Property Perfect : Annual Report 2010

Page 1


สารบัญ

2 4 6 7 20 36 38 40 46 47 55 59 66 70 71 73 82 83 87 91 104 105 113 149 150 152

สารจากคณะกรรมการ ข้อมูลบริษัท ข้อมูลทางการเงิน ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ คณะกรรมการบริษัท ผังองค์กร ข้อมูลโครงการ แผนที่โครงการ การตลาด และการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรมและแนวโน้มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ข้อมูลอื่น ๆ ประวัติผู้บริหารและผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท รายละเอียดการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ ค่าตอบแทนผู้บริหาร การก�ำกับดูแลกิจการ บุคคลอ้างอิงอื่น ๆ รายการระหว่างกัน ปัจจัยความเสี่ยง ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ปี 2553 แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของผู้สอบบัญชี

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

1


สารจากคณะกรรมการบริษัท

ส�ำหรับผลประกอบการของบริษัท และบริษัทย่อย เมื่อสิ้น 31ธันวาคม 2553 นั้น ปรากฎดังนี้ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน และอาคารชุดพักอาศัย รวมทั้งสิ้น 8,616 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 47 จากปี 2552

แนวโน้มปี 2554 แม้จะมีปัจจัยลบหลายประการ ซึ่งย่อมส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นและก�ำลังซื้อ ของผู้บริ โภค แต่คณะกรรมการบริษัท ยังคงเชื่อมั่นว่า ยังมีปัจจัยบวกอีกหลายประการ ส่งผลให้ความ ต้องการซื้อที่อยู่อาศัยที่เป็นความต้องการ ที่แท้จริงยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง

มาตรการการแก้ปญ ั หาทางการเงินของทัง้ อเมริกา และยุโรป ยังคงเป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้เอเชีย ซึง่ มีอตั ราการเติบโตทาง เศรษฐกิจที่สูงได้รับประโยชน์ โดยเห็นได้จากกระแสเงินทุนที่ไหลเข้ามีปริมาณเพิ่มขึ้น ส�ำหรับประเทศไทย ได้รับผลดังกล่าว เช่นกัน เห็นได้จากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น แต่จากการจลาจลทางด้านการเมือง ได้ท�ำลายบรรยากาศการท่องเที่ยวและการ ลงทุนอย่างสิ้นเชิง แต่ความรุนแรงทางการเมืองได้เกิดขึ้นหลังจากการต่ออายุมาตรการลดหย่อนค่าธรรมเนียมการโอนและ การจดจ�ำนอง และภาษีธุรกิจเฉพาะ ซึ่งสิ้นสุดลงในวันที่ 28 มีนาคม 2553 จึงท�ำให้ยอดโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยของธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มที่ จะเห็นได้จากเดือนมีนาคม มียอดโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพและ ปริมณฑลสูงที่สุด ถึง 38,800 หน่วย แม้จะมีการต่ออายุมาตรการเฉพาะในส่วนการลดหย่อนค่าธรรมเนียมการโอนและ ค่าธรรมเนียมการจดจ�ำนอง ออกไปจนถึง 30 มิถุนายน 2553 แต่ไม่ได้ช่วยธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในช่วงไตรมาส 2 ให้ดีขึ้น แต่อย่างไร

ในช่วยปลายปี ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกมาตรการเพิ่มเติมเพื่อก�ำหนดเกณฑ์ใหม่ ส�ำหรับการก�ำกับดูแลสินเชื่อที่อยู่ อาศัย โดยก�ำหนดให้สัดส่วนเงินให้สินเชื่อบ้านต่อราคาบ้าน (Loan to Value Ratio หรือ LTV) ที่ราคาต�่ำกว่า 10 ล้านบาท ส�ำหรับคอนโดมิเนียม ซึ่งก�ำหนดว่าหากสถาบันการเงินปล่อยสินเชื่อด้วย LTV ไม่เกินร้อยละ 90 ให้มีน�้ำหนักความเสี่ยงร้อย ละ 35 แต่หากปล่อยเกินกว่าสัดส่วนดังกล่าว ต้องตัง้ ค่าความเสีย่ งเพิม่ เป็นร้อยละ 75 มีผลบังคับส�ำหรับกรณีการท�ำสัญญา ซือ้ ขายตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป มาตรการดังกล่าว ต้องการสกัดการเก็งก�ำไรในตลาดคอนโดมิเนียม เนือ่ งจาก ทางการกังวลเรื่องอุปทานส่วนเกิน ซึ่งผลจากมาตรการดังกล่าวยังไม่ปรากฎในปี 2553 ส�ำหรับผลประกอบการของบริษัท และบริษัทย่อย เมื่อสิ้น 31 ธันวาคม 2553 นั้น ปรากฎดังนี้ รายได้จากการขายบ้านพร้อม ทีด่ นิ และอาคารชุดพักอาศัย รวมทัง้ สิน้ 8,616 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 47 จากปี 2552 และ ก�ำไรสุทธิเท่ากับ 550 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 38 ทางคณะกรรมการบริษทั จะได้เสนอผูถ้ อื หุน้ ให้อนุมตั จิ า่ ยเงินปันผลในอัตราหุน้ ละ 0.33 บาท ซึ่งเป็นไปตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท จากการที่เคยรายงานต่อผู้ถือหุ้นว่า บริษัทจะปรับแผนการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อกระจายเข้าสู่ผู้บริโภคได้อย่างทั่วถึง โดยการน�ำ สินค้าทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้นระดับราคาประมาณ 2 ล้านบาท ภายใต้แบรนด์ เดอะ วิลล่า จ�ำนวน 3 ท�ำเล ซึ่งแต่ละท�ำเล จะมีขนาด ของโครงการไม่ใหญ่ โดยใช้ความได้เปรียบเหนือคู่แข่งในด้านคุณภาพและรูปแบบ ซึ่งได้เปิดตัวเมื่อกลางปีที่ผ่านมานั้น ได้ รับผลตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี คาดว่าปีนี้ จะเปิดตัวอีกอย่างน้อย 2 โครงการ ท�ำให้รายได้จากทาวน์เฮ้าส์ ภายใต้แบรนด์ เดอะ วิลล่า จะเริ่มปรากฎรายได้ในสัดส่วนที่มากขึ้น เพราะเป็นสินค้าที่บริษัทมีประสบการณ์ และเคยท�ำตลาดประสบความ ส�ำเร็จมาแล้วในอดีต 2

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ส�ำหรับสินค้าคอนโดมิเนียมส�ำหรับอยู่อาศัย ระดับราคาประมาณ 1 ล้านบาท ภายใต้แบรนด์ ไอ คอนโด นั้น บริษัทได้เปิดตัว บน 3 ท�ำเล โดยใช้แนวคิดคอนโดรูปแบบใหม่ ทันสมัย ในราคาทีส่ ามารถเป็นเจ้าของได้ ซึง่ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี และ ปีนี้ มีแผนทีจ่ ะเปิดอีก 1 โครงการ ส�ำหรับคอนโดมิเนียมเพือ่ การเช่า ภายใต้แบรนด์ ยูนลิ อฟท์ นัน้ จะเริม่ ปีนี้ โดยโครงการแรก ใกล้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ โครงการทีส่ องใกล้มหาวิทยาลัยมหิดล นับว่า แบรนด์ ไอ คอนโด และ แบรนด์ ยูนลิ อฟท์ เป็น แผนธุรกิจใหม่ ซึ่งในปีนี้จะเป็นปีแห่งการลงมือก่อสร้างอย่างเต็มที่ เพื่อจะได้รับผลของความส�ำเร็จในรูปของรายได้ภายใน ปลายปี 2554 หรืออย่างช้าไม่เกินต้นปี 2555 แนวโน้มปี 2554 แม้จะมีปัจจัยลบหลายประการ ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น เงินเฟ้อที่ปรับตัวขึ้น ตาม ราคาน�้ำมัน ค่าก่อสร้างและค่าแรงงานขั้นต�่ำที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมถึง มาตรการการควบคุมการปล่อยสินเชื่อของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ซึ่งย่อมส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นและก�ำลังซื้อของผู้บริโภค แต่คณะกรรมการบริษัท ยังคงเชื่อมั่นว่า ยังมี ปัจจัยบวกอีกหลายประการ ได้แก่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจยังเป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ความต้องการซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยที่ เป็นความต้องการทีแ่ ท้จริงยังคงมีอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง และถ้ามีการยุบสภาและเลือกตัง้ ใหม่ จะท�ำให้การเมืองมีความชัดเจนยิง่ ขึน้ สภาพคล่องทางการเงินของสถาบันการเงินทีย่ งั ล้นเหลืออยู่ จะท�ำให้ผปู้ ระกอบการรายใหญ่ได้เปรียบรายเล็ก และโครงการ ขนส่งมวลชนทีเ่ ห็นเป็นรูปธรรมมากขึน้ มีการเปิดเส้นทางใหม่ ๆ ท�ำให้มกี ารพัฒนาโครงการตามเส้นทางดังกล่าวจะมีมากขึน้ ตามด้วย ท�ำให้คาดการณ์ว่าแนวโน้มของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จะยังคงขยายตัวต่อเนื่องจาก ปี 2553 บริษัทมีแผนที่จะเปิดโครงการบ้านเดี่ยวในปีนี้ รวม 7 โครงการ ทาวน์เฮ้าส์ อีก 2 โครงการ คิดเป็นมูลค่าโครงการจากแนว ราบ ประมาณ 9,975 ล้านบาท ส�ำหรับโครงการคอนโดมิเนียมนั้น คาดว่าจะเปิดอีก 3 โครงการ คิดเป็นมูลค่ารวมของแนว สูง เท่ากับ 5,000 ล้านบาท นอกจากนี้ ยังมีแบรนด์ยูนิลอฟท์ ซึ่งเป็นลักษณะของคอนโดมิเนียม เพื่อการเช่านั้น จะเปิดตัวใน 2 ท�ำเล ได้แก่ บริเวณใกล้กบั มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ มหาวิทยาลัยมหิดล คิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 2,060 ล้านบาท ซึง่ เป็นแนวคิดของบริษทั ทีต่ อ้ งการท�ำธุรกิจไปกับสถาบันการศึกษา จะเห็นได้จากการทีบ่ ริษทั ได้ขายทีด่ นิ เปล่าให้กบั มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย เมื่อปี 2553 จ�ำนวน 400 ไร่ เพื่อจะพัฒนาเป็นวิทยาเขตแห่งใหม่ รองรับการขยายตัวของจ�ำนวนนักศึกษาที่ เพิ่มมากขึ้นในอนาคต นับเป็นการสร้างยุทธศาสตร์ ในการท�ำธุรกิจในระยะยาวของบริษัท ภายใต้แนวคิดเมืองมหาวิทยาลัย เนื่องจากบริษัทยังมีที่ดินรอบๆ บริเวณ ดังกล่าวอีก 700 ไร่ เตรียมพร้อมส�ำหรับการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่ทุกรูปแบบรวมทั้งเชิง พาณิชย์ได้อย่างต่อเนื่อง เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี ท้ายที่สุดนี้ ในนามของคณะกรรมการบริษัท ใคร่ขอขอบพระคุณผู้มีอุปการะคุณทุกท่าน อันประกอบด้วย ผู้ถือหุ้น ลูกค้า สถาบันการเงิน สือ่ มวลชน และพันธมิตรทางธุรกิจทุกท่าน ทีไ่ ด้มอบความไว้วางใจ ให้การสนับสนุน และมีสว่ นร่วมกับบริษทั ด้วยดีมาโดยตลอด และสิ่งซึ่งคณะผู้บริหารและพนักงาน ได้มุ่งมั่นทุ่มเทความสามารถอย่างเต็มที่ ในการพัฒนาสินค้าและ บริการที่มีคุณภาพ เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้าตลอดหลายปีที่ผ่านมา จะเป็นพลังผลักดันให้บริษัทเติบโตได้ แบบมั่นคง และยั่งยืนตลอดไป

ดร. ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการบริษัท

นายชายนิด โง้วศิริมณี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

3


ข้อมูลบริษัท

ชื่อ : ที่ตั้งส�ำนักงาน : ประเภทธุรกิจ : จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว : มูลค่าที่ตราไว้ : มูลค่าที่เรียกช�ำระแล้ว :

4

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพ ฯ โทรศัพท์ 02-245-6640-7 โทรสาร 02- 247-3328 พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทพัฒนาที่ดิน และก่อสร้างบ้านเพื่อจ�ำหน่าย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภายใต้ชื่อโครงการ “มณีรินทร์ เลค&พาร์ค” “เพอร์เฟค พาร์ค” “เพอร์เฟค เพลส” “เพอร์เฟค มาสเตอร์พซี ” “เดอะ เมทโทร” “เดอะ วิลล่า” “เมโทร พาร์ค” “เมโทร สกาย” “ไอ คอนโด” และ “ยูนิลอฟท์” 787,724,120 หุ้น (ณ 31 ธันวาคม 2553) 6 บาท 4,726,344,720 บาท


การลงทุนในบริษัทอื่น ชือ่ และทีต่ งั้ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02 - 245-6640-7 โทรสาร 02 - 645-1976

จ�ำนวนทุน ทุนจด สัดส่วน ทีเ่ รียก ทะเบียน การ ช�ำระแล้ว (ล้านบาท) ลงทุน (ล้านบาท)

ประเภทธุรกิจ

1,200

1,200

100%

พัฒนา อสังหาริมทรัพย์

500

500

100%

พัฒนา อสังหาริมทรัพย์

บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-245-6640-7 โทรสาร 02-645-1976

500

150.7

100%

พัฒนา อสังหาริมทรัพย์

บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-245-6640-7 โทรสาร 02-645-1976

1,000

1,000

100%

พัฒนา อสังหาริมทรัพย์

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวง ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-245-6640-7 โทรสาร 02-645-1976

บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด เลขที่ 100/52 อาคารว่องวานิช บี ชั้น 19 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-645-1406-8 โทรสาร 02-645-1409 บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 21 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพ ฯ โทรศัพท์ 02-645-0960-3 โทรสาร 02-645-0380 บริษัท เรียล เซอร์วิส จ�ำกัด เลขที่ 100/9 ซอยท่าอิฐ ถนนรัตนาธิเบศร์ นนทบุรี โทรศัพท์ 02-594-4001-5 โทรสาร 02-594-4021

บริหาร 99.98% สถานออกก�ำลังกาย และสโมสร

1

1

2,230

1,780

20.22%

40

40

19%

พัฒนา อสังหาริมทรัพย์

บริการซ่อมแซม บ�ำรุงบ้านพักอาศัย

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

5


ข้อมูลทางการเงิน บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

หน่วย : ล้านบาท ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขายและ รอการพัฒนา หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ผลการด�ำเนินงาน รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รายได้รวม ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรสุทธิ อัตราส่วนทางการเงิน อัตราก�ำไร(ขาดทุน)สุทธิต่อรายได้รวม อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องต่อหนีส้ นิ หมุนเวียน ข้อมูลต่อหุ้น ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น เงินปันผล มูลค่าตามบัญชี

6

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

งบการเงินรวม 2553 19,729

งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2553 2552 2551 17,318 13,099 11,525

15,616 12,555 7,174

11,027 10,551 6,767

9,866 6,674 6,425

8,670 5,203 6,322

8,616 8,704 2,817 550

7,462 7,586 2,434 538

4,846 4,977 1,498 386

6,834 6,935 2,125 798

6.32% 7.87% 3.22% 2.91 0.48

7.09% 8.15% 3.54% 2.21 0.41

7.76% 6.06% 3.14% 2.45 0.21

0.69 0.33 9.11

0.68 0.33 8.59

0.49 0.25 8.16

11.51% 13.26% 6.80% 4.19 0.25 หน่วย : บาท 1.01 0.36 8.51


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2528 โดยกลุ่มผู้บริหารหมู่บ้านจัดสรรมณียา ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรกจ�ำนวน 300,000 บาท ต่อมาบริษัทได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน จ�ำกัด และได้น�ำ หลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2536 ปี 2540 เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศ บริษทั ประสบปัญหาทางการด�ำเนินธุรกิจเช่นเดียวกับผูป้ ระกอบการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ในประเทศ ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2544 ศาลล้มละลายกลางได้มีค�ำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ และในวันที่ 2 ตุลาคม 2544 ศาลล้มละลายกลางได้มีค�ำสั่งเห็นชอบกับแผนฟื้นฟูกิจการของบริษัท ทั้งนี้บริษัทได้ด�ำเนินการตามเงื่อนไขใน การฟืน้ ฟูกจิ การและปรับโครงสร้างหนีไ้ ด้อย่างครบถ้วน และได้ยนื่ ค�ำขอออกจากกระบวนการฟืน้ ฟูกจิ การต่อศาล ส่งผลให้ใน วันที่ 12 เมษายน 2547 ศาลล้มละลายกลางได้มีค�ำสั่งยกเลิกฟื้นฟูกิจการ บริษทั ได้มกี ารขยายธุรกิจอย่างต่อเนือ่ งโดยมีการเพิม่ ทุน/ลดทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั มีทนุ จดทะเบียน 6,552 ล้านบาท คิดเป็นหุน้ สามัญ 1,092 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 6 บาท และทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 4,726.3 ล้านบาท คิดเป็นหุ้นสามัญ 787.7 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท

การด�ำเนินการตามแผนฟื้นฟูกิจการ

ในปี 2551 บริษัทได้ด�ำเนินการจ่ายช�ำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู เป็นจ�ำนวนเงิน 383 ล้านบาท ในปี 2552 บริษัทได้ด�ำเนินการจ่ายช�ำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู เป็นจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 229 ล้านบาท ปัจจุบัน บริษัทยังคงมีเจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูคงเหลือ 37 ล้านบาท อยู่ในระหว่างการด�ำเนินการเพื่อให้เจ้าหนี้สามารถรับช�ำระ หนี้จากบริษัทได้ ปัจจุบนั มีผใู้ ช้สทิ ธิในใบส�ำคัญแสดงสิทธิจำ� นวน 42.06 ล้านหน่วย และคงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิทยี่ งั ไม่ได้มกี ารใช้สทิ ธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จ�ำนวน 8,863,476 หน่วย

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท

บริษัท แบ่งการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เป็น 2 กลุ่มหลัก ดังนี้ • กลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประกอบด้วย บริษัทย่อย 4 บริษัท และบริษัทร่วม 1 บริษัท • กลุ่มธุรกิจบริการ ประกอบด้วย บริษัทย่อย 1 บริษัท และบริษัทร่วม 1 บริษัท รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

7


โครงสร้างการลงทุนของบริษัท บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

กลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 100%

กลุ่มธุรกิจบริการ 99.98%

19%

บจ. เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ ***

บจ. เอสเตท เพอร์เฟ็คท์

บจ. เรียลเซอร์วิส *

100%

บจ. ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ 100%

บจ. เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ช็อปปิง้ มอลล์

20.22%

บมจ. กรุงเทพบ้านและที่ดิน 100%

บจ. เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์

51%

บจ. ริเวอร์ไซด์ โฮมส์ ดีเวลลอปเม้นท์**

หมายเหตุ : * ปัจจุบันหยุดประกอบธุรกิจ ** ด�ำเนินธุรกิจโครงการคอนโดมิเนียม ภายใต้ชื่อ “เดอะ พาโน” โดยผู้ถือหุ้นที่เหลืออีก 49% คือกลุ่มทุนจากสิงคโปร์ ในนามบริษัท เฟรเซอร์ (ไทยแลนด์) พีทีอี แอลทีดี *** เปลี่ยนชื่อจากเดิม บจ.เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส

กลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย

บริษัทและบริษัทย่อย ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขายเป็นหลัก บริษัทและบริษัทย่อย พัฒนาโครงการเพื่ออยู่ อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียมแนวราบ โดยทั้งบริษัทและบริษัทย่อยจะมีแนวนโยบายในการบริหาร งานและว่าจ้างผูร้ บั เหมาก่อสร้างบ้านตามแบบทีก่ ำ� หนด และมีการควบคุมการก่อสร้างโดยการจัดส่งวิศวกรและสถาปนิกของ บริษัทเข้าไปตรวจสอบคุณภาพในทุกขั้นตอน โครงการของบริษัทและบริษัทย่อยจะอยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล และจังหวัดที่มีศักยภาพ ในปี 2554 บริษทั ย่อย มีแผนขยายการลงทุนในภาคเหนือทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ซึง่ เป็นจังหวัดทีม่ ศี กั ยภาพทัง้ ด้านจ�ำนวนประชากร ที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของจังหวัด การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค และเป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงของ ประเทศไทย (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันการศึกษาอืน่ ๆ ) เนือ่ งจากจังหวัดเชียงใหม่เป็นเแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญของ ประเทศไทย โดยเป็นการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียม ภายใต้แบรนด์ “ยูนิลอฟท์” โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาและ ผู้ต้องการลงทุน นอกจากนี้ บริษัทยังอยู่ระหว่างการพิจารณาและศึกษาความเป็นไปได้ ในการขยายการลงทุนในจังหวัดที่มี ศักยภาพในภาคต่างๆ เช่น ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

8

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทประกอบธุรกิจประเภทบ้านจัดสรร และ คอนโดมิเนียมแนวราบ โดย ณ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีโครงการที่ อยู่ระหว่างการพัฒนารวมทั้งสิ้น 19 โครงการ มูลค่าโครงการคงเหลือรวมทั้งสิ้น 15,908.55 ล้านบาท และมีโครงการ ใหม่ที่จะเปิดขายในปี 2554 อีก 9 โครงการ คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 11,175 ล้านบาท บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด (“เอสเตท ”) (บริษัทย่อย) บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขต ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทบ้านจัดสรร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขยาย การลงทุนด้านฝั่งตะวันออกของกรุงเทพฯ และพัฒนาโครงการทาวน์เฮ้าส์เฉพาะกลุ่ม ภายใต้แบรนด์ “เดอะ วิลล่า“

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ณ 31 ธันวาคม 2552 เอสเตท มีทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท และเป็นทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 1,000 ล้านบาท คิดเป็นหุน้ สามัญ 100 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 บาท โดยบริษทั มีสดั ส่วนการถือหุน้ 100 % ทัง้ นี้ ทีป่ ระชุมคณะ กรรมการบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2553 วันที่ 22 มกราคม 2553 มีมติให้เพิม่ ทุนในเอส เตทฯ จากทุนจดทะเบียนเดิม 1,000 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียน 1,200 ล้านบาท โดยการออกหุน้ สามัญใหม่จ�ำนวน 20 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 บาท และบริษทั ได้ดำ� เนินการเพิม่ ทุนดังกล่าวเรียบร้อยแล้วในเดือนมีนาคม 2553

ปี 2553 เอสเตท ขยายการลงทุนในโครงการขนาดเล็ก 30-50 ไร่ ในท�ำเลต่างๆ ที่มีศักยภาพในรูปแบบทาวน์เฮ้าส์ ระดับราคา 1.8- 2 ล้านบาท จ�ำนวน 2 โครงการภายใต้แบรนด์ “เดอะ วิลล่า“ เพื่อเพิ่มส่วนแบ่งตลาดในกลุ่มของ ทาวน์เฮ้าส์

ปัจจุบันเอสเตทมีโครงการบ้านเดี่ยวที่อยู่ระหว่างการพัฒนา 3 โครงการ ณ 31 ธันวาคม 2553 มีมูลค่าโครงการคง เหลือรวม 3,120 ล้านบาท และมีโครงการทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น ภายใต้แบรนด์ “เดอะ วิลล่า“ มีมูลค่าโครงการคงเหลือ รวม 909 ล้านบาท

กรรมการของเอสเตทฯ มีจ�ำนวน 4 ท่าน ดังนี้

รายชื่อกรรมการ 1. นายชายนิด 2. นายปราโมทย์ 3. นายพรสวัสดิ์ 4. นายนันทชาติ

โง้วศิริมณี เริ่มยินดี เกษจุฬาศรีโรจน์ กลีบพิพัฒน์

ต�ำแหน่ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

9


บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด( “ไบรท์ ”)(บริษัทย่อย) บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (“ไบรท์”) ตั้งอยู่ที่เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตัง้ ขึน้ ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2550 วันที่ 30 เมษายน 2550 ด้วยทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท และบริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.94 ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภท คอนโดมิเนียม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ไบรท์มีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากทุนจดทะเบียนเดิม 1 ล้านบาท อันเป็นผลจากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 6/2552 วันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 ให้บริษทั ลงทุนในหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของไบรท์ จ�ำนวน 4,990,000 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 100 บาท หลัง การเรียกช�ำระค่าหุน้ เพิม่ ทุนแล้วจะท�ำให้บริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 และได้ดำ� เนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนเรียบร้อยแล้ว ในเดือนมีนาคม 2553

ณ 31 ธันวาคม 2553 ไบรท์มีโครงการรวม 4 โครงการ ภายใต้แบรนด์ “เมโทร สกาย“ และ “ไอ คอนโด“ มีมูลค่าคง เหลือ รวม 3,558 ล้านบาท ( รายละเอียดตามกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ )

ในปี 2554 ไบรท์มีแผนลงทุนโครงการคอนโดมิเนียม ภายใต้แบรนด์ “ยูนิลอฟท์” ( Uniloft ) ระดับราคา 1-1.2 ล้าน บาท เป็นคอนโดมิเนียมอยู่ใกล้มหาวิทยาลัย จ�ำนวน 2 โครงการ คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 2,060 ล้านบาท

โดยคณะกรรมการของไบรท์ มีจ�ำนวน 4 ท่าน ดังนี้

10

รายชื่อกรรมการ 1. นายชายนิด 2. นายปราโมทย์ 3. นายพรสวัสดิ์ 4. นายวิชาญ

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

โง้วศิริมณี เริ่มยินดี เกษจุฬาศรีโรจน์ ศิริเวชวราวุธ

ต�ำแหน่ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด ( “เรสซิเดนท์”) (บริษัทย่อย) บริษทั เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด ( “เรสซิเดนท์”) ตัง้ อยูท่ เี่ ลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชัน้ 17 ถนนพระราม 9 แขวง ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ มีทนุ จดทะเบียน 1,000 ล้านบาท มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท คิดเป็นจ�ำนวนหุน้ 10 ล้านหุ้น บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัยแนวราบ ก่อตั้งโดยบริษัทได้เข้าซื้อหุ้นจ�ำนวน 10 ล้านหุ้น คิดเป็นร้อยละ 100 จากผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท เรสซิเดนท์ ในราคา 507 ล้านบาท ซึง่ เป็นราคาทีใ่ กล้เคียงมูลค่าทางบัญชีของบริษทั ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2553 วันที่ 22 มกราคม 2553 การเข้าซื้อหุ้นของบริษัท เรสซิเดนท์ เพื่อต้องการน�ำที่ดินบริเวณ อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี เนือ้ ทีป่ ระมาณ 164 ไร่ ทีเ่ ป็นทรัพย์สนิ เพียงชิน้ เดียวของบริษทั เรสซิเดนท์ มาพัฒนาโครงการทาวน์เฮ้าส์และ บ้านเดี่ยว ณ 31 ธันวาคม 2553 เรสซิเดนท์ มีการพัฒนาโครงการทาวน์เฮ้าส์ และบ้านเดี่ยวรวม 2 โครงการ มีมูลค่าโครงการ รวม 2,158 ล้านบาท โดยคณะกรรมการของเรสซิเดนท์ มีจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้

รายชื่อกรรมการ 1. นายวิชาญ 2. นายสรรเพชร 3. นางธัญญวดี

ศิริเวชวราวุธ สุขเกษม ชาล์เมอร์ส

ต�ำแหน่ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) (“กรุงเทพบ้าน”) (บริษัทร่วม) บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) (“กรุงเทพบ้านฯ”) ตั้งอยู่เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 21 ถนน พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยเน้นการพัฒนา โครงการในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ณ 31 ธันวาคม 2553 กรุงเทพบ้านฯ มีทนุ จดทะเบียนรวม 2,230 ล้านบาท และมีทนุ จดทะเบียนช�ำระแล้ว 1,780 ล้าน บาท มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 บาท คิดเป็นหุน้ สามัญจ�ำหน่ายแล้ว 178 ล้านหุน้ โดยบริษทั มีสดั ส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 20.22 (รายละเอียดปรากฏในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13.1) และมีรายชื่อผู้ถือหุ้นของกรุงเทพบ้านฯ ดังนี้

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท เฟรเซอร์ (ประเทศไทย) พีทีอี แอลทีดี บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เฟอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ดร.พิจิตต รัตตกุล นายวิชัย ทองแตง นางนวลลออ คุนผลิน นายจอห์น โลแกน นางนัดดา นิ่มเกียรติขจร ผู้ถือหุ้นรายย่อย รวม

จ�ำนวนหุ้น 72,000,000 35,999,964 25,000,000 15,000,000 15,000,000 9,500,000 5,000,000 500,036 178,000,000

รายงานประจำ�ปี 2553

สัดส่วน(%) 40.45 20.22 14.04 8.43 8.43 5.34 2.81 0.30 100.00

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

11


ปัจจุบัน คณะกรรมการของกรุงเทพบ้านฯ มีจ�ำนวน 13 คน โดยมีรายชื่อกรรมการและต�ำแหน่งของกรรมการ ดังนี้ รายชื่อกรรมการ 1. ดร.พิจิตต รัตตกุล 2. นายธงชัย คุณากรปรมัตถ์ 3. นางอุไรวรรณ ภัทรกานต์ 4. นายชาน คิน ฟาย 5. นายชายนิด โง้วศิริมณี /1 6. นางสาววิลาวัณย์ เหลืองนาคทองดี 7. นายเชียง ฟุค เซ็ง 8. นายเชีย คอง ชุง 9. นายลิม อี้ เซ็ง 10. นายอรรถพงศ์ พรธิติ 11. นายประสงค์ วรารัตนกุล 12. นายเกรียงไกร จิวานันต์ 13. นางอัญชลี ชวนิชย์

หมายเหตุ : /1 นายชายนิด โง้วศิรมิ ณี เป็นกรรมการของบริษทั และเป็นกรรมการของกรุงเทพบ้านฯ ในฐานะทีบ่ ริษทั ถือ หุน้ กรุงเทพบ้านฯ ร้อยละ 20.22 นอกจากนี้ นายชายนิด โง้วศิรมิ ณี เป็นผูถ้ อื หุน้ และกรรมการของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) โดยถือหุ้นในบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 6,650,000 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้ หุ้นละ 6 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.84 ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554

ในปี 2553 กรุงเทพบ้านฯ มีโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนา 11 โครงการ มีมลู ค่าโครงการคงเหลือรวม 7,715 ล้านบาท

12

ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการและประธานกรรมการบริหาร กรรมการและกรรมการบริหาร กรรมการ และกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ,กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ,กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ,กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด (“เซ็นเตอร์พ้อยท์”) (บริษัทย่อย) บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด (“เซ็นเตอร์พ้อยท์”) ตั้งอยู่ที่เลขที่ 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนน พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ก่อตั้งขึ้นในเดือนธันวาคม 2550 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทครั้งที่ 8/2550 วันที่ 24 กันยายน 2550 โดยมีทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท และ ได้เรียกช�ำระค่าหุน้ ทัง้ จ�ำนวนแล้ว และมีวตั ถุประสงค์เพือ่ บริหารและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ เช่น ศูนย์การค้า อาคารส�ำนักงานให้เช่า โดยบริษทั ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 59.99 และบริษทั ทิมเบอร์ไลน์ อินเวสเม้นท์ส พีทอี ี จ�ำกัด ซึง่ มี Arangannal S/O Kathamuthu เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ และไม่มคี วามเกีย่ วข้องใด ๆ กับบริษทั ถือหุน้ เซ็นเตอร์พ้อยท์ในสัดส่วนร้อยละ 40 ต่อมาที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2553 วันที่ 22 มกราคม 2553 มีมติอนุมัติให้บริษัทซื้อหุ้นสามัญของเซ็นเตอร์พ้อยท์จ�ำนวน 4,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 40 จาก บริษัท ทิมเบอร์ไลน์ อินเวสเม้นท์ พีทีอี จ�ำกัด ซึ่งจะท�ำให้จ�ำนวนหุ้นที่บริษัทถืออยู่ทั้งหมดภายหลังจากการซื้อหุ้นสามัญเท่ากับจ�ำนวน 9,999 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99 โดยมีวัตถุประสงค์ในการซื้อเพื่อให้เซ็นเตอร์พ้อยท์เป็นบริษัทย่อย และมีมติอนุมัติ ให้เพิ่มเงินลงทุนในบริษัทย่อยดังกล่าว จ�ำนวน 499 ล้านบาท จากเดิมที่มีทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้น สามัญจ�ำนวน 10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ท�ำให้ทุนจดทะเบียนใหม่ของบริษัทย่อยนี้มีจ�ำนวน 500 ล้านบาท และเรียกช�ำระเพียงร้อยละ 30 ของทุนที่เพิ่มใหม่ หรือเท่ากับ 149.7 ล้านบาท ท�ำให้ทุนเรียกช�ำระแล้วของ บริษทั ย่อยแห่งนีเ้ ท่ากับ 150.7 ล้านบาท ภายหลังการเพิม่ ทุนท�ำให้บริษทั มีสดั ส่วนการถือหุน้ ในเซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ร้อยละ 100 ปัจจุบันยังไม่ได้ด�ำเนินการ

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


กลุ่มธุรกิจบริการ

บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (เดิมชื่อบริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด) ตั้งอยู่ที่เลขที่ 100/52 อาคารว่องวานิช บี ชัน้ 19 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ก่อตัง้ เมือ่ เดือนมีนาคม 2547 และ ณ วันที่ 21 มิถุนายน 2548 มีทนุ จดทะเบียน 1 ล้านบาท ประกอบธุรกิจบริหารสถานออกก�ำลังกาย สโมสร และ การจัดสันทนาการ เพื่อส่งเสริมการขายของโครงการต่างๆ ของบริษัทและบริษัทย่อย ปัจจุบันเป็นบริษัทย่อยที่บริษัท ถือหุ้นร้อยละ 99.98 และมีกรรมการผู้ท�ำหน้าที่บริหารงานและก�ำหนดนโยบายพร้อมทั้งแนวทางในการด�ำเนินงาน จ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อปลายปี 2553 รายชื่อกรรมการ 1. นายไพรัตน์ 2. นายธงชัย 3. นางสาวรัศมี 4. ร้อยตรีปฐมพร 5. นายกฤตภาส

เสนาจักร์ ปิยสันติวงศ์ เมธาวิกุล นาคะตะ พงศ์ภัควัตร

ต�ำแหน่ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท เรียลเซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท เรียลเซอร์วิส จ�ำกัด ตั้งอยู่ที่เลขที่ 100/9 ซอยท่าอิฐ ถนนรัตนาธิเบศร์ นนทบุรี ประกอบธุรกิจรับเหมา ก่อสร้าง และรับซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาบ้านของลูกค้าในโครงการที่บริษัทพัฒนาขึ้น โดยด�ำเนินการรับซ่อมแซมบ้านและ เก็บความเรียบร้อยของงานก่อสร้างบ้านต่อจากผู้รับเหมาหลักของบริษัท ก่อนจะส่งมอบหรือโอนบ้านให้ลูกค้า ซึ่ง เป็นการรับจ้างโดยตรงจากผู้รับเหมาหลักของบริษัท ท�ำให้ผู้รับเหมาหลักสามารถปิดงานก่อสร้างได้เร็วขึ้น ส่งผลให้ บริษัทสามารถรับรู้รายได้จากการรับโอนบ้านของลูกค้าตามโครงการต่างๆ ได้เร็วยิ่งขึ้น ปัจจุบันบริษัท เรียลเซอร์วิส จ�ำกัดเป็นบริษัทร่วม มีทุนจดทะเบียน 40 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 400,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท โดย บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 19 ซึ่งปัจจุบันได้หยุดด�ำเนินกิจการแล้ว โดยมีรายชื่อผู้ถือหุ้น ดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

13


รายชื่อผู้ถือหุ้น จ�ำนวนหุ้น สัดส่วน(%) 1. บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เฟอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) 76,000 19.00 2. นายชายน้อย พงศ์มฆพัฒน์ 76,000 19.00 3. นายกิต พงศ์มฆพัฒน์ 76,000 19.00 4. นายสมคิด ชิดตระกูล 52,000 13.00 5. นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา 40,000 10.00 6. นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ 40,000 10.00 7. นายทศพร จิระเกียรติดีกุล 20,000 5.00 8 นายนิวัต อินกลิ่นพันธุ์ 20,000 5.00 รวม 400,000 100.00 หมายเหตุ : - บุคคลในล�ำดับที่ 5 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้บริหารของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) - บุคคลในล�ำดับที่ 6 ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้บริหารของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

กรรมการของบริษัท เรียลเซอร์วิส จ�ำกัด มีจ�ำนวน 1 คน คือ นายชัยณรงค์ เงินโสภา

โครงสร้างรายได้รวมการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์หลักจ�ำแนกตามผลิตภัณฑ์ รายได้หลักของบริษทั มาจากรายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ โดยโครงการของกลุม่ บริษทั จะเน้นบ้านเดีย่ วเป็นหลัก โครงสร้าง รายได้ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาของบริษัท ปรากฏดังนี้ งบการเงินรวม 2553 ล้านบาท รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน

2552 %

ล้านบาท

2551 %

ล้านบาท

%

7,002.7 80.5% 5,073.4 85.3% 5,420.1 71.2%

รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย

777.7

8.9%

778.5 13.1% 2,109.5 27.7%

รายได้จากการขายที่ดินรอพัฒนา

835.5

9.6%

-

-

8.6

0.1%

ดอกเบี้ยรับ

7.3

0.1%

0.6

-

1.6

-

รายได้จากการรับเงินจอง

4.3

-

8.5

0.1%

14.5

0.2%

-

-

-

-

-

-

76.4

0.9%

86.8

1.5%

63.3

0.8%

รายได้อื่น

โอนกลับค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ อื่น ๆ รายได้รวม

8,703.9 100.0% 5,947.8 100.0% 7,617.6 100.0%

ตามงบการเงินรวมของบริษัทในปี 2551 ถึงปี 2553 บริษัทมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน คิดเป็นร้อยละ 71.2 ร้อยละ 85.3 และร้อยละ 80.5 ของรายได้รวม รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย คิดเป็นร้อยละ 27.7 ร้อยละ 13.1 และ ร้อยละ 8.9 ของรายได้รวม และในปี 2553 บริษัทมีรายได้จากการขายที่ดินรอการพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 9.6 ของรายได้รวม นอกจากนี้ตามงบก�ำไรขาดทุนรวมยังมีส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ซึ่งแสดงไว้ถัดจากค่าใช้จ่ายทางการเงิน จ�ำนวน 8 ล้านบาท จ�ำนวน 3 ล้านบาท และ 58 ล้านบาท ในปี 2551-2553 14

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


รายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ และรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย จากโครงการต่าง ๆ มีรายละเอียดดังนี้ โครงสร้างรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน จ�ำแนกตามผลิตภัณฑ์ ชื่อโครงการ

ลักษณะ โครงการ

ปี 2553 ล้านบาท %

ปี 2552 ล้านบาท %

แบรนด์ “เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ” มณียา มาสเตอร์พีช เอ็กซ์คลูซีฟโซน SDH 12 เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช เอกมัย-รามอินทรา SDH 284 4% 169 3% เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช รัตนาธิเบศร์ SDH 320 4% 202 4% เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ SDH 84 1% 52 1% เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช พระราม 9 SDH 928 14% 455 9% เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช รังสิต SDH 12 เพอร์เฟค มาสเตอร์พีช สุขุมวิท 77-สุวรรณภูมิ ** SDH 66 1% 160 3% แบรนด์ “เพอร์เฟค เพลส” เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ SDH/Land 58 1% เพอร์เฟค เพลส เฟส 1 รัตนาธิเบศร์ SDH 163 2% 423 8% เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง– สุวรรณภูมิ SDH (เลคไซด์โฮม) เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง– สุวรรณภูมิ SDH (โคโลเนียลโซน) เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง– สุวรรณภูมิ SDH 94 1% 301 6% (ไพรเวท โซน) เพอร์เฟค เพลส พระราม 5– ราชพฤกษ์ SDH 57 1% เพอร์เฟค เพลส เฟส 2 รัตนาธิเบศร์ SDH 528 7% 17 เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ SDH 493 7% 279 6% เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง – สุวรรณภูมิ SDH 338 5% 166 3% (เดอะ เลคโซน) เพอร์เฟค เพลส เฟส 2 รามค�ำแหง – สุวรรณภูมิ SDH 139 2% เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77-สุวรรณภูมิ ** SDH 503 7% 483 10% แบรนด์ “มณีรินทร์ / เพอร์เฟค พาร์ค” มณีรินทร์ เลค & พาร์ค ราชพฤกษ์-ติวานนท์ SDH/Land 231 3% 212 4% มณีรินทร์ เอ็กซ์คลูซีฟ รังสิต SDH มณีรินทร์ พาร์ค รังสิต SDH มณีรินทร์ พาร์ค รัตนาธิเบศร์ SDH มณีรินทร์ พาร์ค 2 รังสิต SDH 11 เพอร์เฟค พาร์ค รามค�ำแหง- สุวรรณภูมิ SDH 8 เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5-บางใหญ่ SDH 663 10% 599 12% เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ** SDH 285 4% 363 7% แบรนด์ “เดอะวิลล่า / เดอะ เมทโทร” เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์ TH 595 9% 477 10% เดอะ เมทโทร พระราม 9 TH 438 6% 512 10% เดอะ เมทโทร สาทร TH 480 7% 110 3% เดอะ วิลล่า รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ ** TH 202 3% เดอะ วิลล่า รามอินทรา-วงแหวน ** TH 60 1% เดอะ วิลล่า บางบัวทอง*** TH 38 1% อื่น ๆ มณียา 4 SDH 5 นันทนาการ์เด้น รังสิต TH แจ้งวัฒนะ Land 1 รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รวม 7,003 100% 5,073 100% หมายเหตุ : SDH = บ้านเดี่ยว, TH = ทาวน์เฮ้าส์, Land = ที่ดินเปล่า ** พัฒนาโครงการในนาม บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด ซึ่งบริษัทถือหุ้นอยู่ 100% ***พัฒนาโครงการในนาม บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด ซึ่งบริษัทถือหุ้นอยู่ 100%

ปี 2551 ล้านบาท %

รายงานประจำ�ปี 2553

412 407 -

8% 7% -

504 9

9% -

224

4%

612

11%

486 -

9% -

638

12%

300 4 6 10 145 146 684 67

6% 3% 3% 13% 1%

590 173 173 -

11% 3% 3% -

3 5,420 100%

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

15


รายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ ทีป่ รากฏในงบการเงินรวมของบริษทั เป็นรายได้รวมจากโครงการทีด่ ำ� เนินงานภายใต้ บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำนวน 4,715 ล้านบาท จ�ำนวน 4,067 ล้านบาท และจ�ำนวน 5,849 ล้านบาท ในปี 2551 - 2553 ตามล�ำดับ และเป็นรายได้จากบริษัทย่อย จ�ำนวน 705 ล้านบาท จ�ำนวน 1,006 ล้านบาท และจ�ำนวน 1,154 ล้านบาท ในปี 2551 - 2553 ตามล�ำดับ โครงสร้างรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย จ�ำแนกตามผลิตภัณฑ์ ชื่อโครงการ

ลักษณะ โครงการ

ปี 2553 ล้านบาท %

ปี 2552 ล้านบาท %

ปี 2551 ล้านบาท %

เมโทร พาร์ค เมโทร พาร์ค สาทร รายได้จากการขายหน่วยใน อาคารชุดพักอาศัย รวม

คอนโด

778

100%

779

100%

2,109

100%

778

100%

779

100%

2,109

100%

รายได้จากการขายบ้านหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยทีป่ รากฏในงบการเงินรวมของบริษทั ในปี 2551 - 2553 เป็นรายได้รวมจาก โครงการทีด่ ำ� เนินงานภายใต้ บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำนวน 2,109 ล้านบาท 779 ล้านบาท และ 778 ล้านบาท ตามล�ำดับ

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญระหว่างปี 2551-2553 ปี 2551 :

16

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2551 วันที่ 30 เมษายน 2551 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • อนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้ทุกประเภทและรูปแบบ (มีหลักประกันหรือไม่มีหลักประกัน) ภายใน วงเงินไม่เกิน 2,000 ล้านบาท อายุไม่เกิน 5 ปี เสนอขายภายในประเทศต่อประชาชนทัว่ ไป และ/หรือนัก ลงทุนประเภทสถาบัน และ/หรือ นักลงทุนเฉพาะเจาะจง ทั้งหมดหรือบางส่วน ทั้งภายในประเทศและ/ หรือต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำเงินที่ได้จากการเสนอขายไปซื้อที่ดินพัฒนาโครงการ ช�ำระ หนี้ที่มีต้นทุนทางการเงินสูง และเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท • 21 มกราคม 2551 บริษทั ได้จดั ตัง้ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค (“กองทุนฯ”) มูลค่า หน่วยลงทุนของกองทุนฯ มีจำ� นวน 520 ล้านบาท โดยเป็นการลงทุนซือ้ ทีด่ นิ และบ้านพักอาศัยประเภท บ้านเดีย่ ว 2 ชัน้ จ�ำนวน 64 หลัง และประกันรายได้ขนั้ ต�ำ่ เป็นระยะเวลา 5 ปี นอกจากนัน้ บริษทั ได้ลงทุน ในกองทุนฯ ในสัดส่วนร้อยละ 5.73 ของมูลค่าหน่วยลงทุน และเพิ่มการลงทุนในกองทุนฯ เป็นสัดส่วน ร้อยละ 6.24 (ณ 31 ธันวาคม 2551)

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2551 วันที่ 20 มิถุนายน 2551 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • ให้บริษัทยกเลิกการออกและเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญในส่วนที่เหลือจ�ำนวน 15 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา ตามที่เคยได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทครั้งที่ 1/2548 เมื่อ วันที่ 19 กันยายน 2548 • ยกเลิกการออกและจัดสรรหุ้นสามัญจ�ำนวน 39,000,000 หุ้นที่ได้ส�ำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิซื้อหุ้น สามัญของผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่บริษัทออกและเสนอขายให้แก่กรรมการ และ/หรือ พนักงานของ บริษัทตามโครงการ ESOP • ลดทุนจดทะเบียนจากทุนจดทะเบียนเดิม 6,213.56 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียน 5,589.56 ล้านบาท คิดเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 931.59 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท • อนุมัติการออกและเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญของบริษัทในวงเงินไม่เกิน 30 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา หรือเทียบเท่าเงินบาทไทยเป็นจ�ำนวนเงินไม่เกิน 1,000 ล้านบาท อายุหุ้นกู้แปลงสภาพ ไม่เกิน 5 ปี เพื่อเสนอขายผู้ลงทุนประเภทสถาบันต่างประเทศ หรือ ผู้ลงทุนประเภทสถาบันในประเทศ • เพิม่ ทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม 5,589.56 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียน 6,552.00 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จ�ำนวน 160.40 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิ แปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญตามที่ที่ประชุมวิสามัญที่มีมติอนุมัติไว้แล้ว

ปี2552 : ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2552 วันที่ 30 เมษายน 2552 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้จัดสรรก�ำไรส่วนหนึ่งเป็นเงินส�ำรองตามกฎหมาย จ�ำนวน 40 ล้านบาทและ อนุมัติจ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.36 บาท รวมเป็นเงิน 283,579,783.20 บาท โดยก�ำหนดรายชื่อ ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับเงินปันผลในวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 (Record Date) และให้รวบรวมรายชื่อผู้ ถือหุ้นตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยวิธีปิดสมุด ทะเบียนในวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินปันผล และบริษัทจะจ่ายเงินปันผลภายใน วันที่ 30 พฤษภาคม 2552 • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้บริษัทจ่ายเงินค่าตอบแทนพิเศษ(โบนัส)ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2551 ให้ แก่คณะกรรมการบริษทั ในวงเงินไม่เกิน 15 ล้านบาท โดยมอบหมายให้ประธานกรรมการเป็นผูพ้ จิ ารณา จัดสรรเงินค่าตอบแทน • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติเลือกตั้งให้ • นายวิทยา เนติววิ ฒ ั น์ และนางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา และนายออย บูนอัน ซึง่ เป็นกรรมการทีอ่ อก จากต�ำแหน่งตามก�ำหนดวาระ กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัทใหม่อีกวาระหนึ่ง • นายสมศักดิ์ โตรักษา ซึง่ เป็นกรรมการทีอ่ อกจากต�ำแหน่งตามวาระในครัง้ นีก้ ลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ โดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเวลา 3 ปี นับ แต่วันที่ได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2552 เป็นต้นไป • ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินค่าตอบแทนในรูปเบีย้ ประชุมให้แก่คณะกรรมการบริษทั ประจ�ำ ปี 2552 ภายในวงเงินไม่เกิน 7.5 ล้านบาท • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติแต่งตั้งให้ผู้สอบบัญชีของบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด โดย นายณรงค์ พันตาวงษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3315 และ/หรือนางสาวทิพวัลย์ นานานุ วัฒน์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตทะเบียนเลขที่ 3459 และ/หรือนางสาวศิราภรณ์ เอือ้ อนันต์กลุ ผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3844 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจ�ำปี 2552 และก�ำหนดเงินค่าตอบแทน ให้ผู้สอบบัญชีภายในวงเงินไม่เกิน1.65 ล้านบาท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2552 วันที่ 14 สิงหาคม 2552 • มีมติให้บริษัทออกตั๋วแลกเงินระยะสั้น (Bill of Exchange) เสนอขายแก่นักลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนราย ใหญ่ หรือนักลงทุนทัว่ ไป ซึง่ ตัว๋ จะมีอายุไม่เกิน 1 ปี มูลค่าไม่เกิน 1,000 ล้านบาท ในอัตราดอกเบีย้ ตาม ภาวะตลาดในช่วงที่ท�ำการเสนอขาย เพื่อเพิ่มแหล่งเงินทุนในการด�ำเนินงานของบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

17


ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2552 วันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 • มีมติให้บริษทั ออกตัว๋ แลกเงินระยะสัน้ เพิม่ เติม(Bill of Exchange) เสนอขายแก่นกั ลงทุนสถาบัน ผูล้ งทุน รายใหญ่ หรือนักลงทุนทั่วไป ซึ่งตั๋วจะมีอายุไม่เกิน 1 ปี มูลค่าไม่เกิน 1,000 ล้านบาท ในอัตราดอกเบี้ย ตามภาวะตลาดในช่วงที่ท�ำการเสนอขาย เพื่อเพิ่มแหล่งเงินทุนในการด�ำเนินงานของบริษัท • มีมติเพิ่มเงินลงทุนในหุ้นสามัญบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) จ�ำนวน 499 ล้านบาทแบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 4,990,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เพื่อเป็นการรักษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทย่อย ปี 2553 : ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1 / 2553 วันที่ 22 มกราคม 2553 • มีมติให้บริษทั ลงทุนในหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด จ�ำนวน 20 ล้านหุน้ ในราคา หุน้ ละ 10 บาท รวม 200 ล้านบาทเพือ่ เป็นการรักษาสัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั เอสเตทเพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด และให้น�ำเงินเพิ่มทุนจ�ำนวน 200 ล้านบาทมาช�ำระหนี้ (แปลงหนี้เป็นทุน)ให้แก่บริษัท • มีมติยกเลิกการร่วมทุนของ Timberline Investments Pte Ltd ในบริษทั เซ็นเตอร์พอยท์ ช็อปปิง้ มอลล์ จ�ำกัด(บริษทั ย่อย) โดยบริษทั ซือ้ หุน้ จ�ำนวน 4,000 หุน้ ในราคาหุน้ ละ100 บาท รวมเป็นจ�ำนวนเงิน 400,000 บาท จาก Timberline Investment Pte Ltd และเมือ่ รวมกับหุน้ ทีบ่ ริษทั ถือไว้เดิมจ�ำนวน 5,999 หุน้ ท�ำให้ บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท เซ็นเตอร์พอยยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด จ�ำนวน 9,998 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทเซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด • มีมติให้บริษทั ลงทุนหุน้ สามัญเพิม่ ทุนในบริษทั เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ช็อปปิง้ มอลล์ จ�ำกัด( บริษทั ย่อย) จ�ำนวน 4.99 ล้านหุ้น ในราคาหุ้นละ100 บาท รวม 499 ล้านบาท โดยช�ำระค่าหุ้นเพิ่มทุนครั้งแรก 50% คิดเป็น จ�ำนวนเงิน 249.5 ล้านบาท • มีมติให้ซื้อหุ้นทั้งหมดของบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด ที่มีทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท ใน ราคา 504 ล้านบาท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2 / 2553 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 • มีมติยกเลิกการออกและเสนอขายหุน้ กูใ้ นส่วนทีเ่ หลือจ�ำนวน 80 ล้านบาท ทีไ่ ด้ออกตามมติของทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2551 ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2553 วันที่ 30 เมษายน 2553 มีมติอนุมัติ ดังนี้ • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้จัดสรรก�ำไรส่วนหนึ่งเป็นเงินส�ำรองตามกฎหมาย จ�ำนวน 20 ล้านบาทและ อนุมัติจ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.25 บาท รวมเป็นเงิน 196,931,030 บาท โดยก�ำหนดรายชื่อผู้ถือ หุ้นที่มีสิทธิได้รับเงินปันผลในวันที่ 17 พฤษภาคม 2553 (Record Date) และให้รวบรวมรายชื่อผู้ถือ หุ้นตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยวิธีปิดสมุด ทะเบียนในวันที่ 18 พฤษภาคม 2553 เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินปันผล และบริษัทจะจ่ายเงินปันผลภายใน วันที่ 27 พฤษภาคม 2553 • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้บริษัทจ่ายเงินค่าตอบแทนพิเศษ(โบนัส)ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2552 ให้ แก่คณะกรรมการบริษัทในวงเงินไม่เกิน 7.5 ล้านบาท • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติเลือกตั้งให้ • นายไพรัตน์ เสนาจักร และนายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน ซึ่งเป็นกรรมการที่ออกจากต�ำแหน่ง ตามก�ำหนดวาระ กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัทใหม่อีกวาระหนึ่ง • นายวีระยุค พันธุเพชร และนางเนือ้ นวล สวัสดิกลุ ณ อยุธยา ซึง่ เป็นกรรมการทีอ่ อกจากต�ำแหน่ง ตามวาระในครั้งนี้กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ กรรมการอิสระ โดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นเวลา 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับการเลือกตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2553เป็นต้นไป • นายกฤช ฟอลเล็ต เข้าเป็นกรรมการและกรรมการอิสระของบริษัทเพิ่มเติม • ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินค่าตอบแทนในรูปเบีย้ ประชุมให้แก่คณะกรรมการบริษทั ประจ�ำ ปี 2552 ภายในวงเงินไม่เกิน 7.5 ล้านบาท • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติแต่งตั้งให้ผู้สอบบัญชีของบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด โดย นางสาวทิพวัลย์ นานานุวัฒน์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3459 และ/หรือ นายกฤษดา เลิศ วนา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4958 และ/หรือ นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3844 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจ�ำปี 2553 และก�ำหนดเงินค่าตอบแทน ให้ผู้สอบบัญชีภายในวงเงินไม่เกิน 1.7 ล้านบาท 18

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


• ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ออกและเสนอขายหุน้ กูท้ กุ ประเภทและทุกรูปแบบ(มีหลักประกันหรือ ไม่มหี ลักประกัน) ภายในวงเงิน ไม่เกิน 4,000 ล้านบาท และ/หรือเงินสกุลอืน่ ในจ�ำนวนเทียบเท่า อายุไม่ เกิน 5 ปี นับแต่วนั ออกหุน้ กูใ้ นแต่ละคราว (รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 21 หุน้ กู้ )

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3 / 2553 วันที่ 10 พฤษภาคม 2553 • มีมติให้บริษทั ออกตัว๋ แลกเงินระยะสัน้ เพิม่ เติม (Revolving Amount) ภายหลังจากทีบ่ ริษทั ได้ไถ่ถอนหรือ ช�ำระคืนเงินต้นของตัว๋ แลกเงินระยะสัน้ ทีไ่ ด้ออกไปแล้ว โดยก�ำหนดให้จำ� นวนคงเหลือขณะใดขณะหนึง่ (Outstanding) ของตั๋วแลกเงินระยะสั้น จะต้องไม่เกินวงเงิน 2,000 ล้านบาท • มีมติให้บริษัทเข้าท�ำสัญญาค�้ำประกันหนี้สินเชื่อโครงการของบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ในวงเงิน 870 ล้านบาท • มีมติให้สัตยาบันการเข้าท�ำสัญญาค�้ำประกันหนี้สินเชื่อโครงการของบริษัทเอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) กับสถาบันการเงิน 3 โครงการรวมวงเงินสินเชื่อ 1,235 ล้านบาท และวงเงินหนังสือค�้ำ ประกัน (L/G)สาธารณูปโภคและบ�ำรุงรักษาโครงการกับสถาบันการเงิน โดยเป็นวงเงินร่วมกันกับบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ บริษทั ในฐานะผูถ้ อื หุน้ ใหญ่เข้าค�้ำประกันหนีอ้ ย่างลูกหนีร้ ว่ ม ในวงเงิน 200 ล้านบาท

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4 / 2553 วันที่ 10 สิงหาคม 2553 • มีมติให้บริษทั ไถ่ถอนคืนหุน้ กูม้ ปี ระกันของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2552 ซึง่ ครบก�ำหนดไถ่ถอน พ.ศ. 2555 ก่อนวันครบก�ำหนดได้ โดยให้บริษทั จ่ายค่าตอบแทนในการไถ่ถอนคืน หุ้นกู้ก่อนครบก�ำหนดในอัตราไม่เกินหน่วยละ 1,050 บาท • มีมติอนุมัติวงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 500 ล้านบาท แก่บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (บริษัท ย่อย) เพื่อวัตถุประสงค์ในการซื้อที่ดิน และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินแบบ มีก�ำหนดระยะเวลาคืนให้แก่บริษัท ในอัตราดอกเบี้ยเท่ากับต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทบวก ส่วนต่างร้อยละ 0.65 ต่อปี • มีมติอนุมัติวงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 100 ล้านบาทแก่บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด (บริษัทย่อย)เพื่อ วัตถุประสงค์ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินแบบมีก�ำหนดระยะเวลาคืนให้แก่ บริษัท ในอัตราดอกเบี้ยเท่ากับต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทบวกส่วนต่างร้อยละ 0.65 ต่อปี

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

19


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

1. ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

20

ก)

รายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นของบริษัทที่ถือหุ้นสูงสุด 10 อันดับแรก ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 ปรากฏดังนี้

