Annual Report 2012 TH

Page 1


INDEX สารบัญ

ข้อมูลทั่วไป สาส์นจากประธานกรรมการ ภาพคณะกรรมการบริษัท ภาพคณะผู้บริหาร นโยบาย และโครงสร้างด้านสังคม และกิจกรรมตอบแทนสังคม ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน/ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน รายงานผลการดำ�เนินงาน โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง รายการระหว่างกัน รายงานการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานของผู้สอบบัญชี งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน รายละเอียดเกีย่ วกับผูบ้ ริหารและผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั ฯ

1 2 3 3 4 6 8 9 25 28 29 32 32 33 35 37 82


ข้อมูลทั่วไป

RPC

ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ

ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท์ โทรสาร ที่ตั้งโรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร โฮมเพจ

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัท”) ประกอบธุรกิจโรงกลัน่ น้�ำ มันขนาด 17,000 บาร์เรลต่อวัน บริหารคลังน้�ำ มัน 3 แห่ง เพื่อจัดจำ�หน่ายน้ำ�มันดีเซล เบนซิน 91 แก๊สโซฮอลล์ 91 แก๊สโซฮอลล์ 95 เคมีภัณฑ์ และน้�ำ มันเตา รวมถึงค้าปลีกน้�ำ มันสำ�เร็จรูป 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 3 ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 จำ�นวน 802,870,229 บาท จำ�นวน 529,870,229 หุ้น 1 บาท จำ�นวน 529,870,229 บาท 0107546000202 02-791-1811 02-515-8600 02-791-1818 7/3 ถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ตำ�บลมาบตาพุด อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 (038) 685-816 -9 (038) 685-243 http://www.rpcthai.com

บุคคลอ้างอิงอื่น ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ที่ตั้ง 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4 และ 7 ถนนรัชดาภิเษกตัด ใหม่ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 02-229-2800 02-654-5599 ผู้สอบบัญชี (ประจำ�ปี 2555) นางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3970 ที่ตั้ง บริษัท สำ�นักงานเอินส์ทแอนด์ยัง จำ�กัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา ออฟฟิส คอมเพล็กซ์ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 02-264-0777 02-661-9190 โทรสาร 02-264-0790

1


ปี 2555 อย่างไรก็ตาม งบการเงินของบริษทั ฯ ยังคงจัดทำ�ขึน้ ภายใต้ขอ้ สมมติฐานการดำ�เนินงานต่อเนื่องของกิจการ โดยไม่ได้ปรับปรุงมูลค่า สินทรัพย์ในราคาทีอ่ าจขายได้ และไม่ได้ปรับปรุงหนีส้ นิ ตามจำ�นวนเงิน ทีจ่ ะต้องจ่ายคืน และจัดประเภทบัญชีใหม่ ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ ไม่สามารถ ดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง (Going Concern) ที่มีสาเหตุจากการที่ บริษทั ฯ มีขอ้ พิพาททางการค้า และคดีฟอ้ งร้องดังกล่าว ซึง่ ผลของข้อ พิพาท และคดีฟ้องร้องดังกล่าวยังไม่สามารถระบุได้ สำ�หรับแนวทางในการดำ�เนินงานในอนาคต นอกเหนือจากการทุ่มเท ดำ�เนินคดีอย่างเต็มความสามารถแล้ว จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล สภาวะธุรกิจน้�ำ มันของประเทศในปัจจุบนั ทุกคนคงปฏิเสธไม่ได้วา่ ธุรกิจ ประธานกรรมการ นี้มีข้อจำ�กัด ที่เกิดจากกลุ่มผู้ค้ารายใหญ่ ที่ครอบครองตลาดพลังงาน เกือบทั้งหมดของประเทศ ทำ�ให้ธุรกิจนี้มีข้อจำ�กัด ได้รับความกดดัน สืบเนื่องจากกรณีที่บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) บอกเลิกสัญญาซื้อ และมีความเสีย่ งทางธุรกิจทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ บริษทั ฯ จึงเห็นความจำ�เป็น ขายกากคอนเดนเสท (CR) ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักของบริษัทในการผลิต ที่จะต้องให้ความสำ�คัญในการแสวงหาแนวทางการลงทุนในธุรกิจอื่น น้ำ�มันดีเซลจำ�หน่ายให้ลูกค้า ทั้งที่บริษัทฯ ไม่เคยประพฤติผิดสัญญา นอกเหนือจากธุรกิจน้ำ�มันด้วย และสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาที่มีระยะเวลายาวสืบเนื่องต่อไปโดยไม่ ในปีนี้ บริษัทฯ จึงได้เข้าร่วมทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน ในโครงการ กำ�หนดเวลาสิ้นสุด (Evergreen Basis) บริษัทฯ จึงได้เสนอคดีโดยยื่น โรงไฟฟ้าชีวมวลชุมชนขนาดเล็ก (VSPP) โดยการเข้าซื้อหุ้นเพิ่มทุน ข้อเรียกร้องต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการในปี 2552 จากนัน้ จึงมีการฟ้อง ของ บริษัท เคพี เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ป จำ�กัด (KPEG) และขณะนี้บริษัทฯ คดีต่อศาลแพ่ง และเสนอคดีต่ออนุญาโตตุลาการอีกหลายคดี จน ถือหุน้ KPEG ร้อยละ 26 และหากประสบความสำ�เร็จตามทีต่ ง้ั เป้าไว้ ในที่สุดเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) บริษัทฯ มีแผนที่จะขยายโครงการเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต ได้หยุดส่งวัตถุดบิ หลัก (Condensate Residue, CR) ให้แก่บริษทั ฯ ซึง่ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซึง่ เป็นธุรกิจ ถือเป็นการปฏิบัติผิดสัญญาซื้อขาย ข้อ 15.5 อย่างร้ายแรง เนื่องจาก ทีม่ กี ารเจริญเติบโตสูงในปัจจุบนั โดยได้ซอ้ื หุน้ สามัญของ บริษทั สัมมากร สัญญาดังกล่าวระบุชัดเจนว่า ในขณะที่มีข้อพิพาทต่อกันคู่สัญญายังคง จำ�กัด (มหาชน) (SAMCO) จากผู้ถือหุ้นใหญ่ของ 2 ราย และซื้อหุ้น ต้องปฎิบตั ติ ามสัญญาต่อไปจนกว่าอนุญาโตตุลาการจะมีค�ำ วินจิ ฉัยถึงที่ เพิม่ ทุนอีกจำ�นวนหนึง่ รวมทัง้ สิน้ เป็นสัดส่วนร้อยละ 25.25 ของทุนจด สุด บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) จึงไม่มีสิทธิหยุดส่งกากคอนเดนเสท ทะเบียนของ SAMCO ในปัจจุบัน การลงทุนครั้งนี้ ถือเป็นการขยาย ความร่วมมือกับ SAMCO ซึ่งเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ ที่ได้ร่วมทุนกัน (CR) ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักแก่บริษัทฯ การหยุดส่งวัตถุดิบหลักลงอย่างสิ้นเชิงนี้ ส่งผลให้บริษัทฯ ต้องหยุด ทำ�ธุรกิจด้าน Community Mall มานานกว่า 5 ปีแล้ว เพื่อให้ครอบ การผลิตอย่างไม่มีกำ�หนดเวลา ตั้งแต่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้น คลุมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่กว้างขวางยิ่งขึ้น มา กรณีดังกล่าวกระทบต่อผลประกอบการของบริษัทฯ อย่างรุนแรง นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังอยูร่ ะหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ และการ เพราะนอกจากบริษัทฯ จะต้องหยุดการผลิต และธุรกรรมการขายลง เจรจาทางธุรกิจอื่นอีกหลายด้าน ทั้งด้านธุรกิจน้ำ�มัน ด้านการบริหาร จัดการ ด้านพลังงานทางเลือก และด้านที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ Comอย่างสิน้ เชิงแล้ว ยังส่งผลกระทบโดยตรงไปยังบริษทั ในเครือหลายบริษทั ที่ประกอบธุรกิจสืบเนื่องโดยตรงกับบริษัทฯ อันได้แก่ บริษัท เพียว munity Mall รวมถึงการร่วมทุนในธุรกิจที่บริษัทฯ มีความชำ�นาญ ไบโอดีเซล จำ�กัด และบริษัท จตุรทิศขนส่ง จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทลูกที่ แต่เนื่องจากขณะนี้ยังอยู่ระหว่างการเจรจา จึงยังไม่สามารถแจ้งราย บริษัทฯ ถือหุ้น 100% และมีบริษัทฯ เป็นลูกค้าหลักสำ�คัญ ทำ�ให้ทั้ง 2 ละเอียดได้ บริษัทนี้ต้องหยุดดำ�เนินกิจการตามไปด้วย เมื่อต้องสูญเสียรายได้หลัก ในนามของคณะกรรมการ ผมใคร่ขอขอบคุณผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ ไป บริษทั ฯ จำ�เป็นต้องปรับลดค่าใช้จา่ ยลงอย่างรวดเร็ว และมีนยั สำ�คัญ บริษทั คูค่ า้ ลูกค้า ผูบ้ ริหารทุกระดับ ตลอดจนพนักงานทุกท่าน ทีไ่ ด้รว่ ม ต้องใช้ประโยชน์จากทรัพย์สนิ ทีบ่ ริษทั ฯ มีอยู่ รวมทัง้ ต้องทำ�การปรับลด ทุกข์รว่ มสุขกับบริษทั ฯ ได้ทมุ่ เทแรงกายแรงใจช่วยกันแก้ไขปัญหาอย่าง ขนาดองค์กรให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในช่วงรอคำ�วินิจฉัยชี้ขาดของ สุดความสามารถ ในสถานการณ์ที่ยากลำ�บากตลอดทั้งปีนี้ ผม คณะ อนุญาโตตุลาการ และคำ�ตัดสินของศาลแพ่ง ซึง่ ไม่สามารถคาดเดาได้วา่ กรรมการของบริษัท และพนักงานทุกคน ตั้งใจที่จะฝ่าฟันปัญหาร้าย จะใช้เวลานานเท่าใด บริษทั ฯ จึงมีความจำ�เป็นอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ทีจ่ ะ แรงต่างๆ อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ เพือ่ ให้บริษทั ฯ ยังคงเป็นบริษทั ต้องเลิกจ้างพนักงานเกือบทั้งหมด คงเหลือเพียงจำ�นวนที่สอดคล้องกับ ที่มีธรรมาภิบาล ทั้งต่อผู้ถือหุ้น ต่อคู่ค้า ต่อลูกค้า และต่อพนักงานทุก ปริมาณงานทีย่ งั คงเหลืออยู่ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้จา่ ยเงินชดเชยให้แก่ ระดับ รวมทัง้ สามารถกลับมาทำ�กำ�ไร และให้ผลตอบแทนทีค่ มุ้ ค่าแก่ พนักงานทุกคนอย่างครบถ้วนตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด พร้อมทัง้ ได้จา่ ยเงิน ผูถ้ อื หุน้ สืบต่อไปอีก ถือเป็นความดีงามในอดีตทีผ่ า่ นมา และก็หวังว่าจะ พิเศษนอกเหนือจากทีก่ ฎหมายแรงงานกำ�หนด เพือ่ เยียวยาความเดือดร้อน สามารถสานต่อความดีงามนี้สืบไปในอนาคตด้วย ของพนักงานอย่างดีที่สุด เท่าที่จะสามารถกระทำ�ได้ในสถานการณ์ที่ วิกฤตเช่นนี้ เนื่องจากผลกระทบร้ายแรงที่ต้องหยุดการดำ�เนินธุรกิจหลัก ความ ไม่แน่นอนทางคดีความ และความไม่ชัดเจนในอนาคตของบริษัทฯ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ทำ�ให้ผู้สอบบัญชีจำ�เป็นต้องไม่แสดงความเห็นต่องบการเงินประจำ� ประธานกรรมการ 2

สาส์นจากประธานกรรมการ


คณะกรรมการบริ ษ ท ั ณ 31 ธันวาคม 2555

นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ประธานกรรมการ

นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ กรรมการ

นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการ

นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ กรรมการ

นายสุทัศน์ ขันเจริญสุข กรรมการ

ดร.วิชิต แย้มบุญเรือง กรรมการอิสระ / ประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ

นายอานุภาพ จามิกรณ์ กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ

นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ

นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร รก.ผู้จัดการทั่วไปสายบริหาร และการเงิน

นายวสันต์ ชื่อตรง ผู้จัดการทั่วไปสายโรงงาน

นางสาวกัลยา คล้ายทอง ผู้จัดการทั่วไปสายพัฒนาธุรกิจ

คณะผู้บริหาร

นางศิรพร กฤษณกาญจน์ ผู้จัดการใหญ่

3


นโยบาย และโครงสร้างด้านสังคม และ กิจกรรมตอบแทนสังคมของระยองเพียว

นโยบายด้านสังคมและตอบแทนสังคมของระยองเพียว บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด(มหาชน) และกลุม่ บริษทั ในเครือ (RPC Group) โดยคณะกรรมการ และผูบ้ ริหาร ซึง่ มีวสิ ยั ทัศน์และพันธกิจ ที่จะยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคมและ จึงได้กำ�หนดนโยบายความ รับผิดชอบต่อสังคม โดยผ่านกิจกรรมการช่วยเหลือสังคมในด้านต่างๆ ทั้งในรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ และไม่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ โครงสร้างหรือแผนงานด้านสังคมของระยองเพียว บริษัทฯ และบริษัทในเครือ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญที่จะแสดงถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ ด้านมวลชนสัมพันธ์ บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ ได้ให้ความสำ�คัญต่อชุมชน และงานด้าน มวลชนสัมพันธ์ต่อเนื่องเสมอมา เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ความ เข้าใจที่ดีต่อกัน โดยได้ดำ�รงสัมพันธภาพดีกับโรงเรียน ผู้นำ�ชุมชน และ หน่วยงานราชการ ในพืน้ ทีท่ บ่ี ริษทั ฯ มีคลังน้�ำ มัน หรือสถานีบริการน้�ำ มัน “เพียว” ตั้งอยู่ เช่น การจัดงานวันเด็ก การบริจาค รวมทั้งการมีส่วน ร่วมอื่น ๆ กับกิจกรรมของชุมชน ดังนี้ - สนับสนุนงานแก่งคอยย้อนรอยสงครามโลก ครัง้ ที่ 3 เมือ่ วันที่ 2-4 เมษายน 2555 โดยร่วมกับการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย สำ�นักงานลพบุรี และเทศบาลเมืองแก่งคอย พร้อมได้จดั กิจกรรมร่วมสนุก และมอบของ รางวัลมากมาย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชน - ร่วมสนับสนุนกิจกรรมประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟพยัคฆ์ ทีว่ า่ การอำ�เภอพยัคฆ์ ภูมิพิสัย เมื่อวันที่ 15-20 พฤษภาคม 2555 เพื่อสืบทอดรักษาประเพณี ของชุมชนต่อไป - ร่วมสนับสนุนงานเกษตรอีสานใต้ “มหัศจรรย์แห่งสายน้�ำ ” ระหว่าง วันที่ 26 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน 2555 โดยปีนี้บริษัทฯ ได้สนับสนุน ให้บริการน้ำ�มันสำ�หรับรถพ่วงไว้บริการนำ�ชมงาน ตลอดทั้ง 10 วัน ด้านกีฬา บริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมด้านกีฬา และเห็นความสำ�คัญใน สุขภาพของพนักงาน โดยการสนับสนุนให้จดั ตัง้ ชมรมกีฬา เพือ่ ให้พนักงาน ทุกคนได้ออกกำ�ลังกายและเป็นการสร้างความสัมพันธ์ทด่ี ตี อ่ กันระหว่าง หน่วยงาน และระหว่างผู้บริหารและพนักงาน รวมทั้งได้ใช้กีฬาสร้าง ความสัมพันธ์อันดี ระหว่างบริษัทฯ และชุมชน ในงานแข่งขันฟุตซอล เมือ่ วันที่ 17 ธันวาคม 2555 ณ สถานีบริการน้�ำ มันเพียว สาขาอุทมุ พรพิสยั จ.ศรีสะเกษ ซึง่ การสนับสนุนทางด้านกีฬาก็เป็นเป้าหมายหนึง่ ขององค์กร ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพชีวิตของชุมชนที่ดีขึ้น

4


ด้านการตอบแทนสังคม RPC Group สนับสนุนอุปกรณ์การศึกษา เนือ่ งในงานวันเด็กแห่งชาติ แก่ โรงเรียนทีอ่ ยูใ่ กล้เคียงสถานีบริการน้�ำ มันเพียว ซึง่ มีทง้ั ทุนการศึกษา และ อุปกรณ์การศึกษา เมือ่ วันเสาร์ท่ี 12 มกราคม 2556 ทีผ่ า่ นมา สร้างรอยยิม้ ให้กบั น้องๆ และเพือ่ เป็นขวัญและกำ�ลังใจ ให้กบั เด็กและเยาวชนในการ ร่วมทำ�กิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งได้สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนกล้าคิด และกล้าแสดงออก อันจะนำ�ไปสูบ่ คุ ลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพในวันข้างหน้าต่อไป และในปีที่ผ่านมา ชมรม RPC จิตอาสา ได้ติดตามผลการดำ�เนินงาน ในโครงการสร้างแปลงเกษตรตามทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง แบบถาวร ณ โรงเรียนบ้านภูงามโนนสะอาด จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งโครงการดังกล่าว เป็นการรณรงค์ให้ทางโรงเรียนได้ทำ�แปลงผักไว้รับประทานเอง ซึ่งใน ปัจจุบันทางโรงเรียนสามารถนำ�ผลิตผลที่ได้ไปปรุงเป็นอาหารกลางวัน สำ�หรับนักเรียนได้แล้ว RPC ร่วมแสดงความยินดีใน พิธีเปิดศูนย์การค้าเพียวเพลส ราชพฤกษ์ เมือ่ วันเสาร์ท่ี 12 พฤษภาคม 2555 ทีผ่ า่ นมา คณะผูบ้ ริหารบริษทั ระยอง เพียวริฟายเออร์ จำ�กัด(มหาชน) ได้รว่ มในพิธเี ปิดศูนย์การค้าเพียวเพลส ราชพฤกษ์ ซึ่งจะเป็นศูนย์การค้าสีเขียว เน้นการอนุรักษ์พลังงาน และ ธรรมชาติที่ร่มรื่น โดยมี นายดุลยเดช วัชรสินธุ์ รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดนนทบุรี เป็นประธาน ในพิธีเปิดศูนย์การค้าอย่างเป็นทางการใน Concept “The Green Living Mall” ซึง่ ในช่วงเช้าได้มกี ารจัดกิจกรรม “แรลลีเ่ พียวเพลส เพือ่ สิ่งแวดล้อมสีเขียว” เส้นทางกรุงเทพ – อยุธยา โดยเริ่มจุดสตาร์ท ณ ศูนย์การค้าเพียวเพลส ราชพฤกษ์ มีผรู้ ว่ มกิจกรรมแข่งขันแรลลีก่ ว่า 100 คัน ซึ่งรายได้ในการจัดกิจกรรมแรลลี่ครั้งนี้ ได้นำ�ขึ้นทูลเกล้าถวาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

5


ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน Financial Highlights

อัตราส่วนทางการเงิน หน่วย Financial Ratios Unit อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่า (Current Ratio) Inventory Turnover Ratio เท่า ระยะเวลาการเก็บหนี้ วัน (Average Collection Period) อัตรากำ�ไรสุทธิ % Net Profit Margin อัตรากำ�ไรขั้นต้น % Gross Profit Margin อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น % Return on Equity อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ % Return on Assets กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น บาท Net Profit per Share Baht มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น บาท Book Value per Share Baht อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่า Debt to Equity Ratio X อัตราส่วนหนีส้ นิ ระยะยาวต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ เท่า Long-term Loan to Equity Ratio X

6

31 ธันวาคม 2553 31 Dec. 2010 1.11

31 ธันวาคม 2554 31 Dec. 2011 1.01

31 ธันวาคม 2555 31 Dec. 2012 0.59

15.57 7.00

19.09 10.00

11.29 15.00

1.00

0.71

(2.01)

3.33

3.59

3.46

13.55

11.03

(14.96)

4.49

4.20

(4.97)

0.37

0.32

(0.25)

2.92

2.92

1.69

2.02

1.63

2.01

0.34

0.25

0.04


ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน (หน่วย : ล้านบาท)

Financial Position and Operating Results (Unit : Million Baht)

รายการทางเงิน Financial Transaction สินทรัพย์รวม Total assets หนี้สินรวม Total liabilities ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม Total Shareholders’ equity รายได้จากการขาย Revenue from sales รายได้รวม Total revenue กำ�ไรขั้นต้น Gross profit กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ค่าเสื่อมราคา และภาษีเงินได้ EBITDA กำ�ไรสุทธิ Net profit กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (บาท) Earnings per share (Baht)

31 ธันวาคม 2553 31 Dec. 2010 4,364

31 ธันวาคม 2554 31 Dec. 2011 4,067

31 ธันวาคม 2555 31 Dec. 2012 2,690

2,917

2,519

1,797

1,446

1,548

893

19,544

24,212

6,653

19,744

24,452

6,936

651

869

230

426

523

41

200

171

(133)

0.40

0.32

(0.25)

7


รายงานผลการดำ�เนินงาน

ในรอบปี 2555 บริษัทฯ ขอสรุปผลการดำ�เนินงาน ได้ดังนี้ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 บริษทั ปตท จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ เป็นผูจ้ �ำ หน่าย วัตถุดบิ รายเดียว ได้หยุดส่งวัตถุดบิ ให้แก่บริษทั ฯ ทำ�ให้บริษทั ฯ ต้องหยุด การผลิตอย่างไม่มกี �ำ หนดเวลา ซึง่ ได้สง่ ผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อบริษทั ฯ และบริษัทย่อย ทำ�ให้ 1.บริษัทฯ มีความจำ�เป็นต้องทยอยเลิกจ้างพนักงานโดยจ่ายค่า ชดเชยตามที่กฎหมายกำ�หนดอย่างครบถ้วน และปรับลดโครงสร้าง องค์กรให้เล็กลงอย่างมาก (Down-Sizing) เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย 2. บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (“PBC”) บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุน้ ในอัตราร้อยละ 99.99 ประกอบธุรกิจผลิตน้�ำ มันไบโอดีเซล (B100) ส่งขายให้แก่บริษทั ฯ เพือ่ ใช้ผสมในน้�ำ มันดีเซลของบริษทั ฯ ต้องหยุดการ ผลิตอย่างไม่มีกำ�หนดตามไปด้วย เนื่องจากขาดลูกค้าหลัก คือบริษัทฯ ทัง้ นี้ PBC ได้ลดค่าใช้จา่ ยทุกด้านเพือ่ พยุงสภาพคล่อง โดยมีการเลิกจ้าง พนักงานโดยจ่ายค่าชดเชยครบถ้วน และจ่ายคืนหนี้ธนาคารเพื่อลดค่า ดอกเบี้ยจ่าย 3.บริษทั เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด (“SCT”) บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ในอัตราร้อยละ 99.99 และบริษทั ในเครือ อีก 7 ทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ในอัตราร้อยละ 99.86 ตามการปรับโครงสร้างใหม่ รวมเป็น 8 บริษัท ทีป่ ระกอบธุรกิจค้าส่งน้�ำ มัน ขนส่ง ต้องหยุดธุระกรรมซือ้ ขายลงโดยสิน้ เชิง และต้องเลิกจ้างพนักงานโดยจ่ายค่าชดเชยเช่นกัน

ใช้จ่ายในการขาย และบริหาร 593 ล้านบาท ในปี 2555 บริษัทฯ มีขาดทุนสุทธิ เท่ากับ 134 ล้านบาท ลดลง 305 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ178 เทียบกับในปี 2554 ซึ่งมีกำ�ไรสุทธิ เท่ากับ 171 ล้านบาท

ด้านการผลิต

ปี 2555 บริษทั ฯ ได้หยุดการผลิตอย่างไม่มกี �ำ หนดตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ทำ�ให้การผลิตรวมทั้งสิ้น 232 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 3.99 KBD คิดเป็นการใช้ก�ำ ลังการผลิตเท่ากับ 21.129 % จากกำ�ลังการผลิต 17 KBD เทียบกับในปี 2554 ซึง่ ผลิตรวมทัง้ สิน้ 681 ล้านลิตร หรือเทียบ เท่า 11.73 KBD คิดเป็นการใช้ก�ำ ลังการผลิต 62.067% เทียบกับกำ�ลัง การผลิต 17 KBD นอกจากนีก้ ารใช้เชือ้ เพลิงต่อการผลิต (FOEB) ในปี 2555 เป็น 1.80% เพิ่มขึ้นจากในปี 2554 ที่ใช้ 1.60% ทั้งนี้ผลิตภัณฑ์ ทีไ่ ด้สว่ นใหญ่จะเป็นน้�ำ มันดีเซล ส่วนทีเ่ หลือจะเป็น เคมีภณ ั ฑ์ และน้�ำ มัน เตา และผลิตภัณฑ์อื่นๆ

โครงการในอนาคต

บริษัทฯ มีโครงการเพื่อเพิ่มผลตอบแทนให้กับผู้ถือหุ้น และสามารถต่อ ยอดธุรกิจของบริษัทฯ และเพิ่มยอดรายได้ของบริษัทฯ คือ ผลประกอบการ 1. โครงการลงทุนในโครงการพลังงานทดแทน บริษัทฯ มีรายได้หลักจากการจำ�หน่ายน้ำ�มันสำ�เร็จรูปประเภท บริษทั ฯ มีความสนใจการลงทุนด้านพลังงานทดแทน อาทิโครงการผลิต น้ำ�มันดีเซล เบนซิน 91 แก๊สโซฮอลล์ 91 แก๊สโซฮอลล์ 95 เคมีภัณฑ์ ไฟฟ้าชีวมวล VSPP, การผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ หรือโครงการพลังงาน และน้�ำ มันเตา ซึง่ บริษทั ฯ มีรายได้จากการจำ�หน่ายน้�ำ มัน และเคมีภณ ั ฑ์ ทดแทนทางเลือกอืน่ ๆ เพือ่ เป็นการตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ในการ ในปี 2555 จำ�นวน 6,654 ล้านบาท ลดลงจากปี 2554 ซึ่งมีรายได้เป็น ลดการนำ�เข้าเชือ้ เพลิงปิโตรเลียมจากต่างประเทศ โดยใช้ผลผลิตทางการ จำ�นวน 24,212 .ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 73 โดย บริษัทฯ มีรายได้ เกษตรภายในประเทศ ต่อลิตรจำ�หน่ายเฉลี่ยเท่ากับ 28.73 บาทต่อลิตรในปี 2555 และ 26.99 2. โครงการด้านอสังหาริมทรัพย์ บาทต่อลิตรในปี 2554 และมียอดจำ�หน่ายน้ำ�มันและเคมีภัณฑ์รวม ใน บริษัทฯ มีความสนใจการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ โดยมีการร่วมทุน ปี 2555 เป็นจำ�นวน 232 ล้านลิตร เทียบกับปี 2554 ซึ่งมียอดจำ�หน่าย กับบริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) (SAMCO) จัดตัง้ บริษทั เพียวสัมมากร น้ำ�มัน และเคมีภัณฑ์รวม 897 ล้านลิตรลดลง ร้อยละ 74 เป็นผลมา ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (PSDC) เพื่อพัฒนาที่ดินในเขตกรุงเทพ และ จากปริมาณการผลิตลดลงเนือ่ งจากหยุดการผลิตอย่างไม่มกี �ำ หนดตัง้ แต่ ปริมณฑลให้เป็นศูนย์การค้าประชาคม (Community Mall) แบบครบ เดือนกุมภาพันธ์ ทำ�ให้มีการเพิ่มปริมาณการซื้อมาขายไปมากขึ้นและ วงจร ภายใต้ชื่อ “ศูนย์การค้าเพียวเพลส” เป็นรูปแบบศูนย์การค้า ทัน ราคาน้ำ�มันเพิ่มสูงขึ้นจากปีก่อน สมัย ใกล้ชมุ ชน ซึง่ ปัจจุบนั มีศนู ย์การค้าเพียวเพลส จำ�นวน 3 แห่ง คือ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายรวมในปี 2555 ทั้งสิ้น 7,056 สาขารังสิตคลอง 2 สาขารามคำ�แหง และสาขาราชพฤกษ์ และยังมีแผน ล้านบาท ลดลงร้อยละ 71 เมือ่ เทียบกับ 24,092 ล้านบาท ของปี 2554 ขยายโครงการใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแบ่งเป็นค่าใช้จ่าย 2 ประเภทหลัก คือ ต้นทุนขาย และค่าใช้จ่าย นอกจากนี้บริษัทฯ มีการขยายความร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจเดิม ในการขายและบริหาร โดยต้นทุนขายของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยลดลง คือ SAMCO เพื่อครอบคลุมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้กว้างขึ้น และเพิ่ม 16,919 ล้านบาท หรือ ลดลงร้อยละ 72 จาก 23,343 ล้านบาท (เฉลี่ย การรับรูก้ �ำ ไร โดยการเข้าซือ้ หุน้ สามัญของ SAMCO ในเดือนพฤศจิกายน 26.02 บาทต่อลิตร) ในปี 2554 เป็น 6,423 ล้านบาท (เฉลี่ย 27.74 2555 จำ�นวน 111.64 ล้านหุน้ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 24.81 และเดือน บาทต่อลิตร) ในปี 2555โดยการลดลงของต้นทุนขายเป็นผลมาจาก มกราคม 2556 ได้มีการซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตาม ปริมาณผลิตลดลงเนื่องจากหยุดการผลิตอย่างไม่มีกำ�หนดตั้งแต่เดือน สัดส่วน (Rights offering) จำ�นวน 37.21 ล้านหุน้ ทำ�ให้สดั ส่วนการถือ กุมภาพันธ์ ทำ�ให้มีการเพิ่มปริมาณการซื้อมาขายไปมากขึ้น และราคา หุ้นของบริษัทฯ ใน SAMCO เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 24.81 เป็นร้อยละ น้ำ�มันเพิ่มสูงขึ้นจากปีก่อน 25.25 และทาง SAMCO มีแผนขยายโครงการในอนาคต อาทิ โครงการ สำ�หรับค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหารของบริษัทฯ ในปี 2555 คอนโดมิเนียม บ้านเดีย่ ว พร้อมขยายตลาดสูภาคอีสาน และภาคเหนือ มีมูลค่ารวม 522 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 12 เทียบกับปี 2554 ซึ่งมีค่า เป็นต้น 8


โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ

ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก โดยนับรวมการถือหุ้นโดยผู้ที่เกี่ยวข้องกันตามมาตรา 258 แห่งพระราช บัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

1. 2. 3 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อผู้ถือหุ้น

จำ�นวนหุ้นที่ถือ

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ) (1)

บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท์ จำ�กัด 158,293,625 นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ และคู่สมรส 34,035,250 น.ส.ปริญณี เจนธรรมนุกูล 17,908,575 น.ส.มณฑนา เจนธรรมนุกูล 15,542,700 นายปิติ ธรรมมงคล 10,030,900 นายสัจจา เจนธรรมนุกูล 9,312,375 นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 8,309,075 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด 7,464,581 คณะบุคคลซื่อสกุล โดย นางปริญญา ขันเจริญสุข 6,666,250 นายยรรยง นิติสาโรจน์ 5,365,700 รวม 272,929,031

29.87 6.42 3.38 2.93 1.89 1.76 1.57 1.40 1.25 1.01 51.48

ที่มา : ทะเบียนรายชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 หมายเหตุ : คำ�นวณจากหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชำ�ระแล้วจำ�นวน 529,870,229 หุ้น

โครงสร้างการจัดการ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ ผู้จัดการใหญ่ กลุ่มบริษัทในเครือ 1 สำ�นักตรวจสอบภายใน

กลุ่มบริษัทในเครือ 2

เลขานุการ

สายบริหารและการเงิน

สายโรงงาน

โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการ 3 ชุด คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

สายพัฒนาธุรกิจ 9


คณะกรรมการบริษัท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 8 ท่าน มีดังนี้ รายชือ่ 1. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 2. นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 3. นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล 4. นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ 5. นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข 6. ดร.วิชติ แย้มบุญเรือง 7. นายอานุภาพ จามิกรณ์ 8. นายพิพธิ

พิชยั ศรทัต

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท : นางศิรพร กฤษณกาญจน์ เลขานุการบริษัทฯ : นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัทฯ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ประกอบด้วย 1. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการสองในสามคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกัน และ ประทับตราบริษัทฯ หรือ 2. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล หรือ นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ หรือ นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อร่วมกับ นาย สุทัศน์ ขันเจริญสุข หรือนายธวัช อึ้งสุประเสริฐ รวมเป็นสองคน และ ประทับตราบริษัทฯ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการอาจแต่งตั้งบุคคลอื่นใดให้ดำ�เนินกิจการของบริษัทฯ ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอำ�นาจเพือ่ ให้บคุ คล ดังกล่าวมีอ�ำ นาจตามทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร และภายในระยะเวลา ที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอนหรือ เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขอำ�นาจนั้นๆ ได้ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารมีอ�ำ นาจหน้าทีใ่ นการปฏิบตั งิ านต่างๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอำ�นาจตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะ กรรมการบริหาร การมอบอำ�นาจดังกล่าวต้องไม่มีลักษณะเป็นการมอบ อำ�นาจ หรือมอบอำ�นาจช่วงทีท่ �ำ ให้คณะกรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบ อำ�นาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อื่นใด (ตามที่สำ�นักงาน ก.ล.ต. ประกาศกำ�หนด) ทำ�กับบริษัทฯ หรือ บริษทั ย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย และหลัก เกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติไว้ 2. คณะกรรมการมีอำ�นาจกำ�หนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการ ผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ได้ 10

3. คณะกรรมการอาจจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ได้เป็นครัง้ คราว เมือ่ เห็นว่าบริษทั ฯ มีผลกำ�ไรสมควรพอทีจ่ ะทำ�เช่นนัน้ และรายงาน ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมผู้ถือหุ้นคราวต่อไป 4. คณะกรรมการต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่ใน เรื่องที่ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนดำ�เนินการ เช่นเรื่อง ที่กฎหมายกำ�หนดให้ต้องได้รับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น การทำ�รายการที่ เกี่ยวโยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพย์ที่สำ�คัญตามกฎเกณฑ์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตามที่หน่วยงานราชการอื่นๆ กำ�หนด เป็นต้น 5. คณะกรรมการต้องประชุมกันอย่างน้อยสามเดือนต่อครั้ง โดยมี กรรมการมาร่วมประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำ�นวนกรรมการทัง้ หมด การวินจิ ฉัยชีข้ าดของทีป่ ระชุมคณะกรรมการให้ถอื เสียงข้างมาก กรรมการ คนหนึ่งมีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน เว้นแต่กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสีย ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น และถ้า คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มอีกหนึ่งเสียง เพื่อเป็นเสียงชี้ขาด 6. คณะกรรมการต้องจัดให้มกี ารประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำ�ปีภายใน สี่เดือน นับแต่วันสิ้นสุดของรอบปีบัญชีของบริษัทฯ 7. กรรมการต้องแจ้งให้บริษัทฯ ทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่กรรมการ มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่บริษัทฯ ทำ�ขึ้น หรือในกรณีที่จำ�นวนหุ้นหรือหุ้นกู้ของบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือที่ กรรมการถืออยู่มีจำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 8. กรรมการต้องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็น การแข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน สามัญหรือเป็นหุ้นส่วนไม่จำ�กัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำ�กัดหรือ เป็นกรรมการของบริษทั จำ�กัดหรือบริษทั มหาชนจำ�กัดอืน่ ใด ทีป่ ระกอบ กิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของ บริษัทฯ ไม่ว่าเข้าทำ�เพื่อประโยชน์ตนเอง หรือประโยชน์ผู้อื่น เว้นแต่ จะได้แจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้งกรรมการผู้นั้น คุณสมบัติของกรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ มีความเป็นอิสระตามนิยามความ เป็นอิสระของกรรมการอิสระ โดย 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดใน บริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง 2. ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง 3. ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้องและบุตร รวมทั้งคู่สมรส ของบุตร ของผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี �ำ นาจควบคุม หรือบุคคล ทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็นผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั ฯ หรือบริษัทย่อย


4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษทั ร่วมหรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการ ขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรือผู้บริหาร ของผู้ที่มี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 5. ไม่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การของ สำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัท ย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ 6.ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ ปรึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า สองล้านบาทต่อปีจากบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือ นิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง รวมทัง้ ไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการ ซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ ของผูใ้ ห้บริการ ทางวิชาชีพนั้น ด้วย 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้น เพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการ ของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษัทฯ 8. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ เกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ 9. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ให้ตดั สิน ใจในการดำ�เนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง และไม่เป็น กรรมการของบริษทั จดทะเบียนทีเ่ ป็นบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน 10. มีหน้าทีใ่ นลักษณะเดียวกับทีก่ �ำ หนดไว้ในประกาศตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยว่าด้วยคุณสมบัตแิ ละขอบเขตการดำ�เนินงานของคณะ กรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 3 ท่าน มีดังนี้ รายชือ่ 1. ดร.วิชติ แย้มบุญเรือง 2. นายอานุภาพ จามิกรณ์ 3. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต

ตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ : นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและ มีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้าง ประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจำ�ปีของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยว ข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ เพื่อทำ� หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดัง กล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม ประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มน่ั ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สงู สุด ต่อบริษัทฯ 6.จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงาน ประจำ�ปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ และเป็นไปตามหลักเกณฑที่ตลาดหลักทรัพยฯ กำ�หนดไว 7. สอบทาน และรายงานผลการสอบของบริษทั ฯ ต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้มน่ั ใจว่ากรอบการบริหารความเสีย่ ง และกระบวนการของบริษทั ฯ ได้รบั การประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอย่างสม่�ำ เสมอและเสนอ แนะการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ 8. สอบทานความถูกตอง และประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ เกีย่ วของกับรายงานการเงิน และการควบคุมภายใน ทานระบบบริหาร ความเสี่ยง 9. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตามวิธีการและ มาตรฐานที่ยอมรับโดย ทั่วไป 10. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และ กฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 11. คณะกรรมการตรวจสอบ อาจแสวงหาความเห็นที่เปนอิสระจากที่ ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใด เมื่อเห็นวาจำ�เปน ดวยคาใชจายของบริษัทฯ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้การดำ�เนินกาวาจาง ใหเปนไปตามระเบียบขอกำ�หนดของบริษัทฯ 12. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั มอบหมายด้วยความ เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

11


คณะกรรมการสรรหา

และพิจารณาค่าตอบแทน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 4 ท่าน มีดังนี้ รายชือ่ 1. ดร. วิชติ แย้มบุญเรือง 2. นายธวัช

อึง้ สุประเสริฐ

3. นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข 4. นายพิพธิ

พิชยั ศรทัต

ตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการสรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน

ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 1. พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ และผู้จัดการใหญ่ เพื่อเสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ 2. สรรหากรรมการ และผูจ้ ดั การใหญ่ เพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ 3.เรื่องอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

คณะผู้บริหาร

31 ธันวาคม 2555 ผู้บริหารของบริษัทฯ มีจำ�นวน 4 ท่าน ดังนี้ รายชือ่ 1. นางศิรพร กฤษณกาญจน์ 2. นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร 3. นายวสันต์ ซือ่ ตรง 4. นางสาวกัลยา คล้ายทอง

ตำ�แหน่ง ผูจ้ ดั การใหญ่ รักษาการ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายบริหาร และการเงิน ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายโรงงาน ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายพัฒนาธุรกิจ

ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องผูจ้ ดั การใหญ่ ผูจ้ ดั การใหญ่ มีอ�ำ นาจและหน้าทีเ่ กีย่ วกับการบริหารกิจการบริษทั ฯ ตาม ทีค่ ณะกรรมการจะมอบหมาย และจะต้องบริหารบริษทั ฯ ตามแผนงาน หรืองบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการอย่างเคร่งครัด ซือ่ สัตย์ สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ อย่างดี ทีส่ ดุ อำ�นาจหน้าทีข่ องผูจ้ ดั การใหญ่ให้รวมถึงเรือ่ งหรือกิจการต่างๆ ดัง ต่อไปนี้ด้วย 1. ดำ�เนินกิจการ และ/หรือ บริหารงานประจำ�วันของบริษัทฯ 2. บรรจุ แต่งตัง้ เลือ่ นตำ�แหน่งพนักงาน ปรับเงินเดือนพนักงาน ซึง่ ผ่าน ความเห็นชอบตามสายงานตามระเบียบที่คณะกรรมการกำ�หนด 3. พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพย์ถาวรมูลค่าไม่เกิน 10,000,000 บาท (สิบล้านบาท) ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามข้อบังคับของสำ�นักงานกำ�กับตลาด ทุนในเรื่องเกี่ยวกับการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัท จดทะเบียน หรือรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือกฎระเบียบของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 12

4. ดำ�เนินการให้มีการจัดทำ� และส่งมอบนโยบายทางธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงแผนงานและงบประมาณต่อคณะกรรมการ เพื่อขออนุมัติ และมี หน้าที่รายงานความก้าวหน้าตามแผน และงบประมาณที่ได้รับอนุมัติดัง กล่าวต่อคณะกรรมการใน ทุกๆ 3 เดือน 5. ดำ�เนินการหรือปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบ ประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ ทัง้ นี้ การใช้อ�ำ นาจของผูจ้ ดั การ ใหญ่ดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทำ�ได้ หากผู้จัดการใหญ่อาจมีส่วนได้ เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใดๆ กับบริษัทฯ ในการใช้อำ�นาจดังกล่าว การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริษทั ฯ มีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนโดยเฉพาะ ทัง้ นี้ บุคคลที่จะได้รับการแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการและผู้บริหารของ บริษทั ฯ จะต้องมีคณ ุ สมบัตคิ รบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของบริษทั ฯ และไม่มลี กั ษณะต้อง ห้ามตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เกีย่ วกับเรือ่ ง การขออนุญาต และการอนุญาตให้เสนอขายหุน้ ทีอ่ อกใหม่ ฉบับลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 โดยการคัดเลือกจะดำ�เนินการดังนี้ องค์ประกอบ และการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการของบริษทั ฯ ต้องมีจ�ำ นวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน และไม่เกินกว่า 15 คน เลือกตัง้ โดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และกรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของ จำ�นวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ข้อบังคับของ บริษทั ฯ กำ�หนดให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และ วิธีการต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2. ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ ง้ั หมดตาม (1) เลือกตัง้ บุคคล เดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใด มากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลทีไ่ ด้รบั คะแนนสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็นผูไ้ ด้รบั เลือกเป็นกรรมการ เท่าจำ�นวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบ่ี คุ คล ซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวน กรรมการที่จะพึงมี ให้ประธานที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด เมือ่ มีการประชุมสามัญประจำ�ปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่ง จำ�นวนหนึ่งในสามของจำ�นวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจำ�นวนกรรมการ จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ทส่ี ดุ กับส่วน หนึง่ ในสาม กรรมการซึง่ พ้นจากตำ�แหน่ง อาจได้รบั เลือกให้กลับเข้ามารับ ตำ�แหน่งอีกก็ได้ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทฯ คือ กรรมการสองคน ลง ลายมือชื่อ และประทับตราสำ�คัญของบริษัทฯ


องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยแต่ง ตัง้ บุคคลอย่างน้อย 3 คนและมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3 ปี โดยบุคคลดัง กล่าว ต้องที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศของคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย

ค่าตอบแทนผู้บริหาร

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ปี 2554 ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม 10 ราย เท่ากับ 36.60 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปเบีย้ ประชุมและบำ�เหน็จกรรมการ ซึ่งแปรตามผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารรวม 15 ราย จำ�นวน 38.51 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือน และโบนัสซึง่ แปรตาม ผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ปี 2555 ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ รวม 9 ราย เท่ากับ 2.49 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปเบีย้ ประชุมและบำ�เหน็จกรรมการซึง่ แปรตามผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารรวม 6 ราย จำ�นวน 18.90 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือน และโบนัสซึง่ แปรตาม ผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ โดยค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคลมีรายละเอียดดังนี้ รายชือ่ 1. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล 2. นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล 3. นายสุมิตร ชาญเมธี 4. นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 5. นายสุทัศน์ ขันเจริญสุข 6. นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ 7. ดร.วิชิต แย้มบุญเรือง 8. นายอานุภาพ จามิกรณ์ 9. นายพิพิธ พิชัยศรทัต 10. นายวีระวัฒน์ ชลวณิช รวมเงินทั้งสิ้น

ปี 2554 4,160,872 3,677,797 3,677,797 3,677,797 3,717,797 3,707,797 3,827,797 3,752,797 3,797,797 2,600,500 36,598,750

ปี 2555 352,500 235,000 240,000 240,000 257,500 247,500 320,000 290,000 310,000 0 2,492,500

ค่าตอบแทนอื่นๆ ใน ปี 2554 กรรมการบริหารและผูบ้ ริหารรวม 15 ราย (ไม่รวมกรรมการ อิสระ) ได้รับเงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ จำ�นวน 3.15 ล้านบาท ใน ปี 2555 กรรมการบริหารและผูบ้ ริหารรวม 6 ราย (ไม่รวมกรรมการ อิสระ) ได้รับเงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ จำ�นวน 1.25 ล้านบาท 13


การกำ�กับดูแลกิจการ บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน ของบริษทั ฯ ทุกระดับชัน้ ทัง้ ในส่วนของพนักงานระดับปฏิบตั งิ าน ผูบ้ ริหาร ตลอดจนคณะกรรมการ ซึง่ เป็นพืน้ ฐานสำ�คัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพ และเพิม่ ประสิทธิผลในการประกอบกิจการของบริษทั ฯ เพือ่ ประโยชน์ใน ระยะยาวของผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า นักลงทุน และสาธารณชนทัว่ ไป ซึง่ หลักการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ดังมีราย ละเอียดดังนี้ิ

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น

ผู้ถือหุ้น : สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการของบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญในการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี การมีมาตรฐานที่เป็นสากล และความสอดคล้องกับนโยบาย ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทัง้ ความสำ�คัญต่อสิทธิของผูถ้ อื หุน้ และได้สง่ เสริมให้ผถู้ อื หุน้ ได้ใช้สทิ ธิของตน โดยได้จดั ตัง้ คณะกรรมการ ตรวจสอบเพือ่ ช่วยกำ�กับดูแลกิจการในด้านต่างๆ เพือ่ สนับสนุนวัฒนธรรม องค์กร และจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเชือ่ มัน่ เป็นอย่างยิง่ ว่า กระบวนการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี จะช่วย ส่งเสริมผลการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และเป็นหัวใจในการบรรลุเป้าหมาย พืน้ ฐานทีส่ �ำ คัญยิง่ อย่างหนึง่ อันจะส่งผลให้เกิดการเพิม่ มูลค่าสูงสุดแก่ผถู้ อื หุน้ คุณค่าที่บริษัทฯมุ่งหวัง และคาดหวังให้กรรมการ และพนักงานทุก คนถือปฏิบัติในทุกภารกิจได้แก่ การปฏิบัติงานด้วยความรู้ความสามารถอย่างมืออาชีพด้วยความ ซื่อสัตย์ และมีคุณธรรม การสร้างความสามัคคีในการทำ�งานร่วมกัน การยึดมั่นในหลักการของระเบียบวินัยการปฏิบัติงานที่ดี เพื่อช่วย พัฒนาบริษัทฯ ประเทศชาติ และสังคมโดยรวม การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน และมีความพร้อมในการตอบสนองต่อทุก สถานการณ์ ในการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดทีจ่ ะจัดส่งหนังสือเชิญ ประชุมพร้อมเอกสารประกอบก่อนการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้เป็นตามระยะเวลาขัน้ ต่�ำ ทีก่ ฎหมายกำ�หนด นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียม กัน ผูถ้ อื หุน้ สามารถใช้สทิ ธิออกเสียงลงคะแนนได้อย่างเป็นอิสระในการ เลือกคณะกรรมการบริษทั การลงมติ การแสดงความคิดเห็นและการตัง้ คำ�ถามใดๆ ต่อทีป่ ระชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรือ่ งทีเ่ สนอ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิและความเท่าเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที่ ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ เปิดเผยครบถ้วน และสามารถตรวจสอบข้อมูล ต่างๆ ได้ รวมทัง้ บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะเพิม่ ทางเลือกให้กบั ผูถ้ อื หุน้ โดย ให้กรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือหุ้น ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่ สามารถเข้าร่วมประชุมได้

14

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ผู้ ถือหุ้นสามารถใช้สทิ ธิออกเสียงลงคะแนนได้อย่างเป็นอิสระในการเลือก คณะกรรมการบริษัทฯ การลงมติ การแสดงความคิดเห็น และการตั้ง คำ�ถามใดๆ ต่อทีป่ ระชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรือ่ งทีเ่ สนอ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิ และความเท่าเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที่ ถูกต้องทันต่อเหตุการณ์ เปิดเผยครบถ้วน และสามารถตรวจสอบข้อมูล ต่างๆได้รวมทั้งบริษัทฯมีนโยบายที่จะเพิ่มทางเลือกให้กับผู้ถือหุ้นโดย ให้กรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือหุ้น ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่ สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ตลอดการดำ�เนินงานทีผ่ า่ นมา คณะกรรมการบริษทั และฝ่ายบริหาร ได้ พิจารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบด้วยความ ซือ่ สัตย์สจุ ริต มีเหตุผล และเป็นอิสระภายใต้กรอบจริยธรรมทีด่ ี เพือ่ ผล ประโยชน์ของบริษทั ฯ โดยรวมเป็นสำ�คัญ เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใส และ ป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน บริษัทฯ อยู่ระหว่างร่างคำ�สั่ง เพื่อถือปฏิบัติในการห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานระดับปฏิบัติ งาน ใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือทีม่ สี าระสำ�คัญ และ ยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือผู้อื่น นอก จากนีห้ ากมีการทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันบริษทั ฯ จะปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารตามทีป่ ระกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตลอดการดำ�เนินงานที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายบริหาร ได้พจิ ารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต มีเหตุผล และเป็นอิสระภายใต้กรอบจริยธรรมที่ดี เพือ่ ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ โดยรวมเป็นสำ�คัญ เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใส และป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน บริษัทฯ อยู่ระหว่างร่าง คำ�สั่งเพื่อถือปฏิบัติในการห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานระดับ ปฏิบตั งิ าน ใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือทีม่ สี าระสำ�คัญ และยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือผู้อื่น นอกจากนีห้ ากมีการทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันบริษทั ฯ จะปฏิบตั ติ ามหลัก เกณฑ์ และวิธีการตามที่ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย


3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย สิทธิของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ บริษทั ฯ ได้ให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็น ผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ พนักงาน และผู้บริหารของบริษัทฯ และ บริษทั ย่อย หรือผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ได้แก่ คูแ่ ข่ง เจ้าหนี้ ภาครัฐและ หน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยบริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดขอกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิของผู้มีส่วนได้เสียเหล่านี้ ได้รับการดูแลอย่างดี ตลอดการดำ�เนินงานที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้มีการ ปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรมโดยให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสมการซื้อสินค้า และบริการจากคู่ค้าเป็นไปตามเงื่อนไข รวมถึง การปฏิบัติตามสัญญาต่อคู่ค้า มีความเอาใจใส่ และรับผิดชอบต่อลูกค้า รักษาความลับของลูกค้า อีกทั้งจรรยาบรรณของบริษัทฯ ได้มีการระบุ ถึงการประพฤติปฏิบตั ภิ ายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันทีด่ ี ไม่แสวงหา ข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยวิธกี ารทีไ่ ม่สจุ ริตไม่เหมาะสม และบริษัทฯ มีนโยบายที่จะประกอบธุรกิจโดยคำ�นึงถึงการพัฒนาและ เจริญเติบโตควบคู่ไปกับชุมชน

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการ โดยตระหนักถึงความสำ�คัญเนื่องจากเป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ให้มีความมั่นคงและเจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืน ส่วนการ กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินงานนั้น บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญเรื่อง การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คณะ กรรมการบริษัท ได้มีการประเมินความเพียงพอการควบคุมภายใน ร่วมกันเป็นประจำ�ทุกปีตั้งแต่ปี 2546 เป็นต้นมาและมีการกำ�กับดูแล การดำ�เนินงานของฝ่ายบริหาร โดยกำ�หนดให้คณะกรรมการบริหาร ดำ�เนินธุรกิจตามนโยบายอย่างมีประสิทธิภาพเพือ่ ให้บริษทั ได้ปฏิบตั ติ าม หลักการการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้เปิดเผยข้อมูลครบถ้วนตามแนวทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ มีการรายงานไว้ทง้ั ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษผ่านทาง Website ของบริษัทฯ รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย และสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจำ�ปี และ จัดให้มรี ะบบควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิผล เพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ การบันทึก ข้อมูลทางบัญชีมคี วามถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอทีจ่ ะดำ�รงรักษาไว้ ซึง่ ทรัพย์สนิ ทำ�ให้ทราบจุดอ่อน และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต หรือดำ�เนินการทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ ความสัมพันธ์กบั ผูล้ งทุน ภายหลังบริษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ ให้ นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร ผู้จัดการสำ�นักกรรมการผู้จัดการ เป็นผู้ดู แลงานนักลงทุนสัมพันธ์เพือ่ ดูแลเรือ่ งการเปิดเผยข้อมูลทีม่ คี วามถูกต้อง

ครบถ้วนโปร่งใสและทัว่ ถึง ทัง้ รายงานข้อมูลทางการเงินและข้อมูลทัว่ ไป ตลอดจนข้อมูลสำ�คัญทีม่ ผี ลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของ บริษทั ฯ โดย เผยแพร่ขอ้ มูลสารสนเทศของบริษทั ฯ ต่อนักลงทุนและสาธารณชนผ่าน ช่องทางต่างๆ คือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (แบบแสดงราย การข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1), รายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2), สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (SCP Client)) หนังสือพิมพ์, นิตยสาร, โทรทัศน์, เว็บไซต์ บริษัทฯ, วารสารผู้ถือหุ้นสัมพันธ์, การพบปะให้สัมภาษณ์, การเดินทาง ไปพบนักลงทุนทัง้ ในประเทศ และนักลงทุนต่างประเทศทีม่ าพบ และจัด ประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ภาวะผูน้ �ำ และวิสยั ทัศน์ คณะกรรมการของบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจทำ�หน้าทีก่ �ำ หนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษทั ฯ ตลอด จนกำ�กับดูแลให้ฝ่ายจัดการบริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายที่กำ�หนด ไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใต้กรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั ฯ และมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความ รับผิดชอบ ซือ่ สัตย์สจุ ริตระมัดระวัง ตามหลักการข้อพึงปฏิบตั ทิ ด่ี ี เพือ่ เพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการ และความมั่นคงสูงสุดให้แก่ผู้ ถือหุ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญเป็นอย่างยิ่งต่อระบบการ ควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริหารความเสีย่ งที่ เหมาะสม ตลอดจนการมีระบบการสอบทานเพื่อให้การดำ�เนินงานเป็น ไปตามข้อกฎหมาย และมีการควบคุมทีด่ ี เพือ่ ให้ระบบการควบคุมภายใน มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อบริษัทฯ นอกจากนี้คณะ กรรมการเป็นผู้พิจารณาการกำ�หนดและแยกบทบาทหน้าที่ และความ รับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การอย่างชัดเจน จริยธรรมธุรกิจ บริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการกระทำ�ในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง เป็นแนวทางการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษทั ฯ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคน และบริษทั ฯ มีภาระ หน้าที่ร่วมกันในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ภายใต้กรอบ ของกฎหมาย และภายใต้ขอบเขตความรับผิดชอบของตน รวมทั้งใช้ วิจารณญาณอย่างรอบคอบ ในการตัดสินใจทำ�การค้า และปฏิบตั ติ นต่อ ผู้อื่น ละเว้นการกระทำ�ใดๆ ที่จะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อความเสียหาย แก่บริษัทฯ และส่วนรวม แม้ว่าการกระทำ�ดังกล่าวดูเสมือนว่าจะช่วย เกือ้ กูลธุรกิจแก่บริษทั ฯ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการจัดทำ�ร่างจรรยาบรรณ พนักงาน และจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจเพือ่ ให้พนักงานได้ถอื ปฏิบตั ิ 15


การถ่วงดุลของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษทั มีจ�ำ นวน 8 ท่าน ประกอบด้วย กรรรมการที่เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 3 ท่าน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 2 ท่าน กรรมการทีเ่ ป็นอิสระ จำ�นวน 3 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 38 ของกรรมการทัง้ คณะ

การรวม หรือแยกตำ�แหน่ง

ประธานกรรมการไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั ฯ เพือ่ ให้เกิดการถ่วงดุล และการสอบทานการบริหารงาน และโครงสร้าง คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร และกรรมการอิสระมากกว่ากึ่งหนึ่งของคณะกรรมการทั้งหมด ค่าตอบแทนของ กรรมการ และผูบ้ ริหาร บริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบายการให้ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร ไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้การพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการให้อยู่ใน อำ�นาจอนุมัติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ส่วนค่าตอบแทนของผู้บริหารจะ อยู่ในอำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัทฯ โดยการพิจารณาอนุมัติ ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหารดังกล่าวจะอยู่ในระดับเดียวกับ อุตสาหกรรมซึ่งสูงพอที่จะดึงดูดและรักษากรรมการและผู้บริหารที่มี คุณสมบัติที่บริษัทฯ ต้องการ การประชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ มีนโยบายจัดส่งหนังสือเชิญประชุม พร้อมเอกสารประกอบเพือ่ ให้กรรมการพิจารณาก่อนการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้ เป็นไปตามระยะเวลาขั้นต่ำ�ตามที่กฎหมายกำ�หนด ในปี 2554 และ ปี 2555 คณะกรรมการมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 8 ครั้งและ10 ครั้ง ตามลำ�ดับ และได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร จัด เก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการพร้อมให้ กรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้

รายชือ่ 1. นายสัจจา 2. นายสุวนิ ยั 3. นายสุมติ ร 4. นายศุภพงศ์ 5. นายสุทศั น์ 6. นายธวัช 7. ดร. วิชติ 8. นายอานุภาพ 9. นายพิพธิ 16

คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อช่วยในการกำ�กับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ ดังนี้ กรรมการตรวจสอบ มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้วย กรรมการ 3 ท่าน ทุกท่านเป็นกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีวาระการ ดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ทุกท่านไม่เป็นกรรมการบริหาร และผูท้ �ำ หน้าทีเ่ ป็นประธานฯ ต้องเป็นกรรมการอิสระ ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดภาระ หน้าทีอ่ �ำ นาจการดำ�เนินการของผูป้ ฏิบตั งิ าน และผูบ้ ริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน มีการควบคุมดูแลการ ใช้ทรัพย์สินของบริษัทฯ ให้เกิดประโยชน์ และมีการแบ่งแยกหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ควบคุมและประเมินผลออกจากกัน เพื่อให้เกิดการถ่วง ดุล และตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม บริษทั ฯ มีส�ำ นักตรวจสอบภายในทำ�หน้าทีต่ รวจสอบเพือ่ ให้มน่ั ใจว่าการ ปฏิบตั งิ านหลัก และกิจกรรมทางการเงินทีส่ �ำ คัญของบริษทั ฯ ได้ด�ำ เนิน การตามแนวทางทีก่ �ำ หนด และมีประสิทธิภาพ รวมถึงตรวจสอบการ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และข้อกำ�หนดทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ สำ�นักตรวจ สอบภายในมีความเป็นอิสระ สามารถทำ�หน้าทีต่ รวจสอบ และถ่วงดุลได้ อย่างเต็มที่ โดยสำ�นักตรวจสอบภายในสามารถรายงานผลการตรวจสอบ โดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ

จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุมต่อจำ�นวนครัง้ ของการประชุม ปี 2554 ปี 2555 เจนธรรมนุกลู 8/8 10/10 สุวรรณหิรญ ั กุล 8/8 8/10 ชาญเมธี 8/8 10/10 กฤษณกาญจน์ 8/8 10/10 ขันเจริญสุข 8/8 9/10 อึง้ สุประเสริฐ 6/8 7/10 แย้มบุญเรือง 8/8 7/10 จามิกรณ์ 7/8 10/10 พิชยั ศรทัต 8/8 10/10


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการแจ้งให้ผู้บริหารฝ่ายต่างๆ เข้าใจถึงภาระหน้าที่ใน การรายงานการถือหลักทรัพย์ในบริษัทฯ ของตนเอง คู่สมรส และบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลัก ทรัพย์ตอ่ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 และบทกำ�หนดลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราช บัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หากกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯฝ่าฝืนหรือและไมปฏิบตั ิ ตามนโยบายของบริษทั ฯ ในเรือ่ งการซือ้ ขายหลักทรัพย์โดยใช้ขอ้ มูลภาย ใน บริษทั ฯ จะลงโทษทางวินยั กับกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานผูน้ น้ั โดยเริม่ ตัง้ แต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชัว่ คราวโดยไม่ ได้รบั ค่าจ้าง หรืออาจจะให้ออกจากงาน ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั ความร้ายแรงของ ความผิดนั้น

1. บุคลากร

จำ�นวนบุคลากร จำ�นวนพนักงานทัง้ หมดของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 รวมทัง้ สิน้ 520 คน โดยแยกตามสายงานหลักได้ดงั นี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สายงานหลัก จำ�นวน (คน) สายงานหลัก จำ�นวน (คน) สายธุรกิจและการเงิน 53 สายบริหารและการเงิน 23 สายโรงงาน 80 สายโรงงาน 18 อืน่ ๆ 13 สายพัฒนาธุรกิจ 2 *อืน่ ๆ 1 บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย PTEC 585 PTEC 453 JTC 69 SAP 23 PSDC 35 PBC 53 SAP 22 SCT 22 รวม 932 รวม 520 หมายเหตุ

* อืน่ ๆ หมายถึง พนักงานทีไ่ ม่ได้สงั กัดตามสายงานต่างๆ แต่สงั กัดอยูใ่ นบริษทั ฯ ได้แก่ เลขานุการ 17


2. ค่าตอบแทน ผลตอบแทนรวมของพนักงานในปี 2554 และ ปี 2555 มีจำ�นวนเงินรวม 372.23 ล้านบาท และ 192.35 ล้านบาทตามลำ�ดับ โดยเป็นผลตอบแทนในรูปของเงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินสวัสดิการ โบนัสประจำ�ปี และเงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ และผลประโยชน์เมือ่ เลิกจ้าง

3 นโยบายในการพัฒนาบุคลากร

บริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมความก้าวหน้าของพนักงาน โดยกำ�หนดทิศทางการพัฒนาพนักงาน อย่างชัดเจน และดูแลให้พนักงานทุกระดับ ได้รับการพัฒนาตามทิศทางดังกล่าวอย่างเป็นระบบ และ ต่อเนื่องเพื่อให้สามารถทำ�งานในหน้าที่ปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความพร้อมในการรับผิดชอบ งานทีส่ งู ขึน้ ในอนาคต โดยคำ�นึงถึงการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สงู สุด รวมทัง้ ใช้ระบบคุณธรรม (Merit System) ในการเลื่อนขั้นเงินเดือนและการเลื่อนตำ�แหน่ง โดยพิจารณาความรู้ ความสามารถ ผลงาน และศักยภาพของพนักงานแต่ละบุคคลประกอบกัน ตามวัฒนธรรมขององค์กร ซึ่งประกอบด้วย ริเริม่ สร้างสรรค์ สำ�นึกรับผิดชอบ ผนึกกำ�ลัง สำ�เร็จยัง่ ยืน

การควบคุมภายใน

คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ประชุมครัง้ ที่ 1/2556 เมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 และคณะ กรรมการ ตรวจสอบ ให้ความเห็นเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายใน สรุปได้วา่ คณะกรรมการ และผู้บริหารของบริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญต่อระบบการควบคุมภายในอย่างต่อ เนื่อง โดยมุ่งเน้นให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และเหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษทั ฯ มีการดูแลทรัพย์สนิ การลดความผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ การป้องกันความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ กับบริษทั ฯ การจัดการด้านการเงิน การบริหารความเสีย่ ง และการกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ มีการ ส่งเสริม และผลักดันให้บริษทั ฯ มีการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆของกฎหมาย เพือ่ ประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารงาน และเพือ่ ให้มน่ั ใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่าการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ จะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ สูงสุดได้ในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นต่อระบบการควบคุมภายในเช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจ สอบ โดยให้ความสำ�คัญต่อระบบการควบคุมภายใน แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้ 1. องค์กร และสภาพแวดล้อม เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ กำ�หนดขึ้นมาอย่างรอบคอบชัดเจน มีความเป็นไปได้ และสามารถวัดผลได้ ทั้งนี้บริษัทฯ ได้ปรับปรุงผังโครงสร้างองค์กรเพื่อให้การปฏิบัติงาน มีความคล่องตัวเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง เอื้ออำ�นวยต่อการดำ�เนินงานให้บรรลุ เป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ และมีข้อกำ�หนดและบทลงโทษห้ามฝ่ายบริหาร และพนักงาน ปฏิบัติตนในลักษณะ ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับกิจการ รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบัติ งานในธุรกรรมทางด้านการเงิน การขาย การจัดซือ้ และการบริหาร โดยคำ�นึงถึงความเป็นธรรมต่อคูค่ า้ เพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ฯ ในระยะยาว 2. การบริหารความเสี่ยง ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้มีการกำ�หนดนโยบายความเสี่ยง และมีองค์กรการ บริหารความเสีย่ ง ซึง่ ประกอบไปด้วย คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Committee) ผูป้ ระสานงานความเสีย่ งประจำ�หน่วยงาน และกำ�หนดผูร้ บั ผิดชอบความเสีย่ งในหน่วยงานต่างๆ โดย มีการวางแผนและกำ�หนดมาตรการบริหารความเสี่ยง มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยงซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจและเป้าหมายของบริษัทฯ มีมาตรการในการลดความเสี่ยง มีการติดตาม ผลการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้มีการรายงานให้กับคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ เพือ่ รายงานคณะกรรมการบริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารอบรมความรูข้ องการบริหารความเสีย่ งกับพนักงาน 18


3. การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหาร บริษทั ฯ ได้มกี ารกำ�หนดขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ ตลอดจน ความรับผิดชอบของผูบ้ ริหาร และผูป้ ฏิบตั งิ านในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน และได้ปรับปรุงตารางอำ�นาจ อนุมัติของฝ่ายบริหารแต่ละระดับให้เหมาะสม มีความชัดเจน รวมทั้งมีการติดตามดูแลการดำ�เนินงาน ของบริษทั ย่อยอย่างสม่�ำ เสมอ โดยมีมาตรการทีจ่ ะควบคุมติดตามให้การดำ�เนินงานเป็นไปตามกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้อง 4. ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล บริษทั ฯ ได้น�ำ ระบบงานสารสนเทศภายใต้ชอ่ื โครงการระบบ ERP มาใช้ในการบริหารจัดการ ด้านการซือ้ การขาย ระบบบัญชี สินค้าคงคลัง และสินทรัพย์ถาวร เพือ่ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ให้มีประสิทธิภาพ และทันเวลาต่อการใช้ประกอบการตัดสินใจของ ฝ่ายบริหาร ทั้งนี้มีการพัฒนาระบบเพิ่มเติมได้แก่ ระบบงานบริหารสถานีบริการน้ำ�มัน ระบบโทรทัศน์ วงจรปิด และระบบ VDO Conference เพือ่ ให้การประสานงาน การติดตามดูแลเป็นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพ ครอบคลุมการใช้งานทีก่ ว้างขวาง และเพิม่ ช่องทางในการติดต่อสือ่ สารข้อมูลระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั ย่อย ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทฯ มีการพิจารณา และติดตามผลการดำ�เนินงานของฝ่าย บริหารให้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึง่ หากผลการดำ�เนินงานแตกต่างจากเป้าหมาย จะมีมติให้ฝา่ ยจัดการรับไป ดำ�เนินการแก้ไข และบริษทั ฯ กำ�หนดให้ส�ำ นักตรวจสอบภายใน เสนอรายงานผลการตรวจสอบ โดยตรง ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และหากมีการตรวจพบข้อบกพร่องอันเป็นสาระสำ�คัญ จะต้องรายงานใน ระยะเวลาอันควร รวมถึงการรายงานความคืบหน้าในการปรับปรุงข้อบกพร่องดังกล่าว

19


ความเป็ น มา และ การเปลี่ยนแปลงพัฒนาการที่สำ�คัญ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ก่อตั้งในปี 2538 โดย นักธุรกิจคนไทยที่มีประสบการณ์ด้านธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี โดยการร่วมทุนกับ บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท์ จำ�กัด เพื่อดำ�เนินการแปรสภาพคอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) เพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมและปิโตรเคมีทม่ี คี ณ ุ ภาพ ได้แก่ น้�ำ มันดีเซลหมุนเร็ว น้�ำ มันเตา และเคมีภณ ั ฑ์ เพือ่ ค้าปลีกและค้าส่ง ซึง่ คอนเดนเสทเรสซิดวิ (CR) เป็นวัตถุดบิ ผลพลอยได้ จากกระบวนการผลิตของ บริษัท ปตท โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (PTTGC) (เดิมชื่อ ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) (PTTAR)) และนอกจากนั้น บริษัทฯ ยังได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ค้าน้ำ�มันตามมาตรา 7 แห่ง พระราชบัญญัติการค้าน้ำ�มัน เชื้อเพลิง พ.ศ. 2543

20

ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่สำ�คัญของบริษัทฯ สรุปได้ดังนี้ พ.ศ. 2540 • ก่อสร้างโรงกลั่นแล้วเสร็จในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 • เช่าคลังน้�ำ มัน เพื่อเก็บผลิตภัณฑ์ที่อำ�เภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อรองรับการขยายตัวของบริษัทฯ พ.ศ. 2542 • เปิดสถานีบริการน้�ำ มันเพียวแห่งแรกทีถ่ นนพหลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ 202 จังหวัดนครสวรรค์ และเริม่ จำ�หน่ายในเดือนกุมภาพันธ์ • บริษทั ฯ ได้เริม่ นำ�ระบบควบคุมคุณภาพ ISO 90≠0≠ 2 มาใช้ในส่วนโรงกลัน่ พ.ศ. 2543 • บริษัทฯ ได้รับการรับรองระบบบริหารคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 จาก Bureau Veritas Quality International (BVQI) ในส่วนกระบวนการผลิต • เช่าคลังน้ำ�มันสาธุประดิษฐ์ และคลังน้ำ�มันธนบุรี เพื่อลดข้อจำ�กัดที่ บริษัทฯ ไม่มีท่าเทียบเรือเป็นของตนเอง ในการที่จะค้าขายกับ ต่างประเทศ พ.ศ. 2544 • ส่งออกเคมีภัณฑ์ไปยังนานกิง สาธารณรัฐประชาชนจีน • เปิดสถานีบริการน้ำ�มันเพียวแห่งที่ 2 บริเวณ นิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวัดระยอง • เปิดดำ�เนินการคลังน้ำ�มันที่อำ�เภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมาเพื่อ รองรับการขยายตัว และให้บริการลูกค้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2545 • ได้รับการรับรองระบบมาตรฐานสากลด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย จาก 3 หน่วยงานได้แก่ OHSAS 18001, BS 8800 และ TIS 18001 • เพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 150 ล้านบาท รวมเป็นทุนจดทะเบียน 300 ล้านบาท


พ.ศ. 2546

พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549

• เปิดสถานีบริการน้ำ�มันเพียวในรูปแบบที่บริษัทฯ เป็นผู้ดำ�เนินการเองแห่งที่ 3 บริเวณ อำ�เภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา • เพิ่มสัดส่วนการลงทุนในบริษัท โยธินปิโตรเลียม จำ�กัด เพื่อรองรับการขยายตัว ของธุรกิจค้าปลีก • ขยายกำ�ลังการผลิตจาก 12,600 บาร์เรลต่อวันเป็น 17,000 บาร์เรลต่อวัน • เช่าคลังน้ำ�มันจุกเสม็ด อำ�เภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เพื่อใช้เป็นฐานในการส่งออก ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ของบริษทั ฯ โดยยกเลิกการเช่าคลังน้�ำ มันธนบุรี และคลังน้�ำ มัน สาธุประดิษฐ์ • ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 • เพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 336.40 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 3.364 ล้านหุน้ มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ชำ�ระค่าหุ้นเต็มมูลค่า เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2546 • จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษทั มหาชนจำ�กัด เมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม 2546 และเพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 415.55 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 83.11 ล้านหุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หนุ้ ละ 5 บาท ทุนทีอ่ อกและเรียกชำ�ระแล้ว 336.40 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 67.28 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5 บาท • เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชน จำ�นวน 15.83 ล้านหุ้น โดยเปิดให้จอง ซื้อเมื่อวันที่ 12 - 14 พฤศจิกายน 2546 • จดทะเบียนเพิม่ ทุน จำ�นวนเงิน 79.15 ล้านบาท จากทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 336.40 ล้านบาทเป็นทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 415.55 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญจำ�นวน 83.11 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 5.00 บาท เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 • หุ้นบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) (RPC) เข้าทำ�การซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2546 เป็นวันแรก • ดำ�เนินการเปลี่ยนการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 จาก VERSION 1994 เป็น ISO 9001 VERSION 2000 เรียบร้อย • จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2547 จากราคาหุ้นละ 5.00 บาท เป็นราคาหุ้นละ 1.00 บาท ทุนจดทะเบียน 415.55 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 415.55 ล้านหุ้น • หุ้นของบริษัทฯ ได้เข้าทำ�การซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในราคา มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2547 • 27 กรกฎาคม 2547 ก่อตัง้ บริษทั อาร์พซี ี เอเซีย จำ�กัด (RAC) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย เพื่อดำ�เนินการเกี่ยวกับพลังงานทดแทน • 15 เมษายน 2547 เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นใน VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. (VTN-P) เป็นร้อยละ 60 ซึ่ง VTN-P ดำ�เนินธุรกิจโรงงาน ปิโตรเลียมปิโตรเคมี ประเทศเวียดนาม • 7 มกราคม 2548 เพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ ใน บริษทั เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด (SCT) เป็นร้อยละ 99.99 ซึ่ง SCT ดำ�เนินธุรกิจค้าส่งน้ำ�มันหรือตัวแทนจำ�หน่ายน้ำ�มัน เชื้อเพลิงอิสระ • จดทะเบียนเพิ่มทุนจำ�นวนเงิน 8.49 ล้านบาทจาก 415.55 ล้านบาทเป็น 424.04 ล้านบาทเป็นทุนชำ�ระแล้ว 415.55 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ เพื่อรองรับ การใช้สทิ ธิ 8.49 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาทเมือ่ 18 เมษายน 2548 • 8 ธันวาคม 2548 ชำ�ระทุนเพิม่ จาก 415.55 ล้านบาท เป็น 418.37 ล้านบาท จาก การ Exercise ESOP ครั้งที่ 1/3 โดยมีทุนจดทะเบียน 424.04 ล้านบาท • 31 มีนาคม 2549 บริษัท โยธินปิโตรเลียม จำ�กัด ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เพียว พลังงานไทย จำ�กัด (PTEC) • 31 มีนาคม 2549 จดทะเบียนเพิม่ ทุน จาก 424.04 ล้านบาท เป็น 530.04 ล้านบาท โดยการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำ�นวน 106.00 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท เพื่อจ่ายเป็นเงินปันผลจำ�นวน 104.59 ล้านหุ้น และเพื่อรองรับการใช้สิทธิของใบ สำ�คัญแสดงสิทธิตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 1 ที่ได้รับผลกระทบจากการจ่ายหุ้น ปันผลจำ�นวน 1.41 ล้านหุ้น

21


22

• เดือนพฤษภาคม บริษัทฯ ได้ร่วมกับบริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งบริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท จำ�กัด (PSDC) ด้วยทุนจดทะเบียน 50 ล้านบาทเพือ่ ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และทีด่ นิ โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในอัตราร้อยละ 51 • ในเดือนพฤศจิกายน 2549 บริษัทฯ ได้รับเงินเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญ แสดงแสดงสิทธิซอ้ื หุน้ สามัญ จำ�นวน 3.29 ล้านหุน้ ราคาหุน้ ละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 3.294 ล้านบาท ทำ�ให้ทนุ ทีอ่ อกและชำ�ระแล้วของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้นเป็น 526.26 ล้านบาท • ดำ�เนินการทดสอบ โรงกลั่น VTN-P ที่ประเทศเวียดนาม ระหว่างวันที่ 13 – 28 กุมภาพันธ์ 2549 • ขยายสถานีบริการน้ำ�มันทั้งหมดจาก 32 แห่ง เป็น 56 แห่ง พ.ศ. 2550 • บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด เปิดศูนย์การค้าเพียวเพลส บนถนน รังสิต-คลอง 2 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2550 • บริษัท อาร์พีซี เอเชีย จำ�กัด บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 99.99 ได้จด ทะเบียนเปลีย่ นแปลงชือ่ เป็น บริษทั เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (PBC) และได้เพิม่ ทุน จดทะเบียนเป็น 200 ล้านบาท • บริษทั เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (PBC) ได้รบั การอนุมตั สิ ง่ เสริมการลงทุนจากสำ�นักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน โดยได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำ�หรับกำ�ไรสุทธิ ทีไ่ ด้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีกำ�หนดเวลา 8 ปี • บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) (RPC) และ บริษทั เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (PBC) ได้รับการสนับสนุนวงเงินกู้จำ�นวน 400 ล้านบาท จาก ธนาคาร กสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน) เพือ่ ใช้ในการลงทุน และก่อสร้างโครงการผลิตไบโอดีเซล ขนาดกำ�ลังการผลิต 100,000 ตันต่อปี • พฤศจิกายน 2550 บริษทั ฯ ได้รบั เงินเพิม่ ทุนจากการใช้สทิ ธิตามใบสำ�คัญแสดงแสดง สิทธิซื้อหุ้นสามัญ จำ�นวน 3.6 ล้านหุ้น ราคาหุ้นละ 1.00 บาท รวมเป็นเงิน 3.6 ล้านบาท ทำ�ให้ทุนที่ออกและชำ�ระแล้วของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้นเป็น 529.87 ล้านบาท • ขยายสถานีบริการน้ำ�มันทั้งหมดจาก 56 แห่ง เป็น 72 แห่ง พ.ศ. 2551 • บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (PTEC) ได้เข้าซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด (SAP) จำ�นวน 15,300 หุ้นๆ ละ 100 บาท คิดเป็นร้อยละ 51 ในเดือนมกราคม 2551 จากกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารของบริษัทฯ • บริษทั เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด (SAP)ได้มกี ารเพิม่ ทุนจำ�นวน 20,000 หุน้ ๆ ละ 100 บาท เมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2551 • บริษทั ฯ ได้ซอ้ื คืนหุน้ สามัญของบริษทั ฯ จำ�นวน 46,706,900 หุน้ มูลค่า 220,549,808 บาท ราคาทุนเฉลีย่ หุน้ ละ 4.72 บาท คิดเป็นอัตราร้อยละ 8.81 ของจำ�นวนหุน้ ทีบ่ ริษทั ฯ ออก ในช่วงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 กรกฎาคม 2551 • บริษทั เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (PBC) ได้รบั ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานจากกรม ธุรกิจพลังงานในเดือนสิงหาคม 2551 • VTN-P ได้ช�ำ ระเงินกูย้ มื ระยะยาวจำ�นวน 2.9 ล้านเหรียญให้แก่ธนาคารเพือ่ การส่งออก Exim Bank • ขยายสถานีบริการน้ำ�มันทั้งหมดจาก 72 แห่ง เป็น 74 แห่ง พ.ศ. 2552 • VTN-P ได้จดทะเบียนชำ�ระบัญชีบัญชีแล้วเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ 2552 • เดือนกุมภาพันธ์ 2552 บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด ได้เพิ่มทุนจด ทะเบียนเป็น 225 ล้านบาท • เดือนกันยายน 2552 บริษทั เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด ได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 280 ล้านบาท • เดือนตุลาคม 2552 บริษทั ฯ ได้รว่ มทุนกับนักลงทุนชาวฮ่องกง ซึง่ เป็นกรรมการของ บริษทั ร่วมทุนและไม่เป็นบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน จัดตัง้ Thai Good Petroleum Co., Ltd โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ อัตราร้อยละ 31.67 ของทุนจดทะเบียน 300,000 เหรียญสหรัฐ เพือ่ จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเครื่อง ในประเทศจีน ฮ่องกง และมาเก๊า


พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2554

• เดือนมกราคม 2553 บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (PTEC) ได้เพิ่มทุนจดทะเบียน เป็น 140 ล้านบาท • เดือนมีนาคม 2553 บริษทั ฯ ได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนอีก 273 ล้านหุน้ ทำ�ให้ทนุ จดทะเบียน เพิ่มขึ้นเป็น 802.87 ล้านหุ้น ส่วนที่เพิ่มทุน บริษัทฯ เตรียมไว้สำ�หรับการเสนอขาย โดยการออกใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหุ้นสามัญของบริษัทฯ (TDR) ใน สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) • เดือนมีนาคม 2553 บริษทั ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ให้จ�ำ หน่ายหุน้ สามัญทีซ่ อ้ื คืน (Treasury Stock) จำ�นวน 46,706,900 หุ้น โดยมอบอำ�นาจให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณากำ�หนดรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรร • เดือนเมษายน 2553 บริษทั ฯ ได้เข้าซือ้ หุน้ ของบริษทั เอสซีทซี ี สหภัณฑ์ จำ�กัด (SAP) จากบริษทั เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (บริษทั ย่อย) จำ�นวน 25,500 หุน้ ๆ ละ 110 บาท คิดเป็นร้อยละ 51 เพื่อปรับโครงสร้างธุรกิจ และได้ชำ�ระทุนจดทะเบียนเพิ่มอีก 150,000 หุ้นๆ ละ 100 บาท โดยผู้ถือหุ้นเดิมอื่นสละสิทธิ์ จึงทำ�ให้สัดส่วนการลงทุน ของบริษัทฯ เพิ่มเป็นร้อยละ 78 ส่วนหุ้นที่เหลือ ถือโดยกรรมการบริษัทฯ 3 ท่าน รวมร้อยละ 8.60 ผูบ้ ริหารบริษทั ฯ 2 ท่านถือหุน้ ร้อยละ 5.20 และกรรมการบริษทั ย่อย 3 ท่าน ถือหุ้นรวมร้อยละ 4.70 นายระบิล พรพัฒน์กุล ถือหุ้นร้อยละ 4.20 และ นายประสิทธิ์ ธีรรัตน์บงกช ถือหุ้นร้อยละ 1.50 • เดือนสิงหาคม 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติให้ร่วมทุนจัดตั้งบริษัท อาร์พีซี เอ็นเนอร์ยี่ จำ�กัด โดยบริษัทฯ ร่วมกับบริษัท พลังงานทดแทน จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ เชี่ยวชาญการก่อสร้างโรงไฟฟ้า โดยบริษัทฯ ถือหุ้นในอัตราร้อยละ 70.00 ของทุน จดทะเบียน จำ�นวน 125 ล้านบาท เพื่อประกอบธุรกิจพลังงานทดแทน • เดือนกันยายน 2553 บริษัทจำ�หน่ายหุ้นสามัญที่ซื้อคืน (Treasury Stock) จำ�นวน 46,706,900 หุ้นต่อประชาชนเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2554 และวันที่ 27-28 กันยายน 2554 ในราคาเสนอขายหุ้นละ 2.55 บาท • เดือนมีนาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติยกเลิกการจัดตั้งบริษัท อาร์พีซี เอ็นเนอร์ยี่ จำ�กัด • เดือนเมษายน 2554 บริษทั ฯ ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ให้ขยายระยะเวลาการจัด สรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนโดยวิธกี ารเสนอขายหลักทรัพย์ประเภท การออกใบแสดงสิทธิในผล ประโยชน์ทเ่ี กิดจากหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (TDR) ในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) • เดือนพฤษภาคม 2554 บริษัทฯ ได้มีการทำ� TDR และเสนอขายหลักทรัพย์ประเภท TDR ต่อตลาดหลักทรัพย์ GreTai Securities Market (GTSM) หรือในตลาดหลักทรัพย์ Taiwan Stock Exchange Corporation (TWSE) ที่สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) โดย จัดสรรจากหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษัทฯ จำ�นวน 170,000,000 หุ้น และจากหุ้น สามัญของผู้ถือหุ้นเดิมจำ�นวน 30,000,000 หุ้น และมติอนุมัติ TDR Offering Plan เพื่อเสนอต่อตลาดหลักทรัพย์ GreTai Securities Market (GTSM) หรือต่อตลาด หลักทรัพย์ Taiwan Stock Exchange Corporation (TWSE) ทีส่ าธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) • เดือนสิงหาคม 2554 คณะกรรมการบริษทั มีมติอนุมตั ใิ ห้ บริษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอป เม้นท์ จำ�กัด (PSDC) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูใ่ นอัตราร้อยละ 51 เพิม่ ทุน จดทะเบียนจาก 225 ล้านบาท เป็น 260 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน จำ�นวน 350,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 100 บาท รวมเป็นจำ�นวนเงิน 35 ล้านบาท โดยที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท มีมติไม่เพิ่มเงินลงทุนในหุ้นเพิ่มทุนครัง้ นี้ ส่งผลให้บริษทั ฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวลดลงจากเดิมร้อยละ 51 เป็นร้อยละ 44 และมต อนุมัติเพิ่มทุนในบริษัท บริษัท เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 100 เพิม่ ทุนจดทะเบียน จาก 10 ล้านบาท เป็น 36 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 260,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 100 บาท รวมเป็น จำ�นวนเงิน 26 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน • เดือนกันยายน 2554 บริษัทฯ รับทราบผลการเสนอขายหลักทรัพย์ประเภท TDR ต่อ ตลาดหลักทรัพย์ TWSE ที่สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ที่ทาง TWSE ได้มีหนังสือแจ้ง ส่งคืนคำ�ขอเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ(Return TDR Offering Plan) และมีมติ

23


พ.ศ. 2555

24

อนุมัติให้หยุดดำ�เนินการเกี่ยวกับ TDR Offering Plan ทั้งในส่วนของหุ้นเพิ่มทุนใหม่ ของบริษทั 170 ล้านหุน้ และจากหุน้ เดิมของผูถ้ อื หุน้ จำ�นวน 30 ล้านหุน้ รวมทัง้ ราย การทีเ่ กีย่ วข้องกับ TDR ทัง้ หมดและมีมติยกเลิกการสนับสนุน การออก และเสนอขาย TDR ของผู้ถือหุ้นเดิม 30 ล้านหุ้น โดยมอบหมายให้กรรมการอิสระ 2 ท่าน เป็นผู้มี อำ�นาจดำ�เนินการ จัดการคืนหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นเดิม • เดือนกุมภาพันธ์ 2555 บริษทั ฯ ได้หยุดการผลิต เนือ่ งจาก ปตท.ได้หยุดส่งวัตถุดบิ หลัก ให้แก่บริษัทฯ ซึ่งถือเป็นการปฎิบัติผิดสัญญาข้อ 15.5 ส่งผลทำ�ให้บริษัทฯ ต้องหยุด การผลิตลงอย่างไม่มีกำ�หนด • เดือนเมษายน 2555 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติอนุมตั ขิ ายหุน้ สามัญของ บริษทั อาร์พซี ี แมเนจเม้นท์ จำ�กัด (เดิมชือ่ บริษทั มิตรสัมพันธ์ จำ�กัด) ซึง่ เป็นบริษทั ในเครือของ SCT จำ�นวน 1,500 หุ้น ราคาพาร์หุ้นละ 100 บาท ให้แก่ บริษัท โขงเจริญขนส่ง จำ�กัด ซึ่งไม่เป็นบริษัทที่เกี่ยวโยงกัน • เดือนเมษายน 2555 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของ Globalization Economic and Promotion Network Co., Ltd. (GEPN) ในฮ่องกง เพื่อทำ�ธุรกิจด้าน Trading และการลงทุนต่างๆ จำ�นวน 10,000 หุ้น ราคาพาร์ หุน้ ละ 3 เหรียญฮ่องกง หลังจากซือ้ หุน้ แล้วจะเปลีย่ นชือ่ เป็น RPC Global Co., Ltd. • เดือนสิงหาคม 2555 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติให้บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (PTEC) ซึง่ เป็นบริษทั ทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ในอัตราร้อยละ 100 ร่วมทุนกับ บริษทั ซุปเปอร์เซ็นทรัลแก๊ส จำ�กัด จัดตัง้ บริษทั ร่วมทุน ชือ่ บริษทั ซุปเปอร์เพียวแก๊ส จำ�กัด เพือ่ ประกอบธุรกิจด้านพลังงาน ด้วยทุนจดทะเบียน 20 ล้านบาท แบ่งเป็น 200,000 หุ้น หุ้นละ 100 บาท • เดือนตุลาคม 2555 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติเพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ บริษทั เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด (SAP) จากเดิมที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 78 เพิ่มสัดส่วน เป็นอัตราร้อยละ 100 • เดือนพฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติเข้าซือ้ หุน้ เพิม่ ทุนของบริษทั เคพี เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ป จำ�กัด (KPEG) ซึ่งเป็นบริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกัน จำ�นวน 6,702 หุ้น ในราคา 1,200 บาทต่อหุ้น มีทุนจดทะเบียน 18.411 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนการ ถือหุ้นร้อยละ 26 • เดือนพฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติซอ้ื หุน้ สามัญของ บริษทั สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) (SAMCO) จากผูถ้ อื หุน้ เดิมจำ�นวน 99 ล้านหุน้ ในราคาหุน้ ละ 2.60 บาท และซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุนตามสัดส่วนผู้ถือหุ้นเดิม (Rights Offering) ในอัตรา 3 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ ในราคาหุ้นละ 2.20 บาท


ภาพรวม

การประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทฯ ดำ�เนินการกลั่น คอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) ซึ่งเป็นวัตถุดิบ ผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตของบริษัท ปตท โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (PTTGC) (เดิมชื่อ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และ การกลัน่ จำ�กัด (มหาชน) (PTTAR) ) เพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมและ ปิโตรเคมีทม่ี คี ณ ุ ภาพ ได้แก่ น้�ำ มันดีเซลหมุนเร็ว น้�ำ มันเตา และเคมีภณ ั ฑ์ ทั้งนี้ โรงกลั่นของบริษัทฯ มีกำ�ลังผลิตสูงสุด 17,000 บาร์เรลต่อวัน หรือประมาณ 80 ล้านลิตรต่อเดือน อีกทั้งยังมีการจัดหาน้ำ�มันเบนซิน ออกเทน 91 น้�ำ มันเบนซินออกเทน 95 แก๊สโซฮอล 95 และแก๊สโซฮอล 91 จากโรงกลัน่ อืน่ เพือ่ รองรับความต้องการของลูกค้าทีเ่ พิม่ มากขึน้ นอกจาก นีบ้ ริษทั ฯ ได้บริหารคลังน้�ำ มัน 3 แห่ง ได้แก่ คลังน้�ำ มันระยอง คลังน้�ำ มัน นครสวรรค์ และคลังน้�ำ มันจุกเสม็ด เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการสั่ง ซื้อและจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า และบริษัทฯ ได้หยุดการผลิตอย่างไม่มี กำ�หนด ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 โดยบริษัทฯ มีการประกอบธุรกิจ ผ่านบริษัทย่อยดังต่อไปนี้

บริษัทย่อย 1) บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (PTEC) PTEC เป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 99.99 มีทุน จดทะเบียน 140 ล้านบาท โดยเป็นหุ้นสามัญ 1,400,000 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 100 บาท ชำ�ระค่าหุ้นเต็มมูลค่าแล้ว ประกอบธุรกิจค้าปลีก จำ�หน่ายน้�ำ มันดีเซลหมุนเร็ว แก๊สโซฮอล์ 95 แก๊สโซฮอล์ 91 และได้ เพิ่มการจำ�หน่ายแก๊สโซฮอล์ ออกเทน 95 (E85) อีกชนิดหนึ่ง ผ่าน สถานีบริการน้ำ�มัน “เพียว” (PURE) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ฯ มีสถานีบริการน้�ำ มัน “เพียว” ทัง้ สิน้ จำ�นวน 65 แห่ง ทัว่ ประเทศ โดยแบ่งการบริหารงานเป็น 2 ลักษณะคือ (1) การบริหารงานด้วย ตนเอง (Company Operate: CO) และ (2) การบริหารงานโดยบุคคล ภายนอกแบบแฟรนไชส์ (Franchise) ทั้งนี้ PTEC ได้มีการพัฒนารูป แบบธุรกิจพลาซ่า ในสถานีบริการน้�ำ มัน โดยได้เปิดพลาซ่าแห่งแรกใน สถานีบริการน้�ำ มันเพียว สาขาอมตะนคร จังหวัดชลบุรี 2) บริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด (SAP) SAP เป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 78 ของทุน จดทะเบียน 20 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญจำ�นวน 200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ประกอบธุรกิจขายอุปกรณ์เครื่องมือ สถานีบริการน้ำ�มัน และให้บริการซ่อมบำ�รุง ในเดือนตุลาคม 2555 บริษทั ฯ ได้เข้าซือ้ หุน้ สามัญของ SAP จากผูถ้ อื หุน้ เดิม จำ�นวน 44,000 หุ้น ในราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 คิดเป็น จำ�นวนเงิน 6 ล้านบาท ทำ�ให้บริษทั ฯ มีสดั ส่วนเพิม่ ขึน้ จากอัตราร้อยละ 78 เป็นอัตราร้อยละ 100 3) บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (PBC) PBC เป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 99.99 โดยมี ทุนจดทะเบียน 280 ล้านบาท มูลค่าทีต่ ราไว้ละ 100 บาท จำ�นวน 2.8 ล้านหุ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผลิตน้ำ�มันไบโอดีเซล (B100) จาก น้�ำ มันปาล์มดิบในประเทศ โดยมีก�ำ ลังการผลิต 300,000 ลิตรต่อวัน หรือ 100,000 ตันต่อปี เพื่อนำ�ไปผสมในน้ำ�มันดีเซล เป็นน้ำ�มันดีเซล B3 และ

น้�ำ มันดีเซล B5 เป็นพลังงานทดแทนตามนโยบายรัฐบาล และ (2) ผลิต กลีเซอรีน มีกำ�ลังการผลิต 10,000 ตันต่อปี เพื่อนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบใน เครื่องสำ�อาง และผลิตภัณฑ์ยาต่อไป และได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุน โดยได้รับสิทธิประโยชน์ในการยกเว้นภาษีรายได้เป็นระยะเวลา 8 ปี บริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี 2551 และได้รบั หนังสือ รับรองการให้ความเห็นชอบการจำ�หน่าย หรือมีไว้เพือ่ การจำ�หน่ายน้�ำ มัน ไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมัน จากกรมธุรกิจพลังงาน เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ ได้เริ่มผลิต และจำ�หน่ายตั้งแต่ เดือนมกราคม 2552 เป็นต้นมา และได้หยุดการผลิตอย่างไม่มีกำ�หนด ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้นไป 4) บริษัท เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด (SCT) SCT เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูใ่ นอัตราร้อยละ 99.99 ใน SCT มีทนุ จดทะเบียน 36 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 7.2 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5 บาทชำ�ระค่าหุน้ เต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจค้าส่งน้�ำ มันหรือตัวแทน จำ�หน่ายน้�ำ มันเชือ้ เพลิงอิสระ (Jobber) เพือ่ ให้บริการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันเชื้อเพลิงทุกชนิดกับผู้ค้ารายใหญ่และรายย่อยทั่วประเทศ อาทิ น้�ำ มันดีเซล เบนซิน 91 แก๊สโซฮอล์ 91 แก๊สโซฮอล์ 95 และน้�ำ มันเตา และได้หยุดธุระกรรมซือ้ ขายน้�ำ มัน ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้นไป 5) บริษัท อาร์พีซี แมเนจเมนท์ จำ�กัด (RPCM) (เดิมชื่อ บริษัท มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม จำ�กัด) RPCM เป็นบริษทั ย่อยที่ SCT ถือหุน้ อยูใ่ นอัตราร้อยละ 99.86 มีทนุ จด ทะเบียน 500,000 บาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 5,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท ชำ�ระค่าหุ้นเต็มมูลค่า ซึ่งประกอบธุรกิจประกอบธุรกิจค้าส่งน้ำ�มัน หรือตัวแทนจำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิงอิสระ (Jobber) เพื่อให้บริการซื้อ ขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเชื้อเพลิงทุกชนิดกับผู้ค้ารายใหญ่ และรายย่อยทั่ว ประเทศ อาทิ น้ำ�มันดีเซล เบนซิน 91 แก๊สโซฮอล์ 91 แก๊สโซฮอล์ 95 และน้�ำ มันเตา และได้หยุดธุระกรรมซือ้ ขายน้�ำ มัน ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้นไป และในเดือนเมษายน 2555 บริษทั ฯ มีการปรับโครงสร้าง การถือหุ้นสามัญของบริษัท RPCM ที่ SCT ถือหุ้นอยู่ เป็นบริษัทฯ ถือ หุน้ โดยตรงในอัตราร้อยละ 99.86 ในราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 และในเดือนกรกฏาคม 2555 บริษทั ฯ ได้มกี ารขายหุน้ สามัญให้แก่บริษัท โขงเจริญขนส่ง จำ�กัด จำ�นวน 1,500 หุ้น มูลค่าหุ้น ละ 116.21 บาท เป็นจำ�นวนเงิน 174,315 บาท ทำ�ให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ลดลงจากเดิมร้อยละ 99.86 เป็นอัตราร้อยละ 70 เพือ่ รอง รับธุรกิจการรับบริหารจัดการงานระบบต่างๆ 6) บริษัท ทศทิศ โลจิสติกส์ จำ�กัด (TTL) (เดิมชื่อ บริษัท เมโทร ปิโตรเลียม จำ�กัด) TTL เป็นบริษัทย่อยที่ SCT ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 99.86 มีทุนจด ทะเบียน 500,000 บาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 5,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ100 บาท ชำ�ระค่าหุ้นเต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจค้าส่งน้ำ�มัน หรือตัวแทน จำ�หน่ายน้�ำ มันเชือ้ เพลิงอิสระ (Jobber) เพือ่ ให้บริการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันเชื้อเพลิงทุกชนิดกับผู้ค้ารายใหญ่ และรายย่อยทั่วประเทศ อาทิ น้�ำ มันดีเซล เบนซิน 91 แก๊สโซฮอล์ 91 แก๊สโซฮอล์ 95 และน้�ำ มันเตา 25


