RPC: Annual Report 2008 THAI

Page 1



ขอมูลทั่วไป ชื่อบริษทั

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”)

ประเภทธุรกิจ

ประกอบธุรกิจโรงกลั่นน้าํ มันขนาด 17,000 บารเรลตอวัน บริหารคลังน้ํามัน 4 แหง เพื่อจัดจําหนายน้ํามันดีเซล น้ํามันดีเซล บี 5 เบนซิน 91 แกสโซฮอลล 91 แกสโซฮอลล 95 และน้ํามันเตา รวมถึงคาปลีกน้าํ มันสําเร็จรูป

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร 3 ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ทุนจดทะเบียน

จํานวน 529,870,229 บาท

แบงออกเปนหุน สามัญ

จํานวน 529,870,229 บาท

มูลคาทีต่ ราไวหุนละ

1 บาท

ทุนจดทะเบียนชําระแลว

จํานวน 529,870,229 บาท

เลขทะเบียนบริษทั

0107546000202

โทรศัพท

0-2791-1811 0-2515-9000

โทรสาร

0-2791-1818

ที่ตั้งโรงงาน

7/3 ถนนปกรณสงเคราะหราษฎร ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150

โทรศัพท

(038) 685-816-9

โทรสาร

(038) 685-243

โฮมเพจ

http://www.rpcthai.com

บุคคลอางอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด

ที่ตั้ง

62 อาคารตลาดหลักทรัพยประเทศไทย ชั้น 4 และ 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท

0-2229-2800 0-2654-5599

ผูสอบบัญชี (ประจําป 2551)

นางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3970

ที่ตั้ง

บริษัท สํานักงานเอินสทแอนดยัง จํากัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา ออฟฟส คอมเพล็กซ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท

0-2264-0777 0-2661-9190

โทรสาร

0-2264-0790 Annual Report 1


รายงานผลการดําเนินงาน ในรอบป 2551 บริษัทฯ ขอสรุปผลการดําเนินงาน ไดดังนี้

ผลประกอบการ

บริษัทฯ มีรายไดหลักจากการจําหนายน้ํามันสําเร็จรูปประเภทน้ํามันดีเซล น้ํามันดีเซล บี 5 เบนซิน 91 แกสโซ ฮอลล 91 แกสโซฮอลล 95 เคมีภัณฑ และน้ํามันเตา ซึ่งบริษัทฯ มีรายไดจากการจําหนายน้ํามันและเคมีภัณฑในป 2551 จํานวน 22,504.41.ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 ซึ่งมีรายไดเปนจํานวน 20,723.92 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 8.59 โดย บริษัทฯ มีรายไดตอลิตรจําหนายเฉลี่ยเทากับ 26.51 บาทตอลิตรในป 2551 และ 22.05 บาทตอลิตรในป 2550 และมียอด จําหนายน้ํามันและเคมีภัณฑรวม ในป 2551 เปนจํานวน 850 ลานลิตร เทียบกับป 2550 ซึ่งมียอดจําหนายน้ํามันและ เคมีภัณฑรวม 942 ลานลิตร หรือลดลงรอยละ 10 เปนผลมาจากปริมาณการผลิตของบริษัทฯ ที่ลดลง และมาจากราคาน้ํามัน ที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการหดตัวของความตองการใชน้ํามัน ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ จากภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ํา อยางรวดเร็ว และรุนแรงทั่วโลก บริษัทฯ และบริษัทยอยมีคาใชจายรวมในป 2551 ทั้งสิ้น 23,144.94 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 12.50 เมื่อเทียบกับ 20,240.53 ลานบาท ของป 2550 ซึ่งแบงเปนคาใชจาย 2 ประเภทหลัก คือ ตนทุนขาย และคาใชจายในการขายและบริหาร โดยตนทุนขายของบริษัทฯ และบริษัทยอย เพิ่มขึ้น 2,856 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 14.49 จาก 19,713.80 ลานบาท (เฉลี่ย 20.93 บาทตอลิตร) ในป 2550 เปน 22.569.35 ลานบาท (เฉลี่ย 26.55 บาทตอลิตร) ในป 2551 โดยการเพิ่มขึ้นของ ตนทุนขาย เปนผลมาจากตนทุนวัตถุดิบที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามความผันผวนของราคาน้ํามันที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว รุนแรง และ ตอเนื่อง สําหรับคาใชจายในการขายและบริหารของบริษัทฯ ในป 2551 มีมูลคารวม 575.59 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 9.28 เทียบกับป 2550 ซึ่งมีคาใชจายในการขายและบริหาร 526.72 ลานบาท ในป 2551 บริษัทฯ มีขาดทุนสุทธิ เทากับ 504 ลานบาท ลดลง 905 ลานบาท คิดเปนรอยละ 226 เทียบกับในป 2550 ซึ่งมีกําไรสุทธิ 401 ลานบาท

ดานการผลิต

ป 2551 บริษัทฯ ผลิตรวมทั้งสิ้น 638 ลานลิตร หรือเทียบเทา 10.99 KBD เทียบกับกําลังการผลิต 987.00 ลาน ลิตร หรือเทียบเทา 17 KBD คิดเปนการใชกําลังการผลิตเทากับ 64.6 % จากกําลังการผลิต 17.0 KBD เทียบกับในป 2550 ซึง่ ผลิตรวมทั้งสิ้น 732 ลานลิตร หรือเทียบเทา 12.60 KBD เทียบกับกําลังการผลิต 17.0 KBD คิดเปนการใชกําลังการผลิต 74.1% นอกจากนี้การใชเชื้อเพลิงตอการผลิต (FOEB) ในป 2551 เปน 1.77% เพิ่มขึ้นจากในป 2550 ที่ใช 1.54% ทั้งนี้ ผลิตภัณฑที่ไดสวนใหญจะเปนน้ํามันดีเซล สวนที่เหลือจะเปน เคมีภัณฑ และน้ํามันเตา และผลิตภัณฑอื่นๆ ปจจุ บันโรงกลั่นสามารถดํ าเนินการไดอย างมี ประสิท ธิภาพ และมี ขีดความสามารถของระบบความปลอดภั ย นอกจากนี้บริษัทฯ ยังคงไดรับการรับรองระบบคุณภาพจากระบบคุณภาพ ISO 9001: Version 2000, ระบบการรับรองดาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS 18001 ของประเทศสหรัฐอเมริกา และระบบ BS8800 ของประเทศอังกฤษ) และระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอม (ISO 14001) อยางตอเนื่อง

Annual Report 10


โครงการในอนาคต (Future Plan)

ใน ป 2551 บริษัทฯ เริ่มดําเนินโครงการเพื่อผลตอบแทนสําหรับอนาคตทางธุรกิจ 2 โครงการคือ

1. โครงการลงทุนในโครงการพลังงานทดแทน บริษัทฯ มีความสนใจการลงทุนดานพลังงานทดแทน อาทิโครงการผลิตน้ํามันไบโอดีเซล โครงการผลิตเอทานอลเพื่อ นํามาผสมกับน้ํามันปโตรเลียมที่บริษัทผลิต เพื่อจําหนายตอได หรือโครงการพลังงานทดแทนทางเลือกอื่นๆ เพื่อเปนการ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ในการลดการนําเขาเชื้อเพลิงปโตรเลียมจากตางประเทศ โดยใชผลผลิตทางการเกษตร ภายในประเทศ ในป 2551 บริษัทฯ ไดลงทุนโครงการผลิตน้ํามันไบโอดีเซล ผานทางบริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย ที่บริษัทฯ ถือหุนอยูรอยละ 99.99 โดยรายละเอียดของโครงการลงทุนมีดังตอไปนี้  มีกําลังการผลิตน้ํามันไบโอดีเซล 300,000 ลิตร/วัน หรือ 100,000 ตัน/ป  ใชเงินลงทุน 400 ลานบาท  ไดรับเงินกูเต็มจํานวนจากธนาคารกสิกรไทย  จะเริ่มดําเนินการผลิตเชิงพาณิชยและรับรูรายไดเดือนสิงหาคม 2551 ในปจจุบัน บริษัทฯ ยังดําเนินการศึกษาความเปนไปไดและความคุมคาเชิงพาณิชย ตลอดจนปจจัยเสี่ยงในการ ลงทุนในโครงการอื่นๆ อีกดวย 2. โครงการขยายสถานีบริการน้ํามัน บริษัทฯ มีจุดมุงหมายขยายจํานวนสถานีบริการน้ํามัน “เพียว” ใหไดจํานวน 100 แหงเพื่อใหบริการสนองตอบความ ตองการของผูบริโภคไดเพิ่มขึ้น รวมถึงเพื่อเพิ่มผลกําไรของบริษัทฯ จากคาการตลาดสุดทายใน value chain ของธุรกิจคา น้ํามันสําเร็จรูป ในป 2551 บริษัทฯ สามารถพัฒนาและเพิ่มจํานวนสถานีบริการน้ํามันรวมทั้งสิ้น 77 แหง โดยบริษัทฯ ยังคงแผนการ เพิ่มจํานวนสถานีบริการน้ํามันพรอมทั้งพัฒนามาตรฐานการบริการ เพื่อเพิ่มยอดการจัดจําหนายดานการคาปลีกอยาง ตอเนื่อง นอกจากนี้บริษัทฯ มีเปาหมายในการพัฒนาพื้นที่ภายในสถานีบริการน้ํามัน เพื่อเปดจําหนายสินคาและบริการอื่นๆ (Non Oil Business) โดยการรวมมือกับคูคาที่มีศักยภาพ (Strategic Partner) เพื่อใหลูกคาไดรับบริการที่เพิ่มมากขึ้น

Annual Report 11


โครงสรางการถือหุนและการจัดการ ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก โดยนับรวมการถือหุนโดยผูที่เกี่ยวของกันตาม มาตรา 258 แหงพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 รายชื่อผูถือหุน 1. บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด

จํานวนหุนที่ถือ 158,293,625

สัดสวนการถือหุน (รอยละ) 29.87

2. นายปติ ธรรมมงคล

20,056,000

3.79

3. นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ และคูสมรส

40,035,250

7.57

4. นายเกียรติ สิทธีอมร

19,500,000

3.68

5. น.ส.มณฑนา เจนธรรมนุกูล

15,468,800

2.92

6. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล

9,312,375

1.76

7. น.ส.วิราวดี ชลวณิช

9,290,574

1.75

8. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

8,309,075

1.59

9. คณะบุคคลสุวรรณรักษ โดยนายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล

7,000,000

1.32

10. คณะบุคคลสุวรรณรักษ โดยนางปริญญา ขันเจริญสุข รวม

6,666,250

1.26

293,931,949

55.47

ที่มา : ทะเบียนรายชื่อผูถือหุน บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 หมายเหตุ : - 1 คํานวณจากหุนสามัญที่ออกและเรียกชําระแลวจํานวน 529,870,229 หุน

Annual Report 12


โครงสรางการจัดการบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 1 มกราคม 2551

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

กลุมบริษัทในเครือ กรรมการผูจดั การ

ฝายตรวจสอบและควบคุมภายใน

สํานักกรรมการผูจัดการ

สายบริหารและการเงิน

สายธุรกิจ

สายโรงงาน

Annual Report 13


โครงสรางการจั ดการของบริษัทฯ ประกอบด วยคณะกรรมการ 4 ชุ ด คื อ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

คณะกรรมการบริษัท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 10 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ 1. นายวีระวัฒน ชลวณิช

ตําแหนง ประธานกรรมการ

2. นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล

กรรมการ / กรรมการผูจัดการ

3. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล

กรรมการ

4. นายสุมิตร ชาญเมธี

กรรมการ

5. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

กรรมการ

6. นายสุทัศน ขันเจริญสุข

กรรมการ

7. นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ

กรรมการ

8. ดร.วิชิต แยมบุญเรือง

กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

9. นายอานุภาพ จามิกรณ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

10. นายพิพิธ พิชัยศรทัต

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท : นางศิรพร กฤษณกาญจน เลขานุการบริษัทฯ : นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร *  นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร ไดรับการแตงตั้งใหดาํ รงตําแหนงเลขานุการบริษัท จากการประชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 4/2551 เมื่อวันที่ วันที่ 8 สิงหาคม 2551 กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษทั ฯ กรรมการผูมีอาํ นาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ประกอบดวย 1. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน นายสัจจา เจนธรรมนุกูล นายสุมิตร ชาญเมธี นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการสองในสี่ คนนี้ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตราบริษัทฯ หรือ 2. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน หรือนายสัจจา เจนธรรมนุกูล หรือนายสุมิตร ชาญเมธี หรือนายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล คน ใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อรวมกับ นายวีระวัฒน ชลวณิช หรือนายสุทัศน ขันเจริญสุข หรือ นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ รวมเปน สองคนและประทับตราบริษัทฯ ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัทฯ ภายใตการควบคุมของคณะกรรมการ หรืออาจมอบ อํานาจ เพื่อใหบุคคลดังกลาวมีอํานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆ ได ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ไดมอบหมาย Annual Report 14


2. 3. 4.

5.

6. 7.

8.

ใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงานตางๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจ หนาที่ของคณะกรรมการบริหาร การมอบอํานาจดังกลาวตองไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ทํา ใหคณะกรรมการบริหาร หรือผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํา กับบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ยกเวนเปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติไว คณะกรรมการมีอาํ นาจกําหนดและแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ได คณะกรรมการอาจจายเงินปนผลระหวางกาลใหแกผูถือหุนไดเปนครั้งคราว เมื่อเห็นวาบริษัทฯ มีผลกําไรสมควรพอที่จะ ทําเชนนั้น และรายงานใหที่ประชุมผูถือหุนทราบในการประชุมผูถือหุนคราวตอไป คณะกรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุม ผูถือหุน เวนแตในเรื่องที่ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนกอนดําเนินการ เชนเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติ ที่ประชุมผูถือหุน การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพยที่สําคัญตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน คณะกรรมการตองประชุมกันอยางนอยสามเดือนตอครั้ง โดยมีกรรมการมารวมประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน กรรมการทั้งหมด การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมคณะกรรมการใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งมีหนึ่งเสียงในการ ลงคะแนน เวนแตกรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น และถาคะแนนเสียง เทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มอีกหนึ่งเสียงเพื่อเปนเสียงชี้ขาด คณะกรรมการตองจัดใหมีการประชุมผูถือหุนสามัญประจําปภายในสี่เดือน นับแตวันสิ้นสุดของรอบปบัญชีของบริษัทฯ กรรมการตองแจงใหบริษัทฯ ทราบโดยไมชักชา ในกรณีที่กรรมการมีสวนไดเสียไมวาโดยทางตรงหรือทางออมในสัญญาที่ บริษัทฯ ทําขึ้น หรือในกรณีที่จํานวนหุนหรือหุนกูของบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือที่กรรมการถืออยูมีจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือ ลดลง กรรมการตองไมประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันกับกิจการของบริษัทฯ หรือเขาเปนหุนสวน ในหางหุนสวนสามัญ หรือเปนหุนสวนไมจํากัดความรับผิดในหางหุนสวนจํากัด หรือเปนกรรมการของบริษัทจํากัด หรือ บริษัทมหาชนจํากัดอื่นใดที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันกับกิจการของบริษัทฯ ไมวาเขา ทําเพื่อประโยชนตนเอง หรือประโยชนผูอื่น เวนแตจะไดแจงใหที่ประชุมผูถือหุนทราบกอนที่จะมีมติแตงตั้งกรรมการผูนั้น

คณะกรรมการบริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการจํานวน 4 ทาน มีดงั นี้ รายชื่อ 1. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน 2. นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล

ตําแหนง ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ

3. นายสุมิตร ชาญเมธี

กรรมการบริหาร

4. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล

กรรมการบริหาร

Annual Report 15


ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหาร 1. พิจารณากําหนดนโยบายสําคัญของบริษัทฯ โดยกําหนดวัตถุประสงค ภารกิจ แนวทางตลอดจนการกํากับดูแลการ ดําเนินงานของบริษัทฯ ในเรื่องเกี่ยวกับการผลิต การจําหนาย 2. พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพยถาวร ไมเกิน 50 ลานบาท ตามแผนงบประมาณที่คณะกรรมการอนุมัติไว และตองเปนไป ตามขอบังคับตลาดหลักทรัพยในเรื่องเกี่ยวกับการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียน หรือรายการที่ เกี่ยวโยงกัน หรือกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. ดําเนินการในการทําและลงนามสัญญากูเงินและการตออายุสัญญากูเงินในวงเงินไมเกิน 50 ลานบาท 4. พิจารณาอนุมัติหลักการการลงทุนในโครงการใหมหรือการขยายธุรกิจเพื่อนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาตอไป 5. พิจารณาอนุมัติการดําเนินการที่เกี่ยวของกับการบริหารงานทั่วไปของบริษัทฯ ในสวนที่เกินขอบเขตอํานาจอนุมัติของ กรรมการผูจัดการ 6. จัดผังโครงสรางองคกรและการบริหาร และกรรมการบริหาร โดยใหครอบคลุมทุกรายละเอียดของการคัดเลือก การ ฝกอบรม การวาจาง การเลิกจางของพนักงานของบริษัทฯ 7. กําหนดนโยบายอัตราคาจาง และโครงสรางเงินเดือน 8. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในแตละชวงเวลาจากคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ 1. ดร. วิชิต แยมบุญเรือง

ตําแหนง ประธานกรรมคณะการตรวจสอบ

2. นายอานุภาพ จามิกรณ

กรรมการตรวจสอบ

3. นายพิพิธ พิชัยศรทัต

กรรมการตรวจสอบ

เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ : นางศิรพร กฤษณกาญจน ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให ความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้งโยกยาย เลิกจาง ประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของหัวหนาหนวยงาน ตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ

Annual Report 16


4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระ เพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอ คาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวย อยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจวา รายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอ บริษัทฯ 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตอง ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และเปนไปตามหลักเกณฑที่ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนดไว 7. สอบทานและรายงานผลการสอบทานระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อใหมั่นใจ วา กรอบการบริหารความเสี่ยงและกระบวนการของบริษัทฯ ไดรับการประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อยางสม่ําเสมอ และเสนอแนะการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ 8. สอบทานความถูกตองและประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวของกับรายงานการเงิน และการควบคุม ภายใน 9. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตามวิธีการและมาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไป 10. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และกฎบัตรของหนวยงานตรวจสอบภายใน 11. คณะกรรมการตรวจสอบ อาจแสวงหาความเห็นที่เปนอิสระจากที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใด เมื่อเห็นวาจําเปน ดวยคาใชจายของบริษัทฯ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้การดําเนินการวาจางใหเปนไปตาม ระเบียบขอกําหนดของบริษัทฯ 12. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการจํานวน 4 ทาน มีดงั นี้ รายชื่อ 1. ดร. วิชิต แยมบุญเรือง

ตําแหนง ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

2. นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ

กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

3. นายสุทัศน ขันเจริญสุข

กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

4. นายพิพิธ พิชัยศรทัต

กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 1. พิจารณาคาตอบแทนกรรมการ และกรรมการผูจดั การ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัท 2. สรรหากรรมการ และกรรมการผูจ ัดการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัท 3. เรือ่ งอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

Annual Report 17


คณะผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผูบริหารของบริษัทฯ มีจาํ นวน 10 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ 1. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

ตําแหนง ประธานคณะกรรมการบริหาร

2. นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล

กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ

3. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล

กรรมการบริหาร

4. นายสุมิตร ชาญเมธี

กรรมการบริหาร

5. นางศิรพร กฤษณกาญจน

ผูชวยกรรมการผูจดั การ

6. นายสมบูรณ ศิริชัยนฤมิตร

ผูจัดการทัว่ ไปสายบริหาร และการเงิน

7. นางสาวกัลยา คลายทอง

ผูจัดการทัว่ ไปสายธุรกิจ

8. นายวสันต ซื่อตรง

ผูจัดการทัว่ ไปสายโรงงาน

9. นายบรรลือ ศรีโปดก

เจาหนาที่บริหารระดับสูง

10. นางสาวกนกพร จารุกุลวนิช

เจาหนาที่บริหารระดับสูง

ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องกรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการมีอํานาจและหนาที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการจะมอบหมาย และ จะตองบริหารบริษัทฯ ตามแผนงานหรืองบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการอยางเครงครัด ซื่อสัตยสุจริต และ ระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ และผูถือหุนอยางดีที่สุด อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการใหรวมถึงเรื่องหรือ กิจการตางๆ ดังตอไปนี้ดวย 1. ดําเนินกิจการและหรือบริหารงานประจําวันของบริษัทฯ 2. บรรจุ แตงตั้ง เลื่อนตําแหนงพนักงาน ปรับเงินเดือนพนักงาน ซึ่งผานความเห็นชอบตามสายงานตามระเบียบที่ คณะกรรมการกําหนด 3. พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพยถาวรมูลคาไมเกิน 10,000,000 บาท (สิบลานบาท) ทั้งนี้ ตองเปนไปตามขอบังคับของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในเรื่องเกี่ยวกับการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียน หรือรายการ ที่เกี่ยวโยงกันหรือกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ 4. ดําเนินการใหมีการจัดทํา และสงมอบนโยบายทางธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงแผนงานและงบประมาณตอคณะกรรมการ เพื่อขออนุมัติ และมีหนาที่รายงานความกาวหนาตามแผน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติดังกลาวตอคณะกรรมการใน ทุกๆ 3 เดือน 5. ดําเนินการหรือปฏิบัติงานใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ ทั้งนี้ การใช อํานาจของกรรมการผูจัดการดังกลาวขางตนไมสามารถกระทําได หากกรรมการผูจัดการอาจมีสวนไดเสีย หรือ อาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะใดๆ กับบริษัทฯ ในการใชอํานาจดังกลาว Annual Report 18


การสรรหากรรมการและผูบริหาร

บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนโดยเฉพาะ ทั้งนี้บุคคลที่จะไดรับการแตงตั้งใหดํารง ตําแหนงกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ จะตองมีคุณสมบัติครบตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และขอบังคับของบริษัทฯ และไมมีลักษณะตองหามตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยเกี่ยวกับเรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตใหเสนอขายหุนที่ออกใหมฉบับลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 โดยการ คัดเลือกจะดําเนินการดังนี้ องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการของบริษัทตองมีจํานวนไมนอยกวา 5 คน และไมเกินกวา 15 คน เลือกตั้งโดยที่ประชุมผูถือหุน และ กรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ทั้งนี้ขอบังคับของบริษัทฯ กําหนดใหที่ ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึง่ เสียง (2) ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได แตจะแบง คะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลที่ไดรับคะแนนสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับเลือกเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้ง ในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมี ให ประธานที่ประชุมเปนผูออกเสียงชี้ขาด เมื่อมีการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจากตําแหนงจํานวนหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการใน ขณะนั้น ถาจํานวนกรรมการจะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม กรรมการ ซึ่งพนจากตําแหนง อาจไดรับเลือกใหกลับเขามารับตําแหนงอีกก็ได กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทเปนผูแตงตัง้ คณะกรรมการบริหาร โดยเลือกตั้งจากกรรมการจํานวนหนึ่งของบริษัทฯ องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยแตงตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนตามประกาศ ของตลาดหลักทรัพย อยางนอย 3 คนและมีวาระการดํารงตําแหนง 3 ป

Annual Report 19


คาตอบแทนผูบริหาร 1. คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ในป 2550 คาตอบแทนกรรมการบริษัทรวม 10 ราย เทากับ 24.015 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเบี้ยประชุม และบําเหน็จกรรมการซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ คาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบริหารรวม 11 ราย จํานวน 39.66 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเงินเดือน และโบนัสซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ในป 2551 คาตอบแทนกรรมการบริษัทรวม 10 ราย เทากับ 7.34 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเบี้ยประชุม และบําเหน็จกรรมการซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ คาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบริหารรวม 10 ราย จํานวน 44.39 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเงินเดือน และโบนัสซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยคาตอบแทนกรรมการเปนรายบุคคลมีรายละเอียดดังนี้ คาตอบแทนกรรมการ ป 2550 (บาท) 2,505,000.00

คาตอบแทนกรรมการ ป 2551 (บาท) 2,523,750.00

2. นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล

1,655,000.00

1,685,000.00

3. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล

1,655,000.00

1,685,000.00

4. นายสุมิตร ชาญเมธี

1,655,000.00

1,685,000.00

5. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

1,655,000.00

1,685,000.00

6. นายสุทัศน ขันเจริญสุข

1,675,000.00

1,745,000.00

7. นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ

1,675,000.00

1,740,000.00

8. ดร. วิชิต แยมบุญเรือง

1,805,000.00

1,860,000.00

9. นายอานุภาพ จามิกรณ

1,755,000.00

1,765,000.00

10. นายพิพิธ พิชัยศรทัต

1,775,000.00

1,825,000.00

รวมเงินทั้งสิน้

17,810,000.00

18,198,750.00

รายชื่อ 1. นายวีระวัฒน ชลวณิช

2. คาตอบแทนอืน่ ๆ 2.1 อืน่ ๆ ป 2550 กรรมการบริหารและผูบริหารรวม 11 ราย (ไมรวมกรรมการอิสระ) ไดรับเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ จํานวน 2.58 ลานบาท ป 2551 กรรมการบริหารและผูบริหารรวม 10 ราย (ไมรวมกรรมการอิสระ) ไดรับเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ จํานวน 2.73 ลานบาท

Annual Report 20


การกํากับดูแลกิจการ บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อความ โปรงใสในการดําเนินงานของบริษัทฯ ทุกระดับชั้น ทั้งในสวนของพนักงานระดับปฏิบัติงาน ผูบริหาร ตลอดจนคณะกรรมการ ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มประสิทธิผลในการประกอบกิจการของบริษัทฯ เพื่อประโยชนใน ระยะยาวของผูถือหุน ลูกคา นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป

1. สิทธิของผูถือหุน

คณะกรรมการของบริษัทไดตระหนักถึงความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการที่ดี การมีมาตรฐานที่เปนสากล และความ สอดคลองกับนโยบายของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมทั้งความสําคัญตอสิทธิของผูถือหุน และไดสงเสริมใหผูถือหุน ไดใชสิทธิของตน โดยไดจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อชวยกํากับดูแลกิจการในดานตางๆ เพื่อสนับสนุนวัฒนธรรมองคกร และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจที่ดี คณะกรรมการบริษัท มีความเชื่อมั่นเปนอยางยิ่งวา กระบวนการกํากับดูแลกิจการที่ดี จะชวยสงเสริมผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และเปนหัวใจในการบรรลุเปาหมายพื้นฐานที่สําคัญยิ่งอยางหนึ่ง อันจะสงผลให เกิดการเพิ่มมูลคาสูงสุดแกผูถือหุน คุณคาที่บริษัทฯมุงหวัง และคาดหวังใหกรรมการ และพนักงานทุกคนถือปฏิบัติในทุก ภารกิจไดแก    

การปฏิบัติงานดวยความรูความสามารถอยางมืออาชีพดวยความซื่อสัตย และมีคุณธรรม การสรางความสามัคคีในการทํางานรวมกัน การยึดมั่นในหลักการของระเบียบวินัยการปฏิบัติงานที่ดีเพื่อชวยพัฒนาบริษัทฯ ประเทศชาติ และสังคมโดยรวม การมีปฏิสัมพันธรวมกัน และมีความพรอมในการตอบสนองตอทุกสถานการณ

