RPC: Annual Report 2011 TH

Page 1


ÊÒúÑÞ

1 ขอมูลทั่วไป 2 สาสนจากประธานกรรมการ 4 ภาพคณะกรรมการบริษัทและที่ปรึกษา คณะกรรมการ 5 ภาพคณะผูบริหาร 6 นโยบาย และโครงสรางดานสังคม และ กิจกรรมตอบแทนสังคม 9 ขอมูลสําคัญทางการเงิน/ฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงาน 10 รายงานผลการดําเนินงาน 12 โครงสรางการถือหุนและการจัดการ

31

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

41

ปจจัยความเสี่ยง

47

รายการระหวางกัน

51

รายงานการวิเคราะหของฝายจัดการ

52 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงิน 53 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 55 รายงานของผูสอบบัญชี 57

งบการเงินและหมายเหตุประกอบ งบการเงิน

117 รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและ ผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ


¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä»

ขอมูลทั่วไป ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ

ที่ตั้งสํานักงานใหญ ทุนจดทะเบียน แบงออกเปนหุนสามัญ มูลคาที่ตราไวหุนละ ทุนจดทะเบียนชําระแลว เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร ที่ตั้งโรงงาน โทรศัพท โทรสาร โฮมเพจ บุคคลอางอิงอื่น ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย ที่ตั้ง โทรศัพท ผูสอบบัญชี (ประจําป 2551) ที่ตั้ง

โทรศัพท โทรสาร

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) ประกอบธุรกิจโรงกลั่นนํ้ามันขนาด 17,000 บารเรลตอวัน บริหารคลังนํ้ามัน 4 แหง เพื่อจัดจําหนายนํ้ามันดีเซล นํ้ามันดีเซล บี 5 เบนซิน 91 แกสโซฮอลล 91 แกสโซ ฮอลล 95 และนํ้ามันเตา รวมถึงคาปลีกนํ้ามันสําเร็จรูป 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร 3 ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 จํานวน 529,870,229 บาท จํานวน 529,870,229 บาท 1 บาท จํานวน 529,870,229 บาท 0107546000202 0-2791-1811 0-2515 9000 0-27911818 7/3 ถนนปกรณสงเคราะหราษฎร ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัด ระยอง 21150 (038) 685 816-9 (038) 685 243 http://www.rpcthai.com

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยประเทศไทย ชั้น 4 และ 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวง คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 0-229 2800 0-2654 5599 นางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3970 บริษัท สํานักงานเอินสทแอนดยัง จํากัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา ออฟฟส คอมเพล็กซ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 0-2264 0777 0-2661 9190 0-2264 0790

1


ÊÒÊ ¹¨Ò¡»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

ในป 2554 ที่ผานมา เกิดปญหาทางเศรษฐกิจของโลกมากมาย หลายๆ ประเทศเผชิญกับปญหาหนี้สาธารณะ ทั้งประเทศสหรัฐ และสหภาพยุโรป ขณะ นีป้ ญ  หาดังกลาวกําลังลุกลามสูป ระเทศอิตาลี ซึง่ เปนประเทศทีม่ เี ศรษฐกิจใหญเปน อันดับ 3 ของยุโรป สงผลใหเศรษฐกิจประเทศจีน อินเดีย รัสเซีย บราซิล และ อาเซียนตองชะลอตัวลง หลายประเทศในยุโรปถูกลดอันดับความนาเชื่อถือ นอกจากนี้ประเทศญี่ปุนยังไดรับผลกระทบจากเหตุภัยพิบัติ ตลอดจนเหตุการณ นํ้าทวมใหญของประเทศไทย ที่สงผลกระทบตอภาคอุตสาหกรรมในหลายๆ ประเทศ เชน ญี่ปุน สหรัฐฯ โดยเฉพาะในสวนของอุตสาหกรรมยานยนต และชิ้น สวนอิเลคทรอนิกส เปนตน เนื่องจากประเทศไทยเปนฐานการผลิตขนาดใหญใน อุตสาหกรรมดังกลาว จากปญหาเศรษฐกิจโลกที่ยังคงผันผวน สถานการณการ เงินโลกธนาคารกลางหลายๆ ประเทศ มีแนวโนมปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ทางดานสถานการณราคานํ้ามันโลกมีความผันผวนขึ้นลงตลอดป ราคานํ้ามันดิบดูไบโดยเฉลี่ยป 2554 อยูที่ 106 เหรียญสหรัฐฯตอบารเรล เนื่องจากเหตุการณความไมสงบในตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ นอกจากนี้ยังความกังวล ตอสถานการณเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ปญหาหนีส้ าธารณะในยุโรป และการปรับลดอันดับความนาเชือ่ ถือของสหรัฐอเมริกา และประเทศในยุโรป เหตุการณแผนดินไหวทีญ ่ ปี่ นุ และความตองการใชนาํ้ มันทีม่ ากขึน้ จากภัยธรรมชาติ ทีม่ คี วามหนาวเย็น ทวีความรุนแรงขึน้ ในยุโรป ซึง่ สงผลใหราคานํา้ มันมีการปรับตัวสูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง สวนคาเงินบาทเมือ่ เทียบกับสกุลดอลลาร แข็งคาขึ้น เนื่องจากมีความกังวลตอภาวะการฟนตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ทางดานผลการดําเนินงาน ในรอบป 2554 นั้น บริษัทฯ ยังคงพยายามดําเนินการ และหาชองทางปรับปรุงสถานะ ทางธุรกิจภายใตภาวะที่มีความผันผวนสูง ซึ่งผลงานที่ทําได ถือวาดีพอสมควร ถึงแมวาจะมีกําไรสุทธิลดลงจากปกอน โดยมี ยอดขาย 897 ลานลิตร เพิ่มขึ้น รอยละ 11 จาก 809 ลานลิตรในปกอนหนา สามารถสรางรายรับรวมของปทั้งสิ้น 24,452 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 24 จาก 19,544 ลานบาทในปกอนหนา และมีกําไรสุทธิสําหรับป 2553 เปนเงิน 171 ลานบาท ลดลง 25 ลานบาท หรือรอยละ 13 จากปกอนที่ทําได 196 ลานบาท สําหรับสถานการณดานธุรกิจพลังงานทดแทน บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ไดดําเนินการผลิต และจําหนายนํ้ามัน ไบโอดีเซล บี 100 ในปที่ผานมาธุรกิจนํ้ามันปาลมมีการแขงขันคอนขางสูง ราคานํ้ามันปาลมมีความผันผวนมาก ประกอบ กับนโยบายการสงเสริมของภาครัฐเปลี่ยนแปลง ซึ่งสงผลกระทบตอธุรกิจไบโอดีเซล ทําใหเกิดภาวะขาดทุน ขณะนี้บริษัทฯ อยูระหวางหาแนวทางในการแกไขตอไป ในดานธุรกิจคาปลีก บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด ดําเนินกิจการสถานีบริการนํ้ามันทั่วประเทศแลวทั้งสิ้น 70 สาขา โดยไดเนนการใหการบริการนํ้ามันเชื้อเพลิง ชนิดดีเซล, แกสโซฮอลล 91และแกสโซฮอลล 95 เพื่อตอบรับ และ สงเสริมการตลาดพรอมกันไปดวย สวน บริษัท เพียวสัมมากร จํากัด อยูระหวางการกอสรางโครงการศูนยการคา ‘เพียวเพลส เดอะกรีนลีฟวิง่ มอลล’ ซึง่ เปนศูนยการคาชุมชนในยานถนนราชพฤกษ คาดวาจะสามารถเปดใหบริการประมาณ ตนป 2556 นี้ นอกจากนี้ตามที่บริษัทฯ มีขอพิพาททางการคา และคดีฟองรองกับบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และทาง ปตท. ไดหยุดสงวัตถุดิบใหแกบริษัทฯ ตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2555 ทําใหบริษัทฯ ตองหยุดการผลิตอยางไมมีกําหนดเวลา ตั้งแต วันที่ 7 กุมภาพันธ 2555 เปนตนไป ซึ่งถือเปนการปฏิบัติผิดสัญญาขอ 15.5 ทําใหผูสอบบัญชีไมแสดงความเห็นตองบการ เงินประจําป 2554 ซึ่งงบการเงินของบริษัทฯ ยังคงจัดทําขึ้นภายใตขอสมมติฐานการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการ โดยไม ไดปรับปรุงมูลคาสินทรัพยในราคาทีอ่ าจขายได และไมไดปรับปรุงหนีส้ นิ ตามจํานวนเงินทีจ่ ะตองจายคืน และจัดประเภทบัญชี ใหม ในกรณีทบี่ ริษทั ฯ ไมสามารถดําเนินงานอยางตอเนือ่ ง (Going Concern) ทีม่ สี าเหตุจากการทีบ่ ริษทั ฯ มีขอ พิพาททางการ คา และคดีฟองรองดังกลาว ซึ่งผลของขอพิพาท และคดีฟองรองดังกลาวยังไมสามารถระบุได 2


เมือ่ ตองสูญเสียรายไดหลัก บริษทั ฯ จําเปนตองปรับลดคาใชจา ยลงอยางรวดเร็ว และมีนยั ยะสําคัญ ตองใชประโยชน จากทรัพยสนิ ทีบ่ ริษทั ฯ มีอยู รวมทัง้ ตองทําการปรับลดขนาดองคกรใหเหมาะสมกับสถานการณในชวงรอคําวินจิ ฉัยชีข้ าดของ อนุญาโตตุลาการ และศาลแพง ซึ่งไมสามารถคาดเดาไดวาจะใชเวลานานเทาใด ทั้งนี้เพื่อใหบริษัทฯ ยังคงสามารถทํากําไร ได บริษัทฯ มีความจําเปนอยางหลีกเลี่ยงไมไดที่จะตองเลิกจางพนักงาน โดยแบงดําเนินการเปน 3 Phases ใหสอดคลองกับ ปริมาณงานที่เหลืออยู โดยจายเงินชดเชยใหแกพนักงานอยางครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด นอกจากนั้น ยังจายเงินพิเศษ นอกเหนือจากที่กฎหมายแรงงานกําหนด เพื่อปลอบขวัญ และเปนกําลังใจใหแกพนักงานดวย สําหรับแนวทางในการดําเนินงานในอนาคต นอกเหนือจากการดําเนินคดีตา งๆ แลว บริษทั ฯ อยูร ะหวางการแสวงหา แนวทางในการลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทนดานโรงไฟฟาแสงอาทิตย ที่ขณะนี้รอความชัดเจนทางนโยบายของภาครัฐ ในการเปดใหเอกชนเขาทําสัญญาซื้อขายไฟ (PPA) ใหม ซึ่งคาดจะมีความชัดเจนภายในปนี้ ระหวางนี้ บริษัทฯ จึงไดทําการ ศึกษาความเปนไปได แสวงหาพันธมิตร และแหลงเงินลงทุนเพื่อรองรับโครงการนี้ไวลวงหนา นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังศึกษา ความเปนไปได และเขาเจรจาในการทําธุรกิจดานอื่นๆ อีกหลายดาน ทั้งดานโรงกลั่นนํ้ามัน และการบริหารจัดการ รวมทั้ง การรวมทุนกับประเทศเพื่อนบานในธุรกิจที่บริษัทฯ มีความชํานาญ แตยังไมสามารถแจงรายละเอียดในขณะนี้ เนื่องจากอยู ระหวางการเจรจา ในนามของคณะกรรมการ ผมใครขอขอบคุณผูถือหุน คูคา ลูกคา ผูบริหารทุกระดับ และพนักงานทุกทาน ที่ได ทุมเทแรงกายแรงใจชวยแกไขปญหา ในสถานการณยากลําบากที่ผานมาใหกับบริษัทฯ และก็ตั้งใจที่จะสรางกําไร และผล ตอบแทนที่คุมคาใหแกผูถือหุนสืบตอไปอีกอยางเต็มกําลังความสามารถ ถือเปนความดีงามในอดีตที่ผานมา และก็หวังวาจะ สามารถสานตอความดีงามนี้สืบไปในอนาคตดวย

นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ประธานกรรมการ

3


¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· áÅзÕè»ÃÖ¡ÉÒ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃ

คณะกรรมการบริษัท และที่ปรึกษาคณะกรรมการ ณ. 1 กุมภาพันธ 2555

นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ประธานกรรมการ/กรรมการ

นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล

นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

กรรมการ

กรรมการ/ ประธานคณะกรรมการบริหาร

นายสุมิตร ชาญเมธี

นายสุทัศน ขันเจริญสุข

กรรมการ

กรรมการ

นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ

นายวีระวัฒน ชลวณิช

กรรมการ

กรรมการอิสระ

ดร.วิชิต แยมบุญเรือง กรรมการอิสระ/ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

นายอานุภาพ จามิกรณ กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

4

นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ


¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃ

คณะกรรมการบริหาร

นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล

กรรมการ/ ประธานคณะกรรมการบริหาร

กรรมการ

นายสัจจา เจนธรรมนุกูล

นายสุมิตร ชาญเมธี

ประธานกรรมการ/ กรรมการ

กรรมการ

คณะผูบริหาร

นางศิรพร กฤษณกาญจน ผูจัดการใหญ

นายสมบูรณ ศิริชัยนฤมิตร ผูจัดการทั่วไปสายบริหารและการเงิน

นายวสันต ชื่อตรง ผูจัดการทั่วไปสายโรงงาน

ผูจัดการฝาย 1. 2. 3. 4. 5. 6.

นายชุติพล พลเดช นายธเนศ พิพัฒนาเวชกิจ นายบุญเลิศ เพชรฤกษวงศ น.ส.มลฤดี ประภากรรัตนา นางวรรณี กิติวรนันทนกุล นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร

7. นายไพรวัลย วรรณศิริลักษณ 8. ดร.รังสรรค มวงโสรส

ผูจัดการฝายจัดจําหนาย ผูจัดการฝายสารสนเทศ ผูจัดการฝายธุรกิจ ผูจัดการฝายวิศวกรรม และเทคนิค ผูจัดการฝายบัญชี และการเงิน ผูจัดการสํานักกรรมการผูจัดการ และ รักษาการผูจัดการ สํานักงานตรวจสอบและควบคุมภายใน ผูจัดการฝายปฏิบัติการ ผูจัดฝายบริหารโรงงาน

5


¹âºÒ áÅÐâ¤Ã§ÊÌҧ´ŒÒ¹Êѧ¤Á áÅСԨ¡ÃÃÁµÍºá·¹Êѧ¤Á¢Í§ÃÐÂͧà¾ÕÂÇ

1. นโยบายดานสังคมและตอบแทนสังคมของระยองเพียว บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด(มหาชน) โดยคณะผูบ ริหาร ไดกาํ หนดนโยบายใหมกี ารเขาไปมีสว นรวมหรือชวยเหลือสังคม ในดานตาง ๆ ทั้งที่เกี่ยวของกับบริษัทและไมเกี่ยวของกับบริษัท ทั้งนี้ดวยตระหนักถึงการเปนบริษัทโรงกลั่นนํ้ามันของคนไทย 100% บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด(มหาชน) เปนบริษัทโรง กลั่นนํ้ามันของคนไทย 100% ตระหนักถึงความสําคัญของ ชุมชนทีบ่ ริษทั ฯ ไดกอ ตัง้ และดําเนินธุรกิจ ดังนัน้ คณะผูบ ริหาร ไดกําหนดนโยบายความรับผิดชอบตอสังคม โดยการดําเนิน ธุรกิจบนความบริสทุ ธิ์ ยุตธิ รรม ใสใจตอสิง่ แวดลอม และชุมชนรายรอบ อีกทัง้ ยังกําหนดแผนและโนบายการตอบแทนสังคม ผานกิจกรรมการชวยเหลือสังคมในดานตาง ๆ ทั้งในรูปแบบที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ และไมเกี่ยวของกับบริษัทฯ 2. โครงสรางหรือแผนงานดานสังคมของระยองเพียว ปจจุบนั บริษทั ฯ ไดกาํ หนดโครงสรางหรือแผนงานดานสังคม ซึง่ มีแผนกประชาสัมพันธ สํานักบริหารกิจการองคกร เปนผูดูแล โดยจะแบงประเภทออกเปนดังนี้ ดานมวลชนสัมพันธ บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร ไดใหความสําคัญตอชุมชน และงานดานมวลชนสัมพันธตอ เนือ่ งเสมอมา เพือ่ เปนการ เสริมสรางความรูความเขาใจที่ดีตอกัน โดยไดดํารงสัมพันธภาพดีกับโรงเรียน ผูนําชุมชน และหนวยงานราชการ ในพื้นที่ ที่บริษัทฯ ตั้งอยูเชน ที่จังหวัดระยอง นครสวรรค นครราชสีมา ที่บริษัทฯ มีคลังนํ้ามัน หรือสถานีบริการนํ้ามัน “เพียว” ตั้งอยู เชน การจัดงานวันเด็ก การประกวดวาดภาพ การบริจาคทุนการศึกษา การจัดทีมพนักงานระยองเพียวฯ เปน อาสาสมัครสอนหนังสือ รวมกิจกรรมใหความรูกับเด็กๆ ในโรงเรียนละแวกใกลเคียงเปนประจําทุกเดือน หรือมีสวนรวม อื่น ๆ กับกิจกรรมของชุมชน ดานกีฬา บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมกิจกรรมดานกีฬา โดยใหการสนับสนุน “ฟุตซอลทีมชาติไทย” ทั้งนี้ก็เพื่อตองการ สนับสนุนใหทมี ของคนไทยประสบความสําเร็จ ไดรบั ชัยชนะ และมีชอื่ เสียง ในระดับนานาชาติ วาคนไทยก็มคี วามสามารถ ไมแพชาติอื่น ๆ นอกจากนี้ยังตองการสงเสริมพัฒนาการของทีมฟุตซอลของไทยใหกาวไปสูอินเตอรและเกิดการแพรหลาย ในหมูคนไทยหันมาเลนฟุตซอลกันมากขึ้น นอกจากนี้ ในสวนของพนักงาน บริษัทฯ เห็นความสําคัญในสุขภาพของ พนักงาน โดยการสนับสนุนใหจัดตั้งชมรมกีฬาแบดมินตัน เพื่อใหพนักงานทุกคนไดออกกําลังกายและเปนการสรางความ สัมพันธที่ดีตอกันระหวางหนวยงาน และระหวางผูบริหารและพนักงาน

6


ดานการตอบแทนสังคม บริษัทฯ ไดจัดตั้งโครงการ We’re Pure Group เพื่อประเทศไทย ดวยใจรัก ดําเนินกิจกรรมตอบแทนสังคมตาง ๆ ไดแก การสนับสนุนหนวยแพทยเคลื่อนที่ เพื่อชวยเหลือชุมชนที่อยูหางไกลในถิ่นทุรกันดาร ใหพวกเขามีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น การสนับสนุนบริจาคเงินเพือ่ ชวยเหลือผูป ระสบภัยจากเหตุการณตา ง ๆ การสนับสนุนกิจกรรมของสมาคมคนพิการ เปนตน ซึ่งในแตละกิจกรรมพนักงานทุกคนก็ไดมีสวนรวมที่จะชวยเหลือทุกขั้นตอน ที่ผานมาไดจัดกิจกรรมไปแลว 2 โครงการ คือ จิตอาสา พานองทําความดี ดวยการบําเพ็ญประโยชนทําความสะอาดพื้นที่สาธารณะที่วัดญาณฯ จ.ชลบุรี และ จิตอาสาสู ชุมชนทองถิ่น ณ โรงเรียนภูงามโนนสะอาด จ.ฉะเชิงเทรา นอกจากโครงการดังกลาวแลว ยังมีชมรมตาง ๆ อาทิ ชมรม สานฝนปนรัก ชมรมคนดี โดยพนักงานจะรวมตัวกันใชเวลาในชวงเสาร – อาทิตย ไปบริจาคเงินและสิ่งของใหกับหนวยงาน มูลนิธิ ตาง ๆ เปนประจําทุกเดือน ดานสิ่งแวดลอม บริษัทฯ ไดรับการรับรองคุณภาพมาตรฐานดานสิ่งแวดลอม ISO 14001 อาทิ การใชระบบบําบัดนํ้าเสีย และ การตรวจสอบคุณภาพอากาศกอนปลอยออกสูภายนอก จากจุดนี้เองบริษัทฯ จึงมีนโยบายในเรื่องการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ใหคงอยูก บั คนไทยตอไป ดวยการจัดกิจกรรมประกวดกระทงจากวัสดุทที่ าํ จากแปงมันสําปะหลังทีส่ ามารถยอยสลายได โดย ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชวยลดภาวะโลกรอนอีกดวย โดยการใหเยาวชนตั้งแตระดับชั้นประถมถึงมัธยมปลายสง ผลงานเขาประกวด นับเปนอีกกิจกรรมหนึ่งที่ไดรับความสนใจจากโรงเรียนตาง ๆ เขารวมกิจกรรมอยางมากมาย RPC รวมกิจกรรมจิตอาสา สอนนองเรื่องพลังงาน บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด(มหาชน) รวม กับสํานักงานพลังงานจังหวัดสุพรรณบุรี จัดโครงการ “จิตอาสา พัฒนาเยาวชน” โดยระยองเพียว ไดจัดกิจกรรมสันทนาการ เพื่อมอบความบันเทิงแฝงไปดวยความรูดานพลังงานใกลตัว และพนักงานทดแทนใหกับเยาวชน และกลุมผูนําชุมชน เพื่อ ปลูกฝงและสงเสริมการใชพลังงานอยางประหยัด พรอมรวม บริจาคอุปกรณการเรียน เครื่องอุปโภคบริโภคที่จําเปนใหและ เปนประโยชนกับเยาวชน และชุมชนในพื้นที่ ซึ่งมีผูสนใจเขา ร ว มกิ จ กรรม 150 คน ณ โรงเรี ย นบ า นตลาดวั ง หว า อ.ศรีประจันต จ.สุพรรณบุรี ทั้งนี้ กิจกรรมจิตอาสาเปนหนึ่ง ในกิจกรรมเพื่อสังคมตามนโยบายของบริษัทฯที่มุงหวังพัฒนา ชุมชนในพื้นที่หางไกลใหเติบโตอยางยั่งยืน RPC Group ปลูกปะการังเพื่ออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด(มหาชน) และกลุม บริษทั ในเครือ (RPC Group) เดินทางไปทํากิจกรรมปลูกปะการัง เพือ่ เปนการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติทางทะลใหคงอยูกับประเทศไทยตอไป ณ หนวยนาวิกโยธิน อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี

7


RPC Group รวมใจมอบถุงยังชีพชวยเหลือผูประสบภัยนํ้าทวม บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด(มหาชน) และกลุม บริษัทในเครือ (RPC Group) โดยคณะผูบริหารและพนักงานบริษัท ร ว มมอบเครื่ อ งอุ ป โภคบริ โ ภคและถุ ง ยั ง ชี พ ให กั บ ศู น ย บ รรเทา สาธารณภัย หนวยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย เพื่อชวยเหลือผูประสบภัยนํ้าทวม นอกจากนี้ ยังไดรวมจิตอาสากับ มูลนิธริ ว มกตัญู และหนวยงานทหารในพืน้ ที่ ลงพืน้ ทีม่ อบถุงยังชีพ และใหกําลังใจ แดผูประสบภัยนํ้าทวมในเขตสายไหม และลําลูกกา ในการนีส้ ถานีบริการนํา้ มัน “เพียว” ยังไดมอบนํา้ มันเชือ้ เพลิง ใหแกมลู นิธริ ว มกตัญู เพือ่ ใชสาํ หรับภารกิจชวยเหลือผูป ระสบ ภัยอีกดวย RPC รวมแสดงความยินดีในพิธีวางศิลาฤกษ Pure Place ราชพฤกษ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2554 ที่ผานมา คณะผูบริหารบริษัท ระยอง เพียวริฟายเออร จํากัด(มหาชน) เขารวมพิธีวางศิลาฤกษ Pure Place โครงการราชพฤกษ ซึ่งเปน Community Mall แหงที่ 3 ของบริษัท เพียว สัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด(PSDC) โดยโครงการดังกลาวมี Concept “The Green Living Mall” ซึ่งจะเปนศูนยการคาสีเขียว เนนการอนุรักษ พลังงาน และธรรมชาติที่รมรื่น

8


¢ŒÍÁÙÅÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ / °Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹áÅмšÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹

¢ŒÍÁÙÅÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

อัตราสวนสภาพคลอง

เทา

31 ธันวาคม 2552 0.86

Inventory Turnover Ratio

เทา

15.90

15.57

19.09

ระยะเวลาการเก็บหนี้

วัน

3

7

10

อัตรากําไรสุทธิ

%

2.17

1.00

0.71

อัตรากําไรขั้นตน

%

5.30

3.33

3.59

อัตราผลตอบแทนผูถือหุน

%

29.24

13.55

11.03

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย

%

8.97

4.49

4.20

กําไรสุทธิตอหุน

บาท

0.69

0.37

0.32

มูลคาตามบัญชีตอหุน

บาท

2.36

2.73

2.94

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน

เทา

2.26

2.02

1.63

อัตราสวนหนี้สินระยะยาวตอสวนของผูถือหุน

เทา

0.23

0.34

0.25

อัตราสวนทางการเงิน

หนวย

31 ธันวาคม 2553 1.11

31 ธันวาคม 2554 1.01

°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹áÅмšÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹ (˹‹Ç : ŌҹºÒ·) 31 ธันวาคม 2552 3,713

31 ธันวาคม 2553 4,364

31 ธันวาคม 2554 4,067

หนี้สินรวม

2,574

2,917

2,519

สวนของผูถือหุนรวม

1,139

1,446

1,548

รายไดจากการขาย

15.357

19,544

24,212

รายไดรวม

15,484

19,744

24,452

กําไรขั้นตน

814

651

869

กําไรกอนหักดอกเบี้ย คาเสื่อมราคา และภาษีเงินได

541

426

523

กําไรสุทธิ

333

200

171

กําไรสุทธิตอหุน (บาท)

0.69

0.40

0.32

รายการทางเงิน สินทรัพยรวม

9


ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹

ã¹Ãͺ»‚ 2554 ºÃÔÉÑ·Ï ¢ÍÊÃØ»¼Å¡ÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹ ä´Œ´Ñ§¹Õé ¼Å»ÃСͺ¡Òà บริษัทฯ มีรายไดหลักจากการจําหนายนํ้ามันสําเร็จรูปประเภทนํ้ามันดีเซล นํ้ามันดีเซล บี 5 เบนซิน 91 แกส โซฮอลล 91 แกสโซฮอลล 95 เคมีภณ ั ฑ และนํา้ มันเตา ซึง่ บริษทั ฯ มีรายไดจากการจําหนายนํา้ มันและเคมีภณ ั ฑในป 2554 จํานวน 24,212 ลานบาท เพิ่มขึ้นป 2553 ซึ่งมีรายไดเปนจํานวน 19,545 .ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 23.88 โดย บริษัทฯ มีรายไดตอลิตรจําหนายเฉลี่ยเทากับ 27.21 บาทตอลิตรในป 2554 และ 24.37 บาทตอลิตรในป 2553 และ มียอดจําหนายนํ้ามันและเคมีภัณฑรวม ในป 2554 เปนจํานวน 897 ลานลิตร เทียบกับป 2553 ซึ่งมียอดจําหนายนํ้ามัน และเคมีภัณฑรวม 809 ลานลิตร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 10.88 เปนผลมาจากความตองการใชนํ้ามันเพิ่มมากขึ้น และราคา นํ้ามันเพิ่มสูงขึ้นจากปกอน บริษัทฯ และบริษัทยอยมีคาใชจายรวมในป 2554 ทั้งสิ้น 24,092 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 23.63 เมื่อเทียบกับ 19,487 ลานบาท ของป 2553 ซึ่งแบงเปนคาใชจาย 2 ประเภทหลัก คือ ตนทุนขาย และ คาใชจายในการขายและบริหาร โดยตนทุนขายของบริษทั ฯและบริษทั ยอยเพิม่ ขึน้ 4,463 ลานบาท หรือ เพิม่ ขึน้ รอยละ 23.45 จาก 19,036 ลานบาท (เฉลีย่ 23.54 บาทตอลิตร) ในป 2553 เปน 23,490 ลานบาท (เฉลี่ย 26.19 บาทตอลิตร) ในป 2554 โดยการเพิ่มขึ้นของ ตนทุนขายเปนผลมาจากราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปกอน และปริมาณการขายเพิ่มขึ้นจากปกอน สําหรับคาใชจายใน การขาย และบริหารของบริษัทฯ ในป 2554 มีมูลคารวม 593 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 31.49 เทียบกับป 2553 ซึ่ง มีคาใชจายในการขาย และบริหาร 451 ลานบาท ในป 2554 บริษัทฯ มีกําไรสุทธิ เทากับ 171 ลานบาท ลดลง 29 ลานบาท คิดเปน รอยละ 15 เทียบกับในป 2553 ซึ่งมีกําไรสุทธิ เทากับ 200 ลานบาท

´ŒÒ¹¡ÒüÅÔµ ป 2554 บริษัทฯ ผลิตรวมทั้งสิ้น 681 ลานลิตร หรือเทียบเทา 11.73 KBD เทียบกับกําลังการผลิต 987.00 ลาน ลิตร หรือเทียบเทา 17 KBD คิดเปนการใชกําลังการผลิตเทากับ 69.00 % จากกําลังการผลิต 17 KBD เทียบกับในป 2553 ซึ่งผลิตรวมทั้งสิ้น 631 ลานลิตร หรือเทียบเทา 10.87 KBD เทียบกับกําลังการผลิต 9.87 KBD คิดเปนการใช กําลังการผลิต 62.067 % นอกจากนี้การใชเชื้อเพลิงตอการผลิต (FOEB) ในป 2554 เปน 1.56 % ลดลงจากในป 2553 ที่ใช 1.60% ทั้งนี้ผลิตภัณฑที่ไดสวนใหญจะเปนนํ้ามันดีเซล สวนที่เหลือจะเปน เคมีภัณฑ และนํ้ามันเตา และผลิตภัณฑ อื่นๆ ปจจุบนั โรงกลัน่ สามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีขดี ความสามารถของระบบความปลอดภัย นอกจาก นี้บริษัทฯ ยังคงไดรับการรับรองระบบคุณภาพจากระบบคุณภาพ ISO 9001: Version 2000, ระบบการรับรองดานอาชีว อนามัย และความปลอดภัย (OHSAS 18001 ของประเทศสหรัฐอเมริกา และระบบ BS8800 ของประเทศอังกฤษ) และ ระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอม (ISO 14001) อยางตอเนื่อง

10


â¤Ã§¡ÒÃã¹Í¹Ò¤µ บริษัทฯ มีโครงการเพื่อเพิ่มผลตอบแทนใหกับผูถือหุน และสามารถตอยอดธุรกิจของบริษัทฯ และเพิ่มยอดรายได ของบริษัทฯ คือ 1. โครงการลงทุนในโครงการพลังงานทดแทน บริษทั ฯ มีความสนใจการลงทุนดานพลังงานทดแทน อาทิโครงการผลิตนํา้ มันไบโอดีเซล โครงการผลิตเอทานอลเพือ่ นํามาผสมกับนํ้ามันปโตรเลียมที่บริษัทฯ ผลิตเพื่อจําหนายตอได หรือโครงการพลังงานทดแทนทางเลือกอื่นๆ เพื่อเปนการ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ในการลดการนําเขาเชือ้ เพลิงปโตรเลียมจากตางประเทศ โดยใชผลผลิตทางการเกษตรภายใน ประเทศ โครงการพลังงานทดแทนอื่น ในเดือนสิงหาคม 2553 คณะกรรมการบริษัท มีมติใหบริษัทฯ รวมทุนกับบริษัท พลังงานทดแทน จํากัด ซึ่งเปนผู ชํานาญดานการกอสรางโรงไฟฟา เพื่อจัดตั้ง บริษัท อารพีซี เอ็นเนอรยี่ จํากัด โดยบริษัทฯ ถือหุนในอัตรารอยละ 70.00 ของทุนจดทะเบียนจํานวน 125 ลานบาท บริษทั รวมทุนดังกลาวจะดําเนินธุรกิจเกีย่ วกับพลังงานทดแทน โดยในเบือ้ งตน หาก ผลการศึกษาความเปนไปไดและความคุมคาเชิงพาณิชยโดยทีมงานวิเคราะหของบริษัทฯ สําหรับโครงการผลิตไฟฟาจาก ชีวมวลและโครงการผลิตไฟฟาจากชีวภาพ มีความเปนไปไดและมีความคุม คาเชิงพาณิชย ทีมงานวิเคราะหจะนําเสนอผูบ ริหาร ของบริษัทฯ เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติ และคาดวา บริษัทรวมทุนดังกลาวจะเปนผูดําเนินการใน โครงการดังกลาว ซึ่ง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติยกเลิกการจัดตั้งบริษัท อาร พีซี เอ็นเนอรยี่ จํากัด นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังดําเนินการศึกษาความเปนไปไดและความคุม คาเชิงพาณิชย ตลอดจนปจจัยเสีย่ งในการลงทุน ในโครงการอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับพลังงานทดแทนอีกดวย 2. โครงการขยายสถานีบริการนํ้ามัน บริษัทฯ มีจุดมุงหมายขยายจํานวนสถานีบริการนํ้ามัน “เพียว” ใหไดจํานวน 100 แหงเพื่อใหบริการสนองตอบความ ตองการของผูบริโภคไดเพิ่มขึ้น รวมถึงเพื่อเพิ่มผลกําไรของบริษัทฯ จากคาการตลาดสุดทายใน value chain ของธุรกิจคา นํ้ามันสําเร็จรูป ปจจุบัน บริษัทฯ สามารถพัฒนาและเพิ่มจํานวนสถานีบริการนํ้ามันรวมทั้งสิ้น 70 แหง โดยบริษัทฯ ยังคงแผนการ เพิ่มจํานวนสถานีบริการนํ้ามันพรอมทั้งพัฒนามาตรฐานการบริการ เพื่อเพิ่มยอดการจัดจําหนายดานการคาปลีกอยางตอ เนื่อง นอกจากนี้ บริษัทฯ มีแผนขยายธุรกิจอื่นๆ (Non-Oil) ใหเติบโตขึ้น โดยไดพัฒนารูปแบบธุรกิจพลาซา ในสถานีบริการ นํ้ามัน โดยไดเปดพลาซาแหงแรกในสถานีบริการนํ้ามันเพียวสาขาพนัสนิคม 2 จังหวัดชลบุรี นอกจากนี้ บริษทั ฯ ไดประชาสัมพันธใหความรูแ ละสรางความเชือ่ มั่นแกลกู คา ในการไววางใจใชผลิตภัณฑ “เพียว” โดยเนนที่ ดีเซล “เพียว บี 5” ซึ่งทางบริษัทฯ ผลิตเองทุกขั้นตอน โดยมีการจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อรณรงคใหประชาชนหัน มาใชพลังงานทดแทน กิจกรรมครบรอบ 3 ป เพื่อเปนการขอบคุณลูกคาที่ใหการสนับสนุนเพียวมาดวยดีตลอด 3 ป และ อีกหนึ่งความภาคภูมิใจของบริษัทฯ คือการที่บริษัทฯ ไดรับรางวัลจากการประกวดโครงการ “ปมคุณภาพปลอดภัย นาใช บริการ” ของกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน ทั้งหมด 7 สาขา

11


â¤Ã§ÊÌҧ¡Òö×ÍËØŒ¹ áÅСÒèѴ¡ÒÃ

ณ วันที่ 20 มกราคม 2555 รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก โดยนับรวมการถือหุนโดยผูที่เกี่ยวของกันตาม มาตรา 258 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 รายชื่อผูถือหุน

จํานวนหุนที่ถือ

สัดสวนการถือหุน (รอยละ)

1. บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด

158,293,625

29.87

2. นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ และคูสมรส

34,035,250

6.42

3. น.ส.มณฑนา เจนธรรมนุกูล

18,588,800

3.51

4. น.ส.พีระขวัญ ขันเจริญสุข

14,967,575

2.83

5. นายปติ ธรรมมงคล

14,030,900

2.65

6. น.ส. ปญญดา พลอยประพัฒน

13,000,000

2.45

7. นางสุภาพร จันทรเสรีวิทยา

11,400,000

2.15

8. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล

9,312,375

1.76

9. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

8,309,075

1.57

11. นายสรรชัย ติลกานนท

7,067,000

1.33

292,135,225

55.13

รวม

ที่มา : ทะเบียนรายชื่อผูถือหุน บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 20 มกราคม 2555 หมายเหตุ : - 1 คํานวณจากหุนสามัญที่ออกและเรียกชําระแลวจํานวน 529,870,229 หุน

12


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

กลุมบริษัทในเครือ กรรมการผูจัดการ สํานักตรวจสอบและควบคุมภายใน สํานักกรรมการผูจัดการ

