SMT: รายงานประจำปี 2556

Page 1


สารบัญ 1 2 3 4 5 6 8 12 14 16 17 18 18 20 22 24 24 24 25 27 28 36 37 40 46 64 66 67 68 69 75 76 125 126

วิสัยทัศน์ ภารกิจหลัก กลยุทธ์ โยบายและทิศทางการด�ำเนินงาน จุดเด่นในรอบปี โครงสร้างองค์กร สารจากประธานกรรมการ สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ คณะผู้บริหาร ลักษณะการประกอบธุรกิจ การตลาดและการจัดจ�ำหน่าย โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ตามมูลค่าเพิ่ม โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม สิทธิและประโยชน์จากบัตรส่งเสริมการลงทุน นโยบายการลงทุนและโครงสร้างเงินลงทุน นโยบายการจ่ายเงินปันผล การวิจัยและพัฒนา โครงการในอนาคต ความรับผิดชอบต่อสังคม การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล การก�ำกับดูแลกิจการ รายการระหว่างกัน การบริหารความเสี่ยงของกิจการ ประวัติคณะกรรมการบริษัทฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ค�ำอธิบายและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงิน ของฝ่ายจัดการ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบุคคลอ้างอิง


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

001

วิสัยทัศน์ “เราจะเป็นผู้นำ� ธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีในอนาคต” (Stars is to lead the industry in advanced manufacturing technology)

ภารกิจหลัก

สตาร์ส เจิดจ้า แจ่มจรัส

“เรามุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์กับลูกค้าและหุ้นส่วนทางธุรกิจเพื่อ การเติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกัน” (Stars is to be committed to its customers and business partners for long-term growth and win-win relationships)

กลยุทธ์ นโยบาย และทิศทางการด�ำเนินงาน เพื่อให้ทิศทางการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เป็นไปอย่างชัดเจน บริษัทฯ ได้มี นโยบายที่จะเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับลูกค้าอย่างยั่งยืน และสร้างความเจริญเติบโต อย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ ได้ใช้กลยุทธ์ดังนี้ (1) กลยุทธ์ 3 Highs คือ High Technologies, High Growth และ High Margin กลยุทธ์ ร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Joint Development) กับลูกค้าตั้งแต่เริ่มต้น (2) จนผลิตภัณฑ์เข้าสู่กระบวนการผลิต (Mass Production) โดยสมบูรณ์ (3) กลยุทธ์ มุ่งตลาดที่มีผลตอบแทนทางธุรกิจสูง


10,000 6,000 4,000 2,000

136,250 730,245 (1,504,582)

8,000

0 -2,000

งบการเงินรวม (หน่วย: พันบาท) รายได้รวม รายได้จากการขาย ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรจากการด�ำเนินการ ก�ำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย ก�ำไรสุทธิก่อนรายการยกเว้น ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี สินทรัพย์รวม สินทรัพย์ถาวร - สุทธิ หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น (หน่วย: บาท) ก�ำไรต่อหุ้นก่อนรายการยกเว้น** ก�ำไรต่อหุ้นหลังรายการยกเว้น** ราคาตามบัญชีต่อหุ้น เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (หน่วย: เท่า) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (หน่วย: %) ก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีต่อรายได้จากการขาย ก�ำไรก่อนดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่ายต่อรายได้จากการขาย อัตราตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราเงินปันผลจ่าย (ไม่รวมรายการยกเว้น) (หน่วย: หุ้น) จ�ำนวนหุ้น (ณ สิ้นปี)

ปี 2556 ปี 2555 ปี 2554

8,129,838 4,867,638 7,623,203

จุดเด่นในรอบปี

(หน่วย : พันบาท)

3,517,179 3,903,356 2,065,649

002

รายได้รวม

สินทรัพย์รวม

2556

ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี

2555 (ปรับปรุงใหม่)

2554

8,129,838 7,651,867 (89,026) (317,975) 476,469 (298,130) 136,250 3,517,179 2,401,165 1,602,166 1,915,013

4,867,638 3,537,590 (359,706) (577,669) 972,793 (562,908) 730,245 3,903,356 2,421,315 2,145,406 1,757,950

7,623,203 7,583,989 310,437 111,914 (1,171,024) 127,464 (1,504,582) 2,065,649 1,416,738 1,047,187 1,018,463

(0.71) 0.33 4.58 -*

(1.35) 1.75 4.22 -

0.31 (3.61) 2.44 0.20

0.84

1.22

1.03

1.78%

20.64%

(19.84%)

6.23% 7.42% 3.67% -*

27.50% 52.60% 24.47% -

(15.44%) (96.36%) (46.16%) 65%

418,210,338

416,932,873

416,922,480

* งดจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี โดยจะมีการน�ำเสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 ในวันที่ 28 เมษายน 2557 ** ค�ำนวณจากจ�ำนวนหุ้น ณ วันสิ้นปี


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหาร ฝ่ายตรวจสอบภายใน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงานการจัดการวัตถุดิบ สายงานการเงินและการบริหาร สายงานปฏิบัติการและพัฒนา สายงานการขายและการตลาด

003


004

สารจากประธานกรรมการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ผมรู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ ได้มีโอกาสมากล่าว สวัสดีและทักทายกับทุกๆ ท่านอีกครัง้ หนึง่ โดยผ่านรายงานประจ�ำ ปีฉบับนี้ ในรอบปีทผี่ า่ นมา ภารกิจอันส�ำคัญของบริษทั ฯ คือ การฟืน้ ฟู ธุรกิจให้กลับคืนสู่สภาวะปรกติโดยเร็วที่สุด และเป็นที่น่ายินดีว่า บริษทั ฯ ได้เรียกร้องความเสียหายจากบริษทั ประกันภัยจนครบถ้วน บริษัทฯ ได้ท�ำการบูรณะซ่อมแซมโรงงานและอาคารส�ำนักงานให้ กลับคืนสู่สภาพที่จะให้บริการลูกค้าได้อย่างดีกว่าที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ตดั สินใจใช้เครือ่ งจักรทีม่ เี ทคโนโลยีสงู เพือ่ ลดต้นทุนด้านแรงงาน ลง ยิง่ ไปกว่านัน้ บริษทั ฯ ได้สร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้าทัง้ เก่าและ ใหม่อย่างมั่นคงและยั่งยืน ด้วยกลยุทธ์การตลาดที่เข้มแข็ง ซึ่งจะ ยังประโยชน์ให้กบั บริษทั ฯ ตลอดจนผูถ้ อื หุน้ เป็นอย่างมากในอนาคต อันยาวไกล

ผมขอให้ค�ำมั่นว่า คณะกรรมการของบริษัทฯ จะดูแลและ ก�ำกับการบริหารงานของบริษทั ฯ ให้มปี ระสิทธิภาพอย่างสูง มีความ โปร่งใสตรวจสอบได้ มีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และมีการปกป้อง ความเสี่ยงในทุกด้าน ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ผมขอขอบพระคุณท่าน ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสียในความสนับสนุนอันอบอุ่นและ เข้มแข็ง และขอขอบคุณพนักงานทุกท่านทุกระดับ ที่ได้อุทิศตน ทุ่มเท เสียสละ ร่วมแรงร่วมใจกันปฏิบัติหน้าที่เพื่อความก้าวหน้า ของบริษัทฯ ตลอดมา

นายสมนึก ไชยกุล ประธานกรรมการ บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

005

สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ผมมีความยินดีทจี่ ะแจ้งให้ทา่ นทราบว่า ในปีทผี่ า่ นมาบริษทั ฯ มีผลการด�ำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์หลักที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง 2 ประการ ประการแรก คือ บริษัทฯได้รับเงินค่าสินไหมจากบริษัท ประกันภัยครบเต็มจ�ำนวนตามที่เรียกร้อง ประการที่สอง บริษัทฯ สามารถฟื้นฟูแก้ไขและปรับปรุงตัวโรงงาน และสายการผลิตที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลดีกว่าเดิม เป็นการเตรียมปัจจัย พื้นฐานในการท�ำธุรกิจที่ดีส�ำหรับปีหน้าและอนาคต ผมและคณะผูบ้ ริหารได้ปรับเปลีย่ นสายการด�ำเนินงานธุรกิจ ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นไป ที่ผลิตภัณฑ์และการให้บริการการผลิต(Manufacturing Service) ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ ให้ผลก�ำไรขั้นต้น (Gross Margin) สูง และมี วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Product life cycle) ที่ยาวนาน โดย คัดเลือกกลุ่มผลิตภัณฑ์และการบริการที่ ใช้เทคโนโลยีการผลิต ชัน้ สูง และมีการเปลีย่ นแปลงในตัวผลิตภัณฑ์คอ่ นข้างน้อย ซึง่ ส่งผล ให้การด�ำเนินธุรกิจกับลูกค้าเติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ในแผนยุทธศาสตร์ธุรกิจ มีภาระกิจหลัก 3 ประการซึ่งได้ ด�ำเนินการอย่างเร่งด่วนในช่วงปีที่ผ่านมา คือ 1. ซ่อมแซม และปรับปรุงส�ำนักงานโรงงาน และติดตั้ง เครื่องจักรในสายการผลิตให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมุ่งสู่ ความเป็นเลิศ และสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขัน เพื่อเสริม จุดแข็งด้านการตลาด 2. ด�ำเนินแผนยุทธศาสตร์ดึงกลุ่มลูกค้ารายใหญ่ๆกลับมา เป็นพันธมิตรธุรกิจดังเดิม โดยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับลูกค้า มุ่งเน้นกระบวนการผลิตที่ใช้เทคโนโลยี (Automation) ลดปัญหา ที่เกิดจากการใช้แรงงาน (Labor Intensive)

นายพลศักดิ์ เลิศพุฒิภิญโญ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)

3. ปรับแผนธุรกิจให้บริการการผลิตแบบครบวงจร (Turn Key Service) และการบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Shop Destination)โดยมุ่งเน้นตอบสนองความต้องการของกลุ่ม ลูกค้าที่ไม่มีสายการผลิตของตนเอง (Fabless Company) และ ที่ต้องการใช้บริการสายการผลิตที่อยู่ภายนอก (Outsourcing) ผมและคณะผู ้ บ ริ ห ารขอขอบพระคุ ณ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก ท่ า น คณะกรรมบริษทั ฯ ผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้อง หรือ ผูม้ สี ว่ นได้เสียในกิจการ (Stake Shareholders) ที่ให้การสนับสนุนบริษัทฯ ด้วยดีเสมอมา และขอให้ค�ำมั่นสัญญาว่า จะท�ำงานทุ่มเทอย่างสุดความสามารถ ในการท�ำให้ผลประกอบการของบริษทั ดีขนึ้ อย่างต่อเนือ่ งยัง่ ยืนและ มั่นคงตลอดไป


006

คณะกรรมการบริษัทฯ 1

2

3

4

5

6

1. นายสมนึก ไชยกุล ประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการบริหาร 2. นายพิทักษ์ ศิริวันสาณฑ์ รองประธานกรรมการ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 3. นายพลศักดิ์ เลิศพุฒิภิญโญ กรรมการ กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 4. นายชอง เคว็น ซัม กรรมการ 5. นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 6. นายประสาท ยูนิพันธุ์ กรรมการ


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

007

7

8

9

10

11

12

7. รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน 8. นางพูนพรรณ ไชยกุล กรรมการ 9. นายโตรุ อูชิโนะ กรรมการ 10. รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน 11. รองศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง 12. นายยรรยงค์ สวัสดิ์ เลขานุการบริษัทฯ และกรรมการบริหาร


008

คณะผู้บริหาร 1

2

3

4

5

6

1. นายพลศักดิ์ เลิศพุฒิภิญโญ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร

4. นายวิทยา ยศประพันธ์ (รักษาการ) รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายงานการเงินและการบริหาร) กรรมการบริหารความเสี่ยง

2. ดร.กวี เตชะพิเชฐวนิช รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายงานปฏิบัติการและพัฒนา) กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง

5. นายธวัชชัย วรชีวัน ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายปฏิบัติการและการผลิต กรรมการบริหารความเสี่ยง

3. นายโกศล สารพัดโชค รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายงานซัพพลายเชน) กรรมการบริหารความเสี่ยง

6. นายสุวพัชร ชวพงศกร ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายขายและการตลาด กรรมการบริหารความเสี่ยง





012

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ลักษณะการด�ำเนินธุรกิจและตัวอย่างผลิตภัณฑ์ บริษั ทฯ ประกอบธุรกิจให้บริการการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Manufacturing Services หรือ EMS) ให้กับลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ กลุ่มลูกค้าของบริษั ทฯ ได้แก่ เจ้าของผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ (Original Equipment Manufacturer หรือ OEM) ผูร้ บั จ้างผลิตอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ (Contract Manufacturer) และผูร้ บั จ้างออกแบบผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ต่างๆ (Fabless Company) บริษัทฯสามารถให้บริการผลิตและประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์สำ� หรับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภท ต่างๆ อย่างครบวงจร โดยใช้เครื่องจักรที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง ทั้งที่เป็นมาตรฐานทั่วไปในตลาดและเทคโนโลยีขั้นสูงหลายรูปแบบ ซึ่งการใช้เครื่องจักรที่มีเทคโนโลยีขั้นสูงและการวิจัย พัฒนาและร่วมออกแบบผลิตภัณฑ์กับลูกค้า (Joint Innovation) ท�ำให้บริษัทฯ สามารถรับจ้างผลิตและประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นนวัตกรรมใหม่อย่างหลากหลาย ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีความซับซ้อนและ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องการความละเอียดและความแม่นย�ำสูง เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าชั้นน�ำของโลกได้

1. การผลิตและประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ บริษัทฯ รับจ้างผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์สำ� หรับ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ อาทิ เช่น • การรับจ้างผลิตและประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (Printed Circuit Board Assembly หรือ PCBA) เพื่อควบคุมการ ท�ำงานของฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk Drive Control Board) • การผลิตและประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ วงจร อิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับ Touch Pad ของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ Notebook และ Ipad ระบบเชื่อมต่อสัญญาณ Bluetooth เป็นต้น • การผลิตและประกอบหน้าจอระบบสัมผัส (Touch Screen) ได้แก่ หน้าจอระบบสัมผัสส�ำหรับโทรศัพท์มอื ถือแบบ Smart Phone โดยใช้เทคโนโลยีการเชื่อมแผงวงจรขั้นสูงลงบนแผ่นพลาสติกใส (PET) ซึง่ ท�ำให้มตี น้ ทุนทีต่ ำ�่ และมีความยืดหยุน่ กว่าหน้าจอแบบแก้ว โดยยังสามารถน�ำไปใช้สำ� หรับอุปกรณ์อนื่ ๆ ได้อกี มากมาย ในแทบ ทุกอุตสาหกรรม ได้แก่ เตาไมโครเวฟ • การรับจ้างผลิตและประกอบชิ้นส่วนแบบ PCBA โดยใช้ เทคโนโลยี PTH, SMT, COB, FOB และ FCOF ส�ำหรับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หลายชนิด

• การรับจ้างผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์สำ� หรับ โทรศัพท์ส�ำนักงานให้กบั NEC ซึง่ เป็นการผลิตและประกอบในส่วน ของ LCD Module ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกับการรับจ้างผลิตและประกอบ ชิ้นส่วนหน้าจอส�ำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ (LCD Module Assembly) • การผลิตและประกอบอุปกรณ์สื่อสารระบบ RFID (Radio Frequency Identification) ซึ่งเป็นระบบฉลากที่พัฒนาขึ้นจาก ระบบฉลากแบบแถบบาร์โค้ด โดยจุดเด่นของ RFID คือสามารถ อ่านข้อมูลของฉลากได้โดยไม่ตอ้ งมีการสัมผัส มีคณ ุ สมบัตทิ ที่ นต่อ ความชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก และสามารถอ่าน ข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง โดยผลิตภัณฑ์ที่ใช้ระบบฉลากแบบ RFID เช่น บัตรส�ำหรับผ่านเข้าออก บัตรจอดรถ และ ระบบฉลากของ สินค้า เป็นต้น • การผลิตและประกอบวงจรในบัตรสมาร์ทการ์ดเป็นบัตร บันทึกข้อมูล โดยสมาร์ทการ์ดจะมีการบรรจุเอาชิปหน่วยความจ�ำ ไว้ภายในตัวเพือ่ จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์และโปรแกรม ต่างๆ เพื่อท�ำหน้าที่หลักในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลใน บัตรเอาไว้เมื่อบัตรสมาร์ทการ์ดถูกน�ำไปใช้งานร่วมกับเครื่องอ่าน ตัวอย่างของบัตรสมาร์ทการ์ด อาทิ เช่น บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม บัตรประจ�ำตัวประชาชน


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

013

2. การประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้ารวม ในปัจจุบัน บริษัทฯให้บริการประกอบและทดสอบแผงวงจร ไฟฟ้ารวม (IC Packaging) ได้หลายชนิด • Standard Packaging ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบทั่วๆ ไป ทีม่ กี ารผลิตกันมานานจนมีขนาดและรูปแบบเป็นมาตรฐานในตลาด โดยจะมีขนาดใหญ่และหนา ได้แก่ SOIC, TSSOP, SC70, SOT23, SOT143 เป็นต้น และ Advanced Packaging ซึ่งเป็นการประกอบ แผงวงจรในรูปแบบทีเ่ พิง่ เริม่ มีการพัฒนาไม่นานโดยจะมีขนาดเล็ก และบางมากกว่าชนิด Standard Packaging ได้แก่ TDFN (Thin Dual Flat Non-Lead) UDFN (Ultra-Thin Dual Flat Non-Lead) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์การให้บริการประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้า รวม (IC Packaging) มีอาทิเช่น ผลิตภัณฑ์ IC Chip ต่างๆ

• นอกจากนี้ บริษัทฯยังเป็นหนึ่งในผู้นำ� ในการประกอบและ ทดสอบแผงวงจรไฟฟ้ารวมแบบระบบไฟฟ้าเครื่องกลจุลภาค (Micro-Electro-Mechanic Systems หรือ MEMS) ซึง่ เป็นเทคโนโลยี ที่กำ� ลังเติบโตมากในปัจจุบัน โดยบริษัทฯมีประสบการณ์กว่า 10 ปี ในการร่วมพัฒนาเทคโนโลยี MEMS ส�ำหรับน�ำไปใช้กับเครื่องวัด แรงดันลมยางรถยนต์ (Tire Pressure Monitoring System หรือ TPMS) กับบริษัทชั้นน�ำของโลก ซึ่งได้เป็นข้อก�ำหนดทางกฎหมาย ของบางประเทศในการก�ำหนดให้รถยนต์ใหม่ทุกคันต้องมีอุปกรณ์ TPMS ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเริ่มบังคับทางกฎหมายใน ปี 2552 และกลุ่มประเทศยุโรปซึ่งจะบังคับทางกฎหมายปี 2555 บริษัทฯ ยังน�ำเทคโนโลยีการผลิตนี้ไปใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ เช่น ไมโครโฟนในโทรศัพท์มอื ถือ เครือ่ งวัดความดันในอุปกรณ์การ แพทย์ อุปกรณ์ส�ำหรับอุตสาหกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ส�ำหรับผู้บริโภคทั่วไป


014

การตลาดและการจัดจ�ำหน่าย บริษัทฯ ผลิตและประกอบชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ จ�ำหน่าย ให้บริษั ทที่ผลิตสินค้าในหลากหลายประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ กลุม่ อุปกรณ์สอื่ สาร กลุม่ อุปกรณ์เพือ่ ความปลอดภัย และ อุตสาหกรรมเครื่องบันเทิง และอื่นๆ บริษัทฯ มีรายได้และสัดส่วน การขายให้กลุ่มลูกค้าในประเทศต่างๆ ดังนี้

สัดส่วนการจ�ำหน่ายชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ของบริษัทฯ จ�ำแนกตามภูมิภาค ปี 2554 พันบาท

ร้อยละ

กลุ่มตลาดในประเทศสหรัฐ 1,489,676 กลุ่มตลาดในประเทศยุโรป 47,775 กลุ่มตลาดภายในประเทศ (เพื่อส่งออก) 5,948,841 รายได้จากการขายรวม

7,486,292

ปี 2555 (ปรับปรุงใหม่) พันบาท ร้อยละ

ปี 2556 พันบาท

ร้อยละ

19.90 0.64 79.46

288,027 18,605 3,220,295

8.17 0.53 91.30

666,680 5,042 6,949,671

8.75 0.07 91.18

100.00

3,526,927

100.00

7,621,393

100.00

บริษั ทฯ ได้ท�ำการตลาดในการติดต่อลูกค้าและรับจ้างผลิตและประกอบผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ การท�ำการตลาดโดยตรงจากหน่วยงานต่างๆ ภายในบริษัทฯ ทางหนึง่ และผ่านทางบริษัทร่วม พันธมิตร และตัวแทนการตลาดของบริษัทฯ

สัดส่วนรายได้จ�ำแนกตามช่องทางการจัดจ�ำหน่าย รายได้จากการขาย

ปี 2554

ปี 2555 (ปรับปรุงใหม่) พันบาท ร้อยละ

พันบาท

ร้อยละ

ขายตรง Stars USA Smart Electronics SIIX Corporation

6,738,043 613,092 116,911 18,246

90.01 8.19 1.56 0.24

3,208,520 280,189 20,511 17,707

รวม

7,486,292

100.00

3,526,927

ปี 2556 พันบาท

ร้อยละ

90.97 7.95 0.58 0.50

6,938,929 623,015 41,016 18,433

91.05 8.17 0.54 0.24

100.00

7,621,393

100.00


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

=L<"L35=J#dL5

015

/KAX13 L=/?L. G"4=þCK1I ;O ü =L< [. X w 6WDUV 0LFURHOHFWURQLFV 86$ ,QF ¾ | ¤µª² «²è ³ µ«¬¤² ®¾¢¤µ ³ ¢¶«Ë³ ² ³ ®£ºm ¶Æ µ¦µ ® ¨²¦¾¦£q ¾¢¸® ³ À ¾ m ¢¦¤² ¿ ¦µ ®¤q¾ þ£ ¤±¾ ©«¬¤² ®¾¢¤µ ³ ¶¢ ºn ¤µ¬³¤¢¶ ¨³¢¤ºn ¨³¢ ˳ ³èÁ ³¤ ² ˳¬ m³£¿¦±¤m¨¢ ² ³«µ n³ ² ¦º n³ ¤¨¢ · ³¤Á¬n ¤µ ³¤ ³¤¤² n³ ¦µ ¿¦± ¤± ® µÇ «mเทคโนโลยี ¨ ®µ¾¦Å ¤® µท «qี่ใช้ ¢¶ใ«นการผลิ ³ ±¾ | ¤µต ª² £m®£ ® ¤µª² ° À £ ¤µª² ° ¸®¬¹n ¤n®£¦± ® ¹ ±¾ ¶£ ˳¤±¿¦n บริษ¨ ัทฯ ได้ลงทุนในเครื่องจักรที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย จึง

สามารถผสมผสานเทคโนโลยีการผลิตที่หลากหลายและครบวงจร

¾ | ³¨è¶Æ ¹h ·Ā ¢¶ ¤±« ³¤ q¿¦± ¨³¢ ˳ w 6PDUW (OHFWURQLFV ¾ | ¤µª² «²è ³ µ ร่ ว มกั บ ความเชี ย ่ วชาญและประสบการณ์ ข องบริ ัทฯในการร่¾¦Åว มพั ¤® µ ฒนา «q Á ®¹ ษ«³¬ ¤¤¢®µ ¾£®¤¢² z ¹ ² ¾ | ²¨¿ ² ˳¬ m³£Á¬n ² และออกแบบผลิ ฑ์กบั ลูกค้ªา² เพื ¤µª² °Á ¤±¾ ©¿ £¹ À¤ ºตn ภั¤µณ ¬³¤ ® ¤µ ¢¶ อ่ ตอบสนองความต้องการของ กระบวนการผลิตÁใหม่ ๆ ของลู กค้³า£ชั้นน�ำ ของโลก นอกจากนี ้ ¤µ การที w 6PDU7UHN ¾ | ª² ่ «²è ³ µÂ n¬¨² ¢ ¨³¢ ˳ ³è¿¦± ¤±« ³¤ q ³¤ ² ˳¬ m ริการประกอบชิ น้ ส่วนผลิตภัณ«Ë³ฑ์ ²อ เิ ล็ ³ ®£º กทรอนิm ¶Æ กµ ส์ º(Micro ¤±¾ ©Â n¬¨² ·Ā ¸®¾ ®¹ ¤ q¿¦± µบริ Ç «mษ¨ัท ®µฯให้ ¾¦Åบ ¤® µ «qÁ ¤±¾ ©¿ £m ³ ©º £q ¦³ ®¹ «³¬ ¤¤¢Â¯¾ ¾ | ¤µª² £¹À¤ ¢³ ¨m³electronics «µ d Module Assembly) และประกอบและทดสอบแผง ¶Æ¢¶ ¨³¢¿ Å n³ «³£«²¢ ² q ² ¤µª² วงจรไฟฟ้ารวม (IC Packaging) อยู่ในโรงงานเดี ยวกั ¿ ¤m น จึง สามารถ ¯¾ ³ Á¬èm ³ Ë ¬¨² ¿¦± w -DSDQ 8QLW ¾ | ¬ m¨£ ³ Á ¤µ ª² ° ¾ ¸ น�ำสายการผลิ ตทั้งคู่มาประยุ กต์Æ®เข้าด้วยกันเพื่อผสมผสานกั ¨ ¢³ ®  n นเป็น ˳ ³¤ ¦³ Á ¤±¾ ©è¶Æ ¹h Á z ¹ ² ¢¶ ºn ¤µ¬³¤ ¤±« ³¤ q n³ ³¤¤² n³ ¦µ ²Ç «º Á ¹¤

ตัวแทนการตลาดของบริษัทฯ มี 3 ราย ได้แก่ • Stars Microelectronics USA, Inc. เป็นบริษัทสัญชาติ สหรัฐอเมริกา มีสำ� นักงานอยูท่ ซี่ ลิ กิ อนวัลเลย์ เมืองซานโฮเซ่ มลรัฐ แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ทีมผู้บริหารมีความรู้ความ ช�ำนาญในการจัดจ�ำหน่ายและร่วมพัฒนาสินค้ากับลูกค้า รวมถึงการ ให้บริการ การรับจ้างผลิตและประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ มี สถานะเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ โดยบริษัทฯถือหุ้นร้อยละ 59 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว • Smart Electronics เป็นบริษัทสัญชาติเยอรมัน ปัจจุบัน เป็นตัวแทนจัดจ�ำหน่ายให้กบั บริษัทฯในประเทศแถบยุโรป ผูบ้ ริหาร ของบริษัทมีความช�ำนาญและประสบการณ์ในการจัดจ�ำหน่ายอุปกรณ์ และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศแถบยุโรปมากกว่าสิบปี • Japan Unit เป็นหน่วยงานในบริษัทฯ เพื่อท�ำการตลาดใน ประเทศญีป่ นุ่ ในปัจจุบนั มีผบู้ ริหารเป็นชาวญีป่ นุ่ ซึง่ มีประสบการณ์ และความช�ำนาญในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

เทคโนโลยีการผลิตแบบ System in Package (SiP) ซึ่งจะรวมวงจร อิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะ Microelectronics Module Assembly 1O_Zย% วZ3 L=6?N / อยู่ ในวงจรไฟฟ้ารวมW1 Y3Y?<O IC ตัวเดี ท�ำให้สามารถผลิ ตชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ในขนาดทีเ่ ล็กลงมาก กระบวนการผลิต และเทคโนโลยี ¤µª² °  n¦ ¹ Á ¾ ¤¸Æ® ² ¤ ¶Æ¢¶¾ À À¦£¶ ¶Æ แต่ละประเภทสามารถประยุ ในการผลิต และประกอบผลิ ต³¤ ¦µ ภัณฑ์ ² «¢²£ก ·ต์ใ ช้«³¢³¤ «¢ «³ ¾ À À¦£¶ อิเล็กทรอนิกส์ได้หลากหลายประเภทถึ งแม้ผลิตภั¨ณ¢ ²ฑ์ อ ¨³¢¾ ¶ เิ ล็กทรอนิ กส์ ¶Æ¬¦³ ¬¦³£¿¦± ¤ ¨ ¤¤m Æ£¨ ³è จะมีการเปลี่ยนแปลงโดยมี ผลิตภัณฑ์ ร® ¤µ ุ่นใหม่ªม² าทดแทนรุ ่นเก่ า ³แต่ ¿¦± ¤±« ³¤ q °Á ³¤¤m¨¢ ² กระบวนการผลิต เทคโนโลยี และเครื อ่ ¡²งจั ก qรของบริ ัทฯทีÆ® ® « ® ่ใช้สำ� หรับ ¿¦±®® ¿ ¦µ ² ¦º n³ษ ¾ ¸ ¨³¢ n Á¬¢mÄบ ® การผลิตและประกอบผลิ ตภั®ณ ³¤ ® ¤± ¨ ³¤ ¦µ ฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์กส็ ามารถปรั เปลีย่ น Ç ³¤ ¶ Æ ¤µ ª ² °Á¬n ¦º n ³ ² Ç Ë ³ ® À¦ ® ³ þ เพื่อรองรับการประกอบผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่ๆ ได้ ¾ À À¦£¶Á ® ³ )&2) )&2* )2% )2* &2% &2) 607 37+

¾ À À¦£¶ ® ¤µª² °

¤µ ³¤ ¤± 0LFURHOHF ¤± ® ¿¦ 3DFNDJLQJ «³£ ³¤ ¦ «¢ «³ LQ 3DFNDJ ¦² ª ± 0 Á ¨ ¤Â µÇ «m¨ ®µ¾¦

¤± ¨ ³ «³¢³¤ ¤ ¦µ ¡² q® · ¿¢n ¦µ ¡ ¾ ¦¶Æ£ ¿ ¦ ¤¹m ¾ m³ ¿ ¿¦±¾ ¤¸Æ® ¤± ® ¦ ¾ ¦¶Æ£ ¾ ¸Æ® ¤¹m Á¬¢mÄ Â


016

โครงสร้างรายได้ ปี 2554

ปี 2555 (ปรับปรุงใหม่) พันบาท ร้อยละ

พันบาท

ร้อยละ

รายได้จากการขาย MMA - Hard Disk MMA - Others IC Packaging

5,803,063 943,434 739,795

76.12 12.38 9.70

3,154,368 88,787 283,772

รายได้จากการขายรวม

7,486,292

98.20

รายได้จากการบริการ (1)

97,697

รายได้อื่น ๆ รวมรายได้ (1) รายได้จากการออกแบบผลิตภัณฑ์

ปี 2556 พันบาท

ร้อยละ

64.80 1.83 5.83

6,896,713 59,315 665,365

84.83 0.73 8.19

3,526,927

72.46

7,621,393

93.75

1.28

10,663

0.22

30,474

0.37

39,214

0.51

1,330,048

27.32

477,971

5.88

7,623,203

100.00

4,867,638

100.00

8,129,838

100.00


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

017

โครงสร้างรายได้ตามมูลค่าเพิ่ม ปี 2554 พันบาท

ร้อยละ

ปี 2555 (ปรับปรุงใหม่) พันบาท ร้อยละ

ปี 2556 พันบาท

ร้อยละ

มูลค่าเพิ่ม MMA - Hard Disk MMA - Others IC Packaging

204,513 353,942 418,753

18.36 31.77 37.59

122,521 51,742 140,040

7.40 3.13 8.46

264,806 33,713 264,735

24.71 3.15 24.70

มูลค่าเพิ่มรวม

977,208

87.71

314,303

18.99

563,254

52.56

รายได้จากการบริการ (1)

97,697

8.77

10,663

0.64

30,474

2.84

รายได้อื่น ๆ

39,214

3.52

1,330,048

80.37

477,971

44.60

1,114,119

100.00

1,655,014

100.00

1,071,699

100.00

รวม

(1) รายได้จากการออกแบบผลิตภัณฑ์

มูลค่าเพิ่ม = ราคาขาย ลบ ต้นทุนวัตถุดิบ

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ •

ในปี 2556 บริษัทฯได้ขายหุ้นที่ถือในบริษัทเอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด จ�ำนวน 2,500,000 หุ้น (ร้อยละ 25%) ของทุนจดทะเบียนของบริษัทย่อย ดังกล่าวใน ราคา 25 ล้านบาทให้แก่บริษั ทฯ หนึ่งในต่างประเทศ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีกับพันธมิตรทางธุรกิจที่มีศักยภาพในอนาคต

บริษัทฯ ได้รับเงินชดเชยค่าความเสียหายจากน�ำ้ ท่วมครบถ้วนแล้ว เป็น จ�ำนวนเงินรวม 1,692 ล้านบาท ท�ำให้บริษั ทฯ สามารถเปลี่ยนแทน เครื่องจักรให้ทันสมัย และปรับปรุงกิจการให้ดีขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ มีศักยภาพในการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต

ก�ำลังการผลิตเต็มที่ต่อปี ผลิตภัณฑ์

(ล้านชิ้น)

การประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟ้ารวม (IC) การผลิตและประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (MMA)

1,800 120

รวม

1,920


018

โครงสร้างการถือหุ้น

ผู้ถือหุ้นของบริษัท 10 รายแรก ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สามารถสรุปได้ดังนี้

ผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ผู้ถือหุ้น

จ�ำนวน (หุ้น)

คิดเป็น (ร้อยละ)

MORGAN STANLEY & CO. INTERNATIONAL PLC นายเพชร ไวลิขิต บริษัท ซีกซ์ อีเอ็มเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด นายสมนึก ไชยกุล นางสาว อรนุช ไชยกุล นายศรัณย์ ไชยกุล นายนัทธพงศ์ ไชยกุล นายสมบัติ เฉลิมวุฒินันท์ นางพูนพรรณ ไชยกุล นายพร้อมพงศ์ ไชยกุล อื่นๆ

34,613,337 34,164,850 20,747,981 20,119,822 15,160,000 10,001,900 9,000,000 8,700,000 8,145,993 6,208,484 251,347,971

8.277 8.169 4.961 4.811 3.625 2.392 2.152 2.080 1.947 1.485 60.101

รวม

418,210,338

100.00

หมายเหตุ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ มีทุนช�ำระแล้วจ�ำนวน 836,420,676 บาท

โครงสร้างการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม 1. Stars Microelectronics USA, Inc.

ทุนจดทะเบียน : 20,000 เหรียญสหรัฐ จ�ำนวนหุ้น : 20 ล้านหุ้น

มีสถานะเป็นบริษัทย่อย โดยบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 59 ของ จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด Stars Microelectronics USA, Inc. เป็นบริษัทสัญชาติ สหรัฐอเมริกาซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2548 มีส�ำนักงานอยู่ที่ ซิลิกอนวัลเลย์ เมืองซานโฮเซ่ มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ทีมผู้บริหารของบริษัท Stars Microelectronics USA, Inc. เป็นผู้ที่ มีความรู้ความช�ำนาญในการจัดจ�ำหน่ายและร่วมพัฒนาสินค้ากับ ลูกค้า รวมถึงการให้บริการ การรับจ้างผลิตและประกอบชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีฐานลูกค้าส่วนใหญ่อยู่ในอุตสาหกรรมผลิต ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์หลาย ประเภท รวมทัง้ อุตสาหกรรมยานยนต์


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

2. บริษัท เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (SMT Green Energy Co., Ltd.)

3.บริษัท เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด (SS RFID Co., Ltd.)

