RPC: Annual Report 2007 THAI

Page 1

Annual Report 2550



Annual Report 2550

ข้อมูลทั่วไป

ข้อมูลทัว่ ไป

ชือ่ บริษทั ประเภทธุรกิจ ทีต่ ง้ั สำนักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว เลขทะเบียนบริษทั โทรศัพท์ โทรสาร ทีต่ ง้ั โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร โฮมเพจ

บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) ("บริษทั ") ประกอบธุรกิจโรงกลัน่ น้ำมันขนาด 17,000 บาร์เรลต่อวัน บริหารคลังน้ำมัน 4 แห่ง เพือ่ จัดจำหน่ายน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเบนซินออกเทน 91 น้ำมันเบนซินออกเทน 95 เคมีภณ ั ฑ์และน้ำมันเตา รวมถึงค้าปลีกน้ำมันสำเร็จรูป 19 ไทยพาณิชย์ ปาร์ค พลาซ่า (อาคาร 3 ชัน้ 14) ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 จำนวน 530,048,171 บาท จำนวน 530,048,171 บาท 1 บาท จำนวน 529,870,229 บาท 0107546000202 0-2937 9384-8 0-2515 8600 0-2937 9389 0-2937 9780 7/3 ถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 (038)685 816-9 (038)685 243 www.rpcthai.com

บุคคลอ้างอิงอืน่ ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ ทีต่ ง้ั โทรศัพท์ ผูส้ อบบัญชี (ประจำปี 2550) ทีต่ ง้ั โทรศัพท์ โทรสาร

บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทย ชัน้ 4 และ 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 0-2654 5599 นางสาววิสสุตา จริยธนากร ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3853 บริษทั สำนักงานเอินส์ทแอนด์ยงั จำกัด ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา ออฟฟิส คอมเพล็กซ์ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 0-2264 0777 0-2661 9190 0-2264 0790

1


สารจากประธานกรรมการ

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) ได้ประกอบธุรกิจพัฒนากิจการพลังงานจากแหล่งวัตถุดิบในประเทศ ด้วยเทคโนโลยีของตนเองทีไ่ ม่ตอ้ งซือ้ หาจากภายนอก เพือ่ เสริมความมัน่ คงในการพัฒนาประเทศและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศมาจนถึงปีน้ี นับเป็นปีท่ี 12 แล้ว บริษทั ฯได้ดำเนินธุรกิจและฟันฝ่าอุปสรรคทีผ่ า่ นมาได้ดว้ ยดีโดยเฉพาะเมือ่ นับจากช่วงปี พ.ศ.2547 เป็นต้นมาที่เศรษฐกิจของประเทศไทยเริ่มชะลอตัวลง สืบเนื่องมาจากปัจจัยทางการเงินและการคลังของประเทศ และความผันผวนของกระแสตลาดทุนและตลาดการค้าในต่างประเทศ ณ เวลานัน้ จนถึงปัจจุบันนี้ หลายปัจจัยปัญหาทางเศรษฐกิจที่กล่าวก็ยังคงอยู่มิได้คลายหายหมดไป รวมทั้งยังมีปัจจัยใหม่ เพิ่มเติมซึ่งส่งผลทางลบต่อการคืนกลับสู่สภาวะเติบโตเป็นปกติของเศรษฐกิจไทยขึ้นมาอีกจนถึงปัจจุบัน อาทิเช่น เหตุการณ์ ความไม่สงบในจังหวัดภาคใต้ ความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ การแข็งค่าของเงินบาท น้ำมันดิบมีราคาสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง และท้ายทีส่ ดุ คือ ภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกาอันเริม่ ต้นจากปัญหาสินเชือ่ อสังหาริมทรัพย์ หรือ ซับไพรม์ ทีก่ ำลังเป็นทีจ่ บั ตามองกันอยู่ อย่างไรก็ตามได้เกิดมีจุดเปลี่ยนแปลงสำคัญที่ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย อีกทั้งจะเป็นปัจจัยบ่งชี้แนวโน้ม สถานการณ์ในภาพรวมของประเทศไทยในระยะต่อไปขึ้นมา คือ ได้มีการเลือกตั้งทั่วไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย อันนำมาสู่การจัดตั้งรัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตยอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งไม่ว่ารัฐบาลใหม่จะออกมาลักษณะใดความเชื่อมั่น และการสนับสนุนกิจการเศรษฐกิจทั้งจากภายในประเทศและจากต่างประเทศก็จะมีช่องทางกลับคืนมา ทำให้บริษัทมอง สิง่ แวดล้อมทางเศรษฐกิจข้างหน้าเห็นว่าดีขน้ึ ภายใต้สถานการณ์ด้านต่างๆดังที่กล่าวมานั้นบริษัทได้ผ่านผลกระทบที่เป็นทั้งอุปสรรคและโอกาสทางธุรกิจ น้ำมันดิบ ที่มีราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้นทำให้พลังงานทางเลือกได้รับความสนใจและมีความต้องการเพิ่มในอัตราที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะพลังงานทางเลือกที่ผลิตได้จากพืชผลทางการเกษตร การขยายธุรกิจไปสู่พลังงานทดแทนด้านไบโอดีเซล ของบริษัท ที ่ เ ริ ่ ม ต้ น ในปี ท ี ่ ผ ่ า นมาถื อ ได้ ว ่ า เป็ น โอกาสและเป็ น ก้ า วสำคั ญ ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ตอบสนองแนวโน้ ม สถานการณ์ ด ้ า นพลั ง งาน ในระยะยาวตามทีค่ าดการณ์กนั ว่าน้ำมันดิบทีไ่ ด้จากฟอสซิลมีแนวโน้มจะขาดแคลน ไม่เพียงพอกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก โดยเฉพาะเมื่อมีความต้องการของมหาอำนาจใหม่ทางเศรษฐกิจ เช่น จีน และ อินเดีย พ่วงเข้ามาอีก และก็เป็นก้าวที่สอดคล้อง ไปกับกระแสโลกในปัจจุบนั ทีน่ านาประเทศกำลังหาทางช่วยกันลดปัญหามลพิษในสภาพแวดล้อมและลดสภาวะโลกร้อน ในด้านการปฏิบัติงานนั้น ในรอบปี 2550 ที่ผ่านมาบริษัทฯยังคงพยายามดำเนินการและหาช่องทางปรับปรุงสถานะ ทางธุรกิจให้เติบโตและให้เข้มแข็งด้วยความระมัดระวังอย่างเต็มทีแ่ ละต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็นสิง่ จำเป็นภายใต้สถานการณ์ทผ่ี นั ผวนดังกล่าว และก็นบั ว่าทำมาได้ผลดีพอสมควร โดยในปี 2550 นีบ้ ริษทั สามารถเพิม่ ยอดจำหน่ายรวมเป็น 942 ล้านลิตร เพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 6.17 จากปี 2549 หรือคิดเป็นรายรับรวมทั้งสิ้น 20,759 ล้านบาท ซึ่งคิดออกมาเป็นกำไรสุทธิสำหรับปี 2550 ได้ 401 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นถึงร้อยละ 119 ในด้านการขยายงาน บริษัทได้ลงทุนเปิดดำเนินโครงการบริษัท เพียวไบโอดีเซล จำกัด ผลิตน้ำมันดีเซล B100 ที่ได้ คุ ณ ภาพ โดยใช้ น ้ ำ มั น ปาล์ม เป็น วัตถุด ิบ เป็น ผลให้เกิด ความมั ่ นคงทางธุ ร กิจ ที ่ ก ลั บมาเสริ มกิจ การผลิ ต น้ ำ มั นดี เซลจาก คอนเดนเสทเรสิดิวที่มีอยู่แล้วอีกข้างหนึ่งและยังช่วยเสริมความสามารถส่วนรวมในการแข่งขันกับตลาดในอนาคตมากขึ้น นอกจากนีใ้ นทางยุทธศาสตร์ธรุ กิจแล้ว เพียวไบโอดีเซลก็ได้มผี ลนำบริษทั เข้าสูก่ จิ การพลังงานทดแทนโดยเทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสม ซึ่งสนับสนุนและสอดคล้องกับโครงการพระราชดำริแนวเศรษฐกิจพอเพียง โครงการเพียวไบโอดีเซลใกล้จะเสร็จเรียบร้อย และพร้อมจะดำเนินการผลิตและจำหน่ายได้ในเดือนสิงหาคม 2551 นี้

2


Annual Report 2550

ในด้านการค้าปลีก บริษทั ได้ขยายสาขา สถานีบริการน้ำมันเพิม่ ขึน้ เป็น 72 สาขา ให้การบริการน้ำมันเชือ้ เพลิง ชนิด บี 5 และ แก๊ซโซฮอลล์ 95 เพือ่ ตอบรับและส่งเสริมตลาดพลังงานทดแทนด้วย และก็ยงั พร้อมทีจ่ ะขยายสาขาเพิม่ มากขึน้ อีก ควบคู่ ไปกั บ พั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ชุ ม ชนภายใต้ ช ื ่ อ เพี ย วเพลสเพิ ่ ม เติ ม ในพื ้ น ที ่ เ ขตกรุ ง เทพมหานคร จากสาขาแรกที ่ ร ั ง สิ ต คลอง 2 ซึง่ เปิดดำเนินการตัง้ แต่ปกี อ่ นและได้รบั การตอบรับทีด่ ี ขณะเดียวกันสำหรับอนาคตทีไ่ กลออกไปในกิจการกลัน่ น้ำมันทีย่ งั เป็นหลักใหญ่ของบริษทั ก็ได้มกี ารเตรียมความพร้อม ไว้สำหรับการดำเนินการระยะยาวด้วยการเข้าร่วมโครงการพัฒนาวัตถุดบิ และปรับปรุงการผลิตอนาคตภายใต้สถานการณ์ทจ่ี ะคาดว่าจะต้อง เปลีย่ นแปลงต่อไปอีก ทัง้ ในด้านการแข่งขันและในด้านข้อกำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ทร่ี ฐั บาลของเกือบทุกประเทศพยายาม จะเอาจริงเอาจังมากขึน้ ในการลดระดับมาตรฐานของการยินยอมให้มสี ารทีอ่ าจมีผลต่อสิง่ แวดล้อมในน้ำมันให้ตำ่ ลงอีกจนเกือบไม่เหลือ เลยรวมทัง้ ยังได้เตรียมการทีจ่ ะขยายกิจการสูธ่ รุ กิจพลังงานข้างเคียงอืน่ ทีจ่ ะให้ผลตอบแทนทีด่ ผี า่ นบริษทั ในเครือและบริษทั ร่วมทุนทัง้ ใน และต่างประเทศต่อไป ด้วยความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเสริมสร้างฐานะของบริษทั ให้มน่ั คงและเจริญเติบโตในธุรกิจพลังงานอย่างถาวรรวมทัง้ รักษาสถานะความเป็นบรรษัทภิบาลทีใ่ ห้ผลตอบแทนต่อผูถ้ อื หุน้ อย่างดีสม่ำเสมอ ต่อไป ในนามของคณะกรรมการ ผมใคร่ขอขอบคุณผู้ถือหุ้น คู่ค้า ลูกค้า และต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มกำลังความสามารถ ของผู้บริหารทุกระดับ พนักงานทุกท่าน ที่ได้ทุ่มเทแรงกายแรงใจให้กับบริษัทฯ ให้มีความเจริญเติบโตก้าวหน้า สร้างกำไร และผลตอบแทนที่คุ้มค่าให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่อง ถือเป็นความดีงามในอดีตที่ผ่านมา และก็หวังว่าจะสามารถสานต่อความ ดีงามนีส้ บื ไปในอนาคตด้วย

นายวีระวัฒน์ ชลวณิช ประธานกรรมการ

3


คณะกรรมการบริษทั และทีป่ รึกษาคณะกรรมการ

นายวีระวัฒน์ ชลวณิช ประธานกรรมการ

นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข กรรมการ

นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล กรรมการ / กรรมการผูจ้ ดั การ

นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ กรรมการ / ประธานคณะกรรมการบริหาร

นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการ

นายสุมติ ร ชาญเมธี กรรมการ

นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ กรรมการ

นายเกียรติ สิทธีอมร ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ

ดร.วิชติ แย้มบุญเรือง กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

4

นายอานุภาพ จามิกรณ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

นายพิพธิ พิชยั ศรทัต กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ


Annual Report 2550

คณะผู้บริหาร

4

2

1

3

1.นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 2.นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล 3.นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 4.นายสุมติ ร ชาญเมธี

3

1

2

7

6

4

กรรมการ / ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการ / กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ กรรมการ

5

1. นางศิรพร กฤษณกาญจน์ 2. นายสมบูรณ์ ศิรชิ ยั นฤมิตร 3 นางสาวกัลยา คล้ายทอง 4. นายวสันต์ ซือ่ ตรง 5. นายบรรลือ ศรีโปดก 6. นายสมศักดิ์ คีตสิน 7. นางสาวกนกพร จารุกลุ วนิช

ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายบริหารและการเงิน ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายธุรกิจ ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายโรงงาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารระดับสูง เจ้าหน้าทีบ่ ริหารระดับสูง เจ้าหน้าทีบ่ ริหารระดับสูง

5


ภาพกิจกรรมปี 2550

ปัจจุบนั ได้มกี ารขยายธุรกิจออกไปแล้วกว่า 80 สาขา เพือ่ ตอบสนองความต้องการของคนไทยให้ได้ใช้นำ้ มัน ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ด้วยราคาทีเ่ ป็นธรรมต่อลูกค้า จากโรงกลัน่ น้ำมันของคนไทย 100% 2. ศูนย์การค้าชุมชน "Pure Place" Community Mall โฉมใหม่ทอ่ี ำนวยความสะดวกไปด้วย ร้านค้า ร้านอาหาร ซุปเปอร์มาร์เก็ต และสถานีบริการ น้ำมัน "เพียว" ทีเ่ ป็นความร่วมมือระหว่าง บมจ.ระยอง เพียวริฟายเออร์ กับ บมจ.สัมมากร 3. โรงกลัน่ น้ำมันไบโอดีเซล (B100) ธุรกิจต่อยอดด้านพลังงานทดแทน สนองพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และเป็นการนำผล ผลิตทางการเกษตรทีม่ อี ยูภ่ ายในประเทศมาแปรรูปให้ เกิดประโยชน์สงู สุดกับคนไทย 4. "จตุรทิศขนส่ง" ธุรกิจการขนส่งน้ำมันครบวงจรทีไ่ ด้รบั การรับรองระบบ บริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 1. สถานีบริการน้ำมัน "เพียว"

6


Annual Report 2550

ด้านมวลชนสัมพันธ์และกิจกรรมเพื่อสังคม

ด้านมวลชนสัมพันธ์ บมจ.ระยองเพี ย วริ ฟ ายเออร์ ได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ ชุ ม ชน และงานด้ า นมวลชนสั ม พั น ธ์ ต ่ อ เนื ่ อ งเสมอมา เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ดีต่อกัน โดยได้ดำรงสัมพันธภาพที่ดีกับโรงเรียน ผู้นำชุมชน และหน่วยงานราชการ ในพืน้ ทีท่ บ่ี ริษทั ฯ ตัง้ อยูเ่ ช่น ทีจ่ งั หวัดระยอง นครสวรรค์ นครราชสีมา ทีท่ บ่ี ริษทั ฯ มีคลังน้ำมัน หรือสถานีบริการน้ำมัน "เพียว" ตัง้ อยู่ เช่น การจัดงานวันเด็ก การประกวดวาดภาพ การบริจาคทุนการศึกษา หรือมีสว่ นร่วมอืน่ ๆ กับกิจกรรมของชุมชน ด้านการตอบแทนสังคม ด้านกีฬา บริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมด้านกีฬา โดยให้การสนับสนุน "ฟุตซอลทีมชาติไทย" ทั้งนี้ก็เพื่อ ต้องการสนับสนุนให้ทมี ของคนไทยประสบความสำเร็จ ได้รบั ชัยชนะ และมีชอ่ื เสียง ในระดับนานาชาติ ว่าคนไทยก็มคี วามสามารถ ไม่แพ้ชาติอน่ื ๆ นอกจากนีย้ งั ต้องการส่งเสริมพัฒนาการของทีมฟุตซอลของไทยให้กา้ วไปสูอ่ นิ เตอร์และเกิดการแพร่หลายในหมูค่ นไทย หันมาเล่น ฟุตซอลกันมากขึ้น นอกจากนี้ ในส่วนของพนักงาน บริษัทฯ เห็นความสำคัญในสุขภาพของพนักงาน โดยการ สนับสนุนให้จัดตั้งชมรมกีฬาแบดมินตัน เพื่อให้พนักงานทุกคนได้ออกกำลังกายและเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ระหว่างหน่วยงาน และระหว่างผูบ้ ริหารและพนักงาน ด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์สำหรับเยาวชน บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงความสามารถของเยาวชนไทยในการประดิษฐ์ คิ ด ค้ น นวั ต กรรมใหม่ ๆ อย่ า งสร้ า งสรรค์ ต้ อ งการสนั บ สนุ น ให้ เ ยาวชนหั น มาใช้ เ วลาว่ า งให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ละเป็ น แบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั เยาวชนรุน่ ใหม่ โดยบริษทั ฯ ได้ให้การสนับสนุนทีมรถประหยัดพลังงาน ของโรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ ช่างกล ขส.ทบ. ภายใต้ชื่อ "เพียวไทยยานยนต์ประหยัดพลังงาน" ได้รับรางวัลชนะเลิศประเทศไทย และเป็นตัวแทนประเทศไทย จนสามารถคว้าแชมป์โลกจากประเทศญีป่ นุ่ มาได้ถงึ 3 สมัย ด้านการตอบแทนสังคม การสนับสนุนหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ เพื่อช่วยเหลือชุมชนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นทุรกันดาร ให้พวกเขามีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น การสนับสนุนบริจาคเงินโดยผ่านทางมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยจาก เหตุการณ์ตา่ ง ๆ การสนับสนุนกิจกรรมของสมาคมคนพิการ เป็นต้น ซึง่ ในแต่ละกิจกรรมทีท่ างบริษทั ฯ สนับสนุน พนักงานในบริษทั ฯ ทุกคนก็ได้มสี ว่ นร่วมทีจ่ ะช่วยเหลือเช่นกัน ด้วยการจัดตัง้ เป็นชมรมต่าง ๆ อาทิ ชมรมสานฝันปันรัก โดยพนักงานจะรวมตัวกันไป บริจาคเงินและสิง่ ของให้กบั หน่วยงาน มูลนิธิ ต่าง ๆ เป็นประจำทุกเดือน ด้านสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อม ISO 14001 อาทิ การใช้ระบบบำบัดน้ำเสีย และการตรวจสอบคุ ณ ภาพอากาศก่ อ นปล่ อ ยออกสู ่ ภ ายนอก จากจุ ด นี ้ เ องบริ ษ ั ท ฯ จึ ง มี น โยบายในเรื ่ อ งการดู แ ลรั ก ษา สิง่ แวดล้อมให้คงอยูก่ บั คนไทยต่อไป ด้วยการจัดกิจกรรมประกวดกระทงจากวัสดุทท่ี ำจาก แป้งมันสำปะหลังทีส่ ามารถย่อยสลายได้ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและช่วยลดภาวะโลกร้อนอีกด้วย โดยการให้เยาวชนตั้งแต่ระดับชั้นประถมถึงมัธยมปลาย ส่งผลงานเข้าประกวด นับเป็นอีกกิจกรรมหนึง่ ทีไ่ ด้รบั ความสนใจ จากโรงเรียนต่าง ๆ เข้าร่วมกิจกรรมอย่างมากมาย

7


ข้อมูลสำคัญทางการเงิน/ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน

ข้อมูลสำคัญทางการเงิน Financial Highlights อัตราส่วนทางการเงิน Financial Ratios

8

หน่วย Unit

31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2549 2550 2548 31 Dec. 2007 31 Dec. 2006 31 Dec. 2005

อัตรากำไรสุทธิ Net Profit Margin

%

1.93

0.94

2.51

อัตรากำไรขัน้ ต้น Gross Profit Margin

%

4.94

3.26

6.17

อัตราผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ Return on Equity

%

27.19

15.45

31.08

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ Return on Assets

%

10.39

5.51

12.38

กำไรสุทธิตอ่ หุน้ Net Profit per Share

บาท Baht

0.76

0.35

0.71

มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุน้ Book Value per Share

บาท Baht

2.8

2.27

2.84

อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ Debt to Equity Ratio

เท่า X

1.60

1.77

1.47

อัตราส่วนหนีส้ นิ ระยะยาว ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ Long-term Loan to Equity Ratio

เท่า X

0.05

0.09

1.37


Annual Report 2550

ฐานะการเงินและผลดำเนินการ Financial Position and Operating Results รายการทางเงิน Baht million or stated otherwise

(หน่วย : ล้านบาท) (Unit : Million Baht)

31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 31 Dec. 2006 31 Dec. 2005 31 Dec. 2007

สินทรัพย์รวม Total assets

3,855

3,327

2,966

หนีส้ นิ รวม Total liabilities

2,358

2,097

1,739

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม Total Shareholders' equity

1,497

1,230

1,227

รายได้จากการขาย Revenue from sales

20,759

19,502

14,678

รายได้รวม Total revenue

20,795

19,554

14,699

กำไรขัน้ ต้น Gross profit

1,045

665

815

กำไรก่อนหักดอกเบีย้ ค่าเสือ่ มราคา และภาษีเงินได้ EBITDA

683

398

619

กำไรสุทธิ Net profit

401

183

367

กำไรสุทธิตอ่ หุน้ (บาท) Earnings per share (Baht)

0.76

0.35

0.88

9


รายงานผลการดำเนินงาน

ในรอบปี 2550 บริษทั ฯ ขอสรุปผลการดำเนินงาน ได้ดงั นี้ ผลประกอบการ บริษทั ฯ มีรายได้หลักจากการจำหน่ายน้ำมันสำเร็จรูปประเภทดีเซลหมุนเร็ว เบนซิน 91 เบนซิน 95 เคมีภณ ั ฑ์ และน้ำมันเตา ซึ่งบริษัทฯ มีรายได้จากการจำหน่ายน้ำมันและเคมีภัณฑ์ในปี 2550 จำนวน 20,723.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2549 ซึ่งมีรายได้เป็นจำนวน 19,451.85 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.54 โดย บริษัทฯมีรายได้ต่อลิตรจำหน่ายเฉลี่ยเท่ากับ 22.01 บาทต่อลิตรในปี 2550 และ 21.93 บาทต่อลิตรในปี 2549 และ มียอดจำหน่ายน้ำมันและเคมีภณ ั ฑ์รวม ในปี 2550 เป็นจำนวน 942 ล้ า นลิ ต ร เที ย บกั บ ปี 2549 ซึ ่ ง มี ย อดจำหน่ า ยน้ ำ มั น และเคมี ภ ั ณ ฑ์ ร วม 887 ล้ า นลิ ต ร หรื อ เพิ ่ ม ขึ ้ น ร้ อ ยละ 6.17 เป็นผลมาจากปริมาณการผลิตของบริษทั ฯ ทีเ่ พิม่ ขึน้ และมาจากราคาน้ำมันทีเ่ พิม่ สูงขึน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีคา่ ใช้จา่ ยรวมในปี 2550 ทัง้ สิน้ 20,238.29 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.96 เมือ่ เทียบกับ 19,281.01 ล้ า นบาท ของปี 2549 ซึ ่ ง แบ่ ง เป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ย 2 ประเภทหลั ก คื อ ต้ น ทุ น ขาย และ ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการขายและบริ ห าร โดยต้นทุนขายของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย เพิม่ ขึน้ 877 ล้านบาท หรือ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.66 จาก 18,836.80 ล้านบาท (เฉลีย่ 21.24 บาทต่อลิตร) ในปี 2549 เป็น 19,713.80 ล้านบาท (เฉลี่ย 20.93 บาทต่อลิตร) ในปี 2550 โดยการเพิ่มขึ้นของต้นทุนขาย เป็ น ผลมาจากการมี ป ริ ม าณการจำหน่ า ยที ่ เ พิ ่ ม ขึ ้ น และต้ น ทุ น วั ต ถุ ด ิ บ ที ่ ป รั บ ตั ว เพิ ่ ม ขึ ้ น ตามราคาน้ ำ มั น ที ่ ส ู ง ขึ ้ น สำหรับค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารของบริษทั ฯ ในปี 2550 มีมลู ค่ารวม 524.48 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 18.02 เทียบกับปี 2549 ซึง่ มีคา่ ใช้จา่ ยในการขายและบริหาร 444.21 ล้านบาท ในปี 2550 บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิ เท่ากับ 400.69 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 217.31 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 118.50 เทียบกับในปี 2549 ซึง่ มีกำไรสุทธิ 183.38 ล้านบาท ด้านการผลิต ปี 2550 บริษัทฯ ผลิตรวมทั้งสิ้น 739 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 12.75 KBD เทียบกับกำลังการผลิต 987.00 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 17 KBD คิดเป็นการใช้กำลังการผลิตเท่ากับ 75 % จากกำลังการผลิต 17.0 KBD เทียบกับในปี 2549 ซึง่ ผลิตรวมทัง้ สิน้ 669 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 11.54 KBD เทียบกับกำลังการผลิต 17.0 KBD คิดเป็นการใช้กำลังการผลิต 68 % นอกจากนีก้ ารใช้ เชือ้ เพลิงต่อการผลิต (FOEB) ในปี 2550 เป็น 1.54 % ลดลงจากในปี 2549 ทีใ่ ช้ 1.61 % ทัง้ นีผ้ ลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้สว่ นใหญ่จะเป็นน้ำมันดีเซล ส่วนทีเ่ หลือจะเป็น เคมีภณ ั ฑ์ และน้ำมันเตา และผลิตภัณฑ์อน่ื ๆ ปั จ จุ บ ั น โรงกลั ่ น สามารถดำเนิ น การได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และมี ข ี ด ความสามารถของระบบความปลอดภั ย นอกจากนี้บริษัทฯ ยังคงได้รับการรับรองระบบคุณภาพจากระบบคุณภาพ ISO 9001: Version 2000, ระบบการรับรอง ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS 18001 ของประเทศสหรัฐอเมริกา และระบบ BS8800 ของประเทศอังกฤษ) และระบบการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม (ISO 14001) อย่างต่อเนือ่ ง โครงการในอนาคต (Future Plan) ใน ปี 2550 บริษทั ฯ เริม่ ดำเนินโครงการเพือ่ ผลตอบแทนสำหรับอนาคตทางธุรกิจ 2 โครงการคือ 1. โครงการลงทุนในโครงการพลังงานทดแทน บริษทั ฯ มีความสนใจการลงทุนด้านพลังงานทดแทน อาทิโครงการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล โครงการผลิตเอทานอลเพือ่ นำมา ผสมกั บ น้ ำ มั น ปิ โ ตรเลี ย มที ่ บ ริ ษ ั ท ผลิ ต เพื ่ อ จำหน่ า ยต่ อ ได้ หรื อ โครงการพลั ง งานทดแทนทางเลื อ กอื ่ น ๆ เพื ่ อ เป็ น การ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลเพือ่ ลดการนำเข้าเชือ้ เพลิงปิโตรเลียมจากต่างประเทศ โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตร ภายในประเทศ

10


Annual Report 2550

ในปี 2550 บริษทั ฯ ได้ลงทุนโครงการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล ผ่านทางบริษทั เพียวไบโอดีเซล จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 99.99 โดยรายละเอียดของโครงการลงทุนมีดงั ต่อไปนี้ - มีกำลังการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล 300,000 ลิตร/วัน หรือ 100,000 ตัน/ปี - ใช้เงินลงทุน 400 ล้านบาท - ได้รบั เงินกูเ้ ต็มจำนวนจากธนาคารกสิกรไทย - จะเริม่ ดำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์และรับรูร้ ายได้เดือนสิงหาคม 2551 ในปัจจุบัน บริษัทฯ ยังดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้และความคุ้มค่าเชิงพาณิชย์ ตลอดจนปัจจัยเสี่ยงในการลงทุน ในโครงการอืน่ ๆ อีกด้วย 2. โครงการขยายสถานีบริการน้ำมัน บริษัทฯ มีจุดมุ่งหมายขยายจำนวนสถานีบริการน้ำมัน "เพียว" ให้ได้จำนวน 100 แห่งเพื่อให้บริการสนองตอบความ ต้องการของผูบ้ ริโภคได้เพิม่ ขึน้ รวมถึงเพือ่ เพิม่ ผลกำไรของบริษทั ฯ จากค่าการตลาดสุดท้ายใน value chain ของธุรกิจค้าน้ำมันสำเร็จรูป ในปี 2550 บริ ษ ั ท ฯ สามารถพั ฒ นาและเพิ ่ ม จำนวนสถานี บ ริ ก ารน้ ำ มั น รวมทั ้ ง สิ ้ น 72 แห่ ง โดยบริ ษ ั ท ฯ ยังคงแผนการเพิ่มจำนวนสถานีบริการน้ำมันพร้อมทั้งพัฒนามาตรฐานการบริการ เพื่อเพิ่มยอดการจัดจำหน่ายด้านการค้าปลีก อย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ มีเป้าหมายในการพัฒนาพืน้ ทีภ่ ายในสถานีบริการน้ำมัน เพือ่ เปิดจำหน่ายสินค้าและบริการอืน่ ๆ (Non Oil Business) โดยการร่วมมือกับคูค่ า้ ทีม่ ศี กั ยภาพ (Strategic Partner) เพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั บริการทีเ่ พิม่ มากขึน้ 3. การลงทุนใน VTN-P VTN-P เป็นบริษทั ย่อยประกอบธุรกิจโรงงานปิโตรเคมีขนาดเล็กโดยมีกำลังการผลิต 2,500 บาร์เรลต่อวัน ตัง้ อยูต่ ดิ แม่นำ้ โขง เมืองกันเธอ (Can Tho) ใกล้เมืองโฮจิมนิ ห์ ซิต้ี ทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม บริษทั ฯถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 60 จากทุนจดทะเบียนทัง้ สิน้ 3.5 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ซึ ่ ง โครงการ VTN-P ได้ ด ำเนิ น การก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ และได้ ท ำการทดสอบเดิ น เครื ่ อ ง โดยมีผลการทดสอบทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐานทีอ่ อกแบบไว้ สาเหตุ จ ากความไม่ ช ั ด เจนด้ า นกฎระเบี ย บและผู ้ ม ี อ ำนาจ ทำให้ ต ้ อ งประสานงานอย่ า งใกล้ ช ิ ด กั บ ทางราชการ โดยเฉพาะเรื ่ อ งการขายน้ ำ มั น ในประเทศเวี ย ดนามรวมถึ ง การนำเข้ า วั ต ถุ ด ิ บ และการส่ ง ออกน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป และจากการดำเนินการดังกล่าวพบว่า กฎระเบียบต่างๆไม่รองรับชาวต่างชาติทม่ี าลงทุนด้านน้ำมัน เช่น ไม่อนุญาตให้ นักลงทุนต่างชาติ ทำธุรกิจขายน้ำมัน นอกจากได้รับความเห็นชอบจาก นายกรัฐมนตรี ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีนักลงทุนต่างชาติได้รับการอนุญาต ดังนั้น คณะกรรมการบริหารของ VTN-P ได้มมี ติหยุดการดำเนินธุรกิจ และขายทรัพย์สนิ ให้กบั นักลงทุนชาวเวียดนามดำเนินการต่อไป

