,496,200 26,195,660 3,040,000 - - 11,245,899 14,285,899 15,381,142 5,249,818 6,108,500 13,742,099 40,481,559 - - - (10,293,299) (10,293,299) 15,381,142 5,249,818 6,108,500 3,448,800 30,188,260
น้อยกว่า 3 เดือน 13,574,274 250,000 13,824,274 - 13,824,274
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน 2,585,974 6,632,500 1,706,200 3,306,250 900,000 13,368,939 5,892,224 7,532,500 15,075,139 - - (9,793,299) 5,892,224 7,532,500 5,281,840
(หน่วย: บาท)
รวม 24,498,948 17,825,189 42,324,137 (9,793,299) 32,530,838
ในระหว่างปี 2550 บริษัทฯได้ขายที่ดินให้กับบริษัทแห่งหนึ่งมูลค่าประมาณ 88.4 ล้านบาท โดยบริษัทฯได้รับชำระเงินแล้ว เป็นจำนวน 53.0 ล้านบาท สำหรับค่าที่ดินส่วนที่เหลือ บริษัทฯจะได้รับชำระเป็นรายงวด โดยจะครบกำหนดชำระทั้งหมดภายใน เดือนธันวาคม 2552
รายงานประจำปี 2550
9. ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 ต้นทุนที่ดิน 14,217,301,525 12,234,645,693 12,635,861,583 10,876,038,709 ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน 6,960,773,362 6,039,730,810 6,343,427,661 5,545,654,222 ต้นทุนงานก่อสร้าง 18,832,022,136 15,707,542,608 17,529,694,014 14,771,007,345 ดอกเบี้ยที่ถือเป็นต้นทุน 4,351,344,294 4,049,126,282 4,068,788,471 3,794,964,591 รวม 44,361,441,317 38,031,045,393 40,577,771,729 34,987,664,867 หัก: จำนวนสะสมที่โอนเป็นต้นทุนขาย (33,821,534,282) (28,444,569,946) (31,892,897,573) (26,977,416,877) ที่ดินที่โอนเพื่อการจ่ายชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟู (1,524,192,396) (1,524,192,396) (1,524,192,396) (1,524,192,396) 9,015,714,639 8,062,283,051 7,160,681,760 6,486,055,594 หัก: ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดลง ของมูลค่าโครงการ (84,632,533) (70,435,775) (75,536,021) (60,578,051) ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ - สุทธิ 8,931,082,106 7,991,847,276 7,085,145,739 6,425,477,543 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้นำที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในโครงการซึ่งมีมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็น จำนวนเงินประมาณ 8,352.7 ล้านบาท (2550: 6,537.8 ล้านบาท) ไปจดจำนองไว้กับสถาบันการเงินเพื่อเป็นหลักประกันเงินกู้ยืม ระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ และค้ำประกันงานสาธารณูปโภค ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกโอนที่ดินรอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็น จำนวนเงิน 1,212.6 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1,487.7 ล้านบาท) ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้รวมต้นทุนการกู้ยืมเข้าเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็น จำนวน 162.3 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 133.9 ล้านบาท) (2550: 155.8 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 119.6 ล้าน บาท)) โดยมีอัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนเท่ากับร้อยละ 5.8 ถึงร้อยละ 7.8 ต่อปี (2550: ร้อยละ 5.9 ถึงร้อยละ 8.3 ต่อปี)
10. เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน
ยอดคงเหลือนี้ คือเงินฝากประจำซึ่งบริษัทฯได้นำไปค้ำประกันวงเงินสินเชื่อ
11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย
เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ บริษัท บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด รวม
(หน่วย: บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนเรียกชำระแล้ว ราคาทุน 2551 2550 2551 2550 ล้าน ล้าน 1,000 1,000 538,459,056 538,459,056 1 1 999,400 999,400 1 1 999,400 999,400 1 1 599,500 599,500 541,057,356 541,057,356
หุ้นสามัญของบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด ถูกนำไปจำนำไว้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่งเพื่อเป็นหลักประกันหุ้นกู้
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
97
12. เงินลงทุนในบริษัทร่วม
12.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม บริษัท ลักษณะธุรกิจ จัดตั้งขึ้น สัดส่วน มูลค่าตามบัญชี ส่วนแบ่งกำไร ในประเทศ เงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ในระหว่างปี 2551 2550 2551 2550 2551 2550 ร้อยละ ร้อยละ บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน พัฒนา ไทย 20.22 20.22 416,738,479 401,445,870 7,815,893 11,751,068 จำกัด (มหาชน) อสังหาริมทรัพย์ รวม 416,738,479 401,445,870 7,815,893 11,751,068
งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ลักษณะธุรกิจ จัดตั้งขึ้น สัดส่วน ราคาทุน ในประเทศ เงินลงทุน 2551 2550 2551 2550 บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน พัฒนา ไทย 20.22 20.22 359,999,240 359,999,240 จำกัด (มหาชน) อสังหาริมทรัพย์ รวม 359,999,240 359,999,240
(หน่วย: บาท)
12.2 ข้อมูลทางการเงินของบริษัทร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษัทร่วมโดยสรุปมีดังนี้
บริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม
ทุนเรียกชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 2550
สินทรัพย์รวม 31 ธันวาคม 2551 2550
(หน่วย: ล้านบาท)
หนีส้ นิ รวม รายได้รวมสำหรับ กำไรสุทธิสำหรับ ณ วันที่ ปีสนิ้ สุดวันที ่ ปีสนิ้ สุดวันที ่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2551 2550 2551 2550 2551 2550
บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน 1,780 1,780 6,496 5,415 3,847 3,074 1,974 1,704 123 119 จำกัด (มหาชน) บริษัทฯได้รับรู้ส่วนแบ่งผลกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม หลังจากปรับปรุงกำไรของบริษัทร่วม เนื่องจาก ผลแตกต่างของ นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการรับรู้รายได้หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯได้มีมติอนุมัติให้บริษัทฯซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทร่วมเป็น จำนวน 6,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 60 ล้านบาท เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นบริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จำกัด (มหาชน) (“กรุงเทพบ้านฯ”) ครั้งที่ 1/2550 ได้มีมติอนุมัติการลดทุนจดทะเบียน จากเดิมจำนวน 2,100,000,000 บาท ลงเหลือจำนวน 1,780,000,000 บาท โดย การตัดหุ้นสามัญที่ยังมิได้นำออกจำหน่ายจำนวน 32,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท คิดเป็นจำนวนเงิน 320,000,000 บาท
98
รายงานประจำปี 2550
นอกจากนี้ได้มีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของกรุงเทพบ้านฯอีกจำนวน 450,000,000 บาท ทำให้ทุนจดทะเบียนเดิม จำนวน 1,780,000,000 บาท เพิ่มขึ้นเป็นทุนจดทะเบียนใหม่จำนวน 2,230,000,000 บาท โดยการออกเป็นหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำนวน 45,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพของหุ้นกู้แปลงสภาพ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2551 กรุงเทพบ้านฯได้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ ชนิดระบุชื่อผู้ถือและไม่มีหลักประกัน ระยะเวลา 5 ปี จำนวน 188,806 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา มูลค่ารวม 18,880,600 เหรียญสหรัฐอเมริกา ให้แก่บริษัทต่าง ประเทศแห่งหนึ่ง ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของกรุงเทพบ้านฯครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 ตาม เงื่อนไขของหุ้นกู้แปลงสภาพ จะทำการจ่ายดอกเบี้ยเฉพาะในปีที่กรุงเทพบ้านฯ มีการประกาศจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยจะ ทำการจ่ายดอกเบี้ยทุก 6 เดือนในอัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปีหรือในอัตราเงินปันผลตอบแทนตามเงื่อนไขของหุ้นกู้แปลง สภาพ (แล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า) หุ้นกู้แปลงสภาพนี้ครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 31 มกราคม 2556 โดยเริ่มใช้สิทธิแปลงสภาพได้ทุก 3 เดือน ภายหลังจากการนำหุ้นของกรุงเทพบ้านฯเข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ หรือครบรอบ 1 ปี นับแต่วันออกหุ้นกู้แปลงสภาพ (แล้วแต่ระยะเวลาใดจะถึงก่อน) ที่ราคาแปลง สภาพ 13.85 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ โดยมูลค่าการไถ่ถอนหุ้นกู้แปลงสภาพที่คงค้างต่อหน่วยเท่ากับ 1.311651 เท่าของมูลค่าที่ตราไว้ ของหุ้นกู้แปลงสภาพต่อหน่วยที่เทียบเท่ากับเงินบาท ในกรณีที่กรุงเทพบ้านฯไม่มีการชำระดอกเบี้ยแก่ผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพ ทั้งนี้ มูลค่าการไถ่ถอนดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับการจ่ายดอกเบี้ยในระหว่างอายุของหุ้นกู้แปลงสภาพ