ในป 2546 บริษัทฯ แปรสภาพเปนบริษัทมหาชน และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย สําหรับการจัดประชุมสามัญผู ถือหุน บริษัทฯ ไดกําหนดที่จะจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารประกอบกอนการประชุมลวงหนาอยางนอย 7 วัน กอน วันประชุมผูถือหุน เพื่อใหเปนตามระยะเวลาขั้นต่ําที่กฎหมายกําหนด นอกจากนี้บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตอผูถือหุนทุก รายอยางเทาเทียมกัน ผูถือหุนสามารถใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนไดอยางเปนอิสระในการเลือกคณะกรรมการบริษัทการลง มติ การแสดงความคิดเห็น และการตั้งคําถามใดๆ ตอที่ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่เสนอ ผูถือหุนทุกราย มีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที่ถูกตอง ทันตอเหตุการณ เปดเผยครบถวน และสามารถตรวจสอบ ขอมูลตางๆ ได รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบายที่จะเพิ่มทางเลือกใหกับผูถือหุน โดยใหกรรมการอิสระเปนผูรับมอบฉันทะจากผูถือ หุน ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมได

2. ความเทาเทียมกันของผูถือหุน

นอกจากนี้บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน ผูถือหุนสามารถใชสิทธิออกเสียง ลงคะแนนไดอยางเปนอิสระในการเลือกคณะกรรมการบริษัทการลงมติ การแสดงความคิดเห็น และการตั้งคําถามใดๆ ตอที่ ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่เสนอ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศ ที่ถูกตอง ทันตอเหตุการณ เปดเผยครบถวน และสามารถตรวจสอบขอมูลตางๆ ได รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบายที่จะเพิ่ม ทางเลือกใหกับผูถือหุน โดยใหกรรมการอิสระเปนผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุน ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมได Annual Report 21


ตลอดการดํ า เนิน งานที่ ผา นมา คณะกรรมการบริษั ท และฝ ายบริห าร ได พิจ ารณาขจัด ป ญหาความขัด แยง ทาง ผลประโยชนอยางรอบคอบดวยความซื่อสัตยสุจริต มีเหตุผล และเปนอิสระภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชนของ บริษัทฯ โดยรวมเปนสําคัญ เพื่อใหเกิดความโปรงใสและปองกันการแสวงหาผลประโยชนสวนตน บริษัทฯ อยูระหวางรางคําสัง่ เพื่อถือปฏิบัติในการหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานระดับปฏิบัติงาน ใชขอมูลภายในของบริษัทฯ และบริษัทในเครือที่มี สาระสําคัญ และยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อประโยชนของตนเอง หรือผูอื่น นอกจากนี้หากมีการทํารายการที่เกี่ยวโยง กันบริษัทฯ จะปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการตามที่ประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

3. บทบาทของผูมีสวนไดเสีย

บริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนผูมีสวนไดเสียภายใน ไดแก พนักงานและ ผูบริหารของบริษัทฯ และบริษัทยอย หรือผูมีสวนไดเสียภายนอก ไดแก คูแขง เจาหนี้ ภาครัฐและหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยบริษัทฯ ปฏิบัติตามขอกําหนดของกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหสิทธิของผูมีสวนไดเสียเหลานี้ไดรับ การดูแลอยางดี ตลอดการดําเนินงานที่ผานมาบริษัทฯ ไดมีการปฏิบัติตอพนักงานอยางเทาเทียมและเปนธรรมโดยให ผลตอบแทนที่เหมาะสม การซื้อสินคาและบริการจากคูคาเปนไปตามเงื่อนไข รวมถึงการปฏิบัติตามสัญญาตอคูค า มีความเอา ใจใสและรับผิดชอบตอลูกคา รักษาความลับของลูกคา อีกทั้งจรรยาบรรณของบริษัทฯ ไดมีการระบุถึงการประพฤติปฏิบัติ ภายใตกรอบกติกาของการแขงขันที่ดี ไมแสวงหาขอมูลที่เปนความลับของคูแขงทางการคาดวยวิธีการที่ไมสุจริตไมเหมาะสม และบริษัทฯ มีนโยบายที่จะประกอบธุรกิจโดยคํานึงถึงการพัฒนาและเจริญเติบโตควบคูไปกับชุมชน

4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย และสารสนเทศทางการเงินที่ ปรากฏในรายงานประจําป และจัดใหมีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดวาการบันทึกขอมูลทางบัญชีมี ความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน ทําใหทราบจุดออนและสามารถปองกันไมใหเกิดการทุจริต หรือดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ ความสัมพันธกับผูลงทุน ภายหลังบริษัทฯ เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย บริษัทฯ มีนโยบายที่จะจัดใหมีผูดูแลงานนักลงทุนสัมพันธเพื่อ ดูแลเรื่องการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส และทั่วถึง ทั้งรายงานขอมูลทางการเงิน และขอมูลทั่วไป ตลอดจนขอมูลสําคัญที่มีผลกระทบตอราคาหลักทรัพยของบริษัทฯ โดยเผยแพรขอมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ตอนักลงทุนและ สาธารณชนผานชองทางตางๆ คือ 1.ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย  แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)  รายงานประจําป (แบบ 56-2)  สื่ออิเล็กทรอนิกส (SCP Client) 2.หนังสือพิมพ 3.นิตยสาร 4.โทรทัศน Annual Report 22


5.เว็บไซตบริษัทฯ 6.วารสารผูถือหุนสัมพันธ 7.การพบปะใหสัมภาษณ 8.การเดินทางไปพบนักลงทุนทั้งในประเทศและนักลงทุนตางประเทศที่มาพบ 9.จัดประชุมนักวิเคราะหหลักทรัพย

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณในการดําเนินธุรกิจทํา หนาที่กําหนดนโยบาย วิสัยทัศน กลยุทธ เปาหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกํากับดูแลให ฝายจัดการบริหารงานใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใตกรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษัทฯ และมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริตระมัดระวัง ตามหลักการขอพึง ปฏิบัติที่ดี เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจสูงสุดใหแกกิจการ และความมั่นคงสูงสุดใหแกผูถือหุน นอกจากนี้บริษัทฯ ไดให ความสําคัญเปนอยางยิ่งตอระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ตลอดจนการมีระบบการสอบทานเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามขอกฎหมาย และมีการควบคุมที่ดี เพื่อใหระบบการ ควบคุมภายในมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดตอบริษัทฯ นอกจากนี้คณะกรรมการเปนผูพิจารณาการกําหนดและ แยกบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และกรรมการ ผูจัดการอยางชัดเจน ความขัดแยงทางผลประโยชน ตลอดการดําเนินงานที่ผานมา คณะกรรมการบริษัทและฝายบริหาร ไดพิจารณาขจัดปญหาความขัดแยงทาง ผลประโยชนอยางรอบคอบดวยความซื่อสัตยสุจริต มีเหตุผลและเปนอิสระภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชนของ บริษัทฯ โดยรวมเปนสําคัญ เพื่อใหเกิดความโปรงใสและปองกันการแสวงหาผลประโยชนสวนตน บริษัทฯ อยูระหวางรางคําสัง่ เพื่อถือปฏิบัติในการหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานระดับปฏิบัติงาน ใชขอมูลภายในของบริษัทฯ และบริษัทในเครือที่มี สาระสําคัญ และยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อประโยชนของตนเอง หรือผูอื่น นอกจากนี้หากมีการทํารายการที่เกี่ยวโยง กันบริษัทฯจะปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการตามที่ประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จริยธรรมธุรกิจ บริษัทฯ ยึดมั่นในการกระทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ กรรมการ ผูบริหาร และ พนักงานทุกคน และบริษัทฯ มีภาระหนาที่รวมกันในการปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต ภายใตกรอบของกฎหมาย และ ภายใตขอบเขตความรับผิดชอบของตน รวมทั้งใชวิจารณญาณอยางรอบคอบ ในการตัดสินใจทําการคา และปฏิบัติตนตอ ผูอื่น ละเวนการกระทําใดๆ ที่จะกอใหเกิดความเสี่ยงตอความเสียหายแกบริษัทฯ และสวนรวม แมวาการกระทําดังกลาวดู เสมือนวาจะชวยเกื้อกูลธุรกิจแกบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทฯ อยูระหวางการจัดทํารางจรรยาบรรณพนักงาน และจรรยาบรรณในการ ดําเนินธุรกิจเพื่อใหพนักงานไดถือปฏิบัติ

Annual Report 23


การถวงดุลของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 10 ทาน ประกอบดวย  กรรรมการที่เปนผูบริหาร จํานวน 4 ทาน  กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร จํานวน 3 ทาน  กรรมการที่เปนอิสระ จํานวน 3 ทาน คิดเปนรอยละ 30 ของกรรมการทั้งคณะ การรวมหรือแยกตําแหนง ประธานกรรมการไมเปนบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจัดการของบริษัทฯ เพื่อใหเกิดการถวงดุลและการสอบทานการ บริหารงาน และโครงสรางคณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และกรรมการอิสระมากกวา กึ่งหนึ่งของคณะกรรมการทั้งหมด คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายการใหคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารไวอยางชัดเจน ทั้งนี้การพิจารณาคาตอบแทน ของกรรมการให อ ยู ใ นอํ า นาจอนุ มั ติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น ส ว นค า ตอบแทนของผู บ ริ ห ารจะอยู ใ นอํ า นาจอนุ มั ติ ข อง คณะกรรมการบริษัท โดยการพิจารณาอนุมัติคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารดังกลาวจะอยูในระดับเดียวกับอุตสาหกรรม ซึ่งสูงพอที่จะดึงดูดและรักษากรรมการ และผูบริหารที่มีคุณสมบัติที่บริษัทฯ ตองการ การประชุมคณะกรรมการ บริษั ทฯ มีน โยบายจัด สง หนัง สือ เชิ ญประชุ มพร อมเอกสารประกอบเพื่ อให กรรมการพิจ ารณาก อนการประชุ ม ลวงหนาอยางนอย 7 วัน เพื่อใหเปนไปตามระยะเวลาขั้นต่ําตามที่กฎหมายกําหนด ในป 2551คณะกรรมการมีการประชุม รวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง และไดมีการจดบันทึกการประชุมเปนลายลักษณอักษร จัดเก็บรายงานการประชุมที่ผานการรับรองจาก คณะกรรมการพรอมใหกรรมการและผูที่เกี่ยวของตรวจสอบได รายชื่อ 1. นายวีระวัฒน ชลวณิช

การเขารวมประชุมในป 2550 (ครั้ง) การเขารวมประชุมในป 2551 (ครั้ง) 7/8 5/5

2. นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล

8/8

5/5

3. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล

8/8

5/5

4. นายสุมิตร ชาญเมธี

8/8

5/5

5. นายศุภพงศ กฤษณกาญจน

8/8

5/5

6. นายสุทัศน ขันเจริญสุข

8/8

5/5

7. นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ

5/8

4/5

8. ดร. วิชิต แยมบุญเรือง

8/8

5/5

9. นายอานุภาพ จามิกรณ

6/8

5/5

10. นายพิพิธ พิชัยศรทัต

8/8

5/5

Annual Report 24


คณะอนุกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อชวยในการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ดังนี้  กรรมการตรวจสอบ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ปประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ทุกทานเปนกรรมการ อิสระ  คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป ประกอบดวยกรรมการ 4 ทาน ทุกทานไมเปนกรรมการบริหาร และผูทําหนาที่เปนประธานฯ ตองเปนกรรมการอิสระ

ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน

บริษัทฯ ไดกําหนดภาระ หนาที่อํานาจการดําเนินการของผูปฏิบัติงานและผูบริหาร ไวเปนลายลักษณอักษรอยาง ชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทฯ ใหเกิดประโยชน และมีการแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูควบคุมและ ประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม บริษัทฯ มีสํานักตรวจสอบภายในทําหนาที่ตรวจสอบเพื่อใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรมทางการเงินที่ สําคัญของบริษัทฯ ไดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนดและมีประสิทธิภาพ รวมถึงตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและ ขอกําหนดที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ สํานักตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระ สามารถทําหนาที่ตรวจสอบและถวงดุลไดอยาง เต็มที่ โดยสํานักตรวจสอบภายในสามารถรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน

บริษัทฯ ไดดําเนินการแจงใหผูบริหารฝายตางๆ เขาใจถึงภาระหนาที่ในการรายงานการถือหลักทรัพยใน บริษัทฯ ของตนเอง คู สมรส และบุ ต รที่ ยั ง ไมบ รรลุ นิติ ภ าวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ ยนแปลงการถื อหลั ก ทรัพ ย ต อ สํา นั ก งาน คณะกรรมการกํา กับ หลั กทรัพ ยแ ละตลาดหลัก ทรั พย ตามมาตรา 59 และบทกํา หนดลงโทษตามมาตรา 275 แห ง พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 หากกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ฝาฝนหรือและไมปฏิบัติตามนโยบายของบริษัทฯ ในเรื่องการซื้อ ขายหลักทรัพยโดยใชขอมูลภายใน บริษัทฯ จะลงโทษทางวินัยกับกรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานผูนั้นโดยเริ่มตั้งแตการ ตักเตือนเปนหนังสือ ตัดคาจาง พักงานชั่วคราวโดยไมไดรับคาจาง หรืออาจจะใหออกจากงาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความรายแรงของ ความผิดนั้น

Annual Report 25


บุคลากร 1. จํานวนบุคลากร

จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 891 คน โดยแยกตามสาย งานหลักไดดังนี้ โครงสรางการจัดการ ณ 31 ธันวาคม 2550

โครงสรางการจัดการ ณ 31 ธันวาคม 2551

สายงานหลัก - สายบริหารและการเงิน

จํานวน (คน) 68

สายงานหลัก - สายบริหารและการเงิน

- สายธุรกิจจัดหาน้ํามัน

48

- สายธุรกิจ

62

- สายการตลาด

70

- สายโรงงาน

65

- สายโรงงาน

57

- อื่นๆ

24

- อื่นๆ

36 บริษัทยอย

จํานวน (คน) 52

บริษัทยอย

- PTEC

577

- PTEC

597

- JTC

27

- JTC

40

- PSDC

16

- PSDC

14

- PBC

7

- PBC

31

- SAP

6 891

รวม

906

รวม

หมายเหตุ: - อื่นๆ หมายถึง พนักงานที่ไมไดสังกัดตามสายงานตางๆ แตสังกัดอยูในบริษัทฯ ไดแก ฝายตรวจสอบและควบคุม ภายใน สํานักกรรมการผูจัดการ

2. คาตอบแทน

2.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ผลตอบแทนรวมของพนักงานในป 2550 และ 2551 มีจํานวนเงินรวม 271.40 ลานบาท และ 256.73 ลานบาท ตามลําดับ โดยเปนผลตอบแทนในรูปของเงินเดือน คาลวงเวลา เงินสวัสดิการ โบนัสประจําป และเงินสมทบกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ 3. นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมความกาวหนาของพนักงาน โดยกําหนดทิศทางการพัฒนาพนักงานอยางชัดเจน และดูแล ใหพนักงานทุกระดับ ไดรับการพัฒนาตามทิศทางดังกลาวอยางเปนระบบและตอเนื่อง เพื่อใหสามารถทํางานในหนาทีป่ จ จุบนั ไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีความพรอมในการรับผิดชอบงานที่สูงขึ้นในอนาคต โดยคํานึงถึงการใชทรัพยากรบุคคลใหเกิด Annual Report 26


ประโยชนสูงสุด รวมทั้งใชระบบคุณธรรม (Merit System) ในการเลื่อนขั้นเงินเดือน และการเลื่อนตําแหนง โดยพิจารณา ความรู ความสามารถ ผลงาน และศักยภาพของพนักงานแตละบุคคลประกอบกัน ตามวัฒนธรรมขององคกร ซึ่งประกอบดวย 1.ริเริ่มสรางสรรค 2.สํานึกรับผิดชอบ 3.ผนึกกําลัง 4.สําเร็จยั่งยืน

การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทไดจัดประชุมครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ.2552 และคณะกรรมการตรวจสอบให ความเห็นเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน สรุปไดวา คณะกรรมการ และผูบริหารของบริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายในอยางตอเนื่อง โดยมุงเนนให บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ มีการดูแลทรัพยสิน การลดความ ผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น การปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทฯ การจัดการดานการเงิน การบริหารความเสี่ยง และ การกํากับดูแลการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีการสงเสริมและผลักดันใหบริษัทฯ มีการปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎระเบียบ และ ขอบังคับตางๆของกฎหมาย เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารงาน และเพื่อใหมั่นใจไดอยางสมเหตุสมผลวาการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค สามารถสรางมูลคาเพิ่มสูงสุดไดในระยะยาว คณะกรรมการบริ ษั ท มี ค วามเห็ น ต อ ระบบการควบคุ ม ภายในเช น เดี ย วกั บ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยให ความสําคัญตอระบบการควบคุมภายใน แบงออกเปน 5 สวน ดังนี้ 1. องคกรและสภาพแวดลอม เปาหมายการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ กําหนดขึ้นมาอยางรอบคอบชัดเจน มี ความเปนไปได และสามารถวัดผลได ทั้งนี้บริษัทฯ ไดปรับปรุงผังโครงสรางองคกรเพื่อใหการปฏิบัติงานมีความ คลองตัวเหมาะสม สอดคลองกับสภาพธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง เอื้ออํานวยตอการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายที่ไดตั้ง ไว และมีขอกําหนดและบทลงโทษหามฝายบริหารและพนักงาน ปฏิบัติตนในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความขัดแยง ทางผลประโยชนกับกิจการ รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานในธุรกรรมทางดานการเงิน การขาย การจัดซื้อและการบริหาร โดยคํานึงถึงความเปนธรรมตอคูคา เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ในระยะยาว 2. การบริหารความเสี่ยง ฝายบริหารของบริษัทฯ ไดมีการกําหนดนโยบายความเสี่ยง และมีองคกรการบริหาร ความเสี่ยง ซึ่งประกอบไปดวย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ผูประสานงาน ความเสี่ยงประจําหนวยงาน และกําหนดผูรับผิดชอบความเสี่ยงในหนวยงานตางๆ โดยมีการวางแผนและกําหนด มาตรการบริหารความเสี่ยง มีการประเมินปจจัยความเสี่ยงซึ่งอาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจและเปาหมาย ของบริษัทฯ มีมาตรการในการลดความเสี่ยง มีการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงของหนวยงานตางๆ ภายใน องคกร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ไดมีการรายงานใหกับคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ เพื่อรายงาน คณะกรรมการบริษัทอยางตอเนื่อง นอกจากนั้นบริษัทฯ ไดจัดใหมีการอบรมความรูของการบริหารความเสี่ยงกับ พนักงาน

Annual Report 27


3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทฯ ไดมีการกําหนดขอบเขต อํานาจหนาที่ ตลอดจนความ รับผิดชอบของผูบริหารและผูปฏิบัติงานในแตละระดับไวอยางชัดเจน และไดปรับปรุงตารางอํานาจอนุมัติของฝาย บริห ารแต ละระดับ ให เหมาะสม มีค วามชัด เจน รวมทั้ งมี การติ ดตามดูแ ลการดํ าเนิน งานของบริ ษัท ยอ ยอยา ง สม่ําเสมอ โดยมีมาตรการที่จะควบคุมติดตามใหการดําเนินงานเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษัทฯ ไดนําระบบงานสารสนเทศภายใตชื่อโครงการระบบ ERP มาใช ในการบริหารจัดการ ดานการซื้อ การขาย ระบบบัญชี สินคาคงคลัง และสินทรัพยถาวร เพื่อพัฒนาระบบฐานขอมูล สารสนเทศ ใหมีประสิทธิภาพและทันเวลาตอการใชประกอบการตัดสินใจของฝายบริหาร ทั้งนี้มีการพัฒนาระบบ เพิ่มเติมไดแก ระบบงานบริหารสถานีบริการน้ํามัน ระบบโทรทัศนวงจรปด และระบบ VDO Conference เพื่อใหการ ประสานงาน การติดตามดูแลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมการใชงานที่กวางขวาง และเพิ่มชองทางในการ ติดตอสื่อสารขอมูลระหวางบริษัทฯ กับบริษัทยอย ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทมีการพิจารณาและติดตามผลการดําเนินงานของฝายบริหารใหเปนไปตาม เปาหมาย ซึ่งหากผลการดําเนินงานแตกตางจากเปาหมาย จะมีมติใหฝายจัดการรับไปดําเนินการแกไข และบริษัทฯ กําหนดใหสํานักตรวจสอบภายใน เสนอรายงานผลการตรวจสอบ โดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ และหากมี การตรวจพบขอบกพรองอันเปนสาระสําคัญ จะตองรายงานในระยะเวลาอันควร รวมถึงการรายงานความคืบหนาใน การปรับปรุงขอบกพรองดังกลาว

Annual Report Annual Report 2828


สาสนจากประธานกรรมการ ป 2551 ไดกลายเปนจุดเปลี่ยนแปลงที่สําคัญโดยรวดเร็วและไมทันเตรียมตัวที่ดึงใหเศรษฐกิจโลกเขาสูภาวะถดถอย ในระดับที่คาดวาจะรุนแรงอีกรอบหนึ่ง ซึ่งหลายทานกลาววาอาจจะเปนภาวะความตกต่ําทั่วไปคลายกับยุคสิ้นสงครามโลกครั้ง ที่สองเลยทีเดียว ปญหาครั้งนี้แทนที่จะเริ่มตนมาจากดินแดนที่มีระบบเศรษฐกิจเปราะบาง แตกลับเริ่มมาจากตัวผูนําทางเศรษฐกิจเลย คือเปน ผลมาจากปญหาด านตลาดการเงิน และอสัง หาริม ทรัพ ยข องสหรั ฐอเมริกาและขยายกว างออกไป นอกจากนี้ใ น สหรัฐอเมริกาเองก็ไดมีเลือกตั้งประธานาธิบดีใหม ซึ่งมีผลใหเกิดมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการคา และนโยบายการแกปญหา ดานเศรษฐกิจอันจะสงผลกระทบวงกวางไปทั่วโลกอีกชั้นดวย จากปญหาเศรษฐกิจดังกลาวทําใหเกิดสภาวะการชะลอการใชจายและการลงทุนโดยทั่วไป กิจการธุรกิจขนาดใหญ หลายตอหลายแหงไดรับผลกระทบถึงขั้นหยุดชะงัก และมีการลดจํานวนพนักงาน ทําใหอัตราการวางงานเพิ่มขึ้น เกิดสภาพการ ถดถอยกัน คอนขางจะทั่วถึง ในระดับหนึ่งแลว ซึ่งเศรษฐกิจของประเทศไทยก็ไดรั บผลกระทบจากปญ หาดังกล าวเชนกั น นอกจากนี้เรายังมีปญหาการเมืองภายในเขามาสมทบอีกในชวงเวลาเดียวกัน สงผลใหเศรษฐกิจของประเทศไมขยายตัวและ อาจติดลบ เกิดการชะลอการใชจายกันทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน ในดานสถานการณน้ํามันนั้น ราคาน้ํามันในตลาดโลกปรับตัวอยางรวดเร็วและอยางที่ไมเคยเปนมากอน ชวงตนป 2551 ราคาน้ํามันดิบไดปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องจากเดิมที่สูงอยูแลว จนแตะอยูที่ระดับสูงสุดที่ 140.77 เหรียญ สหัฐฯ ตอ บารเรล ในวันที่ 4 กรกฎาคม 2551 จากนั้นราคาน้ํามันโลกไดปรับตัวลดลงรวดเร็วอยางคาดไมถึงโดย ณ สิ้นป 2551 ราคา น้ํามันดิบปดที่ 40.53 เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล ตกลงมาถึงประมาณ 100 เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล ทําใหผูประกอบธุรกิจ ดานน้ํามันในประเทศทุกรายไดรับผลกระทบดานลบรุนแรงมาก เฉพาะผลขาดทุนจากสตอกน้ํามันซึ่งทางผูประกอบการ จําเปนตองมีไวเพื่อการดําเนินงาน และปฎิบัติตามกฎหมายนั้น ก็คิดคํานวนไดเปนจํานวนเงินมากมายแลว ในดานผลการดําเนินงานของบริษัทฯ สรุปแลวในรอบป 2551 ที่ผานมาบริษัทฯไดรับผลกระทบจากปญหาเศรษฐกิจ ที่ถดถอย และปญหาราคาน้ํามันโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วดังกลาวคอนขางรุนแรง ทั้งๆ ที่ทางบริษัทฯ ไดพยายาม ดําเนินการโดยระมัดระวัง ภายใตสถานการณที่ผันผวนดังกลาวแลวนั้น บริษัทฯ ไดพยายามชะลอตัวตัดลดโครงการและลด ยอดจําหนายรวมลงเปน 850 ลานลิตร หรือเทากับลดลงรอยละ 10 จากระดับการจําหนายของปกอน ซึ่งคิดเปนรายรับรวม ของปนี้ทั้งสิ้น 22,507 ลานบาท แมวายังพอรักษากําไรเบื้องตนจากการดําเนินงานไวเชนปกติไดบางแตก็ไมมากนัก และไมพอ รับผลลบจากการปรับราคาสต็อคน้ํามัน ทําใหบริษัทฯ ขาดทุนสุทธิสําหรับป 2551 เปนเงิน 481 ลานบาท อันกลับกันกับ สถานการณกําไรในปกอน ๆ

Annual Report 2


สําหรับสถานการณดานกิจการพลังงานทดแทนของบริษัทฯ นั้นจะแตกตางออกไป บาง บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ไดดําเนินการกอสราง และการทดสอบการผลิตน้ํามันไบ โอดีเซลเรียบรอยแลว และเริ่มออกตลาดสําหรับการจําหนายเชิงพาณิชยเดือนมกราคมป 2552 บางแลว โดยไดรับหนังสือรับรองการใหความเห็นชอบจําหนายไบโอดีเซลประเภท เมทิลเอสเตอรของกรดไขมันจากกรมธุรกิจพลังงานเปนที่เรียบรอยแลวเมื่อเดือนธันวาคม ป 2551 กิจการดานนี้ไมไดรับผลกระทบจากราคาน้ํามันลดลงเทาไรนัก และนาจะสามารถนํา ผลกําไรที่ดีมาสูบริษัทฯ ได ในดานการคาปลีก บริษัทฯ ดําเนินกิจการสถานีบริการน้ํามันทั่วประเทศอยูแลว 77 สาขา และปรับปรุงพัฒนากับ ขยายเพิ่มเติมตามโอกาสการคาปลีกอยูบางโดยไดเนนการใหการบริการน้ํามันเชื้อเพลิง ชนิด บี 5 และ แกซโซฮอลล 95 เพื่อ ตอบรับและสงเสริมตลาดพลังงานทดแทนพรอมกันไปดวย บริษัทฯ ไดเปดโครงการศูนยคาปลีกใหมที่ถนนรามคําแหง 110 มูลคาโครงการทั้งสิ้น 350 ลานบาท เปนศูนยการคาชุมชนขนาดใหญเพื่อตอบสนองความตองการที่แทจริงของผูอยูอาศัย จํานวนมากในยานรามคําแหงที่เนนความหลากหลายครบวงจร สะดวกสบาย บรรยากาศรมรื่น ตามแนวโนมของการพัฒนา ศูนยการคาปจจุบัน และก็ไดเริ่มใหเปดจองพื้นที่ภายในโครงการแลวในเดือนพฤศจิกายน 2551 ที่ผานมาโดยประสบผลสําเร็จ ดีพอสมควร แมวาตองประสบปญหาขาดทุนในปที่ผานมาดังที่ไดรายงานมา ฝายบริหารของบริษัทฯ ก็ยังคงไมหยุดยั้งที่จะ ปรับปรุงพัฒนาธุรกิจและปรับสถานะของบริษัทฯ ใหกลับมาเกิดผลดีใหมอีกในอนาคต รวมทั้งพิจารณาดําเนินโครงการที่จะ เสริมสรางความเขมแข็งมั่นคงดีขึ้นแกกิจการธุรกิจดานวัตถุดิบและการผลิตของบริษัทฯ ตอไป ในนามของคณะกรรมการ ผมใครขอขอบคุณผูถือหุน คูคา ลูกคา และตอการปฏิบัติหนาที่อยางเต็มกําลัง ความสามารถของผูบริหารทุกระดับและพนักงานทุกทาน ที่ไดทุมเทแรงกายแรงใจชวยแกไขปญหา และสถานการณ ยากลําบากที่ผานมาใหกับบริษัทฯ และก็ตั้งใจที่จะสรางกําไรและผลตอบแทนที่คุมคาใหแกผูถือหุนสืบตอไปอีก ถือเปนความดี งามในอดีตที่ผานมาและก็หวังวาจะสามารถสานตอความดีงามนี้สืบไปในอนาคตดวย