11


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

โครงสร้างการถือหุน้ และการจัดการ ณ วันที่ 24 ตุลาคม 2550 รายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ อื หุน้ สูงสุด 10 รายแรก โดยนับรวมการถือหุน้ โดยผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกันตามมาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อผู้ถือหุ้น บริษทั เพทโทร-อินสตรูเมนท์ จำกัด นายธวัช อึง้ สุประเสริฐและคูส่ มรส นายเกียรติ สิทธีอมร นายปิติ ธรรมมงคล นายสมพงษ์ ชลคดีดำรงกุล น.ส.มณฑนา เจนธรรมนุกลู นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุลและคูส่ มรส น.ส.วิราวดี ชลวณิช นายสัจจา เจนธรรมนุกลู รวม

จำนวนหุน้ ทีถ่ อื 158,293,625 49,533,250 20,336,925 19,850,000 16,530,900 13,933,125 11,627,000 10,071,124 9,500,156 9,277,000 318,953,105

สัดส่วนการถือหุน้ (ร้อยละ) 30.08 9.35 3.86 3.77 3.14 2.65 2.21 1.90 1.81 1.76 60.19

ทีม่ า : ทะเบียนรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 24 ตุลาคม 2550 หมายเหตุ : - 1 คำนวณจากหุน้ สามัญทีอ่ อกและเรียกชำระแล้วจำนวน 529,870,229 หุน้

โครงสร้างการจัดการบริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด(มหาชน) 1 มกราคม 2551 คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร กรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ายตรวจสอบและควบคุมภายใน

สำนักกรรมการผูจ้ ดั การ สายบริหารและการเงิน

12

สายธุรกิจ

สายโรงงาน


Annual Report 2550

โครงสร้างการโครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการ 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการจำนวน 10 ท่าน มีดงั นี้ รายชื่อ 1. นายวีระวัฒน์ ชลวณิช 2. นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล 3. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 4. นายสุมติ ร ชาญเมธี 5. นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 6. นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข 7. นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ 8. ดร.วิชติ แย้มบุญเรือง 9. นายอานุภาพ จามิกรณ์ 10. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต

ตำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ / กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

เลขานุการคณะกรรมการบริษทั : นางศิรพร กฤษณกาญจน์ * * นางศิรพร กฤษณกาญจน์ ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลขานุการคณะกรรมการบริษัท แทนคุณบรรลือ ศรีโปดก จากการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 8/2550 เมือ่ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 กรรมการผู้มีอำนาจลงนามแทนบริษัทฯ กรรมการผูม้ อี ำนาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั ฯ ประกอบด้วย 1.นายศุ ภ พงศ์ กฤษณกาญจน์ นายสั จ จา เจนธรรมนุ ก ู ล นายสุ ม ิ ต ร ชาญเมธี นายสุ ว ิ น ั ย สุ ว รรณหิ ร ั ญ กุ ล กรรมการสองในสีค่ นนีล้ งลายมือชือ่ ร่วมกันและประทับตราบริษทั หรือ 2.นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ หรือนายสัจจา เจนธรรมนุกูล หรือนายสุมิตร ชาญเมธี หรือนายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล คนใดคนหนึ ่ ง ลงลายมื อ ชื ่ อ ร่ ว มกั บ นายวี ร ะวั ฒ น์ ชลวณิ ช หรื อ นายสุ ท ั ศ น์ ขั น เจริ ญ สุ ข หรื อ นายธวั ช อึ ้ ง สุ ป ระเสริ ฐ รวมเป็นสองคนและประทับตราบริษทั ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1.คณะกรรมการอาจแต่งตั้งบุคคลอื่นใดให้ดำเนินกิจการของบริษัทฯ ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบอำนาจ เพือ่ ให้บคุ คลดังกล่าวมีอำนาจตามทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร และภายในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร ซึง่ คณะกรรมการ อาจยกเลิ ก เพิ ก ถอนหรื อ เปลี ่ ย นแปลงหรื อ แก้ ไ ขอำนาจนั ้ น ๆได้ ท ั ้ ง นี ้ ค ณะกรรมการบริ ษ ั ท ได้ ม อบหมาย ให้ ค ณะกรรมการ บริหารมีอำนาจหน้าทีใ่ นการปฏิบตั งิ านต่างๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอำนาจตามขอบเขตอำนาจ หน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร การมอบอำนาจดังกล่าวต้องไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบอำนาจ หรือมอบอำนาจช่วงทีท่ ำให้คณะกรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอำนาจ จากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ อ ื ่ น ใด (ตามที ่ ส ำนั ก งาน ก.ล.ต. ประกาศกำหนด) ทำกั บ บริ ษ ั ท ฯหรื อ บริ ษ ั ท ย่ อ ย ยกเว้ น เป็ น การอนุ ม ั ต ิ รายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ทค่ี ณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ไิ ว้

13


2.คณะกรรมการมีอำนาจกำหนดและแก้ไขเปลีย่ นแปลงชือ่ กรรมการผูม้ อี ำนาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ ได้ 3.คณะกรรมการอาจจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ได้เป็นครัง้ คราว เมือ่ เห็นว่าบริษทั ฯมีผลกำไรสมควรพอทีจ่ ะทำเช่นนัน้ และรายงานให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบในการประชุมผูถ้ อื หุน้ คราวต่อไป 4.คณะกรรมการต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ฯ ตลอดจนมติของทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่ในเรื่องที่ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนดำเนินการ เช่นเรื่องที่กฎหมายกำหนดให้ต้องได้รับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น การทำรายการที ่ เ กี ่ ย วโยงกั น และการซื ้ อ หรื อ ขายสิ น ทรั พ ย์ ท ี ่ ส ำคั ญ ตามกฎเกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย หรือตามทีห่ น่วยงานราชการอืน่ ๆ กำหนด เป็นต้น 5.คณะกรรมการต้องประชุมกันอย่างน้อยสามเดือนต่อครั้ง โดยมีกรรมการมาร่วมประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการ ทั้งหมด การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมคณะกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียงในการลงคะแนน เว้ น แต่ ก รรมการซึ ่ ง มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ในเรื ่ อ งใดเรื ่ อ งหนึ ่ ง ไม่ ม ี ส ิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนนในเรื ่ อ งนั ้ น และถ้ า คะแนนเสี ย งเท่ า กั น ให้ประธานในทีป่ ระชุมออกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกเสียงหนึง่ เพือ่ เป็นเสียงชีข้ าด 6.คณะกรรมการต้องจัดให้มกี ารประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปีผถู้ อื หุน้ ภายในสีเ่ ดือน นับแต่วนั สิน้ สุดของรอบปีบญ ั ชีของบริษทั ฯ 7.กรรมการต้องแจ้งให้บริษทั ฯ ทราบโดยไม่ชกั ช้า ในกรณีทก่ี รรมการมีสว่ นได้เสียไม่วา่ โดยตรงหรือโดยอ้อมในสัญญาใดทีบ่ ริษทั ฯ ทำขึน้ หรือในกรณีทจ่ี ำนวนหุน้ หรือหุน้ กูข้ องบริษทั ฯ หรือบริษทั ในเครือทีก่ รรมการถืออยูม่ จี ำนวนทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือลดลง 8.กรรมการต้องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั ฯ หรือเข้าเป็นหุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วน สามัญ หรือเป็นหุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือเป็นกรรมการของบริษัทจำกัดหรือ บริษัทมหาชนจำกัด อื่นใดที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ ไม่ว่าเข้าทำเพื่อประโยชน์ตนเอง หรือประโยชน์ผอู้ น่ื เว้นแต่จะได้แจ้งให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบก่อนทีจ่ ะมีมติแต่งตัง้ กรรมการผูน้ น้ั

คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการบริหารประกอบด้วยกรรมการจำนวน 4 ท่าน มีดงั นี้ รายชือ่ 1. นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 2. นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล 3. นายสุมติ ร ชาญเมธี 4. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู

ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร / กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1.พิจารณากำหนดนโยบายสำคัญของบริษทั ฯ โดยกำหนดวัตถุประสงค์ ภารกิจ แนวทางตลอดจนการกำกับดูแลการ ดำเนินงาน ของบริษทั ฯในเรือ่ งเกีย่ วกับการผลิต การจำหน่าย

14


Annual Report 2550

2.พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพย์ถาวร ไม่เกิน 50 ล้านบาท ตามแผนงบประมาณที่คณะกรรมการอนุมัติไว้ และต้องเป็นไปตาม ข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์ในเรื่องเกี่ยวกับ การได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนหรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือกฎระเบียบของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง 3.ดำเนินการในการทำและลงนามสัญญากูเ้ งินและการต่ออายุสญ ั ญากูเ้ งินในวงเงินไม่เกิน 50 ล้านบาท 4.พิจารณาอนุมตั หิ ลักการการลงทุนในโครงการใหม่หรือการขยายธุรกิจเพือ่ นำเสนอให้คณะกรรมการบริษทั ฯพิจารณาต่อไป 5.พิจารณาอนุมตั กิ ารดำเนินการทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารงานทัว่ ไปของบริษทั ฯในส่วนทีเ่ กินขอบเขตอำนาจอนุมตั ขิ องกรรมการผูจ้ ดั การ 6.จัดผังโครงสร้างองค์กรและการบริหาร และกรรมการบริหาร โดยให้ครอบคลุมทุกรายละเอียดของการคัดเลือก การฝึกอบรม การว่าจ้าง การเลิกจ้างของพนักงานของบริษทั ฯ 7.กำหนดนโยบายอัตราค่าจ้าง และโครงสร้างเงินเดือน 8.ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายในแต่ละช่วงเวลาจากคณะกรรมการบริษทั ฯ

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการจำนวน 3 ท่าน มีดงั นี้ รายชือ่ ตำแหน่ง 1. ดร. วิชติ แย้มบุญเรือง ประธานกรรมคณะการตรวจสอบ 2. นายอานุภาพ จามิกรณ์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต กรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ : นางศิรพร กฤษณกาญจน์

ขอบเขตอำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ 1.สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเพียงพอ 2.สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3.สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4.พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และเสนอค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ 5.พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั ฯ ในกรณีทเ่ี กิดรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ให้ มีความถูกต้องและครบถ้วน 6.จัดทำรายงานการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษทั ฯ ซึง่ รายงาน ดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 7.ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

15


คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการจำนวน 4 ท่าน มีดงั นี้ รายชือ่ 1. ดร. วิชติ แย้มบุญเรือง 2. นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ 3. นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข 4. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต

ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

ขอบเขตอำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1.พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ เพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ 2.สรรหากรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ เพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ 3.เรือ่ งอืน่ ๆ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯมอบหมาย

คณะผูบ้ ริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ มีจำนวน 11 ท่าน มีดงั นี้ รายชือ่ 1. นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 2. นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล 3. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 4. นายสุมติ ร ชาญเมธี 5. นางศิรพร กฤษณกาญจน์ 6. นายบรรลือ ศรีโปดก 7. นายสมศักดิ์ คีตสิน 8. นางสาวกนกพร จารุกลุ วนิช 9. นายสมบูรณ์ ศิรชิ ยั นฤมิตร 10. นางสาวกัลยา คล้ายทอง 11. นายวสันต์ ซือ่ ตรง

16

ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร / กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ เจ้าหน้าทีบ่ ริหารระดับสูง เจ้าหน้าทีบ่ ริหารระดับสูง เจ้าหน้าทีบ่ ริหารระดับสูง ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายบริหารและการเงิน ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายพัฒนาธุรกิจและเทคนิค ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายโรงงาน


Annual Report 2550

ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการมีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการจะมอบหมาย และจะต้อง บริหารบริษัทฯ ตามแผนงาน หรืองบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการอย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษา ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ อย่างดีทส่ี ดุ อำนาจหน้าทีข่ องกรรมการผูจ้ ดั การให้รวมถึงเรือ่ งหรือกิจการต่างๆ ดังต่อไปนีด้ ว้ ย 1.ดำเนินกิจการและหรือบริหารงานประจำวันของบริษทั ฯ 2.บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อนตำแหน่งพนักงาน ปรับเงินเดือนพนักงาน ซึ่งผ่านความเห็นชอบ ตามสายงานตามระเบียบ ที่คณะกรรมการ กำหนด 3.พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพย์ถาวรมูลค่าไม่เกิน 10,000,000 บาท (สิบล้านบาท) ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามข้อบังคับของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรื่องเกี่ยวกับการได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียน หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือกฎระเบียบของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง 4.ดำเนินการให้มีการจัดทำ และส่งมอบนโยบายทางธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงแผนงานและงบประมาณต่อคณะกรรมการ เพื่อขอ อนุมตั แิ ละมีหน้าทีร่ ายงานความก้าวหน้าตามแผน และงบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั ดิ งั กล่าวต่อคณะกรรมการใน ทุกๆ 3 เดือน 5.ดำเนินการหรือปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ ทั้งนี้ การใช้อำนาจ ของกรรมการผู้จัดการดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทำได้ หากกรรมการผู้จัดการอาจมีส่วนได้เสีย หรือ อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ในลักษณะใดๆ กับบริษทั ฯ ในการใช้อำนาจดังกล่าว

การสรรหากรรมการและผูบ้ ริหาร บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนโดยเฉพาะ ทั้งนี้บุคคลที่จะได้รับการแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่ง กรรมการ และผู้บริหารของบริษัทฯ จะต้องมีคุณสมบัติครบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของบริษทั ฯ และไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกีย่ วกับเรือ่ ง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุน้ ทีอ่ อกใหม่ฉบับลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 โดยการคัดเลือกจะดำเนินการดังนี้

องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการของบริษัทฯต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่เกินกว่า 15 คน เลือกตั้งโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น และกรรมการไม่ น ้ อ ยกว่ า กึ ่ ง หนึ ่ ง ของจำนวนกรรมการทั ้ ง หมดต้ อ งมี ถ ิ ่ น ที ่ อ ยู ่ ใ นประเทศไทย ทั ้ ง นี ้ ข ้ อ บั ง คั บ ของบริ ษ ั ท ฯ กำหนดให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุ้นเลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารต่อไปนี้ (1)ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง (2)ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่ง คะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3)บุคคลทีไ่ ด้รบั คะแนนสูงสุดตามลำดับลงมาเป็นผูไ้ ด้รบั เลือกเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำนวนกรรมการที่จะพึงมี ให้ประธานที่ประชุมเป็น ผูอ้ อกเสียงชีข้ าด

17


เมือ่ มีการประชุมสามัญประจำปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการออกจากตำแหน่งจำนวนหนึง่ ในสามของจำนวนกรรมการในขณะนัน้ ถ้าจำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสามกรรมการ ซึ่งพ้นจาก ตำแหน่งอาจได้รบั เลือกให้กลับเข้ามารับตำแหน่งอีกก็ได้ กรรมการผูม้ อี ำนาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชือ่ และประทับตราสำคัญของบริษทั ฯ องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษทั เป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร โดยเลือกตัง้ จากกรรมการจำนวนหนึง่ ของบริษทั องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั เป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบโดยแต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามประกาศของ ตลาดหลักทรัพย์ อย่างน้อย 3 คนและมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี ค่าตอบแทนผู้บริหาร 1. ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงิน ในปี 2549 ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั รวม 10 ราย เท่ากับ 8.835 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปเบีย้ ประชุมและ บำเหน็จกรรมการซึง่ แปรตามผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ ค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารรวม 11 ราย จำนวน 41.71 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือน และ โบนัสซึง่ แปรตามผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ ในปี 2550 ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั รวม 10 ราย เท่ากับ 24.015 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปเบีย้ ประชุมและ บำเหน็จกรรมการซึง่ แปรตามผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ ค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารรวม 11 ราย จำนวน 23.58 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปเงินเดือน และ โบนัสซึง่ แปรตามผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ โดยค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคลมีรายละเอียดดังนี้ ค่าตอบแทนกรรมการ รายชือ่ ค่าตอบแทนกรรมการ ปี 2550 (บาท) ปี 2549 (บาท) 2,505,000.00 1. นายวีระวัฒน์ ชลวณิช 1,380,000.00 1,655,000.00 2. นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล 740,000.00 1,655,000.00 3. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 740,000.00 1,655,000.00 4. นายสุมติ ร ชาญเมธี 740,000.00 5. นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 1,655,000.00 740,000.00 6. นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข 1,675,000.00 800,000.00 7. นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ 1,675,000.00 800,000.00 8. ดร. วิชติ แย้มบุญเรือง 1,805,000.00 1,185,000.00 9. นายอานุภาพ จามิกรณ์ 1,755,000.00 825,000.00 10. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต 1,775,000.00 885,000.00 รวมเงินทัง้ สิน้ 17,810,000.00 8,835,000.00 18


Annual Report 2550

2.ค่าตอบแทนอื่นๆ 2.1 ใบสำคัญแสดงสิทธิซอ้ื หุน้ สามัญ - จัดสรรให้แก่กรรมการและทีป่ รึกษาคณะกรรมการ จำนวน 11 ท่าน รวม 933,900 หน่วย รายละเอียดดังนี้ จำนวนใบสำคัญ จำนวนใบสำคัญ จำนวนใบสำคัญ รายชือ่ แสดงสิทธิทใ่ี ช้สทิ ธิไปแล้ว แสดงสิทธิทไ่ี ด้รบั แสดงสิทธิคงเหลือ ในครัง้ ที่ 1/3 และ 2/3 จัดสรรทัง้ สิน้ สำหรับการจัดสรร ในครัง้ ที่ 3/3 1. นายวีระวัฒน์ ชลวณิช 56,600 84,900 28,300 2. นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล 56,600 84,900 28,300 3. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 56,600 84,900 28,300 4. นายสุมติ ร ชาญเมธี 56,600 84,900 28,300 5. นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 56,600 84,900 28,300 6. นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข 56,600 84,900 28,300 7. นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ 56,600 84,900 28,300 8. ดร. วิชติ แย้มบุญเรือง 56,600 84,900 28,300 9. นายอานุภาพ จามิกรณ์ 56,600 84,900 28,300 10. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต 56,600 84,900 28,300 11.นายเกียรติ สิทธีอมร 56,600 84,900 28,300 รวมเงินทัง้ สิน้

933,900

622,600

311,300

- ครัง้ ที่ 1/3 กำหนดวันใช้สทิ ธิ คือ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 - ครัง้ ที่ 2/3 กำหนดวันใช้สทิ ธิ คือ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 - ครัง้ ที่ 3/3 กำหนดวันใช้สทิ ธิ คือ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2550

2.2 อืน่ ๆ ปี 2549 กรรมการบริหารและผูบ้ ริหารรวม 11 ราย (ไม่รวมกรรมการอิสระ) ได้รบั เงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ จำนวน 2.53 ล้านบาท ปี 2550 กรรมการบริหารและผูบ้ ริหารรวม 11 ราย (ไม่รวมกรรมการอิสระ) ได้รบั เงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ จำนวน 2.15 ล้านบาท

19


การกำกับดูแลกิจการ บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อความ โปร่งใสในการดำเนินงานของบริษัทฯ ทุกระดับชั้น ทั้งในส่วนของพนักงานระดับปฏิบัติงาน ผู้บริหาร ตลอดจนคณะกรรมการ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มประสิทธิผลในการประกอบกิจการของบริษัทฯ เพื่อประโยชน์ ในระยะยาวของผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า นักลงทุน และสาธารณชนทัว่ ไป 1. สิทธิของผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการของบริ ษ ั ท ฯ ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ในการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที ่ ด ี การมี ม าตรฐานที ่ เ ป็ น สากล และความสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย รวมทั ้ ง ความสำคั ญ ต่ อ สิ ท ธิ ข องผู ้ ถ ื อ หุ ้ น และได้ ส่ ง เสริ ม ให้ ผ ู ้ ถ ื อ หุ ้ น ได้ ใ ช้ ส ิ ท ธิ ข องตน โดยได้ จ ั ด ตั ้ ง คณะกรรมการตรวจสอบเพื ่ อ ช่ ว ยกำกั บ ดู แ ลกิ จ การในด้ า นต่ า งๆ เพื่อสนับสนุนวัฒนธรรมองค์กร และจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า กระบวนการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที ่ ด ี จะช่ ว ยส่ ง เสริ ม ผลการดำเนิ น งานของบริ ษ ั ท ฯและเป็ น หั ว ใจในการบรรลุ เ ป้ า หมาย พื้นฐานที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่ง อันจะส่งผลให้เกิดการเพิ่มมูลค่าสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น คุณค่าที่บริษัทฯมุ่งหวัง และคาดหวังให้กรรมการ และพนักงานทุกคนถือปฏิบตั ใิ นทุกภารกิจได้แก่ - การปฏิบตั งิ านด้วยความรูค้ วามสามารถอย่างมืออาชีพด้วยความซือ่ สัตย์ และมีคณ ุ ธรรม - การสร้างความสามัคคีในการทำงานร่วมกัน - การยึดมัน่ ในหลักการของระเบียบวินยั การปฏิบตั งิ านทีด่ เี พือ่ ช่วยพัฒนาบริษทั ฯ ประเทศชาติ และสังคมโดยรวม - การมีปฏิสมั พันธ์รว่ มกัน และมีความพร้อมในการตอบสนองต่อทุกสถานการณ์ ในปี 2546 บริษทั ฯ แปรสภาพเป็นบริษทั มหาชน และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ สำหรับการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯได้กำหนดทีจ่ ะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสารประกอบก่อนการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ เพื่อให้เป็นตามระยะเวลาขั้นต่ำที่กฎหมายกำหนด นอกจากนี้บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนได้อย่างเป็นอิสระในการเลือกคณะกรรมการบริษัทฯ การลงมติ การแสดงความคิดเห็น และการตั้งคำถามใดๆ ต่อที่ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่เสนอ ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิและความเท่าเทียมกัน ในการรับทราบสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ เปิดเผยครบถ้วน และสามารถตรวจสอบข้อมูลต่างๆได้ รวมทั้งบริษัทฯ มี น โยบายที ่ จ ะเพิ ่ ม ทางเลื อ กให้ ก ั บ ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น โดยให้ ก รรมการอิ ส ระเป็ น ผู ้ ร ั บ มอบฉั น ทะจากผู ้ ถ ื อ หุ ้ น ในกรณี ท ี ่ ผ ู ้ ถ ื อ หุ ้ น ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ 2. ความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ นอกจากนี้บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิออกเสียง ลงคะแนนได้อย่างเป็นอิสระในการเลือกคณะกรรมการบริษทั ฯ การลงมติ การแสดงความคิดเห็น และการตัง้ คำถามใดๆ ต่อทีป่ ระชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่เสนอ ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิและความเท่าเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ เปิดเผยครบถ้วน และสามารถตรวจสอบข้อมูลต่างๆได้ รวมทัง้ บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะเพิม่ ทางเลือกให้กบั ผูถ้ อื หุน้ โดยให้กรรมการอิสระเป็นผูร้ บั มอบฉันทะจากผูถ้ อื หุน้ ในกรณีทผ่ี ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้

20


Annual Report 2550

ตลอดการดำเนินงานที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายบริหารได้พิจารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผล ประโยชน์อย่างรอบคอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีเหตุผลและเป็นอิสระภายใต้กรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ โดยรวมเป็นสำคัญ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน บริษัทฯ อยู่ระหว่างร่างคำสั่งเพื่อถือ ปฏิบตั ใิ นการห้ามกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานระดับปฏิบตั งิ าน ใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือทีม่ สี าระสำคัญ และยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น นอกจากนี้หากมีการทำรายการที่เกี่ยวโยงกันบริษัทฯ จะปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารตามทีป่ ระกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

3. บทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริ ษ ั ท ฯ ได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ สิ ท ธิ ข องผู ้ ม ี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ ่ ม ไม่ ว ่ า จะเป็ น ผู ้ ม ี ส ่ ว นได้ เ สี ย ภายใน ได้ แ ก่ พนักงานและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย หรือผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ได้แก่ คูแ่ ข่ง เจ้าหนี้ ภาครัฐและหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยบริษัทฯปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิของผู้มีส่วนได้เสียเหล่านี้ได้รับ การดู แ ลอย่ า งดี ตลอดการดำเนิ น งานที ่ ผ ่ า นมาบริ ษ ั ท ฯ ได้ ม ี ก ารปฏิ บ ั ต ิ ต ่ อ พนั ก งานอย่ า งเท่ า เที ย มและเป็ น ธรรม โดยให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม การซื้อสินค้าและบริการจากคู่ค้าเป็นไปตามเงื่อนไข รวมถึงการปฏิบัติตามสัญญาต่อคู่ค้า มี ค วามเอาใจใส่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ลู ก ค้ า รั ก ษาความลั บ ของลู ก ค้ า อี ก ทั ้ ง จรรยาบรรณของบริ ษ ั ท ฯ ได้ ม ี ก ารระบุ ถ ึ ง การ ประพฤติ ป ฏิ บ ั ต ิ ภ ายใต้ ก รอบกติ ก าของการแข่ ง ขั น ที ่ ด ี ไม่ แ สวงหาข้ อ มู ล ที ่ เ ป็ น ความลั บ ของคู ่ แ ข่ ง ทางการค้ า ด้ ว ยวิ ธ ี ก าร ทีไ่ ม่สจุ ริตไม่เหมาะสม และบริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะประกอบธุรกิจโดยคำนึงถึงการพัฒนาและเจริญเติบโตควบคูไ่ ปกับชุมชน

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริ ษ ั ท เป็ น ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบต่ อ งบการเงิ น รวมของบริ ษ ั ท ฯและบริ ษ ั ท ย่ อ ย และสารสนเทศทางการเงิ น ที่ปรากฏในรายงานประจำปีและจัดให้มีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้ว่า การบันทึกข้อมูลทางบัญชีมี ความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอทีจ่ ะดำรงรักษาไว้ซง่ึ ทรัพย์สนิ ทำให้ทราบจุดอ่อนและสามารถป้องกัน ไม่ให้เกิดการทุจริตหรือ ดำเนินการทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระสำคัญ ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน ภายหลังบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะจัดให้มีผู้ดูแลงานนักลงทุนสัมพันธ์เพื่อ ดูแลเรื่องการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทั่วถึง ทั้งรายงานข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทั่วไป ตลอดจนข้อมูลสำคัญที่มี ผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ โดยเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯต่อนักลงทุน และสาธารณชนผ่านช่องทางต่างๆคือ 1.ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) - รายงานประจำปี (แบบ 56-2) - สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (SCP Client) 2.หนังสือพิมพ์ 3.นิตยสาร 4.โทรทัศน์

21


5.เว็บไซต์บริษทั ฯ 6.วารสารผูถ้ อื หุน้ สัมพันธ์ 7.การพบปะให้สมั ภาษณ์ 8.การเดินทางไปพบนักลงทุนทัง้ ในประเทศและนักลงทุนต่างประเทศทีม่ าพบ 9.จัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการของบริ ษ ั ท ฯ ประกอบด้ ว ยกรรมการที ่ ม ี ค วามรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ ใ นการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ทำหน้ า ที ่ ก ำหนดนโยบาย วิ ส ั ย ทั ศ น์ กลยุ ท ธ์ เป้ า หมาย ภารกิ จ แผนธุ ร กิ จ และงบประมาณของบริ ษ ั ท ฯ ตลอดจนกำกั บ ดู แ ลให้ ฝ ่ า ยจั ด การบริ ห ารงานให้ เ ป็ น ไปตามนโยบายที ่ ก ำหนดไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ภายใต้กรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั ฯ และมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความรับผิดชอบ ซือ่ สัตย์สจุ ริตระมัดระวัง ตามหลักการข้อพึงปฏิบตั ทิ ด่ี ี เพือ่ เพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กจิ การ และความมัน่ คงสูงสุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้ให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ตลอดจนการมี ร ะบบการสอบทานเพื ่ อ ให้ ก ารดำเนิ น งานเป็ น ไปตามข้ อ กฎหมาย และมี ก ารควบคุ ม ที ่ ด ี เพื ่ อ ให้ ร ะบบ การควบคุ ม ภายในมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด ต่ อ บริ ษ ั ท ฯ นอกจากนี ้ ค ณะกรรมการเป็ น ผู ้ พ ิ จ ารณา การกำหนดและแยกบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การอย่างชัดเจน

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตลอดการดำเนินงานที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายบริหาร ได้พิจารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อย่างรอบคอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีเหตุผลและเป็นอิสระภายใต้กรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ โดยรวมเป็นสำคัญ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน บริษัทฯอยู่ระหว่างร่างคำสั่งเพื่อถือ ปฏิบตั ใิ นการห้ามกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานระดับปฏิบตั งิ าน ใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือทีม่ สี าระสำคัญ และยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือผู้อื่น นอกจากนี้หากมีการทำรายการที่เกี่ยวโยงกันบริษัทฯ จะปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารตามทีป่ ระกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จริยธรรมธุรกิจ บริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการกระทำในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง เป็นแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคน และบริษัทฯมีภาระหน้าที่ร่วมกันในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ภายใต้กรอบของกฎหมาย และภายใต้ขอบเขต ความรับผิดชอบของตน รวมทัง้ ใช้วจิ ารณญาณอย่างรอบคอบ ในการตัดสินใจทำการค้า และปฏิบตั ติ นต่อผูอ้ น่ื ละเว้นการกระทำใดๆ ทีจ่ ะก่อให้เกิดความเสีย่ งต่อความเสียหายแก่บริษทั ฯ และส่วนรวม แม้วา่ การกระทำดังกล่าวดูเสมือนว่าจะช่วยเกือ้ กูลธุรกิจแก่บริษทั ฯ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการจัดทำร่างจรรยาบรรณพนักงาน และจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจเพือ่ ให้พนักงานได้ถอื ปฏิบตั ิ

