รายงานประจ�ำปี 2560
16
รายงานประจ�ำปี 2560
2
1
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
สารบ ัญ
02
วิสัยทัศน์ ภารกิจหลัก กลยุทธ์ นโยบายคุณภาพและค่านิยม
29
โครงการในอนาคต การวิจัยและพัฒนา
04
ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ
30
ความรับผิดชอบต่อสังคม
05
โครงสร้างองค์กร
39
การบริหารและพัฒนาทรัพยากร บุคคล
06
สารจากประธานกรรมการ
40
การกำ�กับดูแลกิจการ
08
สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
51
รายการระหว่างกัน
10
คณะกรรมการบริษัทฯ
52
การบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ
12
คณะผู้บริหาร
56
ประวัติคณะกรรมการบริษัท
14
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
64
โครงสร้างการจัดการ
17
การตลาดและการจัดจำ�หน่าย
82
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
19
โครงสร้างรายได้
84
รายงานคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง
20
โครงสร้างรายได้ตามมูลค่าเพิ่ม
85
รายงานคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน
21
โครงสร้างการถือหุ้น
86
รายงานความรับผิดชอบของคณะ กรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน
22
โครงสร้างการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม
87
คำ�อธิบายและวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายจัดการ
23
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการ ที่สำ�คัญ
91
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
24
สิทธิและประโยชน์จากบัตร ส่งเสริมการลงทุน
95
งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
27
นโยบายการลงทุน และโครงสร้างเงินลงทุน
136
ค่าตอบแทนการสอบบัญชี
28
นโยบายการจ่ายเงินปันผล
137
ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั และบุคคลอ้างอิง
2
วิส ัยท ัศน์ ภารกิจหล ัก กลยุทธ์ นโยบายคุณภาพ
วิส ัยท ัศน์
“เราจะเป็นบริษัทที่มีการเจริญเติบโตและสร้างผลกำ�ไรอย่างย่ั่งยืน โดย การให้บริการและผลิตสินค้าที่ให้ความพอใจระดับห้าดาวแก่ลูกค้า โดยใช้ พนักงานที่มีทักษะสูงและสิ่งอำ�นวยการผลิตระดับโลก”
ภารกิจหล ัก
“เรามุ่งมั่นในการทำ�ให้ผลิตภัณฑ์ของลูกค้ามีคุณภาพที่เหนือกว่า ซึ่ง ประกอบไปด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือแพทย์ และ ผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีอื่นๆโดยผ่านทีมงานท่ีมีทักษะกระบวนการผลิต ที่ทันสมัย และ สิ่งอำ�นวยการผลิตระดับโลก”
กลยุทธ์
• ลดต้นทุนเพื่อเพิ่มกำ�ไรในสินค้าปัจจุบัน • เพิ่มยอดการสั่งซื้อของลูกค้าปัจจุบัน เพื่อใช้กำ�ลังการผลิตให้ดีขึ้น • เพิ่มความหลากหลายของบริการ, สินค้า และลูกค้าของบริษัทฯ
นโยบายคุณภาพ
เรามีความมุ่งมั่นที่จะบรรลุความพึงพอใจของลูกค้าอย่างสูงสุดโดย: • การจัดหาผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า • การปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบบริหารงานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง • การสร้างสภาพแวดล้อมของการทางานเป็นทีม ทัศนคติทางบวกและ นวัตกรรมใหม่ๆ
รายงานประจ�ำปี 2560
ประจําปี 2560 นี้ ได้ผ่านการพิจารณา และทบทวนจากคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว
3
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ค่านิยม
4C DO IT RIGHT DO IT NOW
CREATIVITY
COST AWARENESS CROSS FUNCTIONAL TEAMWORK
CUSTOMER FOCUS
4
รายงานประจ�ำปี 2560
ข ้อมูลทางการเงินที่ส�ำค ัญ
งบการเงินรวม
ปี 2560
ปี 2559
ปี 2558
(หน่วย: พันบาท) รายได้รวม 1,901,459 3,598,366 7,669,885 รายได้จากการขายและบริการ 1,853,763 3,532,850 7,616,769 ก�ำไรขัน้ ต้น 72,290 292,773 147,206 ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน (527,451) 3,828 (94,197) ก�ำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายภาษี ค่าเสือ่ มราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย (95,451) 415,622 295,614 ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี (546,947) 15,645 (62,906) รวมสินทรัพย์ 2,881,424 3,493,136 3,436,471 สินทรัพย์ถาวร-สุทธิ 2,257,912 2,354,218 2,082,428 รวมหนีส้ นิ 1,657,004 1,722,919 1,690,692 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 1,224,420 1,770,217 1,745,778 (หน่วย: บาท) ราคาตามบัญชีตอ่ หุน้ 1.46 2.12 4.17 เงินปันผลจ่ายต่อหุน้ -* (หน่วย: เท่า) อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ 1.35 0.97 0.97 (หน่วย: %) ก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีตอ่ รายได้จากการขายและบริการ (29.50%) 0.44% (0.83%) ก�ำไรก่อนดอกเบีย้ จ่ายภาษี ค่าเสือ่ มราคา และค่าตัดจ�ำหน่ายต่อราย (5.15%) 11.76% 3.88% ได้จากการขายและบริการ อัตราตอบแทนจากสินทรัพย์ (17.16%) 0.45% (1.18%) อัตราตอบแทนผูถ้ อื หุน้ (36.53%) (0.74%) (3.55%) อัตราเงินปันผลจ่าย (ไม่รวมรายการยกเว้น) -* (หน่วย: หุน้ ) จ�ำนวนหุน้ (ณ สิน้ ปี)** 836,475,966 836,475,966 418,237,983 * งดจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี โดยจะมีการน�ำเสนอเพือ่ ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 ในวันที่ 30 เมษายน 2561 ** ค�ำนวณจากจ�ำนวนหุน้ ณ สิน้ ปี
5
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
โครงสร ้างองค์กร
คณะกรรมการ บริษัท คณะกรรมการ พิจารณา ค่าตอบแทน
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการ ความรับผิดชอบ ต่อสังคม (CSR)
ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน
เลขานุการบริษัทฯ
คณะกรรมการ บริหาร
ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร สายงาน การจัดการวัตถุดิบ
สายงานการเงิน และการบริหาร
สายงาน ปฏิบัติการ และพัฒนา
สายงาน การพัฒนาธุรกิจ
บริษทั ฯ ได้เร่งพัฒนาธุรกิจและ ขยายฐานของลูกค้าให้กว้างขึน้ เพื่ อ สามารถด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ให้ เติบโตอย่างยัง่ ยืน เป็นการเพิม่ ความมั่งคั่งในระยะยาวให้กับ ท่านผู้ถือหุ้น
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
7
สารจากประธานกรรมการ
เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ ผมรูส้ กึ ยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ด้มโี อกาสมากล่าวสวัสดี ทักทาย และเรียนให้ผถู้ อื หุน้ รับทราบถึงผลการด�ำเนินงานและ เหตุการณ์ส�ำคัญทีเ่ กิดขึน้ กับบริษทั ฯ ในรอบปีทผี่ า่ นมา เป็นทีป่ รากฏในงบการเงินประจ�ำปี 2560 แล้วว่าบริษทั ฯ ได้ตงั้ ส�ำรองเป็นจ�ำนวนเงินค่อนข้างสูงในส่วนของลูกหนีแ้ ละ สินค้าคงคลังของลูกค้า 2 ราย ท�ำให้บริษทั ฯ ประสบกับสภาวะการขาดทุนค่อนข้างมาก แต่หากจะพิจารณาโดย ละเอียด จะพบว่าผลการขาดทุนจากการด�ำเนินงานมีไม่มาก ผมขอให้ความมัน่ ใจแก่ทา่ นผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทุกท่านว่า ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ ได้ด�ำเนินการทุกวิถที างทีจ่ ะติดตาม เงินทีไ่ ด้ตงั้ ส�ำรองไว้กลับคืนมาโดยเร็ว เพือ่ เป็นก�ำไรของบริษทั ฯ ในอนาคต ขณะนีท้ กุ อย่างก�ำลังอยูใ่ นกระบวนการ ทางกฏหมาย และฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ ได้ตดิ ตามอย่างใกล้ชดิ ในด้านการด�ำเนินงานผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ก็ก�ำลังเร่งปรับปรุงให้ดขี นึ้ อย่างรวดเร็ว ได้มกี ารปรับปรุงรูปแบบของธุรกิจ โดยเปลีย่ นจากการผลิตสินค้าทีม่ กี �ำไรต�ำ่ ไปผลิตสินค้าทีม่ กี �ำไรสูง ซึง่ จะส่งผลให้ก�ำไรสุทธิของบริษทั ฯ สูงขึน้ ในอนาคต นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ได้เร่งพัฒนาธุรกิจและขยายฐานของลูกค้าให้กว้างขึน้ เพือ่ สามารถด�ำเนินธุรกิจให้เติบโตอย่าง ยัง่ ยืน เป็นการเพิม่ ความมัง่ คัง่ ในระยะยาวให้กบั ท่านผูถ้ อื หุน้ ในนามของคณะกรรมการของบริษทั ฯ ผมขอขอบพระคุณท่านผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทุกท่านทีไ่ ด้สนับสนุนและให้ความ สนใจใน SMT ด้วยดีเสมอมา ผมขอขอบพระคุณคณะกรรมการบริษทั ฯ ทีไ่ ด้มสี ว่ นสนับสนุนการด�ำเนินงานของ บริษทั ฯ อย่างเข้มแข็ง ผมขอขอบคุณคณะผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ตลอดจนพนักงานทุกท่าน ทีไ่ ด้ปฏิบตั งิ านอย่างหนัก ด้วยความทุม่ เทและเสียสละอย่างสูง และขอขอบคุณผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกท่านทีไ่ ด้ให้การสนับสนุนบริษทั ฯ มาโดยตลอด คณะกรรมการของบริษทั ฯ จะควบคุมดูแลการบริหารงานของบริษทั ฯ ให้ด�ำเนินไปในทิศทางทีถ่ กู ต้อง โปร่งใส และปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความระมัดระวังเพือ่ ยังประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาวอย่างเต็มที่ ขอแสดงความนับถือ
(สมนึก ไชยกุล) ประธานกรรมการ
8
ANNUAL REPORT 2017
8
รายงานประจ�ำปี 2560
ในปี 2560 นี้ บริษัทฯ ได้มีการ พัฒนาการหลายประการ อาทิ การลดค่ า ใช้ จ ่ า ยและต้ น ทุ น การขยายฐานลูกค้า และการ บริหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ซึ่ ง เ ป ็ น ทรัพยากรส�ำคัญของบริษัท
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
9
สารจากประธานเจ ้าหน ้าที่บริหาร
เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ ทุกท่าน ผมรูส้ กึ เป็นเกียรติอย่างยิง่ ทีไ่ ด้มโี อกาสมาเรียนให้ทา่ นผูถ้ อื หุน้ ทราบถึงผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ในรอบปี ทีผ่ า่ นมา จากงบการเงินปี 2560 บริษัทฯ ได้ตัดสินใจตั้งส�ำรองหนี้และสินค้าคงเหลือของลูกค้า 2 ราย ค่อนข้างสูง ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เป็นไปตามหลักการบัญชีและเพือ่ ความชัดเจนของสถานะทางการเงินของบริษทั ฯ เพือ่ เป็นประโยชน์ ต่อการตัดสินใจของท่านผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทัง้ หลาย อย่างไรก็ดฝี า่ ยกฏหมายของบริษทั ฯ ก�ำลังด�ำเนินการ อย่างดีที่สุดที่จะติดตามหนี้ที่ตั้งส�ำรองไว้กลับมาเป็นผลก�ำไรของบริษัทฯ ในอนาคต ในปี 2560 บริษัทฯ ได้มีพัฒนาการหลายประการที่ผมอยากเรียนให้ท่านทราบ เช่น 1. บริษทั ฯ ได้มแี ผนการลดค่าใช้จา่ ยและต้นทุนอย่างต่อเนือ่ งซึง่ จะเป็นผลท�ำให้ก�ำไรเบือ้ งต้นของบริษทั ฯ สูงขึน้ 2. บริษทั ฯ ได้พฒ ั นาธุรกิจและขยายฐานของลูกค้าให้มจี �ำนวนมากขึน้ ในหลากหลายอุตสาหกรรมเพือ่ เป็นการเพิม่ รายได้และลดความเสีย่ งในด้านการพึง่ พาลูกค้าน้อยราย 3. บริษทั ฯ ได้พฒ ั นาการบริหารในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การพัฒนาบุคลากร ซึง่ เป็นทรัพยากรทีส่ �ำคัญ ของบริษทั ฯ และบริษทั ฯ ได้จดั ฝึกอบรมพนักงานทุกคน ทุกระดับ หลายโครงการ ทีส่ �ำคัญ คือ การน�ำระบบคุณภาพ Six Sigma เข้ามาใช้ในการด�ำเนินงานทุกระดับ ซึง่ จะก่อให้เกิดผลดีตอ่ บริษทั ฯ อย่างมากในอนาคต การพัฒนาการบริหารดังกล่าวข้างต้น จะส่งผลดีตอ่ การด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ในอนาคต ผมขอให้ค�ำมัน่ ต่อท่านผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน คณะกรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารและพนักงาน ทุกท่านทุกระดับ ตลอดจน ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายว่าจะบริหารงานอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ เพือ่ เพิม่ ความมัง่ คัง่ แก่ทา่ นผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว และขอขอบพระคุณทุกฝ่ายทีไ่ ด้ให้การสนับสนุนด้วยดีตลอดมา ขอแสดงความนับถือ
(พีระพล วิไลวงศ์เสถียร) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
คณะกรรมการบริษ ัทฯ
นายสมนึก ไชยกุล
ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการบริหาร
นางพูนพรรณ ไชยกุล
กรรมการ และประธานคณะกรรมการ ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน
นายพร้อมพงศ์ ไชยกุล
นายชอง เคว็น ซัม
นายประสาท ยูนพิ นั ธุ์
กรรมการ
กรรมการ และกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน
รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์
ศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ
นายยรรยงค์ สวัสดิ์
กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการ บริหารความเสีย่ ง และรองประธานเจ้า หน้าทีบ่ ริหาร (สายงานการจัดการวัตถุดบิ )
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
เลขานุการบริษัทฯ กรรมการบริหาร และรองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายงานการเงินและการบริหาร)
คณะผู ้บริหาร
นายพีระพล วิไลวงศ์เสถียร • ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร • กรรมการบริหาร
นายยรรยงค์ สวัสดิ์
• รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (สายงานการเงินและการบริหาร) • เลขานุการบริษทั ฯ • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสีย่ ง
นายชัยณรงค์ นิมมานเทวินทร์
• รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (สายงานปฏิบตั กิ ารและพัฒนา) • กรรมการบริหารความเสีย่ ง
นายพร้อมพงศ์ ไชยกุล
ดร.ทัดธีร์ ขยิม่
นายสมหมาย เนตรภู่
นายทวีชยั งามเลิศศิรชิ ยั
ดร. พิชติ แสงผ่องแผ้ว
นางสาวศิรพิ ร ภักดี
• รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายงานการจัดการวัตถุดบิ ) • กรรมการบริษทั ฯ • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสีย่ ง
• ผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ • กรรมการบริหารความเสีย่ ง
• รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (สายงานการพัฒนาธุรกิจ) • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสีย่ ง
• ผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายวิศวอุตสาหการ และสนับสนุนการด�ำเนินงานการผลิต • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสีย่ ง
• ผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายวิศวกรรม แผนกประกอบแผงวงจรรวม
• ผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายซัพพลายเชน • กรรมการบริหารความเสีย่ ง
นายธนกร ปริยายสุทธิ์
นายพิภพ วัฒเวียงค�ำ
นายกันตภณ จันทร์สว่าง
นายวิรชั เจีย่ ปิยะสกุล
นางสาวภัสรา โอภาสนิพทั ธ์
นางสาวสุนนั ท์ วงศ์มทุ ธาวณิชย์
นายวชิระ เกิดพินธุ์
นายขจร ธรรมจง
• ผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายสารสนเทศ
• ผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากร บุคคล และธุรการ
• ผูช้ ว่ ยผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน • กรรมการบริหารความเสีย่ ง • เลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ
• ผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายขายและการตลาด ระบบพลังงานแสงอาทิตย์
• ผูช้ ว่ ยผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายทดสอบ ผลิตภัณฑ์ วงจรไฟฟ้ารวม
• ผูช้ ว่ ยผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ
นายกรทักษ์ วีรเดชะ
• ผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายการเงิน
• ผูช้ ว่ ยผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายบัญชี
• ผูช้ ว่ ยผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ • กรรมการบริหารความเสีย่ ง
ล ักษณะการประกอบธุรกิจ
15
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ล ักษณะการประกอบธุรกิจ ล ักษณะการด�ำเนินธุรกิจและต ัวอย่างผลิตภ ัณฑ์
บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจให้บริการ การผลิตชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Manufacturing Services หรือ EMS) ให้กบั ลูกค้าทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ กลุม่ ลูกค้าของบริษทั ฯ ได้แก่ เจ้าของ ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Original Equipment Manufacturer หรือ OEM) และผู้รับจ้างออกแบบผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ (Fabless Company) บริษทั ฯ สามารถให้บริการผลิตและประกอบ ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ ได้อย่างครบวงจรโดยใช้เครือ่ งจักรทีท่ นั สมัยและมีประสิทธิภาพสูง ทัง้ เครือ่ งจักรแบบมาตรฐานทีส่ ามารถซือ้ ได้โดยตรงจากผูผ้ ลิตและ แบบพิเศษทีเ่ กิดจากการพัฒนาร่วมกันระหว่างบริษทั ฯ กับผูผ้ ลิต เพือ่ ให้ได้เครือ่ งจักรทีม่ ปี ระสิทธิภาพและคุณภาพในการผลิตทีด่ ยี งิ่ ขึ้น ท�ำให้บริษัทฯ สามารถรับจ้างผลิตและประกอบชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ทเี่ ป็นนวัตกรรมใหม่ได้อย่างหลากหลาย ทัง้ ชิน้ ส่วน อิเล็กทรอนิกส์ทมี่ คี วามซับซ้อนและชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ทตี่ อ้ งการ ความละเอียดและความแม่นย�ำสูง เพือ่ ตอบสนองข้อก�ำหนดของ ผลิตภัณฑ์และความต้องการของลูกค้า ้ วนอิเล็ กทรอนิกส์ 1. การผลิตและประกอบชินส่
บริษทั ฯ รับจ้างผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับ ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ อาทิ • การรับจ้างผลิตและประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (Printed Circuit Board Assembly หรือ PCBA) โดยใช้เทคโนโลยี PTH, SMT, COB, FOB และ FCOF ส�ำหรับอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์หลายชนิด • การรับจ้างผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับอุปกรณ์ เครือ่ งมือแพทย์ (Medical Devices) ประเภทเครือ่ งมือแพทย์ทมี่ ี ก�ำลัง (Active Medical Devices) ซึง่ เป็นเครือ่ งมือแพทย์ทที่ �ำงาน โดยใช้แหล่งพลังงานไฟฟ้า น�ำไปใช้ส�ำหรับกระตุน้ และผ่อนคลาย กล้ามเนือ้ ส่วนบุคคล โดยสามารถน�ำไปใช้ในสถานพยาบาล ทีพ่ กั อาศัยส่วนบุคคล หรือสามารถพกพาเพือ่ ใช้ผอ่ นคลายกล้ามเนือ้ ระหว่างการเดินทางได้อกี ด้วย • การรับจ้างผลิตอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เพือ่ การสือ่ สารระหว่าง อุปกรณ์และ/หรือเครือ่ งมือด้วยกัน (Internet Of Things, IOT) ใน รูปแบบผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป พร้อมจ�ำหน่าย โดยอุปกรณ์และ/หรือ เครือ่ งมือดังกล่าวจะใช้สญ ั ญาณไร้สายมาตรฐานซิกบี (Zigbee) ซึง่ เป็นมาตรฐานการสือ่ สารทีใ่ ช้ก�ำลังไฟน้อย จึงท�ำให้อปุ กรณ์และ/หรือ เครือ่ งมือดังกล่าวสามารถใช้งานได้ยาวนานโดยไม่ตอ้ งมีการชาร์จ แบตเตอรีเ่ หมือนอุปกรณ์ไร้สายทัว่ ไป • การรับจ้างผลิตอุปกรณ์วดั ระยะระบบอิเล็กทรอนิกส์พร้อมปากกา เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือวัดระยะทีม่ คี วามละเอียดสูง พร้อมแสงเลเซอร์ ทีช่ ว่ ยในการวัดค่า ใช้งานได้บนพืน้ ผิวทีห่ ลากหลาย และเชือ่ มต่อกับ โทรศัพท์มอื ถือผ่านสัญญาณไวไฟ (WIFI) ด้วยแอพพลิเคชัน่ ผ่าน โทรศัพท์มอื ถือทัง้ ระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด์ (Android) และ
ไอโอเอส (IOS) พร้อมแบตเตอรีท่ มี่ อี ายุการใช้งานนานกว่า 6 เดือน โดยบริษทั ฯ รับจ้างผลิต ประกอบ ทดสอบ รวมถึงบรรจุภณ ั ฑ์พร้อม จัดส่งถึงลูกค้าปลายทางแบบรายบุคคล นอกจากนีล้ กู ค้ายังสามารถ สลักลายเซ็นต์ลงบนด้ามจับปากกาด้วยวิธกี ารเลเซอร์ได้อกี ด้วย • การรับจ้างผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับอุปกรณ์ การแพทย์ (Medical devices) ประเภทเครือ่ งมือแพทย์ทใ่ี ช้เลเซอร์ แสงสีเขียว (Green laser) ในการวิเคราะห์ผลเลือดและสิง่ ปนเปือ้ น ในกระแสเลือด รวมถึงชนิดของโมเลกุล โดยสามารถน�ำไปใช้ใน สถานพยาบาล ห้องทดลอง ซึง่ รูปแบบของผลิตภัณฑ์มที งั้ แบบตัง้ โต๊ะและขนาดสามารถพกพาได้ 2. การประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้ารวม
ในปัจจุบนั บริษทั ฯ ให้บริการประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้า รวม (IC Packaging) ได้หลายชนิด • Standard Packaging ซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ทมี่ รี ปู แบบทัว่ ๆ ไปทีม่ กี าร ผลิตกันมานานจนมีขนาดและรูปแบบเป็นมาตรฐานในตลาดโดยจะ มีขนาดใหญ่และหนา ได้แก่ SOIC, TSSOP, SC70, SOT23, SOT143 เป็นต้น และ Advanced Packaging ซึง่ เป็นการประกอบ แผงวงจรในรูปแบบทีเ่ พิง่ เริม่ มีการพัฒนาไม่นานโดยจะมีขนาดเล็ก และบางมากกว่าชนิด Standard Packaging ได้แก่ TDFN (Thin Dual Flat Non-Lead) UDFN (Ultra-Thin Dual Flat Non-Lead) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์การให้บริการประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้า รวม (IC Packaging) อาทิ ผลิตภัณฑ์ IC Chip ต่างๆ • บริษทั ฯ เป็นหนึง่ ในผูน้ �ำในการประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้า รวมแบบระบบไฟฟ้าเครือ่ งกลจุลภาค (Micro-Electro-Mechanical Systems หรือ MEMS) ซึง่ เป็นเทคโนโลยีทกี่ �ำลังเติบโตมากใน ปัจจุบนั โดยบริษทั ฯมีประสบการณ์กว่า 10 ปี ในการร่วมพัฒนา เทคโนโลยี MEMS ส�ำหรับน�ำไปใช้กับเครื่องวัดแรงดันลมยาง รถยนต์ (Tire Pressure Monitoring System หรือ TPMS) กับ บริษทั ชัน้ น�ำของโลก ซึง่ ได้เป็นข้อก�ำหนดทางกฎหมายของบาง ประเทศในการก�ำหนดให้รถยนต์ใหม่ทกุ คันต้องมีอปุ กรณ์ TPMS ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกาซึง่ เริม่ บังคับทางกฎหมายในปี พ.ศ. 2552 และกลุม่ ประเทศยุโรปเริม่ บังคับทางกฎหมายปี พ.ศ. 2555 บริษทั ฯ ยังน�ำเทคโนโลยีการผลิตนีไ้ ปใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ เช่น ไมโครโฟนในโทรศัพท์มอื ถือ เครือ่ งวัดความดันในอุปกรณ์การ แพทย์ อุปกรณ์ส�ำหรับอุตสาหกรรม และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ส�ำหรับผูบ้ ริโภคทัว่ ไป • การรับจ้างตัดแผ่นลายวงจร (Wafer Dicing) เพือ่ น�ำไปผลิตแผง วงจรไฟฟ้ารวมทีใ่ ช้กบั อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ โดยแผ่นลายวงจรอาจ มีลกั ษณะและขนาดทีเ่ หมือนกันหรือแตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ความ ต้องการและการน�ำไปใช้งานของลูกค้า โดยเครือ่ งจักรทีใ่ ช้มที งั้ แบบ ใบมีดคู่ (Mechanical Dicing) และแบบทีเ่ ป็นเลเซอร์ (Stealth Dicing) ซึง่ ยังมีบริษทั น้อยรายในประเทศไทยทีม่ คี วามสามารถใน การตัดแผ่นลายวงจรด้วยเลเซอร์
16
3. อุ ป กรณ์ส� ำ หร ับการสื่ อสารผ่ า นเส ้นใยแก ้ว น� ำ แสง
ในปัจจุบนั ระบบการสือ่ สารผ่านใยแก้วน�ำแสงได้เข้ามามีบทบาทใน การสือ่ สารคมนาคมเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากเป็นระบบการสือ่ สารทีม่ ี ประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับปริมาณข้อมูลข่าวสาร ได้เป็นจ�ำนวน มาก หัวใจของระบบการสือ่ สารนีก้ ค็ อื ใยแก้วน�ำแสง (Fiber Optics) ซึง่ เป็นตัวกลางในการส่งผ่านข้อมูลในรูปของล�ำแสงนัน่ เอง บริษทั ฯ ได้เริ่มรับจ้างผลิตและประกอบอุปกรณ์ส�ำหรับการสื่อสารผ่าน เส้นใยแก้วน�ำแสงส�ำหรับการน�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมดังต่อไปนี้ • ศูนย์ขอ้ มูลอินเทอร์เน็ต (Data Center) เป็นอุตสาหกรรมทีอ่ ตั รา การเติบโตค่อนข้างสูงเนือ่ งจากมีความต้องการส�ำหรับการเก็บและ เข้าถึงข้อมูลแบบออนไลน์ทเี่ พิม่ มากขึน้ หลายเท่าตัวในปัจจุบนั และ อนาคต ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้ท�ำการรับจ้างผลิต Active Optical Cable (AOC) ซึง่ เป็นอุปกรณ์ทมี่ าแทนทีส่ ายส่งสัญญาณไฟฟ้าความเร็วสูง (Coaxial Line) ส�ำหรับใช้ในการเชือ่ มต่อระหว่างอุปกรณ์ Server และ Super Computer ทีม่ อี ยูม่ ากมายในศูนย์ขอ้ มูลอินเทอร์เน็ต โดย AOC จะสามารถแปลงสัญญาณจากไฟฟ้าเป็นแสง และจาก แสงเป็นไฟฟ้า รวมถึงส่งสัญญาณแสงไปทีอ่ ปุ กรณ์ทเ่ี ชือ่ มต่อด้วย ความเร็วมากกว่า 150 Gbps (พันล้านบิตต่อวินาที) • การสือ่ สารโทรคมนาคม (Telecommunication) บริษทั ฯ ได้เริม่ รับจ้างผลิตอุปกรณ์สง่ สัญญาณแสง (Optical Transmitter) ซึง่ สัญญาณแสงทีส่ ง่ ออกไปสามารถเดินทางในเส้นใยแก้วน�ำแสงได้ไกล กว่า 100 กิโลเมตร โดยไม่ตอ้ งมีการขยายสัญญาณใหม่ • การกระจายเสียงและการแพร่ภาพออกอากาศ (Broadcast) บริษัทฯ รับจ้างผลิตอุปกรณ์รับและส่งสัญญาณแสง (Optical Transceiver) ส�ำหรับใช้ในการถ่ายทอดสดผ่านอินเตอร์เน็ต (VDO Streaming) ซึง่ ก�ำลังเป็นทีน่ ยิ มกันอย่างแพร่หลาย
รายงานประจ�ำปี 2560
4. การผลิต ประกอบ และจ�ำหน่ายแผงโซลาร์
พลังงานจากแสงแดดเป็นพลังงานทดแทนชนิดหนึง่ ทีเ่ ป็นพลังงาน หมุนเวียนซึง่ ใช้ไม่มวี นั หมด เป็นพลังงานทีไ่ ด้มาโดยธรรมชาติ ไม่มี ต้นทุน และเป็นพลังงานทีส่ ะอาด (Green Energy) เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม จึงท�ำให้ธรุ กิจผลิตและจ�ำหน่ายแผงโซลาร์นไี้ ด้รบั ความ สนใจอย่างมาก แม้วา่ ทีผ่ า่ นมาวัตถุดบิ /อุปกรณ์ทตี่ อ้ งใช้รว่ ม ยังมี ราคาแพงมาก แต่เทคโนโลยี การพัฒนาและวิจยั ได้กา้ วหน้าขึน้ มาก จนท�ำให้วตั ถุดบิ /อุปกรณ์ดงั กล่าวมีราคาถูกลงอย่างมีนยั ส�ำคัญท�ำให้ ผลตอบแทนของการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแผงโซลาร์มคี วามคุม้ ค่า และน่าลงทุนเพิม่ ขึน้ มาก เมือ่ เทียบกับการลงทุนผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานฟอสซิล และก๊าซธรรมชาติแบบเดิม ซึง่ ทางบริษทั ฯ มี บุคลากรระดับมืออาชีพทีม่ คี วามช�ำนาญ มีเครือ่ งจักรสนับสนุนด้าน อิเล็กทรอนิกส์ทที่ นั สมัย บริษทั ฯ จึงได้รบั ความไว้วางใจจากบริษทั ผลิตแผงโซลาร์ระดับโลก และเข้ารับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ผลิตแผงโซลาร์นวัตกรรมใหม่ และเริ่มรับจ้างผลิตแผงโซลาร์ เรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้เล็งเห็นถึงโอกาสในการเติบโตของธุรกิจ พลังงานทดแทน โดยใช้ระบบแผงโซลาร์ในประเทศไทย และภูมภิ าค เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทจ่ี ะเพิม่ มากขึน้ จากผลตอบแทนในการ ลงทุนทีม่ ากขึน้ อีกทัง้ ยังได้รบั การสนับสนุนในส่วนของภาครัฐบาล เป็นอย่างดี ทางบริษทั ฯ จึงได้ขยายและพัฒนาธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งใน เรือ่ งการจ�ำหน่าย และติดตัง้ แผงโซลาร์ เพือ่ ให้บริการแบบครบวงจร กับลูกค้าอีกด้วย
17
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
การตลาดและการจ ัดจ�ำหน่าย บริษทั ฯ ผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ จ�ำหน่ายให้บริษทั ทีผ่ ลิตสินค้าในหลากหลายประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ กลุม่ คอมพิวเตอร์ กลุม่ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ กลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ กลุม่ อุปกรณ์สอื่ สาร กลุม่ อุปกรณ์เพือ่ ความปลอดภัย และอุตสาหกรรมเครือ่ งบันเทิง และอืน่ ๆ บริษทั ฯ มีรายได้และสัดส่วนการขายให้กลุม่ ลูกค้าในประเทศต่างๆ ดังนี้
ปี 2558 ล้านบาท
ปี 2559
ร้อยละ
ล้านบาท
ปี 2560
ร้อยละ
ล้านบาท
ร้อยละ
กลุม่ ตลาดในประเทศสหรัฐ
911
12.0
1,165
32.98
1,243
67.00
- IC Packaging
911
12.0
1,165
32.98
1,243
67.00
กลุม่ ตลาดภายในประเทศ (เพือ่ ส่งออก)
6,706
88.0
2,368
67.02
611
33.00
- MMA
6,623
87.0
2,028
57.40
296
16.00
83
1.0
340
9.62
315
17.00
7,617
100.0
3,533
100.0
1,854
100.0
- IC Packaging รายได้จากการขายรวม
สัดส่วนการจ�ำหน่ายชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ของบริษทั ฯจ�ำแนกตามลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษทั ฯ ได้ท�ำการตลาดในการติดต่อลูกค้าและรับจ้างผลิตและประกอบผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ผา่ นช่องทางต่างๆ ได้แก่ การท�ำการตลาด โดยตรงจากหน่วยงานต่างๆ ภายในบริษทั ฯทางหนึง่ และผ่านทางบริษทั ร่วม พันธมิตร และตัวแทนการตลาดของบริษทั ฯ
18
รายงานประจ�ำปี 2560
ตัวแทนการตลาดและพันธมิตรทางธุรกิจของบริษทั ฯ มีดงั นี้ STARS MICROELECTRONICS USA, INC.
เป็นบริษทั สัญชาติสหรัฐอเมริกา มีส�ำนักงานอยูท่ ซี่ ลิ กิ อนวัลเลย์ เมืองซานโฮเซ่ มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ทีมผูบ้ ริหารมีความ รูค้ วามช�ำนาญในการจัดจ�ำหน่ายและร่วมพัฒนาสินค้ากับลูกค้า รวมถึงการให้บริการ การรับจ้างผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ มีสถานะเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 59 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 1. BESTRONICS, INC.
3. SIIX CORPORATION
เป็นบริษทั ทีด่ �ำเนินธุรกิจเกีย่ วกับการผลิตอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ทางการสื่อสารและอุปกรณ์ทางการแพทย์ในประเทศ สหรัฐอเมริกามากว่า 20 ปี มีสถานะเป็นพันธมิตรทางธุรกิจซึง่ ได้ มีการแลกเปลีย่ นแนะน�ำข้อมูลเครือข่ายลูกค้าและผูจ้ ดั หา (Supplier) กับทางบริษทั ฯ มุง่ เน้นชิน้ ส่วนทีเ่ กีย่ วกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทใี่ ช้ใน อุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์การแพทย์ และอุปกรณ์ทางด้าน ไฟฟ้าก�ำลัง อีกทัง้ ยังขยายตลาดไปสูอ่ ปุ กรณ์การสือ่ สารทางแสง (Optical Devices) ซึง่ สอดรับกับตลาดเป้าหมายของบริษทั ฯ
เป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศญีป่ นุ่ ทีด่ �ำเนิน ธุรกิจเกีย่ วกับการผลิตและประกอบอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์มากว่า 20 ปี มีสถานะเป็นพันธมิตรทางธุรกิจโดยการเป็นตัวกลางเพือ่ ขยาย ฐานลูกค้าในประเทศญีป่ นุ่ ให้กบั ทางบริษทั ฯ มุง่ เน้นการผลิตและ ด้านการจัดหาชิน้ ส่วนทีเ่ กีย่ วกับแผงวงจรไฟฟ้ารวม (IC Packaging) และแผงวงจรไฟฟ้ารวมแบบระบบไฟฟ้าเครือ่ งกลจุลภาค (MicroElectro-Mechanical Systems หรือ MEMS) ซึง่ น�ำไปใช้ในตลาด ของเครือ่ งใช้ไฟฟ้า และอุตสาหกรรมยานยนต์
2. AIFOTEC AG
4. PEARL STUDIOS, INC.
เป็นบริษทั เยอรมันนีทดี่ �ำเนินธุรกิจมากว่า 10 ปีทางด้านการผลิต อุปกรณ์ทตี่ อ้ งการความแม่นย�ำสูง (High Precision Product) อาทิ ชิน้ ส่วนทีเ่ กีย่ วกับอุปกรณ์ทางด้านสือ่ สารโทรคมนาคม การสือ่ สาร ทางแสง อุปกรณ์ยานยนต์ และอุปกรณ์ทางด้านการทหาร มีความ เชีย่ วชาญในการบริการทางด้านการผลิตชิน้ ส่วนตัวอย่าง (Prototype Build) แก่ลกู ค้าก่อนท�ำการผลิตเป็นจ�ำนวนมาก (Mass Production) ซึง่ จะเป็นการส่งต่อเพือ่ มาผลิตกับทางบริษทั ฯ ในประเทศไทยซึง่ มี ต้นทุนทางการผลิตทีต่ ำ�่ กว่าแต่ยงั คงไว้ซงึ่ คุณภาพของการผลิต ตรง ตามข้อก�ำหนดของผลิตภัณฑ์และความต้องการของลูกค้า
เป็นบริษทั สัญชาติแคนาดาซึง่ ด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วกับการออกแบบ ผลิตภัณฑ์อย่างมืออาชีพมาตัง้ แต่ปคี .ศ.2008 อีกทัง้ ยังให้ค�ำปรึกษา เกีย่ วกับกลยุทธ์ในการสร้างภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ เพือ่ ให้เกิด ความแตกต่าง สร้างจุดขายและเพิม่ มูลค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ปัจจุบนั มีลกู ค้าอยูท่ วั่ โลก และยังมีพนั ธมิตรทางธุรกิจ ทัง้ ในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชีย ซึง่ ได้มกี ารแลกเปลีย่ นแนะน�ำ ข้อมูลเครือข่ายลูกค้าซึง่ กันและกันกับทางบริษทั ฯ มุง่ เน้นตลาดใน กลุม่ อุปกรณ์การแพทย์และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีที่ใช ้ในการผลิต
บริษทั ฯ ได้ลงทุนในเครือ่ งจักรทีม่ เี ทคโนโลยีทที่ นั สมัย จึงสามารถ ผสมผสานเทคโนโลยีการผลิตทีห่ ลากหลายและครบวงจรร่วมกับ ความเชีย่ วชาญ และประสบการณ์ของบริษทั ฯ ในการร่วมพัฒนา และออกแบบผลิตภัณฑ์กบั ลูกค้า เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการ ของกระบวนการผลิตใหม่ๆ ของลูกค้าชัน้ น�ำของโลก นอกจากนี้ การ ทีบ่ ริษทั ฯ ให้บริการประกอบชิน้ ส่วนผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และ ประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้ารวม (IC Packaging) อยูใ่ น โรงงานเดียวกัน จึงสามารถน�ำสายการผลิตมาประยุกต์เข้าด้วยกัน
ท�ำให้บริษทั ฯ มีความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของ ลูกค้าได้แบบบูรณาการในแนวตัง้ (Vertical Integrated Solution) ถึงแม้ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์จะมีการเปลีย่ นแปลงโดยมีผลิตภัณฑ์ รุน่ ใหม่มาทดแทนรุน่ เก่า แต่กระบวนการผลิต เทคโนโลยีและ เครือ่ งจักรของบริษทั ฯทีใ่ ช้ส�ำหรับการผลิตและประกอบผลิตภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ก็สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับการประกอบ ผลิตภัณฑ์รนุ่ ใหม่ๆ ได้
19
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
โครงสร ้างรายได ้ ปี 2558 พันบาท
ปี 2559 ร้อยละ
พันบาท
ปี 2560 ร้อยละ
พันบาท
ร้อยละ
รายได้จากการขาย MMA – Hard Disk
6,180,828
80.59
1,692,877
47.05
-
-
MMA – Others
423,894
5.53
315,737
8.77
301,602
15.86
IC Packaging
981,226
12.79
1,434,401
39.86
1,521,141
80.00
รายได้จากการขายรวม
7,585,948
98.91
3,443,016
95.68
1,822,743
95.86
รายได้จากการบริการ (1)
30,821
0.40
89,834
2.50
31,020
1.63
รายได้อนื่
53,117
0.69
65,516
1.82
47,695
2.51
รวมรายได้
7,669,885
100.00
3,598,366
100.00
1,901,459
100.00
(1)
รายได้จากการออกแบบผลิตภัณฑ์
20
รายงานประจ�ำปี 2560
โครงสร ้างรายได ้ตามมูลค่าเพิ่ ม ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
พันบาท
ร้อยละ
พันบาท
ร้อยละ
พันบาท
ร้อยละ
MMA – Hard Disk
275,016
25.98
61,758
4.94
-
-
MMA - Others
104,211
9.84
78,094
6.24
30,863
2.60
IC Packaging
595,571
56.25
954,936
76.39
1,081,655
90.80
มูลค่าเพิม่ รวม
974,798
92.07
1,094,789
87.57
1,112,517
93.39
รายได้จากการบริการ (1)
30,821
2.91
89,834
7.19
31,020
2.60
รายได้อนื่ ๆ
53,117
5.02
65,516
5.24
47,695
4.00
1,058,735
100.00
1,250,138
100.00
1,191,233
100.00
มูลค่าเพิม่
รวม (1)
รายได้จากการออกแบบผลิตภัณฑ์ มูลค่าเพิม่ = ราคาขาย ลบ ต้นทุนวัตถุดบิ
ก�ำล ังการผลิตเต็ มที่ต่อปี
รวม 2,570 ล้านชิน้
การผลิตและประกอบ ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (MMA) 51 ล้านชิน้
การประกอบและทดสอบ แผงวงจรไฟฟ้ารวม (IC) 2,519 ล้านชิน้
21
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
โครงสร ้างการถือหุ ้น โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ สูงสุด 10 รายแรกของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สามารถสรุปได้ดงั นี้ ผูถ้ อื หุน้ สูงสุด 10 รายแรก ผูถ้ อื หุน้
จ�ำนวน (หุน้ )
คิดเป็น (ร้อยละ)
1
MORGAN STANLEY & CO. INTERNATIONAL PLC
75,226,674
8.993
2
นายเพชร ไวลิขติ
71,047,600
8.494
3
บริษทั ซีกซ์ อีเอ็มเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด
41,495,962
4.961
4
นายนัทธพงศ์ ไชยกุล
40,740,300
4.870
5
นางสาวอรนุช ไชยกุล
30,430,000
3.638
6
นายสมนึก ไชยกุล
29,602,344
3.539
7
นางสาวนันทิชา ไชยกุล
27,000,000
3.228
8
นางสาวลักษิกา ไชยกุล
26,000,000
3.108
9
บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จ�ำกัด
21,882,823
2.616
10
นายศรัณย์ ไชยกุล
20,470,000
2.447
อืน่ ๆ
383,895,703
45.894
รวม
836,475,966
100.000
หมายเหตุ : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีทนุ ช�ำระแล้วจ�ำนวน 836,475,966 บาท
22
รายงานประจ�ำปี 2560
โครงสร ้างการถือหุ ้นบริษ ัทในกลุ่ม บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (SMT) มีบริษทั ย่อย 3 บริษทั ดังต่อไปนี้
SMT
STARS USA
SS RFID
SMT GE
ทุนจดทะเบียน
ทุนทีช่ �ำระแล้ว
จ�ำนวนหุน้ ทีอ่ อก
การถือครอง ของ SMT ร้อยละ
20,000 USD
20,000 USD
20,000,000 หุน้
59 %
2. SMT GE
1,000,000 บาท
500,000 บาท
50,000 หุน้
99 %
3. SS RFID
100,000,000 บาท
100,000,000 บาท
10,000,000 หุน้
75 %
ชือ่ 1. STARS USA
ทุนจดทะเบียนและจ�ำนวนหุน้ ทีอ่ อกจ�ำหน่าย
STARS MICROELECTRONICS USA, INC.