นายวีระวัฒน ชลวณิช ประธานกรรมการ

Annual Report 3


ลักษณะการประกอบธุรกิจ ความเปนมาและการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการที่สําคัญ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) เปนบริษัทที่เริ่มกอตั้งมาตั้งแตป 2538 ดําเนินการโดยนักธุรกิจคนไทยที่ มีประสบการณดานธุรกิจปโตรเลียมและปโตรเคมี และการรวมทุนกับบริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด เพื่อดําเนินการแปร สภาพ คอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) ซึ่งเปนวัตถุดิบผลพลอยไดจากกระบวนการผลิตของ บริษัท อะโรเมติกส จํากัด (มหาชน) (ATC) เพื่อใหไดผลิตภัณฑปโตรเลียมและปโตรเคมีที่มีคุณภาพ อันไดแก น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว น้ํามันเตา และเคมีภัณฑเพื่อคา ปลีกและคาสง ทั้งนี้บริษัทฯ ไดรับใบอนุญาตเปนผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัติการคาน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543

ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญของบริษัทฯ สรุปไดดังนี้ พ.ศ. 2540

 กอสรางโรงงานแลวเสร็จในเดือนกันยายน

พ.ศ. 2541

 เชาคลังน้ํามัน เพื่อเก็บผลิตภัณฑที่อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค เพื่อรองรับการขยายตัวของ บริษัทฯ

พ.ศ. 2542

 เปดสถานีบริการน้ํามันเพียวแหงแรกที่ถนนพหลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ 202 จังหวัดนครสวรรค และเริ่ม จําหนายในเดือนกุมภาพันธ  บริษัทฯ ไดเริ่มนําระบบควบคุมคุณภาพ ISO 9002 มาใชในสวนโรงงาน

พ.ศ. 2543

 ไดรับการรับรองระบบบริหารคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 จาก Bureau Veritas Quality International (BVQI) ในสวนกระบวนการผลิต  เชาคลังน้ํามันสาธุประดิษฐ และคลังน้ํามันธนบุรี เพื่อลดขอจํากัดที่บริษัทฯ ไมมีทาเทียบเรือเปนของ ตนเอง ในการที่จะคาขายกับตางประเทศ

พ.ศ. 2544

 สงออกเคมีภัณฑไปยังนานกิง สาธารณรัฐประชาชนจีน  เปดสถานีบริการน้ํามันเพียวแหงที่ 2 บริเวณ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง  เปดดําเนินการคลังน้ํามันที่ อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา เพื่อรองรับการขยายตัวและใหบริการ ลูกคาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พ.ศ. 2545

 ไดรับการรับรองระบบมาตรฐานสากลดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจาก 3 หนวยงาน ไดแก OHSAS 18001 BS 8800 และ TIS 18001  เพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 150 ลานบาท รวมเปนทุนจดทะเบียน 300 ลานบาท  เปดสถานีบริการน้ํามันเพียวในรูปแบบที่บริษัทฯ เปนผูดําเนินการเองแหงที่ 3 บริเวณ อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา  เพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท โยธินปโตรเลียม จํากัด เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจคาปลีก  ขยายกําลังการผลิตจาก 12,600 บารเรลตอวันเปน 17,000 บารเรลตอวัน

Annual Report 29


พ.ศ. 2546

 เชาคลังน้ํามันจุกเสม็ด อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เพื่อใชเปนฐานในการสงออกผลิตภัณฑตางๆ ของ บริษัทฯ โดยยกเลิกการเชาคลังน้ํามันธนบุรี และคลังน้ํามันสาธุประดิษฐ  ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001  เพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 336.40 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 3.364 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ชําระคาหุนเต็มมูลคา เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2546  จดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัด เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2546 และเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 415.55 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 83.11 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 5 บาท ทุนที่ออกและเรียก ชําระแลว 336.40 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 67.28 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 5 บาท  เสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชน จํานวน 15,830,000 หุน โดยเปดใหจองซื้อเมื่อวันที่ 12 - 14 พฤศจิกายน 2546  จดทะเบียนเพิ่มทุน จํานวนเงิน 79,150,000 บาท จากทุนชําระแลวจํานวน 336,400,000 บาทเปนทุน ชําระแลวจํานวน 415.55 ลานบาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 83.11 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 5 บาท กับนายทะเบียน บริษัทมหาชนจํากัด กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2546  หุนบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (RPC) เขาทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยเมื่อ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2546 เปนวันแรก  ดําเนินการเปลี่ยนการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 จาก VERSION 1994 เปน ISO 9001 VERSION 2000 เรียบรอย

พ.ศ. 2547

 จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงมูลคาที่ตราไวของหุนสามัญ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2547 จากราคาหุนละ 5.00 บาท เปนราคาหุนละ 1.00 บาท ทุนจดทะเบียน 415.55 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 415.55 ลานหุน  หุนของบริษัทฯ ไดเขาทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในราคามูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2547  27 กรกฎาคม 2547 กอตั้งบริษัท อารพีซี เอเซีย จํากัด (RAC)  15 เมษายน 2547 เพิ่มสัดสวนการถือหุนใน VTN-P จาก 20 %เปน 60%

พ.ศ. 2548

 7 มกราคม 2548 เพิ่มสัดสวนการถือหุนใน SCT จาก 30% เปน 99.99%  จดทะเบียนเพิ่มทุนจํานวนเงิน 8.49 ลานบาทจาก 415.55 ลานบาทเปน 424.04 ลานบาทเปนทุนชําระ แลว 415.55 ลานบาท แบงออกเปนหุนสามัญ เพื่อรองรับการใชสิทธิ 8.49 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุน ละ 1 บาท กับนายทะเบียนบริษัทมหาชน จํากัด กรมพัฒนาธุรกิจการคากระทรวงพาณิชยเมื่อ 18 เมษายน 2548  8 ธันวาคม 2548 ชําระทุนเพิ่มจาก 415.55 ลานบาท เปน 418.37 ลานบาท จากการ Exercise ESOP ครั้งที่ 1/3 โดยมีทุนจดทะเบียน 424.04 ลานบาท

Annual Report 30


พ.ศ. 2549

 31 มีนาคม 2549 บริษัท โยธินปโตรเลียม จํากัด ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด  31 มีนาคม 2549 จดทะเบียนเพิ่มทุนชําระ จาก 424.04 ลานบาท เปน 530.04 ลานบาท โดยการออก หุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 106.00 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เพื่อจายเปนเงินปนผลจํานวน 104.59 ลานหุน และเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 1 ที่ ไดรับผลกระทบจากการจายหุนปนผลจํานวน 1.41 ลานหุน บริษัทฯ ไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวง พาณิชยเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2549  ในระหวางป 2549 บริษัทฯ ไดจายหุนปนผลจํานวน 104.59 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท รวม เปนเงิน 104.59 ลานบาท  ในเดือนพฤศจิกายน 2549 บริษัทฯ ไดรับเงินเพิ่มทุนจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงแสดงสิทธิซื้อ หุนสามัญ จํานวน 3.29 ลานหุน ราคาหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 3.294 ลานบาท ทําใหทุนที่ออกและ ชําระแลวของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้นเปน 526.26 ลานบาท บริษัทฯ ไดจดทะเบียน เพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2549  ดําเนินการทดสอบ โรงกลั่น VTN-P ที่ประเทศเวียดนาม ระหวางวันที่ 13 กุมภาพันธ 2549 – 28 กุมภาพันธ 2549  ขยายสถานีบริการน้ํามันทั้งหมดจาก 32 แหง เปน 56 แหง

พ.ศ. 2550

 บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด เปดดําเนินการ 8 มิถุนายน 2550  บริษัท อารพีซี เอเชีย จํากัด บริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูรอยละ 99.99 ไดจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง ชื่อเปน บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) และไดเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 200 ลานบาท  บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ไดรับการอนุมัติสงเสริมการลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการ สงเสริมการลงทุน โดยไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ ไดรับการสงเสริมมีกําหนดเวลา 8 ป  บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ใหจัดสรรกําไรโดยจายปนผลระหวางกาล สําหรับผล การดําเนินงานงวด 6 เดือนของป 2550 จากกําไรสุทธิในอัตราหุนละ 0.12 บาท  บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (RPC) และ บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ไดรับ การสนับสนุนวงเงินกูจํานวน 400 ลานบาท จาก ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) เพื่อใชในการ ลงทุน และกอสรางโครงการผลิตไบโอดีเซล ขนาดกําลังการผลิต 100,000 ตันตอป  พฤศจิกายน 2550 บริษัทฯ ไดรับเงินเพิ่มทุนจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ จํานวน 3.6 ลานหุน ราคาหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 3.6 ลานบาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของ บริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เพิ่มขึ้นเปน 529.87 ลานบาท บริษัทฯ ไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับ กระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2550  ขยายสถานีบริการน้ํามันทั้งหมดจาก 56 แหง เปน 72 แหง

Annual Report 31


พ.ศ. 2551

 บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด( PTEC ) ไดเขาซื้อหุนสามัญของ บริษัท เอส ซี ที สหภัณฑ จํากัด (SAP) จํานวน 15,300 หุนๆ ละ 100 บาท คิดเปนรอยละ 51 ในเดือนมกราคม 2551  บริษัท เอส ซี ที สหภัณฑ จํากัด (SAP)ไดมีการเพิ่มทุนจํานวน 20,000 หุนๆ ละ 100 บาท และไดจด ทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย เมื่อ 12 กุมภาพันธ 2551  บริ ษั ท ระยองเพี ย วริ ฟ ายเออร จํ า กั ด (มหาชน) (RPC) ได ซื้ อ คื น หุ น สามั ญ ของบริ ษั ท ฯ จํ า นวน 46,706,900 หุน มูลคา 220,549,808 บาท ราคาทุนเฉลี่ยหุนละ 4.72 บาท คิดเปนอัตรารอยละ 8.81 ของจํานวนหุนที่บริษัทฯ ออกเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ ถึง 31 กรกฎาคม 2551  บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (RPC) ใหจัดสรรกําไรโดยจายเงินปนผลระหวางกาล สําหรับผลการดําเนินงานงวด 6 เดือน ในอัตราหุนละ 0.17 บาท ในวันที่ 4 กันยายน 2551  บริ ษั ท เพี ย วไบโอดี เ ซล จํ า กั ด (PBC) ได รั บ ใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การโรงงานจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรมในเดือนสิงหาคม 2551  VTN-P ไดชําระเงินกูยืมระยะยาวจํานวน 2.9 ลานเหรียญใหแกธนาคารเพื่อการสงออก Exim Bank  ขยายสถานีบริการน้ํามันทั้งหมดจาก 72 แหง เปน 77 แหง

Annual Report 32


ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทยอย บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน)

บริษัทฯ ดําเนินการกลั่น คอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) ซึ่งเปนวัตถุดิบผลพลอยไดจากกระบวนการผลิตของ บริษัท อะโร เมติกส จํากัด (มหาชน) (ATC) เพื่อใหไดผลิตภัณฑปโตรเลียมและปโตรเคมีที่มีคุณภาพ ไดแก น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว B5 น้ํามัน เตา และเคมีภัณฑ ทั้งนี้โรงกลั่นของบริษัทฯ มีกําลังผลิตสูงสุด 17,000 บารเรลตอวัน หรือประมาณ 80 ลานลิตรตอเดือน อีกทั้ง ยังมีการจัดหาน้ํามันเบนซินออกเทน 91 น้ํามันเบนซินออกเทน 95 แกสโซฮอล 95 และน้ํามันดีเซลหมุนเร็วจากโรงกลั่นอื่นเพื่อ รองรับความตองการของลูกคาที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ไดบริหารคลังน้ํามัน 4 แหง ไดแก คลังน้ํามันระยอง คลังน้ํามัน นครสวรรค คลังน้ํามันโคราช และคลังน้ํามันจุกเสม็ดเพื่ออํานวยความสะดวกในการสั่งซื้อและจัดสงสินคาใหแกลูกคา โดย บริษัทฯ มีการประกอบธุรกิจผานบริษัทยอยดังตอไปนี้

บริษัทยอย

1) บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC) เปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 99.99 มีทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 500,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาทชําระคาหุนเต็มมูลคา ประกอบธุรกิจคาปลีก จําหนายน้ํามันดีเซลหมุนเร็ว น้ํามันดีเซล บี5 ("เพียวบี 5") เบนซินออกเทน 91 (เบนซิน 91) และเบนซินไรสารตะกั่วออกเทน 95 (เบนซิน 95) (“แกสโซฮอล 95”) ผานสถานีบริการ น้ํามัน “เพียว” (PURE) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ มีสถานีบริการน้ํามัน “เพียว” ทั้งสิ้นจํานวน 77 แหง ทัว่ ประเทศ โดย แบงการบริหารงานเปน 2 ลักษณะคือ (1) การบริหารงานดวยตนเอง (Company Operate: CO) และ (2) การบริหารงานโดย บุคคลภายนอกแบบแฟรนไชส (Franchise) 2) บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) เดิมชื่อบริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด (RAC) จัดตั้งเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2547 ดวยทุนจดทะเบียน 10 ลานบาท มูล คาที่ตราไวหุนละ 100 บาท จํานวน 100,000 หุน โดยบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 99.99 วัตถุประสงคเพื่อประกอบธุรกิจการคา และ บริการนําเขาโอน จัดเก็บ ผลิต ผสม บรรจุ จัดสง ปโตรเลียมและเคมีภัณฑระหวางประเทศตามนโยบายสงเสริมการคาน้ํามัน สากล (Oil Traders) ของรัฐบาล ตอมาเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2550 ไดทําการเปลี่ยนชื่อเปนบริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด และเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 200 ลาน และไดชําระทุนจดทะเบียนครบแลว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อผลิตไบโอดีเซล โดยมีกําลัง การผลิต 300,000 ลิตรตอวัน หรือ 100,000 ตันตอป และกลีเซอรีน 10,000 ตันตอป เพื่อนําไปผสมในน้ํามันดีเซล เปนน้ํามัน ดีเซล B2 และ น้ํามันดีเซล B5 เปนพลังงานทดแทน ตามนโยบายรัฐบาล บริษัทฯ ไดดําเนินการกอสรางแลวเสร็จในป 2551 และไดรับหนังสือรับรองการใหความเห็นชอบการจําหนาย หรือมีไว เพื่อการจําหนายไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอรของกรดไขมัน จากกรมธุรกิจพลังงานแลวเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 เริ่ม ผลิตและจําหนายไดตั้งแตเดือนมกราคม 2552 เปนตนไป โดยไดรับบัตรสงเสริมการลงทุน โดยไดรับสิทธิประโยชนในการยกเวน ภาษีรายไดเปนระยะเวลา 8 ป

Annual Report 33


3) VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. (VTN-P) VTN-P เปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 60 VTN-P มีทุนจดทะเบียน 3.5 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งเปน เงินลงทุนที่ไดมีการชําระแลว 3.5 ลานเหรียญสหรัฐ VTN-P ประกอบธุรกิจโรงงานปโตรเลียมปโตรเคมีขนาดเล็กโดยมีกําลังการ ผลิต 2,500 บารเรลตอวัน ตั้งอยูติดแมน้ําโขง เมืองกันเธอ (Can Tho) ทางตอนใตของประเทศเวียดนาม โครงการดังกลาวมี วัตถุประสงคเพื่อเปนการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ และขยายตลาดในตางประเทศ โดยโครงการดังกลาวไดรับสิทธิบัตร การลงทุน (Investment License) จากเมืองกันเธอ (Can Tho) ประเทศเวียดนาม เพื่อสิทธิประโยชนทางภาษี และธุรกิจ โครงการดังกลาวใชเงินลงทุนทั้งหมด ประมาณ 294 ลานบาท โดยไดกอสรางโรงงานแลวเสร็จและไดทดลองเดินเครื่องเรียบรอย แลว ในป 2550 ไดขายทรัพยสินถาวรทั้งหมด และสิทธิการใชที่ดินของ VTN-P มูลคา 8.35 ลานเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 285 ลานบาท และอยูระหวางการชําระบัญชีบริษัทฯ คาดวาจะแลวเสร็จภายในเดือนมีนาคม 2552 4) บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด (SCT) บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 99.99 ใน SCT มีทุนจดทะเบียน 10 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 2,000,000 หุน มูลคาหุนละ 5 บาทชําระคาหุนเต็มมู ลคา ประกอบธุรกิ จคาสงน้ํามันหรือตั วแทนจําหนายน้ํามั นเชื้อเพลิงอิสระ (Jobber) ใหบริการซื้อขายผลิตภัณฑน้ํามันเชื้อเพลิงทุกชนิดกับผูคารายใหญและรายยอยทั่วประเทศ อาทิ น้ํามันดีเซล น้ํามันดีเซล B5 เบนซิน 91 แกสโซฮอลล 91 แกสโซฮอลล 95 และน้ํามันเตา โดย SCT ทั้งนี้ SCT มีบริษัทยอยดังนี้ ชื่อบริษทั 1. บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด

ประเภทธุรกิจ ขนสงน้ํามัน

สัดสวนการถือหุน โดย SCT (รอยละ) 99.98

2. บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด

คาสงน้าํ มัน

99.86

3. บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด

คาสงน้าํ มัน

99.86

4. บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด

คาสงน้าํ มัน

99.86

5. บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด

คาสงน้าํ มัน

99.86

6. บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด

คาสงน้าํ มัน

99.86

7. บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด

คาสงน้าํ มัน

99.86

5) บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) PSDC จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2549 เปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 51 และบริษทั สัมมา กร จํากัด (มหาชน) (“SAMCO”) ถือหุนในอัตรารอยละ 49 ทั้งนี้ บริษัทฯ และ SAMCO ไดลงนามในสัญญารวมทุนระหวางกัน ในวันที่ 15 มิถุนายน 2549 ดวยทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 500,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ชําระคา หุนเต็มมูลคา ประกอบธุรกิจพัฒนาที่ดินในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลใหเปนศูนยการคาประชาคมแบบครบวงจร พรอมสถานี บริการน้ํามัน “เพียว” และเปดดําเนินการในเชิงพาณิชยในวันที่ 8 มิถุนายน 2550 และไดมีการขยายโครงการใหมถนน รามคําแหง เปนศูนยการคาครบวงจร

Annual Report 34


โครงสรางรายได โครงสรางรายไดของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 แสดงตามตารางดังนี้

มูลคาการจําหนายผลิตภัณฑของบริษัทฯ และบริษัทยอย 2549 ลานบาท รอยละ

2550 ลานบาท รอยละ

2551 ลานบาท รอยละ

13,321.95

68.31

14,757.03

71.09

12,906.54

57.27

น้ํามันเตา

58.23

0.30

88.60

0.43

90.94

0.40

เคมีภัณฑ

713.04

3.66

400.30

1.93

336.04

1.49

เบนซิน 91

1,185.74

6.08

1,691.03

8.15

1,846.34

8.19

เบนซิน 95

143.40

0.74

108.76

0.52

4.56

0.02

-

-

164.55

0.79

611.69

2.71

22.94 15,445.29

0.12 79.20

17,210.27

82.91

15,796.11

70.09

1,247.07 2,759.49

6.39 14.15

522.23 2,991.42

2.52

3,931.15 2,773.68

17.44

-

-

-

3.47

4,006.55 50.25 19,502.10

20.54 0.26 100.00

3,513.65 34.66 20,758.58

0.02 29.77 0.14 100

ผลิตภัณฑ ในประเทศ น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว

Gasohol ผลิตภัณฑน้ํามันอื่นๆ รวมยอดขายในประเทศ สงออก น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว เคมีภัณฑ อื่นๆ (BCM) รวมยอดขายตางประเทศ รายไดคา ขนสงและสินคาอื่น รวมทั้งสิน้

14.41 16.93 0.16 100.00

6,708.30 30.94 22,535.35

12.31

Annual Report 35


ปริมาณการจําหนายผลิตภัณฑของบริษัทฯ และบริษัทยอย ผลิตภัณฑ ในประเทศ น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว

2549 ลานลิตร รอยละ

2550 ลานลิตร รอยละ

2551 ลานลิตร รอยละ

577.72

65.14

647.57

68.77

482.68

56.78

น้ํามันเตา

5.60

0.63

8.12

0.86

5.76

0.68

เคมีภัณฑ

36.31

4.09

21.16

2.25

13.30

1.57

เบนซิน 91

48.50

5.47

64.82

6.88

60.74

7.15

เบนซิน 95

5.92

0.67

4.13

0.44

0.15

0.02

-

-

0.70

0.96 675.02

0.11 76.11

24.16 -

2.84

ผลิตภัณฑน้ํามันอื่นๆ รวมปริมาณขายในประเทศ สงออก น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว

6.60 -

65.57

เคมีภัณฑ รวมปริมาณขายตางประเทศ รวมปริมาณขายทั้งสิน้

146.32 211.89 886.91

Gasohol

Annual Report 36

752.40

79.41

586.80

69.03

7.39

28.65

3.04

148.72

17.50

16.50 23.89 100.00

160.56 189.21 941.60

17.05 20.09 100.00

114.53 263.25 850.06

13.47 30.97 100


ปจจัยความเสี่ยง ในการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ตองเผชิญกับปจจัยความเสี่ยงหลายรูปแบบ จึงจําเปนตองมีการวางแผนรับมือกับความ เสี่ยงเหลานั้นอยางเปนรูปธรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้

ความเสี่ยงเกี่ยวกับการดําเนินงานโรงกลั่น

ความเสี่ยงในการดําเนินงานโรงกลั่นไดแก ปญหาเรื่องเครื่องจักรขัดของซึ่งจะทําใหกระบวนการผลิตหยุดชะงัก ทั้งนี้ การที่บริษัทฯ ตองเริ่มเดินเครื่องใหม ทําใหเสียคาใชจายดานเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น และอาจรวมถึงคาเสียโอกาสในการผลิตดวย แนวทางการรับมือ  มีการสํารองวัตถุดิบ ทั้งนี้ กําลังการผลิตที่สูงกวาปริมาณการผลิตจริงและการสํารองผลิตภัณฑในคลังน้ํามัน ทํา ใหบริษัทฯ สามารถจัดจําหนายผลิตภัณฑไดอยางตอเนื่องนานถึง 10 วัน หากการผลิตหยุดชะงักโดยสิ้นเชิง  สามารถเพิ่มกําลังผลิตเพื่อชดเชยคาเสียโอกาส โดยบริษัทฯ สามารถเพิ่มปริมาณการผลิตจากกําลังการผลิตที่ เหลืออยูเพื่อชดเชยกับปริมาณการผลิตที่ขาดหายไปในชวงที่กระบวนการผลิตหยุดลง และมีการนําผลิตภัณฑใน คลังน้ํามันไปใช  ควบคุมกระบวนการผลิตตลอด 24 ชั่วโมงโดยทีมวิศวกรผูมีประสบการณและความชํานาญดวยระบบควบคุม อัตโนมัติ (Distribute Control System) ซึ่งสามารถตรวจสอบและควบคุมกระบวนการกลั่นไดอยางถูกตองและ รวดเร็ว  ใชโปรแกรมจําลองกระบวนการผลิตดวยคอมพิวเตอร (Process Simulation) ซึ่งนําไปสูกระบวนการผลิตที่มี ประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน และผลิตภัณฑที่มีคุณภาพและปริมาณที่ตองการ  ควบคุมผลิตภัณฑดวยโปรแกรม Material Balance ทําใหทราบการเคลื่อนไหวตลอดเวลาของปริมาณวัตถุดิบ ตลอดจนปริมาณของแตละผลิตภัณฑที่ผลิตได  ใชโปรแกรม Cedar เพื่อติดตามประวัติและวางแผนการบํารุงรักษาเครื่องจักร ตามนโยบายการบํารุงรักษา เครื่องจักรในเชิงปองกันอยางตอเนื่องผลที่ไดรับ  ในป 2548 มีการหยุดชะงักเพียง 4 ชั่วโมงของกระบวนการผลิตที่เกิดขึ้นอยางมิไดคาดหมาย (Unplanned shut down) จากโรงงาน แตในป 2550 และ 2551 ไมมีการหยุดชะงักดังกลาวเลย  บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO 9002 เมื่อป 2543  บริษัทฯ ไดรับการรับรองในสวนของกระบวนการผลิตจาก Bureau Veritas Quality International (BVQI) ซึง่ เปน สถาบันที่ทั่วโลกใหการยอมรับ  บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO 9001 Version 2000 เมื่อป 2548 และ ISO 9001 Version 2004 ในป 2549 ซึ่งเปนระบบบริหารคุณภาพที่ปรับปรุงใหมลาสุดจากสถาบัน SGS ซึ่งเปน สถาบันที่ทั่วโลกใหการยอมรับ

Annual Report 37


ความเสี่ยงจากการจัดหาวัตถุดิบหลัก

บริษัทฯ ซื้อคอนเดนเสทเรสสิดิว (Condensate Residue: CR) ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักจากบริษัท อะโรเมติกส (ประเทศ ไทย) จํากัด (มหาชน) (ATC) ผานบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) โดยสงผานทอความยาว 3.0 กิโลเมตรมายังบริษัทฯ ดังนั้น หาก ATC หยุดการผลิตเพื่อซอมบํารุง หรือเพราะปญหาอื่นใดในกระบวนการผลิต หรือหากเกิดความเสียหายตอระบบ ทอสง CR ของบริษัทฯ ก็จะไมสามารถจัดสงวัตถุดิบหลักใหบริษัทฯ ได และจะสงผลกระทบตอกระบวนการผลิตของบริษัทฯ โดยตรง แนวทางการรับมือ  ประสานงานรวมกับ ATC อยางสม่ําเสมอ ทําใหสามารถวางแผนสํารองวัตถุดิบหลักและกําหนดการซอมบํารุง ประจําปลวงหนาใหสอดคลองกับแผนการซอมบํารุงของ ATC ที่แจงใหบริษัทฯ ทราบลวงหนาประมาณ 6 เดือน ทั้งนี้ ATC มีแผนการสํารอง CR กอนปดซอมบํารุงเพื่อที่จะไดมีวัตถุดิบสงใหบริษัทฯ  ในกรณีที่ ATC ไมสามารถจัดสงวัตถุดิบใหบริษัทฯ ไดเปนเวลานาน บริษัทฯ สามารถจัดซื้อผลิตภัณฑสําเร็จรูป จากโรงกลั่นน้ํามันแหงอื่น หรือจากผูคาสงน้ํามัน เพื่อจําหนายทดแทนผลิตภัณฑของบริษัทฯ แมอัตรากําไร (Profit Margin) จะต่ํากวาการกลั่นและจําหนายเองก็ตาม  มีการตรวจสอบและซอมบํารุงทอสงวัตถุดิบอยางสม่ําเสมอ  มีการจัดระบบและบริหารการสํารองวัตถุดิบหลัก โดยสามารถสํารองวัตถุดิบในปริมาณที่เพียงพอสําหรับการ ผลิตอยางตอเนื่องไดถึง 10 วัน  พยายามลดการพึ่งพาวัตถุดิบหลักเพียงชนิดเดียว โดยอยูในระหวางการเจรจาหาแหลงน้ํามันดิบอื่นๆ มาใชทั้ง จากในประเทศและตางประเทศ  เจรจาขอรับคาเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อบริษัทฯ ไดรับวัตถุดิบที่มีคุณสมบัติและคุณภาพไมตรงกับที่กําหนดไวใน สัญญาซื้อขายวัตถุดิบ ซึ่งเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นในไตรมาสที่ 3 ป 2549 สงผลใหบริษัทฯ มีตนทุนเพิ่มจากการ ปรับคุณภาพสินคาและคาเสียหายอื่นๆ ในการนี้ บริษัทฯ ไดประสานขอความรวมมือเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้น เพื่อปองกันมิใหเกิดเหตุการณนี้ซ้ําอีกในอนาคต และในป 2550 บริษัทฯ ไดรับวัตถุดิบที่มีคุณภาพสอดคลอง ตามที่กําหนดไวทุกประการ