และได้หยุดธุระกรรมซือ้ ขายน้�ำ มัน ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้น ไป ในเดือนเมษายน 2555 บริษัทฯ มีการปรับโครงสร้างการถือหุ้น สามัญของบริษัท TTL ที่ SCT ถือหุ้นอยู่ เป็นบริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงใน อัตราร้อยละ 99.86 ในราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 7) บริษัท เพียวอินเตอร์เทรด จำ�กัด (PIN) (เดิมชื่อ บริษัท อิสานรุ่งเรือง ปิโตรเลียม จำ�กัด) PIN เป็นบริษัทย่อยที่ SCT ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 99.86 มีทุน จดทะเบียน 500,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 5,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ชำ�ระค่าหุ้นเต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจค้าส่งน้ำ�มันหรือตัวแทน จำ�หน่ายน้�ำ มันเชือ้ เพลิงอิสระ (Jobber) เพือ่ ให้บริการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันเชื้อเพลิงทุกชนิดกับผู้ค้ารายใหญ่และรายย่อยทั่วประเทศ อาทิ น้�ำ มันดีเซล เบนซิน 91 แก๊สโซฮอล์ 91 แก๊สโซฮอล์ 95 และน้�ำ มันเตา ในเดือนเมษายน 2555 บริษัทฯ มีการปรับโครงสร้างการถือหุ้นสามัญ ของบริษัท PIN ที่ SCT ถือหุ้นอยู่ เป็นบริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงในอัตรา ร้อยละ 99.86 ในราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 และได้หยุดธุระกรรมซือ้ ขายน้�ำ มัน ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้นไป 8) บริษัท ไทยควอทซ์ มายนิ่ง จำ�กัด (TQM) (เดิมชื่อ บริษัท บูรพารุ่งโรจน์ ปิโตรเลียม จำ�กัด) TQM เป็นบริษัทย่อยที่ SCT ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 99.86 มีทุนจด ทะเบียน 500,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 5,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ชำ�ระค่าหุน้ เต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจค้าส่งน้�ำ มัน หรือตัวแทน จำ�หน่ายน้�ำ มันเชือ้ เพลิงอิสระ (Jobber) เพือ่ ให้บริการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันเชื้อเพลิงทุกชนิดกับผู้ค้ารายใหญ่และรายย่อยทั่วประเทศ อาทิ น้�ำ มันดีเซล เบนซิน 91 แก๊สโซฮอล์ 91 แก๊สโซฮอล์ 95 และน้�ำ มันเตา และได้หยุดธุระกรรมซือ้ ขายน้�ำ มัน ในเดือนเมษายน 2555 บริษทั ฯมีการ ปรับโครงสร้างการถือหุน้ สามัญของบริษทั TQM ที่ SCT ถือหุน้ อยูเ่ ป็น บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงในอัตราร้อยละ 99.86 ในราคามูลค่าสุทธิตาม บัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 เพื่อรองรับธุรกิจเหมืองแร่ควอทซ์ 9) บริษัท เพียวซิลิกา มายนิ่ง จำ�กัด (PSM) (เดิมชื่อ บริษัท เบญจปิโตรเลียม จำ�กัด) PSM เป็นบริษัทย่อยที่ SCT ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 99.86 มีทุนจด ทะเบียน 500,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 5,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ชำ�ระค่าหุน้ เต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจค้าส่งน้�ำ มัน หรือตัวแทน จำ�หน่ายน้�ำ มันเชือ้ เพลิงอิสระ (Jobber) เพือ่ ให้บริการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันเชื้อเพลิงทุกชนิดกับผู้ค้ารายใหญ่และรายย่อยทั่วประเทศ อาทิ น้�ำ มันดีเซล เบนซิน 91 แก๊สโซฮอล์ 91 แก๊สโซฮอล์ 95 และน้�ำ มันเตา และได้หยุดธุระกรรมซื้อขายน้ำ�มัน ในเดือนเมษายน 2555 บริษัทฯ มี การปรับโครงสร้างการถือหุน้ สามัญของบริษทั PSM ที่ SCT ถือหุน้ อยู่ เป็นบริษทั ฯ ถือหุน้ โดยตรงในอัตราร้อยละ 99.86 ในราคามูลค่าสุทธิตาม บัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 เพื่อรองรับธุรกิจเหมืองแร่ซิลิกา 10) บริษัท จตุจักรออลย์ จำ�กัด (JJO) JJO เป็นบริษัทย่อยที่ SCT ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 99.86 มีทุนจด ทะเบียน 500,000 บาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 5,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ100 26

บาท ชำ�ระค่าหุ้นเต็มมูลค่า ซึ่งประกอบธุรกิจค้าส่งน้ำ�มัน หรือตัวแทน จำ�หน่ายน้�ำ มันเชือ้ เพลิงอิสระ (Jobber) เพือ่ ให้บริการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันเชื้อเพลิงทุกชนิดกับผู้ค้ารายใหญ่ และรายย่อยทั่วประเทศ อาทิ เช่น น้�ำ มันดีเซล, เบนซิน 91, แก๊สโซฮอล์ 91, แก๊สโซฮอล์ 95 และได้ หยุดธุระกรรมซื้อขายน้ำ�มัน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้นไป ในเดือนเมษายน 2555 บริษัทฯ มีการปรับโครงสร้างการถือหุ้นสามัญ ของบริษัท JJO ที่ SCT ถือหุ้นอยู่ เป็นบริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงในอัตรา ร้อยละ 99.86 ในราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 11) บริษัท จตุรทิศ ขนส่ง จำ�กัด (JTC) JTC เป็นบริษัทย่อยที่ SCT ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 99.86 มีทุนจด ทะเบียน 30 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 300,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ100 บาท ชำ�ระค่าหุน้ เต็มมูลค่า ซึง่ ประกอบธุรกิจขนส่งน้�ำ มัน เพือ่ ให้บริการ ขนส่งกับผู้ค้าน้ำ�มันรายใหญ่ และรายย่อยทั่วประเทศ และได้หยุดธุระ กรรมขนส่งน้ำ�มัน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้นไป ในเดือน เมษายน 2555 บริษัทฯมีการปรับโครงสร้างการถือหุ้นสามัญของบริษัท JTC ที่ SCT ถือหุน้ อยู่ เป็นบริษทั ฯ ถือหุน้ โดยตรงในอัตราร้อยละ 99.86 ในราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 12) บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (PSDC) PSDC เป็นบริษทั ร่วมทุนทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูใ่ นอัตราร้อยละ 44.13 และ บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) (SAMCO) ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 55.87 มีทุนจดทะเบียน 260 ล้านบาท โดยเป็นหุ้นสามัญ 2.6 ล้านหุ้น มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท ชำ�ระค่าหุน้ เต็มมูลค่า เพือ่ ประกอบธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ และพัฒนาทีด่ นิ ในรูปแบบทีม่ รี ายได้จากการให้เช่า เช่น ศูนย์การค้า อาคารสำ�นักงาน อพาร์ทเมนท์ ฯลฯ ปัจจุบัน PSDC ได้ พัฒนาและบริหารศูนย์การค้าฯ รวมทัง้ สิน้ 3 สาขา พร้อมทัง้ กำ�ลังศึกษา ความเป็นไปได้โครงการใหม่ในอนาคตอยู่อย่างต่อเนื่องต่อไป 13) Thai Good Petroleum Co., Ltd (TGP) TGPเป็นบริษัทร่วมทุนกับนักลงทุนชาวฮ่องกง ซึ่งไม่เป็นบุคคลที่เกี่ยว ข้องกัน บริษทั ร่วมทุนนีจ้ ดั ตัง้ เมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม 2552 ทุนจดทะเบียน 300,000 เหรียญสหรัฐ ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีน โดยบริษัทฯ ถือหุ้นอัตราร้อยละ 31.67 และได้ชำ�ระทุน จดทะเบียนครบแล้ว บริษัทร่วมทุนดังกล่าวประกอบกิจการจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเครื่อง ในสาธารณรัฐประชาชนจีน เขตบริหารพิเศษ ฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน และเขตบริหารพิเศษ มาเก๊าแห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน


โครงสร้างรายได้

โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 แสดงตามตารางดังนี้ มูลค่าการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

ผลิตภัณฑ์

2553 ล้านบาท

ร้อยละ

2554 ล้านบาท

ร้อยละ

ในประเทศ น้ำ�มันดีเซลหมุนเร็ว 12,089.24 61.33 13,097.16 53.66 น้ำ�มันเตา 0.97 - 96.46 0.40 ไบโอดีเซล 578.41 2.93 1,960.19 8.03 เคมีภัณฑ์ 466.94 2.37 630.51 2.58 เบนซิน91,95 2,315.69 11.75 2,620.60 0.74 แก๊สโซฮอล์ 928.99 4.71 667.79 2.74 ผลิตภัณฑ์อื่น 40.58 0.21 186.73 0.77 รวมยอดขายในประเทศ 16,420.82 83.30 19,259.45 78.91 ส่งออก น้ำ�มันดีเซลหมุนเร็ว 2,024.77 10.27 4,424.53 18.13 เคมีภัณฑ์ 1,074.91 5.45 488.83 2.00 ผลิตภัณฑ์อื่น 23.99 0.12 38.85 0.16 รวมยอดขายต่างประเทศ 3,123.67 15.85 4,952.22 20.29 รายได้จากการให้บริการ 166.55 0.84 195.78 0.80 รวมทั้งสิ้น 19,711.04 100.00 24,407.45 100.00

2555 ล้านบาท

ร้อยละ

2,935.98 93.30 25.41 167.38 1,092.75 382.25 13.17 4,710.24 1,935.22 0.00 8.11 1,943.33

43.17 1.37 0.37 2.46 16.07 5.62 0.19 69.26 28.46 0.12 28.58

146.99 6,800.56

2.16 100.00

ปริมาณการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

ผลิตภัณฑ์

2553 ล้านลิตร

ร้อยละ

2554 ล้านลิตร

ในประเทศ น้ำ�มันดีเซลหมุนเร็ว 483.23 59.75 493.1 น้ำ�มันเตา 0.06 - 5.36 ไบโอดีเซล 18.95 2.34 57.77 เคมีภัณฑ์ 24.33 3.01 25.05 เบนซิน91,95 69.99 8.65 71.66 แก๊สโซฮอล์ 31.03 3.84 20.08 ผลิตภัณฑ์อื่น 1.98 0.24 10.8 รวมยอดขายในประเทศ 629.58 77.83 683.92 ส่งออก น้ำ�มันดีเซลหมุนเร็ว 115.23 14.25 189.54 เคมีภัณฑ์ 61.53 7.61 21.22 ผลิตภัณฑ์อื่น 2.48 0.30 2.48 ยอดขายต่างประเทศ 179.24 22.16 213.23 รวมทั้งสิ้น 808.81 100.00 897.15

2555

ร้อยละ

ล้านลิตร

54.97 0.60 6.44 2.79 7.99 2.24 1.21 76.23

102.69 5.28 0.81 6.28 27.96 11.24 0.72 154.98

21.13 2.36 0.28 23.77 100.00

76.59 0.00 0.00 76.59 231.57

ร้อยละ 44.35 2.28 0.35 2.71 12.07 4.85 0.31 66.93 33.07 -รวม 33.07 100.00 27


ปัจจัยความเสี่ยง ในการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทฯ ต้องเผชิญกับปัจจัยความเสี่ยง หลายรูปแบบ จึงจำ�เป็นต้องมีการวางแผนรับมือกับความเสี่ยงเหล่านั้น อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้ ความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูป แม้ว่าบริษัทฯ มีโครงสร้างรายได้จากการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ และโครงสร้างต้นทุนที่อ้างอิงกับราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปในตลาดสิงคโปร์ แต่บริษทั ฯ ยังต้องเผชิญกับความเสีย่ งจากความผันผวนของราคาน้�ำ มัน สำ�เร็จรูปในตลาดสิงคโปร์ และตลาดโลก ซึ่งเกิดจากปัจจัยภายนอกที่ ยากต่อการควบคุม ได้แก่ • การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ และการเมืองของโลกและ ภูมภิ าคที่ ประกอบธุรกิจก๊าซธรรมชาติ และน้ำ�มันดิบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิภาค ตะวันออกกลาง • การกำ�หนด และรักษาปริมาณการผลิต และราคาของก๊าซธรรมชาติ และน้�ำ มันดิบโดย Organization of Petroleum Exporting Countries (OPEC) และประเทศที่ผลิตปิโตรเลียมอื่นๆ • อุปสงค์ และอุปทานของก๊าซธรรมชาติ น้ำ�มันดิบ และผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมสำ�เร็จรูปทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค • กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องของภาครัฐทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ • สภาพภูมิอากาศ • สภาพเศรษฐกิจโลก ในขณะที่ราคาขายผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ จะอิงกับ ราคาตลาดในประเทศซึง่ อิงกับราคาเฉลีย่ MOPS ในวันทีข่ ายผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันสำ�เร็จรูป ความเสี่ยงเกี่ยวกับการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑ์โดยรัฐบาล ความเสีย่ งนีเ้ กิดจากความเป็นไปได้ทร่ี ฐั บาลอาจเข้าแทรกแซง การกำ�หนดราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ช่วงที่ราคาน้ำ�มันดิบและน้ำ�มันสำ�เร็จรูปในตลาดโลกมีความผันผวนสูง ทัง้ นีเ้ พือ่ ควบคุมอัตราเงินเฟ้อ และเพือ่ ประโยชน์ตอ่ เศรษฐกิจ และสังคม ของประเทศโดยรวม การแทรกแซงดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ฐานะการเงิน และผลประกอบการของบริษัทฯ และบริษัทในเครือได้ อย่างไรก็ตามบริษัทฯ พิจารณาว่าความเสี่ยงที่เกิดจากการ แทรกแซงราคาผลิตภัณฑ์โดยรัฐบาลไม่มีผลกระทบมากนัก ทั้งนี้เพราะ เป็นมาตรการชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะเมื่อน้ำ�มันใน ตลาดโลกมีราคาสูง โดยรัฐบาลจะเข้าแทรกแซงการกำ�หนดราคาให้แก่ ผูบ้ ริโภคในระดับต่�ำ และช่วยเหลือผูป้ ระกอบการโดยการจ่ายเงินชดเชย ตามจริงให้แก่ผปู้ ระกอบการในธุรกิจโรงกลัน่ น้�ำ มันทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก การแทรกแซงราคาน้ำ�มันนั้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่ได้รับผลกระทบใน ส่วนของกำ�ไรจากการกลัน่ แต่อย่างใด นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังพยายาม บริหารสินค้าคงคลังของบริษทั ฯ ตลอดเวลา เพือ่ ให้ได้รบั ผลกระทบจาก ความเสี่ยงนี้น้อยที่สุด

28

ความเสี่ยงด้านคดีความ ความเสี่ยงนี้เกิดขึ้นจากข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 114/2552 , ข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 100/2554,ข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 78/2555 ของสถาบันอนุญาโตตุลาการ , คดีแพ่งหมายเลขดำ�ที่ 3162/2553 ของศาลแพ่ง และคดีแรงงาน หมายเลขดำ�ที่ รย. 303-338/2555 ที่เกิดจากการที่บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (PTT) แจ้งยกเลิกสัญญา ซือ้ ขาย CR และหยุดส่งวัตถุดบิ CR โดยสิน้ เชิง ดังทีก่ ล่าวข้างต้น ขณะ นีข้ อ้ พิพาททางการค้าอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ และคดีแพ่งทีฟ่ อ้ งอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาคดีของศาลแพ่ง ซึง่ ผลของ ข้อพิพาท และคดีทฟ่ี อ้ งร้องยังไม่สามารถระบุได้ ขึน้ อยูก่ บั กระบวนการ ยุติธรรมในอนาคต (รายละเอียดในข้อพิพาททางกฎหมาย) ความเสี่ยงจากการดำ�เนินธุรกิจในอนาคต ความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจในอนาคต เกิดจากการที่บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (PTT) เป็นผู้จำ�หน่ายวัตถุดิบหลักรายเดียวของ บริษทั ฯ ปฎิบตั ผิ ดิ สัญญากับบริษทั ฯ ด้วยการบอกเลิกสัญญา ทัง้ ที่ บริษทั ฯ มิได้ผิดสัญญา และสัญญาซื้อขายดังกล่าวเป็นสัญญาที่มีผลบังคับยาว นานต่อเนื่องกันไป โดยมิได้กำ�หนดระยะเวลาสิ้นสุดของสัญญา Evergreen Basis) จนเป็นเหตุให้บริษทั ต้องเสนอคดีตอ่ อนุญาโตตุลาการ และฟ้องคดีต่อศาลแพ่ง ตามลำ�ดับ ในระหว่างการพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการ บริษทั ปตท จำ�กัด (มหาชน) ( PTT ) ได้หยุดส่งวัตถุ ดิบหลักให้กบั บริษทั ฯ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้นไป ซึง่ เป็น การ ผิดสัญญาข้อ 15.5 ทีร่ ะบุวา่ แม้คสู่ ญ ั ญาจะมีขอ้ พิพาทต่อกัน บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ( PTT )ในฐานะคู่สัญญา ก็ยังคงต้องปฏิบัติตาม สัญญาต่อไปจนกว่าอนุญาโตตุลาการจะมีคำ�วินิจฉัยชี้ขาดเสร็จสิ้น กรณีดงั กล่าวจึง ส่งผลทำ�ให้บริษทั ฯ ต้องหยุดการผลิตลงอย่างไม่มกี �ำ หนด ทำ�ให้สูญเสียรายได้หลัก เพื่อชดเชยรายได้หลักที่สูญหาย บริษัทฯ จึงได้ทำ�การศึกษา ความเป็นไปได้ของโครงการต่างๆ ทัง้ ธุรกิจน้�ำ มัน และธุรกิจอืน่ ๆ ปัจจุบนั บริษทั ฯได้มกี ารลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็ก ด้านพลังงานทดแทน และได้ลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ (รายละเอียดในข้อโครงการในอนาคต)


รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อย กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันที่เกิดขึ้นในปี 2554 และ 2555

รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท แจ๊สซี่ครีเอชั่น จำ�กัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ จ่ายค่าบริการให้กับบริษัท แจ๊สซีค่ รีเอชัน่ จำ�กัด ซึง่ เป็นบริษทั ผลิตงานโฆษณา สิ่งพิมพ์ และสื่อ ประชาสัมพันธ์ทุกชนิด

ลักษณะความสัมพันธ์ นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ และนางศิรพร กฤษณกาญจน์ กรรมการร่วมกันของ บริษัท แจ๊สซี ครีเอชั่น จำ�กัด

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555 0.04

-

รายการระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อย กับ บริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท์ จำ�กัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ ซื้ออุปกรณ์และวัสดุสิ้น เปลือง จากบริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท์ จำ�กัด

ลักษณะความสัมพันธ์ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล และ นายสุทัศน์ ขันเจริญสุข กรรมการร่วมกันของ บริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท์ จำ�กัด

บริษัทฯ รับค่าที่ปรึกษาระบบ บริหารงาน จากบริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท์ จำ�กัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด (บริษั ย่อย) รับรายได้จากการ บริหารโครงการงานติดตั้ง อุปกรณ์และระบบสาธารณูปโภค ต่างๆ ของการก่อสร้างส่วน สนับสนุนการปฏิบัติงานและส่วน กำ�บังรังสีฯ จากบริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท์ จำ�กัด

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555 0.27

-

0.04

-

0.50

-

รายการระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย กับ บริษทั บลูแพลนเน็ท จำ�กัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ จ่ายค่าตั๋วเครื่องบิน

ลักษณะความสัมพันธ์ นายพิพธิ พิชยั ศรทัต กรรมการ ของบริษทั บลูแพลนเน็ท จำ�กัด

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555 0.59

0.33

รายการระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย กับ บริษทั วิลเลจฟาร์ม แอนด์ เฟรน จำ�กัด บริษทั วิลเลจฟาร์ม มาร์เกตติง้ จำ�กัด

ลักษณะรายการ บริษัทฯ จ่ายค่ารับรอง ให้กับ บริษัท วิลเลจฟาร์ม มาร์เกตติ้ง จำ�กัด

ลักษณะความสัมพันธ์ นายวีระวัฒน์ ชลวณิช กรรมการ ของบริษทั วิลเลจฟาร์ม แอนด์ เฟรน จำ�กัด และบริษทั วิลเลจ ฟาร์ม มาร์เกตติ้ง จำ�กัด

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555 0.01

29


รายการระหว่างบริษัทย่อย กับ บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) ลักษณะรายการ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอป เม้นท์จำ�กัด (บริษัทย่อย) จ่าย ค่าเช่าที่ดินและค่าไฟฟ้าให้กับ บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งประกอบธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (บริษัทย่อย ; PTEC) รับค่าน้ำ� มัน จาก บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (บริษัทย่อย ; PTEC) จ่ายค่า ร่วมธุรกิจให้กับ บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)

ลักษณะความสัมพันธ์ นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการ ของบริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555 2.24

-

1.15

0.84

0.42

0.56

รายการระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อย กับ บริษัท ออนเนสท์ แอนด์ เอฟีเชียน จำ�กัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ จ่ายค่าตรวจสอบคุณภาพ ให้กับบริษัท ออนเนสท์ แอนด์ เอ ฟีเชียน จำ�กัด

ลักษณะความสัมพันธ์ นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ และนางศิรพร กฤษณกาญจน์ กรรมการร่วมกันของบริษัท ออน เนสท์ แอนด์ เอฟีเชียน จำ�กัด

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555 0.30

-

รายการระหว่างบริษัทย่อย กับ บริษัท มงคลชัยพัฒนา จำ�กัด ลักษณะรายการ บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (บริษัทย่อย ; PTEC) จ่ายค่า รับรองและของขวัญ ให้กับบริษัท มงคลชัยพัฒนา จำ�กัด

30

ลักษณะความสัมพันธ์ นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการ ของบริษัท มงคลชัยพัฒนา จำ�กัด

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555 0.077

-


รายการระหว่างบริษทั ย่อย กับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ลักษณะรายการ บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (บริษัทย่อย) จ่ายดอกเบี้ยจาก การรับความช่วยเหลือทางการเงิน โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) ให้กับกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบ ริษัทฯ ดังนี้ P/N อัตราดอกเบี้ย 5.75% P/N อัตราดอกเบี้ย 5.75% P/N อัตราดอกเบี้ย 5.75%

ลักษณะความสัมพันธ์

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555

น้องสาว นายสุวินัย สุวรรณ หิรญ ั กุล กรรมการผูจ้ ดั การและ กรรมการบริษัทฯ บุตร นายสุมิตร ชาญเมธี กรรมการบริษัทฯ นิติบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการอิสระ

0.142

-

0.235

-

0.200

-

รายการระหว่างบริษทั ฯ กับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน ลักษณะรายการ บริษัทฯ จ่ายดอกเบี้ยจากการรับ ความช่วยเหลือทางการเงิน โดย การออกเป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน (P/N) และสัญญาเงินกู้ ให้กับ กรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่ เกี่ยวโยงกัน ดังนี้ สัญญาเงินกู้ อัตราดอกเบี้ย 5.75% สัญญาเงินกู้ อัตราดอกเบี้ย 5.75% P/N และสัญญาเงินกู้ อัตรา ดอกเบี้ย 5.75% สัญญาเงินกู้ อัตราดอกเบี้ย 5.75% P/N และสัญญาเงินกู้ อัตรา ดอกเบี้ย 5.25% และ 5.75% P/N และสัญญาเงินกู้ อัตรา ดอกเบี้ย 5.25% และ 5.75 P/N อัตราดอกเบี้ย 5.75%

ลักษณะความสัมพันธ์

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555

ญาติสนิท นายอานุภาพ จามิกรณ์ กรรมการ อิสระ นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ กรรมการบริษัทฯ

1.78

0.16

0.14

0.01

ญาติสนิท นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการผู้จัดการและกรรมการบริษัทฯ คูส่ มรส นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข กรรมการบริษทั ฯ

1.33

-

0.06

0.01

ญาติสนิท นิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง และนายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการบริษัทฯ บุตร และนายสุมิตร ชาญเมธี กรรมการบริษัทฯ

8.60

0.78

1.43

-

นิติบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการอิสระ

1.32

0.12 31


รายงาน

การวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2555 บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีขาดทุนสุทธิ 134 ล้านบาท ในขณะ ที่ปี 2554 มีกำ�ไรสุทธิ 171 ล้านบาท ลดลง 305 ล้านบาท คิดเป็นร้อย ละ 178 การขาดทุนดังกล่าวเป็นผลจากการทีบ่ ริษทั ปตท จำ�กัด (มหาชน) (“ปตท”) หยุดส่งวัตถุดบิ ให้แก่บริษทั ฯ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 ซึง่ ถือเป็นการปฏิบัติผิดสัญญาข้อ 15.5 ที่ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ในขณะที่ เรือ่ งยังอยูร่ ะหว่างกระบวนการอนุญาโตตุลาการ คูส่ ญ ั ญาทัง้ 2 ฝ่ายจะ ต้องปฏิบัติตามสัญญาต่อไป จนกว่าจะมีผลการพิจารณาชีข้ าดจากคณะ อนุญาโตตุลาการ ซึง่ ขณะนีย้ งั อยูร่ ะหว่างกระบวนการอนุญาโตตุลาการ การปฏิบตั ผิ ดิ สัญญานีท้ �ำ ให้บริษทั ฯ จำ�เป็นต้องหยุดการผลิตลงอย่างไม่มี กำ�หนดเวลา ซึง่ ได้สง่ ผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ผลกระทบดังกล่าวส่งผลให้ในปี 2555 บริษัทฯ มีรายได้จากการ ขายทั้งสิ้นเพียง 6,800 ล้านบาท ลดลงถึง 17,607 ล้านบาท หรือร้อย ละ 72 เมื่อเทียบกับปีก่อน ที่มีรายได้จากการขาย 24,407 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ต้นทุนขายก็ลดลงเช่นเดียวกัน คือต้นทุนขายในปี 2555 ลดลง 16,965 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 72 ส่วนค่าใช้จ่ายขายและบริหาร และค่าตอบแทนผู้บริหาร ใน ปี 2555 ลดลง 71 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12 จากปีก่อน เป็นการลดลง ของค่าจ้างและสวัสดิการที่เกิดจากการเลิกจ้างพนักงาน หลังการปรับ โครงสร้างองค์กรให้เล็กลง เนื่องจากบริษัทฯ หยุดการผลิตลงอย่างไม่มี กำ�หนด จากการที่ ปตท. หยุดส่งวัตถุดิบให้แก่บริษัทฯ สำ�หรับฐานะการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 2,690 ล้านบาท มีหนี้สินรวม 1,797 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 893 ล้านบาท

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานการเงิน

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อยและ สารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัด ทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือก ใช้นโยบายบัญชีท่ี เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดลุ ยพินจิ อย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ� รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญ อย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการได้จัดให้มี และดำ�รงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุม ภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าการบันทึกข้อมูล ทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ ซึ่งทรัพย์สิน และเพื่อให้ทราบจุดอ่อนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต

32

หรือการดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจ สอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เกีย่ วกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏใน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ โดยรวมอยู่ในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอต่อความเชื่อถือได้ ของ งบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ประธานกรรมการ


รายงาน

คณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2555 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556 เรื่อง รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2555 เรียน คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามขอบเขต หน้าทีแ่ ละ ความรับผิดชอบตามกฎบัตรที่อนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัท ซึ่งสอด คล้องกับข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในรอบปีบัญชี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ อย่างเป็นอิสระ โดยบริษทั ได้จดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ จำ�นวน 4 ครัง้ และกรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้าร่วมประชุมครบถ้วน ทุกครั้ง โดยเป็นการร่วมประชุมกับผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบ ภายใน ตามความเหมาะสม ซึ่งสรุปสาระสำ�คัญของการปฏิบัติงานได้ ดังนี้ 1. งบการเงิน และการจัดทำ�บัญชีตามมาตรฐานการบัญชีสากล คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำ�ปี 2555 ร่วมกับฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชี โดย ได้สอบถามและรับฟังคำ�ชีแ้ จง ในเรือ่ งความถูกต้อง ครบถ้วนของงบการ เงิน และความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นสอดคล้องกับผูส้ อบบัญชีวา่ งบการเงินดังกล่าวมีความถูกต้อง ตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการบัญชีสากล (International Financial Reporting Standards; IFRS) ของบริษัทฯและบริษัทย่อย และมีการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบ การเงิน ทั้งนี้งบการเงินของบริษัทฯ ยังคงจัดทำ�ขึ้นภายใต้ข้อสมมติฐาน การดำ�เนินงานต่อเนื่องของกิจการ โดยไม่ได้ปรับปรุงมูลค่าสินทรัพย์ใน ราคาทีอ่ าจขายได้ และไม่ได้ปรับปรุงหนีส้ นิ ตามจำ�นวนเงินทีจ่ ะต้องจ่าย คืนและจัดประเภทบัญชีใหม่ ซึง่ อาจมีความจำ�เป็นหากบริษทั ฯ ไม่สามารถ ดำ�เนินงานอย่างต่อเนือ่ ง สาเหตุจากการทีบ่ ริษทั ฯ มีขอ้ พิพาททางการค้า และคดีฟ้องร้องกับบริษัท ปตท. จำ�กัด(มหาชน) ผู้ขายวัตถุดิบหลักของ บริษัทฯ โดยข้อพิพาททางการค้าดังกล่าวอยู่ภายใต้กระบวนการอนุญา โตตุลาการและกระบวนการพิจารณาคดีของศาลแพ่ง ซึง่ ผลของข้อพิพาท และคดีฟอ้ งร้องดังกล่าวยังไม่สามารถระบุได้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยบริหารเข้าร่วมประชุม 1 ครัง้ เพื่อพิจารณาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในและแผนการ ตรวจสอบบัญชีประจำ�ปี 2555 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย 2. รายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา การเปิดเผยข้อมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ซึ่งผู้สอบบัญชีมีความเห็นว่ารายการค้ากับบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระสำ�คัญได้เปิดเผยและแสดงรายการในงบการ เงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว และคณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชี รวมทั้งมีความเห็น

ว่ารายการดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขธุรกิจการค้าปกติทั่วไป และ เป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งมีการเปิดเผย ข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน ตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของคณะ กรรมการกำ�กับตลาดทุน 3. ระบบการควบคุมภายใน และความเป็นอิสระของหน่วย งานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณารายงาน การตรวจสอบภายในและความคืบหน้าของการดำ�เนินงานเป็นราย ไตรมาส ตามแผนงานทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ พร้อมทัง้ ให้ขอ้ เสนอแนะกับหน่วย งานตรวจสอบภายใน ในการปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีการติดตามและดำ�เนินการแก้ไขในประเด็นทีม่ นี ยั สำ�คัญอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้หน่วยงานต่างๆ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีระบบการควบคุม ภายในที่เหมาะสม รวมทัง้ สอบทานนโยบายแนวทางการบริหารความ เสีย่ ง ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั ของบริษทั ฯ ทัง้ ในด้านคดีความ และการดำ�เนินธุรกิจในอนาคต ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า บริษทั ฯ มีการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งทีเ่ พียงพอ มี ประสิทธิผล และการตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ เป็นไปอย่างอิสระ เพียงพอเหมาะสม 4. การปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดของภาครัฐ คณะกรรมการตรวจ สอบได้พจิ ารณาการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลัก ทรัพย์ฯ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษทั ฯ ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษทั ฯมี การปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องและไม่พบประเด็นทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญ 5. คัดเลือกและแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาผลการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมา รวมถึงชื่อเสียง ขอบเขต ความเป็นอิสระ และปริมาณงานทีผ่ สู้ อบบัญชีรบั ผิดชอบเห็นว่ามีความ เหมาะสม จึงเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติในที่ประชุม ผู้ถือหุ้น โดยคัดเลือกบริษัทสำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เป็นผู้ ตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำ�ปี 2555 อีกครั้ง 6. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญในการ บริหารงานตามหลักการของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ก�ำ กับดูแลให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอและถูกต้อง รวมทั้งส่งเสริมให้บริษัทฯ มีระบบธรรมาภิบาล การบริหารจัดการที่ดี เพื่อให้มีความโปร่งใส และมีจริยธรรม ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือ หุ้น ผู้ลงทุน พนักงาน ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และได้สอบทานวิธีการ รายงานส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร เพื่อให้เป็นไปตามที่ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด 33


โดยสรุปในภาพรวมแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบตั หิ น้าที่ ครบถ้วนตามทีร่ ะบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ าก คณะกรรมการบริษทั ฯ และเห็นว่า บริษทั ฯ ถือนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ เี ป็นสำ�คัญ มีผลให้ระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพเพียง พอ ไม่มขี อ้ บกพร่องเป็นสาระสำ�คัญ มีการบริหาร ความเสีย่ งทีเ่ พียงพอ มีประสิทธิผล การจัดทำ�งบการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินทำ� ขึน้ อย่างครบถ้วน ถูกต้องเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองโดยทัว่ ไป และมีการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อย่างถูกต้องและครบถ้วน รวมทัง้ มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบวิธปี ฏิบตั ิ ข้อกำ�หนดทีเ่ กีย่ วข้อง จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(ดร.วิชิต แย้มบุญเรือง) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน)

34


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รายงานการตรวจสอบ และ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2555 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการ เงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกำ�ไรขาดทุนรวม งบกำ�ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม และงบกระแสเงินสดรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุ สรุปนโยบายการบัญชีที่สำ�คัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ และได้ตรวจ สอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินเหล่า นี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและรับ ผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพื่อให้ สามารถจัดทำ�งบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว จากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตาม มาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้าน จรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความ เชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัด ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐาน การสอบบัญชีเกี่ยวกับจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวม ถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอัน เป็นสาระสำ�คัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิด พลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการ ควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินโดย ถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะ สมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการ ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความ สมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทำ�ขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้ง การประเมินการนำ�เสนองบการเงินโดยรวม อย่างไรก็ตาม เรื่องที่กล่าวในวรรคเกณฑ์ในการไม่แสดงความเห็นยัง ไม่มีหลักฐานที่จะสรุปผลเพื่อให้ข้าพเจ้าใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความ เห็นต่องบการเงินดังกล่าวได้ในขณะนี้