ทีต่ งั้ ส�ำนักงาน เลขที่ 2157 O’Toole Avenue, Suite 10 เมือง ซานโฮเซ่ มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ลักษณะของธุรกิจ : เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายของบริษทั ฯในต่างประเทศ ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2548 โดยบริษทั ได้เข้าไปร่วมลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 19 ต่อมา ได้ท�ำการซือ้ หุน้ จากผูถ้ อื หุน้ เดิมบางส่วน ท�ำให้สดั ส่วน การถือหุน้ เพิม่ เป็นร้อยละ 59 จุดเด่นคือมีทมี ผูบ้ ริหารของบริษทั
Stars Microelectronics USA, Inc. เป็นผูท้ มี่ ปี ระสบการณ์ยาวนาน ในอุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และมี ค วามรู ้ ค วามช�ำนาญ ในการจัดจ�ำหน่ายและร่วมพัฒนาสินค้ากับลูกค้า รวมถึงการ ให้บริการรับจ้างผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยมี ฐานลูกค้าส่วนใหญ่อยูใ่ นอุตสาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ หลายประเภท ในซิลกิ อนวัลเลย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
23
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
บริ ษ ท ั เอสเอ็ มที กรี น เอ็ นเนอร์ย่ี จ� ำ ก ด ั (SMT GE)
ทีต่ งั้ ส�ำนักงาน เลขที่ 605-606 หมู่ที่ 2 นิคมอุตสาหกรรม บางปะอิ น ต�ำบลคลองจิ ก อ�ำเภอบางปะอิ น จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา 13160 ลักษณะของธุรกิจ : เป็นบริษทั สัญชาติไทย ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2553 มีวตั ถุประสงค์หลักในการประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า จากพลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ รวมทัง้ ธุรกิจ ด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง เช่น การผลิตและจาํ หน่ายอุปกรณ์ทใี่ ช้ ในการผลิตพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานทดแทนทุกประเภท
การเปลี่ยนแปลงและพ ัฒนาการที่ส�ำค ัญ ในปี 2560 บริษทั ฯ ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ �ำคัญ
บริษ ัท เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำก ัด (SS RFID)
ทีต่ งั้ ส�ำนักงาน เลขที่ 605-606 หมู่ที่ 2 นิคมอุตสาหกรรม บางปะอิ น ต�ำบลคลองจิ ก อ�ำเภอบางปะอิ น จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา 13160 ลักษณะของธุรกิจ : เป็นบริษทั สัญชาติไทย ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2555 มีวตั ถุประสงค์หลักในการประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายระบบ Radio Frequency Identification (RFID) Tags ซึง่ สามารถ น�ำไปใช้ในธุรกิจหลายประเภท เช่น การบริหารสินค้าคงคลังในธุรกิจ Modern trade การตรวจสอบสัมภาระของผูโ้ ดยสารในสนามบิน ชัน้ น�ำ เป็นต้น ซึง่ ฐานลูกค้าส่วนใหญ่จะอยูใ่ นทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป ทวีปเอเซีย รวมถึงในประเทศญีป่ นุ่
24
รายงานประจ�ำปี 2560
สิทธิและประโยชน์จากบ ัตรส่งเสริมการลงทุน บริษัทฯ ได้รับสิทธิและประโยชน์จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ในการ ประกอบธุรกิจต่างๆของบริษัทฯ จ�ำนวน 5 ฉบับ โดยการอนุมัติของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนภายใต้เงื่อนไขต่างๆที่ก�ำหนดไว้ บริษัทฯ ได้รับสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีอากรที่มีสาระส�ำคัญดังต่อไปนี้ บ ัตรส่งเสริมการลงทุนของบริษ ัทฯ
วันที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริม วันที่ 18 มีนาคม 2556
วันที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริม วันที่ 15 พฤศจิกายน 2554
บัตรส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 5195 (1)/2556 ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2556
บัตรส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 1167(1)2555 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม เลขที่ อก 0907/004533 ลงวันที่ 4 มีนาคม 2557
ประเภทกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ SEMICONDUCTORและ PCBA ส�ำหรับ HARD DISK DRIVE สรุปสาระส�ำคัญ สิทธิ ประโยชน์ และเงื่อนไข • ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิทไี่ ด้จากการ ประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลา 8 ปี นับจาก วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (สิทธิประโยชน์ท่ีได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจะสิ้นสุด ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565)
ประเภทกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ผลิต WAFER GRINDING และ WAFER DICING
ในกรณีที่ประกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาที่ได้รับยกเว้น ดังกล่าว สามารถน�ำผลขาดทุนประจ�ำปีทเี่ กิดขึน้ ระหว่างเวลานัน้ ไปหั ก ออกจากก�ำไรสุ ท ธิ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายหลั ง ระยะเวลาที่ ไ ด้ รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล มีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับ แต่วันพ้นก�ำหนดเวลานั้น โดยเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใด ปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้
สรุปสาระส�ำคัญ สิทธิ ประโยชน์และเงื่อนไข • ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิทไี่ ด้จากการ ประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลา 8 ปี นับจาก วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (สิทธิประโยชน์ทไี่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลจะสิน้ สุดในวัน ที่ 01 พฤษภาคม 2565) ในกรณีที่ประกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาที่ได้รับยกเว้น ดังกล่าว สามารถน�ำผลขาดทุนประจ�ำปีทเี่ กิดขึน้ ระหว่างเวลานัน้ ไปหักออกจากก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล มีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่ วันพ้นก�ำหนดเวลานัน้ โดยเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึง่ หรือหลายปีก็ได้
• ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จาก การลงทุนในอัตราร้อยละห้าสิบของอัตราปกติ มีก�ำหนดเวลา ห้าปี นับจากวันที่พ้นก�ำหนด
• ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จาก การลงทุนในอัตราร้อยละห้าสิบของอัตราปกติมีก�ำหนดเวลาห้า ปี นับจากวันที่พ้นก�ำหนด
• ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งน�ำเงินปันผลจากกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม ไปค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตลอดระยะเวลาที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
• ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งน�ำเงินปันผลจากกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม ไปค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ตลอดระยะเวลาที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
• ทุนจดทะเบียนต้องไม่น้อยกว่า 831.78 ล้านบาท
• ทุนจดทะเบียนต้องไม่น้อยกว่า 830.42 ล้านบาท
• ก�ำลังการผลิต SEMICONDUCTOR 3,621,560,000 ชิ้นต่อปี PCBA 60,000,000 ชิ้นต่อปี (เวลาท�ำงาน 24 ชั่วโมง ต่อวัน 365 วัน ต่อปี)
• ก�ำลังการผลิต RFID WAFER 157,680 ชิ้นต่อปี (เวลาท�ำงาน 24 ชั่วโมง ต่อวัน 365 วัน ต่อปี)
25
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
วันที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริม วันที่ 30 มิถุนายน 2557
วันที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริม วันที่ 2 มีนาคม 2558
บัตรส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 1500(2)2558 ลงวันที่ 21 เมษายน 2558
บัตรส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 58-2578-0-00-2-0 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2558
ประเภทกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ผลิต PRINTED CIRCUIT BOARD ASSEMBLY (PCBA) , FLEXIBLE PRINTED CIRCUIT ASSEMBLY (FPCA) และ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น TV SET TOP BOX , WI-FI BOX , TABLET และ SMART METER เป็นต้น
ประเภทกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ผลิตเครื่องมือแพทย์
สรุปสาระส�ำคัญ สิทธิ ประโยชน์และเงื่อนไข • ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิทไี่ ด้จากการ ประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมรวมกันไม่เกินร้อยละ 100 ของเงินลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนมีก�ำหนดเวลา 7 ปี นับจากวันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น ในกรณีที่ประกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาที่ได้รับยกเว้น ดังกล่าว สามารถน�ำผลขาดทุนประจ�ำปีทเี่ กิดขึน้ ระหว่างเวลานัน้ ไปหักออกจากก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล มีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่ วันพ้นก�ำหนดเวลานัน้ โดยเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึง่ หรือหลายปีก็ได้ • ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งน�ำเงินปันผลจากกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม ไปค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ตลอดระยะเวลาที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล • ทุนจดทะเบียนต้องไม่น้อยกว่า 839.16 ล้านบาท • ก�ำลังการผลิต - PRINTED CIRCUIT BOARD ASSEMBLY (PCBA) 500,000 ชิ้นต่อปี - FLEXIBLE PRINTED CIRCUIT ASSEMBLY (FPCA) 500,000 ชิ้นต่อปี - TV SET TOP BOX, WI-FI BOX, TABLET และ SMART METER เป็นต้น ปีละ 5,000,000 ชิ้นต่อปี (เวลาท�ำงาน 24 ชั่วโมง ต่อวัน 365 วัน ต่อปี)
สรุปสาระส�ำคัญ สิทธิ ประโยชน์และเงื่อนไข • ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิทไี่ ด้จากการ ประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลา 8 ปี นับจาก วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น ในกรณีทปี่ ระกอบกิจการขาดทุนระหว่างเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นเวลา ที่ได้รับยกเว้นดังกล่าว สามารถน�ำผลขาดทุนประจ�ำปีที่เกิดขึ้น ระหว่างเวลานั้นไปหักออกจากก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะ เวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันพ้นก�ำหนดเวลานั้นโดยเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปี ใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ • ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งน�ำเงินปันผลจากกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม ไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ตลอดระยะเวลาที่ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล • ทุนจดทะเบียนต้องไม่น้อยกว่า 836.40 ล้านบาท • ก�ำลังการผลิต เครื่องมือแพทย์ ปีละประมาณ 420,000 ชุด ต่อปี (เวลาท�ำงาน 24 ชั่วโมง ต่อวัน 365 วัน ต่อปี)
26
รายงานประจ�ำปี 2560
วันทีไ่ ด้รบั การอนุมตั กิ ารส่งเสริม วันที่ 23 มกราคม 2560 บัตรส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 60-0458-1-00-1-0 ลงวันที่ 21 เมษายน 2560 ประเภทกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุน ผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ สรุปสาระส�ำคัญ สิทธิ ประโยชน์และเงือ่ นไข • ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิทไี่ ด้จากการ ประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมรวมกันไม่เกินร้อยละ 100 ของ เงินลงทุนไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนมีก�ำหนดเวลา 6 ปี นับ จากวันทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการนัน้ ในกรณีทปี่ ระกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นดัง กล่าว สามารถน�ำผลขาดทุนประจ�ำปีทเี่ กิดขึน้ ระหว่างเวลานัน้ ไปหัก ออกจากก�ำไรสุทธิทเี่ กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงิน ได้นติ บิ คุ คล มีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั พ้นก�ำหนดเวลา นัน้ โดยเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึง่ หรือหลายปีกไ็ ด้ • ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งน�ำเงินปันผลจากกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมไป ค�ำนวณเพือ่ เสียภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้น ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล
ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลทีไ่ ด้รบั การยกเว้นตามมาตรา 31 วรรคหนึง่ และ วรรคสาม มีมลู ค่าไม่เกิน 94,000,000 บาท ทัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริง ในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม • ทุนจดทะเบียนต้องไม่นอ้ ยกว่า 836.48 ล้านบาท • ก�ำลังการผลิต ผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ประมาณ 100 เมกะวัตต์ ต่อปี (เวลาท�ำงาน 24 ชัว่ โมง ต่อวัน 365 วัน ต่อปี) นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้รบั สิทธิการส่งเสริมการลงทุนจากการเข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตามประกาศคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 7/2552 เรือ่ งมาตรการส่งเสริมการ ลงทุนให้บริษทั ทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (MAI) ซึง่ บริษทั ฯ จะได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลโดยไม่จ�ำกัดวงเงิน
27
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
นโยบายการลงทุน และโครงสร ้างเงินลงทุน นโยบายการลงทุน
บริษทั ฯ มีนโยบายการลงทุนในบริษทั ย่อย และ/หรือ บริษทั ร่วมโดย พิจารณาลงทุนในธุรกิจทีเ่ กือ้ หนุนและเอือ้ ประโยชน์ตอ่ การท�ำธุรกิจ ของบริษทั ฯ หรือเป็นธุรกิจซึง่ อยูใ่ นอุตสาหกรรมทีม่ แี นวโน้มการ เจริญเติบโต หรือธุรกิจทีบ่ ริษทั ฯ มีความถนัดและช�ำนาญ โดยจะ ค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนทีไ่ ด้รบั จากการลงทุน เพือ่ ประโยชน์ตอ่ ผู้ ถือหุน้ ของบริษทั ฯ เป็นส�ำคัญ โดยบริษทั ฯ จะควบคุมดูแลด้วยการ ส่งกรรมการหรือพนักงานระดับสูงเข้าไปเป็นตัวแทนของบริษทั ฯ ตามสัดส่วนการถือหุน้ และบริษทั ฯ มีสทิ ธิคดั ค้าน (Veto Right) ในเรือ่ งทีส่ �ำคัญ ๆ ทีจ่ ะด�ำเนินการโดยบริษทั ย่อย และ/หรือ บริษทั ร่วมนัน้ ๆ โดยการลงทุนในบริษทั ดังกล่าวจะต้องผ่านการพิจารณา อนุมตั จิ ากคณะกรรมการของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ และ/หรือ ใน กรณีทเี่ ป็นการเข้าท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันจะต้องผ่านการพิจารณา อนุมตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบอีกด้วย รวมทัง้ ต้องน�ำกฎเกณฑ์ ทีเ่ กีย่ วข้องมาบังคับใช้
โครงสร้างเงินลงทุน หุน้ สามัญ ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ทุนจดทะเบียน : 1,020,771,159 บาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญ จ�ำนวน 1,020,771,159 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท ทุนช�ำระแล้ว : 836,475,966 บาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญจ�ำนวน 836,475,966 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1.00 บาท ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2559 เมือ่ วันที่ 26 เมษายน 2559 มีมติอนุมตั กิ ารออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1 (SMT-W1) จ�ำนวนไม่เกิน 167,295,193 หน่วยให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ ตามสัดส่วนการถือหุน้ โดยไม่ คิดมูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุน้ สามัญเดิม ต่อ 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดง สิทธิ SMT-W1 โดยมีอตั ราการใช้สทิ ธิใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ได้ 1 หุน้ และมีราคาการใช้สทิ ธิ 8.00 บาทต่อหุน้ เว้นแต่กรณีมกี ารปรับอัตราการใช้สทิ ธิและราคา การใช้สทิ ธิตามเงือ่ นไขการปรับสิทธิ ทัง้ นี้ วันก�ำหนดการใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญ ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 สามารถใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 ได้ใน วันท�ำการสุดท้ายของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และ
ธันวาคม ของแต่ละปีตลอดอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ 2 ปี 11 เดือน 30 วัน นับจากวันที่ออกเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 ซึง่ ตรงกับวันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 จนถึงวันก�ำหนดการ ใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายในวันที่ 28 มิถนุ ายน 2562 โดย ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 บริษทั ฯ ได้จดั สรรใบส�ำคัญแสดง สิทธิ SMT-W1 ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ ตามสัดส่วนการถือ หุน้ โดยไม่คดิ มูลค่า จ�ำนวน 167,295,007 หน่วย คงเหลือทีไ่ ม่ได้ ถูกจัดสรรจ�ำนวน 186 หน่วย ทางบริษทั ฯ จะด�ำเนินการยกเลิกใบ ส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 ในส่วนทีค่ งเหลือดังกล่าวต่อไป นับจากวันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีผถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญขอ งบริษทั ฯ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 รวมเป็นจ�ำนวน -0หน่วย คิดเป็นหุน้ สามัญทีไ่ ด้จากการใช้สทิ ธิ จ�ำนวนทัง้ สิน้ -0- หุน้ โดยยังคงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 ทีย่ งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิอกี จ�ำนวน 167,295,007 หน่วย และเหลือหุน้ ส�ำหรับรองรับใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ SMT-W1 จ�ำนวน 167,295,007 หุน้ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-WB ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2559 เมือ่ วันที่ 26 เมษายน 2559 มีมติอนุมตั กิ ารออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 2 (SMT-WB) ให้แก่กรรมการและ/หรือ พนักงานของบริษทั ฯ จ�ำนวนไม่เกิน 17,000,000 หน่วย โดยไม่คดิ มูลค่า โดยมีอตั ราการใช้สทิ ธิใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิ ซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ได้ 1 หุน้ ทัง้ นี้ ราคาการใช้สทิ ธิและข้อ จ�ำกัดการใช้สทิ ธิ มีรายละเอียดดังนี้ ปีที่ 1 (ครัง้ ที่ 1 และ 2) สามารถใช้สทิ ธิได้ตอ่ เมือ่ ราคาปิดของหุน้ สามัญของบริษทั ณ วันใดวันหนึง่ ในช่วง 30 วันก่อนวันแจ้งความจ�ำนงการใช้สทิ ธิใน แต่ละครัง้ ไม่ตำ�่ กว่า 9.00 บาท โดยก�ำหนดราคาใช้สทิ ธิเท่ากับ 7.20 บาท สามารถใช้สทิ ธิได้ไม่เกินร้อยละ 35 ของใบส�ำคัญแสดง สิทธิ SMT-WB ทัง้ หมดทีแ่ ต่ละคนได้รบั การจัดสรรจากบริษทั ฯ ปีที่ 2 (ครัง้ ที่ 3 และ 4) สามารถใช้สทิ ธิได้ตอ่ เมือ่ ราคาปิดของหุน้ สามัญของบริษทั ณ วันใดวันหนึง่ ในช่วง 30 วันก่อนวันแจ้งความจ�ำนงการใช้สทิ ธิใน แต่ละครัง้ ไม่ตำ�่ กว่า 10.70 บาท โดยก�ำหนดราคาใช้สทิ ธิเท่ากับ 8.00 บาท สามารถใช้สทิ ธิได้ไม่เกินร้อยละ 35 ของใบส�ำคัญแสดง สิทธิ SMT-WB ทัง้ หมดทีแ่ ต่ละคนได้รบั การจัดสรรจากบริษทั ฯ ทัง้ นี้ สามารถใช้สทิ ธิสะสมรวมไม่เกินร้อยละ 70 ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ
28
รายงานประจ�ำปี 2560
ปีที่ 3 (ครัง้ ที่ 5 และ 6) สามารถใช้สทิ ธิได้ตอ่ เมือ่ ราคาปิดของหุน้ สามัญของบริษทั ณ วันใดวันหนึง่ ในช่วง 30 วันก่อนวันแจ้งความจ�ำนงการใช้สทิ ธิใน แต่ละครัง้ ไม่ตำ�่ กว่า 12.50 บาท โดยก�ำหนดราคาใช้สทิ ธิเท่ากับ 8.70 บาท สามารถใช้สทิ ธิในส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมดได้ ทัง้ นีส้ ามารถใช้ สิทธิสะสมรวมได้รอ้ ยละ 100 ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-WB ทัง้ หมดทีแ่ ต่ละคนได้รบั การจัดสรรจากบริษทั ฯ
โดย ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 บริษทั ฯ ได้จดั สรรใบส�ำคัญแสดง สิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 2 (SMT-WB) ให้แก่ กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษทั ฯ จ�ำนวน 17,000,000 หน่วย ครบทัง้ จ�ำนวน นับจากวันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-WB จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีผถู้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญขอ งบริษทั ฯ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-WB รวมเป็นจ�ำนวน -0หน่วย คิดเป็นหุน้ สามัญทีไ่ ด้จากการใช้สทิ ธิ จ�ำนวนทัง้ สิน้ -0- หุน้ โดยยังคงเหลือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-WB ทีย่ งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิอกี จ�ำนวน 17,000,000 หน่วย และเหลือหุน้ ส�ำหรับรองรับใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ SMT-WB จ�ำนวน 17,000,000 หุน้
โดยก�ำหนดการใช้สทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ตามใบส�ำคัญแสดง สิทธิ SMT-WB ในวันท�ำการสุดท้ายของเดือนมิถนุ ายน และธันวาคม ของแต่ละปีตลอดอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ 3 ปี นับจากวันที่ ออกเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 ซึง่ ตรงกับวันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 จนถึงวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายในวันที่ 28 มิถนุ ายน 2562
นโยบายการจ่ายเงินปั นผล บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลในอัตราประมาณร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิหลังจากหักภาษีและส�ำรองตามกฎหมาย ทัง้ นี้ คณะกรรมการของบริษทั ฯ มีอ�ำนาจในการพิจารณายกเว้นไม่ด�ำเนินการตามนโยบายดังกล่าว หรือเปลีย่ นแปลงนโยบายดังกล่าวได้ เป็นครัง้ คราว โดยอยูภ่ ายใต้เงือ่ นไขทีก่ ารด�ำเนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุน้ เช่น ใช้เป็นทุนส�ำรองส�ำหรับการช�ำระ คืนเงินกู้ ใช้เป็นเงินลงทุนเพือ่ ขยายก�ำลังการผลิต หรือกรณีมกี ารเปลีย่ นแปลงสภาวะตลาด ซึง่ อาจมีผลกระทบต่อกระแสเงินสดของบริษทั ฯ ในอนาคต รายละเอียดการจ่ายเงินปันผลในปีทผี่ า่ นมามีดงั นี้
(บาท ต่อ หุน้ ) 2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
การจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลงวดครึง่ ปีแรก
0.20
0.20
-
-
-
-
-
-
การจ่ายเงินปันผลจากผลการด�ำเนินงานงวดครึง่ ปีหลัง
0.50
-
-
-
-
-
-
-*
การจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี
0.70
0.20
-
-
-
-
-
-*
*รอการพิจารณาอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ประจ�ำปี 2561 ในวันที่ 30 เมษายน 2561
29
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
โครงการในอนาคต 1. บริษทั ฯ ได้วางกลยุทธ์ในการขยายธุรกิจให้มคี วามหลากหลาย มากขึน้ เพือ่ เพิม่ รายได้และลดความเสีย่ งในการด�ำเนินธุรกิจ เน้น การขยายก�ำลังการผลิตเพือ่ รองรับลูกค้าในผลิตภัณฑ์ทมี่ มี ลู ค่าเพิม่ และมีอตั ราการเติบโตสูง ทีต่ อ้ งอาศัยการวิจยั และพัฒนาร่วมกัน ระหว่างบริษทั ฯ และลูกค้า ซึง่ คาดว่าจะเริม่ เห็นผลในปี พ.ศ.2558 เป็นต้นไป โดยมุง่ เน้นใน 6 กลุม่ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กลุม่ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับสารกึ่งตัวน�ำไฟฟ้า (Semiconductor), กลุม่ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ส�ำหรับผูบ้ ริโภคสมัยใหม่ (Advanced Consumer), กลุม่ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ส�ำหรับงานเฉพาะทาง (Niche & Specialty), กลุม่ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เกีย่ วกับยานยนต์ (Automotive), กลุม่ อุปกรณ์ทางการแพทย์ (Medical Devices), กลุ่มอุปกรณ์สื่อสารทางแสงและเครือข่ายพื้นฐาน (Optical Components) 2. บริษทั ฯ เน้นการขยายตลาดใหม่ๆ มากขึน้ ในทุกทวีป เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญีป่ นุ่ และประเทศอืน่ ๆในเอเชีย โดยมุง่ เน้น การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจในแต่ละทวีปมากขึน้ เพือ่ ให้การขยาย ฐานลูกค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
3. บริษทั ฯ ได้เตรียมการเข้าสูก่ ลุม่ ประชาคมเศรษฐกิจ ASEAN ของการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยปรับสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานให้เป็นแบบ Global work place เพือ่ รองรับพนักงาน ในอนาคตทีอ่ าจมาจากหลากหลายประเทศ พร้อมทัง้ ปลูกฝังค่า นิยม Cross Functional Team Work เพือ่ ส่งเสริมการท�ำงานร่วม กันเป็นทีมภายในองค์กร 4. บริษทั ฯ อยูใ่ นระหว่างการด�ำเนินการเพือ่ ขอการรับรองตาม มาตรฐาน ISO13485 (Quality Management System for Medical Devices), ISO22301 (Business Continuity Management Systems), และ TL9000 (Quality Management System) ซึง่ คาดว่าจะได้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO13485 และ ISO22301 ในปีพ.ศ.2558 ส่วน TL 9000 คาดว่าจะได้รบั การรับรองภายในปี พ.ศ.2559
การวิจ ัยและพ ัฒนา บริษทั ฯยังคงให้ความส�ำคัญกับการวิจยั และ พัฒนาทางด้านขัน้ ตอน การผลิต รวมถึงตัวผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ ง โดยทีมนักวิจยั และ พัฒนาของบริษทั ฯ ได้มกี ารพัฒนาผลิตภัณท์ไปพร้อมๆ กับลูกค้า เพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพและเป็นทีพ่ งึ พอใจของลูกค้า
30
รายงานประจ�ำปี 2560
ความร ับผิดชอบต่อส ังคม บริษัทฯ ได้ด�ำเนินโครงการอย่างต่อเนื่องกับกรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม ส�ำหรับโครงการเสริมสร้างศักยภาพ โรงงานอุ ต สาหกรรมมุ ่ ง สู ่ ก ารพั ฒ นาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม และรับผิดชอบต่อสังคมอย่างยั่งยืน (CSR-DIW 2560)
ด ้านชุมชนและส ังคม
รายงานความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (Corporate Social Responsibilities Report) บริ ษั ท ฯ ได้ แ ยกเล่ ม ในการ เปิดเผยต่างหากจากรายงาน 56-1 และ 56-2 ผู้ถือหุ้นทุกท่าน และผู ้ ที่ ส นใจสามารถอ่า นและศึก ษารายละเอียดซึ่ง บริษัทฯ ได้ เ ผยแพร่ ไ ว้ อ ย่ า งครบถ้ ว น ในเวบไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ที่ www.starsmicro.com หัวข้อ CSR
1. บริษัทฯ จะส�ำรวจ ตรวจสอบสภาพชุมชนและสังคมโดยรอบ ในพื้นที่ทั้งใกล้และไกล ว่าได้รับผลกระทบในทางลบจากการ ด�ำเนินธุรกิจหรือโครงการที่จะด�ำเนินการในอนาคตมากน้อย เพียงใด เพื่อน�ำมาพิจารณาแก้ไข/ปรับปรุงการด�ำเนินการ มิให้ เกิดผลกระทบในทางลบ และสร้างความเสียหายต่อชุมชนและ สังคม ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม 2. บริษัทฯ จะสนับสนุนการด�ำเนินกิจกรรมอาสาที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาชุมชนและสังคม 3. บริษัทฯ จะร่วมกันรักษาสภาพแวดล้อมในชุมชนและสังคม ให้น่าอยู่ 4. บริษทั ฯ จะสนับสนุนให้ชมุ ชนและสังคมมีระบบสาธารณูปโภค พื้นฐานต่างๆ อย่างพอเพียง 5. บริษัทฯ จะสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ สาธารณะ
นโยบายภาพรวม
่ แวดล ้อม ด ้านสิง
บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ยึดมัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้การก�ำกับกิจการทีด่ ี และยึดหลักจริยธรรมควบคูไ่ ปกับการใส่ใจดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม และสั ง คม บริ ษั ท ฯ มี ค วามส�ำนึ ก ที่ จ ะรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม อย่างแท้จริง โดยค�ำนึงถึงผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก ร ตั้ ง แต่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น พนักงาน ลูกค้า ชุมชนตลอดจนสังคมในวงกว้าง ทั้งนี้เพื่อน�ำไป สู่การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ส�ำหรับกิจกรรมการมีส่วนร่วม รับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) นั้นบริษัทฯ มีความเชื่อว่าชุมชนที่เข้มแข็งและมีการพัฒนา ทีย่ งั่ ยืนนัน้ มีความส�ำคัญยิง่ ในฐานะเป็นปัจจัยเอือ้ ต่อการด�ำเนิน ธุรกิจ อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นที่ตั้ง ของบริษทั ฯ นัน้ เปรียบเสมือนเป็นบ้านของบริษทั ฯ เพราะบริษทั ฯ เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคมนี้ นอกจากนี้บริษัทฯ มุ่งที่จะสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ท่ียังประโยชน์ทางธุรกิจ และต้อง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของโลก และเป็นพลเมืองที่ดีของโลก นั่นคือเป็นธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้น บริษัทฯ จึง มีนโยบาย CSR ดังนี้
1. บริษัทฯ จะสร้างสรรค์และผลิตผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นพิษต่อโลก 2. บริษทั ฯ จะปรับเปลีย่ นกระบวนการผลิตตามความเหมาะสม เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด 3. บริษัทฯ จะส่งเสริมการน�ำวัสดุใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ 4. บริษัทฯ จะแบ่งปันข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมและสนับสนุน กิจกรรมต่างๆทั้งในและนอกประเทศอันเป็นประโยชน์ต่อสิ่ง แวดล้อม 5. บริษัทฯ จะปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง
ส�ำหรับนโยบายและรายงานความรับผิดชอบต่อสังคมเบื้องต้น ตามโครงการนี้ ผู้ถือหุ้นทุกท่าน และผู้ที่สนใจสามารถอ่าน และศึกษารายละเอียดซึ่งบริษัทฯ ได้เผยแพร่ไว้อย่างครบถ้วน ในเวบไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.starsmicro.com หัวข้อ CSR
บริษัทฯ จัดโครงการฝึกอบรมเป็นการภายใน inside training เพือ่ ให้พนักงานทุกระดับรับทราบนโยบายสิง่ แวดล้อมของบริษทั ฯ และจัดฝึกอบรมแก่พนักงานเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ นโยบายและแนวปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่นของ บริษัทฯ และตระหนักถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติที่ดี
31
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
7
หล ักการ ในการปฏิบ ัติ
บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะท�ำงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่าง เป็นรูปธรรม เพื่อให้การด�ำเนินการด้าน CSR เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและยัง่ ยืน ทัง้ 8 ด้านดังนี้ 1. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม บริษทั ฯ จะปฏิบตั อิ ย่าง มีจริยธรรมของกิจการต่อกิจการอืน่ และสร้างสัมพันธภาพระหว่าง กิจการให้ดี โดยยึดหลักการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม ส่งเสริมความรับผิด ชอบต่อสังคมในคูค่ า้ เคารพต่อสิทธิในทรัพย์สนิ และจะหลีกเลีย่ ง พฤติกรรมทีส่ ามารถบัน่ ทอนกระบวนการทางการเมืองอย่างยัง่ ยืน 2. การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ บริษทั ฯ จะสร้างความเชือ่ มัน่ ในการเป็นแบบอย่างที่ดีของการต่อต้านการทุจริต อีกทั้งมุ่งมั่น สนับสนุนการก�ำกับดูแล ส่งเสริม อบรม ให้พนักงาน ตัวแทน คูส่ ญ ั ญารับจ้าง คูค่ า้ ตระหนักถึงการทุจริตทีอ่ าจเกิดขึน้ และสร้าง และรักษาระบบการต่อต้านการทุจริตทีม่ ปี ระสิทธิผล นอกเหนือไป จากวิธกี ารบริหารความเสีย่ งของกิจการอย่างยัง่ ยืน 3. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษทั ฯ จะส่งเสริมให้มกี ารเฝ้าระวัง การปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดด้านสิทธิมนุษยชนภายในกิจการ และ กระตุน้ ให้มกี ารปฏิบตั ติ ามหลักสากล ตัง้ แต่ระดับคณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร ลงไปถึงระดับพนักงาน และให้ค�ำปรึกษา ตรวจสอบการ เคารพในสิทธิความเป็นพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม อย่างยัง่ ยืน 4. การปฏิบตั ติ อ่ แรงงานอย่างเป็นธรรม บริษทั ฯ เคารพสิทธิใน การท�ำงานตามหลักมนุษยชน โดยจะไม่เลือกปฏิบตั ไิ ม่แบ่งแยกถิน่ ก�ำเนิด เชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ สถานภาพการสมรส และไม่กดี กัน ไม่สร้างอคติหรือความล�ำเอียงในการจ้างงาน ไม่ใช้แรงงานเด็กที่ มีอายุนอ้ ยกว่า 15 ปี และให้ความคุม้ ครองสภาพการท�ำงานของ พนักงาน บริษทั ฯ จะจ่ายค่าจ้างแรงงาน และจัดสวัสดิการให้ เพือ่ เป็นหลักประกันความมัน่ คง โดยการจ่ายค่าตอบแทนเป็นไปอย่าง เหมาะสมและสอดคล้องกับการจ่ายค่าตอบแทนในอุตสาหกรรม เดียวกัน และจัดสถานทีท่ �ำงานให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน และมีสขุ อนามัยทีด่ ใี นการท�ำงาน
ในทุกปี บริษทั ฯ จะจัดให้มกี ารอบรมให้กบั วิศวกรและช่างเทคนิค ตลอดจนพนักงานทีป่ ฏิบตั งิ านเป็นทีมป้องกันเหตุฉกุ เฉินของบริษทั ฯ เพือ่ เป็นการเพิม่ พูนความรูค้ วามช�ำนาญในการป้องกันและเกิดความ ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของตัวพนักงานเอง และของบริษทั ฯ ในปี 2560 นี้ บริษทั ฯ มีสถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุจากการท�ำงานใน สายการผลิตจ�ำนวน 3 ครัง้ โดยพนักงานได้รบั บาดเจ็บเพียงเล็ก น้อย 5. ความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค บริษทั ฯ จะให้ค�ำปรึกษา และให้ ข้อมูลต่อผูบ้ ริโภค เพือ่ ป้องกันสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ บริโภค โดยจัดหาสินค้าและพัฒนาสินค้าและการบริการที่มี ประโยชน์ตอ่ สังคมและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เกิดการบริโภคอย่างยัง่ ยืน นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ จะให้ความรูแ้ ละข้อมูลทีจ่ �ำเป็นต่อการตัดสินใจ เลือกซือ้ สินค้าและบริการของบริษทั ฯ อย่างยัง่ ยืน 6. การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ ตระหนักว่า การประกอบ ธุรกิจได้กอ่ ให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อสิง่ แวดล้อมบ้าง บริษทั ฯ จะพยายามวางแผนและจัดการควบคุม ป้องกันกิจกรรมทางการผลิต ของบริษทั ฯ ให้เกิดมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อมให้นอ้ ยทีส่ ดุ และควบคุม อัตราการใช้ทรัพยากรของบริษัทฯ ให้น้อยที่สุด และฟื้นคืน ทรัพยากรทีส่ ญ ู เสียไปอย่างยัง่ ยืน 7. การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม บริษทั ฯ จะร่วมกับชุมชนใน การสร้างการมีสว่ นร่วมของชุมชน โดยให้ขอ้ มูล และให้ค�ำปรึกษา และให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ ในการท�ำกิจกรรมร่วมกัน และให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการเสนอแนวคิดทีเ่ ป็นประโยชน์กบั ตัว ชุมชนและสังคมอย่างยัง่ ยืน 8. การมีนวัตกรรมและเผยแพร่นวัตกรรมซึง่ ได้จากการด�ำเนิน งานทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อม และผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริษทั ฯ มีแนวทาง ลดการใช้พลังงาน หรือวัตถุดบิ ในการผลิต และ มุง่ ผลิตสินค้าทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และมุง่ พัฒนานวัตกรรม ใหม่ๆทีม่ ปี ระโยชน์กบั บริษทั ฯ และสังคมอย่างรับผิดชอบ ทัง้ ใน ระดับบุคคล ระดับกิจการ และระดับประเทศ อย่างยัง่ ยืน
32
รายงานประจ�ำปี 2560
คณะท�ำงานจ ัดท�ำระบบ CSR บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน)
ประธาน คณะกรรมการ
รองประธาน คณะกรรมการ คณะท�ำงาน ด้านการก�ำกับ ดูแลองค์กร
คณะท�ำงาน ด้านสิทธิ มนุษยชน
คณะท�ำงาน ด้านการปฏิบัติ ด้านแรงงาน
คณะท�ำงาน ด้านสิ่งแวดล้อม
คณะท�ำงาน ด้านการด�ำเนินงาน อย่างเป็นธรรม
คณะท�ำงานด้าน การปฏิบัติด้าน ผู้บริโภค
เลขาณุการ จัดท�ำระบบ CSR
คณะท�ำงานด้าน การมีส่วนร่วมและ การพัฒนาชุมชน
บทบาทหน ้าที่ ของคณะท� ำ งานด ้านความร ับผิ ด ชอบต่ อ ส ังคมของบริ ษ ัทฯ (CSR)
1. บทบาทหน้าทีข่ องคณะท�ำงานด้านการก�ำกับดูแลองค์กร 1. บริหารจัดการ และก�ำกับดูแลองค์กร เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้โดยค�ำนึงถึงผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ และเกิดประโยชน์ตอ่ สังคมทัว่ ไป 2. ร่วมกันเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินการ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ตามทีก่ �ำหนดไว้ 3. ด�ำเนินการจัดท�ำเอกสารของระบบ ติดตาม และรายงานผลความ คืบหน้ากิจกรรมที่ต้องจัดท�ำ รวมถึงประสานงานหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับระบบ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด 4. ประกาศใช้เอกสารตามระบบ และสือ่ สารอบรมแนวทางให้ผู้ เกีย่ วข้องภายในองค์กรทราบ 2. บทบาทหน้าทีข่ องคณะท�ำงานด้านสิทธิมนุษยชน 1. ให้ค�ำปรึกษา ตรวจสอบการเคารพในสิทธิความเป็นพลเมือง สิทธิ ทางการเมือง สิทธิทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม กลุม่ บุคคล ทีต่ อ้ งได้รบั การดูแลเป็นพิเศษ รวมตลอดถึงสิทธิพนื้ ฐานในการ ท�ำงาน 2. ร่วมกันเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินการ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ทีก่ �ำหนดไว้
3. ด�ำเนินการจัดท�ำเอกสารของระบบ ติดตาม และรายงานผลความ คืบหน้ากิจกรรมที่ต้องจัดท�ำ รวมถึงประสานงานหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับระบบ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด 4. ประกาศใช้เอกสารตามระบบ และสือ่ สารอบรมแนวทางให้ผู้ เกีย่ วข้องภายในองค์กรทราบ 3. บทบาทหน้าทีข่ องคณะท�ำงานด้านการปฏิบตั ดิ า้ นแรงงาน 1. ให้ค�ำปรึกษา ตรวจสอบการจ้างงาน และความสัมพันธ์ในการจ้าง งาน เงือ่ นไขในการท�ำงาน และคุม้ ครองทาง สังคม หรือ สุขภาพ และความปลอดภัยในการท�ำงาน รวมตลอดถึงการพัฒนาทรัพยากร บุคคล 2. ร่วมกันเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินการ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ทีก่ �ำหนดไว้ 3. ด�ำเนินการจัดท�ำเอกสารของระบบ ติดตาม และรายงานผลความ คืบหน้ากิจกรรมที่ต้องจัดท�ำ รวมถึงประสานงานหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับระบบ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด 4. ประกาศใช้เอกสารตามระบบ และสือ่ สารอบรมแนวทางให้ผู้ เกีย่ วข้องภายในองค์กรทราบ
33
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
4. บทบาทหน้าทีข่ องคณะท�ำงานด้านสิง่ แวดล้อม 1. ให้ค�ำปรึกษาหารือ ตรวจสอบเกีย่ วกับการบ่งชีแ้ ละการจัดการ ลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อมของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และการบริการ 2. ส่งเสริมการบริโภคและการผลิต การใช้ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน และการรณรงค์เพือ่ ลดการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศรวมถึงการสร้าง คุณค่าการบริการเชิงนิเวศ 3. ร่วมกันเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินการ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ทีก่ �ำหนดไว้ 4. ด�ำเนินการจัดท�ำเอกสารของระบบ ติดตาม และรายงานผลความ คืบหน้ากิจกรรมที่ต้องจัดท�ำ รวมถึงประสานงานหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับระบบ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด 5. ประกาศใช้เอกสารตามระบบ และสือ่ สารอบรมแนวทางให้ผู้ เกีย่ วข้องภายในองค์กรทราบ 5. บทบาทหน้าทีข่ องคณะท�ำงานด้านการด�ำเนินงานอย่างเป็น ธรรม 1. ให้ค�ำปรึกษาหารือ ตรวจสอบการต่อต้านการคอรัปชัน่ และการ ต่อต้านการรับสินบน การมีสว่ นร่วมทางการเมืองอย่างรับผิดชอบ การแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมใน ขอบเขตของผลกระทบ รวมถึง การเคารพสิทธิในทรัพย์สนิ 2. ร่วมกันเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินการ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ทีก่ �ำหนดไว้ 3. ด�ำเนินการจัดท�ำเอกสารของระบบ ติดตาม และรายงานผลความ คืบหน้ากิจกรรมที่ต้องจัดท�ำ รวมถึงประสานงานหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับระบบ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด 4. ประกาศใช้เอกสารตามระบบ และสือ่ สารอบรมแนวทางให้ผู้ เกีย่ วข้องภายในองค์กรทราบ 6. บทบาทหน้าทีข่ องคณะท�ำงานด้านการปฏิบตั ดิ า้ นผูบ้ ริโภค 1. ให้ค�ำปรึกษาหารือ ตรวจสอบการให้ขอ้ มูลการท�ำการตลาด และ การปฎิบตั เิ พือ่ การปกป้องสุขภาพ และความปลอดภัยของผูบ้ ริโภค การจัดหา และการพัฒนาสินค้าและการบริการทีเ่ ป็นประโยชน์ รวม ตลอดถึงการบริโภคอย่างยัง่ ยืน 2. ร่วมกันเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินการ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ทีก่ �ำหนดไว้ 3. ด�ำเนินการจัดท�ำเอกสารของระบบ ติดตาม และรายงานผลความ คืบหน้ากิจกรรมที่ต้องจัดท�ำ รวมถึงประสานงานหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับระบบ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด 4. ประกาศใช้เอกสารตามระบบ และสือ่ สารอบรมแนวทางให้ผู้ เกีย่ วข้องภายในองค์กรทราบ 7. บทบาทหน้าทีข่ องคณะท�ำงานด้านการมีสว่ นร่วม และการ พัฒนาชุมชน 1. ให้ค�ำปรึกษาหารือ ตรวจสอบการมีสว่ นร่วมในการพัฒนา สังคม เศรษฐกิจ ชุมชน
2. ร่วมกันเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินการ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ทีก่ �ำหนดไว้ 3. ด�ำเนินการจัดท�ำเอกสารของระบบ ติดตาม และรายงานผลความ คืบหน้ากิจกรรมที่ต้องจัดท�ำ รวมถึงประสานงานหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับระบบ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด 4. ประกาศใช้เอกสารตามระบบ และสือ่ สารอบรมแนวทางให้ผู้ เกีย่ วข้องภายในองค์กรทราบ 8. บทบาทหน้าทีเ่ ลขานุการการจัดท�ำระบบ CSR 1. ด�ำเนินการจัดท�ำประกาศแต่งตัง้ คณะกรรมการและคณะท�ำงาน ด้านความรับผิดชอบของบริษทั ต่อสังคม (CSR) จากการพิจารณา จากคณะกรรมการด�ำเนินงานระบบ (CSR) 2. ด�ำเนินการจัดประชุมติดตามความคืบหน้า ประสานงานหน่วย งานทีเ่ กีย่ วข้องในการจัดระบบ จัดท�ำบันทึกประชุมพร้อมทัง้ จัดท�ำ สรุปรายงานความคืบหน้ากิจกรรมแจ้งต่อคณะกรรมการและคณะ ท�ำงานด้านความรับผิดชอบของบริษทั ต่อสังคม (CSR) 3. รวบรวมข้อมูลและการจัดท�ำรายงานข้อมูลของสถานประกอบการ และชุมชนตามรูปแบบคูม่ อื การรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม 4. ด�ำเนินการสือ่ สารข้อมูลระบบ CSR ให้ผเู้ กีย่ วข้องภายในองค์กร ทราบ การด�ำเนินงานและการจ ัดท�ำรายงาน
บริษทั ฯ ได้ท�ำการก�ำหนดแนวปฏิบตั ิ และสือ่ สารกับพนักงานทุกคน ให้รบั ทราบ นอกจากนี้ เพือ่ ให้การด�ำเนินงานของบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เป็นไป ตาม หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ตามจรรยาบรรณแนวร่วมประชาคม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EICC)และตามมาตรฐานสากลด้าน การต่อต้านการทุจริต บริษทั ฯ จึงก�ำหนดนโยบายต่อต้านการทุจริต และสินบน และจะประกาศพร้อมเผยแพร่ เพือ่ เป็นแนวทางให้ผู้ บริหาร และพนักงานปฏิบตั ิ
กลไก/กระบวนการในการรับข้อเสนอแนะประเด็น หรือให้ขอ้ มูลแก่ฝา่ ยบริหารสูงสุด และพนักงานใน การปฏิบตั หิ น้าที่ บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียมีสว่ นร่วมในการเสนอแนะความ คิดเห็น ผ่านการสานเสวนาผูม้ สี ว่ นได้เสีย ตูร้ บั ความคิดเห็น E-Mail ผ่านฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ การประชุมคณะกรรมการ สวัสดิการฯ และคณะกรรมการความปลอดภัย การด�ำเนินธุรกิจที่มีผลกระทบต่อความร ับผิดชอบ ต่อส ังคม
ในปี 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่ได้ถกู ตรวจสอบหรือฝ่าฝืน กฎหมาย ในเรือ่ งความรับผิดชอบต่อสังคม
34
รายงานประจ�ำปี 2560
กิ จกรรมเพื่ อประโยชน์ต่อส ังคมและสิ่ งแวดล ้อม (after process)
ในปี 2560 บริษทั ได้ท�ำกิจกรรมเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สังคม ชุมชน และ สิง่ แวดล้อม (CSR-after process) ดังนี้ 1. กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2560 วันที่ 12 มกราคม 2560 กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2560