สายธุรกิจและการเงิน

สายโรงงาน

13


โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวยคณะกรรมการ 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการจํานวน 10 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ

ตําแหนง

1. นายสัจจา

เจนธรรมนุกูล

ประธานกรรมการ

2. นายสุวินัย

สุวรรณหิรัญกุล

กรรมการ / กรรมการผูจัดการ

3. นายสุมิตร

ชาญเมธี

กรรมการ

4. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

กรรมการ

5. นายสุทัศน

ขันเจริญสุข

กรรมการ

6. นายธวัช

อึ้งสุประเสริฐ

กรรมการ

7. ดร.วิชิต

แยมบุญเรือง

กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

8. นายอานุภาพ จามิกรณ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

9. นายพิพิธ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

พิชัยศรทัต

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท

: นางศิรพร กฤษณกาญจน

เลขานุการบริษัทฯ

: นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร

¡ÃÃÁ¡ÒüٌÁÕÍíҹҨŧ¹ÒÁá·¹ºÃÔÉÑ·Ï กรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ประกอบดวย 1. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน นายสัจจา เจนธรรมนุกลู นายสุมติ ร ชาญเมธี นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล กรรมการ สองในสี่คนนี้ลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราบริษัทฯ หรือ 2. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน หรือนายสัจจา เจนธรรมนุกูล หรือนายสุมิตร ชาญเมธี หรือนายสุวินัย สุวรรณ หิรัญกุล คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อรวมกับ นายวีระวัฒน ชลวณิช หรือนายสุทัศน ขันเจริญสุข หรือนายธวัช อึ้งสุประเสริฐ รวมเปนสองคน และประทับตราบริษัทฯ

14


¢Íºà¢µÍíҹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· 1. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัทฯ ภายใตการควบคุมของคณะกรรมการ หรือ อาจมอบอํานาจเพื่อใหบุคคลดังกลาวมีอํานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในระยะเวลาที่คณะ กรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอน หรือเปลี่ยนแปลง หรือแกไขอํานาจนั้นๆ ได ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงานตางๆ โดยมีราย ละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร การมอบอํานาจดังกลาวตองไมมี ลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ทําใหคณะกรรมการบริหาร หรือผูรับมอบอํานาจจากคณะ กรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนอนื่ ใด (ตามทีส่ าํ นักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษทั ฯ หรือบริษทั ยอย ยกเวน เปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัท ฯ พิจารณาอนุมัติไว 2. คณะกรรมการมีอํานาจกําหนดและแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ได 3. คณะกรรมการอาจจายเงินปนผลระหวางกาลใหแกผถู อื หุน ไดเปนครัง้ คราว เมือ่ เห็นวาบริษทั ฯ มีผลกําไรสมควร พอที่จะทําเชนนั้น และรายงานใหที่ประชุมผูถือหุนทราบในการประชุมผูถือหุนคราวตอไป 4. คณะกรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติ ของทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เวนแตในเรือ่ งทีต่ อ งไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน กอนดําเนินการ เชนเรือ่ งทีก่ ฎหมาย กําหนดใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพยที่สําคัญ ตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน 5. คณะกรรมการตองประชุมกันอยางนอยสามเดือนตอครั้ง โดยมีกรรมการมารวมประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมด การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมคณะกรรมการใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งมี หนึ่งเสียงในการลงคะแนน เวนแตกรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนใน เรื่องนั้น และถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มอีกหนึ่งเสียงเพื่อเปนเสียงชี้ขาด 6. คณะกรรมการตองจัดใหมีการประชุมผูถือหุนสามัญประจําปภายในสี่เดือน นับแตวันสิ้นสุดของรอบปบัญชีของ บริษัทฯ 7. กรรมการตองแจงใหบริษัทฯ ทราบโดยไมชักชา ในกรณีที่กรรมการมีสวนไดเสียไมวาโดยทางตรงหรือทางออม ในสัญญาที่บริษัทฯ ทําขึ้น หรือในกรณีที่จํานวนหุนหรือหุนกูของบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือที่กรรมการถืออยูมี จํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 8. กรรมการตองไมประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันกับกิจการของบริษัทฯ หรือเขา เปนหุน สวนในหางหุน สวนสามัญหรือเปนหุน สวนไมจาํ กัดความรับผิดในหางหุน สวนจํากัดหรือเปนกรรมการของ บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดอื่นใด ที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันกับ กิจการของบริษัทฯ ไมวาเขาทําเพื่อประโยชนตนเอง หรือประโยชนผูอื่น เวนแตจะไดแจงใหที่ประชุมผูถือหุน ทราบกอนที่จะมีมติแตงตั้งกรรมการผูนั้น

15


¤Ø³ÊÁºÑµÔ¢Í§¡ÃÃÁ¡ÒÃÍÔÊÃÐ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ มีความเปนอิสระตามนิยามความเปนอิสระของกรรมการอิสระ โดย 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง 2. ไมเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุม ของ บริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง 3. ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นองและบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับ การเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย 4. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวมหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ใน ลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ซึง่ ไมใชกรรมการอิสระ หรือผูบ ริหาร ของผูท มี่ คี วามสัมพันธทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง 5. ไมเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง และไม เปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยงสังกัดอยู 6. ไมเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่ง ไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแยง รวมทั้งไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการ ของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้น ดวย 7. ไมเปนกรรมการทีไ่ ดรบั แตงตัง้ ขึน้ เพือ่ เปนตัวแทนของกรรมการของบริษทั ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูถ อื หุน ซึง่ เปน ผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ 8. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ 9. ไมเปนกรรมการทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ใหตดั สินใจในการดําเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญบริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง และไมเปนกรรมการ ของบริษัทจดทะเบียนที่เปนบริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน 10. มีหนาทีใ่ นลักษณะเดียวกับทีก่ าํ หนดไวในประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยวาดวยคุณสมบัตแิ ละขอบเขต การดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

16


¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒà ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริหารประกอบดวยกรรมการจํานวน 4 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ

ตําแหนง

1. นายศุภพงศ

กฤษณกาญจน

ประธานคณะกรรมการบริหาร

2. นายสุวินัย

สุวรรณหิรัญกุล

กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ

3. นายสุมิตร

ชาญเมธี

กรรมการบริหาร

4. นายสัจจา

เจนธรรมนุกูล

กรรมการบริหาร

¢Íºà¢µÍíҹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒà 1. พิจารณากําหนดนโยบายสําคัญของบริษัทฯ โดยกําหนดวัตถุประสงค ภารกิจ แนวทางตลอดจนการกํากับดูแล การดําเนินงานของบริษัทฯ ในเรื่องเกี่ยวกับการผลิต การจําหนาย 2. พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพยถาวร ไมเกิน 50 ลานบาท ตามแผนงบประมาณที่คณะกรรมการอนุมัติไว และตองเปนไปตามขอบังคับสํานักงานกํากับตลาดทุนเรื่องเกี่ยวกับการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของ บริษัทจดทะเบียน หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. ดําเนินการในการทําและลงนามสัญญากูเงิน และการตออายุสัญญากูเงินในวงเงินไมเกิน 50 ลานบาท 4. พิจารณาอนุมัติหลักการการลงทุนในโครงการใหม หรือการขยายธุรกิจเพื่อนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาตอไป 5. พิจารณาอนุมตั กิ ารดําเนินการทีเ่ กีย่ วของกับการบริหารงานทัว่ ไปของบริษทั ฯ ในสวนทีเ่ กินขอบเขตอํานาจอนุมตั ิ ของกรรมการผูจัดการ 6. จัดผังโครงสรางองคกรและการบริหาร และกรรมการบริหาร โดยใหครอบคลุมทุกรายละเอียดของการคัดเลือก การฝกอบรม การวาจาง การเลิกจางของพนักงานของบริษัทฯ 7. กําหนดนโยบายอัตราคาจาง และโครงสรางเงินเดือน 8. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในแตละชวงเวลาจากคณะกรรมการบริษัทฯ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีดังนี้

1. ดร.วิชิต

รายชื่อ

ตําแหนง

แยมบุญเรือง

ประธานกรรมคณะการตรวจสอบ

2. นายอานุภาพ จามิกรณ

กรรมการตรวจสอบ

3. นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ : นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร 17


¢Íºà¢µÍíҹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให ความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้งโยกยาย เลิกจาง ประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของหัวหนาหนวยงาน ตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระ เพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอ คาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทัง้ เขารวมประชุมกับผูส อบบัญชีโดยไมมฝี า ยจัดการเขารวมประชุมดวยอยาง นอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมาย และ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอ บริษัทฯ 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกลาวตอง ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และเปนไปตามหลักเกณฑที่ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนดไว 7. สอบทาน และรายงานผลการสอบของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อใหมั่นใจวากรอบการบริหารความ เสี่ยง และกระบวนการของบริษัทฯ ไดรับการประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยางสมํ่าเสมอและเสนอ แนะการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ 8. สอบทานความถูกตอง และประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กีย่ วของกับรายงานการเงิน และการควบคุม ภายใน ทานระบบบริหารความเสี่ยง 9. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตามวิธีการและมาตรฐานที่ยอมรับโดย ทั่วไป 10. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และกฎบัตรของหนวยงานตรวจสอบภายใน 11. คณะกรรมการตรวจสอบอาจแสวงหาความเห็นที่เปนอิสระจากที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใดเมื่อเห็นวาจําเปน ดวยคาใชจายของบริษัทฯโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัททั้งนี้การดําเนินการวาจางใหเปนไป ตามระเบียบขอกําหนดของบริษัทฯ 12. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัท มอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

18


¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒ áÅоԨÒóҤ‹ÒµÍºá·¹ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการจํานวน 4 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ

ตําแหนง

1. ดร. วิชิต

แยมบุญเรือง

ประธานคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

2. นายธวัช

อึ้งสุประเสริฐ

กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

3. นายสุทัศน

ขันเจริญสุข

กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

4. นายพิพิธ

พิชัยศรทัต

กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

¢Íºà¢µÍíҹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒ áÅоԨÒóҤ‹ÒµÍºá·¹ 1. พิจารณาคาตอบแทนกรรมการ และกรรมการผูจัดการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ 2. สรรหากรรมการ และกรรมการผูจัดการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ 3. เรื่องอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

¤³Ð¼ÙŒºÃÔËÒà ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผูบริหารของบริษัทฯ มีจํานวน 15 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ

ตําแหนง

1. นายศุภพงศ

กฤษณกาญจน

ประธานคณะกรรมการบริหาร

2. นายสุวินัย

สุวรรณหิรัญกุล

กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ

3. นายสัจจา

เจนธรรมนุกูล

กรรมการบริหาร

4. นายสุมิตร

ชาญเมธี

กรรมการบริหาร

5. นางศิรพร

กฤษณกาญจน

ผูชวยกรรมการผูจัดการ

6. นายสมบูรณ ศิริชัยนฤมิตร

ผูจัดการทั่วไปสายธุรกิจและการเงิน

7. นายวสันต

ผูจัดการทั่วไปสายโรงงาน

ซื่อตรง

8. นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร

ผูจัดการสํานักกรรมการผูจัดการและรักษาการผูจัดการ สํานักตรวจสอบและควบคุมภายใน

9. นายบุญเลิศ เพชรฤกษวงศ

ผูจัดการฝายธุรกิจ

10.นางวรรณี

ผูจัดการฝายบัญชี

กิติวรนันทนกุล

19


รายชื่อ

ตําแหนง

11.นายรังสรรค

มวงโสรส

ผูจัดการฝายบริหารทั่วไป

12.นายธเนศ

พิพัฒนาเวชกิจ

ผูจัดการฝายสารสนเทศ

13.นายไพรวัลย วรรณศิริลักษณ

ผูจัดการฝายปฏิบัติการ

14.นางสาวมลฤดี ประภากรรัตนา

ผูจัดการฝายวิศวกรรมและเทคนิค

15.นายชุติพนธ พลเดช

ผูจัดการฝายจัดจําหนาย

¢Íºà¢µÍíҹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà กรรมการผูจัดการ มีอํานาจและหนาที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการจะมอบหมาย และจะ ตองบริหารบริษทั ฯ ตามแผนงานหรืองบประมาณทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการอยางเครงคัด ซือ่ สัตยสจุ ริตและระมัดระวัง รักษาผลประโยชนของบริษัทฯ และผูถือหุนอยางดีที่สุด อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหรวมถึงเรื่องหรือกิจการตางๆ ดังตอไปนี้ดวย 1. ดําเนินกิจการ และ/หรือ บริหารงานประจําวันของบริษัทฯ 2. บรรจุ แตงตั้ง เลื่อนตําแหนงพนักงาน ปรับเงินเดือนพนักงาน ซึ่งผานความเห็นชอบตามสายงานตามระเบียบ ที่คณะกรรมการกําหนด 3. พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพยถาวรมูลคาไมเกิน 10,000,000 บาท (สิบลานบาท) ทั้งนี้ ตองเปนไปตามขอ บังคับของสํานักงานกํากับตลาดทุนในเรื่องเกี่ยวกับการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียน หรือรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ 4. ดําเนินการใหมีการจัดทํา และสงมอบนโยบายทางธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงแผนงานและงบประมาณตอคณะ กรรมการเพื่อขออนุมัติ และมีหนาที่รายงานความกาวหนาตามแผน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติดังกลาวตอ คณะกรรมการใน ทุกๆ 3 เดือน 5. ดําเนินการหรือปฏิบัติงานใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ ทัง้ นี้ การใชอาํ นาจของกรรมการผูจ ดั การดังกลาวขางตนไมสามารถกระทําได หากกรรมการผูจ ดั การอาจมีสว น ไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะใดๆ กับบริษัทฯ ในการใชอํานาจดังกลาว

¡ÒÃÊÃÃËÒ¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒà บริษทั ฯ มีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนโดยเฉพาะ ทัง้ นีบ้ คุ คลทีจ่ ะไดรบั การแตงตัง้ ใหดาํ รงตําแหนง กรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ จะตองมีคุณสมบัติครบตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และขอบังคับของบริษทั ฯ และไมมลี กั ษณะตองหามตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เกี่ยวกับเรื่อง การขออนุญาต และการอนุญาตใหเสนอขายหุนที่ออกใหมฉบับลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 โดยการคัดเลือก จะดําเนินการดังนี้

20


ͧ¤ »ÃСͺ áÅСÒÃᵋ§µÑ駤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·Ï คณะกรรมการของบริษัทฯ ตองมีจํานวนไมนอยกวา 5 คน และไมเกินกวา 15 คน เลือกตั้งโดยที่ประชุมผูถือหุน และกรรมการไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนกรรมการทัง้ หมดตองมีถนิ่ ทีอ่ ยูใ นประเทศไทย ทัง้ นีข้ อ บังคับของบริษทั ฯ กําหนด ใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการตอไปนี้ 1. ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2. ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียว หรือหลายคนเปนกรรมการก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได 3. บุคคลที่ไดรับคะแนนสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับเลือกเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะ พึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวน กรรมการที่จะพึงมี ใหประธานที่ประชุมเปนผูออกเสียงชี้ขาด เมือ่ มีการประชุมสามัญประจําปทกุ ครัง้ ใหกรรมการออกจากตําแหนงจํานวนหนึง่ ในสามของจํานวนกรรมการในขณะ นั้น ถาจํานวนกรรมการจะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม กรรมการซึ่ง พนจากตําแหนง อาจไดรับเลือกใหกลับเขามารับตําแหนงอีกก็ได กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อ และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ

ͧ¤ »ÃСͺáÅСÒÃᵋ§µÑ駤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒà คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูแตงตั้งคณะกรรมการบริหาร โดยเลือกตั้งจากกรรมการจํานวนหนึ่งของบริษัทฯ

ͧ¤ »ÃСͺáÅСÒÃᵋ§µÑ駤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ คณะกรรมการบริษทั ฯ เปนผูแ ตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแตงตัง้ บุคคลอยางนอย 3 คนและมีวาระการดํารง ตําแหนง 3 ป โดยบุคคลดังกลาว ตองที่มีคุณสมบัติครบถวนตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยและตามประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

¤‹ÒµÍºá·¹¼ÙŒºÃÔËÒà คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ป 2553 คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม 10 ราย เทากับ 4.59 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเบี้ยประชุม และบําเหน็จกรรมการซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ คาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบริหารรวม 15 ราย จํานวน 32.92 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเงินเดือน และโบนัสซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ป 2554 คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม 9 ราย เทากับ 40.32ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเบี้ยประชุม และบําเหน็จกรรมการซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ คาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบริหารรวม 15 ราย จํานวน 38.51 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเงินเดือน และโบนัสซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ

21


โดยคาตอบแทนกรรมการเปนรายบุคคลมีรายละเอียดดังนี้ หนวย : บาท รายชื่อ

ป 2553

ป 2554

1. นายสัจจา

เจนธรรมนุกูล

395,000.00

4,160,872

2. นายสุวินัย

สุวรรณหิรัญกุล

400,000.00

3,677,797

3. นายสุมิตร

ชาญเมธี

395,000.00

3,677,797

4. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

400,000.00

3,677,797

5. นายสุทัศน

ขันเจริญสุข

415,000.00

3,717,797

6. นายธวัช

อึ้งสุประเสริฐ

420,000.00

3,707,797

7. ดร.วิชิต

แยมบุญเรือง

525,000.00

3,827,797

8. นายอานุภาพ จามิกรณ

500,000.00

3,752,797

9. นายพิพิธ

520,000.00

3,797,797

615,000.00

2,600,500

4,585,000.00

36,598,750

พิชัยศรทัต

10. นายวีระวัฒน ชลวณิช รวมเงินทั้งสิ้น คาตอบแทนอื่นๆ

ใน ป 2553 กรรมการบริหารและผูบริหารรวม 15 ราย (ไมรวมกรรมการอิสระ) ไดรับเงินสมทบกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ จํานวน 2.59 ลานบาท ใน ป 2554 กรรมการบริหารและผูบริหารรวม 15 ราย (ไมรวมกรรมการอิสระ) ไดรับเงินสมทบกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ จํานวน 3.15 ลานบาท

22


¡ÒáӡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡ÒÃ

¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òà บริษทั ฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบตั ติ ามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีด่ อี ยางตอเนือ่ ง ทัง้ นี้ เพือ่ ความ โปรงใสในการดําเนินงานของบริษทั ฯ ทุกระดับชัน้ ทัง้ ในสวนของพนักงานระดับปฏิบตั งิ าน ผูบ ริหาร ตลอดจนคณะกรรมการ ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มประสิทธิผลในการประกอบกิจการของบริษัทฯ เพื่อประโยชนใน ระยะยาวของผูถือหุน ลูกคา นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป ซึ่งหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ครอบคลุมหลัก การ 5 หมวด ดังมีรายละเอียดดังนี้

1. ÊÔ·¸Ô¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ ผูถือหุน : สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน คณะกรรมการของบริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการที่ดี การมีมาตรฐานที่เปนสากล และ ความสอดคลองกับนโยบายของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมทั้งความสําคัญตอสิทธิของผูถือหุน และไดสงเสริมให ผูถ อื หุน ไดใชสทิ ธิของตน โดยไดจดั ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ ชวยกํากับดูแลกิจการในดานตางๆ เพือ่ สนับสนุนวัฒนธรรม องคกร และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเชื่อมั่นเปนอยางยิ่งวา กระบวนการกํากับ ดูแลกิจการทีด่ ี จะชวยสงเสริมผลการดําเนินงานของบริษทั ฯ และเปนหัวใจในการบรรลุเปาหมายพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญยิง่ อยางหนึง่ อันจะสงผลใหเกิดการเพิ่มมูลคาสูงสุดแกผูถือหุน คุณคาที่บริษัทฯมุงหวัง และคาดหวังใหกรรมการ และพนักงานทุกคนถือ ปฏิบัติในทุกภารกิจไดแก •

การปฏิบัติงานดวยความรูความสามารถอยางมืออาชีพดวยความซื่อสัตย และมีคุณธรรม

การสรางความสามัคคีในการทํางานรวมกัน

การยึดมั่นในหลักการของระเบียบวินัยการปฏิบัติงานที่ดี เพื่อชวยพัฒนาบริษัทฯ ประเทศชาติ และสังคมโดย รวม

การมีปฏิสัมพันธรวมกัน และมีความพรอมในการตอบสนองตอทุกสถานการณ

ในการจัดประชุมสามัญผูถือหุน บริษัทฯ ไดกําหนดที่จะจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารประกอบกอนการ ประชุมลวงหนาอยางนอย 7 วัน กอนวันประชุมผูถ อื หุน เพือ่ ใหเปนตามระยะเวลาขัน้ ตํา่ ทีก่ ฎหมายกําหนด นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน ทุกรายอยางเทาเทียมกัน ผูถ อื หุน สามารถใชสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนไดอยางเปนอิสระในการ เลือกคณะกรรมการบริษทั การลงมติ การแสดงความคิดเห็นและการตัง้ คําถามใดๆ ตอทีป่ ระชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่เสนอ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที่ถูกตอง ทันตอเหตุการณ เปดเผย ครบถวน และสามารถตรวจสอบขอมูลตางๆ ได รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบายที่จะเพิ่มทางเลือกใหกับผูถือหุน โดยใหกรรมการ อิสระเปนผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุน ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมได

23


2. ¡Òû¯ÔºÑµÔµ‹Í¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹Í‹ҧ෋Òà·ÕÂÁ¡Ñ¹ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน ผูถือหุนสามารถใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนได อยางเปนอิสระในการเลือกคณะกรรมการบริษัทฯ การลงมติ การแสดงความคิดเห็น และการตั้งคําถามใดๆ ตอที่ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่เสนอ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิ และความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที่ถูก ตอง ทันตอเหตุการณ เปดเผยครบถวน และสามารถตรวจสอบขอมูลตางๆได รวมทั้งบริษัทฯมีนโยบายที่จะเพิ่มทางเลือกให กับผูถือหุนโดยใหกรรมการอิสระเปนผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุน ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมได ตลอดการดําเนินงานที่ผานมา คณะกรรมการบริษัท และฝายบริหาร ไดพิจารณาขจัดปญหาความขัดแยงทางผล ประโยชนอยางรอบคอบดวยความซื่อสัตยสุจริต มีเหตุผล และเปนอิสระภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชนของ บริษัทฯ โดยรวมเปนสําคัญ เพื่อใหเกิดความโปรงใส และปองกันการแสวงหาผลประโยชนสวนตน บริษัทฯ อยูระหวาง รางคําสั่งเพื่อถือปฏิบัติในการหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานระดับปฏิบัติงาน ใชขอมูลภายในของบริษัทฯ และบริษัท ในเครือทีม่ สี าระสําคัญ และยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชนเพือ่ ประโยชนของตนเอง หรือผูอ นื่ นอกจากนีห้ ากมีการทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกันบริษัทฯ จะปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการตามที่ประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ความขัดแยงทางผลประโยชน ตลอดการดําเนินงานที่ผานมา คณะกรรมการบริษัทฯ และฝายบริหาร ไดพิจารณาขจัดปญหาความขัดแยงทางผล ประโยชนอยางรอบคอบดวยความซื่อสัตยสุจริต มีเหตุผล และเปนอิสระภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชนของ บริษัทฯ โดยรวมเปนสําคัญ เพื่อใหเกิดความโปรงใส และปองกันการแสวงหาผลประโยชนสวนตน บริษัทฯ อยูระหวางราง คําสั่งเพื่อถือปฏิบัติในการหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานระดับปฏิบัติงาน ใชขอมูลภายในของบริษัทฯ และบริษัทใน เครือที่มีสาระสําคัญ และยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อประโยชนของตนเอง หรือผูอื่น นอกจากนี้หากมีการทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกันบริษัทฯ จะปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการตามที่ประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

3. º·ºÒ·¢Í§¼ÙŒÁÕʋǹ䴌àÊÕ สิทธิของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ บริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนผูมีสวนไดเสียภายใน ไดแก พนักงาน และผูบริหารของบริษัทฯ และบริษัทยอย หรือผูมีสวนไดเสียภายนอก ไดแก คูแขง เจาหนี้ ภาครัฐและหนวยงานอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ โดยบริษัทฯ ปฏิบัติตามขอกําหนดของกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหสิทธิของผูมีสวนไดเสีย เหลานี้ไดรับการดูแลอยางดี ตลอดการดําเนินงานที่ผานมาบริษัทฯ ไดมีการปฏิบัติตอพนักงานอยางเทาเทียม และเปนธรรม โดยใหผลตอบแทนที่เหมาะสม การซื้อสินคา และบริการจากคูคาเปนไปตามเงื่อนไข รวมถึงการปฏิบัติตามสัญญาตอคูคา มี ความเอาใจใส และรับผิดชอบตอลูกคา รักษาความลับของลูกคา อีกทัง้ จรรยาบรรณของบริษทั ฯ ไดมกี ารระบุถงึ การประพฤติ ปฏิบัติภายใตกรอบกติกาของการแขงขันที่ดี ไมแสวงหาขอมูลที่เปนความลับของคูแขงทางการคาดวยวิธีการที่ไมสุจริตไม เหมาะสม และบริษัทฯ มีนโยบายที่จะประกอบธุรกิจโดยคํานึงถึงการพัฒนาและเจริญเติบโตควบคูไปกับชุมชน

24


4. ¡ÒÃà» ´à¼Â¢ŒÍÁÙÅáÅФÇÒÁâ»Ã‹§ãÊ นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท ไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ โดยตระหนักถึงความสําคัญเนื่องจากเปน ประโยชนตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหมีความมั่นคงและเจริญเติบโตไดอยางยั่งยืน สวนการกําหนดแนวทางในการ ดําเนินงานนั้น บริษัทฯ ใหความสําคัญเรื่องการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะอยางยิ่ง คณะกรรมการ บริษัท ไดมีการประเมินความเพียงพอการควบคุมภายในรวมกันเปนประจําทุกปตั้งแตป 2546 เปนตนมาและมีการกํากับ ดูแลการดําเนินงานของฝายบริหาร โดยกําหนดใหคณะกรรมการบริหารดําเนินธุรกิจตามนโยบายอยางมีประสิทธิภาพเพือ่ ให บริษัทไดปฏิบัติตามหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังไดเปดเผยขอมูลครบถวนตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึง่ มีการรายงาน ไวทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผานทาง Website ของบริษัทฯ รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย และสารสนเทศทางการเงินที่ ปรากฏในรายงานประจําป และจัดใหมีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดวาการบันทึกขอมูลทางบัญชีมี ความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอทีจ่ ะดํารงรักษาไวซงึ่ ทรัพยสนิ ทําใหทราบจุดออน และสามารถปองกันไมใหเกิดการทุจริต หรือดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ ความสัมพันธกับผูลงทุน ภายหลังบริษทั ฯ เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย บริษทั ฯ ไดแตงตัง้ ใหนางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร ผูจ ดั การสํานัก กรรมการผูจ ดั การ เปนผูด แู ลงานนักลงทุนสัมพันธเพือ่ ดูแลเรือ่ งการเปดเผยขอมูลทีม่ คี วามถูกตองครบถวนโปรงใสและทัว่ ถึง ทั้งรายงานขอมูลทางการเงินและขอมูลทั่วไป ตลอดจนขอมูลสําคัญที่มีผลกระทบตอราคาหลักทรัพยของ บริษัทฯ โดยเผย แพรขอ มูลสารสนเทศของบริษทั ฯ ตอนักลงทุนและสาธารณชนผานชองทางตางๆ คือ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (แบบ แสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1), รายงานประจําป (แบบ 56-2), สื่ออิเล็กทรอนิกส (SCP Client)) หนังสือพิมพ, นิตยสาร, โทรทัศน, เว็บไซตบริษัทฯ, วารสารผูถือหุนสัมพันธ, การพบปะใหสัมภาษณ, การเดินทางไปพบนักลงทุนทั้งใน ประเทศ และนักลงทุนตางประเทศที่มาพบ และจัดประชุมนักวิเคราะหหลักทรัพย

5. ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณในการดําเนินธุรกิจ ทําหนาที่กําหนดนโยบาย วิสัยทัศน กลยุทธ เปาหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกํากับดูแล ใหฝายจัดการบริหารงานใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใตกรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษัทฯ และมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริตระมัดระวัง ตามหลักการขอ พึงปฏิบัติที่ดี เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจสูงสุดใหแกกิจการ และความมั่นคงสูงสุดใหแกผูถือหุน นอกจากนี้บริษัทฯ ไดให ความสําคัญเปนอยางยิง่ ตอระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม ตลอด จนการมีระบบการสอบทานเพือ่ ใหการดําเนินงานเปนไปตามขอกฎหมาย และมีการควบคุมทีด่ ี เพือ่ ใหระบบการควบคุมภายใน มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดตอบริษัทฯ นอกจากนี้คณะกรรมการเปนผูพิจารณาการกําหนดและแยกบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และกรรมการผูจัดการ อยางชัดเจน

25


จริยธรรมธุรกิจ บริษัทฯ ยึดมั่นในการกระทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ กรรมการ ผูบริหาร และ พนักงานทุกคน และบริษทั ฯ มีภาระหนาทีร่ ว มกันในการปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความซือ่ สัตยสจุ ริต ภายใตกรอบของกฎหมาย และ ภายใตขอบเขตความรับผิดชอบของตน รวมทั้งใชวิจารณญาณอยางรอบคอบ ในการตัดสินใจทําการคา และปฏิบัติตนตอผู อื่น ละเวนการกระทําใดๆ ที่จะกอใหเกิดความเสี่ยงตอความเสียหายแกบริษัทฯ และสวนรวม แมวาการกระทําดังกลาวดู เสมือนวาจะชวยเกือ้ กูลธุรกิจแกบริษทั ฯ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ อยูร ะหวางการจัดทํารางจรรยาบรรณพนักงาน และจรรยาบรรณในการ ดําเนินธุรกิจเพื่อใหพนักงานไดถือปฏิบัติ การถวงดุลของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 10 ทาน ประกอบดวย •

กรรรมการที่เปนผูบริหาร จํานวน 4 ทาน

กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร จํานวน 2 ทาน

กรรมการที่เปนอิสระ จํานวน 4 ทาน คิดเปนรอยละ 40 ของกรรมการทั้งคณะ

การรวม หรือแยกตําแหนง ประธานกรรมการไมเปนบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจัดการของบริษทั ฯ เพื่อใหเกิดการถวงดุล และการสอบทาน การบริหารงาน และโครงสรางคณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และกรรมการอิสระ มากกวากึ่งหนึ่งของคณะกรรมการทั้งหมด คาตอบแทนของ กรรมการ และผูบริหาร บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายการใหคาตอบแทนกรรมการ และผูบริหารไวอยางชัดเจน ทั้งนี้การพิจารณาคาตอบแทน ของกรรมการใหอยูใ นอํานาจอนุมตั ขิ องทีป่ ระชุมผูถ อื หุน สวนคาตอบแทนของผูบ ริหารจะอยูใ นอํานาจอนุมตั ขิ องคณะกรรมการ บริษัทฯ โดยการพิจารณาอนุมัติคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารดังกลาวจะอยูในระดับเดียวกับอุตสาหกรรมซึ่งสูงพอที่จะ ดึงดูดและรักษากรรมการและผูบริหารที่มีคุณสมบัติที่บริษัทฯ ตองการ การประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ มีนโยบายจัดสงหนังสือเชิญประชุม พรอมเอกสารประกอบเพื่อใหกรรมการพิจารณากอนการประชุมลวง หนาอยางนอย 7 วัน เพื่อใหเปนไปตามระยะเวลาขั้นตํ่าตามที่กฎหมายกําหนด ในป 2553 และป 2554 คณะกรรมการมี การประชุมรวมทั้งสิ้น 8 ครั้งและ 8 ครั้งตามลําดับ และไดมีการจดบันทึกการประชุมเปนลายลักษณอักษร จัดเก็บรายงาน การประชุมที่ผานการรับรองจากคณะกรรมการพรอมใหกรรมการและผูที่เกี่ยวของตรวจสอบได

26


จํานวนครั้งที่เขาประชุมตอจํานวนครั้งของการประชุม

รายชื่อ

ป 2553

ป 2554

1. นายสัจจา

เจนธรรมนุกูล

7/8

8/8

2. นายสุวินัย

สุวรรณหิรัญกุล

8/8

8/8

3. นายสุมิตร

ชาญเมธี

7/8

8/8

4. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

8/8

8/8

5. นายสุทัศน

ขันเจริญสุข

7/8

8/8

6. นายธวัช

อึ้งสุประเสริฐ

8/8

6/8

7. ดร. วิชิต

แยมบุญเรือง

8/8

8/8

8. นายอานุภาพ จามิกรณ

8/8

7/8

9. นายพิพิธ

8/8

8/8

พิชัยศรทัต

คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อชวยในการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ดังนี้ •

กรรมการตรวจสอบ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ปประกอบดวย กรรมการ 3 ทาน ทุกทานเปน กรรมการอิสระ

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป ประกอบดวย กรรมการ 4 ทาน ทุกทานไมเปนกรรมการบริหาร และผูทําหนาที่เปนประธานฯ ตองเปนกรรมการอิสระ

ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษัทฯ ไดกําหนดภาระ หนาที่อํานาจการดําเนินการของผูปฏิบัติงาน และผูบริหาร ไวเปนลายลักษณอักษรอยาง ชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทฯ ใหเกิดประโยชน และมีการแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูควบคุมและ ประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุล และตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม บริษัทฯ มีสํานักตรวจสอบภายในทําหนาที่ตรวจสอบเพื่อใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานหลัก และกิจกรรมทางการเงินที่ สําคัญของบริษัทฯ ไดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนด และมีประสิทธิภาพ รวมถึงตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย และ ขอกําหนดที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ สํานักตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระ สามารถทําหนาที่ตรวจสอบ และถวงดุลไดอยาง เต็มที่ โดยสํานักตรวจสอบภายในสามารถรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ

27


¡ÒôÙáÅàÃ×èͧ¡ÒÃ㪌¢ŒÍÁÙÅÀÒÂã¹ บริษัทฯ ไดดาํ เนินการแจงใหผบู ริหารฝายตางๆ เขาใจถึงภาระหนาที่ในการรายงานการถือหลักทรัพยในบริษทั ฯ ของ ตนเอง คูส มรส และบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะ ตลอดจนรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพยตอ สํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 และบทกําหนดลงโทษตามมาตรา 275 แหงพระราชบัญญัติหลัก ทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 หากกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯฝาฝนหรือและไมปฏิบัติตามนโยบายของบริษัทฯ ในเรื่องการซื้อ ขายหลักทรัพยโดยใชขอมูลภายใน บริษัทฯ จะลงโทษทางวินัยกับกรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานผูนั้นโดยเริ่มตั้งแตการ ตักเตือนเปนหนังสือ ตัดคาจาง พักงานชั่วคราวโดยไมไดรับคาจาง หรืออาจจะใหออกจากงาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความรายแรง ของความผิดนั้น

ºØ¤ÅÒ¡Ã จํานวนบุคลากร จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2554 รวมทั้งสิ้น 1,027 คนและ 932 คนตามลําดับ โดยแยกตามสายงานหลักไดดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สายงานหลัก

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

จํานวน (คน)

สายงานหลัก

จํานวน (คน)

สายธุรกิจและการเงิน

62

สายธุรกิจและการเงิน

53

สายโรงงาน

74

สายโรงงาน

80

*อื่นๆ

18

*อื่นๆ

13

บริษัทยอย

บริษัทยอย

PTEC

667

PTEC

585

JTC

83

JTC

69

PSDC

27

PSDC

35

PBC

54

PBC

53

SAP

19

SAP

22

SCT

23

SCT

22

รวม

1,027

รวม

932

หมายเหตุ - อื่นๆ หมายถึง พนักงานที่ไมไดสังกัดตามสายงานตางๆ แตสังกัดอยูในบริษัทฯ ไดแก ฝายตรวจสอบและควบคุมภายใน สํานัก กรรมการผูจัดการ