ความเสี่ยงจากสัญญาซื้อขายวัตถุดิบหลัก

ความเสี่ยงประเภทนี้เกิดจากความตองการในผลิตภัณฑของบริษัทฯ ต่ํากวาปริมาณวัตถุดิบ (CR) ที่บริษัทฯ ทํา สัญญาซื้อ ซึ่งจะสงผลใหบริษัทฯ มีวัตถุดิบเหลือ หรือในกรณีที่นํา CR มาผลิตเปนผลิตภัณฑแลว บริษัทฯ ก็จะมีผลิตภัณฑ คงเหลือ ทําใหบริษัทฯ เสียคาใชจายเพิ่มขึ้นในการดูแลและเก็บรักษา CR หรือผลิตภัณฑคงเหลือเหลานี้ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2538 บริษัทฯ ทําสัญญาซื้อขาย CR จาก ATC ทั้งหมด เปนระยะเวลา 15 ป นับแตวันเริ่ม ดําเนินธุรกิจเชิงพาณิชย (Commercial Operation Date) ในวันที่ 1 กุมภาพันธ 2540 ทําใหบริษัทฯ มีภาระผูกพันที่จะตองรับ ซื้อ CR ทั้งหมดที่ไดจากกระบวนการผลิตของ ATC เปนจํานวนไมเกิน 585,000 ตันตอป (ประมาณ 12,600 บารเรลตอวัน) แมวาบริษัทฯ มีภาระผูกพันระยะยาวที่จะตองรับซื้อวัตถุดิบ แตไมมีสัญญาขายผลิตภัณฑระยะยาวกับผูจัดจําหนาย อยางไรก็ ตามผลิตภัณฑของบริษัทฯ ยังเปนที่ตองการของตลาดและจําหนายไดหมดทุกป

Annual Report 38


แนวทางการรับมือ  บริษัทฯ สามารถเพิ่มสวนแบงการตลาดไดหากมีผลิตภัณฑเพียงพอ ทั้งนี้ผลิตภัณฑของบริษัทฯ มีสวนแบงใน ตลาดน้ํามันดีเซลเพียงรอยละ 3 และตลาดน้ํามันดีเซลหมุนเร็วซึ่งเปนผลิตภัณฑหลักของบริษัทฯ ยังมีอัตราการ เติบโตที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง  บริษัทฯ มีนโยบายที่จะขยายฐานลูกคาโดยผานชองทางการคาสง คาปลีก และตลาดอุตสาหกรรม

ความเสี่ยงจากการพึ่งพาผูจําหนายวัตถุดิบเพียงรายเดียว

ความเสี่ยงนี้อาจเกิดขึ้นจากการบอกเลิกสัญญาของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) ภายหลังจากที่ครบสัญญา ในป 2555 ทั้งนี้ บริษัทฯ ทําสัญญาซื้อขาย CR ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักกับ PTT เพียงรายเดียว โดยสัญญามีอายุ 15 ปนับแตวัน เริ่มดําเนินธุรกิจเชิงพาณิชย และเมื่อครบกําหนด 15 ปแลว สัญญาดังกลาวยังคงมีผลบังคับใชตอไปจนกวาจะถูกยกเลิกจาก คูสัญญาฝายใดฝายหนึ่ง โดยแจงเปนลายลักษณอักษรไปยังคูสัญญาอีกฝายหนึ่งลวงหนาไมนอยกวา 1 ป ในการนี้ บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นวา PTT จะตออายุสัญญาระยะยาวกับบริษัทฯ เนื่องจากมีความสัมพันธอันดีเชิงธุรกิจมาโดยตลอด อยางไรก็ตาม เพื่อรับมือกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการบอกเลิกสัญญาของ PTT ในป 2555 บริษัทฯ ได ดําเนินการดังนี้  ศึกษาหาแหลงวัตถุดิบอื่นทดแทน เพื่อลดการพึ่งพาวัตถุดิบจาก PTT เพียงแหงเดียว  ศึกษาหาวัตถุดิบประเภทอื่นที่สามารถนํามาใชในกระบวนการผลิตได โดยไดทดลองกลั่นน้ํามันดิบจากแหลงใน ประเทศเมื่อป 2546 และ 2548 และพบวาเครื่องจักรของบริษัทฯ สามารถรองรับไดโดยตองทําการปรับปรุง อุปกรณเพียงเล็กนอย

ความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันผวนของราคาวัตถุดิบ

บริษัทฯ มีความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันผวนของราคาวัตถุดิบคอนขางต่ํา ทั้งนี้เพราะตนทุนวัตถุดิบหลัก CR ของ บริษัทฯ มีราคาอางอิงกับราคาน้ํามันสําเร็จรูปที่ตลาดสิงคโปรหรือ Mean of Platt’s Singapore (MOPS) ของผลิตภัณฑ 4 ชนิดคือ แนฟทา (Naphtha) น้ํามันกาด (Kerosene) น้ํามันดีเซล (Gas Oil) และน้ํามันเตา (Fuel Oil) ซึ่งจะแตกตางจาก โครงสรางตนทุนวัตถุดิบของธุรกิจโรงกลั่นทั่วไปที่ผันแปรตามราคาน้ํามันดิบของโลก เนื่องจากบริษัทฯ มีรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑตามราคาจําหนายน้ํามันสําเร็จรูปหนาโรงกลั่นในประเทศ ซึ่งมี กลไกการตลาดอางอิงกับกลไกราคาน้ํามันสําเร็จรูปของตลาดสิงคโปรเชนเดียวกัน จึงทําใหบริษัทฯ มีโครงสรางของรายไดจาก การจําหนายผลิตภัณฑและโครงสรางตนทุนวัตถุดิบในลักษณะเดียวกัน โดยแปรผันไปในทิศทางและสัดสวนเดียวกัน จึงสงผล ใหบริษัทฯ มีกําไรจากการกลั่น (Gross Refinery Margin) คอนขางคงที่และมีความผันผวนต่ํา ซึ่งตางจากธุรกิจโรงกลั่น โดยทั่วไป ซึ่งจะมีกําไรจากการกลั่นคอนขางผันผวนตามสถานการณความไมแนนอนของราคาน้ํามันดิบและน้ํามันสําเร็จรูปใน ตลาดโลกตามปจจัยภายนอกที่ยากตอการควบคุม

Annual Report 39


ความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาน้ํามันสําเร็จรูป

แมวาบริษัทฯ มีโครงสรางรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑและโครงสรางตนทุนวัตถุดิบอางอิงกับราคาน้ํามัน สําเร็จรูปในตลาดสิงคโปร แตบริษัทฯ ยังตองเผชิญกับความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาน้ํามันสําเร็จรูปในตลาดสิงคโปร และตลาดโลก ซึ่งเกิดจากปจจัยภายนอกที่ยากตอการควบคุม ไดแก  การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการเมืองของโลกและภูมิภาคที่ประกอบธุรกิจกาซธรรมชาติและน้ํามันดิบ โดยเฉพาะอยางยิ่งภูมิภาคตะวันออกกลาง  การกําหนดและรักษาปริมาณการผลิต และราคาของกาซธรรมชาติและน้ํามันดิบ โดย Organization of Petroleum Exporting Countries (OPEC) และประเทศที่ผลิตปโตรเลียมอื่นๆ  อุปสงคและอุปทานของกาซธรรมชาติ น้ํามันดิบ และผลิตภัณฑปโตรเลียมสําเร็จรูปทั้งในระดับโลกและระดับ ภูมิภาค  กฎระเบียบที่เกี่ยวของของภาครัฐทั้งในประเทศและตางประเทศ  สภาพภูมิอากาศ  สภาพเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ ความเสี่ยงที่สําคัญที่เกิดจากความผันผวนของราคาน้ํามัน คือ ความเสื่อมของมูลคาระหวางราคาซื้อวัตถุซึ่งอิง กับราคาเฉลี่ยเดือน MOPS (Mean of Platt’s Singapore) ของผลิตภัณฑ 4 ชนิดคือ แนฟทา (Naphtha) น้ํามันกาด (Kerosene) น้ํามันดีเซล (Gas Oil) และน้ํามันเตา (Fuel Oil) ตามสัดสวนผลิตภัณฑ (Yield) ในตลาดจรสิงคโปร ณ วันสงมอบ วัตถุดิบ ในขณะที่ราคาขายผลิตภัณฑของบริษัทฯ จะอิงกับราคาตลาดในประเทศซึ่งอิงกับราคาเฉลี่ย MOPS ในวันที่ขาย ผลิตภัณฑน้ํามันสําเร็จรูป ในการนี้ ความเหลื่อมล้ําระหวางชวงระยะเวลาของการสงมอบวัตถุดิบและวันที่ขายผลิตภัณฑ อาจ มีการเปลี่ยนแปลงของราคาเฉลี่ย MOPS สงผลใหเกิดความผันผวนในสวนตางของรายไดและตนทุนกอนหักคาใชจาย เพื่อลดความเสี่ยงจากความไมแนนอนในสวนตางของรายไดและตนทุนจากความผันผวนของราคาน้ํามัน บริษัทฯ ได ควบคุมระยะเวลาการผลิต เพื่อลดชวงเวลาระหวางวันสงมอบวัตถุดิบจนถึงวันขายผลิตภัณฑใหเหลือนอยที่สุด โดยในปจจุบัน อยูที่ไมเกิน 3 วัน หรือคิดเปนปริมาณน้ํามันสําเร็จรูปไมเกิน 5 ลานลิตร

ความเสี่ยงเกี่ยวกับการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑโดยรัฐบาล

ความเสี่ยงนี้เกิดจากความเปนไปไดที่รัฐบาลอาจเขาแทรกแซงการกําหนดราคาน้ํามันสําเร็จรูปภายในประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่ราคาน้ํามันดิบและน้ํามันสําเร็จรูปในตลาดโลกมีความผันผวนสูง ทั้งนี้เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟอ และเพื่อประโยชนตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม การแทรกแซงดังกลาวอาจสงผลกระทบตอธุรกิจ ฐานะการเงิน และผลประกอบการของบริษัทฯ ได อยางไรก็ตาม บริษัทฯ พิจารณาวาความเสี่ยงที่เกิดจากการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑโดยรัฐบาลไมมีผลกระทบมาก นัก ทั้งนี้เพราะเปนมาตรการชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเดือดรอนเฉพาะเมื่อน้ํามันในตลาดโลกมีราคาสูง โดยรัฐบาลจะเขา แทรกแซงการกําหนดราคาใหแกผูบริโภคในระดับต่ํา และชวยเหลือผูประกอบการโดยการจายเงินชดเชยตามจริงใหแก ผูประกอบการในธุรกิจโรงกลั่นน้ํามันที่ไดรับผลกระทบจากการแทรกแซงราคาน้ํามันนั้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงไมไดรับผลกระทบ ในสวนของกําไรจากการกลั่นแตอยางใด นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังพยายามบริหารสินคาคงคลังของบริษัทฯ ตลอดเวลา เพื่อให ไดรับผลกระทบจากความเสี่ยงนี้นอยที่สุด

Annual Report 40


ความเสี่ยงดานความปลอดภัยและภยันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดจากอุบัติเหตุหรือเหตุสุดวิสัย

ความเสี่ยงนี้เกี่ยวของกับความผิดพลาดหรืออุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในโรงกลั่นน้ํามัน/คลังน้ํามัน ซึ่งจะกอใหเกิดความ เสียหายอยางรุนแรง ทั้งตอโรงกลั่นน้ํามันและ/หรือคลังน้ํามัน ตลอดจนชุมชนที่อยูโดยรอบอยางมีนัยสําคัญ แนวทางการรับมือ  บริษัทฯ นําระบบบริหารความปลอดภัยสมัยใหมมาใช เพื่อลดความสูญเสียซึ่งอาจเกิดขึ้นไดจากอุบัติภัย  มีการประเมินความเสี่ยงในทุกจุดที่อาจกอใหเกิดอันตรายกับพนักงานและทรัพยสินของบริษัทฯ  ติดตั้งอุปกรณปองกันและตอสูอัคคีภัยที่ไดมาตรฐานตามขอกําหนดของ NFPA (National Fire Protection Association) ประเทศสหรัฐอเมริกา  มีการอบรมและฝกปฏิบัติดานการดับเพลิง ตลอดจนหลักสูตรความปลอดภัยตางๆ เพื่อเตรียมความพรอมรองรับ สถานการณฉุกเฉินอยางสม่ําเสมอ ทั้งดานการเตรียมความพรอมของเจาหนาที่ เครื่องมือ และอุปกรณในระบบ ปองกันอุบัติภัยทั้งระบบ โดยรายงานผลการฝกซอมดับเพลิงใหหนวยงานราชการของจังหวัดทราบดวย  ประสานงานกับหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของ เชน การนิคมอุตสาหกรรม เพื่อสรางความมั่นใจ และสามารถ ระงับเหตุฉุกเฉินทุกระดับที่อาจเกิดขึ้นไดทันทวงทีและมีประสิทธิภาพ  บริษัทฯ ดําเนินการระบบการจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย  บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบการจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยถึง 3 ระบบ ไดแก OHSAS 18001 BS 8800 และ TIS 18001 จากสถาบัน SGS  บริษัทฯ ไดรับการรับรองระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอม ISO 14001 จากสถาบัน SGS  บริษัทฯ ไดรับการรับรองมาตรฐานระบบ ISO9000 Version 2000 แทนระบบ ISO9002 Version 1994 ซึ่ง หมดอายุเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2547 จากสถาบัน SGS และพัฒนาเปนระบบ ISO9000 Version 2004 ในป 2549  บริษัทฯ ไมมีอุบัติภัยอันเนื่องมาจากอัคคีภัย ณ โรงกลั่น นับแตเปดดําเนินการ

ความเสี่ยงจากความผันผวนของคาเงินบาท

ความเสี่ยงนี้เกิดจากการที่บริษัทฯ ไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้เพราะราคาน้ํามันสําเร็จรูปและราคาตนทุน CR อางอิงแปรผันตามราคาของตลาดโลก และรายไดจากการสงออกเปน เงินตราตางประเทศ แมวารายไดหลักและตนทุนวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ จะเปนเงินบาทก็ตาม แนวทางการรับมือ  ผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในสวนของรายไดบางสวนจะถูกชดเชยดวยราคาตนทุน CR ซึ่งไดรับผลกระทบเชนเดียวกัน (Natural Hedging)  เพื่อบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ มีนโยบายทําสัญญาซื้อขายเงินตรา ตางประเทศลวงหนา (Forward Contract) สําหรับจํานวนของสวนตางระหวางยอดคงเหลือของบัญชีลูกหนี้และ เจาหนี้ที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ ไดทําสัญญาซื้อขายเงินตรา ตางประเทศลวงหนาเปนจํานวนเงิน 1,812 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่งป

Annual Report 41



รายการระหวางกัน รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับบุคคลที่มีผลประโยชนรวมที่เกิดขึ้นในป 2550 และ 2551

รายการระหวางบริษัทฯ กับ บริษัท แจสซี่ ครีเอชั่น จํากัด ลักษณะรายการ

ลักษณะความสัมพันธ

บริษัทฯ จายคาบริการใหกับบริษทั  กรรมการรวมกัน ไดแก นายศุภพงศ กฤษณกาญจน แจสซี่ ครีเอชั่น จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ผลิตงานโฆษณา สิ่งพิมพ และสือ่ ประชาสัมพันธทุกชนิด

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2550 ป 2551 0.69 0.71

รายการระหวางบริษัทฯ กับ บริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท จํากัด ลักษณะรายการ

ลักษณะความสัมพันธ

บริษัทฯ และบริษัท เพียวไบโอดีเซล  กรรมการรวมกัน ไดแก นายสัจจา เจนธรรมนุกูล จํากัด (บริษัทยอย) ซื้อวัสดุ นายสุทัศน ขันเจริญสุข สิ้นเปลืองจากบริษัท เพทโทร-อิน สตรูเมนท จํากัด

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2550 ป 2551 0.17 11.12

รายการระหวางกัน – บริษัท บลูแพลนเน็ท จํากัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ และบริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (บริษัทยอย) จายคาตั๋ว เครื่องบิน

Annual Report 42

ลักษณะความสัมพันธ  กรรมการรวมกัน ไดแก นายพิพิธ พิชัยศรทัต

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2550 ป 2551 1.27 0.79


รายการระหวางกัน – บริษัท วิลเลจฟารม แอนด เฟรน จํากัด ลักษณะรายการ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอป เมนท จํากัด (บริษัทยอย) รับคาเชา พื้นที่และบริการ จากบริษัท วิลเลจ ฟารม แอนด เฟรน จํากัด ซึ่ง ประกอบกิจการรานอาหาร บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอป เมนท จํากัด จายคาซื้อของขวัญ ใหกับบริษัท วิลเลจ ฟารม แอนด เฟรน จํากัด

ลักษณะความสัมพันธ  ประธานกรรมการบริษัทฯ ไดแก นายวีระวัฒน ชลวณิช เปนกรรมการ บริษัท วิลเลจ ฟารม แอนด เฟรน จํากัด

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2550 ป 2551 0.96

0.02

0.03

รายการระหวางกัน – บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) ลักษณะรายการ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอป เมนท จํากัด (บริษัทยอย) จายคา เชาทีด่ ินใหกับบริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) ซึ่งประกอบธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย) จายผลตอบแทนจาก การรวมธุรกิจใหกับบริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน)

ลักษณะความสัมพันธ  กรรมการบริษัทฯ ไดแก นายพิพิธ พิชัยศรทัต เปนกรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน)

จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2550 ป 2551 1.12 1.82

0.49

0.42

Annual Report 43


รายงานการวิเคราะหของฝายจัดการ ภาพรวมของบริษัทฯ สถานการณราคาน้ํามันในตลาดโลก ชวงครึ่งแรกของป 2551 มีความผันผวนอยางมาก โดยราคาปรับตัวสูงขึ้นอยาง ตอเนื่อง ทําใหราคา Gas Oil ในตลาดสิงคโปรปรับขึ้นสูงสุดถึง 180.57 USD/BBL ในเดือนกรกฎาคม จากนั้นราคาก็ได ปรับตัวลดลงมาก อยางรวดเร็ว และตอเนื่อง ตั้งแตไตรมาสที่ 3 เปนตนมา จนกระทั่งสิ้นป 2551 ราคา Gas Oil ปดที่ 54.32 USD/BBL ลดลงถึง 126.25 USD/BBL ซึ่งเปนผลมาจาก ปญหาวิกฤติทางการเงินของสหรัฐอเมริกา ซึ่งลุกลามไปยังประเทศ ตางๆ และเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลกอยางรวดเร็ว ความผันผวนของราคาน้ํามันที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว รุนแรง และตอเนื่องนี้ สงผลกระทบที่รุนแรง อยางผิดปกติตอ Stock น้ํามันของทุกบริษัทในธุรกิจนี้อยางหลีกเลี่ยงไมได ทั้งจากปริมาณน้ํามันสํารองตามกฎหมาย ที่บริษัทฯ ตองคง Stock น้ํามันไวตลอดเวลา สูงถึงรอยละ 5 ของปริมาณขายทั้งป โดยเฉพาะเมื่อราคาน้ํามันทั่วโลกลดลงอยางรวดเร็ว บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ก็ไดรับผลกระทบอยางรุนแรง จากสถานการณที่อยู นอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ นี้เชนเดียวกัน โดยในป 2551 บริษัทฯ มีผลขาดทุนสุทธิ 504 ลานบาท เมื่อเปรียบเทียบกับป 2550 ที่มีกําไรสุทธิ 401 ลานบาทแลว ผลประกอบการลดลงถึง 905 ลานบาท คิดเปนรอยละ 226 ในป 2551 บริษัทฯ มีรายไดจากการขายทั้งสิ้น 22,535 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,776 ลานบาท หรือรอยละ 9 เมื่อเทียบ กับป 2550 ที่มีรายไดจากการขาย 20,759 ลานบาท สวนหนึ่งมาจากราคาน้ํามันที่สูงขึ้นมากในชวงครึ่งปแรก อยางไรก็ตาม ตนทุนขายก็สูงขึ้นมากจากสาเหตุเดียวกัน ตนทุนขายในป 2551 สูงขึ้น 2,855 ลานบาท เมื่อเทียบกับป 2550 คิดเปนสูงขึ้น รอยละ 14 สวนปริมาณขายในป 2551 ลดลงรอยละ 9.72 จาก 941 ลานลิตร ในป 2550 เปน 850 ลานลิตรในป 2551 เนื่องจากการหดตัวของความตองการใชน้ํามัน ทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ จากภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ําอยางรวดเร็ว และรุนแรงทั่วโลก สาเหตุหลักของการขาดทุนในป 2551 มาจากการขาดทุน จากสตอกน้ํามัน (Stock Loss) ในไตรมาสที่ 3 และ 4 ที่ สูงถึง 953 ลานบาท เนื่องจากการปรับตัวลดลงของราคาน้ํามันในตลาดโลกอยางรุนแรง รวดเร็ว และตอเนื่อง แมวาจะมีการ ทําสัญญาซื้อขาย Crack Spread ลวงหนา เพื่อลดความเสี่ยงไวระดับหนึ่ง และมีรายไดจากสัญญานี้ถึง 15 ลานบาทในป 2551 แลวก็ตาม นอกจากนั้นบริษัทฯ ยังมีการบันทึกคาเผื่อดอยคาของผลิตภัณฑสําเร็จรูปบางชนิด ตามมาตรฐานบัญชี จํานวน 15 ลานบาท ณ สิ้นป 2551 ดวย ผลพวงจากราคาน้ํามันที่สูงขึ้นมากในครึ่งแรกของป 2551 และการขาดทุนในชวงครึ่งหลังของป ทําใหความตองการ ใชเงินทุนหมุนเวียนระยะสั้นสูงขึ้นอยางมาก สงผลใหดอกเบี้ยจายสูงขึ้น 37 ลานบาท จาก 31 ลานบาทในป 2550 เปน 68 ลานบาทในป 2551 ในขณะที่มีกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 31 ลานบาทในป 2551 บริษัทฯ มีสินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 3,095.61 ลานบาท ลดลงทั้งสิ้น 759.20 ลานบาท เทียบกับสิ้นงวด ป 2550 ซึ่งมีสินทรัพยรวม 3,854.81 ลานบาท สืบเนื่องมาจาก สินทรัพยหมุนเวียนของบริษัทฯ ลดลงจาก 2,665.67 ลานบาท ในป 2550 เปน 1,424.97 ลานบาท ในป 2551 โดยสินคาคงเหลือ 826.14 ลานบาท บริษัทฯ มีปริมาณ สินคาลดลง และราคาสินคาที่ลดลง จึงทําใหยอดสินคาคงเหลือลดลง Annual Report 44


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และ บริษัทยอยและสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชี ที่เหมาะสมและถือ ปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวังและ ประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการไดจัดใหมี และดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวา การบันทึกขอมูลทางบัญชีมีความถูกตองครบถวน และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน และเพื่อใหทราบจุดออนเพื่อ ปองกันไมใหเกิดการทุจริต หรือการดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวย กรรมการที่ไมเปนผูบริหารเปน ผูดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการมีความเห็นวาระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยูในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอตอความ เชื่อถือได ของงบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

นายวีระวัฒน ชลวณิช ประธานกรรมการ

Annual Report 45


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ทานผูถือหุน คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษั ท ระยองเพี ย วริ ฟ ายเออร จํ า กั ด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 ทาน ซึ่งเปนผูที่มีความรูและประสบการณในดานเศรษฐศาสตร วิศวกรรม รัฐศาสตร รวมทั้งธุรกิจอุตสาหกรรมดานปโตรเลียม ปโตรเคมี และพลังงาน โดยมี ดร.วิชิต แยมบุญเรือง เปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายอานุภ าพ จามิกรณ และ นายพิพิธ พิชัยศรทัต เปนกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามขอบเขต หน า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ ตามที่ไดกําหนดไวในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคลองกับขอกําหนดของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย ในรอบปบัญชี 2551 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระโดยไดประชุมรวมกับฝายบริหาร ผูสอบ บัญชี และหัวหนาหนวยงานตรวจสอบตามวาระที่เกี่ยวของ จํานวน 4 ครั้ง ซึ่งสรุปไดดังนี้ 1. พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําป 2551 รวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชี โดยไดสอบถามและรับฟงคําชี้แจง ในเรื่องความถูกตอง ครบถวนของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปดเผยขอมูล ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ เห็นวารายงานทางการเงินของบริษัทฯ ไดจัดทําขึ้นอยางถูกตองเปนไปตามหลักการบัญชีที่รับรอง โดยทั่วไป และมีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 2. ประเมินระบบการควบคุมภายใน และความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการ ตรวจสอบไดพิจารณารายงานการตรวจสอบภายในและความคืบหนาของการดําเนินงานเปนไตรมาส ตามแผนงานที่ไดรับ อนุมัติ พรอมทั้งใหขอเสนอแนะกับหนวยงานตรวจสอบภายใน ในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีการติดตาม และดําเนินการแกไขในประเด็นที่มีนัยสําคัญอยางตอเนื่อง เพื่อใหหนวยงานตางๆ ของบริษัทฯและบริษัทยอย มีระบบการ ควบคุมภายในที่เหมาะสม รวมทั้งสอบทานนโยบายแนวทางการบริหารความเสี่ยงและติดตามความคืบหนาของการบริหาร ความเสี่ยงตามที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดนําเสนอ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบเห็นวา บริษัทฯมีการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ มีประสิทธิผล และการตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เปนไปอยางอิสระเพียงพอเหมาะสม 3. สอบทานการปฏิบัติตามขอกําหนดของภาครัฐ คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาการปฏิบัติตาม กฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของ บริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯมีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของและไมพบประเด็นที่เปน สาระสําคัญ 4. การพิจารณาคัดเลือกผูสอบบัญชี สําหรับรอบบัญชีป พ.ศ. 2551 คณะกรรมการตรวจสอบ ไดพิจารณา คัดเลือกผูสอบบัญชี โดยพิจารณาคาสอบบัญชีเทียบกับผลงาน ชื่อเสียง ขอบเขต ความเปนอิสระ และปริมาณงานที่ผูสอบ บัญชีรับผิดชอบเห็นวามีความเหมาะสม จึงเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติในที่ประชุมผูถือหุน โดยคัดเลือก บริษัทสํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด เปนผูตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ Annual Report 46


คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมรวมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายบริหารเขารวมประชุมเพื่อพิจารณาขอเสนอแนะ เกี่ยวกับระบบควบคุมภายในและแผนการตรวจสอบบัญชีประจําปของบริษัทฯ และบริษัทยอย 5. พิจารณาและใหความเห็นการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน รวมถึงการเปดเผยขอมูลของรายการดังกลาว ตาม ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพ ยฯ และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ซึ่งผูสอบบัญชี มี ความเห็นวารายการคากับบริษัทฯที่เกี่ยวของกันที่มีสาระสําคัญไดเปดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุ ประกอบงบการเงินแลว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคลองกับผูสอบบัญชี รวมทั้งมีความเห็นวารายการ ดังกลาวเปนรายการที่สมเหตุสมผล และเปนประโยชนสูงสุดตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลอยาง ถูกตองและครบถวน 6. การสอบทานการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ใหความสําคัญในการบริหารงานตามหลักการของการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบไดกํากับดูแลใหมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอและถูกตอง รวมทั้งสงเสริมใหบริษัทฯ มีระบบธรรมาภิบาล การบริหารจัดการที่ดี เพื่อใหมีความโปรงใส และมีจริยธรรม กอใหเกิดความเชื่อมั่นแกผูถือหุน ผูลงทุน พนักงาน และผูที่เกี่ยวของทุกฝาย โดยสรุปในภาพรวมแลว คณะกรรมการตรวจสอบ ไดปฏิบัติหนาที่ครบถวนตามที่ระบุไวในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และเห็นวา บริษัทฯ ถือนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนสําคัญ มีผล ใหระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพเพียงพอ ไมมีขอบกพรองเปนสาระสําคัญ มีการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ มีประสิทธิผล การจัดทํางบทางการเงิน และการเปดเผยขอมูลทางการเงินทําขึ้นอยางครบถวน ถูกตองเปนไปตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และมีการเปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกัน ที่อาจทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนอยาง ถูกตองและครบถวน รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ ขอกําหนดที่เกี่ยวของ

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(ดร.วิชติ แยมบุญเรือง) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) 24 กุมภาพันธ 2552

Annual Report 47


รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอตอผูถือหุนของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบกําไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผู ถือหุนรวม และงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัท ยอย และไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ซึ่งผูบริหารของ กิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดง ความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไมไดตรวจสอบงบการเงินสําหรับงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2551 ของบริษัทยอยแหงหนึ่งในประเทศเวียตนามที่รวมอยูในงบการเงินรวมนี้ ซึ่งงบกําไรขาดทุนของ บริษัทยอยดังกลาวมียอดรายไดรวมสําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันเดียวกันจํานวน 84 ลานบาท งบการเงินของบริษัทยอย ดังกลาวตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอื่น โดยขาพเจาไดรับรายงานการสอบบัญชีของผูสอบบัญชีนั้นแลว การแสดงความเห็นของ ขาพเจาในสวนที่เกี่ยวของกับจํานวนเงินของรายการตางๆ ของบริษัทยอยดังกลาวซึ่งรวมอยูในงบการเงินรวมไดถือตาม รายงานของผูสอบบัญชีอื่นนั้น ทั้งนี้ บริษัทยอยดังกลาวไมไดดําเนินธุรกิจแลวและอยูในระหวางการดําเนินการจดทะเบียน ชําระบัญชี งบการเงินรวมของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ที่นํามาแสดงเปรียบเทียบไว ณ ที่นี้ ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอีกทานหนึ่งในสํานักงานเดียวกันกับขาพเจา ซึ่งไดแสดงความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขตามรายงานลง วันที่ 25 กุมภาพันธ 2551 ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกําหนดใหขาพเจาตองวางแผนและ ปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การ ตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การ ประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสําคัญ ซึ่ง ผูบริหารเปนผูจัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจา เชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวประกอบกับรายงานของผูสอบบัญชีอื่น ที่กลาวถึงในวรรคแรกใหขอสรุป ที่เปนเกณฑอยา ง เหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา จากผลการตรวจสอบของขาพเจาและรายงานของผูสอบบัญชีอื่น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะ การเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ระยองเพียวริ ฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และเฉพาะของบริษัท ระยองเพียว ริฟายเออร จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

สุมาลี รีวราบัณฑิต ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3970 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 24 กุมภาพันธ 2552 Annual Report 48


งบการเงิน

“บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย” รายงานการตรวจสอบ และงบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

Annual Report 49


Annual Report 50


Annual Report 51


Annual Report 52


Annual Report 53


Annual Report 54


Annual Report 55


Annual Report 56


Annual Report 57


Annual Report 58


บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

1. ขอมูลทั่วไป 1.1 ขอมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเปนบริษัทมหาชนจํากัดและมีภูมิลําเนาในประเทศ ไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตและจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑปโตรเคมี เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2551 บริษัทฯไดจดทะเบียนยายที่อยูบริษัทฯกับกระทรวงพาณิชยจากอยูที่เลขที่ 19 อาคารไทยพาณิชยปารค พลาซาอีสต ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เปนอยูที่เลขที่ 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร 3 ชั้น 14 ถนน วิภาวดี รังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร สาขาซึ่ งเปนที่ ตั้งโรงงานตั้ งอยู ณ เลขที่ 7/3 ถนนปกรณ สงเคราะหราษฎร ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง นอกจากนี้ บริษัทฯยังมีคลังน้ํามันกระจายอยูในภูมิภาค ตางๆ ของประเทศรวม 4 แหง ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 คือ บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด ซึ่งเปน บริษัทจํากัดตามกฎหมายไทย โดยถือหุนในอัตรารอยละ 29.87 ของทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทฯ 1.2 วิกฤตการณทางเศรษฐกิจ วิกฤตการณทางการเงินที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาในชวงปที่ผานมาไดสงผลกระทบตอสภาวะเศรษฐกิจโลกอยาง รุนแรง โดยจะเห็นไดจากการลดลงอยางมากของราคาหุนทั่วโลก ภาวะการตึงตัวของตลาดสินเชื่อรวมทั้งการกูยืมระหวาง ธนาคาร การลมละลายของสถาบันการเงินขนาดใหญ และความเชื่อมั่นของผูบริโภคที่ลดลง วิกฤตการณดังกลาวไดสงผล กระทบอยางเปนสาระสําคัญตอแผนการดําเนินธุรกิจและการเงินรวมถึงมูลคาของสินทรัพยของผูประกอบการในประเทศไทย เปนจํานวนมาก ถึงแมวารัฐบาลของประเทศตางๆ ไดใชความพยายามในการที่จะแกไขปญหาเหลานี้ แตยังคงมีความไม แนนอนวาสภาวะเศรษฐกิจของโลกจะกลับคืนสูสภาวะปกติเมื่อใด งบการเงินนี้จัดทําบนพื้นฐานขอเท็จจริงของสภาวะ เศรษฐกิจที่เปนอยูในปจจุบัน และประมาณการและขอสมมติฐานตางๆ ที่บริษัทฯ พิจารณาแลววาเหมาะสมในสถานการณ ปจจุบัน อยางไรก็ตาม งบการเงินนี้อาจไดรับผลกระทบในทางลบจากเหตุการณตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

2. เกณฑในการจัดทํางบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดง รายการในงบการเงินไดทําขึ้นเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 14 กันยายน 2544 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

Annual Report 59


งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปล มาจากงบการเงินฉบับภาษาไทยดังกลาว งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) (ซึ่งตอไปนี้ เรียกวา “บริษัทฯ”) และบริษัทยอย (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทยอย”) ดังตอไปนี้

บริษัท

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

อัตรารอยละ ของการถือหุน

รอยละของ สินทรัพยที่รวมอยู ในสินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2551 2550 2551 รอยละ รอยละ รอยละ จําหนายน้ํามันเชื้อเพลิง และอุปกรณเครื่องมือ สถานีบริการน้ํามัน และ ใหบริการซอมบํารุง บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จําหนายน้ํามันเชื้อเพลิง จํากัด และบริษัทยอย บริษัท เพียวไบโอดีเซล ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ จํากัด ปโตรเลียมและปโตรเคมี VTN-P Petrochemical ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ Joint Venture Co., Ltd. ปโตรเคมี บริษัท เพียวสัมมากร ใหเชาและบริการ ดีเวลลอปเมนท จํากัด อสังหาริมทรัพย

2550 รอยละ

รอยละของ รายไดที่รวมอยูใน รายไดรวมสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 รอยละ

2550 รอยละ

บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด และบริษัทยอย

ไทย

100

100

8.6

8.9

17.3

13.5

ไทย

100

100

6.5

7.7

32.3

39.6

ไทย

100

100

17.4

3.4

-

-

เวียตนาม

-

60

-

5.4

0.4

-

ไทย

51

51

3.0

2.3

0.1

0.1

ข) บริษัทฯ นํางบการเงินของบริษัทยอยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตั้งแตวันที่ไดมา (วันที่บริษัทฯ มีอํานาจใน การควบคุมบริษัทยอย) จนถึงวันที่บริษัทฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทยอยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทยอยไดจัดทําขึ้นโดยมีรอบระยะเวลาบัญชีและใชนโยบายการบัญชีที่สําคัญเชนเดียวกันกับ ของบริษัทฯ ง) งบการเงินของบริษัทยอยซึ่งจัดตั้งในตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล สําหรับรายการที่เปนสินทรัพยและหนี้สินและใชอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือนสําหรับรายการที่เปนรายได และคาใชจาย ผลตางซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงคาดังกลาวไดแสดงไวเปนรายการ “ผลตางจากการแปลงคางบ การเงิน” ในสวนของผูถือหุน Annual Report 60


จ) ยอดคงคางระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย รายการคาระหวางกันที่มีสาระสําคัญไดถูกตัดออกจากงบการเงินรวม นี้แลว ฉ) สวนของผูถือหุนสวนนอย คือจํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยสวนที่ไมไดเปนของบริษัทฯ และแสดงเปนรายการแยกตางหากในงบกําไรขาดทุนรวมและสวนของผูถือหุนในงบดุลรวม ช) ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2550 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท เพียว พลังงานไทย จํากัด (PTEC) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯถือหุนอยูในอัตรารอยละ 100 เขาซื้อหุนของบริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด ซึ่งประกอบกิจการขายอุปกรณเครื่องมือสถานีบริการน้ํามันและใหบริการซอมบํารุงในสัดสวนรอย ละ 51 โดยซื้อจากผูถือหุนเดิม PTEC ไดเขาซื้อหุนดังกลาวในวันที่ 1 มกราคม 2551 จํานวน 15,300 หุน (มูลคาที่ ตราไวหุนละ 100 บาท) เปนจํานวนเงิน 1.53 ลานบาท ซ) ในเดือนกรกฎาคม 2551 VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. ไดจายเงินคืนทุนแกผูถอื หุน ทุกรายและ อยูในระหวางการดําเนินการจดทะเบียนชําระบัญชี ดังนั้น งบการเงินรวมนี้ไดรวมเฉพาะงบกําไรขาดทุนและงบ กระแสเงินสดของบริษัทดังกลาวสําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2551 2.3 บริษัทฯ ไดจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ ซึ่งแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอยตามวิธีราคาทุน

3. การประกาศใชมาตรฐานการบัญชีใหม 3.1 มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใชในปปจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 9/2550 ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 ใหใชมาตรฐาน การบัญชีใหมดังตอไปนี้ ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 51

งบกระแสเงินสด สัญญาเชา สินคาคงเหลือ ตนทุนการกูยืม การนําเสนองบการเงิน นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและขอผิดพลาด งบการเงินระหวางกาล การรวมธุรกิจ สัญญากอสราง สินทรัพยไมมีตัวตน

มาตรฐานการบัญชีขางตนถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษัทฯ ไดประเมินแลวเห็นวา มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปน สาระสําคัญตองบการเงินสําหรับปปจจุบัน

Annual Report 61


3.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 86/2551 ใหใชมาตรฐานการบัญชีใหมดังตอไปนี้ ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550)

การดอยคาของสินทรัพย สินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ ือไวเพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก

มาตรฐานการบัญชีขางตนถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษัทฯ ไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวจะไมมีผลกระทบอยางเปน สาระสําคัญตองบการเงินสําหรับปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว

4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณโรงงาน ในป 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณโรงงานจากวิธีราคาทุนเปนราคาที่ตีใหม ทั้งนี้ เพื่อใหสินทรัพยดังกลาวสะทอนมูลคายุติธรรม และใหเปนไปในทิศทางเดียวกันกับบริษัทในกลุมอุตสาหกรรมปโตรเลียมในประเทศไทย ผลของการประเมินราคาโดยผู ประเมินราคาอิสระแสดงมูลคาสินทรัพยดังกลาวเพิ่มขึ้นจากราคาทุนจํานวนประมาณ 260.8 ลานบาท (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: 260.8 ลานบาท) บริษัทฯ และบริษัทยอยบันทึกสวนที่เพิ่มขึ้นของมูลคาสินทรัพยดังกลาวไวในสวนเกิน ทุนจากการตีราคาสินทรัพยในสวนของผูถือหุน การเปลี่ยนแปลงนี้ทําใหบริษัทฯ และบริษัทยอยมีขาดทุนสุทธิในงบ กําไรขาดทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 1.8 ลานบาท หรือ 0.004 บาทตอหุน (งบ การเงินเฉพาะกิจการ: 1.8 ลานบาท หรือ 0.004 บาทตอหุน)

5. นโยบายการบัญชีที่สําคัญ 5.1 การรับรูรายได ขายสิ น ค า รายได จ ากการขายสิ น ค า รั บ รู เ มื่ อ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ยได โ อนความเสี่ ย งและผลตอบแทนที่ เ ป น สาระสําคัญของความเปนเจาของสินคาใหกับผูซื้อแลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกํากับสินคาโดย ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สําหรับสินคาที่ไดสงมอบหลังจากหักสวนลดแลว รายไดจากการใหบริการขนสง รายไดจากการใหบริการถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยจะรับรูเปนรายไดเมื่อได ใหบริการแลว รายไดคาบริการกอสราง รายไดคาบริการกอสรางรับรูเมื่อไดใหบริการแลวโดยพิจารณาถึงขั้นความสําเร็จของงาน ขั้น ความสําเร็จของงานกอสรางคํานวณโดยการเปรียบเทียบตนทุนงานกอสรางที่เกิดขึ้นจนถึงวันสิ้นงวดกับตนทุนงาน กอสรางทั้งหมดที่คาดวาจะใชในการกอสรางตามสัญญาโดยจะตั้งสํารองเผื่อผลขาดทุนสําหรับโครงการกอสรางทั้ง จํานวนเมื่อทราบแนชัดวาโครงการกอสรางนั้นจะประสบผลขาดทุน รายไดคาเชาและบริการ รายไดคาเชาและบริการถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามอัตราที่ระบุในสัญญาเชาและ บริการ Annual Report 62


รายไดคาบริหารจัดการ รายไดคาบริหารจัดการรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามเงื่อนไขและขอตกลงที่ระบุใน สัญญาที่เกี่ยวของ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อมีสิทธิในการรับเงินปนผล 5.2

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่ง ถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมาและไมมีขอจํากัดในการเบิกใช

5.3

ลูกหนี้การคา ลูกหนี้การคาแสดงมูลคาตามจํานวนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทฯ และบริษัทยอยบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับ ผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงิน และการวิเคราะหอายุหนี้

5.4

สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงมูลคาตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ตนทุนของงานระหวางทําและสินคาสําเร็จรูปที่ผลิตขึ้นเองไดรวมตนทุนของคาวัตถุดิบ คาแรงทางตรงและคาโสหุยการ ผลิต

5.5

เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคาแสดงตามมูลคายุติธรรม บริษัทฯ บันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลคาของหลักทรัพยเปน รายการกําไรหรือขาดทุนในงบกําไรขาดทุน ข) เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะครบกําหนดชําระในหนึ่งป และที่จะถือจนครบกําหนดแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุนตัด จําหนาย บริษัทฯ ตัดบัญชีสวนเกิน/สวนต่ํากวามูลคาตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ซึ่งจํานวนที่ตัด จําหนายนี้จะแสดงเปนรายการปรับกับดอกเบี้ยรับ ค) เงินลงทุนในบริษัทยอยที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน มูลคายุติธรรมของตราสารหนี้ถือพื้นฐานจากการคํานวณอัตราผลตอบแทนหรือราคาจากสมาคมตลาดตราสารหนี้ ไทยแลวแตกรณี มูลคายุติธรรมของหนวยลงทุนคํานวณจากมูลคาสินทรัพยสุทธิ บริษัทฯ และบริษัทยอยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุน

5.6

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุน/ราคาที่ตีใหมหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) บริษัทฯ และบริษัทยอยบันทึกมูลคาเริ่มแรกของที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณโรงงานในราคาทุน ณ วันที่ไดสินทรัพยมา หลังจากนั้น บริษัทฯ และบริษัทยอยจัดใหมีการประเมินราคา โดยผูประเมินราคาอิสระและ Annual Report 63


บันทึกสินทรัพยดังกลาวในราคาที่ตีใหม ทั้งนี้ บริษัทฯ และบริษัทยอยจัดใหมีการประเมินราคาสินทรัพยดังกลาวเปน ครั้งคราวเพื่อมิใหราคาตามบัญชี ณ วันที่ในงบดุลแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางมีสาระสําคัญ บริษัทฯ และบริษัทยอยบันทึกสวนตางซึ่งเกิดจากการตีราคาสินทรัพยดังตอไปนี้ -

บริษัทฯ และบริษัทยอยบันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหมในบัญชี “สวนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพย” ในสวนของผูถือหุนในงบดุล อยางไรก็ตาม หากสินทรัพยนั้นเคยมีการตีราคาลดลงและบริษทั ฯ และ บริษัทยอยไดรับรูราคาที่ลดลงเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนแลว สวนที่เพิ่มจากการตีราคาใหมนี้จะถูกรับรูเปน รายไดไมเกินจํานวนที่เคยลดลง ซึ่งรับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนปกอนแลว

-

บริษัทฯ และบริษัทยอยรับรูราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ลดลงจากการตีราคาใหมเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน อยางไรก็ตาม หากสินทรัพยนั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงคางของบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย” อยูในสวนของผูถือหุน สวนที่ลดลงจากการตีราคาใหมจะถูกนําไปหักออกจาก “สวนเกินทุนจากการตี ราคาสินทรัพย” ไมเกินจํานวนซึ่งเคยตีราคาเพิ่มขึ้นของสินทรัพยชนิดเดียวกัน และสวนที่เกินจะรับรูเปนคาใชจายใน งบกําไรขาดทุน คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคํานวณจากราคาทุนหรือราคาที่ตีใหมโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงาน โดยประมาณดังนี้ สวนปรับปรุงอาคาร อาคาร เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ

5 - 30 ป 20 - 40 ป 5 - 20 ป 3 - 5 ป 5 ป

คาเสื่อมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและงานระหวางกอสราง 5.7

ตนทุนการกูยืม ตนทุนการกูยืมของเงินกูที่ใชในการจัดหาหรือกอสรางสินทรัพยที่ตองใชระยะเวลานานในการแปลงสภาพใหพรอมใช หรือขาย ไดถูกนําไปรวมเปนราคาทุนของสินทรัพยจนกวาสินทรั พยนั้นจะอยูในสภาพพรอมที่จะใชไดตามที่มุ ง ประสงค สวนตนทุนการกูยืมอื่นถือเปนคาใชจายในงวดที่เกิดรายการ ตนทุนการกูยืมประกอบดวยดอกเบีย้ และตนทุน อื่นที่เกิดขึ้นจากการกูยืมนั้น

5.8

สินทรัพยไมมีตัวตนและคาตัดจําหนาย ณ วันที่ไ ดมา บริ ษัทฯ วัด มูลคาเริ่ มแรกสิน ทรัพยไม มีตัวตนด วยราคาทุน และภายหลัง การรับรู รายการครั้งแรก สินทรั พยไ มมีตัว ตนแสดงมู ลคา ตามราคาทุนหั กคาตั ดจํา หนา ยสะสมและคาเผื่อการด อยคา สะสม (ถ ามี) ของ สินทรัพยนั้น

Annual Report 64


บริษัทฯ ตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจํากัดอยางมีระบบตลอดอายุการใหประโยชนเชิง เศรษฐกิจของสินทรัพยนั้น และจะประเมินการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวเมื่อมีขอบงชี้วาสินทรัพยนั้นเกิดการดอย คา บริษัทฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหนายและวิธีการ ตัดจําหนายของสินทรัพยไมมีตัวตนดังกลาวทุกสิ้นปเปน อยางนอย คาตัดจําหนายรับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน ซอฟทแวรมีอายุการใหประโยชน 5 และ 10 ป 5.9

รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุม บริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดย บริษัทฯไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญกับ บริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มีอํานาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของ บริษัทฯ

5.10 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผู เชาถือเปนสัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา หรือมูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา ภาระผูกพันตามสัญญา เชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุ ของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา หรืออายุของสัญญาเชา แลวแตระยะเวลาใดจะต่ํากวา 5.11 หุนทุนซื้อคืน หุนทุนซื้อคืนแสดงมูลคาในงบดุลดวยราคาทุนเปนรายการหักจากสวนของผูถือหุนทั้งหมด หากราคาขายของหุนทุน ซื้อคืนสูงกวาราคาซื้อหุนทุนซื้อคืน บริษัทฯ จะรับรูผลตางเขาบัญชีสวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืน และหากราคาขายของ หุนทุนซื้อคืนต่ํากวาราคาซื้อหุนทุนซื้อคืน บริษัทฯ จะนําผลตางหักจากสวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืนใหหมดไปกอน แลวจึงนําผลตางที่เหลืออยูไปหักจากบัญชีกําไรสะสม 5.12 เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและ หนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 5.13 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯ จะทําการประเมินการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณหรือสินทรัพยที่ไมมีตัวตนของ บริษัทฯ หากมีขอบงชี้วาสินทรัพยดังกลาวอาจดอยคา บริษัทฯ รับรูขาดทุนจากการดอยคาเมื่อมูลคาที่คาดวาจะ ไดรับคืนของสินทรัพยมีมูลคาต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ทั้งนี้มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนหมายถึงมูลคา Annual Report 65


ยุติธรรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจากการใชสินทรัพยแลวแตราคาใดจะสูงกวา ในการประเมิน มูลคาจากการใชสินทรัพย บริษัทฯ ประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดวาจะไดรับจากสินทรัพยและ คํานวณคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนภาษีที่สะทอนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาด ปจจุบันของ เงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของสินทรัพยที่กําลังพิจารณาอยู ในการ ประเมิ นมูลค ายุติธรรมหัก ตนทุนในการขาย บริษัทฯ ใชแ บบจําลองการประเมินมูล คาที่ดี ที่สุดซึ่ง เหมาะสมกั บ สินทรัพย ซึ่งสะทอนถึงจํานวนเงินที่กิจการสามารถจะไดมาจากการจําหนายสินทรัพยหักดวยตนทุนในการจําหนาย โดยการจําหนายนั้นผูซื้อกับผูขายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปน อิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน บริษัทฯ จะรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาในงบกําไรขาดทุน ยกเวนในกรณีที่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณซึ่งใช วิธีการตีราคาใหมและไดบันทึกสวนเกินทุนจากการตีราคาใหมไวในสวนของผูถือหุน ขาดทุนจากการดอยคาจะรับรู ในสวนของผูถือหุนไมเกินไปกวาสวนเกินทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว 5.14 ผลประโยชนพนักงาน บริษัทฯ และบริษัทยอยรับรูเงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ 5.15 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯ และบริษัทยอยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไวในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตได เกิดขึ้นแลว และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวา บริษัทฯ และบริษัทยอยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อ ปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯ และบริษัทยอยสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ 5.16 ภาษีเงินได บริษัทฯ และบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดโดยคํานวณจากกําไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร 5.17 ตราสารอนุพันธ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ลูกหนี้และเจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาจะถูก แปลงคาตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวดบัญชี กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศ ดังกลาวจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน สวนเกินหรือสวนลดที่เกิดขึ้นจากการทําสัญญาจะถูกตัดจําหนายดวยวิธี เสนตรงตามอายุของสัญญา สัญญาซื้อขายน้ํามันดิบและผลิตภัณฑน้ํามันลวงหนา สัญญาซื้อขายน้ํามันดิบและผลิตภัณฑน้ํามันลวงหนา ทําขึ้น เพื่อปองกันความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาน้ํามัน บริษัทฯ บันทึกกําไรหรือขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงของ มูลคายุติธรรมของสัญญาซื้อขายน้ํามันดิบและผลิตภัณฑน้ํามันลวงหนาในงบกําไรขาดทุน

6. การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจและการประมาณการ ในเรื่องที่มีความไมแนนอนเสมอ การใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาวนี้สงผลกระทบตอจํานวนเงินที่แสดงใน Annual Report 66


งบการเงินและตอขอมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากจํานวนที่ประมาณ การไว การใชดุลยพินิจและการประมาณการที่สําคัญมีดังนี้ สัญญาเชา ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเชาวาเปนสัญญาเชาดําเนินงานหรือสัญญาเชาทางการเงิน ฝายบริหารไดใชดุลย พินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาวาบริษัทฯ ไดโอนหรือรับโอนความเสี่ยงและ ผลประโยชนในสินทรัพยที่เชาดังกลาวแลวหรือไม คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่ คาดวาจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แตละราย โดยคํานึงถึงประสบการณการเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงคางและสภาวะ เศรษฐกิจที่เปนอยูในขณะนั้น เปนตน มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไมมีการซื้อขายในตลาดและไมสามารถหาราคาไดในตลาดซื้อ ขายคลอง ฝายบริหารตองใชดุลยพินิจในการประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกลาว โดยใชเทคนิค และแบบจําลองการประเมินมูลคา ซึ่งตัวแปรที่ใชในแบบจําลองไดมาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยูในตลาด โดย คํานึงถึงสภาพคลอง ขอมูลความสัมพันธ และการเปลี่ยนแปลงของมูลคาของเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณและคาเสื่อมราคา ในการคํานวณคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจําเปนตองทําการประมาณอายุการใชงานและมูลคา ซากเมื่อเลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวนอายุการใชงานและมูลคาซากใหมหากมีการเปลี่ยนแปลง เชนนั้นเกิดขึ้น บริษัทฯ แสดงมูลคาของที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณโรงงานดวยราคาที่ตีใหม ซึ่งราคาที่ตีใหมนี้ไดจาก การประเมินโดยผูประเมินราคาอิสระ โดยใชวิธีเปรียบเทียบราคาตลาดสําหรับสินทรัพยประเภทที่ดินและวิธีมูลคา ตนทุนทดแทนสุทธิสําหรับสินทรัพยประเภทอาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน ซึ่งการประเมินมูลคาดังกลาว ตองอาศัยขอสมมติฐานและการประมาณการบางประการ นอกจากนี้ ฝายบริหารจําเปนตองสอบทานการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและบันทึกขาดทุน จากการดอยคาหากคาดวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ในการนี้ฝายบริหาร จําเปนตองใชดุลยพินิจที่เกี่ยวของกับการคาดการณรายไดและคาใชจายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพยนั้น สินทรัพยไมมีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลคาของสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ไดมา ตลอดจนการทดสอบการดอยคาในภายหลัง ฝาย บริหารจําเปนตองประมาณการกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับในอนาคตจากสินทรัพย หรือหนวยของสินทรัพยที่ กอใหเกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคํานวณหามูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ

Annual Report 67


7. เงินลงทุนชั่วคราว (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 ราคาทุน มูลคายุติธรรม -

หนวยลงทุนในกองทุนรวม บวก: คาเผื่อการปรับมูลคา สุทธิ

2550 ราคาทุน มูลคายุติธรรม 45,538,176 45,570,516 32,340 45,570,516 45,570,516

8. ลูกหนี้การคา ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 แยกตามอายุหนี้ที่คงคางนับจากวันที่ถึงกําหนด ชําระไดดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน, สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

116,455,975 854,703 3,726,533 15,409,097 136,446,308 (12,424,780) 124,021,528

490,740,032 14,474,286 4,239,175 12,780,280 522,233,773 (9,684,768) 512,549,005

46,667,731 2,341,805 1,349,301 50,358,837 (617,250) 49,741,587

377,873,821 1,081,751 378,955,572 (617,250) 378,338,322

453,586 453,586

12,897 93,016 105,913

309,619,424 309,619,424

497,124,198 497,124,198

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

9. เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกัน ยอดคงเหลือนี้ คือ เงินฝากประจําซึ่งบริษัทฯ ไดนําไปค้ําประกันวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงิน

Annual Report 68


10. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ลักษณะความสัมพันธระหวางบริษัทฯกับกิจการที่เกี่ยวของกันสรุปไดดังนี้ รายชื่อ บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC) บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด (SCT) บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจกั ร ออยล จํากัด บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) บริษัท แจสซี่ ครีเอชั่น จํากัด บริษัท บลูแพลนเน็ท ทราเวล จํากัด บริษัท แบค บราเดอร จํากัด บริษัท โกลบอลไลเซชั่น อีโคโนมิค แอนด โปรโมชั่น เนทเวอรค จํากัด บริษัท อัลท เอ็นเนอยี่ จํากัด บริษัท วิลเลจฟารม มารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท วิลเลจฟารม แอนด เฟรนด จํากัด

ลักษณะความสัมพันธ บริษัทยอย บริษัทยอยของ PTEC บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอยของ SCT บริษัทยอย ถือหุนในบริษัทฯรอยละ 29.87 ถือหุนใน PSDC รอยละ 49 และมีกรรมการ รวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน

ในระหวางป บริษัทฯ และบริษัทยอยมีรายการธุรกิจที่สาํ คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาว เปนไปตามเงื่อนไขทางการคาและเกณฑตามที่ตกลงกันระหวางบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันเหลานั้น ซึ่ง เปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้

Annual Report 69


(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

2551

รายการธุรกิจกับบริษัทยอย (ไดตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคา รายไดคาบริหารจัดการ ดอกเบี้ยรับ

-

-

รายไดอื่น - การใหบริการอื่น ซื้อสินคา คาขนสงจาย คาใชจายอื่น ขายที่ดิน ขายอุปกรณ ซื้ออุปกรณ

-

-

958,024 10,614,000 1,754,770 1,823,850 708,540 930,781

4,090,601 6,474,854 2,911,474 1,122,125 6,800,787 688,700 64,726 -

นโยบายการกําหนดราคา

2550

8,806,592,407 8,693,053,418 หมายเหตุ 1 70,740,739 41,009,685 หมายเหตุ 2 1,395,698 1,025,937 อัตรารอยละ 4.85 - 5.75 ตอปและ LIBOR 1 เดือนบวกรอยละ 2 ตอป 7,790,901 6,721,373 ราคาตามสัญญา 817,281,129 1,318,577,384 ราคาทุน 206,445,016 176,911,406 ราคาตามสัญญา 5,519,449 831,978 ตามตนทุนที่เกิดขึ้นจริง 26,000,000 ราคาตามสัญญาซึง่ ใกลเคียงกับราคาทุน 2,054,506 - ใกลเคียงราคาทุน 822,182 - ใกลเคียงราคาทุน

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน รายไดคาเชาและบริการ รายไดคาบริหารจัดการ ซื้อสินทรัพยถาวร คาใชจายอื่น คาเชาที่ดิน คาเชาอุปกรณ รายจายคาโฆษณาและะสงเสริมการขาย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย หมายเหตุ 1หมายเหตุ 2-

10,614,000 1,187,496 701,540 -

4,090,601 1,471,068 688,700 64,726 -

ราคาตามสัญญา หมายเหตุ 2 ราคาตามสัญญา ตามตนทุนที่เกิดขึ้นจริง ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา อัตรารอยละ 7.5 ตอป อัตรารอยละ 7.5 - 9.0 ตอป

ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสวนลดตามปริมาณคําสัง่ ซื้อสําหรับธุรกิจคาสงน้ํามัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดโดยมีสวนลดคาการตลาดในอัตราคงที่สําหรับธุรกิจคาปลีกน้ํามัน ราคาขายอิงตามราคาตลาดสําหรับธุรกิจขนสงน้ํามัน คํานวณตามเกณฑปริมาณสินคาที่จําหนายไดสําหรับธุรกิจคาสงน้ํามัน ตามตนทุนที่เกิดขึ้นจริงสําหรับธุรกิจคาปลีกน้ํามัน ธุรกิจขนสงน้ํามัน ธุรกิจใหเชาและบริการอสังหาริมทรัพย และธุรกิจขายอุปกรณ เครื่องมือสถานีบริการน้ํามันและใหบริการซอมบํารุง

ในเดือนธันวาคม 2549 บริษัทฯไดเขาทําสัญญากับ บริษัทโกลบอลไลเซชั่น อีโคโนมิค แอนด โปรโมชั่น เนทเวอรค จํากัด (GEPN) เพื่อใหบริษัทยอยแหงหนึ่งของ GEPN ดําเนินการในการจัดหาที่ดินในประเทศจีนเพื่อสรางคลัง ป โ ตรเลี ย มตามราคาทุ น ที่ ต กลงร ว มกั น ในสั ญ ญา ซึ่ ง ได รั บ อนุ มั ติ ก ารทํ า รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น จากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2550 บริษัทฯไดจายเงินรวมจํานวน 30 ลานบาทใหแก GEPN ลวงหนาภายใตเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ยอดคงคางดังกลาวแสดง ภายใตหัวขอ “เงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของ” ในงบดุล ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 มีรายละเอียดดังนี้ Annual Report 70


(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด รวมลูกหนี้การคา - บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) บริษัท วิลเลจฟารม แอนด เฟรนด จํากัด รวมลูกหนี้การคา - บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

-

- 199,431,636 303,552,897 3,525,640 8,513,480 - 30,366,489 59,373,831 - 40,335,489 36,282,860 - 22,707,440 71,745,670 7,765,060 1,747,910 15,832,000 1,587,300 2,152,460 1,823,460 - 309,619,424 497,124,198

45,845 407,741 453,586 453,586

93,016 12,897 105,913 105,913 309,619,424 497,124,198

Annual Report 71


(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด บริษัท เมโทร ปโตรเลียม จํากัด บริษัท บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม จํากัด บริษัท เบญจปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุจักร ออยล จํากัด VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด รวมลูกหนี้บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) รวมลูกหนี้บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท โกลบอลไลเซชั่น อีโคโนมิค แอนด โปรโมชั่น เนทเวอรค จํากัด รวมเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด รวมเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน

Annual Report 72

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

-

-

6,618,529 3,057,453 744,494 511,227 987,896 2,117,716 351,736 319,235 111,601 327,741 985,972 1,194,729 17,328,329

1,010,717 191,476 640,361 374,848 1,263,466 507,287 13,696 157,772 8,774 1,619,567 642,193 6,430,157

15,000 15,000 15,000

2,563,980 94,119 2,658,099 2,658,099

17,328,329

2,563,980 2,563,980 8,994,137

30,000,000 30,000,000

30,000,000 30,000,000

30,000,000 30,000,000

30,000,000 30,000,000

-

-

78,000,000

-

-

-

7,981,500 85,981,500

-


(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม จํากัด บริษัท อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม จํากัด รวมเจาหนี้การคา - บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) รวมเจาหนี้การคาบริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมเจาหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด บริษัท จตุรทิศขนสง จํากัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด รวมเจาหนี้บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท แจสซี่ครีเอชั่น จํากัด บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด บริษัท บลูแพลนเน็ท ทราเวล จํากัด บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) รวมเจาหนี้บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวมเจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

-

-

853,650

-

-

-

3,368,340 7,401,714 11,623,704

92,400 9,285,400 9,377,800

641,725 641,725 641,725

-

11,623,704

9,377,800

-

-

1,197,634 4,104,080 9,840,684 379,234 15,521,632

76,248 674,090 26,015,247 274 26,765,859

19,474 10,207,532 40,037 10,267,043 10,267,043

89,400 40,499 129,899 129,899

19,474 10,207,532 10,227,006 25,748,638

79,200 79,200 26,845,059

Annual Report 73


(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ผูบริหารของบริษัทฯ ผูถือหุนของบริษัทยอย กรรมการของบริษัทยอย บุคคลที่เกี่ยวของกันกับกรรมการของบริษัทฯ รวมเงินกูยมื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึง่ ป เงินมัดจําคาเชา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท วิลเลจฟารม แอนด เฟรนด จํากัด รวมเงินมัดจําคาเชา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

500,000 1,000,000 1,500,000 6,000,000

-

-

-

9,000,000

-

-

-

218,088 218,088

218,088 218,088

-

-

ในระหวางป 2551 เงินกูยืมจาก/เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันมีการเคลื่อนไหวดังนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ 1 มกราคม 2551 เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลที่เกี่ยวของกันกับกรรมการของบริษัทฯ รวม เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ผูบริหารของบริษัทฯ ผูถือหุนของบริษัทยอย กรรมการของบริษัทยอย บุคคลที่เกี่ยวของกันกับกรรมการของบริษัทฯ รวม

Annual Report 74

ซื้อบริษัทยอย ระหวางป

ในระหวางป

ยอดคงเหลือ ณ

เพิ่มขึ้น

31 ธันวาคม 2551

ลดลง

-

2,000,000 2,000,000

- (2,000,000) - (2,000,000)

-

500,000 1,000,000 1,500,000 6,000,000 9,000,000

-

-

-

500,000 1,000,000 1,500,000 6,000,000 9,000,000


(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ 1 มกราคม 2551 เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด รวม

ในระหวางป เพิ่มขึ้น

ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2551

ลดลง

1,500,000 (1,500,000) - 103,000,000 (25,000,000) 7,981,500 - 112,481,500 (26,500,000)

78,000,000 7,981,500 85,981,500

เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันเปนตั๋วสัญญาใชเงินที่ไมมีหลักประกันอายุ 12 เดือน รวมจํานวน 2 ลานบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 9.0 ตอป ในระหวางป บริษัทยอยไดจายชําระเงินกูยืมระยะสั้นดังกลาวทั้งจํานวนแลว เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกันเปนตั๋วสัญญาใชเงินที่ไมมีหลักประกันอายุ 24 เดือน รวมจํานวน 9 ลาน บาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.5 - 9.0 ตอป เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด เปนตั๋วสัญญาใชเงินที่ไมมีหลักประกันอายุ 3 - 6 เดือน รวมจํานวน 78 ลานบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.85 - 5.60 ตอป เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด เปนตั๋วสัญญาใชเงินที่ไมมีหลักประกันอายุ 12 เดือน จํานวน 7.98 ลานบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.75 ตอป คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ในป 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจายเงินเดือน โบนัส คาเบี้ยประชุมและสวัสดิการอื่นใหแก กรรมการและผูบริหาร เปนจํานวนเงิน 55 ลานบาท (2550: 66 ลานบาท) ภาระค้ําประกันกับกิจการที่เกีย่ วของกัน บริษัทฯมีภาระจากการค้ําประกันใหกับกิจการที่เกี่ยวของกันตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 35.4

Annual Report 75


11. สินคาคงเหลือ (หนวย: บาท)

ราคาทุน สินคาสําเร็จรูป วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง รวม

2551 2550 495,048,136 1,213,334,969 300,914,801 392,057,435 4,310,787 4,865,942 800,273,724 1,610,258,346

งบการเงินรวม คาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคา คงเหลือ - ลดราคาทุนลงให เทากับมูลคาสุทธิที่จะไดรับ สินคาคงเหลือ-สุทธิ 2551 2550 2551 2550 (16,153,150) - 478,894,986 1,213,334,969 - 300,914,801 392,057,435 4,310,787 4,865,942 (16,153,150) - 784,120,574 1,610,258,346

(หนวย: บาท)

ราคาทุน สินคาสําเร็จรูป วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง รวม

2551 2550 429,083,431 1,082,525,449 284,331,540 389,049,975 4,310,787 4,436,361 717,725,758 1,476,011,785

งบการเงินเฉพาะกิจการ คาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคา คงเหลือ - ลดราคาทุนลงให เทากับมูลคาสุทธิที่จะไดรับ สินคาคงเหลือ-สุทธิ 2551 2550 2551 2550 (15,226,833) - 413,856,598 1,082,525,449 - 284,331,540 389,049,975 4,310,787 4,436,361 (15,226,833) - 702,498,925 1,476,011,785

สินคาคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ไดรวมน้ํามันสํารองตามขอบังคับของกระทรวงพาณิชยจํานวนเงิน 502 ลาน บาท (2550: 871 ลานบาท) โดยสวนหนึ่งจํานวนเงิน 136 ลานบาท (2550: 100 ลานบาท) เปนสินคาที่อยูภายใต สัญญาซื้อขายน้ํามันเพื่อใชเปนปริมาณสํารองตามกฎหมายที่บริษัทฯมีภาระผูกพันตองขายคืนใหแกผูขายเมื่อครบ กําหนดตามอายุของสัญญา

12. เงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน

เงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับ จากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับ จากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน - สุทธิ Annual Report 76

งบการเงินรวม 2551 2550 18,683,932 17,613,949

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 18,683,932 17,613,949

(18,683,932)

-

(18,683,932)

-

-

17,613,949

-

17,613,949


เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2549 บริษัทฯ ไดทําสัญญา Petroleum Product Business Joint Venture กับ T.C.S. Oil Co., Ltd. (TCS) เพื่อรวมลงทุนในธุรกิจน้ํามันในประเทศกัมพูชา ซึ่งสัญญามีผลบังคับเปนระยะเวลา 15 ปสิ้นสุดในป 2563 โดยบริษัทฯมีภาระในการจัดหาน้ํามันและใหเงินกูยืมแก TCS เปนเงินบาทจํานวน 35 ลานบาท คิดดอกเบี้ยในอัตรา คงที่รอยละ 5 ตอป โดยชําระดอกเบี้ยเปนรายเดือน และมีกําหนดชําระคืนเงินตนตามเงื่อนไขที่ระบุไวในสัญญา หลังจากที่บริษัทฯไดรับชําระเงินใหกูยืมดังกลาวเต็มจํานวนแลว บริษัทฯจะไดรับสวนแบงกําไรจากผลการดําเนินงาน ของ TCS ตามที่ระบุในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 TCS เปนหนี้เงินใหกูยืมเกินกวาหนึ่งป บริษัทฯ จึงหยุดรับรู รายไดดอกเบี้ยและตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับเงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับดังกลาวทั้งจํานวน

13. สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (หนวย: บาท)

ภาษีสรรพสามิตจายลวงหนา ภาษีสรรพสามิตรอเรียกคืน เงินชดเชยจากกองทุนน้ํามัน เชื้อเพลิงคางรับ ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน ภาษีเงินไดนิติบุคคลจายลวงหนา เงินจายลวงหนาคาซื้อสินคา อื่น ๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียนอื่น หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สุทธิ

งบการเงินรวม 2551 2550 24,347,951 74,609,502 98,398,633 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 24,347,951 74,609,502 98,398,633 -

40,232,752 48,882,374 96,788,943 52,068,941 37,180,926

24,651,015 125,925,333 16,699,621 55,631,635 40,042,735

40,232,752 32,208,904 94,693,302 13,000,000 19,350,833

24,651,015 116,695,919 15,909,834 20,000,000 21,173,011

397,900,520 (3,206,019) 394,694,501

337,559,841 (3,206,019) 334,353,822

322,232,375 (3,206,019) 319,026,356

273,039,281 (3,206,019) 269,833,262

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2551 ภาษี ส รรพสามิ ต รอเรี ย กคื น จํ า นวน 98.4 ล า นบาท เป น ภาษี ที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ คื น ภาษี สรรพสามิตน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามันจากกรมสรรพสามิต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ภาษีเงินไดนิติบุคคลจายลวงหนาจํานวน 96.8 ลานบาท เปนภาษีเงินไดนิติบุคคลที่ บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจายไปในป 2551 ซึ่งจะขอคืนในป 2552 มูลคาที่จะไดรับคืนของภาษีเงินไดดังกลาวขึ้นอยูกับผลการ ตรวจสอบภาษีโดยเจาหนาที่กรมสรรพากร อยางไรก็ตาม ฝายบริหารเชื่อวา บริษัทฯ และบริษัทยอยจะไดรบั คืนเงินภาษี ทั้งจํานวนในอนาคต ในระหวางป 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดรับคืนภาษีเงินไดจายลวงหนาของป 2549 จํานวน 15.9 ลานบาทจากกรมสรรพากร

Annual Report 77


14. เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอยตามที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (หนวย: บาท)

บริษัท

ทุนชําระแลว 2551

VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด และบริษัทยอย บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด บริษัท เอสซีที ปโตรเลียม จํากัด และบริษัทยอย บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด

สัดสวนเงินลงทุน 2550

เงินปนผลที่บริษัทฯ รับระหวางป

ราคาทุน

2551

2550

2551

2550

2551

2550

รอยละ

รอยละ

-

60

-

86,589,330

-

-

-

3.5 ลาน ดอลลารสหรัฐฯ

50 ลานบาท

50 ลานบาท

100

100

49,999,300

49,999,300

-

-

50 ลานบาท

50 ลานบาท

51

51

25,499,600

25,499,600

-

-

10 ลานบาท 200 ลานบาท

10 ลานบาท 124 ลานบาท

100 100

100 100

9,999,965 199,999,200

9,999,965 123,999,200

-

-

รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย หัก: คาเผื่อการดอยคา

285,498,065 (40,484,114)

296,087,395 (95,502,767)

เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ

245,013,951

200,584,628

VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. ในเดือนเมษายน 2550 VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. (VTN-P) ไดทําสัญญาขายสินทรัพยกับผูซื้อ ในประเทศเวียตนามซึ่งไมเปนบุคคลที่เกี่ยวของกันโดยมีมูลคาตามสัญญา 8.35 ลานดอลลารสหรัฐฯ VTN-P ไดรับเงิน มัดจํารอยละ 30 ของมูลคาตามสัญญาเปนจํานวน 2.5 ลานดอลลารสหรัฐฯซึ่งบันทึกอยูในบัญชีหนี้สินหมุนเวียนอื่นใน หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 21 และ VTN-P จะไดรับเงินสวนที่เหลือเมื่อสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขตางๆ ตาม สัญญา เชน VTN-P และผูซื้อไดรับอนุมัติที่จําเปนจากทางราชการเกี่ยวกับรายการซื้อขาย และโอนสินทรัพยดังกลาว ผู ซื้อไดรับอนุมัติและใบอนุญาตที่จําเปนในการดําเนินธุรกิจและไดรับสัญญาเชาที่ดินและสิทธิในการใชที่ดินจากทาง ราชการ และการทดลองการผลิตเปนผลสําเร็จ เปนตน เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการของ VTN-P ไดมีมติให VTN-P เลิกกิจการและชําระบัญชี โดยที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2550 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 ไดมีมติเห็นชอบในการเลิกกิจการและชําระ บัญชีดังกลาวใหแลวเสร็จภายในป 2551 ในเดือนมกราคม 2551 VTN-P ไดรับเงินคาขายสินทรัพยงวดที่ 2 ในอัตรารอยละ 65 ของมูลคาตามสัญญาเปนจํานวน 5.43 ลานดอลลารสหรัฐฯ และบันทึกในบัญชีหนี้สินหมุนเวียนอื่น ตอมา VTN-P ไดจายชําระเงินกูยืมระยะยาวทั้ง จํานวนใหแกธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย ซึ่งธนาคารไดดําเนินการยกเลิกภาระผูกพันในการค้ํา ประกันตางๆ

Annual Report 78


ในเดือนพฤษภาคม 2551 VTN-P ไดปฏิบัติตามเงื่อนไขตางๆ ตามสัญญาดังกลาวและรับรูกําไรจากการขายสินทรัพย จํานวน 2.27 ลานดอลลารสหรัฐฯ ในเดือนกรกฎาคม 2551 VTN-P ไดรับเงินคาขายสินทรัพยงวดสุดทายในอัตรารอย ละ 5 ของมูลคาตามสัญญาเปนจํานวน 0.42 ลานดอลลารสหรัฐฯ ตอมา VTN-P ไดจายเงินคืนทุนใหแกบริษัทฯจํานวน 1.65 ลานดอลลารสหรัฐฯ โดยบริษัทฯ ไดรับรูกําไรสุทธิจากการคืนทุนของบริษัทยอยจํานวน 22.62 ลานบาท (สุทธิจาก การโอนกลับคาเผื่อการดอยคาจํานวน 55.02 ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 VTN-P อยูในระหวางการ ดําเนินการจดทะเบียนชําระบัญชี บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ก) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2550 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2550 ไดมีมติอนุมัติใหเปลี่ยนชื่อบริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด เปน บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด และมีมติอนุมัติใหเพิ่มเงินลงทุนในบริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 100 โดยบริษัท อาร พี ซี เอเชีย จํากัด มีทุนจดทะเบียน 10 ลานบาท เพิ่มเปน 200 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 1.9 ลานหุน มูลคาหุนละ 100 บาท รวม เปนจํานวนเงิน 190 ลานบาท โดยบริษัทฯ เปนผูซื้อหุนเพิ่มทุนครั้งนี้ทั้งหมด การเพิ่มทุนของบริษัทยอยดังกลาว เพื่อลงทุนในโครงการไบโอดีเซลที่จังหวัดระยอง บริษัทยอยไดจดทะเบียนการเปลี่ยนชื่อบริษัทและการเพิ่มทุนกับ กระทรวงพาณิชยในเดือนพฤษภาคม 2550 บริษัทยอยเรียกชําระคาหุนเปนจํานวน 114 ลานบาทในระหวางป 2550 และไดเรียกชําระคาหุนสวนที่เหลือรวม จํานวน 76 ลานบาท ในระหวางไตรมาสที่ 1 ป 2551 โดยบริษัทฯไดจายชําระเงินคาหุนทั้งจํานวนแลว ในระหวางป 2550 บริษัทยอยไดซื้อที่ดินจากบริษัทฯมูลคา 26 ลานบาท เพื่อใชในการดําเนินโครงการ โดยบริษัท ยอยไดกอสรางโรงงานแลวเสร็จและเริ่มจําหนายในเดือนมกราคม 2552 ข) บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัดไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนสําหรับกิจการผลิตไบ โอดีเซล ตามบัตรสงเสริมการลงทุนเลขที่ 1840(9)/2550 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2550 ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดบาง ประการ สิทธิพิเศษดังกลาวประกอบดวย 1) ได รั บยกเว น ภาษี เงิ น ไดนิ ติ บุค คลสํ า หรั บ กํ าไรสุท ธิ ที่ไ ด จากการประกอบกิ จการที่ ไ ด รับ การส งเสริม เป น ระยะเวลา 8 ปนับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น ในกรณีที่บริษัทยอยมีผลขาดทุนเกิดขึ้นในระหวางเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนี้ อนุญาตใหบริษัท ยอยนําผลขาดทุนดังกลาวมาหักกลบกับผลกําไรที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาที่ไดรับยกเวนภายในเวลาหาป นับแตวันที่พนกําหนดที่ไดรับยกเวน 2) ไดรับยกเวนไมตองนําเงินปนผลจากกิจการที่ไดรับการสงเสริมซึ่งไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลไปรวม คํานวณเพื่อเสียภาษีเงินไดตลอดระยะเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนั้น 3) ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ โดยเครื่องจักรนั้นจะตอง นําเขามาภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ 2553 ในป 2551 และ 2550 บริษัทยอยยังไมมีรายไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริม Annual Report 79


บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2551 บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC) (บริษัทยอยที่บริษัทฯถือหุนอยูในอัตรารอยละ 100) ไดเขาซื้อหุนของบริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (SAP) (ประกอบกิจการขายอุปกรณเครื่องมือสถานีบริการน้ํามันและ ใหบริการซอมบํารุง) จากผูถือหุนเดิมจํานวน 15,300 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท) คิดเปนรอยละ 51 ของทุนจด ทะเบียนและชําระแลวเปนจํานวนเงิน 1.53 ลานบาท ตอมา เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2551 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนมีมติ ให SAP เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 3 ลานบาท (หุนสามัญ 30,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท) เปน 5 ลานบาท (หุน สามัญ 50,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท) โดยการออกจําหนายหุนสามัญใหมจํานวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุน ละ 100 บาท ใหแกผูถือหุนในสัดสวนเดิมในราคาหุนละ 125 บาท และในเดือนกุมภาพันธ 2551 PTEC ไดจายชําระ เงินคาหุนจํานวน 1,275,000 บาทแลว ซึ่ง SAP ไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2551

Annual Report 80


15. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (หนวย: บาท)

งบการเงินรวม สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารโรงงานและ สวนปรับปรุง อาคารโรงงาน

ที่ดิน ราคาทุน / ราคาที่ตีใหม 31 ธันวาคม 2550 ซื้อเพิ่ม จําหนาย โอน ตีราคา ซื้อบริษัทยอยระหวางป 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย คาเสื่อมราคาสะสมสําหรับสวนที่ตีราคา ซื้อบริษัทยอยระหวางป

เครื่องจักร และอุปกรณ โรงงาน

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารสํานักงาน อาคารใหเชา และสวนปรับปรุง และสวนปรับปรุง อาคารสํานักงาน อาคารใหเชา

อุปกรณสถานี บริการน้ํามัน

เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใช สํานักงาน

ยานพาหนะ

งานระหวาง กอสราง

รวม

137,364,930 340,945 35,751,324 -

189,862,494 (101,220,560) 3,323,489 19,882,654 -

861,534,957 634,013 (108,344,323) 19,385,839 659,355,249 -

121,453,939 26,500 (1,834,229) 11,590,370 -

77,309,224 2,466,317 -

29,847,784 2,674,697 (1,269,137) 1,494,444 21,075,177

74,742,717 2,870,933 (6,955,741) 7,700,142 63,748

84,309,565 10,454,847 (4,189,668) 60,723,451 -

77,099,684 553,689,730 (107,024,997) -

1,653,525,294 570,350,720 (223,813,658) 714,989,227 21,138,925

173,457,199

111,848,077

1,432,565,735

131,236,580

79,775,541

53,822,965

78,421,799

151,298,195

523,764,417

2,736,190,508

-

57,018,097 5,620,808 (12,713,743) 14,014,966 -

479,113,220 57,210,831 (19,658,893) 440,140,031 -

41,596,302 15,120,541 (1,447,685) -

1,763,541 3,339,477 -

15,166,816 9,710,113 (1,211,267) 3,766,845

43,188,562 10,147,847 (5,472,591) 11,135

65,703,919 20,266,167 (2,209,411) -

-

703,550,457 121,415,784 (42,713,590) 454,154,997 3,777,980

31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550

-

63,940,128

956,805,189

55,269,158

5,103,018

27,432,507

47,874,953

83,760,675

-

1,240,185,628

137,364,930

132,844,397

382,421,737

79,857,637

75,545,683

14,680,968

31,554,155

18,605,646

77,099,684

949,974,837

31 ธันวาคม 2551

173,457,199

47,907,949

475,760,546

75,967,422

74,672,523

26,390,458

30,546,846

67,537,520

523,764,417

1,496,004,880

คาเสื่อมราคาสําหรับป 2550 (75.9 ลานบาท รวมอยูใ นตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

124,102,257

2551 (78.3 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

121,415,784 Annual Report 81


(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารโรงงานและ สวนปรับปรุง อาคารโรงงาน

ที่ดิน ราคาทุน/ราคาที่ตีใหม 31 ธันวาคม 2550 ซื้อเพิ่ม จําหนาย โอน ตีราคา 31 ธันวาคม 2551

เครื่องจักร และอุปกรณ โรงงาน

102,908,526

88,641,934

746,792,611

35,751,324

68,999 19,882,654

12,000 (476,371) 21,057,575 659,355,249

138,659,850

คาเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่ จําหนาย คาเสื่อมราคาสะสมสําหรับ สวนที่ตีราคา 31 ธันวาคม 2551

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคาร สํานักงานและ สวนปรับปรุง อาคารสํานักงาน

108,593,587 1,426,741,064

เครื่องตกแตง ติดตั้งและ เครื่องใช สํานักงาน ยานพาหนะ

29,330,659 43,318,069

2,632,207

งานระหวาง กอสราง

รวม

18,051,425 1,031,675,431

190,015 8,065,121 68,524,977 - (6,688,881) (2,155,147) 3,931,143 1,792,895 - (26,850,612) 33,261,802 38,612,098