2. โครงการมอบทุนการศึกษาแก่นกั เรียนในเขตท้องถิน่ วันที่ 15 มิถนุ ายน 2560 โครงการมอบทุนการศึกษาแก่นกั เรียนในเขตท้องถิน่
เพื่อสนับสนุนงานวันเด็กแห่งชาติ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เด็กๆ ทั่ว ประเทศไทยต่างเฝ้ารอคอย กับกิจกรรมแห่งความสุข สนุกสนาน และอีกหนึง่ สิง่ ทีเ่ ด็กๆ ต่างเฝ้ารอคอยนัน้ ก็คอื ของขวัญ
บริษทั ฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของเด็กซึง่ ถือว่าเป็นทรัพยากร บุคคลทีส่ �ำคัญยิง่ ต่อประเทศชาติ ทีจ่ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนา ชาติบา้ นเมืองให้เจริญก้าวหน้า มัน่ คงสืบไป และเพือ่ เพิม่ โอกาส ทางการศึกษา บริษทั ฯ จึงมอบทุนการศึกษาให้แก่เด็กนักเรียนที่ ศึกษาอยูใ่ นเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาของอ�ำเภอบางปะอิน โดยในปีการ ศึกษา พ.ศ.2560 บริษทั ฯ ได้มอบทุนการศึกษาให้แก่ นักเรียน โรงเรียนชุมชนวัดก�ำแพง โรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ให้ได้รบั ทุนการศึกษาอย่างทัว่ ถึงกัน
บริษทั ฯ จึงร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ในการส่งเสริมการจัด กิจกรรมวันเด็กแห่งชาตในทุกปี ซึง่ ในปีนบี้ ริษทั ฯ ได้รว่ มออกบูธแจก อาหาร ขนม นำ�้ ดืม่ และมอบของขวัญแก่เด็กทีม่ าร่วมงานในหน่วย งานต่างๆ ได้แก่ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจ�ำจังหวัดปทุมธานีและ มูลนิธิสากลเพื่อคนพิการจังหวัดปทุมธานี, เทศบาลบางปะอิน, เทศบาลคลองจิก, โรงเรียนชุมชนวัดก�ำแพง เป็นต้น
35
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
3. โครงการ “ห้องพยาบาลของหนู” วันที่ 27 กรกฎาคม 2560 โครงการ “ห้องพยาบาลของหนู”
4. กิจกรรมบริจาคโลหิต วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560 “กิจกรรมบริจาคโลหิต”
จากความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะร่วมดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม ควบคูก่ บั การพัฒนา สังคม นอกจากปัจจัยด้านทุนการศึกษาแล้วการดูแลรักษาสุขภาพ เบือ้ งต้นก็เป็นเรือ่ งทีส่ �ำคัญต่อคุณภาพชีวติ ของเด็กนักเรียน บริษทั ฯ จึงร่วมมือกับทางโรงเรียนชุมชนวัดก�ำแพง อ�ำเภอบางปะอิน ในการ สร้างห้องพยาบาลประจ�ำโรงเรียน ซึง่ จากเดิมโรงเรียนยังขาดสถาน ทีใ่ นการรักษาหรือปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นแก่เด็กนักเรียนเวลาเจ็บ ปวด ในการนี้บริษัทฯ ได้มีจิตอาสาจากพนักงานมาร่วมด�ำเนินการ ท�ำความสะอาด ทาสี ติดตัง้ พัดลม ชุดเตียงนอน โต๊ะเก้าอี้ ตูย้ า รวมทัง้ ได้มอบชุดยาสามัญทัว่ ไปไว้รกั ษาแก่เด็กนักเรียนทีม่ อี าการ เจ็บป่วยหรือปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นแก่เด็กนักเรียนทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บ ก่อนน�ำตัวส่งไปรักษาพยาบาล ณ โรงพยาบาลใกล้เคียง
เพือ่ ให้พนักงานได้รว่ มท�ำประโยชน์แก่สงั คม และสนับสนุนการมี ส่วนร่วมในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ตอ่ สาธารณะ บริษทั ฯ จึงได้รว่ มกับ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ศนู ย์รงั สิต จัดกิจกรรมรับบริจาคโลหิต จาก ผูบ้ ริหารและพนักงาน ทีม่ จี ติ อาสาในการบริจาคโลหิตเพือ่ ช่วยเหลือ แก่ผทู้ มี่ คี วามจ�ำเป็นและขาดแคลน ซึง่ กิจกรรมนีเ้ ป็นกิจกรรมประจ�ำ ของบริษทั ทีจ่ ะจัดขึน้ ทุกๆ 3 เดือน
36
รายงานประจ�ำปี 2560
5. โครงการ “ท�ำดีเพือ่ พ่อ” มอบน�ำ้ ดืม่ แบ่งปันน�ำ้ ใจ โครงการ “ท�ำดีเพือ่ พ่อ” มอบน�ำ้ ดืม่ แบ่งปันน�ำ้ ใจ นอกเหนือจากการช่วยเหลือสังคมในเขตพืน้ ทีต่ งั้ ของบริษทั ฯ แล้ว นัน้ ยังมีอกี หนึง่ โครงการทีบ่ ริษทั ฯ ได้ท�ำมาตลอดปี 2560 นัน้ ก็คอื การมอบนำ�้ ดืม่ ร่วมกิจกรรมต่างๆ ของภาครัฐ เอกชน หรือบริจาค แก่ประชาชนทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อนจากภัยธรรม โดยในบางโอกาส จะมีพนักงานจิตอาสาบริษทั ฯ ร่วมกิจกรรมแจกนำ�้ ดืม่ ให้แก่ผทู้ มี่ า ร่วมงานในโอกาสต่างๆ อาทิ 1. จิตอาสาแจกนำ�้ ดืม่ แก่ประชาชน ณ ท้องสนามหลวง 2. ร่วมออกหน่วยแจกนำ�้ ดืม่ กับแพทยสภา จ.ปราจีนบุรี ในการ บริการประชาชนทีม่ ารับการตรวจรักษา
3.สนั บ สนุ น น�้ ำ ดื่ ม ในกิ จ กรรมปั ่ น จั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ของโรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา 4. สนับสนุนน�ำ้ ดืม่ กิจกรรมวันเด็ก อบจ.ปราจีนบุรี 5. สนับสนุนน�ำ้ ดืม่ แก่กระทรวงแรงงาน เนือ่ งในกิจกรรมวันแรงงาน แห่งชาติ ประจ�ำปี 2560 ฯลฯ ส�ำหรับยอดรวมของนำ�้ ดืม่ ทีบ่ ริษทั ฯ ร่วมสนับสนุนในกิจกรรมต่างๆ เพือ่ สังคม เป็นจ�ำนวนทัง้ สิน้ 220,000 ขวด
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
37
6. โครงการจิตอาสานักแบ่งปัน วันที่ 11 กันยายน 2560 โครงการจิตอาสานักแบ่งปัน จากสองมือที่มุ่งมั่นของแหล่าจิตอาสาในการร่วมกันปรับปรุง ทัศนียภาพของสถานทีภ่ ายในโรงเรียนชุมชนวัดก�ำแพง เขตพืน้ ที่ อ�ำเภอบางปะอิน จากเดิมทีถ่ กู น�ำ้ ท่วมขังเมือ่ ปี 2554 สร้างความ เสียหายต่ออาคารและสิ่งปลูกสร้างของโรงเรียนเป็นอย่างมาก สูท่ ศั นียภาพทีส่ ดใสชวนมองแก่เด็กนักเรียนและผูม้ าติดต่อ
ดังนัน้ เหล่าจิตอาสาจึงร่วมกันวาดภาพพร้อมระบายสีนำ�้ บนผนังสระ ว่ายน�ำ้ ของโรงเรียน อีกทัง้ ยังท�ำการสอนหนังสือหลักสูตรภาษาอังกฤษเบือ้ งต้น แก่เด็ก นักเรียน ชัน้ ป.4 และเลีย้ งอาหารกลางวันแก่เด็กนักเรียนทุกคน
38
รายงานประจ�ำปี 2560
การป้ องก ันการมีส่วนเกี่ยวข ้องก ับการคอร์ร ัปชน ่ั
แนวทางในการติดตามประเมินผลการปฏิบ ัติตาม แนวทางปฏิบ ัติในการป้ องก ันการมีส่วนเกี่ยวข ้อง ก ับการคอร์ร ัปชน ่ั
บริษัทฯ ก�ำหนดให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รับผิดชอบ ในการประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอรัปชั่นอย่างต่อเนื่อง เพื่อประเมิน ทบทวนและปรับปรุงมาตรการต่อต้านการทุจริต คอรัปชั่น และให้รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบ
บริษัทฯ ก�ำหนดแนวทางดังนี้
เพื่อให้การด�ำเนินงานของบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เป็นไป ตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี ตามจรรยาบรรณแนวร่วมประชาคมอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ (EICC) และตามมาตรฐานสากลด้านการต่อต้าน การทุ จ ริ ต บริ ษั ท ฯ จึ ง ก�ำหนดนโยบายต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต และสินบน และจะประกาศพร้อมเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทาง ให้ผู้บริหาร และพนักงานปฏิบัติดังนี้ 1. บริษัทฯ จะต่อต้านการทุจริต และไม่ยอมรับการให้ หรือการ รับของขวัญ สินบน หรือผลประโยชน์อื่นใด ที่มีเจตนาจูงใจให้ เกิดการด�ำเนินการ หรือเกิดการกระท�ำการใดๆ เพื่อแสวงหา ประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย 2. บริษัทฯ ต้องมีจรรยาบรรณ และมีความมุ่งมั่นในการป้องกัน มิให้เกิดการทุจริต รวมถึงมีหน้าที่ในการก�ำหนดแนวทางการ ปฏิบัติเพื่อการต่อต้านการทุจริต อีกทั้งต้องมีการสอบทานตาม แนวทางปฏิบัติที่บริษัทได้ก�ำหนดไว้อย่างสม�่ำเสมอ 3. ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ มีหน้าที่ป้องกันและดูแล ไม่ให้เกิดการทุจริต และสินบน หากพบการทุจริตหรือพบ เหตุอันควรเชื่อได้ว่า มีพฤติกรรม หรือเจตนาที่ส่อไปในทาง ทุจริต และสินบน ให้แจ้งต่อผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาทราบ โดยเร็ ว โดยส่ ง จดหมายร้องเรียนที่ก ล่องรับ เรื่องร้องเรียน บริเวณโรงอาหาร และบริเวณอื่นที่เหมาะสมของบริษัทฯ 4. ส�ำหรับบุคคลภายนอก หากพบการทุจริต และสินบน หรือ พบเหตุอันควรเชื่อได้ว่า ผู้บริหารหรือพนักงานของบริษัทฯ มี พฤติกรรม มีเจตนาทีส่ อ่ ไปในทางทุจริต สามารถแจ้งเบาะแสไป ยังอีเมล์ complainbox@starsmicro.com 5. บริษทั ฯ ขอให้ผแู้ จ้งเบาะแส มัน่ ใจได้วา่ จะได้รบั การคุม้ ครอง และบริษทั ฯ จะแต่งตัง้ เจ้าหน้าทีใ่ ห้มหี น้าทีต่ รวจสอบทุกเบาะแส ทีม่ กี ารแจ้งเข้ามา และบริษทั ฯ จะเก็บรักษาข้อมูลนีไ้ ว้เป็นความ ลับสูงสุด
1. ก�ำหนดให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคน ปฏิบัติตาม และ ประเมินผลการปฏิบัติของตนเอง ตามแนวทางจริยธรรมธุรกิจ ของบริษทั ฯ และจรรยาบรรณ รวมทัง้ ตามจรรยาบรรณแนวร่วม ประชาคมอุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (EICC) ที่ บ ริ ษั ท ฯ ประกาศ และตามมาตรฐานสากลด้านการต่อต้านการทุจริต 2. ก�ำหนดให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประเมินความ เสี่ยงจากการทุจริตคอรัปชั่น และรวบรวมประเด็นที่ส�ำคัญ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั ฯ 3. คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ตรวจสอบ และสั่งการด�ำเนินการแก้ไข และมอบหมายให้คณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง ติดตามผล และรายงานอย่างต่อ เนื่อง ในปี 2560 บริษทั ฯ ไม่มกี รณีการท�ำผิดด้านการทุจริต (Fraud) หรือกระท�ำผิดจริยธรรม (Penalty) ใด ไม่มีกรณีที่กรรมการ ทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารลาออกอันเนือ่ งจากประเด็นเรือ่ งการก�ำกับดูแล กิจการของบริษัทฯ แต่อย่างใด และไม่พบกรณีการปฏิบัติ ในทางลบอันมีผลต่อชื่อเสียงของบริษัทฯ อันเนื่องมาจากความ ล้มเหลวในการท�ำหน้าทีส่ อดส่องดูแลของคณะกรรมการบริษทั ฯ นอกจากนี้ในปี 2560 บริษัทฯ ไม่ได้รับการร้องเรียนเรื่องการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนแต่อย่างใด จากพนักงาน คู่ค้า และชุมชน ที่ใกล้เคียงบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ จะส่งเสริมให้พนักงาน และ ผูบ้ ริหารปฏิบตั ติ ามหลักสิทธิมนุษยชนแบบสากล อย่างต่อเนือ่ ง ยั่งยืน
39
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
การบริหารและพ ัฒนาทร ัพยากรบุคคล บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อการบริหารทรัพยากรบุคคลเป็นอย่าง มากและมุ ่ ง เน้ น ที่ จ ะพั ฒ นาทุ น มนุ ษ ย์ (Human Capital Development) ของบริษทั ฯ ให้เข้มแข็ง ให้สอดคล้องไปกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธของบริษัทฯ เพราะบริษัทฯ ตระหนัก ว่า บุคคลากร คือ ทรัพย์สินที่มีค่ายิ่งของบริษัทฯ
บริษทั ฯ มีกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ โดยพนักงานจ่ายส่วนหนึง่ และ บริษทั ฯ จ่ายสมทบ ซึง่ อัตราสมทบเป็นไปตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมการออมเงินแบบผูกพันระยะยาว (Contractual Savings) ส�ำหรับลูกจ้าง เพื่อไว้ใช้จ่ายเมื่อยาม เกษียณอายุ ทุพพลภาพ หรือต้องออกจากงาน
1. แผนระยะสนของการบริ ั้ หารทร ัพยากรบุคคล
นอกจากนั้นบริษัทฯ ยังมุ่งเน้นที่จะสร้างให้บริษัทฯ เป็นองค์กร แห่งความสุข (Happy Workplace) โดยการจัดสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานที่จะท�ำให้ พนักงานมีความสุขในการท�ำงาน ซึ่งจะ ท�ำให้ พนักงานร่วมกันสร้างผลผลิตทัง้ เชิงปริมาณและ คุณภาพ ให้กับบริษัทฯ อย่างเต็มที่อีกด้วย
บริษัทฯ มุ่งที่จะพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงานด้วย การ ฝึกอบรมให้พนักงานมีขีดความสามารถสูง ในการปฏิบัติ งานและมีทักษะการปฏิบัติงานที่หลากหลาย (Multi-Skilled) สามารถสร้างผลผลิตที่ดีทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพให้เป็นที่ ยอมรับของ ลูกค้าของบริษัทฯ เป็นอย่างสูง 2. แผนระยะยาวของการบริหารทร ัพยากรบุคคล
บริษัทฯ จะด�ำเนินโครงการส�ำคัญต่างๆ ที่ได้เริ่มต้นไว้ ให้บรรลุ ผล อย่างมีประสิทธิภาพได้แก่ • Competency Management System โครงการนี้จะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่องค์กร อย่างเต็มที่ โดยจะน�ำระบบนี้ไปใช้กับระบบต่างๆ ในการบริหาร ทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบการสรรหาและว่าจ้าง ระบบการฝึก อบรมและพัฒนา และระบบการประเมินผลการปฏิบัติของ พนักงาน เป็นต้น • Diversity Management บริษัทฯ ได้เน้น การบริหารความหลากหลายเพื่อเตรียมตัวรับ การ ก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในอนาคต อันใกล้ของประเทศไทย โดยส่งเสริมให้ พนักงานได้พฒ ั นาทักษะ ด้านภาษาให้มากขึ้นและจัดสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มี สภาพแวดล้อมที่ดีใกล้เคียงกับ Global Environment มากขึ้น • Employee Engagement บริษัทฯ ได้จัดท�ำโครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างความผูกพันระหว่าง พนักงานกับบริษทั ฯ ให้พนักงานท�ำงานด้วยความมุง่ มัน่ อุทศิ ตน เพือ่ บริษทั ฯ อย่างเต็มความสามารถ โดยการส่งเสริมให้พนักงาน มีสว่ นร่วมในการบริหารงานของบริษทั ฯ ในทุกระดับ สร้างความ เข้าใจอันดีระหว่างพนักงาน กับฝ่ายบริหาร ตลอดจนส่งเสริมให้ พนักงานได้พัฒนาตนเอง เพื่อที่จะเติบโตไปในสายงานต่อไปใน อนาคต
• Talent Management บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของบุคลากรที่มีความรู้ความ สามารถสูง (Talent) ว่าจะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลื่อน บริษทั ฯ ไปข้างหน้าท่ามกลางสภาพการแข่งขันทีร่ นุ แรง บริษทั ฯ จึ ง ด�ำเนิ น โครงการบริ ห ารพนั ก งานดาวเด่ น (Talent Management)อย่างเป็นระบบ • Succession Planning and Career Development บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการเตรียมพร้อมในการ วางแผนสืบทอดต�ำแหน่งงานในระดับผู้บริหาร เพื่อให้บริษัทฯ สามารถด�ำเนินงานไปอย่างต่อเนื่อง และการพัฒนาเส้นทาง อาชีพของพนักงาน เพื่อเป็นการจูงใจและเตรียมพร้อมในการ เจริญเติบโตของพนักงาน บริษทั ฯ จึงด�ำเนินโครงการการสืบทอด ต�ำแหน่งงาน และการพัฒนาเส้นทางอาชีพของพนักงาน
การก�ำก ับดูแลกิจการ
41
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
การก�ำก ับดูแลกิจการ ในฐานะบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Listed Company) คณะกรรมการบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) จึงมุง่ มัน่ ในการพัฒนาระดับการก�ำกับดูแลกิจการอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้บริษทั ฯ มีระบบการก�ำกับดูแลกิจการ และแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี (Best Practices) และมุง่ หวังให้บริษทั ฯ พัฒนาระดับการก�ำกับดูแลกิจการให้ได้รบั การยอมรับว่ามีการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย และสร้างมูลค่าเพิม่ ให้เกิดประโยชน์โดยรวมต่อผูถ้ อื หุน้ ในปี 2560 บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ดังต่อไปนี้ 1. สิทธิของผู ้ถือหุ ้น และการประชุมผู ้ถือหุ ้น
บริษทั ฯ จัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2560 ในวันพฤหัสบดี ที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 14.00 น. (ภายใน 4 เดือนนับแต่วนั สิน้ สุดของรอบปีบญ ั ชีของบริษทั ฯ ) โดยใช้วธิ กี �ำหนดรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิเข้าร่วมประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ (Record Date) และ รวบรวมรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัตหิ ลัก ทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
บริ ษั ท ฯ ได้ ม อบหมายให้ บริ ษั ท ศู น ย์ รั บ ฝากหลั ก ทรั พ ย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) ซึง่ เป็นนายทะเบียนของบริษทั ฯ จัดส่งหนังสือเชิญประชุม ทัง้ ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรายงานประจ�ำปี ใน รูปแบบ CD-Rom ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้า 14 วันก่อนวันประชุม และโฆษณาบอกกล่าวนัดประชุมในหนังสือพิมพ์ตดิ ต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้มเี วลาพิจารณา ข้อมูลเพียงพอ หนังสือเชิญประชุมระบุรายละเอียดของวาระการประชุมชัดเจนว่า เป็นเรือ่ งทีเ่ สนอเพือ่ รับทราบ เพือ่ อนุมตั ิ หรือเพือ่ พิจารณาแล้วแต่ กรณี รวมทัง้ ความเห็นของคณะกรรมการในแต่ละวาระพร้อม เอกสารข้อมูลประกอบการประชุมทีม่ รี ายละเอียดครบถ้วนเพียง พอ
นอกจากนีย้ งั มีการแจ้งรายละเอียดให้ผถู้ อื หุน้ น�ำหลักฐานทีจ่ �ำเป็น เพือ่ น�ำมาแสดงตนในวันประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ รักษาสิทธิในการเข้า ร่วมประชุม และให้สทิ ธิผถู้ อื หุน้ ในการมอบฉันทะให้บคุ คลอืน่ มา ประชุม และออกเสียงลงคะแนนแทนตน โดยแนบแบบหนังสือมอบ ฉันทะ (ตามแบบที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ก�ำหนด)
กฎหมายอิสระของบริษทั ฯ การด�ำเนินการประชุมเป็นไปตามล�ำดับ วาระการประชุมโดยไม่มกี ารเพิม่ วาระการประชุม
ในวันประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้เปิดให้ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม ได้ลว่ งหน้าก่อนเวลาประชุมไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง และใช้ระบบบาร์ โค้ด (barcode) ในการลงทะเบียนพร้อมจัดพิมพ์บตั รลงคะแนนใน แต่ละวาระให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และให้สทิ ธิผทู้ เี่ ข้าร่วมประชุมภายหลัง จากทีเ่ ริม่ ประชุมแล้ว สามารถลงคะแนนได้ส�ำหรับวาระทีย่ งั ไม่มี การลงมติ
(1) ผูถ้ อื หุน้ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง ดังนัน้ ผูถ้ อื หุน้ แต่ละรายจะมีเสียงตามจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื อยู่ หรือรับมอบฉันทะ มา
ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2560 นัน้ มีกรรมการของ บริษทั ฯ เข้าร่วมประชุม 7 ท่านจากจ�ำนวน 8 ท่าน รวมทัง้ ผูบ้ ริหาร ของบริษทั ฯ และผูท้ เี่ กีย่ วข้องในแต่ละวาระ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ทีป่ รึกษาทางการเงินของบริษทั ฯ และทีป่ รึกษากฎหมายอิสระขอ งบริษทั ฯ ได้เข้าร่วมประชุมเพือ่ รับฟังความคิดเห็น และตอบข้อซัก ถามของผูถ้ อื หุน้ ด้วย และตัวแทนจากบริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นผูท้ �ำการตรวจสอบการลงทะเบียนของผู้ ถือหุ้น และตรวจนับผลการลงคะแนนเสียงร่วมกับที่ปรึกษา
(3) ผูด้ �ำเนินการประชุมจะถามในแต่ละวาระๆว่ามีผคู้ ดั ค้าน หรือ งดออกเสียงหรือไม่ หากประสงค์จะคัดค้านหรืองดออกเสียง ให้ลง คะแนนในบัตรลงคะแนน ส�ำหรับท่านทีไ่ ม่คดั ค้านหรือไม่งดออก เสียง จะถือว่าอนุมตั ติ ามวาระนัน้ บริษทั ฯ จะน�ำคะแนนเสียงทีไ่ ม่ เห็นด้วย หรืองดออกเสียง หักออกจากจ�ำนวนเสียงทัง้ หมดทีเ่ ข้า ร่วมประชุม หรืองดออกเสียงลงคะแนน เพือ่ สรุปผลการลงคะแนน ในแต่ละวาระ
บริษทั ฯ ได้แจ้งรายละเอียดเกีย่ วกับองค์ประชุม สัดส่วนผูเ้ ข้าร่วม ประชุมทัง้ ด้วยตนเอง และมอบฉันทะ วิธกี ารลงคะแนน วิธนี บั คะแนน ดังนี้
(2) ผูถ้ อื หุน้ ท่านใดมีสว่ นได้เสียเป็นพิเศษในวาระใด ไม่มสี ทิ ธิออก เสียงในวาระนัน้
42
(4) เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก ธรรมาภิ บ าลที่ ดี ข อง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวาระเรือ่ งพิจารณาเลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการซึ่งครบก�ำหนดออกตามวาระ และ บริษทั ฯ ได้เสนอชือ่ กรรมการให้ผถู้ อื หุน้ ลงคะแนนทีละคน ทัง้ นี้ เพือ่ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิเลือกกรรมการทีต่ อ้ งการได้อย่าง แท้จริง ผู้ถือหุ้นทั้งประสงค์จะลงคะแนนเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ต้องลงคะแนนในบัตรลงคะแนน บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นทุกคนมาเข้าร่วมประชุม รวมทั้งผู้ลงทุนสถาบันด้วย โดยบริษัทฯ ได้คัดเลือกสถานที่ใน การจัดประชุมที่ระบบขนส่งมวลชนเข้าถึง และเพียงพอเพื่อให้ผู้ ถือหุ้น และผู้ลงทุนสถาบันสามารถเดินทางได้สะดวกในการเข้า มาประชุม นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้ก�ำหนดเวลาในการประชุมให้ผู้ ถือหุ้นได้มีโอกาส และสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการตรวจสอบ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ สอบถาม และแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ บริษทั ฯ มีชอ่ งทางให้ผถู้ อื หุน้ ได้สง่ ค�ำถามทีต่ อ้ งการให้ตอบในทีป่ ระชุมได้ลว่ งหน้าทางอีเมล์ ไปยังนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั ฯ หรือโดยทางโทรสารของบริษทั ฯ บริษทั ฯ ได้มกี ารบันทึกรายงานการประชุม โดยบันทึกวาระการ ประชุม เนื้อหาการประชุม ผลการลงคะแนนแต่ละวาระ มติที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ประเด็นข้อซักถาม ความคิดเห็น ค�ำชี้แจงของ กรรมการ และผู้บริหาร ไว้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ส�ำหรับ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นนั้น บริษัทฯ ได้จัดท�ำรายงานการ ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วเสร็จภายใน 7 วันหลังการประชุมผู้ถือหุ้น โดยได้จัดเก็บรายงานการประชุมอย่างเป็นระเบียบเพื่อให้ผู้ถือ หุ้นสามารถตรวจสอบได้ นอกเหนือจากสิทธิในการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ ถือหุน้ ยังได้รบั สิทธิขนั้ พืน้ ฐานอืน่ ๆ ได้แก่ สิทธิการได้รบั ส่วนแบ่ง ในผลก�ำไร/เงินปันผลอย่างเท่าเทียมกัน สิทธิในการได้รับการ ปฏิบตั ทิ เี่ ท่าเทียมในการรับซือ้ หุน้ คืนโดยบริษทั ฯ เป็นต้น ซึง่ สิทธิ ขั้นพื้นฐานเหล่านี้มีก�ำหนดเป็นกฎหมายอยู่แล้ว 2. การปฏิบ ัติต่อผู ้ถือหุ ้นอย่างเท่าเทียมก ัน
คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือหุ้น ทุกๆ คน และปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และ เป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือรายย่อย หรือผู้ถือ หุ้นชาวต่างชาติ โดยได้ด�ำเนินการต่างๆ ดังต่อไปนี้ (1) ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการประชุมตาม ระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมเสมอ จะไม่เพิ่ม วาระการประชุมที่ไม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าหากไม่จ�ำเป็น โดย เฉพาะวาระส�ำคัญที่ต้องให้ผู้ถือหุ้นใช้เวลาในการศึกษาข้อมูล ก่อนตัดสินใจ
รายงานประจ�ำปี 2560
(2) เสนอรายชื่อกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เพื่อเป็นทาง เลือกในการมอบฉันทะของผูถ้ อื หุน้ และได้ชแี้ จงให้ผถู้ อื หุน้ ทราบ ว่ากรรมการแต่ละคนมีส่วนได้เสียในระเบียบวาระใดบ้าง เช่น วาระการแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ครบก�ำหนดออกตาม วาระ เป็นต้น (3) ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียงทุกวาระ โดยจัด ท�ำบัตรลงคะแนนแยกแต่ละวาระเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถลง คะแนนได้ตามสมควร (4) ประธานในทีป่ ระชุมได้จดั สรรเวลาให้กบั ผูถ้ อื หุน้ มีโอกาสใน การแสดงความคิดเห็น ในการประชุมประจ�ำปี 2560 บริษัทฯ เปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น และตัง้ ค�ำถามต่อทีป่ ระชุม ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ได้ รวมทั้งให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถาม เพื่อสอบถามข้อมูลในแต่ละวาระหรือข้อมูลอื่นๆของบริษัทล่วง หน้าผ่าน E-mail address : ir@starsmicro.com หรือทาง โทรสาร 035-258-914 และสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 035-258-555 ต่อ 313 อย่างไร ก็ตามในปี 2560 ไม่มผี ถู้ อื หุน้ ท่านใดส่งเรือ่ งใดมาเพือ่ สอบถาม หรือแสดงความคิดเห็น (5) คณะกรรมการบริษัทฯ จะดูแลให้บริษัทฯ ปฏิบัติให้เป็นไป ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และข้อ บังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดเกีย่ วกับการ เปิ ด เผยข้ อ มู ล การท�ำรายการเกี่ ย วโยง และการได้ ม าหรื อ จ�ำหน่ายทรัพย์สินที่ส�ำคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย รวมทั้ง ปฏิบัติตามมาตรฐานบัญชีที่ก�ำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี (6) คณะกรรมการบริษทั ฯ จะให้ความส�ำคัญกับรายการระหว่าง กัน หากมีรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยเกิดขึน้ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคตซึ่งไม่อยู่ใน เงือ่ นไขทางธุรกิจปกติ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะเปิดเผยรายการระหว่าง กันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจาก ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ (7) ก�ำหนดมาตรการให้กรรมการ และผู้บริหารต้องเปิดเผย ข้อมูลถึงการมีผลประโยชน์สว่ นตนต่อการท�ำธุรกรรมใดๆอันอาจ กระทบกับบริษทั ฯ ผ่านแบบฟอร์มรายงานการมีสว่ นได้เสีย โดย มีเลขานุการบริษัทฯ เป็นผู้รับรายงานการเปิดเผยข้อมูลการมี ส่วนได้เสีย และน�ำส่งประธานกรรมการ และประธานกรรมการ ตรวจสอบ ซึง่ ในปี 2560 บริษทั ฯ ได้ให้กรรมการ และผูบ้ ริหาร ทุกคนเปิดเผยข้อมูลการมีส่วนได้เสียของตน ซึ่งทั้งปีนี้ไม่มีการ กระท�ำใดขัดต่อข้อก�ำหนดในเรื่องการท�ำธุรกรรมที่เกี่ยวโยงกัน
43
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
3. สิทธิของผู ้มีส่วนได ้เสีย
บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่ เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ผู้ถือหุ้น : บริษัทฯ มีนโยบายปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกคนอย่าง เท่าเทียม เป็นธรรม ให้ความส�ำคัญกับสิทธิของผู้ถือหุ้น ไม่ กระท�ำการใดๆอันเป็นการละเมิดหรือริดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น 2. พนักงาน : บริษทั ฯ มีนโยบายปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคนอย่าง เท่าเทียม เป็นธรรม และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม 3. คู่ค้า และเจ้าหนี้ : บริษัทฯ มีนโยบายปฏิบัติต่อคู่ค้า และ เจ้าหนี้อย่างเป็นธรรม เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า และ/หรือ ข้อตกลงในสัญญาทีท่ �ำร่วมกันอย่างเคร่งครัด หากเกิดกรณีทไี่ ม่ สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ได้ บริษัทฯ จะแจ้งให้ เจ้าหนีท้ ราบล่วงหน้าเพือ่ ร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา 4. ลูกค้า : บริษัทฯ มีนโยบายให้บริการที่มีคุณภาพ และตอบ สนองความต้องการของลูกค้า โดยให้ความส�ำคัญด้านความ ปลอดภัยควบคู่กันไป โดยมีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกลูกค้า และพิจารณาเครดิตลิมิตของลูกค้าส�ำหรับลูกค้าเก่า และลูกค้า ใหม่ ซึ่งต้องมีฐานะการเงิน และประวัติการช�ำระหนี้ที่ดี 5. คู่แข่ง : บริษัทฯ มีนโยบายปฏิบัติตามกติกาการแข่งขันที่ดี และหลีกเลี่ยงวิธีการไม่สุจริตเพื่อท�ำลายคู่แข่ง 6. สังคมรวม และสิ่งแวดล้อม : บริษัทฯ ให้การสนับสนุน กิจกรรมอันเป็นประโยชน์ และส่งเสริมคุณภาพของสังคม และ สิ่งแวดล้อมโดยรวม และบริษัทฯ มีการก�ำหนดนโยบายความรับผิดชอบของสังคม เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า การประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ ได้ค�ำนึงถึงปัจจัย ด้านสิ่งแวดล้อม และสังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ บริษัทฯ จะปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อดูแลสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียข้างต้นด้วยความเป็น ธรรม คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ให้มชี อ่ งทางในการร้องเรียน ส�ำหรับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถติดต่อ/ร้องเรียนในเรื่องที่ อาจเป็นปัญหากับคณะกรรมการบริษัทฯ ได้โดยตรง
ติดต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ กรรมการอิสระ ผ่านทางเลขานุการ บริษทั ฯ ทางอีเมล์ : yunyong-s@starsmicro.com โทรสาร : 035-258-914 หรือส่งจดหมายปิดผนึกมายัง เลขานุการบริษทั ฯ ทีอ่ ยู่ : บริษทั สตาร์สไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ ประเทศไทย จ�ำกัด (มหาชน) 605-606 นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน หมู่ที่ 2 ต.คลองจิก อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา 13160
4. การเปิดเผยข้อมูล และความโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ดูแล และส่งเสริมให้เปิดเผยข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับกิจการ ทั้งข้อมูลทางการเงิน รายงานการเงิน ให้ ตรงเวลาตามข้ อ ก�ำหนดเรื่ อ งการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยน�ำเสนอทั้งในรูปภาษา ไทย และภาษาอังกฤษ เพือ่ ให้นกั ลงทุน ผูถ้ อื หุน้ และผูเ้ กีย่ วข้อง ต่างๆ ได้รับทราบข้อมูลได้อย่างโปร่งใส เท่าเทียมกัน นอกจาก นี้ได้มีการเปิดเผยรายงานผู้สอบบัญชี ตัวเลขทางการเงิน และ หมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างครบถ้วนด้วย บริษทั ฯ ได้เปิดเผยบทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ และ คณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุม และ เปิดเผยข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการไว้ด้วย และบริษัทฯ ยังได้ จัดให้มีส่วนนักลงทุนสัมพันธ์ ท�ำหน้าที่รับผิดชอบดูแลให้ข้อมูล ทีส่ �ำคัญต่อนักลงทุน และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง พร้อมทัง้ จัดท�ำข้อมูลเผย แพร่ขอ้ มูลต่างๆ ผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเวบ ไซต์ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้นกั ลงทุน และผูม้ สี ว่ นได้เสียสามารถอ่าน และรับทราบข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญของบริษัทฯ ข้อมูลทางการ เงิน ข้อมูลผลการประกอบการได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ก�ำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการรายงาน โดย ให้กรรมการทุกท่าน, ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในระดับบริหารสี่ราย แรก นับต่อประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารลงมา, ผูด้ �ำรงต�ำแหน่งระดับ บริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้น ไป หรือเทียบเท่า ต้อง “รายงานการมีสว่ นได้เสีย” ตามแบบแจ้ง รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ และผู้บริหาร โดย รายงานทุกครั้งเมื่อมีการท�ำรายการที่อาจเข้าข่ายมีส่วนได้เสีย ให้รายงานต่อบริษัทฯ โดยไม่ชักช้า และเลขานุการบริษัทฯ จะ เป็นผูเ้ ก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้เสียทีร่ ายงานโดยกรรมการ และผู้บริหารไว้
44
การแถลงผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ในปี 2560 บริษัทได้ จัดกิจกรรมเพือ่ พบปะนักลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ดงั นี้ จัดงานพบปะนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Analyst Meeting) รวม 2 ครั้ง นอกจากนี้บริษัทฯ ยังเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจเข้าชมกิจการของ บริษัทฯ (Company Visit) เสมอ ซึ่งผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมกิจกรรม จะได้พบปะพูดคุย และมีโอกาสร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง กัน และกัน ทั้งนี้ ปี 2560 นี้บริษัทฯ ได้ปฏิบัติโดยการเปิดเผยข้อมูลเป็นไป ตามข้ อ ก�ำหนดของส�ำนั ก งานก�ำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างครบถ้วน และตรงตามก�ำหนดเวลา
รายงานประจ�ำปี 2560
ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการรวมทัง้ สิน้ 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และคณะ กรรมการบริหารความเสีย่ ง ทัง้ นี้ เพือ่ แบ่งอ�ำนาจหน้าทีใ่ ห้ชดั เจน ซึ่งจะท�ำให้การก�ำหนดทิศทาง และการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ มีประสิทธิภาพสูงสุด คณะกรรมการบริษัทฯ จะเป็นผู้พิจารณา ก�ำหนดเป้าหมายของบริษัทฯ และก�ำหนดบทบาท และมอบ หมายอ�ำนาจหน้ า ที่ ใ ห้ แ ก่ ค ณะกรรมการตรวจสอบ คณะ กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ก�ำหนดนโยบายจ�ำกัดจ�ำนวนปีของกรรมการอิสระ ไว้ไม่เกิน 9 ปี และการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ อิสระในปี 2560 ไม่มีกรรมการอิสระที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ อิสระเกิน 9 ปี
5. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะ กรรมการ
นโยบายความหลากหลายในโครงสร ้างคณะกรรม การบริษ ัทฯ (Board Diversity)
คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่ และความรับผิดตามที่ก�ำหนด ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการก�ำหนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนการด�ำเนินงานประจ�ำปี งบประมาณประจ�ำปีของ บริษัทฯ และควบคุมดูแลการบริหาร และการจัดการของฝ่าย บริหาร หรือของบุคคลใดๆ ที่ได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินงานดัง กล่าวให้เป็นไปตามเป้าหมาย และนโยบาย รวมทั้งแผนการ ด�ำเนินงานที่คณะกรรมการได้ให้ไว้
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการที่จะ เข้ามาเป็นกรรมการใหม่ โดยพิจารณาทักษะที่จ�ำเป็นที่
โครงสร ้างคณะกรรมการ
ปัจจุบันบริษัทฯ มีคณะกรรมการ จ�ำนวน 8 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 ท่าน กรรมการบริหาร 2 ท่าน กรรมการที่ ไม่เป็นกรรมการอิสระ และไม่เป็นผู้บริหาร 3 ท่าน อนึง่ บริษทั ฯ ไม่มกี รรมการทีด่ �ำรงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียน มากกว่า 5 บริษัท และบริษัทฯ ไม่มีนโยบายให้กรรมการที่เป็น ผู้บริหารด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการในบริษัทอื่น และบริษัทจด ทะเบียนมากกว่า 2 บริษัท ทั้งนี้ไม่นับรวมบริษัทย่อย บริษัทใน เครือ และบริษัทร่วมทุนของบริษัท ซึ่งบริษัทฯ มีความจ�ำเป็น ต้องเข้าไปก�ำกับดูแลการบริหารจัดการเพื่อรักษาผลประโยชน์ ของบริษัท ทั้งนี้บริษัทฯ มีกรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหารมากกว่า 1 ท่านที่มีประสบการณ์การท�ำงานเกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทฯ
ยังขาดอยู่ในคณะกรรมการชุดปัจจุบันเพื่อเติมเต็มความรู้ความ เชี่ยวชาญให้ครบทุกด้าน รวมทั้งวิชาชีพ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการก�ำหนดนโยบาย และการ ตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทฯ และเพื่อให้คณะกรรมการ บริษทั มีองค์ประกอบ และโครงสร้างทีเ่ หมาะสมกับทิศทางในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัท และมีกรรมการที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ตามหลักของบรรษัทภิบาลที่ดี ในปี 2560 นี้ บ ริ ษั ท ฯ ไม่ มี ก รรมการเข้ า มาใหม่ เ พิ่ ม เติ ม เนือ่ งจากกรรมการทัง้ 8 ท่านของบริษทั ฯ มีความรูค้ วามสามารถ และปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นอย่างดี ประกอบกับโครงสร้าง และ จ�ำนวนกรรมการบริษัทฯ ที่มีอยู่ เหมาะสมกับทิศทางในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แล้ว
45
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
คณะอนุกรรมการ
นอกจากคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว บริษัทฯ ยังมีคณะกรรมการชุดย่อย 4 ชุด ได้แก่
คณะกรรมการ ชุดย่อย
คณะกรรมการ บริหาร 6 ท่าน
คณะกรรมการ ตรวจสอบ 3 ท่าน (คณะกรรมการ อิสระทั้งคณะ)
คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน 3 ท่าน (กรรมการอิสระเป็น ประธาน)
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง 12 ท่าน (กรรมการอิสระเป็น ประธาน)
ทั้งนี้บริษัทฯ ได้มีการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ยังไม่ได้มีการพิจารณาแต่ง ตั้ง คณะกรรมการสรรหา เนื่องจากโครงสร้างองค์กรของบริษัทฯ ไม่ได้มีความซับซ้อนมาก การควบคุมภายใน
บริษทั ฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับการจัดให้มรี ะบบการควบคุมภายใน ทีเ่ ป็นมาตรฐาน เพือ่ ให้เป็นทีย่ อมรับ และเชือ่ ถือต่อผูถ้ อื หุน้ และ นักลงทุน ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสีย โดยบริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะ กรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระเพื่อดูแลระบบการ ควบคุมภายในของบริษัทฯ และรายงานทางการเงินให้ตรงต่อ ความเป็นจริง ครบถ้วน เชื่อถือได้ ตลอดจนดูแลให้บริษัทฯ มี ระบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผล และ มีระบบการท�ำงานที่ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยเฉพาะ เรื่องของความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้จดั ให้มกี ารประชุมร่วมกับ ผูส้ อบ บัญชี ฝ่ายจัดการของบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณา และให้ขอ้ เสนอแนะ ในการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังจัดให้มฝี า่ ยตรวจสอบภายใน ซึง่ ฝ่ายตรวจ สอบภายในของบริษัทฯ มีความเป็นอิสระ และรายงานตรงต่อ คณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของ ระบบงานต่างๆให้เป็นไปอย่างเหมาะสม และปฏิบตั ถิ กู ต้องตาม กฎระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และรายงานผลการตรวจ สอบภายในตามแผนที่ได้ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าประจ�ำปี ต่อคณะ กรรมการตรวจสอบได้รับทราบ
ส�ำหรับปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการ บริษัทฯ ได้ประเมิน และทบทวน ระบบการควบคุมภายในของ บริษัทฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ ประเมินระบบการควบคุมภายในจากรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบแล้วสรุปได้ว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ เพียงพอทั้ง 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสี่ย ง การควบคุมการปฏิบัติงาน ระบบ สารสนเทศ และการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม ปัจจุบนั หัวหน้าทีมฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ คือ นางสาว สุนนั ท์ วงศ์มทุ ธาวณิชย์ ต�ำแหน่ง ผูช้ ว่ ยผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายตรวจ สอบภายใน ในปี 2560 นี้ฝ่ายตรวจสอบภายในได้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบได้อย่างราบรื่นครบถ้วนตามแผนการปฏิบัติงานที่ได้ รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ
46
รายงานประจ�ำปี 2560
การใช ้ข ้อมูลภายใน
จริยธรรมธุรกิจ
บริษัทฯ ได้ก�ำหนดมาตรการในการป้องกันการน�ำข้อมูลของ บริษัทฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ของผู้บริหาร และบุคลากรของ บริษัทฯ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับการรักษาความลับ และการ ใช้ข้อมูลภายในไว้ ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญ และความ จ�ำเป็นของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และก�ำหนดแนวนโยบาย เกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการ โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ต้อง ทราบถึงบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบว่า จะต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการ ด�ำเนินธุรกิจ และมีจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ ต้องปฏิบัติ หน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของ บริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นเป็นส�ำคัญ ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ เ ผยแพร่ ไ ว้ ใ นเว็ บ ไซต์ ภ ายในของบริ ษั ท ฯ ที่ www.starsmicro.com ดังนี้
1. กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษทั ฯ จะต้อง รักษาความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในของบริษัทฯ 2. กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษทั ฯ จะต้อง ไม่น�ำความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ไปเปิดเผย หรือแสวงหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือเพื่อประโยชน์แก่บุคคล อื่นใดไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม และไม่ว่าจะได้รับผล ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม 3. กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษทั ฯ จะต้อง ไม่ท�ำการซื้อขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพย์ของบริษัทฯ โดย ใช้ความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในบริษัทฯ และ/หรือ เข้าท�ำ นิติกรรมอื่นใดโดยใช้ความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในของ บริษทั ฯ อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริษทั ฯ ไม่วา่ โดยทาง ตรงหรือทางอ้อม ข้อก�ำหนดนี้ให้รวมความถึงคู่สมรส และบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และ ลูกจ้างของ บริษัทฯ ด้วย ผู้ใดที่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับดังกล่าว จะถือว่าได้กระท�ำผิดอย่างร้ายแรง 4. กรรมการ และผู้บริหารที่ได้รับข้อมูลทางการเงินของบริษัทฯ ต้องไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในระยะเวลา 1 เดือนก่อน เปิดเผยสู่สาธารณชน โดยบริษัทฯ ได้แจ้งให้กรรมการ และผู้ บริหารห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ก่อนที่งบการเงินจะ เปิดเผยสู่สาธารณะ
1. ให้ความเป็นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ และปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่า เทียมกัน 2. ค�ำนึงถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ และดูแลมิให้ เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 3. จัดโครงสร้างคณะกรรมการแบ่งตามหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยนอกจากคณะกรรมการบริษทั ฯ แล้ว อาจมีการแต่งตั้งคณะ กรรมการคณะอื่นได้ นอกจากนี้บริษัทฯ ได้ก�ำหนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการแต่ละคณะอย่าง ชัดเจน 4. ด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส และจัดให้มกี ารเปิดเผยข้อมูล อย่างชัดเจน และเพียงพอในเวลาที่เหมาะสม 5. ด�ำเนินธุรกิจด้วยความระมัดระวัง โดยบริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี าร ประเมินความเสี่ยง วางกลยุทธ์แก้ไข และติดตามการบริหาร ความเสี่ยงอย่างเหมาะสม และสม�่ำเสมอ ปลูกฝังจริยธรรมทางธุรกิจให้แก่ผู้บริหาร และพนักงานของ บริษัทฯ ส�ำหรับพนักงานทีเ่ ข้าใหม่ในแต่ละปีนนั้ บริษทั ฯ ได้อบรมเพือ่ ให้ พนักงานใหม่รับทราบจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ ในคราว เดียวกับการรับทราบการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ และระเบียบ ปฏิบัติของบริษัทฯ
47
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
แนวปฏิบ ัติการไม่ล่วงละเมิดทร ัพย์สินทางปั ญญา
การประชุมคณะกรรมการ
บริษทั ฯ ได้ก�ำหนดนโยบายเกีย่ วกับการใช้ซอฟท์แวร์ทมี่ ลี ขิ สิทธิ์ และควบคุมการใช้เพื่อให้พนักงานตระหนัก และไม่ละเมิด ทรัพย์สินทางปัญญาใดๆ พร้อมทั้งเผยแพร่ให้พนักงานทุกระดับ รับทราบ และฝ่ายไอทีของบริษทั ฯ ได้ท�ำการตรวจสอบทุกปีอย่าง น้อยปีละ 1 ครัง้ เพือ่ ตรวจสอบการใช้ระบบโปรแกรมซอฟท์แวร์ การท�ำงานของพนักงาน เพือ่ ป้องกันไม่ให้มกี ารละเมิดซอฟท์แวร์ ที่มีลิขสิทธิ์
ในปี 2560 บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการรวมทัง้ สิ้น 5 ครั้ง (บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดการประชุมคณะกรรม การบริษัทฯ อย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง) โดยในแต่ละครั้งมี กรรมการเกือบทั้งหมดเข้าร่วมประชุม ในการเรียกประชุมคณะ กรรมการ เลขานุการบริษทั ฯ ท�ำหน้าทีจ่ ดั การประชุม ส่งหนังสือ นัดประชุมไปยังกรรมการไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุมเว้น แต่ ใ นกรณี จ�ำเป็ น รี บ ด่ ว นเพื่ อ รั ก ษาสิ ท ธิ ห รื อ ประโยชน์ ข อง บริษัทฯ จะแจ้งการนัดประชุมโดยวิธีอื่น เช่นทางโทรศัพท์ หรือ ทางเมล์เพื่อก�ำหนดวันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้ พร้อมทั้งจด บันทึกการประชุม และจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการ รับรองของคณะกรรมการบริษัทฯ ไว้ทุกครั้ง
ค่าตอบแทนกรรมการบริษ ัทฯ และผู ้บริหาร
ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 ได้มีมติอนุมัติให้คงอัตราค่าตอบแทนประจ�ำปี 2560 ไว้ตามที่ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2559 ได้เคยมีมติอนุมัติไว้ดังนี้ เงินเดือน (ต่อเดือน) / ค่าเบีย้ ประชุม (ต่อครัง้ ) 1. 2. 3. 4. 5.