28


คาตอบแทน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ผลตอบแทนรวมของพนักงานในป 2553 และ ป 2554 มีจํานวนเงินรวม 278.83 ลานบาท และ 372.23 ลาน บาทตามลําดับ โดยเปนผลตอบแทนในรูปของเงินเดือน คาลวงเวลา เงินสวัสดิการ โบนัสประจําป และเงินสมทบกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ และผลประโยชนเมื่อเลิกจาง นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมความกาวหนาของพนักงาน โดยกําหนดทิศทางการพัฒนาพนักงานอยางชัดเจน และ ดูแลใหพนักงานทุกระดับ ไดรับการพัฒนาตามทิศทางดังกลาวอยางเปนระบบ และตอเนื่องเพื่อใหสามารถทํางานในหนาที่ ปจจุบนั ไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีความพรอมในการรับผิดชอบงานทีส่ งู ขึน้ ในอนาคต โดยคํานึงถึงการใชทรัพยากรบุคคล ใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งใชระบบคุณธรรม (Merit System) ในการเลื่อนขั้นเงินเดือนและการเลื่อนตําแหนง โดย พิจารณาความรู ความสามารถ ผลงาน และศักยภาพของพนักงานแตละบุคคลประกอบกัน ตามวัฒนธรรมขององคกร ซึ่ง ประกอบดวย •

ริเริ่มสรางสรรค

สํานึกรับผิดชอบ

ผนึกกําลัง

สําเร็จยั่งยืน

¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดจัดประชุมครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ พ.ศ.2555 และคณะกรรมการ ตรวจ สอบ ใหความเห็นเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน สรุปไดวา คณะกรรมการ และผูบริหารของบริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายในอยางตอเนื่อง โดยมุงเนนให บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ และเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ มีการดูแลทรัพยสนิ การลดความ ผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น การปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทฯ การจัดการดานการเงิน การบริหารความเสี่ยง และ การกํากับดูแลการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีการสงเสริม และผลักดันใหบริษัทฯ มีการปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎระเบียบ และ ขอบังคับตางๆของกฎหมาย เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารงาน และเพื่อใหมั่นใจไดอยางสมเหตุสมผลวาการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค สามารถสรางมูลคาเพิ่มสูงสุดไดในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นตอระบบการควบคุมภายในเชนเดียวกับคณะกรรมการตรวจสอบ โดยใหความ สําคัญตอระบบการควบคุมภายใน แบงออกเปน 5 สวน ดังนี้ 1. องคกร และสภาพแวดลอม เปาหมายการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ กําหนดขึ้นมาอยางรอบคอบชัดเจน มีความ เปนไปได และสามารถวัดผลได ทั้งนี้บริษัทฯ ไดปรับปรุงผังโครงสรางองคกรเพื่อใหการปฏิบัติงานมีความคลอง ตัวเหมาะสม สอดคลองกับสภาพธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง เอื้ออํานวยตอการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายที่ไดตั้งไว และมีขอ กําหนดและบทลงโทษหามฝายบริหาร และพนักงาน ปฏิบตั ติ นในลักษณะทีอ่ าจกอใหเกิดความขัดแยง ทางผลประโยชนกับกิจการ รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบัติงานในธุรกรรมทางดานการเงิน การขาย การจัดซื้อ และการบริหาร โดยคํานึงถึงความเปนธรรมตอคูคา เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ในระยะยาว 29


2. การบริหารความเสี่ยง ฝายบริหารของบริษัทฯ ไดมีการกําหนดนโยบายความเสี่ยง และมีองคกรการบริหาร ความเสี่ยง ซึ่งประกอบไปดวย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ผูประสาน งานความเสี่ยงประจําหนวยงาน และกําหนดผูรับผิดชอบความเสี่ยงในหนวยงานตางๆ โดยมีการวางแผนและ กําหนดมาตรการบริหารความเสี่ยง มีการประเมินปจจัยความเสี่ยงซึ่งอาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจและ เปาหมายของบริษัทฯ มีมาตรการในการลดความเสี่ยง มีการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงของหนวยงาน ตางๆ ภายในองคกร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ไดมีการรายงานใหกับคณะกรรมการตรวจสอบรับ ทราบ เพื่อรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ อยางตอเนื่อง นอกจากนั้นบริษัทฯ ไดจัดใหมีการอบรมความรูของ การบริหารความเสี่ยงกับพนักงาน 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทฯ ไดมีการกําหนดขอบเขต อํานาจหนาที่ ตลอดจนความรับ ผิดชอบของผูบ ริหาร และผูป ฏิบตั งิ านในแตละระดับไวอยางชัดเจน และไดปรับปรุงตารางอํานาจอนุมตั ขิ องฝาย บริหารแตละระดับใหเหมาะสม มีความชัดเจน รวมทั้งมีการติดตามดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอยอยาง สมํ่าเสมอ โดยมีมาตรการที่จะควบคุมติดตามใหการดําเนินงานเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษัทฯ ไดนําระบบงานสารสนเทศภายใตชื่อโครงการระบบ ERP มา ใชในการบริหารจัดการ ดานการซื้อ การขาย ระบบบัญชี สินคาคงคลัง และสินทรัพยถาวร เพื่อพัฒนาระบบ ฐานขอมูลสารสนเทศ ใหมีประสิทธิภาพ และทันเวลาตอการใชประกอบการตัดสินใจของฝายบริหาร ทั้งนี้มี การพัฒนาระบบเพิ่มเติมไดแก ระบบงานบริหารสถานีบริการนํ้ามัน ระบบโทรทัศนวงจรปด และระบบ VDO Conference เพื่อใหการประสานงาน การติดตามดูแลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมการใชงานที่กวาง ขวาง และเพิ่มชองทางในการติดตอสื่อสารขอมูลระหวางบริษัทฯ กับบริษัทยอย ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทฯ มีการพิจารณา และติดตามผลการดําเนินงานของฝายบริหารให เปนไปตามเปาหมาย ซึ่งหากผลการดําเนินงานแตกตางจากเปาหมาย จะมีมติใหฝายจัดการรับไปดําเนินการ แกไข และบริษทั ฯ กําหนดใหสาํ นักตรวจสอบภายใน เสนอรายงานผลการตรวจสอบ โดยตรงตอคณะกรรมการ ตรวจสอบ และหากมีการตรวจพบขอบกพรองอันเปนสาระสําคัญ จะตองรายงานในระยะเวลาอันควร รวมถึง การรายงานความคืบหนาในการปรับปรุงขอบกพรองดังกลาว

30


ÅѡɳСÒûÃСͺ¸ØáԨ

¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ áÅСÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¾Ñ²¹Ò¡Ò÷ÕèÊíÒ¤ÑÞ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) กอตัง้ ในป 2538 โดยนักธุรกิจคนไทยทีม่ ปี ระสบการณ ดานธุรกิจปโตรเลียมและปโตรเคมี โดยการรวมทุนกับบริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด เพื่อดําเนินการแปรสภาพ คอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) เพื่อใหไดผลิตภัณฑปโตรเลียมและปโตรเคมีที่มีคุณภาพ ไดแก นํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว นํ้ามันเตา และเคมีภัณฑ เพื่อคาปลีกและคาสง ซึ่งคอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) เปนวัตถุดิบผลพลอยไดจากกระบวนการผลิตของ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส และการกลั่น จํากัด (มหาชน) (PTTAR) และนอกจากนั้น บริษัทฯ ยังไดรับใบอนุญาตเปนผูคานํ้ามัน ตามมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัติการคานํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญของบริษัทฯ สรุปไดดังนี้ พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541

• •

พ.ศ. 2542

พ.ศ. 2543

• •

บริษัทฯ ไดเริ่มนําระบบควบคุมคุณภาพ ISO 9002 มาใชในสวนโรงกลั่น บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบบริหารคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 จาก Bureau Veritas Quality International (BVQI) ในสวนกระบวนการผลิต

• •

เชาคลังนํ้ามันสาธุประดิษฐ และคลังนํ้ามันธนบุรี เพื่อลดขอจํากัดที่บริษัทฯ ไมมีทาเทียบเรือเปน ของตนเอง ในการที่จะคาขายกับตางประเทศ สงออกเคมีภัณฑไปยังนานกิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

เปดสถานีบริการนํ้ามันเพียวแหงที่ 2 บริเวณ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง

เปดดําเนินการคลังนํ้ามันที่อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมาเพื่อรองรับการขยายตัว และให บริการลูกคาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดรบั การรับรองระบบมาตรฐานสากลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จาก 3 หนวยงานไดแก OHSAS 18001, BS 8800 และ TIS 18001

พ.ศ. 2544

พ.ศ. 2545

กอสรางโรงกลั่นแลวเสร็จในเดือนกันยายน เชาคลังนํ้ามัน เพื่อเก็บผลิตภัณฑที่อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค เพื่อรองรับการขยายตัว ของบริษัทฯ เปดสถานีบริการนํ้ามันเพียวแหงแรกที่ถนนพหลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ 202 จังหวัดนครสวรรค และเริ่มจําหนายในเดือนกุมภาพันธ

เพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 150 ลานบาท รวมเปนทุนจดทะเบียน 300 ลานบาท

เปดสถานีบริการนํ้ามันเพียวในรูปแบบที่บริษัทฯ เปนผูดําเนินการเองแหงที่ 3 บริเวณ อําเภอ ปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา

เพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท โยธินปโตรเลียม จํากัด เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจคาปลีก

ขยายกําลังการผลิตจาก 12,600 บารเรลตอวันเปน 17,000 บารเรลตอวัน

31


พ.ศ. 2546

พ.ศ. 2547

พ.ศ. 2548

เชาคลังนํ้ามันจุกเสม็ด อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เพื่อใชเปนฐานในการสงออกผลิตภัณฑตางๆ ของบริษัทฯ โดยยกเลิกการเชาคลังนํ้ามันธนบุรี และคลังนํ้ามันสาธุประดิษฐ

ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001

เพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 336.40 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 3.364 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุน ละ 100 บาท ชําระคาหุนเต็มมูลคา เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2546

จดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษทั มหาชนจํากัด เมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม 2546 และเพิม่ ทุนจดทะเบียน เปน 415.55 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 83.11 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 5 บาท ทุนที่ออก และเรียกชําระแลว 336.40 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 67.28 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 5 บาท

เสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชน จํานวน 15.83 ลานหุน โดยเปดใหจองซื้อเมื่อวันที่ 12 - 14 พฤศจิกายน 2546

จดทะเบียนเพิ่มทุน จํานวนเงิน 79.15 ลานบาท จากทุนชําระแลวจํานวน 336.40 ลานบาทเปน ทุนชําระแลวจํานวน 415.55 ลานบาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 83.11 ลานหุน มูลคาที่ตรา ไวหุนละ 5.00 บาท เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546

หุนบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (RPC) เขาทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2546 เปนวันแรก

ดําเนินการเปลี่ยนการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 จาก VERSION 1994 เปน ISO 9001 VERSION 2000 เรียบรอย จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงมูลคาที่ตราไวของหุนสามัญ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2547 จากราคา หุนละ 5.00 บาท เปนราคาหุนละ 1.00 บาท ทุนจดทะเบียน 415.55 ลานบาท แบงเปนหุน สามัญจํานวน 415.55 ลานหุน

หุน ของบริษทั ฯ ไดเขาทําการซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในราคามูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 1.00 บาท เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2547

27 กรกฎาคม 2547 กอตั้งบริษัท อารพีซี เอเซีย จํากัด (RAC) ซึ่งเปนบริษัทยอย เพื่อดําเนิน การเกี่ยวกับพลังงานทดแทน

15 เมษายน 2547 เพิ่มสัดสวนการถือหุนใน VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. (VTN-P) เปนรอยละ 60 ซึ่ง VTN-P ดําเนินธุรกิจโรงงานปโตรเลียมปโตรเคมี ประเทศเวียดนาม 7 มกราคม 2548 เพิ่มสัดสวนการถือหุนใน บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด (SCT) เปน รอยละ 99.99 ซึ่ง SCT ดําเนินธุรกิจคาสงนํามันหรือตัวแทนจําหนายนํามันเชื้อเพลิงอิสระ

• •

8 ธันวาคม 2548 ชําระทุนเพิ่มจาก 415.55 ลานบาท เปน 418.37 ลานบาท จากการ Exercise ESOP ครั้งที่ 1/3 โดยมีทุนจดทะเบียน 424.04 ลานบาท

32


พ.ศ. 2549

พ.ศ. 2550

31 มีนาคม 2549 บริษัท โยธินปโตรเลียม จํากัด ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC)

31 มีนาคม 2549 จดทะเบียนเพิ่มทุน จาก 424.04 ลานบาท เปน 530.04 ลานบาท โดยการ ออกหุน สามัญเพิม่ ทุนจํานวน 106.00 ลานหุน มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท เพือ่ จายเปนเงินปนผล จํานวน 104.59 ลานหุน และเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 1 ที่ไดรับผลกระทบจากการจายหุนปนผลจํานวน 1.41 ลานหุน

เดือนพฤษภาคม บริษัทฯ ไดรวมกับบริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) จัดตั้งบริษัท เพียวสัมมา กร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) ดวยทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพยและที่ดิน โดยบริษัทฯ ถือหุนในอัตรารอยละ 51

ในเดือนพฤศจิกายน 2549 บริษทั ฯ ไดรบั เงินเพิม่ ทุนจากการใชสทิ ธิตามใบสําคัญแสดงแสดงสิทธิ ซื้อหุนสามัญ จํานวน 3.29 ลานหุน ราคาหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 3.294 ลานบาท ทําให ทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้นเปน 526.26 ลานบาท

ดําเนินการทดสอบ โรงกลั่น VTN-P ที่ประเทศเวียดนาม ระหวางวันที่ 13 – 28 กุมภาพันธ 2549

• •

ขยายสถานีบริการนํามันทั้งหมดจาก 32 แหง เปน 56 แหง บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด เปดศูนยการคาเพียวเพลส บนถนนรังสิต-คลอง 2 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2550

บริษัท อารพีซี เอเชีย จํากัด บริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูรอยละ 99.99 ไดจดทะเบียน เปลี่ยนแปลงชื่อเปน บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) และไดเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 200 ลานบาท

บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ไดรับการอนุมัติสงเสริมการลงทุนจากสํานักงานคณะ กรรมการสงเสริมการลงทุน โดยไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการ ประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมมีกําหนดเวลา 8 ป

บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (RPC) และ บริษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ไดรับการสนับสนุนวงเงินกูจํานวน 400 ลานบาท จาก ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) เพื่อ ใชในการลงทุน และกอสรางโครงการผลิตไบโอดีเซล ขนาดกําลังการผลิต 100,000 ตัน ตอป

พฤศจิกายน 2550 บริษัทฯ ไดรับเงินเพิ่มทุนจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงแสดงสิทธิซื้อหุน สามัญ จํานวน 3.6 ลานหุน ราคาหุนละ 1.00 บาท รวมเปนเงิน 3.6 ลานบาท ทําใหทุนที่ออก และชําระแลวของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้นเปน 529.87 ลานบาท

ขยายสถานีบริการนํามันทั้งหมดจาก 56 แหง เปน 72 แหง

33


พ.ศ. 2551

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553

บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC) ไดเขาซื้อหุนสามัญของ บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (SAP) จํานวน 15,300 หุนๆ ละ 100 บาท คิดเปนรอยละ 51 ในเดือนมกราคม 2551 จาก กรรมการบริษัทฯ และผูบริหารของบริษัทฯ

บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (SAP)ไดมีการเพิ่มทุนจํานวน 20,000 หุนๆ ละ 100 บาท เมื่อ 12 กุมภาพันธ 2551

บริษัทฯ ไดซื้อคืนหุนสามัญของบริษัทฯ จํานวน 46,706,900 หุน มูลคา 220,549,808 บาท ราคาทุนเฉลี่ยหุนละ 4.72 บาท คิดเปนอัตรารอยละ 8.81 ของจํานวนหุนที่บริษัทฯ ออก ในชวง วันที่ 1 กุมภาพันธ ถึง 31 กรกฎาคม 2551

บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานจากกรมธุรกิจ พลังงานในเดือนสิงหาคม 2551

VTN-P ไดชําระเงินกูยืมระยะยาวจํานวน 2.9 ลานเหรียญใหแกธนาคารเพื่อการสงออก Exim Bank

• •

ขยายสถานีบริการนํามันทั้งหมดจาก 72 แหง เปน 74 แหง VTN-P ไดจดทะเบียนชําระบัญชีบัญชีแลวเสร็จในเดือนกุมภาพันธ 2552

เดือนกุมภาพันธ 2552 บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด ไดเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 225 ลานบาท

เดือนกันยายน 2552 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ไดเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 280 ลานบาท

เดือนตุลาคม 2552 บริษัทฯ ไดรวมทุนกับนักลงทุนชาวฮองกง ซึ่งเปนกรรมการของบริษัทรวม ทุนและไมเปนบุคคลที่เกี่ยวของกัน จัดตั้ง Thai Good Petroleum Co., Ltd โดยบริษัทฯ ถือหุน อัตรารอยละ 31.67 ของทุนจดทะเบียน 300,000 เหรียญสหรัฐ เพื่อจําหนายผลิตภัณฑนํ้ามัน เครื่อง ในประเทศจีน ฮองกง และมาเกา เดือนมกราคม 2553 บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC) ไดเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 140 ลานบาท

• •

เดือนมีนาคม 2553 บริษัทฯ ไดเพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 273 ลานหุน ทําใหทุนจดทะเบียนเพิ่มขึ้น เปน 802.87 ลานหุน สวนที่เพิ่มทุน บริษัทฯ เตรียมไวสําหรับการเสนอขายโดยการออกใบแสดง สิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหุนสามัญของบริษัทฯ (TDR) ในสาธารณรัฐจีน(ไตหวัน)

เดือนมีนาคม 2553 บริษัทไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนใหจําหนายหุนสามัญที่ซื้อคืน (Treasury Stock) จํานวน 46,706,900 หุน โดยมอบอํานาจใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณา กําหนดรายละเอียดที่เกี่ยวของกับการจัดสรร

เดือนเมษายน 2553 บริษัทฯ ไดเขาซื้อหุนของบริษัท เอสซีทีซี สหภัณฑ จํากัด (SAP) จาก บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย) จํานวน 25,500 หุนๆ ละ 110 บาท คิดเปนรอย ละ 51 เพื่อปรับโครงสรางธุรกิจ และไดชําระทุนจดทะเบียนเพิ่มอีก 150,000 หุนๆ ละ 100 บาท โดยผูถือหุนเดิมอื่นสละสิทธิ์ จึงทําใหสัดสวนการลงทุนของบริษัทฯ เพิ่มเปนรอยละ 78 สวนหุน ที่เหลือ ถือโดยกรรมการบริษัทฯ 3 ทาน รวมรอยละ 8.60 ผูบริหารบริษัทฯ 2 ทานถือหุนรอย ละ 5.20 และกรรมการบริษัทยอย 3 ทาน ถือหุนรวมรอยละ 4.70 นายระบิล พรพัฒนกุล ถือ หุนรอยละ 4.20 และนายประสิทธิ์ ธีรรัตนบงกช ถือหุนรอยละ 1.50 34


พ.ศ. 2554

เดือนสิงหาคม 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติใหรวมทุนจัดตั้งบริษัท อารพีซี เอ็นเนอรยี่ จํากัด โดยบริษัทฯ รวมกับบริษัท พลังงานทดแทน จํากัด ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญการกอสรางโรงไฟฟา โดยบริษทั ฯ ถือหุน ในอัตรารอยละ 70.00 ของทุนจดทะเบียน จํานวน 125 ลานบาท เพือ่ ประกอบ ธุรกิจพลังงานทดแทน

เดือนกันยายน 2553 บริษัทจําหนายหุนสามัญที่ซื้อคืน (Treasury Stock) จํานวน 46,706,900 หุนตอประชาชนเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2554 และวันที่ 27-28 กันยายน 2554 ในราคาเสนอ ขายหุนละ 2.55 บาท เดือนมีนาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติยกเลิกการจัดตั้งบริษัท อารพีซี เอ็นเนอรยี่ จํากัด

• •

เดือนเมษายน 2554 บริษทั ฯ ไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ใหขยายระยะเวลาการจัดสรรหุน สามัญเพิม่ ทุนโดยวิธกี ารเสนอขายหลักทรัพยประเภท การออกใบแสดงสิทธิในผลประโยชนทเี่ กิด จากหุนสามัญของบริษัทฯ (TDR) ในสาธารณรัฐจีน (ไตหวัน)

เดือนพฤษภาคม 2554 บริษัทฯ ไดมีการทํา TDR และเสนอขายหลักทรัพยประเภท TDR ตอ ตลาดหลักทรัพย GreTai Securities Market (GTSM) หรือในตลาดหลักทรัพย Taiwan Stock Exchange Corporation (TWSE) ที่สาธารณรัฐจีน (ไตหวัน) โดยจัดสรรจากหุนสามัญเพิ่มทุน ของบริษัทฯ จํานวน 170,000,000 หุน และจากหุนสามัญของผูถือหุนเดิมจํานวน 30,000,000 หุน และมติอนุมัติ TDR Offering Plan เพื่อเสนอตอตลาดหลักทรัพย GreTai Securities Market (GTSM) หรือตอตลาดหลักทรัพย Taiwan Stock Exchange Corporation (TWSE) ที่ สาธารณรัฐจีน (ไตหวัน)

เดือนสิงหาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติให บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 51 เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 225 ลานบาท เปน 260 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 350,000 หุน ราคา หุนละ 100 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 35 ลานบาท โดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท มีมติไม เพิม่ เงินลงทุนในหุน เพิม่ ทุนครัง้ นี้ สงผลใหบริษทั ฯ มีสดั สวนการถือหุน ในบริษทั ดังกลาวลดลงจาก เดิมรอยละ 51 เปนรอยละ 44 และมติอนุมัติเพิ่มทุนในบริษัท บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย ที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในสัดสวนรอยละ 100 เพิ่มทุนจดทะเบียน จาก 10 ลาน บาท เปน 36 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 260,000 หุน ราคาหุนละ 100 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 26 ลานบาท ใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวน

เดื อ นกั น ยายน 2554 บริ ษั ท ฯ รั บ ทราบผลการเสนอขายหลั ก ทรั พ ย ป ระเภท TDR ต อ ตลาดหลักทรัพย TWSE ที่สาธารณรัฐจีน (ไตหวัน) ที่ทาง TWSE ไดมีหนังสือแจงสงคืนคําขอ เสนอขายหลักทรัพยของบริษัทฯ(Return TDR Offering Plan) และมีมติอนุมัติใหหยุดดําเนินการ เกี่ยวกับ TDR Offering Plan ทั้งในสวนของหุนเพิ่มทุนใหมของบริษัท 170 ลานหุน และจากหุน เดิมของผูถือหุนจํานวน 30 ลานหุน รวมทั้งรายการที่เกี่ยวของกับ TDR ทั้งหมดและมีมติยกเลิก การสนับสนุน การออก และเสนอขาย TDR ของผูถือหุนเดิม 30 ลานหุน โดยมอบหมายให กรรมการอิสระ 2 ทาน เปนผูมีอํานาจดําเนินการ จัดการคืนหุนใหกับผูถือหุนเดิม

35


ÀÒ¾ÃÇÁ¡ÒûÃСͺ¸ØáԨ¢Í§¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·

ºÃÔÉÑ· ÃÐÂͧà¾ÕÂÇÃÔ¿ÒÂàÍÍà ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) บริษัทฯ ดําเนินการกลั่น คอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) ซึ่งเปนวัตถุดิบผลพลอยไดจากกระบวนการผลิตของบริษัท ปตท. อะโรเมติกส และการกลั่น จํากัด (มหาชน) (PTTAR) เพื่อใหไดผลิตภัณฑปโตรเลียมและปโตรเคมีที่มีคุณภาพ ไดแก นํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว นํ้ามันเตา และเคมีภัณฑ ทั้งนี้ โรงกลั่นของบริษัทฯ มีกําลังผลิตสูงสุด 17,000 บารเรลตอวัน หรือ ประมาณ 80 ลานลิตรตอเดือน อีกทั้งยังมีการจัดหานํ้ามันเบนซินออกเทน 91 นํ้ามันเบนซินออกเทน 95 แกสโซฮอล 95 และแกสโซฮอล 91 จากโรงกลั่นอื่นเพื่อรองรับความตองการของลูกคาที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ไดบริหารคลังนํ้ามัน 4 แหง ไดแก คลังนํ้ามันระยอง คลังนํ้ามันนครสวรรค คลังนํ้ามันโคราช และคลังนํ้ามันจุกเสม็ด เพื่ออํานวยความสะดวก ในการสั่งซื้อและจัดสงสินคาใหแกลูกคา โดยบริษัทฯ มีการประกอบธุรกิจผานบริษัทยอยดังตอไปนี้

ºÃÔÉѷ‹Í 1. ºÃÔÉÑ· à¾ÕÂǾÅѧ§Ò¹ä·Â ¨íÒ¡Ñ´ (PTEC) เปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 99.99 มีทุนจดทะเบียน 140 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 1,400,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ทุนชําระแลว 100 ลานบาท ประกอบธุรกิจคาปลีก จําหนายนํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว นํ้ามันดีเซล บี5 (“เพียวบี 5”) เบนซินออกเทน 91 (เบนซิน 91) แกสโซฮอล 95 (“แกสโซฮอล 95”) และแกสโซฮอล 91 (“แกสโซฮอล 91”) ผาน สถานีบริการนํ้ามัน “เพียว” (PURE) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสถานีบริการนํ้ามัน “เพียว” ทั้งสิ้น จํานวน 78 แหง ทั่วประเทศ โดยแบงการบริหารงานเปน 2 ลักษณะคือ (1) การบริหารงานดวยตนเอง (Company Operate: CO) และ (2) การบริหารงานโดยบุคคลภายนอกแบบแฟรนไชส (Franchise) ทั้งนี้ PTEC ไดมีการพัฒนารูป แบบธุรกิจพลาซา ในสถานีบริการนํ้ามัน โดยไดเปดพลาซาแหงแรกในสถานีบริการนํ้ามันเพียวสาขาพนัสนิคม 2 จังหวัด ชลบุรี

2. ºÃÔÉÑ· à¾ÕÂÇäºâÍ´Õà«Å ¨íÒ¡Ñ´ (PBC) เปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 99.99 โดยมีทุนจดทะเบียน 200 ลานบาท มูลคาที่ตราไวละ 100 บาท จํานวน 2 ลานหุน และเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2552 ไดทําการเพิ่มทุนจดทะเบียนและชําระแลวเปน 280 ลาน บาท โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ (1) ผลิตนํา้ มันไบโอดีเซล (B100) จากนํา้ มันปาลมดิบในประเทศ โดยมีกาํ ลังการผลิต 300,000 ลิตรตอวัน หรือ 100,000 ตันตอป เพื่อนําไปผสมในนํ้ามันดีเซล เปนนํ้ามันดีเซล B3 และ นํ้ามันดีเซล B5 เปนพลังงาน ทดแทนตามนโยบายรัฐบาล และ (2) ผลิตกลีเซอรีน มีกําลังการผลิต 10,000 ตันตอป เพื่อนําไปใชเปนวัตถุดิบในเครื่อง สําอาง และผลิตภัณฑยาตอไป และไดรับบัตรสงเสริมการลงทุน โดยไดรับสิทธิประโยชนในการยกเวนภาษีรายไดเปนระยะ เวลา 8 ป บริษัทฯ ไดดําเนินการกอสรางแลวเสร็จในป 2551 และไดรับหนังสือรับรองการใหความเห็นชอบการจําหนาย หรือ มีไวเพื่อการจําหนายนํ้ามันไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอรของกรดไขมัน จากกรมธุรกิจพลังงานแลวเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 และบริษัทฯ ไดเริ่มผลิตและจําหนายตั้งแตเดือนมกราคม 2552 เปนตนมา

3. ºÃÔÉÑ· àÍÊ«Õ·Õ » âµÃàÅÕÂÁ ¨íÒ¡Ñ´ (SCT) บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 99.99 ใน SCT มีทุนจดทะเบียน 10 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 2,000,000 หุน มูลคาหุน ละ 5 บาทชําระคาหุน เต็มมูลคา ประกอบธุรกิจคาสงนํา้ มันหรือตัวแทนจําหนายนํา้ มันเชือ้ เพลิงอิสระ (Jobber) เพือ่ ใหบริการซือ้ ขายผลิตภัณฑนาํ้ มันเชือ้ เพลิงทุกชนิดกับผูค า รายใหญและรายยอยทัว่ ประเทศ อาทิ นํา้ มันดีเซล นํา้ มันดีเซล B5 เบนซิน 91 แกสโซฮอลล 91 แกสโซฮอลล 95 และนํ้ามันเตา ทั้งนี้ SCT มีบริษัทยอยดังนี้ 36


ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

สัดสวนการถือหุนโดย SCT (รอยละ)

1. บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด

ขนสงนํ้ามัน

99.98

2. บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด

คาสงนํ้ามัน

99.86

3. บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด

คาสงนํ้ามัน

99.86

4. บริษัท เพียวอินเตอรเทรด จํากัด (เดิม บริษัทอิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด ) 5. บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด

คาสงนํ้ามัน

99.86

คาสงนํ้ามัน

99.86

6. บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด

คาสงนํ้ามัน

99.86

7. บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด

คาสงนํ้ามัน

99.86

4. ºÃÔÉÑ· à¾ÕÂÇÊÑÁÁÒ¡Ã ´ÕàÇÅÅÍ»àÁŒ¹· ¨íÒ¡Ñ´ (PSDC) PSDC จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2549 เปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 51 และ บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (“SAMCO”) ถือหุนในอัตรารอยละ 49 ทั้งนี้ ดวยทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ 500,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท และเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2552 ไดเพิ่มทุนจดทะบียนเปน 225 ลาน บาท โดยชําระทุนจดทะเบียนแลว 225.00 ลานบาท ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยและที่ดิน ในรูปแบบที่มีรายได จากการใหเชา อาทิเชน ศูนยการคา, อาคารสํานักงาน, อพารทเมนท หรือ โรงแรม ฯลฯ เปนตน และไดดําเนินการกอสราง และพัฒนาศูนยการคาเพียวเพลส ขึ้นแหงแรกบนถนนรังสิต-คลอง 2 เปนศูนยการคาประชาคมพรอมสถานีบริการนํ้ามัน “เพียว” เปดดําเนินการเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2550 และไดมีการขยายโครงการใหมอยางตอเนื่อง ณ ถนนรามคําแหง 110 (สุขาภิบาล 3) เปนศูนยการคารูปแบบใหมทันสมัย ภายใตแนวคิด “ชีวิตทันสมัย ใกลบาน” โดยใชชื่อ “ Pure Place Lifestyle Mall “งบลงทุนกอสรางรวมทั้งสิ้นประมาณ 350 ลานบาท เปดดําเนินการในเดือนตุลาคม 2553 พรอมทั้งอยู ระหวางดําเนินโครงการบนถนนราชพฤกษ

5. ºÃÔÉÑ· àÍÊ«Õ·Õ ÊËÀѳ± ¨íÒ¡Ñ´ (SAP) เปนบริษัทยอย ถือหุน โดยบริษัทฯ ถือหุนในอัตรารอยละ 51 ของทุนจดทะเบียน เปนจํานวนเงิน 1.53 ลานบาท และมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 3 ลานบาท เปน 5 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญจํานวน 20,000 หุน มูลคาหุน ที่ตราไวหุนละ 100 บาท เปนการเพิ่มทุนตามสัดสวนในราคาหุนละ 125 บาท ประกอบธุรกิจขายอุปกรณเครื่องมือสถานี บริการนํ้ามัน และใหบริการซอมบํารุง เดือนมีนาคม 2553 บริษัทฯ ไดเขาซื้อหุนของบริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด จาก บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด จํานวน 25,500 หุน เปนจํานวนเงิน 2.81 ลานบาท คิดเปนรอยละ 51 และมีการเพิ่มทุน จดทะเบียนจากเดิม 5 ลานบาทเปน 20 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญ 150,000 หุนมูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 100 บาท และซื้อหุนเพิ่มทุนจากผูถือหุนรายยอยที่สละสิทธิ์ทําใหบริษัทฯ มีสัดสวนการถือหุนรอยละ 78 และไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับ กระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2553

6. Thai Good Petroleum Co., Ltd เปนบริษัทรวมทุนกับนักลงทุนชาวฮองกง ซึ่งไมเปนบุคคลที่เกี่ยวของกัน บริษัทรวมทุนจัดตั้งเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2552 ทุนจดทะเบียน 300,000 เหรียญสหรัฐ ในเขตบริหารพิเศษฮองกงแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยบริษัทฯ ถือหุน อัตรารอยละ 31.67 และไดชําระทุนจดทะเบียนครบแลว บริษัทรวมทุนดังกลาวประกอบกิจการจําหนายผลิตภัณฑนํ้ามัน เครื่อง ในสาธารณรัฐประชาชนจีน เขตบริหารพิเศษฮองกงแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน และเขตบริหารพิเศษ มาเกาแหง สาธารณรัฐประชาชนจีน 37


7. ºÃÔÉÑ· ÍÒà ¾Õ«Õ àÍç¹à¹Íà ÂÕè ¨íÒ¡Ñ´ คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติใหจัดตั้งบริษัท อารพีซี เอ็นเนอรยี่ จํากัด เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2553 โดยบริษัท อารพีซี เอ็นเนอรยี่ จํากัด เปนบริษัทรวมทุนระหวางบริษัทฯ และบริษัท พลังงานทดแทน จํากัด ซึ่งบริษัท พลังงานทดแทน จํากัด เปนผูช าํ นาญเกีย่ วกับการกอสรางโรงไฟฟา โดยบริษทั รวมทุนมีทนุ จดทะเบียน 125 ลานบาท แบงเปนหุน สามัญจํานวน 1.25 ลานหุน หุนละ 100 บาท ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนอัตรารอยละ 70.00 ของทุนจดทะเบียนดังกลาว บริษัทรวมทุนดังกลาว ประกอบธุรกิจพลังงานทดแทน และเมื่อเดือนมีนาคม 2554 คณะกรรมการมีมติยกเลิกการจัดตั้งบริษัทรวมทุน

38


â¤Ã§ÊÌҧÃÒÂä´Œ

â¤Ã§ÊÌҧÃÒÂä´Œ โครงสรางรายไดของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แสดงตามตารางดังนี้ มูลคาการจําหนายผลิตภัณฑของบริษัทฯ และบริษัทยอย ผลิตภัณฑ

2552 ลานบาท

2553 รอยละ

ลานบาท

2554 รอยละ

ลานบาท

รอยละ

ในประเทศ นํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว

10,479.62

67.78

12,089.24

61.36

13,097.16

53.66

นํ้ามันเตา

-

-

0.97

-

96.46

0.40

Biodesel

595.36

3.85

578.41

2.94

1,960.19

8.03

เคมีภัณฑ

299.96

1.94

466.94

2.37

630.51

2.58

1,639.62

10.60

2,315.69

11.75

2,620.60

10.74

780.58

5.05

928.99

4.72

667.79

2.74

10.30

0.07

40.58

0.21

186.73

0.77

83.35 19,259.45

78.91

เบนซิน 91,95 Gasohol ผลิตภัณฑอื่น รวมยอดขายในประเทศ

13,805.43

89.29 16,420.82

สงออก นํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว

941.04

6.09

2,024.77

10.28

4,424.3

18.13

เคมีภัณฑ

590.75

3.82

1,074.91

5.46

488.83

2.00

19.62

0.13

23.99

0.13

38.85

0.16

รวมยอดขายตางประเทศ

1,551.41

10.04

3,120.65

15.87

4,952.29

20.29

รายไดจากการใหบริการ

104.03

0.67

156.17

0.78

195.78

0.80

15,460.87

100.00

19,700.66

100.00

24,407.45

100.00

ผลิตภัณฑอื่น

รวมทั้งสิ้น

39


ปริมาณการจําหนายผลิตภัณฑของบริษัทฯ และบริษัทยอย ผลิตภัณฑ

2552 ลานลิตร

2553 รอยละ

ลานลิตร

2554 รอยละ

ลานลิตร

รอยละ

ในประเทศ นํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว

507.47

67.63

483.23

59.75

493.13

54.97

นํ้ามันเตา

-

-

-

-

-

-

Biodesel

22.80

3.04

18.95

2.34

57.77

6.44

เคมีภัณฑ

18.83

2.51

24.33

3.01

25.05

2.79

เบนซิน 91

57.46

7.66

69.99

8.65

71.66

7.99

Gasohol

31.37

4.17

31.03

3.84

20.08

2.24

ผลิตภัณฑอื่น

0.89

0.12

2.04

0.25

16.23

1.81

638.82

85.13

629.57

77.84

683.92

76.23

นํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว

65.37

8.71

115.23

14.25

189.54

21.13

เคมีภัณฑ

43.69

5.82

61.53

7.61

21.22

2.36

2.52

0.34

2.48

0.30

2.48

0.28

รวมปริมาณขายตางประเทศ

111.58

14.87

179.24

22.16

213.23

23.77

รวมปริมาณขายทั้งสิ้น

750.40

100.00

808.81

100.00

897.15

100.00

รวมยอดขายในประเทศ สงออก

ผลิตภัณฑอื่น

40


»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕè§

ในการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ตองเผชิญกับปจจัยความเสี่ยงหลายรูปแบบ จึงจําเปนตองมีการวางแผนรับมือกับความ เสี่ยงเหลานั้นอยางเปนรูปธรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้