ล�ำดับ รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรก 1 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด 2 บริษัท แจแปนเอเชีย กรุ๊ป จ�ำกัด (1) 3 น.ส. สุมนมาศ ลิปิสุนทร 4 บริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จ�ำกัด (2) 5 บริษัท ส�ำนักกฎหมายนทีอินเตอร์แนทชั่นแนล จ�ำกัด (3) 6 บริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด (4) 7 บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จ�ำกัด 8 นางสีดา วตะผาบ 9 นายมหินทร์ ปราชญานันต์ 10 นางสาวสุมาลี หวังประกอบสุข แหล่งที่มา: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

จ�ำนวน (หุ้น) 108,818,126 97,244,168 56,569,089 45,910,827 37,018,928 36,778,700 17,345,000 17,000,000 15,016,900 14,667,255

ร้อยละ 13.81 12.34 7.18 5.83 4.70 4.67 2.20 2.16 1.91 1.86


หมายเหตุ (1) บริษัท แจแปนเอเชีย กรุ๊ป จ�ำกัด ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท เนื่องจากเป็นเจ้าหนี้บริษัทตามแผนฟื้นฟู กิจการ และได้ด�ำเนินการแปลงหนี้เป็นทุนตามขั้นตอนในแผนฟื้นฟูกิจการ โดยบริษัท แจแปนเอเชีย กรุ๊ป จ�ำกัด เป็นบริษัทจดทะเบียนในประเทศ บริติช เวอร์จิน ไอร์แลนด์ ซึ่งเป็นประเทศอาณานิคมของประเทศ สหราชอาณาจักร ประกอบธุรกิจด้านการเงิน และลงทุนในธุรกิจต่างๆ ทัง้ นี้ กฏหมายของประเทศดังกล่าว ไม่ อนุญาตให้บุคคลภายนอกขอทราบข้อมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียน ในส่วนที่เกี่ยวกับผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน และผลการด�ำเนินงาน โดยจะทราบเพียงแต่กรรมการที่มีอ�ำนาจกระท�ำการแทน บริษัท แจแปนเอเชีย กรุ๊ป จ�ำกัด คือ STAR MARK ENTERPRISES LIMITED และจากการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถือหุ้นใหญ่จาก บริษัท แจแปนเอเชีย กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัทได้ทราบว่า ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (Ultimate Shareholder) คือ นางไว ชิง ชุง ( Mrs. Wai Ching Chung) ซึง่ มีภมู ลิ ำ� เนาอยูใ่ นเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ทัง้ นี้ บริษทั และบริษทั แจแปนเอเชีย กรุป๊ จ�ำกัด ไม่มคี วามสัมพันธ์กนั ในลักษณะของการมีผถู้ อื หุน้ ใหญ่กลุม่ เดียวกัน การมีกรรมการหรือเจ้าหน้าทีบ่ ริหารร่วมกัน และการมีความสัมพันธ์ในลักษณะ nominee account (2)

บริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จ�ำกัด ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท เนื่องจากเป็นเจ้าหนี้บริษัทตามแผน ฟืน้ ฟูกจิ การ และได้ดำ� เนินการแปลงหนีเ้ ป็นทุนตามขัน้ ตอนในแผนฟืน้ ฟูกจิ การ โดยบริษทั เอ็มเจแอล อินเตอร์ เทรด จ�ำกัด ประกอบธุรกิจ Holding Company และลงทุนในธุรกิจ และมีรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ตามแบบส�ำเนาราย ชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ของกระทรวงพาณิชย์ (“ แบบ บอจ.5”) ประกอบด้วย 2 กลุม่ ใหญ่ ได้แก่ 1) กลุม่ ตระกูลอัศวินทรา งกูร ถือหุ้นในสัดส่วนประมาณร้อยละ 79.80 ของทุนจดทะเบียน ซึ่งเป็นการถือหุ้นโดย นายชัยวัฒน์ อัศวิน ทรางกูร ร้อยละ 40, นายชัยยงค์ อัศวินทรางกูร ร้อยละ 29.8, นางอ�ำไพ อัศวินทรางกูร ร้อยละ 5 และนางกิตติ มา อัศวินทรางกูร ร้อยละ 5 และ 2) กลุม่ ตระกูลวัชโรทัย โดย นายวัชรกิตติ วัชโรทัย ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 20 ของทุนจดทะเบียน

แต่ทั้งนี้หากพิจารณาตามรายชื่อผู้ถือหุ้นที่แท้จริง (Ultimate Shareholder) ตามที่บริษัทจึงได้ท�ำหนังสือ สอบถามไปยัง บริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จ�ำกัด และได้รับการชี้แจงว่า กลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จ�ำกัด ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ถือหุ้นอันดับที่ 1 ได้แก่ กลุ่มตระกูลวัชโรทัย โดย นายวัชรกิตติ วัชโรทัย ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 60 ของทุนจดทะเบียน และกลุ่มผู้ถือหุ้นอันดับที่ 2 ได้แก่ กลุ่มตระกูลอัศวินทรางกูร ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียน โดยบริษัทและบริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จ�ำกัด ไม่มคี วามสัมพันธ์กนั ในลักษณะของการมีผถู้ อื หุน้ ใหญ่กลุม่ เดียวกัน การมีกรรมการหรือ เจ้าหน้าที่บริหารร่วมกัน และการมีความสัมพันธ์ในลักษณะ nominee account

(นอกจากนี้ นาย ชัยวัฒน์ อัศวินทรางกูร ถือหุ้น บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ในนามส่วน ตัว จ�ำนวน 10,000 หุ้น ซึ่งไม่ได้รวมอยู่ในการถือหุ้นของบริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จ�ำกัด)

(3)

บริษทั ส�ำนักกฏหมาย นทีอนิ เตอร์แนทชัน่ แนล จ�ำกัด ได้เข้ามาเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ในฐานะตัวแทนเจ้าหนี้ ทีม่ สี ทิ ธิโดยชอบตามแผนฟืน้ ฟูกจิ การของบริษทั เนือ่ งจากตามแผนฟืน้ ฟูกจิ การของบริษทั ได้มเี งือ่ นไขทีบ่ ริษทั ปฏิบตั กิ อ่ นการยกเลิกการฟืน้ ฟูกจิ การ (การออกจากแผนฟืน้ ฟู) ว่า บริษทั จะต้องด�ำเนินการออกหุน้ สามัญให้ กับเจ้าหนีท้ มี่ สี ทิ ธิแปลงหนีเ้ ป็นทุนให้ครบถ้วนก่อนการขอยกเลิกการฟืน้ ฟูกจิ การ ปรากฏว่ามีเจ้าหนีร้ ายหนึง่ ตามแผนฟื้นฟูกิจการ ซึ่งมีสิทธิแปลงหนี้เป็นทุน และมีสิทธิจะได้รับหุ้นสามัญของบริษัทเพื่อช�ำระหนี้ โดยมี ผู้โต้แย้งว่าได้รับโอนสิทธิเรียกร้องจากเจ้าหนี้ดังกล่าวรวม 2 ราย คือ บริษัท โลเวส พาร์ทเนอร์ อินเวสเม้นท์ จ�ำกัด และบริษทั กลอรีบ่ าย แอสโซซิเอทส์ จ�ำกัด และได้ยนื่ ค�ำร้องต่อศาลล้มละลายกลาง เพือ่ ขอให้วนิ จิ ฉัย รับรองสิทธิของตน บริษัทจึงตกลงให้บริษัท ส�ำนักงานกฏหมายนทีอินเตอร์แนทชั่นแนล จ�ำกัด เป็นตัวแทนผู้ ถือหุ้นแทนเจ้าหนี้ที่แท้จริง และก�ำหนดให้ส�ำนักงานกฏหมายนทีฯ น�ำหุ้นที่ได้รับแทนเจ้าหน้าที่ไปวางไว้ต่อ ส�ำนักงานวางทรัพย์ โดยได้แจ้งเจตนาต่อเจ้าพนักงานวางทรัพย์ว่า เมื่อศาลล้มละลายกลางได้มีค�ำวินิจฉัย ว่าหุ้นดัวกล่าวเป็นสิทธิเรียกร้องรายใดอันชอบด้วยกฏหมายแล้ว ก็ให้เจ้าพนักงานวางทรัพย์ส่งมอบหุ้นให้ผู้ เรียกร้องรายนัน้ ๆ โดย บริษทั ส�ำนักงานกฏหมายนทีอนิ เตอร์แนทชัน่ แนล จ�ำกัด ประกอบธุรกิจให้บริการทาง กฏหมาย รับจ้างว่าความและรับจ้างท�ำบัญชี รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

21


22

อย่างไรก็ตาม เมือ่ วันที่ 25 ตุลาคม 2548 ศาลล้มละลายกลางได้มคี ำ� พิพากษาให้ บริษทั กลอรีบ่ าย แอสโซซิ เอทส์ จ�ำกัด เป็นเจ้าหนีผ้ สู้ วมสิทธิเข้ารับช�ำระหนีแ้ ทนเจ้าหนีด้ งั กล่าว และมีสทิ ธิทจี่ ะได้รบั หุน้ สามัญดังกล่าว ตามค�ำพิพากษาของศาลล้มละลายกลาง แต่ขณะนี้คดีดังกล่าวมีการอุทธรณ์ และยังไม่มี ค�ำพิพากษาถึงที่ สุด ท�ำให้บริษัท กลอรี่บาย แอสโซซิเอทส์ จ�ำกัด ยังไม่มีรายชื่ออยู่ในฐานะผู้ถือหุ้นทางทะเบียนของบริษัท เนือ่ งจากยังไม่ได้เข้าขอรับเอาหุน้ จากเจ้าพนักงานวางทรัพย์ โดยบริษทั กลอรีบ่ าย แอสโซซิเอทส์ จ�ำกัด เป็น บริษัทจดทะเบียนในประเทศซามัว ประกอบธุรกิจด้านการลงทุนในธุกิจต่างๆ มีกรรมการบริษัทและผู้บริหาร คือ UNITED CONTINENTAL INVESTORS LIMITED ทัง้ นีบ้ ริษทั และบริษทั กลอรีบ่ าย แอสโซซิเอทส์ จ�ำกัด ไม่มคี วามสัมพันธ์กนั ในลักษณะของการมีผถู้ อื หุน้ ใหญ่กลุม่ เดียวกัน การมีกรรมการหรือเจ้าหน้าทีบ่ ริหารร่วม กัน และการมีความสัมพันธ์ในลักษณะ nominee account

จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2554 ยังปรากฎชื่อผู้ถือหุ้นดังกล่าวอยู่

(4)

บริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด มีผู้ถือหุ้นใหญ่ได้แก่ บริษัท รีสอร์ท โฮลดิ้ง จ�ำกัด ซึ่งถือหุ้นอยู่ ร้อยละ 100 และ ในบริษัท รีสอร์ท โฮลดิ้ง จ�ำกัด มีผู้ถือหุ้นใหญ่ 2 รายได้แก่ Wahkit Finance Limited (ซึ่ง เป็นบริษัทจดทะเบียนในต่างประเทศ โดยทางบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับแจ้งจาก ผู้บริหารของบริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด (“บริษัทอันดามัน”) ว่า บริษัทอันดามันได้สอบถามจาก ผู้ถือหุ้นใหญ่และได้รับแจ้งว่า ผู้ถือหุ้นใหญ่ทางอ้อม (Wahkit Finance Limited) มิได้มีความเกี่ยวข้องกับ บริษัท แจแปนเอเชีย กรุ๊ป จ�ำกัด และ/หรือ บริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จ�ำกัด และ/หรือบริษัท ส�ำนัก กฏหมาย นทีอินเตอร์แนทชั่นแนล จ�ำกัด และ/หรือ บริษัท ฟินันซ่าประกันชีวิต จ�ำกัด รวมถึงนางสาว สุมนมาศ ลิปสิ นุ ทร และ/หรือนางสีดา วตะผาบ และ/หรือนายมหินทร์ ปราชญานันต์ และ/หรือนางสาวสุมาลี หวังประกอบสุข แต่อย่างใด) ถือหุ้นร้อยละ 45 และ นายเมธี ตันมานะตระกูล ถือหุ้นร้อยละ 45 ของทุนจด ทะเบียน และ นายชัยวัฒน์ อัศวินทรางกูร ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 10 ทั้งนี้ นายชัยวัฒน์ อัศวินทรางกูร หรือ นาย เมธี ตันมานะตระกูล เป็นผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพัน ในบริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท และ บริษัท รีสอร์ท โฮ ลดิ้ง จ�ำกัด (นายชัยวัฒน์ อัศวินทรางกูร เป็น Ultimate Shareholder ของ บริษัท เอ็มเจแอล อินเตอร์เทรด จ�ำกัด ซึ่งถือหุ้น บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวนร้อยละ 5.83) ทั้งนี้บริษัทและบริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด ไม่มีความสัมพันธ์กันในลักษณะของการมีผู้ถือหุ้นใหญ่กลุ่มเดียวกัน การมี กรรมการหรือเจ้าหน้าที่บริหารร่วมกัน และการมีความสัมพันธ์ในลักษณะ nominee account

(นอกจากนีย้ งั มี นางวิภา ตันมานะตระกูล ถือหุน้ บริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ในนามส่วน ตัว จ�ำนวน 487,200 หุ้น ซึ่งไม่ได้รวมอยู่ในการถือหุ้นของบริษัท อันดามัน ลองบีช รีสอร์ท จ�ำกัด)

จากข้อมูลทีบ่ ริษทั ได้รบั จากผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ทเี่ กีย่ วข้อง บริษทั ขอรับรองว่าได้นบั การถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องและ ผู้ถือหุ้นที่อยู่ภายใต้ผู้มีอ�ำนาจควบคุมเดียวกัน เป็นกลุ่มเดียวกันแล้ว

ข) จ�ำนวนหุ้นหรือผลกระทบต่อสิทธิในการออกเสียงของผู้ถือหุ้นจากการออก NVDR จากข้อมูลผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทที่ถือหุ้นผ่านบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 มีจ�ำนวน 108,818,126 หุ้น คิดเป็นร้อยละ13.81 ของหุ้นสามัญที่ช�ำระแล้ว และเนื่องด้วยหุ้นสามัญของบริษัทที่ถือโดย บริษัท ไทยเอ็นวีดอี าร์ จ�ำกัด ไม่สามารถใช้สทิ ธิออกเสียงในการประชุมผูถ้ อื หุน้ (เว้นแต่กรณีการใช้สทิ ธิการออกเสียงเพือ่ ลง มติเกีย่ วกับการเพิกถอนหุน้ ออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ) เป็นผลท�ำให้ ผู้ถือหุ้นในส่วนที่ไม่ใช่หุ้นที่ถือโดย บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด มีสิทธิในการออกเสียงเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.03 ทั้งนี้ใน การตรวจสอบจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื หุน้ ผ่านบริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จ�ำกัด ล่าสุดของบริษทั สามารถตรวจสอบได้จากเว็บไซต์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ www.set.or.th

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


2. การจัดการ

โครงสร้างการจัดการ ปัจจุบัน โครงสร้างการจัดการของบริษัท ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัท 1 คณะ และคณะอนุกรรมการ 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และ คณะกรรมการบริหาร รวม 6 คณะ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ 1 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่าน ดังนี้ ล�ำดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

รายชื่อ ดร.ธวัชชัย นาคะตะ นายวีระยุค พันธุเพชร นายชายนิด โง้วศิริมณี นายไพรัตน์ เสนาจักร์ นายวิทยา เนติวัวัฒน์ นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา นายออย บูน อัน นายสมศักดิ์ โตรักษา ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา นายกฤช ฟอลเล็ต*

ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ

โดยมี นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท หมายเหตุ * นายกฤช ฟอลเล็ต ได้เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ตามมติทปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2553 วันที่ 30 เมษายน 2553 กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทประกอบด้วย 1. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ลงลายมือชื่อร่วมกับ นายชายนิด โง้วศิริมณี และประทับตราส�ำคัญของบริษัท 2. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ หรือ นายชายนิด โง้วศิริมณี ลงลายมือชื่อร่วมกับ นายไพรัตน์ เสนาจักร์ หรือ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา รวมเป็นสองคน และประทับตราส�ำคัญของบริษัท 3. ดร.ธวัชชัย นาคะตะ หรือ นายชายนิด โง้วศิริมณี หรือ นายไพรัตน์ เสนาจักร์ หรือ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา ลงลายมือชื่อและประทับตราส�ำคัญของบริษัท เฉพาะในเรื่องดังต่อไปนี้ (1.) กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานราชการในสังกัดกระทรวงพาณิชย์ (2.) กรมสรรพากรและหน่วยงานราชการในสังกัดกรมสรรพากร (3.) กรมที่ดินและหน่วยงานราชการในสังกัดกรมที่ดิน (4.) กรมโยธาธิการและผังเมืองและหน่วยงานราชการในสังกัดกรมโยธาธิการและผังเมือง (5.) กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาและหน่วยงานราชการในสังกัดกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา (6.) เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนต�ำบล (7.) หน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานเอกชนใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการน�้ำประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ไปรษณีย์ และอินเตอร์เน็ต ให้กรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราส�ำคัญของบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

23


ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือทีป่ ระชุมคณะกรรมการอาจก�ำหนดชือ่ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนามผูกพันบริษทั พร้อมประทับตรา ส�ำคัญของบริษัทได้ อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั เป็นผูม้ อี ำ� นาจหน้าทีใ่ นการตัดสินใจ และดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติประชุมผู้ถือหุ้น และกฎหมาย เว้นแต่การตัดสินใจหรือการด�ำเนินงานในเรื่องที่ตามกฎหมาย ประกาศ และข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก�ำหนด ให้ต้องรับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนจึงจะ ด�ำเนินการได้ โดยที่ข้อบังคับของบริษัทได้ให้อ�ำนาจคณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร เพื่อท�ำหน้าที่ ควบคุมการดูแลกิจการรายวันของบริษทั ให้เป็นไปตามแนวนโยบายและงบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ บริษัทและกิจการอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ซึ่งได้แก่ การอนุมัติการด�ำเนินงานตามขอบเขตอ�ำนาจที่ คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ไว้ และการกลัน่ กรองเรือ่ งใดๆ ทีอ่ ยูน่ อกเหนือขอบเขตอ�ำนาจของตนเพือ่ เข้าสูก่ ารพิจารณา ของคณะกรรมการบริษทั นอกจากนี้ ข้อบังคับได้ให้อำ� นาจคณะกรรมการบริษทั มีสทิ ธิแต่งตัง้ เจ้าหน้าที่ หรือคณะท�ำ งานอื่นๆ เพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการในการบริหารงานได้ด้วย

2 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้

24

ล�ำดับ รายชื่อ ต�ำแหน่ง 1 นายกฤช ฟอลเล็ต ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2 นายสมศักดิ์ โตรักษา กรรมการตรวจสอบ 3 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย* กรรมการตรวจสอบ โดยมี นางสาวดวงพร เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ * เป็นกรรมการที่มีความรู้และประสบการณ์ทางด้านสาขาบัญชี (ดูได้จากประวัติกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท)

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัท ให้มีการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และรับผิดชอบต่อผู้ ถือหุ้นของบริษัท 2. ด�ำเนินการให้เป็นที่มั่นใจว่า กรรมการบริหาร และผู้บริหารของบริษัทได้บริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายของ บริษัทอย่างถูกต้อง ครบถ้วนและมีมาตรฐาน 3. ดูแลรายงานทางการเงินของบริษทั ให้ตรงต่อความเป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอและเชือ่ ถือได้ ตลอดจนมีการเปิดเผย ข้อมูลทีค่ รบถ้วนและเพียงพอโดยการประสานงานกับผูส้ อบบัญชีภายนอก และผูบ้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบจัดท�ำรายงาน ทางการเงิน ทัง้ รายไตรมาสและประจ�ำปี หรือตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั และ/หรือคณะกรรมการบริหารร้องขอ 4. ดูแลให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยการสอบทานร่วมกับผู้ตรวจสอบ ภายในและผู้สอบบัญชี 5. พิจารณาคัดเลือกผูส้ อบบัญชีและก�ำหนดค่าตอบแทน แล้วเสนอต่อคณะกรรมการเพือ่ ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้น โดยค�ำนึงถึงความน่าเชื่อถือ ความเพียงพอของทรัพยากรบุคคล ปริมาณการสอบบัญชีของส�ำนักงานตรวจ สอบบัญชี รวมถึงประสบการณ์ของบุคลากรที่ได้รับมอบหมายให้ท�ำการตรวจสอบบัญชีบริษัท 6. ดูแลให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของกฎหมาย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 7. ดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยการสอบทานการท�ำรายการระหว่างกันของบุคคลที่เกี่ยวข้อง กัน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี รวมถึงพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยว โยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน 8. จัดท�ำรายงานการก�ำกับดูแลของคณะกรรมการตรวจสอบและเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท โดยใน รายงานดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ • ความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดท�ำและการเปิดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงินของบริษัทถึงความ ถูกต้องครบถ้วนและเชื่อถือได้ • ความเห็นถึงความพอเพียงของระบบการควบคุมภายในของบริษัท • เหตุผลที่เชื่อว่า ผู้สอบบัญชีของบริษัทมีความเหมาะสมที่จะได้รับแต่งตั้งต่อไปอีกวาระหนึ่ง • ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • รายงานอื่นใดที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 9. พิจารณาแผนงานการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน 10. สอบทานหลักฐานการตรวจสอบภายใน หากพบหรือสันนิษฐานว่าอาจมีการทุจริตเกิดขึ้น ตลอดจนถึงความ บกพร่องหรือไม่เพียงพอของระบบการควบคุมภายในและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา 11. พิจารณาผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน ข้อเสนอแนะของผู้สอบบัญชี รวมถึงวิธีการติดตามผล 12. คณะกรรมการตรวจสอบมีอำ� นาจตรวจสอบ สอบทาน รวมทัง้ เชิญกรรมการบริหาร ผูบ้ ริหารทีเ่ กีย่ วข้อง ทีป่ รึกษา และผูส้ อบบัญชี มาเข้าร่วมประชุมเพือ่ รับทราบข้อมูลอันเป็นประโยชน์ รวมถึงแสวงหาความเห็นทีเ่ ป็นอิสระจาก ที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใด เมื่อเห็นว่าจ�ำเป็นด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท เพื่อให้การปฏิบัติงานภายใต้หน้าที่รับผิด ชอบส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี 13. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั มอบหมาย เช่น การทบทวนนโยบายการบริหารทางการเงินและ ความเสี่ยง ทบทวนการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางธุรกิจของผู้บริหาร

ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี หรือเท่ากับวาระทีค่ งเหลือในคณะกรรมการบริษทั และจะแต่งตั้งใหม่โดยคณะกรรมการบริษัทเมื่อครบก�ำหนดวาระ คุณสมบัติกรรมการอิสระ คุณสมบัติกรรมการอิสระเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ ทจ.28/2551 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ และเป็นไปตามคุณสมบัติกรรมการตรวจสอบตาม ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

25


3 คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ล�ำดับ รายชื่อ ต�ำแหน่ง 1 ดร. สมศักดิ์ โตรักษา ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ 2 นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา กรรมการสรรหาฯ 3 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการสรรหาฯ โดยมี นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาฯ

26

อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท 1. คัดเลือกและสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมในการเป็นกรรมการบริษัทเพื่อเสนอชื่อผู้ได้รับการคัดเลือกต่อที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท และหรือน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขอมติแต่งตั้งต่อไป 2. การพิจารณาคัดสรรบุคคลดังกล่าว คณะกรรมการจะต้องพิจารณาถึงคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ รวมทั้ง ประสบการณ์ทเี่ กีย่ วข้องในการเป็นกรรมการบริษทั ซึง่ หัวข้อในการคัดสรรดังกล่าว จะต้องมีสว่ นทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อการด�ำเนินกิจการของบริษทั นอกจากนี้ คณะกรรมการยังต้องพิจารณาถึงคุณสมบัตขิ องผูท้ จี่ ะถูกเสนอชือ่ ดัง กล่าว จะต้องไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ คณะกรรมการจะต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติ ของผู้ที่จะเสนอชื่อเป็นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบเป็นพิเศษ 3. ในการคัดสรรผู้เข้าเสนอชื่อในต�ำแหน่งกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบนั้น คณะกรรมการสรรหาจะต้อง ค�ำนึงถึง (ก) ผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกต้องถือหุน้ ของบริษทั บริษทั ร่วม บริษทั ในเครือ หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันไม่เกินร้อย ละ 1 ของทุนช�ำระแล้วของแต่ละบริษทั ทัง้ นี้ การนับจ�ำนวนหุน้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เช่น คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วย (ข) ผู้ได้รับการเสนอชื่อต้องไม่ใช่ผู้เกี่ยวข้องหรือเป็นญาติสนิทของผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัท (ค) ผู้รับการคัดเลือกต้องไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงิน และการบริหารของบริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท (ง) ผู้ได้รับการเสนอชื่อต้องไม่ใช่ผู้ที่มีความสัมพันธ์กับบริษัท และบริษัทที่เกี่ยวข้องในลักษณะที่มีส่วน ได้เสีย หรือได้ผลประโยชน์ในด้านการเงิน หรือการบริหารงาน ทั้งในปัจจุบันและช่วง 2 ปีก่อนเป็น กรรมการอิสระ โดยลักษณะความสัมพันธ์ดังกล่าว - เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม - เป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ เช่น เป็นผูส้ อบบัญชี ทีป่ รึกษากฎหมาย ทีป่ รึกษาทางการเงิน หรือ ผู้ประเมินราคาทรัพย์สิน - เป็นผู้มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ เช่น ซื้อ/ขายสินค้าหรือบริการ ซื้อขายสินทรัพย์ ให้/รับความ ช่วยเหลือทางการเงิน เป็นต้น (จ) ในกรณีที่ผู้ได้รับการเสนอชื่อด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการอิสระของบริษัทอื่นในกลุ่ม จะต้องเปิดเผย ข้อมูลดังกล่าวและค่าตอบแทนที่ได้รับจากบริษัทนั้นด้วย (ฉ) ผู้ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ไม่ได้เป็นกรรมการใดๆ ในบริษัท อื่นในกลุ่มที่เป็นบริษัทจดทะเบียน 4. ผูไ้ ด้รบั การคัดสรรสามารถปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละแสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบตั งิ านตามหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบ หมายได้โดยอิสระ และไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท รวมทั้ง ผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ทัง้ นี้ การมอบหมายอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหานัน้ จะต้องไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบ อ�ำนาจ หรือ มอบอ�ำนาจช่วงทีท่ ำ� ให้กรรมการสรรหา หรือผูร้ บั มอบอ�ำนาจจากกรรมการสรรหา สามารถอนุมตั ริ ายการ ทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง (ตามทีน่ ยิ ามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อนื่ ใดกับบริษทั หรือ บริษทั ย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมตั ริ ายการที่ เป็นไปตามปกติธุรกิจที่มีการก�ำหนดขอบเขตชัดเจน

การน�ำเสนอชือ่ ผูไ้ ด้รบั การคัดสรรเพือ่ เสนอชือ่ ให้เป็นกรรมการบริษทั ต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั นัน้ คณะกรรมการ สรรหาฯ ต้องด�ำเนินการคัดสรรและเสนอชื่อบุคคลเพียงเท่าที่ จ�ำเป็นจะต้องแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทเท่านั้น เว้น แต่คณะกรรมการสรรหาฯไม่สามารถพิจารณาและตกลงกันในคณะกรรมการสรรหาฯได้ไม่ว่าเหตุใดๆ ก็ตาม คณะ กรรมการสรรหาฯ จึงสามารถน�ำเสนอชือ่ ผูอ้ ยูใ่ นข่ายการคัดสรรทัง้ หมดต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณาและมีมติเลือกผู้ได้รับการคัดสรรเอง

4 คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ ล�ำดับ รายชื่อ ต�ำแหน่ง 1 นายวีระยุค พันธุเพชร ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ 2 นายกฤช ฟอลเล็ต กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ 3 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ โดยมี นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เป็นเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ 1. พิจารณานโยบายและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ และที่ปรึกษาของบริษัท 2. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี การปรับเงินเดือนประจ�ำปี รวมทั้งการปรับเงินเดือนระหว่างปี รวมทั้งผล ประโยชน์อื่นอันเป็นการตอบแทนการท�ำงานของฝ่ายต่างๆ ของบริษัทและพนักงานทุกระดับ 3. พิจารณาระเบียบการจ้างงาน ระเบียบการท�ำงาน และพิจารณาเกณฑ์การลงโทษให้เหมาะสมและเป็นธรรมต่อ พนักงานบริษัท 4. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์รบั ผิดชอบ โดยตรงต่อคณะกรรมการบริษทั และมีหน้า ที่ชี้แจง ตอบค�ำถามเกี่ยวกับค่าตอบแทนพนักงานทุกระดับในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท

ทัง้ นี้ การมอบหมายอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ นั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือ มอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากร มนุษย์ หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ สามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มี ส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือ บริษัทย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่ เป็นไปตามปกติธุรกิจที่มีการก�ำหนดขอบเขตชัดเจน 5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจ�ำนวน 4 ท่าน ดังนี้

ล�ำดับ รายชื่อ ต�ำแหน่ง 1 นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2 นายบุญเลี่ยม เหลืองนาคทองดี กรรมการบริหารความเสี่ยง 3 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการบริหารความเสี่ยง 4 นายเชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ กรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมี ดร. ธีรธร ธาราไชย เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

27


อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. สอบทานและน�ำเสนอนโยบายการบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงที่ยอมรับได้ให้แก่คณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณาอนุมัติ 2. ก�ำกับดูแลการพัฒนาและการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 3. สอบทานรายงานการบริหารความเสีย่ งเพือ่ ติดตามความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญและด�ำเนินการให้มนั่ ใจได้วา่ องค์กรมีการ จัดการความเสี่ยงอย่างเพียงพอและเหมาะสม 4. น�ำเสนอความเสี่ยงในภาพรวมของบริษัท รวมถึงความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน เพื่อการจัดการ ความเสี่ยงด้านต่างๆที่ส�ำคัญให้กับคณะกรรมการบริษัท 5. ให้ค�ำแนะน�ำกับบริษัทในด้านงานบริหารความเสี่ยง และการพิจารณาแก้ไขข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนา ระบบการบริหารความเสี่ยง 6. ให้มีอ�ำนาจแต่งตั้งคณะท�ำงานประเมินและติดตามความเสี่ยงของบริษัท 7. เรื่องอื่นๆ เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

6 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจ�ำนวน 11 ท่าน ดังนี้ ล�ำดับ 1

รายชื่อ ดร.ธวัชชัย นาคะตะ

2

นายชายนิด

โง้วศิริมณี

3

นายไพรัตน์

เสนาจักร์

4 5 6 7 8 9 10 11

นายวิชัย สิงห์วิชา นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ นายวงศ์กรณ์ ประสิทธ์วิภาต นายธงชัย ปิยะสันติวงศ์ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา

ต�ำแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริหาร (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม) รองประธานคณะกรรมการบริหาร (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม) กรรมการบริหาร (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม) กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร และเลขานุการคณะกรรมการบริหาร (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม)

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร * 1. บริหารงานในเรือ่ งเกีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจปกติของบริษทั ภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริษทั และภายใน ขอบเขตของกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับของบริษัท ยกเว้นในเรื่องการท�ำ ธุรกรรมใด ๆ เกี่ยวกับการเปิดโครงการ และการลงทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักของบริษัท 2. แต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงเพื่อให้บริหารงานของบริษัท 3. พิจารณาการจัดสรรงบประมาณประจ�ำปี เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 4. พิจารณากลั่นกรองโครงการลงทุนต่าง ๆ ของบริษัทเพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 5. พิจารณาและอนุมตั กิ ารจัดซือ้ ทีด่ นิ ภายในวงเงินเกินกว่า 200 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 800 ล้านบาท โดยทีว่ งเงินรวม ไม่เกินกว่างบประมาณทีค่ ณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติไว้ และการอนุมัติจัดซื้อที่ดินแต่ละครั้งต้องมีการก�ำหนด แผนเบื้องต้นและรายงานความเป็นไปได้ของโครงการประกอบการพิจารณา

28

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


6. พิจารณาและอนุมตั กิ ารกูเ้ งินหรือขอสินเชือ่ จากสถาบันการเงิน รวมตลอดถึงการช�ำระหรือใช้จา่ ยเงินเพือ่ ธุรกรรม ปกติของบริษัทดังนี้ - วงเงินกู้ส่วนที่ใช้ท�ำโครงการ (Project Finance) ได้พิจารณาและอนุมัติการกู้เงินและขอสินเชื่อจาก สถาบันการเงินในวงเงินไม่เกิน 1,000 ล้านบาทต่อโครงการ โดยไม่นับรวมวงเงินหนังสือค�้ำประกัน สาธารณูปโภค - วงเงินกู้ส่วนที่ใช้ส�ำหรับ Working Capital ให้พิจารณาและอนุมัติการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ในวงเงินไม่เกิน 800 ล้านบาท 7. จัดท�ำ เสนอแนะ และก�ำหนดนโยบายธุรกิจ รวมทั้งกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท 8. พิจารณาและอนุมัติแผนการตลาด แผนการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 9. ประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัท ทั้งในด้านการจัดการบริหารทรัพย์สิน และการบริหารการเงิน เพื่อให้เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 10. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบ อ�ำนาจ หรือมอบอ�ำนาจช่วงทีท่ ำ� ให้กรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอ�ำนาจจากกรรมการบริหาร สามารถอนุมตั ริ ายการ ทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง (ตามทีน่ ยิ ามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือ บริษัทย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการ ที่เป็นลักษณะการด�ำเนินธุรกรรมการค้าปกติทั่วไปของบริษัท ที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ บริษทั ได้พจิ ารณาอนุมตั ไิ ว้ ซึง่ เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำ สั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมายเหตุ * แก้ไขปรับปรุงตามมติคณะกรรมการ ครั้งที่ 5/2552 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2552

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

29


7 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร * ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารเป็นหัวหน้าของฝ่ายบริหาร มีหน้าทีด่ �ำเนินการและรายงานผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้นในกิจการดังนี้ 1. ก�ำหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท 2. ก�ำหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอ�ำนาจของหน่วยงานภายในบริษัท เพื่อเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะ กรรมการบริษัท 3. บริหารงานในเรือ่ งเกีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจปกติของบริษทั ภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริษทั และภายใน ขอบเขตของกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับของบริษัท 4. แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการ ที่ปรึกษา กรรมการอื่นใด เพื่อให้ค�ำปรึกษาในการบริหารงานของบริษัท 5. พิจารณาและอนุมัติการจัดซื้อที่ดินภายในวงเงินไม่เกิน 500,000,000 บาท (ห้าร้อยล้านบาท) และแจ้งเรื่องดัง กล่าวให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารทราบ เพื่อถือเป็นมติของคณะกรรมการบริหารเพื่อการจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมต่อส�ำนักงานที่ดินที่เกี่ยวข้องต่อไป 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทัง้ นีก้ ารมอบหมายอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารนัน้ จะไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบ อ�ำนาจ หรือ มอบอ�ำนาจช่วง ที่ท�ำให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง (ตามทีน่ ยิ ามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์) มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทย่อย เว้นแต่ เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นลักษณะการด�ำเนินธุรกรรมการค้าปกติทั่วไปของบริษัท ที่เป็นไปตามนโยบายและหลัก เกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาอนุมตั ไิ ว้ ซึง่ เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมายเหตุ * แก้ไขปรับปรุงตามมติคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553

8 ผู้บริหาร ผู้บริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจ�ำนวน 11 ท่าน ดังนี้

1

30

ชื่อสกุล นายชายนิด โง้วศิริมณี

2 นายวิชัย สิงห์วิชา 3 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี * * 4 นางวนิดา ไวยาวัจมัย 5 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ 6 นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ 7 นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา 8 นายวงศกรณ์ ประสิทธิวิภาต 9 นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ 10 นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา 11 นายธงชัย ปิยสันติวงศ์ * ไม่มีบุคคลที่ด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าว

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

ต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และรักษาการประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน และรักษาการประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ เลขานุการบริษัท (เทียบเท่าประธานเจ้าหน้าที่ฝ่าย) รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ


ผู้บริหารของบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 มีจ�ำนวน 6 ท่าน ดังนี้

1 2 3 4 5 6

ชื่อสกุล นายชายนิด โง้วศิริมณี นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา นายวงศกรณ์ ประสิทธิวิภาต นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์

ต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มการเงิน รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มสนับสนุน รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาธุรกิจ รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 1 รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 2

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

31


การเข้าประชุมของคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการ 5 คณะ ในปี 2552 และปี 2553

คณะกรรมการ คณะกรรมการ พิจารณา คณะกรรมการ พิจารณาบริหาร คณะกรรมการ คณะกรรมการ ความเสี่ยง ค่าตอบแทน สรรหาฯ บริษัท ตรวจสอบ ปี 2553 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2552 ชื่อ ดร.ธวัชชัย นาคะตะ 5 6 1 ดร.สมศักดิ์ โตรักษา * 5 6 7 8 1 ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย * 5 6 7 8 1 1 8 4 นายชายนิด โง้วศิริมณี 5 6 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ 5 6 นายวิทยา เนติวิวัฒน์ 5 6 1 1 , นายวีระยุค พันธุเพชร * **** 5 6 7 8 นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วัฒนา 5 6 นายเดวิด ไบร์ซ ฟาน ออฟเพน 4 6 นายออย บูน อัน 5 6 นางเนื้อนวล สวัสดิกลุ ณ อยุธยา * 5 6 8 4 , นายกฤช ฟอลเล็ต * *** 3 5 นายปราโมทย์ เริ่มยินดี 5 นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ ** 5 นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา ** 5 นายบุญเลี่ยม เหลืองนาคทองดี 8 6 นายเชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ 8 4 ดร.ธีรธร ธาราไชย 8 9 จ�ำนวนครัง้ ของการประชุมทัง้ หมด 5 6 7 8 1 1 8 9 (ครั้ง)

หมายเหตุ

* กรรมการอิสระ ** ออกจากการเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงเนื่องจากแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงชุดใหม่ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 *** นายกฤต ฟอลเล็ต ได้เข้าด�ำรงต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2553 **** นายวีระยุค พันธุเพชร ลาออกจากประธานกรรมการตรวจสอบตามที่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบใหม่ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2553

32

เลขานุการบริษัท ตามข้อก�ำหนดในมาตรา 89/15 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ก�ำหนดให้ คณะกรรมการต้องจัดให้มีเลขานุการบริษัทรับผิดชอบในนามของบริษัทหรือคณะกรรมการด�ำเนินการ โดยที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2551 ได้มีมติแต่งตั้งเลขานุการบริษัท คือ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1) จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ (ก) ทะเบียนกรรมการ (ข) หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจ�ำปีของบริษัท (ค) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2) เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร และส่งส�ำเนารายงานดังกล่าวให้ ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายในเจ็ดวันท�ำการนับแต่วนั ทีบ่ ริษทั ได้รบั รายงานนัน้

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


3)

4) 5) 6)

จัดท�ำระบบการเก็บรักษาเอกสารและหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับการแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้ รวมทัง้ ดูแลให้มกี าร เก็บรักษาเอกสารหรือหลักฐานดังกล่าวให้ถกู ต้องครบถ้วนและสามารถตรวจสอบได้ในระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า ห้าปีนับแต่วันที่มีการจัดท�ำเอกสารหรือข้อมูลดังกล่าว การเก็บรักษาเอกสารและหลักฐานข้างต้น ให้หมายความรวมถึงการเก็บรักษาด้วยระบบคอมพิวเตอร์หรือ ระบบอื่นใดที่สามารถเรียกดูได้โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ (1) การให้ข้อมูลประกอบการขอมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น (2) งบการเงินและรายงานเกีย่ วกับฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั หรือรายงานอืน่ ใดทีต่ อ้ ง เปิดเผยตามมาตรา 56 มาตรา 57 มาตรา 58 หรือ มาตรา 199 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (3) ความเห็นของบริษัทเมื่อมีผู้ท�ำค�ำเสนอซื้อหุ้นของบริษัทจากผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป (4) การให้ข้อมูลหรือรายงานอื่นใดเกี่ยวกับกิจการที่บริษัทจัดท�ำขึ้นเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ถือหุ้นหรือประชาชน ทั่วไป ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนก�ำหนด ด�ำเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนดต่อไป ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติคณะกรรมการ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และไม่ กระท�ำการใดอันเป็นการขัดหรือแย้งกับประโยชน์ของบริษัทอย่างมีนัยส�ำคัญ ต้องปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบและความระมัดระวังเยีย่ งวิญญูชนผูป้ ระกอบธุรกิจเช่นนัน้ จะพึงกระท�ำ ภายใต้สถานการณ์อย่างเดียวกัน โดย (1) การตัดสินใจได้กระท�ำไปด้วยความเชื่อโดยสุจริตและสมเหตุสมผลว่าเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของ บริษัทเป็นส�ำคัญ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

33


34

(2) การตัดสินใจได้กระท�ำบนพื้นฐานข้อมูลที่เชื่อโดยสุจริตว่าเพียงพอ และ (3) การตัดสินใจได้กระท�ำไปโดยตนไม่มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในเรื่องที่ตัดสินใจนั้น ในกรณีที่เลขานุการบริษัทพ้นจากต�ำแหน่งไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งเลขานุการบริษัทคนใหม่ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่เลขานุการบริษัทคนเดิมพ้นจากต�ำแหน่งหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ และมอบหมายให้ นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา ปฏิบัติหน้าที่แทนในช่วงเวลาดังกล่าว การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริษทั มีคณะกรรมการสรรหาชือ่ บุคคลเพือ่ เสนอเป็นกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการสรรหา จะคัดเลือกและสรรหา บุคคลทีม่ คี วามเหมาะสมในการเป็นกรรมการบริษทั เพือ่ เสนอชือ่ ผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และหรือน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขอมติแต่งตั้งต่อไป โดยคณะกรรมการจะต้องพิจารณาถึงคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ รวมทั้งประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องในการเป็นกรรมการบริษัท ซึ่งหัวข้อในการคัดสรรดังกล่าว จะต้องมี ส่วนทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินกิจการของบริษทั (รายละเอียดตามขอบเขต อ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของ คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท ) องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับของบริษัท คณะกรรมการของบริษัทประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน และประกอบด้วย กรรมการ 3 ประเภท 1. กรรมการที่เป็นอิสระ( INDEPENDENT DIRECTOR ) ต้องมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการหรืออย่างน้อยต้องมีไม่น้อยกว่า 3 คน 2. กรรมการที่มีอ�ำนาจบริหาร (EXECUTIVE DIRECTOR) 3. กรรมการที่ไม่มีอ�ำนาจบริหาร (NON- EXECUTIVE DIRECTOR)

กรรมการจ�ำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร

ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเลือกตั้งกรรมการ โดยให้นับว่าผู้ถือหุ้นมีคะแนนเสียง เท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง และผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงของตนทีม่ อี ยูท่ งั้ หมดเลือกตัง้ บุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้

การออกเสียงลงคะแนนเลือกตัง้ กรรมการให้ใช้เสียงข้างมาก หากมีคะแนนเสียงเท่ากันให้ผเู้ ป็นประธานทีป่ ระชุมเป็น ผู้ออกเสียงชี้ขาด

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรง เป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3

ห้ามมิให้กรรมการประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท หรือเข้าเป็นหุ้น ส่วนในห้างหุน้ ส่วนสามัญ หรือเป็นหุน้ ส่วนไม่จำ� กัดความรับผิดในห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด หรือเข้าเป็นกรรมการในนิตบิ คุ คล อืน่ ทีป่ ระกอบกิจการ อันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั เว้นแต่จะแจ้งให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง

กรรมการต้องแจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า หากมีส่วนได้เสียในสัญญาที่ท�ำกับบริษัทหรือเข้าถือหุ้น หรือหุ้นกู้เพิ่ม ขึ้นหรือลดลงในบริษัทหรือบริษัทในเครือ

3. นโยบายจ่ายเงินปันผลของบริษัทและบริษัทย่อย

ได้มีมติการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2550 เกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท จากเดิมที่ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยการจ่ายเงินปันผลดัง กล่าวข้างต้นจะต้องได้รับมติเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นส�ำคัญ คณะกรรมการบริษัทได้มีมติก�ำหนดนโยบาย การจ่ายเงินปันผลภายหลังการเปลีย่ นแปลงนโยบายวิธกี ารบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม จากวิธสี ว่ น ได้เสีย ( Equity Method ) มาเป็นวิธีการบันทึกต้นทุน ( Cost Method ) ตามนโยบายเดิม คือ บริษัทมีนโยบายจ่าย เงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการหลังหักส�ำรองตาม กฎหมาย โดยให้พิจารณาฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงาน ของบริษัท เป็นส่วนประกอบในการพิจารณาด้วย

บริษัทย่อยมีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะ กิจการหลังหักส�ำรองตามกฎหมาย โดยให้พิจารณา ฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษัท เป็นส่วนประกอบในการพิจารณาด้วย

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

35


คณะกรรมการบริษัท

1

ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบริหาร

4

ดร.สมศักดิ์ โตรักษา

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ

36

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

2

นายชายนิด โง้วศิริมณี

3

นายวีระยุค พันธุเพชร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รองประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริษัท

รองประธานกรรมการบริษัท กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน

5

6

นายวิทยา เนติวิวัฒน์

กรรมการบริษัท กรรมการสรรหาฯ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ

ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง


7

นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน กรรมการบริษัท

10 นายกฤช ฟอลเล็ต กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

8

นายออย บูน อัน กรรมการบริษัท

9

นางเนือ้ นวล สวัสดิกลุ ณ อยุธยา

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหาฯ

11 นายไพรัตน์ เสนาจักร์

12 นางสาวศิรริ ตั น์ วงศ์วฒ ั นา

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มสนับสนุน

นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เลขานุการบริษัท รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

37


ผังองค์กร บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ประธานคณะที่ปรึกษา

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO)

ส�ำนักตรวจสอบภายใน

คณะที่ปรึกษา CEO

กลุ่มปฎิบัติการ 1 (COO1)

กลุ่มปฎิบัติการ 2 (COO2)

กลุ่มพัฒนาธุรกิจ (CBO)

รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฎิบัติการ 1

รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฎิบัติการ 2

รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาธุรกิจ

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฎิบัติการ 1

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฎิบัติการ 2

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาธุรกิจ

สายงานบริหารโครงการ โซน 1

สายงานบริหารโครงการ The Villa

สายงานวางแผนโครงการ

สายงานบริหารโครงการ โซน 2

สายงานบริหารโครงการ ICondo

สายงานออกแบบ

สายงานบริหารโครงการ โซน 3

สายงานบริหารโครงการ Uniloft

สายงานโฆษณา

สายงานบริหารโครงการ โซน 4

สายงานวางแผนและพัฒนาโครงการ ICondo, Uniloft

สายงานประชาสัมพันธ์ และสื่อสารองค์กร

สายงานบริหารโครงการ โซน 5

สายงานบริหารงานก่อสร้าง The Villa

สายงานบริหารงานขาย

สายงานบริหารงานก่อสร้าง

สายงานบริหารงานก่อสร้าง ICondo, Uniloft

สายงานนิติกรรมและโอนกรรมสิทธิ์

38

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน เลขานุการบริษัท ส�ำนักกฎหมาย ส�ำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงานวิจัยพัฒนาธุรกิจ สายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ และควบคุมคุณภาพ

กลุ่มการเงิน (CFO)

กลุ่มสนับสนุน (CSO)

รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มการเงิน

รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มสนับสนุน

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มการเงิน

ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มสนับสนุน

สายงานการเงินและบริหารเงิน

สายงานลงทุนสัมพันธ์ และสารสนเทศ

สายงานบัญชี

สายงานบริหารกองทุนและหุ้นกู้

สายงานงบประมาณ

สายงานบริหารงานกลาง สายงานทรัพยากรมนุษย์

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

39


ข้อมูลโครงการ โครงการของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ 31 ธันวาคม 2553 1. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ เอกมัย-รามอินทรา ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2547-2554 บ้านเดี่ยว 230 3,419 ล้านบาท 11 144 ล้านบาท

2. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ รัตนาธิเบศร์ เฟส1-2 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2550-2554 บ้านเดี่ยว 146 1,477 ล้านบาท 38 380 ล้านบาท

3. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ พระราม 9 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2551-2557 บ้านเดี่ยว 283 3,441 ล้านบาท 165 1,980 ล้านบาท

4. เพอร์เฟค มาสเตอร์พีซ ราชพฤกษ์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2554 บ้านเดี่ยว 51 512 ล้านบาท 50 500 ล้านบาท

5. เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

40

2548-2554 บ้านเดี่ยว 396 1,699 ล้านบาท 12 56 ล้านบาท

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


6. เพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ เฟส 2 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2552-2555 บ้านเดี่ยว 357 1,702 ล้านบาท 237 1,133 ล้านบาท

7. เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ ไพรเวท โซน

ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

มาสเตอร์พีซ โซน

ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

เลค โซน

ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

ไพรเวท โซน เฟส 2

ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2548-2553 บ้านเดี่ยว 302 1,732 ล้านบาท 5 27 ล้านบาท 2551-2553 บ้านเดี่ยว 6 150 ล้านบาท 1 15 ล้านบาท 2552-2554 บ้านเดี่ยว 83 745 ล้านบาท 25 180 ล้านบาท 2553-2555 บ้านเดี่ยว 288 1,512 ล้านบาท 261 1,357 ล้านบาท

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

41


8. เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท 77–สุวรรณภูมิ เฟส 1-4* ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2547-2556 บ้านเดี่ยว 1,055 5,960 ล้านบาท 353 1,875 ล้านบาท

9. เพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ เฟส 1 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2552-2555 บ้านเดี่ยว 396 2,015 ล้านบาท 232 1,186 ล้านบาท

10. มณีรินทร์ เลค& พาร์ค ราชพฤกษ์-ติวานนท์ ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2546-2554 บ้านเดี่ยว 702 3,093 ล้านบาท 96 451 ล้านบาท

11. เพอร์เฟค พาร์ค พระราม 5-บางใหญ่ เฟส 1-4 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2549-2554 บ้านเดี่ยว , บ้านแฝด 1,198 3,844 ล้านบาท 427 1,409 ล้านบาท

12. เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ เฟส 1* ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิตคงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

42

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

2550-2554 บ้านเดี่ยว 194 777 ล้านบาท 14 55 ล้านบาท


13. เพอร์เฟค พาร์ค สุวรรณภูมิ เฟส 2* ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

14. เพอร์เฟค พาร์ค รังสิต

ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2556 บ้านเดี่ยว 309 1,251 ล้านบาท 296 1,191 ล้านบาท

2553-2555 บ้านเดี่ยว 148 536 ล้านบาท 142 511 ล้านบาท

15. เพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

16. เดอะ วิลล่า รัตนาธิเบศร์

ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2556 บ้านเดี่ยว 403 1,511 ล้านบาท 379 1,421 ล้านบาท

2549-2555 ทาวน์เฮ้าส์ , บ้านเดีย่ ว 1,427 3,564 ล้านบาท 453 1,450 ล้านบาท

17. เดอะ วิลล่า รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ* ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2555 ทาวน์เฮ้าส์ 289 639 ล้านบาท 173 384 ล้านบาท

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

43


18. เดอะ วิลล่า รามอินทรา-วงแหวน* ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

19. เดอะ วิลล่า บางบัวทอง** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

20. เดอะ เมทโทร พระราม 9

ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

21. เดอะ เมทโทร สาทร

ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2555 ทาวน์เฮ้าส์ 295 667 ล้านบาท 233 525 ล้านบาท 2553-2555 ทาวน์เฮ้าส์ 301 647 ล้านบาท 259 557 ล้านบาท 2551-2554 ทาวน์เฮ้าส์ 491 1,804 ล้านบาท 173 606 ล้านบาท 2552-2554 ทาวน์เฮ้าส์ 216 900 ล้านบาท 48 178 ล้านบาท

22. เมโทร พาร์ค สาทร เฟส 1-3 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

44

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

2552-2555 คอนโดมิเนียม 4,625 8,564 ล้านบาท 1,560 3,120 ล้านบาท


23. เมโทร สกาย รัชดา เฟส1*** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2554 คอนโดมิเนียม 441 1,096 ล้านบาท 125 312 ล้านบาท

24. เมโทร สกาย สุขุมวิท เฟส1 ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2555 คอนโดมิเนียม 588 1,615 ล้านบาท 454 1,226 ล้านบาท

25. ไอ คอนโด งามวงศ์วาน*** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2555 คอนโดมิเนียม 480 595 ล้านบาท 280 336 ล้านบาท

26. ไอ คอนโด สุขาภิบาล 2*** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

2553-2555 คอนโดมิเนียม 1,100 1,334 ล้านบาท 881 1,057 ล้านบาท

27. ไอ คอนโด สุขุมวิท 105*** ระยะเวลาพัฒนาโครงการ ผลิตภัณฑ์ จ�ำนวนยูนิตทั้งหมด มูลค่าโครงการทั้งหมด จ�ำนวนยูนิต คงเหลือ มูลค่าโครงการคงเหลือ

หมายเหตุ

2553-2555 คอนโดมิเนียม 1,600 2,083 ล้านบาท 1,425 1,852 ล้านบาท

* โครงการบริษัทย่อย ( บจก.เอสเตท เพอร์เฟคท์) ** โครงการบริษัทย่อย (บจก. เรสซิเด้นท์ นัมเบอร์ไนน์) *** โครงการบริษัทย่อย (บจก. ไบรท์ ดีเวลลอปเม้นท์ กรุงเทพ)

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

45


แผนที่โครงการ

46

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


การตลาด และการแข่งขัน

การตลาด กลยุทธ์การตลาด บริษัทได้ให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด โดยพิจารณารายละเอียดท�ำเล สภาวการณ์แข่งขัน กลุ่มลูกค้า เป้าหมาย การวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อน รวมถึงการพิจารณาปัจจัยภายนอกทีอ่ าจมีผลกระทบต่อการพัฒนาโครงการ (SWOT Analysis) ก่อนที่จะเริ่มด�ำเนินการ ซึ่งสามารถแยกตามกลยุทธ์ได้ดังนี้ กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ (Product)

• บ้าน (Product) รูปแบบบ้าน (Design) บริษทั ได้มกี ารพัฒนาการออกแบบทีอ่ ยูอ่ าศัยโดยน�ำข้อมูลจากฝ่ายวิจยั และพัฒนามาพิจารณา เพือ่ สามารถตอบสนอง ความความต้องการของลูกค้าให้ได้มากทีส่ ดุ ทัง้ นีท้ างบริษทั ได้มกี ารพัฒนารูปแบบบ้านในสไตล์ตา่ งๆ ตามประเภทของ สินค้า ทัง้ บ้านเดีย่ ว และ ทาวน์เฮ้าส์ ซึง่ ยังคงเน้นการออกแบบบ้านให้สวยงาม เปีย่ มด้วยประโยชน์ใช้สอย สอดคล้อง กับความต้องการ วิถีการใช้ชีวิตในปัจจุบัน (Life Style) ตามลักษณะสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย โดยบริษัทมี ทีมงานออกแบบหลักที่มีประสบการณ์ยาวกว่า 20 ปีในการออกแบบ และยังมีการพัฒนาร่วมกับบริษัทสถาปนิกชั้น น�ำจากภายนอกในการออกแบบ เพือ่ สร้างนวัตกรรมใหม่ โดยค�ำนึงรูปแบบบ้านและประโยชน์ใช้สอย อย่างคุม้ ค่า คุม้ ราคา ในปี 2553 บริษัทได้พัฒนาแบบบ้าน V Series โดยออกแบบขยายพื้นที่ความสุข เป็นบ้านรุ่นใหม่ดีไซน์โปร่ง ด้วย เพดานที่สูงกว่า โล่งมากขึ้นกับบ้านใหญ่ ให้ความรู้สึกสบายมากกว่า เพิ่มพื้นที่ใช้สอยแบบ Double หน้าต่างทรงสูง พิเศษ ท�ำให้อากาศเย็นสบายตลอดวัน ดีไซน์ประตูเชื่อมต่อพื้นที่สวนสวย ไลฟ์สไตล์โมเดิร์นเพื่อคนรุ่นใหม่ซึ่งได้รับ การตอบรับเป็นอย่างดีมาก และในปี 2554 ทีมงานออกแบบของบริษทั ได้พฒ ั นาแบบบ้าน รุน่ C-Series ให้เข้าถึงไลฟ์ สไตล์มากขึ้น เพื่อใช้ในแบรนด์ เพอร์เฟค พาร์ค และเพอร์เฟค เพลส แบบบ้านรุ่น C-Series ได้พัฒนาการออกแบบ ภายใต้คอนเซ็ปต์ใหม่ของการใช้ชีวิต เข้าถึงทุกไลฟ์สไตล์คนเมือง โดยให้ความส�ำคัญทุกรายละเอียด คือ

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

47


• Cool lifestyle ทุกการใช้สอยเติมเต็มทุกความสุข ฟังก์ชั่นออกแบบใหม่ เพื่อประโยชน์ใช้สอยเต็มที่กับ ทุกไลฟ์สไตล์ สะดวกครบครัน รองรับครอบครัวเริม่ ต้น เปิดทุกพืน้ ทีใ่ ห้กว้างขึน้ รองรับทุกกิจกรรมทีค่ ณ ุ รัก • Click design ความสุขควงคูก่ บั ความโมเดิรน์ เปิดมุมมองใหม่ดว้ ยดีไซน์ทที่ นั สมัยมากกว่า ทัง้ ภายนอก และภายใน • Convenience function ฟังก์ชั่นครบครัน เพิ่มความสุขทุกมุมการใช้สอย เตรียมพื้นที่ให้ลงตัวทุกความ ต้องการ ออกแบบมาเพื่อประหยัดพลังงานได้มากกว่า • City location เดินทางมุ่งสู่กลางในเมืองด้วยเส้นทางที่หลากหลาย ใกล้จุดขึ้นลงทางด่วน พร้อมความ รวดเร็วด้วยรถไฟฟ้า Airport Rail Link รถไฟฟ้าสายสีม่วง และรถไฟฟ้าสายสีแดง