13. เงินลงทุนระยะยาวอื่น
เงินลงทุนเผื่อขาย หน่วยลงทุนในกองทุนรวม หัก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า เงินลงทุนเพื่อค้า ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ หัก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า เงินลงทุนทั่วไป ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดในประเทศ รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
52,458,150 (5,396,570) 47,061,580
- - -
1,800,000 (1,441,138) 358,862
1,800,000 (1,089,056) 710,944
4,275,000 4,275,000 51,695,442
4,275,000 4,275,000 4,985,944
เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 บริษัทฯได้ทำสัญญาขายอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพ เพอร์ตี้ เพอร์เฟค (“กองทุนฯ”) โดยได้รับค่าตอบแทนเป็นจำนวนเงิน 510 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯได้ลงทุนในกองทุนฯเป็นจำนวนเงิน ประมาณ 32.5 ล้านบาท (3,242,200 หน่วย มูลค่าเฉลี่ยหน่วยละ 10.01 บาท) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.24 ของมูลค่าหน่วยลงทุน และบริษัทฯได้จัดประเภทเงินลงทุนดังกล่าวเป็นเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ตามที่ระบุไว้ในสัญญาดังกล่าว บริษัทฯตกลงรับประกันรายได้ขั้นต่ำของกองทุนฯ (รายได้จากการเช่าและค่าบริการก่อนหัก ค่าใช้จ่าย) เป็นจำนวนเงิน 55 ล้านบาทต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดยมีกำหนดชำระ ภายในวันที่ 31 กรกฎาคม และ 31 มกราคม ของทุกปี ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา อย่างไรก็ตามการรับประกันรายได้ขั้นต่ำขึ้น อยู ่ ก ั บ สั ด ส่ ว นของมู ล ค่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ท ี ่ ค งเหลื อ ต่ อ มู ล ค่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ท ี ่ ก องทุ น ฯลงทุ น ครั ้ ง แรก โดยคำนวณมู ล ค่ า อสังหาริมทรัพย์จากการประเมินค่าทรัพย์สินเพื่อลงทุนครั้งแรกโดยบริษัทประเมินราคา บริษัทฯได้ประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ของค่าใช้จ่ายในการรับประกันรายได้ขั้นต่ำดังกล่าวตามมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่บริษัทฯต้องชำระให้แก่กองทุนฯทั้งสิ้นเป็น จำนวนเงิน 73.8 ล้านบาท และบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายโดยแยกแสดงเป็นรายการต่างหากภายใต้หัวข้อ “ขาดทุนจากการรับประกันราย ได้ขั้นต่ำ”ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
99
ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ลงทุนในกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้ ฮอสพิทอลลิตี้ เป็นจำนวนเงิน ประมาณ 20.0 ล้านบาท (2,105,200 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 9.50 บาท) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.1 ของมูลค่าหน่วยลงทุน บริษัทฯได้ จัดประเภทเงินลงทุนดังกล่าวเป็นเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย
14. ที่ดินรอการพัฒนา
ต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ต้นทุนงานก่อสร้าง ดอกเบี้ยที่ถือเป็นต้นทุน รวม หัก: จำนวนสะสมที่โอนเป็นต้นทุนขาย ที่ดินที่โอนเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ ที่ดินที่โอนเพื่อการจ่ายชำระหนี้ตามแผนฟื้นฟู หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่าของโครงการ ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ
บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จดจำนองที่ดินซึ่งมีมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็นจำนวนเงินประมาณ 680.8 ล้านบาท (2550: 2,057.9 ล้านบาท) เป็นหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาวและค้ำประกันงานสาธารณูปโภค ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกโอนที่ดินรอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็น จำนวนเงิน 1,212.6 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1,487.7 ล้านบาท)
15. เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน
100
งบการเงินรวม 2551 2550 3,403,987,764 4,520,242,787 98,123,248 182,667,940 17,472,528 17,449,523 487,540,431 627,467,380 4,007,123,971 5,347,827,630 (350,701,624) (548,576,325) (1,540,946,166) (1,540,946,166) (151,117,368) (151,117,368) 1,964,358,813 3,107,187,771 (103,990,228) (127,350,670) 1,860,368,585 2,979,837,101
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 3,128,920,723 4,520,242,787 98,123,248 182,667,940 17,472,528 17,449,523 487,540,431 627,467,380 3,732,056,930 5,347,827,630 (350,701,624) (548,576,325) (1,540,946,166) (1,540,946,166) (151,117,368) (151,117,368) 1,689,291,772 3,107,187,771 (103,990,228) (127,350,670) 1,585,301,544 2,979,837,101
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 22,000,000 629,118,935 376,296,213 10,000,000 (9,392,000) (573,038,935) 388,904,213 66,080,000 - (4,080,000) 388,904,213 62,000,000 - (40,000,000) 388,904,213 22,000,000
งบการเงินรวม 2551 2550 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 151,462,635 730,081,570 เพิ่มขึ้นในระหว่างปี 414,089,013 62,500,000 รับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินในระหว่างปี (89,392,000) (637,038,935) 476,159,648 155,542,635 หัก: ถูกริบเงินจ่ายล่วงหน้า - (4,080,000) 476,159,648 151,462,635 ปรับปรุงเป็นเงินทดรองแก่บริษัทย่อย - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 476,159,648 151,462,635 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินที่ลงนามเรียบร้อยแล้วเป็นจำนวนเงินประมาณ 1,699.6 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1,286.6 ล้านบาท) ยอดคงเหลือของเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินจำนวนเงินประมาณ 459.5 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 373.7 ล้านบาท) เป็นเงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของที่ดินหลายรายตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อยและตัวแทนในการรวบรวม ซื้อที่ดินลงนามร่วมกับเจ้าของที่ดินเหล่านั้น สำหรับเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินส่วนที่เหลือจำนวนเงินประมาณ 16.7 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 15.2 ล้านบาท) เป็นเงินที่บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายล่วงหน้าให้กับตัวกลางในการรวบรวมซื้อที่ดินและอยู่ในระหว่างการลงนามในสัญญาจะซื้อ จะขายที่ดินกับเจ้าของที่ดิน
รายงานประจำปี 2550
ที่ดิน ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 65,058,827 ซื้อเพิ่ม - โอนเป็นต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ (3,952,198) จำหน่าย - โอนเข้า (ออก) - 31 ธันวาคม 2551 61,106,629 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 - ค่าเสื่อมราคา - ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จำหน่าย - 31 ธันวาคม 2551 - มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 65,058,827 31 ธันวาคม 2551 61,106,629 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปีซึ่งรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2550 2551
72,756,283 25,545,982 (347,510) 97,954,755
36,923,783 28,563,035 (956,175) 64,530,643 59,368,473 68,354,486
- (635,742) 10,878,897 166,309,241
- (5,661,762) - 264,554,272
227,880,445 200,023,629
132,124,756 23,941,330
264,804,228 5,411,806
24,813,237 42,542,752
11,433,099 7,227,876
21,553,052 5,716,201 - 27,269,253
24,813,237 56,437,092
- - - -
- (40,000) - - - (10,878,897) 34,497,129 56,437,092
32,986,151 1,510,978
งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง อาคาร และเครื่องใช้ สำนักงาน สำนักงาน งานระหว่าง และสโมสร และสโมสร ยานพาหนะ ก่อสร้าง รวม
44,863,049 64,631,476
12,445,540 400,999,621 7,436,713 400,586,425