¤ÇÒÁàÊÕè§à¡ÕèÂǡѺ¡ÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹âç¡ÅÑè¹ ความเสีย่ งในการดําเนินงานโรงกลัน่ ไดแก ปญหาเรือ่ งเครือ่ งจักรขัดของซึง่ จะทําใหกระบวนการผลิตหยุดชะงัก ทัง้ นี้ การที่บริษัทฯ ตองเริ่มเดินเครื่องใหม ทําใหเสียคาใชจายดานเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น และอาจรวมถึงคาเสียโอกาสในการผลิตดวย แนวทางการรับมือ •

มีการสํารองวัตถุดิบ ทั้งนี้ กําลังการผลิตที่สูงกวาปริมาณการผลิตจริง และการสํารองผลิตภัณฑในคลังนํ้ามัน ทําใหบริษัทฯ สามารถจัดจําหนายผลิตภัณฑไดอยางตอเนื่องนานถึง 10 วัน หากการผลิตหยุดชะงักโดยสิ้นเชิง

สามารถเพิ่มกําลังผลิตเพื่อชดเชยคาเสียโอกาส โดยบริษัทฯ สามารถเพิ่มปริมาณการผลิตจากกําลังการผลิตที่ เหลืออยูเพื่อชดเชยกับปริมาณการผลิตที่ขาดหายไปในชวงที่กระบวนการผลิตหยุดลง และมีการนําผลิตภัณฑ ในคลังนํ้ามันไปใช

ควบคุมกระบวนการผลิตตลอด 24 ชัว่ โมงโดยทีมวิศวกรผูม ปี ระสบการณ และความชํานาญดวยระบบควบคุม อัตโนมัติ (Distribute Control System) ซึ่งสามารถตรวจสอบและควบคุมกระบวนการกลั่นไดอยางถูกตองและ รวดเร็ว

ใชโปรแกรมจําลองกระบวนการผลิตดวยคอมพิวเตอร (Process Simulation) ซึ่งนําไปสูกระบวนการผลิตที่มี ประสิทธิภาพ และประหยัดพลังงาน และผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ และปริมาณที่ตองการ

ควบคุมผลิตภัณฑดวยโปรแกรม Material Balance ทําใหทราบการเคลื่อนไหวตลอดเวลาของปริมาณวัตถุดิบ ตลอดจนปริมาณของแตละผลิตภัณฑที่ผลิตได

ใชโปรแกรม Cedar เพื่อติดตามประวัติ และวางแผนการบํารุงรักษาเครื่องจักร ตามนโยบายการบํารุงรักษา เครื่องจักรในเชิงปองกันอยางตอเนื่องผลที่ไดรับ

ในป 2548 มีการหยุดชะงักเพียง 4 ชั่วโมงของกระบวนการผลิตที่เกิดขึ้นอยางมิไดคาดหมาย (Unplanned shut down) จากโรงงาน และตั้งแตป 2551 ถึงสิ้นไตรมาส 2 ป 2553 ไมมีการหยุดชะงักดังกลาว

บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO 9002 เมื่อป 2543

บริษัทฯ ไดรับการรับรองในสวนของกระบวนการผลิตจาก SGS ซึ่งเปนสถาบันที่ทั่วโลกใหการยอมรับ

บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO 9001 Version 2000 เมื่อป 2548 และ ISO 9001 Version 2004 ในป 2549 ซึ่งเปนระบบบริหารคุณภาพที่ปรับปรุงใหมลาสุดจากสถาบัน SGS ซึ่งเปนสถาบันที่ทั่วโลกใหการยอมรับ

41


¤ÇÒÁàÊÕ觨ҡ¡ÒèѴËÒÇѵ¶Ø´ÔºËÅÑ¡ บริษทั ฯ ซือ้ คอนเดนเสทเรสสิดวิ (Condensate Residue: CR) ซึง่ เปนวัตถุดบิ หลักจากบริษทั ปตท.อะโรเมติกสและ การกลั่น จํากัด (มหาชน) (PTTAR) ผานบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) โดยสงผานทอความยาว 3.0 กิโลเมตร มายังบริษัทฯ ดังนั้น หาก PTTAR หยุดการผลิตเพื่อซอมบํารุง หรือเพราะปญหาอื่นใดในกระบวนการผลิต หรือหากเกิด ความเสียหายตอระบบทอสง CR ของบริษัทฯ ซึ่งจะทําใหไมสามารถจัดสงวัตถุดิบหลักใหบริษัทฯ และจะสงผลกระทบตอ กระบวนการผลิตของบริษัทฯ โดยตรง แนวทางการรับมือ •

ประสานงานรวมกับ PTTAR อยางสมํ่าเสมอ ทําใหสามารถวางแผนสํารองวัตถุดิบหลัก และกําหนดการซอม บํารุงประจําปลวงหนาใหสอดคลองกับแผนการซอมบํารุงของ PTTAR ที่แจงใหบริษัทฯ ทราบลวงหนาประมาณ 6 เดือน ทั้งนี้ PTTAR มีแผนการสํารอง CR กอนปดซอมบํารุงเพื่อที่จะไดมีวัตถุดิบสงใหบริษัทฯ

ในกรณีที่ PTTAR ไมสามารถจัดสงวัตถุดบิ ใหบริษทั ฯ ไดเปนเวลานาน บริษทั ฯ สามารถจัดซือ้ ผลิตภัณฑสาํ เร็จรูป จากโรงกลั่นนํ้ามันแหงอื่น หรือจากผูคาสงนํ้ามัน เพื่อจําหนายทดแทนผลิตภัณฑของบริษัทฯ แมอัตรากําไร (Profit Margin) จะตํ่ากวาการกลั่นและจัดจําหนายเอง

มีการตรวจสอบและซอมบํารุงทอสงวัตถุดิบอยางสมํ่าเสมอ

มีการจัดระบบและบริหารการสํารองวัตถุดิบหลัก โดยสามารถสํารองวัตถุดิบในปริมาณที่เพียงพอสําหรับการ ผลิตอยางตอเนื่องไดถึง 10 วัน

พยายามลดการพึ่งพาวัตถุดิบหลักเพียงชนิดเดียว โดยอยูในระหวางการเจรจาหาแหลงนํ้ามันดิบอื่นๆ มาใชทั้ง จากในประเทศและตางประเทศ

เจรจาขอรับคาเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อบริษัทฯ ไดรับวัตถุดิบที่มีคุณสมบัติและคุณภาพไมตรงกับที่กําหนดไวใน สัญญาซื้อขายวัตถุดิบ ซึ่งเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นในไตรมาส 3 ป 2549 และไตรมาส 4 ป 2553 สงผลให บริษัทฯ มีตนทุนเพิ่มจากการปรับคุณภาพสินคาและคาเสียหายอื่นๆ ในการนี้ บริษัทฯ ไดประสานขอความรวม มือเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้น เพื่อปองกันมิใหเกิดเหตุการณนี้ซํ้าอีกในอนาคต ปจจุบัน บริษัทฯ ไดรับวัตถุดิบที่ มีคุณภาพสอดคลองตามที่กําหนดไวทุกประการ

¤ÇÒÁàÊÕ觨ҡÊÑÞÞÒ«×éÍ¢ÒÂÇѵ¶Ø´ÔºËÅÑ¡ ความเสี่ยงประเภทนี้เกิดจากความตองการในผลิตภัณฑของบริษัทฯ ตํ่ากวาปริมาณวัตถุดิบ (CR) ที่บริษัทฯ ทํา สัญญาซื้อ ซึ่งจะสงผลใหบริษัทฯ มีวัตถุดิบเหลือ หรือในกรณีที่นํา CR มาผลิตเปนผลิตภัณฑแลว บริษัทฯ จะมีผลิตภัณฑ คงเหลือ ทําใหบริษัทฯ เสียคาใชจายเพิ่มขึ้นในการดูแลและเก็บรักษา CR หรือผลิตภัณฑคงเหลือเหลานี้ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2538 บริษัทฯ ทําสัญญาซื้อขาย CR จาก PTTAR ทั้งหมด มีระยะเวลา ชวงแรก 15 ปนับแตวันเริ่มดําเนินธุรกิจเชิงพาณิชย (Commercial Operation Date) ในวันที่ 1 กุมภาพันธ 2540 และสัญญาจะถูกตอ ไปยังชวงที่ 2 อยางอัตโนมัติโดยไมมีกําหนดเวลาสิ้นสุด ( Evergreen Basis) บริษัทฯ จึงมีภาระผูกพันที่จะตองรับซื้อ CR ทั้งหมดที่ไดจากกระบวนการผลิตของ PTTAR เปนจํานวนไมเกิน 585,000 ตันตอป (ประมาณ 12,600 บารเรลตอวัน) แม วาบริษัทฯ มีภาระผูกพันระยะยาวที่จะตองรับซื้อวัตถุดิบ แตไมมีสัญญาขายผลิตภัณฑระยะยาวกับผูจัดจําหนาย อยางไร ก็ตามผลิตภัณฑของบริษัทฯ ยังเปนที่ตองการของตลาด และจําหนายไดหมดทุกป

42


แนวทางการรับมือ •

บริษัทฯ สามารถเพิ่มสวนแบงการตลาดได หากมีผลิตภัณฑเพียงพอ ทั้งนี้ ผลิตภัณฑของบริษัท ฯ มีสวนแบง ในตลาดนํา้ มันดีเซลเพียงรอยละ 3 และตลาดนํา้ มันดีเซลหมุนเร็วซึง่ เปนผลิตภัณฑหลักของบริษทั ฯ ยังมีอตั รา การเติบโตที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะขยายฐานลูกคาโดยผานชองทางการคาสง คาปลีก และตลาดอุตสาหกรรม

¤ÇÒÁàÊÕ觨ҡ¡ÒþÖ觾Ҽٌ¨íÒ˹‹ÒÂÇѵ¶Ø´Ôºà¾Õ§ÃÒÂà´ÕÂÇ ความเสี่ยงนี้อาจเกิดขึ้นจากการบอกเลิกสัญญาของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) ภายหลังจากที่ครบสัญญา ชวงแรกในป 2555 ทั้งนี้ บริษัทฯ ทําสัญญาซื้อขาย CR ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักกับ PTT เพียงรายเดียว โดยสัญญาชวงแรก มีอายุ 15 ปนับแตวันเริ่มดําเนินธุรกิจเชิงพาณิชย ซึ่งจะครบในป 2555 และเมื่อครบ 15 ปแรกแลว สัญญาดังกลาวยังคงมี ผลบังคับใชอยางอัตโนมัติ ตอไปในชวงที่ 2 และตอไปเรื่อยๆจนกวาคูสัญญาจะตกลงเลิกสัญญาตอกัน หรือเลิกประกอบ กิจการ หรือผิดเงือ่ นไขตามทีร่ ะบุไวในสัญญาเนือ่ งจากคูส ญ ั ญาทัง้ สองฝายมีเจตนารมณชดั เจนในการทําสัญญาใหเปนสัญญา ตางตอบแทนที่มีระยะยาวนาน โดยไมกําหนดระยะเวลาสิ้นสุด (Evergreen Basis) ทั้งนี้เพราะในสัญญาระบุใหบริษัทฯตอง ลงทุนกอสรางโรงกลั่นขึ้นมารองรับ เพื่อแปรรูปวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) ซึ่งเปนคุณสมบัติของวัตถุดิบที่รับมาจาก PTT เทานั้น นอกจากนั้น สัญญายังกําหนดบังคับไวดวยวา บริษัทฯไมสามารถนําวัตถุดิบนี้ไปขายตอในสภาพเดิมที่รับมาได เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 PTT ไดสงหนังสือแจงขอยกเลิกสัญญาการซื้อขายวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิวกับ บริษัทฯ โดยจะขอยกเลิกสัญญาเมื่ออายุสัญญาครบ 15 ปแรก ในป 2555 ในเบื้องตน บริษัทฯไดพยายามหารือกับ PTT เพื่อหาขอสรุปที่ยุติธรรมทั้งสองฝาย แตไมสามารถหาขอสรุปได ดังนั้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2552 บริษัทฯจึงไดดําเนินการ ยื่นคํารองตออนุญาโตตุลาการ ตามแนวทางการยุติขอพิพาทที่ระบุไวในสัญญา ปจจุบันขอพิพาททางการคาดังกลาวอยูภาย ใตกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ นอกจากนี้ เพื่อใหบริษัทฯ ไดรับการรับรอง และคุมครองตามกฎหมายอยางเปนธรรม ตอมาเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2553 บริษัทจึงไดเปนโจทยยื่นฟอง PTT กับพวก เปนจําเลยตอศาลแพง เพื่อใหศาลแพงมีคําพิพากษาให PTT กับพวก ปฏิบัติตามสัญญาดังกลาวตอไปโดยไมกําหนดระยะเวลาสิ้นสุด (Evergreen Basis) ตามเจตนารมณของสัญญา คดีจึงอยู ระหวางการพิจารณาของศาลแพง (รายละเอียดในขอพิพาททางกฎหมาย) แนวทางการรับมือ เพื่อรับมือกับความเสี่ยงดังกลาว บริษัทฯ ไดดําเนินการดังนี้ •

ศึกษาหาแหลงวัตถุดิบอื่นทดแทน เพื่อลดการพึ่งพาวัตถุดิบจาก PTT เพียงแหงเดียว

ศึกษาหาวัตถุดิบประเภทอื่นที่สามารถนํามาใชในกระบวนการผลิตได โดยไดทดลองกลั่นนํ้ามันดิบจากแหลงใน ประเทศเมื่อป 2546 และ 2548 และพบวาเครื่องจักรของบริษัทฯ สามารถรองรับไดโดยตองทําการปรับปรุง อุปกรณ

ศึกษาหาผลิตภัณฑสําเร็จรูปจากแหลงตางๆ ทั้งในและนอกประเทศเพื่อรองรับความตองการของลูกคาทั้งใน ปจจุบันและอนาคต

43


¤ÇÒÁàÊÕè§à¡ÕèÂǡѺ¤ÇÒÁ¼Ñ¹¼Ç¹¢Í§ÃÒ¤ÒÇѵ¶Ø´Ôº บริษัทฯ มีความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันผวนของราคาวัตถุดิบคอนขางตํ่า ทั้งนี้เพราะตนทุนวัตถุดิบหลัก CR ของ บริษัทฯ มีราคาอางอิงกับราคานํ้ามันสําเร็จรูปที่ตลาดสิงคโปรหรือ Mean of Platt’s Singapore (MOPS) ของผลิตภัณฑ 4 ชนิด คือ แนฟทา (Naphtha) นํ้ามันกาด (Kerosene) นํ้ามันดีเซล (Gas Oil) และนํ้ามันเตา (Fuel Oil) ซึ่งจะแตกตาง จากโครงสรางตนทุนวัตถุดิบของธุรกิจโรงกลั่นทั่วไปที่ผันแปรตามราคานํ้ามันดิบของโลก เนื่องจากบริษัทฯ มีรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑตามราคาจําหนายนํ้ามันสําเร็จรูปหนาโรงกลั่นในประเทศ ซึ่งมี กลไกการตลาดอางอิงกับกลไกราคานํ้ามันสําเร็จรูปของตลาดสิงคโปรเชนเดียวกัน จึงทําใหบริษัทฯ มีโครงสรางของรายได จากการจําหนายผลิตภัณฑและโครงสรางตนทุนวัตถุดิบในลักษณะเดียวกัน โดยแปรผันไปในทิศทางและสัดสวนเดียวกัน จึง สงผลใหบริษัทฯ มีกําไรจากการกลั่น (Gross Refinery Margin) คอนขางคงที่และมีความผันผวนตํ่า ซึ่งตางจากธุรกิจโรง กลัน่ โดยทัว่ ไป ซึง่ จะมีกาํ ไรจากการกลัน่ คอนขางผันผวนตามสถานการณความไมแนนอนของราคานํา้ มันดิบและนํา้ มันสําเร็จรูป ในตลาดโลกตามปจจัยภายนอกที่ยากตอการควบคุม

¤ÇÒÁàÊÕ觨ҡ¡Òüѹ¼Ç¹¢Í§ÃÒ¤Ò¹íéÒÁѹÊíÒàÃç¨ÃÙ» แมวาบริษัทฯ มีโครงสรางรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑและโครงสรางตนทุนวัตถุดิบอางอิงกับราคานํ้ามัน สําเร็จรูปในตลาดสิงคโปร แตบริษทั ฯ ยังตองเผชิญกับความเสีย่ งจากความผันผวนของราคานํา้ มันสําเร็จรูปในตลาดสิงคโปร และตลาดโลก ซึ่งเกิดจากปจจัยภายนอกที่ยากตอการควบคุม ไดแก •

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองของโลกและภูมิภาคที่ประกอบธุรกิจกาซธรรมชาติและนํ้ามันดิบ โดยเฉพาะอยางยิ่งภูมิภาคตะวันออกกลาง

การกําหนดและรักษาปริมาณการผลิตและราคาของกาซธรรมชาติและนํ้ามันดิบโดย Organization of Petroleum Exporting Countries (OPEC) และประเทศที่ผลิตปโตรเลียมอื่นๆ

อุปสงคและอุปทานของกาซธรรมชาติ นํ้ามันดิบ และผลิตภัณฑปโตรเลียมสําเร็จรูปทั้งในระดับโลกและระดับ ภูมิภาค

กฎระเบียบที่เกี่ยวของของภาครัฐทั้งในประเทศและตางประเทศ

สภาพภูมิอากาศ

สภาพเศรษฐกิจโลก

ทั้งนี้ ความเสี่ยงที่สําคัญที่เกิดจากความผันผวนของราคานํ้ามัน คือ ความเสื่อมของมูลคาระหวางราคาซื้อวัตถุซึ่งอิง กับราคาเฉลี่ยเดือน MOPS (Mean of Platt’s Singapore) ของผลิตภัณฑ 4 ชนิดคือ แนฟทา (Naphtha) นํ้ามันกาด (Kerosene) นํ้ามันดีเซล (Gas Oil) และนํ้ามันเตา (Fuel Oil) ตามสัดสวนผลิตภัณฑ (Yield) ในตลาดสิงคโปร ณ วันสง มอบวัตถุดบิ ในขณะทีร่ าคาขายผลิตภัณฑของบริษทั ฯ จะอิงกับราคาตลาดในประเทศซึง่ อิงกับราคาเฉลีย่ MOPS ในวันทีข่ าย ผลิตภัณฑนาํ้ มันสําเร็จรูป ในการนี้ ความเหลือ่ มลํา้ ระหวางชวงระยะเวลาของการสงมอบวัตถุดบิ และวันทีข่ ายผลิตภัณฑ อาจ มีการเปลี่ยนแปลงของราคาเฉลี่ย MOPS สงผลใหเกิดความผันผวนในสวนตางของรายไดและตนทุนกอนหักคาใชจาย เพื่อลดความเสี่ยงจากความไมแนนอนในสวนตางของรายได และตนทุนจากความผันผวนของราคานํ้ามัน บริษัทฯ ไดควบคุมระยะเวลาการผลิต เพื่อลดชวงเวลาระหวางวันสงมอบวัตถุดิบจนถึงวันขายผลิตภัณฑใหเหลือนอยที่สุด โดยใน ปจจุบันอยูที่ไมเกิน 3 วัน หรือคิดเปนปริมาณนํ้ามันสําเร็จรูปไมเกิน 5 ลานลิตร

44


¤ÇÒÁàÊÕè§à¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃá·Ã¡á«§ÃÒ¤Ò¼ÅÔµÀѳ± â´ÂÃÑ°ºÒÅ ความเสี่ยงนี้เกิดจากความเปนไปไดที่รัฐบาลอาจเขาแทรกแซงการกําหนดราคานํ้ามันสําเร็จรูปภายในประเทศ โดย เฉพาะอยางยิ่งในชวงที่ราคานํ้ามันดิบและนํ้ามันสําเร็จรูปในตลาดโลกมีความผันผวนสูง ทั้งนี้เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟอและ เพื่อประโยชนตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม การแทรกแซงดังกลาวอาจสงผลกระทบตอธุรกิจ ฐานะการเงิน และผลประกอบการของบริษัทฯ ได อยางไรก็ตามบริษัทฯ พิจารณาวาความเสี่ยงที่เกิดจากการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑโดยรัฐบาลไมมีผลกระทบมาก นัก ทั้งนี้เพราะเปนมาตรการชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเดือดรอนเฉพาะเมื่อนํ้ามันในตลาดโลกมีราคาสูง โดยรัฐบาลจะเขา แทรกแซงการกําหนดราคาใหแกผูบริโภคในระดับตํ่า และชวยเหลือผูประกอบการโดยการจายเงินชดเชยตามจริงใหแกผู ประกอบการในธุรกิจโรงกลั่นนํ้ามันที่ไดรับผลกระทบจากการแทรกแซงราคานํ้ามันนั้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงไมไดรับผลกระทบ ในสวนของกําไรจากการกลั่นแตอยางใด นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังพยายามบริหารสินคาคงคลังของบริษัทฯ ตลอดเวลา เพื่อ ใหไดรับผลกระทบจากความเสี่ยงนี้นอยที่สุด

¤ÇÒÁàÊÕ觴ŒÒ¹¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂáÅÐÀÂѹµÃÒ·ÕèÍÒ¨à¡Ô´¢Öé¹ä´Œ¨Ò¡ÍغѵÔà˵ØËÃ×Íà˵ØÊØ´ÇÔÊÑ ความเสี่ยงนี้เกี่ยวของกับความผิดพลาดหรืออุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในโรงกลั่นนํ้ามัน/คลังนํ้ามัน ซึ่งจะกอใหเกิดความ เสียหายอยางรุนแรง ทั้งตอโรงกลั่นนํ้ามัน และ/หรือ คลังนํ้ามัน ตลอดจนชุมชนที่อยูโดยรอบอยางมีนัยสําคัญ แนวทางการรับมือ •

บริษัทฯ นําระบบบริหารความปลอดภัยสมัยใหมมาใช เพื่อลดความสูญเสียซึ่งอาจเกิดขึ้นไดจากอุบัติภัย

มีการประเมินความเสี่ยงในทุกจุดที่อาจกอใหเกิดอันตรายกับพนักงานและทรัพยสินของบริษัทฯ

ติดตั้งอุปกรณปองกันและตอสูอัคคีภัยที่ไดมาตรฐานตามขอกําหนดของ NFPA (National Fire Protection Association) ประเทศสหรัฐอเมริกา

มีการอบรมและฝกปฏิบตั ดิ า นการดับเพลิง ตลอดจนหลักสูตรความปลอดภัยตางๆ เพือ่ เตรียมความพรอมรองรับ สถานการณฉกุ เฉินอยางสมํา่ เสมอ ทัง้ ดานการเตรียมความพรอมของเจาหนาที่ เครือ่ งมือ และอุปกรณในระบบ ปองกันอุบัติภัยทั้งระบบ โดยรายงานผลการฝกซอมดับเพลิงใหหนวยงานราชการของจังหวัดทราบดวย

ประสานงานกับหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของ เชน การนิคมอุตสาหกรรม เพื่อสรางความมั่นใจ และสามารถ ระงับเหตุฉุกเฉินทุกระดับที่อาจเกิดขึ้นไดทันทวงที และมีประสิทธิภาพ

บริษัทฯ ดําเนินการระบบการจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบการจัดการดานอาชีวอนามัย และความปลอดภัยถึง 2 ระบบ ไดแก OHSAS 18001และ TIS 18001 จากสถาบัน SGS

บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอม ISO 14001 จากสถาบัน SGS

บริษัทฯ ไดรับการรับรองมาตรฐานระบบ ISO9000 Version 2000 จากสถาบัน SGS และพัฒนาเปนระบบ ISO9000 Version 2004 ในป 2549

บริษัทฯ ไมมีอุบัติภัยอันเนื่องมาจากอัคคีภัย ณ โรงกลั่น นับแตเปดดําเนินการ

45


¤ÇÒÁàÊÕ觨ҡ¤ÇÒÁ¼Ñ¹¼Ç¹¢Í§¤‹Òà§Ô¹ºÒ· บริษัทฯ ไดรับผลกระทบทั้งทางตรง และทางออมจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากราคาจําหนาย นํา้ มันสําเร็จรูปและราคาตนทุน CR อางอิงแปรผันตามราคาของตลาดโลก และรายไดจากการสงออกของบริษทั ฯเปนเงินตรา ตางประเทศ ในขณะที่รายไดหลักและตนทุนวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ เปนเงินบาท ซึ่งในป 2553 – 2554 บริษัทฯมีกําไร จากอัตราแลกเปลี่ยน เทากับ 1.10 ลานบาท 11.9 ลานบาท และ 18.70 ลานบาท ตามลําดับ แนวทางการรับมือ • ผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในสวนของรายไดบางสวนจะถูกชดเชยดวยราคาตนทุน CR ซึง่ ไดรบั ผลกระทบเชนเดียวกัน (Natural Hedging) เพือ่ บริหารความเสีย่ งจากความผันผวนจากอัตราแลกเปลีย่ น บริษัทฯ มีนโยบายทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Contract) สําหรับจํานวนของสวน ตางระหวางยอดคงเหลือของบัญชีลูกหนี้ และเจาหนี้ที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไม เกินหนึ่งป ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมียอดลูกหนี้เปนเงินตราตางประเทศเทากับ 0.33 ลาน เหรียญสหรัฐ

46


ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹

รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันที่เกิดขึ้นในป 2553 และ 2554 รายการระหวางบริษัทฯ กับ บริษัท แจสซี่ครีเอชั่น จํากัด จํานวนเงิน (ลานบาท) ลักษณะรายการ ลักษณะความสัมพันธ ป 2553 ป 2554 บริษัทฯ จายคาบริการใหกับบริษัท แจสซี่ครีเอชั่น นายศุภพงศ กฤษณกาญจน และนางศิรพร 0.09 0.04 จํากัด ซึ่งเปนบริษัทผลิตงานโฆษณา สิ่งพิมพ และ กฤษณกาญจน กรรมการรวมกันของบริษัท สื่อประชาสัมพันธทุกชนิด แจสซี ครีเอชั่น จํากัด รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับ บริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท จํากัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ ซื้ออุปกรณและวัสดุสิ้นเปลือง จากบริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท จํากัด

ลักษณะความสัมพันธ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล และนายสุทัศน ขันเจริญสุข กรรมการรวมกันของบริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท จํากัด

บริษัทฯ รับคาที่ปรึกษาระบบบริหารงาน จาก บริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท จํากัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (บริษัทยอย) รับ รายไดจากการบริหารโครงการงานติดตั้งอุปกรณ และระบบสาธารณูปโภคตางๆ ของการกอสราง สวนสนับสนุนการปฏิบัติงานและสวนกําบังรังสีฯ จากบริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท จํากัด

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2553 ป 2554 0.08 0.27

-

0.04

15.04

0.50

รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับ บริษัท บลูแพลนเน็ท จํากัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ จายคาตั๋วเครื่องบิน

จํานวนเงิน (ลานบาท) ลักษณะความสัมพันธ ป 2553 ป 2554 นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการของบริษัท 0.63 0.59 บลูแพลนเน็ท จํากัด

47


รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับ บริษัท วิลเลจฟารม แอนด เฟรน จํากัด และบริษัท วิลเลจฟารม มารเกตติ้ง จํากัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ จายคารับรอง ใหกับบริษัท วิลเลจฟารม มารเกตติ้ง จํากัด

จํานวนเงิน (ลานบาท) ลักษณะความสัมพันธ ป 2553 ป 2554 นายวีระวัฒน ชลวณิช กรรมการของบริษัท 0.01 0.01 วิลเลจฟารม แอนด เฟรน จํากัด และบริษัท วิลเลจฟารม มารเกตติ้ง จํากัด

รายการระหวางบริษัทยอย กับ บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) ลักษณะรายการ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนทจํากัด (บริษัทยอย) จายคาเชาที่ดินและคาไฟฟาใหกับ บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) ซึ่งประกอบ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย

จํานวนเงิน (ลานบาท) ลักษณะความสัมพันธ ป 2553 ป 2554 2.24 นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการของบริษัท 2.20 สัมมากร จํากัด (มหาชน)

บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย ; PTEC) รับคานํ้ามัน จาก บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน)

0.81

1.15

บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย ; PTEC) จายคารวมธุรกิจใหกับ บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน)

0.53

0.42

รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับ บริษัท ออนเนสท แอนด เอฟเชียน จํากัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ จายคาตรวจสอบคุณภาพ ใหกับบริษัท ออนเนสท แอนด เอฟเชียน จํากัด

จํานวนเงิน (ลานบาท) ลักษณะความสัมพันธ ป 2553 ป 2554 นายศุภพงศ กฤษณกาญจน และนางศิรพร 0.30 กฤษณกาญจน กรรมการรวมกันของบริษัท ออนเนสท แอนด เอฟเชียน จํากัด

48


รายการระหวางบริษัทยอย กับ บริษัท มงคลชัยพัฒนา จํากัด ลักษณะรายการ บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย ; PTEC) จายคารับรองและของขวัญ ใหกับบริษัท มงคลชัยพัฒนา จํากัด

จํานวนเงิน (ลานบาท) ลักษณะความสัมพันธ ป 2553 ป 2554 นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการของบริษัท 0.077 มงคลชัยพัฒนา จํากัด

รายการระหวางบริษัทยอย กับกรรมการ ผูบริหาร และบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ลักษณะรายการ

ลักษณะความสัมพันธ

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2553 ป 2554

บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (บริษัทยอย) จายดอกเบี้ยจากการรับความชวยเหลือทางการเงิน โดยการออกตั๋วสัญญาใชเงิน(P/N) ใหกับกรรมการ ผูบริหาร และบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ดังนี้ P/N อัตราดอกเบี้ย 5.75%

นองสาว นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการผูจัดการและกรรมการบริษัทฯ

-

0.142

P/N อัตราดอกเบี้ย 5.75%

บุตร นายสุมิตร ชาญเมธี กรรมการบริษัทฯ

-

0.235

P/N อัตราดอกเบี้ย 5.75%

นิติบุคคลที่เกี่ยวของกับ นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการอิสระ

-

0.200

49


รายการระหวางบริษัทฯ กับกรรมการ ผูบริหาร และบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ลักษณะรายการ •

ลักษณะความสัมพันธ

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2553 ป 2554

บริษัทฯ จายดอกเบี้ยจากการรับความชวย เหลือทางการเงิน โดยการออกเปนตั๋วสัญญาใช เงิน (P/N) และสัญญาเงินกู ใหกับกรรมการ ผูบริหาร และบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ดังนี้

สัญญาเงินกู อัตราดอกเบี้ย 5.75%

ญาติสนิท นายคุณอนุภาพ จามิกรณ กรรมการอิสระ

0.45

1.78

สัญญาเงินกู อัตราดอกเบี้ย 5.75%

นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ กรรมการบริษัทฯ

0.004

0.14

P/N และสัญญาเงินกู อัตราดอกเบี้ย 5.75%

ญาติสนิท นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการผูจัดการและกรรมการบริษัทฯ คูสมรส นายสุทัศน ขันเจริญสุข กรรมการบริษัทฯ ญาติสนิท นิติบุคคลที่เกี่ยวของ และนายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการบริษัทฯ บุตร และนายสุมิตร ชาญเมธี กรรมการบริษัทฯ นิติบุคคลที่เกี่ยวของกับ นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการอิสระ

0.88

1.33

0.001

0.06

4.00

8.60

1.78

1.43

0.75

1.32

สัญญาเงินกู อัตราดอกเบี้ย 5.75% P/N และสัญญาเงินกู อัตราดอกเบี้ย 5.25% และ 5.75% P/N และสัญญาเงินกู อัตราดอกเบี้ย 5.25% และ 5.75 P/N อัตราดอกเบี้ย 5.75%

50


ÃÒ§ҹ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ¢Í§½†Ò¨Ѵ¡ÒÃ

ภาพรวมอุตสาหกรรมปโตรเลียมในป 2554 ราคานํา้ มันดิบและนํา้ มันสําเร็จรูปมีความผันผวนขึน้ ลงตลอดทัง้ ปสาเหตุ มาจากเหตุการณแผนดินไหวที่ญี่ปุนและเหตุการณความไมสงบในตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ นอกจากนี้ยังมีความ กังวลตอสถานการณเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ปญหาหนี้สาธารณะในยุโรปและการปรับลดอันดับความนาเชื่อถือของ สหรัฐอเมริกา มีผลทําใหคาเงินเหรียญสหรัฐออนตัวและราคานํ้ามันผันผวนสูง สําหรับปนี้ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีรายไดรวม 24,452 ลานบาท เพิ่ม ขึ้น 4,708 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 24 เมื่อเปรียบเทียบกับปกอนที่มีรายได 19,744 ลานบาท ในสวนของตนทุนขาย และตนทุนการใหบริการมียอดรวมทั้งสิ้น 23,499 ลานบาท เพิ่มขึ้น 4,463 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 23 เมื่อเปรียบ เทียบกับปที่ผานมาที่ 19,036 ลานบาท สาเหตุเนื่องจากราคานํ้ามัน Gas Oil เฉลี่ยทั้งป 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้นประมาณ 35 เหรียญสหรัฐตอบารเรล และมีปริมาณการขายในป 2554 เพิ่มขึ้นเปน 897 ลานลิตร จาก 809 ลานลิตรในปกอน รวม ทั้งผลจากคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้น สวนคาใชจายในการขายและบริหารทั้งป รวม 593 ลานบาท เพิ่มขึ้น142 ลานบาท จากปกอนหนา ที่มียอดรวม 451ลานบาท ซึ่งเกิดจากตั้งสํารองคาผลประโยชนพนักงานกรณีเลิกจาง คาตอบแทนกรรมการและคาขนสงเนื่องมาจากมี สัดสวนการขายในประเทศเพิ่มขึ้น จึงทําใหผลการดําเนินงานในป 2554 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีกําไรสุทธิ 171 ลานบาท คิดเปนกําไรสุทธิตอหุน 0.32 บาท โดยมีผลการดําเนินงานลดลง 25 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 13 เมื่อเปรียบเทียบกับกําไรสุทธิของปกอนจํานวน 196 ลานบาท หรือ 0.40 บาทตอหุน สําหรับฐานะการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีสินทรัพยรวมทั้งสิ้น 4,067 ลาน บาท มีหนี้สินรวม 2,519 ลานบาท และสวนของผูถือหุนรวม 1,548 ลานบาท

51


ÃÒ§ҹ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òõ‹ÍÃÒ§ҹ

คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และ บริษทั ยอยและสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รอง ทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวัง และประมาณการ ที่ดีที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการไดจัดใหมี และดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผล วาการบันทึกขอมูลทางบัญชีมคี วามถูกตองครบถวน และเพียงพอทีจ่ ะดํารงรักษาไวซงึ่ ทรัพยสนิ และเพือ่ ใหทราบจุดออนเพือ่ ปองกันไมใหเกิดการทุจริต หรือการดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการที่ไมเปนผูบริหารเปน ผูดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการมีความเห็นวาระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯโดยรวมอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสม และเพียงพอตอความ เชื่อถือได ของงบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25532554