48

คุณภาพ (Quality) งานก่อสร้าง บริษัท มีการบริหารจัดการควบคุมการก่อสร้างโดยจัดจ้างผู้รับเหมาให้ด�ำเนินการก่อสร้างตามแบบที่บริษัทก�ำหนด ด้วยวัสดุก่อสร้างมาตรฐาน มีก�ำหนดระยะเวลาการก่อสร้าง รวมถึงการพิจารณาร่วมกันในการก�ำหนดรูปแบบ วิธี การก่อสร้างเพื่อให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานของบริษัท ตั้งแต่ปี 2551 ที่ผ่านมา บริษัทได้น�ำระบบการก่อสร้างบ้าน ส�ำเร็จรูปแบบ Prefabrication และระบบเสา-คานส�ำเร็จรูป (Rigid Frame or Skeleton) มาใช้กอ่ สร้างบ้านเดีย่ ว บ้าน แฝด และทาว์นเฮ้าส์ ในโครงการ เพอร์เฟค เพลส, เพอร์เฟค พาร์ค, เดอะ วิลล่า และ เดอะ เมทโทร ซึ่งได้รับการตอบ รับเป็นอย่างดี ในปี 2553 บริษัทยังได้พัฒนาระบบการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้างให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน (Site Management) ซึ่งเป็นระบบควบคุมการก่อสร้างทุกขั้นตอนการผลิตเพื่อให้ได้มาตรฐาน ก่อนส่งมอบให้แก่ลูกค้า บริษทั ได้ขยายก�ำลังการผลิตบ้านส�ำเร็จรูปแบบ Prefabrication เพิม่ เพือ่ รองรับการเติบโตของบริษทั เนือ่ งจากสามารถ ลดระยะเวลาก่อสร้าง จากเดิม 6- 8 เดือน เหลือเพียง 4-5 เดือน บริษัทยังคงให้ความส�ำคัญด้านคุณภาพของวัสดุที่ น� ำ มาใช้ในการก่อสร้า งโดยการใช้ผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างหลักจาก บริษัท เอสซีจี ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จ�ำกัด (“เอสซีจี”) เป็นการสร้างความมั่นใจในความคงทนแข็งแรงและสวยงาม บริษัทและบริษัทย่อยยังคงพิจารณาด้าน การบริหารต้นทุนจากการซือ้ สินค้า โดยการเจรจาสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมากเพือ่ ลดต้นทุนการผลิต และเตรียมแผนการบริหาร จัดการโดยใช้ระบบ Supply Chain

นอกจากนี้ในปี 2553 บริษัทได้ร่วมกับ เอสซี จี เป็นพันธมิตรธุรกิจ กล่าวคือ เอสซี จี ได้ร่วมธุรกิจกับบริษัท โดยการ ก่อสร้างบ้านนวัตกรรมใหม่ระบบ Modular บนที่ดินภายในโครงการของบริษัท เพื่อเป็นตัวเลือกให้กับลูกค้า ซึ่งบ้าน นวัตกรรมใหม่นี้ อยู่ภายใต้ชื่อ SCG HEIM Innovative House เป็นบ้านนวัตกรรมเพื่อคุณภาพชีวิตการอยู่อาศัยที่ดี และคุ้มค่าด้วยการผสมผสานเทคโนโลยีเข้าไปในทุกขั้นตอนของการก่อสร้าง โดยการเลือกใช้วัสดุคุณภาพสูง และ การตรวจสอบคุณภาพทีแ่ ม่นย�ำ ได้เริม่ ด�ำเนินการก่อสร้างทีโ่ ครงการ เพอร์เฟค มาสเตอร์พซี พระราม 9 เป็นโครงการ แรก ซึง่ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี และในปี 2554 มีแผนจะขยายการก่อสร้างบ้านนวัตกรรมใหม่ระบบ Modular ใน โครงการของบริษทั ทีม่ ศี กั ยภาพ เพือ่ รองรับความต้องการของลูกค้าทีม่ จี ำ� นวนมากขึน้

ส�ำหรับการน�ำเสนอขายบ้านพร้อมที่ดินของบริษัทนั้น จะน�ำเสนอในรูปแบบของบ้านสร้างเสร็จก่อนขาย หรือ บ้าน พร้อมอยู่ เป็นการสร้างบ้านตามแบบที่ก�ำหนด ให้เสร็จก่อนน�ำมาขายให้ลูกค้า ซึ่งเหมาะกับลูกค้าที่ต้องการบ้านที่ สามารถเข้าอยูไ่ ด้ทนั ที ได้เห็นบ้านทีเ่ สร็จสมบูรณ์กอ่ นตัดสินใจซือ้ โดยลูกค้าสามารถท�ำการโอนและเข้าอยูไ่ ด้ภายใน ระยะเวลาไม่เกิน 1 เดือน

ด้านคอนโดมิเนียม บริษทั ได้เปิดตัวคอนโดมิเนียม โดยใช้ชอื่ เมโทร พาร์ค (Metro Park) เป็นโครงการ คอนโดมิเนียม Low-Rise อยู่บนท�ำเลที่ใกล้เมือง และใกล้แนวรถไฟฟ้า โดยมีระดับราคาอยู่ที่ 1.2-3.0 ล้านบาท

ในปี 2552 เปิดตัวคอนโดมิเนียมภายใต้ชื่อ เมโทร สกาย (Metro Sky) ซึ่งเป็นโครงการคอนโดมิเนียม High-Rise ที่ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าที่ต้องการพักอาศัยอยู่ในโครงการที่ตั้งอยู่บนท�ำเลใจกลางเมือง ใกล้รถไฟฟ้าและ รถไฟฟ้าใต้ดิน โดยมีระดับราคาอยู่ที่ 2.0-5.0 ล้านบาท

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ในปี 2553 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) เปิดตัวคอนโดมิเนียมภายใต้ชื่อ ไอคอนโด (iCondo) ซึง่ เป็นโครงการคอนโดมิเนียม Low-Rise ด�ำเนินการโดยบริษทั ย่อย (บริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเม้นท์ กรุงเทพ จ�ำกัด) ที่ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าที่ต้องการพักอาศัยอยู่ในโครงการที่ตั้งอยู่บนท�ำเลใจกลางเมือง และใกล้ เมือง เน้นการเดินทางที่สะดวก ใกล้รถไฟฟ้า ใกล้ทางด่วน โดยมีระดับราคาอยู่ที่ 1.0-2.0 ล้านบาท

ปี 2554 บริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (บริษทั ย่อย) มีแผนเปิดตัวคอนโดมิเนียมยูนลิ อฟท์ (Uniloft) เป็น โครงการคอนโดมิเนียม Low-Rise บนท�ำเลที่ใกล้แหล่งชุมชนและมหาวิทยาลัย มีระดับราคาอยู่ที่ 1.0–1.2 ล้านบาท เพื่อเป็นการเพิ่มส่วนแบ่งตลาดคอนโดมิเนียมราคาถูก

ทั้งนี้รูปแบบคอนโดมิเนียมของบริษัทและบริษัทย่อย จะเน้นการให้พื้นที่ส่วนกลางมากกว่าข้อก�ำหนดเพื่อเพิ่มความ ร่มรืน่ มีการออกแบบตกแต่งสภาพแวดล้อมในบรรยากาศเดียวกับโครงการบ้านเดีย่ ว มีสระว่ายน�ำ้ สโมสรออกก�ำลัง กาย และระบบรักษาความปลอดภัยอย่างเข้มงวด • รูปแบบโครงการและสิ่งแวดล้อม (Environment Impact Assessment) นอกจากแบบบ้านสวยงาม การก�ำหนดแบ่งพืน้ ทีใ่ ช้สอยให้คมุ้ ค่า คุม้ ราคา อย่างเหมาะสมแล้ว บริษทั เน้นการออกแบบ ผังโครงการ การจัดการสภาพแวดล้อมในโครงการ การวางระบบสาธารณูปโภค ระบบรักษาความปลอดภัย และการ บริการหลังการขาย นอกจากนี้บริษัทยังจัดให้มีการจัดกิจกรรมตามเทศกาล และวัฒนธรรมไทย เพื่อให้ลูกค้าได้ร่วม กิจกรรมและมีสงั คมทีด่ รี ว่ มกัน จากแนวทางดังกล่าว ท�ำให้โครงการของบริษทั ได้รบั รางวัลโครงการทีม่ กี ารบริหารและ การจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น หรือ EIA Monitoring Awards จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถึง 3 ปีซ้อน คือ ปี 2548-2550 โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์, โครงการเพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง เฟส 1 ปี 2549-2551 โครงการเพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง เฟส 2 และ เฟส 3

การจัดให้มสี วนสาธารณะ ทะเลสาบ พร้อมด้วยคลับเฮ้าส์ขนาดใหญ่ทสี่ มบูรณ์แบบ โดยร่วมกับพันธมิตรธุรกิจในบริเวณ คลับเฮ้าส์ของแต่ละโครงการ อาทิ ร้านอาหาร Black Canyon ศูนย์ออกก�ำลังกาย Clark Hatch Fitness Center ร้าน สะดวกซื้อ V Shop และ 108-Shop ได้สร้างความแตกต่างที่เป็นจุดเด่นเหนือคู่แข่งในสังคมที่อบอุ่นและสัมผัสได้ ซึ่ง ได้รับการตอบรับที่ดีจากลูกค้าทุกโครงการของบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

49


• กลยุทธ์ด้านราคา (Price) บริษัท มีนโยบายในการตั้งราคา เพื่อสร้างแรงจูงใจและความคุ้มค่า ตามลักษณะสินค้า ความเหมาะสมกับสภาวะ เศรษฐกิจ สภาพการแข่งขัน โดยพิจารณา ปัจจัยด้านต้นทุน ท�ำเล รูปแบบโครงการ เงื่อนไขการตลาด เปรียบเทียบ กับคูแ่ ข่ง ซึง่ มีหลายแนวทาง เช่น การตัง้ ราคาขายใกล้เคียงกับคูแ่ ข่ง แต่โครงการของบริษทั มีสภาพแวดล้อมและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกที่ดีกว่า การออกแบบจะค�ำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค เน้นประโยชน์การใช้สอยของพื้นที่ บริษัทมีการพัฒนาโครงการหลายรูปแบบ และหลายระดับราคา โดยมีสินค้าตั้งแต่ระดับราคา 1.0 ล้านบาทขึ้นไป จนถึงโครงการหรูระดับราคา 7 ล้านบาทขึ้นไป ตารางแสดงระดับราคาผลิตภัณฑ์แบ่งตามแบรนด์ ประเภท

ระดับราคาผลิตภัณฑ์ (หน่วย: ล้านบาท) 1.0 – 2.0 2.0 – 3.0 3.0 – 4.0 4.0 – 5.0 5.0 – 6.0 สูงกว่า 6.0

7.0 ล้านบาทขึ้นไป

3.5 - 7.0 ล้านบาท

2.5 - 5.0 ล้านบาท

บ้านเดี่ยว

3.0 - 5.0 ล้านบาท

1.7 - 3.0 ล้านบาท

ทาวน์เฮ้าส์และบ้านแฝด 2.0 - 5.0 ล้านบาท

1.2 - 3.0 ล้านบาท

1.0 - 2.0 ล้านบาท

คอนโดมิเนียม

50

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

1.0 - 1.2 ล้านบาท


กลยุทธ์ด้านท�ำเล (Place)

• ท�ำเล (Location) โครงการของบริษทั ส่วนใหญ่จะตัง้ อยูใ่ นท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพในการเติบโตสูง โดยอยูใ่ กล้แนวรถไฟฟ้าหรือแนวถนนตัด ใหม่สายส�ำคัญ โครงการของบริษัทมีท�ำเลที่ดีกว่า มีศักยภาพการเติบโตสูง เดินทางสะดวก อาทิ • โซนเหนือและตะวันตก โครงการจะตัง้ อยูใ่ กล้สถานีรถไฟฟ้าสายสีมว่ ง(บางซือ่ -บางใหญ่) รถไฟฟ้าสายสี แดง(บางซื่อ-ตลิ่งชัน) ถนนราชพฤกษ์ สะพานพระราม 4 (ข้ามแยกปากเกร็ด) เชื่อมต่อถนนแจ้งวัฒนะ • โซนตะวันออก โครงการจะตัง้ อยูใ่ กล้แนวรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ ใกล้สนามบินสุวรรณภูมิ และถนน วงแหวน รอบนอก (ฝัง่ ตะวันออก) ทีเ่ ชือ่ มต่อพืน้ ทีโ่ ซนเหนือและใต้ของกรุงเทพฯ รวมถึงถนนมอเตอร์เวย์ ทีเ่ ชือ่ มออก สู่จังหวัดชลบุรี และพัทยา • โซนในเมือง โครงการจะตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ ขตศูนย์กลางธุรกิจ ได้แก่ บริเวณถนนเลียบทางด่วนเอกมัย-รามอินทรา แนวถนนมอเตอร์เวย์ แนวรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ แนวรถไฟลอยฟ้า BTS และแนวรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT ใน เส้นทางทัง้ ทีเ่ ปิดให้บริการอยู่ และเส้นทางทีก่ ำ� ลังจะเปิดให้บริการในอนาคต โดยโครงการส่วนใหญ่ พัฒนา เป็นโครงการบ้านเดีย่ วระดับบน (เพอร์เฟค มาสเตอร์พซี ) ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชัน้ (เดอะ เมทโทร) และคอนโดมิเนียม (เมโทร พาร์ค, เมโทร สกาย, ไอคอนโด) เป็นหลัก บริษทั มีแผนพัฒนาโครงการ เพือ่ เพิม่ ส่วนแบ่งตลาดในท�ำเลทีม่ ศี กั ยภาพ ในปี 2554 บริษทั และบริษทั ย่อยมีแผนเปิด โครงการใหม่ในท�ำเลที่มีศักยภาพอีก 14 โครงการมีมูลค่ารวม ประมาณ 17,035 ล้านบาท กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการขาย (Promotion)

• ด้านโฆษณาและช่องทางการจัดจ�ำหน่าย (Advertising & Place) บริษัท มีนโยบายในการท�ำการตลาดโดยใช้สื่อแบบผสมผสาน โดยพิจารณาตามความเหมาะสมในการเลือกใช้สื่อ ต่าง ๆ เช่น สื่อหนังสือพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุ ป้ายบิลบอร์ด ไดเร็คเมล์ฯลฯ ปัจจุบันได้พัฒนาการใช้สื่อในรูปแบบ ของบูรณาการ (Integrated Communication) เป็นลักษณะ Mass Media ซึ่งเป็นการโฆษณาที่สามารถสื่อไปถึง ลูกค้ากลุ่มเป้าหมายหลายๆ โครงการ ส่งผลให้ต้นทุนลดลง ผสานกับการใช้ Direct Marketing โดยคัดเลือกรูปแบบ การใช้สอื่ ให้เหมาะสมกับลักษณะกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย และแคมเปญ การจัดกิจกรรมการตลาด และการท�ำการตลาด แบบ Customer Relationship Management (CRM) โดยเน้นการดูแล บริการกลุ่มลูกค้าที่อาศัยในโครงการต่างๆ ของบริษัทและมีการจัดแคมเปญ Perfect Friend Club เพื่อเป็นการขอบคุณลูกค้าที่อาศัยอยู่ในโครงการต่างๆ ของ บริษัท ที่แนะน�ำเพื่อนมาซื้อบ้านของบริษัท เป็นการขยายช่องทางในการเข้าถึงลูกค้าท�ำให้บริษัทสามารถเข้าถึงกลุ่ม เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและมีตน้ ทุนต�ำ่ จากการวางกลยุทธ์ CRM ทีไ่ ด้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี ปัจจุบนั บริษทั มีอตั ราส่วนการตัดสินใจซือ้ จากการแนะน�ำเพือ่ นและญาติพนี่ อ้ งให้มาซือ้ โครงการของบริษทั เพิม่ ขึน้ ตามล�ำดับอย่าง มีนัย บริษทั ด�ำเนินนโยบายเชิงรุกด้านกิจกรรมการตลาดในรูปแบบของเว็บไซต์ สังคมออนไลน์ (Internet Social Network) ทั้ง Facebook และ Twitter บริษัทยังมีกิจกรรมการตลาดเฉพาะกับกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาดูข้อมูลบนเว็บไซต์ของบริษัท และบริษทั ย่อยมากขึน้ และเพิม่ ช่องทางการเข้าถึงลูกค้า ด้วยการให้สมัครสมาชิก Perfect Card เพือ่ เพิม่ ช่องทางการ สื่อสาร ให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าและผลิตภัณฑ์ของบริษัท ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี

ปี 2553 บริษัทเน้นการจัดกิจกรรมการตลาด และการท�ำการตลาด แบบ Customer Relationship Management (CRM) เพื่อสื่อสารกับกลุ่มลูกบ้านโครงการ และกลุ่มลูกค้าเป้าหมายด้วยการจัดกิจกรรมที่โครงการโดยสม�่ำเสมอ ตลอดทั้งปี นอกจากนี้ยังมีภายนอกโครงการ อาทิ งานเพอร์เฟค โชว์เคส ณ อิมแพค ชาเลนเจอร์ ในไตรมาส 4

บริษัทเลือกใช้กลยุทธ์การส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่มีความต้องการที่แตกต่างกัน เพื่อ กระตุน้ การตัดสินใจของลูกค้าทีห่ ลากหลาย โดยค�ำนึงถึงปัจจัยในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจในแต่ละช่วงเวลา อาทิ ข้อเสนอพิเศษส�ำหรับลูกค้าที่ต้องการบ้านพร้อมอยู่ ด้วยเงื่อนไขทางการเงิน โดยร่วมกับสถาบันการเงินชั้นน�ำ เสนอ เงื่อนไขพิเศษ เช่น สินเชื่อดอกเบี้ยต�่ำ การขยายระยะเวลากู้ การผ่อนแบบขั้นบันได เป็นต้น การร่วมมือกับบริษัทผู้

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

51


ผลิตเฟอร์นิเจอร์ชั้นน�ำ ให้ออกแบบตกแต่งเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้าน เพื่อให้ลูกค้าได้บ้านพร้อมเฟอร์นิเจอร์ในราคา พิเศษ เป็นการอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ลูกค้า และลดภาระการจัดหามัณฑนากรเพื่อมาออกแบบตกแต่งบ้าน รวม ถึงการจัดหาสินเชื่อ ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าสินเชื่อที่อยู่อาศัย กลยุทธ์การสร้างแบรนด์

บริษัท ได้มีการสร้างแบรนด์ เพื่อเน้นรูปแบบการอยู่อาศัยที่แตกต่างจากคู่แข่งขัน ซึ่งปัจจุบันได้พัฒนา Brand DNA ของบริษัท ภายใต้แนวคิด “Happy Living” ซึ่งเป็นมาตรฐานใหม่ของการอยู่อาศัย ที่ค�ำนึงถึงความสุขในการใช้ชีวิต ภายในโครงการของพร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค Happy Living คือมาตรฐานความสุขในการอยูอ่ าศัย ซึง่ มีสว่ นประกอบในการสร้างความสุขใน 4 องค์ประกอบหลักคือ • House (Happy with Perfect Quality) คือ ความสุขทีไ่ ด้อยูอ่ าศัยในบ้านทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง เริม่ ตัง้ แต่การออกแบบ อย่างพิถีพิถัน มีฟังก์ชั่นที่ให้ประโยชน์ใช้สอยสูงสุดตอบรับการใช้ชีวิตได้อย่างสมบูรณ์แบบ มีความสวยงาม ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนกระบวนการก่อสร้างที่มีการควบคุมคุณภาพตั้งแต่เริ่ม ต้นจนเสร็จ ใช้เทคโนโลยีการก่อสร้างทันสมัย เช่น การก่อสร้างระบบ Prefabrication ที่ให้ทั้งความรวดเร็วใน การผลิต และคุณภาพทีเ่ ป็นมาตรฐาน ตลอดจนมีการตรวจเช็คความเรียบร้อยในขัน้ ตอนสุดท้ายด้วยระบบ QC Passed ก่อนส่งถึงมือลูกค้า • Security (Happy with Peace of Mind) คือ ความสุขในการอยู่อาศัยในโครงการที่มีการรักษาความปลอดภัย สูงสุด โดยได้ร่วมมือกับบริษัท ไทยซีคอมพิทักษ์กิจ จ�ำกัด (SECOM) ซึ่งเป็นบริษัทรักษาความปลอดภัยชั้นน�ำ ของประเทศญี่ปุ่นที่มีการพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง ในการออกแบบและบริหารการ รักษาความปลอดภัยตัง้ แต่ทางเข้าโครงการ ซุม้ ประตู ป้อมยาม ภายในโครงการ จนถึงภายในตัวบ้านด้วยระบบ Home Security • Lifestyle (Happy with Healthy Lifestyle) คือ ความสุขในการอยูอ่ าศัยทีใ่ ห้มากกว่าเพียงแค่การอยูอ่ าศัยภายใน บ้าน พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค สร้างสรรกิจกรรมต่างๆ ทีต่ อบสนองไลฟ์สไตล์แห่งความสุขของลูกบ้าน ด้วยสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกครบครัน อาทิ คลับเฮ้าส์ขนาดใหญ่ ที่ให้บริการฟิตเนส สระว่ายน�้ำ ห้องออกก�ำลังกาย ร้านค้าและ บริการต่างๆ ตลอดจนพื้นที่ส่วนกลางที่สามารถใช้พักผ่อน ออกก�ำลังกาย และท�ำกิจกรรมส�ำหรับครอบครัวได้ มากมายโดยไม่ต้องออกไปหาภายนอกโครงการ • Green Environment (Happy with Friendly Environment) คือ ความสุขในการอยู่อาศัยในบ้านที่ใกล้ชิดกับ ธรรมชาติ ท่ามกลางสิง่ แวดล้อมทีด่ ี ด้วยพืน้ ทีส่ ว่ นกลางทีใ่ ห้มากกว่า ด้วยสวนพันธุไ์ ม้ขนาดใหญ่และทะเลสาบ กว้าง ให้ความร่มรื่นเย็นชุ่มชื่นและอากาศบริสุทธิ์

บริษัทเชื่อว่าการสร้างแบรนด์ที่ดีต้องเกิดจากประสบการณ์ของลูกค้า อันน�ำไปสู่ความมั่นคงของภาพพจน์บริษัท ดัง นัน้ บริษทั จึงได้เน้นคุณภาพงานก่อสร้าง การออกแบบและวางผังโครงการทีด่ ี การจัดสภาพแวดล้อมภายในโครงการ ระบบสาธารณูปโภค และระบบรักษาความปลอดภัย และยังได้มีการจัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ส�ำหรับลูกค้าที่ อยู่อาศัยในโครงการ ท�ำให้สังคมในโครงการเป็นสังคมที่อบอุ่น ผู้อาศัยในหมู่บ้านอยู่ร่วมกันในโครงการอย่างเป็นสุข ท�ำให้ลูกค้ามีชุมชนและสังคมที่ดี ท�ำให้เกิดผลของการบอกต่อกันของลูกค้า เป็นการสร้างแบรนด์อย่างยั่งยืนผ่าน ประสบการณ์ของลูกค้าที่อาศัยอยู่ในโครงการของบริษัทและบริษัทย่อย

กลุ่มเป้าหมาย (Target Group) บริษทั มีการก�ำหนดลักษณะสินค้าตามแบรนด์ โดยพิจารณาจากท�ำเลทีต่ งั้ ศักยภาพการเติบโตของพืน้ ที่ สภาวะการ แข่งขัน และต้นทุน นโยบายขยายโครงการเพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าในแต่ละท�ำเล แต่ละระดับราคาสินค้า ที่แตกต่างกัน เพื่อให้ครอบคลุม โดยมีการจับกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกันในแต่ละแบรนด์ ปัจจุบันบริษัทได้ขยายโครงการต่างๆ ออกเป็น 9 แบรนด์ เพื่อให้ครอบคลุมทุกความต้องการของตลาด ดังนี้ คอนโดมิเนียม 1. เมโทร พาร์ค (Metro Park) ได้แก่ คอนโดมิเนียมแบบ Low Rise กลางเมือง ใกล้รถไฟฟ้า พร้อมทะเลสาบและ สโมสร บนพื้นที่เปิดโล่งถึง 70% และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ครบครัน

52

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


2. เมโทร สกาย (Metro Sky) ได้แก่ คอนโดมิเนียมแบบ High Rise กลางเมือง ใกล้รถไฟฟ้า พร้อมพื้นที่สีเขียว และ Sky Lounge และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ครบครัน 3. ไอคอนโด (iCondo) ได้แก่ คอนโดมิเนียมแบบ Low-Rise ใกล้เมือง ใกล้รถไฟฟ้า ด�ำเนินการโดย บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเม้นท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) มีระดับราคาอยู่ที่ 1-2 ล้านบาท 4. ยูนลิ อฟท์ (Uniloft) เป็นโครงการคอนโดมิเนียม Low-Rise ด�ำเนินการโดย บริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเม้นท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) บนท�ำเลที่ใกล้มหาวิทยาลัย มีระดับราคาอยู่ที่ 1-1.2 ล้านบาท โดยจะเริ่มเปิดตัวในปี 2554 ทาวน์เฮ้าส์ 5. เดอะ วิลล่า (The Villa) เป็นโครงการใกล้รถไฟฟ้า ใกล้แหล่งชุมชน ส�ำหรับครอบครัวเริ่มต้น • เดอะ วิลล่า ภายใต้การด�ำเนินการโดยบริษัท ได้แก่ ทาวน์โฮม 2 ชั้น และบ้านแฝดแนวคิดใหม่ มีพื้นที่ สีเขียว ทะเลสาบ สโมสรขนาดใหญ่ มีระดับราคาอยู่ที่ 1.7-4 ล้านบาท • เดอะ วิลล่า ภายใต้การด�ำเนินการของบริษัทย่อย (บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด) ได้แก่ ทาวน์โฮม 2 ชั้น มีระดับราคาอยู่ที่ 2-3 ล้านบาท 6. เดอะ เมทโทร (The Metro) ได้แก่ ทาวน์โฮม สไตล์โมเดิร์น 3 ชั้น อยู่ใจกลางเมือง ใกล้แนวรถไฟฟ้า พร้อมสิ่ง อ�ำนวยความสะดวกครบครัน บ้านเดี่ยว 7. เพอร์เฟค พาร์ค (Perfect Park) ได้แก่ บ้านเดี่ยวหลากสไตล์และบ้านแฝด พร้อมพื้นที่สีเขียว และสโมสรใน โครงการ ส�ำหรับครอบครัวเริ่มต้น 8. เพอร์เฟค เพลส (Perfect Place) ได้แก่ บ้านเดีย่ ว พร้อมพืน้ ทีส่ เี ขียว ทะเลสาบ และสโมสรในโครงการ ส�ำหรับ ครอบครัวขนาดกลาง บนท�ำเลที่มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน 9. เพอร์เฟค มาสเตอร์พซี (Perfect Masterpiece) ได้แก่ บ้านเดี่ยวขนาดใหญ่ พร้อมพืน้ ทีส่ ีเขียว และสโมสรใน โครงการ ส�ำหรับครอบครัวขนาดใหญ่

ภาวะการแข่งขัน (Competitive)

ไตรมาสแรกของปี 2553 ผู้ประกอบการภาคอสังหาริมทรัพย์มีรายได้เติบโตอย่างชัดเจน ถึงแม้ว่าต้องเผชิญกับเหตุการณ์ไม่ สงบทางการเมือง แต่เนื่องด้วยมาตรการทางภาษีเพื่อกระตุ้นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จะสิ้นสุดลง หลังจากเริ่มใช้มาตรการมา ตัง้ แต่ 29 มีนาคม 2551 ส่งผลผูบ้ ริโภคเร่งการตัดสินใจซือ้ อย่างมาก โดยผูป้ ระกอบการรายใหญ่ให้ความส�ำคัญกับการเร่งการ ขาย การก่อสร้าง และการระบายสินค้าคงเหลือเป็นหลัก หลังมาตรการทางภาษี เหตุการณ์ไม่สงบทางการเมืองก็มผี ลกระทบ ท�ำให้ผู้ประกอบการชะลอการเปิดโครงการใหม่ ท�ำให้มียอดขายที่อยู่อาศัยชะลอตัวลง แต่มีการเร่งเปิดโครงการใหม่เพิ่มใน ปลายไตรมาสที่ 3 ต่อเนื่องถึงไตรมาสที่ 4 โดยส่วนใหญ่เป็นโครงการอาคารชุดระดับล่าง เนื่องจากผู้ประกอบการมีความเชื่อ มั่นเสถียรภาพรัฐบาลมากขึ้นภายหลังจากที่สามารถผ่านวิกฤตการเมืองที่รุนแรงมาได้

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

53


สภาวการณ์แข่งขันในปี 2553 เป็นการแข่งขันเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งตลาดของผู้ประกอบการรายใหญ่ในแต่ละผลิตภัณฑ์ ส่งผล ให้ผู้ประกอบการใช้กลยุทธ์ ทั้งด้านราคา ผลิตภัณฑ์ ความร่วมมือกับพันธมิตร โปรโมชั่นต่าง ๆ เพื่อดึงดูดและเร่งการตัดสิน ใจซือ้ ของลูกค้า บริษทั และบริษทั ย่อยยังคงด�ำเนินนโยบายสร้างความแตกต่างในเรือ่ งผลิตภัณฑ์ การพิจารณาท�ำเล ทีเ่ หมาะ สม การตั้งราคาที่คุ้มค่าคุ้มราคาในแต่ละท�ำเลเพื่อสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้าเป็นส�ำคัญ บริษทั เน้นให้ความส�ำคัญในเรือ่ งท�ำเล ในการก�ำหนดกลยุทธ์ตา่ งๆ ทัง้ ประเภทบ้าน แบบบ้าน และราคา โดยบริษทั ได้พจิ ารณา แบ่งท�ำเลที่ตั้งเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

54

กลุ่มที่ 1 โครงการที่มีท�ำเลดีมาก อยู่ในเขตเมือง (อยู่ในรัศมีไม่เกิน 15 กม.) ในปี 2553 บริษทั ได้เพิม่ สินค้าในกลุม่ คอนโดมิเนียมระดับราคา 1-3 ล้านบาท ต่อยอดความส�ำเร็จจากโครงการเมโทร พาร์ค สาทร ทีอ่ ยูใ่ กล้สถานีรถไฟฟ้าสายสีเขียวส่วนต่อขยาย ทีบ่ ริษทั ฯได้ดำ� เนินการไปแล้วและได้รบั การตอบรับจาก ตลาดเป็นอย่างดียิ่ง โดยยังคงตอกย�้ำแนวคิดที่เน้นความสะดวกสบายในการเดินทาง ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้าทั้ง ส่วนลอยฟ้า(BTS) และใต้ดิน(MRT) รวมถึงการเน้นความน่าอยู่อาศัยทางด้านสภาพแวดล้อมและสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกภายในโครงการทีย่ งั คงเป็นจุดแข็งของบริษทั เป็นหลัก บริษทั มีแผนเปิดโครงการในสินค้าประเภทนีเ้ พือ่ รองรับ ความต้องการของลูกค้ากลุม่ ดังกล่าวในท�ำเลอืน่ ๆ ได้แก่ โครงการ เมโทร สกาย บนท�ำเลถนนรัชดาภิเษกและสุขมุ วิท บริษทั เชือ่ ว่าผลกระทบจากความผันผวนของราคาน�้ำมันทีย่ งั คงมีอยูต่ อ่ เนือ่ ง และยังไม่มแี นวโน้มทีจ่ ะหยุดนิง่ จะเป็น ปัจจัยส�ำคัญทีส่ ง่ ผลให้ความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัย ใกล้ระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ยงั คงเป็นทีต่ อ้ งการของผูบ้ ริโภคอยู่ กลุ่มที่ 2 โครงการที่มีท�ำเลดี ใกล้เมือง (อยู่ในรัศมี 15-20 กม.) โครงการส่วนใหญ่ของบริษัท จัดอยู่ในกลุ่มนี้ เป็นท�ำเลที่มีการแข่งขันสูง เนื่องจากเป็นท�ำเลที่ไม่ไกลจากศูนย์กลาง ธุรกิจมากนัก และยังสามารถเข้าสู่เมืองได้สะดวกรวดเร็วขึ้น จากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมอย่างต่อเนื่องของ ภาครัฐ ท�ำให้ทดี่ นิ ทีอ่ ยูใ่ นแนวเส้นทางดังกล่าวมีศกั ยภาพรวมถึงราคาทีด่ นิ ขยับสูงขึน้ ตามไปด้วย บริเวณดังกล่าวจัด เป็นการพัฒนาเป็นโครงการบ้านจัดสรร ในระดับราคาตั้งแต่ 3 ล้านบาทขึ้นไป เช่น ถนนราชพฤกษ์ ถนนรัตนาธิเบศร์ ถนนพระรามเก้าตัดใหม่ ถนนวงแหวนรอบนอก ถนนอ่อนนุช เป็นต้น บริษัทและบริษัทย่อยได้ก�ำหนดกลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาโครงการภายใต้แบรนด์ เพอร์เฟค มาสเตอร์พซี , เพอร์เฟค เพลส, เพอร์เฟค พาร์ค, เดอะ เมทโทร และเดอะ วิลล่า กลุ่มที่ 3 โครงการย่านชานเมือง (รัศมี 20-30 กม.) กลุ่มนี้มีการแข่งขันสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากพื้นที่ย่านชานเมืองนี้ ราคาที่ดินไม่สูงมากนัก ซึ่งสามารถพัฒนา เป็นโครงการบ้านจัดสรรในระดับราคาไม่เกิน 4 ล้านบาท ท�ำให้มีผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยึดท�ำเลนี้พัฒนาโครงการ เป็นจ�ำนวนมาก เนื่องจากก�ำลังซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภค (Purchasing Power) ในกลุ่มนี้มีฐานที่ใหญ่ที่สุด แต่ด้วย เหตุผลทีผ่ ปู้ ระกอบการสามารถท�ำโครงการได้งา่ ย ส่งผลให้มปี ริมาณสินค้าเสนอขาย (Supply) มากกว่าปริมาณความ ต้องการซื้อ (Demand) ท�ำให้เกิดภาวะการแข่งขันที่รุนแรงมากตามไปด้วย จนเกิดภาวะสงครามราคา (Price War) เพื่อช่วงชิงตลาดผู้ซื้อ ท�ำให้มีราคาขายค่อนข้างต�่ำ โดยผู้ประกอบการยอมท�ำก�ำไรในพื้นที่นี้ต�่ำกว่าพื้นที่ท�ำเลดี ใกล้ เมือง ส�ำหรับบริษัท ได้ด�ำเนินการขยายพัฒนาโครงการในกลุ่มนี้เพื่อเพิม่ ส่วนแบ่งตลาด และกระจายฐานการรับรู้ใน ตราสินค้า(Brand) เพอร์เฟค พาร์ค และ เดอะ วิลล่า กลุ่มที่ 4 โครงการท�ำเลไม่ดีหรือออกนอกเมือง ลูกค้ากลุม่ นีเ้ ลือกซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยทีอ่ ยูน่ อกเมือง เพราะมีตน้ ทุนต�ำ่ และหวังว่าในอนาคตมูลค่าบ้านและทีด่ นิ จะปรับตัวสูง ขึ้นเมื่อความเจริญมาถึง จากระดับราคาน�้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นและมีแนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับราคาที่สูง จึงท�ำให้ความ ต้องการสินค้าที่อยู่อาศัยกลุ่มนี้เป็นเฉพาะกลุ่มที่อยู่ในท�ำเลนั้น

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ภาวะอุตสาหกรรมและแนวโน้มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เศรษฐกิจไทยในปี 2553 ฟื้นตัวขึ้นมากจากปีก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 2.3 โดยคาดว่าจะขยายตัวถึงร้อยละ 7.8 ต่อปี (ทีม่ า:ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง) ถือว่าขยายตัวได้ในระดับสูงมาก โดยปัจจัยการขยายตัวของการส่งออกสินค้าในอัตราทีส่ งู ตามการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ หลัก รวมถึงการฟืน้ ตัวของการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ทัง้ ภาคเกษตรกรรมที่ รายได้ของเกษตรกรเพิม่ สูงขึน้ ตามราคาสินค้าเกษตร และภาคอุตสาหกรรมการทีข่ ยายตัวตามการส่งออกและเศรษฐกิจภายใน ประเทศ แนวโน้มของปัจจัยทางเศรษฐกิจที่ได้กล่าวมานี้แสดงให้เห็นถึงการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศอย่างชัดเจน ปี 2554 คาดว่า เศรษฐกิจไทยจะยังคงขยายตัวต่อเนื่อง โดยประเมินว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ 4.5 (ที่มา: ส�ำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง) ตามอุปสงค์ภายในประเทศ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโน้มที่ดีต่อเนื่อง จากรายได้ภาค การเกษตรเพิ่มสูงขึ้น การปรับขึ้นเงินเดือนข้าราชการและการขยายการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม ตามแนวโน้มการส่งออก ยังขยายตัวในระดับที่สูงแม้ว่าอาจจะชะลอตัวลงบ้าง เนื่องจากมีความเสี่ยงจากความเปราะบางของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ประเทศคู่ค้าหลัก ส่วนทางด้านการท่องเที่ยวก็น่าจะฟื้นตัวจากปีที่ผ่านมาซึ่งได้รับผลกระทบจากปัญหาทางการเมือง ส�ำหรับ ภาครัฐนั้นคาดว่าจะมีการใช้จ่ายและการลงทุนที่สูงขึ้นตามงบประมาณที่ตั้งไว้ ทั้งนี้แม้ว่าแนวโน้มเศรษฐกิจจะมีทิศทางในทางบวก แต่ก็ยังคงมีปัจจัยที่เป็นความเสี่ยงอยู่บางประการ เช่น 1.การฟื้นตัวของ เศรษฐกิจโลกยังคงเปราะบาง 2.อัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้น โดยมีแรงกดดันที่ส�ำคัญมาจากการปรับตัวสูงขึ้นของ ราคาน�้ำมันและราคาสินค้าเกษตรในประเทศ ซึ่งจะกระทบต่อค่าครองชีพและความเชื่อมั่นของผู้บริโภค 3.แนวโน้มอัตรา ดอกเบี้ยที่คาดว่าจะทยอยปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่องจากปลายปี 2553 จะส่งผลให้ต้นทุนของผู้บริโภคและผู้ประกอบการสูงขึ้น 4.ปัจจัยด้านเสถียรภาพทางการเมืองภายในประเทศ ทั้งนี้ปัจจัยต่างๆที่ได้กล่าวมานี้ล้วนส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของ ผู้บริโภคและผู้ประกอบการ และเป็นผลต่อเนื่องถึงการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศ ซึ่งเป็นปัจจัย ส�ำคัญของการของขยายตัวของเศรษฐกิจในปี 2554 นี้ ส�ำหรับภาคอสังหาริมทรัพย์ในปี 2553 แม้ว่าในช่วงครึ่งปีแรกจะเผชิญกับเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมือง แต่เนื่องด้วย มาตรการทางภาษีเพื่อกระตุ้นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จะสิ้นสุดลง หลังจากเริ่มใช้มาตรการมาตั้งแต่ 29 มีนาคม 2551 ส่งผล ผู้บริโภคเร่งการตัดสินใจซื้ออย่างมาก จึงส่งผลให้ผู้ประกอบการมีรายได้เติบโตอย่างชัดเจน โดยให้ความส�ำคัญกับการเร่ง การขาย การก่อสร้าง และการระบายสินค้าคงเหลือเป็นหลัก เมือ่ ประกอบกับการทีเ่ กิดเหตุการณ์ไม่สงบขึน้ จึงมีเกิดเปิดโครงการ ใหม่น้อยมาก ในไตรมาสที่ 3 ยอดขายที่อยู่อาศัยชะลอตัวลงอย่างชัดเจน เนื่องจากอุปสงค์ถูกดูดซับไปจ�ำนวนมากขณะที่ ผู้ประกอบก็ยังคงชะลอการเปิดโครงการเพื่อรอดูสถานการณ์เช่นกัน โดยมาเร่งเปิดโครงการจ�ำนวนมากในปลายไตรมาสที่ 3 ต่อเนื่องถึงไตรมาสที่ 4 โดยส่วนใหญ่เป็นโครงการอาคารชุดระดับล่าง ซึ่งส่วนใหญ่ก็มียอดจองในระดับที่ดีพอสมควร จ�ำนวนหน่วยของการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัย ในเขตกรุงเทพและปริมณฑลเดือน ม.ค. ถึง พ.ย.ปี 2553 เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลา เดียวกันปี 2552 ประมาณ 12% จากการขยายตัวของทีอ่ ยูอ่ าศัยประเภทอาศัยชุดซึง่ มีสดั ส่วนอยู่ 40% ของการโอนกรรมสิทธิ์ ทีอ่ ยูอ่ าศัยเพิม่ ขึน้ ถึง 33% เป็นหลัก ขณะทีบ่ า้ นเดีย่ วโอนกรรมสิทธิล์ ดลง 5% และ ทาวน์เฮาส์โอนกรรมสิทธิเ์ พิม่ ขึน้ เพียง 3% ส่วนจ�ำนวนที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จจดทะเบียน ในเขตกรุงเทพและปริมณฑลเดือน ม.ค. ถึง พ.ย.ปี 2553 เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลา เดียวกันปี 2552 ประมาณ 13% จากการอาคารชุดซึ่งมีสัดส่วนอยู่ 53.6% ของจ�ำนวนที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จจดทะเบียน สร้าง เสร็จเพิ่มขึ้น 10% ขณะที่บ้านเดี่ยวซึ่งมีสัดส่วนอยู่ 30%สร้างเสร็จเพิ่มขึ้น 8% และ ทาวน์เฮาส์ซึ่งมีสัดส่วนอยู่ 12.5% สร้าง เสร็จเพิ่มขึ้นถึง 60% (ที่มา: ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์) เมื่อประกอบกับข้อมูลจ�ำนวนที่อยู่อาศัยเปิดขายใหม่ที่เพิ่มขึ้นถึงประมาณ 97.9% เมื่อเทียบกับปี 2552 (เนื่องจากส่วนใหญ่ เป็นการเพิม่ ขึน้ ของอาคารชุดระดับล่างจึงมีจำ� นวนหน่วยเพิม่ ขึน้ สูง) ขณะทีย่ อดขายก็เพิม่ ขึน้ ถึง 62% เมือ่ เทียบกับปี 2552 ส่ง ผลให้อุปทานคงเหลือขาย ณ สิ้นปีเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาเพียง 19% และส่วนใหญ่เป็นอาคารชุดที่มีก�ำหนดเสร็จในอีก 1-2 ปี (ทีม่ า:บริษทั Agency for Real Estate Affairs) จะเห็นได้วา่ มีการดูดซับอุปทานในระดับทีด่ ี โดยอุปทานคงเหลือส่วนใหญ่อยู่ ในระหว่างก่อสร้างหรือยังไม่เริ่มก่อสร้าง ส่วนสินค้าที่สร้างเสร็จถูกดูดซับไปจ�ำนวนมากก่อนหมดมาตรการภาษีกระตุ้นธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ และโครงการที่เปิดตัวไปแล้วยังสามารถด�ำเนินการสร้างเสร็จและมีการโอนได้ต่อเนื่อง จะมีเพียงบางท�ำเล

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

55


ซึ่งมีการแข่งขันของอุปทานที่สูงอย่างรวดเร็ว เช่นแนวรถไฟฟ้าสายใหม่และแนวส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายต่างๆ เนื่องจากผู้ ประกอบการคาดการณ์ว่าจะมีการขยายของอุปสงค์ในระดับที่สูง เช่นกัน ตลาดอสังหาริมทรัพย์ในปี 2554 จากการทีไ่ ม่มมี าตรการทางภาษีเพือ่ กระตุน้ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อย่างเช่นในช่วงกว่า 3 ปีที่ ผ่านมา แนวโน้มน่าจะขยายตัวไปตามปัจจัยพืน้ ฐาน ซึง่ ก็คอื การขยายตัวของเศรษฐกิจโดยรวม ซึง่ ส่งกระทบโดยตรงกับความ เชือ่ มัน่ ผูบ้ ริโภค โดยมีปจั จัยหลักทีจ่ ะส่งผลต่อการตัดสินใจซือ้ และก�ำลังซือ้ คือ อัตราเงินเฟ้อและอัตราดอกเบีย้ ทีน่ า่ จะปรับตัว สูงขึ้น และสถานการณ์ทางเมืองซึ่งจะส่งผลกระทบทั้งด้านจิตวิทยาและความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดคี วามชัดเจนของการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายใหม่ และ ความคืบหน้าของรถไฟฟ้าส่วนต่อขยาย น่าจะเป็นส่วนส�ำคัญที่ ท�ำให้ผบู้ ริโภคตัดสินใจซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยมากขึน้ รวมทัง้ การเปิดโครงการทีส่ อดคล้องกับความต้องการของผูบ้ ริโภคมากขึน้ ก็นา่ จะส่ง ผลดีตอ่ สถานการณ์การขายทีอ่ ยูอ่ าศัยต่อไป ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั สถานการณ์การแข่งขัน และปัจจัยสนับสนุนในแต่ละท�ำเลเป็นหลัก การแข่งขันในตลาดอสังหาริมทรัพย์ ด้านผู้ประกอบการเองซึ่งได้รับผลกระทบจากค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นหลังจากหมดมาตรการ ทางภาษีเพือ่ กระตุน้ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และต้นทุนต่างๆทีม่ แี นวโน้มปรับตัวสูงขึน้ เช่น ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนการก่อสร้าง และราคาทีด่ นิ ทีป่ รับตัวสูงขึน้ อย่างรวดเร็ว ซึง่ น่าจะส่งผลกระทบมากกว่าส�ำหรับผูป้ ระกอบการรายเล็กทีม่ มี ากขึน้ ในระยะหลัง พัฒนาโครงการได้ยากขึ้น แนวโน้มของตลาดจึงน่าจะเป็นการแข่งขันกันระหว่างผู้ประกอบการรายใหญ่ซึ่งมีความสามารถ ในการลงทุนมากกว่า รวมทั้งศักยภาพทางด้านต้นทุน ด้านความสามารถในการผลิตและข้อได้เปรียบทางการตลาดที่สูงกว่า โดยมีปัจจัยที่ส�ำคัญของความส�ำเร็จ คือความสามารถในการปรับตัวไปตามการเปลี่ยนของตลาดได้อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะ เข้าสู่ตลาดใหม่ๆ ทั้งในแง่ท�ำเล และ รูปแบบโครงการ รวมทั้งหาช่องว่างทางการตลาดเพื่อกระจายการพัฒนาโครงการให้ ครอบคลุมในประเภทที่อยู่อาศัยต่างๆและในหลายระดับราคา เพื่อแย่งชิงส่วนแบ่งการตลาด แนวโน้มทีอ่ ยูอ่ าศัยขนาดเล็กจะกลายเป็นตลาดหลักมีมากขึน้ เนือ่ งจากมีการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมด้านก�ำลังซือ้ และพฤติกรรม บริโภคอย่างชัดเจน เช่น การลดงบประมาณในการซื้อที่อยู่อาศัยลงตามก�ำลังซื้อที่ลดลง เนื่องจากแนวโน้มราคาที่อยู่อาศัย ที่ปรับขึ้นสูงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบการเติบโตของรายได้ รูปแบบการด�ำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นการที่ขนาด ครอบครัวเล็กลง หรือ แต่งงานช้าลง หรือ ต้องการการเดินทางที่สะดวกรวดเร็ว ปัจจัยทั้งหมดนี้มีผลให้อุปสงค์ของที่อยู่อาศัย ประเภทที่มีขนาดเล็กเช่น อาคารชุด บ้านแฝด และทาวน์เฮ้าส์ มีมากขึ้น ขณะที่บ้านเดี่ยวซึ่งเหมาะกับการอยู่อาศัยเป็นครอบครัว สอดคล้องวัฒนธรรมการอยู่อาศัยของคนไทย โดยให้คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อผู้อยู่อาศัย ส่งผลให้บ้านเดี่ยวจึงยังมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะอยู่ในท�ำเลที่ไกลกว่า ซึ่ง บ้านเดี่ยวชานเมืองน่าจะได้รับผลดีขึ้นบ้าง จากปัจจัยการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและความเชื่อมั่นผู้บริโภค รวมทั้งขยายตัวของ เส้นทางคมนาคม ไม่วา่ จะเป็น เส้นทางตัดใหม่ ทางด่วน สะพานข้ามแม่นำ�้ และทีส่ ำ� คัญคือการเปิดใช้และการเริม่ ด�ำเนินการ ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายใหม่ ข้อมูลยอดจดทะเบียนที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จ ม.ค.-พ.ย.ปี 2553 (ดูรูปที่ 1) มากกว่าปี 2552 ทั้งปีเล็กน้อย โดยมีอาคารชุดสร้าง เสร็จมากถึง 52% เกิดจากการเปิดโครงการจากจ�ำนวนมากในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ซึ่งสะท้อนถึงสถานการณ์ของโครงการ อาคารชุดที่สามารถด�ำเนินโครงการการจนสร้างเสร็จได้ ขณะที่บ้านเดี่ยวจ�ำนวนสร้างเสร็จค่อนข้างคงที่หลังจากลดลงต่อ เนื่องมา 4- 5 ปี ส่วนทาวน์เฮ้าส์ที่มีการเปิดขายมากขึ้นในระยะหลังก็สร้างเสร็จมากขึ้น แต่โดยเฉลี่ยแนวโน้มยังคงค่อนข้าง คงที่ เนื่องจากส่วนใหญ่อยู่ระหว่างก่อสร้าง ซึ่งหากประกอบยอดจดทะเบียนโอนที่เพิ่มขึ้นแล้วจะเห็นว่าสถานการณ์อุปทาน ยังคงด�ำเนินไปอย่างปกติ

56

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


จ�ำนวนทีอ่ ยูอ่ าศัยจดทะเบียนเพิม่ ในกทม. และปริมณฑล ปี 2538 ถึง 2552 และ ม.ค.-พ.ย. 2553 (แบ่งตามประเภททีอ่ ยูอ่ าศัย) 2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

SDH

48,909 44,877 41,305 23,985 17,469 23,128 24,041 24,973 34,592 44,248 46,643 42,764 38,705 34,618 28,998

Duplex House

1,089

791

1,009

196

178

539

227

80

TH&Shop H. 61,944 60,373 43,480 11,895 2,319

2,728

5,062

7,011

1,2950 15,418 13,858 17,421 17,837 14,616 11,116

6,679

4,650

5,118

7,399

9,063

1,144

945

8,439

678

965

1,556

2,296

1,138

CD

66,911 70,575 62,837 30,978

10,534 18,607 17,432 34,049 53,725

Total

178,853 176,616 148,631 67,054 29,029 33,074 33,980 37,182 56,085 69,050 71,713 79,757 75,530 85,579 94,977

หมายเหตุ SDH (บ้านเดี่ยว), Duplex House (บ้านแฝด), TH&Shop H. (ทาวน์เฮ้าส์และตึกแถว), CD (คอนโดมิเนียม)

รูปที่ 1 จ�ำนวนที่อยู่อาศัยจดทะเบียนเพิ่มใน กทม. และปริมณฑล ปี 2538 ถึง 2552 และ ม.ค.-พ.ย. 2553 (แบ่งตามประเภท ที่อยู่อาศัย)

ส�ำหรับทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ ปิดขายใหม่ทใี่ นปี 2553 (ดูรปู ที่ 2) ตลาดมีการปรับตัวอย่างมากโดยอาคารชุดเปิดขายเพิม่ ขึน้ ถึง 154.1% หลังจากมีการเปิดตัวอาคารชุดลดลงในปีทผี่ า่ นมา และมีการโอนอาคารชุดสร้างเสร็จไปแล้วจ�ำนวนมาก ส่วนทาวน์เฮ้าส์กเ็ ปิด ตัวเพิม่ ขึน้ ถึง 64.4% ซึง่ การเปิดตัวจ�ำนวนมากของอาคารชุดและทาวน์เฮ้าส์เกิดจากปัจจัยส�ำคัญคือเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขการ ส่งเสริมการลงทุนพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยส�ำหรับผูม้ รี ายได้นอ้ ยส่งผลให้ผปู้ ระกอบการสามารถพัฒนาโครงการได้งา่ ยขึน้ และยังเป็น สินค้าทีส่ อดคล้องกับความต้องการของตลาดปัจจุบนั อีกด้วย ขณะทีส่ นิ ค้าประเภทอืน่ มีการเปิดตัวมากขึน้ ในช่วงปลายปี การ เพิม่ การเปิดโครงการเป็นผลมาจากผูป้ ระกอบการมีความมัน่ ใจในสถานการณ์การขายมากขึน้ รวมทัง้ สามารถควบคุมสินค้าคง เหลือได้ในระดับทีเ่ หมาะสมแล้ว จากข้อมูลดังกล่าวจึงอาจกล่าวได้วา่ สินค้าทีก่ ำ� ลังเปิดขายอยู่ ณ ปัจจุบนั นัน้ อาจจะยังไม่ได้ มีการก่อสร้างหรืออยู่ระหว่างก่อสร้าง ซึ่งมีความยืดหยุ่นของการลงทุนในระดับหนึ่ง ส่วนสถานการณ์ด้านอุปทานอาคารชุดที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจจะน่าเป็นห่วงอยู่บ้างในบางท�ำเลซึ่งจ�ำนวนและราคาเปิด ขายสูงขึน้ อย่างรวดเร็ว ในระยะสัน้ อาจจะเกิดปัญหาในด้านการแข่งขันและการดูดซับของตลาด แต่ถา้ หากโครงการมีรปู แบบ โครงการและอยู่ในท�ำเลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ดี ก็ยงั น่าจะได้รับการตอบรับที่ดี ในระยะยาวคาด การณ์วา่ อาคารชุดระดับล่างน่าจะเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ ป็นความต้องการอันดับแรกของผูบ้ ริโภค อย่างเช่นทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศอืน่ ๆ ซึง่ การสูงขึน้ อย่างรวดเร็วของราคาทีด่ นิ เป็นข้อจ�ำกัดในการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยแนวราบ และการขยายตัวของเส้นทางการขนส่ง มวลชนระบบราง ส่งผลให้พฤติกรรมการเลือกซื้อที่อยู่อาศัยเปลี่ยนแปลงไป

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

57


รูปที่ 2 เปรียบเทียบจ�ำนวนหน่วยที่อยู่อาศัยเปิดขายใหม่ (แบ่งตามประเภทที่อยู่อาศัย) ปี 2552 กับ ปี 2553

จ�ำนวนหน่วยที่เปิดขายใหม่ เปรียบเทียบระหว่าง 2552 กับ ปี 2553 2552 บ้านเดี่ยว 11,157 บ้านแฝด 2,665 ทาวน์เฮ้าส์ 19,079 คอนโดมิเนียม 23,993 รวม ที่มา : บริษัท Agency for Real Estate Affairs

56,894

2553 17,353 2,925 31,365 60,972

เปลี่ยนแปลง% 55.5% 9.8% 64.4% 154.1%

112,615

97.9%

สรุปภาพรวมของภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้วา่ แม้วา่ ความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยในปี 2554 นีม้ ปี จั จัย ด้านค่าครองชีพและอัตราดอกเบี้ยเป็นข้อจ�ำกัดด้านก�ำลังซื้อมากขึ้น และปัจจัยการเมืองภายในประเทศซึ่งส่งกระทบด้าน จิตวิทยาอยู่พอสมควร อย่างไรก็ดีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่มีต่อปัจจัยด้านเศรษฐกิจซึ่งยังคงมีแนวโน้มที่ดีจะเป็นปัจจัยหลักใน การตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภค เมื่อมองในด้านอุปทานของตลาดจะเห็นการปรับตัวของการแข่งขันอย่างชัดเจนโดย เน้นตลาดทีม่ คี วามต้องการสูงสอดคล้องกับรายได้และการเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคมากขึน้ อุปทานคงค้างใน ตลาดถูกระบายออกไปจ�ำนวนมาก ผู้ประกอบการรายใหญ่ยึดครองส่วนแบ่งการตลาดได้มากขึ้นและน่าจะยังคงรักษาความ ได้เปรียบในด้านต่างๆต่อไป ซึง่ หากปัจจัยต่างๆยังเป็นไปในทิศทางปัจจุบนั ในระยะสัน้ อาจจะมีการแข่งขันทีส่ งู ขึน้ บ้าง แต่หาก เศรษฐกิจเติบโตได้ดีต่อเนื่องในระยะยาวแนวโน้มของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ก็ยังอยู่ในทิศทางที่ดี

58

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ข้อมูลอื่น ๆ โครงสร้างเงินทุน หลักทรัพย์ของบริษัท

1. หุ้นสามัญ หลักทรัพย์ของบริษัทหุ้นสามัญ ณ สิ้นงวดบัญชี ทุนจดทะเบียน • มูลค่า (บาท) • จ�ำนวน (หุ้น) ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว • มูลค่า (บาท) • จ�ำนวน (หุ้น) มูลค่าที่ตราไว้ (บาทต่อหุ้น)

31 ธ.ค. 2551

31 ธ.ค. 2552

31 ธ.ค. 2553

6,552,000,000 1,092,000,000

6,552,000,000 1,092,000,000

6,552,000,000 1,092,000,000

4,726,329,720 787,721,620 6.00

4,726,329,720 787,721,620 6.00

4,726,344,720 787,724,120 6.00

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 6,552,000,000 บาท (หุ้นสามัญ 1,092,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 6 บาท) เพิม่ ขึน้ 338,434,824 บาท (หุน้ สามัญ 56,405,804 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 6 บาท) จากทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 6,213,565,176 บาท (หุ้นสามัญ 1,035,594,196 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท) ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2550 อันเป็นผลจากมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 ที่มีมติ อนุมัติให้ลดทุนจดทะเบียนจากทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จ�ำนวน 6,213,565,176 บาท (หุ้นสามัญ 1,035,594,196 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท) เป็น 5,589,565,176 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 931,594,196 หุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 6.00 บาท) โดยการตัดหุน้ สามัญจดทะเบียนทีย่ งั มิได้นำ� ออกจ�ำหน่ายจ�ำนวน 104,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6.00 บาท รวมเป็นเงิน 624,000,000 บาท ซึ่งส�ำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้ เป็นหุ้นสามัญ และมีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 5,589,565,176 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 931,594,196 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 6.00 บาท) เป็น 6,552,000,000 บาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 1,092,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้ หุ้นละ 6.00 บาท) เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ โดยบริษัทได้จดทะเบียนการลดทุนและเพิ่ม ทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2551 และเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2551 ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนจ�ำนวน 6,552,000,000 บาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 1,092,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6.00 บาท) และมีทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วจ�ำนวน 4,726,329,720 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 787,721,620 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6.00 บาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนจ�ำนวน 6,552,000,000 บาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 1,092,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6.00 บาท) และมีทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วจ�ำนวน 4,726,344,720 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 787,724,120 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 6.00 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดง สิทธิในเดือนธันวาคม 2552 เป็นจ�ำนวนเงินรวม 15,000 บาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 2,500 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 6 บาท) โดย บริษทั ได้ดำ� เนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนกับกระทรวงพาณิชย์ ส�ำหรับการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าว เมือ่ วันที่ 11 มกราคม 2553 2.