ทุนจดทะเบียน : 1,000,000 บาท (ช�ำระแล้ว : 250,000 บาท) จ�ำนวนหุ้น : 100,000 หุ้น (จ�ำนวนหุ้นที่ออก : 25,000 หุ้น)

019

ทุนจดทะเบียน : 100,000,000 บาท จ�ำนวนหุ้น : 10,000,000 หุ้น

มีสถานะเป็นบริษัทย่อย โดยบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99 ของ จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด

มีสถานะเป็นบริษัทย่อย โดยบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 75 ของ จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด

บริษัท เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด เป็นบริษัทสัญชาติ ไทย ก่อตั้งขึ้นในปี 2553 มีส�ำนักงานอยู่ที่ 605-606 หมู่ที่ 2 ต�ำบล คลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวตั ถุประสงค์ หลักในการประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ รวมทัง้ ธุรกิจด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง เช่น การผลิตและจําหน่ายอุปกรณ์ที่ ใช้ในการผลิตพลังงานแสง อาทิตย์และพลังงานทดแทนทุกประเภท โดยขณะนี้อยู่ในระหว่าง การศึกษาข้อมูลและความเป็นไปได้ในการลงทุนในโครงการต่างๆ

บริษัท เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด เป็นบริษัทสัญชาติไทย ก่อตั้งขึ้นในปี 2555 มีส�ำนักงานอยู่ที่ 605-606 หมู่ที่ 2 ต�ำบล คลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวตั ถุประสงค์ หลักในการประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่าย RFID Tags


020

สิทธิและประโยชน์จากบัตรส่งเสริมการลงทุน บริษัทฯ ได้รับสิทธิและประโยชน์จากคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ในการประกอบธุรกิจต่างๆ ของบริษัทฯ จ�ำนวน 3 ฉบับ โดยการ อนุมัติของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ทีก่ ำ� หนดไว้ บริษทั ฯ ได้รบั สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีอากรทีม่ สี าระ ส�ำคัญดังต่อไปนี้

- วันที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริม วันที่ 1 มีนาคม 2549 - บัตรส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 1386(4)/2549 ลงวันที่ 11 เมษายน 2549 - ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม เลขที่ อก 0906/013806 ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2550 เลขที่ อก 0906/016064 ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2550 เลขที่ อก 0907/007603 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2552 เลขที่ อก 0907/030676 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2552 เลขที่ อก 0907/023225 ลงวันที่ 13 กันยายน 2553 - ประเภทกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ PCBA, Touch Pad Module และ Optical Mouse Sensor และผลิตภัณฑ์ IC - สรุปสาระส�ำคัญ สิทธิ ประโยชน์ และเงื่อนไข • ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลา 7 ปี นับจากวันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (สิทธิประโยชน์ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจะสิ้นสุด ในวันที่ 30 เมษายน 2557) ในกรณีทปี่ ระกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาที่ได้รบั ยกเว้น ดังกล่าว สามารถน�ำผลขาดทุนประจ�ำปีทเี่ กิดขึน้ ระหว่างเวลานัน้ ไป หักออกจากก�ำไรสุทธิทเี่ กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาที่ได้รบั ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล มีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันพ้นก�ำหนด เวลานั้น โดยเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ • ได้รับยกเว้นไม่ต้องน�ำเงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมไปรวมค�ำนวณเพือ่ เสียภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ตลอดระยะเวลา ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล

• ต้องมีสัดส่วนค่าใช้จ่ายในด้านฝึกอบรมบุคลากรไทย เทียบกับค่าใช้จา่ ยเงินเดือนและค่าจ้าง (Payroll) ของทัง้ คนไทยและ คนต่างชาติไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ในระยะ 3 ปีแรก • ทุนจดทะเบียนต้องไม่น้อยกว่า 463.50 ล้านบาท • ก�ำลังการผลิต IC 61,705,440 ชิ้นต่อปี ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ 48,180,000 ชิ้นต่อปี (เวลาท�ำงาน 24 ชั่วโมง ต่อวัน 365 วัน ต่อปี) • ต้องตั้งโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ทั้งนี้ ภายในระยะเวลา 15 ปี นับแต่วันเปิด ด�ำเนินการ จะย้ายโรงงานไปตั้งในท้องที่อื่นไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากคณะกรรมการ


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

021

- วันที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริม วันที่ 15 พฤศจิกายน 2554 - บัตรส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 1167(1)2555 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 - ประเภทกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ผลิต RFID WAFER

- วันที่ได้รับการอนุมัติการส่งเสริม วันที่ 17 พฤศจิกายน 2552 - บัตรส่งเสริมการลงทุน เลขที่ 5195 (1)/2556 ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2556 - ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม เลขที่ อก 0907/014022 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2553 เลขที่ อก 0907/017752 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2554 - ประเภทกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ SEMICONDUCTOR และ PCBA ส�ำหรับ HARD DISK DRIVE - สรุปสาระส�ำคัญ สิทธิ ประโยชน์ และเงื่อนไข • ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลา 8 ปี นับจากวันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (สิทธิประโยชน์ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจะสิ้นสุด ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565) ในกรณีทปี่ ระกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาที่ได้รบั ยกเว้น ดังกล่าว สามารถน�ำผลขาดทุนประจ�ำปีทเี่ กิดขึน้ ระหว่างเวลานัน้ ไป หักออกจากก�ำไรสุทธิทเี่ กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาที่ได้รบั ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล มีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันพ้นก�ำหนด เวลานั้น โดยเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ • ได้รับยกเว้นไม่ต้องน�ำเงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมไปค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตลอดระยะเวลาที่ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล • ทุนจดทะเบียนต้องไม่น้อยกว่า 736.00 ล้านบาท • ก�ำลังการผลิต SEMICONDUCTOR 3,621,560,000 ชิ้นต่อปี PCBA 60,000,000 ชิ้นต่อปี (เวลาท�ำงาน 24 ชั่วโมง ต่อวัน 365 วัน ต่อปี)

- สรุปสาระส�ำคัญ สิทธิ ประโยชน์และเงื่อนไข • ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีกำ� หนดเวลา 8 ปี นับ จากวันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น ในกรณีทปี่ ระกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาที่ได้รบั ยกเว้น ดังกล่าว สามารถน�ำผลขาดทุนประจ�ำปีทเี่ กิดขึน้ ระหว่างเวลานัน้ ไป หักออกจากก�ำไรสุทธิทเี่ กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาที่ได้รบั ยกเว้นภาษี เงินได้นติ บิ คุ คล มีกำ� หนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั พ้นก�ำหนดเวลา นั้น โดยเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ • ได้รับยกเว้นไม่ต้องน�ำเงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมไปค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ตลอดระยะเวลาที่ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล • ทุนจดทะเบียนต้องไม่น้อยกว่า 830.42 ล้านบาท • ก�ำลังการผลิต RFID WAFER 157,680 ชิ้นต่อปี (เวลาท�ำงาน 24 ชั่วโมง ต่อวัน 365 วัน ต่อปี)

นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้รบั สิทธิการส่งเสริมการลงทุนจาก การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตาม ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 7/2552 เรื่อง มาตรการส่งเสริมการลงทุนให้บริษัทที่ ได้รับการส่งเสริม จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลาด หลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (MAI) ซึ่งบริษัทฯจะได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลโดยไม่จำ� กัดวงเงิน


022

นโยบายการลงทุน และโครงสร้างเงินลงทุน นโยบายการลงทุน บริษัทฯ มีนโยบายการลงทุนในบริษัทย่อย และ/หรือ บริษัทร่วมโดยพิจารณาลงทุนในธุรกิจที่เกื้อหนุนและเอื้อประโยชน์ต่อการท�ำ ธุรกิจของบริษัทฯ หรือเป็นธุรกิจซึ่งอยู่ในอุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มการเจริญเติบโต หรือธุรกิจที่บริษัทฯ มีความถนัดและช�ำนาญ โดยจะ ค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุน เพื่อประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เป็นส�ำคัญ โดยบริษัทฯ จะควบคุมดูแลด้วยการส่ง กรรมการหรือพนักงานระดับสูงเข้าไปเป็นตัวแทนของบริษัทฯตามสัดส่วนการถือหุ้นและบริษัทฯ มีสิทธิคัดค้าน (Veto Right) ในเรื่องที่ ส�ำคัญที่จะด�ำเนินการโดยบริษัทย่อย และ/หรือ บริษัทร่วมนั้นๆ โดยการลงทุนในบริษัทดังกล่าวจะต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติจาก คณะกรรมการของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น และ/หรือ ในกรณีที่เป็นการเข้าท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันจะต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติจาก คณะกรรมการตรวจสอบอีกด้วย รวมทั้งต้องน�ำกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องมาบังคับใช้

โครงสร้างเงินลงทุน หุ้นสามัญ

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2553 บริษัทฯ ได้ออกใบส�ำคัญแสดง สิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงาน ของบริษัทฯ ตามโครงการ ESOP จ�ำนวน 7,500,000 หน่วย โดย ไม่คิดมูลค่า (หน่วยละ 0 บาท) อัตราการใช้สิทธิใบส�ำคัญแสดง สิทธิ 1 หน่วย ต่อ 1 หุ้นสามัญ และราคาการใช้สิทธิ 4.50 บาทต่อ หุ้น โดยก�ำหนดการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญในวันท�ำการสุดท้ายของ เดือนกุมภาพันธ์ พฤษภาคม สิงหาคม และพฤศจิกายน ของแต่ละ ปีตลอดอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ 4 ปี จนถึงวันใช้สิทธิครั้ง สุดท้ายในเดือนพฤษภาคม 2557 (วันที่ 30 พฤษภาคม 2557)

ทุนจดทะเบียน : 839,164,878 บาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญ จ�ำนวน 419,582,439 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 2.00 บาท

ทุนช�ำระแล้ว: 836,420,676 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ จ�ำนวน 418,210,338 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 2.00 บาท

นับจากวันทีอ่ อกใบส�ำคัญแสดงสิทธิฯ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ ตามใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ รวมเป็นจ�ำนวน 6,157,950 หน่วย คิดเป็นหุ้นที่ได้จาก การใช้สิทธิ จ�ำนวนทั้งสิ้น 6,271,426 หุ้น โดยยังคงเหลือใบส�ำคัญ แสดงสิทธิทยี่ งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิอกี จ�ำนวน 1,342,050 หน่วย และเหลือ หุ้นส�ำหรับรองรับใบส�ำคัญแสดงสิทธิตามโครงการนี้ จ�ำนวน 1,372,101 หุ้น


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

023

หมายเหตุ 1. บริษัทฯ ได้มีการปรับอัตราและราคาการใช้สิทธิของ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว (เริ่มตั้งแต่การใช้สิทธิครั้งที่ 2 ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554) เนื่องจากบริษัทฯ ได้มีการออกและเสนอขาย หุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้น แต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) โดยราคาที่เสนอขายหุ้นละ 16 บาทนัน้ เป็นราคาทีต่ ำ�่ กว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดของหุน้ สามัญ ของบริษัทฯ (ค�ำนวณจากราคาเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญใน ตลาดหลักทรัพย์ 7 วันท�ำการติดต่อกัน หรือในช่วงระยะเวลา วันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ 2554 และ 21 -25 กุมภาพันธ์ 2554 ซึ่งเท่ากับ 19.87 บาท) และเป็นไปตามเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ใน “ข้อก�ำหนด ว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิและผู้ถือใบ ส�ำคัญแสดงสิทธิสำ� หรับใบส�ำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญทีอ่ อก ให้แก่กรรมการ และ/หรือ พนักงานของบริษทั ฯ” ทีก่ ำ� หนดให้บริษทั ฯ มีหน้าที่ปรับสิทธิให้แก่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ โดยอัตราการใช้ สิทธิใหม่ทำ� ให้ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้น สามัญได้ 1.02213 หุ้น และราคาการใช้สิทธิ 4.403 บาท ต่อหุ้น

2. บริษัทฯ ได้ด�ำเนินโครงการซื้อหุ้นคืนเพื่อการบริหาร ทางการเงิน ในระหว่างวันที่ 12 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 12 เมษายน 2555 ต่อมาทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหารได้มมี ติให้บริษทั ฯ จ�ำหน่าย หุ้นที่ซื้อคืนดังกล่าว ภายในช่วงวันที่ 22 ตุลาคม 2555 ถึงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2555 นั้น เนื่องจากบริษัทฯไม่มีนโยบายจะขายหุ้นที่ซื้อคืนดังกล่าว จ�ำนวน 2,187,800 หุ้น ซึ่งตามกฎกระทรวงที่ออกโดยกระทรวง พาณิชย์ เรื่องก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการว่าด้วยการซื้อหุ้นคืน การจ�ำหน่ายหุ้นที่ซื้อคืน และการตัดหุ้นที่ซื้อคืนของบริษัท พ.ศ. 2544 ก�ำหนดให้บริษัทต้องด�ำเนินการลดทุนช�ำระแล้วโดยวิธีการ ตัดหุ้นที่ซื้อคืนและยังมิได้จ�ำหน่าย หากบริษัทจ�ำหน่ายหุ้นที่ซื้อคืน ไม่หมดหรือยังมิได้จ�ำหน่าย ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ด�ำเนินการลดทุน จดทะเบียนและทุนช�ำระแล้วโดยการตัดหุ้นที่ซื้อคืนและยังไม่ได้ จ�ำหน่าย จ�ำนวน 2,187,800 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 2 บาท ต่อนายทะเบียน บริษัทมหาชนจ�ำกัด แล้วเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2555 ทั้งนี้ ภายหลังจากการลดทุน บริษัทฯ จะมีทุนจดทะเบียน จ�ำนวน 839,164,878 บาท


024

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลใน อัตราประมาณร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิหลังจากหักภาษีและส�ำรอง ตามกฎหมาย ทั้งนี้ คณะกรรมการของบริษัทฯมีอ�ำนาจในการ พิจารณายกเว้นไม่ดำ� เนินการตามนโยบายดังกล่าว หรือเปลีย่ นแปลง นโยบายดังกล่าวได้เป็นครัง้ คราว โดยอยูภ่ ายใต้เงือ่ นไขทีก่ ารด�ำเนิน การดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น เช่น

การจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลงวดครึ่งปีแรก การจ่ายเงินปันผลจากผลการด�ำเนินงานงวดครึ่งปีหลัง การจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี

ใช้เป็นทุนส�ำรองส�ำหรับการช�ำระคืนเงินกู้ ใช้เป็นเงินลงทุนเพือ่ ขยาย ก�ำลังการผลิต หรือกรณีมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะตลาด ซึ่งอาจ มีผลกระทบต่อกระแสเงินสดของบริษัทฯในอนาคต

รายละเอียดการจ่ายเงินปันผลในปีที่ผ่านมามีดังนี้

2552

2553

2554

2555

2556

0.14 0.15 0.29

0.20 0.50 0.70

0.20 0.20

-

-* -*

*รอการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯประจ�ำปี 2557 ในวันที่ 28 เมษายน 2557

การวิจัยและพัฒนา

บริษัทฯยังคงให้ความส�ำคัญกับการวิจัยและ พัฒนาทางด้าน ขั้นตอนการผลิต รวมถึงตัวผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง โดยทีมนักวิจัย และพัฒนาของบริษัทฯ ได้มีการพัฒนาผลิตภัณท์ไปพร้อมๆ กับ ลูกค้าเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและเป็นที่พึงพอใจของลูกค้า นอกจากงานทางด้านผลิตภัณฑ์แล้ว อีกด้านหนึ่งของการวิจัยและ พัฒนา คือการสร้างเครื่องจักรขึ้นใช้เองในกระบวนผลิตส�ำหรับ ผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือ พัฒนา คิดค้น ปรับปรุงขบวนการผลิต โดยแนวความคิดที่จะสร้างเครื่องจักร และอุปกรณ์ในรูปแบบการ ท�ำงานแบบอัตโนมัติ (Automation Concept) เพื่อวัตถุประสงค์ในการเพิ่มก�ำลังการผลิต ลดต้นทุน รวมทั้งลดปัญหาข้อผิดพลาดที่ เกิดจากการใช้คนปฏิบัติงาน ปัจจุบันนี้เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ออกแบบโดยวิศวกรของบริษัทฯ อยู่ระหว่างด�ำเนินการจดสิทธิบัตร คุ้มครองการพัฒนาเครื่องจักร

โครงการในอนาคต 1. บริษทั ฯ มุง่ เน้นการขยายก�ำลังการผลิตเพือ่ รองรับลูกค้า ในผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม (ONE STOP VALUE ADDED SERVICE) ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีอัตราการเติบโตสูง (High Growth) มีช่องว่าง ในการเพิ่มอัตราก�ำไร เนื่องจากเป็นสินค้าที่ต้องอาศัยการวิจัยและ พัฒนาร่วมกันระหว่างบริษทั ฯและลูกค้าโดยมุง่ เน้นในกลุม่ ผลิตภัณฑ์ IC Packaging & Test และ Radio Frequency Identification (RFID) เป็นต้น

2. บริษัทฯได้เตรียมการเข้าสู่กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจ ASEAN ของการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว 3. บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัท เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด เพื่อ ด�ำเนินธุรกิจ RFID Tag ซึ่งสอดคล้องกับทิศทางของบริษัทฯ ในการ ลงทุนธุรกิจใหม่ ท�ำให้บริษทั ฯ มีสนิ ค้าของตนเองซึง่ จะท�ำให้บริษทั ฯ มีความมั่นคงมากขึ้นและเป็นสายธุรกิจใหม่ที่มีแนวโน้มการเจริญ เติบโตและมีอัตราก�ำไรสูง


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

025

ความรับผิดชอบต่อสังคม 1. กิจกรรมวันเด็ก คุณณัฐพล เผือ่ นปฐม ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายทรัพยากร บุคคลและธุรการ น�ำรถจักรยาน มอบให้แก่ เทศบาลต�ำบล คลองจิก และ เทศบาลต�ำบลบางปะอิน โดยมีท่านปลัดเทศบาล เป็นตัวแทนรับมอบ ซึง่ รถจักรยานดังกล่าวทางเทศบาลจะน�ำไปเป็น ของขวัญ และมอบแก่เด็กที่มาร่วมงานวันเด็กของเทศบาลที่จัดขึ้น ในวันที่ 12 มกราคม 2556

2. โครงการหนึง่ หยด ล้านค�ำขอบคุณ บริษทั ฯ ร่วมกับโรงพยาบาล ธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต จัดกิจกรรมบริจาคโลหิต เพื่อให้พนักงาน ได้ร่วมท�ำประโยชน์แก่สังคมและเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้กิจกรรมบริจาคโลหิต บริษัทฯ จะจัดทุกๆ 3 เดือน โดยในปีนี้ได้จัดเสร็จสิ้นแล้วจ�ำนวน 4 ครั้ง ซึ่ง มีผู้ร่วมบริจาคโลหิตรวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 376 คน

3. กิจกรรมสงกรานต์งานวัด ช่าช่าช่า มหากุศล เพือ่ สืบสานประเพณี สงกรานต์ บริษทั ฯ จึงจัดกิจกรรมเนือ่ งในวันสงกรานต์ ได้แก่ ท�ำบุญ ตั ก บาตรข้ า วสารอาหารแห้ ง รดน�้ ำ ขอพรผู ้ บ ริ ห าร การประกวดนางสงกรานต์ และกิจกรรมหารายได้เพื่อสมทบทุน ร่วมเป็นเจ้าภาพบูรณะหอสวดมนต์ทถี่ กู เพลิงไหม้ วัดโบสถ์สมพรชัย อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา

4. มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนในเขตท้องถิ่น ในทุกปีบริษัทฯ จะจัดกิจกรรมมอบทุนการศึกษาแก่นกั เรียนในเขตอ�ำเภอบางปะอิน ซึ่งอยู่รอบๆ บริษัทฯ โดยในปีนี้บริษัทฯ ได้มอบทุนการศึกษาแก่ นักเรียนโรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม


026

5. โครงการสตาร์สรักถิ่น เพื่อปลูกจิตส�ำนึกในการช่วยเหลือสังคม และเพื่อให้พนักงานได้เกิดความภาคภูมิใจที่ร่วมสร้างประโยชน์แก่ ท้องถิน่ บ้านเกิดของตนเอง บริษทั ฯ จึงจัด “โครงการสตาร์สรักถิน่ ” ด้วยการบริจาคชุดคอมพิวเตอร์ที่เหลือจากการใช้งานแก่ชุมชน วัด และโรงเรียนในท้องถิน่ บ้านเกิดของพนักงาน ซึง่ ในครัง้ นีพ้ นักงาน และตัวแทนบริษัทฯ ได้ร่วมเดินทางไปมอบชุดคอมพิวเตอร์แก่ วัดหัวเขาลานคา จ.นครสวรรค์ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2556

6. กิจกรรมวันเข้าพรรษา เนื่องในวันเข้าพรรษา บริษัทฯ จึงจัด กิจกรรมท�ำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง ถวายเทียนพรรษาและ ผ้าป่าสามัคคีบูรณะหอสวดมนต์ที่ถูกเพลิงไหม้ วัดโบสถ์สมพรชัย อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2556

7. รับรางวัลเกียรติยศ คุณณัฐพล เผื่อนปฐม ตัวแทนบริษัทฯ รับรางวัลเกียรติยศ CSR-DIW For Beginner Award 2013 มาตรฐาน ความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม ซึ่งได้รับ เกียรติจากปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมและคณะผูบ้ ริหารกรมโรงงาน อุตสาหกรรม เป็นผู้มอบรางวัลฯ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2556 ณ ห้ อ งแกรนด์ ไ ดมอนท์ บอลรู ม ศู น ย์ แ สดงสิ น ค้ า และ การประชุมอิมแพค เมืองทองธานี

ปี 2556 นี้ บริษัทฯได้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างศักยภาพโรงงานอุตสาหกรรมมุ่งสู่การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม และรับผิดชอบต่อ สังคมอย่างยั่งยืน (CSR-DIW for Beginner 2556) ส�ำหรับนโยบายและรายงานความรับผิดชอบต่อสังคมเบื้องต้นตามโครงการนี้ ผู้ถือหุ้น ทุกท่าน และผู้ที่สนใจสามารถอ่านและศึกษารายละเอียดได้จากเวบไซต์ของบริษัทฯ โดยตรงได้ที่ www.starsmicroelectronics.com


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

027

การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อการบริหารทรัพยากรบุคคลเป็น อย่างมากและมุ่งเน้นที่จะพัฒนาทุนมนุษ ย์ (Human Capital Development) ของบริษัทฯ ให้เข้มแข็ง ให้สอดคล้องไปกับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธของบริษัทฯ เพราะบริษัทฯ ตระหนัก ว่าบุคคลากร คือทรัพย์สินที่มีค่ายิ่งของบริษัทฯ

1. แผนระยะสัน้ ของการบริหารทรัพยากรบุคคล ในปีทผี่ า่ นมาเป็นเวลาทีบ่ ริษทั ฯ ได้เริม่ ฟืน้ ตัวจากสภาวะวิกฤต น�้ำท่วม การผลิตของบริษัทฯ ได้เริ่มเข้าสู่สภาวะปกติตามล�ำดับ ในระยะนี้ บริษัทฯ จึงมุ่งที่จะรักษาขวัญก�ำลังใจของพนักงานอย่าง ดีทสี่ ดุ พร้อมทัง้ พัฒนาความรู้ ความสามารถของ พนักงานด้วยการ ฝึกอบรมให้พนักงานมีขีดความสามารถสูง ในการปฏิบัติงานและ มีทักษะการปฏิบัติงานที่หลากหลาย (Multi-Skilled) สามารถ สร้างผลผลิตทีด่ ที งั้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ให้เป็นทีย่ อมรับของ ลูกค้าของบริษัทฯ เป็นอย่างสูงต่อไปในอนาคต

2. แผนระยะยาวของการบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัทฯ จะด�ำเนินโครงการส�ำคัญต่างๆ ที่ได้เริ่มต้นไว้ ให้บรรลุผล อย่างมีประสิทธิภาพได้แก่ • Competency Management System เพื่อเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันให้แก่องค์กร อย่างเต็มที่ โดยจะน�ำระบบนี้ ไปใช้กับระบบต่างๆ ในการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบการ สรรหาและว่าจ้าง ระบบการฝึกอบรมและพัฒนา และระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติของพนักงาน เป็นต้น

• Diversity Management บริษัทฯ ได้เน้น การบริหารความ หลากหลายเพือ่ เตรียมตัวรับการ ก้าวเข้าสูป่ ระชาคมเศษฐกิจอาเซียน (AEC) ในอนาคตอันใกล้ของประเทศไทย โดยส่งเสริมให้ พนักงาน ได้พัฒนาทักษะด้านภาษาให้มากขึ้นและจัดสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงานให้มีสภาพแวดล้อมที่ดีใกล้เคียงกับ Global Environment มากขึ้น • Employee Engagement Program บริษัทฯ ได้จัดท�ำ โครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างความผูกพัน ระหว่างพนักงานกับบริษัทฯ ให้พนักงานท�ำงานด้วยความมุ่งมั่น อุทิศตนเพื่อบริษัทฯ อย่างเต็ม ความสามารถ โดยการส่งเสริมให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการบริหาร งานของบริษทั ฯ ในทุกระดับ สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างพนักงาน กับฝ่ายบริหาร ตลอดจนส่งเสริมให้พนักงานได้พัฒนาตนเอง เพื่อที่จะเติบโตไปในสายงานต่อไปในอนาคต บริษัทฯ มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ โดยพนักงานจ่ายส่วนหนึ่ง และบริษทั ฯ จ่ายสมทบ ซึง่ อัตราสมทบเป็นไปตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมการออมเงินแบบผูกพันระยะยาว (Contractual Savings) ส�ำหรับลูกจ้าง เพือ่ ไว้ใช้จา่ ยเมือ่ ยามเกษียณ อายุ ทุพพลภาพ หรือต้องออกจากงาน นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังมุง่ เน้นทีจ่ ะสร้างให้บริษทั ฯ เป็นองค์กร แห่งความสุข (Happy Workplace) โดยการจัดสภาพแวดล้อมใน การท�ำงานที่จะท�ำให้ พนักงานมีความสุขในการท�ำงาน ซึ่งจะท�ำให้ พนักงานร่วมกันสร้างผลผลิตทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพให้กับ บริษัทฯ อย่างเต็มที่อีกด้วย


028

การก�ำกับดูแลกิจการ

ในฐานะบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Listed Company) คณะกรรมการบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) จึงมุง่ มัน่ ในการพัฒนาระดับการก�ำกับดูแลกิจการอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้บริษทั ฯมีระบบการก�ำกับดูแลกิจการ และแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practices) และมุ่งหวังให้บริษัทฯพัฒนาระดับการก�ำกับดูแลกิจการให้ได้รับการยอมรับว่ามีการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย และสร้างมูลค่าเพิ่มให้เกิดประโยชน์โดยรวมต่อผู้ถือหุ้น

ในปี 2556 บริษัทฯ ปฏิบัติตามการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ดังต่อไปนี้

1. สิทธิของผู้ถือหุ้นและการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 ในวันจันทร์ ที่ 22 เมษายน 2556 เวลา 14.00 น. (ภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้น สุดของรอบปีบัญชีของบริษัทฯ) โดยใช้วิธีกำ� หนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่ มีสิทธิเข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้น (Record Date) และรวบรวม รายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ บริษัทศูนย์ รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (Thailand Securities Depository Co., Ltd.) ซึง่ เป็นนายทะเบียนของบริษทั ฯ จัดส่งหนังสือ เชิญประชุมทั้งฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรายงาน ประจ�ำปี ในรูปแบบ CD-Rom ให้กับผู้ถือหุ้น ล่วงหน้า 14 วันก่อน วันประชุม และโฆษณาบอกกล่าวนัดประชุมในหนังสือพิมพ์ติดต่อ กัน 3 วันก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีเวลา พิจารณาข้อมูลเพียงพอ หนังสือเชิญประชุมระบุรายละเอียดของ วาระการประชุมชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่เสนอเพื่อรับทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพือ่ พิจารณาแล้วแต่กรณี รวมทัง้ ความเห็นของคณะกรรมการ ในแต่ละวาระพร้อมเอกสารข้อมูลประกอบการประชุมทีม่ รี ายละเอียด ครบถ้วนเพียงพอ นอกจากนี้ยังมีการแจ้งรายละเอียดให้ผู้ถือหุ้น น�ำหลักฐานที่จ�ำเป็น เพื่อน�ำมาแสดงตนในวันประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อ รักษาสิทธิในการเข้าร่วมประชุม และให้สิทธิผู้ถือหุ้นในการมอบ

ฉันทะให้ผู้บุคคลอื่นมาประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนตน โดยแนบแบบหนังสือมอบฉันทะ (ตามแบบที่กรมพัฒนาธุรกิจ การค้า กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด) บริษัทฯได้เปิดให้ลงทะเบียน เข้าร่วมประชุมได้ลว่ งหน้าก่อนเวลาประชุมไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมงและ ใช้ระบบบาร์โค้ด (barcode) ในการลงทะเบียนพร้อมจัดพิมพ์บัตร ลงคะแนนในแต่ละวาระให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และให้สทิ ธิผทู้ เี่ ข้าร่วมประชุม ภายหลังจากที่เริ่มประชุมแล้ว สามารถลงคะแนนได้ส�ำหรับวาระ ที่ยังไม่มีการลงมติ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 นั้น มีกรรมการ ของบริษัทฯ เข้าร่วมประชุม 10 ท่านจากจ�ำนวน 11 ท่าน รวมทั้ง ผู้บริหารของบริษัทฯ และผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละวาระ ผู้สอบบัญชี ของบริษทั ฯ ทีป่ รึกษาทางการเงินของบริษทั ฯ และทีป่ รึกษากฎหมาย อิสระของบริษทั ฯได้เข้าร่วมประชุมเพือ่ รับฟังความคิดเห็น และตอบ ข้อซักถามของผู้ถือหุ้นด้วย และตัวแทนจากบริษัทศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นผู้ท�ำการตรวจสอบการ ลงทะเบียนของผูถ้ อื หุน้ และตรวจนับผลการลงคะแนนเสียงร่วมกับ ที่ปรึกษากฎหมายอิสระของบริษัทฯ การด�ำเนินการประชุมเป็นไป ตามล�ำดับวาระการประชุม โดยไม่มีการเพิ่มวาระการประชุม


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทฯได้แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับองค์ประชุม สัดส่วน ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งด้วยตนเองและมอบฉันทะ วิธีการลงคะแนน วิธีนับคะแนน ดังนี้ (1) ผู้ถือหุ้นมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง ดังนั้น ผู้ถือหุ้นแต่ละรายจะมีเสียงตามจ�ำนวนหุ้นที่ถืออยู่ หรือรับมอบ ฉันทะมา (2) ผูถ้ อื หุน้ ท่านใดมีสว่ นได้เสียเป็นพิเศษในวาระใด ไม่มสี ทิ ธิ ออกเสียงในวาระนั้น (3) ผู้ดำ� เนินการประชุมจะถามในแต่ละวาระๆ ว่ามีผู้คัดค้าน หรืองดออกเสียงหรือไม่ หากประสงค์จะคัดค้านหรืองดออกเสียง ให้ลงคะแนนในบัตรลงคะแนน ส�ำหรับท่านที่ไม่คัดค้านหรือไม่งด ออกเสียง จะถือว่าอนุมัติตามวาระนั้น บริษัทฯ จะน�ำคะแนนเสียง ที่ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง หักออกจากจ�ำนวนเสียงทั้งหมด ที่เข้าร่วมประชุม หรืองดออกเสียงลงคะแนน เพื่อสรุปผลการ ลงคะแนนในแต่ละวาระ (4) เพื่อให้สอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลที่ดีของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวาระเรือ่ งพิจารณาเลือกตัง้ กรรมการ

029

แทนกรรมการซึ่งครบก�ำหนดออกตามวาระ และบริษัทฯ ได้เสนอ ชื่อกรรมการให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนทีละคน ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเลือกกรรมการที่ต้องการได้อย่างแท้จริง ผู้ถือหุ้น ทั้งประสงค์จะลงคะแนนเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ต้องลงคะแนนในบัตรลงคะแนน บริษทั ฯ มีนโยบายสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ทุกคนมาเข้าร่วมประชุม รวมทั้งผู้ลงทุนสถาบันด้วย บริษัทฯ ก�ำหนดเวลาในการประชุมให้ ผูถ้ อื หุน้ ได้มโี อกาสและสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการตรวจสอบการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ สอบถาม และแสดงความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ บริษัทฯมีช่องทางให้ผู้ถือหุ้น ได้ส่งค�ำถามที่ต้องการให้ตอบในที่ประชุมได้ล่วงหน้าทางอีเมล์ ไปยังนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั ฯ หรือโดยทางโทรสารของบริษทั ฯ บริษัทฯ ได้มีการบันทึกรายงานการประชุม โดยบันทึกวาระ การประชุม เนื้อหาการประชุม ผลการลงคะแนนแต่ละวาระ มติที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ประเด็นข้อซักถาม ความคิดเห็น ค�ำชี้แจงของ กรรมการและผู้บริหาร ไว้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ส�ำหรับรายงาน การประชุมผู้ถือหุ้นนั้น บริษัทฯได้จัดท�ำรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น แล้วเสร็จภายใน 7 วันหลังการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยได้จดั เก็บรายงาน การประชุมอย่างเป็นระเบียบเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้


030 นอกเหนือจากสิทธิในการลงคะแนนเสียงในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ผู้ถือหุ้นยังได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานอื่นๆ ได้แก่ สิทธิการได้รับส่วนแบ่ง ในผลก�ำไร/เงินปันผลอย่างเท่าเทียมกัน สิทธิในการได้รบั การปฏิบตั ิ ทีเ่ ท่าเทียมในการรับซือ้ หุน้ คืนโดยบริษทั ฯ เป็นต้น ซึง่ สิทธิขนั้ พืน้ ฐาน เหล่านี้มีก�ำหนดเป็นกฎหมายอยู่แล้ว

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับสิทธิของ ผู้ถือหุ้นทุกๆ คนและปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และเป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือรายย่อย หรือ ผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติ โดยได้ด�ำเนินการต่างๆ ดังต่อไปนี้ (1) ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการประชุมตาม ระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมเสมอ จะไม่เพิม่ วาระ การประชุมที่ไม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าหากไม่จ�ำเป็น โดยเฉพาะ วาระส�ำคัญทีต่ อ้ งให้ผถู้ อื หุน้ ใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนตัดสินใจ (2) เสนอรายชื่อกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เพื่อเป็น ทางเลือกในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น และได้ชี้แจงให้ผู้ถือหุ้น ทราบว่ากรรมการแต่ละคนมีสว่ นได้เสียในระเบียบวาระใดบ้าง เช่น วาระการแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีค่ รบก�ำหนดออกตามวาระ เป็นต้น (3) ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียงทุกวาระ โดยจัดท�ำบัตรลงคะแนนแยกแต่ละวาระเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ลงคะแนนได้ตามสมควร (4) ประธานในทีป่ ระชุมได้จดั สรรเวลาให้กบั ผูถ้ อื หุน้ มีโอกาส ในการแสดงความคิดเห็นในการประชุมประจ�ำปี 2556 บริษัทฯ เปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น และตั้งค�ำถามต่อที่ประชุม ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ได้ รวมทั้งให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามเพื่อ สอบถามข้อมูลในแต่ละวาระหรือข้อมูลอืน่ ๆ ของบริษทั ล่วงหน้าผ่าน E-mail address: ir@starsmicroelectronics.com หรือทาง โทรสาร 035-221778 และสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 035-221777 ต่อ 313 อย่างไรก็ตาม ในปี 2556 ไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดส่งเรื่องใดมาเพื่อสอบถามหรือแสดง ความคิดเห็น (5) คณะกรรมการบริษัทฯ จะดูแลให้บริษัทฯ ปฏิบัติให้ เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดเกี่ยวกับ การเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการเกีย่ วโยง และการได้มาหรือจ�ำหน่าย ทรัพย์สินที่ส�ำคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย รวมทั้งปฏิบัติตาม มาตรฐานบัญชีที่กำ� หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี

(6) คณะกรรมการบริษัทฯ จะให้ความส�ำคัญกับรายการ ระหว่างกัน หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย เกิดขึน้ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคตซึง่ ไม่อยู่ในเงือ่ นไข ทางธุรกิจปกติ ทั้งนี้ บริษัทฯ จะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รบั การตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี ของบริษัทฯ (7) ก�ำหนดมาตรการให้กรรมการและผู้บริหารต้องเปิดเผย ข้อมูลถึงการมีผลประโยชน์ส่วนตนต่อการท�ำธุรกรรมใดๆ อันอาจ กระทบกับบริษัทฯ ผ่านแบบฟอร์มรายงานการมีส่วนได้เสีย โดยมี เลขานุการบริษัทฯเป็นผู้รับรายงานการเปิดเผยข้อมูลการมีส่วนได้ เสียและน�ำส่งประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ ซึ่งในปี 2556 บริษัทฯได้ให้กรรมการและผู้บริหารทุกคนเปิดเผย ข้อมูลการมีส่วนได้เสียของตน ซึ่งทั้งปีนี้ไม่มีการกระท�ำใดขัดต่อ ข้อก�ำหนดในเรื่องการท�ำธุรกรรมที่เกี่ยวโยงกัน

3. สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ผู้ถอื หุ้น: บริษทั ฯ ปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ ทุกคนอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม ให้ความส�ำคัญกับสิทธิของผู้ถือหุ้น ไม่กระท�ำการใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือริดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น 2. พนักงาน: บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม 3. คู่ค้าและเจ้าหนี้: บริษัทฯปฏิบัติต่อคู่ค้าและเจ้าหนี้อย่าง เป็นธรรม เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า และ/หรือ ข้อตกลงใน สัญญาที่ทำ� ร่วมกัน 4. ลูกค้า: บริษทั ฯ ให้บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพและตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า โดยให้ความส�ำคัญด้านความปลอดภัยควบคู่ กันไป 5. คู่แข่ง: บริษัทฯ ปฏิบัติตามกติกาการแข่งขันที่ดี และ หลีกเลี่ยงวิธีการไม่สุจริตเพื่อท�ำลายคู่แข่ง 6. สังคมรวมและสิ่งแวดล้อม: บริษัทฯ ให้การสนับสนุน กิจกรรมอันเป็นประโยชน์ และส่งเสริมคุณภาพของสังคม และ สิ่งแวดล้อมโดยรวม ทั้งนี้ บริษัทฯ จะปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อดูแลสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียข้างต้นด้วยความ เป็นธรรม


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ดูแลให้เปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับกิจการ ทั้งข้อมูลทางการเงิน รายงานการเงิน ให้ตรงเวลาตาม ข้อก�ำหนดเรือ่ งการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยน�ำเสนอทั้งในรูปภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เพื่อให้นักลงทุน ผู้ถือหุ้น และผู้เกี่ยวข้องต่างๆ ได้รับทราบข้อมูลได้อย่างโปร่งใส เท่าเทียมกัน นอกจากนี้ได้มกี ารเปิดเผยรายงานผูส้ อบบัญชี ตัวเลข ทางการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัทฯ ได้เปิดเผยบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวนครั้งของการเข้าร่วมประชุม และเปิดเผยข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการไว้ด้วย และบริษัทฯ ยังได้ จัดให้มีส่วนนักลงทุนสัมพันธ์ ท�ำหน้าที่รับผิดชอบดูแลให้ข้อมูลที่ ส�ำคัญต่อนักลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดท�ำข้อมูลเผยแพร่ ข้อมูลต่างๆ ผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเวบไซต์ ของบริษัทฯ เพื่อให้นักลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียสามารถอ่าน และรับทราบข้อมูลข่าวสารที่สำ� คัญของบริษัทฯ ข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลผลการประกอบการได้ตลอดเวลา บริษทั ฯ ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารรายงาน โดยให้กรรมการ ทุกท่าน, ผู้ดำ� รงต�ำแหน่งในระดับบริหารสี่รายแรก นับต่อประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารลงมา, ผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชี หรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไป หรือเทียบเท่า ต้องรายงาน การมีสว่ นได้เสียตามแบบแจ้งรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการ และผู้บริหาร โดยรายงานเมื่อมีการท�ำรายการที่อาจเข้าข่ายมีส่วน ได้เสีย ให้รายงานต่อบริษัทฯ โดยไม่ชักช้า และเลขานุการ บริษัทฯ จะเป็นผู้เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการ และผู้บริหารไว้ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯในปี 2556 บริษัทฯ ได้จัด กิจกรรมแถลงผลการด�ำเนินงานและมีการเข้าร่วมโครงการ Opportunity Day ซึ่งจัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวม 1 ครั้ง นอกจากนี้บริษัทฯ ยังเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจเข้าชม กิจการของบริษัท Company Visit เสมอ ซึ่งผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วม กิจกรรมจะได้พบปะพูดคุย และมีโอกาสร่วมแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นซึ่งกันและกัน ทั้งนี้ ปี 2556 นี้บริษัทฯได้ปฏิบัติโดยการเปิดเผยข้อมูล เป็นไปตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงานก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (ก.ล.ต) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างครบถ้วน และตรงตามก�ำหนดเวลา

031

5. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดตามทีก่ ำ� หนด ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการก�ำหนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนการด�ำเนินงานประจ�ำปี งบประมาณประจ�ำปีของ บริษทั ฯ และควบคุมดูแลการบริหารและการจัดการของฝ่ายบริหาร หรือของบุคคลใดๆ ที่ได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินงานดังกล่าวให้เป็น ไปตามเป้าหมายและนโยบาย รวมทั้งแผนการด�ำเนินงานที่ คณะกรรมการได้ให้ไว้ คณะกรรมการ ปัจจุบันบริษัทฯ มีคณะกรรมการ จ�ำนวน 11 ท่าน ประกอบ ด้วย กรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน และกรรมการอิสระทั้งหมด เป็นกรรมการตรวจสอบด้วย กรรมการบริหารจ�ำนวน 4 ท่าน และกรรมการที่ไม่เป็นกรรมการอิสระและไม่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 3 ท่าน บริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะกรรมการรวมทั้งสิ้น 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ทั้งนี้ เพื่อแบ่งอ�ำนาจหน้าที่ให้ชัดเจน ซึ่งจะท�ำให้ การก�ำหนดทิศทางและการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ มีประสิทธิภาพ สูงสุด คณะกรรมการบริษัทฯ จะเป็นผู้พิจารณาก�ำหนดเป้าหมาย ของบริษัทฯ และก�ำหนดบทบาทและมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่ ให้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และประธานเจ้า หน้าที่บริหาร คณะอนุกรรมการ นอกจากคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว บริษัทฯ ยังมีคณะ กรรมการชุดย่อย 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร จ�ำนวน 4 ท่าน คณะกรรมการตรวจสอบจ�ำนวน 4 ท่าน และคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนจ�ำนวน 3 ท่าน และคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงจ�ำนวน 12 ท่าน (มีกรรมการอิสระเป็นประธานคณะ กรรมการบริหารความเสีย่ ง และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯเป็นกรรมการ บริหารความเสี่ยง)ทั้งนี้บริษัทฯ ได้มีการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการชุดต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ยังไม่ ได้มกี ารพิจารณาแต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหา เนือ่ งจากโครงสร้าง องค์กรของบริษัทฯ ไม่ได้มีความซับซ้อนมาก


032 การควบคุมภายใน บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับการจัดให้มีระบบการควบคุม ภายในที่เป็นมาตรฐาน เพื่อให้เป็นที่ยอมรับ และเชื่อถือต่อผู้ถือหุ้น และนักลงทุน ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสีย โดยบริษัทฯได้จัดตั้งคณะ กรรมการตรวจสอบ ซึง่ เป็นกรรมการอิสระเพือ่ ดูแลระบบการควบคุม ภายในของบริษทั ฯ และรายงานทางการเงินให้ตรงต่อความเป็นจริง ครบถ้วน เชื่อถือได้ ตลอดจนดูแลให้บริษัทฯมีระบบการควบคุม ภายในที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และมีระบบการท�ำงาน ที่ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยเฉพาะเรื่องของความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบได้จัดให้มีการประชุมร่วมกับ ผู้สอบบัญชี ฝ่ายจัดการ ของบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาและให้ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงระบบ การควบคุมภายในของบริษัทฯ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังจัดให้มีฝ่ายตรวจสอบภายใน ซึ่งฝ่าย ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ มีความเป็นอิสระ และรายงาน ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงาน ของระบบงานต่างๆให้เป็นไปอย่างเหมาะสม และปฏิบตั ถิ กู ต้องตาม กฎระเบียบ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และรายงานผลการตรวจสอบ ภายในตามแผนที่ได้กำ� หนดไว้ล่วงหน้าประจ�ำปี ต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบได้รับทราบ ส�ำหรับปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการ บริษัทฯ ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ แล้ว เห็นว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ ปัจจุบันหัวหน้าทีมฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษัทฯ คือ นางสาวสุนันท์ วงศ์มุทธาวณิชย์ ต�ำแหน่ง ผู้จัดการอาวุโสฝ่าย ตรวจสอบภายใน ในปี 2556 นี้ ฝ่ายตรวจสอบภายในได้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบได้อย่างราบรื่นครบถ้วนตามแผนการปฏิบัติงานที่ได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ การใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ได้ก�ำหนดมาตรการในการป้องกันการน�ำข้อมูลของ บริษัทฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ของผู้บริหาร และบุคลากรของบริษัทฯ และแนวปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วกับการรักษาความลับ และการใช้ขอ้ มูลภายใน ไว้ ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษัทฯ จะต้องรักษาความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในของบริษัทฯ 2. กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษัทฯ จะต้องไม่นำ� ความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในของบริษทั ฯ ไปเปิดเผย หรือแสวงหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือเพื่อประโยชน์แก่บุคคล อืน่ ใดไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อม และไม่วา่ จะได้รบั ผลตอบแทน หรือไม่ก็ตาม

3. กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษัทฯ จะต้องไม่ท�ำการซื้อขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพย์ของบริษัทฯ โดยใช้ความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในบริษัทฯ และ/หรือ เข้าท�ำนิติกรรมอื่นใดโดยใช้ความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในของ บริษัทฯ อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริษัทฯ ไม่ว่าโดยทาง ตรงหรือทางอ้อม ข้อก�ำหนดนี้ให้รวมความถึงคู่สมรสและบุตรที่ยัง ไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของ บริษทั ฯ ด้วย ผูใ้ ดทีฝ่ า่ ฝืนระเบียบข้อบังคับดังกล่าวจะถือว่าได้กระท�ำ ผิดอย่างร้ายแรง 4. กรรมการและผู้บริหารที่ ได้รับข้อมูลทางการเงินของ บริษทั ฯ ต้องไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในระยะเวลา 1 เดือน ก่อนเปิดเผยสู่สาธารณชน โดยบริษัทฯ ได้แจ้งให้กรรมการและ ผู้บริหารห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ก่อนที่งบการเงินจะ เปิดเผยสู่สาธารณะ จริยธรรมธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญและ ความจ�ำเป็นของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และก�ำหนดแนวนโยบาย เกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ต้อง ทราบถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบว่า จะต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนิน ธุรกิจและมีจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ ต้องปฏิบัติหน้าที่ ให้เป็น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจน มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และค�ำนึงถึงผล ประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ เป็นส�ำคัญ ซึง่ บริษทั ฯ ได้เผยแพร่ ไว้ในเว็บไซต์ภายในของบริษทั ฯ ที่ www.starsmicroelectronics.com ดังนี้ 1. ให้ความเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นและปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน 2. ค�ำนึงถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ และดูแล มิให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 3. จัดโครงสร้างคณะกรรมการแบ่งตามหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ โดยนอกจากคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว อาจมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการคณะอื่นได้ นอกจากนี้บริษัทฯ ได้ก�ำหนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการแต่ละคณะอย่าง ชัดเจน 4. ด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส และจัดให้มีการเปิดเผย ข้อมูลอย่างชัดเจนและเพียงพอในเวลาที่เหมาะสม 5. ด�ำเนินธุรกิจด้วยความระมัดระวัง โดยบริษัทฯ ได้จัดให้ มีการประเมินความเสี่ยง วางกลยุทธ์แก้ไขและติดตามการบริหาร ความเสี่ยงอย่างเหมาะสมและสม�ำ่ เสมอ


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

6. ปลูกฝังจริยธรรมทางธุรกิจให้แก่ผู้บริหารและพนักงาน ของบริษัทฯ ส�ำหรับพนักงานทีเ่ ข้าใหม่ในแต่ละปีนนั้ บริษทั ฯ ได้อบรมเพือ่ ให้พนักงานใหม่รับทราบจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ ในคราว เดียวกับการรับทราบการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และระเบียบ ปฏิบัติของบริษัทฯ แนวปฏิบัติการไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายเกีย่ วกับการใช้ซอฟท์แวร์ทมี่ ลี ขิ สิทธิ์ และควบคุมการใช้เพื่อให้พนักงานตระหนักและไม่ละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญาใดๆ

033

การประชุมคณะกรรมการ ในปี 2556 บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการ รวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง (บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดการประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ อย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง) โดยในแต่ละ ครั้งมีกรรมการเกือบทั้งหมดเข้าร่วมประชุม ในการเรียกประชุม คณะกรรมการ เลขานุการบริษทั ฯท�ำหน้าทีจ่ ดั การประชุม ส่งหนังสือ นัดประชุมไปยังกรรมการไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวันประชุมเว้นแต่ใน กรณีจำ� เป็นรีบด่วนเพือ่ รักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษทั ฯ จะแจ้ง การนัดประชุมโดยวิธอี นื่ เช่นทางโทรศัพท์ หรือทางเมล์เพือ่ ก�ำหนด วันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้ พร้อมทั้งจดบันทึกการประชุม และ จัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองของคณะกรรมการ บริษัทฯ ไว้ทุกครั้ง

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2556 ได้มีมติอนุมัติให้คงอัตราค่าตอบแทนประจ�ำปี 2556 ไว้ตามที่ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2555 ได้เคยมีมติอนุมัติไว้ดังนี้ เงินเดือน (ต่อเดือน) / ค่าเบี้ยประชุม (ต่อครั้ง) 1. 2. 3. 4. 5.