เกณฑ์ในการไม่แสดงความเห็น ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1.2 และข้อ 37.4 ก) ในปี 2552 และปี 2553 บริษัทฯมีข้อพิพาททางการค้าและคดีฟ้อง ร้องที่สำ�คัญกับผู้ขายวัตถุดิบรายหลักของบริษัทฯ ขณะนี้ ข้อพิพาท ทางการค้าดังกล่าวอยู่ภายใต้กระบวนการอนุญาโตตุลาการ และคดี ฟ้องร้องอยู่ภายใต้กระบวนการพิจารณาคดีของศาลแพ่ง ผลของข้อ พิพาททางการค้าและคดีฟ้องร้องดังกล่าวยังไม่สามารถระบุได้และ ขึ้นอยู่กับกระบวนการยุติธรรมในอนาคต ต่อมา ผู้ขายวัตถุดิบราย หลักของบริษัทฯได้หยุดส่งวัตถุดิบให้แก่บริษัทฯตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 ซึ่งทำ�ให้บริษัทฯต้องหยุดการผลิตเพราะไม่สามารถจัดหา วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ดั ง กล่ า วจากผู้ ข ายรายอื่ น และบริ ษั ท ย่ อ ยบางบริ ษั ท ที่ ดำ�เนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับบริษัทฯต้องหยุดดำ�เนินกิจการ สถานการณ์ ดั งกล่ า วทำ � ให้ เ กิ ด ข้ อ สงสั ย อย่ า งมากเกี่ ย วกั บ ความสามารถของบ ริษัทฯและบริษัทย่อยบางบริษัทที่จะดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ขึ้น อยู่กับผลของข้อพิพาททางการค้า คดีฟ้องร้อง การหาแหล่งวัตถุดิบ ใหม่ รวมถึงความเป็นไปได้ในการย้ายที่ตั้งโรงงานให้ใกล้แหล่งวัตถุดิบ ใหม่ดังกล่าว การจำ�หน่ายทรัพย์สินและการหาธุรกิจใหม่ ข้าพเจ้า จึงไม่แสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี 2554 และในปีปัจจุบัน เหตุการณ์ดังกล่าวยังคงไม่คลี่คลาย คดี ฟ้ อ งร้ อ งดั ง กล่ า วยั ง คงอยู่ ร ะหว่ า งกระบวนการยุ ติ ธ รรมและ บริษัทฯและบริษัทย่อยบางบริษัทยังคงต้องหยุดการดำ�เนินงานหลัก ของกิจการ การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญ 1) ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 บริษัทฯและ บริษัทย่อยมีอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานซึ่งแสดงอยู่ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จำ�นวน เงิน 788 ล้านบาทและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการจำ�นวน เงิน 381 ล้านบาท ในระหว่างปี 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดให้ มีการประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อพิจารณาการด้อยค่าของสินทรัพย์ ผล ของการประเมินดังกล่าวแสดงมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของอาคาร โรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานสูงกว่ามูลค่าสุทธิตามบัญชีใน งบการเงินรวมจำ�นวนเงิน 37 ล้านบาท (สูงกว่ามูลค่าสุทธิตามบัญชี ในงบการเงินเฉพาะกิจการ: 7 ล้านบาท) ดังนั้น บริษัทฯและบริษัท ย่อยจึงไม่ได้บันทึกค่าเผื่อการด้อยค่าสำ�หรับอาคารโรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณ์โรงงานดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การประเมินการด้อยค่า ของอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน ผู้ประเมินราคา อิสระใช้วิธีมูลค่าต้นทุนทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost) ซึ่งไม่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) 35


เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ ซึ่งกำ�หนดให้กิจการประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์จาก มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่สามารถตรวจสอบให้เป็นที่พอใจได้ว่าค่าเผื่อการด้อยค่าที่อาจจำ�เป็นต้องบันทึกบัญชี มีจำ�นวนเท่าใดเนื่องจากบริษัทฯและบริษัทย่อยยังไม่ได้พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของอาคาร โรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานตามวิธีที่กำ�หนดในมาตรฐานการบัญชีดังกล่าว 2)ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯได้ทำ�การประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงินให้กู้ยืมระยะ สั้นและเงินลงทุนในบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง ซึ่งแสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จำ�นวนเงิน 322 ล้านบาท และ 280 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ผลของการประเมินดังกล่าว แสดงมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของเงินให้กู้ยืมและเงินลงทุนดังกล่าวต่ำ�กว่ามูลค่าสุทธิตามบัญชีรวม จำ�นวนเงิน 104 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษัทฯไม่ได้บันทึกค่าเผื่อการด้อยค่าสำ�หรับเงินให้กู้ยืมและเงิน ลงทุนดังกล่าว นอกจากนี้ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนส่วนใหญ่ของบริษัทย่อยตามที่บริษัทฯประเมินนั้นขึ้น อยู่กับมูลค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ซึ่งบริษัทย่อยได้จัดให้มีการประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน โดยผู้ประเมินราคาอิสระตามวิธีที่กล่าวไว้ในวรรค 1) ซึ่งเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ไม่ เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่สามารถตรวจสอบให้เป็น ที่พอใจได้ว่าค่าเผื่อการด้อยค่าที่อาจจำ�เป็นต้องบันทึกบัญชีมีจำ�นวนเท่าใดเนื่องจากบริษัทย่อยยังไม่ได้ พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานตามวิธีที่กำ�หนดใน มาตรฐานการบัญชีดังกล่าว การไม่แสดงความเห็น เนื่องจากเรื่องที่กล่าวไว้ในวรรคเกณฑ์ในการไม่แสดงความเห็นมีผลกระทบที่มีนัยสำ�คัญต่องบการเงิน รวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย และงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงไม่แสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว

สุมาลี รีวราบัณฑิต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3970 บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด กรุงเทพฯ: 18 กุมภาพันธ์ 2556

36


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2555 2554

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน 6 618,176,180 523,807,608 555,721,879 420,383,176 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 7 228,994,798 90,408,602 133,320,663 90,408,602 เงินลงทุนชั่วคราว 8,9 107,724,649 620,533,279 14,587,324 668,088,809 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 10 73,467,043 1,064,370,091 4,898,054 977,154,389 สินค้าคงเหลือ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับจาก 11 400,000 3,100,000 400,000 3,100,000 กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน - 1,577,525 353,988,439 16,577,525 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 9 เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน 12 487,227 886,987 - 427,595 ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี 13 24,485,217 157,291,047 5,608,623 94,230,362 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 1,053,735,114 2,461,975,139 1,068,524,982 2,270,370,458 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 14 87,303,714 97,780,291 81,200,000 90,000,000 เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกัน 2,646,073 3,064,649 1,000,000 931,349 เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน 12 15 421,338,201 125,649,604 426,946,265 132,355,892 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 16 481,134,443 431,849,079 เงินลงทุนในบริษัทย่อย 17 1,077,309,445 1,319,883,158 544,525,075 601,974,986 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 18 10,207,295 12,840,441 6,936,737 9,040,858 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 19 37,930,231 46,305,330 28,922,006 32,829,818 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 1,636,734,959 1,605,523,473 1,570,664,526 1,298,981,982 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2,690,470,073 4,067,498,612 2,639,189,508 3,569,352,440 รวมสินทรัพย์ หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

37


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2555 2554

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 20 - 275,000,000 - เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 9, 21 1,770,599,268 1,596,404,294 1,538,996,916 1,575,913,399 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 22 1,690,000 12,690,000 - 1,000,000 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี 23 - 140,000,000 - เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี 24 - 24,000,000 - 24,000,000 เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี 9 - 207,000,000 - 207,000,000 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำ�หนด ชำ�ระภายในหนึ่งปี 17, 25 2,944,009 44,704,673 737,618 2,085,686 ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 139,728 19,135,055 - 17,376,549 สำ�รองผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง 26 - 80,855,209 - 63,173,938 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 27 15,257,248 46,604,346 762,789 17,737,990 รวมหนี้สินหมุนเวียน 1,790,630,253 2,446,393,577 1,540,497,323 1,908,287,562 หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 17, 25 3,551,362 69,903,301 1,233,470 3,629,174 สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 26 3,063,855 2,717,299 - เงินมัดจำ�ค่าเช่า - 394,576 - รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 6,615,217 73,015,176 1,233,470 3,629,174 รวมหนี้สิน 1,797,245,470 2,519,408,753 1,541,730,793 1,911,916,736 หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

38


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

หมายเหตุ

2555

งบการเงินรวม 2554

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน 802,870,229 802,870,229 802,870,229 802,870,229 หุน้ สามัญ 802,870,229 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว 529,870,229 529,870,229 529,870,229 529,870,229 หุน้ สามัญ 529,870,229 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท 335,065,699 335,065,699 335,065,699 335,065,699 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว 28 80,304,817 80,304,817 80,304,817 80,304,817 สำ�รองตามกฎหมาย - บริษัทฯ 28 - 50,000 - - - บริษัทย่อย (235,072,543) 400,669,993 (22,419,001) 516,857,307 ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม) 174,636,971 195,337,652 174,636,971 195,337,652 องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น 884,805,173 1,541,298,390 1,097,458,715 1,657,435,704 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 8,419,430 6,791,469 - - ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย 893,224,603 1,548,089,859 1,097,458,715 1,657,435,704 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 3,569,352,440 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 2,690,470,073 4,067,498,612 2,639,189,508 หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

39


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำ�ไรขาดทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินรวม หมายเหตุ

รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริการ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนส่วนแบ่งขาดทุน จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปี การแบ่งปันกำ�ไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัทย่อย

2555

2554

6,653,567,583 24,211,666,064 146,989,600 195,779,911 30 135,340,258 44,951,495 6,935,897,441 24,452,397,470 6,423,424,320 23,342,811,240 110,230,190 156,082,819 63,254,462 120,611,012 459,428,441 472,613,525 - - 7,056,337,413 24,092,118,596

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555

2554

2,521,850,798 19,267,878,633 - 207,664,852 96,190,043 2,729,515,650 19,364,068,676 2,457,865,953 18,472,506,793 - 23,284,191 164,173,053 247,408,010 289,612,471 33,577,042 2,762,135,196 18,926,292,317

(120,439,972) 360,278,874 (32,619,546) 437,776,359 15 (2,076,676) (4,623,038) - (122,516,648) 355,655,836 (32,619,546) 437,776,359 (12,764,794) (67,360,773) (4,455,327) (30,483,074) (135,281,442) 288,295,063 (37,074,873) 407,293,285 32 (216,864) (115,301,443) - (108,291,708) (135,498,306) 172,993,620 (37,074,873) 299,001,577 (133,591,101) 170,732,464 (37,074,873) 299,001,577 (1,907,205) 2,261,156 (135,498,306) 172,993,620 0 0 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 33 กำ�ไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (0.25) 0.32 (0.07) 0.56 งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปี (135,498,306) 172,993,620 (37,074,873) 299,001,577 กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่า งบการเงิน ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ - (1,477,378) - - กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำ�หรับปี - (1,477,378) - - กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี (135,498,306) 171,516,242 (37,074,873) 299,001,577 การแบ่งปันกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (133,591,101) 169,255,086 (37,074,873) 299,001,577 ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม (1,907,205) 2,261,156 ของบริษัทย่อย (135,498,306) 171,516,242 หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 40


41

335,065,699 335,065,699 -

-

-

-

529,870,229 -

335,065,699

529,870,229

529,870,229 -

-

-

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป ตัดจำหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (หมายเหตุ 29) ปรับโครงสรางการถือหุนสามัญของบริษัทในเครือ เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 36) บริษัทยอยจายเงินปนผลใหผูมีสวนไดเสีย ที่ไมมีอำนาจควบคุมของบริษัทยอย ผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุมของบริษัทยอย ซื้อเงินลงทุน บริษัทฯซื้อหุนจากผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม ของบริษัทยอย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป ตัดจำหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (หมายเหตุ 29) สูญเสียอำนาจการควบคุมในบริษัทยอย โอนกำไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรเปนสำรอง ตามกฎหมาย (หมายเหตุ 28) เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 36) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

สวนเกินมูลคา หุนสามัญ 335,065,699 -

ทุนเรือนหุน ที่ออกและชำระแลว 529,870,229 -

80,304,817 -

-

-

-

80,304,817 -

27,300,000 80,304,817

-

-

-

-

(50,000) -

50,000 -

50,000

-

กำไรสะสม จัดสรรแลว สำรองตามกฎหมาย บริษัทฯ บริษัทยอย 53,004,817 50,000 -

งบการเงินรวม

(235,072,543) -

-

-

20,700,681 50,000 (522,902,116)

400,669,993 (133,591,101)

(27,300,000) (21,194,738) 400,669,993

21,074,889 -

- 0

-

-

-

-

-

-

174,636,971

-

-

(20,700,681) -

195,337,652 -

195,337,652

(21,074,889) -

174,636,971 -

-

-

(20,700,681) -

195,337,652 -

195,337,652

(21,074,889) -

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่น - ผลตางจากการ สวนเกินทุน ยังไมไดจัดสรร แปลงคางบการเงินที่เปน จากการตีราคา รวมองคประกอบอื่น (ขาดทุนสะสม) เงินตราตางประเทศ สินทรัพย ของสวนของผูถือหุน 257,357,378 1,477,378 216,412,541 217,889,919 170,732,464 (1,477,378) (1,477,378)

สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

884,805,173 -

-

(5,625,768) 8,419,430 -

9,174,215

(13,281)

-

(522,902,116) -

6,791,469 (1,907,205)

6,791,469

(125,192,979)

สวนของ ผูมีสวนไดเสียที่ ไมมีอำนาจควบคุม ของบริษัทยอย 129,723,292 2,261,156

1,541,298,390 (133,591,101)

(21,194,738) 1,541,298,390

-

รวม สวนของผูถือหุน ของบริษัทฯ 1,393,238,042 169,255,086

(5,625,768) 893,224,603 -

9,174,215

(13,281)

(522,902,116)

1,548,089,859 (135,498,306)

(21,194,738) 1,548,089,859

(125,192,979)

รวมสวนของ ผูถือหุน 1,522,961,334 171,516,242


42

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป ตัดจำหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (หมายเหตุ 29) เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 36) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับป ตัดจำหนายสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (หมายเหตุ 29) โอนกำไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรเปนสำรองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 28) เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 36) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 335,065,699 335,065,699 -

335,065,699

529,870,229 529,870,229 529,870,229 -

สวนเกินมูลคา หุนสามัญ 335,065,699 -

ทุนเรือนหุน ที่ออกและชำระแลว 529,870,229 -

(หนวย: บาท)

80,304,817 80,304,817 -

27,300,000 80,304,817 516,857,307 (37,074,873) 20,700,681 (522,902,116) (22,419,001) -

(27,300,000) (21,194,738) 516,857,307

195,337,652 (20,700,681) 174,636,971

195,337,652

195,337,652 (20,700,681) 174,636,971 -

195,337,652

1,657,435,704 (37,074,873) (522,902,116) 1,097,458,715 -

(21,194,738) 1,657,435,704

งบการเงินเฉพาะกิจการ กำไรสะสม องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน จัดสรรแลว ยังไมไดจัดสรร สวนเกินทุนจากการ รวมองคประกอบอื่น สำรองตามกฎหมาย (ขาดทุนสะสม) ตีราคาสินทรัพย ของสวนของผูถือหุน รวมสวนของผูถือหุน 53,004,817 245,275,579 216,412,541 216,412,541 1,379,628,865 299,001,577 299,001,577 21,074,889 (21,074,889) (21,074,889) -

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 (ต่อ)

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบการเงินรวม

2555

2554

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน (135,281,442) 288,295,063 (37,074,873) กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบยอดกำ�ไร (ขาดทุน)ก่อนค่าใช้จา่ ยภาษี เงินได้ เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน: 162,124,009 170,046,179 68,381,455 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย (679,321) (2,073,059) 16,720,113 หนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) 8,032,394 (250,811) 7,876,730 การปรับลดสินค้าคงเหลือเป็นมูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้รบั (โอนกลับ) 14,345,773) (642,471) (14,078,615) กำ�ไรจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว (588,715) (108,787) (418,518) กำ�ไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุนชั่วคราว (67,270,868) (733,322) (85,335,873) ขาดทุน (กำ�ไร) จากการขายอุปกรณ์ สำ�รองผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างและสำ�รองผลประโยชน์ 16,111,951 59,689,754 10,018,028 ระยะยาวของพนักงาน 1,148,197 (154,400) 1,148,197 ขาดทุน (กำ�ไร) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยน 33,577,042 ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน - - (44,207,975) เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย (21,238,635) (5,863,630) (39,027,258) ดอกเบี้ยรับ 9,852,305 63,407,427 4,198,613 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 2,076,676 4,623,038 ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ขาดทุน (กำ�ไร) จากการรับรู้มูลค่าเงินลงทุนใน บริษัทย่อยเดิม - 1,122,896 - ด้วยมูลค่ายุติธรรม กำ�ไร (ขาดทุน) จากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน (40,059,222) 577,357,8 (78,222,934) สินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน สินทรัพย์ดำ�เนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง 515,504,931 10,675,188 653,806,734 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 982,870,654 317,350,047 964,379,605 สินค้าคงเหลือ 135,715,856 (448,940) 87,706,796 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 8,375,099 (628,106) 3,907,812 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

2554 407,293,285 64,042,621 (491,376) (108,787) 806 41,579,063 (154,400) (6,743,976) 27,226,442 (14,431,392) 518,212,286 89,465,482 209,565,962 609,313 208,742

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

43


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบการเงินรวม 2555 2554

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

หนี้สินดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 174,681,412 162,491,721 (36,823,805) 181,772,503 จ่ายผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง (96,620,604) - (73,191,966) หนี้สินหมุนเวียนอื่น (31,361,503) (85,099,768) (16,975,201) (88,802,030) หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น (394,576) (9,227,491) เงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 1,648,712,047 972,470,528 1,504,587,041 911,032,258 จ่ายดอกเบี้ย (9,069,516) (46,900,878) (4,291,291) (27,302,811) เงินสดรับจากการขอคืนภาษีเงินได้ 3,150,675 7,677,863 3,150,675 5,025,962 จ่ายภาษีเงินได้ (24,178,541) (99,820,290) (18,517,930) (90,915,159) เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 1,618,614,665 833,427,223 1,484,928,495 797,840,250 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) 10,476,577 (7,780,291) 8,800,000 รับดอกเบี้ย 18,556,632 5,488,734 36,336,873 6,369,080 เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย - - 44,207,975 เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนชั่วคราว (2,678,310,000) (1,936,000,000) (1,688,300,000) (1,269,000,000) เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว 2,554,658,292 1,890,342,471 1,659,885,072 1,190,191,376 เงินสดจ่ายสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย (หมายเหตุ 16) - - (79,861,821) (26,000,615) เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย (หมายเหตุ 16) - 174,315 เงินสดจ่ายสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทร่วม (หมายเหตุ 15) (297,765,273) - (297,765,273) เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันลดลง (เพิ่มขึ้น) 2,700,000 (2,100,000) 2,700,000 (2,100,000) เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น - (353,988,439) (12,000,000) เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันลดลง 818,336 841,961 358,944 408,815 เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ 187,030,509 3,888,424 151,028,051 9,510 ซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - (33,916,730) - ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (36,090,469) (52,574,725) (32,943,109) (2,092,485) ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (7,000) (204,820) - (23,750) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (237,932,396) (132,014,976) (549,367,412) (114,238,069) หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

44


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

งบการเงินรวม 2555 2554

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินลดลง (275,000,000) (199,954,746) (213,235,036) เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น (11,000,000) 10,100,000 (1,000,000) - (ลดลง) เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น - 300,000 - เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - 30,265,389 - ชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (140,000,000) (59,164,529) - ชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน (24,000,000) (24,000,000) - ชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (207,000,000) (85,000,000) (207,000,000) (85,000,000) ชำ�ระคืนหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (108,691,925) (39,238,247) (45,320,264) (2,118,113) ผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อยซื้อ 9,174,215 - - - เงินลงทุน บริษัทฯซื้อหุ้นจากผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทย่อย (5,625,768) - - - เงินประกันการค้�ำ ประกัน - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันลดลง - - - (6,240,000) บริษัทย่อยจ่ายเงินปันผลให้ผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มี อำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อย (13,281) - - - บริษัทฯจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น (522,902,116) (21,194,738) (522,902,116) (21,194,738) จ่ายดอกเบี้ย (1,254,822) (17,101,166) - - เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (1,286,313,697) (380,988,037) (800,222,380) (327,787,887) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ 94,368,572 320,424,210 135,338,703 355,814,294 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี 523,807,608 203,383,398 420,383,176 64,568,882 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายปี 618,176,180 523,807,608 555,721,879 420,383,176 - - - - ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม: รายการที่มิใช่เงินสด เจ้าหนี้อื่นลดลงจากการซื้ออุปกรณ์ - (12,190,753) - - ซื้อยานพาหนะโดยวิธีสัญญาเช่าการเงิน 579 76,916,455 41,576,492 - ตัดจำ�หน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ 20,700,681 21,704,889 20,700,681 21,074,889 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนเพิม่ ขึน้ จากการปรับมูลค่ า ให้เป็นมูลค่ายุติธรรม - 76,507,278 - - หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

45


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 1. ข้อมูลทั่วไป

1.1ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เป็นบริษทั มหาชนซึง่ จัดตัง้ และมีภมู ลิ �ำ เนาในประเทศไทย ธุรกิจหลักของ บริษทั ฯคือการผลิตและจำ�หน่ายน้�ำ มันเชือ้ เพลิงและผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมี ที่อยู่ตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯซึ่งเป็นสำ �นักงานใหญ่ต้ังอยู่ท่ีเลขที่ 1010 อาคารชินวัตร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวง จตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร สาขาซึง่ เป็นทีต่ ง้ั โรงงานตัง้ อยูท่ เ่ี ลข ที่ 7/3 ถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ตำ�บลมาบตาพุด อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง นอกจากนี้ บริษทั ฯมีสาขาซึง่ เป็นคลังเก็บน้�ำ มัน 3 แห่งใน จังหวัดนครสวรรค์ ชลบุรแี ละระยอง ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 คือ บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท์ จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทจำ�กัด ตามกฎหมายไทย โดยถือหุ้นในอัตราร้อยละ 29.87 ของทุนที่ออกและ ชำ�ระแล้วของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 ได้มีมติอนุมัติให้ยกเลิกการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจำ�นวน 273 ล้าน หุ้น โดยการออกใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหุ้นสามัญของ บริษัทฯ (TDR) และอนุมติจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวโดยวิธีการเสนอ ขายหุ้นแก่บุคคลในวงจำ�กัด เนื่ อ งจากบริ ษั ท ฯได้ รั บ ผลกระทบจากการหยุ ด ส่ ง วั ต ถุ ดิ บ จากผู้ขายวัตถุดิบรายหลักในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 บริษัทฯได้เลิก จ้ า งพนั ก งานโดยจ่ า ยค่ า ชดเชยตามที่ ก ฎหมายกำ � หนดและปรั บ ลด โครงสร้างองค์กรให้เล็กลงเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (PBC) ได้หยุดการผลิตเนื่องจากยังไม่ได้รับคำ� สั่งซื้อจากลูกค้าและอยู่ในสภาวะขาดสภาพคล่องในการดำ�เนินธุรกิจ และบริษัท จตุรทิศขนส่ง จำ�กัด (JTC) บริษัท เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด (SCT) และบริษัทย่อยอีก 6 บริษัทได้หยุดธุรกรรมการให้บริการ และการซื้อขายและ PBC JTC และ SCT ได้เลิกจ้างพนักงานโดย จ่ายค่าชดเชยตามที่กฎหมายกำ�หนดด้วยเช่นกัน 1.2 ข้อสมมติฐานทางการบัญชี ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37.4 ก บริ ษั ท ฯมี ข้ อ พิ พ าททางการค้ า และคดี ฟ้ อ งร้ อ งที่ สำ � คั ญ กั บ ผู้ ข าย วัตถุดิบรายหลักของบริษัทฯ ขณะนี้ ข้อพิพาททางการค้าดังกล่าวอยู่ ภายใต้กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ และคดีฟ้องร้องอยู่ภายใต้ กระบวนการพิจารณาคดีของศาลแพ่ง ผลของข้อพิพาททางการค้าและ

46

คดีฟ้องร้องดังกล่าวยังไม่สามารถระบุได้และขึ้นอยู่กับกระบวนการ ยุติธรรมในอนาคต เนื่องจากผู้ขายวัตถุดิบรายหลักของบริษัทฯได้หยุด ส่งวัตถุดิบให้แก่บริษัทฯตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 ทำ�ให้บริษัทฯ ต้องหยุดการผลิตเพราะไม่สามารถจัดหาวัตถุดิบหลักดังกล่าวจากผู้ ขายรายอื่น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯอยู่ระหว่างการแสวงหาแนวทางใน การดำ�เนินธุรกิจอื่น สถานการณ์ดังกล่าวทำ�ให้เกิดข้อสงสัยอย่างมาก เกี่ยวกับความสามารถในการดำ�เนินงานต่อเนื่องของบริษัทฯ ทำ�ให้ บริษัทฯอาจไม่สามารถขายหรือใช้สินทรัพย์ รับและจ่ายชำ�ระหนี้สินได้ ตามปกติธุรกิจ อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ดังกล่าวยังมีความไม่แน่นอน อย่างมากขึ้นอยู่กับผลของข้อพิพาททางการค้า คดีฟ้องร้อง การหา แหล่งวัตถุดิบใหม่ รวมถึงความเป็นไปได้ในการย้ายที่ตั้งโรงงานให้ใกล้ แหล่งวัตถุดิบใหม่ดังกล่าว การจำ�หน่ายทรัพย์สินและการหาธุรกิจใหม่ ดังนั้น งบการเงินของบริษัทฯยังคงจัดทำ�ขึ้นภายใต้ข้อสมมติฐานการ ดำ�เนินงานต่อเนื่องของกิจการโดยไม่ได้ปรับปรุงมูลค่าสินทรัพย์ในราคา ที่อาจขายได้ และไม่ได้ปรับปรุงหนี้สินตามจำ�นวนเงินที่จะต้องจ่ายคืน และจัดประเภทบัญชีใหม่ ซึ่งอาจมีความจำ�เป็นหากบริษัทฯไม่สามารถ ดำ�เนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

2. เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำ�หนดในพระราช บัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตาม ข้อกำ�หนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใช้เป็นทาง การตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับ ภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะ ได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนีไ้ ด้จดั ทำ�ขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั ระยอง เพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และ บริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้


จัดตั้งขึ้น ในประเทศ 2555 ร้อยละ บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด* ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันไบโอ ดีเซล (B100) และกลีเซอรีนดิบ ไทย 100 บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัดและบริษัทย่อย ไทย 100 บริษัท เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด* จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิง ไทย 100 บริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด จำ�หน่ายอุปกรณ์เครื่องมือของสถานีบริการ น้ำ�มัน และให้บริการซ่อมบำ�รุง ไทย 100 บริษัท จตุรทิศขนส่ง จำ�กัด* ให้บริการขนส่งน้ำ�มัน ไทย 100 บริษัท เพียวอินเตอร์เทรด จำ�กัด จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิง ไทย 100 บริษทั อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ จำ�กัด (เดิมชือ่ “บริษัท มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม จำ�กัด”) จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิง ไทย 70 บริษัท ทศทิศ โลจิสติกส์ จำ�กัด (เดิมชื่อ “บริษัท เมโทร ปิโตรเลียม จำ�กัด”) จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิง ไทย 100 บริษัท จตุจักร ออยล์ จำ�กัด จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิง ไทย 100 บริษัท เพียวซิลิกา มายนิ่ง จำ�กัด (เดิมชื่อ “บริษัท เบญจปิโตรเลียม จำ�กัด”) จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิง ไทย 100 บริษัท ไทยควอทซ์มายนิ่ง จำ�กัด (เดิมชื่อ “บริษัท บูรพารุ่งโรจน์ ปิโตรเลียม จำ�กัด”) จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิง ไทย 100 RPC Global Co., Ltd. (เดิมชื่อ “บริษัท จำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์ โกลบอลไลเซชั่น อีโคโนมิค แอนด์ ปิโตรเคมีและการลงทุนต่างๆ ฮ่องกง 100 โปรโมชั่น เนทเวอร์ค จำ�กัด”) บริษัท

ลักษณะธุรกิจ

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น 2554 ร้อยละ 100 100 100 78 -

* ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ได้หยุดดำ�เนินธุรกิจแล้ว ข) บริษัทฯนำ�งบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในการจัดทำ� งบการเงินรวมตั้งแต่วันที่บริษัทฯมีอำ�นาจในการควบคุมบริษัทย่อย จนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้นโยบายการ บัญชีที่สำ�คัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) สินทรัพย์และหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้ง ในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วัน สิ้นรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็นเงิน บาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ รายเดือน ผลต่างซึง่ เกิดขึน้ จากการ แปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบ การเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วน ของผู้ถือหุ้น จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่าง กันที่มีสาระสำ�คัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว ฉ) ส่วนของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี �ำ นาจควบคุม คือ จำ�นวนกำ�ไร หรือขาดทุนและสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยส่วนทีไ่ ม่ได้เป็นของบริษทั ฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและส่วน ของผู้ถือหุ้นในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3 บริษัทฯจัดทำ�งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามวิธีราคาทุน

3. มาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ยังไม่มีผลบังคับใช้

สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและ มาตรฐานการบัญชีใหม่ซึ่งมีผลบังคับใช้สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่ เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดข้างล่างนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) การบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความ ช่วยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตรา แลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่วนงานดำ�เนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มี ความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับ กิจกรรมดำ�เนินงาน ฉบับที่ 21 ภาษีเงินได้ - การได้รับประโยชน์จาก สินทรัพย์ที่ไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคาที่ตี ราคาใหม่ 47


ฉบับที่ 25

ภาษีเงินได้ - การเปลีย่ นแปลงสถานภาพ ทางภาษีของ กิจการหรือของผู้ถือหุ้น ฝ่ายบริหารของบริษัทฯเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชีข้างต้นจะไม่มีผล กระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่อ งบการเงินเมื่อนำ�มาถือปฏิบัติ นอกจากนี้ สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 30/2555 - 34/2555 ซึง่ ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วันที่ 17 มกราคม 2556 ให้ใช้แนวปฏิบัติทางบัญชีและการตีความมาตรฐาน การบัญชี ดังต่อไปนี้ แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและ การรับโอนสินทรัพย์ทางการเงินการตี ความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลง สัมปทานบริการ การตีความมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การประเมินว่าข้อตกลงประกอบ ด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ ฉบับที่ 12 ข้อตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า

วันที่มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่าแนวปฏิบัติทางบัญชี และการตีความมาตรฐานการบัญชีข้างต้นไม่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของ บริษัทฯ

4. นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ

4.1 การรับรู้รายได้ ขายสินค้า รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อบริษัทฯและบริษัทย่อยได้ โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนัยสำ�คัญของความเป็นเจ้าของ สินค้าให้กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบ กำ�กับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม สำ�หรับสินค้าที่ได้ส่งมอบหลัง จากหักส่วนลดแล้ว รายได้จากการให้บริการขนส่ง รายได้จากการให้บริการถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดย จะรับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแล้ว รายได้ค่าบริการก่อสร้าง รายได้ค่าบริการก่อสร้างรับรู้เมื่อได้ให้บริการแล้วโดย พิจารณาถึงขั้นความสำ�เร็จของงาน ขั้นความสำ�เร็จของงานก่อสร้าง คำ�นวณโดยการเปรียบเทียบต้นทุนงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นจนถึงวัน สิ้นงวดกับต้นทุนงานก่อสร้างทั้งหมดที่คาดว่าจะใช้ในการก่อสร้าง ตามสัญญาโดยจะตั้งสำ�รองเผื่อผลขาดทุนสำ�หรับโครงการก่อสร้าง ทัง้ จำ�นวนเมือ่ ทราบแน่ชดั ว่าโครงการก่อสร้างนัน้ จะประสบผลขาดทุน รายได้ค่าเช่าและบริการ รายได้ค่าเช่าและบริการรับรู้ตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุ สัญญาเช่า 48