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

(ก) ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญส�ำหรับเจ้าหนี้ไม่มีประกัน ตามแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทต้องด�ำเนินการออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของ บริษัทให้แก่เจ้าหนี้ไม่มีประกันในอัตราหนี้ 1,000 บาท ต่อใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 7 หน่วย โดยไม่คิด มูลค่า โดยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 0.01 บาท ทัง้ นี้ บริษทั ได้รบั อนุญาตจากส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้ เสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิจำ� นวน 53,000,000 หน่วย อายุ 10 ปี นับจากออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ในวันที่ 7 พฤศจิกายน 2545 โดยไม่คิดมูลค่า และมีก�ำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิทุกวันสุดท้ายของ ไตรมาส 2 และไตรมาส 4 ของปี โดยเริ่มจากไตรมาส 4 ปี 2545 ต่อมา เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มี รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

59


ค�ำสั่งยกค�ำร้องการขอรับช�ำระหนี้ของเจ้าหนี้บางส่วน ท�ำให้บริษัทจัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิให้แก่ เจ้าหนี้ไม่มีประกันได้เพียง 50,930,000 หน่วย คงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ยังมิได้จัดสรรจ�ำนวน 2,070,000 หน่วย ซึง่ ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2548 มีมติอนุมตั ใิ ห้ยกเลิกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ที่คงเหลือจากการจัดสรรทั้งจ�ำนวน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทคงเหลือใบส�ำคัญแสดง สิทธิที่ยังไม่ได้มีการใช้สิทธิจ�ำนวน 8,863,476 หน่วย

(ข) ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญส�ำหรับกรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทใน วงจ�ำกัด (ESOP) ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจ�ำปี 2548 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2548 มีมติ อนุมตั ใิ ห้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของ บริษัทในวงจ�ำกัด (ESOP) โดยไม่คิดมูลค่าจ�ำนวน 39,000,000 หน่วย โดยผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ดังกล่าวมีสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทในอัตราส่วนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยต่อหุ้นสามัญ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 6.00 บาท โดยจะต้องใช้สิทธิภายใน 5 ปี นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ซึ่ง ขณะนี้บริษัท ยังไม่ได้ด�ำเนินการออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิแต่อย่างใด ต่อมา ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2551 วันที่ 20 มิถุนายน 2551 มีมติอนุมัติให้ยกเลิก การออกและจัดสรรหุ้นสามัญจ�ำนวน 39,000,000 หุ้นที่ได้ส�ำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิซื้อหุ้น สามัญของผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่บริษัทออกและเสนอขายให้แก่กรรมการ และ/หรือ พนักงาน ของบริษัทในวงจ�ำกัดตามโครงการ ESOP ที่เคยได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ประจ�ำปี 2548 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2548

3. หุ้นกู้แปลงสภาพ ครั้งที่ 1/2548 วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 ชนิดของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ ระบุชื่อผู้ถือ ไม่มีประกันและไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ เสนอขายต่อ : ผูล้ งทุนประเภทสถาบันต่างประเทศเฉพาะเจาะจงเป็นเงินสกุลเหรียญสหรัฐอเมริกา ทัง้ นี้ ผู้ลงทุนสถาบันต่างประเทศเป็นผู้รับความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมด จ�ำนวนหุ้นกู้ : 200,000 หน่วย ราคาหุ้นกู้ต่อหน่วย : 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา อายุหุ้นกู้ : 5 ปี นับแต่วันที่ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ คือ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 3.50 ต่อปี การช�ำระดอกเบี้ย : ทุกวันที่ 25 กุมภาพันธ์, 25 พฤษภาคม, 25 สิงหาคม และ 25 พฤศจิกายนของทุกปีตลอด อายุของหุ้นกู้ ซึ่งจะมีการจ่ายดอกเบี้ยครั้งแรกในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2549 การช�ำระคืนเงินต้น : เฉพาะหุน้ กูส้ ว่ นทีไ่ ม่ได้ใช้สทิ ธิแปลงสภาพ ให้ชำ� ระคืนเป็นเงินสกุลเหรียญสหรัฐอเมริกา พร้อมส่วนทีเ่ กินจากมูลค่าทีต่ ราไว้ในอัตราร้อยละ 31.60 ของมูลค่าทีต่ ราไว้ โดยจ�ำนวน เงินที่ช�ำระคืนข้างต้น ให้ยึดอัตราแลกเปลี่ยนที่ก�ำหนดไว้ ณ วันที่ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ (41.15 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ) ราคาแปลงสภาพ : หุ้นละ 6.25 บาท ระยะเวลาการใช้สิทธิ : ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นกู้ 18 เดือน จนถึงวันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ แต่การใช้ แปลงสภาพ สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้แต่ละครั้ง จะต้องมีมูลค่าไม่ต�่ำกว่า 1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา

60

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ข้อบังคับก�ำหนดแปลง : บริษัทมีสิทธิเรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญได้เป็นจ�ำนวน 1 ใน สภาพ 3 ของจ�ำนวนหุน้ กูแ้ ปลงสภาพทีผ่ ถู้ อื หุน้ ได้รบั จัดสรรในครัง้ แรก เมือ่ ปริมาณการซือ้ ขาย หุน้ สามัญของบริษทั ถัวเฉลีย่ ในช่วง 45 วันท�ำการซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก่อนวันทีบ่ ริษทั เรียกให้ผถู้ อื หุน้ กูใ้ ช้สทิ ธิแปลงสภาพสูงเกินกว่า 10 ล้านหุน้ และราคาปิด ถัวเฉลีย่ ของหุน้ สามัญของบริษทั ทีท่ ำ� การซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน ช่วง 60 วันท�ำการก่อนวันที่บริษัทเรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ใช้สิทธิแปลงสภาพ และราคาปิดใน ช่วง 5 วันท�ำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก่อนวันที่บริษัทเรียกให้ผู้ ถือหุ้นกู้ใช้สิทธิแปลงสภาพสูงเกินกว่า • ร้อยละ 130 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ ส�ำหรับปีที่ 1-2 • ร้อยละ 150 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ ส�ำหรับปีที่ 3 • ร้อยละ 175 ของราคาใช้สิทธิแปลงสภาพ ส�ำหรับปีที่ 4-5 หลังจากนัน้ บริษทั สามารถบังคับให้ผถู้ อื หุน้ กูแ้ ปลงสภาพหุน้ กูเ้ ป็นหุน้ สามัญได้อกี ครัง้ ละ 1 ใน 3 ของจ�ำนวนหุน้ กูแ้ ปลงสภาพทีผ่ ถู้ อื หุน้ กูไ้ ด้รบั การจัดสรรในครัง้ แรก โดยมีเงือ่ นไขดังนี้ 1. ผูถ้ อื หุน้ กูแ้ ปลงสภาพทีถ่ กู บังคับแปลงสภาพในครัง้ ก่อนได้จำ� หน่ายหุน้ สามัญ ที่เกิดจากการใช้สิทธิแปลงสภาพในครั้งก่อนทั้งจ�ำนวนแล้ว หรือ 2. หลังจากที่บริษัทได้เรียกให้ผู้ถือหุ้นกู้ใช้สิทธิแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญครั้ง ก่อนได้ไม่นอ้ ยกว่า 60 วันท�ำการซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ ปริมาณการซือ้ ขายหุน้ สามัญและราคาปิดถัวเฉลีย่ ของหุน้ สามัญจะต้องเป็นไปตาม เงื่อนไข 1. และ 2. ข้างต้น เงื่อนไขของผู้ถือหุ้นกู้ : ผูล้ งทุนสถาบันต่างประเทศเฉพาะเจาะจงทีไ่ ด้ซอื้ และช�ำระเงินหุน้ กูเ้ ป็นจ�ำนวนตัง้ แต่ 20 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาขึน้ ไป บริษทั จะจัดให้มกี ารประชุมเพือ่ แต่งตัง้ ให้บคุ คลทีผ่ ลู้ งทุน ต่างประเทศให้ความเห็นชอบเข้าเป็นกรรมการบริษัทจ�ำนวน 1 ท่าน หมายเหตุ : บริษัทได้ด�ำเนินการไถ่ถอนหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 4. หุ้นกู้ หุ้นกู้ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีรายละเอียดดังนี้

(ก) หุ้นกู้มีประกันครั้งที่ 1/2552 โดยมีรายละเอียดส�ำคัญดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : “หุ้นกู้มีประกันของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2552 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2555” ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทมีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 520,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 520 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้กับนักลงทุนทั่วไปและผู้ลงทุนสถาบัน วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 3 มิถุนายน 2552 อายุ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 3 มิถุนายน 2555 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 6 ต่อปี ก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ย : วันที่ 3 มีนาคม 3 มิถนุ ายน 3 กันยายน และ 3 ธันวาคม ของทุกปีตลอดอายุหนุ้ กู้ การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นในวันครบก�ำหนดไถ่ถอน คือ วันที่ 3 มิถุนายน 2555 * การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 1.75 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อ : อันดับเครดิต BBB+ โดยบริษัท ฟิชท์เรทติ้ง (ประเทศไทย) ถือของหุ้นกู้ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) ตลาดรองของหุ้นกู้ : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย * ตามมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ กูข้ องบริษทั เมือ่ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 มีมติอนุมตั ใิ ห้เปลีย่ นวันครบก�ำหนดของหุน้ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

61


กู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2552 จากเดิมวันที่ 3 มิถุนายน 2555 เป็นวันที่ 3 กันยายน 2553 ซึ่งบริษัท ได้ด�ำเนินการไถ่ถอนหุ้นกู้พร้อมกับได้ไถ่ถอนหลักประกันของหุ้นกู้ดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว (ข) หุ้นกู้มีประกันครั้งที่ 2/2552 จ�ำนวน 2 ชุด โดยมีรายละเอียดส�ำคัญดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชุดที่ 1 : “หุ้นกู้มีประกันของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2552 ชุดที่ 1 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2554” หุ้นกู้ชุดที่ 2 : “หุ้นกู้มีประกันของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2552 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2555” ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทมีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชุดที่ 1 : 300,000 หน่วย หุ้นกู้ชุดที่ 2 : 800,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชุดที่ 1 : 300 ล้านบาท หุ้นกู้ชุดที่ 2 : 800 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้กับนักลงทุนทั่วไปและผู้ลงทุนสถาบัน วันที่ออกหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชุดที่ 1 : วันที่ 14 สิงหาคม 2552 หุ้นกู้ชุดที่ 2 : วันที่ 14 สิงหาคม 2552 อายุ : หุ้นกู้ชุดที่ 1 : อายุ 1 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ หุ้นกู้ชุดที่ 2 : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : หุ้นกู้ชุดที่ 1 : วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 หุ้นกู้ชุดที่ 2 : วันที่ 14 สิงหาคม 2555 อัตราดอกเบี้ย : หุ้นกู้ชุดที่ 1 : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 4.85 ต่อปี หุ้นกู้ชุดที่ 1 : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 6 ต่อปี ก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ย : วันที่ 14 กุมภาพันธ์ วันที่ 14 พฤษภาคม วันที่ 14 สิงหาคม และวันที่ 14 พฤศจิกายน ของแต่ละปีตลอดอายุหุ้นกู้ การช�ำระคืนเงินต้น : หุ้นกู้ชุดที่ 1 : ช�ำระเงินต้นในวันครบก�ำหนดไถ่ถอน คือ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 หุ้นกู้ชุดที่ 2 : ช�ำระเงินต้นในวันครบก�ำหนดไถ่ถอน คือวันที่ 14 สิงหาคม 2555 การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 1.75 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อ : อันดับเครดิต BBB/Stable โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ถือของหุ้นกู้ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ตลาดรองของหุ้นกู้ : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (ค) หุ้นกู้มีการค�้ำประกันบางส่วน ครั้งที่ 1/2553 โดยมีรายละเอียดส�ำคัญดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้มีการค�้ำประกันบางส่วนของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2556 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ มีการค�้ำประกันบางส่วน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 1,500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 1,500 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้กับนักลงทุนทั่วไปและผู้ลงทุนสถาบัน วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553

62

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


อายุ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน อัตราดอกเบี้ย ก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ย

: : : :

การช�ำระคืนเงินต้น การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ การจัดอันดับความน่าเชื่อ ถือของหุ้นกู้ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ นายทะเบียนหุ้นกู้ ตลาดรองของหุ้นกู้

: : : :

อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2556 อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.9 ต่อปี วันที่ 26 กุมภาพันธ์ วันที่ 26 พฤษภาคม วันที่ 26 สิงหาคม และวันที่ 26 พฤศจิกายน ของแต่ละปีตลอดอายุหุ้นกู้ ช�ำระเงินต้นในวันครบก�ำหนดไถ่ถอน คือ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2556 ไม่มี บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 1.75 ต่อ 1 อันดับเครดิต BBB โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด

: : :

ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

(ง) หุ้นกู้ระยะสั้น ครั้งที่ 1/2553 โดยมีรายละเอียดส�ำคัญดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระยะสั้นของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอนวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน จ�ำนวนหุ้นกู้ : 500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 500 ล้านบาท วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 26 สิงหาคม 2553 อายุ : อายุ 267 วันนับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 20 พฤษภาคม 2554 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 4.65 ต่อปี ก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ย : ช�ำระดอกเบี้ยครั้งเดียวในวันครบก�ำหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระคืนเงินต้นในวันครบก�ำหนดไถ่ถอน คือ วันที่ 20 พฤษภาคม 2554 การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ตลาดรองของหุ้นกู้ : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (จ) หุ้นกู้มีประกัน ครั้งที่ 2/2553 โดยมีรายละเอียดส�ำคัญดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้มีประกันของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2555 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 1,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 1,000 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้กับนักลงทุนทั่วไปและผู้ลงทุนสถาบัน วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 9 กันยายน 2553 อายุ : อายุ 1 ปี 6 เดือน นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 9 มีนาคม 2555 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.50 ต่อปี

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

63


ก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ย

:

การช�ำระคืนเงินต้น การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ การจัดอันดับความน่าเชื่อ ถือของหุ้นกู้ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ นายทะเบียนหุ้นกู้ ตลาดรองของหุ้นกู้

: : : :

วันที่ 9 มีนาคม วันที่ 9 มิถนุ ายน วันที่ 9 กันยายน และวันที่ 9 ธันวาคม ของแต่ละ ปีตลอดอายุหุ้นกู้ ช�ำระเงินต้นในวันครบก�ำหนดไถ่ถอน คือ วันที่ 9 กันยายน 2555 ไม่มี บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 1.75 ต่อ 1 อันดับเครดิต BBB- โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด

: : :

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

(ฉ) หุ้นกู้มีประกัน ครั้งที่ 3/2553 โดยมีรายละเอียดส�ำคัญดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้มีประกันของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2556 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 1,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 1,000 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้กับนักลงทุนทั่วไปและผู้ลงทุนสถาบัน วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 อายุ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน : วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 อัตราดอกเบี้ย : อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.8 ต่อปี ก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ย : วันที่ 18 กุมภาพันธ์ วันที่ 18 พฤษภาคม วันที่ 18 สิงหาคม และ วันที่ 18 พฤศจิกายน ของแต่ละปีตลอดอายุหุ้นกู้ การช�ำระคืนเงินต้น : ช�ำระเงินต้นในวันครบก�ำหนดไถ่ถอน คือ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : ไม่มี เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 การจัดอันดับความน่าเชื่อ : อันดับเครดิต BBB- โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ถือของหุ้นกู้ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : ธนาคารนครหลวงไทย จ�ำกัด (มหาชน) นายทะเบียนหุ้นกู้ : ธนาคารนครหลวงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ตลาดรองของหุ้นกู้ : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (ช) หุ้นกู้ไม่มีมีประกัน ครั้งที่ 4/2553 โดยมีรายละเอียดส�ำคัญดังนี้ ชื่อเฉพาะหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่มีประกันของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 4/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2555 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จ�ำนวนหุ้นกู้ : 1,500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ : 1,000 บาท มูลค่าหุ้นกู้ : 1,500 ล้านบาท วิธีเสนอขาย : เสนอขายให้กับนักลงทุนทั่วไปและผู้ลงทุนสถาบัน วันที่ออกหุ้นกู้ : วันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 อายุ : อายุ 2 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน วันที่ 18 พฤศจิกายน 2555

64

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


อัตราดอกเบี้ย ก�ำหนดช�ำระดอกเบี้ย

: :

การช�ำระคืนเงินต้น : การไถ่ถอนคืนก่อนก�ำหนด : เงื่อนไขอื่นที่ส�ำคัญ : การจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือ: ของหุ้นกู้ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ : นายทะเบียนหุ้นกู้ : ตลาดรองของหุ้นกู้ :

อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 6.50 ต่อปี วันที่ 18 กุมภาพันธ์ วันที่ 18 พฤษภาคม วันที่ 18 สิงหาคม และ วันที่ 18 พฤศจิกายน ของแต่ละปีตลอดอายุหุ้นกู้ ช�ำระเงินต้นในวันครบก�ำหนดไถ่ถอน คือ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2555 ไม่มี บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกิน 2 ต่อ 1 อันดับเครดิต BB+ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด ธนาคารนครหลวงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารนครหลวงไทย จ�ำกัด (มหาชน) สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

หุ้นกู้มีประกันของบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 18 สิงหาคม 2551 บริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (“ไบรท์”) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ได้ออกและเสนอขายหุน้ กูม้ ปี ระกันจ�ำนวน 462,150 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 462,150,000 บาท ให้กบั สถาบันการเงินแห่งหนึง่ ตามทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของไบรท์ เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2550 โดยหุ้นกู้ดังกล่าวมีก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่างใน อัตราร้อยละ 5.55256 ต่อปี และค�้ำประกันโดยบริษัทรวมทั้งการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในโครงการบาง ส่วนของบริษัทและไบรท์ และการจ�ำน�ำหุ้นสามัญของไบรท์ที่ถือโดยบริษัท ต่อมาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ไบรท์ฯได้ท�ำสัญญาแก้ไขรายละเอียดของหุ้นกู้กับสถาบันการเงิน ดังกล่าว โดยมีก�ำหนดไถ่ถอนพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายงวดและจะต้องช�ำระทั้งหมดภายในเดือนพฤษภาคม 2552 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่างในอัตราร้อยละ 8.55256 ต่อปี และเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2552 ไบรท์ฯได้ท�ำสัญญาแก้ไขรายละเอียดของหุ้นกู้กับสถาบันการเงินดังกล่าว โดยมีก�ำหนดไถ่ถอนพร้อมดอกเบี้ยเป็น รายงวดและจะต้องช�ำระทั้งหมดภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่าง ในอัตราร้อยละ 8.55256 ต่อปีจนถึงเดือนพฤศจิกายน 2552 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่างใน อัตราร้อยละ 10.05256 ต่อปี ในระหว่างเดือนธันวาคม 2552 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ปัจจุบัน ไบรท์ฯได้ช�ำระคืน หุ้นกู้ดังกล่าวแล้ว หุ้นกู้มีข้อปฏิบัติและข้อจ�ำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อย

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

65


66

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

59 • ปริญญาเอก นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาโท นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • Audit Committee Program (ACP) 13/2006 Director Certificate Program (DAP) 52/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ดร.สมศักดิ์ โตรักษา กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ

4

64 • ปริญญาโท วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต • ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต • ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน สถาบันฝึกอบรมกองทุนการเงินระหว่างประเทศ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการพัฒนาตลาดหลักทรัพย์ ส�ำนักงานก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรชั้นสูง ด้านการพัฒนาผู้บริหาร มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด, สหรัฐอเมริกา

นายวีระยุค พันธุเพชร รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน

3

56 • นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย ส�ำนักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา

นายชายนิด โง้วศิริมณี กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รองประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท

2

63 • ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ • Audit Committee Program (ACP) 13/2006 ; Director Accreditaion Program(DAP) 52/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย(IOD)

คุณวุฒิทางการศึกษา

ดร.ธวัชชัย นาคะตะ ประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท

อายุ (ปี)

1

ชื่อ – สกุล / ต�ำแหน่ง

0.000 %

0.844%

0.001 %

สัดส่วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (%)

ความ สัมพันธ์ ทาง ครอบครัว ระหว่าง ผู้บริหาร

ประวัติกรรมการ ผู้บริหารและผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ประวัติผู้บริหารและผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ปี 2550 - ปัจจุบัน ปี 2545 – ปัจจุบัน ปี 2542 – ปัจจุบัน ปี 2538 – ปี 2553

ปี 2536 – ปัจจุบัน

ปี 2553 - ปัจจุบัน ปี 2541 – ปัจจุบัน

ปี 2515

ปี 2522 – ปี 2523

ปี 2537 – ปี 2541 ปี 2537 ปี 2532 ปี 2529

ปี 2539 – ปี 2543

ปี 2547 ปี 2543 – ปี 2547 ปี 2541 – ปี 2543

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัท ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) / พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ [เดิมชื่อ บริษัท รัตนการเคหะ จ�ำกัด (มหาชน)] บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท น�้ำตาลครบุรี จ�ำกัด (มหาชน) สภาวิศวกร บริษัท ซีด้า จ�ำกัด / รับออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง บริษัท ซีด้า จ�ำกัด

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) สังกัดส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจ�ำด้านการค้าระหว่างประเทศ ส�ำนักงานผู้แทนการค้าไทย หัวหน้าที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายราชการประจ�ำ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ผู้ตรวจราชการ / ผู้อ�ำนวยการ กระทรวงการคลัง / ส�ำนักงานกองทุนรวมวายุภักษ์ รองผู้อ�ำนวยการ / ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง / ส�ำนักอ�ำนวยการจัดประชุมประจ�ำปี สภาผู้ว่าการธนาคารพัฒนาเอเชีย ครั้งที่ 33 ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานกองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศ เพื่อนบ้าน ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านเงินกู้ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้อ�ำนวยการ กองนโยบายการออมและการลงทุน ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้อ�ำนวยการ กองนโยบายตลาดทุน ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้อ�ำนวยการ กองนโยบายกองนโยบายการเงินและสถาบันการเงิน ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้ช่วยกรรมการบริหารประจ�ำประเทศใน ธนาคารโลก กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา กลุ่ม SEA Group วิทยากรโท / หัวหน้าฝ่าย ประจ�ำกองควบคุมธนาคารและการออมสิน / ภาษีสรรพสามิต กองนโยบายภาษี ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ/กรรมการอิสระ / บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ส�ำนักกฎหมายสมศักดิ์ โตรักษา จ�ำกัด / กฎหมาย

รองประธานกรรมการ / ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ปี 2550 – เม.ย.2553 ประธานกรรมการตรวจสอบ ปี 2550 – ปัจจุบัน กรรมการ / กรรมการอิสระ ปี 2549 ข้าราชการบ�ำนาญ ปี 2548 – ปี 2549 ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี

พ.ค. 2553 - ปัจจุบัน

ปี 2550 - ปัจจุบัน

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / รองประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการ

ประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ วุฒิวิศวกร วย.736 ประธานกรรมการ กรรมการผู้จัดการ

ต�ำแหน่ง

ปี 2528 – ปัจจุบัน

ปี 2551 - ปัจจุบัน ปี 2535 – ปัจจุบัน ปี 2553 – ปัจจุบัน ปี 2524 - ปัจจุบัน ปี 2549 - 2552 ปี 2538 - 2549

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง


รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

67

นายวิทยา เนติวิวัฒน์ กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการสรรหาฯ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนฯ

ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง

นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร

นายออย บูน อัน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร

นางเนื้อนวล สวัสดิกุล ณ อยุธยา กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหาฯ

5

6

7

8

9

ชื่อ – สกุล / ต�ำแหน่ง

คุณวุฒิทางการศึกษา

61 • ปริญญาตรี สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เนติบัณฑิตไทย ส�ำนักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา

52 • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแห่งชาติของสิงค์โปร์

44 • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ นานาชาติ และ การศึกษาเอเชีย, มหาวิทยาลัยฮอปกิ้นส์ • ศิลปศาสตร์บัณฑิต ด้านความสัมพันธ์นานาชาติ วิทยาลัยโพโนมา

53 • Ph.D., International Management, Walden University, Naples, Florida U.S.A. • A.C.A. Certificate, American Accreditation Council for Accountancy, U.S.A. • M.B.A., Management, The University of Sarasota-Sarasota Florida, U.S.A • B.A., Accountancy & Management, Eckerd College-St. Petersburg, U.S.A. • Audit Committee Program(ACP) 10/2005, Director Accreditation Program(DAP) 48/2005, Director Certification Program (RCP) 14/2006, Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS) 7/2007; สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

56 • ปริญญาโท กฎหมาย มหาวิทยาลัยยอร์ช วอชิงตัน,สหรัฐอเมริกา • นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Director Accreditation program (DAP) 77/2005; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

อายุ (ปี)

0.003 %

0.000 %

0.000 %

0.000%

1.343%

สัดส่วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (%)

ความ สัมพันธ์ ทาง ครอบครัว ระหว่าง ผู้บริหาร

ปี 2533 – ปี 2534

ปี 2535 – ปี 2537 ปี 2534 – ปี 2535

ปี 2539 - ปี 2551 ปี 2537 – ปี 2539

ปี 2553 - ปัจจุบัน ปี 2552 - ปัจจุบัน

ปี 2546 – ปี 2547 ปี 2541 - ปี 2546

บริษัท ลาซาร์ด เอเชีย (ฮ่องกง) จ�ำกัด / บริษัท ลาซาร์ด เอเชีย อิน เวสเม้นท์ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท สมิท บาร์นี่ อินช์ บริษัท ซันมาร์ ชิปปิ้ง

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั เจนเนอรัล เอ็นเตอร์ไพรซ์ แมเนจเม้นท์ เซอร์วสิ (ฮ่องกง) จ�ำกัด

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ / มหาวิทยาลัย บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส ไทยทนุ จ�ำกัด / หลักทรัพย์

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

กองทุนประกันสังคม

บริษัท ไอเอฟเอส แคปปิตอล (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอื้อวิทยา จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จ�ำกัด ในคณะกรรมการตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / มหาวิทยาลัย บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

กรรมการสรรหาฯ กรรมการ / กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการบริหารความเสียง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผูจ้ ดั การฝ่ายอาวุโสฝ่ายสินเชือ่ พาณิชยกรรม และฝ่ายสินเชื่อก่อสร้าง ผู้จัดการฝ่ายสินเชื่อพาณิชยกรรม ผู ้ จั ด การฝ่ า ยสิ น เชื่ อ อุ ต สาหกรรมและ พาณิชยกรรม ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน)

ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน)

ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) อีส แอสเซ็ท อัลลายแอนซ์ ลิมิเต็ด (“EAAL”) เดฟฟา อิสเวสเม้นท์ แบงค์ ลิมิเต็ด, ฮ่องกง สาธารณรัฐไซปรัสในเขตปกครองพิเศษของฮ่องกง, สาธารณรัฐประชาชนจีน กรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทย่อยของแสตนดาร์ด แบงค์ เอเชีย ลิมิเต็ด รองประธานกลุม่ และกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ทีซีซี (กลุ่มไทยเบฟเวอเรจ และกลุ่มธุรกิจ)

นักวิเคราะห์การเงินอาวุโส ผู้จัดการ

ปี 2536 – ปี 2538 ปี 2531 – ปี 2534

กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร ที่ปรึกษาด้านการเงินและการจัดการ กรรมการผู้จัดการ กงศุลกิตติมศักดิ์

ผู้อ�ำนวยการ / ผู้จัดการฝ่ายลงทุน

ปี 2538 – ปี 2541

กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ / กรรมการอิ ส ระ/กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ Vice Chairman / ประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหาร คณะกรรมการบริ ห าร / อนุ ก รรมการ ส�ำนักงานหักบัญชี กรรมการ ในคณะอนุกรรมการบริหาร การลงทุน กรรมการ ในคณะกรรมการสายงาน เศรษฐกิจ คณบดี คณะบริหารธุรกิจ กรรมการผู้จัดการ / ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร President & CEO กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการ

ปี 2551 - ปัจจุบัน ปี 2550 – ปัจจุบัน ปี 2547 – ปี 2549 ปี 2539 – ปี 2549

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการสรรหาฯ / กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนฯ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์วิทยา จ�ำกัด / กฎหมาย

ต�ำแหน่ง

ปี 2550 – ปัจจุบัน ปี 2541 – ปัจจุบัน

ปี 2545 – ปี 2546 ปี 2541 – ปี 2545

ปี 2540 – ปัจจุบัน

ปี 2544 – ปัจจุบัน

ปี 2550 – ปัจจุบัน ปี 2549 – ปัจจุบัน ปี 2548 – ปัจจุบัน ปี 2547 – ปัจจุบัน ปี 2544 – ปัจจุบัน

ปี 2551 – ปัจจุบัน ปี 2550 – ปัจจุบัน

ปี 2553 - ปัจจุบัน ปี 2548 – ปัจจุบัน

ปี 2529 – ปัจจุบัน

ปี 2547 – ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง


68

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

นายกฤช ฟอลเล็ต กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

นายไพรัตน์ เสนาจักร์ กรรมการ กรรมการบริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท

นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา กรรมการ กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท

นายปราโมทย์ เริ่มยินดี เลขานุการบริษัท

10

11

12

13

ชื่อ – สกุล / ต�ำแหน่ง

คุณวุฒิทางการศึกษา

57 • นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Director Certification Program (DCP ) 69/2006 Director Accreditation Program (DAP) 43/2005 Finance for Non-Finance Director ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

49 • ปริญญาโท การเงิน มหาวิทยาลัยฮุสตัน– เครียเลค, เท็กซัส, สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิต เศรษฐศาสตร์- บริหารธุรกิจการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

61 • MINI MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • Director Certification Program(DCP)74/2006, Director Accreditation Program(DAP)30/2004; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

62 • ปริญญาโท พาณิชยศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • Advanced Management Program, Harvard Business School, Boston, USA.

อายุ (ปี)

1.445%

ปี 2541 – ปัจจุบัน ปี 2535 – ปัจจุบัน ปี 2537 – ปี 2540 ปี 2536

เลขานุการบริษัท หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่าย

ปี 2541 – ปี 2542

ปี 2543 – ปี 2546 ปี 2542 – ปี 2543

ปี 2546 – ปี 2549

กรรมการ / กรรมการบริหาร รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ

กรรมการ / กรรมการอิสระ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ / กรรมการอิสระ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ ผู้ช่วยว่าการ สายปฏิบัติการ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ 1 สาย ก�ำกับสถาบันการเงิน 1 ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานโครงสร้างปรับ องค์กร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ ส�ำนักงาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ศูนย์หักบัญชีอิเล็ค ทรอนิกส์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ คณะท�ำงานจัดตั้ง ส�ำนักงานภาคเหนือ ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายตรวจสอบตลาดทุน หัวหน้าส่วนงานพิเศษ ฝ่ายก� ำกับและ ตรวจสอบ

ต�ำแหน่ง

กรรมการ/ กรรมการบริหารและเลขานุการ คณะกรรมการบริหาร/ ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยพัฒนาธุรกิจ ผู้อ�ำนวยการสายงานลงทุนสัมพันธ์และ สารสนเทศ หัวหน้าฝ่ายวิจัย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดรายย่อย

ปี 2551 – ปัจจุบัน

0.000 %

ปี 2535 – ปี 2538 ปี 2534 – ปี 2535

ปี 2538 – ปี 2539

ปี 2539 – ปี 2541

ปี 2541 – ปี 2543

ปี 2543 – ปี 2545

ปี 2551 – ปี 2552 ปี 2547 – ปี 2551 ปี 2545 – ปี 2547

ปี 2553 - ปัจจุบัน

ปี 2553 – ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ปี 2539 – ปัจจุบัน

ความ สัมพันธ์ ทาง ครอบครัว ระหว่าง ผู้บริหาร

0.000 %

-

สัดส่วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (%)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) คณะบุคคล ส�ำนักงานกฎหมายธรรมาทิตย์ / กฎหมาย บริษัทเงินทุน ทรัพย์ธ�ำรง จ�ำกัด / สถาบันการเงิน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ศรีนคร จ�ำกัด / สถาบันการเงิน

ฝ่ายวิจัย / บริษัทหลักทรัพย์ บีฟิท จ�ำกัด ฝ่ายการตลาด / บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บีโอเอ จ�ำกัด ฝ่ายบริหารจัดการกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ / ธนาคาร เอเชีย จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย

บริษัท อะมานะฮ์ ลิสซิ่ง จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ


รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

69

0.00 %

0.126 %

0.032%

0.034 %

0.000 %

0.025 %

สัดส่วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (%)

ความ สัมพันธ์ ทาง ครอบครัว ระหว่าง ผู้บริหาร

ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น ”ที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น “รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มสนับสนุน” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น “ที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น “ที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น “รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มการเงิน” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น “รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาธุรกิจ” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น “รองประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มปฏิบัติการ 1” เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554

47 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Edgewood College, Madison, Wisconsin, USA.

- ล�ำดับที่ 11 นายไพรัตน์ เสนาจักร์ - ล�ำดับที่ 12 นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา - ล�ำดับที่ 14 นายวิชัย สิงห์วิชา - ล�ำดับที่ 15 นางวนิดา ไวยาวัจมัย - ล�ำดับที่ 16 นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ - ล�ำดับที่ 17 นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต - ล�ำดับที่ 18 นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ

นายธงชัย ปิยสันติวงศ์ กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ

หมายเหตุ

20

นายสุรศักดิ์ วัชรพงศ์ปรีชา กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน

19

47 • ปริญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

50 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์-โยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ

51 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Roosevelt University, USA. • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

18

นางสาวสุพีร์ เรี่ยวเดชะ กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน

16

56 • ปริญญาตรี บัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Director Accreditation Program (DAP) 50/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

50 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรบริหารอสังหาริมทรัพย์ (RECU รุ่นที่ 10) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นางวนิดา ไวยาวัจมัย รองประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ

15

คุณวุฒิทางการศึกษา

55 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Direct Certificate Program (DCP) 74/2006, Direct Accreditation Program (DAP) 54/2006 ; สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

อายุ (ปี)

17. นายวงศกรณ์ ประสิทธิ์วิภาต กรรมการบริหาร ผู้ช่วยประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ

นายวิชัย สิงห์วิชา กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

14

ชื่อ – สกุล / ต�ำแหน่ง

ปี 2544 – ปี 2544

ปี 2545 – ปัจจุบัน

ปี 2536 – ปี 2547

ปี 2548 – ปี 2550

ปี 2551 – ปัจจุบัน

ปี 2538 – ปี 2544

ปี 2546 – ปัจจุบัน

ปี 2536 – ปี 2550

ปี 2551 – ปัจจุบัน

ปี 2539 – ปี 2543

ปี 2545 – ปัจจุบัน

ปี 2531 – ปัจจุบัน ปี 2531 – ปี 2550 ปี 2528 – ปี 2531

ปี 2531 – ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

ชื่อหน่วยงาน / บริษัท / ประเภทธุรกิจ

กรรมการบริหาร / บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร ผู้อ�ำนวยการ บริษัท อินเตอร์ไลฟ์ จอห์นแอนคอค ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) / ประกันชีวิต

กรรมการบริหาร / ผู้ช่วยประธาน บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน กรรมการบริหาร / ผู้อ�ำนวยการ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) สายงานบัญชี กรรมการบริหาร / รองผูอ้ �ำนวยการ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) สายงานบัญชี

กรรมการบริหาร / บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร กรรมการผู้จัดการ บริษัท บ้านแพนเอ็นจิเนียริ่งแอนด์โฮลดิ้ง จ�ำกัด

กรรมการบริหาร / บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร ผู้อ�ำนวยการสายงานออกแบบ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

กรรมการบริหาร/ ผูช้ ว่ ยประธานเจ้า บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) หน้าที่ฝ่ายการเงิน ผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท โรงแรมชายทะเล จ�ำกัด / โรงแรม

รองประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการบริหาร บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) หัวหน้าส่วนบัญชี / บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธนานันต์ จ�ำกัด / สถาบันการเงิน ผูจ้ ดั การ ฝ่ายตรวจสอบและวางแผน

กรรมการบริหาร / บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยพัฒนาธุรกิจ

ต�ำแหน่ง

ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง


รายละเอียดการด�ำรงต�ำแหน่ง รายละเอียดการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

รายชื่อบริษัท บริษัท รายชื่อกรรมการ

PF

1. ดร.ธวัชชัย

นาคะตะ

X, XX

2. นายชายนิด

โง้วศิริมณี

/, //, ///

3. นายวีระยุค

พันธุเพชร

*, /

4. นายไพรัตน์

เสนาจักร์

/, //, ///

5. ดร.สมศักดิ์

โตรักษา

*, /

6. ดร.ธรรมนูญ

อานันโทไทย

*, /

7. นายวิทยา

เนติวิวัฒน์

8. นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน 9. นางสาวศิริรัตน์

วงศ์วัฒนา

70

PSC

ResiESTPF Bright Center Point dence /

/

/

/

/

/

KL

/

/

/ / /, //, /// /

10. นายออย บูน อัน 11. นางเนื้อนวล

สวัสดิกุล ณ อยุธยา

*, /

12. นายกฤช

ฟอลเล็ต

*, /

13. นายปราโมทย์

เริ่มยินดี

@

14. นายวิชัย

สิงห์วิชา

//, ///

15. นางวนิดา

ไวยาวัจมัย

///

16. นางสาวสุพีร์

เรี่ยวเดชะ

//, ///

17. นายสุรศักดิ์

วัชรพงศ์ปรีชา

//, ///

18. นายวิชาญ

ศิริเวชวราวุธ

//, ///

19. นายพรสวัสดิ์

เกษจุฬาศรีโรจน์

//

20. นายวงศ์กรณ์

ประสิทธิ์วิภาต

//, ///

21. นายธงชัย

ปิยสันติวงศ์

//, ///

หมายเหตุ : 1. PF PSC ESTPF Bright Center Point Residence KL REAL

บริษัท บริษัทอื่น ร่วม

บริษัทย่อย

หมายถึง บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) หมายถึง บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (เดิมชื่อบริษัท แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด) หมายถึง บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด หมายถึง บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด หมายถึง บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด หมายถึง บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด หมายถึง บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) หมายถึง บริษัท เรียลเซอร์วิส จ�ำกัด (ปัจจุบันหยุดประกอบธุรกิจ)

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

/ /, ///

/

/

/ 2. X XX * / // ///

@

หมายถึง ประธานกรรมการ หมายถึง ประธานกรรมการบริหาร หมายถึง กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการ หมายถึง กรรมการบริหาร หมายถึง ผู้บริหาร หมายถึง เลขานุการบริษัท

REAL


ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน

บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนในรูปของเบีย้ ประชุมและค่าบ�ำเหน็จกรรมการ ส�ำหรับปี 2552 และ 2553 มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ก)

ค่าตอบแทนฐานะกรรมการ ประจ�ำปี 2552-2553

(หน่วย :ล้านบาท) ปี 2553

รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

ปี 2552

เบี้ย เบี้ย บ�ำเหน็จ บ�ำเหน็จ ประชุม ประชุม

ดร.ธวัชชัย

นาคะตะ

ประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร

0.500

1.100

0.650

2.336

ดร.สมศักดิ์

โตรักษา *

กรรมการบริษัท / กรรมการตรวจสอบ/ ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ

0.460

0.550

0.570

1.168

ดร.ธรรมนูญ

อานันโทไทย *

กรรมการบริษัท / กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง

0.700

0.550

0.740

1.168

นายชายนิด

โง้วศิริมณี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ รองประธานคณะกรรมการบริหาร

0.250

0.550

0.300

1.168

ดร.ธีระชน

มโนมัยพิบูลย์ **

กรรมการบริษัท

-

-

-

1.168

นายไพรัตน์

เสนาจักร์

กรรมการบริษัท / กรรมการบริหาร

0.250

0.550

0.300

1.168

นายวิทยา

เนติวิวัฒน์

กรรมการบริษัท / กรรมการสรรหาฯ / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

0.250

0.550

0.360

1.168

นายวีระยุค

พันธุเพชร *

รองประธานกรรมการ / ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

0.420

0.550

0.700

1.168

นางสาวศิริรัตน์ วงศ์วัฒนา

กรรมการบริษัท/ กรรมการบริหาร

0.250

0.550

0.300

1.168

นายเดวิด ไบรซ์ ฟาน ออฟเพน

กรรมการบริษัท

0.200

0.550

0.300

1.168

นายออย บูน อัน

กรรมการบริษัท

0.250

0.550

0.300

1.168

นางเนื้อนวล

สวัสดิกุล ณ อยุธยา * กรรมการบริษัท / กรรมการสรรหาฯ / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

0.650

0.550

0.450

-

นายกฤช

ฟอลเล็ต*

กรรมการบริษทั / ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

0.400

-

-

-

นายปราโมทย์

เริ่มยินดี

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท

-

0.200

-

-

นางสาวสุพีร์

เรี่ยวเดชะ ***

กรรมการบริหารความเสี่ยง

-

-

0.025

-

นายสุรศักดิ์

วัชรพงศ์ปรีชา ***

กรรมการบริหารความเสี่ยง

-

-

0.025

-

นายบุญเลี่ยม

เหลืองนาคทองดี

กรรมการบริหารความเสี่ยง

0.240

-

0.170

-

นายเชิดศักดิ์

กู้เกียรตินันท์

กรรมการบริหารความเสี่ยง

0.240

-

0.120

-

ดร.ธีรธร

ธาราไชย

เลขานุการกรรมการบริหารความเสี่ยง

-

-

0.025

-

นางสาวสมศรี

เกียรติธีรรัตน์

ผู้ช่วยเลขานุการบริษัท

-

0.200

-

0.484

5,060

7.000

รวม

รายงานประจำ�ปี 2553

5.335 14.500

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

71


หมายเหตุ :

ข)

(นอกเหนือจากค่าตอบแทนในรูปของเบีย้ ประชุมในฐานะกรรมการบริษทั กรรมการบริษทั บาง คนจะได้รบั ค่าตอบแทนในรูปเงินเดือนในฐานะทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารและกรรมการบริหารของบริษทั ) * กรรมการอิสระ ** ลาออกเมือ่ วันที่ 18 มกราคม 2552 เพือ่ ไปด�ำรงต�ำแหน่งรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร *** ออกจากการเป็นกรรมการบริหารความเสีย่ งเนือ่ งจากแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ชุดใหม่ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552

ค่าตอบแทนผู้บริหาร ปี 2552 – 2553 มีรายละเอียดดังนี้ ลักษณะตอบแทน

2553 * 2552 (ล้านบาท) (ล้านบาท) จ�ำนวน (คน) 11 10 เงินเดือน 35.95 30.90 โบนัส/อื่นๆ 11.45 5.50 รวม 47.43 36.40 หมายเหตุ * ค่าตอบแทนผู้บริหารในปี 2553 จ�ำนวน 11 คน ตามโครงสร้างองค์กร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค.) ค่าตอบแทนอื่น - ไม่มี-

72

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


การก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ เพิม่ ความโปร่งใส เพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข่งขันของบริษทั เพิม่ ความเชือ่ มัน่ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ผูล้ งทุน และผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝ่าย และ เพิม่ คุณค่าให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในระยะ ยาวภายใต้จริยธรรมทีด่ ี รวมทัง้ ยังค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ และสังคมโดยรวม บริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี 5 หมวด ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนด โดยมีรายละเอียดดังนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการบริษัทตระหนักและให้ความส�ำคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น ซึ่งสิทธิพื้นฐานที่ผู้ถือหุ้นได้รับโดยเท่า เทียมตามที่ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิ ในการมอบฉันทะให้บคุ คลอืน่ เข้าประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทน สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนเพือ่ แต่งตัง้ หรือ ถอดถอนกรรมการเป็นรายบุคคล สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนในกิจการต่างๆ ที่ส�ำคัญ สิทธิในการรับเงินปันผล สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและซักถามในการประชุมผูถ้ อื หุน้ และสิทธิทจี่ ะได้รบั สารสนเทศอย่างเพียงพอและทัน เวลา คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ารประชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ ปีละครัง้ ภายในระยะเวลาไม่เกิน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบบัญชี และกรณีมีความจ�ำเป็นต้องเสนอวาระเป็นพิเศษในเรื่องที่มีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้น เกี่ยวกับกฎหมาย ข้อก�ำหนดทีบ่ งั คับทีต่ อ้ งได้รบั การอนุมตั จิ ากผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการบริษทั จะเรียกประชุม วิสามัญผูถ้ อื หุน้ ต่อไป ในการจัดการประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยบริษัทจะจัด ส่งหนังสือเชิญประชุมที่มีรายละเอียดวาระการประชุม พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ หนังสือมอบฉันทะตามที่ กฎหมายก�ำหนด และรายชื่อของกรรมการอิสระพร้อมทั้งค�ำแนะน�ำในการมอบฉันทะ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกที่ จะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ประชุมให้ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วัน ก่อนการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลทันเวลาและมีเวลาเพียงพอในการพิจารณาและตัดสินใจลงคะแนนใน วันประชุม หรือท�ำการมอบฉันทะให้กรรมการอิสระเป็นผู้เข้าร่วมประชุมแทน และยังได้ประกาศลงหนังสือพิมพ์ราย วันติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วันและก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน นอกจากนี้ บริษัทยังได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ ก�ำหนดการจัดประชุมผู้ถือหุ้น และวาระการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษัทก่อนการประชุม 30 วัน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ ถือหุ้นหรือนักลงทุนสามารถส่งค�ำถามล่วงหน้าได้ก่อนวันประชุม ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ นัน้ คณะกรรมการบริษทั ได้อำ� นวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในการเข้าร่วมประชุมและ ออกเสียงอย่างเต็มที่ และละเว้นการกระท�ำใดๆ ทีเป็นการจ�ำกัดโอกาสในการเข้าประชุมของผู้ถือหุ้น และเปิดโอกาส ให้ผู้ถือหุ้นซักถามและแสดงความคิดเห็นในการประชุมอย่างอิสระ

หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

บริษทั ให้ความส�ำคัญในการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน โดยคณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการโดยค�ำนึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น และปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งได้ด�ำเนินการ ต่างๆ ดังนี้ • จัดให้มีกระบวนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพเป็นไปตามข้อบังคับของบริษัทและ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและตัง้ ค�ำถาม ในที่ประชุมโดยจัดสรรเวลาให้อย่างเพียงพอ • จัดให้มกี ารพิจารณาและลงมติเลือกตัง้ กรรมการเป็นรายบุคคล และพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ รวมทัง้ แต่งตัง้ ผู้สอบบัญชี และอนุมัติค่าสอบบัญชี และวาระอื่นตามที่ก�ำหนดในหนังสือเชิญประชุม • จัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงส�ำหรับทุกวาระ

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

73


• ก�ำหนดให้ผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารมิทำ� การเพิม่ วาระในทีป่ ระชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ ผู้ถือหุ้นได้มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการพิจารณาวาระต่างๆ อย่างเพียงพอและเหมาะสม • ส�ำหรับผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ หรือบุคคลใดๆ เข้า ประชุมและลงคะแนนเสียงแทน โดยบริษัทได้จัดเตรียมหนังสือมอบฉันทะในรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนด ทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ • มีการบันทึกรายงานการประชุมอย่างครบถ้วน ซึง่ ประกอบด้วยข้อมูลสาระส�ำคัญ ได้แก่ มติทปี่ ระชุมและผลการ ลงคะแนนเสียง ค�ำถาม ค�ำชี้แจงและความคิดเห็นของที่ประชุม • ก�ำหนดมาตรการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ หาผลประโยชน์ของกรรมการและผูบ้ ริหารโดยการแจ้งให้ทราบ ถึงบทบาทภาระหน้าทีท่ ตี่ อ้ งรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะซึง่ ถือ หลักทรัพย์ของบริษัท และรับทราบการจัดท�ำรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ ต่อคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ปี 2535 ภายใน 3 วันท�ำการหลังจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับ โอนหลักทรัพย์ • ก�ำหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยได้ถือปฏิบัติตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ใช้บังคับการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่าง เคร่งครัด เพื่อประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นโดยรวมอย่างเท่าเทียมกัน นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอคณะ กรรมการบริษัทเพื่อรับทราบรายการที่เกี่ยวโยงกันและรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งได้มีการ พิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ และได้ปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ทตี่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนด

หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

บริษทั ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน และผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ได้แก่ ลูกค้า คูแ่ ข่ง เจ้าหนี้ (ผูจ้ ำ� หน่ายสินค้าหรือผูร้ บั เหมาก่อสร้าง) ภาครัฐและ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยบริษัทได้พยายามด�ำเนินนโยบาย เพื่อให้เกิดความ ยุติธรรมและเหมาะสมกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนี้ ผู้ถือหุ้น บริษทั ค�ำนึงถึงความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างถูกต้องครบถ้วนทันเวลา โดย ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การแจ้งข้อมูลผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และการแจ้งข้อมูล ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั การประกาศทางหนังสือพิมพ์ การจัดท�ำ Press Release หรือการจัดส่งจดหมายเป็นลาย ลักษณ์อักษร พนักงานบริษัท บริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อท�ำหน้าที่พิจารณาก�ำหนดการจ่ายผลตอบแทนให้ กับพนักงานอย่างเหมาะสม การพิจารณาการปรับเลื่อนต�ำแหน่งอย่างมีขั้นตอนเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย และจัดท�ำคูม่ อื ให้กบั พนักงานทุกคนทีป่ ฏิบตั งิ านกับบริษทั เพือ่ ให้ทราบถึงนโยบายสวัสดิการทีพ่ นักงานพึงได้รบั อย่าง ชัดเจน รวมทั้ง บริษัทยังมีการจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพเพื่อพนักงาน ลูกค้า นอกจากให้ความส�ำคัญในการก่อสร้างบ้านที่มีคุณภาพ บริษัทยังให้ความส�ำคัญเรื่องจรรยาบรรณในการ ปฏิบัติ โดยเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า ให้บริการที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน รวมทั้งการแก้ปัญหาที่ลูกค้าร้อง เรียนหรือให้ข้อเสนอแนะต่อบริษัท โดยเร็วที่สุด คู่แข่ง บริษัทด�ำเนินนโยบายตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี หลีกเลี่ยงวิธีการไม่สุจริต เพื่อท�ำลายคู่แข่ง เจ้าหนี้ ผู้จ�ำหน่ายสินค้า บริษัทมีการแจ้งรอบระยะเวลาการวางบิลและการจ่ายเช็คให้แก่ผู้จ�ำหน่ายสินค้าไว้อย่าง ชัดเจน และด�ำเนินการจ่ายให้เป็นไปตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับเจ้าหนี้

74

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ผูร้ บั เหมา บริษทั มีหลักการพิจารณาคัดเลือกผูร้ บั เหมาเพือ่ ให้ได้คณ ุ สมบัตใิ นการรับเหมางานของบริษทั ทีม่ ี ประสิทธิภาพ และเสมอภาคโดยบริษทั พิจารณาก�ำหนดราคายุตธิ รรมเป็นราคากลางเปรียบเทียบกับราคาตลาดทัว่ ไป โดยมีระดับราคาบางรายการทีส่ งู กว่าราคาจัดจ้างตลาดบ้าง แต่กร็ กั ษาอัตราเฉลีย่ ตามระดับราคาตลาด และยังมีการ พิจารณาถึงความยากง่ายของสภาพการท�ำงานในการก�ำหนดราคาด้วย ในกรณีพเิ ศษทีม่ คี วามจ�ำเป็นในบางครัง้ โดย จะมีคณะอนุกรรมการจัดจ้างแต่ละคณะเป็นผู้พิจารณาตามความเหมาะสม โดยพิจารณาถึงวัตถุประสงค์และความ ส�ำเร็จในการจัดซื้อจัดจ้างที่โปร่งใส นอกจากนี้ การก�ำหนดงวดงาน การแบ่งงวดงานค่าก่อสร้างอย่างเป็นธรรม การ ตรวจรับงาน การวางบิล มีการก�ำหนดอย่างชัดเจนในการท�ำสัญญากับผู้รับเหมาเพื่อให้มีการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม กัน รวมทั้งก�ำหนดการจ่ายเงินตรงตามระเบียบบริษัท เพื่อให้ผู้รับเหมามีความมั่นใจและเติบโตไปพร้อมๆ กับบริษัท สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทตระหนักถึงคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่สังคม วัฒนธรรมไทย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมเป็นสาระส�ำคัญใน การพัฒนาที่ดินของบริษัท ทุกโครงการของบริษัทจะมีการออกแบบโดยมิได้เพียงพิจารณาตามข้อก�ำหนดของ พรบ. จัดสรรและกฎระเบียบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่บริษัทจะมองถึงคุณภาพความเป็นอยู่ของสังคมที่จะเกิดขึ้นจาก การพัฒนาของบริษทั การให้พนื้ ทีส่ ว่ นกลางมากกว่าข้อก�ำหนดของกฎหมายเพือ่ ให้โครงการมีความสมบูรณ์ ทัง้ ต้นไม้ สถานที่พักผ่อนออกก�ำลังกาย สนามกีฬาส�ำหรับลูกบ้าน

นอกจากนี้บริษัทยังได้ด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสังคม ดังนี้ • ด้านพุทธศาสนา จัดให้มีการท�ำบุญใส่บาตรในโครงการ มีการจัดพิธีกรรมการท�ำบุญในเทศกาลต่าง ๆ ในทุกโครงการของบริษัท • ด้านการรณรงค์สืบสานวัฒนธรรมไทย บริษัทได้ด�ำเนินการส่งเสริมสนับสนุนการจัดงานประเพณีไทย ต่างๆ เช่นการจัดประกวดร�ำไทยของเยาวชน การจัดงานประเพณีสงกรานต์ ลอยกระทง ฯลฯ • ด้านกีฬา บริษทั สนับสนุนและส่งเสริมการกีฬา โดยจัดให้มกี ารแข่งขันฟุตซอล เทนนิส แบดมินตัน ว่าย น�้ำ และการออกก�ำลังกายโดยการจัดสถานที่สโมสรและการสนับสนุนด้านการเงินและรางวัล • การส่งเสริมเพิ่มทักษะเพิ่มความเป็นมืออาชีพ โดยจัดการแข่งขันประกวดถ่ายภาพ • บริษัทเป็นศูนย์รวบรวมเงินเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสพภัยน�้ำท่วมใหญ่ทางภาคอีสาน และภาคใต้ เมื่อปลายปีที่ผ่านมาพร้อมทั้งบริจาคให้ความช่วยเหลือ นอกจากนี้บริษัทยังให้การสนับสนุนทางการเงินในกิจกรรมต่าง ๆ ของทางสถาบันศึกษาทั้งในเรื่องของการ ศึกษาและการกีฬา

หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

คณะกรรมการบริษทั ให้ความส�ำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส โดยมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียง พอแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย พร้อมทั้งดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ครบถ้วนและทันเวลา และทุกฝ่าย สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน ส�ำหรับการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญนั้น บริษัทได้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอในงบการเงิน โดยการเปิดเผยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ และเผยแพร่ผ่านระบบเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริษัท ซึ่งงบการเงินดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบ/สอบทานและให้ความเห็นอย่างไม่มี เงือ่ นไขจากผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบก่อนเปิดเผยต่อผูถ้ อื หุน้ โดย คณะกรรมการบริษทั ได้เปิดเผยรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินในรายงานประจ�ำปี ด้วย ในการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญของบริษัท ทั้งรายงานทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน บริษัทได้ เผยแพร่ตามช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และยังได้เผยแพร่ในเว็ปไซต์ของบริษัท เพื่อให้ผู้สนใจ ทั่วไปได้รับทราบข้อมูลของบริษัทได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทั่วถึง เท่าเทียม โปร่งใส และทันการณ์ ทั้งนี้ บริษัทได้จัด ตั้งฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และสารสนเทศเพื่อท�ำหน้าที่ติดต่อสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูลของบริษัทให้กับผู้ถือหุ้น นัก ลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ได้อย่างถูกต้อง เท่าเทียมและทันเวลา โดยผู้ลงทุน รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

75


สามารถติดต่อขอทราบข้อมูลบริษัทได้ที่ฝ่ายลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0-2247-7500 โทรสาร 0-2247-7399 อีเมล์ ir@pf.co.th หรือที่ www.pf.co.th/ir คณะกรรมการบริษัทได้เปิดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย รวม ทั้งจ�ำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมไว้ภายใต้หัวข้อ “การจัดการ” และมีการเปิดเผยนโยบายการจ่าย ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารระดับสูงไว้ภายใต้หัวข้อ “ค่าตอบแทนกรรมการ” บริษทั ได้ปฎิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทีเ่ กีย่ วกับการ ท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั จดทะเบียน หรือการได้มาและจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ของบริษทั จดทะเบียน แล้ว แต่กรณี รวมทั้งก�ำหนดนโยบายและวิธีการดูแลไม่ให้ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องน�ำข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตน บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน ทัง้ ในระดับบริหารและระดับปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการก�ำหนดการด�ำเนินการของผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ส�ำหรับการตรวจสอบ ภายในได้มกี ารจัดตัง้ ส�ำนักตรวจสอบภายในขึน้ เฉพาะ เพือ่ รับผิดชอบช่วยตรวจสอบการปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพ ทั้งนี้ หน่วยงานตรวจสอบภายในจะรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างคณะกรรมการ บริษัทก�ำหนดให้มีกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน โดยปัจจุบันบริษัทมีคณะกรรมการที่มีประสบการณ์และมี ความรู้ ความสามารถจ�ำนวน 12 คน ประกอบด้วย • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (Executive Director) จ�ำนวน 4 คน • กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร (Non-Executive Director) จ�ำนวน 3 คน • กรรมการอิสระ (Independent Director) จ�ำนวน 5 คน ทัง้ นี้ ประธานกรรมการมิได้เป็นบุคคลเดียวกันกับประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ ให้มกี ารแบ่งแยกหน้าทีใ่ นการ ก�ำหนดนโยบายก�ำกับดูแล และการบริหารงานประจ�ำ คณะกรรมการของบริษทั ทุกคน มีความเป็นอิสระอย่างเต็มทีใ่ นการแสดงความคิดเห็น บริษทั ให้ความส�ำคัญ กับความเห็นของคณะกรรมการอิสระมาก ในกรณีที่กรรมการอิสระมีข้อท้วงติงหรือไม่เห็นด้วยในเรื่องใด จะต้องน�ำ เรื่องกลับไปพิจารณาทบทวนอีกครั้งหนึ่ง เพื่อหาข้อสรุปที่ชัดเจนโปร่งใสในเรื่องนั้นๆ คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดคุณสมบัติของบุคคลที่จะด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการอิสระตามกรอบขั้นต�่ำ ของนิยามกรรมการอิสระ ที่ประกาศโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่ง ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ทัง้ นีใ้ ห้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระ รายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มี อ�ำนาจควบคุมของผู้ขออนุญาต เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ ยืน่ ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ทัง้ นี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีทกี่ รรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษา ของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ขออนุญาต

76

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


3. ไม่เป็นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่ จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ขออนุญาตหรือบริษัทย่อย 4. ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อยบริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษัทในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือ เคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษทั และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมหรือหุน้ ส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบ บัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำนาจควบคุมของผูข้ ออนุญาตสังกัด อยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวันทีย่ นื่ ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการ เงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทาง วิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาต ต่อส�ำนักงาน 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่ง เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อยหรือไม่ เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงิน เดือนประจ�ำ หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการ ที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ กรรมการทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถทีเ่ หมาะสมในเรือ่ งต่างๆ เพือ่ ช่วยในการก�ำกับ ดูแลกิจการของบริษัทและเพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน โดยคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ โดยก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจนจ�ำนวน 5 คณะ ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 2. คณะกรรมการบริหาร 3. คณะกรรมการสรรหาชื่อบุคคลเพื่อเสนอเป็นกรรมการบริษัท 4. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยคณะกรรมการชุดย่อยที่ถูกตั้งขึ้นทั้ง 5 คณะนี้จะท�ำหน้าที่พิจารณาอย่างโปร่งใส ทั้งนี้ รายละเอียดเกี่ยว กับรายชื่อ หน้าที่ความรับผิดชอบ ได้เปิดเผยอยู่ภายใต้หัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วย บุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ มีประสบการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจ และมีความเข้าใจในบทบาท หน้าทีท่ ตี่ อ้ งรับผิดชอบเป็นอย่างดี ท�ำให้การปฏิบตั งิ านเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดย คณะกรรมการบริษทั ได้มสี ว่ นร่วมในการก�ำหนดวิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของ บริษัท เพื่อให้ฝ่ายจัดการด�ำเนินงานตามนโยบายและแผนที่ก�ำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