22


Annual Report 2550

การถ่วงดุลของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั มีจำนวน 10 ท่าน ประกอบด้วย - กรรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร จำนวน 4 ท่าน - กรรมการทีไ่ ม่ได้เป็นผูบ้ ริหาร จำนวน 3 ท่าน - กรรมการทีเ่ ป็นอิสระ จำนวน 3 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 30 ของกรรมการทัง้ คณะ การรวมหรือแยกตำแหน่ง ประธานกรรมการไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผู้จัดการของบริษัทฯ เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและการสอบทาน การบริหารงาน และโครงสร้างคณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารและกรรมการอิสระมากกว่า กึง่ หนึง่ ของคณะกรรมการทัง้ หมด ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายการให้ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้การพิจารณาค่าตอบแทนของ กรรมการให้อยูใ่ นอำนาจอนุมตั ขิ องทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ส่วนค่าตอบแทนของผูบ้ ริหารจะอยูใ่ นอำนาจอนุมตั ขิ องคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยการพิจารณาอนุมตั คิ า่ ตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหารดังกล่าวจะอยูใ่ นระดับเดียวกับอุตสาหกรรมซึง่ สูงพอทีจ่ ะดึงดูดและรักษากรรมการ และผูบ้ ริหารทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ บ่ี ริษทั ฯ ต้องการ การประชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ มีนโยบายจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสารประกอบเพือ่ ให้กรรมการพิจารณาก่อนการประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพื ่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามระยะเวลาขั ้ น ต่ ำ ตามที ่ ก ฎหมายกำหนด ในปี 2550คณะกรรมการมี ก ารประชุ ม รวมทั ้ ง สิ ้ น 8 ครั ้ ง และได้ ม ี ก ารจดบั น ทึ ก การประชุ ม เป็ น ลายลั ก ษณ์ อ ั ก ษร จั ด เก็ บ รายงานการประชุ ม ที ่ ผ ่ า นการรั บ รองจากคณะกรรมการ พร้อมให้กรรมการและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องตรวจสอบได้

รายชือ่ 1. นายวีระวัฒน์ ชลวณิช 2. นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล 3. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 4. นายสุมติ ร ชาญเมธี 5. นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ 6. นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข 7. นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ 8. ดร. วิชติ แย้มบุญเรือง 9. นายอานุภาพ จามิกรณ์ 10. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต

การเข้าร่วมประชุม ในปี 2549 (ครัง้ ) 8/8 8/8 7/8 8/8 8/8 8/8 6/8 8/8 8/8 8/8

การเข้าร่วมประชุม ในปี 2550 (ครัง้ ) 7/8 8/8 8/8 8/8 8/8 8/8 5/8 8/8 6/8 8/8

23


คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการเพือ่ ช่วยในการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ดังนี้ - กรรมการตรวจสอบ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปีประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ทุกท่านเป็นกรรมการอิสระ - คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ทุกท่านไม่เป็นกรรมการบริหาร และผูท้ ำหน้าทีเ่ ป็นประธานฯ ต้องเป็นกรรมการอิสระ ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษทั ฯ ได้กำหนดภาระ หน้าที่ อำนาจการดำเนินการของผูป้ ฏิบตั งิ านและผูบ้ ริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใช้ทรัพย์สินของบริษัทฯให้เกิดประโยชน์ และมีการแบ่งแยกหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ควบคุมและประเมินผล ออกจากกัน เพือ่ ให้เกิดการถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม บริษัทฯ มีสำนักตรวจสอบภายในทำหน้าที่ตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรมทางการเงิน ที ่ ส ำคั ญ ของบริ ษ ั ท ฯ ได้ ด ำเนิ น การตามแนวทางที ่ ก ำหนดและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง ตรวจสอบการปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎหมาย และข้อกำหนดทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ สำนักตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ สามารถทำหน้าทีต่ รวจสอบและถ่วงดุลได้อย่างเต็มที่ โดยสำนักตรวจสอบภายในสามารถรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ

การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั ฯ ได้ดำเนินการแจ้งให้ผบู้ ริหารฝ่ายต่างๆ เข้าใจถึงภาระหน้าทีใ่ นการรายงานการถือหลักทรัพย์ใน บริษทั ฯ ของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อสำนักงาน คณะกรรมการ กำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตามมาตรา 59 และบทกำหนดลงโทษตามมาตรา 275 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ต ิ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หากกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯฝ่าฝืนหรือและไม่ปฏิบัติตามนโยบายของบริษัทฯ ในเรื่องการซื้อขาย หลักทรัพย์โดยใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั ฯ จะลงโทษทางวินยั กับกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานผูน้ น้ั โดยเริม่ ตัง้ แต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชัว่ คราวโดยไม่ได้รบั ค่าจ้าง หรืออาจจะให้ออกจากงาน ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั ความร้ายแรงของความผิดนัน้

บุคลากร 1.จำนวนบุคลากร จำนวนพนักงานทัง้ หมดของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รวมทัง้ สิน้ 771 คน โดยแยกตามสายงานหลักได้ดงั นี้

24


Annual Report 2550

โครงสร้างการจัดการ ณ 31 ธันวาคม 2549 สายงานหลัก สายบริการสำนักงาน สายการเงิน สายธุรกิจจัดหาน้ำมัน สายการตลาด สายโรงงาน อืน่ ๆ

จำนวน (คน) 30 45 55 71 66 29

บริษทั ย่อย

โครงสร้างการจัดการ ณ 31 ธันวาคม 2550 สายงานหลัก

จำนวน (คน)

สายบริหารและการเงิน สายธุรกิจจัดหาน้ำมัน สายการตลาด สายพัฒนาธุรกิจและเทคนิค สายโรงงาน อืน่ ๆ

68 48 70 1 57 36

บริษทั ย่อย

PTEC RPC Asia VTN-P JTC PSDC

409 31 31 6

PTEC RPC Asia VTN-P JTC PSDC PBC SAP

577 27 16 7 5

รวม

773

รวม

912

หมายเหตุ อืน่ ๆ หมายถึง พนักงานทีไ่ ม่ได้สงั กัดตามสายงานต่างๆ แต่สงั กัดอยูใ่ นบริษทั ฯ ได้แก่ สำนักตรวจสอบ ภายใน สำนักกรรมการผูจ้ ดั การ สำนักกฎหมาย สำนักกิจการพิเศษ ธุรกิจร่วมทุน

2.ค่าตอบแทน 2.1 ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงิน ผลตอบแทนรวมของพนักงานในปี 2549 และ 2550 มีจำนวนเงินรวม 190.24 ล้านบาท และ 216.73 ล้านบาทตามลำดับ โดยเป็นผลตอบแทนในรูปของเงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินสวัสดิการ โบนัสประจำปี และเงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ 2.2 ใบสำคัญแสดงสิทธิซอ้ื หุน้ สามัญ เมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม 2548 บริษทั ฯ ได้ออกใบสำคัญแสดงสิทธิซอ้ื หุน้ สามัญของบริษทั ฯชนิดระบุชอ่ื ผูถ้ อื และเปลีย่ นมือ ไม่ได้ (RPC-W1) ให้แก่กรรมการ ทีป่ รึกษา ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจำนวน 8,490,000 หน่วย โดยแบ่งออกเป็น 3 ฉบับ คือ

25


-ฉบับที่ 1 จำนวน 2,830,108 หน่วย กำหนดใช้สทิ ธิ -ฉบับที่ 2 จำนวน 2,829,987 หน่วย กำหนดใช้สทิ ธิ -ฉบับที่ 3 จำนวน 2,829,905 หน่วย กำหนดใช้สทิ ธิ

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2550

และจากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2550 เมือ่ วันที่ 5 เมษายน 2550 ได้อนุมตั ใิ ห้บริษทั จัดสรรใบสำคัญแสดง สิทธิ ทีไ่ ม่สามารถใช้สทิ ธิ เนือ่ งจากพนักงานลาออกหลังวันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 5 เมษายน 2550 จำนวน 569,047 หน่วย จากผู้รับช่วงซื้อหลักทรัพย์ ตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 1 ให้แก่พนักงาน โดยออกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ("ใบสำคัญแสดงสิทธิ") ให้แก่ พนักงานตั้งแต่ระดับผู้จัดการฝ่ายลงมา และผู้บริหารที่เป็นพนักงานใหม่และ ไม่เป็นกรรมการ ของบริษัทและบริษัทย่อย ทั้งนี้ เพื่อเป็นขวัญ และกำลังใจให้พนักงาน เสริมสร้างความรู้สึกของความเป็นเจ้าของแก่พนักงาน และสร้างแรงจูงใจให้พนักงานมีความอุตสาหะ และทุม่ เทให้กบั งานทีป่ ฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง บริษทั ฯ ไม่มขี อ้ พิพาทด้านแรงงานทีเ่ ป็นนัยสำคัญอันมีผลกระทบทางด้านลบต่อบริษทั ฯ ในระยะเวลานับตัง้ แต่ดำเนิน กิจการมา

3.นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริ ษ ั ท ฯ มี น โยบายส่ ง เสริ ม ความก้ า วหน้ า ของพนั ก งานโดยกำหนดทิ ศ ทางการพั ฒ นาพนั ก งานอย่ า งชั ด เจน และดูแลให้พนักงานทุกระดับ ได้รับการพัฒนาตามทิศทางดังกล่าวอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถทำงานในหน้าที่ ปัจจุบนั ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความพร้อมในการรับผิดชอบงานทีส่ งู ขึน้ ในอนาคต โดยคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิด ประโยชน์สงู สุด รวมทัง้ ใช้ระบบคุณธรรม (Merit System) ในการเลือ่ นขัน้ เงินเดือน และการเลือ่ นตำแหน่ง โดยพิจารณาความรู้ ความสามารถ ผลงาน และศักยภาพของพนักงานแต่ละบุคคลประกอบกัน ตามวัฒนธรรมขององค์กร ซึง่ ประกอบด้วย 1.ริเริม่ สร้างสรรค์ 2.สำนึกรับผิดชอบ 3.ผนึกกำลัง 4.สำเร็จยั่งยืน

การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดประชุมครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551 และคณะกรรมการตรวจสอบ ให้ความเห็นเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายใน สรุปได้วา่ คณะกรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ได้ให้ความสำคัญต่อระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนือ่ ง โดยมุง่ เน้นให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ มีการดูแลทรัพย์สิน การลดความผิดพลาดที่ อาจเกิดขึ้น การป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทฯ การจัดการด้านการเงิน การบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแล การปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ มีการส่งเสริมและผลักดันให้บริษทั ฯ มีการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆของกฎหมาย เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารงาน และเพื่อให้มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ จะสามารถ บรรลุวตั ถุประสงค์ สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ สูงสุดได้ในระยะยาว คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นต่อระบบการควบคุมภายในเช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจสอบ โดยให้ ความสำคัญ ต่อระบบการควบคุมภายใน แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้

26


Annual Report 2550

1.องค์กรและสภาพแวดล้อม เป้าหมายการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ กำหนดขึ้นมาอย่างรอบคอบชัดเจน มีความเป็นไปได้ และสามารถวั ด ผลได้ ทั ้ ง นี ้ บ ริ ษ ั ท ฯ ได้ ป รั บ ปรุ ง ผั ง โครงสร้ า งองค์ ก รเพื ่ อ ให้ ก ารปฏิ บ ั ต ิ ง านมี ค วามคล่ อ งตั ว เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง เอื้ออำนวยต่อการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ และมีข้อกำหนดและ บทลงโทษห้ามฝ่ายบริหารและพนักงาน ปฏิบตั ติ นในลักษณะทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั กิจการ รวมทัง้ บริษทั ฯ มีนโยบายและระเบียบวิธปี ฏิบตั งิ านในธุรกรรมทางด้านการเงิน การขาย การจัดซือ้ และการบริหาร โดยคำนึงถึงความเป็นธรรมต่อคูค่ า้ เพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ฯ ในระยะยาว 2.การบริหารความเสี่ยง ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้มีการกำหนดนโยบายความเสี่ยง และมีองค์กรการบริหารความเสี่ยง ซึง่ ประกอบไปด้วย คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Committee) ผูป้ ระสานงานความเสีย่ งประจำหน่วยงาน และกำหนดผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบความเสี ่ ย งในหน่ ว ยงานต่ า งๆ โดยมี ก ารวางแผนและกำหนดมาตรการบริ ห ารความเสี ่ ย ง มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยงซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจและเป้าหมายของบริษัทฯ มีมาตรการในการลดความเสี่ยง มี ก ารติ ด ตามผลการบริ ห ารความเสี ่ ย งของหน่ ว ยงานต่ า งๆ ภายในองค์ ก ร และคณะกรรมการบริ ห ารความเสี ่ ย ง ได้มีการรายงานให้กับคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ เพื่อรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นบริษัทฯ ได้จดั ให้มกี ารอบรมความรูข้ องการบริหารความเสีย่ งกับพนักงาน 3.การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร บริษัทฯ ได้มีการกำหนดขอบเขต อำนาจหน้าที่ ตลอดจนความรับผิดชอบ ของผูบ้ ริหารและผูป้ ฏิบตั งิ านในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน และได้ปรับปรุงตารางอำนาจอนุมตั ขิ องฝ่ายบริหารแต่ละระดับให้เหมาะสม มีความชัดเจน รวมทั้งมีการติดตามดูแลการดำเนินงานของบริษัทย่อยอย่างสม่ำเสมอ โดยมีมาตรการที่จะควบคุมติดตาม ให้การดำเนินงานเป็นไปตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง 4.ระบบสารสนเทศและการสื ่ อ สารข้ อ มู ล บริษัทฯ ได้นำระบบงานสารสนเทศภายใต้ชื่อโครงการระบบ ERP มาใช้ใน การบริหารจัดการ ด้านการซื้อ การขาย ระบบบัญชี สินค้าคงคลัง และสินทรัพย์ถาวร เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ให้ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและทั น เวลาต่ อ การใช้ ป ระกอบการตั ด สิ น ใจของฝ่ า ยบริ ห าร ทั ้ ง นี ้ ม ี ก ารพั ฒ นาระบบเพิ ่ ม เติ ม ได้ แ ก่ ระบบงานบริ ห ารสถานี บ ริ ก ารน้ ำ มั น ระบบโทรทั ศ น์ ว งจรปิ ด และระบบ VDO Conference เพื ่ อ ให้ ก ารประสานงาน การติ ด ตามดู แ ลเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ครอบคลุ ม การใช้ ง านที ่ ก ว้ า งขวาง และเพิ ่ ม ช่ อ งทางในการติ ด ต่ อ สื ่ อ สาร ข้อมูลระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ 5.ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษทั ฯ มีการพิจารณาและติดตามผลการดำเนินงานของฝ่ายบริหารให้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งหากผลการดำเนินงานแตกต่างจากเป้าหมาย จะมีมติให้ฝ่ายจัดการรับไปดำเนินการแก้ไข และบริษัทฯ กำหนดให้สำนัก ตรวจสอบภายใน เสนอรายงานผลการตรวจสอบ โดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และหากมีการตรวจพบข้อบกพร่อง อันเป็นสาระสำคัญ จะต้องรายงานในระยะเวลาอันควร รวมถึงการรายงานความคืบหน้าในการปรับปรุงข้อบกพร่องดังกล่าว

27


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการที่สำคัญ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษทั ฯทีเ่ ริม่ ก่อตัง้ มาตัง้ แต่ปี 2538 ดำเนินการโดยนักธุรกิจคนไทยทีม่ ี ประสบการณ์ด้านธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี และการร่วมทุนกับบริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท์ จำกัด เพื่อดำเนินการแปรสภาพ คอนเดนเสทเรสซิดวิ (CR) ซึง่ เป็นวัตถุดบิ ผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตของ บริษทั อะโรเมติกส์(ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (ATC)เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีที่มีคุณภาพ อันได้แก่ น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเตา และเคมีภัณฑ์ เพื่อค้า ปลีกและค้าส่ง ทั้งนี้บริษัทฯได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่สำคัญของบริษัทฯสรุปได้ดังนี้ พ.ศ. 2540 ก่อสร้างโรงงานแล้วเสร็จในเดือน กันยายน พ.ศ. 2541 เช่าคลังน้ำมัน เพือ่ เก็บผลิตภัณฑ์ทอ่ี ำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ เพือ่ รองรับการขยายตัวของบริษทั ฯ พ.ศ. 2542 เปิ ด สถานี บ ริ ก ารน้ ำ มั น เพี ย วแห่ ง แรกที ่ ถ นนพหลโยธิ น หลั ก กิ โ ลเมตรที ่ 202 จั ง หวั ด นครสวรรค์ และเริม่ จำหน่ายในเดือน กุมภาพันธ์ บริษทั ฯได้เริม่ นำระบบควบคุมคุณภาพ ISO 9002 มาใช้ในส่วนโรงงาน พ.ศ. 2543 ได้รบั การรับรองระบบบริหารคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 จาก Bureau Veritas Quality International (BVQI) ในส่วนกระบวนการผลิต เช่าคลังน้ำมันสาธุประดิษฐ์ และคลังน้ำมันธนบุรี เพือ่ ลดข้อจำกัดทีบ่ ริษทั ฯ ไม่มที า่ เทียบเรือเป็นของตนเอง ในการทีจ่ ะค้าขายกับต่างประเทศ พ.ศ. 2544 ส่งออกเคมีภณ ั ฑ์ไปยังนานกิง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดสถานีบริการน้ำมันเพียวแห่งที่ 2 บริเวณ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง เปิดดำเนินการคลังน้ำมันที่ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา เพื่อรองรับการขยายตัวและให้บริการ ลูกค้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2545 ได้รับการรับรองระบบมาตรฐานสากลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จาก 3 หน่วยงาน ได้แก่ OHSAS 18001 BS 8800 และ TIS 18001 เพิม่ ทุนจดทะเบียนอีก 150 ล้านบาท รวมเป็นทุนจดทะเบียน 300 ล้านบาท เปิดสถานีบริการน้ำมันเพียวในรูปแบบที่บริษัทฯ เป็นผู้ดำเนินการเองแห่งที่ 3 บริเวณ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา เพิม่ สัดส่วนการลงทุนในบริษทั โยธินปิโตรเลียม จำกัด เพือ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีก ขยายกำลังการผลิตจาก 12,600 บาร์เรลต่อวันเป็น 17,000 บาร์เรลต่อวัน พ.ศ. 2546 เช่าคลังน้ำมันจุกเสม็ด อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เพือ่ ใช้เป็นฐานในการส่งออกผลิตภัณฑ์ตา่ งๆของบริษทั ฯ โดยยกเลิกการเช่าคลังน้ำมันธนบุรี และคลังน้ำมันสาธุประดิษฐ์ ได้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO 14001 เพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 336.40 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 3.364 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท ชำระค่าหุน้ เต็มมูลค่า เมือ่ วันที่ 24 กรกฎาคม 2546 จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษทั มหาชนจำกัด เมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม 2546 และเพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 415.55 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 83.11 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 5 บาท ทุนทีอ่ อกและเรียกชำระแล้ว 336.40 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 67.28 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 5 บาท เสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนต่อประชาชน จำนวน 15,830,000 หุน้ โดยเปิดให้จองซือ้ เมือ่ วันที่ 12 - 14 พฤศจิกายน 2546

28


Annual Report 2550

พ.ศ. 2547

พ.ศ. 2548

พ.ศ. 2549

พ.ศ. 2550

จดทะเบี ย นเพิ ่ ม ทุ น จำนวนเงิ น 79,150,000 บาท จากทุ น ชำระแล้ ว จำนวน 336,400,000 บาท เป็นทุนชำระแล้วจำนวน 415.55 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญจำนวน 83.11 ล้านหุน้ มูลค่าที่ ตราไว้หนุ้ ละ 5 บาท กับนายทะเบียน บริษัท มหาชน จำกัด กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 หุน้ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) (RPC) เข้าทำการซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์เมือ่ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2546 เป็นวันแรก ดำเนินการเปลีย่ นการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 จาก VERSION 1994 เป็น ISO 9001 VERSION 2000 เรียบร้อย จดทะเบียนเปลีย่ นแปลงมูลค่าทีต่ ราไว้ของหุน้ สามัญ เมือ่ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2547 จากราคาหุน้ ละ 5.00 บาท เป็นราคาหุน้ ละ 1.00 บาท ทุนจดทะเบียน 415.55 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญจำนวน 415.55 ล้านหุน้ หุ้นของบริษัทฯได้เข้าทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในราคามูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท เมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2547 27 กรกฎาคม 2547 ก่อตัง้ บริษทั อาร์พซี ี เอเซีย จำกัด (RAC) 15 เมษายน 2547 เพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ ใน VTN-P จาก 20 %เป็น 60% 7 มกราคม 2548 เพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ ใน SCT จาก 30% เป็น 99.99% จดทะเบียนเพิม่ ทุนจำนวนเงิน 8.49 ล้านบาทจาก 415.55 ล้านบาทเป็น 424.04 ล้านบาทเป็นทุนชำระแล้ว 415.55 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ เพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิ 8.49 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท กับนายทะเบียนบริษทั มหาชน จำกัด กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์เมือ่ 18 เมษายน 2548 8 ธันวาคม 2548 ชำระทุนเพิม่ จาก 415.55 ล้านบาท เป็น 418.37 ล้านบาท จากการ Exercise ESOP ครัง้ ที่ 1/3 โดยมีทนุ จดทะเบียน 424.04 ล้านบาท 31 มีนาคม 2549 บริษทั โยธินปิโตรเลียม จำกัด ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั เพียวพลังงานไทย จำกัด 31 มีนาคม 2549 จดทะเบียนเพิ่มทุนชำระ จาก 424.04 ล้านบาท เป็น 530.04 ล้านบาท โดยการออก หุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำนวน 106.00 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท เพือ่ จ่ายเป็นเงินปันผลจำนวน 104.59 ล้านหุน้ และเพือ่ รองรับการใช้สทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิตามโครงการ ESOP ครัง้ ที่ 1 ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ จากการจ่ายหุน้ ปันผลจำนวน 1.41 ล้านหุน้ บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 7 เมษายน 2549 ในระหว่างปี 2549 บริษทั ฯ ได้จา่ ยหุน้ ปันผลจำนวน 104.59 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 104.59 ล้านบาท ในเดือนพฤศจิกายน 2549 บริษัทฯ ได้รับเงินเพิ่มทุนจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดง แสดงสิทธิซื้อหุ้น สามัญ จำนวน 3.29 ล้านหุน้ ราคาหุน้ ละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 3.294 ล้านบาท ทำให้ทนุ ทีอ่ อกและชำระแล้ว ของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิม่ ขึน้ เป็น 526.26 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนกับ กระทรวงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 4 ธันวาคม 2549 ดำเนินการทดสอบ โรงกลัน่ VTN-P ทีป่ ระเทศเวียดนาม ระหว่างวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2549 - 28 กุมภาพันธ์ 2549 ขยายสถานีบริการน้ำมันทัง้ หมดจาก 32 แห่ง เป็น 56 แห่ง บริษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด เปิดดำเนินการ 8 มิถนุ ายน 2550 บริษทั อาร์พซี ี เอเชีย จำกัด บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 99.99 ได้จดทะเบียนเปลีย่ นแปลง ชือ่ เป็น บริษทั เพียวไบโอดีเซล จำกัด (PBC) และได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็น 200 ล้านบาท

29


บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำกัด (PBC) ได้รับการอนุมัติส่งเสริม การลงทุนจากสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน โดยได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับกำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการ ทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมมีกำหนดเวลา 8 ปี บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) ให้จัดสรรกำไรโดยจ่ายปันผลระหว่างกาล สำหรับผลการ ดำเนินงานงวด 6 เดือนของปี 2550 จากกำไรสุทธิในอัตราหุน้ ละ 0.12 บาท บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) (RPC) และ บริษทั เพียวไบโอดีเซล จำกัด (PBC) ได้รบั การ สนับสนุนวงเงินกู้จำนวน 400 ล้านบาท จาก ธนาคารกสิกรไทย จำกัด(มหาชน) เพื่อใช้ในการลงทุนและ ก่อสร้างโครงการผลิตไบโอดีเซล ขนาดกำลังการผลิต 100,000 ตันต่อปี พฤศจิกายน 2550 บริษทั ฯ ได้รบั เงินเพิม่ ทุนจากการใช้สทิ ธิตามใบสำคัญแสดงแสดงสิทธิซอ้ื หุน้ สามัญ จำนวน 3.6 ล้านหุน้ ราคาหุน้ ละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 3.6 ล้านบาท ทำให้ทนุ ทีอ่ อก และชำระแล้วของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิม่ ขึน้ เป็น 529.87 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 4 ธันวาคม 2550 ขยายสถานีบริการน้ำมันทัง้ หมดจาก 56 แห่ง เป็น 72 แห่ง

30


Annual Report 2550

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) บริษัทฯ ดำเนินการกลั่นคอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) ซึ่งเป็นวัตถุดิบผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตของ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย)จำกัด(มหาชน)(ATC) เพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม และปิโตรเคมีทม่ี คี ณ ุ ภาพได้แก่ น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเตา และ เคมีภัณฑ์ ทั้งนี้โรงกลั่นของบริษัทฯมีกำลังผลิตสูงสุด 17,000 บาร์เรลต่อวัน หรือประมาณ 80 ล้านลิตรต่อเดือน อี ก ทั ้ ง ยั ง มี ก ารจั ด หา น้ ำ มั น เบนซิ น ออกเทน 91 น้ ำ มั น เบนซิ น ออกเทน 95 และน้ ำ มั น ดี เ ซลหมุ น เร็ ว จากโรงกลั ่ น อื ่ น เพื่อรองรับความต้องการ ของลูกค้าที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯได้บริหารคลังน้ำมัน 4 แห่ง ได้แก่ คลังน้ำมันระยอง คลังน้ำมันนครสวรรค์ คลังน้ำมันโคราช และคลังน้ำมันจุกเสม็ด เพื่ออำนวยความสะดวกในการสั่งซื้อและการจัดส่งสินค้า ให้แก่ลกู ค้า โดยบริษทั ฯ มีการ ประกอบธุรกิจผ่านบริษทั ย่อย ดังต่อไปนี้ บริษัทย่อย 1.) บริษทั เพียวพลังงานไทย จำกัด (PTEC) เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูใ่ นอัตราร้อยละ 99.99 มีทนุ จดทะเบียน 50 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 500,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาทชำระค่าหุน้ เต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจค้าปลีก จำหน่ายน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว เบนซินออกเทน 91 ("เบนซิน 91") และเบนซินไร้สารตะกั่วออกเทน 95 ("เบนซิน 95") ผ่านสถานีบริการน้ำมัน "เพียว" (PURE) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีสถานีบริการน้ำมันเพียวทั้งสิ้น 72 แห่ง ทั่วประเทศ โดยแบ่งการบริหารงานสถานีบริการน้ำมันเป็น 2 ลักษณะคือ (1) บริหารงานด้วยตนเอง (Company Operate : CO) และ (2) บริหารงานโดยบุคคลภายนอกในลักษณะของแฟรนไชส์ (Franchise) 2) บริษทั เพียวไบโอดีเซล จำกัด (PBC) เดิมชื่อบริษัท อาร์ พี ซี เอเชีย จำกัด (RAC) จัดตั้งเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2547 ด้วยทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท จำนวน 100,000 หุ้น โดยบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.99 วัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการค้า และบริการนำเข้าโอน จัดเก็บ ผลิต ผสม บรรจุ จัดส่ง ปิโตรเลียมและเคมีภณ ั ฑ์ระหว่างประเทศตามนโยบายส่งเสริมการค้าน้ำมันสากล (Oil Traders) ของรัฐบาล ต่อมาเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2550 ได้ทำการเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เพียวไบโอดีเซล จำกัด และเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 200 ล้านบาท และมีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้ว 76.5 ล้านบาท เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2550 เพิ ่ ม วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่ อ ผลิ ต ไบโอดี เ ซล โดยมี ก ำลั ง การผลิ ต 300,000 ลิ ต รต่ อ วั น หรื อ 100,000 ตั น ต่ อ ปี เพื ่ อ นำมาผสม ในน้ำมันดีเซลตามนโยบายของรัฐบาล เพือ่ ใช้พลังงานทดแทนมากขึน้ คาดว่าโรงงานจะเริม่ ผลิตได้ราวเดือนสิงหาคม 2551 3) VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. (VTN-P) VTN-P เป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯถือหุ้นอยู่ในอัตราร้อยละ 60 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 VTN-P มีทุนจดทะเบียน 3.5 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งเป็นเงินลงทุนที่ได้มีการชำระแล้ว 3.5 ล้านเหรียญสหรัฐ VTN-P ประกอบธุรกิจโรงงานปิโตรเลียม ปิ โ ตรเคมี ข นาดเล็ ก โดยมี ก ำลั ง การ ผลิ ต 2,500 บาร์ เ รลต่ อ วั น ตั ้ ง อยู ่ ต ิ ด แม่ น ้ ำ โขง เมื อ งกั น เธอ (Can Tho) ทางตอนใต้ ข องประเทศเวี ย ดนาม โครงการดั ง กล่ า วมี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เพื ่ อ เป็ น การเพิ ่ ม โอกาสทางธุ ร กิ จ ของบริ ษ ั ท ฯ และขยายตลาดในต่างประเทศ โดยโครงการดังกล่าวได้รบั สิทธิบตั รการลงทุน (Investment License) จากเมืองกันเธอ (Can Tho) ประเทศเวียดนาม เพือ่ สิทธิประโยชน์ทางภาษี และธุรกิจ โครงการดังกล่าว ใช้เงินลงทุนทัง้ หมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ประมาณ 294 ล้านบาท โดยได้ก่อสร้างโรงงานแล้วเสร็จและได้ทดลอง เดินเครื่อง เรียบร้อยแล้ว ปัจจุบัน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2550 ยังไม่มกี ารผลิตในเชิงพาณิชย์ ที ่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ั ท ครั ้ ง ที ่ 4/2550 ซึ ่ ง จั ด ประชุ ม เมื ่ อ วั น ศุ ก ร์ ท ี ่ 27 เมษายน 2550 มีมติให้เพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ใน VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. (VTN-P) ซึง่ เป็นบริษทั ร่วม ทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุ้น อยู่ในอัตราร้อยละ 60 เป็นอัตราร้อยละ100 ด้วยวิธีการเข้าซื้อหุ้นจากผู้ถือหุ้นอื่นซึ่งเป็นบุคคลที่ไม่มีความขัดแย้ง