รายได้ค่าบริหารจัดการ รายได้ค่าบริหารจัดการรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างตาม เงื่อนไขและข้อตกลงที่ระบุในสัญญาที่เกี่ยวข้อง ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำ�นึงถึงอัตรา ผลตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมือ่ บริษทั ฯมีสทิ ธิในการรับเงินปันผล 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงิน ฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึง่ ถึงกำ�หนดจ่าย คืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจำ�กัด ในการเบิกใช้ 4.3 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจำ�นวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับผลขาดทุน โดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไป พิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ 4.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลีย่ หรือมูลค่าสุทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า ต้นทุนของสินค้าสำ�เร็จรูปที่ผลิตขึ้น เองได้รวมต้นทุนของค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรงและค่าโสหุ้ยการผลิต 4.5 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าแสดงตามมูลค่ายุติธรรม การเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของหลักทรัพย์บนั ทึกในงบกำ�ไรขาดทุน ข) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดง มูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย ค) เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการ เงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน มูลค่ายุตธิ รรมของหน่วยลงทุนคำ�นวณจากมูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิ ของหน่วยลงทุน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยใช้วธิ ถี วั เฉลีย่ ถ่วงน้�ำ หนักในการคำ�นวณ ต้นทุนของเงินลงทุน เมื่อมีการจำ�หน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับกับ มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน 4.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาที่ตีใหม่ อาคารและอุปกรณ์แสดง มูลค่าตามราคาทุน/ราคาทีต่ ใี หม่หกั ค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การ ด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของที่ดิน อาคาร โรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานในราคาทุน ณ วันที่ได้สินทรัพย์ มา หลังจากนั้นบริษัทฯและบริษัทย่อยจัดให้มีการประเมินราคา โดย ผู้ประเมินราคาอิสระและบันทึกสินทรัพย์ดังกล่าวในราคาที่ตีใหม่ ทั้งนี้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจัดให้มกี ารประเมินราคาสินทรัพย์ดงั กล่าวเป็นครัง้ คราวเพื่อมิให้ราคาตามบัญชี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานแตกต่าง จากมูลค่ายุติธรรมอย่างมีสาระสำ�คัญ


บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกส่วนต่างซึ่งเกิดจากการตีราคา สินทรัพย์ดังต่อไปนี้ - บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น จากการตีราคาใหม่ในกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและรับรู้จำ�นวนสะสมใน บัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในองค์ประกอบอืน่ ของส่วน ของผู้ถือหุ้น อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์นั้นเคยมีการตีราคาลดลงและ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้รบั รูร้ าคาทีล่ ดลงในงบกำ�ไรขาดทุนแล้ว ส่วนที่ เพิ่มจากการตีราคาใหม่นี้จะถูกรับรู้เป็นรายได้ไม่เกินจำ�นวนที่เคยลดลง ซึ่งรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายปีก่อนแล้ว - บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ลดลงจาก การตีราคาใหม่ในงบกำ�ไรขาดทุน อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์นั้นเคย มีการตีราคาเพิม่ ขึน้ และยังมียอดคงค้างของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตี ราคาสินทรัพย์” อยูใ่ นองค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนทีล่ ดลง จากการตีราคาใหม่จะถูกรับรู้ในกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในจำ�นวนที่ไม่ เกินยอดคงเหลือของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ค่าเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์ค�ำ นวณจากราคาทุนหรือ ราคาที่ตีใหม่โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ ส่วนปรับปรุงอาคาร 5 - 30 ปี อาคาร 20 - 40 ปี เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน 5 - 20 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้สำ�นักงาน 3 - 5 ปี ยานพาหนะ 5 ปี ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคำ�นวณผลการดำ�เนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำ�หรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯตัดรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ออกจากบัญชีเมือ่ จำ�หน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต จากการใช้หรือการจำ�หน่ายสินทรัพย์ รายการผลกำ�ไรหรือขาดทุนจาก การจำ�หน่ายสินทรัพย์ (ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการ จำ�หน่ายสินทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นน้ั ) จะรับรูใ้ นงบกำ�ไร ขาดทุนเมื่อบริษัทฯตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี 4.7 ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ใ่ี ช้ในการได้มา การก่อสร้าง หรือการ ผลิตสินทรัพย์ทต่ี อ้ งใช้ระยะเวลานานในการแปลงสภาพให้พร้อมใช้หรือ ขาย ได้ถกู นำ�ไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นน้ั จะอยู่ ในสภาพพร้อมทีจ่ ะใช้ได้ตามทีม่ งุ่ ประสงค์ ส่วนต้นทุนการกูย้ มื อืน่ ถือเป็น ค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและ ต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมนั้น 4.8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนและค่าตัดจำ�หน่าย บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์ไม่มี ตัวตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรู้รายการเริ่มแรก สินทรัพย์ไม่มีตัว ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสมและค่าเผือ่ การด้อย ค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น บริษทั ฯและบริษทั ย่อยตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุ การให้ประโยชน์จำ�กัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิง เศรษฐกิจของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดัง กล่าวเมือ่ มีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์นน้ั เกิดการด้อยค่า บริษทั ฯและบริษทั ย่อย

จะทบทวนระยะเวลา การตัดจำ�หน่ายและวิธีการตัดจำ�หน่ายของ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำ�หน่ายรับรู้ เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน ซอฟท์แวร์มีอายุการให้ประโยชน์ 5 และ 10 ปี 4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือ กิจการทีม่ อี �ำ นาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูกบริษทั ฯควบคุมไม่วา่ จะเป็นโดย ทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันยังหมายรวมถึงบริษทั ร่วมและบุคคลทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อมซึง่ ทำ�ให้มอี ทิ ธิพล อย่างเป็นสาระสำ�คัญต่อบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารสำ�คัญ กรรมการหรือพนักงาน ของบริษทั ฯ ทีม่ อี �ำ นาจในการวางแผนและควบคุมการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ 4.10 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผล ตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็นสัญญา เช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจำ�นวนเงินที่ต้อง จ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มลู ค่าใดจะต่�ำ กว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่า หักค่าใช้จา่ ยทางการเงินจะบันทึกเป็นหนีส้ นิ ระยะยาว ส่วนดอกเบีย้ จ่าย จะบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ทไ่ี ด้มาตาม สัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสือ่ มราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ ที่เช่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผล ตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็น สัญญาเช่าดำ�เนินงาน จำ�นวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดำ�เนินงานรับรู้ เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า 4.11 เงินตราต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นตัวเงิน ซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงในอัตราแลกเปลีย่ น ได้รวมอยู่ในการคำ�นวณผลการดำ�เนินงาน 4.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะ ทำ�การประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ ที่ไม่มีตัวตนของบริษัทฯหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูข้ าดทุนจากการด้อยค่าเมือ่ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้ง นี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยประมาณ การกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์และ คำ�นวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึง 49


การประเมินความเสีย่ งในสภาพตลาดปัจจุบนั ของเงินสดตามระยะเวลา และความเสีย่ งซึง่ เป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ทก่ี �ำ ลังพิจารณาอยู่ ใน การประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯใช้แบบจำ�ลอง การประเมินมูลค่าทีด่ ที ส่ี ดุ ซึง่ เหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึง่ สะท้อนถึงจำ�นวน เงินทีก่ จิ การสามารถจะได้มาจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนใน การจำ�หน่าย โดยการจำ�หน่ายนัน้ ผูซ้ อ้ื กับผูข้ ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจใน การแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะ ของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน

4.14 ประมาณการหนี้สิน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ไว้ในบัญชี เมือ่ ภาระผูกพันซึง่ เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึน้ แล้ว และมี ความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะเสียทรัพยากร เชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯและบริษัท ย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ

4.15 ภาษีเงินได้ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ตามจำ�นวนที่คาดว่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำ�ไร จะจ่ายให้แก่หน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคำ�นวณจากกำ�ไรทางภาษี ขาดทุน ยกเว้นในกรณีที่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ซึ่งใช้วิธีการตีราคา ตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดในกฎหมายภาษีอากร ใหม่และได้บันทึกส่วนเกินทุนจากการตีราคาใหม่ไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกินไปกว่าส่วนเกิน 4.16 ตราสารอนุพันธ์ ทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว้ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ลูกหนี้และเจ้าหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 4.13 ผลประโยชน์ของพนักงาน ล่วงหน้าจะถูกแปลงค่าตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา รายงาน กำ�ไรและขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงจากการแปลงค่าเงินตราต่าง ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน ส่วนเกินหรือส่วนลดทีเ่ กิด บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบ ขึน้ จากการทำ�สัญญาจะถูกตัดจำ�หน่ายด้วยวิธเี ส้นตรงตามอายุของสัญญา กองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน 5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญ โครงการสมทบเงิน ในการจัดทำ�งบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการในเรือ่ งทีม่ คี วาม ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริษัทฯและบริษัท ไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่ง ย่อยจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ผลกระทบต่อจำ�นวนเงินที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงใน ได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทฯและบริษัทย่อย เงินที่บริษัทฯและ หมายเหตุประกอบ งบการเงิน ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวน บริษัทย่อยจ่ายสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่ ทีป่ ระมาณการไว้ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการทีส่ �ำ คัญมีดงั นี้ เกิดรายการ สัญญาเช่า โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำ�เนิน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระสำ�หรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้ งานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมิน แก่พนักงานเมือ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึง่ บริษทั ฯและบริษทั เงือ่ นไขและรายละเอียดของสัญญาเพือ่ พิจารณาว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ได้โอนหรือรับโอนความเสีย่ งและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ทเ่ี ช่าดังกล่าว สำ�หรับพนักงาน แล้วหรือไม่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยคำ�นวณหนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชน์ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ หลังออกจากงานของพนักงานโดยใช้วธิ คี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหาร ไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระได้ทำ�การ จำ�เป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย จากลูกหนีแ้ ต่ละราย โดยคำ�นึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุ ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง ของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระสำ�หรับเงินชดเชยทีต่ อ้ งจ่ายให้แก่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา พนักงานเมื่อยกเลิกการจ้างพนักงานก่อนวันเกษียณตามปกติ ในการคำ�นวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจำ�เป็น บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างเป็นค่าใช้ ต้องทำ�การประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้ จ่ายทันที งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์และ ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผล มูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ประโยชน์ของพนักงาน เป็นครั้งแรกในปี 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อย บริษัทฯแสดงมูลค่าของที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและ เลือกรับรู้หนี้สินในช่วงการเปลี่ยนแปลงที่มากกว่าหนี้สินที่รับรู้ ณ วัน อุปกรณ์โรงงานด้วยราคาที่ตีใหม่ ซึ่งราคาที่ตีใหม่นี้ได้ประเมินโดย เดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิมโดยใช้วิธีปรับย้อนหลังเสมือนว่าได้ ผูป้ ระเมินราคาอิสระ โดยใช้วธิ เี ปรียบเทียบราคาตลาดสำ�หรับสินทรัพย์ บันทึกค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มา ประเภทที่ดินและวิธีมูลค่าต้นทุนทดแทนสุทธิสำ�หรับสินทรัพย์ประเภท โดยตลอด 50


อาคารโรงงาน เครือ่ งจักรและอุปกรณ์โรงงาน ซึง่ การประเมินมูลค่าดังกล่าวต้องอาศัยข้อสมมติฐานและการประมาณการบางประการ นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่า หากคาดว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนต่�ำ กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นน้ั ในการนีฝ้ า่ ยบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการคาดการณ์ รายได้และค่าใช้จา่ ยในอนาคตซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับสินทรัพย์นน้ั ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานประมาณขึน้ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึง่ ต้องอาศัยข้อสมมติฐาน ต่างๆในการประมาณการนัน้ เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึน้ เงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะและอัตราการเปลีย่ นแปลงในจำ�นวนพนักงาน เป็นต้น คดีฟ้องร้อง บริษัทฯมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินผลของคดีที่ถูกฟ้อง ร้องแล้วและเชื่อมั่นว่าจะไม่มีความเสียหายเกิดขึ้นจึงไม่ได้บันทึกประมาณการหนี้สินดังกล่าว ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน

6. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

งบการเงินรวม 2555 20,957 597,219 - 618,176

2554 14,107 103,701 406,000 523,808

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 235 271 555,487 14,112 406,000 555,722 420,383

(หน่วย: พันบาท)

เงินสด เงินฝากธนาคาร ตั๋วแลกเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจำ�มีอัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 0.63 -3.40 ต่อปี (2554: เงินฝากออมทรัพย์ และตั๋วแลกเงินร้อยละ 0.13 ถึง 3.25 ต่อปี)

7. เงินลงทุนชัว่ คราว

ราคาทุน

2555

งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม

ราคาทุน

(หน่วย: พันบาท) 2554

มูลค่ายุติธรรม

เงินฝากประจำ�ธนาคาร ถึงกำ�หนดจ่ายคืนภายในหกเดือน 100,000 100,000 - รวมเงินฝากประจำ�ธนาคาร 100,000 100,000 - หน่วยลงทุนในกองทุนรวม ราคาทุน 128,406 128,995 90,300 90,409 บวก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า 589 - 109 หน่วยลงทุนในกองทุนรวมสุทธิ 128,995 128,995 90,409 90,409 รวมเงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ 228,995 228,995 90,409 90,409 งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม เงินฝากประจำ�ธนาคาร ถึงกำ�หนดจ่ายคืนภายในหกเดือน 50,000 50,000 - รวมเงินฝากประจำ�ธนาคาร 50,000 50,000 - หน่วยลงทุนในกองทุนรวม ราคาทุน 82,902 83,321 90,300 90,409 บวก: ค่าเผื่อการปรับมูลค่า 419 - 109 หน่วยลงทุนในกองทุนรวมสุทธิ 83,321 83,321 90,409 90,409 รวมเงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ 133,321 133,321 90,409 90,409 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินฝากประจำ�มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.40 ต่อปี (2554: ไม่มี)

51


8. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น งบการเงินรวม 2555 2554 ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน 67 77 3 - 6 เดือน - 470 รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 67 547 ลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน 63,839 589,452 3 - 6 เดือน 1,017 573 6 - 12 เดือน 2,058 329 มากกว่า 12 เดือน 4,426 9,629 รวม 71,340 599,983 หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (4,679) (9,145) รวมลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน, สุทธิ 66,661 590,838 ลูกหนี้อื่น เงินทดรองแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 5,271 2,287 รายได้ค้างรับ 30,571 20,855 อื่นๆ 7,868 10,066 รวม 43,710 33,208 หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (2,713) (4,060) รวมลูกหนี้อื่น - สุทธิ 40,997 29,148 รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ 107,725 620,533

52

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

- - -

270,422 270,422

- - - 617 617 (617) -

383,864 617 384,481 (617) 383,864

10,805 3,394 388 14,587 - 14,587 14,587

11,407 1,899 3,910 17,216 (3,413) 13,803 668,089


9. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทฯกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสรุปได้ดังนี้

รายชื่อ บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (PTEC) บริษัท เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด บริษัท จตุรทิศขนส่ง จำ�กัด บริษัท เพียวอินเตอร์เทรด จำ�กัด บริษัท อาร์พีซี แมเนจเมนท์ จำ�กัด บริษัท ทศทิศ โลจิสติกส์ จำ�กัด บริษัท จตุจักร ออยล์ จำ�กัด บริษัท เพียวซิลิกา มายนิ่ง จำ�กัด บริษัท ไทยควอทซ์มายนิ่ง จำ�กัด RPC Global Co., Ltd. บริษัท ซุปเปอร์เพียวแก๊ส จำ�กัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด Thai Good Petroleum Co., Ltd. บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เคพี เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ป จำ�กัด บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท์ จำ�กัด บริษัท แจ๊สซี่ครีเอชั่น จำ�กัด บริษัท บลูแพลนเน็ท ทราเวล จำ�กัด บริษัท อัลท์ เอ็นเนอยี่ จำ�กัด บริษัท ฮิวมั่นไคนด์ จำ�กัด บริษัท มงคลชัยพัฒนา จำ�กัด บริษัท เวิลด์ เอนเตอร์เทนเมนท์ เทเลวิชั่น จำ�กัด บริษัท ออนเนสท์ แอนด์ เอฟิเชียน จำ�กัด

ลักษณะความสัมพันธ์ บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อยของ PTEC บริษัทร่วม บริษัทร่วม บริษัทร่วม บริษัทร่วม ถือหุ้นในบริษัทฯ ร้อยละ 29.87 มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน

53


ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการ ค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 2555 2554 รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ได้ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ขายสินค้า - - รายได้ค่าบริหารจัดการ - - เงินปันผลรับ - - ดอกเบี้ยรับ - - รายได้อื่น - การให้บริการอื่น - ซื้อสินค้า - - ค่าบริการจ่าย - - ค่าขนส่งจ่าย - - ซื้อยานพาหนะ - - ค่าใช้จ่ายอื่น - - รายการธุรกิจกับบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายอื่น - 1 ค่าเช่าที่ดิน 2 รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้า 1 1 รายได้จากการให้บริการ - 1 ค่าใช้จ่ายอื่น 1 2 ค่าเช่าที่ดิน - 2 ดอกเบี้ยจ่าย 1 15

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 222 11 44 19 5 2 2 17 72 11

8,807 11 2 39 595 8 134 -

- -

-

- - - - 1

1 15

นโยบายการกำ�หนดราคาสำ�หรับรายการธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสามารถสรุปได้ดังนี้ รายการ ขายสินค้า รายได้ค่าบริหารจัดการ เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ

54

นโยบายการกำ�หนดราคา ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีส่วนลดตามปริมาณคำ�สั่งซื้อสำ�หรับธุรกิจค้าส่งน้ำ�มัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีส่วนลดค่าการตลาดในอัตราคงที่สำ�หรับธุรกิจค้าปลีกน้ำ�มัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดสำ�หรับธุรกิจขนส่งน้ำ�มัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีส่วนลดตามสัญญาสำ�หรับธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไบโอดีเซล คำ�นวณตามเกณฑ์ปริมาณสินค้าที่จำ�หน่ายได้สำ�หรับธุรกิจค้าส่งน้ำ�มัน ตามสัญญาและตามต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงสำ�หรับธุรกิจค้าปลีกน้ำ�มัน ธุรกิจขนส่งน้ำ�มัน ธุรกิจ ผลิตและจำ�หน่ายไบโอดีเซล ธุรกิจให้เช่าและบริการอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจขายอุปกรณ์ เครื่องมือสถานีบริการน้ำ�มันและให้บริการซ่อมบำ�รุง ตามที่ประกาศจ่าย อัตราร้อยละ 2.35 - 7.00 ต่อปี (2554: ร้อยละ 4.18 - 5.77 ต่อปี) และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ขั้นต่ำ�สำ�หรับลูกค้าชั้นดี (Prime rate) บวก ร้อยละ 3 ต่อปี


รายการ รายได้อื่น

นโยบายการกำ�หนดราคา

ซื้อยานพาหนะ ค่าบริการจ่าย ค่าขนส่งจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่น ดอกเบี้ยจ่าย

ราคาตามสัญญา ค่าธรรมเนียมการค้ำ�ประกันอัตราร้อยละ 1 ต่อปี ราคาซื้ออิงตามราคาตลาดโดยมีส่วนลดตามปริมาณคำ�สั่งซื้อสำ�หรับธุรกิจค้าส่งน้ำ�มัน ราคาซื้ออิงตามราคาตลาดสำ�หรับธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไบโอดีเซลและธุรกิจขาย อุปกรณ์เครื่องมือสถานีบริการน้ำ�มันและให้บริการซ่อมบำ�รุง มูลค่าสุทธิตามบัญชี ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา อัตราร้อยละ 5.75 ต่อปี (2554: ร้อยละ 4.95 - 5.75 ต่อปี)

สัญญาสำ�คัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ซื้อสินค้า

สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ในเดือนเมษายน 2553 บริษทั ฯได้ท�ำ สัญญาซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมกับบริษทั ย่อยสองแห่งเพือ่ ซือ้ ขายผลิตภัณฑ์น�ำ้ มันต่างๆ ราคา ขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสว่ นลดตามทีร่ ะบุในสัญญา สัญญาจะมีผล ต่อเนือ่ งจนกว่าคูส่ ญ ั ญาฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ จะแสดงความจำ�นงในการยกเลิก สัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 เดือน ในระหว่างปี 2555 บริษัทฯได้ยกเลิกสัญญาดังกล่าวแล้ว สัญญารับจ้างบริหารและจัดการ ในเดือนมกราคม 2555 บริษทั ฯได้ท�ำ สัญญารับจ้างบริหารและ จัดการกับบริษัทย่อยหลายแห่ง โดยบริษัทฯจะให้บริการให้คำ�ปรึกษาใน ด้านบริหารบุคคล ด้านธุรการ ด้านสารสนเทศ ด้านกฎหมายและประสาน งานราชการ อัตราค่าบริการเป็นไปตามที่กำ�หนดในสัญญา สัญญาดัง กล่าวมีกำ�หนดระยะเวลา 1 ปี สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2555 สัญญาค้ำ�ประกัน บริษัทฯได้ทำ�สัญญาค้ำ�ประกันกับบริษัทย่อยหลายแห่งเพื่อค้ำ� ประกันวงเงินสินเชื่อจากธนาคารของบริษัทย่อยในวงเงินรวม 70 ล้าน บาท การค้ำ�ประกันนี้มีผลผูกพันต่อบริษัทฯนานเท่าที่ภาระหนี้สินที่ยัง ไม่ได้ชำ�ระโดยบริษัทย่อยดังกล่าว โดยบริษัทคิดค่าธรรมเนียมในการค้ำ� ประกันในอัตราร้อยละ 1 ต่อปี

สัญญาบริการขนส่งน้ำ�มันเชื้อเพลิง ในเดือนมิถุนายน 2554 บริษัทฯได้ทำ�สัญญาขนส่งน้ำ�มัน เชื้อเพลิงกับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง บริษัทย่อยดังกล่าวจะให้บริการขนส่ง ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันต่างๆ โดยมีอัตราค่าบริการขนส่งน้ำ�มันตามที่ระบุใน สัญญา สัญญามีระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2554 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2555 สัญญาจะมีผลต่อเนื่องจนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง จะแสดงความจำ�นงในการยกเลิกสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่า 60 วัน ในระหว่างปี 2555 บริษทั ฯได้ยกเลิกสัญญาดังกล่าวแล้ว สัญญาจ้างบริหารการขาย ในเดือนมกราคม 2554 บริษทั ฯได้ท�ำ สัญญาจ้างบริหารการขาย กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง เพื่อให้ บริษัทย่อยดังกล่าวบริหารการขายและ จัดหาลูกค้าให้บริษัทฯ โดยมีอัตราค่าบริการตามที่ระบุในสัญญา สัญญา จะมีผลต่อเนื่องจนกว่าคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะแสดงความจำ�นงใน การยกเลิกสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 เดือน ใน ระหว่างปี 2555 บริษัทฯได้ยกเลิกสัญญาดังกล่าวแล้ว

สัญญาการใช้เครื่องหมายการค้า ในเดือนมกราคม 2555 บริษัทฯได้ทำ�บันทึกข้อตกลงกับบริษัท ย่อยแห่งหนึ่งเพื่อให้บริษัทย่อยดังกล่าวดำ�เนินการขายน้ำ�มันภายใต้ เครื่องหมายการค้า “เพียว” โดยมีอัตราค่าบริการตามที่ระบุในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีกำ�หนดระยะเวลา 1 ปี สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2555 ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม สัญญาให้บริการเช่าถัง ในเดือนสิงหาคม 2552 บริษัทฯได้ทำ�สัญญาให้บริการเช่าถัง 2555 และ 2554 มีรายละเอียดดังนี้ กับบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ โดยมีอตั ราค่าบริการรายเดือนตามทีร่ ะบุในสัญญา สัญญามีระยะเวลา 3 ปี (ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2552 ถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2555) และจะต่ออายุได้อกี คราวละสามเดือนจนกว่าคูส่ ญ ั ญา ฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ จะแสดงความจำ�นงในการยกเลิกสัญญาเป็นลายลักษณ์ อักษรล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 1 เดือน ในระหว่างปี 2555 บริษทั ฯได้ยกเลิก สัญญาดังกล่าวแล้ว 55


งบการเงินรวม 2555 2554 ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ น่ื - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (หมายเหตุ 8) ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - บริษทั ร่วม 12 18 บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) 55 60 บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน (กรรมการบริษทั ฯ) - 469 รวมลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน 67 547 ลูกหนีอ้ น่ื - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - บริษทั ร่วม 460 494 บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) 7 1,793 บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน (กรรมการบริษทั ฯ) 5,000 - รวมลูกหนีอ้ น่ื กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน 5,467 2,287 หัก: ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ (196) - รวมลูกหนีอ้ น่ื กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน - สุทธิ 5,271 2,287 เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - บริษทั ร่วม 1,524 1,578 รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน 1,524 1,578 หัก: ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ (1,524) - รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน - สุทธิ - 1,578 เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ น่ื - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (หมายเหตุ 21) เจ้าหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - รวมเจ้าหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน - - เจ้าหนีอ้ น่ื - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย - - บริษทั ร่วม 128 21 บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) 57 348 บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน (กรรมการบริษทั ฯ) - 292 รวมเจ้าหนีอ้ น่ื กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน 185 661 เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันทีถ่ งึ กำ�หนด ชำ�ระภายในหนึง่ ปี บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) - 101,500 บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกัน (เกีย่ วข้องกับ กรรมการบริษทั ฯ) - 105,500 รวมเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันที ่ ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึง่ ปี - 207,000

56

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

- - - - -

270,422 270,422

5,788 213 - 5,000 11,001 (196) 10,805

11,077 287 43 11,407 11,407

368,988 1,524 370,512 (16,524) 353,988

15,000 1,578 16,578 16,578

- -

24,306 24,306

11,444 - 12 - 11,456

16,698 308 282 17,288

-

101,500

-

105,500

-

207,000

(หน่วย: พันบาท)


เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน และเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 และ การเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ เงินให้กู้ยืมระยะสั้น

งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ ลักษณะ วันที่ 31 ธันวาคม เพิ่มขึ้น ความสัมพันธ์ 2554 ระหว่างปี

Thai Good Petroleum Co., Ltd. หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด บริษัท เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด บริษัท จตุรทิศขนส่ง จำ�กัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด Thai Good Petroleum Co., Ltd. รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

บริษัทร่วม

เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รวม เงินให้กู้ยืมระยะสั้น

บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม

1,578 - 1,578 10,000 - - - 5,000 1,578 16,578 - 16,578

- (1,524) (1,524) 955,985 19,000 590,000 62,500 34,000 - 1,661,485 (16,524) 1,644,961

งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ ลักษณะ วันที่ 31 ธันวาคม เพิ่มขึ้น ความสัมพันธ์ 2554 ระหว่างปี กรรมการบริษทั ฯ

ลักษณะ ความสัมพันธ์

- -

5,000 5,000

งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม เพิ่มขึ้น 2554 ระหว่างปี

(หน่วย: พันบาท) ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(54) - (54) (643,497) - (590,000) (46,000) (28,000) (54) (1,307,551) - (1,307,551)

1,524 (1,524) 322,488 19,000 16,500 11,000 1,524 370,512 (16,524) 353,988

ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(5,000) (5,000)

-

ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท์ จำ�กัด บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน 72,500 บริษัท มงคลชัยพัฒนา จำ�กัด บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน 23,000 บริษัท เวิลด์ เอนเตอร์เทนเมนท์ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน 6,000 เทเลวิชั่นจำ�กัด บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน เกี่ยวข้องกับ กรรมการบริษัทฯ 105,500

- - -

(72,500) (23,000) (6,000)

-

-

(105,500)

-

รวม

-

(207,000)

-

207,000

57


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อยเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่ไม่มีหลักประกันอายุ 6 เดือน จำ�นวนเงินรวม 369 ล้าน บาท (2554: 15 ล้านบาท) โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.40 ถึง 5.13 ต่อปี (2554: ร้อยละ 5.05 ต่อปี) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทร่วมแห่งหนึ่ง เป็นเงินให้กู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันอายุ 1 ปี จำ�นวนเงิน 1.52 ล้านบาท หรือ 0.05 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (2554: 1.58 ล้านบาทหรือ 0.05 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำ�สำ�หรับลูกค้า ชั้นดี (Prime rate) บวกร้อยละ 3 ต่อปี มีกำ�หนดชำ�ระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยทั้งหมดภายในเดือนพฤศจิกายน 2554 ต่อมา ในเดือนมกราคม 2555 บริษัทฯได้รับหนังสือขอขยายระยะเวลาชำ�ระคืนเงินกู้เป็นเดือนธันวาคม 2555 อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯยังไม่ได้ รับชำ�ระหนี้เงินกู้ยืมดังกล่าวบริษัทฯจึงตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับเงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับดังกล่าวทั้งจำ�นวน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเป็นเงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันอายุ 2 ปี รวมจำ�นวนเงิน 207 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.75 ต่อปี ชำ�ระดอกเบี้ยเป็นรายสามเดือนและมีกำ�หนดชำ�ระคืนเงินต้นทั้งหมดภายในเดือนกันยายน 2555 ใน เดือนกุมภาพันธ์ 2555 บริษัทฯได้ชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวดังกล่าวทั้งจำ�นวนแล้ว ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่กรรมการและ ผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง รวม

งบการเงินรวม 2555 2554 23,955 100,677 - (10,507) 10,560 34,011 34,515 124,181

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 17,092 78,484 - (10,507) 9,968 28,027 27,060 96,004

10. สินค้าคงเหลือ

งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนให้เป็น ราคาทุน มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 2555 2554 2555 2554 สินค้าสำ�เร็จรูป 79,239 840,346 (8,569) (537) วัตถุดิบ - 221,090 - - วัสดุสิ้นเปลือง 2,797 3,471 - - รวม 82,036 1,064,907 (8,569) (537) ราคาทุน 2555 2554 สินค้าสำ�เร็จรูป 9,979 756,053 วัตถุดิบ - 217,630 วัสดุสิ้นเปลือง 2,797 3,471 รวม 12,776 977,154

งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรับลดราคาทุนให้เป็น มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ 2555 2554 (7,878) - - - - (7,878) -

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 2555 2554 70,670 839,809 - 221,090 2,797 3,471 73,467 1,064,370 (หน่วย: พันบาท) สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 2555 2554 2,101 756,053 - 217,630 2,797 3,471 4,898 977,154

สินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ได้รวมน้�ำ มันสำ�รองตามข้อบังคับของกระทรวงพาณิชย์จ�ำ นวนเงิน 1 ล้านบาท (2554: 707 ล้านบาท) 58


11. เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินรวม 2555 2554 T.C.S. Oil Co., Ltd. 21,317 21,317 อืน่ ๆ 400 3,100 รวม 21,717 24,417 หัก: ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ (21,317) (21,317) เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ และดอกเบีย้ ค้างรับ จากกิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน - สุทธิ 400 3,100

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 21,317 21,317 400 3,100 21,717 24,417 (21,317) (21,317) 400

3,100

เมือ่ วันที่ 14 มกราคม 2549 บริษทั ฯได้ท�ำ สัญญา Petroleum Product Business Joint Venture กับ T.C.S. Oil Co., Ltd. (TCS) เพือ่ ร่วมลงทุนใน ธุรกิจน้�ำ มันในประเทศกัมพูชา ซึง่ สัญญามีผลบังคับเป็นระยะเวลา 15 ปีสน้ิ สุดในปี 2563 โดยบริษทั ฯมีภาระในการจัดหาน้�ำ มันและให้เงินกูย้ มื แก่ TCS เป็นเงินบาทจำ�นวน 35 ล้านบาท คิดดอกเบีย้ ในอัตราคงทีร่ อ้ ยละ 5 ต่อปี โดยชำ�ระดอกเบีย้ เป็นรายเดือน และมีก�ำ หนดชำ�ระคืนเงินต้นตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุ ไว้ในสัญญา หลังจากทีบ่ ริษทั ฯได้รบั ชำ�ระเงินให้กยู้ มื ดังกล่าวเต็มจำ�นวนแล้ว บริษทั ฯจะได้รบั ส่วนแบ่งกำ�ไรจากผลการดำ�เนินงานของ TCS ตามทีร่ ะบุ ใน สัญญา บริษทั ฯหยุดรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ สำ�หรับเงินให้กยู้ มื ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2553 เนือ่ งจาก TCS ไม่สามารถเริม่ เปิดดำ�เนินการตามแผนเดิมได้

12. เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน วงเงิน 3.50 ล้านบาท วงเงิน 1.90 ล้านบาท อืน่ ๆ รวม หัก: ส่วนทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระภายในหนึง่ ปี ส่วนทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระเกินกว่าหนึง่ ปี

งบการเงินรวม 2555 2554 2,133 2,593 - 1,359 1,000 - 3,133 3,952 (487) (887) 2,646 3,065

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 - - 1,359 1,000 1,000 1,359 - (428) 1,000 931

เงินให้กยู้ มื ระยะยาววงเงิน 3.50 ล้านบาท เป็นเงินให้กยู้ มื เพือ่ ชำ�ระหนีแ้ ทนลูกค้า โดยลูกค้าโอนกรรมสิทธิท์ ด่ี นิ ให้บริษทั ย่อยเป็นหลักประกัน ทัง้ นี้ บริษทั ย่อยได้เข้าทำ�สัญญาจะซือ้ จะขายทีด่ นิ คืนให้แก่ลกู ค้าเมือ่ ลูกค้าชำ�ระเงินแก่บริษทั ย่อยครบถ้วน โดยมีก�ำ หนดชำ�ระเงินต้นและดอกเบีย้ เป็นราย เดือนจำ�นวน 86 เดือน เดือนละ 50,000 บาท สิน้ สุดเดือนธันวาคม 2559 เงินให้กยู้ มื ระยะยาววงเงิน 1.90 ล้านบาท เป็นเงินให้กยู้ มื ทีไ่ ม่มหี ลักประกันซึง่ มีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.50 ต่อปี และมีก�ำ หนดชำ�ระเงินต้นพร้อม ดอกเบีย้ เป็นรายเดือนจำ�นวน 52 เดือน เดือนละ 40,000 บาท สิน้ สุดเดือนธันวาคม 2557 ในเดือนมิถนุ ายน 2555 บริษทั ฯได้รบั ชำ�ระคืนเงินให้กยู้ มื ดังกล่าวทัง้ จำ�นวนแล้ว

13. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม 2555 2554 เงินชดเชยจากกองทุนน้�ำ มัน เชือ้ เพลิงค้างรับ 46,391 ภาษีสรรพสามิตจ่ายล่วงหน้า 2,886 ภาษีมลู ค่าเพิม่ รอเรียกคืน 1,739 34,575 ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลจ่ายล่วงหน้า 6,575 4,759 ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า 12,344 21,801 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซือ้ สินค้า 41,997 อืน่ ๆ 3,827 4,882 รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ 24,485 157,291

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 - - 904 1,141 2,391 - 1,173 5,609

42,302 2,886 33,578 3,151 10,626 1,687 94,230 59


14. เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำ�ประกัน

ยอดคงเหลือนี้ คือ เงินฝากประจำ�ซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อยได้นำ�ไปค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อจากธนาคารและเป็นหลักประกันต่อศาลในคดี ฟ้องร้อง

15. เงินลงทุนในบริษัทร่วม

15.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม

บริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท เคพี เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ป จำ�กัด

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 มีมติอนุมัติให้ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท สัมมากร จำ�กัด (มหาชน) (SAMCO) จากผู้ถือหุ้นเดิมรวมจำ�นวน 99 ล้านหุ้นในราคาหุ้นละ 2.60 บาทหรือคิดเป็นราคาทุนจำ�นวนเงิน 257.40 ล้านบาท บริษัทฯได้ลงทุน ในบริษัทดังกล่าวในเดือนพฤศจิกายน 2555 โดยใช้แหล่งเงินทุนจาก ทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ นอกจากนั้น ในระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึง เดือนธันวาคม 2555 บริษัทฯได้ซื้อหุ้นเพิ่มอีกจำ�นวน 12,639,600 หุ้น ในราคาเฉลี่ยหุ้นละ 2.44 บาทหรือคิดเป็นราคาทุนจำ�นวนเงิน 30.83 ล้านบาทผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของ SAMCO เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2555 มีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 450 ล้านบาท เป็น 650 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 200 ล้านหุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 บาท รวมเป็นจำ�นวนเงิน 200 ล้านบาท และจัดสรร หุ้นจำ�นวนไม่เกิน 150 ล้านหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน (Rights offering) ในอัตรา 3 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ในราคาหุ้นละ 2.20 บาท ส่วนหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวนไม่เกิน 50 ล้านหุ้นรวมกับหุ้นที่เหลือ จากการจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนจะจัดสรรให้แก่บุคคลใน วงจำ�กัด (Private Placement) ในราคาไม่ต่ำ�กว่าราคาเสนอขายหุ้น สามัญให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนดังกล่าวและไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดตามประกาศคณะกรรมการตลาดทุนที่เกี่ยวข้อง โดย ในเดือนมกราคม 2556 SAMCO ได้ทำ�การเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนดัง กล่าวเป็นจำ�นวน 139,410,340 หุ้น ทั้งนี้ บริษัทฯได้ซื้อหุ้นรวมจำ�นวน 37,213,200 หุ้น ทำ�ให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯใน SAMCO เพิ่ม ขึ้นจากเดิมร้อยละ 24.81 เป็นร้อยละ 25.25 SAMCO ดำ�เนินธุรกิจ หลักในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 60

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 มีมติอนุมัติให้ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท เคพี เอ็นเนอร์ ยี กรุ๊ป จำ�กัด (KPEG) จำ�นวน 6,702 หุ้น ในราคาหุ้นละ 1,200 บาทหรือคิดเป็นราคาทุนจำ�นวนเงิน 8.04 ล้านบาท โดย KPEG ได้ เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 18.41 ล้านบาท เป็น 25.78 ล้านบาท โดย การออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 7,369 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 บาท รวมเป็นจำ�นวนเงิน 7.37 ล้านบาท บริษัทฯได้ลงทุนใน บริษัทดังกล่าวในเดือนพฤศจิกายน 2555 โดยใช้แหล่งเงินทุนจาก ทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ บริษัทดังกล่าวดำ�เนินธุรกิจหลักในการ ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า


15.2 ส่วนแบ่งขาดทุนและเงินปันผลรับ ในระหว่างปี บริษัทฯรับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนจากการลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมและรับรู้เงินปันผลรับจากบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะ กิจการ ดังนี้

บริษัท Thai Good Petroleum Co., Ltd. บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) บริษัท เคพี เอ็นเนอรยี กรุป จํากัด รวม

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จาก เงินลงทุนในบริษัทรวม ในระหวางป 2555 2554 (1,092) (3,239) 1,314 (152) (2,077)

เงินปนผลที่บริษัทฯ รับระหวางป 2555 2554 -

(3,531) (4,623)

-

-

15.3 ข้อมูลทางการเงินของบริษัทร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษัทร่วมโดยสรุปมีดังนี้ บริษัท Thai Good Petroleum Co., Ltd.*

ทุนเรียกชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

สินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

(หนวย: พันบาท)

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

รายไดรวมสําหรับปสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

กําไร (ขาดทุน) สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

10,026

10,026

5,367

7,210

14,966

11,742

6,757

6,060

(4,905)

(7,353)

260,000

260,000

552,887

504,296

363,703

307,772

113,348

26,563

(7,340)

(8,002)

450,000

-

3,113,262

-

1,252,056

-

123,047

-

5,299

-

25,780

-

22,376

-

1,201

-

67

-

(585)

-

บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) บริษัท เคพี เอ็นเนอรยี กรุป จํากัด

* ข้อมูลทางการเงินของเงินลงทุนใน Thai Good Petroleum Co., Ltd. เป็นข้อมูลทางการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 และ สำ�หรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2555 ซึ่งได้จัดทำ�โดยฝ่ายบริหาร (ยังไม่มีการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีภายนอก) อย่างไร ก็ตาม มูลค่าของเงินลงทุนในบริษัทร่วมดังกล่าวมีจำ�นวนไม่เป็นสาระสำ�คัญ 15.4 เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่ขาดทุนเกินทุน บริษัทฯได้รับรู้ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมจนมูลค่าตามบัญชีตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับศูนย์ บริษัทฯได้หยุดรับรู้ส่วนแบ่ง ผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมเนื่องจากบริษัทฯไม่ได้มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือทางพฤตินัยที่ต้องจ่ายเงินเพื่อชำ�ระภาระผูกพัน ของบริษัทร่วมดังกล่าว โดยมีรายละเอียดดังนี้ 61


(หนวย: พันบาท) สวนแบงผลขาดทุนที(หน ่หยุวดย:รับพัรูน บาท) วนแบ งผลขาดทุ นที่หยุดารังบรู สวนแบงผลขาดทุนสะสม ณ วันที่ บริษัท สวสนแบ งผลขาดทุ นในระหว บริษัท สวนแบงผลขาดทุ สวนแบงผลขาดทุนสะสม ณ วันที่ งวดเกานเดืในระหว อนสิ้นสุาง ปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 31 ธันวาคม งวดเกาเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 2554 ดวันที่ 30 กันยายน ปสิ้น2555 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 30 กัน2554 ยายน 312555 ธันวาคม ธันวาคม 2554 (1,237) กันยายน 2555 31 2555 2554 Thai Good Petroleum Co., Ltd. (1,553) (2,790) (1,237) Thai Good Petroleum Co., Ltd. (1,553) (1,237) (2,790) (1,237) 16. เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หนวย: พันบาท) บริษัท

บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด และบริษัทยอย บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด บริษัท เพียวอินเตอรเทรด จํากัด บริษัท อารพีซี แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ทศทิศ โลจิสติกส จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด บริษัท เพียวซิลิกา มายนิ่ง จํากัด บริษัท ไทยควอทซมายนิ่ง จํากัด RPC Global Co., Ltd. รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย หัก: คาเผื่อการดอยคา เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ

ทุนชําระแลว 2555 2554

สัดสวนเงินลงทุน 2555 2554

280,000

280,000

รอยละ 100

รอยละ 100

140,000 36,000 20,000 30,000 500 500 500 500 500 500 41

99,995 36,000 20,000 -

100 100 100 100 100 70 100 100 100 100 100

100 100 78 -

ราคาทุน

เงินปนผลที่บริษัทฯ รับระหวางป 2555 2554

2555

2554

279,999

279,999

-

-

140,000 36,000 21,481 30,402 654 406 579 652 658 581 124 511,536 (30,402) 481,134

99,994 36,000 15,856 431,849 431,849

44,208 44,208

-

เนื่องจากบริษัทฯได้รับผลกระทบจากการหยุดส่งวัตถุดิบในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2555 มีมติอนุมัติปรับโครงสร้างการถือหุ้นสามัญของบริษัทในเครือที่บริษัท เอสซีที ปิโตรเลียม จำ�กัด (บริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นอยู่ในอัตรา ร้อยละ 100) ถือหุ้นจำ�นวน 7 บริษัท เป็นถือหุ้นโดยบริษัทฯโดยตรงในอัตราร้อยละ 100 โดยซื้อในราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 คิดเป็นจำ�นวนเงินรวม 34 ล้านบาท

62


16.1 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด ในช่วงต้นปี 2555 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (PBC) ได้หยุดการผลิต เนื่องจากยังไม่ได้รับคำ�สั่งซื้อจากลูกค้าและอยู่ในสภาวะขาดสภาพ คล่องในการดำ�เนินธุรกิจ PBC ได้เลิกจ้างพนักงานโดยจ่ายค่าชดเชยตามที่กฎหมายกำ�หนด PBC ได้รบั สิทธิพเิ ศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนสำ�หรับกิจการผลิตไบโอดีเซล ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1840(9)/2550 เมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม 2550 ภายใต้เงือ่ นไขทีก่ �ำ หนดบางประการ สิทธิพเิ ศษดังกล่าวรวมถึงการได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำ�หรับกำ�ไรสุทธิทไ่ี ด้ จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมเป็นระยะเวลา 8 ปีนบั แต่วนั ทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการนัน้ (ตัง้ แต่วนั ที่ 12 มกราคม 2552 ถึง วันที่ 11 มกราคม 2560) รายได้ของ PBC สำ�หรับปี 2555 และ 2554 จำ�แนกตามกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสามารถสรุปได้ ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) กิจการที่ได้รับการส่งเสริม กิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริม รวม 2555 2554 2555 2554 2555 2554 รายได้จากการขายและบริการ ขายและบริการในประเทศ 23,742 1,627,353 9,829 886,200 33,571 2,513,553 ขายส่งออก - 31,109 - - 31,109 รวม 23,742 1,658,462 9,829 886,200 33,571 2,544,662 16.2 บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด ในเดือนกรกฎาคม 2555 บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัดได้เรียกชำ�ระค่าหุ้นส่วนที่เหลือจำ�นวนเงิน 40 ล้านบาท และบริษัทฯได้จ่าย ชำ�ระเงินค่าหุ้นดังกล่าวแล้ว ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2555 มีมติอนุมัติให้จัดตั้งบริษัท ซุปเปอร์เพียวแก๊ส จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง บริษัท เพียวพลังงานไทย จำ�กัด (PTEC) และบริษัท ซุปเปอร์เซ็นทรัลแก๊ส จำ�กัด โดยมีทุนจดทะเบียนจำ�นวนเงิน 20 ล้านบาท (หุ้นสามัญ จำ�นวน 200,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) บริษัทร่วมทุนดังกล่าวดำ�เนินธุรกิจจำ�หน่ายแก๊ส LPG และ CNG โดย PTEC มีสัดส่วนการลงทุนในบริษัทดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 55 โดยใช้แหล่งเงินทุนจากทุนหมุนเวียนของ PTEC และ PTEC ได้เข้าลงทุนในบริษัทดัง กล่าวในเดือนสิงหาคม 2555 16.3 บริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด ในเดือนตุลาคม 2555 บริษัทฯได้เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นอยู่ในอัตรา ร้อยละ 78 เป็นอัตราร้อยละ 100 โดยการเข้าซื้อหุ้นจากผู้ถือหุ้นเดิมจำ�นวน 44,000 หุ้นในราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 คิดเป็นจำ�นวนเงิน 6 ล้านบาท การเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นดังกล่าวเป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555 16.4 บริษัท อาร์พีซี แมเนจเมนท์ จำ�กัด ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2555 มีมติอนุมัติขายเงินลงทุนในบริษัท อาร์พีซี แมเนจเมนท์ จำ�กัด (RPCM) ซึ่ง เป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 100 และมีทุนจดทะเบียนจำ�นวนเงิน 500,000 บาท (หุ้นสามัญจำ�นวน 5,000 หุ้น มูลค่าที่ตรา ไว้หุ้นละ 100 บาท) ให้แก่บริษัท โขงเจริญขนส่ง จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ไม่เกี่ยวข้องกัน จำ�นวน 1,500 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 30 ในราคาหุ้นละ 116.21 บาทหรือรวมเป็นจำ�นวนเงิน 174,315 บาท ราคาดังกล่าวเป็นราคามูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 ทั้งนี้ บริษัทฯได้ขายเงินลงทุนดังกล่าวและรับชำ�ระค่าหุ้นในเดือนกรกฎาคม 2555 ทำ�ให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯใน RPCM ลดลงจากเดิมร้อย ละ 100 เป็นร้อยละ 70 16.5 บริษัท ไทยควอทซ์มายนิ่ง จำ�กัด ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2555 มีมติอนุมัติเพิ่มเงินลงทุนในบริษัท ไทยควอทซ์มายนิ่ง จำ�กัด (TQM) โดย TQM จะเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 0.5 ล้านบาท เป็น 10 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 95,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท รวมเป็นจำ�นวนเงิน 9.5 ล้านบาท การเพิ่มทุนมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยดังกล่าว 63


16.6 RPC Global Co., Ltd. ในเดือนพฤษภาคม 2555 บริษัทฯได้เข้าซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของ RPC Global Co., Ltd. (RPCG) ตามมติที่ประชุมคณะกรรมกา รบริษัทฯเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2555 RPCG เป็นบริษัทซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศฮ่องกง เพื่อประกอบกิจการจำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีและการลงทุนต่างๆ RPCG มีทุนจดทะเบียนจำ�นวนเงิน 10,000 เหรียญฮ่องกง (หุ้นสามัญจำ�นวน 10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 เหรียญฮ่องกง) โดยซือ้ ในราคาหุน้ ละ 3 เหรียญฮ่องกง รวมเป็นจำ�นวนเงิน 30,000 เหรียญฮ่องกง หรือคิดเป็นราคาทุนจำ�นวนเงิน 123,939 บาท

64


65

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารโรงงานและ เครื่องจักร สวนปรับปรุง และอุปกรณ ที่ดิน อาคารโรงงาน โรงงาน 355,733 (355,733) 14,504 (14,504) -

163,531 6,120 (20,746) 9,995 158,900 87,170 12,264 (2,132) 97,302 19,172 (16,670) 99,804 66,229 59,096

18,259 27,848

37,255 2,320 (6,795) 32,780

47,936 9,075 (19,756) -

55,514 4,349 (7,856) 8,621 60,628

71,260 551 (22,035) 5,738 -

24,896 12,525

(7,477) 68,581 12,708 (5,586) 75,703

65,340 12,482 (1,764) -

(22,249) 93,477 446 (6,666) 971 88,228

96,184 1,102 (2,001) 20,441 -

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารใหเชา เครื่องตกแตง ติดตั้ง และสวนปรับปรุง อุปกรณสถานี และเครื่องใช อาคารใหเชา บริการน้ํามัน สํานักงาน

162,340 (2,762) 3,953 -

อาคารสํานักงาน และสวนปรับปรุง อาคารสํานักงาน

ราคาทุน / ราคาที่ตีใหม 1 มกราคม 2554 173,457 176,647 2,000,319 ซื้อเพิ่ม 1,003 จําหนาย (169) โอน 62 9,019 โอนไปบัญชีอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน โอนออกจากการสูญเสียอํานาจการควบคุม ในบริษัทยอย (28,666) 31 ธันวาคม 2554 173,457 176,709 1,981,506 ซื้อเพิ่ม 2,660 จําหนาย (31,667) โอน 31 ธันวาคม 2555 176,117 176,709 1,949,839 คาเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2554 77,460 1,112,317 คาเสื่อมราคาสําหรับป 7,084 85,901 คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย (158) โอนไปบัญชีอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน โอนออกจากการสูญเสียอํานาจการควบคุม ในบริษัทยอย (4,086) 31 ธันวาคม 2554 84,544 1,193,974 คาเสื่อมราคาสําหรับป 6,967 84,169 คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย (31,226) 31 ธันวาคม 2555 91,511 1,246,917 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2554 173,457 92,165 787,532 31 ธันวาคม 2555 176,117 85,198 702,922 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2554 (จํานวนเงิน 135 ลานบาทรวมอยูในตนทุนการผลิตและตนทุนการใหบริการ สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2555 (จํานวนเงิน 30 ลานบาทรวมอยูในตนทุนการผลิตและตนทุนการใหบริการ สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

17. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

156,354 13,591

164,833 34,148 (178,369) 20,612

127,652 40,154 (2,973) -

321,187 2,294 (290,795) 1,517 34,203

240,931 132 (2,972) 83,096 -

ยานพาหนะ

991 12

-

-

991 20,801 (676) (21,104) 12

11,173 114,512 (122,309) (2,385)

งานระหวาง กอสราง

166,960 159,484

1,319,883 1,077,309

(11,563) 1,646,489 159,484 (238,646) 1,567,327

1,532,379 166,960 (26,783) (14,504)

(50,915) 2,966,372 36,670 (358,406) 2,644,636

3,288,044 117,300 (29,939) (358,118)

รวม


66


ในระหว่างปี 2551 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดให้มีการประเมินราคาสินทรัพย์ตามรายกลุ่มของสินทรัพย์ซึ่งราคาประเมินใหม่เป็นราคาที่สรุป ผลในวันที่ 4 ธันวาคม 2551 เกณฑ์ที่ใช้ประเมินราคาสินทรัพย์มีดังนี้ ก) ที่ดินและอาคารโรงงานประเมินราคาโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้วิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) และมูลค่าต้นทุน ทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost) ตามลำ�ดับ ข) เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานประเมินราคาโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้มูลค่าต้นทุนทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost) ผลของการประเมินแสดงมูลค่าที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานเพิ่มขึ้นจากราคาตามบัญชีจำ�นวนเงิน 261 ล้านบาท บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกส่วนที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสินทรัพย์ดังกล่าวไว้ในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ในส่วนของผู้ถือหุ้น หากบริษัทฯและบริษัทย่อยแสดงมูลค่าของที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน ดังกล่าวด้วยวิธีราคาทุน มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 จะเป็นดังนี้

ที่ดิน อาคารโรงงานและสวนปรับปรุง เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน

งบการเงินรวม 2555 2554 140,366 137,706 81,705 88,159 567,529 631,951

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 102,909 102,909 29,777 32,058 212,446 242,110

อาคารและอุปกรณ์โดยผู้ประเมินราคาอิสระ เกณฑ์ที่ใช้ประเมินราคาสินทรัพย์มีดังนี้ ก) ที่ดินประเมินราคาโดยใช้วิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) ข) อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานประเมินราคาโดยใช้มูลค่าต้นทุนทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost) ค) อุปกรณ์สถานีบริการน้ำ�มันประเมินราคาโดยใช้วิธีกระแสเงินสดคิดลด บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานซึ่งแสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จำ�นวนเงิน 788 ล้านบาทและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการจำ�นวนเงิน 381 ล้านบาท ในระหว่างปี 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อย ได้จัดให้มีการประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์โดยผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อพิจารณาการด้อยค่าของสินทรัพย์ ผลของการประเมินดังกล่าวแสดงมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานสูงกว่ามูลค่าสุทธิตามบัญชีในงบ การเงินรวมจำ�นวนเงิน 37 ล้านบาท (สูงกว่ามูลค่าสุทธิตามบัญชีในงบการเงินเฉพาะกิจการ: 7 ล้านบาท) ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจึง ไม่ได้บันทึกค่าเผื่อการด้อยค่าสำ�หรับอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การประเมินการด้อยค่าของอาคาร โรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน ผู้ประเมินราคาอิสระใช้วิธีมูลค่าต้นทุนทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost) ซึ่งไม่เป็นไป ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ ซึ่งกำ�หนดให้กิจการประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของ สินทรัพย์ ซึ่งกำ�หนดให้กิจการประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์จากมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่า จากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยมียอดคงเหลือของยานพาหนะซึ่งได้มาภายใต้สัญญาเช่าการเงิน โดยมีมูลค่าสุทธิตามบัญชี เป็นจำ�นวนเงิน 7 ล้านบาท (2554: 136 ล้านบาท) และในงบการเงินเฉพาะกิจการจำ�นวนเงิน 2 ล้านบาท (2554: 6 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จำ�นวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่าตาม บัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวในงบการเงินรวมมีจำ�นวนเงิน 177 ล้านบาท (2554: 153 ล้านบาท) และในงบการเงิน เฉพาะกิจการจำ�นวนเงิน 76 ล้านบาท (2554: 96 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัดได้จำ�นองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและจำ�นำ�เครื่องจักรซึ่งมีมูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เป็นจำ�นวนเงิน 391 ล้านบาท เพื่อค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อที่ได้รับจากธนาคารพาณิชย์ (2555: ไม่มีเนื่องจากบริษัท ย่อยชำ�ระคืนเงินกู้ยืมทั้งจำ�นวนแล้วและไถ่ถอนหลักประกันทั้งหมด) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มูลค่าสุทธิตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่บริษัทฯและบริษัทย่อยหยุดใช้งานเป็นการชั่วคราวมีจำ�นวนเงิน 957 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 522 ล้านบาท) 67


18. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เป็นซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 แสดงได้ดังนี้

ราคาทุน หัก: คาตัดจําหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

งบการเงินรวม 2555 2554 26,964 26,957 (16,757) (14,117) 10,207 12,840

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 21,791 21,791 (14,854) (12,750) 6,937 9,041

การกระทบยอดมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยไมมีตัวตนสําหรับป 2555 และ 2554 แสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท)

มูลคาตามบัญชีตนป ซื้อซอฟทแวรคอมพิวเตอร คาตัดจําหนาย โอนจากการเสียอํานาจการ ควบคุมในบริษัทยอย มูลคาตามบัญชีปลายป

งบการเงินรวม 2555 2554 12,840 15,985 7 205 (2,640) (3,085) 10,207

(265) 12,840

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 9,041 11,524 24 (2,104) (2,507) 6,937

9,041

คาตัดจําหนายสําหรับปรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร 19. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

เงินชดเชยคาปรับคุณภาพ สิทธิการเชาที่ดินและสถานีบริการน้ํามัน คาใชจายจายลวงหนา เงินมัดจํา เงินใหกูยืมระยะยาวและดอกเบี้ยคางรับ อื่น ๆ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - สุทธิ 68

งบการเงินรวม 2555 2554 26,711 26,711 2,481 5,904 4,035 4,917 3,317 5,440 1,353 1,386 3,333 37,930 47,658 (1,353) 37,930 46,305

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 26,711 26,711 1,468 1,240 2,035 1,353 971 2,616 28,922 34,183 (1,353) 28,922 32,830


เงินชดเชยค่าปรับคุณภาพ คือ เงินชดเชยเนื่องจากในไตรมาสที่สามของปี 2549 ผู้ขายวัตถุดิบได้ส่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพผิดไปจากที่กำ�หนดไว้ใน สัญญาซื้อขายวัตถุดิบ โดยมีคุณสมบัติที่ผิดไปจากที่เคยส่งมอบให้บริษัทฯ ตลอดระยะเวลาของสัญญาที่ผ่านมาอย่างกะทันหัน มีผลทำ�ให้บริษัทฯ ต้องจ่ายต้นทุนเพิ่มในการปรับคุณภาพสินค้าตลอดจนค่าเสียหายด้านอื่นๆ รวมทั้งสิ้นประมาณ 136 ล้านบาท จากการเจรจากับผู้ขายวัตถุดิบ ได้ ข้อสรุปว่าผู้ขายวัตถุดิบจะชดเชยค่าปรับคุณภาพให้แก่บริษัทฯ รวม 53 ล้านบาท ส่วนที่เหลือเป็นค่าเสียหายที่เกิดจากการที่ราคาของสินค้าและ วัตถุดิบลดต่ำ�ลงมาก อย่างต่อเนื่อง (Inventory Loss) และเนื่องจากส่วนนี้เป็นความเสียหายที่เกิดจากภาวะราคาตลาดโลกที่ทั้งฝ่ายบริษัทฯ และฝ่ายผู้ขายวัตถุดิบต่างต้องแบกรับอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นเดียวกัน ผู้ขายวัตถุดิบจึงขอให้ต่างฝ่ายต่างแบกรับภาระ Inventory Loss ของ ตนเอง บริษัทฯจึงได้บันทึกบัญชีเงินชดเชยค่าปรับคุณภาพจำ�นวนนี้โดยลดต้นทุนขายสำ�หรับปี 2549 ทั้งจำ�นวน ทั้งนี้ ผู้ขายวัตถุดิบได้ออกใบลด หนี้ให้บริษัทฯ จำ�นวนเงิน 26 ล้านบาทในเดือนพฤศจิกายน 2549 ส่วนที่เหลือจำ�นวนเงิน 27 ล้านบาท ผู้ขายแจ้งว่าจะพิจารณาวิธีการชดเชย ให้ในภายหลัง 20. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำ�นวนนี้เป็นตั๋วเงินที่บริษัทย่อยออกให้แก่ธนาคาร ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 6.25 ต่อปี และมีกำ�หนดชำ�ระ คืนภายในหนึ่งปี (2555: ไม่มี) บริษัทฯและบริษัทย่อยมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคารหลายแห่ง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

21. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

69


22. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จำ�นวนนี้เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทย่อยออกให้แก่บุคคลภายนอก ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2.79 3.00 ต่อปี (2554: ร้อยละ 3.00 - 5.75 ต่อปี) และมีกำ�หนดชำ�ระคืนภายในหนึ่งปี 23. เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำ�กัด (PBC) ได้เข้าทำ�สัญญากู้ยืมเงินจากธนาคารพาณิชย์ในประเทศแห่งหนึ่งใน วงเงินจำ�นวน 200 ล้านบาท โดยเงินกู้ยืมดังกล่าวจะนำ�ไปใช้ในการก่อสร้างโรงงานและนำ�เข้าเครื่องจักรในโครงการผลิตไบโอดีเซล เงินกู้ยืมคิด ดอกเบี้ยในอัตราไม่เกินอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ำ�สำ�หรับเงินให้กู้ยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยชำ�ระดอกเบี้ยเป็นรายเดือนและมีกำ�หนดชำ�ระคืนเงินต้น ทุกงวดสามเดือนงวดละ 8 ล้านบาท เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคม 2551 ถึงเดือนธันวาคม 2556 และงวดละ 16 ล้านบาท ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2557 เป็นต้นไป และต้องจ่ายชำ�ระคืน เงินต้นทั้งหมดภายในเดือนมิถุนายน 2557 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 PBC ได้เข้าทำ�สัญญากู้ยืมเงินเพิ่มเติมจากธนาคารดังกล่าวในวงเงินจำ�นวน 80 ล้านบาท โดยเงินกู้ยืม จะนำ�ไปใช้ปรับปรุงโรงงานในโครงการผลิตไบโอดีเซลและลงทุนในเครื่องจักร เงินกู้ยืมคิดดอกเบี้ยในอัตราไม่เกินอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ำ�สำ�หรับเงิน ให้กู้ยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยชำ�ระดอกเบี้ยเป็นรายเดือนและมีกำ�หนดชำ�ระคืนเงินต้นทุกงวดสามเดือนงวดละ 4 ล้านบาท เริ่มตั้งแต่เดือน ธันวาคม 2552 ถึงเดือนกันยายน 2557 ภายใต้สัญญาเงินกู้ยืมข้างต้นได้ระบุข้อปฏิบัติและข้อจำ�กัดบางประการตามที่ระบุในสัญญา เช่น สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯในบริษัทย่อยดัง กล่าวต้องไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 51 ข้อจำ�กัดในการจ่าย งินปันผล การก่อภาระผูกพันในทรัพย์สินและการดำ�รงอัตราส่วนทางการเงินให้เป็นไปตาม สัญญา เป็นต้น สัญญาเงินกู้ยืมดังกล่าวค้ำ�ประกันโดยการจำ�นองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างรวมทั้งสิ่งปลูกสร้างที่จะมีขึ้นในอนาคตของบริษัทย่อยและ การจำ�นำ�เครื่องจักรของบริษัทย่อย ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 บริษัทย่อยได้ชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารทั้งจำ�นวนแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีวงเงินกู้ยืมระยะยาวตามสัญญาเงินกู้ที่ยังไม่ได้เบิกใช้คงเหลือ 24. เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำ�นวนนี้เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่บริษัทฯออกให้แก่บุคคลภายนอก ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 5.75 ต่อปี โดยชำ�ระดอกเบี้ยเป็นรายสามเดือนและมีกำ�หนดชำ�ระคืนเงินต้นภายในเดือนกันยายน 2555 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 บริษัทฯได้ชำ�ระคืนเงินกู้ ยืมระยะยาวดังกล่าวทั้งจำ�นวนแล้ว 25. หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจําหนาย รวม หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ถึงกําหนดชําระเกินกวาหนึ่งป

งบการเงินรวม 2555 2554 7,025 120,848 (530) (6,240) 6,495 114,608 (2,944) (44,705) 3,551 69,903

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2,132 6,254 (161) (539) 1,971 5,715 (738) (2,086) 1,233 3,629

บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ทำ�สัญญาเช่าการเงินกับบริษัทลีสซิ่งเพื่อเช่ายานพาหนะใช้ในการดำ�เนินงานของกิจการโดยมีกำ�หนดการชำ�ระค่าเช่า เป็นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 4 ถึง 5 ปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่ำ�ตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้

70


(หนวย: พันบาท)

ผลรวมของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตอง จายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาการเงิน รอการตัดบัญชี มูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้น ต่ําที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา

ไมเกิน 1 ป

งบการเงินรวม 1 - 5 ป

2555 รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ ไมเกิน 1 ป 1 - 5 ป รวม

3,288

3,737

7,025

835

1,297

2,132

(344)

(186)

(530)

(97)

(64)

(161)

2,944

3,551

6,495

738

1,233

1,971

(หนวย: พันบาท)

ผลรวมของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตอง จายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาการเงิน รอการตัดบัญชี มูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้น ต่ําที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา

ไมเกิน 1 ป

งบการเงินรวม 1 - 5 ป

2554 รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ ไมเกิน 1 ป 1 - 5 ป รวม

48,146

72,702

120,848

2,393

3,861

6,254

(3,441)

(2,799)

(6,240)

(307)

(232)

(539)

44,705

69,903

114,608

2,086

3,629

5,715

26. สำ�รองผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างและสำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน จำ�นวนเงินสำ�รองผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างและสำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 แสดงได้ดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลประโยชน ผลประโยชน ผลประโยชน ระยะยาว ผลประโยชน ระยะยาว เมื่อเลิกจาง ของพนักงาน เมื่อเลิกจาง ของพนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 24,298 21,595 ตนทุนบริการในปจจุบัน 2,721 1,460 ตนทุนดอกเบี้ย 1,142 746 ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง 80,855 (25,028) 63,174 (23,801) สูญเสียอํานาจการควบคุมในบริษัทยอย (416) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 80,855 2,717 63,174 ตนทุนบริการในปจจุบัน 751 ตนทุนดอกเบี้ย 222 ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง 15,765 (626) 10,018 ผลประโยชนที่จายในระหวางงวด (96,620) (73,192) 3,064 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ในระหว่างปี 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยสองแห่งมีโครงการยกเลิกการจ้างพนักงานก่อนวันเกษียณตามปกติ โดยบริษัทฯและบริษัทย่อยได้ กลับรายการสำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ทั้งจำ�นวนและบันทึกสำ�รองผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างเป็นค่าใช้จ่ายทันที 71


ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างและผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยู่ในงบกำ�ไรขาดทุนสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 โดยรับรู้ในรายการค่าใช้จ่ายในการบริหารแสดงได้ดังนี้

ผลประโยชนเมื่อเลิกจาง ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย รวม

งบการเงินรวม 2555 2554 15,139 55,827 751 2,721 222 1,142 16,112 59,690

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 10,018 39,373 1,460 746 10,018 41,579

สมมติฐานที่สำ�คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (รอยละตอป) (รอยละตอป) (รอยละตอป) (รอยละตอป) อัตราคิดลด 4.75 4.75 4.75 4.75 อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต 5.00 5.00 5.00 5.00 อัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวน พนักงาน 0.00 - 22.92 0.00 - 22.92 0.00 - 22.92 0.00 - 22.92 จำ�นวนเงินภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์สำ�หรับปีปัจจุบันและสามปีย้อนหลังแสดงได้ดังนี้