77


คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเพิ่มความโปร่งใส เพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของบริษัท และเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จึงได้จัด ให้มีนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการเป็นลายลักษณ์อักษร และมีการทบทวนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้นโยบาย มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม แนวทางการด�ำเนินธุรกิจ และเป็นสากลมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังได้จดั ท�ำคูม่ อื จริยธรรม ธุรกิจ (Code of Conduct) เพือ่ ให้เป็นแนวทางในการปฎิบตั ขิ องพนักงานเพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี นอกจากนัน้ เพือ่ ป้องกันการท�ำรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือ รายการระหว่างกัน คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการต่างๆ เพื่อแบ่งแยกอ�ำนาจอย่างชัดเจน รวม ทั้ง ได้ก�ำหนดนโยบาย ระเบียบปฎิบัติ และกระบวนการในการอนุมัติรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องได้ยึดถือปฎิบัติในเรื่องต่างๆ ได้แก่ หลักเกณฑ์การอนุมัติรายการ การท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน การใช้ข้อมูลภายใน การเปิดเผยข้อมูล อีกทั้ง คณะกรรมการบริษัทยังได้ก�ำหนดให้ฝ่ายบริหาร ประเมินความเสีย่ งของกิจการ และก�ำหนดมาตรการป้องกันและจัดการความเสีย่ งและรายงานให้ทราบเป็นประจ�ำ ซึง่ รวมถึงความเสี่ยงที่มีผลต่อการด�ำเนินงานของบริษัทตามที่ระบุไว้ในหัวข้อ ”ปัจจัยความเสี่ยง” การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ารประชุมทุกไตรมาสหรือมีการประชุมพิเศษเพิม่ ตามความจ�ำเป็น โดยมี การก�ำหนดวาระการประชุมไว้ชดั เจนและล่วงหน้า เพือ่ พิจารณาผลการด�ำเนินงานในแต่ละไตรมาสและติดตามความ คืบหน้าการด�ำเนินงาน โดยประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะร่วมกันพิจารณาเรื่องที่ส�ำคัญและน�ำ เข้าสูว่ าระการประชุม นอกจากนัน้ กรรมการแต่ละท่านมีความเป็นอิสระทีจ่ ะเสนอเรือ่ งเข้าสูว่ าระการประชุมได้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทแต่ละครั้ง ประธานกรรมการได้จัดสรรเวลาอย่างเพียงพอและมากพอใน การพิจารณาวาระการประชุม และได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร จัดเก็บรายงานการประชุมที่ ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ พร้อมให้คณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารมีการประเมินผลงานในส่วนทีต่ นเองรับผิดชอบรายไตรมาสและประเมินผลการ ปฏิบัติงานเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท โดยน�ำเสนอเปรียบเทียบในช่วงเวลาที่ผ่านมา ค่าตอบแทน บริษัทได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ เพื่อพิจารณานโยบายและ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ และทีป่ รึกษาของบริษทั และพิจารณา ก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี การปรับเงินเดือนประจ�ำปี รวมทัง้ การปรับเงินเดือนระหว่างปี รวมทัง้ ผลประโยชน์อนื่ อัน เป็นการตอบแทนการท�ำงานของฝ่ายบริษทั และพนักงานทุกระดับ โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์ ภาระหน้าที่ และขอบเขต ความรับผิดชอบ และเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นที่อยู่ในระดับและอุตสาหกรรมเดียวกัน (รายละเอียดค่าตอบแทน กรรมการตามหัวข้อ “ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร”) การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทได้ให้ความส�ำคัญในการพัฒนากรรมการและผู้บริหารเพื่อการสืบทอดการบริหารในอนาคต บริษัท ตระหนักถึงความส�ำคัญด้านบุคลากรระดับผูบ้ ริหาร โดยจัดอบรมหลักสูตร “การบริหารจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์” โดยมีเนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วยความรู้ทางด้านอสังหาริมทรัพย์ กฎหมาย การเงิน บัญชี และการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี ฯลฯ เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทได้เรียนรู้เตรียมพร้อมในการเป็นกรรมการในอนาคต และในส่วน ของกรรมการบริษัทก็ได้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยที่จัดขึ้นส�ำหรับ การพัฒนาและให้การสนับสนุนกรรมการบริษัท เพื่อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีไปปฏิบัติในองค์กร

78

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษทั มีนโยบายห้ามกรรมการและผูบ้ ริหารน�ำข้อมูลภายในของบริษทั ซึง่ ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปเปิด เผยเพือ่ แสงหาผลประโยชน์สว่ นตนหรือเพือ่ ประโยชน์แก่ผ้อู ื่นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม นอกจากนีก้ รรมการ ผู้ บริหาร และพนักงานของบริษทั ทีไ่ ด้รบั ข้อมูลทางการเงินของบริษทั ต้องไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในระยะเวลา 1 เดือนก่อนเปิดเผยสู่สาธารณะ โดยบริษัทได้แจ้งให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทข้างต้นหลีกเลี่ยงการ ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทก่อนทีง่ บการเงินจะเปิดเผยสูส่ าธารณะ รวมทัง้ ได้แจ้งให้กรรมการและผูบ้ ริหารเข้าใจถึง ภาระหน้าทีใ่ นการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริษทั ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ตอ่ ส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราช บัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทัง้ นีบ้ ริษทั ได้กำ� หนดบทลงโทษทางวินยั ต่อพนักงานของบริษทั ทีก่ ระท�ำการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับหรือประกาศ ของบริษัท ซึ่งระบุไว้ในระเบียบข้อบังคับในการปฏิบัติงานของพนักงาน

การควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ประชุมได้มีความเห็น เกี่ยวกับความเหมาะสมและความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม บริษัทฯมีสภาพแวดล้อมและโครงสร้างองค์กรที่เอื้ออ�ำนวยให้ระบบการควบคุมภายในด�ำเนินไปได้ตามที่ บริษทั ฯมุง่ หวัง มีเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจทีช่ ดั เจนและวัดผลได้เป็นรูปธรรม มีการอนุมตั แิ ผนงานประจ�ำปีโดยคณะ กรรมการบริษทั เพือ่ ให้ฝา่ ยบริหารและพนักงานใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ านให้บรรลุวตั ถุประสงค์ทตี่ อ้ งการ ตลอด จนมีสภาพแวดล้อมการควบคุมที่สนับสนุนให้ระบบการควบคุมภายในเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสนับสนุน การด�ำเนินงานของฝ่ายบริหารให้บรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนด 2. การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ฯมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ท�ำหน้าทีก่ ำ� กับดูแลและก�ำหนดกรอบ ความเสีย่ งเพือ่ บริหารจัดการในภาพรวมขององค์กร และสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ในเรือ่ งดัง กล่าวให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งบริษัทฯมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ระดับองค์กรที่ชัดเจน มีการประเมินปัจจัย ความเสีย่ งในการประกอบธุรกิจทัง้ ทีเ่ ป็นปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมาย ในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้งบประมาณที่ก�ำหนด มีการวิเคราะห์สาเหตุที่อาจท�ำให้เกิดปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ และมี การก�ำหนดมาตรการจัดการความเสี่ยงดังกล่าว 3. กิจกรรมการควบคุม บริษัทฯมีกิจกรรมการควบคุมในการวางแผนและควบคุมการปฏิบัติงาน มีการแบ่งแยกหน้าที่เพื่อตรวจสอบ ซึง่ กันและกัน มีการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละวงเงินในการอนุมตั ใิ นแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน บริษทั ฯมีการ ควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหารทีเ่ หมาะสมเพียงพอ มีการสอบทานผลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหารโดยคณะ กรรมการบริษทั รวมถึงการอนุมตั กิ ารท�ำธุรกรรมของบริษทั ฯกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือผูท้ เี่ กีย่ วข้อง กับบุคคลดังกล่าวจะพิจารณาเสมือนเป็นรายการที่กระท�ำกับบุคคลภายนอก ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการ พิจารณาทบทวนและอนุมตั แิ ผนงานตรวจสอบประจ�ำปีเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าแผนงานตรวจสอบครอบคลุมกิจกรรมทีส่ ำ� คัญ และมีความเสี่ยงสูงของบริษัทฯ เพื่อสนับสนุนให้บริษัทฯบรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนด 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทฯมีการพัฒนาระบบสารสนเทศและระบบข้อมูลอย่างต่อเนื่อง มีการจัดท�ำข้อมูลที่ส�ำคัญต่างๆอย่าง เพียงพอเพือ่ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร กรรมการบริษทั ได้รบั เอกสารการประชุมทีม่ ี ข้อมูลทีจ่ ำ� เป็นชัดเจนเพียงพอก่อนการประชุมภายในระยะเวลาทีเ่ หมาะสม รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั มีการบันทึกข้อซักถาม ข้อสังเกต และสรุปความเห็นของกรรมการ รวมถึงการบันทึกบัญชีจดั ท�ำขึน้ ตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไปและเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

79


5. ระบบการติดตามประเมินผล บริษทั ฯมีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน และประเมินคุณภาพการปฏิบตั งิ านโดยก�ำหนดวิธปี ฏิบตั ิ งานทีเ่ หมาะสมเพือ่ ให้มกี ารติดตามการปฏิบตั ติ ามระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนือ่ งและเป็นส่วนหนึง่ ของระบบ การปฏิบตั งิ านตามปกติของฝ่ายบริหาร และผูท้ มี่ หี น้าทีเ่ กีย่ วข้อง และบริษทั ฯมีการก�ำหนดแผนการด�ำเนินงานในการ ติดตามและเปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนดอย่างสม�ำ่ เสมอ รวมถึงบริษทั ฯมีหน่วยงาน ตรวจสอบภายในรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีการประเมินระบบการควบคุมภายในตามแผนการ ตรวจสอบประจ�ำปี นอกจากนี้ การแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทฯ ประจ�ำปี 2553 โดยผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ก็มิได้ ระบุข้อบกพร่องของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระส�ำคัญซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อการด�ำเนินงานของ บริษัท

บุคลากร จ�ำนวนพนักงาน ณ สิ้นปี 2552 และปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อย มีจ�ำนวนพนักงานทั้งสิ้น 460 คน และ 505 คน ตามล�ำดับ โดยบริษัทมีพนักงานแบ่งตามแต่ละสายงานได้ดังนี้ สังกัด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

80

ส�ำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงานวางแผนโครงการ สายงานออกแบบ สายงานบริหารงานก่อสร้าง สายงานพัฒนาผลิตภัณฑ์และควบคุมคุณภาพ สายงานโฆษณา สายงานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร สายงานบัญชี ส�ำนักตรวจสอบภายใน สายงานนิติกรรมและโอนกรรมสิทธิ์ สายงานบริหารงานขาย สายงานการเงินและบริหารเงิน ส�ำนักงบประมาณ สายงานลงทุนสัมพันธ์และสารสนเทศ สายงานพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สายงานวิจัยและพัฒนาธุรกิจ สายงานทรัพยากรมนุษย์ สายงานบริหารงานกลาง สายงานบริหารโครงการ โซน 1 - 5 รวม

จ�ำนวนพนักงาน (คน) 31 ธ.ค. 2553 11 18 15 13 6 12 5 12 3 45 35 17 5 9 8 4 7 20 260 505

จ�ำนวนพนักงาน (คน) 31 ธ.ค. 2552 11 18 17 14 8 13 5 13 3 41 29 14 3 8 5 4 6 21 227 460

ทั้งนี้ ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมาบริษัทไม่เคยมีปัญหากฎหมายเกี่ยวกับข้อพิพาทด้านแรงงานแต่อย่างใด

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ค่าตอบแทนพนักงาน บริษทั มีคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและทรัพยากรมนุษย์ โดยมีขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับ ผิดชอบ ในการพิจารณานโยบายและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนส�ำหรับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ และทีป่ รึกษาของบริษทั รวมทัง้ ก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี การปรับเงินเดือนประจ�ำปี การปรับเงินเดือน ระหว่างปี ผลประโยชน์อนื่ อันเป็นการตอบแทนการท�ำงานของฝ่ายบริษทั และพนักงานทุกระดับ และพิจารณาระเบียบ การจ้างงาน ระเบียบการท�ำงาน และพิจารณาเกณฑ์การลงโทษให้เหมาะสมและเป็นธรรมต่อพนักงานบริษัท ค่าตอบแทนรวมของบุคลากร (ไม่รวมผู้บริหาร) ของบริษัทประกอบดัวย เงินเดือน โบนัส สวัสดิการ ล่วงเวลา เบี้ยเลี้ยง และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ รวมทั้งสิ้นในปี 2552 และปี 2553 จ�ำนวน 236.72 ล้านบาท และ 326.71 ล้านบาท ตามล�ำดับ นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริษทั เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการพัฒนาบุคลากร ดังนัน้ นโยบายการพัฒนาบุคลากรของบริษทั จึงถือเป็น หนึง่ ความตัง้ ใจทีบ่ ริษทั แสดงความมุง่ มัน่ ต่อการให้ความส�ำคัญด้านบุคลากร แนวทางต่าง ๆ ในการจัดการการเรียน รู้ในองค์กรจึงเกิดขึ้นเพื่อส่งเสริมและเพิ่มพูนการพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงานให้มีศักยภาพ สามารถ ปฏิบัติหน้าที่การงานได้อย่างมีประสิทธิภาพอันจะน�ำสู่การสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ของบริษัทสู่สังคมต่อไป

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

81


บุคคลอ้างอิงอื่นๆ

82

ผู้สอบบัญชี

นางสาวทิพวัลย์ นานานุวัฒน์ นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล นายกฤษดา เลิศวนา บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด เลขที่ 193/136-137 อาคารเลครัชดา คอมเพล็กซ์ ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0–2264–0777, 0–2661–6190 โทรสาร 0–264–0790, 0–2661–9192

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท ส�ำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์วิทยา จ�ำกัด 33/35, 33/39-40 อาคารวอลล์สตรีท ทาวน์เวอร์ ชั้น 9 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0-2236-2334 โทรสาร 0-2236-3916

นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2359-1200-1 โทรสาร 0-2359-1259

ประเมินราคาที่ดิน

บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จ�ำกัด 10 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2295-3905 โทรสาร 0-2295-1154

บริษัท บรูค เรียลเอสเตท จ�ำกัด ชั้นที่ 20 ห้อง 2005-6 อาคารเดอะมิลเลนเนีย ทาวเวอร์ เลขที่ 62 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2652-6300 โทรสาร 0-2652-6399

บริษัท ไทยประเมินราคา ลินส์ ฟิลลิปส์ จ�ำกัด 121/47-48 อาคารอาร์เอสทาวเวอร์ ชั้น 11 ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท์ 0-2641-2128-32 โทรสาร 0-2641-2134

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


รายการระหว่างกัน 1. รายการระหว่างกันกับบริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด (บ.เอสเตทฯ) ลักษณะความสัมพันธ์ รายละเอียดรายการ

- บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บ.เอสเตทฯ โดยถือหุ้นในสัดส่วน 100% - บริษัทฯ และ บ.เอสเตทฯ มีกรรมการร่วมกัน คือ นายชายนิด โง้วศิริมณี - ผู้บริหารของบริษัทฯเป็นกรรมการของบ.เอสเตทฯ ได้แก่ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ และ นายนันทชาติ กลีบพิพัฒน์

ลักษณะรายการ ให้กู้ยืมเงิน

เงินให้กู้ยืมแก่ บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ

ปี 2553 (ล้านบาท) 460.98 24.59 13.02

ขายที่ดิน

รายได้จาก การขาย

14.87

ค�้ำประกัน

วงเงิน

2,035

หมายเหตุ บริษทั ฯให้บ.เอสเตทฯกูย้ มื เงินโดยมีตวั๋ สัญญาใช้เงินเป็นหลัก ฐานการเบิกเงินกู้บางส่วน คิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุนทางการ เงินถัวเฉลี่ยของเพอร์เฟคบวก 0.75-1% เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจ สอบมีมติเห็นชอบให้บ.เอสเตทฯกูย้ มื เงินเพือ่ น�ำไปจัดซือ้ ทีด่ นิ และ ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในวงเงิน 450 ล้านบาท โดยคิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของ บริษัทฯบวก 0.25% บริษัทฯขายที่ดินบริเวณถนนรามค�ำแหงให้แก่บ.เอสเตทฯ 0-2-12.2 ไร่ เพื่อให้บ.เอสเตทฯน�ำไปพัฒนาเพื่อขาย และขาย ที่ดินถนนทางเข้าโครงการแจ้งวัฒนะ 1-0-72.1 ไร่ ให้แก่บ. เอสเตทฯถือกรรมสิทธิ์ในอัตราส่วน 5% เพื่อให้บริษัทฯไม่ต้อง จดทะเบียนที่ดินถนนดังกล่าวเป็นทางสาธารณะประโยชน์ บริษัทฯเข้าท�ำสัญญาค�้ำประกันเงินกู้ยืมระหว่างบ.เอสเตทฯ กับสถาบันการเงินโดยไม่คิดค่าธรรมเนียมดังนี้ เงินกู้คก.ร่มเกล้า วงเงิน 620.- ล้านบาท เงินกู้คก.เพอร์เฟค เพลส สุขุมวิท วงเงิน 800.- ล้านบาท เงินกู้คก.เดอะวิลล่า รามอินทรา วงเงิน 310.5 ล้านบาท เงินกู้คก.เดอะวิลล่า รามค�ำแหง วงเงิน 304.5 ล้านบาท

ความเห็นกรรมการตรวจสอบ การให้กยู้ มื ดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินทีจ่ ำ� เป็นเนือ่ งจากเป็นการน�ำไปพัฒนาโครงการและ ขยายงานตามแผนงานของ บ.เอสเตทฯ การขายทีด่ นิ เป็นไปตามข้อตกลงทางรายการค้าปกติของธุรกิจซึง่ บริษทั ฯและ บ.เอสเตทฯ ก�ำหนดราคาร่วมกัน และ บริษัทฯ จ�ำเป็นต้องค�้ำประกันเนื่องจากถือหุ้น บ.เอสเตทฯ 100%

2. รายการระหว่างกันกับบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพฯ จ�ำกัด (บ.ไบรท์ฯ)

ลักษณะความสัมพันธ์ - บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บ.ไบรท์ฯ โดยถือหุ้นในสัดส่วน 100% - บริษัทฯ และ บ.ไบรท์ฯ มีกรรมการร่วมกัน คือ นายชายนิด โง้วศิริมณี - ผู้บริหารของบริษัทฯเป็นกรรมการของ บ.ไบรท์ฯ ได้แก่ นายปราโมทย์ เริ่มยินดี นายวิชาญ ศิริเวชวราวุธ และ นายพรสวัสดิ์ เกษจุฬาศรีโรจน์ รายละเอียดรายการ

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

83


ปี 2553 (ล้านบาท)

ลักษณะรายการ ให้กู้ยืมเงินและ เงินทดรองจ่าย

เงินให้กู้ยืมแก่ บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ เงินทดรองจ่าย

หมายเหตุ

797.52

บริษัทฯโอนเงินทดรองจ่ายค่าที่ดินและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ คก.รัชดาภิเษก ให้เป็นของบ.ไบรท์ฯ เพือ่ ให้สอดคล้องกับเงือ่ นไข 21.13 ของสถาบันการเงินผูใ้ ห้สนิ เชือ่ ทีใ่ ห้บริษทั ฯจัดตัง้ บ.ไบรท์ฯ เพือ่ ให้เป็นผู้ด�ำเนินการพัฒนาคก.รัชดาภิเษก ท�ำให้บ.ไบรท์ฯเป็น 11.73 ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมของบริษัทฯ และให้บ.ไบรท์ฯกู้ยืมเงินเพื่อน�ำ 1.50 ไปพัฒนาคก.เพิ่มเติม โดยมีตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นหลักฐานการ เบิกเงินกู้บางส่วน คิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุนทางการเงินถัว เฉลี่ยของบริษัทฯบวก 0.65-1.5% เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจ สอบมีมติเห็นชอบให้บ.ไบรท์ฯกูย้ มื เงินเพือ่ น�ำไปจัดซือ้ ทีด่ นิ และ ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในวงเงิน 650 ล้านบาท โดยคิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุนทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯบวก 0.25%

ขายที่ดิน

รายได้จาก การขาย

11.46

บริษทั ฯขายทีด่ นิ บริเวณถนนรามค�ำแหงให้แก่บ.ไบรท์ฯ 0-174.6 ไร่ เพื่อให้บ.ไบรท์ฯน�ำไปพัฒนาเพื่อขาย

ค�้ำประกัน

วงเงิน

2,310

บริษทั ฯเข้าท�ำสัญญาค�ำ้ ประกันเงินกูย้ มื ระหว่างบ.ไบรท์ฯกับ สถาบันการเงินโดยไม่คิดค่าธรรมเนียมดังนี้ เงินกู้คก.เมโทร สกาย รัชดา วงเงิน 870 ล้านบาท เงินกู้คก.ไอคอนโด งามวงศ์วาน วงเงิน 184 ล้านบาท เงินกู้คก.ไอคอนโด สุขาภิบาล 2 วงเงิน 481 ล้านบาท เงินกู้คก.ไอคอนโด สุขุมวิท 105 วงเงิน 775 ล้านบาท

ความเห็นกรรมการตรวจสอบ การให้กู้ยืมดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จ�ำเป็นเนื่องจากเป็นการน�ำไปพัฒนาโครงการ และขยายงานตามแผนงานของ บ.ไบรท์ฯ การขายที่ดินเป็นไปตามข้อตกลงทางรายการค้าปกติของธุรกิจซึ่งบริษัทฯ และ บ.ไบรท์ฯ ก�ำหนดราคาร่วมกัน และบริษัทฯจ�ำเป็นต้องค�้ำประกันเนื่องจากถือหุ้น บ.ไบรท์ฯ 100%

3. รายการระหว่างกันกับบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด (บ.เรสซิเดนท์ฯ) ลักษณะความสัมพันธ์

84

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

- บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บ.เรสซิเดนท์ฯ โดยถือหุ้นในสัดส่วน 100% - ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เป็นกรรมการของ บ.เรสซิเดนท์ฯ คือ นายวิชาญ ศิรเิ วชวราวุธ - พนักงานของบริษัทฯ เป็นกรรมการของ บ.เรสซิเดนท์ฯ คือ นายสรรเพชร สุขเกษม


รายละเอียดรายการ ปี 2553 (ล้านบาท)

ลักษณะรายการ ให้กู้ยืมเงิน

เงินให้กู้ยืมแก่ บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ

หมายเหตุ

-

บริษัทฯให้บ.เรสซิเดนท์ฯกู้ยืมเงินโดยมีตั๋วสัญญาใช้เงินเป็น หลักฐานการเบิกเงินกู้บางส่วน คิดดอกเบี้ยในอัตราต้นทุน 0.42 ทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯบวก 0.65-1%

ดอกเบี้ยค้างรับ

-

ซื้อที่ดิน

ซื้อที่ดิน

5.00

บริษทั ฯซือ้ ทีด่ นิ ถนนภาระจ�ำยอมภายในโครงการบางบัวทอง ของบ.เรสซิเดนท์ฯ 1-1-78.3 ไร่ เพือ่ ควบคุมบุคคลผ่านเข้าออก ภายในโครงการ

ค�้ำประกัน

วงเงิน

930

บริษทั ฯเข้าท�ำสัญญาค�ำ้ ประกันเงินกูย้ มื ระหว่างบ.เรสซิเดนท์ฯ กับสถาบันการเงินโดยไม่คิดค่าธรรมเนียมดังนี้ เงินกู้คก.เพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง วงเงิน 670 ล้านบาท เงินกู้คก.เดอะวิลล่า บางบัวทอง

วงเงิน 260 ล้านบาท

ความเห็นกรรมการตรวจสอบ การให้กู้ยืมดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จ�ำเป็นเนื่องจากเป็นการน�ำไปพัฒนาโครงการ และขยายงานตามแผนงานของบ.เรสซิเดนท์ฯ การซื้อที่ดินเป็นความช่วยเหลือที่จ�ำเป็น เนื่องจากเพื่อควบคุมบุคคล ผ่านเข้าออกภายในโครงการของบ.เรสซิเดนท์ฯ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นอยู่ 100% เนื่องจากบ.เรสซิเดนท์ฯ ไม่สามารถถือกรรมสิทธิ์ได้ และไม่สามารถขายที่ดินดังกล่าวให้แก่บุคคลอื่นได้ และบริษัทฯจ�ำเป็นต้องค�้ำประกัน เนื่องจากถือหุ้นบ.เรสซิเดนท์ฯ 100%

4. รายการระหว่างกันกับบริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (บ.เพอร์เฟค สปอร์ตคลับฯ) (เดิมชื่อ “บริษทั เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด”)

ลักษณะความสัมพันธ์ - บริษทั ฯเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบ.เพอร์เฟค สปอร์ตคลับฯ โดยถือหุน้ ในสัดส่วน 99.98% - ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เป็นกรรมการของ บ.เพอร์เฟค สปอร์ตคลับฯ ได้แก่ นายไพรัตน์ เสนาจักร์ และ นายธงชัย ปิยสันติวงศ์ - พนักงานของบริษทั ฯ เป็นกรรมการของ บ.เพอร์เฟค สปอร์ตคลับฯ ได้แก่ นส.รัศมี เมธาวิกลุ และ นายกฤตภาส พงศ์ภคั วัตร รายละเอียดรายการ ปี 2553 (ล้านบาท)

ลักษณะรายการ ว่าจ้างบริหารสโมสร ค่าใช้จ่ายในการ บริหารสโมสร เจ้าหนี้

12.77 1.39

หมายเหตุ บริษทั ฯว่าจ้างบ.เพอร์เฟค สปอร์ตคลับฯเพือ่ ให้บริหารสโมสร และสนามกอล์ฟในโครงการของบริษัทฯ ดังนี้ - บริหารสโมสร ในอัตราเดือนละ 90,000-138,000 บาท/คก. - บริหารสนามกอล์ฟ ในอัตราเดือนละ 50,000 บาท/คก. และให้บ.เพอร์เฟค สปอร์ตคลับฯเรียกเก็บค่าบริการในการจัดหา เจ้าหน้าที่ไว้ให้บริการตามค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

85


ความเห็นกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวเป็นรายการค้าตามปกติของธุรกิจซึ่งบริษัทฯ และ บ.เพอร์เฟค สปอร์ตคลับฯ ก�ำหนดราคา ร่วมกัน

5. รายการระหว่างกันกับบริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด (บ.เซ็นเตอร์พ้อยท์ฯ)

ลักษณะความสัมพันธ์ - บริษทั ฯ เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ บ.เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ฯ โดยถือหุน้ ในสัดส่วน 100% - บริษทั ฯ และบ.เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ฯ มีกรรมการร่วมกัน คือนายชายนิด โง้วศิรมิ ณี รายละเอียดรายการ ปี 2553 (ล้านบาท)

ลักษณะรายการ ให้กู้ยืมเงิน

โอนสิทธิ การเช่าที่ดิน

เงินให้กู้ยืมแก่ บริษัทย่อย

24.43

ดอกเบี้ยรับ

0.92

ดอกเบี้ยค้างรับ

0.36

รายได้จากการ ขายสิทธิการเช่า

65

หมายเหตุ บริษทั ฯให้บ.เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ฯกูย้ มื เงิน โดยมีตวั๋ สัญญาใช้เงิน เป็นหลักฐานการเบิกเงินกูบ้ างส่วน คิดดอกเบีย้ ในอัตราต้นทุน ทางการเงินถัวเฉลี่ยของบริษัทฯบวก 1-1.5% ในปี 2550 บริษัทฯท�ำสัญญาโอนสิทธิการเช่าที่ดินให้แก่ บ.เซ็นเตอร์พ้อยท์ฯในราคา 200 ล้านบาท โดยได้รับเงินมัดจ�ำ จ�ำนวน 80 ล้านบาท ต่อมามีการท�ำสัญญาแก้ไขเพิม่ เติมเกีย่ ว กับก�ำหนดการช�ำระเงินส่วนที่เหลือ และในปี 2553 ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯมีมติอนุมัติให้ยกเลิกสัญญาโอนสิทธิ การเช่าดังกล่าวและคืนเงินมัดจ�ำจ�ำนวน 80 ล้านบาท ให้แก่ กรรมการของบ.เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ฯ และอนุมตั ใิ ห้โอนสิทธิการเช่า ให้แก่บ.เซ็นเตอร์พ้อยท์ฯในราคา 65 ล้านบาท และบริษัทฯได้ โอนสิทธิการเช่าดังกล่าวแล้ว

ความเห็นกรรมการตรวจสอบ การให้กู้ยืมดังกล่าวเป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่จ�ำเป็นเนื่องจากเป็นการน�ำไปพัฒนาโครงการ และขยายงานตามแผนงานของ บ.เซ็นเตอร์พ้อยท์ฯ และการท�ำสัญญาโอนสิทธิการเช่าดังกล่าวเป็นรายการค้าตาม ปกติของธุรกิจซึ่งบริษัทฯ และ บ.เซ็นเตอร์พ้อยท์ฯ ก�ำหนดราคาร่วมกัน

86

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ปัจจัยความเสี่ยง

ปัจจัยที่อาจท�ำให้เกิดความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ลงทุนหรือได้รับผลกระทบต่อผู้ออกหลักทรัพย์ มีดังนี้

1. ความเสี่ยงเกี่ยวกับสภาพคล่องและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน

บริษัทด�ำเนินการประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มานานกว่า 25 ปี โดยผู้บริหารที่มีประสบการณ์ จากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจต่างๆ ท�ำให้ทราบถึงปัญหาและแนวทางพัฒนาอย่างระมัดระวัง บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญ ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส มีการระมัดระวังรอบคอบในการพิจารณาพัฒนาโครงการ เริม่ ตัง้ แต่การพิจารณาเลือก ท�ำเลซือ้ ทีด่ นิ มีการท�ำวิจยั เพือ่ วิเคราะห์ศกึ ษาความเป็นไปได้ของโครงการต่าง ๆ ให้ความส�ำคัญในรายละเอียดของ ทุกส่วนงานทีส่ ำ� คัญ และน�ำข้อมูลทัง้ หมดเข้าทีค่ ณะกรรมการบริหารเพือ่ พิจารณาอนุมตั ดิ ำ� เนินการในแต่ละโครงการ แบบ 360 องศา ซึง่ บริษทั ได้รบั ความไว้วางใจจากสถาบันการเงินและให้การสนับสนุนเป็นอย่างดีตลอดมา ทัง้ ในส่วน ของสินเชือ่ โครงการ (Project Finance ) ในฐานะลูกค้าชัน้ ดี และการให้สนิ เชือ่ ส�ำหรับลูกค้าทีต่ อ้ งการกูซ้ อื้ บ้าน การ ใช้เครื่องมือทางการเงินต่างๆ เพื่อระดมทุน อาทิเช่น ตั๋วสัญญาใช้เงิน ตั๋วแลกเงิน การออกหุ้นกู้ การออกหุ้นกู้ไม่ด้อย สิทธิแปลงสภาพ เพือ่ การลดต้นทุนทางการเงิน และบริหารระยะเวลาการช�ำระหนี้ ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนจากสถาบัน การเงินหลายสถาบันมาอย่างต่อเนื่อง

ณ สิ้นสุดปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยได้ออกหุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันและค�้ำประกันบางส่วน และไม่มีหลัก ประกันรวม 6 ครั้ง มีมูลค่ารวม 6,578 ล้านบาท โดยมีส่วนถึงก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี 800 ล้านบาท และช�ำระปี 2555-2556 จ�ำนวนรวม 5,778 ล้านบาท (รายละเอียดปรากฎตามหมายเหตุประกอบงบการเงินหัวข้อที่ 21 )

บริษัทได้พิจารณาและให้ความส�ำคัญในการบริหารอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและ บริษัทย่อย โดยต้องด�ำรงอัตราส่วนจ�ำนวนรวมของหนี้สินสุทธิต่อจ�ำนวนรวมของส่วนผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2 เท่า ตาม ข้อก�ำหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้และผู้ถือหุ้นกู้ที่มีล่าสุดในปี 2553 ซึ่งปัจจุบันบริษัทและบริษัท ย่อยมีหนี้สินรวม ณ 31 ธันวาคม 2553 จ�ำนวน 12,554 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 7,174 ล้าน บาท และมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2,017 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุน 1.46 เท่า โดยมีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน 1,066 ล้านบาท บริษัทมีความเชื่อมั่นว่าจากผลการด�ำเนินงาน ทีผ่ า่ นมา สถาบันการเงินภายในประเทศยังคงให้การสนับสนุนด้านการเงินแก่บริษทั ในระดับสูงต่อไป ซึง่ ช่วยให้ความ เสี่ยงด้านการเข้าถึงสถาบันการเงินและการขาดสภาพคล่องอยู่ในระดับต�่ำ

2. ความเสี่ยงจากความต้องการเงินทุนหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้น จากการสร้างบ้านพร้อมอยู่และ ความสามารถในการช�ำระหนี้

การด�ำเนินนโยบายสร้างบ้านพร้อมอยู่ เพือ่ ตอบสนองความต้องการและสร้างความมัน่ ใจแก่ผบู้ ริโภคว่าจะได้ รับการส่งมอบได้ตามสัญญาอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้บริษทั ต้องใช้เงินทุนหมุนเวียนล่วงหน้าในการก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย เพิม่ ขึน้ ซึง่ บริษทั ได้ดำ� เนินการควบคูไ่ ปกับการขายบ้านระหว่างก่อสร้าง บริษทั มีการก�ำหนดปริมาณก่อสร้างบ้านพร้อม อยูเ่ พือ่ รองรับการขายในจ�ำนวนทีเ่ หมาะสม โดยพิจารณาถึงปริมาณการขายถัวเฉลีย่ (Moving Average) ซึง่ ในหลาย โครงการของบริษทั ความต้องการของผูบ้ ริโภคมากกว่าปริมาณการสร้างบ้านพร้อมอยู่ บริษทั จึงจ�ำเป็นต้องเปิดโอกาส ให้ผบู้ ริโภคจองบ้านระหว่างก่อสร้าง ซึง่ ช่วยสร้างความพึงพอใจให้แก่ผบู้ ริโภค ในขณะเดียวกันบริษทั ได้เริม่ การขาย บ้านระหว่างก่อสร้างในโครงการที่มีศักยภาพ ซึ่งก็ได้รับการตอบรับที่ดีเนื่องจากความเชื่อถือต่อบริษัทที่เชื่อมั่นว่าจะ ได้รับการส่งมอบบ้านตามสัญญา ซึ่งช่วยบริษัทได้ลดความเสี่ยงในการหาแหล่งเงินทุนหมุนเวียนจากการเปิดขาย ล่วงหน้า (Presale) ส�ำหรับโครงการใหม่ ท�ำให้ได้รับการพิจารณาอนุมัติเงินสนับสนุนโครงการจากสถาบันการเงิน อย่างมั่นใจในศักยภาพของโครงการที่มียอดขายจากผู้บริโภคล่วงหน้า ซึ่งลดความเสี่ยงจากการสร้างแล้วขายไม่ได้ และผลจากการด�ำเนินนโยบายสร้างบ้านพร้อมอยู่ต่อเนื่องเป็นผลให้ยอดรับรู้รายได้ของบริษัทในงบการเงินรวม ใน ปี 2553 เพิ่มขึ้น 2,756.07 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้น 46.33% จากปี 2552

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

87


การน�ำเทคนิคการก่อสร้างบ้านส�ำเร็จรูปแบบ Prefabrication และระบบเสา-คานส�ำเร็จรูป (Rigid Frame or Skeleton) ซึง่ ท�ำให้ลดระยะเวลาในการก่อสร้างบ้าน และสามารถควบคุมคุณภาพของวัสดุได้ดี สามารถลดการพึง่ พา ฝีมือแรงงาน ลดระยะเวลาก่อสร้างบ้านลงเหลือเพียงประมาณ 4-5 เดือน ท�ำให้สามารถบริหารสินค้าคงเหลือได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ในปี 2554 บริษัทมีแผนการขยายก�ำลังการผลิตบ้านส�ำเร็จรูปเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการเติบโตของ ยอดขาย บริษัทใช้เงินทุนหมุนเวียนดังกล่าวจากการโอนขายบ้านและที่ดินในโครงการต่างๆ ซึ่งมีระยะเวลาพัฒนา โครงการและระยะเวลาการขายทีแ่ ตกต่างกัน ช่วยให้บริษทั สามารถบริหารเงินทุนหมุนเวียนได้ โดยบริษทั ยังได้ปอ้ งกัน ความเสีย่ งโดยการใช้วงเงินกูท้ ไี่ ด้รบั การสนับสนุนจากสถาบันการเงินเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนส�ำรองเพิม่ เติมอีกทาง หนึง่ ซึง่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั และบริษทั ย่อยมีวงเงินเงินกูย้ มื ระยะยาวตามสัญญาเงินกูท้ ยี่ งั ไม่ได้เบิกใช้ คงเหลือจ�ำนวน 2,433 ล้านบาท (รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม ข้อ 24) นอกจากนี้ บริษัทยัง ได้จัดให้มีระบบการตรวจสอบการขายและสั่งสร้างเพื่อให้บริษัทสามารถรักษาสมดุลของปริมาณบ้านสร้างเสร็จหรือ สินค้าคงเหลือของบริษัทให้อยู่ในระดับที่เพียงพอเพื่อรองรับกับนโยบายการตลาดอีกทางหนึ่งด้วย

3. ความเสี่ยงจากความผันผวนของต้นทุนในการก่อสร้าง

ผลกระทบจากความผันผวนของระดับราคาน�ำ้ มัน มีผลกระทบโดยตรงทีท่ ำ� ให้ราคาวัสดุกอ่ สร้างปรับตัวเพิม่ สูงขึน้ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อต้นทุนในการด�ำเนินธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมก่อสร้าง บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญกับการ ลดความเสี่ยงของความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างซึ่งเป็นต้นทุนหลักในการก่อสร้าง โดยมีการพิจารณาแนวทาง บริหารจัดการทั้งทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือ ทางตรง บริษทั มีนโยบายการสัง่ ซือ้ ล่วงหน้าส�ำหรับวัสดุกอ่ สร้างทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ เสาเข็ม เหล็กเสริมคอนกรีต โดยมีการสัง่ ซือ้ ล่วงหน้าไว้อย่างน้อย 6-12 เดือน เพือ่ ลดความผันผวนของราคา นอกจากนีบ้ ริษทั ได้ชว่ ยเหลือผูร้ บั เหมา ในการติดต่อเจรจาจัดหาวัสดุกอ่ สร้างเพือ่ ใช้สำ� หรับโครงการทัง้ หมดของบริษทั ท�ำให้บริษทั มีอำ� นาจในการต่อรองราคา และก�ำหนดเงื่อนไขการส่งมอบ บริษัทด�ำเนินนโยบายบริหารต้นทุนโดยสร้างพันธมิตรกับ บริษัท SCG ผลิตภัณฑ์ ก่อสร้างจ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทยจ�ำกัด (มหาชน) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการและ เตรียมความพร้อมในการน�ำระบบ Supply Chain มาใช้ในการบริหารงานก่อสร้าง ลดต้นทุนทัง้ ในเรือ่ งของราคาและ การบริหารงานก่อสร้างระยะยาว ทางอ้อม การปรับกลยุทธ์ในการสร้างบ้านเป็นการสร้างบ้านพร้อมอยู่ทดแทนบ้านสั่งสร้าง จึงเป็นผลท�ำให้ บริษัททราบแผนการก่อสร้างล่วงหน้า สามารถต่อรองราคาและควบคุมต้นทุนวัสดุก่อสร้างได้ระดับหนึ่ง ท�ำให้บริษัท ทราบจ�ำนวนต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นก่อนการขาย ซึ่งสามารถช่วยการบริหารต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง และยังช่วยลดระดับความเสี่ยงจากความผันผวนของต้นทุนในการก่อสร้าง

4. ความเสี่ยงจากการขาดแคลนผู้รับเหมา

บริษทั ตระหนักถึงวิธปี ฏิบตั เิ พือ่ สร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับผูร้ บั เหมาเป็นเรือ่ งส�ำคัญ ได้ให้ความส�ำคัญในการ พิจารณาปริมาณงานก่อสร้างที่จะมอบหมายให้แก่ผู้รับเหมาอย่างเหมาะสมและสม�่ำเสมอโดยค�ำนึงถึงความพร้อม ของผู้รับเหมาทั้งก�ำลังคนและก�ำลังเงินเป็นส�ำคัญ บริษัทยังเปิดโอกาสแก่ผู้รับเหมารายใหม่เข้ามาร่วมงานกับบริษัท เพื่อรองรับปริมาณงานก่อสร้างที่เพิ่ม การก�ำหนดราคาก่อสร้างอย่างยุติธรรม ระยะเวลาการเบิกจ่ายเงินตามงวดงาน การให้การสนับสนุนในการ ปฏิบตั งิ านจากโฟร์แมนและวิศวกรของบริษทั ได้สร้างบรรยากาศการร่วมงานทีด่ ี ส่งผลถึงการก่อสร้างทีไ่ ด้มาตรฐาน และมีคุณภาพ บริษัทน�ำระบบ Site Management มาพัฒนาเพื่อควบคุมมาตรฐานการก่อสร้างของบริษัทให้เป็น มาตรฐานเดียวกันทุกโครงการการ บริษัทมีนโยบายพิจารณาผลงานผู้รับเหมาที่มีศักยภาพ เพื่อให้การสนับสนุนผู้รับ เหมาให้เติบโตร่วมกับบริษทั ทัง้ ด้านการเงินและปริมาณงาน ซึง่ แนวทางปฏิบตั นิ ชี้ ว่ ยให้ผรู้ บั เหมามีความมัน่ ใจในการ ท�ำงานร่วมกับบริษัทและพร้อมที่จะเติบโตไปกับบริษัทอย่างมั่นคงยิ่งขึ้น

88

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


การสร้างบรรยากาศความร่วมมือระหว่างผูร้ บั เหมากับบริษทั ในการท�ำงาน ส่งผลให้ความเสีย่ งในการขาดแคลน ผู้รับเหมานั้นอยู่ในระดับต�่ำ

5. ความเสี่ยงจากภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้นของตลาดที่อยู่อาศัย

บริษัทได้ด�ำเนินกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านท�ำเลที่ตั้งโครงการ เพื่อให้สอดคล้องสภาพเศรษฐกิจ ภาวะราคา น�้ำมันที่ปรับสูงขึ้นอย่างมีนัย โดยการเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภคตั้งแต่ระดับราคา 1.220 ล้านบาทขึ้นไป ทั้งในรูปแบบคอนโดและทาวน์เฮ้าส์ โดยมีแบ่งลักษณะผลิตภัณฑ์ตามแบรนด์ เพื่อให้ผู้บริโภค สามารถเลือกได้ตามความต้องการ โดยทุกท�ำเลของบริษัทจะอยู่ใกล้ระบบขนส่งมวลชนที่เกิดขึ้นแล้ว และจะเกิดขึ้น ในอนาคตอันใกล้ ท�ำให้สามารถรองรับความต้องการของผู้บริโภคในทุกกลุ่มลูกค้า (Segmentation) และทุกท�ำเล

บริษัทให้ความส�ำคัญกับสภาพแวดล้อมของโครงการและการด�ำเนินชีวิตภายในโครงการ (Happy Living) โดยบริษทั ได้ลงทุนพัฒนาพืน้ ทีเ่ พือ่ การพักผ่อนส�ำหรับลูกบ้านภายในโครงการ ด้วยการจัดสวนหย่อมและต้นไม้ใหญ่ นานาชนิดริมรอบทะเลสาบ รวมทั้งยังจัดให้มีกิจกรรมการท�ำบุญใส่บาตร กิจกรรมเพื่อสุขภาพ การออกก�ำลังกาย การแข่งขันกีฬา และกิจกรรมบันเทิงภายในโครงการในแต่ละเทศกาลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่ลูกบ้าน ได้รับมากกว่า จากความตัง้ ใจทีจ่ ะให้ลกู บ้านได้รบั สิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ท�ำให้โครงการของบริษทั ได้รบั รางวัลการจัดการสภาพแวดล้อม ดีเด่น (EIA Monitoring Awards) ติดต่อกัน 4 ปี (2548-2551) และ ในปี 2551 บริษทั ได้รบั รางวัล ”บ้านจัดสรรอนุรกั ษ์ พลังงาน” จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เป็นรางวัล “รางวัลบ้านจัดสรร อนุรักษ์พลังงานดีเด่น” 10 รางวัล จาก 7 แบบบ้าน และ 3 โครงการ บริษทั มัน่ ใจนโยบายขยายการเปิดโครงการในท�ำเลต่าง ๆ การพัฒนาโครงการอย่างมีคณ ุ ภาพ ชือ่ เสียงบริษทั จะช่วยเพิม่ ส่วนแบ่งการตลาดในแต่ประเภทของผลิตภัณฑ์ และสามารถลดระดับความเสีย่ งในการแข่งขันได้อย่างมี นัย

6. ความเสี่ยงจากการค�้ำประกันบริษัทย่อย

บริษทั เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด (เอสเตท) ซึง่ บริษทั ถือหุน้ 100% ของทุนจดทะเบียนทีเ่ รียกช�ำระแล้ว จ�ำนวน 1,200 ล้านบาท ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทบ้านเดี่ยวและทาวน์เฮ้าส์ รวม 5 โครงการ มีมูลค่า โครงการคงเหลือรวม 4,029 ล้านบาท โดยบริษทั ได้คำ�้ ประกันวงเงินกูย้ มื ระหว่างเอสเตท กับสถาบันการเงินโดยไม่คดิ ค่าธรรมเนียม เป็นวงเงินรวม 2,035 ล้านบาท ตามสัดส่วนการผูถ้ อื หุน้ (รายละเอียดตามหัวข้อรายการระหว่างกัน) ซึง่ ผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมาของ เอสเตท สามารถด�ำเนินการได้ตามแผนที่ก�ำหนดไว้อย่างมีนัย

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (ไบรท์) ซึ่งบริษัทถือหุ้น 100% ของทุนจดทะเบียนที่เรียกช�ำระ แล้ว จ�ำนวน 500 ล้านบาท ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภท อาคารชุดพักอาศัย ได้แก่ โครงการ เมโทร สกาย รัชดา และ ไอคอนโด รวม 4 โครงการ มีมูลค่าโครงการรวม 5,108 ล้านบาท โดยบริษัทได้ค�้ำประกันเงินกู้ยืม สถาบันการเงินโดยไม่คดิ ค่าธรรมเนียม เป็นวงเงิน รวม 2,310 ล้านบาทตามสัดส่วนการถือหุน้ (รายละเอียดตามหัวข้อ รายการระหว่างกัน) ซึ่งโครงการทั้ง 4 อยู่ระหว่างการเปิดขายซึ่งมีการตอบรับในเกณฑ์ที่ดี บริษทั เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด (เรสซิเดนท์ฯ) บริษทั ฯเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ โดยถือหุน้ ในสัดส่วน 100% ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว จ�ำนวน 1,000 ล้านบาท ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทบ้านเดี่ยวและ ทาวน์เฮ้าส์ รวม 2 โครงการย่านบางบัวทอง มีมูลค่าโครงการรวม 2,158 ล้านบาท โดยบริษัทได้ค�้ำประกันเงินกู้ยืม สถาบันการเงินโดยไม่คิดค่าธรรมเนียมเป็นวงเงิน รวม 930 ล้านบาท โครงการของเรสซิเด้นท์ เป็นโครงการที่ตั้งอยู่ บนท�ำเลที่มีศักยภาพ และมีการตอบรับเป็นอย่างดี

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

89


การค�ำ้ ประกันบริษทั ย่อย ทัง้ 3 บริษทั เป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินปกติตามสัดส่วนทีถ่ อื หุน้ ทีจ่ ำ� เป็น เนื่องจากเป็นการน�ำไปพัฒนาโครงการและขยายงานตามแผนงาน ที่มีขั้นตอนการพิจารณาอย่างรอบคอบในการ วางแผนการท�ำงานเช่นเดียวกับบริษัท จึงมีความเสี่ยงเทียบเท่าบริษัท

7. ความเสี่ยงจากความผันผวนทางเศรษฐกิจและผลกระทบจากภาวะการเมือง

กลุม่ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จะได้รบั ผลกระทบจากการปรับตัวขึน้ ลงของภาวะเศรษฐกิจโดยตรง บริษทั ได้ตระหนักถึงผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากปัญหาสภาวะเศรษฐกิจและการเมืองอย่างเป็นนัย ด้วยการพิจารณาวางแผน และปรับกลยุทธ์เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ ให้ความส�ำคัญกับการเปิดโครงการ การซื้อที่ดิน การบริหาร กระแสเงินสดของบริษัท โดยการควบคุมปริมาณการก่อสร้างของแต่ละโครงการอย่างใกล้ชิด เพื่อบริหารสินค้าคง เหลือในสัดส่วนทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกับอัตราการขาย การพิจารณาชะลอการเปิดโครงการใหม่โดยการประเมินความ เสี่ยงจากความขัดแย้งทางการเมืองหรือผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจจากต่างประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อชลอการลงทุนหากมีความจ�ำเป็น เพื่อลดความเสี่ยง

8. ความเสี่ยงจากการรับประกันผลตอบแทนขั้นต�่ำของกองทุนอสังหาริมทรัพย์

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 บริษัทได้ท�ำสัญญาขายอสังหาริมทรัพย์ของบริษัท ได้แก่ ที่ดินและบ้าน พักอาศัยประเภท 2 ชั้น ที่ก่อสร้างเสร็จแล้วของโครงการเพอร์เฟค มาสเตอร์พีช เอกมัย-รามอินทรา และโครงการ เพอร์เฟค เพลส รามค�ำแหง-สุวรรณภูมิ รวมจ�ำนวน 64 หลัง ให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค (“กองทุนฯ”) เป็นจ�ำนวนเงิน 510 ล้านบาท ซึง่ บริษทั ได้รบั เงินจากการขายอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวจากกอง ทุนฯ จ�ำนวน 510 ล้านบาท และได้โอนอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวให้แก่กองทุนฯ แล้ว และได้ตดั มูลค่าอสังหาริมทรัพย์ ดังกล่าวทีโ่ อนให้กองทุนฯ ออกจากบัญชีสนิ ทรัพย์ของบริษทั โดยไม่มเี งือ่ นไขต้องซือ้ คืน กองทุนฯ มีมลู ค่ากองทุนเป็น จ�ำนวน 520 ล้านบาท โดย ณ 30 ธันวาคม 2553 บริษัทได้ลงทุนในกองทุนฯ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.54 ของมูลค่า หน่วยลงทุน โดยมีเงือ่ นไขทีส่ ำ� คัญทีบ่ ริษทั ตกลงรับประกันรายได้ขนั้ ต�ำ่ ของกองทุนฯ (รายได้จากการเช่าและค่าบริการ ก่อนหักค่าใช้จ่าย) เป็นจ�ำนวนเงิน 55 ล้านบาทต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ดังนัน้ บริษทั อาจมีความเสีย่ งจากการทีต่ อ้ งรับผิดชอบส�ำหรับรายได้ขนั้ ต�ำ่ จ�ำนวนเงิน 55 ล้านบาทต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี (ยกเว้นปี 2551 ซึง่ เป็นปีแรก การรับประกันจะเป็นไปตามสัดส่วนของระยะเวลา) หากกองทุนฯ ไม่สามารถหาราย ได้ตามทีก่ ำ� หนดไว้ อย่างไรก็ตามบริษทั ได้วางหนังสือค�ำ้ ประกันทีอ่ อกโดยธนาคารพาณิชย์ไทย เพือ่ ค�ำ้ ประกันต่อกอง ทุนฯ ไว้ด้วย และอัตราการเช่ามีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจาก สิ้นปี 2551 ที่มีอัตราการเช่าจ�ำนวน 21 หลัง จากจ�ำนวน ทั้งสิ้น 64 หลัง หรือ คิดเป็นร้อยละ 32.81 และ ณ 31 ธันวาคม 2553 มีอัตราการเช่าจ�ำนวน 40 หลัง จากจ�ำนวนทั้ง สิ้น 64 หลัง หรือคิดเป็นร้อยละ 62.50 ซึง่ เป็นอัตราทีป่ รับเพิม่ ขึน้ ท�ำให้คาดว่าความเสีย่ งจากการการรับประกันรายได้ ขัน้ ต�ำ่ ดังกล่าว มีแนวโน้มทีจ่ ะลดลง

90

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน ผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงินรวมของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)และบริษทั ย่อย ในปี 25512553 เป็นดังนี้

การจัดตั้งบริษัทย่อย

ในปี 2550 บริษัทได้จัดตั้งบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเม้นท์ กรุงเทพ จ�ำกัด ซึ่งมีทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท เพื่อบริหาร พัฒนาโครงการ เมโทร สกาย รัชดา และได้เพิม่ ทุนเป็น 500 ล้านบาทในเดือนมีนาคม 2553 โดยปัจจุบนั บริษทั ถือหุน้ ในสัดส่วน ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียนและเรียกช�ำระแล้ว นอกจากนั้นในปี 2550 บริษัทยังได้ร่วมทุนกับบริษัท ทิมเบอร์ไลน์ อินเวสเม้นท์ส พีทีอี แอลทีดี จ�ำกัด จากประเทศ สิงคโปร์ ซึง่ มีความเชีย่ วชาญทางด้านศูนย์การค้า โดยมีทนุ จดทะเบียน 1 ล้านบาท และบริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 59.99 ของทุนจด ทะเบียนและเรียกช�ำระแล้ว จัดตัง้ บริษทั เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ช็อปปิง้ มอลล์ จ�ำกัด วัตถุประสงค์ของการจัดตัง้ บริษทั ดังกล่าว เพือ่ บริหารพัฒนาโครงการด้านศูนย์การค้าอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ เช่น ศูนย์การค้า และอาคารส�ำนักงาน เป็นต้น และเมือ่ วัน ที่ 22 มกราคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ได้มีมติอนุมัติให้บริษัทด�ำเนินการซื้อหุ้นทั้งหมดจากบริษัท ทิมเบอร์ไลน์ อินเวสเม้นท์ส พีทีอี แอลทีดี จ�ำกัด (หุ้นสามัญจ�ำนวน 400,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) ซึ่งภายหลังจากการซื้อหุ้นข้าง ต้น บริษัทจะมีสัดส่วนการถือหุ้นเป็นร้อยละ 100 และยังมีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท เซ็นเตอร์ พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด จากมูลค่า 1 ล้านบาทเป็น 500 ล้านบาท โดยเรียกช�ำระร้อยละ 30 ท�ำให้มีทุนที่เรียกช�ำระแล้วรวม 150.7 ล้าน บาท ในเดือนมีนาคม ปี 2553 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นร้อยละ 100 ของบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด ซึ่งมีทุนจด ทะเบียนและเรียกช�ำระแล้ว 1,000 ล้านบาทจากผู้ถือหุ้นเดิมในราคา 507 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัย และในเดือนเมษายน 2553 บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นอยู่ร้อยละ 100 ได้เพิ่ม ทุนจาก 1,000 ล้านบาท เป็น 1,200 ล้านบาท โดยบริษัทได้เพิ่มทุนดังกล่าวทั้งหมด

ภาพรวมผลการด�ำเนินงาน

ผลการด�ำเนินงานของบริษทั ช่วง 3 ปีทผี่ า่ นมา ในปี 2550 ได้พลิกฟืน้ ขึน้ มาจากปี 2549 โดยบริษทั และบริษทั ย่อยได้ เปิดโครงการเพือ่ รองรับความต้องการของผูบ้ ริโภค ในปี 2550 มีการเปิดโครงการใหม่ 2 โครงการ และเปิดเฟสใหม่ในโครงการ เดิมจ�ำนวน 3 โครงการ ในปี 2551 มีการเปิดโครงการใหม่ 4 โครงการ เป็นบ้านเดี่ยว 1 โครงการ ทาวน์เฮ้าส์ 1 โครงการ และ คอนโดมิเนียม 2 โครงการ และในปี 2552 มีการเปิดโครงการใหม่ 4 โครงการ เป็นบ้านเดี่ยว 3 โครงการ และทาวน์เฮ้าส์ 1 โครงการ นอกจากนั้นยังเปิดเฟสใหม่ในโครงการเดิมจ�ำนวน 1 โครงการเป็นคอนโดมิเนียม ในปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อย มีการเปิดโครงการใหม่ 11 โครงการ เป็นบ้านเดี่ยว 3 โครงการ และทาวน์เฮ้าส์ 3 โครงการ และคอนโดมิเนียม 5 โครงการ ปัจจุบันบริษัทและบริษัทย่อยมีโครงการที่ด�ำเนินการอยู่ทั้งสิ้นรวม 24 โครงการ

ผลการด�ำเนินงานรวม - งบการเงินรวม • รายได้จากการขาย บริษทั จะบันทึกรายการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ และรายการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยเป็นรายได้ในงบก�ำไร ขาดทุนเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์แก่ผู้ซื้อแล้ว ส�ำหรับปี 2551 บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ จ�ำนวน 5,420.14 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 723.01 ล้านบาทจากปี 2550 โดยส่วนหนึ่งมาจากการขายบ้านพร้อมที่ดินจ�ำนวน 64 หลัง มูลค่ารวม 510 ล้านบาท ให้กับกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค และมีรายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยใน โครงการเมโทร พาร์ค สาทรจ�ำนวน 2,109.46 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 639.97 ล้านบาทจากปี 2550 ซึ่งเป็นผลจากบริษัท เริ่มโอนอาคารชุดพักอาศัยในโครงการเมโทร พาร์ค สาทร เฟส 2 ได้ในปลายปี 2550