ประธานกรรมการ กรรมการบริษัทฯ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริษัทฯ, กรรมการตรวจสอบ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และกรรมการบริหาร ความเสี่ยง (เฉพาะที่มาจากกรรมการอิสระ)

36,000 บาท/เดือน 24,000 บาท/เดือน 36,000 บาท/เดือน 30,000 บาท/เดือน 5,000 บาท/ครั้ง


034

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และในรอบ ปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ค่าตอบแทนกรรมการ รวมเท่ากับ 4,022,000 บาท และ 3,977,000 บาท ตามล�ำดับ โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปของค่าตอบแทนรายเดือน และเบีย้ ประชุม ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้

(หน่วย: บาท)

ปีบัญชี 2555 สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2555 ค่าตอบแทน

ปีบัญชี 2556 สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556 ค่าตอบแทน

1. นายสมนึก ไชยกุล 2. นายพิทักษ์ ศิริวันสาณฑ์ 3. นายพลศักดิ์ เลิศพุฒิภิญโญ 4. นายชอง เคว็น ซัม 5. นายประสาท ยูนิพันธุ์ 6. นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ 7. รศ.ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์ 8. นางพูนพรรณ ไชยกุล 9. นายโตรุ อูชิโนะ 10. รศ.ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์ 11. รศ.ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ

457,000 318,000 313,000 313,000 313,000 442,000 410,000 313,000 313,000 415,000 415,000

452,000 313,000 308,000 308,000 308,000 452,000 400,000 308,000 308,000 405,000 415,000

4,022,000

3,977,000

รายชื่อกรรมการ

รวม

นายยรรยงค์ สวัสดิ์ เลขานุการบริษัทฯ ได้รับเงินเดือนปี 2556 รวม 240,000 บาท

2. ค่าตอบแทนผู้บริหาร

ค่าตอบแทน เงินเดือนรวม โบนัสรวม กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

รวม

(หน่วย: บาท) ปีบัญชี 2555 สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2555 จ�ำนวนราย ค่าตอบแทนรวม 5 5 5

14,538,504 1,197,027 1,604,065 17,339,596

ปีบัญชี 2556 สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556 จ�ำนวนราย ค่าตอบแทนรวม 6 6 6

14,886,012 1,278,439 1,907,690 18,072,141


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

035

บุคลากรของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จ�ำนวนพนักงาน (ไม่รวมผู้บริหาร) ของบริษัทฯ แบ่งตาม สายงานหลัก ดังนี้ (หน่วย: คน) สายงานหลัก 1. 2. 3. 4.

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

สายงานการขายและการตลาด สายงานปฏิบัติการและพัฒนา สายงานการจัดการวัตถุดิบ สายงานการเงินและธุรการ

รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

12 1,268 85 89

11 1,086 71 52

1,454

1,220

นโยบายในการพัฒนาพนักงานของบริษัทฯ บริษทั ฯ มีกระบวนการด�ำเนินงานในการพัฒนาบุคลากรหรือพนักงาน ให้มีความรู้ความช�ำนาญ ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อบริษัทฯ เพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต โดยมีเป้าหมายให้พนักงานของบริษัทฯ เป็นบุคลากรที่มี คุณภาพ กล่าวคือ

1. เรียนรู้งานหลายประเภท 2. ปฏิบัติงานได้หลายหน้าที่ 3. มีทักษะในการปฏิบัติงานอย่างกว้างขวาง 4. สามารถสับเปลี่ยนหน้าที่กับเพื่อนร่วมงานได้

วิเคราะห์ความต้องการ ออกแบบหลักสูตร ศึกษา อบรม และพัฒนา

ทัง้ นีเ้ พราะความเชือ่ มัน่ ในศักยภาพของพนักงานและเป้าหมายทีจ่ ะ ให้พนักงานเกิดความก้าวหน้าในชีวิตการงาน บริษัทฯ จึงก�ำหนดแผนการ ฝึกอบรม โดยมีแผนภูมิกระบวนการการศึกษา ฝึกอบรม และพัฒนา พนักงานดังนี้

ประเมินและติดตาม

เนือ่ งจากการทีบ่ ริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาบุคลากร เป็นอย่างสูง บริษัทฯ จึงมีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรซึ่งมี ข้อหลักๆ ดังต่อไปนี้ 1. จัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์กร 2. ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านอื่นๆ ในทุกระดับ โดยจัด ให้มีการฝึกอบรมทั้งภายในและภายนอกอย่างสม�ำ่ เสมอ 3. จัดให้มีการพัฒนาบุคลากรร่วมกับลูกค้าเพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่เป็น Joint Innovation 4. ส่งบุคลากรไปฝึกอบรมในต่างประเทศ


036

รายการระหว่างกัน ในปี 2556 บริษัทฯมีการท�ำธุรกรรมการค้าที่เป็นรายการระหว่างกันกับบริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องอยู่พอสมควร เนื่องจากบริษัท ทีเ่ กีย่ วข้องและบริษทั ร่วมดังกล่าวเป็นผูป้ ระกอบการใหญ่ในธุรกิจซือ้ ขายชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ มีสว่ นช่วยเหลือและสนับสนุนการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นธุรกรรมการค้าที่เกิดขึ้นเพื่อ ประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าปกติเสมือนคู่ค้าธุรกิจโดยทั่วไป ซึ่งต้องพึ่งพาการซื้อผลิตภัณฑ์หรือบริการต่อกัน

ความเห็นของกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับ 2. ธุรกรรมพิเศษ รายการระหว่างกัน บริษัทฯ มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ให้ความเห็น รายการระหว่างกันของบริษัทฯ ได้รับการพิจารณา และให้ ความเห็นโดยคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ว่าเป็นรายการ ที่บริษัทฯ ด�ำเนินการตามธุรกิจปกติ ไม่มีเงื่อนไขพิเศษ และไม่มี การถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ที่เกี่ยวข้อง และผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ นโยบายการก�ำหนดราคา ระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันก�ำหนดจากราคาตามปกติ ของธุรกิจเช่นเดียวกับที่ก�ำหนดให้กับบุคคล / กิจการอื่นที่ ไม่ เกี่ยวข้องกัน และเป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ

มาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารท�ำรายการ ระหว่างกัน รายการระหว่างกันของบริษัทฯ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) ธุรกรรมทีเ่ กิดขึน้ เป็นปกติและต่อเนือ่ ง และ (2) ธุรกรรม พิเศษ โดยมาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติรายการระหว่างกัน ส�ำหรับธุรกรรมในแต่ละประเภท มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ธุรกรรมที่เกิดขึ้นเป็นปกติและต่อเนื่อง บริษัทฯ ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ว่าในการเข้าท�ำธุรกรรมที่เกิด ขึ้นเป็นปกติและต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ดูแลให้ บริษัทฯ ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อ ก�ำหนดเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการเกีย่ วโยง และการ ได้มาหรือจ�ำหน่ายทรัพย์สินที่ส�ำคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ภายใต้กรอบจริยธรรมที่ดี รวมทั้งปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี

เกี่ยวกับความสมเหตุสมผลในการเข้าท�ำธุรกรรมต่างๆ ในกรณีที่ คณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามช�ำนาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดให้มีบุคคลที่มีความรู้ความ ช�ำนาญพิเศษ เช่น ผู้สอบบัญชี หรือผู้ประเมินราคาอิสระ หรือ ส�ำนักงานกฎหมาย เป็นต้น ที่เป็นอิสระจากบริษัทฯ และบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้งเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน ดังกล่าว ความเห็นของบุคคลที่มีความรู้ความช�ำนาญพิเศษจะถูก น�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการตรวจสอบ และ/ หรือ คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ ผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ บริษัทฯ จะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ที่ ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ พร้อมทั้งเปิดเผยในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงข้อมูลประจ�ำปี ของบริษัทฯ (แบบ 56-1)

นโยบายการเข้าท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต การท�ำรายการระหว่างกันในอนาคตนั้น คณะกรรมการ บริษทั ฯ ให้คำ� มัน่ ว่า จะดูแลให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวม ตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการ ท�ำรายการเกี่ยวโยง และการได้มาหรือจ�ำหน่ายทรัพย์สินที่ส�ำคัญ ของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย รวมทั้งปฏิบัติตามมาตรฐานบัญชีที่ ก�ำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี และคณะกรรมการตรวจสอบจะตรวจสอบความสมเหตุสม ผลในการเข้าท�ำรายการ ราคาและเงื่อนไขต่างๆ ของรายการว่า เป็นไปตาม เงื่อนไขทางธุรกิจปกติหรือไม่ โดยห้ามกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสียอื่นใดมีส่วนในการอนุมัติ รายการระหว่างกันดังกล่าว


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

037

การบริหารความเสี่ยงของกิจการ ในปี 2556 ทีผ่ า่ นมาเป็นอีกปีหนึง่ ทีบ่ ริษทั ฯต้องใช้ความพยายาม อย่างหนักในการบริหารกิจการให้ผ่านพ้นวิกฤติการทางเศรษฐกิจ ความผิดปกติของธรรมชาติ ความผันผวนทางการเงิน และ ความไม่แน่นอนการเมืองทั้งในประเทศและต่างประเทศ แม้จะยัง ไม่สามารถประสบความส�ำเร็จถึงจุดสูงสุด แต่ก็มีการพัฒนาไปใน ทางที่ดีขึ้นอย่างมาก บริษัทฯก�ำหนดให้มีการพัฒนาในเชิงคุณภาพ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยเน้นการเพิ่มมูลค่าเพิ่มของ สินค้าที่ต้องใช้เทคโนโลยีระดับสูงในการผลิต พัฒนาความรู้ความ สามารถของบุคคลากรในองค์กร ลดต้นทุนการผลิต และให้ความ ส�ำคัญกับสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาการผลิตให้ได้

6.การติดตามผล

5.กิจกรรมควบคุม

มาตรฐาน พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของกิจการอย่างเป็น รูปธรรม ให้สามารถน�ำมาใช้ปฎิบัติและวัดผลได้อย่างชัดเจน เมื่อบริษัทฯ ก�ำหนดนโยบายในการบริหารความเสี่ยงแล้ว คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะด�ำเนินการตามกระบวนการ ในการบริหารความเสี่ยง โดยท�ำการศึกษาวิเคราะห์หาปัจจัย ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง แล้วก�ำหนดเป็นกิจกรรมต่างๆ ขึ้น โดยที่ กิจกรรมดังกล่าวต้องสามารถด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ ง เป็นรูปธรรม และให้ผลส�ำเร็จไปในทิศทางเดียวกันต่อองค์กร ดังนี้

1.ก�ำหนดวัตถุประสงค์

กระบวนการ บริหารความเสี่ยง

4.การตอบสนอง ต่อความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้จัดให้มีการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขึ้นทั้งสิ้นในปี 2556 จ�ำนวน 4 ครั้ง โดยน�ำเอาแผนธุรกิจของบริษทั ฯ ในแต่ละปีมาก�ำหนดเป็นเป้าหมาย ในการด�ำเนินงานบริหารความเสี่ยง แล้วให้หน่วยงานต่างๆ ท�ำการ วิเคราะห์หาปัจจัยความเสี่ยงของหน่วยงานของตนเองที่จะท�ำให้ไม่ สามารถด�ำเนินงานตามเป้าหมายได้ ตามกรอบทีห่ น่วยงานต่างๆ ได้

2.ระบุเหตุการณ์

3.การประเมินความเสี่ยง

ก�ำหนดไว้แล้วตัง้ แต่ตน้ ปี แล้วก�ำหนดเป็น 4 KPI (Key Performance Indicators) และให้ท�ำการประเมินหาสาเหตุ และวัดผลการด�ำเนิน งานที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบกับประมาณการที่ตั้งไว้ในทุกไตรมาส ทัง้ นี้ได้รายงานความคืบหน้าของผลการด�ำเนินงาน พร้อมทัง้ อุปสรรค ที่เกิดขึ้นให้แก่ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบทุกครั้ง


038 ในการด�ำเนินงานบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงก�ำหนดให้วิเคราะห์ความเสี่ยงในหัวข้อหลักๆ ดังต่อไปนี้ 1. ยอดขายแยกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ 2. ก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงาน 3. อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ จากข้างต้นสามารถก�ำหนดประเด็นความเสี่ยงที่ต้องน�ำมา พิจารณาได้ดังนี้ 1) ความไม่แน่นอนในความต้องการของสินค้าและความ หลากหลายของสินค้า 2) ความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจ และความรุนแรงทาง การเมือง 3) ความเสี่ยงด้านการบริหารก�ำลังการผลิต 4) ความเสีย่ งด้านความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา ต่างประเทศ 5) ความเสี่ยงด้านค่าแรงและการบริหารแรงงานสัมพันธ์ ปัจจัยส�ำคัญทีม่ ผี ลกระทบต่อการผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ โดยสรุปมีการด�ำเนินการดังต่อไปนี้ 1) ความไม่แน่นอนในความต้องการของสินค้าและความหลากหลาย ของสินค้า

2) ความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจ และความรุนแรงทาง การเมือง

การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาอย่างรวดเร็วในสินค้าเกี่ยวกับ อิเล็กทรอนิกส์ ท�ำให้สนิ ค้าอิเล็กทรอนิกส์บางประเภทมีวงจรชีวติ สัน้ ความต้องการของสินค้าเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลาขึน้ อยูก่ บั พฤติกรรม ของผูบ้ ริโภค ท�ำให้บริษทั ฯอาจจะประสบปัญหาในการบริหารจัดการ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกันไม่กอ่ ให้เกิดปัญหาการควบคุมต้นทุนการผลิตให้อยู่ ในระดับทีย่ อมรับได้ ในเรือ่ งดังกล่าวบริษทั ฯ มีนโยบายในการด�ำเนิน ธุรกิจโดยการ หาสินค้าทีม่ วี งจรชีวติ ยาวขึน้ และมีระดับความต้องการ สูงเพียงพอทีจ่ ะบริหารการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้มกี าร ด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยื่น ในกรณีดังกล่าวบริษัทฯ ได้ก�ำหนดวิธีการ ในการป้องกันความเสีย่ งส�ำหรับสินค้าดังกล่าวเพือ่ ลดความเสียหาย แก่กิจการให้น้อยที่สุดโดย 1. ไม่เน้นลูกค้าที่มีสินค้าที่มีสินค้าแฟชั่น (Fashionable Goods) มีวงจรชีวติ ของสินค้าสัน้ การผลิตสินค้าเป็น จ�ำนวนน้อยและต้องมีการปรับกระบวนการผลิตบ่อยๆ 2. ขยายฐาน การตลาดในสินค้าใกล้เคียงกัน ไม่ขึ้นอยู่กับลูกค้ารายใดรายหนึ่ง เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการปรับปรุงสายการผลิต ให้เหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 3. ประสานงานกับลูกค้าอย่างใกล้ชิด เพือ่ ประเมินความต้องการสินค้าทีอ่ าจมีการเปลีย่ นแปลงไปให้บริษทั ฯ ทราบอย่างรวดเร็วเพือ่ ด�ำเนินการเพือ่ ให้สามารถวางแผนกระบวนการ ผลิตให้มีประสิทธิภาพลดการสูญเสีย

ในช่วงครึง่ ปีหลัง สภาพเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและสภาวะ เศรษฐกิจของโลกมีสัญญานฟื้นตัวดีขึ้น อีกทั้งหลายประเทศใน สหภาพยุโรป มีสภาพเศรษฐกิจผ่านจุดต�ำ่ สุดมาแล้ว คาดว่าแนวโน้ม การผลิตของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์น่าจะสดใสกว่าปีที่ผ่านมา มากเนือ่ งจากสัญญานการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจทัง้ ในภูมภิ าคและนอก ภูมิภาคมีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปีก่อน บริษัทฯจึงจ�ำเป็นต้องเร่งปรับตัว โดยให้ความส�ำคัญกับการผลิตที่ก่อให้เกิดเพิ่มมูลค่าของผลผลิต เน้นการผลิตสินค้าทีต่ อ้ งใช้เทคโนโลยีทสี่ งู โดยใช้เครือ่ งจักรทีท่ นั สมัย ลดการใช้แรงงานคน จัดท�ำแผนในการลดต้นทุนการผลิต ทั้งนี้เพื่อ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างทันท่วงที และมีประสิทธิภาพ แม้วา่ จะยังมีปญ ั หาเรือ่ งของความขัดแย้งทางการ เมืองในประเทศยังไม่มีที่ท่าว่าจะสงบลงได้ในระยะเวลาอันสั้น แต่บริษทั ฯ ก็เตรียมความพร้อมในเรือ่ งดังกล่าวโดยมีการจัดท�ำแผน ด�ำเนินการในกรณีฉุกเฉิน เพื่อให้สามารถผลิต และส่งสินค้าให้แก่ ลูกค้าได้ทันเวลาอย่างต่อเนื่อง


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

3) ความเสี่ยงด้านการบริหารก�ำลังการผลิต บริษัทฯ มีการลงทุนในเครื่องจักรใหม่ที่สั่งซื้อเข้ามาทดแทน เครือ่ งจักรเก่าทีเ่ สียหายจากเหตุการณ์น�้ำท่วมใหญ่เมือ่ 2 ปีทผี่ า่ นมา ท�ำให้ได้เครื่องจักรรุ่นใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม อีกทั้งยังมี ก�ำลังการผลิตสูงขึน้ กว่าเดิมมาก การลงทุนทีผ่ า่ นมาส่งผลให้บริษทั ฯ ต้องแบกรับค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับเครือ่ งจักรเพิม่ ขึน้ ซึง่ เป็นค่าใช้จา่ ยคงที่ ได้แก่ ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร ค่าใช้จ่ายในการบ�ำรุงรักษา เป็นต้น ในช่วงต้นของการติดตั้งบริษัทฯ ยังใช้ก�ำลังการผลิตไม่สูงพอจนถึง จุดคุ้มทุน ท�ำให้ในปีที่ผ่านมาบริษัทฯยังคงมี Gross Margin ติดลบ อยู่เล็กน้อย แต่ก็พัฒนาดีขึ้นจากปีที่ผ่านมามาก ปัญหาดังกล่าวท�ำ ให้บริษทั ฯ ต้องเร่งปรับตัวโดยการจัดสายการผลิตใหม่ให้มปี ระสิทธิภาพ และมีความยืดหยุน่ สามารถรองรับการเปลีย่ นแปลงกระบวนการผลิต ตามความต้องการของลูกค้าได้ รวมถึงการสามารถน�ำไปใช้ร่วมกัน กับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้อย่างหลากหลาย บริษัทฯมุ่งเน้นการวิจัย และ พัฒนาเทคนิคการผลิตและผลิตภัณฑ์เพือ่ ให้ทนั สมัยตามความต้องการ ของลูกค้าอยูเ่ สมอ นอกจากนัน้ บริษทั ฯยังได้รว่ มการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร่วมกับลูกค้า เพื่อร่วมลงทุนในเครื่องจักรในการผลิตเฉพาะด้าน บริษทั ฯ มีการพัฒนาการผลิตให้เหมาะสมกับความต้องการของสินค้า ในปัจจุบันอยู่เสมอ บริษัทฯมีความมั่นใจว่าสามารถตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าได้หลากหลายยิ่งขึ้น และท�ำให้มีการใช้ก�ำลังการ ผลิตสูงกว่าจุดคุ้มทุนได้

039

4) ความเสี่ยงด้านความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่าง ประเทศ ความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลง นโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา การอุดหนุนทางการ เงินของธนาคารกลางญี่ปุ่น ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการ เมืองในประเทศ ท�ำให้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเมื่อ เทียบกับเงินบาทมีความผันผวนสูงมาก ในปี 2556 บริษัทฯ ใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เป็น สกุลเงินหลักในการขายสินค้าและรับเงินค่าสินค้าคิดเป็นสัดส่วน เกือบทั้งหมดของยอดขาย ท�ำให้สถานะเงินตราต่างประเทศของ บริษทั ฯ ในด้านรับและจ่ายมีปริมาณใกล้เคียงกัน รายรับและรายจ่าย ส่วนใหญ่สามารถท�ำ Natural Hedge ได้ทำ� ให้สามารถลดความเสีย่ ง เกี่ยวกับความไม่แน่นอนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งบริษัทฯยังเปิดบัญชีกับธนาคารเป็นเงินสกุล ต่างประเทศเพือ่ ให้สามารถจ่ายค่าสินค้าเป็นเงินสกุลต่างประเทศได้ ทันทีซึ่งเป็นการป้องกันความเสี่ยงโดยการท�ำ Natural Hedge อีกทางหนึ่งด้วย นอกจากนั้นหากมีสัญญาณอย่างชัดเจนว่าอัตรา แลกเปลีย่ นจะมีแนวโน้มแข็งค่าหรืออ่อนค่าอย่างชัดเจน ฝ่ายบริหาร การเงินของบริษัทฯ มีมาตรการในการป้องกันผลกระทบจากการ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนโดยน�ำเอาเครื่องมือทางการเงินได้แก่ การท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) และมีการท�ำอนุพนั ธ์ทางการเงิน (Financial Derivative Instruments) มาใช้ในการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในระยะสั้นเพิ่มเติมด้วย 5) ความเสี่ยงด้านค่าแรงและการบริหารแรงงานสัมพันธ์ หลังจากที่ได้มีการประกาศขึ้นค่าแรงขั้นต�่ำทั่วประเทศเป็น วันละ 300 บาทตัง้ แต่ตน้ ปี 2556 ทีผ่ า่ นมา อาจมีผลให้สนิ ค้าอุปโภค บริโภคแพงขึ้นตามมา คาดว่าในอนาคตค่าแรงขั้นต�ำ ่ จะต้องมีการ เปลีย่ นแปลงอีกอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้หากเหตุการณ์ดงั กล่าวเกิดขึน้ ในอนาคต จะมีผลท�ำให้ตน้ ทุนค่าแรงงานปรับตัวสูงขึน้ อย่างแน่นอน นักธุรกิจต่างก็เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว และพยายามหาทางป้องกัน เพื่อลดผลกระทบ บริษัทฯก็ตระหนักถึงปัญหานี้เช่นกัน จึงพยายาม หาวิธกี ารลดผลกระทบในเรือ่ งนี้ให้มากทีส่ ดุ โดยการเน้นการลงทุน ในเครื่องจักรอัตโนมัติมากขึ้นเพื่อลดปัญหาแรงงานคนโดยมิให้ กระทบต่อก�ำลังการผลิตที่วางไว้ ในปีที่ผ่านมา หลังจากที่ได้น�ำเอา เครื่องจักรดังกล่าวมาใช้ บริษัทฯสามารถลดต้นทุนค่าแรงงานได้ตำ�่ กว่าที่คาดการณ์ไว้ประมาณ 5-10 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนั้นบริษัทฯ มีนโยบายในการปรับปรุงการบริหารแรงงานสัมพันธ์ โดยมีการ ประชาสัมพันธ์ให้พนักงานมีความรักองค์กร เพื่อลดอัตราการ เข้าออกของพนักงาน และพัฒนาระบบการสรรหาบุคคลากร และ ฝึกอบรมเพื่อให้ได้พนักงานที่มีคุณภาพ และทันต่อความต้องการ ไม่กระทบต่อการด�ำเนินงาน


040

ประวัติกรรมการ

นายสมนึก ไชยกุล

นายพิทักษ์ ศิริวันสาณฑ์

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการบริหาร อายุ 62 ปี

• ร้อยละ 4.81

ประวัติการศึกษา

รองประธานกรรมการ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 64 ปี

• ร้อยละ 0.78

ประวัติการศึกษา

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาไฟฟ้า University of Detroit ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ประวัติการท�ำงาน

ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน: - ประธานกรรมการ บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการบริษัท ทีเอ็มพี ไรซ์ มิลล์ จ�ำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท ชีวาไรซ์ จ�ำกัด - ประธานกรรมการบริษัท กรีน นาวิทัส จ�ำกัด - ประธานกรรมการบริษทั คีย์ สตาร์ พร๊อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด - ประธานกรรมการบริษทั ศรีสโุ ขทัยเรียลเอสเตท จ�ำกัด ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 26/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

• ปัจจุบัน: - รองประธานกรรมการ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท สตาร์ส ไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษัท เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด • อดีต: - ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (CEO) บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ สมาคมนายจ้างอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ - รองกรรมการผู้จัดการ (Vice President) บริษัท ไทยพัฒนาโรงงาน อุตสาหกรรม จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการบริหารและผู้จัดการโครงการ บริษัท ศรีสุโขทัยแมนชั่น จ�ำกัด - กรรมการบริหารและผู้จัดการโครงการ บริษัท ยูไนเต็ดเรียลตี้ จ�ำกัด - Senior Engineer, Forrest Coile Associates, P.C., Virginia, U.S.A. - Senior Engineer, GTE Products Corp., Virginia, U.S.A. - Engineer, Planning Research Corp., NASA, Kennedy Space Center, Florida, U.S.A. - หุ้นส่วนผู้จัดการ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด พี.ที.เอส. เอ็นเตอร์ไพรส์ - ผู้จัดการโครงการ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด พรสวัสดิ์ก่อสร้าง - วิศวกร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 26/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Medallion Award: ALT Award - ALT flights of the Space Shuttle Orbiter, NASA.


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

นายพลศักดิ์ เลิศพุฒิภิญโญ

นายประสาท ยูนิพันธุ์

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

กรรมการ กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อายุ 57 ปี

• ร้อยละ 0.09

ประวัติการศึกษา

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาการจัดการ ทั่วไป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาไฟฟ้า (อิเล็กทรอนิกส์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขต เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน: - กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด • อดีต: - ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายขายและการตลาด บริษัท ฮานา ไมโครอิเล็กทรอนิคส์ จ�ำกัด (มหาชน) - ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท ฮานา เซมิ คอนดักเตอร์ จ�ำกัด - ผู้จัดการแผนก วิศวกรรมตรวจสอบ Integrated Circuit บริษทั ฟิลปิ ส์ เซมิคอนดักเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 26/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • หลักสูตร TLCA Leadership Development Program (LDP รุ่นที่ 1 ปี 2556) จาก สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท. รุ่นที่ 17 ปี 2556) จาก ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย

041

กรรมการ อายุ 66 ปี

• ร้อยละ 0.92

ประวัติการศึกษา

• ปริญญาโท สาขาความสัมพันธ์และกฎหมายระหว่าง ประเทศ มหาวิทยาลัยดีทรอยท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน: - กรรมการ บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษทั ไทยคาร์ดฟิ ประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการผู้จัดการ บริษัท นพพงศ์ แอนด์ ประสาท ลอว์ ออฟฟิศ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สยาม แคปปิตอล มัลติเซอร์วิสเซส จ�ำกัด - กรรมการ บริษทั สยามเจริญ แคปปิตอล เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 26/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย


042

นายชอง เคว็น ซัม

นายโตรุ อูชิโนะ

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 • ร้อยละ 0.12

กรรมการ อายุ 62 ปี

• ไม่มี

ประวัติการศึกษา

• Diploma in Business Management, Singapore Institute of Management ,Singapore. • Postgraduate Diploma in Business Administration T.E.D. Management Studies School (Singapore). ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน: - กรรมการบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการบริษัท Avon Holding Private Limited - กรรมการบริษัท Midas Trust Private Limited ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 74/2551 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

กรรมการ อายุ 63 ปี

ประวัติการศึกษา • Bachelor’s degree in Automatic Control, Mechanical Engineering, Tokyo - Metropolitan University ประวัติการท�ำงาน • ปัจจุบัน: - กรรมการบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการบริษัท เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด - กรรมการผู้จัดการบริษัท เอสเอส อาร์เอฟไอดี จ�ำกัด • อดีต: - ITOCHU Corporation, Export Textile Machinery Dept, looking after Middle East, Africa & South East Asia 1974-1984 - ITOCHU Karachi Liaison Office, Machinery Division General Manager 1984-1989 - ITOCHU Corporation, Industrial Machinery Dept, Marketing Section Manager for European market 1989-1992 - CI TEXMAC (Thailand) CO., LTD (100% subsidiary of ITOCHU) President 1992-2001 & Stars’ Board Director 1998-2002 - ITOCHU Corporation, Industrial Machinery & Electronics Dept, Project General Manager & Stars’ Board Director 2002-2009 ประวัติการอบรม • Public Company Board of Directors’ Rules & Regulations in Thailand by SET • Public Companies Business Rules & Regulations, CSR, Various Management in Japan by ITOCHU & concerned authorities


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

นางพูนพรรณ ไชยกุล

นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

กรรมการ อายุ 54 ปี

• ร้อยละ 1.94

ประวัติการศึกษา

• ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน: - กรรมการบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการบริษัท ทีเอ็มพี ไรซ์ มิลล์ จ�ำกัด - กรรมการบริษัท ชีวา ไรซ์ จ�ำกัด - กรรมการบริษัท กรีน นาวิทัส จ�ำกัด - ประธานกรรมการบริษัท กุลภัสสรณ์ จ�ำกัด - รองประธานบริษัท คีย์ สตาร์ พร๊อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด - ผู้ร่วมก่อตั้งสมาคม ซอนต้า9 - คณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่าเฉลิมฉลอง 150 ปี โรงเรียนอรุณประดิษฐ์ จังหวัดเพชรบุรี ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 131/255 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • หลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD) 8/2553 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Mini - M.B.A. คณะพาณิชย์ศาสตร์และ การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • โครงการ The Boss (รุ่น 7) • หลักสูตร RECU รุน่ ที่ 43 คณะสถาปัตย์กรรมจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส) รุ่นที่ 3

043

กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ อายุ 61 ปี

• ไม่มี

ประวัติการศึกษา • •

ปริญญาโท ศิลปศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย การาจี กรุงการาจี ประเทศปากีสถาน ปริญญาตรี ศิลปศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยการาจี กรุงการาจี ประเทศปากีสถาน

ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน:

• อดีต:

- - - -

กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัทสตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ คณะกรรมการบริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ คณะกรรมการธรรมาภิบาล บริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน)

2551-2555 - กรรมการผู้จัดการ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย 2552-2554 - กรรมการบริษัท อสมท จ�ำกัด(มหาชน) - ประธานกรรมการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท อสมท จ�ำกัด(มหาชน) - ประธานคณะท�ำงานปรับปรุงโครงสร้างและแผนพัฒนา บุคลากร บริษัท อสมท จ�ำกัด (มหาชน) 2549 - 2552 - ที่ปรึกษา บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จ�ำกัด 2548 - 2550 - กรรมการธนาคาร ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย 2547-2551 - ที่ปรึกษา ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) 2545 - 2547 - ประธานกรรมการ ธนาคารชะรีอะฮ์ (บริการทางการเงินตามแนวทางอิสลาม)

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 27/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • สถาบันการธนาคารและประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลาม ลอนดอน ประเทศอังกฤษ • ประกาศนียบัตรผูบ้ ริหารระดับสูง ทฤษฎีและแนวทางปฏิบตั ขิ องธนาคาร อิสลาม • ประกาศนียบัตรธนาคารและประกันภัยตามหลักศาสนาอิสลาม • ประกาศนียบัตรการบริหารสภาพคล่องของธนาคารอิสลาม ศูนย์กลางการวิจัยและฝึกหัด กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย • ประกาศนียบัตรการบริหารสภาพคล่องของธนาคารอิสลาม • หลักสูตร Director Certification Program (IOD) • ประกาศนียบัตรการบริหารการเปลี่ยนแปลงระดับสูง (GRID)


044

รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์

รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 • ไม่มี

ประวัติการศึกษา

ประวัติการศึกษา

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน อายุ 67 ปี

• ร้อยละ 0.01

• ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ดุษฎีบัญฑิต สาขา Monetary Theory University of Missouri - Columbia, U.S.A. • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์มหาบัญฑิต สาขา Public Finance California State University, Long Beach, U.S.A. • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ การธนาคาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน: - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธาน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนบริษัทสตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด - กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ล�่ำสูง (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายและก�ำกับ หนี้สาธารณะ - กรรมการ สภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ • อดีต: - ผู้เชี่ยวชาญประจ�ำคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 9/2547 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่นที่ 89/2550 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 24/2551 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน อายุ 50 ปี

• ปริญญาเอก Ph.D. (Finance), University of Mississippi • ปริญญาโท บธม. (การเงิน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี วทบ. (เคมีเทคนิค สาขาเคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน: - กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ และกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการตรวจสอบ บริษัท ปัญจวัฒนาพลาสติก จ�ำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เจตาแบค จ�ำกัด - ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท จีที เวลธ์ แมเนจเมนท์ จ�ำกัด - รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ยูนิเวอร์แซล แอ็บซอร์แบนท์ จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการตรวจสอบ บริษัท ทีอาร์ซี คอนสตรัคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) • อดีต: - คณบดี คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รองคณบดีฝา่ ยวางแผนและพัฒนา คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ - รองคณบดีฝา่ ยวิชาการ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - นักวิเคราะห์หลักทรัพย์และวาณิชธนากร บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ มิตรไทยยูโรพาร์ทเนอร์ จ�ำกัด

ประวัติการอบรม

• Financial Risk Manager (FRM), Global Asset Risk Professionals (GARP) • หลักสูตรพืน้ ฐานของกรรมการบริษทั จดทะเบียน สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • Executive Leadership Program (ELP), National Institute of Development Administration, Thailand and The Wharton School, University of Pennsylvania, • หลักสูตรกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

รองศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง อายุ 41 ปี สัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

• ไม่มี

ประวัติการศึกษา • • •

ปริญญาเอก Ph.D. (Finance) Schulich School of Business, York University, Canada ปริญญาโท MBA (Finance) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี

ประวัติการท�ำงาน

• ปัจจุบัน: - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไฮโดรเท็ค จ�ำกัด (มหาชน) - ผู้อ�ำนวยการหลักสูตร MSc in Financial Investment and Risk Management - รองศาสตราจารย์ประจ�ำคณะบริหารธุรกิจ - ที่ปรึกษาด้านการบริหารและพัฒนาพอร์ตลงทุน บลจ.ฟินันซ่า - คณะกรรมการบริหารเงินกองทุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - Board of Directors, Asian Finance Association - คณะอนุกรรมการคัดเลือกผู้จัดการกองทุนต่างประเทศของ กองทุนประกันสังคม - Regional Director in Thailand, Global Association of Risk Professionals - CFA Society of Thailand Board of Directors • อดีต: - ที่ปรึกษาด้านบริหารความเสี่ยง บลจ. วรรณ จ�ำกัด - คณะอนุกรรมการด้านการศึกษา สมาคมนักวางแผนการเงินไทย (TFPA) - Director of University Liaisons, CFA Society of Thailand - ผู้วิจัย The Individual Finance and Insurance Decisions Centre, Canada - ผู้บรรยายวิชาการเงิน Schulich School of Business, York University, Canada - ผู้ช่วยวิจัย Schulich School of Business, York University, Canada - เจ้าหน้าที่ด้านการเงิน บริษัท Asia Pacific Corporation - นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์เอกธนา จ�ำกัด

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 90/2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Chartered Financial Analyst (CFA) • Financial Risk Managers (FRM) • Certified Financial Planners (CFP) • NIDA-Wharton Executive Leadership Program

045


046

โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษัทฯ ปัจจุบันคณะกรรมการของบริษัทฯ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 11 ท่านประกอบด้วยกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 4 ท่าน กรรมการอิสระ 4 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 3 ท่าน รายชื่อคณะกรรมการ

ต�ำแหน่ง

1 2 3 4 5 6 7 8 9

นายสมนึก ไชยกุล นายพิทักษ์ ศิริวันสาณฑ์ นายพลศักดิ์ เลิศพุฒิภิญโญ นายชอง เคว็น ซัม นายประสาท ยูนิพันธุ์ นางพูนพรรณ ไชยกุล นายโตรุ อูชิโนะ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์

10

รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์

11

รองศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

เลขานุการบริษัทฯ คือ นายยรรยงค์ สวัสดิ์

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ 1. บริหารจัดการและด�ำเนินกิจการของบริษทั ให้เป็นไปตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผล ประโยชน์ของบริษัท 2. มีอำ� นาจแต่งตัง้ กรรมการ ผูบ้ ริหารของบริษทั บุคคลใดๆ และ/หรือบุคคลภายนอก จ�ำนวนหนึง่ ให้เป็น คณะกรรมการบริหาร เพือ่ ด�ำเนินการอย่างหนึง่ อย่างใดหรือหลายอย่างได้ เพื่อปฏิบตั งิ าน ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

ให้คณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการอื่นๆ เช่น คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ฯลฯ ตามความเหมาะสม รวมทัง้ มีอำ� นาจแต่งตัง้ และมอบอ�ำนาจให้ บุคคลอื่นใดด�ำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนคณะกรรมการได้ โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ และมีอ�ำนาจยกเลิก เพิกถอน ก�ำหนดวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง แก้ไข หรือ เปลี่ยนแปลง อ�ำนาจดังกล่าวได้ตามที่เห็นสมควร นอกจากนี้ ให้มีอ�ำนาจว่าจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนดวาระการด�ำรงต�ำแหน่งก�ำหนดอัตราค่าจ้าง และ ค่าตอบแทนส�ำหรับบุคคลที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร ตามที่เห็นสมควร หรือตามที่คณะกรรมการบริหาร หรือ คณะกรรมการสรรหาเสนอ


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

3. อนุมตั แิ ละก�ำหนดเป้าหมาย นโยบาย แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัท รวมถึงควบคุมดูแลการบริหาร และการจัดการของฝ่ายบริหาร หรือของบุคคลใดๆ ที่ได้รบั มอบหมาย ให้ดำ� เนินงานดังกล่าว พร้อมทัง้ ติดตามให้เป็นไปตามเป้าหมายและ นโยบาย รวมทั้งแผนการด�ำเนินงานที่คณะกรรมการบริษัทได้ให้ไว้ 4. พิจารณาทบทวน ตรวจสอบ และอนุมัตินโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนงานการด�ำเนินธุรกิจ ในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของ บริษัท ที่เสนอโดยคณะกรรมการบริหาร 5. ติดตามผลการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนิน งานและงบประมาณอย่างต่อเนื่อง

047

6. พิจารณาอนุมัติการลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจน เข้าร่วมทุนกับผูป้ ระกอบกิจการอืน่ ๆ หรือลงทุนในบริษทั หรือกิจการ ต่างๆ 7. ก�ำหนดนโยบาย ควบคุม ดูแลการบริหารงานของบริษัท ย่อยและ/หรือบริษัทในเครือ 8. มีอำ� นาจพิจารณาเพือ่ น�ำเสนอให้ผถู้ อื หุน้ อนุมตั กิ ารเลิกใช้ และการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือการขาย และเช่ากลับคืนสินทรัพย์ ตามระเบียบปฏิบัติเรื่องการเลิกใช้ และจ�ำหน่ายสินทรัพย์หรือ การขายและเช่ากลับคืนสินทรัพย์ ในกรณีที่มูลค่าสุทธิทางบัญชี มากกว่า 30 ล้านบาทขึ้นไป