(นายสัจจา เจนธรรมนุกูล) ประธานกรรมการ

52


ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ

วันที่ 17 กุมภาพันธ 2555 เรื่อง รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจําป 2554 เรียน คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่ตามขอบเขต หนาที่และความรับผิดชอบตามกฎบัตรที่อนุมัติโดยคณะ กรรมการบริษัท ซึ่งสอดคลองกับขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในรอบปบัญชี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระ โดยบริษัทไดจัดใหมีการประชุมคณะ กรรมการตรวจสอบจํานวน 4 ครั้ง และกรรมการตรวจสอบทุกทานเขารวมประชุมครบถวนทุกครั้ง โดยเปนการรวมประชุม กับผูบริหาร ผูสอบบัญชี ผูตรวจสอบภายใน ตามความเหมาะสม ซึ่งสรุปสาระสําคัญของการปฏิบัติงาน ไดดังนี้ 1. งบการเงิน และการจัดทําบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีสากล คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาสอบทาน งบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําป 2554 รวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชี โดยไดสอบถามและรับฟงคําชี้แจง ในเรือ่ งความถูกตอง ครบถวนของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปดเผยขอมูล ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น สอดคลองกับผูสอบบัญชีวางบการเงินดังกลาวมีความถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการบัญชีสากล (International Financial Reporting Standards; IFRS) ของบริษัทฯและบริษัทยอย และมีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญอยาง เพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมรวมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายบริหารเขารวมประชุม 1 ครั้ง เพื่อพิจารณา ขอเสนอแนะเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในและแผนการตรวจสอบบัญชีประจําป 2555 ของบริษัทฯ และบริษัทยอย 2. รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาการเปดเผยขอมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และรายการ ที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ซึ่งผูสอบบัญชีมีความเห็นวารายการคากับบริษัทฯที่เกี่ยวของกันที่มีสาระสําคัญไดเปด เผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแลว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคลอง กับผูสอบบัญชี รวมทั้งมีความเห็นวารายการดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขธุรกิจการคาปกติทั่วไป และเปนประโยชนตอการ ดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ รวมทัง้ มีการเปดเผยขอมูลอยางถูกตองและครบถวน ตามกฎหมายและขอกําหนดของคณะกรรมการ กํากับตลาดทุน 3. ระบบการควบคุมภายใน และความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได พิจารณารายงานการตรวจสอบภายในและความคืบหนาของการดําเนินงานเปนรายไตรมาส ตามแผนงานทีไ่ ดรบั อนุมตั ิ พรอม ทั้งใหขอเสนอแนะกับหนวยงานตรวจสอบภายใน ในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีการติดตามและดําเนิน การแกไขในประเด็นทีม่ นี ยั สําคัญอยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหหนวยงานตางๆ ของบริษทั ฯและบริษทั ยอย มีระบบการควบคุมภายใน ที่เหมาะสม รวมทั้งสอบทานนโยบายแนวทางการบริหารความเสี่ยงและติดตามความคืบหนาของการบริหารความเสี่ยง ซึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบเห็นวา บริษัทฯ มีการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ มีประสิทธิผล และการ ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เปนไปอยางอิสระเพียงพอเหมาะสม 4. การปฏิบัติตามขอกําหนดของภาครัฐ คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลัก ทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั ฯ ซึง่ คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯมีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของและไมพบประเด็นที่เปนสาระสําคัญ 5. คัดเลือกและแตงตั้งผูสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาผลการปฏิบัติงานในปที่ผานมา รวมถึงชื่อ เสียง ขอบเขต ความเปนอิสระ และปริมาณงานที่ผูสอบบัญชีรับผิดชอบเห็นวามีความเหมาะสม จึงเสนอตอคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อขออนุมัติในที่ประชุมผูถือหุน โดยคัดเลือกบริษัทสํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด เปนผูตรวจสอบบัญชี ของบริษัทฯ ประจําป 2555 อีกครั้ง 53


6. การกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ใหความสําคัญในการบริหารงานตามหลักการของการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบไดกํากับดูแลใหมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอและถูกตอง รวมทั้งสงเสริมใหบริษัทฯ มีระบบ ธรรมาภิบาล การบริหารจัดการทีด่ ี เพือ่ ใหมคี วามโปรงใส และมีจริยธรรม กอใหเกิดความเชือ่ มัน่ แกผถู อื หุน ผูล งทุน พนักงาน ผูท เี่ กีย่ วของทุกฝาย และไดสอบทานวิธกี ารรายงานสวนไดเสียของกรรมการและผูบ ริหาร เพือ่ ใหเปนไปตามทีพ่ ระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด โดยสรุปในภาพรวมแลว คณะกรรมการตรวจสอบ ไดปฏิบัติหนาที่ครบถวนตามที่ระบุไวในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และเห็นวา บริษัทฯ ถือนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนสําคัญ มีผล ใหระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพเพียงพอ ไมมีขอบกพรองเปนสาระสําคัญ มีการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ มี ประสิทธิผล การจัดทํางบการเงิน และการเปดเผยขอมูลทางการเงินทําขึ้นอยางครบถวน ถูกตองเปนไปตามมาตรฐานการ บัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป และมีการเปดเผยรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีอ่ าจทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนอยางถูกตองและ ครบถวน รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ ขอกําหนดที่เกี่ยวของ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(ดร.วิชิต แยมบุญเรือง) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน)

54


ÃÒ§ҹ¢Í§¼ÙŒÊͺºÑÞªÕÃѺ͹ØÞÒµ

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอตอผูถือหุนของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบกําไรขาดทุนรวม งบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวม และงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละ ปของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวน ของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูร บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบ ของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปซึง่ กําหนดใหขา พเจาตองวางแผนและปฏิบตั งิ านเพือ่ ใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึง การใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความ เหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสําคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัด ทําขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ าํ เสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชือ่ วาการตรวจ สอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา 1. ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 1.2 และขอ 41.3 ก) บริษัทฯมีขอพิพาททางการคาและคดีฟองรองที่ สําคัญกับผูข ายวัตถุดบิ รายหลักของบริษทั ฯ ขณะนี้ ขอพิพาททางการคาดังกลาวอยูภ ายใตกระบวนการอนุญาโตตุลาการ และคดีฟองรองอยูภายใตกระบวนการพิจารณาคดีของศาลแพง ผลของขอพิพาททางการคาและคดีฟองรองดังกลาวยัง ไมสามารถระบุไดและขึน้ อยูก บั กระบวนการยุตธิ รรมในอนาคต ตอมา ผูข ายวัตถุดบิ รายหลักของบริษทั ฯไดหยุดสงวัตถุดบิ ใหแกบริษัทฯตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2555 ซึ่งทําใหบริษัทฯตองหยุดการผลิตเนื่องจากยังไมสามารถจัดหาวัตถุดิบหลัก ดังกลาวจากผูขายรายอื่น เหตุการณดังกลาวทําใหเกิดขอสงสัยอยางมากเกี่ยวกับความสามารถของบริษัทฯที่จะดําเนิน งานอยางตอเนื่องซึ่งยังมีความไมแนนอนอยางมากขึ้นอยูกับผลของขอพิพาททางการคา คดีฟองรอง และการหาแหลง วัตถุดบิ ใหม รวมถึงความเปนไปไดในการยายทีต่ งั้ โรงงานใหใกลแหลงวัตถุดบิ ใหมดงั กลาว ขาพเจาไดเคยแสดงความเห็น อยางไมมีเงื่อนไขตองบการเงินป 2553 โดยใหขอสังเกตเกี่ยวกับขอพิพาททางการคาและคดีฟองรองที่สําคัญกับผูขาย วัตถุดิบรายหลักดังกลาวของบริษัทฯ แตในป 2554 ความไมแนนอนไดเพิ่มขึ้นจนอาจมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญ อยางมากตองบการเงินปปจจุบัน 2. บริษัทฯยังอยูระหวางการจัดใหมีการประเมินมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพื่อใชในการพิจารณาการ ดอยคาและปรับปรุง รายการของบัญชีดังตอไปนี้ใหถูกตองตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป ก) บัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวนเงิน 1,187 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 602 ลานบาท) โดยบริษทั ฯอยูร ะหวางการจัดใหมกี ารประเมินราคาโดย ผูประเมินราคาอิสระ และบริษัทยอยอยูระหวางการประเมินการดอยคาจากการใชสินทรัพยตามวิธีกระแสเงินสด คิดลด ข) บัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอยที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวน เงิน 432 ลานบาท โดยบริษัทฯอยูระหวางการประเมินการดอยคาตามวิธีกระแสเงินสดคิดลด

55


เนื่องจากผลของความไมแนนอนเกี่ยวกับความสามารถในการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการตามที่กลาวไวในวรรค 1) และ ผลการพิจารณาการดอยคาของสินทรัพยตามทีก่ ลาวไวในวรรค 2) อาจมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญอยางมากตองบการ เงินรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และ งบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ดังนั้น ขาพเจาจึงไมอาจแสดงความเห็นตองบ การเงินดังกลาวขางตน ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และเฉพาะของบริษัท ระยอง เพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ขาพเจาขอใหสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3 และขอ 5 ในระหวางป 2554 บริษัทฯไดปฏิบัติตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหมทอี่ อกโดยสภาวิชาชีพบัญชีเพือ่ จัดทําและนําเสนองบการเงินนี้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯได ปรับยอนหลังงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน เพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีเนื่องจากการนํามาตรฐานการบัญชีใหมดังกลาวมาถือปฏิบัติ สุมาลี รีวราบัณฑิต ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3970 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 17 กุมภาพันธ 2555

56


§ºáÊ´§°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย : บาท)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

(ปรับปรุงใหม) สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น คาใชจายจายลวงหนา สินคาคงเหลือ เงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับจาก กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระคํ้าประกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

8 9 10, 11

523,807,608 203,383,398 90,408,602 43,999,815 620,533,279 640,796,879 21,801,425 21,904,973 1,064,370,091 1,381,469,327

12 13 11

3,100,000 1,577,525

1,000,000 1,498,520

(ปรับปรุงใหม)

420,383,176 90,408,602 668,088,809 10,626,036 977,154,389

64,568,882 10,999,815 755,698,830 10,108,564 1,186,720,351

3,100,000 16,577,525

1,000,000 4,498,520

14 15

886,987 841,962 427,595 408,815 135,489,622 153,539,999 83,604,326 91,552,519 2,461,975,139 2,448,434,873 2,270,370,458 2,125,556,296

16 14 17 18 19 20 21

97,780,291 90,000,000 90,000,000 90,000,000 3,064,649 3,951,635 931,349 1,358,944 125,649,604 2,569,030 132,355,892 3,174,900 431,849,079 520,598,064 1,319,883,158 1,755,664,765 601,974,986 661,429,045 12,840,441 15,984,528 9,040,858 11,523,501 46,305,330 47,202,976 32,829,818 33,038,560 1,605,523,473 1,915,372,934 1,298,981,982 1,321,123,014 4,067,498,612 4,363,807,807 3,569,352,440 3,446,679,310

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

57


§ºáÊ´§°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ (µ‹Í) บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย : บาท) หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

(ปรับปรุงใหม) หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร 22 เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น 11, 23 เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน 24 เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 25 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 26 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 11 หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนด 19, 27 ชําระภายในหนึ่งป ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย สํารองผลประโยชนเมื่อเลิกจาง 28 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 29 รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร 25 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน 26 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน 11 19, 27 หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน เงินประกันการคํ้าประกัน - กิจการที่เกี่ยวของกัน 11 สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน 28 เงินมัดจําคาเชา รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

(ปรับปรุงใหม)

275,000,000 475,625,312 1,596,404,294 1,489,605,964 1,575,913,399 12,690,000 2,590,000 1,000,000

213,625,312 1,394,140,896 1,000,000

140,000,000

79,055,014

-

-

24,000,000

-

24,000,000

-

207,000,000

-

207,000,000

-

44,704,673 25,581,099 2,085,686 19,135,055 3,543,839 17,376,549 80,855,209 63,173,938 46,604,346 133,192,896 17,737,990 2,446,393,577 2,209,194,124 1,908,287,562

2,118,114 106,616,389 1,717,500,711

69,903,301

278,578,900 24,000,000 292,000,000 51,348,667

3,629,174

24,000,000 292,000,000 5,714,859

6,240,000 2,717,299 24,298,500 21,594,875 394,576 37,933,560 73,015,176 708,159,627 3,629,174 349,549,734 2,519,408,753 2,917,353,751 1,911,916,736 2,067,050,445

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

58


§ºáÊ´§°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ (µ‹Í) บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย : บาท) หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

(ปรับปรุงใหม) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 802,870,229 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ทุนที่ออกและชําระแลว หุนสามัญ 529,870,229 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท สวนเกินมูลคาหุนสามัญ กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารองตามกฎหมาย - บริษัทฯ - บริษัทยอย ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของ บริษัทยอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

(ปรับปรุงใหม)

1.1 802,870,229

802,870,229

802,870,229

802,870,229

529,870,229 529,870,229 529,870,229 529,870,229 335,065,699 335,065,699 335,065,699 335,065,699

30 30

80,304,817 53,004,817 80,304,817 53,004,817 50,000 50,000 400,669,993 218,338,666 516,857,307 245,275,579 195,337,652 217,889,919 195,337,652 216,412,541 1,541,298,390 1,354,219,330 1,657,435,704 1,379,628,865 6,791,469 92,234,726 1,548,089,859 1,446,454,056 1,657,435,704 1,379,628,865 4,067,498,612 4,363,807,807 3,569,352,440 3,446,679,310

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ .................................. กรรมการ ..................................

59


§º¡íÒäâҴ·Ø¹ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย : บาท) งบการเงินรวม 2554 2553

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

(ปรับปรุงใหม) รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร รวมคาใชจาย กําไรกอนสวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุน ในบริษัทรวม คาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได นิติบุคคล สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรกอนคาใชจายทางการเงินและ ภาษีเงินไดนิติบุคคล คาใชจายทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดนิติบุคคล กําไรสําหรับป

33 34

24,211,666,064 19,544,492,930 19,267,878,633 15,787,560,694 195,779,911 166,551,011 44,951,495 32,889,866 96,190,043 116,435,387 24,452,397,470 19,743,933,807 19,364,068,676 15,903,996,081 23,342,811,240 18,893,634,041 18,472,506,793 15,330,018,289 156,082,819 142,010,435 120,611,012 103,103,540 164,173,053 150,545,585 472,613,525 348,054,368 289,612,471 187,849,706 24,092,118,596 19,486,802,384 18,926,292,317 15,668,413,580

17

36

การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทยอย กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงนํ้าหนัก (หุน)

(ปรับปรุงใหม)

360,278,874 (4,623,038)

257,131,423 (1,396,824)

437,776,359 -

235,582,501 -

355,655,836 (67,360,773) 288,295,063 (115,301,443) 172,993,620

255,734,599 (54,127,292) 201,607,307 (9,188,533) 192,418,774

437,776,359 (30,483,074) 407,293,285 (108,291,708) 299,001,577

235,582,501 (31,708,869) 203,873,632 203,873,632

170,732,464

195,998,807

299,001,577

203,873,632

2,261,156 172,993,620

(3,580,033) 192,418,774

0.32 529,870,229

0.40 495,191,955

0.56 529,870,229

0.41 495,191,955

37

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

60


§º¡íÒäâҴ·Ø¹àºç´àÊÃç¨

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย : บาท) งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม) 172,993,620 192,418,774

กําไรสําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงินที่ เปนเงินตราตางประเทศ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป

(1,477,378) (1,477,378)

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

171,516,242 193,896,152

1,477,378 1,477,378

การแบงปนกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ 169,255,086 197,476,185 สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย 2,261,156 (3,580,033) 171,516,242 193,896,152

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

61

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม) 299,001,577 203,873,632

-

-

299,001,577 203,873,632

299,001,577 203,873,632


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย: บาท) งบการเงินรวม สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน

กําไรสะสม

กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ผลตางจากการ แปลงคา งบการเงินที่ เปนเงินตราตาง ประเทศ

จัดสรรแลว สํารองตามกฎหมาย ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

สวนเกิน มูลคา หุนสามัญ

บริษัทฯ

529,870,229

335,065,699

53,004,817

-

-

529,870,229

สวนเกินทุน จากการ ตีราคา สินทรัพย

รวมองค ประกอบอื่น ของสวนของผู ถือหุน

รวม สวนของผูถือ หุน ของบริษัทฯ

สวนของ ผูมีสวนได เสียที่ไม มีอํานาจ ควบคุม ของบริษัท ยอย

สํารองหุนทุน ซื้อคืน

ยังไมไดจัดสรร (ขาดทุน สะสม)

-

220,549,808

(49,565,860) (220,549,808)

-

237,734,952

237,734,952

1,106,109,837

33,583,394

1,139,693,231

-

-

-

(20,576,789)

-

-

-

-

(20,576,789)

(88,851)

(20,665,640)

335,065,699

53,004,817

-

220,549,808

(70,142,649) (220,549,808)

-

237,734,952

237,734,952

1,085,533,048

33,494,543

1,119,027,591

-

-

-

-

-

1,477,378

-

1,477,378

197,476,185

(3,580,033)

193,896,152

-

-

-

-

-

21,322,411

-

-

(21,322,411)

(21,322,411)

-

-

-

-

-

-

-

-

(42,378,138)

-

-

-

-

(42,378,138)

-

(42,378,138)

-

-

-

50,000

-

(50,000)

-

-

-

-

-

-

-

ปรับปรุงสํารองหุนทุนซื้อคืน

-

-

-

- (220,549,808)

220,549,808

-

-

-

-

-

-

-

จําหนายหุนทุนซื้อคืน (หมายเหตุ 32)

-

-

-

-

-

(106,961,573)

220,549,808

-

-

-

113,588,235

-

113,588,235

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

62,832,501

62,832,501

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(512,285)

(512,285)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 529,870,229 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

335,065,699

53,004,817

50,000

-

218,338,666

-

1,477,378

216,412,541

217,889,919

1,354,219,330

92,234,726

1,446,454,056

บริษัทยอย

หุนทุนซื้อคืน

รวมสวนของผู ถือหุน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตามที่รายงานไวเดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับผลประโยชนพนักงาน (หมายเหตุ 5) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 -

62

หลังการปรับปรุง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป (ปรับปรุงใหม)

195,998,807

-

ตัดจําหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (หมายเหตุ 31) เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 40) โอนกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรเปนสํารอง ตามกฎหมาย (หมายเหตุ 30)

เงินเพิ่มทุนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทยอย บริษัทยอยจายเงินปนผลใหผูมีสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุมของบริษัทยอย


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย: บาท) งบการเงินรวม สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน

กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารองตามกฎหมาย

กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ผลตางจากการ แปลงคา งบการเงินที่ เปนเงินตราตาง ประเทศ

สวนของ ผูมีสวนไดเสีย ที่ไม มีอํานาจ ควบคุม ของบริษัทยอย

รวมองค ประกอบอื่น ของสวนของผู ถือหุน

รวม สวนของผูถือ หุน ของบริษัทฯ

216,412,541

217,889,919

1,378,340,362

92,412,194

1,470,752,556

-

-

-

(24,121,032)

(177,468)

(24,298,500)

-

1,477,378

216,412,541

217,889,919

1,354,219,330

92,234,726

1,446,454,056

39,018,712

-

-

-

-

39,018,712

37,488,566

76,507,278

-

170,732,464

-

(1,477,378)

-

(1,477,378)

169,255,086

2,261,156

171,516,242

-

-

21,074,889

-

-

(21,074,889)

(21,074,889)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

- (125,192,979)

(125,192,979)

-

27,300,000

-

-

(27,300,000)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(21,194,738)

-

-

-

-

(21,194,738)

-

(21,194,738)

529,870,229

335,065,699

80,304,817

50,000

-

400,669,993

-

-

195,337,652

195,337,652

1,541,298,390

6,791,469

1,548,089,859

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

สวนเกิน มูลคา หุนสามัญ

บริษัทฯ

529,870,229

335,065,699

53,004,817

50,000

-

-

-

529,870,229

335,065,699

-

สวนเกินทุน จากการ ตีราคา สินทรัพย

ยังไมไดจัดสรร (ขาดทุน สะสม)

หุนทุนซื้อคืน

-

242,459,698

-

1,477,378

-

-

(24,121,032)

-

53,004,817

50,000

-

218,338,666

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

บริษัทยอย

สํารองหุนทุน ซื้อคืน

รวมสวนของผู ถือหุน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามที่รายงานไวเดิม

63

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับผลประโยชนพนักงาน (หมายเหตุ 5) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 หลังการปรับปรุง ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 3) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป ตัดจําหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (หมายเหตุ 31) สูญเสียอํานาจการควบคุมในบริษัทยอย (หมายเหตุ 18.4) โอนกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรเปนสํารอง ตามกฎหมาย (หมายเหตุ 30) เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 40) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน

จัดสรรแลว

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

สวนเกินมูลคา หุนสามัญ

สํารองตาม กฎหมาย

สํารองหุนทุน ซื้อคืน

ยังไมไดจัดสรร (ขาดทุนสะสม)

หุนทุนซื้อคืน

529,870,229

335,065,699

53,004,817

220,549,808

(31,578,259)

(220,549,808)

237,734,952

237,734,952

1,124,097,438

-

-

-

-

(19,552,302)

-

-

-

(19,552,302)

529,870,229

335,065,699

53,004,817

220,549,808

(51,130,561)

(220,549,808)

237,734,952

237,734,952

1,104,545,136

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป (ปรับปรุงใหม)

-

-

-

-

203,873,632

-

-

-

203,873,632

ตัดจําหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (หมายเหตุ 31)

-

-

-

-

21,322,411

-

(21,322,411)

(21,322,411)

-

เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 40)

-

-

-

-

(42,378,138)

-

-

-

(42,378,138)

ปรับปรุงสํารองหุนทุนซื้อคืน

-

-

-

(220,549,808)

220,549,808

-

-

-

-

จําหนายหุนทุนซื้อคืน (หมายเหตุ 32)

-

-

-

-

(106,961,573)

220,549,808

-

-

113,588,235

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

529,870,229

335,065,699

53,004,817

-

245,275,579

-

216,412,541

216,412,541

1,379,628,865

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ตามที่รายงานไวเดิม

529,870,229

335,065,699

53,004,817

-

266,870,454

-

216,412,541

216,412,541

1,401,223,740

-

-

-

-

(21,594,875)

-

-

-

(21,594,875)

529,870,229

335,065,699

53,004,817

-

245,275,579

-

216,412,541

216,412,541

1,379,628,865

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

-

-

-

-

299,001,577

-

-

-

299,001,577

ตัดจําหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (หมายเหตุ 31)

-

-

-

-

21,074,889

-

(21,074,889)

-

-

-

27,300,000

-

(27,300,000)

-

-

-

-

-

-

-

-

(21,194,738)

-

-

-

(21,194,738)

529,870,229

335,065,699

80,304,817

-

516,857,307

-

216,412,541

195,337,652

1,657,435,704

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามที่รายงานไวเดิม

สวนเกินทุนจากการ รวมองคประกอบอื่น ตีราคาสินทรัพย ของสวนของผูถือหุน

รวมสวนของผู ถือหุน

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับผลประโยชนพนักงาน (หมายเหตุ 5) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลังการปรับปรุง

64

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับผลประโยชนพนักงาน (หมายเหตุ 5) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - หลังการปรับปรุง

โอนกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 30) เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 40) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


§º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย : บาท) งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

(ปรับปรุงใหม) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไรกอนภาษีเปน เงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน: คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) การปรับลดสินคาคงเหลือเปนมูลคาสุทธิที่ จะไดรับ (โอนกลับ) กําไรจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว ขาดทุน (กําไร) จากการเปลี่ยนแปลงมูลคา เงินลงทุนชั่วคราว ขาดทุน (กําไร) จากการขายอุปกรณ สํารองผลประโยชนเมื่อเลิกจางและสํารอง ผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยน ดอกเบี้ยรับ คาใชจายดอกเบี้ย สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนใน บริษัทรวม ขาดทุน (กําไร) จากการรับรูมูลคาเงิน ลงทุนในบริษัทยอยเดิมดวยมูลคา ยุติธรรม (หมายเหตุ 18.4) เงินปนผลรับจากบริษัทยอย กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น คาใชจายจายลวงหนา สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

(ปรับปรุงใหม)

288,295,063

201,607,307

407,293,285

203,873,632

170,046,179 (2,073,059)

166,841,080 91,473

64,042,621 -

64,123,382 206,799

(250,811) (642,471)

279,591 (262,445)

(491,376)

(88,238)

(108,787) (733,322)

185 (905,977)

(108,787) 806

185 (852,542)

59,689,754 (154,400) (5,863,630) 63,407,427

3,632,860 (1,409,838) (1,862,541) 50,717,850

41,579,063 (154,400) (6,743,976) 27,226,442

2,042,573 (1,409,838) (3,532,984) 29,009,256

4,623,038

1,396,824

-

-

1,122,896 -

-

(14,431,392) -

(46,499,907)

577,357,877

420,126,369

518,212,286

246,872,318

10,675,188 103,548 317,350,047 (552,488) (628,106)

(497,453,812) (6,943,537) (336,126,204) 66,886,551 (1,940,944)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

65

89,465,482 (273,114,911) (517,472) (1,673,711) 209,565,962 (295,684,866) 1,126,785 64,186,701 208,742 (508,564)


§º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ (µ‹Í) บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย : บาท) งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม)

หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น 162,491,721 447,473,440 181,772,503 371,169,628 หนี้สินหมุนเวียนอื่น (85,099,768) (4,243,447) (88,802,030) (15,744,632) หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น (9,227,491) 17,463,666 เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน 972,470,528 105,242,082 911,032,258 95,501,963 จายดอกเบี้ย (46,900,878) (32,345,950) (27,302,811) (31,826,962) เงินสดรับจากการขอคืนภาษีเงินไดนิติบุคคล 7,677,863 5,025,962 จายภาษีเงินไดนิติบุคคล (99,820,290) (10,976,136) (90,915,159) (3,150,675) เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 833,427,223 61,919,996 797,840,250 60,524,326 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีภาระคํ้าประกันลดลง (7,780,291) รับดอกเบี้ย 5,488,734 1,977,647 6,369,080 3,648,090 เงินปนผลรับจากบริษัทยอย 46,499,907 เงินสดจายเพื่อซื้อเงินลงทุนชั่วคราว (1,936,000,000) (1,551,100,000) (1,269,000,000) (549,000,000) เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว 1,890,342,471 1,583,362,445 1,190,191,376 538,088,238 เงินสดจายสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย (26,000,615) (129,217,500) (หมายเหตุ 18.3) เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่ไมเกี่ยวของกันเพิ่ม ขึ้น (2,100,000) (2,100,000) เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น (1,498,520) (12,000,000) (4,498,520) เงินสดรับคืนจากเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน 30,000,000 30,000,000 เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ลดลง (เพิ่มขึ้น) 841,961 (1,393,597) 408,815 (1,767,759) เงินสดรับจากการขายอุปกรณ 3,888,424 1,590,958 9,510 1,315,040 ซื้ออสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (33,916,730) ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ (52,574,725) (330,281,866) (2,092,485) (8,781,890) ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน (204,820) (1,391,492) (23,750) (121,589) เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน (132,014,976) (268,734,425) (114,238,069) (73,835,983) หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

66


§º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ (µ‹Í) บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หนวย : บาท) งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคารลดลง (199,954,746) (436,368,903) (213,235,036) (636,478,903) เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เพิ่มขึ้น (ลดลง) 10,100,000 (79,925,000) เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เพิ่มขึ้น (ลดลง) 300,000 (31,300,000) เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร 30,265,389 128,829,936 ชําระคืนเงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร (59,164,529) (54,504,000) เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น 24,000,000 24,000,000 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน (85,000,000) 292,000,000 (85,000,000) 292,000,000 เพิ่มขึ้น (ลดลง) ชําระคืนหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน (39,238,247) (19,240,721) (2,118,113) (2,426,528) เงินประกันการคํ้าประกัน - กิจการที่เกี่ยวของกัน เพิ่มขึ้น (ลดลง) (6,240,000) 6,240,000 เงินสดรับสุทธิจากการขายหุนทุนซื้อคืน 113,588,235 113,588,235 เงินสดรับจากการเพิ่มทุนโดยผูมีสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุมของบริษัทยอย 62,832,501 บริษัทฯจายเงินปนผลใหผูถือหุน -21,194,738 -42,378,138 (21,194,738) (42,378,138) บริษัทยอยจายเงินปนผลใหผูมีสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุมของบริษัทยอย (512,285) จายดอกเบี้ย (17,101,166) (21,397,131) เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (380,988,037) (64,375,506) (327,787,887) (245,455,334) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ 320,424,210 (271,189,935) 355,814,294 (258,766,991) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป 203,383,398 474,573,333 64,568,882 323,335,873 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันปลายป 523,807,608 203,383,398 420,383,176 64,568,882 ขอมูลกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม: รายการที่มิใชเงินสด เจาหนี้อื่นลดลงจากการซื้ออาคารและอุปกรณ (12,190,753) (7,794,291) ซื้อยานพาหนะโดยวิธีสัญญาเชาการเงิน 76,916,455 44,676,437 4,222,311 ตัดจําหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย 21,704,889 21,322,411 21,074,889 21,322,411 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้นจากการ ปรับมูลคาใหเปนมูลคายุติธรรม 76,507,278 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

67


ËÁÒÂà˵ػÃСͺ§º¡ÒÃà§Ô¹ÃÇÁ

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 1.

ขอมูลทั่วไป

1.1

ขอมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เปนบริษทั มหาชนซึง่ จัดตัง้ และมีภมู ลิ าํ เนาในประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตและจําหนายนํ้ามันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑปโตรเคมี ที่อยูตามที่จดทะเบียนของ บริษัทฯซึ่งเปนสํานักงานใหญตั้งอยูที่เลขที่ 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร 3 ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร สาขาซึง่ เปนทีต่ งั้ โรงงานตัง้ อยูท เี่ ลขที่ 7/3 ถนนปกรณสงเคราะหราษฎร ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง นอกจากนี้ บริษัทฯมีสาขาซึ่งเปนคลังเก็บนํ้ามัน 4 แหงในจังหวัดนครสวรรค นครราชสีมา ชลบุรีและระยอง ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 คือ บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด ซึ่ง เปนบริษัทจํากัดตามกฎหมายไทย โดยถือหุนในอัตรารอยละ 29.87 ของทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทฯ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2553 มีมติอนุมัติใหเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 802.87 ลานบาท (หุน สามัญ 802.87 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) โดยการออกจําหนายหุนสามัญใหมจํานวน 273 ลานหุน และ จัดสรรหุน เพิม่ ทุนโดยการออกใบแสดงสิทธิในผลประโยชนทเี่ กิดจากหุน สามัญของบริษทั ฯ (TDR) ในสาธารณรัฐจีน (ไตหวัน) บริษัทฯไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2553 เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2554 บริษัทฯไดยื่น TDR offering plan ตอ TWSE ตอมา บริษัทฯไดรับหนังสือจาก TWSE ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2554 แจงสงคืน TDR offering plan โดยขอใหบริษัทฯยื่น TDR offering plan ใหม เมื่อมี ความชัดเจนในเรื่องวัตถุดิบหลักแลว ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2554 มีมติอนุมัติ ดังนี้ 1) รับทราบผลของ TDR offering plan ที่ TWSE ไดมีหนังสือแจงสงคืน และใหหยุดดําเนินการเกี่ยวกับ TDR offering plan ทั้งหมด 2) ยกเลิกการสนับสนุนการออกและเสนอขาย TDR ของผูถือหุนเดิมจํานวน 30 ลานหุน และจัดการคืนหุนใหแก ผูถือหุนเดิมดังกลาว

1.2

ขอสมมติฐานทางการบัญชี ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 41.3 ก) บริษัทฯมีขอพิพาททางการคาและคดีฟองรองที่สําคัญกับ ผูขายวัตถุดิบรายหลักของบริษัทฯ ขณะนี้ ขอพิพาททางการคาดังกลาวอยูภายใตกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ และคดีฟองรองอยูภายใตกระบวนการพิจารณาคดีของศาลแพง ผลของขอพิพาททางการคาและคดีฟองรองดังกลาว ยังไมสามารถระบุไดและขึ้นอยูกับกระบวนการยุติธรรมในอนาคต ตอมา ผูขายวัตถุดิบรายหลักของบริษัทฯไดหยุด สงวัตถุดบิ ใหแกบริษทั ฯตัง้ แตเดือนกุมภาพันธ 2555 ซึง่ ทําใหบริษทั ฯตองหยุดการผลิตเนือ่ งจากยังไมสามารถจัดหา วัตถุดบิ หลักดังกลาวจากผูข ายรายอืน่ สถานการณดงั กลาวทําใหเกิดขอสงสัยอยางมากเกีย่ วกับความสามารถในการ ดําเนินงานตอเนือ่ งของบริษทั ฯ ทําใหบริษทั ฯอาจไมสามารถขายหรือใชสนิ ทรัพย รับและจายชําระหนีส้ นิ ไดตามปกติ

68


ธุรกิจ อยางไรก็ตาม เหตุการณดังกลาวยังมีความไมแนนอนอยางมากขึ้นอยูกับผลของขอพิพาททางการคา คดีฟอง รอง และการหาแหลงวัตถุดบิ ใหม รวมถึงความเปนไปไดในการยายทีต่ งั้ โรงงานใหใกลแหลงวัตถุดบิ ใหมดงั กลาว ดัง นั้น งบการเงินของบริษัทฯยังคงจัดทําขึ้นภายใตขอสมมติฐานการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการโดยไมไดปรับปรุง มูลคาสินทรัพยในราคาทีอ่ าจขายได และไมไดปรับปรุงหนีส้ นิ ตามจํานวนเงินทีจ่ ะตองจายคืนและจัดประเภทบัญชีใหม ซึ่งอาจมีความจําเปนหากบริษัทฯไมสามารถดําเนินงานไดอยางตอเนื่อง 2.

เกณฑในการจัดทํางบการเงิน

2.1

งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการ ในงบการเงินตามขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระ ราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปล จากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี

2.2

เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (ซึ่งตอไปนี้ เรียกวา “บริษัทฯ”) และบริษัทยอย (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทยอย”) ดังตอไปนี้ บริษทั

ลักษณะธุรกิจ

บริษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัด

ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ นํา้ มันไบโอดีเซล (B100) และกลีเซอรีนดิบ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอป ใหเชาและบริการอสังหาริมทรัพย เมนท จํากัด บริษทั เพียวพลังงานไทย จํากัด จําหนายนํา้ มันเชือ้ เพลิง บริษทั เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด จําหนายนํา้ มันเชือ้ เพลิง และบริษทั ยอย บริษทั เอสซีที สหภัณฑ จํากัด จําหนายอุปกรณเครือ่ งมือ สถานีบริการนํา้ มัน และใหบริการซอมบํารุง

จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศ

อัตรารอยละ ของการถือหุน 2554 2553 รอยละ รอยละ

ไทย

100

100

ไทย ไทย

100

51 100

ไทย

100

100

ไทย

78

78

ข) บริษัทฯนํางบการเงินของบริษัทยอยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตั้งแตวันที่บริษัทฯมีอํานาจในการควบคุม บริษัทยอยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทยอยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทยอยไดจัดทําขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีที่สําคัญเชนเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) ยอดคงคางระหวางบริษทั ฯและบริษทั ยอย รายการคาระหวางกันทีม่ สี าระสําคัญไดถกู ตัดออกจากงบการเงินรวม นี้แลว จ) สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม คือ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยสวน ทีไ่ มไดเปนของบริษทั ฯ และแสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของกําไรหรือขาดทุนรวมและสวนของผูถ อื หุน ในงบแสดงฐานะการเงินรวม

69


2.3

บริษัทฯจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ตามวิธีราคาทุน

3.

การปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีใหมในระหวางป ในระหวางปปจ จุบนั บริษทั ฯไดปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหมทอี่ อกโดยสภา วิชาชีพบัญชีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่ ฉบับที่

10 (ปรับปรุง 2552) 11 (ปรับปรุง 2552) 16 (ปรับปรุง 2552) 17 (ปรับปรุง 2552) 18 (ปรับปรุง 2552) 19 23 (ปรับปรุง 2552) 24 (ปรับปรุง 2552) 26 27 (ปรับปรุง 2552) 28 (ปรับปรุง 2552) 29 31 (ปรับปรุง 2552) 33 (ปรับปรุง 2552) 34 (ปรับปรุง 2552) 36 (ปรับปรุง 2552) 37 (ปรับปรุง 2552) 38 (ปรับปรุง 2552) 40 (ปรับปรุง 2552)

การนําเสนองบการเงิน สินคาคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และขอผิดพลาด เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญากอสราง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน ตนทุนการกูยืม การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมื่อออกจากงาน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทรวม การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง สวนไดเสียในการรวมคา กําไรตอหุน งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพยไมมีตัวตน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน

70


มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก ฉบับที่ 6 การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 สัญญาการกอสรางอสังหาริมทรัพย การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 รายได - รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา มาตรฐานการบัญชีขางตนไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินนี้ ยกเวนมาตรฐานการบัญชีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการรับรูผลประโยชนที่แกพนักงานเปนคาใชจายเมื่อกิจการไดรับบริการจาง งานจากพนักงานแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งกิจการจะตองประเมินและบันทึกหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชนของพนักงาน เนื่องจากเกษียณอายุ โดยใชการคํานวณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ซึ่งเดิมบริษัทฯและบริษัทยอยรับรูผล ประโยชนที่ใหแกพนักงานดังกลาวเมื่อเกิดรายการ บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กลาวในปปจ จุบนั และรับรูห นีส้ นิ ในชวงทีเ่ ปลีย่ นแปลงโดย ใชวธิ ปี รับยอนหลังเสมือนวาไดบนั ทึกคาใชจา ยผลประโยชนพนักงานตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนีม้ าโดยตลอด การ เปลี่ยนแปลงนี้ทําใหบริษัทฯและบริษัทยอยมีกําไรสําหรับป 2554 ลดลงเปนจํานวน 60 ลานบาท (0.11 บาทตอหุน) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: กําไรลดลงเปนจํานวน 42 ลานบาท (0.08 บาทตอหุน )) ผลสะสมของการเปลีย่ นแปลง นโยบายการบัญชีดังกลาวแสดงอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการเลือกบันทึกอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยวิธีราคาทุน (ตองเปดเผย มูลคายุติธรรมในหมายเหตุประกอบงบการเงิน) หรือดวยวิธีมูลคายุติธรรม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมให รับรูใ นกําไรหรือขาดทุน เดิมบริษทั ยอยบันทึกอสังหาริมทรัพยเพือ่ การลงทุนภายใตรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ ซึ่งแสดงตามวิธีราคาทุน บริษัทยอยไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีโดยจัดประเภทอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เปนรายการแยกตางหาก และบันทึกดวยวิธมี ลู คายุตธิ รรม โดยเริม่ ถือปฏิบตั ใิ นปปจ จุบนั และปรับปรุงผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีกับกําไรสะสมยกมาสําหรับป การเปลี่ยนแปลงนี้ทําใหบริษัทฯและบริษัทยอยมี กําไรสําหรับป 2554 เพิ่มขึ้นเปนจํานวนเงิน 10 ลานบาท (0.019 บาทตอหุน) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: ไมมี) ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวแสดงเปนรายการแยกตางหากในงบแสดงการเปลี่ยนแปลง สวนของผูถือหุน

71


รายการเปลี่ยนแปลงของบัญชีอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนสําหรับป 2554 สรุปไดดังนี้

มูลคาตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 โอนจากบัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ เพิ่มขึ้นจากการปรับมูลคาใหเปนมูลคายุติธรรม ซื้อเพิ่มระหวางงวด - ราคาทุน สูญเสียอํานาจการควบคุมในบริษัทยอย (หมายเหตุ 18.4) มูลคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 4.

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม 343,614 76,507 33,917 (454,038) -

มาตรฐานการบัญชีใหมที่ยังไมมีผลบังคับใช สภาวิชาชีพบัญชีไดออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหมซงึ่ มีผลบังคับใชสาํ หรับรอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดขางลางนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 21 ฉบับที่ 25

ภาษีเงินได การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับ ความชวยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจง กับกิจกรรมดําเนินงาน ภาษีเงินได - การไดรับประโยชนจากสินทรัพยที่ไมไดคิดคาเสื่อมราคาที่ตี ราคาใหม ภาษีเงินได - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผูถือ หุน

ฝายบริหารของบริษัทฯเชื่อวามาตรฐานการบัญชีขางตนจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินเมื่อนํา มาถือปฏิบัติ ยกเวนมาตรฐานการบัญชีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการระบุผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดจากความแตกตางของมูลคาสินทรัพยและ หนี้สินระหวางเกณฑทางบัญชีและภาษีอากร เพื่อรับรูผลกระทบทางภาษีเปนสินทรัพยหรือหนี้สินภาษีเงินไดรอการ ตัดบัญชีตามหลักเกณฑที่กําหนด ปจจุบนั ฝายบริหารของบริษทั ฯอยูร ะหวางการประเมินผลกระทบทีอ่ าจมีตอ งบการเงินในปทเี่ ริม่ นํามาตรฐานการบัญชี ฉบับนี้มาถือปฏิบัติ

72


5.

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเนื่องจากการนํามาตรฐานการบัญชีใหมมาถือปฏิบัติ ในระหวางปปจ จุบนั บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีทสี่ าํ คัญตามทีก่ ลาวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 3 เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยนํามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชนของพนักงานมา ถือปฏิบัติ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวแสดงเปนรายการแยกตางหากในงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน จํานวนเงินของรายการปรับปรุงที่มีผลกระทบตอรายการในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และสําหรับปสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีดังนี้ (หนวย: พันบาท) 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบแสดงฐานะการเงิน สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงานเพิ่มขึ้น สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของ บริษัทยอยลดลง กําไรสะสม - ยังไมไดจัดสรรลดลง

24,298 177

21,595 -

24,121

21,595

(หนวย: พันบาท) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบกําไรขาดทุน คาใชจายพนักงานเพิ่มขึ้น ขาดทุนสวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุมของบริษัทยอยเพิ่มขึ้น กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯลดลง กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานลดลง (บาท) 6.

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ

6.1

การรับรูรายได

3,633

2,043

89 3,544 0.007

2,043 0.004

ขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเ มือ่ บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดโอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีม่ นี ยั สําคัญของความเปน เจาของสินคาใหกับผูซื้อแลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกํากับสินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สําหรับสินคาที่ไดสงมอบหลังจากหักสวนลดแลว

73


รายไดจากการใหบริการขนสง รายไดจากการใหบริการถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยจะรับรูเปนรายไดเมื่อไดใหบริการแลว รายไดคาบริการกอสราง รายไดคาบริการกอสรางรับรูเมื่อไดใหบริการแลวโดยพิจารณาถึงขั้นความสําเร็จของงาน ขั้นความสําเร็จของงาน กอสรางคํานวณโดยการเปรียบเทียบตนทุนงานกอสรางที่เกิดขึ้นจนถึงวันสิ้นงวด กับตนทุนงานกอสรางทั้งหมดที่ คาดวาจะใชในการกอสรางตามสัญญาโดยจะตั้งสํารองเผื่อผลขาดทุนสําหรับโครงการกอสรางทั้งจํานวนเมื่อทราบ แนชัดวาโครงการกอสรางนั้นจะประสบผลขาดทุน รายไดคาเชาและบริการ รายไดคาเชาและบริการถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามอัตราที่ระบุในสัญญาเชาและบริการ รายไดคาบริหารจัดการ รายไดคาบริหารจัดการรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามเงื่อนไขและขอตกลงที่ระบุในสัญญาที่เกี่ยวของ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อบริษัทฯมีสิทธิในการรับเงินปนผล 6.2

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่งถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมาและไมมีขอจํากัดในการเบิกใช

6.3

ลูกหนี้การคา ลูกหนีก้ ารคาแสดงมูลคาตามจํานวนมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั บริษทั ฯและบริษทั ยอยบันทึกคาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสําหรับ ผลขาดทุนโดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนีไ้ มได ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บ เงินและการวิเคราะหอายุหนี้

6.4

สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงมูลคาตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะตํ่ากวา ตนทุนของสินคา สําเร็จรูปที่ผลิตขึ้นเองไดรวมตนทุนของคาวัตถุดิบ คาแรงทางตรงและคาโสหุยการผลิต

6.5

เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลักทรัพยเพือ่ คาแสดงตามมูลคายุตธิ รรม การเปลีย่ นแปลงในมูลคายุตธิ รรมของหลักทรัพยบนั ทึก ในสวนของกําไรหรือขาดทุน ข) เงินลงทุนในบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินรวมแสดงมูลคาตามวิธีสวนไดเสีย ค) เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน

74


มูลคายุติธรรมของหนวยลงทุนคํานวณจากมูลคาสินทรัพยสุทธิของหนวยลงทุน บริษัทฯและบริษัทยอยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงนํ้าหนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุน เมือ่ มีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางสิง่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ดรบั กับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกใน สวนของกําไรหรือขาดทุน 6.6

อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน บริษทั ยอยวัดมูลคาเริม่ แรกของอสังหาริมทรัพยเพือ่ การลงทุนดวยราคาทุนซึง่ รวมตนทุนการทํารายการ หลังจากนัน้ บริษทั ยอยจะวัดมูลคาอสังหาริมทรัพยเพือ่ การลงทุนดวยมูลคายุตธิ รรม บริษทั ยอยรับรูผ ลกําไรหรือขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ จากการเปลี่ยนแปลงมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนในสวนของกําไรหรือขาดทุนในปที่เกิดขึ้น บริษทั ยอยรับรูผ ลตางระหวางจํานวนเงินทีไ่ ดรบั สุทธิจากการจําหนายกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยในสวนของกําไร หรือขาดทุนในงวดที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนออกจากบัญชี

6.7

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุน/ราคาที่ตีใหมหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) บริษทั ฯและบริษทั ยอยบันทึกมูลคาเริม่ แรกของทีด่ นิ อาคารโรงงาน เครือ่ งจักรและอุปกรณโรงงานในราคาทุน ณ วัน ที่ไดสินทรัพยมา หลังจากนั้นบริษัทฯและบริษัทยอยจัดใหมีการประเมินราคา โดยผูประเมินราคาอิสระและบันทึก สินทรัพยดังกลาวในราคาที่ตีใหม ทั้งนี้ บริษัทฯและบริษัทยอยจัดใหมีการประเมินราคาสินทรัพยดังกลาวเปนครั้ง คราวเพื่อมิใหราคาตามบัญชี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางมีสาระสําคัญ บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกสวนตางซึ่งเกิดจากการตีราคาสินทรัพยดังตอไปนี้ •

บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหมในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นและรับรูจํานวนสะสมในบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย” ในสวนของผูถือหุน อยางไรก็ตาม หากสินทรัพยนนั้ เคยมีการตีราคาลดลงและบริษทั ฯและบริษทั ยอยไดรบั รูร าคาทีล่ ดลงในสวน ของกําไรหรือขาดทุนแลว สวนที่เพิ่มจากการตีราคาใหมนี้จะถูกรับรูเปนรายไดไมเกินจํานวนที่เคยลดลงซึ่ง รับรูเปนคาใชจายปกอนแลว

บริษัทฯและบริษัทยอยรับรูราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ลดลงจากการตีราคาใหมในสวนของกําไรหรือ ขาดทุน อยางไรก็ตาม หากสินทรัพยนนั้ เคยมีการตีราคาเพิม่ ขึน้ และยังมียอดคงคางของบัญชี “สวนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพย” อยูในสวนของผูถือหุน สวนที่ลดลงจากการตีราคาใหมจะถูกรับรูในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นในจํานวนที่ไมเกินยอดคงเหลือของบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย”

คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคํานวณจากราคาทุนหรือราคาที่ตีใหมโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชน โดยประมาณดังนี้ สวนปรับปรุงอาคาร อาคาร เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ

75

5 - 30 ป 20 - 40 ป 5 - 20 ป 3 - 5 ป 5 ป


คาเสื่อมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและงานระหวางกอสราง บริษัทฯตัดรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณออกจากบัญชีเมื่อจําหนายสินทรัพยหรือคาดวาจะไมไดรับประโยชนเชิง เศรษฐกิจในอนาคตจากการใชหรือการจําหนายสินทรัพย รายการผลกําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพย (ผล ตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการจําหนายสินทรัพยกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น) จะรับรูในสวน ของกําไรหรือขาดทุนเมื่อบริษัทฯตัดรายการสินทรัพยนั้นออกจากบัญชี 6.8

ตนทุนการกูยืม ตนทุนการกูยืมของเงินกูที่ใชในการไดมา การกอสราง หรือการผลิตสินทรัพยที่ตองใชระยะเวลานานในการแปลง สภาพใหพรอมใชหรือขาย ไดถูกนําไปรวมเปนราคาทุนของสินทรัพยจนกวาสินทรัพยนั้นจะอยูในสภาพพรอมที่จะ ใชไดตามที่มุงประสงค สวนตนทุนการกูยืมอื่นถือเปนคาใชจายในงวดที่เกิดรายการ ตนทุนการกูยืมประกอบดวย ดอกเบี้ยและตนทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูยืมนั้น

6.9

สินทรัพยไมมีตัวตนและคาตัดจําหนาย บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกตนทุนเริ่มแรกของสินทรัพยไมมีตัวตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรูรายการเริ่มแรก สินทรัพยไมมตี วั ตนแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผือ่ การดอยคาสะสม (ถามี) ของสินทรัพย นั้น บริษัทฯและบริษัทยอยตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจํากัดอยางมีระบบตลอดอายุการให ประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพยนั้น และจะประเมินการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวเมื่อมีขอบงชี้วาสินทรัพย นั้นเกิดการดอยคา บริษัทฯจะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหนายและวิธีการตัดจําหนายของสินทรัพยไมมีตัวตนดัง กลาวทุกสิ้นปเปนอยางนอย คาตัดจําหนายรับรูเปนคาใชจายในสวนของกําไรหรือขาดทุน ซอฟทแวรมีอายุการใหประโยชน 5 และ 10 ป ไมมีการคิดคาตัดจําหนายสําหรับซอฟทแวรระหวางติดตั้ง

6.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกบริษัทฯ ควบคุมไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือ ทางออมซึ่งทําใหมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญตอบริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มี อํานาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษัทฯ 6.11

สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณทคี่ วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกบั ผูเ ชา ถือเปนสัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชาหรือ มูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะตํ่ากวา ภาระผูกพันตามสัญญาเชาหัก คาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกสวนของกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุ ของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา จํานวนเงินทีจ่ า ยตามสัญญาเชาดําเนินงานรับรูเ ปนคาใชจา ยสวนของกําไรหรือขาดทุนตามวิธเี สนตรงตลอดอายุสญ ั ญา เชา 76


6.12

หุนทุนซื้อคืน หุนทุนซื้อคืนแสดงมูลคาในงบดุลดวยราคาทุนเปนรายการหักจากสวนของผูถือหุนทั้งหมด หากราคาขายของหุนทุน ซื้อคืนสูงกวาราคาซื้อหุนทุนซื้อคืน บริษัทฯจะรับรูผลตางเขาบัญชีสวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืน และหากราคาขายของ หุน ทุนซือ้ คืนตํา่ กวาราคาซือ้ หุน ทุนซือ้ คืน บริษทั ฯจะนําผลตางหักจากสวนเกินมูลคาหุน ทุนซือ้ คืนใหหมดไปกอน แลว จึงนําผลตางที่เหลืออยูไปหักจากบัญชีกําไรสะสม

6.13

เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและ หนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน

6.14 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทยอยจะทําการประเมินการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ หรือสินทรัพยทไี่ มมตี วั ตนของบริษทั ฯหากมีขอ บงชีว้ า สินทรัพยดงั กลาวอาจดอยคา บริษทั ฯและบริษทั ยอยรับรูข าดทุน จากการดอยคาเมือ่ มูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนของสินทรัพยมมี ลู คาตํา่ กวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนนั้ ทัง้ นีม้ ลู คา ที่คาดวาจะไดรับคืนหมายถึงมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจากการใชสินทรัพยแลวแต ราคาใดจะสูงกวา บริษัทฯและบริษัทยอยจะรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาในสวนของกําไรหรือขาดทุน ยกเวนในกรณีที่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณซงึ่ ใชวธิ กี ารตีราคาใหมและไดบนั ทึกสวนเกินทุนจากการตีราคาใหมไวในสวนของผูถ อื หุน ขาดทุน จากการดอยคาจะรับรูในสวนของผูถือหุนไมเกินไปกวาสวนเกินทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว 6.15 ผลประโยชนของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯและบริษัทยอยรับรูเงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษทั ฯ บริษทั ยอยและพนักงานไดรว มกันจัดตัง้ กองทุนสํารองเลีย้ งชีพ ซึง่ ประกอบดวยเงินทีพ่ นักงานจายสะสมและ เงินทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ยอยจายสมทบใหเปนรายเดือน สินทรัพยของกองทุนสํารองเลีย้ งชีพไดแยกออกจากสินทรัพย ของบริษัทฯและบริษัทยอย เงินที่บริษัทฯและบริษัทยอยจายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในปที่ เกิดรายการ โครงการผลประโยชนหลังออกจากงาน บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที่ตองจายใหแกพนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่ง บริษัทฯและบริษัทยอยถือวาเงินชดเชยดังกลาวเปนโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานสําหรับพนักงาน บริษัทฯและบริษัทยอยคํานวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานโดยใชวิธีคิดลดแตละ หนวยที่ประมาณการไว (Projected Unit Credit Method) โดยผูเชี่ยวชาญอิสระไดทําการประเมินภาระผูกพันดัง กลาวตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย 77


ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที่ตองจายใหแกพนักงานเมื่อยกเลิกการจางพนักงานกอนวันเกษียณ ตามปกติ บริษัทฯและบริษัทยอยรับรูผลประโยชนเมื่อเลิกจางเปนคาใชจายทันที ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เปนครั้งแรก บริษัทฯและบริษัท ยอยเลือกรับรูหนี้สินในชวงการเปลี่ยนแปลงที่มากกวาหนี้สินที่รับรู ณ วันเดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิม โดยใช วิธีปรับยอนหลังเสมือนวาไดบันทึกคาใชจายผลประโยชนพนักงานตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาโดยตลอด 6.16 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯและบริษัทยอยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไวในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตได เกิดขึ้นแลว และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาบริษัทฯและบริษัทยอยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อ ปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯและบริษัทยอยสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ 6.17

ภาษีเงินได บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดตามจํานวนที่คาดวาจะจายใหแกหนวยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคํานวณ จากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎหมายภาษีอากร

6.18 ตราสารอนุพันธ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ลูกหนี้และเจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาจะถูกแปลงคาตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศดังกลาวจะถูกบันทึกในสวนของ กําไรหรือขาดทุน สวนเกินหรือสวนลดทีเ่ กิดขึน้ จากการทําสัญญาจะถูกตัดจําหนายดวยวิธเี สนตรงตามอายุของสัญญา 7.

การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจและการประมาณ การในเรื่องที่มีความไมแนนอนเสมอ การใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาวนี้สงผลกระทบตอจํานวนเงินที่ แสดงในงบการเงินและตอขอมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากจํานวน ที่ประมาณการไว การใชดุลยพินิจและการประมาณการที่สําคัญมีดังนี้ สัญญาเชา ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเชาวาเปนสัญญาเชาดําเนินงานหรือสัญญาเชาทางการเงิน ฝายบริหารไดใช ดุลยพินจิ ในการประเมินเงือ่ นไขและรายละเอียดของสัญญาเพือ่ พิจารณาวาบริษทั ฯไดโอนหรือรับโอนความเสีย่ งและ ผลประโยชนในสินทรัพยที่เชาดังกลาวแลวหรือไม คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณคาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝายบริหารจําเปนตองใชดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนที่ คาดวาจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แตละราย โดยคํานึงถึงประสบการณการเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงคางและสภาวะ เศรษฐกิจที่เปนอยูในขณะนั้น เปนตน

78


อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน บริษัทยอยแสดงอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยมูลคายุติธรรมซึ่งประเมินโดยผูประเมินราคาอิสระและรับรูการ เปลี่ ย นแปลงมู ล ค า ยุ ติ ธ รรมในส ว นของกํ า ไรหรื อ ขาดทุ น ผู  ป ระเมิ น ราคาอิ ส ระประเมิ น มู ล ค า ยุ ติ ธ รรมของ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนโดยใชวิธีพิจารณาจากรายได เนื่องจากไมมีราคาในตลาดที่สามารถใชเทียบเคียงได ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ในการคํานวณคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจําเปนตองทําการประมาณอายุการใหประโยชนและ มูลคาคงเหลือเมือ่ เลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวนอายุการใหประโยชนและมูลคาคงเหลือใหมหาก มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น บริษัทฯแสดงมูลคาของที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณโรงงานดวยราคาที่ตีใหม ซึ่งราคาที่ตีใหมนี้ได ประเมินโดยผูป ระเมินราคาอิสระ โดยใชวธิ เี ปรียบเทียบราคาตลาดสําหรับสินทรัพยประเภททีด่ นิ และวิธมี ลู คาตนทุน ทดแทนสุทธิสําหรับสินทรัพยประเภทอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน ซึ่งการประเมินมูลคาดังกลาว ตองอาศัยขอสมมติฐานและการประมาณการบางประการ นอกจากนี้ ฝายบริหารจําเปนตองสอบทานการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและบันทึก ขาดทุนจากการดอยคาหากคาดวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนตํ่ากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ในการนี้ฝาย บริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจที่เกี่ยวของกับการคาดการณรายไดและคาใชจายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย นั้น ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน หนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานประมาณขึน้ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ซึง่ ตอง อาศัยขอสมมติฐานตางๆในการประมาณการนั้น เชน อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะและ อัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวนพนักงาน เปนตน 8.

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

เงินสด เงินฝากธนาคาร ตั๋วแลกเงิน รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 14,107 22,760 103,701 160,622 406,000 20,001 523,808 203,383

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 271 314 14,112 44,253 406,000 20,002 420,383 64,569

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินฝากออมทรัพยและตั๋วแลกเงินมีอัตราดอกเบี้ยระหวางรอยละ 0.13 ถึง 3.25 ตอ ป (2553: รอยละ 0.10 ถึง 1.90 ตอป)

79


9.

เงินลงทุนชั่วคราว (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม

หนวยลงทุนในกองทุนรวม บวก: คาเผื่อการปรับมูลคา เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ

2554 ราคาทุน มูลคายุติธรรม 90,300 90,409 109 90,409 90,409

2553 ราคาทุน มูลคายุติธรรม 44,000 44,000 44,000 44,000 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หนวยลงทุนในกองทุนรวม บวก: คาเผื่อการปรับมูลคา เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ 10.

2554 ราคาทุน มูลคายุติธรรม 90,300 90,409 109 90,409 90,409

2553 ราคาทุน มูลคายุติธรรม 11,000 11,000 11,000 11,000

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น งบการเงินรวม 2554 2553 ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน อายุหนี้คงคางนับจากวันที่ถึงกําหนดชําระ คางชําระ ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน อายุหนี้คงคางนับจากวันที่ถึงกําหนดชําระ คางชําระ ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน, สุทธิ 80

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

77 470 547

1,015 1,015

270,422 270,422

329,703 329,703

589,452 573 329 9,629 599,983 (9,145) 590,838

609,997 434 616 13,811 624,858 (11,217) 613,641

383,864 617 384,481 (617) 383,864

415,370 617 415,987 (617) 415,370


งบการเงินรวม 2554 2553 ลูกหนี้อื่น เงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รายไดคางรับ อื่นๆ รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้อื่น - สุทธิ รวมลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

2,287 20,855 10,066 33,208 (4,060) 29,148 620,533

2,679 17,049 10,473 30,201 (4,060) 26,141 640,797

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 11,407 1,899 3,910 17,216 (3,413) 13,803 668,089

8,335 1,980 3,724 14,039 (3,413) 10,626 755,699

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ของบริษัทฯไดรวมยอดลูกหนี้ซึ่งนําไปขายลดใหกับ ธนาคารพาณิชยแหงหนึ่งเปนจํานวนเงิน 63 ลานบาท (2554: ไมมี) โดยธนาคารพาณิชยมีสิทธิติดตามการชําระ หนี้กับบริษัทฯเปนลําดับตน 11.

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ลักษณะความสัมพันธระหวางบริษัทฯกับกิจการที่เกี่ยวของกันสรุปไดดังนี้ รายชื่อ บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด (SCT) บริษัท เพียวอินเตอรเทรด จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) Thai Good Petroleum Co., Ltd. บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน)

81

ลักษณะความสัมพันธ บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอย บริษัทรวม ถือหุนในบริษัทฯรอยละ 29.87 ถือหุนใน PSDC รอยละ 55.87 (2553: รอยละ 49) และมีกรรมการรวมกัน


รายชื่อ บริษัท แจสซี่ครีเอชั่น จํากัด บริษัท บลูแพลนเน็ท ทราเวล จํากัด บริษทั โกลบอลไลเซชัน่ อีโคโนมิค แอนด โปรโมชัน่ เนทเวอรค จํากัด บริษัท อัลท เอ็นเนอยี่ จํากัด บริษัท ฮิวมั่นไคนด จํากัด บริษัท มงคลชัยพัฒนา จํากัด บริษัท เวิลด เอนเตอรเทนเมนท เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ออนเนสท แอนด เอฟเชียน จํากัด

ลักษณะความสัมพันธ มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน

ในระหวางป บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีรายการธุรกิจทีส่ าํ คัญกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน รายการธุรกิจดังกลาว เปนไปตามเงือ่ นไขทางการคาและเกณฑตามทีต่ กลงกันระหวางบริษทั ฯและบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกันเหลานัน้ ซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

งบการเงินรวม 2554 2553 รายการธุรกิจกับบริษัทยอย (ไดตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคา รายไดคาบริหารจัดการ เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น - การใหบริการอื่น ซื้อสินคา คาบริการจาย คาขนสงจาย คาใชจายอื่น รายการธุรกิจกับบริษัทรวม คาใชจายอื่น รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ขายสินคา รายไดจากการใหบริการ คาใชจายอื่น คาเชาที่ดิน ดอกเบี้ยจาย 82

-

-

8,807 11 2 39 595 8 134 -

8,699 14 47 2 31 646 14 125 2

1

-

-

-

1 1 2 2 15

17 1 2 9

1 15

1 8


นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการธุรกิจที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสามารถสรุปไดดังนี้ รายการ ขายสินคา

รายไดคาบริหารจัดการ

เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น ซื้อสินคา

คาบริการจาย คาขนสงจาย คาใชจายอื่น ดอกเบี้ยจาย

นโยบายการกําหนดราคา ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสวนลดตามปริมาณคําสั่งซื้อสําหรับธุรกิจคาสง นํ้ามัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสวนลดคาการตลาดในอัตราคงที่สําหรับธุรกิจ คาปลีกนํ้ามัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดสําหรับธุรกิจขนสงนํ้ามัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสวนลดตามสัญญาสําหรับธุรกิจผลิตและ จําหนายไบโอดีเซล คํานวณตามเกณฑปริมาณสินคาที่จําหนายไดสําหรับธุรกิจคาสงนํ้ามัน ตามสัญญาและตามตนทุนที่เกิดขึ้นจริงสําหรับธุรกิจคาปลีกนํ้ามัน ธุรกิจขนสง นํ้ามัน ธุรกิจผลิตและจําหนายไบโอดีเซล ธุรกิจใหเชาและบริการอสังหาริมทรัพย และธุรกิจขายอุปกรณเครื่องมือสถานีบริการนํ้ามันและใหบริการซอมบํารุง ตามที่ประกาศจาย อัตรารอยละ 4.18 - 5.77 ตอป และอัตราดอกเบี้ยเงินกูขั้นตํ่าสําหรับลูกคาชั้น ดี (Prime rate) บวกรอยละ 3 ตอป (2553: รอยละ 3.25 - 6.25 ตอป) ราคาตามสัญญา คาธรรมเนียมการคํ้าประกันอัตรารอยละ 1 ตอป ราคาซื้ออิงตามราคาตลาดโดยมีสวนลดตามปริมาณคําสั่งซื้อสําหรับธุรกิจคาสง นํ้ามัน ราคาซื้ออิงตามราคาตลาดสําหรับธุรกิจผลิตและจําหนายไบโอดีเซลและธุรกิจ ขายอุปกรณเครื่องมือสถานีบริการนํ้ามันและใหบริการซอมบํารุง ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา อัตรารอยละ 4.95 - 5.75 ตอป (2553: รอยละ 4.50 - 5.75 ตอป)

สัญญาสําคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกัน สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑปโตรเลียม ในเดือนเมษายน 2553 บริษทั ฯไดทาํ สัญญาซือ้ ขายผลิตภัณฑปโ ตรเลียมกับบริษทั ยอยสองแหงเพือ่ ซือ้ ขายผลิตภัณฑ นํา้ มันตางๆ ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสว นลดตามทีร่ ะบุในสัญญา สัญญาจะมีผลตอเนือ่ งจนกวาคูส ญ ั ญาฝาย ใดฝายหนึ่งจะแสดงความจํานงในการยกเลิกสัญญาเปนลายลักษณอักษรลวงหนาไมนอยกวา 1 เดือน

83


สัญญารับจางบริหารและจัดการ ในเดือนมกราคม 2554 บริษัทฯไดทําสัญญารับจางบริหารและจัดการกับบริษัทยอยหลายแหง โดยบริษัทฯจะให บริการใหคําปรึกษาในดานบริหารบุคคล ดานธุรการ ดานสารสนเทศ ดานกฎหมายและประสานงานราชการ อัตรา คาบริการเปนไปตามที่กําหนดในสัญญา สัญญาดังกลาวมีกําหนดระยะเวลา 1 ป สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2554 สัญญาคํ้าประกัน ก) บริษทั ฯไดทาํ สัญญาคํา้ ประกันกับบริษทั ยอยหลายแหงเพือ่ คํา้ ประกันวงเงินสินเชือ่ จากธนาคารของบริษทั ยอยใน วงเงินรวม 70 ลานบาท การคํ้าประกันนี้มีผลผูกพันตอบริษัทฯนานเทาที่ภาระหนี้สินที่ยังไมไดชําระโดยบริษัท ยอยดังกลาว โดยบริษัทคิดคาธรรมเนียมในการคํ้าประกันในอัตรารอยละ 1 ตอป ข) ในป 2553 บริษัทฯไดทําสัญญาคํ้าประกันกับบริษัทยอยแหงหนึ่งเพื่อคํ้าประกันการจายชําระเงินใหแกเจาหนี้ ของบริษัทยอยจํานวนเงิน 30 ลานบาท โดยบริษัทฯจะหักเงินที่บริษัทยอยพึงมีสิทธิไดรับจากบริษัทฯจากการ ขายสินคาและบริการเพื่อเปนประกันการคํ้าประกัน ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจํานวนเงิน 6 ลานบาท (2554: ไมมี) สัญญาใหบริการเชาถัง ในเดือนสิงหาคม 2552 บริษัทฯไดทําสัญญาใหบริการเชาถังกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง โดยมีอัตราคาบริการรายเดือน ตามที่ระบุในสัญญา สัญญามีระยะเวลา 3 ป (ตั้งแตวันที่ 20 สิงหาคม 2552 ถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2555) และ จะตออายุไดอีกคราวละสามเดือนจนกวาคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งจะแสดงความจํานงในการยกเลิกสัญญาเปนลาย ลักษณอักษรลวงหนาไมนอยกวา 1 เดือน สัญญาซื้อขายไบโอดีเซล ในเดือนมกราคม 2554 บริษัทฯไดทําสัญญาซื้อขายไบโอดีเซลกับบริษัทยอยแหงหนึ่งเพื่อซื้อไบโอดีเซล ราคาซื้ออิง ตามราคาตลาดโดยมีสว นลดตามทีร่ ะบุในสัญญา สัญญาดังกลาวมีกาํ หนดระยะเวลา 1 ป สิน้ สุดเดือนธันวาคม 2554 สัญญาบริการขนสงนํ้ามันเชื้อเพลิง ในเดือนมิถุนายน 2554 บริษัทฯไดทําสัญญาขนสงนํ้ามันเชื้อเพลิงกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง บริษัทยอยดังกลาวจะให บริการขนสงผลิตภัณฑนํ้ามันตางๆ โดยมีอัตราคาบริการขนสงนํ้ามันตามที่ระบุในสัญญา สัญญามีระยะเวลาตั้งแต วันที่ 1 มิถุนายน 2554 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2555 สัญญาจะมีผลตอเนื่องจนกวาคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งจะแสดง ความจํานงในการยกเลิกสัญญาเปนลายลักษณอักษรลวงหนาไมนอยกวา 60 วัน สัญญาจางบริหารการขาย ในเดือนมกราคม 2554 บริษัทฯไดทําสัญญาจางบริหารการขายกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง เพื่อใหบริษัทยอยดังกลาว บริหารการขายและจัดหาลูกคาใหบริษัทฯ โดยมีอัตราคาบริการตามที่ระบุในสัญญา สัญญาจะมีผลตอเนื่องจนกวาคู สัญญาฝายใดฝายหนึ่งจะแสดงความจํานงในการยกเลิกสัญญาเปนลายลักษณอักษรลวงหนาไมนอยกวา 1 เดือน ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีรายละเอียดดังนี้

84


(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 10) ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) บุคคลที่เกี่ยวของกัน (กรรมการบริษัทฯ) รวมลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) บุคคลที่เกี่ยวของกัน (กรรมการบริษัทฯ) รวมลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทรวม รวมเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 23) เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) รวมเจาหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) บุคคลที่เกี่ยวของกัน (กรรมการบริษัทฯ) รวมเจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน

85

18 60 469 547

1,015 1,015

270,422 270,422

270,422 329,703

494 1,793 2,287

2 1,677 1,000 2,679

11,077 287 43 11,407

7,333 2 1,000 8,335

1,578 1,578

1,499 1,499

15,000 1,578 16,578

3,000 1,499 4,499

-

544 544

24,306 24,306

46,476 46,476

21 348 292 661

315 517 832

16,698 308 282 17,288

9,479 272 505 10,256


(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกันที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) บุคคลที่เกี่ยวของกัน (เกี่ยวของกับ กรรมการบริษัทฯ) รวมเงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกันที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) บุคคลที่เกี่ยวของกัน (เกี่ยวของกับ กรรมการบริษัทฯ) รวมเงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินประกันการคํ้าประกัน - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย รวมเงินประกันการคํ้าประกัน - กิจการที่เกี่ยวของกัน

101,500

-

101,500

-

105,500

-

105,500

-

207,000

-

207,000

-

-

101,500

-

101,500

-

190,500 292,000

-

190,500 292,000

-

-

-

6,240 6,240

เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันและเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ยอดคงคางของเงินใหกูยืมและเงินกูยืมระหวางบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมและเงินกูยืมดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม

เงินใหกูยืมระยะสั้น Thai Good Petroleum Co., Ltd. รวม

ลักษณะ ความ สัมพันธ บริษัทรวม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 1,499 1,499

86

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 เพิ่มขึ้น ลดลง ธันวาคม ระหวางป ระหวางป 2554 79 1,578 79 1,578


(หนวย: พันบาท)

ลักษณะ ความ เงินใหกูยืมระยะสั้น สัมพันธ บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัทยอย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัทยอย บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด บริษัทยอย Thai Good Petroleum Co., Ltd. บริษัทรวม รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 วันที่ 31 ธันวาคม เพิ่มขึ้น ลดลง ธันวาคม 2553 ระหวางป ระหวางป 2554 108,000 (98,000) 10,000 - 1,455,000 (1,455,000) 3,000 86,000 (84,000) 5,000 1,499 79 1,578 4,499 1,649,079 (1,637,000) 16,578 (หนวย: พันบาท)

เงินใหกูยืมระยะสั้น บริษัท มงคลชัยพัฒนา จํากัด บุคคลที่เกี่ยวของกัน รวม

งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ลักษณะ ธันวาคม เพิ่มขึ้น ความสัมพันธ 2553 ระหวางป บริษัทที่เกี่ยวของกัน 7,000 เกี่ยวของกับ กรรมการบริษัทฯ 30,000 37,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ลดลง ธันวาคม ระหวางป 2554 (7,000) (30,000) (37,000)

-

(หนวย: พันบาท)

เงินใหกูยืมระยะสั้น บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลือ ณ ณ วันที่ 31 วันที่ 31 ลักษณะ ธันวาคม เพิ่มขึ้น ลดลง ธันวาคม ความสัมพันธ 2553 ระหวางป ระหวางป 2554 บริษัทที่เกี่ยวของกัน 34,000 (34,000) 34,000 (34,000) -

87


(หนวย: พันบาท)

ลักษณะ ความสัมพันธ บริษัทที่เกี่ยวของกัน

เงินใหกูยืมระยะสั้น บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด บริษัท มงคลชัยพัฒนา จํากัด บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เวิลด เอนเตอรเทนเมนท บริษทั ที่เกี่ยวของกัน เทเลวิชั่นจํากัด บุคคลที่เกี่ยวของกัน เกี่ยวของกับ กรรมการบริษัทฯ รวม

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม เพิ่มขึ้น ลดลง 2553 ระหวางป ระหวางป

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

72,500 23,000

-

-

72,500 23,000

6,000

-

-

6,000

190,500 292,000

-

(85,000) (85,000)

105,500 207,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอยเปนตั๋วสัญญาใชเงินที่ไมมีหลักประกันอายุ 7 วัน ถึง 6 เดือน จํานวนเงินรวม 15 ลานบาท (2553: 3 ลานบาท) โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.05 ตอป (2553: รอย ละ 4.43 ตอป) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทรวมแหงหนึ่ง เปนเงินใหกูยืมที่ไมมีหลักประกันอายุ 1 ป จํานวนเงิน 1.58 ลานบาท หรือ 0.05 ลานเหรียญสหรัฐฯ (2553: 1.50 ลานบาทหรือ 0.05 ลานเหรียญสหรัฐฯ) โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินกูขั้นตํ่าสําหรับลูกคาชั้นดี (Prime rate) บวกรอยละ 3 ตอป มีกําหนดชําระคืน เงินตนพรอมดอกเบี้ยทั้งหมดภายในเดือนพฤศจิกายน 2554 ตอมา ในเดือนมกราคม 2555 บริษัทฯไดรับหนังสือ ขอขยายระยะเวลาชําระคืนเงินกูเปนเดือนธันวาคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกันเปนเงินกูยืมที่ไมมีหลักประกันอายุ 2 ป รวมจํานวนเงิน 207 ลานบาท (2553: 292 ลานบาท) โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.75 ตอป ชําระดอกเบี้ยเปน รายสามเดือนและมีกําหนดชําระคืนเงินตนทั้งหมดภายในเดือนกันยายน 2555 ในเดือนกุมภาพันธ 2555 บริษัทฯ ไดชําระคืนเงินกูยืมระยะยาวดังกลาวทั้งจํานวนแลว คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯและบริษัทยอยมีคาใชจายผลประโยชนพนักงานที่ ใหแกกรรมการและผูบริหาร ดังตอไปนี้

88


งบการเงินรวม 2554 2553 100,677 56,974 (10,507) 1,259 34,011 124,181 58,233

ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังออกจากงาน ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง รวม 12.