31


กับบริษัทฯทั้งหมดเป็นเงินทั้งสิ้นไม่เกิน 1.4 ล้านเหรียญสหรัฐVTN-P โดยปัจจุบัน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2550 อยู่ระหว่าง พิจารณาโอนหุ้น ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 6/2550 ซึง่ จัดประชุมเมือ่ วันพฤหัสบดีท่ี 24 พฤษภาคม 2550 มีมติเห็นชอบให้ VTN-P เสนอขายทรัพย์สนิ ถาวรทัง้ หมด และสิทธิการใช้ทด่ี นิ ของ VTN-P ให้กบั Vinashin Petroleum Investment & Transportation Joint Stock Company มูลค่า 8.35 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 285 ล้านบาท 4.) บริษทั เอสซีที ปิโตรเลียม จำกัด (SCT) บริษทั ฯถือหุน้ อยูใ่ นอัตราร้อยละ 99.99 มีทนุ จดทะเบียน 10 ล้านบาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 2,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5 บาท ชำระค่าหุน้ เต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจค้าส่งน้ำมันหรือตัวแทนจำหน่ายน้ำมันเชือ้ เพลิงอิสระ (Jobber) ให้บริการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ น้ำมันเชือ้ เพลิงทุกชนิดกับผูค้ า้ รายใหญ่ และรายย่อยทัว่ ประเทศ อาทิ น้ำมันดีเซล เบนซิน 91 เบนซิน 95 และน้ำมันเตา โดย SCT มีบริษทั ย่อย ดังนี้

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ขนส่งน้ำมัน ค้าส่งน้ำมัน ค้าส่งน้ำมัน ค้าส่งน้ำมัน ค้าส่งน้ำมัน ค้าส่งน้ำมัน ค้าส่งน้ำมัน

บริษทั จตุรทิศขนส่ง จำกัด บริษทั มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม จำกัด บริษทั เมโทร ปิโตรเลียม จำกัด บริษทั อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม จำกัด บริษทั บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม จำกัด บริษทั เบญจปิโตรเลียม จำกัด บริษทั จตุจกั ร ออยล์ จำกัด

สัดส่วนการถือหุน้ โดย SCT (ร้อยละ) 99.98 99.86 99.86 99.86 99.86 99.86 99.86

5.) บริษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (PSDC) PSDC จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2549 เป็นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ อยูใ่ นอัตราร้อยละ 51 และบริษทั สัมมากร จำกัด (มหาชน) (SAMCO) ถือหุน้ ในอัตราร้อยละ 49 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ และ SAMCO ได้ลงนามในสัญญาร่วมทุนระหว่างกันในวันที่ 15 มิถุนายน 2549 ด้วยทุนจดทะเบียน 50 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ชำระค่าหุ้นเต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจพัฒนาทีด่ นิ ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลให้เป็นศูนย์การค้าประชาคมแบบครบวงจรพร้อมสถานีบริการน้ำมัน “เพียว” และเปิดดำเนินการในเชิงพาณิชย์ในวันที่ 8 มิถนุ ายน 2550

32


Annual Report 2550

โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 แสดงตามตารางดังนี้

มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ผลิตภัณฑ์

2547 ล้านบาท ร้อยละ

2548 ล้านบาท ร้อยละ

2549 ล้านบาท ร้อยละ

2550 ล้านบาท ร้อยละ

13,321.95 58.23 713.04 1,185.74 143.40 22.94 -

14,757.03 88.60 400.30 1,691.03 108.76 164.55

ในประเทศ น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเตา เคมีภณ ั ฑ์ เบนซิน 91 เบนซิน 95 ผลิตภัณฑ์นำ้ มันอืน่ ๆ อืน่ ๆ

7,435.31 27.56 495.77 790.13 173.62 8.84 2.23

รวมยอดขายในประเทศ

8,931.22 91.01

12,647.91 86.17

15,445.29 79.20

17,210.27 82.91

ส่งออก น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว เคมีภณ ั ฑ์

176.86 705.80

1.80 7.19

423.12 2.88 1,489.74 10.15

1,247.07 2,759.49

6.39 14.15

522.23 2,991.42

2.52 14.41

อืน่ ๆ (BCM)

-

-

58.48

-

-

-

-

รวมยอดขายต่างประเทศ

882.67

8.99

1,971.34 13.43

4,006.55

20.54

3,513.65

16.93

รายได้คา่ ขนส่งและสินค้าอืน่

-

-

58.73

50.25

0.26

34.66

0.16

รวมทัง้ สิน้

75.75 0.28 5.05 8.05 1.77 0.09 0.02

9,813.89 100.00

10,907.50 36.42 645.47 900.53 157.33 0.66 -

74.31 0.25 4.40 6.14 1.07 0.00 -

0.40

0.40

14,677.98 100.00

68.31 0.30 3.66 6.08 0.74 0.12 -

19,502.10 100.00

71.09 0.43 1.93 8.15 0.52 0.79

20,758.58 100.00

33


ปริมาณการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

ผลิตภัณฑ์

34

2547 ล้านลิตร ร้อยละ

2548 ล้านลิตร ร้อยละ

2549 ล้านลิตร ร้อยละ

2550 ล้านลิตร ร้อยละ

ในประเทศ น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเตา เคมีภณ ั ฑ์ เบนซิน 91 เบนซิน 95 ผลิตภัณฑ์นำ้ มันอืน่ ๆ

585.47 4.10 39.43 49.24 10.38 0.81

76.48 0.54 5.15 6.43 1.36 0.11

617.51 3.49 37.76 43.06 7.31 0.03

75.18 0.43 4.60 5.24 0.89 0.00

577.72 5.60 36.31 48.50 5.92 0.96

65.14 0.63 4.09 5.47 0.67 0.11

647.57 8.12 21.16 64.82 4.13 6.60

68.77 0.86 2.25 6.88 0.44 0.70

รวมยอดขายในประเทศ

689.44

90.07

709.17

86.34

675.02

76.11

752.40

79.41

ส่งออก น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว เคมีภณ ั ฑ์

13.27 62.78

1.73 8.20

24.23 84.67

2.95 10.31

65.57 146.32

7.39 16.50

28.65 160.56

3.04 17.05

อืน่ ๆ (BCM)

-

-

3.29

0.40

-

-

-

-

รวมปริมาณขายต่างประเทศ

76.05

9.93

112.19

13.66

211.89

23.89

189.21

20.09

รวมปริมาณขายทัง้ สิน้

765.48

100.00

821.35

100.00

886.91

100.00

941.60

100.00


Annual Report 2550

ปัจจัยความเสี่ยง

ปัจจัยความเสีย่ ง ในการดำเนินธุรกิจ บริษทั ฯ ต้องเผชิญกับปัจจัยความเสีย่ งหลายรูปแบบ จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนรับมือ กับความเสีย่ ง เหล่านัน้ อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้ ความเสี่ยงเกี่ยวกับการดำเนินงานโรงกลั่น ความเสี่ยงในการดำเนินงานโรงกลั่น ได้แก่ ปัญหาเรื่องเครื่องจักรขัดข้องซึ่งจะทำให้กระบวนการผลิตหยุดชะงัก ทั้งนี้ การทีบ่ ริษทั ฯ ต้องเริม่ เดินเครือ่ งใหม่ทำให้เสียค่าใช้จา่ ยด้านเชือ้ เพลิงเพิม่ ขึน้ และอาจรวมถึงค่าเสียโอกาสในการผลิตด้วย แนวทางการรับมือ มีการสำรองวัตถุดบิ ทัง้ นี้ กำลังการผลิตทีส่ งู กว่าปริมาณการผลิตจริงและการสำรองผลิตภัณฑ์ในคลังน้ำมัน ทำให้บริษทั ฯ สามารถจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ได้อย่างต่อเนือ่ งนานถึง 10 วัน หากการผลิตหยุดชะงักโดยสิน้ เชิง สามารถเพิม่ กำลังผลิตเพือ่ ชดเชยค่าเสียโอกาส โดยบริษทั ฯ สามารถเพิม่ ปริมาณการผลิตจากกำลังการผลิต ทีเ่ หลืออยูเ่ พือ่ ชดเชยกับปริมาณการผลิตทีข่ าดหายไปในช่วงทีก่ ระบวนการผลิตหยุดลงและมีการนำผลิตภัณฑ์ในคลังน้ำมันไปใช้ ควบคุมกระบวนการผลิตตลอด 24 ชั่วโมงโดยทีมวิศวกรผู้มีประสบการณ์และความชำนาญด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติ (Distribute Control System) ซึง่ สามารถตรวจสอบและควบคุมกระบวนการกลัน่ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ใช้ โ ปรแกรมจำลองกระบวนการผลิ ต ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ (Process Simulation) ซึ ่ ง นำไปสู ่ ก ระบวนการผลิ ต ที ่ ม ี ประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน และผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ณ ุ ภาพและปริมาณทีต่ อ้ งการ ควบคุมผลิตภัณฑ์ด ้วยโปรแกรม Material Balance ทำให้ทราบการเคลื่อนไหวตลอดเวลาของปริมาณวัตถุด ิบ ตลอดจนปริมาณของแต่ละผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตได้ ใช้ โ ปรแกรม Cedar เพื ่ อ ติ ด ตามประวั ต ิ แ ละวางแผนการบำรุ ง รั ก ษาเครื ่ อ งจั ก ร ตามนโยบายการบำรุ ง รั ก ษา เครื่องจักรในเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่องผลที่ได้รับ ในปี 2548 มีการหยุดชะงักเพียง 4 ชัว่ โมงของกระบวนการผลิตทีเ่ กิดขึน้ อย่างมิได้คาดหมาย (Unplanned shut down) จากโรงงาน แต่ในปี 2549 และ 2550 ไม่มกี ารหยุดชะงักดังกล่าวเลย บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO 9002 เมือ่ ปี 2543 บริ ษ ั ท ฯ ได้ ร ั บ การรั บ รองในส่ ว นของกระบวนการผลิ ต จาก Bureau Veritas Quality International (BVQI) ซึง่ เป็นสถาบันทีท่ ว่ั โลกให้การยอมรับ บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO 9001 Version 2000 เมือ่ ปี 2548 และ ISO 9001 Version 2004 ในปี 2549 ซึง่ เป็นระบบบริหารคุณภาพทีป่ รับปรุงใหม่ลา่ สุดจากสถาบัน SGS ซึง่ เป็นสถาบันทีท่ ว่ั โลกให้การยอมรับ

ความเสี่ยงจากการจัดหาวัตถุดิบหลัก บริษทั ฯ ซือ้ คอนเดนเสทเรสสิดวิ (Condensate Residue: CR) ซึง่ เป็นวัตถุดบิ หลักจากบริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (ATC) ผ่านบริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) (PTT) โดยส่งผ่านท่อความยาว 3.0 กิโลเมตรมายังบริษทั ฯ ดังนัน้ หาก ATC หยุดการผลิตเพือ่ ซ่อมบำรุงหรือเพราะปัญหาอืน่ ใดในกระบวนการผลิต หรือหากเกิดความเสียหายต่อระบบท่อส่ง CR ของบริษทั ฯ ก็จะไม่สามารถจัดส่งวัตถุดบิ หลักให้บริษทั ฯ ได้ และจะส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตของบริษทั ฯ โดยตรง แนวทางการรับมือ ประสานงานร่วมกับ ATC อย่างสม่ำเสมอ ทำให้สามารถวางแผนสำรองวัตถุดิบหลัก และกำหนดการซ่อมบำรุงประจำปี ล่วงหน้าให้สอดคล้องกับแผนการซ่อมบำรุงของ ATC ทีแ่ จ้งให้บริษทั ฯ ทราบล่วงหน้าประมาณ 6 เดือน ทัง้ นี้ ATC มีแผนการสำรอง CR ก่อนปิดซ่อมบำรุงเพือ่ ทีจ่ ะได้มวี ตั ถุดบิ ส่งให้บริษทั ฯ

35


ในกรณีที่ ATC ไม่สามารถจัดส่งวัตถุดิบให้บริษัทฯ ได้เป็นเวลานาน บริษัทฯ สามารถจัดซื้อผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป จากโรงกลั่นน้ำมันแห่งอื่น หรือจากผู้ค้าส่งน้ำมัน เพื่อจำหน่ายทดแทนผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ แม้อัตรากำไร (Profit Margin) จะต่ำกว่าการกลัน่ และจำหน่ายเองก็ตาม มีการตรวจสอบและซ่อมบำรุงท่อส่งวัตถุดบิ อย่างสม่ำเสมอ มีการจัดระบบและบริหารการสำรองวัตถุดิบหลัก โดยสามารถสำรองวัตถุดิบในปริมาณที่เพียงพอสำหรับการผลิต อย่างต่อเนือ่ งได้ถงึ 10 วัน พยายามลดการพึ่งพาวัตถุดิบหลักเพียงชนิดเดียว โดยอยู่ในระหว่างการเจรจาหาแหล่งน้ำมันดิบอื่นๆ มาใช้ทั้งจากใน ประเทศและต่างประเทศ เจรจาขอรับค่าเสียหายทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ บริษทั ฯ ได้รบั วัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละคุณภาพไม่ตรงกับทีก่ ำหนดไว้ในสัญญาซือ้ ขาย วัตถุดบิ ซึง่ เป็นเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 ส่งผลให้บริษทั ฯ มีตน้ ทุนเพิม่ จากการปรับคุณภาพสินค้าและค่าเสียหายอืน่ ๆ ในการนี้ บริษทั ฯ ได้ประสานขอความร่วมมือเพือ่ แก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ ป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์นซ้ี ำ้ อีกในอนาคต และในปี 2550 บริษทั ฯ ได้รบั วัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพสอดคล้องตามทีก่ ำหนดไว้ทกุ ประการ ความเสี่ยงจากสัญญาซื้อขายวัตถุดิบหลัก ความเสีย่ งประเภทนีเ้ กิดจากความต้องการในผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ ต่ำกว่าปริมาณวัตถุดบิ (CR) ทีบ่ ริษทั ฯ ทำสัญญาซือ้ ขาย ซึ่งจะส่งผลให้บริษัทฯ มีวัตถุดิบเหลือ หรือในกรณีที่นำ CR มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์แล้ว บริษัทฯ ก็จะมีผลิตภัณฑ์คงเหลือ ทำให้บริษัทฯ เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในการดูแลและเก็บรักษา CR หรือผลิตภัณฑ์คงเหลือเหล่านี้ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2538 บริษัทฯ ทำสัญญาซื้อขาย CR จาก ATC ทั้งหมด เป็นระยะเวลา 15 ปี นับแต่วันเริ่ม ดำเนินธุรกิจเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date) ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2540 ทำให้บริษทั ฯ มีภาระผูกพันทีจ่ ะต้องรับซือ้ CR ทัง้ หมดทีไ่ ด้จากกระบวนการผลิตของ ATC เป็นจำนวนไม่เกิน 585,000 ตันต่อปี (ประมาณ 12,600 บาร์เรลต่อวัน) แม้วา่ บริษทั ฯ มี ภ าระผู ก พั น ระยะยาวที ่ จ ะต้ อ งรั บ ซื ้ อ วั ต ถุ ด ิ บ แต่ ไ ม่ ม ี ส ั ญ ญาขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะยะยาวกั บ ผู ้ จ ั ด จำหน่ า ย อย่ า งไรก็ ต าม ผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ ยังเป็นทีต่ อ้ งการของตลาดและจำหน่ายได้หมดทุกปี แนวทางการรับมือ บริษทั ฯ สามารถเพิม่ ส่วนแบ่งการตลาดได้หากมีผลิตภัณฑ์เพียงพอ ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์ของบริษทั มีสว่ นแบ่งใน ตลาดน้ำมัน ดีเซลเพียงร้อยละ 3 และตลาดน้ำมันดีเซลหมุนเร็วซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์หลักของบริษทั ยังมีอตั ราการเติบโตทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะขยายฐานลูกค้าโดยผ่านช่องทางการค้าส่ง ค้าปลีก และตลาดอุตสาหกรรม ความเสี่ยงจากการพึ่งพาผู้จำหน่ายวัตถุดิบเพียงรายเดียว ความเสีย่ งนีอ้ าจเกิดขึน้ จากการบอกเลิกสัญญาของบริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) (PTT) ภายหลังจากทีค่ รบสัญญาในปี 2555 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ทำสัญญาซือ้ ขาย CR ซึง่ เป็นวัตถุดบิ หลักกับ PTT เพียงรายเดียว โดยสัญญามีอายุ 15 ปีนบั แต่วนั เริม่ ดำเนินธุรกิจ เชิงพาณิชย์ และเมือ่ ครบกำหนด 15 ปีแล้ว สัญญาดังกล่าวยังคงมีผลบังคับใช้ตอ่ ไปจนกว่าจะถูกยกเลิกจากคูส่ ญ ั ญาฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ โดยแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรไปยังคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 ปี ในการนี้ บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นว่า PTT จะต่ออายุสญ ั ญาระยะยาวกับบริษทั ฯ เนือ่ งจากมีความสัมพันธ์อนั ดีเชิงธุรกิจมาโดยตลอด โดยในปี 2549-2550 บริษทั ฯ ได้สง่ั ซือ้ CR เพิม่ เติมโดยเป็นสัญญาซือ้ แบบครัง้ คราว ซึง่ ทำให้บริษทั ฯ มีกำลังการผลิตโดยรวมเพิม่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม เพือ่ รับมือกับความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการบอกเลิกสัญญาของ PTT ในปี 2555 บริษทั ฯ ได้ดำเนินการดังนี้ ศึกษาหาแหล่งวัตถุดบิ อืน่ ทดแทน เพือ่ ลดการพึง่ พาวัตถุดบิ จาก PTT เพียงแห่งเดียว ศึกษาหาวัตถุดบิ ประเภทอืน่ ทีส่ ามารถนำมาใช้ในกระบวนการผลิตได้ โดยได้ทดลองกลัน่ น้ำมันดิบจากแหล่งในประเทศเมือ่ ปี 2546 และ 2548 และพบว่าเครือ่ งจักรของบริษทั ฯ สามารถรองรับได้โดยต้องทำการปรับปรุงอุปกรณ์เพียงเล็กน้อย

36


Annual Report 2550

ความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันผวนของราคาวัตถุดิบ บริษัทฯ มีความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันผวนของราคาวัตถุดิบค่อนข้างต่ำ ทั้งนี้เพราะต้นทุนวัตถุดิบหลัก CR ของบริษัทฯ มีราคาอ้างอิงกับราคาน้ำมันสำเร็จรูปทีต่ ลาดสิงคโปร์หรือ Mean of Platt's Singapore (MOPS) ของผลิตภัณฑ์ 4 ชนิดคือ แนฟทา (Naphtha) น้ำมันก๊าด (Kerosene) น้ำมันดีเซล (Gas Oil) และน้ำมันเตา (Fuel Oil) ซึง่ จะแตกต่างจากโครงสร้างต้นทุนวัตถุดบิ ของ ธุรกิจ โรงกลัน่ ทัว่ ไปทีผ่ นั แปรตามราคาน้ำมันดิบของโลก เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ตามราคาจำหน่ายน้ำมันสำเร็จรูปหน้าโรงกลัน่ ในประเทศ ซึง่ มีกลไก การตลาดอ้างอิงกับกลไกราคาน้ำมันสำเร็จรูปของตลาดสิงคโปร์เช่นเดียวกัน จึงทำให้บริษทั ฯ มีโครงสร้างของรายได้จากการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์และโครงสร้างต้นทุนวัตถุดิบในลักษณะเดียวกัน โดยแปรผันไปในทิศทางและสัดส่วนเดียวกัน จึงส่งผลให้บริษัทฯ มีกำไรจากการกลั่น (Gross Refinery Margin) ค่อนข้างคงที่และมีความผันผวนต่ำ ซึ่งต่างจากธุรกิจโรงกลั่นโดยทั่วไป ซึ่งจะมี กำไรจากการกลั่นค่อนข้างผันผวนตามสถานการณ์ความไม่แน่นอนของราคา น้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ในตลาดโลกตาม ปัจจัยภายนอกทีย่ ากต่อการควบคุม ความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาน้ำมันสำเร็จรูป แม้ว่าบริษัทฯ มีโครงสร้างรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์และโครงสร้างต้นทุน วัตถุดิบอ้างอิงกับราคาน้ำมันสำเร็จรูป ในตลาดสิงคโปร์ แต่บริษัทฯ ยังต้องเผชิญกับความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้ำมันสำเร็จรูปในตลาดสิงคโปร์และตลาดโลก ซึง่ เกิดจากปัจจัยภายนอกทีย่ ากต่อการควบคุม ได้แก่ การเปลี ่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ และการเมื อ งของโลกและภู ม ิ ภ าคที ่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ก๊ า ซธรรมชาติ แ ละน้ ำ มั น ดิ บ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภูมภิ าคตะวันออกกลาง การกำหนดและรักษาปริมาณการผลิตและราคาของก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดิบโดย Organization of Petroleum Exporting Countries (OPEC) และประเทศทีผ่ ลิตปิโตรเลียมอืน่ ๆ อุปสงค์และอุปทานของก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ และผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมสำเร็จรูปทัง้ ในระดับโลกและระดับภูมภิ าค กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องของภาครัฐทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ สภาพภูมอิ ากาศ สภาพเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดจากความผันผวนของราคาน้ำมัน คือ ความเสื่อมของมูลค่าระหว่างราคาซื้อวัตถุดิบซึ่งอิง กับราคาเฉลีย่ เดือน MOPS (Mean of Platt's Singapore) ของผลิตภัณฑ์ 4 ชนิดคือ แนฟทา (Naphtha) น้ำมันก๊าด (Kerosene) น้ำมันดีเซล (Gas Oil) และน้ำมันเตา (Fuel Oil) ตามสัดส่วนผลิตภัณฑ์ (Yield) ในตลาดสิงคโปร์ ณ วันส่งมอบวัตถุดิบ ในขณะที่ราคาขายผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ จะอิงกับราคาตลาดในประเทศซึ่งอิงกับราคาเฉลี่ย MOPS ในวันที่ขายผลิตภัณฑ์น้ำมัน สำเร็จรูป ในการนี้ ความเหลื่อมล้ำระหว่างช่วงระยะเวลาของการส่งมอบวัตถุดิบและวันที่ขายผลิตภัณฑ์ อาจมีการเปลี่ยนแปลง ของราคาเฉลีย่ MOPS ส่งผลให้เกิดความผันผวนในส่วนต่างของรายได้และต้นทุนก่อนหักค่าใช้จา่ ย เพื่อลดความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนในส่วนต่างของรายได้และต้นทุนจากความผันผวนของราคาน้ำมัน บริษัทฯ ได้ ค วบคุ ม ระยะเวลาการผลิ ต เพื ่ อ ลดช่ ว งเวลาระหว่ า งวั น ส่ ง มอบวั ต ถุ ด ิ บ จนถึ ง วั น ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ เ หลื อ น้ อ ยที ่ ส ุ ด โดยในปัจจุบนั อยูท่ ไ่ี ม่เกิน 3 วันหรือคิดเป็นปริมาณน้ำมันสำเร็จรูปไม่เกิน 5 ล้านลิตร

37


ความเสี่ยงเกี่ยวกับการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑ์โดยรัฐบาล ความเสี ่ ย งนี ้ เ กิ ด จากความเป็ น ไปได้ ท ี ่ ร ั ฐ บาลอาจเข้ า แทรกแซงการกำหนดราคาน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป ภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่ า งยิ ่ ง ในช่ ว งที ่ ร าคาน้ ำ มั น ดิ บ และน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป ในตลาดโลกมี ค วามผั น ผวนสู ง ทั ้ ง นี ้ เ พื ่ อ ควบคุ ม อั ต รา เงินเฟ้อและเพือ่ ประโยชน์ตอ่ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม การแทรกแซงดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ฐานะการเงิน และผลประกอบการของบริษทั ฯ ได้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ พิจารณาว่าความเสี่ยงที่เกิดจากการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑ์โดยรัฐบาลไม่มีผลกระทบมากนัก ทั้งนี้เพราะเป็นมาตรการชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะเมื่อน้ำมันในตลาดโลกมีราคาสูง โดยรัฐบาลจะเข้าแทรกแซง การกำหนดราคาให้แก่ผู้บริโภคในระดับต่ำ และช่วยเหลือผู้ประกอบการโดยการจ่ายเงินชดเชย ตามจริงให้แก่ผู้ประกอบการ ในธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันที่ได้รับผลกระทบจากการแทรกแซงราคาน้ำมันนั้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่ได้รับผลกระทบในส่วนของ กำไรจากการกลั่นแต่อย่างใด นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังพยายามบริหารสินค้าคงคลังของบริษัทฯ ตลอดเวลา เพื่อให้ได้รับ ผลกระทบจากความเสีย่ งนีน้ อ้ ยทีส่ ดุ ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและภยันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้จากอุบัติเหตุหรือเหตุสุดวิสัย ความเสี่ยงนี้เกี่ยวข้องกับความผิดพลาดหรืออุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในโรงกลั่นน้ำมัน/คลังน้ำมัน ซึ่งจะก่อให้เกิด ความเสียหายอย่างรุนแรง ทัง้ ต่อโรงกลัน่ น้ำมันและ/หรือคลังน้ำมัน ตลอดจนชุมชนทีอ่ ยูโ่ ดยรอบอย่างมีนยั สำคัญ แนวทางการรับมือ บริษทั ฯ นำระบบบริหารความปลอดภัยสมัยใหม่มาใช้ เพือ่ ลดความสูญเสียซึง่ อาจเกิดขึน้ ได้จากอุบตั ภิ ยั มีการประเมินความเสีย่ งในทุกจุดทีอ่ าจก่อให้เกิดอันตรายกับพนักงานและทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ ติดตัง้ อุปกรณ์ปอ้ งกันและต่อสูอ้ คั คีภยั ทีไ่ ด้มาตรฐานตามข้อกำหนดของ NFPA (National Fire Protection Association) ประเทศสหรัฐอเมริกา มีการอบรมและฝึกปฏิบตั ดิ า้ นการดับเพลิง ตลอดจนหลักสูตรความปลอดภัยต่างๆ เพือ่ เตรียมความพร้อม รองรับสถานการณ์ ฉุกเฉินอย่างสม่ำเสมอ ทัง้ ด้านการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ในระบบป้องกันอุบตั ภิ ยั ทัง้ ระบบ โดยรายงาน ผลการฝึกซ้อมดับเพลิงให้หน่วยงานราชการของจังหวัดทราบด้วย ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น การนิคมอุตสาหกรรม เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ และสามารถระงับเหตุฉกุ เฉิน ทุกระดับทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ทนั ท่วงทีและมีประสิทธิภาพ บริษทั ฯ ดำเนินการระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ผลที่ได้รับ บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยถึง 3 ระบบ ได้แก่ OHSAS 18001 BS 8800 และ TIS 18001 จากสถาบัน SGS บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองระบบการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม ISO 14001 จากสถาบัน SGS บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองมาตรฐานระบบ ISO9000 Version 2000 แทนระบบ ISO9002 Version 1994 ซึง่ หมดอายุเมือ่ วันที่ 8 มกราคม 2547 จากสถาบัน SGS และพัฒนาเป็นระบบ ISO9000 Version 2004 ในปี 2549 บริษทั ฯ ไม่มอี บุ ตั ภิ ยั อันเนือ่ งมาจากอัคคีภยั ณ โรงกลัน่ นับแต่เปิดดำเนินการ ความเสี่ยงจากความผันผวนของค่าเงินบาท ความเสี่ยงนี้เกิดจากการที่บริษัทฯ ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้เพราะราคาน้ำมันสำเร็จรูปและราคาต้นทุน CR อ้างอิงแปรผันตามราคาของตลาดโลก และรายได้จากการ ส่งออก เป็นเงินตราต่างประเทศ แม้วา่ รายได้หลักและต้นทุนวัตถุดบิ หลักของบริษทั ฯ จะเป็นเงินบาทก็ตาม

38


Annual Report 2550

แนวทางการรับมือ ผลกระทบจากความผั น ผวนของอั ต ราแลกเปลี ่ ย นในส่ ว นของรายได้ บ างส่ ว นจะถู ก ชดเชยด้ ว ยราคาต้ น ทุ น CR ซึง่ ได้รบั ผลกระทบเช่นเดียวกัน (Natural Hedging) เพื่อบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ มีนโยบายทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ล่ ว งหน้ า (Forward Contract) สำหรั บ จำนวนของส่ ว นต่ า งระหว่ า งยอดคงเหลื อ ของบั ญ ชี ล ู ก หนี ้ แ ละเจ้ า หนี ้ ท ี ่ เ ป็ น สกุ ล เงินตราต่างประเทศ ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ฯ ได้ทำสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเป็นจำนวนเงิน 10.2 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึง่ ส่วนใหญ่มอี ายุสญ ั ญาไม่เกินหนึง่ ปี

39


รายงานระหว่างกัน

รายการระหว่างบริษทั ฯ และบุคคลทีม่ ผี ลประโยชน์รว่ มทีเ่ กิดขึน้ ในปี 2549 และ 2550 รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั แบค บราเดอร์ จำกัด

ลักษณะรายการ

ลักษณะความสัมพันธ

บริษัทฯ จายคาเชารถกระบะ กรรมการรวมกัน ไดแก นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล ใหกับบริษัท แบคบราเดอร นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล และคูสมรสเปนผูถือหุน จํากัด ซึ่งเปนที่ปรึกษาดานการ รอยละ 99.99 ในบริษัทแบค บราเดอร จํากัด บริหารโรงกลั่น