048 9. พิจารณาและอนุมตั กิ จิ การอืน่ ๆ ทีส่ ำ� คัญอันเกีย่ วกับบริษทั หรือที่เห็นสมควรจะด�ำเนินการนั้นๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่บริษัท เว้นแต่อ�ำนาจในการด�ำเนินการดังต่อไปนี้ จะกระท�ำได้ก็ต่อ เมื่อได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน ได้แก่ (ก) เรือ่ งใดๆ ทีก่ ฎหมายก�ำหนดให้ตอ้ งได้มติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (ข) เรือ่ งใดๆ ทีก่ รรมการมีสว่ นได้เสียและอยู่ในข่ายทีก่ ฎหมาย หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระบุให้ตอ้ งได้ รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาทิเช่น การด�ำเนินการเกี่ยวกับ รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ทสี่ ำ� คัญ ของบริษัทตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องดังต่อไปนี้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทด้วยคะแนนเสียงข้างมากของกรรมการที่ เข้าร่วมประชุม และจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย กว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมและ มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (ก) การขายหรือโอนกิจการของบริษทั ทัง้ หมดหรือบางส่วนที่ ส�ำคัญ (ข) การซือ้ หรือรับโอนกิจการของบริษทั อืน่ หรือบริษทั เอกชน มาเป็นของบริษัท (ค) การท�ำ แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให้เช่ากิจการ ของบริษทั ทัง้ หมดหรือบางส่วนทีส่ �ำคัญ การมอบหมายให้บคุ คลอืน่ เข้าจัดการธุรกิจของบริษัท หรือการรวมกิจการกับบุคคลอื่นโดยมี วัตถุประสงค์จะแบ่งก�ำไรขาดทุนกัน (ง) การแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ (จ) การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุ้นกู้ (ฉ) การควบกิจการ หรือเลิกบริษัท

(ช) การอื่นใดที่กำ� หนดไว้ภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และ/หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ให้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยคะแนนเสียงดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ เรื่องใดที่กรรมการมีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์กับบริษัท หรือบริษัทย่อย หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ดัง กล่าว ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น นอกจากคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว บริษัทฯ ยังมีการแต่ง ตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยอีกสีช่ ดุ เพือ่ ช่วยในการบริหารงาน พิจารณา กลั่นกรอง ตัดสินใจ และเพื่อความโปร่งใส ตามหลักการก�ำกับ กิจการที่ดี ดังนี้

- - - -

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เป็นไปอย่างอิสระ โปร่งใส การก�ำหนดทิศทางและการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ มีประสิทธิภาพ สูงสุด คณะกรรมการบริษัทฯ จะเป็นผู้พิจารณาก�ำหนดเป้าหมาย ของบริษัทฯ และก�ำหนดบทบาท และมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่ให้แก่ คณะกรรมการชุดย่อย โดยรายละเอียดโครงสร้างของคณะกรรมการ ชุดย่อยทั้งสี่ชุด มีดังนี้

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหารประกอบด้วยผู้บริหาร 4 ท่าน

1 2 3 4

รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

นายสมนึก ไชยกุล นายพลศักดิ์ เลิศพุฒิภิญโญ นายยรรยงค์ สวัสดิ์ ดร.กวี เตชะพิเชฐวนิช

ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

049

อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. องค์ประกอบและการแต่งตั้ง

1. คณะกรรมการบริษทั เป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร

2. บุคคลที่จะเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหาร อาจ คัดสรรจากกรรมการ ผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั และ/หรือบุคคล ภายนอกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งก็ได้ แต่ตอ้ งเป็นบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วาม สามารถ และมีเวลาเพียงพอที่จะอุทิศความรู้ ความสามารถและ ปฏิบัติหน้าที่ ให้แก่บริษัทได้ 3. มีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่า ด้วยบริษัทมหาชนจ�ำกัด และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 4. กรรมการบริหารไม่สามารถประกอบกิจการเข้าเป็น หุ้นส่วน หรือเข้าเป็นกรรมการในนิติบุคคลอื่นที่ประกอบธุรกิจ เดียวกัน หรือคล้ายคลึง และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท ไม่ว่าจะท�ำเพื่อผลประโยชน์ส่วนตนหรือผลประโยชน์ของบุคคลอื่น เว้นแต่จะแจ้งให้ทปี่ ระชุม คณะกรรมการบริษทั ทราบก่อนทีจ่ ะมีมติ แต่งตั้งกรรมการบริหารเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง 2. วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 1. กรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 2 ปีนบั จากวัน ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการ บริษัทสามารถปรับเปลี่ยนวาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหาร ได้ตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ กรรมการบริหารที่ออกจากต�ำแหน่ง ตามวาระ อาจถูกเลือกให้กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ ส�ำหรับ การแต่งตั้งกรรมการบริหารทดแทนในกรณีที่ต�ำแหน่งว่างลง คณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งต่อไป

4. รับเอานโยบายของคณะกรรมการบริษทั มาก�ำหนดทิศทาง แนวทาง เพื่อก�ำหนดภารกิจหลัก (Mission) ส�ำหรับฝ่ายบริหาร และฝ่ายจัดการ รวมทั้งก�ำหนดแผนการด�ำเนินงานหลักและ เป้าหมายทางธุรกิจ ให้สอดคล้องกับแนวนโยบาย แผนการด�ำเนิน งานประจ�ำปีและงบประมาณประจ�ำปีที่ได้รบั อนุมติจากคณะกรรมการ เพื่อให้ฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการน�ำไปด�ำเนินการต่อไป 5. ควบคุมตรวจสอบ ติดตามผลการด�ำเนินงานของ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายจัดการให้เป็นไปตามนโยบายของคณะกรรมการ บริษัท 6. ออกค�ำสัง่ ระเบียบ ประกาศ และข้อก�ำหนด เพือ่ ให้แน่ใจ ว่าการด�ำเนินงานของบริษทั เป็นไปตามนโยบายของบริษทั และเพือ่ ผลประโยชน์ของบริษทั รวมถึงเพือ่ รักษาระเบียบวินยั ภายในองค์กร 7. พิจารณาเห็นชอบหรือมีอ�ำนาจ ในการว่าจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนดอัตราค่าจ้างและค่าตอบแทน บุคคลากรซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ในต�ำแหน่งตั้งแต่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จนถึงผู้อำ� นวยการฝ่าย โดยให้ประธาน กรรมการบริหารเป็นผู้มีอ�ำนาจในการด�ำเนินการดังกล่าวข้างต้น ส�ำหรับต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หากมีการว่าจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนดอัตราค่าจ้างและ ค่าตอบแทน ให้ประธานกรรมการบริหารมีหน้าที่เสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ

3. หน้าที่และความรับผิดชอบ

8. พิจารณาเห็นชอบในโครงสร้างเงินเดือนและผลประโยชน์ ตอบแทนอื่นๆ ของผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และลูกจ้างของบริษัท รวมทั้งที่เกี่ยวกับผลประโยชน์และสวัสดิการ แล้วน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาอนุมัติ

1. ดูแล มอบหมายให้ฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการ จัดท�ำ นโยบาย เป้าหมาย แผนการด�ำเนินงานงบประมาณประจ�ำปี และ รวมทั้งกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัท เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาอนุมัติ

9. พิจารณาให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงและเปลีย่ นแปลง โครงสร้างการบริหารงาน ระเบียบ ปฏิบัติ และขั้นตอนการท�ำงาน ของแต่ละสายงาน แล้วน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท พิจารณา อนุมัติ

2. ควบคุม ดูแลการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ให้เป็นไปตามข้อ บังคับของบริษทั ตลอดถึงนโยบาย แผนการด�ำเนินงาน งบประมาณ ประจ�ำปี และกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษทั ที่ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัท

10. กลัน่ กรองและเสนอ งบดุล บัญชีกำ� ไรขาดทุน ประมาณ การกระแสเงินสด แผนการลงทุน เพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ เพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้น (ถ้าจ�ำเป็น) เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป

2. ลาออก

3. ประเมินผลการด�ำเนินงานโดยรวมของบริษัท ตลอดจน ฝ่ายงานต่างๆ ทุกไตรมาส

11. ให้ข้อเสนอแนะ และให้ค�ำปรึกษาต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อการตัดสินใจด้านธุรกิจของบริษัท


050 4. การประชุม

12. ดูแล มอบหมายให้ฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการ จัดท�ำ รายงานเกี่ยวกับผลการด�ำเนินงานของบริษัทตลอดถึงงบการเงิน งบการลงทุน และปัญหาส�ำคัญ หรือการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ เสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณารับทราบ และ/หรือ อนุมัติ 13. ก�ำหนดกลยุทธ์ดา้ นการตลาดและการขาย ให้สอดคล้อง กับแผนการด�ำเนินงานและงบประมาณประจ�ำปี 14. พิจารณาการเข้ายื่นหรือร่วมในการประกวดราคาใน วงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท 15. อนุมัติการซื้อเครื่องจักรในวงเงิน (ไม่ว่าจะเกิดเพียง ครั้งเดียวหรือต่อเนื่อง) ไม่เกินธุรกรรมละ 30 ล้านบาท และปีละ ไม่เกิน 100 ล้านบาท หรือเทียบเท่า ยกเว้นเป็นกรณีที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการของบริษัท และ/หรือ ปรากฏในแผนการด�ำเนิน งานหรืองบประมาณประจ�ำปีของบริษัทแล้ว 16. มีอ�ำนาจอนุมัติการเลิกใช้ และการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือการขาย และเช่ากลับคืนสินทรัพย์ ตามระเบียบปฏิบัติเรื่อง การเลิกใช้ และจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือการขายและเช่ากลับคืน สินทรัพย์ ในกรณีที่มูลค่าสุทธิทางบัญชีมากกว่า 1 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 30 ล้านบาท 17. พิจารณาการให้กู้ยืมหรือการกู้ยืม จัดหาเงินทุน ขอหรือ ให้สนิ เชือ่ ค�ำ้ ประกัน ลงทุนในตราสารทีก่ ระทรวงการคลังหรือธนาคาร พาณิชย์รับรองหรือค�้ำประกัน หรือตราสารอื่นใดที่เห็นสมควร และให้นำ� เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 18. น�ำเสนอเรื่องต่างๆที่คณะกรรมการบริหารเห็นส�ำคัญ และควรจะได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ 19. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษัท รวมทั้งมีอ�ำนาจด�ำเนินการใดๆ ที่จ�ำเป็นในการ ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว

(ก) คณะกรรมการบริหารจะต้องจัดให้มกี ารประชุมอย่างน้อย 1 ครั้งต่อเดือน และกรรมการบริหารจะต้องเข้าร่วมประชุมอย่าง สม�ำ่ เสมอ (ข) ในการประชุมคณะกรรมการบริหาร เพือ่ พิจารณาด�ำเนิน การใดๆ ตามที่ระบุในข้อก�ำหนดนี้ จะต้องประกอบด้วย กรรมการ บริหารไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการบริหารทั้งหมด จึงจะถือว่าครบเป็นองค์ประชุม (ค) ในการออกเสียงของกรรมการบริหารในการประชุม คณะกรรมการบริหาร ให้กรรมการบริหารแต่ละคนมีสทิ ธิออกเสียง ได้ท่านละ 1 เสียง (ง) การลงมติในเรื่องใดของคณะกรรมการบริหาร จะต้อง ได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของ คณะกรรมการบริหารที่เข้าร่วมประชุม เว้นแต่ในการพิจารณาและ ลงมติในเรื่องที่กำ� หนดไว้ในข้อ 1, 10, 12, 14 และ 15 ดังกล่าว ข้างต้นจะต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวน คณะกรรมการบริหารของบริษัททั้งหมด (จ) คณะกรรมการบริหาร อาจแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการ และ/ หรือ คณะท�ำงาน และ/หรือ บุคคลใดๆ เพื่อท�ำหน้าที่กลั่นกรองงาน ที่จะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร หรือเพื่อให้ด�ำเนินงานใด อันเป็นประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร หรือ เพื่อด�ำเนินการใดแทนตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริหาร ภายในขอบเขตแห่งอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริหารได้ อนึ่งการอนุมัติรายการดังกล่าวข้างต้นจะต้องไม่มีลักษณะ เป็นการอนุมตั ริ ายการทีท่ ำ� ให้กรรมการบริหาร หรือผูร้ บั มอบอ�ำนาจ จากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทย่อย หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง (ตามประกาศคณะกรรมการ กลต. และ/หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย) โดยคณะกรรมการบริหารจะต้องน�ำเสนอเรื่อง ดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้พิจารณาและอนุมัติรายการดังกล่าว ภายใต้ข้อบังคับหรือ ประกาศ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการ ที่เป็นไปตามธุรกิจปกติที่มีการก�ำหนดขอบเขตที่ชัดเจนไว้แล้ว 5. ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร กรรมการบริหารที่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนจากบริษัทนั้น จะต้องเป็นกรรมการบริหารที่ได้รับการคัดสรรจากบุคคลภายนอก เท่านัน้ ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนให้เป็นตามทีท่ ปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำหนดไว้


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

051

คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และให้เป็นไปตาม คู่มือ “หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555” คณะกรรม การบริษทั ฯ จึงได้จัดให้มีคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน (Remuneration Committee) เพือ่ ท�ำหน้าที่พจิ ารณารูปแบบและหลักเกณฑ์ การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ จะเป็นผูพ้ จิ ารณาอนุมตั คิ า่ ตอบแทนประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ส่วนค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ จะต้องน�ำเสนอให้ทปี่ ระชุม ผู้ถือหุ้นเป็นผู้อนุมัติ

คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนของบริษัทฯ จ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย รายชื่อคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

ต�ำแหน่ง

1 2 3

ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์ นายพิทักษ์ ศิริวันสาณฑ์ รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์

*ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เป็นกรรมการอิสระ

คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนของบริษัทฯ เป็น คณะกรรมการชุดย่อยที่ได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ ให้ขอ้ เสนอแนะ เกี่ยวกับการพิจารณาค่าตอบแทนของคณะกรรมการ คณะ อนุกรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ บริษทั ฯ และเลขานุการบริษทั ฯให้เป็นไปด้วยความโปร่งใส และ เป็นธรรม โดยคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนของบริษทั ฯ จะมีความเป็นอิสระอย่างเต็มที่ในการปฏิบตั หิ น้าทีภ่ ายใต้กฎบัตร ฉบับนี้

2. วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง

1. องค์ประกอบและการแต่งตั้ง

3. หน้าที่และความรับผิดชอบ

- คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ คณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน - คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการอย่างน้อย 3 คน และจะต้องประกอบด้วยคณะกรรมการ อิสระเป็นส่วนใหญ่ - ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะต้องแต่งตัง้ จากกรรมการอิสระ - ให้เลขานุการบริษัทฯ เป็นเลขานุการของคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนโดยมีหน้าที่สนับสนุนให้การด�ำเนินงานของ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเป็นไปด้วยความราบรื่น

คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่และความ รับผิดชอบที่ส�ำคัญ ดังต่อไปนี้

- กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง คราวละ 3 ปี นับแต่วนั ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ ทัง้ นีก้ รรมการ ทีพ่ น้ จากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั แต่งตัง้ ให้กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ใหม่ได้โดยได้รับเสียงข้างมากของที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ส�ำหรับการแต่งตั้งกรรมการทดแทนในกรณีที่ต�ำแหน่งว่างลง คณะกรรมการบริษัทฯจะเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกกรรมการ และ พิจารณาแต่งตั้งต่อไป

1. เสนอแนะเรื่องค่าตอบแทนของคณะกรรมการ คณะ อนุกรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และทีป่ รึกษาคณะกรรมการ บริษัทฯ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. ก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี (Retainer fee) ค่าเบี้ย ประชุม (Attendance fee) และค่าตอบแทนอื่นตามความ เหมาะสม โดยพิจารณาจากแนวปฏิบัติที่บริษัทในอุตสาหกรรม เดียวกันใช้อยู่ ผลประกอบการของบริษัทฯ ตลอดจนความ รับผิดชอบ ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ของกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือที่ปรึกษาที่บริษัทฯ ต้องการ


052 3. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนมีอำ� นาจเรียกให้ฝา่ ย จัดการ หัวหน้างาน และ/หรือบุคคลอืน่ ใดทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วมประชุม ชี้แจง ซักถาม และ/หรือ จัดส่งเอกสารข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการ พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน หรือมีอำ� นาจแต่งตัง้ ผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระ ตามความเหมาะสมทั้งจากบุคลากรภายใน และภายนอกบริษัทฯ ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ ภายใต้งบประมาณที่ได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้ค�ำปรึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการก�ำหนดค่าตอบแทนได้ 4. ก�ำหนดหลักเกณฑ์ และน�ำเสนอรายงานการประเมินผล การปฎิบัติงานของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ 5. รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกครัง้ หลังมีการประชุมคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และ รายงานรายชือ่ และขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) เป็นต้น 6. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการเปลี่ยนแปลง ใดเกี่ยวกับกฎบัตรของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติปรับปรุงให้มีความเหมาะสม หรือให้เป็นตามกฎระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7. พิจารณาและท�ำหน้าที่อื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายแก่คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเป็นคราวๆ ไป

4. การประชุม 1. คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะต้องจัดให้มีการ ประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม 2. ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน จะก�ำหนดวาระ การประชุมแต่ละครั้ง และเป็นประธานในการประชุม นอกจากนั้น ต้องมีการจดและเก็บบันทึกการประชุมทุกครั้ง 3. วาระการประชุม และเอกสารการประชุมจะต้องจัดส่งให้ แก่คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนล่วงหน้าก่อนการประชุม 4. ในการประชุมคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน จะต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงจะครบเป็น องค์ประชุม 5. มติที่ประชุมของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน จะถือตามเสียงข้างมากของกรรมการทีเ่ ข้าร่วมประชุม ทัง้ นี้ กรรมการ ที่มีส่วนได้เสียในเรื่องใดจะต้องไม่เข้าร่วมในการพิจารณาหรือ ลงมติในเรื่องนั้น 5. การรายงาน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะต้องรายงานผลการ ปฏิบตั หิ น้าทีต่ อ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ และรายงานการท�ำหน้าที่ใน รอบปีที่ผ่านมาต่อผู้ถือหุ้นในรายงานประจ�ำปี โดยเปิดเผย รายละเอียดดังนี้ 1. รายชื่อคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 2. จ�ำนวนครั้งในการประชุม 3. จ�ำนวนครั้งที่กรรมการพิจารณาค่าตอบแทนแต่ละคน เข้าร่วมประชุม 4. ผลการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรที่ก�ำหนดไว้


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

053

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวน 4 ท่าน ที่เป็น ผู้ทรงคุณวุฒิในหลายด้าน ได้แก่ ด้านบัญชีและการเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบจ�ำนวน 4 ท่าน ดังนี้

1 2 3 4

รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ รองศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา จรุงกิจอนันต์ รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์ รองศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 3 ใน 4 ท่านได้แก่ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ รศ.ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์ และรศ.ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คือ นางสาวสุนันท์ วงศ์มุทธาวณิชย์ : ซึ่งปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้จัดการอาวุโสฝ่ายตรวจสอบภายใน ของบริษัทฯ

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ (1) หน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ดังต่อ ไปนี้: 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน ( internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา แต่งตั้งโยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในหรือ หน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทน ของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มี ฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

5. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุ สมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผย ไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูล อย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ - ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน ของบริษัทฯ - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ - จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการ เข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน


054 - ความเห็ น หรื อ ข้ อ สั ง เกตโดยรวมที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) - รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ 7. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั ฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ (2) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ โดยตรง และคณะกรรมการของบริษัทฯ ยังคงมีความ รับผิดชอบในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก (3) อ�ำนาจของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. คณะกรรมการตรวจสอบมีอำ� นาจทีจ่ ะขอความเห็นทีเ่ ป็น อิสระจากทีป่ รึกษาทางวิชาชีพอืน่ ใดเมือ่ เห็นว่าจ�ำเป็นด้วยค่าใช้จา่ ย ของบริษัทฯ 2. คณะกรรมการตรวจสอบมีอ�ำนาจเรียกขอข้อมูลจาก หน่วยงานต่าง ๆ ของบริษทั ฯ ประกอบการพิจารณาเพิม่ เติมในเรือ่ ง ต่างๆ ได้ (4) การประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. การประชุม ให้คณะกรรมการตรวจสอบจัดประชุมอย่าง น้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง ในกรณีจำ� เป็นเร่งด่วน กรรมการตรวจสอบ คนใดคนหนึ่ง หรือกรรมการคนใดคนหนึ่งของบริษัทฯ อาจขอให้มี การจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบได้ 2. การลงคะแนนเสียง กรรมการตรวจสอบผู้ที่มีส่วนได้เสีย ใดๆ ในเรือ่ งทีพ่ จิ ารณาห้ามมิให้แสดงความเห็นและลงคะแนนเสียง ใดเรือ่ งนัน้ ๆ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบไม่มสี ทิ ธิออกเสียง ลงคะแนน

3. รายงานการประชุม ให้เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้จดและ จัดท�ำรายงานการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งรายงานการ ประชุมดังกล่าวจะต้องน�ำส่งคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ การรับรอง และน�ำส่งคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ จะได้ ทราบถึงกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ (5) การรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือ มีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำดังต่อไปนีซ้ งึ่ อาจมีผลกระทบ อย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัทฯ เพือ่ ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควรในเรื่องต่อไปนี้

1. รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์

2. การทุจริตหรือมีสงิ่ ผิดปรกติหรือมีความบกพร่องทีส่ ำ� คัญ ในระบบการควบคุมภายใน 3. การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษัทฯ หากคณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ถึงสิ่งที่มีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงินและ ผลการด�ำเนินงาน และได้มีการหารือร่วมกันกับคณะกรรมการ บริษัทฯ และผู้บริหารแล้วว่าต้องด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขเมื่อครบ ก�ำหนดเวลาที่ก�ำหนดไว้ร่วมกัน หากคณะกรรมการตรวจสอบพบ ว่ามีการเพิกเฉยต่อการด�ำเนินการแก้ไขดังกล่าวโดยไม่มีเหตุผล อันสมควร กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานสิ่งที่พบ ดังกล่าวต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

055

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อเป็นการด�ำเนินการตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมทั้งบริษัทฯ เล็งเห็นว่าการวางระบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่ดี จะเป็นส่วนช่วยเพิ่มมูลค่าของกิจการให้แก่ผู้ถือหุ้น ส่งเสริมให้บริษัทฯมีการเติบโตที่มั่นคงและยั่งยืน ตลอดจนเพิ่มความสามารถใน การแข่งขันของบริษัทฯ ให้สูงยิ่งขึ้น บริษัทฯจึงจัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขึ้นมาเพื่อเป็นหน่วยงานที่ศึกษา ติดตาม ประเมิน จัดล�ำดับความส�ำคัญ และให้ค�ำแนะน�ำในการป้องกันหรือแก้ไขความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก เพื่อน�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯต่อไป

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

1 2 3 4 5 6 7 8 9

รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ต�ำแหน่ง

รองศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ ดร.กวี เตชะพิเชฐวนิช นายโกศล สารพัดโชค นายธวัชชัย วรชีวัน นายวิทยา ยศประพันธ์ นายสุวพัชร ชวพงศกร นายณัฐพล เผื่อนปฐม นายชัยยศ ทวีรติธรรม นางสาวสุนันท์ วงศ์มุทธาวณิชย์

ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง

*ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เป็นกรรมการอิสระ

องค์ประกอบ - คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง - คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประกอบด้วย กรรมการ อิสระและผู้บริหารระดับสูงจากฝ่ายงานที่ส�ำคัญต่างๆ ของบริษัท จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน - วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง แบ่งเป็น 2 กรณี • กรรมการที่มาจากกรรมการอิสระ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งวาระละ 3 ปี ทั้งนี้ กรรมการที่ออกจากต�ำแหน่งตามวาระอาจถูกเลือก ให้กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ หากในกรณีที่กรรมการออก หรือว่างลงก่อนวาระไม่วา่ ในกรณีใด ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ สามารถแต่งตั้งกรรมการอิสระท่านอื่นเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่ง แทนได้ โดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งเท่ากับวาระทีย่ งั เหลืออยู่ ของกรรมการที่ตนแทน

• กรรมการทีม่ าจากผูบ้ ริหารระดับสูง ให้ดำ� รงต�ำแหน่งได้ตลอด อายุการท�ำงานที่ยังคงเป็นผู้บริหารระดับสูงในฝ่ายงานนั้นๆ ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการทีม่ าจากผูบ้ ริหารระดับสูงจากฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งว่างลงไม่ว่าในกรณีใดๆ ให้บุคคลที่มีคุณสมบัติและมี ต�ำแหน่งหน้าที่เดียวกันหรือเทียบเท่าเข้าเป็นกรรมการแทน โดยบุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ ได้ตลอดไปจนกว่าจะได้รับการเลื่อนขั้น ย้าย ลาออก หรือ ไล่ออก หรือเพราะเหตุอื่นใดอันท�ำให้ไม่สามารถท�ำงานใน ต�ำแหน่งหน้าที่ดังกล่าวได้


056

อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 1. ก�ำหนดนโยบาย แผนงานการบริหารความเสี่ยง และ จัดท�ำรายงานการบริหารความเสี่ยง (Risk Reporting) เสนอต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบในการ ก�ำหนดแผนการจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม และน�ำไปปฏิบัติใช้ ภายในบริษัทฯ 2. ศึกษา ประเมิน และติดตามความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงก�ำหนดนโยบาย และกรอบการบริหารความเสี่ยงโดยรวม (Integrated Risk Management) โดยให้ครอบคลุมความเสี่ยง หลักทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกของธุรกิจ อาทิเช่น 2.1 ปัจจัยภายใน - ความเสี่ยงจากการบริหารธุรกิจ (Business Risk) - ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk) 2.2 ปัจจัยภายนอก - ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจ (Economic Risk) - ความเสี่ยงจากข้อกฎหมายหรือนโยบายภาครัฐ (Regulatory / Political Risk) เป็นต้น 3. ดูแลและติดตามการปฏิบัติตามนโยบายการบริหาร ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่มี ประสิทธิภาพ และมีการปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง

4. ทบทวนและสอบทานรายงานการบริหารความเสีย่ งอย่าง สม�่ำเสมอ เพื่อติดตามความเสี่ยงที่มีสาระส�ำคัญและด�ำเนินการ ให้มีการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างเพียงพอ และเหมาะสม 5. รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯอย่างสม�ำ่ เสมอเกีย่ วกับ ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง รวมถึง สถานะความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ต่อบริษทั ฯ รวมถึงสิง่ ทีต่ อ้ งปรับปรุงหรือ แก้ไข เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสี่ยงที่ก�ำหนด 6. ให้มีอ�ำนาจแต่งตั้งคณะท�ำงาน และ/หรือ บุคลากร เพิ่มเติม หรือว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญอิสระจากภายนอกได้ตามความ จ�ำเป็น เพื่อศึกษา ประเมิน ติดตามและเสนอแนะแนวทางการ บริหารจัดการความเสี่ยง 7. จัดท�ำรายงานประเมินผลการปฏิบัติงานประจ�ำปีของ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งก�ำหนดเป้าหมายและ แผนงานในการด�ำเนินการส�ำหรับปีตอ่ ไป เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ 8. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการเปลีย่ นแปลงใด เกี่ยวกฎบัตรของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อขออนุมัติปรับปรุงให้มีความเหมาะสมหรือให้เป็นตาม กฎระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 9. ปฏิบัติการอื่นใดเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงตามที่ คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

การประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะต้องจัดให้มีการ ประชุมอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม 2. ในการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจะต้อง มีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ จึงจะครบองค์ประชุม 3. มติที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะ ถือตามเสียงข้างมากของกรรมการที่เข้าร่วมประชุมในครั้งนั้นๆ 4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงอาจเชิญบุคคลอื่น ที่เกี่ยวข้องกับระเบียบวาระการประชุมเพื่อเข้าร่วมการประชุม ได้ตามความจ�ำเป็น

5. การจัดส่งเอกสารประกอบการประชุมให้กับคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงทุกท่านต้องไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวัน ประชุม และต้องจัดท�ำรายงานการประชุมส่งให้กบั คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งทุกท่านภายใน 14 วันท�ำการภายหลังการประชุม เสร็จสิ้น 6. เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่ รับผิดชอบในการจัดเตรียมความพร้อมส�ำหรับการประชุมอัน ประกอบด้วย การจัดเตรียมสถานทีก่ ารประชุม วาระการประชุม และเอกสารประกอบการประชุม เป็นต้น


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

057

การรายงานผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ต้องรายงานผลการด�ำเนินการในการ บริหารและจัดการความเสีย่ ง รวมถึงสถานะความเสีย่ งในแต่ละหัวข้อทีก่ �ำหนด ไว้ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้ความมั่นใจว่า คณะกรรมการบริษัทได้ รับทราบและตระหนักถึงปัจจัยต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ สถานะการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 1. ดูแล ปฏิบัติงานประจ�ำตามปกติธุรกิจเพื่อประโยชน์ของ บริษัท และบริหารจัดการ การด�ำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตาม นโยบาย เป้าหมาย และสอดคล้องกับแผนงานการด�ำเนินธุรกิจ งบประมาณประจ�ำปีของบริษัท และกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ ที่เกี่ยวข้อง ตามที่กำ� หนดโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/ หรือ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร 2. ก�ำกับดูแลการด�ำเนินการด้านการเงิน การตลาด งาน บริหารบุคคล และด้านการปฏิบัติงานอื่นๆ โดยรวม เพื่อให้เป็นไป ตามนโยบายและแผนการด�ำเนินงานของบริษัท ที่ก�ำหนดไว้โดย คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร 3. มีอำ� นาจว่าจ้าง แต่งตัง้ โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนด อัตราค่าจ้างและค่าตอบแทน บ�ำเหน็จรางวัล ปรับขึ้นเงินเดือน ส�ำหรับพนักงานบริษัทในต�ำแหน่งรองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จนถึงผูอ้ ำ� นวยการฝ่าย โดยต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริษัท หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 4. มีอำ� นาจว่าจ้าง แต่งตัง้ โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�ำหนด อัตราค่าจ้างและค่าตอบแทน บ�ำเน็จรางวัล ปรับขึน้ เงินเดือนพนักงาน ของบริษัทในต�ำแหน่งต�่ำกว่าผู้อำ� นวยการฝ่าย 5. อนุมัติการซื้อเครื่องจักรภายในวงเงิน (ไม่ว่าจะเกิดเพียง ครั้งเดียวหรือต่อเนื่อง) ไม่เกินธุรกรรมละ 4 ล้านบาท และ ปีละ ไม่เกิน 20 ล้านบาท เว้นแต่เป็นกรณีที่ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ บริหารของบริษัทไว้แล้ว และ/หรือปรากฏใน แผนการด�ำเนินงาน หรืองบประมาณประจ�ำปีของบริษัทแล้ว

6. มีอำ� นาจอนุมตั กิ ารเลิกใช้ และการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือ การขาย และเช่ากลับคืน สิน ทรัพย์ ตามระเบียบปฏิบัติเรื่อง การเลิกใช้ และจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรือการขายและเช่ากลับคืน สินทรัพย์ ในกรณีที่มูลค่าสุทธิทางบัญชีไม่เกิน 1 ล้านบาท 7. การท�ำสัญญา และ/หรือธุรกรรมใดๆ เพือ่ ประโยชน์ของ บริษัท ให้น�ำเสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริหารพิจารณา เพื่อ น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 8. มีอ�ำนาจอนุมัติการสั่งซื้อวัตถุดิบในโครงการ Western Digital (WD) ในวงเงินไม่เกิน 150 ล้านบาทหรือเทียบเท่าต่อ 1 ธุรกรรม 9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทและ/หรือคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งมีอ�ำนาจด�ำเนินการ ใดๆ ที่จำ� เป็นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ทั้งนี้ ในการด�ำเนินการเรื่องใดที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือผูร้ บั มอบอ�ำนาจจากประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารหรือบุคคล ทีอ่ าจ มีความขัดแย้ง (ตามประกาศคณะกรรมการ กลต. และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท และ/หรือบริษัทย่อย และ /หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารไม่มีอ�ำนาจ ด�ำเนินการ


058

รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดย่อย และการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2556

รายชื่อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

นายสมนึก ไชยกุล นายพิทักษ์ ศิริวันสาณฑ์ นายพลศักดิ์ เลิศพุฒิภิญโญ นายชอง เคว็น ซัม นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ นายประสาท ยูนิพันธุ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์ นางพูนพรรณ ไชยกุล นายโตรุ อูชิโนะ รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์ รองศาสตราจารย์ ดร. ก�ำพล ปัญญาโกเมศ

ประชุม กรรมการ บริษัทฯ

ประชุม กรรมการ ตรวจสอบ

4/4 4/4 4/4 4/4 2/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 3/4

2/4 3/4 4/4 4/4

ประชุมกรรมการ พิจารณา ค่าตอบแทน 1/1 1/1 1/1 -

การประชุม ผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2556 1/1 1/1 1/1 1/1 0/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1

บริษัทฯ จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2556

แนวทางการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน (Remuneration Committee) จะเป็นผู้พิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการและประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร โดยจะเสนอค่าตอบแทนดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ในส่วนของค่าตอบแทนคณะกรรมการ บริษัทฯ ต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นโดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดแนวทาง การก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ไว้ดังนี้ 1. แนวทางการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ บริษทั ฯ จะก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการอย่างเหมาะสมทัง้ นี้ เพื่อสามารถดึงดูดและรักษากรรมการที่มีความรู้ ความสามารถ ให้ท�ำงานกับบริษัทฯ โดยปัจจัยส�ำคัญที่ ใช้ในการพิจารณาก�ำหนด ค่าตอบแทนกรรมการ คือ • • •

ผลประกอบการบริษัทฯ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการที่ได้รบั มอบหมาย อัตราค่าตอบแทนโดยเฉลีย่ ของบริษทั ต่างๆ ในอุตสาหกรรม เดียวกัน

โครงสร้างของค่าตอบแทน จะประกอบด้วย ค่าตอบแทน ประจ�ำปี (Retainer fee) และค่าเบี้ยประชุม (Attendance fee)


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

059

2. แนวทางการก�ำหนดค่าตอบแทนส�ำหรับ ผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการบริหาร จะเป็นผู้พิจารณาค่าตอบแทนส�ำหรับ ผู้บริหารระดับสูง ในระดับรองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงาน ต่างๆ ผู้อ�ำนวยการอาวุโส และผู้อ�ำนวยการ สายงานต่างๆ ทั้งนี้ ค่าตอบแทนต้องมีความเหมาะสมที่จะสามารถดึงดูดและรักษา ผู้บริหารระดับสูงให้ท�ำงานให้กับบริษัทฯ โดยปัจจัยส�ำคัญที่ ใช้ ในการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน คือ • ผลประกอบการของบริษัทฯ • การพิจารณาขึ้นค่าตอบแทนหรือเงินเดือนประจ�ำปี จะพิจารณาจากผลการปฏิบตั งิ านเทียบกับตัวชีว้ ดั ผลงาน หลัก (Key Performance Indicator - KPI) • บริษัทฯ จะน�ำอัตราค่าตอบแทนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม และค่าเฉลี่ยของตลาดมาประกอบการพิจารณา นอกจากนั้นบริษัทฯ อาจจะขอค�ำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลมาประกอบการพิจารณา โดยคิด ค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ

คุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัทฯ 1. มีคณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ฎหมายก�ำหนด (พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด และพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) 2. มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ทเี่ ป็นประโยชน์ ต่อการด�ำเนินธุรกิจ มีความตั้งใจ และมีจริยธรรมในการด�ำเนิน ธุรกิจ 3. สามารถใช้ดุลยพินิจอย่างตรงไปตรงมา เป็นอิสระจาก ฝ่ายจัดการและกลุ่มที่มีผลประโยชน์อื่นใด 4. สามารถอุทิศเวลาให้แก่บริษัทฯ ได้อย่างเพียงพอและ เอาใจใส่ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบของตน

คุณสมบัติของคณะกรรมการบริหาร

1. เป็นผูม้ วี สิ ยั ทัศน์ มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ ซือ่ สัตย์สจุ ริต

2. มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ทเี่ ป็นประโยชน์ ต่อการด�ำเนินธุรกิจ มีความตั้งใจ และมีจริยธรรมในการด�ำเนิน ธุรกิจ 3. สามารถอุทิศเวลาให้แก่บริษัทฯ ได้อย่างเพียงพอและ เอาใจใส่ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบของตน


060

คุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ

คุณสมบัติของคณะกรรมการอิสระ

1. คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วย กรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน

กรรมการอิสระด�ำเนินงานตามภาระหน้าทีท่ ี่ได้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยมีความเป็นอิสระจากผู้ถือหุ้น รายใหญ่และฝ่ายบริหารของบริษัท และมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ที่ส�ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยก�ำหนด คือมีจ�ำนวนกรรมการอิสระอย่างน้อยหนึ่งใน สามของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามคน โดย แต่ละคนต้องมีคุณสมบัติดังนี้

2. ได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ ให้เป็นกรรมการตรวจสอบ 3. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการให้ ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความ ขัดแย้ง 4. มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำ หน้าที่ ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้กรรมการตรวจสอบ อย่างน้อยหนึง่ คน มีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถ ท�ำหน้าที่ ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้

1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้น ของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระด้วย 2. ไม่เป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาที่ได้รบั เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่ จะได้พน้ จากลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนได้รบั การ แต่งตั้ง 3. ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียน ตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ� นาจ ควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็นผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษัทฯหรือบริษัทย่อย

คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 1. เป็นกรรมการบริษัทฯ และไม่ใช่ประธานคณะกรรมการ บริษัทฯ

2. ประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่

3. เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ตลอดจนมี ความรู้ ความเข้าใจถึงคุณสมบัติ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในฐานะ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 4. สามารถอุทศิ เวลาอย่างเพียงพอในการปฏิบตั งิ านของคณะ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ใน ลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระ รวมทั้งไม่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของผู้ที่มี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง ทัง้ นีค้ วามสัมพันธ์ทางธุรกิจ รวมถึงการท�ำรายการทางการค้า ทีท่ ำ� เป็นปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่า อสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วย เหลือทางการเงิน ซึ่งมีมูลค่ารายการตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาท ขึ้นไป แล้วแต่ จ�ำนวนใดจะต�ำ่ กว่า ทัง้ นี้ให้นบั รวมหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหว่างหนึง่ ปีกอ่ น วันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

5. ไม่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง

061

7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน ของกรรมการบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ 8. ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็นได้อย่าง เป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

6. ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการเป็น ที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกิน กว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะ ได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้ รับการแต่งตั้ง

วิธีการสรรหากรรมการและกรรมการอิสระ แม้วา่ บริษทั ฯ จะไม่มคี ณะกรรมการสรรหาเพือ่ คัดเลือกบุคคล ที่จะแต่งตั้งเป็นกรรมการ แต่บริษัทฯ ก็มีนโยบายที่จะสรรหาและ คัดเลือกบุคคลทีจ่ ะมาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการโดยพิจารณาจากปัจจัย หลายประการ เช่น ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เป็นต้น โดยได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการ แต่งตั้งและถอดถอนกรรมการ ดังนี้ 1. คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอย่าง น้อย 5 คน และไม่เกิน 15 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร และ กรรมการของบริษัทฯ จะต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมาย ก�ำหนด ห้ามมิให้กรรมการประกอบกิจการเข้าเป็นหุน้ ส่วน หรือเข้า เป็นกรรมการในนิติบุคคลอื่นที่มีสภาพอย่างเดียวกันและด�ำเนิน ธุรกิจอันเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ เว้นแต่จะแจ้งให้ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง 2. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการ โดยใช้เสียง ข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้

2.1 ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อเสียงหนึง่

2.2 ให้ผู้ถือหุ้นออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการเป็น รายบุคคลไป 2.3 บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็น ผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้ง ในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด

3. ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออก จากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนที่ใกล้ทสี่ ดุ กับส่วน 1 ใน 3 กรรมการ ทีจ่ ะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีทสี่ อง ภายหลังจดทะเบียน บริษัทฯ นั้น ให้ใช้วิธีจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนทีอ่ ยู่ในต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจได้รับเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่ง ใหม่ก็ได้ 4. ในกรณีที่ตำ� แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลหนึ่งซึ่งมี คุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เข้าเป็นกรรมการ แทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของ กรรมการจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน บุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทน ดังกล่าว จะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระทีเ่ หลืออยูข่ อง กรรมการที่ตนแทน 5. ที่ประชุมผู้ถือหุ้น อาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจาก ต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และ มีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง


062

การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯได้ท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ โดยรวมทั้งคณะไม่น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง เพื่อพิจารณาผลงานที่ผ่านมาว่ามีข้อดี และข้อบกพร่องประการ ใดบ้าง ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานในอนาคต ตลอดจนเพื่อสร้างความเข้าใจอันดี ในการปฏิบัติงานร่วมกัน ของคณะกรรมการทุกท่าน

การประเมินผลประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

การสรรหากรรมการอิสระ ในการสรรหากรรมการอิสระ จะต้องมีกรรมการอิสระไม่นอ้ ย กว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และจะต้องไม่ต�่ำกว่า 3 คน บริษัทฯ มีแนวทางในการคัดเลือกกรรมการอิสระในลักษณะ เดียวกับการคัดเลือกกรรมการและผู้บริหาร ทั้งนี้ ผู้ที่จะได้รับการ คัดเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระจะต้องมีคุณสมบัติ ตามที่บริษัทฯ ก�ำหนด