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

91


ส�ำหรับปี 2552 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินจ�ำนวน 5,073.42 ล้านบาท ลดลง 346.72 ล้านบาทจากปี 2551 โดยส่วนหนึ่งมาจากในปี 2551 มีการขายบ้านพร้อมที่ดินจ�ำนวน 64 หลัง มูลค่ารวม 510 ล้านบาท ให้กบั กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ซึง่ ในปี 2552ไม่มรี ายการดังกล่าว และมีราย ได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยในโครงการเมโทร พาร์ค สาทร จ�ำนวน 778.47 ล้านบาท ลดลง 1,330.99 ล้านบาทจากปี 2551 ซึง่ เป็นผลจากบริษทั เริม่ โอนอาคารชุดพักอาศัยในโครงการเมโทร พาร์ค สาทร เฟส 2 ได้ในปลาย ปี 2550 และตลอดปี 2551 ส่วนในปี 2552 มีหน่วยโอนคงเหลือไม่มากนัก ขณะที่โครงการเมโทร พาร์ค สาทร เฟส 3 คาดว่าจะเริ่มโอนและรับรู้รายได้ ได้ในปลายปี 2553 ส่วนในปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินจ�ำนวน 7,002.70 ล้านบาท เพิ่ม ขึน้ 1,929.28 ล้านบาทจากปี 2552 เนือ่ งจากมียอดขายเพิม่ ขึน้ และจ�ำนวนโครงการทีร่ บั รูร้ ายได้เพิม่ ขึน้ และมีรายได้ จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยในโครงการ เมโทร พาร์ค สาทร จ�ำนวน 777.73 ล้านบาท ลดลง 0.74 ล้าน บาทจากปี 2552 นอกจากนั้น ในปี 2553 บริษัทยังมีรายได้จากการขายที่ดิน จ�ำนวน 835.49 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 9.69 ของรายได้จากการขาย ทัง้ นี้ รายได้จากการขายของบริษทั และบริษทั ย่อยในปี 2551 - 2553 แยกตามรายโครงการ สามารถดูได้จาก ตารางโครงสร้างรายได้รวมการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์หลักจ�ำแนกตามผลิตภัณฑ์ • ต้นทุนขาย และก�ำไรขั้นต้นจากการด�ำเนินงาน ในการค�ำนวณหาต้นทุนการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ และหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ซึง่ เป็นต้นทุนหลักของบริษทั และบริษทั ย่อยนัน้ ได้ทำ� การแบ่งสรรต้นทุนการพัฒนาทัง้ หมดทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ (โดยได้คำ� นึงถึงต้นทุนทีแ่ ท้จริงด้วย) ให้กบั บ้านพร้อมทีด่ นิ ทีข่ ายได้และหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยตามเกณฑ์พนื้ ทีท่ ขี่ าย แล้วจึงรับรูเ้ ป็นต้นทุนขายในงบ ก�ำไรขาดทุนเมื่อรับรู้รายได้จากขายแล้ว ทัง้ นี้ ต้นทุนการพัฒนาข้างต้นจะแสดงตามราคาทุนสุทธิจากค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากการลดลงของมูลค่าโครงการ โดยต้นทุนการพัฒนาประกอบด้วย ต้นทุนที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง และดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง ในปี 2551 ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อย มีรายละเอียดดังนี้ • ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน เท่ากับ 3,767.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ�ำนวน 470.62 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 14.27 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 69.52 ซึ่ง ต�่ำกว่าปี 2550 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 70.20 • ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เท่ากับ 1,395.41 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น จ�ำนวน 353.82 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 33.97 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 66.15 ซึ่งต�่ำกว่าปี 2550 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 70.88 • ต้นทุนการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ และต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งมาจากราย ได้ที่สูงขึ้น และเมื่อพิจารณาสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขายจะลดลงจากปีก่อน เป็นผล จากการปรับราคาขายเพิ่มขึ้นในตอนต้นปี 2551 • ต้นทุนการขายที่ดิน เท่ากับ 6.59 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 49.99 ล้านบาทจากปีก่อน โดยสัดส่วนต้นทุน ขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 76.24 ซึ่งสูงกว่าปีก่อน ซึ่งเท่ากับร้อยละ 56.97

92

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ส่วนปี 2552 ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อย มีรายละเอียดดังนี้ • ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน เท่ากับ 3,514.25 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน จ�ำนวน 253.67 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.73 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 69.27 ซึง่ ต�ำ่ กว่าปี 2551 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 69.52 • ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เท่ากับ 551.95 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน จ�ำนวน 843.46 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 60.44 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 70.90 ซึ่งสูงกว่าปี 2551 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 66.15 • ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดินและต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยที่ลดลง เนื่องมาจากราย ได้ที่ลดลง และเมื่อพิจารณาสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขายในส่วนของบ้านพร้อมที่ดิน ถือได้ว่าไม่แตกต่างจากปีก่อน ส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขายในส่วนของอาคารชุดพัก อาศัยเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากการลดราคาขายในห้องชุดทีเ่ หลืออยูใ่ นโครงการเมโทร พาร์ค สาทร เฟส 1 และ 2 ส�ำหรับปี 2553 ต้นทุนขายของบริษัทและบริษัทย่อย มีรายละเอียดดังนี้ • ต้นทุนการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ เท่ากับ 4,606.86 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น จ�ำนวน 1,092.61 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 31.09 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 65.79 ซึ่ง ต�่ำกว่าของปี 2552 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 69.27 • ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เท่ากับ 496.70 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน จ�ำนวน 55.24 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 10.01 โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับร้อยละ 63.87 ต�่ำกว่าปี 2552 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 70.90 • ต้นทุนการขายทีด่ นิ เท่ากับ 695.76 ล้านบาท โดยสัดส่วนต้นทุนขายเทียบกับรายได้จากการขาย เท่ากับ ร้อยละ 83.28 เมื่อพิจารณาก�ำไรขั้นต้นจากการด�ำเนินงานปกติ พบว่า บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราก�ำไรขั้นต้น ใน ปี 2551 บริษทั และบริษทั ย่อยมีอตั ราก�ำไรขัน้ ต้นสูงขึน้ ทัง้ จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ และจากการขายหน่วย ในอาคารชุดพักอาศัย ซึง่ เท่ากับร้อยละ 30.48 และ ร้อยละ33.85 ตามล�ำดับ โดยเป็นผลมาจากการปรับราคา ขายบ้านในต้นปี 2551 และการปรับราคาขายอาคารชุดพักอาศัย ในเฟส 2 เพิ่มขึ้นในปลายปี ส่วนปี 2552 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราก�ำไรขั้นต้นจากการขายบ้านพร้อมที่ดินเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ซึ่งเท่ากับร้อยละ 30.73 และมีอัตราก�ำไรขั้นต้นจากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ลดลงเป็น ร้อยละ 29.10 โดยเป็นผลมาจากการลดราคาขายอาคารชุดพักอาศัย ในโครงการเมโทร พาร์ค สาทร เฟส 1 และ 2 ในปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราก�ำไรขั้นต้นจากการขายบ้านพร้อมที่ดินเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30.73 เป็นร้อยละ 34.21 เป็นผลจากการที่บริษัทมีการปรับราคาขายเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการรับรู้รายได้จาก โครงการที่มีอัตราก�ำไรขั้นต้นสูงเพิ่มขึ้นด้วย และมีอัตราก�ำไรขั้นต้นจากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 36.13 ส่วนอัตราก�ำไรขั้นต้นจากการขายที่ดินนั้นเท่ากับร้อยละ 16.27 • รายได้อื่น รายได้อื่นโดยส่วนใหญ่มาจากค่าสาธารณูปโภคของโครงการ ค่าบริหารสโมสร จากการริบเงินจอง ในปี 2551 ถึงปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้อื่นเท่ากับ 79.37 ล้านบาท 95.93 ล้านบาท และ 87.98 ล้านบาท ตามล�ำดับ (โดยในปี 2552 รายได้อื่นเพิ่มขึ้นจากก�ำไรจากการจ�ำหน่ายทรัพย์สินจ�ำนวน 18.54 ล้านบาท)

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

93


• ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ในปี 2551 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 1,244.10 ล้านบาท สูงขึ้นจ�ำนวน 12.83 ล้านบาทจากปี 2550 (ปี 2550 เท่ากับ 1,231.27 ล้านบาท) คิดเป็นสัดส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.04 เนือ่ งจากใน ปีนี้มีมาตรการกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์ของรัฐ ในการลดภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนจากร้อยละ 3.3 และ ร้อยละ 2 คงเหลือร้อยละ 0.11 และร้อยละ 0.01 ตามล�ำดับ ท�ำให้ค่าใช้จ่ายรวมจึงเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ส่วนปี 2552 บริษทั และบริษทั ย่อยมีคา่ ใช้จา่ ยในการขายและบริหารเท่ากับ 1,034.58 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 209.52 ล้านบาทจากปี 2551 คิดเป็นสัดส่วนทีล่ ดลงร้อยละ 16.84 โดยค่าใช้จา่ ยในการขายลดลง 136.52 ล้านบาท จากภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนที่ลดลงจ�ำนวน 67 ล้านบาท เนื่องมาจากรายได้จากการโอนกรรมสิทธิ์ที่ ลดลง ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์และค่าใช้จ่ายทางการตลาดที่ลดลง จ�ำนวน 70 ล้านบาท ในด้านค่าใช้จ่ายในการ บริหารลดลงจ�ำนวน 77.62 ล้านบาท เป็นผลจากการที่บริษัทได้มีการควบคุมค่าใช้จ่ายให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ส�ำหรับปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขาย การบริหารและค่าตอบแทนผู้บริหารเท่ากับ 1,756.14 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 721.56 ล้านบาทจากปี 2552 คิดเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 69.74 โดยค่าใช้ จ่ายในการขายเพิ่มขึ้น 479.41 ล้านบาท จากภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนที่เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 233.56 ล้าน บาท เนื่องมาจากการลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะจากร้อยละ 3.3 เหลือร้อยละ 0.01 ได้หมดระยะเวลาลงตั้งแต่ 28 มีนาคม 2553 ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และค่าใช้จ่ายทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 233.40 ล้านบาท ในด้าน ค่าใช้จ่ายในการบริหารเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 223.40 ล้านบาท จากการที่บริษัทได้มีการเตรียมการในการเปิดโครงการมาก ขึ้นโดยเฉพาะในครึ่งปีหลังของปี 2553 ท�ำให้มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานและค่าใช้จ่ายที่โครงการเพิ่มมากขึ้น และ ค่าตอบแทนผู้บริหารเพิ่มขึ้น 18.75 ล้านบาท • ค่าใช้จ่ายอื่น ในปี 2551 บริษทั ได้ขายบ้านพร้อมทีด่ นิ จ�ำนวน 64 หลัง มูลค่ารวม 510 ล้านบาท ให้กบั กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญาดังกล่าว บริษทั ฯตกลงรับประกันรายได้ขนั้ ต�ำ่ ของกองทุนฯ (รายได้จาก การเช่าและค่าบริการก่อนหักค่าใช้จ่าย) เป็นจ�ำนวนเงิน 55 ล้านบาทต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวัน ที่ 31 ธันวาคม 2555 โดยมีก�ำหนดช�ำระภายในวันที่ 31 กรกฎาคม และ 31 มกราคม ของทุกปี ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ ในสัญญา อย่างไรก็ตามการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำขึ้นอยู่กับสัดส่วนของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่คงเหลือต่อมูลค่า อสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนฯลงทุนครั้งแรก โดยค�ำนวณมูลค่าอสังหาริมทรัพย์จากการประเมินค่าทรัพย์สินเพื่อลงทุน ครั้งแรกโดยบริษัทประเมินราคา บริษัทฯได้ประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของค่าใช้จ่ายในการรับประกันรายได้ ขัน้ ต�ำ่ ดังกล่าวตามมูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดทีบ่ ริษทั ฯต้องช�ำระให้แก่กองทุนฯทัง้ สิน้ เป็นจ�ำนวนเงิน 73.8 ล้าน บาท และบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายโดยแยกแสดงเป็นรายการต่างหากภายใต้หัวข้อ “ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้น ต�่ำ”ในงบก�ำไรขาดทุนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ส�ำหรับปี 2552 บริษัทบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย “ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ” จ�ำนวน 9.4 ล้านบาท เนื่องจากรายได้ค่าเช่าของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค ต�่ำกว่าที่ประ มาณการไว้ ในปี 2553 บริษทั บันทึกเป็นค่าใช้จา่ ย “ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขนั้ ต�ำ่ ” จ�ำนวน 35.60 ล้านบาท เพิม่ ขึ้น 26.18 ล้านบาทจากปี 2552 • ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ประกอบด้วย ดอกเบีย้ จ่าย ค่าใช้จา่ ยส�ำรองหุน้ กูส้ ว่ นทีไ่ ม่ได้ใช้สทิ ธิแปลงสภาพตามอายุของหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิ แปลงสภาพ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้แปลงสภาพตัดจ�ำหน่าย และค่าธรรมเนียมทางการเงิน

94

ดอกเบีย้ จ่าย ในปี 2551 - 2553 เท่ากับ 192.29 ล้านบาท 178.96 ล้านบาท และ 318.26 ล้านบาทตามล�ำดับ

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ค่าใช้จา่ ยส�ำรองหุน้ กูส้ ว่ นทีไ่ ม่ได้ใช้สทิ ธิแปลงสภาพตามอายุของหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพ ส่วนเกินมูลค่า หุ้นกู้แปลงสภาพตัดจ�ำหน่าย ในปี 2551 - 2553 เท่ากับ 55.25 ล้านบาท 60.47 ล้านบาทและ67.60 ล้านบาทตาม ล�ำดับ ค่าธรรมเนียมทางการเงินในปี 2551 - 2553 เท่ากับ 24.50 ล้านบาท 47.16 ล้านบาทและ 79.23 ล้านบาท ตามล�ำดับ ซึ่งในปี 2552 และ 2553 มีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริษัทมีกิจกรรมทางการเงินในการออกตราสาร หนีม้ ากขึน้ เช่นการออกหุน้ กู้ การออกตัว๋ แลกเงิน นอกจากนัน้ ในปี 2553 ยังมีคา่ ใช้จา่ ยในการไถ่ถอนหุน้ กูก้ อ่ นก�ำหนด จ�ำนวน 26 ล้านบาทด้วย • ก�ำไรสุทธิ บริษัทและบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิ ในปี 2551 ถึงปี 2553 ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

ปี 2553

ปี 2552

ปี 2551

ก�ำไรสุทธิ

550.44

399.75

802.57

ในปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิ เท่ากับ 802.57 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจ�ำนวน 390.96 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 94.99 โดยเป็นผลจากรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินและหน่วยในอาคารชุด พักอาศัยที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งยังมีอัตราก�ำไรขั้นต้นที่สูงขึ้นด้วย นอกจากนั้นยังได้รับประโยชน์จากมาตรการกระตุ้น อสังหาริมทรัพย์ของรัฐ ในการลดภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอนจากร้อยละ 3.3 และร้อยละ 2 คงเหลือ ร้อยละ 0.11 และร้อยละ 0.01 ตามล�ำดับ อีกทั้งอัตราดอกเบี้ยที่ลดลงในครึ่งปีหลังของปี 2551 ส่วนปี 2552 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิ เท่ากับ 399.75 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนจ�ำนวน 402.81 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 50.19 เนือ่ งจากรายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ และหน่วยในอาคารชุดพักอาศัยลด ลงตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น ท�ำให้ก�ำไรขั้นต้นลดลง 582.62 ล้านบาท ในขณะที่ค่าใช้จ่ายในการขาย การบริหารและ ค่าใช้จ่ายอื่นลดลงจ�ำนวน 273.90 ล้านบาท จากการที่บริษัทมีการควบคุมค่าใช้จ่ายให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และ บริษัทมีภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 91.27 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2553 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีกำ� ไรสุทธิ เท่ากับ 550.44 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นจ�ำนวน 150.69 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 37.69 เนื่องจากรายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดินที่เพิ่มขึ้นรวมทั้งอัตราก�ำไรขั้นต้นที่ เพิม่ ขึน้ ด้วย นอกจากนัน้ ยังมีรายได้จากการขายทีด่ นิ อีก 835 ล้านบาท ในขณะทีค่ า่ ใช้จา่ ยในการขาย การบริหารและ ค่าใช้จ่ายอื่นรวมทั้งค่าใช้จ่ายทางการเงินเพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของกิจการ

ฐานะการเงิน • ภาพรวมฐานะการเงิน ตารางแสดงฐานะการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (หน่วย :ล้านบาท)

สินทรัพย์

หนี้สิน

ส่วนของผู้ถือหุ้น

ณ 31 ธันวาคม 2553

19,728.93

12,554.50

7,174.43

ณ 31 ธันวาคม 2552

14,476.74

7,656.65

6,820.09

ณ 31 ธันวาคม 2551

12,932.87

6,229.64

6,703.23

สินทรัพย์

บริษัทและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 12,932.87 ล้านบาท 14,476.74 ล้านบาท และ 19,728.93 ล้านบาท ในปี 2551 ถึง 2553 ตามล�ำดับ ในปี 2551 สินทรัพย์เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจ�ำนวน 21.84 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.17 และในปี 2552 และปี 2553 สินทรัพย์เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 1,543.87 ล้านบาท และ 5,252.19 ล้านบาทตาม ล�ำดับจากการทีบ่ ริษัทมีการซือ้ ทีด่ นิ และการเปิดโครงการใหม่ เพือ่ รองรับการขยายตัวในตลาดทัง้ คอนโดมิเนียมและ ทาวน์เฮ้าส์ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

95


หากพิจารณาโครงสร้างสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 อันดับหนึ่งได้แก่ ต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ จ�ำนวน 10,123.00 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 51.31 ของสินทรัพย์รวม อันดับทีส่ องได้แก่ ทีด่ นิ รอการพัฒนาสุทธิจ�ำนวน 5,492.99 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนร้อยละ 27.84 ของสินทรัพย์รวม อันดับที่สาม สี่และห้า ได้แก่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจ�ำนวน 2,017.85 ล้านบาท เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ จ�ำนวน 554.64 ล้าน บาท และเงินลงทุนในบริษทั ร่วมจ�ำนวน 477.62 ล้านบาท โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 10.23 ร้อยละ 2.81 และร้อยละ 2.42 ตามล�ำดับ โดยโครงสร้างของสินทรัพย์ดงั กล่าว สอดคล้องกับรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั และบริษทั ย่อย โดย มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

• ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ 2553

2552

2551

บริษัท – งบเดี่ยว

6,749.27

66.67%

7,151.91

82.12%

7,085.15

79.33%

บริษัทย่อย

3,373.73

33.33%

1,556.80

17.88%

1,845.93

20.67%

รวม * 10,123.00 100.00% 8,708.71 100.00% 8,931.08 100.00% หมายเหตุ * ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551 ถึง 2553 • ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ของบริษัท (งบเดี่ยว) ในปี 2551 เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 659.67 ล้านบาท เนื่องมาจากบริษัทมีการพัฒนาและขยายโครงการจ�ำนวน 4 โครงการ ส่วนในปี 2552 นั้นมีการเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ส่วนในปี 2553 ลดลงจากการที่โอนไปเป็นต้นทุนขาย และโครงการใหม่ๆ ด�ำเนินโครงการโดยบริษัทย่อย ทั้งนี้ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ณ 31 ธันวาคม 2553 จ�ำนวน 6,749.27 ล้านบาท เป็นมูลค่าสุทธิจาก ค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของโครงการ จ�ำนวน 55.79 ล้านบาท ซึง่ เป็นค่าเผือ่ ทีเ่ กิดจากการบันทึกบัญชี ตามมาตรฐานการบัญชีเมื่อต้นทุนทางบัญชีมีมูลค่าสูงกว่าราคาประเมินจากผู้ประเมินราคาอิสระ • ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทย่อยมีรายละเอียดดังนี้ • บริษทั เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด ซึง่ มีโครงการทีอ่ ยูใ่ นระหว่างพัฒนาจ�ำนวน 5 โครงการ โดยต้นทุนฯ ณ 31 ธันวาคม 2553 เท่ากับ 1,620.25 ล้านบาท เป็นมูลค่าสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลดมูลค่า ของโครงการ จ�ำนวน 1.29 ล้านบาท • บริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด ซึง่ มีโครงการทีอ่ ยูใ่ นระหว่างพัฒนาจ�ำนวน 6 โครงการ โดย ต้นทุนฯ ปี 2553 เท่ากับ 1,218.74 ล้านบาท • บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด ซึ่งมีโครงการที่อยู่ในระหว่างพัฒนาจ�ำนวน 2 โครงการ โดยต้น ทุนฯ ปี 2553 เท่ากับ 526.87 ล้านบาท • บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัดโดยต้นทุนฯ ปี 2553 เท่ากับ7.87 ล้านบาท • ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิ

2553

2552

(หน่วย : ล้านบาท) 2551

บริษัท – งบเดี่ยว

4,277.59

77.87%

2,713.86

74.89%

1,585.30

85.21%

บริษัทย่อย

1,215.39

22.14%

909.78

25.11%

275.07

14.79%

รวม * 5,492.98 100.00% 3,623.64 100.00% 1,860.37 หมายเหตุ * ที่ดินรอการพัฒนาสุทธิ ตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551 ถึง 2553

100.00%

• ทีด่ นิ รอการพัฒนาสุทธิของบริษทั และบริษทั ย่อย ณ สิน้ ปี 2551-2553 จ�ำนวน 1,860.37 ล้านบาท 3,623.64 ล้าน บาท และ 5,492.98 ล้านบาท ตามล�ำดับ ประกอบด้วยต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ต้นทุนงานก่อสร้าง ดอกเบีย้ ส่วนทีถ่ อื เป็นต้นทุน หักด้วยต้นทุนทีโ่ อนไปเป็นต้นทุนขาย ทีด่ นิ ทีโ่ อนเพือ่ การปรับโครงสร้างหนีแ้ ละเพือ่ การจ่ายช�ำระหนี้ตามแผนฟื้นฟู และค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินรอการพัฒนา ในปี 2551 และ ปี 96

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


2552 มีคา่ เผือ่ การด้อยค่าของทีด่ นิ รอการพัฒนาจ�ำนวน จ�ำนวน 103.99 ล้านบาท ส่วนปี 2553 มีจำ� นวน 104.00 ล้านบาท และในปีนี้ได้มีการลงทุนในที่ดินเพื่อรองรับการขยายตัวไปในตลาดคอนโดมิเนียมและทาวน์เฮ้าส์ อนึง่ บริษทั และบริษทั ย่อย จะพิจารณาโอนรายการทีด่ นิ รอการพัฒนาไปบันทึกเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ ก็ต่อเมื่อได้เริ่มมีการพัฒนาโครงการแล้ว อาทิเช่น การเริ่มปรับปรุงพื้นที่ การก�ำหนดผังการจัดสรร เป็นต้น • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

2553 บริษัท – งบเดี่ยว บริษัทย่อย

2552

(หน่วย : ล้านบาท) 2551

1,585.30

78.56%

668.54

90.27%

428.61

94.19%

432.55

21.44%

72.05

9.73%

26.44

5.81%

รวม * 2,017.85 100.00% 740.59 100.00% 455.05 100.00% หมายเหตุ * เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551 ถึง 2553 (หน่วย : ล้านบาท)

• เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน 2553

2552

2551

บริษัท – งบเดี่ยว

348.55

62.84%

79.02

61.36%

388.90

81.67%

บริษัทย่อย

206.09

37.16%

49.76

38.64%

87.26

18.33%

รวม *

554.64

100.00%

128.78

100.00%

476.16

100.00%

เงินจ่ายล่วงหน้าค่าที่ดิน หมายถึง เงินมัดจ�ำค่าที่ดินที่บริษัทจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของที่ดินหรือทดรองจ่าย ให้กบั ตัวกลางในการรวบรวมทีด่ นิ เมือ่ ได้รบั โอนกรรมสิทธิทดี่ นิ เรียบร้อยแล้ว จึงจะย้ายไปบันทึกเป็นต้นทุนค่าพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ หรือที่ดินรอการพัฒนา ส�ำหรับเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ ของบริษทั และบริษทั ย่อย ณ 31 ธันวาคม 2553 จ�ำนวน 554.64 ล้านบาท ประกอบด้วย • เงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของที่ดินหลายรายตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน ซึ่งบริษัทและบริษัทย่อย ได้มอบหมายให้ตัวแทนในการรวบรวมซื้อที่ดินลงนามร่วมกับเจ้าของที่ดิน คิดเป็นจ�ำนวน 423.7 ล้าน บาท โดยแบ่งเป็นรายการของบริษัทจ�ำนวน 262.1 ล้านบาท และบริษัทย่อยจ�ำนวน 161.6 ล้านบาท • เงินจ่ายล่วงหน้าให้กับตัวกลางในการรวบรวมซื้อที่ดินและอยู่ในระหว่างการลงนามในสัญญาจะซื้อจะ ขายที่ดินกับเจ้าของที่ดิน จ�ำนวน 130.9 ล้านบาท โดยเป็นรายการของบริษัท จ�ำนวน 86.5 ล้านบาท และบริษัทย่อยจ�ำนวน 44.4 ล้านบาท ทั้งนี้ มูลค่าของสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินของบริษัทและบริษัทย่อยที่ลงนามเรียบร้อยแล้ว ณ 31 ธันวาคม 2551-2553 เท่ากับ 1,699.6 ล้านบาท 452.4 ล้านบาท และ 2,658.5 ล้านบาท ตามล�ำดับ • เงินลงทุนในบริษัทร่วม บริษทั ฯได้รบั รูส้ ว่ นแบ่งผลก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม หลังจากปรับปรุงก�ำไรของบริษทั ร่วม เนือ่ งจาก ผล แตกต่างของนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการรับรู้รายได้หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

97


เงินลงทุนใน บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำนวน 300 ล้านบาทในปี 2548 คิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นของ บริษัทฯใน บมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน ร้อยละ 20 (ณ 31 ธันวาคม 2548 ทุนที่ออกและช�ำระแล้วของ บมจ.กรุงเทพ บ้านและทีด่ นิ เท่ากับ 1,500 ล้านบาท) และเมือ่ วันที่ 18 มกราคม 2550 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯได้มมี ติอนุมตั ิ ให้บริษัทฯซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน เป็นจ�ำนวน 6,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 60 ล้านบาท เพื่อเป็นการรักษาสัดส่วนการถือหุ้นเดิมของบริษัท เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นบมจ.กรุงเทพบ้านและที่ดิน ครั้งที่ 1/2550 ได้มี มติอนุมัติการลดทุนจดทะเบียน จากเดิมจ�ำนวน 2,100,000,000 บาท ลงเหลือจ�ำนวน 1,780,000,000 บาท โดย การตัดหุ้นสามัญที่ยังมิได้น�ำออกจ�ำหน่ายจ�ำนวน 32,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 320,000,000 บาท นอกจากนีไ้ ด้มมี ติอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ร่วมอีกจ�ำนวน 450,000,000 บาท ท�ำให้ ทุนจดทะเบียนเดิมจ�ำนวน 1,780,000,000 บาท เพิม่ ขึน้ เป็นทุนจดทะเบียนใหม่จำ� นวน 2,230,000,000 บาท โดยการ ออกเป็นหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 45,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพ ของหุ้นกู้แปลงสภาพ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2551 กรุงเทพบ้านฯได้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ ชนิดระบุชื่อผู้ถือและไม่มีหลักประกัน ระยะเวลา 5 ปี จ�ำนวน 188,806 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา มูลค่ารวม 18,880,600 เหรียญ สหรัฐอเมริกา ให้แก่บริษทั ต่างประเทศแห่งหนึง่ ตามทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของกรุงเทพบ้านฯครัง้ ที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 ตามเงื่อนไขของหุ้นกู้แปลงสภาพ จะท�ำการจ่ายดอกเบี้ยเฉพาะในปีที่กรุงเท พบ้านฯ มีการประกาศจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ โดยจะท�ำการจ่ายดอกเบีย้ ทุก 6 เดือนในอัตราดอกเบีย้ ไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปีหรือในอัตราเงินปันผลตอบแทนตามเงือ่ นไขของหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ (แล้วแต่อตั ราใดจะสูงกว่า) หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ นีค้ รบก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 31 มกราคม 2556 โดยเริม่ ใช้สทิ ธิแปลงสภาพได้ทกุ 3 เดือน ภายหลังจากการน�ำหุน้ ของ กรุงเทพบ้านฯเข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ หรือครบรอบ 1 ปี นับแต่วันออกหุ้นกู้แปลงสภาพ (แล้วแต่ระยะเวลาใดจะถึงก่อน) ที่ราคาแปลงสภาพ 13.85 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ โดยมูลค่าการไถ่ถอนหุ้นกู้แปลงสภาพที่คงค้างต่อหน่วยเท่ากับ 1.311651 เท่าของมูลค่าที่ตรา ไว้ของหุ้นกู้แปลงสภาพต่อหน่วยที่เทียบเท่ากับเงินบาท ในกรณีที่กรุงเทพบ้านฯไม่มีการช�ำระดอกเบี้ยแก่ผู้ถือหุ้นกู้ แปลงสภาพ ทั้งนี้มูลค่าการไถ่ถอนดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับการจ่ายดอกเบี้ยในระหว่างอายุของหุ้น กู้แปลงสภาพ ตามงบการเงินรวมบริษทั บันทึกส่วนแบ่งก�ำไรตามวิธสี ว่ นได้เสีย และรับรูเ้ ป็นรายได้ ในงบก�ำไรขาดทุนจ�ำนวน 7.82 ล้านบาท 3.00 ล้านบาท และ 57.89 ล้านบาทในปี 2551 – 2553 ตามล�ำดับ บัญชีเงินลงทุนในบริษทั ร่วมตาม วิธีส่วนได้เสียในงบการเงินรวม ในปี 2551 – 2553 มีมูลค่า 416.74 ล้านบาท 419.74 ล้านบาทและ 477.62 ล้าน บาทตามล�ำดับ • ภาระหนี้ค�้ำประกันอื่น บริ ษั ท มี ภ าระค�้ ำ ประกั น หนี้ ใ ห้ แ ก่ บ ริ ษั ท ย่ อ ยรวมทั้ ง สิ้ น จ� ำ นวน 5,274.7 ล้ า นบาทคื อ บริ ษั ท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด จ�ำนวน 2,035.0 ล้านบาท บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด จ�ำนวน 2,309.7 ล้านบาท และบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด จ�ำนวน 930.0 ล้านบาท กับสถาบันการเงินด้วย ซึ่งบริษัทยังไม่มีความรับ ผิดชอบต่อเจ้าหนี้กลุ่มนี้ เนื่องจากบริษัทย่อยดังกล่าวยังมิได้มีการผิดนัดช�ำระหนี้ • คุณภาพของสินทรัพย์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูร้ ายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ /หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ทีด่ นิ เมือ่ มีการโอนกรรมสิทธิ์ ให้แก่ผซู้ อื้ ดังนัน้ บริษทั จะบันทึกเงินดาวน์หรือเงินค่างวดทีไ่ ด้รบั จากลูกค้าเป็นหนีส้ นิ ในรายการเงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้า ของลูกค้า ส�ำหรับเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระแล้วแต่ลูกค้ายังไม่ได้ช�ำระเงิน จะบันทึกเป็นรายการลูกหนี้การค้า นอกจากนี้ แม้วา่ บริษัทจะมีนโยบายขายบ้านพร้อมอยู่ แต่ยงั คงมีลกู ค้าบางกลุ่มได้มคี วามประสงค์ที่จะซือ้ บ้านทีอ่ ยู่ ในระหว่างก่อสร้าง บริษทั จึงได้ขายบ้านทีอ่ ยูใ่ นระหว่างก่อสร้างให้แก่ลกู ค้ากลุม่ ดังกล่าวพร้อมกับให้ลกู ค้าผ่อนช�ำระเงินดาวน์ กับบริษัท และบันทึกเป็นลูกหนี้การค้า ทั้งนี้ส่วนใหญ่ลูกหนี้กลุ่มนี้จะมีระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี 98

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


โดยในปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าค้างช�ำระจ�ำนวน 32.07 ล้านบาท และได้ตั้งส�ำรองค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญส�ำหรับลูกหนี้ที่ค้างเกินกว่า 12 เดือน จ�ำนวน 10.29 ล้านบาท ท�ำให้ยอดลูกหนี้การค้าสุทธิของบริษัทและบริษัท ย่อย เท่ากับ 21.78 ล้านบาทซึง่ บริษทั เชือ่ ว่าจ�ำนวนค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญทีไ่ ด้บนั ทึกไว้ในบัญชีมคี วามเพียงพอในสถานการณ์ ปัจจุบัน โดยลูกหนี้การค้าของบริษัทและบริษัทย่อย แบ่งเป็น 2 ประเภท • ลูกหนี้ค้างช�ำระค่างวด เป็นลูกหนี้ที่เกิดจากการค้างช�ำระค่างวดของบ้าน ซึ่งยังอยู่ระหว่างก่อสร้างและผ่อนจ่ายช�ำระค่างวด โดย ลูกหนี้ค้างช�ำระค่างวดมีจ�ำนวน 12.97 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ40.34 ของลูกหนี้ค้างช�ำระทั้งหมด • ลูกหนี้ค้างช�ำระค่าโอน เกิดจากการที่ลูกค้าช�ำระเงินไม่ครบถ้วนในวันโอนกรรมสิทธิ์ คิดเป็นร้อยละ 59.66 อย่างไรก็ตาม สัดส่วนลูก หนี้ค้างช�ำระของบริษัท จ�ำนวน19.10 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.10 ของสินทรัพย์รวม ซึ่ง เป็นสัดส่วนถือว่าไม่มีนัยส�ำคัญ และได้มีการตั้งส�ำรองไว้แล้วจ�ำนวน 10.29 ล้านบาท ส�ำหรับลูกหนีท้ คี่ า้ งช�ำระตัง้ แต่ 6 เดือนขึน้ ไป บริษทั ได้ตดิ ตามทวงถามหนีจ้ ากลูกหนีก้ ลุม่ ดังกล่าวอย่างต่อเนือ่ ง และ บางกรณีอยู่ในระหว่างการฟ้องร้องให้ช�ำระหนี้ ทั้งนี้บริษัท เชื่อว่าจ�ำนวนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ได้บันทึกไว้ในบัญชีมีความ เพียงพอในสถานการณ์ปัจจุบัน • สภาพคล่อง งบกระแสเงินสดส�ำหรับปี 2551 – ปี 2553 มีดังนี้ รายการ

(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2552

ปี 2551

414.10

1,233.59

1,330.43

(3,169.06)

(1,660.86)

(414.31)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

4,032.23

712.81

(885.13)

กระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น (ลดลง)

1,277.27

285.54

30.99

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

ปี 2553

บริษทั และบริษทั ย่อย มีกระแสเงินสดจากกิจกรรมการด�ำเนินงานเป็นบวกเท่ากับ 1,330.43 ล้านบาท 1,233.59 ล้าน บาท และ 414.10 ล้านบาท ในปี 2551 – ปี 2553 ตามล�ำดับ เป็นส่วนหนึง่ ทีท่ ำ� ให้กระแสเงินสดสุทธิในปี 2551 – ปี 2553 เป็น บวกจ�ำนวน 30.99 ล้านบาท 285.44 ล้านบาทและ 1,277.27 ล้านบาท ตามล�ำดับ ส�ำหรับกระแสเงินสดจากการกิจกรรมลงทุนติดลบมาโดยตลอด เท่ากับ 414.31 ล้านบาท 1,660.86 ล้านบาทและ 3,169.06 ล้านบาทในปี 2551 – 2553 ตามล�ำดับ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากบริษทั ได้ลงทุนในการจัดซือ้ ทีด่ นิ รอการพัฒนาเพิม่ เพือ่ รองรับ โครงการต่าง ๆ ของบริษัท มีรายการโดยสังเขปดังนี้ • ในปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกิจกรรมในการลงทุนใน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินและการซื้อที่ดินรอการ พัฒนารวม 502.88 ล้านบาท และมีการลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค เป็นจ�ำนวน เงินประมาณ 32.5 ล้านบาทคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.24 ของมูลค่าหน่วยลงทุน และกองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้ ฮอสพิทอลลิตี้ เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 20.0 ล้านบาทคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.1 ของ มูลค่าหน่วยลงทุน ขณะที่เงินฝากที่ติดภาระค�้ำประกันลดลง 217.27 ล้านบาท • ส�ำหรับปี 2552 มีกจิ กรรมในการลงทุนในเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ และการซือ้ ทีด่ นิ รอการพัฒนารวม 1,599.15 ล้านบาท และมีเงินมัดจ�ำจ�ำนวน 60 ล้านบาทในการซือ้ หุน้ สามัญทัง้ หมดของบริษทั แห่งหนึง่ ในราคา 507 ล้านบาท • ส่วนในปี 2553 มีกจิ กรรมในการลงทุนในเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ และการซือ้ ทีด่ นิ รอการพัฒนารวม 2,697.91 ล้านบาท เงินสดจ่ายจ�ำนวน 352.18 ล้านบาทในการซือ้ หุน้ สามัญทัง้ หมดของบริษทั แห่งหนึง่ ในราคา 507 ล้าน บาท เงินฝากติดภาระค�้ำประกันจ�ำนวน 17.04 ล้านบาท และจ่ายสิทธิการเช่าจ�ำนวน 64.03 ล้านบาท เมือ่ พิจารณากระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2550 และปี 2551 เป็นกระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมด้านการ เงินคือ ในปี 2550 มีการช�ำระคืนหนีส้ ทุ ธิจำ� นวน 470.13 ล้านบาทและการไถ่ถอนหุน้ กู้ 350.0 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2551 มีการ ช�ำระคืนหนี้สุทธิจ�ำนวน 696.12 ล้านบาทและการจ่ายเงินปันผล 189.01 ล้านบาท ส่วนในปี 2552 นั้นเป็นกระแสเงินสดได้ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

99


มาในกิจกรรมด้านการเงินคือ การออกหุ้นกู้สุทธิจ�ำนวน 1,329.40 ล้านบาท การออกตั๋วแลกเงินและตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 1,272.10 ล้านบาท มีการช�ำระคืนหนีส้ ทุ ธิจำ� นวน 1,605.16 ล้านบาทและการจ่ายเงินปันผล 283.54 ล้านบาทและในปี 2553 นั้นเป็นกระแสเงินสดได้มาในกิจกรรมด้านการเงินคือ การออกหุ้นกู้สุทธิจ�ำนวน 4,768.38 ล้านบาท เงินกู้ยืมระยะยาวสุทธิ จ�ำนวน 296.65 ล้านบาท ตั๋วแลกเงินเพิ่มขึ้นสุทธิจ�ำนวน 682.17 ล้านบาท ช�ำระคืนหุ้นกู้แปลงสภาพจ�ำนวน 1,083.07 ล้าน บาท ช�ำระตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 355.0 ล้านบาท คืนเงินทดรองจากกรรมการ 80 ล้านบาทและการจ่ายเงินปันผล 196.90 ล้านบาท • การจ่ายเงินปันผล บริษัทได้มีการจ่ายเงินปันผลดังนี้ • ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2550 ให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.24 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 189.01 ล้านบาท เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 • ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2551 ให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.36 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 283.54 ล้านบาท เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2552 • ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2552 ให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.25 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 196.90 ล้านบาท เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 • แหล่งที่มาของเงินทุน • หนี้สิน ณ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทย่อย มีหนี้สินรวมเท่ากับ 12,555 ล้านบาท (โดยแบ่งเป็นหนี้สินของ บริษัท 10,550.66 ล้านบาท และบริษัทย่อย 2,004.34 ล้านบาท) เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 4,897.84 ล้านบาท จากปี 2552 รายการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญดังนี้ • เป็นการเพิ่มขึ้นจากการออกหุ้นกู้-สุทธิ 4,784.29 ล้านบาท เงินกู้ยืม-สุทธิ 296.65 ล้านบาท ตั๋วแลก เงิน 682.17 ล้านบาท เจ้าหนี้การค้า 315.57 ล้านบาทและค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิ่มขึ้น 193.48 ล้านบาท • ลดลงจากช�ำระคืนหุน้ กูแ้ ปลงสภาพจ�ำนวน 1,083.07 ล้านบาท ตัว๋ สัญญาใช้เงินลดลง 355.0 ล้านบาท คืนเงินทดรองจากกรรมการ 80 ล้านบาท อนึง่ โครงสร้างหนีส้ นิ ของบริษทั และบริษทั ย่อย ณ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วย หุน้ กูค้ ดิ เป็นร้อยละ 52.40 เงินกู้ยืมระยะยาว คิดเป็นร้อยละ 19.39 ของหนี้สินรวม ตั๋วแลกเงินคิดเป็นร้อยละ 15.91 และ ตั๋วสัญญาใช้เงินเป็น ร้อยละ 0.60 โดยมีรายละเอียดดังนี้ • หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มียอดคงค้าง หุ้นกู้ประเภทมีประกัน และก�ำหนดช�ำระคืนเงินต้นทั้งจ�ำนวน ใน วันที่ครบก�ำหนดไถ่ถอน มูลค่า 6,600 ล้านบาท (ยอดตามบัญชีเท่ากับ6,578.215 ล้านบาทซึ่งแสดงสุทธิจากค่า ธรรมเนียมการค�้ำประกันจ่ายล่วงหน้า) ซึ่งออกโดยบริษัท ทั้งจ�ำนวน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำเงินไปซื้อที่ดินเพื่อใช้ ในการพัฒนาโครงการในอนาคต เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ และช�ำระคืนหนี้เดิม โดยมีรายละเอียดหุ้นกู้ดังนี้

100

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


หุ้นกู้มีประกัน / ไม่มีประกันที่ออกโดยบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

หุ้นกู้มีประกันครั้งที่ 2/2552 ชุดที่ 1 มูลค่า 300 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.85 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน หุ้นกู้มีประกันครั้งที่ 2/2552 ชุดที่ 2 มูลค่า 800 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

มูลค่า วันครบก�ำหนด (ล้าน วันออกหุ้นกู้ เงื่อนไข ไถ่ถอน บาท) 300.000 14 ส.ค. 2552 14 ก.พ. 2554 • ด�ำรงสัดส่วนทรัพย์สินที่เป็นหลัก ประกันต่อมูลค่ารวมของหุน้ กูท้ ยี่ งั ไม่ได้ไถ่ถอน เท่ากับ 1.6 : 1 • ด�ำรงสัดส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 1.75 เท่า 800.000 14 ส.ค. 2552 14 ส.ค. 2555

• ด�ำรงสัดส่วนทรัพย์สินที่เป็นหลัก ประกันต่อมูลค่ารวมของหุน้ กูท้ ยี่ งั ไม่ได้ไถ่ถอน เท่ากับ 1.6 : 1 • ด�ำรงสัดส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 1.75 เท่า

หุ้นกู้มีการค�้ำประกันบางส่วน 1,478.215 26 ก.พ. 2553 26 ก.พ. 2556 ครัง้ ที่ 1/2553 มูลค่า 1,500 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.90 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

• ด�ำรงสัดส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 1.75 เท่า

หุ้นกู้ไม่มีประกัน ครั้งที่ 1/2553 มูลค่า 500 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.65 ต่อปี จ่ า ยดอกเบี้ ย ในวั น ครบก� ำ หนด ไถ่ถอนหุ้นกู้

N/A

500.000 26 ส.ค. 2553 20 พ.ค. 2554

หุ้นกู้มีประกัน ครั้งที่ 2/2553 1,000.000 9 ก.ย. 2553 มูลค่า 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.50 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

9 มี.ค. 2555

• ด�ำรงสัดส่วนทรัพย์สินที่เป็นหลัก ประกันต่อมูลค่ารวมของหุน้ กูท้ ยี่ งั ไม่ได้ไถ่ถอน เท่ากับ 1 : 1 • ด�ำรงสัดส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 1.75 เท่า

หุ้นกู้มีประกัน ครั้งที่ 3/2553 1,000.000 18 พ.ย. 2553 18 พ.ย. 2556 มูลค่า 1,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.80 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

• ด�ำรงสัดส่วนทรัพย์สินที่เป็นหลัก ประกันต่อมูลค่ารวมของหุน้ กูท้ ยี่ งั ไม่ได้ไถ่ถอน เท่ากับ 1 : 1 • ด�ำรงสัดส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2.0 เท่า

หุ ้ น กู ้ ไ ม่ มี ป ระกั น ครั้ ง ที่ 4/2553 1,500.000 18 พ.ย. 2553 18 พ.ย. 2555 มูลค่า 1,500 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6.50 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

• ด�ำรงสัดส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 2.0 เท่า

รวม

6,578.215

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

101


ในระหว่างปี 2553 บริษัทได้มีการไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนครบก�ำหนด เมื่อวันที่ 3 ก.ย. 2553 โดยมีรายละเอียดหุ้นกู้ดังนี้

หุ้นกู้มีประกันครั้งที่ 1/2552 มูลค่า 520 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน

มูลค่า (ล้านบาท)

วันออกหุ้นกู้

520.00

3 มิ.ย. 2552

วันครบ ก�ำหนด ไถ่ถอน

เงื่อนไข

3 มิ.ย. 2555 • ด�ำรงสัดส่วนทรัพย์สินที่เป็นหลัก ประกั น (ไม่ ร วมมู ล ค่ า ของหลั ก ประกั น ตามหนั ง สื อ ค�้ ำ ประกั น ธนาคาร)ต่อมูลค่ารวมของหุ้นกู้ ที่ยังไม่ได้ไถ่ถอน เท่ากับ 1.6 : 1 • ด�ำรงสัดส่วนหนีส้ นิ รวมต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 1.75 เท่า

• เงินกู้ยืมระยะยาว ณ 31 ธันวาคม 2553 เท่ากับ 2,433.79 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นเงินกู้ยืมของบริษัทจ�ำนวน 815.86 ล้านบาท และเงินกูย้ มื ของบริษทั ย่อยจ�ำนวน 1,617.93 ล้านบาท โดยน�ำมาใช้ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โดยมีราย ละเอียดเงินกู้ยืมดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

31 ธันวาคม 2553 เฉพาะ บริษัท

เงินกู้ยืมระยะยาว หัก : ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี เงินกู้ยืมระยะยาว (สุทธิ)

บริษัท ย่อย

31 ธันวาคม 2552 เฉพาะ บริษัท

รวม

815.86 1,617.93 2,433.79 1,865.03 -

-

-

148.68

815.86 1,617.93 2,433.79 1,716.35

บริษัท ย่อย

31 ธันวาคม 2551 รวม

เฉพาะ บริษัท

272.11 2,137.14 2,564.97 45.54

194.22

228.88

226.57 1942.92 2,336.09

บริษัท ย่อย

รวม

389.47 2,954.44 4.22

233.10

385.25 2,721.34

นอกจากนี้ บริษัทได้ค�้ำประกันเงินกู้ยืมธนาคารและสถาบันการเงินให้แก่บริษัทย่อยในวงเงิน 5,274.69 ล้านบาท

• ตั๋วแลกเงิน ณ 31 ธันวาคม 2553 เท่ากับ 1,997.29 ล้านบาท (มูลค่าหน้าตั๋วเท่ากับ 2,000 ล้านบาท) ออกโดยบริษัททั้ง จ�ำนวน มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.5 – 5.0 ต่อปี และจะครบก�ำหนดช�ำระภายในเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมิถุนายน 2554 • ตั๋วสัญญาใช้เงิน ยอดคงค้าง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จ�ำนวน 75 ล้านบาทเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อช�ำระค่าเงินลงทุนใน บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด ไม่คิดดอกเบี้ย จะครบก�ำหนดช�ำระในวันที่ 31 มีนาคม 2554 • ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เท่ากับ 7,174.43 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 354.34 ล้านบาท จากปี 2552 ซึ่งมาจากผลก�ำไรสุทธิประจ�ำปี 2553

102

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


โดยโครงสร้างส่วนของผูถ้ อื หุน้ ประกอบด้วย ทุนจดทะเบียนทีเ่ รียกช�ำระแล้ว 4,726.34 ล้านบาท มูลค่าทีต่ รา ไว้หุ้นละ 6 บาท ส่วนต�่ำกว่ามูลค่าหุ้น (20.57) ล้านบาท หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ – องค์ประกอบที่เป็นทุน 7.47 ล้านบาท (เป็นของบริษัทร่วมทั้งจ�ำนวน) ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของส่วนต�่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า เงินลงทุน (3.55) ล้านบาท ก�ำไรสะสมที่จัดสรรส�ำรองตามกฏหมาย 206.10 ล้านบาท ก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร 2,264.49 ล้านบาท และส่วนเกินเงินลงทุนในบริษัทย่อยซึ่งเกิดจากซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในราคาที่สูงกว่ามูลค่าตาม บัญชีของบริษัทย่อย ณ วันที่ซื้อหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย (5.48) ล้านบาท ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ยังคงมีใบส�ำคัญแสดงสิทธิทอี่ อกส�ำหรับเจ้าหนีไ้ ม่มปี ระกันยังไม่มกี าร ใช้สทิ ธิอกี 8.86 ล้านหน่วย อัตราการใช้สทิ ธิ 1 ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ สามารถแปลงเป็นหุน้ สามัญได้ 1 หุน้ ในอัตราหุน้ ละ 0.01 บาท ก�ำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิทุกวันสุดท้ายของไตรมาสที่ 2 และ 4 ของปี อายุ 10 ปี เริ่มจากไตรมาส ที่ 4 ของปี 2545 • อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2551 เท่ากับ 0.93 เท่า และะเพิ่มขึ้นเป็น 1.12 เท่า 1.75 ในปี 2552และปี 2553 ตามล�ำดับ เนื่องจากการที่บริษัทมีการลงทุนในที่ดินบริเวณต่างๆเพื่อรองรับการขยายตัว ท�ำให้ หนี้สินรวมเพิ่มขึ้น

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

103


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำงบการเงิ กัด (มหาชน) นรวม

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553งบแสดงการเปลี 2552 ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วัหมายเหตุ นที่ 31 ธันวาคม2553 2553 และ 25522552 งบก�ำไรขาดทุนรวม ่ยนแปลง ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบกระแสเงินสดรวมส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อยและได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่น กัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับ ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงาน เพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวม ถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความ เหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัด ท�ำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำ� เสนอใน งบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการตรวจ สอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการด�ำเนินงานและกระแส เงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยและเฉพาะ ของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป

บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2554

104

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3844


งบดุล บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้ค่าที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ - สุทธิ สิทธิการเช่ารอการขาย - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินประกันตามสัญญา เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื่น ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากที่ติดภาระค�้ำประกัน เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สิทธิการเช่า - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เงินมัดจ�ำการซื้อหุ้น อื่น ๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

7

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552

2553

2552

2,017,853,585 32,070,432 (10,293,299) 21,777,133 66,436,938 10,122,996,494 -

740,586,086 41,293,226 (11,193,299) 30,099,927 30,958,000 8,708,711,350 -

1,585,301,183 23,137,232 (10,293,299) 12,843,933 66,436,938 6,749,274,992 -

668,539,373 37,265,493 (11,193,299) 26,072,194 30,958,000 7,151,912,394 64,923,228

9

100,000,000 127,639,059 13,644,489 35,145,960 12,505,493,658

86,230,565 14,125,428 29,428,369 9,640,139,725

100,000,000 96,769,559 13,644,489 11,122,429 8,635,393,523

86,230,565 14,125,428 25,420,517 8,068,181,699

11 6 6 12 13 14 15 16 17 18

18,488,378 477,622,798 55,522,880 5,492,985,169 554,641,400 312,013,827 173,311,462

1,448,880 419,736,574 53,726,160 3,623,641,774 128,775,752 341,693,881 117,805,081

18,488,378 1,500,000 1,308,037,850 1,897,157,356 359,999,240 55,522,880 4,277,594,556 348,550,150 252,477,758 49,670,758

1,448,880 1,500,000 792,040,997 541,057,356 359,999,240 53,726,160 2,713,863,099 79,020,752 290,676,270 52,881,853

8 9 10 18

91,449,736 37,088,340 74,537,729 36,715,792 12 60,000,000 60,000,000 47,398,628 52,688,129 39,018,818 48,176,865 7,223,434,278 4,836,604,571 8,682,555,473 5,031,107,264 19,728,927,936 14,476,744,296 17,317,948,996 13,099,288,963

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

105


งบดุล (ต่อ) บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน ส่วนของหุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบทีเ่ ป็นหนีส้ นิ ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินทดรองจากกรรมการ เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ประมาณการหนี้สิน หนี้สินหมุนเวียนอื่น ดอกเบี้ยค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย อื่น ๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจากสัญญาเช่าช่วง รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 106

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

19 20 21 22 23 24 6 6 8 25

21 24

2553

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2552

800,746,867 75,000,000 1,997,291,957 800,000,000 37,037,390 86,356,760 12,739,663

485,171,615 355,000,000 1,266,264,051 187,150,000 37,037,390 812,558,417 194,222,860 80,000,000 107,467,518 212,467,366

572,738,441 75,000,000 1,997,291,957 800,000,000 37,037,390 1,440,772 31,886,340 12,739,663

408,011,684 1,266,264,051 37,037,390 812,558,417 148,683,961 81,246,015 88,889,110 212,467,366

78,063,608 291,476,620 112,335,266 4,291,048,131

16,055,682 159,997,229 76,274,504 62,509,571 4,052,176,203

75,324,631 203,685,452 97,995,589 3,905,140,235

14,803,034 114,746,406 53,373,063 58,016,130 3,296,096,627

5,778,215,227 2,433,788,730

1,606,776,162 1,942,916,047

5,778,215,227 815,862,412

1,606,776,162 1,716,346,538

54,783,437 51,444,790 3,604,475,646 6,645,522,429 7,656,651,849 10,550,662,664

54,783,437 3,377,906,137 6,674,002,764

51,444,790 8,263,448,747 12,554,496,878


งบดุล (ต่อ) บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552

2553

2552

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 26 ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,092,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท 6,552,000,000 6,552,000,000 6,552,000,000 6,552,000,000 ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ 787,724,120 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท (2552 : หุ้นสามัญ 787,721,620 หุ้น 4,726,344,720 4,726,329,720 4,726,344,720 4,726,329,720 มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) 23, 26 (20,573,149) (44,093,444) (20,573,149) (44,093,444) ส่วนต�่ำกว่ามูลค่าหุ้น 27 66 25 66 25 เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น ส่วนเกินของเงินลงทุนในบริษทั ย่อยซึง่ เกิดจากการซือ้ เงิน ลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มเติมในราคาที่สูงกว่า มูลค่าตามบัญชีของบริษัทย่อย ณ วันที่ซื้อ (5,856,198) หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นทุน 23 7,476,716 31,011,986 23,535,270 ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส่วนต�่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน (3,548,690) (4,750,330) (3,548,690) (4,750,330) ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย 28 206,100,000 179,100,000 206,100,000 179,100,000 ยังไม่ได้จัดสรร 2,264,487,593 1,937,950,688 1,858,963,385 1,545,164,958 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 7,174,431,058 6,825,548,645 6,767,286,332 6,425,286,199 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย (5,456,198) รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 7,174,431,058 6,820,092,447 6,767,286,332 6,425,286,199 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 19,728,927,936 14,476,744,296 17,317,948,996 13,099,288,963

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

107


งบก�ำไรขาดทุน บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ รายได้ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน รายได้จากการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย รายได้จากการขายที่ดิน รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ รายได้จากการริบเงินจอง อื่น ๆ รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน ต้นทุนการขายหน่วยในอาคารชุดพักอาศัย ต้นทุนการขายที่ดิน ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ รวมค่าใช้จ่าย ก�ำไรก่อนส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ก�ำไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินและภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี

6 25

13

การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 108

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552

2553

2552

7,002,701,311 777,725,952 835,490,250

5,073,423,380 778,469,844 -

5,849,113,719 777,725,952 835,490,250

4,067,577,404 778,469,844 -

7,273,932 4,302,238 76,407,452 8,703,901,135

606,892 8,488,292 86,834,101 5,947,822,509

54,121,066 3,388,654 65,812,589 7,585,652,230

42,494,943 8,017,699 80,445,648 4,977,005,538

4,606,857,142 496,704,051 695,762,581 749,548,640 916,347,687 90,248,069 35,602,103 7,591,070,273

3,514,251,255 551,946,601 270,135,874 692,947,872 71,497,059 9,422,551 5,110,201,212

3,835,537,610 496,704,051 695,762,581 598,083,442 741,157,693 72,411,296 35,602,103 6,475,258,776

2,796,302,041 551,946,601 236,867,700 601,055,593 56,235,043 9,422,551 4,251,829,529

1,112,830,862 57,886,223 1,170,717,085 (465,089,702) 705,627,383 (155,190,445) 550,436,938

837,621,297 2,998,095 840,619,392 (286,591,111) 554,028,281 (154,276,756) 399,751,525

1,110,393,454 1,110,393,454 (459,875,182) 650,518,272 (112,819,812) 537,698,460

725,176,009 725,176,009 (230,722,567) 494,453,442 (108,127,524) 386,325,918

550,436,938 550,436,938

403,627,020 (3,875,495) 399,751,525

537,698,460

386,325,918

0.699

0.512

0.683

0.490

0.691

0.507

0.675

0.485

30


งบกระแสเงินสด บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดก�ำไรก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าตัดจ�ำหน่าย ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ตัดจ�ำหน่าย ส�ำรองส�ำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ใช้สิทธิแปลงสภาพ ตัดจ�ำหน่ายค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้ รายได้รับล่วงหน้าค่าสิทธิการเช่าตัดบัญชี โอนกลับค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ขาดทุน (ก�ำไร) จากการจ�ำหน่ายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ หนี้สงสัยจะสูญ เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และ หนี้สินด�ำเนินงาน สินทรัพย์ด�ำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ค่าที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ เงินประกันตามสัญญา เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เงินสดจ่ายส�ำหรับการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยรับ รับคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552

2553

2552

705,627,383

554,028,281

650,518,272

494,453,442

(57,886,223) 62,856,916 27,142,681 10,441,583 57,158,531 15,910,665 (4,628,646) (152,660) 35,602,103 9,099,739 173,531 (4,620,726) (7,273,932) 318,258,592

(2,998,095) 66,381,957 22,235,190 3,404,517 57,067,834 2,376,162 (4,128,646) (229,578) 9,422,551 4,143,880 (18,415,498) 900,000 (5,240,888) (606,892) 178,957,075

51,520,358 22,909,173 10,441,583 57,158,531 15,910,665 (4,628,646) (152,660) 35,602,103 14,102,034 173,531 (4,620,726) (54,121,066) 314,015,152

57,176,936 20,098,965 3,404,517 57,067,834 2,376,162 (4,128,646) (229,578) 9,422,551 4,143,880 (18,415,498) 900,000 (5,240,888) (42,494,943) 138,043,527

1,167,709,537

867,297,850

1,108,828,304

716,578,261

8,322,794 (35,478,938) (254,600,402) (100,000,000) (41,408,494) (26,661,742) (5,717,591) 5,499,004

2,803,083 4,400,000 909,619,614 (41,484,832) (21,680,866) (13,744,628) (25,118,795)

13,228,261 (35,478,938) 739,614,035 (100,000,000) (10,538,994) (22,428,234) 14,298,087 9,158,044

3,216,066 4,400,000 596,869,953 (44,014,194) (19,544,641) (13,315,415) (24,796,917)

221,980,262 (21,110,758) (36,602,344) 184,231,739 1,066,163,067 (343,856,183) (315,505,823) 7,294,972 414,096,033

12,287,803 (4,767,978) (40,366,736) (20,138,711) 1,629,105,804 (319,525,273) (80,053,101) 606,892 3,459,197 1,233,593,519

71,131,767 (79,805,243) (57,002,770) (36,602,344) 124,809,026 1,739,211,001 (289,422,389) (240,694,850) 7,064,210 1,216,157,972

5,183,638 (2,708,437) (14,795,304) (40,366,736) (28,779,010) 1,137,927,264 (250,725,228) (54,754,461) 832,447,575