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 78,484 40,214 (10,507) 1,259 28,027 96,004 41,473

สินคาคงเหลือ (หนวย: พันบาท)

ราคาทุน สินคาสําเร็จรูป วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง รวม

2554 840,346 221,090 3,471 1,064,907

2553 932,237 445,858 4,162 1,382,257

งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนใหเปน มูลคาสุทธิที่จะไดรับ 2554 2553 (537) (788) (537) (788)

สินคาคงเหลือ - สุทธิ 2554 2553 839,809 931,449 221,090 445,858 3,471 4,162 1,064,370 1,381,469 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 สินคาสําเร็จรูป วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง รวม

2553 756,053 217,630 3,471 977,154

770,642 411,916 4,162 1,186,720

สินคาคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ไดรวมนํ้ามันสํารองตามขอบังคับของกระทรวงพาณิชยจํานวนเงิน 707 ลานบาท (2553: 726 ลานบาท โดยสวนหนึ่งจํานวนเงิน 118 ลานบาท เปนสินคาที่อยูภายใตสัญญาซื้อขายนํ้ามัน เพื่อใชเปนปริมาณสํารองตามกฎหมายที่บริษัทฯมีภาระผูกพันตองขายคืนใหแกผูขายเมื่อครบกําหนดตามอายุของ สัญญา)

89


13.

เงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน

T.C.S. Oil Co., Ltd. อื่น ๆ รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับ จากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน - สุทธิ

งบการเงินรวม 2554 2553 21,317 21,317 3,100 1,000 24,417 22,317 (21,317) (21,317) 3,100

1,000

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 21,317 21,317 3,100 1,000 24,417 22,317 (21,317) (21,317) 3,100

3,100

เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2549 บริษัทฯไดทําสัญญา Petroleum Product Business Joint Venture กับ T.C.S. Oil Co., Ltd. (TCS) เพื่อรวมลงทุนในธุรกิจนํ้ามันในประเทศกัมพูชา ซึ่งสัญญามีผลบังคับเปนระยะเวลา 15 ปสิ้นสุด ในป 2563 โดยบริษัทฯมีภาระในการจัดหานํ้ามันและใหเงินกูยืมแก TCS เปนเงินบาทจํานวน 35 ลานบาท คิด ดอกเบี้ยในอัตราคงที่รอยละ 5 ตอป โดยชําระดอกเบี้ยเปนรายเดือน และมีกําหนดชําระคืนเงินตนตามเงื่อนไขที่ ระบุไวในสัญญา หลังจากที่บริษัทฯไดรับชําระเงินใหกูยืมดังกลาวเต็มจํานวนแลว บริษัทฯจะไดรับสวนแบงกําไรจาก ผลการดําเนินงานของ TCS ตามที่ระบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 TCS เปนหนี้เงินใหกูยืมเกินกวาหนึ่งป บริษัทฯจึงหยุดรับรูรายไดดอกเบี้ย และตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับเงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับดังกลาวทั้งจํานวน 14.

เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน

วงเงิน 3.50 ลานบาท วงเงิน 1.90 ลานบาท รวม หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ถึงกําหนดชําระเกินกวาหนึ่งป

งบการเงินรวม 2554 2553 2,593 3,026 1,359 1,768 3,952 4,794 (887) (842) 3,065 3,952

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 1,359 1,768 1,359 1,768 (428) (409) 931 1,359

เงินใหกูยืมระยะยาววงเงิน 3.50 ลานบาท เปนเงินใหกูยืมเพื่อชําระหนี้แทนลูกคา โดยลูกคาโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให บริษัทยอยเปนหลักประกัน ทั้งนี้ บริษัทยอยไดเขาทําสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินคืนใหแกลูกคาเมื่อลูกคาชําระเงินแก บริษัทยอยครบถวน โดยมีกําหนดชําระเงินตนและดอกเบี้ยเปนรายเดือนจํานวน 86 เดือน เดือนละ 50,000 บาท สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2559 เงินใหกูยืมระยะยาววงเงิน 1.90 ลานบาท เปนเงินใหกูยืมที่ไมมีหลักประกันซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.50 ตอป และมีกาํ หนดชําระเงินตนพรอมดอกเบีย้ เปนรายเดือนจํานวน 52 เดือน เดือนละ 40,000 บาท สิน้ สุดเดือนธันวาคม 2557 90


15.

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

งบการเงินรวม 2554 2553 เงินชดเชยจากกองทุนนํ้ามัน เชื้อเพลิงคางรับ ภาษีสรรพสามิตจายลวงหนา ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน ภาษีเงินไดนิติบุคคลจายลวงหนา เงินจายลวงหนาคาซื้อสินคา อื่น ๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียนอื่น 16.

46,391 2,886 34,575 4,759 41,997 4,882 135,490

14,074 50,859 20,816 12,991 49,197 5,603 153,540

42,302 2,886 33,578 3,151 1,687 83,604

14,074 50,859 16,745 8,177 1,698 91,553

เงินฝากธนาคารที่มีภาระคํ้าประกัน ยอดคงเหลือนี้ คือ เงินฝากประจําซึง่ บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดนาํ ไปคํา้ ประกันวงเงินสินเชือ่ จากธนาคารและเปนหลัก ประกันตอศาลในคดีฟองรอง

17.

เงินลงทุนในบริษัทรวม

17.1

รายละเอียดของบริษัทรวม (หนวย: พันบาท)

บริษัท

Thai Good Petroleum Co., Ltd. บริษัท เพียวสัมมากร

ลักษณะธุรกิจ

จําหนาย

จัดตั้งขึ้น ใน ประเทศ

ดีเวลลอปเมนท จํากัด

บริการ

(หมายเหตุ 18.4)

อสังหาริมทรัพย

ราคาทุน

2554

2553

2554

รอยละ

รอยละ

31.67

31.67

2553

งบการเงินเฉพาะ กิจการ

มูลคาตามบัญชี ตามวิธีสวนไดเสีย

มูลคาตามบัญชี ตามวิธีราคาทุน

2554

2554

2553

2553

ฮองกง

นํ้ามันหลอลื่น ใหเชาและ

สัดสวนเงินลงทุน

งบการเงินรวม

3,175

3,175

-

2,569

3,175

3,175

- 125,650

-

129,181

-

2,569 132,356

3,175

ไทย 44.13

รวมเงินลงทุนในบริษัทรวม

- 129,181

125,650

91


17.2

สวนแบงขาดทุนและเงินปนผลรับ ในระหวางป บริษทั ฯรับรูส ว นแบงขาดทุนจากการลงทุนในบริษทั รวมในงบการเงินรวมและรับรูเ งินปนผลรับจากบริษทั รวมดังกลาวในงบการเงินเฉพาะกิจการ ดังนี้ งบการเงินรวม สวนแบงขาดทุนจาก เงินลงทุนในบริษัทรวม ในระหวางป 2554 2553 (1,092) (1,397) (3,531) (4,623) (1,397)

บริษัท Thai Good Petroleum Co., Ltd. บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด รวม 17.3

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินปนผลที่บริษัทฯ รับระหวางป 2554 2553 -

ขอมูลทางการเงินของบริษัทรวม ขอมูลทางการเงินตามที่แสดงอยูในงบการเงินของบริษัทรวมโดยสรุปมีดังนี้ (หนวย: พันบาท)

บริษัท Thai Good Petroleum Co., Ltd.

ทุนเรียกชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

2553

10,026

10,026

สินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2553

2554

2553

รายไดรวมสําหรับ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ขาดทุนสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

2554

2554

2553

2553

7,210

8,609

11,742

544

6,060

2,818

(7,353)

(4,411)

- 504,296

-

307,772

-

26,563

-

(8,002)

-

บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด

260,000

ขอมูลทางการเงินของเงินลงทุนใน Thai Good Petroleum Co., Ltd. ไดจัดทําโดยฝายบริหาร (ยังไมมีการตรวจสอบ โดยผูสอบบัญชีภายนอก) อยางไรก็ตาม มูลคาของเงินลงทุนในบริษัทรวมดังกลาวมีจํานวนไมเปนสาระสําคัญ 17.4

เงินลงทุนในบริษัทรวมที่ขาดทุนเกินทุน บริษทั ฯไดรบั รูส ว นแบงผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษทั รวมจนมูลคาตามบัญชีตามวิธสี ว นไดเสียเทากับศูนย บริษทั ฯ ไดหยุดรับรูส ว นแบงผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษทั รวมเนือ่ งจากบริษทั ฯไมไดมภี าระผูกพันตามกฎหมายหรือทาง พฤตินัยที่ตองจายเงินเพื่อชําระภาระผูกพันของบริษัทรวมดังกลาว โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: พันบาท)

บริษัท Thai Good Petroleum Co., Ltd.

สวนแบงผลขาดทุนที่หยุดรับรู สวนแบงผลขาดทุนในระหวางปสิ้นสุด สวนแบงผลขาดทุนสะสม วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 1,237 1,237

92


18.

เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอยตามที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังตอไปนี้

บริษัท

บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด และบริษัทยอย บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอป เมนท จํากัด รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย

18.1

ทุนชําระแลว 2554 2553 280 280 ลานบาท ลานบาท 100 100 ลานบาท ลานบาท

สัดสวนเงินลงทุน 2554 2553 รอยละ รอยละ 100 100

36 10 ลานบาท ลานบาท 20 20 ลานบาท ลานบาท 225 ลานบาท

ราคาทุน 2554 2553

(หนวย: พันบาท) เงินปนผล ที่บริษัทฯ รับระหวางป 2554 2553

279,999

279,999

-

-

100

100

99,994

99,994

-

-

100

100

36,000

10,000

-

46,500

78

78

15,856

15,855

-

-

-

51

-

114,750

-

-

431,849

520,598

-

46,500

บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ในชวงตนป 2555 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ไดหยุดการผลิต เนื่องจากยังไมไดรับคําสั่งซื้อจากลูกคา และอยูในสภาวะขาดสภาพคลองในการดําเนินธุรกิจ PBC ไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนสําหรับกิจการผลิตไบโอดีเซล ตามบัตรสงเสริม การลงทุนเลขที่ 1840(9)/2550 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2550 ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดบางประการ สิทธิพิเศษดัง กลาวรวมถึงการไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริม เปนระยะเวลา 8 ปนับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น (ตั้งแตวันที่ 12 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 11 มกราคม 2560) รายไดของ PBC สําหรับป 2554 และ 2253 จําแนกตามกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนและไมไดรับการสง เสริมการลงทุนสามารถสรุปไดดังตอไปนี้

93


กิจการที่ไดรับการสงเสริม กิจการที่ไมไดรับการสงเสริม 2554 2553 2554 2553 รายไดจากการขายและบริการ ขายและบริการในประเทศ ขายสงออก รวม

18.2

1,627,353 31,109 1,658,462

962,320 19,598 981,918

886,200 886,200

49,339 1,372 50,711

(หนวย: พันบาท) รวม 2554 2553 2,513,553 31,109 2,544,662

1,011,659 20,970 1,032,629

บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯมีภาระผูกพันจากสวนของเงินลงทุนที่ยังไมเรียกชําระจาก PTEC จํานวนเงิน 40 ลานบาท

18.3 บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2554 มีมติอนุมัติเพิ่มเงินลงทุนในบริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด (SCT) โดย SCT จะเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 10 ลานบาท เปน 36 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุน จํานวน 260,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 26 ลานบาท โดยออกใหแกผูถือหุนใน สัดสวนเดิม การเพิ่มทุนดังกลาวเพื่อลงทุนในบริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด (บริษัทยอยที่ SCT ถือหุนอยูในอัตรา รอยละ 100) SCT ไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2554 18.4 บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด ในระหวางป 2554 บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) ไดเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 225 ลาน บาท เปน 260 ลานบาท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2554 มีมติไมลงทุนเพิ่มในหุนเพิ่ม ทุน สงผลใหบริษัทฯสูญเสียอํานาจการควบคุมในบริษัทยอยดังกลาว โดยสัดสวนการถือหุนใน PSDC ลดลงจากเดิม รอยละ 51.00 เปนรอยละ 44.13 และทําให PSDC มีสถานะเปนบริษัทรวมของบริษัทฯ การเพิ่มทุนเพื่อลงทุนใน โครงการใหมของบริษัทดังกลาว PSDC ไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2554 ในระหวางป 2554 บริษทั ฯบันทึกขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ จากการรับรูม ลู คาเงินลงทุนใน PSDC ทีย่ งั คงเหลืออยูด ว ยมูลคา ยุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอํานาจในการควบคุมเปนจํานวนเงิน 1 ลานบาท ในบัญชีคาใชจายในการบริหารในงบกําไร ขาดทุนรวม (งบการเงินเฉพาะกิจการ: บันทึกกําไรจํานวนเงิน 14 ลานบาทในบัญชีรายไดอื่น)

94


19.

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

95

ราคาทุน / ราคาที่ตีใหม 1 มกราคม 2553 ซื้อเพิ่ม จําหนาย โอน 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม จําหนาย โอน โอนไปบัญชีอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน โอนออกจากการสูญเสียอํานาจการควบคุม ในบริษัทยอย (หมายเหตุ 18.4) 31 ธันวาคม 2554 คาเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2553 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย

งบการเงินรวม สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารโรงงาน อาคารสํานักงาน อาคารใหเชา เครื่องตกแตง และ เครื่องจักร และสวน และสวน ติดตั้ง สวนปรับปรุง และอุปกรณ ปรับปรุง ปรับปรุง อุปกรณสถานี และเครื่องใช ที่ดิน อาคารโรงงาน โรงงาน อาคารสํานักงาน อาคารใหเชา บริการนํ้ามัน สํานักงาน ยานพาหนะ

(หนวย: พันบาท)

งานระหวาง กอสราง

รวม

173,457 173,457 -

176,185 462 176,647 62 -

1,933,830 292 (74) 66,271 2,000,319 1,003 (169) 9,019 -

156,201 (27) 6,166 162,340 (2,762) 3,953 -

79,958 12 275,763 355,733 (355,733)

58,757 4,830 (67) 7,740 71,260 551 (22,035) 5,738 -

83,677 3,551 (3,884) 12,840 96,184 1,102 (2,001) 20,441 -

197,848 7,720 (1,760) 37,123 240,931 132 (2,972) 83,096 -

66,779 350,759 (406,365) 11,173 114,512 (122,309) (2,385)

2,926,692 367,164 (5,812) 3,288,044 117,300 (29,939) (358,118)

173,457

176,709

(28,666) 1,981,506

163,531

-

55,514

(22,249) 93,477

321,187

991

(50,915) 2,966,372

-

70,343 7,117 -

1,029,709 82,682 (74)

70,542 16,628 -

8,549 5,955 -

37,315 10,685 (64)

56,073 12,857 (3,590)

100,883 28,168 (1,399)

-

1,373,414 164,092 (5,127)


สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารโรงงาน อาคารสํานักงาน และ เครื่องจักร และสวน สวนปรับปรุง และอุปกรณ ปรับปรุง ที่ดิน อาคารโรงงาน โรงงาน อาคารสํานักงาน 77,460 1,112,317 87,170 7,084 85,901 12,264 (158) (2,132) -

96

31 ธันวาคม 2553 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย โอนไปบัญชีอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน โอนออกจากการสูญเสียอํานาจการควบคุม ในบริษัทยอย (หมายเหตุ 18.4) (4,086) 31 ธันวาคม 2554 84,544 1,193,974 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2553 173,457 99,187 888,002 31 ธันวาคม 2554 173,457 92,165 787,532 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2551 (78.3 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2552 (84.2 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

งบการเงินรวม สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารใหเชา เครื่องตกแตง และสวน ติดตั้ง ปรับปรุง อุปกรณสถานี และเครื่องใช อาคารใหเชา บริการนํ้ามัน สํานักงาน ยานพาหนะ 14,504 47,936 65,340 127,652 9,075 12,482 40,154 (19,756) (1,764) (2,973) (14,504) -

(หนวย: พันบาท)

งานระหวาง กอสราง -

รวม 1,532,379 166,960 (26,783) (14,504)

97,302

-

37,255

(7,477) 68,581

164,833

-

(11,563) 1,646,489

75,170 66,229

341,229 -

23,324 18,259

30,844 24,896

113,279 156,354

11,173 991

1,755,665 1,319,883 164,092 166,960


งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคาร เครื่องตกแตง อาคารโรงงานและ เครื่องจักร สํานักงานและ ติดตั้งและ สวนปรับปรุง และอุปกรณ สวนปรับปรุง เครื่องใช งานระหวาง ที่ดิน อาคารโรงงาน โรงงาน อาคารสํานักงาน สํานักงาน ยานพาหนะ กอสราง

97

ราคาทุน/ราคาที่ตีใหม 138,660 108,594 1,473,975 1 มกราคม 2553 ซื้อเพิ่ม 14 จําหนาย (74) โอน 14,527 31 ธันวาคม 2553 138,660 108,594 1,488,442 ซื้อเพิ่ม 169 จําหนาย (168) โอน 6,872 31 ธันวาคม 2554 138,660 108,594 1,495,315 คาเสื่อมราคาสะสม 66,651 999,962 1 มกราคม 2553 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2,967 48,409 คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย (74) 31 ธันวาคม 2553 69,618 1,048,297 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2,912 49,485 คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย (158) 31 ธันวาคม 2554 72,530 1,097,624 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2553 138,660 38,976 440,145 31 ธันวาคม 2554 138,660 36,064 397,691 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2553 (จํานวนเงิน 52 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2554 (จํานวนเงิน 53 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

(หนวย: พันบาท)

รวม

57,458 230 57,688 135 57,823

39,191 122 (3,566) 1,348 37,095 86 (1,013) 369 36,537

11,072 4,371 (421) 15,022 132 (22) 15,132

13,779 8,497 (16,105) 6,171 1,705 (7,376) 500

1,842,729 13,004 (4,061) 1,851,672 2,092 (1,203) 1,852,561

30,969 5,005 35,974 3,888 39,862

31,873 2,945 (3,393) 31,425 2,188 (1,013) 32,600

2,518 2,542 (131) 4,929 3,063 (22) 7,970

-

1,131,973 61,868 (3,598) 1,190,243 61,536 (1,193) 1,250,586

21,714 17,961

5,670 3,937

10,093 7,162

6,171 500

661,429 601,975 61,868 61,536


ในระหวางป 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยไดจัดใหมีการประเมินราคาสินทรัพยตามรายกลุมของสินทรัพยซึ่งราคา ประเมินใหมเปนราคาที่สรุปผลในวันที่ 4 ธันวาคม 2551 เกณฑที่ใชประเมินราคาสินทรัพยมีดังนี้ ก) ที่ดินและอาคารโรงงานประเมินราคาโดยผูประเมินราคาอิสระโดยใชวิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) และมูลคาตนทุนทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost) ตามลําดับ ข) เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ โ รงงานประเมิ น ราคาโดยผู  ป ระเมิ น ราคาอิ ส ระโดยใช มู ล ค า ต น ทุ น ทดแทนสุ ท ธิ (Depreciated Replacement Cost) ผลของการประเมินแสดงมูลคาทีด่ นิ อาคารโรงงาน เครือ่ งจักรและอุปกรณโรงงานเพิม่ ขึน้ จากราคาตามบัญชีจาํ นวน เงิน 261 ลานบาท บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกสวนที่เพิ่มขึ้นของมูลคาสินทรัพยดังกลาวไวในสวนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพยในสวนของผูถือหุน หากบริษัทฯและบริษัทยอยแสดงมูลคาของที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน ดังกลาวดวยวิธีราคา ทุน มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 จะเปนดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 137,706 137,706 88,159 94,556 631,951 711,972

ที่ดิน อาคารโรงงานและสวนปรับปรุง เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 102,909 102,909 32,058 34,345 242,110 264,114

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมียอดคงเหลือของยานพาหนะซึ่งไดมาภายใตสัญญาเชาการเงิน โดยมีมูลคาสุทธิตามบัญชีเปนจํานวนเงิน 136 ลานบาท (2553: 81 ลานบาท) และในงบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนเงิน 6 ลานบาท (2553: 8 ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมีอาคารและอุปกรณจํานวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อมราคาหมดแลวแต ยังใชงานอยู มูลคาตามบัญชีกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพยดังกลาวในงบการเงินรวมมีจํานวนเงิน 153 ลานบาท (2553: 196 ลานบาท) และในงบการเงินเฉพาะกิจการจํานวนเงิน 96 ลานบาท (2553: 91 ลานบาท) บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัดไดจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางและจํานําเครื่องจักรซึ่งมีมูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2554 รวมจํานวนเงิน 391 ลานบาท (2553: 420 ลานบาท) เพื่อคํ้าประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับ จากธนาคารพาณิชย บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด ไดจดจํานองสิทธิการเชาที่ดินและสิ่งปลูกสรางที่มีมูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เปนจํานวนเงิน 341 ลานบาท (2554: ไมมีเนื่องจากสูญเสียอํานาจการควบคุมใน บริษทั ยอย) เพือ่ คํา้ ประกันวงเงินสินเชือ่ ทีไ่ ดรบั จากธนาคารพาณิชย นอกจากนี้ บริษทั ยอยมีภาระผูกพันตามสัญญา เชาที่จะตองโอนสิ่งปลูกสรางใหผูใหเชาเมื่อครบกําหนดอายุสัญญาเชา

98


20.

สินทรัพยไมมีตัวตน (หนวย: พันบาท)

ซอฟทแวร ราคาทุน 1 มกราคม 2553 ซื้อเพิ่ม โอน 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม โอนจากการเสียอํานาจการควบคุม

งบการเงินรวม ซอฟทแวร ระหวางติดตั้ง

รวม

23,954 1,271 1,868 27,093 205

1,747 121 (1,868) -

25,701 1,392 27,093 205

ในบริษัทยอย (หมายเหตุ 18.4) 31 ธันวาคม 2554 การตัดจําหนาย 1 มกราคม 2553 คาตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2553 คาตัดจําหนาย โอนจากการเสียอํานาจการควบคุม

(341) 26,957

-

(341) 26,957

8,359 2,749 11,108 3,085

-

8,359 2,749 11,108 3,085

ในบริษัทยอย (หมายเหตุ 18.4) 31 ธันวาคม 2554 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554

(76) 14,117

-

(76) 14,117

15,985 12,840

-

15,985 12,840

99


ซอฟทแวร ราคาทุน 1 มกราคม 2553 ซื้อเพิ่ม โอน 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2554 การตัดจําหนาย 1 มกราคม 2553 คาตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2553 คาตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2554 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554 21.

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ซอฟทแวร ระหวางติดตั้ง รวม

19,899 1,868 21,767 24 21,791

1,747 121 (1,868) -

21,646 121 21,767 24 21,791

7,989 2,254 10,243 2,507 12,750

-

7,989 2,254 10,243 2,507 12,750

11,524 9,041

-

11,524 9,041

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

เงินชดเชยคาปรับคุณภาพ สิทธิการเชาที่ดินและสถานีบริการนํ้ามัน คาใชจายจายลวงหนา เงินมัดจํา เงินใหกูยืมระยะยาวและดอกเบี้ยคางรับ อื่น ๆ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - สุทธิ

งบการเงินรวม 2554 2553 26,711 26,711 5,904 7,378 4,917 5,563 5,440 4,437 1,353 1,353 3,333 3,114 47,658 48,556 (1,353) (1,353) 46,305 47,203 100

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 26,711 26,711 1,468 1,109 2,035 2,156 1,353 1,353 2,616 3,062 34,183 34,391 (1,353) (1,353) 32,830 33,038


เงินชดเชยคาปรับคุณภาพ คือ เงินชดเชยเนื่องจากในไตรมาสที่สามของป 2549 ผูขายวัตถุดิบไดสงวัตถุดิบที่มี คุณภาพผิดไปจากที่กําหนดไวในสัญญาซื้อขายวัตถุดิบ โดยมีคุณสมบัติที่ผิดไปจากที่เคยสงมอบใหบริษัทฯ ตลอด ระยะเวลาของสัญญาที่ผานมาอยางกะทันหัน มีผลทําใหบริษัทฯตองจายตนทุนเพิ่มในการปรับคุณภาพสินคาตลอด จนคาเสียหายดานอืน่ ๆ รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 136 ลานบาท จากการเจรจากับผูข ายวัตถุดบิ ไดขอ สรุปวาผูข ายวัตถุดบิ จะชดเชยคาปรับคุณภาพใหแกบริษัทฯ รวม 53 ลานบาท สวนที่เหลือเปนคาเสียหายที่เกิดจากการที่ราคาของสินคา และวัตถุดิบลดตํ่าลงมาก อยางตอเนื่อง (Inventory Loss) และเนื่องจากสวนนี้เปนความเสียหายที่เกิดจากภาวะ ราคาตลาดโลกทีท่ งั้ ฝายบริษทั ฯ และฝายผูข ายวัตถุดบิ ตางตองแบกรับอยางหลีกเลีย่ งไมไดเชนเดียวกัน ผูข ายวัตถุดบิ จึงขอใหตางฝายตางแบกรับภาระ Inventory Loss ของตนเอง บริษัทฯจึงไดบันทึกบัญชีเงินชดเชยคาปรับคุณภาพ จํานวนนี้โดยลดตนทุนขายสําหรับป 2549 ทั้งจํานวน ทั้งนี้ ผูขายวัตถุดิบไดออกใบลดหนี้ใหบริษัทฯ จํานวนเงิน 26 ลานบาทในเดือนพฤศจิกายน 2549 สวนที่เหลือจํานวนเงิน 27 ลานบาท ผูขายแจงวาจะพิจารณาวิธีการชดเชยให ในภายหลัง 22.

เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร จํานวนนี้เปนตั๋วเงินที่บริษัทยอยออกใหแกธนาคาร ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 6.25 ตอป (2553: รอยละ 1.75 - 5.12 ตอป) และมีกําหนดชําระคืนภายในหนึ่งป บริษัทฯและบริษัทยอยมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคารหลายแหง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ คํ้าประกันโดย จดจํานําเงินฝากประจําและขายลดลูกหนี้ การคาของบริษัทฯ บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด จดจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางรวมทั้ง (PBC) สิ่งปลูกสรางที่จะมีขึ้นในอนาคต จํานํา เครื่องจักรของ PBC บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอป สิทธิการเชาที่ดินของ PSDC และจํานอง เมนท จํากัด (PSDC) สิ่งปลูกสรางในโครงการของ PSDC บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม คํ้าประกันโดยบริษัทฯ จํากัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด จดจํานําเงินฝากประจําของ SAP และ (SAP) คํ้าประกันโดยบริษัทฯ บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด จดจํานําเงินฝากประจําของ PTEC และ (PTEC) คํ้าประกันโดยบริษัทฯ

(หนวย: ลานบาท) วงเงินสินเชื่อที่ยังไมไดเบิกใช 2554 2553

บริษัทฯ

101

1,183

2,130

74

147

-

31

35

10

12

-

30

-


23.

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย เงินประกันผลงานคางจาย รวม 24.

งบการเงินรวม 2554 2553 544 1,512,931 1,407,202 661 832 40,355 48,960 39,708 13,871 2,749 18,197 1,596,404 1,489,606

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 24,306 46,476 1,476,296 1,320,798 17,288 10,256 26,882 13,895 31,141 2,716 1,575,913 1,394,141

เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน จํานวนนี้เปนตั๋วสัญญาใชเงินที่บริษัทฯและบริษัทยอยออกใหแกบุคคลภายนอก ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 3.00 - 5.75 ตอป (2553: รอยละ 2.75 - 3.00 ตอป) และมีกําหนดชําระคืนภายในหนึ่งป ในเดือนกุมภาพันธ 2555 บริษัทฯและบริษัทยอยไดชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้นดังกลาวจํานวนเงิน 11 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ : 1 ลานบาท)

25.

เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554 2553 140,000 357,634 (140,000) (79,055) 278,579

เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ถึงกําหนดชําระเกินกวาหนึ่งป

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกูยืมระยะยาวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีรายละเอียดดังนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 บวก:กูเพิ่ม หัก: ชําระคืนเงินกู สูญเสียอํานาจการควบคุมในบริษัทยอย (หมายเหตุ 18.4) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

102

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม 357,634 30,265 (59,164) (188,735) 140,000


บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ไดเขาทําสัญญากูยืมเงินจากธนาคารพาณิชย ในประเทศแหงหนึ่งในวงเงินจํานวน 200 ลานบาท โดยเงินกูยืมดังกลาวจะนําไปใชในการกอสรางโรงงานและนําเขา เครื่องจักรในโครงการผลิตไบโอดีเซล เงินกูยืมคิดดอกเบี้ยในอัตราไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นตํ่าสําหรับเงินใหกูยืมซึ่ง คิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยชําระดอกเบี้ยเปนรายเดือนและมีกําหนดชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือนงวดละ 8 ลานบาท เริ่มตั้งแตเดือนธันวาคม 2551 ถึงเดือนธันวาคม 2556 และงวดละ 16 ลานบาท ตั้งแตเดือนมีนาคม 2557 เปนตน ไป และตองจายชําระคืน เงินตนทั้งหมดภายในเดือนมิถุนายน 2557 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 PBC ไดเขาทําสัญญากูยืมเงินเพิ่มเติมจากธนาคารดังกลาวในวงเงินจํานวน 80 ลาน บาท โดยเงินกูยืมจะนําไปใชปรับปรุงโรงงานในโครงการผลิตไบโอดีเซลและลงทุนในเครื่องจักร เงินกูยืมคิดดอกเบี้ย ในอัตราไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นตํ่าสําหรับเงินใหกูยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยชําระดอกเบี้ยเปนรายเดือนและมี กําหนดชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือนงวดละ 4 ลานบาท เริ่มตั้งแตเดือนธันวาคม 2552 ถึงเดือนกันยายน 2557 ภายใตสัญญาเงินกูยืมขางตนไดระบุขอปฏิบัติและขอจํากัดบางประการตามที่ระบุในสัญญา เชน สัดสวนการถือหุน ของบริษัทฯในบริษัทยอยดังกลาวตองไมตํ่ากวารอยละ 51 ขอจํากัดในการจายเงินปนผล การกอภาระผูกพันใน ทรัพยสินและการดํารงอัตราสวนทางการเงินใหเปนไปตามสัญญา เปนตน ในป 2554 PBC ไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขในการดํารงอัตราสวนทางการเงินบางอัตราตามสัญญาเงินกู (ไม เกี่ยวของกับการชําระหนี้เงินตนและดอกเบี้ย) อยางไรก็ตาม ในเดือนมกราคม 2555 PBC ไดรับการผอนปรนการ ผิดเงื่อนไขนี้สําหรับผลการดําเนินงานของป 2554 จากธนาคารแลว และเพื่อวัตถุประสงคในการรายงานบริษัทฯได แสดงยอดคงคาง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวนเงิน 140 ลานบาท (2553: 188 ลานบาท) เปนหนี้สิน หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงินรวม สัญญาเงินกูยืมดังกลาวคํ้าประกันโดยการจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางรวมทั้งสิ่งปลูกสรางที่จะมีขึ้นในอนาคตของ บริษัทยอยและการจํานําเครื่องจักรของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 PBC ไมมีวงเงินกูยืมระยะยาวตามสัญญาเงินกูที่ยังไมไดเบิกใชคงเหลือ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เงินกูยืมระยะยาวของบริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) ซึ่งมียอด คงคางจํานวนเงิน 170 ลานบาท เปนเงินกูยืมที่คํ้าประกันโดยสิทธิการเชาที่ดินและจํานองสิ่งปลูกสรางในโครงการ ของ PSDC โดยมีอัตราดอกเบี้ยไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นตํ่าสําหรับเงินใหกูยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี (MLR) (2554: ไมมีเนื่องจากสูญเสียอํานาจการควบคุมในบริษัทยอย) 26.

เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน จํานวนนี้เปนตั๋วสัญญาใชเงินที่บริษัทฯออกใหแกบุคคลภายนอก ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 5.75ตอปโดยชําระ ดอกเบี้ยเปนรายสามเดือนและมีกําหนดชําระคืนเงินตนภายในเดือนกันยายน 2555 ในเดือนกุมภาพันธ 2555 บริษัทฯไดชําระคืนเงินกูยืมระยะยาวดังกลาวทั้งจํานวนแลว

103


27.

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจําหนาย รวม หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ถึงกําหนดชําระเกินกวาหนึ่งป

งบการเงินรวม 2554 2553 120,848 81,670 (6,240) (4,740) 114,608 76,930 (44,705) (25,581) 69,903 51,349

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 6,254 8,816 (539) (983) 5,715 7,833 (2,086) (2,118) 3,629 5,715

บริษัทฯและบริษัทยอยไดทําสัญญาเชาการเงินกับบริษัทลีสซิ่งเพื่อเชายานพาหนะใชในการดําเนินงานของกิจการโดยมี กําหนดการชําระคาเชาเปนรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 4 ถึง 5 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันที่จะตองจายคาเชาขั้นตํ่าตามสัญญาเชาการเงินดังนี้

28.

(หนวย: งบการเงินรวม 1 - 5 ป 72,702 (2,799) 69,903

พันบาท)

ผลรวมของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาการเงินรอการตัดบัญชี มูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา

ไมเกิน 1 ป 48,146 (3,441) 44,705

รวม 120,848 (6,240) 114,608

ผลรวมของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาการเงินรอการตัดบัญชี มูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ไมเกิน 1 ป 1 - 5 ป รวม 2,393 3,861 6,254 (307) (232) (539) 2,086 3,629 5,715

สํารองผลประโยชนเมื่อเลิกจางและสํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน จํานวนเงินสํารองผลประโยชนเมื่อเลิกจางและสํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงานซึ่งเปนเงินชดเชยพนักงานเมื่อ ออกจากงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงไดดังนี้

104


ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง สูญเสียอํานาจการควบคุมในบริษัทยอย (หมายเหตุ 18.4) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม ผลประโยชน ผลประโยชน ระยะยาว เมื่อเลิกจาง ของพนักงาน 20,666 2,651 981 24,298 2,721 1,142 (25,028) 80,855 (416) 80,855 2,717

ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลประโยชน ผลประโยชน ระยะยาว เมื่อเลิกจาง ของพนักงาน 19,552 1,395 648 21,595 1,460 746 (23,801) 63,174 63,174 -

ในระหวางป 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยสองแหงมีโครงการยกเลิกการจางพนักงานกอนวันเกษียณตามปกติ โดย บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดกลับรายการสํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน ทัง้ จํานวนและบันทึกสํารองผลประโยชน เมื่อเลิกจางเปนคาใชจายทันที คาใชจา ยเกีย่ วกับผลประโยชนเมือ่ เลิกจางและผลประโยชนระยะยาวของพนักงานรวมอยูใ นกําไรหรือขาดทุนสําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงไดดังนี้

105


ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง ผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน รวม

งบการเงินรวม 2554 2553 80,855 (21,165) 3,632 59,690 3,632

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 63,174 (21,595) 2,043 41,579 2,043

สมมติฐานที่สําคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันประเมินสรุปไดดังนี้

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวนพนักงาน 29.

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

ภาษีสรรพสามิตคางจาย ภาษีมูลคาเพิ่มคางจาย เงินรับลวงหนาจากลูกคา เงินคํ้าประกันการซื้อสินคา อื่น ๆ รวม 30.