การสรรหากรรมการตรวจสอบ ในการสรรหากรรมการตรวจสอบ จะต้องมีกรรมการอิสระ อย่างน้อย 3 คน บริษัทฯมีแนวทางในการคัดเลือกกรรมการตรวจ สอบในลักษณะเดียวกับการคัดเลือกกรรมการอิสระ ทั้งนี้ผู้ที่ได้รับ การคัดเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบ จะต้องมีความ รูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถปฏิบตั หิ น้าทีค่ ณะกรรมการ ตรวจสอบได้อย่างสมบูรณ์ และมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�ำหนด

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการบริษทั ฯ ควรจ�ำกัดจ�ำนวนบริษทั ในการด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการในบริษทั อืน่ ไม่เกิน 5 บริษทั เพือ่ ให้กรรมการมีเวลาเพียง พอในการปฏิบตั หิ น้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รบั มอบหมาย และ ต้องรายงานให้บริษัทฯ ทราบ หากมีการเปลี่ยนแปลงในการด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น

บริษัทฯ ท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธาน เจ้าหน้าที่บริหารเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อก่อให้เกิดการพิจารณา ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรมต่อทัง้ บริษทั ฯ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร โดยใช้หลักเกณฑ์ที่บริษัทฯ จดทะเบียนส่วนใหญ่นิยมใช้ และตกลง กันล่วงหน้ากับประธานเจ้าหน้าที่บริหารตามเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรม ซึ่งหลักเกณฑ์การประเมินนั้นต้องรวมถึงผลปฏิบัติงานทางการเงิน ผลการปฏิบัติ ตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ในระยะยาว เป็นต้น ปัจจัยที่ ใช้ในการประเมินผลทั้งในแง่การประเมินโดยใช้ปัจจัยทาง การเงิน (Financial Metrics) และปัจจัยที่ ไม่ ใช่ทางการเงิน (Non - Financial Metrics) เป็นเกณฑ์ในการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน - ปัจจัยทางการเงิน (Financial Metrics) ได้แก่ รายได้ ก�ำไรสุทธิ ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (Return on Fixed Asset) อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น (Return on Equity) และมู ล ค่ า เพิ่ ม ทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Value Added - EVA) ฯลฯ เป็นต้น - ปัจจัยที่ไม่ใช่ทางการเงิน (Non - Financial Metrics) ได้แก่ วิสัยทัศน์ ภาวะความเป็นผู้น�ำ การบรรลุตามแผนกลยุทธ์ การบริหารความเสี่ยง การมีความสัมพันธ์อันดีกับคณะกรรมการ บริษัทฯ การตอบสนองต่อความต้องการและทิศทางของคณะ กรรมการบริษทั ฯ การติดต่อสือ่ สาร การบริหารงานทรัพยากรบุคคล การขยายตลาด ฯลฯ เป็นต้น


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

063

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร

เลขานุการบริษัท

บริษัทฯ มีนโยบายในการพัฒนากรรมการและผู้บริหาร ระดับสูง ในด้านการก�ำกับดูและกิจการที่ดี และในด้านการบริหาร อย่างต่อเนื่อง โดยกรรมการและผู้บริหารจะเข้าร่วมการสัมมนา และการฝึกอบรมที่จัดขึ้น โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) กรรมการทุกท่านได้ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตร Director Certification Program (DCP) หรือ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

คณะกรรมการบริษทั ฯได้แต่งตัง้ นายยรรยงค์ สวัสดิ์ ให้ดำ� รง ต�ำแหน่งเลขานุการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2552 โดย เลขานุการบริษทั ฯมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ท�ำหน้าทีด่ ำ� เนิน การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุมผู้ถือหุ้นให้เป็น ไปอย่างราบรื่นถูกต้องตามกฎหมาย จัดท�ำรายงานการประชุม คณะกรรมการ รวบรวมและเก็บรักษารายงานการประชุมให้งา่ ยแก่ การค้นหา จัดเตรียมและจัดส่งหนังสือเชิญประชุมรวมทั้งรายงาน ประจ�ำปีให้กับผู้ถือหุ้นและหน่วยงานก�ำกับดูแล จัดท�ำและจัดเก็บ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และจัดส่งให้แก่หน่วยงานก�ำกับดูแล รวมทั้งผู้ถือหุ้นกับเผยแพร่ใน Website ดูแลให้บริษัทฯ บริษัทย่อย กรรมการ และผู้บริหารปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎระเบียบข้อบังคับ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เป็น ผู้ติดต่อประสานงานต่างๆ กับหน่วยงานดังกล่าว รวมทั้งแจ้งข้อมูล เกีย่ วกับกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ให้กบั ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต. นอกจากนี้ เลขานุการบริษัทฯ ยังมีหน้าที่ให้คำ� แนะน�ำ และค�ำปรึกษาในการเข้ารับต�ำแหน่งของกรรมการบริษทั ฯ รายใหม่ ติดต่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้น ท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่าง ผูถ้ อื หุน้ กับคณะกรรมการบริษทั ฯและผูบ้ ริหาร ส่งเสริมความรูค้ วาม เข้าใจเกี่ยวกับ Corporate Governance และให้ข้อมูลและผลักดัน คณะกรรมการให้ปฏิบตั ติ าม รวมทัง้ ให้มกี ารตรวจสอบผลการปฏิบตั ิ ตามข้อก�ำหนดของหลักการดังกล่าว ให้ข้อมูลและค� ำแนะน�ำ แก่กรรมการ และผูบ้ ริหารในการจัดท�ำรายงานต่างๆ ตามทีก่ ฎหมาย หรือกฎข้อบังคับ ต่างๆ ทีก่ ำ� หนดให้ตอ้ งมีการเปิดเผยต่อสาธารณชน เพือ่ ความโปร่งใส เช่น การรับทราบภาระหน้าทีเ่ กีย่ วกับการรายงาน การถือหลักทรัพย์ฯ และดูแลการด�ำเนินการของบริษัทฯให้เป็นไป ตามข้อบังคับ กฎระเบียบของบริษัทฯ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ หน่วยงานก�ำกับที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

แผนการสืบทอดต�ำแหน่ง

ผู้ตรวจสอบภายใน

บริษัทฯ มีแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง โดยกระบวนการสรรหา จากบุคคลทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีระบบ การคัดสรรบุคคลากรทีม่ คี วามเหมาะสมเข้ามารับต�ำแหน่งกรรมการ และฝ่ายบริหารทีส่ ำ� คัญ และสอดคล้องกับแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง ทั้งนี้ทุกต�ำแหน่งจะต้องผ่านระบบการคัดสรรที่โปร่งใส และ เป็นธรรม

ผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทฯ มีความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็น มีความเป็นอิสระในการปฏิบตั งิ านของผูต้ รวจสอบภายใน ให้สอดคล้อง กับมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน โดยท�ำการทดสอบ การประเมินความเสี่ยง การประเมินความ เพียงพอ และความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทฯ เพื่อให้การปฏิบัติงานตรวจสอบมีประสิทธิภาพ บรรลุ เป้าหมาย และเป็นไปตามแผนงานการตรวจสอบที่วางไว้


064

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวน 4 ท่าน ดังนี้

1 2 3 4

นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์ รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์ รองศาสตราจารย์ ดร.ก�ำพล ปัญญาโกเมศ

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

ทั้งนี้ประธานคณะกรรมการตรวจสอบไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการชุดย่อยอื่น และทั้ง 4 ท่าน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในหลายด้าน ได้แก่ ด้านบัญชีการเงิน ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านบริหารความเสี่ยง ในระหว่างปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง เพื่อพิจารณาสอบทานความถูกต้องของงบการเงิน รายงานผู้สอบบัญชี ระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน รายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ หรือรายการเกี่ยวโยง การพิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี และการก�ำหนดค่าตอบแทน การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ และได้สอบทานเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯสามารถปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชี IFRS (International Financial Reporting Standards) และได้ประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการของบริษัทฯ เข้าร่วมประชุมด้วย 1 ครั้ง รายงานทางการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการตรวจสอบฯ มีความเห็นว่า งบการเงินได้จัดท�ำตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมีการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินอย่างเหมาะสมตามสมควร ซึ่งผู้สอบบัญชีรับอนุญาตได้แสดงความเห็นต่อ งบการเงินไว้แล้วในรายงานของผู้สอบบัญชี และได้สอบทานเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี IFRS (International Financial Reporting Standards) ระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในร่วมกับ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ฝ่ายจัดการ และเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ภายใน เพื่อให้มั่นใจว่ามีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมเพียงพอ และได้สอบทานการจัดการ และควบคุมความเสี่ยงของบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) โดยได้ให้ความเห็นและค�ำแนะน�ำ เพื่อจัดการต่อความเสี่ยงที่ส�ำคัญ ติดตามการด�ำเนินการ ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เป็นไปตามเป้าหมาย การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาความเป็นอิสระของฝ่ายตรวจสอบภายใน ขอบเขตการปฏิบัติงาน แผนการตรวจสอบประจ�ำปี ให้ความส�ำคัญกับรายงานผลการสอบทาน ประเด็นตรวจสอบ และให้ค�ำแนะน�ำในการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานตรวจสอบให้มี ประสิทธิภาพ รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการเกี่ยวโยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน รายการธุรกรรมระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อย และบุคคลที่เกี่ยวโยง เพื่อพิจารณาว่าการท�ำ ธุรกรรมมีรายการที่สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ และเป็นไปตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการระหว่างกันไว้อย่างครบถ้วน


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

065

การพิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี และการก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีจากบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจ�ำปี 2557 รวมทั้งพิจารณาค่าตอบแทนการสอบบัญชี เพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติต่อไป โดยมีรายชื่อผู้สอบบัญชี ดังนี้ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3930 และ/หรือ นางสาววิสสุตา จริยธนากร ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3853 และ/หรือ นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4501 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ผู้สอบบัญชีที่ท�ำหน้าที่รับรองงบการเงินของบริษัทฯ คือ นางสาว ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล

การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯไม่ขัดต่อกฎหมายธุรกิจที่เกี่ยวข้องอื่น คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีความอิสระ รอบคอบ และแสดงความเห็นอย่างตรงไปตรงมา เพื่อก�ำกับดูแล การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ตรวจสอบในปี 2556 บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ

(นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


066

รายงานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ทุกท่านไม่ได้เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ และประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ ดังนี้

1 รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์ 2 นายพิทักษ์ ศิริวันสาณฑ์ 3 รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์

ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ได้ปฏิบัติหน้าที่ และความรับผิดชอบอย่างอิสระ ตามที่ได้ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน เพื่อท�ำหน้าที่พิจารณารูปแบบ และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ ซึ่งจะน�ำเสนอที่ประชุม ผู้ถือหุ้นให้เป็นผู้อนุมัติเป็นประจ�ำทุกปี และก�ำหนดค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้อนุมัติ ในปี 2556 คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนได้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 1 ครั้ง (กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ทั้ง 3 ท่าน เข้าร่วมประชุมครบถ้วน) เพื่อพิจารณา ก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี และค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ทั้งนี้ได้ขอให้ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ ช่วยหาข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการพิจารณา ทั้งนี้กรรมการที่มีส่วนได้เสียในเรื่องใดจะต้องไม่เข้าร่วมในการพิจารณาหรือลงมติในเรื่องนั้น ส�ำหรับค่าตอบแทน และค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริษัทฯ ประจ�ำปี 2556 นั้น คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนได้พิจารณา อย่างรอบคอบ ซึ่งเปรียบเทียบข้อมูลอ้างอิงจากบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน รวมถึงพิจารณาจากผลประกอบ การของบริษัทฯ ระดับความรับผิดชอบ และประสบการณ์ จึงเห็นควรเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติอัตราค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทฯ โดยให้คงอัตราเดิมตามที่ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2555 ได้มีมติอนุมัติไว้แล้ว ส�ำหรับรายละเอียด ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุดย่อยอื่นได้แสดงไว้ในหัวข้อค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ ของรายงานประจ�ำปี ฉบับนี้แล้ว

(รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา จรุงกิจอนันต์) ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

067

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารความเสี่ยงว่าเป็นเรื่อง ที่ส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจ คณะกรรมการของบริษัทฯจึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขึ้นเพื่อเป็นคณะกรรมการชุดย่อย ท�ำหน้าที่ ในการประเมิน และวิเคราะห์ความเสี่ยง รวมถึงผลกระทบ พร้อมทั้งก�ำหนดมาตรการในการป้องกันและลดความเสี่ยงอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้บริษัทฯ เล็งเห็นว่าการวางระบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่ดีจะเป็นส่วนช่วยเพิ่มมูลค่าของกิจการให้แก่ ผู้ถือหุ้นส่งเสริมให้บริษัทฯ มีการเติบโตที่มั่นคงและยั่งยืน ในปี 2556 นี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ได้ท�ำการประชุมทั้งสิ้นรวม 4 ครั้ง และได้รายงานให้คณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบเป็นล�ำดับสาระส�ำคัญของการปฏิบัติงานเป็นดังนี้ 1. ประเมินความเสีย่ ง และก�ำหนดกรอบการบริหารความเสีย่ งของแต่ละฝ่ายงาน โดยให้ครอบคลุมความเสีย่ งจากปัจจัยภายในและ ภายนอกของบริษัทฯ 2. ดูแล ติดตามการปฏิบัติตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ 3. ทบทวน แนวคิดของการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และแนวทางในการปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน โดยพิจารณาปัจจัยด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี คู่แข่ง เป็นต้น 4. รายงานการบริหารความเสี่ยงเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบ ในการก�ำหนดแผนการจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสมและน�ำไปปฏิบัติใช้ภายในบริษัทฯ จากการด�ำเนินงานข้างต้น คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้พิจารณาประเมินความเสี่ยงอย่างรอบคอบ พร้อมทั้งประเมินเพื่อให้ ทราบระดับของความเสี่ยง และก�ำหนดมาตรการในการป้องกัน และบริหารความเสี่ยง จัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ทั้งนี้ ได้น�ำเสนอรายงานการบริหารความเสี่ยง ต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ เพื่อก�ำหนดระบบการควบคุมภายในที่ เพียงพอ และได้รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกครั้ง ทั้งนี้เนื้อหาโดยละเอียดของการบริหาร ความเสี่ยงของบริษัทฯ อยู่ในรายงานประจ�ำปีฉบับนี้แล้ว

(รองศาสตราจารย์ ดร.ก�ำพล ปัญญาโกเมศ) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง


068

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทและ บริษัทย่อย รวมถึงสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฎในรายงานประจ�ำปี คณะกรรมการเห็นว่างบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไปในประเทศไทย โดยได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบาย การบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ ใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และใช้การประมาณการที่เหมาะสมในการจัดท�ำ รวมทั้ง มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้สามารถแสดงผลการด�ำเนินงาน ฐานะการเงิน และ กระแสเงินสด อย่างถูกต้อง และ โปร่งใส ทั้งนี้งบการเงินดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบและให้ความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไขจากผู้สอบบัญชี รับอนุญาต คณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วย กรรมการทีเ่ ป็นอิสระเป็นผูก้ ำ� กับดูแลเกีย่ วกับคุณภาพ ของรายงานทางการเงิน, ประเมินระบบการควบคุมภายใน, การตรวจสอบภายใน,การบริหารความเสี่ยง และ ตลอดจนพิจารณาการเปิด เผยข้อมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพือ่ ให้มคี วามมัน่ ใจได้วา่ มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถกู ต้องครบถ้วน อย่างเพียงพอ ทันเวลาและป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการด�ำเนินการที่ผิดปกติ โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏใน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีนี้แล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในของบริษัทฯเพียงพอและเหมาะสม มีความ เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ โดยปฏิบัติ ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป

นายสมนึก ไชยกุล ประธานกรรมการ


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

069

ค�ำอธิบายและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน ของฝ่ายจัดการ บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ขอสรุปผลจากการด�ำเนินงานในปี 2556 เทียบกับ ปี 2555 ดังมีสาระส�ำคัญสรุปได้ดังต่อไปนี้

ผลการด�ำเนินงานส�ำหรับปี 2556 เทียบกับปี 2555

(หน่วย:ล้านบาท) เปลี่ยนแปลง จ�ำนวนเงิน %

ปี 2556

ปี 2555

7,652 434 44 8,130 7,970

3,538 1,293 37 4,868 4,115

4,114 -859 7 3,262 3,855

116.28% -66.43% 19.67% 67.02% 93.66%

160

752

-592

-78.73%

33 -9

22 1

11 -10

50.00% -1600.00%

ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ประจ�ำปี

136

730

-594

-81.36%

ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ (ต่อหุ้น)

0.34

1.76

-1.42

-80.68%

รายได้จากการขายและบริการ เงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณ์อุทกภัย รายได้อื่น รายได้รวม ค่าใช้จ่ายรวม ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิจากการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้

บริษทั ฯ ท�ำการฟืน้ ฟูกจิ การจากเหตุการณ์นำ�้ ท่วมครัง้ ใหญ่เมือ่ สองปีทผี่ า่ นมา โดยท�ำการทยอยติดตั้งเครื่องจักรที่สั่งซื้อเข้ามาทดแทนที่เสียหายจนครบถ้วน เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ในปี 2556 มีรายรับจากการขายสินค้าและบริการสูงขึ้นกว่าปี ก่อนถึง 4,114 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 116.28 ของปีก่อน ส่งผลให้ผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ เริ่มปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ตามการเพิ่มขึ้น ของยอดขายและบริการยังไม่พอเพียงที่จะท�ำก�ำไรจากการด�ำเนินธุรกิจปกติในปี นี้ได้ เนื่องจากการใช้ก�ำลังการผลิตยังไม่เพียงพอที่ถึงจุดคุ้มทุนท�ำให้ผลการด�ำเนิน งานของบริษัทฯ ในปี 2556 ยังคงมีผลขาดทุนอยู่ -298 ล้านบาท แต่ดีขึ้นมากเมื่อ เทียบกับผลก�ำไร (ขาดทุน) จากการด�ำเนินงานในปีที่ผ่านมาที่มีผลขาดทุนจากการ ด�ำเนินงานถึง -563 ล้านบาท ผลก�ำไรที่ได้ในปี 2556 มาจากรายรับจากการชดเชย ค่าสินไหมทดแทนจากความเสียหายจากน�้ำท่วมที่ ได้รับเพิ่มเติมมาจากปี 2555 คิดเป็นรายรับจ�ำนวนทัง้ สิน้ 434 ล้านบาท จากผลดังกล่าวส่งผลให้ในปี 2556 บริษทั ฯ มีผลก�ำไรสุทธิอยู่ที่ 136 ล้านบาท ลดลงจากปีที่ผ่านมา -594 ล้านบาท เนื่องจาก รายรับจากเงินชดเชยค่าสินไหมทดแทนที่ลดลงจากปี 2555 มาก


070

รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้จากการขายสินค้าและบริการของบริษัทฯจากกลุ่ม ใหญ่ๆทั้ง 3 กลุ่มคือ กลุ่มสินค้า Hard Disk Drive กลุ่มสินค้า MMA - Others และกลุ่มสินค้า IC Packaging ในปี 2556 มียอดขาย สินค้าเป็นเงิน 6,897 ล้านบาท, 59 ล้านบาท และ 665 ล้านบาท ตามล�ำดับ เมื่อรวมกับรายได้ค่าบริการจ�ำนวน 31 ล้านบาทแล้ว รวมเป็นยอดรายได้คา่ สินค้าและบริการทัง้ สิน้ 7,652 ล้านบาท เพิม่

ขึ้นจากปีก่อน 4,114 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 116.28 สามารถ แยกย่อยเป็นแต่ละกลุ่มสินค้าดังนี้ กลุ่มสินค้า Hard Disk Drive เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 118.67 กลุ่มสินค้า MMA - Others ลดลงจากปีกอ่ นร้อยละ -33.71 และกลุม่ สินค้า IC Packaging เพิม่ ขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 134.15 ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย:ล้านบาท)

ปี 2556 จ�ำนวนเงิน %

ปี 2555 จ�ำนวนเงิน %

เปลี่ยนแปลง จ�ำนวนเงิน %

1. กลุ่มสินค้า Hard Disk Drive 2. กลุ่มสินค้า MMA - Others 3. กลุ่มสินค้า IC Packaging

6,897 59 665

90.13% 0.77% 8.69%

3,154 89 284

89.15% 2.51% 8.03%

3,743 -30 381

118.67% -33.71% 134.15%

รวม รายได้จากการขาย

7,621

99.59%

3,527

99.69%

4,094

116.08%

31

0.41%

11

0.31%

20

181.82%

7,652

100.00%

3,538

100.00%

4,114

116.28%

รายได้จากการบริการ รวม รายได้จากการขายและบริการ

ในปี 2556 จากยอดรายได้จากการขายสินค้าและบริการข้างต้น ถ้ามองในรูป Value Added (VA) (หมายถึงยอดขาย หักด้วย ค่าวัตถุดิบ) VA ก็เพิ่มขึ้นอย่างมากยกเว้นในกลุ่มสินค้า MMA - Others มี VA ลดลง -19 ล้านบาท รายละเอียดตามตารางด้านล่าง (หน่วย:ล้านบาท) เปลี่ยนแปลง จ�ำนวนเงิน %

ปี 2556

ปี 2555

1. กลุ่มสินค้า Hard Disk Drive 2. กลุ่มสินค้า MMA - Others 3. กลุ่มสินค้า IC Packaging

265 33 265

122 52 140

143 -19 125

117.21% -36.54% 89.29%

รวม Value Added

563

314

249

79.30%


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

071

ก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) จากงบก�ำไรขาดทุนในปี 2556 บริษัทฯ มีก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และ ค่าตัดจ�ำหน่าย จ�ำนวน 31 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนหัก ดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และ ค่าตัดจ�ำหน่าย ของปี 2555 ยังมีผลขาดทุนอยู่ -345 ล้านบาท จะเห็นได้วา่ EBITDA ของบริษทั ฯ ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากจนมี EBITDA เป็นบวกได้ แต่อย่างไรก็ตาม

ก็ยังไม่สูงเพียงกับค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ที่สูงเพิ่มขึ้นมา ในปี 2556 ด้วยเช่นเดียวกัน เนื่องจากเครื่องจักรที่ทยอยสั่งซื้อเข้า มาทดแทนเครื่องจักรเก่าที่เสียหายจากน�้ำท่วมมีการติดตั้งเสร็จ เรียบร้อยแล้ว แต่ก�ำลังการผลิตในช่วงต้นยังไม่สามารถท�ำก�ำไรให้ บริษัทฯ ได้อย่างพอเพียงกับค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (หน่วย:ล้านบาท) ปี 2556

ปี 2555

จ�ำนวนเงิน

%

จ�ำนวนเงิน

%

รายได้จากการขายและบริการ รายได้อื่นๆ ต้นทุนขาย (ไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (ไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย)

7,652 33 7,439

100.00% 0.43% 97.22%

3,538 12 3,687

100.00% 0.34% 104.21%

215

2.81%

208

5.88%

ก�ำไรก่อนหักภาษี,ค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าเสื่อม ราคา (EBITDA)

31

0.41%

-345

-9.75%

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย

316

4.13%

220

6.22%

ก�ำไรก่อนภาษีและค่าใช้จ่ายทางการเงิน (EBIT)

-285

-3.72%

-565

-15.97%

ต้นทุนขายและก�ำไรขั้นต้น อัตราส่วนต้นทุนขายต่อยอดขายในปี 2556 ปรับตัวดีขึ้นจากร้อยละ 110.15 ในปี 2555 เป็นร้อยละ 101.16 เนื่องจากในปี 2556 มียอดขายสูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมากว่าหนึ่งเท่าตัวดังจะเห็นได้จากตารางด้านล่าง (หน่วย:ล้านบาท) ปี 2556

ปี 2555

จ�ำนวนเงิน

%

จ�ำนวนเงิน

%

รายได้จากการขายและบริการ ต้นทุนขาย

7,652 7,741

100.00% 101.16%

3,538 3,897

100.00% 110.15%

ก�ำไรขั้นต้น (Gross Margin)

-89

-1.16%

-360

-10.15%


072

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ในปี 2556 ของบริษทั ฯ และ บริษัทย่อยมีจำ� นวนรวม 229 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.99 ของ รายได้จากการขายและบริการ ในขณะที่ค่าใช้จ่ายในการขายและ บริหารในปี 2555 เท่ากับ 218 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 6.16 ของรายได้จากการขายและบริการ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 11 ล้าน บาท เนื่องจากในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ต้องรักษาแรงงานฝีมือ และ พนักงานที่มีความสามารถเอาไว้เพื่อ รองรับการผลิตเมื่อบริษัทฯ สามารถฟื้นฟูกำ� ลังการผลิตได้เต็มที่ในปี 2556 ประกอบกับในปีนี้ ได้รวมเอาค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารของบริษทั ในเครืออีกแห่ง หนึง่ ซึง่ เริม่ มีการเปิดด�ำเนินงานในระหว่างปี 2556 แต่ยงั ไม่มรี ายรับ จากการขายสินค้าเนื่องจากเป็นช่วงระหว่างการทดสอบและ Qualify เครื่องจักร และ หาลูกค้าใหม่

รายได้และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในปี 2556 บริษทั ฯ มีรายจ่ายค่าดอกเบีย้ จ่าย เท่ากับ 33 ล้าน บาทคิดเป็น ร้อยละ 0.43 ของรายได้จากการขายและบริการ ใน ขณะที่ปี 2555 มีรายจ่ายค่าดอกเบี้ยจ่ายเท่ากับ 22 ล้านบาทหรือ คิดเป็นร้อยละ 0.62 ของรายได้จากการขายและบริการ ตามล�ำดับ จะเห็นได้ว่ารายจ่ายค่าดอกเบี้ยที่ผ่านมามีแนวโน้มลดลงทุกปี แต่ ในปี 2555 และ 2556 บริษัทฯ กลับมีรายจ่ายค่าดอกเบี้ยจ่ายเพิ่ม ขึ้นเนื่องจากต้องกู้เงินมาก่อนระหว่างรอเงินชดเชยจากบริษัทฯ ประกันภัย เพื่อใช้สั่งซื้อเครื่องจักรให้ทันเวลา และใช้เป็นเงิน ทุนหมุนเวียนเนื่องจากการขยายตัวของธุรกิจที่เพิ่มขึ้นกว่าปีที่ผ่าน มามาก ในปี 2556 บริษัทฯ มีรายได้จากการจ�ำหน่ายเศษวัสดุจาก การผลิตและรายได้อนื่ จ�ำนวน 33 ล้านบาทสูงขึน้ จากปีทผี่ า่ นมามาก เนื่องจากยอดขายและก�ำลังการผลิตที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก แต่ในทางตรงกันข้ามบริษัทฯ มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนในปี 2556 จ�ำนวน 11 ล้านบาท ซึง่ ลดลงกว่าปีกอ่ น 15 ล้านบาทเนือ่ งจาก บริษัทฯ เริ่มมีการซื้อขายกับบริษัทฯ คู่ค้าเป็นเงินสกุลดอลล่าร์ สหรัฐอเมริกามากขึ้น ท�ำให้สามารถป้องกันความเสี่ยงในรูป Natural Hedge ได้ดีขึ้นกว่าเดิม นอกจากนั้นในปี 2556 มีการ ประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ ท�ำให้ บริษัทฯ ในเครือแห่งหนึ่งมีการตั้งส�ำรองเงินชดเชยด้านภาษีเงินได้ นิติบุคคลจ�ำนวน 9 ล้านบาทในขณะที่ปีก่อนมีรายจ่ายด้านภาษี เงินได้นิติบุคคลจ�ำนวน 0.57 ล้านบาท


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

073

ฐานะทางการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของผู้ถือหุ้น เปรียบเทียบกับ ณ เวลาเดียวกันของปีก่อน มีดังต่อไปนี้ (หน่วย:ล้านบาท) เปลี่ยนแปลง จ�ำนวนเงิน %

ปี 2556 31 ธันวาคม

ปี 2555 31 ธันวาคม

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

1,081 2,436

1,456 2,447

-375 -11

-25.76% -0.45%

รวม สินทรัพย์

3,517

3,903

-386

-9.89%

หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินระยะยาว ส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญและส่วนเกินมูลค่าหุ้น ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผูม้ สี ว่ นได้เสียที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุมของบริษัทย่อย

1,465 137

1,976 169

-511 -32

-25.86% -18.93%

1,764

1,759

5

0.30%

79 45 13 14

75 -85 12 -2

4 130 1 16

5.33% -152.94% 10.17% -708.70%

รวม หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

3,517

3,903

-386

-9.89%

สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม เท่ากับ 3,517 ล้านบาท เป็นสินทรัพย์หมุนเวียน 1,081 ล้านบาท และ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน จ�ำนวน 2,436 ล้านบาท ลดลงจากปีที่ ผ่านมา 386 ล้านบาท สินทรัพย์ทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงจากปีกอ่ น ได้แก่ สินค้าคงเหลือ เพิ่มขึ้น 79 ล้านบาท โดยมียอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดจ�ำนวน 474 ล้านบาท ในขณะที่ปี 2555 ยอดคงเหลือของสินค้า มีจ�ำนวน 395 ล้านบาทส่วนยอดลูกหนี้การค้าคงเหลือเท่ากับ 548 ล้านบาท ลด ลงจากปีก่อน 486 ล้านบาท ลูกหนี้ที่ลดลงส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้ค้าง ช�ำระค่าสินไหมทดแทนจากเหตุการณ์นำ�้ ท่วมจ�ำนวน 471 ล้านบาท ในปี 2555 และคงเหลือจ�ำนวน 75 ล้านบาทในปี 2556 และสินทรัพย์ หมุนเวียนอื่นลดลง 6 ล้านบาท ในส่วนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รายการที่ส�ำคัญคือการลงทุน ในทรัพย์สินถาวร ได้แก่เครื่องจักรและอาคารซึ่งมีมูลค่าตามราคา ทุนเพิม่ ขึน้ สุทธิ 263 ล้านบาท ในขณะทีม่ กี ารคิดค่าเสือ่ มราคาสะสม ในปี 2556 จ�ำนวน 314 ล้านบาท ท�ำให้บริษัทฯ มีที่ดิน อาคาร และ

อุปกรณ์สุทธิลดลง 20 ล้านบาท นอกจากนั้นมีการตั้งภาษีเงินได้ รอตัดบัญชีเพิม่ ขึน้ 9 ล้านบาท เนือ่ งจากการบังคับใช้ของมาตรฐาน การบัญชีที่ประกาศใช้เพิ่มเติมในปีนี้


074

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ มีหนี้สินหมุนเวียนรวม เท่ากับ 1,465 ล้านบาท หนี้สินไม่หมุนเวียนจ�ำนวน 137 ล้านบาท และ ส่วนของผู้ถือหุ้นจ�ำนวน 1,915 ล้านบาท รวมเป็นหนี้สินและ ส่วนของผู้ถือหุ้นจ�ำนวนรวม 3,517 ล้านบาท หนีส้ นิ หมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง ที่มีสาระส�ำคัญจากปี 2555 มีดังต่อไปนี้ เจ้าหนี้การค้าลดลง 452 ล้านบาท เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินลดลง 196 ล้านบาท ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนดในหนึ่งปี เพิ่มขึ้น 135 ล้าน บาท และ หนี้สินหมุนเวียนอื่นๆ เพิ่มขึ้น 2 ล้านบาท เนื่องจาก บริษัทฯ เริ่มมีการประกอบกิจการสูงขึ้นมาก เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายใน หนึ่งปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ลดลงจากปีก่อนเท่ากับ 42 ล้านบาท แต่เมือ่ รวมกับส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวส่วนทีถ่ งึ ก�ำหนด

ช�ำระภายในหนึ่งปีแล้ว ในปี 2556 บริษัทฯ มีการกู้ยืมเงินระยะยาว เพิ่มขึ้น 300 ล้านบาทในขณะเดียวกันก็มีการช�ำระคืนเงินกู้ระยะ ยาวจ�ำนวน 207 ล้านบาทในปีเดียวกัน เพือ่ ใช้ในการบริหารงานและ ซื้อทรัพย์สินถาวรระหว่างรอเงินที่จะได้รับจากค่าสินไหมทดแทน ค่าเสียหายจากประกันภัย ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เท่ากับ 1,915 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 157 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ มีกำ� ไร สุทธิจากการด�ำเนินงานเพิม่ ขึน้ 136 ล้านบาทและมีการออกหุน้ เพิม่ ทุนจากโครงการ ESOP ของพนักงานอีกจ�ำนวนหนึง่ และในปี 2556 ก�ำไรสุทธิจำ� นวน 136 ล้านบาทนี้สามารถตัดขาดทุนสะสมคงเหลือ ในปี 2555 จ�ำนวน 85 ล้านบาทได้หมดท�ำให้ต้องมีการตั้งส�ำรอง ตามกฎหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิ คิดเป็นส�ำรองตาม กฎหมายทีต่ งั้ เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 4.2 ล้านบาท ท�ำให้สำ� รองตามกฎหมาย เพิ่มขึ้นเป็น 79 ล้านบาทในปี 2556

แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน (หน่วย:ล้านบาท)

กระแสเงินสดสุทธิจาก กิจกรรมด�ำเนินงาน กิจกรรมการลงทุน กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ�ำนวน 813 ล้าน บาท เกิดจากก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานก่อนภาษีจ�ำนวน 127 ล้านบาท ปรับปรุงด้วยรายการหักกระทบก�ำไรที่เป็นเงินสดรับจาก กิจกรรมด�ำเนินงาน -65 ล้านบาท และ ปรับปรุงการเพิ่มขึ้นและ ลดลงของสินทรัพย์และหนี้สินในการด�ำเนินงาน -113 ล้านบาท และมีเงินสดรับจากการชดเชยค่าสินไหมจากบริษทั ประกันภัยจ�ำนวน 900 ล้านบาท และ ดอกเบี้ยจ่ายเป็นเงินสดจ�ำนวน -35 ล้านบาท กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการลงทุนใช้ไป จ�ำนวน -672 ล้านบาท เป็นการน�ำเงินสดไปลงทุนในการซือ้ เครือ่ งจักรและสินทรัพย์ ถาวรจ�ำนวน -231 ล้านบาท และ จ่ายเจ้าหนี้ค่าเครื่องจักรจ�ำนวน -466 ล้านบาท และ เงินสดรับการจากขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย จ�ำนวน 25 ล้านบาท

ปี 2556

ปี 2555

เพิ่ม (ลด)

813 -672 -103

-7 -924 870

820 252 -973

38

-61

99

2

63

-61

40

2

38

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินจ�ำนวน 103 ล้าน บาท เกิดจากช�ำระเงินกูร้ ะยะสัน้ จากสถาบันการเงิน -201 ล้านบาท และกระแสเงินสดรับจากการเงินกู้ระยะยาวจ�ำนวน 300 ล้านบาท ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว -207 ล้านบาท กระแสเงินสดรับจาก การออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน 6 ล้านบาท จากกระแสเงินสดข้างต้นท�ำให้บริษัทฯมีกระแสเงินสดสุทธิ 38 ล้านบาท เมื่อรวมกับเงินสดคงเหลือต้นปี 2 ล้านบาท ท�ำให้ เงินสดคงเหลือปลายปี 2556 เท่ากับ 40 ล้านบาท


รายงานประจำ�ปี 2556

4=þCK1 D/L= D [;Y =GNW?^ 1=G3N D 5=JW1B[1< #d . ;EL%3 จำ�กัด (มหาชน) 079 075 บริษัท สตาร์ ส ไมโครอิเล็กทรอนิกLส์ K(ประเทศไทย)

=L<"L3 G"6S DG44K }%OGญ 3R}ชีรL/ับอนุญาต รายงานของผู ้สอบบั ้สอบบั ญชีรับ«อนุ ญาต ¾¦Å ¤® µ «q ¤±¾ ©Â £ ˳ ² ¢¬³

บัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบ ¾« ® mรายงานของผู ® ºn ¸®¬¹n ® ¤µ ª² « ³¤q ¢À ¤®µ การเงินโดยรวม

อผู ถ้ ¤¨ «® ³¤¾ µ อื หุน้ ของบริษทั สตาร์ ส ไมโครอิªเ² ล็ « ³¤q กทรอนิ«ก ¢À ¤®µ ส์ (ประเทศไทย) nเสนอต่ ³ ¾ n³Â n ¤¨¢ ® ¤µ ¾¦Å ¤® µ «q ¤±¾ ©Â £ ˳ ² ¢¬³ ¿¦± ¤µª² £m®£ จ� ำ กั ด (มหาชน) ¤¨¢ Ë ข้าพเจ้าเชื³Â¤ ³ ¹ อ่ ว่าหลัก ฐานการสอบบั ญชีทขี่ า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอ ·Ā ¤± ® n¨£ ¿« ³ ± ³¤¾ µ ¤¨¢ ¨² ¶Æ ² ¨³ ¢ ˳¤ ³ ¹ ¾ Å ¾«¤Å ¤¨¢ ¿« ³¤ ่อใช้เป็น«¤¹เกณฑ์ ในการแสดงความเห็ นของข้ ¾ ¦¶Æ£ ¿ ¦ «m¨ ® ºn ¸®¬¹n ¤¨¢¿¦± ¤±¿«¾ µ « ¤¨¢ «Ë³¬¤² d«µÇ «¹ ¨² ¾ ¶และเหมาะสมเพื £¨ ² ¤¨¢ · ¬¢³£¾¬ ¹ À£ ³£ ³¤ ² è ¶ ¶Æ«Ë³ ²è¿¦± าพเจ้า ข้ า พเจ้ า ได้ ต รวจสอบงบการเงิ น รวมของบริ ษ ท ั สตาร์ ส ไมโคร ¬¢³£¾¬ ¹¾¤¸Æ® ®¸Æ Ä ¿¦±Â n ¤¨ «® ³¤¾ µ ¾ ³± µ ³¤ ® ¤µª² « ³¤q« ¢À ¤®µ¾¦Å ¤® µ «q ¤±¾ ©Â £ ˳ ² ¢¬³ n¨£ ¾ m ² อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ซึ่ง ความเห็น

ประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ำไรขาดทุ ¨³¢¤²งบก� µ ำไรขาดทุ ® ® ºนn รวม ¤µ¬³¤ mงบก� ® ³¤¾ µ นเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการ ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วัน เปลี ย ่ นแปลงส่ ว นของผู ถ ้ อ ื หุ น ้ รวมและงบกระแสเงิ นสดรวม ส�¾¬¦m ำหรั³ þบÇÀ £ ºที n่ 31® ³¢ ¶ ธันวาคม 2556 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงิ นสด ส�ำหรับ ºn ¤µ¬³¤¾ | ºn¤ ² µ ® Á ³¤ ² ˳¿¦± ³¤ ˳¾« ® ³¤¾ µ Æ ¨¤ ³¢¢³ ¤ ³ ³¤¤³£ ³ ³ ³¤¾ µ ¿¦± สนิ้ สุดÆ£วั¨ ² นเดี ³¤ ¨ ¹ ยวกัน รวมถึ งหมายเหตุ ปนโยบายการบั � คั«ญ³¢³¤ ²ปีส ิ้ Ëน³สุ ³¤¾ µ ดวันเดีย วกั ของบริษัท สตาร์ ¤² µ ปี ® ¾ ¶ ¢¡³£Á ¶ Æ ºn ¤µ¬สรุ³¤ µ ³¤ ³¨m³ ˳¾ |ญ ชี¾ ¸ทสี่Æ®ำÁ¬n ¶Æ น¤³© ³ ³¤¿« n ®¢ºส¦ ¶ไมโครอิ Æ ² m® n®เ¾ Åล็ก ทรอนิกส์ และหมายเหตุ เ รื อ ่ งอื น ่ ๆ และได้ ต รวจสอบ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษ ท ั ย่อย และเฉพาะของ ¤µ ®² ¾ | «³¤±«Ë³ ²è¢m¨m³ ±¾ µ ³ ³¤ ¹ ¤µ ¬¤¸® n® µ ¦³ ของบริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่n«® ² นกันç ¶ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงาน ¨³¢¤²(มหาชน) µ ® ® º ทางการเงิน ³ ¾ n³ n³ ¾ n³Â n µ ² µ ³ ¤¨ «® n³ ¾ n³¾ | ºn¤² µ ® Á ³¤¿« ¨³¢¾¬Å m® ³¤¾ µ ² ¦m³¨ ³ ¦ ³¤ ¤¨ «® ® n ความรั บ ผิ ด ชอบของผู บ ้ ริ ห ารต่ อ งบการเงิ น ³¢¢³ ¤ ³ ³¤«® ²è ¶ ·Ā ˳¬ Á¬n n³ ¾ n³ µ ² µ ³¢ n® ˳¬ n³ ¤¤£³ ¤¤ ¤¨¢ · ¨³ ¿ ¿¦± µ ² µ ³ ¤¨ «® ¾ ¸Æ®Á¬n n ารณ์ท³ี่เ ²น้èน ¬¤¸®Â¢m ¨³¢¾ ¸Æ®¢²Ā ®£m³ «¢¾¬ ¹«¢ ¦¨m³ ³¤¾ µ ¤³© ³ ³¤¿« n®¢º¦ ¶Æ ² m® nข้®อ¾ Åมู ล ¤µและเหตุ ®² ¾ | ก«³¤±«Ë ผูบ้ ริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการ เงินเหล่านีโ้ ดยถู กต้องตามที ค่ วรตามมาตรฐานการรายงานทางการ าขอให้ ¿¦± ³¤¾ c สงั เกตหมายเหตุ ³¤ ¤¨ «® ¤¨¢ · ³¤Á n ¨µ ¶ ³¤ ¤¨ «® ¾ ¸ Æ®Á¬n n¢³ ·Ā ¬¦² ³ ³¤«® ²è ¶ ¾ ¶Æ£¨ ²ข้ าพเจ้ ˳ ¨ ¾ µ ¾ £ n®ป¢ºระกอบงบการเงิ ¦Á ³¤¾ µ นข้อ 5 เกีย่ ว เงิ น และรั บ ผิ ด ชอบเกี ย ่ วกั บ การควบคุ ม ภายในที ผ ่ บ ้ ู ริ ห ารพิ จ ารณาว่ า กั บ การเปลี ่ ย นแปลงนโยบายการบั ญ ชี องจากการน� ¨µ ¶ ³¤ ¤¨ «® ¶Æ¾¦¸® Á n ·Ç ®£ºm ² ¹¦£ µ µ ® ºn«® ²è ¶ ·Ā ¤¨¢ · ³¤ ¤±¾¢µ ¨³¢¾«¶Æ£ ³ ³¤¿« n®¢º¦ ¶Æ ² m® nเนื®่¾ Å ¤µ ®² ¾ | ำมาตรฐาน เพื่อให้สามารถจั ท�ำ งบการเงิ นที ่ป¤µราศจากการแสดงข้ อมูล การบั ญชีฉบัÆ£ ² บที ่ ¦m 12³เรื¨ º่องn«® ² ภาษีèเงิ ¶น ได้µ ³¤ ³ ³¤ ¨ ¹ และมาตรฐานการบั «³¤±«Ëจ�³ำ ²เป็èน ® ³¤¾ µ ¢m¨ดm³ ±¾ µ ³ ³¤ ¹ ¬¤¸® n® µ ¦³ Á ³¤ ¤±¾¢µ ¨³¢¾«¶ ¢ ญชีฉบับ ที ่ 21 (ปรั บ ปรุ ง 2552) เรื อ ่ ง ผลกระทบจากการเปลี ที ข ่ ด ั ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระส� ำ คั ญ ไม่ ว า ่ จะเกิ ด จากการทุ จ ริ ต หรื อ ¡³£Á ¶Æ¾ ¶Æ£¨ n® ² ³¤ ² ˳¿¦± ³¤ ˳¾« ® ³¤¾ µ À £ º n® ³¢ ¶Æ ¨¤ ® µ ³¤ ¾ ¸Æ®®® ¿ ¨µ ¶ ³¤ ¤¨ «® ¶Æ¾¬¢³±«¢ ² ่ยนแปลงของ อัตราแลกเปลี ่ยนเงินตราต่ างประเทศ มาถือปฏิ บัติ บริษัทฯได้ปรับ ข้อผิด พลาด « ³ ³¤ q ¿ m¢mÁ m¾ ¸Æ®¨² ¹ ¤±« qÁ ³¤¿« ¨³¢¾¬Å m® ¤±«µ µ ¦ ® ³¤ ¨ ¹ ¢¡³£Á ® µ ³¤ ³¤ ¤¨ «® ¤¨¢ · ย้ อ นหลั ง งบการเงิ น รวมและงบการเงิ ³¤ ¤±¾¢µ ¨³¢¾¬¢³±«¢ ® À£ ³£ ³¤ ²è ¶ ¶Æ ºn ¤µ¬³¤Á n¿¦± ¨³¢«¢¾¬ ¹«¢ ¦ ® ¤±¢³ ³¤ ³ ²è ¶ ¶Æ ² ˳น ·เฉพาะกิ Ç À £ ºn จ¤µการส� ¬³¤ ำหรับปีสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่แสดงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ เพื่อสะท้อน บผิด ชอบของผู ้สอบบัญชี À £¤¨¢ ¤¨¢ ²ความรั Ç ³¤ ¤±¾¢µ ³¤ ˳¾« ® ³¤¾ µ รายการปรับปรุงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว พเจ้ ³ ³¤«® ² าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็ นต่องบการเงิน Æ®Á nและน� ำเสนองบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะการเงิ น n³ ¾ n ³¾ ¸Æ®¨mข้³า¬¦² è ¶ ¶Æ n³ ¾ n³Â n¤² ¾ ¶£ ®¿¦±¾¬¢³±«¢¾ ¸ ¾ | ¾ q Á ³¤¿« ¨³¢¾¬Å ® n ³ ¾ n³ ดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจ เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพื่อเป็นข้อมูลเปรียบ สอบตามมาตรฐานการสอบบั ญชี ซึง่ ก�ำหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ติ ามข้อ เทียบ โดยใช้นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้และผลกระทบ ¨³¢¾¬Å ก� ำ หนดด้ า นจรรยาบรรณ รวมถึ ตั งิ านตรวจสอบ จากการเปลีย่ นแปลงของอั ตราแลกเปลี ย่ นเงิ³น¬¤²ตราต่ ่ได้ n³ ¾ n³¾¬Å ¨m³ ³¤¾ µ n³ n þÇ¿งวางแผนและปฏิ « ³ ± ³¤¾ µ บ ¨² ¶Æ ² ¨³ ¢ ¦ ³¤ Ë ³¾ µ ³ ¿¦± ¤±¿«¾ µ « «Ë d«าµÇ งประเทศที «¹ ได้ความเชื อ่ มัน่ อย่« ¢À ¤®µ างสมเหตุ¾¦Åส มผลว่ นปราศจากการ น�ำมาถือปฏิªบ² ัต£mิใ®หม่ ด้วยเช่นกัน ทั้งนีª้ ² ข้ « ³¤q าพเจ้า«มิ ¢À ¤ ได้แสดงความเห็น ¨² ¾ ¶£เพื¨ ²อ่ ให้ ® ¤µ ª² « ³¤q ¤® µา งบการเงิ «q ¤±¾ ©Â £ Ë ³ ² ¢¬³ ¿¦± ¤µ £ ¿¦±¾ ³± ® ¤µ อย่ า งมี เ งื อ ่ นไขต่ อ กรณี น แ ้ ี ต่ อ ย่ า งใด แสดงข้ อ มู ล ที ข ่ ด ั ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระส� ำ คั ญ หรื อ ไม่ ®µ¾¦Å ¤® µ «q ¤±¾ ©Â £ ˳ ² ¢¬³ À £ º n® ³¢ ¶Æ ¨¤Á «³¤±«Ë³ ²è ³¢¢³ ¤ ³ ³¤¤³£ ³ ³ ³¤¾ µ

การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่ง หลักฐานการสอบบัญชีเกีย่ วกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลใน งบการเงิน วิธกี ารตรวจสอบทีเ่ ลือกใช้ขนึ้ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ของผูส้ อบ บัญชี ซึง่ รวมถึงการประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการ ทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบ บัญชีพจิ ารณาการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำและการน�ำ เสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธี การตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของ กิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบาย การบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทาง

ศิราภรณ์ เอื้อ อนั ต์ก ุล q ¹¦ ©µ¤³¡¤ q ¾®¸Ç®น® ² ส้ อบบั ญชีรบั อนุญ£าต เลขทะเบียน 3844 ºn«® ²è ¶¤² ผู® ¹ è³ ¾¦ ±¾ ¶ บริษัท ส�«qำ นั ¿® q กงาน อี£² ว Ë าย³ ²จ� ำกัด ¤µª² «Ë³ ² ³ ¾®µ (เดิ ¤¹ม ชื¾ ° ¢¶ อ่ “บริษทั ส�³ ¢ ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด”) กรุงเทพฯ: 27 กุมภาพันธ์ 2557


076 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หนวย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 1 มกราคม 2555 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2555 1 มกราคม 2555

(ปรับปรุงใหม)

(ปรับปรุงใหม)

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

40,244,132

1,782,532

62,983,606

4,877,684

978,873

59,884,918

8, 10 11

548,531,616 473,765,218 18,653,436 1,081,194,402

1,034,494,735 394,650,684 24,921,137 1,455,849,088

271,555,762 283,289,271 9,402,980 627,231,619

548,195,126 473,071,103 18,497,465 1,044,641,378

1,030,275,141 394,650,684 20,239,116 1,446,143,814

271,102,586 282,631,083 4,575,934 618,194,521

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

12 13

2,401,165,386

2,421,314,699

1,416,737,717

75,676,739 2,351,559,305

3,176,769 2,373,520,898

676,779 1,416,737,717

สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี

14 24

21,907,808 11,665,975

22,932,032 2,194,970

20,621,601 2,855,857

21,879,337 -

22,932,032 -

20,621,601 -

1,245,710 2,435,984,879 3,517,179,281

1,065,293 2,447,506,994 3,903,356,082

883,928 1,441,099,103 2,068,330,722

1,244,288 2,450,359,669 3,495,001,047

1,065,234 2,400,694,933 3,846,838,747

883,914 1,438,920,011 2,057,114,532

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

9

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

077

บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะการเงิ น (ต่ อ ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หนวย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2555

1 มกราคม 2555 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2555 1 มกราคม 2555

(ปรับปรุงใหม)

(ปรับปรุงใหม)

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

15

623,282,111

818,803,782

122,107,234

623,282,111

818,803,782

122,107,234

8, 16

592,816,564

1,045,416,649

795,223,397

561,977,567

981,318,208

788,588,869

-

-

476,829

-

-

476,829

สวนของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนด

ชําระภายในหนึ่งป สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนด

17

240,000,000 8,828,074 1,464,926,749

105,000,000 6,643,812 1,975,864,243

91,000,000 16,605,306 1,025,412,766

240,000,000 8,762,160 1,434,021,838

105,000,000 6,643,812 1,911,765,802

91,000,000 13,706,948 1,015,879,880

ชําระภายในหนึ่งป สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

17 18 24

108,000,000 26,088,517 2,942,433 208,468 137,239,418 1,602,166,167

150,000,000 15,992,480 2,942,433 607,200 169,542,113 2,145,406,356

21,949,360 2,942,433 24,891,793 1,050,304,559

108,000,000 25,948,221 2,942,433 208,468 137,099,122 1,571,120,960

150,000,000 15,992,480 2,942,433 607,200 169,542,113 2,081,307,915

21,949,360 2,942,433 24,891,793 1,040,771,673

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


078 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงฐานะการเงิ น (ต่ อ ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 1 มกราคม 2555 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2555 1 มกราคม 2555

(ปรับปรุงใหม) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน

(ปรับปรุงใหม)

19

ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 419,582,439 หุน มูลคาหุนละ 2 บาท (1 มกราคม 2555: หุนสามัญ 421,770,239 หุน

839,164,878

839,164,878

843,540,478

839,164,878

839,164,878

843,540,478

836,420,676 927,886,602 -

833,865,746 924,816,853 -

833,844,960 919,534,596 (13,509,687)

836,420,676 927,886,602 -

833,865,746 924,816,853 -

833,844,960 919,534,596 (13,509,687)

79,300,000 45,013,268

75,100,000 (85,207,755)

75,100,000 13,509,687 (823,139,021)

79,300,000 68,503,076

75,100,000 (80,021,500)

75,100,000 13,509,687 (823,906,430)

11,769,733

11,769,733

11,769,733

11,769,733

11,769,733

11,769,733

ในบริษัทยอย สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ

671,619 1,901,061,898

1,760,344,577

1,017,110,268

1,923,880,087

1,765,530,832

1,016,342,859

สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย

13,951,216 1,915,013,114 3,517,179,281

(2,394,851) 1,757,949,726 3,903,356,082

915,895 1,018,026,163 2,068,330,722

1,923,880,087 3,495,001,047

1,765,530,832 3,846,838,747

1,016,342,859 2,057,114,532

มูลคาหุนละ 2 บาท) ทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 418,210,338 หุน มูลคาหุนละ 2 บาท (31 ธันวาคม 2555: หุนสามัญ 416,932,873 หุน มูลคาหุนละ 2 บาท) (1 มกราคม 2555: หุนสามัญ 416,922,480 หุน มูลคาหุนละ 2 บาท)

สวนเกินมูลคาหุนสามัญ หุนสามัญซื้อคืน กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย จัดสรรแลว - สํารองหุนสามัญซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร (ขาดทุนสะสม) องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

19 20 22

สวนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดสวนการถือหุน

รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

079

บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกําไรขาดทุน

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินรวม หมายเหตุ รายได รายไดจากการขายและบริการ รายไดอื่น เงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รายไดจากการจําหนายเศษซาก อื่นๆ รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร รวมคาใชจาย กําไรกอนคาใชจายทางการเงินและคาใชจายภาษีเงินได คาใชจายทางการเงิน กําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได กําไรสําหรับป

2555 (ปรับปรุงใหม)

27

7,651,867,439

3,537,589,539

7,608,550,550

3,511,948,920

2

434,380,429 10,810,861 18,388,122 14,390,658 8,129,837,509

1,293,152,966 25,229,850 10,721,890 943,980 4,867,638,225

434,380,429 4,089,077 18,388,122 13,532,999 8,078,941,177

1,293,152,966 23,779,616 10,721,890 939,549 4,840,542,941

7,740,893,003 65,329,866 163,619,715 7,969,842,584 159,994,925 (33,057,806) 126,937,119 9,313,173 136,250,292

3,897,295,528 34,908,976 183,054,440 4,115,258,944 752,379,281 (21,558,805) 730,820,476 (575,566) 730,244,910

7,728,942,330 18,338,889 136,065,963 7,883,347,182 195,593,995 (33,057,806) 162,536,189 162,536,189

3,888,305,889 14,682,230 176,486,687 4,079,474,806 761,068,135 (21,558,805) 739,509,330 739,509,330

144,232,636

733,555,666

162,536,189

739,509,330

(7,982,344) 136,250,292

(3,310,756) 730,244,910

0.345

1.765

0.389

1.780

0.344

1.756

0.388

1.770

24

การแบงปนกําไร สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ของบริษัทยอย (ขาดทุน)

กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ

2556

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

26

กําไรตอหุนปรับลด กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


080 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกํ า ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ กําไรสําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป

19

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป การแบงปนกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ของบริษัทยอย (ขาดทุน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2556 136,250,292

2555 (ปรับปรุงใหม) 730,244,910

(9,811,613) (9,811,613)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 162,536,189

739,509,330

-

(9,811,613) (9,811,613)

-

126,438,679

730,244,910

152,724,576

739,509,330

134,421,023

733,555,666

152,724,576

739,509,330

(7,982,344) 126,438,679

(3,310,756) 730,244,910

152,724,576

739,509,330


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

081

บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงิ น สด สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2556 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษี รายการปรับกระทบกําไรกอนภาษีเปนเงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน เงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัย คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) ตัดจําหนายหนี้สูญ ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ขาดทุนจากการจําหนายเครื่องจักรและอุปกรณ การปรับลดสินคาคงเหลือเปนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ ตัดจําหนายอุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน ผลขาดทุนจากการลดขนาดโครงการผลประโยชนพนักงาน คาใชจายดอกเบี้ย กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น จายผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดใชไปในกิจกรรมดําเนินงาน รับเงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัย จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินไดนิติบุคคล เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2555 (ปรับปรุงใหม)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

126,937,119

730,820,476

162,536,189

739,509,330

(434,380,429) 316,473,629 (1,619,061) 1,311,198 213,663 1,395,917 5,981,268 10,239,534 2,243,784 33,057,806

(1,293,152,966) 220,413,763 18,874,243 4,936,244 (9,018,503) 1,817,784 5,213,676 22,007,292 2,993,601 4,929,297 21,558,805

(434,380,429) 311,966,386 (1,619,061) 1,311,198 (1,323,406) 1,395,917 5,981,268 10,239,534 2,103,488 33,057,806

(1,293,152,966) 220,409,553 18,874,243 4,936,244 (9,650,391) 1,817,784 5,213,676 22,007,292 2,993,601 4,929,297 21,558,805

61,854,428

(268,606,288)

91,268,890

(260,553,532)

42,145,088 (85,095,802) 9,390,812 (180,417)

(316,332,253) (116,575,089) (7,114,394) (181,365)

35,354,657 (84,401,687) 4,864,762 (179,054)

(312,420,050) (117,233,277) (7,259,418) (181,320)

(79,048,168) 1,812,273 (1,959,360) (398,732) (51,479,878) 899,788,564 (35,346,621) 812,962,065

(76,789,981) (9,975,744) (13,879,778) 607,200 (808,847,692) 822,244,830 (19,675,715) (575,566) (6,854,143)

(87,261,388) 1,746,359 (1,959,360) (398,732) (40,965,553) 899,788,564 (35,346,621) 823,476,390

(88,353,788) (7,077,386) (13,879,778) 607,200 (806,351,349) 822,244,830 (19,675,715) (3,782,234)


082 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงิ น สด (ต่ อ ) สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

งบการเงินรวม 2555 (ปรับปรุงใหม)

2556 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจายเจาหนี้คาซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ ซื้อเครื่องจักร อุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากการจําหนายเครื่องจักรและอุปกรณ เงินสดรับจากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินสดจายเพื่อลงทุนในบริษัทยอย เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) ชําระคืนหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาว ชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุนสามัญเพิ่มทุน เงินลงทุนในบริษัทยอยของผูมีสวนไดเสีย ที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป ขอมูลกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไมใชเงินสด รายการซื้อเครื่องจักรและอุปกรณที่ยังไมไดจายชําระ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(465,599,867) (231,434,673) 41,707 25,000,000 (671,992,833)

(133,639,715) (838,822,236) 48,216,648 (924,245,303)

(419,524,976) (225,086,678) 41,707 25,000,000 (97,499,970) (717,069,917)

(133,639,715) (837,099,116) 48,216,648 (2,499,990) (925,022,173)

(201,132,341) 300,000,000 (207,000,000) 5,624,679

696,696,548 (476,829) 300,000,000 (136,000,000) 9,678,643

(201,132,341) 300,000,000 (207,000,000) 5,624,679

696,696,548 (476,829) 300,000,000 (136,000,000) 9,678,643

30 (102,507,632) 38,461,600 1,782,532 40,244,132

10 869,898,372 (61,201,074) 62,983,606 1,782,532

(102,507,662) 3,898,811 978,873 4,877,684

869,898,362 (58,906,045) 59,884,918 978,873

-

-

-

-

75,542,579

460,520,664

75,542,579

414,445,774


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

เรื่อง เงินตราตางประเทศ (หมายเหตุ 5)

-

-

927,886,602

-

-

3,069,749

-

924,816,853

-

-

924,816,853

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

836,420,676

โอนกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

-

2,554,930

-

833,865,746

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

(หมายเหตุ 12)

สวนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดสวนการถือหุนในบริษัทยอย

ออกหุนสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 19)

ผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอยลงทุนเพิ่ม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 - หลังการปรับปรุง

เรื่อง ภาษีเงินได (หมายเหตุ 5)

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

-

833,865,746

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 - ตามที่รายงานไวเดิม

-

924,816,853

-

833,865,746

โอนกลับสํารองหุนสามัญซื้อคืน (หมายเหตุ 20)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 - หลังการปรับปรุง

-

-

5,282,257

-

919,534,596

-

-

919,534,596

-

(4,375,600)

ลดทุนชําระแลวเพื่อตัดหุนสามัญซื้อคืน (หมายเหตุ 20)

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป - ปรับปรุงใหม

4,396,386

-

833,844,960

-

-

833,844,960

สวนเกิน

มูลคาหุนสามัญ

ที่ออก

และชําระแลว

ทุนเรือนหุน

ออกหุนสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 19)

ผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอยลงทุนเพิ่ม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 - หลังการปรับปรุง

เรื่อง ภาษีเงินได (หมายเหตุ 5)

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

เรื่อง เงินตราตางประเทศ (หมายเหตุ 5)

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 - ตามที่รายงานไวเดิม

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

จัดสรรแลว -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

13,509,687

79,300,000

4,200,000

-

-

-

-

75,100,000

-

-

75,100,000

75,100,000

-

-

-

-

-

75,100,000

-

-

75,100,000

สํารองตามกฎหมาย

(13,509,687)

-

-

(13,509,687)

หุนสามัญซื้อคืน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(13,509,687)

-

-

-

-

13,509,687

-

-

13,509,687

หุนสามัญซื้อคืน

จัดสรรแลว - สํารอง

กําไรสะสม

45,013,268

(4,200,000)

134,421,023

-

-

-

(85,207,755)

1,295,032

(655,496)

(85,847,291)

(85,207,755)

13,509,687

733,555,666

(9,134,087)

-

-

(823,139,021)

1,684,956

(334,923)

(824,489,054)

(ขาดทุนสะสม)

ยังไมไดจัดสรร

11,769,733

-

-

-

-

-

11,769,733

(2,942,433)

-

14,712,166

11,769,733

-

-

-

-

-

11,769,733

(2,942,433)

-

14,712,166

การตีราคาที่ดิน

ผลตางจาก

-

-

-

-

-

-

-

-

64,273

(64,273)

-

-

-

-

-

-

-

-

128,537

(128,537)

เงินตราตางประเทศ

งบการเงินที่เปน

การแปลงคา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

671,619

-

-

671,619

ในบริษัทยอย

สัดสวนการถือหุน

การเปลี่ยนแปลง

สวนเกินทุนจาก

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

สวนเกินทุนจาก

สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ

งบการเงินรวม

งบแสดงการเปลี ย ่ นแปลงส่ ว นของผู ถ ้ อ ื หุ น ้ สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

12,441,352

-

-

671,619

1,901,061,898

-

134,421,023

671,619

5,624,679

-

1,760,344,577

(1,647,401)

(591,223)

1,762,583,201

1,760,344,577

-

733,555,666

-

9,678,643

-

1,017,110,268

(1,257,477)

(206,386)

1,018,574,131

ของบริษัทฯ

สวนของผูถือหุน

รวม

-

11,769,733

(2,942,433)

64,273

14,647,893

11,769,733

-

-

-

-

-

11,769,733

(2,942,433)

128,537

14,583,629

ของสวนของผูถือหุน

องคประกอบอื่น

รวม

สวนของ

13,951,216

-

(7,982,344)

(671,619)

-

25,000,030

(2,394,851)

899,938

(410,850)

(2,883,939)

(2,394,851)

-

(3,310,756)

-

-

10

915,895

1,170,901

(143,419)

(111,587)

ของบริษัทยอย

ไมมีอํานาจควบคุม

ผูมีสวนไดเสียที่

-

1,915,013,114

-

126,438,679

-

5,624,679

25,000,030

1,757,949,726

(747,463)

(1,002,073)

1,759,699,262

1,757,949,726

-

730,244,910

-

9,678,643

10

1,018,026,163

(86,576)

(349,805)

1,018,462,544

สวนของผูถือหุน

รวม

(หนวย: บาท)

รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

083


เรื่อง ภาษีเงินได (หมายเหตุ 5)

927,886,602

836,420,676

3,069,749

924,816,853

-

924,816,853

924,816,853

-

-

2,554,930

833,865,746

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป โอนกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย

ออกหุนสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 19)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 - หลังการปรับปรุง

-

833,865,746

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 - ตามที่รายงานไวเดิม

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

833,865,746

โอนกลับสํารองหุนสามัญซื้อคืน (หมายเหตุ 20) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 - หลังการปรับปรุง

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

-

-

(4,375,600)

ลดทุนชําระแลวเพื่อตัดหุนสามัญซื้อคืน (หมายเหตุ 20)

ออกหุนสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 19)

919,534,596 5,282,257

-

919,534,596

833,844,960 4,396,386

-

833,844,960

-

-

-

-

-

-

-

-

13,509,687

-

(13,509,687)

-

(13,509,687)

-

-

4,200,000 79,300,000

-

-

-

-

(13,509,687) -

-

-

-

13,509,687

-

13,509,687

-

75,100,000

-

75,100,000

75,100,000

-

-

-

75,100,000

-

75,100,000

หุนสามัญซื้อคืน

หุนสามัญซื้อคืน

สํารองตามกฎหมาย

มูลคาหุนสามัญ

และชําระแลว

กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารอง

จัดสรรแลว -

ที่ออก

สวนเกิน

ทุนเรือนหุน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 - หลังการปรับปรุง

เรื่อง ภาษีเงินได (หมายเหตุ 5)

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 - ตามที่รายงานไวเดิม

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบแสดงการเปลี ย ่ นแปลงส่ ว นของผู ถ ้ อ ื หุ น ้ (ต่ อ ) สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

(4,200,000) 68,503,076

152,724,576

-

(80,021,500)

-

(80,021,500)

13,509,687 (80,021,500)

739,509,330

(9,134,087)

-

(823,906,430)

-

(823,906,430)

(ขาดทุนสะสม)

ยังไมไดจัดสรร

เบ็ดเสร็จอื่น

11,769,733

-

-

11,769,733

(2,942,433)

14,712,166

11,769,733

-

-

-

11,769,733

(2,942,433)

14,712,166

การตีราคาที่ดิน

สวนเกินทุนจาก

11,769,733

-

-

11,769,733

(2,942,433)

14,712,166

11,769,733

-

-

-

11,769,733

(2,942,433)

14,712,166

ของสวนของผูถือหุน

องคประกอบอื่น

รวม

องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน กําไรขาดทุน

1,923,880,087

152,724,576

5,624,679

1,765,530,832

(2,942,433)

1,768,473,265

1,765,530,832

739,509,330

-

9,678,643

1,016,342,859

(2,942,433)

1,019,285,292

สวนของผูถือหุน

รวม

(หนวย: บาท)

084


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

085

บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 1.

ขอมูลทัว่ ไปของบริษทั ฯ บริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เปนบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมี ภูมิลําเนาในประเทศไทย โดยมีกลุมครอบครัวไชยกุลเปนผูถือหุนรายใหญ ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตและ จําหนายแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส ที่อยูตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯอยูที่ 586 หมูที่ 2 ตําบลคลองจิก อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

2.

ผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัย ในระหวางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2554 ไดเกิดอุทกภัยอยางรายแรงในประเทศไทย โดยน้ําไดเขาทวมพื้นที่ตั้ง ของโรงงานและสํานักงานของบริษัทฯในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เปนเหตุใหทรัพยสิน ของบริษัทฯเสียหายทั้งสินคาคงเหลือ ระบบสาธารณูปโภคภายในตัวอาคารและเครื่องจักร บริษัทฯไดประเมินความ เสียหายของทรัพยสิน และบันทึกคาเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยดังกลาวเปนจํานวนรวม 1,572 ลานบาท ในสวนของ กําไรหรือขาดทุนสําหรับป 2554 บริษัทฯไดทําประกันภัยคุมครองความเสียหายตอทรัพยสินที่เกิดจากเหตุการณอุทกภัยไวแลวโดยไดทําประกันภัยความ เสี่ ยงภัยสําหรั บ ทรั พย สิน (Asset Insurance) และการประกั นการหยุ ด ชะงัก ของธุ รกิ จ (Business Interruption) บริษัทฯไดดําเนินการเรียกเงินคาสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัย โดยบริษัทประกันภัยไดเขามาสํารวจและประเมิน ความเสียหาย และไดสรุปคาสินไหมทดแทนที่จายใหแกบริษัทฯเปนจํานวนรวมประมาณ 1,692 ลานบาท ในป 2555 และ 2556 บริษัทฯไดบันทึกรายไดเงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยจํานวน 1,293 ลานบาท และ 399 ลานบาทในสวนของกําไรหรือขาดทุน ตามลําดับ เงินชดเชยความเสียหายดังกลาวเปนเงินชดเชยความ เสียหายในสวนของทรัพยสินจํานวน 1,294 ลานบาท ในสวนของสินคาคงเหลือจํานวน 390 ลานบาท และในสวนของ การประกันการหยุดชะงักของธุรกิจจํานวน 8 ลานบาท นอกจากนี้ ในระหวางปปจจุบัน บริษัทฯไดบันทึกรายไดเงิน ชดเชยความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยอีกจํานวน 35 ลานบาท ในสวนของกําไรหรือขาดทุน ซึ่งเปนเงินชดเชยความ เสียหายของสินคาที่ลูกคาฝากไวในความดูแลของบริษัทฯ โดยบริษัทฯไดบันทึกความเสียหายเปนคาใชจายในป 2555 แลว ในระหวางป 2555 บริษัทฯไดรับเงินชดเชยแลวจํานวน 822 ลานบาท สวนที่ยังไมไดรับเงินจํานวน 471 ลานบาท ได แสดงเปนลูกหนี้เงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ในระหวางป 2556 บริษัทฯไดรับเงินชดเชยความเสียหายอีกจํานวน 900 ลานบาท สวนที่ยังไมไดรับเงินจํานวน 5 ลาน บาท ไดแสดงเปนสวนหนึ่งของลูกหนี้เงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ในเดือนมกราคม 2557 บริษัทฯไดรับเงินจํานวนดังกลาวจากลูกหนี้แลว

3.

เกณฑในการจัดทํางบการเงิน

3.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดย แสดงรายการในงบการเงินตามขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความ ในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

1


086 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 3.2

เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท สตารส ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทฯ”) และบริษัทยอย (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทยอย”) ดังตอไปนี้ จัดตั้งขึ้นใน อัตรารอยละ ลักษณะธุรกิจ ประเทศ ของการถือหุน ชื่อบริษัท 2556 2555 รอยละ รอยละ Stars ธุรกิจขายสินคา สหรัฐอเมริกา 59 59 Microelectronics USA, Inc. บริษัท เอสเอ็มที กรีน ผลิตและจําหนายอุปกรณทใี่ ชในการผลิตไฟฟา ไทย 99 99 เอ็นเนอรยี่ จํากัด ดวยพลังงานแสงอาทิตยหรือพลังงานทดแทนอื่น รวมทั้งผลิตและจําหนายกระแสไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตยหรือพลังงานทดแทนอืน่ บริษัท เอสเอส อาร ผลิตและจําหนาย อารเอฟไอดี แท็ค (RFID ไทย 75 100 เอฟไอดี จํากัด Tags: Radio Frequency Identification Tags) ข)

บริษัทฯนํางบการเงินของบริษัทยอยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตั้งแตวันที่บริษัทฯมีอํานาจในการควบคุม บริษัทยอยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทยอยนั้น

ค)

งบการเงินของบริษัทยอยไดจัดทําขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีที่สําคัญเชนเดียวกันกับของบริษัทฯ

ง)

บริษัทฯและบริษัทยอยไดกําหนดใหสกุลเงินบาทเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงาน ซึ่งรวมทั้งบริษัทยอยแหงหนึ่ง ในตางประเทศ เนื่องจากธุรกรรมของบริษัทยอยดัง กลาวเปนสว นขยายของบริษัทฯมากกว าที่จะเปนการ ดําเนินงานที่เปนเอกเทศอยางมีนัยสําคัญ

จ)

ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทยอย รายการคาระหวางกันที่มีสาระสําคัญไดถูกตัดออกจากงบการเงินรวม นี้แลว

ฉ)

สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม คือ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยสวนที่ ไมไดเปนของบริษัทฯ และแสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของกําไรหรือขาดทุนรวมและสวนของผูถือหุน ในงบแสดงฐานะการเงินรวม

3.3

บริษัทฯจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอยตามวิธีราคาทุน

4.

มาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับในปบัญชีปจจุบันและที่จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียดดังนี้

2


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

087

ก. มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับในปบัญชีปจจุบัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10

ภาษีเงินได การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับ ความชวยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สวนงานดําเนินงาน

ความชวยเหลือจากรัฐบาล-กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจง กับกิจกรรมดําเนินงาน ฉบับที่ 21 ภาษีเงินได - การไดรับประโยชนจากสินทรัพยที่ไมไดคิดคาเสื่อมราคาที่ตี ราคาใหม ฉบับที่ 25 ภาษีเงินได –- การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของ ผูถือหุน แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพยทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบัติทางบัญชี ขางตน ไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินนี้ ยกเวนมาตรฐานการบัญชีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได มาตรฐานฉบับนี้กําหนดใหกิจการระบุผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดจากความแตกตางระหวางมูลคาสินทรัพยและหนี้สิน ที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินกับฐานภาษี และรับรูผลกระทบทางภาษีเปนสินทรัพยหรือหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัด บัญชีตามหลักเกณฑที่กําหนด บริษัทฯและบริษัทยอยไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวในปปจจุบันและปรับ ยอนหลังงบการเงินของปกอนที่แสดงเปนขอมูลเปรียบเทียบเสมือนหนึ่งวาบริษัทฯและบริษัทยอยรับรูผลกระทบทางภาษี เปนสินทรัพยหรือหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีมาโดยตลอด ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีดังกลาว แสดงอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหแตละกิจการกําหนดสกุลเงินทีใ่ ชในการดําเนินงาน และวัดผลการดําเนินงานและ ฐานะการเงินในสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานนัน้ ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไดใหความหมายของสกุลเงินที่ใชใน การดําเนินงานวาเปนสกุลเงินที่พิจารณาวาเปนสกุลเงินในสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจที่กิจการนั้นประกอบกิจการ และสกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงินเปนสกุลเงินทีใ่ ชในการเสนองบการเงิน บริษัทฯและบริษทั ยอยไดกําหนดใหใชสกุลเงินบาทเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานในธุรกิจของกลุม บริษัทฯและเปน สกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงิน และไดกําหนดใหใชสกุลเงินบาทเปนสกุลเงินทีใ่ ชในการดําเนินงานของบริษทั ยอยแหง หนึ่งในตางประเทศ เนื่องจากธุรกรรมของบริษัทยอยดังกลาวเปนสวนขยายของบริษัทมากกวาที่จะเปนการดําเนินงานที่ เปนเอกเทศอยางมีนัยสําคัญ บริษัทฯและบริษทั ยอยไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวในปปจจุบันและปรับยอนหลังงบการเงินปกอ นที่แสดง เปรียบเทียบเสมือนหนึง่ วาบริษทั ยอยดังกลาวไดใชสกุลเงินบาทเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานมาโดยตลอด ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีดังกลาวแสดงอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5

3


088 ข. มาตรฐานการบัญชีที่จะมีผลบังคับในอนาคต มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 4 ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 ฉบับที่ 27 ฉบับที่ 29 ฉบับที่ 32

การนําเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนในบริษัทรวม สวนไดเสียในการรวมคา งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย สินทรัพยไมมีตัวตน

วันที่มีผลบังคับใช 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ การรวมธุรกิจ สัญญาประกันภัย สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการ ดําเนินงานที่ยกเลิก สวนงานดําเนินงาน

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2559 1 มกราคม 2557

สัญญาเชาดําเนินงาน - สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบ กฎหมาย การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ สินทรัพยไมมีตัวตน - ตนทุนเว็บไซต

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การเปลี่ ย นแปลงในหนี้ สิ น ที่ เกิ ด ขึ้ น จากการรื้ อ ถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน ฉบับที่ 4 การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม ฉบับที่ 5 สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดลอม ฉบับที่ 7 การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่ มีภาวะเงินเฟอรุนแรง ฉบับที่ 10 งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา ฉบับที่ 12 ขอตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา

1 มกราคม 2557

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

4


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

089

วันที่มีผลบังคับใช ฉบับที่ 17 การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 18 การโอนสินทรัพยจากลูกคา 1 มกราคม 2557 ฝายบริหารของบริษัทฯและบริษัทยอยไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การ ตี ความมาตรฐานการบั ญชี และการตี ความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นข า งต น จะไม มี ผ ลกระทบอย า งเป น สาระสําคัญตองบการเงินเมื่อนํามาถือปฏิบัติ 5.

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเนื่องจากการนํามาตรฐานการบัญชีใหมมาถือปฏิบัติ

ในระหวางปปจจุบัน บริษัทฯและบริษัทยอยไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีที่สําคัญตามที่กลาวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 4 เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยนํามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได และมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ มา ถือปฏิบัติ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวแสดงเปนรายการแยกตางหากในงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน จํานวนเงินของรายการปรับปรุงที่มีผลกระทบตอรายการในงบแสดงฐานะการเงิน งบกําไรขาดทุนและงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ มีดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 1 มกราคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 1 มกราคม 2556 2555 2555 2556 2555 2555 งบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เพิ่มขึ้น (ลดลง) 21 (4) (7) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อนื่ เพิ่มขึ้น (ลดลง) 4,278 (458) (131) สินคาคงเหลือลดลง (3) (22) (34) สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ ลดลง สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เพิ่มขึ้น 11,666 2,195 2,856 เจาหนี้การคาและเจาหนี้อนื่ เพิ่มขึ้น 6,523 518 163 13 หนี้สินหมุนเวียนอืน่ เพิ่มขึ้น หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชีเพิ่มขึ้น 2,942 2,942 2,942 2,942 2,942 2,942 องคประกอบอื่นของสวนของผูถอื หุน ลดลง (2,536) (2,878) (2,814) (2,942) (2,942) (2,942) สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมของบริษทั ยอยเพิ่มขึ้น 3,871 489 1,027 กําไรสะสมที่ยงั ไมไดจัดสรรเพิ่มขึ้น 5,165 640 1,350 -

5


090

งบกําไรขาดทุน รายไดจากการขายและการบริการลดลง รายไดอื่นเพิ่มขึ้น ตนทุนขายและบริการเพิ่มขึ้น คาใชจายในการขายลดลง คาใชจายในการบริหารลดลง คาใชจายภาษีเงินไดเพิ่มขึ้น (ลดลง) ขาดทุนสวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมของบริษทั ยอยลดลง (เพิ่มขึ้น) กําไรสวนที่เปนของผูถอื หุนของบริษัทใหญเพิ่มขึ้น (ลดลง) กําไรตอหุน ขั้นพืน้ ฐานเพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท) กําไรตอหุน ปรับลดเพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคา งบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศเพิ่มขึ้น (ลดลง)

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2555 2556 2555 (447) 3,579 4,938 (130) (32) (9,313)

(1,421) 1,450 657 576

-

-

3,144

(494)

-

-

4,525 0.0108 0.0108

(710) (0.0017) (0.0017)

-

-

(580)

109

-

-

6.