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2549 ป 2550 0.07 -

รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั เอสซีที สหภัณฑ์ จำกัด

ลักษณะรายการ

ลักษณะความสัมพันธ

1.) บริษัทฯ และบริษัทยอย ผูบริหารของบริษัท ไดแก นางสาวกนกพร จารุกุลวนิช เปนกรรมการของ บริษัท เอสซีที จายคาสินคา, อุปกรณ, สหภัณ ฑ จํากัด ทรัพยสิน และจาย คาบริการซอมตูจาย ให บริษัท เอสซีที สหภัณ ฑ จํากัด ผูบริหารของบริษัท ไดแก นางสาวกนกพร 2.) บริษัทฯ เรียกเก็บคา จารุกุลวนิช เปนกรรมการของบริษัท เอสซีที บริหารจัดการจากบริษัท สหภัณ ฑ จํากัด เอสซีที สหภัณ ฑ จํากัด

40

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2549 ป 2550 5.75

3.56

-


Annual Report 2550

รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั แจ๊สซีค่ รีเอชัน่ จำกัด

ลักษณะรายการ

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2549 ป 2550 1.02 0.69

ลักษณะความสัมพันธ

บริษัทฯ จายคาบริการใหกับ กรรมการรวมกัน ไดแก นายศุภพงศ กฤษณ กาญจน บริษัท แจสซี่ครีเอชั่น จํากัด ซึ่งเปนบริษัทผลิตงาน โฆษณา สิ่งพิมพ และสื่อ ประชาสัมพันธทุกชนิด

รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั เพทโทร อินสตรูเมนท์ จำกัด

ลักษณะรายการ บริษัทฯ และบริษัทยอยซื้อ วัสดุสิ้นเปลืองจาก บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2549 ป 2550 0.28 0.17

ลักษณะความสัมพันธ กรรมการรวมกัน ไดแก นายสัจจา เจนธรรมนุกูล นายสุทัศน ขันเจริญสุข

รายการระหว่างกัน - บริษทั โกบอลไลเซชัน่ อีโคโนมิค แอนด์ โปรโมชัน่ เนทเวอร์ค จำกัด

ลักษณะรายการ บริษัทฯ จายเงินมัดจําที่ดิน

ลักษณะความสัมพันธ กรรมการจัดตั้งไดแก นายอานุภาพ จามิกรณ

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2549 ป 2550 10.0 -

41


รายการระหว่างกัน - บริษทั อัลท์ เอ็นเนอยี่ จำกัด

ลักษณะรายการ บริษัทฯ จายคาอุปกรณ

ลักษณะความสัมพันธ กรรมการจัดตั้งไดแก นายศุภพงศ กฤษณ กาญจน

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2549 ป 2550 0.30 -

รายการระหว่างกัน - บริษทั บลูแพลนเน็ท จำกัด

ลักษณะรายการ บริษัทฯ จายคาตั๋วเครื่องบิน

42

ลักษณะความสัมพันธ กรรมการจัดตั้งไดแก นายพิพิธ พิชัยศรทัต

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2549 ป 2550 1.12 1.27


Annual Report 2550

รายงานการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ

ภาพรวมของบริษัทฯ บริษทั ฯ มีรายได้หลักจากการจำหน่ายน้ำมันสำเร็จรูปประเภทดีเซลหมุนเร็ว เบนซิน 91 เบนซิน 95 เคมีภณ ั ฑ์ และน้ำมันเตา ซึง่ บริษทั ฯ มีรายได้จากการจำหน่ายน้ำมันและเคมีภณ ั ฑ์ในปี 2550 จำนวน 20,723.92 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2549 ซึ่งมีรายได้เป็นจำนวน 19,451.85 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.54 โดย บริษทั ฯมีรายได้ตอ่ ลิตรจำหน่ายเฉลีย่ เท่ากับ 22.01 บาทต่อลิตรในปี 2550 และ 21.93 บาทต่อลิตรในปี 2549 และ มียอดจำหน่ายน้ำมันและเคมีภณ ั ฑ์รวม ในปี 2550 เป็นจำนวน 942 ล้านลิตร เทียบกับปี 2549 ซึง่ มียอดจำหน่ายน้ำมันและเคมีภณ ั ฑ์รวม 887 ล้านลิตร หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.17 เป็นผลมาจากปริมาณการผลิตของบริษทั ฯ ทีเ่ พิม่ ขึน้ และมาจากราคาน้ำมันทีเ่ พิม่ สูงขึน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีคา่ ใช้จา่ ยรวมในปี 2550 ทั้งสิน้ 20,238.29 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.96 เมือ่ เทียบกับ 19,281.01 ล้านบาท ของปี 2549 ซึง่ แบ่งเป็นค่าใช้จา่ ย 2 ประเภทหลัก คือ ต้นทุนขาย และ ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร โดยต้นทุนขายของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เพิม่ ขึน้ 877 ล้านบาท หรือ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.66 จาก 18,836.80 ล้านบาท (เฉลีย่ 21.24 บาทต่อลิตร) ในปี 2549 เป็น 19,713.80 ล้านบาท (เฉลี่ย 20.93 บาทต่อลิตร) ในปี 2550 โดยการเพิ่มขึ้นของต้นทุนขาย เป็นผลมาจากการมีปริมาณ การจำหน่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ และต้นทุนวัตถุดบิ ทีป่ รับตัวเพิม่ ขึน้ ตามราคาน้ำมันทีส่ งู ขึน้ สำหรับค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารของบริษทั ฯ ในปี 2550 มีมลู ค่ารวม 524.48 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 18.02% เทียบกับปี 2549 ซึง่ มีคา่ ใช้จา่ ยในการขายและบริหาร 444.21 ล้านบาท ในปี 2550 บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิ เท่ากับ 400.69 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 217.31 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 118.50 เทียบกับในปี 2549 ซึง่ มีกำไรสุทธิ 183.38 ล้านบาท บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รวมทัง้ สิน้ 3,854.8 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ทัง้ สิน้ 527.32 ล้านบาท เทียบกับสิน้ งวด ปี 2549 ซึง่ มีสนิ ทรัพย์รวม 3,327.49 ล้านบาท สืบเนือ่ งมาจาก สินทรัพย์หมุนเวียนของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ จาก 2,189.71 ล้านบาท ในปี 2549 เป็น 2,665.68 ล้านบาท ในปี 2550 โดยสินค้าคงเหลือเพิม่ ขึน้ 440.29 ล้านบาท เนือ่ งจากบริษทั ฯ ต้องมีการสำรองน้ำมันเพิม่ มาก ขึน้ เนือ่ งจากปริมาณขายเพิม่ ขึน้ และราคาสินค้าเพิม่ มากขึน้ จึงทำให้ยอดสินค้าเหลือเพิม่ มากขึน้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีกำไรสุทธิจากผลประกอบการปี 2550 เพิม่ ขึน้ 217.31 ล้านบาท คิดเป็นเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 118.50 จากกำไรสุทธิ 183.38 ล้านบาทในปี 2549 เป็นกำไรสุทธิ 400.69 ล้านบาทใน ปี 2550 เนือ่ งจาก 1.การเพิ่มขึ้นของกำไรขั้นต้น ในปี 2550 บริษทั ฯ มีกำไรขัน้ ต้นเพิม่ ขึน้ 380 ล้านบาท หรือร้อยละ 57 เมือ่ เทียบกับงวดเดียวกันของปี 2549 เป็นผลมาจาก ปริมาณการจำหน่ายเพิม่ ขึน้ บริ ษ ั ท ฯ มี ป ริ ม าณการจำหน่ า ยรวมในปี 2550 ทั ้ ง สิ ้ น 942 ล้ า นลิ ต ร เพิ ่ ม ขึ ้ น 55 ล้ า นลิ ต ร หรื อ เพิ ่ ม ขึ ้ น ร้ อ ยละ 6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งมีปริมาณการจำหน่าย 887 ล้านลิตร เนื่องจากมีปริมาณการผลิต ที่สูงขึ้นจากการได้รับ วัตถุดบิ มากขึน้

43


ต้นทุนการผลิตต่ำลงเนือ่ งจากคุณภาพของวัตถุดบิ เป็นปกติ ในปี 2549 ผูข้ ายวัตถุดบิ ได้สง่ วัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพผิดไปจากทีก่ ำหนดไว้ในสัญญาซือ้ ขายวัตถุดบิ และผิดไปจากทีเ่ คยส่งมอบให้บริษทั ฯ ตลอดระยะเวลาของสัญญาทีผ่ า่ นมาอย่างกะทันหัน มีผลทำให้บริษทั ฯ มีตน้ ทุนในการปรับคุณภาพสินค้าสูงขึน้ กว่าต้นทุนการผลิตปกติ ตลอดจนมีคา่ เสียหายด้านอืน่ ๆ รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 136.45 ล้านบาท ซึง่ ผูข้ ายวัตถุดบิ ได้ตกลงจะชดเชยค่าเสียหายให้แก่บริษทั ฯ รวม 52.7 ล้านบาท ในขณะที่ปี 2550 บริษัทฯ ได้รับวัตถุดิบจากผู้ขายในคุณภาพปกติ ไม่มีค่าใช้จ่ายในการปรับคุณภาพสินค้า จึงมีผลให้ตน้ ทุนการผลิตในปี 2550 ต่ำกว่าปี 2549 ราคาน้ำมันในตลาดโลกเพิม่ ขึน้ ปี 2550 บริษทั ฯ มีกำไรจากสต๊อกน้ำมัน เนื่องจากเป็นช่วงทีร่ าคาน้ำมันในตลาดโลกมีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ โดยราคาน้ำมัน Gas Oil ในตลาดสิงคโปร์มกี ารปรับตัวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งถึง 40 USD/Barrel โดยปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากเฉลีย่ 66 USD/Barrel ในเดือนมกราคม 2550 เป็ น เฉลี ่ ย 106 USD/Barrel ในเดื อ นธั น วาคม 2550 ซึ ่ ง ตรงกั น ข้ า มกั บ ในช่ ว งเดี ย วกั น ของปี 2549 ที ่ บ ริ ษ ั ท ฯ มีผลขาดทุนจากสต๊อกน้ำมัน เนือ่ งจากเป็นช่วงทีร่ าคาน้ำมันในตลาดโลกมีความผันผวนมาก โดยราคาน้ำมัน Gas Oil ในตลาดสิงคโปร์ ปรับตัวขึน้ ในช่วงต้นปีและปรับตัวลดลงในช่วงปลายปี 2.ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการขาย และบริ ห ารของบริ ษ ั ท ฯ ในปี 2550 เพิ ่ ม ขึ ้ น 80 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 18 เมื ่ อ เที ย บกั บ งวดเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน และบริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เนื่องจาก จำนวนสถานีบริการน้ำมัน ของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น และจากการดำเนินงานปีแรกของ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด 3.ดอกเบี้ยจ่ายลดลง ในปี 2550 บริษัทฯ มีดอกเบี้ยจ่าย 31 ล้านบาท ลดลง 11 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 26 เมื่อเทียบกับงวดเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา สืบเนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่ปรับตัวลดลง และการใช้เงินกู้ระยะสั้นลดลง เนื่องจากสภาพคล่องทางการเงินที่ดีขึ้น เมื่อเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน

44


Annual Report 2550

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษ ั ท เป็ น ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบต่ อ งบการเงิ น รวมของบริ ษ ั ท ระยองเพี ย วริ ฟ ายเออร์ จำกั ด (มหาชน) และบริษัทย่อยและสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองทัว่ ไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม่ำเสมอ และใช้ดลุ ยพินจิ อย่างระมัดระวัง และประมาณการ ทีด่ ที ส่ี ดุ ในการจัดทำ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการได้จัดให้มีและดำรงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผล ว่าการ บันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินและเพื่อให้ทราบจุดอ่อน เพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระสำคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารเป็นผู้ดูแล รับผิดชอบเกีย่ วกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับ เรือ่ งนีป้ รากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมและเพียงพอต่อความเชือ่ ถือได้ ของงบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

(นายวีระวัฒน์ ชลวณิช) ประธานกรรมการ

45


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการอิสระ จากบุคคลภายนอก จำนวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. ดร.วิชติ แย้มบุญเรือง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายอานุภาพ จามิกรณ์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้ กำกับดูแลตามข้อบังคับว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบ โดยส่งเสริมให้บริษทั ฯ มีการดำเนินงานทีเ่ น้นหลักการสำคัญของการกำกับ ดู แ ลกิ จ การที ่ ด ี เพื ่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การบรรษั ท ภิ บ าลและจรรยาบรรณของบริ ษ ั ท การกำกั บ ดู แ ลงบการเงิ น การประเมินการบริหารความเสีย่ ง การสอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ในปี 2550 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ ม ี ก ารประชุ ม รวม 5 ครั ้ ง โดยมี ผ ู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ผู ้ ต รวจสอบภายใน และผู้ตรวจสอบบัญชีได้เข้าร่วมประชุมในวาระที่เกี่ยวข้อง ผลการปฏิบัต ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสำคัญ สรุปได้ดงั ต่อไปนี้ การกำกับดูแลงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินสำหรับปี พ.ศ. 2550 ร่ ว มกั บ ฝ่ า ยบริ ห ารและผู ้ ส อบบั ญ ชี เพื ่ อ ให้ ม ั ่ น ใจว่ า รายงานทางการเงิ น ของบริ ษ ั ท ฯ บริ ษ ั ท ย่ อ ย ได้ จ ั ด ทำขึ ้ น อย่ า งถู ก ต้ อ งตามที ่ ค วรตามมาตรฐานการบั ญ ชี ท ี ่ ร ั บ รองโดยทั ่ ว ไป และมี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่ า งเพี ย งพอ ครบถ้วนและเชือ่ ถือได้ พร้อมทัง้ ให้ขอ้ สังเกตและข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหาให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ การกำกับดูแลการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานการเปิดเผยรายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกันทีอ่ าจทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ฯเพือ่ ให้มน่ั ใจว่าเป็นรายการทีเ่ กิดขึน้ จริงทีด่ ำเนินการตามเงือ่ นไข ทางธุรกิจปกติทว่ั ไป ซึง่ บริษทั ฯได้ถอื ปฏิบตั เิ ป็นไปตามข้อกำหนดของภาครัฐ ตามหลักเกณฑ์ทต่ี ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด และตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี การกำกับดูแลระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแผนการตรวจสอบประจำปี พ.ศ. 2550 พร้อมทัง้ ให้ขอ้ เสนอแนะกับสำนักตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านเกิดผลงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีการติดตาม และดำเนินการแก้ไขตามรายงานการตรวจสอบในประเด็นที่มีนัยสำคัญอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ของบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งให้มีการขยายขอบข่ายการตรวจสอบ ครอบคลุมหน่วยงานทีเ่ ป็นบริษทั ย่อย การกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานนโยบาย แนวทางการบริหารความเสี่ยง และความคืบหน้าของการบริหารความเสี่ยงจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในด้านนโยบาย แผนงาน การประสานงาน รวมทัง้ ผูร้ บั ผิดชอบจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ และให้เกิดความเชือ่ มโยงกับการควบคุมภายใน การกำกับดูแลการปฏิบัติตามข้อกำหนดของภาครัฐ คณะกรรมการตรวจสอบได้พ ิจารณาผลการสอบทาน การปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ เพือ่ ให้เชือ่ มัน่ ว่าบริษทั ฯ มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องให้เป็นไปอย่างถูกต้อง การสอบทานการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที ่ ด ี บริ ษ ั ท ฯให้ ค วามสำคั ญ ในการบริ ห ารงานตามหลั ก การของการกำกั บ ดูแลกิจการที่ดีคณะกรรมการตรวจสอบได้กำกับดูแลให้มีการเปิดเผย ข้อมูลอย่างเพียงพอและถูกต้อง รวมทั้งส่งเสริมให้บริษัทฯ มีระบบธรรมาภิบาล การบริหารจัดการทีด่ ี เพือ่ ให้มคี วามโปร่งใส และมีจริยธรรม ก่อให้เกิดความเชือ่ มัน่ แก่ผถู้ อื หุน้ ผูล้ งทุน พนักงาน และผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝ่าย

46


Annual Report 2550

การพิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี สำหรับรอบบัญชีปี พ.ศ. 2550 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาคัดเลือก ผู ้ ส อบบั ญ ชี โดยพิ จ ารณาค่ า สอบบั ญ ชี เ ที ย บกั บ ผลงาน ชื ่ อ เสี ย ง ขอบเขต และปริ ม าณงานที ่ ผ ู ้ ส อบบั ญ ชี ฯ รั บ ผิ ด ชอบ เห็นว่ามีความเหมาะสม จึงเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติในที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยคัดเลือกบริษัทสำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด เป็นผูต้ รวจสอบบัญชีของบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พ ิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า บริ ษ ั ท ฯ ถื อ นโยบายการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที ่ ด ี เ ป็ น สำคั ญ มี ผ ลให้ ร ะบบการควบคุ ม ภายในมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพี ย งพอ ไม่ ม ี ข ้ อ บกพร่ อ งเป็ น สาระสำคั ญ การบริ ห ารความเสี ่ ย ง เป็นไปตามมาตรการอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทำงบทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินทำขึน้ อย่างครบถ้วน ถูกต้อง เป็ น ไปตามมาตรฐานการบั ญ ชี ท ี ่ ร ั บ รองโดยทั ่ ว ไปและมี ก ารเปิ ด เผยรายการที ่ เ กี ่ ย วโยงกั น ที ่ อ าจทำให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์อย่างถูกต้องและครบถ้วน รวมทัง้ มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบวิธปี ฏิบตั ิ ข้อกำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(ดร.วิชติ แย้มบุญเรือง) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน)

47


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วน ของผูถ้ อื หุน้ รวม และงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบใน การแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่ได้ตรวจสอบงบการเงินสำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ของบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ในประเทศเวียดนามทีร่ วมอยูใ่ นงบการเงินรวมนี้ ซึง่ งบการเงินของ บริษทั ย่อย ดังกล่าวมียอดสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เป็นจำนวน 207 ล้านบาทและ 235 ล้านบาท ตามลำดับ และยอดรายได้รวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เป็นจำนวน 0.3 ล้านบาทและ 38 ล้านบาท ตามลำดับ งบการเงินของบริษัทย่อยดังกล่าวตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น โดยข้าพเจ้าได้รับรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี นั้นแล้ว การแสดงความเห็นของข้าพเจ้าในส่วนที่เกี่ยวข้องกับจำนวนเงินของรายการต่างๆ ของบริษัทย่อยดังกล่าวซึ่งรวมอยู่ในงบ การเงินรวมได้ถอื ตามรายงานของผูส้ อบบัญชีอน่ื นัน้ ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตาม มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิ บ ั ต ิ ง านเพื ่ อ ให้ ไ ด้ ค วามเชื ่ อ มั ่ น อย่ า งมี เ หตุ ผ ลว่ า งบการเงิ น แสดงข้ อ มู ล ที ่ ข ั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระสำคั ญ หรื อ ไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผย ข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการ ที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวประกอบกับรายงานของผู้สอบบัญชีอื่นที่กล่าวถึงในวรรคแรกให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่าง เหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้าจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้าและรายงานของผู้สอบบัญชีอื่น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับ ปีสน้ิ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั ระยองเพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะของบริษทั ระยองเพียว ริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดง ความเห็นอย่างมีเงือ่ นไขต่องบการเงินข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4.1 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2550 บริษัทฯได้ เปลี่ยนนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน โดยบริ ษ ั ท ฯได้ ป รั บ ย้ อ นหลั ง งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2549 และสำหรั บ ปี ส ิ ้ น สุ ด วั น เดี ย วกั น เพื ่ อ สะท้ อ นถึ ง การเปลี ่ ย นแปลงนโยบายการบั ญ ชี ด ั ง กล่ า วและหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ข้ อ 4.2 บริ ษ ั ท ฯและบริ ษ ั ท ย่อยได้เปลี่ยนวิธีการคำนวณราคาทุนสินค้าคงเหลือจากวิธีเข้าก่อน-ออกก่อนเป็นวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก โดยมีผลกระทบ อย่างไม่เป็นสาระสำคัญต่องบการเงินของบริษทั ฯ

วิสสุตา จริยธนากร ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3853 บริษทั สำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำกัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2551

48


งบการเงิน

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รายงานการตรวจสอบ และ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

49


งบการเงิน รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอตอผูถอื หุน ของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบกําไรขาดทุนรวม งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสวนของผูถอื หุนรวม และงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท ระยอง เพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ระยองเพียวริฟาย เออร จํากัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบ การเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไมไดตรวจสอบงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ของบริษัทยอยแหงหนึ่งในประเทศ เวียตนามที่รวมอยูในงบการเงินรวมนี้ ซึ่งงบการเงินของบริษัทยอยดังกลาวมียอดสินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เปนจํานวน 207 ลานบาทและ 235 ลานบาท ตามลําดับ และยอดรายไดรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เปนจํานวน 0.3 ลานบาทและ 38 ลานบาท ตามลําดับ งบการเงินของบริษัทยอยดังกลาวตรวจสอบโดย ผูสอบบัญชีอื่น โดยขาพเจาไดรับรายงานการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีนั้นแลว การแสดงความเห็นของขาพเจาในสวนที่ เกี่ยวของกับจํานวนเงินของรายการตางๆ ของบริษัทยอยดังกลาวซึ่งรวมอยูใ นงบการเงินรวมไดถอื ตามรายงานของผูสอบ บัญชีอื่นนั้น ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกําหนดใหขาพเจาตองวางแผนและ ปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การ ตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจํานวนเงินและการเปดเผย ขอมูลในงบ การเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปน สาระสําคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจ ัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการ ที่นําเสนอในงบ การเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวประกอบกับรายงานของผูสอบบัญชีอื่นที่กลาวถึงในวรรคแรกให ขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา จากผลการตรวจสอบของขาพเจาและรายงานของผูสอบบัญชีอื่น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะ การเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละป ของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และเฉพาะของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

50


งบการเงิน โดยมิไดเปนการแสดงความเห็นอยางมีเงื่อนไขตองบการเงินขางตน ขาพเจาขอใหสังเกตตามที่กลาวไวใน หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4.1 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2550 บริษัทฯไดเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก เงินลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีสวนไดเสียเปนวิธีราคาทุน โดยบริษัทฯไดปรับยอนหลังงบ การเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน เพื่อสะทอนถึงการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชีดังกลาว และหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4.2 บริษัทฯและบริษัทยอยไดเปลี่ยนวิธีการคํานวณ ราคาทุนสินคาคงเหลือจากวิธีเขากอน-ออกกอนเปนวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักโดยมีผลกระทบอยางไมเปนสาระสําคัญ ตองบการเงินของบริษัทฯ

วิสสุตา จริยธนากร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3853 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ 2551

51


งบการเงิน

52


งบการเงิน

53


งบการเงิน

54


งบการเงิน

55


งบการเงิน

56


งบการเงิน

57


58


งบการเงิน

59


งบการเงิน

60


งบการเงิน บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 1. ขอมูลทั่วไป บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเปนบริษัทมหาชนจํากัดและมีภูมิลําเนาใน ประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตและจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑปโตรเคมี โดยมีที่อยูตามที่ จดทะเบียนซึ่งเปนสํานักงานใหญตั้งอยู ณ เลขที่ 19 อาคารไทยพาณิชยปารค พลาซาอีสต ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร สาขาซึ่งเปนที่ตั้งโรงงานตั้งอยู ณ เลขที่ 7/3 ถนนปกรณสงเคราะหราษฎร ตําบลมาบตา พุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง นอกจากนี้ บริษัทฯยังมีคลังน้ํามันกระจายอยูในภูมิภาคตางๆของประเทศรวม 4 แหง ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คือ บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด ซึ่งเปนบริษัท จํากัดตามกฎหมายไทย โดยถือหุนในอัตรารอยละ 29.87 ของทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทฯ (2549: รอยละ 30.27) 2. เกณฑในการจัดทํางบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดง รายการในงบการเงินไดทําขึ้นเพื่อ ใหเปนไปตามขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม ก)

งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และ บริษัทยอยดังตอไปนี้

61


งบการเงิน

อัตรารอยละ ของการถือหุน 2550 2549 รอยละ รอยละ

ลักษณะธุรกิจ

ชื่อบริษัท

บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด และบริษัทยอย บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด”) VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

รอยละของ สินทรัพยที่รวมอยู ในสินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 รอยละ รอยละ

รอยละของ รายไดที่รวมอยูใน รายไดรวมสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 รอยละ รอยละ

จําหนายน้ํามันเชื้อเพลิง 100

100

ไทย

8.9

6.5

13.5

8.4

100

100

ไทย

7.7

8.8

39.6

41.1

100

100

ไทย

3.4

0.3

-

-

60

60

เวียตนาม

5.4

7.1

-

0.2

51

51

ไทย

2.3

1.8

0.1

-

จําหนายน้ํามันเชื้อเพลิง ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ ปโตรเลียมและปโตรเคมี ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ ปโตรเคมี ใหเชาและบริการอสังหาริมทรัพย

ข)

งบการเงินของบริษัทยอยซึ่งจัดตั้งในตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุลสําหรับรายการสินทรัพยและหนี้สินหรืออัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือนสําหรับ รายการที่เปนรายไดและคาใชจาย ผลตางซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงคาดังกลาวไดแสดงไวเปนรายการ “ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน” ในสวนของผูถือหุน

ค)

ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทยอย รายการคาระหวางกันที่มีสาระสําคัญไดตัดออกจากงบ การเงินรวมนี้แลว

2.3 บริษัทฯไดจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอย ตามวิธี ราคาทุน 3. การประกาศใชมาตรฐานการบัญชีใหม สภาวิ ช าชี พ บั ญชี ไ ด อ อกประกาศสภาวิ ช าชี พ บั ญชี ฉ บั บที่ 9/2550 ฉบั บที่ 38/2550 และฉบั บที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี โดยใหใชมาตรฐานการบัญชีใหมดังตอไปนี้ ก)

มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใชในปปจจุบัน ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550)

62

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษทั รวม


งบการเงิน

62


งบการเงิน มาตรฐานการบัญชีขางตนใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 เปนตนไป ในระหวางไตรมาสที่ 1 ของปปจจุบัน บริษัทฯไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะกิจการ เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 ฉบับปรับปรุงใหม ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4.1 อยางไรก็ตาม มาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 45 และ 46 ฉบับปรับปรุงใหมไมมีผลกระทบตองบการเงินเนื่องจากบริษัทฯไมมีเงินลงทุนใน บริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ข)

มาตรฐานการบัญชีที่ยงั ไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 51

งบกระแสเงินสด สัญญาเชา สินคาคงเหลือ ตนทุนการกูยืม การนําเสนองบการเงิน นโยบายการบั ญ ชี การเปลี่ ย นแปลงประมาณการทางบั ญ ชี แ ละ ขอผิดพลาด งบการเงินระหวางกาล การรวมธุรกิจ สัญญากอสราง สินทรัพยไมมีตัวตน

มาตรฐานการบัญชีขางตนใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษัทฯไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวจะไมมี ผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินสําหรับปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว 4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 4.1 การบันทึกเงินลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหวางไตรมาสที่ 1 ของปปจจุบัน บริษัทฯไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงิน ลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีสวนไดเสียเปนวิธีราคาทุนตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งกําหนดใหเงินลงทุนในบริษัทยอย เงิน ลงทุนในกิจการที่มีการควบคุมรวมกันและเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการตองแสดงตามวิธี ราคาทุน

63


ในการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาว บริษัทฯไดปรับยอนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการงวด กอนที่นํามาแสดงเปรียบเทียบเสมือนวาบริษัทฯไดถือปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอย ตามวิธีราคาทุนมาโดยตลอด การเปลี่ยนแปลงนี้ทําใหบริษัทฯมีกําไรสุทธิในงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 2.26 ลานบาท (0.004 บาทตอหุน) (2549: ลดลง เปนจํานวน 18.96 ลานบาท (0.04 บาทตอหุน)) ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวได แสดงไวในหัวขอ “ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัท ยอย” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการแลว ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาว มีผลกระทบเฉพาะตอรายการบัญชีที่เกี่ยวของกับเงิน ลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะกิจการเทานั้น ไมไดมีผลกระทบตองบการเงินรวมแตอยางใด 4.2 การตีราคาสินคาคงเหลือ ตั้งแตรอบระยะเวลาบัญชีวันที่ 1 มกราคม 2550 เปนตนไป บริษัทฯและบริษัทยอยไดเปลี่ยนวิธีการ คํานวณราคาทุนสินคาคงเหลือจากวิธีเขากอน-ออกกอนเปนวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ทั้งนี้ เพื่อสะทอน ผลการดําเนินงานที่แทจริงและใหเปนไปในทิศทางเดียวกันกับบริษัทในกลุมอุตสาหกรรมปโตรเลียมใน ประเทศไทย ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมเปนสาระสําคัญตองบการเงินของบริษัทฯ การเปลี่ยน วิธีการคํานวณราคาทุนสินคาคงเหลือไดรับอนุมัติจากกรมสรรพากรแลว 5. นโยบายการบัญชีที่สําคัญ 5.1 การรับรูรายได ขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อบริษัทฯและบริษัทยอยไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เปน สาระสําคัญของความเปนเจาของสินคาใหกับผูซื้อแลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกํากับ สินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สําหรับสินคาที่ไดสงมอบหลังจากหักสวนลดแลว รายไดจากการใหบริการขนสง รายไดจากการใหบริการถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยจะรับรูเปนรายไดเมื่อไดใหบริการแลว รายไดคาบริหารจัดการ รายไดคาบริหารจัดการรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามเงื่อนไขและขอตกลงที่ระบุในสัญญา ที่ เกี่ยวของ

64


งบการเงิน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อมีสิทธิในการรับเงินปนผล 5.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพ คลองสูง ซึ่งถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมาและไมมีขอจํากัดในการเบิกใช 5.3 ลูกหนี้การคา ลูกหนี้การคาแสดงตามมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับ ผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการ เก็บเงินและการวิเคราะหอายุลูกหนี้ 5.4 สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงมูลคาตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคา ใดจะต่ํากวา ตนทุนของงานระหวางทําและสินคาสําเร็จรูปที่ผลิตขึ้นเองไดรวมตนทุนของคาวัตถุดิบ คาแรง ทางตรงและคาโสหุยการผลิต 5.5 เงินลงทุน ก)

เงิ น ลงทุ น ในหลั กทรั พ ยเ พื่ อ คา แสดงตามมู ล ค ายุ ติ ธรรม บริ ษั ทฯบั น ทึก การเปลี่ ย นแปลงมู ล คา ของ หลักทรัพยเปนรายการกําไรหรือขาดทุนในงบกําไรขาดทุน