8,542,181

76,792,113 (9,320,399) 714,989,227

59,725,790 1,814,136,372

-

44,304,355 5,464,312

456,756,845 58,106,297

21,759,754 34,557,270 3,691,933 2,857,724

2,162,368 708,157

-

559,540,592 70,828,423

-

-

(85,635)

- (5,304,596)

(908,694)

-

(6,298,925)

-

14,014,966

440,140,031

-

-

-

454,154,997

-

63,783,633

954,917,538

25,451,687 32,110,398

1,961,831

มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550

102,908,526

44,337,579

290,035,766

7,570,905

8,760,799

469,839

18,051,425

472,134,839

31 ธันวาคม 2551

138,659,850

44,809,954

471,823,526

7,810,115

6,501,700

6,580,350

59,725,790

735,911,285

-

- 1,078,225,087

คาเสื่อมราคาสําหรับป 2550 (62.4 ลานบาท รวมอยูใ นตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

73,039,759

2551 (60.6 ลานบาท รวมอยูใ นตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

70,828,423

ในระหวางป 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจัดใหมีการประเมินราคาสินทรัพยตามรายกลุมของสินทรัพยซึ่งราคา ประเมินใหมเปนราคาที่สรุปผลในวันที่ 4 ธันวาคม 2551 เกณฑที่ใชประเมินราคาสินทรัพยมีดังนี้ ก) ที่ ดิ น และอาคารโรงงานประเมิ น ราคาโดยผู ป ระเมิ น ราคาอิ ส ระโดยใช วิ ธี เ ปรี ย บเที ย บราคาตลาด (Market Approach) และมูลคาตนทุนทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost) ตามลําดับ ข) เครื่องจักรและอุปกรณโรงงานประเมินราคาโดยผูประเมินราคาอิสระโดยใชมูลคาตนทุนทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost)

Annual Report 82


ผลของการประเมินแสดงมูลคาที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณโรงงานเพิ่มขึ้นจากราคาตามบัญชีจํานวน ประมาณ 260.8 ลานบาท บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกสวนที่เพิ่มขึ้นของมูลคาสินทรัพยดังกลาวไวในสวนเกินทุนจาก การตีราคาสินทรัพยในสวนของผูถือหุน หากบริษัทฯและบริษัทยอยแสดงมูลคาของที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณโรงงาน ดังกลาวดวยวิธีราคาทุน มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จะเปนดังนี้ (หนวย: บาท) ที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและอุปกรณ

งบการเงินรวม 137,705,875 42,089,743 258,272,714

งบการเงินเฉพาะกิจการ 102,908,526 38,991,748 254,335,694

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทยอยแหงหนึ่งมียอดคงเหลือของงานระหวางกอสรางโรงงานแหงใหมจํานวนประมาณ 461.0 ลานบาท (2550: 50.9 ลานบาท) ซึ่งบริษัทยอยไดใชเงินกูยืมจากสถาบันการเงินแหงหนึ่งเพื่อใชในการกอสราง โรงงานดังกลาว ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทยอยไดรวมตนทุนการกูยืมเขาเปนราคาทุนของโครงการ จํานวน 9.8 ลานบาท (2550: 0.78 ลานบาท) โดยคํานวณจากอัตราการตั้งขึ้นเปนทุนในอัตรารอยละ 1.02 (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: ไมมี) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยมียอดคงเหลือของยานพาหนะซึ่งไดมาภายใตสัญญาเชาการเงิน โดย มีมูลคาสุทธิตามบัญชีเปนจํานวนเงิน 5 ลานบาท (2550: 3.8 ลานบาท) และในงบการเงินเฉพาะกิจการจํานวน 3.6 ลาน บาท (2550: ไมมี) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีอาคารและอุปกรณจํานวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังใช งานอยู ราคาทุนของสินทรัพยดังกลาวในงบการเงินรวมมีจํานวนเงิน 98 ลานบาท (2550: 84 ลานบาท) และในงบการเงิน เฉพาะกิจการจํานวน 59 ลานบาท (2550: 79 ลานบาท) บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัดไดจดจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางซึ่งมีมูลคาตามบัญชีจํานวน 65 ลานบาท (2550: 33 ลานบาท) เพื่อค้ําประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากธนาคารพาณิชย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทยอยดังกลาวอยู ระหวางการดําเนินการจดทะเบียนจํานําเครื่องจักรที่มีมูลคาตามบัญชีจํานวน 339 ลานบาท บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด ไดจดจํานองสิทธิการเชาที่ดินและสิ่งปลูกสรางที่มีมูลคาตามบัญชีจํานวน 74.6 ลานบาท (2550: 75.5 ลานบาท) เพื่อค้ําประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากธนาคารพาณิชย นอกจากนี้ บริษัทยอยมี ภาระผูกพันตามสัญญาเชาที่จะตองโอนสิ่งปลูกสรางใหผูใหเชาเมื่อครบกําหนดอายุสัญญาเชา

Annual Report 83


16. สินทรัพยไมมีตัวตน

สินทรัพยไมมีตัวตนทีเ่ ปนซอฟแวรมีรายละเอียดดังนี้

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2550 ซื้อเพิ่ม จําหนาย 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจําหนายสะสม 31 ธันวาคม 2550 คาตัดจําหนายสําหรับป คาตัดจําหนายสวนที่จําหนาย 31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจําหนายสําหรับป 2550 (รวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2551 (รวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม / งบการเงินเฉพาะกิจการ ซอฟทแวร ซอฟทแวร ระหวางติดตั้ง รวม 11,257,749 484,120 (574,520) 11,167,349

6,875,874 3,277,676 10,153,550

18,133,623 3,761,796 (574,520) 21,320,899

6,484,325 997,750 (574,519) 6,907,556

-

6,484,325 997,750 (574,519) 6,907,556

4,773,424 4,259,793

6,875,874 10,153,550

11,649,298 14,413,343 1,228,268 997,750

17. สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

เงินใหกูยืมระยะยาว เงินชดเชยคาปรับคุณภาพ เงินจายลวงหนาคาซื้อเครื่องจักร คาสิทธิในการใชประโยชนบนที่ดิน สิทธิการเชาที่ดินและสถานีบริการน้ํามัน อื่น ๆ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - สุทธิ

Annual Report 84

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 1,246,663 1,246,663 26,711,581 26,711,581 42,912,848 21,818,678 6,408,707 6,563,089 7,101,552 9,507,803 41,468,503 108,760,662 (1,246,663) (1,246,663) 40,221,840 107,513,999

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 1,246,663 1,246,663 26,711,581 26,711,581 1,569,636 1,271,774 4,754,134 6,441,261 34,282,014 35,671,279 (1,246,663) (1,246,663) 33,035,351 34,424,616


เงินชดเชยคาปรับคุณภาพ คือ เงินชดเชยเนื่องจากในไตรมาสที่สามของป 2549 ผูขายวัตถุดิบไดสงวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ผิดไปจากที่กําหนดไวในสัญญาซื้อขายวัตถุดิบ โดยมีคุณสมบัติที่ผิดไปจากที่เคยสงมอบใหบริษัทฯ ตลอดระยะเวลาของ สัญญาที่ผานมาอยางกะทันหัน มีผลทําใหบริษัทฯตองจายตนทุนเพิ่มในการปรับคุณภาพสินคาตลอดจนคาเสียหายดาน อื่นๆ รวมทั้งสิ้นประมาณ 136.45 ลานบาท จากการเจรจากับผูขายวัตถุดิบ ไดขอสรุปวาผูขายวัตถุดิบจะชดเชยคาปรับ คุณภาพใหแกบริษัทฯ รวม 52.7 ลานบาท สวนที่เหลือเปนคาเสียหายที่เกิดจากการที่ราคาของสินคาและวัตถุดิบลดต่ําลง มากอยางตอเนื่อง (Inventory Loss) และเนื่องจากสวนนี้เปนความเสียหายที่เกิดจากภาวะราคาตลาดโลกที่ทั้งฝายบริษทั ฯ และฝายผูขายวัตถุดิบตางตองแบกรับอยางหลีกเลี่ยงไมไดเชนเดียวกัน ผูขายวัตถุดิบจึงขอใหตางฝายตางแบกรับภาระ Inventory Loss ของตนเอง บริษัทฯ จึงไดบันทึกบัญชีเงินชดเชยคาปรับคุณภาพจํานวนนี้โดยลดตนทุนขายสําหรับป 2549 ทั้งจํานวน ทั้งนี้ ผูขายวัตถุดิบไดออกใบลดหนี้ใหบริษัทฯ จํานวน 26 ลานบาทในเดือนพฤศจิกายน 2549 สวนที่ เหลือจํานวน 26.7 ลานบาท ผูขายแจงวาจะพิจารณาวิธีการชดเชยใหในภายหลัง 18. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (หนวย: บาท) อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป) เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร 3.00 - 7.00 เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 3.96 - 5.50 รวม

งบการเงินรวม 2551 2550 153,907,527 110,233,504 978,000,000 110,000,000 1,131,907,527 220,233,504

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 153,688,388 110,233,504 970,000,000 110,000,000 1,123,688,388 220,233,504

บริษัทฯ บริษัทฯ มีวงเงินเบิกเกินบัญชีและสินเชื่อหมุนเวียนจากสถาบันการเงินหลายแหง ซึ่งค้ําประกันโดยการจดจํานํา เงินฝากประจํา บริษัทยอย บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด มีวงเงินเบิกเกินบัญชีจากสถาบันการเงินแหงหนึ่ง ซึ่งค้ําประกันโดยบริษัทฯ

19. เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน จํานวนนี้เปนตั๋วสัญญาใชเงินที่บริษัทฯและบริษัทยอยออกใหแกบุคคลภายนอก ซึ่งคิดดอกเบี้ยในอัตรารอย 4.0 - 5.5 ตอ ป (2550: รอยละ 4.0 - 5.0 ตอป) และมีกําหนดชําระคืนภายในหนึ่งป

20. เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หนวย: บาท)

เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ถึงกําหนดชําระเกินกวาหนึง่ ป

งบการเงินรวม 2551 2550 327,908,669 130,224,784 (119,504,000) (73,499,453) 208,404,669 56,725,331

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 120,000,000 (80,000,000) 40,000,000 Annual Report 85


การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกูยืมระยะยาวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: บาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 บวก: รับเงินกู หัก: จายคืนเงินกู ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

งบการเงินรวม 130,224,784 390,863,006 (193,179,121) 327,908,669

งบการเงินเฉพาะกิจการ 200,000,000 (80,000,000) 120,000,000

บริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 บริษัทฯ ไดเขาทําสัญญากูยืมเงินจากธนาคารพาณิชยในประเทศแหงหนึ่งในวงเงินจํานวน 200 ลานบาท โดยเงินกูยืมดังกลาวจะนําไปใชในการเพิ่มทุนของบริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด เงินกูยืมคิดดอกเบี้ยใน อัตราไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําสําหรับเงินใหกูยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยชําระดอกเบี้ยเปนรายเดือนและมีกําหนด ชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือนงวดละ 40 ลานบาท และตองจายชําระคืนเงินตนทั้งหมดภายในเดือนมิถุนายน 2553 โดย เริ่มชําระงวดแรกในเดือนมิถุนายน 2551 เงินกูยืมดังกลาวไมมีหลักประกัน ในระหวางป 2551 บริษัทฯ ไดเบิกใชเงินกูยืม ทั้งจํานวนแลว ภายใตสัญญาเงินกูยืมขางตนไดระบุขอปฏิบัติและขอจํากัดบางประการตามที่ระบุในสัญญา เชน การกอภาระผูกพันใน ทรัพยสินและการดํารงอัตราสวนทางการเงินใหเปนไปตามสัญญา เปนตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินกูยืมดังกลาวมียอดคงคางจํานวน 120 ลานบาท (2550: ไมมี) บริษัทฯไดเขาทําสัญญาสินเชื่อกับสถาบันการเงินหลายแหง ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯมีวงเงินสินเชื่อที่ยัง ไมไดเบิกใชเปนจํานวน 2,788 ลานบาท (2550: 2,343 ลานบาท) ซึ่งวงเงินดังกลาวค้ําประกันโดยการจดจํานําเงินฝาก ประจํา VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2547 VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. (VTN-P) ไดเขาทําสัญญาเงินกูกับธนาคาร เพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทยในวงเงินจํานวน 3.5 ลานดอลลารสหรัฐฯ โดยเงินกูยืมดังกลาวจะนําไปใชใน การกอสรางโรงกลั่นของบริษัท เงินกูยืมนี้มีกําหนดเบิกใชตามที่ระบุในสัญญาโดยเริ่มงวดแรกในเดือนตุลาคม 2547 และ สิ้นสุดในเดือนกรกฎาคม 2548 มีระยะเวลาปลอดเงินตนสิบสองเดือนนับจากวันที่เบิกเงินกูงวดแรกหรือหกเดือนหลังจาก วันที่เริ่มดําเนินกิจการแลวแตอยางใดจะถึงกอนและมีกําหนดชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือนงวดละ 0.35 ลานดอลลาร สหรัฐฯ เริ่มตั้งแตเดือนตุลาคม 2549 และสิ้นสุดในเดือนตุลาคม 2553 โดยมีอัตราดอกเบี้ยเทากับ LIBOR บวกรอยละ 1.875 ตอป และมีกําหนดชําระดอกเบี้ยในวันที่ 30 เมษายน และ 31 ตุลาคมของทุกป สัญญาเงินกูขางตนไดระบุขอปฏิบัติและขอจํากัดบางประการตามที่ระบุในสัญญา เชน สัดสวนการถือหุนของบริษัทฯใน บริษัทยอยดังกลาวตองไมต่ํากวารอยละ 50 ขอจํากัดในการจายเงินปนผล และขอจํากัดในการกอหนี้ เปนตน

Annual Report 86


สัญญาเงินกูดังกลาวค้ําประกันโดยบริษัทฯ และสัญญาใหความสนับสนุนทางการเงินจากผูถือหุนของบริษัทยอย รวมทั้ง ยกผลประโยชนในกรมธรรมประกันภัยทรัพยสินใหแกผูใหกู ในเดือนมกราคม 2551 VTN-P ไดจายชําระเงินกูยืมระยะยาวทั้งจํานวนใหแกธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหง ประเทศไทย ซึ่งธนาคารไดยกเลิกภาระผูกพันในการค้ําประกันตางๆ ทั้งหมดแลว (2550: เงินกูยืมมียอดคงคางจํานวน 99.2 ลานบาท หรือ 2.9 ลานดอลลารสหรัฐฯ) บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550 บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด ไดเขาทําสัญญาสินเชื่อกับสถาบันการเงินแหง หนึ่งวงเงินรวม 55 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยวงเงินกูระยะยาวจํานวน 45 ลานบาทและวงเงินกูเบิกเกินบัญชีและหนังสือ ค้ําประกันจํานวน 10 ลานบาท เงินกูยืมระยะยาวคิดดอกเบี้ยในอัตราไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําสําหรับเงินใหกูยืมซึ่งคิด กับลูกหนี้ชั้นดี โดยมีกําหนดชําระดอกเบี้ยทุกเดือน และชําระคืนเงินตนทุกเดือนๆ ละ 542,000 บาทเริ่มชําระเดือน กุมภาพันธ 2551 ภายในเวลา 8 ป (รวมระยะเวลาปลอดเงินตน 1 ป) ภายใตสัญญาเงินกูยืมขางตนไดระบุขอปฏิบัติและขอจํากัดบางประการตามที่ระบุในสัญญา เชน การกอภาระผูกพันใน ทรัพยสิน และการดํารงอัตราสวนทางการเงินใหเปนไปตามสัญญา เปนตน วงเงินสินเชื่อขางตนค้ําประกันโดยการใชสิทธิการเชาที่ดินของบริษัทยอยเปนประกันและจํานอง สิ่งปลูกสรางในโครงการ ของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินกูยืมดังกลาวมียอดคงคางจํานวน 38 ลานบาท (2550: 31 ลานบาท) บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด ไดเขาทําสัญญากูยืมเงินจากธนาคารพาณิชยในประเทศแหง หนึ่งในวงเงินจํานวน 200 ลานบาท โดยเงินกูยืมดังกลาวจะนําไปใชในการกอสรางโรงงานและนําเขาเครื่องจักรใน โครงการผลิตไบโอดีเซล เงินกูยืมคิดดอกเบี้ยในอัตราไมเกินอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําสําหรับเงินใหกูยืมซึ่งคิดกับลูกหนี้ชั้นดี โดยชําระดอกเบี้ยเปนรายเดือนและมีกําหนดชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือนงวดละ 8 ลานบาท เริ่มตั้งแตเดือนธันวาคม 2551 ถึงเดือนธันวาคม 2556 และงวดละ 16 ลานบาท ตั้งแตเดือนมีนาคม 2557 เปนตนไป และตองจายชําระคืนเงินตน ทั้งหมดภายในเดือนมิถุนายน 2557 ภายใตสัญญาเงินกูยืมขางตนไดระบุขอปฏิบัติและขอจํากัดบางประการตามที่ระบุในสัญญา เชน สัดสวนการถือหุนของ บริษัทฯ ในบริษัทยอยดังกลาวตองไมต่ํากวารอยละ 51 ขอจํากัดในการจายเงินปนผล การกอภาระผูกพันในทรัพยสนิ และ การดํารงอัตราสวนทางการเงินใหเปนไปตามสัญญา เปนตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินกูยืมดังกลาวมียอดคงคางจํานวน 169 ลานบาท (2550: ไมมี) สัญญาเงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยการจดจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางรวมทั้งสิ่งปลูกสรางที่จะมีขึ้นในอนาคตของ บริษัทยอย นอกจากนั้น บริษัทยอยจะตองดําเนินการจดทะเบียนจํานําเครื่องจักรใหแลวเสร็จไมเกินเดือนธันวาคม 2551 โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทยอยอยูระหวางดําเนินการจดทะเบียนจํานําเครื่องจักร

Annual Report 87


21. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

เงินรับลวงหนาจากลูกคา เงินรับลวงหนาจากการขายสินทรัพย ภาษีสรรพสามิตคางจาย ภาษีมูลคาเพิ่มคางจาย ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย คาใชจายคางจาย อื่น ๆ รวม

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 2550 13,524,967 17,525,913 84,503,929 28,196,462 56,475,231 20,846,608 1,637,259 72,796,122 21,573,507 58,889,981 11,831,070 15,969,629 97,609,873 306,160,805

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2,536,914 4,906,738 28,196,462 56,475,231 20,846,608 69,049,703 14,326,988 53,183,614 2,491,192 4,722,509 68,398,164 188,337,795

22. ทุนเรือนหุน ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริษัทฯ ไดรับเงินเพิ่มทุนจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ (RPC-W1) จํานวน 3,609,796 หุน ราคาหุนละ 1 บาท รวมเปนเงิน 3,609,796 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้นเปน 529,870,229 บาท บริษัทฯไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2550 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2551 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2551 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ดําเนินการลดทุนจดทะเบียน จากเดิม 530,048,171 บาทเปน 529,870,229 บาท โดยการตัดหุนสามัญที่ยังไมไดออกจําหนายคงเหลือจากการใชสิทธิ ตามใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญจํานวน 177,942 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจดทะเบียนลด ทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2551 รายการกระทบยอดจํานวนหุนสามัญ 2551

(หนวย: หุน) 2550

หุนสามัญจดทะเบียน จํานวนหุนสามัญ ณ วันตนป ลดลงจากการลดทุนจดทะเบียน จํานวนหุนสามัญ ณ วันปลายป

530,048,171 (177,942) 529,870,229

530,048,171 530,048,171

หุนสามัญที่ออกและชําระแลว จํานวนหุนสามัญ ณ วันตนป เพิ่มขึ้นจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ จํานวนหุนสามัญ ณ วันปลายป

529,870,229 529,870,229

526,260,433 3,609,796 529,870,229

Annual Report 88


23. ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2548 บริษัทฯไดออกใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ชนิดระบุชื่อผูถือและเปลี่ยนมือ ไมได (RPC-W1) ใหแกกรรมการ ที่ปรึกษา ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทยอยจํานวน 8,490,000 หนวย โดยแบงออกเปน 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 จํานวน 2,830,108 หนวย ฉบับที่ 2 จํานวน 2,829,987 หนวย และฉบับที่ 3 จํานวน 2,829,905 หนวย ในราคาเสนอขาย 0 บาทตอหนวย ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวมีอายุไมเกิน 36 เดือน สิ้นสุด วันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 โดยมีอัตราการใชสิทธิคือ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา ใชสิทธิ 1 บาทตอ 1 หุนสามัญ (เวนแตจะมีการปรับราคาและอัตราการใชสิทธิ) และมีระยะเวลาการใชสิทธิดังนี้ - ฉบับที่ 1 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 - ฉบับที่ 2 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2549 - ฉบับที่ 3 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวมิไดจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตอมาเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2549 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2549 มีมติอนุมัติเปลี่ยนแปลงการใชสิทธิในโครงการ ESOP ครั้งที่ 1 โดยสาระสําคัญของการแกไขการใชสิทธิดังกลาวสรุปไดดังนี้ อัตราการใชสิทธิเดิม อัตราการใชสิทธิใหม วันที่เริ่มมีผลบังคับใช จํานวนหุนรองรับเดิมคงเหลือ จํานวนหุนรองรับเพิ่มเติม จํานวนหุนรองรับรวม ณ วันที่อนุมัติ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย: หุนสามัญ 1 หุน ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย: หุนสามัญ 1.25 หุน วันที่ 31 มีนาคม 2549 8,490,000 หุน 1,415,000 หุน 9,905,000 หุน

รายการเคลื่อนไหวของใบสําคัญแสดงสิทธิมีรายละเอียดดังนี้ ใบสําคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญในระหวางป หมดอายุในระหวางป ใบสําคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

หนวย 3,024,131* (2,889,092) (135,039) -

* ใบสําคัญแสดงสิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 รวมใบสําคัญแสดงสิทธิที่โอนใหผูรับชวงซื้อหลักทรัพยจํานวน 194,226 หนวย

24. สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย คือสวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณโรงงาน สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยดังกลาวจะทยอยตัดจําหนายโดยใชวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานที่เหลืออยูของ สินทรัพยนั้น และบันทึกโอนไปยังกําไรสะสมโดยตรง Annual Report 89


(หนวย: บาท)

ยอดคงเหลือตนป บวก: ตีราคาสินทรัพยระหวางป หัก: การตัดจําหนาย ยอดคงเหลือปลายป

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 260,834,230 (1,776,867) 259,057,363

-

สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยดังกลาวไมสามารถนํามาหักกับขาดทุนสะสมและไมสามารถจายเปนเงินปนผล

25. สํารองตามกฎหมาย ภายใตบทบัญญัติของมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ตองจัดสรรกําไรสุทธิ ประจําปสวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไป จายเงินปนผล

26. สํารองหุนทุนซื้อคืน ตามหนังสือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่ กลต.ชส. (ว) 2/2548 และหนังสือสภา วิชาชีพบัญชีที่ ส.สวบช. 016/2548 บริษัทมหาชนจํากัดที่มีการซื้อหุนคืนตองมีกําไรสะสมไมนอยกวามูลคาหุนซื้อคืนที่ ยังคงเหลืออยูในบัญชี และในกรณีที่จะนํากําไรสะสมไปจายเงินปนผล กําไรสะสมคงเหลือหลังจากจายเงินปนผลตองมี จํานวนไมนอยกวาหุนซื้อคืนที่ยังคงเหลืออยูในบัญชีดวยเชนกัน ดังนั้น บริษัทฯไดถือปฏิบัติตามแนวทางดังกลาว โดยการ จัดสรรกําไรสะสมเปนสํารองหุนทุนซื้อคืนเทากับจํานวนเงินที่ไดจายซื้อหุนคืน

27. หุนทุนซื้อคืน เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ไดมีมติอนุมัติใหซื้อคืนหุนสามัญของบริษัทฯ เพื่อการบริหาร สภาพคลองสวนเกิน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก) วงเงินสูงสุดที่จะใชในการซื้อหุนคืนไมเกิน 220 ลานบาท ข) จํานวนหุนที่จะซื้อคืนไมเกิน 52,987,022 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท หรือคิดเปนรอยละ 10 ของหุนที่จําหนาย แลวทั้งหมด ค) กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืนตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2551 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 ง) คณะกรรมการบริษัทฯ จะพิจารณาวิธีการและระยะเวลาในการจําหนายหุนทุนซื้อคืนภายหลัง จาก 6 เดือนนับแต การซื้อหุนคืนเสร็จสิ้นแตไมเกิน 3 ป

Annual Report 90


หุนทุนซื้อคืนประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 220,549,808 46,706,900 4.72 8.81

มูลคาหุนทุนซื้อคืน (บาท) จํานวนหุนทุนซื้อคืน (หุน) ราคาทุนเฉลี่ยหุนละ (บาท) อัตรารอยละของจํานวนหุนทุนซื้อคืนตอจํานวนหุนที่บริษัทฯออก

2550 -

28. รายไดจากการขาย

รายไดจากการขายสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 แสดงไดดงั นี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

รายไดจากการขาย หัก: รายการขายคืนน้ํามันตามสัญญา

23,142,152,820 21,031,373,934 20,662,200,620 18,722,014,052 (635,249,560) (305,308,700) (635,249,560) (305,308,700)

รายไดจากการขาย - สุทธิ

22,506,903,260 20,726,065,234 20,026,951,060 18,416,705,352

บริษัทฯ ไดเขาทําสัญญาซื้อขายน้ํามันเพื่อใชเปนปริมาณสํารองตามกฎหมายกับบริษัทผูคาน้ํามันหลายแหงโดยมีเงือ่ นไข วา บริ ษั ท ฯต อ งขายคื น น้ํ า มั น ดั ง กล า วให แ ก บ ริ ษั ท เหล า นั้ น เมื่ อ ครบกํ า หนดตามอายุ ข องสั ญ ญา และบริ ษั ท ฯ เป น ผูรับผิดชอบเกี่ยวกับคาใชจายตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน คาเบี้ยประกันภัย คาเชาถังเก็บน้ํามัน เปนตน บริษัทฯ บันทึก รายการขายคืนน้ํามันดังกลาวเปนรายการหักจากรายไดจากการขายในงบกําไรขาดทุน

29. คาใชจายตามลักษณะ

รายการคาใชจายแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจา ยที่สําคัญดังตอไปนี้ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2551 เงินเดือนและคาแรงและผลประโยชนอื่น ของพนักงาน คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป ตนทุนสินคาสําเร็จรูปซื้อมาเพื่อขาย

256,730,129 121,415,784 997,750 16,670,476,517 678,381,328 4,844,762,417

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550

271,398,693 179,526,625 122,873,989 70,828,425 1,228,268 997,750 13,511,169,399 16,685,077,726 (327,844,684) 609,842,458 6,182,387,580 2,655,295,443

212,031,519 73,039,759 1,228,268 13,511,169,399 (259,901,769) 4,006,374,992

Annual Report 91


30. ภาษีเงินไดนิติบุคคล บริษัทฯ ไมมีภาระภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับป 2551 เนื่องจากบริษัทฯ มีผลขาดทุนสุทธิทางภาษี

31. กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับปดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่ถือ โดยบุคคลภายนอกที่ออกจําหนายอยูในระหวางป โดยสุทธิจากหุนสามัญซื้อคืนที่ถือโดยบริษัทฯ