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ

6.1

การรับรูรายได ขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อบริษัทฯไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนัยสําคัญของความเปนเจาของสินคา ใหกับผูซื้อแลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกํากับสินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สําหรับสินคาที่ไดสง มอบหลังจากหักสวนลดแลว รายไดคาบริการ รายไดคาบริการรับรูเมื่อไดใหบริการแลวโดยพิจารณาถึงขั้นความสําเร็จของงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง

6.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่ง ถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมา และไมมีขอจํากัดในการเบิกใช 6.3 ลูกหนี้การคา ลูกหนี้การคาแสดงมูลคาตามจํานวนมูลคาสุทธิที่จะไดรั บ บริษัทฯบันทึกค าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญสําหรับผลขาดทุ น โดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงินและการ วิเคราะหอายุหนี้

6


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

091

6.4 สินคาคงเหลือ สินคาสําเร็จรูปและสินคาระหวางผลิตแสดงมูลคาตามราคาทุนมาตรฐาน (ซึ่งใกลเคียงกับตนทุนจริง) หรือมูลคาสุทธิที่ จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุนดังกลาวหมายถึงตนทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งคาโสหุยโรงงานดวย วัตถุดิบ อะไหลและวัสดุสิ้นเปลืองแสดงมูลคาตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา และจะถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช 6.5 เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอยที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน บริษัทฯใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุน เมื่อมีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับกับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในสวน ของกําไรหรือขาดทุน 6.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการ ดอยคาของสินทรัพย (ถามี) บริษัทฯบันทึกมูลคาเริ่มแรกของที่ดินในราคาทุน ณ วันที่ไดมา หลังจากนั้นบริษัทฯจัดใหมีการประเมินราคาที่ดินโดยผู ประเมินราคาอิสระและบันทึกที่ดินดังกลาวในราคาที่ตีใหม ทั้งนี้บริษัทฯจัดใหมีการประเมินราคาที่ดินดังกลาวเปนครั้ง คราวเพื่อมิใหราคาตามบัญชี ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางมีสาระสําคัญ บริษัทฯบันทึกสวนตางซึ่งเกิดจากการตีราคาที่ดินดังตอไปนี้ บริษัทฯบันทึกราคาตามบัญชีของที่ดินที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหมในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและรับรูจํานวน สะสมในบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” ในสวนของผูถือหุน อยางไรก็ตาม หากสินทรัพยนั้นเคยมีการ ตีราคาลดลงและบริษัทฯไดรับรูราคาที่ลดลงในสวนของกําไรหรือขาดทุนแลว สวนที่เพิ่มจากการตีราคาใหมนี้ จะถูกรับรูเปนรายไดไมเกินจํานวนที่เคยลดลงซึ่งรับรูเปนคาใชจายปกอนแลว บริษัทฯรับรูราคาตามบัญชีของที่ดินที่ลดลงจากการตีราคาใหมในสวนของกําไรหรือขาดทุน อยางไรก็ตาม หากสินทรัพยนั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงคางของบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” อยู ในสวนของผูถือหุน สวนที่ลดลงจากการตีราคาใหมจะถูกรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในจํานวนที่ไมเกิน ยอดคงเหลือของบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชน โดยประมาณดังนี้ อาคาร 20 ป สวนปรับปรุงอาคาร 10 ป 5 และ 10 ป เครื่องจักรและอุปกรณ ยานพาหนะ 5 ป คาเสื่อมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและเครื่องจักรระหวางติดตั้ง บริษัทฯตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ออกจากบัญชี เมื่อจําหนายสินทรัพยหรือคาดวาจะไมไดรับประโยชนเชิง เศรษฐกิจในอนาคตจากการใชหรือการจําหนายสินทรัพย รายการผลกําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพย จะรับรูใน สวนของกําไรหรือขาดทุนเมื่อบริษัทฯตัดรายการสินทรัพยนั้นออกจากบัญชี 6.7 ตนทุนการกูยืม ตนทุนการกูยืมของเงินกูที่ใชในการไดมา การกอสราง หรือการผลิตสินทรัพยที่ตองใชระยะเวลานานในการแปลงสภาพ ใหพรอมใชหรือขาย ไดถูกนําไปรวมเปนราคาทุนของสินทรัพยจนกวาสินทรัพยนั้นจะอยูในสภาพพรอมที่จะใชไดตามที่

7


092 มุงประสงค สวนตนทุนการกูยืมอื่นถือเปนคาใชจายในงวดที่เกิดรายการ ตนทุนการกูยืมประกอบดวยดอกเบี้ยและ ตนทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูยืมนั้น 6.8 สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อการดอยคาสะสม(ถามี) ของสินทรัพย นั้น บริษัทฯตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจํากัดอยางมีระบบตลอดอายุการใหประโยชนของ สินทรัพยนั้น และจะประเมินการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวเมื่อมีขอบงชี้วาสินทรัพยนั้นเกิดการดอยคา บริษัทฯจะ ทบทวนระยะเวลาการตัดจําหนายและวิธีการตัดจําหนายของสินทรัพยไมมีตัวตนดังกลาวทุกสิ้นปเปนอยางนอย คาตัด จําหนายรับรูเปนคาใชจายในสวนของกําไรหรือขาดทุน สินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจํากัดของบริษัทฯ คือ ซอฟทแวรคอมพิวเตอร ซึ่งมีอายุการใหประโยชน 10 ป 6.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกบริษัทฯควบคุม ไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับ บริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือ ทางออมซึ่งทําใหมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญตอบริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่มี อํานาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษัทฯ 6.10 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชา การเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชาหรือมูลคาปจจุบันสุทธิ ของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา ภาระผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงิน จะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพย ที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา สัญญาเชาอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไมไดโอนไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชา ดําเนินงาน จํานวนเงินที่จายตามสัญญาเชาดําเนินงานรับรูเปนคาใชจายในสวนของกําไรหรือขาดทุนตามวิธีเสนตรง ตลอดอายุของสัญญาเชา 6.11 เงินตราตางประเทศ บริษัทฯแสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเปนสกุลเงินบาท ซึ่งเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของ บริษัทฯ รายการตางๆของแตละกิจการที่รวมอยูในงบการเงินรวมวัดมูลคาดวยสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของแต ละกิจการนั้น รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและ หนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน

8


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

093

6.12 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลางาน บริษัทฯจะทําการประเมินการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณหรือสินทรัพยที่ไมมี ตัวตนของบริษัทฯหากมีขอบงชี้วาสินทรัพยดังกลาวอาจดอยคา บริษัทฯรับรูขาดทุนจากการดอยคาเมื่อมูลคาที่คาดวา จะไดรับคืนของสินทรัพยมีมูลคาต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ทั้งนี้มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนหมายถึงมูลคา ยุติธรรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจากการใชสินทรัพยแลวแตราคาใดจะสูงกวา บริษัทฯจะรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาในสวนของกําไรหรือขาดทุน ยกเวนในกรณีที่ที่ดินซึ่งใชวิธีการตีราคาใหม และไดบันทึกสวนเกินทุนจากการตีราคาใหมไวในสวนของผูถือหุน ขาดทุนจากการดอยคาจะรับรูในสวนของผูถือหุน ไมเกินไปกวาสวนเกินทุนจากการตีราคาที่เคยบันทึกไว หากในการประเมินการดอยคาของสินทรัพย มีขอบงชี้ที่แสดงใหเห็นวาผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่รับรู ในงวดกอนไดหมดไปหรือลดลง บริษัทฯจะประมาณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยนั้น และจะกลับรายการ ผลขาดทุนจากการดอยคาที่รับรูในงวดกอนก็ตอเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชกําหนดมูลคาที่คาดวาจะไดรับ คืนภายหลังจากการรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาครั้งลาสุด โดยมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยที่เพิ่มขึ้นจากการกลับ รายการผลขาดทุนจากการดอยคาตองไมสูงกวามูลคาตามบัญชีที่ควรจะเปนหากกิจการไมเคยรับรูผลขาดทุนจากการ ดอยคาของสินทรัพยในงวดกอนๆ บริษัทฯจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยโดยรับรูไปยัง สวนของกําไรหรือขาดทุนทันที เวนแตสินทรัพยนั้นแสดงดวยราคาที่ตีใหม การกลับรายการสวนที่เกินกวามูลคาตาม บัญชีที่ควรจะเปนถือเปนการตีราคาสินทรัพยเพิ่ม 6.13 หุนสามัญซื้อคืน หุนสามัญซื้อคืนแสดงมูลคาในงบแสดงฐานะการเงินดวยราคาทุนและแสดงเปนรายการหักจากสวนของผูถือหุน หาก ราคาขายของหุนทุนซื้อคืนสูงกวาราคาซื้อของหุนทุนซื้อคืน บริษัทฯจะรับรูผลตางเขาบัญชีสวนเกินมูลคาหุนสามัญซื้อ คืน และหากราคาขายของหุนทุนซื้อคืนต่ํากวาราคาซื้อของหุนทุนซื้อคืน บริษัทฯจะนําผลตางหักจากสวนเกินมูลคาหุน สามัญซื้อคืนใหหมดไปกอน แลวจึงนําผลตางที่เหลืออยูไปหักจากบัญชีกําไรสะสม บริษัทฯใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการคํานวณตนทุนตอหนวยของหุนสามัญซื้อคืน 6.14 ผลประโยชนของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯและบริษัทยอยรับรูเงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯ บริษัทยอย และพนักงานไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสม และ เงินที่บริษัทฯและบริษัทยอยจายสมทบใหเปนรายเดือน สินทรัพยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไดแยกออกจากสินทรัพย ของบริษัทฯและบริษัทยอย เงินที่บริษัทฯและบริษัทยอยจายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในปที่เกิด รายการ โครงการผลประโยชนหลังออกจากงาน บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที่ตองจายใหแกพนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงานซึ่งบริษัทฯ และบริษัทยอยถือวาเงินชดเชยดังกลาวเปนโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานสําหรับพนักงาน

9


094 บริษัทฯคํานวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน โดยใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณ การไว (Projected Unit Credit Method) โดยผูเชี่ยวชาญอิ สระได ทําการประเมิ น ภาระผูกพั นดั งกล าวตามหลั ก คณิตศาสตรประกันภัย ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชนหลังออกจาก งานของพนักงานจะรับรูทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 6.15 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯและบริษัทยอยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไวในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตได เกิดขึ้นแลว และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาบริษัทฯและบริษัทยอยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลด เปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯและบริษัทยอยสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ 6.16 ภาษีเงินได ภาษีเงินไดประกอบดวยภาษีเงินไดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดปจจุบัน บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดปจจุบันตามจํานวนที่คาดวาจะจายใหแกหนวยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดย คํานวณจากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของผลแตกตางชั่วคราวระหวางราคาตามบัญชีของสินทรัพย และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินที่เกี่ยวของนั้น โดยใชอัตราภาษีที่มีผล บังคับใช ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทยอยรับรูหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของผลแตกตางชั่วคราวที่ตองเสียภาษีทุกรายการ แตรับรู สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชใน จํานวนเทาที่มีความเปนไปไดคอนขางแนที่บริษัทฯและบริษัทยอยจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใชประโยชน จากผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชนั้น บริษัทฯและบริษัทยอยจะทบทวนมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงาน และจะทําการปรับลดมูลคาตามบัญชีดังกลาว หากมีความเปนไปไดคอนขางแนวาบริษัทฯและบริษัทยอยจะไมมีกําไร ทางภาษีเพียงพอตอการนําสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางสวนมาใชประโยชน บริษัทฯและบริษัทยอยจะบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังสวนของผูถือหุนหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวของกับ รายการที่ไดบันทึกโดยตรงไปยังสวนของผูถือหุน 6.17 สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ลูกหนี้และเจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาจะถูกแปลงคาตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศดังกลาวจะถูกบันทึกในสวนของกําไร หรือขาดทุน สวนเกินหรือสวนลดที่เกิดขึ้นจากการทําสัญญาจะถูกตัดจําหนายดวยวิธีเสนตรงตามอายุของสัญญา 7.

การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจและการประมาณการ ในเรื่องที่มีความไมแนนอนเสมอ การใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาวนี้สงผลกระทบตอจํานวนเงินที่แสดงใน

10


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

095

งบการเงินและตอขอมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากจํานวนที่ประมาณ การไว การใชดุลยพินิจและการประมาณการที่สําคัญ มีดังนี้ สัญญาเชา ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเชาวาเปนสัญญาเชาดําเนินงานหรือสัญญาเชาการเงิน ฝายบริหารไดใชดุลยพินิจ ในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาวาบริษัทฯไดโอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน ในสินทรัพยที่เชาดังกลาวแลวหรือไม คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่ คาดวาจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แตละราย โดยคํานึงถึงประสบการณการเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงคางและสภาวะ เศรษฐกิจที่เปนอยูในขณะนั้น เปนตน มูลคาสุทธิที่จะไดรับของสินคาคงเหลือ ฝายบริหารไดใชดุลยพินิจในการประมาณมูลคาสุทธิที่จะไดรับของสินคาคงเหลือ โดยจํานวนเงินที่คาดวาจะไดรับจาก สินคาคงเหลือพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาขายหรือตนทุนที่เกี่ยวของโดยตรงกับเหตุการณที่เกิดขึ้นภายหลัง วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน และคํานึงถึงการเคลื่อนไหวของสินคาคงเหลือและสภาวะเศรษฐกิจที่เปนอยูในขณะนั้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณและคาเสื่อมราคา ในการคํานวณคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจําเปนตองทําการประมาณอายุการใหประโยชนและ มูลคาคงเหลือเมื่อเลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวนอายุการใหประโยชนและมูลคาคงเหลือใหมหาก มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น บริ ษั ท ฯแสดงมู ล ค า ของที่ ดิ น ด ว ยราคาที่ ตี ใ หม ซึ่ ง ราคาที่ ตี ใ หม นี้ ไ ด ป ระเมิ น โดยผู ป ระเมิ น ราคาอิ ส ระโดยใช วิ ธี เปรียบเทียบราคาตลาด ซึ่งการประเมินมูลคาดังกลาวตองอาศัยขอสมมติฐานและการประมาณการบางประการ นอกจากนี้ฝายบริหารจําเปนตองสอบทานการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและบันทึกขาดทุน จากการดอยคาหากคาดวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ในการนี้ฝายบริหาร จําเปนตองใชดุลยพินิจที่เกี่ยวของกับการคาดการณรายไดและคาใชจายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพยนั้น สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี บริษัทฯและบริษัทยอยจะรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและขาดทุน ทางภาษีที่ไมไดใชเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนวาบริษัทฯและบริษัทยอยจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช ประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝายบริหารจําเปนตองประมาณการวาบริษัทฯและบริษัทยอย ควรรับรูจํานวนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเปนจํานวนเทาใด โดยพิจารณาถึงจํานวนกําไรทางภาษีที่คาดวาจะ เกิดในอนาคตในแตละชวงเวลา ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน หนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ซึ่งตอง อาศัยขอสมมติฐานตางๆในการประมาณการนั้น เชน อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และ อัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวนพนักงาน เปนตน คดีฟองรอง บริษัทฯมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟองรองเรียกคาเสียหาย ซึ่งฝายบริหารไดใชดุลยพินิจในการประเมินผล ของคดีที่ถูกฟองรองแลวและเชื่อมั่นวาจะไมมีความเสียหายเกิดขึ้นจึงไมไดบันทึกประมาณการหนี้สินดังกลาว ณ วันสิ้น รอบระยะเวลารายงาน

11


096 8.

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาว เปนไปตามเงื่อนไขทางการคาและเกณฑตามที่ตกลงกันระหวางบริษัทฯ บริษัทยอย และบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เหลานั้น ซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการกําหนดราคา 2556 2555 2556 2555 รายการธุรกิจกับบริษัทยอย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคาและบริการ 591 257 ราคาทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม รายไดอื่น 3 - ราคาที่ตกลงรวมกัน คาใชจายในการจัดการวัตถุดิบที่ 9 ราคาที่ตกลงรวมกัน เสียหายจากน้ําทวม รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน ขายสินคาและบริการ 19 18 19 18 ราคาทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม ยอดคงคางระหวางบริษัทฯ และกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 10) บริษัทยอย - 107,377 90,815 บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีผูถือหุน รวมกัน) 999 2,560 999 2,560 รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน 999 2,560 108,376 93,375 ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 10) บริษัทยอย รวมลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวของกัน

-

-

905 905

-

เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 16) บริษัทยอย รวมเจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

-

-

24 24

2 2

12


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

097

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 บริษัทฯและบริษัทยอยมีคาใชจายผลประโยชนพนักงานใหแก กรรมการและผูบริหารดังตอไปนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 ผลประโยชนระยะสั้น 22 28 18 19 2 2 2 2 ผลประโยชนหลังออกจากงาน 30 20 21 24 รวม 9.

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2556 2555 2556 2555 เงินสด 122 107 100 100 เงินฝากธนาคาร 40,122 1,676 4,778 879 รวม 40,244 1,783 4,878 979 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เงินฝากออมทรัพยมีอัตราดอกเบี้ยระหวางรอยละ 0.1 ถึง 0.5 ตอป (2555: รอยละ 0.125 ถึง 0.625 ตอป)

10. ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน อายุหนี้คงคางนับจากวันที่ถงึ กําหนดชําระ ยังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระ ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน รวมลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน สวนที่ยังไมไดออกใบแจงหนี้ อายุหนี้คงคางนับจากวันที่ถงึ กําหนดชําระ ยังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระ ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน

งบการเงินรวม 2556 2555

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

999

2,560

85,333

67,600

999 999

2,560 2,560

21,378 1,665 108,376 108,376

25,362 1,084 29 94,075 (700) 93,375

168,019

431,845

168,019

431,845

291,104

102,123

184,571

11,809

848 5,778 187

6,461 2,001 134

4,553 187

2,174 867 134

13


098

งบการเงินรวม 2556 2555 127 23,092 466,063 565,656 (23,702) -

มากกวา 12 เดือน รวมลูกหนี้การคากิจการที่ไมเกี่ยวของกัน หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคากิจการที่ไมเกี่ยวของกัน สุทธิ รวมลูกหนี้การคา - สุทธิ ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้เงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณ อุทกภัย ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

466,063 467,062

541,954 544,514

357,457 465,833

446,919 540,294

75,520 5,950 81,470 548,532

470,908 19,073 489,981 1,034,495

75,520 905 5,937 82,362 548,195

470,908 19,073 489,981 1,030,275

11. สินคาคงเหลือ

(หนวย: พันบาท)

ราคาทุน สินคาสําเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ อะไหลและวัสดุสนิ้ เปลือง รวม

2556 80,801 44,013 337,982 22,664 485,460

2555 76,470 50,381 250,080 23,433 400,364

ราคาทุน สินคาสําเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ อะไหลและวัสดุสนิ้ เปลือง รวม

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 127 23,092 357,457 469,921 (23,002)

2556 80,801 43,952 337,349 22,664 484,766

2555 76,470 50,381 250,080 23,433 400,364

งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุน ใหเปนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ 2556 2555 (2,535) (1,412) (9,057) (4,301) (103) (11,695) (5,713) งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรับลดราคาทุนให เปนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ 2556 2555 (2,535) (1,412) (9,057) (4,301) (103) (11,695) (5,713)

สินคาคงเหลือ - สุทธิ 2556 2555 78,266 75,058 34,956 46,080 337,982 250,080 22,561 23,433 473,765 394,651 (หนวย: พันบาท) สินคาคงเหลือ - สุทธิ 2556 2555 78,266 75,058 34,895 46,080 337,349 250,080 22,561 23,433 473,071 394,651

14


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

12. เงินลงทุนในบริษัทยอย 12. เงิเงินนลงทุ ลงทุนนในบริ ในบริษษัทัทยยออยย 12. เงินลงทุนในบริษัทยอยตามที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ลงทุนนในบริ ในบริษษัทัทยยออยตามที ยตามที่แ่แสดงอยู สดงอยูใในงบการเงิ นงบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการมี การมีรรายละเอี ายละเอียยดดัดดังงตตออไปนี ไปนี้ ้ เงิเงินนลงทุ บริษัท ทุนเรียกชําระแลว สัดสวนเงินลงทุน บริ ษ ท ั ทุ น เรี ย กชํ า ระแล ว สั ดสสววนเงิ นเงินนลงทุ ลงทุ2555 บริษัท ทุ2556 นเรียกชําระแลว2555 สัด2556 นน 2556 2555 2556 2555 2556 (ร2556 อยละ) 2555 (ร2555 อยละ) ยละ) ยละ) Stars Microelectronics USA, Inc. 20,000 20,000 (ร(รออยละ) 59 (ร(รออยละ) 59 StarsMicroelectronics MicroelectronicsUSA, USA,Inc. Inc. 20,000 Stars 20,000 5959 5959 (เหรียญสหรั20,000 ฐ20,000 ฯ) (เหรียยญสหรั ญสหรัฐฐฯ)250,000 ฯ) (เหรี บริษัท เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอรยี่ จํากัด 250,000 99 99 เอสเอ็มมทีทีกรีกรีนนเอ็เอ็นนเนอร เนอรยยี่ ี่จํจําากักัดด 250,000 250,000 (บาท)250,000 250,000 บริบริษษัทัทเอสเอ็ 9999 9999 (บาท) 25,000,000 (บาท) 100,000,000 100,000,000 25,000,0000 บริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด 100,000,000 0 25,000,000 75 100 เอสเอสอาร อารเอฟไอดี เอฟไอดีจํจําากักัดด 100 บริบริษษัทัทเอสเอส 00 (บาท) 00 7575 100 (บาท) (บาท)

099

มูลคาตามบัญชีตาม มูมูลลคคาาตามบั ญญชีชีตนตามาม วิตามบั ธรี าคาทุ าคาทุนน2555 วิวิธธีรีราคาทุ 2556 2556 พั2556 นบาท 2555 พั2555 นบาท บาท บาท พัพันนบาท 429 พัพันนบาท 429 429 429 429 429 248 248 248 248 248 248 75,000 75,000 75,000 75,677 75,677 75,677

2,500 2,500 2,500 3,177 3,177 3,177

ในระหวางป 2556 และ 2555 บริษัทฯไมไดรับเงินปนผลจากบริษัทยอย ในระหวาางปงป2556 2556และ และ2555 2555บริบริษษัทัทฯไม ฯไมไไดดรรับับเงิเงินนปปนนผลจากบริ ผลจากบริษษัทัทยยออยย ในระหว บริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด เปนบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2555 โดย เอสเอสยอาร เอฟไอดี นบริบริษญษัทัทที1,000,000 ที่จ่จดทะเบี ดทะเบียยนจันจัหุดนดตัตั้งมู้งขึลขึ้นค้นในประเทศไทยเมื ที่ ่2020กุธุกุมรมภาพั 2555โดย บริบริมีษทษัทุนัทจดทะเบี เอสเอส เอฟไอดี จํจําากักัดด(หุเปเป ่อ่อวัวันนทีบาท) 2555 นอาร10 ลานบาท นนสามั าในประเทศไทยเมื ที่ตราไวหุนละ 10 กิภาพั จหลันนธกธของบริ ษโดย ัทดัง ทุนุนจดทะเบี น1010 าหน นบาท สามัญญแท็1,000,000 1,000,000 มูลลคคาาทีที่ต่Frequency ตราไว ราไวหหุนุนละละ10 10 บาท) บาท)ธุธุรรกิกิจTags) จหลัหลักกของบริ ของบริ มีมีทกล ลลาานบาท นนสามั หุหุนนมูRadio ษษัทัทดัดังง าจดทะเบี วคือผลิยตยนและจํ ย อาร(หุเ(หุอฟไอดี ค (RFID Tags: Identification ตอมาตามมติ เอฟไอดี Tags: Radio Frequency Identification Tags) มาตามมติ กลกลของที าาวคืวคือ่ปอผลิผลิ เอฟไอดี แท็แท็คค(RFID Radio Frequency Identification ตตออมาตามมติ ระชุตตและจํ มและจํ วิสามัาาหน ญหนผูาายถยืออาร หุอาร นครั ้งที่ 2/2555 เมื(RFID ่อวันทีTags: ่ 29 พฤศจิ กายน 2555 ของบริ ษัท เอสเอสTags) อารเอฟไอดี จํากัด ได ของที ระชุ ครั้ง้งที่มที่ ทุ่2/2555 2/2555 29พฤศจิ พฤศจิ ายนเป2555 ของบริ อาร10,000,000 เอฟไอดีจํจําากัหุกัดนดไดมูไดล ของที หุหุนนาครัวเพิ วัวันนทีที่ ่2910 กกายน ษษัทัทเอสเอส เอฟไอดี มีมติ่ป่ปอระชุ นุมมัตมวิ​ิใวิสหสามั บามัริญษญัทผูผูดัถถงือือกล นจดทะเบีเมืเมืย่อ่อนจาก ลานบาท น2555 100ของบริ ลานบาท (หุเอสเอส นสามัญอาร มัตัติใิใหหหบุนบริละ ริษษัทัทดั10ดังงกลกล วเพิโดยการออกหุ จดทะเบียนยนจาก นจากญ10เพิ 10่มลทุลานานบาท นบาท 100 ลลาานบาท นบาท มีมีมคมติาติอทีอนุ่ตนุมราไว าาวเพิ ่ม่มทุทุนนจดทะเบี นน100 ญญ10,000,000 หุหุนนบริ มูมูลษลัท บาท) สามั จํานวนเปเป9,000,000 หุน มูล(หุ(หุ คนานสามั ทีสามั ่ตราไว ห10,000,000 ุนละ 10 บาท ่ตราไว ราไว ละ1010ยบาท) บาท) สามัญชญเพิ 9,000,000 มูลลคคาาทีที่ต่ตราไว ราไวหหุนุนละละ1010บาท บาทบริบริษษัทัท คคาดัาทีทีง่ตกล หหุนจุนละ นนสามั นนจํ่อจําวัานวน 9,000,000 หุหุนนมู2555 าวได ดทะเบี นเพิ่มโดยการออกหุ ทุโดยการออกหุ นกับกระทรวงพาณิ ยเพิแ่มล่มทุวทุเมื นนวน ที่ 29 พฤศจิกายน วไดจจดทะเบี ดทะเบียยนเพิ นเพิ่ม่มทุทุนนกักับบกระทรวงพาณิ กระทรวงพาณิชชยยแแลลววเมืเมื่อ่อวัวันนทีที่ ่2929พฤศจิ พฤศจิกกายน ายน2555 2555 ดัดังงกลกลาาวได ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด ไดเรียกชําระคาหุน 25 ลานบาท (รอยละ 25 ของทุน วาคม 2555ลบริ เอสเอส อาร เอฟไอดีจํจําากักัดดหุได ระคาาหหุหุ​ุนนละ252510ลลาานบาท นบาท(รบริ (รออยละ ของทุานหุนน ณณจดทะเบี วัวันนทีที่ ่3131ยนจํ ธัธันนาวาคม ษษัทัทเอสเอส าาระค นวน 2555 100 าบริ นบาท (หุนสามัอาร ญเอฟไอดี 10,000,000 นไดเมูรีเรีลยยกชํ คกชํ าตราไว บาท)) ษยละ ัทฯได2525ชําของทุ ระค บาท))บริบริษษัทัทฯได ฯไดชชําําระค ระคาาหุหุนน จดทะเบี ยนจํนจําานวน นวน 100ลลาานบาท นบาท (หุ(หุนนสามั สามัญญ10,000,000 10,000,000หุหุนน มูมูลลคคาาตราไว ตราไวหหุนุนละละ 1010บาท)) จดทะเบี 100 ดังกลายวในเดื อนมกราคม 2556 วในเดืออนมกราคม นมกราคม2556 2556 ดัดังงกลกลาาวในเดื บริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด ไดเรียกชําระคาหุนเพิ่มอีก 25 ลานบาท (รอยละ 25 ของทุนจดทะเบียน) และ 50 ัทเอสเอส เอสเอส อารเอฟไอดี เ50 อฟไอดี กัดดไดไดเรีเรียยกชํ าระค ระคาาหุหุนานเพิงไตรมาสที เพิ่ม่มอีอีกก2525่ ล1ลาานบาท นบาท2(ร(ร ยละ2556 ของทุ และ บริบริลษาษัทนบาท ออยละ 2525ของทุ และ 5050า (รออาร ยละ ของทุจํจํานากัจดทะเบี น)กชําในระหว และ ของป ตามลํนนจดทะเบี าจดทะเบี ดับ บริยษยน) ัทน)ฯได ชําระค นบาท อยละ ยละ ของทุ จดทะเบี ในระหว งไตรมาสที ของป2556 2556ตามลํ ตามลําาดัดับบบริบริษษัทัทฯได ฯไดชชําําระค ระคาา ลลาหุานบาท 5050อของทุ นนจดทะเบี ยยน)น)และมิ ในระหว าางไตรมาสที ่ ่11และ นดังกล(ร(ราอวแล วในเดื นมกราคม 2556 ถุนายน 2556 ตามลํ าและ ดับ 22ของป วแลววในเดื ในเดืออนมกราคม นมกราคม2556 2556และมิ และมิถถุนุนายน ายน2556 2556ตามลํ ตามลําาดัดับบ หุหุนนดัดังงกลกลาาวแล ในเดือนมิถุนายน 2556 บริษัทฯไดขายหุนที่ถือในบริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด จํานวน 2,500,000 หุน (รอยละ ในเดื อนมิ นมิถถุนนุนายน ายน2556 2556 ายหุ ในบริ เอสเอส อารเอฟไอดี เอฟไอดี ดจํงจําหนึ านวน นวน 2,500,000 ในเดื บริบริษษัทัทฯได ทีที่ถา่ถือว)ือในบริ ษษัทัทเอสเอส อาร 2,500,000 25 อของทุ จดทะเบี ยนของบริ ษฯได ัทยขขอายหุ ยดังนนกล ในราคา 25 ลานบาท ใหแกบริจํจํษาากั​ัทกัดแห ่งในต างประเทศหุหุนทํนา(รให(รอบอยละ ริยละ ษัทฯ นจดทะเบี จดทะเบี นของบริ ในราคาอ25ยละ 25ลลาานบาท นบาทเปใหนใหรแแอกกยละ ัทแหแหงบริ งหนึหนึษ่งัท่งในต ในต งประเทศ ัทฯฯ 2525มีของทุ ออยดัยดั งงกลกล าาว)ว)ในราคา บบริริษษัท75 ทํทําาใหใหาบบงจํ ริริษษาัทนวน สของทุ ัดสวนนเงิ นลงทุยนยนของบริ ในบริ ษัทษษยัทัทอยยยดั งกล าวลดลงจากร 100 ฯไดาบางประเทศ ันทึกผลแตกต สัดัดสสววนเงิ นเงินน1ลงทุ ลงทุ นในบริ ในบริษษัทัทยยอาองเงิ ยละนและมู 100 เป รออยละ ยละญ75 ผลแตกต มีมีสประมาณ ยดัยดังนงกล ออยละ 100 บริบริษดษัทสัทฯได ทึทึกกผลแตกต าางจํงจํเาสีานวน ลานนบาทระหว ทีกล่ไาดาวลดลงจากร รวลดลงจากร ับจากการขายหุ ลเปคนานรตามบั ชี75ตามสั วฯได นทีบบ่ขันันายไปของส วนได ยนวน ของ ประมาณ นบาทระหว ไดดรรับับจากการขายหุ นและมู และมู คาาตามบั ตามบัญญชีชีต่ยตามสั ามสัดดสสววนที ายไปของส นไดเสีเษสียัทยของ ประมาณ 11 ลลาาษนบาทระหว าางเงิ นนทีภที่ไ่ายใต นได บริษัทฯในบริ ัทยอยดังกล างเงิ วไว รจากการขายหุ ายการ “สวนนเกิ นทุลนลคจากการเปลี นแปลงสั ดนที ส่ขว่ขายไปของส นการถื อหุนววในบริ ยของ อย” ฯในบริ วไวภภายใต ายใตรรายการ ายการ “ส“สววนเกิ นเกินนทุทุนนจากการเปลี จากการเปลี่ย่ยนแปลงสั นแปลงสัดดสสววนการถื นการถืออหุหุนนในบริ ในบริษษัทัทยยออย”ย” บริบริในส ษษัทัทวฯในบริ นของผูษษถัทัือทยหุยอนอยดัยดังงกลกลาาวไว ในสววนของผู นของผูถถือือหุหุนน ในส สัญญารวมลงทุนในบริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด ระหวางบริษัทฯกับบริษัทผูรวมลงทุนดังกลาว และสัญญารวม ญาร ในบริรษะบุ ษัทัทขเอสเอส อารเอฟไอดี เอฟไอดีจํจําากักัดดระหว ระหว งบริาษยษัทัทฯกั ฯกับบบริบริษษัทัทผูผูรรววมลงทุ มลงทุนนดัาดังหน งกลกลาายาววอาร และสั ญารวแท็ วมมค สัสัญธุญรญาร อาร และสั ญญญาร กิจทีวว่เมลงทุ กีมลงทุ ่ยวขนอนในบริ งได อเอสเอส จํากัดบางประการในการผลิ ต จําางบริ หน และอาณาเขตในการจํ เอฟไอดี หนาายย อาร อารเอฟไอดี เอฟไอดี แท็แท็คค งไดรระบุะบุขขออจํจําากักัดดบางประการในการผลิ บางประการในการผลิตต จํจําาหน หนาายย และอาณาเขตในการจํ และอาณาเขตในการจําาหน ธุธุรรกิกิจจทีที่เกี่เกี่ย่ยวขวขอองได

15 15


100 การผลิต ซื้อและจําหนายเครื่องจักรที่เกี่ยวของ และการนําหุนที่ บริษัทฯถือในบริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด ไป จําหนาย จํานําหรือกอภาระผูกพัน นอกจากนี้ ภายใตสัญญาดังกลาว บริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด ไดรับความชวยเหลือทางเทคนิคเกี่ยวกับการ ผลิตอารเอฟไอดี แท็ค และการพัฒนาและจัดหาเครื่องจักรที่เกี่ยวของจากบริษัทผูรวมลงทุนดังกลาว โดยจะตองจาย คาตอบแทนตามอัตราที่ระบุในสัญญาซึ่งคํานวณจากรายไดจากการขายสินคาของบริษัทยอยดังกลาวเปนระยะเวลา 5 ป (สิ้นสุดในป 2562) ปจจุบันบริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด ยังไมเริ่มดําเนินกิจการคา

16


คาเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2555 คาเสื่อมราคาสําหรับป

ราคาทุน / ราคาที่ตีใหม 1 มกราคม 2555 ซื้อเพิ่ม จําหนาย ตัดจําหนาย โอนระหวางบัญชี 31 ธันวาคม 2555 ซื้อเพิ่ม จําหนาย ตัดจําหนาย โอนระหวางบัญชี 31 ธันวาคม 2556

13. ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ

-

70,010 70,010 70,010

ที่ดิน

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคา ตามราคาที่ตีใหม

162,945 37,475

451,563 255,281 (5,383) 701,461 99,693 801,154

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคาร

582,493 177,912

1,545,191 107,012 (76,378) (46,189) 823,452 2,353,088 80,373 (5,089) (36,990) 272,478 2,663,860

9,512 2,424

14,690 990 (4,056) 1,799 13,423 13,423

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน เครื่องจักรและ อุปกรณ ยานพาหนะ

งบการเงินรวม

-

90,234 930,730 (819,868) 201,096 125,011 (272,478) 53,629

เครื่องจักร ระหวางติดตั้ง

17

754,950 217,811

2,171,688 1,294,013 (80,434) (46,189) 3,339,078 305,077 (5,089) (36,990) 3,602,076

รวม

(หนวย: พันบาท)

รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

101


อาคารและสวน ปรับปรุงอาคาร

คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่ตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2555 200,420 คาเสื่อมราคาสําหรับป 57,310 คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่ตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2556 257,730 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2555 70,010 501,041 31 ธันวาคม 2556 70,010 543,424 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2555 (211 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2556 (301 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

ที่ดิน

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคา ตามราคาที่ตีใหม

1,643,870 1,730,689

5,298 3,413

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน เครื่องจักรและ ยานพาหนะ อุปกรณ (26,589) (3,811) (24,598) 709,218 8,125 254,355 1,885 (3,652) (26,750) 933,171 10,010

งบการเงินรวม

201,096 53,629

เครื่องจักร ระหวางติดตั้ง

18

217,811 313,550

2,421,315 2,401,165

รวม (30,400) (24,598) 917,763 313,550 (3,652) (26,750) 1,200,911

(หนวย: พันบาท)

102


ราคาทุน / ราคาที่ตีใหม 1 มกราคม 2555 ซื้อเพิ่ม จําหนาย ตัดจําหนาย โอนระหวางบัญชี 31 ธันวาคม 2555 ซื้อเพิ่ม จําหนาย ตัดจําหนาย โอนระหวางบัญชี 31 ธันวาคม 2556 70,010 70,010 70,010

ที่ดิน

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคา ตามราคาที่ตีใหม

451,563 255,281 (5,383) 701,461 99,693 801,154

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคาร 1,545,191 106,796 (76,378) (46,189) 823,452 2,352,872 74,612 (5,089) (36,990) 224,478 2,609,883

14,690 990 (4,056) 1,799 13,423 13,423

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน เครื่องจักรและ ยานพาหนะ อุปกรณ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

90,234 883,148 (819,868) 153,514 124,454 (224,478) 53,490

เครื่องจักร ระหวางติดตั้ง

19

2,171,688 1,246,215 (80,434) (46,189) 3,291,280 298,759 (5,089) (36,990) 3,547,960

รวม

(หนวย: พันบาท)

รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

103


อาคารและสวน ปรับปรุงอาคาร

คาเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2555 162,945 คาเสื่อมราคาสําหรับป 37,475 คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่ตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2555 200,420 คาเสื่อมราคาสําหรับป 57,310 คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่ตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2556 257,730 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2555 70,010 501,041 31 ธันวาคม 2556 70,010 543,424 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2555 (211 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร) 2556 (301 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร)

ที่ดิน

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคา ตามราคาที่ตีใหม

9,512 2,424 (3,811) 8,125 1,885 10,010 5,298 3,413

582,493 177,908 (26,589) (24,598) 709,214 249,848 (3,651) (26,750) 928,661 1,643,658 1,681,222

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน เครื่องจักรและ ยานพาหนะ อุปกรณ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

153,514 53,490

เครื่องจักร ระหวางติดตั้ง

20

217,807 309,043

2,373,521 2,351,559

754,950 217,807 (30,400) (24,598) 917,759 309,043 (3,651) (26,750) 1,196,401

รวม

(หนวย: พันบาท)

104


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

105

บริษัทฯไดจัดใหมีการประเมินราคาที่ดินในป 2550 โดยผูประเมินราคาอิสระโดยใชวิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market approach) ทํ าให มี ส วนเกิ นทุ นจากการตี ราคาที่ ดิ นเป นจํ านวน 15 ล านบาท ซึ่ งได บั นทึ กไว ในส วนของผู ถื อหุ นใน งบแสดงฐานะการเงิ น ในป 2554 บริ ษัทฯได จั ดใหมี การประเมินราคาที่ ดิ นดั งกล าว โดยผูประเมินราคาอิสระโดย ใชวิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market approach) ซึ่งราคาที่ตีใหมในป 2554 ไมแตกตางจากราคาที่ตีใหมในป 2550 หากบริษัทฯแสดงมูลคาของที่ดินดังกลาวดวยวิธีราคาทุน มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 จะเทากับ 55 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯมีอุปกรณจํานวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังใชงานอยู มูลคาตามบัญชี กอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพยดังกลาวมีจํานวนประมาณ 106 ลานบาท (2555: 117 ลานบาท) สัญญาวงเงินสินเชื่อที่บริษัทฯทํากับสถาบันการเงินไดระบุเงื่อนไขบางประการ คือ บริษัทฯจะไมกระทําการใดๆอันจะทํา ให สถาบั น การเงิ น ได รั บ สิ ทธิ ด อ ยกว าเจา หนี้ อื่ น ของบริ ษั ท ฯ(Pari-Passu) และบริ ษั ท ฯจะไม นํา ที่ ดิ น อาคาร และ เครื่องจักรไปกอภาระผูกพันใดๆ 14. สินทรัพยไมมีตัวตน งบการเงินรวม ซอฟทแวรคอมพิวเตอร ราคาทุน 1 มกราคม 2555 ซื้อเพิ่ม ตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2555 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2556 การตัดจําหนาย 1 มกราคม 2555 คาตัดจําหนายสําหรับป คาตัดจําหนายสําหรับสวนที่ตัดจําหนาย 31 ธันวาคม 2555 คาตัดจําหนายสําหรับป 31 ธันวาคม 2556 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ซอฟทแวรคอมพิวเตอร

25,590 5,330 (509) 30,411 1,900 32,311

25,590 5,330 (509) 30,411 1,870 32,281

4,968 2,603 (92) 7,479 2,924 10,403

4,968 2,603 (92) 7,479 2,923 10,402

22,932 21,908

22,932 21,879

21


106 15. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป) เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร แพ็คกิ้งเครดิต ตั๋วสัญญาใชเงิน ทรัสตรีซีท รวม

2556 MOR 2.60 - 2.66 0.60 - 0.82

2555 MOR ถึง MOR - 0.50 2.98 - 3.75 2.99 - 3.42 -

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 5,862 4 230,000 437,000 588,800 180,420 623,282 818,804

สัญญาวงเงินสินเชื่อขางตนไดระบุเงื่อนไขบางประการ คือ บริษัทฯจะไมกระทําการใดๆอันจะทําใหสถาบันการเงินไดรับ สิทธิดอยกวาเจาหนี้อื่นของบริษัทฯ (Pari-Passu) และบริษัทฯจะไมนําที่ดิน อาคารและเครื่องจักรไปกอภาระผูกพันใดๆ 16. เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่

เจาหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้คาซื้อเครื่องจักร คาใชจายคางจาย รวมเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

งบการเงินรวม 2556 2555 380,190 487,677 116,093 62,657 85,889 471,600 10,645 23,483 1,045,417 592,817

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 350,681 470,887 24 2 116,061 62,657 85,889 425,352 9,323 22,420 561,978 981,318

17. เงินกูย มื ระยะยาว

เงินกู

อัตราดอกเบี้ย

1

THBFIX 3M(1) + 2% ตอป

2

THBFIX 1M(2) + 1.8% ตอป

การชําระคืน ชําระคืนเปนรายเดือนเริ่มตั้งแต เดือนกรกฎาคม 2555 เปนตนไป ชําระคืนเปนรายเดือนเริ่มตั้งแต เดือนกรกฎาคม 2556 เปนตนไป

รวม หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 150,000 255,000 198,000

-

348,000 (240,000) 108,000

255,000 (105,000) 150,000

(1) THBFIX 3M หมายถึง Thai Baht Interest Rate Fixing สําหรับชวงระยะเวลา 3 เดือน (2) THBFIX 1M หมายถึง Thai Baht Interest Rate Fixing สําหรับชวงระยะเวลา 1 เดือน

22


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

107

ในเดือนมกราคม 2555 บริษัทฯไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับธนาคารในประเทศแหงหนึ่งในวงเงิน 300 ลานบาท (เบิกใชแลวทั้งจํานวน) เพื่อซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ และปรับปรุงโรงงาน เงินกูยืมดังกลาวคิดดอกเบี้ยในอัตรา THBFIX 3M บวกรอยละ 2 ตอป และมีกําหนดชําระคืนเปนรายเดือนเปนระยะเวลา 30 เดือน (สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2557) ในเดือนกุมภาพันธ 2556 บริษัทฯไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับธนาคารในประเทศแหงหนึ่งในวงเงิน 300 ลานบาท (เบิกใชแลวทั้งจํานวน) เพื่อใชเปนทุนหมุนเวียนในกิจการ เงินกูยืมดังกลาวคิดดอกเบี้ยในอัตรา THBFIX 1M บวกรอย ละ 1.8 ตอป และมีกําหนดชําระคืนเปนรายเดือนเปนระยะเวลา 36 เดือน (สิ้นสุดในเดือนมิถุนายน 2559) ภายใต้สัญญาเงินกูยืมบริษัทฯจะไมกระทําการใดๆอันจะทําใหธนาคารไดรับสิทธิดอยกวาเจาหนี้อื่นของบริษัทฯ (Pari-Passu) และบริษัทฯจะตองไมนําที่ดิน อาคาร และเครื่องจักรไปกอภาระผูกพันใดๆ นอกจากนี้บริษัทฯตองปฎิบัติตามเงื่อนไข ทางการเงินบางประการ เชน การดํารงอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนและอัตราสวนความสามารถในการชําระหนี้ ขอจํากัดในการโอนสินทรัพย การกอภาระหนี้สิน การเปลี่ยนแปลงโครงสรางผูถือหุนใหญหรือโครงสรางผูบริหาร เปนตน 18. สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน จํานวนเงินสํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงานซึ่งเปนเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงานแสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2556 2555 2556 2555 สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน 15,992 21,949 15,992 21,949 ตนทุนบริการในปจจุบนั 1,654 2,320 1,513 2,320 ตนทุนดอกเบี้ย 590 674 590 674 ผลประโยชนที่จายในระหวางป (1,959) (13,880) (1,959) (13,880) ผลขาดทุนจากการลดขนาดโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน 4,929 4,929 ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย 9,812 9,812 สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงานปลายป 26,088 15,992 25,948 15,992 คาใชจายเกี่ยวกับผลประโยชนระยะยาวของพนักงานรวมอยูในสวนของกําไรหรือขาดทุนแสดงไดดังนี้