28,863,739 160,096,857 4,806,258 64,631,476 (1,929,657) (3,233,342) 31,740,340 221,494,991
- (3,992,198) (3,573,430) (9,870,934) - - 39,177,053 622,081,416
41,309,279 561,096,478 1,441,204 74,848,070
อื่น ๆ
(หน่วย: บาท)
16. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
101
102
รายงานประจำปี 2550
ที่ดิน ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 65,058,827 ซื้อเพิ่ม - โอนเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ (3,952,198) จำหน่าย - โอนเข้า (ออก) - 31 ธันวาคม 2551 61,106,629 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 - ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี - ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จำหน่าย - 31 ธันวาคม 2551 - มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 65,058,827 31 ธันวาคม 2551 61,106,629 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปีซึ่งรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2550 2551 68,371,314 21,513,436 (215,859) 89,668,891 48,034,841 52,215,660
34,632,629 24,652,992 (956,174) 58,329,447 188,646,546 163,872,601
10,627,001 6,698,003
20,934,950 5,430,988 - 26,365,938
22,169,336 56,437,090
- - - -
11,858,325 7,386,592
21,663,870 4,249,114 (1,929,657) 23,983,327
33,522,195 1,517,102 - (3,669,378) - 31,369,919
22,169,336 39,883,328 - - (5,615,574) 56,437,090
116,406,155 20,312,825 - (450,003) 5,615,574 141,884,551
223,279,175 4,584,634 - (5,661,761) - 222,202,048
31,561,951 1,501,990 - - - 33,063,941
อื่น ๆ
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแต่ง อาคาร และเครื่องใช้ สำนักงาน สำนักงาน งานระหว่าง และสโมสร และสโมสร ยานพาหนะ ก่อสร้าง
41,789,133 55,846,530
346,394,876 347,716,575
145,602,763 55,846,530 (3,101,690) 198,347,603
491,997,639 67,799,879 (3,952,198) (9,781,142) - 546,064,178
รวม
(หน่วย: บาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ ราคาทุนของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำนวนเงินประมาณ 66.6 ล้านบาท (2550: 30.7 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 57.8 ล้านบาท (2550: 23.7 ล้านบาท)) ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงอายุการใช้งานของสโมสรจาก 20 ปีเป็น 10 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับอายุ การใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์ การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลทำให้กำไรสุทธิในงบกำไรขาดทุนรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ลดลงประมาณ 14.8 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 13.1 ล้านบาท)
17. สิทธิการเช่า
สิทธิการเช่า - ราคาทุน หัก: ค่าตัดจำหน่ายสะสม หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า โอนเป็นสิทธิการเช่ารอการขาย - สุทธิ สุทธิ ค่าตัดจำหน่ายที่รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 345,317,693 343,879,241 (35,907,052) (32,687,160) 309,410,641 311,192,081 (189,843,897) (189,843,897) 119,566,744 121,348,184 (60,717,672) (60,717,672) 58,849,072 60,630,512 3,129,892 3,211,094
ยอดคงเหลือดังกล่าวประกอบด้วยสิทธิการเช่าที่ดินจำนวนประมาณ 4ไร่ ซึ่งบริษัทฯได้นำไปให้เช่าช่วงกับผู้เช่าช่วงรายอื่น โดยมีอายุสัญญาเช่าช่วงตามอายุสัญญาเช่าที่ดินที่เหลืออยู่ โดยผู้เช่าช่วงได้จ่ายชำระค่าเช่าล่วงหน้าจำนวนหนึ่งและจ่ายชำระค่า เช่ารายปีตามอัตราที่กำหนดในสัญญา บริษัทฯรับรู้ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าจากผู้เช่าช่วงเป็นรายได้ตามอายุของสัญญาให้เช่าช่วง
18. สิทธิการเช่ารอการขาย
เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 บริษัทฯได้ทำสัญญาโอนสิทธิการเช่าที่ดินให้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นจำนวนเงิน 200 ล้าน บาท โดยชำระ ณ วันทำสัญญาเป็นจำนวน 80 ล้านบาท ส่วนที่เหลือบริษัทย่อยดังกล่าว จะชำระให้แก่บริษัทฯภายในวันจด ทะเบียนโอนสิทธิการเช่า ต่อมาเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2551 บริษัทฯได้ทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาโอนสิทธิการเช่าที่ดินดังกล่าว โดยบริษัทย่อยจะ ชำระเงินส่วนที่เหลือให้แก่บริษัทฯภายในวันจดทะเบียนโอนสิทธิการเช่า ซึ่งกำหนดไว้ไม่เกินวันที่ 30 มิถุนายน 2552
19. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550ประกอบด้วย
อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี) เงินเบิกเกินบัญชี MOR เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน MOR, MLR, MLR+1 รวม
งบการเงินรวม 2551 2550 - 30 528 292 528 322
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 - 30 508 277 508 307
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
103
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินค้ำประกันโดยบริษัทฯ กรรมการของ บริษัทฯและการจำนองที่ดิน พร้อมสิ่งปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ สัญญาเงินกู้ยืมเงินส่วนใหญ่ได้ระบุข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อย
20. เงินกู้ยืมจากบุคคล/บริษัทอื่น
เงินกู้ยืมดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 8 ต่อปี และครบกำหนดชำระเมื่อทวงถาม
21. หุ้นกู้
บริษัทฯ ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ไถ่ถอนหุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันเป็นจำนวนเงิน 450 ล้านบาท พร้อมกับได้ไถ่ถอนหลักประกัน ของหุ้นกู้ดังกล่าว ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ได้มีมติอนุมัติให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้มีหลัก ประกันหรือไม่มีหลักประกันภายในวงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท และ/หรือในเงินสกุลอื่นในจำนวนที่เทียบเท่าโดยมีรายละเอียดดังนี้ อายุ : ไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันออกหุ้นกู้ การเสนอขาย : ประชาชนทั่วไปและ/หรือผู้ลงทุนเฉพาะเจาะจง และ/หรือ ผู้ลงทุนต่างประเทศ และ/หรือผู้ลงทุนสถาบัน ในประเทศ โดยการออกและเสนอขายหุ้นกู้จะออกและเสนอขายคราวเดียวเต็มจำนวนหรือหลายคราว ก็ได้ การไถ่ถอน : ผู้ถือหุ้นกู้และบริษัทฯอาจมีหรือไม่มีสิทธิขอไถ่ถอนหุ้นกู้คืนก่อนกำหนด ทั้งนี้ เป็นไปตามข้อตกลงและ เงื่อนไขในการออกหุ้นกู้ในแต่ละคราว อัตราดอกเบี้ย : ขึ้นอยู่กับสภาวะตลาดในขณะที่ออกและเสนอขายหุ้นกู้หรือตามข้อตกลงและเงื่อนไขของหุ้นกู้ที่ได้ออก ในแต่ละคราว อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทฯหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจมีอำนาจในการกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหุ้นกู้ ตามที่เห็นควร ปัจจุบันบริษัทฯได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าวจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียบร้อยแล้วและขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณารายละเอียดเพื่อทำการเสนอขายให้กับผู้ลงทุน บริษัทย่อย เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2551 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด (“ไบรท์ฯ”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯได้ออก และเสนอขายหุ้นกู้มีประกันจำนวน 462,150 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 462,150,000 บาท ให้กับสถาบันการเงิน แห่งหนึ่งตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของไบรท์ฯเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2550 หุ้นกู้ดังกล่าวมีกำหนดไถ่ถอนใน วันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่างในอัตราร้อยละ 5.55256 ต่อปี และ ค้ำประกันโดยบริษัทฯ และการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯและไบรท์ฯและการจำนำหุ้นสามัญของไบรท์ฯที่ถือโดย บริษัทฯ ต่อมาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552ไบรท์ฯได้ทำสัญญาแก้ไขรายละเอียดของหุ้นกู้กับสถาบันการเงินดังกล่าว โดยมีกำหนด ไถ่ถอนพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายงวดและจะต้องชำระทั้งหมดภายในเดือนพฤษภาคม 2552 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วน ต่างในอัตราร้อยละ 8.55256 ต่อปี หุ้นกู้มีข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อย
22. เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู
104
ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ดำเนินการจ่ายชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู แต่มีเจ้าหนี้ที่สามารถรับชำระหนี้ได้ใน ระหว่างปีเป็นจำนวนเงิน 383 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 บริษัทฯได้จ่ายชำระหนี้เพิ่มเติมให้กับเจ้าหนี้อีกเป็น จำนวนเงิน 138 ล้านบาท สำหรับเจ้าหนี้ส่วนที่เหลือจำนวนเงิน 127 ล้านบาท อยู่ในระหว่างการดำเนินการเพื่อให้เจ้าหนี้สามารถรับ ชำระหนี้จากบริษัทฯได้
รายงานประจำปี 2550
23. หุ้นกู้ ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ
เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจำนวน 200,000 หน่วย มูลค่า หน่วยละ 100 เหรียญสหรัฐฯมูลค่ารวม 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ให้กับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิ สามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 โดยเริ่มใช้สิทธิแปลงสภาพได้ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2550 และจะครบกำหนดไถ่ถอน ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 หุ้นกู้ดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.50 ต่อปี โดยใช้อัตราแปลงสภาพ 1 หุ้นกู้ต่อ 658.4 หุ้นสามัญ หรือคิดเป็นราคาหุ้นละ 6.25 บาท สำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพจะชำระคืนเป็นจำนวน 131.60 เหรียญสหรัฐฯต่อหน่วย โดยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้ที่ 41.15 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งบริษัทฯได้บันทึกสำรองสำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ ตามอายุของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ โดยแยกแสดงเป็นรายการต่างหากไว้ภายใต้หัวข้อ “ประมาณการหนี้สินระยะยาว” ใน งบดุล ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 25 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพมีข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ ต่อมาเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2551 ได้มีมติที่เกี่ยวกับหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพดังนี้ ก) อนุมัติให้บริษัทฯยกเลิกการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจำนวน 15 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามที่เคยได้ รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 (บริษัทฯได้รับอนุมัติให้ออกและเสนอ ขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพทั้งหมดจำนวน 35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งบริษัทฯได้ออกเรียบร้อยแล้วเป็นจำนวน 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น) ข) อนุมัติให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพไม่มีหลักประกัน มูลค่าไม่เกิน 30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ เทียบเท่าเงินบาทมูลค่าไม่เกิน 1,000 ล้านบาทโดยมีรายละเอียดดังนี้ อายุ : ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ มูลค่าต่อหน่วย : 100,000 เหรียญสหรัฐฯ อัตราดอกเบี้ย : ไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี ราคาแปลงสภาพ : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 110 ของราคาปิดเฉลี่ยของหุ้นของบริษัทฯในระหว่าง 7-15 วันทำการติดต่อกันก่อนวันเสนอขายแต่ต้องไม่ต่ำกว่าหุ้นละ 6.50 บาท วิธีการจัดสรร : ผู้ลงทุนประเภทสถาบันในต่างประเทศหรือผู้ลงทุนประเภทสถาบันในประเทศ อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารของบริษัทฯมีอำนาจในการกำหนดหรือแก้ไขรายละเอียดวิธีการและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพตามความเหมาะสม เช่น ราคาเสนอขาย อัตราการแปลงสภาพ มูลค่าต่อหน่วย อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการใช้สิทธิแปลงสภาพ วันสิ้นสุดการแปลงสภาพ และราคาไถ่ถอน ปัจจุบันผู้บริหารของบริษัทฯอยู่ระหว่างพิจารณารายละเอียดในการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพดังกล่าว
24. เงินกู้ยืมระยะยาว
บริษัทฯ เงินกู้ยืมระยะยาวประกอบด้วย เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ 4 แห่ง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
105
106
รายงานประจำปี 2550
วงเงิน 793 ล้านบาท
วงเงิน 464 ล้านบาท
วงเงิน 1,186 ล้านบาท
วงเงิน 722 ล้านบาท
วงเงิน 1,070 ล้านบาท
1)
2)
3)
4)
5)
-
228.9
230.8
232.8
-
95.2
452.8
464.1
365.5
177.9
ยอดคงเหลือ 2551 2550 (ล้านบาท)
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยบริษัทอื่นและกรรมการของ บริษัทฯและการจดจำนองที่ดินของบริษัทฯ และที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในโครงการ บางส่วนของบริษัทฯและหุ้นของบริษัทฯที่ ถือโดยผู้ถือหุ้นรายหนึ่งและหุ้นของบริษัท อื่น ค้ำประกันโดยกรรมการของบริษัทฯและ การจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
หลักประกันเงินกู้ยืม
เงื่อนไขการชำระคืนเงินต้น
อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 65 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคาร อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 65 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 65 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือนเมษายน 2554 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือนธันวาคม 2552 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ช ำ ร ะ ค ื น เ ม ื ่ อ ม ี ก า ร ป ล อ ด จ ำ น อ ง เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) คอนโดมิ เ นี ย มในอั ต ราร้ อ ยละ 80 ของ ราคาขายในแต่ ล ะห้ อ งโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงินที่บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคาร
อัตราดอกเบี้ยต่อปี
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
107
วงเงิน 1,280 ล้านบาท
วงเงิน 550 ล้านบาท
8)
9)
วงเงิน 430 ล้านบาท
วงเงิน 130 ล้านบาท
7)
10)
วงเงิน 1,501 ล้านบาท
6)
91.4
137.5
93.6
-
421.3
159.6
212.7
583.1
15.8
480.2
ยอดคงเหลือ 2551 2550 (ล้านบาท)
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยกรรมการของบริษัทฯและ การจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
หลักประกันเงินกู้ยืม
เงื่อนไขการชำระคืนเงินต้น
อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอนโฉนดที่ดินพร้อม เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) บ้านทาวน์เฮ้าส์แต่ละหลังในอัตราร้อยละ 80 ของราคาขายและชำระคืนส่วนที่เหลือ ทั้งหมดภายในเดือนมิถุนายน 2556 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคาร อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ช ำ ร ะ ค ื น เ ม ื ่ อ ม ี ก า ร ป ล อ ด จ ำ น อ ง เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) คอนโดมิเนียมในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 65 ของราคาขายในแต่ละห้องโดยไม่ต่ำกว่า จำนวนเงินที่บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคาร และชำระคื น ส่ ว นที ่ เ หลื อ ทั ้ ง หมดภายใน เดือนกรกฎาคม 2553 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 72 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน พฤษภาคม 2554 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือนเมษายน 2553
อัตราดอกเบี้ยต่อปี
108
รายงานประจำปี 2550
วงเงิน 481 ล้านบาท
วงเงิน 1,578 ล้านบาท
วงเงิน 201 ล้านบาท
รวม หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี สุทธิ
12)
13)
14)
วงเงิน 160 ล้านบาท
11)
2,336.0
2,564.9 (228.9)
78.8
555.7
334.1
160.0
อัตราดอกเบี้ยต่อปี
2,548.8
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยกรรมการของบริษัทฯและ การจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่วนของบริษัทฯ
หลักประกันเงินกู้ยืม
เงื่อนไขการชำระคืนเงินต้น
อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคาร และชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน พฤษภาคม 2554 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน - เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 65 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคารและชำระคืน ส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน พฤษภาคม 2556 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคืนเมื่อมีการปลอดจำนองที่ดินพร้อม - เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) บ้านในอัตราร้อยละ 80 ของราคาขาย และ ชำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน มิถุนายน 2556 - อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคืนเมื่อมีการไถ่ถอนโฉนดที่ดินพร้อม เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) บ้ า นในอั ต ราไม่ ต ่ ำ กว่ า ร้ อ ยละ 70 ของ ราคาขายในแต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงินที่บริษัทฯ ได้แจ้งไว้กับธนาคาร และชำระคื น ส่ ว นที ่ เ หลื อ ทั ้ ง หมดภายใน เดือนกุมภาพันธ์ 2553 3,006.9 (458.1)