ข)

เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะครบกําหนดชําระใน 1 ป และที่จะถือจนครบกําหนดแสดงมูลคาตามวิธี ราคาทุนตัดจําหนาย บริษัทฯตัดบัญชีสวนเกิน/สวนต่ํากวามูลคาตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ซึ่งจํานวนที่ตัดจําหนายนี้จะแสดงเปนรายการปรับกับดอกเบี้ยรับ

ค)

เงินลงทุนในบริษัทยอยที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน

65


งบการเงิน มูลคายุติธรรมของตราสารหนี้ถือพื้นฐานจากการคํานวณอัตราผลตอบแทนหรือราคาจากสมาคมตลาด ตราสารหนี้ไทยแลวแตกรณี มูลคายุติธรรมของหนวยลงทุนคํานวณจากมูลคาสินทรัพยสุทธิ บริษัทฯและบริษัทยอยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุน 5.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและ คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพย โดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณดังตอไปนี้ สวนปรับปรุงอาคาร อาคาร เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ

-

5 - 25 ป 20 - 25 ป 5 - 15 ป 3 - 10 ป 5, 10 ป

คาเสื่อมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและงานระหวางกอสราง 5.7 สินทรัพยไมมีตัวตนและคาตัดจําหนาย สินทรัพยไมมีตัวตนแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม คาตัดจําหนายของสินทรัพยไมมี ตัวตนคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชนโดยประมาณของสินทรัพย ไมมีตัวตนดังตอไปนี้ คาสิทธิในการใชประโยชนบนที่ดิน สิทธิการเชาที่ดิน สิทธิการเชาสถานีบริการน้ํามัน คาลิขสิทธิ์โปรแกรมแบบจําลองการผลิต

-

44 ป ตามอายุสัญญาเชา (3 ป และ 26 ป) 3 - 25.91 ป 8.14 ป

บริษัทยอยแหงหนึ่งในประเทศเวียตนามตัดจําหนายคาสิทธิในการใชประโยชนบนที่ดินตลอดอายุที่ เหลือของใบอนุญาตการลงทุน 44 ป ซึ่งสอดคลองกับสิทธิประโยชน หนาที่ และภาระผูกพันของ บริษัท ยอยตามใบอนุญาตการลงทุน

66


งบการเงิน สินทรัพยไมมีตัวตนที่มีระยะเวลาการสิ้นสุดของประโยชนเชิงเศรษฐกิจที่คาดวาจะไดรับเกินกวา 20 ป จะไดรับการทดสอบการดอยคา ณ วันที่ในงบดุลเปนประจําทุกป คาตัดจําหนายรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 5.8 ตนทุนการกูยืม บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงินอื่นๆที่เกิดจากเงินกูยืมเพื่อใชในการ กอสรางสินทรัพยถาวรเขาเปนสวนหนึ่งของตนทุนงานกอสราง บริษัทฯและบริษัทยอยจะหยุดบันทึกคาใชจาย ดังกลาวเปนตนทุนสินทรัพยเมื่อการกอสรางแลวเสร็จและสามารถใชงานไดตามวัตถุประสงค 5.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุม บริษัทฯ หรือ ถูกควบคุมโดยบริษัทฯไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอยางเปน สาระสําคัญกับบริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอํานาจในการวางแผนและ ควบคุมการดําเนินงานของบริษัทฯ 5.10 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอน ไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของ สินทรัพยที่เชาหรือมูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา ภาระ ผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในงบ กําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการ ใชงานของสินทรัพยที่เชา หรืออายุของสัญญาเชา แลวแตระยะเวลาใดจะต่ํากวา

67


งบการเงิน 5.11 เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศคงเหลืออยู ณ วันที่ในงบดุลแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 5.12 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯและบริษัทยอยจะทําการประเมินวามีขอบงชี้ซึ่งแสดงวาสินทรัพยของบริษัท ฯและบริษัทยอยดอยคาลงหรือไม หากมีขอบงชี้ของการดอยคา บริษัทฯและบริษัทยอยจะทําการประมาณมูล คาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยและหากพบวาราคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้นมีมูลคาสูงกวามูลคาที่คาด วาจะไดรับคืน บริษัทฯและบริษัทยอยจะลดมูลคาของสินทรัพยลงใหเทากับมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน และ รับรูผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยในงบกําไรขาดทุน (มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพย หมายถึงราคาขายสุทธิหรือมูลคาจากการใชของสินทรัพยนั้นแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา) 5.13 ผลประโยชนพนักงาน บริษัทฯและบริษัทยอยรับรู เงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุน สํารองเลี้ยงชีพเปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ 5.14 ประมาณการหนี้สิน บริษั ทฯและบริษัทยอยจะบั นทึก ประมาณการหนี้ สินไวในบัญชี เมื่ อภาระผู กพัน ซึ่ง เปนผลมาจาก เหตุการณในอดีตไดเกิดขึ้นแลว และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาบริษัทฯและบริษัทยอยจะเสีย ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯและบริษัทยอยสามารถประมาณมูลคา ภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ 5.15 ภาษีเงินได บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดโดยคํานวณจากกําไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร

68


งบการเงิน 5.16 ตราสารอนุพันธ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ลูกหนี้และเจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาจะถูกแปลงคาตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวดบัญชี กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศดังกลาวจะถูกบันทึกในงบกําไร ขาดทุน สวนเกินหรือสวนลดที่เกิดขึ้นจากการทําสัญญาจะถูกตัดจําหนายดวยวิธีเสนตรงตามอายุของสัญญา 5.17 การใชประมาณการทางบัญชี ในการจัดทํางบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางสถานการณฝายบริหารอาจตองใชการ ประมาณและการตั้งสมมติฐาน ซึ่งมีผลกระทบตอจํานวนเงินที่แสดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบ การเงิน ดวยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางไปจากจํานวนที่ประมาณไว 6. เงินลงทุนชั่วคราว (หนวย: บาท) งบการเงินรวม หนวยลงทุนในกองทุนรวม ตั๋วเงินคลัง รวมเงินลงทุนชั่วคราว

2550 45,570,516 45,570,516

2549 502,963 20,903,909 21,406,872

7. ลูกหนี้การคา ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 แยกตามอายุหนี้ที่คงคางนับจากวันที่ถึง กําหนดชําระไดดังนี้

69


งบการเงิน (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2550 2549 ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน, สุทธิ ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549

490,740,032 14,474,286 4,239,175 12,780,280 522,233,773 (9,684,768) 512,549,005

416,238,829 2,980,397 4,312,461 12,866,738 436,398,425 (11,122,874) 425,275,551

377,873,821 1,081,751 378,955,572 (617,250) 378,338,322

341,335,345 213,480 143,220 752,670 342,444,715 (617,250) 341,827,465

12,897 93,016 105,913

110,038 2,013 2,196 114,247

497,124,198 497,124,198

254,202,676 1,053,120 255,255,796

8. เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกัน ยอดคงเหลือนี้ คือ เงินฝากประจําซึ่งบริษัทฯไดนําไปค้ําประกันวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงิน 9. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ลักษณะความสัมพันธระหวางบริษัทฯกับกิจการที่เกี่ยวของกันสามารถสรุปไดดังนี้ รายชื่อ บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด”) VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. (“VTN-P”) บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด (“SCT”) บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด

70

ลักษณะความสัมพันธ บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT


งบการเงิน รายชื่อ บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (“PSDC”) บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด Machine Automation Joint Stock Company บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) บริษัท แจสซี่ครีเอชั่น จํากัด บริษัท บลูแพลนเน็ท ทราเวล จํากัด บริษัท แบค บราเดอร จํากัด บริษัท โกลบอลไลเซชั่น อีโคโนมิค แอนด โปรโมชั่น เนทเวอรค จํากัด บริษัท อัลท เอ็นเนอยี่ จํากัด บริษัท วิลเลจฟารม มารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท วิลเลจฟารม แอนด เฟรนด จํากัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (“SAP”)

ลักษณะความสัมพันธ บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอย ถือหุนในบริษัทฯรอยละ 29.87 ถือหุนใน VTN-P รอยละ 14 ถือหุนใน PSDC รอยละ 49 และมีกรรมการรวมกัน

มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีผูถือหุนรวมกันและกรรมการบริษัทฯถือหุนใน SAP

ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจ ดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขทางการคาและเกณฑตามที่ตกลงกันระหวางบริษัทฯและบริษัทเหลานั้น ซึ่งเปนไปตามปกติ ธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549

2550

2549

รายการธุรกิจกับบริษัทยอย (ไดตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคา รายไดคาบริหารจัดการ ดอกเบี้ยรับ

-

-

8,693,053,418 41,009,685 1,025,937

6,797,139,594 40,088,473 1,541,945

รายไดอื่น - การใหบริการอื่น ซื้อสินคา

-

-

6,721,373 1,318,577,384

3,287,105 236,531,772

นโยบายการกําหนดราคา

หมายเหตุ 1 หมายเหตุ 2 อัตรารอยละ 5 ตอปและ LIBOR 1 เดือน บวก รอยละ 2 ตอป ราคาตามสัญญา ราคาทุน

71


งบการเงิน (หนวย: บาท) งบการเงินรวม ซื้อสินทรัพยถาวร ซื้อเงินลงทุน คาขนสงจาย คาใชจายอื่น ขายที่ดิน

2550 -

2549 -

4,090,601 6,474,854 2,911,474 1,122,125 6,800,787 688,700 64,726

3,563,680 5,750,158 1,766,898 1,021,250 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 66,808 25,499,600 176,911,406 185,632,696 831,978 1,600,623 26,000,000 -

นโยบายการกําหนดราคา ราคาตามบัญชี ราคาหุนละ 100 บาท ราคาตามสัญญา ตามตนทุนที่เกิดขึ้นจริง ราคาตามสัญญาซึ่งสูงกวา ราคาทุน

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน รายไดคาบริหารจัดการ ซื้อสินทรัพยถาวร คาใชจายอื่น คาเชาที่ดิน คาเชาอุปกรณ รายจายคาโฆษณาและสงเสริมการขาย ดอกเบี้ยรับ

4,090,601 1,471,068 688,700 64,726

3,563,680 1,429,749 1,484,854 1,021,250 -

หมายเหตุ 2 ราคาตามสัญญา ตามตนทุนที่เกิดขึ้นจริง ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา อัตรารอยละ 7.5

หมายเหตุ 1 หมายเหตุ 2 -

ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสวนลดตามปริมาณคําสั่งซื้อสําหรับธุรกิจคาสงน้ํามัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสวนลดคาการตลาดในอัตราคงที่สําหรับธุรกิจคาปลีกน้ํามัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดสําหรับธุรกิจจําหนายตางประเทศและธุรกิจขนสงน้ํามัน คํานวณตามเกณฑปริมาณสินคาที่จําหนายไดสําหรับธุรกิจคาสงและคาปลีกน้ํามัน คํานวณในอัตราคงที่สําหรับธุรกิจจําหนายในตางประเทศ ธุรกิจใหเชาและบริการอสังหาริมทรัพย และธุรกิจขายอุปกรณเครื่องมือ สถานีบริการน้ํามันและใหบริการซอมบํารุง - คํานวณตามเกณฑปริมาณสินคาที่ขนสงสําหรับธุรกิจขนสงน้ํามัน

ในเดือนธันวาคม 2549 บริษัทฯไดเขาทําสัญญากับ บริษัทโกลบอลไลเซชั่น อีโคโนมิค แอนด โปรโมชั่น เนท เวอรค จํากัด (“GEPN”) เพื่อใหบริษัทยอยแหงหนึ่งของ GEPN ดําเนินการในการจัดหาที่ดินในประเทศจีนเพื่อสราง คลังปโตรเลียม ตามราคาทุนที่ตกลงรวมกันในสัญญา ซึ่งไดรับอนุมัติการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันจากที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2550 บริษัทฯไดจายเงินรวมจํานวน 30 ลานบาทใหแก GEPN ลวงหนาภายใตเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ยอดคงคางดังกลาวแสดง ภายใตหัวขอ “เงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของ” ในงบดุล ในป 2549 บริษัทฯไดสั่งซื้อเครื่องจักรและอุปกรณโรงกลั่นจากผูขายในประเทศและตางประเทศแทน VTN-P โดยบริษัทฯเรียกเก็บคาใชจายทั้งหมดตามตนทุนที่เกิดขึ้นจริงจากบริษัทยอยดังกลาว มูลคาของรายการคิดเปน จํานวนเงิน 5.6 ลานบาท

72


งบการเงิน ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2550 2549

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด

-

-

303,552,897 8,513,480 59,373,831 36,282,860 71,745,670 15,832,000 1,823,460 497,124,198

178,462,940 14,477,340 6,847,820 20,040,686 17,914,550 44,360 16,414,980 1,053,120 255,255,796

รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

93,016 12,897 105,913 105,913

114,247 114,247 114,247

497,124,198

255,255,796

ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด

-

-

1,010,717 191,476 640,361 374,848 1,263,466 507,287 13,696 157,772 8,774

5,157,952 642,000 4,745,760 3,819,477 4,546,318 13,004,843 1,773,472 1,614,095 584,060 1,710,984

รวมลูกหนี้การคา - บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) บริษัท วิลเลจฟารม แอนด เฟรนด จํากัด รวมลูกหนี้การคา - บริษัทที่เกี่ยวของกัน

73


งบการเงิน (หนวย: บาท)

VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด รวมลูกหนี้บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) รวมลูกหนี้บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท โกลบอลไลเซชั่น อีโคโนมิค แอนด โปรโมชั่น เนทเวอรค จํากัด รวมเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. รวมเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินจายลวงหนาคาซื้อสินคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด รวมเงินจายลวงหนาคาซื้อสินคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

74

งบการเงินรวม 2550 2549 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 1,619,567 28,407,156 642,193 365,765 6,430,157 66,371,882

2,563,980 94,119 2,658,099 2,658,099

8,347,522 8,347,522 8,347,522

2,563,980 2,563,980 8,994,137

66,371,882

30,000,000 30,000,000

10,000,000 10,000,000

30,000,000 30,000,000

10,000,000 10,000,000

-

-

-

28,764,400 28,764,400

-

-

-

21,455,091 38,037,200 42,379,860

-

-

-

101,872,151


งบการเงิน ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2550 2549

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด

-

-

303,552,897 8,513,480 59,373,831 36,282,860 71,745,670 15,832,000 1,823,460 497,124,198

178,462,940 14,477,340 6,847,820 20,040,686 17,914,550 44,360 16,414,980 1,053,120 255,255,796

รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

93,016 12,897 105,913 105,913

114,247 114,247 114,247

497,124,198

255,255,796

ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด

-

-

1,010,717 191,476 640,361 374,848 1,263,466 507,287 13,696 157,772 8,774

5,157,952 642,000 4,745,760 3,819,477 4,546,318 13,004,843 1,773,472 1,614,095 584,060 1,710,984

รวมลูกหนี้การคา - บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) บริษัท วิลเลจฟารม แอนด เฟรนด จํากัด รวมลูกหนี้การคา - บริษัทที่เกี่ยวของกัน

75


งบการเงิน ในระหวางป 2550 เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกันมีการเคลื่อนไหวดังตอไปนี้ (หนวย: บาท) ยอดคงเหลือ ณ 1 มกราคม 2550 เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด รวม

-

งบการเงินรวม ในระหวางป เพิ่มขึ้น 5,000,000 5,000,000

ลดลง

ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2550

(5,000,000) (5,000,000)

(หนวย: บาท)

ยอดคงเหลือ ณ 1 มกราคม 2550 เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด รวม

28,764,400 28,764,400

งบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหวางป เพิ่มขึ้น 20,302,000 5,000,000 25,302,000

ลดลง

ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2550

(49,066,400) (5,000,000) (54,066,400)

-

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ในป 2550 และ 2549 บริษัทฯและบริษัทยอยไดจายเงินเดือน โบนัส คาเบี้ยประชุมและสวัสดิการอื่นใหแก กรรมการและผูบริหารเปนจํานวนเงิน 48 ลานบาท และ 51 ลานบาท ตามลําดับ ภาระค้ําประกันกับกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทฯมีภาระจากการค้ําประกันใหกับกิจการที่เกี่ยวของกันตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 30

76


งบการเงิน 10. สินคาคงเหลือ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2550 2549 สินคาสําเร็จรูป - ผลิตภัณฑน้ํามัน 1,213,334,969 877,476,176 วัตถุดิบ 392,057,435 287,159,583 วัสดุสิ้นเปลือง 4,865,942 5,331,615 รวม 1,610,258,346 1,169,967,374

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 1,082,525,449 812,544,679 389,049,975 283,904,704 4,436,361 4,845,918 1,476,011,785 1,101,295,301

สินคาคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ไดรวมน้ํามันสํารองตามขอบังคับของกระทรวงพาณิชยจํานวนเงิน 871 ลานบาท (2549: 570 ลานบาท) โดยสวนหนึ่งจํานวนเงิน 100 ลานบาท (2549: 95 ลานบาท) เปนสินคาที่อยูภายใต สัญญาซื้อขายน้ํามันเพื่อใชเปนปริมาณสํารองตามกฎหมายที่บริษัทฯมีภาระผูกพันตองขายคืนใหแกผูขายเมื่อครบ กําหนดตามอายุของสัญญา 11. เงินใหกูยืมระยะสั้นอื่น เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2549 บริษัทฯไดทําสัญญา Petroleum Product Business Joint Venture กับ T.C.S. Oil Co., Ltd. (“T.C.S.”) เพื่อรวมลงทุนในธุรกิจน้ํามันในประเทศกัมพูชา ซึ่งสัญญามีผลบังคับเปนระยะเวลา 15 ปสิ้นสุด ในป 2563 โดยบริษัทฯมีภาระในการจัดหาน้ํามันและใหเงินกูยืมแก T.C.S. เปนเงินบาทจํานวน 35 ลานบาท คิด ดอกเบี้ยในอัตราคงที่รอยละ 5 ตอป โดยชําระดอกเบี้ยเปนรายเดือน และมีกําหนดชําระคืนเงินตนตามเงื่อนไขที่ระบุไว ในสัญญา หลังจากที่บริษัทฯไดรับชําระเงินใหกูยืมดังกลาวเต็มจํานวนแลว บริษัทฯจะไดรับสวนแบงกําไรจากผลการ ดําเนินงานของ T.C.S. ตามที่ระบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เงินใหกูยืมดังกลาวมียอดคงคางจํานวน 16.6 ลานบาท (2549: 10.6 ลานบาท)

77


งบการเงิน 12. สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (หนวย: บาท)

ภาษีสรรพสามิตจายลวงหนา ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน ภาษีเงินไดนิติบุคคลจายลวงหนา เงินจายลวงหนาคาซื้อสินคา อื่น ๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียนอื่น หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สุทธิ

งบการเงินรวม 2550 2549 74,609,502 88,772,529 125,925,333 183,650,903 16,699,621 16,426,995 55,631,635 120,968,587 65,685,475 52,971,885 338,551,566 462,790,899 (3,206,019) 335,345,547 462,790,899

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 74,609,502 88,772,529 116,695,919 178,660,922 15,909,834 15,909,834 20,000,000 46,815,751 35,505,881 274,031,006 318,849,166 (3,206,019) 270,824,987 318,849,166

บริษัทฯไดขอคืนภาษีเงินไดนิติบุคคลจายลวงหนาจํานวน 15.9 ลานบาทแลว ซึ่งมูลคาที่จะไดรับคืนของภาษีเงินได ดังกลาวขึ้นอยูกับผลการตรวจสอบภาษีโดยเจาหนาที่กรมสรรพากร อยางไรก็ตาม ฝายบริหารเชื่อวาบริษัทฯจะไดรับคืนเงิน ภาษีทั้งจํานวนในอนาคต

13. เงินลงทุนในบริษัทยอย (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

ชื่อบริษัท

ทุนชําระแลว 2550 2549

VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด และบริษัทยอย บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย หัก: คาเผื่อการดอยคา

78

3.5 ลาน

3.5 ลาน

ดอลลารสหรัฐฯ ดอลลารสหรัฐฯ 50 ลานบาท 50 ลานบาท 50 ลานบาท 50 ลานบาท

สัดสวนเงินลงทุน 2550 2549 รอยละ รอยละ 60 60

ราคาทุน 2550 86,589,330

2549 (ปรับปรุงใหม) 86,589,330

เงินปนผลรับระหวาง ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 2549 -

-

100 51

100 51

49,999,300 25,499,600

49,999,300 25,499,600

-

-

10 ลานบาท

10 ลานบาท

100

100

9,999,965

9,999,965

-

-

124 ลานบาท

10 ลานบาท

100

100

123,999,200 296,087,395 (95,502,767)

9,999,200 182,087,395 (95,502,767)

-

-


งบการเงิน VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. VTN-P ไดรับใบอนุญาตการลงทุนจาก the People’s Committee of Can Tho City ซึ่งเปนหนวยงานที่ไดรับ อนุญาตจาก Ministry of Planning and Investment ของประเทศเวียตนาม ใบอนุญาตการลงทุนดังกลาวมีอายุ 50 ป สิ้นสุดป 2592 VTN-P ไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีและมีภาระผูกพันตามใบอนุญาตการลงทุนดังตอไปนี้ ก) ข) ค) ง)

จ) ฉ)

อัตราภาษีเงินไดเทากับรอยละ 15 ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนระยะเวลา 4 ป เริ่มตั้งแตปแรกที่เริ่มมีกําไร หลังจากนั้น ไดรับ การลดหยอนอัตราภาษีรอยละ 50 เปนระยะเวลา 4 ป ไดรับการยกเวนอากรขาเขาสําหรับอุปกรณและเครื่องจักรที่นําเขาเพื่อใชในการดําเนินงาน วัตถุที่นําเขาไดรับยกเวนอากรขาเขาเปนระยะเวลา 5 ป นับตั้งแตวันที่เริ่มการผลิต หลังจากนั้น วัตถุดิบ อะไหล ชิ้นสวนและวัตถุที่นําเขาเพื่อใชในการผลิตสินคาเพื่อสงออกจะตองเสียอากรขาเขาและจะไดรับ คืนอากรขาเขาตามจํานวนเงินที่เหมาะสมเมื่อมีการสงออกสินคา ถาสินคาที่นําเขาตามขอ ค) และ ง) มีการขายในประเทศเวียตนาม จะตองเสียอากรขาเขา ภาษีมูลคาเพิ่ม และภาษีเงินได ตามกฎหมายเวียตนาม ภาระผูกพันเกี่ยวกับคาเชาที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งทรัพยสินของ VTN-P จายใหแกหนวยงานของรัฐโดยอัตราคา เชาเปนไปตามที่ระบุในใบอนุญาตการลงทุน

ในระหวางปปจจุบัน VTN-P ดําเนินการกอสรางโรงงานแลวเสร็จและผานการทดลองการผลิตเปนที่เรียบรอย แลว ในเดือนเมษายน 2550 VTN-P ไดทําสัญญาขายสินทรัพยกับผูซื้อในประเทศเวียตนามซึ่งไมเปนบุคคลที่เกี่ยวของ กันโดยมีมูลคาตามสัญญา 8.35 ลานดอลลารสหรัฐฯ VTN-P ไดรับเงินมัดจํารอยละ 30 ของมูลคาตามสัญญาเปน จํานวน 2.5 ลานดอลลารสหรัฐฯซึ่งบันทึกอยูในบัญชีหนี้สินหมุนเวียนอื่นในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 20 และ VTN-P จะไดรับเงินสวนที่เหลือเมื่อสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขตางๆ ตามสัญญา เชน VTN-P และผูซื้อไดรับอนุมัติที่ จําเปนจากทางราชการเกี่ยวกับรายการซื้อ ขาย และโอนสินทรัพยดังกลาว ผูซื้อไดรับอนุมัติและใบอนุญาตที่จําเปนใน การดําเนินธุร กิจและไดรับสัญญาเชาที่ดินและสิทธิในการใชที่ดินจากทางราชการ และการทดลองการผลิตเป น ผลสําเร็จ เปนตน เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการของ VTN-P ไดมีมติให VTN-P เลิกกิจการและชําระ บัญชี โดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2550 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 ไดมีมติเห็นชอบในการเลิกกิจการและ ชําระบัญชีดังกลาวใหแลวเสร็จภายในป 2551

79


งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพยและหนี้สินหลักของ VTN-P ประกอบดวย (หนวย: บาท) สินทรัพย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยอื่น รวมสินทรัพย หนี้สิน เงินรับลวงหนาจากการขายสินทรัพย เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน มูลคาสินทรัพยสุทธิ

2,244,809 4,231,682 177,276,735 21,818,677 1,828,802 207,400,705 84,503,929 99,217,120 3,070,420 186,791,469 20,609,236

บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด ตามมติการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 2/2549 ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2549 อนุมัติใหบริษัทฯลงทุน รวมกับบริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (“SAMCO”) จัดตั้งบริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (“PSDC”) เพื่อพัฒนาที่ดินในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลใหเปนศูนยการคาประชาคมแบบครบวงจรพรอมสถานีบริการน้ํามัน “เพียว” ทั้งนี้ บริษัทฯและ SAMCO ไดลงนามในสัญญารวมทุนระหวางกันเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2549 ดวยทุนจด ทะเบียน 50 ลานบาท โดยบริษัทฯเปนผูถือหุนรอยละ 51 และ SAMCO ถือหุนรอยละ 49 โดยเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2550 PSDC ไดเปดดําเนินงานเชิงพาณิชยโครงการศูนยการคาประชาคมแบบครบวงจรพรอมสถานีบริการน้ํามัน “เพียว” ในระหวางป 2549 PSDC ไดเรียกชําระคาหุนเต็มมูลคาแลวและบริษัทฯไดจายชําระเงินคาหุนของเงินลงทุนเปน จํานวน 16,957,100 บาท ยอดคงคางจํานวน 8,542,500 บาท แสดงอยูภายใตหัวขอ “เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน” ในงบ การเงินเฉพาะกิจการ และบริษัทฯไดชําระคาหุนดังกลาวครบตามจํานวนในป 2550

80


งบการเงิน บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ก)

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 2/2550 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2550 ไดมีมติอนุมัติใหเปลี่ยนชื่อบริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด เปน บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด และมีมติอนุมัติใหเพิ่มเงินลงทุนในบริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯถือหุนอยูในอัตรารอยละ 100 โดยบริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด มีทุนจด ทะเบียน 10 ลานบาท เพิ่มเปน 200 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 1.9 ลานหุน มูลคาหุนละ 100 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 190 ลานบาท โดยบริษัทฯเปนผูซื้อหุนเพิ่มทุนครั้งนี้ทั้งหมด การเพิ่มทุนของบริษัทยอย ดังกลาวเพื่อลงทุนในโครงการไบโอดีเซลที่จังหวัดระยอง บริษัทยอยได จดทะเบียนการเปลี่ยนชื่อบริษัท และการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยในเดือนพฤษภาคม 2550 ในระหวางป 2550 บริษัทยอยไดเรียกชําระคาหุนเปนจํานวน 114 ลานบาท และบริษัทฯไดจายชําระเงินคาหุน ทั้งจํานวนแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯมีภาระผูกพันจากสวนของเงินลงทุนที่ยังไมเรียกชําระจาก บริษัทยอยจํานวน 76 ลานบาท นอกจากนี้ บริษัทยอยไดซื้อที่ดินจากบริษัทฯมูลคา 26 ลานบาท เพื่อใชในการ ดําเนินโครงการ ฝายบริหารคาดวาโครงการดังกลาวจะแลวเสร็จประมาณกลางป 2551

ข)

บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัดไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนสําหรับกิจการ ผลิตไบโอดีเซล ตามบัตรสงเสริมการลงทุนเลขที่ 1840(9)/2550 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2550 ภายใตเงื่อนไขที่ กําหนดบางประการ สิทธิพิเศษดังกลาวประกอบดวย 1)

ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมเปน ระยะเวลา 8 ปนับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น ในกรณีที่บริษัทยอยมีผลขาดทุนเกิดขึ้นในระหวางเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนี้ อนุญาตให บริษัทยอยนําผลขาดทุนดังกลาวมาหักกลบกับผลกําไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาที่ไดรับยกเวนภายใน เวลาหาป นับแตวันที่พนกําหนดที่ไดรับยกเวน

2)

ไดรับยกเวนไมตองนําเงินปนผลจากกิจการที่ไดรับการสงเสริมซึ่งไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลไป รวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินไดตลอดระยะเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนั้น

3)

ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ โดยเครื่องจักรนั้นจะตอง นําเขามาภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ 2553

ในป 2550 บริษัทยอยยังไมมรี ายไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริม

81


งบการเงิน

81


งบการเงิน บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2550 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท เพียว พลังงานไทย จํากัด (“PTEC”) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯถือหุนอยูในอัตรารอยละ 100 เขาซื้อหุนของบริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด ซึ่งประกอบกิจการขายอุปกรณเครื่องมือสถานีบริการน้ํามันและใหบริการซอมบํารุงในสัดสวนรอย ละ 51 โดยซื้อจากผูถือหุนเดิมในราคามูลคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ซึ่ง PTEC ไดเขาซื้อหุนดังกลาวใน วันที่ 1 มกราคม 2551 ตามที่กลาวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 33 14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม เครื่องจักร และอุปกรณ โรงงาน

เครื่องตกแตง ติดตั้งและ เครื่องใช สํานักงาน

136,083,320 1,281,610 137,364,930

294,657,877 884,136,980 (7,230,040) (7,704,854) 36,978 101,197,820 15,619,281 (705,644) 388,625,657 891,382,741

65,650,824 (14,066) 57,782 20,986,422 (680,496) 86,000,466

89,849,983 44,370,157 (55,314) 177,745,720 336,796 (138,140,319) (5,821,900) 84,309,565 83,975,558

-

80,578,386 415,652,096 (528,862) (792,031) 26,523,161 74,610,586 (6,194,745) 5,231,492 (422,107)

39,831,257 (4,674) 9,548,790 946,153 (648,639)

55,593,479 (23,048) 14,647,988 17,100 (4,531,600)

-

591,655,218 (1,348,615) 125,330,525 (5,602,346)