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

109


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากที่ติดภาระค�้ำประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ เงินมัดจ�ำการซื้อหุ้นเพิ่มขึ้น เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย (หมายเหตุ 12) เงินสดจ่ายเพื่อซื้อส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย (หมายเหตุ 12) เงินลงทุนระยะยาวอื่นเพิ่มขึ้น ที่ดินรอการพัฒนาเพิ่มขึ้น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายสิทธิการเช่า สิทธิการเช่าเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินลดลง เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกู้ยืมจากบุคคล/บริษัทอื่นลดลง เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงินเพิ่มขึ้น เงินทดรองจากกรรมการลดลง เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น (ลดลง) หุ้นกู้เพิ่มขึ้น หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพลดลง เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการลดลง เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายปี ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการทีไ่ ม่ใช่เงินสด โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ เป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์และทีด่ นิ รอการพัฒนา โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ เป็นเงินให้กยู้ มื แก่บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน โอนทีด่ นิ รอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โอนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ บันทึกหักกลบการเพิม่ ทุนกับเงินให้กยู้ มื แก่บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน และดอกเบีย้ ค้างรับ ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินเพือ่ ช�ำระค่าทีด่ นิ ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินเพือ่ ซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อย บันทึกเงินมัดจ�ำการซือ้ หุน้ เป็นเงินลงทุนในบริษทั ย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 110

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

2553 (17,039,498) 4,620,726 (352,181,539) (400,000)

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

7,409,062 (17,039,498) - (1,175,726,070) 20,850,283 5,240,888 4,620,726 (60,000,000) - (522,100,000) -

2552 7,409,062 (350,992,429) 13,499,321 5,240,888 (60,000,000) -

(442,420) (1,154,900) (442,420) (1,154,900) (2,188,409,941) (1,487,097,620) (1,621,913,546) (1,278,141,421) (509,497,698) (112,053,552) (339,411,448) (63,798,552) 65,000,000 (64,033,319) (1,449,432) (1,449,432) (41,987,869) (36,283,003) (22,109,303) (29,084,083) 316,287 24,531,388 316,287 24,531,388 (3,169,055,271) (1,660,857,169) (3,607,954,989) (1,733,940,158) (355,000,000) 682,166,547 (80,000,000) 296,649,823 4,768,378,400 (1,083,068,000) (196,900,033) 4,032,226,737 1,277,267,499 740,586,086 2,017,853,585

(528,268,062) 15,000,000 (31,000,000) 1,257,099,868 682,166,547 (817,296,716) (1,049,168,087) 1,329,400,000 4,955,528,400 - (1,083,068,000) (228,595,766) (283,535,147) (196,900,033) 712,804,177 3,308,558,827 285,540,527 916,761,810 455,045,559 668,539,373 740,586,086 1,585,301,183

(508,000,000) 1,257,099,868 (699,943,930) 1,604,400,000 (228,595,766) (283,535,147) 1,141,425,025 239,932,442 428,606,931 668,539,373

83,632,050 563,268,037 2,408,994

459,437,448 480,418,666 21,898,776

63,882,050 6,000,000 132,986,844 2,408,994

373,682,013 480,418,666 21,898,776

75,000,000 60,000,000

340,000,000 -

699,000,000 75,000,000 60,000,000

-


รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

111

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

25

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 4,726,329,720 (44,093,444) รายได้ทรี่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย ผลก�ำไรทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ รายได้ทรี่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ก�ำไรสุทธิสำ� หรับปี รวมรายได้ทงั้ สิน้ ทีร่ บั รูส้ ำ� หรับปี หุน้ สามัญเพิม่ ขึน้ จากการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญ 15,000 (14,975) แสดงสิทธิ เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ ซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อยเพิม่ เติม (หมายเหตุ 12) จ่ายช�ำระหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพ (หมายเหตุ 23) - 23,535,270 เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) โอนก�ำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรรเป็นส�ำรอง ตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 4,726,344,720 (20,573,149) 66

66

(25)

25

(44,093,444)

4,726,329,720

25 -

-

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 รายได้ทรี่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย ผลก�ำไรทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ รายได้ทรี่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิสำ� หรับปี รวมรายได้ (ค่าใช้จา่ ย) ทัง้ สิน้ ทีร่ บั รูส้ ำ� หรับปี เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) โอนก�ำไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรรเป็นส�ำรอง ตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และช�ำระแล้ว 4,726,329,720

งบการเงินรวม

(5,856,198)

(5,856,198) -

-

-

-

-

7,476,716

(23,535,270) -

-

-

31,011,986

31,011,986

-

20,000,000

403,627,020 403,627,020 (283,535,147) (20,000,000)

-

27,000,000

-

-

(196,900,033) (27,000,000)

-

550,436,938 550,436,938 -

(3,548,690) 206,100,000 2,264,487,593

-

1,201,640 1,201,640 1,201,640 -

(4,750,330) 179,100,000 1,937,950,688

(4,750,330) 179,100,000 1,937,950,688

646,240 646,240 646,240 -

หุ้นกู้ ก�ำไรสะสม ไม่ด้อยสิทธิ ส่วนต�่ำกว่าทุน แปลงสภาพ จาก องค์ประกอบ การเปลี่ยนแปลง ส�ำรอง ที่เป็นทุน มูลค่าเงินลงทุน ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร 31,011,986 (5,396,570) 159,100,000 1,837,858,815

ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนเกินของเงินลงทุนใน บริษัทย่อยซึ่งเกิดจากการซื้อ เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มเติม ส่วนต�่ำ เงินรับ ในราคาที่สูงกว่ามูลค่า กว่า ล่วงหน้า ตามบัญชีของบริษัทย่อย มูลค่าหุ้น ค่าหุ้น ณ วันที่ซื้อ (44,093,444) -

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

7,174,431,058

66 (5,856,198) (196,900,033) -

1,201,640 1,201,640 550,436,938 551,638,578 -

6,825,548,645

6,825,548,645

646,240 646,240 403,627,020 404,273,260 25 (283,535,147) -

- 7,174,431,058

66 5,456,198 (400,000) - (196,900,033) -

1,201,640 1,201,640 - 550,436,938 - 551,638,578 -

(5,456,198) 6,820,092,447

(5,456,198) 6,820,092,447

646,240 646,240 (3,875,495) 399,751,525 (3,875,495) 400,397,765 25 - (283,535,147) -

รวม ส่วนของ ส่วนของ ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยของ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย รวม 6,704,810,507 (1,580,703) 6,703,229,804

(หน่วย: บาท)


112

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 รายได้ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลก�ำไรที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น รายได้ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี รวมรายได้ทั้งสิ้นที่รับรู้ส�ำหรับปี หุ้นสามัญเพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น จ่ายช�ำระหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ (หมายเหตุ 23) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็นส�ำรองตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 รายได้ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลก�ำไรที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น รายได้ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี รวมรายได้ทั้งสิ้นที่รับรู้ส�ำหรับปี เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็นส�ำรองตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 25 25 25

(25) 66 66

4,726,329,720 (44,093,444)

4,726,329,720 (44,093,444)

15,000 (14,975) - 23,535,270 4,726,344,720 (20,573,149)

เงินรับล่วงหน้า ค่าหุ้น -

ส่วนต�่ำกว่า มูลค่าหุ้น

4,726,329,720 (44,093,444)

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และช�ำระแล้ว

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(23,535,270) -

23,535,270

23,535,270

23,535,270

หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ แปลงสภาพ องค์ประกอบที่เป็นทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

1,201,640 1,201,640 1,201,640 (3,548,690)

(4,750,330)

646,240 646,240 646,240 (4,750,330)

(5,396,570)

ส่วนต�่ำกว่าทุนจาก การเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน

27,000,000 206,100,000

179,100,000

20,000,000 179,100,000

159,100,000

ส�ำรอง ตามกฎหมาย

537,698,460 537,698,460 (196,900,033) (27,000,000) 1,858,963,385

1,545,164,958

386,325,918 386,325,918 (283,535,147) (20,000,000) 1,545,164,958

1,462,374,187

ยังไม่ได้จัดสรร

ก�ำไรสะสม

1,201,640 1,201,640 537,698,460 538,900,100 66 (196,900,033) 6,767,286,332

6,425,286,199

646,240 646,240 386,325,918 386,972,158 25 (283,535,147) 6,425,286,199

6,321,849,163

รวม

(หน่วย: บาท)


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 1. ข้อมูลทั่วไป

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิล�ำเนาใน ประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษทั ฯ คือ การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทีอ่ ยูต่ ามทีจ่ ดทะเบียนของบริษทั ฯอยูท่ ี่ 100/1 อา คารวรสมบัติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ

2. เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน 2.1 2.2

งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ ำ� หนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดง รายการในงบการเงินตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ออกตาม ความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษา อังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนีไ้ ด้จดั ท�ำขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) (ซึง่ ต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด”) บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด

ชื่อบริษัท

บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษทั เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (เดิมชือ่ “บริษทั เพ อร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด”) บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้งมอลล์ จ�ำกัด บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด ข)

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

ลักษณะธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ไทย

บริหารสโมสร พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ไทย ไทย ไทย ไทย

ร้อยละของสินทรัพย์ ที่รวมอยู่ในสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 ร้อยละ ร้อยละ 13.11 14.58 0.04 9.69 0.75 4.26

0.04 3.65 0.05 -

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น 2553 2552 ร้อยละ ร้อยละ 100.00 100.00 99.98 100.00 100.00 100.00

99.98 99.94 59.99 -

ร้อยละของรายได้ที่รวมอยู่ ในรายได้รวมส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 รัอยละ ร้อยละ 12.92 17.01 0.46

-

บริษทั ฯน�ำงบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้มา (วันทีบ่ ริษทั ฯ มีอ�ำนาจในการควบคุมบริษัทย่อย) จนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

113


ค) ง)

2.3

งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระส�ำคัญได้ถูกตัดออกจาก งบการเงินรวมนี้แล้ว จ) ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย คือ จ�ำนวนก�ำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้ เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบก�ำไรขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นใน งบดุลรวม ฉ) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 ได้มีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียน ของบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด จากมูลค่า 1 ล้านบาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 10,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท) เป็น 500 ล้านบาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 5 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท) ซึง่ เป็นการเพิม่ ทุนโดยบริษทั ฯทัง้ หมด (บริษทั ฯได้ดำ� เนินการเพิม่ ทุนดังกล่าวเรียบร้อย แล้วในเดือนมีนาคม 2553) ช) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 ได้มีมติอนุมัติให้บริษัทฯด�ำเนินการ ซื้อหุ้นที่เหลือทั้งหมดของบริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด ที่ถือโดยบริษัทแห่งหนึ่ง ในราคา 400,000 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 4,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) ซึ่งภายหลังจาก การซื้อหุ้นข้างต้น บริษัทฯจะมีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 59.99 เป็น ร้อยละ 100.00 (บริษัทฯได้ด�ำเนินการซื้อหุ้นดังกล่าวเรียบร้อยแล้วในเดือนเมษายน 2553) ซ) ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2553 ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้เพิม่ ทุนจดทะเบียนของ บริษทั เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ช็อปปิง้ มอลล์ จ�ำกัด จากเดิม 1 ล้านบาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 10,000 หุน้ มูลค่า ทีต่ ราไว้ห้นุ ละ 100 บาท) เป็น 500 ล้านบาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 5 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท) ซึง่ เป็นการเพิม่ ทุนโดยบริษทั ฯทัง้ หมด (บริษทั ฯได้ชำ� ระค่าหุน้ เพิม่ ทุนดังกล่าวตามมูลค่าทีเ่ รียก ช�ำระ (ร้อยละ 30) เรียบร้อยแล้วในเดือนเมษายน 2553) ฌ) ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2553 ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้เพิม่ ทุนจดทะเบียนของ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด จากเดิม 1,000 ล้านบาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 100 ล้านหุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท) เป็น 1,200 ล้านบาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 120 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท) ซึ่งเป็นการเพิม่ ทุนโดยบริษัทฯทั้งหมด (บริษัทฯได้ด�ำเนินการเพิม่ ทุนดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ในเดือนมีนาคม 2553) ญ) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ได้มีมติอนุมัติให้ซื้อหุ้นสามัญจ�ำนวน 10 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ของบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด ด้วยมูลค่าเงิน ลงทุน 507 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียนและช�ำระแล้ว เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 บริษัทฯได้รับโอนกรรมสิทธิ์ของหุ้นดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ดังนั้นบริษัทฯได้ รวมงบการเงินของบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด ในการจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม 2553 เป็นต้นไป บริษัทฯได้จัดท�ำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อย และ บริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน

3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่

ในระหว่างปีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ ตามรายละเอียดข้างล่างนี้ 3.1 มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 (เว้น แต่แม่บทการบัญชีซึ่งมีผลบังคับใช้ทันที) แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) การน�ำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) สินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชี และข้อผิดพลาด 114

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552)

เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญาก่อสร้าง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ต้นทุนการกู้ยืม การเปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจทีเ่ งินเฟ้อ รุนแรง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) ก�ำไรต่อหุ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) ประมาณการหนีส้ นิ หนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ และสินทรัพย์ ที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552)การรวมธุรกิจ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552)สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการ ด�ำเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 การส�ำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ 3.2

มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12

ภาษีเงินได้

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552)

การบัญชีสำ� หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการ เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552)

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลก เปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ฝ่ายบริหารของบริษัทฯเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชีข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อ งบการเงินส�ำหรับปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีดังกล่าว ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ที่ฝ่ายบริหาร คาดว่าจะมีผลกระทบต่องบการเงินในปีที่น�ำมาตรฐานการบัญชีดังกล่าวมาถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนีก้ ำ� หนดให้กจิ การรับรูผ้ ลประโยชน์ทใี่ ห้กบั พนักงานเป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ กิจการ ได้รบั บริการจ้างงานจากพนักงานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ กิจการจะต้องประเมินและบันทึกหนีส้ นิ เกีย่ วกับผล ประโยชน์ของพนักงานเนื่องจากเกษียณอายุหรือจากโครงการผลประโยชน์อื่นที่ให้กับพนักงาน โดยใช้การ ค�ำนวณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึง่ ในปัจจุบนั บริษทั ฯรับรูผ้ ลประโยชน์ทใี่ ห้กบั พนักงานดังกล่าวเมือ่ เกิดรายการ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

115


ปัจจุบันฝ่ายบริหารของบริษัทฯอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต่องบการเงินในปีที่เริ่มน�ำ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับนีก้ ำ� หนดให้กจิ การระบุผลแตกต่างชัว่ คราวทีเ่ กิดจากความแตกต่างของมูลค่า สินทรัพย์และหนีส้ นิ ระหว่างเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร เพือ่ รับรูผ้ ลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด ปัจจุบันฝ่ายบริหารของบริษัทฯอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต่องบการเงินในปีที่เริ่มน�ำ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติ

4. นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ 4.1 การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดิน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูร้ ายได้จากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ /หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ทีด่ นิ เมือ่ มีการโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ผู้ซื้อ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯมีสิทธิในการรับเงินปันผล 4.2 ต้นทุนการขายบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดิน ในการค�ำนวณหาต้นทุนการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ /หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ทีด่ นิ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ท�ำการแบ่งสรรต้นทุนการพัฒนาทั้งหมดที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (โดยค�ำนึงถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงด้วย) ให้ กับบ้านพร้อมที่ดิน/หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย/ที่ดินที่ขายได้ตามเกณฑ์พื้นที่ที่ขาย แล้วจึงรับรู้เป็นต้นทุน ขายในงบก�ำไรขาดทุน 4.3 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มี สภาพคล่องสูง ซึ่งถึงก�ำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจ�ำกัดใน การเบิกใช้ 4.4 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจ�ำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญส�ำหรับผลขาดทุนโดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนีไ้ ม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณา จากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ 4.5 ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แสดงตามราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อผลขาดทุนจากการลด ลงของมูลค่าโครงการ ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประกอบด้วยต้นทุนที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง ค่า เช่าที่ดินและดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง 4.6 ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมของเงินกู้ที่ใช้ในการจัดหาหรือก่อสร้างสินทรัพย์ที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการท�ำให้ อยู่ในสภาพพร้อมใช้หรือขาย ได้ถูกน�ำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นั้นจะอยู่ในสภาพ พร้อมที่จะใช้ได้ตามที่มุ่งประสงค์ ส่วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมนั้น

116

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


4.7 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินจะถูกบันทึกเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนที่ดินเมื่อที่ดินเหล่านั้นได้ถูกโอน กรรมสิทธิ์เป็นของบริษัทฯและบริษัทย่อย 4.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์แสดงตามราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ค�ำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการ ใช้งานโดยประมาณดังต่อไปนี้ อาคารส�ำนักงานและสโมสร

10 ปี และ 20 ปี

เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้ส�ำนักงานและสโมสร

5 ปี

ยานพาหนะ

5 ปี

อื่น ๆ

5 ปี

ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน

ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง บริษัทฯตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจ�ำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลก�ำไรหรือขาดทุนจาก การจ�ำหน่ายสินทรัพย์ (ผลต่างระหว่างสิง่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ด้รบั จากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชี ของสินทรัพย์นั้น) จะรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนเมื่อบริษัทฯตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี 4.9 สิทธิการเช่าและค่าตัดจ�ำหน่าย/สิทธิการเช่ารอการขาย สิทธิการเช่าแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าตัดจ�ำหน่ายของสิทธิการเช่า ค�ำนวณจากราคาทุนของสิทธิการเช่า โดยใช้วิธีเส้นตรงตามอายุ สัญญาเช่า ค่าตัดจ�ำหน่ายรวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงานและรวมถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนโครงการ ส�ำหรับสิทธิการเช่าที่อยู่ระหว่างการพัฒนาโครงการ สิทธิการเช่ารอการขายแสดงตามราคาทุนหรือราคาที่คาดว่าจะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า 4.10 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าแสดงตามมูลค่ายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ หลักทรัพย์บันทึกเป็นก�ำไรหรือขาดทุนในงบก�ำไรขาดทุน ข) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายแสดงตามมูลค่ายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ หลักทรัพย์ดงั กล่าวบันทึกเป็นรายการต่างหากในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และจะบันทึกเป็นก�ำไรหรือขาดทุน ในงบก�ำไรขาดทุนเมื่อได้จ�ำหน่ายหลักทรัพย์นั้นออกไป ค) เงิน ลงทุน ในตราสารทุนที่ไ ม่อยู่ใ นความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทั่วไปซึ่งแสดงใน ราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ง) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย จ) เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธี ราคาทุน มูลค่ายุตธิ รรมของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดค�ำนวณจากราคาเสนอซือ้ หลังสุด ณ สิน้ วัน ท�ำการสุดท้ายของปี มูลค่ายุติธรรมของหน่วยลงทุนค�ำนวณจากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ บริษัทฯใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักในการค�ำนวณต้นทุนของเงินลงทุน ในกรณีที่มีการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนจากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง บริษัทฯจะปรับ มูลค่าของเงินลงทุนดังกล่าวใหม่โดยใช้มลู ค่ายุตธิ รรม ณ วันทีโ่ อนเปลีย่ นประเภทเงินลงทุน ผลแตกต่างระหว่าง ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนได้บันทึกเป็นรายการก�ำไรหรือขาดทุนในงบก�ำไรขาดทุนหรือ

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

117


แสดงเป็นส่วนเกิน (ต�ำ่ กว่า) ทุนจากการเปลีย่ นแปลงมูลค่าในส่วนของผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่ประเภทของเงินลงทุน ที่มีการโอนเปลี่ยน เมือ่ มีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิง่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ด้รบั กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุน 4.11 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี ำ� นาจควบคุมบริษทั ฯ หรือ ถูกบริษัทฯควบคุมไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนีบ้ คุ คลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันยังหมายรวมถึงบริษทั ร่วมและบุคคลทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงโดย ทางตรงหรือทางอ้อมซึง่ ท�ำให้มอี ทิ ธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารส�ำคัญ กรรมการหรือพนักงาน ของบริษัทฯ ที่มีอ�ำนาจในการวางแผนและควบคุมการด�ำเนินงานของบริษัทฯ 4.12 หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพแสดงองค์ประกอบที่เป็นหนีส้ ินและทุนแยกจากกันในงบดุล บริษัทฯได้ แยกแสดงองค์ประกอบดังกล่าว โดยก�ำหนดราคาตามบัญชีของหนีส้ นิ จากการค�ำนวณจากกระแสเงินสดของ เงินต้นและดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายในอนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยในตลาดที่เป็นอยู่ในขณะนั้น และก�ำหนด ราคาตามบัญชีของตราสารทุน โดยหักราคาตามบัญชีของหนี้สินจากมูลค่าทั้งสิ้นของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลง สภาพ ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของหนีส้ นิ ดังกล่าวข้างต้นและมูลค่าหน้าตัว๋ ของหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลง สภาพจะตัดจ�ำหน่ายตามอายุของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ 4.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯและบริษัทย่อยจะท�ำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ของบริษัทฯและบริษัทย่อยหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุน จากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทัง้ นีม้ ลู ค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้ สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยประมาณ การกระแสเงินสดในอนาคตทีก่ จิ การคาดว่าจะได้รบั จากสินทรัพย์และค�ำนวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้ อัตราคิดลดก่อนภาษีทสี่ ะท้อนถึงการประเมินความเสีย่ งในสภาพตลาดปัจจุบนั ของเงินสดตามระยะเวลาและ ความเสีย่ งซึง่ เป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ทกี่ ำ� ลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนใน การขาย บริษทั ฯและบริษทั ย่อยใช้แบบจ�ำลองการประเมินมูลค่าทีด่ ที สี่ ดุ ซึง่ เหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึง่ สะท้อนถึง จ�ำนวนเงินทีก่ จิ การสามารถจะได้มาจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนในการจ�ำหน่าย โดยการจ�ำหน่าย นัน้ ผูซ้ อื้ กับผูข้ ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระใน ลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบก�ำไรขาดทุน 4.14 ผลประโยชน์พนักงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุน ส�ำรองเลี้ยงชีพเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 4.15 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ประมาณการหนี้สินเมื่อมีภาระผูกพันในปัจจุบันซึ่งเกิดจากเหตุการณ์ใน อดีตและมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนที่บริษัทฯและบริษัทย่อยจะสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิง เศรษฐกิจเพื่อจ่ายช�ำระภาระผูกพันดังกล่าวและสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 4.16 ภาษีเงินได้ บริษทั ฯบันทึกภาษีเงินได้ตามจ�ำนวนทีค่ าดว่าจะจ่ายให้กบั หน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยค�ำนวณ จากก�ำไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมายภาษีอากร

118

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ

ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการ ประมาณการในเรือ่ งทีม่ คี วามไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการดังกล่าวนีส้ ง่ ผลกระทบต่อจ�ำนวน เงินที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจาก จ�ำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่ส�ำคัญมีดังนี้ สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหาร ได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยได้โอนหรือ รับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผล ขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้าง และสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ ในตลาดซื้อขายคล่อง ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้เทคนิคและแบบจ�ำลองการประเมินมูลค่า ซึง่ ตัวแปรทีใ่ ช้ในแบบจ�ำลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรทีม่ ี อยู่ในตลาด โดยค�ำนึงถึงสภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเครื่องมือทางการเงิน ในระยะยาว ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ บริษัทฯจะตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายและเงินลงทุนทั่วไปเมื่อฝ่ายบริหารใช้ ดุลยพินจิ ในการพิจารณาว่ามูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญและเป็นระยะเวลานาน หรือเมือ่ มีขอ้ บ่งชีข้ องการด้อยค่า การทีจ่ ะสรุปว่าเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญหรือเป็นระยะเวลานาน หรือไม่นั้นจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา ในการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องท�ำการประมาณอายุการใช้งาน และมูลค่าซากเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากใหม่หากมีการ เปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและ บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการ นี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับ สินทรัพย์นั้น การประมาณต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ในการรับรูร้ ายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยต้องประมาณต้นทุนทัง้ หมดทีจ่ ะใช้ในการ พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ ซึง่ ประกอบด้วย ต้นทุนทีด่ นิ ต้นทุนการปรับปรุงทีด่ นิ ต้นทุนค่าออกแบบและก่อสร้าง และต้นทุนการกู้ยืมเพื่อใช้ในการก่อสร้างโครงการ ฝ่ายบริหารได้ประมาณการต้นทุนดังกล่าวขึ้นจากประสบการณ์ ในการประกอบธุรกิจและจะทบทวนการประมาณการดังกล่าวเป็นระยะ ๆ หรือเมื่อต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงแตกต่างจาก ประมาณการอย่างมีสาระส�ำคัญ ส�ำรองส�ำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ ในการบันทึกส�ำรองส�ำหรับหุน้ กูส้ ว่ นทีไ่ ม่ได้ใช้สทิ ธิแปลงสภาพ ฝ่ายบริหารได้ประมาณการใช้สทิ ธิแปลงสภาพ หุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญของบริษัทฯจากอายุของหุ้นกู้แปลงสภาพ มูลค่าหุ้นของบริษัทฯในตลาดและสภาวะเศรษฐกิจใน ขณะนั้น โดยจะทบทวนการประมาณการดังกล่าวเมื่อสถานการณ์และข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไป

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

119


ส�ำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ ในการบันทึกส�ำรองเผือ่ ผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขนั้ ต�ำ่ ฝ่ายบริหารได้ประมาณมูลค่าทีค่ าดว่าจะเกิด ขึน้ ของค่าใช้จา่ ยในการรับประกันรายได้ขนั้ ต�ำ่ ดังกล่าวตามมูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดทีบ่ ริษทั ฯต้องช�ำระให้แก่ กองทุนฯซึง่ ค�ำนวณขึน้ โดยใช้ขอ้ สมมติฐานทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์และผลการด�ำเนินงานในปัจจุบนั ของกองทุนฯ บริษทั ฯจะทบทวนการประมาณการดังกล่าวเป็นระยะ ๆ เมือ่ สถานการณ์และข้อสมมติฐานทีเ่ กีย่ วข้องเปลีย่ นแปลงไป คดีฟ้องร้อง บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึง่ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมินผลของคดีทถี่ กู ฟ้องร้องแล้วและเชือ่ มัน่ ว่าจะไม่มคี วามเสียหายเกิดขึน้ จึงไม่ได้บนั ทึกประมาณการหนี้ สินดังกล่าว ณ วันที่ในงบการเงิน

6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายการธุรกิจทีส่ ำ� คัญกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน รายการธุรกิจ ดังกล่าวเป็นไปตามเงือ่ นไขทางการค้าและเกณฑ์ตามทีต่ กลงกันระหว่างบริษทั ฯและบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 นโยบายการก�ำหนดราคา รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน 26.3 - ตามสัญญา รายได้จากการขายสิทธิการเช่า 65.0 - ตามสัญญา ดอกเบี้ยรับ 47.1 41.9 ร้อยละ 5.38 ถึง 9.37 ต่อปี ซื้อที่ดิน 5.0 - ตามสัญญา ค่าใช้จ่ายในการบริหารสโมสร 12.8 11.4 ตามสัญญา

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด 1,500 1,500 เงินทดรองแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 1,500 1,500 เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด ดอกเบี้ยค้างรับ บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและดอกเบี้ยค้างรับ

120

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

-

-

460,977 797,522 24,426 1,282,925

311,606 428,294 15,200 755,100

-

-

13,021 11,732 360 25,113 1,308,038

5,308 30,768 865 36,941 792,041


เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด”) บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

งบการเงินรวม 2553 2552

เงินทดรองจากกรรมการ กรรมการ เงินทดรองจากกรรมการ

-

-

1,391 50 1,441

1,246 80,000 81,246

-

80,000 80,000

-

-

ในระหว่างปี 2553 เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้

บริษัทย่อย บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 311,606 428,294 15,200 -

ในระหว่างปี

(หน่วย: พันบาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

เพิ่มขึ้น

ลดลง

620,000 1,032,500 20,000 68,000

(470,629) (663,272) (10,774) (68,000)

460,977 797,522 24,426 -

ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 12 ในปี 2553 บริษัทฯได้เพิ่มทุนให้กับบริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด และ บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด เป็นจ�ำนวน 200 ล้านบาทและ 499 ล้านบาท ตามล�ำดับ บริษัทฯได้บันทึกการเพิ่มทุนดังกล่าวโดยหักกลบกับเงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยค้างรับของทั้งสองบริษัท ซึ่ง ประกอบไปด้วยเงินให้กู้ยืมจ�ำนวน 190.6 ล้านบาทและดอกเบี้ยค้างรับจ�ำนวน 9.4 ล้านบาทและ เงินให้กู้ยืมจ�ำนวน 463.3 ล้านบาทและดอกเบี้ยค้างรับจ�ำนวน 35.7 ล้านบาทตามล�ำดับ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2553 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายส�ำหรับเงินเดือน โบนัส ค่าเบี้ยประชุมและเงินบ�ำเหน็จของ กรรมการและผู้บริหาร เป็นจ�ำนวนเงิน 90.2 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 72.4 ล้านบาท) (2552: 71.5 ล้าน บาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 56.2 ล้านบาท)) ภาระค�้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯมีภาระจากการค�้ำประกันให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 34.4 ก)

7. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 2,113,895 1,373,147 1,530,320 1,314,867 2,015,739,690 739,212,939 1,583,770,863 667,224,506 2,017,853,585 740,586,086 1,585,301,183 668,539,373 รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

121


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจ�ำมีอัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 0.125 ถึง 0.50 ต่อปี (2552: ร้อยละ 0.15 ถึง 0.20 ต่อปี)

8. ลูกหนี้การค้า/เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม 2553 2552

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

จ�ำนวนเงินตามทีไ่ ด้ทำ� สัญญาจะซือ้ จะขายแล้ว 65,030,462,476 55,019,352,991 58,030,636,464 50,691,609,835 ร้อยละของยอดขายรวมของโครงการ 60.05 59.13 68.84 60.39 ค่างวดที่ถึงก�ำหนดช�ำระ 61,637,161,329 53,042,354,574 56,520,551,867 49,115,224,716 หัก: เงินรับช�ำระแล้ว (61,605,090,897) (53,001,061,348) (56,497,414,635) (49,077,959,223) ลูกหนี้ค่างวดที่ค้างช�ำระ 32,070,432 41,293,226 23,137,232 37,265,493 หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ค่างวดที่ค้างช�ำระสุทธิ

(10,293,299) 21,777,133

(11,193,299) 30,099,927

(10,293,299) 12,843,933

(11,193,299) 26,072,194

เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 ค่างวดทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระ 61,637,161,329 53,042,354,574 56,520,551,867 49,115,224,716 หัก: การรับรูร้ ายได้ (61,550,804,569) (52,934,887,056) (56,488,665,527) (49,026,335,606) เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า 86,356,760 107,467,518 31,886,340 88,889,110

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีลกู หนีก้ ารค้าแยกตามอายุหนีท้ คี่ งค้างนับจาก วันที่ถึงก�ำหนดช�ำระได้ดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 น้อยกว่า ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3 เดือน 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม ลูกหนี้ค้างช�ำระค่างวด 4,895,516 2,282,757 3,117,480 2,672,800 12,968,553 ลูกหนี้ค้างช�ำระ ณ วันโอน 958,630 820,000 7,000,000 10,323,249 19,101,879 รวม 5,854,146 3,102,757 10,117,480 12,996,049 32,070,432 หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - (10,293,299) (10,293,299) ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 5,854,146 3,102,757 10,117,480 2,702,750 21,777,133 (หน่วย: บาท)

ลูกหนี้ค้างช�ำระค่างวด ลูกหนี้ค้างช�ำระ ณ วันโอน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 122

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

น้อยกว่า 3 เดือน 13,022,427 2,398,400 15,420,827 15,420,827

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม 2,290,000 4,695,000 6,891,500 26,898,927 900,000 11,095,899 14,394,299 2,290,000 5,595,000 17,987,399 41,293,226 (900,000) (10,293,299) (11,193,299) 2,290,000 4,695,000 7,694,100 30,099,927


(หน่วย: บาท)

ลูกหนี้ค้างช�ำระค่างวด ลูกหนี้ค้างช�ำระ ณ วันโอน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ

น้อยกว่า 3 เดือน 1,710,816 958,630 2,669,446 2,669,446

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม 631,257 792,980 900,300 4,035,353 820,000 7,000,000 10,323,249 19,101,879 1,451,257 7,792,980 11,223,549 23,137,232 - (10,293,299) (10,293,299) 1,451,257 7,792,980 930,250 12,843,933

(หน่วย: บาท)

ลูกหนี้ค้างช�ำระค่างวด ลูกหนี้ค้างช�ำระ ณ วันโอน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ

น้อยกว่า 3 เดือน 10,568,694 2,198,400 12,767,094 12,767,094

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ระหว่าง ระหว่าง มากกว่า 3-6 เดือน 6-12 เดือน 12 เดือน รวม 1,647,000 4,030,000 6,875,500 23,121,194 900,000 11,045,899 14,144,299 1,647,000 4,930,000 17,921,399 37,265,493 (900,000) (10,293,299) (11,193,299) 1,647,000 4,030,000 7,628,100 26,072,194

9. ลูกหนี้ค่าที่ดิน

ลูกหนี้ค่าที่ดินดังกล่าวประกอบไปด้วย ก) ลูกหนี้มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งค้างช�ำระจากการขายที่ดินจ�ำนวนประมาณ 371 ไร่ตามที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 10 จ�ำนวนประมาณ 35.5 ล้านบาท โดยบริษัทฯจะได้รับช�ำระยอดดังกล่าว พร้อมกับค่าที่ดินในส่วนที่เหลือจ�ำนวนประมาณ 29 ไร่ ซึ่งบริษัทฯคาดว่าจะสามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้ภายใน ไตรมาสแรกของปี 2554 นอกจากนี้บริษัทฯได้วางเงินประกันจ�ำนวน 100 ล้านบาท ให้แก่มหาวิทยาลัยดัง กล่าวเพื่อเป็นหลักประกันในการก่อสร้างถนนและสาธารณูปโภคตามรายละเอียดที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา ข) ลูกหนี้จากการขายที่ดินจ�ำนวนประมาณ 30.9 ล้านบาท ซึ่งจะถูกทยอยแบ่งจ่ายช�ำระเป็นรายงวด โดยมีกำ� หนดช�ำระงวดแรกในวันที่ 30 เมษายน 2552 และจะครบก�ำหนดช�ำระทั้งหมดภายในเดือนธันวาคม 2552 อย่างไรก็ตาม ลูกหนีด้ งั กล่าวขอเลือ่ นการช�ำระหนีอ้ อกเป็น 2 งวด โดยงวดแรกจะจ่ายช�ำระเป็นจ�ำนวน เงิน 4.4 ล้านบาท (บริษทั ฯได้รบั ช�ำระแล้วเมือ่ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2552) และงวดสองจะจ่ายช�ำระส่วนทีเ่ หลือ ทัง้ หมดภายในเดือนธันวาคม 2552 อย่างไรก็ตาม เมือ่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2553 ลูกหนีด้ งั กล่าวได้สง่ แผนการ ปรับโครงสร้างทุนของลูกหนี้ให้กับบริษัทฯและได้ขอเลื่อนการช�ำระหนี้ส่วนที่เหลือทั้งหมดออกไปเป็นภายใน เดือนพฤษภาคม 2553 เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2553 ลูกหนี้ดังกล่าวได้ขอเลื่อนการช�ำระหนี้ส่วนที่เหลือทั้งหมดออกไปเป็น ภายในเดือนกันยายน 2553 เนื่องจากลูกหนี้ดังกล่าวอยู่ระหว่างการปรับโครงสร้างทุน เมือ่ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 ลูกหนีด้ งั กล่าวได้ขอเลือ่ นการช�ำระหนีอ้ อกไปเป็นภายในเดือนธันวาคม 2553 เนือ่ งจากลูกหนีด้ งั กล่าวอยูใ่ นระหว่างด�ำเนินการเรือ่ งสัญญาเงินกูต้ ามทีไ่ ด้รบั วงเงินกูจ้ ากธนาคารแห่ง หนึง่ ซึง่ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม 2553 บริษทั ฯคาดว่าจะได้รบั ช�ำระหนีจ้ ากลูกหนีร้ ายดังกล่าว ภายในเดือนมีนาคม 2554 บริษัทฯมิได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญส�ำหรับยอดคงเหลือของลูกหนี้รายนี้ เนื่องจากฝ่ายบริหารเชื่อ มั่นว่าจะได้รับช�ำระยอดคงค้างจากลูกหนี้เต็มจ�ำนวน

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

123


10. ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ งบการเงินรวม 2553 2552 ต้นทุนที่ดิน 17,162,610,690 15,236,926,057 ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน 8,106,124,673 6,982,854,398 ต้นทุนงานก่อสร้าง 25,519,493,487 21,492,055,465 ดอกเบี้ยที่ถือเป็นต้นทุน 4,632,189,637 4,493,432,497 รวม 55,420,418,487 48,205,268,417 หัก: จ�ำนวนสะสมทีโ่ อนเป็นต้นทุนขาย (43,716,142,054) (37,898,910,477) ที่ดินที่โอนเพื่อการจ่ายช�ำระหนี้ ตามแผนฟื้นฟู (1,524,192,396) (1,524,192,396) 10,180,084,037 8,782,165,544 หัก: ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการ ลดลงของมูลค่าโครงการ (57,087,543) (73,454,194) ต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ - สุทธิ 10,122,996,494 8,708,711,350

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 14,117,378,122 13,655,486,115 7,081,096,862 6,327,010,680 23,139,898,404 19,823,025,806 4,279,780,479 4,187,264,425 48,618,153,867 43,992,787,026 (40,288,892,473) (35,247,874,548) (1,524,192,396) (1,524,192,396) 6,805,068,998 7,220,720,082 (55,794,006)

(68,807,688)

6,749,274,992 7,151,912,394

เมือ่ วันที่ 9 กันยายน 2552 บริษทั ฯได้ทำ� สัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ จ�ำนวน 400 ไร่กบั มหาวิทยาลัยแห่งหนึง่ ใน ราคา 900 ล้านบาท (โดยยกเลิกสัญญาจะซือ้ จะขายลงวันที่ 9 เมษายน 2552) ตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญาบริษทั ฯจะต้อง สร้างถนนตามรายละเอียดที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา และจัดตั้งกองทุนเพื่อการศึกษาให้กับมหาวิทยาลัยเป็นจ�ำนวนเงิน 20 ล้านบาท รวมไปถึงต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขอืน่ ๆทีก่ ำ� หนดไว้ และบริษทั ฯจะต้องรับผิดชอบค่าปรับในกรณีทบี่ ริษทั ฯ กระท�ำการใดๆที่ผิดสัญญาดังกล่าว ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษทั ฯได้โอนกรรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ จ�ำนวนประมาณ 371 ไร่ให้กบั มหาวิทยาลัยดังกล่าวและ ได้รบั รูร้ ายได้เป็นจ�ำนวน 835.5 ล้านบาท และต้นทุนขายเป็นจ�ำนวน 695.8 ล้านบาท บริษทั ฯรับรูร้ ายได้ตามสัดส่วน ของที่ดินที่ได้โอนกรรมสิทธิ์กับที่ดินตามสัญญาทั้งหมด และรับรู้ต้นทุนตามสัดส่วนของต้นทุนส�ำหรับส่วนของที่ดินที่ ได้โอนกรรมสิทธิก์ บั ต้นทุนประมาณการทัง้ หมด (ต้นทุนประกอบไปด้วยต้นทุนทีด่ นิ และต้นทุนสาธารณูปโภคตามราย ละเอียดทีก่ ำ� หนดไว้ในสัญญา) โดยค�ำนึงถึงต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ จริงด้วย และส�ำหรับทีด่ นิ ส่วนทีเ่ หลือจ�ำนวนประมาณ 29 ไร่ บริษทั ฯอยูร่ ะหว่างการแบ่งแยกโฉนดและเตรียมการโอนกรรมสิทธิ์ ซึง่ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน ไตรมาสแรกของ ปี 2554 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้นำ� ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้างในโครงการซึง่ มีมลู ค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 7,149.9 ล้านบาท (2552: 6,435.1 ล้านบาท) ไปจดจ�ำนองไว้กับสถาบันการเงินเพื่อ เป็นหลักประกันวงเงินสินเชื่อ การค�้ำประกันและหุ้นกู้ ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกโอนที่ดินรอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์เป็นจ�ำนวนเงิน 563.3 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 133.0 ล้านบาท) ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้รวมต้นทุนการกู้ยืมเข้าเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์เป็นจ�ำนวน 135.1 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 83.4 ล้านบาท) (2552: 142.1 ล้านบาท (งบ การเงินเฉพาะกิจการ: 118.5 ล้านบาท)) โดยมีอตั ราการตัง้ ขึน้ เป็นทุนเท่ากับร้อยละ 5.75 ถึงร้อยละ 7.25 ต่อปี (2552: ร้อยละ 5.00 ถึงร้อยละ 7.30 ต่อปี)

11. เงินฝากที่ติดภาระค�้ำประกัน

124

ยอดคงเหลือนี้ คือเงินฝากประจ�ำซึ่งบริษัทฯได้น�ำไปค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อ

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


12. เงินลงทุนในบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ บริษัท

บริษทั เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด บริษทั เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (เดิมชือ่ “บริษทั เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด”) บริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด บริษทั เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ช็อปปิง้ มอลล์ จ�ำกัด บริษทั เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด รวม

(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนเรียกช�ำระแล้ว ราคาทุน 2553 2552 2553 2552 ล้าน ล้าน 1,200.0 1,000.0 738,459,056 538,459,056 1.0 500.0 150.7 1,000.0

1.0 999,400 999,400 1.0 499,999,400 999,400 1.0 150,699,500 599,500 - 507,000,000 1,897,157,356 541,057,356

เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2553 บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด ได้จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด” ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 และ 22 มกราคม 2553 ได้มีมติที่ส�ำคัญดัง ต่อไปนี้ ก) อนุมตั ใิ ห้เพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด จากเดิม 1 ล้านบาท (หุน้ สามัญ จ�ำนวน 10,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท) เป็น 500 ล้านบาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 5 ล้านหุน้ มูลค่าที่ ตราไว้หนุ้ ละ 100 บาท) ซึง่ เป็นการเพิม่ ทุนโดยบริษทั ฯทัง้ หมด (บริษทั ฯได้ดำ� เนินการเพิม่ ทุนดังกล่าวเรียบร้อย แล้วในเดือนมีนาคม 2553) ข) อนุมัติให้บริษัทฯด�ำเนินการซื้อหุ้นที่เหลือทั้งหมดของบริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด ที่ถือโดย บริษัทแห่งหนึ่ง ในราคา 400,000 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 4,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) ซึ่งภายหลัง จากการซื้อหุ้นข้างต้น บริษัทฯจะมีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 59.99 เป็นร้อยละ 100.00 (บริษทั ฯได้ดำ� เนินการซือ้ หุน้ ดังกล่าวเรียบร้อยแล้วในเดือนเมษายน 2553) และบริษทั ฯได้บนั ทึกส่วน เกินซึง่ เกิดจากการซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อยเพิม่ เติมในราคาทีส่ งู กว่ามูลค่าตามบัญชีของบริษทั ย่อย ณ วันที่ ซื้อจ�ำนวนเงิน 5.9 ล้านบาท ไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้นภายใต้หัวข้อ “ส่วนเกินของเงินลงทุนในบริษัทย่อยซึ่งเกิด จากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มเติมในราคาที่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีของบริษัทย่อย ณ วันที่ซื้อ” ค) อนุมตั ใิ ห้เพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั เซ็นเตอร์พอ้ ยท์ ช็อปปิง้ มอลล์ จ�ำกัด จากเดิม 1 ล้านบาท (หุน้ สามัญ จ�ำนวน 10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) เป็น 500 ล้านบาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 5 ล้านหุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) ซึ่งเป็นการเพิ่มทุนโดยบริษัทฯทั้งหมด (บริษัทฯได้ช�ำระค่าหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวตาม มูลค่าที่เรียกช�ำระ (ร้อยละ 30) เรียบร้อยแล้วในเดือนเมษายน 2553) ง) อนุมตั ใิ ห้เพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด จากเดิม 1,000 ล้านบาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 100 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 บาท) เป็น 1,200 ล้านบาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 120 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ รา ไว้หนุ้ ละ 10 บาท) ซึง่ เป็นการเพิม่ ทุนโดยบริษทั ฯทัง้ หมด(บริษทั ฯได้ดำ� เนินการเพิม่ ทุนดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ในเดือนมีนาคม 2553) บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2552 บริษัทฯได้ท�ำสัญญาซื้อขายหุ้นกับผู้ถือหุ้นของบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด (“ผู้ขาย”) เพื่อซื้อหุ้นทั้งหมดของบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ จ�ำกัด (“เรสซิเดนท์ฯ”) จ�ำนวน 6 ล้านหุ้น ใน ราคา 484 ล้านบาท บริษัทฯได้จ่ายเงินมัดจ�ำการซื้อหุ้นดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงิน 60 ล้านบาท เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2553 บริษัทฯได้ท�ำบันทึกข้อตกลงแก้ไขสัญญาซื้อขายหุ้นกับผู้ขาย โดย เรสซิเดนท์ฯ จะท�ำการเพิม่ ทุนจาก 600 ล้านบาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 6 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท) เป็น 1,000 ล้านบาท

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

125


(หุ้นสามัญจ�ำนวน 10 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) โดยเสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นเดิม บริษัทฯตกลงที่จะซื้อหุ้น ดังกล่าวหลังจากการเพิม่ ทุนแล้วทัง้ หมดจ�ำนวน 10 ล้านหุน้ ในราคา 507 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดการช�ำระค่าหุน้ ดังนี้ ก) เงินสดจ�ำนวน 277 ล้านบาท ช�ำระภายในวันโอนกรรมสิทธิ์ ข) ตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 170 ล้านบาท แบ่งเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 50 ล้านบาทช�ำระภายในเดือน มิถุนายน 2553 (บริษัทฯได้จ่ายช�ำระตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าวแล้ว) และตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 120 ล้าน บาทช�ำระภายในเดือนมีนาคม 2554 (บริษัทฯได้จ่ายช�ำระในเดือนกรกฎาคม 2553 เป็นจ�ำนวน 5 ล้านบาท และในเดือนพฤศจิกายน 2553 เป็นจ�ำนวน 40 ล้านบาท) ค) เงินมัดจ�ำการซื้อหุ้นจ�ำนวน 60 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 บริษัทฯได้รับโอนกรรมสิทธิ์ของหุ้นดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ดังนั้นบริษัทฯได้ รวมงบการเงินของเรสซิเดนท์ฯในการจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม 2553 มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินที่ระบุได้ ณ วันที่ซื้อและได้รับเงินลงทุนในบริษัทย่อยดังกล่าว ปรากฎดังนี้

(หน่วย: บาท) 19,818,461 315,594,301 164,394,441 7,200,054 (7,257) 507,000,000 (75,000,000) (60,000,000) 372,000,000 (19,818,461) 352,181,539

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ - สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์สุทธิ หัก: ออกตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย หัก: เงินมัดจ�ำการซื้อหุ้น เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย หัก: เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทย่อย เงินสดจ่ายสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย

13. เงินลงทุนในบริษัทร่วม 13.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม งบการเงินรวม

(หน่วย: บาท)

จัดตั้งขึ้น ส่วนแบ่งก�ำไร ใน มูลค่าตามบัญชี จากเงินลงทุนในบริษัท บริษัท ลักษณะธุรกิจ ประเทศ สัดส่วนเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย ร่วมในระหว่างปี 2553 2552 2553 2552 2553 2552 ร้อยละ ร้อยละ บริษัท กรุงเทพบ้านและ พัฒนา ที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) อสังหาริมทรัพย์ ไทย 20.22 20.22 477,622,798 419,736,574 57,886,223 2,998,095 รวม 477,622,798 419,736,574 57,886,223 2,998,095

126

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


บริษัท

ลักษณะธุรกิจ

บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด พัฒนา (มหาชน) อสังหาริมทรัพย์ รวม

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ ไทย

งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดส่วนเงินลงทุน 2553 2552 ร้อยละ ร้อยละ 20.22 20.22

2553

(หน่วย: บาท)

ราคาทุน

2552

359,999,240

359,999,240

359,999,240

359,999,240

13.2 ข้อมูลทางการเงินของบริษัทร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษัทร่วมโดยสรุปมีดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

บริษัท

บริษัท กรุงเทพบ้านและ ที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน)

ทุนเรียกช�ำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

รายได้รวมส�ำหรับ ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี ปีสิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม

2553

2552

2553

2552

2553

2552

2553

2552

1,780

1,780

6,864

7,800

3,928

4,990

2,077

2,106

2553 108

2552 96

บริษัทฯได้รับรู้ส่วนแบ่งผลก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม หลังจากปรับปรุงก�ำไรของบริษัทร่วม เนื่องจาก ผลแตกต่างของนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการรับรู้รายได้หน่วยในอาคารชุดพักอาศัย เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2551 บริษัท กรุงเทพบ้านและที่ดิน จ�ำกัด (มหาชน) (“กรุงเทพบ้านฯ”) ได้ออก หุ้นกู้แปลงสภาพ ชนิดระบุชื่อผู้ถือและไม่มีหลักประกัน ระยะเวลา 5 ปี จ�ำนวน 188,806 หน่วย มูลค่าหน่วย ละ 100 เหรียญสหรัฐอเมริกา มูลค่ารวม 18,880,600 เหรียญสหรัฐอเมริกา ให้แก่บริษัทต่างประเทศแห่ง หนึ่ง ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของกรุงเทพบ้านฯครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 ตามเงือ่ นไขของหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ จะท�ำการจ่ายดอกเบีย้ เฉพาะในปีทกี่ รุงเทพบ้านฯ มีการประกาศจ่าย เงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยจะท�ำการจ่ายดอกเบี้ยทุก 6 เดือนในอัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปีหรือใน อัตราเงินปันผลตอบแทนตามเงื่อนไขของหุ้นกู้แปลงสภาพ (แล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า) หุ้นกู้แปลงสภาพนี้ ครบก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 31 มกราคม 2556 โดยเริม่ ใช้สทิ ธิแปลงสภาพได้ทกุ 3 เดือน ภายหลังจากการน�ำ หุ้นของกรุงเทพบ้านฯเข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือ ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ หรือครบรอบ 1 ปี นับแต่วันออกหุ้นกู้แปลงสภาพ (แล้วแต่ระยะเวลาใดจะถึง ก่อน) ทีร่ าคาแปลงสภาพ 13.85 บาท ต่อ 1 หุน้ สามัญ โดยมูลค่าการไถ่ถอนหุน้ กูแ้ ปลงสภาพทีค่ งค้างต่อหน่วย เท่ากับ 1.311651 เท่าของมูลค่าทีต่ ราไว้ของหุน้ กูแ้ ปลงสภาพต่อหน่วยทีเ่ ทียบเท่ากับเงินบาท ในกรณีทกี่ รุงเท พบ้านฯไม่มกี ารช�ำระดอกเบีย้ แก่ผถู้ อื หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ ทัง้ นีม้ ลู ค่าการไถ่ถอนดังกล่าวอาจมีการเปลีย่ นแปลง ขึ้นอยู่กับการจ่ายดอกเบี้ยในระหว่างอายุของหุ้นกู้แปลงสภาพ

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

127


14. เงินลงทุนระยะยาวอื่น

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

เงินลงทุนเผื่อขาย หน่วยลงทุนในกองทุนรวม หัก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า เงินลงทุนเพื่อค้า ตราสารทุนในความต้องการของตลาดในประเทศ หัก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า เงินลงทุนทั่วไป ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดในประเทศ รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ

15. ที่ดินรอการพัฒนา

ต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ต้นทุนงานก่อสร้าง ดอกเบี้ยที่ถือเป็นต้นทุน รวม

54,055,470 (3,548,690) 50,506,780

53,613,050 (4,750,330) 48,862,720

1,800,000 (1,058,900) 741,100

1,800,000 (1,211,560) 588,440

4,275,000 4,275,000 55,522,880

4,275,000 4,275,000 53,726,160

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 6,992,078,007 5,147,311,175 5,785,576,691 4,239,195,435 149,235,579

118,096,031

145,337,859

116,433,096

20,059,168

17,449,523

20,059,168

17,449,523

478,378,519

487,540,431

478,378,519

487,540,431

7,639,751,273 5,770,397,160 6,429,352,237 4,860,618,485

หัก: จ�ำนวนสะสมทีโ่ อนเป็นต้นทุนขาย (350,701,624) (350,701,624) (350,701,624) (350,701,624) ที่ดินที่โอนเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (1,540,946,166) (1,540,946,166) (1,540,946,166) (1,540,946,166) ที่ดินที่โอนเพื่อการจ่ายช�ำระหนี้ตาม แผนฟื้นฟู

(151,117,368) (151,117,368) (151,117,368) (151,117,368) 5,596,986,115 3,727,632,002 4,386,587,079 2,817,853,327

หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่าของโครงการ

(104,000,946) (103,990,228) (108,992,523) (103,990,228)

ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ

5,492,985,169 3,623,641,774 4,277,594,556 2,713,863,099

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้จดจ�ำนองทีด่ นิ ซึง่ มีมลู ค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจ�ำนวนเงิน ประมาณ 3,901.5 ล้านบาท (2552: 2,491.7 ล้านบาท) ไปจดจ�ำนองไว้กบั สถาบันการเงินเพือ่ เป็นหลักประกันวงเงิน สินเชื่อ การค�้ำประกันและหุ้นกู้ ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกโอนที่ดินรอการพัฒนาเป็นต้นทุนการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์เป็นจ�ำนวนเงิน 563.3 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 133.0 ล้านบาท)

128

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


16. เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

งบการเงินรวม 2553 2552 128,775,752 476,159,648

เพิ่มขึ้นในระหว่างปี

509,497,698

รับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินในระหว่างปี

(83,632,050) (459,437,448)

โอนเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินให้ บริษัทย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

112,053,552

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 79,020,752 388,904,213 339,411,448

63,798,552

(63,882,050) (373,682,013)

-

-

(6,000,000)

-

554,641,400

128,775,752

348,550,150

79,020,752

ยอดคงเหลือของเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดินจ�ำนวนเงินประมาณ 423.7 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 262.1 ล้านบาท) เป็นเงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่เจ้าของทีด่ นิ หลายรายตามสัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ ซึง่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยและตัวแทนในการรวบรวมซื้อที่ดินลงนามร่วมกับเจ้าของที่ดินเหล่านั้น ส�ำหรับเงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ ทีด่ นิ ส่วนทีเ่ หลือจ�ำนวนเงินประมาณ 130.9 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 86.5 ล้านบาท) เป็นเงินที่บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายล่วงหน้าให้กับตัวแทนในการรวบรวมซื้อที่ดิน (จ�ำนวน 90.1 ล้านบาท จ่ายให้กบั ตัวแทนในการรวบรวมซือ้ ทีด่ นิ ซึง่ เป็นพนักงานของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย) และอยูใ่ นระหว่างการ ลงนามในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับเจ้าของที่ดิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินที่ลงนามเรียบร้อยแล้วเป็น จ�ำนวนเงินประมาณ 2,658.5 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1,735.2 ล้านบาท)

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

129


130

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่ม โอนไปต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ จ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2553 ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้นในระหว่างปี ตัดจ�ำหน่ายในระหว่างปี 31 ธันวาคม 2553 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปีซึ่งรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2552 2553

17. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

286,117,880 2,150,487 (4,771,510) 10,218,573 293,715,430 87,820,180 30,092,001 (1,739,790) 116,172,391 3,031,720 3,703,328 (3,031,720) 3,703,328 195,265,980 173,839,711

1,112,160 5,396,411 (1,112,160) 5,396,411 59,494,469 54,098,058

อาคารส�ำนักงาน และสโมสร

60,606,629 (1,112,160) 59,494,469

ที่ดิน

58,221,914 65,668,355

-

120,796,311 24,431,991 (4,349,242) 140,879,060

179,018,225 31,457,368 (4,862,610) 934,432 206,547,415

เครื่องตกแต่ง และ เครื่องใช้ ส�ำนักงาน และสโมสร

7,263,007 5,304,629

-

32,524,120 2,181,938 34,706,058

39,787,127 223,560 40,010,687

ยานพาหนะ

งบการเงินรวม

15,415,975 4,516,807

-

-

15,415,975 2,662,831 (2,408,994) (11,153,005) 4,516,807

งานระหว่าง ก่อสร้าง

6,032,536 8,586,267

-

34,615,235 2,939,891 (1,537,589) 36,017,537

40,647,771 5,493,623 (1,537,590) 44,603,804

อื่น ๆ

63,170,862 59,645,821

341,693,881 312,013,827

4,143,880 9,099,739 (4,143,880) 9,099,739

275,755,846 59,645,821 (7,626,621) 327,775,046

621,593,607 41,987,869 (2,408,994) (12,283,870) 648,888,612

รวม

(หน่วย: บาท)


รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

131

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่ม โอนไปต้นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ จ�ำหน่าย โอนเข้า (ออก) 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2553 ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้นในระหว่างปี ตัดจ�ำหน่ายในระหว่างปี 31 ธันวาคม 2553 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปีซึ่งรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2552 2553 243,765,655 (4,771,510) 10,218,572 249,212,717 77,695,818 26,157,320 (1,739,790) 102,113,348 3,031,720 3,703,328 (3,031,720) 3,703,328 163,038,117 143,396,041

60,606,629 (1,112,160) 59,494,469 1,112,160 5,396,411 (1,112,160) 5,396,411 59,494,469 54,098,058

ที่ดิน

อาคารส�ำนักงาน และสโมสร

45,964,296 46,006,319

-

107,909,050 18,675,141 (3,864,298) 122,719,893

153,873,346 19,035,121 (4,354,117) 171,862 168,726,212

เครื่องตกแต่ง และ เครื่องใช้ ส�ำนักงาน และสโมสร

2,312,669 1,563,832

-

31,141,270 962,837 32,104,107

33,453,939 214,000 33,667,939

ยานพาหนะ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

14,161,323 3,687,177

-

-

14,161,323 2,325,282 (2,408,994) (10,390,434) 3,687,177

งานระหว่าง ก่อสร้าง

5,705,396 3,726,331

-

26,688,433 2,513,964 (1,537,589) 27,664,808

32,393,829 534,900 (1,537,590) 31,391,139

อื่น ๆ

53,965,841 48,309,262

290,676,270 252,477,758

4,143,880 9,099,739 (4,143,880) 9,099,739

243,434,571 48,309,262 (7,141,677) 284,602,156

538,254,721 22,109,303 (2,408,994) (11,775,377) 546,179,653

รวม

(หน่วย: บาท)


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จ�ำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมด แล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีกอ่ นหักค่าเสือ่ มราคาสะสมและค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ดงั กล่าวมีจำ� นวน เงินประมาณ 145.5 ล้านบาท (2552: 105.4 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 132.4 ล้านบาท (2552: 94.3 ล้าน บาท)