-
ยอดคงเหลือ 2551 2550 (ล้านบาท)
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
109
รวม 389.5 หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระ (4.2) ภายในหนึ่งปี สุทธิ 385.3
วงเงิน 15 ล้านบาท
4)
4.2
-
วงเงิน 10 ล้านบาท
116.7
268.6
3)
วงเงิน 328 ล้านบาท
วงเงิน 382 ล้านบาท
495.7
500.6 (4.9)
-
9.6
284.8
206.2
ยอดคงเหลือ 2551 2550 (ล้านบาท)
2)
1)
ค้ำประกันโดยบริษัทฯและกรรมการของ บริษัทย่อยและการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยบริษัทฯและกรรมการของ บริษัทย่อยและการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ
ค้ำประกันโดยบริษัทฯและกรรมการของ บริษัทย่อยและการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัท ย่อย
ค้ำประกันโดยบริษัทฯและกรรมการของ บริษัทย่อยและการจดจำนองที่ดินพร้อมสิ่ง ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัท ย่อย
หลักประกันเงินกู้ยืม
เงื่อนไขการชำระคืนเงินต้น
อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคารและชำระ คืนส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือนมีนาคม 2553 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคื น เมื ่ อ มี ก ารไถ่ ถ อนโฉนดที ่ ด ิ น ใน เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) อัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ของราคาขายใน แต่ ล ะแปลงโดยไม่ ต ่ ำ กว่ า จำนวนเงิ น ที ่ บริษัทย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคารและชำระ คื น ส่ ว นที ่ เ หลื อ ทั ้ ง หมดภายในเดื อ น เมษายน 2553 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายงวด เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) จำนวนทั้งหมด 24 งวด โดยไม่ น้ อยกว่ า งวดละ 465,000 บาท และจะต้องชำระคืน ทั้งหมดภายในเดือนธันวาคม 2552 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ย ชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายงวด เงินกู้ยืมขั้นต่ำ (MLR) จำนวนทั้งหมด 21 งวด โดยไม่ น้ อยกว่ า งวดละ 785,000 บาท และจะต้องชำระคืน ทั้งหมดภายในเดือนธันวาคม 2552
อัตราดอกเบี้ยต่อปี
บริษัทย่อย เงินกู้ยืมระยะยาวประกอบด้วยเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ 2 แห่ง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ยอดคงเหลือของเงินกู้ยืมระยะยาวมีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้ เงินกู้ยืมระยะยาว หัก: ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งปี
งบการเงินรวม 2551 2550 2,954.4 3,507.5 (233.1) (463.0)
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2,564.9 3,006.9 (228.9) (458.1)
2,721.3
2,336.0
3,044.5
2,548.8
สัญญาเงินกู้ยืมเงินส่วนใหญ่ได้ระบุข้อปฏิบัติและข้อจำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อยรวมถึงการ จ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีวงเงินกู้ยืมระยะยาวตามสัญญาเงินกู้ที่ยังมิได้เบิกใช้เป็นจำนวน 2,428.1 ล้านบาท
25. ประมาณการหนี้สิน
ยอดคงเหลือของประมาณการหนี้สินมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ประมาณการหนี้สินระยะสั้น สำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ
ประมาณการหนี้สินระยะยาว สำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ สำรองสำหรับหู้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
- -
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550
26,483,178 26,483,178
13,940,447 145,841,636 159,782,083
- 93,864,720 93,864,720
26. ทุนเรือนหุ้น
110
เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2551 ได้มีมติที่เกี่ยวกับทุนเรือนหุ้นของบริษัทฯดังนี้ ก) อนุมัติให้บริษัทฯยกเลิกการออกและจัดสรรหุ้นสามัญจำนวน 39,000,000 หุ้นที่ได้สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิซื้อหุ้น สามัญของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯที่จะออกให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทฯในวง จำกัด (ESOP) ข) อนุมัติให้บริษัทฯยกเลิกการออกและจัดสรรหุ้นสามัญจำนวน 65,000,000 หุ้นที่ได้สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพ หุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 ก)
รายงานประจำปี 2550
ค)
ง)
อนุมัติให้ลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จากเดิมมูลค่า 6,213,565,176 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 1,035,594,196 หุ้น มูลค่าตรา ไว้หุ้นละ 6 บาท) เป็น 5,589,565,176 บาท (หุ้นสามัญจำนวน 931,594,196 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 6 บาท) โดยการตัดหุ้น สามัญที่ยังไม่ได้ออกจำหน่ายจำนวน 104,000,000 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 6 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 624 ล้านบาท ซึ่ง สำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯและการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้น สามัญตามที่กล่าวไว้ในข้อ ก) และ ข) บริษัทฯได้จดทะเบียนการลดทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2551 อนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 5,589,565,176 บาท (หุ้นสามัญ 931,594,196 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท) เป็น 6,552,000,000 บาท (หุ้นสามัญ 1,092,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท) เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็น หุ้นสามัญตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 ข) บริษัทฯได้จดทะเบียนการเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวง พาณิชย์เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯมีทุนที่ออกและชำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเงิน 4,726,329,720 บาท (หุ้นสามัญ 787,721,620 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) โดยจำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิในเดือน ธันวาคม 2550 และ มิถุนายน 2551 เป็นจำนวนเงินรวม 1,382,556 บาท (หุ้นสามัญ 230,426 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทฯได้ดำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์ สำหรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2551 และ 8 กรกฎาคม 2551
27. ใบสำคัญแสดงสิทธิ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ใช้สิทธิในระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551
จำนวน (หน่วย) 8,909,176 (36,600) 8,872,576
ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิหุ้นละ 0.01 บาท และมีอายุ 10 ปี นับ จากวันที่ 7 พฤศจิกายน 2545 และมีกำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิทุกวันสุดท้ายของไตรมาสที่ 2 และไตรมาสที่ 4 ของปี เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2551 ได้มีมติเห็นชอบให้ยกเลิกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญของบริษัทฯที่จะออกให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทฯในวงจำกัด (ESOP) เป็นจำนวน 39,000,000 หน่วย ในเดือนธันวาคม 2550 และมิถุนายน 2551 บริษัทฯได้รับเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญจำนวน 230,426 หุ้น ราคาหุ้นละ 0.01 บาท รวมเป็นเงิน 2,304 บาท บริษัทฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจากการใช้ สิทธิดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 1,382,556 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2551 และ 8 กรกฎาคม 2551 ทำให้ส่วนต่ำ กว่ามูลค่าหุ้นเพิ่มขึ้นรวมเป็นจำนวนทั้งสิ้น 44,093,444 บาท
28. สำรองตามกฎหมาย
ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมี จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเงินปันผลได้
29. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ
รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำคัญดังต่อไปนี้
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
111
เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ค่าเช่าจ่าย ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าใช้จ่ายในการโอน ค่าใช้จ่ายทางการตลาด ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต่ำ การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ในระหว่างปี การเปลี่ยนแปลงในโครงการอสังหาริมทรัพย์ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 371,077,851 320,879,898 310,610,611 270,576,130 67,761,368 48,074,143 58,976,422 45,000,227 23,840,531 19,300,317 19,358,596 18,493,938 74,097,269 243,016,213 68,805,738 221,694,721 294,714,725 300,270,296 268,781,269 278,420,225 73,800,000 - 73,800,000 - 4,827,401,202 4,109,976,791 3,840,439,231 3,692,338,356 180,233,686 86,858,366 734,867,361 169,027,945 434,326,714 479,147,011 364,961,272 435,071,991
30. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
บริษัทฯไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับปี 2550 เนื่องจากบริษัทฯมีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปีก่อน
31. กำไรต่อหุ้น
112
กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานคำนวณโดยหารกำไรสุทธิสำหรับปีดว้ ยจำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน้ำหนักของหุน้ สามัญทีอ่ อกอยูใ่ นระหว่างปี กำไรต่อหุ้นปรับลดคำนวณโดยหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยผลรวมของจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ออกอยู่ใน ระหว่างปีกับจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้น สามัญ โดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและกำไรต่อหุ้นปรับลด แสดงการคำนวณได้ดังนี้
กำไรสุทธิ 2551 2550
งบการเงินรวม จำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2551 2550
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ 804,546,744 411,606,819 787,703,620 787,454,478 ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 8,872,576 หน่วย (2550: 8,909,176 หน่วย) - - 8,867,662 9,114,330 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ 84,133,336 - 131,680,000 - กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมุติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ 888,680,080 411,606,819 928,251,282 796,568,808
รายงานประจำปี 2550
(หน่วย: บาท) กำไรต่อหุ้น 2551 2550 1.02
0.52
0.96
0.52
(หน่วย: บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ จำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก กำไรต่อหุ้น 2551 2550 2551 2550
กำไรสุทธิ 2551 2550 798,268,725 368,780,745 787,703,620 787,454,478
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ 1.01 0.47 ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 8,872,576 หน่วย (2550: 8,909,176 หน่วย) - - 8,867,662 9,114,330 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ 84,133,336 - 131,680,000 - กำไรต่อหุ้นปรับลด กำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมุติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ 882,402,061 368,780,745 928,251,282 796,568,808 0.95 0.46 เนื่องจากหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพมีผลทำให้กำไรต่อหุ้นในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่นำผลของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพดังกล่าวมารวมคำนวณเพื่อหากำไรต่อหุ้น ปรับลดในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550
32. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน
บริษัทฯ และบริษัทย่อยดำเนินกิจการในส่วนงานหลักทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และดำเนินธุรกิจใน ส่วนงานหลักทางภูมิศาสตร์เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้น รายได้ กำไรและสินทรัพย์ทั้งหมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวข้องกับ ส่วนงานทางธุรกิจและส่วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้
33. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
บริษัทฯบริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 ถึง 10 ของเงินเดือน กองทุน สำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดย บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจาก งานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯและบริษัทย่อย ในระหว่างปีปัจจุบันบริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็น จำนวนเงิน 15.5 ล้านบาท (2550: 13.3 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 13.1 ล้านบาท (2550: 11.5 ล้านบาท))
34. เงินปันผล
เงินปันผลประจำปี สำหรับปี 2550
อนุมัติโดย เงินปันผล ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายายน 2551 189.0 ล้านบาท
จ่ายเงินปันผลจ่ายต่อหุ้น 0.24 บาท
35. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
35.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ก) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาก่อสร้างโครงการบ้านพร้อมที่ดินและคอนโดมิเนียมที่ได้ทำสัญญากับ ผู้รับเหมาไว้แล้วเป็นจำนวนเงินประมาณ 608.5 ล้านบาท
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
113
ข) ค) ง) จ)
บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่เกี่ยวข้องกับการซื้อที่ดินเป็นจำนวนเงินประมาณ 1,240.1 ล้านบาท บริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนเงินประมาณ 17.2 ล้าน บาท บริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาจ้างออกแบบสถาปัตยกรรมโครงการศูนย์การค้าและสำนักงานเป็นจำนวนเงิน ประมาณ 14.0 ล้านบาท บริษัทฯมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาจ้างการให้บริการก่อสร้างโครงการบ้านพักอาศัยโดยใช้ระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูปเป็น จำนวนไม่น้อยกว่า 300 หลัง ซึ่งถ้าบริษัทฯมอบหมายให้ผู้รับเหมาทำการก่อสร้างบ้านเป็นจำนวนน้อยกว่า 300 หลัง บริษัทฯ ต้องจ่ายค่าชดเชยจำนวนหนึ่งตามที่ระบุไว้ในสัญญา
35.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำเนินงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เข้าทำสัญญาเช่าดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดิน รถยนต์ ป้ายโฆษณา พื้นที่สำนักงาน และ สัญญาบริการต่าง ๆ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 3 ปี สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาที่บอกเลิกไม่ได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดำเนิน งานที่บอกเลิกไม่ได้ ดังนี้ จ่ายชำระภายใน ล้านบาท ภายใน 1 ปี 46.9 1 ถึง 5 ปี 14.4 ในระหว่างปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายจ่ายตามสัญญาเช่าในงบกำไรขาดทุนเป็นจำนวนเงินประมาณ 23.8 ล้าน บาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 19.4 ล้านบาท) 35.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาให้บริการ บริษัทฯได้ทำสัญญาจ้างบริหารสโมสรกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยภายใต้เงื่อนไขตามสัญญาดังกล่าว บริษัทฯต้องจ่ายค่า บริการรายเดือนตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ในระหว่างปี 2551 บริษัทฯมีค่าบริการภายใต้สัญญาดังกล่าวเป็นจำนวนเงินประมาณ 10.5 ล้านบาท 35.4 การค้ำประกัน ก) บริษัทฯค้ำประกันหุ้นกู้ วงเงินกู้และวงเงินสินเชื่อให้แก่บริษัทย่อยในวงเงิน 1,304.9 ล้านบาท ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนังสือค้ำประกันงานสาธารณูปโภคซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯ และบริษัทย่อยเหลืออยู่เป็นจำนวน 458.5 ล้านบาท ค) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯมีหนังสือค้ำประกันรายได้ขั้นต่ำของกองทุนฯ ซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯ ใน วงเงินจำนวน 55 ล้านบาท ต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555
36. เครื่องมือทางการเงิน
114
36.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของบริษัทฯตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดงรายการและการเปิด เผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้
รายงานประจำปี 2550
• • • • • • • • • • •