ประธานกรรมการ กรรมการบริษทั ฯ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ค่าเบีย้ ประชุมกรรมการบริษทั ฯ, กรรมการตรวจสอบ กรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน และกรรมการบริหารความเสีย่ ง (เฉพาะ ทีม่ าจากกรรมการอิสระ)
*สิทธิประโยชน์อื่นๆ -ไม่มี-
36,000 บาท/เดือน 24,000 บาท/เดือน 36,000 บาท/เดือน 30,000 บาท/เดือน 5,000 บาท/ครัง้
48
รายงานประจ�ำปี 2560
ค่าตอบแทนที่เป็นต ัวเงิน และไม่เป็นต ัวเงิน
1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ค่าตอบแทนกรรมการรวม เท่ากับ 2,983,000 บาท และ 2,971,000 บาทตามล�ำดับ โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปของค่าตอบแทนรายเดือน และเบี้ยประชุมตาม รายละเอียดดังต่อไปนี้
รายชือ่ กรรมการ
(หน่วย : บาท)
ปีบญ ั ชี 2559 สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559
ปีบญ ั ชี 2560 สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2560
ค่าตอบแทน ประจ�ำรายเดือน (บาท/ปี)
ค่าเบีย้ ประชุม (บาท/ปี)
ค่าตอบแทน ประจ�ำรายเดือน (บาท/ปี)
ค่าเบีย้ ประชุม (บาท/ปี)
1. นายสมนึก ไชยกุล
432,000
25,000
432,000
20,000
2. นายพร้อมพงศ์ ไชยกุล
288,000
25,000
288,000
15,000
3. นายชอง เคว็น ซัม
288,000
-
288,000
-
4. นายประสาท ยูนพิ นั ธุ์
288,000
30,000
288,000
30,000
5. รศ.ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์
414,000
50,000
432,000
40,000
6. นางพูนพรรณ ไชยกุล
288,000
20,000
288,000
20,000
7. รศ.ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์
360,000
50,000
360,000
45,000
8. ศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ
360,000
65,000
360,000
65,000
รวม
2,718,000
265,000
2,736,000
235,000
ค่าตอบแทนที่ไม่เป็นตัวเงิน - ไม่มี
49
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
2. ค่าตอบแทนผู้บริหาร (หน่วย : บาท) ค่าตอบแทน
ปีบญ ั ชี 2559 สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2559
ปีบญ ั ชี 2560 สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2560
จ�ำนวนราย
ค่าตอบแทนรวม
จ�ำนวนราย
ค่าตอบแทนรวม
เงินเดือนรวม
6
19,798,770
6
19,728,435
โบนัสรวม
6
1,619,134
6
1,542,880
กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ
6
1,019,308
6
1,188,644
รวม
22,437,212
22,459,959
บุคลากรของบริษ ัทฯ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวนพนักงาน (ไม่รวมผูบ้ ริหาร) ของบริษทั ฯ แบ่งตามสายงานหลัก ดังนี้ (หน่วย : คน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
1,127
971
สายงานการจัดการวัตถุดบิ
80
107
สายงานการเงิน และธุรการ
78
72
สายงานการพัฒนาธุรกิจ
40
70
1,325
1,220
สายงานหลัก สายงานปฏิบตั กิ าร และพัฒนา
รวม
ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ มีนโยบายก�ำหนดค่าตอบแทนของพนักงานตามผล ประกอบการของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว และมี การทบทวนนโยบายการก�ำหนดค่าตอบแทนของพนักงานเพือ่ ให้ อยู่ในระดับที่เหมาะสม และสอดคล้องกับบริษัทที่ประกอบ อุตสาหกรรมเดียวกัน และอยู่ในบริเวณสถานประกอบใกล้กัน
บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดสวัสดิการอันเป็นประโยชน์ให้กับ พนักงาน เช่น กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ตรวจสุขภาพพนักงาน ประจ�ำปี นอกจากนีย้ งั สนับสนุนให้พนักงานเล่นกีฬา และรักการ อ่าน เพื่อให้พนักงานได้ออกก�ำลังกาย และผ่อนคลายจากการ ท�ำงาน โดยจัดสร้างสนามแบดมินตันในอาคาร จัดเตรียมโต๊ะ ปิงปอง และจัดสร้างห้องสมุดไว้ให้ค้นคว้าหาความรู้
50
รายงานประจ�ำปี 2560
นโยบายในการพ ัฒนาพน ักงานของบริษ ัทฯ
บริษัทฯ มีกระบวนการด�ำเนินงานในการพัฒนาบุคลากรหรือ พนักงานให้มีความรู้ความช�ำนาญ ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อ บริษทั ฯ เพือ่ เพิม่ พูนประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏิบตั ิ งานของบริษัทฯ ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต โดยมีเป้าหมายให้ พนักงานของบริษัทฯ เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ กล่าวคือ 1. เรียนรู้งานหลายประเภท 2. ปฏิบัติงานได้หลายหน้าที่ 3. มีทักษะในการปฏิบัติงานอย่างกว้างขวาง 4. สามารถสับเปลี่ยนหน้าที่กับเพื่อนร่วมงานได้ เนื่องจากการที่บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาบุคลากร เป็นอย่างสูง บริษทั ฯ จึงมีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรซึง่ มีขอ้ หลักๆ ดังต่อไปนี้ 1. จัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์กร 2. ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านอื่นๆ ในทุกระดับ โดยจัดให้ มีการฝึกอบรมทั้งภายใน และ ภายนอกอย่างสม�่ำเสมอ 3. จัดให้มกี ารพัฒนาบุคลากรร่วมกับลูกค้าเพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่เป็น Joint Innovation 4. ส่งบุคลากรไปฝึกอบรมในต่างประเทศ
หลักสูตรอบรม
คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายในการเพิ่มพูน และพัฒนา ความรูอ้ นั เป็นการเพิม่ ศักยภาพของผูบ้ ริหาร และพนักงานอย่าง ยั่งยืน เนื่องจากตระหนักถึงคุณค่าของการพัฒนาความรู้ ความ สามารถ ในปี 2560 บริษทั ฯ ได้ ก�ำหนดเป้าหมายในการพัฒนาฝึกอบรม ไว้ที่ 20 ชั่วโมงต่อคน ซึ่งเฉลี่ยแล้วได้รับการอบรม และพัฒนา 20 ชั่วโมงต่อคน โดยการอบรม และพัฒนาในหลากหลาย หลักสูตรไม่ว่าจะเป็น Six Sigma, Team Building , Strategy Training, 5ส ปัจจัยพื้นฐานในการเพิ่มผลผลิต เป็นต้น ทั้งใน ระดับปฏิบัติการ ระดับพนักงาน และระดับบริหาร ในปี 2560 นี้ บริษทั ได้จดั คอร์สฝึกอบรมในการพัฒนาผูบ้ ริหาร และพนักงาน โดยได้เชิญวิทยากรจากภายนอกบริษัท ผู้ทรง คุณวุฒิจากหลากหลายสาขามาให้ความรู้ เพื่อเป็นการพัฒนา พนักงาน และผูบ้ ริหารอย่างต่อเนือ่ ง และยัง่ ยืน โดยในปี 2560 ได้จดั อบรมรวมทัง้ สิน้ เฉลีย่ ประมาณ 100 ชัว่ โมง แบ่งเป็นระดับ ผู้บริหาร 30 ชั่วโมง และระดับพนักงาน 70 ชั่วโมง ตัวอย่าง หลักสูตรอบรม เช่น
ระดับพนักงาน
จ�ำนวนชัว่ โมงฝึกอบรม
Six Sigma
ระดับพนักงาน-ระดับบริหาร
20 ชัว่ โมง
Team Building
ระดับพนักงาน-ระดับบริหาร
14 ชัว่ โมง
Strategy Training
ระดับพนักงาน-ระดับบริหาร
7 ชัว่ โมง
5ส ปัจจัยพืน้ ฐานในการเพิม่ ผลผลิต
ระดับพนักงาน-ระดับบริหาร
7 ชัว่ โมง
51
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
รายการระหว่างก ัน
ในปี 2560 บริษทั ฯมีการท�ำธุรกรรมการค้าทีเ่ ป็นรายการระหว่างกันกับบริษทั ย่อย บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องอยูพ่ อสมควร เนือ่ งจาก บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องและบริษทั ร่วมดังกล่าวเป็นผูป้ ระกอบการรายใหญ่ในธุรกิจซือ้ ขายชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ มีสว่ นช่วยเหลือ และสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม รายการระหว่างกันกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นธุรกรรมการค้าทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ และเป็นไปตามเงือ่ นไขการค้าปกติเสมือนคูค่ า้ ธุรกิจโดยทัว่ ไป ซึง่ ต้องพึง่ พาการซือ้ ผลิตภัณฑ์หรือบริการต่อกัน ความเห็ นของกรรมการตรวจสอบเกี่ ยวก บั รายการระหว่างก ัน
รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ ได้รบั การพิจารณา และให้ความเห็น โดยคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ว่าเป็นรายการทีบ่ ริษทั ฯ ด�ำเนินการตามธุรกิจปกติ ไม่มเี งือ่ นไขพิเศษ และไม่มกี ารถ่ายเทผล ประโยชน์ระหว่างบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง และผูถ้ อื หุน้ นอกจากนี้ นโยบายการก�ำหนดราคาระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันก�ำหนดตามราคาตลาด และเป็นไปตาม ปกติธรุ กิจการค้า (Fair and at arm’s length) เช่นเดียวกับทีก่ �ำหนด ให้กบั บุคคล/กิจการอืน่ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน และเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ ของบริษทั ฯ มาตรการหรือขนตอนการอนุ ั้ ม ัติการท�ำรายการ ระหว่างก ัน
รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) ธุรกรรมทีเ่ กิดขึน้ เป็นปกติและต่อเนือ่ ง และ (2) ธุรกรรมพิเศษ โดย มาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุมตั ริ ายการระหว่างกันส�ำหรับธุรกรรม ในแต่ละประเภท มีรายละเอียด ดังนี้ ่ ดขึนเป ่ ้ ็ นปกติและต่อเนือง ธุรกรรมทีเกิ
บริษทั ฯ ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์วา่ ในการเข้าท�ำธุรกรรมทีเ่ กิดขึน้ เป็น ปกติและต่อเนือ่ ง โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ดแู ลให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสัง่ หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ รวมตลอดถึงการปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดเกีย่ วกับ การเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการเกี่ยวโยง และการได้มาหรือ จ�ำหน่ายทรัพย์สนิ ทีส่ �ำคัญของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ภายใต้กรอบ จริยธรรมทีด่ ี รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี
ธุรกรรมพิเศษ
บริษทั ฯ มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ให้ความเห็นเกีย่ ว กับความสมเหตุสมผลในการเข้าท�ำธุรกรรมต่าง ๆ และเสนอแนะ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯเพื่อพิจารณาอนุมัติ ในกรณีที่คณะ กรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษทั ฯ จะจัดให้มบี คุ คลทีม่ คี วามรูค้ วาม ช�ำนาญพิเศษ เช่น ผูส้ อบบัญชี หรือผูป้ ระเมินราคาอิสระ หรือ ส�ำนักงานกฎหมาย เป็นต้น ทีเ่ ป็นอิสระจากบริษทั ฯ และบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้งเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกันดัง กล่าว ความเห็นของบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามช�ำนาญพิเศษจะถูกน�ำไป ใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ คณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ แล้วแต่กรณี ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ พร้อมทัง้ เปิดเผยในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงข้อมูลประจ�ำปีของบริษทั ฯ (แบบ 56-1) นโยบายการเข ้าท�ำรายการระหว่างก ันในอนาคต
การท�ำรายการระหว่างกันในอนาคตนัน้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ ค�ำมัน่ ว่า จะดูแลให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสัง่ หรือ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการ ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการเกีย่ ว โยง และการได้มาหรือจ�ำหน่ายทรัพย์สนิ ทีส่ �ำคัญของบริษทั ฯ หรือ บริษทั ย่อย รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานบัญชีทกี่ �ำหนดโดยสภา วิชาชีพบัญชี และคณะกรรมการตรวจสอบจะตรวจสอบความสมเหตุสมผลในการ เข้าท�ำรายการ ราคาและเงือ่ นไขต่างๆ ของรายการว่าเป็นไปตาม เงือ่ นไขทางธุรกิจปกติหรือไม่ โดยห้ามกรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ใดมีสว่ นในการอนุมตั ริ ายการระหว่างกันดัง กล่าว
การบริหารความเสี่ยงขององค์กร
53
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
การบริหารความเสี่ยงขององค์กร (Enterprise Risk Management)
บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์(ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารความเสีย่ งทีม่ ี ต่อการด�ำเนินงานขององค์กร คณะกรรมการบริษทั จึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งขึน้ ภายใต้หลักธรรมาภิบาลทีด่ ี เพือ่ ท�ำหน้าทีใ่ นการบริหารและควบคุมการบริหารความเสีย่ ง ใน แต่ละปีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจะก�ำหนดนโยบายการ บริหารความเสี่ยงขึ้น แล้วมอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน�ำไป ปฏิบตั เิ พือ่ ให้การบริหารความเสีย่ งเป็นไปอย่างเป็นระบบ และ ด�ำเนินไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมทัง้ ก�ำหนดกฎระเบียบ รวมถึง วิธกี ารในการปฏิบตั งิ านบริหารความเสีย่ งให้ครอบคลุมกิจกรรม ทัว่ ทัง้ องค์กร ก�ำหนดให้มกี ารตรวจสอบ วัดผลการด�ำเนินงาน การรายงานผลการปฏิบตั งิ านให้คณะกรรมการบริษทั และเปิดเผย ข้อมูลทีส่ �ำคัญให้แก่ผทู้ เี่ กีย่ วข้องทราบอย่างสม�ำ่ เสมอ บริษทั ก�ำหนดให้มกี ารด�ำเนินการบริหารองค์กรอย่างต่อเนือ่ ง และ ปรับปรุงการด�ำเนินการบริหารความเสีย่ ง อยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึน้ โดยค�ำนึงถึงปัจจัยเสีย่ งทัง้ ภายในและภายนอกองค์กรซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา
ในปี 2560 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจัดให้มกี ารประชุมคณะ กรรมการบริหารความเสีย่ งขึน้ ทัง้ สิน้ จ�ำนวน 4 ครัง้ ทัง้ นีไ้ ด้รายงาน ความคืบหน้าของผลการด�ำเนินงานพร้อมทัง้ อุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ ให้แก่ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั รับ ทราบทุกครัง้ ในปี 2560 บริษทั ท�ำการวิเคราะห์ความเสีย่ งตาม กรอบของการบริหารความเสีย่ งซึง่ ก�ำหนดโดยคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงและได้มีการก�ำหนดประเด็นความเสี่ยงที่ต้องน�ำมา พิจารณา ดังนี้ 1. ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) 2. ความเสีย่ งในการประกอบธุรกิจ (Operational Risk) 3. ความเสีย่ งด้านเทคโนโลยี (Technology Risk) 4. ความเสีย่ งด้านการเงิน (Financial Risk) 5. ความเสีย่ งด้านกฎระเบียบ (Compliance Risk)
STRATEGIC RISK
ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
OPERATIONAL RISK
ความเสี่ยง ในการประกอบธุรกิจ
FINANCIAL RISK
ความเสี่ยง ด้านการเงิน
CORPORATE GOVERNANCE
TECHNOLOGY RISK
ความเสี่ยง ด้านเทคโนโลยี
COMPLIANCE RISK
ความเสี่ยง ด้านกฎระเบียบ
54
ปั จจ ัยเสี่ ยงที่ ส�ำค ัญที่ มี ผลกระทบต่ อการผลการ ด�ำเนิ นงานของบริษ ัท โดยสรุปมีการด�ำเนิ นการ ด ังต่อไปนี ้
1. ความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ (Strategic Risk Management) บริษทั ก�ำหนดให้มกี ระบวนการบริหารความเสีย่ งในระดับกลยุทธ์ โดยให้มกี ารประเมินความเสีย่ งและก�ำหนดแผนบริหารความเสีย่ ง พร้อมทัง้ มีการติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชดิ และ สม�ำ่ เสมอ ว่า สามารถด�ำเนินงานได้ตามเป้าหมายตามหลักทีว่ างไว้หรือไม่ ในการ ก�ำหนดแผนกลยุทธ์ และ แผนงบประมาณประจ�ำปี บริษทั ได้น�ำเอา ปัจจัยเสีย่ งต่างๆ ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจของโลก และแนวโน้มของ อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง เป็นต้น มาพิจารณาเพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจ ได้วา่ แผนกลยุทธ์ทจี่ ดั ท�ำขึน้ สะท้อนให้เห็นถึงการด�ำเนินงานของ บริษทั ในอนาคตอย่างถูกต้อง ใกล้เคียงความเป็นจริง ปฎิบตั ติ าม หลักธรรมาภิบาลทีด่ ี โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้
2. ความเสีย่ งในการประกอบธุรกิจ (Operational Risk Management) 2.1 ความเสีย่ งในการพึง่ พาลูกค้า บริษทั มีรายได้จากการขายสินค้าและบริการจากลูกค้ารายหนึง่ เป็น จ�ำนวนมากกว่ากึ่งหนึ่งของรายได้จากการขายสินค้าและบริการ ทัง้ หมด แต่เมือ่ พิจารณาถึงก�ำไรขัน้ ต้นแล้ว บริษทั มีสดั ส่วนการกระ จายตัวของก�ำไรขัน้ ต้นอย่างเหมาะสมในลูกค้าต่างๆกัน บริษทั เร่งหา ลูกค้ารายใหม่ๆ และ เข้าไปเปิดตลาดใหม่ๆ เพือ่ ให้โครงสร้างรายได้ และก�ำไรของบริษทั กระจายตัวอย่างสมดุลย์ ไม่พงึ่ พาลูกค้ารายใด รายหนึง่ เท่านัน้ 2.2 ความไม่แน่นอนในความต้องการของสินค้าและความหลาก หลายของสินค้า การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาอย่างรวดเร็วในสินค้าเกี่ยวกับ อิเล็กทรอนิกส์ ท�ำให้สนิ ค้าอิเล็กทรอนิกส์บางประเภทมีวงจรชีวติ สัน้ ความต้องการของสินค้าเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับ พฤติกรรมของผูบ้ ริโภค ท�ำให้บริษทั อาจประสบปัญหาในการบริหาร จัดการให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกันอาจก่อให้เกิดปัญหาการควบคุมต้นทุนการผลิตให้ อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ ในเรือ่ งดังกล่าวบริษทั มีนโยบายในการ ด�ำเนินธุรกิจโดยการ หาสินค้าทีม่ วี งจรชีวติ ยาวขึน้ และ มีระดับ ความต้องการสูงเพียงพอทีจ่ ะบริหารการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีการด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยื่น ในกรณีดังกล่าวบริษัทได้ ก�ำหนดวิธกี ารในการป้องกันความเสีย่ งส�ำหรับสินค้าดังกล่าวเพือ่ ลด ความเสียหายแก่กจิ การให้นอ้ ยทีส่ ดุ
รายงานประจ�ำปี 2560
2.3 ความเสีย่ งด้านแรงงาน การขาดแคลนแรงงาน และการเปลีย่ นแปลงของต้นทุนค่าแรงงาน เป็นปัจจัยส�ำคัญทีบ่ ริษทั ก็ตระหนักถึง และพยายามหาวิธกี ารลด ผลกระทบให้มากทีส่ ดุ โดยการเน้นการลงทุนในเครือ่ งจักรอัตโนมัติ มากขึน้ เพือ่ ลดปัญหาแรงงานคนโดยมิให้กระทบต่อก�ำลังการผลิตที่ วางไว้ นอกจากนั้นบริษัทมีนโยบายในการปรับปรุงการบริหาร แรงงานสัมพันธ์ โดยมีการปลูกฝังให้พนักงานมีความรักองค์กร เพือ่ ลดอัตราการเข้าออกของพนักงาน และพัฒนาระบบการสรรหา บุคลากร และฝึกอบรมเพือ่ ให้ได้พนักงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ และ ทันต่อ ความต้องการ ไม่กระทบต่อการด�ำเนินงาน 2.4 ความเสี่ยงจากการขาดแคลนและการเปลี่ยนแปลงราคา วัตถุดบิ ในการผลิตสินค้าของบริษทั ต้นทุนด้านวัตถุดบิ มีสดั ส่วนสูงมากใน ต้นทุนทัง้ หมด ดังนัน้ การบริหารจัดการวัตถุดบิ ทีด่ ี รวมถึงการ ควบคุมราคาวัตถุดบิ จึงมีความจ�ำเป็นอย่างมากในการบริหารการ ด�ำเนินงานของบริษทั วัตถุดบิ บางชนิดมีความผันผวนของราคามาก ตามราคาของตลาดโลก หรือในบางช่วงเวลาอาจเกิดการคลาดแคลน วัตถุดบิ จนท�ำให้บริษทั ไม่สามารถส่งสินค้าได้ทนั เวลา บริษทั จัดให้ มีการควบคุมดูแลการใช้วตั ถุดบิ อย่างเข้มงวด โดยติดตามการจัดส่ง สินค้าจากผูข้ าย หรือ จากลูกค้า(กรณี Consigned) อย่างใกล้ชดิ เพือ่ มิให้เกิดผลกระทบต่อสายการผลิต และแผนการจัดส่งสินค้าให้ กับลูกค้า
3. ความเสีย่ งด้านเทคโนโลยี (Technology Risk Management) บริษทั มีการลงทุนในเครือ่ งจักรใหม่ทสี่ งั่ ซือ้ เข้ามาทดแทนเครือ่ งจักร เก่าทีเ่ สียหายจากเหตุการณ์นำ�้ ท่วมใหญ่เมือ่ 4 ปีทผี่ า่ นมา ท�ำให้ได้ เครือ่ งจักรรุน่ ใหม่ทมี่ ปี ระสิทธิภาพมากกว่าเดิม อีกทัง้ ยังมีก�ำลังการ ผลิตสูงขึ้นกว่าเดิมมาก บริษัท มีการจัดสายการผลิตใหม่ให้มี ประสิทธิภาพ และ มีความยืดหยุน่ สามารถรองรับการเปลีย่ นแปลง กระบวนการผลิตตามความต้องการของลูกค้าได้ รวมถึงการสามารถ น�ำไปใช้รว่ มกันกับผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ได้อย่างหลากหลาย บริษทั มุง่ เน้น การวิจยั และพัฒนาเทคนิคการผลิตและผลิตภัณฑ์เพือ่ ให้ทนั สมัย ตามความต้องการของลูกค้าอยูเ่ สมอนอกจากนัน้ บริษทั ยังได้รว่ มการ พัฒนาผลิตภัณฑ์รว่ มกับลูกค้าเพือ่ ร่วมลงทุนในเครือ่ งจักรในการ ผลิตเฉพาะด้าน บริษทั มีการพัฒนาการผลิตให้เหมาะสมกับความ ต้องการของสินค้าในปัจจุบันอยู่เสมอ บริษัทมีความมั่นใจว่าจะ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้หลากหลายยิง่ ขึน้
55
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
4. ความเสี่ยงทางด้านการเงิน (Financial Risk Management) 4.1 ความเสีย่ งจากการให้สนิ เชือ่ แก่คคู่ า้ บริษทั มีความเสีย่ งจากการให้สนิ เชือ่ กับลูกค้า โดยหากลูกค้าของ บริษทั ฯ มีปญ ั หาในการด�ำเนินงาน ก็อาจจะส่งผลกระทบต่อระยะ เวลาในการเรียกรับช�ำระหนีจ้ ากลูกค้าได้ และอาจส่งผลกระทบต่อ เนือ่ งถึงผลก�ำไรและฐานะการเงินของบริษทั ฯ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารติดตามคุณภาพลูกหนีแ้ ต่ละรายอย่างใกล้ชดิ และได้ให้ความส�ำคัญในการพิจารณาการให้เครดิตทางการค้ากับลูก หนีอ้ ย่างเข้มงวด นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีนโยบายการขยายฐานลูกค้า กลุม่ ใหม่ๆ เพือ่ ให้มกี ระจายตัวของรายได้และกลุม่ ลูกหนีก้ ารค้า ทัง้ นี้ เพือ่ ไม่ให้มกี ารยึดติดกับฐานลูกค้ากลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ 4.2 ความเสีย่ งด้านความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา ต่างประเทศ บริษทั เป็นผูส้ ง่ ออกสินค้าทีใ่ ช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็น สกุลเงินหลักในการขายสินค้าและรับเงินค่าสินค้า คิดเป็นสัดส่วน เกือบทัง้ หมดของยอดขาย บริษทั จัดหาวัตถุดบิ เครือ่ งจักรและ อุปกรณ์โดยใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ท�ำให้สถานะเงินตรา ต่างประเทศของบริษัทในด้านรับและจ่ายมีปริมาณใกล้เคียงกัน รายรับและรายจ่ายส่วนใหญ่สามารถท�ำ Natural Hedges ได้ท�ำให้ สามารถลดความเสีย่ งเกีย่ วกับความไม่แน่นอนของอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศได้เป็นอย่างมาก อีกทัง้ บริษทั ยังเปิดบัญชีกบั ธนาคารเป็นเงินสกุลต่างประเทศเพือ่ ให้สามารถจ่ายค่าสินค้าเป็นเงิน สกุลต่างประเทศได้ทนั ที ฝ่ายบริหารการเงินของบริษทั มีมาตรการ ในการป้องกันผลกระทบจากการผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นโดย น�ำเอาเครือ่ งมือทางการเงินได้แก่ การท�ำสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่าง ประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) และ มีการท�ำอนุพนั ธ์ ทางการเงิน (Financial Derivative Instruments) มาใช้ในการ ป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นในระยะสัน้ เพิม่ เติมด้วย
4.3 ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ปัจจุบนั บริษทั มีการกูย้ มื เงินระยะสัน้ อายุไม่เกิน 1 ปีเพือ่ ใช้เป็นเงิน ทุนหมุนเวียน และกูย้ มื เงินระยะยาวอายุไม่เกิน 3 ปี เพือ่ เป็นเงิน ทุนสนับสนุนการซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ โดยบางส่วนมีอตั รา ดอกเบีย้ ลอยตัวซึง่ อาจจะสูงขึน้ หรือต�ำ่ ลงตามภาวะดอกเบีย้ ในตลาด การเงิน ซึง่ ถือว่าเป็นปัจจัยเสีย่ งประการหนึง่ ทีบ่ ริษทั ต้องพิจารณา อย่างรอบคอบทุกครัง้ ในการตัดสินใจกูเ้ งิน และการหาแหล่งเงินกูท้ ี่ ถูกทีส่ ดุ เพือ่ ให้เกิดต้นทุนทีต่ ำ�่ สุด และมีการติดตามนโยบายดอกเบีย้ ของทางการและของตลาดโลกอย่างใกล้ชดิ เพือ่ เป็นข้อมูลประกอบ การบริหารความเสีย่ งอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 ความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง บริษทั ให้ความส�ำคัญกับการบริหารเงินทุนหมุนเวียนเพือ่ ให้มสี ภาพ คล่องอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการจัดหาวงเงินกูเ้ งินทุนหมุนเวียน ให้พอเพียงกับความต้องการในการเติบโตของบริษทั นอกจากนัน้ บริษทั ยังมีการวางแผนการบริหารกระแสเงินสด (Cash flow Management) ล่วงหน้าเพือ่ ให้มกี ารใช้เงินสดอย่างมีประสิทธิภาพ ลด ความเสีย่ ง และมีคา่ ใช้จา่ ยทางการเงินต�ำ่ สุด
5. ความความเสี่ ย งด้ า นกฎระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ (Compliance Risk Management) บริษัทมีความตระหนักอย่างมากถึง ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เนือ่ งจากความไม่ชดั เจน ความไม่ทนั สมัย หรือความไม่ครอบคลุม ของกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ รวมถึงข้อบังคับเกีย่ ว กับสิง่ แวดล้อม กฎและระเบียบ ข้อบังคับเกีย่ วกับความปลอดภัย และสุขภาพของพนักงาน และข้อบังคับอืน่ ๆ ทีก่ �ำหนดไว้เพือ่ ปกป้อง พนักงานจากผลกระทบของ การปฏิบตั งิ านขององค์กร บริษทั จึงจัด ให้มกี ารติดตามการเปลีย่ นแปลงกฎระเบียบต่างๆอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ศึกษาถึงผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ต่อการด�ำเนินงานของบริษทั ทัง้ ใน ปัจจุบนั และอนาคต และ ลดความผิดพลาดและสูญเสียทีอ่ าจเกิด ขึน้ ต่อองค์กร
56
ประว ัติคณะกรรมการบริษ ัท
รายงานประจ�ำปี 2560
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
57
นายสมนึก ไชยกุล
ประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการบริหาร อายุ 66 ปี สัดส่วนการถือหุน้ ณ 31 ธันวาคม 2560 ร้อยละ 3.53 ประวัตกิ ารศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาเครือ่ งกล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ประวัตกิ ารท�ำงาน • ปัจจุบนั : - ประธานกรรมการ บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษทั ชีวาไรซ์ จ�ำกัด - ประธานทีป่ รึกษา บริษทั คียส์ ตาร์ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด - ประธานกรรมการ บริษทั ศรีสโุ ขทัยเรียลเอสเตท จ�ำกัด - ประธานกรรมการ บริษทั เอสเอ็มที ไบโอแมส จ�ำกัด
ประวัตกิ ารอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 26/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตรการบริหารการลงทุนเพือ่ นักธุรกิจระดับท็อบในประเทศ Ultra Wealth รุน่ ที่ 2 สมาคมเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง “ธรรมศาสตร์เพือ่ สังคม” (นมธ.) รุน่ ที่ 7 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงชั้นสูง รุ่นที่ 6 (สวปอ. มส.6) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ในพระบรม ราชูปถัมภ์
58
รายงานประจ�ำปี 2560
นายพร ้อมพงศ์ ไชยกุล
กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสีย่ ง และรอง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (สายงาน การจัดการวัตถุดบิ ) อายุ 31 ปี สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้อยละ 1.62 ประวัตกิ ารศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศิ นทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรีและโท วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และบริหาร มหาวิทยาลัยอิมพีเรียล คอลเลจ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ (เกียรตินยิ มอันดับหนึง่ ) ประวัตกิ ารท�ำงาน • ปัจจุบนั : - กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสีย่ ง และ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายงานการจัดการวัตถุดิบ) บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด - กรรมการ บริษทั เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด • อดีต : - ผูช้ ว่ ยผูอ้ �ำนวยการ ฝ่ายวางแผนและพัฒนา บริษทั สตาร์ส ไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - วิศวกรอาวุโส ฝ่าย Project & Development บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - ผูจ้ ดั การโครงการ บริษทั Borei Corp. (สหรัฐอเมริกา)
ประวัตกิ ารอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 116/2558 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร EN ISO 13485:2012 Requirement and Internal Audit for Medical Device (TUV SUD PSB) Thailand • หลักสูตร Strategic Planning • หลักสูตร Change Management for Success • หลักสูตร จป.ระดับบริหาร • หลักสูตร Coaching Skill, Bangkok Business Training • หลักสูตร Mini Master in HR Management, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Cost Management, Management and Psychology Institute • หลักสูตรประกาศนียบัตร Business Analysis, Executive Financial Management, Marketing Strategy, Risk Management จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร EICC Code of Conduct
59
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
นายชอง เคว็ น ซ ัม
นายประสาท ยูนิพ ันธุ ์
กรรมการ อายุ 66 ปี สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 - ไม่มี -
กรรมการ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 70 ปี สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้อยละ 0.91
ประวัตกิ ารศึกษา • Diploma in Business Management, Singapore Institute of Management, Singapore • Postgraduate Diploma in Business Administration T.E.D. Management Studies School (Singapore)
ประวัตกิ ารศึกษา • ปริญญาโท สาขาความสัมพันธ์และกฎหมายระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยดีทรอยท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี นิตศิ าสตร์บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัตกิ ารท�ำงาน • ปัจจุบนั : - กรรมการ บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการบริษทั Avon Holding Private Limited - กรรมการบริษทั Midas Trust Private Limited ประวัตกิ ารอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 74/2551 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
ประวัตกิ ารท�ำงาน • ปัจจุบนั : - กรรมการ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั นพพงศ์ แอนด์ ประสาท ลอว์ ออฟฟิศ จ�ำกัด - กรรมการ บริษทั สยาม แคปปิตอล มัลติเซอร์วสิ เซส จ�ำกัด - กรรมการ บริษทั สยามเจริญ แคปปิตอล เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด ประวัตกิ ารอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 26/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
60
รายงานประจ�ำปี 2560
นางพูนพรรณ ไชยกุล
กรรมการ อายุ 58 ปี สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้อยละ 0.81 ประวัตกิ ารศึกษา • ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประวัตกิ ารท�ำงาน • ปัจจุบนั : - กรรมการบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการบริษทั คีย์ สตาร์ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด - ประธานกรรมการบริษทั กุลภัสสรณ์ จ�ำกัด - รองประธานกรรมการบริษทั ชีวา ไรซ์ จ�ำกัด - ผูร้ ว่ มก่อตัง้ สมาคม ซอนต้า9 - คณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่าเฉลิมฉลอง 150 ปีโรงเรียนอรุณ ประดิษฐ์ จังหวัดเพชรบุรี
ประวัตกิ ารอบรม • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 131/2553 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD) 8/2553 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ ส�ำหรับผู้ บริหารระดับสูง รุน่ ที่ 5 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิชาการตลาดทุน วตท.รุน่ 20 • หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมัน่ คงชัน้ สูง รุน่ ที่ 7 (สว ปอ.มส.7) • หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส) รุน่ ที่ 3 • หลักสูตร Mini – M.B.A. คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • โครงการ The Boss (รุน่ 7) • หลักสูตร RECU รุ่นที่ 43 คณะสถาปัตย์กรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา จรุงกิจอน ันต์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และประธาน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 71 ปี สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้อยละ 0.01 ประวัตกิ ารศึกษา • ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ดุษฎีบัญฑิต สาขา Monetary Theory University of Missouri – Columbia, U.S.A. • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์มหาบัญฑิต สาขา Public Finance California State University, Long Beach, U.S.A. • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์การ ธนาคาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
61
ประวัตกิ ารท�ำงาน • ปัจจุบนั : - กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และประธาน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บริษัทสตาร์ส ไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริษทั Thai German Product - กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษทั ล�ำ่ สูง (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • อดีต : - อธิการบดี สถาบันบัฒฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รองอธิการบดีฝา่ ยวางแผน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - คณะบดีคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ผู ้ เ ชี่ ย วชาญประจ�ำคณะบริ ห ารธุ ร กิ จ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหารศาสตร์ - กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายและก�ำกับหนี้ สาธารณะ - กรรมการ สภาวิจยั แห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ ประวัตกิ ารอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 9/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 89/2550 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน่ ที่ 24/2551 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
62
รองศาสตราจารย์ ดร. เอกช ัย นิตยาเกษตรว ัฒน์
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน อายุ 54 ปี สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 - ไม่มี ประวัตกิ ารศึกษา • ปริญญาเอก Ph.D. (Finance), University of Mississippi • ปริญญาโท บธม. (การเงิน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี วทบ. (เคมีเทคนิค สาขาเคมีวศิ วกรรม) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
รายงานประจ�ำปี 2560
ประวัตกิ ารท�ำงาน • ปัจจุบนั : - กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการตรวจสอบ บริษัท ปัญจวัฒนาพลาสติก จ�ำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั เจตาแบค จ�ำกัด - ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั จีที เวลธ์ แมเนจเมนท์ จ�ำกัด - รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั ยูนเิ วอร์แซล แอ็บซอร์ แบนท์ จ�ำกัด (มหาชน) - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั ทีอาร์ซี คอนสตรัคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) • อดีต : - คณบดี คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รองคณบดีฝา่ ยวางแผนและพัฒนา คณะบริหารธุรกิจ สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ - นักวิเคราะห์หลักทรัพย์และวาณิชธนากร บริษทั เงินทุนหลัก ทรัพย์ มิตรไทยยูโรพาร์ทเนอร์ จ�ำกัด ประวัตกิ ารอบรม • Financial Risk Manager (FRM), Global Asset Risk Professionals (GARP) • หลักสูตรพืน้ ฐานของกรรมการบริษทั จดทะเบียน สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตรวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • Executive Leadership Program (ELP), National Institute of Development Administration, Thailand and The Wharton School, University of Pennsylvania, • หลักสูตรกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปั ญญาโกเมศ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง อายุ 45 ปี สัดส่วนการถือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 - ไม่มี ประวัตกิ ารศึกษา • ปริญญาเอก Ph.D. (Finance) Schulich School of Business, York University, Canada • ปริญญาโท MBA (Finance) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี
63
ประวัตกิ ารท�ำงาน • ปัจจุบนั : - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด(มหาชน) - กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษทั ไฮโดรเท็ค จ�ำกัด (มหาชน) - ผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นการเงิน คณะอนุกรรมการวินจิ ฉัยการเข้าถือ หลักทรัพย์เพือ่ ครอบง�ำกิจการ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ - รองศาสตราจารย์ประจ�ำคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ - รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ • อดีต : - ผูอ้ �ำนวยการหลักสูตร MSc in Financial Investment and Risk Management - ทีป่ รึกษาด้านการบริหารและพัฒนาพอร์ตลงทุน บลจ.ฟินนั ซ่า - Board of Directors, Asian Finance Association - Regional Director in Thailand, Global Association of Risk Professionals - CFA Society of Thailand Board of Directors - ทีป่ รึกษาด้านบริหารความเสีย่ ง บลจ. วรรณ จ�ำกัด - คณะอนุกรรมการด้านการศึกษา สมาคมนักวางแผนการเงินไทย (TFPA) - Director of University Liaisons, CFA Society of Thailand - ผูว้ จิ ยั The Individual Finance and Insurance Decisions Centre, Canada ประวัตกิ ารอบรม • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 90/2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • Chartered Financial Analyst (CFA) • Financial Risk Managers (FRM) • Certified Financial Planners (CFP) • NIDA-Wharton Executive Leadership Program
โครงสร ้างการจ ัดการ
65
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
โครงสร ้างการจ ัดการ คณะกรรมการบริษ ัทฯ
ปัจจุบันคณะกรรมการของบริษัทฯ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 8 ท่านประกอบด้วยกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน กรรมการอิสระ 3 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 3 ท่าน อนึ่ง บริษัทฯ ไม่มีกรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนมากกว่า 5 บริษัท และบริษัทฯ ไม่มีนโยบายให้กรรมการที่เป็น ผู้บริหารด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการในบริษัทอื่น และบริษัทจดทะเบียนมากกว่า 2 บริษัท ทั้งนี้ไม่นับรวมบริษัทย่อย บริษัทในเครือ และบริษัทร่วมทุนของบริษัท ซึ่งบริษัทฯ มีความจ�ำเป็นต้องเข้าไปก�ำกับดูแลการบริหารจัดการเพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัท ทั้งนี้ บริษัทฯ มีกรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหารมากกว่า 1 ท่านที่มีประสบการณ์การท�ำงานเกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทฯ รายชือ่ คณะกรรมการ
ต�ำแหน่ง
1
นายสมนึก ไชยกุล
ประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการบริหาร
2
นายพร้อมพงศ์ ไชยกุล
กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสีย่ ง
3
นายชอง เคว็น ซัม
กรรมการ
4
นายประสาท ยูนพิ นั ธุ์
กรรมการ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
5
นางพูนพรรณ ไชยกุล
กรรมการ และประธานคณะกรรมการความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
6
รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์
กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และประธานคณะ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
7
รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
8
ศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง
เลขานุการบริษทั ฯ คือ นายยรรยงค์ สวัสดิ์
คณะกรรมการบริษทั ฯ ทัง้ 8 คน ไม่มคี ณ ุ สมบัตติ อ้ งห้าม ดังนี้
1. ไม่มีประวัติการกระท�ำความผิดอาญาในความผิดที่เกี่ยวกับ ทรัพย์ซึ่งได้กระท�ำโดยทุจริต 2. ไม่ มี ป ระวั ติ ก ารท�ำรายการที่ อ าจเกิ ด ความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์กับบริษัทฯ ในรอบปีที่ผ่านมา หมายเหตุ : กรรมการล�ำดับที่ 6, 7 และ 8 เป็นกรรมการที่มี คุณสมบัตเิ ป็นกรรมการอิสระตามข้อก�ำหนดคุณสมบัตกิ รรมการ อิสระของ บริษัทฯ
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ 1. บริหารจัดการและด�ำเนินกิจการของบริษัทให้เป็นไปตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษา ผลประโยชน์ของบริษัท 2. มีอ�ำนาจแต่งตั้งกรรมการ ผู้บริหารของบริษัท บุคคลใดๆ และ/หรือบุคคลภายนอก จ�ำนวนหนึ่งให้เป็น คณะกรรมการ บริหาร เพือ่ ด�ำเนินการอย่างหนึง่ อย่างใดหรือหลายอย่างได้ เพือ่ ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท
66
ให้คณะกรรมการบริษทั มีอ�ำนาจแต่งตัง้ คณะกรรมการอืน่ ๆ เช่น คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ฯลฯ ตามความเหมาะสม รวมทั้งมีอ�ำนาจแต่งตั้งและมอบอ�ำนาจให้ บุคคลอื่นใดด�ำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนคณะกรรมการได้ โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ และมีอ�ำนาจ ยกเลิก เพิกถอน ก�ำหนดวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง แก้ไข หรือ เปลี่ยนแปลงอ�ำนาจดังกล่าวได้ตามที่เห็นสมควร นอกจากนีใ้ ห้มอี �ำนาจว่าจ้าง แต่งตัง้ โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนดวาระการด�ำรงต�ำแหน่งก�ำหนดอัตราค่าจ้าง และค่า ตอบแทนส�ำหรับบุคคลทีด่ �ำรงต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ตามที่เห็นสมควร หรือตามที่คณะกรรมการบริหาร หรือคณะ กรรมการสรรหาเสนอ 3. อนุมตั แิ ละก�ำหนดเป้าหมาย นโยบาย แผนการด�ำเนินงานและ งบประมาณประจ�ำปีของบริษทั รวมถึง ควบคุมดูแลการบริหารและ การจัดการของฝ่ายบริหาร หรือของบุคคลใดๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ ด�ำเนินงานดังกล่าว พร้อมทัง้ ติดตามให้เป็นไปตามเป้าหมายและ นโยบาย รวมทัง้ แผนการด�ำเนินงานทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้ให้ไว้ 4. พิจารณาทบทวน ตรวจสอบ และอนุมัตินโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนงานการด�ำเนินธุรกิจ ในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ ของบริษัท ที่เสนอโดยคณะกรรมการบริหาร 5. ติดตามผลการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณอย่างต่อเนื่อง 6. พิจารณาอนุมตั กิ ารลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจนเข้าร่วม ทุนกับผูป้ ระกอบกิจการอืน่ ๆ หรือลงทุนในบริษทั หรือกิจการต่างๆ 7. ก�ำหนดนโยบาย ควบคุม ดูแลการบริหารงานของบริษัทย่อย และ/หรือบริษัทในเครือ 8. มีอ�ำนาจพิจารณาเพื่อน�ำเสนอให้ผู้ถือหุ้นอนุมัติการเลิกใช้ และการจ�ำหน่ า ยสิ น ทรั พ ย์ หรื อ การขาย และเช่ า กลั บ คื น สินทรัพย์ ตามระเบียบปฏิบัติเรื่องการเลิกใช้ และจ�ำหน่าย สินทรัพย์หรือการขายและเช่ากลับคืนสินทรัพย์ ในกรณีที่มูลค่า สุทธิทางบัญชีมากกว่า 30 ล้านบาทขึ้นไป 9. พิจารณาและอนุมตั กิ จิ การอืน่ ๆ ทีส่ �ำคัญอันเกีย่ วกับบริษทั หรือ ทีเ่ ห็นสมควรจะด�ำเนินการนัน้ ๆ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์แก่บริษทั เว้นแต่อ�ำนาจในการด�ำเนินการดังต่อไปนี้ จะกระท�ำได้ก็ต่อเมื่อ ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน ได้แก่ (ก) เรือ่ งใดๆ ทีก่ ฎหมายก�ำหนดให้ตอ้ งได้มติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (ข) เรือ่ งใดๆ ทีก่ รรมการมีสว่ นได้เสียและอยูใ่ นข่ายทีก่ ฎหมายหรือ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระบุให้ตอ้ งได้รบั
รายงานประจ�ำปี 2560
อนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น อาทิเช่น การด�ำเนินการเกี่ยวกับ รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ทสี่ �ำคัญ ของบริษทั ตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องดังต่อไปนี้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะ กรรมการบริษทั ด้วยคะแนนเสียงข้างมากของกรรมการทีเ่ ข้าร่วม ประชุม และจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมและมี สิทธิออกเสียงลงคะแนน (ก) การขายหรือโอนกิจการของบริษทั ทัง้ หมดหรือบางส่วนทีส่ �ำคัญ (ข) การซือ้ หรือรับโอนกิจการของบริษทั อืน่ หรือบริษทั เอกชนมา เป็นของบริษัท (ค) การท�ำ แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกีย่ วกับการให้เช่ากิจการของ บริษัททั้งหมดหรือบางส่วนที่ส�ำคัญ การมอบหมายให้บุคคลอื่น เข้าจัดการธุรกิจของบริษทั หรือการรวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดย มีวัตถุประสงค์จะแบ่งก�ำไรขาดทุนกัน (ง) การแก้ไขเพิม่ เติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ (จ) การเพิม่ ทุน การลดทุน การออกหุน้ กู้ (ฉ) การควบกิจการ หรือเลิกบริษทั (ช) การอืน่ ใดทีก่ �ำหนดไว้ภายใต้บทบัญญัตขิ องกฎหมายว่าด้วย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ/หรื อ ข้ อ ก�ำหนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ให้ต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะ กรรมการบริษทั และทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยคะแนนเสียงดังกล่าว ข้างต้น ทัง้ นี้ เรือ่ งใดทีก่ รรมการ มีสว่ นได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์กบั บริษทั หรือบริษทั ย่อย หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง กรรมการ ซึง่ มีสว่ นได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ดงั กล่าว ไม่มี สิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ นอกจากคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว บริษัทฯ ยังมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยอี ก สี่ ชุ ด เพื่ อ ช่ ว ยในการบริ ห ารงาน พิจารณากลั่นกรอง ตัดสินใจ และ เพื่อความโปร่งใส ตามหลัก การก�ำกับกิจการที่ดี ดังนี้
คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เป็นไปอย่างอิสระ โปร่งใส การ ก�ำหนดทิศทางและการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ มีประสิทธิภาพ สูงสุด คณะกรรมการบริษทั ฯ จะเป็นผูพ้ จิ ารณาก�ำหนดเป้าหมาย ของบริษทั ฯ และก�ำหนดบทบาท และมอบหมายอ�ำนาจหน้าทีใ่ ห้ แก่คณะกรรมการชุดย่อย โดยรายละเอียดโครงสร้างของคณะ กรรมการชุดย่อยทั้งสี่ชุด มีดังนี้
67
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริหารประกอบด้วยผูบ้ ริหาร 6 ท่าน รายชือ่ 1
นายสมนึก ไชยกุล
ต�ำแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริหาร
2
นายพีระพล วิไลวงศ์เสถียร
กรรมการบริหาร
3
นายยรรยงค์ สวัสดิ์
กรรมการบริหาร
4
นายพร้อมพงศ์ ไชยกุล
กรรมการบริหาร
5
ดร.ทัดธีร์ ขยิม่
กรรมการบริหาร
6
ดร.พิชติ แสงผ่องแผ้ว
กรรมการบริหาร
อ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร 1. องค์ประกอบและการแต่งตัง้
3. หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ
1. คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร 2. บุคคลที่จะเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหาร อาจคัดสรร จากกรรมการ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท และ/หรือบุคคล ภายนอกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งก็ได้ แต่ต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และมี เ วลาเพี ย งพอที่ จ ะอุ ทิ ศ ความรู ้ ความ สามารถและปฏิบัติหน้าที่ให้แก่บริษัทได้ 3. มีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วย บริษัทมหาชนจ�ำกัด และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 4. กรรมการบริหารไม่สามารถประกอบกิจการเข้าเป็นหุ้นส่วน หรือเข้าเป็นกรรมการในนิติบุคคลอื่นที่ประกอบธุรกิจเดียวกัน หรือคล้ายคลึง และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั ไม่วา่ จะ ท�ำเพื่ อ ผลประโยชน์ ส ่ ว นตนหรื อ ผลประโยชน์ ข องบุ ค คลอื่ น เว้นแต่จะแจ้งให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัททราบก่อนที่จะมี มติแต่งตั้งกรรมการบริหารเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง
1. ดูแล มอบหมายให้ฝา่ ยบริหารและฝ่ายจัดการ จัดท�ำนโยบาย เป้าหมาย แผนการด�ำเนินงานงบประมาณประจ�ำปี และรวมทัง้ กลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษทั เพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ 2. ควบคุม ดูแลการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ให้เป็นไปตามข้อบังคับ ของบริษัทตลอดถึงนโยบาย แผนการด�ำเนินงาน งบประมาณ ประจ�ำปี และกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทที่ได้รับอนุมัติจาก ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั 3. ประเมินผลการด�ำเนินงานโดยรวมของบริษทั ตลอดจนฝ่ายงาน ต่างๆ ทุกไตรมาส 4. รับเอานโยบายของคณะกรรมการบริษัทมาก�ำหนดทิศทาง แนวทาง เพือ่ ก�ำหนดภารกิจหลัก (Mission) ส�ำหรับฝ่ายบริหาร และฝ่ายจัดการ รวมทัง้ ก�ำหนดแผนการด�ำเนินงานหลัก และ เป้าหมายทางธุรกิจ ให้สอดคล้องกับแนวนโยบาย แผนการด�ำเนิน งานประจ�ำปีและงบประมาณประจ�ำปีที่ได้รับอนุมติจากคณะ กรรมการ เพือ่ ให้ฝา่ ยบริหารและฝ่ายจัดการน�ำไปด�ำเนินการต่อไป 5. ควบคุมตรวจสอบ ติดตามผลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหาร และฝ่ายจัดการให้เป็นไปตามนโยบายของคณะกรรมการบริษทั 6. ออกค�ำสัง่ ระเบียบ ประกาศ และข้อก�ำหนด เพือ่ ให้แน่ใจว่าการ ด�ำเนินงานของบริษทั เป็นไปตามนโยบายของบริษทั และเพือ่ ผล ประโยชน์ของบริษทั รวมถึงเพือ่ รักษาระเบียบวินยั ภายในองค์กร 7. พิจารณาเห็นชอบหรือมีอ�ำนาจ ในการว่าจ้าง แต่งตัง้ โยกย้าย ปลด ออก เลิกจ้าง ก�ำหนดอัตราค่าจ้างและค่าตอบแทน บุคคลากรซึง่ เป็น ผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ในต�ำแหน่งตัง้ แต่ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร จนถึงผูอ้ �ำนวยการฝ่าย โดยให้ประธานกรรมการบริหารเป็นผูม้ อี �ำนาจ ในการด�ำเนินการดังกล่าวข้างต้น ส�ำหรับต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร หากมีการว่าจ้าง แต่งตัง้ โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนด อัตราค่าจ้างและค่าตอบแทน ให้ประธานกรรมการบริหารมีหน้าที่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ
2. วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 1. กรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 2 ปีนบั จากวันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการบริษทั สามารถปรับเปลีย่ นวาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหาร ได้ ตามทีเ่ ห็นสมควร ทัง้ นี้ กรรมการบริหารทีอ่ อกจากต�ำแหน่งตาม วาระ อาจถูกเลือกให้กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ ส�ำหรับการแต่ง ตัง้ กรรมการบริหารทดแทนในกรณีทตี่ �ำแหน่งว่างลง คณะกรรมการ บริษทั จะเป็นผูพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ ต่อไป 2. ลาออก
68
8. พิจารณาเห็นชอบในโครงสร้างเงินเดือนและผลประโยชน์ตอบแทน อืน่ ๆของผูบ้ ริหาร เจ้าหน้าที่ และลูกจ้างของบริษทั รวมทัง้ ทีเ่ กีย่ วกับ ผลประโยชน์และสวัสดิการ แล้วน�ำเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ 9. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง โครงสร้างการบริหารงาน ระเบียบ ปฏิบตั ิ และขัน้ ตอนการท�ำงาน ของแต่ละสายงาน แล้วน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั พิจารณา อนุมตั ิ 10. กลัน่ กรองและเสนอ งบดุล บัญชีก�ำไรขาดทุน ประมาณการ กระแสเงินสด แผนการลงทุน เพือ่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ เพือ่ น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (ถ้าจ�ำเป็น) เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ่ ไป 11. ให้ขอ้ เสนอแนะ และให้ค�ำปรึกษาต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ การตัดสินใจด้านธุรกิจของบริษทั 12. ดูแล มอบหมายให้ฝา่ ยบริหารและฝ่ายจัดการ จัดท�ำรายงานเกีย่ ว กับผลการด�ำเนินงานของบริษทั ตลอดถึงงบการเงิน งบการลงทุน และปัญหาส�ำคัญ หรือการบริหารความเสี่ยง เพื่อเสนอคณะ กรรมการบริษทั พิจารณารับทราบ และ/หรือ อนุมตั ิ 13. ก�ำหนดกลยุทธ์ดา้ นการตลาดและการขาย ให้สอดคล้องกับ แผนการด�ำเนินงานและงบประมาณประจ�ำปี 14. พิจารณาการเข้ายืน่ หรือร่วมในการประกวดราคา ในวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท 15. อนุมตั กิ ารซือ้ เครือ่ งจักร ในวงเงิน (ไม่วา่ จะเกิดเพียงครัง้ เดียว หรือต่อเนือ่ ง) ไม่เกินธุรกรรมละ 30 ล้านบาท และปี ละไม่เกิน 100 ล้านบาท หรือเทียบเท่า ยกเว้นเป็นกรณีทไี่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะ กรรมการของบริษทั และ/หรือ ปรากฏในแผนการด�ำเนินงานหรืองบ ประมาณประจ�ำปีของบริษทั แล้ว 16. มีอ�ำนาจอนุมตั กิ ารเลิกใช้ และการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือการ ขาย และเช่ากลับคืนสินทรัพย์ ตามระเบียบปฏิบตั เิ รือ่ ง การเลิกใช้ และจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือการขายและเช่ากลับคืนสินทรัพย์ ในกรณี ทีม่ ลู ค่าสุทธิทางบัญชีมากกว่า 1 ล้าน บาท แต่ไม่เกิน 30 ล้านบาท 17. พิจารณาการให้กย้ ู มื หรือการกูย้ มื จัดหาเงินทุน ขอหรือให้สนิ เชือ่ ค�ำ้ ประกัน ลงทุนในตราสารทีก่ ระทรวงการคลังหรือธนาคารพาณิชย์ รับรองหรือค�ำ้ ประกัน หรือตราสารอืน่ ใดทีเ่ ห็นสมควร และให้น�ำ เสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 18. น�ำเสนอเรือ่ งต่างๆทีค่ ณะกรรมการบริหารเห็นส�ำคัญและควรจะ ได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 19. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ มีอ�ำนาจด�ำเนินการใดๆ ทีจ่ �ำเป็นในการปฏิบตั หิ น้าทีด่ งั กล่าว
รายงานประจ�ำปี 2560