18. สิทธิการเช่า/สิทธิการเช่ารอการขาย ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้น 31 ธันวาคม 2553 ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม 31 ธันวาคม 2552 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2553 ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 2552 (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2553 (5.3 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ ในค่าใช้จ่าย ในการบริหาร)

งบการเงินรวม

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

346,767,125 64,033,319 410,800,444

92,000,000 92,000,000

39,118,147 8,526,938 47,645,085

39,118,147 3,211,095 42,329,242

189,843,897 189,843,897

-

117,805,081 173,311,462

52,881,853 49,670,758

3,211,095

3,211,095

8,526,938

3,211,095

ยอดคงเหลือดังกล่าวประกอบด้วยสิทธิการเช่าที่ดินจ�ำนวนประมาณ 11ไร่ ซึ่งบริษัทฯได้น�ำสิทธิการเช่าส่วน หนึง่ จ�ำนวนประมาณ 4 ไร่ ไปให้เช่าช่วงกับผูเ้ ช่าช่วงรายอืน่ โดยมีอายุสญ ั ญาเช่าช่วงตามอายุสญ ั ญาเช่าทีด่ นิ ทีเ่ หลืออยู่ โดยผูเ้ ช่าช่วงได้จา่ ยช�ำระค่าเช่าล่วงหน้าจ�ำนวนหนึง่ และจ่ายช�ำระค่าเช่ารายปีตามอัตราทีก่ ำ� หนดในสัญญา บริษทั ฯ รับรู้ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าจากผู้เช่าช่วงเป็นรายได้ตามอายุของสัญญาให้เช่าช่วง เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 บริษัทฯได้ท�ำสัญญาโอนสิทธิการเช่าที่ดินให้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นจ�ำนวน เงิน 200 ล้านบาท โดยช�ำระ ณ วันท�ำสัญญาเป็นจ�ำนวน 80 ล้านบาท ส่วนที่เหลือบริษัทย่อยดังกล่าว จะช�ำระให้แก่ บริษัทฯภายในวันจดทะเบียนโอนสิทธิการเช่า เมือ่ วันที่ 27 มิถนุ ายน 2551 บริษทั ฯได้ทำ� สัญญาแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาโอนสิทธิการเช่าทีด่ นิ ดังกล่าว โดยบริษทั ย่อยจะช�ำระเงินส่วนทีเ่ หลือให้แก่บริษทั ฯภายในวันจดทะเบียนโอนสิทธิการเช่า ซึง่ ก�ำหนดไว้ไม่เกินวันที่ 30 กันยายน 2552 และเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2552 ได้แก้ไขเพิ่มเติมโดยเลื่อนออกไปเป็นไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ต่อมาที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 ได้มีมติอนุมัติให้ยกเลิกสัญญาโอนสิทธิ การเช่าที่ดินดังกล่าว และคืนเงินจ�ำนวน 80 ล้านบาท ให้กับกรรมการของบริษัทย่อย และอนุมัติให้บริษัทฯโอนสิทธิ การเช่าที่ดินดังกล่าวให้กับบริษัทย่อยดังกล่าว ในราคา 65 ล้านบาท บริษัทฯได้โอนสิทธิการเช่าที่ดินดังกล่าวให้กับ บริษทั ย่อยแล้วในเดือนเมษายน 2553 พร้อมทัง้ ต่อสัญญากับผูใ้ ห้เช่าออกไปจนถึงปี 2579 ซึง่ มีคา่ ตอบแทนการขยาย สัญญาเช่าเป็นจ�ำนวน 60 ล้านบาทและค่าเช่าตลอดอายุสัญญาเช่าที่ขยายออกไปเป็นจ�ำนวน 126.3 ล้านบาท

132

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


19. เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน

บริษทั ย่อยได้ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินเพือ่ ช�ำระค่าทีด่ นิ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ให้กบั เจ้าของทีด่ นิ ซึง่ เป็นตัวแทนในการ รวบรวมซื้อที่ดินของบริษัทย่อย โดยมีก�ำหนดช�ำระเงินไม่เกินวันที่ 4 มีนาคม 2553 และไม่คิดดอกเบี้ย ตั๋วสัญญาใช้ เงินดังกล่าวถูกอาวัลโดยสถาบันการเงินแห่งหนึง่ โดยมีทดี่ นิ บางส่วนของบริษทั ย่อยเป็นหลักประกันและบริษทั ฯให้การ ค�้ำประกันแก่สถาบันการเงินดังกล่าว ในระหว่างปีปัจจุบันบริษัทย่อยได้ช�ำระตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว บริษทั ฯได้ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินจ�ำนวน 170 ล้านบาทเพือ่ ซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อยตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 12 แบ่งเป็นตัว๋ สัญญาใช้เงินจ�ำนวน 120 ล้านบาทช�ำระภายในเดือนมีนาคม 2554 (ในระหว่าง ปีปัจจุบัน บริษัทฯได้จ่ายช�ำระตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นจ�ำนวน 45 ล้านบาท) และตั๋วสัญญาใช้เงินจ�ำนวน 50 ล้านบาท ช�ำระภายในเดือนมิถุนายน 2553 (ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้จ่ายช�ำระตั๋วสัญญาใช้เงินดังกล่าวแล้ว) ณ วันที่ 31 ธันวามคม 2553 บริษัทฯมียอดคงเหลือของตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นจ�ำนวน 75 ล้านบาท

20. เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน

ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 ได้มีมติอนุมัติก�ำหนดให้ตั๋วแลกเงินที่ ออกโดยบริษัทฯมีมูลค่าไม่เกิน 3,000 ล้านบาท ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ตั๋วแลกเงินดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.6 - 5.0 ต่อปี และจะครบก�ำหนดช�ำระภายในเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมิถุนายน 2554

21. หุ้นกู้

หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันของบริษัทย่อย หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2552 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2552 ชุดที่ 1 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2552 ชุดที่ 2 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2553 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2553 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 2/2553 หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 3/2553 หุ้นกู้ชนิดไม่มีหลักประกันออกครั้งที่ 4/2553 รวม หัก: ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ - สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี

งบการเงินรวม 2553 2552 187,150 506,776 300,000 300,000 800,000 800,000 1,478,215 500,000 1,000,000 1,000,000 1,500,000 6,578,215 1,793,926 (800,000) (187,150) 5,778,215 1,606,776

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 506,776 300,000 300,000 800,000 800,000 1,478,215 500,000 1,000,000 1,000,000 1,500,000 6,578,215 1,606,776 (800,000) 5,778,215 1,606,776

บริษัทฯ ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2549 และวันที่ 30 เมษายน 2551 ได้มีมติ อนุมัติให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้มีหลักประกันหรือไม่มีหลักประกันภายในวงเงินไม่เกิน 3,200 ล้านบาท บริษัทฯได้ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ภายใต้มติดังกล่าว ดังนี้ - เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2552 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้มีหลักประกันครั้งที่ 1/2552 จ�ำนวน 520,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 520 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 3 มิถุนายน 2555 และมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6 ต่อปี หุ้นกู้ดังกล่าวถูกค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างใน โครงการบางส่วนของบริษทั ฯและสถาบันการเงินแห่งหนึง่ ในวงเงิน 260 ล้านบาท ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษทั ฯ ได้ไถ่ถอนหุ้นกู้ดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

133


-

-

-

ก) ข) - -

-

-

เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2552 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้มีหลักประกันครั้งที่ 2/2552 ชุดที่ 1 จ�ำนวน 300,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 300 ล้านบาท โดยมีกำ� หนดไถ่ถอนในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 และมีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.85 ต่อปี หุน้ กูด้ งั กล่าวถูกค�ำ้ ประกันโดยการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูก สร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2552 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้มีหลักประกันครั้งที่ 2/2552 ชุดที่ 2 จ�ำนวน 800,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 800 ล้านบาท โดยมีกำ� หนดไถ่ถอนในวันที่ 14 สิงหาคม 2555 และมีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 6 ต่อปี หุน้ กูด้ งั กล่าวถูกค�ำ้ ประกันโดยการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้าง ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 บริษทั ฯได้ออกและเสนอขายหุน้ กูม้ หี ลักประกันครัง้ ที่ 1/2553จ�ำนวน 1,500,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 1,500 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2556 และมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.9 ต่อปี หุ้นกู้ดังกล่าวถูกค�้ำประกันโดยหนังสือค�้ำประกันของสถาบันการ เงินแห่งหนึ่งในวงเงิน 975 ล้านบาท ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2553 ได้มีมติดังต่อไปนี้ อนุมัติให้ยกเลิกการออกและเสนอขายหุ้นกู้ในส่วนที่เหลือจ�ำนวน 80 ล้านบาท ตามที่เคยได้รับอนุมัติจากที่ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2551 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2551 อนุมตั ใิ ห้ออกและเสนอขายหุน้ กูม้ หี ลักประกันหรือไม่มหี ลักประกันภายในวงเงินไม่เกิน 4,000 ล้านบาท และ/ หรือในเงินสกุลอื่นในจ�ำนวนที่เทียบเท่า ในระหว่างปี 2553 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ เมือ่ วันที่ 26 สิงหาคม 2553 บริษทั ฯได้ออกและเสนอขายหุน้ กูไ้ ม่มหี ลักประกันครัง้ ที่ 1/2553จ�ำนวน 500,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 500 ล้านบาท โดยมีกำ� หนดไถ่ถอนในวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 และมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.65 ต่อปี เมือ่ วันที่ 9 กันยายน 2553 บริษทั ฯได้ออกและเสนอขายหุน้ กูม้ หี ลักประกันครัง้ ที่ 2/2553 จ�ำนวน 1,000,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 1,000 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 9 มีนาคม 2555 และมีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 5.5 ต่อปี หุน้ กูด้ งั กล่าวถูกค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างใน โครงการบางส่วนของบริษัทฯและบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้มีหลักประกันครั้งที่ 3/2553จ�ำนวน 1,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 1,000 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 และมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.8 ต่อปี หุ้นกู้ดังกล่าวถูกค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูก สร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่มีหลักประกันครั้งที่ 4/2553 จ�ำนวน 1,500,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 1,500 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2555 และมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6.5 ต่อปี

ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นกู้ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2553 มีมติอนุมัติให้เปลี่ยนวันครบก�ำหนดของ หุ้นกู้ชนิดมีหลักประกันออกครั้งที่ 1/2552 จากเดิมวันที่ 3 มิถุนายน 2555 เป็นวันที่ 3 กันยายน 2553 ซึ่งในระหว่างปี ปัจจุบัน บริษัทฯได้ไถ่ถอนหุ้นกู้พร้อมกับได้ไถ่ถอนหลักประกันของหุ้นกู้ดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว บริษัทย่อย เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2551 บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด (“ไบรท์ฯ”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบ ริษทั ฯได้ออกและเสนอขายหุน้ กูม้ ปี ระกันจ�ำนวน 462,150 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวม 462,150,000 บาท ให้กบั สถาบันการเงินแห่งหนึง่ ตามทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของไบรท์ฯเมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2550 หุ้นกู้ดังกล่าวมีก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 และมีอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่าง ในอัตราร้อยละ 5.55256 ต่อปี และ ค�้ำประกันโดยบริษัทฯและการจดจ�ำนองที่ดนิ พร้อมสิ่งปลูกสร้างในโครงการบาง ส่วนของบริษัทฯและไบรท์ฯและการจ�ำน�ำหุ้นสามัญของไบรท์ฯที่ถือโดยบริษัทฯ

134

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2552 ไบรท์ฯได้ท�ำสัญญาแก้ไขรายละเอียดของหุ้นกู้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง โดยมีก�ำหนดไถ่ถอนพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายงวดและจะต้องช�ำระทั้งหมดภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 และมีอัตรา ดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่างในอัตราร้อยละ 8.55256 ต่อปี จนถึงเดือนพฤศจิกายน 2552 และอัตราดอกเบี้ย THBFIX บวกด้วยส่วนต่างในอัตราร้อยละ 10.05256 ต่อปีในระหว่างเดือนธันวาคม 2552 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด ได้ไถ่ถอนหุ้นกู้ พร้อมกับได้ไถ่ถอนหลัก ประกันของหุ้นกู้ดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว หุ้นกู้มีข้อปฏิบัติและข้อจ�ำกัดบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อย

22. เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู

ในระหว่างปี 2552 บริษัทฯได้จ่ายช�ำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้เป็นจ�ำนวนเงิน 229 ล้านบาท ส�ำหรับเจ้าหนี้ส่วนที่ เหลือจ�ำนวนเงิน 37 ล้านบาท อยู่ในระหว่างการด�ำเนินการเพื่อให้เจ้าหนี้สามารถรับช�ำระหนี้จากบริษัทฯได้

23. หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ

เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 บริษัทฯได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจ�ำนวน 200,000 หน่วย มูลค่าหน่วยละ 100 เหรียญสหรัฐฯมูลค่ารวม 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ให้กับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง ตาม ที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 โดยเริ่มใช้สิทธิแปลงสภาพได้ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2550 และจะครบก�ำหนดไถ่ถอนในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 หุน้ กูด้ งั กล่าวมีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 3.50 ต่อปี โดยใช้อตั ราแปลงสภาพ 1 หุน้ กูต้ อ่ 658.4 หุน้ สามัญ หรือคิดเป็นราคาหุน้ ละ 6.25 บาท ส�ำหรับหุน้ กูส้ ว่ นทีไ่ ม่ได้ ใช้สิทธิแปลงสภาพจะช�ำระคืนเป็นจ�ำนวน 131.60 เหรียญสหรัฐฯต่อหน่วย โดยก�ำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้ที่ 41.15 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ซึง่ บริษทั ฯได้บนั ทึกส�ำรองส�ำหรับหุน้ กูส้ ว่ นทีไ่ ม่ได้ใช้สทิ ธิแปลงสภาพตามอายุของหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ย สิทธิแปลงสภาพ โดยแยกแสดงเป็นรายการต่างหากไว้ภายใต้หัวข้อ “ประมาณการหนี้สิน” ในงบดุล ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษทั ฯได้ไถ่ถอนหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพเรียบร้อยแล้วทัง้ จ�ำนวน พร้อมทัง้ ปรับปรุง บัญชีหนุ้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบทีเ่ ป็นทุนจ�ำนวน 23,535,270 บาท เป็นส่วนเกินมูลค่าหุน้ โดยบันทึก สุทธิจากส่วนต�ำ่ มูลค่าหุน้ ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบดุล (ตามรายละเอียดทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 26) เมือ่ วันที่ 20 มิถนุ ายน 2551 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2551 ได้มมี ติทเี่ กีย่ วกับหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลง สภาพดังนี้ ก) อนุมัติให้บริษัทฯยกเลิกการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพจ�ำนวน 15 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามทีเ่ คยได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2548 เมือ่ วันที่ 19 กันยายน 2548 (บริษทั ฯได้รบั อนุมตั ใิ ห้ออกและเสนอขายหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพทัง้ หมดจ�ำนวน 35 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึง่ บริษทั ฯได้ ออกเรียบร้อยแล้วเป็นจ�ำนวน 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น) ข) อนุมตั ใิ ห้ออกและเสนอขายหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพไม่มหี ลักประกัน มูลค่าไม่เกิน 30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเท่าเงินบาทมูลค่าไม่เกิน 1,000 ล้านบาทโดยมีรายละเอียดดังนี้ อายุ : ไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ มูลค่าต่อหน่วย : 100,000 เหรียญสหรัฐฯ อัตราดอกเบี้ย : ไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี ราคาแปลงสภาพ : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 110 ของราคาปิดเฉลี่ยของหุ้นของบริษัทฯในระหว่าง 7-15 วันท�ำการติดต่อกันก่อนวันเสนอขายแต่ตอ้ งไม่ตำ�่ กว่าหุน้ ละ 6.50 บาท วิธีการจัดสรร : ผูล้ งทุนประเภทสถาบันในต่างประเทศหรือผูล้ งทุนประเภทสถาบันในประเทศ อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารของบริษัทฯมีอ�ำนาจในการก�ำหนดหรือแก้ไขรายละเอียดวิธีการและเงื่อนไขอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพตามความเหมาะสม เช่น ราคาเสนอขาย อัตราการ แปลงสภาพ มูลค่าต่อหน่วย อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการใช้สิทธิแปลงสภาพ วันสิ้นสุดการแปลงสภาพ และราคา ไถ่ถอน ปัจจุบัน บริษัทฯยังไม่ได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพดังกล่าวแต่อย่างใด

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

135


136

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

ยอดคงเหลือ 2553 2552 อัตราดอกเบี้ยต่อปี เงื่อนไขการช�ำระคืนเงินต้น (ล้านบาท) 113.1 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 65 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงิน ที่บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคาร บริษัทฯได้ช�ำระคืนเงินกู้ยืมนี้แล้ว ทั้งจ�ำนวนในปี 2553 17.3 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราร้อยละ 65 ขั้นต�่ำ (MLR) ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ�่ กว่าจ�ำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯได้แจ้ง ไว้กบั ธนาคาร บริษทั ฯได้ชำ� ระคืนเงินกูย้ มื นีแ้ ล้วทัง้ จ�ำนวนในปี 2553

20.7 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ขั้นต�่ำ (MLR)

160.9 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ขั้นต�่ำ (MLR)

-

-

-

6) วงเงิน 1,578 ล้านบาท

7) วงเงิน 201 ล้านบาท

8) วงเงิน 317 ล้านบาท

78.7 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.00 - 7.25 ต่อปี

389.7 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ขั้นต�่ำ (MLR) 35.5 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ขั้นต�่ำ (MLR)

115.4 305.3 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ขั้นต�่ำ (MLR)

-

4) วงเงิน 160 ล้านบาท

5) วงเงิน 481 ล้านบาท

-

3) วงเงิน 1,501 ล้านบาท

2) วงเงิน 1,186 ล้านบาท

1) วงเงิน 464 ล้านบาท

ค�้ำประกันโดยกรรมการของบริษัทฯ และการจด จ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างในโครงการบางส่วน ของบริษัทฯ

หลักประกันเงินกู้ยืม

ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั อืน่ และกรรมการของบริษทั ฯและ การจดจ�ำนองทีด่ นิ ของบริษทั ฯและทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูก สร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯและหุ้นของ บริษทั ฯทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ รายหนึง่ และหุน้ ของบริษทั อืน่ ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านทาวน์เฮ้าส์แต่ละ ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง หลังในอัตราร้อยละ 80 ของราคาขาย บริษัทฯได้ช�ำระคืนเงินกู้ยืม ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ นี้แล้วทั้งจ�ำนวนในปี 2553 ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราร้อยละ 75 ค�ำ้ ประกันโดยกรรมการของบริษทั ฯและการจดจ�ำนอง ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ตำ�่ กว่าจ�ำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯได้แจ้ง ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษทั ฯ ไว้กบั ธนาคาร บริษทั ฯได้ชำ� ระคืนเงินกูย้ มื นีแ้ ล้วทัง้ จ�ำนวนในปี 2553 ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ร้อยละ 65 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงินที่ ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ บริษทั ฯได้แจ้งไว้กบั ธนาคารและช�ำระคืนส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมดภายใน เดือนพฤษภาคม 2556 ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราร้อยละ 80 ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ของราคาขาย บริษทั ฯได้ชำ� ระคืนเงินกูย้ มื นีแ้ ล้วทัง้ จ�ำนวนในปี 2553 ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านพร้อมบ้านในอัตรา ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ร้อยละ 70 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงิน ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ ที่บริษัทฯได้แจ้งไว้กับธนาคาร บริษัทฯได้ช�ำระคืนเงินกู้ยืมนี้แล้ว ทั้งจ�ำนวนในปี 2553 ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ร้อยละ 70 ของราคาขาย บริษัทฯได้ช� ำระคืนเงินกู้ยืมนี้แล้วทั้ง ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ จ�ำนวนในปี 2553

บริษัทฯ เงินกู้ยืมระยะยาวประกอบด้วย เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ 5 แห่ง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

24. เงินกู้ยืมระยะยาว


รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

137

ยอดคงเหลือ 2553 2552 อัตราดอกเบี้ยต่อปี เงื่อนไขการช�ำระคืนเงินต้น (ล้านบาท) 9) วงเงิน 1,000 ล้านบาท 168.9 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองคอนโดมิเนียมในอัตราไม่ต�่ำกว่า ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 70 ของราคาขาย บริษัทฯได้ช� ำระคืนเงินกู้ยืมนี้แล้วทั้ง จ�ำนวนในปี 2553 10) วงเงิน 820 ล้านบาท 278.1 235.0 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมือ่ มีการปลอดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมบ้านในอัตราไม่ตำ�่ กว่าร้อย ขั้นต�่ำ (MLR) ละ 70 ของราคาขายโดยไม่ตำ�่ กว่าจ�ำนวนเงินทีบ่ ริษทั ฯได้แจ้งไว้กบั ธนาคาร และช�ำระคืนส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมดภายในเดือนธันวาคม 2557 11) วงเงิน 358 ล้านบาท 246.4 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.0 ต่อปี ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ร้อยละ 70 ของราคาขาย บริษัทฯได้ช� ำระคืนเงินกู้ยืมนี้แล้วทั้ง จ�ำนวนในปี 2553 12) วงเงิน 360 ล้านบาท 93.5 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านทาวน์เฮ้าส์ในอัตรา ขั้นต�่ำ (MLR) ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 70 ของราคาขาย บริษัทฯได้ช�ำระคืนเงินกู้ยืมนี้ แล้วทั้งจ�ำนวนในปี 2553 13) วงเงิน 900 ล้านบาท 170.0 - อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราร้อยละ 70 ขั้นต�่ำ (MLR) ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงินที่บริษัทฯได้ แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน ตุลาคม 2559 14) วงเงิน 670 ล้านบาท 252.4 - อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 60 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงินที่ บริษทั ฯได้แจ้งไว้กบั ธนาคารและช�ำระคืนส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมดภายใน เดือนสิงหาคม 2555 รวม 815.9 1,865.0 หั ก : ส่ ว นที่ ถึ ง ก� ำ หนดช� ำ ระ - (148.7) ภายในหนึ่งปี สุทธิ 815.9 1,716.3 ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ

ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ

ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ

ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ

ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ

ค�้ำประกันโดยการจดจ�ำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ

หลักประกันเงินกู้ยืม


138

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

เงื่อนไขการช�ำระคืนเงินต้น

หลักประกันเงินกู้ยืม

วงเงิน 19.7 ล้านบาท

วงเงิน 560 ล้านบาท 237.8

วงเงิน 277.5 ล้านบาท 62.8

วงเงิน 260 ล้านบาท 58.3

3)

4)

5)

6)

-

-

-

อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 65 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงิน ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ที่บริษัทย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมด ภายในเดือนเมษายน 2556

อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 70 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงิน ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ที่บริษัทย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมด ภายในเดือนเมษายน 2556

อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 75 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงิน ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ที่บริษัทย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมด ภายในเดือนเมษายน 2557

16.5 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายงวด โดยไม่น้อยกว่างวดละ ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) 900,000 บาท บริษทั ย่อยได้ชำ� ระคืนเงินกูย้ มื นีแ้ ล้วทัง้ จ�ำนวนในปี 2553 ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทฯ

วงเงิน 720 ล้านบาท 293.3 220.0 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราร้อยละ 70 ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงินที่บริษัทย่อย ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน กันยายน 2556

2)

-

วงเงิน 328 ล้านบาท

35.6 อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ค�้ำประกันโดยบริษัทฯและกรรมการของบริษัทย่อย ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 70 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงิน และการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างในโครงการ ที่บริษัทย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคาร บริษัทย่อยได้ช�ำระคืนเงินกู้ยืมนี้ บางส่วนของบริษัทย่อย แล้วทั้งจ�ำนวนในปี 2553

อัตราดอกเบี้ยต่อปี

1)

-

ยอดคงเหลือ 2553 2552 (ล้านบาท)

บริษัทย่อย เงินกู้ยืมระยะยาวประกอบด้วยเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศ 6 แห่ง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้


รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

139

-

-

10) วงเงิน 775 ล้านบาท 150.0

11) วงเงิน 481 ล้านบาท 82.2

สุทธิ

หั ก : ส่ ว นที่ ถึ ง ก� ำ หนดช� ำ ระ ภายในหนึ่งปี

รวม

-

วงเงิน 184 ล้านบาท 38.9

9)

(45.5)

1,617.9 226.6

-

1,617.9 272.1

-

วงเงิน 870 ล้านบาท 474.6

8)

-

วงเงิน 670 ล้านบาท 220.0

7)

ยอดคงเหลือ 2553 2552 (ล้านบาท) เงื่อนไขการช�ำระคืนเงินต้น

หลักประกันเงินกู้ยืม

อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราร้อยละ 70 ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงินที่บริษัทย่อย ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน มกราคม 2558

อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราร้อยละ 70 ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงินที่บริษัทย่อย ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน มิถุนายน 2558

อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราร้อยละ 70 ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงินที่บริษัทย่อย ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมดภายในเดือน พฤษภาคม 2556

อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 70 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงิน ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ที่บริษัทย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมด ภายในเดือนมิถุนายน 2555

อัตราดอกเบี้ยอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ช�ำระคืนเมื่อมีการปลอดจ�ำนองที่ดินพร้อมบ้านในอัตราไม่ต�่ำกว่า ค�ำ้ ประกันโดยบริษทั ฯและการจดจ�ำนองทีด่ นิ พร้อมสิง่ ขั้นต�่ำ (MLR) ร้อยละ 65 ของราคาขายในแต่ละแปลงโดยไม่ต�่ำกว่าจ�ำนวนเงิน ปลูกสร้างในโครงการบางส่วนของบริษัทย่อย ที่บริษัทย่อยได้แจ้งไว้กับธนาคารและช�ำระคืนส่วนที่เหลือทั้งหมด ภายในเดือนเมษายน 2557

อัตราดอกเบี้ยต่อปี


ยอดคงเหลือของเงินกู้ยืมระยะยาวโดยสรุปมีดังนี้

เงินกู้ยืมระยะยาว หัก: ส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึง ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี

งบการเงินรวม 2553 2552 2,433.8 2,137.1 (194.2) 2,433.8

1,942.9

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 815.8 1,865.0 (148.7) 815.8

1,716.3

สัญญาเงินกูย้ มื เงินส่วนใหญ่ได้ระบุขอ้ ปฏิบตั แิ ละข้อจ�ำกัดบางประการตามปกติธรุ กิจของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยรวมถึงการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีวงเงินกูย้ มื ระยะยาวตามสัญญาเงินกูท้ ยี่ งั มิได้เบิกใช้เป็น จ�ำนวน 6,395.26 ล้านบาท

25. ประมาณการหนี้สิน

ยอดคงเหลือของประมาณการหนี้สินมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ส�ำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ ส�ำรองส�ำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 12,739,663 9,557,897 202,909,469 12,739,663 212,467,366

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีประมาณการหนี้สินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 212,467,366 บันทึกส�ำรองเผื่อผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ 35,602,103 ปรับปรุงส่วนที่ครบก�ำหนดช�ำระ 4,182,008 ปรับปรุงส�ำรองส�ำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพตามอายุของหุ้นกู้ 57,158,530 รวม 309,410,007 หัก: จ่ายช�ำระการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ (36,602,344) หัก: ไถ่ถอนหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ (260,068,000) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 12,739,663

ส�ำรองส�ำหรับหุ้นกู้ส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพ บริษทั ฯได้บนั ทึกส�ำรองส�ำหรับหุน้ กูส้ ว่ นทีไ่ ม่ได้ใช้สทิ ธิแปลงสภาพตามอายุของหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพ ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ไถ่ถอนหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพเรียบร้อยแล้ว การรับประกันรายได้ขั้นต�่ำของกองทุนฯ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 บริษัทฯได้ท�ำสัญญาขายอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯให้แก่กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค (“กองทุนฯ”) โดยได้รับค่าตอบแทนเป็นจ�ำนวนเงิน 510 ล้านบาท ตามที่ ระบุไว้ในสัญญาดังกล่าว บริษัทฯตกลงรับประกันรายได้ขั้นต�่ำของกองทุนฯ (รายได้จากการเช่าและค่าบริการก่อน หักค่าใช้จ่าย) เป็นจ�ำนวนเงิน 55 ล้านบาทต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดย มีก�ำหนดช�ำระภายในวันที่ 31 มกราคม และ 31 กรกฎาคมของทุกปี ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา อย่างไรก็ตาม 140

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


การรับประกันรายได้ขั้นต�่ำขึ้นอยู่กับสัดส่วนของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่คงเหลือต่อมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนฯ ลงทุนครั้งแรก โดยค�ำนวณมูลค่าอสังหาริมทรัพย์จากการประเมินค่าทรัพย์สินเพื่อลงทุนครั้งแรกโดยบริษัทประเมิน ราคา ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ปรับปรุงประมาณการของค่าใช้จ่ายในการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำดังกล่าวและ บันทึกส�ำรองเผือ่ ผลขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขนั้ ต�ำ่ เพิม่ จ�ำนวน 35.6 ล้านบาท (2552: 9.4 ล้านบาท) โดยแยก แสดงเป็นรายการต่างหากภายใต้หัวข้อ “ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ” ในงบก�ำไรขาดทุน

26. ทุนเรือนหุ้น/ส่วนต�่ำกว่ามูลค่าหุ้น

วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมีทุนที่ออกและช�ำระแล้วเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 4,726,344,720 บาท (หุ้น สามัญ 787,724,120 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 6 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็นผลมาจากการใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ในเดือนธันวาคม 2552 เป็นจ�ำนวนเงินรวม 15,000 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 2,500 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์ ส�ำหรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2553 ดังนั้นส่วนต�่ำมูลค่าหุ้นของบริษัทฯมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (44,093,444) เพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (14,975) ปรับปรุงหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพ - องค์ประกอบที่เป็นทุน (หมายเหตุ 23) 23,535,270 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 (20,573,149) ต่อมาเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2554 บริษัทฯได้ด�ำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์ส�ำหรับการ ใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิจ�ำนวน 39,600 บาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 6,600 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6 บาท) ตามที่กล่าว ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 27

27. ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ใช้สิทธิในระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

จ�ำนวน (หน่วย) 8,870,076 (6,600) 8,863,476

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยมีสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิหุ้นละ 0.01 บาท และ มีอายุ 10 ปี นับจากวันที่ 7 พฤศจิกายน 2545 และมีกำ� หนดระยะเวลาการใช้สทิ ธิทกุ วันสุดท้ายของไตรมาสที่ 2 และ ไตรมาสที่ 4 ของปี ในเดือนธันวาคม 2552 บริษัทฯได้รับเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ จะซือ้ หุน้ สามัญจ�ำนวน 2,500 หุน้ ราคาหุน้ ละ 0.01 บาท รวมเป็นเงิน 25 บาท บริษทั ฯได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนจากการ ใช้สิทธิดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงิน 15,000 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2553 ในเดือนธันวาคม 2553 บริษัทฯได้รับเงินรับล่วงหน้าค่าหุ้นเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ จะซือ้ หุน้ สามัญจ�ำนวน 6,600 หุน้ ราคาหุน้ ละ 0.01 บาท รวมเป็นเงิน 66 บาท บริษทั ฯได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนจากการ ใช้สิทธิดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงิน 39,600 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2554

28. ส�ำรองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรร ก�ำไรสุทธิประจ�ำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสม ยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนี้จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนส�ำรองตามกฎหมายดังกล่าว ไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้ รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

141


29. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2553 2552

เงินเดือน ค่าแรง และผลประโยชน์อนื่ ของพนักงาน

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

481,338,217

354,952,860

392,202,742

298,613,287

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย

62,856,916

66,381,957

51,520,358

57,176,936

ค่าเช่าจ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงาน

25,737,411

24,659,535

20,849,095

19,900,653

ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าใช้จ่ายในการโอน

240,413,712

6,852,456

204,712,654

5,711,150

ค่าใช้จ่ายทางการตลาด

468,278,212

234,882,562

359,045,218

206,634,296

ค่าใช้จ่ายในการบริหารโครงการ

173,223,560

137,735,628

143,975,647

120,801,582

35,602,103

9,422,551

35,602,103

9,422,551

ขาดทุนจากการรับประกันรายได้ขั้นต�่ำ การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ในระหว่างปี

8,947,831,428 5,465,012,086 6,110,746,449 4,425,100,899

การเปลี่ยนแปลงในโครงการอสังหาริมทรัพย์

(3,283,628,539) (1,540,902,433) (1,161,094,054) (1,195,328,210)

ค่าใช้จ่ายทางการเงิน

600,210,587

428,679,312

543,229,325

349,198,521

30. ก�ำไรต่อหุ้น

ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานค�ำนวณโดยหารก�ำไรสุทธิสำ� หรับปีดว้ ยจ�ำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักของหุน้ สามัญทีอ่ อก อยู่ในระหว่างปี ก�ำไรต่อหุ้นปรับลดค�ำนวณโดยหารก�ำไรสุทธิส�ำหรับปีด้วยผลรวมของจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ที่ออกอยู่ในระหว่างปีกับจ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบ เท่าปรับลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสามัญ โดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญ เทียบเท่า ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและก�ำไรต่อหุ้นปรับลด แสดงการค�ำนวณได้ดังนี้

2553

ก�ำไรสุทธิ

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของ บริษัทใหญ่ 550,436,938 ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ จ�ำนวน 8,863,476 หน่วย (2552: 8,870,076 หน่วย) ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมุติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ 550,436,938

142

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

งบการเงินรวม จ�ำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก 2553 2552

2552

403,627,020

787,724,156

-

8,848,948

403,627,020

796,573,104

(หน่วย: บาท)

ก�ำไรต่อหุ้น 2553 2552

787,721,634 0.699 0.512

8,846,962 796,568,596 0.691 0.507


ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น ของบริษัทใหญ่ ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ จ�ำนวน 8,863,476 หน่วย (2552: 8,870,076 หน่วย) ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมุติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ

2553

ก�ำไรสุทธิ

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก 2553 2552

(หน่วย: บาท) ก�ำไรต่อหุ้น 2553 2552

537,698,460 386,325,918 787,724,156 787,721,634

-

-

8,848,948

0.683

0.490

0.675

0.485

8,846,962

537,698,460 386,325,918 796,573,104 796,568,596

เนื่องจากหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลงสภาพมีผลท�ำให้ก�ำไรต่อหุ้นในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เพิ่มขึ้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่น�ำผลของหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิแปลง สภาพดังกล่าวมารวมค�ำนวณเพื่อหาก�ำไรต่อหุ้นปรับลดในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

31. การเสนอข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยด�ำเนินกิจการในส่วนงานหลักทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และ ด�ำเนินธุรกิจในส่วนงานหลักทางภูมิศาสตร์เดียวคือในประเทศไทย ดังนั้น รายได้ ก�ำไรและสินทรัพย์ทั้งหมดที่แสดง ในงบการเงินจึงเกี่ยวข้องกับส่วนงานทางธุรกิจและส่วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้

32. กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

บริษทั ฯ บริษทั ย่อยและพนักงานได้รว่ มกันจัดตัง้ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 ถึง 10 ของเงินเดือน กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพนีบ้ ริหารโดย บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จ�ำกัด และจะจ่ายให้ แก่พนักงานเมือ่ พนักงานนัน้ ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็นจ�ำนวนเงิน 17.7 ล้านบาท (2552: 16.5 ล้านบาท) (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: 14.6 ล้านบาท (2552: 13.8 ล้านบาท))

33. เงินปันผล อนุมัติโดย เงินปันผลประจ�ำปี ส�ำหรับปี 2552 เงินปันผลประจ�ำปี ส�ำหรับปี 2551

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2553 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2552

เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลจ่าย ต่อหุ้น

196.9 ล้านบาท 0.25 บาท 283.5 ล้านบาท 0.36 บาท

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

143


34. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 34.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ก) บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาก่อสร้างโครงการบ้านพร้อมทีด่ นิ และคอนโดมิเนียม ที่ได้ท�ำสัญญากับผู้รับเหมาไว้แล้วเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 1,310.0 ล้านบาท ข) บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระผูกพันทีเ่ กีย่ วข้องกับการซือ้ ทีด่ นิ เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 2,234.8 ล้าน บาท ค) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาจ้างบริหารและควบคุมงานก่อสร้างเป็นจ�ำนวน เงินประมาณ 9.4 ล้านบาท ง) บริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจ� ำนวน เงินประมาณ 15.6 ล้านบาท จ) บริษทั ย่อยมีภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาจ้างออกแบบสถาปัตยกรรมโครงการศูนย์การค้าและส�ำนักงาน เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 13.9 ล้านบาท 34.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าด�ำเนินงาน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้เข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการเช่าทีด่ นิ รถยนต์ ป้ายโฆษณา พื้นที่ส�ำนักงาน และสัญญาบริการต่าง ๆ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 5 ปี สัญญาดังกล่าวเป็น สัญญาที่บอกเลิกไม่ได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีจำ� นวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตทัง้ สิน้ ภาย ใต้สัญญาเช่าด�ำเนินงานที่บอกเลิกไม่ได้ ดังนี้ จ่ายช�ำระภายใน ล้านบาท ภายใน 1 ปี 67.4 2 ถึง 5 ปี 19.3 ในระหว่างปี 2553 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรายจ่ายตามสัญญาเช่าในงบก�ำไรขาดทุนเป็นจ�ำนวนเงิน ประมาณ 25.7 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 20.9 ล้านบาท) 34.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาให้บริการ บริษทั ฯได้ทำ� สัญญาจ้างบริหารสโมสรกับบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ โดยภายใต้เงือ่ นไขตามสัญญาดังกล่าว บริษทั ฯต้องจ่ายค่าบริการรายเดือนตามอัตราทีร่ ะบุไว้ในสัญญาในระหว่างปี 2553 บริษทั ฯมีคา่ บริการภายใต้ สัญญาดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 12.8 ล้านบาท 34.4 การค�้ำประกัน ก) บริษัทฯค�้ำประกันวงเงินกู้และวงเงินสินเชื่อให้แก่บริษัทย่อยในวงเงิน 5,274.7 ล้านบาท ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนังสือค�้ำประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนาม บริษทั ฯและบริษทั ย่อยเหลืออยูเ่ ป็นจ�ำนวน 1,899.7 ล้านบาท ซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับภาระผูกพันทางปฏิบตั ิ บางประการตามปกติธรุ กิจของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วยหนังสือค�ำ้ ประกันเพือ่ ค�ำ้ ประกัน งานสาธารณูปโภคจ�ำนวน 924.7 ล้านบาท และเพื่อค�้ำประกันหุ้นกู้จ�ำนวน 975.0 ล้านบาท ค) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯมีหนังสือค�ำ้ ประกันรายได้ขนั้ ต�ำ่ ของกองทุนฯ ซึง่ ออกโดยธนาคาร ในนามบริษัทฯ ในวงเงินจ�ำนวน 55 ล้านบาท ต่อปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555

35. คดีฟ้องร้อง

144

คดีความ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีรายละเอียดดังนี้ ก) บริษทั ฯถูกฟ้องร้องเป็นจ�ำเลยจากลูกค้ารายหนึง่ เพือ่ เรียกร้องค่าเสียหายจากการผิดสัญญาซือ้ ขายกับโจทก์ เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 5.0 ล้านบาท ซึ่งปัจจุบันคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลแพ่ง อย่างไรก็ตาม บริษัทฯเชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระส�ำคัญจากคดีความดังกล่าว

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


ข)

ค)

บริษัทย่อยแห่งหนึ่งถูกผู้รับเหมาก่อสร้างรายหนึ่งฟ้องร้องเรียกช�ำระค่าก่อสร้างที่ค้างช�ำระเป็นจ�ำนวนเงิน ประมาณ 7.5 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยได้ฟ้องแย้งให้ผู้รับเหมาดังกล่าวคืนเงินให้แก่บริษัทย่อย เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 8.4 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทย่อยได้จ่ายเงินค่าก่อสร้างเกินกว่าผลงานที่ผู้รับเหมา ก่อสร้างดังกล่าวท�ำให้กับบริษัทย่อย ซึ่งศาลได้ยกฟ้องแต่โจทก์ได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาล ปัจจุบันคดีอยู่ระหว่าง การพิจารณาของศาลอุทธรณ์ อย่างไรก็ตาม บริษทั ย่อยเชือ่ ว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็นสาระส�ำคัญจาก คดีความดังกล่าว บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ถูกฟ้องร้องเป็นจ�ำเลยจากลูกค้ารายหนึง่ เพือ่ เรียกร้องค่าเสียหายจากการละเมิดสิทธิของ โจทก์เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 7.7 ล้านบาท ซึ่งศาลชั้นต้นได้ยกฟ้องแต่โจทก์ได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาล ปัจจุบัน คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยเชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างเป็น สาระส�ำคัญจากคดีความดังกล่าว

36. เครื่องมือทางการเงิน 36.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครือ่ งมือทางการเงินทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยตามทีน่ ยิ ามอยูใ่ นมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ สินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - เจ้าหนี้การค้า - ลูกหนี้การค้า - สุทธิ - เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ลูกหนี้ค่าที่ดิน - เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน - เงินประกันตามสัญญา - เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู - เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ - เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - เงินฝากที่ติดภาระค�้ำประกัน - เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า - เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ - หุ้นกู้ - เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ - เงินกู้ยืมระยะยาว - เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน - เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจากสัญญาเช่าช่วง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับเครือ่ งมือทางการเงินดังกล่าวและมีนโยบายในการบริหาร ความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้า ลูกหนีค้ า่ ทีด่ นิ เงินให้กยู้ มื ฝ่ายบริหารควบคุมความเสีย่ งนีโ้ ดยการก�ำหนดให้มนี โยบายและวิธกี ารในการควบคุมสินเชือ่ ทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รบั ความเสียหายทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญจากการให้สนิ เชือ่ นอกจากนีก้ ารให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ ว เนือ่ งกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยไม่มกี ารกระจุกตัวเนือ่ งจากบริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีฐานของ ลูกค้าทีห่ ลากหลายและมีอยูจ่ ำ� นวนมากราย จ�ำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ค่าที่ดิน เงินให้กู้ยืมที่แสดงอยู่ในงบดุล ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงิน ให้กู้ยืม เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน หุ้นกู้และเงินกู้ยืมระยะยาว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และ หนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตามอัตราตลาด หรือมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีซ่ งึ่ ใกล้เคียงกับอัตรา ตลาดในปัจจุบัน ดังนั้นความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับต�่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่ส�ำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และส�ำหรับสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบก�ำหนด หรือวันที่มีการ ก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

145


สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้ค่าที่ดิน เงินประกันตามสัญญา เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ เงินฝากที่ติดภาระค�้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน

งบการเงินเรวม อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ภายใน มากกว่า มากกว่า ปรับขึ้นลง ไม่มีอัตรา 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย -

หนี้สินทางการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน 1,997.3 เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้า จากลูกค้า หุ้นกู้ 800.0 เงินกู้ยืมระยะยาว เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจาก สัญญาเช่าช่วง 2,797.3

146

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553

(หน่วย: ล้านบาท)

รวม

อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

-

-

2,015.8 18.5 2,034.3

2.1 2,017.9 21.8 21.8 66.4 66.4 100.0 100.0 127.6 127.6 18.5 55.5 55.5 554.6 554.6 928.0 2,962.3

0.125-0.50 0.25 - 0.50 -

5,778.2 -

-

2,433.8

800.7 800.7 75.0 75.0 - 1,997.3 37.0 37.0 86.4 86.4 - 6,578.2 - 2,433.8

4.60 - 5.00 4.65 - 6.50 MLR

5,778.2

-

2,433.8

51.4 51.4 1,050.5 12,059.8

-


สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ลูกหนี้ค่าที่ดิน เงินประกันตามสัญญา เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา - สุทธิ เงินฝากที่ติดภาระค�้ำประกัน เงินให้กยู้ มื แก่บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน

งบการเงินเรวม อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ภายใน มากกว่า มากกว่า ปรับขึ้นลง ไม่มีอัตรา 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย -

หนี้สินทางการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ตั๋วสัญญาใช้เงิน เจ้าหนี้ตั๋วแลกเงิน 1,997.3 เจ้าหนี้ตามแผนฟื้นฟู เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้า จากลูกค้า หุ้นกู้ 800.0 เงินกู้ยืมระยะยาว เงินประกันและเงินรับล่วงหน้าจาก สัญญาเช่าช่วง 2,797.3

(หน่วย: ล้านบาท)

รวม

อัตรา ดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

-

-

1,583.8 18.5 1,308.0 2,910.3

1.5 1,585.3 0.125 - 0.50 12.8 12.8 66.4 66.4 100.0 100.0 96.8 96.8 18.5 0.25 - 0.50 - 1,308.0 5.38 - 6.13 55.5 55.5 348.6 348.6 681.6 3,591.9

5,778.2 -

-

815.9

572.7 572.7 75.0 75.0 - 1,997.3 37.0 37.0 1.4 1.4 31.9 31.9 - 6,578.2 - 815.9

4.60 - 5.00 4.65 - 6.50 MLR

5,778.2

-

815.9

51.4 51.4 769.4 10,160.8

-

36.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯและบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้นหรือ มีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จ�ำนวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์กนั ในขณะทีท่ งั้ สองฝ่ายมีความ รอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง กัน วิธกี ารก�ำหนดมูลค่ายุตธิ รรมขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมจะก�ำหนดจากราคาตลาด ล่าสุด หรือก�ำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม

37. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่ส�ำคัญของบริษัทฯคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสม และการด�ำรงไว้ซึ่งความสามารถในการด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุ่มบริษัทมีอัตราหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.75:1 (2552: 1.12:1) และ บริษัทฯมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.56:1 (2552: 1.04:1)

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

147


38. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน ก)

ข) ค) ง) จ) ฉ) ช) ซ)

ฌ)

ฎ) ฏ)

ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ได้มีมติที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ อนุมัติให้เสนอจ่ายเงินปันผลจากผลการด�ำเนินงานของปี 2553 ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.33 บาท รวม เป็นเงิน 259.95 ล้านบาท อนุมตั ใิ ห้ออกและเสนอขายหุน้ กูภ้ ายในวงเงินไม่เกิน 4,000 ล้านบาท มีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ อนุมตั ใิ ห้ยกเลิกการออกและเสนอขายหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิแปลงสภาพมูลค่าไม่เกิน 30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ เทียบเท่าเงินบาทมูลค่าไม่เกิน 1,000 ล้านบาท ตามที่เคยได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2551 อนุมัติให้ยกเลิกหุ้นสามัญ 160,405,804 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท รวมเป็น 962,434,824 บาท ที่ได้ ส�ำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญตามข้อ ค) อนุมัติให้ยกเลิกหุ้นสามัญ 135,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท รวมเป็น 810,000,000 บาท ที่ได้ ส�ำรองไว้เพื่อรองรับการใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญตามที่เคยได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ ถือหุ้นครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 อนุมตั ใิ ห้ลดทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯจากทุนจดทะเบียน 6,552,000,000 บาท (หุน้ สามัญ 1,092,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 6 บาท) เป็น 4,779,565,176 บาท (หุ้นสามัญ 796,594,196 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้น ละ 6 บาท) โดยการตัดหุ้นที่ยังไม่ได้ออกจ�ำหน่ายของบริษัทฯตามข้อ ง) และ จ) อนุมัติให้เปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัทฯจากหุ้นละ 6 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท อนุมตั เิ พิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯจากทุนจดทะเบียนจาํ นวน 4,779,565,176 บาท (หุน้ สามัญ 4,779,565,176 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) เป็นจ�ำนวน 5,961,161,256 บาท (หุ้นสามัญ 5,961,161,256 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 787,730,720 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ และหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 393,865,360 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิของใบส�ำคัญแสดงสิทธิตามที่กล่าวไว้ในข้อ ฌ) อนุมตั ใิ ห้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม โดยไม่คดิ ค่าตอบแทน ในอัตราส่วน 2 หุน้ สามัญใหม่ทจี่ ะเสนอขายให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมตามข้อ ซ) ต่อ 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ราย ละเอียดของใบส�ำคัญแสดงสิทธิมีดังนี้ จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก (หน่วย) 393,865,360 อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 3 ปี นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ วันท�ำการสุดท้ายของทุกไตรมาส วันที่ใช้สิทธิ นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ราคาใช้สิทธิต่อ 1 หุ้นสามัญ (บาท) 1.00 อัตราส่วนการใช้สิทธิ (ใบส�ำคัญแสดงสิทธิต่อหุ้นสามัญ) 1:1 อนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด จากเดิม 500 ล้านบาท (หุ้น สามัญจ�ำนวน 5 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) เป็น 1,000 ล้านบาท (หุ้นสามัญจ�ำนวน 10 ล้าน หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) ซึ่งเป็นการเพิ่มทุนโดยบริษัทฯทั้งหมด อนุมตั จิ ดั ตัง้ บริษทั ย่อยภายใต้ชอื่ บริษทั ยูแอนด์ไอ จ�ำกัด เพือ่ ให้บริการธุรกิจการก่อสร้าง โดยมีทนุ จดทะเบียน 100 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 1 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) โดยบริษัทฯจะมีสัดส่วนการลงทุนดัง กล่าวร้อยละ 99.99

39. การอนุมัติงบการเงิน

148

งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ต่อรายงานทางการเงิน งบการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่ ก�ำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการในงบการเงินได้ท�ำขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด ในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 รวม ทั้งการปรับปรุงวิธีปฏิบัติตามสภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร เป็นผู้ดูแลรับผิด ชอบเกี่ยวกับการรายงานทางการเงินว่า มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง มีการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงินอย่างเพียงพอและทันเวลารวมทัง้ มีระบบการควบคุมภายในก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน และความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�ำปี คณะกรรมการบริษัท รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด(มหาชน) และบริษัท ย่อย ที่จัดท�ำขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน รายได้ ค่าใช้จ่ายและกระแสเงินสดรวมที่เป็นจริงและสม เหตุสมผล โดยได้จัดให้มีการบันทึกบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอที่รักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายใน การป้องกันการทุจริตและการด�ำเนินงานที่ผิดปกติ และในการจัดท�ำรายงานทางการเงิน ได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบาย บัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้สะท้อนผลการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นจริงของบริษทั เป็นไปตามมาตรฐานการ บัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไปรวมทัง้ ได้มกี ารเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงินซึง่ ผูต้ รวจสอบบัญชี ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของ บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด(มหาชน) และบริษัทย่อย ในรายงานผู้สอบบัญชี

(ดร.ธวัชชัย นาคะตะ) ประธานกรรมการบริษัท

(นายชายนิด โง้วศิริมณี) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

149


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบปี 2553 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบบริษทั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 คน คือ นาย กฤช ฟอลเล็ต ดร.สมศักดิ์ โตรักษา และ ดร.ธรรมนูญ อานันโทไทย เป็นกรรมการ ต่อมาเมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2553 คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ นายกฤช ฟอลเล็ต ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการ ตรวจสอบ แทนนายวีระยุค พันธุเพชร ซึง่ ครบก�ำหนดวาระ และมีนางสาวดวงพร เริม่ ยินดี ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักตรวจสอบภายใน เป็นเลขานุการ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Charter) ทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั โดยมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 7 ครัง้ เพือ่ พิจารณาข้อมูลทางการ เงิน รายการระหว่างบริษัทฯกับบริษัทย่อยและบริษัทร่วม การปฏิบัติหน้าที่และผลการตรวจสอบของส�ำนักตรวจสอบภายใน รวมถึงการประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชี 2 ครัง้ เพือ่ รับทราบการปฏิบตั งิ านและการแสดงความเห็นของผูส้ อบบัญชีตอ่ ระบบการ ควบคุมภายในและการจัดท�ำบัญชีของบริษัทฯ พอสรุปกิจกรรมที่ส�ำคัญของคณะกรรมการตรวจสอบได้ดังนี้ 1.

2.

3.

4. 5.

6.

150

การสอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจ�ำปี และงบการเงินรวมของบริษัทฯประจ�ำปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินโดยเชิญผูบ้ ริหารและผูส้ อบบัญชีเข้าร่วมประชุมเพือ่ ให้ ข้อมูลและมัน่ ใจได้วา่ งบการเงินได้จดั ท�ำขึน้ อย่างถูกต้องเหมาะสม มีการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีและ กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง ระบบบัญชีมคี วามถูกต้องน่าเชือ่ ถือ ดูแลให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียง พอและทันเวลา เพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนและผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจลงทุน การสอบทานรายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการระหว่างกันของบริษัทฯกับ บริษัทย่อยและบริษัทร่วม เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯได้ด�ำเนินการตามเงื่อนไขทางธุรกิจปกติ รวมถึงบริษัทฯมี การให้ความช่วยเหลือทางการเงินทีจ่ ำ� เป็นแก่บริษทั ย่อยเพือ่ เป็นการน�ำไปพัฒนาโครงการและขยายงานตาม แผนงานของบริษัทย่อย การสอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ความเสี่ยงของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯสามารถบริหารความเสี่ยงให้ลดลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้มอบให้ส�ำนักตรวจสอบภายในประสาน งานกับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อน�ำข้อมูลจากการประเมินความเสี่ยงของแต่ละหน่วยงานมาใช้ ในการวางแผนการตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้การตรวจสอบภายในสามารถสนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษทั ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การสอบทานการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการตรวจสอบได้กำ� กับดูแลให้บริษทั ฯมีการเปิดเผยข้อมูล อย่างโปร่งใส ปฏิบตั ติ ามพ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้นและนักลงทุน การสอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ก�ำหนดให้มีการสอบ ทานการควบคุมภายในที่เหมาะสมตามแนวทางของ COSO เพื่อให้ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯบรรลุ วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนมีระบบการป้องกันเพื่อ ลดความผิดพลาด ความเสียหาย และการสิ้นเปลืองจากการใช้ทรัพยากรของบริษัทฯ การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาให้ความเห็นชอบแผนงานตรวจ สอบตามแนวทางความเสีย่ ง (Risk Based Approach) ประจ�ำปีของส�ำนักตรวจสอบภายใน รับทราบรายงาน ผลการประเมินระบบการควบคุมภายในประจ�ำปี 2553 ตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติไว้ ก�ำกับดูแลการปฏิบัติ งานตรวจสอบภายในให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพียงพอกับระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มีการติดตามให้บริษัทฯปรับปรุงการด�ำเนินงานตามข้อเสนอ แนะในรายงานผลการประเมินการควบคุมภายในในประเด็นทีม่ นี ยั ส�ำคัญสูง รวมถึง วางแผนปรับปรุงแนวทาง การตรวจสอบภายในจากวิธี Operational Audit ไปสู่วิธี Risk Based Audit เพื่อสามารถให้ค�ำปรึกษาและ ข้อแนะน�ำแก่ฝ่ายบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553


7.

8.

9.

การสอบทานระบบการติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมี การสอบทานผลการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ เพีอ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั ฯมีการปฏิบตั ติ ามเป้าหมายทีว่ างไว้ และ มีการปรับปรุงแก้ไขการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป รวมถึงสอบทานให้บริษทั ฯ มีการติดตามการปฏิบตั ติ ามระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนือ่ งและเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการปฏิบตั ิ งานตามปกติของฝ่ายบริหาร การประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Audit Committee Self Assessment) โดยเป็นการประเมินทั้งคณะในด้านต่างๆ ได้แก่ การจัดการประชุม การควบคุม ภายใน การจัดท�ำรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับ การประสานงานกับผู้สอบบัญชี การก�ำกับดูแลและพัฒนางานตรวจสอบภายใน เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการปฏิบตั งิ าน และรายงาน ต่อคณะกรรมการบริษัท การพิจารณา คัดเลือกผูส้ อบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาคัดเลือกผูส้ อบบัญชี โดยพิจารณา ความเป็นอิสระของผูส้ อบบัญชีและความเชีย่ วชาญในธุรกิจเฉพาะ ตลอดจนความเหมาะสมในการก�ำหนดค่า ตอบแทน เพื่อให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทในการขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นแต่งตั้ง บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชี ประจ�ำปี 2554

คณะกรรมการตรวจสอบมีการรายงานผลการประชุมให้คณะกรรมการบริษทั ทราบอย่างสม�ำ่ เสมอและขอเรียนว่าการ ปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบมีความเป็นอิสระ ตามความรู้และประสบการณ์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านของ กรรมการตรวจสอบทุกคน ตลอดจนให้ขอ้ เสนอแนะต่างๆ แก่ทกุ ฝ่ายอย่างตรงไปตรงมา เพือ่ ประโยชน์ตอ่ คณะกรรมการบริษทั และผู้ถือหุ้นทุกราย ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ อย่างเหมาะสมแล้ว

(นายกฤช ฟอลเล็ต) ประธานกรรมการตรวจสอบ 25 กุมภาพันธ์ 2554

รายงานประจำ�ปี 2553

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

151


แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่าย ให้แก่ผู้สอบบัญชี รอบปีบัญชี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 รายการ ที่

ชื่อบริษัทผู้จ่าย

ชื่อผู้สอบบัญชี

ค่าตอบแทน

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) 1

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล

1,700,000

2

บริษัท เอสเตท เพอร์เฟ็คท์ จ�ำกัด

นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล

565,000

3

บริษัท เพอร์เฟค สปอร์ตคลับ จ�ำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท เพอร์เฟค แซทเทลไลท์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด”)

นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล

100,000

4

บริษัท ไบรท์ ดีเวลลอปเมนท์ กรุงเทพ จ�ำกัด

นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล

250,000

5

บริษัท เซ็นเตอร์พ้อยท์ ช็อปปิ้ง มอลล์ จ�ำกัด

นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล

100,000

6

บริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์ไนน์ จ�ำกัด

นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล

100,000

รวมค่าตอบแทน

2,815,000

ค่าตอบแทนจากการฝึกอบรมมาตรฐานบัญชีฉบับใหม่ 1

บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

250,000

รวมค่าตอบแทน

250,000

รวมค่าตอบแทนทั้งสิ้น

3,065,000

ข้อมูลข้างต้น

ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ทัง้ นีข้ า้ พเจ้าขอยืนยันว่าไม่มขี อ้ มูลการให้บริการอืน่ ทีบ่ ริษทั และบริษทั ย่อยจ่ายให้ขา้ พเจ้า ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าและบุคคลหรือกิจการเกี่ยวข้องกับข้าพเจ้าและส�ำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้า สังกัด ที่ข้าพเจ้าทราบและไม่มีการเปิดเผยไว้ข้างต้น

ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน กล่าวคือ............................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………….

เมือ่ ปรับปรุงข้อมูลข้างต้น(ถ้ามี) แล้ว ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทัง้ หมดในแบบฟอร์มนี้ แสดงค่าตอบแทนสอบบัญชีและ ค่าบริการอื่นที่บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายให้ข้าพเจ้า ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าสังกัดและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับ ข้าพเจ้าถูกต้องครบถ้วนแล้ว

ลงชื่อ

( นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล) บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด ผู้สอบบัญชีของ บริษัทพร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด (มหาชน)

152

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค รายงานประจำ�ปี 2553



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.