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้ค่าที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน
• • • • • • • • • • •
หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมจากบุคคล/บริษัทอื่น หุ้นกู้ เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินทดรองจากกรรมการ เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ เงินกู้ยืมระยะยาว เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจากสัญญาเช่าช่วง
บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าวและมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ค่าที่ดิน เงินทดรองและเงินให้กู้ยืม ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯและบริษัท ย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้การให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่ จำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ค่าที่ดิน เงินทดรองและเงินให้กู้ยืมที่แสดงอยู่ในงบดุล ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินให้กู้ยืม เงินเบิก เกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมจากบุคคล/บริษัทอื่น เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู หุ้นกู้ หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลง สภาพและเงินกู้ยืมระยะยาว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตรา ตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ดังนั้นความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯและบริษัทย่อย จึงอยู่ในระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสำหรับ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำหนด หรือวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
115
116
งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ไม่มี ภายใน มากกว่า มากกว่า ปรับขึ้นลง อัตรา 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - ลูกหนี้การค้า - สุทธิ - ลูกหนี้ค่าที่ดิน - เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ - เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน - เงินลงทุนในบริษัทร่วม - เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ - เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน - - หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน - เจ้าหนี้การค้า - เงินกู้ยืมจากบุคคล/บริษัทอื่น 31.0 หุ้นกู้ - เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู - เงินทดรองจากกรรมการ - เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า - หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - เงินกู้ยืมระยะยาว - เงินประกันและเงินรับล่วงหน้า จากสัญญาเช่าช่วง - 31.0
รายงานประจำปี 2550
- - - - - - - - -
- - - - - - - - -
452.9 2.1 - 33.8 - 35.4 - 44.7 8.9 - - 416.7 - 51.7 - 476.2 461.8 1,060.6
- - - - - - - 809.2 -
- - - - - - - - -
528.3 - - 462.2 265.6 - - - 2,954.4
- 472.9 - - - 80.0 112.2 - -
- 809.2
- -
- 4,210.5
57.7 57.7 722.8 5,773.5
(หน่วย: ล้านบาท) อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
455.0 0.125% - 0.75% 33.8 - 35.4 - 44.7 - 8.9 0.25% - 0.5% 416.7 - 51.7 - 476.2 - 1,522.4 528.3 MLR 472.9 - 31.0 8.00% 462.2 8.80% - 12.153% 265.6 MLR 80.0 - 112.2 - 809.2 9.56% 2,954.4 MLR -
(หน่วย: ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ไม่มี ภายใน มากกว่า มากกว่า ปรับขึ้นลง อัตรา 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้ค่าที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ เงินฝากที่ติดภาระค้ำประกัน เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยว ข้องกัน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ เงินกู้ยืมระยะยาว เงินประกันและเงินรับล่วงหน้า จากสัญญาเช่าช่วง
- - - - - - - - - - - -
- - - - - - - - - - - -
- - - - - - - - - - - -
426.9 1.7 - 30.2 - 35.4 - 42.2 8.9 - - 1.5 412.1 - - 541.1 - 360.0 - 51.7 - 388.9 847.9 1,452.7
- - - - - - -
- - - - - 809.2 -
- - - - - - -
508.0 - 265.6 - - - 2,564.9
- 402.8 - 84.0 103.7 - -
- -
- 809.2
- -
- 3,338.5
57.7 57.7 648.2 4,795.9
อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)
428.6 0.125% - 0.75% 30.2 - 35.4 - 42.2 - 8.9 0.25% - 0.50% 1.5 - 412.1 8.34% - 9.00% 541.1 - 360.0 - 51.7 - 388.9 - 2,300.6 508.0 MOR, MLR 402.8 - 265.6 MLR 84.0 - 103.7 - 809.2 9.56% 2,564.9 MLR -
36.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯและบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้นหรือมีอัตราดอกเบี้ย ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียง กับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนดมูลค่า ยุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การ วัดมูลค่าที่เหมาะสม
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
117
37. การบริหารจัดการทุน
วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำคัญของบริษัทฯคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและการดำรงไว้ ซึ่งความสามารถในการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุ่มบริษัทมีอัตราหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.9:1 (2550: 1.1:1) และบริษัทฯมีอัตราส่วนหนี้ สินต่อทุนเท่ากับ 0.8:1 (2550: 1.1:1)
38. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ในงบการเงิน
เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯมีมติเห็นชอบให้เสนอการจ่ายเงินปันผลจากการดำเนินงาน ปี 2551 ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.36 บาท รวมเป็นเงิน 283.6 ล้านบาท
39. การอนุมัติงบการเงิน
118
งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552
รายงานประจำปี 2550
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ต่อรายงานทางการเงิน งบการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดใน พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการในงบการเงินได้ทำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดในประกาศกรมพัฒนา ธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 รวมทั้งการปรับปรุงวิธีปฏิบัติตามสภาวิชาชีพ บัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับการ รายงานทางการเงินว่ามีการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง มีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอและทัน เวลา รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายในกำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำปี คณะกรรมการบริษัทรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่จัดทำ ขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน รายได้ ค่าใช้จ่ายและกระแสเงินสดรวมที่เป็นจริงและสมเหตุสมผล โดยได้จัดให้มีการ บันทึกบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอที่รักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายในการป้องกันการทุจริตและการดำเนินงานที่ผิด ปกติ และในการจัดทำรายงานทางการเงิน ได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สะท้อน ผลการดำเนินงานที่เป็นจริงของบริษัทเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป รวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอใน หมายเหตุประกอบงบการเงินซึ่งผู้ตรวจสอบบัญชีได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย ในรายงานผู้สอบบัญชี (ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) (นายชายนิด โง้วศิริมณี) ประธานกรรมการบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
119