4. การประชุม (ก) คณะกรรมการบริหารจะต้องจัดให้มกี ารประชุมอย่างน้อย 1 ครัง้ ต่อเดือน และกรรมการบริหารจะต้องเข้าร่วมประชุมอย่างสม�ำ่ เสมอ (ข) ในการประชุมคณะกรรมการบริหาร เพือ่ พิจารณาด�ำเนินการ ใดๆ ตามทีร่ ะบุในข้อก�ำหนดนี้ จะต้องประกอบด้วย กรรมการบริหาร ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนกรรมการบริหารทัง้ หมด จึงจะถือว่า ครบเป็นองค์ประชุม (ค) ในการออกเสียงของกรรมการบริหารในการประชุมคณะ กรรมการบริหาร ให้กรรมการบริหารแต่ละคนมีสทิ ธิออกเสียงได้ทา่ น ละ 1 เสียง (ง) การลงมติในเรือ่ งใดของคณะกรรมการบริหาร จะต้องได้รบั คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนเสียงทัง้ หมดของคณะ กรรมการบริหารทีเ่ ข้าร่วมประชุม เว้นแต่ในการพิจารณาและลงมติ ในเรือ่ งทีก่ �ำหนดไว้ในข้อ 1, 10, 12, 14 และ 15 ดังกล่าวข้างต้นจะ ต้องได้รบั คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนคณะกรรมการ บริหารของบริษทั ทัง้ หมด (จ) คณะกรรมการบริหาร อาจแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการ และ/หรือ คณะท�ำงาน และ/หรือ บุคคลใดๆ เพือ่ ท�ำหน้าทีก่ ลัน่ กรองงานทีจ่ ะ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร หรือเพือ่ ให้ด�ำเนินงานใดอันเป็น ประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร หรือเพือ่ ด�ำเนินการใดแทนตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร ภายในขอบเขตแห่งอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหารได้ อนึง่ การอนุมตั ริ ายการดังกล่าวข้างต้นจะต้องไม่มลี กั ษณะเป็นการ อนุมตั ริ ายการทีท่ �ำให้กรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอ�ำนาจจากคณะ กรรมการบริหาร สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความ ขัดแย้ง มีสว่ นได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อนื่ ใดกับ บริษทั หรือบริษทั ย่อย หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง (ตามประกาศคณะ กรรมการ กลต. และ/หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) โดย คณะกรรมการบริหารจะต้องน�ำเสนอเรือ่ งดังกล่าวต่อคณะกรรมการ บริษทั และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้พจิ ารณาและอนุมตั ริ ายการ ดังกล่าว ภายใต้ขอ้ บังคับหรือประกาศ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ยกเว้นเป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามธุรกิจปกติทมี่ กี ารก�ำหนด ขอบเขตทีช่ ดั เจนไว้แล้ว
5. ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร กรรมการบริหารทีม่ สี ทิ ธิได้รบั ค่าตอบแทนจากบริษทั นัน้ จะต้องเป็น กรรมการบริหารทีไ่ ด้รบั การคัดสรรจากบุคคลภายนอกเท่านัน้ ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนให้เป็นตามทีท่ ป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำหนดไว้
69
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
เพื่อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และให้เป็นไปตาม คู่มือ “หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555” คณะกรรม การบริษัทฯ จึงได้จัดให้มีคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน (Remuneration Committee) เพื่อท�ำหน้าที่พิจารณารูปแบบและหลัก เกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยคณะกรรม การบริษัทฯ จะเป็นผู้พิจารณาอนุมัติค่าตอบแทนประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ส่วนค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ จะต้อง น�ำเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้อนุมัติ
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนของบริษทั ฯ จ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย รายชือ่ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
ต�ำแหน่ง
1
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์
ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
2
นายประสาท ยูนพิ นั ธุ์
กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
3
รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์
กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
*ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เป็นกรรมการอิสระ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนของบริษัทฯ เป็นคณะกรรมการชุดย่อยที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ พิจารณาค่าตอบแทนของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั ฯ และเลขานุการ บริษทั ฯ ให้เป็นไปด้วยความโปร่งใส และเป็นธรรม โดยคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนของบริษทั ฯ จะมีความเป็นอิสระอย่างเต็ม ที่ในการปฏิบัติหน้าที่ภายใต้กฎบัตรฉบับนี้
1. องค์ประกอบและการแต่งตัง้ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 2. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 3 คน และจะต้องประกอบด้วยคณะกรรมการอิสระเป็น ส่วนใหญ่ 3. ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะต้องแต่งตั้งจากกรรมการอิสระ 4. ให้เลขานุการบริษัทฯ เป็นเลขานุการของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนโดยมีหน้าที่สนับสนุนให้การด�ำเนินงานของคณะ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเป็นไปด้วยความราบรื่น
2. วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง
3. หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ
กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราว ละ 3 ปี นับแต่วันที่คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้ง ทั้งนี้ กรรมการทีพ่ น้ จากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั แต่งตัง้ ให้กลับเข้า ด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้โดยได้รับเสียงข้างมากของที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัทฯ ส�ำหรับการแต่งตั้งกรรมการทดแทนในกรณี ที่ต�ำแหน่งว่างลง คณะกรรมการบริษัทฯ จะเป็นผู้พิจารณาคัด เลือกกรรมการ และพิจารณาแต่งตั้งต่อไป
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่และความรับผิด ชอบที่ส�ำคัญ ดังต่อไปนี้ 1. เสนอแนะเรื่ อ งค่ า ตอบแทนของคณะกรรมการ คณะ อนุกรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และทีป่ รึกษาคณะกรรม การบริษัทฯ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ และ/หรือ ที่ประชุมผู้ ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ
70
2. ก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี (Retainer fee) ค่าเบี้ยประชุม (Attendance fee) และค่าตอบแทนอืน่ ตามความเหมาะสม โดย พิจารณาจากแนวปฏิบัติที่บริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันใช้อยู่ ผลประกอบการของบริษัทฯ ตลอดจนความรับผิดชอบ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของกรรมการ ประธานเจ้า หน้าที่บริหาร หรือที่ปรึกษาที่บริษัทฯ ต้องการ 3. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนมีอ�ำนาจเรียกให้ฝ่าย จัดการ หัวหน้างาน และ/หรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม ประชุม ชี้แจง ซักถาม และ/หรือ จัดส่งเอกสารข้อมูลเพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน หรือมีอ�ำนาจแต่งตั้ง ผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระตามความเหมาะสมทัง้ จากบุคลากรภายใน และ ภายนอกบริษัทฯ ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ ภายใต้งบประมาณ ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้ค�ำปรึกษาและ ข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการก�ำหนดค่าตอบแทนได้
รายงานประจ�ำปี 2560
4. การประชุม 1. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะต้องจัดให้มกี ารประชุม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม 2. ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน จะก�ำหนดวาระการ ประชุมแต่ละครั้ง และเป็นประธานในการประชุม นอกจากนั้น ต้องมีการจดและเก็บบันทึกการประชุมทุกครั้ง 3. วาระการประชุม และเอกสารการประชุมจะต้องจัดส่งให้แก่ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนล่วงหน้าก่อนการประชุม 4. ในการประชุมคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะต้องมี กรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงจะครบเป็นองค์ ประชุม
4. ก�ำหนดหลักเกณฑ์ และน�ำเสนอรายงานการประเมินผลการ ปฎิบัติงานของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ ประธานเจ้า หน้าทีบ่ ริหาร และทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั ฯ ต่อคณะกรรม การบริษัทฯ
5. มติที่ประชุมของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะถือ ตามเสียงข้างมากของกรรมการทีเ่ ข้าร่วมประชุม ทัง้ นี้ กรรมการ ทีม่ สี ว่ นได้เสียในเรือ่ งใดจะต้องไม่เข้าร่วมในการพิจารณาหรือลง มติในเรื่องนั้น
5. รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทุก ครัง้ หลังมีการประชุมคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และ รายงานรายชื่อ และขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) เป็นต้น
5. การรายงาน
6. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการเปลีย่ นแปลงใดเกีย่ ว กับกฎบัตรของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนต่อคณะกรรม การบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติปรับปรุงให้มีความเหมาะสมหรือให้ เป็นตามกฎระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. รายชื่อคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 2. จ�ำนวนครั้งในการประชุม 3. จ�ำนวนครัง้ ทีก่ รรมการพิจารณาค่าตอบแทนแต่ละคนเข้าร่วม ประชุม 4. ผลการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรที่ก�ำหนดไว้
7. พิจารณาและท�ำหน้าที่อื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบ หมายแก่คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเป็นคราวๆ ไป
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะต้องรายงานผลการปฏิบตั ิ หน้าทีต่ อ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ และรายงานการท�ำหน้าทีใ่ นรอบ ปีที่ผ่านมาต่อผู้ถือหุ้นในรายงานประจ�ำปี โดยเปิดเผยราย ละเอียดดังนี้
71
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 ท่าน ที่เป็นผู้ทรง คุณวุฒิในหลายด้าน ได้แก่ ด้านบัญชี การเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ รายชือ่ 1. รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์
ต�ำแหน่ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
2. รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์
กรรมการตรวจสอบ
3. ศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ
กรรมการตรวจสอบ
กรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 2 ใน 3 ท่านได้แก่ รศ.ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์ และศาสตราจารย์.ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ เป็น กรรมการตรวจสอบทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ในการสอบทาน งบการเงิน เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คือ นางสาวสุนันท์ วงศ์ มุทธาวณิชย์ : ซึ่งปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษัทฯ
หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบ 1. หน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ดังต่อ ไปนี้:1. สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการ พิจารณาแต่งตั้งโยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบ ภายใน
3. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทน ของบุคคลดังกล่าวตลอดจนพิจารณาถอดถอนผู้สอบบัญชี รวม ทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม ประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัด แย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุ สมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ
72
6. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ใน รายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูล อย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของ รายงานทางการเงินของบริษัทฯ - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของ บริษัทฯ - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วม ประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่าน - ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้ รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) - รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษัทฯ 7. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั ฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
2. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ โดยตรง และคณะกรรมการของบริษัทฯ ยังคงมีความ รับผิดชอบในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก
3. อ�ำนาจของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. คณะกรรมการตรวจสอบมีอ�ำนาจทีจ่ ะขอความเห็นทีเ่ ป็นอิสระ จากทีป่ รึกษาทางวิชาชีพอืน่ ใดเมือ่ เห็นว่าจ�ำเป็นด้วยค่าใช้จา่ ยของ บริษัทฯ 2. คณะกรรมการตรวจสอบมีอ�ำนาจเรียกขอข้อมูลจากหน่วย งานต่าง ๆ ของบริษัทฯ ประกอบการพิจารณาเพิ่มเติมในเรื่อง ต่าง ๆ ได้
รายงานประจ�ำปี 2560
4. การประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. การประชุม ให้คณะกรรมการตรวจสอบจัดประชุมอย่างน้อย ไตรมาสละ 1 ครั้ง ในกรณีจ�ำเป็นเร่งด่วน กรรมการตรวจสอบ คนใดคนหนึ่ง หรือกรรมการคนใดคนหนึ่งของบริษัทฯ อาจขอ ให้มีการจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบได้ 2. การลงคะแนนเสียง กรรมการตรวจสอบผู้ที่มีส่วนได้เสียใด ๆ ในเรือ่ งทีพ่ จิ ารณาห้ามมิให้แสดงความเห็นและลงคะแนนเสียง ใดเรื่องนั้นๆ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบไม่มีสิทธิออก เสียงลงคะแนน 3. รายงานการประชุม ให้เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้จด และจัดท�ำรายงานการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ง รายงานการประชุมดังกล่าวจะต้องน�ำส่งคณะกรรมการตรวจ สอบเพือ่ การรับรองและน�ำส่งคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ทีค่ ณะ กรรมการบริษัทฯ จะได้ทราบถึงกิจกรรมของคณะกรรมการ ตรวจสอบ
5. การรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือ มี ข ้ อ สงสั ย ว่ า มี ร ายการหรื อ การกระท�ำดั ง ต่ อ ไปนี้ ซึ่ ง อาจมี ผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงิน และผลการด�ำเนิน งานของบริ ษั ท ฯ ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่ อ คณะกรรมการของบริษทั ฯ เพือ่ ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายใน เวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควรในเรื่องต่อไปนี้ 1. รายการทีเ่ กิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 2. การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปรกติหรือมีความบกพร่องที่ส�ำคัญใน ระบบการควบคุมภายใน 3. การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับ ธุรกิจของบริษทั ฯ หากคณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ถึงสิง่ ทีม่ ผี ลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการ ด�ำเนินงาน และได้มีการหารือร่วมกันกับคณะกรรมการบริษัทฯ และผูบ้ ริหารแล้วว่าต้องด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขเมือ่ ครบก�ำหนด เวลาที่ก�ำหนดไว้ร่วมกัน หากคณะกรรมการตรวจสอบพบว่ามี การเพิกเฉยต่อการด�ำเนินการแก้ไขดังกล่าวโดยไม่มีเหตุผลอัน สมควร กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานสิ่งที่พบ ดั ง กล่ า วต่ อ ส�ำนั ก งานคณะกรรมการก�ำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้
73
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
เพือ่ เป็นการด�ำเนินการตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ และตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยในด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมทั้งบริษัทฯ เล็งเห็นว่าการวางระบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่ดี จะเป็นส่วนช่วยเพิ่มมูลค่าของกิจการให้แก่ผู้ถือหุ้น ส่งเสริมให้บริษัทฯ มีการเติบโตที่มั่นคงและยั่งยืน ตลอดจนเพิ่มความสามารถ ในการแข่งขันของบริษัทฯ ให้สูงยิ่งขึ้น บริษัทฯ จึงจัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขึ้นมาเพื่อเป็นหน่วยงานที่ศึกษา ติดตาม ประเมิน จัดล�ำดับความส�ำคัญ และให้ค�ำแนะน�ำในการป้องกันหรือแก้ไขความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อไป คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีการก�ำหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยง โดยเน้นให้มีการปฏิบัติตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงทั้ง องค์กร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการบริหารความเสี่ยงที่ก�ำหนดไว้ โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ต้องก�ำหนดเป้าหมาย ดัชนีชี้ วัดความเสีย่ ง มีแผนปรับปรุงความเสีย่ ง และรายงานผลการบริหารความเสีย่ งให้คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบในการประชุมทุกครั้ง รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รายชือ่ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
ต�ำแหน่ง
1
ศาตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ
ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
2
นายยรรยงค์ สวัสดิ์
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
3
นายชัยณรงค์ นิมมานเทวินทร์
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
4
นายพร้อมพงศ์ ไชยกุล
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
5
ดร. ทัดธีร์ ขยิม่
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
6
นายทวีชยั งามเลิศศิรชิ ยั
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
7
นายจิรวัฒน์ จันทร์อยู่
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
8
ดร. พิชติ แสงผ่องแผ้ว
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
9
นางสาวศิรพิ ร ภักดี
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
10
นายเสกสรรค์ เลิศรัตนาพร
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
11
นางสาวสุนนั ท์ วงศ์มทุ ธาวณิชย์
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
12
นายขจร ธรรมจง
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
*ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เป็นกรรมการอิสระ
74
องค์ประกอบ - คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง - คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประกอบด้วย กรรมการอิสระ และผูบ้ ริหารระดับสูงจากฝ่ายงานทีส่ �ำคัญต่างๆ ของบริษทั จ�ำนวน ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน - วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง แบ่งเป็น 2 กรณี • กรรมการทีม่ าจากกรรมการอิสระ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งวาระละ 3 ปี ทัง้ นี้ กรรมการทีอ่ อกจากต�ำแหน่งตามวาระอาจถูกเลือกให้กลับ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ หากในกรณีทกี่ รรมการออกหรือว่างลง ก่อนวาระไม่วา่ ในกรณีใด ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ สามารถแต่ง ตัง้ กรรมการอิสระท่านอืน่ เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งแทนได้ โดยมีวาระ การด�ำรงต�ำแหน่งเท่ากับวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นแทน • กรรมการทีม่ าจากผูบ้ ริหารระดับสูง ให้ด�ำรงต�ำแหน่งได้ตลอด อายุการท�ำงานทีย่ งั คงเป็นผูบ้ ริหารระดับสูงในฝ่ายงานนัน้ ๆ ใน กรณีทตี่ �ำแหน่งกรรมการทีม่ าจากผูบ้ ริหารระดับสูงจากฝ่ายใดฝ่าย หนึง่ ว่างลงไม่วา่ ในกรณีใดๆ ให้บคุ คลทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละมีต�ำแหน่ง หน้าทีเ่ ดียวกันหรือเทียบเท่าเข้าเป็นกรรมการแทน โดยบุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้ตลอดไป จนกว่าจะได้รบั การเลือ่ นขัน้ ย้าย ลาออก หรือไล่ออก หรือเพราะ เหตุอนื่ ใดอันท�ำให้ไม่สามารถท�ำงานในต�ำแหน่งหน้าทีด่ งั กล่าวได้
อ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ 1. ก�ำหนดนโยบาย แผนงานการบริหารความเสีย่ ง และจัดท�ำ รายงานการบริหารความเสีย่ ง (Risk Reporting) เสนอต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบในการ ก�ำหนดแผนการจัดการความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม และน�ำไปปฏิบตั ใิ ช้ ภายในบริษทั ฯ 2. ศึกษา ประเมิน และติดตามความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ รวมถึง ก�ำหนดนโยบาย และกรอบการบริ ห ารความเสี่ ย งโดยรวม (Integrated Risk Management) โดยให้ครอบคลุมความเสีย่ ง หลักทัง้ จากปัจจัยภายในและภายนอกของธุรกิจ อาทิเช่น 2.1 ปัจจัยภายใน - ความเสีย่ งจากการบริหารธุรกิจ (Business Risk) - ความเสีย่ งทางการเงิน (Financial Risk) - ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั กิ าร (Operational Risk) 2.2 ปัจจัยภายนอก - ความเสีย่ งจากภาวะเศรษฐกิจ (Economic Risk) - ความเสีย่ งจากข้อกฎหมายหรือนโยบายภาครัฐ (Regulatory/ Political Risk) เป็นต้น
รายงานประจ�ำปี 2560
3. ดูแลและติดตามการปฏิบตั ติ ามนโยบายการบริหารความเสีย่ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ มี ร ะบบการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ มี ประสิทธิภาพ และมีการปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง 4. ทบทวนและสอบทานรายงานการบริหารความเสี่ยงอย่าง สมำ�่ เสมอ เพือ่ ติดตามความเสีย่ งทีม่ สี าระส�ำคัญและด�ำเนินการ ให้มกี ารจัดการความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ อย่างเพียงพอ และเหมาะสม 5. รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ เกี่ยวกับ ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง รวม ถึงสถานะความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ต่อบริษทั ฯ รวมถึงสิง่ ทีต่ อ้ งปรับปรุง หรือแก้ไข เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสี่ยงที่ ก�ำหนด 6. ให้มีอ�ำนาจแต่งตั้งคณะท�ำงาน และ/หรือ บุคลากรเพิ่มเติม หรือว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญอิสระจากภายนอกได้ตามความจ�ำเป็น เพื่อศึกษา ประเมิน ติดตามและเสนอแนะแนวทางการบริหาร จัดการความเสี่ยง 7. จัดท�ำรายงานประเมินผลการปฏิบัติงานประจ�ำปีของคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งก�ำหนดเป้าหมายและแผน งานในการด�ำเนินการส�ำหรับปีตอ่ ไป เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ 8. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการเปลีย่ นแปลงใดเกีย่ ว กับกฎบัตรของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อขออนุมัติปรับปรุงให้มีความเหมาะสมหรือให้เป็น ตามกฎระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 9. ปฏิบัติการอื่นใดเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงตามที่คณะ กรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
การประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะต้องจัดให้มีการประชุม อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม 2. ในการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะต้องมี กรรมการเข้าร่วมประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ จึงจะครบองค์ประชุม 3. มติที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะถือตาม เสียงข้างมากของกรรมการที่เข้าร่วมประชุมในครั้งนั้นๆ 4. คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งอาจเชิญบุคคลอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับระเบียบวาระการประชุมเพือ่ เข้าร่วมการประชุมได้ตามความ จ�ำเป็น 5. การจัดส่งเอกสารประกอบการประชุมให้กับคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงทุกท่านต้องไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม และต้องจัดท�ำรายงานการประชุมส่งให้กบั คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งทุกท่านภายใน 14 วันท�ำการภายหลังการประชุมเสร็จ สิ้น 6. เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่รับผิด ชอบในการจัดเตรียมความพร้อมส�ำหรับการประชุม อันประกอบ ด้วย การจัดเตรียมสถานที่การประชุม วาระการประชุม และ เอกสารประกอบการประชุม เป็นต้น
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
การรายงานผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ต้องรายงานผลการด�ำเนินการ ในการบริหารและจัดการความเสีย่ ง รวมถึงสถานะความเสีย่ งใน แต่ละหัวข้อที่ก�ำหนดไว้ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้ความ มัน่ ใจว่า คณะกรรมการบริษทั ได้รบั ทราบและตระหนักถึงปัจจัย ต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อสถานะการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัท
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
75
5. อนุมัติการซื้อเครื่องจักรภายในวงเงิน (ไม่ว่าจะเกิดเพียงครั้ง เดียวหรือต่อเนื่อง) ไม่เกินธุรกรรมละ 4 ล้านบาท และ ปีละไม่ เกิน 20 ล้านบาท เว้นแต่เป็นกรณีที่ได้รับอนุมัติจากคณะ กรรมการบริหารของบริษทั ไว้แล้ว และ/หรือปรากฏใน แผนการ ด�ำเนินงาน หรืองบประมาณประจ�ำปีของบริษัทแล้ว 6. มีอ�ำนาจอนุมัติการเลิกใช้ และการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือ การขาย และเช่ากลับคืนสินทรัพย์ ตามระเบียบปฏิบตั เิ รือ่ ง การ เลิกใช้ และจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือการขายและเช่ากลับคืน สินทรัพย์ ในกรณีที่มูลค่าสุทธิทางบัญชีไม่เกิน 1 ล้านบาท
1. ดูแล ปฏิบตั งิ านประจ�ำตามปกติธรุ กิจเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั และบริหารจัดการ การด�ำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตาม นโยบาย เป้าหมาย และสอดคล้องกับแผนงานการด�ำเนินธุรกิจ งบประมาณประจ�ำปีของบริษัท และกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่ก�ำหนดโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร
7. การท�ำสัญญา และ/หรือธุรกรรมใดๆ เพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ให้น�ำเสนอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหารพิจารณา เพือ่ น�ำเสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ
2. ก�ำกับดูแลการด�ำเนินการด้านการเงิน การตลาด งานบริหาร บุคคล และด้านการปฏิบัติงานอื่นๆ โดยรวม เพื่อให้เป็นไปตาม นโยบายและแผนการด�ำเนินงานของบริษทั ทีก่ �ำหนดไว้โดยคณะ กรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร
9. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และ/หรือคณะกรรมการบริหาร รวมทัง้ มีอ�ำนาจ ด�ำเนินการใดๆ ที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
3. มีอ�ำนาจว่าจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนด อัตราค่าจ้างและค่าตอบแทน บ�ำเหน็จรางวัล ปรับขึ้นเงินเดือน ส�ำหรับพนักงานบริษัทในต�ำแหน่งรองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จนถึงผู้อ�ำนวยการฝ่าย โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริษัท หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 4. มีอ�ำนาจว่าจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนด อัตราค่าจ้างและค่าตอบแทน บ�ำเน็จรางวัล ปรับขึ้นเงินเดือน พนักงานของบริษัทในต�ำแหน่งต�่ำกว่าผู้อ�ำนวยการฝ่าย
8. มีอ�ำนาจอนุมัติการสั่งซื้อวัตถุดิบ ในวงเงินไม่เกิน 10 ล้าน บาทหรือ เทียบเท่าต่อ 1 ธุรกรรม ต่อเดือน
ทั้งนี้ ในการด�ำเนินการเรื่องใดที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือ ผู้รับมอบอ�ำนาจจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารหรือบุคคล ที่อาจ มีความขัดแย้ง (ตามประกาศคณะกรรมการ กลต. และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท และ/หรือบริษัทย่อย และ/หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารไม่มอี �ำนาจ ด�ำเนินการ
76
รายงานประจ�ำปี 2560
รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดย่อย และ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560
รายชือ่
ประชุมกรรม การบริษทั ฯ
ประชุม กรรมการ ตรวจสอบ
ประชุม กรรมการ พิจารณา ค่าตอบแทน
ประชุม กรรมการ บริหาร ความเสีย่ ง
การประชุม ผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2560
1
นายสมนึก ไชยกุล
5/5
-
-
-
1/1
2
นายพร้อมพงศ์ ไชยกุล
4/5
-
-
4/4
1/1
3
นายชอง เคว็น ซัม
0/5
-
-
-
0/1
4
นายประสาท ยูนพิ นั ธุ์
5/5
-
2/2
-
1/1
5
นางพูนพรรณ ไชยกุล
4/5
-
-
-
1/1
6
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์
4/5
4/4
2/2
-
1/1
7
รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์
5/5
4/4
2/2
-
1/1
8
ศาสตราจารย์ ดร.ก�ำพล ปัญญาโกเมศ
5/5
4/4
-
4/4
1/1
**บริษัทฯ จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560
การประชุมคณะกรรมการ ส�ำหรับการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ตรวจสอบในปีหน้าคือปี 2561 นั้น บริษัทฯ ได้ก�ำหนดตาราง การประชุม วัน-เวลาไว้ลว่ งหน้าตลอดทัง้ ปีแล้ว และได้แจ้งให้กบั คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
และบริษัทฯ ก�ำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ จ�ำนวน อย่างน้อย 6 ครั้งต่อปีทั้งนี้เลขานุการบริษัทฯ ท�ำหน้าที่จัดส่ง หนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ วาระการประชุม และ เอกสารประกอบการประชุมไปให้กับกรรมการบริษัทฯ เป็นการ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้กรรมการได้มีการศึกษาราย ละเอียดการประชุมมาล่วงหน้า
77
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
แนวทางการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ และผู้ บริหารระดับสูง คณะกรรมการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน (Remuneration Committee) จะเป็นผู้พิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยจะเสนอค่าตอบแทนดังกล่าวให้ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ในส่วนของค่า ตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ต้องได้รับการอนุมัติจากที่ ประชุมผู้ถือหุ้นโดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดแนวทาง การก�ำหนดค่า ตอบแทนกรรมการและผู้บริหารระดับสูงไว้ดังนี้ 1. แนวทางการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ
คุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัทฯ 1. มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ก ฎหมายก�ำหนด (พระราชบั ญ ญั ติ บริ ษั ท มหาชนจ�ำกั ด และพระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์) 2. มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ ต่อการด�ำเนินธุรกิจ มีความตั้งใจ และมีจริยธรรมในการด�ำเนิน ธุรกิจ 3. สามารถใช้ดุลยพินิจอย่างตรงไปตรงมา เป็นอิสระจากฝ่าย จัดการและกลุ่มที่มีผลประโยชน์อื่นใด 4. สามารถอุทิศเวลาให้แก่บริษัทฯ ได้อย่างเพียงพอและเอาใจ ใส่ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบของตน
บริษทั ฯ จะก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการอย่างเหมาะสมทัง้ นีเ้ พือ่ สามารถดึงดูดและรักษากรรมการที่มีความรู้ ความสามารถ ให้ ท�ำงานกับบริษัทฯ โดยปัจจัยส�ำคัญที่ใช้ในการพิจารณาก�ำหนด ค่าตอบแทนกรรมการ คือ - ผลประกอบการบริษัทฯ - หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมาย - อัตราค่าตอบแทนโดยเฉลี่ยของบริษัทต่าง ๆ ในอุตสาหกรรม เดียวกัน โครงสร้างของค่าตอบแทน จะประกอบด้วย ค่าตอบแทนประจ�ำ ปี (Retainer Fee) และค่าเบี้ยประชุม (Attendance Fee)
คุณสมบัติของคณะกรรมการบริหาร
2. แนวทางการก�ำหนดค่าตอบแทนส�ำหรับ ผู้บริหารระดับสูง
1. คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการ อิสระอย่างน้อย 3 คน 2. ได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ ให้เป็นกรรมการตรวจสอบ 3. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความ ขัดแย้ง 4. มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ใน ฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย หนึ่งคน มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำ หน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้
คณะกรรมการบริหาร จะเป็นผู้พิจารณาค่าตอบแทนส�ำหรับผู้ บริหารระดับสูง ในระดับรองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงาน ต่าง ๆ ผู้อ�ำนวยการอาวุโส และผู้อ�ำนวยการ สายงานต่าง ๆ ทั้งนี้ ค่าตอบแทนต้องมีความเหมาะสมที่จะสามารถดึงดูดและ รักษาผู้บริหารระดับสูงให้ท�ำงานให้กับบริษัทฯ โดยปัจจัยส�ำคัญ ที่ใช้ในการพิจารณา ก�ำหนดค่าตอบแทน คือ - ผลประกอบการของบริษัทฯ - การพิจารณาขึน้ ค่าตอบแทนหรือเงินเดือนประจ�ำปี จะพิจารณา จากผลการปฏิ บั ติ ง านเที ย บกั บ ตั ว ชี้ วั ด ผลงานหลั ก (Key Performance Indicator – KPI) - บริษทั ฯ จะน�ำอัตราค่าตอบแทนเฉลีย่ ของอุตสาหกรรมและค่า เฉลี่ยของตลาดมาประกอบการพิจารณา นอกจากนัน้ บริษทั ฯ อาจจะขอค�ำปรึกษาจากผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการ บริหารทรัพยากรบุคคลมาประกอบการพิจารณา โดยคิดค่าใช้ จ่ายของบริษัทฯ
1. เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ ต่อการด�ำเนินธุรกิจ มีความตั้งใจ และมีจริยธรรมในการด�ำเนิน ธุรกิจ 3. สามารถอุทศิ เวลาให้แก่บริษทั ฯ ได้อย่างเพียงพอและเอาใจใส่ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบของตน
คุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ
คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 1. เป็นกรรมการบริษัทฯ และไม่ใช่ประธานคณะกรรมการ บริษัทฯ 2. ประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ 3. เป็นผูท้ ม่ี คี วามรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ ตลอดจนมีความ รู้ ความเข้าใจถึงคุณสมบัติ หน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 4. สามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
78
รายงานประจ�ำปี 2560
คุณสมบัติของคณะกรรมการอิสระ กรรมการอิสระด�ำเนินงานตามภาระหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ โดยมีความเป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นราย ใหญ่และฝ่ายบริหารของบริษัท และมีคุณสมบัติครบถ้วนตาม หลั ก เกณฑ์ ที่ ส�ำนั ก งาน ก.ล.ต. และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยก�ำหนด คือมีจ�ำนวนกรรมการอิสระอย่างน้อยหนึ่ง ในสามของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามคน โดยแต่ละคนต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทั้งนี้ ให้นับรวม การถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระด้วย 2. ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ ปรึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ เงิ น เดื อ นประจ�ำ หรื อ ผู ้ มี อ�ำนาจควบคุ ม ของ บริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัด แย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง 3. ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตาม กฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มี อ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัท ย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในลักษณะ ที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระ รวมทั้งไม่ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของผู้ที่มีความ สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง
ทั้งนี้ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ รวมถึงการท�ำรายการทางการค้าที่ ท�ำเป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่ า หรื อ ให้ เ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการ ให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ซึ่งมีมูลค่ารายการตั้งแต่ ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาท ขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ให้นับรวมหนี้ที่ เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บุคคลเดียวกัน 5. ไม่เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ ผูม้ อี �ำนาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล ทีอ่ าจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง 6. ไม่เป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการเป็นทีป่ รึกษา กฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจ ควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่ จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อน ได้รับการแต่งตั้ง 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ กรรมการบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ 8. ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ �ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นได้อย่างเป็น อิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
79
วิธีการสรรหากรรมการและกรรมการอิสระ แม้วา่ บริษทั ฯ จะไม่มคี ณะกรรมการสรรหาเพือ่ คัดเลือกบุคคลที่ จะแต่งตัง้ เป็นกรรมการ แต่บริษทั ฯ ก็มนี โยบายทีจ่ ะสรรหาและ คัดเลือกบุคคลที่จะมาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการโดยพิจารณาจาก ปัจจัยหลายประการ โดยกรรมการท่านใหม่ที่จะสรรหามานั้น จะต้องมีคุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ และสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในปัจจุบัน และอนาคต โดยได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการแต่งตั้งและถอดถอนกรรมการ ดังนี้ 1. คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน และไม่เกิน 12 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จ�ำนวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร และ กรรมการของ บริษทั ฯ จะต้องเป็นผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนด ห้ามมิให้กรรมการประกอบกิจการเข้าเป็นหุน้ ส่วน หรือ เข้าเป็นกรรมการในนิติบุคคลอื่นที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ ด�ำเนินธุรกิจอันเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ เว้นแต่ จะแจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง 2. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการ โดยใช้เสียงข้างมาก ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้ 2.1 ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อเสียงหนึ่ง 2.2 ให้ผู้ถือหุ้นออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการเป็นราย บุคคลไป 2.3 บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผู้ได้ รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งใน ล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนที่จะพึงมีหรือจะ พึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด
3. ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจาก ต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนที่ใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภาย หลังจดทะเบียนบริษัทฯ นั้น ให้ใช้วิธีจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลัง ๆ ต่อไป ให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุด นั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจได้ รับเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ก็ได้ 4. ในกรณีท่ีต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึง คราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลหนึ่งซึ่งมี คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เข้าเป็น กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่ วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็น กรรมการแทนดังกล่าว จะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่า วาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน 5. ที่ประชุมผู้ถือหุ้น อาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจาก ต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย กว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออก เสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่ ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
80
รายงานประจ�ำปี 2560
การปฐมนิเทศและการอบรมกรรมการเข้าใหม่
การสรรหาผู้บริหารระดับสูง
บริษัทฯ เห็นความส�ำคัญในการปฐมนิเทศให้กับกรรมการใหม่ ซึ่งเป็นเรื่องจ�ำเป็นและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อกรรมการใหม่ อย่างมาก เพราะเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจในธุรกิจและ การด�ำเนินงานด้านต่างๆของบริษัทฯ ก่อนที่จะเข้าประชุมคณะ กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้ ก�ำหนดเป็นนโยบายให้มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ทุกครั้ง โดยมอบหมายให้เลขานุการบริษทั ฯ จัดเตรียมเอกสารและน�ำส่ง ข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั งิ านให้กบั กรรมการใหม่ เช่น ข้อบังคับบริษัทฯ ลักษณะการประกอบธุรกิจ คู่มือกรรมการ บริษทั จดทะเบียน อ�ำนาจหน้าทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ จริยธรรม ธุรกิจ และจรรยาบรรณพนักงาน การเปิดเผยสารสนเทศ ค่า ตอบแทนและสิทธิประโยชน์กรรมการ และกรรมการชุดย่อย และข้อมูลที่ส�ำคัญของบริษัทฯ และข้อมูลทั่วไป รวมถึงข้อมูลผู้ บริหารของบริษัทฯ เป็นต้น รวมทั้งจะได้รับการเชิญเข้าร่วมการ ปฐมนิเทศด้วย ซึ่งจะได้รับเชิญเข้าเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ และได้รับทราบข้อมูลที่ส�ำคัญของบริษัทฯ ทั้งนี้กรรมการท่าน อื่นๆที่สนใจอาจเข้าร่วมการปฐมนิเทศดังกล่าวด้วย
คณะกรรมการบริหาร เป็นผูม้ อี �ำนาจ ในการว่าจ้าง แต่งตัง้ โยก ย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนดอัตราค่าจ้างและค่าตอบแทน บุคคลากรซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ในต�ำแหน่งตั้งแต่ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร จนถึงผูอ้ �ำนวยการฝ่าย โดยให้ประธาน กรรมการบริหารเป็นผู้มีอ�ำนาจในการด�ำเนินการ
ส�ำหรั บ กรรมการใหม่ ท่ี ไ ม่ เ คยผ่ า นการฝึ ก อบรมหลั ก สู ต ร กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย น จากสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษัทไทย บริษัทฯ จะส่งเข้าร่วมอบรม โดยบริษัทฯ จะเป็นรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด
การสรรหากรรมการอิสระ ในการสรรหากรรมการอิสระ จะต้องมีกรรมการอิสระไม่น้อย กว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และจะต้องไม่ต�่ำกว่า 3 คน บริษัทฯ มีแนวทางในการคัดเลือกกรรมการอิสระใน ลักษณะเดียวกับการคัดเลือกกรรมการและผู้บริหาร ทั้งนี้ ผู้ที่ จะได้รบั การคัดเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระจะต้อง มีคุณสมบัติตามที่บริษัทฯ ก�ำหนด
การสรรหากรรมการตรวจสอบ ในการสรรหากรรมการตรวจสอบ จะต้องมีกรรมการอิสระอย่าง น้อย 3 คน บริษัทฯ มีแนวทางในการคัดเลือกกรรมการตรวจ สอบในลักษณะเดียวกับการคัดเลือกกรรมการอิสระ ทั้งนี้ผู้ที่ได้ รับการคัดเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบ จะต้อง มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบได้อย่างสมบูรณ์ และมีคุณสมบัติตาม ที่กฎหมายก�ำหนด
ส�ำหรับต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร หากมีการว่าจ้าง แต่ง ตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนดอัตราค่าจ้างและค่า ตอบแทน ให้ประธานกรรมการบริหารมีหน้าทีเ่ สนอต่อทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ
การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการบริษัทฯ จ�ำกัด จ�ำนวนบริษัทในการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการในบริษัทอื่น ไม่เกิน 5 บริษัท เพื่อให้กรรมการมีเวลา เพียงพอในการปฏิบัติหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบ หมาย และต้องรายงานให้บริษทั ฯ ทราบ หากมีการเปลีย่ นแปลง ในการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น
การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการ โดยรวมทั้งคณะไม่น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง เพื่อ พิจารณาผลงานที่ผ่านมาว่ามีข้อดี และข้อบกพร่องประการใด บ้าง ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานในอนาคต ตลอดจนเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงานร่วมกันของ คณะกรรมการทุกท่าน
การประเมินผลประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษทั ฯ ท�ำการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของประธานเจ้าหน้าที่ บริหารเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อก่อให้เกิดการพิจารณาค่าตอบแทน ที่เป็นธรรมต่อทั้งบริษัทฯ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยใช้ หลักเกณฑ์ทบี่ ริษทั ฯ จดทะเบียนส่วนใหญ่นยิ มใช้ และตกลงกัน ล่วงหน้ากับประธานเจ้าหน้าที่บริหารตามเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรม ซึ่งหลักเกณฑ์การประเมินนั้นต้องรวมถึงผลปฏิบัติงานทางการ เงิน ผลการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ในระยะยาว เป็นต้น ปัจจัยที่ใช้ในการประเมินผลทั้งในแง่การประเมินโดยใช้ ปัจจัยทางการเงิน (Financial Metrics) และปัจจัยทีไ่ ม่ใช่ทางการ เงิน (Non-Financial Metrics) เป็นเกณฑ์ในการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ปัจจัยทางการเงิน (Financial Metrics) ได้แก่ รายได้ ก�ำไรสุทธิ ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (Return
81
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
on Fixed Asset) อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (Return on Equity) และมู ล ค่ า เพิ่ ม ทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Value Added - EVA) ฯลฯ เป็นต้น ปัจจัยที่ไม่ใช่ทางการเงิน (Non-Financial Metrics) ได้แก่ วิสัย ทัศน์ ภาวะความเป็นผูน้ �ำ การบรรลุตามแผนกลยุทธ์ การบริหาร ความเสี่ยง การมีความสัมพันธ์อันดีกับคณะกรรมการบริษัทฯ การตอบสนองต่อความต้องการและทิศทางของคณะกรรมการ บริษทั ฯ การติดต่อสือ่ สาร การบริหารงานทรัพยากรบุคคล การ ขยายตลาด ฯลฯ เป็นต้น
การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษทั ฯ มีนโยบายในการพัฒนากรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง ในด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และในด้านการบริหารอย่างต่อ เนื่อง โดยกรรมการและผู้บริหารจะเข้าร่วมการสัมมนาและการ ฝึ ก อบรมที่ จั ด ขึ้ น โดยตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย (IOD) กรรมการทุกท่านได้ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตร Director Certification Program (DCP) หรือ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
แผนการสืบทอดต�ำแหน่ง บริษทั ฯ มีแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง โดยกระบวนการสรรหาจาก บุคคลทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีระบบการ คัดสรรบุคคลากรทีม่ คี วามเหมาะสมเข้ามารับต�ำแหน่งกรรมการ และฝ่ายบริหารที่ส�ำคัญ และสอดคล้องกับแผนการสืบทอด ต�ำแหน่ง ทัง้ นีท้ กุ ต�ำแหน่งจะต้องผ่านระบบการคัดสรรทีโ่ ปร่งใส และเป็นธรรม
เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้ง นายยรรยงค์ สวัสดิ์ ให้ด�ำรง ต�ำแหน่งเลขานุการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2552 โดย เลขานุการบริษัทฯ มีหน้าที่รับผิดชอบที่ส�ำคัญ ได้แก่ ท�ำหน้าที่ ด�ำเนินการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุมผู้ถือ หุน้ ให้เป็นไปอย่างราบรืน่ ถูกต้องตามกฎหมาย จัดท�ำรายงานการ ประชุมคณะกรรมการ รวบรวมและเก็บรักษารายงานการประชุม ให้งา่ ยแก่การค้นหา จัดเตรียมและจัดส่งหนังสือเชิญประชุมรวม ทั้งรายงานประจ�ำปีให้กับผู้ถือหุ้นและหน่วยงานก�ำกับดูแล จัด ท�ำและจัดเก็บรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ และจัดส่งให้แก่หน่วย งานก�ำกับดูแล รวมทั้งผู้ถือหุ้นกับเผยแพร่ใน Website ดูแลให้ บริษัทฯ บริษัทย่อย กรรมการ และผู้บริหารปฏิบัติให้ถูกต้อง ตามกฎระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เป็นผู้ติดต่อประสานงานต่างๆ กับ หน่วยงานดังกล่าว รวมทั้งแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการและผู้ บริหารของบริษัทฯ ให้กับตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต. นอกจากนี้ เลขานุการบริษัทฯ ยังมีหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำและค�ำ ปรึกษาในการเข้ารับต�ำแหน่งของกรรมการบริษัทฯ รายใหม่ ติดต่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้น ท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างผูถ้ อื หุน้ กับคณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหาร ส่งเสริม ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Corporate Governance และให้ ข้อมูลและผลักดันคณะกรรมการให้ปฏิบัติตาม รวมทั้งให้มีการ ตรวจสอบผลการปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของหลักการดังกล่าว ให้ ข้อมูลและค�ำแนะน�ำแก่กรรมการ และผู้บริหารในการจัดท�ำ รายงานต่างๆตามทีก่ ฎหมายหรือกฎข้อบังคับ ต่างๆทีก่ �ำหนดให้ ต้องมีการเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อความโปร่งใส เช่น การรับ ทราบภาระหน้าที่เกี่ยวกับการรายงานการถือหลักทรัพย์ฯ และ ดูแลการด�ำเนินการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามข้อบังคับ กฎ ระเบียบของบริษัทฯ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และหน่วยงานก�ำกับที่ เกี่ยวข้อง เป็นต้น
ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจ สอบของบริษัทฯ มีความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็น มี ความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน ให้ สอดคล้องกับ มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจ สอบภายใน โดยท�ำการทดสอบ การประเมินความเสี่ยง การ ประเมินความเพียงพอ และความมีประสิทธิภาพของระบบการ ควบคุมภายในของบริษัทฯ เพื่อให้การปฏิบัติงานตรวจสอบมี ประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมาย และเป็นไปตามแผนงานการตรวจ สอบที่วางไว้
82
รายงานประจ�ำปี 2560
รายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบ ด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ 1
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา
จรุงกิจอนันต์
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
2
รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย
นิตยาเกษตรวัฒน์
กรรมการตรวจสอบ
3
ศาสตราจารย์ ดร.ก�ำพล
ปัญญาโกเมศ
กรรมการตรวจสอบ
ทัง้ นี้ 3 ท่าน เป็นผูท้ รงคุณวุฒใิ นหลายด้าน ได้แก่ ด้านบัญชี การเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านบริหารความเสีย่ ง ในระหว่างปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารประชุมรวมทัง้ สิน้ 4 ครัง้ เพือ่ พิจารณาสอบทานความถูกต้องของงบการเงิน รายงานผู้ สอบบัญชี ระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการเกีย่ วโยง การพิจารณาคัดเลือกผูส้ อบบัญชี และการก�ำหนดค่าตอบแทน การปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ และได้สอบทานเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯสามารถปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี IFRS (International Financial Reporting Standards) และได้ประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการของบริษทั ฯเข้าร่วมประชุมด้วย 1 ครัง้ รายงานทางการเงินส�ำหรับปีสนิ้ สุด 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบฯ มีความเห็นว่า งบการเงินได้จดั ท�ำตามหลัก การบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป และมีการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างเหมาะสมตามสมควร ซึง่ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตได้แสดง ความเห็นต่องบการเงินไว้แล้วในรายงานของผูส้ อบบัญชี และได้สอบทานเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯสามารถปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี IFRS (International Financial Reporting Standards) รายงานผลการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ น�ำเสนอให้กบั คณะกรรมการบริษทั ฯทราบ โดยบรรจุเป็นวาระการประชุมหนึง่ ในการประชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกครัง้ โดยได้ให้ขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การบริหารงานของฝ่ายจัดการ ซึง่ ฝ่ายจัดการได้ด�ำเนิน การปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะอย่างเหมาะสม เพือ่ ให้สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และเป็นไปตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย การประเมินตนเอง พบว่า คณะกรรมการตรวจสอบมีการปฏิบตั หิ น้าทีค่ รบถ้วนตามทีไ่ ด้ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และมีผล การปฏิบตั งิ านทีส่ อดคล้องกับแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ี อันมีสว่ นช่วยเสริมสร้างการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ไี ด้อย่างมีประสิทธิผล
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
83
รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการเกีย่ วโยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน รายการธุรกรรมระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย และบุคคลทีเ่ กีย่ วโยง เพือ่ พิจารณาว่าการท�ำธุรกรรมมี รายการทีส่ มเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ และเป็นไปตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีการเปิดเผย ข้อมูลการท�ำรายการระหว่างกันไว้อย่างครบถ้วน การพิจารณาคัดเลือกผูส้ อบบัญชี และการก�ำหนดค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาคัดเลือกผูส้ อบบัญชีจากบริษทั ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ประจ�ำปี 2560 รวมทัง้ พิจารณาค่าตอบแทนการสอบบัญชี เพือ่ น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณา อนุมตั ติ อ่ ไป โดยมีรายชือ่ ผูส้ อบบัญชี ดังนี้ นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4501 และ/หรือ นางสาววิสสุตา จริยธนากร ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3853 และ/หรือ นางสาวมณี รัตนบรรณกิจ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 5313 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผู้สอบบัญชีที่ท�ำหน้าที่รับรองงบการเงินของบริษัทฯ คือ นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษทั ฯไม่ขดั ต่อกฎหมายธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างมีความอิสระ รอบคอบ และแสดงความเห็นอย่างตรงไปตรงมา เพือ่ ก�ำกับดูแล การปฏิบตั ติ าม กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่า การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบในปี 2560 บรรลุวตั ถุประสงค์ทไี่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
84
รายงานประจ�ำปี 2560
รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารความเสีย่ งว่าเป็นเรือ่ งทีส่ �ำคัญ ในการด�ำเนินธุรกิจ คณะกรรมการของบริษทั ฯจึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งขึน้ เพือ่ เป็นคณะกรรมการชุดย่อย ท�ำหน้าทีใ่ นการ ประเมิน และวิเคราะห์ความเสีย่ ง รวมถึงผลกระทบ พร้อมทัง้ ก�ำหนดมาตรการในการป้องกันและลดความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ เล็งเห็นว่าการวางระบบการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) ทีด่ จี ะเป็นส่วนช่วยเพิม่ มูลค่าของกิจการให้แก่ผถู้ อื หุน้ ส่งเสริมให้บริษทั ฯ มีการเติบโตทีม่ นั่ คงและยัง่ ยืน ในปี 2560 นี้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ ได้ท�ำการประชุมทัง้ สิน้ รวม 4 ครัง้ และได้รายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบเป็นล�ำดับ สาระส�ำคัญของการปฏิบตั งิ านเป็นดังนี้ ประเมินความเสีย่ ง และก�ำหนดกรอบการบริหารความเสีย่ งของแต่ละฝ่ายงาน โดยให้ครอบคลุมความเสีย่ งจากปัจจัยภายในและภายนอกของ บริษทั ฯ ดูแล ติดตามการปฏิบตั ติ ามนโยบายการบริหารความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้มรี ะบบการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทบทวน แนวคิดของการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ และแนวทางในการปฏิบตั อิ ย่างเป็นขัน้ ตอน โดยพิจารณาปัจจัยด้านต่างๆ ได้แก่ ด้าน สังคม การเมือง เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม เทคโนโลยี คูแ่ ข่ง เป็นต้น รายงานการบริหารความเสีย่ งเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาและให้ความเห็นชอบในการก�ำหนด แผนการจัดการความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมและน�ำไปปฏิบตั ใิ ช้ภายในบริษทั ฯ จากการด�ำเนินงานข้างต้น คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้พจิ ารณาประเมินความเสีย่ งอย่างรอบคอบ พร้อมทัง้ ประเมินเพือ่ ให้ทราบระดับ ของความเสีย่ ง และก�ำหนดมาตรการในการป้องกัน และบริหารความเสีย่ ง จัดการความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ ทัง้ นี้ ได้น�ำเสนอรายงานการบริหารความเสีย่ ง ต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ เพือ่ ก�ำหนดระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ และ ได้รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯทุกครัง้ ทัง้ นีเ้ นือ้ หาโดยละเอียดของการบริหารความเสีย่ งของ บริษทั ฯ อยูใ่ นรายงานประจ�ำปีฉบับนีแ้ ล้ว ขอแสดงความนับถือ
(ศาสตราจารย์ ดร.ก�ำพล ปัญญาโกเมศ) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง
85
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
รายงานคณะกรรมการพิ จารณาค่าตอบแทน เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ทุกท่านไม่ได้เป็นผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และประธานคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ ดังนี้ 1
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา
จรุงกิจอนันต์
ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
2
นายประสาท
ยูนพิ นั ธุ์
กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
3
รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย
นิตยาเกษตรวัฒน์
กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ได้ปฏิบตั หิ น้าที่ และความรับผิดชอบอย่างอิสระ ตามทีไ่ ด้ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน เพือ่ ท�ำหน้าทีพ่ จิ ารณารูปแบบ และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ จะน�ำเสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ให้เป็น ผูอ้ นุมตั เิ ป็นประจ�ำทุกปี และก�ำหนดค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูอ้ นุมตั ิ ในปี 2560 คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนได้มกี ารประชุมรวมทัง้ สิน้ 2 ครัง้ (กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ทัง้ 3 ท่าน เข้าร่วมประชุม ครบถ้วน) เพือ่ พิจารณา ก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี และค่าเบีย้ ประชุมกรรมการ นอกจากนีใ้ นปี 2560 นี้ ได้ปรับปรุงแบบประเมินผล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ พิจารณาเงินเดือน และผลประโยชน์ตอบแทนของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของบริษทั ฯ และได้น�ำเสนอคณะ กรรมการบริษทั ฯเป็นผูพ้ จิ ารณาอนุมตั ิ ทัง้ นีไ้ ด้ขอให้ทปี่ รึกษาทางการเงินอิสระช่วยหาข้อมูลเพือ่ ใช้ประกอบการพิจารณา ทัง้ นีก้ รรมการทีม่ ี ส่วนได้เสียในเรือ่ งใดจะต้องไม่เข้าร่วมในการพิจารณาหรือลงมติในเรือ่ งนัน้ ส�ำหรับค่าตอบแทน และค่าเบีย้ ประชุมกรรมการบริษทั ฯ ประจ�ำปี 2560 นัน้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนได้พจิ ารณาอย่างรอบคอบ ซึง่ เปรียบเทียบข้อมูลอ้างอิงจากบริษทั จดทะเบียนในกลุม่ อุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน รวมถึงพิจารณาจากผลประกอบการของบริษทั ฯ ระดับ ความรับผิดชอบ และประสบการณ์ จึงเห็นควรเสนอให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั อิ ตั ราค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยให้คง อัตราเดิมตามทีท่ ปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2559 ได้มมี ติอนุมตั ไิ ว้แล้ว ส�ำหรับรายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการ ชุดย่อยอืน่ ได้แสดงไว้ในหัวข้อค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษทั ฯของรายงานประจ�ำปีฉบับนีแ้ ล้ว ขอแสดงความนับถือ
(รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์) ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
86
รายงานประจ�ำปี 2560
รายงานความร ับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษทั ฯ รวมถึงสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฎในรายงานประจ�ำปีงบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึน้ ตามมาตร ฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายการบัญชีทเี่ หมาะสม และถือปฏิบตั อิ ย่างสม�ำ่ เสมอ ใช้ดลุ ยพินจิ อย่างระมัดระวัง และ การประมาณการทีเ่ หมาะสมในการจัดท�ำรวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการ เงิน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ให้จดั ท�ำและด�ำรงไว้ซงึ่ ระบบควบคุมภายใน ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผล เพือ่ ให้มคี วามมัน่ ใจอย่างมีเหตุผล ว่า การบันทึกข้อมูลทางบัญชีมคี วามถูกต้องครบถ้วนอย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการด�ำเนินการทีผ่ ดิ ปกติ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นผูก้ �ำกับดูแลเกีย่ วกับคุณภาพของรายงาน ทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏอยูใ่ นรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ได้ แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีนแี้ ล้ว คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายใน และ การตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ เพียงพอและเหมาะสม มีความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลว่างบการเงินรวมของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อยส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีความถูกต้อง เชือ่ ถือได้ โดยปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป
(นายสมนึก ไชยกุล) ประธานกรรมการ
87
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ค�ำอธิบายและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงินของฝ่ายจ ัดการ บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) สรุปผลการด�ำเนินงานและสถานะทางการเงิน ส�ำหรับ ปี 2560 ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เทียบกับ ผลการด�ำเนินงานและสถานะทางการเงิน ส�ำหรับปี 2559 ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ดังมี สาระส�ำคัญสรุปได้ดงั ต่อไปนี้ ผลการด�ำเนินงานส�ำหรับปี 2560 เทียบกับปี 2559 2560 พันบาท
2559 %
เพิม่ ขึน้ (ลดลง)
พันบาท
%
พันบาท
%
รายได้จากการขายและบริการ - รายได้จากการขายสินค้ากลุม่ MMA (HD)
-
-
1,692,878
47.92
(1,692,878)
(100.00)
- รายได้จากการขายสินค้ากลุม่ MMA (Other)
301,602
16.27
315,737
8.94
(14,135)
(4.48)
- รายได้จากการขายสินค้ากลุม่ IC
1,521,141
82.06
1,434,401
40.60
86,740
6.05
31,020
1.67
89,834
2.54
(58,814)
(65.47)
รวมรายได้จากการขายและบริการ
1,853,763
100.00
3,532,850
100.00
(1,679,087)
(47.53)
ต้นทุนขายและบริการ
1,781,473
96.10
3,240,077
91.71
(1,458,604)
(45.02)
ก�ำไร (ขาดทุน) ขัน้ ต้น
72,290
3.90
292,773
8.29
(220,483)
(75.31)
ค่าใช้จา่ ยในการขาย
66,531
3.59
62,865
1.78
3,666
5.83
516,088
27.84
226,080
6.40
290,008
128.28
(510,329)
(27.53)
3,828
0.11
(514,157)
(13,431.92)
เงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณ์อทุ กภัย
-
-
-
-
-
ก�ำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น
-
-
41,182
1.17
(41,182)
(100.00)
รายได้จากการจ�ำหน่ายเศษซาก
22,069
1.19
15,957
0.45
6,112
38.31
อืน่ ๆ
25,626
1.38
8,377
0.24
17,249
205.92
17,122
0.92
-
-
17,122
-
(479,756)
(25.88)
69,344
1.96
(549,100)
(791.85)
(59,246)
(3.20)
(45,086)
(1.28)
- รายได้จากการบริการ
ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ก�ำไร (ขาดทุน) จากการด�ำเนินงาน รายได้อนื่
ค่าใช้จา่ ยอืน่ ขาดทุนจากการด้อยค่าของอุปกรณ์ ขาดทุนก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินและค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ขาดทุนก่อนค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้
(14,160)
31.41
(539,001)
(29.08)
24,258
0.69
(563,260)
(2,321.91)
(7,946)
(0.43)
(8,614)
(0.24)
668
(7.75)
(546,947)
(29.50)
15,645
0.44
(562,592)
(3,596.10)
ค่าเสือ่ มราคาและรายการตัดจ�ำหน่าย
384,304
20.73
346,278
9.80
38,026
10.98
ก�ำไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี ค่าเสือ่ มราคาและรายการตัดจ�ำหน่าย
(95,451)
(5.15)
415,622
11.76
(511,073)
(122.97)
ผลประโยชน์ (ค่าใช้จา่ ย) ภาษีเงินได้ ขาดทุนส�ำหรับปี
ผลการการด�ำเนินงานข้างต้นเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีกอ่ น เป็นผลมาจากปัจจัยต่างๆ ทีส่ �ำคัญดังต่อไปนี้
88
รายงานประจ�ำปี 2560
รายได ้จากการขายสินค ้าและบริการ
ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร
บริษทั ฯ มีรายได้จากการขายสินค้าและบริการจ�ำนวน 1,853.76 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปีกอ่ น 1,679.09 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 47.53 โดยส่วนใหญ่เป็นการลดลงของยอดขาย ในสินค้ากลุม่ MMA (Hard Disk Drive) ทัง้ นี้ เพือ่ ให้เป็นไปตาม กลยุทธ์ของบริษทั ฯ ทีก่ �ำหนด Product Mix ให้มกี ารกระจายตัว อย่างไรก็ตาม สินค้าในกลุม่ Fiber Optics มียอดขายเพิม่ ขึน้ อย่าง ต่อเนือ่ ง ทัง้ ในกลุม่ ลูกค้าเดิม และ ลูกค้าใหม่
ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารประจ�ำปี 2560 ของบริษทั ฯ มี จ�ำนวนรวม 599.74 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2559 เป็นจ�ำนวน 310.79 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 51.82 ซึง่ สาเหตุหลักมาจาก (1) ลูกหนีก้ ารค้าจ�ำนวน 2 รายซึง่ มีหนีค้ า้ งช�ำระเป็นระยะเวลานานกับ ทางบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ ตัง้ ส�ำรองลูกหนีร้ ายดังกล่าวในปี 2560 จ�ำนวน 310 ล้านบาท จ�ำแนกเป็นไตรมาสที่ 2 จ�ำนวน 177 ล้าน บาท และในไตรมาสที่ 4 ตัง้ ส�ำรองลูกหนีก้ ารค้าจ�ำนวน 133 ล้าน บาท อย่างไรก็ตามลูกหนีก้ ารค้าดังกล่าวมียอดคงค้างนานเกินกว่า 12 เดือน บริษทั ฯ จึงพิจารณาด�ำเนินคดีความเพือ่ เรียกร้องสิทธิตา มกฏหมาย และได้ตงั้ ส�ำรองส�ำหรับลูกหนีด้ งั กล่าว ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ หยุดท�ำธุรกรรมการค้าทุกรูปแบบกับลูกหนี้รายดังกล่าวและได้ ก�ำหนดแนวทางเพิม่ เติม เพือ่ ป้องกันเหตุการณ์ในลักษณะเดียวกัน นี้ โดยได้จดั ให้มกี ารท�ำประกันภัยเครดิตการค้า (Trade Credit Insurance) เพือ่ ตรวจสอบสถานะทางการเงิน รวมถึงคุม้ ครองและ ลดความเสีย่ งจากการผิดนัดช�ำระหนีข้ องลูกค้า (2) ตัง้ ส�ำรอง ขาดทุนจากการด้อยค่าของอุปกรณ์ในบริษทั ย่อย จ�ำนวน 17.12 ล้าน บาท เนือ่ งจากผลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยไม่เป็นไปตามเป้า หมายทีก่ �ำหนดไว้ ทัง้ นี้ การตัง้ ส�ำรองดังกล่าวมิได้สง่ ผลกระทบ ต่อกระแสเงินสดของบริษทั ฯ
ต ้นทุนขายและก�ำไรขนต ั ้ ้น
บริษทั ฯ มีตน้ ทุนขายและบริการในปี 2560 จ�ำนวน 1,781.47 ล้าน บาท ลดลงเป็นจ�ำนวน 1,458.60 ล้านบาท จากปีกอ่ นหน้า หรือ คิดเป็นการลดลงร้อยละ 45.02 ซึง่ เป็นการลดลงตามยอดขายทีล่ ด ลง ส่งผลให้อตั ราก�ำไรขัน้ ต้นลดลงจากร้อยละ 8.3 ในปี 2559 เป็น ร้อยละ 3.9 ในปี2560 อันเป็นผลมาจากการตัง้ ส�ำรองสินค้าคงคลัง ส�ำหรับลูกค้าทั้งในและต่างประเทศจ�ำนวน 182.07 ล้านบาท ไตรมาสที1่ จ�ำนวน 6.40 ล้านบาท ไตรมาสที2่ จ�ำนวน 52.97 ล้านบาท ไตรมาสที3่ จ�ำนวน 2.46 ล้านบาท และไตรมาสที4่ จ�ำนวน 120.24 ล้านบาท ซึง่ เป็นไปตามหลักความระมัดระวัง (Prudence concept) และการควบคุมภายใน (Internal Control) ทีด่ ี โดยค�ำนึงถึงความไม่แน่นอนทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับรายการหรือ เหตุการณ์ต่างๆเช่น การประมาณอายุการใช้งานของสินทรัพย์ เป็นต้น ซึง่ เป็นเหตุให้บริษทั ฯ ท�ำการตัง้ ส�ำรองดังกล่าว ทัง้ นีก้ ารตัง้ ส�ำรองของบริษัทฯ มิได้ส่งผลกระทบต่อกระแสเงินสดจากการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ แต่อย่างใด ก�ำไรขัน้ ต้น 72.29 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 75.31 จากช่วงเวลา เดียวกันในปีกอ่ นหน้า สอดคล้องกับยอดขายและต้นทุนขายทีล่ ดลง ก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) ในปี 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีขาดทุนก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี ค่าเสือ่ มราคา และ รายการตัดจ�ำหน่าย(EBITDA) จ�ำนวน 95.45 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 จ�ำนวน 511.07 ล้านบาท หรือลดลง ร้อยละ122.97 ซึง่ เป็นผลมาจากการตัง้ ส�ำรองหนีส้ งสัยจะสูญในส่วน ของสินค้าคงคลัง ลูกหนีก้ ารค้า และการด้อยค่าของอุปกรณ์ในบริษทั ย่อยจ�ำนวน 509 ล้านบาท
่ รายได ้และค่าใช ้จ่ายอืน
บริษทั ฯ มีรายได้อนื่ จ�ำนวน 47.70 ล้านบาท ลดลง 17.82 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 27.20 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีกอ่ นหน้า สาเหตุหลักจากค่าเงินบาททีม่ ที ศิ ทางแข็งค่าขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้ รายได้ทเี่ คยได้รบั จากผลของอัตราแลกเปลีย่ นลดลง ค่าใช้จา่ ยทางการเงินประจ�ำ ปี 2560 จ�ำนวน 59.25 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเวลาเดียวกันของปีกอ่ นหน้าเป็นจ�ำนวน 14.16 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 31.41 ซึง่ สาเหตุหลักเกิดจากการทีบ่ ริษทั ฯ มี การออกหุน้ กูแ้ ละมีการกูเ้ งินระยะยาวเพิม่ ขึน้ ระหว่างปี ทัง้ นี้ เพือ่ เสริมสร้างสภาพคล่องทางการเงินของบริษทั ฯ
89
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ฐานะการเงินของบริษ ัทฯ และบริษ ัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายการสินทรัพย์ หนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทีส่ �ำคัญ เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ดังต่อไปนี้ 2560 พันบาท เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 75,038 ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ 243,088 สินค้าคงเหลือ 246,178 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 585,922 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ 2,257,912 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2,295,502 รวมสินทรัพย์ 2,881,424 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน 167,449 เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ 201,495 ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี 299,080 ส่วนของหุน้ กูท้ ถี่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี 499,225 ส่วนของเจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักรทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระ 21,067 ภายในหนึง่ ปี ส่วนของหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงินทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระ 84,472 ภายในหนึง่ ปี รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน 1,287,411 เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายใน 174,900 หนึง่ ปี หุน้ กู้ รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน 369,593 รวมหนีส้ นิ 1,657,004 รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ 1,224,420
2559 % พันบาท 2.60 10,894 8.44 638,978 8.54 418,426 20.33 1,094,617 78.36 2,354,218 79.67 2,398,519 100.00 3,493,136 5.81 184,337 6.99 467,148 10.38 301,600 17.33 0.73 -
เพิม่ ขึน้ (ลดลง) % 0.31 18.29 11.98 31.34 67.40 68.66 100.00 5.28 13.37 8.63 0.00 0.00
พันบาท 64,144 (395,890) (172,248) (508,695) (96,306) (103,016) (611,711) (16,888) (265,653) (2,520) 499,225 21,067
% 588.77 (61.96) (41.17) (46.47) (4.09) (4.30) (17.51) (9.16) (56.87) (0.84) N/A N/A
2.93
4,754
0.14
79,718
1,676.78
44.68 6.07
964,037 199,000
27.60 5.70
323,374 (24,100)
33.54 (12.11)
12.83 57.51 42.49
497,596 758,881 1,722,919 1,770,217
14.24 21.72 49.32 50.68
(497,596) (389,288) (65,914) (545,797)
N/A (51.3) (3.83) (30.83)
สินทร ัพย์
หนีสิ้ นและส่วนของผู ้ถือหุ ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสนิ ทรัพย์ รวม เท่ากับ 2,881.42 ล้านบาท ลดลงจากสิน้ ปี 2559 เป็นจ�ำนวน 661.71 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 17.51 โดยเป็นการลดลงของ สินทรัพย์หมุนเวียนจ�ำนวน 508.69 ล้านบาท และเป็นการลดลง ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน จ�ำนวน 103.02 ล้านบาท ในส่วนของ สินทรัพย์หมุนเวียน สินค้าคงเหลือและลูกหนีก้ ารค้ามีจ�ำนวนลดลง ซึง่ เป็นการลดลงตามยอดขายและการตัง้ ส�ำรองจากสินค้าคงเหลือ และลูกหนีก้ ารค้า ส�ำหรับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เป็นการลดลงจาก ค่าเสือ่ มราคาเป็นหลัก
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ รวม เท่ากับ 1,657 ล้านบาท ลดลงจากสิน้ ปี 2559 เป็นจ�ำนวน 65.91 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 3.83 โดยเป็นการลดลงของหนีส้ นิ ไม่ หมุนเวียนจ�ำนวน 389.29 ล้านบาท เนือ่ งจากหุน้ กูข้ องบริษทั ฯ ครบ ก�ำหนดไถ่ถอนทัง้ จ�ำนวน 499.23 ล้านบาท ในปี 2561 ทัง้ นี้ เจ้าหนีก้ ารค้าลดลงจาก 467.15 ล้านบาท ในปี 2559 เป็น 201.49 ล้านบาท ในปี 2560 จากการลดลงของยอดขายและระยะเวลาการ ช�ำระหนีท้ เี่ ร็วขึน้ ของวัตถุดบิ ทีน่ �ำใช้ในผลิตภัณฑ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสว่ นของ ผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 1,224.42 ล้านบาท ลดลงจากสิน้ ปี 2559 เป็น จ�ำนวน 545.80 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 30.83 โดยเป็นการลด ลงจากผลขาดทุนส�ำหรับปี 2560 เป็นจ�ำนวน 545.89 ล้านบาท และขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ จ�ำนวน 3.24 ล้านบาท
90
รายงานประจ�ำปี 2560
่ แหล่งทีมาและใช ้ไปของเงินทุน (Source and Use of Fund)
เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี
2559
2560
พันบาท 404,732 (449,549) 40,717 (4,100) 14,994 10,894
พันบาท 406,505 (469,833) 127,472 64,144 10,894 75,038
เพิม่ ขึน้ (ลดลง) พันบาท 1,773 (20,285) 86,755 68,244 (4,100) 64,144
% 0.44 4.51 213.07 1,664.49 (27.34) 588.80
บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงานในปี 2560 จ�ำนวน 406.51 ล้านบาท เกิดจากเงินสดจากการด�ำเนินงาน เป็น นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมการลงทุนในปี 2560 จ�ำนวน 469.83 ล้านบาท เป็นการน�ำไปซือ้ เครือ่ งจักร อุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนจ�ำนวน 366.45 ล้านบาท เป็นการจ่ายเจ้าหนีค้ า่ ซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์จำ� นวน 193.48 ล้านบาท แต่ได้ รับคืนจากการจ�ำหน่ายเครือ่ งจักรและอุปกรณ์จำ� นวน 90.09 ล้านบาท จากกระแสเงินสดสุทธิทตี่ ดิ ลบในกิจกรรมด�ำเนินงานและกิจกรรมการลงทุนในปี 2560 บริษทั ฯ จึงมีการกูย้ มื เงินกูย้ มื ระยะยาวในระหว่างปี เป็นจ�ำนวน 300 ล้านบาท เพือ่ รักษาโครงสร้างทางการเงินทีด่ ขี องบริษทั ฯ ่ ำค ัญ ( Financial Ratio) อตราส่ ั วนทางการเงินทีส�
อัตราส่วนทางการเงิน 1. อัตราส่วนสภาพคล่อง 2. อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว 3. ระยะเวลาในการเก็บหนีเ้ ฉลีย่ 4. ระยะเวลาในการขายสินค้าเฉลีย่ 5. ระยะเวลาในการช�ำระหนีเ้ ฉลีย่ 6. วงจรเงินสด 7. อัตราก�ำไร (ขาดทุน) ขัน้ ต้น 8. อัตราก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนหักค่าเสือ่ มราคา ภาษี และดอกเบีย้ 9. อัตราก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ 10. อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ 11. อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ 12. อัตราส่วนผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ (1) 13. ก�ำไรสุทธิตอ่ หุน้ (2) 14. มูลค่าหุน้ ตามบัญชีตอ่ หุน้
2560
2559
Unit
0.46 0.25 86.84 68.08 68.50 86.42 3.90 (5.15) (29.50) 1.35 (17.16) (36.53) (0.65) 1.46
1.14 0.67 70.91 52.20 53.73 69.39 8.29 11.76 0.44 0.97 0.45 0.74 0.02 2.12
เท่า เท่า วัน วัน วัน วัน % % % เท่า % % บาท บาท
ข้อสังเกต : (1) อัตราส่วนผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ = การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ / ค่าเฉลีย่ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (2) ก�ำไรสุทธิตอ่ หุน้ = การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ / จ�ำนวนหุน้ สามัญทีอ่ อกจ�ำหน่ายและช�ำระเต็มมูลค่า แล้ว
91
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
รายงานของผู ้สอบบ ัญชีร ับอนุ ญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท สตาร์ส ไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2560 งบก�ำไรขาดทุนรวม งบก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและ งบกระแสเงินสดรวม ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน และหมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชี ที่ส�ำคัญ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสด ส�ำหรับ ปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะของ บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรค ความรับผิดชอบ ของผู ้ ส อบบั ญ ชี ต ่ อ การตรวจสอบงบการเงิ น ในรายงานของ ข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระ จากกลุม่ บริษทั ตามข้อก�ำหนด จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีทกี่ �ำหนดโดยสภาวิชาชีพ บัญชี ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้า ได้ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณอื่นๆ ตามที่ระบุในข้อ ก�ำหนดนั้นด้วย ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้า ได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความ เห็นของข้าพเจ้า เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ เรือ่ งส�ำคัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งต่างๆ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญทีส่ ดุ ตาม ดุลยพินจิ เยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบ การเงินส�ำหรับงวดปัจจุบนั ข้าพเจ้าได้น�ำเรือ่ งเหล่านีม้ าพิจารณา ในบริบทของการตรวจสอบ งบการเงินโดยรวมและในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยก ต่างหากส�ำหรับเรื่องเหล่านี้
ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้ในวรรค ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบ งบการเงินใน รายงานของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่อง เหล่านีด้ ว้ ย การปฏิบตั งิ านของข้าพเจ้าได้รวมวิธกี ารตรวจสอบที่ ออกแบบมาเพื่อตอบสนองต่อการประเมินความเสี่ยงจากการ แสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมวิธีการตรวจสอบ ส�ำหรับเรื่องเหล่านี้ด้วย ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น ของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม เรือ่ งส�ำคัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธกี ารตรวจสอบส�ำหรับแต่ละ เรื่องมีดังต่อไปนี้ การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายและบริการถือเป็นรายการทีม่ สี าระส�ำคัญต่อ งบการเงิน และจ�ำนวนรายได้ที่บันทึกในบัญชีจะส่งผลกระทบ โดยตรงต่อผลก�ำไรขาดทุนของบริษัทฯ นอกจากนี้บริษัทฯ มี ลูกค้าเป็นจ�ำนวนมากรายซึ่งมีเงื่อนไขทางการค้าที่แตกต่างกัน และสถานการณ์การแข่งขันในอุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ที่รุนแรงขึ้น ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงเกี่ยวกับมูลค่า และระยะเวลาในการรับรู้รายได้ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบการรับรู้รายได้ของบริษัทฯ โดยการ • ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ที่ เกี่ยวข้องกับวงจรรายได้โดยการสอบถามผู้รับผิดชอบ ท�ำความ เข้าใจและเลือกตัวอย่างมาสุม่ ทดสอบการปฏิบตั ติ ามการควบคุม ที่บริษัทฯ ออกแบบไว้ • สุม่ ตัวอย่างรายการขายและบริการเพือ่ ตรวจสอบความถูกต้อง และเหมาะสมของการรับรู้รายได้ว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่ตกลง กันระหว่างบริษัทฯ กับลูกค้า และสอดคล้องกับนโยบายการรับ รู้รายได้ของบริษัทฯ • สุม่ ตรวจสอบเอกสารประกอบรายการขายทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่าง ปีและช่วงใกล้สิ้นรอบระยะเวลาบัญชี • สอบทานใบลดหนีท้ บี่ ริษทั ฯ ออกภายหลังวันสิน้ รอบระยะเวลา บัญชี
92
วิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บข้ อ มู ล บั ญ ชี ร ายได้ แ บบแยกย่ อ ย (Disaggregated data) เพื่อหาความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นของ การรับรู้รายการขายตลอดรอบระยะเวลาบัญชี โดยเฉพาะ รายการบัญชีที่ท�ำผ่านใบส�ำคัญทั่วไป ลูกหนี้การค้า ตามที่เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 8 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีลูกหนี้การค้าที่ค้างช�ำระมากกว่า 12 เดือนเป็นจ�ำนวน 299 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 50 ของ ยอดรวมของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้บนั ทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญไว้เป็นจ�ำนวน 357 ล้านบาท การ ประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้การค้าต้องอาศัย ดุลยพินิจของฝ่ายบริหารค่อนข้างมากในการพิจารณาข้อสมมติ ทีใ่ ช้ใน การประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ส�ำหรับลูก หนีท้ คี่ า้ งช�ำระเป็นระยะเวลานาน ซึง่ พิจารณาจากประสบการณ์ การเก็ บ เงิ น การวิ เ คราะห์ อ ายุ ห นี้ สภาพเศรษฐกิ จ และ อุตสาหกรรม ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความเสี่ยงในการรับรู้ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญของลูกหนี้การค้า ข้าพเจ้าได้ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของบ ริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูก หนี้โดยการสอบถามผู้รับผิดชอบ และท�ำความเข้าใจระบบการ ควบคุมทีอ่ อกแบบไว้ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ประเมินความเหมาะ สมของข้อสมมติทฝี่ า่ ยบริหารใช้ในการพิจารณาค่าเผือ่ หนีส้ งสัย จะสูญดังนี้ • ท�ำความเข้าใจเกณฑ์ทใี่ ช้ในการพิจารณาค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ของลูกหนีก้ ารค้า และสอบทานความสมำ�่ เสมอของการใช้เกณฑ์ ดังกล่าว และเหตุผลส�ำหรับการรับรู้ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของ ลูกหนี้การค้าแบบเฉพาะเจาะจง • วิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บข้ อ มู ล ระยะเวลาค้ า งช�ำระและการ เคลื่อนไหวของลูกหนี้การค้าเพื่อระบุถึงกลุ่มลูกหนี้ที่มีข้อบ่งชี้ว่า มีการเก็บเงินได้ช้ากว่าปกติ • สอบทานรายการการรับช�ำระหนีจ้ ากลูกหนีภ้ ายหลังวันทีใ่ นงบ การเงิน สินค้าคงเหลือ การประมาณการมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับของสินค้าคงเหลือ ตามทีเ่ ปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9 ต้องอาศัย ดุลยพินิจของฝ่ายบริหารค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ประมาณการค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือส�ำหรับ สินค้าที่ล้าสมัยหรือเสื่อมสภาพซึ่งขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ในราย ละเอียดเกี่ยวกับวงจรอายุของสินค้า การแข่งขันทางการตลาด
รายงานประจ�ำปี 2560
สภาพเศรฐกิจและอุตสาหกรรม ซึง่ อาจท�ำให้เกิดความเสีย่ งเกีย่ ว กับมูลค่าของค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ อย่างไร ก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ ได้บันทึกค่าเผื่อ การลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 247 ล้านบาท เพื่อ สะท้อนถึงมูลค่าสุทธิที่จะได้รับของสินค้าคงเหลือ ข้าพเจ้าได้ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของบ ริษัทฯ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า สินค้าคงเหลือโดยการสอบถามผู้รับผิดชอบ และท�ำความเข้าใจ ระบบการควบคุมที่ออกแบบไว้นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ประเมิน ความเหมาะสมของข้อสมมติที่ฝ่ายบริหารใช้ในการพิจารณาค่า เผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือดังนี้ • ท�ำความเข้าใจเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาค่าเผื่อการลดลงของ มูลค่าสินค้าคงเหลือ รวมถึงสอบทานความสม�่ำเสมอของการใช้ เกณฑ์ดังกล่าว และเหตุผลส�ำหรับการรับรู้ค่าเผื่อการลดลงของ มูลค่าสินค้าคงเหลือแบบเฉพาะเจาะจง • วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลระยะเวลาการถือครองและการ เคลือ่ นไหวของสินค้าคงเหลือเพือ่ ระบุถงึ กลุม่ สินค้าทีม่ ขี อ้ บ่งชีว้ า่ มีการหมุนเวียนของสินค้าที่ช้ากว่าปกติ • วิเคราะห์เปรียบเทียบจ�ำนวนเงินสุทธิที่กิจการได้รับจากการ ขายสินค้าภายหลังวันที่ในงบการเงินกับราคาทุนของสินค้าคง เหลือแต่ละกลุ่มสินค้า ข้อมูลอื่น บริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อข้อมูลอืน่ ซึง่ รวมถึงข้อมูลทีร่ วมอยูใ่ น รายงานประจ�ำปีของกลุ่มบริษัท (แต่ไม่รวมถึง งบการเงินและ รายงานของผู้สอบบัญชีที่แสดงอยู่ในรายงานนั้น) ซึ่งคาดว่าจะ ถูกจัดเตรียมให้กับข้าพเจ้าภายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบ บัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอืน่ และ ข้าพเจ้าไม่ได้ให้ขอ้ สรุปในลักษณะการให้ความเชือ่ มัน่ ในรูปแบบ ใดๆ ต่อข้อมูลอื่นนั้น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการ เงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่นนั้นมีความขัดแย้งที่มี สาระส�ำคัญกับงบการเงินหรือกับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจ สอบของข้าพเจ้าหรือไม่ หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อ เท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจ�ำปีของกลุ่มบริษัทตามที่กล่าว ข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จ จริงอันเป็นสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าจะสือ่ สารเรือ่ งดังกล่าวให้ผมู้ หี น้า
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ที่ในการก�ำกับดูแลทราบเพื่อให้มีการด�ำเนินการแก้ไขที่เหมาะ สมต่อไป ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแล ต่องบการเงิน ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดท�ำและน�ำเสนองบการเงิน เหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการ เงิ น และรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายในที่ ผู ้ บ ริ ห าร พิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำ งบการเงินที่ปราศจาก การแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่วา่ จะเกิด จากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการจัดท�ำงบการเงิน ผูบ้ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความ สามารถของกลุ่มบริษัทในการด�ำเนินงานต่อเนื่อง การเปิดเผย เรื่องที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานต่อเนื่องในกรณีที่มีเรื่องดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชีส�ำหรับกิจการที่ด�ำเนินงานต่อเนื่อง เว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทหรือหยุดด�ำเนิน งานหรือไม่สามารถด�ำเนินงานต่อเนื่องอีกต่อไปได้ ผู ้ มี ห น้ า ที่ ใ นการก�ำกั บ ดู แ ลมี ห น้ า ที่ ใ นการสอดส่ อ งดู แ ล กระบวนการในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัท ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่น อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิด จากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผูส้ อบบัญชี ซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุ สมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกัน ว่ า การปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบั ญ ชี จ ะ สามารถตรวจพบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญทีม่ ี อยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริต หรือข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระส�ำคัญเมื่อคาดการณ์อย่างสม เหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุก รายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบ การเงินจากการใช้งบการเงินเหล่านี้
93
สอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการ สอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จ จริงอันเป็นสาระส�ำคัญซึง่ เป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความ เสีย่ งทีเ่ กิดจากข้อผิดพลาด เนือ่ งจากการทุจริตอาจเกีย่ วกับการ สมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้น การแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลทีไ่ ม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการ แทรกแซงการควบคุมภายใน • ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับ การตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ ความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และ • ความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดท�ำ สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีส�ำหรับ กิจการที่ด�ำเนินงานต่อเนื่องของผู้บริหาร และสรุปจากหลักฐาน การสอบบัญชีที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญที่เกี่ยว กับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ทอี่ าจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่าง มีนยั ส�ำคัญต่อความสามารถของกลุม่ บริษทั ในการด�ำเนินงานต่อ เนือ่ งหรือไม่ หากข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนทีม่ สี าระ ส�ำคัญ ข้าพเจ้าจะต้องให้ข้อสังเกตไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี ของข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบการเงิน หรือ หากเห็นว่าการเปิดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดง ความเห็นที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึ้นอยู่กับหลัก ฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชี ของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคต อาจเป็นเหตุให้กลุ่มบริษัทต้องหยุดการด�ำเนินงานต่อเนื่องได้ ประเมินการน�ำเสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินโดย รวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่า งบการเงินแสดงรายการและเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ โดยถูกต้องตาม ที่ควรหรือไม่
ในการตรวจสอบของข้ า พเจ้ า ตามมาตรฐานการสอบบั ญ ชี ข้าพเจ้าใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยง ผู้ประกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านดังต่อไปนี้ ด้วย
รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอย่างเพียงพอ เกีย่ วกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรือของกิจกรรมทางธุรกิจ ภายในกลุม่ บริษทั เพือ่ แสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้า รับผิดชอบต่อการก�ำหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการ ปฏิบตั งิ านตรวจสอบกลุม่ บริษทั ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบแต่เพียง ผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า
• ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อ เท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการ ทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั งิ านตามวิธกี ารตรวจ
ข้าพเจ้าได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลในเรือ่ งต่างๆ ซึง่ รวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามทีไ่ ด้วางแผน ไว้ ประเด็ น ที่ มี นั ย ส�ำคั ญ ที่ พ บจากการตรวจสอบรวมถึ ง ข้ อ
94
บกพร่องทีม่ นี ยั ส�ำคัญในระบบการควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้ พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้ค�ำรับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลว่าข้าพเจ้า ได้ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็น อิสระและได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลเกีย่ วกับความ สัมพันธ์ทั้งหมดตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่ บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็นอิสระของ ข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาด ความเป็นอิสระ จากเรือ่ งทัง้ หลายทีส่ อื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแล ข้าพเจ้า ได้พจิ ารณาเรือ่ งต่างๆ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญทีส่ ดุ ในการตรวจสอบงบการ เงินในงวดปัจจุบันและก�ำหนดเป็นเรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้น แต่กฎหมายหรือข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อ สาธารณะ หรื อ ในสถานการณ์ ที่ ย ากที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ข้ า พเจ้ า พิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้า เพราะการกระท�ำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสม ผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ทผี่ มู้ สี ว่ นได้ เสียสาธารณะจะได้จากการสื่อสารดังกล่าว ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบงานสอบบัญชีและการน�ำเสนอรายงาน ฉบับนี้
เติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4501 บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 22 กุมภาพันธ์ 2561
รายงานประจ�ำปี 2560
95
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
งบการเงินรวม 2560 2559
หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
7 8 9
75,038,271 243,087,809 246,178,287 21,617,668 585,922,035
10,894,490 638,977,986 418,426,425 26,318,106 1,094,617,007
64,205,946 239,472,181 246,178,287 21,533,146 571,389,560
1,098,887 629,027,108 417,005,400 26,184,050 1,073,315,445
10 11 12 23
2,257,911,932 31,750,117 32,515 5,807,742 2,295,502,306 2,881,424,341
2,354,218,344 33,946,760 3,922,468 6,431,188 2,398,518,760 3,493,135,767
924,238 2,257,911,932 31,750,117 5,800,396 2,296,386,683 2,867,776,243
40,205,488 2,330,379,038 33,920,726 6,423,881 2,410,929,133 3,484,244,578
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
96
รายงานประจ�ำปี 2560
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
งบการเงินรวม 2560 2559
หมายเหตุ หนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ หนีส้ นิ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ ส่วนของเจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักรทีถ่ งึ ก�ำหนด ช�ำระภายในหนึง่ ปี ส่วนของหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงินที่ ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึง่ ปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ ก�ำหนด ช�ำระภายในหนึง่ ปี ส่วนของหุน้ กูท้ ถี่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายใน หนึง่ ปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน เจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักร - สุทธิจาก ส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ จาก ส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนด ช�ำระภายในหนึง่ ปี หุน้ กู้ - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึง่ ปี ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของ พนักงาน หนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนอืน่ รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ นิ
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
13 14
167,449,048 201,494,947
184,337,392 467,147,961
167,449,048 197,660,863
184,337,392 438,960,847
15
21,066,551
-
21,066,551
-
16
84,472,487
4,754,240
84,472,487
4,754,240
17 18
299,080,000 499,224,732
301,600,000 -
299,080,000 499,224,732
301,600,000 -
3,852,597 10,770,894 1,287,411,256
6,197,886 964,037,479
10,324,706 1,279,278,387
4,730,607 934,383,086
15
6,282,164
-
6,282,164
-
16
132,368,296
15,390,420
132,368,296
15,390,420
17 18
174,900,000 -
199,000,000 497,596,052
174,900,000 -
199,000,000 497,596,052
19
48,357,845
39,543,203
47,984,129
39,274,953
23
7,143,033 7,143,033 7,143,033 7,143,033 541,648 208,468 541,648 208,468 369,592,986 758,881,176 369,219,270 758,612,926 1,657,004,242 1,722,918,655 1,648,497,657 1,692,996,012
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
97
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
งบการเงินรวม 2560 2559
หมายเหตุ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 1,020,771,159 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนออกจ�ำหน่ายและช�ำระเต็มมูลค่า แล้ว หุน้ สามัญ 836,475,966 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส�ำรองส่วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร (ขาดทุนสะสม) องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ส่วนเกินทุนจากการเปลีย่ นแปลง สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ย่อย ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจ ควบคุมของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้
1,020,771,159
1,020,771,159
1,020,771,159
1,020,771,159
836,475,966
836,475,966
836,475,966
836,475,966
927,953,033 13,187,243
927,953,033 8,794,425
927,953,033 13,187,243
927,953,033 8,794,425
79,300,000 (664,302,716)
79,300,000 (115,174,528)
79,300,000 (666,209,789)
79,300,000 (89,846,991)
28,572,133
28,572,133
28,572,133
28,572,133
671,619 1,221,857,278 2,562,821
671,619 1,766,592,648 3,624,464
1,219,278,586 -
1,791,248,566 -
1,224,420,099 2,881,424,341
1,770,217,112 3,493,135,767
1,219,278,586 2,867,776,243
1,791,248,566 3,484,244,578
20
21
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
98
รายงานประจ�ำปี 2560
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
งบก�ำไรขาดทุน
ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
งบการเงินรวม 2560 รายได้ รายได้จากการขายและบริการ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น รายได้จากการจ�ำหน่ายเศษซาก รายได้อนื่ รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ย ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร หนีส้ งสัยจะสูญและหนีส้ ญ ู ขาดทุนจากการด้อยค่าของอุปกรณ์ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน รวมค่าใช้จา่ ย ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินและ ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนทีเ่ ป็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม ของบริษทั ย่อย
2559
1,853,763,037 22,069,214 25,626,353 1,901,458,604
3,532,849,603 41,182,360 15,956,825 8,376,924 3,598,365,712
1,790,489,387 22,069,214 25,543,925 1,838,102,526
3,468,019,381 30,806,453 15,956,825 9,513,244 3,524,295,903
1,781,473,120 66,531,096 213,693,269 302,394,706 17,121,973 2,381,214,164 (479,755,560)
3,240,076,535 62,865,076 170,396,536 55,683,583 3,529,021,730 69,343,982
1,780,768,306 32,493,569 197,054,826 302,394,706 39,281,250 2,351,992,657 (513,890,131)
3,220,519,458 33,317,119 157,077,763 55,683,583 5,718,750 3,472,316,673 51,979,230
(59,245,519) (539,001,079) (7,945,955) (546,947,034)
(45,085,543) 24,258,439 (8,613,931) 15,644,508
(59,245,519) (573,135,650) (573,135,650)
(45,085,543) 6,893,687 6,893,687
(545,889,304)
12,952,564
(573,135,650)
6,893,687
(1,057,730) (546,947,034)
2,691,944 15,644,508
(0.653)
0.015
(0.685)
0.008
(0.653)
0.015
(0.685)
0.008
ก�ำไรต่อหุน้ ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน ก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของ บริษทั ฯ ก�ำไรต่อหุน้ ปรับลด ก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของ บริษทั ฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
99
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ ดเสร็ จ
ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (573,135,650) 6,893,687
2560 (546,947,034)
2559 15,644,508
(3,242,797)
-
(3,227,148)
-
(3,242,797)
-
(3,227,148)
-
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
(550,189,831)
15,644,508
(576,362,798)
6,893,687
การแบ่งปันก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนทีเ่ ป็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม ของบริษทั ย่อย
(549,128,188) (1,061,643)
12,952,564 2,691,944
(576,362,798)
6,893,687
(550,189,831)
15,644,508
ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ : รายการทีจ่ ะไม่ถกู บันทึกในส่วนของก�ำไรหรือ ขาดทุนในภายหลัง ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ส�ำหรับปี
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
100
รายงานประจ�ำปี 2560
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
งบกระแสเงินสด
ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560
กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษี รายการปรับกระทบก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย หนีส้ งสัยจะสูญและหนีส้ ญ ู ตัดจ�ำหน่ายภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ย ขาดทุน (ก�ำไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน การปรับลดสินค้าคงเหลือเป็นมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั ขาดทุนจากการด้อยค่าของอุปกรณ์ ตัดจ�ำหน่ายเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ค่าเสียหายของสินทรัพย์สว่ นทีเ่ กินกว่าเงินชดเชยจากการ ประกันภัย ขาดทุนจากการลดลงของมูลค่าของสินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์หมุนเวียน ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ส�ำรองส่วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ ค่าตัดจ�ำหน่ายค่าใช้จา่ ยในการออกหุน้ กู้ ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ด�ำเนินงาน สินทรัพย์ดำ� เนินงาน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ ด�ำเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนอืน่ จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน เงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน เงินสดรับค่าชดเชยความเสียหายของสินทรัพย์จากการ ประกันภัย จ่ายดอกเบีย้ จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559
2560
2559
(539,001,079)
24,258,439
(573,135,650)
6,893,687
384,304,324 302,394,706 501,494 9,546,233 (2,517,253) 184,022,968 17,121,973 38,037 1,903,117
346,278,379 55,683,583 436,813 (1,344,294) (673,996) 56,871,010 30,478 -
380,221,028 302,394,706 501,494 9,763,526 (2,517,253) 39,281,250 182,832,526 38,037 1,903,117
341,864,468 55,683,583 436,813 (2,862) (673,996) 5,718,750 56,421,618 30,478 -
8,256,631 1,319,555 8,380,512 4,392,818 1,628,680 55,066,839
7,656,668 8,794,425 851,455 44,234,088
8,256,631 1,319,555 8,290,695 4,392,818 1,628,680 55,066,839
7,572,602 8,794,425 851,455 44,234,088
437,359,555
543,077,048
420,237,999
527,825,109
85,276,381 (29,578,704) (4,875,747) 250,634
44,550,825 33,010,799 22,699,419 (3,392,499)
78,864,960 (29,809,287) (4,925,282) 250,634
56,501,059 33,176,115 22,761,804 (3,392,499)
(38,395,941) 4,321,296 333,180 (2,808,667) 451,881,987 9,861,159
(188,585,705) 1,511,440 (4,556,184) 448,315,143 -
(14,184,032) 5,342,388 333,180 (2,808,667) 453,301,893 9,861,159
(179,823,262) 104,451 (4,556,184) 452,596,593 -
(54,905,772) (332,086) 406,505,288
(43,430,872) (152,331) 404,731,940
(54,905,772) (128,643) 408,128,637
(43,430,872) (152,035) 409,013,686
101
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
งบกระแสเงินสด (ต่อ)
ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560