ที่ดิน ราคาทุน 31 ธันวาคม 2549 ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ซื้อเพิ่ม โอน จําหนาย 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2549 ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน คาเสื่อมราคาสําหรับป โอน คาเสื่อมราคาสวนที่จําหนาย 31 ธันวาคม 2550

อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร

ยานพาหนะ

งานระหวาง กอสราง

รวม 1,514,749,141 (15,004,274) 179,122,090 (7,208,040) 1,671,658,917

-

100,377,940

494,280,036

49,672,887

65,703,919

-

710,034,782

มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2549

136,083,320

214,079,491

468,484,884

25,819,567

34,256,504

44,370,157

923,093,923

31 ธันวาคม 2550

137,364,930

288,247,717

397,102,705

36,327,579

18,605,646

83,975,558

961,624,135

คาเสื่อมราคาสําหรับป 2549 (84.0 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร)

123,856,702

2550 (75.9 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร)

125,330,525

82


งบการเงิน (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

ที่ดิน

อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร

เครื่องจักร และอุปกรณ โรงงาน

เครื่องตกแตง ติดตั้งและ เครื่องใช สํานักงาน

128,733,521 (25,824,995) 102,908,526

122,273,803 (4,301,210) 117,972,593

740,389,014 6,403,597 746,792,611

50,286,263 4,970,051 (680,496) 54,575,818

2,605,532 26,675 2,632,207

-

62,781,765 9,477,089 (6,194,745) 66,064,109

391,840,837 59,684,516 5,231,492 456,756,845

36,122,203 4,621,878 946,153 (648,639) 41,041,595

1,660,724 484,544 17,100 2,162,368

-

492,405,529 74,268,027 (648,639) 566,024,917

มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2549

128,733,521

59,492,038

348,548,177

14,164,060

944,808

10,410,277

562,292,881

31 ธันวาคม 2550

102,908,526

51,908,484

290,035,766

13,534,223

469,839

24,927,299

483,784,137

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2549 ซื้อเพิ่ม โอน จําหนาย 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2549 คาเสื่อมราคาสําหรับป โอน คาเสื่อมราคาสวนที่จําหนาย 31 ธันวาคม 2550

ยานพาหนะ

งานระหวาง กอสราง 10,410,277 21,616,135 (7,099,113) 24,927,299

รวม 1,054,698,410 21,616,135 (26,505,491) 1,049,809,054

คาเสื่อมราคาสําหรับป 2549 (64.3 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร)

79,531,318

2550 (62.4 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร)

74,268,027

ในระหวางป 2550 บริษัทยอยแหงหนึ่งบันทึกดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงินจํานวนเงิน 0.78 ลานบาท เปนตนทุนของงานระหวางกอสราง (งบการเงินเฉพาะกิจการ: ไมมี) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯและบริษัทยอยมีอาคารและอุปกรณจํานวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อมราคาหมดแลว แตยังใชงานอยู ราคาทุนของสินทรัพยดังกลาวในงบการเงินรวมมีจํานวนเงิน 84 ลานบาท (2549: 64 ลานบาท) และใน งบการเงินเฉพาะกิจการจํานวน 79 ลานบาท (2549: 63 ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยานพาหนะบางสวนซึ่งมีมูลคาสุทธิตามบัญชีในงบการเงินรวมจํานวน 3.8 ลานบาท (2549: 10.2 ลานบาท) และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ในงบการเงินเฉพาะกิจการจํานวน 0.3 ลานบาท เปนหลักประกัน ภายใตสัญญาเชาการเงินซึ่งมีระยะเวลาการผอนชําระ 36 ถึง 48 เดือน บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัดไดจดจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางซึ่งมีมูลคาตามบัญชีจํานวน 78 ลานบาทเพื่อ ค้ําประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากธนาคารพาณิชย

83


งบการเงิน บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด ไดจดจํานองสิทธิการเชาที่ดินและสิ่งปลูกสรางที่มีมูลคาตามบัญชี จํานวน 75.5 ลานบาทเพื่อค้ําประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากธนาคารพาณิชย นอกจากนี้ บริษัทยอยมีภาระผูกพัน ตามสัญญาเชาที่จะตองโอนสิ่งปลูกสรางใหผูใหเชาเมื่อครบกําหนดอายุสัญญาเชา 15. สินทรัพยไมมีตัวตน (หนวย: บาท) งบการเงินรวม

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2549 ซื้อเพิ่ม ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 31 ธันวาคม 2550 คาตัดจําหนายสะสม 31 ธันวาคม 2549 คาตัดจําหนายสําหรับป ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน 31 ธันวาคม 2550 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2550

สิทธิการเชา ที่ดิน

สิทธิการเชา สถานีบริการ น้ํามัน

คาลิขสิทธิ์ โปรแกรม แบบจําลอง การผลิต

24,737,240 (1,649,149) 23,088,091

1,973,000 1,973,000

5,720,482 479,517 6,199,999

1,955,760 1,955,760

34,386,482 479,517 (1,649,149) 33,216,850

797,876 524,729 (53,192) 1,269,413

485,868 215,358 701,226

429,166 479,518 908,684

1,828,754 127,006 1,955,760

3,541,664 1,346,611 (53,192) 4,835,083

23,939,364

1,487,132

5,291,316

127,006

30,844,818

21,818,678

1,271,774

5,291,315

คาสิทธิในการ ใชประโยชน บนที่ดิน

-

รวม

28,381,767

คาตัดจําหนายสําหรับป (รวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 2549

1,405,721

2550

1,346,611

84


งบการเงิน (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ คาลิขสิทธิ์ โปรแกรม สิทธิการเชา แบบจําลอง การผลิต ที่ดิน ราคาทุน 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2550 คาตัดจําหนายสะสม 31 ธันวาคม 2549 คาตัดจําหนายสําหรับป 31 ธันวาคม 2550 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2550

รวม

1,973,000 1,973,000

1,955,760 1,955,760

3,928,760 3,928,760

485,867 215,359 701,226

1,828,754 127,006 1,955,760

2,314,621 342,365 2,656,986

1,487,133

127,006

1,614,139

1,271,774

-

1,271,774

คาตัดจําหนายสําหรับป (รวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 2549

455,551

2550

342,365

16.

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (หนวย: บาท)

เงินใหกูยืมระยะยาว เงินชดเชยคาปรับคุณภาพ เงินจายลวงหนาคาซื้อเครื่องจักร อื่น ๆ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - สุทธิ

งบการเงินรวม 2550 2549 1,246,663 1,246,663 26,711,581 26,711,581 42,912,848 9,507,803 5,887,316 80,378,895 33,845,560 (1,246,663) 33,845,560 79,132,232

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 1,246,663 1,246,663 26,711,581 26,711,581 6,441,261 4,318,665 34,399,505 32,276,909 (1,246,663) 33,152,842 32,276,909

85


งบการเงิน เงินชดเชยคาปรับคุณภาพ คือ เงินชดเชยเนื่องจากในไตรมาสที่สามของป 2549 ผูขายวัตถุดิบไดสงวัตถุดิบที่มี คุณภาพผิดไปจากที่กําหนดไวในสัญญาซื้อขายวัตถุดิบ โดยมีคุณสมบัติที่ผิดไปจากที่เคยสงมอบใหบริษัทฯ ตลอด ระยะเวลาของสัญญาที่ผานมาอยางกะทันหัน มีผลทําใหบริษัทฯตองจายตนทุนเพิ่มในการปรับคุณภาพสินคาตลอดจน คาเสียหายดานอื่นๆ รวมทั้งสิ้นประมาณ 136.45 ลานบาท จากการเจรจากับผูขายวัตถุดิบ ไดขอสรุปวาผูขายวัตถุดิบจะ ชดเชยคาปรับคุณภาพใหแกบริษัทฯ รวม 52.7 ลานบาท สวนที่เหลือเปนคาเสียหายที่เกิดจากการที่ราคาของสินคา และ วัตถุดิบลดต่ําลงมากอยางตอเนื่อง (Inventory Loss) และเนื่องจากสวนนี้เปนความเสียหายที่เกิดจากภาวะราคาตลาดโลกที่ ทั้งฝายบริษัทฯ และฝายผูขายวัตถุดิบตางตองแบกรับอยางหลีกเลี่ยงไมไดเชนเดียวกัน ผูขายวัตถุดิบจึงขอใหตางฝายตาง แบกรับภาระ Inventory Loss ของตนเอง บริษัทฯจึงไดบันทึกบัญชีเงินชดเชยคาปรับคุณภาพจํานวนนี้โดยลดตนทุนขาย สําหรับป 2549 ทั้งจํานวน ทั้งนี้ ผูขายวัตถุดิบไดออกใบลดหนี้ใหบริษัทฯ จํานวน 26 ลานบาทในเดือนพฤศจิกายน 2549 สวนที่เหลือจํานวน 26.7 ลานบาท ผูขายแจงวาจะพิจารณาวิธีการชดเชยใหในภายหลัง 17. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (หนวย: บาท)

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน รวม

อัตราดอกเบี้ย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (รอยละตอป) 2550 2549 2550 2549 3.5 - 5.5 110,233,504 142,377,323 110,233,504 142,377,323 4.0 - 5.29 110,000,000 585,000,000 110,000,000 585,000,000 220,233,504 727,377,323 220,233,504 727,377,323

บริษัทฯ บริษัทฯมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและสินเชื่อหมุนเวียนจากสถาบันการเงินหลายแหง ซึ่งค้ําประกันโดยการ จด จํานําเงินฝากประจํา บริษัทยอย VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. และบริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด มีวงเงินเบิกเกินบัญชีและ สินเชื่อหมุนเวียนจากสถาบันการเงินหลายแหง ซึ่งค้ําประกันโดยบริษัทฯ 18. เงินกูยืมระยะสั้นอื่น จํานวนนี้เปนตั๋วสัญญาใชเงินที่บริษัทฯและบริษัทยอยออกใหแกบุคคลภายนอก ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตรา รอยละ 4.0 - 5.0 ตอป (2549: รอยละ 5.0 ตอป) และมีกําหนดชําระคืนภายในหนึ่งป

86


งบการเงิน (หนวย: บาท)

(หนวย: บาท)

19. เงินกูยืมระยะยาว

เงินกูยมื ระยะยาว หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ถึงกําหนดชําระเกินกวาหนึ่งป

งบการเงินรวม 2550 2549 130,224,784 121,361,288 (73,499,453) (30,288,949) 56,725,331 91,072,339

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกูยืมระยะยาวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีรายละเอียด ดังนี้:(หนวย: บาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 บวก: รับเงินกู หัก: จายคืนเงินกู กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

งบการเงินรวม 121,361,288 31,007,663 (14,491,182) (7,652,985) 130,224,784

บริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 บริษัทฯไดเขาทําสัญญากูยืมเงินจากธนาคารพาณิชยในประเทศแหงหนึ่งใน วงเงินจํานวน 200 ลานบาท โดยเงินกูยืมดังกลาวจะนําไปใชในการเพิ่มทุนของบริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด เงินกูยืมคิดดอกเบี้ยในอัตราไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําสําหรับเงินใหกูยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยชําระดอกเบี้ย เปนรายเดือนและมีกําหนดชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือนงวดละ 40 ลานบาท และตองจายชําระคืนเงินตน ทั้ ง หมดภายในเดื อ นมิ ถุ น ายน 2553 โดยเริ่ ม ชํ า ระงวดแรกในเดื อ นมิ ถุ น ายน 2551 เงิ น กู ยื ม ดั ง กล า วไม มี หลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯยังไมไดเบิกใชวงเงินดังกลาว ภายใต สั ญญาเงิ น กูยื ม ขา งตน ไดร ะบุข อ ปฏิ บั ติแ ละขอ จํ ากั ด บางประการ เช น การก อ ภาระผู กพั น ใน ทรัพยสินและการดํารงอัตราสวนทางการเงิน เปนตน บริษัทฯไดเขาทําสัญญาสินเชื่อกับสถาบันการเงินหลายแหง ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯมี วงเงินสินเชื่อที่ยังไมไดเบิกใชเปนจํานวน 2,343 ลานบาท (2549: 2,127 ลานบาท) ซึ่งวงเงินดังกลาวค้ําประกัน โดยการจดจํานําเงินฝากประจํา

87


งบการเงิน

87


งบการเงิน VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2547 VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. ไดเขาทําสัญญาเงินกูกับธนาคารเพื่อ การสงออกและนําเขาแหงประเทศไทยในวงเงินจํานวน 3.5 ลานดอลลารสหรัฐฯ โดยเงินกูยืมดังกลาวจะนําไปใชใน การกอสรางโรงกลั่นของบริษัท เงินกูยืมนี้มีกําหนดเบิกใชตามที่ระบุในสัญญาโดยเริ่มงวดแรกในเดือนตุลาคม 2547 และสิ้นสุดในเดือนกรกฎาคม 2548 มีระยะเวลาปลอดเงินตนสิบสองเดือนนับจากวันที่เบิกเงินกูงวดแรกหรือหกเดือน หลังจากวันที่เริ่มดําเนินกิจการแลวแตอยางใดจะถึงกอนและมีกําหนดชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือนงวดละ 0.35 ลานดอลลารสหรัฐฯ เริ่มตั้งแตเดือนตุลาคม 2549 และสิ้นสุดในเดือนตุลาคม 2553 โดยมีอัตราดอกเบี้ยเทากับ LIBOR บวกรอยละ 1.875 ตอป และมีกําหนดชําระดอกเบี้ยในวันที่ 30 เมษายน และ 31 ตุลาคมของทุกป สัญญาเงินกูขางตนไดระบุขอปฏิบัติและขอจํากัดบางประการ เชน สัดสวนการถือหุนของบริษัทฯในบริษัท ยอยดังกลาวตองไมต่ํากวารอยละ 50 ขอจํากัดในการจายเงินปนผล และขอจํากัดในการกอหนี้ เปนตน สัญญาเงินกูดังกลาวค้ําประกันโดยบริษัทฯและสัญญาใหความสนับสนุนทางการเงินจากผูถือหุนของบริษัท ยอย รวมทั้งยกผลประโยชนในกรมธรรมประกันภัยทรัพยสินใหแกผูใหกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เงินกูยืมดังกลาวมียอดคงคางจํานวน 99.2 ลานบาท (หรือ 2.9 ลาน ดอลลารสหรัฐฯ) และ 121.4 ลานบาท (หรือ 3.3 ลานดอลลารสหรัฐฯ) ตามลําดับ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550 PSDC ไดเขาทําสัญญาสินเชื่อกับสถาบันการเงินแหงหนึ่งวงเงินรวม 55 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยวงเงินกูระยะยาวจํานวน 45 ลานบาทและวงเงินกูเบิกเกินบัญชีและหนังสือค้ําประกันจํานวน 10 ลาน บาท เงินกูยืมระยะยาวคิดดอกเบี้ยในอัตราไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําสําหรับเงินใหกูยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยมี กําหนดชําระดอกเบี้ยทุกเดือน และชําระคืนเงินตนทุกเดือนๆ ละ 542,000 บาทเริ่มชําระเดือนกุมภาพันธ 2551 ภายใน เวลา 8 ป (รวมระยะเวลาปลอดเงินตน 1 ป) ภายใตสัญญาเงินกูยืมขางตนไดระบุขอปฏิบัติและขอจํากัดบางประการ เชน การกอภาระผูกพันในทรัพยสิน และการดํารงอัตราสวนทางการเงิน เปนตน วงเงินสินเชื่อขางตนค้ําประกันโดยการใชสิทธิการเชาที่ดินของบริษัทยอยเปนประกันและจํานองสิ่งปลูกสรางใน โครงการของบริษัทยอย

88


งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เงินกูยืมดังกลาวมียอดคงคางจํานวน 31 ลานบาท (2549: ไมมี) ซึ่งบริษัทยอยไมสามารถ ปฏิบัติตามเงื่ อนไขในการดํารงอัตราสวนทางการเงินบางอัตราตามสั ญญาเงินกู (ไมเกี่ยวของกับ การชํ าระหนี้เงินตนและ ดอกเบี้ย) และอาจมีผลทําใหเจาหนี้เงินกูดําเนินการบางประการตามที่ระบุในสัญญา ปจจุบันฝายบริหารของบริษัทยอยอยูใน ระหวางการเจรจาขอผอนปรนการผิดเงื่อนไขนี้และเชื่อวาจะไดรับการผอนปรนจากผูใหกู ดังนั้น ในการจัดทํางบการเงินรวม บริษัทฯจัดประเภทของเงินกูยืมของบริษัทยอยเปนหนี้สินหมุนเวียน ทั้งจํานวน บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ไดเขาทําสัญญากูยืมเงินจากธนาคารพาณิชยในประเทศแหง หนึ่งในวงเงินจํานวน 200 ลานบาท โดยเงินกูยืมดังกลาวจะนําไปใชในการกอสรางโรงงานและนําเขาเครื่องจักรในโครงการ ผลิตไบโอดีเซล เงินกูยืมคิดดอกเบี้ยในอัตราไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําสําหรับเงินใหกูยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยชําระ ดอกเบี้ยเปนรายเดือนและมีกําหนดชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือน งวดละ 8 ลานบาท เริ่มตั้งแตเดือนธันวาคม 2551 ถึง เดือนธันวาคม 2556 และงวดละ 16 ลานบาท ตั้งแตเดือนมีนาคม 2557 เปนตนไป และตองจายชําระคืนเงินตนทั้งหมดภายใน เดือนมิถุนายน 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทยอยยังไมไดเบิกใชวงเงินดังกลาว ภายใตสัญญาเงินกูยืมขางตนไดระบุขอปฏิบัติและขอจํากัดบางประการ เชน สัดสวนการถือหุนของ บริษัทฯในบริษัท ยอยดังกลาวตองไมต่ํากวารอยละ 51 ขอจํากัดในการจายเงินปนผล การกอภาระผูกพัน ในทรัพยสินและการดํารง อัตราสวนทางการเงิน เปนตน สัญญาเงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยการจดจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางรวมทั้งสิ่งปลูกสรางที่จะมีขึ้นในอนาคตของ บริษัทยอย นอกจากนั้น บริษัทยอยจะตองดําเนินการจดทะเบียนจํานําเครื่องจักรใหแลวเสร็จไมเกินเดือนธันวาคม 2551 20. หนี้สินหมุนเวียนอื่น (หนวย: บาท)

เงินรับลวงหนาจากลูกคา เงินรับลวงหนาจากการขายสินทรัพย ภาษีสรรพสามิตคางจาย ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย คาใชจายคางจาย อื่น ๆ รวม

งบการเงินรวม 2550 2549 17,525,913 20,493,680 84,503,929 56,475,231 37,302,232 72,796,122 2,165,839 58,889,981 27,968,116 15,969,629 10,925,330 98,855,197 306,160,805

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 4,906,738 15,116,321 56,475,231 37,302,232 69,049,703 53,183,614 4,488,452 4,722,509 7,603,458 188,337,795 64,510,463

89


งบการเงิน 21. ทุนเรือนหุน 2549 เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2549 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2549 ไดมีมติอนุมัติใหเพิ่มทุนจดทะเบียนของ บริษัทฯจาก 424,040,000 บาท เปน 530,048,171 บาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 106,008,171 หุน มูล คาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เพื่อจายเปนหุนปนผลจํานวน 104,593,171 หุน และเพื่อรองรับการปรับอัตราการใชสิทธิ ของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 1 ที่ไดรับผลกระทบจากการจายหุนปนผลจํานวน 1,415,000 หุน บริษัทฯไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2549 ในระหวางป 2549 บริษัทฯไดจายหุนปนผลจํานวน 104,593,070 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 104,593,070 บาท บริษัทฯไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2549 ในเดือนพฤศจิกายน 2549 บริษัทฯไดรับเงินเพิ่มทุนจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ (RPC-W1) จํานวน 3,294,677 หุน ราคาหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 3,294,677 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของ บริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้นเปน 526,260,433 บาท บริษัทฯไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2549 2550 ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริษัทฯไดรับเงินเพิ่มทุนจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ (RPC-W1) จํานวน 3,609,796 หุน ราคาหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 3,609,796 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของ บริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้นเปน 529,870,229 บาท บริษัทฯไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2550 รายการกระทบยอดจํานวนหุนสามัญ (หนวย: หุน) 2550 หุนสามัญจดทะเบียน จํานวนหุนสามัญ ณ วันตนป เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มทุนจดทะเบียน จํานวนหุนสามัญ ณ วันปลายป

90

530,048,171 530,048,171

2549 424,040,000 106,008,171 530,048,171


งบการเงิน (หนวย: หุน) หุนสามัญที่ออกและชําระแลว จํานวนหุนสามัญ ณ วันตนป หุนปนผลจาย เพิ่มขึ้นจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ จํานวนหุนสามัญ ณ วันปลายป

2550

2549

526,260,433 3,609,796 529,870,229

418,372,686 104,593,070 3,294,677 526,260,433

22. ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2548 บริษัทฯไดออกใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญของบริษัทฯชนิดระบุชื่อผูถือและเปลี่ยนมือ ไมได (RPC-W1) ใหแกกรรมการ ที่ปรึกษา ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯและบริษัทยอยจํานวน 8,490,000 หนวย โดย แบงออกเปน 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 จํานวน 2,830,108 หนวย ฉบับที่ 2 จํานวน 2,829,987 หนวย และฉบับที่ 3 จํานวน 2,829,905 หนวย ในราคาเสนอขาย 0 บาทตอหนวย ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวมีอายุไมเกิน 36 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 โดยมีอัตราการใชสิทธิคือ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคาใชสิทธิ 1 บาทตอ 1 หุนสามัญ (เวนแตจะมีการปรับราคาและอัตราการใชสิทธิ) และมีระยะเวลาการใชสิทธิดังนี้ -

ฉบับที่ 1 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 ฉบับที่ 2 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 ฉบับที่ 3 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2550

ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวมิไดจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตอมาเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2549 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2549 มีมติอนุมัติเปลี่ยนแปลงการใชสิทธิในโครงการ ESOP ครั้งที่ 1 โดยสาระสําคัญของการแกไขการใชสิทธิดังกลาวสรุปไดดังนี้ อัตราการใชสิทธิเดิม อัตราการใชสิทธิใหม วันที่เริ่มมีผลบังคับใช จํานวนหุนรองรับเดิมคงเหลือ จํานวนหุนรองรับเพิ่มเติม จํานวนหุนรองรับรวม ณ วันที่อนุมัติ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย: หุนสามัญ 1 หุน ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย: หุนสามัญ 1.25 หุน วันที่ 31 มีนาคม 2549 8,490,000 หุน 1,415,000 หุน 9,905,000 หุน

91


งบการเงิน รายการเคลื่อนไหวของใบสําคัญแสดงสิทธิมีรายละเอียดดังนี้ หนวย 3,024,131* (2,889,092) (135,039) -

ใบสําคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญในระหวางป หมดอายุในระหวางป ใบสําคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 *

ใบสําคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 รวมใบสําคัญแสดงสิทธิที่โอนใหผูรับชวงซื้อ หลักทรัพยจํานวน 194,226 หนวย

23. กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไรสุทธิสําหรับปดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่ออกอยูใน ระหวางป กําไรตอหุนปรับลดคํานวณโดยหารกําไรสุทธิสําหรับป 2549 ดวยผลรวมของจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ย ถวงน้ําหนัก ที่ออกอยูในระหวางปกับจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่บริษัทฯอาจตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญเทียบเทาปรับ ลดทั้งสิ้นใหเปนหุนสามัญ โดยสมมติวาไดมีการแปลงเปนหุนสามัญ ณ วันตนปหรือ ณ วันออกหุนสามัญเทียบเทา

การกระทบยอดระหวางกําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและกําไรตอหุนปรับลดสําหรับป 2549 แสดงไดดังนี้

กําไรสุทธิ บาท

งบการเงินรวม จํานวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก หุน

183,383,151

523,255,152

กําไรตอหุน บาท

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิ

0.35

ผลกระทบของหุนสามัญเทียบเทาปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ (RPC-W1) กําไรตอหุนปรับลด กําไรที่เปนของผูถือหุนสามัญ สมมติวามีการใชสิทธิซื้อหุนสามัญ

92

-

183,383,151

263,724

523,518,876

0.35


งบการเงิน

กําไรสุทธิ บาท (ปรับปรุงใหม)

งบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก หุน

กําไรตอหุน บาท (ปรับปรุงใหม)

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิ

164,422,149

523,255,152

0.31

ผลกระทบของหุนสามัญเทียบเทาปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ (RPC-W1) กําไรตอหุนปรับลด กําไรที่เปนของผูถือหุนสามัญ สมมติวามีการใชสิทธิซื้อหุนสามัญ

-

164,422,149

263,724

523,518,876

0.31

จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักคํานวณไดดังนี้ (หนวย: หุน) 31 ธันวาคม จํานวนหุนสามัญที่ออกและชําระแลว ณ วันตนป จํานวนหุนปนผลจาย จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกในระหวางป จํานวนหุนสามัญที่ออกและชําระแลว ณ วันสิ้นป

2550 526,260,433 350,637 526,611,070

2549 418,372,686 104,593,070 289,396 523,255,152

24. สํารองตามกฎหมาย เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯตองจัดสรรกําไรสุทธิ ประจําปสวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจาํ นวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไป จายเงินปนผลได ในระหวางป 2549 บริษัทฯไดจัดสรรเงินสํารองตามกฎหมายเพิ่มเติมจํานวน 10,600,817 บาท

93


งบการเงิน 25. เงินปนผลจาย เงินปนผลที่ประกาศจายในป 2550 และ 2549 ของบริษัทฯประกอบดวย (หนวย: บาท) เงินปนผล อนุมัติโดย เงินปนผลจายงวดสุดทายประกาศ ที่ประชุมสามัญประจําปผูถือหุน จากกําไรของป 2549 วันที่ 5 เมษายน 2550 เงินปนผลจายระหวางกาลจากการ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ดําเนินงานตั้งแตวันที่ 1 มกราคม วันที่ 9 สิงหาคม 2550 2550 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2550 รวมเงินปนผลสําหรับป 2550 เงินปนผลจายงวดสุดทายประกาศ ที่ประชุมสามัญประจําปผูถือหุน จากกําไรของป 2548* วันที่ 31 มีนาคม 2549 เงินปนผลจายระหวางกาลจากการ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ดําเนินงานตั้งแตวันที่ 1 มกราคม วันที่ 9 สิงหาคม 2549 2549 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2549 รวมเงินปนผลสําหรับป 2549

เงินปนผลจาย

เงินปนผลจาย ตอหุน

52,626,043

0.10

63,151,252 115,777,295

0.12 0.22

146,430,440

0.35

130,741,438 277,171,878

0.25 0.60

*

เงินปนผลงวดสุดทายประกาศจากกําไรของป 2548 มีรายละเอียดการจายเงินปนผลดังนี้

ก)

จายปนผลเปนเงินสดในอัตราหุนละ 0.10 บาท หรือเปนเงิน 41,837,269 บาท

ข)

จายปนผลเปนหุนสามัญของบริษัทฯจํานวน 104,593,070 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) ใหแกผูถือหุน ของบริษัทฯในอัตรา 4 หุนสามัญเดิมตอ 1 หุนสามัญปนผล รวมมูลคาทั้งสิ้น 104,593,070 บาท คิดเปนเงินปน ผลหุนละ 0.25 บาท ทั้งนี้ กรณีมีเศษหุนนอยกวา 4 หุน ใหจายเปนเงินสดแทนการจายเปนหุนสามัญปนผล สําหรับเศษหุนดังกลาวในอัตราหุนละ 0.25 บาท ใหแกผูถือหุนผูมีสิทธิ

94


งบการเงิน 26. รายไดจากการขาย รายไดจากการขายสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 แสดงไดดังนี้ (หนวย: บาท)

รายไดจากการขาย หัก: รายการขายคืนน้ํามันตามสัญญา รายไดจากการขาย - สุทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 2550 2549 21,031,373,934 19,817,334,739 18,722,014,052 17,175,147,775 (305,308,700) (363,683,300) (305,308,700) (363,683,300) 20,726,065,234 19,453,651,439 18,416,705,352 16,811,464,475

บริษัทฯไดเขาทําสัญญาซื้อขายน้ํามันเพื่อใชเปนปริมาณสํารองตามกฎหมายกับบริษัทผูคาน้ํามัน หลายแหงโดยมี เงื่อ นไขว า บริษั ทฯต อ งขายคืนน้ํ ามั นดัง กลา วใหแ ก บ ริษั ท เหลา นั้ น เมื่อ ครบกําหนดตามอายุ ข องสัญ ญา และบริ ษัท ฯเป น ผูรับผิดชอบเกี่ยวกับคาใชจายตางๆที่เกี่ยวของ เชน คาเบี้ยประกันภัย คาเชาถังเก็บ น้ํามัน เปนตน บริษัทฯบันทึกรายการขาย คืนน้ํามันดังกลาวเปนรายการหักจากรายไดจากการขายในงบกําไร ขาดทุน

27. จํานวนและคาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน จํานวนพนักงาน ณ วันสิ้นป (คน) คาใชจายเกี่ยวกับพนักงานสําหรับป (พันบาท)

งบการเงินรวม 2550 2549 985 773 271,398 216,729

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550 2549 280 300 212,031 182,363

28. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ บริษัทยอยและพนักงานบริษัทฯและบริษัทยอยไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพขึ้นตาม พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริษัทฯ บริษัทยอยและพนักงานจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือน ในอัตรารอยละ 5 - 10 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) และจะ จายใหแกพนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯ ในระหวางป 2550 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจายเงินสมทบกองทุนเปนจํานวนเงิน 8.6 ลานบาท (2549: 8.6 ลานบาท) 29. ขอมูลทางการเงินจําแนกสวนงาน บริษัทฯและบริษัทยอยดําเนินกิจการใน 2 สวนงานหลัก คือ ธุรกิจผลิตและจําหนายผลิตภัณฑปโตรเลียมและป โตรเคมี และธุรกิจขนสงน้ํามัน โดยมีสวนงานทางภูมิศาสตร 2 แหง คือ ประเทศไทยและประเทศเวียตนาม ขอมูล ทางการเงินจําแนกตามสวนงานภูมิศาสตรและสวนงานธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทยอยสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดังตอไปนี้