32. ขอมูลทางการเงินจําแนกสวนงาน บริษัทฯและบริษัทยอยดําเนินกิจการในสวนงานธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจผลิตและจําหนายผลิตภัณฑปโตรเลียมและปโตรเคมี และดําเนินธุรกิจในสวนงานภูมิศาสตรหลักคือในประเทศไทย ดังนั้น รายได กําไร (ขาดทุน) และสินทรัพยที่แสดงในงบ การเงินจึงเกี่ยวของกับสวนงานธุรกิจและสวนงานภูมิศาสตรตามที่กลาวไว ในระหวางป 2551 รายไดจากการขายจํานวน 6,705 ลานบาท (2550: 3,514 ลานบาท) เปนการขายโดยสงออกตางประเทศ

33. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ บริษัทยอยและพนักงานบริษัทฯ และบริษัทยอยไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริษัทฯ บริษัทยอยและพนักงานจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 5 - 10 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) และจะจายใหแกพนักงาน เมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯ ในระหวางป 2551 บริษัทฯและบริษัทยอยได จายเงินสมทบกองทุนเปนจํานวนเงิน 9.9 ลานบาท (2550: 8.6 ลานบาท)

34. เงินปนผลจาย เงินปนผลที่ประกาศจายในป 2551 และ 2550 ของบริษัทฯประกอบดวย (หนวย: บาท) เงินปนผล เงินปนผลจายงวดสุดทายประกาศ จากกําไรของป 2549 เงินปนผลจายระหวางกาลจากการ ดําเนินงานตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2550 รวมเงินปนผลสําหรับป 2550

Annual Report 92

อนุมัติโดย ที่ประชุมสามัญประจําปผูถือหุน วันที่ 5 เมษายน 2550 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ วันที่ 9 สิงหาคม 2550

เงินปนผลจาย

เงินปนผลจาย ตอหุน

52,626,043

0.10

63,151,252

0.12

115,777,295

0.22


(หนวย: บาท) เงินปนผล เงินปนผลจายงวดสุดทายประกาศ จากกําไรของป 2550 เงินปนผลจายระหวางกาลจากการ ดําเนินงานตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2551

อนุมัติโดย ที่ประชุมสามัญประจําปผูถือหุน วันที่ 3 เมษายน 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ วันที่ 8 สิงหาคม 2551

รวมเงินปนผลสําหรับป 2551

เงินปนผลจาย ตอหุน

เงินปนผลจาย

154,619,709

0.30

82,137,477

0.17

236,757,186

0.47

35. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 35.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุน บริษัทฯ และบริษัทยอยมีภาระผูกพันรายจายฝายทุนเกี่ยวกับการกอสรางโรงงาน สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงและ รานคาภายในสถานี และซื้อเครื่องจักรจํานวนเงิน 18.3 ลานบาท และ 0.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ (2550: 41 ลานบาท และ 5 ลานเหรียญสหรัฐฯ) 35.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเชาดําเนินงาน ก) บริษัทฯ และบริษัทยอยไดเขาทําสัญญาเชาดําเนินงานและสัญญาบริการที่เกี่ยวของกับการเชาที่ดิน พื้นที่ใน อาคาร คลังน้ํามัน สถานีบริการน้ํามัน รถยนตและอุปกรณ อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต 1 ถึง 26 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายในอนาคตทั้งสิ้นภายใตสัญญาเชา ดําเนินงาน ดังนี้ จายชําระภายใน ภายใน 1 ป 1 ถึง 5 ป มากกวา 5 ป

ลานบาท 32.4 71.6 94.8

ในระหวางป 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีรายจายตามสัญญาเชาและสัญญาบริการดังกลาวที่รับรูแลวในงบ กําไรขาดทุนเปนจํานวนเงิน 50.6 ลานบาท ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทยอยแหงหนึ่งมีภาระผูกพันตามสัญญาเชาที่ดินซึ่งมีระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดป 2575 โดยมีการปรับอัตราคาเชาทุกๆ 5 ป คิดเปนจํานวนเงิน 55 ลานบาท ในระหวางป 2551 บริษัทยอยมีรายจาย ตามสัญญาเชาที่ดินดังกลาวที่รับรูแลวในงบกําไรขาดทุนเปนจํานวนเงิน 1.7 ลานบาท

Annual Report 93


35.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายระยะยาว ก) ในป 2538 บริษัทฯ ไดเขาทําสัญญาซื้อขายวัตถุดิบกับบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) โดยปริมาณการซื้อขายและ ราคาเปนไปตามที่ระบุไวในสัญญา สัญญาดังกลาวมีระยะเวลา 15 ปสิ้นสุดป 2555 โดยสามารถตออายุได และ กําหนดใหบริษัทฯ ตองวางหนังสือค้ําประกันธนาคารจํานวนหนึ่งเพื่อเปนหลักประกันการจายชําระคาซื้อสินคา บริษัทฯจะไดรับคืนหลักประกันดังกลาวเมื่อครบกําหนดอายุสัญญา ข)

ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริษัทยอยไดเขาทําสัญญาซื้อขายไอน้ํากับบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด (PTTUT) โดย ปริมาณการซื้อขายและราคาเปนไปตามที่ระบุไวในสัญญา สัญญาดังกลาวมีระยะเวลา 15 ปนับจากวันที่อุปกรณ พรอมใชงานซึ่งจะถูกกําหนดโดย PTTUT แตภายในวันที่ 1 ตุลาคม 2551 โดยสามารถตออายุไดอีก 5 ป

35.4 การค้ําประกัน ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีหนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯ และบริษัทยอยเหลืออยูเปน จํานวนเงิน 267.3 ลานบาท (2550: 125.0 ลานบาทและ 13.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพัน ทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทยอย ซึ่งประกอบดวย หนังสือค้ําประกันเพื่อค้ําประกัน การจายชําระเงินใหกับเจาหนี้จํานวน 263 ลานบาท เพื่อค้ําประกันการใชไฟฟาและอื่นๆ จํานวน 4.3 ลานบาท ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯไดออกหนังสือค้ําประกันเปนจํานวนเงิน 10 ลานบาท (2550: 120 ลานบาท) ใหแกธนาคารไทยธนาคาร จํากัด (มหาชน) เพื่อค้ําประกันวงเงินกูและวงเงินสินเชื่อของบริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (บริษัทยอย) การค้ําประกันนี้มีผลผูกพันตอบริษัทฯนานเทาที่ภาระหนี้สินที่ยังไมไดชําระโดยบริษัทยอย ดังกลาว บริษัทฯคิดคาธรรมเนียมในการค้ําประกันในอัตรารอยละ 1 ตอป

36. เครื่องมือทางการเงิน 36.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สําคัญของบริษัทฯ และบริษัทยอยตามที่นิยามอยูในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 “การแสดง รายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้ การคา เงินใหกูยืมระยะสั้น เงินลงทุน เงินกูยืมระยะสั้นและระยะยาว บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของ กับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทฯ และบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม ลูกหนี้อื่นและตั๋วเงินรับ ฝายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกําหนดใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนัน้ บริษทั ฯ และบริษัทยอยจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสําคัญจากการใหสินเชื่อ นอกจากนี้ การใหสินเชื่อของ บริษัทฯ และบริษัทยอยไมมีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยมีฐานของลูกคาที่หลากหลายและมีอยู จํานวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯ และบริษัทยอยอาจตองสูญเสียจากการใหสินเชื่อคือ มูลคาตามบัญชีของ ลูกหนี้การคา เงินใหกูยืม ลูกหนี้อื่นและตั๋วเงินรับหักดวยคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามที่แสดงอยูในงบดุล

Annual Report 94


ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯ และบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินใหกูยืม เงิน เบิกเกินบัญชี และเงินกูยืมที่มีดอกเบี้ย อยางไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญมีอัตรา ดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน ความเสี่ยงจาก อัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ และบริษัทยอยจึงอยูในระดับต่ํา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่สําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสําหรับ สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกําหนด หรือวันที่มีการกําหนดอัตรา ดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม ถึงกอน) ไดดังนี้ อัตราดอกเบี้ย

อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ป

มากกวา 1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

ปรับขึ้นลงตาม ไมมีอัตรา ราคาตลาด ดอกเบี้ย

รวม

(ลานบาท) สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระ ค้ําประกัน หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะ สั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่ไม เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

-

-

-

70 -

22 124

92 124

0.125 - 1.5 -

120

-

-

-

-

120

1.75 - 2.75

120

-

-

70

146

336

970 -

-

-

162 -

567 77 10

1,132 567 77 10

3.0 - 7.0 -

70 1

4

-

328 -

-

70 328 5

4.0 - 5.5 ไมเกิน MLR 6.60 - 7.60

1,041

4

-

490

654

2,189

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ และบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินคา บริษัทฯ และ บริษัทยอยไดตกลงทําสัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่งปเพื่อใชเปน เครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง

Annual Report 95


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ และบริษัทยอยมียอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่เปนสกุลเงินตรา ตางประเทศดังนี้ สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

สินทรัพย ทางการเงิน (ลาน) 1.27 -

หนี้สิน ทางการเงิน (ลาน) 0.62 0.05

อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 34.94 49.27

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ มีสัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือจํานวนเงิน 1,812 เหรียญ สหรัฐฯ อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาของจํานวนที่ขายเทากับ 34.58 บาทตอ 1 เหรียญสหรัฐฯ ความเสี่ยงจากตลาด บริษัทฯ และบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากราคาตลาดของน้ํามันที่มีการเคลื่อนไหวคอนขางมาก ฝายบริหารควบคุม ความเสี่ยงนี้โดยการควบคุมระยะเวลาการผลิตเพื่อใหชวงเวลาระหวางวันรับมอบวัตถุดิบและวันขายสินคาสําเร็จรูป เหลือนอยที่สุด นอกจากนั้น บริษัทฯ อาจตกลงทําสัญญาซื้อขายน้ํามันดิบและผลิตภัณฑน้ํามันลวงหนาเพื่อใชเปน เครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯ ไมมีสัญญาซื้อขายน้ํามันดิบและผลิตภัณฑน้ํามันลวงหนาคงเหลือ 36.2 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญของบริษัทและบริษัทยอยฯจัดอยูในประเภทระยะสั้น เงินใหกูยืมและ เงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทยอยจึงประมาณมูลคายุติธรรมของ สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบดุล มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรู และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะที่ไมมีความเกี่ยวของกัน วิธีการ กําหนดมูลคายุติธรรมขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกําหนดจากราคาตลาดลาสุด หรือ กําหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคาที่เหมาะสม

37. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนที่สําคัญของบริษัทฯ คือการจัดใหมีซึ่งโครงสรางทางการเงินที่เหมาะสมและการ ดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินธุรกิจอยางตอเนื่อง ตามงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุมบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 2.94:1 (2550: 1.57:1) และบริษทั ฯมี อัตราสวนเทากับ 2.57:1 (2550: 1.43:1)

Annual Report 96


38. เหตุการณภายหลังวันที่ในงบการเงิน เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติใหเพิ่มเงินลงทุนในบริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทฯถือหุนอยูในอัตรารอยละ 51 โดย PSDC จะเพิ่มทุนจด ทะเบียนจาก 50 ลานบาท เปน 225 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 1.75 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 175 ลานบาทในราคาหุนละ 100 บาท โดยออกใหแกผูถือหุนในสัดสวนเดิม การเพิ่มทุน เพื่อลงทุนในโครงการใหมของบริษัทยอยดังกลาว

39. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน บริษัทฯ ไดมีการจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ใหมเพื่อให สอดคลองกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปปจจุบัน ซึ่งไมมีผลกระทบตอกําไรสุทธิหรือสวนของผูถือหุน การจัด ประเภทรายการใหมมีดังตอไปนี้ (หนวย: บาท)

เงินใหกูยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยคางรับ จากกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น กําไรจากการขายสินทรัพยถาวร กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รายไดอื่น คาใชจา ยในการบริหาร

งบการเงินรวม ตามทีจ่ ัด ตามทีเ่ คย ประเภทใหม รายงานไว

งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามทีจ่ ัด ตามทีเ่ คย ประเภทใหม รายงานไว

17,613,949 334,353,822 949,974,837 11,649,298 107,513,999 1,125,897 2,088,866 35,307,541 430,340,249

17,613,949 269,833,262 472,134,839 11,649,298 34,424,616 147,130 68,253,631 -

16,622,224 335,345,547 961,624,135 28,381,767 79,132,232 36,286,307 428,104,252

16,622,224 270,824,987 483,784,137 1,271,774 33,152,842 68,400,761 -

40. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2552

Annual Report 97





ขอมูลสําคัญทางการเงิน/ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ขอมูลสําคัญทางการเงิน / Financial Highlights อัตราสวนทางการเงิน Financial Ratios อัตรากําไรสุทธิ Net Profit Margin

หนวย 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551 Unit 31 Dec. 2006 31 Dec. 2007 31 Dec. 2008 %

0.94

1.93

(2.24)

อัตรากําไรขั้นตน Gross Profit Margin

%

3.26

4.94

(0.21)

อัตราผลตอบแทนผูถือหุน Return on Equity

%

15.45

27.19

(50.78)

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย Return on Assets

%

5.51

10.39

(16.30)

กําไรสุทธิตอหุน Net Profit per Share

บาท Baht

0.35

0.76

(1.01)

มูลคาตามบัญชีตอหุน Book Value per Share

บาท Baht

2.27

2.78

1.46

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน Debt to Equity Ratio

เทา X

1.77

1.60

2.33

อัตราสวนหนี้สินระยะยาวตอสวนของผูถือหุน Long-term Loan to Equity Ratio

เทา X

0.09

0.05

0.15

Annual Report 8


ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

(หนวย: ลานบาท) (Unit: Million Baht)

Financial Position and Operating Results รายการทางเงิน Baht million or stated otherwise สินทรัพยรวม

31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551 31 Dec. 2006 31 Dec. 2007 31 Dec. 2008 3,327

3,855

3,096

หนี้สินรวม Total liabilities

2,097

2,358

2,310

สวนของผูถือหุนรวม Total Shareholders’ equity

1,230

1,497

786

รายไดจากการขาย Revenue from sales

19,502

20,759

22,535

รายไดรวม Total revenue

19,554

20,797

22,739

กําไรขั้นตน Gross profit

665

1,045

(34)

กําไรกอนหักดอกเบี้ย คาเสื่อมราคา และภาษีเงินได EBITDA

398

683

(284)

กําไรสุทธิ Net profit

183

401

(504)

กําไรสุทธิตอหุน (บาท) Earnings per share (Baht)

0.35

0.76

(1.01)

Total assets

Annual Report 9


รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

Annual Report 98

นายวีระวัฒน ชลวณิช

ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ 64 ป

- Senior Executive Program Massachusetts Institute of Technology (MIT) - MBA, Oregon State University, USA - Associate Diplomas, Industrial Management, Goteborg University, Sweden - พศ.บ. (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 7,506,281 หุน / 1.42% 2543 – ปจจุบัน 2541 – ปจจุบัน 2540 – ปจจุบัน 2539 – ปจจุบัน 2537 – ปจจุบัน 2535 – ปจจุบัน 2531 – ปจจุบัน

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

บจก. วังน้ําเขียว ไวนเนอรี่ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เอส ที เอฟ อี บจก. สยาม สตีล เทาเวอร บจก. ศรีอูทอง บจก. ซิกมาคอนกรีต แอนด คอนสตรัคชั่น บจก. สยาม สตีล เกรทติ้ง

นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ 53 ป - MBA มหาวิทยาลัยบูรพา - วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Finance for Non-Finance Directors 2,533,437 หุน / 0.580% 2546 – ปจจุบัน 2550 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2547 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน 2545 – 2551 2539 – ปจจุบัน 2544 – 2547 2536 – 2539

กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการ ผูจัดการฝายกอสรางโครงการ

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. จตุรทิศขนสง บจก. เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท บจก. เพียวไบโอดีเซล บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. แบค บราเดอร VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. สยามกัลฟ ปโตรเคมีคัล บมจ. อะโรเมติกส (ประเทศไทย)


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

นายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการ / กรรมการบริหาร 54 ป - วศ.บ. (ไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา (ธนบุรี) - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 9,312,375 หุน / 1.757% 2546 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2541 – ปจจุบัน 2538 – ปจจุบัน 2538 – ปจจุบัน 2543 – 2546 2545 – 2551 2543 – 2547

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ

บจก. เบญจปโตรเลียม บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บจก. จตุจักร ออยล บจก. บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม บจก. อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม บจก. เมโทร ปโตรเลียม บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บจก. สยามกัลฟ ปโตรเคมีคัล

Annual Report 99


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

Annual Report 100

นายสุมิตร ชาญเมธี กรรมการ / กรรมการบริหาร 53 ป - วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 42,350 หุน / 0.008% 2538 – ปจจุบัน 2550 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2547 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน 2540 – ปจจุบัน 2545 – 2551 2544 – 2548 2543 – 2547 2541 – 2542 2540 – 2541 2538 – 2540 2537 – 2538 2536 – 2537 2534 – 2536

กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและผูจัดการทัว่ ไป ที่ปรึกษาบริหาร กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ ผูจัดการทั่วไป รองกรรมการผูจัดการใหญ

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เพียวไบโอดีเซล บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บจก. อารพีซีเอเชีย บจก. จตุจักร ออยล บจก. บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม บจก. เบญจปโตรเลียม บจก. อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม บจก. เมโทร ปโตรเลียม บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บจก. ลอจิก คอนซัลแตนท VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บจก. จตุรทิศขนสง บจก. สยามกัลฟปโตรเคมีคัล บจก. บางกอกแคน เมนนูแฟคเตอรริ่ง บจก. สยามพาราฟนส (ในเครือปูนซีเมนตไทย) บจก. ปโตรเชน บมจ. บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม บจก. บางกอกอินดัสเตรียลแกส บมจ. บางจากปโตรเลียม


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

นายศุภพงศ กฤษณกาญจน กรรมการ / ประธานคณะกรรมการบริหาร 52 ป - วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมเคมีและคอมพิวเตอรควบคุมโรงงาน) มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย วิทยาเขตดาวิส รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรและเศรษฐศาสตรระดับสูง (ระหวางศึกษาระดับปริญญาโท) มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย สเตท โพลิเทคนิค วิทยาเขตโพโมนา รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 8,309,075 หุน / 1.568%

2543 – ปจจุบัน 2550 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2541 – ปจจุบัน 2543 – 2547 2547 – 2550 2545 – 2548 2539 – 2543 2537 – 2538 2535 – 2536

ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจัดการ ประธานกรรมการ ผูจัดการโครงการ

2530 – 2534 2524 – 2529 2522 – 2523

วิศวกรโครงการ วิศวกรกระบวนการผลิตและควบคุม วิศวกร

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เพียวไบโอดีเซล บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บจก. ออนเนสท แอนด เอฟเชียน บจก. สยามกัลฟ ปโตรเคมีคัล บจก. อารพีซีเอเชีย บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. ออนเนสท แอนด เอฟเชียน บจก. สีชังสยามโซลเวนท และ บจก. สีชังทอง เทอรมินัล บจก. บางจากปโตรเลียม บจก. เอสโซ ประเทศไทย บจก. น้ํามันพืชอุตสาหกรรม

นายสุทัศน ขันเจริญสุข กรรมการ 51 ป - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - วท.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Board Performance Evaluation : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 9,425 หุน / 0.002% 2539 – ปจจุบัน 2550 - ปจจุบัน 2544 – 2547 2534 – ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ กรรมการผูอํานวยการ กรรมการบริหาร

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท

Annual Report 101


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

Annual Report 102

นายธวัช อึ้งสุประเสิรฐ กรรมการ 62 ป - วท.บ. (เคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 40,035,250 หุน / 7.556%

2548 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน 2546 – 2547 2542 – ปจจุบัน 2536 – 2541

กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ ผูจัดการใหญ ธุรกิจน้ํามันเชื้อเพลิงอุตสาหกรรม

บจก.จตุรทิศขนสงz บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บมจ. เชอรวูดเคมิคอล บจก. เชลลแหงประเทศไทย

ดร.วิชิต แยมบุญเรือง ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 67 ป - Ph.D. School of Public and International Affairs, University of Pittsburgh, USA - MA, Economic, Columbia University, USA - เศรษฐศาสตรบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - The Role of Chairman : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 0.000 หุน / 0.000% 2546 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน 2522 – 2543

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการ ผูอํานวยการธุรกิจการ กลั่น

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. จัสมินอินเตอรเนชั่นแนล บจก. โกลเบิลบอนด การปโตรเลียมแหงประเทศไทย

นายอานุภาพ จามิกรณ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 54 ป - ปริญญาโท Chemical Engineering, University of Tennessee (Knoxville), USA - วิทยาศาสตรบณ ั ฑิต (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DAP : Directors Accreditation Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 106,125 หุน / 0.020% 2546 – ปจจุบัน 2535 – 2544 2522 – 2535

กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหาร ผูจัดการฝาย

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. คูเวตปโตรเลียม (ประเทศไทย) บมจ. เอสโซสแตนดารดประเทศไทย


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา

สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

นายพิพิธ พิชัยศรทัต กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 47 ป - ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - รัฐศาสตรบณ ั ฑิต สาขาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - DCP : Directors Certification Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program : สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - CEO Succession & Effective Leadership Development: สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 106,125 หุน / 0.020% 2546 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน

กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจัดการ ผูชวยผูจัดการ รองผูอํานวยการ

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. สัมมากร บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บมจ. ไทยประกันภัย บจก. สุวรรณชาต ในพระบรมราชูปถัมถ บจก. มงคลชัยพัฒนา สํานักงานจัดการทรัพยสินสวนพระองค โครงการพัฒนาสวนพระองค

นางศิรพร กฤษณกาญจน ผูชวยกรรมการผูจัดการ 53 ป - MBA California State Polytechnic University, Pomona, USA - บช.บ. (ตนทุน) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1,157,990 หุน / 0.219% 2547 – ปจจุบัน 2546 – 2546 2546 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2548 – ปจจุบัน 2547 – 2550 2545 – 2551 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2546 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2545 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2544 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน 2541 – 2546 2531 – ปจจุบัน 2539 – 2541

ผูชวยกรรมการผูจัดการ ผูจัดการทั่วไปสายบริหาร และการเงิน รักษาการผูจัดการสํานัก ตรวจสอบภายใน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ Senior Vice President Budgeting / Accounting / Finance Department

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บ. เพียวสัมมากรเวลลอปเมนท จํากัด บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. อารพีซีเอเชีย VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บจก. จตุจักร ออยล บจก. บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม บจก. เบญจปโตรเลียม บจก. อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม บจก. เมโทร ปโตรเลียม บจก. มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม บจก. จตุรทิศขนสง บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บจก. โยธินปโตรเลียม บจก. ออนเนสท แอนด เอฟเชียน Bangkok Terminal Co., Ltd.

Annual Report 103


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

Annual Report 104

นายบรรลือ ศรีโปดก เจาหนาที่บริหารระดับสูง 51 ป - MBA จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - วศ.บ. (ไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา (ธนบุรี) 184,877 หุน / 0.035% 2550 – ปจจุบัน 2550 - ปจจุบัน 2539 – 2550 2546 – 2550 2546 – 2548 2546 – 2548 2546 – 2548 2545 – 2548 2545 – 2548 2544 – 2548 2544 – 2548

กรรมการผูจัดการ เจาหนาที่บริหารระดับสูง ผูชวยกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บจก. เพียวไบโอดีเซล บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. เพียวพลังงานไทย บจก. จตุจักร ออยล บจก. เบญจปโตรเลียม บจก. บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม บจก. อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม บจก. เมโทร ปโตรเลียม บจก. มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม บจก. จตุรทิศขนสง

นายสมบูรณ ศิริชัยนฤมิตร ผูจัดการทั่วไปสายบริหารและการเงิน 44 ป - เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 90,085 หุน / 0.017% 2550 – ปจจุบัน 2548 – 2549 2546 – 2547 2540 – 2545

ผูจัดการทั่วไปสายบริหารและการเงิน ผูจัดการทั่วไปสายการเงิน ผูอํานวยการสายการเงินและบริหาร ผูจัดการฝายบัญชี

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. เอเชียน มารีน เซอรวิสส บมจ. เอเชียน มารีน เซอรวิสส


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

นางสาวกนกพร จารุกุลวนิช ผูจัดการทั่วไปสายการตลาด 41 ป - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - ปริญญาตรี วท.บ. สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 184,412 หุน / 0.035% 2548 – ปจจุบัน 2548 – ปจจุบัน 2548 – 2550 2548 – 2548 2546 – 2550 2546 – 2550 2546 – 2550 2545 – 2550 2545 – 2550 2544 – 2550 2544 – 2548 2542 – 2550 2544 – 2547 2541 – 2544

กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ ผูจัดการทั่วไปสายการตลาด ผูจัดการทั่วไปสายการตลาดและธุรกิจคาสง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผูจัดการทั่วไป ผูจัดการฝายธุรกิจ

บจก.เพียวพลังงานไทย บจก.เอสซีทีสหภัณฑ บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. จตุจักร ออยล บจก. บูรพารุงโรจน ปโตรเลียม บจก. เบญจปโตรเลียม บจก. อิสานรุงเรือง ปโตรเลียม บจก. เมโทร ปโตรเลียม บจก. มิตรสัมพันธ ปโตรเลียม บจก. จตุรทิศขนสง บจก. เอสซีที ปโตรเลียม บจก. เอสซีทีปโตรเลียม บจก. ระยองเพียวริฟายเออร

นางสาวกัลยา คลายทอง ผูจัดการทั่วไปสายธุรกิจ 40 ป - วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ปริญญาตรี วทบ. สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 154,685 หุน / 0.029% 2550 – ปจจุบัน 2548 – ปจจุบัน 2548 – ปจจุบัน 2548 – ปจจุบัน 2546 – 2548 2542 - 2546

ผูจัดการทั่วไปสายพัฒนาธุรกิจและเทคนิค ผูจัดการทั่วไปสายธุรกิจจัดหาน้ํามัน ผูจัดการทั่วไป กรรมการ ผูจัดการฝายจัดหาและขนสง ผูจัดการฝายเทคโนโลยีและพัฒนา

บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บจก. จตุรทิศขนสง บจก. จตุรทิศขนสง บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร บมจ. ระยองเพียวริฟายเออร

Annual Report 105


ชื่อ-สกุล ตําแหนง (1) อายุ (ป) คุณวุฒิทางการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท (2) และ (3) ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 (หุน/%) ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

นายวสันต ซื่อตรง ผูจัดการทั่วไปสายโรงงาน 39 ป - ปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตร สาขาเทคโนโลยีขนถายวัสดุ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ 170,718 หุน / 0.032% 2550 - ปจจุบัน 2547 - 2549 2546 - 2547 2546 - 2546 2539 - 2546

ผูจัดการทั่วไปสายโรงงาน ผูอํานวยการโครงการ ผูอํานวยการพิเศษ ผูจัดการทั่วไปสายธุรกิจ จัดหาน้ํามัน (รักษาการ) ผูจัดการฝายปฏิบตั ิการ

บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. VTN-P Petrochemical Joint Venture Co., Ltd. บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน)

หมายเหตุ (1) ตามหนังสือรับรองบริษัทฯ กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษทั คือ 1) นายศุภพงศ กฤษณกาญจน นายสัจจา เจนธรรมนุกูล นายสุมติ ร ชาญเมธี นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการสองในสี่คนนี้ ลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัท หรือ 2) นายศุภพงศ กฤษณกาญจน หรือ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล หรือนายสุมิตร ชาญเมธี หรือ นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อรวมกับ นายวีระวัฒน ชลวณิช หรือนายสุทัศน ขันเจริญสุข หรือ นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ รวมเปนสองคนและประทับตราสําคัญของบริษัท (2) รวมสวนของคูสมรสและบุตรที่ยงั ไมบรรลุนิติภาวะ (3) สัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 ราคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาทตอหุน และเรียกชําระแลว ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 เทากับ 529,870,229 หุน

Annual Report 106




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.