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 (รอยละตอป) (รอยละตอป) (รอยละตอป) (รอยละตอป) 4.75 4.75 4.75 4.75 5.00 5.00 5.00 5.00 0.00-22.92 0.00 - 22.92 0.00-22.92 0.00 - 22.92

งบการเงินรวม 2554 2553 5,275 79,317 11,133 9,700 20,750 19,412 16,866 9,446 7,898 46,604 133,193

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 5,275 79,317 5,746 4,605 16,866 6,717 5,828 17,738 106,616

สํารองตามกฎหมาย ภายใตบทบัญญัติของมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯตองจัดสรรกําไรสุทธิ ประจําปสวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไป จายเงินปนผล ภายใตบทบัญญัติของมาตรา 1202 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของประเทศไทย บริษัทยอยตองจัดสรร ทุนสํารองไมนอ ยกวารอยละ 5 ของจํานวนผลกําไรซึง่ บริษทั ยอยทํามาหาไดทกุ คราวทีจ่ า ยเงินปนผลจนกวาทุนสํารองนัน้ จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียนของ บริษัทยอย สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปหัก กับขาดทุนสะสมและไมสามารถนําไปจายเงินปนผล

106


31.

สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย คือสวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณโรงงาน สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยดังกลาวจะทยอยตัดจําหนายโดยใชวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชนที่เหลืออยู ของสินทรัพยนั้น และบันทึกโอนไปยังกําไรสะสมโดยตรง (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม 2554 2553 216,413 237,735 (21,075) (21,322) 195,338 216,413

ยอดคงเหลือตนป หัก: ตัดจําหนายระหวางป ยอดคงเหลือปลายป

สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยดังกลาวไมสามารถนํามาหักกับขาดทุนสะสมและไมสามารถจายเปนเงินปนผล 32.

หุนทุนซื้อคืน ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯเมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2553 มีมติอนุมตั ใิ หจาํ หนายหุน สามัญซือ้ คืนจํานวน 46,706,900 หุน โดยวิธีเสนอขายตอประชาชนทั่วไป (Public offering) ในราคา 2.55 บาทตอหุน ซึ่งเปนไปตามหลักเกณฑการ กําหนดราคาเสนอขายหุนสามัญซื้อคืนที่ไดรับอนุมัติโดยที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2553 ในเดือนกันยายน 2553 บริษัทฯไดจําหนายหุนทุนซื้อคืนทั้งหมดจํานวน 46.71 ลานหุน ซึ่งมีราคาทุน 220.55 ลานบาท ในราคา 2.55 บาทตอหุน รวมเปนจํานวนเงิน 119.10 ลานบาท บริษัทฯไดบันทึกผลตางของราคาขายที่ตํ่ากวาราคาทุน ของหุนทุนซื้อคืนจํานวนเงินประมาณ 101.45 ลานบาทและคาใชจายในการจําหนายหุนทุนซื้อคืนจํานวนเงิน 5.51 ลาน บาทไปหักจากบัญชีกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรและโอนกลับสํารองหุนทุนซื้อคืนไปยังกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรร การ จําหนายหุนทุนซื้อคืนดังกลาวไดดําเนินการในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

33.

รายไดจากการขาย รายไดจากการขายสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงไดดังนี้

รายไดจากการขาย หัก: รายการขายคืนนํ้ามันตามสัญญา รายไดจากการขาย - สุทธิ

งบการเงินรวม 2554 2553 24,329,516 20,043,072 (117,850) (498,579) 24,211,666 19,544,493

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 19,385,729 16,286,140 (117,850) (498,579) 19,267,879 15,787,561

บริษทั ฯไดเขาทําสัญญาซือ้ ขายนํา้ มันเพือ่ ใชเปนปริมาณสํารองตามกฎหมายกับบริษทั ผูค า นํา้ มัน หลายแหงโดยมีเงือ่ นไข วาบริษทั ฯตองขายคืนนํา้ มันดังกลาวใหแกบริษทั เหลานัน้ เมือ่ ครบกําหนดตามอายุของสัญญา และบริษทั ฯเปนผูร บั ผิดชอบ เกี่ยวกับคาใชจายตางๆที่เกี่ยวของ เชน คาเบี้ยประกันภัย คาเชาถังเก็บนํ้ามัน เปนตน บริษัทฯบันทึกรายการขายคืน นํ้ามันดังกลาวเปนรายการหักจากรายไดจากการขายในงบกําไรขาดทุน

107


34.

รายไดอื่น

รายไดคาบริหารจัดการ เงินปนผลรับ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กําไรจากการรับรูมูลคาเงินลงทุนใน บริษัทยอยเดิมดวยมูลคายุติธรรม (หมายเหตุ 18.4) ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น รวม 35.

งบการเงินรวม 2554 2553 18,696 11,861

5,864 20,391 44,951

1,863 19,166 32,890

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 11,464 14,340 46,500 18,549 11,514

14,431 6,744 45,002 96,190

3,533 40,548 116,435

คาใชจายตามลักษณะ รายการคาใชจายแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจายที่สําคัญดังตอไปนี้

งบการเงินรวม 2554 2553 เงินเดือน คาแรงและผลประโยชนอื่น ของพนักงาน ผลประโยชนเมื่อเลิกจางและ ผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป ตนทุนสินคาสําเร็จรูปซื้อมาเพื่อขาย 36.

312,543

275,200

59,690 170,046 17,065,575 91,891 5,032,104

3,632 166,841 11,827,941 (248,067) 7,011,169

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 130,633

110,047

41,579 2,043 64,043 64,123 15,498,032 10,903,888 14,589 (233,956) 2,818,706 4,528,450

ภาษีเงินไดนิติบุคคล บริษัทฯไมมีภาระภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับป 2553 เนื่องจากบริษัทฯมีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปกอนมากกวา กําไรสําหรับป

108


37.

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุน ขัน้ พืน้ ฐานคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปทเี่ ปนของผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ (ไมรวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ) ดวย จํานวนถัวเฉลี่ยถวงนํ้าหนักของหุนสามัญที่ออกอยูในระหวางป

38.

ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทฯและบริษัทยอยดําเนินกิจการใน 3 สวนงานหลัก คือ (1) ธุรกิจผลิตและจําหนายนํ้ามันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ ปโตรเคมี (2) ธุรกิจผลิตและจําหนายผลิตภัณฑนํ้ามันไบโอดีเซล และ (3) ธุรกิจใหเชาและบริการอสังหาริมทรัพย และ ดําเนินธุรกิจในสวนงานทางภูมิศาสตรหลักในประเทศ ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานของบริษัทฯและบริษัทยอย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังตอไปนี้

109


(หนวย: ลานบาท) ผลิตและจําหนาย นํามันเชื้อเพลิง และผลิตภัณฑปโตรเคมี 2554

2553

ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑ นํามันไบโอดีเซล 2554

(ปรับปรุงใหม)

110

รายไดจากการขายและบริการจากภายนอก ในประเทศ 17,253 ตางประเทศ 4,913 รวมรายไดจากการขายและบริการจากภายนอก 22,166 รายไดจากการขายและบริการระหวางสวนงาน 9,161 รวมรายไดจากการขายและบริการทั้งสิ้น 31,327 กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานตามสวนงาน 297 รายไดและคาใชจายที่ไมไดปนสวน: ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินไดนิติบุคคล สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ

15,805 3,100 18,905 9,019 27,924 118

2553

ใหเชาและบริการ อสังหาริมทรัพย 2554

2553

(ปรับปรุงใหม)

2,029 31 2,060 485 2,545 (55)

635 21 656 377 1,033 39

การดําเนินงานอื่น ๆ 2554

(ปรับปรุงใหม)

55 55 2 57 (3)

43 43 3 46 -

2553

การตัดรายการ บัญชีระหวางกัน 2554

(ปรับปรุงใหม)

126 126 245 371 16

2553

งบการเงินรวม 2554

(ปรับปรุงใหม)

107 107 220 (9,893) 327 (9,893) 14 64

(9,619) (9,619) 55

2553 (ปรับปรุงใหม)

19,463 4,944 24,407 24,407 319

16,590 3,121 19,711 19,711 226

6 35 (5) (67) (115) (2) 171

2 28 (1) (54) (9) 4 196

(หนวย: ลานบาท) ผลิตและจําหนาย นํามันเชื้อเพลิง และผลิตภัณฑปโตรเคมี

สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยอื่น รวมสินทรัพย

2554

2553

1,035 695

1,258 766

ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑ นํามันไบโอดีเซล 2554

26 475

2553

128 513

ใหเชาและบริการ อสังหาริมทรัพย 2554

การดําเนินงานอื่น ๆ

2553

-

381

2554

4 154

2553

1 113

การตัดรายการ บัญชีระหวางกัน 2554

(1) (4)

งบการเงินรวม

2553

(6) (17)

2554

1,064 1,320 1,683 4,067

2553

1,381 1,756 1,227 4,364


บริษัทฯและบริษัทยอยใชเกณฑในการกําหนดราคาระหวางกันตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 11 39.

กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษทั ฯ บริษทั ยอยและพนักงานบริษทั ฯและบริษทั ยอยไดรว มกันจัดตัง้ กองทุนสํารองเลีย้ งชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัติ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริษัทฯ บริษัทยอยและพนักงานจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือนในอัตรารอย ละ 5 - 10 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย บัวหลวง จํากัด (มหาชน) และจะ จายใหแกพนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯ ในระหวางป 2554 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจายเงินสมทบกองทุนเปนจํานวนเงิน 11 ลานบาท (2553: 11 ลานบาท)

40.

เงินปนผลจาย เงินปนผลที่ประกาศจายในป 2554 และ 2553 ของบริษัทฯประกอบดวย เงินปนผล

อนุมัติโดย

เงินปนผลจายระหวางกาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ จากการดําเนินงานตั้งแตวันที่ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 1 มกราคม 2553 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2553 รวมเงินปนผลสําหรับป 2553 ที่ประชุมสามัญประจําป เงินปนผลจายงวดสุดทาย ประกาศจากผลการ ผูถ ือหุนวันที่ 7 เมษายน 2554 ดําเนินงานของป 2553 รวมเงินปนผลสําหรับป 2554 41.

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

41.1

ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุน

เงินปนผลจาย (พันบาท)

เงินปนผลจายตอหุน (บาท)

42,378 42,378

0.08 0.08

21,195 21,195

0.04 0.04

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันรายจายฝายทุนเกี่ยวกับการซื้อเครื่องจักรและ อุปกรณจํานวนเงิน 2 ลานบาท (2553: 6 ลานบาท) 41.2

ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเชาดําเนินงานและสัญญาบริการ บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดเขาทําสัญญาเชาดําเนินงานและสัญญาบริการทีเ่ กีย่ วของกับการเชาทีด่ นิ อาคาร คลังนํา้ มัน สถานีบริการนํ้ามัน รถยนตและอุปกรณ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต 1 ถึง 30 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมีจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตองจายในอนาคตทั้งสิ้นภายใตสัญญาขาง ตน ดังนี้

111


จายชําระภายใน ภายใน 1 ป 1 ถึง 5 ป มากกวา 5 ป 41.3

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 20 5 9

งบการเงินรวม 43 72 140

ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายระยะยาว / ขอพิพาททางการคา ก) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2538 บริษัทฯไดเขาทําสัญญาซื้อขายวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิวกับบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) ซึ่งวัตถุดิบดังกลาวผลิตโดยบริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จํากัด (มหาชน)โดย ปริมาณการซือ้ ขายและราคาเปนไปตามทีร่ ะบุไวในสัญญา สัญญาดังกลาวมีระยะเวลาชวงแรก (Primary period) 15 ป ซึ่งจะสิ้นสุดป 2555 โดยสามารถตออายุได และกําหนดใหบริษัทฯตองวางหนังสือคํ้าประกันธนาคาร จํานวนหนึง่ เพือ่ เปนหลักประกันการจายชําระคาซือ้ สินคา บริษทั ฯจะไดรบั คืนหลักประกันดังกลาวเมือ่ ครบกําหนด อายุสัญญา เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 PTT ไดสงจดหมายแจงขอยกเลิกสัญญาการซื้อขายวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิ วกับบริษัทฯ โดยจะขอยกเลิกสัญญาเมื่ออายุสัญญาครบ 15 ปแรก (Primary period)ในป 2555 บริษัทฯ ได รวมหารือกับ PTT เพือ่ หาขอสรุปทีย่ ตุ ธิ รรมกับทัง้ สองฝาย แตไมสามารถหาขอสรุปไดเนือ่ งจากทัง้ 2 ฝายมีการ ตีความในสัญญาแตกตางกัน ทัง้ นี้ บริษทั ฯ และทีป่ รึกษากฎหมายของบริษทั ฯ เห็นวา สัญญาดังกลาวไมสามารถ ยกเลิกได เนื่องจากเปนสัญญาตางตอบแทนระยะยาว โดยในสัญญาระบุใหบริษัทฯ ตองสรางโรงกลั่นขึ้นมารอง รับเพื่อแปรรูปวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิว ซึ่งเปนสเปกวัตถุดิบที่รับมาจาก PTT เทานั้น และบังคับบริษัทฯ ไม ใหนําวัตถุดิบมาขายตอในสภาพเดิมที่รับมาได ดังนั้น ในสัญญาจึงมีการระบุวาเปนสัญญาลักษณะ Evergreen Basis คือ ไมมีกําหนดเวลาสิ้นสุด สัญญาจะตอโดยอัตโนมัติเมื่อครบกําหนด 15 ปแรก (Primary period) อีก ทัง้ การยกเลิกสัญญาจะกระทําไดเมือ่ ไดรบั ความยินยอมจากทัง้ 2 ฝายหรือในกรณีทฝี่ า ยใดฝายหนึง่ ทําผิดสัญญา ซึ่งบริษัทฯ ไมเคยดําเนินการใดๆ ผิดจากขอสัญญาที่กําหนดไว บริษัทฯ จึงมั่นใจวาสัญญาดังกลาวไมสามารถ ยกเลิกได ในขณะที่ทาง PTT เห็นตางออกไป ดังนั้น เพื่อรักษาสิทธิของผูถือหุนใหไดรับการรับรองและคุมครอง ตามกฎหมายบริษัทฯ จึงไดใชกระบวนการยุติธรรมเปนผูตัดสินชี้ขาด โดยไดดําเนินการยื่นคํารองตอ อนุญาโตตุลาการในวันที่ 3 ธันวาคม 2552 และเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2553 บริษัทฯไดยื่นฟองตอศาลแพง เรียกรองให PTT ปฏิบัติตามสัญญาดังกลาวตอไปโดยไมกําหนดระยะเวลาสิ้นสุด ขณะนี้ ขอพิพาททางการคา อยูภายใตกระบวนการอนุญาโตตุลาการ และคดีฟองรองอยูภายใตกระบวนการพิจารณาคดีของศาลแพง ซึ่งผล ของขอพิพาทและคดีฟองรองยังไมสามารถระบุไดและขึ้นอยูกับกระบวนการยุติธรรมในอนาคต เมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 บริษทั ฯไดรบั แผนการสงวัตถุดบิ ลวงหนาจาก PTT ซึง่ เปนกระบวนการประสาน งานระหวางกันตามปกติธุรกิจ พบวาแผนการสงวัตถุดิบนี้ระบุปริมาณการสงวัตถุดิบถึงเดือนมกราคม 2555 เทานั้น โดย PTT ไดหยุดสงวัตถุดิบตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2555 ซึ่งทําใหบริษัทฯตองหยุดการผลิตเนื่องจากบ ริษัทฯยังไมสามารถจัดหาวัตถุดิบหลักดังกลาวจากผูขายรายอื่น ข) ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริษัทยอยไดเขาทําสัญญาซื้อขายไอนํ้ากับบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด (PTTUT) เพิ่มเติม โดยปริมาณการซื้อขายและราคาเปนไปตามที่ระบุไวในสัญญา สัญญาดังกลาวมีระยะเวลา 15 ปนับ จากวันที่อุปกรณพรอมใชงานโดยกําหนดสงมอบไอนํ้าภายในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 และสามารถตออายุไดอีก 5 ป

112


ตอมา เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 บริษัทยอยไดเขาทําบันทึกขอตกลงการวางทอไอนํ้ากับ PTTUT เพิ่มเติม โดย PTTUT จะดําเนินการกอสรางชั้นวางทอยกระดับและสะพานรับทอเพื่อวางทอไอนํ้าซึ่งมีคากอสรางจํานวน เงิน 58 ลานบาท และ PTTUT จะชดเชยผลกระทบจากการที่ไมสามารถสงมอบไอนํ้าตามสัญญาซื้อขายไอนํ้า เปนจํานวนเงิน 23 ลานบาท ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของคาชดเชยความลาชา โดยนําไปหักจากคากอสรางดังกลาว จากนัน้ บริษทั ยอยจะตองชําระคืนคากอสรางและดอกเบีย้ แก PTTUT ทุกเดือนตัง้ แตวนั ที่ 1 ของเดือนที่ 37 และ จะชําระใหแลวเสร็จ ภายในระยะเวลา 72 เดือนนับตัง้ แตวนั ทีเ่ ริม่ มีการสงมอบไอนํา้ เชิงพาณิชย โดยคิดดอกเบีย้ ในอัตรา MLR ของธนาคารแหงหนึ่ง 41.4

การคํ้าประกัน ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีหนังสือคํ้าประกันที่ออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯและ บริษัทยอยเหลืออยูเปน จํานวนเงิน 49 ลานบาท (2553: 261 ลานบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติ ธุรกิจของบริษทั ฯและบริษทั ยอย ซึง่ ประกอบดวย หนังสือคํา้ ประกันเพือ่ คํา้ ประกันการจายชําระเงินใหกบั เจาหนี้ จํานวนเงิน 40 ลานบาท และเพื่อคํ้าประกันการใชไฟฟาและอื่นๆ จํานวนเงิน 9 ลานบาท ข) บริษัทฯ คํ้าประกันวงเงินสินเชื่อจากธนาคารของบริษัทยอยหลายแหงในวงเงินรวม 70 ลานบาท (2553: 82 ลานบาท)

41.5 คดีฟองรอง บริษทั ยอยแหงหนึง่ ไดถกู ฟองรองในคดีแพงเนือ่ งจากการผิดสัญญาซือ้ ขายนํา้ มันเปนจํานวนเงิน 300,000 บาท โดย เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2554 บริษทั ยอยไดทาํ สัญญาประนีประนอมยอมความและยินยอมชําระเงินจํานวน 200,000 บาท ซึ่งบริษัทยอยไดบันทึกคาเสียหายดังกลาวไวในบัญชีแลว 42.

เครื่องมือทางการเงิน

42.1

นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครือ่ งมือทางการเงินทีส่ าํ คัญของบริษทั ฯและบริษทั ยอยตามทีน่ ยิ ามอยูใ นมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดง รายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูก หนี้ เจาหนี้ เงินใหกูยืมและเงินกูยืม เงินลงทุน บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการ เงินดังกลาว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม ลูกหนี้อื่นและตั๋วเงิน รับ ฝายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกําหนดใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทยอยจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสําคัญจากการใหสินเชื่อ นอกจากนี้ การใหสิน เชือ่ ของบริษทั ฯและบริษทั ยอยไมมกี ารกระจุกตัวเนือ่ งจากบริษทั ฯและบริษทั ยอยมีฐานของลูกคาทีห่ ลากหลายและมี อยูจํานวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทยอยอาจตองสูญเสียจากการใหสินเชื่อคือ มูลคาตามบัญชี ของลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม ลูกหนี้อื่นและตั๋วเงินรับหักดวยคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะ การเงิน

113


ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากธนาคาร เงินใหกูยืม เงินเบิก เกินบัญชี และเงินกูย มื ทีม่ ดี อกเบีย้ อยางไรก็ตาม เนือ่ งจากสินทรัพยและหนีส้ นิ ทางการเงินสวนใหญมอี ตั ราดอกเบีย้ ที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตรา ดอกเบี้ยของบริษัทฯและบริษัทยอยจึงอยูในระดับตํ่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่สําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และ สําหรับสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ ครบกําหนด หรือวันที่มีการ กําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหมถึงกอน) ไดดังนี้ (หนวย: ลานบาท) อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ป สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกยู มื ระยะสัน้ และดอกเบีย้ คางรับ จากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่ เกี่ยวของกัน เงินฝากธนาคารที่มีภาระคํ้าประกัน เงิ น ให กู  ยื ม ระยะยาวแก กิ จ การที่ ไ ม เกี่ยวของกัน หนี้สินทางการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาวจากธนาคาร เงิ น กู  ยื ม ระยะสั้ น จากกิ จ การที่ ไ ม เกี่ยวของกัน เงิ น กู  ยื ม ระยะยาวจากกิ จ การที่ ไ ม เกี่ยวของกัน เงิ น กู  ยื ม ระยะยาวจากกิ จ การที่ เกี่ยวของกัน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

มากกวา 1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

อัตรา ดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตาม ราคาตลาด

ไมมีอัตรา ดอกเบี้ย

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

รวม

406 -

-

-

104 -

14 90 621

524 90 621

0.13 - 3.25 -

3 -

-

-

2

-

3 2

98

-

-

-

-

98

5.00 Prime rate บวก 3.00 1.87 - 2.50

1 508

3 3

-

106

725

4 4.50 - 5.89 1,342

275 -

-

-

140

1,596 -

275 6.25 1,596 140 ไมเกิน MLR

13

-

-

-

-

13 3.00 - 5.75

24

-

-

-

-

24

207 45 564

70 70

-

140

1,596

114

5.75

207 5.75 115 2.88 - 7.60 2,370


ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นทีส่ าํ คัญอันเกีย่ วเนือ่ งจากการซือ้ หรือขายสินคา บริษทั ฯและ บริษทั ยอยไดตกลงทําสัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึง่ สวนใหญมอี ายุสญ ั ญาไมเกินหนึง่ ปเพือ่ ใชเปนเครือ่ ง มือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมียอดคงเหลือของสินทรัพยทางการเงินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศดังนี้ สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา

สินทรัพย ทางการเงิน (พัน) 10,447

อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 31.55

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมีสัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือดังนี้ สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา

อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา จํานวนที่ขาย ของจํานวนที่ขาย (พัน) (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 7,153 31.05 - 31.72

วันครบกําหนดตามสัญญา มกราคม - มีนาคม 2555

ความเสี่ยงจากตลาด บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีความเสีย่ งจากราคาตลาดของนํา้ มันทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวคอนขางมาก ฝายบริหารควบคุมความ เสี่ยงนี้โดยการควบคุมระยะเวลาการผลิตเพื่อใหชวงเวลาระหวางวันรับมอบวัตถุดิบและวันขายสินคาสําเร็จรูปเหลือ นอยที่สุด นอกจากนั้น บริษัทฯอาจตกลงทําสัญญาซื้อขายนํ้ามันดิบและผลิตภัณฑนํ้ามันลวงหนาเพื่อใชเปนเครื่อง มือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯไมมีสัญญาซื้อขายนํ้ามันดิบและผลิตภัณฑนํ้ามันลวงหนาคงเหลือ 42.2 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญของบริษัทและบริษัทยอยฯจัดอยูในประเภทระยะสั้น เงินใหกูยืม และเงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทยอยจึงประมาณมูลคายุติธรรม ของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันหรือจายชําระหนี้สินในขณะที่ทั้ง สองฝายมีความรอบรู และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะที่ไมมี ความเกีย่ วของกัน วิธกี ารกําหนดมูลคายุตธิ รรมขึน้ อยูก บั ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลคายุตธิ รรมจะกําหนด จากราคาตลาดลาสุด หรือกําหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคาที่เหมาะสม 43.

การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนทีส่ าํ คัญของบริษทั ฯคือการจัดใหมซี งึ่ โครงสรางทุนทีเ่ หมาะสมเพือ่ สนับสนุนการ ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯและเสริมสรางมูลคาการถือหุนใหกับผูถือหุนโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมบริษัท มีอตั ราสวนหนีส้ นิ ตอทุนเทากับ 1.61:1 (2553: 2.02:1) และเฉพาะ บริษทั ฯมีอตั ราสวนหนีส้ นิ ตอทุนเทากับ 1.15:1 (2553: 1.50:1))

115


44.

เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ก) ตัง้ แตเดือนกุมภาพันธ 2555 ผูข ายวัตถุดบิ รายหลักของบริษทั ฯไดหยุดสงวัตถุดบิ ใหแกบริษทั ฯ ซึง่ ทําใหบริษทั ฯ ตองหยุดการผลิตอยางไมมีกําหนดเวลาตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2555 เปนตนไป ข) เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯไดมีมติเสนอขออนุมัติตอที่ประชุมสามัญผูถือ หุนประจําป 2555 เพื่อจายเงินปนผลจากผลการดําเนินงานของป 2554 ใหแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 0.05 บาท คิดเปนจํานวนเงิน 26 ลานบาท

45.

การจัดประเภทรายการในงบการเงิน เพื่อใหสอดคลองกับขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาเกี่ยวกับการจัดประเภทรายการในงบการเงินตาม ที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 2 และผลจากการนํามาตรฐานการบัญชีฉบับใหมและฉบับปรับปรุงมา ถือปฏิบตั ติ ามทีก่ ลาวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3 และขอ 5 บริษทั ฯไดจดั ประเภทรายการบัญชีบางรายการ ในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ใหมเพื่อใหสอดคลองกับการจัดประเภทรายการบัญชีในป ปจจุบัน

46.

การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2555

116


ÃÒÂÅÐàÍÕ´à¡ÕèÂǡѺ¼ÙŒºÃÔËÒÃáÅмٌÁÕÍíÒ¹Ò¨¤Çº¤ØÁ¢Í§ºÃÔÉÑ·Ï

รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ประธานกรรมการ /กรรมการ / กรรมการบริหาร 57 ป วศ.บ. (ไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา (ธนบุรี) • DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย 9,312,375 หุน / 1.76% 2546 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2541 – ปจจุบัน 2538 – ปจจุบัน 2538 – ปจจุบัน 2543 – 2546 2545 – 2551

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ กรรมการ

2543 – 2547

กรรมการ

117

บจก. เบญจปโตรเลียม บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บจก. จตุจักร ออยล บจก. บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม บจก. อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม บจก. เมโทร ปโตรเลียม บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร VTN-P Petrochemical Joint Venture Co.,Ltd. บจก. สยามกัลฟ ปโตรเคมีคัล


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%)

นายวีระวัฒน ชลวณิช กรรมการอิสระ 67 ป • Senior Executive Program Massachusetts Institute of Technology (MIT) • MBA, Oregon State University, USA • Associate Diplomas, Industrial Management, Goteborg University, Sweden • พศ.บ. (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย 6,125 หุน / 0.0012% 2552 – ปจจุบัน 2553 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน 2541 – ปจจุบัน 2540 – ปจจุบัน 2539 – ปจจุบัน 2537 – ปจจุบัน 2535 – ปจจุบัน

ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ

บจก.ไบโอแมส เพาเวอร บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท บจก. วังนํ้าเขียว ไวนเนอรี่ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เอส ที เอฟ อี บจก. สยาม สตีล เทาเวอร บจก. ศรีอูทอง บจก. ซิกมาคอนกรีต แอนด คอนสตรัคชั่น

นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ 56 ป • MBA มหาวิทยาลัยบูรพา • วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • DCP : Directors Certification Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - หุน / -%

118


ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

2546 – ปจจุบัน 2548 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2547 – ปจจุบัน 2546 – 2552 2545 – 2551

ชื่อ-สกุล

นายสุมิตร ชาญเมธี กรรมการ / กรรมการบริหาร 56 ป วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - หุน / -%

ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

2538 – ปจจุบัน 2550 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2547 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน 2540 – ปจจุบัน 2545 – 2551

กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

119

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. จตุรทิศขนสง บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท บจก. เพียวไบโอดีเซล บจก. เพียวพลังงานไทย VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd.

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เพียวไบโอดีเซล บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บจก. อารพีซีเอเชีย บจก. จตุจักร ออยล บจก. บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม บจก. เบญจปโตรเลียม บจก. อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม บจก. เมโทร ปโตรเลียม บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บจก. ลอจิก คอนซัลแตนท VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd.


ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง (ตอ)

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%)

2544 – 2548 2543 – 2547 2541 – 2542 2540 – 2541

กรรมการ กรรมการ กรรมการและ ผูจัดการทั่วไป ที่ปรึกษาบริหาร

2538 – 2540 2537 – 2538

กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ

2536 – 2537 2534 – 2536

ผูจัดการทั่วไป รองกรรมการ ผูจัดการใหญ

บจก. จตุรทิศขนสง บจก. สยามกัลฟปโตรเคมีคัล บจก. บางกอกแคน เมนนูแฟคเตอรริ่ง บจก. สยามพาราฟนส (ในเครือ ปูนซีเมนตไทย) บจก. ปโตรเชน บมจ. บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม บจก. บางกอกอินดัสเตรียลแกส บมจ. บางจากปโตรเลียม

นายศุภพงศ กฤษณกาญจน กรรมการ / ประธานคณะกรรมการบริหาร 55 ป • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมเคมีและคอมพิวเตอรควบคุม โรงงาน) มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย วิทยาเขตดาวิส รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรและเศรษฐศาสตรระดับสูง (ระหวางศึกษาระดับปริญญาโท) มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย สเตท โพลิเทคนิค วิทยาเขตโพโมนา รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย 8,309,075 หุน / 1.57%

120


ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

2543 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริหาร / กรรมการ 2549 – ปจจุบัน กรรมการ 2541 – ปจจุบัน กรรมการ 2550 – 2553 กรรมการ 2543 – 2547 กรรมการผูจัดการ 2547 – 2550 กรรมการ 2545 – 2548 กรรมการ 2539 – 2543 กรรมการผูจัดการ 2537 – 2538 ประธานกรรมการ 2535 – 2536 ผูจัดการโครงการ 2530 – 2534 2524 – 2529 2522 – 2523

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

วิศวกรโครงการ วิศวกรกระบวนการ ผลิตและควบคุม วิศวกร

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บจก. ออนเนสท แอนด เอฟเชียน บจก. เพียวไบโอดีเซล บจก. สยามกัลฟ ปโตรเคมีคัล บจก. อารพีซีเอเชีย บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. ออนเนสท แอนด เอฟเชียน บจก. สีชังสยามโซลเวนท และ บจก. สีชังทองเทอรมินัล บจก. บางจากปโตรเลียม บจก. เอสโซ ประเทศไทย บจก. นํ้ามันพืชอุตสาหกรรม

นายสุทัศน ขันเจริญสุข กรรมการ 54 ป • MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร • วท.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • Board Performance Evaluation : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 425 หุน / 0.00008% 2539 – ปจจุบัน 2550 - ปจจุบัน 2544 – 2547 2534 – ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ กรรมการผูอํานวยการ กรรมการบริหาร

121

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%)

นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ กรรมการ 65 ป วท.บ. (เคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย 34,035,250 หุน / 6.423% 2548 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน 2546 – 2547 2542 – ปจจุบัน 2536 – 2541

กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ผูจัดการใหญ ธุรกิจนํ้ามัน เชื้อเพลิงอุตสาหกรรม

บจก.จตุรทิศขนสง บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บมจ. เชอรวูดเคมิคอล บจก. เชลลแหงประเทศไทย

ดร. วิชิต แยมบุญเรือง ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 70 ป • Ph.D. School of Public and International Affairs, University of Pittsburgh, USA • MA, Economic, Columbia University, USA • เศรษฐศาสตรบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย • DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • DCP : Directors Certification Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • Audit Committee Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • The Role of Chairman : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 0.000 หุน / 0.000%

122


ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

2546 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ 2553 – ปจจุบัน กรรมการ 2543 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ 2542 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการ 2522 – 2543 ผูอํานวยการธุรกิจการกลั่น

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท บมจ. จัสมินอินเตอรเนชั่นแนล บจก. โกลเบิลบอนด การปโตรเลียมแหงประเทศไทย

นายอานุภาพ จามิกรณ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 56 ป • ปริญญาโท Chemical Engineering, University of Tennessee (Knoxville), USA • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • Audit Committee Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หุน / -% 2546 – ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร 2535 – 2544 กรรมการบริหาร บจก. คูเวตปโตรเลียม (ประเทศไทย) 2522 – 2535 ผูจัดการฝาย บมจ. เอสโซสแตนดารดประเทศไทย

123


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%)

นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 50 ป • ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร • รัฐศาสตรบัณฑิต สาขาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • DCP : Directors Certification Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • Audit Committee Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • CEO Succession & Effective Leadership Development: สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย 106,125 หุน / 0.020% 2546 – ปจจุบัน กรรมการ ตรวจสอบ 2553 - ปจจุบัน กรรมการ 2545 – ปจจุบัน กรรมการ 2549 – ปจจุบัน กรรมการ 2545 – ปจจุบัน กรรมการ 2544 – ปจจุบัน กรรมการ 2543 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ 2543 – ปจจุบัน ผูชวยผูจัดการ 2543 – ปจจุบัน รองผูอํานวยการ

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เพียวพลังงานไทย บมจ. สัมมากร บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บมจ. ไทยประกันภัย บจก. สุวรรณชาต ในพระบรมราชูปถัมถ บจก. มงคลชัยพัฒนา สํานักงานจัดการทรัพยสินสวนพระองค โครงการพัฒนาสวนพระองค

นางศิรพร กฤษณกาญจน ผูชวยกรรมการผูจัดการ 56 ป • MBA California State Polytechnic University, Pomona, USA • บช.บ. (ตนทุน) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 517,900 หุน / 0.097%

124


ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

2547 – ปจจุบัน ผูชวยกรรมการผูจัดการ 2546 – 2546 ผูจดั การทั่วไปสายบริหาร และการเงิน 2546 – 2551 รักษาการผูจัดการ สํานักตรวจสอบภายใน 2549 – ปจจุบัน กรรมการ 2548 – ปจจุบัน กรรมการ 2547 – 2550 กรรมการ 2545 – 2551 กรรมการ 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน 2541 – 2546 2531 – ปจจุบัน 2539 – 2541

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%)

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ Senior Vice President Budgeting / Accounting / Finance Department

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. อารพีซีเอเชีย VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บจก. จตุจักร ออยล บจก. บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม บจก. เบญจปโตรเลียม บจก. อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม บจก. เมโทร ปโตรเลียม บจก. มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม บจก. จตุรทิศขนสง บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บจก. โยธินปโตรเลียม บจก. ออนเนสท แอนด เอฟเชียน Bangkok Terminal Co., Ltd.

นายสมบูรณ ศิริชัยนฤมิตร ผูจัดการทั่วไปสายบริหารและการเงิน 47 ป • เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร • บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หุน / -%

125


ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 1 มกราคม 2555(หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

2550 – ปจจุบัน ผูจัดการทั่วไปสายบริหาร และการเงิน 2548 – 2549 ผูจัดการทั่วไปสายการเงิน 2546 – 2547 ผูอํานวยการสายการเงิน และบริหาร 2540 – 2545 ผูจัดการฝายบัญชี

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. เอเชียน มารีน เซอรวิสส บมจ. เอเชียน มารีน เซอรวิสส

นายวสันต ซื่อตรง ผูจัดการทั่วไปสายโรงงาน 42 ป • ปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตร สาขาเทคโนโลยีขนถายวัสดุ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลา พระนครเหนือ 170,718 หุน / 0.032% 2550 - ปจจุบัน ผูจัดการทั่วไปสายโรงงาน บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) 2547 - 2549 ผูอํานวยการโครงการ VTN-P Petrochemical Joint Venture Co.,Ltd. 2546 - 2547 ผูอํานวยการพิเศษ VTN-P Petrochemical Joint Venture Co.,Ltd. 2546 - 2546 ผูจัดการทั่วไปสายธุรกิจ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด จัดหานํ้ามัน (รักษาการ) (มหาชน) 2539 - 2546 ผูจัดการฝายปฏิบัติการ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน)

หมายเหตุ (1) ตามหนั ง สื อ รั บ รองบริ ษั ท ฯ กรรมการผู มี อํ า นาจลงนามผู ก พั น บริ ษั ท คื อ 1) นายศุ ภ พงศ กฤษณกาญจน นายสั จ จา เจนธรรมนุ กู ล นายสุมิตร ชาญเมธี นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการสองในสี่คนนี้ ลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัท หรือ 2) นายศุภพงศ กฤษณกาญจน หรือ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล หรือ นายสุมิตร ชาญเมธี หรือ นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล คนใดคน หนึ่งลงลายมือชื่อรวมกับนายสุทัศน ขันเจริญสุข หรือนายธวัช อึ้งสุประเสริฐ รวมเปนสองคนและประทับตราสําคัญของบริษัท (2) รวมสวนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ (3) สัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ราคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาทตอหุนและเรียกชําระแลว ณ 1 มกราคม 2555 เทากับ 529,870,229 หุน

126



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.