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบปี 2551 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน โดยมี นายวีระยุค พันธุเพชร เป็นประธาน นายสมศักดิ์ โตรักษา และ ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย เป็นกรรมการ ในรอบปี 2551 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยได้จัดให้มีการประชุม 8 ครั้ง โดยเป็นการประชุมเพื่อพิจารณาข้อมูลทางการเงิน ผลการดำเนินงาน การบริหารความเสี่ยง ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน โดยเชิญฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมเป็นครั้งคราวเพื่อชี้แจงข้อมูล และรายงานผลการปรับปรุงการควบคุมภายใน ตามข้อเสนอแนะ รวมถึงประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี 1 ครั้ง เพื่อรับทราบความเห็นของผู้สอบบัญชีต่องบการเงินประจำปีของบริษัท รวมทั้ง หารือกับที่ปรึกษากฎหมายเพื่อรับทราบการปฏิบัติตามกฏหมายที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถสรุปกิจกรรมที่สำคัญของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจำปี และงบการเงินรวมของบริษัทประจำปี 2551 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทานงบการเงินร่วมกับผู้บริหารและผู้สอบบัญชีเพื่อให้มั่นใจได้ว่างบการเงินได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องเหมาะสม มีการปฏิบัติ ตามมาตรฐานการบัญชีและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ระบบบัญชีมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน อย่างเพียงพอและทันเวลา เพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนและผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจลงทุน 2. สอบทานรายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการระหว่างกันของบริษัทฯกับบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯได้ดำเนินการตามเงื่อนไขทางธุรกิจปกติ รวมถึงบริษัทฯมีการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จำเป็นแก่บริษัท ย่อยเพื่อเป็นการนำไปพัฒนาโครงการและขยายงานตามแผนงานของบริษัทย่อย 3. สอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการประเมินความเสี่ยงของบริษัทฯ ให้ความคิดเห็น เกี่ยวกับมาตรการในการจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯในระดับองค์กร เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯสามารถบริหารความเสี่ยงให้ลดลง อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ 4. สอบทานการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้ทำการประเมินการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Self Assessment) ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายและได้นำเสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการ บริษัท ซึ่งผลการประเมินโดยรวมบริษัทมีการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีอยู่ในเกณฑ์ดี อย่างไรก็ตามบริษัทควรกำหนด หลักการปฏิบัติงานในบางประเด็นให้เหมาะสมยิ่งขึ้นในด้านสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย และด้านความรับผิดชอบของคณะกรรมการ รวมถึงคณะกรรมการตรวจสอบได้กำกับดูแลให้บริษัทฯมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 5. สอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานให้บริษัทฯมีระบบการควบคุมภายในที่ เหมาะสม มีการดำเนินงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร มีระบบการป้องกันเพื่อลดความผิดพลาด ความเสียหาย และการสิ้นเปลืองจากการใช้ทรัพยากรของบริษัทฯ รายงานทางการเงินมี ความน่าเชื่อถือ ซึ่งผู้สอบบัญชีของบริษัทฯได้ให้ความเห็นสอดคล้องกันว่าผลการประเมินระบบการควบคุมภายในของ บริษัทฯไม่ พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำคัญที่จะกระทบต่อความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของงบการเงินของบริษัทฯ 6. กำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงานตรวจสอบประจำปีของสำนัก ตรวจสอบภายใน รับทราบรายงานผลการประเมินระบบการควบคุมภายในประจำปี 2551 ตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติไว้ กำกับดูแล
120
รายงานประจำปี 2550
7.
8. 9. 10. 11.
การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผลเพียงพอกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป กำหนดภารกิจในการตรวจสอบเพื่อมุ่งเน้นในเชิงป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงมีการ ติดตามให้บริษัทฯมีการดำเนินการแก้ไขตามข้อเสนอแนะในรายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายในในประเด็นที่มีนัยสำคัญ สอบทานระบบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีการสอบทานผลการปฏิบัติ งานของบริษัทฯ เพี่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯมีการปฏิบัติตามเป้าหมายที่วางไว้ และมีการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และสนับสนุนให้บริษัทฯกำหนดวิธีการวัดผลการปฏิบัติงานหรือตัวชี้วัดผลการดำเนินงานให้ ชัดเจนยิ่งขึ้น รวมถึงสอบทานให้บริษัทฯมีการติดตามการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการปฏิบัติงานตามปกติของฝ่ายบริหาร การประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Audit Committee Self Assessment) โดยเป็นการประเมินทั้งคณะในด้านต่างๆ อาทิ ในด้านอำนาจหน้าที่ ด้านการควบคุมภายใน ด้านการจัดทำรายงานทางการเงิน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปรับปรุงแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบในส่วนของ ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบให้ชัดเจนยิ่งขึ้น นำเสนอข้อมูลทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ คณะกรรมการตรวจสอบให้ข้อเสนอแนะแก่บริษัทฯใน ด้านการเงิน ด้านการบัญชี ด้านกฎหมาย เพื่อสนับสนุนให้บริษัทบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่กำหนดไว้ พิจารณา คัดเลือกผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี โดยพิจารณาความเป็นอิสระของผู้สอบ บัญชี ความเหมาะสมในการกำหนดค่าตอบแทน เพื่อให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯในการขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือ หุ้นให้แต่งตั้ง บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผู้สอบบัญชี ประจำปี 2552
คณะกรรมการตรวจสอบมีการรายงานผลการประชุมให้คณะกรรมการบริษัทฯทราบอย่างสม่ำเสมอและขอเรียนให้ทราบว่าได้ปฏิบัติ งานที่ได้รับมอบหมายในฐานะคณะกรรมการตรวจสอบอย่างอิสระ ด้วยความรู้ ความสามารถ ตลอดจนได้ให้ความเห็นต่างๆแก่ทุกฝ่าย อย่างตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์ต่อบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นทุกราย และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ อย่างเหมาะสมแล้ว (นายวีระยุค พันธุเพชร) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 27 กุมภาพันธ์ 2552
บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน)
121
แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทน ที่จ่ายให้แก่ผู้สอบบัญชี รอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551
ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ( Audit Fee) รายการที่ ชื่อบริษัทผู้จ่าย ชื่อผู้สอบบัญชี ค่าสอบบัญชี 1 บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล 1,650,000 2 บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จำกัด นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล 500,000 3 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จำกัด นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล 100,000 4 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จำกัด นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล 220,000 5 บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จำกัด นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล 100,000 รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี 2,570,000 ข้อมูลข้างต้น ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ทั้งนี้ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าไม่มีข้อมูลการให้บริการอื่นที่บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายให้ข้าพเจ้า สำนักงานสอบบัญชี ที่ข้าพเจ้าและบุคคลหรือกิจการเกี่ยวข้องกับข้าพเจ้าและสำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าสังกัด ที่ข้าพเจ้าทราบและไม่มีการเปิดเผยไว้ ข้างต้น ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน กล่าวคือ
เมื่อปรับปรุงข้อมูลข้างต้น(ถ้ามี) แล้ว ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทั้งหมดในแบบฟอร์มนี้ แสดงค่าตอบแทนสอบบัญชีและค่าบริการอื่นที่ บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายให้ข้าพเจ้า สำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าสังกัดและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับข้าพเจ้าถูกต้องครบถ้วนแล้ว ลงชื่อ (นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล) บริษัท สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด ผู้สอบบัญชีของ บริษัทพร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน)
122
รายงานประจำปี 2550