(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเจ้าหนีค้ า่ ซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ซือ้ เครือ่ งจักร อุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินลดลง เงินสดรับสุทธิจากหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน ช�ำระคืนหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน ช�ำระคืนเจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักร เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาว ช�ำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาว เงินสดรับสุทธิจากการออกหุน้ กู้ เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิม่ เติม รายการทีไ่ ม่ใช่เงินสด รายการซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทยี่ งั ไม่ได้จา่ ยช�ำระ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทไี่ ด้มาภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน รายการโอนสินค้าคงเหลือเป็นอุปกรณ์ รายการโอนเจ้าหนีค้ า่ ซือ้ เครือ่ งจักรเป็น เจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักร หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
2559
(193,477,519) (366,448,339) 90,092,738 (469,833,120)
(77,955,622) (374,295,155) 2,702,231 (449,548,546)
(193,477,519) (369,108,410) 90,092,738 (472,493,191)
(77,955,622) (374,219,570) 2,702,231 (449,472,961)
(16,888,344) 246,273,507 (49,577,384) (25,716,166) 300,000,000 (326,620,000) 127,471,613 64,143,781
(425,102,084) (4,325,766) 200,000,000 (226,600,000) 496,744,597 40,716,747 (4,099,859)
(16,888,344) 246,273,507 (49,577,384) (25,716,166) 300,000,000 (326,620,000) 127,471,613 63,107,059
(425,102,084) (4,325,766) 200,000,000 (226,600,000) 496,744,597 40,716,747 257,472
10,894,490 75,038,271 -
14,994,349 10,894,490 -
1,098,887 64,205,946 -
841,415 1,098,887 -
33,764,487 7,961,204
242,719,531 4,951,301 -
33,764,487 7,961,204
242,719,531 4,951,301 -
55,691,997
-
55,691,997
-
-
-
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
การจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ (หมายเหตุ 20)
-
-
-
-
-
836,475,966
ขาดทุนส�ำหรับปี
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ส�ำหรับปี
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
การจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ (หมายเหตุ 20)
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
927,953,033
836,475,966
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560
927,953,033
-
-
-
927,953,033
-
836,475,966
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
-
-
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ส�ำหรับปี
-
927,953,033
-
836,475,966
ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ สามัญ
ก�ำไรส�ำหรับปี
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559
ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อก และชำ�ระแล้ว
ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559
-
-
-
-
13,187,243
4,392,818
-
-
-
8,794,425
8,794,425
8,794,425
สำ�รองส่วนทุนจาก การจำ�หน่ายโดย ใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู ้ถือหุ ้น
79,300,000
-
-
-
-
79,300,000
79,300,000
-
-
-
-
79,300,000
จัดสรรแล้ว - สำ�รองตาม กฎหมาย
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ
งบการเงินรวม
(664,302,716)
-
(549,128,188)
(3,238,884)
(545,889,304)
(115,174,528)
(115,174,528)
-
12,952,564
-
12,952,564
(128,127,092)
ยังไม่ได้จดั สรร (ขาดทุนสะสม)
กำ�ไรสะสม
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
28,572,133
-
-
-
-
28,572,133
28,572,133
-
-
-
-
28,572,133
ส่วนเกินทุนจาก การตีราคาทีด่ นิ
กำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอืน่
671,619
-
-
-
-
671,619
671,619
-
-
-
-
671,619
ส่วนเกินทุนจาก การเปลีย่ นแปลง สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ย่อย
29,243,752
-
-
-
-
29,243,752
29,243,752
-
-
-
-
29,243,752
รวม องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของ ผูถ้ อื หุน้
องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้
1,221,857,278
4,392,818
(549,128,188)
(3,238,884)
(545,889,304)
1,766,592,648
1,766,592,648
8,794,425
12,952,564
-
12,952,564
1,744,845,659
รวม ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ
2,562,821
-
(1,061,643)
(3,913)
(1,057,730)
3,624,464
3,624,464
-
2,691,944
-
2,691,944
932,520
ส่วนของ ผูม้ สี ว่ นได้เสียที่ ไม่มอี ำ�นาจควบคุม ของบริษทั ย่อย
1,224,420,099
4,392,818
(550,189,831)
(3,242,797)
(546,947,034)
1,770,217,112
-
1,770,217,112
8,794,425
15,644,508
-
15,644,508
1,745,778,179
รวม ส่วนของผูถ้ อื หุน้
(หน่วย: บาท)
102 รายงานประจ�ำปี 2560
836,475,966 836,475,966
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ขาดทุนส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี การจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ (หมายเหตุ 20) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้
927,953,033
836,475,966 927,953,033 927,953,033
927,953,033 -
ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ สามัญ
836,475,966 -
ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อก และชำ�ระแล้ว
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี การจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ (หมายเหตุ 20) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู ้ถือหุ ้น (ต่อ)
8,794,425 4,392,818 13,187,243
8,794,425
8,794,425
สำ�รองส่วนทุน จากการจำ�หน่าย โดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์
79,300,000 79,300,000
79,300,000
79,300,000 -
(89,846,991) (573,135,650) (3,227,148) (576,362,798) (666,209,789)
(89,846,991)
(96,740,678) 6,893,687 6,893,687 -
ยังไม่ได้จดั สรร (ขาดทุนสะสม)
กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำ�รองตาม กฎหมาย
งบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย
28,572,133 28,572,133
28,572,133
28,572,133 -
28,572,133 28,572,133
28,572,133
28,572,133 -
องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ กำ�ไรขาดทุน รวม เบ็ดเสร็จอืน่ องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของ ส่วนเกินทุนจาก ผูถ้ อื หุน้ การตีราคาทีด่ นิ
1,791,248,566 (573,135,650) (3,227,148) (576,362,798) 4,392,818 1,219,278,586
1,791,248,566 -
1,775,560,454 6,893,687 6,893,687 8,794,425
รวม ส่วนของผูถ้ อื หุน้
(หน่วย: บาท)
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
103
104
รายงานประจ�ำปี 2560
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย ้ ดว ันที่ 31 ธ ันวาคม 2560 หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม ส�ำหร ับปี สินสุ 1. ข ้อมูลทว่ ั ไป
2. เกณฑ์ในการจ ัดท�ำงบการเงิน
1.1 ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั ฯ
2.1 งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ ก�ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดง รายการในงบการเงินตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการ ค้าลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ าร บัญชี พ.ศ. 2543
บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ ”) เป็นบริษทั มหาชนซึง่ จัดตัง้ และมีภมู ลิ ำ� เนา ในประเทศไทย โดยมีกลุม่ ครอบครัวไชยกุลเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ธุ ร กิ จ หลั ก ของบริ ษั ท ฯ คื อ การผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยแผงวงจร อิเล็กทรอนิกส์ ทีอ่ ยูต่ ามทีจ่ ดทะเบียนของบริษทั ฯ อยูท่ ี่ 586 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1.2 การด�ำเนินงานต่อเนือ่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีหนีส้ นิ หมุนเวียนสูงกว่า สินทรัพย์หมุนเวียนเป็นจ�ำนวน 701 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 708 ล้านบาท) และขาดทุนสะสมจ�ำนวน 664 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: ขาดทุนสะสม 666 ล้านบาท) อย่างไรก็ตามเนือ่ งจากบริษทั ฯ มี แผนธุรกิจในอนาคตอย่างชัดเจนมัน่ ใจว่าจะสามารถสร้างผลก�ำไรที่ ดีในอนาคตได้ในระยะอันสัน้ และมีวงเงินสินเชือ่ ทีย่ งั ไม่ได้ใช้เหลือ อยูจ่ ำ� นวนมากเพียงพอส�ำหรับการน�ำมาใช้ชำ� ระหนีส้ นิ หมุนเวียน ประกอบกับกิจการยังมีกระแสเงินสดรับจากการด�ำเนินงานอย่างต่อ เนือ่ ง ดังนัน้ งบการเงินนีจ้ งึ ยังคงจัดท�ำขึน้ ภายใต้หลักการด�ำเนิน งานต่อเนือ่ งของกิจการ
ชือ่ บริษทั
งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯ ใช้เป็น ทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการ เงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนีไ้ ด้จดั ท�ำขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผย เป็นอย่างอืน่ ในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนีไ้ ด้จดั ท�ำขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) (ซึง่ ต่อไปนี้ เรียกว่า “บริษทั ฯ ”) และบริษทั ย่อย (ซึง่ ต่อไปนีเ้ รียกว่า “บริษทั ย่อย”) ดังต่อไปนี้
ลักษณะธุรกิจ
Stars Microelectronics USA, Inc. ธุรกิจขายสินค้า บริษทั เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ ผลิตและจ�ำหน่ายอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการผลิตไฟฟ้าด้วย จ�ำกัด พลังงานแสงอาทิตย์หรือพลังงานทดแทนอืน่ รวมทัง้ ผลิตและจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสง อาทิตย์หรือพลังงานทดแทนอืน่ บริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่าย อาร์เอฟไอดี แท็ค (RFID Tags: Radio Frequency Identification Tags) ข) บริษทั ฯ จะถือว่ามีการควบคุมกิจการทีเ่ ข้าไปลงทุนหรือบริษทั ย่อยได้ หากบริษทั ฯ มีสทิ ธิได้รบั หรือมีสว่ นได้เสียในผลตอบแทน ของกิจการที่เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อ�ำนาจในการสั่งการ กิจกรรมทีส่ ง่ ผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อจ�ำนวนเงินผลตอบแทน นัน้ ได้
จัดตัง้ ขึน้ ใน ประเทศ สหรัฐอเมริกา ไทย
ไทย
อัตราร้อยละ ของการถือหุน้ 2560 2559 ร้อยละ ร้อยละ 59 59 99 99
75
75
ค) บริษทั ฯ น�ำงบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการ เงินรวมตัง้ แต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ มีอำ� นาจในการควบคุมบริษทั ย่อยจนถึง วันทีบ่ ริษทั ฯ สิน้ สุดการควบคุมบริษทั ย่อยนัน้
105
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ง) งบการเงินของบริษทั ย่อยได้จดั ท�ำขึน้ โดยใช้นโยบายการบัญชีที่ ส�ำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษทั ฯ จ) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้กำ� หนดให้สกุลเงินบาทเป็นสกุลเงินที่ ใช้ในการด�ำเนินงาน ซึง่ รวมทัง้ บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ในต่างประเทศ เนือ่ งจากธุรกรรมของบริษทั ย่อยดังกล่าวเป็นส่วนขยายของบริษทั ฯ มากกว่าทีจ่ ะเป็นการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นเอกเทศอย่างมีนยั ส�ำคัญ ฉ) ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่าง กันทีม่ สี าระส�ำคัญได้ถกู ตัดออกจากงบการเงินรวมนีแ้ ล้ว ช) ส่วนของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม คือ จ�ำนวนก�ำไรหรือ ขาดทุนและสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยส่วนทีไ่ ม่ได้เป็นของบริษทั ฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนรวม และส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม
ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยเชือ่ ว่ามาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับปรับปรุงจะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อ งบการเงินเมือ่ น�ำมาถือปฏิบตั ิ 4. นโยบายการบ ัญชีที่ส�ำค ัญ
4.1 การรับรูร้ ายได้ ขายสินค้า รายได้จากการขายสินค้ารับรูเ้ มือ่ บริษทั ฯ ได้โอนความเสีย่ งและผล ตอบแทนทีเ่ ป็นนัยส�ำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้าให้กบั ผูซ้ อื้ แล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบก�ำกับสินค้าโดยไม่รวม ภาษีมลู ค่าเพิม่ ส�ำหรับสินค้าทีไ่ ด้สง่ มอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว
2.3 บริษทั ฯ จัดท�ำงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนใน บริษทั ย่อยตามวิธรี าคาทุน
รายได้คา่ บริการ รายได้คา่ บริการรับรูเ้ มือ่ ได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขัน้ ความ ส�ำเร็จของงาน
3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่
ดอกเบีย้ รับ ดอกเบีย้ รับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยค�ำนึงถึงอัตราผล ตอบแทนทีแ่ ท้จริง
ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ ริม่ มีผลบังคับใช้ในปีปจั จุบนั ในระหว่างปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้นำ� มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับ ปรับปรุง (ปรับปรุง 2559) รวมถึงแนวปฏิบตั ทิ างบัญชีฉบับใหม่ ซึง่ มีผลบังคับใช้สำ� หรับงบการเงินทีม่ รี อบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินดังกล่าวได้รบั การปรับปรุงหรือจัดให้มขี นึ้ เพือ่ ให้มเี นือ้ หา เท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดย ส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงถ้อยค�ำและค�ำศัพท์ การตีความและการ ให้แนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีกบั ผูใ้ ช้มาตรฐาน การน�ำมาตรฐานการ รายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบตั นิ ไี้ ม่มผี ลกระทบอย่างเป็น สาระส�ำคัญต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีจ่ ะมีผลบังคับใช้ในอนาคต ในระหว่างปีปจั จุบนั สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการ รายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการ เงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2560) จ�ำนวนหลายฉบับ ซึง่ มีผล บังคับใช้สำ� หรับงบการเงินทีม่ รี อบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2561 มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าว ได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่ เป็นการปรับปรุงและอธิบายให้ชดั เจนเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝาก ธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง ซึง่ ถึงก�ำหนดจ่าย คืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันทีไ่ ด้มา และไม่มขี อ้ จ�ำกัดในการเบิกใช้ 4.3 ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ แสดงมูลค่าตามจ�ำนวนมูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้ รับ บริษทั ฯ บันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญส�ำหรับผลขาดทุนโดย ประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนีไ้ ม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไป พิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ 4.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าส�ำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุนหรือ มูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า ราคาทุนดังกล่าววัด มูลค่าตามวิธีต้นทุนมาตรฐานซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนจริง และ ประกอบด้วยต้นทุนวัตถุดบิ แรงงานและค่าโสหุย้ ในการผลิต วัตถุดบิ อะไหล่และวัสดุสนิ้ เปลืองแสดงมูลค่าตามราคาทุน (ตามวิธถี วั เฉลีย่ ) หรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า และจะถือเป็นส่วน หนึง่ ของต้นทุนการผลิตเมือ่ มีการเบิกใช้
106
รายงานประจ�ำปี 2560
4.5 เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษทั ย่อยทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการแสดง มูลค่าตามวิธรี าคาทุนสุทธิจาก ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน บริษทั ฯ ใช้วธิ ถี วั เฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักในการค�ำนวณต้นทุนของเงินลงทุน เมือ่ มีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิง่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ด้รบั กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในส่วนของก�ำไรหรือ ขาดทุน 4.6 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสือ่ มราคา ทีด่ นิ แสดงมูลค่าตามราคาทีต่ ใี หม่ อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่า ตามราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าของ สินทรัพย์ บริษทั ฯ บันทึกมูลค่าเริม่ แรกของทีด่ นิ ในราคาทุน ณ วันทีไ่ ด้มา หลัง จากนัน้ บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประเมินราคาทีด่ นิ โดยผูป้ ระเมินราคา อิสระและบันทึกทีด่ นิ ดังกล่าวในราคาทีต่ ใี หม่ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ จัดให้มี การประเมินราคาทีด่ นิ ดังกล่าวเป็นครัง้ คราวเพือ่ มิให้ราคาตามบัญชี ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงานแตกต่างจากมูลค่ายุตธิ รรมอย่างมี สาระส�ำคัญ บริษทั ฯ บันทึกส่วนต่างซึง่ เกิดจากการตีราคาทีด่ นิ ดังต่อไปนี้ - บริษทั ฯ บันทึกราคาตามบัญชีของทีด่ นิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการตีราคา ใหม่ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และรับรูจ้ ำ� นวนสะสมในบัญชี “ส่วน เกินทุนจากการตีราคาทีด่ นิ ” ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ อย่างไรก็ตาม หาก สินทรัพย์นนั้ เคยมีการตีราคาลดลงและบริษทั ฯ ได้รบั รูร้ าคาทีล่ ดลง ในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนแล้ว ส่วนทีเ่ พิม่ จากการตีราคาใหม่นจี้ ะ ถูกรับรูเ้ ป็นรายได้ไม่เกินจ�ำนวนทีเ่ คยลดลงซึง่ รับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยปี ก่อนแล้ว - บริษทั ฯ รับรูร้ าคาตามบัญชีของทีด่ นิ ทีล่ ดลงจากการตีราคาใหม่ใน ส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน อย่างไรก็ตาม หากสินทรัพย์นนั้ เคยมีการ ตีราคาเพิม่ ขึน้ และยังมียอดคงค้างของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตี ราคาทีด่ นิ ” อยูใ่ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนทีล่ ดลงจากการตีราคาใหม่ จะถูกรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ในจ�ำนวนทีไ่ ม่เกินยอดคงเหลือ ของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีด่ นิ ” ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ค�ำนวณจากราคาทุนของ สินทรัพย์โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ อาคาร ส่วนปรับปรุงอาคาร เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ยานพาหนะ
20 ปี 10 ปี 5 และ 10 ปี 5 ปี
ค่าเสือ่ มราคารวมอยูใ่ นการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน ไม่มกี ารคิด ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับทีด่ นิ และสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างและติดตัง้ บริษทั ฯ ตัดรายการทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมือ่ จ�ำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจใน อนาคตจากการใช้หรือการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลก�ำไรหรือ ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ จะรับรู้ในส่วนของก�ำไรหรือ ขาดทุนเมือ่ บริษทั ฯ ตัดรายการสินทรัพย์นนั้ ออกจากบัญชี 4.7 ต้นทุนการกูย้ มื ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ใี่ ช้ในการได้มา การก่อสร้าง หรือการผลิต สินทรัพย์ทตี่ อ้ งใช้ระยะเวลานานในการแปลงสภาพให้พร้อมใช้หรือ ขาย ได้ถกู น�ำไปรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนั้ จะอยูใ่ นสภาพพร้อมทีจ่ ะใช้ได้ตามทีม่ งุ่ ประสงค์ ส่วนต้นทุนการกูย้ มื อืน่ ถือเป็นค่าใช้จา่ ยในงวดทีเ่ กิดรายการ ต้นทุนการกูย้ มื ประกอบ ด้วยดอกเบีย้ และต้นทุนอืน่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการกูย้ มื นัน้ 4.8 สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม และค่าเผือ่ การด้อยค่าสะสมของสินทรัพย์นนั้ บริษทั ฯ ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุการให้ประโยชน์ จ�ำกัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์นนั้ และ จะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดงั กล่าวเมือ่ มีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์ นัน้ เกิดการด้อยค่า บริษทั ฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัดจ�ำหน่าย และวิธกี ารตัดจ�ำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนดังกล่าวทุกสิน้ ปีเป็น อย่างน้อย ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในส่วนของก�ำไรหรือ ขาดทุน สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุการให้ประโยชน์จำ� กัดของบริษทั ฯ คือ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ ซึง่ มีอายุการให้ประโยชน์ 10 ปี 4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือ กิจการทีม่ อี ำ� นาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูกบริษทั ฯ ควบคุมไม่วา่ จะ เป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับ บริษทั ฯ นอกจากนีบ้ คุ คลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันยังหมายรวมถึงบริษทั ร่วม และบุคคลหรือกิจการทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อมซึง่ ท�ำให้มอี ทิ ธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารส�ำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษทั ฯ ทีม่ อี ำ� นาจในการวางแผนและ ควบคุมการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ
107
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
4.10 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ทคี่ วามเสีย่ งและผลตอบแทน ของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้แก่ผเู้ ช่าถือเป็นสัญญาเช่า การเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่า ยุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเี่ ช่าหรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิของจ�ำนวนเงินที่ ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มลู ค่าใดจะต�ำ่ กว่า ภาระผูกพันตาม สัญญาเช่าหักค่าใช้จา่ ยทางการเงินจะบันทึกเป็นหนีส้ นิ ระยะยาว ส่วนดอกเบีย้ จ่ายจะบันทึกในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุของ สัญญาเช่า สินทรัพย์ทไี่ ด้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสือ่ ม ราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ทเี่ ช่า สัญญาเช่าทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ทคี่ วามเสีย่ งและผลตอบแทน ของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้แก่ผเู้ ช่าถือเป็นสัญญา เช่าด�ำเนินงาน จ�ำนวนเงินทีจ่ า่ ยตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรับรูเ้ ป็น ค่าใช้จา่ ยในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตามวิธเี ส้นตรงตลอดอายุของ สัญญาเช่า 4.11 เงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นสกุล เงินบาท ซึง่ เป็นสกุลเงินทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ รายการ ต่างๆของแต่ละกิจการทีร่ วมอยูใ่ นงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุล เงินทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงานของแต่ละกิจการนัน้ รายการทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นตัวเงิน ซึง่ อยูใ่ นสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลีย่ น ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงในอัตราแลกเปลีย่ นได้ รวมอยูใ่ นการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน 4.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะท�ำการ ประเมินการด้อยค่าของทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ทไี่ ม่มี ตัวตนอืน่ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยหากมีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูข้ าดทุนจากการด้อย ค่าเมือ่ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์มมี ลู ค่าต�ำ่ กว่ามูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์นนั้ ทัง้ นีม้ ลู ค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนหมายถึง มูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการ ใช้สนิ ทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรูร้ ายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วน ของก�ำไรหรือขาดทุน ยกเว้นในกรณีทที่ ดี่ นิ ซึง่ ใช้วธิ กี ารตีราคาใหม่ และได้บนั ทึกส่วนเกินทุนจากการตีราคาใหม่ไว้ในส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ไม่เกินไปกว่าส่วน
เกินทุนจากการตีราคาทีเ่ คยบันทึกไว้ หากในการประเมินการด้อย ค่าของสินทรัพย์ มีขอ้ บ่งชีท้ แี่ สดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อย ค่าของสินทรัพย์ทรี่ บั รูใ้ นงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลง บริษทั ฯ และ บริษทั ย่อยจะประมาณมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์นนั้ และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าทีร่ บั รูใ้ นงวดก่อนก็ตอ่ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงประมาณการทีใ่ ช้กำ� หนดมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้ รับคืนภายหลังจากการรับรูผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่าครัง้ ล่าสุด โดย มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผล ขาดทุนจากการด้อยค่าต้องไม่สงู กว่ามูลค่าตามบัญชีทคี่ วรจะเป็น หากกิจการไม่เคยรับรูผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ในงวด ก่อนๆ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจาก การด้อยค่าของสินทรัพย์โดยรับรูไ้ ปยังส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนทันที เว้นแต่สนิ ทรัพย์นนั้ แสดงด้วยราคาทีต่ ใี หม่ การกลับรายการส่วนที่ เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีทคี่ วรจะเป็นถือเป็นการตีราคาสินทรัพย์เพิม่ 4.13 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสัน้ ของพนักงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูเ้ งินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบ กองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษทั ฯ บริษทั ย่อย และพนักงานได้รว่ มกันจัดตัง้ กองทุนส�ำรองเลีย้ ง ชีพ ซึง่ ประกอบด้วยเงินทีพ่ นักงานจ่ายสะสม และเงินทีบ่ ริษทั ฯ และ บริษทั ย่อยจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรอง เลีย้ งชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เงิน ทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพบันทึก เป็นค่าใช้จา่ ยในปีทเี่ กิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีภาระส�ำหรับเงินชดเชยทีต่ อ้ งจ่ายให้แก่ พนักงานเมือ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงานซึง่ บริษทั ฯ และ บริษทั ย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลัง ออกจากงานส�ำหรับพนักงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยค�ำนวณหนีส้ นิ ตามโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ อิสระได้ทำ� การประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยส�ำหรับโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของ พนักงานจะรับรูท้ นั ทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่
108
4.14 ประมาณการหนีส้ นิ
รายงานประจ�ำปี 2560
บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชีทกุ สิน้ รอบระยะเวลารายงานและจะท�ำการปรับ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ไว้ในบัญชีเมือ่ ลดมูลค่าตามบัญชีดงั กล่าว หากมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ บริษทั ฯ ภาระผูกพันซึง่ เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึน้ แล้ว และมี และบริษทั ย่อยจะไม่มกี ำ� ไรทางภาษีเพียงพอต่อการน�ำสินทรัพย์ภาษี ความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะเสีย เงินได้รอการตัดบัญชีทงั้ หมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพือ่ ปลดเปลือ้ งภาระผูกพันนัน้ และบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนัน้ ได้อย่างน่าเชือ่ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรง ถือ ไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้ บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ 4.15 การจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณท์ทชี่ ำ� ระด้วยตราสารทุน 4.17 สัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า บริษทั ฯ รับรูโ้ ครงการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์เมือ่ ได้รบั บริการจาก พนักงานตามมูลค่ายุตธิ รรมของสิทธิซอื้ หุน้ ณ วันให้สทิ ธิ โดยบันทึก ลูกหนีแ้ ละเจ้าหนีต้ ามสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูก เป็นค่าใช้จา่ ยตามเงือ่ นไขของระยะเวลาการให้บริการของพนักงานที่ แปลงค่าตามอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน ก�ำไร ก�ำหนดไว้ในโครงการพร้อมกับรับรู้ “ส�ำรองส่วนทุนจากการจ่ายโดย ขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะ ใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์” ใน ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ถูกบันทึกในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนเกินหรือส่วนลดทีเ่ กิดขึน้ จากการท�ำสัญญาจะถูกตัดจ�ำหน่ายด้วยวิธเี ส้นตรงตามอายุของสัญญา ในการประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ดงั กล่าว ฝ่ายบริหารต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการวัดมูลค่า รวมทัง้ สมมติฐาน 4.18 การวัดมูลค่ายุตธิ รรม ต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสม เช่น อายุของสิทธิซอื้ หุน้ ความผันผวนของราคา หุน้ อัตราเงินปันผล และอัตราดอกเบีย้ ปลอดความเสีย่ ง เป็นต้น มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง ราคาทีค่ าดว่าจะได้รบั จากการขายสินทรัพย์ หรือเป็นราคาทีจ่ ะต้องจ่ายเพือ่ โอนหนีส้ นิ ให้ผอู้ นื่ โดยรายการดังกล่าว 4.16 ภาษีเงินได้ เป็นรายการทีเ่ กิดขึน้ ในสภาพปกติระหว่างผูซ้ อื้ และผูข้ าย (ผูร้ ว่ มใน ตลาด) ณ วันทีว่ ดั มูลค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยใช้ราคาเสนอซือ้ ขาย ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปจั จุบนั และภาษีเงินได้รอการตัด ในตลาดทีม่ สี ภาพคล่องในการวัดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนี้ บัญชี สินซึง่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ กีย่ วข้องก�ำหนดให้ตอ้ งวัด มูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ยกเว้นในกรณีทไี่ ม่มตี ลาดทีม่ สี ภาพคล่อง ภาษีเงินได้ปจั จุบนั ส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ทีม่ ลี กั ษณะเดียวกันหรือไม่สามารถหา บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปจั จุบนั ตามจ�ำนวนทีค่ าดว่า ราคาเสนอซือ้ ขายในตลาดทีม่ สี ภาพคล่องได้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะจ่ายให้แก่หน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยค�ำนวณจากก�ำไรทาง จะประมาณมูลค่ายุตธิ รรมโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าทีเ่ หมาะ ภาษีตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดในกฎหมายภาษีอากร สมกับ แต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ขอ้ มูลทีส่ ามารถสังเกตได้ที่ เกีย่ วข้องกับสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ทีจ่ ะวัดมูลค่ายุตธิ รรมนัน้ ให้มากทีส่ ดุ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตก ล�ำดับชัน้ ของมูลค่ายุตธิ รรมทีใ่ ช้วดั มูลค่าและเปิดเผยมูลค่ายุตธิ รรม ต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ณ วันสิน้ ของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ใน งบการเงินแบ่งออกเป็นสามระดับตาม รอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ กีย่ วข้อง ประเภทของข้อมูลทีน่ ำ� มาใช้ในการวัดมูลค่ายุตธิ รรม ดังนี้ นัน้ โดยใช้อตั ราภาษีทมี่ ผี ลบังคับใช้ ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน ระดับ 1 ใช้ขอ้ มูลราคาเสนอซือ้ ขายของสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ อย่าง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูห้ นีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผล เดียวกันในตลาดทีม่ สี ภาพคล่อง แตกต่างชัว่ คราวทีต่ อ้ งเสียภาษีทกุ รายการ แต่รบั รูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงิน ระดับ 2 ใช้ขอ้ มูลอืน่ ทีส่ ามารถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ไม่ ได้รอการตัดบัญชีสำ� หรับผลแตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษี รวมทัง้ ผล ว่าจะเป็นข้อมูลทางตรงหรือทางอ้อม ขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้ในจ�ำนวนเท่าทีม่ คี วามเป็นไปได้คอ่ นข้าง ระดับ 3 ใช้ขอ้ มูลทีไ่ ม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกีย่ วกับกระแส แน่ทบี่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะมีกำ� ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะ เงินในอนาคตทีก่ จิ การประมาณขึน้ ใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทาง ภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้นนั้ ทุกวันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะประเมิน ความจ�ำเป็นในการโอนรายการระหว่างล�ำดับชัน้ ของมูลค่ายุตธิ รรม ส�ำหรับสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีถ่ อื อยู่ ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน ทีม่ กี ารวัดมูลค่ายุตธิ รรมแบบเกิดขึน้ ประจ�ำ
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
109
5. การใช ้ดุลยพิ นิจและประมาณการทางบ ัญชีที่ส�ำค ัญ
ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการในเรือ่ งทีม่ คี วามไม่ แน่นอนเสมอ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการดังกล่าวนี้ ส่งผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและต่อข้อมูลทีแ่ สดงในหมายเหตุ ประกอบ งบการเงิน ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจแตกต่างไปจากจ�ำนวนทีป่ ระมาณการไว้ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการทีส่ ำ� คัญ มีดงั นี้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็น ต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ จากลูกหนีแ้ ต่ละราย โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนีท้ คี่ งค้างและสภาวะเศรษฐกิจทีเ่ ป็นอยูใ่ นขณะนัน้ เป็นต้น มูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั ของสินค้าคงเหลือ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั ของ สินค้าคงเหลือ โดยจ�ำนวนเงินทีค่ าดว่าจะได้รบั จากสินค้าคงเหลือ พิจารณาจากการเปลีย่ นแปลงของราคาขายหรือต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้อง โดยตรงกับเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ภายหลังวันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน และค�ำนึงถึงการเคลือ่ นไหวของสินค้าคงเหลือ และสภาพเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมทีเ่ ป็นอยูใ่ นขณะนัน้
การด้อยค่าของทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของทีด่ นิ อาคารและ อุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาด ว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนต�ำ่ กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั้ ในการนีฝ้ า่ ยบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการคาด การณ์รายได้และค่าใช้จา่ ยในอนาคตซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับสินทรัพย์นนั้ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน บริษทั ฯ จะตัง้ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย เมือ่ มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญและ เป็นระยะเวลานานหรือเมือ่ มีขอ้ บ่งชีข้ องการด้อยค่า การทีจ่ ะสรุปว่า เงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญหรือเป็นระยะเวลานาน หรือไม่นนั้ จ�ำเป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ ของฝ่ายบริหาร
6. รายการธุรกิจก ับกิจการที่เกี่ยวข ้องก ัน
ในระหว่างปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายการธุรกิจทีส่ ำ� คัญกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงือ่ นไข ทางการค้าและเกณฑ์ตามทีต่ กลงกันระหว่างบริษทั ฯ และบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันเหล่านัน้ ซึง่ เป็นไปตามปกติธรุ กิจโดยสามารถสรุป ได้ดงั นี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการก�ำหนดราคา 2560 2559 2560 2559 รายการธุรกิจกับบริษทั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ขายสินค้าและบริการ 1,180 1,100 ราคาทุนบวกก�ำไรส่วนเพิม่ ขายอุปกรณ์ 3 ราคาทีต่ กลงร่วมกัน ซือ้ สินค้าและบริการ 2 ราคาทุนบวกก�ำไรส่วนเพิม่ รายได้อนื่ 17 1 ราคาทีต่ กลงร่วมกัน ค่านายหน้า 11 13 ราคาทีต่ กลงร่วมกัน รายการธุรกิจกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ขายสินค้าและบริการ 15 9 15 9 ราคาทุนบวกก�ำไรส่วนเพิม่
110
รายงานประจ�ำปี 2560
ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียดดังนี้
ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (หมายเหตุ 8) บริษทั ย่อย บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน (มีผถู้ อื หุน้ ร่วมกัน) รวมลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (หมายเหตุ 8) บริษทั ย่อย รวมลูกหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษทั ย่อย รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (หมายเหตุ 14) บริษทั ย่อย รวมเจ้าหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน
งบการเงินรวม 2560 2559
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
2,115 2,115
1,014 1,014
143,682 2,115 145,797
227,489 1,014 228,503
-
-
693 693
2,005 2,005
-
-
-
400 400
-
-
800 800
1,156 1,156
ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีคา่ ใช้จา่ ยผลประโยชน์พนักงานให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 ผลประโยชน์ระยะสัน้ 31 32 23 23 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 2 2 2 2 ผลประโยชน์เมือ่ ถูกเลิกจ้างงาน 1 1 1 1 ผลประโยชน์ทจี่ า่ ยโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ (หมายเหตุ 20) 3 5 3 5 รวม 37 40 29 31
111
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
7. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสด เงินฝากธนาคาร รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
งบการเงินรวม 2560 2559 97 132 74,941 10,762 75,038 10,894
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 75 110 64,131 989 64,206 1,099
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินฝากออมทรัพย์มอี ตั ราดอกเบีย้ ระหว่างร้อยละ 0.050 ถึง 0.375 ต่อปี (2559: ร้อยละ 0.050 ถึง 0.375 ต่อปี) ้ 8. ลูกหนีการค ้าและลูกหนีอื้ ่น
ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน อายุหนีค้ งค้างนับจากวันทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระ ยังไม่ถงึ ก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน รวมลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน อายุหนีค้ งค้างนับจากวันทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระ ยังไม่ถงึ ก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวมลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน หัก: ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ รวมลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน - สุทธิ รวมลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ ลูกหนีอ้ นื่ ลูกหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ลูกหนีอ้ นื่ - กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน รวมลูกหนีอ้ นื่ รวมลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ - สุทธิ
งบการเงินรวม 2560 2559
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
2,115
1,014
131,041
207,253
2,115
1,014
14,756 145,797
20,581 314 355 228,503
202,862
245,177
69,005
124,789
30,558 5,081 59,213 298,654 596,368 (357,442) 238,926 241,041
132,421 81,644 10,413 222,734 692,389 (56,908) 635,481 636,495
17,089 5,075 59,195 298,616 448,980 (357,442) 91,538 237,335
15,940 80,960 10,413 222,734 454,836 (56,908) 397,928 626,431
2,047 2,047 243,088
2,483 2,483 638,978
693 1,444 2,137 239,472
2,005 591 2,596 629,027
112
รายงานประจ�ำปี 2560
9. สินค ้าคงเหลือ
(หน่วย: พันบาท)
สินค้าส�ำเร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต วัตถุดบิ อะไหล่และวัสดุสนิ้ เปลือง
2560 122,862 112,322 235,055 25,544
2559 112,704 80,670 251,172 39,462
งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนให้ เป็นมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั 2560 2559 (90,491) (58,752) (41,946) (2,313) (116,697) (3,325) (471) (1,192)
รวม
495,783
484,008
(249,605)
ราคาทุน
(65,582)
สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 2560 32,371 70,376 118,358 25,073
2559 53,952 78,357 247,847 38,270
246,178
418,426 (หน่วย: พันบาท)
สินค้าส�ำเร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต วัตถุดบิ อะไหล่และวัสดุสนิ้ เปลือง
2560 122,346 111,127 234,471 25,544
2559 112,188 79,310 250,536 39,448
งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรับลดราคาทุนให้ เป็นมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั 2560 2559 (89,975) (58,467) (40,751) (1,558) (116,113) (3,260) (471) (1,192)
รวม
493,488
481,482
(247,310)
ราคาทุน
(64,477)
สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 2560 32,371 70,376 118,358 25,073
2559 53,721 77,752 247,276 38,256
246,178
417,005
ในระหว่างปีปจั จุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกการปรับลดราคาทุนของสินค้าคงเหลือให้เป็นมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั เป็นจ�ำนวน 184 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 183 ล้านบาท) (2559 : 57 ล้านบาท เฉพาะกิจการ: 56 ล้านบาท) โดยแสดงเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนขาย
113
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
10. เงินลงทุนในบริษ ัทย่อย
เงินลงทุนในบริษทั ย่อยตามทีแ่ สดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ทุนเรียกช�ำระแล้ว บริษทั Stars Microelectronics USA, Inc. บริษทั เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด บริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด รวม หัก: ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย - สุทธิ
2560
สัดส่วนเงินลงทุน
2559
20,000 20,000 (เหรียญสหรัฐฯ) 500,000 500,000 (บาท) 100,000,000 100,000,000 (บาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีภาระผูกพันเกีย่ วกับเงิน ลงทุนในบริษทั เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ทีย่ งั ไม่ได้เรียก ช�ำระเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 0.5 ล้านบาท (2559: 0.5 ล้านบาท) สัญญาร่วมลงทุนในบริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด ระหว่างบ ริษทั ฯ กับบริษทั ผูร้ ว่ มลงทุน และสัญญาร่วมธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องได้ระบุ ข้อจ�ำกัดบางประการในการผลิต จ�ำหน่าย และอาณาเขตในการ จ�ำหน่าย อาร์เอฟไอดี แท็ค การผลิต ซือ้ และจ�ำหน่ายเครือ่ งจักรที่ เกีย่ วข้อง และการน�ำหุน้ ทีบ่ ริษทั ฯ ถือในบริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอ ดี จ�ำกัด ไปจ�ำหน่าย จ�ำน�ำหรือก่อภาระผูกพัน
มูลค่าตามบัญชี ตามวิธรี าคาทุน 2560 2559 (พันบาท) (พันบาท) 429 429
2560 (ร้อยละ) 59
2559 (ร้อยละ) 59
99
99
495
495
75
75
75,000
75,000
75,924 (75,000) 924
75,924 (35,719) 40,205
นอกจากนี้ ภายใต้สญ ั ญาดังกล่าว บริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด ได้รบั ความช่วยเหลือทางเทคนิคเกีย่ วกับการผลิตอาร์เอฟไอดี แท็ค และการพัฒนาและจัดหาเครือ่ งจักรทีเ่ กีย่ วข้องจากบริษทั ผูร้ ว่ มลงทุน ดังกล่าว โดยจะต้องจ่ายค่าตอบแทนตามอัตราทีร่ ะบุในสัญญาซึง่ ค�ำนวณจากรายได้จากการขายสินค้าของบริษทั ย่อยดังกล่าวเป็น ระยะเวลา 5 ปี (สิน้ สุดในปี 2561) บริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด มีผลขาดทุนจากการด�ำเนินงาน ต่อเนือ่ งหลายปีซงึ่ ไม่เป็นไปตามการคาดการณ์ของฝ่ายบริหารของบ ริษทั ฯ ดังนัน้ เพือ่ ให้มลู ค่าสุทธิของเงินลงทุนดังกล่าวสะท้อนถึง มูลค่าทีบ่ ริษทั ฯ คาดว่าจะได้รบั คืนจากการลงทุน บริษทั ฯ จึงได้ตงั้ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อยดังกล่าวจนเต็มมูลค่า เงินลงทุน
114
รายงานประจ�ำปี 2560
11. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม สินทรัพย์ซงึ่ แสดงมูลค่าตาม ราคาทีต่ ใี หม่ ทีด่ นิ ราคาทุน / ราคาทีต่ ใี หม่ 1 มกราคม 2559 ซือ้ เพิม่ จ�ำหน่าย ตัดจ�ำหน่าย โอนระหว่างบัญชี 31 ธันวาคม 2559 ซือ้ เพิม่ จ�ำหน่าย ตัดจ�ำหน่าย โอนระหว่างบัญชี 31 ธันวาคม 2560 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 1 มกราคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับส่วนทีจ่ ำ� หน่าย ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับส่วนทีต่ ดั จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับส่วนทีจ่ ำ� หน่าย ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับส่วนทีต่ ดั จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2560 ค่าเผือ่ การด้อยค่า 1 มกราคม 2559 31 ธันวาคม 2559 กลับรายการ เพิม่ ขึน้ ระหว่างปี 31 ธันวาคม 2560 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560
สินทรัพย์ซงึ่ แสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและ ส่วน เครือ่ งจักรและ ปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์
ยานพาหนะ
สินทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง และติดตัง้
รวม
91,013 91,013 91,013
876,080 1,935 33,190 911,205 3,108 (202) 25,657 939,768
2,380,399 75,463 (5,336) (5,488) 444,535 2,889,573 71,857 (109,806) (419) 290,909 3,142,114
15,993 7,653 23,646 75 (4,655) 19,066
188,939 530,475 (477,725) 241,689 332,455 (16,625) (316,566) 240,953
3,552,424 615,526 (5,336) (5,488) 4,157,126 407,495 (114,461) (17,246) 4,432,914
-
390,031 73,100 -
1,056,620 266,926 (3,308) (5,458)
12,961 1,652 -
-
1,459,612 341,678 (3,308) (5,458)
-
463,131 73,833 (165)
1,314,780 302,510 (18,312) (381)
14,613 2,360 (4,655) -
-
1,792,524 378,703 (22,967) (546)
-
536,799
1,598,597
12,318
-
2,147,714
-
-
10,384
-
-
10,384
-
-
10,384 (203) 17,107 27,288
-
-
10,384 (203) 17,107 27,288
91,013 91,013
448,074 402,969
1,564,409 1,516,229
9,033 6,748
241,689 240,953
2,354,218 2,257,912
ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี 2559 (336 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2560 (368 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)
341,678 378,703
115
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย์ซงึ่ แสดงมูลค่า ตามราคาทีต่ ี ใหม่ ทีด่ นิ ราคาทุน / ราคาทีต่ ใี หม่ 1 มกราคม 2559 ซือ้ เพิม่ จ�ำหน่าย ตัดจ�ำหน่าย โอนระหว่างบัญชี 31 ธันวาคม 2559 ซือ้ เพิม่ จ�ำหน่าย ตัดจ�ำหน่าย โอนระหว่างบัญชี 31 ธันวาคม 2560 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 1 มกราคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับ ส่วนที่ จ�ำหน่าย ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับ ส่วนทีต่ ดั จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับ ส่วนที่ จ�ำหน่าย ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับ ส่วนทีต่ ดั จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2560 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560
สินทรัพย์ซงึ่ แสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและ สินทรัพย์ เครือ่ งจักรและ ส่วนปรับปรุง ยานพาหนะ ระหว่างก่อสร้าง อุปกรณ์ อาคาร และติดตัง้
รวม
91,013 91,013 91,013
876,080 1,935 33,190 911,205 3,108 (202) 25,657 939,768
2,325,779 75,387 (5,336) (5,488) 444,535 2,834,877 71,777 (104,250) (419) 290,909 3,092,894
15,993 7,653 23,646 75 (4,655) 19,066
188,939 530,475 (477,725) 241,689 332,455 (16,625) (316,566) 240,953
3,497,804 615,450 (5,336) (5,488) 4,102,430 407,415 (108,905) (17,246) 4,383,694
-
390,031 73,100 -
1,040,551 262,522
12,961 1,652 -
-
1,443,543 337,274 (3,308)
-
-
-
-
(5,458)
-
463,131 73,833 -
14,613 2,360
-
1,772,051 374,631
-
(3,308) (5,458) 1,294,307 298,438 (15,699)
-
(165) 536,799
(381) 1,576,665
91,013 91,013
448,074 402,969
1,540,570 1,516,229
(4,655) -
-
(20,354)
12,318
-
(546) 2,125,782
9,033 6,748
241,689 240,953
2,330,379 2,257,912
ค่าเสือ่ มราคาส�ำหรับปี 2559 (331 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2560 (368 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)
337,274 374,631
116
รายงานประจ�ำปี 2560
บริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารประเมินราคาทีด่ นิ เพือ่ แสดงมูลค่าทีด่ นิ ตาม ราคาทีต่ ใี หม่ ท�ำให้มสี ว่ นเกินทุนจากการตีราคาทีด่ นิ ซึง่ ได้บนั ทึกไว้ ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในงบแสดงฐานะการเงิน ในปี 2558 บริษทั ฯ ได้ จัดให้มกี ารประเมินราคาทีด่ นิ โดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ โดยใช้วธิ ี เปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มียอดคงเหลือของเครือ่ งจักร และยานพาหนะซึง่ ได้มาภายใต้ สัญญาเช่าการเงิน โดยมีมลู ค่าสุทธิ ตามบัญชีเป็นจ�ำนวน 303 ล้านบาท (2559: 24 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ จ�ำนวนหนึง่ ซึง่ ตัดค่าเสือ่ มราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตาม บัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจ�ำนวน ประมาณ 499 ล้านบาท (2559: 337 ล้านบาท)
หากบริษทั ฯ แสดงมูลค่าของทีด่ นิ ดังกล่าวด้วยวิธรี าคาทุน มูลค่า สุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 จะเท่ากับ 55 ล้านบาท
สัญญาวงเงินสินเชือ่ ทีบ่ ริษทั ฯ ท�ำกับสถาบันการเงินได้ระบุเงือ่ นไข บางประการ คือ บริษทั ฯ จะไม่กระท�ำการใด ๆ อันจะท�ำให้สถาบัน การเงินได้รบั สิทธิดอ้ ยกว่าเจ้าหนีอ้ นื่ ของบริษทั ฯ (Pari-Passu) และ บริษทั ฯ จะไม่นำ� ทีด่ นิ อาคาร และเครือ่ งจักรไปก่อภาระผูกพันใดๆ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มียอดคงเหลือของเครือ่ งจักร ซึง่ อยูร่ ะหว่างการผ่อนช�ำระ โดยมีมลู ค่าสุทธิตามบัญชีเป็นจ�ำนวน 82 ล้านบาท (2559: ไม่ม)ี 12. สินทร ัพย์ไม่มีต ัวตน
(หน่วย: พันบาท) ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน 1 มกราคม 2559 ซือ้ เพิม่ 31 ธันวาคม 2559 ซือ้ เพิม่ 31 ธันวาคม 2560 การตัดจ�ำหน่าย 1 มกราคม 2559 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2559 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2560 ค่าเผือ่ การด้อยค่า 1 มกราคม 2560 เพิม่ ขึน้ ระหว่างปี 31 ธันวาคม 2560 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560
49,748 6,440 56,188 3,419 59,607
49,693 6,440 56,133 3,419 59,552
17,640 4,601 22,241 5,601 27,842
17,622 4,590 22,212 5,590 27,802
15 15
-
33,947 31,750
33,921 31,750
117
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
13. เงินกู ้ยืมระยะสนจากสถาบ ั้ ันการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินเป็นทรัสต์รซี ที ซึง่ มีอตั ราดอกเบีย้ ระหว่างร้อยละ 2.10 - 2.52 ต่อปี (2559: ระหว่างร้อยละ 2.10 - 2.75 ต่อปี) สัญญาวงเงินสินเชือ่ ข้างต้นได้ระบุเงือ่ นไขบางประการ คือ บริษทั ฯ จะไม่กระท�ำการใด ๆ อันจะท�ำให้สถาบันการเงินได้รบั สิทธิดอ้ ยกว่าเจ้าหนี้ อืน่ ของบริษทั ฯ (Pari-Passu) และบริษทั ฯ จะไม่นำ� ทีด่ นิ อาคารและเครือ่ งจักรไปก่อภาระผูกพันใด ๆ ้ 14. เจ ้าหนีการค ้าและเจ ้าหนีอื้ ่น