ตนทุนบริการในปจจุบนั ตนทุนดอกเบี้ย ผลขาดทุนจากการลดขนาดโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน รวมคาใชจายที่รับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุน คาใชจายดังกลาวรับรูในรายการตอไปนี้ในสวนของ กําไรหรือขาดทุน ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและการบริหาร

งบการเงินรวม 2556 2555 1,654 2,320 590 674

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 1,513 2,320 590 674

2,244

4,929 7,923

2,103

4,929 7,923

1,145 1,099

1,143 6,780

1,145 958

1,143 6,780

23


108 ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยสะสมของบริษัทฯและบริษัทยอยที่รับรูในกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นและรับรูเปนสวนหนึ่งของกําไรสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีจํานวนประมาณ 10 ลานบาท (งบ การเงินเฉพาะกิจการ: 10 ลานบาท) สมมติฐานที่สําคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันประเมินสรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม 2556 (รอยละตอป) 4.4 3.5 - 10.0 0.0 - 20.0

2555 (รอยละตอป) 4.2 3.5 - 7.0 0.0 - 25.0

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (รอยละตอป) (รอยละตอป) 4.4 4.2 3.5 - 10.0 3.5 - 7.0 0.0 - 20.0 0.0 - 25.0

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวน พนักงาน (ขึ้นกับชวงอายุของ พนักงาน) จํานวนเงินภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชนและภาระผูกพันที่ถูกปรับปรุงจากผลของประสบการณสําหรับปปจจุบนั และสองปยอนหลังแสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท) จํานวนภาระผูกพันที่ถูกปรับปรุงจากผลของ ประสบการณ จํานวนภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะกิจการ เฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินรวม ป 2556 26,088 25,948 2,403 2,403 ป 2555 15,992 15,992 ป 2554 21,949 21,949 19. ทุนเรือนหุน/ใบสําคัญแสดงสิทธิ 19.1 ทุนเรือนหุน เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯไดมีมติอนุมัติใหบริษัทฯลดทุนจดทะเบียนของ บริษัทฯจาก 843,540,478 บาท (หุนสามัญ 421,770,239 หุน มูลคาตราไวหุนละ 2 บาท) เปน 839,164,878 บาท (หุนสามัญ 419,582,439 หุน มูลคาตราไวหุนละ 2 บาท) และลดทุนชําระแลวของบริษัทฯจาก 836,157,482 บาท (หุนสามัญ 418,078,741 หุน มูลคาตราไวหุนละ 2 บาท) เปน 831,781,882 บาท (หุนสามัญ 415,890,941 หุน มูลคาตราไวหุนละ 2 บาท) โดยการลดหุนสามัญจํานวน 2,187,800 หุน มูลคาตราไวหุนละ 2 บาท เพื่อตัดหุนสามัญ ซื้อคืนที่จําหนายไมหมด บริษัทฯไดจดทะเบียนลดทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลวดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยแลวเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2555

24


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

109

19.2 ใบสําคัญแสดงสิทธิ (1) ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทฯประจําป 2553 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2553 มีมติอนุมัติการออกใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯจํานวน 7.5 ลานหนวย ใหแกกรรมการและพนักงานของบริษัทฯตาม โครงการ Employee Stock Option Plan (ESOP) โดยใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญที่ออกและเสนอ ขายเปนใบสําคัญแสดงสิทธิชนิดระบุชื่อผูถือและไมสามารถเปลี่ยนมือได ยกเวนเปนการโอนทางมรดก คณะกรรมการบริษัทฯเปนผูจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯและหรือ ประธานกรรมการบริษัทฯเปนผูจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกพนักงานของบริษัทฯโดยไมผานผูรับชวงซื้อ หลักทรัพย โดยไมมีกรรมการหรือพนักงานคนใดไดรับการจัดสรรเกินกวารอยละ 5 ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ออกทั้งหมด ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวใหสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯในอัตราการใชสิทธิของ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยตอ 1 หุนสามัญในราคา 4.50 บาทตอหุน ใบสําคัญแสดงสิทธินี้มีอายุ 4 ป นับ แตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ มีระยะเวลาการใชสิทธิทุก 3 เดือน และมีสัดสวนการใชสทิ ธิสะสมรวมกันได ไมเกินรอยละ 15 สําหรับการใชสิทธิครั้งที่ 1 และ 2 รอยละ 30 สําหรับการใชสิทธิครั้งที่ 3 และ 4 รอยละ 45 สําหรับการใชสทิ ธิครั้งที่ 5 และ 6 รอยละ 60 สําหรับการใชสิทธิครั้งที่ 7 และ 8 รอยละ 80 สําหรับการใช สิทธิครั้งที่ 9 และ 10 และรอยละ 100 สําหรับการใชสิทธิครั้งที่ 11 และ 12 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2553 ไดมีมติจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิใหแก กรรมการและพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทฯไดดําเนินการออกและจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิใหแก กรรมการและพนักงานของบริษัทฯแลวเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2553 โดยกําหนดวันใชสิทธิครั้งแรก คือวันทํา การสุดทายของเดือนพฤศจิกายน 2553 (วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553) และกําหนดวันใชสิทธิวันสุดทาย คือ วันทําการสุดทายของเดือนพฤษภาคม 2557 (วันที่ 30 พฤษภาคม 2557) (2)

เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2554 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯครั้งที่ 1/2554 ไดมีมติอนุมัติใหจัดสรร หุนสามัญเพิ่มทุนใหมใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทฯ ตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยูในอัตรา 8 หุนเดิมตอ 1 หุนใหมในราคาเสนอขายหุนละ 16 บาท ซึ่งต่ํากวารอยละ 90 ของราคาตลาดของหุนสามัญ ของ บริษัทฯ เพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดวาดวยสิทธิและหนาที่ของผูออกใบสําคัญแสดงสิทธิและผูถือ ใบสําคัญแสดงสิทธิ บริษัทฯจึงปรับอัตราการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิจากอัตราการใชสิทธิเดิมซึ่ง ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยใชสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุนในราคา 4.50 บาทตอหุน เปนอัตราการใชสิทธิ ใหมซึ่งใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย ใชสิทธิซื้อหุนสามัญได 1.02213 หุนในราคา 4.403 บาทตอหุน โดยมี ผลตั้งแตวันที่ 28 กุมภาพันธ 2554 เปนตนไป

การเปลี่ยนแปลงของทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลวและจํานวนหนวยของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ มีรายละเอียดดังนี้ จํานวนหนวย ทุนออกจําหนาย วันที่จดทะเบียน ของใบสําคัญ และชําระเต็ม สวนเกินมูลคา เพิ่มทุนกับกระทรวง แสดงสิทธิ มูลคาแลว หุนสามัญ พาณิชย (หนวย) (บาท) (บาท) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 4,742,636 833,844,960 919,534,596 ใชสิทธิในเดือนกุมภาพันธ 2555 (268,586) 549,010 659,635 5 มีนาคม 2555 ใชสิทธิในเดือนพฤษภาคม 2555 (754,782) 1,542,872 1,853,761 1 มิถุนายน 2555 ใชสิทธิในเดือนสิงหาคม 2555 (107,942) 220,640 265,099 4 กันยายน 2555 ลดทุนเพื่อตัดหุนสามัญซื้อคืนในเดือน พฤศจิกายน 2555 (หมายเหตุ 20) (4,375,600) - 16 พฤศจิกายน 2555

25


110 ใชสิทธิในเดือนพฤศจิกายน 2555 (1,019,420) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31ธันวาคม 2555 2,591,906 ใชสิทธิในเดือนกุมภาพันธ 2556 (106,600) ใชสิทธิในเดือนพฤษภาคม 2556 (1,111,656) ใชสิทธิในเดือนสิงหาคม 2556 (27,600) ใชสิทธิในเดือนพฤศจิกายน 2556 (4,000) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 1,342,050

2,083,864

2,503,762

4 ธันวาคม 2555

833,865,746 217,910 2,272,426 56,418 8,176 836,420,676

924,816,853 261,819 2,730,320 67,786 9,824 927,886,602

11 มีนาคม 2556 5 มิถุนายน 2556 5 กันยายน 2556 9 ธันวาคม 2556

20. หุนสามัญซื้อคืน เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯมีมติใหซื้อหุนสามัญคืนจํานวนไมเกิน 41,627,405 หุน คิดเปนรอยละ 10 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมดของบริษัทฯ และวงเงินสูงสุดในการซื้อคืนเทากับ 350 ลานบาท เพื่อ วัตถุประสงคในการบริหารทางการเงิน โดยทําการซื้อคืนหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนระยะเวลาไมเกิน 6 เดือน เริ่มตั้งแตวันที่ 12 ตุลาคม 2554 เปนตนไป กําหนดระยะเวลาการจําหนายหุนที่ซื้อคืนเมื่อพนกําหนด 6 เดือน นับแตการซื้อหุนคืนเสร็จสิ้นโดยขายคืนภายใน 2 ป บริษัทฯตองกันกําไรสะสมไวเปนเงินสํารองเทากับจํานวนเงินที่ไดจายซื้อหุนคืนจนกวาจะมีการจําหนายหุนที่ซื้อคืนไดหมด หรือลดทุนที่ชําระแลวโดยวิธีตัดหุนซื้อคืนที่จําหนายไมหมดแลวแตกรณี ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2555 ไดอนุมัติใหบริษัทฯลดทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลว จํานวนประมาณ 4.4 ลานบาท (หุนสามัญ 2,187,800 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 2 บาท) เพื่อตัดหุนสามัญซื้อคืนที่จําหนาย ไมหมดซึ่งมีราคาทุน 13.5 ลานบาท บริษัทฯบันทึกผลแตกตางจํานวนประมาณ 9.1 ลานบาท ระหวางทุนชําระแลว ที่ลดลงกับราคาทุนของหุนสามัญซื้อคืน โดยนําไปหักจากบัญชีกําไรสะสม 21. สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินไมสามารถนํามาหักกับขาดทุนสะสมและไมสามารถจายเปนเงินปนผลได 22. สํารองตามกฎหมาย ภายใตบทบัญญัติของมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯตองจัดสรรกําไรสุทธิ ประจําปสวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไป จายเงินปนผลได 23. คาใชจา ยตามลักษณะ รายการคาใชจายแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจายที่สําคัญดังตอไปนี้

เงิ น เดื อ น ค า แรงและผลประโยชน อื่ น ของ พนักงาน

งบการเงินรวม 2556 2555

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

456,279

399,152

345,599

325,913

26


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูปและ งานระหวางทํา

111

316,474 6,916,450

220,414 3,284,810

311,966 6,916,450

220,410 3,284,810

(2,037)

(68,005)

(2,098)

(68,666)

24. ภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 สรุปไดดังนี้

ภาษีเงินไดปจจุบัน: ภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับป ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี: ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกตาง ชั่วคราวและการกลับรายการผลแตกตางชั่วคราว รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินไดที่แสดงอยูในงบกําไร ขาดทุน

งบการเงินรวม 2556 2555 (ปรับปรุงใหม)

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

-

-

-

-

9,313

(576)

-

-

9,313

(576)

-

-

รายการกระทบยอดจํานวนเงินระหวางคาใชจายภาษีเงินไดกับผลคูณของกําไรทางบัญชีกับอัตราภาษีที่ใชสําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 สามารถแสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 (ปรับปรุงใหม) 730,820 162,536 739,509 126,937 กําไรทางบัญชีกอ นภาษีเงินไดนิตบิ ุคคล อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล 8.84%, 20%, 34% 8.84%, 23%, 34% กําไรทางบัญชีกอ นภาษีเงินไดนิตบิ ุคคลคูณอัตราภาษี (20,109) (167,107) สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่ไมไดบันทึกใน ระหวางป เนื่องจากไมมีกําไรทางภาษีในอนาคต เพียงพอ (55,122) (126,204) สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่ไมไดบันทึก 903 876 ในปกอ นแตมาใชในปปจจุบนั - ขาดทุนทางภาษี ผลกระทบทางภาษีสําหรับ: การสงเสริมการลงทุน (หมายเหตุ 25) 84,532 (5,190) รายไดที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนติ ิบุคคล 297,425 คาใชจายตองหาม (222) (377) (669) 1 อื่นๆ 83,641 291,859 รวม รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินไดที่แสดงอยูใน 9,313 (576) งบกําไรขาดทุน

20% (32,507)

23% (170,087)

(52,105)

(122,146)

-

-

84,532 (20) 100 84,612

(5,190) 297,425 (3) 1 292,233

-

-

27


112 สวนประกอบของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ประกอบดวยรายการ ดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท) งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 1 มกราคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 1 มกราคม 2556 2555 2555 2556 2555 2555 (ปรับปรุงใหม) (ปรับปรุงใหม) สิ น ทรั พ ย ภ าษี เ งิ น ได ร อ การตัดบัญชี คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,456 คาใชจายคางจาย 196 366 400 ขาดทุนทางภาษีที่ยัง 11,470 1,829 ไมไดใช รวม 11,666 2,195 2,856 หนี้สินภาษีเงินไดรอการ ตัดบัญชี สวนเกินทุนจากการตี 2,942 2,942 2,942 2,942 2,942 2,942 ราคาที่ดิน รวม 2,942 2,942 2,942 2,942 2,942 2,942 ในเดือนตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 เปนรอยละ 23 ในป 2555 และเปนรอยละ 20 ตั้งแตป 2556 เปนตนไป และในเดือนธันวาคม 2554 ไดมีพระราชกฤษฎีกาประกาศ ลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลเพื่อใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีดังกลาวสําหรับป 2555 - 2557 บริษัทฯไดสะทอน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีดังกลาวในการคํานวณภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีตามที่แสดงไวขางตนแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและขาดทุนทางภาษีที่ ยังไมไดใชจํานวน 846 ลานบาท (2555: 587 ลานบาท) (เฉพาะกิจการ: 829 ลานบาท(2555: 576 ลานบาท) ที่บริษัท ฯและบริษัทยอยไมไดบันทึกสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยพิจารณาแลว เห็นวา บริษัทฯและบริษัทยอยอาจไมมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะนําผลแตกตางชั่วคราวและขาดทุนทางภาษีที่ยังไมได ใชขางตนมาใชประโยชนได

28


29

บริษัทฯไดรับสิทธิพิเศษทางดานภาษีอากรจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ภายใตเงื่อนไขตางๆที่กําหนดไว บริษัทฯไดรับสิทธิประโยชนทางดานภาษีอากรที่มีสาระสําคัญดังตอไปนี้ รายละเอียด 1. บัตรสงเสริมเลขที่ 2057(4)/2547 1386(4)/2549 2020(1)/2552 1167(1)/2555 2. เพื่อสงเสริมการลงทุนในกิจการ ผลิต Integrated Circuit, ผลิต Printed Circuit ผลิต Semiconductor เชน ผลิต RFID WAFER LCD Module และ Board Assembly Integrated circuit, Printed Circuit Board (PCBA), Touch Pad Touch Sensor Module, Assembly (PCBA) Module, Optical Laser Module เปนตน Mouse Sensor และ และ Printed Circuit Integrated Circuit Board Assembly (PCBA) สําหรับ Hard Disk Drive 3. สิทธิประโยชนสําคัญที่ไดรับ 3.1 ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรที่ไดจากการประกอบ 7 ป 7 ป 8 ป 8 ป กิจการที่ไดรับการสงเสริมตามเงื่อนไขที่ระบุไวในบัตรสงเสริม และไดรับ ยกเวนภาษีเงินไดสําหรับเงินปนผลจายใหแกผูถือหุน ซึง่ จายจากกําไร ของกิจการทีไ่ ดรบั การสงเสริมตลอดระยะเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินได นิติบุคคล 3.2 ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณา ไดรับ ไดรับ ไดรับ ไดรับ อนุมัติ 3.3 ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับวัตถุดิบและวัสดุจาํ เปนที่ตองนําเขาจาก ไดรับ ไมไดรับ ไมไดรับ ไมไดรับ ตางประเทศเพื่อใชในการผลิตเพื่อการสงออกเปนระยะเวลา 1 ป (สิ้นสุดในป 2555 แลว) นับตั้งแตวันนําเขาวันแรก 4. วันที่เริ่มใชสิทธิตามบัตรสงเสริม 9 ธันวาคม 2548 1 พฤษภาคม 2550 1 มิถุนายน 2553 อยูระหวางขอแกไขโครงการ

25. การสงเสริมการลงทุน

รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

113


114 รายไดของบริษัทฯสําหรับปจําแนกตามกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนและไมไดรับการสงเสริมการลงทุนสามารถ สรุปไดดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท) กิจการที่ไดรับการสงเสริม กิจการที่ไมไดรับการสงเสริม รวม 2556 2555 2556 2555 2556 2555 รายไดจากการขาย รายไดจากการขายใน ประเทศ 6,941,650 3,185,676 2,308 - 6,943,958 3,185,676 รายไดจากการ สงออกทางตรง 664,482 326,273 110 664,592 326,273 รวมรายไดจากการขาย 7,606,132 3,511,949 2,418 - 7,608,550 3,511,949 26. กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ (ไมรวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอกที่ออกอยูในระหวางป กําไรตอหุนปรับลดคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ (ไมรวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ดวย ผลรวมของจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอกที่ออกอยูในระหวางปกับจํานวนถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนักของหุนสามัญที่บริษัทฯอาจตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญเทียบเทาปรับลดทั้งสิ้นใหเปนหุนสามัญ โดยสมมติวาได มีการแปลงเปนหุนสามัญ ณ วันตนปหรือ ณ วันออกหุนสามัญเทียบเทา กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและกําไรตอหุนปรับลด แสดงการคํานวณไดดังนี้

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสวนที่เปนของผูถ ือหุน ของบริษัทฯ ผลกระทบของหุน สามัญเทียบเทาปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญที่ออกใหแก กรรมการและพนักงานของบริษทั ฯ กําไรตอหุนปรับลด กําไรที่เปนของผูถ ือหุนสามัญสมมติวามีการใช สิทธิซื้อหุนสามัญจากใบสําคัญแสดงสิทธิ

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสวนที่เปนของผูถ ือหุน ของบริษัทฯ

งบการเงินรวม จํานวนหุน สามัญ กําไรสําหรับป ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก 2556 2555 2556 2555 (พันบาท) (พันบาท) (พันหุน) (พันหุน) (ปรับปรุงใหม) 144,233 -

733,556 417,684 -

1,100

415,528

กําไรตอหุน 2556 2555 (บาท) (บาท) (ปรับปรุงใหม) 0.345

1.765

2,264

144,233

733,556 418,784 417,792 0.344 1.756 งบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนหุน สามัญ กําไรสําหรับป ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก กําไรตอหุน 2556 2555 2556 2555 2556 2555 (พันบาท) (พันบาท) (พันหุน) (พันหุน) (บาท) (บาท) 162,536

739,509 417,684

415,528

0.389

1.780

30


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

ผลกระทบของหุน สามัญเทียบเทาปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญที่ออกใหแก กรรมการและพนักงานของบริษทั ฯ กําไรตอหุนปรับลด กําไรที่เปนของผูถ ือหุนสามัญสมมติวามีการใชสิทธิ 162,536 ซื้อหุนสามัญจากใบสําคัญแสดงสิทธิ

-

1,100

2,264

739,509 418,784

417,792

0.388

115

1.770

27. สวนงานดําเนินงาน ขอ มูลสวนงานดําเนินงานที่นําเสนอนี้สอดคลอ งกับรายงานภายในของบริษัทฯที่ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการ ดําเนินงานไดรับและสอบทานอยางสม่ําเสมอเพื่อใชในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรใหกับสวนงานแลประเมินผล การดําเนินงานของสวนงาน เพื่อ วัต ถุป ระสงคใ นการบริหารงานบริ ษัท ฯและบริษั ทย อยจัด โครงสรา งองค กรเปน หน วยธุร กิจตามประเภทของ ผลิตภัณฑ 2 สวนงาน คือ ธุรกิจการผลิตและประกอบชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส (Microelectronics Module Assembly: MMA) และธุรกิจการประกอบและทดสอบแผงวงจรไฟฟารวม (Integrated Circuit Packaging: IC Packaging) และตามที่ตั้งของสวนงาน คือ สวนงานที่ตั้งอยูในประเทศไทย และสวนงานที่ตั้งอยูในประเทศสหรัฐอเมริกา (บริษัท เอสเอ็มที กรีน เอ็นเนอรยี่ จํากัด และบริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จํากัด ยังไมเริ่มดําเนินกิจการคา) บริษัทฯและบริษัทยอยไมมีการรวมสวนงานดําเนินงานเปนสวนงานที่รายงานขางตน ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดสอบทานผลการดําเนินงานของแตละหนวยธุรกิจแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงคในการตัดสินใจ เกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรและการประเมินผลการปฏิบัติงาน บริษัทฯประเมินผลการปฏิบัติงานของสวนงานโดย พิจารณาจากกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงาน และสินทรัพยรวมซึ่งวัดมูลคาโดยใชเกณฑเดียวกับที่ใชในการวัดกําไร หรือขาดทุนจากการดําเนินงานและสินทรัพยรวมในงบการเงิน การบันทึกบัญชีสําหรับรายการระหวางสวนงานที่รายงานเปนไปในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีสําหรับรายการธุรกิจ กับบุคคลภายนอก

31


รายไดจากการขายใหลูกคาภายนอก 6,963 3,245 รายไดระหวางสวนงาน รวมรายได 6,963 3,245 กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานตามสวน ) งาน (26) (250) เงินชดเชยความเสียหายจากเหตุการณ อุทกภัย รายไดอื่น คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาใชจายทางการเงิน รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได ขาดทุนสวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย กําไรสวนที่เปนของผูถ ือหุน ของบริษัทฯ

-

-

ธุรกิจการผลิตและประกอบ ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ตั้งอยูในประเทศ ตั้งอยูในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา 2556 2555 2556 2555 55 591 646 (94)

10 257 267 (126)

634 634 31

283 283 16

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ธุรกิจการประกอบและทดสอบ แผงวงจรไฟฟารวม ตั้งอยูในประเทศ ตั้งอยูในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา 2556 2555 2556 2555

ขอมูลรายได กําไรและสินทรัพยรวมของสวนงานของบริษัทฯและบริษัทยอยสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังตอไปนี้

(591) (591)

(257) (257)

การตัดรายการ ระหวางกัน 2556 2555

1,293 37 (35) (183) (21) (1) 3 733

434 44 (65) (164) (33) 9 8 144

32

(360)

(89)

งบการเงินรวม 2556 2555 (ปรับปรุงใหม) 7,652 3,538 7,652 3,538

(หนวย: ลานบาท)

116


การเพิ่มขึ้น (ลดลง) ของสินทรัพยไม หมุนเวียน ที่ไมรวม เครื่องมือทางการเงิน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี และสิทธิ ตามสัญญาประกันภัย คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย

สินทรัพยรวมของสวนงาน ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ อื่น ๆ

(36) 78

348 354 575

353 54

443 276 640

-

-

-

-

ธุรกิจการผลิตและประกอบ ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ตั้งอยูในประเทศ ตั้งอยูในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา 2556 2555 2556 2555

(65) 118

10 102 902

344 81

6 95 939

-

109 -

-

96 -

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ธุรกิจการประกอบและทดสอบ แผงวงจรไฟฟารวม ตั้งอยูในประเทศ ตั้งอยูในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา 2556 2555 2556 2555

80 120

18 924 175

310 85

24 842 542

สินทรัพยที่ไมไดปนสวน 2556 2555

(21) 316

467 474 2,401 175 3,517

33

1,007 220

545 395 2,421 542 3,903

งบการเงินรวม 2556 2555 (ปรับปรุงใหม)

(หนวย: ลานบาท)

รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

117


118 รายไดจากลูกคาภายนอกกําหนดขึ้นตามสถานที่ตั้งของลูกคา 2556

(หนวย: พันบาท) 2555

รายไดจากลูกคาภายนอก ประเทศไทย 6,943,951 3,185,676 สหรัฐอเมริกา 688,142 296,939 ประเทศอื่นๆ 19,774 54,975 รวม (ตามงบการเงินรวม) 7,651,867 3,537,590 สินทรัพยไมหมุนเวียน (ไมรวมเครื่องมือทางการเงินและสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี) เปนของกิจการที่ตั้งอยูใน ประเทศไทย ในระหวางป 2556 และ 2555 บริษัทฯมีรายไดจากการขายใหกับลูกคารายหนึ่งจากสวนงานธุรกิจการผลิตและประกอบ ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสเปนจํานวนรวมประมาณรอยละ 91 และรอยละ 90 ตามลําดับของรายไดจากการขายและการ บริการทั้งหมดของบริษัทฯ 28. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ บริษัทยอย และพนักงานไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ บริษัทยอย และพนักงานจะจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 3 ถึงรอยละ 15 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนกสิกรไทย จํากัด และจะจายใหแก พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯและบริษัทยอย ในระหวางป 2556 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจายเงินสมทบกองทุนเปนจํานวนเงิน 10 ลานบาท (2555: 8 ลานบาท (เฉพาะของบริษัทฯ: 9 ลาน บาท (2555: 8 ลานบาท)) 29. ภาระผูกพันและหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ 29.1 คดีฟองรอง ในระหวางไตรมาสที่ 3 ของป 2550 บริษัทฯไดถูกอดีตกรรมการทานหนึ่งฟองในคดีอาญาขอหาหมิ่นประมาท เนื่องจาก การที่ถูกบริษัทฯบอกเลิกจาง ศาลชั้นตนไดมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2551 วาบริษัทฯ มีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา โดยบริษัทฯจะตองชําระคาปรับใหแกศาลเปนจํานวน 100,000 บาท บริษัทฯไดชําระคาปรับ ดังกลาวแลวเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2551 บริษัทฯไดยื่นอุทธรณคัดคานคําพิพากษาของศาลชั้นตน ซึ่งศาลอุทธรณได มีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2553 ใหยกฟอง อยางไรก็ตาม กรรมการทานดังกลาวไดยื่นฎีกาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553 ซึ่งศาลฎีกาไดมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ 2557 ใหยกฟอง นอกจากนี้กรรมการทานดังกลาวยังอางวาไดรับความเสียหายและเสื่อมเสียชื่อเสียงเนื่องจากบริษัทฯไดบอกเลิกจาง โดย ฟองบริษทั ฯ ในคดีแพงเรียกคาเสียหายดังนี้ ก) ในกรณีเสื่อมเสียชื่อเสียง จํานวน 30,000,000 บาท ข)

ในกรณีตองสูญเสียรายไดที่สามารถทํางานไดจนถึงอายุ 70 ป เปนเงิน 60,606,000 บาท หักคาชดเชยตาม กฎหมายแรงงานที่ไดรับจากบริษัทฯ ไปแลว จํานวน 3,174,600 บาท คงเหลือคาเสียหายจํานวน 57,431,400 บาท

ค)

ในกรณีสูญเสียโอกาสในการดําเนินธุรกิจและสูญเสียประโยชนในกรณีที่บริษัทฯจะเขาตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ในการมีสิทธิซื้อหุนของบริษัทฯต่ํากวาราคาตลาด โบนัสพิเศษ และอื่น ๆ จํานวน 120,000,000 บาท

34


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

119

บริษัทฯ ไดยื่นคําใหการแกคดีแพงตอศาลแลว ปจจุบันศาลไดมีคําสั่งใหงดการพิจารณาคดีนี้ไวกอนและใหจําหนายคดีไว ชั่วคราวเพื่อรอฟงผลในคดีอาญา เนื่องจากคดีนี้เปนคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาดังกลาวขางตน การพิจารณา คดี แพงนี้จึงตองรอใหการพิจารณาคดีอาญาถึงที่สุดกอน ซึ่งศาลฎีกาไดพิจารณาคดีอาญาเรียบรอยแลวตามที่กลาวขางตน และบริษัทฯอยูระหวางดําเนินการยื่นคําแถลงตอศาลใหนําคดีแพงนี้มาพิจารณา อยางไรก็ตามในคําพิพากษาของศาลชั้นตน ศาลไดวินิจฉัยในประเด็นหนึ่งวา “เชื่อวาพยานทั้งหมดเบิกความตาม ความจริง ฟงไดวาโจทกประพฤติตนและปฏิบัติหนาที่เปนดังเชนที่ระบุในเอกสารหมาย จ. 2 ซึ่งอาจถือไดวาเปนการฝา ฝนระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานของพนักงาน ความในหมวด 7 วาดวยวินัยในการปฏิบัติงานและการดําเนินการ ทางวินัยขอ 1.12, 2.5, 2.6, 3.4, 5.3.13 ซึ่งจําเลยที่ 1 ถือเปนเหตุบอกเลิกจางตามเอกสารหมาย จ.2” คําวินิจฉัยของ ศาลในประเด็นดังกลาวจะเปนประโยชนแกบริษัทฯ ในคดีแพงที่อดีตกรรมการทานดังกลาวไดฟองเรียกคาเสียหายจาก บริษัทฯในมูลละเมิดทําใหเขาเสียหายตอชื่อเสียง เพราะเปนคดีแพงที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา และตามกฎหมายการ พิพากษาคดีสวนแพง ศาลจําตองถือขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในคําพิพากษาคดีสวนอาญา และ คําพิพากษาคดีสวน แพงตองเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยความรับผิดของบุคคลในทางแพง โดยไมตองคํานึงวาจําเลยตองคํา พิพากษาวาไดกระทําความผิดหรือไม ดังนั้น เมื่อขอความที่บริษัทฯ ระบุลงในหนังสือบอกเลิกจางเปนความจริงมิใช ความเท็จ การกระทําของบริษัทฯ จึงมิใชเปนการจงใจทําละเมิดตอกรรมการทานดังกลาว โดยการกลาวหรือไขขาว แพรหลายซึ่งขอความอันฝาฝนตอความเปนจริง คําวินิจฉัยของศาลอุทธรณในประเด็นนี้ก็สอดคลองกับศาลชั้นตน ที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทฯเห็นวา บริษัทฯมีขอตอสูที่สามารถหักลางขอกลาวหาดังกลาวไดทั้งในขอเท็จจริงและขอ กฎหมาย เพราะการกระทําของบริษัทฯ เปนการดําเนินการตามกฎหมายคุมครองแรงงาน เปนการกระทําดวยความ จําเปนและเปนการแสดงขอความจริงโดยสุจริตเพื่อความชอบธรรมและปองกันสวนไดเสียของบริษัทฯ ตามคลองธรรม มิไดเปนการกลาวหรือไขขาวแพรหลายซึ่งขอความอันฝาฝนตอความเปนจริง จึงมิไดเปนการจงใจทําละเมิดตออดีต กรรมการทานดังกลาว บริษัทฯ จึงไมควรตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามที่ถูกฟองรอง อีกทั้งขอเรียกรองบางประการก็เปนขอเรียกรองที่ไมมี มูลความจริงและปราศจากขออางตามกฎหมาย และขอเท็จจริงในคดีอาญาที่ศาลวินิจฉัยก็เปนประโยชนตอบริษัทฯ แต หากวาถาจะมีคาเสียหายเกิดขึ้นบาง ก็จะไมเปนจํานวนที่เปนสาระสําคัญแตอยางใด 29.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระผูกพันรายจายฝายทุน 17 ลานบาท (2555: 1 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา และ 34 ลานบาท (เฉพาะของบริษัทฯ: 17 ลานบาท (2555: 0.8 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และ 34 ลานบาท)) ซึ่งเกี่ยวของกับการซื้อเครื่องจักรและระบบสาธารณูปโภคในอาคาร นอกจากนี้ ในเดือนมกราคม 2557 บริษัทฯมีรายจายฝายทุนที่เกี่ยวของกับการสั่งซื้อสวนปรับปรุงอาคารจํานวน 1 ลาน บาท 29.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาใหบริการระยะยาว 29.3.1 บริษัทฯไดทําสัญญารับบริการจากที่ปรึกษาทางการเงินรายหนึ่งสําหรับระยะเวลาตั้งแตเดือนมีนาคม 2556 ถึงเดือน กุมภาพันธ 2557 ภายใตเงื่อนไขของสัญญาบริษัทฯตองชําระคาธรรมเนียมที่ปรึกษาทางการเงินเปนรายเดือนตามอัตรา ที่ระบุในสัญญา และคาใชจายอื่นเพื่อใหการบริการดังกลาวสําเร็จลุลวงไดตามจายจริง 29.3.2 บริษัทยอยแหงหนึ่งมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญารับความชวยเหลือทางเทคนิคในการผลิตอารเอฟไอดี แท็ค และการ พัฒนาและจัดหาเครื่องจักรที่เกี่ยวของตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 12

35


120 29.4 การค้ําประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯมีหนังสือค้ําประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯเพื่อค้ําประกันการใชไฟฟา เหลืออยูเปนจํานวน 10 ลานบาท (2555: 10 ลานบาท) 30. เครื่องมือทางการเงิน 30.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สําคัญของบริษัทฯและบริษัทยอยตามที่นิยามอยูในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดง รายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้ การคาและลูกหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้น และเงินกูยืมระยะยาว บริษัทฯและบริษัทยอย มีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงดานการใหสนิ เชื่อ บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นฝายบริหารควบคุม ความเสี่ยงนี้โดยการกําหนดใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทยอยจึง ไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสําคัญจากการใหสินเชื่อ อยางไรก็ตาม เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยมีลูกคารายใหญจํานวนนอยรายและอยูในกลุมอุตสาหกรรมเดียวกัน ทําใหบริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของลูกหนี้ จํานวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทยอยอาจ ตองสูญเสียจากการใหสินเชื่อคือมูลคาตามบัญชีของลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมระยะสั้นและเงินกูยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ย สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญไมมีดอกเบี้ย หรือมี อัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน สิน ทรั พ ยแ ละหนี้ สิน ทางการเงิน ที่ สํา คัญ สามารถจั ด ตามประเภทอั ต ราดอกเบี้ ย และสํ าหรั บ สิน ทรัพ ย และหนี้ สิ น ทางการเงิ นที่ มี อั ต ราดอกเบี้ ย คงที่ ส ามารถแยกตามวั น ที่ค รบกํา หนด หรื อ วั น ที่มี ก ารกํา หนดอั ต ราดอกเบี้ ย ใหม (หากวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหมถึงกอน) ไดดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกวา มากกวา ปรับขึ้นลง ไมมี 1 ป 1 ถึง 5 ป 5 ป ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น

-

-

-

40 40

549 549

(หนวย: ลานบาท)

รวม 40 549 589

อัตรา ดอกเบี้ย (รอยละตอป) 0.1 - 0.5 -

หนี้สินทางการเงิน

36


อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกวา มากกวา 1 ป 1 ถึง 5 ป 5 ป สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและ เงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาว

อั- ตราดอกเบี - ้ยคงที่ ภายใน - มากกว- า มากกว-า 1 ป 1 ถึง 5 ป 5 ป 617 -

-

-

617

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินรวม รายงานประจำ�ปี 2556 ้ย เล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) 121 บริอัษตัทราดอกเบี สตาร์ส ไมโครอิ ปรับขึ้นลง ไมมี อัตรา ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม ดอกเบี้ย (หน วย: ลอานบาท) (รอยละต ป) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงิ 40 นรวม 40 0.1 - 0.5 อัตราดอกเบี-้ย 549 549 ปรับขึ้นลง ไม549 มี อัตรา 40 589 ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม ดอกเบี้ย 6 623 MOR , 2.60 - 2.66, 0.60 - 0.82 593 593 - 36 THB FIX 3M + 2, 348 348 THB FIX 1M+1.8 354 593 1,564

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกวา มากกวา ปรับขึ้นลง ไมมี 1 ป 1 ถึง 5 ป 5 ป ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและ เงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาว

(หนวย: ลานบาท)

อัตรา ดอกเบี้ย (รอยละตอป)

รวม

-

-

-

2 2

1,034 1,034

2 1,034 1,036

0.125 - 0.625 -

819

-

-

-

-

819

819

-

-

255 255

1,045 1,045

1,045 255 2,119

MOR ถึง MOR - 0.50, 2.98 - 3.75, 2.99 - 3.42 THB FIX 3M + 2

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกวา มากกวา ปรับขึ้นลง ไมมี 1 ป 1 ถึง 5 ป 5 ป ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย

(หนวย: ลานบาท)

รวม

อัตรา ดอกเบี้ย (รอยละตอป)

37


เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาว 122

819

-

-

255 255

1,045 1,045

1,045 255 2,119

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกวา มากกวา ปรับขึ้นลง ไมมี 1 ป 1 ถึง 5 ป 5 ป ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและ เงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาว

-

-

548 548

5 548 553 623

-

-

6

-

-

-

-

-

562

617

-

-

348 354

562

หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและ เงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาว

-

รวม

5 5

617

-

(หนวย: ลานบาท)

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกวา มากกวา ปรับขึ้นลง ไมมี 1 ป 1 ถึง 5 ป 5 ป ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น

THB FIX 3M + 2

-

1 1

1,030 1,030

819

-

-

-

-

819

-

-

255 255

981 981

อัตรา ดอกเบี้ย ดอกเบื (รอยละตอป) 0.1 - 0.5 37 -

MOR , 2.60 - 2.66, 0.60 - 0.82 562 THB FIX 3M + 2, 348 THB FIX 1M+1.8 1,533 (หนวย: ลานบาท)

รวม

อัตรา ดอกเบี้ย (รอยละตอป)

1 0.125 - 0.625 1,030 1,031 819

MOR ถึง MOR - 0.50, 2.98 - 3.75, 2.99 - 3.42 981 255 THB FIX 3M + 2 2,055

38


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

123

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินคา และการซื้อเครื่องจักรเปน เงินตราตางประเทศ บริษัทฯไดตกลงทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่ง ปเพื่อใชเปนเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯมียอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ดังนี้ สินทรัพยทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย สกุลเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 2555 2556 2555 2556 2555 (ลาน) (ลาน) (ลาน) (ลาน) (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) เหรียญสหรัฐอเมริกา 14.1 4.2 17.5 14.9 32.8136 30.6316 0.2 40.5563 ยูโร เยน 155.5 132.7 31.3042 35.4531 (ตอ 100 เยน) (ตอ 100 เยน) สิงคโปร 0.1 25.8826 25.0340 บริษัทฯมีสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือดังนี้ สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จํานวนทีซ่ ื้อ จํานวนที่ขาย อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาของ จํานวนทีซ่ ื้อ จํานวนที่ขาย (ลาน) (ลาน) (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 3.4 31.1580 - 33.0201 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จํานวนทีซ่ ื้อ จํานวนที่ขาย อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญาของ จํานวนทีซ่ ื้อ จํานวนที่ขาย (ลาน) (ลาน) (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 0.3 30.8765

30.2 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินสวนใหญของบริษัทฯและบริษัทยอยจัดอยูในประเภทระยะสั้น และเงินกูยืมมีอัตรา ดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทยอยจึงประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันหรือจายชําระหนี้สินในขณะที่ทั้งสอง ฝายมีความรอบรู และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะที่ไมมีความ เกี่ยวของกัน วิธีการกําหนดมูลคายุติธรรมขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกําหนดจาก ราคาตลาดลาสุด หรือกําหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคาที่เหมาะสม 31. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนที่สําคัญของบริษัทฯ คือการจัดใหมีซึ่งโครงสรางทุนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการ ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯและเสริมสรางมูลคาการถือหุนใหกับผูถือหุน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุมบริษัทมี

39


124 อัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 0.84:1 (2555: 1.22:1) และเฉพาะบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 0.82:1 (2555: 1.18:1)) บริษัทฯบริหารจัดการโครงสรางของทุนโดยใชอัตราสวนหนี้สินตอทุนเพื่อใหสอดคลองกับเงื่อนไขในสัญญาวงเงินสินเชื่อ และเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ซึ่งตองรักษาอัตราสวนหนี้สินตอทุนในระดับตามที่ระบุในสัญญา 32. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2557

40


รายงานประจำ�ปี 2556 บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

125

ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 ได้อนุมัติแต่งตั้ง ผู้สอบบัญชีจาก บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ได้แก่ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน เลขที่ 3930 และ/หรือนางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล เลขที่ 3844 และ/หรือนางสาวทิพวัลย์ นานานุวัฒน์ เลขที่ 3459 เป็นผู้สอบบัญชี ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย โดยอนุมัติค่าตอบแทนการสอบบัญชีประจ�ำปี 2556 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,875,000 บาท แสดงค่าตอบแทนการสอบบัญชีย้อนหลัง 3 ปี (ปี 2554-2556) ดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท)

ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2556

1,575,000

1,625,000

1,875,000

ผู้สอบบัญชี บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 0-2264-0777 โทรสาร : 0-2264-0789-90


126

ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ ชื่อบริษัท : ทะเบียนเลขที ่ : ประเภทธุรกิจ : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : ที่อยู่ปัจจุบัน : โทรศัพท์ : โทรสาร : Website :

บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 0107545000098 ประกอบธุรกิจรับจ้างผลิตและประกอบ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เลขที่ 605-606 หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13160 เลขที่ 605-606 หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13160 (035) 221 777 (035) 221 778 www.starsmicroelectronics.com

บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์

ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูล ของบริษัทฯ เพิ่มเติมได้จาก แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.starsmicroelectronics.com

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2888 Call Center : 0-2229-2888 Investor Relations Contact บริษทั สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 605-606 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลคลองจิก อ�ำเภอบางปะอิน พระนครศรีอยุธยา 13160 Email: ir@starsmicroelectronics.com โทรศัพท์ : 035-221-777 ต่อ 313 โทรสาร : 035-221-778




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.