95


งบการเงิน เวียตนาม ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเลียม และปโตรเคมี 2550 2549 รายไดจากการขายและบริการจากภายนอก ในประเทศ ตางประเทศ รวมรายไดจากการขายและบริการจากภายนอก รายไดจากการขายและบริการระหวางสวนงาน ในประเทศ รวมรายไดจากการขายและบริการระหวาง สวนงาน รวมรายไดทั้งสิ้น กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานตามสวนงาน รายไดและคาใชจายที่ไมไดปนสวน: รายไดอื่น ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินไดนิติบคุ คล ขาดทุนสุทธิสวนทีเ่ ปนของผูถือหุนสวนนอย ของบริษัทยอย กําไรสุทธิสําหรับป สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยอื่น รวมสินทรัพย

-

-

-

4 177 26 207

ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเลียม และปโตรเคมี 2550 2549 17,221 3,514 20,735

15,447 3,969 19,416

-

10,032

-

10,032 30,767 556

38 38

(21)

ไทย

38 (37)

4 205 26 235

1,608 765 2,104 4,477

ขนสงน้ํามัน 2550 2549

2550

2549 15,495 4,007 19,502

-

-

17,254 3,514 20,768

15,495 4,007 19,502

48

7,071

196

194

10,228

7,265

(10,228)

(7,265)

-

-

7,071 26,487 254

196 229 15

194 242 16

10,228 30,996 550

7,265 26,767 233

(10,228) (10,228) (3)

(7,265) (7,265) -

20,768 547

19,502 233

10 (31) (143)

40 (42) (70)

18 401

22 183

1,610 962 1,283 3,855

1,170 923 1,234 3,327

-

-

21 45 66

บริษัทฯและบริษัทยอยใชเกณฑในการกําหนดราคาระหวางกันตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 9

96

งบการเงินรวม 2550 2549

33

-

48

การตัดรายการ บัญชีระหวางกัน 2550 2549

17,254 3,514 20,768

1,166 682 1,856 3,704

33

รวม

36 38 74

1,612 963 2,175 4,750

1,170 923 1,920 4,013

(2) (1) (892) (895)

(686) (686)


งบการเงิน 30. หนังสือค้ําประกัน ก)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯมีหนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯและบริษัทยอยเหลืออยู เปนจํานวนเงิน 125.0 ลานบาทและ 13.1 ลานดอลลารสหรัฐฯ (2549: 93.6 ลานบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระ ซึ่งประกอบดวย หนังสือ ผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทยอย ค้ําประกันเพื่อค้ําประกันการจายชําระเงินใหกับเจาหนี้จํานวน 121.3 ลานบาท และ 13.1 ลานดอลลารสหรัฐฯ เพื่อค้ําประกันการใชไฟฟาและอื่นๆจํานวน 3.7 ลานบาท

ข)

บริษัทฯไดออกหนังสือค้ําประกันเปนจํานวนเงิน 7 ลานดอลลารสหรัฐฯ (2549: 7 ลานดอลลารสหรัฐฯ) ใหแก ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทยเพื่อค้ําประกันวงเงินกูและวงเงินสินเชื่อใหแกบริษัทยอยใน ตางประเทศ การค้ําประกันนี้มีผลผูกพันตอบริษัทฯนานเทาที่ภาระหนี้สินที่ยังไมไดชําระโดยบริษัทยอยดังกลาว บริษัทฯไมมีการคิดคาธรรมเนียมในการค้ําประกัน นอกจากนี้ ผูถือหุนทุกรายของบริษัทยอยไดเขาทํา Shareholder Guarantee Agreement กับบริษัทฯเพื่อค้ําประกันวงเงินกูและวงเงินสินเชื่อของบริษัทยอยตาม สัดสวนการถือหุนของผูถือหุน

ค)

บริษัทฯไดออกหนังสือค้ําประกันเปนจํานวนเงิน 3.5 ลานดอลลารสหรัฐฯ (2549: 3.5 ลานดอลลารสหรัฐฯ) ใหแกธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย และจํานวนเงิน 120.0 ลานบาท (2549: 120.0 ลาน บาท) ใหแกธนาคารไทยธนาคาร จํากัด (มหาชน) เพื่อค้ําประกันวงเงินกูและวงเงินสินเชื่อของบริษัท เพียวไบโอ ดีเซล จํากัด (“บริษัทยอย”) การค้ําประกันนี้มีผลผูกพันตอบริษัทฯนานเทาที่ภาระหนี้สินที่ยังไมไดชําระโดย บริษัทยอยดังกลาว บริษัทฯไมมีการคิดคาธรรมเนียมในการค้ําประกัน

ง)

บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด (“SCT”) ไดออกหนังสือค้ําประกันใหแกบริษัทลีสซิ่งแหงหนึ่งเพื่อค้ําประกัน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินของบริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด (“บริษัทยอย”) การค้ําประกันนี้มีผลผูกพันตอ SCT นานเทาที่ภาระหนี้สินที่ยังไมไดชําระโดยบริษัทยอยดังกลาว ยอดคงคางของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินของ บริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีจํานวน 0.8 ลานบาท (2549: 3.2 ลานบาท)

31. ภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันดังนี้ ก)

บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันรายจายฝายทุนเกี่ยวกับการกอสรางโรงงาน คลังน้ํามัน สถานีบริการ น้ํามันเชื้อเพลิงและรานคาภายในสถานี และซื้อเครื่องจักรจํานวนเงิน 41 ลานบาท และ 5 ลาน ดอลลารสหรัฐฯ (2549: 58 ลานบาท)

97


งบการเงิน ข)

บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันตามสัญญาเชาและบริการระยะยาวเกี่ยวกับการเชาที่ดิน อาคาร สํานักงาน คลังน้ํามัน สถานีบริการน้ํามัน และอุปกรณดังนี้ จายชําระภายใน 1 ป 2 ถึง 5 ป หลังจาก 5 ป

ลานบาท 85.4 129.4 52.8

ค)

บริษัทยอยมีภาระผูกพันตามสัญญาเชาที่ดินซึ่งมีระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดป 2575 โดยมีการปรับอัตราคา เชาทุกๆ 5 ป คิดเปนจํานวนเงิน 56.9 ลานบาท

ง)

บริษัทฯและกลุมผูถือหุนของบริษัทยอยแหงหนึ่ง (VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd.) มี ภาระผูกพันในการสนับสนุนทางการเงินและจัดหาเงินทุนหมุนเวียนตามสัดสวนการถือหุนของ ผูถือ หุนเพื่อดําเนินงานโครงการของบริษัทยอยดังกลาวใหแลวเสร็จในกรณีเงินลงทุนของโครงการเกินกวา 7 ลานดอลลารสหรัฐฯ ภายใตสัญญาสนับสนุนทางการเงิน ทั้งนี้เปนไปตามเงื่อนไขของสัญญาเงินกู ระหวางบริษัทยอยและธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย

จ)

ในป 2538 บริษัทฯไดเขาทําสัญญาซื้อขายวัตถุดิบกับบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) โดยปริมาณการซื้อ ขายและราคาเปนไปตามที่ระบุไวในสัญญา สัญญาดังกลาวมีระยะเวลา 15 ปสิ้นสุดป 2555 โดยสามารถ ตออายุได และกําหนดใหบริษัทฯตองวางหนังสือค้ําประกันธนาคารจํานวนหนึ่งเพื่อเปนหลักประกัน การจายชําระคาซื้อสินคา บริษัทฯจะไดรับคืนหลักประกันดังกลาวเมื่อครบกําหนดอายุสัญญา

ฉ)

ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริษัทยอยไดเขาทําสัญญาซื้อขายไอน้ํากับบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด (“PTTUT”) โดยปริมาณการซื้อขายและราคาเปนไปตามที่ระบุไวในสัญญา สัญญาดังกลาวมีระยะเวลา 15 ปนับจากวันที่อุปกรณพรอมใชงานซึ่งจะถูกกําหนดโดย PTTUT แตภายในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 โดยสามารถตออายุไดอีก 5 ป

98


งบการเงิน 32. เครื่องมือทางการเงิน 32.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สําคัญของบริษัทฯและบริษัทยอยตามที่นิยามอยูในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดงรายการและการเปดเผยขอ มูลสําหรับเครื่ องมือทางการเงิน” ประกอบดว ย เงินสดและรายการ เทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เงินใหกูยืมระยะสั้นและระยะยาว เงินลงทุน เงินกูยืมระยะสั้นและระยะยาว บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายการบริหารความ เสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม ลูกหนี้อื่น และตั๋วเงินรับ ฝายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกําหนดใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่ เหมาะสม ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทยอยจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสําคัญจากการใหสินเชื่อ นอกจากนี้ การใหสินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทยอยไมมีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยมีฐาน ของลูกคาที่หลากหลายและมีอยูจํานวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทยอยอาจตองสูญเสียจาก การใหสินเชื่อคือ มูลคาตามบัญชีของลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม ลูกหนี้อื่นและตั๋วเงินรับหักดวยคาเผื่อหนี้สงสัย จะสูญตามที่แสดงอยูในงบดุล ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงิน ใหกูยืม เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูยืมที่มีดอกเบี้ย อยางไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวน ใหญมีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯและบริษัทยอยจึงอยูในระดับต่ํา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่สําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสําหรับสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ ครบกําหนด หรือ วันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหมถึงกอน) ไดดังนี้

99


งบการเงิน อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกวา 1 มากกวา ปรับขึ้นลงตาม ไมมีอัตรา 1 ป ถึง 5 ป 5 ป ราคาตลาด ดอกเบี้ย (ลานบาท) สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระ ค้ําประกัน เงินใหกูยืมระยะสัน้ อื่น หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะ สั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะสั้นอืน่ เจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

รวม

อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

-

-

-

61 -

51 46 512 3

112 46 512 3

0.5 - 1.5 -

17 17

-

-

120 181

612

120 17 810

2.25 - 2.5 5.0

110 52 -

-

-

110 130

1,597 45 -

220 1,597 52 45 130

1 163

-

-

240

1,642

1 2,045

3.25 - 3.75 4.0 - 5.0 LIBOR + 1.875, MLR - 0.5 3.99 - 7.55

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินคา และการกูยืมหรือใหกูยืมเงินเปนเงินตราตางประเทศ บริษัทฯและบริษัทยอยไดตกลงทําสัญญาขายเงินตรา ตางประเทศลวงหนา ซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่งปเพื่อใชเปนเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯและบริษัทยอยมียอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่ เปนสกุลเงินตราตางประเทศดังนี้ สินทรัพย หนี้สิน อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย สกุลเงิน ทางการเงิน ทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 (ลาน) (ลาน) (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) ดอลลารสหรัฐฯ

100

10.5

2.9

33.77


งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทฯมีสัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือจํานวนเงิน 10.2 ลาน ดอลลารสหรัฐฯ อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาของจํานวนที่ขายเทากับ 33.53 - 33.85 บาทตอ 1 ดอลลารสหรัฐฯ 32.2 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญของบริษัทและบริษัทยอยฯจัดอยูในประเภทระยะสั้น เงินใหกูยื มและเงิ นกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคี ยงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและ บริ ษัทยอยจึ ง ประมาณมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันในขณะที่ทั้งสองฝายมี ความรอบรู และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะที่ไมมีความ เกี่ยวของกัน วิธีการกําหนดมูลคายุติธรรมขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกําหนด จากราคาตลาดลาสุด หรือกําหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคาที่เหมาะสม 33. เหตุการณภายหลังวันที่ในงบการเงิน ก)

เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2551 PTEC ไดเขาซื้อหุนของบริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (“SAP”) จากผูถือหุนเดิม จํานวน 15,300 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท) คิดเปนรอยละ 51 ของทุนจดทะเบียนและชําระแลวเปน จํานวนเงิน 1.53 ลานบาท ตอมา เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2551 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนมีมติให SAP เพิ่มทุนจด ทะเบียนจากเดิม 3 ลานบาท (หุนสามัญ 30,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท) เปน 5 ลานบาท (หุนสามัญ 50,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท) โดยการออกจําหนายหุนสามัญใหมจํานวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ใหแกผูถือหุนในสัดสวนเดิมในราคาหุนละ 125 บาท และในเดือนกุมภาพันธ 2551 PTEC ไดจายชําระเงิน คาหุนจํานวน 1,275,000 บาทแลว ซึ่ง SAP ไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2551

ข)

ในเดือนมกราคม 2551 VTN-P ไดรับเงินคาขายสินทรัพยงวดที่ 2 ในอัตรารอยละ 65 ของมูลคาตามสัญญาเปน จํานวน 5.43 ลานดอลลารสหรัฐฯ และบันทึกในบัญชีหนี้สินหมุนเวียนอื่น ตอมา VTN-P ไดจายชําระเงินกูยืม ระยะยาวทั้งจํานวนใหแกธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย ซึ่งธนาคารไดดําเนินการยกเลิก ภาระผูกพันในการค้ําประกันตางๆ ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอที่ 19 แลว

101


งบการเงิน ค)

เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯไดมีมติอนุมัติใหซื้อคืนหุนสามัญของบริษัทฯเพื่อ การบริหารสภาพคลองสวนเกินในวงเงินไมเกิน 220 ลานบาท และจํานวนหุนไมเกิน 52,987,022 หุน ซึ่งคิด เปนรอยละ 10 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมด โดยมีระยะเวลาซื้อหุนคืนตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2551 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 คณะกรรมการบริษัทฯจะพิจารณาวิธีการและระยะเวลาในการจําหนายหุนทุนซื้อคืนภาย หลังจาก 6 เดือนนับแตการซื้อหุนคืนเสร็จสิ้นแตไมเกิน 3 ป

ง)

ในเดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธ 2551 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ไดเรียกชําระคาหุนสวนที่เหลือรวม จํานวน 76 ลานบาท และบริษัทฯไดจายชําระเงินคาหุนจํานวน 47.5 ลานบาทแลว

จ)

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2551 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2551 ไดมีมติเสนอขออนุมัติตอ ที่ ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2551 ในวันที่ 3 เมษายน 2551 ดังนี้ 1)

เสนอขออนุมัติเพื่อจายเงินปนผลงวดสุดทายสําหรับผลประกอบการของป 2550 เปนเงินสดในอัตรา หุนละ 0.3 บาท

2)

เสนอขออนุมัติเพื่อดําเนินการลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 530,048,171 บาทเปน 529,870,229 บาท โดย การตัดหุนสามัญที่ยังไมไดออกจําหนายคงเหลือจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ จํานวน 177,942 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท

34. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน นอกจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีตามที่กลาวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4.1 ซึ่งมีผลกระทบ ตอกําไรสุทธิและสวนของผูถือหุนตามที่ไดรายงานไปแลว บริษัทฯไดมีการจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการใน งบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ใหมเพื่อใหสอดคลองกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปปจจุบัน ซึ่งไมมีผลกระทบตอกําไรสุทธิหรือสวนของผูถือหุนนอกเหนือไปจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาว 35. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2551

102


Annual Report 2550

รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอำนาจ ควบคุมของบริษทั ฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

นายวีระวัฒน์ ชลวณิช ประธานกรรมการ 63 ปี - Senior Executive Program Massachusetts Institute of Technology (MIT) - MBA, Oregon State University, USA - Associate Diplomas, Industrial Management, Goteborg University, Sweden - พศ.บ. (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP:Directors Accreditation Program สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย 106,125 หุ้น / 0.020% 2543- ปัจจุบนั 2541- ปัจจุบนั 2540- ปัจจุบนั 2539- ปัจจุบนั 2537- ปัจจุบนั 2535- ปัจจุบนั 2531-ปัจจุบนั

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ คอนสตรัคชั่น กรรมการ

บจก. วังน้ำเขียว ไวน์เนอรี่ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ บจก. เอส ที เอฟ อี บจก. สยาม สตีล เทาเวอร์ บจก. ศรีอทู่ อง บจก. ซิกม่าคอนกรีต แอนด์ บจก. สยาม สตีล เกรทติง้

103


ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผูจ้ ดั การ 52 ปี - MBA มหาวิทยาลัยบูรพา - วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย - Finance for Non-Finance Directors 10,071,124 หุน้ / 1.901% 2546 – ปัจจุบนั กรรมการผู้จัดการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย 2544 – 2547 กรรมการ บจก. สยามกัลฟ์ ปิโตรเคมีคัล 2543 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. แบค บราเดอร์ 2539 – ปัจจุบนั กรรมการบริหาร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2536 – 2539 ผูจ้ ดั การฝ่ายก่อสร้างโครงการ บมจ. อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการ / กรรมการบริหาร 53 ปี - วศ.บ. (ไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ธนบุร)ี - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย 9,312,375 หุน้ / 1.757% 2546 – ปัจจุบนั 2549 – ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2546 – 2546 2545 – ปัจจุบนั 2545 – ปัจจุบนั 2545 – ปัจจุบนั 2544 – ปัจจุบนั 2544 – ปัจจุบนั

104

กรรมการ บจก. เบญจปิโตรเลียม กรรมการ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ กรรมการ บจก. จตุจกั ร ออยล์ กรรมการ บจก. บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม กรรมการผู้จัดการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ กรรมการ VTN-P Petrochemical Joint Venture Co.,Ltd. กรรมการ บจก. อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม กรรมการ บจก. เมโทร ปิโตรเลียม กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย กรรมการ บจก. มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม


Annual Report 2550

2543 – 2547 2541 – ปัจจุบนั 2538 – ปัจจุบนั 2538 – ปัจจุบนั ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

กรรมการ บจก. สยามกัลฟ์ ปิโตรเคมีคัล ประธานกรรมการบริหาร บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท์ กรรมการ บจก. เอสซีที ปิโตรเลียม กรรมการบริหาร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์

นายสุมติ ร ชาญเมธี กรรมการ / กรรมการบริหาร 52ปี - วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย 42,350 หุน้ / 0.008% 2538 – ปัจจุบนั 2549 – ปัจจุบนั 2547 – ปัจจุบนั 2546 – ปัจจุบนั 2546 – ปัจจุบนั 2546 – ปัจจุบนั 2545 – ปัจจุบนั 2545 – ปัจจุบนั 2545 – ปัจจุบนั 2544 – ปัจจุบนั 2544 – ปัจจุบนั 2544 – ปัจจุบนั 2543 – 2547 2542 – ปัจจุบนั 2540 – ปัจจุบนั 2541 – 2542 2540 – 2541 2538 – 2540 2537 – 2538 2536 – 2537 2534 – 2536

กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ บจก. เพียวไบโอดีเซล บจก. จตุจกั ร ออยล์ บจก. บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม บจก. เบญจปิโตรเลียม VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. กรรมการ บจก. อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม กรรมการ บจก. เมโทร ปิโตรเลียม กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย กรรมการ บจก. มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม กรรมการ บจก. จตุรทิศขนส่ง กรรมการ บจก. สยามกัลฟ์ปิโตรเคมีคัล กรรมการ บจก. เอสซีที ปิโตรเลียม กรรมการ บจก. ลอจิก คอนซัลแตนท์ กรรมการและผู้จัดการทั่วไป บจก. บางกอกแคน เมนนูแฟคเตอร์รง่ิ ทีป่ รึกษาบริหาร บจก. สยามพาราฟินส์ (ในเครือปูนซีเมนต์ไทย) กรรมการผู้จัดการ บจก. ปิโตรเชน กรรมการผู้จัดการ บมจ. บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ผู้จัดการทั่วไป บจก. บางกอกอินดัสเตรียลแก๊ส รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. บางจากปิโตรเลียม

105


ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

106

นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ กรรมการ / ประธานคณะกรรมการบริหาร 51 ปี - วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมเคมีและคอมพิวเตอร์ควบคุม โรงงาน) มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตดาวิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ระดับสูง (ระหว่างศึกษาระดับ ปริญญาโท) มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สเตท โพลิเทคนิค วิทยาเขตโพโมนา รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (สาขาวิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย 11,662,375 หุน้ / 2.201% 2543 – ปัจจุบนั ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2547 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย 2543 – 2547 กรรมการผู้จัดการ บจก. สยามกัลฟ์ ปิโตรเคมีคัล 2541 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ออนเนสท์ แอนด์ เอฟิเชียน 2539 – 2543 กรรมการผู้จัดการ บจก. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2537 – 2538 ประธานกรรการ บจก. ออนเนสท์ แอนด์ เอฟิเชียน 2535 – 2536 ผู้จัดการโครงการ บจก. สีชังสยามโซลเวนท์ และ บจก. สีชงั ทอง เทอร์มนิ ลั 2530 – 2534 วิศวกรโครงการ บจก. บางจากปิโตรเลียม 2524 – 2529 วิศวกรกระบวนการผลิตและควบคุม บจก. เอสโซ่ ประเทศไทย 2522 – 2523 วิศวกร บจก. น้ำมันพืชอุตสาหกรรม


Annual Report 2550

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข กรรมการ 50 ปี - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วท.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย - Board Performance Evaluation : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 3,920,750 หุน้ / 0.740% 2539 – ปัจจุบนั 2550-ปัจจุบนั 2544 – 2547 2534 – ปัจจุบนั

กรรมการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย กรรมการผู้อำนวยการ บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท์ กรรมการบริหาร บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท์

นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ กรรมการ 61 ปี - วท.บ. (เคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย 40,035,250 หุน้ / 7.556% 2548 – ปัจจุบนั 2542 – ปัจจุบนั 2546 – ปัจจุบนั 2542 – ปัจจุบนั 2536 – 2541

กรรมการ บจก.จตุรทิศขนส่ง กรรมการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ ประธานกรรมการ บจก. เอสซีที ปิโตรเลียม กรรมการ บมจ. เชอร์วดู้ เคมิคอล ผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจน้ำมันเชื้อเพลิงอุตสาหกรรม บจก. เชลล์แห่งประเทศไทย

107


ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

108

ดร. วิชติ แย้มบุญเรือง ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 66 ปี - Ph.D. School of Public and International Affairs, University of Pittsburgh, USA - MA, Economic, Columbia University, USA - เศรษฐศาสตร์บัณฑิต คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย - Audit Committee Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - The Role of Chairman : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 35,375 หุน้ / 0.007% 2546 – ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมตรวจสอบ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2543 – ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมตรวจสอบ บมจ. จัสมินอินเตอร์เนชัน่ แนล 2542 – ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการ บจก. โกลเบิลบอนด์ 2522 – 2543 ผู้อำนวยการธุรกิจการกลั่น การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย


Annual Report 2550

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

นายอานุภาพ จามิกรณ์ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 53 ปี - ปริญญาโท Chemical Engineering, University of Tennessee (Knoxville), USA - วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย - Audit Committee Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 106,125 หุ้น / 0.020% 2546 – ปัจจุบนั กรรมการตรวจสอบ 2535 – 2544 กรรมการบริหาร 2522 – 2535 ผูจ้ ดั การฝ่าย

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ บจก.คูเวตปิโตรเลียม (ประเทศไทย) บมจ. เอสโซ่สแตนดาร์ดประเทศไทย

นายพิพธิ พิชยั ศรทัต กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 46 ปี - ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รัฐศาสตร์บัณฑิต สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย - Audit Committee Program : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - CEO Succession & Effective Leadership Development: สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย 106,125 หุ้น / 0.020% 2546 – ปัจจุบนั 2545 – ปัจจุบนั 2549 – ปัจจุบนั 2545 – ปัจจุบนั 2544 – ปัจจุบนั 2543 – ปัจจุบนั 2543 – ปัจจุบนั 2543 – ปัจจุบนั

กรรมการตรวจสอบ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ กรรมการ บมจ. สัมมากร กรรมการ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ กรรมการ บมจ. ไทยประกันภัย กรรมการ บจก. สุวรรณชาต ในพระบรมราชูปถัมถ์ กรรมการผู้จัดการ บจก. มงคลชัยพัฒนา ผู้ช่วยผู้จัดการ สำนักงานจัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ รองผู้อำนวยการ โครงการพัฒนาส่วนพระองค์

109


ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

110

นางศิรพร กฤษณกาญจน์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ 52 ปี - MBA California State Polytechnic University, Pomona, USA - บช.บ. (ต้นทุน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1,157,990 หุน้ / 0.219% 2547 – ปัจจุบนั ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2546 – 2546 ผู้จัดการทั่วไปสายบริหารและการเงิน บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2546 – ปัจจุบนั รักษาการผู้จัดการสำนักตรวจสอบภายใน บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2548 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เพียวพลังงานไทย 2547 – 2550 กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จตุจกั ร ออยล์ 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เบญจปิโตรเลียม 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เมโทร ปิโตรเลียม 2544 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม 2544 – 2550 กรรมการ บจก. จตุรทิศขนส่ง 2542 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอสซีที ปิโตรเลียม 2541 – 2546 กรรมการ บจก. โยธินปิโตรเลียม 2531 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. ออนเนสท์ แอนด์ เอฟิเชียน 2539 – 2541 Senior Vice President Budgeting / Accounting / Finance Department Bangkok Terminal Co., Ltd.


Annual Report 2550

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

นายบรรลือ ศรีโปดก เจ้าหน้าที่บริหารระดับสูง 50 ปี - MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วศ.บ. (ไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ธนบุร)ี 184,877 หุน้ / 0.035% 2550 – ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2539 – 2550 2546 – 2550 2546 – 2548 2546 – 2548 2546 – 2548 2545 – 2548 2545 – 2548 2544 – 2548 2544 – 2548

กรรมการผู้จัดการ เจ้าหน้าที่บริหารระดับสูง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บจก. เพียวไบโอดีเซล บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. จตุจกั ร ออยล์ บจก. เบญจปิโตรเลียม บจก. บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม บจก. อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม บจก. เมโทร ปิโตรเลียม บจก. มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม บจก. จตุรทิศขนส่ง

นายสมบูรณ์ ศิรชิ ยั นฤมิตร ผู้จัดการทั่วไปสายบริหารและการเงิน 43 ปี - เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 90,085 หุน้ / 0.017% 2550 – ปัจจุบนั ผู้จัดการทั่วไปสายบริหารและการเงิน บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2548 – 2549 ผู้จัดการทั่วไปสายการเงิน บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2546 – 2547 ผู้อำนวยการสายการเงินและบริหาร บมจ. เอเชียน มารีน เซอร์วสิ ส์ 2546 – 2547 ผู้อำนวยการสายการเงินและบริหาร บมจ. เอเชียน มารีน เซอร์วสิ ส์ 2540 – 2545 ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บมจ. เอเชียน มารีน เซอร์วสิ ส์

111


ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

112

นางสาวกนกพร จารุกลุ วนิช เจ้าหน้าที่บริหารระดับสูง 40 ปี - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ปริญญาตรี วท.บ. สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 184,412 หุ้น / 0.035% 2548 – ปัจจุบนั ผู้จัดการทั่วไปสายการตลาด บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2548 – 2548 ผู้จัดการทั่วไปสายการตลาดและธุรกิจค้าส่ง บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จตุจกั ร ออยล์ 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. บูรพารุง่ โรจน์ ปิโตรเลียม 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เบญจปิโตรเลียม 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. อิสานรุง่ เรือง ปิโตรเลียม 2545 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เมโทร ปิโตรเลียม 2544 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. มิตรสัมพันธ์ ปิโตรเลียม 2544 – 2548 กรรมการ บจก. จตุรทิศขนส่ง 2542 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. เอสซีที ปิโตรเลียม 2544 – 2547 ผู้จัดการทั่วไป บจก. เอสซีทปี โิ ตรเลียม 2541 – 2544 ผู้จัดการฝ่ายธุรกิจ บจก. ระยองเพียวริฟายเออร์ นายสมศักดิ์ คีตสิน เจ้าหน้าที่บริหารระดับสูง 48 ปี - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วท. บ. (เคมีเทคนิค) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 144,547หุน้ / 0.027% 2550 – ปัจจุบนั ผู้จัดการทั่วไปสายธุรกิจจัดหาน้ำมัน บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2546 – 2549 ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสาย โรงงาน บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2540 – 2546 ผู้จัดการส่วนวิศวกรรม บมจ. ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ 2538 – 2540 ผู้จัดการส่วนผลิต บมจ. ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์


Annual Report 2550

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง (1) อายุ (ปี) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั (2) และ (3) ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 (หุน้ /%) ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

นางสาวกัลยา คล้ายทอง ผู้จัดการทั่วไปสายธุรกิจ 39 ปี - วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาตรี วทบ. สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 154,685 หุ้น / 0.029% 2550 – ปัจจุบนั ผู้จัดการทั่วไปสายพัฒนาธุรกิจและเทคนิค บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2548 – 2549 ผู้จัดการทั่วไปสายธุรกิจจัดหาน้ำมัน บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2548 – ปัจจุบนั ผู้จัดการทั่วไป บจก. จตุรทิศขนส่ง 2548 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. จตุรทิศขนส่ง 2546 – 2548 ผู้จัดการฝ่ายจัดหาและขนส่ง บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ 2542 - 2546 ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยีและพัฒนา บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ นายวสันต์ ซือ่ ตรง ผู้จัดการทั่วไปสายโรงงาน 38 ปี - ปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีขนถ่ายวัสดุ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้า พระนครเหนือ 170,718 หุ้น / 0.032% 2550 - ปัจจุบนั 2547 - 2549 2546 - 2547 2546 - 2546 2539 - 2546

ผู้จัดการทั่วไปสายโรงงาน บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ ผู้อำนวยการโครงการ VTN-P Petrochemical Joint Venture Co.,Ltd. ผู้อำนวยการพิเศษ VTN-P Petrochemical Joint Venture Co.,Ltd. ผู้จัดการทั่วไปสายธุรกิจจัดหาน้ำมัน (รักษาการ) บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์ ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร์

113


หมายเหตุ (1)

(2) (3)

114

ตามหนังสือรับรองบริษัทฯ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท คือ 1) นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล นายสุมิตร ชาญเมธี นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการสองในสี่คนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และ ประทับตราสำคัญของบริษทั หรือ 2) นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ หรือ นายสัจจา เจนธรรมนุกลู หรือ นายสุมติ ร ชาญเมธี หรือ นายสุวนิ ยั สุวรรณหิรญ ั กุล คนใดคนหนึง่ ลงลายมือชือ่ ร่วมกับ นายวีระวัฒน์ ชลวณิช หรือ นาย สุทศั น์ ขันเจริญสุข หรือ นายธวัช อึง้ สุประเสริฐ รวมเป็นสองคนและประทับตราสำคัญของบริษทั รวมส่วนของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 ราคาทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาทต่อหุน้ และเรียกชำระแล้ว ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2550 เท่ากับ 529,870,229 หุน้




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.