เจ้าหนีก้ ารค้า - กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เจ้าหนีอ้ นื่ - กิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน เจ้าหนีค้ า่ ซือ้ เครือ่ งจักร ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย รวมเจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่
งบการเงินรวม 2560 2559 100,153 168,647 51,112 39,809 28,942 246,025 21,288 12,667 201,495 467,148
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 100,119 139,575 800 1,156 46,863 39,796 28,942 246,025 20,937 12,409 197,661 438,961
้ ่ 15. เจ ้าหนีผ่้ อนช�ำระค่าซือเครื องจ ักร
เจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักร หัก: ดอกเบีย้ รอการตัดจ�ำหน่าย รวม หัก: ส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี เจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักร - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 28,048 (699) 27,349 (21,067) 6,282 -
ในระหว่างปี 2560 บริษทั ฯ ได้ซอื้ เครือ่ งจักรกับบริษทั 3 แห่ง โดยการผ่อนช�ำระเป็นรายเดือน ในระยะเวลา 4 - 24 เดือน เจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระ ค่าซือ้ เครือ่ งจักรดังกล่าวมีอตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริงระหว่างร้อยละ 3 ถึง 4 ต่อปี บริษทั ฯ มีภาระผูกพันทีจ่ ะต้องจ่ายช�ำระเจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักร ดังนี้
ผลรวมของจ�ำนวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ดอกเบีย้ รอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบนั ของจ�ำนวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้
(หน่วย: พันบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ไม่เกิน 1 ปี 1 - 2 ปี รวม 21,711 6,337 28,048 (644) (55) (699) 21,067 6,282 27,349
118
รายงานประจ�ำปี 2560
16. หนีสิ้ นตามส ัญญาเช่าการเงิน
หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก : ดอกเบีย้ รอการตัดจ�ำหน่าย รวม หัก : ส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 232,471 22,954 (15,631) (2,810) 216,840 20,144 (84,472) (4,754) 132,368 15,390
บริษทั ฯ ได้ทำ� สัญญาเช่าการเงินกับบริษทั ลีสซิง่ และบริษทั แห่งหนึง่ เพือ่ เช่าเครือ่ งจักร ยานพาหนะและอุปกรณ์ใช้ในการด�ำเนินงานของกิจการ โดยมีกำ� หนดการช�ำระค่าเช่าเป็นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลีย่ ประมาณ 2 ถึง 6 ปี และสัญญาเช่าการเงินมีอตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริงระหว่างร้อยละ 4.89 ถึง 9.45 ต่อปี (2559: ร้อยละ 4.89 ถึง 9.45 ต่อปี) บริษทั ฯ มีภาระผูกพันทีจ่ ะต้องจ่ายค่าเช่าขัน้ ต�ำ่ ตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้
ผลรวมของจ�ำนวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเช่า ดอกเบีย้ ตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบนั ของจ�ำนวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเช่า
(หน่วย: พันบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี รวม 94,194 138,277 232,471 (9,722) (5,909) (15,631) 84,472 132,368 216,840
ผลรวมของจ�ำนวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเช่า ดอกเบีย้ ตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบนั ของจ�ำนวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายทัง้ สิน้ ตามสัญญาเช่า
(หน่วย: พันบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ไม่เกิน 1 ปี 1 - 5 ปี รวม 5,807 17,147 22,954 (1,053) (1,757) (2,810) 4,754 15,390 20,144
17. เงินกู ้ยืมระยะยาว
เงินกู้
อัตราดอกเบีย้
1
THBFIX 1M(1) + 2.5% ต่อปี
2
THBFIX 1M(1) + 2.5% ต่อปี
การช�ำระคืน ช�ำระคืนเป็นรายเดือนเริม่ ตัง้ แต่เดือน กรกฎาคม 2558 เป็นต้นไป ช�ำระคืนเป็นรายเดือนเริม่ ตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2558 เป็นต้นไป
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 64,000 198,400 60,000
127,200
119
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
เงินกู้
อัตราดอกเบีย้
3
THBFIX 1M(1) + 2.5% ต่อปี
4
MLR(2) - 2.0% ต่อปี
การช�ำระคืน ช�ำระคืนเป็นรายไตรมาสเริม่ ตัง้ แต่เดือน ตุลาคม 2559 เป็นต้นไป ช�ำระคืนเป็นรายเดือนเริม่ ตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2560 เป็นต้นไป
รวม หัก: ส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 75,000 175,000 274,980
-
473,980 (299,080) 174,900
500,600 (301,600) 199,000
(1) THBFIX 1M หมายถึง Thai Baht Interest Rate Fixing ส�ำหรับช่วงระยะเวลา 1 เดือน (2) MLR (Minimum Loan Rate) หมายถึง อัตราดอกเบีย้ ลูกค้ารายใหญ่ชนั้ ดี ในเดือนกรกฎาคม 2559 บริษทั ฯ ได้ทำ� สัญญาเงินกูย้ มื ระยะยาว กับธนาคารในประเทศแห่งหนึง่ ในวงเงิน 200 ล้านบาท (เบิกใช้แล้ว ทัง้ จ�ำนวน) เพือ่ ใช้ในการซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ เงินกูย้ มื ดังกล่าว คิดดอกเบีย้ ในอัตรา THBFIX 1M บวกร้อยละ 2.5 ต่อปี และมี ก�ำหนดช�ำระคืนเป็นรายไตรมาสเป็นระยะเวลา 24 เดือน (สิน้ สุด ในเดือนกรกฎาคม 2561) ในเดือนกันยายน 2560 บริษทั ฯ ได้ทำ� สัญญาเงินกูย้ มื ระยะยาวกับ ธนาคารในประเทศแห่งหนึง่ ในวงเงิน 300 ล้านบาท (เบิกใช้แล้วทัง้ จ�ำนวน) เงินกูย้ มื ดังกล่าวคิดดอกเบีย้ ในอัตรา MLR ลบร้อยละ 2.0 ต่อปี และมีกำ� หนดช�ำระคืนเป็นรายเดือนเป็นระยะเวลา 36 เดือน (สิน้ สุดในเดือนกันยายน 2563)
ภายใต้สญ ั ญาเงินกูย้ มื บริษทั ฯ จะไม่กระท�ำการใด ๆ อันจะท�ำให้ ธนาคารได้รบั สิทธิดอ้ ยกว่าเจ้าหนีอ้ นื่ ของบริษทั ฯ (Pari-Passu) และ บริษทั ฯ จะต้องไม่นำ� ทีด่ นิ อาคาร และเครือ่ งจักรไปก่อภาระผูกพัน ใด ๆ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการเงินบาง ประการ เช่น การด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนสภาพคล่อง และอัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ ข้อจ�ำกัดในการโอนสินทรัพย์ การก่อภาระหนีส้ นิ การเปลีย่ นแปลง โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ ใหญ่หรือโครงสร้างผูบ้ ริหาร เป็นต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ ไม่สามารถด�ำรงอัตราส่วน ทางการเงินตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญาได้ ซึง่ ภายใต้สญ ั ญาเงินกูย้ มื ดัง กล่าว ผูใ้ ห้กมู้ สี ทิ ธิเรียกเงินกูย้ มื ดังกล่าวคืนทันที แต่อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้รบั จดหมายแจ้งจากธนาคารผูใ้ ห้กใู้ ห้การผ่อนปรนเงือ่ นไข การด�ำรงอัตราส่วนทางการเงินดังกล่าว บริษทั ฯ จึงได้จดั ประเภท เงินกูย้ มื จ�ำนวนดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เป็นไปตาม ก�ำหนดการช�ำระคืนตามปกติ
120
รายงานประจ�ำปี 2560
18. หุ ้นกู ้
เมือ่ วันที่ 26 เมษายน 2559 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้ออกและเสนอขายหุน้ กูใ้ นวงเงินไม่เกิน 1,500 ล้าน บาท และมีอายุไม่เกิน 10 ปี ต่อมาเมือ่ วันที่ 16 มิถนุ ายน 2559 บริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุน้ กูค้ รัง้ ที่ 1/2559 จ�ำนวน 500,000 หน่วย มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 500 ล้านบาท โดยเป็นหุน้ กูช้ นิดระบุชอื่ ผูถ้ อื ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน และไม่มผี แู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้ ทัง้ นี้ หุน้ กูม้ อี ายุ 2 ปีนบั จากวันออกหุน้ กู้
และครบก�ำหนดไถ่ถอนทัง้ จ�ำนวนในวันที่ 16 มิถนุ ายน 2561 หุน้ กูม้ อี ตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 5.10 ต่อปี (อัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริงร้อยละ 5.44 ต่อปี) โดยจ่ายช�ำระดอกเบีย้ ทุก 3 เดือนตลอดอายุหนุ้ กู้ ภายใต้ขอ้ ก�ำหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าทีข่ องผูอ้ อกหุน้ กูแ้ ละผูถ้ อื หุน้ กู้ บริษทั ฯ มีขอ้ จ�ำกัดทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ ตามเงือ่ นไขบางประการ เช่น ข้อจ�ำกัดในการใช้สนิ ทรัพย์ การด�ำรงอัตราส่วนของหนีส้ นิ ต่อส่วน ของ ผูถ้ อื หุน้ เป็นต้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 หุน้ กูม้ รี ายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 500,000 500,000 (775) (2,404) 499,225 497,596 (499,225) 497,596
หุน้ กู้ หัก: ค่าใช้จา่ ยในการออกหุน้ กูร้ อตัดบัญชี รวม หัก: ส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี หุน้ กู้ - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี 19. ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพน ักงาน
จ�ำนวนเงินส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึง่ เป็นเงินชดเชยพนักงานเมือ่ ออกจากงาน แสดงได้ดงั นี้
ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานต้นปี ส่วนทีร่ บั รูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุน: ต้นทุนบริการในปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบีย้ ส่วนทีร่ บั รูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ : ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส่วนทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงข้อสมมติดา้ นประชากรศาสตร์ ส่วนทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงข้อสมมติทางการเงิน ผลประโยชน์ทจี่ า่ ยในระหว่างปี ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานปลายปี
งบการเงินรวม 2560 2559 39,543 36,443
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 39,275 36,258
7,044 1,337
6,560 1,096
6,963 1,328
6,482 1,091
1,002 2,241 (2,809) 48,358
(4,556) 39,543
995 2,232 (2,809) 47,984
(4,556) 39,275
121
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรูใ้ นรายการต่อไปนีใ้ นส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน
ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จา่ ยในการขายและการบริหาร รวมค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูใ้ นส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยคาดว่าจะไม่มี การจ่ายช�ำระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปีขา้ งหน้า (2559: จ�ำนวน 0.2 ล้านบาท เฉพาะกิจการ: จ�ำนวน 0.2 ล้าน บาท)
งบการเงินรวม 2560 2559 3,603 3,208 4,778 4,448 8,381 7,656
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 3,603 3,208 4,688 4,365 8,291 7,573
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ระยะเวลาเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักในการจ่าย ช�ำระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประมาณ 16 ปี (เฉพาะกิจการ: 16 ปี) (2559: 17 ปี เฉพาะ กิจการ: 17 ปี)
สมมติฐานทีส่ ำ� คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย สรุปได้ดงั นี้
อัตราคิดลด อัตราการขึน้ เงินเดือน อัตราการเปลีย่ นแปลงในจ�ำนวนพนักงาน
งบการเงินรวม 2560 2559 2.9 3.2 3.5 - 10.0 3.5 - 10.0 0.0 - 25.0 0.0 - 25.0
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2.9 3.2 3.5 - 10.0 3.5 - 10.0 0.0 - 25.0 0.0 - 25.0
ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสมมติฐานทีส่ ำ� คัญต่อมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุปได้ดงั นี้ (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง 1% เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง 1% อัตราคิดลด (6) 7 (6) 7 อัตราการขึน้ เงินเดือน 7 (6) 7 (6) อัตราการเปลีย่ นแปลงในจ�ำนวนพนักงาน (7) 3 (7) 3 (หน่วย: ล้านบาท)
อัตราคิดลด อัตราการขึน้ เงินเดือน อัตราการเปลีย่ นแปลงในจ�ำนวนพนักงาน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง 1% เพิม่ ขึน้ 1% ลดลง 1% (5) 6 (5) 6 6 (5) 6 (5) (6) 2 (6) 2
122
รายงานประจ�ำปี 2560
้ ้นสาม ัญ 20. ใบส�ำค ัญแสดงสิทธิที่จะซือหุ
เมือ่ วันที่ 26 เมษายน 2559 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั ใิ นเรือ่ งดังต่อไปนี้ ก) ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1 (SMT-W1) จ�ำนวน 167,295,193 หน่วยให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมตามสัดส่วนการ ถือหุน้ โดยไม่คดิ มูลค่า ในอัตราส่วน 5 หุน้ สามัญเดิมต่อ 1 ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ รายละเอียดของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (SMT-W1) มีดงั นี้ อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้สทิ ธิ ราคาการใช้สทิ ธิ ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ
- 3 ปีนบั จากวันทีอ่ อกเสนอขาย - ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซอื้ หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ เว้นแต่มกี ารปรับสิทธิตามเงือ่ นไข การปรับสิทธิ - 8 บาทต่อหุน้ เว้นแต่มกี ารปรับสิทธิตามเงือ่ นไขการปรับสิทธิ - วันท�ำการสุดท้ายของเดือนมีนาคม มิถนุ ายน กันยายน และธันวาคมของแต่ละปีตลอดอายุ ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ส�ำหรับการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายคือ วันครบก�ำหนดอายุของใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ
เมือ่ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2559 บริษทั ฯ ได้จดั สรรใบส�ำคัญแสดง สิทธิ SMT-W1 จ�ำนวน 167,295,007 หน่วย โดยก�ำหนดวันใช้สทิ ธิ ครัง้ แรกคือวันที่ 30 กันยายน 2559 และก�ำหนดวันใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายคือวันที่ 28 มิถนุ ายน 2562 และบริษทั ฯ จะด�ำเนินการ ยกเลิกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ SMT-W1 ทีค่ งเหลือจ�ำนวน 186 หน่วย ในระหว่างปี 2560 และ 2559 ไม่มกี ารใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดง สิทธิ SMT-W1 ข)ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 2 (SMT-WB) จ�ำนวน 17,000,000 หน่วยให้แก่กรรมการและ/หรือ พนักงานของบริษทั ฯ ซึง่ จัดสรรให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงาน ของบริษทั ฯ โดยไม่ผา่ นผูร้ บั ช่วงซือ้ หลักทรัพย์ โดยผูท้ จี่ ะได้รบั การ จัดสรรจะต้องมีสถานะเป็นกรรมการและ/หรือพนักงานของบริษทั ฯ
ณ วันทีม่ กี ารจัดสรร ทัง้ นี้ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเป็น ผูจ้ ดั สรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของ บริษทั ฯ แต่ละราย และคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ โดย การจัดสรรพิจารณาจากอายุงาน ต�ำแหน่งงาน ประสบการณ์ และ ความส�ำคัญต่อองค์กร รวมถึงประสิทธิภาพและความสามารถในการ ท�ำงานตามความเหมาะสม ใบส�ำคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวเป็นชนิดระบุชอื่ ผูถ้ อื และไม่สามารถ เปลีย่ นมือได้ ยกเว้นเป็นการโอนทางมรดก มีอายุ 3 ปีนบั จากวันที่ ออกเสนอขาย (วันที่ 30 มิถนุ ายน 2559) และสามารถใช้สทิ ธิได้ ปีละ 2 ครัง้ ทุกวันท�ำการสุดท้ายของเดือนมิถนุ ายนและธันวาคม ของแต่ละปีตลอดอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ส�ำหรับการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายคือ วันครบก�ำหนดอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (วันที่ 28 มิถนุ ายน 2562)
123
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (SMT-WB) มีอตั ราการใช้สทิ ธิ ราคาการใช้สทิ ธิ ข้อจ�ำกัดการใช้สทิ ธิ และมูลค่ายุตธิ รรมโดยประมาณ ณ วันทีใ่ ห้สทิ ธิ ดังนี้
อัตราการใช้สทิ ธิ* ราคาการใช้สทิ ธิ*
ข้อจ�ำกัดการใช้สทิ ธิ
ปีที่ 1 (ครัง้ ที่ 1 และ 2) ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย ซือ้ หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ 7.20 บาท โดยสามารถใช้สทิ ธิได้ ต่อเมือ่ ราคาปิดของหุน้ สามัญของ บริษทั ฯ ณ วันใดวันหนึง่ ในช่วง 30 วันก่อนวันแจ้งความจ�ำนงการใช้ สิทธิในแต่ละครัง้ ไม่ตำ�่ กว่า 9 บาท สามารถใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 35 ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิทงั้ หมด ที่แต่ละคนได้รับการจัดสรรจาก บริษทั ฯ
มูลค่ายุตธิ รรมโดยประมาณ 0.971 บาท ณ วันทีใ่ ห้สทิ ธิของสิทธิซอื้ หุน้ แต่ละสิทธิ * อาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ตามเงือ่ นไขการปรับสิทธิ มูลค่ายุตธิ รรมโดยประมาณ ณ วันทีใ่ ห้สทิ ธิของสิทธิซอื้ หุน้ แต่ละ สิทธิคำ� นวณโดยใช้แบบจ�ำลองการก�ำหนดราคาสิทธิตามสูตรของ Black Scholes ข้อมูลน�ำเข้าแบบจ�ำลอง ได้แก่ ราคาหุน้ สามัญของ บริษทั ฯ ณ วันทีใ่ ห้สทิ ธิ ซึง่ เท่ากับ 6.75 บาท ราคาใช้สทิ ธิ 7.20 - 8.70 บาท ราคาของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ตามเงือ่ นไขการใช้สทิ ธิ (Knock-in price) 9.00 - 12.50 บาท ความผันผวนของราคาหุน้ ที่ คาดหวังร้อยละ 42.90 ต่อปี อัตราผลตอบแทนเงินปันผลทีค่ าดหวัง ร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิ อายุของสิทธิซอื้ หุน้ 3 ปี 2 เดือน และ อัตราดอกเบีย้ ปลอดความเสีย่ งร้อยละ 1.37 - 1.42 ต่อปี ในระหว่างปี 2560 บริษทั ฯ บันทึกค่าใช้จา่ ยส�ำหรับโครงการใบ ส�ำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 4 ล้านบาท
ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ ปีที่ 2 (ครัง้ ที่ 3 และ 4) ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย ซือ้ หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ 8 บาท โดยสามารถใช้สทิ ธิได้ตอ่ เมื่อราคาปิดของหุ้นสามัญของ บริษทั ฯ ณ วันใดวันหนึง่ ในช่วง 30 วันก่อนวันแจ้งความจ�ำนงการใช้ สิทธิในแต่ละครัง้ ไม่ตำ�่ กว่า 10.70 บาท สามารถใช้สทิ ธิได้ไม่เกิน ร้อยละ 35 ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิทงั้ หมด ที่แต่ละคนได้รับการจัดสรรจาก บริษทั ฯ (สามารถใช้สทิ ธิสะสมรวม ไม่เกินร้อยละ 70 ของใบส�ำคัญ แสดงสิทธิทงั้ หมด) 0.809 บาท
ปีที่ 3 (ครัง้ ที่ 5 และ 6) ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย ซือ้ หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ 8.70 บาท โดยสามารถใช้สทิ ธิได้ ต่อเมือ่ ราคาปิดของหุน้ สามัญของ บริษทั ฯ ณ วันใดวันหนึง่ ในช่วง 30 วันก่อนวันแจ้งความจ�ำนงการใช้ สิทธิในแต่ละครัง้ ไม่ ต�ำ่ กว่า 12.50 บาท สามารถใช้ สิ ท ธิ ใ นส่ ว นที่ เ หลื อ ทัง้ หมดได้ (สามารถใช้สทิ ธิสะสม รวมได้รอ้ ยละ 100 ของใบส�ำคัญ แสดงสิทธิทงั้ หมด) 0.809 บาท
(2559: 9 ล้านบาท) ซึง่ แสดงเป็นค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงานพร้อม กับรับรู้ “ส�ำรองส่วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์” ในส่วน ของผูถ้ อื หุน้ ด้วยจ�ำนวนเดียวกัน ในระหว่างปี 2560 และ 2559 ไม่มกี ารใช้สทิ ธิตามใบส�ำคัญแสดง สิทธิ SMT-WB ค)จัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 2 (SMT-WB) ให้แก่กรรมการ และ/หรือพนักงานของบริษทั ฯ ทีไ่ ด้รบั การจัดสรรเกินกว่าร้อยละ 5 ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิทงั้ หมด ทีอ่ อก ในครัง้ นี้
21. ส�ำรองตามกฎหมาย
ภายใต้บทบัญญัตขิ องมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน จ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีสว่ นหนึง่ ไว้เป็นทุนส�ำรองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปี หัก
ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนีจ้ ะมีจำ� นวน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของ ทุนจดทะเบียน ส�ำรองตามกฎหมายดัง กล่าวไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้
124
รายงานประจ�ำปี 2560
22. ค่าใช ้จ่ายตามล ักษณะ
รายการค่าใช้จา่ ยแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จา่ ยทีส่ ำ� คัญดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2560 2559 582,448 525,868 384,304 346,279 698,651 2,254,447 (41,810) 44,130
เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อนื่ ของพนักงาน ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย วัตถุดบิ และวัสดุสนิ้ เปลืองใช้ไป การเปลีย่ นแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูปและ งานระหว่างท�ำ
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 526,144 473,633 380,221 341,864 698,326 2,253,315 (41,975) 44,294
23. ภาษีเงินได ้
ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้สำ� หรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุปได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2560 2559 ภาษีเงินได้ปจั จุบนั : ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับปี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่างชัว่ คราวและการกลับ รายการผลแตกต่างชัว่ คราว ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ทแี่ สดงอยูใ่ นงบก�ำไรขาดทุน
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
4,056
28
-
-
3,890 7,946
8,586 8,614
-
-
รายการกระทบยอดระหว่างก�ำไรทางบัญชีกบั ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้มดี งั นี้
ก�ำไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอ่ นภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คล อัตราภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ก�ำไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอ่ นภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลคูณอัตรา ภาษี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทไี่ ม่ได้บนั ทึกในระหว่างปี เนือ่ งจากอาจไม่มกี ำ� ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอ ผลกระทบทางภาษีสำ� หรับ: การส่งเสริมการลงทุน (หมายเหตุ 24) ค่าใช้จา่ ยต้องห้าม ค่าใช้จา่ ยทีม่ สี ทิ ธิหกั ได้เพิม่ ขึน้ อืน่ ๆ รวม ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ทแี่ สดงอยูใ่ น งบก�ำไรขาดทุน
งบการเงินรวม 2560 2559 (539,001) 24,258 ร้อยละ 8.84, ร้อยละ 8.84, 20, 34 20, 34 (111,878) 8,100
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (573,136) 6,894 ร้อยละ 20 ร้อยละ 20 (114,627)
1,379
113,574
35,582
108,399
33,791
3,901 2,331 18 6,250 7,946
(35,191) 42 (19) 100 (35,068) 8,614
3,901 2,327 6,228 -
(35,191) 40 (19) (35,170) -
125
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้* รวม หนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีด่ นิ รวม
33 33
3,922 3,922
-
-
7,143 7,143
7,143 7,143
7,143 7,143
7,143 7,143
*ขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้ของปี 2559 รวมผลกระทบต่อภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง จ�ำนวน 29,095 บาท จากการแปลงค่าสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ ป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายการผล แตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษีและขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้จำ� นวน 1,340 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 1,241 ล้านบาท) (2559: 1,255 ล้านบาท เฉพาะกิจการ: 1,183 ล้านบาท) ทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ไม่ได้บนั ทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เนือ่ งจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยพิจารณาแล้วเห็นว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอาจไม่มี
ก�ำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะน�ำผลแตกต่างชัว่ คราวและ ขาดทุนทางภาษีมาใช้ประโยชน์ได้ ผลขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้มจี ำ� นวนเงิน 582 ล้านบาท ซึง่ จะ ทยอยสิน้ สุดระยะเวลาการให้ประโยชน์ภายในปี 2570
8 ปี
ได้รบั
ได้รบั 29 กรกฎาคม 2557
ได้รบั
ได้รบั 2 พฤษภาคม 2557
ได้รบั 1 มีนาคม 2557 บริษทั ย่อย (บริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด) 1824(1)/2557 (เพิกถอน 22 สิงหาคม 2560) ผลิต RFID Tags (Radio Frequency Identification Tags)
ได้รบั 24 กุมภาพันธ์ 2560
8 ปี
1167(1)/2555 ผลิต RFID WAFER
5195(1)/2556 ผลิต Semiconductor เช่น Integrated Circuit, Touch Sensor Module, Laser Module เป็นต้น และ Printed Circuit Board Assembly (PCBA) ส�ำหรับ Hard Disk Drive
7 ปี (ภาษีทไี่ ด้รบั ยกเว้นมีมลู ค่าไม่เกิน 107.5 8 ปี ล้านบาท ทัง้ นีจ้ ะปรับเปลีย่ นตามจ�ำนวนเงิน ลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียน ทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการ) ไม่ได้รบั ได้รบั
บริษทั ฯ 1500(2)/2558 ผลิต Printed Circuit Board Assembly (PCBA), Flexible Printed Circuit Assembly (FPCA) และผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์และ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า
เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2560 คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนมีคำ� สัง่ เพิกถอนสิทธิประโยชน์ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1824(1)/2557 ของบริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด เนือ่ งจากบริษทั ย่อยดังกล่าวไม่สามารถด�ำเนินการตามโครงการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมภายในระยะเวลาและเงือ่ นไขทีก่ ำ� หนด
1. บัตรส่งเสริมเลขที่ 2. เพือ่ ส่งเสริมการลงทุนในกิจการ 3. สิทธิประโยชน์สำ� คัญทีไ่ ด้รบั 3.1 ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรทีไ่ ด้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมตาม เงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้ในบัตรส่งเสริม และได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้สำ� หรับเงินปันผลจ่ายให้แก่ผถู้ อื หุน้ ซึง่ จ่ายจากก�ำไรของกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 3.2 ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรทีไ่ ด้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การ ส่งสริม ในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ มีกำ� หนด 5 ปีนบั จากวันทีพ่ น้ ก�ำหนดได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คล 3.3 ได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครือ่ งจักรตามทีค่ ณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิ 4. วันทีเ่ ริม่ ใช้สทิ ธิตามบัตรส่งเสริม
3.2 ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรทีไ่ ด้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งสริมในอัตราร้อย ไม่ได้รบั ละ 50 ของอัตราปกติ มีกำ� หนด 5 ปีนบั จากวันทีพ่ น้ ก�ำหนดได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 3.3 ได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครือ่ งจักรตามทีค่ ณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิ ได้รบั 4. วันทีเ่ ริม่ ใช้สทิ ธิตามบัตรส่งเสริม ยังไม่ได้เริม่ ใช้สทิ ธิ บริษทั ฯ
58-2578-0-00-2-0 ผลิตเครือ่ งมือแพทย์
3. สิทธิประโยชน์สำ� คัญทีไ่ ด้รบั 3.1 ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรทีไ่ ด้จากการประกอบกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมตามเงือ่ นไขที่ 8 ปี ระบุไว้ในบัตรส่งเสริม และได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้สำ� หรับเงินปันผลจ่ายให้แก่ผถู้ อื หุน้ ซึง่ จ่ายจากก�ำไรของกิจการ ทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล
1. บัตรส่งเสริมเลขที่ 2. เพือ่ ส่งเสริมการลงทุนในกิจการ
บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้รบั สิทธิพเิ ศษทางด้านภาษีอากรจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ภายใต้เงือ่ นไขต่าง ๆ ทีก่ ำ� หนดไว้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้รบั สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีอากรทีม่ สี าระส�ำคัญดังต่อไปนี้
24. การส่งเสริมการลงทุน
126 รายงานประจ�ำปี 2560
127
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
รายได้ของบริษทั ฯ ส�ำหรับปีจำ� แนกตามกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุนและไม่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนสามารถสรุปได้ดงั ต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) กิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม
กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริม
รวม
2560
2559
2560
2559
2560
2559
รายได้จากการขายในประเทศ
269,242
1,970,725
731
1,913
269,973
1,972,638
รายได้จากการส่งออกทางตรง
1,497,143
1,230,646
23,373
264,735
1,520,516
1,495,381
รวมรายได้จากการขาย
1,766,385
3,201,371
24,104
266,648
1,790,489
3,468,019
รายได้จากการขาย
รายได้ของบริษทั ย่อย (บริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด) ส�ำหรับปีจำ� แนกตามกิจการส่งเสริม การลงทุนและไม่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน สามารถสรุปได้ดงั ต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) กิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม
กิจการทีไ่ ม่ได้รบั การส่งเสริม
รวม
2560
2559
2560
2559
2560
2559
รายได้จากการขายในประเทศ
-
-
254
1,547
254
1,547
รายได้จากการส่งออกทางตรง
-
-
-
-
-
-
รวมรายได้จากการขาย
-
-
254
1,547
254
1,547
รายได้จากการขาย
128
รายงานประจ�ำปี 2560
25. ก�ำไรต่อหุ ้น
ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานค�ำนวณโดยหารก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปีทเี่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่น) ด้วยจ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ใน ระหว่างปี
ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลดค�ำนวณโดยหารก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอืน่ ) ด้วยผลรวมของจ�ำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนัก ทีอ่ อกอยูใ่ นระหว่างปีกบั จ�ำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักของหุน้ สามัญที่ บริษทั ฯ อาจต้องออกเพือ่ แปลงหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทัง้ สิน้ ให้ เป็นหุน้ สามัญ โดยสมมติวา่ ได้มกี ารแปลงเป็นหุน้ สามัญ ณ วันต้น งวด หรือ ณ วันออกหุน้ สามัญเทียบเท่า
ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน แสดงการค�ำนวณได้ดงั นี้
ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี (พันบาท) จ�ำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนัก (พันหุน้ ) ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ (บาทต่อหุน้ )
ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 (545,889) 12,953 (573,136) 6,894 836,476 836,476 836,476 836,476 (0.653) 0.015 (0.685) 0.008
ไม่มกี ารแสดงการค�ำนวณก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลดในงบการเงินส�ำหรับปี 2560 และ 2559 เนือ่ งจาก - ไม่มผี ลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทีเ่ กิดจากใบส�ำคัญ แสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ จัดสรรให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม (SMT-W1) เนือ่ งจากราคาใช้สทิ ธิของใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญสูงกว่ามูลค่ายุตธิ รรมถัวเฉลีย่ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ
- ไม่มผี ลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทีเ่ กิดจากใบส�ำคัญ แสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ จัดสรรให้แก่กรรมการและ/ หรือพนักงานของบริษทั ฯ (SMT-WB) เนือ่ งจากราคาปิดของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ไม่เป็นไปตามเงือ่ นไขการใช้สทิ ธิทกี่ ำ� หนดไว้
26. ข ้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน
ข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงานทีน่ ำ� เสนอนีส้ อดคล้องกับรายงานภายใน ของบริษทั ฯ ทีผ่ มู้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานได้รบั และ สอบทานอย่างสม�่ำเสมอเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรร ทรัพยากรให้กบั ส่วนงานและประเมินผลการด�ำเนินงานของส่วนงาน เพือ่ วัตถุประสงค์ในการบริหารงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัด โครงสร้างองค์กรเป็นหน่วยธุรกิจตามประเภทของผลิตภัณฑ์ 2 ส่วน งาน คือ ธุรกิจการผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (Microelectronics Module Assembly: MMA) และธุรกิจการประกอบ และทดสอบแผงวงจรไฟฟ้ารวม (Integrated Circuit Packaging: IC Packaging) และตามทีต่ งั้ ของส่วนงาน คือ ส่วนงานทีต่ งั้ อยูใ่ น ประเทศไทย และส่วนงานทีต่ งั้ อยูใ่ นประเทศสหรัฐอเมริกา (บริษทั เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ยังไม่เริม่ ด�ำเนินกิจการค้า)
บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มกี ารรวมส่วนงานด�ำเนินงานเป็นส่วนงาน ทีร่ ายงานข้างต้น ผูม้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดสอบทานผลการด�ำเนินงานของแต่ละหน่วย ธุรกิจแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงค์ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการ จัดสรรทรัพยากรและการประเมินผลการปฏิบัติงาน บริษัทฯ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของส่วนงานโดยพิจารณาจากก�ำไรหรือ ขาดทุนจากการด�ำเนินงาน และสินทรัพย์รวมซึง่ วัดมูลค่าโดยใช้ เกณฑ์เดียวกับทีใ่ ช้ในการวัดก�ำไรหรือขาดทุนจากการด�ำเนินงานและ สินทรัพย์รวมในงบการเงิน การบันทึกบัญชีสำ� หรับรายการระหว่างส่วนงานทีร่ ายงานเป็นไปใน ลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีส�ำหรับรายการธุรกิจกับบุคคล ภายนอก
รายได้จากลูกค้าภายนอกก�ำหนดขึน้ ตามสถานทีต่ งั้ ของลูกค้า
รายได้จากการขายให้ลกู ค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่วนงาน รวมรายได้ ก�ำไร (ขาดทุน) จากการด�ำเนินงานตามส่วนงาน รายได้อนื่ ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร หนีส้ งสัยจะสูญและหนีส้ ญ ู ขาดทุนจากการด้อยค่าของอุปกรณ์ ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ขาดทุน (ก�ำไร) ส่วนทีเ่ ป็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ย่อย ก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ
ธุรกิจการผลิตและประกอบ ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ตัง้ อยูใ่ นประเทศ ตัง้ อยูใ่ นประเทศไทย สหรัฐอเมริกา 2560 2559 2560 2559 296 2,028 296 2,028 (376) (167) -
ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม ธุรกิจการประกอบและทดสอบ แผงวงจรไฟฟ้ารวม ตัง้ อยูใ่ นประเทศ การตัดรายการ ระหว่าง ตัง้ อยูใ่ นประเทศไทย สหรัฐอเมริกา กัน 2560 2559 2560 2559 2560 2559 315 340 1,243 1,165 1,180 1,100 (1,180) (1,100) 1,495 1,440 1,243 1,165 (1,180) (1,100) 363 410 86 50 -
ข้อมูลรายได้และก�ำไรของส่วนงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีดงั ต่อไปนี้
2560 1,854 1,854 73 47 (67) (214) (302) (17) (59) (8) 1 (546)
2559 3,533 3,533 293 66 (63) (170) (56) (45) (9) (3) 13
งบการเงินรวม
(หน่วย: ล้านบาท)
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
129
130
รายงานประจ�ำปี 2560
2560 รายได้จากลูกค้าภายนอก ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา ประเทศอืน่ ๆ รวม (ตามงบการเงินรวม)
270,227 1,500,750 82,786 1,853,763
(หน่วย: ล้านบาท) 2559 1,972,639 1,490,665 69,546 3,532,850
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ไม่รวมเครือ่ งมือทางการเงินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี) เป็นของกิจการทีต่ งั้ อยูใ่ นประเทศไทย ในปี 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่ จ�ำนวนสามรายเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 809 ล้านบาท 389 ล้าน บาท และ 230 ล้านบาท ซึง่ มาจากส่วนงานธุรกิจการผลิตและ ประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และธุรกิจการประกอบและทดสอบ
แผงวงจรไฟฟ้ารวม (2559: มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จำ� นวนสอง รายเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 1,693 ล้านบาท และ 826 ล้านบาท ซึง่ มาจากส่วนงานธุรกิจการผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และธุรกิจการประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้ารวม)
้ พ 27. กองทุนส�ำรองเลียงชี
บริษทั ฯ บริษทั ย่อย และพนักงานได้รว่ มกันจัดตัง้ กองทุนส�ำรองเลีย้ ง ชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดย บริษทั ฯ บริษทั ย่อย และพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นราย เดือนในอัตราร้อยละ 3 ถึงร้อยละ 10 ของเงินเดือน กองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนกสิกรไทย
จ�ำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ พนักงานนัน้ ออกจากงานตาม ระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ในระหว่างปี 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูเ้ งินสมทบดังกล่าวเป็นค่าใช้จา่ ย จ�ำนวน 11 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 11 ล้านบาท) (2559: 10 ล้านบาท เฉพาะกิจการ: 10 ล้านบาท)
28. ภาระผูกพ ันและหนีสิ้ นที่อาจเกิดขึน้
28.1 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาเช่าด�ำเนินงานและบริการ บริษทั ฯ ได้เข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานและสัญญาบริการทีเ่ กีย่ วข้องกับการเช่ายานพาหนะ ทีด่ นิ และพืน้ ทีใ่ นอาคาร อายุของสัญญามีระยะ เวลาตัง้ แต่ 1 - 3 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มีจำ� นวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตทัง้ สิน้ ภายใต้สญ ั ญาดังกล่าวดังนี้
2560 จ่ายช�ำระ ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี
6 5
(หน่วย: ล้านบาท) 2559 6 11
131
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
28.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญาให้บริการระยะยาว
29. ล�ำด ับชนของมู ั้ ลค่ายุติธรรม
28.2.1 บริษทั ฯ ได้ทำ� สัญญารับบริการจากทีป่ รึกษาทางการเงินราย หนึง่ ส�ำหรับระยะเวลาตัง้ แต่เดือนมีนาคม 2560 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2561 ภายใต้เงือ่ นไขของสัญญาบริษทั ฯ ต้องช�ำระค่าธรรมเนียมที่ ปรึกษาทางการเงินเป็นรายเดือนตามอัตราทีร่ ะบุในสัญญา และค่า ใช้จา่ ยอืน่ เพือ่ ให้การบริการดังกล่าวส�ำเร็จลุลว่ งได้ตามจ่ายจริง ซึง่ ใน ระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีคา่ บริการภาย ใต้สญ ั ญาดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 0.8 ล้านบาท (2559: 0.8 ล้านบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มีทดี่ นิ ทีแ่ สดง มูลค่าตามราคาทีต่ ใี หม่ ซึง่ มีมลู ค่าเท่ากับ 91 ล้านบาท และมีลำ� ดับ ชัน้ ของมูลค่ายุตธิ รรมอยูใ่ นระดับ 2
28.2.2 บริษทั ฯ ได้ทำ� สัญญาการรับความช่วยเหลือทางเทคนิคและ การขายกับทีป่ รึกษา ภายใต้เงือ่ นไขของสัญญาบริษทั ฯ ต้องช�ำระ ค่าที่ปรึกษาเป็นรายเดือนตามอัตราที่ระบุในสัญญา นอกจากนี้ บริษทั ฯ ต้องจ่ายค่านายหน้าเป็นรายเดือนตามทีร่ ะบุในสัญญาด้วย ซึง่ ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีคา่ ใช้จา่ ย ภายใต้สัญญาดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 7.7 ล้านบาท (2559: 4.9 ล้านบาท) 28.2.3 บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ มีภาระผูกพันเกีย่ วกับสัญญารับความ ช่วยเหลือทางเทคนิคในการผลิตอาร์เอฟไอดี แท็ค และการพัฒนา และจัดหาเครือ่ งจักรทีเ่ กีย่ วข้องตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 10 28.3 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุน 2 ล้านบาท และ 64 ล้านเยน (2559: 7 ล้านบาท 2 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา และ 87 ล้านเยน) ซึง่ เกีย่ วข้องกับการซือ้ เครือ่ งจักร ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ และระบบสาธารณูปโภคในอาคาร 28.4 สัญญาซือ้ ไฟฟ้า บริษทั ฯ ได้ทำ� สัญญาซือ้ กระแสไฟฟ้ากับบริษทั แห่งหนึง่ ตามจ�ำนวน และราคาทีก่ ำ� หนดไว้ในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลา 15 ปี และจะสิน้ สุดสัญญาในเดือนกันยายน 2572 28.5 การค�ำ้ ประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ มีหนังสือค�ำ้ ประกันซึง่ ออก โดยธนาคารในนามบริษทั ฯ เหลืออยูเ่ ป็นจ�ำนวนเงิน 3 ล้านบาท (2559: 2 ล้านบาท) ซึง่ ประกอบด้วย หนังสือค�ำ้ ประกันเพือ่ ค�ำ้ ประกันการใช้ไฟฟ้าเป็นจ�ำนวนเงิน 2 ล้านบาท (2559: 2 ล้าน บาท) และเพือ่ ค�ำ้ ประกันการปฏิบตั งิ านตามสัญญาเป็นจ�ำนวนเงิน 1 ล้านบาท
ในระหว่างปีปจั จุบนั ไม่มกี ารโอนรายการระหว่างล�ำดับชัน้ ของมูลค่า ยุตธิ รรม ่ 30. เครืองมื อทางการเงิน
30.1 นโยบายการบริหารความเสีย่ ง เครือ่ งมือทางการเงินทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยตามที่ นิยามอยูใ่ นมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและ การเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ เจ้า หนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ เจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระ ค่าซือ้ เครือ่ งจักร หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน หุน้ กู้ เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะ ยาว บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับเครือ่ งมือ ทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสีย่ งดังนี้ ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ ฝ่ายบริหารควบคุมความเสีย่ งนีโ้ ดย การก�ำหนดให้มนี โยบายและวิธกี ารในการควบคุมสินเชือ่ ทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รบั ความเสียหายที่ เป็นสาระส�ำคัญจากการให้สนิ เชือ่ อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีลกู ค้ารายใหญ่ จ�ำนวนน้อยรายและอยูใ่ นกลุม่ อุตสาหกรรมเดียวกัน ท�ำให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากการกระจุกตัวของลูกหนี้ จ�ำนวนเงิน สูงสุดทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สนิ เชือ่ คือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ ทีแ่ สดงอยูใ่ นงบแสดง ฐานะการเงิน ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีส่ ำ� คัญอัน เกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้ผ่อนช�ำระค่าซื้อ เครือ่ งจักร หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน หุน้ กู้ เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยาวทีม่ ดี อกเบีย้ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงิน ส่วนใหญ่ไม่มดี อกเบีย้ หรือมีอตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตามอัตรา ตลาด หรือมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีซ่ งึ่ ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั
132
รายงานประจ�ำปี 2560
สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีส่ ำ� คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีย้ และส�ำหรับสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีส่ ามารถแยกตามวันทีค่ รบก�ำหนด หรือ วันทีม่ กี ารก�ำหนดอัตราดอกเบีย้ ใหม่ (หากวันทีม่ กี ารก�ำหนดอัตราดอกเบีย้ ใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี้ (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบการเงินรวม อัตราดอกเบีย้ คงที่ อัตราดอกเบีย้ ไม่มี อัตราดอกเบืย้ รวม ภายใน มากกว่า มากกว่า ปรับขึน้ ลง ดอกเบีย้ (ร้อยละต่อปี) 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 75 75 0.050 - 0.375 ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ 243 243 75 243 318 หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน 167 167 2.10 - 2.52 เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ 201 201 เจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักร 21 6 27 3-4 หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน 84 132 216 4.89 - 9.45 เงินกูย้ มื ระยะยาว 474 474 THB FIX 1M+2.5 และ MLR-2 หุน้ กู้ 499 499 5.44 771 138 474 201 1,584 (หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบการเงินรวม อัตราดอกเบีย้ คงที่ อัตราดอกเบีย้ ปรับขึน้ ลง ไม่มี ภายใน มากกว่า มากกว่า ตามราคา ดอกเบีย้ 1 ปี 1 ถึง 5 ปี 5 ปี ตลาด สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้
รวม
อัตราดอกเบืย้ (ร้อยละต่อปี)
-
-
-
11 11
639 639
11 639 650
0.050 - 0.375 -
184 5 -
15 -
-
501
467 -
184 467 20 501
189
498 513
-
501
467
498 1,670
2.10 - 2.75 4.89 - 9.45 THB FIX 1M+2.5 5.44
133
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
(หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราดอกเบีย้ คงที่ มากกว่า ภายใน มากกว่า 1 ถึง 5 1 ปี 5 ปี ปี สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ เจ้าหนีผ้ อ่ นช�ำระค่าซือ้ เครือ่ งจักร หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้
งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบีย้ ปรับขึน้ ลง ไม่มี ตามราคา ดอกเบีย้ ตลาด
รวม
อัตรา ดอกเบืย้ (ร้อยละต่อปี)
-
-
-
64 64
239 239
64 239 303
0.050 - 0.375 -
167 21 84 -
6 132 -
-
474
198 -
167 198 27 216 474
499 771
138
-
474
198
499 1,581
2.10 - 2.52 3-4 4.89 - 9.45 THB FIX 1M+2.5 และ MLR-2 5.44
(หน่วย: ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบีย้ คงที่ อัตราดอกเบีย้ มากกว่า ปรับขึน้ ลง ภายใน มากกว่า ไม่มี 1 ถึง 5 ตามราคา 1 ปี 5 ปี ดอกเบีย้ ปี ตลาด สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู้
รวม
อัตรา ดอกเบืย้ (ร้อยละต่อปี)
-
-
-
1 1
629 629
1 629 630
0.050 - 0.375 -
184 5 189
15 498 513
-
501 501
439 439
184 439 20 501 498 1,642
2.10 - 2.75 4.89 - 9.45 THB FIX 1M+2.5 5.44
134
รายงานประจ�ำปี 2560
ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น บริษทั ฯ มีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นทีส่ ำ� คัญอันเกีย่ วเนือ่ งจากการซือ้ หรือขายสินค้า และการซือ้ เครือ่ งจักรเป็นเงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯ ได้ตกลงท�ำสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึง่ ส่วนใหญ่มอี ายุสญ ั ญาไม่เกินหนึง่ ปีเพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือในการบริหารความ เสีย่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มียอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีเ่ ป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ดังนี้ สินทรัพย์ทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559 (ล้าน) (ล้าน) 10.5 12.7 -
สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา เยน
หนีส้ นิ ทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559 (ล้าน) (ล้าน) 3.4 9.2 6.9 23.4
อัตราแลกเปลีย่ นเฉลีย่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 2559 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 32.6809 35.8307 28.9806 30.7951 (ต่อ 100 เยน) (ต่อ 100 เยน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษทั ฯ มีสญ ั ญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สกุลเงิน เหรียญ สหรัฐอเมริกา
จ�ำนวนที่ ซือ้ (ล้าน)
0.5
จ�ำนวนที่ ขาย (ล้าน)
0.8
อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญาของ จ�ำนวนทีซ่ อื้ จ�ำนวนทีข่ าย (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 32.5800 32.5280 - 32.8980 - 32.7250
วันครบก�ำหนดตามสัญญา จ�ำนวนทีซ่ อื้
จ�ำนวนทีข่ าย
เมษายน - พฤษภาคม 2561
กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2561
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สกุลเงิน เหรียญ สหรัฐอเมริกา
จ�ำนวนที่ ซือ้ (ล้าน)
0.3
จ�ำนวนที่ ขาย (ล้าน)
1.7
อัตราแลกเปลีย่ นตามสัญญาของ จ�ำนวนทีซ่ อื้ จ�ำนวนทีข่ าย (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 34.9500 34.9722 - 35.6951 - 35.8890
วันครบก�ำหนดตามสัญญา จ�ำนวนทีซ่ อื้
จ�ำนวนทีข่ าย
มกราคม - กุมภาพันธ์ มกราคม 2560 - มีนาคม 2560
30.2 มูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงิน เนือ่ งจากเครือ่ งมือทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัดอยูใ่ นประเภทระยะสัน้ และเงินกูย้ มื มีอตั ราดอกเบีย้ ใกล้เคียงกับอัตรา ดอกเบีย้ ในตลาด บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีทแี่ สดงในงบแสดง ฐานะการเงิน
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
135
31. การบริหารจ ัดการทุน
วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่ส�ำคัญของบริษัทฯ คือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทุนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้น โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน เท่ากับ 1.35:1 (2559: 0.98:1) และเฉพาะบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.35:1 (2559: 0.95:1) บริษัทฯ บริหารจัดการโครงสร้างของทุนโดยใช้อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเพื่อให้สอดคล้องกับเงื่อนไขในสัญญาวงเงินสินเชื่อและเงินกู้ยืม ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ซึ่งต้องรักษาอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนในระดับตามที่ระบุในสัญญา 32. การอนุ ม ัติงบการเงิน
งบการเงินนีไ้ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ออกโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561
136
รายงานประจ�ำปี 2560
ค่าตอบแทนการสอบบ ัญชี ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2560 ได้อนุมตั แิ ต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีจาก บริษทั ส�ำนักงานอีวาย จ�ำกัด ได้แก่ นางสาววิสสุตา จริยธนากร (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3853) และ/หรือ นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4501) และ/หรือ นางสาวมณี รัตนบรรณกิจ (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 5313) เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย โดยอนุมตั คิ า่ ตอบแทนการสอบบัญชีประจ�ำ ปี 2560 รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 2,280,000 บาท แสดงค่าตอบแทนการสอบบัญชียอ้ นหลัง 3 ปี (ปี 2558-2560) ดังต่อไปนี้
ค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
1,840,000
1,880,000
2,280,000
ผูส้ อบบัญชี บริษทั ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2264-0777 โทรสาร 0-2264-0789-90
หน่วย: บาท
137
บริษ ัท สตาร์ส ไมโครอิเล็ กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จําก ัด (มหาชน)
ข ้อมูลทว่ ั ไปของบริษ ัทฯ และบุคคลอ ้างอิง ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั ฯ
บุคคลอ้างอิง
บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)
นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0 2009-9378 โทรสาร : 0 2009-9476 SET Contact center : 0 2009-9999 Website : http://www.set.or.th/tsd E-mail : SETContactCenter@set.or.th
ทะเบียนเลขที่ : 0107545000098 ประเภทธุรกิจ : ประกอบธุรกิจรับจ้างผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ทีต่ งั้ ส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 605-606 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13160 ทีอ่ ยูป่ จั จุบนั : เลขที่ 605-606 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13160 โทรศัพท์ (035) 258 555 โทรสาร (035) 258 914 Website www.starsmicro.com บริษทั ย่อย : Stars Microelectronics USA, Inc. 2157 O’Toole Ave., Suite I San Joes, CA 95131 USA Tel : +1 (408) 894 – 8160 Fax : +1 (408) 894 – 8180 บริษทั เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด 605 – 606 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา บริษทั เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด 605 – 606 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา
Investor Relations Contact บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 605-606 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน พระนครศรีอยุธยา 13160 Email : ir@starsmicro.com โทรศัพท์ 035-258-555 ต่อ 313 โทรสาร 035-258-914 ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษทั ฯเพิม่ เติมได้จากแบบแสดง รายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษทั ฯทีแ่ สดงไว้ใน www. sec.or.th หรือ www.set.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษทั ฯ www. starsmicro.com
รายงานประจ�ำปี 2560
18