ป 2555 ป 2554 ป 2553 ป 2552

งบการเงินรวม 3,064 2,717 24,299 20,666

27. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

ภาษีสรรพสามิตคางจาย ภาษีมูลคาเพิ่มคางจาย เงินรับลวงหนาจากลูกคา อื่น ๆ รวม 72

(หนวย: พันบาท) งบการเงิน เฉพาะกิจการ 21,595 19,552 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554 5,275 1,160 11,133 11,990 20,750 2,107 9,446 15,257 46,604

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 5,275 518 5,746 245 6,717 763 17,738


28. สำ�รองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีส่วนหนึ่ง ไว้เป็นทุนสำ�รองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำ�รองนี้จะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำ�รองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำ�ไปจ่ายเงินปันผล ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 1202 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทย บริษัทย่อยต้องจัดสรรทุนสำ�รองไม่น้อย กว่าร้อยละ 5 ของจำ�นวนผลกำ�ไรซึ่งบริษัทย่อยทำ�มาหาได้ทุกคราวที่จ่ายเงินปันผลจนกว่าทุนสำ�รองนั้นจะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ ทุนจดทะเบียนของ บริษัทย่อย สำ�รองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำ�ไปหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถนำ�ไปจ่ายเงินปันผล 29. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ คือส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณ์โรงงาน ส่วนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพย์ดังกล่าวจะทยอยตัดจำ�หน่ายโดยใช้วิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์ที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์นั้น และบันทึกโอนไปยัง กำ�ไรสะสมโดยตรง

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 195,338 216,413 (20,701) (21,075) 174,637 195,338

ยอดคงเหลือตนป หัก: ตัดจําหนายระหวางป ยอดคงเหลือปลายป

ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ดังกล่าวไม่สามารถนำ�มาหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถจ่ายเป็นเงินปันผล 30. รายได้อื่น

รายไดคาบริหารจัดการ เงินปนผลรับ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กําไรจากการขายอุปกรณ กําไรจากการรับรูมูลคาเงินลงทุนใน บริษัทยอยเดิมดวยมูลคายุติธรรม ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น รวม

งบการเงินรวม 2555 2554 335 3,395 18,696 67,271 21,239 43,100 135,340

5,864 20,391 44,951

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 10,998 11,464 44,208 3,395 18,549 85,336 39,027 24,701 207,665

14,431 6,744 45,002 96,190

73


31. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำ�คัญดังต่อไปนี้

เงินเดือน คาแรงและผลประโยชนอื่น ของพนักงาน ผลประโยชนเมื่อเลิกจางและ ผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป ตนทุนสินคาสําเร็จรูปซื้อมาเพื่อขาย ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

งบการเงินรวม 2555 2554 175,307

312,543

57,119

130,633

16,112 59,690 162,124 170,046 1,692,927 17,065,575 761,107 91,891 3,945,207 5,032,104 -

10,018 68,381 1,692,927 746,074 5,955 33,577

41,579 64,043 15,498,032 14,589 2,818,706 -

32. ภาษีเงินได้ บริษัทฯไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับปี 2555 เนื่องจากบริษัทฯมีผลขาดทุนสุทธิทางภาษี 33. กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำ�นวณโดยหารกำ�ไร (ขาดทุน) สำ�หรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจำ�นวนถัว เฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี 34. ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยดำ�เนินกิจการใน 4 ส่วนงานหลัก คือ (1) ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายน้ำ�มันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี (2) ธุรกิจผลิต และจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันไบโอดีเซล (3) ธุรกิจให้บริการขนส่งน้ำ�มันและ (4) ธุรกิจให้บริการบริหารจัดการ และดำ�เนินธุรกิจในส่วนงานทาง ภูมิศาสตร์หลักในประเทศ ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังต่อไปนี้

74

RPC


(54)

(34)

29 29 42 71

ใหบริการขนสงน้ํามัน 2555 2554 1 147

(55)

2,029 31 2,060 485 2,545 11

48 48 220 268

ใหบริการ ขนสงน้ํามัน 2555 2554

ใหบริการ บริหารจัดการ 2555 2554 -

2

13 13 13

ใหบริการ บริหารจัดการ 2555 2554

บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้เกณฑ์ในการกำ�หนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9

สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยสวนกลาง รวมสินทรัพย

297

(248)

34 34 (1) 33

ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ น้ํามันไบโอดีเซล 2555 2554

ผลิตและจําหนาย ผลิตและจําหนายผลิตภัณ น้ํามันเชื้อเพลิง ฑ และผลิตภัณฑปโตรเคมี น้ํามันไบโอดีเซล 2555 2554 2555 2554 71 1,035 26 636 695 435 475

17,253 4,913 22,166 9,161 31,327

4,697 1,935 6,632 292 6,924

ผลิตและจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิง และผลิตภัณฑปโตรเคมี 2555 2554

รายไดจากการขายและบริการจากภายนอก ในประเทศ ตางประเทศ รวมรายไดจากการขายและบริการจากภายนอก รายไดจากการขายและบริการระหวางสวนงาน รวมรายไดจากการขายและบริการทั้งสิ้น กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานตามสวนงาน รายไดและคาใชจายที่ไมไดปนสวน: รายไดอื่น สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายทางการเงิน คาใชจายภาษีเงินได สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย กําไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ

75

-

2

133 133 27 160

การดําเนินงานอื่น ๆ 2555 2554 3 4 4 7

(3)

93 93 16 109

การดําเนินงานอื่น ๆ 2555 2554

64

(9,893) (9,893)

การตัดรายการ บัญชีระหวางกัน 2555 2554 (1) (1) 1 (4)

81

(349) (349)

การตัดรายการ บัญชีระหวางกัน 2555 2554

41 (5) (67) (115) (2) 171

135 (2) (13) 2 (134)

1

งบการเงินรวม 2555 2554 73 1,064 1,077 1,320 1,540 1,683 2,690 4,067

(หนวย: ลานบาท)

319

19,463 4,944 24,407 24,407 (256)

4,853 1,948 6,801 6,801

งบการเงินรวม 2555 2554

(หนวย: ลานบาท)


35. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานบริษัทฯและบริษัทย่อยได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำ�รอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 - 10 ของเงินเดือน กองทุนสำ�รอง เลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำ�กัด (มหาชน) และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบว่าด้วย กองทุนของบริษัทฯ ในระหว่างปี 2555 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็นจำ�นวนเงิน 5 ล้านบาท (2554: 11 ล้านบาท) 36. เงินปันผลจ่าย เงินปันผลที่ประกาศจ่ายในปี 2555 และ 2554 ของบริษัทฯประกอบด้วย เงินปนผล

อนุมัติโดย

เงินปนผลจายงวดสุดทายประกาศ ที่ประชุมสามัญผูถือหุนวันที่ จากผลการดําเนินงานของป 2553 7 เมษายน 2554 รวมเงินปนผลสําหรับป 2554 เงินปนผลประจําป 2554 เงินปนผลระหวางกาลสําหรับป 2555 รวมเงินปนผลสําหรับป 2555

เงินปนผลจาย (พันบาท)

ที่ประชุมสามัญผูถือหุนเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2555 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2555

เงินปนผลจายตอหุน (บาท)

21,195 21,195

0.04 0.04

26,493

0.05

496,409 522,902

0.94 0.99

37. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 37.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุนเกี่ยวกับการก่อสร้างสถานีบริการน้ำ�มันจำ�นวนเงิน 3 ล้าน บาท (2554: 2 ล้านบาท) 37.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำ�เนินงานและสัญญาบริการ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เข้าทำ�สัญญาเช่าดำ�เนินงานและสัญญาบริการที่เกี่ยวข้องกับการเช่าที่ดิน อาคาร คลังน้ำ�มัน สถานีบริการ น้ำ�มัน รถยนต์และอุปกรณ์ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 25 ปี

บริษัทฯและบริษัทย่อยมีจำ�นวนเงินขั้นต่ำ�ที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาข้างต้น ดังนี้

จายชําระ

ภายใน 1 ป มากกวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป มากกวา 5 ป

76

งบการเงินรวม 2555 2554 18 43 60 72 71 140

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 8 20 11 5 9


37.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาซื้อระยะยาว ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริษัทย่อย (บริษัท เพียวไบโอ ดีเซล จำ�กัด) ได้เข้าทำ�สัญญาซื้อขายไอน้ำ�กับบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำ�กัด (PTTUT) เพิ่มเติม โดยปริมาณการซื้อขายและราคาเป็นไปตามที่ระบุ ไว้ในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลา 15 ปีนับจากวันที่อุปกรณ์ พร้อมใช้งานโดยกำ�หนดส่งมอบไอน้ำ�ภายในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 และ สามารถต่ออายุได้อีก 5 ปี ต่อมา เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 บริษัทย่อยได้เข้าทำ� บันทึกข้อตกลงการวางท่อไอน้ำ�กับ PTTUT เพิ่มเติม โดย PTTUT จะ ดำ�เนินการก่อสร้างชั้นวางท่อยกระดับและสะพานรับท่อเพื่อวางท่อไอ น้ำ�ซึ่งมีค่าก่อสร้างจำ�นวนเงิน 58 ล้านบาท และ PTTUT จะชดเชย ผลกระทบจากการที่ไม่สามารถส่งมอบ ไอน้ำ�ตามสัญญาซื้อขายไอน้ำ� เป็นจำ�นวนเงิน 23 ล้านบาท ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าชดเชยความ ล่าช้า โดยนำ�ไปหักจากค่าก่อสร้างดังกล่าว จากนั้นบริษัทย่อยจะต้อง ชำ�ระคืนค่าก่อสร้างและดอกเบี้ยแก่ PTTUT ทุกเดือนตั้งแต่วันที่ 1 ของเดือนที่ 37 และจะชำ�ระให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลา 72 เดือน นับตั้งแต่วันที่เริ่มมีการส่งมอบไอน้ำ�เชิงพาณิชย์ โดยคิดดอกเบี้ยใน อัตรา MLR ของธนาคารแห่งหนึ่ง 37.4 คดีฟ้องร้องและข้อพิพาททางการค้า ก) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2538 บริษัทฯได้เข้าทำ�สัญญา ซื้อขายวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิวกับบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (PTT) ซึ่งวัตถุดิบดังกล่าวผลิตโดยบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (PTTGC) (เดิมชื่อ “บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน)”)โดยปริมาณการซื้อขายและราคาเป็นไปตามที่ระบุไว้ ในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีลักษณะเป็น Evergreen Basis คือไม่มี กำ�หนดเวลาสิ้นสุด โดยมีระยะเวลาช่วงแรก (Primary period) 15 ปี ซึ่งช่วงแรกครบกำ�หนดในปี 2555 และสัญญาจะต่อเนื่องไปยังช่วง ที่ 2 ในลักษณะของ Evergreen Basis โดยอัตโนมัติ และกำ�หนดให้ บริษัทฯต้องวางหนังสือค้ำ�ประกันธนาคารจำ�นวนหนึ่งเพื่อเป็นหลัก ประกันการจ่ายชำ�ระค่าซื้อสินค้า บริษัทฯจะได้รับคืนหลักประกันดัง กล่าวเมื่อคู่สัญญาตกลงเลิกสัญญาหรือ PTT ผิดสัญญา เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 PTT ได้ส่งจดหมาย แจ้ ง ขอยกเลิ ก สั ญ ญาการซื้ อ ขายวั ต ถุ ดิ บ คอนเดนเสทเรสซิ ดิ ว กั บ บริษัทฯ โดยจะขอยกเลิกสัญญาเมื่ออายุสัญญาครบ 15 ปีแรก (Primary period)ในปี 2555 ทั้งที่บริษัทฯไม่ได้ประพฤติผิดสัญญา และ การเลิกสัญญาเป็นการขัดกับเจตนารมณ์ของการทำ�สัญญา ทั้งนี้ บริษัทฯ และที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทฯ เห็นว่า สัญญาดังกล่าวไม่ สามารถยกเลิกได้ เนื่องจากเป็นสัญญาต่างตอบแทนระยะยาว โดยที่ ในสัญญาระบุให้บริษัทฯต้องเป็นผู้ลงทุนก่อสร้างโรงกลั่นขึ้นมารองรับ เพื่อแปรรูปวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิว ซึ่งเป็นสเปกวัตถุดิบที่รับมา จาก PTT เท่านั้น และสัญญาบังคับบริษัทฯไม่ให้นำ�วัตถุดิบไปขายต่อใน สภาพเดิมที่รับมาอีกด้วย ดังนั้น ในสัญญาจึงมีการระบุว่าเป็นสัญญา ลักษณะ Evergreen Basis คือ ไม่มีกำ�หนดเวลาสิ้นสุด สัญญาจะมีผล บังคับต่อไปโดยอัตโนมัติเมื่อครบกำ�หนด 15 ปีแรก (Primary period) และในช่วงต่อ ๆ ไป อีกทั้งการยกเลิกสัญญาจะกระทำ�ได้ก็ต่อเมื่อได้รับ ความยินยอมจากคู่สัญญาทั้ง 2 ฝ่ายหรือในกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำ�ผิด

สัญญา ซึ่งบริษัทฯไม่เคยดำ�เนินการใดๆ ผิดจากข้อสัญญาที่กำ�หนด ไว้ บริษัทฯจึงมั่นใจว่าสัญญาดังกล่าวไม่สามารถยกเลิกได้ ในขณะ ที่ทาง PTT เห็นต่างออกไป บริษัทฯได้ร่วมหารือกับ PTT เพื่อหาข้อ สรุปที่ยุติธรรมกับทั้งสองฝ่ายแต่ไม่สามารถหาข้อยุติร่วมกันได้ ดัง นั้น เพื่อรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นให้ได้รับการรับรองและคุ้มครองตาม กฎหมาย บริษัทฯ จึงได้ใช้กระบวนการยุติธรรมเป็นผู้ตัดสินชี้ขาด โดยได้ดำ�เนินการยื่นคำ�เสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการในวันที่ 3 ธันวาคม 2552 และเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2553 บริษัทฯได้ยื่น ฟ้องต่อศาลแพ่งเรียกร้องให้ PTT และ PTTGC ร่วมกันปฏิบัติตาม สัญญาดังกล่าวต่อไปโดยไม่กำ�หนดระยะเวลาสิ้นสุด หากการบังคับ ให้ PTT และ PTTGC ปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าวเป็นการพ้นวิสัย ไม่อาจกระทำ�ได้ ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด ให้ PTT และ PTTGC ร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่บริษัทฯ เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 13,805,648,806.91 บาท ต่อมา บริษัทฯได้ยื่นคำ�ร้องขอแก้ไขเพิ่ม เติมคำ�เสนอข้อพิพาทเพื่อขอเพิ่มจำ�นวนค่าเสียหายเป็นจำ�นวนเงิน รวม 29,368,397,797.76 บาท ซึ่งคณะอนุญาโตตุลาการมีคำ�สั่ง อนุญาตตามคำ�ร้องฉบับดังกล่าวแล้วขณะนี้ข้อพิพาททางการค้าอยู่ ในระหว่างการดำ�เนินกระบวนพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ และ คดีที่ฟ้องร้องก็อยู่ภายในระหว่างการพิจารณาคดีของศาลแพ่ง ซึ่ง ผลของข้อพิพาทและคดีที่ฟ้องร้องดังกล่าวนั้นยังไม่สามารถยืนยัน ได้และขึ้นอยู่กับกระบวนการยุติธรรมในอนาคต ต่อมาเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 ซึ่งเป็นช่วงเวลา ที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาคดีของอนุญาโตตุลาการ บริษัทฯ ได้รับแผนการส่งวัตถุดิบล่วงหน้าจาก PTT ซึ่งเป็นกระบวนการ ประสานงานระหว่างกันตามปกติธุรกิจ พบว่าแผนการส่งวัตถุดิบ นี้ระบุปริมาณการส่งวัตถุดิบถึงเดือนมกราคม 2555 เท่านั้น โดย PTT ได้หยุดส่งวัตถุดิบตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นการทำ�ผิด สัญญาข้อ 15.5 ที่ระบุให้ PTT ต้องปฏิบัติตามสัญญาต่อไปจนกว่า อนุญาโตตุลาการจะมีคำ�วินิจฉัยเด็ดขาดจึงทำ�ให้บริษัทฯต้องหยุด การผลิตเนื่องจากบริษัทฯไม่มีวัตถุดิบหลักจาก PTT ต่อมา บริษัทฯได้ยื่นคำ�ร้องขอสละประเด็นข้อพิพาทเกี่ยว กับกรณีที่บริษัทฯเรียกร้องให้ PTT ปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าวต่อไป โดยอนุญาโตตุลาการได้มีคำ�สั่งอนุญาตให้บริษัทฯสละประเด็นดัง กล่าวได้ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2555 ตามที่บริษัทฯมีข้อพิพาทกับ PTT ดังกล่าวข้างต้นเป็นเหตุ ให้บริษัทฯต้องใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายต่ออนุญาโตตุลาการ (ข้อ พิพาทหมายเลขดำ�ที่ 114/2552) และต่อศาลแพ่ง (คดีหมายเลข ดำ�ที่ 3162/2553) เป็นจำ�นวนเงินไม่น้อยกว่า 29,000 ล้านบาท จากกรณีที่ PTT ไม่ปฏิบัติตามสัญญาและบริษัทฯได้ใช้สิทธิทาง ศาลและเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการเพื่อเรียกร้องค่าเสีย หายจาก PTT ดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯจึงใช้สิทธิในการยึดหน่วง ค่าวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิวงวดสุดท้ายจำ�นวนเงิน 1,518 ล้าน บาท (สุทธิจากหนังสือค้ำ�ประกันที่ออกโดยธนาคาร) ไว้เป็นส่วน หนึ่งของค่าเสียหายที่เรียกร้องกับ PTT 77


ในเดือนมิถุนายน 2555 บริษัทฯได้รับแจ้งจากสำ�นักข้อพิพาท สำ�นักงานศาลยุติธรรมว่า PTT ได้ยื่นคำ�เสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ (ข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 78/2555) เรียกร้องให้ บริษัทฯชำ�ระหนี้เงินต้นพร้อมดอกเบี้ย รวมเป็นเงิน 1,555 ล้านบาท ให้ แก่ PTT ปัจจุบัน บริษัทฯยื่นคำ�คัดค้านต่อสู้คดีและคดีอยู่ระหว่างการ ตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อพิจารณาคดีดังกล่าวต่อไป ข) ในปี 2554 และ 2555 บริษัท จตุรทิศขนส่ง จำ�กัด (บริษัท ย่อย) ได้รับคำ�ฟ้องคดีแรงงาน จากศาลแรงงานภาค 2 ว่าลูกจ้างได้ ยื่นคำ�ร้องต่อศาลแรงงานเพื่อเรียกร้องให้บริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทน นอกเวลาทำ�งานปกติรวมจำ�นวนเงิน 9 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ยนับแต่ วันเลิกจ้างให้แก่ลูกจ้าง ปัจจุบัน คดีฟ้องร้องอยู่ภายใต้กระบวนการ พิจารณาคดีของศาลแรงงาน 37.5 การค้ำ�ประกัน ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีหนังสือค้ำ�ประกันที่ออก โดยธนาคารในนามบริษัทฯและ บริษัทย่อยเหลืออยู่เป็นจำ�นวนเงิน 257 ล้านบาท (2554: 49 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติ บางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อย ซึ่งประกอบด้วย หนังสือค้ำ�ประกันเพื่อค้ำ�ประกันการจ่ายชำ�ระเงินให้แก่เจ้าหนี้จำ�นวน เงิน 250 ล้านบาท (2554: 40 ล้านบาท) และเพื่อค้ำ�ประกันการใช้ ไฟฟ้าและอื่นๆ จำ�นวนเงิน 7 ล้านบาท (2554: 9 ล้านบาท) ข) บริษัทฯค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อจากธนาคารของบริษัท ย่อยหลายแห่งในวงเงินรวม 70 ล้านบาท (2554: 70 ล้านบาท)

78

38. เครื่องมือทางการเงิน 38.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สำ�คัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตาม ที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและ การเปิดเผยข้อมูลสำ�หรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ เจ้าหนี้ เงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืม เงินลงทุน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือ ทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยว เนื่องกับลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืมและลูกหนี้อื่น ฝ่ายบริหารควบคุม ความเสี่ยงนี้โดยการกำ�หนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสิน เชื่อที่เหมาะสม ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับ ความเสียหายที่เป็นสาระสำ�คัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้ สินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จำ�นวนมากราย จำ�นวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้ สินเชื่อคือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืมและลูกหนี้อื่น หักด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำ�คัญอัน เกี่ยวเนื่องกับเงินฝากธนาคาร เงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมที่มีดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มี อัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่ง ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของ บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับต่ำ� สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำ�คัญสามารถจัดตามประเภท อัตราดอกเบี้ย และสำ�หรับสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำ�หนด หรือวันที่มีการกำ�หนด อัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้


งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ภายใน มากกวา 1 ปรับขึ้นลงตาม ไมมีอัตรา 1 ป ถึง 5 ป ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ําประกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่ไม เกี่ยวของกัน

(หนวย: ลานบาท)

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

87

-

571 100 -

47 129 108 -

618 229 108 87

0.63 - 3.40 3.40 1.62 - 3.45

1 88

2 2

671

284

3 1,045

5.89 - 7.00

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ภายใน มากกวา 1 ปรับขึ้นลงตาม ไมมีอัตรา 1 ป ถึง 5 ป ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไม เกี่ยวของกัน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

-

-

-

1,771

1,771

-

2 3 5

4 4

-

1,771

2 7 1,780

3.00 - 5.75 5.85 - 7.87 (หนวย: ลานบาท)

79


งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ภายใน มากกวา 1 ปรับขึ้นลงตาม ไมมีอัตรา 1 ป ถึง 5 ป ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับ จากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวขอ งกัน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ําประกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่ไม เกี่ยวของกัน หนี้สินทางการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไม เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่ไม เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่ เกี่ยวของกัน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

406 -

-

104 -

14 90 621

524 90 621

0.13 - 3.25 -

3 -

-

2

-

3 2

98

-

-

-

98

5.00 Prime rate บวก 3.00 1.87 - 2.50

1 508

3 3

106

725

4 1,342

4.50 - 5.89

275 -

-

-

1,596

275 1,596

6.25 -

13 -

-

140

-

13 140

3.00 - 5.75 ไมเกิน MLR

24

-

-

-

24

5.75

207 45 564

70 70

140

1,596

207 115 2,370

5.75 2.88 - 7.60

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำ�คัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินค้า บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ ตกลงทำ�สัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯมียอดคงเหลือของสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศดังนี้

สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา

80

สินทรัพยทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 (พัน) (พัน) 10,447

อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 31.55


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯไม่มีสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือ บริษัทฯมีสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคง เหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้ สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา

จํานวนที่ขาย (พัน) 7,153

อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาของ จํานวนที่ขาย (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 31.05 - 31.72

วันครบกําหนดตามสัญญา มกราคม - มีนาคม 2555

38.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทและบริษัทย่อยฯจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมมีอัตรา ดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับ มูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำ�นวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันหรือจ่ายชำ�ระหนี้สินในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำ�หนดมูลค่ายุติธรรมขึ้น อยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกำ�หนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำ�หนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม 39. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำ�คัญของบริษัทฯคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทุนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจขอ งบริษัทฯและเสริมสร้างมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 2.03:1 (2554: 1.61:1) และเฉพาะ บริษัทฯมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.40:1 (2554: 1.15:1)) 40. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556

81


รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหาร และผู้มีอำ�นาจควบคุมบริษัทฯ ณ 1 มกราคม 2556

ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ประธานกรรมการ

82

นายสัจจา เจนธรรมนุกลู ประธานกรรมการ 58 ปี วศ.บ. (ไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ธนบุร)ี - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) 9,312,375 หุน้ / 1.76% ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ธ.ค.2555 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. สัมมากร 2554 – ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2538 – ก.พ. 2555 กรรมการบริหาร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2549 – 2553 กรรมการ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก. เบญจปิโตรเลียม) 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จตุจกั ร ออยล์ 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก. บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวอินเตอร์เทรด (เดิมชือ่ บจก. อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม) 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก. เมโทร ปิโตรเลียม) 2544 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย 2544 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก. มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอสซีที สหภัณฑ์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ซุปเปอร์เพียวแก๊ส 2550-2552,ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2544 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุรทิศ ขนส่ง 2538 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอสซีที ปิโตรเลียม 2541 – ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท์


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ กรรมการ

นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ กรรมการ 56 ปี - วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมเคมีและคอมพิวเตอร์ควบคุมโรงงาน) มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตดาวิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ระดับสูง (ระหว่างศึกษาระดับปริญญาโท)มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สเตท โพลิเทคนิค วิทยาเขตโพโมนา รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (สาขาวิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) 8,309,075 หุน้ / 1.57% ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2538–ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ 2546- ก.พ.2555 ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2549–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2551–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.เบญจปิโตรเลียม) 2551–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุจกั ร ออยล์ 2551–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) 2551–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวอินเตอร์เทรด (เดิมชือ่ บจก.อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม) 2551–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก.เมโทร ปิโตรเลียม) 2551–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย 2551–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก.มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) 2551–ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุรทิศ ขนส่ง 2551– ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ 2550-2552,ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวไบโอดีเซล 2541– ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ออนเนสท์ แอนด์ เอฟิเชียน

83


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการ

84

นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล กรรมการ 57 ปี - MBA มหาวิทยาลัยบูรพา - วท.บ. (เคมีวศิ วกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) - หุน้ / -% ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2555 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2546 – ก.พ.2555 กรรมการบริหาร / กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2548 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จตุรทิศขนส่ง 2551–2552,ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.เบญจปิโตรเลียม) 2551–2552,ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จตุจกั ร ออยล์ 2551–2552,ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก. บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) 2551–2552,ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวอินเตอร์เทรด (เดิมชือ่ บจก. อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม) 2551–2552,ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก. เมโทร ปิโตรเลียม) 2551–2552,ปัจจุบนั กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก. มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอสซีที สหภัณฑ์ 2550 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2551–2552, ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย 2551–2552, ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอสซีที ปิโตรเลียม


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ กรรมการ

นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ กรรมการ 66 ปี - วท.บ. (เคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%)

34,035,250 หุน้ / 6.423%

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2542 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2548 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จตุรทิศขนส่ง ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอสซีที ปิโตรเลียม ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก. เบญจปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จตุจกั ร ออยล์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก. บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก. เมโทร ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก. อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก. มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอสซีที สหภัณฑ์ 2553 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2542 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. เชอร์วดู้ เคมิคอล

85


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นายสุทัศน์ ขันเจริญสุข กรรมการ

86

นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข กรรมการ 54 ปี - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วท.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Board Performance Evaluation : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) 425 หุน้ / 0.00008% ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2539– ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.เบญจปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุจกั ร ออยล์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก.เมโทร ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก.มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) 2550- ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุรทิศขนส่ง ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวไบโอดีเซล 2534– ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพทโทร-อินสตรูเมนท์


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

ดร.วิชิต แย้มบุญเรือง กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ดร. วิชติ แย้มบุญเรือง กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 71 ปี - Ph.D. School of Public and International Affairs, University of Pittsburgh, USA - MA, Economic, Columbia University, USA - เศรษฐศาสตร์บณ ั ฑิต คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Audit Committee Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - The Role of Chairman : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) - หุน้ / 0.000% ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2546–ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.เบญจปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุจกั ร ออยล์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก.เมโทร ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก.มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุรทิศขนส่ง ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวไบโอดีเซล 2553– 2555 กรรมการ บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2543– ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. จัสมินอินเตอร์เนชัน่ แนล 2542– ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการ บจก. โกลเบิลบอนด์

87


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นายอานุภาพ จามิกรณ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

88

นายอานุภาพ จามิกรณ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 58 ปี - ปริญญาโท Chemical Engineering, University of Tennessee (Knoxville), USA - วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต (เคมีวศิ วกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Audit Committee Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) - หุน้ / -% ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2546 – ปัจจุบนั กรรมการตรวจสอบ บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.เบญจปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุจกั ร ออยล์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก.เมโทร ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก.มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุรทิศขนส่ง ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวไบโอดีเซล


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ

นายพิพธิ พิชยั ศรทัต กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 51 ปี - ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รัฐศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Audit Committee Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - CEO Succession & Effective Leadership Development: สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) 106,125 หุน้ / 0.020% ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2546 – ปัจจุบนั กรรมการตรวจสอบ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2553 - ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.เบญจปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุจกั ร ออยล์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก.เมโทร ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก.มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.จตุรทิศขนส่ง ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวไบโอดีเซล 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.สัมมากร 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.ไทยประกันภัย 2544 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.สุวรรณชาต ในพระบรมราชูปถัมถ์ 2543 – ปัจจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บจก.มงคลชัยพัฒนา 2543 – ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ สำ�นักงานจัดการทรัพย์สนิ ส่วนพระองค์ 2543 – ปัจจุบนั รองผูอ้ �ำ นวยการ โครงการพัฒนาส่วนพระองค์

89


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นางศิรพร กฤษณกาญจน์ ผู้จัดการใหญ่

90

นางศิรพร กฤษณกาญจน์ ผูจ้ ดั การใหญ่ 57 ปี - MBA California State Polytechnic University, Pomona, USA - บช.บ. (ต้นทุน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) 1,000,000 หุน้ / 0.19 % ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2541 – 2555 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ซุปเปอร์เพียวแก๊ส 2550 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวอินเตอร์เทรด (เดิมชือ่ บจก.อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม) 2546 – 2555 กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.เบญจปิโตรเลียม) 2546 – 2555 กรรมการ บจก.จตุจกั ร ออยล์ 2546 – 2555 กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) 2545 – 2555 กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก.เมโทร ปิโตรเลียม) 2544 – 2555 กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก.มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม) 2544 - 2555 กรรมการ บจก.จตุรทิศ ขนส่ง 2542 – 2555 กรรมการ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม 2531 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.ออนเนสท์ แอนด์ เอฟิเชียน


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร รก.ผู้จัดการทั่วไปสายบริหาร และการเงิน

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) - หุน้ / - % ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ปัจจุบนั รก.ผจก.ทัว่ ไปสายบริหาร และการเงิน / ผจก.ฝ่ายบัญชีการเงิน บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ 2553–2555 ผจก.สำ�นักกรรมการผูจ้ ดั การ / รก.ผจก.สำ�นักตรวจสอบและควบคุมภายใน บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ 2551-2553 รก.ผจก.สำ�นักกรรมการผูจ้ ดั การ / ผจก.สำ�นักตรวจสอบและควบคุมภายใน บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ 2545-2550 ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชี บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์

ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นายวสันต์ ชื่อตรง ผู้จัดการทั่วไปสายโรงงาน

นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร รักษาการผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายบริหาร และการเงิน 46 ปี - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง - บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง

นายวสันต์ ซือ่ ตรง ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายโรงงาน 43 ปี - ปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีขนถ่ายวัสดุ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) 25,000 หุน้ / 0.005 % ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2550 - ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายโรงงาน บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำ�กัด (มหาชน)

91


ชือ่ -สกุล ตำ�แหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นางสาวกัลยา คล้ายทอง ผู้จัดการทั่วไปสายพัฒนาธุรกิจ

นางสาวกัลยา คล้ายทอง ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายพัฒนาธุรกิจ 44 ปี - วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาตรี วทบ. สาขาเคมีวศิ วกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) - หุน้ / -% ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 (หุน้ /%) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ปัจจุบนั ผจก.ทัว่ ไปสายพัฒนาธุรกิจ บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ 2553 – 2555 กรรมการผูจ้ ดั การ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม 2551 – 2553 ผจก.ทัว่ ไปสายธุรกิจ บมจ.ระยองเพียวริฟายเออร์ 2551 – 2555 กรรมการ บจก.เอสซีที ปิโตรเลียม 2551 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก.เพียวอินเตอร์เทรด (เดิมชือ่ บจก.อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม) 2551 – 2555 กรรมการ บจก.เพียวซิลกิ า มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.เบญจปิโตรเลียม) 2551 – 2555 กรรมการ บจก.จตุจกั ร ออยล์ 2551 – 2555 กรรมการ บจก.ไทยควอทซ์ มายนิง่ (เดิมชือ่ บจก.บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม) 2551 – 2555 กรรมการ บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ (เดิมชือ่ บจก.เมโทร ปิโตรเลียม) 2551 – 2555 กรรมการ บจก.อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ (เดิมชือ่ บจก.มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม)

หมายเหตุ (1) ตามหนังสือรับรองบริษัทฯ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท คือ 1) นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการสองในสามคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสำ�คัญของบริษัท หรือ 2) นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ หรือ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล หรือ นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อร่วมกับ นายสุทัศน์ ขันเจริญสุข หรือนายธวัช อึ้งสุประเสริฐ รวมเป็นสองคนและประทับตราสำ�คัญของบริษัท (2) รวมส่วนของคู่สมรสและ บุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ (3) สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 ราคาทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาทต่อหุน้ และเรียกชำ�ระแล้ว ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 529,870,229 หุ้น

92



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.